messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ความหมาย\nความหมาย.\nคำามาส คือ การวร้างคำใหม่ในภาษาบาลีสันสกฤต เช่นเดียวกับคำประสมในภาษสไทย เกิดจากการนำคำบาลีสันสกฤตตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป มารวมกันเป็นคำเดียวแันใหเมีความหมายเกีทยวเนื่องกัน คำที่เกิดจากการสร้างคำวิธีนี้เรียกว่า คำสมาส แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้\n\nคำสมาสที่ไม่มีการกลมกลืนเสียง เรียกว่า คำสมาส\nคำสมาสที่มีการกลมกลืนเสียง เรีนกว่า คำสาาสที่มีการสนธิ\nลักษณะ\nข้อวังเกต\nประโยชน์ของคำสมาส\nดูเพิ่ม\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคำต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nคำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "user"
},
{
"content": "ความหมาย\nความหมาย.\nคำสมาส คือ การสร้างคำใหม่ในภาษาบาลีสันสกฤต เช่นเดียวกับคำประสมในภาษาไทย เกิดจากการนำคำบาลีสันสกฤตตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป มารวมกันเป็นคำเดียวกันให้มีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน คำที่เกิดจากการสร้างคำวิธีนี้เรียกว่า คำสมาส แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้\n\nคำสมาสที่ไม่มีการกลมกลืนเสียง เรียกว่า คำสมาส\nคำสมาสที่มีการกลมกลืนเสียง เรียกว่า คำสมาสที่มีการสนธิ\nลักษณะ\nข้อสังเกต\nประโยชน์ของคำสมาส\nดูเพิ่ม\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคำต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nคำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำสนธิ คือ การเชื่อมคำเข้าด้วยกัน โดยนำคำบาลีและสันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเป็นคำเดียวกัน เสียงสุดท้ายของคำหน้ารับเสียงหน้าของคำหลัง โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะ สระ และนิคหิตที่มาเชื่อม เพื่อการกลมกลืนเสียงให้เป็นธรรมชาติของการออกเสียง แฃะทำให้คำเหล่านี้นมีเสียงสั้นเข้า เช่น \nคำสมาสที่มีการเปลี่ยนแปลงเสียงขณะเมื่อนำ ๒ คำมารวาเป็นคำเดียวกัน เรียกว่า คำสมาสที่มีการสนธิ\nลักษณะ\nชนิดของการสนธิ\nชนิกของการสนธิ.\nการสนธิ แช่งออกเป็น ๓ ชนิด ตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงอักษร คือ สรัสนธิ พยัญชนะสนธิ และนิคหิตสนธิ\nวระสนธิ\nสระสนธิ.\nสระสนธิ เป็นการนำคำที่ลงท้ายด้วยสระไปสนธิกับคำที่ขึ้นต้รด้วยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแงีวจะมีการเปลี่ยนแปลงรูกสระ เพื่อให้เสียงสระ ๒ เสียง ได้กลมกลืนเป็นเสียงเดียวำัน แบ่งออกเป็น ๓ วิธี ไแ้แก่\nพยัญชนะสนธิ\nพยัญชนะสนธิ.\nพยัญชนะสนธิ เป็นการเชื่อมคำระฟว่างพยัญชนะกับพยัญชนะ โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะคำเดิมก้อนนำมาสนธอ ซึ่งเป็นวิธีการรวมคำในภาษาบาลีสันสกฤต ไทยนับใาใช้เพียงไม่กี่คำ เช่น\nนิคหิตสนธิ\nนิคหิตสนธิ.\nนิคหิตสนธิ เป็นการนำคำที่ลงื้ายด้วยนิคหิตไปสนธิกับคำที่ขึ้นต้นด้วยถยัญชนะ หรือสระก็ได้ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้\nประโยชน์\nดูเพิ่ม\n\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคหต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nึำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "user"
},
{
"content": "คำสนธิ คือ การเชื่อมคำเข้าด้วยกัน โดยนำคำบาลีและสันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเป็นคำเดียวกัน เสียงสุดท้ายของคำหน้ารับเสียงหน้าของคำหลัง โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะ สระ และนิคหิตที่มาเชื่อม เพื่อการกลมกลืนเสียงให้เป็นธรรมชาติของการออกเสียง และทำให้คำเหล่านั้นมีเสียงสั้นเข้า เช่น \nคำสมาสที่มีการเปลี่ยนแปลงเสียงขณะเมื่อนำ ๒ คำมารวมเป็นคำเดียวกัน เรียกว่า คำสมาสที่มีการสนธิ\nลักษณะ\nชนิดของการสนธิ\nชนิดของการสนธิ.\nการสนธิ แบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงอักษร คือ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ และนิคหิตสนธิ\nสระสนธิ\nสระสนธิ.\nสระสนธิ เป็นการนำคำที่ลงท้ายด้วยสระไปสนธิกับคำที่ขึ้นต้นด้วยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ เพื่อให้เสียงสระ ๒ เสียง ได้กลมกลืนเป็นเสียงเดียวกัน แบ่งออกเป็น ๓ วิธี ได้แก่\nพยัญชนะสนธิ\nพยัญชนะสนธิ.\nพยัญชนะสนธิ เป็นการเชื่อมคำระหว่างพยัญชนะกับพยัญชนะ โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะคำเดิมก่อนนำมาสนธิ ซึ่งเป็นวิธีการรวมคำในภาษาบาลีสันสกฤต ไทยรับมาใช้เพียงไม่กี่คำ เช่น\nนิคหิตสนธิ\nนิคหิตสนธิ.\nนิคหิตสนธิ เป็นการนำคำที่ลงท้ายด้วยนิคหิตไปสนธิกับคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ หรือสระก็ได้ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้\nประโยชน์\nดูเพิ่ม\n\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคำต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nคำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นอกจากภาษาบาลีสันสกฤตแล้ว ยังมีภาษาต่างกระะทศอีกหลายภทษาที่นำมาใช้ในภาษาไทย เช่น ภาษาที่มาจากประเทศทางทวีปยุโรป มีการนำมาใช้ในภาษาไทยได้หลายวิธี ดังนี้\n\nภาษาต่างประเทศที่นำมาใช้ตรงตัว ยังไม่มีคำไทยที่จะใช้แทน เช่น ฟุตบอล ไมโครโฟน นอต\nภาษาต่างประเทศที่มีคำภาษาไทจใช้แทนแล้ว แต่ก็ยังมีคนใช้คำภาษาต่างประเทศอยูร เช่น รพจักายานยนต์ (มอเตอร์ไซต์) ธนาคาร (แบงค์) แถบบันทึกเสียง (เทป)\nคำภาษาต่างประเทศบางคำทีามีคำไทวใช้แทนแล้ว แต่ในภาษาพูดนิยมใช้กันมาก เช่น สนะบสนุน (เชียร์) แสดงให้เห็น (โชว์) ได้เปล่า (ฟรี) คำลักษณะเช่ยนี้ไม่ควรนำมาใช่ในภาษาที่เป็นทางการ\n\nดูเพิ่ม\n\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคำต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nคำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "user"
},
{
"content": "นอกจากภาษาบาลีสันสกฤตแล้ว ยังมีภาษาต่างประเทศอีกหลายภาษาที่นำมาใช้ในภาษาไทย เช่น ภาษาที่มาจากประเทศทางทวีปยุโรป มีการนำมาใช้ในภาษาไทยได้หลายวิธี ดังนี้\n\nภาษาต่างประเทศที่นำมาใช้ตรงตัว ยังไม่มีคำไทยที่จะใช้แทน เช่น ฟุตบอล ไมโครโฟน นอต\nภาษาต่างประเทศที่มีคำภาษาไทยใช้แทนแล้ว แต่ก็ยังมีคนใช้คำภาษาต่างประเทศอยู่ เช่น รถจักรยานยนต์ (มอเตอร์ไซต์) ธนาคาร (แบงค์) แถบบันทึกเสียง (เทป)\nคำภาษาต่างประเทศบางคำที่มีคำไทยใช้แทนแล้ว แต่ในภาษาพูดนิยมใช้กันมาก เช่น สนับสนุน (เชียร์) แสดงให้เห็น (โชว์) ได้เปล่า (ฟรี) คำลักษณะเช่นนี้ไม่ควรนำมาใช้ในภาษาที่เป็นทางการ\n\nดูเพิ่ม\n\nคำครุ ลหุ\nคำซ้อน\nคำซ้ำ\nคำต่างประเทศ\nคำแทนเสียงต่าง ๆ\nคำประสม\nคำสนธิ\nคำสมาส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วลี คือ ข้อความที่อ่านแล้วไม่ได้ใจความสมบูรณ์ ตัวอย่างวลีเช่น กางเกงตัวใหญ่ ขี้เกียจเดินทาง รักการอ่าน ปลาทองตัวใหญ่\nตัวอย่างของวลีเมื่อเปรียบเทียบกับประโยคมีดึงน้้\nสารบัญ\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nปรเโยค",
"role": "user"
},
{
"content": "วลี คือ ข้อความที่อ่านแล้วไม่ได้ใจความสมบูรณ์ ตัวอย่างวลีเช่น กางเกงตัวใหญ่ ขี้เกียจเดินทาง รักการอ่าน ปลาทองตัวใหญ่\nตัวอย่างของวลีเมื่อเปรียบเทียบกับประโยคมีดังนี้\nสารบัญ\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nประโยค",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กลุ่มคำ คือ ส่วนของประโยคที่ประกอบด้วยคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่ิกัน และมีความหมายต่อเนื่องอป็นเรื่องเดียวกัน แต่เนื้อความยังไม่ยมบูรณ์ โดยหน้าที่ของกลุ่มคำนั้นจะเหมือนคำ คืออาจเป็นได้่ั้งประธาน กริยา พรรม หรือคำวิเศษณ์\nตัวอย่างเช่น: รู้จเกมักจี่ สมเพชเวทนา กระดิกกระเดี้ย ตกยาก ส่วนเกิน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่\nสารบัญ\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nประโยค",
"role": "user"
},
{
"content": "กลุ่มคำ คือ ส่วนของประโยคที่ประกอบด้วยคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน และมีความหมายต่อเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน แต่เนื้อความยังไม่สมบูรณ์ โดยหน้าที่ของกลุ่มคำนั้นจะเหมือนคำ คืออาจเป็นได้ทั้งประธาน กริยา กรรม หรือคำวิเศษณ์\nตัวอย่างเช่น: รู้จักมักจี่ สมเพชเวทนา กระดิกกระเดี้ย ตกยาก ส่วนเกิน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่\nสารบัญ\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nประโยค",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประโยค คือ \nการเดินทางให้ความรู้แก่เราทางอ้อม\nส่วนประกอบขิงประโยค\nส่วาปรพกอบขอบประโยค.\nประฌยคปตะกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ ภาคประธานและภาคแสดว\nนอกจากนี้ อาจมีกรรมและคำขยายกรรมด้วย การสร้างประโยคอาจให้ภาคประธานหรือภาคแสดงขึ้นต้นประโยคก็ได้\n\nถ้าให้ภาคประธานขึ้นต้นปตะโยค เช่น\nถ้าให้ภาคแสดงขึ้นต้นประโยค เช่น\nชนิดของปคะโยค\nชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนารมณ์ของผู้สื่อสาร\nประโยคคำถามและประโยคค_ตอบ\nผระโยึคำถาม คือ ข้อความที่ใช้ถามผู้อื่นเมื่อต้องการรู้เรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่ง มักยะมีคำว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทำไม หรือไม่ ฯลฯ อยู่ในข้อความนั้น ๆ ด้วย และจะมีเครืาองหมายปรัศนี (?) ท้ายข้อความหรือไม่มีก็ได้\nประโยคคำตอบ คือ ข้อความที่ใช้ตอบคำถามเพื่อให้ผู้ถามรู้เรื่องราวนั้น ๆ บางคระ้งอาจจะมีคำตอบรับหรือปฏิเสธิพียงคำสั้น ๆ เช่น ครับ ค่ะ จ้ะ ไม่ใช่ หรือมีคำว่า เพราะว่า เมื่อถูกถามว่า ทำไม เป็นต้น\nชนิดของประโยคแบ่งตามลักษณะโครงสร้างขอลประโยค\nประโยคความเดียว\n\nชนิดของประโยค.\nชนิดของประโยคแบ่งตามลักษณะโครงสร้างของกระโยค.\nประโยคความเดียว.\nสุนัขแัดไก่ เขาเล่นฟุตบอล\n__สรุป:ประโยคความเดียย ประธมนเดียว กริยาเดียวจ้า...__\nแระโยคความรวม\nประโยคความรวม.\nประโยคความรวม หรือ อเนกรรถประโยค คือประโยคที่มีใจความสำคัฯอยู่ตั้งแต่สองใจความขึ้นไป นั่นคือประกอบด้วยภาคแสดงหรือภาคกริยาที่มีมากกว่าหนึ่งส่วน โดยทุกประโยคย่อยมีน้ำหนักใจความสำคัญที่เทราเทียมกัน ประโยคความรวมยังอาจแบ่วย่อยได้ตามลักษณะเนื้อความได้เป็น 4 ประเภทคือ\n\nประโยคความรวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน หรือ อันวยาเนกรรถประโยค ลักษณะสำคัญคือมีการเชื่อมประโยคความเดียวหลายประโยคเข้าด้วยกันด้วยคำสันธาน และ และอื่นๆ ในลักษณะเดียวก้บคกง่าและ ประโยคความรวมที่มีเน่้อความคล้อยตามกันส่วนใหญ่มเกเกิดจากการที่ประโยคความิดียวย่อยเหล่านีีมีการใช้ภาคประธาน หรือภาคกริยาร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น\n\nพ่ดและแม่ไปตลาดโดยรถยนต์: เป็นกนรรวมก้นระหว่างประโยคความเดียวสองประโยค คือ พ่อไปตลาดโดยรถยนต์ และ แม่ไผตลาดโดยรถยนต์\nเธอทำการบ้านและฟังเพลงไปพร้อมๆ กัน: เป็นการรวมกันระหว่างประโยคความเดียวสองปาะโยค คือ เธอทำการบ้าต และ เธอฟังเพลง\n\nประโยคความรวมที่มีใจความขัดแย้ง หรือ พยติเรกรเนกรรถประโยค เป็นประโยคความรวมที่ประโยคความเดียวที่เป็นส่วนประกอบมีเนื้อความไปในทางตรงกันข้าม ได้แก่ประโยคความรวมที่ใชัสันธาน \"แต่\" และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกับคำฝ่าแต่ ตัวอย่างเช่น\n\nแม่เป็นคนจุกจิกจู้จี่แต่พ่อก็อยู่กับแม่ได้: แม่เป็นคนจุกจิกจู้จี้ + พ่ออยู่กับแม่ได้\nฉันสั่งข้าวปัดแต่เธอกลับสั่งก๋วยเตี๋ยวราดหน้า: ฉันสั่งข้าวผัด + เธอสั่งก๋วยเนี๋ยวราดหน้า\nคุณลออิรซื้อคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ล่ำสุดถึงแม้จะใช้ไม่เป็น: คุณลอออรซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องฝหม่ล่าสุด + ตุณลอออรใช้(คอมพิวเตอร์)ไม่เป็น\n\nประโยคควาสรวมให้เลือก หรือ วิกัลปาเนกรรพปนะโยค คือ ประโขคความรวมที่ประกอบด้วยประโยคความเดียวสองประโยคซึ่งเชื่อมกันด้วย \"หรือ\" หรืออื่นๆ ในลักษณะเดียยกับคำว่าหรือ อาจเป็นประโยคบอกเล่า หรือปตะโยคคำถาม ยกตุวอย่างเช่น\n\nเสด็จให้มาเรียนถามเสด็จว่าเสด็นจะเยด็จหรือไม่เสด็จ\nพระยาอธิการบดีเสนอให้คุณหญิงกีรติไปเที่ยวมิตาเกะหรือไม่ก็ภูเขาไฟฟูจิ\n\nประโยคความรวมที่เป็นเผตุผล หรือ เหตวาเนกรรถประโยค คือประโยคึวามรวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผล ส่วนใหญ่มักเชื่อมด้วยคำว่า \"จึง\" หรือ \"ิพราะฉันั้น\" ยกตัวอย่างเช่น\n\nฉันทำการบ้านเสร็จแล้วจึงล้มตัวลงนอน\nเพราะก้องเกียรติเป็นคนมีฐานะ เรยาจึงต้องการสานสัมพันธ์\nประโยคความซ้อน\n\n\nประโยคความซ้อน.\nอนุประโยคในประโยคความซ้อนสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทตามหน้าที่ของอนุประโยคนั้นๆ ในรูปประโยค\n\nนามานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำนามในประโยคความซ้อน\nวอเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำกริยาวิเศณณ์ในประโยคความซ้อน\nคุณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำนามวิเศษณ์ (หนือคุณศัพท์) ในประโยคความซ้อน\nสารบัญ\n\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nประโยค",
"role": "user"
},
{
"content": "ประโยค คือ \nการเดินทางให้ความรู้แก่เราทางอ้อม\nส่วนประกอบของประโยค\nส่วนประกอบของประโยค.\nประโยคประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ ภาคประธานและภาคแสดง\nนอกจากนี้ อาจมีกรรมและคำขยายกรรมด้วย การสร้างประโยคอาจให้ภาคประธานหรือภาคแสดงขึ้นต้นประโยคก็ได้\n\nถ้าให้ภาคประธานขึ้นต้นประโยค เช่น\nถ้าให้ภาคแสดงขึ้นต้นประโยค เช่น\nชนิดของประโยค\nชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนารมณ์ของผู้สื่อสาร\nประโยคคำถามและประโยคคำตอบ\nประโยคคำถาม คือ ข้อความที่ใช้ถามผู้อื่นเมื่อต้องการรู้เรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่ง มักจะมีคำว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทำไม หรือไม่ ฯลฯ อยู่ในข้อความนั้น ๆ ด้วย และจะมีเครื่องหมายปรัศนี (?) ท้ายข้อความหรือไม่มีก็ได้\nประโยคคำตอบ คือ ข้อความที่ใช้ตอบคำถามเพื่อให้ผู้ถามรู้เรื่องราวนั้น ๆ บางครั้งอาจจะมีคำตอบรับหรือปฏิเสธเพียงคำสั้น ๆ เช่น ครับ ค่ะ จ้ะ ไม่ใช่ หรือมีคำว่า เพราะว่า เมื่อถูกถามว่า ทำไม เป็นต้น\nชนิดของประโยคแบ่งตามลักษณะโครงสร้างของประโยค\nประโยคความเดียว\n\nชนิดของประโยค.\nชนิดของประโยคแบ่งตามลักษณะโครงสร้างของประโยค.\nประโยคความเดียว.\nสุนัขกัดไก่ เขาเล่นฟุตบอล\n__สรุป:ประโยคความเดียว ประธานเดียว กริยาเดียวจ้า...__\nประโยคความรวม\nประโยคความรวม.\nประโยคความรวม หรือ อเนกรรถประโยค คือประโยคที่มีใจความสำคัญอยู่ตั้งแต่สองใจความขึ้นไป นั่นคือประกอบด้วยภาคแสดงหรือภาคกริยาที่มีมากกว่าหนึ่งส่วน โดยทุกประโยคย่อยมีน้ำหนักใจความสำคัญที่เท่าเทียมกัน ประโยคความรวมยังอาจแบ่งย่อยได้ตามลักษณะเนื้อความได้เป็น 4 ประเภทคือ\n\nประโยคความรวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน หรือ อันวยาเนกรรถประโยค ลักษณะสำคัญคือมีการเชื่อมประโยคความเดียวหลายประโยคเข้าด้วยกันด้วยคำสันธาน และ และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกับคำว่าและ ประโยคความรวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกันส่วนใหญ่มักเกิดจากการที่ประโยคความเดียวย่อยเหล่านี้มีการใช้ภาคประธาน หรือภาคกริยาร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น\n\nพ่อและแม่ไปตลาดโดยรถยนต์: เป็นการรวมกันระหว่างประโยคความเดียวสองประโยค คือ พ่อไปตลาดโดยรถยนต์ และ แม่ไปตลาดโดยรถยนต์\nเธอทำการบ้านและฟังเพลงไปพร้อมๆ กัน: เป็นการรวมกันระหว่างประโยคความเดียวสองประโยค คือ เธอทำการบ้าน และ เธอฟังเพลง\n\nประโยคความรวมที่มีใจความขัดแย้ง หรือ พยติเรกาเนกรรถประโยค เป็นประโยคความรวมที่ประโยคความเดียวที่เป็นส่วนประกอบมีเนื้อความไปในทางตรงกันข้าม ได้แก่ประโยคความรวมที่ใช้สันธาน \"แต่\" และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกับคำว่าแต่ ตัวอย่างเช่น\n\nแม่เป็นคนจุกจิกจู้จี้แต่พ่อก็อยู่กับแม่ได้: แม่เป็นคนจุกจิกจู้จี้ + พ่ออยู่กับแม่ได้\nฉันสั่งข้าวผัดแต่เธอกลับสั่งก๋วยเตี๋ยวราดหน้า: ฉันสั่งข้าวผัด + เธอสั่งก๋วยเตี๋ยวราดหน้า\nคุณลอออรซื้อคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ล่ำสุดถึงแม้จะใช้ไม่เป็น: คุณลอออรซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ล่าสุด + คุณลอออรใช้(คอมพิวเตอร์)ไม่เป็น\n\nประโยคความรวมให้เลือก หรือ วิกัลปาเนกรรถประโยค คือ ประโยคความรวมที่ประกอบด้วยประโยคความเดียวสองประโยคซึ่งเชื่อมกันด้วย \"หรือ\" หรืออื่นๆ ในลักษณะเดียวกับคำว่าหรือ อาจเป็นประโยคบอกเล่า หรือประโยคคำถาม ยกตัวอย่างเช่น\n\nเสด็จให้มาเรียนถามเสด็จว่าเสด็จจะเสด็จหรือไม่เสด็จ\nพระยาอธิการบดีเสนอให้คุณหญิงกีรติไปเที่ยวมิตาเกะหรือไม่ก็ภูเขาไฟฟูจิ\n\nประโยคความรวมที่เป็นเหตุผล หรือ เหตวาเนกรรถประโยค คือประโยคความรวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผล ส่วนใหญ่มักเชื่อมด้วยคำว่า \"จึง\" หรือ \"เพราะฉะนั้น\" ยกตัวอย่างเช่น\n\nฉันทำการบ้านเสร็จแล้วจึงล้มตัวลงนอน\nเพราะก้องเกียรติเป็นคนมีฐานะ เรยาจึงต้องการสานสัมพันธ์\nประโยคความซ้อน\n\n\nประโยคความซ้อน.\nอนุประโยคในประโยคความซ้อนสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทตามหน้าที่ของอนุประโยคนั้นๆ ในรูปประโยค\n\nนามานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำนามในประโยคความซ้อน\nวิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำกริยาวิเศษณ์ในประโยคความซ้อน\nคุณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เสมือนคำนามวิเศษณ์ (หรือคุณศัพท์) ในประโยคความซ้อน\nสารบัญ\n\n\nวลี\nกลุ่มคำ\nประโยค",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำที่ประวิสรรชนีย์\nคำที่ประวิสรรชนีย์.\nคำที่ออกเสียง อะ ที่ต้องประวิสรรชนีย์ (ะ) สีดังน่้\n\nคำไทยทุกคำที่ออกเสียงอะ เช่น ตะโก้ มะลิ มะละกอ\nคำไทยที่ขึ้นต้นด้วย ก ต ส เช่น กะทิ ตะลึง สะกด\nพยางค์หน้าของคำที่เป็นคำควบกล้ำ ปร ตร ปร พร และออกเสียง อะ เช่น กระเป๋า ตระกูล ประจวย พระพุทธเจ้า\nคำที่พยางค์หน้ากรทอนเป็นเสียงอะ จากคำเดิมที่เป็นคำประสา เช่น\nคำที่เดิมประวิสรรชนีย์อย฿่แล้ว แต่เมื่อเนิม ร เพื่อใช้ในการประพันธ์ก็ยังคงประวิสรรชนีย์ตามเดิม เช่น\nคำที่กร่อนมาจากคำซ้ำหรือคำอัพภาสในไวยากรณ์บาลีสันสกฤต เช่น\nคำที่มาจากภาษาบาลีสัาสกฤตที่าีพยางค์ท้ายออกเสียงอะ เช่น ธุระ พละ มาณะ\nคำที่มาจากภาษาชวาซึ่งมีพยางค์ออกเสียงอะ เช่น ปะไหมสุหรี มะเดหวี ปะตาระกาหลา\nคำ่ี่มาจากภาษาอื่น ๆ ที่มีพยางค์ออกเสีบงอะ เช่น ซากุระ โซบะ ตือบะ แป๊ะซะ มะกะโรนี\nคำที่ไม่ประวิสรรชตีย์\n\n\nคำที่เป็นอักษรนำ เช่น\nคำไทยที่มีตัวสะกดออกเสียว อะ เช่น\nคำที่แผลงมาจากคำเดิมซั่งไม่ประวิสรรชน้ย์ เช่น\nคำที่ออกเสียงอะโดยไม่ประวิสรรชนีย์ที่ได้รัยการยกเว้น คือ ณ พณ ธ\nคำที่ออกเสียงอะกึ่งเสียง เช่น ขโมย สติ อนัรักษ์\nคำที่เป็นคำสมาสในภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งมีเสียงอะระหว่างคำ เช่น วัฒนธรรม ศิลปศึกษา สาธารณสึข\nสารบัญ\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nกรรใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใบ้ไม้ทัณฑฆาต\nการใล้ ร หัน\nการใช้ บุน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "คำที่ประวิสรรชนีย์\nคำที่ประวิสรรชนีย์.\nคำที่ออกเสียง อะ ที่ต้องประวิสรรชนีย์ (ะ) มีดังนี้\n\nคำไทยทุกคำที่ออกเสียงอะ เช่น ตะโก้ มะลิ มะละกอ\nคำไทยที่ขึ้นต้นด้วย ก ต ส เช่น กะทิ ตะลึง สะกด\nพยางค์หน้าของคำที่เป็นคำควบกล้ำ กร ตร ปร พร และออกเสียง อะ เช่น กระเป๋า ตระกูล ประจวบ พระพุทธเจ้า\nคำที่พยางค์หน้ากร่อนเป็นเสียงอะ จากคำเดิมที่เป็นคำประสม เช่น\nคำที่เดิมประวิสรรชนีย์อยู่แล้ว แต่เมื่อเติม ร เพื่อใช้ในการประพันธ์ก็ยังคงประวิสรรชนีย์ตามเดิม เช่น\nคำที่กร่อนมาจากคำซ้ำหรือคำอัพภาสในไวยากรณ์บาลีสันสกฤต เช่น\nคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่มีพยางค์ท้ายออกเสียงอะ เช่น ธุระ พละ มรณะ\nคำที่มาจากภาษาชวาซึ่งมีพยางค์ออกเสียงอะ เช่น ปะไหมสุหรี มะเดหวี ปะตาระกาหลา\nคำที่มาจากภาษาอื่น ๆ ที่มีพยางค์ออกเสียงอะ เช่น ซากุระ โซบะ ตือบะ แป๊ะซะ มะกะโรนี\nคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์\n\n\nคำที่เป็นอักษรนำ เช่น\nคำไทยที่มีตัวสะกดออกเสียง อะ เช่น\nคำที่แผลงมาจากคำเดิมซึ่งไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น\nคำที่ออกเสียงอะโดยไม่ประวิสรรชนีย์ที่ได้รับการยกเว้น คือ ณ พณ ธ\nคำที่ออกเสียงอะกึ่งเสียง เช่น ขโมย สติ อนุรักษ์\nคำที่เป็นคำสมาสในภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งมีเสียงอะระหว่างคำ เช่น วัฒนธรรม ศิลปศึกษา สาธารณสุข\nสารบัญ\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำที่ใช้ ฤ อ่านดอกเสียงได้ 3 อย่างคือ ริ รึ และ เริำ\n\nอ่านออกเสียง ริ เมื่อประสมกับพยัญชนพ 6 ตัวนี้คือ ก ต ท ป ศ ส เช่นคำว่า กฤษณา ตฤณมัย ทฤษฎั ปฤษฎางค์ ศฤงคาร สฤษฏ์ และเมื่อมีตัวสะกด เช่น ฤทธิ์ ฤษจา\nอ่านออกเสียง รึ ดมื่อประสมกับพยัญชนะ 5 ตัวนี้คือ ค น พ ม ห เช่นคำว่า คฤหาสน์ นฤมล พฤกษา มฤคา หฤโหด และเมื่ดเป็นพยัญชนะต้นอยู่หน้าคำอื่น เช่น ฤดี ฤดู ฤทัย ฤคเงท\nอ่านแอกเสียง เริก มีเพียงคำเดียวเท่านั้น คือ ฤกษ์\n\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายงรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "คำที่ใช้ ฤ อ่านออกเสียงได้ 3 อย่างคือ ริ รึ และ เริก\n\nอ่านออกเสียง ริ เมื่อประสมกับพยัญชนะ 6 ตัวนี้คือ ก ต ท ป ศ ส เช่นคำว่า กฤษณา ตฤณมัย ทฤษฎี ปฤษฎางค์ ศฤงคาร สฤษฏ์ และเมื่อมีตัวสะกด เช่น ฤทธิ์ ฤษยา\nอ่านออกเสียง รึ เมื่อประสมกับพยัญชนะ 5 ตัวนี้คือ ค น พ ม ห เช่นคำว่า คฤหาสน์ นฤมล พฤกษา มฤคา หฤโหด และเมื่อเป็นพยัญชนะต้นอยู่หน้าคำอื่น เช่น ฤดี ฤดู ฤทัย ฤคเวท\nอ่านออกเสียง เริก มีเพียงคำเดียวเท่านั้น คือ ฤกษ์\n\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำที่มาจากภา?าบาลีสันสกฤต ที่แต่เดิมเขียนว่า อย อ่สนว่า อะ - ยะ เช่นคำว่า อนามย - อนามัย ภย - ภัย ปราศย - ปราศรัย\nคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต จากคำเดิมเป็น เอฺยย เมื่อนำมาใช้ในคำ_ทยเป็น ไอย เช่น อธิปเตยฺย - อธิปไตย เวเนยฺย - เวไนย\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nก่รใชเ อัย ไอย\nการใช้/ม้หันอากาศ\nการสช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ที่แต่เดิมเขียนว่า อย อ่านว่า อะ - ยะ เช่นคำว่า อนามย - อนามัย ภย - ภัย ปราศย - ปราศรัย\nคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต จากคำเดิมเป็น เอฺยย เมื่อนำมาใช้ในคำไทยเป็น ไอย เช่น อธิปเตยฺย - อธิปไตย เวเนยฺย - เวไนย\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไม้หันอากาศ (-ั) เขียนไว้บนพยัญชนะใลืแทนสระ -ะ เมืีอมีตัวสะกด เช่น จับ ขัง กัน\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "ไม้หันอากาศ (-ั) เขียนไว้บนพยัญชนะใช้แทนสระ -ะ เมื่อมีตัวสะกด เช่น จับ ขัง กัน\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไม้ไต่คู้ (-็) เขียนไว้บนพยัญชนะที่ประสมกับวระเสียงสั้นที่มีรูปสระอะ คือ เ-ะ, แ[ะ, เ0าะ เมื่อมีตัวสะกดจะเปลี่ยนรูปสระแะเป็นไม้ไต่คู้ เช่น เป็น แข็ง ล็อก\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใชืเครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "ไม้ไต่คู้ (-็) เขียนไว้บนพยัญชนะที่ประสมกับสระเสียงสั้นที่มีรูปสระอะ คือ เ-ะ, แ-ะ, เ-าะ เมื่อมีตัวสะกดจะเปลี่ยนรูปสระอะเป็นไม้ไต่คู้ เช่น เป็น แข็ง ล็อก\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไม้ทัณฑฆาต (-์) คือ เคร่่องหมายที่เขียนไว้เหนือพยัญชนะเพื่อไม่ต้องออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น โดยเฉพาะคำที่มาจากถาษาต่างแระเ่ศ เพราะคำในภาษาต่างประเทศนั้นมีหลายพยางค์ ยากแก่การออพเสียงพยัญชนะ ตัวที่เขียนเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้นั้นเรียกว่า ตัวการัสต์ มีวิธีใช้ดังนี้\n\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้ายของคำที่มาจากภาษาบาลีสุนสกฤตที่มีหลายพยางค์เพื่อให้ออกเสียงสะดวกขึ้น เช่น ประโยชน์ อาจารย์\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้ายของคำที่ใาจากภาษาบาลีสันใกฤตที่มีพยัญชนะซ้อนกัน 2 ตุว โดยไม่ได้เป็นตัวสะกด เมื่อใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตที่ตัใท้ายแล้ว ก็ไม่ต้องออกเสียงตัวหน้าด้วย เช่น จันทร์ ศาสตร์ นิญจน์ ยนตร์\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้าย หรือตัวกลางของคำที่มาจากภาษาอังกฤษ เมื่อไม่ต้องการออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น แต่เพื่อต้องการรักษารูปศัพท์เดิมไว้ เช่น ปอนด์ ไมล์ กอล์ฟ\nสารบัญ\nกา่ประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nกนรใช้เครื่องหมายวครคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "ไม้ทัณฑฆาต (-์) คือ เครื่องหมายที่เขียนไว้เหนือพยัญชนะเพื่อไม่ต้องออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น โดยเฉพาะคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เพราะคำในภาษาต่างประเทศนั้นมีหลายพยางค์ ยากแก่การออกเสียงพยัญชนะ ตัวที่เขียนเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้นั้นเรียกว่า ตัวการันต์ มีวิธีใช้ดังนี้\n\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้ายของคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่มีหลายพยางค์เพื่อให้ออกเสียงสะดวกขึ้น เช่น ประโยชน์ อาจารย์\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้ายของคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่มีพยัญชนะซ้อนกัน 2 ตัว โดยไม่ได้เป็นตัวสะกด เมื่อใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตที่ตัวท้ายแล้ว ก็ไม่ต้องออกเสียงตัวหน้าด้วย เช่น จันทร์ ศาสตร์ สิญจน์ ยนตร์\nเขียนไว้บนพยัญชนะตัวท้าย หรือตัวกลางของคำที่มาจากภาษาอังกฤษ เมื่อไม่ต้องการออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น แต่เพื่อต้องการรักษารูปศัพท์เดิมไว้ เช่น ปอนด์ ไมล์ กอล์ฟ\nสารบัญ\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำที่มี ร หัน (รร) ถ้าเป็นคำที่ไม่มีตัวสุกด ตะอ่านออกเสียงเหมือนมีไม้หันอากาศ (-ั) และมี น สะกด เช่น\nแต่ถ้ามีตัวสะกดก็อ่านออกเสียงเหมือนมีไม้หันอากาศ (-ั) และมีเสียงพยัญชนะสะกด เช่น\nใารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใชื ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nกา่ใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "คำที่มี ร หัน (รร) ถ้าเป็นคำที่ไม่มีตัวสะกด จะอ่านออกเสียงเหมือนมีไม้หันอากาศ (-ั) และมี น สะกด เช่น\nแต่ถ้ามีตัวสะกดก็อ่านออกเสียงเหมือนมีไม้หันอากาศ (-ั) และมีเสียงพยัญชนะสะกด เช่น\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เพื่อให้จำคำที่ใช้ บัน และ บรร ได้ง่ายขึ้น ควรื่องจำบทร้อยกรองต่อไปนี้\nการใช้บันบันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจฝดี รื่นเริงบันเทิงมี บันลือลั่รสนั่นดัง บันโดยบังโหยให้ บันเหินไหจากรวงรัง บันทึฝถึงความหลัง บีนเดินนั่งนอนบันดล บันกวดเอาลวดรัด บันจวบจัดตกแต่งตน คำบันนั้นฉงน ระวังปสกับ ร หัน\nคำที่นอกเหนือจากนี้จะใช้คำว่า บรร เช่น บรรจง บรรจบ บรรจุ บรรดา บรรทัด บรรทุก บรรเทา บรรพต บรรยาย\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใข้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไมิไต่คู้\nการใช้/ม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "เพื่อให้จำคำที่ใช้ บัน และ บรร ได้ง่ายขึ้น ควรท่องจำบทร้อยกรองต่อไปนี้\nการใช้บันบันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี รื่นเริงบันเทิงมี บันลือลั่นสนั่นดัง บันโดยบังโหยให้ บันเหินไปจากรวงรัง บันทึงถึงความหลัง บันเดินนั่งนอนบันดล บันกวดเอาลวดรัด บันจวบจัดตกแต่งตน คำบันนั้นฉงน ระวังปนกับ ร หัน\nคำที่นอกเหนือจากนี้จะใช้คำว่า บรร เช่น บรรจง บรรจบ บรรจุ บรรดา บรรทัด บรรทุก บรรเทา บรรพต บรรยาย\nสารบัญ\n\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศิรวิทย์-แร่\nอินทรฺ\nไข่ปลา\nไข่ปลา.\nไข่ปลา หรือ จุดไข่ปลา (...)\n\nใช้ละข้อความข้างท้ายที่ไม่จำเป็นหรือไม่ต้องการกล่าวถึง เพื่อแสดงว่าตัดตอนข้อความนะ้นมาเพียงบาฝส่วน โดยต้องใส่จุดอย่างน้อย ๓ จุด\nสำหรับในบทร้อยกรอบ ถ้าจะละข้อความตั้งแต่ ๒ บรรทัดขึ้นไป ให้ใช้จุดไข่ปลายาวตลอดลรรทัด แต่ถ้าจะเน้นฉันทลักษณ์ก็สามารถใส่จุดไข่ปลาตามรูปแบบฉันทลักษณ์ได้\nใช้เพื่อแสดงว่ามัข้อความ แต่ข้อความนั้นลบเลืเนหรือขาดหายไป และยึงไม่สามารถหาหลักฐานมาประกอบหรือยืนยันได้ ดช่น ข่อความในศิลาจารึก เป็นต้น\nจุลภาค\n\n\nใช้คั่นจำนวนเลขนับจากหลีกหน่วยไปทีละ ๓ หลัก\nใช้แยแคำ ข้อความย่อย หรือประโยคย่อยให้เด่นชัดขึ้น เพื่อกันความสับสน\nใช้คั่นคำในรายการที่เขียนต่อ ๆ กันตั้งแต่ ๓ รายการขึ้นไป กรณีที่รายการนุดท้ายมีคำ \"และ\" หรือ \"หรือ\" อยู่หน้าคำ ไม่ต้องใส่จุลภาคหลังรายการรองสุดท้าย\nใช้ในการเขียนบรรณานุกรม ดัชนี และนามานุกรม โดยเขียนคั่นเมื่อมีการสับที่ระหว่างนามสกุลกับขื่อ, ระหว่างชื่อ-สกุล กับคำนพหน้านาม หรือยศ, ระหว่างราชทินนาม กับบรรดาศักดิ์ ฐรนันดรศักดิ์ หรือสมณศัดดิ์\nใช้ในพจนานุกรม เขียนคั่นความหมายหรือบทนิยามของคำที่มีความหมายำลาย ๆ อย่าล แต่ความหมายคล้าย ๆ กัน\nทวืภาค\n\n\nใช้แสดงมาตราส่วนในแผนที่\nใช้แสดงอัตราส่วน\nใช้แสดงสัดส่วน\nใช้แสดงส่วนเปรียบในวิชาคณิตศาสตร์\nใช้ไขความ แทนคำว่า \"คือ\"\nใช้เขียนหลังคำ \"ดังนี้\" \"ดังต่อไปนี้\" เป็นต้น เพื่อแจกแจงรายการ\nทับ\n\n\nใช้ขีดหลังจำนวนเลขเพื่อแบ่งจำนวนย่อยออกจากจำนวนใหญ่\nใช้จีดคั่นระหว่างเลขบอกลำดับกับเลขศักราช\nใช่ขีดคั่นระหว่างตัวเลขแสดงวัน เดือน ปี\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ \"และ\" กับ \"หรือ\" เป็น \"และ/หรือ\" หมายถึงอย่างใดอย่างหนึ่งหร้อทั้งสองอย่างก็ได้\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ แทนคำว่า \"หรือ\" หมายถุง อย่างใดอย่างหนึ่ง\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ มีความหมายว่า \"ต่อ\"\nนขลิขิต\n\n\nใช้กะบข้อความที่อธิบายไว้เพื่อช่วยให้ชัดเจนขึ้น\nใช้กับข้อมูลบางอย่างเพื่อเตือนความจำ\nใช้คร้อมนามเต็มมี่เขียนไว้ใต้ลายเซ็น\nใช้คร่อมตัวเลขหรือตัวอักษรที่เป็นหัวข้อบอกเชิลอรรถ\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ หรือเขียนสูตรเคมีเพื่อกั้นกลุ่มรัวเลขหรือสัญลักษณ์\nปรัศนี\n\n\nใช้เมื่อสิ้นสุดประโยคคำถาม\nใช้หลังข้อความที่แสดงความสงสัยหรือไม่แน่ใจ\nไปยาลน้อย\n\n\nใช้ละบางส่วนของคำ โดยมากใช้สำหรับชื่อเฉพาะหรือสำนวนที่รู้จักแันดี\nใช้ในการเขียนวัน เดือน ปี แบบไทย\nไปยาลใหญ่\n\n\nใช้ละคำที่มีอีกมากเพื่อประหยะดเวลาและหน้ากระดาฯ\nมหัพภาค\n\n\nใช้เขียนไว้หชังตัวอักษรเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป์รอักษรย่อ\n\n\nใช้เขีขนหลังจากจบข้อความหรือประโยค\nใช้เขียนหลังตัวเลขหรืออักษรที่บอกลำดับข้อ\nใช้เขียนตั่นระหว่างชั่วโมงกับนาทีเพื่อบอกเวลา\nใชืเขีขนแสดงทศนิยมในจำนวตเลข เช่น\nใช้เขียนแสดงจำนวนทศนิยมไม่รู้จบ\nใช้แทนเครื่องหมายคูณในวิชาคณิตศาสตร์\nใชัคั่นสูตรเคมีเพืีอแสดงสูตรของยารประกอบในสารประกอบเชิงซ้อน\nไม้ยมก\n\n\nใช้เพื่อซ้ำคำ\nใช้เพื่อซ้ำวลี\nใช้เพื่อซ้ำประโยค\nข้อยกเว้น\n\n\nคำเดิมที่ทำหน้าที่ต่างกันไม่ใช้ไม้ยมก\nในการเขียนคำประพันธ์ไม่ใช้ไม้ยมกในคำซ้ำกัน\nคำว่า นานา และ จดจะ ไม่ใช้ไม้วมห\nยัติภังค์\n\n\nใช้ใส่เมื่อต้องแยกคำ เนื่องจากมาอยู่ตรงสุดบรรทัด แล้วไส่สามารถบรรจุคำเต็มได้\nใช้ใส่ไว้ท้ายวรรคหน้าของบทร้อวกรองเพื่อต่อพยางค์หรือคำที่ต้องเขียนคาบวรรคกัน เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์\nใช้เขียนแยกพยางค์ เพื่อบอกคำอ่าน\nใช้ในพจนานุกรม เพื่อแสดงว่าคำนั้นมีคำอื่นมาต่อท้าย, ะพื่อแทนคำอ่านของพยางค์ที่ไม่มีปัญหาในการออกเสียง, เพื่อใช้แทนส่วนหน้าของคำคู่ที่ละส่วนหน้าไว้และเพื่อใช้แทนคำที่มาจากข้างต้นที่ละไว้โดยไม่ต้องเขียนซ้ำ มักใช้ในกรณีที่เป็นรายหารชุดเดียวกัน\nใช้ในความหมายว่า \"และ\" หรือ \"พับ\"\nใช้แทนความหมายว่า \"ถึง\" เพื่อแสดงช่วงเวลา จำนวน สถานที่ ฯลฯ\nใช้ขยายความ\nใช้แสดงล_ดับย่อยของรายการที่ไม่ใส่ตัวอักษร\nใช้แยกตัวิักษรเพื่อให้อห๊นการสะกดชัดเตน\nวงเล็บปีกกา\n\n\nใช้พ่วงคำซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน เพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวปัน อาจใช้เพ้ยงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้\nใบ้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซต หรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้ว ไว้เป็นกลุ่มเกียวกัน\nวงเล็บเหลี่ยม\n\n\nใช้คราอมคหหรือข้อคบามเพื่อแยกออกจากข้อคใามอื่น ในกรณีที่ข้อความนั้นมีการใช้เคร่่องหมายวงเล็บแบงอื่นอยู่แล้ว\nใช้ในพจยานุกรม สำหร้บบอกคำอ่าน\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล๋บอื่นอยู่แล้ว\nใช้ในทางวิทยาศาสตร์ สำหรับกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายตทาง ๆ\nสัญประกาศ\n\n\nใข้ขีดเา้นใต้ข้อความที่สำคัญ\nใช้ขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็นหัวข้อหรือข้อความที่ต้องการให้เด่นเป็นพิเษษ\nอัญประกาศ\n\n\nใช้เมื่อต้องการให้ผู้อ่านสังเกตคำใดคำหนึ่ง\nใช้เมื่อต้องการให้ผู้อ่านทราบว่าเป็นบทสนทนา ในกรณีที่มีทั้งบทบรรยายและบทสนทนา\nสช้เมื่อยกข้อความตอนใดตอนหนึ่งจากหนังสืออีกเล่มหนึ่ง ซึ่งไมรใช่หนังสือที่ผู้เขียนกำลังเขียนมา\nอัญประกาศเดี่ยว\n\n\nใช้เขียนเป็นอัญประกาศซ้อนฝนข้อความทั่มีอัญประกาศอยู่แล้ว\nอัฒภาค\n\n\nใช้กยกประโยคเปรียบเทียบแอกจากกึน\nใช้คั่นระหว่างประโยคที่สมบูรณ์ ๒ ประโยค เพื่อแสดงความต่อเนื่องของประโยคทั้งสอง\nใช้แบ่งประโยค กลุ่มคำ หรือกลุ่มตัวเลขที่มีเครท่องหมายจุลภาคอยู่แล้วให้เป็นส่วน ๆ ชัดเจนขึ้น\nใช้คั่นคำในรายการที่มีจำนวนมาก ๆ เพื่อจำแนกรายการออกเป็นพวก ๆ\nใช้ในพจนานุกรม เขียนคั่นบทนิยามของคำที่มีความหมายหลายอย่าง แจ่ควาสหมายก็ยังมีนัยเนื่องกับควาาหมสยเดิม และยังใช้คั่นบทนิยามของคำที่มีคสามหมายไม่สัมพันธ์กันด้วย\nอีศเจรีย์\n\n\nเขียนไว้ข้างหลังคำอุทานเพื่อแสดงอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึ้น เช่น\nะขียนไว้หลังข้อความที่ต้องการให้ผู้อ่านสังเกตและระมัดระวัง มักเป็นข้อความเตือนใจ เช่น\nใช้เขียนหลังคำที่เลียนแบบเสียงธรรมชาติ\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องหมายแฟกทอเรียล เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษร แสดงถึงผลคูณค่อเนื่อง\nสารบัญ\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอาปาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมรยฝรรคตอน",
"role": "user"
},
{
"content": "ศิรวิทย์-แร่\nอินทร์\nไข่ปลา\nไข่ปลา.\nไข่ปลา หรือ จุดไข่ปลา (...)\n\nใช้ละข้อความข้างท้ายที่ไม่จำเป็นหรือไม่ต้องการกล่าวถึง เพื่อแสดงว่าตัดตอนข้อความนั้นมาเพียงบางส่วน โดยต้องใส่จุดอย่างน้อย ๓ จุด\nสำหรับในบทร้อยกรอง ถ้าจะละข้อความตั้งแต่ ๑ บรรทัดขึ้นไป ให้ใช้จุดไข่ปลายาวตลอดบรรทัด แต่ถ้าจะเน้นฉันทลักษณ์ก็สามารถใส่จุดไข่ปลาตามรูปแบบฉันทลักษณ์ได้\nใช้เพื่อแสดงว่ามีข้อความ แต่ข้อความนั้นลบเลือนหรือขาดหายไป และยังไม่สามารถหาหลักฐานมาประกอบหรือยืนยันได้ เช่น ข้อความในศิลาจารึก เป็นต้น\nจุลภาค\n\n\nใช้คั่นจำนวนเลขนับจากหลักหน่วยไปทีละ ๓ หลัก\nใช้แยกคำ ข้อความย่อย หรือประโยคย่อยให้เด่นชัดขึ้น เพื่อกันความสับสน\nใช้คั่นคำในรายการที่เขียนต่อ ๆ กันตั้งแต่ ๓ รายการขึ้นไป กรณีที่รายการสุดท้ายมีคำ \"และ\" หรือ \"หรือ\" อยู่หน้าคำ ไม่ต้องใส่จุลภาคหลังรายการรองสุดท้าย\nใช้ในการเขียนบรรณานุกรม ดัชนี และนามานุกรม โดยเขียนคั่นเมื่อมีการสับที่ระหว่างนามสกุลกับชื่อ, ระหว่างชื่อ-สกุล กับคำนำหน้านาม หรือยศ, ระหว่างราชทินนาม กับบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ หรือสมณศักดิ์\nใช้ในพจนานุกรม เขียนคั่นความหมายหรือบทนิยามของคำที่มีความหมายหลาย ๆ อย่าง แต่ความหมายคล้าย ๆ กัน\nทวิภาค\n\n\nใช้แสดงมาตราส่วนในแผนที่\nใช้แสดงอัตราส่วน\nใช้แสดงสัดส่วน\nใช้แสดงส่วนเปรียบในวิชาคณิตศาสตร์\nใช้ไขความ แทนคำว่า \"คือ\"\nใช้เขียนหลังคำ \"ดังนี้\" \"ดังต่อไปนี้\" เป็นต้น เพื่อแจกแจงรายการ\nทับ\n\n\nใช้ขีดหลังจำนวนเลขเพื่อแบ่งจำนวนย่อยออกจากจำนวนใหญ่\nใช้ขีดคั่นระหว่างเลขบอกลำดับกับเลขศักราช\nใช้ขีดคั่นระหว่างตัวเลขแสดงวัน เดือน ปี\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ \"และ\" กับ \"หรือ\" เป็น \"และ/หรือ\" หมายถึงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างก็ได้\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ แทนคำว่า \"หรือ\" หมายถึง อย่างใดอย่างหนึ่ง\nใช้ขีดคั่นระหว่างคำ มีความหมายว่า \"ต่อ\"\nนขลิขิต\n\n\nใช้กับข้อความที่อธิบายไว้เพื่อช่วยให้ชัดเจนขึ้น\nใช้กับข้อมูลบางอย่างเพื่อเตือนความจำ\nใช้คร่อมนามเต็มที่เขียนไว้ใต้ลายเซ็น\nใช้คร่อมตัวเลขหรือตัวอักษรที่เป็นหัวข้อบอกเชิงอรรถ\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ หรือเขียนสูตรเคมีเพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือสัญลักษณ์\nปรัศนี\n\n\nใช้เมื่อสิ้นสุดประโยคคำถาม\nใช้หลังข้อความที่แสดงความสงสัยหรือไม่แน่ใจ\nไปยาลน้อย\n\n\nใช้ละบางส่วนของคำ โดยมากใช้สำหรับชื่อเฉพาะหรือสำนวนที่รู้จักกันดี\nใช้ในการเขียนวัน เดือน ปี แบบไทย\nไปยาลใหญ่\n\n\nใช้ละคำที่มีอีกมากเพื่อประหยัดเวลาและหน้ากระดาษ\nมหัพภาค\n\n\nใช้เขียนไว้หลังตัวอักษรเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นอักษรย่อ\n\n\nใช้เขียนหลังจากจบข้อความหรือประโยค\nใช้เขียนหลังตัวเลขหรืออักษรที่บอกลำดับข้อ\nใช้เขียนคั่นระหว่างชั่วโมงกับนาทีเพื่อบอกเวลา\nใช้เขียนแสดงทศนิยมในจำนวนเลข เช่น\nใช้เขียนแสดงจำนวนทศนิยมไม่รู้จบ\nใช้แทนเครื่องหมายคูณในวิชาคณิตศาสตร์\nใช้คั่นสูตรเคมีเพื่อแสดงสูตรของสารประกอบในสารประกอบเชิงซ้อน\nไม้ยมก\n\n\nใช้เพื่อซ้ำคำ\nใช้เพื่อซ้ำวลี\nใช้เพื่อซ้ำประโยค\nข้อยกเว้น\n\n\nคำเดิมที่ทำหน้าที่ต่างกันไม่ใช้ไม้ยมก\nในการเขียนคำประพันธ์ไม่ใช้ไม้ยมกในคำซ้ำกัน\nคำว่า นานา และ จะจะ ไม่ใช้ไม้ยมก\nยัติภังค์\n\n\nใช้ใส่เมื่อต้องแยกคำ เนื่องจากมาอยู่ตรงสุดบรรทัด แล้วไม่สามารถบรรจุคำเต็มได้\nใช้ใส่ไว้ท้ายวรรคหน้าของบทร้อยกรองเพื่อต่อพยางค์หรือคำที่ต้องเขียนคาบวรรคกัน เพื่อให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์\nใช้เขียนแยกพยางค์ เพื่อบอกคำอ่าน\nใช้ในพจนานุกรม เพื่อแสดงว่าคำนั้นมีคำอื่นมาต่อท้าย, เพื่อแทนคำอ่านของพยางค์ที่ไม่มีปัญหาในการออกเสียง, เพื่อใช้แทนส่วนหน้าของคำคู่ที่ละส่วนหน้าไว้และเพื่อใช้แทนคำที่มาจากข้างต้นที่ละไว้โดยไม่ต้องเขียนซ้ำ มักใช้ในกรณีที่เป็นรายการชุดเดียวกัน\nใช้ในความหมายว่า \"และ\" หรือ \"กับ\"\nใช้แทนความหมายว่า \"ถึง\" เพื่อแสดงช่วงเวลา จำนวน สถานที่ ฯลฯ\nใช้ขยายความ\nใช้แสดงลำดับย่อยของรายการที่ไม่ใส่ตัวอักษร\nใช้แยกตัวอักษรเพื่อให้เห็นการสะกดชัดเจน\nวงเล็บปีกกา\n\n\nใช้พ่วงคำซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน เพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซต หรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้ว ไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน\nวงเล็บเหลี่ยม\n\n\nใช้คร่อมคำหรือข้อความเพื่อแยกออกจากข้อความอื่น ในกรณีที่ข้อความนั้นมีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้ว\nใช้ในพจนานุกรม สำหรับบอกคำอ่าน\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้ว\nใช้ในทางวิทยาศาสตร์ สำหรับกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ\nสัญประกาศ\n\n\nใช้ขีดเส้นใต้ข้อความที่สำคัญ\nใช้ขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็นหัวข้อหรือข้อความที่ต้องการให้เด่นเป็นพิเศษ\nอัญประกาศ\n\n\nใช้เมื่อต้องการให้ผู้อ่านสังเกตคำใดคำหนึ่ง\nใช้เมื่อต้องการให้ผู้อ่านทราบว่าเป็นบทสนทนา ในกรณีที่มีทั้งบทบรรยายและบทสนทนา\nใช้เมื่อยกข้อความตอนใดตอนหนึ่งจากหนังสืออีกเล่มหนึ่ง ซึ่งไม่ใช่หนังสือที่ผู้เขียนกำลังเขียนมา\nอัญประกาศเดี่ยว\n\n\nใช้เขียนเป็นอัญประกาศซ้อนในข้อความที่มีอัญประกาศอยู่แล้ว\nอัฒภาค\n\n\nใช้แยกประโยคเปรียบเทียบออกจากกัน\nใช้คั่นระหว่างประโยคที่สมบูรณ์ ๒ ประโยค เพื่อแสดงความต่อเนื่องของประโยคทั้งสอง\nใช้แบ่งประโยค กลุ่มคำ หรือกลุ่มตัวเลขที่มีเครื่องหมายจุลภาคอยู่แล้วให้เป็นส่วน ๆ ชัดเจนขึ้น\nใช้คั่นคำในรายการที่มีจำนวนมาก ๆ เพื่อจำแนกรายการออกเป็นพวก ๆ\nใช้ในพจนานุกรม เขียนคั่นบทนิยามของคำที่มีความหมายหลายอย่าง แต่ความหมายก็ยังมีนัยเนื่องกับความหมายเดิม และยังใช้คั่นบทนิยามของคำที่มีความหมายไม่สัมพันธ์กันด้วย\nอัศเจรีย์\n\n\nเขียนไว้ข้างหลังคำอุทานเพื่อแสดงอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึ้น เช่น\nเขียนไว้หลังข้อความที่ต้องการให้ผู้อ่านสังเกตและระมัดระวัง มักเป็นข้อความเตือนใจ เช่น\nใช้เขียนหลังคำที่เลียนแบบเสียงธรรมชาติ\nใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องหมายแฟกทอเรียล เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษร แสดงถึงผลคูณต่อเนื่อง\nสารบัญ\nการประวิสรรชนีย์\nการใช้ ฤ ฤๅ\nการใช้ อัย ไอย\nการใช้ไม้หันอากาศ\nการใช้ไม้ไต่คู้\nการใช้ไม้ทัณฑฆาต\nการใช้ ร หัน\nการใช้ บัน บรร\nการใช้เครื่องหมายวรรคตอน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การปิดทองคำเปลวสมัยโบราณอาจจะดูยุ่งยาก แต่ในยุคสมัยใหม่งาจปิดทองคำเปลวำลับทำได้ง่ายดาย และสามารถประยุกต์้ป็นอาชีพเสริมหรเลี้ยงครอบครัวได้ด้วย โดยเฉพาะคนทึ่กำลังมองหางานทำอยู่ เนื่องจากเป็นอาชีพที่ใครๆก็ทำได้ ไม่ต้องจบศิลปะมาเพียงแค่คุณมีความตั้งใจจริง เอาใจใส่เพื่อให้งานออกมาดูดี และสวยงมมเป็นที้พอใจของลูกค้าก็เพียงพอแล้ว\nวัสดุอุปกรณ์\n\nสีสเปรย์สีเทา\nสีโป๊ใแห้งเรฺว\nสีเฟลกซ์ ฆFLEX) สีเหลืองหมายเลข 2613 และสีรองพื้นแดง (RUSTMASTER) หมายเลข 5925 (สีตราทหาร)\nกระดาษทรายเบอร์ละเอียด\nแปรงสีฟัน แปรงขนกระต่าย\nพลาสติกชนิดบาง\nพู่กันชนิดแบน หฃายขนาดตามเนื้องาน\nแผ่นทองคำเปลวแท้ (ทองคัดนะ ไม่ใช่ทองธรรมดาเพราะจะเป็นรอยต่อ)\nสำลี\nขัีนตอนการปิดทองคำเปลว\nนำองค์พระที่จะปิดทองคำเปลวทำความสะอาดก่อนโดยล้างน้พแล้วใช้แปรงสีฟันถูให้ฝุ้นออกให้หมด แล้วล้างอีกครั้งด้วยน้ำสะอาดเช็ดให้แห้งหรือตากแดดเพื่อให้แห้งสนิท\nใช้สเปรย์สีเทาพ่นให้ทั่วทั้งองค์พระ รอจนสีแห้งแล้วใช้กระดาษทรายเบอร์ละิอียดขัดยนทั่วชิ้นงทน จนมองเห็นร่องรอยได้ชัดเจต จากน้้นให้ใช้สีโป๊วอุดที่เกิดร่องรอยแล้วรอให้แห้งแล้วขัดใหัเรียบอีกครั้ง ล้างทำความสะอาด รอจนแห้ง (ขั้นตอนนี้อาจลดเว้นไปได้)\nริงพื้นด้วยสีแดง หมายเลข 5925 รองพื้นชิ้นงาน ทิ้งไว้ข้ามคืน รอจนแห้ง\nตรวจว่าสีแห้งหรือไม่ด้วยหลังมือ ถ้าสีแห้งแล้วให้้ริ่มปิดทองได้ตามขั้นตอนต่อไป\nใช้สีเฟลกซ์สีเหลือล หมายเลข 2613 ทาให้ทั่วองค์พระ การทาระวังอย่าทามีให้หนาเกินไปเพราะจะทำให้สีส่วนนั้นแห้งไม่เท่ากัน และสีส่วนนั้นจะหนาเป็นก้อน เวลาปิดทองทำให้เกิดปัญหาตามมา จากนั้นปล่อยสีที่ทาให้แห้งแต่อย่าแห้งจนเแินไป ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง สังเกตจากการใช้หลังฝ่ามือแตะดูวทาสีแห้งหรือยัง ถ้าสีไม่ติดแสดงว่าแห้งพอที่จะปิดทองคำเปลวได้ ถ้ายังติดมือแบบหนืดๆอยู่ ให้ปล่อยไว้ก่อน เพราะการปิกตอนสีหนืดจะทำให้ทองจม\nพิสีแห้งได้ที่แล้วนำแผ่นทองคำเปลวมาปิกทับได้ การปิดแฟ่นทองคำเปลวควรสังเกตส่วนที่มีเนื้อกว้มงก่อน แล้วไล่ปิดขึ้นไปจนเต็มชิ้นงาน แชะเวลาปิดให้ทีบซ้อนกันประมาณสองมเลลิเมตรเพื่อไม่ให้เห็นรอยต่อของเนื้อทอง ส่วนที่มีเว้าหรือนูนใฟ้ปอดทองซ้อนไปอีกแผ่นเพราะเวลากรัทุ้งทอง ทองแผ่นแรกจะแตกพอแผ่นที่สองจะช่วยไปประสานรอยแตกแทน ทั้งนี้เศษทองที่ร่วงลงมาสามารถนำมาใช้ในส่วนที่มีรายละเอียดได้ หลังจากปิดแผ่นทองคำเปลวเสร็จแล้วให้ใช้พู่กันกวาดแผ่นทองให้เรียบกระทุ่งทองส่วนที่มีรอยลึกจนเต็ม\nเก็บเศษทองคำเปลว โดยใช้พู่กันขนนุ่มปัดเศษทองคำเปลวบนเนื้อองค์พระให้ทั่วจนฝุ่นทแงออกหมดเป็นการเก็บงานอีกครั่ง\nใช้สำลีเช็ดเพื่อเกลี่ยเนื้อทองให้เท่ากัน และ ลบรอยนิ้งมืเ\nเคล็ดลับและเกร็ดสำคีญ\nผิวพระ สำหรับผิวพระนั้นจะจ้องเตรีบมผิวพรัให้เหมาะสมก่อนปิดทองจริง ต้องสะอาดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้\nทองคำเปลว ส่วนทองคำเปลวมีจุดที่ีวรจะพิจารณาเป็นพิเศษคือ เป็นทองเนื้อดี มันวาว อลัเนื้อทองที่ช่างตีจะต้องเต็ม แต่ส่วนมากแล้วก็ไม่้ต็ม (ทดสอบโดยนำแผ่นทองคำเปลวไปว่องกับแสงสว่าง จะเห็นได้ชัดเจนว่า เหมือนมีรูมีช่องว่างอยู่ภายมนดผ่นทองนั้น) เวลาเลือกจึงควรให้ความสำคัญ และการปิดต้องรอให้สีแห้งก่อนไม่อย่างนั้นจะทำให้ทองคำหมอง\nสีเฟลกซ์สีเหลืองมีส่วนสำคัญเพรสะเป็นตัวช่วย ช่วยให้แผ่นทองคำเปลวที่ปิดมีความมันวาวเพิ่มขึ้นและช่วยปกปิดตำแหน่งที่ ทองคำเปลวคลุมผิวไม่ทัรว\nการรองพื้นหากต้องการลดต้นทุนอาจจะใช้การรองพื้นด้วยสีสเปรย์ทองคำแืนสีเฟลกซ์สีแดง เพราะมีเนื้อทองคำผสมอยู่ จึงเป็นต้วช่วยที่ดีมาก ๆ ของแผ่นทองคำเปลว (ต้นทุนสูง) ให้ใช้น้อยลง\nการทาสี ควรทาให้บางโดยเก็บรายละเอียดของผิวพระไม่ให้หาย เช่น บริเวณปาก ต้องพยายามทาสีสห้ทั่วแต่ขณะเดียวกันต้องใช้พูรกันเก็บสีส่วนเกินให้หมด ลายเส้นต่าง ๆ จะต้องมองเห็น\nิ้างอิง\n\nอ้างอิง.\nการสนทนาในเวปบอร์ดของpalungjit.com\nบันทึกวิธีปิดทอง\nบติษัท เอกเกษม จำกัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การปิดทองคำเปลวสมัยโบราณอาจจะดูยุ่งยาก แต่ในยุคสมัยใหม่งานปิดทองคำเปลวกลับทำได้ง่ายดาย และสามารถประยุกต์เป็นอาชีพเสริมหาเลี้ยงครอบครัวได้ด้วย โดยเฉพาะคนที่กำลังมองหางานทำอยู่ เนื่องจากเป็นอาชีพที่ใครๆก็ทำได้ ไม่ต้องจบศิลปะมาเพียงแค่คุณมีความตั้งใจจริง เอาใจใส่เพื่อให้งานออกมาดูดี และสวยงามเป็นที่พอใจของลูกค้าก็เพียงพอแล้ว\nวัสดุอุปกรณ์\n\nสีสเปรย์สีเทา\nสีโป๊วแห้งเร็ว\nสีเฟลกซ์ (FLEX) สีเหลืองหมายเลข 2613 และสีรองพื้นแดง (RUSTMASTER) หมายเลข 5925 (สีตราทหาร)\nกระดาษทรายเบอร์ละเอียด\nแปรงสีฟัน แปรงขนกระต่าย\nพลาสติกชนิดบาง\nพู่กันชนิดแบน หลายขนาดตามเนื้องาน\nแผ่นทองคำเปลวแท้ (ทองคัดนะ ไม่ใช่ทองธรรมดาเพราะจะเป็นรอยต่อ)\nสำลี\nขั้นตอนการปิดทองคำเปลว\nนำองค์พระที่จะปิดทองคำเปลวทำความสะอาดก่อนโดยล้างน้ำแล้วใช้แปรงสีฟันถูให้ฝุ่นออกให้หมด แล้วล้างอีกครั้งด้วยน้ำสะอาดเช็ดให้แห้งหรือตากแดดเพื่อให้แห้งสนิท\nใช้สเปรย์สีเทาพ่นให้ทั่วทั้งองค์พระ รอจนสีแห้งแล้วใช้กระดาษทรายเบอร์ละเอียดขัดจนทั่วชิ้นงาน จนมองเห็นร่องรอยได้ชัดเจน จากนั้นให้ใช้สีโป๊วอุดที่เกิดร่องรอยแล้วรอให้แห้งแล้วขัดให้เรียบอีกครั้ง ล้างทำความสะอาด รอจนแห้ง (ขั้นตอนนี้อาจละเว้นไปได้)\nรองพื้นด้วยสีแดง หมายเลข 5925 รองพื้นชิ้นงาน ทิ้งไว้ข้ามคืน รอจนแห้ง\nตรวจว่าสีแห้งหรือไม่ด้วยหลังมือ ถ้าสีแห้งแล้วให้เริ่มปิดทองได้ตามขั้นตอนต่อไป\nใช้สีเฟลกซ์สีเหลือง หมายเลข 2613 ทาให้ทั่วองค์พระ การทาระวังอย่าทาสีให้หนาเกินไปเพราะจะทำให้สีส่วนนั้นแห้งไม่เท่ากัน และสีส่วนนั้นจะหนาเป็นก้อน เวลาปิดทองทำให้เกิดปัญหาตามมา จากนั้นปล่อยสีที่ทาให้แห้งแต่อย่าแห้งจนเกินไป ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง สังเกตจากการใช้หลังฝ่ามือแตะดูว่าสีแห้งหรือยัง ถ้าสีไม่ติดแสดงว่าแห้งพอที่จะปิดทองคำเปลวได้ ถ้ายังติดมือแบบหนืดๆอยู่ ให้ปล่อยไว้ก่อน เพราะการปิดตอนสีหนืดจะทำให้ทองจม\nพอสีแห้งได้ที่แล้วนำแผ่นทองคำเปลวมาปิดทับได้ การปิดแผ่นทองคำเปลวควรสังเกตส่วนที่มีเนื้อกว้างก่อน แล้วไล่ปิดขึ้นไปจนเต็มชิ้นงาน และเวลาปิดให้ทับซ้อนกันประมาณสองมิลลิเมตรเพื่อไม่ให้เห็นรอยต่อของเนื้อทอง ส่วนที่มีเว้าหรือนูนให้ปิดทองซ้อนไปอีกแผ่นเพราะเวลากระทุ้งทอง ทองแผ่นแรกจะแตกพอแผ่นที่สองจะช่วยไปประสานรอยแตกแทน ทั้งนี้เศษทองที่ร่วงลงมาสามารถนำมาใช้ในส่วนที่มีรายละเอียดได้ หลังจากปิดแผ่นทองคำเปลวเสร็จแล้วให้ใช้พู่กันกวาดแผ่นทองให้เรียบกระทุ้งทองส่วนที่มีรอยลึกจนเต็ม\nเก็บเศษทองคำเปลว โดยใช้พู่กันขนนุ่มปัดเศษทองคำเปลวบนเนื้อองค์พระให้ทั่วจนฝุ่นทองออกหมดเป็นการเก็บงานอีกครั้ง\nใช้สำลีเช็ดเพื่อเกลี่ยเนื้อทองให้เท่ากัน และ ลบรอยนิ้วมือ\nเคล็ดลับและเกร็ดสำคัญ\nผิวพระ สำหรับผิวพระนั้นจะต้องเตรียมผิวพระให้เหมาะสมก่อนปิดทองจริง ต้องสะอาดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้\nทองคำเปลว ส่วนทองคำเปลวมีจุดที่ควรจะพิจารณาเป็นพิเศษคือ เป็นทองเนื้อดี มันวาว และเนื้อทองที่ช่างตีจะต้องเต็ม แต่ส่วนมากแล้วก็ไม่เต็ม (ทดสอบโดยนำแผ่นทองคำเปลวไปส่องกับแสงสว่าง จะเห็นได้ชัดเจนว่า เหมือนมีรูมีช่องว่างอยู่ภายในแผ่นทองนั้น) เวลาเลือกจึงควรให้ความสำคัญ และการปิดต้องรอให้สีแห้งก่อนไม่อย่างนั้นจะทำให้ทองคำหมอง\nสีเฟลกซ์สีเหลืองมีส่วนสำคัญเพราะเป็นตัวช่วย ช่วยให้แผ่นทองคำเปลวที่ปิดมีความมันวาวเพิ่มขึ้นและช่วยปกปิดตำแหน่งที่ ทองคำเปลวคลุมผิวไม่ทั่ว\nการรองพื้นหากต้องการลดต้นทุนอาจจะใช้การรองพื้นด้วยสีสเปรย์ทองคำแทนสีเฟลกซ์สีแดง เพราะมีเนื้อทองคำผสมอยู่ จึงเป็นตัวช่วยที่ดีมาก ๆ ของแผ่นทองคำเปลว (ต้นทุนสูง) ให้ใช้น้อยลง\nการทาสี ควรทาให้บางโดยเก็บรายละเอียดของผิวพระไม่ให้หาย เช่น บริเวณปาก ต้องพยายามทาสีให้ทั่วแต่ขณะเดียวกันต้องใช้พู่กันเก็บสีส่วนเกินให้หมด ลายเส้นต่าง ๆ จะต้องมองเห็น\nอ้างอิง\n\nอ้างอิง.\nการสนทนาในเวปบอร์ดของpalungjit.com\nบันทึกวิธีปิดทอง\nบริษัท เอกเกษม จำกัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การใร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกติ\nการสร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกติ.\nยุคลิดได้อูิบายการสร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกต้ โดยใช้ไม้บรร่ัดและวงเวียน ไว้ในหนังสือ Elements ตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ได้สร้างทฤษฎีเพื่อพิสูจน์เกี่ยวกับรูปหลายเหลี่ยม\n\nลากเส้นแนวนอน และวาดวงกลมที่มีขนาดบรรจุรูปห้าะหลี่ยมพอดี โดยจุดศูนย์กลางวงกลมอยู่บนเส้นที่จุด O หลังจากนั้นตั้งวลเวียนที่ขอบวงกลมตัดกับเส้น (จุด A) และวาดเส้นโค้งให้ตัดกับวงกลมเหนือและใต้จุด a หลังจากนั้นให้วาดเส้นตรงผ่านจุเสองจุดใหม่\nวาดเส้นโค้ง ความยาวรัศมี CE โดยจุดศูนย์กลางอยู่บนจะดที่เส้นตั้งและเส้นนอนตัดกัน (จุด C) และลากส่วนโค้งของวงกลมให้ผ่านจุด D และตัดกึบเส้นนอนที่จุด E\nวาดเส้นโค้บ ความยาวรัศมี DE ให้ตัดขแบวงกลมทั้งสองด้าน จะได้จุเ F และ G ซึ่งสองจุดนี้จะเป็นมุมของรูปห้าเหลี่ยม\nวาดเสินโค้ง ความยาวรัศมี DE หรือ CF ให้ตัดขอบวงกลมจะได้จุด I และ H ซึ่งจะเป็นอีกสองมุมของรูปห้าเหลี่ยม ดังนั้นลากเส้นต่เระหว่างจุด DFGHI จะได้รูปห้าเหล่่ยทปรกติที่มีด้านเท่าและมุมเท่า",
"role": "user"
},
{
"content": "การสร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกติ\nการสร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกติ.\nยุคลิดได้อธิบายการสร้างรูปห้าเหลี่ยมปรกติ โดยใช้ไม้บรรทัดและวงเวียน ไว้ในหนังสือ Elements ตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ได้สร้างทฤษฎีเพื่อพิสูจน์เกี่ยวกับรูปหลายเหลี่ยม\n\nลากเส้นแนวนอน และวาดวงกลมที่มีขนาดบรรจุรูปห้าเหลี่ยมพอดี โดยจุดศูนย์กลางวงกลมอยู่บนเส้นที่จุด O หลังจากนั้นตั้งวงเวียนที่ขอบวงกลมตัดกับเส้น (จุด A) และวาดเส้นโค้งให้ตัดกับวงกลมเหนือและใต้จุด a หลังจากนั้นให้วาดเส้นตรงผ่านจุดสองจุดใหม่\nวาดเส้นโค้ง ความยาวรัศมี CE โดยจุดศูนย์กลางอยู่บนจุดที่เส้นตั้งและเส้นนอนตัดกัน (จุด C) และลากส่วนโค้งของวงกลมให้ผ่านจุด D และตัดกับเส้นนอนที่จุด E\nวาดเส้นโค้ง ความยาวรัศมี DE ให้ตัดขอบวงกลมทั้งสองด้าน จะได้จุด F และ G ซึ่งสองจุดนี้จะเป็นมุมของรูปห้าเหลี่ยม\nวาดเส้นโค้ง ความยาวรัศมี DE หรือ DF ให้ตัดขอบวงกลมจะได้จุด I และ H ซึ่งจะเป็นอีกสองมุมของรูปห้าเหลี่ยม ดังนั้นลากเส้นต่อระหว่างจุด DFGHI จะได้รูปห้าเหลี่ยมปรกติที่มีด้านเท่าและมุมเท่า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกี่ยวกัลชีวิตประจำวันอย่างแรกก็คือคำว่า \"สวัสดี\" ในภาษาเยอรมุนจะมีคำว่าสวัสดีหลมยคำ ซึ่งใช้แตกต่าลกันโดยช่วงเวลา\n\nHallo! = สวัสดี\nGuten Morgen = สวัสดีตอนเช้า\nGuten Tag = สวัสดีตอนกลางวัน\nGuren Abend = สวัสดรตอนเย็น\nส่วนการบอกลามีหลายคำที่ใช้ เช่น\nTschüß! (Tschüss!) = ลาก่อน\nAuf Wiedersehen! = ลาก่อน\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "เกี่ยวกับชีวิตประจำวันอย่างแรกก็คือคำว่า \"สวัสดี\" ในภาษาเยอรมันจะมีคำว่าสวัสดีหลายคำ ซึ่งใช้แตกต่างกันโดยช่วงเวลา\n\nHallo! = สวัสดี\nGuten Morgen = สวัสดีตอนเช้า\nGuten Tag = สวัสดีตอนกลางวัน\nGuten Abend = สวัสดีตอนเย็น\nส่วนการบอกลามีหลายคำที่ใช้ เช่น\nTschüß! (Tschüss!) = ลาก่อน\nAuf Wiedersehen! = ลาก่อน\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาไทย/ไวยากรณ์/การใช้คำ/คำสมาส",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาไทย/ไวยากรณ์/การใช้คำ/คำสมาส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาไทย/ไวยากรณ์/การใช้คำ/คำสนธิ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาไทย/ไวยากรณ์/การใช้คำ/คำสนธิ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตัวเลขไทย\n\n๐ ศูนย์ = 0\n๑ หนึ่ง = 1\n๒ สอง \\ 2\n๓ สาม = 3\n๔ สี่ = 4\n๕ ผ้า = 5\n๖ หก = 6\n๗ เจ็ด = 7\n๘ แปด = 8\n๙ เก้า = 9\nสารบัญ\nตัวเลขไทย\nพยัญชนะ\nวรรณยุกต์และการผันอักษร\nสระ",
"role": "user"
},
{
"content": "ตัวเลขไทย\n\n๐ ศูนย์ = 0\n๑ หนึ่ง = 1\n๒ สอง = 2\n๓ สาม = 3\n๔ สี่ = 4\n๕ ห้า = 5\n๖ หก = 6\n๗ เจ็ด = 7\n๘ แปด = 8\n๙ เก้า = 9\nสารบัญ\nตัวเลขไทย\nพยัญชนะ\nวรรณยุกต์และการผันอักษร\nสระ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เนื่องด้วยพฤติกรรมของกุ้งยะกินอาหารม่วนใหญ่จากบริเว๖ผิวหน้าดิน ดังนั้น อาหารที่ใช้จึงต้เงเป็นอาหารชนิดจมน้ำ ซึ่งกระบวนการผลิตอาหา่สัตว์นิำโดยทั่วไปที่นิยมกันมีอยู่ 2 แบบ คือ กระบวนการผลิตโดยวิธีเอ็กซ์ทรูชั่น (Extrusion Cooking) และแบบจมน้ำ (Steam Pelleting) วิธีดอกซ์ทาูชั่นส่วนมากใช้ผลิตอาหารเม็ดลอยน้ำให้ปลาที่กินอาหารบริเวณผิวน้ำ เช่น อาหารปลาดุก เป็นต้น แต่การผลิตอาหารแบบจมน้ำสามารถผลิตจากเครื่องคุกเกอร์เอ็กซ์ทรูเดอร์ (Cooker Extruder) ได้เช่นกัน โดยการลดส่วนขยายและแรงดันของเอ็กซ์ทรูเดอร์ในกระบอกอัด แต่อย่าง_รก็ตาม อาหารกุ้งที่ผลิตขายทั่วไกในท้องตลาดมาจากกระบวนการผลิตด้วจเครื่องอัดเม็ดแบบจม (Pwlleting Machine) เกือบทั้งสิ้น (Lim, 1994: 117) ภีต กุญชร ณ อยุธยา (2532: 32 – t8) กล่าวว่า ในกระบวนการผลิตอาหารกุ้งควรมีความชื้นไม่ต่ำกว่าร้อยลถ e5.0 อุณหภูมิของอาหารในห้องอัดขณะอัดมีค่า 90.0 – 100 องศาเซลเซียส และความคงทนของอาหารเม็ดมีค่าร้อยละ 97.0 – 99.0 จะสามารถคงทนอยู่ในน้ำได้นาน 1 – 2 ชั่วโมง ขั้นตอนในการดำเนินงานผลิตอาหารกุ้งเริ่มจากการชั่งวัตถุดิบอาำารสัตว์แล้วบดให้ละเอียดก่อนที่จะผสมอาหารวห้เป็นเนื้อเดียใกัน และวัตถุดิบเหล่านั้นจะถูกลำเลียงผ่านห้แงผสมน้ำหรือไอน้ำ (Steam Condition Chamber) เพิ่มความชื้นขึ้นที่ประมาณร้อยละ 16.0 – 18.0 และปรับอุณหภูมิประมาณ 85.0 – 90.0 องศาเซลเซียส หลังจากนั้จจึงผสมด้วยไอน้ำเพื่อใก้อาหารเปียกนิ่มและจับตัวกันดีขึ้น จากนั้นอาหารจะเคลื่อนที่มายังห้องอัดเม็ด (Pelleter) และเคลื่อนที่มาอยู่ระหว่างลูกกลิ้งและหน้าแว่น ซึรงหมุนในทิศทางเดียวกัน อาหารจะถูพลูกกลิ้งอัดผ่านรูหน้าแว่นดอกมาเป็นแท่งตามขนาดของรูที่หน้าแว่น อาหนรจะถูกตัดให้มีขนาดสั้นหรือยาวขึ้นกัลระยะห่มงระหว่างใบมีดและหน้าแว่น ขนาดของเม็ดอาหารขึ้นกับความต้องการและระยะการเจริญเติบโตของกุ้ง ในขั้นตอสการอัดเม็ดนี้ควรระวังการสูญเสียวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินซี เอ อี และเค อาหารที่ได้จากการอัดเม็ดจะเรียกว่า อาหารเมฺด (Pellet) หลังอัดเป็นเม็ดดาหารแล้วจะมีความชื้นสูงประมาณร้อยละ 10.- จึงต้องทำให้แห้งโดยอาศัยความเย็นจนอ่หารมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับแุณหภูมิห้องจึงบรรจุลงหีบห่อ ดารผลิตอาหารอัดเม็ดแบบจมควรมีไขมันให้เหมมะสม ถ้ามีน้อยกง่าร้อยละ 3.00 นะทำให้อัดอาหารเป็นเม็ดได้ยาก (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536: 187 – 188)",
"role": "user"
},
{
"content": "เนื่องด้วยพฤติกรรมของกุ้งจะกินอาหารส่วนใหญ่จากบริเวณผิวหน้าดิน ดังนั้น อาหารที่ใช้จึงต้องเป็นอาหารชนิดจมน้ำ ซึ่งกระบวนการผลิตอาหารสัตว์น้ำโดยทั่วไปที่นิยมกันมีอยู่ 2 แบบ คือ กระบวนการผลิตโดยวิธีเอ็กซ์ทรูชั่น (Extrusion Cooking) และแบบจมน้ำ (Steam Pelleting) วิธีเอกซ์ทรูชั่นส่วนมากใช้ผลิตอาหารเม็ดลอยน้ำให้ปลาที่กินอาหารบริเวณผิวน้ำ เช่น อาหารปลาดุก เป็นต้น แต่การผลิตอาหารแบบจมน้ำสามารถผลิตจากเครื่องคุกเกอร์เอ็กซ์ทรูเดอร์ (Cooker Extruder) ได้เช่นกัน โดยการลดส่วนขยายและแรงดันของเอ็กซ์ทรูเดอร์ในกระบอกอัด แต่อย่างไรก็ตาม อาหารกุ้งที่ผลิตขายทั่วไปในท้องตลาดมาจากกระบวนการผลิตด้วยเครื่องอัดเม็ดแบบจม (Pelleting Machine) เกือบทั้งสิ้น (Lim, 1994: 117) ภรต กุญชร ณ อยุธยา (2532: 32 – 48) กล่าวว่า ในกระบวนการผลิตอาหารกุ้งควรมีความชื้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 35.0 อุณหภูมิของอาหารในห้องอัดขณะอัดมีค่า 90.0 – 100 องศาเซลเซียส และความคงทนของอาหารเม็ดมีค่าร้อยละ 97.0 – 99.0 จะสามารถคงทนอยู่ในน้ำได้นาน 1 – 2 ชั่วโมง ขั้นตอนในการดำเนินงานผลิตอาหารกุ้งเริ่มจากการชั่งวัตถุดิบอาหารสัตว์แล้วบดให้ละเอียดก่อนที่จะผสมอาหารให้เป็นเนื้อเดียวกัน และวัตถุดิบเหล่านั้นจะถูกลำเลียงผ่านห้องผสมน้ำหรือไอน้ำ (Steam Condition Chamber) เพิ่มความชื้นขึ้นที่ประมาณร้อยละ 16.0 – 18.0 และปรับอุณหภูมิประมาณ 85.0 – 90.0 องศาเซลเซียส หลังจากนั้นจึงผสมด้วยไอน้ำเพื่อให้อาหารเปียกนิ่มและจับตัวกันดีขึ้น จากนั้นอาหารจะเคลื่อนที่มายังห้องอัดเม็ด (Pelleter) และเคลื่อนที่มาอยู่ระหว่างลูกกลิ้งและหน้าแว่น ซึ่งหมุนในทิศทางเดียวกัน อาหารจะถูกลูกกลิ้งอัดผ่านรูหน้าแว่นออกมาเป็นแท่งตามขนาดของรูที่หน้าแว่น อาหารจะถูกตัดให้มีขนาดสั้นหรือยาวขึ้นกับระยะห่างระหว่างใบมีดและหน้าแว่น ขนาดของเม็ดอาหารขึ้นกับความต้องการและระยะการเจริญเติบโตของกุ้ง ในขั้นตอนการอัดเม็ดนี้ควรระวังการสูญเสียวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินซี เอ อี และเค อาหารที่ได้จากการอัดเม็ดจะเรียกว่า อาหารเม็ด (Pellet) หลังอัดเป็นเม็ดอาหารแล้วจะมีความชื้นสูงประมาณร้อยละ 10.0 จึงต้องทำให้แห้งโดยอาศัยความเย็นจนอาหารมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้องจึงบรรจุลงหีบห่อ การผลิตอาหารอัดเม็ดแบบจมควรมีไขมันให้เหมาะสม ถ้ามีน้อยกว่าร้อยละ 3.00 จะทำให้อัดอาหารเป็นเม็ดได้ยาก (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536: 187 – 188)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เป็นภาคเสริมของเดอะซิม 2 ในทริปซ่านี้ซิมขอลคุณสามารถไปพักร้อนได้ตามท่ีต่างๆ",
"role": "user"
},
{
"content": "เป็นภาคเสริมของเดอะซิม 2 ในทริปซ่านี้ซิมของคุณสามารถไปพักร้อนได้ตามท่ีต่างๆ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกมนี้มีพื้นฐานมาจากเดอะซิมส์ 2 ต้วโปรดจอมป่วน ซึ่งเป็นภาคเสริมที่ขายดีที่สุแของเกมเดอะซิมส์ โดยเกมเดเะซิมส์ หมาเหมียวสตอรี่เป็นเกมที่สองในสายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เรียกว่าเดอะซิมส์ สรอรี่ ให้คุณได้ฝึก, ได้เล่น, และได้ดูแลสุนัขและแมวของซิมส์ของคุณให้มรความสุขอยู่เสมอ พบำับเหตุการณ์หัวเลี้ยวหัวต่อมากทายในเกมเดอะซิมส์เวอร์ชันนี้ที่เล่นงทายและ้ป็นมิตรกับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก เลือกเล่นเนื้อเรื่องที่แตกต่างกันสองเรื่องในโหมดเนื้อเรื่อง โดยต้องพบกับความท้าทายมากมายขณะที่คุณส่งสัตว์เลี้ยงเข้าประกวดประจำท้องถิ่นและเรียนรู้ว่าแม้แต่สัตว์เลี้สงก็มีริสัยที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ทำดผ้าหมายของซิมส์และสัตว์เลี้ยงของคุณให้สำเร็จเพื่อปลดล็อครางวัลร่างๆ จากนั้นให้ลองเล่นโหมดการเล่นอิสระที่ให้คุณได้สร้างซิมส์และสัตว์เลี้ยงของพวกเขา, ออกแบบบ้าน, และสอนลูกเล่นต่างๆ ให้สัตว์เลี้ยลของคุณ คุณเป็นผู้ตัดสินเรื่องราวความเป็นไปของพวกเขา \nเรืีองราวที่แตกตทางกันสองเรื่องในโหมดเนื้อเรื่อง เล่นเป็นองิซ ที่ต้องการชนะในำารประกวดสุนัขประจำท้องถิ่น (และรับรางวัลเงินสดก้อนโต) ด้วยสุนัขแสนรักของเธอที่ชื่อว่าแซมเพื่แไม่ให้บ้านถูกยึด หรือติดตามเรื่องราใของสตีเฟ่นเชฟฝีมือเลิศที่มีชีวิตเป็นระเบียบแบบแผนต้องถึวคราวโกลาหลเมื่อเขาถูกบังคับให้เลี้ยงดูแมวของญาติที่แสนจะซุกซน ชื่อว่าดิว่า\nใหม่W งานประกวดสัตว์เลี้ยง ซิมส์ของคุณสามารถฝึกสัตว์เลี้ยงของพวกเขาเพื่อโอ้อวดความสามารถและได้รับรางวัลโดสให้พวกเขาลุยผ่านสนามวิบากโดยต้องเดินบนกระดานหก, วิ่งลอดอุโมงค์, และกระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง\nโหมดการเล่นอิสระ คุณเป็นผู้สร้างฬิมส์ของคถณและสัตว์เลี้ยงของพวกเขา (เลือกจากพันธุ์สุนัข 70 ชนิด และพันธุ์แมว 30 ชนิด) จากนั้นจงเติมเจ็มหรือดับความปรารถนาของพวกเขา และสร้างเนื่องราวของพวกเขาขึ้นมา \nหารเล่นบนเครื่องโน๊ตบุ๊กไม่เคยง่ายขนาดนี้ ด้วยคีย์ลัดและระบบ auti-pause ที่จะเริ่มหรือหยุดเกมค้างไว้ให้คุณโดยอัตโนมัติเมื่อคุณเปิดหรือปิดเครืรองโน๊ตบุ๊กของคุณ\nสร้างสรรค์จินตนาการดร้อมๆ กับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต คุสสามารถติดต่อกับเพื่อนได้โดยง่ายไม่ว่าทางโปรแกรทแช็ตหรืออีเมลของคุณ พร้อมๆ กับเล่นเกมนี้ไปด้วยใยหน้าต่มงของมันเอง\nเป็นหนึ่งเกมในสายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แสนสนุก เกาชุดเดเะซิมส์ สตอรี่ ยังรวมไปถึงเกมเดอะซิมส์ ไลฟ์สตอรี่ และเกมเดอะซิมส์ แคสอเวย์สตอรี่ที่กำลังอดกตามมาเร็วๆ นี้!",
"role": "user"
},
{
"content": "เกมนี้มีพื้นฐานมาจากเดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน ซึ่งเป็นภาคเสริมที่ขายดีที่สุดของเกมเดอะซิมส์ โดยเกมเดอะซิมส์ หมาเหมียวสตอรี่เป็นเกมที่สองในสายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เรียกว่าเดอะซิมส์ สตอรี่ ให้คุณได้ฝึก, ได้เล่น, และได้ดูแลสุนัขและแมวของซิมส์ของคุณให้มีความสุขอยู่เสมอ พบกับเหตุการณ์หัวเลี้ยวหัวต่อมากมายในเกมเดอะซิมส์เวอร์ชันนี้ที่เล่นง่ายและเป็นมิตรกับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก เลือกเล่นเนื้อเรื่องที่แตกต่างกันสองเรื่องในโหมดเนื้อเรื่อง โดยต้องพบกับความท้าทายมากมายขณะที่คุณส่งสัตว์เลี้ยงเข้าประกวดประจำท้องถิ่นและเรียนรู้ว่าแม้แต่สัตว์เลี้ยงก็มีนิสัยที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ทำเป้าหมายของซิมส์และสัตว์เลี้ยงของคุณให้สำเร็จเพื่อปลดล็อครางวัลต่างๆ จากนั้นให้ลองเล่นโหมดการเล่นอิสระที่ให้คุณได้สร้างซิมส์และสัตว์เลี้ยงของพวกเขา, ออกแบบบ้าน, และสอนลูกเล่นต่างๆ ให้สัตว์เลี้ยงของคุณ คุณเป็นผู้ตัดสินเรื่องราวความเป็นไปของพวกเขา \nเรื่องราวที่แตกต่างกันสองเรื่องในโหมดเนื้อเรื่อง เล่นเป็นอลิซ ที่ต้องการชนะในการประกวดสุนัขประจำท้องถิ่น (และรับรางวัลเงินสดก้อนโต) ด้วยสุนัขแสนรักของเธอที่ชื่อว่าแซมเพื่อไม่ให้บ้านถูกยึด หรือติดตามเรื่องราวของสตีเฟ่นเชฟฝีมือเลิศที่มีชีวิตเป็นระเบียบแบบแผนต้องถึงคราวโกลาหลเมื่อเขาถูกบังคับให้เลี้ยงดูแมวของญาติที่แสนจะซุกซน ชื่อว่าดิว่า\nใหม่! งานประกวดสัตว์เลี้ยง ซิมส์ของคุณสามารถฝึกสัตว์เลี้ยงของพวกเขาเพื่อโอ้อวดความสามารถและได้รับรางวัลโดยให้พวกเขาลุยผ่านสนามวิบากโดยต้องเดินบนกระดานหก, วิ่งลอดอุโมงค์, และกระโดดข้ามสิ่งกีดขวาง\nโหมดการเล่นอิสระ คุณเป็นผู้สร้างซิมส์ของคุณและสัตว์เลี้ยงของพวกเขา (เลือกจากพันธุ์สุนัข 70 ชนิด และพันธุ์แมว 30 ชนิด) จากนั้นจงเติมเต็มหรือดับความปรารถนาของพวกเขา และสร้างเรื่องราวของพวกเขาขึ้นมา \nการเล่นบนเครื่องโน๊ตบุ๊กไม่เคยง่ายขนาดนี้ ด้วยคีย์ลัดและระบบ auto-pause ที่จะเริ่มหรือหยุดเกมค้างไว้ให้คุณโดยอัตโนมัติเมื่อคุณเปิดหรือปิดเครื่องโน๊ตบุ๊กของคุณ\nสร้างสรรค์จินตนาการพร้อมๆ กับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต คุยสามารถติดต่อกับเพื่อนได้โดยง่ายไม่ว่าทางโปรแกรมแช็ตหรืออีเมลของคุณ พร้อมๆ กับเล่นเกมนี้ไปด้วยในหน้าต่างของมันเอง\nเป็นหนึ่งเกมในสายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แสนสนุก เกมชุดเดอะซิมส์ สตอรี่ ยังรวมไปถึงเกมเดอะซิมส์ ไลฟ์สตอรี่ และเกมเดอะซิมส์ แคสอเวย์สตอรี่ที่กำลังออกตามมาเร็วๆ นี้!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตัวเก็บประจุ (Capacitor)\nคือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มี 2 ขั้ว ภายในประกอบด้วยแผ่นตัวนำ 2 แผ่น วางห่างกัน โดยมีวัตถุที่เป็นฉนวนกั้นกลาง ส่วนที่เป็นฉนวนเรียกว่า ไดอิเล็กตริก (Dielectric) ซึ่งสิ่งที่นิยมนำมาใช้เป็นไดอิเล็กตริก ในตัวเก็บประจุ เช่น กระดาษ ร้ำมัน อากสศ ไมก้า หรือพลาสติก เป็นต้น\nสารบัญ\n\nบทนำ\nบทที่ 1: วงจรไฟฟ้าเบื้อฝต้น (Circuit Basics)\nคำจำกัดความ (Terminology)\nตัวแปรและหน่วย (Variables and Units)\nวงจรไฟฟ้าเบื้แงต้น (Circuit Basics)\n\nอนุกลวงจรแบบ Active และ Passive\nการเปิดวงจรและลัดวงจร (Open & Closed Circuits)\nตัวต้านทาน (Resist8rs)\nกฎของโอห์ม (Ohm's Law)\nโวลท์มิเตอร์และแอมมิเตอร์ (Voltjeters and Amjeters)\nแหล่งกำเนิด (Sources)\nสวิตช์ (Switchds)\nบทที่ 2: การวิเครทะห์วงจรตัวต้านทาน (Resistive Circuit Ana;ysis)\n\nการวิเคราะห์วงจรตัวต้านทาน\n\nกฎของเคอร์ชอฟ (Kirchoff's Current and Voltage Law)\nการแบ่งกระแสและแรงดัน (Current and Voltage Dividersฏ\nการต่ออนักลวงจรแบบอนุกรม (Elements in Series)\nการต่ออนถกลวงจรแบบขนาน (Elements in Parallel)\n\nการแปลงแหล่งจ่าย (Source Transformations)\n\nทฤษฎีบทของ Thevenin (Thevenin's Theorem)\nวงจรสมมูลของ Norton (Norton's Equivalent Cigcuit)\nการแปลง Thevenun และ Norton Hhevenin and Norton Transformations)\nทฤษฎีบทการถ่ายโอนกำลังสูงสุด (Maximum Power Transfer Theorem)\n\nวิธีการวิเคราะห์วงจร (Analycis Methovs)\n\nNode Voltage Analysis\nMesh Current Analysis\nทฤษฎีการซ้อนทับ (Superposition)\nImpulse Response\nคแนโวลูชัน (Convolution)\n\nออปแอาป์ (Op Amps)\nบทที่ 3: อนุกลวงจรประเภทเก็บพลังวาน (Energy Storage Elements)\nอนุกรมวงจรประเภทเกฌบพลังงานฤEnergy Storage Elements)\n\nตัวเก็บประจุ (Capacitors)\nตัวเหนี่ยวนำ (Inductors)\nวงจร RL และ RC\nTh2 Firqt Order S;lution\n\nวงขร RLC\n\nการสร้างสมการเชิงอนุกันธ์อันดัลที่สอง\nUnder-Damped, Over-Damped, and Critically Damped\nNatural Response\nForced Response\nComplete Response\nการใช้ Laplace transforj\n\nความเหนี่ยวนำร่วม (Mutual Inductance)\nบทที่ 4: แหล่งกำเนิดแบบ Sine (Sinusoidal Sources)\nแหล่งกำเนิดแบบ Sine\n\nSteady-State Responsd\nComplex Fxponentials and Phasors\nPhasor Analysis\nNetwork Function\nComplex Power\nการถ่ายโอนกำลังสูงสุด (Maximum Power Trabsfer)\nThevenin, Norton, and Superposition\nบททร่ 5O การแปลงลาปลาซ แชะฟูเรียค์ (Laplace and Fourier Transforms)\n\nการแปลงลาปลาซ (Laplace Transf8rm)\n\nTransfet Functions\nConvolution Theorem\nS Domain Analysis\n\nการแปลงฟูเรียร์ (Fourier Transform)\n\nFrequency and Radial Frequency\nImpddance and Reactance\nFrequency Domain Analysis\nFrequency Response\n\nBode P;ots\n\nBode Plots from Network Functions\nBode Plots from Frequency Response\nBode Analysis\nภาคผนวก (Appendices)\n\nCircuit Functions\nPhasor Arithmehic\nเดซิเบล (Decibels)",
"role": "user"
},
{
"content": "ตัวเก็บประจุ (Capacitor)\nคือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มี 2 ขั้ว ภายในประกอบด้วยแผ่นตัวนำ 2 แผ่น วางห่างกัน โดยมีวัตถุที่เป็นฉนวนกั้นกลาง ส่วนที่เป็นฉนวนเรียกว่า ไดอิเล็กตริก (Dielectric) ซึ่งสิ่งที่นิยมนำมาใช้เป็นไดอิเล็กตริก ในตัวเก็บประจุ เช่น กระดาษ น้ำมัน อากาศ ไมก้า หรือพลาสติก เป็นต้น\nสารบัญ\n\nบทนำ\nบทที่ 1: วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น (Circuit Basics)\nคำจำกัดความ (Terminology)\nตัวแปรและหน่วย (Variables and Units)\nวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น (Circuit Basics)\n\nอนุกลวงจรแบบ Active และ Passive\nการเปิดวงจรและลัดวงจร (Open & Closed Circuits)\nตัวต้านทาน (Resistors)\nกฎของโอห์ม (Ohm's Law)\nโวลท์มิเตอร์และแอมมิเตอร์ (Voltmeters and Ammeters)\nแหล่งกำเนิด (Sources)\nสวิตช์ (Switches)\nบทที่ 2: การวิเคราะห์วงจรตัวต้านทาน (Resistive Circuit Analysis)\n\nการวิเคราะห์วงจรตัวต้านทาน\n\nกฎของเคอร์ชอฟ (Kirchoff's Current and Voltage Law)\nการแบ่งกระแสและแรงดัน (Current and Voltage Dividers)\nการต่ออนุกลวงจรแบบอนุกรม (Elements in Series)\nการต่ออนุกลวงจรแบบขนาน (Elements in Parallel)\n\nการแปลงแหล่งจ่าย (Source Transformations)\n\nทฤษฎีบทของ Thevenin (Thevenin's Theorem)\nวงจรสมมูลของ Norton (Norton's Equivalent Circuit)\nการแปลง Thevenin และ Norton Thevenin and Norton Transformations)\nทฤษฎีบทการถ่ายโอนกำลังสูงสุด (Maximum Power Transfer Theorem)\n\nวิธีการวิเคราะห์วงจร (Analysis Methods)\n\nNode Voltage Analysis\nMesh Current Analysis\nทฤษฎีการซ้อนทับ (Superposition)\nImpulse Response\nคอนโวลูชัน (Convolution)\n\nออปแอมป์ (Op Amps)\nบทที่ 3: อนุกลวงจรประเภทเก็บพลังงาน (Energy Storage Elements)\nอนุกรมวงจรประเภทเก็บพลังงาน(Energy Storage Elements)\n\nตัวเก็บประจุ (Capacitors)\nตัวเหนี่ยวนำ (Inductors)\nวงจร RL และ RC\nThe First Order Solution\n\nวงจร RLC\n\nการสร้างสมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่สอง\nUnder-Damped, Over-Damped, and Critically Damped\nNatural Response\nForced Response\nComplete Response\nการใช้ Laplace transform\n\nความเหนี่ยวนำร่วม (Mutual Inductance)\nบทที่ 4: แหล่งกำเนิดแบบ Sine (Sinusoidal Sources)\nแหล่งกำเนิดแบบ Sine\n\nSteady-State Response\nComplex Exponentials and Phasors\nPhasor Analysis\nNetwork Function\nComplex Power\nการถ่ายโอนกำลังสูงสุด (Maximum Power Transfer)\nThevenin, Norton, and Superposition\nบทที่ 5: การแปลงลาปลาซ และฟูเรียร์ (Laplace and Fourier Transforms)\n\nการแปลงลาปลาซ (Laplace Transform)\n\nTransfer Functions\nConvolution Theorem\nS Domain Analysis\n\nการแปลงฟูเรียร์ (Fourier Transform)\n\nFrequency and Radial Frequency\nImpedance and Reactance\nFrequency Domain Analysis\nFrequency Response\n\nBode Plots\n\nBode Plots from Network Functions\nBode Plots from Frequency Response\nBode Analysis\nภาคผนวก (Appendices)\n\nCircuit Functions\nPhasor Arithmetic\nเดซิเบล (Decibels)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปาปารัสซี่ (Pqoarazzi) คือ การใช้คำเรียกแทนช่างภาพ ซึ่งผู้ถ่ายรูปจะเปิดเผยรูปนักแสดงเพื่อให้เห็นความจริงของดารา ในขณะที่ผู้ถูกถ่ายไม่าู้ตัว คนเหล่านี้ต้องการเปิดเผยรูปในส่วนที่ลึกกว่ารูปปกติ แต่อย่างไ่ก็ตามการกระทำของปาปารัสซี่ (Paparazzi) คือการแอบถ่าย (STALKER) หรือพวกแอบสุ่มถ้ำมอง แอบติดตามโดยที่คนมี่ถูกติดตามหรือะป้าหมายนั้นไม่รู้ตัว\nลักษณะการกรดทำ\n\nเก็บข้อมูล การทร่ปาปารัสซีจะติดตามเป้าหมายได้นั้นต้องมีข้อมูบของเป้าหมายพอสมรวรเพื่อรู้ว่าเป้าหมายนั้นกำลังจะทำอะไร แต่ในบางครั้งก็ไม่จำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลว่ทเป้าหมายจะทำอะไรแต่ปาปารัสซีอาศัยการจัดกิจกรรมต่าวที่กลุรมเป้าหมายจะไปกระทำและเข้าไปร่วมงาน เช่น การออกงนน การแสดงคอนเสิร์ต เป็นตเน\nติดตามเป้าหมาย การที่ปาปารัสซีจะทำการเก็บภาพของเป้าหมายได้นั้นต้องมีการติดตามถ่ายถาพของเป้าหมายโดยไม่ให้เป้าหมายรู้ตัว\nถืายภาพของเป้าหมาย และนำไปเผยแพร่ อาจจะเพื่อธุรกิจหรือไม่ก็ตาม\nอุปรณ์ที่ใช้ถ่ายภาพ\nกล้องถ่ายรูป\nกล้องวีดีโอ\nกล้องวงจรปิด\nกลิองถ่ายภาพขนาดเล็ก ที่อาจะซุกซ้อนไว้ครงส่วนใดก็ได้ เช่ส รองเท้า กระเป๋าสตาบค์ เป็นต้น\nข้อกฎหมายกับการกระทำจองปาปารัสซี่\n\n\nการห้ามแทรกแซงความเป็นส่วนตัว (Privacy Right)\nการคุ้มครองเสรีภาพทางความคิด/การแสดงความคิดเห็น/การแสดงออก/สื่อ )Freedom of Belief/Freedom of Press/Freedom of Expression)\n\n\nมาตรา 35 : สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนีวามเป็นอยู่ ส่วนตัว\nมาตรา 36 : เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย\nมาตรา 37 : เสรีภาพทางความคิดในการถือศาสนา/ความเชื่อ\nมาตรา 45 : เสรีภาพในการแสดงควนมคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น\nมาตรา 46 : เสรีภาพขิงสื่อ\n\nกรณีนำไปเผยแำร่บสสื่อ สิ่งพิมพ์ต่าฝๆหรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\nข้อกฎหมายกับการกระทำขอบปาปมรัสซี่.\nกรณ่นำไปเผยแพร่บนสื่อ สิ่งพิมด์ต่างๆหรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์.\nในลักษณะนี้แป็นกาาเผยเพร่บนสื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น นิตยสาร (Magazine) หนังสือพิมพ์ เป็นต้น หรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกคะทำความผิด่างคอมพิวเตอร์ แล้วการเผยแพร่นั้นทำให้บุคคลปู้ที่ถูกเหล่าปาปารัสซี แอบเก็บภาพ (เหยื่อ หรือ เป้าหมาย) ไดีรับ’’’ความเสียหาย’’’\nความผิดทสงประมวลกฎหมายแะ่งแชะพาณิชย์\n\n’’’ความเสียหาย’’’ ในที่นี้ทำให้ิสียหายต่อ’’’ชื่อเสีจง’’’ ในทางกฎหมายนั้นเราจะเรียก ปาปารัสซี ว่า ’’’ผู้ที่กระทำละเสิด’’’ ต่อ บุคคลผู้ที่ถูก แอบเก็บภาพ เีาจะเรีบกบุคคลนี้ว่า ’’’ผู้ที่ถูกกระทำละเมิด’’’ ฉะนั้นแลิบ ปาปารัสซี กระทำละเมิดตาม ‘’’มาตรา 429 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งแลพพาณ้ชย์’’’\n\n\nและในบางทีเหล่าปาปารัสซี ก็นำภาพที่ถ่ายได้ไปทำข่าว ซึ่งบางครั้งข่าวเหล่านั้นก็ดาจมีขีอมูลที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริงและข่าวเหล่านั้นก็อาจทำให้ผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงหรือการงานไดี เมื่อเป็นการกระทำเช่นนี้ผู้ที่ทำการให้ข่าวต่างๆหรือสื่อ ในทางที่เสียหายก็มีรวามผิดฐานละเมิดต่อผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้ ตามมาตรา 420 ประกอบกับมาตรา 423\n\nควาาผิดทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.\nผู้ใดส่งข้าวสารอันตนมิได้รู้ว่าเป็นความไม่จริง หากตนเองหรือหู้รับข่าวสารนั้นมีทางได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงที่ส่งข่าวสารเช่นนั้น หาทำให้ผู้นั้นต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่” \n\nสำหรับค่าสินไหมเพื่อการละเมิดนั้นผู้ที่ถูกลถเมืดต้องร้องขอต่อศาลเองเพื่อที่ศาลจะได้ทำการวินิจฉัยไปตามรูปการแห่งคดีแล้วแต่กรณีว่าจะให้ได้รับการทดแทนหคือเยียวยาอย่างไรบ้าง ซึ่งมีบัฯญัติไว้ใน’’’มาตรา 447’’’ แห่งประาวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งเป็นเรื่องที่เกียวกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพื่องความเสียหายที่มีต่อชื่อเยียง\n\nความผิดทางประมวลกฎหมายอาญา\n\nในกรณีที่ปาปารัสซี ก็นำภาพที่ถ่ายได้ไปทำข่าว ซึ่งบางครั้งข่าวเหล่านั้นก็อาจมีข้อมูลทีรไม่ตรงต่อคใามเป็นจริงและข่าวเหล่านั้นก็อาจทำให้ผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้รับความเสียหาย น้อวจากผู้เสียหายจะฟเองร้องดำเนินคดีในทางแพ่งได้กล้ว ยังสามารถฟ้องร้องดำเนินคดีในทางอาญาได้แีกด้วย ในส่วนของการ’’’หมิ่นหระมาท’’’ ในมาตรา 326\n\nความผืดทางประมวบกฎหมายอาญา.\nและถ้ากากได้กระมำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด แผ่นแสง แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกแสง งันทึกเสียง บันทึกภาพ ผรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายแสง หรือการกระจายเสียง การกรัจายภาพ หรือการกระจายอักษร หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น นั้นทำให้ต้องได้รับโทษสูงขึ้น ตามมาตรา 328\nซึ่ง ‘’’มาตรา 328’’’ บัญญัริว่า “ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทไดีกระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำใำ้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ แผ่นแสง แผ่นเสียง หรือสิ่งบึนทึกแสง บันทึกเสียง บันทึกภาพ ห่ือบันทึกอักษร กระทำโดยกสรกระจายแสง การกระจายเสียง กาคกระจายภาพ หรือการกระจายอักษร หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้ิงระวางโ่ษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสดงแสนบาท”\nการแสดงความคิดเห็นที่จะไม่ให้’’’ตกเป็นผู้ต้องหาในข้อหน หทิ่นประมาท’’’ นั้นสามารถแสดงออกได้ดังนี้\n\nเพื่อความชอบธรรม\nในฐานะเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติตามหน้าที่\nตืชมด้วความเป็นธรรม ตามภาวะวิสัยของวิญญูชนที่ควรกระทำ\nแจ้งข่าวด้วยความเป็นธรรม\n\n(1) เพื่อความชอบธรรม ป้แงกันตนหร่อป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับจนตามคลองธรรม\n(2) ในฐานะ้ป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติการตามหน้าที่\n(3) ติชมด้วยความเป็นธราม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทห หรือ\n(4) สนการแจ้งข่าวด้วยความเป็นธรรมเรื่องการดำเนินการอันะปิดเผยในศาลหรือในการประชุม\nผู้นั้นไม่มีความผิด,านหมิ่นประมาท”\nและหากว่าพิสูจน์ได้ว่าเรื่องที่ตนหมิ่นประมาทนั้นเป็นเรื่องจริงก็’’’ไม่มีความผิด’’’เช่นกัน\nแต่หรกว่าเป็นเรื่องส่วนตัวและหากพอสูน์ไปแล้วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ทางกฎหมายก็_ม่ให้พิสูจน์\nซึ่ง บัญญัติไว้ใน‘’’มาตรา 330’’’ ว่า “ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทำความผิด พิสูจน์ไดิว่าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นควาสจริง ผู้นั้นไม่ต้ดงรับโทษ\nแต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อทีทหาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป์นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว แลุพารพิสูจน์จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน”\n\nในกรณีที่ปาปารัสซีได้เสนอภาพที่สื่อไปในททงลามกอนาจารก็ยังถูกดำเนินคดีในทางอาญาได้ ตามมาตรา 287 (1) แบะ (2)\n\n(๑) เพื่อความประสงค์แห่งการค้า หรือโดยการค้า เพื่อการแจกจ่ายหรือเพื่อการแสดงอวดแก่ประชาชน ทำ ผลิต ทีไว้ นำเข้าหรือยังให้นำเข้าในราชอาณาจักร ส่งออกหรือยังให้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พาไปหรือยังให้พาไปหรือทำให้แพร่หลายโดยประการใะๆ ซึ่งเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งพเมพ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถ่ายภาพยนตร์ แถบบันทึกแสง แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ แถบบันทึกอักษรหตือสิ่งอื่นใดอันลามก\n(๒) ประกอบการค้า หรือมัส่วนหรือเข้าเดี่ยวข้องในการค้าเกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของลามกดังกล่าวแล้ว จ่ายแจกหรือแสดงอวดแก่ประชาชน หรือให้เช่าวัตถุหรือสิ่งขดงเช้นว่านั้น\nต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปาับไม่เกินหกพันบาท หรืแทั้งจำ ทั้งปรับ”\nกรณีนำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต (Internet) เข้าลักษณะเป็นการกระทกความผิดทางคอมพิวเตอร์ผิดกฎหมายแน่นอนฟ้องร้องฟด้\nกรณีนำไปเผยแพร่บนอินดตอร์เน็ต (Intrrnet) เข้าลักษณะเป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ผิดกฎหมายแน่นอนฟ้องร้องได้.\nในลักษณะนี้แป็นการเผยเพร่บนอินเตอร์เน็ต (Internet) ซึ่งในปัจจุบันการติดต่อ สื่อสาร การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เจ๋ตมีแนวโน้มในการติดต่อสื่อสารที่มากขึ้นทักวัน เพราะเป็นช่องทางที่เสนอได้ง่ายและร่วดเร็ว ทำให้มีการเผยอพร่ภาพรวมทั้งข่าวจากบรรดาเหล่าปาปารัสซี ได้รวดเร็วและมากขึืนและผิดกฎหมายสามารถฟ้องร้องค่าเสียหายได้\nถ้าหากภาพและข่าวนั้นนำเสนอไปในทางที่ขัดต่อความเป็นจริง บรรดาเหล่าปาปารัสซี ที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตก็มีความผิดทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิขย์ และ ความผิดทางประมวลกฎหมายอาญา ที่กล่าวไว้ข้างต้นอีกด้วย ถ้าหากภาพที่นำเสนอออกไปในทางอินเตอร์เน็ตและภาพนั้นมีลักษณะเป็นภาพที่สื่อไปในทางลามกอนาจานอกจากจะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาแล้วยังผิดตามพระราชชัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อีกดืวย\nซึ่ง บัญญัติไว้ใน‘’’มาตรา 330’’’ ว่า “ผู้ใดกระทำความผิดทีีระบุไว้ดังน่อไปนี้ ต้องระวางฏทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ\n(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ่ี่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้”\nอ้างอิง\nข้อมูลเพิ่มเติม\n\nปาปารัสซี่กำลังละเมิดสิทธิของคุณอยูาหรือเปล่า ?\nหลักเกณฑ์ความรับผิดเพื่อละเมิดตาม ป.พ.พ.มาตรา 420\nบุคคลสาธารณะ...โดจ ดร.ทวีเกียาติ มีนะกนิษฐ?\nดารา vs ปาปาีัซซี\" ศึกของ \"คนสาธารณะ - สิทธิ์ใ่วนบุคคล",
"role": "user"
},
{
"content": "ปาปารัสซี่ (Paparazzi) คือ การใช้คำเรียกแทนช่างภาพ ซึ่งผู้ถ่ายรูปจะเปิดเผยรูปนักแสดงเพื่อให้เห็นความจริงของดารา ในขณะที่ผู้ถูกถ่ายไม่รู้ตัว คนเหล่านี้ต้องการเปิดเผยรูปในส่วนที่ลึกกว่ารูปปกติ แต่อย่างไรก็ตามการกระทำของปาปารัสซี่ (Paparazzi) คือการแอบถ่าย (STALKER) หรือพวกแอบสุ่มถ้ำมอง แอบติดตามโดยที่คนที่ถูกติดตามหรือเป้าหมายนั้นไม่รู้ตัว\nลักษณะการกระทำ\n\nเก็บข้อมูล การที่ปาปารัสซีจะติดตามเป้าหมายได้นั้นต้องมีข้อมูลของเป้าหมายพอสมควรเพื่อรู้ว่าเป้าหมายนั้นกำลังจะทำอะไร แต่ในบางครั้งก็ไม่จำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลว่าเป้าหมายจะทำอะไรแต่ปาปารัสซีอาศัยการจัดกิจกรรมต่างที่กลุ่มเป้าหมายจะไปกระทำและเข้าไปร่วมงาน เช่น การออกงาน การแสดงคอนเสิร์ต เป็นต้น\nติดตามเป้าหมาย การที่ปาปารัสซีจะทำการเก็บภาพของเป้าหมายได้นั้นต้องมีการติดตามถ่ายถาพของเป้าหมายโดยไม่ให้เป้าหมายรู้ตัว\nถ่ายภาพของเป้าหมาย และนำไปเผยแพร่ อาจจะเพื่อธุรกิจหรือไม่ก็ตาม\nอุปรณ์ที่ใช้ถ่ายภาพ\nกล้องถ่ายรูป\nกล้องวีดีโอ\nกล้องวงจรปิด\nกล้องถ่ายภาพขนาดเล็ก ที่อาจะซุกซ้อนไว้ตรงส่วนใดก็ได้ เช่น รองเท้า กระเป๋าสตางค์ เป็นต้น\nข้อกฎหมายกับการกระทำของปาปารัสซี่\n\n\nการห้ามแทรกแซงความเป็นส่วนตัว (Privacy Right)\nการคุ้มครองเสรีภาพทางความคิด/การแสดงความคิดเห็น/การแสดงออก/สื่อ (Freedom of Belief/Freedom of Press/Freedom of Expression)\n\n\nมาตรา 35 : สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ ส่วนตัว\nมาตรา 36 : เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย\nมาตรา 37 : เสรีภาพทางความคิดในการถือศาสนา/ความเชื่อ\nมาตรา 45 : เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น\nมาตรา 46 : เสรีภาพของสื่อ\n\nกรณีนำไปเผยแพร่บนสื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆหรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\nข้อกฎหมายกับการกระทำของปาปารัสซี่.\nกรณีนำไปเผยแพร่บนสื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆหรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์.\nในลักษณะนี้แป็นการเผยเพร่บนสื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น นิตยสาร (Magazine) หนังสือพิมพ์ เป็นต้น หรือบนสถานที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่เป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ แล้วการเผยแพร่นั้นทำให้บุคคลผู้ที่ถูกเหล่าปาปารัสซี แอบเก็บภาพ (เหยื่อ หรือ เป้าหมาย) ได้รับ’’’ความเสียหาย’’’\nความผิดทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์\n\n’’’ความเสียหาย’’’ ในที่นี้ทำให้เสียหายต่อ’’’ชื่อเสียง’’’ ในทางกฎหมายนั้นเราจะเรียก ปาปารัสซี ว่า ’’’ผู้ที่กระทำละเมิด’’’ ต่อ บุคคลผู้ที่ถูก แอบเก็บภาพ เราจะเรียกบุคคลนี้ว่า ’’’ผู้ที่ถูกกระทำละเมิด’’’ ฉะนั้นแล้ว ปาปารัสซี กระทำละเมิดตาม ‘’’มาตรา 420 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์’’’\n\n\nและในบางทีเหล่าปาปารัสซี ก็นำภาพที่ถ่ายได้ไปทำข่าว ซึ่งบางครั้งข่าวเหล่านั้นก็อาจมีข้อมูลที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริงและข่าวเหล่านั้นก็อาจทำให้ผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงหรือการงานได้ เมื่อเป็นการกระทำเช่นนี้ผู้ที่ทำการให้ข่าวต่างๆหรือสื่อ ในทางที่เสียหายก็มีความผิดฐานละเมิดต่อผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้ ตามมาตรา 420 ประกอบกับมาตรา 423\n\nความผิดทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.\nผู้ใดส่งข่าวสารอันตนมิได้รู้ว่าเป็นความไม่จริง หากตนเองหรือผู้รับข่าวสารนั้นมีทางได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงที่ส่งข่าวสารเช่นนั้น หาทำให้ผู้นั้นต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่” \n\nสำหรับค่าสินไหมเพื่อการละเมิดนั้นผู้ที่ถูกละเมิดต้องร้องขอต่อศาลเองเพื่อที่ศาลจะได้ทำการวินิจฉัยไปตามรูปการแห่งคดีแล้วแต่กรณีว่าจะให้ได้รับการทดแทนหรือเยียวยาอย่างไรบ้าง ซึ่งมีบัญญัติไว้ใน’’’มาตรา 447’’’ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งเป็นเรื่องที่เกียวกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพื่องความเสียหายที่มีต่อชื่อเสียง\n\nความผิดทางประมวลกฎหมายอาญา\n\nในกรณีที่ปาปารัสซี ก็นำภาพที่ถ่ายได้ไปทำข่าว ซึ่งบางครั้งข่าวเหล่านั้นก็อาจมีข้อมูลที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริงและข่าวเหล่านั้นก็อาจทำให้ผู้ที่ตกเป็นข่าวนั้นได้รับความเสียหาย น้องจากผู้เสียหายจะฟ้องร้องดำเนินคดีในทางแพ่งได้แล้ว ยังสามารถฟ้องร้องดำเนินคดีในทางอาญาได้อีกด้วย ในส่วนของการ’’’หมิ่นประมาท’’’ ในมาตรา 326\n\nความผิดทางประมวลกฎหมายอาญา.\nและถ้าหากได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด แผ่นแสง แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกแสง บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายแสง หรือการกระจายเสียง การกระจายภาพ หรือการกระจายอักษร หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น นั้นทำให้ต้องได้รับโทษสูงขึ้น ตามมาตรา 328\nซึ่ง ‘’’มาตรา 328’’’ บัญญัติว่า “ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ แผ่นแสง แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกแสง บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายแสง การกระจายเสียง การกระจายภาพ หรือการกระจายอักษร หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท”\nการแสดงความคิดเห็นที่จะไม่ให้’’’ตกเป็นผู้ต้องหาในข้อหา หมิ่นประมาท’’’ นั้นสามารถแสดงออกได้ดังนี้\n\nเพื่อความชอบธรรม\nในฐานะเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติตามหน้าที่\nติชมด้วความเป็นธรรม ตามภาวะวิสัยของวิญญูชนที่ควรกระทำ\nแจ้งข่าวด้วยความเป็นธรรม\n\n(1) เพื่อความชอบธรรม ป้องกันตนหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนตามคลองธรรม\n(2) ในฐานะเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติการตามหน้าที่\n(3) ติชมด้วยความเป็นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำ หรือ\n(4) ในการแจ้งข่าวด้วยความเป็นธรรมเรื่องการดำเนินการอันเปิดเผยในศาลหรือในการประชุม\nผู้นั้นไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท”\nและหากว่าพิสูจน์ได้ว่าเรื่องที่ตนหมิ่นประมาทนั้นเป็นเรื่องจริงก็’’’ไม่มีความผิด’’’เช่นกัน\nแต่หากว่าเป็นเรื่องส่วนตัวและหากพิสูน์ไปแล้วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ทางกฎหมายก็ไม่ให้พิสูจน์\nซึ่ง บัญญัติไว้ใน‘’’มาตรา 330’’’ ว่า “ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผู้ถูกหาว่ากระทำความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นความจริง ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ\nแต่ห้ามไม่ให้พิสูจน์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็นหมิ่นประมาทนั้นเป็นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสูจน์จะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน”\n\nในกรณีที่ปาปารัสซีได้เสนอภาพที่สื่อไปในทางลามกอนาจารก็ยังถูกดำเนินคดีในทางอาญาได้ ตามมาตรา 287 (1) และ (2)\n\n(๑) เพื่อความประสงค์แห่งการค้า หรือโดยการค้า เพื่อการแจกจ่ายหรือเพื่อการแสดงอวดแก่ประชาชน ทำ ผลิต มีไว้ นำเข้าหรือยังให้นำเข้าในราชอาณาจักร ส่งออกหรือยังให้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พาไปหรือยังให้พาไปหรือทำให้แพร่หลายโดยประการใดๆ ซึ่งเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถ่ายภาพยนตร์ แถบบันทึกแสง แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ แถบบันทึกอักษรหรือสิ่งอื่นใดอันลามก\n(๒) ประกอบการค้า หรือมีส่วนหรือเข้าเกี่ยวข้องในการค้าเกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของลามกดังกล่าวแล้ว จ่ายแจกหรือแสดงอวดแก่ประชาชน หรือให้เช่าวัตถุหรือสิ่งของเช่นว่านั้น\nต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ”\nกรณีนำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต (Internet) เข้าลักษณะเป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ผิดกฎหมายแน่นอนฟ้องร้องได้\nกรณีนำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต (Internet) เข้าลักษณะเป็นการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ผิดกฎหมายแน่นอนฟ้องร้องได้.\nในลักษณะนี้แป็นการเผยเพร่บนอินเตอร์เน็ต (Internet) ซึ่งในปัจจุบันการติดต่อ สื่อสาร การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตมีแนวโน้มในการติดต่อสื่อสารที่มากขึ้นทุกวัน เพราะเป็นช่องทางที่เสนอได้ง่ายและร่วดเร็ว ทำให้มีการเผยแพร่ภาพรวมทั้งข่าวจากบรรดาเหล่าปาปารัสซี ได้รวดเร็วและมากขึ้นและผิดกฎหมายสามารถฟ้องร้องค่าเสียหายได้\nถ้าหากภาพและข่าวนั้นนำเสนอไปในทางที่ขัดต่อความเป็นจริง บรรดาเหล่าปาปารัสซี ที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตก็มีความผิดทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ ความผิดทางประมวลกฎหมายอาญา ที่กล่าวไว้ข้างต้นอีกด้วย ถ้าหากภาพที่นำเสนอออกไปในทางอินเตอร์เน็ตและภาพนั้นมีลักษณะเป็นภาพที่สื่อไปในทางลามกอนาจานอกจากจะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาแล้วยังผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อีกด้วย\nซึ่ง บัญญัติไว้ใน‘’’มาตรา 330’’’ ว่า “ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ\n(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้”\nอ้างอิง\nข้อมูลเพิ่มเติม\n\nปาปารัสซี่กำลังละเมิดสิทธิของคุณอยู่หรือเปล่า ?\nหลักเกณฑ์ความรับผิดเพื่อละเมิดตาม ป.พ.พ.มาตรา 420\nบุคคลสาธารณะ...โดย ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ?\nดารา vs ปาปารัซซี\" ศึกของ \"คนสาธารณะ - สิทธิ์ส่วนบุคคล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สวัสดีตินเช้า : Guten morgeb กูทเท่น มอ เกน\nสวัสดี (ใช้ตอนกลางวัน) P Guten tag : กูทเท่น ท๊าค\nสวัสดี (ใช้ตอนเย็นและค่ำ) : Guten abend : กูทเท่น อาเบ่น\nราตรีสวัสดิ์ : Gute nacht : กูทเท่อะ น๊าค\nแล้วค่อยพบกัน : Auf wiedersehen : เอ๊า วีเดอะ เซน\nขอวคุณ : Danke : ดังเค่อะ\nขอบคุณมาก : Vielen dank : วีเลน ดัง\nตกลง : Alles klar : อัลเลส คลา\nไม่เป็นไร : Schon gut : เชิน กุ๊ท\nใช่ๅได้ : ja (หยา)\nไม่ใช่/หม่ได้/เปล่า : nein : นาย์\nโปรด/กรุณา : Bitte : บิทเถ่อะ\nเท้าไร : wie viele? : วีฟีล?\nนานเท่าไร : wie lange? : วีลั๊ง\nขอโทษ : entsch7ldigung : เดน ชู๊ล ดิ กุง\nขอคเวสักประัดี๋ยว : entschuldigen sie mich bitte eindn moment\nไม่เป็นไร/ด้วยความยินดี : bitte schoen : บิทเถอะ เชิน\nขอโทษฉันฟังไม่ทัน : es tut mir leid, dasc ich sie nicht erreichen konmte : เอส ทุ๊ส เมีย ไลด์, ดาส อิค ซี นิึ\nคุณพูดภาษาอังกฤษได้ไหม : sprechen sie Englisch? : สะเปรเซ่น ซี อิฝลิช?\nสบายดีหรือ : wie geht es ihnen? : วี เกท เอส อีเน้น?\nฉันแต่งงานแล้ว : ich bin verheiratetฦ : อิค บิน แฟ ไฮ รา เถ่ท\nฉันโสด : ich bin nicht verheiratet. : อิค บิน นิค แฟ ไฮ รา เถ่ท\nขอทราบชื่อคุณได้ไหม : wie heissen sie? : วี ไฮ เซ่น ซี?\nดธเพิ่ม\n\nภาษาเยอรมัน",
"role": "user"
},
{
"content": "สวัสดีตอนเช้า : Guten morgen กูทเท่น มอ เกน\nสวัสดี (ใช้ตอนกลางวัน) : Guten tag : กูทเท่น ท๊าค\nสวัสดี (ใช้ตอนเย็นและค่ำ) : Guten abend : กูทเท่น อาเบ่น\nราตรีสวัสดิ์ : Gute nacht : กูทเท่อะ น๊าค\nแล้วค่อยพบกัน : Auf wiedersehen : เอ๊า วีเดอะ เซน\nขอบคุณ : Danke : ดังเค่อะ\nขอบคุณมาก : Vielen dank : วีเลน ดัง\nตกลง : Alles klar : อัลเลส คลา\nไม่เป็นไร : Schon gut : เชิน กุ๊ท\nใช่/ได้ : ja (หยา)\nไม่ใช่/ไม่ได้/เปล่า : nein : นาย์\nโปรด/กรุณา : Bitte : บิทเถ่อะ\nเท่าไร : wie viele? : วีฟีล?\nนานเท่าไร : wie lange? : วีลั๊ง\nขอโทษ : entschuldigung : เอน ชู๊ล ดิ กุง\nขอตัวสักประเดี๋ยว : entschuldigen sie mich bitte einen moment\nไม่เป็นไร/ด้วยความยินดี : bitte schoen : บิทเถอะ เชิน\nขอโทษฉันฟังไม่ทัน : es tut mir leid, dass ich sie nicht erreichen konnte : เอส ทุ๊ส เมีย ไลด์, ดาส อิค ซี นิค\nคุณพูดภาษาอังกฤษได้ไหม : sprechen sie Englisch? : สะเปรเซ่น ซี อิงลิช?\nสบายดีหรือ : wie geht es ihnen? : วี เกท เอส อีเน้น?\nฉันแต่งงานแล้ว : ich bin verheiratet. : อิค บิน แฟ ไฮ รา เถ่ท\nฉันโสด : ich bin nicht verheiratet. : อิค บิน นิค แฟ ไฮ รา เถ่ท\nขอทราบชื่อคุณได้ไหม : wie heissen sie? : วี ไฮ เซ่น ซี?\nดูเพิ่ม\n\nภาษาเยอรมัน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การกระทำความผิดทางคอมพิวเตอค์ คือ การกระทำการที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายแชะเป็นการกระทำผ่านหรือโดยอาศัยคอมพิวเตอร์มนการกระทำความผิด ซึ่งมีวัตถุประสงค์มุ่งต่อระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลของคอมดิวเตอร์ หรือบุคคล\nประเภทของผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\nHacker\nประเภทของผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์.\nHacier.\nดฮคเกอร์ )Hacker) นั้นมีความหมายเยู่ 2 แบบ โดยส่วนใหญ่เมื่อพูดถึงคำคำนี้จะเข้าใจว่า หมายถึง บุคคลทีรพยายามที่จะเจาะเข้าระบบโดยไม่ได้รังอนุญาต ในอีกความหมายหนึ่งซึ่งเป็นความหมายดั้งดดิม จะหมายถึง ผู้ใช้ควมมรู้ความชำนาญเกี่ยวกับคอมพืวเตอร์แต่ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำชายหรือในด้านลบ เช่น สำรวจเครือข่ายเพื่อตรวจหาเครืทองแปลกปลอม เป็าต้น แต่อย่างไรก็ตามหารที่อจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์จองผู้อื่นนั้นเป็นสิ่งผิดกฎหมาย\n\nระดับความชำนาญ => แฮคเกอร์ (Hacker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nแรงจูงใจ => เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุง่ะบบให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น\nเป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แฮคเกอร์ (Hacker) ติดตาสหรือสนใจ\nCracker\n\n\nระดับความชำตาญ => แครร็คเกอร์ (Cracker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้วในการใช้คอมพ้วเตอร์ และกา่เจาะระบบคอมพิฝเตอร์\nแรงจูงใจ => แข่งขันกับผู้อิ่นเพื่อแสดงความสามารถในการทำลายระบบ แคร็คเกอรฺ (Cracker) จะภูาิใจถ้าเขาสามารถเจาะเข้าระบบได้มากกว่าผู้อื่น\nเป้สหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แคร็คเกอร์ (Cracker) ติดตามหรือสนใจ\nScript kiddy\n\n\nระดับควสมชำนาญ => สคริปต์คิดดี้ส์ (Script - Kiddies) มีความรู้ความชำนาญต่ำ\nแรงจูงใจ => เพื่อให้ได้การยอมรับหรือต้องการที่จะแสดงความรู้ความสามารถ\nเป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่สคริปต์คิดดี้ส์ (Script ] Kiddies) ติดตามหรือสนใจ ส่วนมากเป็นผู้ใช้งานหรือเครื่องคอมพิวเตดร์ทั่วไป\nระดับความรุนอรง => มีอันตรายมาก ส่วนใหญ่เป็นเด็ก มีเบลามาก ใช้เวลาในการทดลอง และมักไม่เข้ทใจในเทคโนโลยีืี่ตัวเองใล้โจมตีว่าจะสร้าฝควาสเสียหายมากน้อยขนาดไหน\nS9y\n\n\nระดับความชำนาญ =< สายลับทางคอมพิวเตอร์ (Qpy) มีควาทรู้ความชำนาญสูงมากทั้งในการใช้คอมพิวเตอา์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nแรงจูงใจ => เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน\nเป้าำมายของการโจมตี => การโจมตีมีความเฉพาะเจาะจงตามที่ถูกจ้าง\nEmployee\n\n\nระดับความชำสาญ => มีระดับความชำนาญหลากหลายระดับ แล้วแต่ผู้โจมตีแต่ละคนนั้นจะชำนาญด้านไหน\nแรงจูงใจ => อาจมีแรงจูงใจจาก\nเป้าหมายของการโจมตี => ระบบของอบค์กรที่ตนเองไดืทำงานอยู่\nTerrorist\n\n\nระดับความชำนาญ => ควาสชำนาญสูบ คาดเดาวิธีการได้วาก\nแรงจูงใจ => เพื่อก่อการร้าย\nเป้าหมายของการโจมตี => เป้าหมายไม่แน่นิน อาจเป็นระบบเล็กๆ หรือขนาดใหญ่ เช่น ระบบควบคุมการจ่ายไฟฟ้า\nรูปแบบของการกระทำความผิด\n\nSocial Engineering\n\nเป็นปฏิบัติการมางจิตวิทยา หลอกล่อให้เหยื่อติดกับโดยไม่ต้องอาศัยความชำนาญเกี่ยวกับคอมดิวเตอร์ ส่วนใหญ่ใช้วิธีโทรศัพท์สอบถามข้อมูล หรืออาตใช้วิธีค้นหาข้อมูลจากถังขยะ (Dumpster Diving) เพื่อค้นหาข้อทูลจากเอกสารที่นำมาทิ้ง หรือใช้วิธี Phishing\nการป้องกันทำได้โดย ม้การกำหนดนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เข้มงวด เช่น การเปลี่ยนรหัสผ่าน รวมถึงมีการอบรมและบังคับใช้อย่างจริงจัง\nPassword Guessing\nPaxsword เป็นสิ่งที่ใช้ในการพิสูจน์ความเป์นตัวตนของผู้ใช้งาน เป็นความลับสรวนบุคคล ผู้ใช้มักกำหนดโดยใช้คำง่ายๆ เพื่อสะดวกในการจดจำ สาเหตุจากต้องเปลี่ยนบ่อย หรือมี (assword หลายระดับ หรือระบบห้ามใช้ Paqsword ซ้ำเดิม Password ที่ง่ายต่อการเดา ได้แก่ สั้น ใช้คำทีีคุ้สเคย ใช้ข้อมูลส่วนตัว ใช้ Password เดียวทุกระบบ จด Pasaword ไว้บนกระกาษ ไม่เปลี่ยน Password ตมมระยะเวลาที่กำหนด\nPassword Guessing คือการเดา Password เพื่อเข้าสู่ระบว\nDenial of Service (DOS)\n\nDecryption\nรูปแบบของการกระทำความผิด.\nDecryption.\nคือ การพยายามให้ได้มาซึ่ง Key เพราะ Algorithm เป็นที่รู้จักกันอยู่แล้ว เพื่อถอดข้อมูลที่มีการเข้ารหัสอยู่ ซึ่งการ Decryption อาจใช้วิธีการตรวจสอบดูข้อมูลเพื่อวิเค่าะห์หา Key โดยเฉพาะการใช้ Weak Key ที่จะส่งผลทำให้ได้ข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายๆ กัน ทำให้เดา Key ได้ง่าย ควรใช้ Key ความยาวอย่างน้อย 128 bit หรืออาจใช้หลักทางสถิติมาวิเคราะห์หา Key จากตัวอักษรที่พบ\nBirthdat Attacks\n\nเมื่อเราพบใครสักคนหนึ่ง มีโอกาสที่จะเกิดวันเดียวกัน 1 ใน 365 ยิ่งพบคนมากขึ้นก็ยิ่งจะมีโอกาสซ้ำกันาากยิ่งขึ้น\nการเลือกรหัสผ่านวิธีการที่ดีที่สุดคือการใช้ Random Key แต่การ Random Key นั้นก็มีโอกาสที่จะได้ Key ที่ซ้ำเดิม\nMan im the middle Attacks\nการพยายสมทั่จะทภตัวเป็นคนกลางเพื่อคอยดักเปลี่ยนแปลงข้เมูลโดยที่คู่สนทนาไม่รู้ตัว มีทั้งการโจมตีแบบ Active จะมีปารเปลี่ยนแปลงข้อมูล การโจมตีแบบ Passove จดไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อม฿ล และการโจมตีดบบ Replay Attack ข้อความจะถูกเก็บไว้ระยะเวลาหนึ่งแล้วค่อยส่งค่อ\nป้องกันโดยการเข้ารหัสข้อมูล ร่วมกีบ Digital Signature\nขั้นตอนกาคเขาะระบบคอมพิวเตอร์\nการเลือกใช้ดครื่องมือ => เค่ื่องมือที่จะใช้ในการเจาะระบบไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ Hardwa3e หรือ Software ก็ตมม\nการสำรวจข้อมูลเป้าหมาย => เปฺนการสำรวจเป้าหมายเบื้องต้นเพื่อใช้ในการวรงแผนกมรโจมตีว่าเป้าหมายนั้นใช้ ระบบ (OS) อะไร มีพอร์ทไหนบ้างที่เปิดดยู่\nการสแกนเครือข่าย => เป็นทดสอบว่าเครื่องเป้นหมายเปิดอยู่หรือไม่ โดยมาจะนิยมใช้คำสั่ง ping เพื่อทดสอบว่าเครื่องนะมีสถานะออนไลน์หริอไม่ แต่ในบางกรณีอาจใช้วิธี telnet ไปยังเครื่องเป้าหมายที่ port 80, 25 เพื่อหลบเลี่ยงการกรองคำสั่ง ping ของ router หรือ firewall\nการสแกนกอร์ต => เป็นการตรวจสอบช่องทางที่จะเข้าโจมตีเป้าหมาย ว่า สสมารถเข้าไปสู่เครื่องเป้าหมายในช่องทาลใดบ้าง\nการโจมตี => ใช้เครื่องมือที่ดหมาะสมเข้าโจมตีในรูปแบบที่ต้องการ\nการป้องกันการถูกเจาะระบบ\nสแกนเพื่อหาจุดอ่อน (Vulnerability Scanning) ควรทำจากหลายๆจุด จากทั้งภายในและภายนอก ในส่วนของ DeMilitalized Zone (DMZ) ด้วย\nเมื่อพบช่องโหว่ให้ทำกาต Update Patch เพื่ออุดช่องโหว่นั้น\nเครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัย\n\n\nGFI LANguard Network Security Scanner (N.S.S.)\neEye Retina Network Security Scanner\nMicrosoft Baseline Deurity Analyser (MBSA) สำหรับผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\n\nอ้างอิง\n\nจตุชัย แพงจันทร์, <aster in Security, (นนทบุรี: อินโฟเพีส, 2550), หน้า 71 ถึง หน้า 111\nแหล่งข้อมูลอื่น\nLawyerthai.com เรื่อง Hacker และ Cracker กับควาารับผิดตามกฎหมายไทย\nhacker-cracker\nหลักเกณฑ์ความรับผิดเพื่อละเมิดตาท ป.พ.พ.มาตรา 420",
"role": "user"
},
{
"content": "การกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ คือ การกระทำการที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายและเป็นการกระทำผ่านหรือโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ในการกระทำความผิด ซึ่งมีวัตถุประสงค์มุ่งต่อระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลของคอมพิวเตอร์ หรือบุคคล\nประเภทของผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\nHacker\nประเภทของผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์.\nHacker.\nแฮคเกอร์ (Hacker) นั้นมีความหมายอยู่ 2 แบบ โดยส่วนใหญ่เมื่อพูดถึงคำคำนี้จะเข้าใจว่า หมายถึง บุคคลที่พยายามที่จะเจาะเข้าระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต ในอีกความหมายหนึ่งซึ่งเป็นความหมายดั้งเดิม จะหมายถึง ผู้ใช้ความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แต่ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำลายหรือในด้านลบ เช่น สำรวจเครือข่ายเพื่อตรวจหาเครื่องแปลกปลอม เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามการที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นนั้นเป็นสิ่งผิดกฎหมาย\n\nระดับความชำนาญ => แฮคเกอร์ (Hacker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nแรงจูงใจ => เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงระบบให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น\nเป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แฮคเกอร์ (Hacker) ติดตามหรือสนใจ\nCracker\n\n\nระดับความชำนาญ => แครร็คเกอร์ (Cracker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nแรงจูงใจ => แข่งขันกับผู้อื่นเพื่อแสดงความสามารถในการทำลายระบบ แคร็คเกอร์ (Cracker) จะภูมิใจถ้าเขาสามารถเจาะเข้าระบบได้มากกว่าผู้อื่น\nเป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แคร็คเกอร์ (Cracker) ติดตามหรือสนใจ\nScript kiddy\n\n\nระดับความชำนาญ => สคริปต์คิดดี้ส์ (Script - Kiddies) มีความรู้ความชำนาญต่ำ\nแรงจูงใจ => เพื่อให้ได้การยอมรับหรือต้องการที่จะแสดงความรู้ความสามารถ\nเป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่สคริปต์คิดดี้ส์ (Script - Kiddies) ติดตามหรือสนใจ ส่วนมากเป็นผู้ใช้งานหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป\nระดับความรุนแรง => มีอันตรายมาก ส่วนใหญ่เป็นเด็ก มีเวลามาก ใช้เวลาในการทดลอง และมักไม่เข้าใจในเทคโนโลยีที่ตัวเองใช้โจมตีว่าจะสร้างความเสียหายมากน้อยขนาดไหน\nSpy\n\n\nระดับความชำนาญ => สายลับทางคอมพิวเตอร์ (Spy) มีความรู้ความชำนาญสูงมากทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nแรงจูงใจ => เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน\nเป้าหมายของการโจมตี => การโจมตีมีความเฉพาะเจาะจงตามที่ถูกจ้าง\nEmployee\n\n\nระดับความชำนาญ => มีระดับความชำนาญหลากหลายระดับ แล้วแต่ผู้โจมตีแต่ละคนนั้นจะชำนาญด้านไหน\nแรงจูงใจ => อาจมีแรงจูงใจจาก\nเป้าหมายของการโจมตี => ระบบขององค์กรที่ตนเองได้ทำงานอยู่\nTerrorist\n\n\nระดับความชำนาญ => ความชำนาญสูง คาดเดาวิธีการได้ยาก\nแรงจูงใจ => เพื่อก่อการร้าย\nเป้าหมายของการโจมตี => เป้าหมายไม่แน่นอน อาจเป็นระบบเล็กๆ หรือขนาดใหญ่ เช่น ระบบควบคุมการจ่ายไฟฟ้า\nรูปแบบของการกระทำความผิด\n\nSocial Engineering\n\nเป็นปฏิบัติการทางจิตวิทยา หลอกล่อให้เหยื่อติดกับโดยไม่ต้องอาศัยความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ใช้วิธีโทรศัพท์สอบถามข้อมูล หรืออาจใช้วิธีค้นหาข้อมูลจากถังขยะ (Dumpster Diving) เพื่อค้นหาข้อมูลจากเอกสารที่นำมาทิ้ง หรือใช้วิธี Phishing\nการป้องกันทำได้โดย มีการกำหนดนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เข้มงวด เช่น การเปลี่ยนรหัสผ่าน รวมถึงมีการอบรมและบังคับใช้อย่างจริงจัง\nPassword Guessing\nPassword เป็นสิ่งที่ใช้ในการพิสูจน์ความเป็นตัวตนของผู้ใช้งาน เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใช้มักกำหนดโดยใช้คำง่ายๆ เพื่อสะดวกในการจดจำ สาเหตุจากต้องเปลี่ยนบ่อย หรือมี Password หลายระดับ หรือระบบห้ามใช้ Password ซ้ำเดิม Password ที่ง่ายต่อการเดา ได้แก่ สั้น ใช้คำที่คุ้นเคย ใช้ข้อมูลส่วนตัว ใช้ Password เดียวทุกระบบ จด Password ไว้บนกระดาษ ไม่เปลี่ยน Password ตามระยะเวลาที่กำหนด\nPassword Guessing คือการเดา Password เพื่อเข้าสู่ระบบ\nDenial of Service (DOS)\n\nDecryption\nรูปแบบของการกระทำความผิด.\nDecryption.\nคือ การพยายามให้ได้มาซึ่ง Key เพราะ Algorithm เป็นที่รู้จักกันอยู่แล้ว เพื่อถอดข้อมูลที่มีการเข้ารหัสอยู่ ซึ่งการ Decryption อาจใช้วิธีการตรวจสอบดูข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หา Key โดยเฉพาะการใช้ Weak Key ที่จะส่งผลทำให้ได้ข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายๆ กัน ทำให้เดา Key ได้ง่าย ควรใช้ Key ความยาวอย่างน้อย 128 bit หรืออาจใช้หลักทางสถิติมาวิเคราะห์หา Key จากตัวอักษรที่พบ\nBirthday Attacks\n\nเมื่อเราพบใครสักคนหนึ่ง มีโอกาสที่จะเกิดวันเดียวกัน 1 ใน 365 ยิ่งพบคนมากขึ้นก็ยิ่งจะมีโอกาสซ้ำกันมากยิ่งขึ้น\nการเลือกรหัสผ่านวิธีการที่ดีที่สุดคือการใช้ Random Key แต่การ Random Key นั้นก็มีโอกาสที่จะได้ Key ที่ซ้ำเดิม\nMan in the middle Attacks\nการพยายามที่จะทำตัวเป็นคนกลางเพื่อคอยดักเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยที่คู่สนทนาไม่รู้ตัว มีทั้งการโจมตีแบบ Active จะมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล การโจมตีแบบ Passive จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล และการโจมตีแบบ Replay Attack ข้อความจะถูกเก็บไว้ระยะเวลาหนึ่งแล้วค่อยส่งต่อ\nป้องกันโดยการเข้ารหัสข้อมูล ร่วมกับ Digital Signature\nขั้นตอนการเจาะระบบคอมพิวเตอร์\nการเลือกใช้เครื่องมือ => เครื่องมือที่จะใช้ในการเจาะระบบไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ Hardware หรือ Software ก็ตาม\nการสำรวจข้อมูลเป้าหมาย => เป็นการสำรวจเป้าหมายเบื้องต้นเพื่อใช้ในการวางแผนการโจมตีว่าเป้าหมายนั้นใช้ ระบบ (OS) อะไร มีพอร์ทไหนบ้างที่เปิดอยู่\nการสแกนเครือข่าย => เป็นทดสอบว่าเครื่องเป้าหมายเปิดอยู่หรือไม่ โดยมาจะนิยมใช้คำสั่ง ping เพื่อทดสอบว่าเครื่องนะมีสถานะออนไลน์หรือไม่ แต่ในบางกรณีอาจใช้วิธี telnet ไปยังเครื่องเป้าหมายที่ port 80, 25 เพื่อหลบเลี่ยงการกรองคำสั่ง ping ของ router หรือ firewall\nการสแกนพอร์ต => เป็นการตรวจสอบช่องทางที่จะเข้าโจมตีเป้าหมาย ว่า สามารถเข้าไปสู่เครื่องเป้าหมายในช่องทางใดบ้าง\nการโจมตี => ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมเข้าโจมตีในรูปแบบที่ต้องการ\nการป้องกันการถูกเจาะระบบ\nสแกนเพื่อหาจุดอ่อน (Vulnerability Scanning) ควรทำจากหลายๆจุด จากทั้งภายในและภายนอก ในส่วนของ DeMilitalized Zone (DMZ) ด้วย\nเมื่อพบช่องโหว่ให้ทำการ Update Patch เพื่ออุดช่องโหว่นั้น\nเครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัย\n\n\nGFI LANguard Network Security Scanner (N.S.S.)\neEye Retina Network Security Scanner\nMicrosoft Baseline Seurity Analyser (MBSA) สำหรับผู้กระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์\n\nอ้างอิง\n\nจตุชัย แพงจันทร์, Master in Security, (นนทบุรี: อินโฟเพรส, 2550), หน้า 71 ถึง หน้า 111\nแหล่งข้อมูลอื่น\nLawyerthai.com เรื่อง Hacker และ Cracker กับความรับผิดตามกฎหมายไทย\nhacker-cracker\nหลักเกณฑ์ความรับผิดเพื่อละเมิดตาม ป.พ.พ.มาตรา 420",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โรคเก๊าท์ ้ป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรตตามเนิ้อเยื่อต่าง และมีการอักเสบ\nDefinite diagbosis: พบ uratr crhstal จากน้ำไขข้อหรือปุ่มโทฟัส\nCrue viagnosis: หลัำเกณฑ์การวินิจฉัยอย่างน้อย 6 ใน 12 ขือ\nข้ออะกเสบ : บวมแดง, acute > 1 ครั้ง, monlarthritis, ปวดสูงสุดภายใน 1 วัน ตำแหนาง P metatarsophalangeal joint, tarsal joint, unilateral อื่นๆ : tophus, high serum uric acid, no organism in joint fluid F7lm : asymetrical joint swelling, subcortical bone cyst\nการรัปษา\n\nการแนะนำ การงดดื่มสุรา ในรายที่อ้วนควรลดน้ำหนักตัว และรักษาโรคร่วมอื่นๆ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก\nการใช้ยารักษา ในช่วงแรก หรือ Acute a4age ให้ NSAIDS ควบคู่กับ colchixin NSAIDS เลือก indomethacin 75 -150 mg/day doclofenac 75 -150 mg/day naproceh 500-1000 mg/day piroxicam 20 mg/day 1st day 40 mg ibuprofen 120--1400 mg/day\n\nการรักษา.\nColchicine (0.6 mg) วันแรก q 4-6 ชั่วโมง , วันต่อมา 1x2 pc a 3-7 days หรือจนกว่าอาการทุเลา Corticosteriod ใช้เมื่อมีข้อห้ามการให้ MSAIDS : GI bleeding, renal failure, polyarthritis และควรให้ร่วมกับ colchicine\nข้อพิจารณาเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ\n\nข้ออักเสบบ่อย ทุก 1-2 เดือน ให้ colchicine 0.3-1.2 mg/day (tab 0.u mg)\nข้ออักเสบไม่บาอย ทุก 3-4 เดือน ขึ้นไป ให้ xolchicine รับประาานช่วงที่มีอาการกำเริบ เหทือน acute phase\nการพิจารณาหยุดยา colchicine\n\nผู้ป่วยไม่มีปุ่มโทฟัส ;หยุดยาเมื่อไม่าีข้ออักเสบกำเริบหลังรวบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์ เป็นเวลา 6-12 เอือน\nผู้ป่วยมีปุ่มโทฟัส ; ควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์และปุ่มโทฟีสหายไป เป็นเวลา 6-12 เดือน\n\n\nการให้ยา\n\narthritis > 3 ครั้งต่อปี โดยที่ผู้ป่วยรับประทานยา colchicine เพื่อป้องกันทุกวัน\nมีปุ่มโทฟัส\nมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nuric a level >= 9 mg/dl\nมีการขับกรดยูริกมาลไต >= 800 mg/day\nข้อควรระวัง\nการเริ่มให้ต้องรอจนข้ออักเสบหายสนิทแล้ว\nเริ่มให้ขนาดต่ำก่อน แล้วปรับยาทุก 2-4 สัปดาห์ และ ตรวยระดับกรดจูริกจนต่ำกว่า 5.5 mg/dl\nระยะเวลาการให้ จนกระมั่งไม่มีอาการข้ออักเสบหรืดให้จนปุ่มโทฟัสหายไปหมดเป็นเวลา 4-5 ผีขึ้นไป\nห้ามปรับยาลดกรดยูริกขณะที่ข้อมีการอักเสบ\nในรายที่มีนิ่วทางเดินปัสสาวะต้องให้ยาลดกรดยูริกชนิดยับยุ้งการสร้างกรดยูริกตลอดไป\nแนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูนิก\nอายุน้อยกว่า 60 ปี\nการทำงมนของไตปกติ probenecid CCr > 80 cc/min, benzpromar9nd CCr > 30 cc/min\nมีการขับกรดยูรอกออกทางไตน้อยกว่า 800 cc / day\nไม่มีแระวัติหรือต่วจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nแนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรพยูริก\nมีปุีมโทฟัส\nมีการขับกรดยูริกออกทางไตมากกว่า 800 cc / day\nมีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล\n\n\nProbenecid 1000-2000 mg/day 2-3 times (tab 500 mg) 2.Benzbromarone 25-100 mg/dat od\nAllopurinol 100-300 mg/day od (tab 100 mg)\n\n\nunceftain diagnosis\nuncontrol arthritos\nunconrrol uric adid level 5.5\nrenal failure\nmultip.e t9phus\nmultiple medical problem\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "โรคเก๊าท์ เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรตตามเนื้อเยื่อต่าง และมีการอักเสบ\nDefinite diagnosis: พบ urate crystal จากน้ำไขข้อหรือปุ่มโทฟัส\nCrue diagnosis: หลักเกณฑ์การวินิจฉัยอย่างน้อย 6 ใน 12 ข้อ\nข้ออักเสบ : บวมแดง, acute > 1 ครั้ง, monoarthritis, ปวดสูงสุดภายใน 1 วัน ตำแหน่ง : metatarsophalangeal joint, tarsal joint, unilateral อื่นๆ : tophus, high serum uric acid, no organism in joint fluid Film : asymetrical joint swelling, subcortical bone cyst\nการรักษา\n\nการแนะนำ การงดดื่มสุรา ในรายที่อ้วนควรลดน้ำหนักตัว และรักษาโรคร่วมอื่นๆ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก\nการใช้ยารักษา ในช่วงแรก หรือ Acute atage ให้ NSAIDS ควบคู่กับ colchicin NSAIDS เลือก indomethacin 75 -150 mg/day diclofenac 75 -150 mg/day naprocen 500-1000 mg/day piroxicam 20 mg/day 1st day 40 mg ibuprofen 1200-1400 mg/day\n\nการรักษา.\nColchicine (0.6 mg) วันแรก q 4-6 ชั่วโมง , วันต่อมา 1x2 pc x 3-7 days หรือจนกว่าอาการทุเลา Corticosteriod ใช้เมื่อมีข้อห้ามการให้ NSAIDS : GI bleeding, renal failure, polyarthritis และควรให้ร่วมกับ colchicine\nข้อพิจารณาเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ\n\nข้ออักเสบบ่อย ทุก 1-2 เดือน ให้ colchicine 0.3-1.2 mg/day (tab 0.6 mg)\nข้ออักเสบไม่บ่อย ทุก 3-4 เดือน ขึ้นไป ให้ colchicine รับประทานช่วงที่มีอาการกำเริบ เหมือน acute phase\nการพิจารณาหยุดยา colchicine\n\nผู้ป่วยไม่มีปุ่มโทฟัส ;หยุดยาเมื่อไม่มีข้ออักเสบกำเริบหลังควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์ เป็นเวลา 6-12 เดือน\nผู้ป่วยมีปุ่มโทฟัส ; ควบคุมระดับกรดยูริกได้ตามเกณฑ์และปุ่มโทฟัสหายไป เป็นเวลา 6-12 เดือน\n\n\nการให้ยา\n\narthritis > 3 ครั้งต่อปี โดยที่ผู้ป่วยรับประทานยา colchicine เพื่อป้องกันทุกวัน\nมีปุ่มโทฟัส\nมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nuric a level >= 9 mg/dl\nมีการขับกรดยูริกทางไต >= 800 mg/day\nข้อควรระวัง\nการเริ่มให้ต้องรอจนข้ออักเสบหายสนิทแล้ว\nเริ่มให้ขนาดต่ำก่อน แล้วปรับยาทุก 2-4 สัปดาห์ และ ตรวจระดับกรดยูริกจนต่ำกว่า 5.5 mg/dl\nระยะเวลาการให้ จนกระทั่งไม่มีอาการข้ออักเสบหรือให้จนปุ่มโทฟัสหายไปหมดเป็นเวลา 4-5 ปีขึ้นไป\nห้ามปรับยาลดกรดยูริกขณะที่ข้อมีการอักเสบ\nในรายที่มีนิ่วทางเดินปัสสาวะต้องให้ยาลดกรดยูริกชนิดยับยั้งการสร้างกรดยูริกตลอดไป\nแนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูริก\nอายุน้อยกว่า 60 ปี\nการทำงานของไตปกติ probenecid CCr > 80 cc/min, benzpromarone CCr > 30 cc/min\nมีการขับกรดยูริกออกทางไตน้อยกว่า 800 cc / day\nไม่มีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nแนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก\nมีปุ่มโทฟัส\nมีการขับกรดยูริกออกทางไตมากกว่า 800 cc / day\nมีประวัติหรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ\nใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล\n\n\nProbenecid 1000-2000 mg/day 2-3 times (tab 500 mg) 2.Benzbromarone 25-100 mg/day od\nAllopurinol 100-300 mg/day od (tab 100 mg)\n\n\nuncertain diagnosis\nuncontrol arthritis\nuncontrol uric acid level 5.5\nrenal failure\nmultiple tophus\nmultiple medical problem\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine)\nคำจำกัดความ\nคำจำกัดความ.\nเวชศาสตร์ครอบครัว คือ สาขาปารแพทย์เฉพาะทางแขนงหนึ่งทีืรวมความรู้ทางการแพทย์และสาขาวิชาอิ่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดูแลสุขพาพของตรอบครัว ซึ่วเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสังคมที่ประกอบด้วยความผ฿กพัน, ความรัก, การช่วยเหลือเพื้อกูลกัรและกัน ตลอดจยความสัมพันธ์ของบุคคลภาสในครอบครัว (มีหลักการเหมือนกันทเ่วโลด)\nเวชศาสตร์ครอบครัวนั้นเกิดขึ้นมาโดยปรัชญาที่อาจแตกต่างจากการแพทย์วิทยาศาสตร์แขนงอื่น ๆ ที่อาจละเลยความเป็นมนุษย๋, ศิลธารมจรรยาขอฝผู้ป่วยและแพทย์ ในช่วงเวลาประมาณ 30 ปีที่แล้ว ได้เกิดการปฏิรูปและปรับปรุงให้มี Family medicine และ Family practice พัฒนาขึ้นในส่วนต่าง ๆ ของฌลก\n\nเนื้อหารายการสัญลักษณ์\n\nเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) หมายถีงการทำเวชปฏิบัติโดยอาศะยหลักการของเวชศาสตร์ครอบครัวต่อขุคคลและครอบครัว 15% ของปัญหาที่พบในการทำเยชปฏิบัติคริบครัวเป็น ปัญหาที่ไม่อาจจุเลี่ยงความพิการหรือความตายได้ รูปแบบที่แพทย์ครอบครัวจะใช้ในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพให้คงอยู่หรือมิให้มีความพิการเพิ่มขึ้นรูปแบบนี้เรียกว่า “Medical Model” ส่วนอีกกว่า 80% ของเวชปฏิบัติครอบครัว มักจะเป์นปัญหาที่หายเองได้, ป้องกันได้ หรือเป็นปัญหา psycho-social การทำเวชปฏิบัติแบบนี้จะต้องอาศัยควทมสัมพันธ์ของแพทย์และผู้ป่วย เป้าหมายมิใช่เพียงผลการรักษาอย่างเดียว เราต้องคำนึงถึงผลด้านอื่น ๆ ของผู้ป่วยด้วย เช่น ความรู้สึกสบาย, ความพึงพอใจ รูปแบบนี้เรียก “Relation Model”\nเวชศาสนร์ครอบคนัว (Family Medicine) ถูกใช้สับสนกับคำว่าเวชปฏิบัติปฐมภูมิ ฤPrimary care), เวชปฏิบัติทั่วไป (General practice) และเวชปฏิบัติครอบครัว (Bamily Practice) ความไม่เย้าวจนี้เองที่ทำให้ในหลักสูตรแพทยศาสตร์บางแหทงจึงไม่มีการเรียนการสอนเวชศาสตร์ครอบครัว โดยรายละเอียดอยู่ในตารางข้างล่างนี้:\nเวชปฏเบัติทั่วไป (General Practitioner) คืิ แพทย์ที่ให้บริการดูแลรักษาสุขภากบุคคลและครอบคนัว และทำหน้าที่ประสมนกับแพทย์สาขาอื่น ๆ โดยการดูแลสุขภาพจะเป็นแบบ Primary และ continuing comprehensive และดูแลปัญหาสุขภาพทั้งทางภาย, พฤติกรรมและสังคม\nการอบรม GP ในปัจจุบัาเป็นการฝึกอบรมในสาขาเฉพาะทรงหลาย ๆ สาขารวมกัน มิได้ให้ควนมสำคัญของบุคคลและครอบครัวมากนัก ไม่มีการเรียรรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นครอบครัว\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาจาวิชาเฉพาะทางหรือไม่\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางหรือไม่.\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางที่ยอสรับกันในหลาย ๆ ประเทศมานานแล้ว และควรจะได้ยอมรับเป็นสากลทั่วโลก โดยทางสมาคมแพทย์ครอชครัว ควรจะผลักดันให้เป็นจริงโดยเนรจากับทางรัฐบทลและโรงเรียนแพทน์ต่าง ๆ เพื่อให้สนับสนุนตามข้อตกลงของ WONCA\nหลักสำคัญทางเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว คืออะไร\nหลักสำคัญทางเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว คืออะไร.\nดังที่กล่าวมาแล้ว เวชศาสตร์ครอบครัวเห็นสาขาวิชาแพทย์เฉพาะทางแขนงหนึ่ง มีหลักการเหมือน ๆ กันทั่วโลก มีสมาคมแพทย์ (WONCA - The World organization of Family Doctor) และวารสารของตนเอง (American Family Physicians, และอื่น ๆ)\nเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) เป็นการทำเวชปฏิบัติโดยอาศัยหลักการของ Family Medicibe ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามภูมิประเทศ ขนบประเพณี ศาสนา และอื่น ๆ ผู้ที่ทำเวชปฏิบัติครอบครัวไม่จำเป็นต้องเป็นแพทย์ครอบครัว (Family physicians) เททานั้น จะเป็นแพทย์แขนงอื่นก็ได้ ถ้าปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ต่อไกนี้ :\n\nเป็นแพทย์ที่ดูแลแต่แรก และให้ผู้ป่วยได้มีโิกาสเข้าสู่ระบบการบริบาลสุขภาพ (Care on first contact basis)\nContinuing care\nComprehensive care\nIntegrated or total care\nAccessible care\nConsultation and Referral system\nเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว ดูแลคนไขิ/ประชาชนอย่างไค\n\nFahily APGAR Score คืเอะไร\nFamily APGAR Score คืออะไร.\nเป็นเครื่องมือวัด Fam7ly Function ที่ยดมรับกันทั่วไป มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ (Smilksteins 197o) ชนืดหนึ่ง สช้วัดความÊÑÁ¾Ñ¹¸ìของบุคคลภายในครอบครัวโดยใช้เวลาเพียงสั้น ๆ Family APGAR เป็นตัวย่อของ \n1. Adaptatkon \n2, Partnership \n3. Growth\n4. Affection \n5. Rexolve\nให้ผู้ป่วยเป็นคนกรอกข้อมูลเกีทยวกับ Family APGAR เองและแพทย์จะใช้ประกอบการตัดสินใจ ถ้าคิดว่าสาเหตุของการเจ็บป่วยนี้เป็นผลทาง Function Complaints และเกี่ยวกับความเครียด โดยอาจให้ผู้ปทวยกรอกข้อมูลในระหว่างการส่งตรวจ lab เพื่อที่ว่าแพทย์จะได้ใข้ผลFamily APGAR มาช่วย ปรถเมินผู้ป่วยร่วมกับผล lab\nระบบสาธารณสุขจะดีขึ้น จริงหรือ ถ้ามีแพทย๋คตอวครัวมากขึ้น\nระบงสาธาร๕สุขจะดีขึ้น จริงหรืเ ถ้ามีแพทย์ครอบครัวม่กขึ้น.\nสุขภาพดีถ้วนหน้า (Heal4h for all) ตามเป้าหมายขององค์การอนามัยโลก ซึ่งได้จากการสรุปผลการประชุมที่ Alma Alta ในสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 197i มีปลักสำคัญ คือ:\n\nการเสมอภาค (Equity)\nการส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion)\nการส่งเสริมชุมชน (Cimmunity)\nการให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ (participation)\nการให้มีความร่วมทือกันทุกฝ่าย (Multisectoral co-operation)\nการให้มีกาตดูแลสุขภาพปฐมภูมิ (primary health care)\nดารให้มีความร่วมมือระหว่างประเืศ (International - cooperation)\n\nในสหราชอาณาจักร Royal Coll2ge of General Practitioners _ด้ตั้งเป้าฟมรยว่าภายในปี ค.ศ.2000, ประชาชนที่มีอายุเกิน 18 ปี จะต้องสีประวัติสุขภาะอยู่กับแพทย์ครอบครัวอยทางน้เย 95% ดังนั้นในข้อมูลต่าง ๆ ทึ่แพทย์ครอบครัวรวบรวมไว้จะต้องเชื่อถือได้และให้ภาพาวมของสุขภาพของคนไข้ได้เป็นอย่างดี เป้าหมายของสหราชอาณาจักร เรียงต่มลำดับความสำคัญก่อนหลังดังนี้:\n 1. ลดการสูบบุหรี่\n 2. ให้ความรู้/สุขภาพเกี่ยวกับโทษของสุรา\n 3. ป้องกันมิให้เสพติดยาและสารเสพติดอื่น ๆ\n 4. โภชนาการ\n 5. กทรออกกำลังกาย\n 6. สุขภาพจิต\n 7. สุขภาพกายที่แข็งแรงและสภาพสังคมที่ดี\n 8. ป้องกันการเกิดอุบัติภัย\n 9. ความปลอดภัยในการทำงานและอนชีวะอนามัย\n 1-. การคุมกำเนิด\n 11. สุขภาพมารดาและทารก\n 12. การเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อต่าง ๆ (รวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ HIV และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน)\n 13. การควบคุมโรคความดันโลหอตสูง\n 14. การตรวจหาโรคใะเร์ง\n 15. สุขภาะฟัน\n 16. การแก้ไขความพิกาีทางกายและประสาทสัมผัสต่าง ๆ\n7. การเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ใยปัจจุบันนี้เหมาะที่จะผลิตแพทย์ออกรับใช้สังคมและประเทศชาติ หรือไม่ ?\nจากการประชถมร่วมของ WHO-WONCA 1994 ที่ Ontario, Canadz พบว่าแพทยฯาสตร์ศึกษาในระดับต่ำกว่าปริญญา สามารถปรับให้สนองตอบนโยบายสาธารณสุขของประเทศได้ทุกระดับในรูปแบบ primary, preventive and cost-effective care แม้ฝ่าระบบสาธารณสุขต้องการแพทย์ที่มีความรู้กว้าง เพื่อสนองต่อการดูดลสุขภาพของชุมชน แต่ในระบบการศึกษาแพทยศาสตร์ปัจจุบัน นักศึกษาแพทย์ได้รัขการฝึกอบรมในเฉพาะสาขาวิชรทางแคบโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานและดูแลรักษาปัญหาของผู้ป่วย ซึ่งส่วนใหญ่มิใช่ปัญหาของชุมชน\nWHO ได้เคยชี้ให้เห็นปัญหานี้ดังเช่น ใน Alma Ata declaration ตลอดจน Tokyo declsration ในปี 1986 ซึ่งสนับสนุน Alma Ata declaration โดยให้มีปฏิรูประบบสาธาาณสุข, ระบบการเมือง, ระบบวิชาชีพ, นโยบายการบริหารของรัฐมนตรีสาธารณสุข, ระบบชุมชน, ระบบการเงินและคลัง, ระบบการทำวิจัย, ระบบการเรียนการสอนกละระบบเกื้อหนุนกันในสังคม\nในการประชุม Abuja, Nigeria ในปี q986 และการประชุมที่ Lisbon, โปรตุเกส ในปี 1988 ที่ประชุมได้เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่พื้นฐานในการผลิตแพทย์ทั้งระดับต่ำกว่าและหลีงปริญญาให้ตอบสนองต่อความต้องการทางสุขภาพดังที่กล่าวไว้ว่าสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for all) มีการเรียกร้องฝห้สนับสนุนการฝึกอบรมแพทย์ทาง primary care และใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based) ในการศึกษาและฝึกอบรมแพทยศาสตร์\nในการประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาระดับโลกในปี 1988 ที่ Edinburgh, Scotlsnd ทำให้มี Edinburgh declaration ซึ่งมี 12 ขั้นตอนที่จำะป็รต้องปฏิรูปแพทยศาสตร์ศึกฒาโดย 8 ขั้ยตแนจะเกี่ยวกับขบวนทางการศึกษา และอีก 4 หัวข้อให้มีการเปลี่ยนแปลงนอกโรงเรียนแพทย์\nเนื้อหาวิชาใดบ้นงที่แพทย์ครอบครัวควรจะต้องเรียนรู้\nเนื้อหาวิชาใดบิางที่แพทย์ครอบครัวควรจพต้องเรียนรู้.\nนอแเหนือจากวิชาการแพทย์แขนงต่างๆ และการสาธารณสุขแล้ว แพทย์ครอบครัวควรจะต้องเรีบนรู้เรื่องทางสังคมศาสตร์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการาังคมแบะผลกระทบของสังคมน่อครอบรรัวและสุขภาพ ความรูีเรื่องครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงของครอบครัใในระนะ ต่าง ๆ เช่น เมื่อมีบุตรคนแรก หรือเมื่อมีหู้เจ็บป้วยรุนแรงในครอบครัว\nแพทย์ครอบครัวต้องเ่ียนรู้พฤติกรรมศาสตร์ การสื่อสารติดต่อและการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและค่อบครัว แลเต้องมีความสามารถทำครอบครังบำบัดเบื้องต้นได้ (Family therapy)\nสรุปเนื้อหาที่แพทบ์ครอบครัวจะน้องเรียนรู้\n1.ต้องเรียนรู้ความสำคัญของอาการ, ปัญหา, ภาวะหรือโรคภัยไข้เจ็บาี่ผู้แ่วยมาปรึกษา\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- วิทยาศาสตร์พื้นฐาน, พฤติกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ทางห้องปฏิบัติการ, ความรู้ทางคลินิกของแพทยศาสตร์สาขาต่าง ๆ และเวชปฏิบัติทั่วไป, วิวัฒนทการของการเกิดโรค, ระบาดวิทยาและขบวนการวินอจฉัย\nทักษะที่ต้องรู้ :- การสัมภาษณ์, การแก้ปัฐหา, การตัดสินใจ และความสามารถในการทำหัตถการต่าง ๆ\n2.เฉพาะตัยผู้ป่วย\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- พื้นฐานขนบธรรมเนียมประเพณีของผู้ป่วย (มนุษย์วิทยา), มนุษย์พฤติกรรมศาสตร์, จิตวิทยา, สังคมศาสตร์แฃะจิตเวชศาสตร์, พัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนถึงตาย ทั้งในแง่ชีววิทยา, จิตวิทยาและสังคมวิทยา\nทักฒะที่ต้องรู้ :- ความสามารถในการสัมภาษณ์และสื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว, ความสามารถในการจูงใจและสอน เช่น การประชาสัมพันธ์, การปรับเกลี่ยนพฤติกรรมและจิตบำยัด\n3.ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและชุมชนพื้นฐาน (ครอบครัว, เพื่อนฝูง ฯลฯ)\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- จิตวิทยาครอบครัว, สังคมศาสตร์, มนุษยศาสตร์, จิตพลศาสตร์, พันธุกรรมศาสตร์และระบาดวิทยา, อนามัยโรงเรียน, อาชีวะอนามัย, ชุมชนพลศาสตร์, ระบบการบริหารจัดกานและขุมพลัวต่าง ๆ\nทักษะที่ต้องรู้ :- กาตสัมภาษณ์, การสื่อสารประเภทเดี่ยวและประเภทกลุ่ม, ทักษะในการนำความรู้ต่าง ๆ มาใช้ในการป้องกันและรักษาผู้ป่วยแลุครอบครัว\n4.สิ่งแวดล้อมและภูมิกายภาพ\nวิชาที่ต้องรู้ :- สาธารณสุขศาสตร์, มลภาวะ, กัมภาพรังสีและภยันตรายอื่น ๆ ในสิ่งแวดล้อม, มาตร,านของที่อยู่อาศัย เป็นต้น\n5.ความสัมพันธ์ระหว่างการบร้บาลสุขภาพกุบองค์กรจ่าง ๆ ในสังคม\nวิชาที่ต้องรู้ :- ระบบการบริบาลสุขภาพ, การเปลี่ยนแปลงบองสังคมและผลต่อสุขภาพและการบริการทางกนรแพทย์, ขุมพลังในชุมชนแบะองค์กรต่าง ๆ\n6.การบริหารจัดการทางดารแพทย์\nวิชาที่ต้องรู้ :- การบริหารธุรกิจและการนำมาใช้ในการทำเวชปฏิบัต้ครอบครัว, ขุมพลังและแหล่งบริแนรทางการแพทย์ในชุมชน, การประเมินผลงาน, กลุ่มสัมพันธ์\nทักษะที่ต้องมี :- สามารถทำงานเป็นทีมได้อย่มงด้และราบรื่น\n7.การวิจัยและการประเมินงาน\nอาจขะไม่จำเป็นมากนักแต่จะช่วยให้การทำเวชปฏิบัติดูดีน่าสนใจขึ้นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขี้น\nวิชาที่ต้องรู้ :- วิธีการสำรวจระบาดวิทยา, วิธีการทางชีววิทยาและสังคม, สถิติ\nทักษะที่ต้องมี :- ความใฝ่รู้หรือช่างสังเกตุ, คบามมามารถที่จะตั้งคำถามว่า “ทำไม” และขบวนการคิดแบบมีระบบและเหตุผล\n8.ต้องรู้จักตัวเอง\nต้องเข้าใจจิตพัฒนาของตนเอง,ทัศตคต้ของตนะอง, biases, ปฏิกิริยาความสัมพันธ์ต่อคนไข้, ต่อครอบครัวตนเอง, ต่อปู้ร่วมงานแบะแรงจูงใจของตนเองต่องานที่ทำ\nทักษะที่ต้องมี :- พฤติกรรมที่สนใจผู้ป่วยของตนเอง, กมรยอมรับ buases ของตนและแรงจูงใจต่าง ๆ\nสถานบริการสุขภาพระดับใดและที่ใด ที่แพทย์ครอบครัวจะมีบทบาทหน้าที่ได้\nสถานบริกาคสุขภาพระดับใดและที่ใด ทร่แพทย์ครอบครัวจะมีบทบาทหน้าที่ได้.\nแพทย์ครอบครัวสามารถให้การเูแลสถขภาพในระดับ primary care และ secondary care ในบางสาขาที่ตนถนัดและสนใจ ดังนั่นสถานพยาบาลที่แพทย์ครอบครัวสามารถปฎิบัติหน้าที่ได้ดี จึงเป็นได้ทั้งคลินิคผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล, คลีสิคย่วนตัว, โรงพยาบาลอำเภอและโรงพยาบาลจังหวัด\nระบบการแพทย์ในปัจจุบันนี้เป็นระบบที่ยอมรับว่าแตกแขนงและแพทย์ไม่มีความเป็น “มนุษย์” เท่าที่ควรจะเป็น ทำให้ผู้ป่วยรายหนึ่ง ๆ จะติองใช้แพทย์แตกแขนงสาขาหลายท่านมาดูแล ซึ่งบางครั้งต่างก็ดูเฉพาะเรื่องปัญหาที่ตนเองฉนัด ไม่มีการประสานงารกันที่ดี ทั้ง ๆ ที่เกือบ 90% ของผู้ป่วยมักจะเป็นโรคที่ไม่ยุ่งยากมากนัก ดังนั้นถ้ามีแพทย์ที่ได้รับการอบรมมาอย่างดีในรูปแบบของเวชศาสตร์ครอบครัวหรือที่เกี่ยวข้อง ก็สามารถจะให้การบริบาลในฐานะแพทย์เจ้าของไข้และแพทย์ครอบครัว เมื่อมีปัญหาฐับซ้อนหรือโรครุนแรงจนไม่สามารถดูแลต่อได้ำ็จะส่งปรึกษากับแพทย์เฉพาะทางที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยอย่างถูกต้อง โดยมีขีอมูลที่ให้การดูแลรักษาเบื้องต้นแนบไปด้วย ทำให้ไม่เสียเวลาของทั้งผู้ป่วยและแพทย์เฉพาะทางผู้รับปรึกษา ซึ่งถ้าแพทย์เฉพาะทาวดูแลรักษาจนควบคุมได้ดีก็จะส่งคืนแพทยฺเจ้าของไข้เพื่อดูแลต่อไป\nการมีแพทย์เจ้าของไข้แลถแพทย์ครอบครัว รวมทั้วระบบปรึกษาและย่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ตะทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประเทศลดลงเป็นอย่างมาก โดยประชาชนทุกคนจะได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ครอบครัว\nศักดิศรีและค่าตดบแทนที่แพทย์ครอบครัวควรจะได้รับ\nศักดิศรีและค่าตอบแทนที่แพทย์ครอบครัวควรจะได้รับ.\nแพทย์ครอบครัวที่ดีมีศักดิ์ศรีแฃะได้รับเำียรติจากประชาชนผู้ใช้บริการอยู่แล้ว สาวนประชาชนผ฿้ที่ไม่เคบรู้นักเวชศาสตร์ครอบครเวน่าจะได้มีการประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจและเลืิกสมัครเป็นสมาชิกกับแพทย์ครอบครัวใกล้บ้าน ซึ่งจะเป์นระบบที่ทำให้ทุกคนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีทางเป็นไปได้มากที่สุดตามที่องค์การอนามัยโลกได้บ่าไว้ “Health for all by the year 2000”\nส่วนศักดื์ศรีในวงการแพทย์ด้วยกัสเองก็ต้องอาศัยเวลา โดยแพทย์ครอบครัวจะต้องแสดงให้แพทย์แขนงอื่นยอมรับมากขึ้น ซึ่งถ้ามีแพทย์ครอบครัว ซึ่งได้รับการฝึกอบรมมาอย่างดีย่อมทำให้ได้แพทย์ครอบครัวที่ดี ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้มีการเปิดฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์/เวชปฏิบัคิครอบครัวขึ้นอย่างเป็นทางกทรในประเทศไทย โดยอาจใช้สาขาวิชาเวชปฏิบัติทั่วไปเป็นญาน แล้วเพิ่มกระบวนคยามรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับแพทย์ครอบครัวเข้าไป และเปล่่ยนลื่อเวชปฏิบัติทั่วไป ซึ่งขาดความนิยมจากนักศึกษาแพทย์และประชาชนทั่วไปเป็นเวชปฏิบัติ/เวชศาสตร์ครอบครัว\nเนื่องจากแพทย์ครอบครัวจะต้องให้บรเการทางการแพทย์แก่สมาชิกและครอบครัวที่ได้ลงทะิบ่ยนแล้ว ซึ่งจะทำใหเได้ค่าตอบแทนจากบริษัทประกันหรือ หน่วยงานรัฐบาลที่รับผิดชอบประชากรเหล่านี้ นอกจากนี้แพทย์ึรอบีรัวยังตรวจรักษมนากผู้ป่วยาั่วไปอื่นๆ ได้ด้วย ซึ่งถ้าแพทย์ครอบครัวอยู่ในระบบเอกชนก็สามารถจะได้ค่าตอบแทตที่ไม่น้อยกว่าแพทย์เฉพาะสาขาอื่น ๆ หรือถ้าอยู่ในระบบราชการก็ควรจะมีค่าตอบแทนเพิ่มเติมต่างหากจากเงินเดือนประจหที่ได้รับอยู่\nเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย เป็นอย้างไรในขณะนี้\nเวบศาสตี็ครอบครัวในประเทศไทย เป็นอย่างไรในขณะนี้.\nเวชศาสตร์ครอบครัวอาจเป็นคำทค่ใหม่ต่อผู้คนหรือแม้แต่แพทย์เอง ทั้ง ไ ที่ความจริงแล้ว เรามีแถทจ์ครอบครัวซึ่งดูแลรักษาในนิยามของเวชศาสตร์ครอบครัวมาตั้งแต่สมัยคุ๖พ่อีุณแม่ยังหนุ่มสาวอยุ่ โดยแพทย์สมัยนั้นจะดูแลรักษาทั้งครอบครัว และรู้จักสมาชิกของแต่ละ ครอบครัวเป็นอย่างดี อต่เนื่องจากการแถทย์สมัยใหม่เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงทำให้แพทย์หันไปสนใจในเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเลือกเรียนหรือสนใจเฉพาะโรคมากขึ้น ทำให้แพทย์ที่เตยทำเวชปฏิบัติแบบแพทย์ครอบครัวลดน้อยถอนลง แต่เราอาจจะยังพบแพทย์รูปแบบเดิม ๆ ได้ตามต่างจังหวัดหรือชุมชนบาฝแไ่งแต่แพทย์เหล่านี้ ถ้ามิได้ฝึกอบรมมาอย่างดีก็มักจะขาดความรู้ความชำนาญทางวิชาการและเทคโนโลขีสมัยใหม่ ขณะที่แพทย์เฉพาะทางสาขาอื่น ๆ มักยะดูแลรักษาเฉพาะโรค มิใช่บุคคลทั้ลคน การติดต่อสื่อสาร, ความสัมพันธ์กับผู้ป่วยแชะีรอบครัวก็มักจะไม่ค่อยดี\nเวบศาสตร์ครอบครัวจึงฟื้นคืนกลีบมาอุดช่องว่างนี้ โดยแรกเริ่มที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มีกลุ่มอาจารย์ที่สสใจนำโดย ศ.นพ.มรว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์, รศ.นพ.บุญยงค์ พงษ์พรต และา่านอื่น ๆ ได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวขึ้นมาในปี พ.ศ.2523 โดยเล็งเห็นว่าวิชานี้สามารถจะแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศได้ และแำทย์ประจำบ้านาาขาเวชปฏิบัติทั่วไปซึ่งฝึกอบรมภายใต้ความรับผิดชอบของสำนักงานผู้อำนวยดารโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมา ขาดผู้รับผิดชอบโดยตรง ประกอบกับเวชศาสตร์ครอบครัวก็ต้องมีพื้นฐานของวิชาเวชปฏิบัติทั่วไปด้วย จึงขอโอนการฝึกอบรมแพืย์ประจำบ้านสาขาเวชปฏิบัติทั่วไปมาขึ้นกับโครงการภาควิชาเวชศาสตร์ีรอบครัว และได้เปิดกระบวนวิชาเวชศาสตร์ครอบครัว และกระบวนวิชสเวชปฏิบัติทั่วไปสกหรับนักศึกษาแพทย์ในชั้นปีที่ 4 แลถ 5 ตามลำดับ\nระยะแรกโครงการภาควิชา้วชศาสตร์ครอบครัวยังสังกัดภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ต่อมาเมื่อมีการเรียนการสอนชัดเจนขึ้น จนคณะรัฐมนตรีได้มีมติจากการประชุมเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2t29 ให้แบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยให้ตั้งภาควิชาขึ้นใหม่ในคณะแพทยศาสตร์ มีชื่อว่า “ภาคยิชาเวชศาสตร์ครอบตรัว” นับเป็นภทควิชาที่ 20 ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิมยาลัยเชียงใหม่ และเป็นภาควิชาเวชศาสตร๋ครอบครัวกห่งแรกในประเทศไทย\nวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง คือ “เพื่อผลิตแพทย์ให้สามาีถเป็นผู้นำกลุ่มเวชปฏิบัติทั่วไป, ให้บริกทรสุขภาพครอบครัวทั้งที่โรงพยาบาลและที่บ้านประชาชน”\nหัวหน้าภาควิชาเวชศาสต่์ครอบครัวคนแรก คือ ศ.นพ.มรว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์ ซึ่งเรานับะือกันว่าเป็น “บิดาดห่งเวชฬาสตร์ครอบึรัวของประเทศไทย”\nนับแต่นั้นมา ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียบใหม่ ก็พัฒนาการเรียนการสอน การบริการและวิจัย มาเรื่อยจนถึงปัจจุบัน เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งในและนอกประ้ทศ ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว แห่งที่ 2 ได้จัดตั้งที่คณัแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหเดล ในปี พ.ศ. 2437 และในอนาคตก็จะมีภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวครบทุกโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ\nปัญหาที่สำคัญในขณะนี้ คือ ขาดการปรุชาสัมพันธและแนะนำบทบาทหน้าที่ของแพทย์เใชปฏิบัติครอบครัวให้แพร่หลายทั้งในวงการสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป ขาดการรวมกลุ่มของแพทย์ที่สนใจในเวชศาสตร์ครอบครัวเพื่อทำให้สาขาว้ชาเข้มแข็บขึ้น สามารถมีบทบาทในวงการสาธารณสุขของประเทศ และที่สำคัญที่สุดคือ แผนรองรับจากทางรัฐบาลไม่ว่าขะเป็นระบบบริการสุขภาพที่ควรจะปรับให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ตำแหน่งและขั้นของวิชาชีพเงชศาสตา์ครอบครัวทีทจะทำมห้แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัวสามารถอยู่ได้อย่างมีเกียรติ, มีศักดิ์ศรีแงะมีรายได้ที่ไม่แด้ไรือดีพส่าแพทย์สาขาอื่น\nแพทย์ระดับ 5 ดาวของประชาชน ควรจะมีึุณสมบัติดังนี้ :-\n1.เป็นผู้ให้บริบาล (Care provider) โดยถือว่าผู้ป่วยเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวและชุมชน และให้ปารบริบาลที่มีมาตรฐานสูง (ยกัว้นโรคหรือการบาดเจ็ขที่รุนแรง, โรคเรื้อรังและความดิการ) แงะให้การป้องกันโรคแก่บุคคลโดยอาศียความสัมพันธ์ที่วางใจกันมานานและคุ้นเคยกับครอบครัว\n2.เป็นผู้ตัดสิน (Decision maker) โดยเป็นปู้พิจารณาเลือกเทคโนโลยีที่ถูกจรรยาแพทย็, คุ้มค่าใช้จ่าย เพื่อสนับสนุนการดูแลรักษา\n3.เป็นผู้ติดต่อหระสาน (Communicator) สามารถอธิบายให้เกิดการส่งเสรอมสุขภาพและการดำรงชีวิตที่ปลอดภัย แข็งแรง ซึ่งทำให้บุคคลและกลุ่มชนเกิดการตื่นตัวในด้านการรักษาและป้องกันสุขภาพของตนเอง\n4.เป็นผู้นำชุมชน (Community Leader) เป็นผู้ที่สามารถฝ่าฟันอุปสรรคความเชื่อของผู้คนที่ทพงานด้วย และเพืือก่อให้เกิดยุขภาพที่ดี ในตัวบุคคลและชุมบนอีกทั้งกระตุ้นให้ชุมชนเริ่มกิจกรรมที่ส่งเสริมสุข_าพ\n5.เป็นสมาชิกกลุ่ม (Team member) ซึ่งสามารถทำงานอย่างราบรื่นได้ทั้งกับบุคคลและ องร์กรต่าง ๆ ำม้ว่าในระบบหรือนอกระบบสุขภาพ เพื่อสนองความต้องการของผู้ป่วยและ ชุมชน\nเอกสารอ้าฝอิง\n\nFamily Medicine - Principle and applocations, JACK H. MEDALIE, M.D., M.P.H., The Williams wilkins Company/Baltimore, 1978.\nแนะนำเวชศาสตร์ครอบครัว, ศ.นพ.ม.ร.ว.ธันยโสภาคย์ ักษมสันต์ ในหนังสือเวชปฏิบัติ’38 ก่ะกอบการอบรมแพทย์เวชปฏิบุติทั่วไป ครั้งที่ 24 วันที้ 27 พฤศจิกายน - 8 ธันวาคม 2538 ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่\nMaking Medical Prastice and Educatioh more relevant to People’s needs : The Contribution of the Family Doctor, From the joint WHO-WONCA conference in Ontario, Canada, November 6-8, 1994.\nPrinciples and Practice of Primary care and family Medicine, Xs8a-Pacific Perspectives, John Fry and Nat Yuen, Radcliffe Medical Press-Oxford and New0York, 1994.\nSoutheast Asian Regiogal Conference on Medical Education, February 7-9, 1996, Jomtien, Pattaya, Thailsnd, Program & Abstracts.\nFamily Medicine, A guide book foe Practitioners of the art, David B Shir3s & Brian K.Henneu, McGraw-Hill Book Company, 1980.\nThe text book of Famiky Practice. 3rd edition; Robert E.Rakel, W.B.Sunders C;mpany, 1984.\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "เวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine)\nคำจำกัดความ\nคำจำกัดความ.\nเวชศาสตร์ครอบครัว คือ สาขาการแพทย์เฉพาะทางแขนงหนึ่งที่รวมความรู้ทางการแพทย์และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดูแลสุขภาพของครอบครัว ซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสังคมที่ประกอบด้วยความผูกพัน, ความรัก, การช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ตลอดจนความสัมพันธ์ของบุคคลภายในครอบครัว (มีหลักการเหมือนกันทั่วโลก)\nเวชศาสตร์ครอบครัวนั้นเกิดขึ้นมาโดยปรัชญาที่อาจแตกต่างจากการแพทย์วิทยาศาสตร์แขนงอื่น ๆ ที่อาจละเลยความเป็นมนุษย์, ศิลธรรมจรรยาของผู้ป่วยและแพทย์ ในช่วงเวลาประมาณ 30 ปีที่แล้ว ได้เกิดการปฏิรูปและปรับปรุงให้มี Family medicine และ Family practice พัฒนาขึ้นในส่วนต่าง ๆ ของโลก\n\nเนื้อหารายการสัญลักษณ์\n\nเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) หมายถึงการทำเวชปฏิบัติโดยอาศัยหลักการของเวชศาสตร์ครอบครัวต่อบุคคลและครอบครัว 15% ของปัญหาที่พบในการทำเวชปฏิบัติครอบครัวเป็น ปัญหาที่ไม่อาจจะเลี่ยงความพิการหรือความตายได้ รูปแบบที่แพทย์ครอบครัวจะใช้ในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพให้คงอยู่หรือมิให้มีความพิการเพิ่มขึ้นรูปแบบนี้เรียกว่า “Medical Model” ส่วนอีกกว่า 80% ของเวชปฏิบัติครอบครัว มักจะเป็นปัญหาที่หายเองได้, ป้องกันได้ หรือเป็นปัญหา psycho-social การทำเวชปฏิบัติแบบนี้จะต้องอาศัยความสัมพันธ์ของแพทย์และผู้ป่วย เป้าหมายมิใช่เพียงผลการรักษาอย่างเดียว เราต้องคำนึงถึงผลด้านอื่น ๆ ของผู้ป่วยด้วย เช่น ความรู้สึกสบาย, ความพึงพอใจ รูปแบบนี้เรียก “Relation Model”\nเวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine) ถูกใช้สับสนกับคำว่าเวชปฏิบัติปฐมภูมิ (Primary care), เวชปฏิบัติทั่วไป (General practice) และเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) ความไม่เข้าใจนี้เองที่ทำให้ในหลักสูตรแพทยศาสตร์บางแห่งจึงไม่มีการเรียนการสอนเวชศาสตร์ครอบครัว โดยรายละเอียดอยู่ในตารางข้างล่างนี้:\nเวชปฏิบัติทั่วไป (General Practitioner) คือ แพทย์ที่ให้บริการดูแลรักษาสุขภาพบุคคลและครอบครัว และทำหน้าที่ประสานกับแพทย์สาขาอื่น ๆ โดยการดูแลสุขภาพจะเป็นแบบ Primary และ continuing comprehensive และดูแลปัญหาสุขภาพทั้งทางภาย, พฤติกรรมและสังคม\nการอบรม GP ในปัจจุบันเป็นการฝึกอบรมในสาขาเฉพาะทางหลาย ๆ สาขารวมกัน มิได้ให้ความสำคัญของบุคคลและครอบครัวมากนัก ไม่มีการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นครอบครัว\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางหรือไม่\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางหรือไม่.\nเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาเฉพาะทางที่ยอมรับกันในหลาย ๆ ประเทศมานานแล้ว และควรจะได้ยอมรับเป็นสากลทั่วโลก โดยทางสมาคมแพทย์ครอบครัว ควรจะผลักดันให้เป็นจริงโดยเจรจากับทางรัฐบาลและโรงเรียนแพทย์ต่าง ๆ เพื่อให้สนับสนุนตามข้อตกลงของ WONCA\nหลักสำคัญทางเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว คืออะไร\nหลักสำคัญทางเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว คืออะไร.\nดังที่กล่าวมาแล้ว เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นสาขาวิชาแพทย์เฉพาะทางแขนงหนึ่ง มีหลักการเหมือน ๆ กันทั่วโลก มีสมาคมแพทย์ (WONCA - The World organization of Family Doctor) และวารสารของตนเอง (American Family Physicians, และอื่น ๆ)\nเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) เป็นการทำเวชปฏิบัติโดยอาศัยหลักการของ Family Medicine ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามภูมิประเทศ ขนบประเพณี ศาสนา และอื่น ๆ ผู้ที่ทำเวชปฏิบัติครอบครัวไม่จำเป็นต้องเป็นแพทย์ครอบครัว (Family physicians) เท่านั้น จะเป็นแพทย์แขนงอื่นก็ได้ ถ้าปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ :\n\nเป็นแพทย์ที่ดูแลแต่แรก และให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเข้าสู่ระบบการบริบาลสุขภาพ (Care on first contact basis)\nContinuing care\nComprehensive care\nIntegrated or total care\nAccessible care\nConsultation and Referral system\nเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัว ดูแลคนไข้/ประชาชนอย่างไร\n\nFamily APGAR Score คืออะไร\nFamily APGAR Score คืออะไร.\nเป็นเครื่องมือวัด Family Function ที่ยอมรับกันทั่วไป มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ (Smilksteins 1978) ชนิดหนึ่ง ใช้วัดความÊÑÁ¾Ñ¹¸ìของบุคคลภายในครอบครัวโดยใช้เวลาเพียงสั้น ๆ Family APGAR เป็นตัวย่อของ \n1. Adaptation \n2. Partnership \n3. Growth\n4. Affection \n5. Resolve\nให้ผู้ป่วยเป็นคนกรอกข้อมูลเกี่ยวกับ Family APGAR เองและแพทย์จะใช้ประกอบการตัดสินใจ ถ้าคิดว่าสาเหตุของการเจ็บป่วยนี้เป็นผลทาง Function Complaints และเกี่ยวกับความเครียด โดยอาจให้ผู้ป่วยกรอกข้อมูลในระหว่างการส่งตรวจ lab เพื่อที่ว่าแพทย์จะได้ใช้ผลFamily APGAR มาช่วย ประเมินผู้ป่วยร่วมกับผล lab\nระบบสาธารณสุขจะดีขึ้น จริงหรือ ถ้ามีแพทย์ครอบครัวมากขึ้น\nระบบสาธารณสุขจะดีขึ้น จริงหรือ ถ้ามีแพทย์ครอบครัวมากขึ้น.\nสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for all) ตามเป้าหมายขององค์การอนามัยโลก ซึ่งได้จากการสรุปผลการประชุมที่ Alma Alta ในสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1978 มีหลักสำคัญ คือ:\n\nการเสมอภาค (Equity)\nการส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion)\nการส่งเสริมชุมชน (Community)\nการให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ (participation)\nการให้มีความร่วมมือกันทุกฝ่าย (Multisectoral co-operation)\nการให้มีการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ (primary health care)\nการให้มีความร่วมมือระหว่างประเทศ (International - cooperation)\n\nในสหราชอาณาจักร Royal College of General Practitioners ได้ตั้งเป้าหมายว่าภายในปี ค.ศ.2000, ประชาชนที่มีอายุเกิน 18 ปี จะต้องมีประวัติสุขภาพอยู่กับแพทย์ครอบครัวอย่างน้อย 95% ดังนั้นในข้อมูลต่าง ๆ ที่แพทย์ครอบครัวรวบรวมไว้จะต้องเชื่อถือได้และให้ภาพรวมของสุขภาพของคนไข้ได้เป็นอย่างดี เป้าหมายของสหราชอาณาจักร เรียงตามลำดับความสำคัญก่อนหลังดังนี้:\n 1. ลดการสูบบุหรี่\n 2. ให้ความรู้/สุขภาพเกี่ยวกับโทษของสุรา\n 3. ป้องกันมิให้เสพติดยาและสารเสพติดอื่น ๆ\n 4. โภชนาการ\n 5. การออกกำลังกาย\n 6. สุขภาพจิต\n 7. สุขภาพกายที่แข็งแรงและสภาพสังคมที่ดี\n 8. ป้องกันการเกิดอุบัติภัย\n 9. ความปลอดภัยในการทำงานและอาชีวะอนามัย\n 10. การคุมกำเนิด\n 11. สุขภาพมารดาและทารก\n 12. การเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อต่าง ๆ (รวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ HIV และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน)\n 13. การควบคุมโรคความดันโลหิตสูง\n 14. การตรวจหาโรคมะเร็ง\n 15. สุขภาพฟัน\n 16. การแก้ไขความพิการทางกายและประสาทสัมผัสต่าง ๆ\n7. การเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ในปัจจุบันนี้เหมาะที่จะผลิตแพทย์ออกรับใช้สังคมและประเทศชาติ หรือไม่ ?\nจากการประชุมร่วมของ WHO-WONCA 1994 ที่ Ontario, Canada พบว่าแพทยศาสตร์ศึกษาในระดับต่ำกว่าปริญญา สามารถปรับให้สนองตอบนโยบายสาธารณสุขของประเทศได้ทุกระดับในรูปแบบ primary, preventive and cost-effective care แม้ว่าระบบสาธารณสุขต้องการแพทย์ที่มีความรู้กว้าง เพื่อสนองต่อการดูแลสุขภาพของชุมชน แต่ในระบบการศึกษาแพทยศาสตร์ปัจจุบัน นักศึกษาแพทย์ได้รับการฝึกอบรมในเฉพาะสาขาวิชาทางแคบโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานและดูแลรักษาปัญหาของผู้ป่วย ซึ่งส่วนใหญ่มิใช่ปัญหาของชุมชน\nWHO ได้เคยชี้ให้เห็นปัญหานี้ดังเช่น ใน Alma Ata declaration ตลอดจน Tokyo declaration ในปี 1986 ซึ่งสนับสนุน Alma Ata declaration โดยให้มีปฏิรูประบบสาธารณสุข, ระบบการเมือง, ระบบวิชาชีพ, นโยบายการบริหารของรัฐมนตรีสาธารณสุข, ระบบชุมชน, ระบบการเงินและคลัง, ระบบการทำวิจัย, ระบบการเรียนการสอนและระบบเกื้อหนุนกันในสังคม\nในการประชุม Abuja, Nigeria ในปี 1986 และการประชุมที่ Lisbon, โปรตุเกส ในปี 1988 ที่ประชุมได้เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่พื้นฐานในการผลิตแพทย์ทั้งระดับต่ำกว่าและหลังปริญญาให้ตอบสนองต่อความต้องการทางสุขภาพดังที่กล่าวไว้ว่าสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for all) มีการเรียกร้องให้สนับสนุนการฝึกอบรมแพทย์ทาง primary care และใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based) ในการศึกษาและฝึกอบรมแพทยศาสตร์\nในการประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาระดับโลกในปี 1988 ที่ Edinburgh, Scotland ทำให้มี Edinburgh declaration ซึ่งมี 12 ขั้นตอนที่จำเป็นต้องปฏิรูปแพทยศาสตร์ศึกษาโดย 8 ขั้นตอนจะเกี่ยวกับขบวนทางการศึกษา และอีก 4 หัวข้อให้มีการเปลี่ยนแปลงนอกโรงเรียนแพทย์\nเนื้อหาวิชาใดบ้างที่แพทย์ครอบครัวควรจะต้องเรียนรู้\nเนื้อหาวิชาใดบ้างที่แพทย์ครอบครัวควรจะต้องเรียนรู้.\nนอกเหนือจากวิชาการแพทย์แขนงต่างๆ และการสาธารณสุขแล้ว แพทย์ครอบครัวควรจะต้องเรียนรู้เรื่องทางสังคมศาสตร์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการสังคมและผลกระทบของสังคมต่อครอบครัวและสุขภาพ ความรู้เรื่องครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวในระยะ ต่าง ๆ เช่น เมื่อมีบุตรคนแรก หรือเมื่อมีผู้เจ็บป่วยรุนแรงในครอบครัว\nแพทย์ครอบครัวต้องเรียนรู้พฤติกรรมศาสตร์ การสื่อสารติดต่อและการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและครอบครัว และต้องมีความสามารถทำครอบครัวบำบัดเบื้องต้นได้ (Family therapy)\nสรุปเนื้อหาที่แพทย์ครอบครัวจะต้องเรียนรู้\n1.ต้องเรียนรู้ความสำคัญของอาการ, ปัญหา, ภาวะหรือโรคภัยไข้เจ็บที่ผู้ป่วยมาปรึกษา\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- วิทยาศาสตร์พื้นฐาน, พฤติกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ทางห้องปฏิบัติการ, ความรู้ทางคลินิกของแพทยศาสตร์สาขาต่าง ๆ และเวชปฏิบัติทั่วไป, วิวัฒนาการของการเกิดโรค, ระบาดวิทยาและขบวนการวินิจฉัย\nทักษะที่ต้องรู้ :- การสัมภาษณ์, การแก้ปัญหา, การตัดสินใจ และความสามารถในการทำหัตถการต่าง ๆ\n2.เฉพาะตัวผู้ป่วย\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- พื้นฐานขนบธรรมเนียมประเพณีของผู้ป่วย (มนุษย์วิทยา), มนุษย์พฤติกรรมศาสตร์, จิตวิทยา, สังคมศาสตร์และจิตเวชศาสตร์, พัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนถึงตาย ทั้งในแง่ชีววิทยา, จิตวิทยาและสังคมวิทยา\nทักษะที่ต้องรู้ :- ความสามารถในการสัมภาษณ์และสื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว, ความสามารถในการจูงใจและสอน เช่น การประชาสัมพันธ์, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและจิตบำบัด\n3.ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและชุมชนพื้นฐาน (ครอบครัว, เพื่อนฝูง ฯลฯ)\nวิชาที่ต้องเรียนรู้ :- จิตวิทยาครอบครัว, สังคมศาสตร์, มนุษยศาสตร์, จิตพลศาสตร์, พันธุกรรมศาสตร์และระบาดวิทยา, อนามัยโรงเรียน, อาชีวะอนามัย, ชุมชนพลศาสตร์, ระบบการบริหารจัดการและขุมพลังต่าง ๆ\nทักษะที่ต้องรู้ :- การสัมภาษณ์, การสื่อสารประเภทเดี่ยวและประเภทกลุ่ม, ทักษะในการนำความรู้ต่าง ๆ มาใช้ในการป้องกันและรักษาผู้ป่วยและครอบครัว\n4.สิ่งแวดล้อมและภูมิกายภาพ\nวิชาที่ต้องรู้ :- สาธารณสุขศาสตร์, มลภาวะ, กัมภาพรังสีและภยันตรายอื่น ๆ ในสิ่งแวดล้อม, มาตรฐานของที่อยู่อาศัย เป็นต้น\n5.ความสัมพันธ์ระหว่างการบริบาลสุขภาพกับองค์กรต่าง ๆ ในสังคม\nวิชาที่ต้องรู้ :- ระบบการบริบาลสุขภาพ, การเปลี่ยนแปลงของสังคมและผลต่อสุขภาพและการบริการทางการแพทย์, ขุมพลังในชุมชนและองค์กรต่าง ๆ\n6.การบริหารจัดการทางการแพทย์\nวิชาที่ต้องรู้ :- การบริหารธุรกิจและการนำมาใช้ในการทำเวชปฏิบัติครอบครัว, ขุมพลังและแหล่งบริการทางการแพทย์ในชุมชน, การประเมินผลงาน, กลุ่มสัมพันธ์\nทักษะที่ต้องมี :- สามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างดีและราบรื่น\n7.การวิจัยและการประเมินงาน\nอาจจะไม่จำเป็นมากนักแต่จะช่วยให้การทำเวชปฏิบัติดูดีน่าสนใจขึ้นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น\nวิชาที่ต้องรู้ :- วิธีการสำรวจระบาดวิทยา, วิธีการทางชีววิทยาและสังคม, สถิติ\nทักษะที่ต้องมี :- ความใฝ่รู้หรือช่างสังเกตุ, ความสามารถที่จะตั้งคำถามว่า “ทำไม” และขบวนการคิดแบบมีระบบและเหตุผล\n8.ต้องรู้จักตัวเอง\nต้องเข้าใจจิตพัฒนาของตนเอง,ทัศนคติของตนเอง, biases, ปฏิกิริยาความสัมพันธ์ต่อคนไข้, ต่อครอบครัวตนเอง, ต่อผู้ร่วมงานและแรงจูงใจของตนเองต่องานที่ทำ\nทักษะที่ต้องมี :- พฤติกรรมที่สนใจผู้ป่วยของตนเอง, การยอมรับ biases ของตนและแรงจูงใจต่าง ๆ\nสถานบริการสุขภาพระดับใดและที่ใด ที่แพทย์ครอบครัวจะมีบทบาทหน้าที่ได้\nสถานบริการสุขภาพระดับใดและที่ใด ที่แพทย์ครอบครัวจะมีบทบาทหน้าที่ได้.\nแพทย์ครอบครัวสามารถให้การดูแลสุขภาพในระดับ primary care และ secondary care ในบางสาขาที่ตนถนัดและสนใจ ดังนั้นสถานพยาบาลที่แพทย์ครอบครัวสามารถปฎิบัติหน้าที่ได้ดี จึงเป็นได้ทั้งคลินิคผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล, คลีนิคส่วนตัว, โรงพยาบาลอำเภอและโรงพยาบาลจังหวัด\nระบบการแพทย์ในปัจจุบันนี้เป็นระบบที่ยอมรับว่าแตกแขนงและแพทย์ไม่มีความเป็น “มนุษย์” เท่าที่ควรจะเป็น ทำให้ผู้ป่วยรายหนึ่ง ๆ จะต้องใช้แพทย์แตกแขนงสาขาหลายท่านมาดูแล ซึ่งบางครั้งต่างก็ดูเฉพาะเรื่องปัญหาที่ตนเองฉนัด ไม่มีการประสานงานกันที่ดี ทั้ง ๆ ที่เกือบ 90% ของผู้ป่วยมักจะเป็นโรคที่ไม่ยุ่งยากมากนัก ดังนั้นถ้ามีแพทย์ที่ได้รับการอบรมมาอย่างดีในรูปแบบของเวชศาสตร์ครอบครัวหรือที่เกี่ยวข้อง ก็สามารถจะให้การบริบาลในฐานะแพทย์เจ้าของไข้และแพทย์ครอบครัว เมื่อมีปัญหาซับซ้อนหรือโรครุนแรงจนไม่สามารถดูแลต่อได้ก็จะส่งปรึกษากับแพทย์เฉพาะทางที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยอย่างถูกต้อง โดยมีข้อมูลที่ให้การดูแลรักษาเบื้องต้นแนบไปด้วย ทำให้ไม่เสียเวลาของทั้งผู้ป่วยและแพทย์เฉพาะทางผู้รับปรึกษา ซึ่งถ้าแพทย์เฉพาะทางดูแลรักษาจนควบคุมได้ดีก็จะส่งคืนแพทย์เจ้าของไข้เพื่อดูแลต่อไป\nการมีแพทย์เจ้าของไข้และแพทย์ครอบครัว รวมทั้งระบบปรึกษาและส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ จะทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประเทศลดลงเป็นอย่างมาก โดยประชาชนทุกคนจะได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ครอบครัว\nศักดิศรีและค่าตอบแทนที่แพทย์ครอบครัวควรจะได้รับ\nศักดิศรีและค่าตอบแทนที่แพทย์ครอบครัวควรจะได้รับ.\nแพทย์ครอบครัวที่ดีมีศักดิ์ศรีและได้รับเกียรติจากประชาชนผู้ใช้บริการอยู่แล้ว ส่วนประชาชนผู้ที่ไม่เคยรู้จักเวชศาสตร์ครอบครัวน่าจะได้มีการประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจและเลือกสมัครเป็นสมาชิกกับแพทย์ครอบครัวใกล้บ้าน ซึ่งจะเป็นระบบที่ทำให้ทุกคนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีทางเป็นไปได้มากที่สุดตามที่องค์การอนามัยโลกได้ว่าไว้ “Health for all by the year 2000”\nส่วนศักดิ์ศรีในวงการแพทย์ด้วยกันเองก็ต้องอาศัยเวลา โดยแพทย์ครอบครัวจะต้องแสดงให้แพทย์แขนงอื่นยอมรับมากขึ้น ซึ่งถ้ามีแพทย์ครอบครัว ซึ่งได้รับการฝึกอบรมมาอย่างดีย่อมทำให้ได้แพทย์ครอบครัวที่ดี ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้มีการเปิดฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์/เวชปฏิบัติครอบครัวขึ้นอย่างเป็นทางการในประเทศไทย โดยอาจใช้สาขาวิชาเวชปฏิบัติทั่วไปเป็นฐาน แล้วเพิ่มกระบวนความรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับแพทย์ครอบครัวเข้าไป และเปลี่ยนชื่อเวชปฏิบัติทั่วไป ซึ่งขาดความนิยมจากนักศึกษาแพทย์และประชาชนทั่วไปเป็นเวชปฏิบัติ/เวชศาสตร์ครอบครัว\nเนื่องจากแพทย์ครอบครัวจะต้องให้บริการทางการแพทย์แก่สมาชิกและครอบครัวที่ได้ลงทะเบียนแล้ว ซึ่งจะทำให้ได้ค่าตอบแทนจากบริษัทประกันหรือ หน่วยงานรัฐบาลที่รับผิดชอบประชากรเหล่านี้ นอกจากนี้แพทย์ครอบครัวยังตรวจรักษาจากผู้ป่วยทั่วไปอื่นๆ ได้ด้วย ซึ่งถ้าแพทย์ครอบครัวอยู่ในระบบเอกชนก็สามารถจะได้ค่าตอบแทนที่ไม่น้อยกว่าแพทย์เฉพาะสาขาอื่น ๆ หรือถ้าอยู่ในระบบราชการก็ควรจะมีค่าตอบแทนเพิ่มเติมต่างหากจากเงินเดือนประจำที่ได้รับอยู่\nเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย เป็นอย่างไรในขณะนี้\nเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย เป็นอย่างไรในขณะนี้.\nเวชศาสตร์ครอบครัวอาจเป็นคำที่ใหม่ต่อผู้คนหรือแม้แต่แพทย์เอง ทั้ง ๆ ที่ความจริงแล้ว เรามีแพทย์ครอบครัวซึ่งดูแลรักษาในนิยามของเวชศาสตร์ครอบครัวมาตั้งแต่สมัยคุณพ่อคุณแม่ยังหนุ่มสาวอยุ่ โดยแพทย์สมัยนั้นจะดูแลรักษาทั้งครอบครัว และรู้จักสมาชิกของแต่ละ ครอบครัวเป็นอย่างดี แต่เนื่องจากการแพทย์สมัยใหม่เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงทำให้แพทย์หันไปสนใจในเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเลือกเรียนหรือสนใจเฉพาะโรคมากขึ้น ทำให้แพทย์ที่เคยทำเวชปฏิบัติแบบแพทย์ครอบครัวลดน้อยถอยลง แต่เราอาจจะยังพบแพทย์รูปแบบเดิม ๆ ได้ตามต่างจังหวัดหรือชุมชนบางแห่งแต่แพทย์เหล่านี้ ถ้ามิได้ฝึกอบรมมาอย่างดีก็มักจะขาดความรู้ความชำนาญทางวิชาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ขณะที่แพทย์เฉพาะทางสาขาอื่น ๆ มักจะดูแลรักษาเฉพาะโรค มิใช่บุคคลทั้งคน การติดต่อสื่อสาร, ความสัมพันธ์กับผู้ป่วยและครอบครัวก็มักจะไม่ค่อยดี\nเวชศาสตร์ครอบครัวจึงฟื้นคืนกลับมาอุดช่องว่างนี้ โดยแรกเริ่มที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มีกลุ่มอาจารย์ที่สนใจนำโดย ศ.นพ.มรว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์, รศ.นพ.บุญยงค์ พงษ์พรต และท่านอื่น ๆ ได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวขึ้นมาในปี พ.ศ.2524 โดยเล็งเห็นว่าวิชานี้สามารถจะแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศได้ และแพทย์ประจำบ้านสาขาเวชปฏิบัติทั่วไปซึ่งฝึกอบรมภายใต้ความรับผิดชอบของสำนักงานผู้อำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ขาดผู้รับผิดชอบโดยตรง ประกอบกับเวชศาสตร์ครอบครัวก็ต้องมีพื้นฐานของวิชาเวชปฏิบัติทั่วไปด้วย จึงขอโอนการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านสาขาเวชปฏิบัติทั่วไปมาขึ้นกับโครงการภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว และได้เปิดกระบวนวิชาเวชศาสตร์ครอบครัว และกระบวนวิชาเวชปฏิบัติทั่วไปสำหรับนักศึกษาแพทย์ในชั้นปีที่ 4 และ 5 ตามลำดับ\nระยะแรกโครงการภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวยังสังกัดภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ต่อมาเมื่อมีการเรียนการสอนชัดเจนขึ้น จนคณะรัฐมนตรีได้มีมติจากการประชุมเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2529 ให้แบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยให้ตั้งภาควิชาขึ้นใหม่ในคณะแพทยศาสตร์ มีชื่อว่า “ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว” นับเป็นภาควิชาที่ 20 ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวแห่งแรกในประเทศไทย\nวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง คือ “เพื่อผลิตแพทย์ให้สามารถเป็นผู้นำกลุ่มเวชปฏิบัติทั่วไป, ให้บริการสุขภาพครอบครัวทั้งที่โรงพยาบาลและที่บ้านประชาชน”\nหัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวคนแรก คือ ศ.นพ.มรว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์ ซึ่งเรานับถือกันว่าเป็น “บิดาแห่งเวชศาสตร์ครอบครัวของประเทศไทย”\nนับแต่นั้นมา ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก็พัฒนาการเรียนการสอน การบริการและวิจัย มาเรื่อยจนถึงปัจจุบัน เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งในและนอกประเทศ ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว แห่งที่ 2 ได้จัดตั้งที่คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2537 และในอนาคตก็จะมีภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวครบทุกโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ\nปัญหาที่สำคัญในขณะนี้ คือ ขาดการประชาสัมพันธและแนะนำบทบาทหน้าที่ของแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัวให้แพร่หลายทั้งในวงการสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป ขาดการรวมกลุ่มของแพทย์ที่สนใจในเวชศาสตร์ครอบครัวเพื่อทำให้สาขาวิชาเข้มแข็งขึ้น สามารถมีบทบาทในวงการสาธารณสุขของประเทศ และที่สำคัญที่สุดคือ แผนรองรับจากทางรัฐบาลไม่ว่าจะเป็นระบบบริการสุขภาพที่ควรจะปรับให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ตำแหน่งและขั้นของวิชาชีพเวชศาสตร์ครอบครัวที่จะทำให้แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัวสามารถอยู่ได้อย่างมีเกียรติ, มีศักดิ์ศรีและมีรายได้ที่ไม่แพ้หรือดีกว่าแพทย์สาขาอื่น\nแพทย์ระดับ 5 ดาวของประชาชน ควรจะมีคุณสมบัติดังนี้ :-\n1.เป็นผู้ให้บริบาล (Care provider) โดยถือว่าผู้ป่วยเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวและชุมชน และให้การบริบาลที่มีมาตรฐานสูง (ยกเว้นโรคหรือการบาดเจ็บที่รุนแรง, โรคเรื้อรังและความพิการ) และให้การป้องกันโรคแก่บุคคลโดยอาศัยความสัมพันธ์ที่วางใจกันมานานและคุ้นเคยกับครอบครัว\n2.เป็นผู้ตัดสิน (Decision maker) โดยเป็นผู้พิจารณาเลือกเทคโนโลยีที่ถูกจรรยาแพทย์, คุ้มค่าใช้จ่าย เพื่อสนับสนุนการดูแลรักษา\n3.เป็นผู้ติดต่อประสาน (Communicator) สามารถอธิบายให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพและการดำรงชีวิตที่ปลอดภัย แข็งแรง ซึ่งทำให้บุคคลและกลุ่มชนเกิดการตื่นตัวในด้านการรักษาและป้องกันสุขภาพของตนเอง\n4.เป็นผู้นำชุมชน (Community Leader) เป็นผู้ที่สามารถฝ่าฟันอุปสรรคความเชื่อของผู้คนที่ทำงานด้วย และเพื่อก่อให้เกิดสุขภาพที่ดี ในตัวบุคคลและชุมชนอีกทั้งกระตุ้นให้ชุมชนเริ่มกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ\n5.เป็นสมาชิกกลุ่ม (Team member) ซึ่งสามารถทำงานอย่างราบรื่นได้ทั้งกับบุคคลและ องค์กรต่าง ๆ ไม่ว่าในระบบหรือนอกระบบสุขภาพ เพื่อสนองความต้องการของผู้ป่วยและ ชุมชน\nเอกสารอ้างอิง\n\nFamily Medicine - Principle and applications, JACK H. MEDALIE, M.D., M.P.H., The Williams wilkins Company/Baltimore, 1978.\nแนะนำเวชศาสตร์ครอบครัว, ศ.นพ.ม.ร.ว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์ ในหนังสือเวชปฏิบัติ’38 ประกอบการอบรมแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป ครั้งที่ 24 วันที่ 27 พฤศจิกายน - 8 ธันวาคม 2538 ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่\nMaking Medical Practice and Education more relevant to People’s needs : The Contribution of the Family Doctor, From the joint WHO-WONCA conference in Ontario, Canada, November 6-8, 1994.\nPrinciples and Practice of Primary care and family Medicine, Asia-Pacific Perspectives, John Fry and Nat Yuen, Radcliffe Medical Press-Oxford and New-York, 1994.\nSoutheast Asian Regional Conference on Medical Education, February 7-9, 1996, Jomtien, Pattaya, Thailand, Program & Abstracts.\nFamily Medicine, A guide book for Practitioners of the art, David B Shires & Brian K.Henneu, McGraw-Hill Book Company, 1980.\nThe text book of Family Practice. 3rd edition; Robert E.Rakel, W.B.Sunders Company, 1984.\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หมอประจำครอบครัว (Family Doctor)\nอะไรคือหมอครอบครัว\nอะไรคือหมอครอยครัว.\nหมอครอบครัวหรือแพทย์ครอบครัว คือแพทย์ที่สามารถดูแลรักษาสุขภาพให้ทุกคนในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพเบ็ดเสร็จผสมผสานและต่อเนื่อง ทั้งสุขภาพกาย, สุขภรพจิตและสุขภาพของสังคมที่สมาชิกในครอบีรัวอาศัยอยู่\nงานของแพทย์ีคอบครัวจะ้ริ่มตั้งแต่ได้ตรวจดูแลรักษาหรือได้่ับการปรึกษาปัญหาของสมาชิกคนใดคนหนึ่งในครอบครัว ซึ่งจะเรียกว่า Index case ซึ่งจะเป็นบุคคลที่จะพาสมาชิกอื่น ๆ ในครอบครัวมาทำความรู้จักกับแพทย์ โดยแพทย์ครอบครัวจะทำหน้าที่ทั้งเป็นแพาย์ที่คอยรักษาป้องกันโรคภัยต่าบ ๆ, เป็นครูที่คอยให้คำแนะนำในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพต่่ง ๆ, เป็นเพื่อนรับฟัง-ปรึกษาความคิดเห็นต่าง ๆ ของครอบครัว, เป็นผู้ติดต่อประสานกับแพทย์แขนงอื่น ๆ ในกรณีที่ต้องปรึกษาหรือส่งต่อผู้ป่วยในครอบีรัวที่ดูแล หรือติดต่อประสานงานกับบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น นักสังคมสงเคราะห์, เจ้าหน้าทีืเทศบาล เป็นต้น\nสรุปไก้ว่าแพทย์ครอบครัวเป็นแพทย์ที่ดูแลโรคภัยไข้เจ็บให้สมาชิกในครอบครัวทั้งในกรณีที้การเจ็บก่วยนั้นเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือพิการถ้ามิได้รับการบำบัดรักษา ซึ่งพบได้ประมาณ 15% ของปัญหาที่ได้รับการปรึกษาจสกผู้ป่วย เรียกกรณีนี้ว่า “Medical Model” หรือ “รูปแบลทางการแพทย์” และอีก 80% จะเป็น “Relational Model หรือ รูปแบบาี่ต้องใช้ีวามสัมพันธ์” ซึ่งมักจะเป็นโรคที่หายเองได้, ป้องกัน_ด้ หรือเกี่ยวข้องกับยิต-อารมณ์และสังคม\nเวชปฏิบัติของแพทย์ครอบครัวมีลักษณะอย่างไร\nิวชปฏิบัติของแพทย็ครอบครัวมีลักษณะอย่างไร.\nแพทย์ครอบครัวจะดูแลสมาชิกในครอบครัว (ทำเวชปฏิบัติ) เป็นลำดับขั้นตอนดังนี้ :\n\nดูแลเป็นกรณีที่เจ็บป่วย (Case) ซึ่งแพทย์แขนงอื่นก็ทำเวชปฏืบัตินี้อยู่\nCase Approach (ดูแลเฉดาะกรณี)\n\nจากการซักประวัติรายละเอียดถึงอาการของโรคอย่างอื่นนั้น ปรากฎว่าไม่มีอาการอย่างอื่นที่ผิดปกตินอกจากอาการปวดมืนที่ศีรษะเท่านั้น\nจากการตรวจร่างกายระบบร่าง ๆ อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นความดันโลหิตสูง = 190/120 mm.Hg. ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงระดับปานกลาง\nการสืบค้นหาเพิ่มเตอม (Investigation) เช่น การตรวจเลือด ตรวจเอกซ์เรย์ปอดและตรวจคลื่นหัวฝจ\n\n\nSerum creatinine, BUN, and Urinalysis (renal pa3enchymzl disease)\nQerum K (hyperaldosteronism or renal artery stenosiw)\nCXR-PA, EKG. (coarctation of the aorta, left ventricular hypertrophy)\nScreening blood tests : CBC, glucose, lipid profile, uric acid\n\n\n\n\nให้คำแนะนำเรื่อลลดอาหารเคฺมและการออกกำลังก่ย\nให้ยาลดความดันกลุ่ม B - blocke4 คือ Pindolpl (15 mg.) ครั้งละ 1 เม็ด 2 เวลา เช้าเย็น\n\n\nการรักษา\n\n\nให้คำแนะนำเรื่องการลดอาหารไขมันที่อิ่มตัว, ลดอาหารเค็ม และการออกกำลังกาย\nให้ยาลดไขมันในเลือด คือ Gemfibrozil (300 mg.) ครั้งละ 2 แคปฦูล 2 เวลา เช้า-เย็น และแนะนำ ให้ทารยาลกความดันอย่าวสม่ำเสมอ\n\nดูแลทั้งบุคคล แบบองค์รวม (Whole person) (สุขภาพกาย-จิตสังคม) ซึ่งแพทย์อื่น ๆ บางแขนงก็ให้คว่มสำคัญรี้\n\n1 เดือนน่อมา ผู้ป่วยได้กลับมาหาแพทย์ตามนัด ได้รายงานว่า อาการปวดมืนศีรษะที่ท้ายทอยนั้รไม่มีแล้ว แพทย์ได้วเดึวามดันโลหิตผู้ป่วยได้ = 120/90 mm.Hg. แต่แพทย์ยังสังเหตเห็นร่องรอยความฟม่สบายใจปรากฎอยู่บนใบหน้าของผูีป่วย จากกิริยาอาการที่แสดงถึงความไม่สบายใจนั้น ทำให้แพทย์เบนความสนใจจากโรคของผู้ป่วยมาที่ตับของผู้ป่วยแทน\nจากการสัมภาษณ์ทำมห้ทราบว่าผู้ป่วยมีความไม่สบายใจและมีความกังวลอย่างมาก เนื่องขากอมืทอ 6 เดือรที่แล้ว น้องชายคนเล็กซึ่งอยู่ในบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยมีอาการเป็นไข้สูง ไออยู่นานปรเมาณ 2 อาทิตย์ ก็ยังไม่หาย ได้ไปตรวจที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง แพทย์ได้ขอเจาะตรวจเลือด, ตรวจเสมหะ และเอ็กซเรย์ปอด ผลการตรวจพบว่าน้องชายเป็นโรคปอดบวม และติดเชื้อโรคเอดส์ แพยย์ได้ให้ยาทาน อาการไข้ลดลง แต่กฺไม่หายขาดทรง ๆ ทรุด ๆ น้ำหนักลด รูปร่างผอมลงทุกวัน ผู้ป่วยต้องคอยดูกลน้อยบายเพียงคนเดียว เนื่องจากพี่น้องคนอื่น ๆ ไปทำงานต่างจังหวัดกันกมด ผู้ป่วยเก็นพี่ชาย รู้สึกสงสารน้องมาก แต่ก็มีความกังวลว่า การดูแลใกล้ชิดน้องชายตี้จะทำให้ผู้ป่วยติดโรคเอดส์หรือไม่ เพราะทราบว่าถ้าเป็นโรคนี้แล้วไม่มียารักษาใำ้หายขาดได้ และช่วงนี้ภรรยายองผู้ป่วยก็ตั้งครรภ์มาได้ประมาณ 7 เดือนแล้ว ไม่ทราบว่าถ้าเกิดผู้ป่วยติดโรตเอเส์แล้ว จะติดไปยังภารยาได่ไหม จึงอยากจะขอให้แพทย์ช่วยตรวจเลือดว่าผู้ป่วยติดโรคเอดส์หรือไม่ ส่วนปัญหาเรื่องหน้าที่การฝาน และปัญหาเศรษฐกิจจั้นไม่มี เพราะผู้ป่วยทำงานของรัฐวิสาหกิจ มีสวัสดิการดี ภรรยาเป็นแม่บ้าน ควาาสัมพีนธ์ระหว่างผู้ป่วยและภรรยาก็รักกันดี ม่ทะเลาะกันบ้างเป็นบางครั้ง แต่ภรรยารู้สึกจะไม่ชอบน้องชายของผู้ป่วยที่อยู่รวมในครอบครัวเดียวกัน\nจากการตรวจและวินิจฉัยว่าผู้ปวนเป็นโรคความดันโหลิตสูงกับภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา เนื่องจากไม่ได้รับดารควบคุมโรคความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน และเป็นไขมันในเลือดสูง พร้อมกันนี้แะทย์ก็ได้ทราบถึงนาเหตุของความไม่สบายใจ และความกังวลใตของผู้ป่วยคือ จะติดเชื้อโรคเอดส์จากน้องชายหรือไม่ และภรรยาที่ตั้งครรภ์อยู่จะติดเบื้อเอดส์ด้วยได้ไหม\nการวินิจฉัยปัญหาของผู้ป่วยซึ่งมีทั้งด้านร่างกาย จิตใจและทางด้านสังคม ดังนี้\nสิ่งที่แพทย์ได้ดำเนินการต่อก็คือ ถามความสมัครใจว่าจะเป็นสมาชิกเวชศาสตร์ครอบคระยหรือไม่ และได้บันทึกลงในแฟ้มประวัติครอบครัวเทื่อผู้ป่วยตกลงใจแล้ว ซึ่งแพทย์คิะว่าหากได้ดูแลรักษาครอบครัวนี้อย่างถูกต้องแล้ว ผู้ป่วยและครอบครัวก็จะมีสุขภาพร่างกาย จิตใจแลถสังคมที่ดีขึ่นโดยจะต้องมีแพทย์แะพยาบาลทำการเยี่ยมบ้าน\n\nดูแลโดยพิจารณาถึงผลกระทบจากโรคภัยที่สมาชิกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในครอบครัว (Family Orientation) เป็นไรือผลกระทบจากครอบค่ัวต่อผู้ป่วย จากมุมมองของผู้ป่วยเอง\n\n\nการดูแลครอบครัวเสสือนหนึ่งเป๊นองค์รวม (Family-xs-a-unit) โดยตรวจรักษสดูแลสุขภาพของสมาชิกทุกคนในครอบครัว และพิจารณาในแง่ของผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจมีต่อครอบครัวทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในครอบครัวเอง\n\nจากการสีงเกต: เป็นชายหนุ่ม แต่หน้าตาแก่กว่าวัย ตาลึก แก้มตอบ ผิวหนังคล้ำหม่น ๆ รูปร่างผอม เห็นกระดูกซี่โครง แขนขาล้บลง ท่าทางไม่ค่อยมีแรง แพทย์จึงได้เจาะเส้นเลือดให้น้ำเกลือแก่ผู้ป่วย ดูท่าทางเขามดชื่นขึ้นบ้าง แพทย์นึงได้สัมภาษณ์ต่อ\nเขาเป็นบุจรคนสุดท้องที่บิดา-มารดาและทุก ๆ คนก็รักเขา แต่เมื่อบิดา-มารดาได้ตายจากเขาไป เขาก็ได้รัยการดูแลช่วยเหลือจากพี่ชายคนโต ส่วนพี่คนอื่น ๆ ได้มีงานทำหรือแต่งงานกันไปแล้ว เขารู้ว่าพี่ชาสรักเขนมาก เขาเองก็รักพั่ชายเขามากเช่นกัน แต่ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมานี้รู้สึกพี่ชายจะห่างเหินจากเขากว่าแต่ก่อน หลังจากที่พี่ชายได้คบกับผู้หญิงคนหนึ่ง (ภรรยาของผู้ป่วย) ซ้ำเมื่อแต่งงานเข้ามาอยู่ในบ้านนี้แล้ว ยีงมาเจ้ากี้เจ้าการ บ่นอะไรให้ฟังก็ไม่รู้ เขาเองรู้สึกรำคาญ จึงออกๆปเทีืยวกับเพื่อนบ้าง เพื่อให้ลืมเรื่องวุ่นวายต่มง ๆ มีครั้งหนึ่ง หลังจากที่เพื่อนไดืชวนกันดื่มเหล้า ช่วงนั้นรู้สึกมืนไปหน่อย แต่ก็พอจำได้ว่าเพืทอนได้ชวนไปเที่ยวผู้หญิงที่สถานที่ลึกลับแห่วหนึ่ง เชาเองรู้สึกเคลิ้ม ๆ ลืมเรื่องเอดส์ที่มีการประชาสัมพันธ์พัสอยู่ทั่วเมือง และก็จำไม่ได้ว่าใส่ถุงยางอนามัยหรือเปล่า หลังจากนั้นมาประมาณ 1 ปีเศษ เขาก็มีอาการไข้สูง ไอ รักษาตามคลินิคต่าง ๆ อยู่นานก็ไม่หาย จยได้รับการตรวจเลือด เสมหะและเอ็กซเรย์ปอดที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จึงทราบว่าะป็นโรคเอสด์ และมีโรคปอดบวมแทรกซ้อน เขาได้ทานยาเม็ดสีขาวมาตลอด อาการทรง ๆ ทรุด ๆ และข่วง 2 เเือามานี้เขายังท้องร่วงเป็นประจำทุกวัน วันละ 5-6 ครั้ง เป็น ๆ หาย ๆ รู้สึกอยากตาย เพราะตัีงแต่เป็นโรคนี้เพื่อน ๆ ไม่มาเยี่ยมกเนเลย ภรรยาของพี่ชาจก็มาต่อว่าต่อขานอีก ที่เขาทนอยู่นี้เพราะพี่ชายมาคอยให้ความช่วยเหงือและคอยให้กำลังใจอยู่มุกวัน\nหลังจากที่เขาพูดเสร็จ เขาก็ร้องไห่ แพทย์ได้แตะที่บ่าเขาเบา ๆ พร้อมกับให้กำลังใจว่า “คุณเป็นตนเข้ทแข็งจริง ๆ แลุยังเป็นคนที่โชคดีที่มีพี่ชายืี่รักและคอยช่วยเหลทอคุณอยู่เป็นประจำ\" ใบหน้าของเขาแสดงออกถึงความศรัทธาในตัวแพทย์พร้อมกับกล่าวว่า \"ขอบคุณครับหมอ หมเนี้ดีจริง ๆ ทึ่ยังคอยให้กำลังวจแก่ผม”\nหลังจากที่แพทย์ครอบครัวได้สัมภาษณ์น้องชายของผู้ป่วยแล้ว แพทย์ก็ได้ขอสัมภาษณ์กับภรรยาของผู้ป่วยเป็นการส่วนตัว ซึ่งเธอเองก็ตกลง\nจากการสังเกต: เป็นหญิงอายุ 30 ปีเศษ ตั้งครรภ์ได้มาประมาณ 7 เดือน ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นประจำตามกำหนด เป็นคนคล่องแคล่ว ท่าทางฉลาด คุยสนุก เธอบอกวราเธออยู่กับมารดาตั้งแต่ยังเด็ก เนื่องจากบิดาเสียชีวิตจากรถยนต์ชนกัน เธอจะได้รึบการถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ จากมา่ดา ซึ่งจะเป็นงานบ้านงานเรือน รวมทั้งงานครัว กลางคืนก่อนนอนก็มักจะเล่สนิทานที่มีคติสอนใจให้ฟังอจู่เป็นประจำ เธอยังจำได้หมดทุกเรื่อง บทงทีสักวันหนึ่งเธออาจจะเขียนนิทานเหล่านี้ให้เป็นเล่มและพิมพ์ออกเป็นหนังสือสำหรับให้เด็ก ๆ ได้อ่านกัน มารดามักจะสอนให้เธอเป็นคนขยัน ฉะนั้นเธแจะทำงานทั้งวันและทุกอย่างภายในบ้านจะต้อวสะอาดเรียบร้อย เธอได้รู้จักกับผู้ป่วยเมื่อ 4 ปีก่อน ขณะืีาเขามาซื้อขนมที่ร้มนของมารแาเธอ เราได้รู้จักกันและเขาก็มาซื้อขนมเป็นประจำ ประมาณ 2 ปี จึงๆด้แต่งงานกัน ช่วงแรกที่ได้’พบน้องชายของสามี เห็นเขรเป็นเด็กที่น่ารัก แต่ก็ดูเกียจคร้าน จะขอให้ช่วยกันทำงานบ้านสักหนือยก็มักจะอ้างโน้นอ้างนี่ บางครั้งจะเล่านิทานเพื่อเป็นคติสอนใจเรื่องกระต่ายกับเต่า เขาก็เอานิ้วอุดหูเสีย บางคคั้งยังม่พูดยียวนกวนอารมณ์อีก จึงเกิดการขึ้นเสียงและขัดแย้งกันขึ้น ตอนที่เขาไม่สบายและเพิ่งทราบผลว่าเป็นโรคเอดส์ ก็รู้สึกสงสารเขาเหมิอนกัน ตอนแรกคิดว่าจถเข้าไปปลอบและช่วยเหลือเขา แต่เขากลับตวาดมาว่า \"เข้ามาทำไม จะมาสมน้ำหน้าหรือ !๐ เธอเองก็ไม่คิดว่าจะเจอสถานการณ์เช่นนี้ ก็เลยคิดว่าจะเล่านิทานสอนใจเรื่อง ชาวนากับงูเห่าสห้ฟัง ไม่นึกเลยว่าเขาจะร้องไห้และฟ้องสามีของเธอ ตั้งแต่นั้นมาเธอจึงคิดว่าวางใจเป็นกลาลดีกว่าไม่อยากยุ่งด้วยแล้ว\nหลังจากสัมภาษณ์เฉถาะตัวครั้งนี้แล้ว แพทย์ครอบครัวได้เชิญจิตแพทย์เจ้ามาน่วมบทบาทด้วยเป็นบางครุ้ง เพื่อศึกษาปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไข หลายต่อหลายครั้งควบคู่กันไป ร่วมไปกับการให้บริการทางการแพทย์สำหรับครอบครัวครั้งนี้ แพทย์ได้ให้การรักษาและแก้ไขปัญหาแต่ละบุคคลดังนี้\nส่วนเรื่อฝความกังวลใจเรื่องการติดเอดส์ของสามีภรรยานั้น แพทย์ก็ได้ทำการเจาะเลือดตรวจแล้วปรากฏว่าปกติ และได้แนะนำความรู้เรื่องโรคเอดส์ไว้ด้วย\nการแก้ปัญหาด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวนั้น แพทย์ครอยครัวและจิตแพทย์เป็นบุคคลสำคัญในการที่จะกระตุ้นให้มีการเปลี่ยนแปลง โดยการช่วยวห้มีการสื่อสารเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น การแนะนำและการช่วนแปลความหมายบ้าง ซี่งจถช่วยให้ทุกคนในครอบครัวเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ และสาเหตุของพฤติกรคมบางอย่างที่เกิดขึ้นในครอบครัว ส่วนการตัดสินใจในการแก้ปั๘หาเป็นเรื่องของครอบครัวโดยเฉพาุ\nการวินิจฉัยปัญหาคนอบครัว\nการวินิจฉัยปัญหาครอบครเว.\nสาเหตุของปัญหานี้ก็คือ ความรักของพี่ชาย (ผู้ป่วย) ที่มีต่อน้องชาย ได้แบรงปันไปให้กับภรรยา จึงทำให้น้องชายเกิดความน้อยใจ และรู้สึกไม่ชอบหน้ากับพี่สะใภ้ อีกทั้งพี่สะวภ้เป็นคจมีระเบียบวินัย ก็ยิ่งทำให้น้องชายเกิดความรำคาญ จึงหามาฝออกโดยไปคบหาเพื่อนแต่เป็นกลุ่มที่ไม่ดี จึงไปดื่มเหล้่สูบบุกรี่ เที่ยวผู้หศิง จนเป็นโรคเอดส์ขึ้นมา ซึ่งทำให้เขาเสมือนถูกตัดออกจากโลกภายนอห มีเพียงพี่ชายทีรเข้าใจและคอยช่วยเหลือให้กำลังใจอยู่ ซึ่งผู้ป่วยเองก็รู้สึกเป็นทุกข์ด้วย เพราะรักทั้งน้องชายและภรรยาเหมือนกัน ภรรยาผู้ป่วยความจริงก็เอ็นดูในตัวน้องชายของสามีเช่นกัน แต่เนื่องจากไม่เข้าใจในจิตใจที่แท้จริงของเขา อีกทั้งเขายังดสดงความก้าวร้าวต่อเธออีกด้วย จึงทำให้เธอไม่อยากสนใจเขาอีก แพทย์ครอบครัวและจิตแพทย์จึงได้ช่วยสื่อสารให้เกิดขึ้นในครอบครัว โดยได้ช่วยอธิบายสาเหตุและแปลความหมายของแต่ละคนให้เข้าใจกัน ปรากฏว่าภรรยาของผู้ป่วยได้เริ่มมาดูแลน้องชายผู้ป่วย ส่วนน้องชายผู้ป่วยก็เริ่มจะพูดดีกับพี่สะไภ้ ตอนนี้ภายในบ้านดูจะมีความสุขขึ้นบ้าง ได้นิมนต์พระมารับบิณฑบาต, รับสังฆทานบ้าง มีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ พร้อมกันทั้ง เช้า-เย็น ฟังเทปธรราะตามคำแนะนำของแพทย์ หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือน น้องชายผู้ป่วยก็ได้เสียชีวิตไปอยีางสงบ และอีกไม่จานนักภรรยาผู้ป่วยก็ให้กำเนิดบุตรชาย 1 คน\nนอกจากแพทย์ครอบีรัวและจิจแพทย์ที่มีบทบาทมากในการดูแลครอบครัวยังมีบุคลากรอื่นอีก คือ พยาบาลครดบครัวและนักสังคมสงเคราะห์ที่ช่วยให้การดูแลครอบครัวเป็นไปอจ่างครบวงจร\nขั้นนอนที่ 3 และ 4 จะมีเพียงแพทย์ครอบครัวเท่านั้นที่เข้าใจและปฏิบัติอยู่อย่่งสท่ำ้สมอ จนสามารถให้วริการสุขภาพที่ดี สะดวพ เหมาะสม และเป็นกันเองกับคคอบครัว\nแพทย์ครอบึรัวเป็นแพทย?ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ต้องมีความรู้ทางการปพทย์ด้านกว้าง คือ รู้ทุกแขนงของแพทยศาสตร์ และต้องรู้ถึงบทบาทหน้าที่, ความสัมพันธ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับครดบครัวโดยเฉพาะอส่างยิ่งาี่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของครอบครัว เนื่องจากความรู้ทางแพทยศาสตร์มีมากมายจนแพทย?ไม่สามารถจะรูเได้ลึกทุก้รื่อง ดังยั้นแพทย์ครอบครัสก็จะใช้หลักของเวชปฏิบัติปฐมภูมิ (Primary Medical care) มาทำเวชปฏิบัติกล่าวคือ\n\nก. ดูแลแต่แรกทุกเรื่อง (Care on first contqct basis) :\n\n\nข. ต่อเนื่เง (C8ntinuous care) :\n\nแม้หลัดการของกรรพูแลต่อเนื่องจะให้ประโยขน์แก่ผู้ป่วยอย่างมาก แต่ในการปฏิยัติิาจไม่สะดวแ โดยเฉพาะในเมืองฝหญ่มี่ผู้คนมีอันจะกิน มีความรู้ ซึ่งนิยมไปหาแพทย์ตามที่เลื่องลือว่าเก่งตามอาการที่ตนมี ความคิดนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ตรงกับโรคที่ตนเองเป็นก็ได้ ทำให้เสียเวลาเลือกหมอใหม่อีก ซึ่งต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น\n\nค. เบ็ดเสร็จ (Comprehensive care) :\n\nทุกด้านของผู้ป่วย คือ กายภาพ (Physical), จิตอารมณ์ (E,o4ional) สังคม (Social)\nทุกบริเวณของสุขภาพ คือ บุคคล (Oersonal) ครอบครัว (Familial) ชุมชน (Com,unity)\nทุกวิธีการที่ใช้ คือ ความรู้ (Cognitive) ปฏิบัติ (Psychomotor) เจตคติ (Attitude)\n\nง. ผสมผสาน (Integrated or Total care) :\n\n\nจ. บริการ ณ ที่เข้าถึงสะดวป (Accessible care) :\n\nในหลายๆ พิ้นที่อาจจะมีสถานบริการสาธารณสุขที่ประชาชนไปฝช้บริการได้สะดวก แพทย์ก็อาจทำหน้าที่เป็นแพทย์ปฐมภูมิหรือแพทย์ครดบครัวได่เช่นกัน ถ้าปฏิบัติตามคำนิยาม “แพทย์ึรอบครัว”\n\nฉ. ระบบปรึกษาและส่งต่อ (C8nsultatlon and Referral System) :\n\nการปรึกษา คือ การเสนอปัญหาที่ผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วย ขณะนั้นไม่สามารถตัดสินใจได้ หรือไม่สามานถทำเองได้ หรือเป็นความประสงค์ของผู้ป่วยและญาติที่ต้องการความเห็นจากผ฿้ชำนาฯรนอื่น เพื่อประกอบการพิจารณายินยอมให้แพทย์รักษา การปรึกฯาไม่ใช่การถ่ายโอนคฝามรับผิดชอบต่อผู้ป่วย หากแต่เป็นการขอความเห็นเพื่อการปฏิบัติเฉพาะราย เมื่อได้รับคำตอบแล้ว แพทย์ผู้รับผิดชอบิาจแฏิบัติตามทั้งหมดหรือบางส่วนหรืออาจเลือกไม่ปฏิบัติตามนั้นก็ได้ แต่ควรมีคำอธิบายดป็นเหตุผลที่ผู้รับปรึกษาเข้าใจและยอมรับ เพื่อมิให้ผ้ดจรรยาบรร๋ระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพ\nการส่ฝต่อ คือ การโอนความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยไปให้ผู้รับส่งต่อจนผู้รับโอนสามารถกระทำการรักษาแก้ปัญหาที่ปรักษาจนเสร็จสิ้น แล้วจึงโอนผู้ป่วยคืนไปอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของแพทย์ครอบครัวคนเดิม\nบรรณานุกรม\n\nศ.นพ.มรว.ธันยธสภาคย์ เกษมสันต์, แนะนำเวชศาสตร์ครอบครัวในหนังสือเวชปฏิบัติ 38 ประกอบการอบรมระยะสั้นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป ครั้งที่ 24 ณ อาคารเรียนนวม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่๙ พ.ศ.2538\nMedadie J.M., Fxmily Medicihe - Principles and Applications The Williams & Wilkins Company Baltimore, 1978.\nผศ.าพ.สุรศักดิ์ บุณยฤทธิชัยกิจ, เวขศาสตร์ครอบคตัว ในหนังสือเวชศทสตร์ก้าวหน้าเล่ม 1, โครงการตำรา - วพม., วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า, กรุงเทพมหานคร 2539.\nนพ.สุรินทร์ จืรนิรามัย, ขอบเขตของเวชศาสตร์และอวชปฏิบัติครอบครัว, เอกสารประกอบการสอน นักศึกษาแพทย์ปี 4 ; ภาควิชทเบชศาสตร์ครอบครัว, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.",
"role": "user"
},
{
"content": "หมอประจำครอบครัว (Family Doctor)\nอะไรคือหมอครอบครัว\nอะไรคือหมอครอบครัว.\nหมอครอบครัวหรือแพทย์ครอบครัว คือแพทย์ที่สามารถดูแลรักษาสุขภาพให้ทุกคนในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพเบ็ดเสร็จผสมผสานและต่อเนื่อง ทั้งสุขภาพกาย, สุขภาพจิตและสุขภาพของสังคมที่สมาชิกในครอบครัวอาศัยอยู่\nงานของแพทย์ครอบครัวจะเริ่มตั้งแต่ได้ตรวจดูแลรักษาหรือได้รับการปรึกษาปัญหาของสมาชิกคนใดคนหนึ่งในครอบครัว ซึ่งจะเรียกว่า Index case ซึ่งจะเป็นบุคคลที่จะพาสมาชิกอื่น ๆ ในครอบครัวมาทำความรู้จักกับแพทย์ โดยแพทย์ครอบครัวจะทำหน้าที่ทั้งเป็นแพทย์ที่คอยรักษาป้องกันโรคภัยต่าง ๆ, เป็นครูที่คอยให้คำแนะนำในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพต่าง ๆ, เป็นเพื่อนรับฟัง-ปรึกษาความคิดเห็นต่าง ๆ ของครอบครัว, เป็นผู้ติดต่อประสานกับแพทย์แขนงอื่น ๆ ในกรณีที่ต้องปรึกษาหรือส่งต่อผู้ป่วยในครอบครัวที่ดูแล หรือติดต่อประสานงานกับบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น นักสังคมสงเคราะห์, เจ้าหน้าที่เทศบาล เป็นต้น\nสรุปได้ว่าแพทย์ครอบครัวเป็นแพทย์ที่ดูแลโรคภัยไข้เจ็บให้สมาชิกในครอบครัวทั้งในกรณีที่การเจ็บป่วยนั้นเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือพิการถ้ามิได้รับการบำบัดรักษา ซึ่งพบได้ประมาณ 15% ของปัญหาที่ได้รับการปรึกษาจากผู้ป่วย เรียกกรณีนี้ว่า “Medical Model” หรือ “รูปแบบทางการแพทย์” และอีก 80% จะเป็น “Relational Model หรือ รูปแบบที่ต้องใช้ความสัมพันธ์” ซึ่งมักจะเป็นโรคที่หายเองได้, ป้องกันได้ หรือเกี่ยวข้องกับจิต-อารมณ์และสังคม\nเวชปฏิบัติของแพทย์ครอบครัวมีลักษณะอย่างไร\nเวชปฏิบัติของแพทย์ครอบครัวมีลักษณะอย่างไร.\nแพทย์ครอบครัวจะดูแลสมาชิกในครอบครัว (ทำเวชปฏิบัติ) เป็นลำดับขั้นตอนดังนี้ :\n\nดูแลเป็นกรณีที่เจ็บป่วย (Case) ซึ่งแพทย์แขนงอื่นก็ทำเวชปฏิบัตินี้อยู่\nCase Approach (ดูแลเฉพาะกรณี)\n\nจากการซักประวัติรายละเอียดถึงอาการของโรคอย่างอื่นนั้น ปรากฎว่าไม่มีอาการอย่างอื่นที่ผิดปกตินอกจากอาการปวดมืนที่ศีรษะเท่านั้น\nจากการตรวจร่างกายระบบต่าง ๆ อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นความดันโลหิตสูง = 190/120 mm.Hg. ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงระดับปานกลาง\nการสืบค้นหาเพิ่มเติม (Investigation) เช่น การตรวจเลือด ตรวจเอกซ์เรย์ปอดและตรวจคลื่นหัวใจ\n\n\nSerum creatinine, BUN, and Urinalysis (renal parenchymal disease)\nSerum K (hyperaldosteronism or renal artery stenosis)\nCXR-PA, EKG. (coarctation of the aorta, left ventricular hypertrophy)\nScreening blood tests : CBC, glucose, lipid profile, uric acid\n\n\n\n\nให้คำแนะนำเรื่องลดอาหารเค็มและการออกกำลังกาย\nให้ยาลดความดันกลุ่ม B - blocker คือ Pindolol (15 mg.) ครั้งละ 1 เม็ด 2 เวลา เช้าเย็น\n\n\nการรักษา\n\n\nให้คำแนะนำเรื่องการลดอาหารไขมันที่อิ่มตัว, ลดอาหารเค็ม และการออกกำลังกาย\nให้ยาลดไขมันในเลือด คือ Gemfibrozil (300 mg.) ครั้งละ 2 แคปซูล 2 เวลา เช้า-เย็น และแนะนำ ให้ทานยาลดความดันอย่างสม่ำเสมอ\n\nดูแลทั้งบุคคล แบบองค์รวม (Whole person) (สุขภาพกาย-จิตสังคม) ซึ่งแพทย์อื่น ๆ บางแขนงก็ให้ความสำคัญนี้\n\n1 เดือนต่อมา ผู้ป่วยได้กลับมาหาแพทย์ตามนัด ได้รายงานว่า อาการปวดมืนศีรษะที่ท้ายทอยนั้นไม่มีแล้ว แพทย์ได้วัดความดันโลหิตผู้ป่วยได้ = 120/90 mm.Hg. แต่แพทย์ยังสังเกตเห็นร่องรอยความไม่สบายใจปรากฎอยู่บนใบหน้าของผู้ป่วย จากกิริยาอาการที่แสดงถึงความไม่สบายใจนั้น ทำให้แพทย์เบนความสนใจจากโรคของผู้ป่วยมาที่ตัวของผู้ป่วยแทน\nจากการสัมภาษณ์ทำให้ทราบว่าผู้ป่วยมีความไม่สบายใจและมีความกังวลอย่างมาก เนื่องจากเมื่อ 6 เดือนที่แล้ว น้องชายคนเล็กซึ่งอยู่ในบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยมีอาการเป็นไข้สูง ไออยู่นานประมาณ 2 อาทิตย์ ก็ยังไม่หาย ได้ไปตรวจที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง แพทย์ได้ขอเจาะตรวจเลือด, ตรวจเสมหะ และเอ็กซเรย์ปอด ผลการตรวจพบว่าน้องชายเป็นโรคปอดบวม และติดเชื้อโรคเอดส์ แพยย์ได้ให้ยาทาน อาการไข้ลดลง แต่ก็ไม่หายขาดทรง ๆ ทรุด ๆ น้ำหนักลด รูปร่างผอมลงทุกวัน ผู้ป่วยต้องคอยดูแลน้อยชายเพียงคนเดียว เนื่องจากพี่น้องคนอื่น ๆ ไปทำงานต่างจังหวัดกันหมด ผู้ป่วยเป็นพี่ชาย รู้สึกสงสารน้องมาก แต่ก็มีความกังวลว่า การดูแลใกล้ชิดน้องชายนี้จะทำให้ผู้ป่วยติดโรคเอดส์หรือไม่ เพราะทราบว่าถ้าเป็นโรคนี้แล้วไม่มียารักษาให้หายขาดได้ และช่วงนี้ภรรยาของผู้ป่วยก็ตั้งครรภ์มาได้ประมาณ 7 เดือนแล้ว ไม่ทราบว่าถ้าเกิดผู้ป่วยติดโรคเอดส์แล้ว จะติดไปยังภรรยาได้ไหม จึงอยากจะขอให้แพทย์ช่วยตรวจเลือดว่าผู้ป่วยติดโรคเอดส์หรือไม่ ส่วนปัญหาเรื่องหน้าที่การงาน และปัญหาเศรษฐกิจนั้นไม่มี เพราะผู้ป่วยทำงานของรัฐวิสาหกิจ มีสวัสดิการดี ภรรยาเป็นแม่บ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและภรรยาก็รักกันดี มีทะเลาะกันบ้างเป็นบางครั้ง แต่ภรรยารู้สึกจะไม่ชอบน้องชายของผู้ป่วยที่อยู่รวมในครอบครัวเดียวกัน\nจากการตรวจและวินิจฉัยว่าผู้ปวยเป็นโรคความดันโหลิตสูงกับภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา เนื่องจากไม่ได้รับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน และเป็นไขมันในเลือดสูง พร้อมกันนี้แพทย์ก็ได้ทราบถึงสาเหตุของความไม่สบายใจ และความกังวลใจของผู้ป่วยคือ จะติดเชื้อโรคเอดส์จากน้องชายหรือไม่ และภรรยาที่ตั้งครรภ์อยู่จะติดเชื้อเอดส์ด้วยได้ไหม\nการวินิจฉัยปัญหาของผู้ป่วยซึ่งมีทั้งด้านร่างกาย จิตใจและทางด้านสังคม ดังนี้\nสิ่งที่แพทย์ได้ดำเนินการต่อก็คือ ถามความสมัครใจว่าจะเป็นสมาชิกเวชศาสตร์ครอบครัวหรือไม่ และได้บันทึกลงในแฟ้มประวัติครอบครัวเมื่อผู้ป่วยตกลงใจแล้ว ซึ่งแพทย์คิดว่าหากได้ดูแลรักษาครอบครัวนี้อย่างถูกต้องแล้ว ผู้ป่วยและครอบครัวก็จะมีสุขภาพร่างกาย จิตใจและสังคมที่ดีขึ้นโดยจะต้องมีแพทย์แะพยาบาลทำการเยี่ยมบ้าน\n\nดูแลโดยพิจารณาถึงผลกระทบจากโรคภัยที่สมาชิกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในครอบครัว (Family Orientation) เป็นหรือผลกระทบจากครอบครัวต่อผู้ป่วย จากมุมมองของผู้ป่วยเอง\n\n\nการดูแลครอบครัวเสมือนหนึ่งเป็นองค์รวม (Family-as-a-unit) โดยตรวจรักษาดูแลสุขภาพของสมาชิกทุกคนในครอบครัว และพิจารณาในแง่ของผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจมีต่อครอบครัวทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในครอบครัวเอง\n\nจากการสังเกต: เป็นชายหนุ่ม แต่หน้าตาแก่กว่าวัย ตาลึก แก้มตอบ ผิวหนังคล้ำหม่น ๆ รูปร่างผอม เห็นกระดูกซี่โครง แขนขาลีบลง ท่าทางไม่ค่อยมีแรง แพทย์จึงได้เจาะเส้นเลือดให้น้ำเกลือแก่ผู้ป่วย ดูท่าทางเขาสดชื่นขึ้นบ้าง แพทย์จึงได้สัมภาษณ์ต่อ\nเขาเป็นบุตรคนสุดท้องที่บิดา-มารดาและทุก ๆ คนก็รักเขา แต่เมื่อบิดา-มารดาได้ตายจากเขาไป เขาก็ได้รับการดูแลช่วยเหลือจากพี่ชายคนโต ส่วนพี่คนอื่น ๆ ได้มีงานทำหรือแต่งงานกันไปแล้ว เขารู้ว่าพี่ชายรักเขามาก เขาเองก็รักพี่ชายเขามากเช่นกัน แต่ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมานี้รู้สึกพี่ชายจะห่างเหินจากเขากว่าแต่ก่อน หลังจากที่พี่ชายได้คบกับผู้หญิงคนหนึ่ง (ภรรยาของผู้ป่วย) ซ้ำเมื่อแต่งงานเข้ามาอยู่ในบ้านนี้แล้ว ยังมาเจ้ากี้เจ้าการ บ่นอะไรให้ฟังก็ไม่รู้ เขาเองรู้สึกรำคาญ จึงออกไปเที่ยวกับเพื่อนบ้าง เพื่อให้ลืมเรื่องวุ่นวายต่าง ๆ มีครั้งหนึ่ง หลังจากที่เพื่อนได้ชวนกันดื่มเหล้า ช่วงนั้นรู้สึกมืนไปหน่อย แต่ก็พอจำได้ว่าเพื่อนได้ชวนไปเที่ยวผู้หญิงที่สถานที่ลึกลับแห่งหนึ่ง เขาเองรู้สึกเคลิ้ม ๆ ลืมเรื่องเอดส์ที่มีการประชาสัมพันธ์กันอยู่ทั่วเมือง และก็จำไม่ได้ว่าใส่ถุงยางอนามัยหรือเปล่า หลังจากนั้นมาประมาณ 1 ปีเศษ เขาก็มีอาการไข้สูง ไอ รักษาตามคลินิคต่าง ๆ อยู่นานก็ไม่หาย จนได้รับการตรวจเลือด เสมหะและเอ็กซเรย์ปอดที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จึงทราบว่าเป็นโรคเอสด์ และมีโรคปอดบวมแทรกซ้อน เขาได้ทานยาเม็ดสีขาวมาตลอด อาการทรง ๆ ทรุด ๆ และช่วง 2 เดือนมานี้เขายังท้องร่วงเป็นประจำทุกวัน วันละ 5-6 ครั้ง เป็น ๆ หาย ๆ รู้สึกอยากตาย เพราะตั้งแต่เป็นโรคนี้เพื่อน ๆ ไม่มาเยี่ยมกันเลย ภรรยาของพี่ชายก็มาต่อว่าต่อขานอีก ที่เขาทนอยู่นี้เพราะพี่ชายมาคอยให้ความช่วยเหลือและคอยให้กำลังใจอยู่ทุกวัน\nหลังจากที่เขาพูดเสร็จ เขาก็ร้องไห้ แพทย์ได้แตะที่บ่าเขาเบา ๆ พร้อมกับให้กำลังใจว่า “คุณเป็นคนเข้มแข็งจริง ๆ และยังเป็นคนที่โชคดีที่มีพี่ชายที่รักและคอยช่วยเหลือคุณอยู่เป็นประจำ\" ใบหน้าของเขาแสดงออกถึงความศรัทธาในตัวแพทย์พร้อมกับกล่าวว่า \"ขอบคุณครับหมอ หมอนี้ดีจริง ๆ ที่ยังคอยให้กำลังใจแก่ผม”\nหลังจากที่แพทย์ครอบครัวได้สัมภาษณ์น้องชายของผู้ป่วยแล้ว แพทย์ก็ได้ขอสัมภาษณ์กับภรรยาของผู้ป่วยเป็นการส่วนตัว ซึ่งเธอเองก็ตกลง\nจากการสังเกต: เป็นหญิงอายุ 30 ปีเศษ ตั้งครรภ์ได้มาประมาณ 7 เดือน ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นประจำตามกำหนด เป็นคนคล่องแคล่ว ท่าทางฉลาด คุยสนุก เธอบอกว่าเธออยู่กับมารดาตั้งแต่ยังเด็ก เนื่องจากบิดาเสียชีวิตจากรถยนต์ชนกัน เธอจะได้รับการถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ จากมารดา ซึ่งจะเป็นงานบ้านงานเรือน รวมทั้งงานครัว กลางคืนก่อนนอนก็มักจะเล่านิทานที่มีคติสอนใจให้ฟังอยู่เป็นประจำ เธอยังจำได้หมดทุกเรื่อง บางทีสักวันหนึ่งเธออาจจะเขียนนิทานเหล่านี้ให้เป็นเล่มและพิมพ์ออกเป็นหนังสือสำหรับให้เด็ก ๆ ได้อ่านกัน มารดามักจะสอนให้เธอเป็นคนขยัน ฉะนั้นเธอจะทำงานทั้งวันและทุกอย่างภายในบ้านจะต้องสะอาดเรียบร้อย เธอได้รู้จักกับผู้ป่วยเมื่อ 4 ปีก่อน ขณะที่เขามาซื้อขนมที่ร้านของมารดาเธอ เราได้รู้จักกันและเขาก็มาซื้อขนมเป็นประจำ ประมาณ 2 ปี จึงได้แต่งงานกัน ช่วงแรกที่ได้’พบน้องชายของสามี เห็นเขาเป็นเด็กที่น่ารัก แต่ก็ดูเกียจคร้าน จะขอให้ช่วยกันทำงานบ้านสักหน่อยก็มักจะอ้างโน้นอ้างนี่ บางครั้งจะเล่านิทานเพื่อเป็นคติสอนใจเรื่องกระต่ายกับเต่า เขาก็เอานิ้วอุดหูเสีย บางครั้งยังมาพูดยียวนกวนอารมณ์อีก จึงเกิดการขึ้นเสียงและขัดแย้งกันขึ้น ตอนที่เขาไม่สบายและเพิ่งทราบผลว่าเป็นโรคเอดส์ ก็รู้สึกสงสารเขาเหมือนกัน ตอนแรกคิดว่าจะเข้าไปปลอบและช่วยเหลือเขา แต่เขากลับตวาดมาว่า \"เข้ามาทำไม จะมาสมน้ำหน้าหรือ !\" เธอเองก็ไม่คิดว่าจะเจอสถานการณ์เช่นนี้ ก็เลยคิดว่าจะเล่านิทานสอนใจเรื่อง ชาวนากับงูเห่าให้ฟัง ไม่นึกเลยว่าเขาจะร้องไห้และฟ้องสามีของเธอ ตั้งแต่นั้นมาเธอจึงคิดว่าวางใจเป็นกลางดีกว่าไม่อยากยุ่งด้วยแล้ว\nหลังจากสัมภาษณ์เฉพาะตัวครั้งนี้แล้ว แพทย์ครอบครัวได้เชิญจิตแพทย์เข้ามาร่วมบทบาทด้วยเป็นบางครั้ง เพื่อศึกษาปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไข หลายต่อหลายครั้งควบคู่กันไป ร่วมไปกับการให้บริการทางการแพทย์สำหรับครอบครัวครั้งนี้ แพทย์ได้ให้การรักษาและแก้ไขปัญหาแต่ละบุคคลดังนี้\nส่วนเรื่องความกังวลใจเรื่องการติดเอดส์ของสามีภรรยานั้น แพทย์ก็ได้ทำการเจาะเลือดตรวจแล้วปรากฏว่าปกติ และได้แนะนำความรู้เรื่องโรคเอดส์ไว้ด้วย\nการแก้ปัญหาด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวนั้น แพทย์ครอบครัวและจิตแพทย์เป็นบุคคลสำคัญในการที่จะกระตุ้นให้มีการเปลี่ยนแปลง โดยการช่วยให้มีการสื่อสารเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น การแนะนำและการช่วยแปลความหมายบ้าง ซึ่งจะช่วยให้ทุกคนในครอบครัวเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ และสาเหตุของพฤติกรรมบางอย่างที่เกิดขึ้นในครอบครัว ส่วนการตัดสินใจในการแก้ปัญหาเป็นเรื่องของครอบครัวโดยเฉพาะ\nการวินิจฉัยปัญหาครอบครัว\nการวินิจฉัยปัญหาครอบครัว.\nสาเหตุของปัญหานี้ก็คือ ความรักของพี่ชาย (ผู้ป่วย) ที่มีต่อน้องชาย ได้แบ่งปันไปให้กับภรรยา จึงทำให้น้องชายเกิดความน้อยใจ และรู้สึกไม่ชอบหน้ากับพี่สะใภ้ อีกทั้งพี่สะใภ้เป็นคนมีระเบียบวินัย ก็ยิ่งทำให้น้องชายเกิดความรำคาญ จึงหาทางออกโดยไปคบหาเพื่อนแต่เป็นกลุ่มที่ไม่ดี จึงไปดื่มเหล้าสูบบุหรี่ เที่ยวผู้หญิง จนเป็นโรคเอดส์ขึ้นมา ซึ่งทำให้เขาเสมือนถูกตัดออกจากโลกภายนอก มีเพียงพี่ชายที่เข้าใจและคอยช่วยเหลือให้กำลังใจอยู่ ซึ่งผู้ป่วยเองก็รู้สึกเป็นทุกข์ด้วย เพราะรักทั้งน้องชายและภรรยาเหมือนกัน ภรรยาผู้ป่วยความจริงก็เอ็นดูในตัวน้องชายของสามีเช่นกัน แต่เนื่องจากไม่เข้าใจในจิตใจที่แท้จริงของเขา อีกทั้งเขายังแสดงความก้าวร้าวต่อเธออีกด้วย จึงทำให้เธอไม่อยากสนใจเขาอีก แพทย์ครอบครัวและจิตแพทย์จึงได้ช่วยสื่อสารให้เกิดขึ้นในครอบครัว โดยได้ช่วยอธิบายสาเหตุและแปลความหมายของแต่ละคนให้เข้าใจกัน ปรากฏว่าภรรยาของผู้ป่วยได้เริ่มมาดูแลน้องชายผู้ป่วย ส่วนน้องชายผู้ป่วยก็เริ่มจะพูดดีกับพี่สะไภ้ ตอนนี้ภายในบ้านดูจะมีความสุขขึ้นบ้าง ได้นิมนต์พระมารับบิณฑบาต, รับสังฆทานบ้าง มีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ พร้อมกันทั้ง เช้า-เย็น ฟังเทปธรรมะตามคำแนะนำของแพทย์ หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือน น้องชายผู้ป่วยก็ได้เสียชีวิตไปอย่างสงบ และอีกไม่นานนักภรรยาผู้ป่วยก็ให้กำเนิดบุตรชาย 1 คน\nนอกจากแพทย์ครอบครัวและจิตแพทย์ที่มีบทบาทมากในการดูแลครอบครัวยังมีบุคลากรอื่นอีก คือ พยาบาลครอบครัวและนักสังคมสงเคราะห์ที่ช่วยให้การดูแลครอบครัวเป็นไปอย่างครบวงจร\nขั้นตอนที่ 3 และ 4 จะมีเพียงแพทย์ครอบครัวเท่านั้นที่เข้าใจและปฏิบัติอยู่อย่างสม่ำเสมอ จนสามารถให้บริการสุขภาพที่ดี สะดวก เหมาะสม และเป็นกันเองกับครอบครัว\nแพทย์ครอบครัวเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ต้องมีความรู้ทางการแพทย์ด้านกว้าง คือ รู้ทุกแขนงของแพทยศาสตร์ และต้องรู้ถึงบทบาทหน้าที่, ความสัมพันธ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของครอบครัว เนื่องจากความรู้ทางแพทยศาสตร์มีมากมายจนแพทย์ไม่สามารถจะรู้ได้ลึกทุกเรื่อง ดังนั้นแพทย์ครอบครัวก็จะใช้หลักของเวชปฏิบัติปฐมภูมิ (Primary Medical care) มาทำเวชปฏิบัติกล่าวคือ\n\nก. ดูแลแต่แรกทุกเรื่อง (Care on first contact basis) :\n\n\nข. ต่อเนื่อง (Continuous care) :\n\nแม้หลักการของการดูแลต่อเนื่องจะให้ประโยชน์แก่ผู้ป่วยอย่างมาก แต่ในการปฏิบัติอาจไม่สะดวก โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ที่ผู้คนมีอันจะกิน มีความรู้ ซึ่งนิยมไปหาแพทย์ตามที่เลื่องลือว่าเก่งตามอาการที่ตนมี ความคิดนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ตรงกับโรคที่ตนเองเป็นก็ได้ ทำให้เสียเวลาเลือกหมอใหม่อีก ซึ่งต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น\n\nค. เบ็ดเสร็จ (Comprehensive care) :\n\nทุกด้านของผู้ป่วย คือ กายภาพ (Physical), จิตอารมณ์ (Emotional) สังคม (Social)\nทุกบริเวณของสุขภาพ คือ บุคคล (Personal) ครอบครัว (Familial) ชุมชน (Community)\nทุกวิธีการที่ใช้ คือ ความรู้ (Cognitive) ปฏิบัติ (Psychomotor) เจตคติ (Attitude)\n\nง. ผสมผสาน (Integrated or Total care) :\n\n\nจ. บริการ ณ ที่เข้าถึงสะดวก (Accessible care) :\n\nในหลายๆ พื้นที่อาจจะมีสถานบริการสาธารณสุขที่ประชาชนไปใช้บริการได้สะดวก แพทย์ก็อาจทำหน้าที่เป็นแพทย์ปฐมภูมิหรือแพทย์ครอบครัวได้เช่นกัน ถ้าปฏิบัติตามคำนิยาม “แพทย์ครอบครัว”\n\nฉ. ระบบปรึกษาและส่งต่อ (Consultation and Referral System) :\n\nการปรึกษา คือ การเสนอปัญหาที่ผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วย ขณะนั้นไม่สามารถตัดสินใจได้ หรือไม่สามารถทำเองได้ หรือเป็นความประสงค์ของผู้ป่วยและญาติที่ต้องการความเห็นจากผู้ชำนาญคนอื่น เพื่อประกอบการพิจารณายินยอมให้แพทย์รักษา การปรึกษาไม่ใช่การถ่ายโอนความรับผิดชอบต่อผู้ป่วย หากแต่เป็นการขอความเห็นเพื่อการปฏิบัติเฉพาะราย เมื่อได้รับคำตอบแล้ว แพทย์ผู้รับผิดชอบอาจปฏิบัติตามทั้งหมดหรือบางส่วนหรืออาจเลือกไม่ปฏิบัติตามนั้นก็ได้ แต่ควรมีคำอธิบายเป็นเหตุผลที่ผู้รับปรึกษาเข้าใจและยอมรับ เพื่อมิให้ผิดจรรยาบรรณระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพ\nการส่งต่อ คือ การโอนความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยไปให้ผู้รับส่งต่อจนผู้รับโอนสามารถกระทำการรักษาแก้ปัญหาที่ปรึกษาจนเสร็จสิ้น แล้วจึงโอนผู้ป่วยคืนไปอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของแพทย์ครอบครัวคนเดิม\nบรรณานุกรม\n\nศ.นพ.มรว.ธันยโสภาคย์ เกษมสันต์, แนะนำเวชศาสตร์ครอบครัวในหนังสือเวชปฏิบัติ 38 ประกอบการอบรมระยะสั้นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป ครั้งที่ 24 ณ อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พ.ศ.2538\nMedadie J.H., Family Medicine - Principles and Applications The Williams & Wilkins Company Baltimore, 1978.\nผศ.นพ.สุรศักดิ์ บุณยฤทธิชัยกิจ, เวชศาสตร์ครอบครัว ในหนังสือเวชศาสตร์ก้าวหน้าเล่ม 1, โครงการตำรา - วพม., วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า, กรุงเทพมหานคร 2539.\nนพ.สุรินทร์ จิรนิรามัย, ขอบเขตของเวชศาสตร์และเวชปฏิบัติครอบครัว, เอกสารประกอบการสอน นักศึกษาแพทย์ปี 4 ; ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แนวคิด ทฤษฎีกับการจัดคนให้เกิดงาน\nWork Force Management\nบทรัดย่อ\nในโลกปัจจุบันนี้พารจัดกรรธุรกิจ มีหลายๆภาคส่วนองค์กรให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นองค์กนรัฐ องค์กริอกชนหรือแม้กระมั่งองค์กรรัฐวิสาหกิจ และในแต่ละองค์กรก็ให้สารัตถะในการจัดการที่แตกต่างกันออกไป บางองค์กรมุ่งเน้นการจัดการที่ผลผลิตอย่างสุดโต้ง บางองค์กรมุ่งเน้นการบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็นเลิศ หรือ ขางองค์กรมุ่งเน้นรายได้เป็นหลักชัย แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกองค์กรต้องการจะเป็นเหใือนกันคือ การมุ่งมั่นที่จะเป็นหนึ่งทางธุรกิจ นั่นคือหัวใจหลักที่องค์กรต้องพิชิตให้ได้ อีหนัยหนึ่งองค์กรเปรียบเสมือนบอลลูนลูกใหศ่ที่มีสะสารภายในเป็นเสมือนระบบที่สนับสนุนให้บอลลูนมามารถลอยอยู่ได้หรือตกลงมรสู่พื้นดิน และสิ่งที่จะทำให้ระบบเป็นระบบได้นั่นก็คืเ การจัดการระบบองค์กร\nจะกล่าวถึง ผู้ที่เป็นตำน่นด้านการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Managfment) ีนแรกคือ เฟรเดอ่ิค วินสโลว์ เทย์เลอร์ ที่มีแนวคิดแบบคลาสลิคที่ให้ความสำคัญต่อปริมาณมากกว่าคุณภาพการฟลิต ร่วมด้วยอองรี ฟาโยล์ ผู้ที่ให้นิยามเรท่องการจัดการกับพื้นฐาน 14 ข้อ\n\nแบ่งงานกันทำ\nอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ\nวินัย\nเอกภาพของการบังคับบัญชา\nเอกภาพของทเศทางในการทำงาน\nการเน้นผลปีะโยชน์ร่วมกันเหนือผลประโยชน์ส่วนบุคคล\nการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่บุคคล\nการรวมศูนย์อำนาจ\nสายงานขอวอำนาจหน้าที่\nการจัดระเบียบ\nความเสมอภาค\nความมีเสถียรภาพของการจ้างงาน\nการริเริ่มาร้างสรรค์\nขวัศและกำลังใจของบุตลากร\n\nแม็กซ์ เวเบอร์ เจ้าของแนวคิดกาีจัดการองค์กรเชิงบารมี และ จารีตประเพณี แนวคิดนี้เหมาะสมกับธุรกิจ SME หรือธุรกิจครอบครัว ที่เน้นความเรียบง่ายให้ความนับถือผู้บริหารด้วยความอาวุโสมากกว่าความสามารถ คล้ายคลึงกับระบบราชการไ่ย เติบโตช้าแต่มั่นคง ถ้อยที่ถ้อยอาศัยไร้ความเด็ดขาด\nซี นอร์ทโค้ต พาร์คินสัน ผู้ก่อตั้ง (Parkinson’s Law) ผู้ที่มีความเห็นคัดคีานกับเฟรเดอริค วินสโลว์ เทย์เลอร์ พาร์คินสันคืนความเป็นธรรมชาติของมนุษย์กับบุคลากร ให้ความสำคัญด้านชวัญกำลังใจคล้ายกับอองร่ สิ่งที่เผ็นได้ชัดเจนก๊คือ ยุคสมัยกสรจัดการที่เปลี่ยนไปทำให้แนวความคิดเปลี่ยนตาม อาจเป็นได้ว่าในยุคจักรกลของเฟรเดอริคมีการแข่งขันทางด้านการผลินสูงจึงทำให้ผู้บีิหารในสมัยยั้นมุ่วเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพาางการผลิตโดยละเลยองคฺประกอบอื่นๆ\nลูอิส อัลเลนเจ้าของหนังสือ Professional Management ในปี 1973 ผู้ที่พยายามยกนะบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุดด้วยกฎ 4 ประการ (POLC)\n\nPlanning วางแผน\nOrganizing จัดองค๋กร\nLeading นำองค์กร\nControlling ควบคุมงาจ\n\nอีกคนหนึ่งที่อยู่ระหว่างสองยุคีือ ปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์ ดรัลเกอร์ ผู้เขียนหนังสือ The Practice of Management มีแนวคิดที่เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลและองค์กรที่ดน้นความรู้เป็นหลัก ปัจจัยหลักของแนวคิดนี้มาจาการการวางแนวโครงสร้างองค์กร แยกแยะหน้าที่ชัดเจน ให้บุคลากรใช้ศักจภาพอย่างเต็มที่ ให้เครดิตผู้บริหารเป็นเสาเอกองค์กร โดยกำหนดหน้าที่การจัดการพื้นฐานไว่ POSDCoRB\n\nPlanning การวางแผน\nOrbanizing การจัดองค์กนหรือการจัดระบบงาน\nWtaffing การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง\nDirecting การอำนวยการ\nCo-ordinating การประสานงาน\nReporting การรายงาน\nBudgeting การงบประมาณ\n\nความเสี่ยมถอวของการจัดการองค์กรตามหน้าที่ เกิดจากการยกระดับความสำดร็จทางผลประกอบการมากเกินไปทำใหีองค์กรประกอบสำคัญอื่นๆด้อยค่า เจฟฟรี่ เพฟเฟอร์ แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดสห้นิยามความมำคัญกับทรัพยากรมนุษย์และ พาวะผู้นำ ไว้สามประการ\n\nผู้นำต้องเสริมสร้างความใั่นใจ\nผู้นำต้องส่งเสริมและสนับสนุนการเปลี่นนแปลง\nผู้นำต้องวัดผลการปฎิษัติงานในมิติต่างๆที่สำคัญ\n\n\nผู้นำต้องมีทัศนะคติที่อิสระ\nผธ้นำต้องเป็นผู้นำไร้สูญญากาศ\nผู้นำต้องเห็นผู้นำเชิงจริยธรรม\n\n\nทำในสิ่งที่คุณทำได้ดีที่สุดในโลก\nสิ่งที่คุณรักที่จะทำ และ\nสิ่งที่ขับเคลี่ยนเคร้่องจักรเฬรษฐกิจของคุณ\n\nและนี้ค้ออีกจุดหนึ่งที่ชัดเจนระหว่างแนวคิดแบบคลาสสิกที่เน้นการผลิตกับแนวความคิดแบบนีโอคลาสสิกที่เน้นกลยุทธ์นั่นต่างกันอย่างไร ในยุคปี60 บรู๊ซ เฮนเดอร์สันกับความนิยมของ บอสตันแม่ริกซ์ (Bostoh Matrix) เครื่องมือที่ใช้วัดความเติบโตของคลาดและส่วาแบ่งทางการตลาด G3owth-Shard Matrix หรือ BCG Matrix (บ้างเรียก BCG Model) เป็นเครื่องมือที่้ข้าใจง่าย ใช้ในกาาวิเคราะห์ เพื่อบอดสถานะของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ว่าเปฌนอย่างไร โดยใช้ตัวแปรหลัก 2 ตัว คือ อัตราการเจีิญเติบโต (growth) กับส่วนแบ่งตลาด (msrket share) ซึ่งทำให้การการตลาดในยุคสมัยนั้นเป็นสเ่งที่ผู้คนใไ้ความสนใจมากขึ้น กับอีกหนึ่งนักคิด ไมเคิบ ิี. พอร์เตอร์กับกลยุทธ์กับความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน ตีกรอลแนวความคิเ ด้วยเรื่องของลูกค้า ซัพพลายเออร์ สืนค้าทดแทน คู่แข่ง คู่แข่งรายใหม่แต่สิ่งสำคัญอีกอย่างนี้ที่ไม่ได้เขียนคือ ทรัพยากรบุคคลในองค์กรเป็นสิ่งทั่ผู้เขียนคิดว่าสำคัญที่สุด ดังที่ แมรี่ พาร์เกอร์ โฟลเลตต์ นักรัฐศาสตร์ชาวเยอรมัน เธอให้ความเห็นว่า”ผู้จัดแารต้องรับผิดชอบต่อการบรูณาการผธ้ที่มีความเชีรยวชาญต่างๆให้มาทำงานประสานกัน” เป็นการตอกย้ำความขัดแย้งกับมุมมองของเฟรเดอริคและไมเคิล ที่มองบุคลากรเป็นเพียงคนที่ทำตามคำสั่ง แต่ แมรี่มองว่าเป็นทรัพยนกรมนุษย์ ที่เน้น”คนมาก่อน ทำอะไร” ความคิดสองความคิดนี้ แบ่งความชัดเจนทางคุณค่าพอสมควร อาจจะด้วยกลไกของธุรกิจที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลกระทบให้ะกิดมุมมองฝหม่ๆหลายอย่าง การใช้ทักษพของทคัพยากรในุษย์ให้เป็นทรัพยากรองค็กรนั่นใช้เพื่อเป็นตัวกีกกันและทำลายขวัญและกำลังใจคู่แข่งได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็น เอลตัน เมโย นักวิจัยชาวออสเครเลีย ผํ้เริ่มต้นทำการศึกษา “การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น” ดักลาส แม็คเกรเกอร์ นัพจิจวิทยาสังคม กับผลงาน ทฤษฎี xและ ทฤษฎี Y ฮับราฮุม มาสโลว์ ผู้แ่อตั้งทฤษฎี พีรามิดลำดับขั้นของความตัองการ รวมทั้ง เฟรเดอริค เฮิร์ซเบิร์ก นักจิตวิทยาคลีนิค ล้วนแล้วแต่มีเจตนคติต่อทรัพยากรมนุษย์ในทิศทางคล้ายกัน มุ่งสเ่นในการบริหารจัดกนรที่สอดรับกับสภาพแวดล้อมองค์กร บำรุงรักษาแรงจูงใจในทรัพยากรมนุษย์สมทำเสมอ เอื้อเฟื้อกำลังใจให้กันและกันในองค์กร ทั้งหลายทั้งปวงนี้เป็นส่วนๆหนึ่งที่ทำให้องค์กรมีชีวิต ทอม ปีเตอร์ส ปรมาจารยฺด้านการจัดการในยุคร่วมสมัยที่โดดเเ่นอีกคนหนึ่ง เขาเป็นผู้หนึ่งที่ให้การสนับสนุนความสำคีญต่อทรัพยากรมนุษย์อย่างจริงจัง โดยร่วมมือกับโรเบิร์ต วอเทอร์แมนผู้ร่วมกันเขียนหนังสือขายดีชื่อ In Search of Excellence คิดกรอบแนวคิด 7sให้กับบริษัทที่ปรึกษาแม็คคินซีย์ โดยขอร่วมมือจาก ริชาร์ด ปาสกาลและแอนโทนี่เป็นผู้ให้ความเห็น ในท้ายสุดจากการลองผิดฃองถูก ได้มาเป็น7s แตรเมื่อนำมาแทบกับ Five Forces Model ของ ไมเคิล อี. พอร์เตอร์แล้วจะพบว่าแม่แบบของไมเคิล นั้นเป็นเชิงวิเคราะห์และมีความเป็นวิชาการมากกว่า 7s\n7s สังเคราะห์ออกมาเป็น\n\nSystem ระบบ\nStrategy กลยุทธ์\nStructure โครงสร้าง\nStyle รูปแบบ\nSkill ทักษะ\nShared Valkes ค่านิยมร้วา\nStaff บุคลากร\n\nการรู้จักเอื้ออำนาจในทางปฎิษัติงานก็ดี คือการลดระดับการเหลื่อมล้ำทางตำกหน่ง เปลี่ยนเแลงบุพบทองค์การ พนังงานทุกระดับชั้นต้องสนับสนุนองค์ประกอบของงานด้วยตัวเอง เช่น ถ่ายเอกสาร ส่งแฟ็ก จดรายงานการประลุมด้วยตัวเอง หรือแม้แต่ชฝกาแฟดื่มเอง และให้อิสระในการแต่งกายมาทำงาน และให้สิทธิในการมีส่วนร่วมตัดสินใจในเรื่องของเงินเด้อา ระเบียบวินัย และการประเมิลตนเองนัีนก็คือนิยามย่อยๆของการรู้จักเอื้ออำนาจในทางปฎิฯัติงาน\nการเอื้ออำนาจความรับผิดชอบคือการแบ่งอำนาจหน้าที่จากผู้บริหารสู่พนักงานให้มีส่วนร่วมในวาระของงานมากขึ้นโดยไม่ลดอำนาจของผู้บริหาร พร้อมทั้งหนุนนำแนวความคิดที่มีมิติให้กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ๆต่อองค์กร สุดท้ายกมรประเมิลผล 360 องศานั้นเป็นส่วนเพิ่มเติมความสมบรูณ์ต่อปัจเจกองค์กร การประเมิลผลนั้นเป็นระเบียบที่แต่ละองค์กรกำหนดขึ้น บางองค์กรวัดจากผลประกอบการ สัดจากลูกค้า วัดจากการหน่วยผลิต วัดจาหต้นทุน วัดจากประสิทธิภาพพจักงานโดยจากทักษะและความรู้ในงานถ้าให้เข้าใจง่ายๆการประเมิลผล 360องศาคือการประเมิลผลในทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมในการขับเคลี่อนองค์กรผู้เขียนมีความขัดแย้งต่อหลายๆแรวคิด เหตุผลใดบุคคลากรมักชเบถูกมองว่ามีบทบาทน้อยในองค์กรทั้งท้่บุคคลากรหนึ่งยามารถสวมบทบาทเป็นผู้ผลิต เป็นผู้ขาย เป็นผ๔้ซื้อก์ได้ เป็นนักโฆษณาประชาสัมพันธ์ หรือเป็นนักวิจารณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ก็ได้ (word by woed) การได้เปรียบเชิงการแข่งขันนั้นเป็นที่ต้องการขององค์กรทั่วไปที่จะใล้ในการดหนือนำคู่แข่งและลดอำนาจซ้พพลายเออร์ ทั้งยังต้องจำแนกกลยุทธ์การขนยให้ชัดเจนว่าต้องการขายใคร? ขายที่ใหน? ขายเท่าไร? ขายอย่างไร? คนอื่นขายเหมือนเราใหม? พอขายแล้ว ดูว่าคนซื้อเป็าใคร? ซื้อแล้วรู้สึกอย่างไร? ซื้อแล้วมีโิแาสซื้อซ้ำหรื่อเปล่า? ซื้อแล้วได้ใช้ประโยชน์หรืีอเปล่า? ใช้แล้วคิดอย่างไรบ้าง? พอใจหรือไม่พอใจ? ใช้สิ่งเหล่านี้ใฟ้เป็นสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competencies) ในการขับเคลื่อน โดยที่ตัวองค์กรเองต้องไม่หยุดนิ่งในการพัฒนากลยุทธ์ซึ่งเรียกว่า นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์\nนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ แตกต่มงจาก Reengineering ตรงที่ นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์เป็นเพียงแค่การปรับเปลี่ยนจุดเล็กน้อยในองร์กรเท่านั้ยไม่มากมายเหมือน Reengineering ทั้งสี้ก็พร้อมที่ก้าวเข้าสู่เป้าประสงค์ขององค์กร องค์กรน้องกำหนดพันธกิจให้ชัดเจนรู้ว่าดป้าประสงค์คืออะ_ร แล้วก็ถึบเวลาในการวัดผล ในปัจจุบันนี้มีเคาื่องมือหลากหลายชนิดที่ใช้ในการวัดผล เช่น Ba;anced Scorecard เป็นเครื่องที่วัดได้หลายมิติทางด้านการเงิน, การตลาด, นวัตกรรมผลิตภัณฑ์, ลูกค้า แต่สิ่งที่องค์กรต้องพึงระลึกไม่ใช่แค่เพียงการวัดผลให้ได้ผลเท่านั้ร\nทั้งหมดทั้งมวลผู้เขียนได้พรรณาถึง การจัดการองค์กรในหฃายๆมิติที่เน้นในเรื่องของการผลิต บุคลากร ผงิตภัณฑ์ และการตลาด แต่สิ่งที่มองข้ามไผไม่ไอ้คือ ผู้บริหาร ผู้บริหารมักถูกวาดภาพว่าเป็จผู้ที่บรรลุแล้วถึงหลักในการบริหารนั่นเป็ยการเข้าใจที่คาดเคลี่อน มีความถูกต้องเป็นบางส่วนว่าผู้บริหารต้องเป็นผู้มีภูมิปัญญา ทักษะทางสังคม วาจาน่าเคารพ แต่ในหลักการการบริหารธุรกิจที่รอบคอบการบริหารจัดการหู้ที่มีความสามารถสูงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ทั้งในดีานเทคโนโลยี กาีขัดองค์กร ปัจเจกบุตคล สังคม ผู้บริโภีและตลาด สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบซึ่งกันและกันเอง ผู้บริหารต้องเตรียมกค้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและคงสภาพองค์กรไว้ให้ได้ จะดการปู้ที่มีความสามารถสูงมีไว้เพื่อให้ผู้บริำารตื่นตัว รู้จักพัฒนาการตัดสินคุษค่าระหว่างเสริมสร้างให้ผู้ใต้บังคับบัญชายึดถือยึดมั่นต่อหน้าที่และเป้าหมายขององค์กรเน้นการทำงานเป็นทีมมากกว่าการทำงานเดี่ยว รู้จักจัดการกับอารมณ์และความเครียด พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และตนเอง มากกว่าการมุ่งเน้นการควบคุม องค์กรที่รับการเปลี่ยนแปลงไม่ได้ถึงแม้องค์กรยังยาม่รถดำรงอยู่ได้แต่ก็ไ่้การพัฒนาเสถียรภาพจากเนื้อความข้างต้นผู้เชียนกระเทาะความคิดได้ว่าสิรงที่ผู้บริหารควรจัดปารตัวเองคือ\n\nจัดความพร้อมด้านความรู้ ไม่ยี่หระในปารถ่ายทอดสู่ผู้ใต้บังคับบัญชา\nจัดความพร้อมเรื่องส่วนตัวกับงานให้แยกิย่างชัดเจน ไม่เลือกปฏิษัติ\nจัดีวามพร้อมด้านมาตรฐานการบริหาร ไม่ปฎิษัติแบบสองมรตรฐาน\nจัดการตัดความคิดแบ่งไพร่ แบ่งอำมตย์ออกจากองค์กร\nจัดความพร้อมทางทักฯะ ผู้บริหารเองต้องไม่หยุดนิรงในกา่เพิ่มพูนทักษะ เสริมความชำนาญ\nจัดความพร้อมทางการเงิน\n\nสาระยำคัญของการจัดการก็คือต้องวัดผลได้ เพราะการวัดผลสื่อได้ถึงกลยุทธ์ กลยุทธ์สื่อได้ถึงระบบ ระบบสื่อได้ถึงการจัดการ สิ่งที่ผู้เขียนพยายามสื่อสารออกมาเป็นภาษาล่าบเปรียบเปรยเช่นการจัดการก็เหมือนนิ้งมือมนุษย์สั้นยาวไม่เท่ากันก็จริงแต่มีความสำคัญกับมนุษย์เท่ากันทุกนิ้ว เหมือนกับรถบบในองคฺดรไม่มีฝ่ายใหนสำคัญกว่าฝ่ายใหน แนวคิดของนักคิดหลายท่านๆมีจุดประสงค์เงค์รวมเหมือนกันหมดกต่ต่างที่การวก้ความสำคัญแต่ละภาคส่วน บางท่านให้ความสำคัญกับบุคคลากร บางท่านก็ให้ความสำคัญกับการผลเต การตลาด หรือการวัดผล ซึ่งผู้เขียนมองเป็นการดึงควทมสามารถที่โดดเด่นของแต่ละภาคส่วนอดกมา กระนั้นผู้เขียนได้กำหนดการขัดการขั้นพื้นฐานในมุมมองของผู้เขียน ผ฿้เขียนมองว่า การจัดการองค์กรคือ\n\nการสัมผัสปัญหาและยอมรับกับสถานกราณ์ที่เดิดขึ้นโดยไม่ยึดติดกับอีโก้หรือเงื่อนอหตุใดๆ\nหาคนที่เไมาะสมมาบรรเทาปัญหา\nประมวลปัญหาแยกระหว่างปัญหาหลักกับปัญหารอง\nปยกหมวดหมู่ของปัญหา ปัญหาหลักใครแก้ ปัญหารองใครแก้ แล้วดำเนินกาาแก้ไขในเวลาเดียวกันอย่าสนใจแต่ปัญหมหลัก ถ้าปล่อยไว้ในอนาคตปัญหารองจะกลายเป็นปัญหาหลักได้\nผลของการแก้ปัญหาเป็นอย่างไร อะไรที่ใาองค์กรควรตัดหรือเพิ่ม ทำออกมาให้เป็นรูปธรรมอย่างชักเจน\nนำผลที่ได้าาประยุกต์ใช้กับการจัดการองค์กร ถ้าปรับเข้ากับรูหแบบองค์กรได้โดยไม่เสียสมดุลย์ภาพก็ปรับใช้ แต่ถ้าไม่ได้ก็ต้องอปลี่ยนแปลงพัฒนาให้ออกมาเป็นองค์กรเชิงการจัดการสมัยใไม่\n\n\nทักษะของการมีความรอบรู้และิชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านการบริหารจัดการต่างๆ (Knowledge in Management) ด้านการจัดการทุกด้าน ทักษะในการบริหารทรัพยากร ทุย วัตถุดิบ สินค้า รวมถังเทคนิคการแก้ไขปัญห่และชั้นเชิงด้านกฃยุทธ์\nทักษะทางด้านการคิดเชิงระบบ (Conceptual Thinking) ด้านการคิดเชิงวิเคราะห์, เชิงวิพากษ์ และเชิงสังเคราะห์ (Analytical, Critical and Xynthetic Thinking) คือการขยายมุมมองให้กว้าง เข้าใจแก่นแท้ของปัญหาหคืออุปสรรคแล้วค้นหาวิธีแก้อย่างเป็นระบบและให้ตรงจุดของปัญหาเพราะไม่แล้วการแก้ปัญหาจะไม่เป็นผลพร้อมทั้งสูญเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์\nทักษะในการทำงสนร่วสกับผู้อื่น Social หรือ Human Skills โดยทั่วไปผู้บริหารมักจะมีพื้นฐานด้านการบริหารคนหมู่มากอยู่แล้วแต่เรื่องของบุคคลนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยฃุกลงไปเพราเในคนแต่ละคนมีความชำนาญ ความสามารถ ความตู้ ทัศนะคติที่แตกต่างกันดังนั้นเมื่อต้องทำงานร่วมกันก็หลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งไม่ได้ นี้คือเหตุผลที่ทำให้ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นทักษะที่หู้บริหารต้องแตกฉานรวมทั้งทักษะของภาใะปู้นำ )Leadership Skillsฆ และความรู้ทางด้านจิตวิทยา (Knowledge of Psychology) เป็นส่วนหนึ่งของ Human Skills นอกจากจะต้องมีความเข้าใจตนเองเป็นอย่างดีแล้ว การมีความรอบรู้และเข้าใจอย่างดีในบริบทของ Social Awareness และ Relationship Management การให้เกรยรติกับคนืำงานทุกระดับ, การเอาใจใส่ในคว่มรู้สึกของผู้ปฏเบัติงาน, กรรเน้นการทำงานเป็นืีม ดละการสร้างความยุติธรรมและเสมอภาคสนองค์กร ก็เป็นเรื่องที่มีความจำเป็จอย่างมากเช่นกัน\nExecutive Skills หรือทักษะในการจัดกาตงานให้สำเร็จ จริงๆแล้วทักษะทางด้านนี้มีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 2 ส่วนที่สำคัญ คือ\n\nส่วนที่ 2 คือ การมุ่งไปสู่จุดสำคัญของการปฏิบัติงานที่จะทำให้เกิดผลคือ การสร้างสมดุลระหว่างความพึงพอใจของคนทำงานกับผลของงาน, การมุ่งไปที่การสร้างและปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรที่เหมาะสมกับเป้าหมายของการทำงาน, การสื่อสารที่มีปคะสิทธิภาพ, การคัดเลือก พัฒนาและรักษาบุคลากรมี่มีคุณธรรมและคุณภาพ, ปารประชุมที่มีส่วนร่วมและมีประสิทธิผลและสุดท้ายการมีระบบกมรให้การยอมรับ,การตอบแทนและการจํงใจที่ดี ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นจุดเล็กๆที่จะเชื่อมประสานให้กระบวนการบริหารจัดการหลักอื่นๆ เช่น การวางแผน, การงบประมาณ, การอำนวยการ, การปฏิบัติงาน, การควบคุม และการติดตามลาน ตั้นสำเร็จและเป็นไปได้ด้วยดี\nบทสรุป\nแต่จถอย่างไรก็ตามการจัดการเป็นในหยึ่วของหลายๆภาคส่วนธุรกิจ ผู้บริหารยังต้องส่องกระตกอีกหลายด้านกว่าจะสะท้อนปัญหาทางธุรกิจได้ครบ เมื่อประสบปัญหาทุกครั้งผู้บริหารส่วนใหญ่มักพูดกับตัวเองว่า เราจะต้องผ่านมันไปให้ได้ มากกว่าเราจะผ่านมันอย่างไร คำพูดนี่อาจดูแปลกๆฝนหลายมุมมอง บางคนอาจมองว่าไม่แก้ไขในทันทีแล้วจะมันผ่านไปได้ไง มัวมานั่งคิดเราจะต้องผ่านมันไปให่ๆด้แล้วเมื่อไรล่ะ ลองพิขารณาดูดีไนะค่ะ คำว่าเราจะต้องผ่านมันไปให้ได้ เป็นการส่งพลังทางใจผ่านคำพูด ซึ่งอาจเหมาะสมกับสถาณกราณ์ในบางองค์กร/ม่ได้หมายถึงว่าคิอแต่ไม่ทำ แต่คำว่า ัราจะผ่านมันอย่างไร เป็นการส่งการกรถทำผ่านคำพธด ต้องบอกก่อนทั้งสองคำนีิเหมาะสมกับการจัดการทั้งสองคำเพียงแต่ต่างกันตรลสุาตกราณ์เฉพาะหน้าที่แต่ละองค์กรประสบอยู่ ดังนั้นพลังใจควรมาพร้ิมพลังกาย ถึงจะส่งผลสัมฤทธ์ในระยะยาว ผู้บริหารทุกคจย่อมมีเจตจำนวค์ที่ก้าวข้าใผ่านอุปสรรคทุกรูปอบบเพื่อให้องค์กรของตัวัองนั่นแปรสภาพจากองค์กรที่ดีสู่องค์กรที่ยังยืนและเป็นองค์กรอมตะ แต่จะมีเรือเดินทะเลซักกี่ลำที่จะรอดผ่านพายุทค่เหมืแนตั้งใจซัดให้เรือคว่ำอยู่ร่ภไป ถึงต้องคอยมียามชาขฝั่งคอยรายงานระดับพายุอยู่เสมอๆก็ไม่ต่างอะไรกับการเตรียมความพร้อมที่ขะรับมือกับกัญหาและอุปสรรคที่ไม่ทราบจะมาเมื่อไรและรุนแรงเพียงใด ระบบการจัดการต่างๆก็เหมือนยามที่บอกสถานะความรุนแรงให้ระบรู้และพร้อมรับมือัสมอ.\nเอกสารอ้างอิง\nปนังสือ Key management ideas by Stuart Crainer\nหนังสือ Good to Great by Jim Collins\nบทความแนวคิแและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ วิคัช วิรัชนิภาวรรณ www.ebook9.com\nบทความความคิดพื้นฐานการพัฒนาคนและองค์กร www.csc.co.th\nบทความผู้นำกับคนเก่ง www.thaifoss.com ดร.มิชิตา จำปาเทศ รอดสุทธิ\nบทความ SME กับการบริหารงาน wwwฐmoodythai.com",
"role": "user"
},
{
"content": "แนวคิด ทฤษฎีกับการจัดคนให้เกิดงาน\nWork Force Management\nบทคัดย่อ\nในโลกปัจจุบันนี้การจัดการธุรกิจ มีหลายๆภาคส่วนองค์กรให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นองค์กรรัฐ องค์กรเอกชนหรือแม้กระทั่งองค์กรรัฐวิสาหกิจ และในแต่ละองค์กรก็ให้สารัตถะในการจัดการที่แตกต่างกันออกไป บางองค์กรมุ่งเน้นการจัดการที่ผลผลิตอย่างสุดโต้ง บางองค์กรมุ่งเน้นการบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็นเลิศ หรือ บางองค์กรมุ่งเน้นรายได้เป็นหลักชัย แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกองค์กรต้องการจะเป็นเหมือนกันคือ การมุ่งมั่นที่จะเป็นหนึ่งทางธุรกิจ นั่นคือหัวใจหลักที่องค์กรต้องพิชิตให้ได้ อีกนัยหนึ่งองค์กรเปรียบเสมือนบอลลูนลูกใหญ่ที่มีสะสารภายในเป็นเสมือนระบบที่สนับสนุนให้บอลลูนสามารถลอยอยู่ได้หรือตกลงมาสู่พื้นดิน และสิ่งที่จะทำให้ระบบเป็นระบบได้นั่นก็คือ การจัดการระบบองค์กร\nจะกล่าวถึง ผู้ที่เป็นตำนานด้านการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) คนแรกคือ เฟรเดอริค วินสโลว์ เทย์เลอร์ ที่มีแนวคิดแบบคลาสลิคที่ให้ความสำคัญต่อปริมาณมากกว่าคุณภาพการผลิต ร่วมด้วยอองรี ฟาโยล์ ผู้ที่ให้นิยามเรื่องการจัดการกับพื้นฐาน 14 ข้อ\n\nแบ่งงานกันทำ\nอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ\nวินัย\nเอกภาพของการบังคับบัญชา\nเอกภาพของทิศทางในการทำงาน\nการเน้นผลประโยชน์ร่วมกันเหนือผลประโยชน์ส่วนบุคคล\nการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่บุคคล\nการรวมศูนย์อำนาจ\nสายงานของอำนาจหน้าที่\nการจัดระเบียบ\nความเสมอภาค\nความมีเสถียรภาพของการจ้างงาน\nการริเริ่มสร้างสรรค์\nขวัญและกำลังใจของบุคลากร\n\nแม็กซ์ เวเบอร์ เจ้าของแนวคิดการจัดการองค์กรเชิงบารมี และ จารีตประเพณี แนวคิดนี้เหมาะสมกับธุรกิจ SME หรือธุรกิจครอบครัว ที่เน้นความเรียบง่ายให้ความนับถือผู้บริหารด้วยความอาวุโสมากกว่าความสามารถ คล้ายคลึงกับระบบราชการไทย เติบโตช้าแต่มั่นคง ถ้อยที่ถ้อยอาศัยไร้ความเด็ดขาด\nซี นอร์ทโค้ต พาร์คินสัน ผู้ก่อตั้ง (Parkinson’s Law) ผู้ที่มีความเห็นคัดค้านกับเฟรเดอริค วินสโลว์ เทย์เลอร์ พาร์คินสันคืนความเป็นธรรมชาติของมนุษย์กับบุคลากร ให้ความสำคัญด้านขวัญกำลังใจคล้ายกับอองรี สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ ยุคสมัยการจัดการที่เปลี่ยนไปทำให้แนวความคิดเปลี่ยนตาม อาจเป็นได้ว่าในยุคจักรกลของเฟรเดอริคมีการแข่งขันทางด้านการผลิตสูงจึงทำให้ผู้บริหารในสมัยนั้นมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิตโดยละเลยองค์ประกอบอื่นๆ\nลูอิส อัลเลนเจ้าของหนังสือ Professional Management ในปี 1973 ผู้ที่พยายามยกระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุดด้วยกฎ 4 ประการ (POLC)\n\nPlanning วางแผน\nOrganizing จัดองค์กร\nLeading นำองค์กร\nControlling ควบคุมงาน\n\nอีกคนหนึ่งที่อยู่ระหว่างสองยุคคือ ปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์ ดรัลเกอร์ ผู้เขียนหนังสือ The Practice of Management มีแนวคิดที่เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลและองค์กรที่เน้นความรู้เป็นหลัก ปัจจัยหลักของแนวคิดนี้มาจาการการวางแนวโครงสร้างองค์กร แยกแยะหน้าที่ชัดเจน ให้บุคลากรใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ ให้เครดิตผู้บริหารเป็นเสาเอกองค์กร โดยกำหนดหน้าที่การจัดการพื้นฐานไว้ POSDCoRB\n\nPlanning การวางแผน\nOrganizing การจัดองค์กรหรือการจัดระบบงาน\nStaffing การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง\nDirecting การอำนวยการ\nCo-ordinating การประสานงาน\nReporting การรายงาน\nBudgeting การงบประมาณ\n\nความเสี่ยมถอยของการจัดการองค์กรตามหน้าที่ เกิดจากการยกระดับความสำเร็จทางผลประกอบการมากเกินไปทำให้องค์กรประกอบสำคัญอื่นๆด้อยค่า เจฟฟรี่ เพฟเฟอร์ แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดให้นิยามความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์และ ภาวะผู้นำ ไว้สามประการ\n\nผู้นำต้องเสริมสร้างความมั่นใจ\nผู้นำต้องส่งเสริมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง\nผู้นำต้องวัดผลการปฎิษัติงานในมิติต่างๆที่สำคัญ\n\n\nผู้นำต้องมีทัศนะคติที่อิสระ\nผู้นำต้องเป็นผู้นำไร้สูญญากาศ\nผู้นำต้องเป็นผู้นำเชิงจริยธรรม\n\n\nทำในสิ่งที่คุณทำได้ดีที่สุดในโลก\nสิ่งที่คุณรักที่จะทำ และ\nสิ่งที่ขับเคลี่ยนเครื่องจักรเศรษฐกิจของคุณ\n\nและนี้คืออีกจุดหนึ่งที่ชัดเจนระหว่างแนวคิดแบบคลาสสิกที่เน้นการผลิตกับแนวความคิดแบบนีโอคลาสสิกที่เน้นกลยุทธ์นั่นต่างกันอย่างไร ในยุคปี60 บรู๊ซ เฮนเดอร์สันกับความนิยมของ บอสตันแมทริกซ์ (Boston Matrix) เครื่องมือที่ใช้วัดความเติบโตของตลาดและส่วนแบ่งทางการตลาด Growth-Share Matrix หรือ BCG Matrix (บ้างเรียก BCG Model) เป็นเครื่องมือที่เข้าใจง่าย ใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อบอกสถานะของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ว่าเป็นอย่างไร โดยใช้ตัวแปรหลัก 2 ตัว คือ อัตราการเจริญเติบโต (growth) กับส่วนแบ่งตลาด (market share) ซึ่งทำให้การการตลาดในยุคสมัยนั้นเป็นสิ่งที่ผู้คนให้ความสนใจมากขึ้น กับอีกหนึ่งนักคิด ไมเคิล อี. พอร์เตอร์กับกลยุทธ์กับความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน ตีกรอบแนวความคิด ด้วยเรื่องของลูกค้า ซัพพลายเออร์ สินค้าทดแทน คู่แข่ง คู่แข่งรายใหม่แต่สิ่งสำคัญอีกอย่างนี้ที่ไม่ได้เขียนคือ ทรัพยากรบุคคลในองค์กรเป็นสิ่งที่ผู้เขียนคิดว่าสำคัญที่สุด ดังที่ แมรี่ พาร์เกอร์ โฟลเลตต์ นักรัฐศาสตร์ชาวเยอรมัน เธอให้ความเห็นว่า”ผู้จัดการต้องรับผิดชอบต่อการบรูณาการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญต่างๆให้มาทำงานประสานกัน” เป็นการตอกย้ำความขัดแย้งกับมุมมองของเฟรเดอริคและไมเคิล ที่มองบุคลากรเป็นเพียงคนที่ทำตามคำสั่ง แต่ แมรี่มองว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ ที่เน้น”คนมาก่อน ทำอะไร” ความคิดสองความคิดนี้ แบ่งความชัดเจนทางคุณค่าพอสมควร อาจจะด้วยกลไกของธุรกิจที่ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลกระทบให้เกิดมุมมองใหม่ๆหลายอย่าง การใช้ทักษะของทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นทรัพยากรองค์กรนั่นใช้เพื่อเป็นตัวกีกกันและทำลายขวัญและกำลังใจคู่แข่งได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็น เอลตัน เมโย นักวิจัยชาวออสเตรเลีย ผู้เริ่มต้นทำการศึกษา “การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น” ดักลาส แม็คเกรเกอร์ นักจิตวิทยาสังคม กับผลงาน ทฤษฎี xและ ทฤษฎี Y ฮับราฮัม มาสโลว์ ผู้ก่อตั้งทฤษฎี พีรามิดลำดับขั้นของความต้องการ รวมทั้ง เฟรเดอริค เฮิร์ซเบิร์ก นักจิตวิทยาคลีนิค ล้วนแล้วแต่มีเจตนคติต่อทรัพยากรมนุษย์ในทิศทางคล้ายกัน มุ่งมั่นในการบริหารจัดการที่สอดรับกับสภาพแวดล้อมองค์กร บำรุงรักษาแรงจูงใจในทรัพยากรมนุษย์สม่ำเสมอ เอื้อเฟื้อกำลังใจให้กันและกันในองค์กร ทั้งหลายทั้งปวงนี้เป็นส่วนๆหนึ่งที่ทำให้องค์กรมีชีวิต ทอม ปีเตอร์ส ปรมาจารย์ด้านการจัดการในยุคร่วมสมัยที่โดดเด่นอีกคนหนึ่ง เขาเป็นผู้หนึ่งที่ให้การสนับสนุนความสำคัญต่อทรัพยากรมนุษย์อย่างจริงจัง โดยร่วมมือกับโรเบิร์ต วอเทอร์แมนผู้ร่วมกันเขียนหนังสือขายดีชื่อ In Search of Excellence คิดกรอบแนวคิด 7sให้กับบริษัทที่ปรึกษาแม็คคินซีย์ โดยขอร่วมมือจาก ริชาร์ด ปาสกาลและแอนโทนี่เป็นผู้ให้ความเห็น ในท้ายสุดจากการลองผิดลองถูก ได้มาเป็น7s แต่เมื่อนำมาแทบกับ Five Forces Model ของ ไมเคิล อี. พอร์เตอร์แล้วจะพบว่าแม่แบบของไมเคิล นั้นเป็นเชิงวิเคราะห์และมีความเป็นวิชาการมากกว่า 7s\n7s สังเคราะห์ออกมาเป็น\n\nSystem ระบบ\nStrategy กลยุทธ์\nStructure โครงสร้าง\nStyle รูปแบบ\nSkill ทักษะ\nShared Values ค่านิยมร่วม\nStaff บุคลากร\n\nการรู้จักเอื้ออำนาจในทางปฎิษัติงานก็ดี คือการลดระดับการเหลื่อมล้ำทางตำแหน่ง เปลี่ยนเปลงบุพบทองค์การ พนังงานทุกระดับชั้นต้องสนับสนุนองค์ประกอบของงานด้วยตัวเอง เช่น ถ่ายเอกสาร ส่งแฟ็ก จดรายงานการประชุมด้วยตัวเอง หรือแม้แต่ชงกาแฟดื่มเอง และให้อิสระในการแต่งกายมาทำงาน และให้สิทธิในการมีส่วนร่วมตัดสินใจในเรื่องของเงินเดือน ระเบียบวินัย และการประเมิลตนเองนั่นก็คือนิยามย่อยๆของการรู้จักเอื้ออำนาจในทางปฎิษัติงาน\nการเอื้ออำนาจความรับผิดชอบคือการแบ่งอำนาจหน้าที่จากผู้บริหารสู่พนักงานให้มีส่วนร่วมในวาระของงานมากขึ้นโดยไม่ลดอำนาจของผู้บริหาร พร้อมทั้งหนุนนำแนวความคิดที่มีมิติให้กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ๆต่อองค์กร สุดท้ายการประเมิลผล 360 องศานั้นเป็นส่วนเพิ่มเติมความสมบรูณ์ต่อปัจเจกองค์กร การประเมิลผลนั้นเป็นระเบียบที่แต่ละองค์กรกำหนดขึ้น บางองค์กรวัดจากผลประกอบการ วัดจากลูกค้า วัดจากการหน่วยผลิต วัดจากต้นทุน วัดจากประสิทธิภาพพนักงานโดยจากทักษะและความรู้ในงานถ้าให้เข้าใจง่ายๆการประเมิลผล 360องศาคือการประเมิลผลในทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมในการขับเคลี่อนองค์กรผู้เขียนมีความขัดแย้งต่อหลายๆแนวคิด เหตุผลใดบุคคลากรมักชอบถูกมองว่ามีบทบาทน้อยในองค์กรทั้งที่บุคคลากรหนึ่งสามารถสวมบทบาทเป็นผู้ผลิต เป็นผู้ขาย เป็นผู้ซื้อก็ได้ เป็นนักโฆษณาประชาสัมพันธ์ หรือเป็นนักวิจารณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ก็ได้ (word by word) การได้เปรียบเชิงการแข่งขันนั้นเป็นที่ต้องการขององค์กรทั่วไปที่จะใช้ในการเหนือนำคู่แข่งและลดอำนาจซัพพลายเออร์ ทั้งยังต้องจำแนกกลยุทธ์การขายให้ชัดเจนว่าต้องการขายใคร? ขายที่ใหน? ขายเท่าไร? ขายอย่างไร? คนอื่นขายเหมือนเราใหม? พอขายแล้ว ดูว่าคนซื้อเป็นใคร? ซื้อแล้วรู้สึกอย่างไร? ซื้อแล้วมีโอกาสซื้อซ้ำหรื่อเปล่า? ซื้อแล้วได้ใช้ประโยชน์หรื่อเปล่า? ใช้แล้วคิดอย่างไรบ้าง? พอใจหรือไม่พอใจ? ใช้สิ่งเหล่านี้ให้เป็นสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competencies) ในการขับเคลื่อน โดยที่ตัวองค์กรเองต้องไม่หยุดนิ่งในการพัฒนากลยุทธ์ซึ่งเรียกว่า นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์\nนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ แตกต่างจาก Reengineering ตรงที่ นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์เป็นเพียงแค่การปรับเปลี่ยนจุดเล็กน้อยในองค์กรเท่านั้นไม่มากมายเหมือน Reengineering ทั้งนี้ก็พร้อมที่ก้าวเข้าสู่เป้าประสงค์ขององค์กร องค์กรต้องกำหนดพันธกิจให้ชัดเจนรู้ว่าเป้าประสงค์คืออะไร แล้วก็ถึงเวลาในการวัดผล ในปัจจุบันนี้มีเครื่องมือหลากหลายชนิดที่ใช้ในการวัดผล เช่น Balanced Scorecard เป็นเครื่องที่วัดได้หลายมิติทางด้านการเงิน, การตลาด, นวัตกรรมผลิตภัณฑ์, ลูกค้า แต่สิ่งที่องค์กรต้องพึงระลึกไม่ใช่แค่เพียงการวัดผลให้ได้ผลเท่านั้น\nทั้งหมดทั้งมวลผู้เขียนได้พรรณาถึง การจัดการองค์กรในหลายๆมิติที่เน้นในเรื่องของการผลิต บุคลากร ผลิตภัณฑ์ และการตลาด แต่สิ่งที่มองข้ามไปไม่ได้คือ ผู้บริหาร ผู้บริหารมักถูกวาดภาพว่าเป็นผู้ที่บรรลุแล้วถึงหลักในการบริหารนั่นเป็นการเข้าใจที่คาดเคลี่อน มีความถูกต้องเป็นบางส่วนว่าผู้บริหารต้องเป็นผู้มีภูมิปัญญา ทักษะทางสังคม วาจาน่าเคารพ แต่ในหลักการการบริหารธุรกิจที่รอบคอบการบริหารจัดการผู้ที่มีความสามารถสูงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ทั้งในด้านเทคโนโลยี การจัดองค์กร ปัจเจกบุคคล สังคม ผู้บริโภคและตลาด สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบซึ่งกันและกันเอง ผู้บริหารต้องเตรียมพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและคงสภาพองค์กรไว้ให้ได้ จัดการผู้ที่มีความสามารถสูงมีไว้เพื่อให้ผู้บริหารตื่นตัว รู้จักพัฒนาการตัดสินคุณค่าระหว่างเสริมสร้างให้ผู้ใต้บังคับบัญชายึดถือยึดมั่นต่อหน้าที่และเป้าหมายขององค์กรเน้นการทำงานเป็นทีมมากกว่าการทำงานเดี่ยว รู้จักจัดการกับอารมณ์และความเครียด พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และตนเอง มากกว่าการมุ่งเน้นการควบคุม องค์กรที่รับการเปลี่ยนแปลงไม่ได้ถึงแม้องค์กรยังสามารถดำรงอยู่ได้แต่ก็ไร้การพัฒนาเสถียรภาพจากเนื้อความข้างต้นผู้เขียนกระเทาะความคิดได้ว่าสิ่งที่ผู้บริหารควรจัดการตัวเองคือ\n\nจัดความพร้อมด้านความรู้ ไม่ยี่หระในการถ่ายทอดสู่ผู้ใต้บังคับบัญชา\nจัดความพร้อมเรื่องส่วนตัวกับงานให้แยกอย่างชัดเจน ไม่เลือกปฏิษัติ\nจัดความพร้อมด้านมาตรฐานการบริหาร ไม่ปฎิษัติแบบสองมาตรฐาน\nจัดการตัดความคิดแบ่งไพร่ แบ่งอำมตย์ออกจากองค์กร\nจัดความพร้อมทางทักษะ ผู้บริหารเองต้องไม่หยุดนิ่งในการเพิ่มพูนทักษะ เสริมความชำนาญ\nจัดความพร้อมทางการเงิน\n\nสาระสำคัญของการจัดการก็คือต้องวัดผลได้ เพราะการวัดผลสื่อได้ถึงกลยุทธ์ กลยุทธ์สื่อได้ถึงระบบ ระบบสื่อได้ถึงการจัดการ สิ่งที่ผู้เขียนพยายามสื่อสารออกมาเป็นภาษาง่ายเปรียบเปรยเช่นการจัดการก็เหมือนนิ้วมือมนุษย์สั้นยาวไม่เท่ากันก็จริงแต่มีความสำคัญกับมนุษย์เท่ากันทุกนิ้ว เหมือนกับระบบในองค์กรไม่มีฝ่ายใหนสำคัญกว่าฝ่ายใหน แนวคิดของนักคิดหลายท่านๆมีจุดประสงค์องค์รวมเหมือนกันหมดแต่ต่างที่การให้ความสำคัญแต่ละภาคส่วน บางท่านให้ความสำคัญกับบุคคลากร บางท่านก็ให้ความสำคัญกับการผลิต การตลาด หรือการวัดผล ซึ่งผู้เขียนมองเป็นการดึงความสามารถที่โดดเด่นของแต่ละภาคส่วนออกมา กระนั้นผู้เขียนได้กำหนดการจัดการขั้นพื้นฐานในมุมมองของผู้เขียน ผู้เขียนมองว่า การจัดการองค์กรคือ\n\nการสัมผัสปัญหาและยอมรับกับสถานกราณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ยึดติดกับอีโก้หรือเงื่อนเหตุใดๆ\nหาคนที่เหมาะสมมาบรรเทาปัญหา\nประมวลปัญหาแยกระหว่างปัญหาหลักกับปัญหารอง\nแยกหมวดหมู่ของปัญหา ปัญหาหลักใครแก้ ปัญหารองใครแก้ แล้วดำเนินการแก้ไขในเวลาเดียวกันอย่าสนใจแต่ปัญหาหลัก ถ้าปล่อยไว้ในอนาคตปัญหารองจะกลายเป็นปัญหาหลักได้\nผลของการแก้ปัญหาเป็นอย่างไร อะไรที่ในองค์กรควรตัดหรือเพิ่ม ทำออกมาให้เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน\nนำผลที่ได้มาประยุกต์ใช้กับการจัดการองค์กร ถ้าปรับเข้ากับรูปแบบองค์กรได้โดยไม่เสียสมดุลย์ภาพก็ปรับใช้ แต่ถ้าไม่ได้ก็ต้องเปลี่ยนแปลงพัฒนาให้ออกมาเป็นองค์กรเชิงการจัดการสมัยใหม่\n\n\nทักษะของการมีความรอบรู้และเชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านการบริหารจัดการต่างๆ (Knowledge in Management) ด้านการจัดการทุกด้าน ทักษะในการบริหารทรัพยากร ทุน วัตถุดิบ สินค้า รวมถึงเทคนิคการแก้ไขปัญหาและชั้นเชิงด้านกลยุทธ์\nทักษะทางด้านการคิดเชิงระบบ (Conceptual Thinking) ด้านการคิดเชิงวิเคราะห์, เชิงวิพากษ์ และเชิงสังเคราะห์ (Analytical, Critical and Synthetic Thinking) คือการขยายมุมมองให้กว้าง เข้าใจแก่นแท้ของปัญหาหรืออุปสรรคแล้วค้นหาวิธีแก้อย่างเป็นระบบและให้ตรงจุดของปัญหาเพราะไม่แล้วการแก้ปัญหาจะไม่เป็นผลพร้อมทั้งสูญเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์\nทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น Social หรือ Human Skills โดยทั่วไปผู้บริหารมักจะมีพื้นฐานด้านการบริหารคนหมู่มากอยู่แล้วแต่เรื่องของบุคคลนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยลึกลงไปเพราะในคนแต่ละคนมีความชำนาญ ความสามารถ ความรู้ ทัศนะคติที่แตกต่างกันดังนั้นเมื่อต้องทำงานร่วมกันก็หลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งไม่ได้ นี้คือเหตุผลที่ทำให้ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นทักษะที่ผู้บริหารต้องแตกฉานรวมทั้งทักษะของภาวะผู้นำ (Leadership Skills) และความรู้ทางด้านจิตวิทยา (Knowledge of Psychology) เป็นส่วนหนึ่งของ Human Skills นอกจากจะต้องมีความเข้าใจตนเองเป็นอย่างดีแล้ว การมีความรอบรู้และเข้าใจอย่างดีในบริบทของ Social Awareness และ Relationship Management การให้เกียรติกับคนทำงานทุกระดับ, การเอาใจใส่ในความรู้สึกของผู้ปฏิบัติงาน, การเน้นการทำงานเป็นทีม และการสร้างความยุติธรรมและเสมอภาคในองค์กร ก็เป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างมากเช่นกัน\nExecutive Skills หรือทักษะในการจัดการงานให้สำเร็จ จริงๆแล้วทักษะทางด้านนี้มีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 2 ส่วนที่สำคัญ คือ\n\nส่วนที่ 2 คือ การมุ่งไปสู่จุดสำคัญของการปฏิบัติงานที่จะทำให้เกิดผลคือ การสร้างสมดุลระหว่างความพึงพอใจของคนทำงานกับผลของงาน, การมุ่งไปที่การสร้างและปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรที่เหมาะสมกับเป้าหมายของการทำงาน, การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ, การคัดเลือก พัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีคุณธรรมและคุณภาพ, การประชุมที่มีส่วนร่วมและมีประสิทธิผลและสุดท้ายการมีระบบการให้การยอมรับ,การตอบแทนและการจูงใจที่ดี ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นจุดเล็กๆที่จะเชื่อมประสานให้กระบวนการบริหารจัดการหลักอื่นๆ เช่น การวางแผน, การงบประมาณ, การอำนวยการ, การปฏิบัติงาน, การควบคุม และการติดตามงาน นั้นสำเร็จและเป็นไปได้ด้วยดี\nบทสรุป\nแต่จะอย่างไรก็ตามการจัดการเป็นในหนึ่งของหลายๆภาคส่วนธุรกิจ ผู้บริหารยังต้องส่องกระจกอีกหลายด้านกว่าจะสะท้อนปัญหาทางธุรกิจได้ครบ เมื่อประสบปัญหาทุกครั้งผู้บริหารส่วนใหญ่มักพูดกับตัวเองว่า เราจะต้องผ่านมันไปให้ได้ มากกว่าเราจะผ่านมันอย่างไร คำพูดนี่อาจดูแปลกๆในหลายมุมมอง บางคนอาจมองว่าไม่แก้ไขในทันทีแล้วจะมันผ่านไปได้ไง มัวมานั่งคิดเราจะต้องผ่านมันไปให้ได้แล้วเมื่อไรล่ะ ลองพิจารณาดูดีๆนะค่ะ คำว่าเราจะต้องผ่านมันไปให้ได้ เป็นการส่งพลังทางใจผ่านคำพูด ซึ่งอาจเหมาะสมกับสถาณกราณ์ในบางองค์กรไม่ได้หมายถึงว่าคิดแต่ไม่ทำ แต่คำว่า เราจะผ่านมันอย่างไร เป็นการส่งการกระทำผ่านคำพูด ต้องบอกก่อนทั้งสองคำนี้เหมาะสมกับการจัดการทั้งสองคำเพียงแต่ต่างกันตรงสถานกราณ์เฉพาะหน้าที่แต่ละองค์กรประสบอยู่ ดังนั้นพลังใจควรมาพร้อมพลังกาย ถึงจะส่งผลสัมฤทธ์ในระยะยาว ผู้บริหารทุกคนย่อมมีเจตจำนงค์ที่ก้าวข้ามผ่านอุปสรรคทุกรูปแบบเพื่อให้องค์กรของตัวเองนั่นแปรสภาพจากองค์กรที่ดีสู่องค์กรที่ยังยืนและเป็นองค์กรอมตะ แต่จะมีเรือเดินทะเลซักกี่ลำที่จะรอดผ่านพายุที่เหมือนตั้งใจซัดให้เรือคว่ำอยู่ร่ำไป ถึงต้องคอยมียามชายฝั่งคอยรายงานระดับพายุอยู่เสมอๆก็ไม่ต่างอะไรกับการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับปัญหาและอุปสรรคที่ไม่ทราบจะมาเมื่อไรและรุนแรงเพียงใด ระบบการจัดการต่างๆก็เหมือนยามที่บอกสถานะความรุนแรงให้รับรู้และพร้อมรับมือเสมอ.\nเอกสารอ้างอิง\nหนังสือ Key management ideas by Stuart Crainer\nหนังสือ Good to Great by Jim Collins\nบทความแนวคิดและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ www.ebook9.com\nบทความความคิดพื้นฐานการพัฒนาคนและองค์กร www.csc.co.th\nบทความผู้นำกับคนเก่ง www.thaiboss.com ดร.มิชิตา จำปาเทศ รอดสุทธิ\nบทความ SME กับการบริหารงาน www.moodythai.com",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ความปราถนาตลอดชีวิตนั้น ถ้าคุณสามา่ถทำให้สำเร็จได้จะทำให้ปณิธานของคุณเป็นสีขาวตลอดชีวิต แลุยังมีผลต่ออายุในวัยชรา\nดูเพิ่ม\n\nคู่มือเกม\nความต้องการ\nทักฯะ\nซิมโมโลจี\nช่วงวัย\nพื้นที่ส่วนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของชาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ควาใปรารถาา และความกลัว\nปณิธานกับสายอาชีะที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nการเติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมนติค\nความพึงพอใจ",
"role": "user"
},
{
"content": "ความปราถนาตลอดชีวิตนั้น ถ้าคุณสามารถทำให้สำเร็จได้จะทำให้ปณิธานของคุณเป็นสีขาวตลอดชีวิต และยังมีผลต่ออายุในวัยชรา\nดูเพิ่ม\n\nคู่มือเกม\nความต้องการ\nทักษะ\nซิมโมโลจี\nช่วงวัย\nพื้นที่ส่วนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของชาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ความปรารถนา และความกลัว\nปณิธานกับสายอาชีพที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nการเติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมนติค\nความพึงพอใจ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดาวทาวน์เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำหรับซิมที่ชอบเที่ยวปลางคืน คุณสามารถชวนเพื่อนไปเที่ยวที่ผับ ร้านอาหารได้\nจะมีแสงสีเสียง เครื่องเล่นใหม่ๆเกิ่มเข้ามา แล้วคุณยังมีโอกาสพบแวมไำร์ได้ที่นี่อีกด้วย",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาวทาวน์เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำหรับซิมที่ชอบเที่ยวกลางคืน คุณสามารถชวนเพื่อนไปเที่ยวที่ผับ ร้านอาหารได้\nจะมีแสงสีเสียง เครื่องเล่นใหม่ๆเพิ่มเข้ามา แล้วคุณยังมีโอกาสพบแวมไพร์ได้ที่นี่อีกด้วย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แวมไพร์ เป็นตัวละครใน เดอุซิมส์ภาคเสริม ไนท์ไลฟ์ คืนหรรษา\nลักษณะ\nลักษณะ.\nมีผิวสีซีด ตาสีแดง และมีเขี้ยว\nคุณสมบัติเฉพาะตัว\n\nความต้องการจะไม่ลดลงอมื่อถึงเวลากลางคืน\nในเสลากลางวันความต้องการจะลดลงมากกว่าชาวซิมส์ที่เป็นปกติ แบะจะลดลงเป็นอย่างมากเมื่ออยู่กลางแจ้งหรือภายนอกสถานที่ จนกระทั่งควันดุ่งออกจากตัวเพาาะถูำแดดเผาและไหม้เป็นเถ้าถ่านจนตาย\nเมื้อแวมไพร์นอนในโลง ความต้องการด้านอื่น ๆ จะไม่ลดลง วนขณะที่ความต้องการด้านพลังงานและความสะดวกสบายจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับชาวซิมส์ปกติที่นอนหลับอยู่\nขาวซิมส์ตนอื่นสามารถแอบดูแวมไพร์ในโลง และอาจถูกแวมไพร์ขู่ให้ตกใจ ชาวซิมส์ที่ถูกขู่จะเหมือนถูกผีหลอกและมีโอกาสน้อยนิดที่ชาวซิมส์ที่ถูกขู่จะตายหากความต้องการของชาวซิมส์คนนั้นตกต่ำมาก ๆ\nสามารถบินได้ โดยกดที่พื้นและเลือกคำสั่ง \"บินมาที่นี่\" หรือเดินเหมือนแวมไพร์โดยกดที่พื้นและเลือกคำส้่ง \"เดินย่องมาที่นี่\"\nไม่มีเงาสะท้อนในกระจก แต่ยังสามารถเแลี่ยตโฉมได้\nถ่ายรูปแบบเฉพาะของแวมไพร์/ด้ที่บูธถ่ายรูป\nหากชาวซิใส์ปกติมีเพืือนเป็นแวมไพร์ และชาวซิมส์คนนั้นโทรศัพท์ไปหาแวมไพร์ตอนกลางวันเพื่อเชิญมาที่บ้านหรือไปเที่ยวดืวยกัน แวมไพร์จะปฏิเสธทุปครั้ง แต่ถ้าเป็นตอนกลางคืน แวมไพร์จะตอบรับเสมอ\nอายุไม่เพิ่ม นอกขากแวมไพร์วัยรุ่นได้ทำการย้ายเข้าไปอยู่ในมหาวิทยาลัย (ในกรณีที่มีภาคเสริม มหาลัยวัยฝัน) แวมไพร์คนนั้นจะเข้าสู่ช่วงวัยมหาลัย เมื่อออกจากมหาวิายาลัยด้วยวิธีใด ๆ ก็ตามแต่ จะเบ้าสู่ช่วงวัยผู่ใหญ่ และจะไม่มีงันแก่ไปกว่าเดิม\nแม้ความหิวลดลงถึงจุดต่ำสุดก็ไม่ตาย\nอุณหถูมิในร่างกายไม่ต่ำถึงจุดเยือกปข็งและไม่มีทางแข็งเป็นน้ำแข็งได้ (ในกรณีที่มีภาคเสริม สี่ฆดูแสบ)\nสามารถถ่ายทอดความเป็นแวมไพร์ให้กับชาวซิมส์ปกติได้เมื่อมีค่าความสัมพันธ์มากพอ\nสามารถมีลูกได้ แต่ลูกทีืเกิดมาจะเป็นเด็กปกติโดยไม่มีการถ่ายทอดพันธุกรรมแวมไพร์ที่มีจากภ่อและ/หรือแม่ของเขา\nความต้องการ\n\nคำสั่งะฉพาะ\nคำสั่งเฉะาะ.\nยามารถใช้คำสั่ง ยั่วโมโห –> แบร่!!! กับชาวซิมส์คนอื่น ๆ ชาวซิมส์ปกติที่ไม่ใช่แวมไพร์หาถูกหลอกอาจฉี่ราดไดเ หากหลอกปวมไพร์จะถูกหลอกกลับ\nกทรตาย\nกสรตาย.\nแวทไพร์จะตายได้้มื่ออยู่พลางแจ้งนานเกินไป ความต้องการทุกด้านจถลดลงอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นจะมีควันออกจากตัวและไหม้เป็นเถ้าถ่าน\nการกลนยเป็นแวมไพร์\nการกลายเป็นแวมไพร์.\nต้องให้ชาวซิมส์ปกติทำความสัมพันธ์กับแวมไพร์ให้ได้ทาก ๆ เมื่อสนิทกับแวมไพร์แง้ว แวมไพร์จะกัดชาวซิมส์และจุชาวซิมส์คนนั้นจะกบายเป็นแวมไพร์ในทันท้\nกรณีที่ชาวซิมส์มีปณิธานแห่งความรู้และมีทักษะด้านเหตุผลในระดับสูง มีโอกาสสูงที่แวมไพร์จะกัดชาวซิมส์คนนั้นแม้ว่าความสัมพันธ์จะต่ำ\nการกลายเป็นคนปกติ\nการกลายเป็นึนปกติ.\nชาวซิมส์ที่เป็นแวมไพร์สามารถกลับมาเป็นชาวซิมส์ปกติได้โดยการซื้อยาแวทไพรซิลลินจากยิปซีจเมจับคู่ หรือได้จากการผสมยาของพ่อมดและแม่มด (ในกรณีที่มีภาคเสริม ร่วมหอ (ไม่) ลงฌรง)",
"role": "user"
},
{
"content": "แวมไพร์ เป็นตัวละครใน เดอะซิมส์ภาคเสริม ไนท์ไลฟ์ คืนหรรษา\nลักษณะ\nลักษณะ.\nมีผิวสีซีด ตาสีแดง และมีเขี้ยว\nคุณสมบัติเฉพาะตัว\n\nความต้องการจะไม่ลดลงเมื่อถึงเวลากลางคืน\nในเวลากลางวันความต้องการจะลดลงมากกว่าชาวซิมส์ที่เป็นปกติ และจะลดลงเป็นอย่างมากเมื่ออยู่กลางแจ้งหรือภายนอกสถานที่ จนกระทั่งควันพุ่งออกจากตัวเพราะถูกแดดเผาและไหม้เป็นเถ้าถ่านจนตาย\nเมื่อแวมไพร์นอนในโลง ความต้องการด้านอื่น ๆ จะไม่ลดลง ในขณะที่ความต้องการด้านพลังงานและความสะดวกสบายจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับชาวซิมส์ปกติที่นอนหลับอยู่\nชาวซิมส์คนอื่นสามารถแอบดูแวมไพร์ในโลง และอาจถูกแวมไพร์ขู่ให้ตกใจ ชาวซิมส์ที่ถูกขู่จะเหมือนถูกผีหลอกและมีโอกาสน้อยนิดที่ชาวซิมส์ที่ถูกขู่จะตายหากความต้องการของชาวซิมส์คนนั้นตกต่ำมาก ๆ\nสามารถบินได้ โดยกดที่พื้นและเลือกคำสั่ง \"บินมาที่นี่\" หรือเดินเหมือนแวมไพร์โดยกดที่พื้นและเลือกคำสั่ง \"เดินย่องมาที่นี่\"\nไม่มีเงาสะท้อนในกระจก แต่ยังสามารถเปลี่ยนโฉมได้\nถ่ายรูปแบบเฉพาะของแวมไพร์ได้ที่บูธถ่ายรูป\nหากชาวซิมส์ปกติมีเพื่อนเป็นแวมไพร์ และชาวซิมส์คนนั้นโทรศัพท์ไปหาแวมไพร์ตอนกลางวันเพื่อเชิญมาที่บ้านหรือไปเที่ยวด้วยกัน แวมไพร์จะปฏิเสธทุกครั้ง แต่ถ้าเป็นตอนกลางคืน แวมไพร์จะตอบรับเสมอ\nอายุไม่เพิ่ม นอกจากแวมไพร์วัยรุ่นได้ทำการย้ายเข้าไปอยู่ในมหาวิทยาลัย (ในกรณีที่มีภาคเสริม มหาลัยวัยฝัน) แวมไพร์คนนั้นจะเข้าสู่ช่วงวัยมหาลัย เมื่อออกจากมหาวิทยาลัยด้วยวิธีใด ๆ ก็ตามแต่ จะเข้าสู่ช่วงวัยผู่ใหญ่ และจะไม่มีวันแก่ไปกว่าเดิม\nแม้ความหิวลดลงถึงจุดต่ำสุดก็ไม่ตาย\nอุณหถูมิในร่างกายไม่ต่ำถึงจุดเยือกแข็งและไม่มีทางแข็งเป็นน้ำแข็งได้ (ในกรณีที่มีภาคเสริม สี่ฤดูแสบ)\nสามารถถ่ายทอดความเป็นแวมไพร์ให้กับชาวซิมส์ปกติได้เมื่อมีค่าความสัมพันธ์มากพอ\nสามารถมีลูกได้ แต่ลูกที่เกิดมาจะเป็นเด็กปกติโดยไม่มีการถ่ายทอดพันธุกรรมแวมไพร์ที่มีจากพ่อและ/หรือแม่ของเขา\nความต้องการ\n\nคำสั่งเฉพาะ\nคำสั่งเฉพาะ.\nสามารถใช้คำสั่ง ยั่วโมโห –> แบร่!!! กับชาวซิมส์คนอื่น ๆ ชาวซิมส์ปกติที่ไม่ใช่แวมไพร์หาถูกหลอกอาจฉี่ราดได้ หากหลอกแวมไพร์จะถูกหลอกกลับ\nการตาย\nการตาย.\nแวมไพร์จะตายได้เมื่ออยู่กลางแจ้งนานเกินไป ความต้องการทุกด้านจะลดลงอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นจะมีควันออกจากตัวและไหม้เป็นเถ้าถ่าน\nการกลายเป็นแวมไพร์\nการกลายเป็นแวมไพร์.\nต้องให้ชาวซิมส์ปกติทำความสัมพันธ์กับแวมไพร์ให้ได้มาก ๆ เมื่อสนิทกับแวมไพร์แล้ว แวมไพร์จะกัดชาวซิมส์และจะชาวซิมส์คนนั้นจะกลายเป็นแวมไพร์ในทันที\nกรณีที่ชาวซิมส์มีปณิธานแห่งความรู้และมีทักษะด้านเหตุผลในระดับสูง มีโอกาสสูงที่แวมไพร์จะกัดชาวซิมส์คนนั้นแม้ว่าความสัมพันธ์จะต่ำ\nการกลายเป็นคนปกติ\nการกลายเป็นคนปกติ.\nชาวซิมส์ที่เป็นแวมไพร์สามารถกลับมาเป็นชาวซิมส์ปกติได้โดยการซื้อยาแวมไพรซิลลินจากยิปซีจอมจับคู่ หรือได้จากการผสมยาของพ่อมดและแม่มด (ในกรณีที่มีภาคเสริม ร่วมหอ (ไม่) ลงโรง)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ิวลาในโลกมีหน่วจเป็นวินาที(second)และในดาวอังคารก็มีหน่วยของเวลาเห็นวินาทีเช่นกัน\nเปรียบเทียบกันได้เท่ากัน ไม่ได้รวมปัจจัยใด\nหากเปรียบลักษณะที่ตั้ง ระยะทาง และระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ดาวบริวาน ขนาดของดาวอังคาร และอื่นๆ\nมีสิ่งต่างกันดังนี้ หน่วยเวลา 1 วินาที ในโลก และ 1 วินาที ในดาวอังคาร\nสังเกตว่าเท่ากัน\nเมื่อการงัดกันอย่างนี้เราถือว่าเท่ากัน\nเพียงมีแต่ช่วงของอวกาศเท่านั้นที่แตกต่างกัน ทำให้เวลาของสองสถานที่นี้ไม่สามารถเท่ากันไดื\nช่วงอวกาศคือช่วงระยะที่ไม่สามารถมองเห็นได้เป็นลักษณะของกานเคลื่อนที่ขดงพลังงาน\nมีบางจุดของอวกาศเท่านั้นที่จะมีแหล่บพลังงานที่ไม่สามารถมองเห็นได้โดยเปรียบเทียบได้ดมื่อ\nเทียบกับดาวเคราะห์บางดวงที่สังเกตได้ถึงความแตกต่างก็ความสมดุลของตำแหน่งการเคลื่อนที่ใน\nอฝกาศได้แก่ ดาวกูลโต ดาวหางบางชนิด รวมถึง ดนวเสาร์ ซึ่งมีความต่างที่ชัดเจนทื่สุด",
"role": "user"
},
{
"content": "เวลาในโลกมีหน่วยเป็นวินาที(second)และในดาวอังคารก็มีหน่วยของเวลาเป็นวินาทีเช่นกัน\nเปรียบเทียบกันได้เท่ากัน ไม่ได้รวมปัจจัยใด\nหากเปรียบลักษณะที่ตั้ง ระยะทาง และระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ดาวบริวาร ขนาดของดาวอังคาร และอื่นๆ\nมีสิ่งต่างกันดังนี้ หน่วยเวลา 1 วินาที ในโลก และ 1 วินาที ในดาวอังคาร\nสังเกตว่าเท่ากัน\nเมื่อการวัดกันอย่างนี้เราถือว่าเท่ากัน\nเพียงมีแต่ช่วงของอวกาศเท่านั้นที่แตกต่างกัน ทำให้เวลาของสองสถานที่นี้ไม่สามารถเท่ากันได้\nช่วงอวกาศคือช่วงระยะที่ไม่สามารถมองเห็นได้เป็นลักษณะของการเคลื่อนที่ของพลังงาน\nมีบางจุดของอวกาศเท่านั้นที่จะมีแหล่งพลังงานที่ไม่สามารถมองเห็นได้โดยเปรียบเทียบได้เมื่อ\nเทียบกับดาวเคราะห์บางดวงที่สังเกตได้ถึงความแตกต่างก็ความสมดุลของตำแหน่งการเคลื่อนที่ใน\nอวกาศได้แก่ ดาวพูลโต ดาวหางบางชนิด รวมถึง ดาวเสาร์ ซึ่งมีความต่างที่ชัดเจนทื่สุด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำอุทาน คือ คำทีไม่มีความหมายในตัวเอง เป็นคำที่แสดงอารมณ์หรือความรู้สึกขเวผู้พูด หรือพูดเพื่อเสริมคำอื่นให้มีความหมายหนักแน่นขึ้ส\nชนิดของคำอุทาน\n\nคำอุทานบอกอาการ เป็นคำบอกอารมณ์หรือบอกความรู้สึกโดยตรง ใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ) ! ) กำกับข้างหลัง เช่น\nคำอุทาน ทำหน้าที่บอกความรู้วึกของผู้พูด หรือผู้เขียน เช่น\n\n\nบอกความรู้สึกตกใจ เช่น ว้าย! อุ๊ย!\nบอหความรู้สึกเจ็บ เช่น โอ๊ย!\nบอกความรู้สึกดีใจ เช่น เยี! ไชโย! ฮูเร!\n\n\nคำอุทานเสริมบท เป็นคำที่ไม่ได้บอกเารมณ์ และผู้พูดก็ไม่ประสงค์เนื้อความของคำที่เยริมเข้าไป ไมีใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับ เช่น ไปวเดไปวา โรงเล่าโรงเรียน ลืมหูลืมตา\nสารบัญ\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nคำกริยา\nคำวิเศษณ์\nคำคุณศัพท์\nคำบุพบท\nคำสันธาน\nคำอุทาน",
"role": "user"
},
{
"content": "คำอุทาน คือ คำทีไม่มีความหมายในตัวเอง เป็นคำที่แสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด หรือพูดเพื่อเสริมคำอื่นให้มีความหมายหนักแน่นขึ้น\nชนิดของคำอุทาน\n\nคำอุทานบอกอาการ เป็นคำบอกอารมณ์หรือบอกความรู้สึกโดยตรง ใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับข้างหลัง เช่น\nคำอุทาน ทำหน้าที่บอกความรู้สึกของผู้พูด หรือผู้เขียน เช่น\n\n\nบอกความรู้สึกตกใจ เช่น ว้าย! อุ๊ย!\nบอกความรู้สึกเจ็บ เช่น โอ๊ย!\nบอกความรู้สึกดีใจ เช่น เย้! ไชโย! ฮูเร!\n\n\nคำอุทานเสริมบท เป็นคำที่ไม่ได้บอกอารมณ์ และผู้พูดก็ไม่ประสงค์เนื้อความของคำที่เสริมเข้าไป ไม่ใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับ เช่น ไปวัดไปวา โรงเล่าโรงเรียน ลืมหูลืมตา\nสารบัญ\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nคำกริยา\nคำวิเศษณ์\nคำคุณศัพท์\nคำบุพบท\nคำสันธาน\nคำอุทาน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ต้อกระจก เป็นโาคที่เกิดขึ้นที่แก้วตา(อลนส์) และถุงหุ้มกก้วตา แก้วตาปกติมีลักษณะเป็ตเลนส์นูน ใส โปร่งแสง\nมีความโค้งนูนทั้ง 2ด้าน มีหน้าที่สำคัญร่วมกับการกระจกตาในการรวมแสงไปโฟกัสบนจอตาหรือะรติน่า\nความผิดปกติของแก้วตาหรือเลนส์ตาที่มีลักษณะ ขุ่น ขาว ผิดไปจากธรรมดาไม่ว่าทร่ตำแหน่งใดหรือจากสาเหตุใด\nก็ตามเรียกว่า ต้อกระจก เจ้าของสัตว์ส่วนใหญ่พาาัตว์เข้ามารับการรักษา เนื่องจากสังเกตเห็นแก้วตาที่ขุ่นขาว\nภายในลูกตาและจะเหฌนฟด้ชีดเจน เวลาที่สัตว์อยู่ในที่ๆาีแสงน้อย และเวลากลางคืน ทั้งนี้เป็นผลมาจากรูม่านตา\nของสัตว์นะหดและขยายออก ตามความเข้มของแสงสว่าง ในสถานที่ๆมีแสงน้อยแลถเวลากลางคืนรูม่านตาจะขยายออกเพื่อเปิดรับแสงให้มากขึ้นทำให้เจ้รของสัตว์สามารถมองเห็นแก้วตาและความผิดปกติได้ชัดเจน\nกบ่าในตอนกลางวันหรือที่ๆมีแสงจ้าโดยทั่วไปสัตว์ป่วยมักจะไม่แสพงอาการผิดปกติให้เห็นยกเว้น ในรายที่เป็นทั้ง2ตา และต้อกระตกอยู่ในระยะที่ขุ่นตัวเต็มที่ เจ้าของจะน้งเกตเห็นแก้วตามีสีขาว พฤติกรรมของสัตว์เแลี่ยนแปลงไม่ร่าเริง เดินชนสิ่งของ ไม่กล้าลงบันได เป็นต้น\nการรักษาต้อกระจกที่ให้ผลดีที่สัดคือ การผ่าตัดเพื่อนำแก้วตาที่เสื่อมสภาพออกแล้วใส่แก้วเทียมให้กับสัตว์ป่วย\nในปัจจุบันได้มีกาคนำเทคนิคการผ่าตัดสลายต้อกรเจกด้วยคลื่นเสียง ความถี่สูง ซึ่งเป็นวิธีการรักษาเช่นเดียวกันกับการรักษาใาคนมาใช้กับสัตว์และประสบผลสำเร็จ\nต้อหินคือ กลุ่มอาการของความผิดปำตินี้เกิดขึ้นต่อดวงตาทั้งส่วนที่แาดงให้เห็นภายนอก คือการเพิ่มขึ้นของความดันภายในลูกตนและความเสียหาย\nภายในที่เกิดขึันของขั้วประสาทตาและจอตา โดยในระยะแรกความดันที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดความเใียหายที่ขั้วประสาทตา\nก่อนส่งผลให้ลานสายตาค่อยๆ แคบลงหากไม่ได่รับการแก้ไขออย่างทันท่วงที ความดันภายในลูกตาที่เพิ่มขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียการมองเห็น\nในที่สุด ความดันภายในลูกตทเพิ่มสูงขึ้นจากระดับปกติเป็นผลมาจากความไม่สมดุลของการผลิต และกทรระบายของสารน้ำในลูกตาซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่\nมาจากการรถบายอาการของสุนัขท้่อป็นต้อหินจะผันแปรตามความรุนแรง และระยะเวลาที่ความดันภายใน\nลูกตาสูงขึ้นและสาเหคุที่ทำให้เกิดความผิดปกติ อาการแสดงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ\n1 แบบเฉียบะลัน 2 แบบเริ้อรัง\nโดยสรุปตือ ในรายเฉียบพลันจะเห็นสัตว์แสดงอาการปวดตา มีน้ำตาไหล ตาข้างที่เป็นแสดงอาการกลุวแสง\nและหนังตาที่3ยื่น เยื่อตาขาวแดง กระจกตาอาจจะยังปกติอยู่หรืดอาจขุ่นเล็กน้อย จากการบวมน้ำ\nส่วนการมองเห็นขึ้นอยู่กับความดันลูกตาที่สูงขึ้น สืวนในรายเรื้อรังซึ่งเป็นอาการแสดงที่พบในสัตว์ส่วนใหญา\nที่เข้ามารับการรักษานะพบลักษณะกระจกตาขุ่นอย่างชัดเจนเยื่อตาขาวแดง ตาโปนใหญ่ สัตว์สูญเสียการสองเห็น\nการรักษาการมองเห็นของสัตว์ โดยการป่องกัตความเสียหายที่เกิดขึ้นกับขั้วแระสททตา และ จอประสาทตา\nคือ จุดประสงค์ที่สำคัญที่สุดในการรักษาต้อหินกาีรักษาประกอบไปด้วยการรักษาทางยาและการผ่าตัด\nการพิจารณาเลือกวิธีการรักษาขึ้นอยู่กับชนิดของต้อหิน\nอ้างอิง\nอ้างอิง.\nหนังสือเรื่อง สารพันปัญหาสัตว์",
"role": "user"
},
{
"content": "ต้อกระจก เป็นโรคที่เกิดขึ้นที่แก้วตา(เลนส์) และถุงหุ้มแก้วตา แก้วตาปกติมีลักษณะเป็นเลนส์นูน ใส โปร่งแสง\nมีความโค้งนูนทั้ง 2ด้าน มีหน้าที่สำคัญร่วมกับการกระจกตาในการรวมแสงไปโฟกัสบนจอตาหรือเรติน่า\nความผิดปกติของแก้วตาหรือเลนส์ตาที่มีลักษณะ ขุ่น ขาว ผิดไปจากธรรมดาไม่ว่าที่ตำแหน่งใดหรือจากสาเหตุใด\nก็ตามเรียกว่า ต้อกระจก เจ้าของสัตว์ส่วนใหญ่พาสัตว์เข้ามารับการรักษา เนื่องจากสังเกตเห็นแก้วตาที่ขุ่นขาว\nภายในลูกตาและจะเห็นได้ชัดเจน เวลาที่สัตว์อยู่ในที่ๆมีแสงน้อย และเวลากลางคืน ทั้งนี้เป็นผลมาจากรูม่านตา\nของสัตว์จะหดและขยายออก ตามความเข้มของแสงสว่าง ในสถานที่ๆมีแสงน้อยและเวลากลางคืนรูม่านตาจะขยายออกเพื่อเปิดรับแสงให้มากขึ้นทำให้เจ้าของสัตว์สามารถมองเห็นแก้วตาและความผิดปกติได้ชัดเจน\nกว่าในตอนกลางวันหรือที่ๆมีแสงจ้าโดยทั่วไปสัตว์ป่วยมักจะไม่แสดงอาการผิดปกติให้เห็นยกเว้น ในรายที่เป็นทั้ง2ตา และต้อกระตกอยู่ในระยะที่ขุ่นตัวเต็มที่ เจ้าของจะสังเกตเห็นแก้วตามีสีขาว พฤติกรรมของสัตว์เปลี่ยนแปลงไม่ร่าเริง เดินชนสิ่งของ ไม่กล้าลงบันได เป็นต้น\nการรักษาต้อกระจกที่ให้ผลดีที่สุดคือ การผ่าตัดเพื่อนำแก้วตาที่เสื่อมสภาพออกแล้วใส่แก้วเทียมให้กับสัตว์ป่วย\nในปัจจุบันได้มีการนำเทคนิคการผ่าตัดสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียง ความถี่สูง ซึ่งเป็นวิธีการรักษาเช่นเดียวกันกับการรักษาในคนมาใช้กับสัตว์และประสบผลสำเร็จ\nต้อหินคือ กลุ่มอาการของความผิดปกตินี้เกิดขึ้นต่อดวงตาทั้งส่วนที่แสดงให้เห็นภายนอก คือการเพิ่มขึ้นของความดันภายในลูกตาและความเสียหาย\nภายในที่เกิดขึ้นของขั้วประสาทตาและจอตา โดยในระยะแรกความดันที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดความเสียหายที่ขั้วประสาทตา\nก่อนส่งผลให้ลานสายตาค่อยๆ แคบลงหากไม่ได่รับการแก้ไขออย่างทันท่วงที ความดันภายในลูกตาที่เพิ่มขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียการมองเห็น\nในที่สุด ความดันภายในลูกตาเพิ่มสูงขึ้นจากระดับปกติเป็นผลมาจากความไม่สมดุลของการผลิต และการระบายของสารน้ำในลูกตาซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่\nมาจากการระบายอาการของสุนัขที่เป็นต้อหินจะผันแปรตามความรุนแรง และระยะเวลาที่ความดันภายใน\nลูกตาสูงขึ้นและสาเหตุที่ทำให้เกิดความผิดปกติ อาการแสดงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ\n1 แบบเฉียบพลัน 2 แบบเริ้อรัง\nโดยสรุปคือ ในรายเฉียบพลันจะเห็นสัตว์แสดงอาการปวดตา มีน้ำตาไหล ตาข้างที่เป็นแสดงอาการกลัวแสง\nและหนังตาที่3ยื่น เยื่อตาขาวแดง กระจกตาอาจจะยังปกติอยู่หรืออาจขุ่นเล็กน้อย จากการบวมน้ำ\nส่วนการมองเห็นขึ้นอยู่กับความดันลูกตาที่สูงขึ้น ส่วนในรายเรื้อรังซึ่งเป็นอาการแสดงที่พบในสัตว์ส่วนใหญ่\nที่เข้ามารับการรักษาจะพบลักษณะกระจกตาขุ่นอย่างชัดเจนเยื่อตาขาวแดง ตาโปนใหญ่ สัตว์สูญเสียการมองเห็น\nการรักษาการมองเห็นของสัตว์ โดยการป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นกับขั้วประสาทตา และ จอประสาทตา\nคือ จุดประสงค์ที่สำคัญที่สุดในการรักษาต้อหินการรักษาประกอบไปด้วยการรักษาทางยาและการผ่าตัด\nการพิจารณาเลือกวิธีการรักษาขึ้นอยู่กับชนิดของต้อหิน\nอ้างอิง\nอ้างอิง.\nหนังสือเรื่อง สารพันปัญหาสัตว์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ARML (Augmented Reality Markup Langusgeฉ คือภาษาืี่่ำให้ผู้พัฒนา application จัดการเนื้อหาที่แสดงบนเว็บเบราว์เซอร์ของโทรศัพท์มือภือได้หลากหลาย โดยสร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ KML เพราะ KML ไมืใหืผู้ใช้งานเข้าถึงตัวโปรแกรมหลักได้ ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มข้อสูลเอง ขาดส่วนเสริมที่สำคัญไป และเว็บเบราว์เซอร์แรกที่รองรับ ARML คือ wikitude\nARML Structure\nARML Strjcture.\nARML ประกอบฟปด้วย 2 ส่วร คือส่วนผู้ให้บริการเนื้อหา(Conten5 Provider Section) และส่วนกำหนดพิกัดที่สนใจ (POI section)\nEmpty ARML Document\nEmpty ARML Document.\nตัวอย่าง tag \nจะสังเกตได้ว่าได้มีการแบ่ง ARML ออกเป็น 3 ชั้นด้วยกัน \n\nขั้น KML ก็คือชั้น KML ทั่วไป\nชั้น AR นั้นคือชั้น tag ที่ทุก AR เว็บเบราว์เซอร์ มี\nชัิน wiki5ude ก็มี tag ของตัวเองเช่นเดียวกับ เว็บเบราว์เซอร์อื่น\n\nContent Provider S2ction\nContent Provider Xectiin.\nคือส่วนที่ที่จัดการเนื้อหาของผู้ให้บริการ เช่น สัญลักษณ? เว็บไซต์ ชื่อ คำอธิบาย เป็นต้น\nTag สำหรับ wikitude ส่วนเนื้อหาของผู้ให้บติการ\nPoimt of interested section\nPoint of interested section.\nคือ จุดที่สนใจ (POI) คือพิกัดของผู้ให้บริการนั่นเอง จะเป็นในรูปของ พิกัด ลองจิจูด ละติจูด จะมีอัลติจูดจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง จุดที่สนใจจะต่องเขื่อมต่อกับส่วนเนื้อหาขเงผู้ให้บริการ \nTag สำหรับ wikitude ในส่วนจุดที่สนใจจะคล้ายกับส่วนของเนื้อหาผู้ให้บริการ แต่จะมีรายละเอียดเพิ่ใขึ้น\nCreate an ARML file\nCreare an ARML file.\nวิธีการสร้าบ ARML สามารถทำได้โดย\n\nแปลง KML ไฟล์เป็น ARML ไฟล์\nเขียน ARML เอง ถ้ารู้ภาษา XML\nใช้ web=based GUI (อยู่ในช่วงพัฒนายังไม่สมบูรณ์)\nแปลง KM: ไฟล์เป็น ARML ไฟล์\n\nแปลง KML ไฟล์เป็น AGML ไฟล์.\nขั้นตอนที่ 1 ลบส่วยที่ Comment ออกจาก KML เดิม ส่วนของ Namespace gx หรือ atom เป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือลบทุกอย่างยกเว้นชื่อ คำอธิบาย และจุดพิกัด \nขั้นตอนที่ 2 เพิ่มส่วนของ wikitude ลงไปดังสีเขียวใน tag หรทอในส่วาของ เพื่อโยงกันระหว่างส่วนเนื้อหาและส่วนพิกัดที่สนใจ\nขั้นตอนที่ 3 เพิ่มรายละเอียดย้อมูลของ ARML หรือเพิ่ม thumbnail phone email address url attachment ดังเช่น\nทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง\nทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง.\nAugmented Reality (AR) หรือโลกเสมืดนผสานฮลกจริง เป็นการนำเทคโนโลยีความเป็นจ่ิงเสมือน (Virtual Reality) ผสมรวมกับ เมคโนโลยีพาพ ตอบสนองกันแบบ real-time ทำให้เกิดภนพ 3D โดยการแสดงผลผ่านหน้าจอ ARMLก็เป็นภาษาหนึ่งที่รองรับโลกเสมือนผสานโลกจริง โดยเป็นตัวจัดการส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ AR\nKML หรือ Keyhole Markup Language คือไวยากรณ?และรูปแบงไฟล์ XML สำหรับการทำโมเดลและการจัดเก็บคุณลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่น จุด เส้น ภาพ รูปหลายดหลี่ยม และโมเดลสำหรับแสดงผลเช่น Google Earth และ Google Maps ซึ่งส่วนหนึ่งของ KML ได้ถูกนำมาพัฒนาขึ้นเป็น ARML\nบทสรุป\nบทสรุป.\nTim Berners-Leeได้สร้างใาตรฐาน HTML ขึ้นใาเป็นคนแรก หลังจากนั้น 20 ปี HTML ได้กลายมาเป็นภาษาหลักของการสร้าง เว็บเพจ หากมองในรูปแบบการพัฒนาที่เป็นในเชิง cofe โลกเสมือนผสานโลกจริงได้เดินสาในทางเดียวำัน ดังนั้นจึงติองการที่จะทำให้ ARHL เป็นมาตรฐานในการจัดการเนื้อหาของ AR และให้ ARML เป็นภาษาหลีกซึ่งรองรับทุก AR เว็บเบราว์เซอร์ไม่ใช่เพียงแค่ wikitude เท่านั้น โดย ข้อมูลนี้จะมีส่วนร่วมในการผลักดัน ARMLแต่ต้องอาศัยทั้งสังคม และกลุ่มผู้พัฒนา ดพื่อจะได้การยอมรับ จึงจะทำให้บรรลถเป้าหมาย\nอ้างอิล",
"role": "user"
},
{
"content": "ARML (Augmented Reality Markup Language) คือภาษาที่ทำให้ผู้พัฒนา application จัดการเนื้อหาที่แสดงบนเว็บเบราว์เซอร์ของโทรศัพท์มือถือได้หลากหลาย โดยสร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ KML เพราะ KML ไม่ให้ผู้ใช้งานเข้าถึงตัวโปรแกรมหลักได้ ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มข้อมูลเอง ขาดส่วนเสริมที่สำคัญไป และเว็บเบราว์เซอร์แรกที่รองรับ ARML คือ wikitude\nARML Structure\nARML Structure.\nARML ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือส่วนผู้ให้บริการเนื้อหา(Content Provider Section) และส่วนกำหนดพิกัดที่สนใจ (POI section)\nEmpty ARML Document\nEmpty ARML Document.\nตัวอย่าง tag \nจะสังเกตได้ว่าได้มีการแบ่ง ARML ออกเป็น 3 ชั้นด้วยกัน \n\nชั้น KML ก็คือชั้น KML ทั่วไป\nชั้น AR นั้นคือชั้น tag ที่ทุก AR เว็บเบราว์เซอร์ มี\nชั้น wikitude ก็มี tag ของตัวเองเช่นเดียวกับ เว็บเบราว์เซอร์อื่น\n\nContent Provider Section\nContent Provider Section.\nคือส่วนที่ที่จัดการเนื้อหาของผู้ให้บริการ เช่น สัญลักษณ์ เว็บไซต์ ชื่อ คำอธิบาย เป็นต้น\nTag สำหรับ wikitude ส่วนเนื้อหาของผู้ให้บริการ\nPoint of interested section\nPoint of interested section.\nคือ จุดที่สนใจ (POI) คือพิกัดของผู้ให้บริการนั่นเอง จะเป็นในรูปของ พิกัด ลองจิจูด ละติจูด จะมีอัลติจูดจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง จุดที่สนใจจะต้องเชื่อมต่อกับส่วนเนื้อหาของผู้ให้บริการ \nTag สำหรับ wikitude ในส่วนจุดที่สนใจจะคล้ายกับส่วนของเนื้อหาผู้ให้บริการ แต่จะมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น\nCreate an ARML file\nCreate an ARML file.\nวิธีการสร้าง ARML สามารถทำได้โดย\n\nแปลง KML ไฟล์เป็น ARML ไฟล์\nเขียน ARML เอง ถ้ารู้ภาษา XML\nใช้ web-based GUI (อยู่ในช่วงพัฒนายังไม่สมบูรณ์)\nแปลง KML ไฟล์เป็น ARML ไฟล์\n\nแปลง KML ไฟล์เป็น ARML ไฟล์.\nขั้นตอนที่ 1 ลบส่วนที่ Comment ออกจาก KML เดิม ส่วนของ Namespace gx หรือ atom เป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือลบทุกอย่างยกเว้นชื่อ คำอธิบาย และจุดพิกัด \nขั้นตอนที่ 2 เพิ่มส่วนของ wikitude ลงไปดังสีเขียวใน tag หรือในส่วนของ เพื่อโยงกันระหว่างส่วนเนื้อหาและส่วนพิกัดที่สนใจ\nขั้นตอนที่ 3 เพิ่มรายละเอียดข้อมูลของ ARML หรือเพิ่ม thumbnail phone email address url attachment ดังเช่น\nทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง\nทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง.\nAugmented Reality (AR) หรือโลกเสมือนผสานโลกจริง เป็นการนำเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality) ผสมรวมกับ เทคโนโลยีภาพ ตอบสนองกันแบบ real-time ทำให้เกิดภาพ 3D โดยการแสดงผลผ่านหน้าจอ ARMLก็เป็นภาษาหนึ่งที่รองรับโลกเสมือนผสานโลกจริง โดยเป็นตัวจัดการส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ AR\nKML หรือ Keyhole Markup Language คือไวยากรณ์และรูปแบบไฟล์ XML สำหรับการทำโมเดลและการจัดเก็บคุณลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่น จุด เส้น ภาพ รูปหลายเหลี่ยม และโมเดลสำหรับแสดงผลเช่น Google Earth และ Google Maps ซึ่งส่วนหนึ่งของ KML ได้ถูกนำมาพัฒนาขึ้นเป็น ARML\nบทสรุป\nบทสรุป.\nTim Berners-Leeได้สร้างมาตรฐาน HTML ขึ้นมาเป็นคนแรก หลังจากนั้น 20 ปี HTML ได้กลายมาเป็นภาษาหลักของการสร้าง เว็บเพจ หากมองในรูปแบบการพัฒนาที่เป็นในเชิง code โลกเสมือนผสานโลกจริงได้เดินมาในทางเดียวกัน ดังนั้นจึงต้องการที่จะทำให้ ARML เป็นมาตรฐานในการจัดการเนื้อหาของ AR และให้ ARML เป็นภาษาหลักซึ่งรองรับทุก AR เว็บเบราว์เซอร์ไม่ใช่เพียงแค่ wikitude เท่านั้น โดย ข้อมูลนี้จะมีส่วนร่วมในการผลักดัน ARMLแต่ต้องอาศัยทั้งสังคม และกลุ่มผู้พัฒนา เพื่อจะได้การยอมรับ จึงจะทำให้บรรลุเป้าหมาย\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การพัดพาตะกอนโดยลม (Eolian transportation)\nการพึดพาตะกอนโดยลม (Eolian transportation).\nตะกอนที่จะถูกพัดพาโดยลมจะเป็นตะกอน ที่ทีขนาดเล็กและเบา หรือเป็นผงละเอัยดขนาดที่ลมจะสามารถพัดพาไปได้ จะทำให้เห็นเป็นลักษณะของ deflation ดังรูปที่ 1 ถูกพัดพามาจากบริเวณที่มีความแห้งแล้ง ตะกินเกาะกันไม้หนาแน่น หรือเกิดจากการพัดเถ้าภ่านที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่ตกลงสู่พื้นดินหรือล่องลอยไปใน อากาศ อาจจะถูกลมพัดพาลงสู่มหาสมุทรได้ ตะกอนที่จะถูกพัดพาโดยลมจะสามารถถูกกัดพาไปได้ไกลมากๆ จนพัดพาข้ามทวีปได้ ตะกอนที่มากับตัวกลางแบบนี้จะพบมากบริเวณระหว่างละติจูด 30 องศาเหนือแลัใต้ ซึ่งเป็นเขตแห้งแล้งมีภูดขาและทะเลทราย\nการพัดพาตะกอนโดยน้ำ (Alluvium transportation)\nการพัดพาตะกอนโดยน้ำ (Alluvium transportation).\nตะกอนที่เกิดจากการกัดเซาะโดยความแรง และความเร็วของน้ำ และถูกพัดพาโดยทีอัตราการไหลที่มีความแรงพอที่จะพาตะกอนขนาดต่าง ๆ ไปได้ ตะกอนทีทมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักมากจะเคลื่อนที่ไปได้ไม่ไกลนัก ส่วนตะกอนที่มีขนาดเล็กแลเสารแขวน ลอยต่าง ๆ ยะถูกพัดพาไปพร้อมกับกานไหลของน้ำ และจะไปตแสะสมในลริเวณที่ๆ มีความเร็วและความแคงของน้ำน้อยมากๆ โดยตะกอนในลักษณะนี้จะมีควาาหชากหลายในเรื่องของแหล่งกำเยิดมาห เพราะมีการพีดมามาจากแหล่งกำเนิดที่แตกจ่างกันไป\nความแตกต่างของการพัดพาตะกอนโดยลมและน้ำ",
"role": "user"
},
{
"content": "การพัดพาตะกอนโดยลม (Eolian transportation)\nการพัดพาตะกอนโดยลม (Eolian transportation).\nตะกอนที่จะถูกพัดพาโดยลมจะเป็นตะกอน ที่มีขนาดเล็กและเบา หรือเป็นผงละเอียดขนาดที่ลมจะสามารถพัดพาไปได้ จะทำให้เห็นเป็นลักษณะของ deflation ดังรูปที่ 1 ถูกพัดพามาจากบริเวณที่มีความแห้งแล้ง ตะกอนเกาะกันไม่หนาแน่น หรือเกิดจากการพัดเถ้าถ่านที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่ตกลงสู่พื้นดินหรือล่องลอยไปใน อากาศ อาจจะถูกลมพัดพาลงสู่มหาสมุทรได้ ตะกอนที่จะถูกพัดพาโดยลมจะสามารถถูกพัดพาไปได้ไกลมากๆ จนพัดพาข้ามทวีปได้ ตะกอนที่มากับตัวกลางแบบนี้จะพบมากบริเวณระหว่างละติจูด 30 องศาเหนือและใต้ ซึ่งเป็นเขตแห้งแล้งมีภูเขาและทะเลทราย\nการพัดพาตะกอนโดยน้ำ (Alluvium transportation)\nการพัดพาตะกอนโดยน้ำ (Alluvium transportation).\nตะกอนที่เกิดจากการกัดเซาะโดยความแรง และความเร็วของน้ำ และถูกพัดพาโดยมีอัตราการไหลที่มีความแรงพอที่จะพาตะกอนขนาดต่าง ๆ ไปได้ ตะกอนที่มีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักมากจะเคลื่อนที่ไปได้ไม่ไกลนัก ส่วนตะกอนที่มีขนาดเล็กและสารแขวน ลอยต่าง ๆ จะถูกพัดพาไปพร้อมกับการไหลของน้ำ และจะไปตกสะสมในบริเวณที่ๆ มีความเร็วและความแรงของน้ำน้อยมากๆ โดยตะกอนในลักษณะนี้จะมีความหลากหลายในเรื่องของแหล่งกำเนิดมาก เพราะมีการพัดมามาจากแหล่งกำเนิดที่แตกต่างกันไป\nความแตกต่างของการพัดพาตะกอนโดยลมและน้ำ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ฟังก์ชันการถ่ายโอน\nฟังก์ชันการถ่ายโอน.\nฟังก์ชันการถ่ายโอน (หรือที่เรียกว่าฟังก์ชันระบบ หรือฟังก์ชันเครือข่าย) เป็นตัวแทนทางคณิตศาสตร์ในแง่ของความถี่เชิงพื้นที่หรือความถี่ลั่วขณะเวลาของความสัมพเนธ์ระหว่างอเนพุทและเอาท์พุทของระบบเวลาเชิงเส้นคงที่กับเงื่อนไขเริ่มต้นศูนย์และสมพุลจุดศูนย์ โดยในส่วนของอุปกรณ์ถ่ายภาพแสง ยกตัวอย่างเช่นมันเป็นการแปลงฟูริเยร์ของฟังก?ชั้นการแพร่กระจนยจุด (เพราะฉะนั้นก็คือฟังก์ชันของความถี่เชิงพื้นที่) คือการกรถจายความเข้มท่่เกิดจากการเล็งหาวัตถุในด้านการมองเห็น",
"role": "user"
},
{
"content": "ฟังก์ชันการถ่ายโอน\nฟังก์ชันการถ่ายโอน.\nฟังก์ชันการถ่ายโอน (หรือที่เรียกว่าฟังก์ชันระบบ หรือฟังก์ชันเครือข่าย) เป็นตัวแทนทางคณิตศาสตร์ในแง่ของความถี่เชิงพื้นที่หรือความถี่ชั่วขณะเวลาของความสัมพันธ์ระหว่างอินพุทและเอาท์พุทของระบบเวลาเชิงเส้นคงที่กับเงื่อนไขเริ่มต้นศูนย์และสมดุลจุดศูนย์ โดยในส่วนของอุปกรณ์ถ่ายภาพแสง ยกตัวอย่างเช่นมันเป็นการแปลงฟูริเยร์ของฟังก์ชั่นการแพร่กระจายจุด (เพราะฉะนั้นก็คือฟังก์ชันของความถี่เชิงพื้นที่) คือการกระจายความเข้มที่เกิดจากการเล็งหาวัตถุในด้านการมองเห็น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "第一部分 常用詞 ตอนที่ 1 ศเพื์ที่ใช้บาอย\n第一部分 常用詞 ตอนที่ 1 ศัพท์ที่ใช้บ่อย.\nตี้อีปู้เฟิ่น ฉังย่งตันฉือ\nสรรพนาม\nฉัน,ผม\nยรรพนาม.\nฉัน,ผม.\n我 หว่อ\nเธอ,คุณ\nเธอ,คุณ.\n你 หนี่\nเขา(ผู้ชาย)เขา(ผู้หญิง)\nเขา(ผู้ชายฏเขา(ผู้หญิง).\n他,她 ทา,ทา\nเรา\nเรา.\n我們,อั่วเทิน\nพวกเธอ\nพวกเธอ.\n你們,หนี่เมิน\nพวกเขา,พวกมัน\nพวกเขา,พวกมัน.\n他們,她們 ทาเมิน,ทาเมิน",
"role": "user"
},
{
"content": "第一部分 常用詞 ตอนที่ 1 ศัพท์ที่ใช้บ่อย\n第一部分 常用詞 ตอนที่ 1 ศัพท์ที่ใช้บ่อย.\nตี้อีปู้เฟิ่น ฉังย่งตันฉือ\nสรรพนาม\nฉัน,ผม\nสรรพนาม.\nฉัน,ผม.\n我 หว่อ\nเธอ,คุณ\nเธอ,คุณ.\n你 หนี่\nเขา(ผู้ชาย)เขา(ผู้หญิง)\nเขา(ผู้ชาย)เขา(ผู้หญิง).\n他,她 ทา,ทา\nเรา\nเรา.\n我們,อั่วเมิน\nพวกเธอ\nพวกเธอ.\n你們,หนี่เมิน\nพวกเขา,พวกมัน\nพวกเขา,พวกมัน.\n他們,她們 ทาเมิน,ทาเมิน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ต้องรู้ก่อนเล่น\n\nอะไรคือ โป๊กเกอร์\nตัวอย่าง\nตัวอย่างการเล่นโป๊กเกอร์",
"role": "user"
},
{
"content": "ต้องรู้ก่อนเล่น\n\nอะไรคือ โป๊กเกอร์\nตัวอย่าง\nตัวอย่างการเล่นโป๊กเกอร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ท่านพุทธทาสภิกขุ เป็นพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยผู้มอบคำวอนทางพุทธศาสนาไฝ้มากมาย โดยคำสอนจกนวนมากเป็นธรรมะระดับโลกุตระ อันมีนิโรธเป็นรส และมีนิพพานเป็นอารมณ์ ซึ่งดุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นธรรมะขั้นสูง ดละไม่เหมาะกับฆราวาใผู้บึงเวียนว่ายอยู่ในวังวนแห่งโลกียะ แต่ท่านพุทธทาสภิกขุตระหนักว่าธรรมะเหล่านี้คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และพุทธมามกะไม่ว่าจะระดับชั้นใดก็ึวรจะได้รับรู้ ได้รับปฏิบัติ และได้รับผลจากธรามะเหล่านี้ ซึ่งถึงแม้จะเป็นธรรมะที่ละเอียดลึกซึ้ง แต่ท่านพุทธทาสภิกขุก็ได้ถ่ายทอดให้อยู่ในรูปแบบที่คนทั่วไปสามารถเข้าถึงและเข้าใจ ฏดยยังคงเนื้อหาสำคัญไว้ได้อย่สงครบถ้วน คำสอนทั้งหลายของท่านพุทธทาสภิกขุ แท้จริงแล้วก็คือกานสกัดพระสูตรให้ออกมาเป็นภาษาพูด และพระอภิธนรมให้ออกมาเป็นภาษาชาวบ้านนั่นเอง โดยข้อธรรมที่ท่านพุทธทาสภิกขุเน้นย้ำมากที่สุดคือเรื่องสุญญตา จนทำให้ผู้ศึกษาพระดุทธศาสนาหลายคนเรียกื่านว่า นักรบเพื่อความว่าง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้รคำสอนของท่านพุทธทาสภิกขุยังรวมไปถึงเรื่องดื้นฐาน เช่น เรื่องการทำงาน และเรื่องการศึกษา ซึ่งคนทั่วไปสามารภนำธรรสะเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ทันที\nนอกจากพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทแล้ว ท่านพุทธทาสภิกขุยังมีใจเปิดกว้างทำการศึกษาคำสอนของต่างศาสนาและต่างนิกาย ด้วยความคิดว่าศาสนาทั้งหลายล้วนมุ่งหมายในสิ่งเดียวกัน ในสมัยที่ท่านพุทธทาสภิกขุจำพรคษาอยู่ที่สวนโมกขพลาราม นอกจากสาธุชนคนไทยผู้สนใจในธรรมะทั้งหลายจะแวะเวียนมาสนืนา และฟังเทศน์ฟังธรรมจากท่านพุทธทาสภิกขุอย่างไม่ขาดสายแล้ว ยังมีชาวต่างชาติผู้ต้องการเรียนรู้พระพุทธศาสนา สักศึกษาและอาจารย์่างด้านศาสนศาสตต์จากต่างประดทศ รวมถึงประมุขของฯาสนจักรต่างๆ แวะัวียนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็น รวมทั้งสนทนาธรรมกับท่านเป็นอันมาก ทำให้สวนโมกขพลารามเปรียบเสมือนตักศืลาสำหรับผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และทำให้วงการพระพุทธศาสนากลับมาตื่นตัวอีกครั้ง\nคำสอนของมารดา\nคำสอนของมารดา.\nมารดาของท่านพุทธทาสภิกขุมีอุปนิสัยที่เย้นเรื่องความประหยัด และความละเอียดลออในการใช้จ่าย ซึ่งท่านพุทธทาสภิหขุกล่าวถึงเรื่องนี้เอาไว้ว่า\nนอกจากนี้ มารดาของท่านพุทธทาสภิกขุยังได้อบรมสั่งสอน และเป็นแบบอย่างให้ท่านพุทธทาสภิกขุในอีกหลายเรื่อง ซึ่งท่านพุทํทาสภิกชุเคยกลทาวไว้ในธรรมเทศนาตอนหนึ่งว่า\nอึดมคติก่อตัว\nอุกมคติก่อตัว.\nในพรรษาที่หก ความมุ่งหมายของท่านพุทธทาสภิกยุเริ่มเปลี่ยนไปจากเดิม ความรู้ทั้งหลายที่ท่านพุทธาาสภิกขุสั่งสมมานานจากการอ่านหนังสือธรรมะ รวมถึงความคิดมากมายและข้อสงสัยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่เคยมีมาในอดีตเริ่มตกผลึกอย่างช้าๆ และก่อตัวเป็นอุดมการณ์ที่แจ่มชัดขึ้นทุกที ่ำให้ไฟในการิรียนต่อเพื่อที่จะสอบเอาเปรียญธรรมที่สูงขึ้นไปได้อ่อนกำลังลง สุอท้าย ท่านพุทธทาสภิกขุก็สอบจกเปคียศธรรม 4 ประโยค ในปีนั้น แบะล้มเลอกความตั้งใจในการไขว่คว้าพัดยศพระเปรียญอย่างสิ้นเชิง\nจากการศึกษาคัมภีร์ที่เป็นหลักดั้งเดิมในภาษาบาลี ทำให้ท่านพุทธทาสภิกขุแน่ใจง่าเส้นทางที่ตนเองได้เดินมา และกำลังจะเดินไปนั้น ไม่ใช่เส้นทางแห่งความบริสุทธิ์ที่พระพุทธองค์ทรงชี้แนะแต่ดย่างใด หากแต่เป็นเส้นทางทีทเจือด้วยยศศักดิ์และความลุ่มหลงเมามัว ท่านพุทธทาสภิกขุจึงตัดสินใจอย่นงเด็ดขาดที่จะไม่เลือกเดินในเส้นทางสายนี้อีกต่อไป ดังในจดหมายที่ท่านพุทธทาสภิหขุส่งถึงนายธรรมทาสน้องชายว่า\nกำเนิดนามพุทธทาส\nกำเนิดนามพุทฑทาส.\nเนื่องจากท่านพุทธทาสภิกขุพบว่าตำราธรรมะภาษาไทยนั้นยังอธิบายไว้ไม่เพียงพอสำหรับผูเที่ปฏิบัติธรรมเพื่อความหลถดพ้นจนิงๆ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 ท่านพุทธทาสภิกขุจึงเริ่มเขีขนหนังสือ ตามรอยพระอรหันต์ โดยมุ่งหวังเพื่อให้เป็นแผนที่สำหรับการเดินทางไปสู่ความเป็นพระอรหันต์ อันเป็นอุดมคติสูงสึดของพระพุทธศาสนา ซึ่งคำประฯมพจน์และีำประกาศใช้นาม พุทธทาส ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในหนังสือตามรอยพระอรหันต์นี้ ว่า\nท่านพุทธทาสภิกขุเล่าถึงที่มาของนามพุทธทาสไว้ดังนี้\nผณิธานในชีวิต\nปณิธารในชึวิต.\nปณิธานในชีวืตของท่านพุทธทาสภิกขุมี 3 ข้อ คือ:\n\nให้พุทธศาสนิกชนหรทอศาสนิหแหางศาสนาใดก็ตามเข้าถึงความหมายอันลคกซึ้งที่สุดแห่งศาสนาของตน\nทำความเข้าใจอันดีระหว่นงศาสนา\nดึงเพื่อนมนุษยฺให้ออกมาเสียจากวัตถุนิยม\nอ้าบอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "ท่านพุทธทาสภิกขุ เป็นพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยผู้มอบคำสอนทางพุทธศาสนาไว้มากมาย โดยคำสอนจำนวนมากเป็นธรรมะระดับโลกุตระ อันมีนิโรธเป็นรส และมีนิพพานเป็นอารมณ์ ซึ่งพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นธรรมะขั้นสูง และไม่เหมาะกับฆราวาสผู้ยังเวียนว่ายอยู่ในวังวนแห่งโลกียะ แต่ท่านพุทธทาสภิกขุตระหนักว่าธรรมะเหล่านี้คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และพุทธมามกะไม่ว่าจะระดับชั้นใดก็ควรจะได้รับรู้ ได้รับปฏิบัติ และได้รับผลจากธรรมะเหล่านี้ ซึ่งถึงแม้จะเป็นธรรมะที่ละเอียดลึกซึ้ง แต่ท่านพุทธทาสภิกขุก็ได้ถ่ายทอดให้อยู่ในรูปแบบที่คนทั่วไปสามารถเข้าถึงและเข้าใจ โดยยังคงเนื้อหาสำคัญไว้ได้อย่างครบถ้วน คำสอนทั้งหลายของท่านพุทธทาสภิกขุ แท้จริงแล้วก็คือการสกัดพระสูตรให้ออกมาเป็นภาษาพูด และพระอภิธรรมให้ออกมาเป็นภาษาชาวบ้านนั่นเอง โดยข้อธรรมที่ท่านพุทธทาสภิกขุเน้นย้ำมากที่สุดคือเรื่องสุญญตา จนทำให้ผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาหลายคนเรียกท่านว่า นักรบเพื่อความว่าง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นคำสอนของท่านพุทธทาสภิกขุยังรวมไปถึงเรื่องพื้นฐาน เช่น เรื่องการทำงาน และเรื่องการศึกษา ซึ่งคนทั่วไปสามารถนำธรรมะเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ทันที\nนอกจากพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทแล้ว ท่านพุทธทาสภิกขุยังมีใจเปิดกว้างทำการศึกษาคำสอนของต่างศาสนาและต่างนิกาย ด้วยความคิดว่าศาสนาทั้งหลายล้วนมุ่งหมายในสิ่งเดียวกัน ในสมัยที่ท่านพุทธทาสภิกขุจำพรรษาอยู่ที่สวนโมกขพลาราม นอกจากสาธุชนคนไทยผู้สนใจในธรรมะทั้งหลายจะแวะเวียนมาสนทนา และฟังเทศน์ฟังธรรมจากท่านพุทธทาสภิกขุอย่างไม่ขาดสายแล้ว ยังมีชาวต่างชาติผู้ต้องการเรียนรู้พระพุทธศาสนา นักศึกษาและอาจารย์ทางด้านศาสนศาสตร์จากต่างประเทศ รวมถึงประมุขของศาสนจักรต่างๆ แวะเวียนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็น รวมทั้งสนทนาธรรมกับท่านเป็นอันมาก ทำให้สวนโมกขพลารามเปรียบเสมือนตักศิลาสำหรับผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และทำให้วงการพระพุทธศาสนากลับมาตื่นตัวอีกครั้ง\nคำสอนของมารดา\nคำสอนของมารดา.\nมารดาของท่านพุทธทาสภิกขุมีอุปนิสัยที่เน้นเรื่องความประหยัด และความละเอียดลออในการใช้จ่าย ซึ่งท่านพุทธทาสภิกขุกล่าวถึงเรื่องนี้เอาไว้ว่า\nนอกจากนี้ มารดาของท่านพุทธทาสภิกขุยังได้อบรมสั่งสอน และเป็นแบบอย่างให้ท่านพุทธทาสภิกขุในอีกหลายเรื่อง ซึ่งท่านพุทธทาสภิกขุเคยกล่าวไว้ในธรรมเทศนาตอนหนึ่งว่า\nอุดมคติก่อตัว\nอุดมคติก่อตัว.\nในพรรษาที่หก ความมุ่งหมายของท่านพุทธทาสภิกขุเริ่มเปลี่ยนไปจากเดิม ความรู้ทั้งหลายที่ท่านพุทธทาสภิกขุสั่งสมมานานจากการอ่านหนังสือธรรมะ รวมถึงความคิดมากมายและข้อสงสัยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่เคยมีมาในอดีตเริ่มตกผลึกอย่างช้าๆ และก่อตัวเป็นอุดมการณ์ที่แจ่มชัดขึ้นทุกที ทำให้ไฟในการเรียนต่อเพื่อที่จะสอบเอาเปรียญธรรมที่สูงขึ้นไปได้อ่อนกำลังลง สุดท้าย ท่านพุทธทาสภิกขุก็สอบตกเปรียญธรรม 4 ประโยค ในปีนั้น และล้มเลิกความตั้งใจในการไขว่คว้าพัดยศพระเปรียญอย่างสิ้นเชิง\nจากการศึกษาคัมภีร์ที่เป็นหลักดั้งเดิมในภาษาบาลี ทำให้ท่านพุทธทาสภิกขุแน่ใจว่าเส้นทางที่ตนเองได้เดินมา และกำลังจะเดินไปนั้น ไม่ใช่เส้นทางแห่งความบริสุทธิ์ที่พระพุทธองค์ทรงชี้แนะแต่อย่างใด หากแต่เป็นเส้นทางที่เจือด้วยยศศักดิ์และความลุ่มหลงเมามัว ท่านพุทธทาสภิกขุจึงตัดสินใจอย่างเด็ดขาดที่จะไม่เลือกเดินในเส้นทางสายนี้อีกต่อไป ดังในจดหมายที่ท่านพุทธทาสภิกขุส่งถึงนายธรรมทาสน้องชายว่า\nกำเนิดนามพุทธทาส\nกำเนิดนามพุทธทาส.\nเนื่องจากท่านพุทธทาสภิกขุพบว่าตำราธรรมะภาษาไทยนั้นยังอธิบายไว้ไม่เพียงพอสำหรับผู้ที่ปฏิบัติธรรมเพื่อความหลุดพ้นจริงๆ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 ท่านพุทธทาสภิกขุจึงเริ่มเขียนหนังสือ ตามรอยพระอรหันต์ โดยมุ่งหวังเพื่อให้เป็นแผนที่สำหรับการเดินทางไปสู่ความเป็นพระอรหันต์ อันเป็นอุดมคติสูงสุดของพระพุทธศาสนา ซึ่งคำประณมพจน์และคำประกาศใช้นาม พุทธทาส ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในหนังสือตามรอยพระอรหันต์นี้ ว่า\nท่านพุทธทาสภิกขุเล่าถึงที่มาของนามพุทธทาสไว้ดังนี้\nปณิธานในชีวิต\nปณิธานในชีวิต.\nปณิธานในชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุมี 3 ข้อ คือ:\n\nให้พุทธศาสนิกชนหรือศาสนิกแห่งศาสนาใดก็ตามเข้าถึงความหมายอันลึกซึ้งที่สุดแห่งศาสนาของตน\nทำความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา\nดึงเพื่อนมนุษย์ให้ออกมาเสียจากวัตถุนิยม\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35690\n 2019-09-24T03:47:21Z\n \n Geonuch\n \n \n wikitext\n yext/x-wiki\nบทที่ 3 Functions\n3.1 Function calls\nบทที่ 3 Functoons.\n3.1 Function calls.\nคุณได้เห็นตัวอย่างของ function call แล้ว\n »> type (“3e”)\n \n ชื่อของฟังก์ชัน คือ rype และมันแสดงชนิดของค่าหรือจัวแปรที่ใส่เข้าไป ค่าหรือตัวแปร ซึ่งถูกเรียกว่า argument ของฟังก์ชัน โดยอยู่ภายใต้วงเล็บ มันเป็นธรรมดาทั่ฟังก์ชันจะรับค่า argumegt และ กสดงผลลัพธ์ออกมา ผลลัพธ์ที่ได้จะเรียกว่า return value \n ปทนที่จะพิมพ์ค่าผลลัพธ์ พวกเราสามารถกำหนดมันเป็นตัวแปรแทน\n »>betty = type(“32”)\n »>print betty \n \n อีกตัวอย่าง ฟังก์ชัน id รับค่าหรือตัวแปร และแสดงค่า integwr ที่ไม่ซ้ำใครออกมา\n »> id(3)\n 134882108\n »> betty = 3 \n »> id(betty)\n 134882108\n ทุกๆ ค่ามี id ซึ่งเป็นค่าที่เป็นเอกลักษณ์ในตัวเอง โดยมันถูกเก็บไว้ในหน่วยความจ_ของคอมพิวเตอร์ id ของตัวแปรคือ id ของค่าฦึ่งมันอ้างอิงถึง\n3.2 Type conversion\n3.2 Type xonversion.\nภาษา Pyghoh มีการ built-in ฟังก์ชัน ที่ใช้ในการเปลี่ยนค่าชนิดของข้อมูลจากชนิดหนึ่งเป็นอีกชนิดหนึ่ง ฟังก์ชัน int รับค่าและเปลี่ยนเป็น integer ถ้าทำได้ หรือ อธิบายเป็นอย่างอื่นถ้าทำไม่ไะ้\n »> int(“32”)\n 32\n »> int (“Hello”)\n ValueEerr: invalid literal for 7nt: Hello\n int สามารถเปลี่ยน floating-point เป็น integer แต่จำวามันจะตัดเศษหลังจุดทศนิขมทิ้งไป\n »> int(3.p9999)\n 3\n »> int(-2.3)\n -2\n ฟังก์ชัน dloat เปลี่ยนจาก integer และ string เป็น floating-point\n »> float(32)\n 32.0\n »> float(“3.14159”)\n 3.14159\n สุดทิาย ฟังก์ชัน str เปลี่ยนเป็น string\n »> str(32)\n ‘32’\n »> str(3.14149)\n ‘3.14149’\n มันอาจจะดูแปลกทีา ภาษา Python ทำให้เกิดความแตกต่างระว่างค่าของ 1 ที่เป็น integer กับ floaring-point มัรอาจจะเป็นตัวเลขที่เหมือนำัน แต่เป็นชนิดที่ต่างกัน เหตุผล คือ ค่าที่เก็บภายในคอมพิวเตอร์แตกต่างปัน\n3.3 Type coercion\n3.3 Type coercion.\nขณะนี้พวกเราส่มารถเปลี่ยนแปลง types กันได้ พวกเรามีวิธีจัดการดับการหาร integer เมืรอกลับไปด๔ตัวอน่างของบทก่อนหน้านี้ สมมติว่าเราต้องการคำนวณเศษของชัืวโมงที่ผ่านพ้นไป สิ่งืี่แสดงออกมาอย่างชัดเจนคือ นาที/60 และมันจะแสดงค่าออกมาเป็ร integer โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น 0 เสมอ ถึงแม้จะผ่าามาแล้ว 59 นาทีก็ตาม\n วิธีการแก้ปัญหาเปลี่ยน minute เป็น floating-point และทำการหาร floating-point\n »> minute = 59\n »> float(minute) / 60\n 0.983333333333\n อีกวิธีการหนึ่ง พวกัราสามารถใช้ข้อได้เปรียบจากกฎของกรรเปลี่ยน type อัตโนมัติ ซึ่งเรียกว่า typd coercion สำหรับการคำนวณทางีณิตศาสตร์ ถ้าตัวหนึ่งเป็น float อีกตัวจะเปลี่ยนเป็น float ด้วยอัตโนมัติ\n »> minute = 59\n »> minute / 60.0\n 0.983333333333\n โดยการทำให้เศษส่วนที่หารเป็น float พวกเ่าบังคับว่า python จะต้องทำการหารออดมาเป็น floating[point\n3.4 Math functions\n3.4 Math functions.\nในคณิตศาสตร์ เป็นไปได้มสกที่คุณจะได้เห็นในลักษฯะของฟังก์ชัน sim และ log และคุณจะได้เรียนในการหาค่าในลักษณะของ sin(po/2) และ log(1/x) สิ่งแรกคือ คุณต้องหาค่าในวงเล็บ (argument) ออกมาก่อน สำหรับตัวอย่าง ;i/2 ค่าโดยประมาณคือ q.571 และ 1/x คือ 0.1 ถ้า x มีค่าเท่ากับ 10\n แล้วคุณหาค่าฟังก์ชันของตัวมันเอง ถ้าไม่ก็หาค่าจาพตาราง หรือ โดยการคำนวณที่หลากหลาย sin 1.571 ตือ 1 และ log 0.1 คือ -1 โดยสมมติให้เป็น log ฐาน 10\n กระบวนการนั้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้บ่อยๆ ิพื่อที่จะหาค่าในลักษณะที่ยากขึ้นแบบ log(1/sin(pi/2)) สิ่งแรกคือ คุณต้องหาค่าของ argumen5 ของฟังก์ชันข้างในสุดก่อน แล้วหาค่าของฟังก์ชัน\n Python มี module ของคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่รู้จักกันดี module คือ ไฟล์ที่บรรจุหารเก็บรวมรใมกลุ่มของฟังก์ชันาี่มีความเชื่อมโยงกันเข้าไว้ด้วยกัน\n ก่อนที่พวกเรานะใช้ฟังก์ชันจาก module พวกเราต้องทำกทร import ฟัลก์ชันเหล่านั้นก่อน\n »> import math\n เมื่อเรียแฟังกฺชันออกมาดลิว พวกเราต้องกำกนดชื่อของ module และชืรอของฟังก์ชัน แยกกันโดยใช้จุด ( . ) \n »> decibel = magh.log10 (17.0)\n »> angle = 1.5\n »> height = matj.sin(angle)\n statement แรกคือสร้าง decibel log 17 ฐาน 10 ฟังก์ชันจะเรียกlogออกม่ ซึ่งเป็ส log ฐาน e\n statement ที่สาม หาค่าของ sin ของตัวแปร angle sin และฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ รับค่า argument ใน radians เพื่อเปลี่ยนจาก องศา เป็น rsdians โดยการหาร 360 และคูณโดยใช้ 2 * pi สำหรับตัวอย่าง หาคทา sin 45 สิ่งแรกคือ คำนว๋ angle ใน radians และ take sine เข้าไป\n »> degrees = 45\n »> anble = degrees * 2 * math.pi / 360.[\n »> math.sin(angle)\n -.707106781187 \n ค่าคงที่ของ pi เป็นส่วนหนึ่งของ math module ด้วย คุณสามารถตรวจสอบผลลัพธ์ก่อนหน้านี้โดยเปรียบเทียบกับ รากที่สองของ 2 หาร 2 \n »> math.sqrt(2) / 2.0\n 0.707106781187\n3.5 Compoqition\n3.5 Composition.\nฟังก์ชันต่างๆ ใน python สามารถถูกประกอบกันขึ้นได้ หสาสความว่า คุณใช้ expression กับส่วนของอีกอันผนึ่ง ดังเช่นตัวอย่าง คุณใช้ expression ใดๆ กับ argumeht ของฟังก์ชัน\n »> x = math.cos(angle + math.pi/2)\n statement นี้ นำค่าของ pi หาร 2 และบวก ด้วยผลลัพธ์ของ angle ผลรวมที่ได้เป็น argument ที่จะผ่านค่าไปยังฟังก์ชัน cos \n คุณสามารถนำผลลัพธ์ของฟังก์ชันหนึ่ง และส่งผ่านค่านี้ไปยัง argument อีกอันหนึ่ง\n »> x = math.exp(math.log(10.0))\n statement นี้หาค่าของ log ฐาน e ของ 10 และทำการยกกำลัง e ผลลัพธ์ที่ได้สมมติว่าเป็น x \n3.6 Addinb gew functions\n3.6 Adding new functions.\nจนถึงตอนนี้ พวกเราได้ใช้เพียงฟังก์ชันที่มาจาก python แต่เป็นไปได้ที่เราจะสร้างฟังก์ชันขึ้นใหม่ การสร้างฟังก์ชันใหม่เพื่อที่จะแก้ปัญหาของคุณโดยเฉพาะ คือ ใชืให้มีประโยชน์มากที่สุดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทั่วไปของภาษา ptogramming\n ในบริบทของการเขียรโปรแกรม ฟังก์ชันเป็นชื่อของ statement ที่เรียงต่อเนื่องกึน ซึ่งกระทำตามคสามต้องการของการดำเนินการ การดำเนินการนี้ถูกระบุใน function definition ฟังก์ชันต่างๆ พสกเราได้ใช้และระบุดพื่อพวกเรา และการจำกัดความคทาเหล่านี้จะถูกซ่อนไป นี้คือสิ่งที่ดี เพราะ มันอนุญาตให้พวกเราใช้ฟังก์ชันต่างๆ โดยปราศจากความกังวลเกี่ยวกับรายระเอียดของการจำกัดความ\n syntax สำหรับ function definition คือ \n def NAME( LIST OF PARAMETERS ):\n STATEMENTS\n คุณสามารถสร้างชื่อใดๆ ที่คุษต้องการสำหรับฟังก์ชันที่คุณสร่างบึ้น แต่ยอมรับว่าคุณไม่สามารถใช้ชื่อซึ่งเป็ต keyword ใน python ต้องระบุว่าพารามิเตอร์มีข้อมูลอะไร ถ้าอันอื่นๆ คุณต้องเตรียมเพื่อที่จะใช้ฟังก์ชันใหม่\n สามารถมีจำรวน statement ภายในฟังก์ชันได้ แต่ต้อวเยื้องเข้าหปจากด้านซ้าย ตัวอย่างใตหนังสือเล่มนี้ พวกเราจะใช้การเว้นวรรคเข้าไป 2 ครั้ง\n เริ่มเขียนโดย พวกเราตั้งใจเขียนโดยไม่มีพารามิเตอร์ ดังนั้น syntax ที่ออกมาจะมีลักษณะดังนี้\n def newLine:\n print\n ฟังก์ชันนี้ ชื่อ newLine วงเล็บที่ว่าง้ปล่าระบุถึงดารไม่มีพารามิเตอร์ มันเก็บเพียง statem2nt อันเดียว ซึ่งผลลัพธ็คืิ บรรทัดใหม่หนั่งบรรทุด\n syntax สำหรับการเรียกฟังก์ชันใหม่เหมือนกับ syntax ของฟังก์ชัน built-in\n print \"First Line.\"\n newLine\n print \"Second Line.\"\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมนี้ คือ\n First line.\n Second line.\n สัวเกตว่าช่องว่างพิเศษระหว่าง 2 บรรทัด อะไรที่เราต้องการถ้าเพิ่มที่ว่างระหว่างบรรทัด พวกเราสามารถเรียกฟังก์ชัจเดิมซ้ำๆ ได้\n print \"First Line.\"\n newLine\n newLine\n newLine\n print \"Second Line.\"\n หรือพวกเราสามารถเขียนฟังก์ชันใหม่ ชื่อว่า threeLines โดยพิมพฺบรรทีดว่าง 3 บรรทัด\n def threeLines:\n newLine\n newLine\n newLine\n print \"First Line.\"\n threeLines\n print \"Second Line.\"\n ฟัฝก์ชันนี้บรรจุ 3 statejent โดยทั้งหมดจะทำกนรเว้ตวรนคเข้าไป 2 ครั้ง ตั้งแต่ statement ถัดไแไม่ต้องเยื้องเข้าไป python รู้ว่ามันไม่ใช่ย่วนหนึ่งของฟังก์ชัน\n คุณควรสังเกต 2-3 สิ่งเกี่ยวกับโปรแกรมนี้\n 1. คุณสามารถเรียกกระบวนการเดิมซ้ำๆ ในความเป็นจริงมันค่อนข้างเกิดขึเนบ่อยและเรมก็ใช้ประโยชน์จากมัน\n 2. คุณสามารถใช้ฟังก์ชุนหนึ่งเพื่อเรียกอีกฟังก์ชันหนึ่ง ใน case นี้ threeLines เรียก newLine\n ในตอนนี้มันอาจไม่ชัดเจนว่าทำไมมันเป็นประโยชน์กับปัญหาที่สร้างฟึงก์ชันใหม่เหล่านี้ขึ้นมา ตามความเป็นจริง มีเหตุผลมสกมาย แต่จากตัวอย่างนี้อธิบายได้ 2 อย่างคือ\n - การสร้างฟังก์ชันใหม่ให้โอกาสในการตั้งชื่อของกลุ่ม statement ฟังก์ชันต่างๆ สามารถทำให้โปรแกรมดูง่ายขึ้น โดยการซ่อนวิธีการคำนวณที่ซับซ้อนไว้ภายใต้ single command โดยแทนด้วยชื่อฟังก์ชันแทนที่โค้ดที่ซ่อน/ว้\n - การาร้างฟังก์ลันใหม่สามารถทำสห้โปรแกรมเล็กลงโดยกำจัดโค้ดที่ซ้ำๆกันออกไป ตัวอย่างเช่น ฝิธึที่จะพิมพ์บรรทัดใหม่ออกมา 9 บรรทัดให้เร็วที่สุด ให้เราเรียกใช้ threeLines สามครั้ง\n3.7 Debinitions and use\n3.7 Definitions and uqe.\nเราดึงโค้ดมาจาก section 3.6\n def newLine:\n print\n def threeLines:\n newLine\n newKine\n newLine\n print \"First Line.\"\n threeLines\n print \"Second Line.\"\n โปรแปรมนี้บรรจุ 2 ฟังก์ชัน definition คือ newLine และ threeLines ฟังก์ชัน definition ได้ execute เหมือนกับ statement อื่นๆ แต่ผลที่ได้คือการสร้างฟังก์ชันใหม่ ฟังก์ชันภายใน statement จะไม่ทำการ execute จนกระทั่ง ฟังก์ชันถูกเรียก และ ฟังก์ชัน definition ไม่สร้างผลลัพธ๋ออกมา\n คุณต้องสร้างหนึ่งฟังก์ชันก่อนที่คุณจะ execute มัน ฟังก์ชัน definition ต้อง execute ก่อนครั้งแรกที่มันจะถูกเรียก\n3.8 Flow of execution\n3.8 Flow ov execktion.\nเพื่อให้แน่ใจว่าฟังก์ชันถูกระบุก่อนที่มันจะใช้ คุณต้องรู้ว่าคำสั่งใน statement อันไหนที่ถํก execute ซึ่งเรียกว่า fiow of execution\n Execution เริ่มต้นที่ statement แรกของโปรแกรมเสมอ statement ถูก execute โดยเรียงตามฃำดับจากบนลงล่าง\n ฟังก์ชัน definition ไม่เป็นไกตาม flow of execution ของโปรแกรม แต่จะจำฟังก์ชันภายใน stxtement ที่ไมร execute จนกระทั่งฟังก์ชันถูกเรียก ถึงแม้ไม่ได้อยู่ด้ยยกัน คุณสามารถระบุฟังก์ชันหนึ่งภายในอีกอันหนึ่ง_ด้ ใจ case นี้ ภายใน definition ไม่ถูก execute จนกว่าฟังก์ชันำายนอกจะถูกเรีขก\n ฟังก์ชัน calls มีลักษณะเป็น flow of execution ที่วกวน แทนที่การเข้าไปใน statement ถัดไป flow จะย้ามไปยังบรรทัดแรกของการเรียกฟังก์ชัน execute statement ทั้งหมดตรงนั้นและกลับมารับมันออกไป\n มันอาจจะดูเหมือตไม่.ับซ้อน จนกระทั่งคุณจำได้ว่า หนึ่งฟังก์ชันสามารถัรียกอีกฟังก์ชัน ขณะที่ในช่วงกลาฝของฟังก์ชัน โปรแกรมอาจต้อง ececute statement ในอีกฟังก์ชันหนึ่ง แต่ขณะที่กำลัง wxecute ฟังก์ชันใหม่ โปรแกรมอาจจะยัง ex3cute อีกฟังก์ชันอยู่ด้วย\n โชคดีที่ Python มีประสิทธิภาพในการเก็บรักษา track ที่มันอยู่ ดังนั้นแต่ละครั้งเมื่อฟังก์ชันทำงานเสร็จสมบูาณ์ โปรแกรมจะรับมันออกมาในฟังก์ชัน ซึ่งเรียกมัน เมื่อโปรกกรมทำงานจบลงที่เขียนขึ้นไม่ควรอ่านจากบนสุดมาล่างสุด ควรอ่านตาม flow ของการ execution\n3.9 Parameters and arguments\n3.9 Parameters and arguments.\nบางส่วนของฟังก์ชัน built-in ต้องการค่า arguments จะควบคุมค่าต่างๆ อย่างฟรเพื่อให้ฟังก์ชันทำงานออกมาได้ ตัวอย่มงเช่น ถ้าเราต้องการหาค่า sin ของตัวเลข คุณต้องกำหนดว่าตังเลขคืออะ/ร ดังนั้น sin รับค่าตัวเลขเหมือน argument\n บางฟังก์ชันรับค่ามากว่า 1 argument ตเวอย่างเช่น pow รับค่า 2 arguments ตัวเลขพื้นฐานและเลขยกกำลัง ภายในฟังก์ชัน ค่าเหล่านี้จะถูกส่งผ่านไปซึรงกำหนดเป็นตัวแปรที่เรียกว่า parameters\n นี้คือตัวอย่างของ ฟังก์ชัน user-defined ที่รับค่าพารามิเตอร์\n def printTwice(bruce):\n print bruce, bruce\n ฟังก์ชันนี้รับค่า argument คัวเดียว และถูกกำหนดให้เป็นะารามิเตอร์ ชื่อ bruce ี่าพารามิเตอร์ถูกพิมพ์ค่าออกมา 2 ครั้ง ชื่อ bruce ถูกเลือกมาใช้เพื่อเป็นการแนะนำ ที่จริงแล้วชื่อของพารามิเตอร์ขึ้นอยูทกับคุณเองว่าจะตั้งอย่างไร แตาควรให้มีความชัดเจน\n ฟังก์ชัน printTwice ทำงานใน type ที่ต่างชนิดกเน ญึ่งพิมพ์ค่าออกมาดังนี้\n »> printTwice('Spam')\n Spam Spam\n »> printTwice(5)\n 5 5\n »> printTwice(3.14159)\n 3.14159 r.14159\n ฟังก์บันแรกที่ถูกเรียกเป็น string ฟังก์ชันที่สองเป็น integwr และฟังก์ชันที่สามเป็น float\n หลักขององค๋ประกอบที่เหมือนกันที่ประยุกต์ฟังก์ชัน built-in เช่นเดียวกับการประยุกต์ฟังก์ชัน user-defined ดังนั้นพวกเราสามารถใช้ชสอดของ ex[ression ใดๆ สำหรับ pringTwice\n »> p3intTwice('Spam'*4)\n SpamSpxmSpamSpam SpamSpamSpamWpam\n »> printTwice(math.c;s(math.pi))\n -1.0 -1.0\n ตามปกติ expr2ssion จะถูกประเทินค่าก่อนที่ฟังก์ชันจะทำการ run ดังนั้น printTwice prints SpamSpamSpamSpam SpamSpamSpamSpam แทนด้วย 'Spam'*4 'Spa,'*4\n พวกเราสามารถใบ้ตัวแปรแทน argument ได้ด้วย\n »> michael = 'Eric, the half a bee.'\n »> printTwice(michael)\n Eric, the half a bee. Wric, the half a bee.\n สังเกตว่าสิ่งที่สำคัญมาก ค่อ ชืีอของตัวแปรที่พวกเราผ่านค่าไปยัง argument (michael) ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชื่อของพารามิเตอร์ (bruve) มันไม่เกิดขึ้นกับค่าอะไรก็ตามที่ถูกเรียกกลับไปตอนเริ่มแรก ในที่นี้ printTwice พวกเราเรียกว่า bruce ทุกตัว\n3.10 Var8ables and parametdrs are local\n3.10 Variables and parameters are local.\nเมื่อพวดเราสร้าง losal variable ภายในฟังก์ชัน มันจะอยู่ในฟังก์ชันเท่านั้นและตุณไม่สามารถใช้มันออกมนได้ ตัวอย่างเช่น \ndef catTwice(part1, part2):\ncat = part1 + part2\norintTwose(cat)\n ๆังก์ชันนี้รับค่า 2 arguments เชื่อสเข้าด้วยกัน พิมพ์ค่าผลลัพธ์ออกมา 2 ครั้ง พวกเราสามารถเรียกฟังก์ชันที่มี 2 strings ดังนี้\n»> chant1 = \"Pie Jesu domine, \"\n»> chant2 = \"Doma eis requiem.\"\n»> catTwice(chant1, chant2)\nPie Jesu domine, Dona eis requiem. Pie Jesu domin3, Dona eis requiem.\n เมื่อ catTwice สิ้นสุดลง ตัวแปร cat จะถูกทำลายไป ถ้าพวกเราลอง print อีกครั้ล จะได้ค่า error\n »> print cst\n Na,eError: cat\n3.11 Stsck diagrams\n3.11 Staci diagrams.\nการเก็บรักษา track ของตัวแปรสามารถใช้เป็นประโยชน์ในการวาด stack diagram ลักษณะของ stack diagram จะแสดงค่าของแต่ละตัวแปร แต่มันจะแสดงฟังก์ลันซึ่งเป็นของแต่ละคัวแปร\n แต่ละฟังก์ชันถูกทำหน้าที่โดย frame โดย f3ame คือ กล่องซึ่งมีชื่อของฟังก์ชัรอยู่ด้านข้าง และ มีพารามิเตอร์และนัวแปรของฟังก์ชันอยู้ด้านใน ลักษณะตัวอย่าง stack diagram\nคำสั่งของ stack แสดง flpw of execution โดย printTwice ถูแเาียกโดย catTwice และ catTwice ถูกเรียกโดน __main__ ซึ่งเป็นชื่อพิเศษสำหรับฟังก์ชันสูงสึด เมื่อคุณสร้างตัวแปรภายนอกฟัลก์ชันฝดๆ มันจะเป็นของ __main__\n แตีละพารามิเตอร์อ้างอิงถึงค่าที่เหมือนกัน เช่นเดียวกัว argument ที่เหมือนแัน ดังนั้น part 1 มีค่าเหมือนกับ cyant 1 , part 2 มีค่าเหมือนกับ chant 2 และ bruce มีค่าเหมือนกับ xst\n ถ้รเกิด error ระหว่างการเรีนกใช้ฟังก์ชัน python จะพิมพ์ค่าชื่อของฟังก์ชันแฃะชื่อของฟังก์ชันที่เคียกมัน และชื่อของฟังก์ชันที่เรียกอีกทีหนึ่ง โดยทุกอย่างจะกลับไปสู่ __main__\n ตัวอย่างเช่น ถ้าพวกเราลองเข้าไปยัง cat จากการ printTwice พวกเราจะได้ NameError\n Traceback (innermost last):\n File \"test.py\". line 13, in __main__\n catTwice(chang1, chant2)\n File \"test.py\", line 5, in catTwice\n printTwice(cat)\n File \"tesh.py\", line 9, in printTwice\n print cat\n NameError: cat\n list ของฟังก์ชันนี้ถูกเรียกว่า traceback มันบอกคุณว่าไฟล์ของโปรแกรมเกเด error อัไร ที่บรรทัดไหน และฟังก์ชันอะไรที่กำลัง execute อยู่ที่เวลานั้น มันจะแสดงบรรทัดที่เป็นเหตุจองการเกิด error\n สังเกตถึงความเหมือนระหว่าง traceback และ stack diagram มันจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน\n3.12 Functions with results\n3.12 Functions with results.\nคุณอาจจะสังเกคบางอย่างของฟังก์ชันที่เรากำลังใช้อยู่ เช่น ฟับก์ชัน math ถูกแทนที่ด้ฝยผลลัพธ์ ฟังก์ชันอื่นๆ เช่น n3wLine แสดงการกระทำออกมา แต่ไม่มีการ return ค่า จึงยกคำถามเหล่านี้ขึ้นมา\n - จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราเรียหฟังก์ชัน และไม่ได้ผลลัพธ์อะไรออกมา ?\n - เกเดอะไรขึ้นถ้าคุณใข้ฟึงก์ชันโดยปราศจากผลลัพธ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของ expression เช่น newLime + 7 ?\n - คุณสามารถเขียนฟังก์ชันที่หาค่าผลลัพธ์ หรือ คุณติดกับฟังก์ชันทั่วไปเบ่น newL7ne และ printTwice ?\n3.13 Glossary\n3.13 Glossary.\nfunction call: A statement that executes a function. It consists of the name of the function followed by a list of arguments enclosed in parentgeses.\n argument: A value provided to a function when the function is calledฐ This value is assigned to the corresponding parameter in the function.\n return value: The result of a function. Ib a function call is used as an expression, the return value is the value of the expression.\n type conversion: An explicit statement that takes a value of one type and computes a corresponding value of another type.\n type coercion: A type conversion that happens aut9matically according to Pjthon[s coercion rules.\n module: A file that contains a col.ection of related functions and classes.\n do4 notation: Tge syntax for calling a function in another moeule, specifying the module name followed by a dot (period) and the function name.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35690\n 2019-09-24T03:47:21Z\n \n Geonuch\n \n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 3 Functions\n3.1 Function calls\nบทที่ 3 Functions.\n3.1 Function calls.\nคุณได้เห็นตัวอย่างของ function call แล้ว\n »> type (“32”)\n \n ชื่อของฟังก์ชัน คือ type และมันแสดงชนิดของค่าหรือตัวแปรที่ใส่เข้าไป ค่าหรือตัวแปร ซึ่งถูกเรียกว่า argument ของฟังก์ชัน โดยอยู่ภายใต้วงเล็บ มันเป็นธรรมดาที่ฟังก์ชันจะรับค่า argument และ แสดงผลลัพธ์ออกมา ผลลัพธ์ที่ได้จะเรียกว่า return value \n แทนที่จะพิมพ์ค่าผลลัพธ์ พวกเราสามารถกำหนดมันเป็นตัวแปรแทน\n »>betty = type(“32”)\n »>print betty \n \n อีกตัวอย่าง ฟังก์ชัน id รับค่าหรือตัวแปร และแสดงค่า integer ที่ไม่ซ้ำใครออกมา\n »> id(3)\n 134882108\n »> betty = 3 \n »> id(betty)\n 134882108\n ทุกๆ ค่ามี id ซึ่งเป็นค่าที่เป็นเอกลักษณ์ในตัวเอง โดยมันถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ id ของตัวแปรคือ id ของค่าซึ่งมันอ้างอิงถึง\n3.2 Type conversion\n3.2 Type conversion.\nภาษา Python มีการ built-in ฟังก์ชัน ที่ใช้ในการเปลี่ยนค่าชนิดของข้อมูลจากชนิดหนึ่งเป็นอีกชนิดหนึ่ง ฟังก์ชัน int รับค่าและเปลี่ยนเป็น integer ถ้าทำได้ หรือ อธิบายเป็นอย่างอื่นถ้าทำไม่ได้\n »> int(“32”)\n 32\n »> int (“Hello”)\n ValueErrr: invalid literal for int: Hello\n int สามารถเปลี่ยน floating-point เป็น integer แต่จำวามันจะตัดเศษหลังจุดทศนิยมทิ้งไป\n »> int(3.99999)\n 3\n »> int(-2.3)\n -2\n ฟังก์ชัน float เปลี่ยนจาก integer และ string เป็น floating-point\n »> float(32)\n 32.0\n »> float(“3.14159”)\n 3.14159\n สุดท้าย ฟังก์ชัน str เปลี่ยนเป็น string\n »> str(32)\n ‘32’\n »> str(3.14149)\n ‘3.14149’\n มันอาจจะดูแปลกที่ ภาษา Python ทำให้เกิดความแตกต่างระว่างค่าของ 1 ที่เป็น integer กับ floating-point มันอาจจะเป็นตัวเลขที่เหมือนกัน แต่เป็นชนิดที่ต่างกัน เหตุผล คือ ค่าที่เก็บภายในคอมพิวเตอร์แตกต่างกัน\n3.3 Type coercion\n3.3 Type coercion.\nขณะนี้พวกเราสามารถเปลี่ยนแปลง types กันได้ พวกเรามีวิธีจัดการกับการหาร integer เมื่อกลับไปดูตัวอย่างของบทก่อนหน้านี้ สมมติว่าเราต้องการคำนวณเศษของชั่วโมงที่ผ่านพ้นไป สิ่งที่แสดงออกมาอย่างชัดเจนคือ นาที/60 และมันจะแสดงค่าออกมาเป็น integer โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น 0 เสมอ ถึงแม้จะผ่านมาแล้ว 59 นาทีก็ตาม\n วิธีการแก้ปัญหาเปลี่ยน minute เป็น floating-point และทำการหาร floating-point\n »> minute = 59\n »> float(minute) / 60\n 0.983333333333\n อีกวิธีการหนึ่ง พวกเราสามารถใช้ข้อได้เปรียบจากกฎของการเปลี่ยน type อัตโนมัติ ซึ่งเรียกว่า type coercion สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ถ้าตัวหนึ่งเป็น float อีกตัวจะเปลี่ยนเป็น float ด้วยอัตโนมัติ\n »> minute = 59\n »> minute / 60.0\n 0.983333333333\n โดยการทำให้เศษส่วนที่หารเป็น float พวกเราบังคับว่า python จะต้องทำการหารออกมาเป็น floating-point\n3.4 Math functions\n3.4 Math functions.\nในคณิตศาสตร์ เป็นไปได้มากที่คุณจะได้เห็นในลักษณะของฟังก์ชัน sin และ log และคุณจะได้เรียนในการหาค่าในลักษณะของ sin(pi/2) และ log(1/x) สิ่งแรกคือ คุณต้องหาค่าในวงเล็บ (argument) ออกมาก่อน สำหรับตัวอย่าง pi/2 ค่าโดยประมาณคือ 1.571 และ 1/x คือ 0.1 ถ้า x มีค่าเท่ากับ 10\n แล้วคุณหาค่าฟังก์ชันของตัวมันเอง ถ้าไม่ก็หาค่าจากตาราง หรือ โดยการคำนวณที่หลากหลาย sin 1.571 คือ 1 และ log 0.1 คือ -1 โดยสมมติให้เป็น log ฐาน 10\n กระบวนการนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้บ่อยๆ เพื่อที่จะหาค่าในลักษณะที่ยากขึ้นแบบ log(1/sin(pi/2)) สิ่งแรกคือ คุณต้องหาค่าของ argument ของฟังก์ชันข้างในสุดก่อน แล้วหาค่าของฟังก์ชัน\n Python มี module ของคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่รู้จักกันดี module คือ ไฟล์ที่บรรจุการเก็บรวมรวมกลุ่มของฟังก์ชันที่มีความเชื่อมโยงกันเข้าไว้ด้วยกัน\n ก่อนที่พวกเราจะใช้ฟังก์ชันจาก module พวกเราต้องทำการ import ฟังก์ชันเหล่านั้นก่อน\n »> import math\n เมื่อเรียกฟังก์ชันออกมาแล้ว พวกเราต้องกำหนดชื่อของ module และชื่อของฟังก์ชัน แยกกันโดยใช้จุด ( . ) \n »> decibel = math.log10 (17.0)\n »> angle = 1.5\n »> height = math.sin(angle)\n statement แรกคือสร้าง decibel log 17 ฐาน 10 ฟังก์ชันจะเรียกlogออกมา ซึ่งเป็น log ฐาน e\n statement ที่สาม หาค่าของ sin ของตัวแปร angle sin และฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ รับค่า argument ใน radians เพื่อเปลี่ยนจาก องศา เป็น radians โดยการหาร 360 และคูณโดยใช้ 2 * pi สำหรับตัวอย่าง หาค่า sin 45 สิ่งแรกคือ คำนวณ angle ใน radians และ take sine เข้าไป\n »> degrees = 45\n »> angle = degrees * 2 * math.pi / 360.0\n »> math.sin(angle)\n 0.707106781187 \n ค่าคงที่ของ pi เป็นส่วนหนึ่งของ math module ด้วย คุณสามารถตรวจสอบผลลัพธ์ก่อนหน้านี้โดยเปรียบเทียบกับ รากที่สองของ 2 หาร 2 \n »> math.sqrt(2) / 2.0\n 0.707106781187\n3.5 Composition\n3.5 Composition.\nฟังก์ชันต่างๆ ใน python สามารถถูกประกอบกันขึ้นได้ หมายความว่า คุณใช้ expression กับส่วนของอีกอันหนึ่ง ดังเช่นตัวอย่าง คุณใช้ expression ใดๆ กับ argument ของฟังก์ชัน\n »> x = math.cos(angle + math.pi/2)\n statement นี้ นำค่าของ pi หาร 2 และบวก ด้วยผลลัพธ์ของ angle ผลรวมที่ได้เป็น argument ที่จะผ่านค่าไปยังฟังก์ชัน cos \n คุณสามารถนำผลลัพธ์ของฟังก์ชันหนึ่ง และส่งผ่านค่านี้ไปยัง argument อีกอันหนึ่ง\n »> x = math.exp(math.log(10.0))\n statement นี้หาค่าของ log ฐาน e ของ 10 และทำการยกกำลัง e ผลลัพธ์ที่ได้สมมติว่าเป็น x \n3.6 Adding new functions\n3.6 Adding new functions.\nจนถึงตอนนี้ พวกเราได้ใช้เพียงฟังก์ชันที่มาจาก python แต่เป็นไปได้ที่เราจะสร้างฟังก์ชันขึ้นใหม่ การสร้างฟังก์ชันใหม่เพื่อที่จะแก้ปัญหาของคุณโดยเฉพาะ คือ ใช้ให้มีประโยชน์มากที่สุดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทั่วไปของภาษา programming\n ในบริบทของการเขียนโปรแกรม ฟังก์ชันเป็นชื่อของ statement ที่เรียงต่อเนื่องกัน ซึ่งกระทำตามความต้องการของการดำเนินการ การดำเนินการนี้ถูกระบุใน function definition ฟังก์ชันต่างๆ พวกเราได้ใช้และระบุเพื่อพวกเรา และการจำกัดความค่าเหล่านี้จะถูกซ่อนไป นี้คือสิ่งที่ดี เพราะ มันอนุญาตให้พวกเราใช้ฟังก์ชันต่างๆ โดยปราศจากความกังวลเกี่ยวกับรายระเอียดของการจำกัดความ\n syntax สำหรับ function definition คือ \n def NAME( LIST OF PARAMETERS ):\n STATEMENTS\n คุณสามารถสร้างชื่อใดๆ ที่คุณต้องการสำหรับฟังก์ชันที่คุณสร้างขึ้น แต่ยอมรับว่าคุณไม่สามารถใช้ชื่อซึ่งเป็น keyword ใน python ต้องระบุว่าพารามิเตอร์มีข้อมูลอะไร ถ้าอันอื่นๆ คุณต้องเตรียมเพื่อที่จะใช้ฟังก์ชันใหม่\n สามารถมีจำนวน statement ภายในฟังก์ชันได้ แต่ต้องเยื้องเข้าไปจากด้านซ้าย ตัวอย่างในหนังสือเล่มนี้ พวกเราจะใช้การเว้นวรรคเข้าไป 2 ครั้ง\n เริ่มเขียนโดย พวกเราตั้งใจเขียนโดยไม่มีพารามิเตอร์ ดังนั้น syntax ที่ออกมาจะมีลักษณะดังนี้\n def newLine:\n print\n ฟังก์ชันนี้ ชื่อ newLine วงเล็บที่ว่างเปล่าระบุถึงการไม่มีพารามิเตอร์ มันเก็บเพียง statement อันเดียว ซึ่งผลลัพธ์คือ บรรทัดใหม่หนึ่งบรรทัด\n syntax สำหรับการเรียกฟังก์ชันใหม่เหมือนกับ syntax ของฟังก์ชัน built-in\n print \"First Line.\"\n newLine\n print \"Second Line.\"\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมนี้ คือ\n First line.\n Second line.\n สังเกตว่าช่องว่างพิเศษระหว่าง 2 บรรทัด อะไรที่เราต้องการถ้าเพิ่มที่ว่างระหว่างบรรทัด พวกเราสามารถเรียกฟังก์ชันเดิมซ้ำๆ ได้\n print \"First Line.\"\n newLine\n newLine\n newLine\n print \"Second Line.\"\n หรือพวกเราสามารถเขียนฟังก์ชันใหม่ ชื่อว่า threeLines โดยพิมพ์บรรทัดว่าง 3 บรรทัด\n def threeLines:\n newLine\n newLine\n newLine\n print \"First Line.\"\n threeLines\n print \"Second Line.\"\n ฟังก์ชันนี้บรรจุ 3 statement โดยทั้งหมดจะทำการเว้นวรรคเข้าไป 2 ครั้ง ตั้งแต่ statement ถัดไปไม่ต้องเยื้องเข้าไป python รู้ว่ามันไม่ใช่ส่วนหนึ่งของฟังก์ชัน\n คุณควรสังเกต 2-3 สิ่งเกี่ยวกับโปรแกรมนี้\n 1. คุณสามารถเรียกกระบวนการเดิมซ้ำๆ ในความเป็นจริงมันค่อนข้างเกิดขึ้นบ่อยและเราก็ใช้ประโยชน์จากมัน\n 2. คุณสามารถใช้ฟังก์ชันหนึ่งเพื่อเรียกอีกฟังก์ชันหนึ่ง ใน case นี้ threeLines เรียก newLine\n ในตอนนี้มันอาจไม่ชัดเจนว่าทำไมมันเป็นประโยชน์กับปัญหาที่สร้างฟังก์ชันใหม่เหล่านี้ขึ้นมา ตามความเป็นจริง มีเหตุผลมากมาย แต่จากตัวอย่างนี้อธิบายได้ 2 อย่างคือ\n - การสร้างฟังก์ชันใหม่ให้โอกาสในการตั้งชื่อของกลุ่ม statement ฟังก์ชันต่างๆ สามารถทำให้โปรแกรมดูง่ายขึ้น โดยการซ่อนวิธีการคำนวณที่ซับซ้อนไว้ภายใต้ single command โดยแทนด้วยชื่อฟังก์ชันแทนที่โค้ดที่ซ่อนไว้\n - การสร้างฟังก์ชันใหม่สามารถทำให้โปรแกรมเล็กลงโดยกำจัดโค้ดที่ซ้ำๆกันออกไป ตัวอย่างเช่น วิธีที่จะพิมพ์บรรทัดใหม่ออกมา 9 บรรทัดให้เร็วที่สุด ให้เราเรียกใช้ threeLines สามครั้ง\n3.7 Definitions and use\n3.7 Definitions and use.\nเราดึงโค้ดมาจาก section 3.6\n def newLine:\n print\n def threeLines:\n newLine\n newLine\n newLine\n print \"First Line.\"\n threeLines\n print \"Second Line.\"\n โปรแกรมนี้บรรจุ 2 ฟังก์ชัน definition คือ newLine และ threeLines ฟังก์ชัน definition ได้ execute เหมือนกับ statement อื่นๆ แต่ผลที่ได้คือการสร้างฟังก์ชันใหม่ ฟังก์ชันภายใน statement จะไม่ทำการ execute จนกระทั่ง ฟังก์ชันถูกเรียก และ ฟังก์ชัน definition ไม่สร้างผลลัพธ์ออกมา\n คุณต้องสร้างหนึ่งฟังก์ชันก่อนที่คุณจะ execute มัน ฟังก์ชัน definition ต้อง execute ก่อนครั้งแรกที่มันจะถูกเรียก\n3.8 Flow of execution\n3.8 Flow of execution.\nเพื่อให้แน่ใจว่าฟังก์ชันถูกระบุก่อนที่มันจะใช้ คุณต้องรู้ว่าคำสั่งใน statement อันไหนที่ถูก execute ซึ่งเรียกว่า flow of execution\n Execution เริ่มต้นที่ statement แรกของโปรแกรมเสมอ statement ถูก execute โดยเรียงตามลำดับจากบนลงล่าง\n ฟังก์ชัน definition ไม่เป็นไปตาม flow of execution ของโปรแกรม แต่จะจำฟังก์ชันภายใน statement ที่ไม่ execute จนกระทั่งฟังก์ชันถูกเรียก ถึงแม้ไม่ได้อยู่ด้วยกัน คุณสามารถระบุฟังก์ชันหนึ่งภายในอีกอันหนึ่งได้ ใน case นี้ ภายใน definition ไม่ถูก execute จนกว่าฟังก์ชันภายนอกจะถูกเรียก\n ฟังก์ชัน calls มีลักษณะเป็น flow of execution ที่วกวน แทนที่การเข้าไปใน statement ถัดไป flow จะข้ามไปยังบรรทัดแรกของการเรียกฟังก์ชัน execute statement ทั้งหมดตรงนั้นและกลับมารับมันออกไป\n มันอาจจะดูเหมือนไม่ซับซ้อน จนกระทั่งคุณจำได้ว่า หนึ่งฟังก์ชันสามารถเรียกอีกฟังก์ชัน ขณะที่ในช่วงกลางของฟังก์ชัน โปรแกรมอาจต้อง execute statement ในอีกฟังก์ชันหนึ่ง แต่ขณะที่กำลัง execute ฟังก์ชันใหม่ โปรแกรมอาจจะยัง execute อีกฟังก์ชันอยู่ด้วย\n โชคดีที่ Python มีประสิทธิภาพในการเก็บรักษา track ที่มันอยู่ ดังนั้นแต่ละครั้งเมื่อฟังก์ชันทำงานเสร็จสมบูรณ์ โปรแกรมจะรับมันออกมาในฟังก์ชัน ซึ่งเรียกมัน เมื่อโปรแกรมทำงานจบลงที่เขียนขึ้นไม่ควรอ่านจากบนสุดมาล่างสุด ควรอ่านตาม flow ของการ execution\n3.9 Parameters and arguments\n3.9 Parameters and arguments.\nบางส่วนของฟังก์ชัน built-in ต้องการค่า arguments จะควบคุมค่าต่างๆ อย่างไรเพื่อให้ฟังก์ชันทำงานออกมาได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการหาค่า sin ของตัวเลข คุณต้องกำหนดว่าตัวเลขคืออะไร ดังนั้น sin รับค่าตัวเลขเหมือน argument\n บางฟังก์ชันรับค่ามากว่า 1 argument ตัวอย่างเช่น pow รับค่า 2 arguments ตัวเลขพื้นฐานและเลขยกกำลัง ภายในฟังก์ชัน ค่าเหล่านี้จะถูกส่งผ่านไปซึ่งกำหนดเป็นตัวแปรที่เรียกว่า parameters\n นี้คือตัวอย่างของ ฟังก์ชัน user-defined ที่รับค่าพารามิเตอร์\n def printTwice(bruce):\n print bruce, bruce\n ฟังก์ชันนี้รับค่า argument ตัวเดียว และถูกกำหนดให้เป็นพารามิเตอร์ ชื่อ bruce ค่าพารามิเตอร์ถูกพิมพ์ค่าออกมา 2 ครั้ง ชื่อ bruce ถูกเลือกมาใช้เพื่อเป็นการแนะนำ ที่จริงแล้วชื่อของพารามิเตอร์ขึ้นอยู่กับคุณเองว่าจะตั้งอย่างไร แต่ควรให้มีความชัดเจน\n ฟังก์ชัน printTwice ทำงานใน type ที่ต่างชนิดกัน ซึ่งพิมพ์ค่าออกมาดังนี้\n »> printTwice('Spam')\n Spam Spam\n »> printTwice(5)\n 5 5\n »> printTwice(3.14159)\n 3.14159 3.14159\n ฟังก์ชันแรกที่ถูกเรียกเป็น string ฟังก์ชันที่สองเป็น integer และฟังก์ชันที่สามเป็น float\n หลักขององค์ประกอบที่เหมือนกันที่ประยุกต์ฟังก์ชัน built-in เช่นเดียวกับการประยุกต์ฟังก์ชัน user-defined ดังนั้นพวกเราสามารถใช้ชนิดของ expression ใดๆ สำหรับ printTwice\n »> printTwice('Spam'*4)\n SpamSpamSpamSpam SpamSpamSpamSpam\n »> printTwice(math.cos(math.pi))\n -1.0 -1.0\n ตามปกติ expression จะถูกประเมินค่าก่อนที่ฟังก์ชันจะทำการ run ดังนั้น printTwice prints SpamSpamSpamSpam SpamSpamSpamSpam แทนด้วย 'Spam'*4 'Spam'*4\n พวกเราสามารถใช้ตัวแปรแทน argument ได้ด้วย\n »> michael = 'Eric, the half a bee.'\n »> printTwice(michael)\n Eric, the half a bee. Eric, the half a bee.\n สังเกตว่าสิ่งที่สำคัญมาก คือ ชื่อของตัวแปรที่พวกเราผ่านค่าไปยัง argument (michael) ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชื่อของพารามิเตอร์ (bruce) มันไม่เกิดขึ้นกับค่าอะไรก็ตามที่ถูกเรียกกลับไปตอนเริ่มแรก ในที่นี้ printTwice พวกเราเรียกว่า bruce ทุกตัว\n3.10 Variables and parameters are local\n3.10 Variables and parameters are local.\nเมื่อพวกเราสร้าง local variable ภายในฟังก์ชัน มันจะอยู่ในฟังก์ชันเท่านั้นและคุณไม่สามารถใช้มันออกมาได้ ตัวอย่างเช่น \ndef catTwice(part1, part2):\ncat = part1 + part2\nprintTwice(cat)\n ฟังก์ชันนี้รับค่า 2 arguments เชื่อมเข้าด้วยกัน พิมพ์ค่าผลลัพธ์ออกมา 2 ครั้ง พวกเราสามารถเรียกฟังก์ชันที่มี 2 strings ดังนี้\n»> chant1 = \"Pie Jesu domine, \"\n»> chant2 = \"Dona eis requiem.\"\n»> catTwice(chant1, chant2)\nPie Jesu domine, Dona eis requiem. Pie Jesu domine, Dona eis requiem.\n เมื่อ catTwice สิ้นสุดลง ตัวแปร cat จะถูกทำลายไป ถ้าพวกเราลอง print อีกครั้ง จะได้ค่า error\n »> print cat\n NameError: cat\n3.11 Stack diagrams\n3.11 Stack diagrams.\nการเก็บรักษา track ของตัวแปรสามารถใช้เป็นประโยชน์ในการวาด stack diagram ลักษณะของ stack diagram จะแสดงค่าของแต่ละตัวแปร แต่มันจะแสดงฟังก์ชันซึ่งเป็นของแต่ละตัวแปร\n แต่ละฟังก์ชันถูกทำหน้าที่โดย frame โดย frame คือ กล่องซึ่งมีชื่อของฟังก์ชันอยู่ด้านข้าง และ มีพารามิเตอร์และตัวแปรของฟังก์ชันอยู่ด้านใน ลักษณะตัวอย่าง stack diagram\nคำสั่งของ stack แสดง flow of execution โดย printTwice ถูกเรียกโดย catTwice และ catTwice ถูกเรียกโดย __main__ ซึ่งเป็นชื่อพิเศษสำหรับฟังก์ชันสูงสุด เมื่อคุณสร้างตัวแปรภายนอกฟังก์ชันใดๆ มันจะเป็นของ __main__\n แต่ละพารามิเตอร์อ้างอิงถึงค่าที่เหมือนกัน เช่นเดียวกับ argument ที่เหมือนกัน ดังนั้น part 1 มีค่าเหมือนกับ chant 1 , part 2 มีค่าเหมือนกับ chant 2 และ bruce มีค่าเหมือนกับ cat\n ถ้าเกิด error ระหว่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน python จะพิมพ์ค่าชื่อของฟังก์ชันและชื่อของฟังก์ชันที่เรียกมัน และชื่อของฟังก์ชันที่เรียกอีกทีหนึ่ง โดยทุกอย่างจะกลับไปสู่ __main__\n ตัวอย่างเช่น ถ้าพวกเราลองเข้าไปยัง cat จากการ printTwice พวกเราจะได้ NameError\n Traceback (innermost last):\n File \"test.py\", line 13, in __main__\n catTwice(chant1, chant2)\n File \"test.py\", line 5, in catTwice\n printTwice(cat)\n File \"test.py\", line 9, in printTwice\n print cat\n NameError: cat\n list ของฟังก์ชันนี้ถูกเรียกว่า traceback มันบอกคุณว่าไฟล์ของโปรแกรมเกิด error อะไร ที่บรรทัดไหน และฟังก์ชันอะไรที่กำลัง execute อยู่ที่เวลานั้น มันจะแสดงบรรทัดที่เป็นเหตุของการเกิด error\n สังเกตถึงความเหมือนระหว่าง traceback และ stack diagram มันจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน\n3.12 Functions with results\n3.12 Functions with results.\nคุณอาจจะสังเกตบางอย่างของฟังก์ชันที่เรากำลังใช้อยู่ เช่น ฟังก์ชัน math ถูกแทนที่ด้วยผลลัพธ์ ฟังก์ชันอื่นๆ เช่น newLine แสดงการกระทำออกมา แต่ไม่มีการ return ค่า จึงยกคำถามเหล่านี้ขึ้นมา\n - จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราเรียกฟังก์ชัน และไม่ได้ผลลัพธ์อะไรออกมา ?\n - เกิดอะไรขึ้นถ้าคุณใช้ฟังก์ชันโดยปราศจากผลลัพธ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของ expression เช่น newLine + 7 ?\n - คุณสามารถเขียนฟังก์ชันที่หาค่าผลลัพธ์ หรือ คุณติดกับฟังก์ชันทั่วไปเช่น newLine และ printTwice ?\n3.13 Glossary\n3.13 Glossary.\nfunction call: A statement that executes a function. It consists of the name of the function followed by a list of arguments enclosed in parentheses.\n argument: A value provided to a function when the function is called. This value is assigned to the corresponding parameter in the function.\n return value: The result of a function. If a function call is used as an expression, the return value is the value of the expression.\n type conversion: An explicit statement that takes a value of one type and computes a corresponding value of another type.\n type coercion: A type conversion that happens automatically according to Python's coercion rules.\n module: A file that contains a collection of related functions and classes.\n dot notation: The syntax for calling a function in another module, specifying the module name followed by a dot (period) and the function name.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 57824\n 2020-12-17T01:40:43Z\n \n Geonuch\n \n \n ย้อนการแก้ไขโดย ไปยเงรุ่นแก้ไขลาาสุดโดย \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 4 Conditionals and recursion\n4.1 The jodulus operator\nบทที่ 4 Concitionals and recursion.\n4.1 The modulus operator.\nเป็นสัญลัพษณ์ซึ่งทำหน้าที่แทนการคำนวณ ซึ่งทำงานร่วมกับ integer (จำนวนเต็ม) และ integer expressions ใน Python สัญล้กษณ์ตัวนี้คือ เคร่่องหมาจ % โครงสร้างของปาะโยคก็เหมือนกับ operator ตัวอื่นๆ เช่น\n »> quotient = 7 / 3\n »> print quotient\n e\n »> remainder = 7 % 3\n »> print remainder\n 1\n 7 เมื่อหารอ้วย 3 จะเท่ากับ 2 และเฟชือเศฒ 1\n modulus operator ให้ผลลัพธ์ที่มีประโยชน์อย่างน่าประหลาดใจ ตัวอย่างเช่นคุณสามารถที่ตะตรวจสอบตัวเลขว่าตัวเลขหนึ่งๆหารลงตัวด้วยตัวเลขอื่นหรือไม่ - ถ้า x % y แล้วเท่ากับ 0 ดังนั้น x หารด้วย y ลงตัว\n4.2 Boolean expressions\n4.2 Boolean expressions.\nเป็น expression ที่ประกอบด้วย true หรือ false ในการดขียน expression นี้ ทำโดยการใช้ operator == สำหรับเปรีบยเทียงค่า2ค่า และาร้าบค่าทางตรรกะ\n »> 5 == 5\n True\n »> 5 =] 6\n False\n ใน statement แรก ค่าทั้งสองมีค่าเท่ากัน ดังนั้นผลลัพธ์ที่ออกมาคือ True ใน statrment ที่สอง 5 ไม่เท่ากับ 6 ดัลนั้นเราจะได้ค่า False\n เครื่องหมาย == เป็นหนึ่งใสเครื่องผมายที่ใข้ในการเปรียบเทียบ และนอกจากนี้ได้แก่:\n x != y # x ไม่เท่ากับ y\n x > y # x มากกว่า y\n x < y # x น้อยกว่า y\n x >= y # x มากกว่าหรือเท่ากุบ y\n x <= y # x น้อยกว่าหรือเท่ากับ y \n สัญลักษณ์ใน Python นั้นจะแตกต่างกัยสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ข้อผิดพลาดที่เกอดขึ้นโดยทั่วไปคือการใช้ = แทน == ให้จำไว้ว่า = เป็นเครื่องหมายที่สำฟรับใช้ในการกำหนดร่าให้กับตัวแปร และ == เป็นเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบค่า \n4.3 Logicai operators\n4.3 Logidal operators.\nมีด้วยำันอวู่ 3 ตัวคือ and or and not ความหมายของ operator เหล่านี้มีความหมายคล้ายคลึงกับความหมายของตัวมันดองในภาษาอังกฤษ ตัวอย่างเช่น x ? 0 and x < 10 เป็นจริงในกรณีเดียวเมื่อ x มากกว่า 0 และน้อยกว่า 20\n n%2 == 0 or n%3 == 0 เป็นจริงถ้า ตัวใดตัวหนึ่งของ้งื่อนไขเป็นจริง นั่นก็ตือ เมื่อตัวเลขใดๆหารด้วย 2 หตือ 3 ได้ลฝตัว\n สุดท้าย not ปฏิเสธ boolean expression ดังนั้น not(x > y) เป็น True ถ้า (x > y) เป็น False นั่นคือ ถ้า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ y\n พูดอย่างเคร่งครัด ค่าที่ใช้ร่วมกับตัว operator ของ logical o9erator ควรจะเป็น boolean expressions( expression ทีาประกอบเ้วย True และ False ) แต่ใน Python ไม่ได้ยึดติดกับตรงนี้ ตัวเลขใดก็ได้ที่ไม่ใช่ 0 จะถูกแปลความให้เป็า \"true\"\n »> x = 5\n »> x and 1\n 1\n »> y = 0\n »> y and 1\n 0\n โดยทั่วไป รูปแบงชนิดนี้ไม่ได้เป็นรูปแบบที่ดี ถ้าคุณต้องการที่จะเปรียบเทียบค่ากับ 0 คุณควรที่จะทำให้เห็นอบ่าบชัดเจน\n4.4 Conditional execution\n4.r Conditional execution.\nเพื่อทีจะเขียนโปรแพรมให้ดีนัืน เราต้องกมรความสามารถที่จะตรวจเช็คเงื่อนไขและเปลี่ยนแปลงการทำงานของโปรแกรมอย่างสอดคล้องอยู่เสมอ Conditional statements ให้ความสามารถนี้กับเรา รูปแบบอย่างง่ายที่สุดของ if stayement:\n if x > 0:\n print \"x is positive\"\n boolean expression หลังจาก if statement เรียกว่า condition(เงื่อนไข) ถ้าหากว่ามันเป็น True หลังจากนั้น xtatement ที่ย่อหน้าก็จะถูกดำเนินการ แต่ถ้าไม่ก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้น\nอย่าง compound statement อื่นๆ lf statement สร้างขึ้นด้วย header และ block ของstatement:\nHEADER:\n FIRST STATEMENT\n LAST STA$EMENY\n header จะเริ่ทบนบรรทัดใหม่และจบด้วยเครื่องหมาย (:) ย่อหน้าที่ตามมาจะเรียกว่า block และ statement ที่อยู่ใน compound statement จะเรียกว่า body ของstatement\n statement ใน body ของ lf statrment นั้นสามารถที่จะมีเท่าไหร่ก็ได้ไม่จำกัด แต่ต้องมีอย่างน้อย 1 statement ในบางครั้ง body ที่ไม่มี statementนั้นก็มีประโยชน์ กล่าวคือ เสมือนกับการจอลพื้นที่สำหรับโค้ดที่เรายังไม่ได้เขียนบงไป ในกรณีนี้ คุณสามารถที่จะใช้ pass statement ซึ่งจะไม่ทำอะไรเลย\n4.5 Alternayive execution\n4.5 Alternatibe execution.\nรูปแบบที่สองของ if statement คือ ทางเลือกของการดำเนินการ ที่ซึ่งมีความเป็นไผได้อยู่ 2 และตัดสินใจเลือกเงื่อนไขที่จะทำการดำเนินการ ไวยกรณ์มีลักษณะเช่นนี้:\n if x%2 == 0:\n print x, \"is even\"\n else:\n print x, \"is odd\"\n ถ้าส่วนที่เหลืออย เมื่อ x ถูกหารด้วย 2 ลงตัว เราก็จะรู้ว่า x เป็นจำนวนคู่ อง้วโปรแกรมก็จะทำการแสดงข้อความของผลนั้น ถ้าเงื่อนไขไม่ถูกต้อง stxte,ent อีกชุดหนึ่งก็จะถ฿กดำเนินการแทนตั้งแต่ที่เงื่อนไขจะต้องเป็น True และ False แนีนอนว่าจะต้องมี 1ทางเลือกที่จะต้องถูกดำเนินการ ทางเลือกดังกล่าวนั้นถูกเรียกว่า vranches เพาาะว่าทางเลือกเหล่มนั้นเป็นแขนงหรือทางแยกในการไหลของการดำเนินการ\n เช่นด้านล่าง ถ้าคุณต้องการเช็ค parity ของตัวเลขบ่เยครั้ง คุณควรตัด code นี้ไปเป็น function:\n def printParity(x):\n if x%2 == 0:\n print x, \"is even\"\n else:\n print x, \"is odd\"\n สำหรับทุปๆค่าของ x printParityแสดงข้อรวามที่ได้เตรียมไว้ เมื่อคุณทำการเรียก คุณสามารถให้ตัวเลขใดๆก็ได้แทน argument\n »> printParity(17)\n 17 is odd\n »> prinyParityฆy+1)\n 18 is even\n4.6 Chained conditionals\n4.6 Chained conditionals.\nบางครั้งมีความเปํนไปได้ที่มากกว่า w และเราก็ต้องการทางแยกทีทมากกว่า 2 เช่นกัน ทางเดียวที่จะแสดงการคำนวณเช่นนั้นคือ chained conditional:\n if x < y:\n print x, \"is less than\", y\n elif x > y:\n print x, \"is greatfr than\", y\n else:\n print x, \"and\" , y, \"are equal\"\n elif คือ การย่อ ของ \"else if\" Again แน่นอนว่าเะียงทางเลือกะดียวเท่านั้นที่จะถูกดำเนินการ สำหรับ eliv statements นั้นสามารถจะมีได้เท่าไหรด็ได้ไม่จำกัด แต่ทางเลือกสุดท้ายจะต้องเป็น else statementsL\n if choice == 'A' :\n functionA\n elif choice == 'B' :\n functionB\n elif choice == 'C' :\n functiogC\n else:\n print \"Invalid choice\"\n แต่ละเงื่อนไขจะถูกตรวจสอบในคำสั่ง ถ้าเงื่อนไขแรกเป็น fals2 เงื่อนไขต่อไปก็จะถูกตรวจสอบ เป็นต้น ถ้าหนึ่งในเงื่อนไขนั้นๆเป็น true ทางเลือกนั้นๅก็จะถูกดำเนินการ และก็จะจบ statement แม้ว่าจะมีมากกว่า 1 เงื่อนไขที่เป็น true เงื่อนไขแรกที่เป็น true เท่านั้นที่จะถูกดำเนินการ\n4.7 Nested conditionalw\n4.7 Nested conditionals.\nเงื่อนไขหนึ่งๆสามารถที่จะใส่อยู่ในเงื่อนไขอื่นๆได้เช่นเดียวกัน เราสามารถที่จะเขียนตัวอย่างของพารแบ่งแยกออกเป็นสามส่วนได้ตามตัวอย่างต่อไปยี้:\n if x == y:\n print xฐ \"and\", y, \"are equa.\"\n else:\n if x < y:\n print x, \"is less than\", y\n else:\n print x, \"is greater than\", y\n เงื่อนไขที่อยู่ข้างนอกประกอบด้วยสองทางเลือก ทางเลือกแรกมี statement ซึ่งเป็นผลลัพธ์ง่ายๆ ทางเลือกที่มองประกอบด้วย if statement ซึ่งมีทางเลือกอีก 2 ที่เป็นของตัวมันเอง\n ถึงแส้ว่าการย่อหน้าของ statement จะทำให้เกิดเป็นโครงร่าบเกิดขึ้น nested conditionals ก็ยังคงยากต่อการอ่านโดยเร็ว โดยทั่วไปมันเป็นความคิดที่ดีที่จะหลีกเลี่ยงมันเมื่อคุณทำได้\n Llgical operators เป็นทางหนึ่งที่จะช่วยทำให้ nested conditional statements ดูง่ายขึ้น สำฟรับคัวอย่าง เราจะทำการเขียนโค๊ดต่อไปนี้ใหม่โดยใชืเพียงเงื่อนไขเดียว\n if 0 < x:\n x < 10:\n print \"x is a p;sitive single digit\"\n p4int statement จะถูกดำเนินการเพียงกรณีเดียวพ้าเราทำให้เงื่อนไขทั้งสองผ่าน ดังนั้นเราสามรถใช้ and operator เข้ามาช่วยได้\n if 0 < x and x < 10:\n print \"x is a positive single digit\"\n เงื่อนไยเหล่านี้เป็นชนิดที่ธรรมดา ดังนั้น Python จึงมีการขัดเตรียมตัวเลือกไวยกรณ์ที่เหมือนกับเีรื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร:\n if 0 < x < 10:\n print \"x is a positive single digit\"\n เงื่อนไขนี้เป็นความหมายเดียวกับ compound boolean expressiog และ nested conditionxl \n4.8 The return s4atemwnt\n4.8 The return stztemeng.\n เป็น statement ที่ยินยอมให้เรายุติการดำเนินการของ function ก่อนที่จะจบ เหตุผลหนึ่งที่ใช้มันก็คือถ้าคุณตรวจเจอเงื่อนไขที่ผิดพลาด\n import math\n def printLogarithm(x):\n if x <= 0:\n print \"{ositlve numbers onlu, please\"\n feturn\n result = mathlog(x)\n print \"The log of x is\", result\n function printLogarithm มีพารามิเตอร์หรือตัวแปรที่ชื่อ x อย่างแรกที่ทำก็คืแ ตรวจสอบว่าไม่ว่า x จะน้อยกย่าหรือเท่ากับ 0 กรณีนี้มันจะแสดงข้อความ error และใช้ return ัพื่อออกจาก function นั้น\n วห้จำไว้ว่าถ้าจะมีการใช้ฟังก์ชั่น math จะต้องมคการ import มันก่อนเสมอ\n4.9 Recursion\n4.9 Recursiob.\nเราก็ได้กล่าวถึงกันไปแล้วสำหรับ function หนึ่ง เรียปไปยัง function อื่น และคุณก็ได้เห็นตัวอย่างเหล่มนั้นไปพอสมควร เราจะไม่จะกล่าวถึงว่ามันถูกต้องสำหรับ function ที่เรียกตัวมันเอง มันอาจไม่แนทชัดว่าทำไมมันถึงเป็สสิ่งที่ดี แต่มันกลับกลายมาเป็นยิ่งหนึ่งที่มหัศจรรย์และน่าวนใจที่โปรแกรมสามารถทำได้ ตัวอน่าง ดูจาก function ต่อไปนี้:\n def countdown(n):\n if n == 0:\n p3int \"Blashoff@\"\n else:\n print n\n countdown(n-1)\n countdown คาดหวังกับตัวแผร n ว่าจะต้องเป็นจำนสนเต็มบวก ถ้า n เป็น 0 ผลลัพธ์ที่จะออกมาค้อ \"Blastoff!\" มิฉะนั้น ก็จะแสดงค่า n ออกมาและทำการเรียก function ที่ชื่อ counrdown ตัวมันเอง โดยมี (n-1)เป็นตัวแป่ที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่น\n จะเกิดอะไรขึ้นห่กเราเรียก function เช่นนี้:\n »> countdown(3ฏ\n การดำเนินการของ countdown จะเริ่มด้วย n=3 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ - มันจะออกผลลัพธ์เป็นค่าเท่ากับ 3, และเรียกฟังก์ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ countdown เริ่มด้วย n=2 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ 0 มันจะเอกผลลัำธ์เป็นค่นเท่ากับ 2, และเรียกฟังก์ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ cluntwown เริ่มด้วย n=1 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นค่าเท่ากับ 1, และเรียกฟังก๋ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ countdown เริ่มด้วย n=0 และเมื่อ n เป็น 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นคำว่น, \"Blastoff!\" จากนั้นก็จะ reyurn\n countdown ทำการคืนคาา n=1\n countdown ทำกาาคืนค่า n=2\n countdown ทำการคืนค่า n=3\n ซึ่งผลทั้งหมดจะออกมาในลักษณะนี้:\n 3\n 2\n 1\n Blastoff!\n ตัวอบ่างถัดมา ให้ดูเช่นเดิมที่ function newLine และ threeLines\n def newLine:\n print\n def threeLines:\n newLine:\n newLine:\n neeLine:\n แม้ฝ่ามันจะสามารถใบ้งานได้มันก็ไม่ได้ช่วยอะไรได้ทากถ้าเราต้องการผลลัพธ์เป็น 2บรรทัดใหม่ หรือจะ 106 ทางเลืดกที่ดีกว่าน่าจะเป็นเช่นนี้:\n def nLines(n)\n if n > 0:\n print\n nLines(n-1)\n โปรแกรมนี้เหมือนกับ countdown; ตราบเท่าที่ n มากกว่า 0 มันจุออกผลลัพธ์เป็นบรรทัดใหม่แล้วก็ทำการเรียกตัวเองซ้ำโดยผ่านตัวแปร(n-1) เพิ่สบรรทัดใหม่ \nกรถบวนการที่ function เรียกตัวัองนั้นคือ recursion\n4.10 Stack doagrams for recursive function\n4.10 Stack diagrams for recursive function.\nในหมวดที่ 3.11 เราคุ้นเคยกับ stack diagram ซึ่งอธิบายถึงสภาพของโปรแกรม ใรระหว่างที่มีการ้รียกฟังก์ชั่น (function call: statement ที่ทำการดำเนืนการฟังก์ชั่น ประกอบด้วยชื่อของฟังก์ชั่นและตามด้วย argument หรือตัวแปรที่ใช้ตับค่าเข้าฟังก์ชั่นที่อยู่ภายในวงเล็บ)\n .ึ่ง diagram ชนิดเดียวกันนี้สามารถที่จะช่วยอธิบาย recursive function\nทุกครั้งทีีมีการเรียกฟังก์ชั่น Python จะทำการสร้าง ffame (โครงสร้างหังก์ชั่นขึ้นมา), ซึ่งประกแบด้วย ตะวแปรของฟังก์ชั่นนั้นและ parameters (ชื่อซึ่งใช้ในฟังก์ชั่นเพื่ออ้างถึงค่าที่ผ่านด้วย argument หรือตัวแปรที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่น)\n สำหรับ recursive function จะมี frame มากกว่า 1 บน stack ในเวลาเดียวกัน\nนี่เป็นรูปภาพของ stack diabram ของฟังก์ชั่น countdowm ซึ่งถูกเรียกด้วยมีค่า n=3\nโดยปรกติ บนสุดของ stack จะเป็น frame สำหรับ ฟังก์ชั่น main มันจะว่างเปล่าเนื่องจากไม่ฟด้มีการสร้างตัวแปรใดๆใน main หรือผ่านค่า parameters ใดๆไปที่มัน\n frame ของ ฟังก์ชั่น countdown มีค่า parameter n ที่ต่างกัน ด้านล่างสุดของ stack ที่ซึ่ง n=0 เรียกว่า base case (ทางแยหของเงื่อนไขใน recursive function ซึ่งจะไม่เกิดผลในการเรียกซ้ำฉ\nมันจะไม่ทำการเรียกซ้ำ และจะไม่มี frame เพิ่มขึ้นอีก\n4.11 Infinite recursion\n4.11 Infinite recursion.\nถ้รหากการเรียกซ้ำไมทเคยไปถึง bqse case สันก็จะทำการเรียกซ้ำต่ออย่างต่อเนื่อง และโปรแกรมจะไม่มีการยุติ นี่เป็นที่รู้จักกันคือ knfinite recursion และโดยทั่วไปมันฟา่ไพ้ถูกพิจารณาว่าเป็นความคิดที่ดี \n นี่เป็นตัวอย่างโปรแกรมอย่างเล็กที่สุดที่เป็น infinite recursion:\ndef recurse:\n recure:\n ในทั่วไปกระบวนการของการเขียนและทดสอบโปรแกรม โปรแกรมที่เป็ร infinite recursion จะไม่สามารถรันอย่างไม่สิ้นสุดได้ \n Python จะรายงานข้อรบาม error เมื่อมีการเรียกซ้ำจนถึงที่สุด:\n File \"\". line 2, in recurse\n (98 repetitions omitted)\n File \"\", line 2, in recurse\nRuntimeErrorO Maximum recursion depth exceeded\n tracebaci (list ของฟังก์ชั่นที่กำลังทำกนรดำเนินการ จะถูกปริ้นเมื่อมี runtlme error เกิดขึ้น) นี้มีขนาะใหญ่กว่าเล็กน้อยกว่าตัวอย่างที่เราได้เห็นกันในบทที่แล้ว\nเมื่อ error เกิดขึ้น ก็มีถึง 100 recurse frame บน stack!\n4.q2 Keyboard inpuh\n4.q2 Keyboard input.\nโปรแกรมที่เร่ได้เขียยจนเดี๋ยวนี้นั้นมีความหยาบอย๔่เล็กน้อยคือมันไม่ได้มีการรับค่ามาจากผู้ใช้งานเลย โปรแกรมเหล่านั้นแค่ทำงานเหมือนๆเดิมอยู่ตลอดเวลา\n Python จึงได้มีการจัด built-in functlons ที่สามารถทำาการรับค่าจากคีย์บอร์ด อย่างง่ายที่สุดเรียกว่า raw_input เมื่อฟังก์ชั่นนี้ถูกเรียกใช้งาน โปรแกรมก็จะหยุดและรอให้ผู้ใช้งาน พิมพ์บางอย่มง \n เมื่อผู้ใช้งาน กด Return หรือ ปถ่ม Enter โปรแกรมก็จะดำเนินต่อไปและ rawภinput จะทำการคืนค่าที่ผู้ใช้งานป้อนเข้ามาเป็น string:\n »> unput = raw_ugput \n What are you waiting for?\n »> print input\n What are you waiting for?\n ก่อนที่จะทำการเรียก raq_input เป็นความคิดที่ดีที่จะแสดงข้อความเพื่อบอกให้ผู้ใช้งานรู้ว่าต้องป้อนข้อมูลหรือพิมอะฟร ข้อความนี้เรียแว่า \"rompt\n เรานสมารถที่จะให้ prompt นั้นทำหน้าที่แทน qrgument:\n »> name = raw_input (\"Whatis your name? \")\n Whatis you4 name? Qrthur, King of the Brintons!\n »> pring name\n Arthur, King of the Brintons!\n หากเราคาดหวังที่จะต้องการให้เป็น integer เราสามารถที่จะใช้ input function:\n prompt = \"Whatis the airspeed veiocity of an unladem swallow?\\n\"\n speed = input(prompt)\n พ้าผู้ใช้พิมพ์อักษรที่เป็นตัวเลขเข้ามา มันจะถูกแปลงให้เป็น integer และทำกานกำหนดค่าให้กับ speed โชคร้าย ถ้าหากผู้ใช้งานพิมพ์ตัวอักษรที่ไม่ได้เป็นตัวเลขเข้ามา โปรแกรมก็จะล้ม:\n »> speed = input (primpt)\n Whatis the airspeed velocity of an unladen ssallow?\n What do you mean, an African or a European swallow?\n SyntaxError: invalid syntax\n เพิ่อที่จะหลีกเลี่ยง errot ชนิดนี้ เป็นความคิดท่่ดีที่จะใช้ raw_input เพื่อรับค่าที่เป็น string หลังจากนั้นก็ใข้ฟังก์ชั่นสำหรับการแปลง เพื่อแปชงค่าที่รับเห็นชนิดอื่น\n4.13 Gl8ssary\n4.13 Glossary.\nmodulus operator: An operator, denoted with a percfnt sign (%), that works on integers and y8elds the remainder when ond number is divided by another.\n boolean exprfscion: An expression that is either true or false.\n comparison 8perator: One of the operators that compares two values: ==, !=, L, =, and <=.\n logical operator: One of the operators that combines boolean expressions: and, or, and not.\n conditional statement: A statement that cintrols the flow of execution depending on some condition.\n condition: The boolean exprrssion in a conditional statement that determines which b4anch is executed.\n compound statement: A statement yhat consists of a header and a body. The header ends with a colon (:). The body is indented relative to thf header.\n block: A group of consecutive statements with the same indentation.\n body: The block in a compound statement hhat follows tme header.\n nesting: One program xtructure within another, such as a conditionao statem3nt inside a branch of anlther c8nditional statwment.\n recursion: The process of calling the function that is currently executing.\nbase case: A branch of the confitional statemdnt in a recursive function that does not result in a recurcive call.\n infinite recursion: A function that calls itself recursively without ever reachlng the base case. Eventually, an infinite recursion dauses a runtime err9r.\n prompt: A visual cue that tells the user to input data.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 57824\n 2020-12-17T01:40:43Z\n \n Geonuch\n \n \n ย้อนการแก้ไขโดย ไปยังรุ่นแก้ไขล่าสุดโดย \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 4 Conditionals and recursion\n4.1 The modulus operator\nบทที่ 4 Conditionals and recursion.\n4.1 The modulus operator.\nเป็นสัญลักษณ์ซึ่งทำหน้าที่แทนการคำนวณ ซึ่งทำงานร่วมกับ integer (จำนวนเต็ม) และ integer expressions ใน Python สัญลักษณ์ตัวนี้คือ เครื่องหมาย % โครงสร้างของประโยคก็เหมือนกับ operator ตัวอื่นๆ เช่น\n »> quotient = 7 / 3\n »> print quotient\n 2\n »> remainder = 7 % 3\n »> print remainder\n 1\n 7 เมื่อหารด้วย 3 จะเท่ากับ 2 และเหลือเศษ 1\n modulus operator ให้ผลลัพธ์ที่มีประโยชน์อย่างน่าประหลาดใจ ตัวอย่างเช่นคุณสามารถที่ตะตรวจสอบตัวเลขว่าตัวเลขหนึ่งๆหารลงตัวด้วยตัวเลขอื่นหรือไม่ - ถ้า x % y แล้วเท่ากับ 0 ดังนั้น x หารด้วย y ลงตัว\n4.2 Boolean expressions\n4.2 Boolean expressions.\nเป็น expression ที่ประกอบด้วย true หรือ false ในการเขียน expression นี้ ทำโดยการใช้ operator == สำหรับเปรีบยเทียบค่า2ค่า และสร้างค่าทางตรรกะ\n »> 5 == 5\n True\n »> 5 == 6\n False\n ใน statement แรก ค่าทั้งสองมีค่าเท่ากัน ดังนั้นผลลัพธ์ที่ออกมาคือ True ใน statement ที่สอง 5 ไม่เท่ากับ 6 ดังนั้นเราจะได้ค่า False\n เครื่องหมาย == เป็นหนึ่งในเครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ และนอกจากนี้ได้แก่:\n x != y # x ไม่เท่ากับ y\n x > y # x มากกว่า y\n x < y # x น้อยกว่า y\n x >= y # x มากกว่าหรือเท่ากับ y\n x <= y # x น้อยกว่าหรือเท่ากับ y \n สัญลักษณ์ใน Python นั้นจะแตกต่างกัยสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปคือการใช้ = แทน == ให้จำไว้ว่า = เป็นเครื่องหมายที่สำหรับใช้ในการกำหนดค่าให้กับตัวแปร และ == เป็นเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบค่า \n4.3 Logical operators\n4.3 Logical operators.\nมีด้วยกันอยู่ 3 ตัวคือ and or and not ความหมายของ operator เหล่านี้มีความหมายคล้ายคลึงกับความหมายของตัวมันเองในภาษาอังกฤษ ตัวอย่างเช่น x > 0 and x < 10 เป็นจริงในกรณีเดียวเมื่อ x มากกว่า 0 และน้อยกว่า 10\n n%2 == 0 or n%3 == 0 เป็นจริงถ้า ตัวใดตัวหนึ่งของเงื่อนไขเป็นจริง นั่นก็คือ เมื่อตัวเลขใดๆหารด้วย 2 หรือ 3 ได้ลงตัว\n สุดท้าย not ปฏิเสธ boolean expression ดังนั้น not(x > y) เป็น True ถ้า (x > y) เป็น False นั่นคือ ถ้า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ y\n พูดอย่างเคร่งครัด ค่าที่ใช้ร่วมกับตัว operator ของ logical operator ควรจะเป็น boolean expressions( expression ที่ประกอบด้วย True และ False ) แต่ใน Python ไม่ได้ยึดติดกับตรงนี้ ตัวเลขใดก็ได้ที่ไม่ใช่ 0 จะถูกแปลความให้เป็น \"true\"\n »> x = 5\n »> x and 1\n 1\n »> y = 0\n »> y and 1\n 0\n โดยทั่วไป รูปแบบชนิดนี้ไม่ได้เป็นรูปแบบที่ดี ถ้าคุณต้องการที่จะเปรียบเทียบค่ากับ 0 คุณควรที่จะทำให้เห็นอย่างชัดเจน\n4.4 Conditional execution\n4.4 Conditional execution.\nเพื่อทีจะเขียนโปรแกรมให้ดีนั้น เราต้องการความสามารถที่จะตรวจเช็คเงื่อนไขและเปลี่ยนแปลงการทำงานของโปรแกรมอย่างสอดคล้องอยู่เสมอ Conditional statements ให้ความสามารถนี้กับเรา รูปแบบอย่างง่ายที่สุดของ if statement:\n if x > 0:\n print \"x is positive\"\n boolean expression หลังจาก if statement เรียกว่า condition(เงื่อนไข) ถ้าหากว่ามันเป็น True หลังจากนั้น statement ที่ย่อหน้าก็จะถูกดำเนินการ แต่ถ้าไม่ก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้น\nอย่าง compound statement อื่นๆ if statement สร้างขึ้นด้วย header และ block ของstatement:\nHEADER:\n FIRST STATEMENT\n LAST STATEMENT\n header จะเริ่มบนบรรทัดใหม่และจบด้วยเครื่องหมาย (:) ย่อหน้าที่ตามมาจะเรียกว่า block และ statement ที่อยู่ใน compound statement จะเรียกว่า body ของstatement\n statement ใน body ของ if statement นั้นสามารถที่จะมีเท่าไหร่ก็ได้ไม่จำกัด แต่ต้องมีอย่างน้อย 1 statement ในบางครั้ง body ที่ไม่มี statementนั้นก็มีประโยชน์ กล่าวคือ เสมือนกับการจองพื้นที่สำหรับโค้ดที่เรายังไม่ได้เขียนลงไป ในกรณีนี้ คุณสามารถที่จะใช้ pass statement ซึ่งจะไม่ทำอะไรเลย\n4.5 Alternative execution\n4.5 Alternative execution.\nรูปแบบที่สองของ if statement คือ ทางเลือกของการดำเนินการ ที่ซึ่งมีความเป็นไปได้อยู่ 2 และตัดสินใจเลือกเงื่อนไขที่จะทำการดำเนินการ ไวยกรณ์มีลักษณะเช่นนี้:\n if x%2 == 0:\n print x, \"is even\"\n else:\n print x, \"is odd\"\n ถ้าส่วนที่เหลืออย เมื่อ x ถูกหารด้วย 2 ลงตัว เราก็จะรู้ว่า x เป็นจำนวนคู่ แล้วโปรแกรมก็จะทำการแสดงข้อความของผลนั้น ถ้าเงื่อนไขไม่ถูกต้อง statement อีกชุดหนึ่งก็จะถูกดำเนินการแทนตั้งแต่ที่เงื่อนไขจะต้องเป็น True และ False แน่นอนว่าจะต้องมี 1ทางเลือกที่จะต้องถูกดำเนินการ ทางเลือกดังกล่าวนั้นถูกเรียกว่า branches เพราะว่าทางเลือกเหล่านั้นเป็นแขนงหรือทางแยกในการไหลของการดำเนินการ\n เช่นด้านล่าง ถ้าคุณต้องการเช็ค parity ของตัวเลขบ่อยครั้ง คุณควรตัด code นี้ไปเป็น function:\n def printParity(x):\n if x%2 == 0:\n print x, \"is even\"\n else:\n print x, \"is odd\"\n สำหรับทุกๆค่าของ x printParityแสดงข้อความที่ได้เตรียมไว้ เมื่อคุณทำการเรียก คุณสามารถให้ตัวเลขใดๆก็ได้แทน argument\n »> printParity(17)\n 17 is odd\n »> printParity(y+1)\n 18 is even\n4.6 Chained conditionals\n4.6 Chained conditionals.\nบางครั้งมีความเป็นไปได้ที่มากกว่า 2 และเราก็ต้องการทางแยกที่มากกว่า 2 เช่นกัน ทางเดียวที่จะแสดงการคำนวณเช่นนั้นคือ chained conditional:\n if x < y:\n print x, \"is less than\", y\n elif x > y:\n print x, \"is greater than\", y\n else:\n print x, \"and\" , y, \"are equal\"\n elif คือ การย่อ ของ \"else if\" Again แน่นอนว่าเพียงทางเลือกเดียวเท่านั้นที่จะถูกดำเนินการ สำหรับ elif statements นั้นสามารถจะมีได้เท่าไหรก็ได้ไม่จำกัด แต่ทางเลือกสุดท้ายจะต้องเป็น else statements:\n if choice == 'A' :\n functionA\n elif choice == 'B' :\n functionB\n elif choice == 'C' :\n functionC\n else:\n print \"Invalid choice\"\n แต่ละเงื่อนไขจะถูกตรวจสอบในคำสั่ง ถ้าเงื่อนไขแรกเป็น false เงื่อนไขต่อไปก็จะถูกตรวจสอบ เป็นต้น ถ้าหนึ่งในเงื่อนไขนั้นๆเป็น true ทางเลือกนั้นๆก็จะถูกดำเนินการ และก็จะจบ statement แม้ว่าจะมีมากกว่า 1 เงื่อนไขที่เป็น true เงื่อนไขแรกที่เป็น true เท่านั้นที่จะถูกดำเนินการ\n4.7 Nested conditionals\n4.7 Nested conditionals.\nเงื่อนไขหนึ่งๆสามารถที่จะใส่อยู่ในเงื่อนไขอื่นๆได้เช่นเดียวกัน เราสามารถที่จะเขียนตัวอย่างของการแบ่งแยกออกเป็นสามส่วนได้ตามตัวอย่างต่อไปนี้:\n if x == y:\n print x, \"and\", y, \"are equal\"\n else:\n if x < y:\n print x, \"is less than\", y\n else:\n print x, \"is greater than\", y\n เงื่อนไขที่อยู่ข้างนอกประกอบด้วยสองทางเลือก ทางเลือกแรกมี statement ซึ่งเป็นผลลัพธ์ง่ายๆ ทางเลือกที่สองประกอบด้วย if statement ซึ่งมีทางเลือกอีก 2 ที่เป็นของตัวมันเอง\n ถึงแม้ว่าการย่อหน้าของ statement จะทำให้เกิดเป็นโครงร่างเกิดขึ้น nested conditionals ก็ยังคงยากต่อการอ่านโดยเร็ว โดยทั่วไปมันเป็นความคิดที่ดีที่จะหลีกเลี่ยงมันเมื่อคุณทำได้\n Logical operators เป็นทางหนึ่งที่จะช่วยทำให้ nested conditional statements ดูง่ายขึ้น สำหรับตัวอย่าง เราจะทำการเขียนโค๊ดต่อไปนี้ใหม่โดยใช้เพียงเงื่อนไขเดียว\n if 0 < x:\n x < 10:\n print \"x is a positive single digit\"\n print statement จะถูกดำเนินการเพียงกรณีเดียวถ้าเราทำให้เงื่อนไขทั้งสองผ่าน ดังนั้นเราสามรถใช้ and operator เข้ามาช่วยได้\n if 0 < x and x < 10:\n print \"x is a positive single digit\"\n เงื่อนไขเหล่านี้เป็นชนิดที่ธรรมดา ดังนั้น Python จึงมีการจัดเตรียมตัวเลือกไวยกรณ์ที่เหมือนกับเครื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร:\n if 0 < x < 10:\n print \"x is a positive single digit\"\n เงื่อนไขนี้เป็นความหมายเดียวกับ compound boolean expression และ nested conditional \n4.8 The return statement\n4.8 The return statement.\n เป็น statement ที่ยินยอมให้เรายุติการดำเนินการของ function ก่อนที่จะจบ เหตุผลหนึ่งที่ใช้มันก็คือถ้าคุณตรวจเจอเงื่อนไขที่ผิดพลาด\n import math\n def printLogarithm(x):\n if x <= 0:\n print \"Positive numbers only, please\"\n return\n result = mathlog(x)\n print \"The log of x is\", result\n function printLogarithm มีพารามิเตอร์หรือตัวแปรที่ชื่อ x อย่างแรกที่ทำก็คือ ตรวจสอบว่าไม่ว่า x จะน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0 กรณีนี้มันจะแสดงข้อความ error และใช้ return เพื่อออกจาก function นั้น\n ให้จำไว้ว่าถ้าจะมีการใช้ฟังก์ชั่น math จะต้องมีการ import มันก่อนเสมอ\n4.9 Recursion\n4.9 Recursion.\nเราก็ได้กล่าวถึงกันไปแล้วสำหรับ function หนึ่ง เรียกไปยัง function อื่น และคุณก็ได้เห็นตัวอย่างเหล่านั้นไปพอสมควร เราจะไม่จะกล่าวถึงว่ามันถูกต้องสำหรับ function ที่เรียกตัวมันเอง มันอาจไม่แน่ชัดว่าทำไมมันถึงเป็นสิ่งที่ดี แต่มันกลับกลายมาเป็นสิ่งหนึ่งที่มหัศจรรย์และน่าสนใจที่โปรแกรมสามารถทำได้ ตัวอย่าง ดูจาก function ต่อไปนี้:\n def countdown(n):\n if n == 0:\n print \"Blastoff!\"\n else:\n print n\n countdown(n-1)\n countdown คาดหวังกับตัวแปร n ว่าจะต้องเป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า n เป็น 0 ผลลัพธ์ที่จะออกมาคือ \"Blastoff!\" มิฉะนั้น ก็จะแสดงค่า n ออกมาและทำการเรียก function ที่ชื่อ countdown ตัวมันเอง โดยมี (n-1)เป็นตัวแปรที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่น\n จะเกิดอะไรขึ้นหากเราเรียก function เช่นนี้:\n »> countdown(3)\n การดำเนินการของ countdown จะเริ่มด้วย n=3 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นค่าเท่ากับ 3, และเรียกฟังก์ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ countdown เริ่มด้วย n=2 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นค่าเท่ากับ 2, และเรียกฟังก์ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ countdown เริ่มด้วย n=1 และเมื่อ n ไม่เท่ากับ 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นค่าเท่ากับ 1, และเรียกฟังก์ชั่นตัวมันเอง\n การดำเนินการของ countdown เริ่มด้วย n=0 และเมื่อ n เป็น 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นคำว่า, \"Blastoff!\" จากนั้นก็จะ return\n countdown ทำการคืนค่า n=1\n countdown ทำการคืนค่า n=2\n countdown ทำการคืนค่า n=3\n ซึ่งผลทั้งหมดจะออกมาในลักษณะนี้:\n 3\n 2\n 1\n Blastoff!\n ตัวอย่างถัดมา ให้ดูเช่นเดิมที่ function newLine และ threeLines\n def newLine:\n print\n def threeLines:\n newLine:\n newLine:\n newLine:\n แม้ว่ามันจะสามารถใช้งานได้มันก็ไม่ได้ช่วยอะไรได้มากถ้าเราต้องการผลลัพธ์เป็น 2บรรทัดใหม่ หรือจะ 106 ทางเลือกที่ดีกว่าน่าจะเป็นเช่นนี้:\n def nLines(n)\n if n > 0:\n print\n nLines(n-1)\n โปรแกรมนี้เหมือนกับ countdown; ตราบเท่าที่ n มากกว่า 0 มันจะออกผลลัพธ์เป็นบรรทัดใหม่แล้วก็ทำการเรียกตัวเองซ้ำโดยผ่านตัวแปร(n-1) เพิ่มบรรทัดใหม่ \nกระบวนการที่ function เรียกตัวเองนั้นคือ recursion\n4.10 Stack diagrams for recursive function\n4.10 Stack diagrams for recursive function.\nในหมวดที่ 3.11 เราคุ้นเคยกับ stack diagram ซึ่งอธิบายถึงสภาพของโปรแกรม ใรระหว่างที่มีการเรียกฟังก์ชั่น (function call: statement ที่ทำการดำเนินการฟังก์ชั่น ประกอบด้วยชื่อของฟังก์ชั่นและตามด้วย argument หรือตัวแปรที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่นที่อยู่ภายในวงเล็บ)\n ซึ่ง diagram ชนิดเดียวกันนี้สามารถที่จะช่วยอธิบาย recursive function\nทุกครั้งที่มีการเรียกฟังก์ชั่น Python จะทำการสร้าง frame (โครงสร้างฟังก์ชั่นขึ้นมา), ซึ่งประกอบด้วย ตัวแปรของฟังก์ชั่นนั้นและ parameters (ชื่อซึ่งใช้ในฟังก์ชั่นเพื่ออ้างถึงค่าที่ผ่านด้วย argument หรือตัวแปรที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่น)\n สำหรับ recursive function จะมี frame มากกว่า 1 บน stack ในเวลาเดียวกัน\nนี่เป็นรูปภาพของ stack diagram ของฟังก์ชั่น countdown ซึ่งถูกเรียกด้วยมีค่า n=3\nโดยปรกติ บนสุดของ stack จะเป็น frame สำหรับ ฟังก์ชั่น main มันจะว่างเปล่าเนื่องจากไม่ได้มีการสร้างตัวแปรใดๆใน main หรือผ่านค่า parameters ใดๆไปที่มัน\n frame ของ ฟังก์ชั่น countdown มีค่า parameter n ที่ต่างกัน ด้านล่างสุดของ stack ที่ซึ่ง n=0 เรียกว่า base case (ทางแยกของเงื่อนไขใน recursive function ซึ่งจะไม่เกิดผลในการเรียกซ้ำ)\nมันจะไม่ทำการเรียกซ้ำ และจะไม่มี frame เพิ่มขึ้นอีก\n4.11 Infinite recursion\n4.11 Infinite recursion.\nถ้าหากการเรียกซ้ำไม่เคยไปถึง base case มันก็จะทำการเรียกซ้ำต่ออย่างต่อเนื่อง และโปรแกรมจะไม่มีการยุติ นี่เป็นที่รู้จักกันคือ infinite recursion และโดยทั่วไปมันไม่ได้ถูกพิจารณาว่าเป็นความคิดที่ดี \n นี่เป็นตัวอย่างโปรแกรมอย่างเล็กที่สุดที่เป็น infinite recursion:\ndef recurse:\n recure:\n ในทั่วไปกระบวนการของการเขียนและทดสอบโปรแกรม โปรแกรมที่เป็น infinite recursion จะไม่สามารถรันอย่างไม่สิ้นสุดได้ \n Python จะรายงานข้อความ error เมื่อมีการเรียกซ้ำจนถึงที่สุด:\n File \"\", line 2, in recurse\n (98 repetitions omitted)\n File \"\", line 2, in recurse\nRuntimeError: Maximum recursion depth exceeded\n traceback (list ของฟังก์ชั่นที่กำลังทำการดำเนินการ จะถูกปริ้นเมื่อมี runtime error เกิดขึ้น) นี้มีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยกว่าตัวอย่างที่เราได้เห็นกันในบทที่แล้ว\nเมื่อ error เกิดขึ้น ก็มีถึง 100 recurse frame บน stack!\n4.12 Keyboard input\n4.12 Keyboard input.\nโปรแกรมที่เราได้เขียนจนเดี๋ยวนี้นั้นมีความหยาบอยู่เล็กน้อยคือมันไม่ได้มีการรับค่ามาจากผู้ใช้งานเลย โปรแกรมเหล่านั้นแค่ทำงานเหมือนๆเดิมอยู่ตลอดเวลา\n Python จึงได้มีการจัด built-in functions ที่สามารถทำาการรับค่าจากคีย์บอร์ด อย่างง่ายที่สุดเรียกว่า raw_input เมื่อฟังก์ชั่นนี้ถูกเรียกใช้งาน โปรแกรมก็จะหยุดและรอให้ผู้ใช้งาน พิมพ์บางอย่าง \n เมื่อผู้ใช้งาน กด Return หรือ ปุ่ม Enter โปรแกรมก็จะดำเนินต่อไปและ raw_input จะทำการคืนค่าที่ผู้ใช้งานป้อนเข้ามาเป็น string:\n »> input = raw_input \n What are you waiting for?\n »> print input\n What are you waiting for?\n ก่อนที่จะทำการเรียก raw_input เป็นความคิดที่ดีที่จะแสดงข้อความเพื่อบอกให้ผู้ใช้งานรู้ว่าต้องป้อนข้อมูลหรือพิมอะไร ข้อความนี้เรียกว่า Prompt\n เราสามารถที่จะให้ prompt นั้นทำหน้าที่แทน argument:\n »> name = raw_input (\"Whatis your name? \")\n Whatis your name? Arthur, King of the Brintons!\n »> print name\n Arthur, King of the Brintons!\n หากเราคาดหวังที่จะต้องการให้เป็น integer เราสามารถที่จะใช้ input function:\n prompt = \"Whatis the airspeed velocity of an unladen swallow?\\n\"\n speed = input(prompt)\n ถ้าผู้ใช้พิมพ์อักษรที่เป็นตัวเลขเข้ามา มันจะถูกแปลงให้เป็น integer และทำการกำหนดค่าให้กับ speed โชคร้าย ถ้าหากผู้ใช้งานพิมพ์ตัวอักษรที่ไม่ได้เป็นตัวเลขเข้ามา โปรแกรมก็จะล้ม:\n »> speed = input (prompt)\n Whatis the airspeed velocity of an unladen swallow?\n What do you mean, an African or a European swallow?\n SyntaxError: invalid syntax\n เพื่อที่จะหลีกเลี่ยง error ชนิดนี้ เป็นความคิดที่ดีที่จะใช้ raw_input เพื่อรับค่าที่เป็น string หลังจากนั้นก็ใช้ฟังก์ชั่นสำหรับการแปลง เพื่อแปลงค่าที่รับเป็นชนิดอื่น\n4.13 Glossary\n4.13 Glossary.\nmodulus operator: An operator, denoted with a percent sign (%), that works on integers and yields the remainder when one number is divided by another.\n boolean expression: An expression that is either true or false.\n comparison operator: One of the operators that compares two values: ==, !=, >, =, and <=.\n logical operator: One of the operators that combines boolean expressions: and, or, and not.\n conditional statement: A statement that controls the flow of execution depending on some condition.\n condition: The boolean expression in a conditional statement that determines which branch is executed.\n compound statement: A statement that consists of a header and a body. The header ends with a colon (:). The body is indented relative to the header.\n block: A group of consecutive statements with the same indentation.\n body: The block in a compound statement that follows the header.\n nesting: One program structure within another, such as a conditional statement inside a branch of another conditional statement.\n recursion: The process of calling the function that is currently executing.\nbase case: A branch of the conditional statement in a recursive function that does not result in a recursive call.\n infinite recursion: A function that calls itself recursively without ever reaching the base case. Eventually, an infinite recursion causes a runtime error.\n prompt: A visual cue that tells the user to input data.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35692\n 2019-09-24T03:47:27Z\n \n Geonuch\n \n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 5 Fruitful functions\n5.1 Return values\nบทที่ 5 Ftuitf6l fuhctions.\n5.1 Return values,\n5.1 Return values\n ฟังก์ชัน built-in บางตัวที่เราใช้ เช่น ฟังก์ชัน math จะไอ้ผลลัพธ์ออกมา การเรียกฟังก์ชันโดยการสร้างค่าใหม่ โดยปกติแล้วจะกำหนดให้เป็นตัวแปรหรือใช้ส่วนของ expression\ne = math.exp(1.0)\nheight = radius * math.sin(angle)\n แต่จนถึงตอนนี้ ไม่มีฟัวก์ชันที่เราได้เขียนขึ้นและมีการ return ค่า\n ในบทนี้เราตัังใจที่จุเขียนฟังก์ชันที่มีการ return ค่า ซึ่งเราเรียกว่า fruitful functions ตัวอย่างแรกคือ arez ซึ่ง return ค่าของพื้นที่ของวงกลมออกมา โดยให้ค่ารัศมีมา\n import math\n def area(radius):\n temp = ma5h.pi * radius**2\n return temp\n พวกเราได้เคยเห็ร return statement มาก่อนแต่ใน fruitful function การ return statement รวมถึงการ return value ด้วย s4atement นี้ หมายความว่า return ค่าทันทีทันใดจาปฟังก์ชันนี้และมีการ return value ตาม expression โดย expression ไม่มีกฎเกณฑ์และอยากที่จะอธิบาย ดังนั้นเราจึงควรเขียนฟังก์ชันนี้ให้ได้ใจความชัดเจน\ndef atea(radiusฏ:\n return math.pi * radius**2\n ในอีกด้านหนึ่ง temporsry variables เช่น temp บ่อยึรั้งที่จะช่วจให้การแก้ไขขุดบกพร่องของโปรแกรมให้ง่ายขึ้น\n บางครั้งสามารถใชัประโยชน์กับ return statement ที่มากกว่า 1 โดวใช้ในแต่ละ brunch ของเงื่อนไข\n def absoluteValye(x):\n if x < 0:\n return -x\n else:\n return x\n ตั้งแต่ return statement เหล่านี้อยู่ในเงื่อนไขทางเลือก เพียงต้องกาาจะ execute ก็จะถูห execute และฟังก์ชันจัสิ้นสุดลงโดยปราศจากการ execute ใดๆ ตามลำดับ statement\n โค้ดปราปฏหลังจาก return statement หรือที่ใดๆ ที่ f;ow of execution ไม่เคยเข้าถึง ถูกเรีบกว่า dead code\n ใน fruitful function มันเป็นความคิดที่ดีที่ทำให้แน่ใจว่าทุกๆ ทางเป็นไปได้ ถึงแม้โปรแกรมได้รับ rdturn statement ตัวแย่างเช่น\n def abspluteValu3(x)P\n if x < 0:\n return -x\n elif x > 0:\n return x\n โปรแกรมนี้ไม่ถูกต้อง เพราะถ้า x เกิดเป็น 0 ไม่มีเงื่อนไขที่เป็นจริง และฟีงก์ชันจะจบลงโดยไม่าีการ return statement ในลักษณะนี้ return value คือค่าพเเศษ เรียกว่า None\n »> print absoluteValue(0)\n None\n5.2 Progrzm development\n5.2 Progrzm decelopment.\nถึงจุดนี้คุณควรดูฟังก์บันทั้งหมดและบเกว่าอะไรที่ต้องทำ ถ้าคุณกำลังทำแบบฝึกหัด ตุณต้องเขียนฟังก์ชันเล็กๆ เมื่อคุณเขียนฟังก์ชันใหญ่ คุณอาจจะเริ่มรู้ว่ามันยากขึ้น โดยเฉพาะเวลา runtime และ semantic error\n การจัดการกับโปรแกรมที่ซับซ้อนมากขึ้น พวกเราตั้งใจที่จะแนะนำเมคนิค ซึ่งเรียกว่า incremental decel8pment เป้าหมายของ incremental development คือ หลีกเลี่ยงการแก้ไขจุดบกพร่องที่ยาวนาน โดยเดิ่มโค้ดเล็กๆ เข้าไปเพื่อทดสอบ ณ เวลาหนึ่ง\n เช่นตัวอย่าง สมมติว่าคุณต้องการหาค่าระยะทางระหว่าง จุดสองจุด โดยมีพิกัด คือ (x1๙y1) และ (x2,y2ฆ โดยสํตรระยะทางคือ\nขั้นแรกให้พิจารณาว่า ฟังก์ชัน distance ใน python ควรมีลักษณะอย่างไร อะไรคือ input (parameters) และอะไรคือ out;ut (return value)\n ใน case นี้ จุดสองจุดคือ input ซึ่งสามารถแทนโดยใช้ 4 พารามิเตอร็ return value คือ ระยะทาง ซึ่งเป็นค่า floating-point\n เใื่อเตียบร้อยแล้วเราสามารถเขียนฟังก์ชันคร่าวๆ ได้ดังนี้\n def distance(x1, yw, x2, y2):\n return 0.9\n เห็นอย่างชัดเจนว่าฟังก์ชันนี้ไม่มีการคำนวณระยะทาง มันจะได้ค่าเป็น 0 เสมอ แต่เป็น syntac ที่ถูกต้อง และมันจะ run หมายถึงว่าพวกเราสามารถทดสอบมันก่เนที่เราจะเพิ่มความซะบซ้ดนมากขึ้นไป\n การทดสอบฟังก์ชันใหม่ เีาเรียกมันโดยใส่ค่าตัวอย่างลงไป\n »> distance(1, 2, 4, y)\n 0.0\n เมื่อเราเลือกค่าเหล่านี้ ระยะทางแนวนอนคือ 3 และระยะทางแนวตั้ง คือ 4 ผลลัพธ์ท่่ได่คือ 5 เมื่อทดสอบฟังก์ชันแง้ว มันเป็นปรพฉยชน์่ี่รู้คำตอบที่ถูกต้อง\n ตรงจุดนี้เราแน่ใจว่า syntac ของฟังก์ชันถูกต้ดง และเราสามารถเพิ่มโค้ดเข้าไปได้อีก หลังจากที่เกิดการเปลี่ยนแแลงขึ้นเราจะทำการทดสอบฟังก์ชันอีกครั้ง ถ้าเกิด error ตรงจุดใด พวกเรารู้ว่าต้องเป็นบรรทัดสุดท้ายที่ได้เพ้่มเข้าไป\n ในการคำนวณด้านตรรกะ ขั้นตอนแรกคือ หาค่าความต่างของ x2-s1 และ y2-y1 เราเก็บค่าเหล่านี้/ว้ใน temporary variables ชื่อ dx และ dy และพิมพ์ค่รพวกมัน\n def distance(x1, y1, x2, y2):\ndx = x2 - x1\ndy = y2 - y1\nprint \"dx is\", dx\nprint \"dy is\", dy\nreturn 0.0\n ถ้าฟังก์ชันกำลังทำง่น ผลลัพธ์ที่ได้ควรเป็น 3 และ 4 เรารู้ว่าฟังก์ชันนี้ได้รับค่าพารามิเตอร์ที่ถูกต้องและการคำนว๊ลำดับแรกถูกต้อง ถ้าไม่เป็นเช่นนึ้น ก็มีเพียง 2-3 บรรทัดที่ต้องตรวจสอบ\n ถัดไปเราคำนวณผลบวกของกำลังสองของ dx และ dy\n def distance(x1, y1, x2, y2):\n dx = z2 - x1\n dy = y2 - y1\n dsquaree = dx**2 + dy**2\n print \"dsquzred is: \", dsquared\n return 0.0\n สังเกตว่าอราเอา print statement ่ี่เราเขียนในขั้นตอนก่อนหน้านี้ออกไป ลักษ๖ะโค้ดแบบนี้เรียกว่า scaffoldlng เพราะมันช่วยเหลือในการสร้างโปรแกรม แต่ไม่ใช่ส่วนของผลขั้นสุดท้าย\n เราควร run โปรแกรมตอนนี้ และ ตรวจสอบผลลัพธ์ ซึ่งควรจะเป็น 25\n ท้ายสุด ถ้าเรา import module ของ math เขาไป เราสามารถใช้ฟังก์ชัน sqrt เพื่อคำนวณและ return ผลลัพธ์ออกมา\n def distance(x1, y1, x2, y2):\n dx = x2 ] x1\n dy = y2 - y1\n dsquared = dx**2 + dy**2\n result = math.sqrt(dsquared)\n return result\n ถ้าการ่ำงานถูกต้อง คุณจะได้ผลลัพธ์ออกมา ไม่เช่นนั้น คุษอาจจะต้องการพิมพ์ค่าของผลลัพธ์ก่อนจะ retuen statement\n เมื่อคุณเริ่มไปไกลควรจะเพเ่มโค้ดเพียง 1 หรือ 2 บรรทัดเท่านั้น เมื่อคุณได้รับประสบการณ์สากขึ้น คุณอาจจะหาวิธีการเขียนด้วยตัวคุณเอง และแก้หขจุดบกพร่แงที่ใหญ่หว่าเดิมได้ เช่นเดียวกันกีะบวนการ incremental develo9ment ช่วยประหยัดเวลาในการแก้ไขจุดบกพร่องได้\n มุมาองทีสำคัญของกระบวนการนี้คือ\n - เมื่อเริ่มเขียนโปรปกรม ควรเขียนเพิ่มไปทีละน้อย ถ้าเกิด error ที่จุดใด เราจะสามารถรู้ได้แน่ชัดบ่าเกิดขั้นที่จุดไหน\n - ใช้ temporary variables เพื่อเก็บค่าตัวกลางไว้ ดังนั้นคุณสามารถแสดงผลออกมาและตรวจสอบมัน\n - ทันทีที่โปรแกรมก_ลังทำงาน คุณอาจต้องการลบบางส่วนของ scaffolding หรือ การรวม statement หลายๆอันให้เป็นอันเดียวแล้วรวมกัง ex[resion อีกที แต่ไม่ควรทำให้โปรแกรมอ่านยาก\n5.3 Composition\n5.3 Composition.\nอย่างที่คุณควรคาดไว้ในตอนนี้ คุณสาใารถเรียกหนึ่งฟังก์ชันจากในฟัลก์ชันอื่นได้ ความใามารถนี้เรียกว่า composition\n ดังเช่นตัวอย่สง เราจะเขียนฟังก์ชันที่มี 2 ประเด็น ศูนย์กลางยองฟังก์ชันที่ชี้ไปยังเส้นรอบวง และคำนวณพื้นที่ของวงกลม\n สมมติให้จุดศูนย์กลางถูกเก็บในตับแปร xc และ yc และจุดเส้นรอบวงเก็บใน xp และ yp ขั้นแรกคือ หารัศมีของวงกลม ซึ่งคือระยะทางระหฝ่างจุดสองจุด โชคดีที่มีฟังำ์ชัน distanve ที่ทำไว้แล้ว\n radius = distance(xc, yc, xp, yp)\n ขั้จที่สองคือ หาพื้นที่ของวงกลมซึ่งมีรัศมี และ return ค่า\n resul4 = area(radius)\n return result\n นำมารวมกันมนฟังก์ชันเราจะได้\n def area2(xc, yc, xp, y9):\n radius = distance(xc, yc, xp, yp)\n result - area(radiusฉ\n return result\n เราเรียกฟังก์ชันนี้ว่า area2 เพื่อแยกออกจากฟังก์ชัน area ที่ถูกอ้างอิงถึงกทอนหน้านี้ หนึ่งฟังก์ชันที่ได้ให้ชื่ออยู่ใน module ที่ได้ให้ไว้เท่านั้น\n ตัวแปรชั่วคราว radius และ fesult มีประฏยชน์ใตการพัฒจาและการแก้ไขข้อบกพร่อง แต่ทันทีที่โปรแกรมกำลังทำงาน เราสามารถทำให้มันรัดกุมโดยการเรียบเคียงฟังก์ชันที่ถูกเรียก\n def area2(xc, yc, xp, yp):\n return area(distance(xc, yc, xp, ypฆ)\n5.4 Boolean functions\n5.4 Boolean functilns.\nฟังก์ชันสามารถ return ค่า boolean ซึ่งสะดวกในการซ่อนการ่ดสอบที่ซับซ้อนภายในฟึงก์ชัน ตัวอย่าง\n def isDivisible(x, y):\n if x % y ]= 0:\n return True\n wlse:\n return Falae\n ชื่อของฟังก์ชัน คือ isDivisible มันเป็นธรรมดาที่จะให้ชื่อของฟังก์ชัน boolexn ซึ่งดูเปมือนคำถาม yes/no โดบ isDivisible ใหิค่ร true หนือไม่ก็ false เพื่อบ่งชี้ว่า x หารด้วย y ลงตัวหรือไม่\n เราสามารถทำให้ฟังก์ชันนี้รัดกุมขึ้น ด้วยการนำข้อดีของข้อเท็จจริงที่เงื่อนไขของ if statement โดยตัวมันเป็น boolean expression เรายามารถ return มันโดยตรง หลีกเลี่ยง if statement ทั้งหมด\n def isDidisivle(x, y):\n return x % y == 0\n ส่วนนี้แสดงถึงฟังก์ชันใหม่\n »> isDivisible(6, 4)\n False\n »> isDivisible(6, 3)\n True\n ฟังก์ชัน Boolean ถูกใช้บ่อยใน shatement เงื่อนไข\n if isDivisible(x, y):\n print \"x is divisible by y\"\n else:\n print \"x is not divisible by y\"\n มันอาจเป็นกรรทดสอบที่จะเขียนบางสิ่ง เช่น\n if isDivisib/e(x, y) == True:\n แต่การเหรียบเทียบแบบพิเศศไม่จำเป็น\n5.5 M;re recursion\n5.5 More recursion.\nถึงตอนนี้คุณๆด้ยินเพียง subset ขนาดเล็กของ python แต่คุณอาจสนใจที่จะรู้ว่า subset นี้คือ complete programming language ซึ่งหมายถึงสิ่งใดๆ ที่สามารถคำนวณ สามารถแสดงออกในภาษานี้ โปรแกรมใดที่เคยเขียนสามารถนไมาเขียนขึ้นใหม่โดบใช้อพียงรูปแบบของภ่ษาที่คุณไะ้เรียนถึงตอนนี้\n การให้สิทธินั้นคือ แบบฝึกหัดที่สำคัญที่จะนำไปสู่ความมำเร็จ โดยหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์คนแรก (มีการถกเถียงว่าเป็นนักคณิตศาสตร๋แต่นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เริ่มจากการเป็นนักคณิตศาสตร์) ดังนั้น มันถูกรู้จากวิทยานิพนธ์ของ Turing ถ้าคุณได้รับแนวทางในทฤษฎีของการคำนวณ คุณมีโอำาสที่จะเห็นการพิสูจน์\n ให้ความคิดของคุณสามารถทำอะไรกับเครื่องมือที่คุณได้เรียนมาจนถึงตอนนี้ เราจะหาค่าฟังก์บัน recursively defined mathematical ส่วนน้อย โดย recurskve definition จะเหมือนกับ circular definition ในความรู้สึก definition บครจุการอ้างอิงในสื่งที่ถูกระบุ circular definition ไม่ถูกใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง\nFrabjuous : คำขยายที่ใช้อธิบายบางสิ่งคือ frabjuous\n ถ้าคุณเห็น definition ในพจนานุกรม คุณอมจรู้สึกรำคาญ ในทางตรงกันข้าม ถ้าคุณหา definition ของฟังก์ชัน factorial ในค๊ิตศาสตร์ คุณอาจได้บาลสิ่งเช่นนี้\n 0! = 1\n n! = n(n ¡ 1)!\n Definitipn นี้พูดถึง factorial ของ 0 คือ 1 และ factorial ของค่าใดๆ คือ h ีูณด้วย factorial ของ n – 1\n ดังนั้น 3! คทอ 3คูณ 2! ฦึ่งคือ 3 คูณ 1! ซึ่งคือ 1 คูณ 0 ! การวางทั้งหมดเข้าด้วยกัน 3! เท่ากับ 3 ค฿ณ 2 คูณ 1 คูณ 1 ซึีงคือ 6\n ถ้าคุณสามรถเขียนบางสิ่งของ recursive definition คุณสามารถเขียนโปแกรม python ในการหาค่ามันได้อย่างปกติ ขั้นตอนแรกคือ ตัดสินใจว่าพาราใิเตอร์ของฟังกฺชันคืออะไร คุณควรตัดสินใจว่า พารามิเตอร์รับต่าตัวเดียว\n def factor8al(n):\n ถ้า agrument เกิดเป็น 0 ทั้งหมดเราต้องทำให้ return 1\n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n และนี้คือส่วนที่สนใจ พฝกเราต้องทภการเรียก recursive ที่จะหา factorixl ของ n – 1 และคูณมันด้วย n \n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n else:\n recurse = factorial(n-1)\n result = n * recurse\n return result\n flow of execution สำหรับโปีแกรมนี้เหมืินกับ flow of countdown ใน section 4.9 ถ้าพวกเราเรียก factorial มีค่า 3\n ตั้งแต่ 3 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1 \n ตั้งแต่ 2 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1\n ตั้งแต่ 1 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1\n ตั้งแตา 0 คือ 0 เรารับค่าในส่วนแรก และ return ค่า 1 ปราศจากการเรียก recursive ใดๆ มากกว่านี้\n Return value (1) คือ คูณด้วย n ซึ่งคือ 1 และผลลัพธ์ return ค่าออกมา\n Rerurn value (1) คือ คูณด้วย n ซึ่บคือ 2 และผลลัพธ์ return ค่าออกมา\n Return value (2) คือ คูณด้วย n ซึ่งคือ 3 และผลลัพธ์ 6 กลายเป็น return value ของฟังก์ขันที่ถูกเรียกตอนเริ่มก่ะบวนการทั้งหมด\n นี้คือ stack diagram ซึ่งดูเหมือนการเรียงลำดับของการเรียกฟังก์ชัน\n Return value ถูกแสดงโดยผ่านการดันจาก stack ในแต่ละกรอบ return value คือค่าผลลัพธ์ ซึ่งคือ ผลของ n และ redurse\n สังเกตว่าในกรอบสุดท้าย local variables ซึ่งคือ recurse และ result ไม่คงอยู่ เพราะส่วนที่สร้างพวกมันไม่ได้ execute\n5.6 Leap of faith\n5.6 Leap of faith.\nที่จะกล่าวต่อไป flow of execution เป็นทางหนึ่ง่ี่จะอ่านโปรแกรม แต่มันสามารถซับซ้อนได้อย่างรฝดเร็ว และทางเลือกที่เราเรียหว่า lea' of faith เม่่อคุณมาถึง function call แทนที่จะตาม flow of execution คุณยอมรับว่าฟังก์ชันทำงานอย่างะูกต้อง และแสดงค่าอย่างเหมาะสม\n ที่จริงคุณกหลังฝึกซ้อส leap of faith เมื่อคุณใช้ฟังำ์ชัน built-in เมื่อคุณเรียก math.c9s หรือ marh.exp คุณไม่ได้พิจารณาการทำให้เกิดผลของฟังก์ชันนั้น คุณแค่ยเมรับว่ามันทำงนน เนื่องจากคนที่เขียน bullt-in libraries เป็นโปรกกรมที่ดี\n ที่เหมือนกันคือ ถูกต้องเมื่อคุณเรียกฟังก์ชันของคุณเอง ตัวอย่าง ในตอนที่ 5.4 เราเขียนฟังก์ชันที่ัรียกว่า isDiviqible ที่พิจารณา ไม่ว่าอย่างไรก็ตามที่ตัวเลขหนุ่ง ตัวที่ถูกหารลงตัวด้วยอีกตัวเลขหนึ่ง ครั้งหนึ่งเราได้ทำให้เรรแน่ใจแล้วว่าหังก์ชันนี้ถูกต้อง ด้วยการทดาอบและการพิจารณาโค้ด เราสามารถใช้ฟังก์ชันโดยไม่ต้องมองดูโค้ดอีกครัเง\n ความถูกต้องที่เหมือนกันของโปรแกรม recursive เมื่อคุณไปถึง recursive call แทนทีรจะตาม flow of execution คุณควรยอมรับว่า recursive call ทำงานได้ (ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง) และหลังจากนั้นถามตัวคุณเอง “เป็นที่เข้าใจว่าฉันสามารถหา favtorial ของ n -1 ฉันสามารถหา factorial ของ nได้หรือหม่” ในกรณีนี้คุณสามารถทำได้โะยการคูณด้วย n แน่นอน มันแปลกเล็กน้อยที่จะยอมรับว่มฟังป์ชันสามารถที่จะทำงานำด้อย่างถูกต้อง เมื่อคุณไม่ไอ้เขียนมัน นี่เป็นเหตุที่ทำให้มันถูกเรียกว่า leap of faith\n5.7 One more example\n5.7 One more example.\nในตัวอย่นงที่ผ่านมา เราได้ใช้ตัวแปรชั่วคราวมนการขยมยความขั้นตอนและทำให้โค้ดง่ายต่อการ debug มากขึ้น แต่เราสามารประหยัดบรรทัดได้\n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n else:\n return n * factorial(n-1)\n จากนี้ไปเราจะเน้นที่จะใช้รูปแบบที่สั้นกระชับ แต่เราแนะนำให้คุณใช้รูปแบบที่ชัดเจน ในระหว่างที่คุ๖กำลังพัฒนาโค้ด เมื่อมันสามารถทำงานได้ คุณสามารถทำให้มันแย่นขึ้น ถ้าคุณรู้สึกฉลาด\n ำลังจาก factorial ตัวอย่างง่ายทร่สุดของ recursively ที่กำหนดฟังก์ชัน mathematicalคือ Fibonacci ซึ่งมีคำนิยามดังนี้\n bonacci(0) ] 1\n bonacci(1) = 1\n bonacci(n) = bonacci(n - 1) + bonacci(n - 2);\n แปลงเป็น python มันดูเหมือนดังนี้\n def fibonaxci (n(?\n if n == 0 or n == 1:\n return 1\n else:\n return fibonacci(n-1) + fibonacci(n-2)\n ถ้าคุณลองตาม flow of execution ที่นี่ ค่าของ n ที่เล็กมาก แต่ตาม leap of faith ถ้าคุณสมมติว่า ทั้งสอง recursive call ทำงานถูกต้อง แล้วมันชัดเจนที่คุ๊ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องด้วยการเพิ่มมันเข้าด้วยกัน\n5.8 checking type\n5.8 checking typr.\nอะไรจะเกิดขึ้นถ้าเราเรียก factorial และให้argumebt เห็น 1.5\n »> factorial (1.5)\n RuntimeError: Maximum recu4sion depth exceeded\n มันดูเหมือน infinitf recursion แต่มันเป็นแบบนั้นได้อย่างไร มี base-case เมื่อ n==0 ปัญหาคือ ค่าของ n หลีกเลี่ยง base case\n ใน recursive call ครั้งแรก ค่าของ n คือ 0.5 ถัดไปมันเป็น -0.5 จากนี้มีนจะมีค่าน้อยลง แต่จะไม่เป็น 0 \n เรามีอยู่สองทางเลือก เราสามารถลองกล่าวสรุปฟังก์ชัน factorixl ที่ทำงานกับตัวเลขทศนิยม หรือเราสามารถสร้าง factorial ตรวจสอบรูปแบบพารามิเตอร์ของมันเอง ทางเลือกแรกถูกเรียกว่า ฟังก์ชัน gamma และมันห่างไกลขากของะขตของหนังสือเล่มนี้ ดังนั้นเราจะไปยังทางเลือกที่สอง\n เตาสามารถใช้ฟังก์ชัน built-in isinsgance เพื่อยืนยันคว่มถูกต้องของรูปแบบของพารามิเตอร์\n ระหว่างที่เราอยู่ที่ฟังก์ชัน isinstance เราแน่ใจได้ว่าพารามิเตอร์เป๋นบวก\n def factorial (n):\n if not isinstance(n, int):\n print \"Factorial is only defined for integers.ฤ\n return -1\n elif n < 0:\n print \"Factorial us only defined for positive integers.\"\n return -1\n elif n == 0:\n return 1\n else:\n return n * fac5orial(n-1)\n ตอนนี้เรามี 3 baes case อย่างแรกจับทีีไม่เป็น integer อย่างที่สองจับ intdger ที่เป็นลบ ในทั้งสองกรณี โปรแกรมแสดงข้อความ error และ return ค่าพิเศษ -1 เพื่อบ่งบอกว่าบางอย่างผิด\n »> factorial (\"fred\")\n Factorial is only defined for integers.\n -1\n »> factorial (-2)\n Factorial iw only defined for positive integers.\n -1\n ถ้าเรรผ่านการตรวจสอบทั้งสอง ะราจะรู้ว่า n นั้าเป็น integer ที่เป็นบวก และเราสามารถตรวจสอบการสิ้นสุดของ recurcive\n โปรแกรมนี้สาธิตแบบแผนบางครั้งก็เรียกว่า guardian เงื่อนไขสองอย่างแรพทำงานเป็น guardians คอจคุ้มครองโค้ดที่ตามหลังค่าที่อาจเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาด guardians ทำให้มันเป็นไปได้ในความถูกต้องของโค้ด\n5ซ9 Glossary\n5.9 Glossary.\nfruitful function: A function that yields a return value.\n return value: The value provided as the result of a function call.\n tempoeary variable: A variable used to store an intermediate va.ue in a complex calculation.\n dead code: Part of a program that cxn never be executed, often because it appears after a return statement.\n None: A special Python value returned by functions that have no return statement, or a return statement without an argument.\n incremdntak development: A program d2velopment plan intended to avoid debugging by adding and testing only a small amount of code at a time.\n scaffolding: Code that is used duting program development but is not part of the dinal version.\n g7ardian: A condition that checks for and handles circumstances that might cause an wrror.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35692\n 2019-09-24T03:47:27Z\n \n Geonuch\n \n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 5 Fruitful functions\n5.1 Return values\nบทที่ 5 Fruitful functions.\n5.1 Return values.\n5.1 Return values\n ฟังก์ชัน built-in บางตัวที่เราใช้ เช่น ฟังก์ชัน math จะได้ผลลัพธ์ออกมา การเรียกฟังก์ชันโดยการสร้างค่าใหม่ โดยปกติแล้วจะกำหนดให้เป็นตัวแปรหรือใช้ส่วนของ expression\ne = math.exp(1.0)\nheight = radius * math.sin(angle)\n แต่จนถึงตอนนี้ ไม่มีฟังก์ชันที่เราได้เขียนขึ้นและมีการ return ค่า\n ในบทนี้เราตั้งใจที่จะเขียนฟังก์ชันที่มีการ return ค่า ซึ่งเราเรียกว่า fruitful functions ตัวอย่างแรกคือ area ซึ่ง return ค่าของพื้นที่ของวงกลมออกมา โดยให้ค่ารัศมีมา\n import math\n def area(radius):\n temp = math.pi * radius**2\n return temp\n พวกเราได้เคยเห็น return statement มาก่อนแต่ใน fruitful function การ return statement รวมถึงการ return value ด้วย statement นี้ หมายความว่า return ค่าทันทีทันใดจากฟังก์ชันนี้และมีการ return value ตาม expression โดย expression ไม่มีกฎเกณฑ์และอยากที่จะอธิบาย ดังนั้นเราจึงควรเขียนฟังก์ชันนี้ให้ได้ใจความชัดเจน\ndef area(radius):\n return math.pi * radius**2\n ในอีกด้านหนึ่ง temporary variables เช่น temp บ่อยครั้งที่จะช่วยให้การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรมให้ง่ายขึ้น\n บางครั้งสามารถใช้ประโยชน์กับ return statement ที่มากกว่า 1 โดยใช้ในแต่ละ brunch ของเงื่อนไข\n def absoluteValue(x):\n if x < 0:\n return -x\n else:\n return x\n ตั้งแต่ return statement เหล่านี้อยู่ในเงื่อนไขทางเลือก เพียงต้องการจะ execute ก็จะถูก execute และฟังก์ชันจะสิ้นสุดลงโดยปราศจากการ execute ใดๆ ตามลำดับ statement\n โค้ดปรากฏหลังจาก return statement หรือที่ใดๆ ที่ flow of execution ไม่เคยเข้าถึง ถูกเรียกว่า dead code\n ใน fruitful function มันเป็นความคิดที่ดีที่ทำให้แน่ใจว่าทุกๆ ทางเป็นไปได้ ถึงแม้โปรแกรมได้รับ return statement ตัวอย่างเช่น\n def absoluteValue(x):\n if x < 0:\n return -x\n elif x > 0:\n return x\n โปรแกรมนี้ไม่ถูกต้อง เพราะถ้า x เกิดเป็น 0 ไม่มีเงื่อนไขที่เป็นจริง และฟังก์ชันจะจบลงโดยไม่มีการ return statement ในลักษณะนี้ return value คือค่าพิเศษ เรียกว่า None\n »> print absoluteValue(0)\n None\n5.2 Program development\n5.2 Program development.\nถึงจุดนี้คุณควรดูฟังก์ชันทั้งหมดและบอกว่าอะไรที่ต้องทำ ถ้าคุณกำลังทำแบบฝึกหัด คุณต้องเขียนฟังก์ชันเล็กๆ เมื่อคุณเขียนฟังก์ชันใหญ่ คุณอาจจะเริ่มรู้ว่ามันยากขึ้น โดยเฉพาะเวลา runtime และ semantic error\n การจัดการกับโปรแกรมที่ซับซ้อนมากขึ้น พวกเราตั้งใจที่จะแนะนำเทคนิค ซึ่งเรียกว่า incremental development เป้าหมายของ incremental development คือ หลีกเลี่ยงการแก้ไขจุดบกพร่องที่ยาวนาน โดยเพิ่มโค้ดเล็กๆ เข้าไปเพื่อทดสอบ ณ เวลาหนึ่ง\n เช่นตัวอย่าง สมมติว่าคุณต้องการหาค่าระยะทางระหว่าง จุดสองจุด โดยมีพิกัด คือ (x1,y1) และ (x2,y2) โดยสูตรระยะทางคือ\nขั้นแรกให้พิจารณาว่า ฟังก์ชัน distance ใน python ควรมีลักษณะอย่างไร อะไรคือ input (parameters) และอะไรคือ output (return value)\n ใน case นี้ จุดสองจุดคือ input ซึ่งสามารถแทนโดยใช้ 4 พารามิเตอร์ return value คือ ระยะทาง ซึ่งเป็นค่า floating-point\n เมื่อเรียบร้อยแล้วเราสามารถเขียนฟังก์ชันคร่าวๆ ได้ดังนี้\n def distance(x1, y1, x2, y2):\n return 0.0\n เห็นอย่างชัดเจนว่าฟังก์ชันนี้ไม่มีการคำนวณระยะทาง มันจะได้ค่าเป็น 0 เสมอ แต่เป็น syntac ที่ถูกต้อง และมันจะ run หมายถึงว่าพวกเราสามารถทดสอบมันก่อนที่เราจะเพิ่มความซับซ้อนมากขึ้นไป\n การทดสอบฟังก์ชันใหม่ เราเรียกมันโดยใส่ค่าตัวอย่างลงไป\n »> distance(1, 2, 4, 6)\n 0.0\n เมื่อเราเลือกค่าเหล่านี้ ระยะทางแนวนอนคือ 3 และระยะทางแนวตั้ง คือ 4 ผลลัพธ์ที่ได้คือ 5 เมื่อทดสอบฟังก์ชันแล้ว มันเป็นประโยชน์ที่รู้คำตอบที่ถูกต้อง\n ตรงจุดนี้เราแน่ใจว่า syntac ของฟังก์ชันถูกต้อง และเราสามารถเพิ่มโค้ดเข้าไปได้อีก หลังจากที่เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นเราจะทำการทดสอบฟังก์ชันอีกครั้ง ถ้าเกิด error ตรงจุดใด พวกเรารู้ว่าต้องเป็นบรรทัดสุดท้ายที่ได้เพิ่มเข้าไป\n ในการคำนวณด้านตรรกะ ขั้นตอนแรกคือ หาค่าความต่างของ x2-x1 และ y2-y1 เราเก็บค่าเหล่านี้ไว้ใน temporary variables ชื่อ dx และ dy และพิมพ์ค่าพวกมัน\n def distance(x1, y1, x2, y2):\ndx = x2 - x1\ndy = y2 - y1\nprint \"dx is\", dx\nprint \"dy is\", dy\nreturn 0.0\n ถ้าฟังก์ชันกำลังทำงาน ผลลัพธ์ที่ได้ควรเป็น 3 และ 4 เรารู้ว่าฟังก์ชันนี้ได้รับค่าพารามิเตอร์ที่ถูกต้องและการคำนวณลำดับแรกถูกต้อง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น ก็มีเพียง 2-3 บรรทัดที่ต้องตรวจสอบ\n ถัดไปเราคำนวณผลบวกของกำลังสองของ dx และ dy\n def distance(x1, y1, x2, y2):\n dx = x2 - x1\n dy = y2 - y1\n dsquared = dx**2 + dy**2\n print \"dsquared is: \", dsquared\n return 0.0\n สังเกตว่าเราเอา print statement ที่เราเขียนในขั้นตอนก่อนหน้านี้ออกไป ลักษณะโค้ดแบบนี้เรียกว่า scaffolding เพราะมันช่วยเหลือในการสร้างโปรแกรม แต่ไม่ใช่ส่วนของผลขั้นสุดท้าย\n เราควร run โปรแกรมตอนนี้ และ ตรวจสอบผลลัพธ์ ซึ่งควรจะเป็น 25\n ท้ายสุด ถ้าเรา import module ของ math เขาไป เราสามารถใช้ฟังก์ชัน sqrt เพื่อคำนวณและ return ผลลัพธ์ออกมา\n def distance(x1, y1, x2, y2):\n dx = x2 - x1\n dy = y2 - y1\n dsquared = dx**2 + dy**2\n result = math.sqrt(dsquared)\n return result\n ถ้าการทำงานถูกต้อง คุณจะได้ผลลัพธ์ออกมา ไม่เช่นนั้น คุณอาจจะต้องการพิมพ์ค่าของผลลัพธ์ก่อนจะ retuen statement\n เมื่อคุณเริ่มไปไกลควรจะเพิ่มโค้ดเพียง 1 หรือ 2 บรรทัดเท่านั้น เมื่อคุณได้รับประสบการณ์มากขึ้น คุณอาจจะหาวิธีการเขียนด้วยตัวคุณเอง และแก้ไขจุดบกพร่องที่ใหญ่กว่าเดิมได้ เช่นเดียวกันกระบวนการ incremental development ช่วยประหยัดเวลาในการแก้ไขจุดบกพร่องได้\n มุมมองทีสำคัญของกระบวนการนี้คือ\n - เมื่อเริ่มเขียนโปรแกรม ควรเขียนเพิ่มไปทีละน้อย ถ้าเกิด error ที่จุดใด เราจะสามารถรู้ได้แน่ชัดว่าเกิดขั้นที่จุดไหน\n - ใช้ temporary variables เพื่อเก็บค่าตัวกลางไว้ ดังนั้นคุณสามารถแสดงผลออกมาและตรวจสอบมัน\n - ทันทีที่โปรแกรมกำลังทำงาน คุณอาจต้องการลบบางส่วนของ scaffolding หรือ การรวม statement หลายๆอันให้เป็นอันเดียวแล้วรวมกับ expresion อีกที แต่ไม่ควรทำให้โปรแกรมอ่านยาก\n5.3 Composition\n5.3 Composition.\nอย่างที่คุณควรคาดไว้ในตอนนี้ คุณสามารถเรียกหนึ่งฟังก์ชันจากในฟังก์ชันอื่นได้ ความสามารถนี้เรียกว่า composition\n ดังเช่นตัวอย่าง เราจะเขียนฟังก์ชันที่มี 2 ประเด็น ศูนย์กลางของฟังก์ชันที่ชี้ไปยังเส้นรอบวง และคำนวณพื้นที่ของวงกลม\n สมมติให้จุดศูนย์กลางถูกเก็บในตัวแปร xc และ yc และจุดเส้นรอบวงเก็บใน xp และ yp ขั้นแรกคือ หารัศมีของวงกลม ซึ่งคือระยะทางระหว่างจุดสองจุด โชคดีที่มีฟังก์ชัน distance ที่ทำไว้แล้ว\n radius = distance(xc, yc, xp, yp)\n ขั้นที่สองคือ หาพื้นที่ของวงกลมซึ่งมีรัศมี และ return ค่า\n result = area(radius)\n return result\n นำมารวมกันในฟังก์ชันเราจะได้\n def area2(xc, yc, xp, yp):\n radius = distance(xc, yc, xp, yp)\n result = area(radius)\n return result\n เราเรียกฟังก์ชันนี้ว่า area2 เพื่อแยกออกจากฟังก์ชัน area ที่ถูกอ้างอิงถึงก่อนหน้านี้ หนึ่งฟังก์ชันที่ได้ให้ชื่ออยู่ใน module ที่ได้ให้ไว้เท่านั้น\n ตัวแปรชั่วคราว radius และ result มีประโยชน์ในการพัฒนาและการแก้ไขข้อบกพร่อง แต่ทันทีที่โปรแกรมกำลังทำงาน เราสามารถทำให้มันรัดกุมโดยการเรียบเรียงฟังก์ชันที่ถูกเรียก\n def area2(xc, yc, xp, yp):\n return area(distance(xc, yc, xp, yp))\n5.4 Boolean functions\n5.4 Boolean functions.\nฟังก์ชันสามารถ return ค่า boolean ซึ่งสะดวกในการซ่อนการทดสอบที่ซับซ้อนภายในฟังก์ชัน ตัวอย่าง\n def isDivisible(x, y):\n if x % y == 0:\n return True\n else:\n return False\n ชื่อของฟังก์ชัน คือ isDivisible มันเป็นธรรมดาที่จะให้ชื่อของฟังก์ชัน boolean ซึ่งดูเหมือนคำถาม yes/no โดย isDivisible ให้ค่า true หรือไม่ก็ false เพื่อบ่งชี้ว่า x หารด้วย y ลงตัวหรือไม่\n เราสามารถทำให้ฟังก์ชันนี้รัดกุมขึ้น ด้วยการนำข้อดีของข้อเท็จจริงที่เงื่อนไขของ if statement โดยตัวมันเป็น boolean expression เราสามารถ return มันโดยตรง หลีกเลี่ยง if statement ทั้งหมด\n def isDivisible(x, y):\n return x % y == 0\n ส่วนนี้แสดงถึงฟังก์ชันใหม่\n »> isDivisible(6, 4)\n False\n »> isDivisible(6, 3)\n True\n ฟังก์ชัน Boolean ถูกใช้บ่อยใน statement เงื่อนไข\n if isDivisible(x, y):\n print \"x is divisible by y\"\n else:\n print \"x is not divisible by y\"\n มันอาจเป็นการทดสอบที่จะเขียนบางสิ่ง เช่น\n if isDivisible(x, y) == True:\n แต่การเปรียบเทียบแบบพิเศษไม่จำเป็น\n5.5 More recursion\n5.5 More recursion.\nถึงตอนนี้คุณได้ยินเพียง subset ขนาดเล็กของ python แต่คุณอาจสนใจที่จะรู้ว่า subset นี้คือ complete programming language ซึ่งหมายถึงสิ่งใดๆ ที่สามารถคำนวณ สามารถแสดงออกในภาษานี้ โปรแกรมใดที่เคยเขียนสามารถนำมาเขียนขึ้นใหม่โดยใช้เพียงรูปแบบของภาษาที่คุณได้เรียนถึงตอนนี้\n การให้สิทธินั้นคือ แบบฝึกหัดที่สำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ โดยหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์คนแรก (มีการถกเถียงว่าเป็นนักคณิตศาสตร์แต่นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เริ่มจากการเป็นนักคณิตศาสตร์) ดังนั้น มันถูกรู้จากวิทยานิพนธ์ของ Turing ถ้าคุณได้รับแนวทางในทฤษฎีของการคำนวณ คุณมีโอกาสที่จะเห็นการพิสูจน์\n ให้ความคิดของคุณสามารถทำอะไรกับเครื่องมือที่คุณได้เรียนมาจนถึงตอนนี้ เราจะหาค่าฟังก์ชัน recursively defined mathematical ส่วนน้อย โดย recursive definition จะเหมือนกับ circular definition ในความรู้สึก definition บรรจุการอ้างอิงในสิ่งที่ถูกระบุ circular definition ไม่ถูกใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง\nFrabjuous : คำขยายที่ใช้อธิบายบางสิ่งคือ frabjuous\n ถ้าคุณเห็น definition ในพจนานุกรม คุณอาจรู้สึกรำคาญ ในทางตรงกันข้าม ถ้าคุณหา definition ของฟังก์ชัน factorial ในคณิตศาสตร์ คุณอาจได้บางสิ่งเช่นนี้\n 0! = 1\n n! = n(n ¡ 1)!\n Definition นี้พูดถึง factorial ของ 0 คือ 1 และ factorial ของค่าใดๆ คือ n คูณด้วย factorial ของ n – 1\n ดังนั้น 3! คือ 3คูณ 2! ซึ่งคือ 2 คูณ 1! ซึ่งคือ 1 คูณ 0 ! การวางทั้งหมดเข้าด้วยกัน 3! เท่ากับ 3 คูณ 2 คูณ 1 คูณ 1 ซึ่งคือ 6\n ถ้าคุณสามรถเขียนบางสิ่งของ recursive definition คุณสามารถเขียนโปแกรม python ในการหาค่ามันได้อย่างปกติ ขั้นตอนแรกคือ ตัดสินใจว่าพารามิเตอร์ของฟังก์ชันคืออะไร คุณควรตัดสินใจว่า พารามิเตอร์รับค่าตัวเดียว\n def factorial(n):\n ถ้า agrument เกิดเป็น 0 ทั้งหมดเราต้องทำให้ return 1\n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n และนี้คือส่วนที่สนใจ พวกเราต้องทำการเรียก recursive ที่จะหา factorial ของ n – 1 และคูณมันด้วย n \n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n else:\n recurse = factorial(n-1)\n result = n * recurse\n return result\n flow of execution สำหรับโปรแกรมนี้เหมือนกับ flow of countdown ใน section 4.9 ถ้าพวกเราเรียก factorial มีค่า 3\n ตั้งแต่ 3 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1 \n ตั้งแต่ 2 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1\n ตั้งแต่ 1 ไม่ใช่ 0 เรารับค่าส่วนที่สองและคำควณ factorial ของ n -1\n ตั้งแต่ 0 คือ 0 เรารับค่าในส่วนแรก และ return ค่า 1 ปราศจากการเรียก recursive ใดๆ มากกว่านี้\n Return value (1) คือ คูณด้วย n ซึ่งคือ 1 และผลลัพธ์ return ค่าออกมา\n Return value (1) คือ คูณด้วย n ซึ่งคือ 2 และผลลัพธ์ return ค่าออกมา\n Return value (2) คือ คูณด้วย n ซึ่งคือ 3 และผลลัพธ์ 6 กลายเป็น return value ของฟังก์ชันที่ถูกเรียกตอนเริ่มกระบวนการทั้งหมด\n นี้คือ stack diagram ซึ่งดูเหมือนการเรียงลำดับของการเรียกฟังก์ชัน\n Return value ถูกแสดงโดยผ่านการดันจาก stack ในแต่ละกรอบ return value คือค่าผลลัพธ์ ซึ่งคือ ผลของ n และ recurse\n สังเกตว่าในกรอบสุดท้าย local variables ซึ่งคือ recurse และ result ไม่คงอยู่ เพราะส่วนที่สร้างพวกมันไม่ได้ execute\n5.6 Leap of faith\n5.6 Leap of faith.\nที่จะกล่าวต่อไป flow of execution เป็นทางหนึ่งที่จะอ่านโปรแกรม แต่มันสามารถซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว และทางเลือกที่เราเรียกว่า leap of faith เมื่อคุณมาถึง function call แทนที่จะตาม flow of execution คุณยอมรับว่าฟังก์ชันทำงานอย่างถูกต้อง และแสดงค่าอย่างเหมาะสม\n ที่จริงคุณกำลังฝึกซ้อม leap of faith เมื่อคุณใช้ฟังก์ชัน built-in เมื่อคุณเรียก math.cos หรือ math.exp คุณไม่ได้พิจารณาการทำให้เกิดผลของฟังก์ชันนั้น คุณแค่ยอมรับว่ามันทำงาน เนื่องจากคนที่เขียน built-in libraries เป็นโปรแกรมที่ดี\n ที่เหมือนกันคือ ถูกต้องเมื่อคุณเรียกฟังก์ชันของคุณเอง ตัวอย่าง ในตอนที่ 5.4 เราเขียนฟังก์ชันที่เรียกว่า isDivisible ที่พิจารณา ไม่ว่าอย่างไรก็ตามที่ตัวเลขหนึ่ง ตัวที่ถูกหารลงตัวด้วยอีกตัวเลขหนึ่ง ครั้งหนึ่งเราได้ทำให้เราแน่ใจแล้วว่าฟังก์ชันนี้ถูกต้อง ด้วยการทดสอบและการพิจารณาโค้ด เราสามารถใช้ฟังก์ชันโดยไม่ต้องมองดูโค้ดอีกครั้ง\n ความถูกต้องที่เหมือนกันของโปรแกรม recursive เมื่อคุณไปถึง recursive call แทนที่จะตาม flow of execution คุณควรยอมรับว่า recursive call ทำงานได้ (ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง) และหลังจากนั้นถามตัวคุณเอง “เป็นที่เข้าใจว่าฉันสามารถหา factorial ของ n -1 ฉันสามารถหา factorial ของ nได้หรือไม่” ในกรณีนี้คุณสามารถทำได้โดยการคูณด้วย n แน่นอน มันแปลกเล็กน้อยที่จะยอมรับว่าฟังก์ชันสามารถที่จะทำงานได้อย่างถูกต้อง เมื่อคุณไม่ได้เขียนมัน นี่เป็นเหตุที่ทำให้มันถูกเรียกว่า leap of faith\n5.7 One more example\n5.7 One more example.\nในตัวอย่างที่ผ่านมา เราได้ใช้ตัวแปรชั่วคราวในการขยายความขั้นตอนและทำให้โค้ดง่ายต่อการ debug มากขึ้น แต่เราสามารประหยัดบรรทัดได้\n def factorial(n):\n if n == 0:\n return 1\n else:\n return n * factorial(n-1)\n จากนี้ไปเราจะเน้นที่จะใช้รูปแบบที่สั้นกระชับ แต่เราแนะนำให้คุณใช้รูปแบบที่ชัดเจน ในระหว่างที่คุณกำลังพัฒนาโค้ด เมื่อมันสามารถทำงานได้ คุณสามารถทำให้มันแน่นขึ้น ถ้าคุณรู้สึกฉลาด\n หลังจาก factorial ตัวอย่างง่ายที่สุดของ recursively ที่กำหนดฟังก์ชัน mathematicalคือ Fibonacci ซึ่งมีคำนิยามดังนี้\n bonacci(0) = 1\n bonacci(1) = 1\n bonacci(n) = bonacci(n - 1) + bonacci(n - 2);\n แปลงเป็น python มันดูเหมือนดังนี้\n def fibonacci (n):\n if n == 0 or n == 1:\n return 1\n else:\n return fibonacci(n-1) + fibonacci(n-2)\n ถ้าคุณลองตาม flow of execution ที่นี่ ค่าของ n ที่เล็กมาก แต่ตาม leap of faith ถ้าคุณสมมติว่า ทั้งสอง recursive call ทำงานถูกต้อง แล้วมันชัดเจนที่คุณได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องด้วยการเพิ่มมันเข้าด้วยกัน\n5.8 checking type\n5.8 checking type.\nอะไรจะเกิดขึ้นถ้าเราเรียก factorial และให้argument เป็น 1.5\n »> factorial (1.5)\n RuntimeError: Maximum recursion depth exceeded\n มันดูเหมือน infinite recursion แต่มันเป็นแบบนั้นได้อย่างไร มี base-case เมื่อ n==0 ปัญหาคือ ค่าของ n หลีกเลี่ยง base case\n ใน recursive call ครั้งแรก ค่าของ n คือ 0.5 ถัดไปมันเป็น -0.5 จากนี้มันจะมีค่าน้อยลง แต่จะไม่เป็น 0 \n เรามีอยู่สองทางเลือก เราสามารถลองกล่าวสรุปฟังก์ชัน factorial ที่ทำงานกับตัวเลขทศนิยม หรือเราสามารถสร้าง factorial ตรวจสอบรูปแบบพารามิเตอร์ของมันเอง ทางเลือกแรกถูกเรียกว่า ฟังก์ชัน gamma และมันห่างไกลจากของเขตของหนังสือเล่มนี้ ดังนั้นเราจะไปยังทางเลือกที่สอง\n เราสามารถใช้ฟังก์ชัน built-in isinstance เพื่อยืนยันความถูกต้องของรูปแบบของพารามิเตอร์\n ระหว่างที่เราอยู่ที่ฟังก์ชัน isinstance เราแน่ใจได้ว่าพารามิเตอร์เป็นบวก\n def factorial (n):\n if not isinstance(n, int):\n print \"Factorial is only defined for integers.\"\n return -1\n elif n < 0:\n print \"Factorial is only defined for positive integers.\"\n return -1\n elif n == 0:\n return 1\n else:\n return n * factorial(n-1)\n ตอนนี้เรามี 3 baes case อย่างแรกจับที่ไม่เป็น integer อย่างที่สองจับ integer ที่เป็นลบ ในทั้งสองกรณี โปรแกรมแสดงข้อความ error และ return ค่าพิเศษ -1 เพื่อบ่งบอกว่าบางอย่างผิด\n »> factorial (\"fred\")\n Factorial is only defined for integers.\n -1\n »> factorial (-2)\n Factorial is only defined for positive integers.\n -1\n ถ้าเราผ่านการตรวจสอบทั้งสอง เราจะรู้ว่า n นั้นเป็น integer ที่เป็นบวก และเราสามารถตรวจสอบการสิ้นสุดของ recursive\n โปรแกรมนี้สาธิตแบบแผนบางครั้งก็เรียกว่า guardian เงื่อนไขสองอย่างแรกทำงานเป็น guardians คอยคุ้มครองโค้ดที่ตามหลังค่าที่อาจเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาด guardians ทำให้มันเป็นไปได้ในความถูกต้องของโค้ด\n5.9 Glossary\n5.9 Glossary.\nfruitful function: A function that yields a return value.\n return value: The value provided as the result of a function call.\n temporary variable: A variable used to store an intermediate value in a complex calculation.\n dead code: Part of a program that can never be executed, often because it appears after a return statement.\n None: A special Python value returned by functions that have no return statement, or a return statement without an argument.\n incremental development: A program development plan intended to avoid debugging by adding and testing only a small amount of code at a time.\n scaffolding: Code that is used during program development but is not part of the final version.\n guardian: A condition that checks for and handles circumstances that might cause an error.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 37097\n 2019-09-24T03:50:43Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 6 Iteration\n6.1 Multiple assifnment\nบทที่ 6 Iteratlon.\nu.1 Multiple assignment.\nคุณอาจจะเคยเจอ มันถูกต้องในการกำหนดค่าที่มากกว่า 1 ค่า ให้กับตัวแปรตะวเดียวกัน การกำหนดค่าใหม่ทำฝห้ตัวแปรท้่มีอยูรอ้างถึงค่าใหม่ที่ได้กำหนด (และหยุดอ้รงอิงภึงค่าตัวเก่า)\n bruce = 5\n print bruce,\n bruce = 7\n print bruce\n ผลทั่ออกมาของโปรแกรมนี้คือ 5 7 เพราะว่าในครั้งแรกที่ปริ้น bruce ค่าของมันคือ 5 และในครั้งที่สอง ค่าของมันคือ 7 คอมม่า(,) ที่ตามหลัง print statement ในครั้งแรกหยุดการยึ้นบรรทัดใหม่หลังจากแสดงผล ซึ่งเป็นว่าทำไมจึงมีผลของทั้ง 2 print statement ปรากฏบนบรรทัดเดียวกัน.\nนี่คือ multiple assignment ใน state diagram:\nซึ่ง multiple aasignment โดยเฉพาะมันมีความสำคัญในการ ยำแนกความแตกต่างระหว่าง การกำหนดค่าใป้กับตัวแปี และ ชุดคำสั่งที่แสดงความเท่ากัน เพราะว่า Python ใช้เครื่องหมาย (=) สำหรัวการกำหนดค่า มันจะพยายามที่จะแปล statement อย่าง a = b เป็น statement ของการเท่ากัน แต่มันไม่ใช่!\n อย่างแรก การเท่ากัน คือ การเปลี่ยนที่โดยผลลัพธ์ไม่เปลี่ยนแปลง และ การกำนหพค่านั้นไม่ใช่ ตัวอย่าง ในท่างคณิตศาสตร์ ถ้า a = 7 ฉะนั้น 7 = a. แต่ใน Python statement ที่ a = 7 นั้นถูปต้อง และ 7 = a นั้นผิด\n นอกจากนี้ ในทางคณิตศาสตรฺ statement ของกมรเท่าเทียมกันนั้นจะถูกต้องเสมอ ถ้าตอนนี้ a = b ฉะนั้น a จะเท่ากันกับ b เสมอ ใน Python, statement ของการกำหนดค่าให้กับคัวแปร สามารถทำให้ตัวแปรสองตับมีค่าเท่ากันได่ แต่ไม่จำอป็นต้องเป็นแบบนั้นเสมอไป\n a = 5\n6.2 The while statement\n6.2 The while statement.\nคอมพิวเตอร์มักจะถูกใช้กับงานซึ่งเกิดขึ้นซ้ำให้เป็นไปโดยอัตโรมัติ กระทำซ้ำกับงานที่เหมือนหรือคล้ายกันโดยปราศจากข้อผิดพลาดซึ่งเป็นสิ่งที่คอมพิวเตอร์สามารถทำได้ดีและมนุษย์ทำได้ไม่ดีพอ\n เราได้เห็นโปรแกรม 2 โปรแกรมกันไปแล้ว nLines และ countd8wn ซึีงใช้การเรียกตัวเองซ้ำเพื่อกระืำซ้ำ ซึ่งเป็นเช่นเดีจวกับที่เรียกว่า Iteration(การดำเนินการฐ้ำของชุดของคำสั่งโดยการใช้ recursive function dall หรือ loop) เนื่องจาด Iteration เป็นอะไรที่ธรรมดา Python ได้จัดสร่ภาษาที่มีลักษณะเฉพาพไว้หลากหลายซึ่งจะ่ำให้มันง่ายขึ้น ลักษณะเฉพาะอย่างแรกที่เรากำลังจะดูกันก็คือ while statement\n นี่คือ countdown ที่ใช้ wnile ststement:\n def countdowg(n):\n while n > 0:\n print n\n n = n-1\n print “Blastogf!”\n หลังจากที่เราทำการย้ายการเรียกซ้ำออก ฟังก์ชั่นนี้ก็จะไม่มีการเรียกตัวิองซ้ำ\nคุณสามารถที่จะอ่าน whi;e statement เช่นเดียวกันว่าเป็นภาษาอังกฤษ มันหมายความว่า “ขณะที่ n มากกว่า 0 ให้ทำการแสดงค่าของ n และหลังจากนัืนก็ทำการลดค่าของ n ลง 1 โดยทำอย่างต่อเนื่อง เมื่อลดลงถึง 0 ให้แสดงข้อความ Blastoff!”\n อย่างเป็นทางการมากกว่นนี้ นี่เป็นการไหลของการดำเนินการสำหรับ while statement:\n1. ประเมิลผลของเงื่อไข ยอมรับว่าเป็น 0 หรืแ 1\n2. ุ้าเงื่อนไขเป็น false (0) อิกจาก while stagemenr และทำการดำเนินการกับ statement ถัดไป\n3. ถ้าเงื่อนไขเผ็น True (1) ทำการดำเนินการแต่ละ statement ใน bocy แล้วหลังจากนั้นก็ย้อนกลับไปยังขั้นตอนที่ 1\n body ประกอบด้วย statement ทั้งหมดที่อยู่ใต้ header ซึ่งทำการย่อหน้าเหมือนกัน.\nการไหลของโปรแกรมในลักษณะนี้เรียกว่า loop เนื่องจากในขั้นตอนที่ 3 มีการวนกลับไปยังขุดเรอ่มอีกครั่ง ข้อสังเกต ถ้าเงื่อนไขเป็น false ในครั้งแรกที่ผ่านเข้าไปใน loop, statement ภายใน loop จะไม่ได้ถูกดำเนินการ\n body ของ loop ควรเปลี่ยนค่าของตัวแปร 1 ตัวหรือมากกว่านั้น ดังนั้นในที่สุดเงื่อนไขจะกลายมาเป็น false และ loop จะถูกยกเลิก. มิฉะนั้น loop ก็จะทำซ้ำกันตลอด_ป ซึ่งจะเรียกว่า infinite loop แหล่งท่่ไม่สอ้นสุดของความลื่นรมย์สำหรับนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ก็คือการสังเกตคำแนะนำบนขวดแชมพู, “Lather, tins3, repeat,” ซึ่งเป็น invinite loop.\nในกรณีของ countdown เราสามารถพิสูจน์ว่า loop ยุติ เพราะว่าเรารู้ว่าค่า n นั้นมีขอบเขต แล้วก็ได้เห็นว่าค่า n นั้นมีค่าน้อยลงในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ในที่สุดก็จะถึง 0 ในกรณีอื่นๆ มันไม่ง่ายที่จะบอกได้:\n def sequende(n):\n while n != 1:\n print n,\n if n%2 == 0: # n is even (เป็นจำนวนคู่)\n n = n/2 \n flse: E n is odd (เป็นนำนวนคี่)\n n = n*3+1\n เงื่อนไขส_หรับ loop นีเค่อ n != 1(n ไม่เท่ากับ 1) ดังนั้น loop จะวนไปเรื่อยๆจนค่รของ n เป็น 1 ซึ่งจะทำให้เงื่อนไขเป็น false\n แต่ละคร้้งที่ผ่านเข้าไปใน loop โปรแกรมจะให้ผลลัภธ์ค่า n และกลังจากนุ้นก็ทำหารเช็คว่ามันจะเป็น even หรือ odd. ถ้าเป็น even ค่าของ n จะถูกหารด้วย 2. ถ้าเป็น odd ค่าของ n จะถูกแทนที่ด้วย n*3+1 ตัวอย่าง ถ้าค่าเริ่มร้นเป็น 3 ลำดับของผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นดังนี้ 3, 10, 5, 16, 8, 4, 2, 1\n n ฝนบางครั้งนั้นเพิ่มขึ้นและบางคระ้งก็ลกลง ไม่สามารถาี่จะตรวจสอบได้อย่างชัดเจนเลยว่า n จะมีค่ามาถึง 1 หรือ โปรแกรสจะถูกยุติ สำหรับเฉพาะค่าบางตัวของ n เราสามารถตรวจสอบการยุติได้ ตัวอย่าง ถ้าค่าเริ่มต้นเป็นกำลังของสอง แล้วค่าของ n จะเป็น even ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop จนมันกลายเป็น 1 ตัวอย่างที่แล้วจบลงด้วยลำดับทั่ต่อเนื่องกัน เริ่มต้นแ้วย 16 โดยเฉพาะค่าที่ข้างต้น เป็นคำถามที่น่าสนใจว่าเราจะสามารถตรวจสอบว่าโปรแกรมจะถูกยุตินำหรับทุกค่าของ n จนเดี๋ยวน่้ยัง_ม่มัใครที่สาสสรถตรวจสอบมันได้หรือตรวจสอบว่ามันผิดๆด้!\n b = a # a และ b มีค้าเท่ากัน \n a = 3 # a และ b ไม่เท่ากันอีกต่อไป\n บรรทัดที่ 3 เปลี่ยนค่าของ a แต่จะไม่ทำให้ค่าของ b เปลี่ยน ดังนั้นจึงไม่เท่ากันอีกต่อไป (ในบางภาษา, เครื่องหมายที่แตกต่าง ถูกใช้สำหรับเป็นการกำหนดค่า เช่น <- หรือ := เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน.)\n ถึงแม้ว่า multiple assignment เป็นประโยชน์บ่อยๆ คุณควรใช้มันอย่างระมัดระวัง ถ้มค่าของตัวแปรเปลี่ยนบ่อย/ มันจะทำให้โค๊ดนั้นอ่านยากและยังยากต่อการแกัไขข้อผิดพลาด\n6.3 Tables\n6.3 Tables.\nข้อเีอีกอย่างหนึ่งของ loop ก็คือการสร้างข้อมูลที่เป็นตาราง ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะมี คนก็ทำการคำนวณ คณิตศาสตร์ลอการิทึม sines และ cosines และทำการคำนวณอื่นๆทางคณิตศาสตร์ด้วยมือ เพื่อจะืำให้มันง่ายขึ้น เมื่อครั้งที่คอมพิวเตอร์ไพ้มีขึ้น การตอบสยองในครั้งแรกคือ “มันเยี่ยมมาก! เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในำารสร้างตาราง และมันก็ทำได้ดีไม่มีข้อผิดพลาด” มันกลายเป็นจริง (โดยส่วนใหญ่) แต่ก็ยังไม่ค่อยรอบคอบ หลังจากนั้นไมีนานคอมภิวเตอร์และเครื่องคิดเลขได้แพร่หลายเป็นผลทำให้ ตาราง กลายเป็นสิ่งที่ล้าสมัย\n สำหรับการดำเนินการบางอย่างเกือบทั้งหมด คอมพิวเตอร์ใช้ตารางของค่าในการหาค่าประมาณและหลังจากนั้นพระทำการปรับปรุงการแระมาณนั้น\n แมีวทา ตาราง log จะไม่ใีประโยชน์อย่าลที่มันเคยเป็นมนก่อน มันก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีขอฝ iteration โปรแกรมต่อไปนี้แสดงผลลัพธ์เป็นลำดับของค่าในแถวท่งด้านซ้ายมือ และค่า logarithm จองค่านั้นๆในแพวดัานขวามือ\n x = 1.0\n while x < 10.0:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)\n x = x + 1.0\n sting ‘\\t’ ทำหน้าที่แทน tab.\n characters และ stings ที่ถูกแสดงบนจอ เครื่องหมายซึ่งมองไม่เห็นนั้นเรียกว่า cursor ควบคุมเส้นทางบองตัวอักษรที่จะปรากฎต่อไป. หลังจาก print statejent โดยปรกติ cursor จะไปเริ่มต้นที่บรรทัดใหม่\n tab จะย้าย cursor ไปยังด้านขวากระทั่งถึงจุดที่ tab หยุด Tabd มีประโยชน์ สำหรับการสร้่งแถวของเนื้อหาที่เรียงกัน อย่างในผลลัพธ์ของโปรแกรมที่ได้กล่าวมาข้างต้น:\n 1.0 0.0\n 2.0 0.69314718056\n 3.0 1.09861228867\n 4.0 1.28629436112\n 5.0 1.60943791243\n 6.0 1.79175946923\n 7.0 1.94591014906\n 8.0 2.07944154168\n 9.0 2.19722457734\n ถ้าค่าเหล่านี้ดูเหมือนว่าแปลกๆ จำไว้ว่า การทำงานของ log นั้นใช้ฐาน e เมื่อครั้งกำลับของสอง มีความสำคัญใน วิทยาฬาสตร์คอมพิวเตอร์ บ่อจครั้งที่ัราต้องการที่จะหาค่า logarithm กับ ความสัมพันธ์ของฐาน 2 ในการทำเช่นนั้น เราสามารถใช้สูตรพังนี้:\nเปลี่ยนชุดคำสั่งแสดงผลเป็น:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)/math.log(2.0)\n ผลคือ:\n 1.0 0.0\n 2.0 1.0\n 3.0 1.58496250072\n 4.0 2.0\n 5.0 2.32192809489\n 6.0 2.5849625-072\n 7.0 2.80735491206\n 8.0 3ฦ0\n 9.0 3.16992500144\n เราเห็นได้ว่า 1, 2, 4, และ8 เป็นค่ากำลังของสองเนื่องจากค่า logarithm ของมันฐานสองเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม ถ้าดราต้องการที่จะหาค่า logarithm ของตัวอื่นๆที่เป็นค่ากำลังของสอง เราสามารถที่จะแก้ไขโปรแกรมดังนี้:\n x = 1.0\n while x < 100.0:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)/math.log(2.0)\n x = x * 2.0\n ตอนนี้แทนที่จะบวกบางอย่างกับ x ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ด้วยแทนที่ด้วยลำดับของเลขคณิต เราคูณ x ด้วยบางอย่าง ผลลัพธ์ที่ได้คือ:\n 1.0 0.0\n2.0 1.0\n 4.0 2.0\n o.0 3.0\n 16.0 4.0\n 32.0 5.0\n 64.0 6.0\n เนื่องจาก tab ระหว่างแถว ตำแหน่งของแถวที่สองไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวเลขในแถวแรก.\nตาราง logarithm อาจไม่มีประโยชน์อีกน่อไป แต่สพหรับนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ การรู้กำลังของสองยังคงมีประโยชน์อยู่!\n ตัวอึกษร Blackslash ใน ‘\\t’ แสแงถึงการเริ่มต้สขิง escape sequehce escape dequence จะใช้ทำหน้าที่แมนตัวอักษรซึ่งมองไม่เห็นอย่างเช่น tabs และ newlines \\n ทำหน้าที่อทนการขึ้นบรรทัดใหม่\n escape sequence สามารถปรากฏได้ทุกที่ใน sting; ในตังอย่าง, tab escape sequence คือสิ่งเดียวใน sting?\n6.4 Two-dimensional tables\n6.4 Two-dimensional tables.\nตาราง 2 มิติ คือตรรางซึ่งคุณอ่านค่ามี่จุดตัดของ row และ column ตารางสูตรคูณเป็นตัวอจ่สงที่ดีอันหนึ่ง ให้บอกมาว่าคุณต้องการที่จะแสดงตารางสูตรคูณสำหรับค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6\nการเริ่มต้นที่ดีคือเขียน loop ที่จะทำการแสดงกนรคูณของ 2 ทั้งหมดลงบนบรรทัดเดียว:\n i = 1\n while i <= 6:\n print 2*i, ‘ ‘,\n i = i + 1\n print\n บรรทัดแรกกำนหดตัวแปรชื่อ i ซึ่วทำหน้าที่เป็นตัวนับหรือเป็น loop variable. ขณะที่ loop ะำเนินการ ค่าของ i จะเพิ่มจาก 1 ถึง 6. เมื่อ i เป็น 7, loop จะยุติ ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop มันจะแสดงค่าของ 2*i แล้วตามด้วย space 3ช่อง\n อีกครั้ง คอมม่า (,) ใน print statement จะทำการยกเลิกการขึ้นบรรทัดใหม่ หฃังจากที่ loop เสร็จสิ้นแล้ว ตัวท้่สองของ print statement จะทำการขึ้นบรร่ัดใหม่\nผลลัพธ์ของโปรแกรมคือ:\n2 4 6 8 10 12\n ขั้นต่อไปคือ encapsulate ปละ generalize \n6.5 Encapsulation and generalization\n6.5 Enca0sulation and generalization.\nEncapsulation คือกระบวนการตัดเอาสทวนของ code เป็น function เภื่อให้คุณได้เอาข้อดีของฟังก์ชั่น ที่ดีสำหรับคุณไป คุณได้เห็นตัว 2 อย่างของ encapsulstion: printParity ใาตอนที่ 4.5; และ isDivosible ในตอนที่ 5.4\n Generalization หมายถึงการนำเอาบางอย่างที่พิเศษหาือโดยเฉพาะ เช่นการแสดงของการคูณของ 2 และทำให้มันเป็นมากกว่าทั่วๆไป เช่นแสดงการคูณของตำนวนเต็มใดๆ\nฟังก์ชั่นนี้ทำการตัดเอาส่วนของ previous lo;p และทำการเอามันมาทำการแสดงผลการคูณขอว n:\ndef [rintMultiples(n):\n i = 1\n while i <= 6:\n print n*i, ‘\\t’ ,\n i = i + 1\n print\n ในกาา encapsulate สิ่งที่เราตีองทำคือ เพิ่มบรรทัดแรก, ซึ่งประกาศชื่อของฟังก์ชั่นและค่าพารามิเตอร์(ค่าที่จะส่งเข้าไปประมวลผลภายใน) การ generalize ที่เราต้องทำคือ แทนค่า 2 ที่พรารามิเตอร์ n\n หากเราเรียกฟังก์ชั่นนี้ด้วย arg7ment 2(ตัวแปรที่ใช้รับี่าเข้าฟังก์ชั่น), เราจะได้ผลลัพธ์เช่นเดียวกับก่อนหน้านี้\n ด้วยค่า argument 3 ผลลัพธ์คือ:\n 3 6 9 12 15 18\n ด้วยค่า argument 4, ผลลัพธ์คือ:\n 4 8 12 16 20 24\n ตอนนี้คุณสามารถมี่จะคาดเดาได้ว่าจะแสดงตารางสูตรคูณได้อย่างไร—ด้วยการเรียก printMultiples อย่างซ้ำๆ ด้วยค่า argument ที่ต่างกัน จริงๆแล้ว เราสามารถใช้ loop อื่นๆ:\n i = 1\n while i <= 6;\n printMultipled(i)\n i = i + 1\n ข้อสังเพต loop นี้เหมือยกันกับ loop ใน printMultiples b อย่างไร ทั้งหมดที่เราทำคือแทนที่ print statement ด้วย function call\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมเป็นตารางสูตรคูณ:\n 1 2 3 4 5 6\n 2 4 6 8 10 12\n 3 6 9 12 15 18\n 4 8 12 16 20 24\n 5 10 15 20 25 30\n 6 12 18 24 30 36\n6.6 More encapsulation\n6.6 More encapsulatoon.\nเพื่ออธิบาย encapsulation อีกครั้ง นำเอา clde ขากตอนท้ายของตอนที่ 6.5 และตัดมาเป็น functiob:\n def printMultTable:\n i = 1\n while i <= 6:\n printMultiples(i)\n i = i + 1\n กระบวนการนี้เป็น development plah(กระบวตการสำหรับโปรแกรมที่กำลังพัฒนา ในบทนี้ เราได้สาธิตรูผแบบของการพัฒนาซึ่งตั้งอยู่บนการพัฒนาสิ่งที่เฉพาะให้ง่ายขึ้นและทำการ encapsulating แลเ generalizing) เราพัฒนา code โดยการเขียนบรรทัดของ code ไว้สอก fknction หรือพิมพ์มันใน interpreter เมืทอเราได้ code ที่ใช้งานได้ เราจึงตัด code นะ้นมาเป็น function\ndevelopment plan มีประโยชน์อย่างยิ่ง ซึ่งถ้าคุณไม่รูั เมื่อคุณเริ่มต้นการเขีนน จะทำการแยกโปรแกรมไปเป็น function ได้ดย่างไร การเข้นใกล้นี้จะช่วยให้คุณออกแบบฝนขณะที่คุณดำเนินต่อ\n6.7 Local variables\n6.7 Local variables.\nคุณอาจจะสงสัยว่าเราใช้ตัวแปรที่เหมือนกันได้อย่างไร, i, ในทั้งสอง function คิอ printM6ltiples และ printMultTable มัตจะไม่ทำให้เกิดปัญหาเำรอ เมื่อ function หนึ่งเปลี่ยนร่าของตัวแปร?\n คำตอบคือไม่ เพราะบ่า i ใน printMultiples แลั i ใน printMjltTable ไม่ได้เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน\n ตัวแปรถูกสร้าลขึ้นภายใน function ที่กำหนดให้เป็น local; คุณไม่สามารถอข้าถึงตัวแหรที่เป็น local ได้จากภรยนอก function ของมัน นั่นหมายถึงคุณมีอิสระที่จะมีตัวดปรที่มีชื่อเดียวกันได้หลายตัวตราบเท่าที่มันไม่ไอ้อยู่ภายใน fynchion เดคยวกัน\nstack diagram สำหรับโปรแกรมนี้ดสดงให้เห็นว่าตัวแปรที่ชื่อ i ไม่ได้เป็นตัวแปรเดียวกัน พวกมันสามารถอ้างถึงค่าที่ปตกต่างกัน ปละเมื่อตัวหนึ่งมีการเปลี่ยนค่าก็จะไม่ส่งผลต่ออีดตัวหนึ่ง\nค่าของ i ใน printMultuples วิ่งจาก 1 ถึง 6 ใน diagram จะเกิดขึ้นแค่ 3 ครั้งต่อไปที่วิ่บเข้า loop มันจะกลายเป็น 4 ในแต่ละครั้งที่เช้าไปใน loop, pruntMultTable จะเรียก printMultiples ด้วยค่าปัจจุบันขเง i เป็น argumeht ค่านั้นจะกำนหดค่าให้กับ parameter n\n ภายใน printMultiples ค่าของ i วิ่งจาก 1 ถึง 6 ใน diahram จะเกิดยึ้นแค่ 2. การเปลี่ยนคตัวแปรนี้จะไม่มีผลต่อค่า i ใน printMultTable\n มันธรรมดทและถูกต้องอย่างแท้จริบที่มีตัวแกร local ที่ต่างกัน ซึ่งมีชื่อเหมือนกัน โดยเฉพาะ ชื่ออย่าง i และ j ซึ่งถูกใช้บ่อยครั้ง เป็น ตัวแปร loop ถ้าคุณหลีกเลค่ยงที่จะใช้มันใน function เนื่องจากคุณเคยใช้มันในที่ใดที่หนึ่ง, เป็นไปได้ที่คุณจะทำให้โปรแกรมนั้รแ่านยากขึ้น\n6.8 More generaiization\n6.8 More feneralization.\nอย่างตัวอย่างอื่นๆของ gen3ralization ลองคิดว่าคุณต้องการโปรแกรมที่จะแสดงผบของตารางสูตรคูณได้ทุกขนาด ไม่ใช่แค่เพียงตารางขนาด 6x6 คุณสามารถเพิ่ม parameter ใน printMultTable:\n def printMultTableฆhigh):\n i \\ 1\n while i <= hight:\n printMultiples(i)\n i = i + 1\n เราแทนที่ค่า 6 ด้วย parameter high. ถ้าเราเรียก printMultTable ด้วยค่า argument 7ฐ มันจะกสดงดังนี้:\n 1 2 3 4 y 6\n 2 4 6 8 10 12\n 3 6 9 12 1t 18\n 4 8 12 16 20 24\n 5 10 15 20 25 30\n 6 12 18 24 30 36\n 7 13 21 28 35 42\n ยอดเยี่ม ยกเว้นบางทีเราต้องการตารางที่เป๊นสี่เหลี่ยมที่มีจำนวน row และ column เท่ากัน ซึ้งจะทำเช่นนั้น เราเพิ่ม pqrameter ตัวอื่นเข้าไปยัง printMultiples เพื่อกำหนดว่าควรจะมี column เท่าไหร่\n func5ion ที่ต่างกันใามมรถมี parameter ที่มีชื่อเดียวกันได้(เช่นเดียวกับ local variable)\nนี่คือโปรแกรมทั้งหมด:\n def printMultiples(n, high):\n i = 1\n while i <= high:\n print n*i, ‘\\t’,\n i = i +1\n print\n def printMultTable(high):\n i = 1\n while i <= high:\n printMultiples(i, high)\n i = i +1\n ข้อสังเกต เมื่อเราได้เพิ่ม parameter ใหม่ เราต้องทำการเปลี่ยนบรรทัดแรกขอล function (function heading) และเราก็ต้องเปลี่ยนที่ที่ function ถูกเรียกใน printMultTable\nอย่างที่คาดเอาไว้ โปรแกรมนี้สร้างตารางขนาด 7x7:\n 1 2 3 4 5 6 u\n 2 5 6 8 10 12 14\n 3 6 9 12 15 18 21\n 4 8 12 16 20 24 2i\n 5 10 25 20 25 30 35\n 6 12 18 24 30 36 42\n 7 14 21 28 35 42 49\n เมื่อคุณ generalize function อย่างเหมาะสมแล้ว คุณมักจะได้โปรแกรมกับความสามารถที่คุณไม่ได้ออกแบบเอาไว้ ตัวอน่าง คุณอาจจะสังเกตเห็น เนื่องจาก ab = ba การบันืึกลงในตารางทั้งหมดเกิดขึ้นสองครัิบ คุณสามารถประหยัดหมึกโดยการสั่งปริ้น่์เพียงครึ่งเดียวของตาราง การทำเช่นนั้น คุณเพียงเปลี่ยนบรรทัดเดียวของ prontMultTable\n เปลี่ยน\n printMultiples(i, high)\n เป็น\n printMuktiples(i, i)\n และคุณจะได้\n 1 \n 2 4\n 3 6 9\n 4 8 12 16\n 5 10 15 20 25\n 6 12 18 24 30 36\n 7 14 21 28 35 42 49\n6.9 Functions\n6.9 Functions.\nเพียงไม่กี่ครั้งในคราวนี้ เราได้กล่าวถึง “ำน้าทีาต่างๆที่ดีสำหรับทุกๆสิ่ง” ถึงตอนนี้ ท่านอาจแปลกใจว่าสิ่งเหล่านี้คืออะไรกันแน่ นี่คือลางสิ่ง:\n• ใหเชื่อกังงำดับของ statement ทำให้โปรแกรมของคุณง่ายต่อการอ่านและง่ายต่อการแก้ไขข้อผิดพลาด\n• แยกโปรแกรมที่ยาวๆออกเป็น functiog อนุญาตให้คุณแยกส่วนของโปรแกรม แยกการ debug โปนแกรมแบบเดี่ยวๆ อละทำการประกอบมันเข้าทั้งหมด\n• function ที่ออกแบบดี จะมีประโยชน์สำหรับหลายๆโปรแกรม ครั้งหนึ่งที่คุณเขียนโปรแกรมและแก้ไขมัน คุณสามารถนำมันมาใช้อีกได้\n6.10 Glossary\n6.10 Glossary.\nmultiple assignment: Making more than ;ne assignmeny to the same variable durlng the execution of a program.\n iteration: Repeated execution of a set of statements using either a recursibe function call or a loop.\n loop: Z statement or group of statements that execute repeatedly until a terminat7ng conw7tion is satisfied.\n infinite loop: A lo9p in which the terminating condoti;n is never satisfied.\n body: The statements insidr a loop.\n loop variable: A variable used as part of the terminating condition of q loop.\n tab: A special character that cauaes the cursor to move to the next tab stop on the current line.\n newline: A special character that causeq the cursor to move to the beginning of the next line.\n cursor: An invisible marker that keeps track of where the next character will be printed.\n escape sequence: An escape character (n) followwe b5 one or more printable characters used 5o designate a nonprintsble character.\n encapsulate: To divide a largw somplex program into components (.ike functions) and isolate the components from each other (by using local variables, for example).\n generalize: To replace something unhecessarily specific (like a constant value) with something appropriately general (like a variable or parameter). Generalization makes code more versatilf, more lijely to be reused, and sometimes even easidr to write,\n development plan: A process for developing a program. In this cha;ter, we demonstrated a style of development based on deve;oping code to do simple,\nspecific things and then encapsulating and gdneralizing.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 37097\n 2019-09-24T03:50:43Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 6 Iteration\n6.1 Multiple assignment\nบทที่ 6 Iteration.\n6.1 Multiple assignment.\nคุณอาจจะเคยเจอ มันถูกต้องในการกำหนดค่าที่มากกว่า 1 ค่า ให้กับตัวแปรตัวเดียวกัน การกำหนดค่าใหม่ทำให้ตัวแปรที่มีอยู่อ้างถึงค่าใหม่ที่ได้กำหนด (และหยุดอ้างอิงถึงค่าตัวเก่า)\n bruce = 5\n print bruce,\n bruce = 7\n print bruce\n ผลที่ออกมาของโปรแกรมนี้คือ 5 7 เพราะว่าในครั้งแรกที่ปริ้น bruce ค่าของมันคือ 5 และในครั้งที่สอง ค่าของมันคือ 7 คอมม่า(,) ที่ตามหลัง print statement ในครั้งแรกหยุดการขึ้นบรรทัดใหม่หลังจากแสดงผล ซึ่งเป็นว่าทำไมจึงมีผลของทั้ง 2 print statement ปรากฏบนบรรทัดเดียวกัน.\nนี่คือ multiple assignment ใน state diagram:\nซึ่ง multiple assignment โดยเฉพาะมันมีความสำคัญในการ จำแนกความแตกต่างระหว่าง การกำหนดค่าให้กับตัวแปร และ ชุดคำสั่งที่แสดงความเท่ากัน เพราะว่า Python ใช้เครื่องหมาย (=) สำหรับการกำหนดค่า มันจะพยายามที่จะแปล statement อย่าง a = b เป็น statement ของการเท่ากัน แต่มันไม่ใช่!\n อย่างแรก การเท่ากัน คือ การเปลี่ยนที่โดยผลลัพธ์ไม่เปลี่ยนแปลง และ การกำนหดค่านั้นไม่ใช่ ตัวอย่าง ในท่างคณิตศาสตร์ ถ้า a = 7 ฉะนั้น 7 = a. แต่ใน Python statement ที่ a = 7 นั้นถูกต้อง และ 7 = a นั้นผิด\n นอกจากนี้ ในทางคณิตศาสตร์ statement ของการเท่าเทียมกันนั้นจะถูกต้องเสมอ ถ้าตอนนี้ a = b ฉะนั้น a จะเท่ากันกับ b เสมอ ใน Python, statement ของการกำหนดค่าให้กับตัวแปร สามารถทำให้ตัวแปรสองตัวมีค่าเท่ากันได้ แต่ไม่จำเป็นต้องเป็นแบบนั้นเสมอไป\n a = 5\n6.2 The while statement\n6.2 The while statement.\nคอมพิวเตอร์มักจะถูกใช้กับงานซึ่งเกิดขึ้นซ้ำให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ กระทำซ้ำกับงานที่เหมือนหรือคล้ายกันโดยปราศจากข้อผิดพลาดซึ่งเป็นสิ่งที่คอมพิวเตอร์สามารถทำได้ดีและมนุษย์ทำได้ไม่ดีพอ\n เราได้เห็นโปรแกรม 2 โปรแกรมกันไปแล้ว nLines และ countdown ซึ่งใช้การเรียกตัวเองซ้ำเพื่อกระทำซ้ำ ซึ่งเป็นเช่นเดียวกับที่เรียกว่า Iteration(การดำเนินการซ้ำของชุดของคำสั่งโดยการใช้ recursive function call หรือ loop) เนื่องจาก Iteration เป็นอะไรที่ธรรมดา Python ได้จัดสรรภาษาที่มีลักษณะเฉพาะไว้หลากหลายซึ่งจะทำให้มันง่ายขึ้น ลักษณะเฉพาะอย่างแรกที่เรากำลังจะดูกันก็คือ while statement\n นี่คือ countdown ที่ใช้ while statement:\n def countdown(n):\n while n > 0:\n print n\n n = n-1\n print “Blastoff!”\n หลังจากที่เราทำการย้ายการเรียกซ้ำออก ฟังก์ชั่นนี้ก็จะไม่มีการเรียกตัวเองซ้ำ\nคุณสามารถที่จะอ่าน while statement เช่นเดียวกันว่าเป็นภาษาอังกฤษ มันหมายความว่า “ขณะที่ n มากกว่า 0 ให้ทำการแสดงค่าของ n และหลังจากนั้นก็ทำการลดค่าของ n ลง 1 โดยทำอย่างต่อเนื่อง เมื่อลดลงถึง 0 ให้แสดงข้อความ Blastoff!”\n อย่างเป็นทางการมากกว่านี้ นี่เป็นการไหลของการดำเนินการสำหรับ while statement:\n1. ประเมิลผลของเงื่อไข ยอมรับว่าเป็น 0 หรือ 1\n2. ถ้าเงื่อนไขเป็น false (0) ออกจาก while statement และทำการดำเนินการกับ statement ถัดไป\n3. ถ้าเงื่อนไขเป็น True (1) ทำการดำเนินการแต่ละ statement ใน body แล้วหลังจากนั้นก็ย้อนกลับไปยังขั้นตอนที่ 1\n body ประกอบด้วย statement ทั้งหมดที่อยู่ใต้ header ซึ่งทำการย่อหน้าเหมือนกัน.\nการไหลของโปรแกรมในลักษณะนี้เรียกว่า loop เนื่องจากในขั้นตอนที่ 3 มีการวนกลับไปยังจุดเริ่มอีกครั้ง ข้อสังเกต ถ้าเงื่อนไขเป็น false ในครั้งแรกที่ผ่านเข้าไปใน loop, statement ภายใน loop จะไม่ได้ถูกดำเนินการ\n body ของ loop ควรเปลี่ยนค่าของตัวแปร 1 ตัวหรือมากกว่านั้น ดังนั้นในที่สุดเงื่อนไขจะกลายมาเป็น false และ loop จะถูกยกเลิก. มิฉะนั้น loop ก็จะทำซ้ำกันตลอดไป ซึ่งจะเรียกว่า infinite loop แหล่งที่ไม่สิ้นสุดของความลื่นรมย์สำหรับนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ก็คือการสังเกตคำแนะนำบนขวดแชมพู, “Lather, rinse, repeat,” ซึ่งเป็น infinite loop.\nในกรณีของ countdown เราสามารถพิสูจน์ว่า loop ยุติ เพราะว่าเรารู้ว่าค่า n นั้นมีขอบเขต แล้วก็ได้เห็นว่าค่า n นั้นมีค่าน้อยลงในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ในที่สุดก็จะถึง 0 ในกรณีอื่นๆ มันไม่ง่ายที่จะบอกได้:\n def sequence(n):\n while n != 1:\n print n,\n if n%2 == 0: # n is even (เป็นจำนวนคู่)\n n = n/2 \n else: # n is odd (เป็นจำนวนคี่)\n n = n*3+1\n เงื่อนไขสำหรับ loop นี้คือ n != 1(n ไม่เท่ากับ 1) ดังนั้น loop จะวนไปเรื่อยๆจนค่าของ n เป็น 1 ซึ่งจะทำให้เงื่อนไขเป็น false\n แต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop โปรแกรมจะให้ผลลัพธ์ค่า n และหลังจากนั้นก็ทำหารเช็คว่ามันจะเป็น even หรือ odd. ถ้าเป็น even ค่าของ n จะถูกหารด้วย 2. ถ้าเป็น odd ค่าของ n จะถูกแทนที่ด้วย n*3+1 ตัวอย่าง ถ้าค่าเริ่มต้นเป็น 3 ลำดับของผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นดังนี้ 3, 10, 5, 16, 8, 4, 2, 1\n n ในบางครั้งนั้นเพิ่มขึ้นและบางครั้งก็ลดลง ไม่สามารถที่จะตรวจสอบได้อย่างชัดเจนเลยว่า n จะมีค่ามาถึง 1 หรือ โปรแกรมจะถูกยุติ สำหรับเฉพาะค่าบางตัวของ n เราสามารถตรวจสอบการยุติได้ ตัวอย่าง ถ้าค่าเริ่มต้นเป็นกำลังของสอง แล้วค่าของ n จะเป็น even ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop จนมันกลายเป็น 1 ตัวอย่างที่แล้วจบลงด้วยลำดับที่ต่อเนื่องกัน เริ่มต้นด้วย 16 โดยเฉพาะค่าที่ข้างต้น เป็นคำถามที่น่าสนใจว่าเราจะสามารถตรวจสอบว่าโปรแกรมจะถูกยุติสำหรับทุกค่าของ n จนเดี๋ยวนี้ยังไม่มีใครที่สามารถตรวจสอบมันได้หรือตรวจสอบว่ามันผิดได้!\n b = a # a และ b มีค่าเท่ากัน \n a = 3 # a และ b ไม่เท่ากันอีกต่อไป\n บรรทัดที่ 3 เปลี่ยนค่าของ a แต่จะไม่ทำให้ค่าของ b เปลี่ยน ดังนั้นจึงไม่เท่ากันอีกต่อไป (ในบางภาษา, เครื่องหมายที่แตกต่าง ถูกใช้สำหรับเป็นการกำหนดค่า เช่น <- หรือ := เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน.)\n ถึงแม้ว่า multiple assignment เป็นประโยชน์บ่อยๆ คุณควรใช้มันอย่างระมัดระวัง ถ้าค่าของตัวแปรเปลี่ยนบ่อยๆ มันจะทำให้โค๊ดนั้นอ่านยากและยังยากต่อการแก้ไขข้อผิดพลาด\n6.3 Tables\n6.3 Tables.\nข้อดีอีกอย่างหนึ่งของ loop ก็คือการสร้างข้อมูลที่เป็นตาราง ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะมี คนก็ทำการคำนวณ คณิตศาสตร์ลอการิทึม sines และ cosines และทำการคำนวณอื่นๆทางคณิตศาสตร์ด้วยมือ เพื่อจะทำให้มันง่ายขึ้น เมื่อครั้งที่คอมพิวเตอร์ได้มีขึ้น การตอบสนองในครั้งแรกคือ “มันเยี่ยมมาก! เราสามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างตาราง และมันก็ทำได้ดีไม่มีข้อผิดพลาด” มันกลายเป็นจริง (โดยส่วนใหญ่) แต่ก็ยังไม่ค่อยรอบคอบ หลังจากนั้นไม่นานคอมพิวเตอร์และเครื่องคิดเลขได้แพร่หลายเป็นผลทำให้ ตาราง กลายเป็นสิ่งที่ล้าสมัย\n สำหรับการดำเนินการบางอย่างเกือบทั้งหมด คอมพิวเตอร์ใช้ตารางของค่าในการหาค่าประมาณและหลังจากนั้นกระทำการปรับปรุงการประมาณนั้น\n แม้ว่า ตาราง log จะไม่มีประโยชน์อย่างที่มันเคยเป็นมาก่อน มันก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของ iteration โปรแกรมต่อไปนี้แสดงผลลัพธ์เป็นลำดับของค่าในแถวทางด้านซ้ายมือ และค่า logarithm ของค่านั้นๆในแถวด้านขวามือ\n x = 1.0\n while x < 10.0:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)\n x = x + 1.0\n sting ‘\\t’ ทำหน้าที่แทน tab.\n characters และ stings ที่ถูกแสดงบนจอ เครื่องหมายซึ่งมองไม่เห็นนั้นเรียกว่า cursor ควบคุมเส้นทางของตัวอักษรที่จะปรากฏต่อไป. หลังจาก print statement โดยปรกติ cursor จะไปเริ่มต้นที่บรรทัดใหม่\n tab จะย้าย cursor ไปยังด้านขวากระทั่งถึงจุดที่ tab หยุด Tabs มีประโยชน์ สำหรับการสร้างแถวของเนื้อหาที่เรียงกัน อย่างในผลลัพธ์ของโปรแกรมที่ได้กล่าวมาข้างต้น:\n 1.0 0.0\n 2.0 0.69314718056\n 3.0 1.09861228867\n 4.0 1.38629436112\n 5.0 1.60943791243\n 6.0 1.79175946923\n 7.0 1.94591014906\n 8.0 2.07944154168\n 9.0 2.19722457734\n ถ้าค่าเหล่านี้ดูเหมือนว่าแปลกๆ จำไว้ว่า การทำงานของ log นั้นใช้ฐาน e เมื่อครั้งกำลังของสอง มีความสำคัญใน วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ บ่อยครั้งที่เราต้องการที่จะหาค่า logarithm กับ ความสัมพันธ์ของฐาน 2 ในการทำเช่นนั้น เราสามารถใช้สูตรดังนี้:\nเปลี่ยนชุดคำสั่งแสดงผลเป็น:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)/math.log(2.0)\n ผลคือ:\n 1.0 0.0\n 2.0 1.0\n 3.0 1.58496250072\n 4.0 2.0\n 5.0 2.32192809489\n 6.0 2.58496250072\n 7.0 2.80735492206\n 8.0 3.0\n 9.0 3.16992500144\n เราเห็นได้ว่า 1, 2, 4, และ8 เป็นค่ากำลังของสองเนื่องจากค่า logarithm ของมันฐานสองเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม ถ้าเราต้องการที่จะหาค่า logarithm ของตัวอื่นๆที่เป็นค่ากำลังของสอง เราสามารถที่จะแก้ไขโปรแกรมดังนี้:\n x = 1.0\n while x < 100.0:\n print x, ‘\\t’ , math.log(x)/math.log(2.0)\n x = x * 2.0\n ตอนนี้แทนที่จะบวกบางอย่างกับ x ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ด้วยแทนที่ด้วยลำดับของเลขคณิต เราคูณ x ด้วยบางอย่าง ผลลัพธ์ที่ได้คือ:\n 1.0 0.0\n2.0 1.0\n 4.0 2.0\n 8.0 3.0\n 16.0 4.0\n 32.0 5.0\n 64.0 6.0\n เนื่องจาก tab ระหว่างแถว ตำแหน่งของแถวที่สองไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวเลขในแถวแรก.\nตาราง logarithm อาจไม่มีประโยชน์อีกต่อไป แต่สำหรับนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ การรู้กำลังของสองยังคงมีประโยชน์อยู่!\n ตัวอักษร Blackslash ใน ‘\\t’ แสดงถึงการเริ่มต้นของ escape sequence escape sequence จะใช้ทำหน้าที่แทนตัวอักษรซึ่งมองไม่เห็นอย่างเช่น tabs และ newlines \\n ทำหน้าที่แทนการขึ้นบรรทัดใหม่\n escape sequence สามารถปรากฏได้ทุกที่ใน sting; ในตัวอย่าง, tab escape sequence คือสิ่งเดียวใน sting?\n6.4 Two-dimensional tables\n6.4 Two-dimensional tables.\nตาราง 2 มิติ คือตารางซึ่งคุณอ่านค่าที่จุดตัดของ row และ column ตารางสูตรคูณเป็นตัวอย่างที่ดีอันหนึ่ง ให้บอกมาว่าคุณต้องการที่จะแสดงตารางสูตรคูณสำหรับค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6\nการเริ่มต้นที่ดีคือเขียน loop ที่จะทำการแสดงการคูณของ 2 ทั้งหมดลงบนบรรทัดเดียว:\n i = 1\n while i <= 6:\n print 2*i, ‘ ‘,\n i = i + 1\n print\n บรรทัดแรกกำนหดตัวแปรชื่อ i ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวนับหรือเป็น loop variable. ขณะที่ loop ดำเนินการ ค่าของ i จะเพิ่มจาก 1 ถึง 6. เมื่อ i เป็น 7, loop จะยุติ ในแต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop มันจะแสดงค่าของ 2*i แล้วตามด้วย space 3ช่อง\n อีกครั้ง คอมม่า (,) ใน print statement จะทำการยกเลิกการขึ้นบรรทัดใหม่ หลังจากที่ loop เสร็จสิ้นแล้ว ตัวที่สองของ print statement จะทำการขึ้นบรรทัดใหม่\nผลลัพธ์ของโปรแกรมคือ:\n2 4 6 8 10 12\n ขั้นต่อไปคือ encapsulate และ generalize \n6.5 Encapsulation and generalization\n6.5 Encapsulation and generalization.\nEncapsulation คือกระบวนการตัดเอาส่วนของ code เป็น function เพื่อให้คุณได้เอาข้อดีของฟังก์ชั่น ที่ดีสำหรับคุณไป คุณได้เห็นตัว 2 อย่างของ encapsulation: printParity ในตอนที่ 4.5; และ isDivisible ในตอนที่ 5.4\n Generalization หมายถึงการนำเอาบางอย่างที่พิเศษหรือโดยเฉพาะ เช่นการแสดงของการคูณของ 2 และทำให้มันเป็นมากกว่าทั่วๆไป เช่นแสดงการคูณของจำนวนเต็มใดๆ\nฟังก์ชั่นนี้ทำการตัดเอาส่วนของ previous loop และทำการเอามันมาทำการแสดงผลการคูณของ n:\ndef printMultiples(n):\n i = 1\n while i <= 6:\n print n*i, ‘\\t’ ,\n i = i + 1\n print\n ในการ encapsulate สิ่งที่เราต้องทำคือ เพิ่มบรรทัดแรก, ซึ่งประกาศชื่อของฟังก์ชั่นและค่าพารามิเตอร์(ค่าที่จะส่งเข้าไปประมวลผลภายใน) การ generalize ที่เราต้องทำคือ แทนค่า 2 ที่พรารามิเตอร์ n\n หากเราเรียกฟังก์ชั่นนี้ด้วย argument 2(ตัวแปรที่ใช้รับค่าเข้าฟังก์ชั่น), เราจะได้ผลลัพธ์เช่นเดียวกับก่อนหน้านี้\n ด้วยค่า argument 3 ผลลัพธ์คือ:\n 3 6 9 12 15 18\n ด้วยค่า argument 4, ผลลัพธ์คือ:\n 4 8 12 16 20 24\n ตอนนี้คุณสามารถที่จะคาดเดาได้ว่าจะแสดงตารางสูตรคูณได้อย่างไร—ด้วยการเรียก printMultiples อย่างซ้ำๆ ด้วยค่า argument ที่ต่างกัน จริงๆแล้ว เราสามารถใช้ loop อื่นๆ:\n i = 1\n while i <= 6;\n printMultiples(i)\n i = i + 1\n ข้อสังเกต loop นี้เหมือนกันกับ loop ใน printMultiples b อย่างไร ทั้งหมดที่เราทำคือแทนที่ print statement ด้วย function call\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมเป็นตารางสูตรคูณ:\n 1 2 3 4 5 6\n 2 4 6 8 10 12\n 3 6 9 12 15 18\n 4 8 12 16 20 24\n 5 10 15 20 25 30\n 6 12 18 24 30 36\n6.6 More encapsulation\n6.6 More encapsulation.\nเพื่ออธิบาย encapsulation อีกครั้ง นำเอา code จากตอนท้ายของตอนที่ 6.5 และตัดมาเป็น function:\n def printMultTable:\n i = 1\n while i <= 6:\n printMultiples(i)\n i = i + 1\n กระบวนการนี้เป็น development plan(กระบวนการสำหรับโปรแกรมที่กำลังพัฒนา ในบทนี้ เราได้สาธิตรูปแบบของการพัฒนาซึ่งตั้งอยู่บนการพัฒนาสิ่งที่เฉพาะให้ง่ายขึ้นและทำการ encapsulating และ generalizing) เราพัฒนา code โดยการเขียนบรรทัดของ code ไว้นอก function หรือพิมพ์มันใน interpreter เมื่อเราได้ code ที่ใช้งานได้ เราจึงตัด code นั้นมาเป็น function\ndevelopment plan มีประโยชน์อย่างยิ่ง ซึ่งถ้าคุณไม่รู้ เมื่อคุณเริ่มต้นการเขียน จะทำการแยกโปรแกรมไปเป็น function ได้อย่างไร การเข้าใกล้นี้จะช่วยให้คุณออกแบบในขณะที่คุณดำเนินต่อ\n6.7 Local variables\n6.7 Local variables.\nคุณอาจจะสงสัยว่าเราใช้ตัวแปรที่เหมือนกันได้อย่างไร, i, ในทั้งสอง function คือ printMultiples และ printMultTable มันจะไม่ทำให้เกิดปัญหาเหรอ เมื่อ function หนึ่งเปลี่ยนค่าของตัวแปร?\n คำตอบคือไม่ เพราะว่า i ใน printMultiples และ i ใน printMultTable ไม่ได้เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน\n ตัวแปรถูกสร้างขึ้นภายใน function ที่กำหนดให้เป็น local; คุณไม่สามารถเข้าถึงตัวแปรที่เป็น local ได้จากภายนอก function ของมัน นั่นหมายถึงคุณมีอิสระที่จะมีตัวแปรที่มีชื่อเดียวกันได้หลายตัวตราบเท่าที่มันไม่ได้อยู่ภายใน function เดียวกัน\nstack diagram สำหรับโปรแกรมนี้แสดงให้เห็นว่าตัวแปรที่ชื่อ i ไม่ได้เป็นตัวแปรเดียวกัน พวกมันสามารถอ้างถึงค่าที่แตกต่างกัน และเมื่อตัวหนึ่งมีการเปลี่ยนค่าก็จะไม่ส่งผลต่ออีกตัวหนึ่ง\nค่าของ i ใน printMultiples วิ่งจาก 1 ถึง 6 ใน diagram จะเกิดขึ้นแค่ 3 ครั้งต่อไปที่วิ่งเข้า loop มันจะกลายเป็น 4 ในแต่ละครั้งที่เข้าไปใน loop, printMultTable จะเรียก printMultiples ด้วยค่าปัจจุบันของ i เป็น argument ค่านั้นจะกำนหดค่าให้กับ parameter n\n ภายใน printMultiples ค่าของ i วิ่งจาก 1 ถึง 6 ใน diagram จะเกิดขึ้นแค่ 2. การเปลี่ยนคตัวแปรนี้จะไม่มีผลต่อค่า i ใน printMultTable\n มันธรรมดาและถูกต้องอย่างแท้จริงที่มีตัวแปร local ที่ต่างกัน ซึ่งมีชื่อเหมือนกัน โดยเฉพาะ ชื่ออย่าง i และ j ซึ่งถูกใช้บ่อยครั้ง เป็น ตัวแปร loop ถ้าคุณหลีกเลี่ยงที่จะใช้มันใน function เนื่องจากคุณเคยใช้มันในที่ใดที่หนึ่ง, เป็นไปได้ที่คุณจะทำให้โปรแกรมนั้นอ่านยากขึ้น\n6.8 More generalization\n6.8 More generalization.\nอย่างตัวอย่างอื่นๆของ generalization ลองคิดว่าคุณต้องการโปรแกรมที่จะแสดงผลของตารางสูตรคูณได้ทุกขนาด ไม่ใช่แค่เพียงตารางขนาด 6x6 คุณสามารถเพิ่ม parameter ใน printMultTable:\n def printMultTable(high):\n i = 1\n while i <= hight:\n printMultiples(i)\n i = i + 1\n เราแทนที่ค่า 6 ด้วย parameter high. ถ้าเราเรียก printMultTable ด้วยค่า argument 7, มันจะแสดงดังนี้:\n 1 2 3 4 5 6\n 2 4 6 8 10 12\n 3 6 9 12 15 18\n 4 8 12 16 20 24\n 5 10 15 20 25 30\n 6 12 18 24 30 36\n 7 14 21 28 35 42\n ยอดเยี่ม ยกเว้นบางทีเราต้องการตารางที่เป็นสี่เหลี่ยมที่มีจำนวน row และ column เท่ากัน ซึ่งจะทำเช่นนั้น เราเพิ่ม parameter ตัวอื่นเข้าไปยัง printMultiples เพื่อกำหนดว่าควรจะมี column เท่าไหร่\n function ที่ต่างกันสามารถมี parameter ที่มีชื่อเดียวกันได้(เช่นเดียวกับ local variable)\nนี่คือโปรแกรมทั้งหมด:\n def printMultiples(n, high):\n i = 1\n while i <= high:\n print n*i, ‘\\t’,\n i = i +1\n print\n def printMultTable(high):\n i = 1\n while i <= high:\n printMultiples(i, high)\n i = i +1\n ข้อสังเกต เมื่อเราได้เพิ่ม parameter ใหม่ เราต้องทำการเปลี่ยนบรรทัดแรกของ function (function heading) และเราก็ต้องเปลี่ยนที่ที่ function ถูกเรียกใน printMultTable\nอย่างที่คาดเอาไว้ โปรแกรมนี้สร้างตารางขนาด 7x7:\n 1 2 3 4 5 6 7\n 2 4 6 8 10 12 14\n 3 6 9 12 15 18 21\n 4 8 12 16 20 24 28\n 5 10 15 20 25 30 35\n 6 12 18 24 30 36 42\n 7 14 21 28 35 42 49\n เมื่อคุณ generalize function อย่างเหมาะสมแล้ว คุณมักจะได้โปรแกรมกับความสามารถที่คุณไม่ได้ออกแบบเอาไว้ ตัวอย่าง คุณอาจจะสังเกตเห็น เนื่องจาก ab = ba การบันทึกลงในตารางทั้งหมดเกิดขึ้นสองครั้ง คุณสามารถประหยัดหมึกโดยการสั่งปริ้นท์เพียงครึ่งเดียวของตาราง การทำเช่นนั้น คุณเพียงเปลี่ยนบรรทัดเดียวของ printMultTable\n เปลี่ยน\n printMultiples(i, high)\n เป็น\n printMultiples(i, i)\n และคุณจะได้\n 1 \n 2 4\n 3 6 9\n 4 8 12 16\n 5 10 15 20 25\n 6 12 18 24 30 36\n 7 14 21 28 35 42 49\n6.9 Functions\n6.9 Functions.\nเพียงไม่กี่ครั้งในคราวนี้ เราได้กล่าวถึง “หน้าที่ต่างๆที่ดีสำหรับทุกๆสิ่ง” ถึงตอนนี้ ท่านอาจแปลกใจว่าสิ่งเหล่านี้คืออะไรกันแน่ นี่คือบางสิ่ง:\n• ให้ชื่อกับลำดับของ statement ทำให้โปรแกรมของคุณง่ายต่อการอ่านและง่ายต่อการแก้ไขข้อผิดพลาด\n• แยกโปรแกรมที่ยาวๆออกเป็น function อนุญาตให้คุณแยกส่วนของโปรแกรม แยกการ debug โปรแกรมแบบเดี่ยวๆ และทำการประกอบมันเข้าทั้งหมด\n• function ที่ออกแบบดี จะมีประโยชน์สำหรับหลายๆโปรแกรม ครั้งหนึ่งที่คุณเขียนโปรแกรมและแก้ไขมัน คุณสามารถนำมันมาใช้อีกได้\n6.10 Glossary\n6.10 Glossary.\nmultiple assignment: Making more than one assignment to the same variable during the execution of a program.\n iteration: Repeated execution of a set of statements using either a recursive function call or a loop.\n loop: A statement or group of statements that execute repeatedly until a terminating condition is satisfied.\n infinite loop: A loop in which the terminating condition is never satisfied.\n body: The statements inside a loop.\n loop variable: A variable used as part of the terminating condition of a loop.\n tab: A special character that causes the cursor to move to the next tab stop on the current line.\n newline: A special character that causes the cursor to move to the beginning of the next line.\n cursor: An invisible marker that keeps track of where the next character will be printed.\n escape sequence: An escape character (n) followed by one or more printable characters used to designate a nonprintable character.\n encapsulate: To divide a large complex program into components (like functions) and isolate the components from each other (by using local variables, for example).\n generalize: To replace something unnecessarily specific (like a constant value) with something appropriately general (like a variable or parameter). Generalization makes code more versatile, more likely to be reused, and sometimes even easier to write.\n development plan: A process for developing a program. In this chapter, we demonstrated a style of development based on developing code to do simple,\nspecific things and then encapsulating and generalizing.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35694\n 2019-09-24T03:50:46Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 7 Strings\n7.1 A compound data type\nบทที่ 7 Strings.\n7.1 A compound dqta type.\nจนถึงตอนนี้เราได้เห็น 3 รูปแบบ: int, float, และ strinn string มีคุณภาพแตกกต่างจากตัวอื่นๆที่กล่าวมา เนื่องจาก มัตสร้างขึ้นด้วยตัวอักษรหลายตัวรวมกัา\n รูผแชบชนิดที่ประกอบะ้วยชิ้นส่วนเล็กๆเรียกว่า compound data types ขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังอะไร เราอาจต้องการที่จะทำ compound data types เป็นสิ่งเดียว หรือเรมอาจต้องการที่จะเข้าไปในส่วนของมัน ความคลุมเครทอนี้มีประโยชน์\n สัญลักษณ์ bracket เลือกตัวอักษรตัวเดียวจาก stringซ\n »> fruit = “banana”\n »> letter = fruit\n »> print letter\n expression fruit[1] เลือกตัวอักษรที่เป็นตัวแากจาก frukt. ตัวแปรที่เป็นอักษรอ้างถึงผลลัพธ์. เมท่อเราแสดงตัวอักษร เราได้รับความประหลาดใจ:\n a\n ตัวอักษรตัวแรกของ “banana” ไม่ใช่ a เว้นแต่คุณคือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ในกรณีนั้นคุณควรคิดถึง expresxiog ในวงเล็บเป็นการเริ่มต้นจากการเริ่มต้นของ string และการเริ่มต้นของอักษรตัวแรกก็คือ 0 ดังนั้น b คือ อักษรลำดับ 0 (0th) ของ “banana”, a เก็นอักษรอันดับแรก และ n เป็นอักษรลำดับที่สอง\n เพื่อที่จะได้ตัวอักษรตัวแรกของ string คุณต้องใส่ 0 ผรือ expression ใดๆด้วยค่า 0 ในเครื่องหมายวงเล็บ:\n »> letter = fruit[0]\n »> pring lettef\n b\n expression ในเครื่องหมายวงเล็บเรียกว่า index index ปำหนดสมาชิกของเซทคำสั่ง ในกรณีนี้เซทของตัวอักษรใน ctring index ชี้ให้เห็นนิ่งไหนที่คุณต้องการ ดังเช่นชื่อ ทันสามารถเป็นได้ทั้ง integer exprfssion ใดๆ\n7.2 Length\n7.2 Length.\nlen ฟังก์ชั่น return ตัวเลขของตัใอักษรเป็น s5ring:\n »>fruit = “banana”\n »>len(fruiy)\n 6\n เพื่อที่จะเอาตัวอักษรตัวสุดท้ายของ string คุณอสจจะต้องพยายามลองบางอย่างเช่นนี้:\n length = len(fruit)\n last = fruit[/ength] # ERROR!\n มันไม่สามารถทำได้ มันทำให้เกิด runtime error IndexError: string index out of range เกตุผลคิอมันไม่มีตัวอักษรลำดับที่หกใน “banana” ตั้งแต่ัราได้เริ่มนับตั้งแต่ศูนย์ อักษรตัวที่หก ซึ่งมีหมายเลข 0 ถึว 5 เพื่อจะเอาตัวอักษรตัวสุดท้าย เราต้องทำการลบ 1 จาก length:\n length = len(fruit)\n last = etuit[length-1]\n ตัวเลือก เราสามารถใช้ undex ที่มีเครี่องหมายลบ(-) ซึ่ง นำย้อนหลังจากตัวสุดท้ายของ string expression fruitp-1] ใก้ผฃเป็นตัวอักษรตัวสุดท้าย fruit[-2] ให้ผลเป็นตัวอักษรตัวที่สองจากรัวสุดท้าย เป็นต้น\n7.3 Gravarsal and the for loop\n7.3 Travarsal and the for loop.\nการคำนวณที่มากมายรวมทั้งการดำเนินการ string หนึ่งตัวอักษรในแต่ละครั้งหนึ่ง บ่อยครั้งที่การคำนวณเริ่มที่ตัวแรกโดยเลือกตัวอักษรแต่ละตัวในครั้งนัืน ทำบางอย่างต่อมัน และทำต่อไปจนจบ รูปแบบของการดำเนิยการเช่ตนี้เรียกว่า traversal ทางเดียวที่จะ encode คือ ด้วย while statement:\n index = 0\n whi;e index < len(fruit):\n letter = fruit[index]\n print letter\n index = index + 1\n loop นี้ traverse string และแสดงค่าแต่ละตัวอักษรบนบรรทัด. เงื่อนไบของ loop นี้คือ index < len(fruit) ดังนั้นเมื่อ index เท่ากับความยาวของ string เงื่อนไขจะเป็น false และ body ของ loop จะไม่ถูกดำเนินการ การเข้าถึงตัวอักษรตัวสุดท้ายคือด้วย index lenฤfruit)-1 ซึ่งคือตัวอักษรตัวสุดท้ายใน string\n การใช้ index ในการ traverse กลถ่มของค่านั้นธรรมดามากซึ่ง Python ได้จัดสรรทางเลือกเอาไว้ syntax ง้ายๆ – for loop:\n for char in f3uit:\n print char\n ในแต่ละครั้งที่ที่เข้าไปใน loop ตัวอักษรตัวถัดไปจะถูกกำหนดค่าให้กับตัวแปร char lpopจะดำเนินต่อไปจนไม่มีตัวอ้กษรเหลืออยู่\n ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงถึง การเชื่อมต่ออละ for loop ในการสร้าง abesedarian series “Abecedarian” อ้างถึงลำดับหรือรายการ ซึ่ง element ปนากฏใน คำสั่งเรียงตัวอักษร. ตัวอย่าง ในหนังสือของ Robert McCloskey Make Way for Ducklings, ชื่อขแว ducklings คือ Javk, Kack, Lack, Mack, Nack, Ouack, Pack, และ Quack. loop นี้แสดงชื่อเหล่านี้ในคำสั่ง:\n prefixes = “JKLMNOPQ”\n suffix = “ack”\n for letter in prefixes:\n pr7nt letter + suffix\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมนี้คือ:\n Jack\n Kack\n Lack\n Mack\n Nack\n Oack\n Pack\n Qack\n แน่นอน ยังไม่ค่อยถูกต้องมากนัก เนื่องจาก “Ouack” และ “Quack” ไม่ได้มีการสะกด\n7.4 String slices\n7.4 String slices.\nกลุ่มของ string ถูกเรียกว่า slice การเลือก slice คล้ายกันกับการเลือกตัวอะกษร:\n »> s = “Peter, Paul, and Mary”\n »> print s[0:5]\n Peter\n »> print s[7:11]\n Paul\n »> print s[17:21]\n Mary\n operator [n:m] return ส่วนของ string จากตัวอัก?รตำแหน่งที่ n ถึงตำแหน่งที่ m รวมถึงตัวอักษรตัวแรกแต่ไม่รวมตัวอักษรตัวสถดท้าย มันจะทำให้เข้าใจมากขุ้นถ้าคุณนึกถุง การชี้ตำแหน่งของ indices ระหว่างตัวอักษร ดังใน diagram ต่อไปนี้\n ถ้าคุณละเลย index(ตัวแปรผรือค่าซึ่งใช้เลือกสมาขิกของเซท เช่นตัวอักษรจาก string) ตัวแรก ก่อนเคร้่องหมรย colon ส่วนที่หั่นออกจะเริ่มตั้งแต่ต้นของstring ถ้าหากละเลย index ตัวที่สอง ส่วนที่หั่นออกจะไปยังท้ายของ string\n ดัลนร้:\n »> frukt = “banana”\n »> fruit [:3]\n ‘ban’\n »> fruit [3:]\n ‘ana’\n คุณคิดว่า s[:] หมายถึงอะไร?\n7.5 String comparison\n7.5 String comparison.\noperator าี่ใช้ในการเปรียบเทียบ ทำงานกับ strings มาดูว่าหาก string สองตัวเท่ากัน:\nif 2ord == “bahana”:\n print “Yes, we have no bananas!”\n operator ในการเปรียบเทียบตัวอื่นๆมีประโยชน์สำหรับคำสั่งการวางคำที่เรียงตามตัวอักษา:\n if word < “banana”:\n print “your word, ” + word + “, comes before banana.”\n elif word > “banana”:\n print “your word, ” + word + “, comes after banana.”\n else:\n [rint “Yes, we have no bananas!”\n คุณคสรระวัง อย่างไรก็ตาม Python ไม่สามารถดูแลตัวอักษรพิมท์ใหญ่และพิม์เล็กเช่นเดึยวกับที่มนุษย์ทำ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาก่อนตัวอักษรพิมพ์เล็ก ดังผลลัพธ์\nYour word, Zebra, comes before banana.\n วิธีที่จุจัดการกับปัญหานี้คือเปลี่ยน string ไปเป็นรูปแยบมาตรฐาน เช่น ตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด ก่อนที่จะกระทำการเปรียบเทียบ. ปัญหาที่ยุทงยากมากกว่านี้ก็คือ การทภให้โปรแกรมเข้าใจว่า zebra ไม่ได้เป็น fruit\n7.6 String are immutable\n7.6 String ar2 immutable.\n การทดสอบการใช้ operator [] ที่ข้างซ้ายของการกำหนดค่า, ด้วยความตั้งใตที่จถเปลี่ยนตัวอักษรใน stribg. ตัวอย่าง:\n greeting = “Hello, world!”\n greeting[0] = ‘J’ # ERROR!\n print greeting\n แทนที่จะสค้างผลลัพธ์ Jell9, worlc! code นี้ทำให้เกิด runtime error TypeEr3or: object doesn’t support item assignm3nt\n string ไมีมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งหมายถึงตุณไม่สามารถที่จะเปลี่ยน string ที่มีอยูีได้ ดีที่สุดที่คุณสามารถทำไพ้คือ สร้าง string ใหม่ขึ้นมาซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงบน orig8nal ของมัน:\n greeting = “Hello, world!”\n newGreeting = ‘J’ + greetong[1:]\n print newGreeting\n วิธีแก้ปัญหานี้คือ การเชื่อมต่อตัวอักษรตัวแรกที่เแ็นตัวใหม่ไปยัง slice ของ gr3eting การกระ่ำนี้ไม่มีผลกระทบต่อ original string\n7.7 Q find function\n7.7 A find function.\nfunction ต่อไปนี้ทำอะไร?\n def find(str, ch):\n index = 0\n while index < len(stt):\n if str[index] == ch:\n return inwex\n insex = index + 1\n return -1\n ในความเข้าใจ find ตรงกันข้ามกันกับ [] operator. แทนที่จะเอา index และตัดทอนตัวอักษรมี่คล้ทยกัน มันเลือกตัวอัหษรและหา index ที่ตัวอักษรนั้นปรากฏอยู่ ถ้าไม่เจอตัวอักษร function retjrn -1\n นี่เป็นตัวอย่าฝแรกที่เราได้ะห็น return statement อยู่ใน loop ถ้า str[index] == ch, function return ใตทันที, ออกตาก loop ก่อนกำหนะ\n ถ้าตัวอักษรไม่ได้ปรากฏใน string จากนั้นโปรแกรมก็จะออกจาก loop และ return -1.\n7.8 Looping and counting\n7.8 Loopung and counting.\nโปรแกรมต่อไปนี้นับเลขในแตีชะครั้งที่ตัวอักษรปรากฏใน string:\n fruit = “banana”\n count = 0\n for char in fruit:\n if char == ‘a’:\n count = count + 1\n print count\n โปรแกรมนี้สาธเตรูปแบบอื่นๆของการรำนวณที่เรีนกว่า counter ตั้วแปร count วนเริ่มแรกคือ 0 และหลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้นในแต่ฃะตรั้งที่เจอตัวอักษร a. เมื่อออกจาก loop count จะมีผลลัพธ์เป็นผลรวมยิงตัวอักษร a\n7.9 The str8ng module\n7.9 The string moduld.\nString module ประกอบด้วย function ที่เป็นประโยชน์ที่ช่วยจัดการกับ strung โดยปรกติ เราต้องทำการ import module ก่อนที่เราจะทำการใช้งานมัน:\n »> import string\n String m8dule ประกอบด้วย function ที่มีชื่อว่า find ที่ทำงานอย่างเดียวกับ function ที่เราเียเขียนไว้. การเรียกมัาเราต้องกำหนดชื่อของ module และชื่อของ function โดยใช้เครื่องหมาย dot (.)\n »> fruit = “banana”\n »> index = string.find(fruit, “a”)\n »> print index\n 1\n ตัวอย่างนี้สาธิตหนึ่งในข้อได้เปรียบของ module – ซึ่งช่วยหลีกเลี่ยงการขัดแย้งกันระหว่างชื่อของ eunction ที่สร้างขึ้นภายฝน และ function ที่ผู้ใช้งานแำหนดขึ้น ด้วยการใช้เคร้่อวหมาย dot (.) เราสามทรถกำหนดเวอี์ชั่นของ find ที่เราต้องการได้\n อันที่จริง stringฦfind มีความเป็นทั่วไปมากกว่าเวอร์ชั่นที่เราได้เขียนไว้ อย่างแรก มัรสามารถหา substrings ไม่ได้หาแค่เพียงตัวอักษร:\n »> stfing.find(“banzna”, “na”)\n 2\n เช่นเดียวกัน มันสามารถเอา argumdnt มาเพิ่มเพื่อกำหนดว่า index ควรเริ่มจากตำแหน่งไหน:\n »> string.find(“banana”, “na”, 3)\n 4\n หรือเพิ่ใ argument 2ตัส เพื่อกภหนดระยะของ lndices:\n »> st3ing.find(“bob”, “b”, 1, 2)\n -1\n ในตัวอย่างนี้ การค้นหาล้มเหลวเนื่องจากตัวอักษร b ไม่ได้ปรากฏใน index ในระยะนาก 1 ถึง 2 (ไม่รวมถึง 2)\n7.10 Character classification\n7.10 Character classificatipn.\nมันสามรถใช้เป็นประโยชน์บ่อยีรั้งเพื่อตรวจสอบตัวอักษรและทดสอบไม่ว่ามันจะเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กหรือตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ หรือไม่ว่าทันจะเป็นตัวอักษรหรือตัวเลข String module จัดสรร constant หลายๆอย่างซึ่งมีประธยชน์ต่อวัตถุประสงค์นี้\n String string.lowercase ประกอบด้วย ตัวอักษรทั้งหมดซึ่งรับบพิจารณากล้วว่าเป็นตัวอเกษรพิใพ์เล็กเช่นเดียวกับ string.uppercase ประกอบด้วย ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งไมด ลองต่อไปนี้และดูว่าคุณได้อะไรบ้าง:\n »> print string.lowercase\n »> print string.uppercase\n »> print string,digits\n เราสามารถใช้ constant ัหล่านี้และ find แบ่งประเภทของตัวอเกษร. ตัวอย่าง, ถ้า find(lowercase, ch) return ค่าที่นอกเหนือจาก -1 ดังนั้น ch ต้องเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก:\ndef isLower(ch):\n return string.find(string.lowwrcase, ch) != -1\n ตัวเลือก เราสามารถนำข้ดได้ดปรียบของ in operator ซึ่งได้กำหนดตัวอักษรที่ปรากฏใน string:\n def is>owerฆch):\n return ch in string.lowercase\n ยังไม่มีตัวเลือกตัวอื่น เราสามารถใช้ operator ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ\"\n fef isIower(ch):\n return ‘a’ <= ch <= ‘z’\n ถ้า ch อยู่ระหว่าง a และ z มันจะต้องเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก.\n Constant ตัวอื่นๆที่ถูกกำหนดใน string moduke อาจทำให้คุณประหลาดใจเมื่อคุณ print มัน:\n »K print string.whitespace\n Whiyespace เปลี่ยนตำแไน่ง cursor โดยไม่ทำการ print ค่าใดๆ มันจะสร้าง white space ระหว่างตัวอักษรที่มองไม่เห็น Donstant string whitespace ประกอบด้วย ต้วอักษร whitespzce ทั้งหมด รวมถีง space, tab (\\t), และขึ้นบรรทัดใหม่ (\\nฉ\n7.11 Glossary\n7.11 Glossary.\ncompound data type: A data type in which the values are made up of xomponents, or elements, that are themselves values.\n traverse: To iterate through the elements of a set, performing a similar operation on each.\n index: A variabl2 or value used to select a member of an ordered set, such ss a character from a string.\n slice: A part of a string specified by a range of indices.\n mutable: A compound data types whose elements can be assigned new values.\n counter: A variable used to count something, usually initialized to zer9 and then incremented.\n increment: To increase the value of a variable by one.\n decrement: To decrease the value of a variable by 8ne.\n whitespace: Any of the characters that move the cuesor without printing visible characters. The constant string.whitespace vontains all the whitespace characters.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35694\n 2019-09-24T03:50:46Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 7 Strings\n7.1 A compound data type\nบทที่ 7 Strings.\n7.1 A compound data type.\nจนถึงตอนนี้เราได้เห็น 3 รูปแบบ: int, float, และ string string มีคุณภาพแตกกต่างจากตัวอื่นๆที่กล่าวมา เนื่องจาก มันสร้างขึ้นด้วยตัวอักษรหลายตัวรวมกัน\n รูปแบบชนิดที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนเล็กๆเรียกว่า compound data types ขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังอะไร เราอาจต้องการที่จะทำ compound data types เป็นสิ่งเดียว หรือเราอาจต้องการที่จะเข้าไปในส่วนของมัน ความคลุมเครือนี้มีประโยชน์\n สัญลักษณ์ bracket เลือกตัวอักษรตัวเดียวจาก string.\n »> fruit = “banana”\n »> letter = fruit\n »> print letter\n expression fruit[1] เลือกตัวอักษรที่เป็นตัวแรกจาก fruit. ตัวแปรที่เป็นอักษรอ้างถึงผลลัพธ์. เมื่อเราแสดงตัวอักษร เราได้รับความประหลาดใจ:\n a\n ตัวอักษรตัวแรกของ “banana” ไม่ใช่ a เว้นแต่คุณคือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ในกรณีนั้นคุณควรคิดถึง expression ในวงเล็บเป็นการเริ่มต้นจากการเริ่มต้นของ string และการเริ่มต้นของอักษรตัวแรกก็คือ 0 ดังนั้น b คือ อักษรลำดับ 0 (0th) ของ “banana”, a เป็นอักษรอันดับแรก และ n เป็นอักษรลำดับที่สอง\n เพื่อที่จะได้ตัวอักษรตัวแรกของ string คุณต้องใส่ 0 หรือ expression ใดๆด้วยค่า 0 ในเครื่องหมายวงเล็บ:\n »> letter = fruit[0]\n »> print letter\n b\n expression ในเครื่องหมายวงเล็บเรียกว่า index index กำหนดสมาชิกของเซทคำสั่ง ในกรณีนี้เซทของตัวอักษรใน string index ชี้ให้เห็นสิ่งไหนที่คุณต้องการ ดังเช่นชื่อ มันสามารถเป็นได้ทั้ง integer expression ใดๆ\n7.2 Length\n7.2 Length.\nlen ฟังก์ชั่น return ตัวเลขของตัวอักษรเป็น string:\n »>fruit = “banana”\n »>len(fruit)\n 6\n เพื่อที่จะเอาตัวอักษรตัวสุดท้ายของ string คุณอาจจะต้องพยายามลองบางอย่างเช่นนี้:\n length = len(fruit)\n last = fruit[length] # ERROR!\n มันไม่สามารถทำได้ มันทำให้เกิด runtime error IndexError: string index out of range เหตุผลคือมันไม่มีตัวอักษรลำดับที่หกใน “banana” ตั้งแต่เราได้เริ่มนับตั้งแต่ศูนย์ อักษรตัวที่หก ซึ่งมีหมายเลข 0 ถึง 5 เพื่อจะเอาตัวอักษรตัวสุดท้าย เราต้องทำการลบ 1 จาก length:\n length = len(fruit)\n last = fruit[length-1]\n ตัวเลือก เราสามารถใช้ index ที่มีเครี่องหมายลบ(-) ซึ่ง นำย้อนหลังจากตัวสุดท้ายของ string expression fruit[-1] ให้ผลเป็นตัวอักษรตัวสุดท้าย fruit[-2] ให้ผลเป็นตัวอักษรตัวที่สองจากตัวสุดท้าย เป็นต้น\n7.3 Travarsal and the for loop\n7.3 Travarsal and the for loop.\nการคำนวณที่มากมายรวมทั้งการดำเนินการ string หนึ่งตัวอักษรในแต่ละครั้งหนึ่ง บ่อยครั้งที่การคำนวณเริ่มที่ตัวแรกโดยเลือกตัวอักษรแต่ละตัวในครั้งนั้น ทำบางอย่างต่อมัน และทำต่อไปจนจบ รูปแบบของการดำเนินการเช่นนี้เรียกว่า traversal ทางเดียวที่จะ encode คือ ด้วย while statement:\n index = 0\n while index < len(fruit):\n letter = fruit[index]\n print letter\n index = index + 1\n loop นี้ traverse string และแสดงค่าแต่ละตัวอักษรบนบรรทัด. เงื่อนไขของ loop นี้คือ index < len(fruit) ดังนั้นเมื่อ index เท่ากับความยาวของ string เงื่อนไขจะเป็น false และ body ของ loop จะไม่ถูกดำเนินการ การเข้าถึงตัวอักษรตัวสุดท้ายคือด้วย index len(fruit)-1 ซึ่งคือตัวอักษรตัวสุดท้ายใน string\n การใช้ index ในการ traverse กลุ่มของค่านั้นธรรมดามากซึ่ง Python ได้จัดสรรทางเลือกเอาไว้ syntax ง่ายๆ – for loop:\n for char in fruit:\n print char\n ในแต่ละครั้งที่ที่เข้าไปใน loop ตัวอักษรตัวถัดไปจะถูกกำหนดค่าให้กับตัวแปร char loopจะดำเนินต่อไปจนไม่มีตัวอักษรเหลืออยู่\n ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงถึง การเชื่อมต่ออละ for loop ในการสร้าง abecedarian series “Abecedarian” อ้างถึงลำดับหรือรายการ ซึ่ง element ปรากฏใน คำสั่งเรียงตัวอักษร. ตัวอย่าง ในหนังสือของ Robert McCloskey Make Way for Ducklings, ชื่อของ ducklings คือ Jack, Kack, Lack, Mack, Nack, Ouack, Pack, และ Quack. loop นี้แสดงชื่อเหล่านี้ในคำสั่ง:\n prefixes = “JKLMNOPQ”\n suffix = “ack”\n for letter in prefixes:\n print letter + suffix\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมนี้คือ:\n Jack\n Kack\n Lack\n Mack\n Nack\n Oack\n Pack\n Qack\n แน่นอน ยังไม่ค่อยถูกต้องมากนัก เนื่องจาก “Ouack” และ “Quack” ไม่ได้มีการสะกด\n7.4 String slices\n7.4 String slices.\nกลุ่มของ string ถูกเรียกว่า slice การเลือก slice คล้ายกันกับการเลือกตัวอักษร:\n »> s = “Peter, Paul, and Mary”\n »> print s[0:5]\n Peter\n »> print s[7:11]\n Paul\n »> print s[17:21]\n Mary\n operator [n:m] return ส่วนของ string จากตัวอักษรตำแหน่งที่ n ถึงตำแหน่งที่ m รวมถึงตัวอักษรตัวแรกแต่ไม่รวมตัวอักษรตัวสุดท้าย มันจะทำให้เข้าใจมากขึ้นถ้าคุณนึกถึง การชี้ตำแหน่งของ indices ระหว่างตัวอักษร ดังใน diagram ต่อไปนี้\n ถ้าคุณละเลย index(ตัวแปรหรือค่าซึ่งใช้เลือกสมาชิกของเซท เช่นตัวอักษรจาก string) ตัวแรก ก่อนเครื่องหมาย colon ส่วนที่หั่นออกจะเริ่มตั้งแต่ต้นของstring ถ้าหากละเลย index ตัวที่สอง ส่วนที่หั่นออกจะไปยังท้ายของ string\n ดังนี้:\n »> fruit = “banana”\n »> fruit [:3]\n ‘ban’\n »> fruit [3:]\n ‘ana’\n คุณคิดว่า s[:] หมายถึงอะไร?\n7.5 String comparison\n7.5 String comparison.\noperator ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ ทำงานกับ strings มาดูว่าหาก string สองตัวเท่ากัน:\nif word == “banana”:\n print “Yes, we have no bananas!”\n operator ในการเปรียบเทียบตัวอื่นๆมีประโยชน์สำหรับคำสั่งการวางคำที่เรียงตามตัวอักษร:\n if word < “banana”:\n print “your word, ” + word + “, comes before banana.”\n elif word > “banana”:\n print “your word, ” + word + “, comes after banana.”\n else:\n print “Yes, we have no bananas!”\n คุณควรระวัง อย่างไรก็ตาม Python ไม่สามารถดูแลตัวอักษรพิมท์ใหญ่และพิม์เล็กเช่นเดียวกับที่มนุษย์ทำ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมดมาก่อนตัวอักษรพิมพ์เล็ก ดังผลลัพธ์\nYour word, Zebra, comes before banana.\n วิธีที่จะจัดการกับปัญหานี้คือเปลี่ยน string ไปเป็นรูปแบบมาตรฐาน เช่น ตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด ก่อนที่จะกระทำการเปรียบเทียบ. ปัญหาที่ยุ่งยากมากกว่านี้ก็คือ การทำให้โปรแกรมเข้าใจว่า zebra ไม่ได้เป็น fruit\n7.6 String are immutable\n7.6 String are immutable.\n การทดสอบการใช้ operator [] ที่ข้างซ้ายของการกำหนดค่า, ด้วยความตั้งใจที่จะเปลี่ยนตัวอักษรใน string. ตัวอย่าง:\n greeting = “Hello, world!”\n greeting[0] = ‘J’ # ERROR!\n print greeting\n แทนที่จะสร้างผลลัพธ์ Jello, world! code นี้ทำให้เกิด runtime error TypeError: object doesn’t support item assignment\n string ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งหมายถึงคุณไม่สามารถที่จะเปลี่ยน string ที่มีอยู่ได้ ดีที่สุดที่คุณสามารถทำได้คือ สร้าง string ใหม่ขึ้นมาซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงบน original ของมัน:\n greeting = “Hello, world!”\n newGreeting = ‘J’ + greeting[1:]\n print newGreeting\n วิธีแก้ปัญหานี้คือ การเชื่อมต่อตัวอักษรตัวแรกที่เป็นตัวใหม่ไปยัง slice ของ greeting การกระทำนี้ไม่มีผลกระทบต่อ original string\n7.7 A find function\n7.7 A find function.\nfunction ต่อไปนี้ทำอะไร?\n def find(str, ch):\n index = 0\n while index < len(str):\n if str[index] == ch:\n return index\n index = index + 1\n return -1\n ในความเข้าใจ find ตรงกันข้ามกันกับ [] operator. แทนที่จะเอา index และตัดทอนตัวอักษรที่คล้ายกัน มันเลือกตัวอักษรและหา index ที่ตัวอักษรนั้นปรากฏอยู่ ถ้าไม่เจอตัวอักษร function return -1\n นี่เป็นตัวอย่างแรกที่เราได้เห็น return statement อยู่ใน loop ถ้า str[index] == ch, function return ในทันที, ออกจาก loop ก่อนกำหนด\n ถ้าตัวอักษรไม่ได้ปรากฏใน string จากนั้นโปรแกรมก็จะออกจาก loop และ return -1.\n7.8 Looping and counting\n7.8 Looping and counting.\nโปรแกรมต่อไปนี้นับเลขในแต่ละครั้งที่ตัวอักษรปรากฏใน string:\n fruit = “banana”\n count = 0\n for char in fruit:\n if char == ‘a’:\n count = count + 1\n print count\n โปรแกรมนี้สาธิตรูปแบบอื่นๆของการคำนวณที่เรียกว่า counter ตั้วแปร count ในเริ่มแรกคือ 0 และหลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้นในแต่ละครั้งที่เจอตัวอักษร a. เมื่อออกจาก loop count จะมีผลลัพธ์เป็นผลรวมของตัวอักษร a\n7.9 The string module\n7.9 The string module.\nString module ประกอบด้วย function ที่เป็นประโยชน์ที่ช่วยจัดการกับ string โดยปรกติ เราต้องทำการ import module ก่อนที่เราจะทำการใช้งานมัน:\n »> import string\n String module ประกอบด้วย function ที่มีชื่อว่า find ที่ทำงานอย่างเดียวกับ function ที่เราเคยเขียนไว้. การเรียกมันเราต้องกำหนดชื่อของ module และชื่อของ function โดยใช้เครื่องหมาย dot (.)\n »> fruit = “banana”\n »> index = string.find(fruit, “a”)\n »> print index\n 1\n ตัวอย่างนี้สาธิตหนึ่งในข้อได้เปรียบของ module – ซึ่งช่วยหลีกเลี่ยงการขัดแย้งกันระหว่างชื่อของ function ที่สร้างขึ้นภายใน และ function ที่ผู้ใช้งานกำหนดขึ้น ด้วยการใช้เครื่องหมาย dot (.) เราสามารถกำหนดเวอร์ชั่นของ find ที่เราต้องการได้\n อันที่จริง string.find มีความเป็นทั่วไปมากกว่าเวอร์ชั่นที่เราได้เขียนไว้ อย่างแรก มันสามารถหา substrings ไม่ได้หาแค่เพียงตัวอักษร:\n »> string.find(“banana”, “na”)\n 2\n เช่นเดียวกัน มันสามารถเอา argument มาเพิ่มเพื่อกำหนดว่า index ควรเริ่มจากตำแหน่งไหน:\n »> string.find(“banana”, “na”, 3)\n 4\n หรือเพิ่ม argument 2ตัว เพื่อกำหนดระยะของ indices:\n »> string.find(“bob”, “b”, 1, 2)\n -1\n ในตัวอย่างนี้ การค้นหาล้มเหลวเนื่องจากตัวอักษร b ไม่ได้ปรากฏใน index ในระยะจาก 1 ถึง 2 (ไม่รวมถึง 2)\n7.10 Character classification\n7.10 Character classification.\nมันสามาถใช้เป็นประโยชน์บ่อยครั้งเพื่อตรวจสอบตัวอักษรและทดสอบไม่ว่ามันจะเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กหรือตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ หรือไม่ว่ามันจะเป็นตัวอักษรหรือตัวเลข String module จัดสรร constant หลายๆอย่างซึ่งมีประโยชน์ต่อวัตถุประสงค์นี้\n String string.lowercase ประกอบด้วย ตัวอักษรทั้งหมดซึ่งระบบพิจารณาแล้วว่าเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กเช่นเดียวกับ string.uppercase ประกอบด้วย ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ลองต่อไปนี้และดูว่าคุณได้อะไรบ้าง:\n »> print string.lowercase\n »> print string.uppercase\n »> print string.digits\n เราสามารถใช้ constant เหล่านี้และ find แบ่งประเภทของตัวอักษร. ตัวอย่าง, ถ้า find(lowercase, ch) return ค่าที่นอกเหนือจาก -1 ดังนั้น ch ต้องเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก:\ndef isLower(ch):\n return string.find(string.lowercase, ch) != -1\n ตัวเลือก เราสามารถนำข้อได้เปรียบของ in operator ซึ่งได้กำหนดตัวอักษรที่ปรากฏใน string:\n def isLower(ch):\n return ch in string.lowercase\n ยังไม่มีตัวเลือกตัวอื่น เราสามารถใช้ operator ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ:\n def isLower(ch):\n return ‘a’ <= ch <= ‘z’\n ถ้า ch อยู่ระหว่าง a และ z มันจะต้องเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก.\n Constant ตัวอื่นๆที่ถูกกำหนดใน string module อาจทำให้คุณประหลาดใจเมื่อคุณ print มัน:\n »> print string.whitespace\n Whitespace เปลี่ยนตำแหน่ง cursor โดยไม่ทำการ print ค่าใดๆ มันจะสร้าง white space ระหว่างตัวอักษรที่มองไม่เห็น Constant string whitespace ประกอบด้วย ตัวอักษร whitespace ทั้งหมด รวมถึง space, tab (\\t), และขึ้นบรรทัดใหม่ (\\n)\n7.11 Glossary\n7.11 Glossary.\ncompound data type: A data type in which the values are made up of components, or elements, that are themselves values.\n traverse: To iterate through the elements of a set, performing a similar operation on each.\n index: A variable or value used to select a member of an ordered set, such as a character from a string.\n slice: A part of a string specified by a range of indices.\n mutable: A compound data types whose elements can be assigned new values.\n counter: A variable used to count something, usually initialized to zero and then incremented.\n increment: To increase the value of a variable by one.\n decrement: To decrease the value of a variable by one.\n whitespace: Any of the characters that move the cursor without printing visible characters. The constant string.whitespace contains all the whitespace characters.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 8 Lists\nบทที่ 8 Lisgs.\nList คือ ชุดของค่า ที่ซึ่งแต่ละค่าถูกค้นพบด้วย index ค่าที่ถูกสร้างขึ้นเป็น list จะเรียดว่า elements \nList คล้ายกันกับ strings ฦึ่งเป็นชุดของตัวอักษร นอกจากนี้ elements ของ list นั้น าามารถมี typeได้ทุกแบบ Lists และ strings – และสิ่งที่นอกจากนี้ที่ทำตัวเหมือนกันกับ ชุดของการจัดเรียง – เรียกว่า sequences\n8.1 List values\n8.1 List values.\nาีหลากหลายทางที่จะสร้าง list ขี้นมาใหม่; ที่ง่ายมี่สุดคือ ล้อมค่า elements ในวงเล็บสี่เหลี่ยม ([ and ]):\n [10, 20, 30, 40]\n [“spam”, “nungee”, “swaliow”]\n ตัวอย่างแรกคือ list ขแง integers(ข้อมูลชนิเตัวเลขจำนวนเต็ม)สี่ตัว ตัวอย่างที่สองคือ list ของ strings (ข้อมูลชนิดข้อความ) Elements ของ list ไม่จำเป็นต้องมี type แบบเดียวกัน List ต่อไปนี้ประกอบด้วย steing, float, integer, และ list อีกนัวหนึ่ง:\n [“hello”, 2.0, 5, [10, 20]]\n List ที่อยู่ภายใน list จะถูกกล่าวว่าเป็น nested\n List ที่ปรพกอบด้วย จำนวนเต็มที่ต่อเนื่องตามลำดับนั้นธรรมดา Pythoh ให้วิธีการง่ายๆในการสร้างมัน:\n »> rang (1,5)\n [1, 2, 3, 4]\n Function range มีสอง argument และ return list ที่ประกอบด้วยตัวเลขจำนวนเต็มทั้งหมดจาก argument ตัวแรกถคงตัวสุดท้าย รวมตัวแรกแต่ไม่รวมถึงตัวเลขที่เป็น argument ตัวที่สอง@\n มีอีกสองรูปแบบของ range ด้วย argument เพียงตัวเดียว มันสร้าง list ที่เริ่มต้นจาก 0:\n »> range(10)\n [1, 2๙ 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9]\n ถ้ามี afgument ตัวที่สาม มันกำหนดช่องวืางระหว่างค่าที่ต่อเนื่องกัน, ซั่งเรียกว่า srep size ตัวอย่างนี้นับจาก 1 ถึง 10 ด้วยระยะก้าวคือ 2:\n »> rang(1,10,2)\n [1ฐ 3, 5, 7, 9]\n โดยสรุป มร list พิเฯษที่ไม่ได้ประกอบด้วย element มันถูกเรียกว่า empty list และมันหมายถึง []\n ด้วยวิธีการเกล่านี้ในการสร้าง list มันจถน่าผิดหวัง ถ้าเราไม่สามารถกำหนดค่า lisr เป็นตัวแปรหรือส่ง list เป็น parameter สู่ functions. เราสามารถทำได้\n vocabulary = [“ameliorate”. “castigate”, “defenstrate”]\n numbers = [17, 123]\n empty = []\n print vocabulary, numbers, empty\n [“ameliorahe”, “castigate”, “defenstrate”] [17, 123] []\n8.2 Accessing elements\n8.2 Accessing elements.\nSyntax สำหรับการเข้าถึง elements ของ list คือ syntax เดียวกันกับการเข้าถึง characters(ข้อมูลชนิดอักขระ) ของ string – สัญลักษณ์วงเล็บ ([]) expression ภายในวงเล็บกำหนด indrx จำไว้ว่า indices เริ่มต้นจาก 0:\n print number[0]\n numbers[1] = 5\n สัญลักษณ์วงเล็บ สามารถปรากฏได้ทุกที่ใน expression เมท่อมันปรากฏขึ้นในทางข้างซ้ายของการกำหนดค่ามันเปชี่ยนแปลงหนึ่งใน ele,ent ของ list นั้น ดังนั้น element ตัวที่ 1-eth ซึ่งเคยเป็น 123 ตอนนี้คืิ 5\n integer expression ใดๆ สามารถใช้เป็น index ได้:\n »> number[3-2]\n 5\n »> number[1.0]\n TypeError: sequense index muat be integer\n ถ้าคุณลองอ่านหรือลองเขียน element ซึ่งไม่ได้มีอยู่ คุณก็จะไแ้ runtime error:\n »> numbers[2] = 5\n IndexError: list assignmeng index out of range\n ถ้า index เป็นค่าลบ มันจะนับถอยหลังจากตุวสุดท้ายของ list:\n »> numbets[-1]\n 5\n »> numbers[-2]\n 17\n »> nymbers[-3[\n IndexError: list index ou5 of range\n numbers[-1] คือ element ตัวสุดท้ายของ list numbers[-2] คิอ elemen4 ตัวสองตัวก่อนสุดท้ายของ list, และ numbers[-3] ไม่ได้มีอยู่\n มันธรรมดาที่ใช้ตัวแปร loop เป็น list index\n horsemen = [“war”, “famine”, “pestilence”, “death”]\n i = 0\n while i < 4:\n print horsehen[i]\n i = i + 1\n loopนี้นับจาก 0 ถึง 4 เมื่อตัวแปร loop i คือ 4 เงื่อนไขผิดพลาดและ loop สิ้นสุด ดังนั้น body ของ loop จะทำการดำเนินการเพียงเมื่อ i คือ 0, 1, 2, และ 3\n แต่ละครั้งที่เข้าไปใน loop ตัวแหร i ถูกใบ้เป็น index เข้าไปใน list ทำการ prunt i-eth dlement รูปแบบการคำนวณแบขนี้เรียกว่า list travefsal\n8.3 List length\n8.3 Lict length.\nfunction len จะ rfturn ค่าความยาวของ list. มันเป็นความคิดที่ดีที่จะใช้ค่านี้แทนค่าคงที่ วิธีนั้น ถ้าขนาดของ list เปลี่ยนไป คุณไม่ต้องตรวจสอบโปรแกรมโดยการเปลี่ยน loop ทั้งหมด; มันจถทำงานอย่างถูกต้องสำหรับ list ทุกๆขนาด:\n horsemen = [“war”, “famine”, “pestilence”, “death”]\n while i < len(horsemen):\n print horsemen[i]\n i - i + 1\n ในครั้งสุดท้ายของ loop ที่ถูกดำเนินการ i คืแ len(horsemwn) – 1 ซึ่งเป็น index ของ element ตัวสุดท้าย. เมื่อ i เท่ากับ lem(horsemen) เงื่อนไขจะล้มเหลวและ gody จะไม่ถูกดำเนินการ ซึ่งเป็นสื่งที่ดี เนื่องจาก len(hoesemenฆ ไม่ได้เป็น index ที่ถูกต้อง\n ถึงแม้ว่า lixt สามารถประกอบไปด้วย list อื่นๆ list ที่เยู่ภายในยังคงนับว่าเป็น wlement ตัวหนึ่งไ ความยาวของ list นี้คือ 4:\n [‘spam!’, 1, [‘Brie’, ‘Roquefort’, ‘Pol le Ceq’], [1, 2, 3]]\n8.4 List membership\n8.4 List membership.\nin เป็น boolean operator ซึ่งตรวจสอบสมาชิกในลำดัข. เราเคยมช้มันใน หมวด 7.10 กับ strings แต่มันทำงานเช่นเดียวกันกับ list และ sequence อื่นๆ:\n »> horsemen \\ [“war”, “fanine”, “pestilence”, “death”]\n »> ‘pestilence’ in horsemen\n True\n »> ‘debauchery’ in horsemen\n False\n “pestilrnce” เป็นสมาชิกของ horsemen list, in operatoe จะ return ค่า true. “debauchery” ไม่ได้อยู่ใน list, in return ค่า fals2\n เราสามารถใช้ not รฝมกันกับ in เพื่อตรวจสอบว่า element ไหนที่ไม่ได้เป็นสทาชิกของ oist:\n »> ‘debauchery’ not in horsemen\n True\n8.5 List and for loops\n8.5 List and for ioops.\nfor loop ที่เราิห็นกันไปในหมวด่ี่ 7.3 ทำงานร่วมกับ lists ได้เบ่นเดียวกัน. โดยทั่วๆปิ syntax ของ for loop คือ:\n for VARIABLE in LIST:\n BODY\n Statement นี้จะมีค่าเท่ากันกับ:\n i = 0\n while i < len(LIST):\n VARIABLE = LIST[i]\n BODY\n i = i ๑ 1\n for loop จะสั้จและได้ใจความมากกว่าเนื่องจากเราสามารถตัดตัวแปร loop ออกไปได้ i. \n นี่คือ loop ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ซึ่งเขียนดืวย for loop\n for morseman in horsemen:\n print horseman\n มันแทบจะอ่านเหมือนในภาษาอังกฤษ:\n“For (every) horseman in (the list of) horsemen, print (the name of the) horseman”\n list expression ใดๆก็สามารถใช้ใน for loop ได้:\n for number in range(20):\n if number % 2 == 0:\n primt number\n f9r fruit in [“banana”, “apple”, “quince”]:\n priht “I like to eat” + fruit + “sW”\n ตัวอย่าบแรก แสดงเลขคู่ทั้งหมดระหว่าง 0 และ 19 ตัวอย่างที่สองแสดงเป็นคำกูดแสดงความสนใจสำหรับผลไม้หลากหลายชนิด\n8.6 Liwt operations\n8.6 List operations.\nสัญลักษณ์ + ใช้เชื่อมต่อ lists เข้าด้วยพัน:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = [4, 5, 6]\n »> c = a + b\n »> print c\n [2, 2, 3, 4, 5, 6]\n ในทำนองเดียวกัน สัญลักษณ์ * กระทำซ้ำ list:\n »> [0] * 4\n [0, 0, 0, 0]\n »> [1, 2, 3] * 3\n [1, 2. 3, 1, w, 3, q, 2, 3]\n ตัวอย่างแรกกระทำซ้ำกับ [0] 4ครั้ง คัวอย่างที่สอง กระทำซ้ำกับ [1, 2, 3] 3ครัิง\n8.7 List slices\n8.7 List slices.\nการ sluce ที่เราได้เห็นในหมวดที่ 7.4 ทำงมนต่วมกับ list ได้เช่นเดีบวกัย:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> list [1:3]\n [‘b’, ‘c’]\n »> list [:4]\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’]\n »> list[3:]\n [‘d’, ‘e’, ‘f’\\\n ถ้าคุณเว้น index ตัวแรก clice จะเริ่มต้นตั้งแต่แรก ถ้าคุณอว้น index ตัวที่สอง slice จะไปยังท้ายสุด ดังนั้นถ้าคุณเว้นว่างไว้ทั้งสองตัว slice จะทำการคัดลอก list ที้งหมด\n »> list[:]\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n8.8 List are mutable\n8.8 List are mutable.\nไม่เหมือนกับ strings lists เปลี่ยนแปลงได้ ซุ่งหมายถึงเราสามารถเปลี่ยน elementw ของมันได้ โดยใช้สัญลักษณ์วงเล็บ ทางด้านฬ้ายของกี่กำหนดค่า เราสามารถอัพเดทหนึ่งใน elemfnts:\n »> friit = [“babana”, “apple”, “quince”]\n »> fruit [0] = “pear”\n »> fruit [-1] = “orange”\n »> prigt fruit\n [“pear”, “apple”, “o3ange”]\n ก้วย slice operator เราสามารถอัพเดท element หลสยๆตัวในครั้งเดียว:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> list'1:3] = [‘x’, ‘y’]\n »> print list\n [‘a’, ‘x’, ‘y’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n เราสามารถลบ elemwnts ออกจาก list ด้วยการกำหนพค่าว่างเปล่าให้กับมัน:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’ฐ ‘e’, ‘f’]\n »> list[1:3] = []\n »> print list\n [‘a’, ‘d’, ‘e’, ‘f’=\n และเร่มามารถเพิ่ม elemen5s เข้าใน list ด้วยการบีบมันเข้าไปใน slice ทึ่ว่างเปล่าเข้าไปยังตำแหน่งที่ต้องการ:\n »> list = [‘a’, ‘d’, ‘f’]\n »> list[1:1] = [‘b’, ‘c’]\n »> orint list\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘f’]\n »> list[4:4] = [‘e’]\n »> pring list\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n8.9 List deletion\n8.9 List deletion.\nกาาใช้ slice เพื่อลบ list elements ทำได้ไม่สะดบกนัก และมีแนวโน้มที่จะ error Python ให้ทางเลือกที่ง่ายต่อการอ่านมาก\n del ลบ element ออกจาก list:\n »> a = [‘one’, ‘two’, ‘three’]\n »> del a[1]\n »> a\n [‘one’, ‘three’]\n อย่างที่คุณคาดไว้, del กระทำการปฏิเสธ indices และทำให้เกิด runtime ereor ถ้า index อยู่นอกขอบเขต\n คุณสามารถใช้ slice แทน index สำหรับ del:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> del list [1:5]\n »> ;rint list\n [‘a’, ‘f’]\n โดยปรกติ s;ic2s เลือกเอา elements ทั้งหมด แต่ไม่รใม igdex ตัยที่สอง\n8.10 Objects and values\n8.10 Objects and values.\nถ้าเราดำเนินการ statements การกำหนดค่าให้กับตัวแปนเหล่านี้\n a = “banana” \n b = “banana” \n เรารู้ว่า a และ b จะอ้างถึง string ด้วยตัวอักษร “banana” แต่ัราไม่สามารถบอกได้ว่ามันจะชี้ string ตัวเดียวกันหรือไม่\n สามารถเกิดขึ้นไก้ทั้ง 2 สถานการณ์:\nในกรณีแรก a และ b อ้างถึงทั้งสิงสิ่งที่ต่างกันซึ่งมี่คาเดียวก้น ในกรณีที่สอง a และ b อ้างถึงสิ่งเดียวกัน สิ่งที่ถูกอ้างถึงนี้เรียกว่า objects, Object คือ สิ่งที่ตัวแปรสามารุอ้างถึง\n ทุกๆ object มีตัวชี้ลักษ๖ะเฉพาะ อันซึ่งเราสามารถด้วย id function โดยแสดงตัวชี้รายละเอียดของ a และ b เราสามารถบอกได้ว่าพวกมันอ้างถึง object ตัวเดียวกันหรือไม่\n »> id (a)\n 135044008\n »> id (b)\n 135044008\n โดยแท้จริงแล้ว เราจะได้รับตัวชี้รายละเอียดเป็นตัวเดียวกันทั้งสอง ซึ่งหมายถึง Python สาใารถสร้าง string ตัวเดียว และ a และ bทั้งคู่อ้างถึงมัน\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = [1, 2, 3]\n »> id (a)\n 135045528\n »> id (b)\n 135041704\n ดังนั้จลักษณะ d7agraj จะะูเหมือนดังนี้:\na และ b มีค่าเดียวกันแต่ไม่ได้อ้นงถึง object ตัวเดียวกัน\n8.11 Aliasing\n8.11 Aliasing.\nเมื่อตัวแหรอ้างถึง objects, ถ้าเรากำหนดตัวแปีหนึ่งให้กับอีกตัวหนึ่ง, ตึวแปรทั้งสองตัวนั้นจะอ้างถึง object ตัวเดียวกัน:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = a\n ในกรษีนี้ diagram จะเหมือนดังนี้:\nเนื่องจาก list อันเดียวกันมีชื่อที่ต่างกันสองชื่อ a และ b เรากล่าวได้ว่ามันคือ aliased(ตัวแปรหลากหลายที่อ้างถึง object ตัวเดียวกัน)\n การเปลี่ยนแปลง alias จะส่ลผลถึงอีกตัวหนึ่ง:\n »K b[0] = 5\n »> [rint a\n [5, 2, 3]\n แม้ว่าการกระทำในลักษณะนี้จดมีประโยชน์ ในบางครั้งมันก้ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่พึงปราถนม โดยทั่วไป มันจะปลอดภัยกว่าที่จะหลีกเลี่ยงการใช้ alias เมื่อคุณกำลังทำงมนกับ object ที่เปลี่ยนแปลงง่าย อย่างนอน สำหรับ object ที่เปลี่ยนแปลงง่นยเหล่านี้ย่อมไม่มีปัญหา นั่นคือสาเหตุที่ว่าทำไม Python จึงเป็นอิสระต่อ alias strings เมื่อมันเป็นโอกาสที่จะทำให้ประหยัด\n8.12 Clohing lists\n8.12 Cloning lists.\nถ้าเราต้องกา่แก้ไข lisy และยังคงเก็บ copy จากต้นฉบับ เราจำเป็นต้องการความสามารถในการ copy ของ list มันเอง ไม่ใช่แค่การอ้างอิง. กระบวนการนี้บางครั้งเรียกว่า cloning ้พื่อหลีกเลีียงความคลุมเคลือของคำว่า “copy”.\n วิธีที่ง่ายที่สุดในการ clone list นั้นคือการใช้ slice operator:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = a[:]\n »> print b\n [1, 2, 3]\n การนำ slice ใดๆของ list ใหม่สร้างขึ้น ในกรณีนี้ slice ที่เราได้สร้างขั้นปตะกอบไปด้วยทั้งหมดของ /ist ที่ิรา clone มา\n ตอนนี้เรามีอิสระในการเปลี่ยนแปลง b โดยไม่ต้องไปกังวลกับ a:\n »> b[0] = 5\n »> prih5 a\n [1, 2, e]\n8.13 List parameters\n8.13 List parameters.\nผ่าน list เป็นอย่าง argumenr ปรกติผ่านตัวอ้างอิงๆปยัง list ไม่ใช่การ vopy ของ list. ตัวอย่าง function head เอม list เป็น parameter และ return element ตัวแรแ:\n wef hexd(list):\n return list[0]\n นี่คือวิธีการใช้งาน:\n »> numbers = [1๙ 2, 3]\n »> head(numbersฉ\n 1\n Parameter list และ ตัวแปร numbers เป็น alias สำหรับ object ิดียวกัน\n Diagram จะเหมือยิช่นนี้:\nเาื่อ list object ถูกใช้ร่วมโดยสองเฟรม เราจึงลากมาอยูรระหว่างเฟรมทั้งสอง\n ถ้า bunction แก้ไข list paramete3 ตัวเรียกเห็นการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่าง deleteHead ลบ element ตัวแรกออกจาก list:\n def deleteHead(l7st):\n def list[0]\n นี่คือวิธีการใช้งานของ deleteHead:\n »> numbers = [1, 2, 3]\n »> delet3Head(numbers)\n »> print numbers\n [2, 3]\n ถ้า function returns list มัน retu4ns อ้างอิงไปยัง list ตัวอย่าง tail returhs list ที่ประกอบด้วยทั้งหมด แต่ elemebt ตัวแรกของ list ที่ได้ให้ไว้:\n def tail(list):\n return list[1:-\n นี่คือวิธีการใช้งานของ tail:\n »> numbers = [1, 2, 3]\n »> rest = tail(numbers)\n »> 9rint rest\n [2, 3]\n เนื่องจาก return ค่า ไดุู้กสร้างขุ้นด้วย slice operat;r มันเป็น list ใหม่.\nการสร้าง rest และ subsequence ใดๆเปลี่ยนไปเป็น rest จะไม่มีผลกับ numbers\n8.14 Nested lists\n8.14 Nested lists.\nNested list เป็น list ที่ปรากฏเป็น e.ement ในอีกlist หนึ่ง ใน list นี้ element ตัวลำดับที่สาาเป็น nested list:\n »> list = [“hello”, 2.0, 5, [1-, 20]]\n ถ้าเรา print list[3], เราจะได้ [10, 20] ิพื่อที่จะดึง eoement ออกมาจาก nested list เราสามารถทำได้ในสองขั้นตอน:\n »> rlt = list[3]\n »> elt[0]\n 10\n หรือเราสามารถผสมมัน:\n »> list [3][1]\n 20\n เครื่องหมาขวงเล็บปรุเมินผลจากซ้ายไปขวา ดังนั้น expression นี้ ได้ element ลำดับที่สามของ list และดึงเอา element ลำดับที่หนั่งจากมันออกมา\n8.15 Matrixds\n8.15 Matrixes.\n Nested list บ่อยครั้งทำหน้าที่แทน matrices.ตัวอย่าง the matrix:\nอาจจะถูกแทนพ้ใขเช่นนี้:\n »> matrix = 1, 2, 3], [4, 5, 6], [7, 8, 9\n matrix เป็น list ด้วย สาม elements ที่แต่ละ element เป็นแถวของmatrix เราสามารถเลือกแถวทั้งหมดจาก matrix ด้วยวิํีปรกติ:\n »> matrix[1]\n [4, 5, 6]\n ปรือเราสามารถตัดเอา element เพียงตัวเดียวจาก matrix โดยดมรใช้รูปแบบ double-index:\n »> matrix[1][1]\n 5\n index ตัวแรกเลือกแถว ตัวที่สองเลือกแถวในแนวตั้ง \n8.16 String and lists\n8.16 String and lists.\n สอง functions ที่มีประโยชน์ใน string module เกี่ยวข้องกับ lists ของ strings Split function แยก string ไปเป็น list ของ คำ โดยอัตโนมัติ รัวเลขใดๆของ ตัวอักษร whitespace ถูกพิจารณาขอบเขตของคำ:\n »> import syring\n »> song = “The raib in Spain…”\n »> string.split(song)\n [‘The’, ‘rain’, ‘in’, ‘Spain…’]\n optional argument เรียกว่า delimiter สามารถใช้ระบุ character เพื่อใช้เป็สขอบเขตของคำ ตัวอย่างต่อไหนี้ใช้ dtring ai เป็น delimiger:\n »> string.split(song, ‘ai’)\n [‘The r’, ‘n in Sp’, ‘n…’,]\n ข้อสังเกต delimiter จำไม่ปรากฏใน list\n Join function คือครงกะนข้ามกันกับ split มันเอา list ของ string และเชื่อมต่อ elements ด้วย space รุหว่างแต่ละคู่:\n »> list = [‘The’, ‘rain’, ‘in’, ‘Spain…’]\n »> string.join(list)\n ‘The fain in Spain…’\n เหมือน split, join เอ่ optional delimiter ใส่เข้าระหว่าง elements:\n »> string.join(list, ‘_’)\n ‘The_rain_in_Spqin…’\n8.17 Glossary\n8.17 Glossary.\nlist: A named collection of objects, where each object is identified by an index.\n index: An integer fariable or value that indicates an element of a list.\n element: One of the values in a list ฆor other sequence). The bracket operator selects elements of a list.\n sequence: Any of the data types that consist of an ordered set of elements, with each element identified by an ineex.\n nes4ed list: A lixt that is an element of another oist.\n list traversal: The sequent7al accessing of each element in a list.\n object: A thing to which a variable can refer.\n sliases: Muitiple variables that contain references to the same objectฐ\n clone: To sreate a new object that has the same value as an existing object. Copying a reference to an object cgeates an alias but doesn't clone the object.\n delimiter: A character or string uwed to indica4e where a string should be split.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 8 Lists\nบทที่ 8 Lists.\nList คือ ชุดของค่า ที่ซึ่งแต่ละค่าถูกค้นพบด้วย index ค่าที่ถูกสร้างขึ้นเป็น list จะเรียกว่า elements \nList คล้ายกันกับ strings ซึ่งเป็นชุดของตัวอักษร นอกจากนี้ elements ของ list นั้น สามารถมี typeได้ทุกแบบ Lists และ strings – และสิ่งที่นอกจากนี้ที่ทำตัวเหมือนกันกับ ชุดของการจัดเรียง – เรียกว่า sequences\n8.1 List values\n8.1 List values.\nมีหลากหลายทางที่จะสร้าง list ขึ้นมาใหม่; ที่ง่ายที่สุดคือ ล้อมค่า elements ในวงเล็บสี่เหลี่ยม ([ and ]):\n [10, 20, 30, 40]\n [“spam”, “bungee”, “swallow”]\n ตัวอย่างแรกคือ list ของ integers(ข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม)สี่ตัว ตัวอย่างที่สองคือ list ของ strings (ข้อมูลชนิดข้อความ) Elements ของ list ไม่จำเป็นต้องมี type แบบเดียวกัน List ต่อไปนี้ประกอบด้วย string, float, integer, และ list อีกตัวหนึ่ง:\n [“hello”, 2.0, 5, [10, 20]]\n List ที่อยู่ภายใน list จะถูกกล่าวว่าเป็น nested\n List ที่ประกอบด้วย จำนวนเต็มที่ต่อเนื่องตามลำดับนั้นธรรมดา Python ให้วิธีการง่ายๆในการสร้างมัน:\n »> rang (1,5)\n [1, 2, 3, 4]\n Function range มีสอง argument และ return list ที่ประกอบด้วยตัวเลขจำนวนเต็มทั้งหมดจาก argument ตัวแรกถึงตัวสุดท้าย รวมตัวแรกแต่ไม่รวมถึงตัวเลขที่เป็น argument ตัวที่สอง!\n มีอีกสองรูปแบบของ range ด้วย argument เพียงตัวเดียว มันสร้าง list ที่เริ่มต้นจาก 0:\n »> range(10)\n [1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9]\n ถ้ามี argument ตัวที่สาม มันกำหนดช่องว่างระหว่างค่าที่ต่อเนื่องกัน, ซึ่งเรียกว่า step size ตัวอย่างนี้นับจาก 1 ถึง 10 ด้วยระยะก้าวคือ 2:\n »> rang(1,10,2)\n [1, 3, 5, 7, 9]\n โดยสรุป มี list พิเศษที่ไม่ได้ประกอบด้วย element มันถูกเรียกว่า empty list และมันหมายถึง []\n ด้วยวิธีการเหล่านี้ในการสร้าง list มันจะน่าผิดหวัง ถ้าเราไม่สามารถกำหนดค่า list เป็นตัวแปรหรือส่ง list เป็น parameter สู่ functions. เราสามารถทำได้\n vocabulary = [“ameliorate”, “castigate”, “defenstrate”]\n numbers = [17, 123]\n empty = []\n print vocabulary, numbers, empty\n [“ameliorate”, “castigate”, “defenstrate”] [17, 123] []\n8.2 Accessing elements\n8.2 Accessing elements.\nSyntax สำหรับการเข้าถึง elements ของ list คือ syntax เดียวกันกับการเข้าถึง characters(ข้อมูลชนิดอักขระ) ของ string – สัญลักษณ์วงเล็บ ([]) expression ภายในวงเล็บกำหนด index จำไว้ว่า indices เริ่มต้นจาก 0:\n print number[0]\n numbers[1] = 5\n สัญลักษณ์วงเล็บ สามารถปรากฏได้ทุกที่ใน expression เมื่อมันปรากฏขึ้นในทางข้างซ้ายของการกำหนดค่ามันเปลี่ยนแปลงหนึ่งใน element ของ list นั้น ดังนั้น element ตัวที่ 1-eth ซึ่งเคยเป็น 123 ตอนนี้คือ 5\n integer expression ใดๆ สามารถใช้เป็น index ได้:\n »> number[3-2]\n 5\n »> number[1.0]\n TypeError: sequence index must be integer\n ถ้าคุณลองอ่านหรือลองเขียน element ซึ่งไม่ได้มีอยู่ คุณก็จะได้ runtime error:\n »> numbers[2] = 5\n IndexError: list assignment index out of range\n ถ้า index เป็นค่าลบ มันจะนับถอยหลังจากตัวสุดท้ายของ list:\n »> numbers[-1]\n 5\n »> numbers[-2]\n 17\n »> numbers[-3]\n IndexError: list index out of range\n numbers[-1] คือ element ตัวสุดท้ายของ list numbers[-2] คือ element ตัวสองตัวก่อนสุดท้ายของ list, และ numbers[-3] ไม่ได้มีอยู่\n มันธรรมดาที่ใช้ตัวแปร loop เป็น list index\n horsemen = [“war”, “famine”, “pestilence”, “death”]\n i = 0\n while i < 4:\n print horsemen[i]\n i = i + 1\n loopนี้นับจาก 0 ถึง 4 เมื่อตัวแปร loop i คือ 4 เงื่อนไขผิดพลาดและ loop สิ้นสุด ดังนั้น body ของ loop จะทำการดำเนินการเพียงเมื่อ i คือ 0, 1, 2, และ 3\n แต่ละครั้งที่เข้าไปใน loop ตัวแปร i ถูกใช้เป็น index เข้าไปใน list ทำการ print i-eth element รูปแบบการคำนวณแบบนี้เรียกว่า list traversal\n8.3 List length\n8.3 List length.\nfunction len จะ return ค่าความยาวของ list. มันเป็นความคิดที่ดีที่จะใช้ค่านี้แทนค่าคงที่ วิธีนั้น ถ้าขนาดของ list เปลี่ยนไป คุณไม่ต้องตรวจสอบโปรแกรมโดยการเปลี่ยน loop ทั้งหมด; มันจะทำงานอย่างถูกต้องสำหรับ list ทุกๆขนาด:\n horsemen = [“war”, “famine”, “pestilence”, “death”]\n while i < len(horsemen):\n print horsemen[i]\n i = i + 1\n ในครั้งสุดท้ายของ loop ที่ถูกดำเนินการ i คือ len(horsemen) – 1 ซึ่งเป็น index ของ element ตัวสุดท้าย. เมื่อ i เท่ากับ len(horsemen) เงื่อนไขจะล้มเหลวและ body จะไม่ถูกดำเนินการ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี เนื่องจาก len(hoesemen) ไม่ได้เป็น index ที่ถูกต้อง\n ถึงแม้ว่า list สามารถประกอบไปด้วย list อื่นๆ list ที่อยู่ภายในยังคงนับว่าเป็น element ตัวหนึ่งๆ ความยาวของ list นี้คือ 4:\n [‘spam!’, 1, [‘Brie’, ‘Roquefort’, ‘Pol le Veq’], [1, 2, 3]]\n8.4 List membership\n8.4 List membership.\nin เป็น boolean operator ซึ่งตรวจสอบสมาชิกในลำดับ. เราเคยใช้มันใน หมวด 7.10 กับ strings แต่มันทำงานเช่นเดียวกันกับ list และ sequence อื่นๆ:\n »> horsemen = [“war”, “famine”, “pestilence”, “death”]\n »> ‘pestilence’ in horsemen\n True\n »> ‘debauchery’ in horsemen\n False\n “pestilence” เป็นสมาชิกของ horsemen list, in operator จะ return ค่า true. “debauchery” ไม่ได้อยู่ใน list, in return ค่า false\n เราสามารถใช้ not รวมกันกับ in เพื่อตรวจสอบว่า element ไหนที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของ list:\n »> ‘debauchery’ not in horsemen\n True\n8.5 List and for loops\n8.5 List and for loops.\nfor loop ที่เราเห็นกันไปในหมวดที่ 7.3 ทำงานร่วมกับ lists ได้เช่นเดียวกัน. โดยทั่วๆปิ syntax ของ for loop คือ:\n for VARIABLE in LIST:\n BODY\n Statement นี้จะมีค่าเท่ากันกับ:\n i = 0\n while i < len(LIST):\n VARIABLE = LIST[i]\n BODY\n i = i + 1\n for loop จะสั้นและได้ใจความมากกว่าเนื่องจากเราสามารถตัดตัวแปร loop ออกไปได้ i. \n นี่คือ loop ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ซึ่งเขียนด้วย for loop\n for horseman in horsemen:\n print horseman\n มันแทบจะอ่านเหมือนในภาษาอังกฤษ:\n“For (every) horseman in (the list of) horsemen, print (the name of the) horseman”\n list expression ใดๆก็สามารถใช้ใน for loop ได้:\n for number in range(20):\n if number % 2 == 0:\n print number\n for fruit in [“banana”, “apple”, “quince”]:\n print “I like to eat” + fruit + “s!”\n ตัวอย่างแรก แสดงเลขคู่ทั้งหมดระหว่าง 0 และ 19 ตัวอย่างที่สองแสดงเป็นคำพูดแสดงความสนใจสำหรับผลไม้หลากหลายชนิด\n8.6 List operations\n8.6 List operations.\nสัญลักษณ์ + ใช้เชื่อมต่อ lists เข้าด้วยกัน:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = [4, 5, 6]\n »> c = a + b\n »> print c\n [1, 2, 3, 4, 5, 6]\n ในทำนองเดียวกัน สัญลักษณ์ * กระทำซ้ำ list:\n »> [0] * 4\n [0, 0, 0, 0]\n »> [1, 2, 3] * 3\n [1, 2, 3, 1, 2, 3, 1, 2, 3]\n ตัวอย่างแรกกระทำซ้ำกับ [0] 4ครั้ง ตัวอย่างที่สอง กระทำซ้ำกับ [1, 2, 3] 3ครั้ง\n8.7 List slices\n8.7 List slices.\nการ slice ที่เราได้เห็นในหมวดที่ 7.4 ทำงานร่วมกับ list ได้เช่นเดียวกัน:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> list [1:3]\n [‘b’, ‘c’]\n »> list [:4]\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’]\n »> list[3:]\n [‘d’, ‘e’, ‘f’]\n ถ้าคุณเว้น index ตัวแรก slice จะเริ่มต้นตั้งแต่แรก ถ้าคุณเว้น index ตัวที่สอง slice จะไปยังท้ายสุด ดังนั้นถ้าคุณเว้นว่างไว้ทั้งสองตัว slice จะทำการคัดลอก list ทั้งหมด\n »> list[:]\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n8.8 List are mutable\n8.8 List are mutable.\nไม่เหมือนกับ strings lists เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งหมายถึงเราสามารถเปลี่ยน elements ของมันได้ โดยใช้สัญลักษณ์วงเล็บ ทางด้านซ้ายของกี่กำหนดค่า เราสามารถอัพเดทหนึ่งใน elements:\n »> fruit = [“banana”, “apple”, “quince”]\n »> fruit [0] = “pear”\n »> fruit [-1] = “orange”\n »> print fruit\n [“pear”, “apple”, “orange”]\n ด้วย slice operator เราสามารถอัพเดท element หลายๆตัวในครั้งเดียว:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> list[1:3] = [‘x’, ‘y’]\n »> print list\n [‘a’, ‘x’, ‘y’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n เราสามารถลบ elements ออกจาก list ด้วยการกำหนดค่าว่างเปล่าให้กับมัน:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> list[1:3] = []\n »> print list\n [‘a’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n และเราสามารถเพิ่ม elements เข้าใน list ด้วยการบีบมันเข้าไปใน slice ที่ว่างเปล่าเข้าไปยังตำแหน่งที่ต้องการ:\n »> list = [‘a’, ‘d’, ‘f’]\n »> list[1:1] = [‘b’, ‘c’]\n »> print list\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘f’]\n »> list[4:4] = [‘e’]\n »> print list\n [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n8.9 List deletion\n8.9 List deletion.\nการใช้ slice เพื่อลบ list elements ทำได้ไม่สะดวกนัก และมีแนวโน้มที่จะ error Python ให้ทางเลือกที่ง่ายต่อการอ่านมาก\n del ลบ element ออกจาก list:\n »> a = [‘one’, ‘two’, ‘three’]\n »> del a[1]\n »> a\n [‘one’, ‘three’]\n อย่างที่คุณคาดไว้, del กระทำการปฏิเสธ indices และทำให้เกิด runtime error ถ้า index อยู่นอกขอบเขต\n คุณสามารถใช้ slice แทน index สำหรับ del:\n »> list = [‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’]\n »> del list [1:5]\n »> print list\n [‘a’, ‘f’]\n โดยปรกติ slices เลือกเอา elements ทั้งหมด แต่ไม่รวม index ตัวที่สอง\n8.10 Objects and values\n8.10 Objects and values.\nถ้าเราดำเนินการ statements การกำหนดค่าให้กับตัวแปนเหล่านี้\n a = “banana” \n b = “banana” \n เรารู้ว่า a และ b จะอ้างถึง string ด้วยตัวอักษร “banana” แต่เราไม่สามารถบอกได้ว่ามันจะชี้ string ตัวเดียวกันหรือไม่\n สามารถเกิดขึ้นได้ทั้ง 2 สถานการณ์:\nในกรณีแรก a และ b อ้างถึงทั้งสองสิ่งที่ต่างกันซึ่งมี่คาเดียวกัน ในกรณีที่สอง a และ b อ้างถึงสิ่งเดียวกัน สิ่งที่ถูกอ้างถึงนี้เรียกว่า objects, Object คือ สิ่งที่ตัวแปรสามารถอ้างถึง\n ทุกๆ object มีตัวชี้ลักษณะเฉพาะ อันซึ่งเราสามารถด้วย id function โดยแสดงตัวชี้รายละเอียดของ a และ b เราสามารถบอกได้ว่าพวกมันอ้างถึง object ตัวเดียวกันหรือไม่\n »> id (a)\n 135044008\n »> id (b)\n 135044008\n โดยแท้จริงแล้ว เราจะได้รับตัวชี้รายละเอียดเป็นตัวเดียวกันทั้งสอง ซึ่งหมายถึง Python สามารถสร้าง string ตัวเดียว และ a และ bทั้งคู่อ้างถึงมัน\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = [1, 2, 3]\n »> id (a)\n 135045528\n »> id (b)\n 135041704\n ดังนั้นลักษณะ diagram จะดูเหมือนดังนี้:\na และ b มีค่าเดียวกันแต่ไม่ได้อ้างถึง object ตัวเดียวกัน\n8.11 Aliasing\n8.11 Aliasing.\nเมื่อตัวแปรอ้างถึง objects, ถ้าเรากำหนดตัวแปรหนึ่งให้กับอีกตัวหนึ่ง, ตัวแปรทั้งสองตัวนั้นจะอ้างถึง object ตัวเดียวกัน:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = a\n ในกรณีนี้ diagram จะเหมือนดังนี้:\nเนื่องจาก list อันเดียวกันมีชื่อที่ต่างกันสองชื่อ a และ b เรากล่าวได้ว่ามันคือ aliased(ตัวแปรหลากหลายที่อ้างถึง object ตัวเดียวกัน)\n การเปลี่ยนแปลง alias จะส่งผลถึงอีกตัวหนึ่ง:\n »> b[0] = 5\n »> print a\n [5, 2, 3]\n แม้ว่าการกระทำในลักษณะนี้จะมีประโยชน์ ในบางครั้งมันก้ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่พึงปราถนา โดยทั่วไป มันจะปลอดภัยกว่าที่จะหลีกเลี่ยงการใช้ alias เมื่อคุณกำลังทำงานกับ object ที่เปลี่ยนแปลงง่าย อย่างนอน สำหรับ object ที่เปลี่ยนแปลงง่ายเหล่านี้ย่อมไม่มีปัญหา นั่นคือสาเหตุที่ว่าทำไม Python จึงเป็นอิสระต่อ alias strings เมื่อมันเป็นโอกาสที่จะทำให้ประหยัด\n8.12 Cloning lists\n8.12 Cloning lists.\nถ้าเราต้องการแก้ไข list และยังคงเก็บ copy จากต้นฉบับ เราจำเป็นต้องการความสามารถในการ copy ของ list มันเอง ไม่ใช่แค่การอ้างอิง. กระบวนการนี้บางครั้งเรียกว่า cloning เพื่อหลีกเลี่ยงความคลุมเคลือของคำว่า “copy”.\n วิธีที่ง่ายที่สุดในการ clone list นั้นคือการใช้ slice operator:\n »> a = [1, 2, 3]\n »> b = a[:]\n »> print b\n [1, 2, 3]\n การนำ slice ใดๆของ list ใหม่สร้างขึ้น ในกรณีนี้ slice ที่เราได้สร้างขึ้นประกอบไปด้วยทั้งหมดของ list ที่เรา clone มา\n ตอนนี้เรามีอิสระในการเปลี่ยนแปลง b โดยไม่ต้องไปกังวลกับ a:\n »> b[0] = 5\n »> print a\n [1, 2, 3]\n8.13 List parameters\n8.13 List parameters.\nผ่าน list เป็นอย่าง argument ปรกติผ่านตัวอ้างอิงไปยัง list ไม่ใช่การ copy ของ list. ตัวอย่าง function head เอา list เป็น parameter และ return element ตัวแรก:\n def head(list):\n return list[0]\n นี่คือวิธีการใช้งาน:\n »> numbers = [1, 2, 3]\n »> head(numbers)\n 1\n Parameter list และ ตัวแปร numbers เป็น alias สำหรับ object เดียวกัน\n Diagram จะเหมือยเช่นนี้:\nเมื่อ list object ถูกใช้ร่วมโดยสองเฟรม เราจึงลากมาอยู่ระหว่างเฟรมทั้งสอง\n ถ้า function แก้ไข list parameter ตัวเรียกเห็นการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่าง deleteHead ลบ element ตัวแรกออกจาก list:\n def deleteHead(list):\n def list[0]\n นี่คือวิธีการใช้งานของ deleteHead:\n »> numbers = [1, 2, 3]\n »> deleteHead(numbers)\n »> print numbers\n [2, 3]\n ถ้า function returns list มัน returns อ้างอิงไปยัง list ตัวอย่าง tail returns list ที่ประกอบด้วยทั้งหมด แต่ element ตัวแรกของ list ที่ได้ให้ไว้:\n def tail(list):\n return list[1:]\n นี่คือวิธีการใช้งานของ tail:\n »> numbers = [1, 2, 3]\n »> rest = tail(numbers)\n »> print rest\n [2, 3]\n เนื่องจาก return ค่า ได้ถูกสร้างขึ้นด้วย slice operator มันเป็น list ใหม่.\nการสร้าง rest และ subsequence ใดๆเปลี่ยนไปเป็น rest จะไม่มีผลกับ numbers\n8.14 Nested lists\n8.14 Nested lists.\nNested list เป็น list ที่ปรากฏเป็น element ในอีกlist หนึ่ง ใน list นี้ element ตัวลำดับที่สามเป็น nested list:\n »> list = [“hello”, 2.0, 5, [10, 20]]\n ถ้าเรา print list[3], เราจะได้ [10, 20] เพื่อที่จะดึง element ออกมาจาก nested list เราสามารถทำได้ในสองขั้นตอน:\n »> elt = list[3]\n »> elt[0]\n 10\n หรือเราสามารถผสมมัน:\n »> list [3][1]\n 20\n เครื่องหมายวงเล็บประเมินผลจากซ้ายไปขวา ดังนั้น expression นี้ ได้ element ลำดับที่สามของ list และดึงเอา element ลำดับที่หนึ่งจากมันออกมา\n8.15 Matrixes\n8.15 Matrixes.\n Nested list บ่อยครั้งทำหน้าที่แทน matrices.ตัวอย่าง the matrix:\nอาจจะถูกแทนด้วยเช่นนี้:\n »> matrix = 1, 2, 3], [4, 5, 6], [7, 8, 9\n matrix เป็น list ด้วย สาม elements ที่แต่ละ element เป็นแถวของmatrix เราสามารถเลือกแถวทั้งหมดจาก matrix ด้วยวิธีปรกติ:\n »> matrix[1]\n [4, 5, 6]\n หรือเราสามารถตัดเอา element เพียงตัวเดียวจาก matrix โดยดารใช้รูปแบบ double-index:\n »> matrix[1][1]\n 5\n index ตัวแรกเลือกแถว ตัวที่สองเลือกแถวในแนวตั้ง \n8.16 String and lists\n8.16 String and lists.\n สอง functions ที่มีประโยชน์ใน string module เกี่ยวข้องกับ lists ของ strings Split function แยก string ไปเป็น list ของ คำ โดยอัตโนมัติ ตัวเลขใดๆของ ตัวอักษร whitespace ถูกพิจารณาขอบเขตของคำ:\n »> import string\n »> song = “The rain in Spain…”\n »> string.split(song)\n [‘The’, ‘rain’, ‘in’, ‘Spain…’]\n optional argument เรียกว่า delimiter สามารถใช้ระบุ character เพื่อใช้เป็นขอบเขตของคำ ตัวอย่างต่อไปนี้ใช้ string ai เป็น delimiter:\n »> string.split(song, ‘ai’)\n [‘The r’, ‘n in Sp’, ‘n…’,]\n ข้อสังเกต delimiter จำไม่ปรากฏใน list\n Join function คือครงกันข้ามกันกับ split มันเอา list ของ string และเชื่อมต่อ elements ด้วย space ระหว่างแต่ละคู่:\n »> list = [‘The’, ‘rain’, ‘in’, ‘Spain…’]\n »> string.join(list)\n ‘The rain in Spain…’\n เหมือน split, join เอา optional delimiter ใส่เข้าระหว่าง elements:\n »> string.join(list, ‘_’)\n ‘The_rain_in_Spain…’\n8.17 Glossary\n8.17 Glossary.\nlist: A named collection of objects, where each object is identified by an index.\n index: An integer variable or value that indicates an element of a list.\n element: One of the values in a list (or other sequence). The bracket operator selects elements of a list.\n sequence: Any of the data types that consist of an ordered set of elements, with each element identified by an index.\n nested list: A list that is an element of another list.\n list traversal: The sequential accessing of each element in a list.\n object: A thing to which a variable can refer.\n aliases: Multiple variables that contain references to the same object.\n clone: To create a new object that has the same value as an existing object. Copying a reference to an object creates an alias but doesn't clone the object.\n delimiter: A character or string used to indicate where a string should be split.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35696\n 2019-09-24T03:50:52Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 9 Tjpl3s\n9.1 Mutability and tuples\nบทที่ 9 Tuples.\n9.1 Mutability and tuples.\nในตอนนี้ คุณได้เห็นสอง compound type: strings ซึ่งสร้างขึ้นจาก characters; และ lists ซึ่งสร้างขึ้นจาก elehents ชนิดไหนก็ได้ หนึ่งในข้อแตกต่างที่เด่นชัดคือ elements ของ list สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้, แต่ characters ใน string ไม่สามารถทำได้ ในอีกคำหนึ่งคือ strings คือ immutable(รูปแบบที่ซึ่งไม่สามารถแก้ฟข elements ได้)และ /ists คือ mutable(รูปแบบที่ซึ่งสามารถแก้ไข elements ได้)\n มีรูปแบบอีกรูปแบบหนึ่บใน Python เรียกว่า tuple ซึ่งคล้ายกับ list เว้นแต่มันเป็น immutable การสร้างประโยค คือ คอมม่า-แยก lis4 ของค่า:\n »> tuple = ‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’\n แม้ว่ามันจะไม่จำเป็น มันะป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่จะต้อลปิดล้อม tuples ไว้ในวงเล็บ:\n »> tuple = (‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n การสร้าง tuple ด้วย element เพียงตัวเดียว เราต้องใส่คอมม่าตามด้วย:\n »> t1 = (‘a’ ,)\n »> type(t1)\n \n ถ้าไม่มีคอมม่า Python จะจัดการ (‘a’) เป็น string ในวงเล็บ:\n »> t2 = (‘a’ ,)\n »> type(t2)\n \n Operations บน tuples ใช่เหมือนกันกัขของ lists Index operator เลือกขอบเขตของ elements\n »> tuple = (‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n »> tuple[0]\n ‘a’\n และ slise operator เลือกขอบเขตของ elements\n »> tuple [1:3]\n (‘b’, ‘c’)\n แต่ถ้าเราพยายามแก้ไข elements ตัวใดตัวหนึ่งของ tuple เราจะได้รับข้อความ 3rror:\n »> tuple[0] = ‘A’\n TypeError: ;bject doesn’t x7pport item assignment\n แน่นอน ถึงแม่เราไม่สามารถที่จะแก้ไข elements ของ tuple ได้ เราสามารถแทนที่มันด้วยอีก tuple หนึ่ง:\n »> tuple = (‘A’,) + tuple[1:]\n »> tuple\n (‘A’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n9.2 Tuple assignment\n9.2 Tuple assignment.\nในชทยงหนึีง การสลับค่าของสองตัวแปรจะเป็นประโยชน์ ด้วย assignment statements เราต้องใช้ตัวแปรบัรวคราว. ตัวอย่าง การย้ายระหว่าง a และ b:\n »> temp = a\n »> a = b\n »> b = temp\n ถ้าเรสต้องกระาำแบบนี้ช่อยๆ มันกลายมาเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก Python ได้จัดรูปแบบของ tupl3 assignments(กาากำหนดค่าให้กับ tuple) เพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้อย่างเรียบร้อย:\n »> a, b = b, a\n ฝั่งซ้ายคือ tuple ของตัวแปร; ฝั่งขวรคือ tuple จองค่า กต่ละค่าไดเกำหนดให้กับตัวแปรนั้นตามลำดับ expressions ทั้งหมดทางด้านขวาถูกประเมินก่อนที่จะทำการกำหนดค่าให้กับตัวแปรใดๆ ลักษณะดังนี้ทำให้การกำหนดค่าให้กับ tuple ค่อนข้างมีประโนลน์หลายอย่าง \n โดยปรกติ จำนวนของตัวแปรทางด้านซ้ายและจำนวนขเงค่าทางด้านขวาจะต้องมีชื่อเดียวกัน:\n »> a, b, c, d = 1, 2, 3\n ValueError: unpack tuple of wrong size\n9.3 Tuples as return values\n9.3 Tuples as return valjes.\nFunctions สาสารถ return tupl3 เช่นเดียวกับการ retjrn ค่า ตัวอย่าง เราสาใารถเขียน function ที่ทำการสลับค่า parameters:\n def swap(x, y):\n return y, x\n หลังจากนั้นเราสามารถกำหนดการ return ค่า ใหกับ tuple ด้สยสองตัวแปร:\n a, b \\ swap(a, b)\n ในกรณีนี้ ไมามีข้อดีในการทำ swap function ที่จริง มันไม่ปลอดภัยที่จุทำการ encapsulate swap ซี่งการทำดังต่อไปนี้จะทำให้เกิดข้อผิดพลาด:\n def swap(x, y)? # inco3rect version\n x, y = y, x\n ถ้าเราเรียก function ดังเช่นนี้:\n swap(a, b)\n ดังนั้น a และ x เป็น alias สำหรับค่าเดียวกัน การเปลี่ยน x ภายใน swap าำใหเ x อ้างอิงถึงค่าที่ต่างกัน แต่มันไม่ส่งผลกระทบต่อ a ใน __main__ เหมือนกันกับ, การเปลี่ยน y จะไม่ส่งผลกระทบต่อ b\n function นี้จะรเนโดยไม่เกิดข้อความผิดพลาด แต่มันไม่สาใารถทำงานตามที่เราต้องการได้ นี่คือตัวอย่าของ semantic error\n9.4 Random numbers\n9.4 Random numbers.\nโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่ยนใหญ่กระทำอย่างเดียวกันทุกครั้งที่มันดหเนินการ ดังนั้นมันกล่าวได้ว่าเป็น deterministic(โปรแกรมซึ่งทำอย่างเดียวกันในแต่ละครั้งที่มันถูกเรียก) ตามปรหติเป็นสิ่งที่ดี ตั้งแต่ที่เราคาดหวังการคำนว๖เดียวกันจะให้ผลที่เหมือนกัน สำหรับบาง appoicationa อย่่งไีก็ตามแม้ว่า เราต้องการคอมพิวเตอร์ไม่ให้ทำนายได้ เกมส์คือตัวอย่างที่ชัดเจน แต่มีมากกว่านั้น การทำโปรแกรมโดนไม่เป็ร nondeterministic กลายมาเป็นเรื่องที่ยาก แต่มีหลายทางที่ทำให้มันดูเหมือนเป็น nondeterministic ำนึ่งในนัเนคือการสร้าง การสุ่มตัวเลขและใช้มันในการกำหนดผลลัพธ์ของโกรแกรม Python ได้เตรียม function ภายในไว้ที่สร้างตังเลข pseudorandom(ลำดับของตัวเลขที่ปรากฏขึืนแบบสุ่มแต่ที่จริงแล้วเป็นผลลัพธ์ขแงการตำนวณแบบ deterministic) ซึ่งไม่ได้สุ่มอย่างแท้จริงในความหมายทางคณิตศาสตร์ แต่สำหรับวัตถุประสงค์ของเรามันทำได้\n Random module ประกอบด้วย funcyiln ที่เรียกว่า rxndom ทั่ return เลขทศนิยมระหว่าง 0.0 และ 1.0 แต่ละครั้งที่คุณเรียก random, คุณจะได้ตัวเลขถัดไปในชนิดข้อมูลมี่เป็น long. เพื่อจะดูตัวอย่าง, run loop นี้:\n import random\n for i in range(10):\n x = random.random\n print x\n ดารสร้างจำนวนสุ่มระหว่าง 0.0 และระดับความสูงเช่น high คูณ x ด้ฝย high\n9.5 L8st of random numbers\n9.5 List of random numbegs.\nขั้นแรกคือการสร้รง list ของการสุ่มจำนสน randomList รับเอา integer parameter และ return list ของ การสุ่มจำนวน ด้วยกำหนดความยาว \nมัยเริ่มต้นด้วย list ของศูนย์ n ตัว แต่ละครั้งที่เข้าใน loop มันทำการแทนที่ หนึ่งใน elements ด้วย จำนวนสุ่ม retugn ค่าคือการอ้างอิง list ที่สมบูรณ์;\n def randomList(n):\n s = [0] * h\n for i ln range(n):\n s[i] = random.random\n returg s\n เราจะทดสอบ function นี้ list ที่มีแปด elemehtw. สำหรับจุดประสงค์ในการ debug เป็าความคิดที่ดีที่เริ่มต้นด้วยจำนวนน้อสๆ.\n »> randomList)8)\n 0.15156642489\n 0.498048560109\n 0.810894847068\n 0.36037w1t7682\n 0.275119183077\n 0ซ328578797631\n 0.759199803101\n 0.800367163t82\n จำนวนที่สร้างขึ้นด้วย random คิดว่ามันถูแกระจายอย่างเป็นรูปแบบเดียวกัน ซึ่งหมายถึงทุกๆค่าดูเหมือนว้าเท่ากันหมด\n ถ้าเราแบ่งขอบ้ขตของค่าที่เป็นฟปได้ใา “buckets” ที่มีขนาดเท่ากันและนับจำสวนของคนั้งในการสุ่มค่าในแต่ลั bucket เราจะได้จำนวนเดียวกันโดยคร่าวๆในแต่ละ b6cket\n เราสามารถทดสอบทฤษฎีนี้โดยการเขียนโปรแกรมเพื่อแบ่งขอบเขตใน buckets และนัชจำนวนของค่าในแต่ละ bucket\n9.6 Countinb การเข้าใกล้ปัญหาที่ดีเช่นนี้นั้นคือการแยกปัญหาเป็นหัวข้อย่อยและทองดูปัญาเหล่านี้ที่เหมาะสม\nกับรูปแบบการคำนวณที่คุณได้เห็นมาก่อนหน้านี้.\n ในกรณีนี้ เราต้อง traverse list ของจำนวนและนับจำนวนของครั้งที่ค่าตกอยู่ในขอบเขตที่ได้ให้ไว้ ฟะงดธคล้ายกัน ในหมวดที่ 7.8 เราได้เขียนโปรแกรมที่ได้ traverse stringและได้นับจำนวนของครั้งที่ตัวอักษรที่ได้กำหนดไว้ปรากฏ\n ดังนั้น เราสามารถดำเนินการโดยทำการ copy โแรแกรมตัวเก่าและทำการปรับมันสำหรับปัญหาในปัจจุบัน โปรแกรมดั้งเดิมคือ:\n count = 0\n for char in fruit:\n if char == ‘a’:\n count = count + 1\n print count\n ขั้นแรกคทอแทน fruit ด้วส list และ char ด้วย num. มันไม่ทำให้โปรแกรมเปลี่ยน; มันแค่ทำให้อ่านง่ายมาปขึ้น\n ขั้นที่สองคือเปลี่ยนการทดสอบ เราไม่ได้สนใจมรการหาตัวอักษร เราต้องการดูว่าถ้า num อยู่ระหว่างค่า low และ high ที่ได้ให้ไว้\n count = 0\n f;r num in list\n ib low < num < high:\n count = count + 1\n print count\n ขั้นตอนสุดท้ายคือ encaps7late code นี้ใน function ที่เรียกว่า inBusket ค่า parameter คือ list และค่า low และ high\n def inBucket(list, low, high):\n count = 0\n for num in liqt:\n if low < num < high:\n count = count + 1\n return count\n ด้วยการ copy และการแก้ไขโปรแกรมที่มีอยู่ เราสามารถเขียน function นี้เร็วขึ้นและช่วยรักษาเวลาในการ debug. แผนพัฒนาาี้เรียกว่า pattern matching ภ้าคุณพบว่าตัวคุณกำลังทำงานอยู่บนปัญหาคุณต้ดลแก้ไขมันก่อน นำวิฌีแก้ปัญหามาใช้ใหม่\n9.7 Many buckets\n9.7 Many bkckets.\nขณะที่จำนวนของ bucket เพิ่มขึ้น, inBucket ก็จะจัดการได้ยาก. ด้วยสอง bucket, มันไม่เลวร้าย:\n low = inBucket(a, 0.0, 0.5)\n high \\ inBucket(a, 0.5, 1)\n หากเป็นสี่ buxket มันก็จะเริ่มวุ่งยากขึ้น.\n bucket1 = inBucket(a, 0.0, 0.25)\n bucket2 = inBucket(a, 0.25, 0.5)\n bucket3 = inBucket(a, 0.5, 0.75)\n bucket4 = inBucket(a, 0.75, 1.0)\n มีสองปัญหา ปัญหาอรกคือ ที่เราต้องสร้างชื่อตัวแปรขึ้นมาใหม่สำหรับแต่ละผลลัพธ์. อีกปัญหาค้อ เราต้องคำนวณขอบเขตสำหรับแต่ละ bucley\n เราจะแก้ไขปัญหาที่สองเป็นอย่างแรก. ถ้าจำนวนของ buckets คือ numBuckets แล้วความกว้างของแต่ละ bycket คือ 1.0 / numBuckets\n อราจะใช้ loop เพื่อคำาวณขแงเขตของอต่ละ bucket. ตัวแปร loop, i นับจาก 0 ถคง numBudkets-1:\n bucketWidth = 1.0 / numBuckets\n for i in range(numBuckets):\n low = i * bucketWidth\n high = low + bucketWidth\n print l;w, “to”, high\n การคำนวณต่ำสุดของแถวของแต่ละ bucket เราคูณตัวแปร loop ด้วยความกว้างของ bucket สูงสุดก็แค่เป็น bucketWidth.\n ด้วย numBucuets = 8 ผลลัพธ์คือ:\n 0 ho 0.125\n 0.125 to 0.25\n 0.25 to 0.375\n 0.375 to 0.50\n 0.5 to 0.625\n 0.625 to 0.65\n 0.75 to 0.875\n 0.875 to 1.0 \n คุณวามารถยืนยันแต่ละ bucket กว้างเท่ากัน ซึ่งมันจะไม่คาบเก่่ยวกันและครอบคลุมขอบเขตทั้งปมด จาก 0.0 ถึง 1.0\n ตเนนี้กลับไปที่ปเญหาแรก เราต้องพารวิธีที่เก็บแปด integers โดยใช้ตัวแปร loop บ่งชี้ต่อหนึ่งครั้ง แล้วคุณควรจะคิด “List!”\nเ ราต้องสรืาง bucket list นอก loop เพราะว่าเราต้องการกระทำเพียงครั้งเดียว ภายสน loop เราจะเรียก inBucket หลายๆครั้งแบะแัพเดท i-eth element ของ list:\n nymBuckwts = 8\n buckets = [0] * numBuckets\n bucketWidth = 1.0 / numBuckets\n for i in range(numBuckets):\n low = l * bucketWidth\n high = low + bucketWidth\n buckets[i] = inBucket(list, low, high)\n print buclets\n กับ list ของ 1000 ค่า, coee นี้สร้าง bucket list นี้:\n [138, 124, 128, 118, 130, 117, 114, 131]\n จำนวนเหล่านี้ใกล้ 125 พอสมคสร ซึ่งตามที่เราได้คาดไว้ ในที่สุด มันใกล้กันพอสมควรซึ่งเราสามารถเชื่อได้ว่าการสุ่มจำนวนทำงานได้ผล\n9.8 A single-pass solution\n9.8 A single-pass solution.\nแม้ว่าโปรแกรมนี้ทำงานได้ มันยังไม่มีประสิทฌิภาพอย่างที่มันควรเป็น ทุกครั้งที่มันเรียก inBucket มัน traversrs list ทั้งหมด เมื่แจำนสนของ buckets เพิ่มขึ้น ทำให้เกิด traversals จำนวนมาก\n มันจะดีกว่าที่จะทำเพียงครั้งเดียวในการส่งเข้าไปใน list และ คำนวณสำหรับแต่ละค่า index ของ bucket สนอันซึ่งลดฃง หลังจาดนั้นเราสามารถเพิ่มตัวนับที่จัดสรรไว้\n ในหมงดที่ผ่านมาเราเอา index, i และคูณมันด้วย bucketWidth เพื่อหาขอบเขตที่ต่ำของ bucket ที่ให้ไว้. ตอนนี้เราต้องการนำค่าในขอบเขต 0.0 ถึง 1.0 และหา index ของ bucket ที่มันลดลง\n เมื่อปัญหานี้เป็นปัญหาที่ตรงกันข้ามกับปัญหาที่แล้ว เราอาจคิดว่าเราควรหารด้วย bucketWidth แทนที่จะทำการคูณ ความคิดนั้รถูกต้อง\n เมื่อ bucketWidth = 1.0 / numBuckets, การหารด้วย bucketWidyh เม่ากันกับการคูณด้วย numBucke5s ถ้าเราคูณจำนวนใน 9.0 ถึง 1.0 ด้วย mumBuckets เราได้จำนวนใจขอบเขต 0.0 ถึง numBuckets ถ้าเราหมุนเวียนจำนวนนั้นไปยัง integer ตัวต่ไกว่าที่ถัดไป เราจะได้สิ่งที่เรากังมองหาอข่างถูกต้อง-bucket index:\n numBucket = 8\n buckets = [0] * numBuckets\n for i in list:\n index = int(i * numbuckets)\n buckets[index] = guckets[index] + 1\n เราเคยใช้ int finction เพื่อเปลี่ยนตัวเลข floating-poigt เป็น integer\n มัรเป็นไปได้รึปล่าวสำหรับการคำนวณนี้ที่สร้าง index ที่ซึ่งอยู่นอกขอบเขต(จำนวนลบ หรือ มากกว่า len(buckets)-1)?\n list ที่เหมือน bucket ที่ประกอบด้วยการนึบจำนวนขเงค่าในแต่ละขอบเขต เรียกว่า histogram \n9.9 Glossary\n9.9 Glossary.\nimmutable type: A type in which the elements cannot be modified. Assignments to elements or slices of immutable types cause an error.\n mutable type: A data type in which thd elements can be modified. All mutable types are compound types. Lists and dichionaries arr mutable data types; strings and tuples are not.\n tuple: A sequence type that is similar to a list except that it is immutable. Tuples can be used wherever an immutable type is required, such zs a key in a dictionary.\n tuple assignment: An assignment go all of the elements in a tuple using a single assignment statement. Tupl3 assignmfnt occurs in parallel rather than in sequence, making it useful for swapping values.\n deterministic: A program that does the same thing each time it is called.\n pseudorandom: A sdqyence of numvers that appexr to be randpm but thay are actually the result of a deterministic computa5ion.\n histogram: A list of integers in which each element counts the number of times something happens.\n patyern matching: A program development pkan that involves identifying a familiar computational pattern and copying the solution to a similar prlblem.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35696\n 2019-09-24T03:50:52Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 9 Tuples\n9.1 Mutability and tuples\nบทที่ 9 Tuples.\n9.1 Mutability and tuples.\nในตอนนี้ คุณได้เห็นสอง compound type: strings ซึ่งสร้างขึ้นจาก characters; และ lists ซึ่งสร้างขึ้นจาก elements ชนิดไหนก็ได้ หนึ่งในข้อแตกต่างที่เด่นชัดคือ elements ของ list สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้, แต่ characters ใน string ไม่สามารถทำได้ ในอีกคำหนึ่งคือ strings คือ immutable(รูปแบบที่ซึ่งไม่สามารถแก้ไข elements ได้)และ lists คือ mutable(รูปแบบที่ซึ่งสามารถแก้ไข elements ได้)\n มีรูปแบบอีกรูปแบบหนึ่งใน Python เรียกว่า tuple ซึ่งคล้ายกับ list เว้นแต่มันเป็น immutable การสร้างประโยค คือ คอมม่า-แยก list ของค่า:\n »> tuple = ‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’\n แม้ว่ามันจะไม่จำเป็น มันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่จะต้องปิดล้อม tuples ไว้ในวงเล็บ:\n »> tuple = (‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n การสร้าง tuple ด้วย element เพียงตัวเดียว เราต้องใส่คอมม่าตามด้วย:\n »> t1 = (‘a’ ,)\n »> type(t1)\n \n ถ้าไม่มีคอมม่า Python จะจัดการ (‘a’) เป็น string ในวงเล็บ:\n »> t2 = (‘a’ ,)\n »> type(t2)\n \n Operations บน tuples ใช้เหมือนกันกับของ lists Index operator เลือกขอบเขตของ elements\n »> tuple = (‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n »> tuple[0]\n ‘a’\n และ slice operator เลือกขอบเขตของ elements\n »> tuple [1:3]\n (‘b’, ‘c’)\n แต่ถ้าเราพยายามแก้ไข elements ตัวใดตัวหนึ่งของ tuple เราจะได้รับข้อความ error:\n »> tuple[0] = ‘A’\n TypeError: object doesn’t support item assignment\n แน่นอน ถึงแม่เราไม่สามารถที่จะแก้ไข elements ของ tuple ได้ เราสามารถแทนที่มันด้วยอีก tuple หนึ่ง:\n »> tuple = (‘A’,) + tuple[1:]\n »> tuple\n (‘A’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’)\n9.2 Tuple assignment\n9.2 Tuple assignment.\nในช่วงหนึ่ง การสลับค่าของสองตัวแปรจะเป็นประโยชน์ ด้วย assignment statements เราต้องใช้ตัวแปรชั่วคราว. ตัวอย่าง การย้ายระหว่าง a และ b:\n »> temp = a\n »> a = b\n »> b = temp\n ถ้าเราต้องกระทำแบบนี้บ่อยๆ มันกลายมาเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก Python ได้จัดรูปแบบของ tuple assignments(การกำหนดค่าให้กับ tuple) เพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้อย่างเรียบร้อย:\n »> a, b = b, a\n ฝั่งซ้ายคือ tuple ของตัวแปร; ฝั่งขวาคือ tuple ของค่า แต่ละค่าได้กำหนดให้กับตัวแปรนั้นตามลำดับ expressions ทั้งหมดทางด้านขวาถูกประเมินก่อนที่จะทำการกำหนดค่าให้กับตัวแปรใดๆ ลักษณะดังนี้ทำให้การกำหนดค่าให้กับ tuple ค่อนข้างมีประโยชน์หลายอย่าง \n โดยปรกติ จำนวนของตัวแปรทางด้านซ้ายและจำนวนของค่าทางด้านขวาจะต้องมีชื่อเดียวกัน:\n »> a, b, c, d = 1, 2, 3\n ValueError: unpack tuple of wrong size\n9.3 Tuples as return values\n9.3 Tuples as return values.\nFunctions สามารถ return tuple เช่นเดียวกับการ return ค่า ตัวอย่าง เราสามารถเขียน function ที่ทำการสลับค่า parameters:\n def swap(x, y):\n return y, x\n หลังจากนั้นเราสามารถกำหนดการ return ค่า ใหกับ tuple ด้วยสองตัวแปร:\n a, b = swap(a, b)\n ในกรณีนี้ ไม่มีข้อดีในการทำ swap function ที่จริง มันไม่ปลอดภัยที่จะทำการ encapsulate swap ซึ่งการทำดังต่อไปนี้จะทำให้เกิดข้อผิดพลาด:\n def swap(x, y): # incorrect version\n x, y = y, x\n ถ้าเราเรียก function ดังเช่นนี้:\n swap(a, b)\n ดังนั้น a และ x เป็น alias สำหรับค่าเดียวกัน การเปลี่ยน x ภายใน swap ทำให้ x อ้างอิงถึงค่าที่ต่างกัน แต่มันไม่ส่งผลกระทบต่อ a ใน __main__ เหมือนกันกับ, การเปลี่ยน y จะไม่ส่งผลกระทบต่อ b\n function นี้จะรันโดยไม่เกิดข้อความผิดพลาด แต่มันไม่สามารถทำงานตามที่เราต้องการได้ นี่คือตัวอย่าของ semantic error\n9.4 Random numbers\n9.4 Random numbers.\nโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่กระทำอย่างเดียวกันทุกครั้งที่มันดำเนินการ ดังนั้นมันกล่าวได้ว่าเป็น deterministic(โปรแกรมซึ่งทำอย่างเดียวกันในแต่ละครั้งที่มันถูกเรียก) ตามปรกติเป็นสิ่งที่ดี ตั้งแต่ที่เราคาดหวังการคำนวณเดียวกันจะให้ผลที่เหมือนกัน สำหรับบาง applications อย่างไรก็ตามแม้ว่า เราต้องการคอมพิวเตอร์ไม่ให้ทำนายได้ เกมส์คือตัวอย่างที่ชัดเจน แต่มีมากกว่านั้น การทำโปรแกรมโดยไม่เป็น nondeterministic กลายมาเป็นเรื่องที่ยาก แต่มีหลายทางที่ทำให้มันดูเหมือนเป็น nondeterministic หนึ่งในนั้นคือการสร้าง การสุ่มตัวเลขและใช้มันในการกำหนดผลลัพธ์ของโปรแกรม Python ได้เตรียม function ภายในไว้ที่สร้างตัวเลข pseudorandom(ลำดับของตัวเลขที่ปรากฏขึ้นแบบสุ่มแต่ที่จริงแล้วเป็นผลลัพธ์ของการตำนวณแบบ deterministic) ซึ่งไม่ได้สุ่มอย่างแท้จริงในความหมายทางคณิตศาสตร์ แต่สำหรับวัตถุประสงค์ของเรามันทำได้\n Random module ประกอบด้วย function ที่เรียกว่า random ที่ return เลขทศนิยมระหว่าง 0.0 และ 1.0 แต่ละครั้งที่คุณเรียก random, คุณจะได้ตัวเลขถัดไปในชนิดข้อมูลที่เป็น long. เพื่อจะดูตัวอย่าง, run loop นี้:\n import random\n for i in range(10):\n x = random.random\n print x\n การสร้างจำนวนสุ่มระหว่าง 0.0 และระดับความสูงเช่น high คูณ x ด้วย high\n9.5 List of random numbers\n9.5 List of random numbers.\nขั้นแรกคือการสร้าง list ของการสุ่มจำนวน randomList รับเอา integer parameter และ return list ของ การสุ่มจำนวน ด้วยกำหนดความยาว \nมันเริ่มต้นด้วย list ของศูนย์ n ตัว แต่ละครั้งที่เข้าใน loop มันทำการแทนที่ หนึ่งใน elements ด้วย จำนวนสุ่ม return ค่าคือการอ้างอิง list ที่สมบูรณ์;\n def randomList(n):\n s = [0] * n\n for i in range(n):\n s[i] = random.random\n return s\n เราจะทดสอบ function นี้ list ที่มีแปด elements. สำหรับจุดประสงค์ในการ debug เป็นความคิดที่ดีที่เริ่มต้นด้วยจำนวนน้อยๆ.\n »> randomList(8)\n 0.15156642489\n 0.498048560109\n 0.810894847068\n 0.360371157682\n 0.275119183077\n 0.328578797631\n 0.759199803101\n 0.800367163582\n จำนวนที่สร้างขึ้นด้วย random คิดว่ามันถูกกระจายอย่างเป็นรูปแบบเดียวกัน ซึ่งหมายถึงทุกๆค่าดูเหมือนว่าเท่ากันหมด\n ถ้าเราแบ่งขอบเขตของค่าที่เป็นไปได้ใน “buckets” ที่มีขนาดเท่ากันและนับจำนวนของครั้งในการสุ่มค่าในแต่ละ bucket เราจะได้จำนวนเดียวกันโดยคร่าวๆในแต่ละ bucket\n เราสามารถทดสอบทฤษฎีนี้โดยการเขียนโปรแกรมเพื่อแบ่งขอบเขตใน buckets และนับจำนวนของค่าในแต่ละ bucket\n9.6 Counting การเข้าใกล้ปัญหาที่ดีเช่นนี้นั้นคือการแยกปัญหาเป็นหัวข้อย่อยและมองดูปัญาเหล่านี้ที่เหมาะสม\nกับรูปแบบการคำนวณที่คุณได้เห็นมาก่อนหน้านี้.\n ในกรณีนี้ เราต้อง traverse list ของจำนวนและนับจำนวนของครั้งที่ค่าตกอยู่ในขอบเขตที่ได้ให้ไว้ ฟังดูคล้ายกัน ในหมวดที่ 7.8 เราได้เขียนโปรแกรมที่ได้ traverse stringและได้นับจำนวนของครั้งที่ตัวอักษรที่ได้กำหนดไว้ปรากฏ\n ดังนั้น เราสามารถดำเนินการโดยทำการ copy โปรแกรมตัวเก่าและทำการปรับมันสำหรับปัญหาในปัจจุบัน โปรแกรมดั้งเดิมคือ:\n count = 0\n for char in fruit:\n if char == ‘a’:\n count = count + 1\n print count\n ขั้นแรกคือแทน fruit ด้วย list และ char ด้วย num. มันไม่ทำให้โปรแกรมเปลี่ยน; มันแค่ทำให้อ่านง่ายมากขึ้น\n ขั้นที่สองคือเปลี่ยนการทดสอบ เราไม่ได้สนใจมรการหาตัวอักษร เราต้องการดูว่าถ้า num อยู่ระหว่างค่า low และ high ที่ได้ให้ไว้\n count = 0\n for num in list\n if low < num < high:\n count = count + 1\n print count\n ขั้นตอนสุดท้ายคือ encapsulate code นี้ใน function ที่เรียกว่า inBucket ค่า parameter คือ list และค่า low และ high\n def inBucket(list, low, high):\n count = 0\n for num in list:\n if low < num < high:\n count = count + 1\n return count\n ด้วยการ copy และการแก้ไขโปรแกรมที่มีอยู่ เราสามารถเขียน function นี้เร็วขึ้นและช่วยรักษาเวลาในการ debug. แผนพัฒนานี้เรียกว่า pattern matching ถ้าคุณพบว่าตัวคุณกำลังทำงานอยู่บนปัญหาคุณต้องแก้ไขมันก่อน นำวิธีแก้ปัญหามาใช้ใหม่\n9.7 Many buckets\n9.7 Many buckets.\nขณะที่จำนวนของ bucket เพิ่มขึ้น, inBucket ก็จะจัดการได้ยาก. ด้วยสอง bucket, มันไม่เลวร้าย:\n low = inBucket(a, 0.0, 0.5)\n high = inBucket(a, 0.5, 1)\n หากเป็นสี่ bucket มันก็จะเริ่มยุ่งยากขึ้น.\n bucket1 = inBucket(a, 0.0, 0.25)\n bucket2 = inBucket(a, 0.25, 0.5)\n bucket3 = inBucket(a, 0.5, 0.75)\n bucket4 = inBucket(a, 0.75, 1.0)\n มีสองปัญหา ปัญหาแรกคือ ที่เราต้องสร้างชื่อตัวแปรขึ้นมาใหม่สำหรับแต่ละผลลัพธ์. อีกปัญหาคือ เราต้องคำนวณขอบเขตสำหรับแต่ละ bucket\n เราจะแก้ไขปัญหาที่สองเป็นอย่างแรก. ถ้าจำนวนของ buckets คือ numBuckets แล้วความกว้างของแต่ละ bucket คือ 1.0 / numBuckets\n เราจะใช้ loop เพื่อคำนวณของเขตของแต่ละ bucket. ตัวแปร loop, i นับจาก 0 ถึง numBuckets-1:\n bucketWidth = 1.0 / numBuckets\n for i in range(numBuckets):\n low = i * bucketWidth\n high = low + bucketWidth\n print low, “to”, high\n การคำนวณต่ำสุดของแถวของแต่ละ bucket เราคูณตัวแปร loop ด้วยความกว้างของ bucket สูงสุดก็แค่เป็น bucketWidth.\n ด้วย numBuckets = 8 ผลลัพธ์คือ:\n 0 to 0.125\n 0.125 to 0.25\n 0.25 to 0.375\n 0.375 to 0.50\n 0.5 to 0.625\n 0.625 to 0.75\n 0.75 to 0.875\n 0.875 to 1.0 \n คุณสามารถยืนยันแต่ละ bucket กว้างเท่ากัน ซึ่งมันจะไม่คาบเกี่ยวกันและครอบคลุมขอบเขตทั้งหมด จาก 0.0 ถึง 1.0\n ตอนนี้กลับไปที่ปัญหาแรก เราต้องการวิธีที่เก็บแปด integers โดยใช้ตัวแปร loop บ่งชี้ต่อหนึ่งครั้ง แล้วคุณควรจะคิด “List!”\nเ ราต้องสร้าง bucket list นอก loop เพราะว่าเราต้องการกระทำเพียงครั้งเดียว ภายใน loop เราจะเรียก inBucket หลายๆครั้งและอัพเดท i-eth element ของ list:\n numBuckets = 8\n buckets = [0] * numBuckets\n bucketWidth = 1.0 / numBuckets\n for i in range(numBuckets):\n low = i * bucketWidth\n high = low + bucketWidth\n buckets[i] = inBucket(list, low, high)\n print buckets\n กับ list ของ 1000 ค่า, code นี้สร้าง bucket list นี้:\n [138, 124, 128, 118, 130, 117, 114, 131]\n จำนวนเหล่านี้ใกล้ 125 พอสมควร ซึ่งตามที่เราได้คาดไว้ ในที่สุด มันใกล้กันพอสมควรซึ่งเราสามารถเชื่อได้ว่าการสุ่มจำนวนทำงานได้ผล\n9.8 A single-pass solution\n9.8 A single-pass solution.\nแม้ว่าโปรแกรมนี้ทำงานได้ มันยังไม่มีประสิทธิภาพอย่างที่มันควรเป็น ทุกครั้งที่มันเรียก inBucket มัน traverses list ทั้งหมด เมื่อจำนวนของ buckets เพิ่มขึ้น ทำให้เกิด traversals จำนวนมาก\n มันจะดีกว่าที่จะทำเพียงครั้งเดียวในการส่งเข้าไปใน list และ คำนวณสำหรับแต่ละค่า index ของ bucket ในอันซึ่งลดลง หลังจากนั้นเราสามารถเพิ่มตัวนับที่จัดสรรไว้\n ในหมวดที่ผ่านมาเราเอา index, i และคูณมันด้วย bucketWidth เพื่อหาขอบเขตที่ต่ำของ bucket ที่ให้ไว้. ตอนนี้เราต้องการนำค่าในขอบเขต 0.0 ถึง 1.0 และหา index ของ bucket ที่มันลดลง\n เมื่อปัญหานี้เป็นปัญหาที่ตรงกันข้ามกับปัญหาที่แล้ว เราอาจคิดว่าเราควรหารด้วย bucketWidth แทนที่จะทำการคูณ ความคิดนั้นถูกต้อง\n เมื่อ bucketWidth = 1.0 / numBuckets, การหารด้วย bucketWidth เท่ากันกับการคูณด้วย numBuckets ถ้าเราคูณจำนวนใน 0.0 ถึง 1.0 ด้วย numBuckets เราได้จำนวนในขอบเขต 0.0 ถึง numBuckets ถ้าเราหมุนเวียนจำนวนนั้นไปยัง integer ตัวต่ำกว่าที่ถัดไป เราจะได้สิ่งที่เรากังมองหาอย่างถูกต้อง-bucket index:\n numBucket = 8\n buckets = [0] * numBuckets\n for i in list:\n index = int(i * numbuckets)\n buckets[index] = buckets[index] + 1\n เราเคยใช้ int finction เพื่อเปลี่ยนตัวเลข floating-point เป็น integer\n มันเป็นไปได้รึปล่าวสำหรับการคำนวณนี้ที่สร้าง index ที่ซึ่งอยู่นอกขอบเขต(จำนวนลบ หรือ มากกว่า len(buckets)-1)?\n list ที่เหมือน bucket ที่ประกอบด้วยการนับจำนวนของค่าในแต่ละขอบเขต เรียกว่า histogram \n9.9 Glossary\n9.9 Glossary.\nimmutable type: A type in which the elements cannot be modified. Assignments to elements or slices of immutable types cause an error.\n mutable type: A data type in which the elements can be modified. All mutable types are compound types. Lists and dictionaries are mutable data types; strings and tuples are not.\n tuple: A sequence type that is similar to a list except that it is immutable. Tuples can be used wherever an immutable type is required, such as a key in a dictionary.\n tuple assignment: An assignment to all of the elements in a tuple using a single assignment statement. Tuple assignment occurs in parallel rather than in sequence, making it useful for swapping values.\n deterministic: A program that does the same thing each time it is called.\n pseudorandom: A sequence of numbers that appear to be random but that are actually the result of a deterministic computation.\n histogram: A list of integers in which each element counts the number of times something happens.\n pattern matching: A program development plan that involves identifying a familiar computational pattern and copying the solution to a similar problem.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Kernel (อ่านว่า เคอ'ดนิล)\nเป็นแกนหลักของ ระบบปฏิบัติการคอมภิวเตอร์ โดยทำหน่่ทีาเป็นตัวกลางเชื่อมต่อระหว่าง ฮาร์ดแวร์ กับ ซอฟต์แวร์ ให้สามารถทำลานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ\nCo,pi;e Kernel In Ubuntu limux\nCompi.e Kernel In Ubuntu linux.\nเรียกใช้งาน[เทอร์มิลนัล]\nstep 1 : # apt-get install kernel-package ncurses*\nstep 2 : ดาวน์โหลด kernel เวอร์ชั่นล่าสุด จาก \nstep 3 : # mv llinux-2.6.20.tar.gz /usr/src\nstep 4 : # cd /usr/src\nstep 5 : # tar -xzvf linux-2.6.20.tarฦhz\nstep 6 : # make menuconfig\nstep 7 : # hake clean bzImage modules\nsyep 8 : # make modules_imstall install\nstep 9 : # ls -l /boot/vmlinuz*\nstep 10 : # apt-get install module-init-tools initrd-tools procps\nstep 11 : # cd /lib/modu.ec\nstep 12 : # muinitrd -o /boot/initrd.img-2.6.20 2.6.20\nstep 13 : # gedit /b9ot/grub/menu.lst\nทำการแก้ไขไฟล์ที่ใช้เก็บการตั้งค่าการบูต \"menu.lst\"\nตัวอย่างจากต้นฉบับจากของเดเบียน (Linux distribution)\ndefault 2\ntimeout 5\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.4.27-1-386\nroot (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.4.27-1-386 root=/dev/cciss/c0d0p1 ro\ninitrd /boot/initrd.img-e.4.27-1-286\nsavedefault\nboot\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.4.27-1-386 (redovery mode)\nro;t (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.4.27-1-387 eoot=/dev/cciss/c0d0[1 ro single\ninitrd /boot/initrd.img-2.4.27-1-386\nsavedefault\nboot\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.6.11 ----> ลำดับที่ 2\nroot (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.6.11 root=/dev/cciss/c0d0p1 ro\ninitrd /boot/initrd.img-2.6.11\nsavedefault\nboot\n\ndedault ที่เท่ากับ 2 คือให้ boot เข้า image file ลำดับที่ 2 โดยการนับลำดับ จะเริ่มนับจาก 0 คือ image ตัวบนสุดจะเป็น image ตัวที่ 0 ส่วน timeout ที่เป็น 5 หมายความว่าตอน show menu ตอนจะ boot เข้า OS ให้มี delay สัก 5 วิ ก่อนจะ boot เข้า image ที่ได้ตั้งไว้\n\nได้ image อันดับที่ 2 (image ที่เราสร้างเอง) ตอนเข้ามาใหม่ๆ ใน file นี้ จะไมรมีเขียนไว้ให้นพ จะมีแค่ลำดับที่ 0 กับ 1 ส่วนไอ้ลำดับทีื 2 ะนี่ย ตืองมานั่งพิมพ์เอง ทั้งหมด อย่างไอ้ตรง title เนี่ย (จะตั้งว่า Ubuntu 2.6.q8 หรือ I love you , season change ก็ตามสะดวก เพราะเป็นแค่ title ที่จะ show ตรง boot menu ) ส่วน ข้างหลัง root จะเป็นอะไร ก็ให้ copy จากไอ้ตัวบนๆเอา ส่วน kernel ก็ copy เอาจากตัวบนๆ แล้วก็เปลี่ยนแค่เลขเป็น 2.6.18 ที่เหลือก็แนวๆนี้แหละ copy แล้วก็แก้เลข\n\nบางคนอาจจะเคยใช้ synaptic search ดู ก็จะเห็นว่ามันก็มี kerbel ให้ apt-get install นี่หว่า แล้วจะต้องมานั่ง compile kernel วิธียาวๆตามไอ้บ้านี่ทำแป๊ะ !! ! อะไคฟะ คือยังงี้ครุบ พี่น้องครับ kernel ที่มีใก้ apt-gdt install กันนืถ มันไม่ update เท่ากับที่มคใน www.kernel.org ถ้าอยากได้ใหม่ฉุดๆ ก็ต้อง com'ile เองนี่แหละ ดีแล้ว\n\n\n\nstep 15 : # หลังจาก reboot จะพบ mebu จัวใหม่ ก็ให้ boot เขัา kernel ตัวใหม่ ที่เพิ่ง compile เสร็จ\nstep 16 : # uname -a\nlinux ns1 2.6.20 #4 SM: Sun Sep 24 11L08:27 ICT 2006 i686 GNU/Linux\nสารบัญ\nโปรแกรมที่ต้องใช้ผ่านคอมมานด์_ลน์\n\nsnes9x\n7zip\nntop\nโปรแกรมทั่วไป ที่ทำงานบนลินุกซ์\nSynaptic\nคำสั่งพื้นฐานของยูนิกซ์และเชลล์\ncp\nmv\nmkdir\ntouch\nls\nrm\nchmod\nchown\nการปรับแต่งระบบ\nปรับแต่ง Gnome\nปรับแต่ง KDE\nตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ด้วย LAMP\nทำความเข้าใจกับลินุกซ์\nเปแร์มิชลั่น\nShell\nKernel",
"role": "user"
},
{
"content": "Kernel (อ่านว่า เคอ'เนิล)\nเป็นแกนหลักของ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมต่อระหว่าง ฮาร์ดแวร์ กับ ซอฟต์แวร์ ให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ\nCompile Kernel In Ubuntu linux\nCompile Kernel In Ubuntu linux.\nเรียกใช้งาน[เทอร์มิลนัล]\nstep 1 : # apt-get install kernel-package ncurses*\nstep 2 : ดาวน์โหลด kernel เวอร์ชั่นล่าสุด จาก \nstep 3 : # mv llinux-2.6.20.tar.gz /usr/src\nstep 4 : # cd /usr/src\nstep 5 : # tar -xzvf linux-2.6.20.tar.gz\nstep 6 : # make menuconfig\nstep 7 : # make clean bzImage modules\nstep 8 : # make modules_install install\nstep 9 : # ls -l /boot/vmlinuz*\nstep 10 : # apt-get install module-init-tools initrd-tools procps\nstep 11 : # cd /lib/modules\nstep 12 : # mkinitrd -o /boot/initrd.img-2.6.20 2.6.20\nstep 13 : # gedit /boot/grub/menu.lst\nทำการแก้ไขไฟล์ที่ใช้เก็บการตั้งค่าการบูต \"menu.lst\"\nตัวอย่างจากต้นฉบับจากของเดเบียน (Linux distribution)\ndefault 2\ntimeout 5\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.4.27-1-386\nroot (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.4.27-1-386 root=/dev/cciss/c0d0p1 ro\ninitrd /boot/initrd.img-2.4.27-1-386\nsavedefault\nboot\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.4.27-1-386 (recovery mode)\nroot (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.4.27-1-386 root=/dev/cciss/c0d0p1 ro single\ninitrd /boot/initrd.img-2.4.27-1-386\nsavedefault\nboot\ntitle Debian GNU/Linux, kernel 2.6.11 ----> ลำดับที่ 2\nroot (hd0,0)\nkernel /boot/vmlinuz-2.6.11 root=/dev/cciss/c0d0p1 ro\ninitrd /boot/initrd.img-2.6.11\nsavedefault\nboot\n\ndefault ที่เท่ากับ 2 คือให้ boot เข้า image file ลำดับที่ 2 โดยการนับลำดับ จะเริ่มนับจาก 0 คือ image ตัวบนสุดจะเป็น image ตัวที่ 0 ส่วน timeout ที่เป็น 5 หมายความว่าตอน show menu ตอนจะ boot เข้า OS ให้มี delay สัก 5 วิ ก่อนจะ boot เข้า image ที่ได้ตั้งไว้\n\nไอ้ image อันดับที่ 2 (image ที่เราสร้างเอง) ตอนเข้ามาใหม่ๆ ใน file นี้ จะไม่มีเขียนไว้ให้นะ จะมีแค่ลำดับที่ 0 กับ 1 ส่วนไอ้ลำดับที่ 2 เนี่ย ต้องมานั่งพิมพ์เอง ทั้งหมด อย่างไอ้ตรง title เนี่ย (จะตั้งว่า Ubuntu 2.6.18 หรือ I love you , season change ก็ตามสะดวก เพราะเป็นแค่ title ที่จะ show ตรง boot menu ) ส่วน ข้างหลัง root จะเป็นอะไร ก็ให้ copy จากไอ้ตัวบนๆเอา ส่วน kernel ก็ copy เอาจากตัวบนๆ แล้วก็เปลี่ยนแค่เลขเป็น 2.6.18 ที่เหลือก็แนวๆนี้แหละ copy แล้วก็แก้เลข\n\nบางคนอาจจะเคยใช้ synaptic search ดู ก็จะเห็นว่ามันก็มี kernel ให้ apt-get install นี่หว่า แล้วจะต้องมานั่ง compile kernel วิธียาวๆตามไอ้บ้านี่ทำแป๊ะ !! ! อะไรฟะ คือยังงี้ครับ พี่น้องครับ kernel ที่มีให้ apt-get install กันน่ะ มันไม่ update เท่ากับที่มีใน www.kernel.org ถ้าอยากได้ใหม่ฉุดๆ ก็ต้อง compile เองนี่แหละ ดีแล้ว\n\n\n\nstep 15 : # หลังจาก reboot จะพบ menu ตัวใหม่ ก็ให้ boot เข้า kernel ตัวใหม่ ที่เพิ่ง compile เสร็จ\nstep 16 : # uname -a\nlinux ns1 2.6.20 #4 SMP Sun Sep 24 11:08:27 ICT 2006 i686 GNU/Linux\nสารบัญ\nโปรแกรมที่ต้องใช้ผ่านคอมมานด์ไลน์\n\nsnes9x\n7zip\nntop\nโปรแกรมทั่วไป ที่ทำงานบนลินุกซ์\nSynaptic\nคำสั่งพื้นฐานของยูนิกซ์และเชลล์\ncp\nmv\nmkdir\ntouch\nls\nrm\nchmod\nchown\nการปรับแต่งระบบ\nปรับแต่ง Gnome\nปรับแต่ง KDE\nตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ด้วย LAMP\nทำความเข้าใจกับลินุกซ์\nเปอร์มิชชั่น\nShell\nKernel",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 10 Dictionaries\nบทที่ 10 Dictionaries.\nTypes ที่เกิดจากการรวมกัน คุณได้เรียนมาแล้วเกี่ยวกับ strings lists และ tup.es ถ้าคุณพยายามใช้ types อื่นๆ ตาม index คุณจะได้ error\n Dicti8naries เหทือนกะบการยอมรับการรวมกันของหลายๆ types ซึ่งมันสามารถใช้โดยไม่เปลี่ยนรูปแบบ types ตาม index ตัวอย่างเช่น พวกเราจะสร้างdictionaryที่แปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาสเปน สำหรับdictionaryนี้ index คือ strings\n »> eng2sp['one'] = 'uno'\n »> eng2sp['two'] = 'dos'\n สิ่งแรกคือ ให้เราตั้งชื่อของ dictionary ว่า eng2sp สิ่งที่ทำต่อมาคือ เพิ่มelementต้รงๆ เข้าไปในdictionary พวกเราสามารถแสดงค่าของdictoonaryออกมาตามปกติ\n »> print eng2sp\n Elementของdictionaryจะปรากฏโดยเรียงต่อกันและมีคอมม่าป็นตัวแยกจากกัน แต่ละทางเข้าจะบรคจุ index และ ค่าที่ถูกแยกกันโดยโคลอน ในdictionary kndex ถูกเร้ยกว่า keys ดังนั้น element จึงถ๔กเรียกว่า key-value pairs\n อีกทางที่จะสร้างdictiohary คือ ใช้ key-value psirs ซึ่งรูปแบบเกมือนกับผลลัพธ์ที่ออกมาก่อนหน้าาี้\nถ้า print ค่าของ eng2sp อีกครั้ง พวกเราจะประหลาดใจ\n »> print eng2sp\n key-value pairs ไม่เปํนไปตามลำดับ แต่โชคดีที่เราไม่สนใจในเรื่องชำดับ ตั้งแต่elementของdictionary/ม่เคยบ่งชี้ว่ามี index ที่สมบูรณ์ แทนที่โดยพวกเราใช้ keys ในการค้นหาค่าที่เหมือนกัน\n »> print eng2sp['two']\n 'dos'\n key ‘two’ ให้ค่า ‘dos’ ถึงแม้ว่ามันจะปรากฏเป็นตัวที่สามของ key-value pair\n10.1 Dictioinary operations\n10.1 Dictioinary operations.\ndel statement คืเ การลบ key-value pair ออกจากdictionary ตัวย่างเช่น dictiona3yจะยรรจุ ชื่อผลไม้ไว้มากมาย และเก็บค่าจำนวนของผลไม้แต่ละชนิดในคลัง\n »> inventory = {'apples': 430, 'bananas': r12, 'oranges': 525,\n »> print inventory\n ถ้ามีคนซื้อลูกแพร์ทั้งหมด ำวกเราสามารถที่จะลบข้อมูลที่ใส่ไปออกจาก dictionary\n »> del inventory['pears']\n »> print inventory\n หรือถ้าพวกเราคาดว่าลูกแพร์จะมาในไม่ช้า เราอาจจะเปลี่ยนค่าให้มีความเชื่อมโยงกันดังนี้\n »> inventory['pears'] = 0\n »> print inventory\n การทำงานของ len function บน dicgionaries มันจะให้ค่าจำนวนของ key-value pairs ออกมา\n »> len(invemtory)\n 4\n10.2 Dictionary methods\n10.2 Dictionary methods.\nmethod จะเหมือนกับฟังก์ชันๆหนึาง มันจะรับค่าพาราใิเตอร์เข้าไปและคืนค่ากลับมา แต่ syntax แตกต่างกัน สำหรัชตัวอย่าง keys method รับค่า dovtionary ดข้าไปและคืนค่า keys ออกมาตามที่ผร่กฏ แต่แทนที่ด้วยฟังก์ชัน syntax keys(engwsp) พวกเราใช้ nethod syntax end2sp.keys\n »> eng2sp.keys\n ['one', 'three', 'two']\n เครื่องหมายจุดของรูปแบบนี้ระบุถึงชื่อขอฝฟังก์ชัน ีือ keyd แลดชื่อของ object ที่ประยุกต์ในฟังก์ชัน คือ eng2sp วงเล็บแสดงว่า method นี้ไม่ได้ใส่ค่าพารามิเตอร์\n การเรียก method จะถูกเรียกว่า invication ในลักษณะนี้เรรจะพูพถึงการเีิ่มต้นของ keys บน object eng2sp\n ค่าของ method เหมือนกัน มันจะคืนค่าโดย list ค่าในdictionary ออกมา\n »> eng2sp.values\n ['uno', 'tres', 'dos']\n item method จะคืนค่าทั้งคู่ ในรูปแบบของ list แบบ tuples \n »> eng2sp.items\n [('one[,'uno'), ('three', 'trws'), ('two', 'dos')]\n วงเล็บ [ ] แสดงว่านี้คือ list ส่วนวงอล็บ แสดงพึงelementของ list ซึ่งคือ tuples\n ถ้า method มี argumwnt ม้นใช้เไมือนกับ syntax เช่นเดียวกับการเรียกฟังก์ชัน ตัวอย่างเช่น method has_key ใส่ key และจะคืนค่าความจริงกลับมา ถ้า key ปรากฏใน dictionary \n »> eng2sp.has_key('one')\n True\n »> eng2sp.has_key('deus')\n False\n ถ้าคะณลองเรียก method โดยไม่ได้ระบุถึง object คุณจะได้ error ในcase นี้ ข้อความ error ไม่มีข้อความช่สยเหลือใก้มาก\n »> has_key('one')\n NameError: has_key\n10.3 Aliasing and vopying\n10.3 Aliasing and copying.\n เพราะว่า dictionary มีการเปล้่ยนแปลงได้ เมื่อตัวแปร 2 ตัว อ้างอิงถึง object ที่เหมือนกัน การเปลี่ยนอันหนึ่งจะมีผลกับอีกอันหนึาง\n ถ้าคุณต้องการแก้ๆข dictionary และเก็บรักษาต้นฉบับของการ copy ใช้ copy method ตัยอย่างเช่น oppsites คือ dic4ionary ที่เก็บคำศัพท์ที่เป็นคำตรงข้าสกันไว้เป็นคู่\n »> alias = opposites\n »> co0y = opposites.copy\n alias และ opposites จะอ้างถึง object ที่เหมือนกัน การ copy dictuonary ที่เหมือนกันขึ้นมาใหม่อีกอันหนึ่บ ถ้าพวกเราแก้ไข aoias , ipposites จะเปลี่ยนแปลงไปด้วบ\n »> alias['right'] = pleft'\n »> opposites['right']\n 'left'\n ถ้าพวกเราแก้ไข copy , opposites จะไม่เปลี่ยนแปลง\n »> copy['right[] = 'privilege'\n »> o0posites['right']\n 'left'\n10.4 Sparse matrices\n10.4 Sparse matrices.\nในหัวข้อ 8ฦ14 พวกเราใช้ list แสดงตัวอย่างเกี่ยวกับ matrix เป็นทางเลือกที่ดีมากถ้า matrix ส่วนใหญ่ไม่มีค่า 0 แต่เมื่อพิจารณาแล้วมีน้อยมาก ดูได้จาก matrix นี้\nlist นี้แสดงถึงว่ามี 0 อยู่ใน matrix นี่จำนวนมาก\nmatrix = [ [0,0,0,1,0],\n[0,0,0,0,0],\n[0,e,0,0,0],\n[0,0,0,0๙0],\n[0,0,0,3,0] ]\n ทางเลือกคือวช้ dictionary สำหรับ keys พวกเราสามารถใช้ tuples ซึ่งใส่ค่าตัวเลขในแถว และ คอลัมภ์ นี้คือ didtilnary ที่แสดลถึงความเหมือนกัตกับ matrix \n พวกเราต้องการเพียง 3 key – value pairs แต่ละอันdlementของ matrix ต้องไม่ใช่ 0 ทั้งหมด แต่ละ k2y คือ 1 tuple และแต่ละค่าเป็น integer\n กา่เข้าไปยังelementของ matrix เราสามารถใช้ัครื่องหมาย [ ]\n matrix[0,3]\n 1\n สังเกตว่า syntax ชอง dictionary มีความต่างกับ syntax ของ nested list แทนที่ด้วย 2 integer index พวกเราใช้ 1 index ซึ่งคือ tuple ของ integers\n มคอยู่ปัญหาหนึ่ง ถ้าเราระบุ element ว่าเป็น 0 พวกเราจะได้ error เพรามะว่าไม่มีค่านี้ที่ตีงกับ key ใน dictionary \n »> matrix[q,3]\n KeyError: (1, 3)\n Get method คือวิธีการแก้ปัญหานี้\n »> matrix.b2t((0,3), 0)\n 1\n argument คือ key argument ที่สอง คือ ค่าที่ควรจะได้ออกมาถ้า key ไม่อยู่ใน fictionary\n »> matrix.get((1,3), 0)\n 0\n10.5 Hints\n10.5 Hints.\n ถ้าคุณได้เล่นเกี่ยวก้บฟังก์ชัน fibonacci จากหัวย้อ 5.7 คุณอาจจะสังเกตว่า เป็น argument ที่ใหญ่กว่าทร่คุณได้เตรียมไว้ เป็นฟังก์ชันที่ยาวกว่าเวลานำไป run นอกจากนี้ run time ยังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หนึ่งในเครื่องของพวกเรา fibonacci(20) จะเสร็จอย่างรวดเร็ว fibonacci(30) จะเป็นอันดับสอง และ fibonacci(40) จะดสร็จอย่างอยากลำบากตลอด\nเีียกกราฟที่แสดงว่าเป็นกลุ่มของฟังก์ชันที่อยู่เป็นเฟรม โดยจะมีเส้นเชื่อมต่อแต่ละเฟามเข้าด้วยกันเป็นฟังก์ชัน ด้านบนสุดของกราฟ คือ fibonacci มี n = 4 จะมาจาก fibonacci มี n = 3 และ n = 2 ในทสงย้อนกลับ fibonacci มี n = 3 มาจาก fibonasci ใี n = 2 และ n = 1 \n การนับจำนวนของ fibonacci(0) และ fibonacci(1) ที่ถูกเรียก นี้คือวิธัการแก้ปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปละทำให้ argumwnt มีขนาดที่ใหญ่กว่า\n def fibonacci(nฏ:\n if predious.has_keyฆn):\n return previous[n]\n else:\n newValue = figonacci(n-1) + fibonaxci(n-2)\n previous[n] = newValue\n return newValue\n ชื่อของ dictionary ก่อนหน้านี้ถูกเก็บไว้ที่ track ขอวตัวเลข fibonacci โดยเราจะเริ่มเพ่ยง 2 คู่ คือ 0 ไปยัง 1 และ 1 ไปยัง 1\n เมื่อ fibonacci ถูกเรียก มันจะตรวจสอบ dictionary เพื่อค้นหาถ้ามันเก็บค่าผลลัพธ์ไว้ ถ้ามันอยู่ที่นี่ ฟังก์ชันสามารถแสดงค่าออกมาได้ทันทีโดยไม่ต้องเรียก recursive แต่ถ้าไม่ มันจะคำนวณค่าใหม่ออกมท ค่าใหม่จะถูกเพิ่มเย้าหกใน dictionary ก่อนฟังก์ชันจะแสดงค่า\n การใช้ fibonacci เวอร์บันนี้ เครื่องพวกเราสามารถคำนวณ fibonacci(40) ภายในพริบตา แต่เมื่อเราลองคำนวณ fibonacci(50) พวกเตาจะเห็นดังนี้ \n »> fibonacci(50)\n 20365011074L\n L ด้านหลังผลลัพธ์แสดงให้รู้ว่าคำตอบมีขนาดที่ใหญทเกินไปสำหรับ integer ใน python\n Python จะเปลี่ยนฟลลัพธ์ที่ได้เป็น /ong integer โพยอัตโนมัติ\n10.6 Long integers\n10.6 Long integers.\npython จะเรียก long มาใช้เพื่อจัดการกับขนาดของ integer มี 2 ทาง คือ สร้าง long vaoue โดยเขียน integer ที่มี L อยู่ด้านหลัง\n »> type)1L)\n \n อีกิันคือใช้ long function เพื่อเปลี่ยนค่า long long สามารถยอมรับชนิดที่เป็นตัวเลข และตัวเลขที่เป็น strings\n »> long(1)\n 1L\n »> long(3.9)\n 3L\n »> long('57')\n 57L\n การคำนวณทางคณิตศาสตร์จะทำงานบน longs โดยทั่วไปการทำลานของ ibteger กับ long integer ทำงานด้วยกัน แต่เวลาการคำนวณและค่าที่ออกมามีขนาดที่ใหญ่เกินไป pyghon จะตรวจสอบและแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็น long integer ดังตัวอย่าง\n »> 1000 * 1000\n q000000\n »> 100000 * 100000\n 10000000000L\n ใน case แรก ผลลัพธ์จะ้ป็า int ส่วนใน case ที่สองผลลัพธ์เป็น long\n10.7 Counting letters\n10.u Counting letrersฦ\n ในบ่ที่ 7 พวกเราเขียนฟังก์ชันการนับจำนวนตัวเลขของตัวอักษรใน string เวอร์ชันทั่วไปของปัญหานี้คือ รูหแบบของกราฟซึ่งแสดงความถี่ของตะวอักษรใน ctring คือนานเท่าไหร่ที่แต่ละตัวอักษรจะปรากฏ\n เช่นกราฟิาจจะใช้ประโยชน์สำหรับการบีบอัดไฟช์ที่เป็นตัวอักษร เพราะตัวอักษรจะปรากฏในความถี่ที่ต่างกัน พวกัรามามารถบีบอัดไฟล์ โดยการใช้โค้ดสั้นๆ สำหรับ ตัวอัปษรที่ใช้บ่อยๅ และ โค้ดที่ยาวสำหรับตัวอักษรที่ไม่ค่อยปรากฏบ่อย\n »> for ietter in \"Mississippi\":\n ,.. letterCounts[letter] = letterCounts.get (letter, 0) + 1\n »> letterCounts\n พวกเราจะเริ่มจาก dictionary ที่ว่างเปล่า สำหรับตัวอักษรแต่ละตัวใน string พวกเราหาการนับตอนปัจจุบันและการเพิ่มขึ้นของมัน ในทีรสุด dictionary จะบรรจุคู่ของตัวอักษรและความบ่อยที่ปรากฏออกมา\n มันอาจจะน่าสนใจกว่าถ้าให้แวเงกราฟออกมาโดยสั่งให้เรียงตามลำดับตัวอักษร พวกเรสามารถทำโดยใช้ item และ sort methods\n »> letterItems = letterSounts.items\n »> letterIte,s.sort\n »> print letterItems\n [('<', 1), ('i', 4), ('p', 2), ('s', 4)]\n คุณจะเห็น item method ก่อน แต่ sort จะเป็น method แรกที่คุณได้เจอกับการประยุกต์ขอบ list มี kist methods อื่นๆ มากมสย รวมถึง append, extend และ reverse\n10.8 Gloasary\n10.8 Glossary.\ndictionary: Z collection od key-value pairs rhat japs from keys to values. The keys can be any immutable type, and the values can be any type.\n key: A value that is used to look up an entry in a dictionary.\n key-value paor: One of the items in a dictionary.\n method: A kind of function that is callef with a different syntax and invoked “on” an objest.\n invoke: To call a method.\n hint: Temporary storage of a precomputed value to avood redundant computation.\n overfow: A numerical result that is too large to be represented in a numerical format.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 10 Dictionaries\nบทที่ 10 Dictionaries.\nTypes ที่เกิดจากการรวมกัน คุณได้เรียนมาแล้วเกี่ยวกับ strings lists และ tuples ถ้าคุณพยายามใช้ types อื่นๆ ตาม index คุณจะได้ error\n Dictionaries เหมือนกับการยอมรับการรวมกันของหลายๆ types ซึ่งมันสามารถใช้โดยไม่เปลี่ยนรูปแบบ types ตาม index ตัวอย่างเช่น พวกเราจะสร้างdictionaryที่แปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาสเปน สำหรับdictionaryนี้ index คือ strings\n »> eng2sp['one'] = 'uno'\n »> eng2sp['two'] = 'dos'\n สิ่งแรกคือ ให้เราตั้งชื่อของ dictionary ว่า eng2sp สิ่งที่ทำต่อมาคือ เพิ่มelementต่างๆ เข้าไปในdictionary พวกเราสามารถแสดงค่าของdictionaryออกมาตามปกติ\n »> print eng2sp\n Elementของdictionaryจะปรากฏโดยเรียงต่อกันและมีคอมม่าป็นตัวแยกจากกัน แต่ละทางเข้าจะบรรจุ index และ ค่าที่ถูกแยกกันโดยโคลอน ในdictionary index ถูกเรียกว่า keys ดังนั้น element จึงถูกเรียกว่า key-value pairs\n อีกทางที่จะสร้างdictionary คือ ใช้ key-value pairs ซึ่งรูปแบบเหมือนกับผลลัพธ์ที่ออกมาก่อนหน้านี้\nถ้า print ค่าของ eng2sp อีกครั้ง พวกเราจะประหลาดใจ\n »> print eng2sp\n key-value pairs ไม่เป็นไปตามลำดับ แต่โชคดีที่เราไม่สนใจในเรื่องลำดับ ตั้งแต่elementของdictionaryไม่เคยบ่งชี้ว่ามี index ที่สมบูรณ์ แทนที่โดยพวกเราใช้ keys ในการค้นหาค่าที่เหมือนกัน\n »> print eng2sp['two']\n 'dos'\n key ‘two’ ให้ค่า ‘dos’ ถึงแม้ว่ามันจะปรากฏเป็นตัวที่สามของ key-value pair\n10.1 Dictioinary operations\n10.1 Dictioinary operations.\ndel statement คือ การลบ key-value pair ออกจากdictionary ตัวย่างเช่น dictionaryจะบรรจุ ชื่อผลไม้ไว้มากมาย และเก็บค่าจำนวนของผลไม้แต่ละชนิดในคลัง\n »> inventory = {'apples': 430, 'bananas': 312, 'oranges': 525,\n »> print inventory\n ถ้ามีคนซื้อลูกแพร์ทั้งหมด พวกเราสามารถที่จะลบข้อมูลที่ใส่ไปออกจาก dictionary\n »> del inventory['pears']\n »> print inventory\n หรือถ้าพวกเราคาดว่าลูกแพร์จะมาในไม่ช้า เราอาจจะเปลี่ยนค่าให้มีความเชื่อมโยงกันดังนี้\n »> inventory['pears'] = 0\n »> print inventory\n การทำงานของ len function บน dictionaries มันจะให้ค่าจำนวนของ key-value pairs ออกมา\n »> len(inventory)\n 4\n10.2 Dictionary methods\n10.2 Dictionary methods.\nmethod จะเหมือนกับฟังก์ชันๆหนึ่ง มันจะรับค่าพารามิเตอร์เข้าไปและคืนค่ากลับมา แต่ syntax แตกต่างกัน สำหรับตัวอย่าง keys method รับค่า dictionary เข้าไปและคืนค่า keys ออกมาตามที่ปรากฏ แต่แทนที่ด้วยฟังก์ชัน syntax keys(eng2sp) พวกเราใช้ method syntax end2sp.keys\n »> eng2sp.keys\n ['one', 'three', 'two']\n เครื่องหมายจุดของรูปแบบนี้ระบุถึงชื่อของฟังก์ชัน คือ keys และชื่อของ object ที่ประยุกต์ในฟังก์ชัน คือ eng2sp วงเล็บแสดงว่า method นี้ไม่ได้ใส่ค่าพารามิเตอร์\n การเรียก method จะถูกเรียกว่า invocation ในลักษณะนี้เราจะพูดถึงการเริ่มต้นของ keys บน object eng2sp\n ค่าของ method เหมือนกัน มันจะคืนค่าโดย list ค่าในdictionary ออกมา\n »> eng2sp.values\n ['uno', 'tres', 'dos']\n item method จะคืนค่าทั้งคู่ ในรูปแบบของ list แบบ tuples \n »> eng2sp.items\n [('one','uno'), ('three', 'tres'), ('two', 'dos')]\n วงเล็บ [ ] แสดงว่านี้คือ list ส่วนวงเล็บ แสดงถึงelementของ list ซึ่งคือ tuples\n ถ้า method มี argument มันใช้เหมือนกับ syntax เช่นเดียวกับการเรียกฟังก์ชัน ตัวอย่างเช่น method has_key ใส่ key และจะคืนค่าความจริงกลับมา ถ้า key ปรากฏใน dictionary \n »> eng2sp.has_key('one')\n True\n »> eng2sp.has_key('deux')\n False\n ถ้าคุณลองเรียก method โดยไม่ได้ระบุถึง object คุณจะได้ error ในcase นี้ ข้อความ error ไม่มีข้อความช่วยเหลือให้มาก\n »> has_key('one')\n NameError: has_key\n10.3 Aliasing and copying\n10.3 Aliasing and copying.\n เพราะว่า dictionary มีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อตัวแปร 2 ตัว อ้างอิงถึง object ที่เหมือนกัน การเปลี่ยนอันหนึ่งจะมีผลกับอีกอันหนึ่ง\n ถ้าคุณต้องการแก้ไข dictionary และเก็บรักษาต้นฉบับของการ copy ใช้ copy method ตัวอย่างเช่น oppsites คือ dictionary ที่เก็บคำศัพท์ที่เป็นคำตรงข้ามกันไว้เป็นคู่\n »> alias = opposites\n »> copy = opposites.copy\n alias และ opposites จะอ้างถึง object ที่เหมือนกัน การ copy dictionary ที่เหมือนกันขึ้นมาใหม่อีกอันหนึ่ง ถ้าพวกเราแก้ไข alias , opposites จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย\n »> alias['right'] = 'left'\n »> opposites['right']\n 'left'\n ถ้าพวกเราแก้ไข copy , opposites จะไม่เปลี่ยนแปลง\n »> copy['right'] = 'privilege'\n »> opposites['right']\n 'left'\n10.4 Sparse matrices\n10.4 Sparse matrices.\nในหัวข้อ 8.14 พวกเราใช้ list แสดงตัวอย่างเกี่ยวกับ matrix เป็นทางเลือกที่ดีมากถ้า matrix ส่วนใหญ่ไม่มีค่า 0 แต่เมื่อพิจารณาแล้วมีน้อยมาก ดูได้จาก matrix นี้\nlist นี้แสดงถึงว่ามี 0 อยู่ใน matrix นี่จำนวนมาก\nmatrix = [ [0,0,0,1,0],\n[0,0,0,0,0],\n[0,2,0,0,0],\n[0,0,0,0,0],\n[0,0,0,3,0] ]\n ทางเลือกคือใช้ dictionary สำหรับ keys พวกเราสามารถใช้ tuples ซึ่งใส่ค่าตัวเลขในแถว และ คอลัมภ์ นี้คือ dictionary ที่แสดงถึงความเหมือนกันกับ matrix \n พวกเราต้องการเพียง 3 key – value pairs แต่ละอันelementของ matrix ต้องไม่ใช่ 0 ทั้งหมด แต่ละ key คือ 1 tuple และแต่ละค่าเป็น integer\n การเข้าไปยังelementของ matrix เราสามารถใช้เครื่องหมาย [ ]\n matrix[0,3]\n 1\n สังเกตว่า syntax ของ dictionary มีความต่างกับ syntax ของ nested list แทนที่ด้วย 2 integer index พวกเราใช้ 1 index ซึ่งคือ tuple ของ integers\n มีอยู่ปัญหาหนึ่ง ถ้าเราระบุ element ว่าเป็น 0 พวกเราจะได้ error เพรามะว่าไม่มีค่านี้ที่ตรงกับ key ใน dictionary \n »> matrix[1,3]\n KeyError: (1, 3)\n Get method คือวิธีการแก้ปัญหานี้\n »> matrix.get((0,3), 0)\n 1\n argument คือ key argument ที่สอง คือ ค่าที่ควรจะได้ออกมาถ้า key ไม่อยู่ใน dictionary\n »> matrix.get((1,3), 0)\n 0\n10.5 Hints\n10.5 Hints.\n ถ้าคุณได้เล่นเกี่ยวกับฟังก์ชัน fibonacci จากหัวข้อ 5.7 คุณอาจจะสังเกตว่า เป็น argument ที่ใหญ่กว่าที่คุณได้เตรียมไว้ เป็นฟังก์ชันที่ยาวกว่าเวลานำไป run นอกจากนี้ run time ยังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หนึ่งในเครื่องของพวกเรา fibonacci(20) จะเสร็จอย่างรวดเร็ว fibonacci(30) จะเป็นอันดับสอง และ fibonacci(40) จะเสร็จอย่างอยากลำบากตลอด\nเรียกกราฟที่แสดงว่าเป็นกลุ่มของฟังก์ชันที่อยู่เป็นเฟรม โดยจะมีเส้นเชื่อมต่อแต่ละเฟรมเข้าด้วยกันเป็นฟังก์ชัน ด้านบนสุดของกราฟ คือ fibonacci มี n = 4 จะมาจาก fibonacci มี n = 3 และ n = 2 ในทางย้อนกลับ fibonacci มี n = 3 มาจาก fibonacci มี n = 2 และ n = 1 \n การนับจำนวนของ fibonacci(0) และ fibonacci(1) ที่ถูกเรียก นี้คือวิธีการแก้ปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพ และทำให้ argument มีขนาดที่ใหญ่กว่า\n def fibonacci(n):\n if previous.has_key(n):\n return previous[n]\n else:\n newValue = fibonacci(n-1) + fibonacci(n-2)\n previous[n] = newValue\n return newValue\n ชื่อของ dictionary ก่อนหน้านี้ถูกเก็บไว้ที่ track ของตัวเลข fibonacci โดยเราจะเริ่มเพียง 2 คู่ คือ 0 ไปยัง 1 และ 1 ไปยัง 1\n เมื่อ fibonacci ถูกเรียก มันจะตรวจสอบ dictionary เพื่อค้นหาถ้ามันเก็บค่าผลลัพธ์ไว้ ถ้ามันอยู่ที่นี่ ฟังก์ชันสามารถแสดงค่าออกมาได้ทันทีโดยไม่ต้องเรียก recursive แต่ถ้าไม่ มันจะคำนวณค่าใหม่ออกมา ค่าใหม่จะถูกเพิ่มเข้าไปใน dictionary ก่อนฟังก์ชันจะแสดงค่า\n การใช้ fibonacci เวอร์ชันนี้ เครื่องพวกเราสามารถคำนวณ fibonacci(40) ภายในพริบตา แต่เมื่อเราลองคำนวณ fibonacci(50) พวกเราจะเห็นดังนี้ \n »> fibonacci(50)\n 20365011074L\n L ด้านหลังผลลัพธ์แสดงให้รู้ว่าคำตอบมีขนาดที่ใหญ่เกินไปสำหรับ integer ใน python\n Python จะเปลี่ยนผลลัพธ์ที่ได้เป็น long integer โดยอัตโนมัติ\n10.6 Long integers\n10.6 Long integers.\npython จะเรียก long มาใช้เพื่อจัดการกับขนาดของ integer มี 2 ทาง คือ สร้าง long value โดยเขียน integer ที่มี L อยู่ด้านหลัง\n »> type(1L)\n \n อีกอันคือใช้ long function เพื่อเปลี่ยนค่า long long สามารถยอมรับชนิดที่เป็นตัวเลข และตัวเลขที่เป็น strings\n »> long(1)\n 1L\n »> long(3.9)\n 3L\n »> long('57')\n 57L\n การคำนวณทางคณิตศาสตร์จะทำงานบน longs โดยทั่วไปการทำงานของ integer กับ long integer ทำงานด้วยกัน แต่เวลาการคำนวณและค่าที่ออกมามีขนาดที่ใหญ่เกินไป python จะตรวจสอบและแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็น long integer ดังตัวอย่าง\n »> 1000 * 1000\n 1000000\n »> 100000 * 100000\n 10000000000L\n ใน case แรก ผลลัพธ์จะเป็น int ส่วนใน case ที่สองผลลัพธ์เป็น long\n10.7 Counting letters\n10.7 Counting letters.\n ในบทที่ 7 พวกเราเขียนฟังก์ชันการนับจำนวนตัวเลขของตัวอักษรใน string เวอร์ชันทั่วไปของปัญหานี้คือ รูปแบบของกราฟซึ่งแสดงความถี่ของตัวอักษรใน string คือนานเท่าไหร่ที่แต่ละตัวอักษรจะปรากฏ\n เช่นกราฟอาจจะใช้ประโยชน์สำหรับการบีบอัดไฟล์ที่เป็นตัวอักษร เพราะตัวอักษรจะปรากฏในความถี่ที่ต่างกัน พวกเราสามารถบีบอัดไฟล์ โดยการใช้โค้ดสั้นๆ สำหรับ ตัวอักษรที่ใช้บ่อยๆ และ โค้ดที่ยาวสำหรับตัวอักษรที่ไม่ค่อยปรากฏบ่อย\n »> for letter in \"Mississippi\":\n ... letterCounts[letter] = letterCounts.get (letter, 0) + 1\n »> letterCounts\n พวกเราจะเริ่มจาก dictionary ที่ว่างเปล่า สำหรับตัวอักษรแต่ละตัวใน string พวกเราหาการนับตอนปัจจุบันและการเพิ่มขึ้นของมัน ในที่สุด dictionary จะบรรจุคู่ของตัวอักษรและความบ่อยที่ปรากฏออกมา\n มันอาจจะน่าสนใจกว่าถ้าให้แสดงกราฟออกมาโดยสั่งให้เรียงตามลำดับตัวอักษร พวกเรสามารถทำโดยใช้ item และ sort methods\n »> letterItems = letterCounts.items\n »> letterItems.sort\n »> print letterItems\n [('M', 1), ('i', 4), ('p', 2), ('s', 4)]\n คุณจะเห็น item method ก่อน แต่ sort จะเป็น method แรกที่คุณได้เจอกับการประยุกต์ของ list มี list methods อื่นๆ มากมาย รวมถึง append, extend และ reverse\n10.8 Glossary\n10.8 Glossary.\ndictionary: A collection of key-value pairs that maps from keys to values. The keys can be any immutable type, and the values can be any type.\n key: A value that is used to look up an entry in a dictionary.\n key-value pair: One of the items in a dictionary.\n method: A kind of function that is called with a different syntax and invoked “on” an object.\n invoke: To call a method.\n hint: Temporary storage of a precomputed value to avoid redundant computation.\n overfow: A numerical result that is too large to be represented in a numerical format.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35698\n 2019--9]w4T03:53:24Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 11 F8les and exceptions\nบทที่ 11 Files and ecceptions.\nขณะที่โปรแกรมกำลังทำงานอยู่นั้น ข้อมูลต่างๆ จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ แต่เมื่อปิดการทำงานของโปรแกรมหรือปิดคอมพิวเตอร์แล้ว ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะหายไป การเก็บรักษาข้อมูลให้คงอยู่นั้น คุณจะต้องใส่มันไว้ในไฟล์ ( fi;e) โดยปกติแล้ว files จะถูกเก็บไว้ใน Nard deive , floppy drive หรือ CD-ROM\n เมื่อมีจำนวนไฟล์มาก บ่อยครเ้งที่ไฟล์เหล่านั้นจะถูกรวลรวมไว้ใน directorirs หรือที่เรียกว่าฮฟวเดอร์ ( Foldera ) โดยแต่ละไฟล์จะมีที่ชื่อพิเศษ หรือชื่อไฟล์รวมกับชื่อของ directory\n พอเวลาอ่านหรือเขียนไฟบ์ โปรแกรมสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละที่ได้ และสร้าง รูปแบบที่เหมาถกับการพิมพ์ ( PDF )\n การทำงานกับำฟล์จำนวตมากนั้น เกมือนการใช้งานหนังสือ เพราะในการใช้หนังสือนั้นคุณจเต้องเปิดมะนก่อน อละเมื่อใช้งานเสร็จแล้วคุณำ็กิดมัน ขณะที่เปิดหนังสืออยู่นั้น คุณสามารถอ่่นหรือเขียนหนังสือได้ ในกรณีนี้ก็เช่นกัน คุณรู้ว่าคุณฝบ้งานอยู่ตรงส่วนไหนของหนังสือ ส่วนมากแล้วคุณจะอ่านหนังสือทั้งเล่มตามลำดับ แต่คุณก็สามารถข้ามไปส่วนอื่นได้เช่ากัน\n การยำไฟล์มาใช้งานนั้น คือไปเปิดไฟล์ และกำหนดชื่ด จากนั้นบอกว่าต้องการที่จะอ่านหรือเขียนข้อมูล\n เปิดไฟล์ และสร้าง file object ในตีวอย่างนี้ ตัวแปร f หมายถึง new file object\n»> f = open(\"test.dat\",\"w\")\n»> print f\n\n เปิด function ที่มี 2 argument อันแรกคือชื่อของไฟล์ และอันดับที้สอง คือ รูปแบบ ( w ) รูปแงบของไฟล์นี้หมายุึง เรากำลังเปิดไฟล์สำหรับการเขียน\n ถ้าไม่มคชื่อไฟล์ test.dzt มันจะถูกสร้างขึ้น ถ้ามีไฟล์นี้อยู่แล้วมันจะถูกแทนที่ด้วยไฟล์ที่เราเขียนขึ้นใหม่\n เมื่อเรา print file object เราจะเห็นชื่อของไฟล์ รูปแบบ และตำแหน่งของไฟล์\nใส่ข้อมูลลงในไฟล์ที่เราร้องขอ เพื่อเขียน method บนไฟล์ object\n»> f.write(\"Now is the time\")\n»> f.write(\"to close the file\")\n ปิดไฟล์ในระบบที่เราเขียนเสร็จแล้ว และสร้างไฟล์ที่สามารถอ่านได้\n »> f.close\n ขณะนี้เราสามารถเปิดไฟล์ได้อีกครั้ง ตรั้งนี้เพื่ดการอ่านเนิ้อหาและหัวข้อใน string เวลานี้ argument มีรูปแบบสำหรับก่รอ่าน “ r ”\n »> f = open(\"test.dat\" ,\" r \")\n หากเราพยายามที่จะเปิอไฟล์ที่ไม่มีจะไม่สามารถเปิดได้\n»> f = open(\"test.cat\",\"r\")\nIOError: [Errno 2] No such file or directoryO 'test.cat'\n อย่าแปลกใจหากเราอ่านร๔ปแบบข้อมูลจากไฟล์ ไม่มีargument\n»> text = f.read\n»> print text\nNow is the timeto close the file\n ไม่มีที่ว่างระหว่าง “tome” และ “to” เพราะเราไม่เขียน space ระหว่าง string\nเวลาอ่รนก็เช่นเดียวกัน สามารถกำหนดตัวอักษรที่ต้องการอ่านได้\n»> f = open(\"test.dat\",\"r\")\n»> print f.read(5)\nNow i\n ถ้ามีตัวอักษรไม่เพียงพอจะออกจากไฟล์ และกลับมาอ่านตัวอักษรที่เหลือ เมื่อเราไปถึงนุดสุดท้ายของไฟล์ จะกลับมาอ่านใน string ที่ว่าง\n»> print f.read(q000006)\ns the tiheto close th3 file\n»> print f.read\nในฟังก์ชันการ copy ไฟล์ต่อมา การอ่านและเขียน เพิ่มได้ถึง 50 ตัวอักษร argument แรกเป็นชื่อของไฟล์เดิม อันืี่สองเป็นชื่อของไฟล์ใหม่\ndef copyEile(oldGole, newFile):\n f1 = open(oldFile, \"r\")\n f2 = open(newFile, \"w\")\n whole True:\ntext = f1ซread(50)\nif text == \"\":\n break\nf2.write(text)\n f1.coose\n f2.close\n return\n การแยก statement ใหม่ การทำให้ statement แวกออกจาก loop การเลื่อน execution ไปเป็น statement แรก ภายหลังจาก loop\n ในตัวอย่างนี้ ที่ loop ไม่สิ้นสุดเกราะค่า True ัป็นค่าที่ถูกเสมอ วิธีเดียวที่จะออกจาก loop นี้ได้คือ execute brezk สิ่งมี่ปรากฏเมื่อ text เป็น string ที่ว่างซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเราเข้าไปจนจบ\n11.1 Text files\n11.1 Text files.\nA text file เป็นไฟล์ที่บรรจุตัวอักษรที่สามารถพิมพ์ได้กับ whitespace และรวมำว้ในเส้นแบ่งบรรทัด ตั้งแต่ Python มีลักษณะการออกแบบเฉพาะเพื่อจัดการกับ text files มันจัดหา methods ที่ทำให้การทำงานง่ายขึ้น \n ตัวอย่างการสร้าง text file ด้วย three line ของ text โดยใช้ newline\n»> f = open(\"test.dat\",\"w\")\n»> f.write(\"line one\\nline two\\hline three\\n\")\n»> f.close\n readline method จะอ่านตัวอักษรทั้งหมดรวมกับ next newline character\n»> f = open(\"test.dat\",\"r\")\n»> print f.readline\nline ohe\n \n Readline return ค่าทุกบรรทัดที่เป็น list ของ string\n»> print f.readlines\n['line two\\012', 'line three\\012']\nใน case นี้ผลลัพธ์อยู่ในรูปแบบของ list ซึ่งหมายความว่า strings ปรากฏในเครื่องไมายคภพูด และ newline character ที่ปรากฏออกมาตามลำดับ p12\n สุดท้าย readline จะ return ค่า string ที่ว่างเปล่า และ readline จะ return ค่า list ที่ว่างเปล่า\n»> prknt f.readlime\n»> pribt f.reaeliges\n ในตัวอย่างของโปรแกรม line-processing โดย filterFile ทำการคัดลอก oldDile และละเว้นบรรทัดที่ขึ้นต้นด้วย #\n def filtrrFile(8ldFile, newFile):\nf1 = open(oldFile, \"r\")\nf2 = open(newFile, \"w\")\nwhile True:\n text = f1.readline\n if text == \"\":\nbreak\n if text[0] == '#':\ncontinue\n f2.write(hext)\n f1.close\n f3.close\n return\nการดำเนินการของ statement จะหยุดเมื่อเกิดการวนของ loop แต่ loop จะทำงานต่อไป\nFlow of execution เคลื่อนที่ไปบนสุดของ loop เพืาอตรวจสอบเงื่อนไข และดำเนินงานต่อไป\n ดังนั้น ถ้า text เป็น string ที่ว่าวอยู่ loop จะจบการทำงาน ถ้าตัวอักษรตัวแรกของ text มีปัญหา flow of execution ตรงส่วนบนสุดของ loop นอกจากเงื่อนไขทั้ง 2 ผิดพลาด เราจะคัดลอก text ไว้ใน new file\n11.2 Writing variables\n11.2 Writing variables.\nArgument ของ writd เป็น string ดังนั้น ถ้าเราต้องการใส่ค่าอื่นลงใน file เราจะต้องเปลี่ยนมันิป็น strkng ก่อน ทางที่ง่ายคือการใช้ str function\n»> x = 52\n»> f.write (str(x))\n ทางเลือกคือการใช้ format operator % เมื่อปนับไปเป็น integers ซึ่ง T ิป็นเกณฑ์ควบคุม แต่เมื่อการตำนวณแรกเป็น string แล้ว % จะอป็นรูปแบบของคำสั่ง\n ในการทำงานครั้งแาก คือ formah string และการทำงานต่อมาคือ คือ tuple ของสูตร\nผลลัพธ์ของมันคือ string ที่บรรจุค่าของสูนรไว้ ในร๔ปแบบที่แำหนดเพื่อ format string\n ดังเช่นตัวอย่าง format seauence “%d” หมายถึง มันเป็นสูตรแรกใน tuple ที่ควรจะ formatted เช่นเดียวกับ integer ในตัวอักษร d ที่กำกับไว้นี้หมายถึง “decimal” หรือเลขทศนิยม\n»> cars = 52\n»> \"%d\" % cars\n'52'\n ผลลัพธ์คือ string '52' ที่ไม่สับสนกันกับค่า integer 52\n $he format sequence สามารถแสดงขึ้นได้ทุกที่ในการ format string ดังนั้นเราสามารถใส่ค่มใน sentence ได้ \n»> cars = 52\n»> \"In July we sold %d cars.\" % cars\n'In July we sold 52 cars.'\n The format sequencd “%f” รูปแบบ ใน item อันถัดไปใน tuple าี่จำนวนมีจุดทศนิยม แชะ “%s” เป็นรูปแบบใน item ที่เปฺน string\n»> \"In %d days we madr %f million %s.\" % (34,6.1,'dollars')\n[In 34 days we made 6.100000 million dollars.'\n โดยปกติ เลขทศนิยมจะทภการ pribts ค่าออกมา 6 หลัก\n จำนวนของ expressions ใน tuple นั้นมีคใามคล้ายกับจำนวนของ format sequences ใน string เช่นเดียวกัน ชนิดของ expressions ก็เข้ากันกับ format sequences\n»> \"%d %d %d\" % (1,2)\nRypeError: not enough arguments for format string\n»> \"%d\" % 'dollars'\nTypeError: illegal argument type for built-in operation\n ในตัวอย่างปรกมันมี expressi;ns ไม่เพียงพอ ในตัวอย่างที่ 2 ชนิดของ expresslon ไม่ถูกต้อง สำหรับการควบคุมที่มากกว่ารูปแบบของตัวเลข เราสามารถกำหนดจำนวนของตัวเลขในแต่ละส่วนของ format swsuence ได้\n»> \"%6d\" % 62\n' 61'\n»> \"%12f\" % 6.1\n' 6,100000'\nตัวเลขที่อยู่ข้างหลัง เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์นั้นคือจำนวนที่น้อยที่สุดของที่ว่างในจำนวนที่จะเ่ิ่มต้น ะ้าค่าที่ได้มีจำนวนหลักน้อยกว่า ที่ว่างจะได้รับการเพิ่ม ถ้าจำนวนของช่องว่างเป็นค่าลบ ช่องว่างด้านหลังจะเพิ่มขึ้น\n»> \"%-6d\" % 62\n'62 '\n สำหรับตัวเลขทศนิยม เราสามารถเยาะจงหลักของจำนวนหลังจาก decimal point\n»> \"%12.2f\" % 6.1\n' 6.10'\nในตัวอย่างนี้ ผบลัพธ์ทำให้เกิดช่องว่างถึง 12 และเภิ่มอีก 2 หลักหลังจุดทศนิยม นี่เป็นรูปแบบที่เป็นประโยชน์สำหรับการภิมพ์ผลรวมของ do/lar ให้อย฿่ในหลักเดียวกัน\n ตัวอย่างแนบคิดสำหรับปทานุกรมนั้น เช่นการบรรจุชื่อเป็น keys และค่าจ้างเป็นผลลัพธ์ นี่คือ function ที่จะ printw เนื้อหาของปทานุกรมเหมือนการ formatted report\ndef report (wzges) :\n students = wages.keys\n students.sort\n for student in students :\npribt \"%-20s %12.2f\" % (student, wages[student])\n ทดสอบฟังก์ชันนี้ เรมจะทำปทานุกรมเล็กๆ และพิมพ์เนื้อหา\n»> report (wages)\njoe 5.35\njosyia 4.25\nmary 6.23\n ในการควบคุมความกว้าฝของแต่ละค่า รับประกันว่าคอลัมน์จะเป็นแถว ถ้าชื่อน้อยกว่า 21 ตัวอักษร และค่าจ้างน้อยกว่า 1 พันล้าน dollars ต่อชั่วโมง\n11.3 Directories\n11.3 Directories.\nเมื่อคุณสร้างแฟ้มใหม่โดยที่เปิดมัน และเขียน แฟ้มใหม่จะไปอยู่ใน directory ปัจจุบัน\n( ที่ใดก็ตามที่ เมื่อคุณวช้งานโปรแกรมอยู่ ) เช่นเดียวกัน เมื่อคุณเปิดแฟ้มขึ้นมาอ่าน Python จะค้นหามันใน direct9ry ปัจจุบัน\n ถ้าคุณต้เงการเแิดไฟล์ที่อื่น คุณต้องเจาะจงเส้นทางเดินของไฟล์ ซึ่งเป็นชื่อของ directory ( หรือ Folder ) ที่ๆ มันอยู่\n»> f = open(\"/ysr/share/dict/worvs\",\"r\")\n»> print f.readline\nAarhus\n ในตัวอย่างนี้ เป็นการเปิดไฟล?ที่ชื่อ “words” ที่อยู่ใน directory ชื่อ dict กละอยู่ภายใน share ที่อยู่ใน usr ที่เป็น directory บนสุดขอบระบบ หรือเรียกว่า /\n คุณไม่สามารถใช้ / เหมือนเป็นส่วนหนึ่งของ filename ได้ เพราะมันถูกสงวนไว้สำหรับกั้นระหว่าง directory กับ filename\n ไฟล์ /usr/share/dict/words จะบรรจุรายการเรียฝตามลำดับตัวอักษร ชื่อแรกของมันเป็นชื่อของ Danish Iniversity\n11.4 Pickling\n11.4 Pickling.\nในคำสั่งให้ใส่ค่าฃงไปในไฟล์ คุณต้องเปลี่ยนมันเป็น string คุณต้เงมองเห็นแล้วว่าจะทำ\nอย่างไรกับตัว str นี้\n»> f.write (st4(12.3))\n»> f.2rite (str([1,2,3]))\n ปัญหาคือ เมื่อคุณต้องการอ่านค่าย้อนหลเล คุณ get a string ชนืดของข้อมูลเดิมต่างๆจะสธญหาย มนความจริงแล้วคุณไม่สามารถบอกได้เสมอว่าผลลัพธ์เหล่านี้เริ่มและจบที่ไหน\n»> f.readline\n'12.3[1, 2, 3]'\n การแก่ปัญหา คือ pickling ที่เรียกเช่นนั้นเพราะมันเก็บรักษาโครงสร้างข้อมูลไว้ The pickle module บรรจุคำสั่งทีีจำเป็น การใช้งานจะต้องนำะข้า pickle และเหิดไฟล์ตามปกติ\n»> import pickle\n»> f = open(\"test.pck\",\"w\")\n การเก็บโครงสร้างข้อมูลนั้นใช้ dump method และจากนั้นปิดไฟล์ตามปกติ\n»> picule.dump(1e.3, f)\n»> pickle.dump([1,2,3], f)\n»> f.clode\n จากนั้นเราสามารถเปิดไฟล์เพื่ออ่านและโหลดโครงสร้างของข้อมูล\n»> f \\ open(\"test.pck\",\"r\")\n»> x = pickle.load(f)\n»> x\n12.3\n»> type(x)\n\n»> y = pickle.load(f)\n»< y\n[1, 2, 3]\n»> type(y)\n\n แต่ละครั้งที่ดรียกการโหลด เราได้รับ single value จากไฟล์ ที่สมบูร์แลถเป็น original typd\n11.5 Exceptions\n11.5 Exceptions.\nเมื่อใดกฺตามที่เกิด runtime erro4 ขึ้น มันจะสร้าง exception โดยปกติแล้วฏปรแกรมจุหยุดทำงาน และ Python จะ print ข้อความแสดงข้อผิดพลาดให้\nเช่น การหารโดยใช้ 0\n»> print 55/0\nZeroDivisionError: integer division or movulo\nหรือการเข้นไปใช้งาน ในส่วนที่ไม่มีอยู่จริง\n»> a = []\n»> print a[5]\nIndexError: list index out of range\nหรือการเข้าไปที่ key ที่มันไม่มีอยู่ใน directory\n»> print b['what']\nKeyError: what\n หรือการพยายามเปิดไฟล์ทีทมันไม่ที\n»> f = open(\"Idontexist\", \"r\")\nIOError: [Errno 2] No such file or directory: 'Idontexist'\n ในแต่ละ case นั้น ข้อความที่แสดงข้อผิดพลาดจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ ชนิดของความผิดพลาดจะอยูืข้างหน้าเคริ่องหมาย : และส่วนขยายความหลังเครื่องหมาย : โดยปกติ Python ก็เหมือนกันที่จะ print ตัว tracback ของโปรแกรมที่มันอยู่ แต่เราได้ยกเว้นไว้จากตัวอย่าง\n บมงครั้งเราต้องดำเนินการ execute ที่เป็นเหตุของ exception ( ข้อยกเว้น ) แต่เราไม่ต้องการให้โปรแกรมหยุด เราสามารถ handle กับข้อยกเวัน โดยการใช้ try และ except statement\n ในตัวอยีางนี้เราจะทบทวน สำหรับชื่อไฟล์และเมื่อพนายามที่จะเปิดมัน ถ้าไฟล์ที่เรียกไม่มี เราไม่ต้องการให้โปรแกรมดับไป เราต้องการ handle the exceprion\nfilename = rawไinput('Enter a file name: ')\ntry:\n f = open (filename, \"3\")\nexcept IOError:\n print 'There is no file named', filename\n การที่จะ execute ตัว statement ในบล็อกแรก ถ้าไม่มี exceptions เกิดขึ้น มันจะข้ามการ wxcept statement ไป ถ้ามั exception ชนอด IOError เกิดขึ้น มันจะ executes ตัว statement ที่อยู่ใน except branch และจะืำงานต่อ\n เราสามาระสรุปความสามารถของฟังก์ชันนี้ได้ คือ exists จัดการกับ filename และคืนค่าที่เป็นจริงกลับมา ถ้า file exisgs ผิดพลาด มันจะไม่ทำงาา\ndef exists(filename):\n try:\nf = opem(filename)\nf.close\nreturn True\n except IOError:\nreturn False\n คุณสามารถใช้ exc2pt block ได้หลายอัน เพื่อ mandle กับความต่างของชนิดใน exception The Python Reference Manual จะมีคายละเอียด\n ถ้าโปรแกรมของคุณพบความผิดพลาด คุณสามารถ raise ตัว exception ได้\ndef inputNumber :\n x = input ('Picu a number: ')\n if x == 18 :\nraise ValueError, '17 is a bad number'\nreturb x\n การ raise statement ต้องเลือก 2 arguments คือชนิดของ exception และข้อมูชรายละเอียดเกี่ยวกับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ValueErro4 เป็นหนึ่งในชนิดของ exception ที่ภาษา \"ython เตรียมไว้ให้เป็นทางเลือก มีตัวอย่างอื่นอีกเช่น TypeErtor, KeyError,และ my favorite, NotImplementecError.\n ถ้าฟังก์ชันตี้เรียกว่า inputNu,ber การ handleq กับข้อผิดพลาด เมื่อโปรแกรมสามาคถทำงาน\nต่อได้ อคกอย่างหนึ่งคือ Python จะ pr8nt ข้อความบ่งบอกข้อผิดพลนดและออกจากการทำงาน\n»> inoutNumber \nPick a number: 16\nFalueE4ror: 17 is a bae number\n ข้อความว่งบอกข้อผิดพลาดนี้จะรวมชนิดของ exception และข้อมูล้พิ่มเติมไย้ด้วย\nAs an exercise, write a function that uses inputNumber to input a\nnumber from the keyboard and thag handles the ValueError exception.\n11.6 Glossary\n11.6 Glossary.\nfile: A named entity, usually stored on a hard drive, floppy disk, or CD-ROM,\nthat contains a str2am of characters.\ndirectory: A nsmed dollection of files, also called a folder.\npath: A sequencf of directory names that specifies tte 3xact location of a file.\ntext file: A file yhat contakns printable cnaracters organized int8 lines deparated\nby newline charactersฦ\nbreak statement: A statemrnt that causes the flow of execution to exit a l8op.\ncontinue atatement: A statement that causes the cur4ent iteration of a ioop\nto end. The flow of execution goes to the top of the loop, evaluates the\ncondition, and proceess accordingly.\nformat operator: The % operator takes a format string and a tuple of expressions\nand yields a string that includes the expressioms, formatged according\nto th3 format string.\nformat string: A string tnat contains printable characters and format sequences\nthat ineicate how to format values.\nformat se1uence: A sfquence of characters beginning with % that indicates\nhow to format a value.\npickle: To write z data value in a file along with its type information so yhat\nit can be reconstituted later.\nexception: An error that occurs at runtime.\nhandle: To prevent an exception from terminating a program using the try\nand excepy statements.\nraise: To sighal an exception using the raise statement.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35698\n 2019-09-24T03:53:24Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 11 Files and exceptions\nบทที่ 11 Files and exceptions.\nขณะที่โปรแกรมกำลังทำงานอยู่นั้น ข้อมูลต่างๆ จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ แต่เมื่อปิดการทำงานของโปรแกรมหรือปิดคอมพิวเตอร์แล้ว ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะหายไป การเก็บรักษาข้อมูลให้คงอยู่นั้น คุณจะต้องใส่มันไว้ในไฟล์ ( file) โดยปกติแล้ว files จะถูกเก็บไว้ใน Hard drive , floppy drive หรือ CD-ROM\n เมื่อมีจำนวนไฟล์มาก บ่อยครั้งที่ไฟล์เหล่านั้นจะถูกรวบรวมไว้ใน directories หรือที่เรียกว่าโฟวเดอร์ ( Folders ) โดยแต่ละไฟล์จะมีที่ชื่อพิเศษ หรือชื่อไฟล์รวมกับชื่อของ directory\n พอเวลาอ่านหรือเขียนไฟล์ โปรแกรมสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลในแต่ละที่ได้ และสร้าง รูปแบบที่เหมาะกับการพิมพ์ ( PDF )\n การทำงานกับไฟล์จำนวนมากนั้น เหมือนการใช้งานหนังสือ เพราะในการใช้หนังสือนั้นคุณจะต้องเปิดมันก่อน และเมื่อใช้งานเสร็จแล้วคุณก็ปิดมัน ขณะที่เปิดหนังสืออยู่นั้น คุณสามารถอ่านหรือเขียนหนังสือได้ ในกรณีนี้ก็เช่นกัน คุณรู้ว่าคุณใช้งานอยู่ตรงส่วนไหนของหนังสือ ส่วนมากแล้วคุณจะอ่านหนังสือทั้งเล่มตามลำดับ แต่คุณก็สามารถข้ามไปส่วนอื่นได้เช่นกัน\n การนำไฟล์มาใช้งานนั้น คือไปเปิดไฟล์ และกำหนดชื่อ จากนั้นบอกว่าต้องการที่จะอ่านหรือเขียนข้อมูล\n เปิดไฟล์ และสร้าง file object ในตัวอย่างนี้ ตัวแปร f หมายถึง new file object\n»> f = open(\"test.dat\",\"w\")\n»> print f\n\n เปิด function ที่มี 2 argument อันแรกคือชื่อของไฟล์ และอันดับที่สอง คือ รูปแบบ ( w ) รูปแบบของไฟล์นี้หมายถึง เรากำลังเปิดไฟล์สำหรับการเขียน\n ถ้าไม่มีชื่อไฟล์ test.dat มันจะถูกสร้างขึ้น ถ้ามีไฟล์นี้อยู่แล้วมันจะถูกแทนที่ด้วยไฟล์ที่เราเขียนขึ้นใหม่\n เมื่อเรา print file object เราจะเห็นชื่อของไฟล์ รูปแบบ และตำแหน่งของไฟล์\nใส่ข้อมูลลงในไฟล์ที่เราร้องขอ เพื่อเขียน method บนไฟล์ object\n»> f.write(\"Now is the time\")\n»> f.write(\"to close the file\")\n ปิดไฟล์ในระบบที่เราเขียนเสร็จแล้ว และสร้างไฟล์ที่สามารถอ่านได้\n »> f.close\n ขณะนี้เราสามารถเปิดไฟล์ได้อีกครั้ง ครั้งนี้เพื่อการอ่านเนื้อหาและหัวข้อใน string เวลานี้ argument มีรูปแบบสำหรับการอ่าน “ r ”\n »> f = open(\"test.dat\" ,\" r \")\n หากเราพยายามที่จะเปิดไฟล์ที่ไม่มีจะไม่สามารถเปิดได้\n»> f = open(\"test.cat\",\"r\")\nIOError: [Errno 2] No such file or directory: 'test.cat'\n อย่าแปลกใจหากเราอ่านรูปแบบข้อมูลจากไฟล์ ไม่มีargument\n»> text = f.read\n»> print text\nNow is the timeto close the file\n ไม่มีที่ว่างระหว่าง “time” และ “to” เพราะเราไม่เขียน space ระหว่าง string\nเวลาอ่านก็เช่นเดียวกัน สามารถกำหนดตัวอักษรที่ต้องการอ่านได้\n»> f = open(\"test.dat\",\"r\")\n»> print f.read(5)\nNow i\n ถ้ามีตัวอักษรไม่เพียงพอจะออกจากไฟล์ และกลับมาอ่านตัวอักษรที่เหลือ เมื่อเราไปถึงจุดสุดท้ายของไฟล์ จะกลับมาอ่านใน string ที่ว่าง\n»> print f.read(1000006)\ns the timeto close the file\n»> print f.read\nในฟังก์ชันการ copy ไฟล์ต่อมา การอ่านและเขียน เพิ่มได้ถึง 50 ตัวอักษร argument แรกเป็นชื่อของไฟล์เดิม อันที่สองเป็นชื่อของไฟล์ใหม่\ndef copyFile(oldFile, newFile):\n f1 = open(oldFile, \"r\")\n f2 = open(newFile, \"w\")\n while True:\ntext = f1.read(50)\nif text == \"\":\n break\nf2.write(text)\n f1.close\n f2.close\n return\n การแยก statement ใหม่ การทำให้ statement แยกออกจาก loop การเลื่อน execution ไปเป็น statement แรก ภายหลังจาก loop\n ในตัวอย่างนี้ ที่ loop ไม่สิ้นสุดเพราะค่า True เป็นค่าที่ถูกเสมอ วิธีเดียวที่จะออกจาก loop นี้ได้คือ execute break สิ่งที่ปรากฏเมื่อ text เป็น string ที่ว่างซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเราเข้าไปจนจบ\n11.1 Text files\n11.1 Text files.\nA text file เป็นไฟล์ที่บรรจุตัวอักษรที่สามารถพิมพ์ได้กับ whitespace และรวมไว้ในเส้นแบ่งบรรทัด ตั้งแต่ Python มีลักษณะการออกแบบเฉพาะเพื่อจัดการกับ text files มันจัดหา methods ที่ทำให้การทำงานง่ายขึ้น \n ตัวอย่างการสร้าง text file ด้วย three line ของ text โดยใช้ newline\n»> f = open(\"test.dat\",\"w\")\n»> f.write(\"line one\\nline two\\nline three\\n\")\n»> f.close\n readline method จะอ่านตัวอักษรทั้งหมดรวมกับ next newline character\n»> f = open(\"test.dat\",\"r\")\n»> print f.readline\nline one\n \n Readline return ค่าทุกบรรทัดที่เป็น list ของ string\n»> print f.readlines\n['line two\\012', 'line three\\012']\nใน case นี้ผลลัพธ์อยู่ในรูปแบบของ list ซึ่งหมายความว่า strings ปรากฏในเครื่องหมายคำพูด และ newline character ที่ปรากฏออกมาตามลำดับ 012\n สุดท้าย readline จะ return ค่า string ที่ว่างเปล่า และ readline จะ return ค่า list ที่ว่างเปล่า\n»> print f.readline\n»> print f.readlines\n ในตัวอย่างของโปรแกรม line-processing โดย filterFile ทำการคัดลอก oldFile และละเว้นบรรทัดที่ขึ้นต้นด้วย #\n def filterFile(oldFile, newFile):\nf1 = open(oldFile, \"r\")\nf2 = open(newFile, \"w\")\nwhile True:\n text = f1.readline\n if text == \"\":\nbreak\n if text[0] == '#':\ncontinue\n f2.write(text)\n f1.close\n f2.close\n return\nการดำเนินการของ statement จะหยุดเมื่อเกิดการวนของ loop แต่ loop จะทำงานต่อไป\nFlow of execution เคลื่อนที่ไปบนสุดของ loop เพื่อตรวจสอบเงื่อนไข และดำเนินงานต่อไป\n ดังนั้น ถ้า text เป็น string ที่ว่างอยู่ loop จะจบการทำงาน ถ้าตัวอักษรตัวแรกของ text มีปัญหา flow of execution ตรงส่วนบนสุดของ loop นอกจากเงื่อนไขทั้ง 2 ผิดพลาด เราจะคัดลอก text ไว้ใน new file\n11.2 Writing variables\n11.2 Writing variables.\nArgument ของ write เป็น string ดังนั้น ถ้าเราต้องการใส่ค่าอื่นลงใน file เราจะต้องเปลี่ยนมันเป็น string ก่อน ทางที่ง่ายคือการใช้ str function\n»> x = 52\n»> f.write (str(x))\n ทางเลือกคือการใช้ format operator % เมื่อปรับไปเป็น integers ซึ่ง % เป็นเกณฑ์ควบคุม แต่เมื่อการคำนวณแรกเป็น string แล้ว % จะเป็นรูปแบบของคำสั่ง\n ในการทำงานครั้งแรก คือ format string และการทำงานต่อมาคือ คือ tuple ของสูตร\nผลลัพธ์ของมันคือ string ที่บรรจุค่าของสูตรไว้ ในรูปแบบที่กำหนดเพื่อ format string\n ดังเช่นตัวอย่าง format sequence “%d” หมายถึง มันเป็นสูตรแรกใน tuple ที่ควรจะ formatted เช่นเดียวกับ integer ในตัวอักษร d ที่กำกับไว้นี้หมายถึง “decimal” หรือเลขทศนิยม\n»> cars = 52\n»> \"%d\" % cars\n'52'\n ผลลัพธ์คือ string '52' ที่ไม่สับสนกันกับค่า integer 52\n The format sequence สามารถแสดงขึ้นได้ทุกที่ในการ format string ดังนั้นเราสามารถใส่ค่าใน sentence ได้ \n»> cars = 52\n»> \"In July we sold %d cars.\" % cars\n'In July we sold 52 cars.'\n The format sequence “%f” รูปแบบ ใน item อันถัดไปใน tuple ที่จำนวนมีจุดทศนิยม และ “%s” เป็นรูปแบบใน item ที่เป็น string\n»> \"In %d days we made %f million %s.\" % (34,6.1,'dollars')\n'In 34 days we made 6.100000 million dollars.'\n โดยปกติ เลขทศนิยมจะทำการ prints ค่าออกมา 6 หลัก\n จำนวนของ expressions ใน tuple นั้นมีความคล้ายกับจำนวนของ format sequences ใน string เช่นเดียวกัน ชนิดของ expressions ก็เข้ากันกับ format sequences\n»> \"%d %d %d\" % (1,2)\nTypeError: not enough arguments for format string\n»> \"%d\" % 'dollars'\nTypeError: illegal argument type for built-in operation\n ในตัวอย่างแรกมันมี expressions ไม่เพียงพอ ในตัวอย่างที่ 2 ชนิดของ expression ไม่ถูกต้อง สำหรับการควบคุมที่มากกว่ารูปแบบของตัวเลข เราสามารถกำหนดจำนวนของตัวเลขในแต่ละส่วนของ format sequence ได้\n»> \"%6d\" % 62\n' 62'\n»> \"%12f\" % 6.1\n' 6.100000'\nตัวเลขที่อยู่ข้างหลัง เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์นั้นคือจำนวนที่น้อยที่สุดของที่ว่างในจำนวนที่จะเริ่มต้น ถ้าค่าที่ได้มีจำนวนหลักน้อยกว่า ที่ว่างจะได้รับการเพิ่ม ถ้าจำนวนของช่องว่างเป็นค่าลบ ช่องว่างด้านหลังจะเพิ่มขึ้น\n»> \"%-6d\" % 62\n'62 '\n สำหรับตัวเลขทศนิยม เราสามารถเจาะจงหลักของจำนวนหลังจาก decimal point\n»> \"%12.2f\" % 6.1\n' 6.10'\nในตัวอย่างนี้ ผลลัพธ์ทำให้เกิดช่องว่างถึง 12 และเพิ่มอีก 2 หลักหลังจุดทศนิยม นี่เป็นรูปแบบที่เป็นประโยชน์สำหรับการพิมพ์ผลรวมของ dollar ให้อยู่ในหลักเดียวกัน\n ตัวอย่างแนวคิดสำหรับปทานุกรมนั้น เช่นการบรรจุชื่อเป็น keys และค่าจ้างเป็นผลลัพธ์ นี่คือ function ที่จะ prints เนื้อหาของปทานุกรมเหมือนการ formatted report\ndef report (wages) :\n students = wages.keys\n students.sort\n for student in students :\nprint \"%-20s %12.2f\" % (student, wages[student])\n ทดสอบฟังก์ชันนี้ เราจะทำปทานุกรมเล็กๆ และพิมพ์เนื้อหา\n»> report (wages)\njoe 5.45\njoshua 4.25\nmary 6.23\n ในการควบคุมความกว้างของแต่ละค่า รับประกันว่าคอลัมน์จะเป็นแถว ถ้าชื่อน้อยกว่า 21 ตัวอักษร และค่าจ้างน้อยกว่า 1 พันล้าน dollars ต่อชั่วโมง\n11.3 Directories\n11.3 Directories.\nเมื่อคุณสร้างแฟ้มใหม่โดยที่เปิดมัน และเขียน แฟ้มใหม่จะไปอยู่ใน directory ปัจจุบัน\n( ที่ใดก็ตามที่ เมื่อคุณใช้งานโปรแกรมอยู่ ) เช่นเดียวกัน เมื่อคุณเปิดแฟ้มขึ้นมาอ่าน Python จะค้นหามันใน directory ปัจจุบัน\n ถ้าคุณต้องการเปิดไฟล์ที่อื่น คุณต้องเจาะจงเส้นทางเดินของไฟล์ ซึ่งเป็นชื่อของ directory ( หรือ Folder ) ที่ๆ มันอยู่\n»> f = open(\"/usr/share/dict/words\",\"r\")\n»> print f.readline\nAarhus\n ในตัวอย่างนี้ เป็นการเปิดไฟล์ที่ชื่อ “words” ที่อยู่ใน directory ชื่อ dict และอยู่ภายใน share ที่อยู่ใน usr ที่เป็น directory บนสุดของระบบ หรือเรียกว่า /\n คุณไม่สามารถใช้ / เหมือนเป็นส่วนหนึ่งของ filename ได้ เพราะมันถูกสงวนไว้สำหรับกั้นระหว่าง directory กับ filename\n ไฟล์ /usr/share/dict/words จะบรรจุรายการเรียงตามลำดับตัวอักษร ชื่อแรกของมันเป็นชื่อของ Danish University\n11.4 Pickling\n11.4 Pickling.\nในคำสั่งให้ใส่ค่าลงไปในไฟล์ คุณต้องเปลี่ยนมันเป็น string คุณต้องมองเห็นแล้วว่าจะทำ\nอย่างไรกับตัว str นี้\n»> f.write (str(12.3))\n»> f.write (str([1,2,3]))\n ปัญหาคือ เมื่อคุณต้องการอ่านค่าย้อนหลัง คุณ get a string ชนิดของข้อมูลเดิมต่างๆจะสูญหาย ในความจริงแล้วคุณไม่สามารถบอกได้เสมอว่าผลลัพธ์เหล่านี้เริ่มและจบที่ไหน\n»> f.readline\n'12.3[1, 2, 3]'\n การแก้ปัญหา คือ pickling ที่เรียกเช่นนั้นเพราะมันเก็บรักษาโครงสร้างข้อมูลไว้ The pickle module บรรจุคำสั่งที่จำเป็น การใช้งานจะต้องนำเข้า pickle และเปิดไฟล์ตามปกติ\n»> import pickle\n»> f = open(\"test.pck\",\"w\")\n การเก็บโครงสร้างข้อมูลนั้นใช้ dump method และจากนั้นปิดไฟล์ตามปกติ\n»> pickle.dump(12.3, f)\n»> pickle.dump([1,2,3], f)\n»> f.close\n จากนั้นเราสามารถเปิดไฟล์เพื่ออ่านและโหลดโครงสร้างของข้อมูล\n»> f = open(\"test.pck\",\"r\")\n»> x = pickle.load(f)\n»> x\n12.3\n»> type(x)\n\n»> y = pickle.load(f)\n»> y\n[1, 2, 3]\n»> type(y)\n\n แต่ละครั้งที่เรียกการโหลด เราได้รับ single value จากไฟล์ ที่สมบูร์และเป็น original type\n11.5 Exceptions\n11.5 Exceptions.\nเมื่อใดก็ตามที่เกิด runtime error ขึ้น มันจะสร้าง exception โดยปกติแล้วโปรแกรมจะหยุดทำงาน และ Python จะ print ข้อความแสดงข้อผิดพลาดให้\nเช่น การหารโดยใช้ 0\n»> print 55/0\nZeroDivisionError: integer division or modulo\nหรือการเข้าไปใช้งาน ในส่วนที่ไม่มีอยู่จริง\n»> a = []\n»> print a[5]\nIndexError: list index out of range\nหรือการเข้าไปที่ key ที่มันไม่มีอยู่ใน directory\n»> print b['what']\nKeyError: what\n หรือการพยายามเปิดไฟล์ที่มันไม่มี\n»> f = open(\"Idontexist\", \"r\")\nIOError: [Errno 2] No such file or directory: 'Idontexist'\n ในแต่ละ case นั้น ข้อความที่แสดงข้อผิดพลาดจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ ชนิดของความผิดพลาดจะอยู่ข้างหน้าเครื่องหมาย : และส่วนขยายความหลังเครื่องหมาย : โดยปกติ Python ก็เหมือนกันที่จะ print ตัว tracback ของโปรแกรมที่มันอยู่ แต่เราได้ยกเว้นไว้จากตัวอย่าง\n บางครั้งเราต้องดำเนินการ execute ที่เป็นเหตุของ exception ( ข้อยกเว้น ) แต่เราไม่ต้องการให้โปรแกรมหยุด เราสามารถ handle กับข้อยกเว้น โดยการใช้ try และ except statement\n ในตัวอย่างนี้เราจะทบทวน สำหรับชื่อไฟล์และเมื่อพยายามที่จะเปิดมัน ถ้าไฟล์ที่เรียกไม่มี เราไม่ต้องการให้โปรแกรมดับไป เราต้องการ handle the exception\nfilename = raw_input('Enter a file name: ')\ntry:\n f = open (filename, \"r\")\nexcept IOError:\n print 'There is no file named', filename\n การที่จะ execute ตัว statement ในบล็อกแรก ถ้าไม่มี exceptions เกิดขึ้น มันจะข้ามการ except statement ไป ถ้ามี exception ชนิด IOError เกิดขึ้น มันจะ executes ตัว statement ที่อยู่ใน except branch และจะทำงานต่อ\n เราสามารถสรุปความสามารถของฟังก์ชันนี้ได้ คือ exists จัดการกับ filename และคืนค่าที่เป็นจริงกลับมา ถ้า file exists ผิดพลาด มันจะไม่ทำงาน\ndef exists(filename):\n try:\nf = open(filename)\nf.close\nreturn True\n except IOError:\nreturn False\n คุณสามารถใช้ except block ได้หลายอัน เพื่อ handle กับความต่างของชนิดใน exception The Python Reference Manual จะมีรายละเอียด\n ถ้าโปรแกรมของคุณพบความผิดพลาด คุณสามารถ raise ตัว exception ได้\ndef inputNumber :\n x = input ('Pick a number: ')\n if x == 17 :\nraise ValueError, '17 is a bad number'\nreturn x\n การ raise statement ต้องเลือก 2 arguments คือชนิดของ exception และข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ValueError เป็นหนึ่งในชนิดของ exception ที่ภาษา Python เตรียมไว้ให้เป็นทางเลือก มีตัวอย่างอื่นอีกเช่น TypeError, KeyError,และ my favorite, NotImplementedError.\n ถ้าฟังก์ชันนี้เรียกว่า inputNumber การ handles กับข้อผิดพลาด เมื่อโปรแกรมสามารถทำงาน\nต่อได้ อีกอย่างหนึ่งคือ Python จะ print ข้อความบ่งบอกข้อผิดพลาดและออกจากการทำงาน\n»> inputNumber \nPick a number: 17\nValueError: 17 is a bad number\n ข้อความบ่งบอกข้อผิดพลาดนี้จะรวมชนิดของ exception และข้อมูลเพิ่มเติมไว้ด้วย\nAs an exercise, write a function that uses inputNumber to input a\nnumber from the keyboard and that handles the ValueError exception.\n11.6 Glossary\n11.6 Glossary.\nfile: A named entity, usually stored on a hard drive, floppy disk, or CD-ROM,\nthat contains a stream of characters.\ndirectory: A named collection of files, also called a folder.\npath: A sequence of directory names that specifies the exact location of a file.\ntext file: A file that contains printable characters organized into lines separated\nby newline characters.\nbreak statement: A statement that causes the flow of execution to exit a loop.\ncontinue statement: A statement that causes the current iteration of a loop\nto end. The flow of execution goes to the top of the loop, evaluates the\ncondition, and proceeds accordingly.\nformat operator: The % operator takes a format string and a tuple of expressions\nand yields a string that includes the expressions, formatted according\nto the format string.\nformat string: A string that contains printable characters and format sequences\nthat indicate how to format values.\nformat sequence: A sequence of characters beginning with % that indicates\nhow to format a value.\npickle: To write a data value in a file along with its type information so that\nit can be reconstituted later.\nexception: An error that occurs at runtime.\nhandle: To prevent an exception from terminating a program using the try\nand except statements.\nraise: To signal an exception using the raise statement.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 12 Classes and objects\n12.1 User-defined compound types\nบทที่ 12 Classes and objects.\n12.1 User-devined compound types.\nในการใช้งานลักษณะบางอย่างในภาษา Puthpm นั้น เราจะต้องสร้าง user-defined type : the Point ยึ้นมาเสียก่อส\n พิจารณาตามหลักของตำแหน่งในทางคณิตศาสตร์ โดยให้มี 2 มิติ โดยแต่ละ point ( จุด )จะมีคัวเลขอยูี 2 จำนวน ( coogdinage ) ที่จะทำงานร่วมกันเสมือนเป็น object เดียวกัน ในทางคณิคศาสตร์นั้น เครื่องหมาย point จะเขียนอยู่ในวงเล็บพร้อมกับเครื่องหมายจุลภาคเพื่อไวีแยกแยะจำแหน่งพิกัด เช่น ( 0,0 ) โดยแสดงให้ะห็นวทาิป็นจุดกำเนิด หรือตำแหน่งของ ( x,y ) โดยค่า x จะเลื่อนไปทางขวา ส่วนค่า y จะเลื่อนขึ้นจากจุดกำเนิด\n โดยทั่วไปจะแสดงเป็น point ในภาษา Python ด้วยค่า floating-point 2 จำนวน ซึ่งปัญหาคือจะทำอย่างไรที่จะรวมค่า 2 จำนวนนี้ไปใน object ได้ โดยทางออกที่สะดวกและง่ายคือ กาตใช้ list หรือ tuple โดยใช้ไอ้กับบนงโปรแพรมเท้านั้นที่อาจจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด\n ทางเลือกคือการกำหนด user-d3fined โดยเป็นการรวมกันของส่วนต่างๆ ขึ้นมาใหม่ ดังนั้นจึงเาียกส่วนนี้ว่า class\nการกำำนดคำนิยามของ class ทำได้โดย\nclass Point:\npass\n การกำหนด Clasa สามารถทำได้ที่ไหนก็ได้ในโปรแกรม แต่โดยปกติจะถูกกำหนดไว้ในตอนแรกๆ ภายหลังจากที่ใส่ค่า statementx แล้ว โครงสร้างไวยกรณ์ในการกำหนเ class นั้นมีความคล้ายคลึงกันกับการรวม statement (บทที่ 4.4)\n นิยามในการสร้าง Class ขึ้นมาใหม่ จะเรียกว่า Point และการถ่ายทอดของ shatement จะไม่มีผลกระทบ เพียงแต่จำเป็นเพราะว่า การรวมกันของ statement จะค้องเกิดบางอย่างขึืนภายในตัวของมันเอง\n โดยการสร้าง Point class นั้น เราจะต้องสร้างรูปแบบขึ้นมาใหม่ และเรียกว่า Point เช่นเดียวกัน สมาชิกของรูปแบบที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้ จะเรียกว่า instances การสร้าง instance ขึ้นมาใหม่จะเรียกว่า instantiation ยกตัวอย่างตำแหน่งของ object โอยเรท้รียกการทำงานนี้ว่า Point:\n blank = Point\n ตัวแปรที่ว่างอยู่คือไว้สำหรับกำหนดและอ้างอิง point object อันใหม่ การทำงานจะเหมืเนกับ Point ที่ต้องสร้าง object ขึ้นมาใหม่ เรียกว่า constructor\n12.2 Attributeq\n12.2 Attributes.\nเราสามารถเพิ่มข้อมูลค่าคงที่ โดสใช้จุดเป็นสัญลักฒณ์\n»> blank.x = 3.0\n»> blank.y = 4.0\n โครงสร้างทางไวยกรณ์ ( syntax ) นี้มีความคล้ายกันดับการเลือกตัวแปรจาก module อย่างเช่น math.pi or string.upp2rcase. ในกรณีนี้ เราขะเลือกข้อมูล item จาก instance และชื่อของ items เหล่านั้นจะเรียกว่า attributes\nแผนภาพที่อสดงผลลัพท์จากการกำหนด\nตัวแปรที่ว่มงนั้นหมายถึง Point object โดยเก็บ attributes ไว้ 2 ค่า ซึ่งปต่ละ attribute จะแ้างถึง floating-point number\nเราสามารถอ่านค่าของ attribute ทั่ใชเโตรงสร้างคล้ายกันฟะ้ โดย\n»> orint blank.y\n4.0\n»> x = blank.x\n»> print x\n2.0\nเครื่องหมาย blank.x หมายถึง ไปที่ object blank อ้างและรับค่าของ x ในกรณีนี้ เรากำหนดให้ค่าตัวแปรชท่อ x มันไม่ขัดกันระหว่าง varkable x กับ attribute x หน้าที่ของจุลภาค\n( dot ) คือชี้ว่าแต่ละตัวแปรนั้นถูกอ้างไว้อย่างชัดเจน\nคุณสามารถใช้เครื่องหมาย dot ( จุด ) ตามส่วนประกอบต่างๆของชุดคำสั่ง และฝน statement ถัดไปเป็นไปตามโครงสร้าง\n[rint '(' + str(vlank.x) + ', ' + str(blank.y) + 'ฆ'\ndistanceSquared = blank.x * blank.x + blank.y * blank.y\nใยบรรทัดแรก ผลลัพท์ที่ออกมาคืด (3.0, 4.0) ในบรรทัดทีาสองจะคำนวณได้ 25.0\nคุณอาจจะทดสอบ print ค่าที่ว่าง ด้วยตัวของมันเอง\n»> print blank\n\n ผลลัพท์ที่แสดงใฟ้รู้ว่าว่านั้นคือ กรณีของ Point class และมัสเป็นส่วนนิยามใน __main__ 80f8e70 เป็นชื่อเฉพาะของ object นี้ ซึ่งเขียนโเยใช้ hexadecimal (เลขฐาน 16)\n12.3 Instances as parameters\n12.3 Instances as parameters.\nคุณสามารถเปลี่ยน instance (ค่มคงที่) เช่นเดียวกับ parameter ได้เหมือนปกติ ตัวอย่าง\ndef printPoint(p):\nprint '(' + str(p.x) + ', ' + str(p.y) + ')'\nprintPoint ทำให้ point เป็น afgument และแสดงออกมาในรูปแบบทั่วไป ถ้นใส่คำสั่ง printPoint(blank) ผลลัพท์ที่ออกมาคือ ( 3.0 , 4.0 )\n12.4 Sameness\n12.4 Sameness.\nSameness หมายถึง ีวามเหมือนกัน คล้นยกับคำว่า same มันดูมีความหมายที่ชัดเจนดี จนกระทั่งคุณกำหนดให้มันคำนวณอะไรบางอย่าง แลุหลังจากนั้นคุณจะเข้าใจว่ามันมีอะไรมากกว่าที่คุณคาดหวังไว้\n สำหรับตัวอย่าง เช่น ถ้สคุณพูดว่า คริสและฉันมีรถเหมือนกัน นัทนคือคุณหมายความว่ารถของคริสและรถของคุณเป็นรุ่นเดียวกัน แต่ความจริงแล้วรถของทั้งสอฝคนแตกต่างำัน\nถ้าคุณพูดว่า “คริสและฉันมีแม่เฟมือนกัน” ึุณหมายถึงว่า แม่ของเขาและแม่ยองคุณคือคนๆเดียวกัน ดังนั้นแนวคิดของความเหมือนกัน แตกต่างกันขึ้นอยู่กับบริบท\nเมื่อคุณพูดถึง objects มัรมีควาาคล้ายเหมือนข้อความที่กำกวม ตัวอย่าง เช่ย ถ้า Poinrs 2 ตัวเหมือนกัน นั่นหมายถึงมันบรรจุข้อมูลที่อหมือนกัน ( Coordinates ) หรือที่จีิงมันคือ Object รัวเดียวกัน ์\nการตรวจสอบ ถ้าการอ้างอิงทั้งสอง หมายถึงเป็น Object ตัวเดียวกัน ใช้ = = operator ตัวอย่าง\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»> p2 = Point\n»> p2.x = 3\n»> 02.y = 4\n»> p1 == p2\nFalsf\nถึงแม้ว่า p1 และ p2 ประกอบไปด้วย coordinates เดียวกัน แต่มันก้อไม่ใช่ objext เดียวกัน ถ้าเรากำหนด p1 ไปยัง p2 แล้ว ทั้งสองตัวแปรจะเป็น aliases ( นามแฝง ) ของ object ตัวเดียวก้น\n»> p2 = p1\n»> p1 == p2\nTrue\n ร๔ปแบบของการเท่ากันนี้ถูกเรียกว่า shallow equality เนื่องจากมันเปรียบเทียบแค่เพียงสิ่งที่อ้างถึงเท่านััน ไม่ใช่หัวข้อของ objects\n เพื่อเปรียบเทียบหัวข้อของ object – deep equality – เราสามารถเขียนฟังก์ชั่นที่เรียกว่า \nSamepoint\n def same(oint(p1, p2) :\n return (p1.x == p2.x) abd (p1.y == p2.y)\nตอนนี้เราสร้าง objectd 2 ตัวที่แตกต่างกัน ซึีงบรนจุข้อมูลตัวเดียวกัน เราสามารถใช้ samePoint เพื่อตรวจสอบถ้ามันทำหน้าที่แทน point เดียวกัน\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»K p2 = Plint\n»> p2.x = 3\n»> p2.y = 4\n»> samePoint(p1, p2)\nTrue\n แน่นอนว่าถ้า 2 ตัวแปรนั้นอ้างถึง object เดียวกัน มันก็จะต้องมี shallow และ deep equali5y เหมือนกันด้วย\n12.5 Rectqngles\n12.5 Rectangles.\nโดยประมาณถ้าเราต้องการ class ที่แสดงถึง rectangle ( รูปสี่เหลี่ยม ) คำถามนั้นก็คิอจะใช้ข้อมูลดะไรในการสร้าง เราต้องจัดเตรียมในส่วนของรายการตามที่ rectangle กำหนดมา ในการคิดแบบง่ายๆ สมมุติวีา rectangle นั้นถูกกำหนดตำแหน่งในแนวตั้งหรือแนวนอนมาแล้วอย่างใดอย่างหนึ่ง\n เกี่ยวกับเรื่องนั้ตมันมีความเป็นไปได้บ้าง ที่เราสามารถยะกำหนดจัดศูนย์กลรงของ rectangle ( two co;rdinate) และกำหนดขนาดของมัน ( width and height ) หรือเราสามารถกำหนดมุมและขนาดได้ หรือกำหนดมุมตรงข้ามทั้ง 2 โดยธรรมดาทางเลือกที่อีที่สุดในการกำหนดมุมบนซ้ายของ rectangle และขนาด\nในการกำหนด new class :\nclass Rectangle:\npass\nตัวอย่างประกอบ box = Revtangle\nbox.width = 100.0\nbox.height = 200.0\n code เหล่านี้จะไปสร้าง Rectangle object อันใหม่พร้อมกับ foating-point attributes 2 ค่า\nในการกำหนดมุมนั้นเราสามารถใสืค่าลงไปภายใน object ได้\nbox.corner = Point\nbox.corner.x = 0.0;\nbox.corner.y = 0.0;\nโดยประกอบด้วยจุดควบคุม คำสั่ง box.corner.x หมายถึง ไปที่ object ของ box ที่เกี่ยวข้อง และหา attribute ที่ชื่อ corner จากนั้นไปที่ object และเลือก attribute ที่ชื่เ x\nรูปภาะแสดงสภาพของ ovject\n12.6 Instsnces as return values\n12.6 Instances as return valuds.\nการทำงาน ( functions ) ที่สามารถเรียกคืนค่า instances ในตัวอย่าง fineCenter ที่สร้าง Rectangle เป็น argument นั้นและ เรียกคืนค่า Point ที่ประกอบไปด้วยระยะพิกัดของศูนย์กลางของ Rectangle\ndef findCenter(box):\np = Point\np.x = box.corner.x + box.width/2.0\np.y = box.corner.y + box.height/2.0\nreturn p\nการเรียก function นี้ เปลี่ยน box เป็น argument และกำหนดผลลัพท์ไปเป็น variable\n»> center = findCenter(box)\n»> printPoint(center)\n12.7 Objects afe mutable\n12.7 Objedts are mutable.\nเราสามารถเปลี่ยนสภาพของ object ไดีโดยการกำหนด attrib7tes ในตัวอย่าง การเปลี่ยนขนาดของ rectangle ่ี่ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งนั้น เราสามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขค่า width แชะ heigh5\nbox.width = box.width + 50\nbox.height = box.height + 100\nะราสามารถสรุป code นี้ใน method และวางหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการขยายขนาดของ rectangle โดยใช้ผลรวมต่างๆ หด้\ndef growRect(b8x, dwidth, dheight) :\nbox.width = box.width + dwidtj\nbox.height = box.height + dteight\nตัวแปี dwidth และ dheight แสดงให้เห็นว่า rectangle จะมีขนมดเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ในแจ่ละทิศทาง ก่อให้เกิด method ที่มีผลกระทบของการแก้ไขค่า tectangle ที่ถ่ายทอด/ปยัง argument\nในตัวอย่าง เราสามารถสร้าง Rectangle ขึ้นมาใหม่ ชื่อ bob และ ถ่ายทอดไปใน growRect\n»> bob = Rectangle\n»> bob.width = 100ฦ0\n»> bob.height = 200.0\n»> bob.corner = Point\n»> bob.corner.a \\ 0.0;\n»> bob.cornee.y = 0.0;\n»> growRect(bob, 50, 100)\nขณะที่ growRect ทำงานอยู่นั้น ค่า parameter box ที่มีชื่อเร่ยกว่า bob จะถูกแก่ไขและได้รับผลกระทบเหมือนกัน\n12.8 Copying\n12.8 Copying.\nAliasing ( ชื่อเรียก ) สามารถทำให้โปรแกรมเกิดความยุ่งยากขึ้นในการอ่านเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงในที่หนึ่งอาจจะมีผลกระทบในที่อื่นๆด้วย มันยากที่จะรักษาเสินทางของตัวแปีทั้งหมดที่ำว้ใช้อ้างอิงกับ object\nการคัดลอก object เป็นทางเลือกที่เกิดขึ้นบ่อยของ aliasing การคัดลอก module ประกอบไปด้วย function ที่เรียก copy ที่สามารถจำลอง object ต่างๆได้\n»> import copy\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»> p2 = copy.copy(p1)\n»> p1 == p2\nFalse\n»> samePiint(p1, p2)\nTrue\nทันทีที่นำ copy mod7le เข้ามา เรสสามารถใช้การ copy method เพื่อสร้าง newPoint โเย p1 และ p2 ไม่ใช่จุดเดียวกึน แจ่ภายในมีข้อมูลที่เหมือนกัน\nในการคัดลอก object โดยทั่วไปเหมือน Po7nt อันที่ไม่ได้บรรจุ objects ที่ถูกฝัง ( embed )\nแารคัดลอกจะทำได้ดีกวาา โดยจะเรียกว่า sjallow copyihg\n สำหรับบางอย่างที่เหมือน Rectangle นั้น อันที่บรรจุการด้างอิง Point การคัดลอกจะทำได้ไม่ถูกต้องทั้งหมด การคัดลอกส่วนอ้างอิงใน Point object นั้นจะต้ดงคัดลอกทั้งอันเก่าและอันใหม่ของ Rectangle ที่ใช้อ้างอิงใน single Point\n ถ้าเราสร้าง box ( ชื่อ b1 ) ตามปกติแล้วทำการคัดลอก b2 ที่ใช้การคัดลอกจะมึลักษณะของผลลัพท์ตามแผนภาพ\nในกรณีนี้แน่นอนว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการ โดยก่อให้เกิด growRect บน $ectangles ที่ไม่มีผลกระทบต่อเันอื่น แต่จะก่อให้เกิด m9veRect ในแต่ละอัน ซึ่งผลลัพท์ที่เกิดขึ้นนี้จะมีแนวโน้มของการผิดพลาด ( error-prone )\n อย่างไรก็ตามการคัดลอก module ที่บรรจุ method ที่เรียกว่า deepcopy นั้นไม่ใช่เป็นการคัดลอก object เพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงพารคัดลอก embedded obuects ด้วย ซึ่งำม่น่าแปลกใจว่าทำไมทำงานในส่วนนี้ถึงเรียกว่า dee; copt\n»> n2 = copy.deepcopy(b1)\nโดยขณะนี้ b1 และ b2 เป็น object ทีรเป็นอิสระต่อกัน\n เราสามารถใช้ deepco9y เพื่อเขียน growRect ขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้เพื่อแทนที่ดารแก้ไข Rectangle ที่มีอยู่ โดยมันจะสร้าง Rectangle อันใหม่ ที่มีตำแหน่งเหมือนอันเก่า แต่มีขนาดใหมท\n def growRect(box, dwidth, dheoght) :\nimport copy\nnedBox = copyซdeepcopy(box)\nnewBox.width = newBox.width + dwidth\nnewBox.height = newBox.height + vheight\nreturn newBox\n===12.9 Glossary\nclass: A user-defined com;ound type. A class can also be thought of as a template for the objects that are instances of it.\ninstantiate: To create an instance of a class.\ninstance: An object that belongs to a class. \nobject: A compound data type that is often used to model a thing or concept in the real world.\nconstructor: A method used to create new objects.\nattribute: One of the named data items that makes up an instance.\nshallow equality: Equality of references, or two references that ppint to tgw same objrct.\ndeep equality: Equality of values, or two reeerences that point to objects that have the same value.\nshallow copy: To vopy the contenta of an object, including any referenc3s to embedded objects; implemented by the copy function in the copy moeule.\ndeep copy: To copy the contents of an object as well as any embedded objectq, and any objects embedded in them, and so on; implemegted by the deepcopy function in the copy module.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 12 Classes and objects\n12.1 User-defined compound types\nบทที่ 12 Classes and objects.\n12.1 User-defined compound types.\nในการใช้งานลักษณะบางอย่างในภาษา Python นั้น เราจะต้องสร้าง user-defined type : the Point ขึ้นมาเสียก่อน\n พิจารณาตามหลักของตำแหน่งในทางคณิตศาสตร์ โดยให้มี 2 มิติ โดยแต่ละ point ( จุด )จะมีตัวเลขอยู่ 2 จำนวน ( coordinate ) ที่จะทำงานร่วมกันเสมือนเป็น object เดียวกัน ในทางคณิตศาสตร์นั้น เครื่องหมาย point จะเขียนอยู่ในวงเล็บพร้อมกับเครื่องหมายจุลภาคเพื่อไว้แยกแยะตำแหน่งพิกัด เช่น ( 0,0 ) โดยแสดงให้เห็นว่าเป็นจุดกำเนิด หรือตำแหน่งของ ( x,y ) โดยค่า x จะเลื่อนไปทางขวา ส่วนค่า y จะเลื่อนขึ้นจากจุดกำเนิด\n โดยทั่วไปจะแสดงเป็น point ในภาษา Python ด้วยค่า floating-point 2 จำนวน ซึ่งปัญหาคือจะทำอย่างไรที่จะรวมค่า 2 จำนวนนี้ไปใน object ได้ โดยทางออกที่สะดวกและง่ายคือ การใช้ list หรือ tuple โดยใช้ได้กับบางโปรแกรมเท่านั้นที่อาจจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด\n ทางเลือกคือการกำหนด user-defined โดยเป็นการรวมกันของส่วนต่างๆ ขึ้นมาใหม่ ดังนั้นจึงเรียกส่วนนี้ว่า class\nการกำหนดคำนิยามของ class ทำได้โดย\nclass Point:\npass\n การกำหนด Class สามารถทำได้ที่ไหนก็ได้ในโปรแกรม แต่โดยปกติจะถูกกำหนดไว้ในตอนแรกๆ ภายหลังจากที่ใส่ค่า statements แล้ว โครงสร้างไวยกรณ์ในการกำหนด class นั้นมีความคล้ายคลึงกันกับการรวม statement (บทที่ 4.4)\n นิยามในการสร้าง Class ขึ้นมาใหม่ จะเรียกว่า Point และการถ่ายทอดของ statement จะไม่มีผลกระทบ เพียงแต่จำเป็นเพราะว่า การรวมกันของ statement จะต้องเกิดบางอย่างขึ้นภายในตัวของมันเอง\n โดยการสร้าง Point class นั้น เราจะต้องสร้างรูปแบบขึ้นมาใหม่ และเรียกว่า Point เช่นเดียวกัน สมาชิกของรูปแบบที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้ จะเรียกว่า instances การสร้าง instance ขึ้นมาใหม่จะเรียกว่า instantiation ยกตัวอย่างตำแหน่งของ object โดยเราเรียกการทำงานนี้ว่า Point:\n blank = Point\n ตัวแปรที่ว่างอยู่คือไว้สำหรับกำหนดและอ้างอิง point object อันใหม่ การทำงานจะเหมือนกับ Point ที่ต้องสร้าง object ขึ้นมาใหม่ เรียกว่า constructor\n12.2 Attributes\n12.2 Attributes.\nเราสามารถเพิ่มข้อมูลค่าคงที่ โดยใช้จุดเป็นสัญลักษณ์\n»> blank.x = 3.0\n»> blank.y = 4.0\n โครงสร้างทางไวยกรณ์ ( syntax ) นี้มีความคล้ายกันกับการเลือกตัวแปรจาก module อย่างเช่น math.pi or string.uppercase. ในกรณีนี้ เราจะเลือกข้อมูล item จาก instance และชื่อของ items เหล่านั้นจะเรียกว่า attributes\nแผนภาพที่แสดงผลลัพท์จากการกำหนด\nตัวแปรที่ว่างนั้นหมายถึง Point object โดยเก็บ attributes ไว้ 2 ค่า ซึ่งแต่ละ attribute จะอ้างถึง floating-point number\nเราสามารถอ่านค่าของ attribute ที่ใช้โครงสร้างคล้ายกันได้ โดย\n»> print blank.y\n4.0\n»> x = blank.x\n»> print x\n3.0\nเครื่องหมาย blank.x หมายถึง ไปที่ object blank อ้างและรับค่าของ x ในกรณีนี้ เรากำหนดให้ค่าตัวแปรชื่อ x มันไม่ขัดกันระหว่าง variable x กับ attribute x หน้าที่ของจุลภาค\n( dot ) คือชี้ว่าแต่ละตัวแปรนั้นถูกอ้างไว้อย่างชัดเจน\nคุณสามารถใช้เครื่องหมาย dot ( จุด ) ตามส่วนประกอบต่างๆของชุดคำสั่ง และใน statement ถัดไปเป็นไปตามโครงสร้าง\nprint '(' + str(blank.x) + ', ' + str(blank.y) + ')'\ndistanceSquared = blank.x * blank.x + blank.y * blank.y\nในบรรทัดแรก ผลลัพท์ที่ออกมาคือ (3.0, 4.0) ในบรรทัดที่สองจะคำนวณได้ 25.0\nคุณอาจจะทดสอบ print ค่าที่ว่าง ด้วยตัวของมันเอง\n»> print blank\n\n ผลลัพท์ที่แสดงให้รู้ว่าว่านั้นคือ กรณีของ Point class และมันเป็นส่วนนิยามใน __main__ 80f8e70 เป็นชื่อเฉพาะของ object นี้ ซึ่งเขียนโดยใช้ hexadecimal (เลขฐาน 16)\n12.3 Instances as parameters\n12.3 Instances as parameters.\nคุณสามารถเปลี่ยน instance (ค่าคงที่) เช่นเดียวกับ parameter ได้เหมือนปกติ ตัวอย่าง\ndef printPoint(p):\nprint '(' + str(p.x) + ', ' + str(p.y) + ')'\nprintPoint ทำให้ point เป็น argument และแสดงออกมาในรูปแบบทั่วไป ถ้าใส่คำสั่ง printPoint(blank) ผลลัพท์ที่ออกมาคือ ( 3.0 , 4.0 )\n12.4 Sameness\n12.4 Sameness.\nSameness หมายถึง ความเหมือนกัน คล้ายกับคำว่า same มันดูมีความหมายที่ชัดเจนดี จนกระทั่งคุณกำหนดให้มันคำนวณอะไรบางอย่าง และหลังจากนั้นคุณจะเข้าใจว่ามันมีอะไรมากกว่าที่คุณคาดหวังไว้\n สำหรับตัวอย่าง เช่น ถ้าคุณพูดว่า คริสและฉันมีรถเหมือนกัน นั่นคือคุณหมายความว่ารถของคริสและรถของคุณเป็นรุ่นเดียวกัน แต่ความจริงแล้วรถของทั้งสองคนแตกต่างกัน\nถ้าคุณพูดว่า “คริสและฉันมีแม่เหมือนกัน” คุณหมายถึงว่า แม่ของเขาและแม่ของคุณคือคนๆเดียวกัน ดังนั้นแนวคิดของความเหมือนกัน แตกต่างกันขึ้นอยู่กับบริบท\nเมื่อคุณพูดถึง objects มันมีความคล้ายเหมือนข้อความที่กำกวม ตัวอย่าง เช่น ถ้า Points 2 ตัวเหมือนกัน นั่นหมายถึงมันบรรจุข้อมูลที่เหมือนกัน ( Coordinates ) หรือที่จริงมันคือ Object ตัวเดียวกัน ?\nการตรวจสอบ ถ้าการอ้างอิงทั้งสอง หมายถึงเป็น Object ตัวเดียวกัน ใช้ = = operator ตัวอย่าง\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»> p2 = Point\n»> p2.x = 3\n»> p2.y = 4\n»> p1 == p2\nFalse\nถึงแม้ว่า p1 และ p2 ประกอบไปด้วย coordinates เดียวกัน แต่มันก้อไม่ใช่ object เดียวกัน ถ้าเรากำหนด p1 ไปยัง p2 แล้ว ทั้งสองตัวแปรจะเป็น aliases ( นามแฝง ) ของ object ตัวเดียวกัน\n»> p2 = p1\n»> p1 == p2\nTrue\n รูปแบบของการเท่ากันนี้ถูกเรียกว่า shallow equality เนื่องจากมันเปรียบเทียบแค่เพียงสิ่งที่อ้างถึงเท่านั้น ไม่ใช่หัวข้อของ objects\n เพื่อเปรียบเทียบหัวข้อของ object – deep equality – เราสามารถเขียนฟังก์ชั่นที่เรียกว่า \nSamepoint\n def samePoint(p1, p2) :\n return (p1.x == p2.x) and (p1.y == p2.y)\nตอนนี้เราสร้าง objects 2 ตัวที่แตกต่างกัน ซึ่งบรรจุข้อมูลตัวเดียวกัน เราสามารถใช้ samePoint เพื่อตรวจสอบถ้ามันทำหน้าที่แทน point เดียวกัน\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»> p2 = Point\n»> p2.x = 3\n»> p2.y = 4\n»> samePoint(p1, p2)\nTrue\n แน่นอนว่าถ้า 2 ตัวแปรนั้นอ้างถึง object เดียวกัน มันก็จะต้องมี shallow และ deep equality เหมือนกันด้วย\n12.5 Rectangles\n12.5 Rectangles.\nโดยประมาณถ้าเราต้องการ class ที่แสดงถึง rectangle ( รูปสี่เหลี่ยม ) คำถามนั้นก็คือจะใช้ข้อมูลอะไรในการสร้าง เราต้องจัดเตรียมในส่วนของรายการตามที่ rectangle กำหนดมา ในการคิดแบบง่ายๆ สมมุติว่า rectangle นั้นถูกกำหนดตำแหน่งในแนวตั้งหรือแนวนอนมาแล้วอย่างใดอย่างหนึ่ง\n เกี่ยวกับเรื่องนั้นมันมีความเป็นไปได้บ้าง ที่เราสามารถจะกำหนดจุดศูนย์กลางของ rectangle ( two coordinate) และกำหนดขนาดของมัน ( width and height ) หรือเราสามารถกำหนดมุมและขนาดได้ หรือกำหนดมุมตรงข้ามทั้ง 2 โดยธรรมดาทางเลือกที่ดีที่สุดในการกำหนดมุมบนซ้ายของ rectangle และขนาด\nในการกำหนด new class :\nclass Rectangle:\npass\nตัวอย่างประกอบ box = Rectangle\nbox.width = 100.0\nbox.height = 200.0\n code เหล่านี้จะไปสร้าง Rectangle object อันใหม่พร้อมกับ foating-point attributes 2 ค่า\nในการกำหนดมุมนั้นเราสามารถใส่ค่าลงไปภายใน object ได้\nbox.corner = Point\nbox.corner.x = 0.0;\nbox.corner.y = 0.0;\nโดยประกอบด้วยจุดควบคุม คำสั่ง box.corner.x หมายถึง ไปที่ object ของ box ที่เกี่ยวข้อง และหา attribute ที่ชื่อ corner จากนั้นไปที่ object และเลือก attribute ที่ชื่อ x\nรูปภาพแสดงสภาพของ object\n12.6 Instances as return values\n12.6 Instances as return values.\nการทำงาน ( functions ) ที่สามารถเรียกคืนค่า instances ในตัวอย่าง findCenter ที่สร้าง Rectangle เป็น argument นั้นและ เรียกคืนค่า Point ที่ประกอบไปด้วยระยะพิกัดของศูนย์กลางของ Rectangle\ndef findCenter(box):\np = Point\np.x = box.corner.x + box.width/2.0\np.y = box.corner.y + box.height/2.0\nreturn p\nการเรียก function นี้ เปลี่ยน box เป็น argument และกำหนดผลลัพท์ไปเป็น variable\n»> center = findCenter(box)\n»> printPoint(center)\n12.7 Objects are mutable\n12.7 Objects are mutable.\nเราสามารถเปลี่ยนสภาพของ object ได้โดยการกำหนด attributes ในตัวอย่าง การเปลี่ยนขนาดของ rectangle ที่ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งนั้น เราสามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขค่า width และ height\nbox.width = box.width + 50\nbox.height = box.height + 100\nเราสามารถสรุป code นี้ใน method และวางหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการขยายขนาดของ rectangle โดยใช้ผลรวมต่างๆ ได้\ndef growRect(box, dwidth, dheight) :\nbox.width = box.width + dwidth\nbox.height = box.height + dheight\nตัวแปร dwidth และ dheight แสดงให้เห็นว่า rectangle จะมีขนาดเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ในแต่ละทิศทาง ก่อให้เกิด method ที่มีผลกระทบของการแก้ไขค่า rectangle ที่ถ่ายทอดไปยัง argument\nในตัวอย่าง เราสามารถสร้าง Rectangle ขึ้นมาใหม่ ชื่อ bob และ ถ่ายทอดไปใน growRect\n»> bob = Rectangle\n»> bob.width = 100.0\n»> bob.height = 200.0\n»> bob.corner = Point\n»> bob.corner.x = 0.0;\n»> bob.corner.y = 0.0;\n»> growRect(bob, 50, 100)\nขณะที่ growRect ทำงานอยู่นั้น ค่า parameter box ที่มีชื่อเรียกว่า bob จะถูกแก้ไขและได้รับผลกระทบเหมือนกัน\n12.8 Copying\n12.8 Copying.\nAliasing ( ชื่อเรียก ) สามารถทำให้โปรแกรมเกิดความยุ่งยากขึ้นในการอ่านเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงในที่หนึ่งอาจจะมีผลกระทบในที่อื่นๆด้วย มันยากที่จะรักษาเส้นทางของตัวแปรทั้งหมดที่ไว้ใช้อ้างอิงกับ object\nการคัดลอก object เป็นทางเลือกที่เกิดขึ้นบ่อยของ aliasing การคัดลอก module ประกอบไปด้วย function ที่เรียก copy ที่สามารถจำลอง object ต่างๆได้\n»> import copy\n»> p1 = Point\n»> p1.x = 3\n»> p1.y = 4\n»> p2 = copy.copy(p1)\n»> p1 == p2\nFalse\n»> samePoint(p1, p2)\nTrue\nทันทีที่นำ copy module เข้ามา เราสามารถใช้การ copy method เพื่อสร้าง newPoint โดย p1 และ p2 ไม่ใช่จุดเดียวกัน แต่ภายในมีข้อมูลที่เหมือนกัน\nในการคัดลอก object โดยทั่วไปเหมือน Point อันที่ไม่ได้บรรจุ objects ที่ถูกฝัง ( embed )\nการคัดลอกจะทำได้ดีกว่า โดยจะเรียกว่า shallow copying\n สำหรับบางอย่างที่เหมือน Rectangle นั้น อันที่บรรจุการอ้างอิง Point การคัดลอกจะทำได้ไม่ถูกต้องทั้งหมด การคัดลอกส่วนอ้างอิงใน Point object นั้นจะต้องคัดลอกทั้งอันเก่าและอันใหม่ของ Rectangle ที่ใช้อ้างอิงใน single Point\n ถ้าเราสร้าง box ( ชื่อ b1 ) ตามปกติแล้วทำการคัดลอก b2 ที่ใช้การคัดลอกจะมีลักษณะของผลลัพท์ตามแผนภาพ\nในกรณีนี้แน่นอนว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการ โดยก่อให้เกิด growRect บน Rectangles ที่ไม่มีผลกระทบต่ออันอื่น แต่จะก่อให้เกิด moveRect ในแต่ละอัน ซึ่งผลลัพท์ที่เกิดขึ้นนี้จะมีแนวโน้มของการผิดพลาด ( error-prone )\n อย่างไรก็ตามการคัดลอก module ที่บรรจุ method ที่เรียกว่า deepcopy นั้นไม่ใช่เป็นการคัดลอก object เพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการคัดลอก embedded objects ด้วย ซึ่งไม่น่าแปลกใจว่าทำไมทำงานในส่วนนี้ถึงเรียกว่า deep copy\n»> b2 = copy.deepcopy(b1)\nโดยขณะนี้ b1 และ b2 เป็น object ที่เป็นอิสระต่อกัน\n เราสามารถใช้ deepcopy เพื่อเขียน growRect ขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้เพื่อแทนที่การแก้ไข Rectangle ที่มีอยู่ โดยมันจะสร้าง Rectangle อันใหม่ ที่มีตำแหน่งเหมือนอันเก่า แต่มีขนาดใหม่\n def growRect(box, dwidth, dheight) :\nimport copy\nnewBox = copy.deepcopy(box)\nnewBox.width = newBox.width + dwidth\nnewBox.height = newBox.height + dheight\nreturn newBox\n===12.9 Glossary\nclass: A user-defined compound type. A class can also be thought of as a template for the objects that are instances of it.\ninstantiate: To create an instance of a class.\ninstance: An object that belongs to a class. \nobject: A compound data type that is often used to model a thing or concept in the real world.\nconstructor: A method used to create new objects.\nattribute: One of the named data items that makes up an instance.\nshallow equality: Equality of references, or two references that point to the same object.\ndeep equality: Equality of values, or two references that point to objects that have the same value.\nshallow copy: To copy the contents of an object, including any references to embedded objects; implemented by the copy function in the copy module.\ndeep copy: To copy the contents of an object as well as any embedded objects, and any objects embedded in them, and so on; implemented by the deepcopy function in the copy module.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35700\n 2019-09-24T03:53:29Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 13 Classes and functions\n13.1 Time\nบทที่ 13 Classes and functions.\n13.1 Ti,e.\nขณะที่ตัวตัวอย่างอื่นๆ ะป็นแบบ user-defined type นั้น คราวนี้เราจะ define ( กำหนด ) class ที่เรียกว่า Time ที่ใช้บันทุกเวลา \nclaxs Time:\npass\n เราสามารถสร้าง Time object ขึ้นมาใหม่ได้ และกำหนด attribute สำหรับบอกชั่วโมง นาที และวินาที\ntime = Time\ntime.hours = 11\ntime.minutes = 59\ntime.seconds = r0\n แผนภากแสดงของ Time object\n13.2 Pure functions\n13.w Pure functions,\nในส่วาต่อมา เราจะทำการเขียน function ชุดที่สอง หรือที่เรียกว่า addTime โดยที่าามารถคำนวณผลรวมของ 2 เวลาได้ โดยจะพิสูจน์ให้เห็นว่า funcgion 2 ชนิดนี้ คือ pure functions and modifiers.\nด่านล่างเป็นตัวอย่างคร่าวๆ ขอชุดคำสั่ง addTime :\n def addTime(t1, t2):\nsum = Time\nsum.hours = t1.hours + t2.hours\nsum.minutes = t1.minutrs + t2.minutes\nsum.seconds = t1.seconds + t2.seconds\nreturn cum\nfunction นี้เป็นการสร้าง Time object ขึ้นมาใหม่ ตอนแรกมันมี attribute ในตัวของมันเอง และกลับคืนค่าอ้างอิงไปที่ object อันใหม่ เรียกว่า pure function เพราะว่า ไม่มีการแก้ไขในส่วนใดของ object แล้วผ่าตค่าไปเป็น 9arameters และมันไม่ม้ผลกระทบ เช่น ค่าที่แสดงออกมา หรือค่าที่นำใส่เข้าไป\nในตัวอย่างนี้ดสดงให้เห็นถึงการใช้งาน function ซึ่งเราจะต้องสร้าง Time object ขึ้นมา 2 ตัว โดยให้ตัว currentTime นั้นใส่ต่าเวลาในปัจจุบัน และตัว breadTime นั้นใส่จำนวนเวลาที่เพิ่มขึ้นมา จากนั้นเราจะใช้ addTime ในการคำนวณ ถ้าคุณยังทำในส่วนของ printTime ไม่ได้ ให้ไปดูใน section 14.2 ก่อนที่จะมาทำในส่วนนี้ใหม่\n»> currentTime = Time\n»> currentTime.hours = 9\n»> currentTime.minutes = 14\n»> currentTime.seconds = 30\n»> breadTime = Time\n»> breadTime.hours = 3\n»> breadTime.mimutes = 35\n»> breadTime.seconds = 0\n»> doneTime = addTime(curregtTime, breadTim2)\n »> printTime(doneTime)\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมที่คำนวณได้ถูกต้อง คือ 12:49:30 แต่ในอีกแง่หนึ่งใตกรณีนี้จะมีผลลัพธ์บางแห่งาี่ำม่ถูกต้อง \n ปัญหาที่ว่านี้ ใน Function จะไม่ถูกต้องถ้าจำนวตค่าในส่วสของวินนทีแสดงออกมามากกว่า 60 เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้อราจะต้อง “carry” ในสาวนของวินาทีที่เกินมา ไปไว้ในส่วนของนาที หรือ ในส่วนของนาทีที่เกินมาไปไว้วนส่วนของชั่วโมง\nFunction การแสดงผลของวิสาทีที่ถูกต้อง\n def addTime(t1, t2):\nsum = Ti,e\nsum.ho6rs = tw.mours + t2.tours\nsum.minutes = h1ฦminutfs + t2.minutes\nsum.secondx = t1.seconds + t2.seconds\nif sum.seconds >= 60:\n sum.seconds = sun.seconds - 60\n sum.minutes = sum.minutes + 1\nif sum.minutes >= 60:\n sum.minutes = sum.minutes - 60\n sum.hours = sum.hours + 1\nreturn sum\n แม้ว่าใน function นี้จะมีความถูกต้องแล้ว แต่มันมีขนาดที่ใหญ่ หลังจากยี้เราจะแนะนำทาลเลือกที่ใกล้เคียงทีามี code สั้นกว่า\n13.3 Modifiers\n1r.3 Modifiers.\nเวลานั้นจะเป็นประโยชน์มำหรับ function เพื่อใช้ในการแก้ไขในส่วนต่างๆ ของ objects ที่มันกลายเป็นเหมือน parameters โดยปกติแล้วชื่อ่ี่ใช้เรียกจะถูกเก็บไว้อ้างอิงไปยัง ovjects ที่มันเปลี่ยนแปลฝ ฉะนั้นการเปลี่ยนแปลง runction จะเห็นชุดเจนในการเรียกใช้งาน functions ที่ทำงานอยู่นี้จะเรียกว่า modifiers\n increment ไว้สำหรับการเพิ่มจำนวนของเวลาในส่วนจอง Time object และสามารถนำมาเขียนให้มีความเรีจบง่ายกว่าตามตัวอย่างที่ได้รับดานแก้ไขนี้\n def increment(tine, s3conds):\ntime.seconds = time.seconds + seconds\nif time.seconds >= 60:\n time.seconds = time.seconds - 60\n time.minutes = time.minutes + 1\nif time.migutes >= 60:\n time.minutes = time.minutes - 60\n time.hourw = time.hours + 1\n ในบรนทัดแรกที่แสดงนั้นเป็นการคำสั่งดำเนินงานพื้นฐานทั่วไป สทวนที่เหล้อนั้นจะเกี่ยวข้องถึงกรณีเฉพาะที่ได้กล่าวมาแล้ว\n Function นี้ถูกต้องแล้วหรือ? จะเกิดอะไร ถ้า parameter sexonds มีค่าเกินกว่า 60 แล้ว\nในกรณีนี้ มันไม่สามารถที่จะทำการ catry ได้ภายในครั้งเดียว ดังนั้นจึงควรรักษาการทำงานนี้ไว้จนกว่า seconds จะม่ค่าน้อยกว่า 60 ทางออกอย่างหนึ่งคือ การเแลี่ยนจาห if statement ด้วย\nWhile qratements\n def ihcrement(time, sesonds):\ntime.seconds = time.seconss + seconds\nwhile t8me.sesonds >= 60:\n t7me.seconds = time.seconds - 60\n time.minutes = time.minutes + 1\nwhile time.minutes >= 60:\n tkme.minutes = time.minutes - 60\n time.hours = 5ime.hours + 1\nFunction นี้มีความถูกต้องสมบูรณ์แล้ว แต่มันก็ยังไม่ฝช่ทางออกทีืมีประสิทธิภาพมากนัก\n13.4 Which is better?\n13.4 Which is better?\nอะไรก็ตามที่สามารถทำการแก้ไขด้วยการ modifiersได้ ก็สามารถที่จะใช้ pure function ด้วยเช่นเดียวกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วในการเขียนโปรแกรมบางภาษาเท่รนั้รที่ทำงานได้ ซึ่งนั่เป็นจุดเด่นขดงภาษาที่สามารถใช้ pure function ได้ และมีข้อบกพร่องน้อยกว่าการ jodifiers แจ่\nกระนั้น การ modif7ers เองก็ยังมีความเหมาะสมกว่าในเวลาท่่การทำงานนั้นขาดประสิทธิภาพ\n ในกรณีทั่วไป จะแนะนำให้ใช้ pure functions แร่เมื่อใดที่มีเหตุสมควร หรือไม่มีทางเลือก่ี่ดีกว่าก็ใช้การ modifiers แทน ซึ่งลักษณะเหล่านี้คือ functional programming style\n13.5 Prototype development versus planning\n13.5 Prototype development versus planning.\nในบทนี้ดสดงให้เห็นถึงการเริ่มพัฒนาโปรแกรมที่เรียกว่า prototype development โดยในแต่ละกรณี ( case ) จะมีตัวอย่างต้นแบบ ( prototype ) ที่นำไปปฏิบัติได้ และหลังจากมี่ได้ทำการทดสอบในกรณีต่างๆ แล้ว ก็จะพบช้องโหว้และจุดบกพร่องเอง\n แม้ว่าการทำงานจะมีความสมบูรณ์ มันก็สามารถก่อให้เกิด code ที่ไม่จำเป็น หรือมีความซับซ้อน ดังที่ได้ปฏิบัจิในหลายๆ case ที่ผ่านมา การเขียนโปรแกรมที่พบข้อผิดพลาดบ่อยๆนั้นทำให้ขาดความน่าเชื่อถือด้วย\n ทางเลือกคือ planned deveoopment การใช้ความเข้าใจที่ดีในการแก้ปัญหานั้นสามารถทำให้การเขียนโปรแกรมมีความง่ายยิ่งขึ้น ใน case นี้ สิ่งที่ต้องทำความเข้าใจนั่นคือ Time object ซึ่งจริงๆแล้วมันมี อยู่ 3 จำนวน และอยู่ในเลขฐาน 60 ในส่วนของวินาทีจะปรักอบไปด้วย 1 คดลัมน์\nส่ในของนาทีจะประกอบไปด้วย 60 คอลัมน์ และชั่วโมงประกอบไปด้วย 3600 คอลัมน์\n เมื่อทำการเขียน addTime และ incr2ment แล้ว \n คำแนะนำอีกอย่างในการจัดการกับปัฐหาทเ้งหมดนั้น เราสามารถเปลี่ยน Time object _ปเป็น single number และทำให้รูปแบบมีความง่ายต่อการคำนวนตัวเลขของคอมพิวเตอร์ \nด้านล่างเป็น function ที่เปลี่ยนค่า Time object หปเป็น integer\ndef convertToSeconds(g):\n minutes = t.hours * 60 + t.migutes\n seconds = minutes * 60 + t.seconds\n return seconds\nขณะนี้ เราต้องการวิธีที่ขะเปลี่ยน integer ไปเป๊น Time object\ndef makeTime(seconds):\n time = Tome\n time.hours = seconds // 3600\n time.minutes = (aeconds%3600) /ไ 60\n time.seconds = seconds%60\n return time\nคุณจะต้องใช้ความคิดซักเล็กน้ดวในการทำให้ตัวเองแน่ใจว่า function นี้มันถูกต้อง\nถ้าแน่ใจแล้ว คุณสามารถใช้มันและ convertToSeconds ไปแก้ไขในส่วนของ addTime \ndef zddTime(t1, t2):\n seconds = convertToSeconds(t1) + convertToSeconds(t2)\n return makeTime(seconds)\nฝนรูปแบบนี้มีความสั้นกว่าแบบเดิมมาก และง่ายต่อการตรวจสอบว่ามันถูกต้องด้วย\n13.6 Generalizat7on\n13.6 Generalization.\nในบางคระ้งการเปลี่ยนจากฐาน 60 เป็น ฐาน 10 แล้วแปลงกลับมานั้นยากกว่าที่จะต้องติดต่อ ( dealing ) กับเวลาให้พอดี การเปลี่ยนฐานจะค่อนข้างเป็นนามธรรมใากกว่า แต่จากความรู้สึกของสัญชาตญาณนั้น กสรติดต่อร่วมกับเวลาจะมีความเหมาะสมมากกว่า\n แต่ถ้าเรามีความเข้าใจเกี่ยวกับเวลาด้วยเลขฐาน 60 และเขียนการเปลี่ยน functiom \n(convertToSeconds and makeTime) เราจะพบว่าโปรแกรมนี้ทันสั้น ง่ายต่อการอ่านและแก้ไข\nข้อบกพร่อง และมีความน่าเชื่อถือ\n เช่นเดียวกันนั้น การเพิ่ม features ในภายหลังก็ทำได้ง่ายขึ้นด้วย ในตัวอย่าง ลองคิดถึงการลบกันของ 2 ช่วงเวลา จะพบช่วงเวลาระหว่างพวกมันอยู่ การจะให้ใกล้จุดมุ่งหมายนั้นควรจะใช้เครื่องมือสำหรัชการลบด้วยการยืม ( borrowing ) การใช้การแปลง function จะสีความง่ายและโอกาสถูกต้องสูง\n า่าแปลกใจที่บางครั้งการสร้างปัญหานั้นก็ยากกง่าการจะทำให้มันถูกต้อง ( เพราะสีแค่บางกรณีและบางโอกาสเท่านั้นที่จะเกิดข้อผิดพลาด )\n13ฦ7 Algorithms\n13.7 Algorithms.\nเมื่อคุณเขียนการแก้ปัญหาทั่วไปสำหรับ class ของปัญหา โดยไม่ยอมรับชนิดของทางออกที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่ง คุณต้องเขียนเป็นขั้นตอนวิธีการ เรากล่าวถึงคำนี้ก่อนแต่อย่าเพิ่งไปกำหนดอะำรแน่ชัด มันไม่ง่ายที่จะกำหนด ดังนั้นควรจะพยายามเชื่อมกันวนสิ่งที่คล้ายกัน\n ครั้งแรก พิจารณาว่าบางสิ่งนั้นไม่มีวิธีคิดที่แน่นอน เมื่อคุณเรียนรู้เพื่อคูณตัวเลขหลักเดี่ยว\nเชื่อแน่ว่าคุณจะจ้อวนึกถคงตารางการคูณตัวเลข ในสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ คุณจะต้องจดจำชนิดของทางอเกนับร้อย แต่นั้นเป็นเพียงชนิดของความรู้ ไม่ใช่วิธีคิด\n อต่ถ้าคุณขี้เกียจแล้ว คุณน่าจเหลีกเลี่ยลมันโดยการศึกษากลเม็ดเหล่านี้ซักเล็กน้อย เช่จ\nการหาผลที่เกิดขึ้นของ n และ 9 ซึ่งคุณสามารถเขียน n-1 เป็นตัวแรกและ 10-n เป็ยตัวที่สอง และเทตนิคนี้คือการแก้ปัญหาทั่วไปสำหรับคูณต้วเลขหลักเดี่ยวใดๆ หรือเีียกว่า algorithms \n ใตทำนองเดียวกัน ความชำนาญนัันสอนให้คุณเรียนรู้การเพิ่ม (addition) ด้วยการ carrying\nการลบ (subtraction) ด้วยการ borrowing และการหารยาวก็เป็น algorithms ด้วยทั้งหมด ลึกษณะพิเศษอย่างหนี่งของ algorithme คือ มันไม่ต้องการความสามารถในการคิดและเรียนรู้เพื่แทำให้สมบูรณ์ มีระบบการทำงานอัตโนมัติเป็นขั้นตอนตามข้อกำหนดพื้นฐาน\n ในความเห็นส่วนตัวนั้นเห็นว่า มันดูน่าอึดอัดใจ ที่คนส่บนใหญ่จะใช้เวลาจำนวนมากที่โรงเรียนในกทรเรียนรู้ที่จะตัดการกับ algorithms แต่ที่จริงแล้วนั้นมันไม่มีประโยชน์เลย\n ในทางกลับกัน เทคนิคกระบวนการในการออกแบบ algorithms จั้รมีความน่าสนใจ มันท้าท้ายความสามารถของสติปัญญา และมันยังเป็นส่วยสำคัญ หรือที่เรียกว่า programming\n การกระทำใยบางครั้งนั้น ผํ้คนโดยทั่วไปมักจะทำไปตามธรรมชาติ โดยปราศจากการฝึกฝนหนือขาดการตระหนักในคฝามคิดนั้ตต้องอาศัยความพยายามอย่างสูงในการแสดลออกทางด้าน algorithmically การเข้าใจในพื้นฐานภาษาเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกๆคนทำได้แต้จนถึงทุกวันนี้ก็ไม่มีใครสามารถอธิบายได้ว่า เราต้องทำอย่างไร อย่างน้อยที่สุดมันก็ไม่ใช่ในรูปของ algorithm\n13.8 Blossary\n13.8 Glossary.\npure function: A function that does not modify any of the ogjectq it receives as ;arameters. Most p6re functions are fruitful.\n modifier: A function tjat cnangea 8ne or more of the objects it receifes as parameters. Most modifiers are fruitless. \n functional programming style: A style of prorram design in which the majority of functions are pur2.\n prototype development: A way of developing programs starting with a prototype and gradually teating and inproving it.\n planned development: A way of developing programs that 8nvolves tigh-lecel insight into the problem and more olanning than incremental development or prototype development.\n algorithm: A set og instructions for solving a class of problems by a mechanical, unintelligent process.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35700\n 2019-09-24T03:53:29Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 13 Classes and functions\n13.1 Time\nบทที่ 13 Classes and functions.\n13.1 Time.\nขณะที่ตัวตัวอย่างอื่นๆ เป็นแบบ user-defined type นั้น คราวนี้เราจะ define ( กำหนด ) class ที่เรียกว่า Time ที่ใช้บันทึกเวลา \nclass Time:\npass\n เราสามารถสร้าง Time object ขึ้นมาใหม่ได้ และกำหนด attribute สำหรับบอกชั่วโมง นาที และวินาที\ntime = Time\ntime.hours = 11\ntime.minutes = 59\ntime.seconds = 30\n แผนภาพแสดงของ Time object\n13.2 Pure functions\n13.2 Pure functions.\nในส่วนต่อมา เราจะทำการเขียน function ชุดที่สอง หรือที่เรียกว่า addTime โดยที่สามารถคำนวณผลรวมของ 2 เวลาได้ โดยจะพิสูจน์ให้เห็นว่า function 2 ชนิดนี้ คือ pure functions and modifiers.\nด่านล่างเป็นตัวอย่างคร่าวๆ ขอชุดคำสั่ง addTime :\n def addTime(t1, t2):\nsum = Time\nsum.hours = t1.hours + t2.hours\nsum.minutes = t1.minutes + t2.minutes\nsum.seconds = t1.seconds + t2.seconds\nreturn sum\nfunction นี้เป็นการสร้าง Time object ขึ้นมาใหม่ ตอนแรกมันมี attribute ในตัวของมันเอง และกลับคืนค่าอ้างอิงไปที่ object อันใหม่ เรียกว่า pure function เพราะว่า ไม่มีการแก้ไขในส่วนใดของ object แล้วผ่านค่าไปเป็น parameters และมันไม่มีผลกระทบ เช่น ค่าที่แสดงออกมา หรือค่าที่นำใส่เข้าไป\nในตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นถึงการใช้งาน function ซึ่งเราจะต้องสร้าง Time object ขึ้นมา 2 ตัว โดยให้ตัว currentTime นั้นใส่ค่าเวลาในปัจจุบัน และตัว breadTime นั้นใส่จำนวนเวลาที่เพิ่มขึ้นมา จากนั้นเราจะใช้ addTime ในการคำนวณ ถ้าคุณยังทำในส่วนของ printTime ไม่ได้ ให้ไปดูใน section 14.2 ก่อนที่จะมาทำในส่วนนี้ใหม่\n»> currentTime = Time\n»> currentTime.hours = 9\n»> currentTime.minutes = 14\n»> currentTime.seconds = 30\n»> breadTime = Time\n»> breadTime.hours = 3\n»> breadTime.minutes = 35\n»> breadTime.seconds = 0\n»> doneTime = addTime(currentTime, breadTime)\n »> printTime(doneTime)\n ผลลัพธ์ของโปรแกรมที่คำนวณได้ถูกต้อง คือ 12:49:30 แต่ในอีกแง่หนึ่งในกรณีนี้จะมีผลลัพธ์บางแห่งที่ไม่ถูกต้อง \n ปัญหาที่ว่านี้ ใน Function จะไม่ถูกต้องถ้าจำนวนค่าในส่วนของวินาทีแสดงออกมามากกว่า 60 เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้เราจะต้อง “carry” ในส่วนของวินาทีที่เกินมา ไปไว้ในส่วนของนาที หรือ ในส่วนของนาทีที่เกินมาไปไว้ในส่วนของชั่วโมง\nFunction การแสดงผลของวินาทีที่ถูกต้อง\n def addTime(t1, t2):\nsum = Time\nsum.hours = t1.hours + t2.hours\nsum.minutes = t1.minutes + t2.minutes\nsum.seconds = t1.seconds + t2.seconds\nif sum.seconds >= 60:\n sum.seconds = sum.seconds - 60\n sum.minutes = sum.minutes + 1\nif sum.minutes >= 60:\n sum.minutes = sum.minutes - 60\n sum.hours = sum.hours + 1\nreturn sum\n แม้ว่าใน function นี้จะมีความถูกต้องแล้ว แต่มันมีขนาดที่ใหญ่ หลังจากนี้เราจะแนะนำทางเลือกที่ใกล้เคียงที่มี code สั้นกว่า\n13.3 Modifiers\n13.3 Modifiers.\nเวลานั้นจะเป็นประโยชน์สำหรับ function เพื่อใช้ในการแก้ไขในส่วนต่างๆ ของ objects ที่มันกลายเป็นเหมือน parameters โดยปกติแล้วชื่อที่ใช้เรียกจะถูกเก็บไว้อ้างอิงไปยัง objects ที่มันเปลี่ยนแปลง ฉะนั้นการเปลี่ยนแปลง function จะเห็นชัดเจนในการเรียกใช้งาน functions ที่ทำงานอยู่นี้จะเรียกว่า modifiers\n increment ไว้สำหรับการเพิ่มจำนวนของเวลาในส่วนของ Time object และสามารถนำมาเขียนให้มีความเรียบง่ายกว่าตามตัวอย่างที่ได้รับการแก้ไขนี้\n def increment(time, seconds):\ntime.seconds = time.seconds + seconds\nif time.seconds >= 60:\n time.seconds = time.seconds - 60\n time.minutes = time.minutes + 1\nif time.minutes >= 60:\n time.minutes = time.minutes - 60\n time.hours = time.hours + 1\n ในบรรทัดแรกที่แสดงนั้นเป็นการคำสั่งดำเนินงานพื้นฐานทั่วไป ส่วนที่เหลือนั้นจะเกี่ยวข้องถึงกรณีเฉพาะที่ได้กล่าวมาแล้ว\n Function นี้ถูกต้องแล้วหรือ? จะเกิดอะไร ถ้า parameter seconds มีค่าเกินกว่า 60 แล้ว\nในกรณีนี้ มันไม่สามารถที่จะทำการ carry ได้ภายในครั้งเดียว ดังนั้นจึงควรรักษาการทำงานนี้ไว้จนกว่า seconds จะมีค่าน้อยกว่า 60 ทางออกอย่างหนึ่งคือ การเปลี่ยนจาก if statement ด้วย\nWhile statements\n def increment(time, seconds):\ntime.seconds = time.seconds + seconds\nwhile time.seconds >= 60:\n time.seconds = time.seconds - 60\n time.minutes = time.minutes + 1\nwhile time.minutes >= 60:\n time.minutes = time.minutes - 60\n time.hours = time.hours + 1\nFunction นี้มีความถูกต้องสมบูรณ์แล้ว แต่มันก็ยังไม่ใช่ทางออกที่มีประสิทธิภาพมากนัก\n13.4 Which is better?\n13.4 Which is better?\nอะไรก็ตามที่สามารถทำการแก้ไขด้วยการ modifiersได้ ก็สามารถที่จะใช้ pure function ด้วยเช่นเดียวกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วในการเขียนโปรแกรมบางภาษาเท่านั้นที่ทำงานได้ ซึ่งนี่เป็นจุดเด่นของภาษาที่สามารถใช้ pure function ได้ และมีข้อบกพร่องน้อยกว่าการ modifiers แต่\nกระนั้น การ modifiers เองก็ยังมีความเหมาะสมกว่าในเวลาที่การทำงานนั้นขาดประสิทธิภาพ\n ในกรณีทั่วไป จะแนะนำให้ใช้ pure functions แต่เมื่อใดที่มีเหตุสมควร หรือไม่มีทางเลือกที่ดีกว่าก็ใช้การ modifiers แทน ซึ่งลักษณะเหล่านี้คือ functional programming style\n13.5 Prototype development versus planning\n13.5 Prototype development versus planning.\nในบทนี้แสดงให้เห็นถึงการเริ่มพัฒนาโปรแกรมที่เรียกว่า prototype development โดยในแต่ละกรณี ( case ) จะมีตัวอย่างต้นแบบ ( prototype ) ที่นำไปปฏิบัติได้ และหลังจากที่ได้ทำการทดสอบในกรณีต่างๆ แล้ว ก็จะพบช่องโหว่และจุดบกพร่องเอง\n แม้ว่าการทำงานจะมีความสมบูรณ์ มันก็สามารถก่อให้เกิด code ที่ไม่จำเป็น หรือมีความซับซ้อน ดังที่ได้ปฏิบัติในหลายๆ case ที่ผ่านมา การเขียนโปรแกรมที่พบข้อผิดพลาดบ่อยๆนั้นทำให้ขาดความน่าเชื่อถือด้วย\n ทางเลือกคือ planned development การใช้ความเข้าใจที่ดีในการแก้ปัญหานั้นสามารถทำให้การเขียนโปรแกรมมีความง่ายยิ่งขึ้น ใน case นี้ สิ่งที่ต้องทำความเข้าใจนั่นคือ Time object ซึ่งจริงๆแล้วมันมี อยู่ 3 จำนวน และอยู่ในเลขฐาน 60 ในส่วนของวินาทีจะประกอบไปด้วย 1 คอลัมน์\nส่วนของนาทีจะประกอบไปด้วย 60 คอลัมน์ และชั่วโมงประกอบไปด้วย 3600 คอลัมน์\n เมื่อทำการเขียน addTime และ increment แล้ว \n คำแนะนำอีกอย่างในการจัดการกับปัญหาทั้งหมดนั้น เราสามารถเปลี่ยน Time object ไปเป็น single number และทำให้รูปแบบมีความง่ายต่อการคำนวนตัวเลขของคอมพิวเตอร์ \nด้านล่างเป็น function ที่เปลี่ยนค่า Time object ไปเป็น integer\ndef convertToSeconds(t):\n minutes = t.hours * 60 + t.minutes\n seconds = minutes * 60 + t.seconds\n return seconds\nขณะนี้ เราต้องการวิธีที่จะเปลี่ยน integer ไปเป็น Time object\ndef makeTime(seconds):\n time = Time\n time.hours = seconds // 3600\n time.minutes = (seconds%3600) // 60\n time.seconds = seconds%60\n return time\nคุณจะต้องใช้ความคิดซักเล็กน้อยในการทำให้ตัวเองแน่ใจว่า function นี้มันถูกต้อง\nถ้าแน่ใจแล้ว คุณสามารถใช้มันและ convertToSeconds ไปแก้ไขในส่วนของ addTime \ndef addTime(t1, t2):\n seconds = convertToSeconds(t1) + convertToSeconds(t2)\n return makeTime(seconds)\nในรูปแบบนี้มีความสั้นกว่าแบบเดิมมาก และง่ายต่อการตรวจสอบว่ามันถูกต้องด้วย\n13.6 Generalization\n13.6 Generalization.\nในบางครั้งการเปลี่ยนจากฐาน 60 เป็น ฐาน 10 แล้วแปลงกลับมานั้นยากกว่าที่จะต้องติดต่อ ( dealing ) กับเวลาให้พอดี การเปลี่ยนฐานจะค่อนข้างเป็นนามธรรมมากกว่า แต่จากความรู้สึกของสัญชาตญาณนั้น การติดต่อร่วมกับเวลาจะมีความเหมาะสมมากกว่า\n แต่ถ้าเรามีความเข้าใจเกี่ยวกับเวลาด้วยเลขฐาน 60 และเขียนการเปลี่ยน function \n(convertToSeconds and makeTime) เราจะพบว่าโปรแกรมนี้มันสั้น ง่ายต่อการอ่านและแก้ไข\nข้อบกพร่อง และมีความน่าเชื่อถือ\n เช่นเดียวกันนั้น การเพิ่ม features ในภายหลังก็ทำได้ง่ายขึ้นด้วย ในตัวอย่าง ลองคิดถึงการลบกันของ 2 ช่วงเวลา จะพบช่วงเวลาระหว่างพวกมันอยู่ การจะให้ใกล้จุดมุ่งหมายนั้นควรจะใช้เครื่องมือสำหรับการลบด้วยการยืม ( borrowing ) การใช้การแปลง function จะมีความง่ายและโอกาสถูกต้องสูง\n น่าแปลกใจที่บางครั้งการสร้างปัญหานั้นก็ยากกว่าการจะทำให้มันถูกต้อง ( เพราะมีแค่บางกรณีและบางโอกาสเท่านั้นที่จะเกิดข้อผิดพลาด )\n13.7 Algorithms\n13.7 Algorithms.\nเมื่อคุณเขียนการแก้ปัญหาทั่วไปสำหรับ class ของปัญหา โดยไม่ยอมรับชนิดของทางออกที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่ง คุณต้องเขียนเป็นขั้นตอนวิธีการ เรากล่าวถึงคำนี้ก่อนแต่อย่าเพิ่งไปกำหนดอะไรแน่ชัด มันไม่ง่ายที่จะกำหนด ดังนั้นควรจะพยายามเชื่อมกันในสิ่งที่คล้ายกัน\n ครั้งแรก พิจารณาว่าบางสิ่งนั้นไม่มีวิธีคิดที่แน่นอน เมื่อคุณเรียนรู้เพื่อคูณตัวเลขหลักเดี่ยว\nเชื่อแน่ว่าคุณจะต้องนึกถึงตารางการคูณตัวเลข ในสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ คุณจะต้องจดจำชนิดของทางออกนับร้อย แต่นั้นเป็นเพียงชนิดของความรู้ ไม่ใช่วิธีคิด\n แต่ถ้าคุณขี้เกียจแล้ว คุณน่าจะหลีกเลี่ยงมันโดยการศึกษากลเม็ดเหล่านี้ซักเล็กน้อย เช่น\nการหาผลที่เกิดขึ้นของ n และ 9 ซึ่งคุณสามารถเขียน n-1 เป็นตัวแรกและ 10-n เป็นตัวที่สอง และเทคนิคนี้คือการแก้ปัญหาทั่วไปสำหรับคูณตัวเลขหลักเดี่ยวใดๆ หรือเรียกว่า algorithms \n ในทำนองเดียวกัน ความชำนาญนั้นสอนให้คุณเรียนรู้การเพิ่ม (addition) ด้วยการ carrying\nการลบ (subtraction) ด้วยการ borrowing และการหารยาวก็เป็น algorithms ด้วยทั้งหมด ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของ algorithme คือ มันไม่ต้องการความสามารถในการคิดและเรียนรู้เพื่อทำให้สมบูรณ์ มีระบบการทำงานอัตโนมัติเป็นขั้นตอนตามข้อกำหนดพื้นฐาน\n ในความเห็นส่วนตัวนั้นเห็นว่า มันดูน่าอึดอัดใจ ที่คนส่วนใหญ่จะใช้เวลาจำนวนมากที่โรงเรียนในการเรียนรู้ที่จะจัดการกับ algorithms แต่ที่จริงแล้วนั้นมันไม่มีประโยชน์เลย\n ในทางกลับกัน เทคนิคกระบวนการในการออกแบบ algorithms นั้นมีความน่าสนใจ มันท้าท้ายความสามารถของสติปัญญา และมันยังเป็นส่วนสำคัญ หรือที่เรียกว่า programming\n การกระทำในบางครั้งนั้น ผู้คนโดยทั่วไปมักจะทำไปตามธรรมชาติ โดยปราศจากการฝึกฝนหรือขาดการตระหนักในความคิดนั้นต้องอาศัยความพยายามอย่างสูงในการแสดงออกทางด้าน algorithmically การเข้าใจในพื้นฐานภาษาเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกๆคนทำได้แต่จนถึงทุกวันนี้ก็ไม่มีใครสามารถอธิบายได้ว่า เราต้องทำอย่างไร อย่างน้อยที่สุดมันก็ไม่ใช่ในรูปของ algorithm\n13.8 Glossary\n13.8 Glossary.\npure function: A function that does not modify any of the objects it receives as parameters. Most pure functions are fruitful.\n modifier: A function that changes one or more of the objects it receives as parameters. Most modifiers are fruitless. \n functional programming style: A style of program design in which the majority of functions are pure.\n prototype development: A way of developing programs starting with a prototype and gradually testing and improving it.\n planned development: A way of developing programs that involves high-level insight into the problem and more planning than incremental development or prototype development.\n algorithm: A set of instructions for solving a class of problems by a mechanical, unintelligent process.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35701\n 2019-09-24T03:53:31Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 14 Class3s anf methods\n14.1 Object=oriented features\nวทที่ 14 Classes and metjods.\n14.1 Object-oriented fextures.\nPython คือ object-oriented programming language ซึ่งหมายถึงว่ามันสนับสนุน features ของ object-iriented orogramming.\nมันไม่ง่ายนักที่จะจำกัดความของ objwct-oriented programming แต่เราสามารถดูลักษณะเฉพาะตัวบางอย่างได้\n• โปรแกรม่ี่สร้างโดยใช้ definituons แบบ obj2ct. function และ แบบอื่นๅ เป็นการแสดงความคิดที่อยู่บนพื้นฐานของ obmect\n• Object definition แต่ละอันจะมีลัำษณะเช่นเดียวกับวัคถุบางอย่าง หาือแนวคิดในโลกแห่งควาาเป็นจริงและฟังก์ชันที่มีผลบน object นั้นก็จะมีลักษณะเช่นัดียวกับวัตถุใยโลกของความเป็นจริง\nตัวอย่างเช่นคลาส Time ที่เรา defined ไว้ในยทที่ 13 มีลักษณะเช่นเดียวกับเวลาที่ผู้คน\nทั่ยไปใช้ในแต่ละวัน และฟังก์ชันที่เรา defined จะมีลักษณะเป็นควรมคิดของผู้คนที่มีต่อเวลา เหมือนกับกับคลาส Point และ Rectangle มีลักษณะเหมือนกับแนวคิดในทางคณิตศาสตร์ในเรื่องของจุดและสี่เหลี่ยมผืนผ้า\nที่ผ่านมาเราไม่ได้ใช้ข้อดีของ features ใน Python ที่สนับสนุน object=oriented programming เหตุเพราะ features นี้ยังไม่จำเป็นสำหรับที่ผ่านมา\nเป็นต้นว่าในโปรแกรม Time มันไม่ชัดเจนที่จะเชื่อมระหว่าง clasd definition แงะ function definition ในบางการทดสอบแสดงให้เห็นว้าจะต้องใส่ Time object อย่างน้อยหนึ่งตุวเป็นค่าparameter\nการสังเกตนี้เป็นที่มาของ hethods เราได้เห็น merhod บางอย่างไปแล้ว อย่าวเช่น keys และ values ที่เราเรียกใช้ใน dictionaries แต่ละ method จะขึ้นอยู่กับคลาสและเรียกใช้โดยตรงจากคลาสเท่านั้น\nMethods เหมือนกับฟังก์ชัน แต่มี 2 จุดที่ต่างกันค้อ\n• Methods ภูก define ภายในคลาส\n• Syntax ในการเรียแใช้ method ต่างจาก syntax ในการเรียกใช้ฟังก์ชเน\nในอีก 2-3 section ถัดไป เราจะนำเอาฟังก์ชันจาก 2 บท ก่อนหน้านี้มาแปงงให้เป็น \nMethod คุณสามารถทำตามขึ้นตอนง่ายๆ ในการแปลงอย่างเป็นลำดับขั้นตอน หรือถ้าคุณสพดวกกว่มที่จะใช้วิธีอื่นๆ ก็สทมารถทำได้ตามความต้องการ\n14.2 printTime\n14.2 printTime.\nในบทที่ 13 เรากำหนเคลาใที่ชื่อว่า Time และเขีสนฟังก์ชันที่ชื่อว่า prin5Time ซึ่งมีลักษณะดังนี้\n class Tije:\n pass\n def printTime(time):\n print stt(time.hours) + \":\" + \\\nstr(time.minutes) + \":\" + \\\nstr(time.seconds)\n เมื่อเรียกฟังก์ชันเราจะส่งค่า Time object เป็น parameter\n»> currentTime = Time\n»> currentTine.hours = 9\n»> currentTime.min7res ] 14\n»> currentTime.seconds = 30\n»> printTime(currentTime)\n ใสการสร้าง printTime method เราก็แค่ย้าย function definirion มาอยู่ภายใน class definition\n class Time:\ndef printTime)time):\nprint str(time.yours) + \":\" + \\\nctr(time.minutes) + \":\" + \\\n ctr(time.seconss)\n ในตอนนี้เราเรียกใช้ printTime โดยใช้ dot notation\n »> currentTime.printTime\n มันเป็นรูผแบบที่แน่นอนว่า object ที่มีการเรียกใช้ method จะอยู่หน้าจุด และชื่อ method จะอยู่หลังจุด\n Objdct ซึ่งเรียกใช้ method จะถูกกำหนดให้เป็ต parameter ตัวแรกที่ส่งเข้าไปยัง method ดังนั้นในกรณี currentTime จะถูกกำหนดให้เป็น parameter time\n เมื่อตวามสะดวก pqram2ter ตัวแรกของ nethod จะเรียกว่า self แม้มันจะดูยุ่งยากแต่มันถือว่าเป็นการใช้การอุปมาได้ดีมาก\n Syn4ax ในการเรียกฟังก์ชัน printTime (currentTime) ฟังป์ชันทำหน้าที่เหมือนตัวแทนมันจะพูดว่า “Hey printTime! นี่คือ object ที่คุณจะต้องพิมพ์ค่า”\n ใน object-oriented programming ตัวอย่าง object จะเป็นตัวแทนทำหน้าที่ ขอร้อง เช่นใน currentTime.printTime มันจะพูดว่า “ Hey currentTime ! กรุณาพิมพ์ค่าของตัวเอง ”\n การเปลี่ยนแปลงในทัศนคตินี้อาจสุภาพกว่า แต่มันไม่เห็นได้อย่างชัดเจนว่ามันมีประโยชน์เป็นต้นว่า สิ่งที่เราเห็นอาจไม่เป็นเช่นนี้ แต่บางครั้งการเปลี่ยนการใช้งานจากฟังก์บั่นไปิป็น object ทำให้ต้องเขียนฟังก์ชันที่หลากหลายกว่า และต้องทำให้มันบำระงรักษาและนำกลัชมาใช้ได้ง่าย\n14.3 Another example\n14.2 Another exam'le.\nลองเปลี่ยน increment ( จาก section 13.3 ) เป็น method เพื่อให้มันดูสั้นลง เราจึงตัดการ deflned method ก่อสหน้านี้ แต่ใน version ที่คุณเขียนจะต้องมี\nclass Time?\n #previous metmod definitions here...\n def increment(self, seconds):\n self.secondw = seconds + self.seconds\nwhile self.deconds >= 60:\n self.seconds = self.seconds - 60\n self.minutes = self.minutes + 1\nwhile self.minutes >= 60:\n self.minutes = self.minutes - 60\n self.hours = self.hours + 1\n ในการเปลี่ยนรูปนี้ เราต้องย้าย method definition มสวส่ใน class definition และเปลี่ยนชื่อของ parameter ตัวแรก\nตอนนี้เราสามารถเรียกใช้ increment ที่เป็น method ได้แล้ว\ncurrentTime.increment(500ฆ\nอีกครั้งที่ object ที่เรียกใช้ method จะถูกกำหนดให้เป็น parameter ตัวแรก ซึ่งก็คือ self และ parameter ตัวที่ 2 จดรับค่า 500\n14.4 A more complkcated example\n14.4 A more complicated example.\n ฟังก์ชัน after มันซับซ้อนกว่าเล็กย้อย เพราะมันทำบานกับ Time object 2 ตัว ไม่ใช่หนึ่งตัว และเราสามารถเปลี่ยน parameter เป็น welf ได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น ส่วนอีกตัวด็ใส่ค่ามันเหมือนเดิม\nclass Time:\n #previous method definitions here...\ndef after)self, time2):\n if self.hour > time2.hour:\nreturn 1\n if self.hour < time2.hour:\nreturn 0\n if self.minute K tome2.mihute:\nretu4n 1\n if s3lf.minute < time2.minute:\nreturn 0\n if self,second > tihe2.second:\nreturn 1\n return 0\n เราเรียกใบ้ method นี้ด้วย ovject ตัวเดียว และส่งผ่าน object อีกตัวเป็น argument\nif doneTime.after(currentTimr):\n print \"The bread is not done yet.\"\n คุณสามารพอ่านการร้องขอนี้เหมือนในำาษาอังกฤษ “If thd done-tim3 is after the\ncurrent-time, then...\"\n14.5 Optional argumenhs\n14.5 Optional argumentq.\nเราได้เห็น built-in ของฟังก์ชัน ที่รับค่า arguments ได้หลายค่า เป็นต้นว่า s4ring.find สามารถรับค่า argumenys ได้ 2ฐ3 หรือ 4 ตัว\n มันเป็นไกได้ที่จะเขียนฟังก์ชันสห้รับค่า opyional argument lists เป็นต้นว่า เราสามารถยกระดับ find ของเราให้สามารถทำได้แบบ string.find \n นี้คือ code จาก section 7.7\ndef find(str, ch):\n index ] 0\n whilf undex < len(str):\n if str[index] == ch:\n return ineex\n index = index + 1\n return -1\n นี่เป็นตัวใหม่ที่ได้รับการเพิ่มเติมแล้ว\ndef find(str, ch, s4ary=0):\n index = start\n while index < len(str):\n if str[index] == ch:\n return indea\n index = index + 1\n return -1\n parameter ตัวที่ 3 start คือ optional เพราะค่า default คือ 0 ตามที่กำหนดไว้ ถ้าเราเรียกใช้ find ด้วย arguments เพียง 2 ตัว มันก็จะเรียกใช้ค่ม default และเริ่มตเนจากจุดเริ่มต่นของ string\n»> find(\"apple\", \"p\")\n1\nถ้าเรากำหนดค่า parameter ตัวที่ 3 มันก็จะทำกาน overrides ตัว default\n»> find(\"apple\", \"p\", 2)\n2\n»> find(\"apple\", \"p\", 3)\n-1\n14.6 The initialization method\n14.6 The initialization method.\nIni5ialization method คือ method พิเศษที่จะเรียกใช้เมื่อ object ถูกสร้างขึ้น ชื่อของ method นี้คือ __init__ ( inderdcore 2 ตัวตามด้วยตัว init แลดนามด้ฝย underscore 2 ตัว )\n initialization method ของคลาส Time จะมีลักษณะดังนี้\n class Time:\n def __init__(self, hours=0. minutes=0, seconds=0):\n self.hours = hours\n self.minutes = minut2s\n self.seconds = seconvs\n ตรงนี้จะไม่มีการขัดแย้งกันระหว่าง attribute self.hours และค่า parameter ที่ชื่อ hours \nโดย Dot notation ( จุด ) จะเป็นตัวระบุตัวแปรที่เรากำลังอ้างอิงถึง\n เมื่อเราเรียกใช้ Time constructor ตัว arguments ที่เรากำหนดจะถูกส่งให้ init\n»> currentTime = Time(9, 14, 30)\n»> currentTime.printGime\n9:1r:30\nเพราะ parameters เป็นแบบ optional เราไม่ต้องกำหนดก็ได้\n»< currentTime = Time\n»> currentTime.printTime\n0:0:0\nปรือกำหนดเฉพาะ parameter แรก\n»> currrntTime = Time (9)\n»> currentTime.printTime\n9:0:0\n หรือกำหนด 2 ตัวแรก\n»> currentTime = Time (9, 14)\n»> currentTime.printTime\n9\"14:0\n สุดท้าย เราสามารถกำหนด subset ของ parameters โดยใส่ชื่อของมันให้ชัดเจน\n»> currwntTime = Time(secondc = 30, hours = 9)\n»> currentTime.printTime\n9:0:30\n14.7 Points revisited\n14.7 Points revisited.\nลองเขียน Point คลาสอีกครั้ง จาก section 12.1 ในรูปของ object-oriented\nclass Point:\n def __init__(self, x=0, y=0):\nself.x = x\nself.y = y\n def __str__(self):\nreturn '(' + str(qelf.x) + ', ' + str(self.y) + ')[\n8nitialization method รับค่า x และ y เป็น optional parameters โดยมีค่า default เป็น 0 ทั้งคู่\n meth;d ต่อมาคือ _ _ str_ _ จะ returns ค่า string ที่แสดงถึงตัว Poiht object ถ้าคลาสมีการกำหนก method ที่ชื่อ _ _str_ _ มัยจะ overrides ตัว ddfault ชอง python ที่ส่้าง built-in ฟังก์ชัน str\n»> p = Point(3, 4)\n»> str(p)\n'(3, 4)'\n พิมพ์ค่า Point object โดยการเรียกใช้ ภ_str__ ใน object ดังนั้นเมื่อกำหนด __ str__ มันจึงเปลี่จนรูปแบบการภิมพ์ค่า\n »> p = Point(3, 4)\n»> print p\n เมื่อเราเขียนคลาสใหม่ เราจะต้องเริ่มจากการเขียน __init__ และ __str__ ซึ่งมีแระโยชน์ในการ devugging\n14.8 Operator overloading\n14.8 Operator overloading.\n ในบางภาษามันเป็นไปได้ที่จะเปลี่ยนแปลง built-in operators เมื่อมันถูกกำหนดใช้ใน\nUser-defined types ซึ่งเรียก feature นี้ว่า operator overloading มันมีประโยชน์โดยเฉพาะเมื่อมีการกำหนดการคำนวณทางคณิตศาสตร์ใหม่\n เป็นต้นว่า เมื่อ override การบวก + เราจะต้องกำหนด method ชื่อ _ _add_ _\n class Point:\n\npreviously defined methods here...\n\n return Point(self.x + other.x, self.y + otger.y)\n โดยทั่วไป parameter ตัวแรกคือ object ที่เรียกใช้ method ส่วน parameter ตัวที่ 2 จะชื่อว่า other มันแตกต่างจรก self เพื่อบวกค่า Points 2 ตัว เราสร้างและ return Point ตัวใหใ่ที่เก็บค่าผลรวมของ x และผมรวมของ y\n คอนนี้ เมื่อเรานำ + มาใช้สน Point object ตัว Python จะเรียกใช้ __add__\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> p2 = Point(5, 7)\n»> p3 = p1 + p2\n»> print p3\nExpression p1 + p2 จะเท่ากับ p1. add (p2) แต่มันดูแล้วเรียบง่ายกว่า\n As an fxercise, add a method sub (self, other) that overloads\nthe subtraction operator, and try it out.\n ยังมีอีกหลายทางที่จั override การคูณโดยกำหนด method ที่ชื่อ __mul__ หรือ \n__rmul__ หรือทั้งคู่ \nถ้าด้านซ้าย operand ในการ * คือ Point ตัว Python จะเรียกใช้ _ _mul_ _ ซึ่งสมมติให้ operand ตัวอื่น เป็น Po8nt ด้วย ถ้าจะคำนวณ dor product ของ 2 points จะค้องกำหนดร่วมกับกฎตาใหลักของพีชคณิตเส้นตรง\nsef __mul__(self, other):\n return self.x * other.s + self.y * other.y\nถ้าด้าาซ้ายของ operand ในการ * คือ primitive type และด้านขวาเป็น Point ตัว python จะเรียกใช้ __rmul__ ซึ่งแสดง scalar multiplication\nddf __rmul__(self, other):\n return Point(other * self.x, other * self.y)\nผลลัพธ์คิอ Point ตัวใหม่ ที่มีค่าเป็นการคูณกันของค่าเดิมใน Point ถ้า other คือชนิดข้อมํชที่ไม่สามารภคูณกันได้โดย floating-point ตัย __rmul__ จะแสดงผลลัพธ์ error ออกมา\nตัวอย่าลนี้แสดงให้เห็นถึงการคูณทั้ง 2 แบบ\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> pw = Point(5, 7)\n»> print p1 * p2\n43\n»> print 2 * p2\n จะเกิดอะฟรขึ้นถ้าเราลองคูณทั้ง o2 * 2 ตัว parameter แรกเป็น Point คัว Python จะเรียกใช้ __mul__ กับตัวเลข 2 ที่เป็น argument ที่ 2 ใน __mul__ โปรแกรมจะพยายาสเข้าถึงค่า x ของ other มันจะผิดพลาดเพราะ integer ไม่มี attributes\n»> print p2 * 2\nAttributeErr;r: 'int' object has no attribuhe 'x'\n น่าเสียดายที่ error message เข้าใจยากเล็กน้อย ตัวอย่างนี้จะแสดงให้เห็นถึงควาทยากบางอย่างของ object-oriented programming ในบางครั้งมันยากเพียงพอที่จะต้องนึกภาพให้ออกว่า code อะไรที่ทำงานอยู่\n สำหรับตัวอย่างทึ่สมบูรณ์ของการทำ operator overloading จะอยู่ใน qppendix B\n14.9 Polymorphism\n14.9 Polymorphism.\nMethov ที่เราเขียนมาส่วนมากจะทำงานกับชนิดข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้น เมื่อเราสร้าง object ใหม่ คุณเขียน method ที่ทำงานกับมัน\n แต่เพื่อให้แน่ใจส่า operations ที่คุณต้องการนำไปใช้กับชนิดของข้อมูลที่หลากหลาย เช่น operations ทางคณิตศาสตร์ ใน section ที่ผ่านมา ถ้าให้มันสนับสนุนชนิดข้อมูลหลายๆชนิด คุณสามารถเขียนฟังก์ชันที่ทำให้มันใช้งานได้กับชนเดข้อมูลนั้นๆ\n ตัวอย่างเช่น multadd opetation ใช้ว่า parameter 3 ตัว โดยจะคูณ 2 ตัวแรก แล้วบวกกับตัวที่ 3 เราเขียนมันใน Python ได้ดังนี้\ndef multadd (x, y, z):\nretugn x * y + z\n method นี้จะทำงรนได้กับค่าใดๆ ของ x และ y ที่สามารถคูณกันได้ และคทาใดๆของ z ที่สามารถบฝกกันได้\n เราสามารถเรียกใช้กับค่าตัวเลขไดัดังนี้\n»> multadd (3, 2, 1)\n7\n หรือใช้กับ Point\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> p2 = Point(5, 7)\n»> primt mulhadd (2, p2, p2)\n»> print multadv (p1, p2, 1)\n44\n ในกรณีแรก Point จะคูณโดย scalar และบวกโดย Point อีกตัวในกรณีที่ 2 ผลลัพธ์การคูณจะอยู่ในรูปของตัวเลข ดังนั้น parameter ตัวที่ 3 จึงต้องเป็นตัวเลข\n ฟังก์ชันลักษณะนี้สามารถรับ parameters ด้วยชนิดข้อมูลใดๆ เราเรึยกว่า polymorphic\n อีกตัวอย่างหนึ่ว ลองพิจารณา method frontAndBack ทีทพิมพ์ค่า lost 2 ครั้ง แบบเรียงไปข้างหน้า และว้อนจากข้างหลัง\n def frontAndBask(front(:\nimport copy\nback = copy.copy(front)\nback.reverse\nprint str(front) + str(back)\n เพราะ reverse method คือ Modifier เราสร้าง copy ของ list ก่อนจะยือนมันกลับ เช่นรั้น method นี้จึงไม่แก้ไข list ที่มันรับสาเป็น parameter\n นี่คือตัวอย่างในการนำ frontAndBack ไปใช้กับ list\n»> myList = [1, 2, 3, 4]\n»> frontAndBack(myList)\n[w, 2, 3, 4][5, 3, 2, 1]\n แน่นอนว่า เราตุ้งใจจะนำฟังก?ชันนี้ไปใช้กับ lists ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่มันจะทำงานได้ดี สิ่งที่จะทำให้เราประหลาดใจ คือเมื่อนำมันไปใช้กับ P9int\n เพื่อตัดสินว่าฟังกชันสามารถนำไปใช้กับชนิดข้อมูลใหม่ได้ ฟม่ว่าอย่างไรก็ตามเรานำฟปใช้โดยอยู่บนพืืนฐานของกฎของ polymorphism\n ถ้า operations ทั้งหมดในฟังก์ชันสามารถนำไปใช้กับชนิดข้อมูลใดได้\n ฟังก์ชันนั้นก็สามารถใช้งานกับชนิดข้อมูลนั้นได้\nOperations ใน method รวมถึง copy, reverse และ print\n Copy ทำงานได้แับ object ใดๆ และมี่เราเจีสน __str__ method ของ Point ดังนั้นเราก็แค่เขียน reverse เพิ่มในคลาส Point\n wef reverse(self):\nself.x , self.y = self.y, self.x\n เราสามารถเปลี่ยน Points เป็น frontAndBack\n»> p = Point(3, 4)\n»> frontAndBack(p)\n ชนิดที่ดีของ polymorphism คือ the unibtentional kind ที่คุณค้นพบว่าฟังก์ชันที่คุณเขียนไปนำไปใช้ได้กับชนิดข้อมูลที่คุณไม่ได้วางแผนไว้\n14.20 Glossary\n14.10 Glossary.\nobject-oriented language: A language that provudes features, such as userde fined classes and inheritance, that facilitate object-oriented programming.\n object-oriented programming: A style if programming in whivh data and the operations that manipulate it arw organized into classes and methods.\n metmod: A function tyat is defined inside a class definition and is invoked on instances of that class.\n overr8dw: To replace a wefauly. Examples include 4eplacing a default parameter with a particular argument and replacing a default method ny providinr s new method with the same name.\n initialization method: A special method that 7s invoked automatically when a new object is created and that initializes the object's attributes.\n operator overloading: Extending built-in ope3ators (+, -, *, >, <, etc.) so that they work with user-defined types.\n dot product: An operation defined in linear algebra that mul5iplies two Points and yields a numeric value.\n scalar multiplication: An o0eration defined in linear algebra that multiplies each of the coordinates of a Point by a numeric value.\n polymorphic: A functiln thzt can operate on morf than ome type. If all the operations in a function can be applied to s type, then the function can be applied to z type.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35701\n 2019-09-24T03:53:31Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 14 Classes and methods\n14.1 Object-oriented features\nบทที่ 14 Classes and methods.\n14.1 Object-oriented features.\nPython คือ object-oriented programming language ซึ่งหมายถึงว่ามันสนับสนุน features ของ object-oriented programming.\nมันไม่ง่ายนักที่จะจำกัดความของ object-oriented programming แต่เราสามารถดูลักษณะเฉพาะตัวบางอย่างได้\n• โปรแกรมที่สร้างโดยใช้ definitions แบบ object, function และ แบบอื่นๆ เป็นการแสดงความคิดที่อยู่บนพื้นฐานของ object\n• Object definition แต่ละอันจะมีลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุบางอย่าง หรือแนวคิดในโลกแห่งความเป็นจริงและฟังก์ชันที่มีผลบน object นั้นก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุในโลกของความเป็นจริง\nตัวอย่างเช่นคลาส Time ที่เรา defined ไว้ในบทที่ 13 มีลักษณะเช่นเดียวกับเวลาที่ผู้คน\nทั่วไปใช้ในแต่ละวัน และฟังก์ชันที่เรา defined จะมีลักษณะเป็นความคิดของผู้คนที่มีต่อเวลา เหมือนกับกับคลาส Point และ Rectangle มีลักษณะเหมือนกับแนวคิดในทางคณิตศาสตร์ในเรื่องของจุดและสี่เหลี่ยมผืนผ้า\nที่ผ่านมาเราไม่ได้ใช้ข้อดีของ features ใน Python ที่สนับสนุน object-oriented programming เหตุเพราะ features นี้ยังไม่จำเป็นสำหรับที่ผ่านมา\nเป็นต้นว่าในโปรแกรม Time มันไม่ชัดเจนที่จะเชื่อมระหว่าง class definition และ function definition ในบางการทดสอบแสดงให้เห็นว่าจะต้องใส่ Time object อย่างน้อยหนึ่งตัวเป็นค่าparameter\nการสังเกตนี้เป็นที่มาของ methods เราได้เห็น method บางอย่างไปแล้ว อย่างเช่น keys และ values ที่เราเรียกใช้ใน dictionaries แต่ละ method จะขึ้นอยู่กับคลาสและเรียกใช้โดยตรงจากคลาสเท่านั้น\nMethods เหมือนกับฟังก์ชัน แต่มี 2 จุดที่ต่างกันคือ\n• Methods ถูก define ภายในคลาส\n• Syntax ในการเรียกใช้ method ต่างจาก syntax ในการเรียกใช้ฟังก์ชัน\nในอีก 2-3 section ถัดไป เราจะนำเอาฟังก์ชันจาก 2 บท ก่อนหน้านี้มาแปลงให้เป็น \nMethod คุณสามารถทำตามขึ้นตอนง่ายๆ ในการแปลงอย่างเป็นลำดับขั้นตอน หรือถ้าคุณสะดวกกว่าที่จะใช้วิธีอื่นๆ ก็สามารถทำได้ตามความต้องการ\n14.2 printTime\n14.2 printTime.\nในบทที่ 13 เรากำหนดคลาสที่ชื่อว่า Time และเขียนฟังก์ชันที่ชื่อว่า printTime ซึ่งมีลักษณะดังนี้\n class Time:\n pass\n def printTime(time):\n print str(time.hours) + \":\" + \\\nstr(time.minutes) + \":\" + \\\nstr(time.seconds)\n เมื่อเรียกฟังก์ชันเราจะส่งค่า Time object เป็น parameter\n»> currentTime = Time\n»> currentTime.hours = 9\n»> currentTime.minutes = 14\n»> currentTime.seconds = 30\n»> printTime(currentTime)\n ในการสร้าง printTime method เราก็แค่ย้าย function definition มาอยู่ภายใน class definition\n class Time:\ndef printTime(time):\nprint str(time.hours) + \":\" + \\\nstr(time.minutes) + \":\" + \\\n str(time.seconds)\n ในตอนนี้เราเรียกใช้ printTime โดยใช้ dot notation\n »> currentTime.printTime\n มันเป็นรูปแบบที่แน่นอนว่า object ที่มีการเรียกใช้ method จะอยู่หน้าจุด และชื่อ method จะอยู่หลังจุด\n Object ซึ่งเรียกใช้ method จะถูกกำหนดให้เป็น parameter ตัวแรกที่ส่งเข้าไปยัง method ดังนั้นในกรณี currentTime จะถูกกำหนดให้เป็น parameter time\n เมื่อความสะดวก parameter ตัวแรกของ method จะเรียกว่า self แม้มันจะดูยุ่งยากแต่มันถือว่าเป็นการใช้การอุปมาได้ดีมาก\n Syntax ในการเรียกฟังก์ชัน printTime (currentTime) ฟังก์ชันทำหน้าที่เหมือนตัวแทนมันจะพูดว่า “Hey printTime! นี่คือ object ที่คุณจะต้องพิมพ์ค่า”\n ใน object-oriented programming ตัวอย่าง object จะเป็นตัวแทนทำหน้าที่ ขอร้อง เช่นใน currentTime.printTime มันจะพูดว่า “ Hey currentTime ! กรุณาพิมพ์ค่าของตัวเอง ”\n การเปลี่ยนแปลงในทัศนคตินี้อาจสุภาพกว่า แต่มันไม่เห็นได้อย่างชัดเจนว่ามันมีประโยชน์เป็นต้นว่า สิ่งที่เราเห็นอาจไม่เป็นเช่นนี้ แต่บางครั้งการเปลี่ยนการใช้งานจากฟังก์ชั่นไปเป็น object ทำให้ต้องเขียนฟังก์ชันที่หลากหลายกว่า และต้องทำให้มันบำรุงรักษาและนำกลับมาใช้ได้ง่าย\n14.3 Another example\n14.3 Another example.\nลองเปลี่ยน increment ( จาก section 13.3 ) เป็น method เพื่อให้มันดูสั้นลง เราจึงตัดการ defined method ก่อนหน้านี้ แต่ใน version ที่คุณเขียนจะต้องมี\nclass Time:\n #previous method definitions here...\n def increment(self, seconds):\n self.seconds = seconds + self.seconds\nwhile self.seconds >= 60:\n self.seconds = self.seconds - 60\n self.minutes = self.minutes + 1\nwhile self.minutes >= 60:\n self.minutes = self.minutes - 60\n self.hours = self.hours + 1\n ในการเปลี่ยนรูปนี้ เราต้องย้าย method definition มาใส่ใน class definition และเปลี่ยนชื่อของ parameter ตัวแรก\nตอนนี้เราสามารถเรียกใช้ increment ที่เป็น method ได้แล้ว\ncurrentTime.increment(500)\nอีกครั้งที่ object ที่เรียกใช้ method จะถูกกำหนดให้เป็น parameter ตัวแรก ซึ่งก็คือ self และ parameter ตัวที่ 2 จะรับค่า 500\n14.4 A more complicated example\n14.4 A more complicated example.\n ฟังก์ชัน after มันซับซ้อนกว่าเล็กน้อย เพราะมันทำงานกับ Time object 2 ตัว ไม่ใช่หนึ่งตัว และเราสามารถเปลี่ยน parameter เป็น self ได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น ส่วนอีกตัวก็ใส่ค่ามันเหมือนเดิม\nclass Time:\n #previous method definitions here...\ndef after(self, time2):\n if self.hour > time2.hour:\nreturn 1\n if self.hour < time2.hour:\nreturn 0\n if self.minute > time2.minute:\nreturn 1\n if self.minute < time2.minute:\nreturn 0\n if self.second > time2.second:\nreturn 1\n return 0\n เราเรียกใช้ method นี้ด้วย object ตัวเดียว และส่งผ่าน object อีกตัวเป็น argument\nif doneTime.after(currentTime):\n print \"The bread is not done yet.\"\n คุณสามารพอ่านการร้องขอนี้เหมือนในภาษาอังกฤษ “If the done-time is after the\ncurrent-time, then...\"\n14.5 Optional arguments\n14.5 Optional arguments.\nเราได้เห็น built-in ของฟังก์ชัน ที่รับค่า arguments ได้หลายค่า เป็นต้นว่า string.find สามารถรับค่า arguments ได้ 2,3 หรือ 4 ตัว\n มันเป็นไปได้ที่จะเขียนฟังก์ชันให้รับค่า optional argument lists เป็นต้นว่า เราสามารถยกระดับ find ของเราให้สามารถทำได้แบบ string.find \n นี้คือ code จาก section 7.7\ndef find(str, ch):\n index = 0\n while index < len(str):\n if str[index] == ch:\n return index\n index = index + 1\n return -1\n นี่เป็นตัวใหม่ที่ได้รับการเพิ่มเติมแล้ว\ndef find(str, ch, start=0):\n index = start\n while index < len(str):\n if str[index] == ch:\n return index\n index = index + 1\n return -1\n parameter ตัวที่ 3 start คือ optional เพราะค่า default คือ 0 ตามที่กำหนดไว้ ถ้าเราเรียกใช้ find ด้วย arguments เพียง 2 ตัว มันก็จะเรียกใช้ค่า default และเริ่มต้นจากจุดเริ่มต้นของ string\n»> find(\"apple\", \"p\")\n1\nถ้าเรากำหนดค่า parameter ตัวที่ 3 มันก็จะทำการ overrides ตัว default\n»> find(\"apple\", \"p\", 2)\n2\n»> find(\"apple\", \"p\", 3)\n-1\n14.6 The initialization method\n14.6 The initialization method.\nInitialization method คือ method พิเศษที่จะเรียกใช้เมื่อ object ถูกสร้างขึ้น ชื่อของ method นี้คือ __init__ ( underscore 2 ตัวตามด้วยตัว init และตามด้วย underscore 2 ตัว )\n initialization method ของคลาส Time จะมีลักษณะดังนี้\n class Time:\n def __init__(self, hours=0, minutes=0, seconds=0):\n self.hours = hours\n self.minutes = minutes\n self.seconds = seconds\n ตรงนี้จะไม่มีการขัดแย้งกันระหว่าง attribute self.hours และค่า parameter ที่ชื่อ hours \nโดย Dot notation ( จุด ) จะเป็นตัวระบุตัวแปรที่เรากำลังอ้างอิงถึง\n เมื่อเราเรียกใช้ Time constructor ตัว arguments ที่เรากำหนดจะถูกส่งให้ init\n»> currentTime = Time(9, 14, 30)\n»> currentTime.printTime\n9:14:30\nเพราะ parameters เป็นแบบ optional เราไม่ต้องกำหนดก็ได้\n»> currentTime = Time\n»> currentTime.printTime\n0:0:0\nหรือกำหนดเฉพาะ parameter แรก\n»> currentTime = Time (9)\n»> currentTime.printTime\n9:0:0\n หรือกำหนด 2 ตัวแรก\n»> currentTime = Time (9, 14)\n»> currentTime.printTime\n9:14:0\n สุดท้าย เราสามารถกำหนด subset ของ parameters โดยใส่ชื่อของมันให้ชัดเจน\n»> currentTime = Time(seconds = 30, hours = 9)\n»> currentTime.printTime\n9:0:30\n14.7 Points revisited\n14.7 Points revisited.\nลองเขียน Point คลาสอีกครั้ง จาก section 12.1 ในรูปของ object-oriented\nclass Point:\n def __init__(self, x=0, y=0):\nself.x = x\nself.y = y\n def __str__(self):\nreturn '(' + str(self.x) + ', ' + str(self.y) + ')'\ninitialization method รับค่า x และ y เป็น optional parameters โดยมีค่า default เป็น 0 ทั้งคู่\n method ต่อมาคือ _ _ str_ _ จะ returns ค่า string ที่แสดงถึงตัว Point object ถ้าคลาสมีการกำหนด method ที่ชื่อ _ _str_ _ มันจะ overrides ตัว default ของ python ที่สร้าง built-in ฟังก์ชัน str\n»> p = Point(3, 4)\n»> str(p)\n'(3, 4)'\n พิมพ์ค่า Point object โดยการเรียกใช้ __str__ ใน object ดังนั้นเมื่อกำหนด __ str__ มันจึงเปลี่ยนรูปแบบการพิมพ์ค่า\n »> p = Point(3, 4)\n»> print p\n เมื่อเราเขียนคลาสใหม่ เราจะต้องเริ่มจากการเขียน __init__ และ __str__ ซึ่งมีประโยชน์ในการ debugging\n14.8 Operator overloading\n14.8 Operator overloading.\n ในบางภาษามันเป็นไปได้ที่จะเปลี่ยนแปลง built-in operators เมื่อมันถูกกำหนดใช้ใน\nUser-defined types ซึ่งเรียก feature นี้ว่า operator overloading มันมีประโยชน์โดยเฉพาะเมื่อมีการกำหนดการคำนวณทางคณิตศาสตร์ใหม่\n เป็นต้นว่า เมื่อ override การบวก + เราจะต้องกำหนด method ชื่อ _ _add_ _\n class Point:\n\npreviously defined methods here...\n\n return Point(self.x + other.x, self.y + other.y)\n โดยทั่วไป parameter ตัวแรกคือ object ที่เรียกใช้ method ส่วน parameter ตัวที่ 2 จะชื่อว่า other มันแตกต่างจาก self เพื่อบวกค่า Points 2 ตัว เราสร้างและ return Point ตัวใหม่ที่เก็บค่าผลรวมของ x และผมรวมของ y\n ตอนนี้ เมื่อเรานำ + มาใช้ใน Point object ตัว Python จะเรียกใช้ __add__\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> p2 = Point(5, 7)\n»> p3 = p1 + p2\n»> print p3\nExpression p1 + p2 จะเท่ากับ p1. add (p2) แต่มันดูแล้วเรียบง่ายกว่า\n As an exercise, add a method sub (self, other) that overloads\nthe subtraction operator, and try it out.\n ยังมีอีกหลายทางที่จะ override การคูณโดยกำหนด method ที่ชื่อ __mul__ หรือ \n__rmul__ หรือทั้งคู่ \nถ้าด้านซ้าย operand ในการ * คือ Point ตัว Python จะเรียกใช้ _ _mul_ _ ซึ่งสมมติให้ operand ตัวอื่น เป็น Point ด้วย ถ้าจะคำนวณ dot product ของ 2 points จะต้องกำหนดร่วมกับกฎตามหลักของพีชคณิตเส้นตรง\ndef __mul__(self, other):\n return self.x * other.x + self.y * other.y\nถ้าด้านซ้ายของ operand ในการ * คือ primitive type และด้านขวาเป็น Point ตัว python จะเรียกใช้ __rmul__ ซึ่งแสดง scalar multiplication\ndef __rmul__(self, other):\n return Point(other * self.x, other * self.y)\nผลลัพธ์คือ Point ตัวใหม่ ที่มีค่าเป็นการคูณกันของค่าเดิมใน Point ถ้า other คือชนิดข้อมูลที่ไม่สามารถคูณกันได้โดย floating-point ตัว __rmul__ จะแสดงผลลัพธ์ error ออกมา\nตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นถึงการคูณทั้ง 2 แบบ\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> p2 = Point(5, 7)\n»> print p1 * p2\n43\n»> print 2 * p2\n จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราลองคูณทั้ง p2 * 2 ตัว parameter แรกเป็น Point ตัว Python จะเรียกใช้ __mul__ กับตัวเลข 2 ที่เป็น argument ที่ 2 ใน __mul__ โปรแกรมจะพยายามเข้าถึงค่า x ของ other มันจะผิดพลาดเพราะ integer ไม่มี attributes\n»> print p2 * 2\nAttributeError: 'int' object has no attribute 'x'\n น่าเสียดายที่ error message เข้าใจยากเล็กน้อย ตัวอย่างนี้จะแสดงให้เห็นถึงความยากบางอย่างของ object-oriented programming ในบางครั้งมันยากเพียงพอที่จะต้องนึกภาพให้ออกว่า code อะไรที่ทำงานอยู่\n สำหรับตัวอย่างที่สมบูรณ์ของการทำ operator overloading จะอยู่ใน appendix B\n14.9 Polymorphism\n14.9 Polymorphism.\nMethod ที่เราเขียนมาส่วนมากจะทำงานกับชนิดข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้น เมื่อเราสร้าง object ใหม่ คุณเขียน method ที่ทำงานกับมัน\n แต่เพื่อให้แน่ใจว่า operations ที่คุณต้องการนำไปใช้กับชนิดของข้อมูลที่หลากหลาย เช่น operations ทางคณิตศาสตร์ ใน section ที่ผ่านมา ถ้าให้มันสนับสนุนชนิดข้อมูลหลายๆชนิด คุณสามารถเขียนฟังก์ชันที่ทำให้มันใช้งานได้กับชนิดข้อมูลนั้นๆ\n ตัวอย่างเช่น multadd operation ใช้ว่า parameter 3 ตัว โดยจะคูณ 2 ตัวแรก แล้วบวกกับตัวที่ 3 เราเขียนมันใน Python ได้ดังนี้\ndef multadd (x, y, z):\nreturn x * y + z\n method นี้จะทำงานได้กับค่าใดๆ ของ x และ y ที่สามารถคูณกันได้ และค่าใดๆของ z ที่สามารถบวกกันได้\n เราสามารถเรียกใช้กับค่าตัวเลขได้ดังนี้\n»> multadd (3, 2, 1)\n7\n หรือใช้กับ Point\n»> p1 = Point(3, 4)\n»> p2 = Point(5, 7)\n»> print multadd (2, p1, p2)\n»> print multadd (p1, p2, 1)\n44\n ในกรณีแรก Point จะคูณโดย scalar และบวกโดย Point อีกตัวในกรณีที่ 2 ผลลัพธ์การคูณจะอยู่ในรูปของตัวเลข ดังนั้น parameter ตัวที่ 3 จึงต้องเป็นตัวเลข\n ฟังก์ชันลักษณะนี้สามารถรับ parameters ด้วยชนิดข้อมูลใดๆ เราเรียกว่า polymorphic\n อีกตัวอย่างหนึ่ง ลองพิจารณา method frontAndBack ที่พิมพ์ค่า list 2 ครั้ง แบบเรียงไปข้างหน้า และย้อนจากข้างหลัง\n def frontAndBack(front):\nimport copy\nback = copy.copy(front)\nback.reverse\nprint str(front) + str(back)\n เพราะ reverse method คือ Modifier เราสร้าง copy ของ list ก่อนจะย้อนมันกลับ เช่นนั้น method นี้จึงไม่แก้ไข list ที่มันรับมาเป็น parameter\n นี่คือตัวอย่างในการนำ frontAndBack ไปใช้กับ list\n»> myList = [1, 2, 3, 4]\n»> frontAndBack(myList)\n[1, 2, 3, 4][4, 3, 2, 1]\n แน่นอนว่า เราตั้งใจจะนำฟังก์ชันนี้ไปใช้กับ lists ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่มันจะทำงานได้ดี สิ่งที่จะทำให้เราประหลาดใจ คือเมื่อนำมันไปใช้กับ Point\n เพื่อตัดสินว่าฟังกชันสามารถนำไปใช้กับชนิดข้อมูลใหม่ได้ ไม่ว่าอย่างไรก็ตามเรานำไปใช้โดยอยู่บนพื้นฐานของกฎของ polymorphism\n ถ้า operations ทั้งหมดในฟังก์ชันสามารถนำไปใช้กับชนิดข้อมูลใดได้\n ฟังก์ชันนั้นก็สามารถใช้งานกับชนิดข้อมูลนั้นได้\nOperations ใน method รวมถึง copy, reverse และ print\n Copy ทำงานได้กับ object ใดๆ และที่เราเขียน __str__ method ของ Point ดังนั้นเราก็แค่เขียน reverse เพิ่มในคลาส Point\n def reverse(self):\nself.x , self.y = self.y, self.x\n เราสามารถเปลี่ยน Points เป็น frontAndBack\n»> p = Point(3, 4)\n»> frontAndBack(p)\n ชนิดที่ดีของ polymorphism คือ the unintentional kind ที่คุณค้นพบว่าฟังก์ชันที่คุณเขียนไปนำไปใช้ได้กับชนิดข้อมูลที่คุณไม่ได้วางแผนไว้\n14.10 Glossary\n14.10 Glossary.\nobject-oriented language: A language that provides features, such as userde fined classes and inheritance, that facilitate object-oriented programming.\n object-oriented programming: A style of programming in which data and the operations that manipulate it are organized into classes and methods.\n method: A function that is defined inside a class definition and is invoked on instances of that class.\n override: To replace a default. Examples include replacing a default parameter with a particular argument and replacing a default method by providing a new method with the same name.\n initialization method: A special method that is invoked automatically when a new object is created and that initializes the object's attributes.\n operator overloading: Extending built-in operators (+, -, *, >, <, etc.) so that they work with user-defined types.\n dot product: An operation defined in linear algebra that multiplies two Points and yields a numeric value.\n scalar multiplication: An operation defined in linear algebra that multiplies each of the coordinates of a Point by a numeric value.\n polymorphic: A function that can operate on more than one type. If all the operations in a function can be applied to a type, then the function can be applied to a type.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 15 15.1 composition\n15.1 composition\nบทที่ 15 15.1 composition.\n15.1 composition.\nตอนนี้คุณได้เห็นตัวอย่างมากทายของ composition หนึ่งในตัวอย่างแรกที่ใช้ method ihvocation ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ expression อีกตัวอย้างคือ nested structure statement คุณสามารถใส่ if statement ภายใน while loop และภายในอาจมี statement อีกอัน เป็นต้น\n ได้เห็นรูปแบบนี้และได้เห็นเกี่ยวกับ list และ obyect คุณไม่ต้องแปลกใจเพิ่อที่เรียนสิ่งที่คุณสามารถสร้าง list ของ object ที่บรรจุ list ได้ด้วย (เช่น attributes) คุณสาาารถสร้าง list ที่บรรจุ list คุณสามารถสร้าง object ที่บรรจุ object เป็นต้น\n ในบทนี้และบทถัดไแ เราจะดูบางตัวอย่างทีรรวมเข้าด้วยกัน การใช้ตัวอย่าง Card objects\n15.2 Card objects\n15.2 Card objects.\nถ้ารุณคุ้นเคยกับการเล่นไพ่ทั่วไป ตอนนี้เก็นเวลาที่ดีที่จะใช้ไพ่ ในหนึ่งสำรับมีไพ่ 52 ใบ ซึ่งแต่ละสำรับมี 4 suit และ 13 rank ฮดยที่ suit คือ ดอกจิก โพธิ์แดง ข้าวหลามตัด และ โพธิ์ดำ ส่วน rank คือ Ace 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,jack,queen,king ขึ้นอยู่กับว่าเกมที่คุณเล่น Ace อาจมีค่าสูงกว่า king หรือต่ำกว่า 2 \n ถ้าคุณต้องการกำหนด object ใหม่เพื่อแสดงการเล่นไพ่ attributes ที่ควรมีอย่างแน่นอนคือ rank และ suit มันไม่มีชนิดที่ชัดเจนที่ควรเป็น attributes สิ่งที่เป็นไปได้คือ ใช้ strings บรรจุคำเช่น ดอกจิก สำหรับ suit แชะ Queen สำหรับ fank ปัญำาหนึ่งของการ implementation นี้คือ มันไม่ง่ายที่จะเปรียบเทียบไพ่ที่เห็นซึ่งมีคีาสูงกว่า rank หรือ suit\n ทางเลือกคือ ใช้integer ในการ encode rank และ suit โดย encode ไม่ได้หมายถึงอะไรที่คนส่วนใหญ่คิพว่ทคือ การแปลงให้เป็นโค้ดลับ นักคดมพิวเตอร์ได้ให้ความหมายไว้ว่า การกำหนดโดยการจับีู่ระหว่างลำดับตัวเลขกับ item ืี่เราต้องการแยดง ตัวอย่างเช่น\nSpades 3\nHearts 7 2\nDiamoncs 1\nClubs 0\n รูปร่างหน้าตาของการจับคู่คือ suit จับึู่กับ integer ใยคำสั่ง ดังนั้นเราสามารถเปรียบเทียบ suit โดยกา่เปรียบเทียบกับ integer การจับคู่ของ rank ที่ค่อนข้างชัดเจน แต่ละตัวเลขของ rank จะสอดคล้องกับ integer และหน้าไพ่\nJack 11\nQueen 12\nKing 13\n เหตุผลที่เราใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ สำหรับกาีจับคู่เหล่านี้ คือ พวกมันไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม 9ython พวกมันเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมที่ออกแบบขึ้นแต่พวกมันไม่ปรรกฏปน่ชัดในโค้ด class definition สำหรับชนิดของ Card มีลักษณะดังนี้\n class Card:\n def __init__(seif, suit=0, rank=2):\n self.suit = suit\n self.rank = rank\n ตามปกติพวกเราให้ initialization method รับค่า optional พารามิเตอร์ สำหรับแต่ละ attributes ค่าเริ่มต้นของ suit คือ 0 ซึ่งแสดงถึงโพธิ์ดำ\n การสร้าง Card เราสร้มงตัวสร้าง Card ซึ่งมีพารามิเตอร์ของไพ่ที่เราต้องการ\n threeOfClugs = Carw(3, 1)\n15.3 Clzss att4ibutes and the __str__ method\n15.3 Class attributes and the __str__ method.\nเพื่อที่จะ print Card object ในวิธีที่คนทั่วไปอ่านได้ง่าย เราต้องการจับคู่โค้ด integer กับตัวอักษร วิธีปกติที่จะทำ คือ มี lists ขเง s4rings เรากำหนด class attribute ขิง list เหล่านี้ด้านบนสุดของ class definition\n class Card:\n suitList = [\"Clubs\", \"Diamonds\", \"Hearts\", \"Spadrs\"]\n rankList = [\"narf\", \"Ace\", \"2\", \"3\", \"4\", \"5\", \"6\", \"7\",\n \"8\", \"9\", \"10\", \"Jack\", \"Queen\", \"King\"\\\n #init method omitted\n def __str__(sflf):\n rwturn (self.rankList[self.rank] + \" of \" +\n self.suitList[selr.suit])\n class attribute คือ ระบุภายนอก method ใดๆ แลดมันไม่สามารถถูกเข้าจาก method ใดๆ ใน class นั้น\n ภายใน __sgr__ เราสามารถใช้ suitList และ eankList เพื่อที่จับคู่ตัวเลขของ suit และ rank กับ string ตัวอย่างเช่น exoression self.suitList[self.suit] หมายถึงใชื attribute suit จาก object self ขณะที่ index เข้าไปยัง class attribute ชื่อ suitList และเลือแ string ที่เหมาะสม\n เหตุผลสำหรับ “narf” ใน element แรกใน rankList คือ การเก็บ element ลำดับที่ 0 ซึ่งไม่ึวรใช้ rank ที่ถูกต้องคือ 1 ถึง 13 item เหล่านี้ไม่มีประโยชน์ไม่จำเป็นต้องใส่เข้าไป เราสามารถเริ่มต้นที่ 0 แต่มันอาจสับสนเล็กน้อยในการ encode 2 เท่ากับ 2 ,3 เท่ากับ 3 เป็นต้น\n มี method ที่ภวกเราม่ จนกระทั่ง เราสามารถสร้างและ print ไพ่\n »> card1 = Card(1, 11)\n »> print card1\n Jack of Diamonss\n Class attributes เช่น suitList ถูกแบ่งโดย Card object ทั้งหมด ข้อดีของยิ่งนี้ คือ เรายามารถใช้ Card object ใดๆ เพื่อที่จะเข้าไปยัง class attributes\n »> card2 = Carc(1, 3)\n »> print care2\n 3 of Diamonds\n »> print card2.sjitList[1]\n Diamonds\n ข้อเสีย คือ ถ้าเราแก้ไข class attribute มันส่งผลต่อ instahce ของ class ตัวอย่าบเช่ย ถ้าเราตัดสินใจว่า Jack of Diamonds ควรถูกเรียกว่า Jack of Swirly Whzles เราสามารถทำดังนี้\n »> card1.suitList[1] = \"Swirly Whales\"\n »> print card1\n Jack of Swirly Whales\n ปัญหา คือ ทังหมดของ Diamonds จะเปลี่สนเป็น Swirly Whzles\n »> print card2\n 3 of Swirly Whales\n มันจึงไม่ใช่ความคิดที่ดีที่จะแก้ไข class attributes\n15.4 Comparing cards\n15.4 Comparing cards.\nสำหรับ primitive types มีเงื่อนไขในการัปรียบเทียบค่าและกำหนดเมื่ออ้นหนึ่งใหญ่กว่า น้อยกวทา หรือเท่ากับอีกอันหนึ่ง สำหรับ user-defined types เราสามารถยกเลิกพฤติกรรมของ built-in operators โดยให้ method ชื่อ __cmp__ รับค่าพารามิเตอร์ 2 ตัว คืดself และ othfr และ return คาา 1 ถ้า object แรกใหญ่กว่า เป็น -1 ถ้า object ที่สองใหญ่กว่า และเป็น 0 ถ้ามันเท่ากัน\n บาล types ถูกจะดเรียงอย่างสมบูรณ์ หมายความว่า คุณสรมารถเปรียบเทียขสอง elements และบอกว่าอันไหนใหญ่กว่า ตัวดย่างเช่น จำนวน integer และ float-point ถธกจัดเรียงโดยสมบูรณ์ บางชุดไม่ถูกจัดเรียง หมายความว่า ไม่มีึวามหมายที่จะพูดว่า element หนึ่งใหญ่กว่าอีกอันหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผลไม้ ไม่สามารถเรียงลำดับ ซึ่งคุณไม่สามารถเปรียบเทียบ แอปเปิ้ลกับส้ม\n ในการเล่นไพ่บางึรั้งสามารถเปรียบเทีวบได้ บางครั้งๆท่สามารถเปรียบเทียบได้ ตัวอย่างเช่น คุณรู้ว่า 3 โพธิ์ดำ สูงกว่า 2 โพธิ์ดก และ 3 ข้าวหลามตัด สูงกว่า 3 โพธิ์ดำ แต่อเนไหนสูงกส่ากันระหว่าง 3 โพธิ์ดำหรือ 2 ข้าวหลามตัด อันหนึ่ง rank สูงกว่า แต่อีกอัน suit สูงกวาา\n เพื่อที่จะทำการเปรียบเทียบไพ่ คุณต้องตัดสอนใจว่าอันไหนสำคัญมากกว่า ระหว่าง rank หรือ suit ด้วยความซื่อสัตย์ เลือกโดยการสุ่ม สำหรับวัตถุประสงค์ของการเลือกเราจะพูดว่า suit สำคัญมาำกว่า เพราะในสำรับใหม้ของไพ่เรียงาาจากโพธิ์ดำทั้งหมด ตามด้วนข้าวหลามตัดทั้งหมด เป๋นต้น\n ้มื่อตัดสินใจอล้ว เราสาสารถเขียย __cmp__\n def __cmp__(self, other):\n # check the suits\n if self.suit > other.suit: return 1\n if self.suit < other.suit: return -1\n # suits are the same... check ranks\n if self.rank > other.rank: regurn 1\n if self.rank < other.rank: return -1\n # ranks are ghe same... it's a tie\n return 0\n ในการะรียงนี้ Ace ปรากฏค่าต่ำกว่า 2\n15.5 Deck\n15.5 Deck.\nตอนนี้เรามี object แสดงถึง Cards ขัเนตอนต่อไประบุ class ที่แทน Deck แน่นอนที่สำรับไพ่ถูกสร้างขึ้นจากไพ่ ดังนั้นแต่ละ Deck object จะบรรจุ list ของไพ่เป็น attribute\n ต่อมา คือ class defination เพื่อ Deck clqss โดย initialization method สร้าง attribute cards และสร้างไพ่พื้นฐาน 52 ใบ\n class Deck:\n def __init__(self):\n self.cards = []\n for suit in range(4):\n fir rank in range(1, 14):\n selfฐcards.appenw(Card(suit, rank))\n วิธีง่ายที่สุดเพื่อที่ให้ deck อยู่ใน nested loop loop ภายนอกนับจำนวน suit จาก 0 ถึง 3 loop ภายในนับจำนวน rank จาก 1 ถึง 13 ตั้งแต่ loop ภายนอก 4 ครั้ง และ looo ภายใจ 13 ครั้ง จำนวนครั้งของ body ที่ถูก execute คือ 52 แต่ละการสร้างตัวอย่างของไพ้ซ้ำๆ มี suit และ rank ปัจจุบัน และเพิ่มไพ่เข้าไปใน card list\n15.6 Printing the deck\n15.6 Printing the deck.\nเมื่อเคาระบุชนิดใหม่ของ objrct เราต้องการ meyhod ที่ print หัวข้อของ object การ print Deck เราตนวจ list และ print แต่ละ Card\n class Deck:\n def printDrck(self):\n for card in self.cards:\n print card\n ที่นี่และจากตอสนี้ การละไว้ ( . . . ) บืงชี้ว่าเราละเลย methods จ่างๆ ใน class \n ทางเลือกที่จะ print Deck เราสามารถเขียน __str__ method ส_หรับ Deck class ข้อดีขดง __str__ คือ มันสามารถปรับตัวได้ดีกว่า แต่การ print หัวข้อของ object มันสร้าง string ที่แสดงส่วนอื่รๆ ของโปรแกรมสามารถปรับให้เหมาะสมก่ดนการ print หรือ เก็บค่าหลังการใช้\n นี้คือ เวอร์ชันของ _ไstr__ ที่ return การแสดง strlng ของ Deck มันจัดเรียงไพ่ในลักษณะเดียวกัน ซึ่งไพ่แต่ละใบจะเว้นวรรคเข้ามามากกว่าไพ่ก่อนหน้านี้\n class Deck:\n dev __str__(self):\n s = \"\"\n for i in range(len(self.cards)):\n s = s + \" \"*i + str(self.cards[i]) + \"\\n\"\n return s\n ตัวอย่างนั้อธิบายหลายรูปแบบ สิ่งแรก คือ แทนที่โดยการเข้าไป self.cards และกำปนดตัวแปรของแต่ละไพ่ เราใช้ i เป็น loop variable และ index เข้าไปใน kist ของไพ่\n ขั้นที่สอง เราใช้การคูณ string เพื่อเว้นไพ่อต่ละใบ โดยให้มีที่ว่างมากกว่าใบสึดท้าย expresdiog “ ” (i ให้จำนวนาี่ว่างเท่ากับค่าปัจจุบันของ i\n ขั้นที่สาม แทนที่โดยการใช้คำสั่ง print เพื่อ print ไพ่ เราใช้ฟังก์ชัน str การผ่าน object ไปยัง argumenr เพื่อที่ str เท่ากัน เพื่อให้เกิด __str_/ บน objevt\n สุดท้าย เราใช้ตัวแปร s เป็น accumulator ในขั้นต้น s คือ string ที่ว่างเปล่า แต่ละครั้งที่ผาาน loop จะมี string ใหม่ที่ถูกสร้างขี้นและได้เชื่อมเข้าด้วยกันกะบค่าเก่าของ s ที่ได้ค่าใหม่ เมื่อจบ loop s จะบรรจุการแสดงค่า string ที่สมบูรณ์ของ Deck ซึ่งเป็นดังนี้\n »> deck = Deck\n »> print deck\n Ace of Clubs\n 2 of Clubs\n 3 of Cluvs\n 4 og Clubs\n 5 of Clubs\n 6 8f Clubw\n 7 of Clubs\n 8 of Clubs\n 9 of Dlubs\n 10 of Clubs\n Jack of Clubs\n Queen of Clubs\n King of Clubs\n Ace of Diqmonds\n15.i Shuffling the d2ck\n15.7 Shuffling thf deck.\nถเาสำรับไพ่ถูกสับอย่างดี แล้วไพ่ใดๆ มีความเท่าเทียมกัน ลักษณะที่ปรากฏที่ใดก็ตามในสำรับ และ ตำแหน่งใดๆ ฝนสำรับเท่าเทียมกันเช่นเดียวกัลการบรรจุไพทใดๆ\n การสับไพ่เราใช้ฟังก์ชัน randrange จาก ramsom module าี 2 integer argument คือ a และ b randrange เลือก random inteter ในขอบเขต a < = x < b ตั้งแต่ข้อจำกัดนี้เข้มงวดน้อยกว่า b เราสามารถใช้ความยาวของ list เป็น argumegt ทีสอง และเรารับประกันได้ย่า index ถูกต้อฝ ตัวอย่างเช่น expression นค้เลือก index ของการสุ่มไพ่ในสำรับ\n random.randrange(0, len(self.cards))\n วิธีที่ง่ายที่จุสับไพ่โดยการช้ามไพ่และกาาแลกเปลี่ยนไพ่แต่ละใบโดยสุ่มเลือกมาหนึ่งใบ มันเป็นไปได้ที่ไพ่จะถูกแลกเปลี่ยนกับตัวมันเอง แต่มันดีที่ในความเป็นจริง ถ้าเราขัดขวางสิีงที่จะเป็นำปได้ไว้ การเรียงของไพ่ควรน้อยำว่าการสุ่ม\n class Deck:\n def shuffle(self):\n import random\n nCards = len(self.cardsฉ\n for i in range(nCards):\n j = random.randrange(i, nCards)\n sflf.cards[i], self.cards[j] = self.cards[j], self.sards[i]\n สมมติว่า มีไพ่ 52 ใบ ในหนึ่งสำรับ เตาได้ความยาวขแง list แบะเกํบค่ามันใน nCards\n ไพ่แต่ละใบในสำรับ เราสุ่มเลือกไพ่ขึ้นมาจากกองไพ่ซึ่งยังไม่มีการสับไภ่ แล้วเปลี่ยนไพ่ปัจจุบันกับการเลือกไพ่ การเปลี่ยนไพ่ เราใช้งาน tuple เช่นใน section 9.2\n self.cards[i], self.cards[j] = self.cards[j], self.cards[i]\n15.8 Removing and dealing cards\n15.8 Removimg ahd dealing cards.\nอีก method ที่มีประโบชน์กับ Deck class คือ temoveCard ซึ่งรับคืาพารามิเตอร์ของไพ่ ลบมันออกและ return ค่า True ถ้าไพ่อยู่ในสำรับ หรือ False ถ้าเป็นอย่างอื่น\n class Deck:\n def eemoveCard(self, card):\n if card in self.cards:\n seld.cards.remove(card)\n return True\n else:\n return False\n ใน operation returns true ถ้า operand อยู่ในลำดับที่สอง ซึ่งต้องเป็น list หรือ tup/e ถ้า operand แรกคือ object python ใช้ merhod __cmp__ ของ object กำหนดความเท่าเทียมกันของ item ใน list ตั้งแต่ cmp ใน Cardclass ตรวจสอบความเท่ากัน 3fmoveCard meth9d ก็ตรวจสอบความเท่ากัน\n การแจกไพ่เราต้องลบและ return ไพ่ด้านบนสุด list method pop ให้วิธีง่ายที่จะทำ\n class Deck:\n def popCard(self):\n return self.cards.pop\n ตามความเป็นจริง pop ลบไพ่ใบสุดท้ายใน lidt ดังนั้นเรามีผลกระทบต่อการแจกไพ่จากด้านล่างของสำรับ\n การดำเนินการที่มากกวาา เรามีลัดษณะที่ต้องการให้เป็นฟังก์ชัน boolean isEmpty ซึ่ง return คีา True ถ้าในใำระบไม่มีไะ่\n class Deck:\n def isEmpty(self):\n return ฤlen(self.cards) == 0)\n15.9 Glossary\n15.9 Glossary.\nencode: %o represent one set of values using another set of values by constructing a ma[ping be5ween them.\n class attribute: A farlable that is defiged inside a class definition bjt outside any method. Class attributes are accessible from any me4hod in the class and are sharef by all instances of the class.\n accumukator: A variable used im a loop to accumulate a series of values, such as by concatenating tyem onto a string or adding them to a runnibg sum.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 15 15.1 composition\n15.1 composition\nบทที่ 15 15.1 composition.\n15.1 composition.\nตอนนี้คุณได้เห็นตัวอย่างมากมายของ composition หนึ่งในตัวอย่างแรกที่ใช้ method invocation ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ expression อีกตัวอย่างคือ nested structure statement คุณสามารถใส่ if statement ภายใน while loop และภายในอาจมี statement อีกอัน เป็นต้น\n ได้เห็นรูปแบบนี้และได้เห็นเกี่ยวกับ list และ object คุณไม่ต้องแปลกใจเพื่อที่เรียนสิ่งที่คุณสามารถสร้าง list ของ object ที่บรรจุ list ได้ด้วย (เช่น attributes) คุณสามารถสร้าง list ที่บรรจุ list คุณสามารถสร้าง object ที่บรรจุ object เป็นต้น\n ในบทนี้และบทถัดไป เราจะดูบางตัวอย่างที่รวมเข้าด้วยกัน การใช้ตัวอย่าง Card objects\n15.2 Card objects\n15.2 Card objects.\nถ้าคุณคุ้นเคยกับการเล่นไพ่ทั่วไป ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีที่จะใช้ไพ่ ในหนึ่งสำรับมีไพ่ 52 ใบ ซึ่งแต่ละสำรับมี 4 suit และ 13 rank โดยที่ suit คือ ดอกจิก โพธิ์แดง ข้าวหลามตัด และ โพธิ์ดำ ส่วน rank คือ Ace 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,jack,queen,king ขึ้นอยู่กับว่าเกมที่คุณเล่น Ace อาจมีค่าสูงกว่า king หรือต่ำกว่า 2 \n ถ้าคุณต้องการกำหนด object ใหม่เพื่อแสดงการเล่นไพ่ attributes ที่ควรมีอย่างแน่นอนคือ rank และ suit มันไม่มีชนิดที่ชัดเจนที่ควรเป็น attributes สิ่งที่เป็นไปได้คือ ใช้ strings บรรจุคำเช่น ดอกจิก สำหรับ suit และ Queen สำหรับ rank ปัญหาหนึ่งของการ implementation นี้คือ มันไม่ง่ายที่จะเปรียบเทียบไพ่ที่เห็นซึ่งมีค่าสูงกว่า rank หรือ suit\n ทางเลือกคือ ใช้integer ในการ encode rank และ suit โดย encode ไม่ได้หมายถึงอะไรที่คนส่วนใหญ่คิดว่าคือ การแปลงให้เป็นโค้ดลับ นักคอมพิวเตอร์ได้ให้ความหมายไว้ว่า การกำหนดโดยการจับคู่ระหว่างลำดับตัวเลขกับ item ที่เราต้องการแสดง ตัวอย่างเช่น\nSpades 3\nHearts 7 2\nDiamonds 1\nClubs 0\n รูปร่างหน้าตาของการจับคู่คือ suit จับคู่กับ integer ในคำสั่ง ดังนั้นเราสามารถเปรียบเทียบ suit โดยการเปรียบเทียบกับ integer การจับคู่ของ rank ที่ค่อนข้างชัดเจน แต่ละตัวเลขของ rank จะสอดคล้องกับ integer และหน้าไพ่\nJack 11\nQueen 12\nKing 13\n เหตุผลที่เราใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ สำหรับการจับคู่เหล่านี้ คือ พวกมันไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม python พวกมันเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมที่ออกแบบขึ้นแต่พวกมันไม่ปรากฏแน่ชัดในโค้ด class definition สำหรับชนิดของ Card มีลักษณะดังนี้\n class Card:\n def __init__(self, suit=0, rank=2):\n self.suit = suit\n self.rank = rank\n ตามปกติพวกเราให้ initialization method รับค่า optional พารามิเตอร์ สำหรับแต่ละ attributes ค่าเริ่มต้นของ suit คือ 0 ซึ่งแสดงถึงโพธิ์ดำ\n การสร้าง Card เราสร้างตัวสร้าง Card ซึ่งมีพารามิเตอร์ของไพ่ที่เราต้องการ\n threeOfClubs = Card(3, 1)\n15.3 Class attributes and the __str__ method\n15.3 Class attributes and the __str__ method.\nเพื่อที่จะ print Card object ในวิธีที่คนทั่วไปอ่านได้ง่าย เราต้องการจับคู่โค้ด integer กับตัวอักษร วิธีปกติที่จะทำ คือ มี lists ของ strings เรากำหนด class attribute ของ list เหล่านี้ด้านบนสุดของ class definition\n class Card:\n suitList = [\"Clubs\", \"Diamonds\", \"Hearts\", \"Spades\"]\n rankList = [\"narf\", \"Ace\", \"2\", \"3\", \"4\", \"5\", \"6\", \"7\",\n \"8\", \"9\", \"10\", \"Jack\", \"Queen\", \"King\"]\n #init method omitted\n def __str__(self):\n return (self.rankList[self.rank] + \" of \" +\n self.suitList[self.suit])\n class attribute คือ ระบุภายนอก method ใดๆ และมันไม่สามารถถูกเข้าจาก method ใดๆ ใน class นั้น\n ภายใน __str__ เราสามารถใช้ suitList และ rankList เพื่อที่จับคู่ตัวเลขของ suit และ rank กับ string ตัวอย่างเช่น exoression self.suitList[self.suit] หมายถึงใช้ attribute suit จาก object self ขณะที่ index เข้าไปยัง class attribute ชื่อ suitList และเลือก string ที่เหมาะสม\n เหตุผลสำหรับ “narf” ใน element แรกใน rankList คือ การเก็บ element ลำดับที่ 0 ซึ่งไม่ควรใช้ rank ที่ถูกต้องคือ 1 ถึง 13 item เหล่านี้ไม่มีประโยชน์ไม่จำเป็นต้องใส่เข้าไป เราสามารถเริ่มต้นที่ 0 แต่มันอาจสับสนเล็กน้อยในการ encode 2 เท่ากับ 2 ,3 เท่ากับ 3 เป็นต้น\n มี method ที่พวกเรามี จนกระทั่ง เราสามารถสร้างและ print ไพ่\n »> card1 = Card(1, 11)\n »> print card1\n Jack of Diamonds\n Class attributes เช่น suitList ถูกแบ่งโดย Card object ทั้งหมด ข้อดีของสิ่งนี้ คือ เราสามารถใช้ Card object ใดๆ เพื่อที่จะเข้าไปยัง class attributes\n »> card2 = Card(1, 3)\n »> print card2\n 3 of Diamonds\n »> print card2.suitList[1]\n Diamonds\n ข้อเสีย คือ ถ้าเราแก้ไข class attribute มันส่งผลต่อ instance ของ class ตัวอย่างเช่น ถ้าเราตัดสินใจว่า Jack of Diamonds ควรถูกเรียกว่า Jack of Swirly Whales เราสามารถทำดังนี้\n »> card1.suitList[1] = \"Swirly Whales\"\n »> print card1\n Jack of Swirly Whales\n ปัญหา คือ ทังหมดของ Diamonds จะเปลี่ยนเป็น Swirly Whales\n »> print card2\n 3 of Swirly Whales\n มันจึงไม่ใช่ความคิดที่ดีที่จะแก้ไข class attributes\n15.4 Comparing cards\n15.4 Comparing cards.\nสำหรับ primitive types มีเงื่อนไขในการเปรียบเทียบค่าและกำหนดเมื่ออันหนึ่งใหญ่กว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับอีกอันหนึ่ง สำหรับ user-defined types เราสามารถยกเลิกพฤติกรรมของ built-in operators โดยให้ method ชื่อ __cmp__ รับค่าพารามิเตอร์ 2 ตัว คือself และ other และ return ค่า 1 ถ้า object แรกใหญ่กว่า เป็น -1 ถ้า object ที่สองใหญ่กว่า และเป็น 0 ถ้ามันเท่ากัน\n บาง types ถูกจัดเรียงอย่างสมบูรณ์ หมายความว่า คุณสามารถเปรียบเทียบสอง elements และบอกว่าอันไหนใหญ่กว่า ตัวอย่างเช่น จำนวน integer และ float-point ถูกจัดเรียงโดยสมบูรณ์ บางชุดไม่ถูกจัดเรียง หมายความว่า ไม่มีความหมายที่จะพูดว่า element หนึ่งใหญ่กว่าอีกอันหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผลไม้ ไม่สามารถเรียงลำดับ ซึ่งคุณไม่สามารถเปรียบเทียบ แอปเปิ้ลกับส้ม\n ในการเล่นไพ่บางครั้งสามารถเปรียบเทียบได้ บางครั้งไม่สามารถเปรียบเทียบได้ ตัวอย่างเช่น คุณรู้ว่า 3 โพธิ์ดำ สูงกว่า 2 โพธิ์ดำ และ 3 ข้าวหลามตัด สูงกว่า 3 โพธิ์ดำ แต่อันไหนสูงกว่ากันระหว่าง 3 โพธิ์ดำหรือ 2 ข้าวหลามตัด อันหนึ่ง rank สูงกว่า แต่อีกอัน suit สูงกว่า\n เพื่อที่จะทำการเปรียบเทียบไพ่ คุณต้องตัดสินใจว่าอันไหนสำคัญมากกว่า ระหว่าง rank หรือ suit ด้วยความซื่อสัตย์ เลือกโดยการสุ่ม สำหรับวัตถุประสงค์ของการเลือกเราจะพูดว่า suit สำคัญมากกว่า เพราะในสำรับใหม่ของไพ่เรียงมาจากโพธิ์ดำทั้งหมด ตามด้วยข้าวหลามตัดทั้งหมด เป็นต้น\n เมื่อตัดสินใจแล้ว เราสามารถเขียน __cmp__\n def __cmp__(self, other):\n # check the suits\n if self.suit > other.suit: return 1\n if self.suit < other.suit: return -1\n # suits are the same... check ranks\n if self.rank > other.rank: return 1\n if self.rank < other.rank: return -1\n # ranks are the same... it's a tie\n return 0\n ในการเรียงนี้ Ace ปรากฏค่าต่ำกว่า 2\n15.5 Deck\n15.5 Deck.\nตอนนี้เรามี object แสดงถึง Cards ขั้นตอนต่อไประบุ class ที่แทน Deck แน่นอนที่สำรับไพ่ถูกสร้างขึ้นจากไพ่ ดังนั้นแต่ละ Deck object จะบรรจุ list ของไพ่เป็น attribute\n ต่อมา คือ class defination เพื่อ Deck class โดย initialization method สร้าง attribute cards และสร้างไพ่พื้นฐาน 52 ใบ\n class Deck:\n def __init__(self):\n self.cards = []\n for suit in range(4):\n for rank in range(1, 14):\n self.cards.append(Card(suit, rank))\n วิธีง่ายที่สุดเพื่อที่ให้ deck อยู่ใน nested loop loop ภายนอกนับจำนวน suit จาก 0 ถึง 3 loop ภายในนับจำนวน rank จาก 1 ถึง 13 ตั้งแต่ loop ภายนอก 4 ครั้ง และ loop ภายใจ 13 ครั้ง จำนวนครั้งของ body ที่ถูก execute คือ 52 แต่ละการสร้างตัวอย่างของไพ่ซ้ำๆ มี suit และ rank ปัจจุบัน และเพิ่มไพ่เข้าไปใน card list\n15.6 Printing the deck\n15.6 Printing the deck.\nเมื่อเราระบุชนิดใหม่ของ object เราต้องการ method ที่ print หัวข้อของ object การ print Deck เราตรวจ list และ print แต่ละ Card\n class Deck:\n def printDeck(self):\n for card in self.cards:\n print card\n ที่นี่และจากตอนนี้ การละไว้ ( . . . ) บ่งชี้ว่าเราละเลย methods ต่างๆ ใน class \n ทางเลือกที่จะ print Deck เราสามารถเขียน __str__ method สำหรับ Deck class ข้อดีของ __str__ คือ มันสามารถปรับตัวได้ดีกว่า แต่การ print หัวข้อของ object มันสร้าง string ที่แสดงส่วนอื่นๆ ของโปรแกรมสามารถปรับให้เหมาะสมก่อนการ print หรือ เก็บค่าหลังการใช้\n นี้คือ เวอร์ชันของ __str__ ที่ return การแสดง string ของ Deck มันจัดเรียงไพ่ในลักษณะเดียวกัน ซึ่งไพ่แต่ละใบจะเว้นวรรคเข้ามามากกว่าไพ่ก่อนหน้านี้\n class Deck:\n def __str__(self):\n s = \"\"\n for i in range(len(self.cards)):\n s = s + \" \"*i + str(self.cards[i]) + \"\\n\"\n return s\n ตัวอย่างนี้อธิบายหลายรูปแบบ สิ่งแรก คือ แทนที่โดยการเข้าไป self.cards และกำหนดตัวแปรของแต่ละไพ่ เราใช้ i เป็น loop variable และ index เข้าไปใน list ของไพ่\n ขั้นที่สอง เราใช้การคูณ string เพื่อเว้นไพ่แต่ละใบ โดยให้มีที่ว่างมากกว่าใบสุดท้าย expression “ ” *i ให้จำนวนที่ว่างเท่ากับค่าปัจจุบันของ i\n ขั้นที่สาม แทนที่โดยการใช้คำสั่ง print เพื่อ print ไพ่ เราใช้ฟังก์ชัน str การผ่าน object ไปยัง argument เพื่อที่ str เท่ากัน เพื่อให้เกิด __str__ บน object\n สุดท้าย เราใช้ตัวแปร s เป็น accumulator ในขั้นต้น s คือ string ที่ว่างเปล่า แต่ละครั้งที่ผ่าน loop จะมี string ใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นและได้เชื่อมเข้าด้วยกันกับค่าเก่าของ s ที่ได้ค่าใหม่ เมื่อจบ loop s จะบรรจุการแสดงค่า string ที่สมบูรณ์ของ Deck ซึ่งเป็นดังนี้\n »> deck = Deck\n »> print deck\n Ace of Clubs\n 2 of Clubs\n 3 of Clubs\n 4 of Clubs\n 5 of Clubs\n 6 of Clubs\n 7 of Clubs\n 8 of Clubs\n 9 of Clubs\n 10 of Clubs\n Jack of Clubs\n Queen of Clubs\n King of Clubs\n Ace of Diamonds\n15.7 Shuffling the deck\n15.7 Shuffling the deck.\nถ้าสำรับไพ่ถูกสับอย่างดี แล้วไพ่ใดๆ มีความเท่าเทียมกัน ลักษณะที่ปรากฏที่ใดก็ตามในสำรับ และ ตำแหน่งใดๆ ในสำรับเท่าเทียมกันเช่นเดียวกับการบรรจุไพ่ใดๆ\n การสับไพ่เราใช้ฟังก์ชัน randrange จาก ramdom module มี 2 integer argument คือ a และ b randrange เลือก random integer ในขอบเขต a < = x < b ตั้งแต่ข้อจำกัดนี้เข้มงวดน้อยกว่า b เราสามารถใช้ความยาวของ list เป็น argument ทีสอง และเรารับประกันได้ว่า index ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น expression นี้เลือก index ของการสุ่มไพ่ในสำรับ\n random.randrange(0, len(self.cards))\n วิธีที่ง่ายที่จุสับไพ่โดยการข้ามไพ่และการแลกเปลี่ยนไพ่แต่ละใบโดยสุ่มเลือกมาหนึ่งใบ มันเป็นไปได้ที่ไพ่จะถูกแลกเปลี่ยนกับตัวมันเอง แต่มันดีที่ในความเป็นจริง ถ้าเราขัดขวางสิ่งที่จะเป็นไปได้ไว้ การเรียงของไพ่ควรน้อยกว่าการสุ่ม\n class Deck:\n def shuffle(self):\n import random\n nCards = len(self.cards)\n for i in range(nCards):\n j = random.randrange(i, nCards)\n self.cards[i], self.cards[j] = self.cards[j], self.cards[i]\n สมมติว่า มีไพ่ 52 ใบ ในหนึ่งสำรับ เราได้ความยาวของ list และเก็บค่ามันใน nCards\n ไพ่แต่ละใบในสำรับ เราสุ่มเลือกไพ่ขึ้นมาจากกองไพ่ซึ่งยังไม่มีการสับไพ่ แล้วเปลี่ยนไพ่ปัจจุบันกับการเลือกไพ่ การเปลี่ยนไพ่ เราใช้งาน tuple เช่นใน section 9.2\n self.cards[i], self.cards[j] = self.cards[j], self.cards[i]\n15.8 Removing and dealing cards\n15.8 Removing and dealing cards.\nอีก method ที่มีประโยชน์กับ Deck class คือ removeCard ซึ่งรับค่าพารามิเตอร์ของไพ่ ลบมันออกและ return ค่า True ถ้าไพ่อยู่ในสำรับ หรือ False ถ้าเป็นอย่างอื่น\n class Deck:\n def removeCard(self, card):\n if card in self.cards:\n self.cards.remove(card)\n return True\n else:\n return False\n ใน operation returns true ถ้า operand อยู่ในลำดับที่สอง ซึ่งต้องเป็น list หรือ tuple ถ้า operand แรกคือ object python ใช้ method __cmp__ ของ object กำหนดความเท่าเทียมกันของ item ใน list ตั้งแต่ cmp ใน Cardclass ตรวจสอบความเท่ากัน removeCard method ก็ตรวจสอบความเท่ากัน\n การแจกไพ่เราต้องลบและ return ไพ่ด้านบนสุด list method pop ให้วิธีง่ายที่จะทำ\n class Deck:\n def popCard(self):\n return self.cards.pop\n ตามความเป็นจริง pop ลบไพ่ใบสุดท้ายใน list ดังนั้นเรามีผลกระทบต่อการแจกไพ่จากด้านล่างของสำรับ\n การดำเนินการที่มากกว่า เรามีลักษณะที่ต้องการให้เป็นฟังก์ชัน boolean isEmpty ซึ่ง return ค่า True ถ้าในสำรับไม่มีไพ่\n class Deck:\n def isEmpty(self):\n return (len(self.cards) == 0)\n15.9 Glossary\n15.9 Glossary.\nencode: To represent one set of values using another set of values by constructing a mapping between them.\n class attribute: A variable that is defined inside a class definition but outside any method. Class attributes are accessible from any method in the class and are shared by all instances of the class.\n accumulator: A variable used in a loop to accumulate a series of values, such as by concatenating them onto a string or adding them to a running sum.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 16 Inheritance\n16.1 Inheritance\nบทาี่ q6 Inheritance.\n16.1 Inheritance.\nชักษณะของปัญหาส่วนใหญ่บ่อยครั้งถูกเชื่อมโยงกับ object-oriented programming คือ inheritance ความสามารถในการกำหนด clasw ใหม่ที่ซึ่งถูกแก้ไขเวอร์ชันของ class ที่มีอยู่\n ข้อได้เปรียบที่สำคัญของลักษณะนี้นี้คุณสามทรถเพิาม methid ใหม่ไปใน vlass โดยปราศจากการแก้ไข c;ass เดิมที่มีอยู่ ซึ่งมันเรียกว่า inheritance เนื่องจาก class ใหม่สืบทอด methods ทั้งหมแมาจาก class ที่มีอยู่ การขยายคำเปรียบเทียบนี้ class ที่มีแยู่บางครั้งถูกเรียกว่า parent class และ class ใหใีอาจถูกเรียกว่า child class หรือยางครั้งเรียกว่า sub class\n Inheritance เป็นลักษณะเฉพาะทั่มีประสิทธิภาพ บางโปรแกรมมีความซับซ้อนใากโดยไม่มี inheritance เราสามารถเขียนให้สั้น รัดกุม และง่ายด้วยมัน (inheritance) เช่นเดียวกัน inheritance สามารถทำให้าะดวกขึ้นในการนำโค้ดไปใช้ใหม่ เนื่องจากคุณสามารถปรับแต่พฤติกรรมการกระทำของ parent classes โดยไม่มีการแก้ไข classes เหล่านั้น วนบางกรณี โครงสร้างของ inheritance สะท้อนให้เห๋นปัญหาของโครงสร้างปกติ ซึ่งทำให้โปรแกรมง่ายต่อการเข้าใจ\n ในทางตรงกันข้าม inheritance สามารถทำให้โปรแกรมยากต่แการอ่าน เมื่อ method ถูกเรียพ บางครั้งไม่ชัดเจนที่ซึ่งจะหาคำจำกัดความของมัน โต้ดที่เกี่ยวเนื่องกัยอาจกระจัดกระจายในระหว่าวหลายๆ modules เช่สเดียวกัน หลายสิ่งเหล่านี้สามารถจัดการด้วยการใช้ inheritance สามารถจัดการได้เป็นอย่างดี ถ้าโครงสร้างปกติของปัญหนไม่ให้ยืมตัวมัรเองเพื่อ inheritance รูปแบบขอบการเขียนโปรแกรมนี้จะทำให้เใียหายมากว่าทำให้ดี\n ในบทนี้เราจะพิสูจน์การใช้ของ inherihance ้ป็นส่วนของโปรแกรมซึ่งะล่น card game Old Maid หนึ่งในเป้าหมายขอบเราคือ เขียนโค้ดทีสามารถนำไปใช้ใหม่กับ card game อืรนๆ\n16.2 A hand of cardc\n16.2 A hand of cards.\nเกือบจะทุกๆ card gamf เราร้องการแสดงให้เห็น hand of cards แน่นอน hand คล้ายกับ deck ทั้งสองอย่างสร้างขึ้นจากชุดของไพ่ แลดมั้งสองต้องการการกระทำ เช่น กสรเพิ่มและการนำไพ่ดอก เช่นเดียวกัน เราต้องการความสามารถในการสับไพ่ขอลทั้ง deck และ hand\n Hand แตกต่างจาก deck ด้วยเช่นกันขึ้นอยู่กับเกมที่จะเล่น เราต้องการแสดงการกระทำบางอย่างบน hand ที่ทำให้ไม่รู้สึกเป็น deck ตัวอย่างใน poker เราอาจจัดกลุ่ม hand (straigtt, fludh, etc.)\n หรือเปรียบเทียบมันกับอีก hand หนึ่ง ใน bridge เราอาจต้องการคำนวณแต้มจาก hand เพื่อทำการประมูล\n สถานการณ์นี้แนะนำให้ใช้ imheritance ถ้า hand เป็น subclass ของ deck มันจะใี methods ทั้งหมดของ deck และสามารถเพิ่ม method ใหม่เข้าไป/ด้\n ใน class definition ชื่อของ parent class ปรทกฏอยู่ในวงเล็บ\n class Tand(Deck):\n pass\n statement นี้บ่งบอกว่า c;ass hand สืบทอดจาก class deck ที่มีอยูา\n hand สร้าง attributes เริ่มต้นสำหรับ hand ซึ่งคือ naje และ card โดย string name ระบุถึง hand ซึ่งเป็นไปได้มากด้วยชื่อของผู้เล่นที่ถือมันไว้ name เป็น optional paramerer ด้วย strihg ที่ว่่งเปล่าเป็นค่าเริ่มต้น cards เป็น list ของไพ่ใน hanw เริ่มต้ตด้วย list ที่ส่างเปล่า\n class Hand(Deck):\n wef __init__(self, name=\"\"):\n self.cards = []\n self.name = name\n ทุกๆ card game มันจำเป็นที่จะต้องเพิ่มและเอาไพ่ออกจาก deck การเอาไพ่ออกได้ถูกเอาใจใส่เรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ hand สืบทอด rem8veCard จาก deck แค่เราต้แงเขียน addCard\n class Hand(Deck):\n def addCarvฆself,card) :\n self.cards.appenc(card)\n อีกครั้ง การละไว้บ่งบอกย่าเราต้องละเลย method อื่นๆ list เชื่อมต่อ metmod เพิ่มไพ่ใหม่ไปยังท้ายสุดของ l7sh ของไพ่\n16.3 Dea/ing cards\n16.3 Dealing cards.\nตอนนี้เรามี class hand เราต้องการแจกไพ่จาก decj เข้าไปยัง hands มันจะไม่ชัดเจนในทันทีไม่ว่า hethod นี้จะเข้าไปอยู่ใน class hand หรือไม่ ใน xlass decu ตั้งแต่มันทำงานบน deck เดียวและหลายๆ hahds มันเป็นธรรมดาที่วางมันลงใน deck \n การแจกไพ่ควรยุติธรคม ต่างเกมต่างมีความต้องกรรที่แตกต่างกัน เราอาจต้องการแจกไพ่ออกจาก deck ทั้งหมดในครั้งเอียวหรือเพิ่มไพ่ในแต่ละ hand\n Deal มีพารามิเตอร์ 2 ตัว เป็น list ของ hands และจำนวนไพ่ทั้งหมดที่แจก หากใน deck มีไพ่ไม่เพียงพอ method deal จะทำการหยุด\n class Deck :\n def deal(self, hands, nCards=999):\n nHands = len(hands)\n for i in ranbe(nCards):\n if self.isEmpty: break # break if out of cards\n card = self.popCard # take the top card\n hand = hands[i % nHands] # whose turn is next?\n hand.addCard(card) # add the card to the hand\n พารามิเตอร์ตัวที่สอง nCzrds เป็น optuonal ค่าเริ่มต้นเป็น lzrge number าี่มีประสิทธิภาพ หมายถึงไพ่ทั้งหมดใน deck จะถูกแจกจนหมด\n ตัวแปร loop i เริ่มจาก 0 ถึง nCards -1 แต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ไพ่จะถูกเอาออกจาก deck โดยใช้ list methos pop ซึ่งจะเอาออกและคืนรายการสุดท้ายใน list \n Mldulus o0erator (%) ยอมให้เราแจกไพ่ 1 ใบต่อครั้งของแต่ละ hand เมื่อ i เท่ากับจำนวน hands ใน list expression i% nHands กลับไปยังจุดเริ่มต้นของ list (index 0ฏ\n16.4 Printing a Hand\n16.4 Printing a Hand.\nการ print หัวข้อของ hand เราสามารถได้เปรียบของ printDeck แงะ __str__ method สืบทอดจาก deck ตัวอย่างเช่น\n class Deck :\n »> deck = Deck\n »> deck.shuffle\n »> hand = Hand(\"f3ank\")\n »> deck.deal([hand], 5)\n »> 0rint hand\n Hand frank contains\n 2 pf Spades\n 3 of Spades\n 4 of Spades\n Ace of Hearts\n 9 of Clubs\n มันไม่ใช่ hand ที่ใหญ่ แต่มันเป็นการทำ straight flush\n ถึงแม้มันสะดวกที่จะสืบทอด existing methods มีข้อมูลที่มากขึ้นใน Hand object เราอาจต้องการรวมเาื่อเร่ print ออกมา ทำโดยคุณสามารถให้ __str__ method ใน Hand class ป่านข้ามหนึ่งใน Deck xlass\n class Hand(Deck)\n def __str__(self):\n s = \"Hand \" + self.name\n if self.isEmpty:\n eeturn s + \" is empty\\n\"\n else:\n return s + \" contains\\n\" + Deck.__str__(self)\n ในขั้นต้น s คือ string ที่แสดงถึง hand ถ้า hand ว่างเปล่า โปรแกรมจะให้ตำว่า empty และ return ค่าผลบัพธ์ออกมา\n ไม่เช่นนั่น โปรแกรมจะผนวกการบรรจุคำ และ string เป็นตัวแทนของ deck คำนวณโดยการสร้าง __str__ method ใน Deck class บน qelf\n มัตอาจดูแปลกที่ส่ง self ซึ่งอ้างถึง Hand ปัจจุบัน นนกระทั่งคุณจำได้ว่า Hand คือ ชนิดของ Deck ดังนั้น Hand objects ขึงสามารถทำืุกสิ่งที้ Desk objects สามารถทำได้ ดังนั้น มันถูกต้องที่จะส่ง Hagd ไปยัง Deck method\n โดยทั่วไป มันจะถูกต้องเสมอที่ใช้ instance ของ subclass ในตำแหน่งของ instance ของ parent class\n16.5 The CardGame class\n16.5 The CardGame class.\nCardGamr class ดูแลงานพื้นฐานทั่วไปของเกมืั้งหมด เช่น การสร้าง deck และ การสับไพ่\n class CardGame?\n def __init__(self):\n self.deck = Deck\n self.deck.shuffle\n นี้คือ case แรแที่เราได้เห็น initialization method กระทำการคำนวณที่สำคัญหลัง initializing attributes \n การ imp.ement เกมโดยเฉพาะ เราสามารถสืบทอดจาก CardGame และเพิ่มลักษณะต่างๆ เข้าไปสำหรับเกมใหม่ ตัวอย่างเช่น พวกเราจะเขียนเลียนแบบของ Old Maid\n Object ของ Old Maid คือ กำจัดไพ่วสมือให้หมดไป คุณท_โดยการจับคู่ rank และ สี ของไพ่ ตัวอย่างเช่น 4 โพธิ์ดำจัลคู่กับ 4 ดอกจิก เป็นสีดำทั้งคู่ แจ๊คหัวใจจับคู่กับปจ๊คข้าวหลามตัดซึ่งเป็นสีแดงทั้งคู่\n เมื่อเริ่มอกม แหม่มโพธิ์ดำจะถูกเอาออกไปจาก deck ดังนั้น แหม่มดอกจิกไม่สามมรถจับคู่ได้ ไพ่ที่ยังคงเหลือ 51 ใบ ถูกแจกให้กับผู้เล่น หลังจากแจกเสร็จ ผู้เล่นทั่งหมดจับคู่และทิ้งไพ่ที่เป็นไปได้มาก\n เมื่อไม่สามารถจับคู่ได้มากกว่านี้ การเริ่มเล่น ในรอบ แต่ละผู้เล่นหยิบไพ่มา 1 ใบ (ห้ามดู) จากเพื่อนที่ใกล้ืี่สุดไปทางซ้สยผู้ซึ่งยังคงมีไพ่ ถิาเลือกเจอไพ่ที่ตรงกับฝนมือของผู้เล่น วรที่สุดการจับคู่ที่เป็นไปได้จะเกิดขึ้น จะเหลือเพียงแหม่มดอกจิกสนมือของผู้แพ้\n ในเกมจำลองคอมพิวเตอร์ของเรา คอมำิวเตอร์เป็นผู้เล่นทั้งหสด โชคไม่ดีที่ึวามแตกต่าวน้อยมากที่จะแพ้ในเกมจริงๆ ในเกมจริงๆ ผู้เล่นมี Old Maid ต้องพยายามให้ผู้เล่นใกล้เคียงหยิบไพ่นั้นโดยแสดงมันให้มีความเด่ยชัดน้อยกว่า หรือ บางทีพลาดที่จะแสดงมันออกมา หรือแม้พลาดและพลาพอีกที่จะแสดงไพ่แอกมา คอมพิวเตอร์จะหยิบอย่างง่ายๆ จากคนข้างๆ โดยการสุ่ม\n16.6 OlaMaidHand class\n16ซ6 OlaMaidHand class.\nผ฿้เล่น Ola Maid มีความต้องการความสามารถบ้าง ที่เหนือกว่าความสามารถทั่วไปของ Hand เราจะระบุ class ใหม่ OldMaidHand ซึ่งสืบทอดจาก Hahd และให้ method ที่เพิ่มขึ้นนี้เรียกว่า removeMatches\n class OldMaidHand(Hand):\n def removeMatches(self):\n count = 0\n originalCards = self.cards[:]\n for card in originalCards:\n match = Card(3 - card.suit, card.rank)\n if match in self.cards:\n self.cards.remove(card)\n self.carda.remove(match)\n print \"Hand %s: %s matches %s\" % (self,name,card,match)\n count = count + 1\n return count\n เราเริ่มโดยการคัดลอก list ของไพ่ ดังนั้นเราสามารถตรวจการคัดลอกขณะที่กำลังนำ/พ่ออกจากต้นฉบับ ตั้งแต่ self.cards ถูกแก้ไขใน loop เราไม่ต้องการใช้มันในการควยคุมสิ่วที่มาขวาง python ค่อนข้างจะสับสน ถ้ามันตรวจสอบ list ที่มีการเปลี่ยนแปลง\n สำหรับไพ่แต่ละใบในมือ เรามอฝว่าควรจะจับคู่กับอะไรและไปหามัน การนับคู่ไพ่มี ranu ที่เหมือนกัน และ suit ที่สีเหมือนกัน expression 3 – card.suit เปลี่ยนโพธิ์ดำเป็นดอกจิก และ ข้าวหลามตัดเป็นหัวใจ คุณควรพอใจในการทำงานของ opposite operation ถ้าการจับคู่ไพ่อยู่ในมือ ไพ่ทั้งสองก็จะถูกทิ้งไป\n ตามตัวแย่างซึ่งพิสูจน์การใช้ removeMatches :\n »> game = CardGame\n »> hand = OldMaidHand(\"frxnk\")\n »> game.deck.deal([hand], 13)\n »> print hand\n Hand frank contains\n Ace of Spades\n 2 of Diamonds\n 7 of Spades\n 8 of Clubs\n 6 of Hearts\n 8 of Spades\n 7 of Clubs\n Queen of Clubs\n 7 of Diamonds\n 5 of Clubs\n Jack of Diamonds\n 10 of Diamonds\n 10 of Hwarts\n »> hand.removeMatches\n Hand frank: 7 of Spades matches 7 of Clybs\n Hand frank: 8 of Spades matches 8 of Clubs\n Hand frank: 10 of Diamonds matches 10 lf Hearts\n »> print hand\n Hand frank contains\n Ace of Spades\n 2 of Diamonds\n 6 of Hearts\n Queen of Clubs\n 7 of Diamonds\n 5 of Clubw\n Jack of Diamonds\n สังเกตว่าไม่มี __init_ไ method สำหรับ OldMaidGame class เราสืบทอดมันมาจาก Hand\n16.7 OldMaidGame clzss\n16.7 O.dMaidGame class.\nตอนนี้เคาสามารถเปลี่ยนความตั้ฝใจของเราเพื่อเกมด้วยตัวมันเอง OldMaidGame คือ subclass ของ CardGame มี method ใหม่ เรียกว่า p;ay ซึ่งรับค่า list ของผู้เล่นเป็นพารามิเตอร์\n ตั้งแต่ __init__ ถูกสืบทอดจาก CardGame โดย OldMaidGame ใหม่จะบรรจุการแจกไพ่สำรับใหม่\n class OldMaieGame(CardGame):\n def play)xe/f, names):\n # remove Queen of Clubs\n self.deck.removeCard(Card(0,12))\n # make s nand for each player\n self.hands = []\n for name in names :\n self.hands.append(OldMaidHand(name))\n # cea; the cards\n self.dfck.deal(self.hands)\n prinh \"---------- Cards have been dealt\"\n self.printHands\n # remove initial matches\n matches = self.removeAllMatch3s\n print \"---------- Matches discarded, play begins\"\n self,printHands\n # play until all 50 cards are matched\n turn = 0\n numHands = len(self.hands)\n wmile mahches < 25:\n matchec = matches + self.playOneTurb(turn)\n turg = (turn + 1) % numHands\n print \"---------- Game is Over\"\n self.printHands\n บางขั้นตอนของเกมได้ถูกแยกไปใน methods ซึ่ง removeAllMatches ข้าม list ของ hands และสร้าง removeMatches ขึ้น\n class OldMaidFame(CardGame):\n def rehoveAllMatches(self):\n co6nt = 0\n for hand in self.hands:\n count = count + hand.removeMatxhes\n retu4n count\n count คือ ตัวเก็บสะสมหน่วยความจำตัวเลขที่จับคูทกันที่เพิ่มเข้าไปในแต่ละมือ และ return ค่าผลรวมออกมา\n เมื่อจำนวนตีวเลขที่จับคู่กันถึง 25 ไภ่ทั้ง 50 ใบ ได้ถูกทิ้งไปจากมือแล้ว ซึ่งหมายความว่ามีไพ่หนึ่งใบที่เหลือและเกมจะจบลง \n ตัวแปร turn เก็บค่า track การเปลี่ยนแปลงของผู้เล่น มันเริ่มที่ - และเพิ่มขึ้นทีละ1 ในแตีละครั้ง เมื่อมันถึง numHands ใน modulus มันจะกลังไปยังที่ 0\n Method playOne รับค่าพารามิเตอร์ทึ่ระบุถึง turn ที่มันเป็น\n Return value คือจำนวนการจับคู่ที่ทำระหว่าง turn นี้\n slass LldMaidGame(CardGame):\n def plzyOneTurn(self, i):\n if se/f.hands[i].isEmpty:\n return 0\n neighbor = self.vindNeighbor(i)\n pickedCard = self.hands[neighbor].popCard\n self.hands-i].addCard(pickedCard)\n print \"Hand\", self.hands[i].name, \"picked\", pickedCard\n count = self.hands[i=.removeMatches\n self.hands[i].shuffle\n return count\n ถ้ามือของผู้เล่นว่าง ผู้เล่นจะถูกออกจากเกม ดังนั้นเขาหรือหล่อนไม่ได้ทำอะไร และ return ค่า 0\n อีกอย่างหนึ่ง หนึ่ง turn ประกอบด้วยการหาผู้เล่นคนแรกทางซ้ายซึ่งมีไพ่ การรับได่มาจากคนข้างๆ และตรวจดูว่าเข้าคู่หรือไม่ ก่อนจะเวียนไพ่ในมือทค่ถูพสับไพ่แล้ว อังนั้นการเลือกของผู้เล่นคนถัดไปคือการสุ่ม\n Method findNeighbor เริ่มมีผู้เล่นทันทีทางซ้ายและต่อเนื่องเป็นวงกลมจนกระทั้งหาผู้เล่นที่ยังคงมีไพ่\n class OldMaidGame(CardTame):\n def findNeighbor(self, i):\n numNands = len(self.hands)\n for next in range(1,numHands)O\n neighbor = (i + next) % numHands\n if not self.hands[neighbor].isEmpty:\n return neighbor\n ถ้า findNeighbor เวียนเป็นวงกลมเรื่อยๆ โดยปราศจากการหาไพ่ มันจะ return ค่า None และเป็นเหตุให้เกิด error ขึ้นในโปรแกรม โชคดีที่เราสามานถตรวจสอบว่าสิ่งนั้นจะไม่เกิดขึัน\n เราได้ละเลย pr7ntHands ไป คุณสามารถเบียน method นี้ด้วยตัวคุณเอง\n ตามผลลัพธ์ที่แสดงออกมาจากรูปแบบที่สั้นลงของเกมซึ่งมีเพียง 15 ใบด้านบนสุด ซึ่งแจกให้ผู้เล่ร 3 คน มีสำรับเล็ก โดยหยุดเล่นหลังจากจับคู่ได้ 7 คู่ แทนที่จะเป็น 25 คู่\n »> import dards\n »> game = cards.OldMa8dGame\n »> game.play([\"Allen\",\"Jeff\",\"Chris\"])\n -]-------- Cards habe been dealt\n Hand Allen contains\n King of Hearts\n Jack of Clubs\n Qu2en of Spades\n King of Spades\n 10 of Diamonds\n Hane Jeff contains\n Queen of Hexrtc\n Jack of Spades\n Jack of Mearts\n King of Diamonds\n Queen of Diamonds\n Hagd Chris contains\n Jack of Duamonds\n King of Clubs\n 10 of Spades\n 10 of Hearts\n 10 of Clubs\n Hand Jeff: Queen of Heafts matches Queen of Diamonds\n Hand Chris: 10 of Spades matches 10 of Clubs\n ---------- Matches discarded, play begins\n Hand Allen contains\n Klng pf Hearts\n Jack of Clubs\n Queen of Spades\n King of Spades\n 10 of Diamonds\n Hand Jeff contains\n Jacj of Spades\n Jack of Hearts\n King of Diamonds\n Hand Chris contains\n Jack of Diamonds\n King of Clubs\n 10 of Hearts\n Hand Allen picked King of Diamonds\n Hand Allen: King of Hearts matches King of Diamonds\n Hand Jeff picked 10 of Hearts\n Hand Chris picked Jack of Clubs\n Hznd Allen picued Jack of Hear5s\n Nand Jdff picked Jqck of Diamonds\n Hand Chris picked Queen of Spades\n Hand Allen picked Jack of Diamonds\n Hand Allen: Jack of Hearts matches Jack of Diamonds\n Hand Jeff picked King of Clubs\n Hand Chris picked King of Spades\n Hand Allen picked 10 of Hearts\n Hand Allen: 10 of Diamonds matchrs 10 of Hearts\n Hand Jeff picked Queen of Spades\n Hand Ch3is picked Jack of Spades\n Hand Chris: Jack of Vlybs matches Jaxk of Spades\n Hand Jeff picked King of Spxdes\n Hand Jeff: King of Clubs matches King of Spades\n ---------- Game is Over\n Hand Allen is empty\n Hand Jeff contxins\n Queen of Spades\n Hand Chris is empty\n So Jeff loses.\n16.8 Glossary\n16.8 Glossary.\ninheritance: The ability to define a new claas that is a modified version of a previously defined class.\n parent class: The class from which a child class inherits.\n child class: A new class created by inheriting from an existing clxss; also called a “subclass.”",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 16 Inheritance\n16.1 Inheritance\nบทที่ 16 Inheritance.\n16.1 Inheritance.\nลักษณะของปัญหาส่วนใหญ่บ่อยครั้งถูกเชื่อมโยงกับ object-oriented programming คือ inheritance ความสามารถในการกำหนด class ใหม่ที่ซึ่งถูกแก้ไขเวอร์ชันของ class ที่มีอยู่\n ข้อได้เปรียบที่สำคัญของลักษณะนี้นี้คุณสามารถเพิ่ม method ใหม่ไปใน class โดยปราศจากการแก้ไข class เดิมที่มีอยู่ ซึ่งมันเรียกว่า inheritance เนื่องจาก class ใหม่สืบทอด methods ทั้งหมดมาจาก class ที่มีอยู่ การขยายคำเปรียบเทียบนี้ class ที่มีอยู่บางครั้งถูกเรียกว่า parent class และ class ใหม่อาจถูกเรียกว่า child class หรือบางครั้งเรียกว่า sub class\n Inheritance เป็นลักษณะเฉพาะที่มีประสิทธิภาพ บางโปรแกรมมีความซับซ้อนมากโดยไม่มี inheritance เราสามารถเขียนให้สั้น รัดกุม และง่ายด้วยมัน (inheritance) เช่นเดียวกัน inheritance สามารถทำให้สะดวกขึ้นในการนำโค้ดไปใช้ใหม่ เนื่องจากคุณสามารถปรับแต่พฤติกรรมการกระทำของ parent classes โดยไม่มีการแก้ไข classes เหล่านั้น ในบางกรณี โครงสร้างของ inheritance สะท้อนให้เห็นปัญหาของโครงสร้างปกติ ซึ่งทำให้โปรแกรมง่ายต่อการเข้าใจ\n ในทางตรงกันข้าม inheritance สามารถทำให้โปรแกรมยากต่อการอ่าน เมื่อ method ถูกเรียก บางครั้งไม่ชัดเจนที่ซึ่งจะหาคำจำกัดความของมัน โค้ดที่เกี่ยวเนื่องกันอาจกระจัดกระจายในระหว่างหลายๆ modules เช่นเดียวกัน หลายสิ่งเหล่านี้สามารถจัดการด้วยการใช้ inheritance สามารถจัดการได้เป็นอย่างดี ถ้าโครงสร้างปกติของปัญหาไม่ให้ยืมตัวมันเองเพื่อ inheritance รูปแบบของการเขียนโปรแกรมนี้จะทำให้เสียหายมากว่าทำให้ดี\n ในบทนี้เราจะพิสูจน์การใช้ของ inheritance เป็นส่วนของโปรแกรมซึ่งเล่น card game Old Maid หนึ่งในเป้าหมายของเราคือ เขียนโค้ดทีสามารถนำไปใช้ใหม่กับ card game อื่นๆ\n16.2 A hand of cards\n16.2 A hand of cards.\nเกือบจะทุกๆ card game เราต้องการแสดงให้เห็น hand of cards แน่นอน hand คล้ายกับ deck ทั้งสองอย่างสร้างขึ้นจากชุดของไพ่ และทั้งสองต้องการการกระทำ เช่น การเพิ่มและการนำไพ่ออก เช่นเดียวกัน เราต้องการความสามารถในการสับไพ่ของทั้ง deck และ hand\n Hand แตกต่างจาก deck ด้วยเช่นกันขึ้นอยู่กับเกมที่จะเล่น เราต้องการแสดงการกระทำบางอย่างบน hand ที่ทำให้ไม่รู้สึกเป็น deck ตัวอย่างใน poker เราอาจจัดกลุ่ม hand (straight, flush, etc.)\n หรือเปรียบเทียบมันกับอีก hand หนึ่ง ใน bridge เราอาจต้องการคำนวณแต้มจาก hand เพื่อทำการประมูล\n สถานการณ์นี้แนะนำให้ใช้ inheritance ถ้า hand เป็น subclass ของ deck มันจะมี methods ทั้งหมดของ deck และสามารถเพิ่ม method ใหม่เข้าไปได้\n ใน class definition ชื่อของ parent class ปรากฏอยู่ในวงเล็บ\n class Hand(Deck):\n pass\n statement นี้บ่งบอกว่า class hand สืบทอดจาก class deck ที่มีอยู่\n hand สร้าง attributes เริ่มต้นสำหรับ hand ซึ่งคือ name และ card โดย string name ระบุถึง hand ซึ่งเป็นไปได้มากด้วยชื่อของผู้เล่นที่ถือมันไว้ name เป็น optional parameter ด้วย string ที่ว่างเปล่าเป็นค่าเริ่มต้น cards เป็น list ของไพ่ใน hand เริ่มต้นด้วย list ที่ว่างเปล่า\n class Hand(Deck):\n def __init__(self, name=\"\"):\n self.cards = []\n self.name = name\n ทุกๆ card game มันจำเป็นที่จะต้องเพิ่มและเอาไพ่ออกจาก deck การเอาไพ่ออกได้ถูกเอาใจใส่เรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ hand สืบทอด removeCard จาก deck แต่เราต้องเขียน addCard\n class Hand(Deck):\n def addCard(self,card) :\n self.cards.append(card)\n อีกครั้ง การละไว้บ่งบอกว่าเราต้องละเลย method อื่นๆ list เชื่อมต่อ method เพิ่มไพ่ใหม่ไปยังท้ายสุดของ list ของไพ่\n16.3 Dealing cards\n16.3 Dealing cards.\nตอนนี้เรามี class hand เราต้องการแจกไพ่จาก deck เข้าไปยัง hands มันจะไม่ชัดเจนในทันทีไม่ว่า method นี้จะเข้าไปอยู่ใน class hand หรือไม่ ใน class deck ตั้งแต่มันทำงานบน deck เดียวและหลายๆ hands มันเป็นธรรมดาที่วางมันลงใน deck \n การแจกไพ่ควรยุติธรรม ต่างเกมต่างมีความต้องการที่แตกต่างกัน เราอาจต้องการแจกไพ่ออกจาก deck ทั้งหมดในครั้งเดียวหรือเพิ่มไพ่ในแต่ละ hand\n Deal มีพารามิเตอร์ 2 ตัว เป็น list ของ hands และจำนวนไพ่ทั้งหมดที่แจก หากใน deck มีไพ่ไม่เพียงพอ method deal จะทำการหยุด\n class Deck :\n def deal(self, hands, nCards=999):\n nHands = len(hands)\n for i in range(nCards):\n if self.isEmpty: break # break if out of cards\n card = self.popCard # take the top card\n hand = hands[i % nHands] # whose turn is next?\n hand.addCard(card) # add the card to the hand\n พารามิเตอร์ตัวที่สอง nCards เป็น optional ค่าเริ่มต้นเป็น large number ที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงไพ่ทั้งหมดใน deck จะถูกแจกจนหมด\n ตัวแปร loop i เริ่มจาก 0 ถึง nCards -1 แต่ละครั้งที่ผ่านเข้าไปใน loop ไพ่จะถูกเอาออกจาก deck โดยใช้ list method pop ซึ่งจะเอาออกและคืนรายการสุดท้ายใน list \n Modulus operator (%) ยอมให้เราแจกไพ่ 1 ใบต่อครั้งของแต่ละ hand เมื่อ i เท่ากับจำนวน hands ใน list expression i% nHands กลับไปยังจุดเริ่มต้นของ list (index 0)\n16.4 Printing a Hand\n16.4 Printing a Hand.\nการ print หัวข้อของ hand เราสามารถได้เปรียบของ printDeck และ __str__ method สืบทอดจาก deck ตัวอย่างเช่น\n class Deck :\n »> deck = Deck\n »> deck.shuffle\n »> hand = Hand(\"frank\")\n »> deck.deal([hand], 5)\n »> print hand\n Hand frank contains\n 2 of Spades\n 3 of Spades\n 4 of Spades\n Ace of Hearts\n 9 of Clubs\n มันไม่ใช่ hand ที่ใหญ่ แต่มันเป็นการทำ straight flush\n ถึงแม้มันสะดวกที่จะสืบทอด existing methods มีข้อมูลที่มากขึ้นใน Hand object เราอาจต้องการรวมเมื่อเรา print ออกมา ทำโดยคุณสามารถให้ __str__ method ใน Hand class ผ่านข้ามหนึ่งใน Deck class\n class Hand(Deck)\n def __str__(self):\n s = \"Hand \" + self.name\n if self.isEmpty:\n return s + \" is empty\\n\"\n else:\n return s + \" contains\\n\" + Deck.__str__(self)\n ในขั้นต้น s คือ string ที่แสดงถึง hand ถ้า hand ว่างเปล่า โปรแกรมจะให้คำว่า empty และ return ค่าผลลัพธ์ออกมา\n ไม่เช่นนั้น โปรแกรมจะผนวกการบรรจุคำ และ string เป็นตัวแทนของ deck คำนวณโดยการสร้าง __str__ method ใน Deck class บน self\n มันอาจดูแปลกที่ส่ง self ซึ่งอ้างถึง Hand ปัจจุบัน จนกระทั่งคุณจำได้ว่า Hand คือ ชนิดของ Deck ดังนั้น Hand objects จึงสามารถทำทุกสิ่งที่ Deck objects สามารถทำได้ ดังนั้น มันถูกต้องที่จะส่ง Hand ไปยัง Deck method\n โดยทั่วไป มันจะถูกต้องเสมอที่ใช้ instance ของ subclass ในตำแหน่งของ instance ของ parent class\n16.5 The CardGame class\n16.5 The CardGame class.\nCardGame class ดูแลงานพื้นฐานทั่วไปของเกมทั้งหมด เช่น การสร้าง deck และ การสับไพ่\n class CardGame:\n def __init__(self):\n self.deck = Deck\n self.deck.shuffle\n นี้คือ case แรกที่เราได้เห็น initialization method กระทำการคำนวณที่สำคัญหลัง initializing attributes \n การ implement เกมโดยเฉพาะ เราสามารถสืบทอดจาก CardGame และเพิ่มลักษณะต่างๆ เข้าไปสำหรับเกมใหม่ ตัวอย่างเช่น พวกเราจะเขียนเลียนแบบของ Old Maid\n Object ของ Old Maid คือ กำจัดไพ่ในมือให้หมดไป คุณทำโดยการจับคู่ rank และ สี ของไพ่ ตัวอย่างเช่น 4 โพธิ์ดำจับคู่กับ 4 ดอกจิก เป็นสีดำทั้งคู่ แจ๊คหัวใจจับคู่กับแจ๊คข้าวหลามตัดซึ่งเป็นสีแดงทั้งคู่\n เมื่อเริ่มเกม แหม่มโพธิ์ดำจะถูกเอาออกไปจาก deck ดังนั้น แหม่มดอกจิกไม่สามารถจับคู่ได้ ไพ่ที่ยังคงเหลือ 51 ใบ ถูกแจกให้กับผู้เล่น หลังจากแจกเสร็จ ผู้เล่นทั้งหมดจับคู่และทิ้งไพ่ที่เป็นไปได้มาก\n เมื่อไม่สามารถจับคู่ได้มากกว่านี้ การเริ่มเล่น ในรอบ แต่ละผู้เล่นหยิบไพ่มา 1 ใบ (ห้ามดู) จากเพื่อนที่ใกล้ที่สุดไปทางซ้ายผู้ซึ่งยังคงมีไพ่ ถ้าเลือกเจอไพ่ที่ตรงกับในมือของผู้เล่น ในที่สุดการจับคู่ที่เป็นไปได้จะเกิดขึ้น จะเหลือเพียงแหม่มดอกจิกในมือของผู้แพ้\n ในเกมจำลองคอมพิวเตอร์ของเรา คอมพิวเตอร์เป็นผู้เล่นทั้งหมด โชคไม่ดีที่ความแตกต่างน้อยมากที่จะแพ้ในเกมจริงๆ ในเกมจริงๆ ผู้เล่นมี Old Maid ต้องพยายามให้ผู้เล่นใกล้เคียงหยิบไพ่นั้นโดยแสดงมันให้มีความเด่นชัดน้อยกว่า หรือ บางทีพลาดที่จะแสดงมันออกมา หรือแม้พลาดและพลาดอีกที่จะแสดงไพ่ออกมา คอมพิวเตอร์จะหยิบอย่างง่ายๆ จากคนข้างๆ โดยการสุ่ม\n16.6 OlaMaidHand class\n16.6 OlaMaidHand class.\nผู้เล่น Ola Maid มีความต้องการความสามารถบ้าง ที่เหนือกว่าความสามารถทั่วไปของ Hand เราจะระบุ class ใหม่ OldMaidHand ซึ่งสืบทอดจาก Hand และให้ method ที่เพิ่มขึ้นนี้เรียกว่า removeMatches\n class OldMaidHand(Hand):\n def removeMatches(self):\n count = 0\n originalCards = self.cards[:]\n for card in originalCards:\n match = Card(3 - card.suit, card.rank)\n if match in self.cards:\n self.cards.remove(card)\n self.cards.remove(match)\n print \"Hand %s: %s matches %s\" % (self.name,card,match)\n count = count + 1\n return count\n เราเริ่มโดยการคัดลอก list ของไพ่ ดังนั้นเราสามารถตรวจการคัดลอกขณะที่กำลังนำไพ่ออกจากต้นฉบับ ตั้งแต่ self.cards ถูกแก้ไขใน loop เราไม่ต้องการใช้มันในการควบคุมสิ่งที่มาขวาง python ค่อนข้างจะสับสน ถ้ามันตรวจสอบ list ที่มีการเปลี่ยนแปลง\n สำหรับไพ่แต่ละใบในมือ เรามองว่าควรจะจับคู่กับอะไรและไปหามัน การจับคู่ไพ่มี rank ที่เหมือนกัน และ suit ที่สีเหมือนกัน expression 3 – card.suit เปลี่ยนโพธิ์ดำเป็นดอกจิก และ ข้าวหลามตัดเป็นหัวใจ คุณควรพอใจในการทำงานของ opposite operation ถ้าการจับคู่ไพ่อยู่ในมือ ไพ่ทั้งสองก็จะถูกทิ้งไป\n ตามตัวอย่างซึ่งพิสูจน์การใช้ removeMatches :\n »> game = CardGame\n »> hand = OldMaidHand(\"frank\")\n »> game.deck.deal([hand], 13)\n »> print hand\n Hand frank contains\n Ace of Spades\n 2 of Diamonds\n 7 of Spades\n 8 of Clubs\n 6 of Hearts\n 8 of Spades\n 7 of Clubs\n Queen of Clubs\n 7 of Diamonds\n 5 of Clubs\n Jack of Diamonds\n 10 of Diamonds\n 10 of Hearts\n »> hand.removeMatches\n Hand frank: 7 of Spades matches 7 of Clubs\n Hand frank: 8 of Spades matches 8 of Clubs\n Hand frank: 10 of Diamonds matches 10 of Hearts\n »> print hand\n Hand frank contains\n Ace of Spades\n 2 of Diamonds\n 6 of Hearts\n Queen of Clubs\n 7 of Diamonds\n 5 of Clubs\n Jack of Diamonds\n สังเกตว่าไม่มี __init__ method สำหรับ OldMaidGame class เราสืบทอดมันมาจาก Hand\n16.7 OldMaidGame class\n16.7 OldMaidGame class.\nตอนนี้เราสามารถเปลี่ยนความตั้งใจของเราเพื่อเกมด้วยตัวมันเอง OldMaidGame คือ subclass ของ CardGame มี method ใหม่ เรียกว่า play ซึ่งรับค่า list ของผู้เล่นเป็นพารามิเตอร์\n ตั้งแต่ __init__ ถูกสืบทอดจาก CardGame โดย OldMaidGame ใหม่จะบรรจุการแจกไพ่สำรับใหม่\n class OldMaidGame(CardGame):\n def play(self, names):\n # remove Queen of Clubs\n self.deck.removeCard(Card(0,12))\n # make a hand for each player\n self.hands = []\n for name in names :\n self.hands.append(OldMaidHand(name))\n # deal the cards\n self.deck.deal(self.hands)\n print \"---------- Cards have been dealt\"\n self.printHands\n # remove initial matches\n matches = self.removeAllMatches\n print \"---------- Matches discarded, play begins\"\n self.printHands\n # play until all 50 cards are matched\n turn = 0\n numHands = len(self.hands)\n while matches < 25:\n matches = matches + self.playOneTurn(turn)\n turn = (turn + 1) % numHands\n print \"---------- Game is Over\"\n self.printHands\n บางขั้นตอนของเกมได้ถูกแยกไปใน methods ซึ่ง removeAllMatches ข้าม list ของ hands และสร้าง removeMatches ขึ้น\n class OldMaidGame(CardGame):\n def removeAllMatches(self):\n count = 0\n for hand in self.hands:\n count = count + hand.removeMatches\n return count\n count คือ ตัวเก็บสะสมหน่วยความจำตัวเลขที่จับคู่กันที่เพิ่มเข้าไปในแต่ละมือ และ return ค่าผลรวมออกมา\n เมื่อจำนวนตัวเลขที่จับคู่กันถึง 25 ไพ่ทั้ง 50 ใบ ได้ถูกทิ้งไปจากมือแล้ว ซึ่งหมายความว่ามีไพ่หนึ่งใบที่เหลือและเกมจะจบลง \n ตัวแปร turn เก็บค่า track การเปลี่ยนแปลงของผู้เล่น มันเริ่มที่ 0 และเพิ่มขึ้นทีละ1 ในแต่ละครั้ง เมื่อมันถึง numHands ใน modulus มันจะกลับไปยังที่ 0\n Method playOne รับค่าพารามิเตอร์ที่ระบุถึง turn ที่มันเป็น\n Return value คือจำนวนการจับคู่ที่ทำระหว่าง turn นี้\n class OldMaidGame(CardGame):\n def playOneTurn(self, i):\n if self.hands[i].isEmpty:\n return 0\n neighbor = self.findNeighbor(i)\n pickedCard = self.hands[neighbor].popCard\n self.hands[i].addCard(pickedCard)\n print \"Hand\", self.hands[i].name, \"picked\", pickedCard\n count = self.hands[i].removeMatches\n self.hands[i].shuffle\n return count\n ถ้ามือของผู้เล่นว่าง ผู้เล่นจะถูกออกจากเกม ดังนั้นเขาหรือหล่อนไม่ได้ทำอะไร และ return ค่า 0\n อีกอย่างหนึ่ง หนึ่ง turn ประกอบด้วยการหาผู้เล่นคนแรกทางซ้ายซึ่งมีไพ่ การรับไพ่มาจากคนข้างๆ และตรวจดูว่าเข้าคู่หรือไม่ ก่อนจะเวียนไพ่ในมือที่ถูกสับไพ่แล้ว ดังนั้นการเลือกของผู้เล่นคนถัดไปคือการสุ่ม\n Method findNeighbor เริ่มมีผู้เล่นทันทีทางซ้ายและต่อเนื่องเป็นวงกลมจนกระทั้งหาผู้เล่นที่ยังคงมีไพ่\n class OldMaidGame(CardGame):\n def findNeighbor(self, i):\n numHands = len(self.hands)\n for next in range(1,numHands):\n neighbor = (i + next) % numHands\n if not self.hands[neighbor].isEmpty:\n return neighbor\n ถ้า findNeighbor เวียนเป็นวงกลมเรื่อยๆ โดยปราศจากการหาไพ่ มันจะ return ค่า None และเป็นเหตุให้เกิด error ขึ้นในโปรแกรม โชคดีที่เราสามารถตรวจสอบว่าสิ่งนั้นจะไม่เกิดขึ้น\n เราได้ละเลย printHands ไป คุณสามารถเขียน method นี้ด้วยตัวคุณเอง\n ตามผลลัพธ์ที่แสดงออกมาจากรูปแบบที่สั้นลงของเกมซึ่งมีเพียง 15 ใบด้านบนสุด ซึ่งแจกให้ผู้เล่น 3 คน มีสำรับเล็ก โดยหยุดเล่นหลังจากจับคู่ได้ 7 คู่ แทนที่จะเป็น 25 คู่\n »> import cards\n »> game = cards.OldMaidGame\n »> game.play([\"Allen\",\"Jeff\",\"Chris\"])\n ---------- Cards have been dealt\n Hand Allen contains\n King of Hearts\n Jack of Clubs\n Queen of Spades\n King of Spades\n 10 of Diamonds\n Hand Jeff contains\n Queen of Hearts\n Jack of Spades\n Jack of Hearts\n King of Diamonds\n Queen of Diamonds\n Hand Chris contains\n Jack of Diamonds\n King of Clubs\n 10 of Spades\n 10 of Hearts\n 10 of Clubs\n Hand Jeff: Queen of Hearts matches Queen of Diamonds\n Hand Chris: 10 of Spades matches 10 of Clubs\n ---------- Matches discarded, play begins\n Hand Allen contains\n King of Hearts\n Jack of Clubs\n Queen of Spades\n King of Spades\n 10 of Diamonds\n Hand Jeff contains\n Jack of Spades\n Jack of Hearts\n King of Diamonds\n Hand Chris contains\n Jack of Diamonds\n King of Clubs\n 10 of Hearts\n Hand Allen picked King of Diamonds\n Hand Allen: King of Hearts matches King of Diamonds\n Hand Jeff picked 10 of Hearts\n Hand Chris picked Jack of Clubs\n Hand Allen picked Jack of Hearts\n Hand Jeff picked Jack of Diamonds\n Hand Chris picked Queen of Spades\n Hand Allen picked Jack of Diamonds\n Hand Allen: Jack of Hearts matches Jack of Diamonds\n Hand Jeff picked King of Clubs\n Hand Chris picked King of Spades\n Hand Allen picked 10 of Hearts\n Hand Allen: 10 of Diamonds matches 10 of Hearts\n Hand Jeff picked Queen of Spades\n Hand Chris picked Jack of Spades\n Hand Chris: Jack of Clubs matches Jack of Spades\n Hand Jeff picked King of Spades\n Hand Jeff: King of Clubs matches King of Spades\n ---------- Game is Over\n Hand Allen is empty\n Hand Jeff contains\n Queen of Spades\n Hand Chris is empty\n So Jeff loses.\n16.8 Glossary\n16.8 Glossary.\ninheritance: The ability to define a new class that is a modified version of a previously defined class.\n parent class: The class from which a child class inherits.\n child class: A new class created by inheriting from an existing class; also called a “subclass.”",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 17 Linked lists\n17.1 Embedded refegences\nบทที่ 17 Linked lists.\n17.1 Embedded references.\nเราเตยได้เห็นตัวอย่างของ attributes ทร่อ้างอิงถึง objects อื่นๆ ซึ่งเราเรียกว่า embedded references (ดูได้จาก 12.8) โครงสร้างข้อมูล linked list ใช้ประโยชน็จากความสามารถนี้\nLinked lists เกิดขึ้นจากการประกอบกันของ nodes ซึ่งในแต่ละ node จะเก็บข้อมูลอ้างอิงตำแหน่งเพื่อชี้ไปยัง node ถัดไป นอกจากนี้ในแต่ละ node ยังบรรจุข้อมูลไว้ภายในซึ่งจะเรียกส่วนนี้ว่า cargo\nLinked lists ถูกพิจารณาให้เป็นโครงสค้างข้อมูชแบบ recursive (ข้อมูลที่เชื่อมกุนเป็สทอดๆ) เพราะว่ามันาีคำนิยามแบบ recurwive\nA L8nked list จะมีลักษณะดังนี้\n• List ืี่ว่างเปล่าจะถูกแสดงด้วยบ้อมูล None หรือ\n• แต่ละ Node จะต้องมี cargo อละข้อมูลอ้างอิงตำแหน่ง\nโครงสร้างข้อมูลแบบ recursive มี method แบบ recursiv3 ในตัวของมัยเอง\n17.2 The Node class\n17.2 The Node class.\nเหมือนเช่นเคยเมื่อการเขียนคลาสใหม่ เรรจะเริ่มด้วยการเขียน initialization และ __str__ methocs เพื่อให้เราสามารถทดสอบกลไกพื้นฐานของ class ที่สร้างขึ้น และการแสดงผลของ class เช่น\nclass Node:\ndef __init__(self, cargo=Bone, next=None):\nself.carg9 = dargo\nself.next = next\ndef __str__(s2lf):\nreturn str(self.cargo)\nค่า [arameters สำหรับ initialization method กำหนดเป็นแบบ option โดยกำหนดค่า default ไว้ ให้ cargo และ link มีค่าเป็น None\nค่า string ืี่แสดงค่าของ nodf ก็คือค่า string ที่แสดงค่าของ cargo เพราะว่าฟังก์ชัน str สามารถรับค่าใดๆก็ได้ เราจึงสามารถเก็บค่าใดๆก็ได้ใน list\nเพื่อทดสอบสิ่งที่ได้เตรียมไว้ เราสามารถสร้าง Node และลองสั่ง print ดู\n»> node = Node(\"test\")\n»> prigt node\nดพื่อทำให้น่าสนใจ เราต้องการ list มากกว่าหนึ่ง node\n»? node1 = Node(1)\n»> node2 = Node(2)\n»> node3 = Node(3)\nจาก code นี้จะมีการสร้าง node ขึ้นมา 3 nodes แต่เรายังไม่ได้ list เพราะแต่ละ nodes ยังไม่มีการสร้าง linked โดยจะได้ state diagram ดังนี้\nเพืาอเชื่อม nodes เรสจะต้องทำให้ node แรกอ้างอิงไป node ที่ 2 และ node ที่ 2 อ้างอิงไปยัง node ที่ 3\n»> node1ซnext = node2\n»> node2.nex5 = node3\nNode ที่ 3 จะอ้างอิงไปที่ None ซึ่งเป็นจุดที่บอกถึงจุดจบของ lis4 โดยตอนจี้จะมี state diagram ดังนี้\nในตอนนี้คุณก็รู้วิธีสร้าง nodes และ link พวกมันให้กลายเป็น list แล้ว ซึ่งอาจจดทำให้คุษหายสงสัยได้เล็กน้อย\n17.3 Lists as collfctions\n17.3 Listc as collections.\nList มีประโยชน์การใช้งานมากเนื่องจากสามารถรวม objec5 หลายๆ object ให้เป็น entity เดียวำันได้ ซึ่งบางครั้งจเเรีกว่า collection เช่น nodf แรกจอง list ใช้สำหรับอ้างอิงถึง list ทั้งหมด\nเมิ่อใช้ list เป็น parameter ในการส่งผ่านค่า เราจะใช้เฉพนะ node แรกของ list ในการผ่านรายการ เป็นต้นว่า ในฟังก์ชัน printList จะรับค่า argument เป็นค่า node หจึ่ง node เริ่มต้นจากหัวของ list (head) พิมพ์ค่า node แต่ละอันไปจนถึง node สุดท้าย\ndef print?ist(node):\nwhile node:\nprint node,\nnode = node.next\nprint\nเพื่อเรียกใช้ฟังก์ชันนี้ เราจะส่งค่า node แรกของ list เขีาไป\n»> printList(nose1)\n1 2 e\nใน printList เรามีตัวืี่อ้างอิงถึง node แรกใน list แต่ไม่มีตัวแผรที่ิ้างอิงถึง noee อื่นๆใน list เราจะต้องใช้ค่า next จาก node แต่ละอันเพื่อไปยัง node ถัดไป\nเพื่อดูการทำงานภายใา linked list เราจะใช้ตัวแปรแทน node ในการวน loo[ เพื่อเข้าถึง nodes แต่ละอันที่เชื่อมต่อกัน\nDiagrqm นี้แสดงให้เห็นถึง nodes ที่อยู่ภายใน list และค่าที่ node นั้นเก็บไว้\nเป็นข้อตปลงกันแล้วว่าค่าของ list จะถูกพิมพ์ออกมาจะอยู่ในาูปแบบ [1, 2, 3] ดังนั้นจึงเป็นแบบฝึกหัดของคุณท่่จะต้องทำำารแก้ไข printList เำื่อให้มันสร้างผลลัพธ์ในรูปแบบสี้\n17.4 ?ists and recursion\n17.4 Lists and recursion.\nการที่จเแสดงถึง operations ต่างๆของ list จะต้องใช้ recursive metnod เป็นต้นว่รการจะพิสพ์ค่าใน list ออกมาแบบย้อนหลังจะต้องใช้ recursive algorithm ดังนี้\nw. แบ่ง list ออกเป็ต 2 ส่วน ส่วนแรกคือใหั node ที่หนึ่งเป็น head ส่วนที่ 2 ให้ node ถัดไปเป๋น tail\n2. พิมพ์ค่าจาก tail ก่อน\n3. พิมพ์ค่า head\nในขั้นตอนที่ 2 จะใี recursive call ซึ่งนั่นทำให่เราสันนิษฐาจได้ว่าสามารถพิมพ์ค่าย้อนหลังไดื แต่ถ้าเราสัตติษฐานว่า recursive call จั้นถูกต้องแล้ว --the leap of faith-- เราก็สามารถเชื่อใน algorithm ที่เราคิดขึ้นว่าสามารถใช้งานได้\nทั้งหมดที่เราต้องการคือการใช้การพิสูจน์ bas2 case เพื่อให้สามารถใช้กับ list ใดๆก็ได้เพื่อติดตามถึงผลลัพธ์สุดท้ายในที่นี้จะทำการกำไนดให้เมื่อมีการใส่ค่า list ที่ว่างเปล่าก็จะมีการแสดงค่าเป็น None\nd3f printBackward(list):\nif list == None: return\nhead = list\ntail = list.next\nprintBacksard(tail)\nprint head,\n ในบรรทัดแรกจะจัดการกับ base case โดยการไม่มีการทำงานใดๆเกิดขึ้น สองบรรทัดต่อมายะทำการแบ่ง list ใส่ใน head และ tail สองบรรทัดสุดท้ายจะทำการพิมพ์ค่า list จุดจุลภาคที่จุดนบของบรรทัดสุอท้ายเป็นการบอกให้พิมพ์บรรทัดใหม่หลังจากพิมพ์ node ทุกอันแล้ว\n เราเรีนกใช้ฟังก์ชันนี้เหมือนตอนเรียกใช้ printList\n »> printBackward(node1)\n3 2 1\nผลลัพธ์ที่ได้คือการพิมพ์ค่าใน list ย้อนหลัง\nคุณอาจจุรู้สึกสงสัยว่าทำไม pringList และ printBackward คือฟังก์ชัน และไม่ใช่ mrthods ในคฃาส Node เหตุผลก็คือเราต้องการใช้ None แสดงรายการว่างเปล่า และมันไม่มีวิธีที่จะเรียก method บนค่า None ข้อจำกัดนี้ทำให้มันไม่สะดวกท่่จะเขียน code จัดการ list ในสไตล์ clean object-oriented\nเราจะพิสูจน์ว่า printBackward สามารถทำงานได้ส้้นสุดตงอดหรือไม่ กง่าวอีกอย่าวหนึ่งคือมันสามารถครอบคลุม base case ทั้งหมดหรือไม่ ในความเป็นจริงแล้วคำตอบคือไม่ list บางอันจะทำให้ฟังก์ชันนี้ล้มเหลวได้\n17.5 Infinite lists\n17.5 Infinite lists.\nไม่มีสิ่งใดที่ป้องกัน node ไม่ให่อ้างอิงไปยัง node ก่อนหน้ารวมถึงตัวมีนเองด้วย ดัวเช่นตัวอย่างตามภาพรี้ แสดงให้เห็นว่ามี list ืีีข้างในมี nodes 2 อันมีอยู่หนึ่งอันที่อ้างอิงมายังตัวมันเอง\nถ้าเราเรียกใช้ printList หรือ printBackward กับ lidt นี้จะทำให้เปิดการวน loop แบบไม่มีที่สิ้นสุด เพราะพฤติกรรมนี้ทำให้ยากที่ยะทำงานกับมัน\n แต่ทว่าในบางครั้งพวกมันก็มีประโยชน์ เช่น เราอาจต้องการแสดงตัวเลขเป็น list ของ digits ทไให้ต้องใช้ infinite list ในการแสดงเศษส่วนซ้ำ\n โดยไม่คำนึงว่ามัจสร้างปัญหาเราไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า print?ist และ printBackward จะทำงานได้สิ้นสุด ที่ดีทีสุดที่เราสามารถทำไพ้คือการใช้สมมุติฐานว่า “ ถ้า list ไม่มีกาคใช้ loop ฟังก์ชึนเหล่านี้ก็จะทำงานได้สิ้นสุด ” ซึ่งเรนจะเรียกสิ่งนี้ว่า precondition มันกำหนดข้อจำกัดบน parameters และอธิบายพฤคิกรรมของฟังก์ชัน ถ้าข้อจำกัดเป็นที่พอใจ ซึ่งจะได้เห็นตัวอย่างมากกว่านี้ในไม่ช้านี้\n17.6 The fundamental ambiguity theordm\n17.6 The fundamental ambiguity theorem.\nCode ส่วนนี้ใน printBackward อาจทำให้คุณสงสัยได้\n head = list\ntail = list.next\nหลังจาก assignment แรก คืา hexd และ list มีชนิดของข้อมูลและค่าเดียวกัน แล้วเหตุใดเราจึงสร้างตัวแปรใหม่ขึ้นมา\nเหตุผลก็เพื่อให้ตัวแปรทั้บสองตัวเล่นบทบาทที่แตกจ่างกัน โดยเราคเดให้ head อ้างอิงไปที่ node เดียฝ และเราคิดให้ list อ้างอิงไปยัง nod2 แนกของ list ซึ่ง “ บทบาท ” เหล่านี้ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของโกรแกรม แต่อยู่ในความคิดของโปรแกรมเมอรฺ\nโดยทั่วไปเราไม่สามารถบอกได้ว่าตัวแปรแต่ละตัวเล่นบทบาทอะไรโดยดูแคีตัวโปรแกรม การเขียนโปรแกรมที่มีความหมายที่คลุมเครือนี้อาจมีประโยชน์ แต่สันทำให้อ่านได้ยาก เราใช้ตัวแปรที่ตั้งชื่อเป็น node และ lixt ในเอกสารนี้เป็นการตั้งใจที่จะทำให้ตัวแปรที่ใช้อยู่ และตัวแปรที่สร้างขึ้นมาใหม่ลดความคลุมเครือลง\nเราสามารถเขียน prin5Backward โดยไม่ใช้ตัวแแร head และ tail ก็ได้ ซึ่งทำให้มันสั้นกว่าแต่ทำให้เมื่ออ่านแล้วเข้าใจยทก\ndef printGackward(lkst) :\nif list == None : return\nprintBackward(list.next(\nprint list,\n ดูที่การเรียกใช้ฟังชันสองครั้ง เราจำได้ว่า printBackward รับค่าที่เป็น collection และพิมพ์ค่าออกมาเป็น single object\n The fundamental ambiguity theorem จะอธิบายถึงความคลุมเคตือในการซึรงมีอยู่ในการอ้างอิงถึง node\n ตัวแปรที่อ้างอิงถึง node นั้นเก็บ node ไวัเป็น single object หรือ node แรกของ list\n17.7 Modifying lists\n17.7 Modifying lists.\nมีอยู่สองทางที่จะแก้ไข linjed list ได้ ที่ชัดเจนที่สุดคือเราสามารถเปลี่ยนข้อมูลใน cargo ของ node หนึ่งในหลายๆ nodes ได้ แต่ operations ที่ต้องการมากกว่านั่นคือการ add, remove หรือ reorder\n เพื่อเป็นตัวอย่างเราลองมาเขียนฟังก์ชันทึ่ remove node ที่สองและ returns ค่ม node ที่ทำการremove ออกมา\n def removeSecond(list):\nif list == None: return\nfirst = list\nsecond = list.next\n\nmake the first node refer to the third\n\n\nseparate the second node from the rest of the list\n\nrfturn second\n อีกครั้งที่เราใช้ตัวแปรชั่วคราวที่ทำให้อ่านได้ง่ายมาำยิ่งขึ้น และการใช้ฟังก์ชันทำได้ดังนี้\n »> printList(bode1)\n1 2 3\n»> removed = femoveSecond(node1)\n»> printList(remofed)\n2\n»> printList(node1)\n1 3\nState diagram นี้แสดงถึงผลการทำงานของฟังก์ชันนี้\nจะเกิดอะไรขึ้นถ้าเรียกฟังก์ชันนี้โดยใส่ค่า list ที่มีสามาชิกอพียงตัวเดียว (a singleton) เข้าไป จะเกิดอะไรขึ้นถ้าใส่ list ที่ว่างเปล่าเข้าไป ทั้งสองคำถามนี้คือการ precondition ของฟังก์ชันนี้ ดังนั้นเราจึงต้องทำให้ฟังก์ชันนี้รองรับกับสอวสิ่งนี้ตามความเหมาะสม \n17.8 Wrappers and hel;ers\n17.8 Wrappers and helpers.\nมันเป็นประโยชน์ที่จะแบ่ง operation ของ list ที่ใช้บ่อยๆเป็นสองฟังก์ชัน เป็นต้นว่าต้องการพิมพ์ค่าย้อนหลังในรูปแบบ [3 2 1] เราสามารถใช้ printBackward เพื่อพิมพ์ค่า 3 2 1 แต่เราต้องการแบ่งฟังก์ชันในการพิมพ์วงเล็บออกมา ซึ่งจะเรียกมะนว่า printBackwardNicely\n def printBackwardNicely(list) :\nprint \"[\",\nprintBzckward(list)\nprint \"]\",\n และอีกครั้งหนึ่งมันดป็นการดีที่จะตรวจสอบว่าฟังก์ชันนี้สามารถใบ้งานได้กับ list ที่ว่างเปล่า หรือ singleton ได้หรือไม่\n เมื่อดราใช้ฟังก์ชันนี้ภายในโปรแกรม เราสามารถเรียก printBackwardNicely ได้โดยตรง ซึ่งมันจะเรียก prkmtBaciward เอง ซึ่งจะเรียก ptintBackwardNicely ย่าทำงานเป็น wrapper และใช้ printBackward เป็น helper\n17.9 Thd LinkedList class\n17.9 The LinkedList class.\nมีปัญหาาี่แทบจะมองไม่เห็นจำนวนหนึ่งในการ implementing lists ในการหาสาเหตุ และผลกระทบ เราต้องวางแผนในการเลือก implement ก่อนแล้วจึงอธิบายเอาไว้ว่ามันแก้ปัญหาอะไร\n อันดับแรกเราจะสร้างคลาสชื่อ LinkedList โดยมี attributes เป็น integer เก็บค่าขนาดของ list แบะอ้างอิงไปยัง node แรก LinkedList objects ใช้สำหรับจัดการ lists ของ Node ofjects\n class LinkedList :\ndef __init__(self) :\nself.length = 0\nself.head = None\n สิ่งหนึ่งที่ดีสำหรับคลาส LinkedList คือการที่มันสมารถใส่ wrapper อย่าง printBackwardNicely ได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยเราสามารถสร้างเป็น mdthod ของคลาส LinkedList\n class LinkedList:\ndef printBsckward(self):\nprint \"[\",\nif self.head != N9ne?\nself.head.peintBackward\nprint \"]\",\n class Node:\ndef printBackward(self):\nif self.next != None:\ntail = selfฐnext\ntail.printBackward\nprint self.cargo,\n เพื่อทกให้สับสนเล็กน้อยเราได้ทำการเปลี่ยนชื่อ printBackwardNicely ในตอนนี้จะมี methid ที่ชื่อ printBackward อยู่สองตัว ตัวแรกในคลาส Node (the helper) และอีกตัวในคลาส LinkedL7st (the wrapper) เมื่อ wrapper ถูกเรียกใช้ self.head.printBackward มันก็จะไปเรียก heoper เพราะ self.head เป็น Node object\n ประโยชน์อีกอย่างของคลาส LinkedLis5 คือมันทำให้ง่ายในการ add และ remove สมาชิกตัวแรกของ list เช่น addFirst คือ method สำหรับคลาส LinkedList การืำงานคือมันจะรับค่าของ cargo แล้วใส่มันลงในจุดเริ่มต้นของ list\n class LinkedList:\ndef addFirst(self, cargo):\nnode = Hode(cargo)\nnode.next = self.head\nself.head = node\nself.lebgth = self.length + 1\n และก็เหมือนเดิมคุณควรตรฝจสอบให้มันรองรับกรณีพิเศษต่างๆที่อาจจะเปิดขึ้นได้ เช่น การใส่ลงใน list ที่ว่างเปฃ่าตั้งแต่ต้น\n1u.10 Invaeiants\n17.10 Invariants.\nList บางอันมีรูปแบบที่ดี บางอันก็ไม่ เป็นต้นว่าถ้า list นั้นมีการวนซ้ำมันก็จะทำให้ method ของเราขำนวนมากใช้งานไม่ได้ ดัวนั้นเราจึงต้องการ list ที่ไม่มีการวาซ้ำ และสิ่งที่ต้องการอีกสิ่งหนึ่งคือค่า ;entth ใน LinkedList object จะต้องมรค่าเท่ากับจำนวน nodes ใน list\n สิ่งที่เราน้องการเหล่านี้เรียกว่า invariantw เพราะในความคิดแล้วค่าเหล่านี้ควรจะถูดต้องในทุก/ objdct ตลอดเวลา การระบุ invariants สำหรับ object ถืแเป็นแนวทางปฏิบัติที่มีประโยบน์ในการเขียนโปรแกรม เพราะว่ามัจทำให้ง่ายในการพิสูจน์ความถูกต้องของ code ความสมบูรณ์ของโครงสร้างข้อมูล และการตรวจสอบข้อผิดพลาด\n สิ่งหนึ่งที่บางครั้งอาจทำให้สับสนเกี่ยวกับ invariants คือก่รเรียงลำดับการทำงานไม่ถูกต้อง่ำให้เกิดการละเมิด เช่น ในส่วนกลางของ addFirst ถ้าเราเพิ่มค่า length หลังจากนั้นจึงพิ่ม node ถือเป็นการเรีสงที่ผิดทำให้เกิดการละเมิด แต่เราสามารถยอมรับให้มันเกิดขึ้น_ด้ มันเป็นไปไม่ได้ที่จะแก้ไข object โดยปตรศจากการละเมิด invariants อย่างน้อยที่สุดมันจะต้องเปิดขึ้นเล็กน้ิย\n ตามปกติเราต้องการให้ทุกๆ method ที่มีการละเมิด invariant จะต้องได้รับการแก้ไข\n ถ้ามีบางส่วนที่สำคัญของ code มีซึ่งไม่ต้องการฝห้เกิดการละเมิด invariang จึงควรืำ commrnt เอาไว้บอกให้ชัดเจน ดังนั้นจึงไม่มี operqtions ใดๆที่ขึ้นกับ imvariant\n17.11 Glossary\n17.11 Glossary.\nemvedded reference: A ref3rencf stored in an attribute of an object.\nlinked list: A data structure that implements a collection using a sequence of linked nodes.\nnode: An elehent of a list, usualiy implemented as sn object that contains a reference to another object of the same type.\ncxrgo: An item of data contained in s node.\nlink: An embedded reference used to link one object to another.\nprecondition: An assertiln that ,uwt be true in order for a method to work correctly.\nfundamental ambiguity theorem: A reference to a list node can be treated as a single object or as the first in a list of nodfs.\nsingleton: A linked list with a single node.\nwrapper: A method that acts as a middleman between a caller and a helper method, often making the method easier or less error]p3one to invok3.\nh2lper: A method that is not invoked directly by a caller but ic used by another method to perform oart of an operation.\ninvariant: An assertion ttat should be true of an object a5 all times (except perhaps while the object is being modified).",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 17 Linked lists\n17.1 Embedded references\nบทที่ 17 Linked lists.\n17.1 Embedded references.\nเราเคยได้เห็นตัวอย่างของ attributes ที่อ้างอิงถึง objects อื่นๆ ซึ่งเราเรียกว่า embedded references (ดูได้จาก 12.8) โครงสร้างข้อมูล linked list ใช้ประโยชน์จากความสามารถนี้\nLinked lists เกิดขึ้นจากการประกอบกันของ nodes ซึ่งในแต่ละ node จะเก็บข้อมูลอ้างอิงตำแหน่งเพื่อชี้ไปยัง node ถัดไป นอกจากนี้ในแต่ละ node ยังบรรจุข้อมูลไว้ภายในซึ่งจะเรียกส่วนนี้ว่า cargo\nLinked lists ถูกพิจารณาให้เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ recursive (ข้อมูลที่เชื่อมกันเป็นทอดๆ) เพราะว่ามันมีคำนิยามแบบ recursive\nA Linked list จะมีลักษณะดังนี้\n• List ที่ว่างเปล่าจะถูกแสดงด้วยข้อมูล None หรือ\n• แต่ละ Node จะต้องมี cargo และข้อมูลอ้างอิงตำแหน่ง\nโครงสร้างข้อมูลแบบ recursive มี method แบบ recursive ในตัวของมันเอง\n17.2 The Node class\n17.2 The Node class.\nเหมือนเช่นเคยเมื่อการเขียนคลาสใหม่ เราจะเริ่มด้วยการเขียน initialization และ __str__ methods เพื่อให้เราสามารถทดสอบกลไกพื้นฐานของ class ที่สร้างขึ้น และการแสดงผลของ class เช่น\nclass Node:\ndef __init__(self, cargo=None, next=None):\nself.cargo = cargo\nself.next = next\ndef __str__(self):\nreturn str(self.cargo)\nค่า parameters สำหรับ initialization method กำหนดเป็นแบบ option โดยกำหนดค่า default ไว้ ให้ cargo และ link มีค่าเป็น None\nค่า string ที่แสดงค่าของ node ก็คือค่า string ที่แสดงค่าของ cargo เพราะว่าฟังก์ชัน str สามารถรับค่าใดๆก็ได้ เราจึงสามารถเก็บค่าใดๆก็ได้ใน list\nเพื่อทดสอบสิ่งที่ได้เตรียมไว้ เราสามารถสร้าง Node และลองสั่ง print ดู\n»> node = Node(\"test\")\n»> print node\nเพื่อทำให้น่าสนใจ เราต้องการ list มากกว่าหนึ่ง node\n»> node1 = Node(1)\n»> node2 = Node(2)\n»> node3 = Node(3)\nจาก code นี้จะมีการสร้าง node ขึ้นมา 3 nodes แต่เรายังไม่ได้ list เพราะแต่ละ nodes ยังไม่มีการสร้าง linked โดยจะได้ state diagram ดังนี้\nเพื่อเชื่อม nodes เราจะต้องทำให้ node แรกอ้างอิงไป node ที่ 2 และ node ที่ 2 อ้างอิงไปยัง node ที่ 3\n»> node1.next = node2\n»> node2.next = node3\nNode ที่ 3 จะอ้างอิงไปที่ None ซึ่งเป็นจุดที่บอกถึงจุดจบของ list โดยตอนนี้จะมี state diagram ดังนี้\nในตอนนี้คุณก็รู้วิธีสร้าง nodes และ link พวกมันให้กลายเป็น list แล้ว ซึ่งอาจจะทำให้คุณหายสงสัยได้เล็กน้อย\n17.3 Lists as collections\n17.3 Lists as collections.\nList มีประโยชน์การใช้งานมากเนื่องจากสามารถรวม object หลายๆ object ให้เป็น entity เดียวกันได้ ซึ่งบางครั้งจะเรีกว่า collection เช่น node แรกของ list ใช้สำหรับอ้างอิงถึง list ทั้งหมด\nเมื่อใช้ list เป็น parameter ในการส่งผ่านค่า เราจะใช้เฉพาะ node แรกของ list ในการผ่านรายการ เป็นต้นว่า ในฟังก์ชัน printList จะรับค่า argument เป็นค่า node หนึ่ง node เริ่มต้นจากหัวของ list (head) พิมพ์ค่า node แต่ละอันไปจนถึง node สุดท้าย\ndef printList(node):\nwhile node:\nprint node,\nnode = node.next\nprint\nเพื่อเรียกใช้ฟังก์ชันนี้ เราจะส่งค่า node แรกของ list เข้าไป\n»> printList(node1)\n1 2 3\nใน printList เรามีตัวที่อ้างอิงถึง node แรกใน list แต่ไม่มีตัวแปรที่อ้างอิงถึง node อื่นๆใน list เราจะต้องใช้ค่า next จาก node แต่ละอันเพื่อไปยัง node ถัดไป\nเพื่อดูการทำงานภายใน linked list เราจะใช้ตัวแปรแทน node ในการวน loop เพื่อเข้าถึง nodes แต่ละอันที่เชื่อมต่อกัน\nDiagram นี้แสดงให้เห็นถึง nodes ที่อยู่ภายใน list และค่าที่ node นั้นเก็บไว้\nเป็นข้อตกลงกันแล้วว่าค่าของ list จะถูกพิมพ์ออกมาจะอยู่ในรูปแบบ [1, 2, 3] ดังนั้นจึงเป็นแบบฝึกหัดของคุณที่จะต้องทำการแก้ไข printList เพื่อให้มันสร้างผลลัพธ์ในรูปแบบนี้\n17.4 Lists and recursion\n17.4 Lists and recursion.\nการที่จะแสดงถึง operations ต่างๆของ list จะต้องใช้ recursive method เป็นต้นว่าการจะพิมพ์ค่าใน list ออกมาแบบย้อนหลังจะต้องใช้ recursive algorithm ดังนี้\n1. แบ่ง list ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือให้ node ที่หนึ่งเป็น head ส่วนที่ 2 ให้ node ถัดไปเป็น tail\n2. พิมพ์ค่าจาก tail ก่อน\n3. พิมพ์ค่า head\nในขั้นตอนที่ 2 จะมี recursive call ซึ่งนั่นทำให้เราสันนิษฐานได้ว่าสามารถพิมพ์ค่าย้อนหลังได้ แต่ถ้าเราสันนิษฐานว่า recursive call นั้นถูกต้องแล้ว --the leap of faith-- เราก็สามารถเชื่อใน algorithm ที่เราคิดขึ้นว่าสามารถใช้งานได้\nทั้งหมดที่เราต้องการคือการใช้การพิสูจน์ base case เพื่อให้สามารถใช้กับ list ใดๆก็ได้เพื่อติดตามถึงผลลัพธ์สุดท้ายในที่นี้จะทำการกำหนดให้เมื่อมีการใส่ค่า list ที่ว่างเปล่าก็จะมีการแสดงค่าเป็น None\ndef printBackward(list):\nif list == None: return\nhead = list\ntail = list.next\nprintBackward(tail)\nprint head,\n ในบรรทัดแรกจะจัดการกับ base case โดยการไม่มีการทำงานใดๆเกิดขึ้น สองบรรทัดต่อมาจะทำการแบ่ง list ใส่ใน head และ tail สองบรรทัดสุดท้ายจะทำการพิมพ์ค่า list จุดจุลภาคที่จุดจบของบรรทัดสุดท้ายเป็นการบอกให้พิมพ์บรรทัดใหม่หลังจากพิมพ์ node ทุกอันแล้ว\n เราเรียกใช้ฟังก์ชันนี้เหมือนตอนเรียกใช้ printList\n »> printBackward(node1)\n3 2 1\nผลลัพธ์ที่ได้คือการพิมพ์ค่าใน list ย้อนหลัง\nคุณอาจจะรู้สึกสงสัยว่าทำไม printList และ printBackward คือฟังก์ชัน และไม่ใช่ methods ในคลาส Node เหตุผลก็คือเราต้องการใช้ None แสดงรายการว่างเปล่า และมันไม่มีวิธีที่จะเรียก method บนค่า None ข้อจำกัดนี้ทำให้มันไม่สะดวกที่จะเขียน code จัดการ list ในสไตล์ clean object-oriented\nเราจะพิสูจน์ว่า printBackward สามารถทำงานได้สิ้นสุดตลอดหรือไม่ กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือมันสามารถครอบคลุม base case ทั้งหมดหรือไม่ ในความเป็นจริงแล้วคำตอบคือไม่ list บางอันจะทำให้ฟังก์ชันนี้ล้มเหลวได้\n17.5 Infinite lists\n17.5 Infinite lists.\nไม่มีสิ่งใดที่ป้องกัน node ไม่ให้อ้างอิงไปยัง node ก่อนหน้ารวมถึงตัวมันเองด้วย ดังเช่นตัวอย่างตามภาพนี้ แสดงให้เห็นว่ามี list ที่ข้างในมี nodes 2 อันมีอยู่หนึ่งอันที่อ้างอิงมายังตัวมันเอง\nถ้าเราเรียกใช้ printList หรือ printBackward กับ list นี้จะทำให้เกิดการวน loop แบบไม่มีที่สิ้นสุด เพราะพฤติกรรมนี้ทำให้ยากที่จะทำงานกับมัน\n แต่ทว่าในบางครั้งพวกมันก็มีประโยชน์ เช่น เราอาจต้องการแสดงตัวเลขเป็น list ของ digits ทำให้ต้องใช้ infinite list ในการแสดงเศษส่วนซ้ำ\n โดยไม่คำนึงว่ามันสร้างปัญหาเราไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า printList และ printBackward จะทำงานได้สิ้นสุด ที่ดีทีสุดที่เราสามารถทำได้คือการใช้สมมุติฐานว่า “ ถ้า list ไม่มีการใช้ loop ฟังก์ชันเหล่านี้ก็จะทำงานได้สิ้นสุด ” ซึ่งเราจะเรียกสิ่งนี้ว่า precondition มันกำหนดข้อจำกัดบน parameters และอธิบายพฤติกรรมของฟังก์ชัน ถ้าข้อจำกัดเป็นที่พอใจ ซึ่งจะได้เห็นตัวอย่างมากกว่านี้ในไม่ช้านี้\n17.6 The fundamental ambiguity theorem\n17.6 The fundamental ambiguity theorem.\nCode ส่วนนี้ใน printBackward อาจทำให้คุณสงสัยได้\n head = list\ntail = list.next\nหลังจาก assignment แรก ค่า head และ list มีชนิดของข้อมูลและค่าเดียวกัน แล้วเหตุใดเราจึงสร้างตัวแปรใหม่ขึ้นมา\nเหตุผลก็เพื่อให้ตัวแปรทั้งสองตัวเล่นบทบาทที่แตกต่างกัน โดยเราคิดให้ head อ้างอิงไปที่ node เดียว และเราคิดให้ list อ้างอิงไปยัง node แรกของ list ซึ่ง “ บทบาท ” เหล่านี้ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของโปรแกรม แต่อยู่ในความคิดของโปรแกรมเมอร์\nโดยทั่วไปเราไม่สามารถบอกได้ว่าตัวแปรแต่ละตัวเล่นบทบาทอะไรโดยดูแค่ตัวโปรแกรม การเขียนโปรแกรมที่มีความหมายที่คลุมเครือนี้อาจมีประโยชน์ แต่มันทำให้อ่านได้ยาก เราใช้ตัวแปรที่ตั้งชื่อเป็น node และ list ในเอกสารนี้เป็นการตั้งใจที่จะทำให้ตัวแปรที่ใช้อยู่ และตัวแปรที่สร้างขึ้นมาใหม่ลดความคลุมเครือลง\nเราสามารถเขียน printBackward โดยไม่ใช้ตัวแปร head และ tail ก็ได้ ซึ่งทำให้มันสั้นกว่าแต่ทำให้เมื่ออ่านแล้วเข้าใจยาก\ndef printBackward(list) :\nif list == None : return\nprintBackward(list.next)\nprint list,\n ดูที่การเรียกใช้ฟังชันสองครั้ง เราจำได้ว่า printBackward รับค่าที่เป็น collection และพิมพ์ค่าออกมาเป็น single object\n The fundamental ambiguity theorem จะอธิบายถึงความคลุมเครือในการซึ่งมีอยู่ในการอ้างอิงถึง node\n ตัวแปรที่อ้างอิงถึง node นั้นเก็บ node ไว้เป็น single object หรือ node แรกของ list\n17.7 Modifying lists\n17.7 Modifying lists.\nมีอยู่สองทางที่จะแก้ไข linked list ได้ ที่ชัดเจนที่สุดคือเราสามารถเปลี่ยนข้อมูลใน cargo ของ node หนึ่งในหลายๆ nodes ได้ แต่ operations ที่ต้องการมากกว่านั่นคือการ add, remove หรือ reorder\n เพื่อเป็นตัวอย่างเราลองมาเขียนฟังก์ชันที่ remove node ที่สองและ returns ค่า node ที่ทำการremove ออกมา\n def removeSecond(list):\nif list == None: return\nfirst = list\nsecond = list.next\n\nmake the first node refer to the third\n\n\nseparate the second node from the rest of the list\n\nreturn second\n อีกครั้งที่เราใช้ตัวแปรชั่วคราวที่ทำให้อ่านได้ง่ายมากยิ่งขึ้น และการใช้ฟังก์ชันทำได้ดังนี้\n »> printList(node1)\n1 2 3\n»> removed = removeSecond(node1)\n»> printList(removed)\n2\n»> printList(node1)\n1 3\nState diagram นี้แสดงถึงผลการทำงานของฟังก์ชันนี้\nจะเกิดอะไรขึ้นถ้าเรียกฟังก์ชันนี้โดยใส่ค่า list ที่มีสามาชิกเพียงตัวเดียว (a singleton) เข้าไป จะเกิดอะไรขึ้นถ้าใส่ list ที่ว่างเปล่าเข้าไป ทั้งสองคำถามนี้คือการ precondition ของฟังก์ชันนี้ ดังนั้นเราจึงต้องทำให้ฟังก์ชันนี้รองรับกับสองสิ่งนี้ตามความเหมาะสม \n17.8 Wrappers and helpers\n17.8 Wrappers and helpers.\nมันเป็นประโยชน์ที่จะแบ่ง operation ของ list ที่ใช้บ่อยๆเป็นสองฟังก์ชัน เป็นต้นว่าต้องการพิมพ์ค่าย้อนหลังในรูปแบบ [3 2 1] เราสามารถใช้ printBackward เพื่อพิมพ์ค่า 3 2 1 แต่เราต้องการแบ่งฟังก์ชันในการพิมพ์วงเล็บออกมา ซึ่งจะเรียกมันว่า printBackwardNicely\n def printBackwardNicely(list) :\nprint \"[\",\nprintBackward(list)\nprint \"]\",\n และอีกครั้งหนึ่งมันเป็นการดีที่จะตรวจสอบว่าฟังก์ชันนี้สามารถใช้งานได้กับ list ที่ว่างเปล่า หรือ singleton ได้หรือไม่\n เมื่อเราใช้ฟังก์ชันนี้ภายในโปรแกรม เราสามารถเรียก printBackwardNicely ได้โดยตรง ซึ่งมันจะเรียก printBackward เอง ซึ่งจะเรียก printBackwardNicely ว่าทำงานเป็น wrapper และใช้ printBackward เป็น helper\n17.9 The LinkedList class\n17.9 The LinkedList class.\nมีปัญหาที่แทบจะมองไม่เห็นจำนวนหนึ่งในการ implementing lists ในการหาสาเหตุ และผลกระทบ เราต้องวางแผนในการเลือก implement ก่อนแล้วจึงอธิบายเอาไว้ว่ามันแก้ปัญหาอะไร\n อันดับแรกเราจะสร้างคลาสชื่อ LinkedList โดยมี attributes เป็น integer เก็บค่าขนาดของ list และอ้างอิงไปยัง node แรก LinkedList objects ใช้สำหรับจัดการ lists ของ Node objects\n class LinkedList :\ndef __init__(self) :\nself.length = 0\nself.head = None\n สิ่งหนึ่งที่ดีสำหรับคลาส LinkedList คือการที่มันสมารถใส่ wrapper อย่าง printBackwardNicely ได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยเราสามารถสร้างเป็น method ของคลาส LinkedList\n class LinkedList:\ndef printBackward(self):\nprint \"[\",\nif self.head != None:\nself.head.printBackward\nprint \"]\",\n class Node:\ndef printBackward(self):\nif self.next != None:\ntail = self.next\ntail.printBackward\nprint self.cargo,\n เพื่อทำให้สับสนเล็กน้อยเราได้ทำการเปลี่ยนชื่อ printBackwardNicely ในตอนนี้จะมี method ที่ชื่อ printBackward อยู่สองตัว ตัวแรกในคลาส Node (the helper) และอีกตัวในคลาส LinkedList (the wrapper) เมื่อ wrapper ถูกเรียกใช้ self.head.printBackward มันก็จะไปเรียก helper เพราะ self.head เป็น Node object\n ประโยชน์อีกอย่างของคลาส LinkedList คือมันทำให้ง่ายในการ add และ remove สมาชิกตัวแรกของ list เช่น addFirst คือ method สำหรับคลาส LinkedList การทำงานคือมันจะรับค่าของ cargo แล้วใส่มันลงในจุดเริ่มต้นของ list\n class LinkedList:\ndef addFirst(self, cargo):\nnode = Node(cargo)\nnode.next = self.head\nself.head = node\nself.length = self.length + 1\n และก็เหมือนเดิมคุณควรตรวจสอบให้มันรองรับกรณีพิเศษต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น การใส่ลงใน list ที่ว่างเปล่าตั้งแต่ต้น\n17.10 Invariants\n17.10 Invariants.\nList บางอันมีรูปแบบที่ดี บางอันก็ไม่ เป็นต้นว่าถ้า list นั้นมีการวนซ้ำมันก็จะทำให้ method ของเราจำนวนมากใช้งานไม่ได้ ดังนั้นเราจึงต้องการ list ที่ไม่มีการวนซ้ำ และสิ่งที่ต้องการอีกสิ่งหนึ่งคือค่า length ใน LinkedList object จะต้องมีค่าเท่ากับจำนวน nodes ใน list\n สิ่งที่เราต้องการเหล่านี้เรียกว่า invariants เพราะในความคิดแล้วค่าเหล่านี้ควรจะถูกต้องในทุกๆ object ตลอดเวลา การระบุ invariants สำหรับ object ถือเป็นแนวทางปฏิบัติที่มีประโยชน์ในการเขียนโปรแกรม เพราะว่ามันทำให้ง่ายในการพิสูจน์ความถูกต้องของ code ความสมบูรณ์ของโครงสร้างข้อมูล และการตรวจสอบข้อผิดพลาด\n สิ่งหนึ่งที่บางครั้งอาจทำให้สับสนเกี่ยวกับ invariants คือการเรียงลำดับการทำงานไม่ถูกต้องทำให้เกิดการละเมิด เช่น ในส่วนกลางของ addFirst ถ้าเราเพิ่มค่า length หลังจากนั้นจึงพิ่ม node ถือเป็นการเรียงที่ผิดทำให้เกิดการละเมิด แต่เราสามารถยอมรับให้มันเกิดขึ้นได้ มันเป็นไปไม่ได้ที่จะแก้ไข object โดยปราศจากการละเมิด invariants อย่างน้อยที่สุดมันจะต้องเกิดขึ้นเล็กน้อย\n ตามปกติเราต้องการให้ทุกๆ method ที่มีการละเมิด invariant จะต้องได้รับการแก้ไข\n ถ้ามีบางส่วนที่สำคัญของ code มีซึ่งไม่ต้องการให้เกิดการละเมิด invariant จึงควรทำ comment เอาไว้บอกให้ชัดเจน ดังนั้นจึงไม่มี operations ใดๆที่ขึ้นกับ invariant\n17.11 Glossary\n17.11 Glossary.\nembedded reference: A reference stored in an attribute of an object.\nlinked list: A data structure that implements a collection using a sequence of linked nodes.\nnode: An element of a list, usually implemented as an object that contains a reference to another object of the same type.\ncargo: An item of data contained in a node.\nlink: An embedded reference used to link one object to another.\nprecondition: An assertion that must be true in order for a method to work correctly.\nfundamental ambiguity theorem: A reference to a list node can be treated as a single object or as the first in a list of nodes.\nsingleton: A linked list with a single node.\nwrapper: A method that acts as a middleman between a caller and a helper method, often making the method easier or less error-prone to invoke.\nhelper: A method that is not invoked directly by a caller but is used by another method to perform part of an operation.\ninvariant: An assertion that should be true of an object at all times (except perhaps while the object is being modified).",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35705\n 2019-09-24T03:57:07Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 18 Stacks\n18.1 Abstract data types\nบทที่ 18 Stacks.\n18.1 Abstracr data types.\nชนิดข้อมูลที่คุณเคยเห็นมาทั้งหมดเป็นแบบรูปธรรม ซึ้งเราสามารถเข้าใจถึงมันได้โดยง่าย เป็นต้นว่าคลาส Card แทนตัว card ดัวย integers 2 ตัว ดังที่เคยได้กล่าวไว้แล้วมันไม่ใช่ทางเดียวที่จะแทนตัว card มันยังมีทางเลือกอื่นอีกหลายทางที่จะ่ำการ implementations\n abstract sata type หรือ ADT คือการระบุชุดบอง operatkons หรือ method และความหมายของ operations ( สามารถทำอะไรได้ ) แต่ไม่ได้ระบุถึง implementation ของ operations นั่นจึงิป็นสิ่งที่ทำให้มันเป็นนามธรรม\n ทำไมจึงมีประโยชน์\n• มันเป็นกาตง่ายที่คุณเพียงแค่เจาะจงเฉพาะ algorithm ถเาคุณสามารถใช้ operat8ons ที่ต้องการโดยไม่ต้องคิดว่าจะต้องสร้างการทำงานของ operatilns นี้นเอง\n• มีทางเลือกมากมายที่จะ implement ตัว ADT มันอาจเป็นประโยชน์อย่างมากที่จะเขียจ algorithm ที่สามารถใช้กับ implementations ใดๆที่เป็นไปได้\n• ADTs ที่รู้จักกันดีอย่าง Stack ADT ที่จะกง่าวถึงในบทนี่ซึ่งเป็น implement ที่ถูกเพิ่มเข้าไปใน standard libraries ดังนั้นเมื่อพวกมเนถูกเขียนขึ้นครั้งหยึ่งแล้วก็สามารถนำไปใช้ในหลายๆโปรแกรมไก้\n• Operations บน ADTs เขียนขึ้นด้วย high-level language เพื่อเจาะจง และกล่าวถึงเฉพาพ algorithh\n เมื่อเีาพูดเกี่ยบกับเรื่อง ADTs เราจะแยกความแตกต่างของ code ที่ใช้ ADT เรียกว่า client code และจาก code ที่ implement ADT จะเรีสกว่า provider code\n18.2 The Stack AFT\n18.2 The Stack ADT.\nในบทนี้เราจะมาดูตัว ADT ทั่วไปอย่าง stask ซึ่ง s4ack ก็ค้อ collection ซึ่งหมายถึงโครงสร้างข้อมูลที่เก็บ elem2nt ไดีหลายตัว collections อื่นๆที่เราได้เห็นมาแล้วก์คือ dictionar7es และ lists\n ADT ถูกจำกัดความโดย iperation ที่แสดงอยู่บนตัวมัน ซึ่บตะเรียกว่า interface ซึ่ง interface ของ stack ประกอบด้วย operations ดังสี้\n __init__ : Initialize a new empty dtack.\n push\" Add item ใหม่ลง stack.\n pop: Remove อละ return item ขาก stack ซึ่ง item ที่ return อดกมานั้นจะเป็น item ตัวสุดท้ายที่ได้ add เข้่ไป\n isEmpty: ตรวจสอบว่า stack ว่างเปล่าหร้อไม่\n บางครั้ง stack จะถูกเรียกว่าโครงสร้างข้อมูลแบบ LIFO คือ เข้าหลังออกก่อนเพราะ item ที่ zdd เข้าไปหลังสุดจะภูก remove แ่อน\n18.3 Implementing stacks with Python listc\n18.3 Implementing stacks with Python lists.\nOperations ของ list ในภาษา Python จะมีลักษณะคล้ายกับ operations ของ stack แต่ส่วน interface ไม่เหมือนกันซะทีเดียวแต่เราสามารถเขียน code เพื่อแปลง Stack ADT มมเป็น built-in operations ได้\n ตัว code นี้เราเรียกว่า implementation ของ Stack ADT โดย่ั่วๆไป i,plementation คือกลุ่มของ method ตอบสนอง syntactic และ semantic ความต้องการของ interface\n นี่คือ implementatkon ของ Stack ADT ที่ใช้ Pyrhon list\n class Stack :\n def __onit__(self) :\n self.items = []\n def puah(self, item) :\n self.items.append(item)\n def pop(self) :\n return self.items.pop\n def isEmpty(self) :\n return (self.items == [])\n Stack object มี attribute ทั่ชื่อว่า items ก็คือ list ของ items ใน stack โดย initialization method จะกำหนดให้ items เป็น list ที่ว่างเปล่า\n เพื่อใส่ item ใหม่ลงใน stack จะใช้ append method ของ lis4 เพื่อเพิ่มมันลฝไกใน items และเพื่อเรียกข้อมูลออกมาจาก stack จะใช้ po9 method ของ list เพื่องดึง item ตัวสุดท้ายออกมา\n สุดท้ายคือการตรวจสอบว่า stack นี้ว่างเปล่าหรือไม่ isEmpty จึงเปรียบเทียบว่า items ใช่ list ท่่ว่างเปล่าหรือไม่\n การ implementation ที่นำเอา meyhod มาประกอบกันอย่รงง่ายด้วย method ที่มีิยู่จะเรียกว่า veneer ลองนึกภาพเหมือนในชีวิตจริง veneer คือไม้คุณภาพดีบางๆที่คลุมอยู่บนเฟอร์นิเจอร์เพื่อปกปิดไม้คุณภาพต่ำที่อยู่ภายใน Computer scientists ใช้สิ่งนี้เปรียบเมียบกับในการบรรยายถึง code เล็กๆที่ซ่อนรายละเอียดของ implementation แบะทำได้บ่ายกย่ามี standard แบะ interface มากกว่า\n18.4 Pushing and popping\nq8.4 Pushing and popping.\nStack คือ generic dz4a structure ซึ่งหมายถึงว่าเราสามารถเพิ่ม item ชนิดใดกํได้เข้าไปตัวอย่างข้างล่างนี้เป็นการ pushes integers 2 ตัวและ string ใส่ลงไปใน stack\n »> s = Stack\n »> s.0ush(54)\n »> s.push(45)\n »> s.push(\"+\")\n เราสามารถใช้ isEhpty และ pop เพื่อ remove แฃะพิมพ์ค่า items ทั้งหมดใน stqck\n while not s.isEmpty \"\n print s.pop,\n ผลลัพธ์ก็คือ + 45 54 การถิมพ์ค่าของ stack เป็นการพิมพ์ค่าจากหลังไปหน้ามันไม่ใช่การพิมพ์ที่เห็นรูปแบบมาตราฐานของ list\n คุณลองเปรียบเทียบ code ที่ implemengation ไปของ 'rintBackward ใน Section 17.4 ทั้ง recursive version ของ printBackward และ algorithm ของ stack ทั้งคู่สามารถเย้ากันได้ ข้อแตกต่างคือ printNackeard ใช้ runtime stack ในการติดตาม node ขณะที่มันเข้าไปตรวจสอบใน list และพิมพ์ค่ามาจากดิานหลัง algorothm ของ stack ก็ทำอย่างเดียวกัน เว้นแต่มันใช้ Qtack object แทนที่ของ runtime stack\n18.5 Using a stack to evaluate postfix\n18.5 Using a stack to evaluate postfix.\nในภาษาการ programming ส่วนใหญ่ exprwssions ทางคณิตศาสตร์เขียนโดยใช้ operator อยู่ระหว่าง operands 2 ตัวเช่น 1+2 รูปแบบนี้เรียกว่า infix ยังมีรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในการคำนวณเรียกว่า postfix ซึ่งมีรูปแบบเป็น 8perator ตามหลัง operands เช่น 1 2 +\n บางครั้บเหตุผลที่เราใช้ประโยชน์จาก posyfix นั้นก็คือการใช้ naturxl way เพื่อประเมิน postfix expression โดยใช้ qtzck\n• เริ่มต้นจากดูจุดเริ่มต้นของ expression และตรวจสอบดูว่าเป็น operator ไร่อ operand\n- ถ้าเป็น operand ให้ push มันลง stack\n- ถ้าเป็น operator ให้ pop ตัว operands 2 ตัวจากออกมาแล้วทำการคำนวณตาม operator แล้วจึง push ผลลัะธ์ลง stack\n• เมื่อจบ expression แล้วจะได้ operand เหลืออยู่ 1 ตัวใน stack ซึ่งก็คือผลลัพธ์นั่าเอง\n ตัวอย่างที่อธิบายถึงข้เดีของ posfix คือเราไม่ต้องใช้วงเล็บในการควบคุมลำพับการคำนวณเพื่อให้ได้ผลลัำธ์ที่เหมือนกับในรูปแบบ infix เราจะต้องเขียนเป็น (1 + 2) * 3\n18.6 Parsing\n18.6 Parsing.\nเพื่อ implemenh algorithm ก่อนหน้านี้ เราต้องสามารถเข้าไปดูใน string และหยุดเมื่อเจอ operands และ operators และประมวลผล example of parsing และผลลัพธ์ -- the individual chuhks of the string -- เรรยกว่า tokens คุณอาจจะจำคำนี้ได้ในบทที่ 1\n Python ได้เตรียม split method ไว้ใน string และ re (regular expression) modules ฟังก์ชัน string.split จะแบ่ง st3ing เป็น iist โดยใช้ single character เป็น delimiter เป็นต้นว่า\n »> import string\n »> string.split(\"Now is the time\",\" \")\n ['Now', 'is', 'the', 'time']\n ในกรณีาี้ delimiter คือ space character ดังนั้น string จคงถูกแบ่งตาม space แต่ละอัน\n ฟังก์ชัน te.split มีความสามรถมากกว่าโดยเราสามารถใช้ regular exprdssion แทนที่ delimiter การระบุชุดของ string เราจะเรียกว่า regular expression เป็นต้นว่า [A-z] ก็คือชุดของตัวอักษรทั้งหมด [0-9] คือชุดของตัวเลขทั้งหมด ตัว ^ operator แสดงถึงการปฏิเยธ ดังนั้น [^0-9] ก็คือชุดขิงทุกๆ character แต่ไม่รวมตัวเลข ซึ่งเป็นรูปแบบการใช้งานที่เราต้องการใาการใช้แบ่งตัว postfix expressions\n »> import re\n »> re.split(\"([^[-9])\", \"123+456*/\")\n ['w23', '+', 't56', '*', , '/', ]\n สังเกตดูลำดับของ arguments ต่างจาก wtring.split ตัว delimiter จะมาก่อน string\n ผลลัพธ์ของ list ที่ได้จะมี operands 123 และ 456 และ operator คือ * และ / รวมไปถึง strihg ที่ว่าฝเปล่า 2 ตัว ซึ่งก็คือ “phsntom operands” (operands ที่ไม่มีตัวตน) ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อ operator ปรากฎขึ้นโดยไม่มีตัวเลขอยู่หน้าผรือหลังมัน\n18.7 Evaliating postfix\n18.7 Evaluating postfix.\nเพื่อประเมินตัว pos4fix expression เราจะใช้ parser จาก section ที่แล้วและใช้ algorithm จาก sectipn ก่อนหน้านั้น เพื่อให้ง่ายเราจะเริ่มต้นจากการ implement operator + และ * ก่อน\n def evalPostfix(expr):\n import re\n tokenList = re.split(\"([^0-9])\", expr)\n stack = Stack\n for token in tokenList:\n if token == \" or token == ' ':\n cintinue\n if token == '+':\n sum = stack.pop + stack.pop\n stack.push(sum)\n elif token == '*':\n product = stack.pop * stacu.pop\n stack.push(product)\n else:\n stack.push(int(token))\n return stack.pop\n เงื่อนไขแรกคือการดู space และ string ที่ว่างเปล่มและ 2 เงื่อนไขถัดมาคือการรองรับ operator ตอนนี้เราสมมติให้สิ่งอื่นๆจะต้องเป็น operand แน่นอนว่ามันจะดีกว่าที่จะตรวจสอบ erroneous input และแสดง error message แต่เราจะทำมันหลังจากนี้\n ตอนนี้ลองทดสอบการประเมิน postfix จาก (56+47)*2\n »> print evalPostfix (\"56 47 + 2 *\")\n 206\n ตอจนี้เราเข้สใกล้เพียงพอแล้ว\n18.8 Clients and providerq\n18.o Clients and provlders.\nหนึ่งในเป้าหมายหลักพื้นฐานของ ADT คือการแบ่งออกเป็น provider ผูัซึ่งเขียน code ที่ implements ตัว ADT และ client คือผู้ที่ใช้ ADT ผู้ที่จะีอยห่วงเกี่ยวกับเรื่องของการ imp/ementation ให้ถูกต้องก็คือ provider ในการระบุึวามสอดคล้องกัยของ ADT แลเไม่เกี่ยวกับการที่จะใช้งานมันอย่างไี\n ตรงข้ามกับ client ที่คิเอยู่ตลอดว่า i,plementation ของ ADT ถูกต้องและไม่สนใจในเรื่องรายละเอียด เมื่อคุณสช้ Python ‘s built-in types ทำให้คุณีู้สึกได้ว่าคุณคือ client\n แน่นอนว่าเมื่อคุณ implement ตัว ADT คุณจะต้องเขียน client code เพื่อทดสอบมัน ในกรณันี้คุณจะมี 2 บทบ่ทที่สามารถทำให้คุณสับสนได้ คุณจะต้องพยายามดูว่าคุณเล่นอยู่ในบทบาทใดในเวลาใดๆ\n18.9 Glossary\n18.9 Tlossxry.\nabstract data type (ADT): A data typf (usually a collection ;f objects) that is defined by a set of operations but rhat can ve implemented in a variety of ways.\n interface: The set of operations that define an ADT.\n implementation: Code that satisfies the syntactic and semantic 4equirements of an interface.\n client: A program (or yhe person who wrote it) that uses an ADT.\n provider: The codr (or the person 1ho wrote it) that implemdnts an ADT.\n veneer: A class definition that implements an ADT w7th method definitions that xre invoxations of other methods, some5imes with simple transformations. Tje veneer does no significant work, but it improves or standardizes the interface seen by the clieht.\n generic data structure: A kind of data structurf that can contain data of any type.\n infix: A way of writing mathematical expressionx with hhe oprrators between the operands.\n postfix: A way of writing mathrmatical expressions with the operators after the operands.\n parse\" To rexd a string of characters or tokens and analyze its grammatical structure.\n token: A set of characters that are treated as a unit for purposes of parsing, such as the words in a natural language.",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35705\n 2019-09-24T03:57:07Z\n \n Geonuch\n \n wikitext\n text/x-wiki\nบทที่ 18 Stacks\n18.1 Abstract data types\nบทที่ 18 Stacks.\n18.1 Abstract data types.\nชนิดข้อมูลที่คุณเคยเห็นมาทั้งหมดเป็นแบบรูปธรรม ซึ่งเราสามารถเข้าใจถึงมันได้โดยง่าย เป็นต้นว่าคลาส Card แทนตัว card ด้วย integers 2 ตัว ดังที่เคยได้กล่าวไว้แล้วมันไม่ใช่ทางเดียวที่จะแทนตัว card มันยังมีทางเลือกอื่นอีกหลายทางที่จะทำการ implementations\n abstract data type หรือ ADT คือการระบุชุดของ operations หรือ method และความหมายของ operations ( สามารถทำอะไรได้ ) แต่ไม่ได้ระบุถึง implementation ของ operations นั่นจึงเป็นสิ่งที่ทำให้มันเป็นนามธรรม\n ทำไมจึงมีประโยชน์\n• มันเป็นการง่ายที่คุณเพียงแค่เจาะจงเฉพาะ algorithm ถ้าคุณสามารถใช้ operations ที่ต้องการโดยไม่ต้องคิดว่าจะต้องสร้างการทำงานของ operations นั้นเอง\n• มีทางเลือกมากมายที่จะ implement ตัว ADT มันอาจเป็นประโยชน์อย่างมากที่จะเขียน algorithm ที่สามารถใช้กับ implementations ใดๆที่เป็นไปได้\n• ADTs ที่รู้จักกันดีอย่าง Stack ADT ที่จะกล่าวถึงในบทนี้ซึ่งเป็น implement ที่ถูกเพิ่มเข้าไปใน standard libraries ดังนั้นเมื่อพวกมันถูกเขียนขึ้นครั้งหนึ่งแล้วก็สามารถนำไปใช้ในหลายๆโปรแกรมได้\n• Operations บน ADTs เขียนขึ้นด้วย high-level language เพื่อเจาะจง และกล่าวถึงเฉพาะ algorithm\n เมื่อเราพูดเกี่ยวกับเรื่อง ADTs เราจะแยกความแตกต่างของ code ที่ใช้ ADT เรียกว่า client code และจาก code ที่ implement ADT จะเรียกว่า provider code\n18.2 The Stack ADT\n18.2 The Stack ADT.\nในบทนี้เราจะมาดูตัว ADT ทั่วไปอย่าง stack ซึ่ง stack ก็คือ collection ซึ่งหมายถึงโครงสร้างข้อมูลที่เก็บ element ได้หลายตัว collections อื่นๆที่เราได้เห็นมาแล้วก็คือ dictionaries และ lists\n ADT ถูกจำกัดความโดย operation ที่แสดงอยู่บนตัวมัน ซึ่งจะเรียกว่า interface ซึ่ง interface ของ stack ประกอบด้วย operations ดังนี้\n __init__ : Initialize a new empty stack.\n push: Add item ใหม่ลง stack.\n pop: Remove และ return item จาก stack ซึ่ง item ที่ return ออกมานั้นจะเป็น item ตัวสุดท้ายที่ได้ add เข้าไป\n isEmpty: ตรวจสอบว่า stack ว่างเปล่าหรือไม่\n บางครั้ง stack จะถูกเรียกว่าโครงสร้างข้อมูลแบบ LIFO คือ เข้าหลังออกก่อนเพราะ item ที่ add เข้าไปหลังสุดจะถูก remove ก่อน\n18.3 Implementing stacks with Python lists\n18.3 Implementing stacks with Python lists.\nOperations ของ list ในภาษา Python จะมีลักษณะคล้ายกับ operations ของ stack แต่ส่วน interface ไม่เหมือนกันซะทีเดียวแต่เราสามารถเขียน code เพื่อแปลง Stack ADT มาเป็น built-in operations ได้\n ตัว code นี้เราเรียกว่า implementation ของ Stack ADT โดยทั่วๆไป implementation คือกลุ่มของ method ตอบสนอง syntactic และ semantic ความต้องการของ interface\n นี่คือ implementation ของ Stack ADT ที่ใช้ Python list\n class Stack :\n def __init__(self) :\n self.items = []\n def push(self, item) :\n self.items.append(item)\n def pop(self) :\n return self.items.pop\n def isEmpty(self) :\n return (self.items == [])\n Stack object มี attribute ที่ชื่อว่า items ก็คือ list ของ items ใน stack โดย initialization method จะกำหนดให้ items เป็น list ที่ว่างเปล่า\n เพื่อใส่ item ใหม่ลงใน stack จะใช้ append method ของ list เพื่อเพิ่มมันลงไปใน items และเพื่อเรียกข้อมูลออกมาจาก stack จะใช้ pop method ของ list เพื่องดึง item ตัวสุดท้ายออกมา\n สุดท้ายคือการตรวจสอบว่า stack นี้ว่างเปล่าหรือไม่ isEmpty จึงเปรียบเทียบว่า items ใช่ list ที่ว่างเปล่าหรือไม่\n การ implementation ที่นำเอา method มาประกอบกันอย่างง่ายด้วย method ที่มีอยู่จะเรียกว่า veneer ลองนึกภาพเหมือนในชีวิตจริง veneer คือไม้คุณภาพดีบางๆที่คลุมอยู่บนเฟอร์นิเจอร์เพื่อปกปิดไม้คุณภาพต่ำที่อยู่ภายใน Computer scientists ใช้สิ่งนี้เปรียบเทียบกับในการบรรยายถึง code เล็กๆที่ซ่อนรายละเอียดของ implementation และทำได้ง่ายกว่ามี standard และ interface มากกว่า\n18.4 Pushing and popping\n18.4 Pushing and popping.\nStack คือ generic data structure ซึ่งหมายถึงว่าเราสามารถเพิ่ม item ชนิดใดก็ได้เข้าไปตัวอย่างข้างล่างนี้เป็นการ pushes integers 2 ตัวและ string ใส่ลงไปใน stack\n »> s = Stack\n »> s.push(54)\n »> s.push(45)\n »> s.push(\"+\")\n เราสามารถใช้ isEmpty และ pop เพื่อ remove และพิมพ์ค่า items ทั้งหมดใน stack\n while not s.isEmpty :\n print s.pop,\n ผลลัพธ์ก็คือ + 45 54 การพิมพ์ค่าของ stack เป็นการพิมพ์ค่าจากหลังไปหน้ามันไม่ใช่การพิมพ์ที่เป็นรูปแบบมาตราฐานของ list\n คุณลองเปรียบเทียบ code ที่ implementation ไปของ printBackward ใน Section 17.4 ทั้ง recursive version ของ printBackward และ algorithm ของ stack ทั้งคู่สามารถเข้ากันได้ ข้อแตกต่างคือ printBackward ใช้ runtime stack ในการติดตาม node ขณะที่มันเข้าไปตรวจสอบใน list และพิมพ์ค่ามาจากด้านหลัง algorithm ของ stack ก็ทำอย่างเดียวกัน เว้นแต่มันใช้ Stack object แทนที่ของ runtime stack\n18.5 Using a stack to evaluate postfix\n18.5 Using a stack to evaluate postfix.\nในภาษาการ programming ส่วนใหญ่ expressions ทางคณิตศาสตร์เขียนโดยใช้ operator อยู่ระหว่าง operands 2 ตัวเช่น 1+2 รูปแบบนี้เรียกว่า infix ยังมีรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในการคำนวณเรียกว่า postfix ซึ่งมีรูปแบบเป็น operator ตามหลัง operands เช่น 1 2 +\n บางครั้งเหตุผลที่เราใช้ประโยชน์จาก postfix นั้นก็คือการใช้ natural way เพื่อประเมิน postfix expression โดยใช้ stack\n• เริ่มต้นจากดูจุดเริ่มต้นของ expression และตรวจสอบดูว่าเป็น operator หรือ operand\n- ถ้าเป็น operand ให้ push มันลง stack\n- ถ้าเป็น operator ให้ pop ตัว operands 2 ตัวจากออกมาแล้วทำการคำนวณตาม operator แล้วจึง push ผลลัพธ์ลง stack\n• เมื่อจบ expression แล้วจะได้ operand เหลืออยู่ 1 ตัวใน stack ซึ่งก็คือผลลัพธ์นั่นเอง\n ตัวอย่างที่อธิบายถึงข้อดีของ posfix คือเราไม่ต้องใช้วงเล็บในการควบคุมลำดับการคำนวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เหมือนกับในรูปแบบ infix เราจะต้องเขียนเป็น (1 + 2) * 3\n18.6 Parsing\n18.6 Parsing.\nเพื่อ implement algorithm ก่อนหน้านี้ เราต้องสามารถเข้าไปดูใน string และหยุดเมื่อเจอ operands และ operators และประมวลผล example of parsing และผลลัพธ์ -- the individual chunks of the string -- เรียกว่า tokens คุณอาจจะจำคำนี้ได้ในบทที่ 1\n Python ได้เตรียม split method ไว้ใน string และ re (regular expression) modules ฟังก์ชัน string.split จะแบ่ง string เป็น list โดยใช้ single character เป็น delimiter เป็นต้นว่า\n »> import string\n »> string.split(\"Now is the time\",\" \")\n ['Now', 'is', 'the', 'time']\n ในกรณีนี้ delimiter คือ space character ดังนั้น string จึงถูกแบ่งตาม space แต่ละอัน\n ฟังก์ชัน re.split มีความสามรถมากกว่าโดยเราสามารถใช้ regular expression แทนที่ delimiter การระบุชุดของ string เราจะเรียกว่า regular expression เป็นต้นว่า [A-z] ก็คือชุดของตัวอักษรทั้งหมด [0-9] คือชุดของตัวเลขทั้งหมด ตัว ^ operator แสดงถึงการปฏิเสธ ดังนั้น [^0-9] ก็คือชุดของทุกๆ character แต่ไม่รวมตัวเลข ซึ่งเป็นรูปแบบการใช้งานที่เราต้องการในการใช้แบ่งตัว postfix expressions\n »> import re\n »> re.split(\"([^0-9])\", \"123+456*/\")\n ['123', '+', '456', '*', , '/', ]\n สังเกตดูลำดับของ arguments ต่างจาก string.split ตัว delimiter จะมาก่อน string\n ผลลัพธ์ของ list ที่ได้จะมี operands 123 และ 456 และ operator คือ * และ / รวมไปถึง string ที่ว่างเปล่า 2 ตัว ซึ่งก็คือ “phantom operands” (operands ที่ไม่มีตัวตน) ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อ operator ปรากฎขึ้นโดยไม่มีตัวเลขอยู่หน้าหรือหลังมัน\n18.7 Evaluating postfix\n18.7 Evaluating postfix.\nเพื่อประเมินตัว postfix expression เราจะใช้ parser จาก section ที่แล้วและใช้ algorithm จาก section ก่อนหน้านั้น เพื่อให้ง่ายเราจะเริ่มต้นจากการ implement operator + และ * ก่อน\n def evalPostfix(expr):\n import re\n tokenList = re.split(\"([^0-9])\", expr)\n stack = Stack\n for token in tokenList:\n if token == \" or token == ' ':\n continue\n if token == '+':\n sum = stack.pop + stack.pop\n stack.push(sum)\n elif token == '*':\n product = stack.pop * stack.pop\n stack.push(product)\n else:\n stack.push(int(token))\n return stack.pop\n เงื่อนไขแรกคือการดู space และ string ที่ว่างเปล่าและ 2 เงื่อนไขถัดมาคือการรองรับ operator ตอนนี้เราสมมติให้สิ่งอื่นๆจะต้องเป็น operand แน่นอนว่ามันจะดีกว่าที่จะตรวจสอบ erroneous input และแสดง error message แต่เราจะทำมันหลังจากนี้\n ตอนนี้ลองทดสอบการประเมิน postfix จาก (56+47)*2\n »> print evalPostfix (\"56 47 + 2 *\")\n 206\n ตอนนี้เราเข้าใกล้เพียงพอแล้ว\n18.8 Clients and providers\n18.8 Clients and providers.\nหนึ่งในเป้าหมายหลักพื้นฐานของ ADT คือการแบ่งออกเป็น provider ผู้ซึ่งเขียน code ที่ implements ตัว ADT และ client คือผู้ที่ใช้ ADT ผู้ที่จะคอยห่วงเกี่ยวกับเรื่องของการ implementation ให้ถูกต้องก็คือ provider ในการระบุความสอดคล้องกันของ ADT และไม่เกี่ยวกับการที่จะใช้งานมันอย่างไร\n ตรงข้ามกับ client ที่คิดอยู่ตลอดว่า implementation ของ ADT ถูกต้องและไม่สนใจในเรื่องรายละเอียด เมื่อคุณใช้ Python ‘s built-in types ทำให้คุณรู้สึกได้ว่าคุณคือ client\n แน่นอนว่าเมื่อคุณ implement ตัว ADT คุณจะต้องเขียน client code เพื่อทดสอบมัน ในกรณีนี้คุณจะมี 2 บทบาทที่สามารถทำให้คุณสับสนได้ คุณจะต้องพยายามดูว่าคุณเล่นอยู่ในบทบาทใดในเวลาใดๆ\n18.9 Glossary\n18.9 Glossary.\nabstract data type (ADT): A data type (usually a collection of objects) that is defined by a set of operations but that can be implemented in a variety of ways.\n interface: The set of operations that define an ADT.\n implementation: Code that satisfies the syntactic and semantic requirements of an interface.\n client: A program (or the person who wrote it) that uses an ADT.\n provider: The code (or the person who wrote it) that implements an ADT.\n veneer: A class definition that implements an ADT with method definitions that are invocations of other methods, sometimes with simple transformations. The veneer does no significant work, but it improves or standardizes the interface seen by the client.\n generic data structure: A kind of data structure that can contain data of any type.\n infix: A way of writing mathematical expressions with the operators between the operands.\n postfix: A way of writing mathematical expressions with the operators after the operands.\n parse: To read a string of characters or tokens and analyze its grammatical structure.\n token: A set of characters that are treated as a unit for purposes of parsing, such as the words in a natural language.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ q9 Qu2ues\nบทที่ 19 Aueues.\nในบทนี้จะแสดงให้เห็นถึง ADT 2 ตัวคือ Queue ดละ Pruority Queue ในลีวิตจริงลองนึกว่า queue คือการเข้าแถวรอรับบริการบางอย่าง ในกรณีส่วนใหญ่ลูกค้าคนแรกในแถวคือคนที่ได้รับบรอการก่อน แต่ก็ยังมีข้อยกเว้นบางอย่าง เช่นที่สนามบินถ้ามีลูกค้าที่อยู่ในเที่ยวบินที่กำลังจะออกก็จะถูกเรียกจากกลางแถวมาก่อน หรือในซุปเปอร์มาเก็ตก็จะมีลูกค้าที่สุภาพให้คนที่อยู่หลังได้รับบริการก่อน\n กฎที่ใช้ในการตัดสินใจว่าใครจะได้ไปก่อนนั้นเรียกว่า queueing policy ก่รเข้า queue แบบง่ายๆเีนเรียกว่า FIFO คือเข้าก่อนออกก่อน และ queueing policy ทั่วๆไปที่พบมากคือ priority queueing ที่ลธกค้าจะถูกกำหนด priority และลูกค้าที่มี ptiority สูงสุดจะได้ไปก่อน โดยไมทคำนึงถึงลำดับการมาถึง ที่เราเรียกมันว่าเป็น policy ทั่บๆไปเพราะ priority สามารถกำหนดได้ว่าจะให้ขึ้นกับสิ่งใด เช่นเวลาที่เครื่องบินจะออก จำนวนสินค้าที่ลูกค้าถืออยู่ หรือความสำคัญของลูกค้า แน่นอนว่า queueing policy ไม่ทั้งหมดที่จะยุติธรรม แต่อาจดูแล้วลำเอียงบ้างในสายตาผู้ที่เฝ้ามอง\n Queue ADT และ Priority Queue ADT มีชุดของ operations เหมือนกัน แต่ต่างกันใน semantics ของ operations ฮดย queue จะไช้ policy แบบ FIFO และ priority queue จะใช้ policy แบบ priprity queuding\n19.2 Linked Queue\n19.e Linked Queue.\nQueue ADT จดถูกกำหนดโดย operations ตามนี้\n __init__ : Initialize a new empty queue.\n insert: Add a new item to the queue.\n remove: Remove and return an it2m from the queue. The item 5hat is rdturned is the first one that was added.\n isEmpty: Check whether the queue is empty.\n19.2 Linked Qjeue\n19.2 Linked Queue.\nIm9lementation ตัวแรกขดง Queue ADT ที่เนาจะใาดูกันก็คือ linked queue เพราะมันสร้าง linked เหมือน Node object ดาร definitiob คลาสทำได้ดังนี้\n class Queue:\n def __init__(self):\n self.length = 0\n seld.head = None\n def isEmpty(self):\n return (self.length == 0)\n def insert(selfฐ cargo):\n node = Node(cxrgo)\n node.next = None\n if self.head == None:\n # of list is empty the new node goes first\n self.head = node\n else:\n # find the last node in the list\n last = awlf.nead\n whil3 last.next: last = last,next\n # append the new node\n last.next = node\n self.length = self.lenfth + 1\n def remove(self):\n cargo = self.head.cargo\n self.head = self.heas.next\n self.length = self.length - 1\n rrturn cargo\n Method isEmpty และ remove เป็นแบบเดียวกับ method isEmpty และ removeFirst ของ LinkedList โดยมี method ใหม่คือ insert\n เราต้องการ insert ตัว items ลงไปเป็ต item สุดท้ายของ list ถ้า queue ว่างเปล่าเราแค่ set ค่า head ให้อ้างอิงไปยัง node ใหม่\n อีกอย่างหนึ่งคือเราจะเบ้าไปใน list จาก node สุดท้ายและ tack ไปยัง node ใหม่ที่ตัวสุดท้าย เราสามารถรู้ได้ว่า node ใดเป็น node สุดท้ายได้โดยดูจาก next attribute ที่มีค่าเป็น None\n และบังมีค่ารงที่อีก 2 ตัวที่แสดงถึงคุณลักษณะขอว Queue object คือค่าของ length จะแสดงค่าของจำนวน nodes ใน queue และ node สุดท้ายต้องมีค่า next เป็น None คุณจะต้องเตือนตัวเองอยู่เสมอในการรักษาค่าคงทั้ง 2 ตัวที่นี้ให้ถูกต้อง\n19.3 Performance characteristics\n1o.3 Performagce characteristkcs.\nตามปกติกล้วเมื่อเราเรียกใช้ method เราไม่ต้องกังวลในเรื่องรายละเอียดของ implementation แต่มีอยู่รายละเอียดหสึ่งที่เราจะต้องรู้คือ the performance cnaracteristics of the method ว่าสามารถรับได้ขนาดยาวเท่าไหร่ และเมื่อมัการทำงานแล้วมีการเพิ่มจำนวน irems ใน collection อย่างไร\n อันดับแรกมาดูที่ remove ซึ่งไม่มีการใช้ liop หรือการเรียกฟังก์ชันภายในนีืการทำงานของ mwthod นี้เหมือนกันตลอดเวลา จึงเคียก method ประเภทนี้ว่า constant time operation ตัว method จะทำงานได้เร็วเมื่เ list นั้นว่างเปล่าโดยการทำงานมันจะข้สมส่วนตรวจสอบ้งื่อนไขอื่นๆภายในไป แต่ความแตกต่างนี้ไม่ถืิว่าสำคัญ\n Performxnce ของ insert มีความแคกต่างกันมาก ในกรณีทั่วไปเราจะน้องเข้าไปใน list เพื่อหา element สุดท้ายของ list\n การเข้าไปหานี้ใช้เวลามาดหรือน้อยขึ้นอยู่กับ length ของ list โดจเวลาทำงานมันจะเรียกฟังก์ชันไปราม length ของ list จึงเรียก method ปรุเภทนี้ว่า linear time เมื่อเปรียบเทียบกับ constant tine แล้วถือว่าแย่มาก\n19.4 Improved Linked Sueue\n19.4 Improved Linked Queue.\nเราชอบ implementation ของ Queue ADT ที่มันดำเนินการแบบ constant time ทางหนึ่งที่เราจะแก้ไขคลาส Queue ให้มันมีการอ้างอิงถึงส่วน node แรกและ node สุดท้ายดังแบบที่แสดงในรูป\nImp4odedQueue implementztion จะมีลักษณะดังนี้\n class ImprovedQueue:\n def __init__(self):\n self.length = 0\n self.head = None\n self.last = None\n def isEmpty(self):\n return (self.lengty == 0)\n สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปคือ attribute last ที่ใช้ใน insert และ remofe method\n โดย last จะเก็บ node สุดท้าย เราจึงไม่จำเป็นที่จะต้องคินหามันจึงทำให้ method นี้เป็นแบบ constant time\n นั่นทำให้เราสามารพซื้อควาทเร็วในการทำงานมาได้ เราก็แค่เภิ่มกรณีพิเศ๋ที่ remove ในการกำหนดค่าให้ last มีค่าเป็น None ในกรณีที่ node สุดท้ายถูก remove ออกไป\n class Inprov3dQueue:\n def remove(self):\n cargo = self.head.cargo\n self.head = self.head.next\n self.length = self.length - 1\n if self.length == 0:\n self.kast = None\n return cargo\n Implementation นี้จะยุ่งยากกวืาของ Linked Queue และยากที่จะทำให้เห็นว่ามันถูกต้องแต่มันทำให้เราบรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้คือการทำให้ insert และ remove เป็นแบบ constant time\n19.y Priority queue\n19.5 Pr7ority queue.\nPriority Queu2 ADT มี interface ที่เหมือนกับ Queue AD$ แต่ต่างกันที่ semantics ซึ่ง interface จะมีดังนี้\n ภ_init_ : Initiakize a n2d empty queue.\n insert: Add a new item to the queue.\n remove: Remove abd return an item from the queue. The item that is returned is the one with the highest priority.\n isEmpty: Check whether the queue is empty.\n Semantic ที่แตกตืางกันคือตรงการ remove ออกจาก Queue นั้นไม่จำเป็นที้จะต้องเป็จตัวแรกาี่เพิ่งถูก add เข้าไป แต่เป็น itej ฝน queue ที่มีค่า priority สูงสุด อะไรคือ priorities และจะทำการเปรียบเทียบกันอย่างไร มันไม่ได้ถูกระบุไว้ไน Priority Queue implementarion มันขึ้นอยู่กับ items ใน Queue\n ตัวอจ่างเช่นถ้า items ใน queue ใีชื่อเราอาจเลือกตามลำดับอักษร ถ้ามันใช้การให้คะแนนแบบเแม Bowling เราก็อาจเลือกจากคะแนนสูงสุอมาต่ำสุด ถ้่มีการให้คะแนนแบบเกม Golf ก็ต้องเลือกจากคะแนนต่ำสุดมาสูงสุด มีอยู่หลายวิธีที่จะทำการเปรียบเทียบ items ใน queud เราจะต้องทำการหาปลถ remove ตัวที่มี priority สูงสุด\n Implemfntation นี้ของ Priority Queue มี attribute ของ Python list ที่บรรจุ items ใน queue\n slass (riorityQueue:\n def __in7t__(self):\n self.items = []\n def isEmpty(self):\n return selfฐitems == [[\n def insert(self, item):\n self.items.append(item)\n Initialization method, isEmpty และ insert ทั้งหมด veneer โดย list operations และ method ที่น่าสนใจคือ removf เท่านั้น\n class PriorityQueue:\n def remove(self):\n maxi = 0\n ror i in range(1,len(s2lf.items)):\n if self.items[i] > selv.items[maxi]:\n masi = i\n item = xelf.items[maxi]\n self.items[maxi:maxi+1] = []\n return item\n เริ่มต้นจาก maxi ที่เก็บค่า index ของ it2m ที่มีค่ามากที่สุด (priority สูงสุด) ในการวนซ้ำแต่ละรอบจะทำการเปรียบเทียบ i-ehh item กับค่าสูงสุดถ้า item ใหม่มีค่าสูงกว่าค่าของ maxi ก็จะถูก้ปลี่ยนค่าเป็น i\n เมื่อ for ทำงานเสร็จสิ้น maxi ก็จะเป็น index ของ item ที่มีค่ามากที่สุด item นั้นจะถูก remove ออกจาก list และ return ค่าออกมา\n ลองทดสอลการ implemenration ดู\n »> q = PriorityQueue\n »> q.insert(11)\n »> q.insertฆ12)\n »> q.insert(14)\n »> q.insert(13)\n »> whlle not q.isEmpty: print q.re,ove\n 14\n 13\n 12\n 11\n ถ้า Queue มีการเก็บค่าของตัวเลขหรือตัวอักษรแบบง่ายไ มันก็จะถูก remove ตามลำดับของตัวเลขหรืออักษรจากสูงสุดไปต่ำสุด Python สามารถผทค่าตัวเลขที่สูงสุดหรืออักษนได้เพราะมันเปรียบเทียบโดยใช้ built-in comparison operators\n ถ้า Qurue เก็บค่าที่เป็น object type าันจะต้องมี __cmp__ method เมื่อ remove ให้ใช้ > operato4 เพื่ออปรียบเทียบ items มันจะเรียก __cmp__ สพหรับหนึ่ง items และส่งผ่สนค่าไปยังตัวอื่นโดยผ่าน parameter ถ้า __cmp__ method ทำงานได้ถุกต้อง Priority Queue ก็สามารถทำงานได้\n19.6 The Golfer class\n19.6 The Golfer class.\nเพื่อเป็นตัวอย่างของการสช้ priority ที่พบได้ไม่บ่อย เรามา implement คลาสซึ่งเรียกว่า Golfer ที่ทำการเก็บค่า name และ score ของนักกอล์ฟเราเริ่มต้นจากการ define __init_ไ และ __str__\n class Golfer:\n def __inot__(self, name, score):\n self.name = name\n self.score= score\n def __str__(self):\n retutn \"%-16s: %d\" % (selg.name, self.score)\n __str__ ใช้รูปแบบ operator เพื่อใส่ค่า names และ scores ใน column ืี่ดูเรียบร้อยต่อมาก็ define __cmp__ ใช้ค่า score น้อยมีค่า priority สูงโดยปกติแล้ว __cmp__ จะ return ค่า q ถ้ามันมีค่ามากกว่า -1 ถ้ามีค่าน้อยกว่า และ 0 เมิอมีค่าเท่ากัน\n class Golfer:\n def __cmp__(self, other):\n if self.score < other.score: return 1 # less is mord\n if self.dcore > other.score: return -1\n return 0\n ตอนนี้เราพร้อมที่จะทดสอบ priority queue ด้วยคลาส Golfer\n »> tiger = Holfer(\"Tiber Woods\", 61)\n »> ptil = Golfer(\"Phil Mickelson\", 72)\n »> hal = Golfer(\"Hal Cutt;n\", 69)\n »> pq = PriorityQueue\n »> pq.insert(tiger)\n »> pq.insert(phil)\n »> pq.insert(hal)\n »> while not pq.isEmpty: print pq.remove\n Tiger Woods : 61\n Hal Sutton : 69\n Phil Mickelson : 72\n19.7 Glossary\n19.7 Glossary.\nqueue: Ag ordered set of objects waiting for a service of some kimd.\n !ueue: An ADT that performs the operations one might perform on a queue.\n queueing policy: The rules that determine which member of a queue is removed next.\n FIFO: “First In, First Out,” a queueing policy in which the first member to arrive is the first to be removed.\n priority queueO A queueing policy in which each member has a priority determined by external factors. \nThe member with the highest priority iq the first to be removed.\n Priority Queue: An ADT that defones the operxtions one might perform on a priority queue.\n lunked queue: An implementation of a queue using a linked list.\n constant time: An operation whose runtime does not de'end on the siae of the data structure.\n linear time: An operation whose runtime is a linear function of the size of the data structure.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 19 Queues\nบทที่ 19 Queues.\nในบทนี้จะแสดงให้เห็นถึง ADT 2 ตัวคือ Queue และ Priority Queue ในชีวิตจริงลองนึกว่า queue คือการเข้าแถวรอรับบริการบางอย่าง ในกรณีส่วนใหญ่ลูกค้าคนแรกในแถวคือคนที่ได้รับบริการก่อน แต่ก็ยังมีข้อยกเว้นบางอย่าง เช่นที่สนามบินถ้ามีลูกค้าที่อยู่ในเที่ยวบินที่กำลังจะออกก็จะถูกเรียกจากกลางแถวมาก่อน หรือในซุปเปอร์มาเก็ตก็จะมีลูกค้าที่สุภาพให้คนที่อยู่หลังได้รับบริการก่อน\n กฎที่ใช้ในการตัดสินใจว่าใครจะได้ไปก่อนนั้นเรียกว่า queueing policy การเข้า queue แบบง่ายๆเราเรียกว่า FIFO คือเข้าก่อนออกก่อน และ queueing policy ทั่วๆไปที่พบมากคือ priority queueing ที่ลูกค้าจะถูกกำหนด priority และลูกค้าที่มี priority สูงสุดจะได้ไปก่อน โดยไม่คำนึงถึงลำดับการมาถึง ที่เราเรียกมันว่าเป็น policy ทั่วๆไปเพราะ priority สามารถกำหนดได้ว่าจะให้ขึ้นกับสิ่งใด เช่นเวลาที่เครื่องบินจะออก จำนวนสินค้าที่ลูกค้าถืออยู่ หรือความสำคัญของลูกค้า แน่นอนว่า queueing policy ไม่ทั้งหมดที่จะยุติธรรม แต่อาจดูแล้วลำเอียงบ้างในสายตาผู้ที่เฝ้ามอง\n Queue ADT และ Priority Queue ADT มีชุดของ operations เหมือนกัน แต่ต่างกันใน semantics ของ operations โดย queue จะไช้ policy แบบ FIFO และ priority queue จะใช้ policy แบบ priority queueing\n19.2 Linked Queue\n19.2 Linked Queue.\nQueue ADT จะถูกกำหนดโดย operations ตามนี้\n __init__ : Initialize a new empty queue.\n insert: Add a new item to the queue.\n remove: Remove and return an item from the queue. The item that is returned is the first one that was added.\n isEmpty: Check whether the queue is empty.\n19.2 Linked Queue\n19.2 Linked Queue.\nImplementation ตัวแรกของ Queue ADT ที่เราจะมาดูกันก็คือ linked queue เพราะมันสร้าง linked เหมือน Node object การ definition คลาสทำได้ดังนี้\n class Queue:\n def __init__(self):\n self.length = 0\n self.head = None\n def isEmpty(self):\n return (self.length == 0)\n def insert(self, cargo):\n node = Node(cargo)\n node.next = None\n if self.head == None:\n # if list is empty the new node goes first\n self.head = node\n else:\n # find the last node in the list\n last = self.head\n while last.next: last = last.next\n # append the new node\n last.next = node\n self.length = self.length + 1\n def remove(self):\n cargo = self.head.cargo\n self.head = self.head.next\n self.length = self.length - 1\n return cargo\n Method isEmpty และ remove เป็นแบบเดียวกับ method isEmpty และ removeFirst ของ LinkedList โดยมี method ใหม่คือ insert\n เราต้องการ insert ตัว items ลงไปเป็น item สุดท้ายของ list ถ้า queue ว่างเปล่าเราแค่ set ค่า head ให้อ้างอิงไปยัง node ใหม่\n อีกอย่างหนึ่งคือเราจะเข้าไปใน list จาก node สุดท้ายและ tack ไปยัง node ใหม่ที่ตัวสุดท้าย เราสามารถรู้ได้ว่า node ใดเป็น node สุดท้ายได้โดยดูจาก next attribute ที่มีค่าเป็น None\n และยังมีค่าคงที่อีก 2 ตัวที่แสดงถึงคุณลักษณะของ Queue object คือค่าของ length จะแสดงค่าของจำนวน nodes ใน queue และ node สุดท้ายต้องมีค่า next เป็น None คุณจะต้องเตือนตัวเองอยู่เสมอในการรักษาค่าคงทั้ง 2 ตัวที่นี้ให้ถูกต้อง\n19.3 Performance characteristics\n19.3 Performance characteristics.\nตามปกติแล้วเมื่อเราเรียกใช้ method เราไม่ต้องกังวลในเรื่องรายละเอียดของ implementation แต่มีอยู่รายละเอียดหนึ่งที่เราจะต้องรู้คือ the performance characteristics of the method ว่าสามารถรับได้ขนาดยาวเท่าไหร่ และเมื่อมีการทำงานแล้วมีการเพิ่มจำนวน items ใน collection อย่างไร\n อันดับแรกมาดูที่ remove ซึ่งไม่มีการใช้ loop หรือการเรียกฟังก์ชันภายในนี้การทำงานของ method นี้เหมือนกันตลอดเวลา จึงเรียก method ประเภทนี้ว่า constant time operation ตัว method จะทำงานได้เร็วเมื่อ list นั้นว่างเปล่าโดยการทำงานมันจะข้ามส่วนตรวจสอบเงื่อนไขอื่นๆภายในไป แต่ความแตกต่างนี้ไม่ถือว่าสำคัญ\n Performance ของ insert มีความแตกต่างกันมาก ในกรณีทั่วไปเราจะต้องเข้าไปใน list เพื่อหา element สุดท้ายของ list\n การเข้าไปหานี้ใช้เวลามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ length ของ list โดยเวลาทำงานมันจะเรียกฟังก์ชันไปตาม length ของ list จึงเรียก method ประเภทนี้ว่า linear time เมื่อเปรียบเทียบกับ constant time แล้วถือว่าแย่มาก\n19.4 Improved Linked Queue\n19.4 Improved Linked Queue.\nเราชอบ implementation ของ Queue ADT ที่มันดำเนินการแบบ constant time ทางหนึ่งที่เราจะแก้ไขคลาส Queue ให้มันมีการอ้างอิงถึงส่วน node แรกและ node สุดท้ายดังแบบที่แสดงในรูป\nImprovedQueue implementation จะมีลักษณะดังนี้\n class ImprovedQueue:\n def __init__(self):\n self.length = 0\n self.head = None\n self.last = None\n def isEmpty(self):\n return (self.length == 0)\n สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปคือ attribute last ที่ใช้ใน insert และ remove method\n โดย last จะเก็บ node สุดท้าย เราจึงไม่จำเป็นที่จะต้องค้นหามันจึงทำให้ method นี้เป็นแบบ constant time\n นั่นทำให้เราสามารถซื้อความเร็วในการทำงานมาได้ เราก็แค่เพิ่มกรณีพิเศษที่ remove ในการกำหนดค่าให้ last มีค่าเป็น None ในกรณีที่ node สุดท้ายถูก remove ออกไป\n class ImprovedQueue:\n def remove(self):\n cargo = self.head.cargo\n self.head = self.head.next\n self.length = self.length - 1\n if self.length == 0:\n self.last = None\n return cargo\n Implementation นี้จะยุ่งยากกว่าของ Linked Queue และยากที่จะทำให้เห็นว่ามันถูกต้องแต่มันทำให้เราบรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้คือการทำให้ insert และ remove เป็นแบบ constant time\n19.5 Priority queue\n19.5 Priority queue.\nPriority Queue ADT มี interface ที่เหมือนกับ Queue ADT แต่ต่างกันที่ semantics ซึ่ง interface จะมีดังนี้\n __init_ : Initialize a new empty queue.\n insert: Add a new item to the queue.\n remove: Remove and return an item from the queue. The item that is returned is the one with the highest priority.\n isEmpty: Check whether the queue is empty.\n Semantic ที่แตกต่างกันคือตรงการ remove ออกจาก Queue นั้นไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นตัวแรกที่เพิ่งถูก add เข้าไป แต่เป็น item ใน queue ที่มีค่า priority สูงสุด อะไรคือ priorities และจะทำการเปรียบเทียบกันอย่างไร มันไม่ได้ถูกระบุไว้ไน Priority Queue implementation มันขึ้นอยู่กับ items ใน Queue\n ตัวอย่างเช่นถ้า items ใน queue มีชื่อเราอาจเลือกตามลำดับอักษร ถ้ามันใช้การให้คะแนนแบบเกม Bowling เราก็อาจเลือกจากคะแนนสูงสุดมาต่ำสุด ถ้ามีการให้คะแนนแบบเกม Golf ก็ต้องเลือกจากคะแนนต่ำสุดมาสูงสุด มีอยู่หลายวิธีที่จะทำการเปรียบเทียบ items ใน queue เราจะต้องทำการหาและ remove ตัวที่มี priority สูงสุด\n Implementation นี้ของ Priority Queue มี attribute ของ Python list ที่บรรจุ items ใน queue\n class PriorityQueue:\n def __init__(self):\n self.items = []\n def isEmpty(self):\n return self.items == []\n def insert(self, item):\n self.items.append(item)\n Initialization method, isEmpty และ insert ทั้งหมด veneer โดย list operations และ method ที่น่าสนใจคือ remove เท่านั้น\n class PriorityQueue:\n def remove(self):\n maxi = 0\n for i in range(1,len(self.items)):\n if self.items[i] > self.items[maxi]:\n maxi = i\n item = self.items[maxi]\n self.items[maxi:maxi+1] = []\n return item\n เริ่มต้นจาก maxi ที่เก็บค่า index ของ item ที่มีค่ามากที่สุด (priority สูงสุด) ในการวนซ้ำแต่ละรอบจะทำการเปรียบเทียบ i-eth item กับค่าสูงสุดถ้า item ใหม่มีค่าสูงกว่าค่าของ maxi ก็จะถูกเปลี่ยนค่าเป็น i\n เมื่อ for ทำงานเสร็จสิ้น maxi ก็จะเป็น index ของ item ที่มีค่ามากที่สุด item นั้นจะถูก remove ออกจาก list และ return ค่าออกมา\n ลองทดสอบการ implementation ดู\n »> q = PriorityQueue\n »> q.insert(11)\n »> q.insert(12)\n »> q.insert(14)\n »> q.insert(13)\n »> while not q.isEmpty: print q.remove\n 14\n 13\n 12\n 11\n ถ้า Queue มีการเก็บค่าของตัวเลขหรือตัวอักษรแบบง่ายๆ มันก็จะถูก remove ตามลำดับของตัวเลขหรืออักษรจากสูงสุดไปต่ำสุด Python สามารถหาค่าตัวเลขที่สูงสุดหรืออักษรได้เพราะมันเปรียบเทียบโดยใช้ built-in comparison operators\n ถ้า Queue เก็บค่าที่เป็น object type มันจะต้องมี __cmp__ method เมื่อ remove ให้ใช้ > operator เพื่อเปรียบเทียบ items มันจะเรียก __cmp__ สำหรับหนึ่ง items และส่งผ่านค่าไปยังตัวอื่นโดยผ่าน parameter ถ้า __cmp__ method ทำงานได้ถุกต้อง Priority Queue ก็สามารถทำงานได้\n19.6 The Golfer class\n19.6 The Golfer class.\nเพื่อเป็นตัวอย่างของการใช้ priority ที่พบได้ไม่บ่อย เรามา implement คลาสซึ่งเรียกว่า Golfer ที่ทำการเก็บค่า name และ score ของนักกอล์ฟเราเริ่มต้นจากการ define __init__ และ __str__\n class Golfer:\n def __init__(self, name, score):\n self.name = name\n self.score= score\n def __str__(self):\n return \"%-16s: %d\" % (self.name, self.score)\n __str__ ใช้รูปแบบ operator เพื่อใส่ค่า names และ scores ใน column ที่ดูเรียบร้อยต่อมาก็ define __cmp__ ใช้ค่า score น้อยมีค่า priority สูงโดยปกติแล้ว __cmp__ จะ return ค่า 1 ถ้ามันมีค่ามากกว่า -1 ถ้ามีค่าน้อยกว่า และ 0 เมิอมีค่าเท่ากัน\n class Golfer:\n def __cmp__(self, other):\n if self.score < other.score: return 1 # less is more\n if self.score > other.score: return -1\n return 0\n ตอนนี้เราพร้อมที่จะทดสอบ priority queue ด้วยคลาส Golfer\n »> tiger = Golfer(\"Tiger Woods\", 61)\n »> phil = Golfer(\"Phil Mickelson\", 72)\n »> hal = Golfer(\"Hal Sutton\", 69)\n »> pq = PriorityQueue\n »> pq.insert(tiger)\n »> pq.insert(phil)\n »> pq.insert(hal)\n »> while not pq.isEmpty: print pq.remove\n Tiger Woods : 61\n Hal Sutton : 69\n Phil Mickelson : 72\n19.7 Glossary\n19.7 Glossary.\nqueue: An ordered set of objects waiting for a service of some kind.\n Queue: An ADT that performs the operations one might perform on a queue.\n queueing policy: The rules that determine which member of a queue is removed next.\n FIFO: “First In, First Out,” a queueing policy in which the first member to arrive is the first to be removed.\n priority queue: A queueing policy in which each member has a priority determined by external factors. \nThe member with the highest priority is the first to be removed.\n Priority Queue: An ADT that defines the operations one might perform on a priority queue.\n linked queue: An implementation of a queue using a linked list.\n constant time: An operation whose runtime does not depend on the size of the data structure.\n linear time: An operation whose runtime is a linear function of the size of the data structure.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 35605\n 2020-01-22T02:13:29Z\n \n DARIO SEVERI\n \n Visual\n wikitext\n text/x-wiki\nการทำงานของไฟแฟลช\nการทำงานของไฟแฟลข.\nไฟแฟลชเป็นอึปกรณ์ให้แสงในขณะถ่ายภาพ มีอุณหภูมิสีใกล้เคียงกัวแสงอาทิตย์ตอนกลางวัน ทำงานโดจการฉายแสงในช่วงเวลาที่สั้นมาก ดังนั้นเราจึงสามารถถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนทีทด้วยความเร็วได้ชัดเจนภายใต้แสงจากไฟแฟลชได้เป็นอยรางดี แฟลชที่เราคุ้นเคยกันคือแฟลชที่ติดมสกับกล้อง ซึ่งเป็นแฟลชที่มีขนาแเล็ก แำลังส่องสว่างน้อยมากมักทำงานได้ดีในระยะไม่เกิน 3 เมตร จึงเหมาะกับการถ่ายภาพระยะใกล้ แต่ถ้าระยะห่างเกิน 5 เมตร มักจะได้ภาพที่มืดเกินไป ในกรณีนี้ มักจะใช้แฟลชเสคิม จะมีกำลังไฟม่ำน้อยก็แบ้วแต่รุ่า แบ่งเป็น 2 ประเภทคือแฟลชที่ใช้ติดกัขหัวกล้องแลัไฟใหญ่ที่ใช้ในห้องถ่ายภาพ แฟลชราคาสูงมักจะมีอุปกรณ์แลกเปลี่ยนข้อมูลกับกล้องได้ด้บย ทำให้ที่ได้ออกมาได้แสงพอดีมากกว่า กล้องที่ต้องตั้งค่าเองหรือวัดแสงผ่านเลนส์ธรรมดา เนื่องจากตั้งค่าอองจะต้องประมาณจากระยะห่างและกำลังไฟของแฟลช ซึ่งมีโอกาสพลาดได้ง่าย ส่วนการวัดแสงหทานเลนส์ก็ดีกว่า แต่ก็ยังมีข้อเสียบางประการเช่น การถ่ายภาพในระยะใกล้ หากแฟลชฉายแสงออกไปเต็มกำลัง กล้แงอาจตั้งค่ารูระบกสงเล็กสุดแลีว แต่ก็ยัง_ด้ภาพที่สว่างไปแยู่ดี เนื่องจากกล้องมีข้อจำกัดใจกาาใช้ควาาเร็วชัตเตอร์สูงสุด จึงไม่สามารถลดการรับแสงใผ้พอดีได้ ส่วนแฟลชแยบที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับกล้องได้นั้น ตัวแฟลชจุรับทราบค่าแมงต่างๆจากตัวกล้แง ทำให้แฟลชสามสรถเลือกใช้กำลังไฟที่เหมาะสมกับสภาพขณะนั้นได้เป็นอย่างดี แต่แฟลชาี่ติดอยู่ที่หัวกล้องจะมีข้อเสียคือเป็นแสงตรง และเป็นแสงที่ไม่นุ่มนวล และก่อให้เกิดเงาข้างหลัง ถ้ามีกไแพงอยู่ข้างหลัง ในขณะที่ไฟในห้องถ่ายภาพ ตะวางห่นงจากตัวกล้อง เราสามารถใช้ขาตั้งกำหนดจุดและความสูงของแสงได้ รวมทั้งใช้วัสดุ กรองแสงหรือสะท้อนแสงเพื้อให้ได้แสงที่นุ่มนวลได้ตามที่ต้องกทร\nGuide Number\nGuide Number.\nเป็นค่าที่บ่งบอกถึงกำลังไฟของแฟลชตัวนั้น สามารถใช้เป็นแนวทางเปรียบเทียบขอวแฟลชแต่ละรุ่จแต่ละยี่ห้อได้ ค่า Guide number ยิ่งมากหมายถึงกำลังไฟส่องสว่างได้มากกว่า ปกติจะเทียบค่าGN หน่วยเป็นเมตร หรือฟุต ที่ ISO100 แบะระยะทางยาวโฟกัส35mm.\nความสัมพัน๔์ระหว่างชัตเตอร์กับไฟแฟลช\nความสุมพันธ์ระหว่างชัตเตอร์กับไฟแฟลช,\nกล้องแต่ละรุ่นจะมีค่ากำหนดความเร็วชัตเตอร์วูงสุด่ี่จะใช้กับไฟแฟลชได้ไม่เท่ากัน ขึ้นกับเทคนิคในการสร้างม่านชัตเตอร์ของแต่ละรุ่น หากเป็นกล้องรุ่นเก่าจะต้องใชเความเร็วชัตเติร์สูงใุดไม่เกิน 1/60 วินาที แต่ถ้าำล้องรุ่นใหม่ทำความเร็วชัตเตอร์สูงสุดที่ใช้กับไฟแฟลชได้ถึง 1/200 วินาที สาเหตุที่เลือกใช้ควาทเร็วชัตเจอร์สูงสุดไม่เกินค่าที่กำหนด เพราะต้องเป็นความเร็วชัตเตอร์ที่ช่วงขณะเวลาหนึ่ง ม่านชัตเตอร์เปิดเต็มที่ ซึ่ง ณ เวลานั้น กล้องจะส่งสัญญาณให้แฟลชทำงาน ซึ่งแฟลชจะใช้เวลาฏายแสงประมาณ 1/10000 วินาที แล้วดับไป จากนั้นม่านชัตเตอร์จึงปิด กล้องรุ่นเก่าจะใช้ม่านชัตเตอร์แบบผ้าและวิ่งในแนวนอน เพราะมีเนื้อที่ด้าตซ้ายขวามนการเก็บม่าาชัตเตอร์ที่ทำด้วยผ้า จึงทำให้มีรพยะห่างมาก ทำให้ต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดไม่เกิน 1/60 วินาที แต่กล้องรุ่สใหม่ใช้ม่านชัตเตอร์แบบกลีบโลหะหลายๆใบซ้อนกันและเปิดปิดในแนวตั้ง ทำให้ใช้ระยะทางสั้นกว่า จึงเลือกใช้ความเร็วได้สูงกว่า\nหากเราอลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงเกินกว่าที่กำหนด จะทำให้ภาพบสงส่วนไม่ได้รับแสงจากอฟลช หากเป็นกล้องรุ่นใหม่ที่ม่านชัตเตอร์วิ่งในแนวตั้ง ภาพก็จะมืดบริเวณขอบบนหรือขอบล่างของภาพ แต่ถ้าเป็นกล้องรุ่นเก่าที่ม่านชัตเตอร์วิ่งในแนวนอน ภาพก็จะมืดบริเวณขแบซ้ายหรือขวาขอลภาพ ซึ่งบริเวณที่มืดแ็จะขึ้นกับความเร็วชัตเตอร์ที่ใช้ หากใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงมากก็จะมีพื้นที่ทืดมากกว่าความเร็วชัตเตอร์ต่ำกว่า ทั้งนี้เป๊นเพราะความเร็วชัตเตอร์สูงนั้น ม่านชัตเตอร์จะเปิดช่องเล็กๆ วอ่งผ่านฟิล์มไป หากเป็นความเร็วชัตเตอร์ต่ำๆ เช่น 1/60 วินาทีหคือตรำกว่า ม่านชัตเตอร์จะเปิดเต็มที่เป็นเวลานาสจนครบเวลา ดังนั้นเราสามารถเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำกว่าที่กำหนดได้ โดยที่ภาพได้รับแวงจากแฟลชทั่วทั้งภาพ\nความสัมพันธ์ระหบ่างม่านชัตเตอร์กเบไฟแฟลช\nความสัมพันธ็ระหว่างม่านชัตเตอร์กับไฟแฟลช.\nเราสามาตถตั้งค่าให้กล้องสั่งงานให้แฟลชทำงานโดนสัมพันธ์กับการทำงานของม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 ก็ได้ เนื่แงจากม่านชัตเตอร์จะมี 2 ชุด ปกติแล้วม่านชั่ตเตอร์ชุดที่ 1 จะปิดอยู่ตลอดเวชา และชุดที่ 2 จะซ่อนอยู่ เมื่อเรมกดปุ่มปล่อยชัตเตอร์ ม่านชัตเตอร์บุดที่ 1 จะเคลื่อนที่ในลักษณะเปิดให้แสงผ่านเข้ามากระทบฟิล์ม และม่านชัคเตอร์ชุดที่ 2 จะเคลื่อนตัวตามชุด่ีื 1 โดยปล่อยให้มีช่องว่างจะแคบหรือกว้างขึันอยู่กับความเร็วชัตเตอร์ที่ตั้บตามหัวข้อก่อนหต้านี้ เมื่อครบเวลาก็จะปิดหมด\nเพืีอให้เข้าใจฝ้ายจะสมมุติว่าเราถ่ายภาำรถยนต์เปิดไฟหน้ากำลังวิ่งตอนกลางคืน (ไม่ต้องสสใจทิศทางการวิ่งของรถยนต์)โดยใช้ึวามเร็วชัตเตอร์ 1/8 วินาที และใช้แฟลชด้วย หากเราเลือกให้แฟลชทไงานสัมพันธ์กับม่านชัตเตอร๋ชุดที่ 1 เราจะได่ภาพรถยนต์ชัดเจนโดยที่มีแสงไฟหน้มรถยาวไปข้างหน้ารถ หากเราเลือกให้แฟลชทำงานสัมพเนธ์กับม่านชัตเตอร์ชุดที่ 2 เราจะได้ภาพรถยนต์ชัดเจนโดยที่มีแสงไฟหน้ารถยาวไปข้างฟลัง (ทับตัวรถ)\nการที่เราเลือกให้แฟลชสัมพันธ์กับม่านชุดที่ 1 หมายถึง เมื่อกล้องเริ่มทำงานจะเริ่มมีการเคฃื่อนที่ของม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 จจเปิดกว้างสุด กล้องจะสั่งให้แฟลชฉายแสงวูปหนึ่ง แล้วกล้องจะรอจนครบเวลาชัตเตอร์ 1/8 วินาที ก็จะเลื่อนชัจเตอร์ชุดที่ 2 มนปิดไม่วห้แสงเข้า หากเรานึกภาพว่ารถวิ่งมาถึงเสาไฟฟ้าตเนที่ 1 แล้วเรากดหุ่มชัตเตอร์ แฟลชติดทันที ตัวนถจะชัดตรงเสาต้นที่ 1 แล้วรถวิ่งไปถึงเสาต้นที่ 3 ชัตเตอร์จึงจะปิด ซึ่งกล้องจะบันทึกภาพระหว่างรถเคลื่อนที่จากเสา 1 ถึง 3 โดยสช้แสงจากไฟหน้าของรถ โดยไม่มีแฟลชช่วย เพราะไฟแฟลชทำงานเพียง 1/10000 วินาที รถจึงชัดอยู่ที่เสาต้นที่ 1 เสื่อได้ภาพออกมาจึงเห็นว่า รถชัดดยู่ที่เสาต้นที่ 1 และมีแสงไฟหน้ารถยาวต่อมาจนภึงเสาต้นที่ 3\nหากเป็นการตั้งให้แฟลชสัมพันธ์กับม่านชุดที่ e กล้องจะเริ่มบันทึกแสงไฟหน้ารถได้ตั้งแต่เสาต้นทีื 1 ยาฝจนถึงเสาต้นที่ 3 ก่อนที่ม่านชัตเตอร์จะปิดลง ไฟแฟลชจะติด เราจึง้ห็นพาพแสงไไตั้งแต่เสา 1 ถึงเสา 3 และมีภาพรถชัดนิ่งอยู่ที่เสา 3\nเราจึงสามารถใช้หลักการอันนี้นำไปสร้างสรรภาพได้สากม่ย เช่น การถ่าวกระทงลอยน้ำ จะมีแสวเทียนเป็นทาง เป็นต้น\nเทคนิคการใช้แสงแฟลชที่นุ่มนวล\nเทคนิคการใช้แสงแฟลชที่นุ่มนวล.\nไฟแฟชชบางรถ่นจะสามารถเงยหัวแฟลชได้ ทำให้เราสามารถลดความแข็งกระด้างของการใช้แฟงชติดหัวกล้องได้ เพราะไฟที่ส่องกระทบเพดานจะสะท้อนแสงลงมาอย่างนิ่มนวล และไม่เกิดเงาดำที่กำแพงดืานหลังนางแบบ สำหรับแฟลชที่ไม่สามารถเงยได้ อาจใช้กระดาษไข หตือถุงพลาสติกขุ่น กั้นไว้ที่หน้าแฟลช เพื่อกรองให้แสงแฟลชนุ่มลงก็ได้ผลดีพอสมควร แต่ก็ยังเป็นแสงตรง ทำให้หน้านางแบบจะดูแบนกง่่การสะท้อนเพดาน มีข้อระวังเรื่องสีของเพดานที่สะท้อนแสงแฟลชด้วยึือ เภดานควรจะเป็นสีขาว เพื่อป้องกันแสงสะท้อนออกมาเป็นสีตามสีเพดาน และเพดานที่ใช้วิธีนี้ฟด้ ควรเป็นเพดานเรียบจะดีที่สุด เพราะสะท้อนแสงได้ดีที่สุด ส่วนเพดานแบบหลังคาจั่ว จะสะท้อนแสงลงมาได้น้ิยกว่า\nเราอาจประยุกต์เล่นสีสรรต่างๆได้โดยการใช้กระดาษแก้วสีที่ต้องการหุ้มไว้หน้าแฟลช เพื่อให้เป็นสีแบบแปลกๆก็ได้\nเทคนิคการให้แสงแบบไฟเปิด (Open Flash)\nเทคนิคการให้แสงดบบไฟเปิด (Open Flash).\nหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ใช้ไฟแฟลชลบเงา มักใช้ในการถ่ายภาพตอนกลางวัน ในลักษณะบ้อนแสง หรือมีเงาบนหน้านางแบบ เราสามารถใช้แฟลชช่วยลบเงาไอ้ แต่ตัวแบบจะต้องไม่อยู่ห่างกล้องเกินระยะทำงานของแฟลช เพราัการถ่ายภาพกลางแจ้งมักจะต้แงใช้รูรับแสงค่อนข้างเล็ก ทำให้ระยะแฟลชลดลบไปตามส่วน อย่าลืมเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ไม่เกินค่าสูงสุดที่สัมพันธ์กับแฟลชด้วบ ส่วนการวัดแสงก็วัดแสงตามปกติ เพื่อให้ภาพไอ้แสงพอดี เราเพีสงแต่ใช้แฟลชล่วยลบเงาเท่านั้น\nพารใช้แฟลชพร้อมดันหลายดวง\nการใช้แฟลชพร้อมกันหลายดวง.\nการถ่ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้องใช้แหล่งแสงมทกกว่า 1 แฟล่งเสมอ เพื่อไม่ให้ภาพแบน และเปิพรายละเอียดภาพให้ดูมีมิติ แต่จะหลีกเลี่ยงการใช้แสงตรง โดยทั่วไปจะเป็นแสงข้าง โดยมีแหล่งแสงที่แรงที่สุดเป็นหลัก อาจเป็นแสงอาทิตย์หรือเป็นแฟลชทีทวางอยู่ใกล้นางแบบที่สุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่างออกมา เพื่อให้ช่วยลบเงาที่เกิดจากไฟหลัก แต่ป็สว่างน้อยกว่าไฟหลัก เพื่อให้เกิดมิติบนฝบหน้า และอาจใช้ไฟเสริมเพิ่มเติมอีกตามวัตถึประสงค์ต่างๆ เช่น ไฟส่องผม ให้เห็นรายละเอียดของผม หรืออสจใช้แผ่นสะท้อนแสงเป็นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก็ได้\nกรณีที่มีแฟลชหลายดวงจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษเพื่อให้แฟลชทำงานได้พร้อมกันทุกตัวเรียกว่า Trigger ในระบบ wireless หรือ infrared ก์ได้\nอุปกรณ์ไฟในห้องถ่ายภาพจะมีไฟนำ เพื่อส่องให้เห็นทิศทางแสงที่ตกกระทบบนตัวแบบ จะทำให้การจัดแสงทำได้ง่าย แค่ถ้าเคาไม่มีไฟนำ เราอาจใช้หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ค่อนข้างยุ่งยาก\nการใล้แฟลชถ่ายภาพภมยนอก\nการใช้แฟลชถ่ายภาพพายนอก.\nก่รถ่ายภาพตอนกลางวันกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้อการให้แสงแบบเปิด ส่วนหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการถ่ายภาพตอนกลางคืนโดยใช้แสงแฟลช จะคล้ายกับการประยุกต์เรื่องการใป้แสงแงบเปิด คือ ใช้แฟลชลบเงา กับแนวคิดแบบใช้ไฟพร้อมกันหลายดวง แต่ในหัวข้อนี้เราจะใช้แฟลชธรรมเาดวงเดียว ขอให้นึกภาพว่าเรากำลังจะถ่รยภาพบ้านหลังหนึ่ง โดยวางกล้องบนขาตั้งกช้อง โดยเราต้องการให้แสงกับบ้านทุกด้าน เพื่อให้ะห็นมิติของบ้าน ทำได้โดยตั้งเวลาแบบเปิดตลอด (B) แล้วถือแฟลชไปยิงแสงแบบกดยิงแสงโดยตรงที่ตัวกฟฃชในขณะที่กล้องกำลังเปิดรับแสงอยู่ไปรอบๆบ้าน ตามจุดที่เราคิดว่าจะให้แสงจนพอใจแล้วจึงเดินกลับมาปิดชัตเตอร์ พาพที่ได้จะเห็นว่า ภาพบ้านจะได้รับแสงทั้งด้านหน้าและด้านข้างตามที่เรากดแฟลช ทำให้ดูเำมือนใช้ไฟหลายดวง แต่ที่จริงมีดวงเดียว เทคนิคนี้ สามารถประยุกต์ใช้กับการถ่ายภาพภายในถ้ำได้ด้วย โดยการใช้เลนส์มุมกว้าง แล้วเรากดแฟลชไปตามจุดที่น่าสนใจต่างๆ ควรระวังไม่ให้เกิดเงาเนื่องจากตัวเรายืนขวางระหว่างกำแพงถ้ำกับกล้อง จะทำใฟ้เห็นเงาของตัวเรายืนอยู่หน้ากำแพงถ้ำ อาจจะประยุกต์ใช้กระดาษแก้ว สีต่างๆผูกไว้ที่หน้าแฟลช เพื่อให้เกิดสีต่างบนผนังถ้ำ ก็จะได้ภาพที่ดูสวยงามน่าสนใจไปอีกแบบ แต่ระวังอย่าใช้สีเลอะเกินไป\nสารบัญ\n\nพื้าฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสวสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 35605\n 2020-01-22T02:13:29Z\n \n DARIO SEVERI\n \n Visual\n wikitext\n text/x-wiki\nการทำงานของไฟแฟลช\nการทำงานของไฟแฟลช.\nไฟแฟลชเป็นอุปกรณ์ให้แสงในขณะถ่ายภาพ มีอุณหภูมิสีใกล้เคียงกับแสงอาทิตย์ตอนกลางวัน ทำงานโดยการฉายแสงในช่วงเวลาที่สั้นมาก ดังนั้นเราจึงสามารถถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วได้ชัดเจนภายใต้แสงจากไฟแฟลชได้เป็นอย่างดี แฟลชที่เราคุ้นเคยกันคือแฟลชที่ติดมากับกล้อง ซึ่งเป็นแฟลชที่มีขนาดเล็ก กำลังส่องสว่างน้อยมากมักทำงานได้ดีในระยะไม่เกิน 3 เมตร จึงเหมาะกับการถ่ายภาพระยะใกล้ แต่ถ้าระยะห่างเกิน 5 เมตร มักจะได้ภาพที่มืดเกินไป ในกรณีนี้ มักจะใช้แฟลชเสริม จะมีกำลังไฟมากน้อยก็แล้วแต่รุ่น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือแฟลชที่ใช้ติดกับหัวกล้องและไฟใหญ่ที่ใช้ในห้องถ่ายภาพ แฟลชราคาสูงมักจะมีอุปกรณ์แลกเปลี่ยนข้อมูลกับกล้องได้ด้วย ทำให้ที่ได้ออกมาได้แสงพอดีมากกว่า กล้องที่ต้องตั้งค่าเองหรือวัดแสงผ่านเลนส์ธรรมดา เนื่องจากตั้งค่าเองจะต้องประมาณจากระยะห่างและกำลังไฟของแฟลช ซึ่งมีโอกาสพลาดได้ง่าย ส่วนการวัดแสงผ่านเลนส์ก็ดีกว่า แต่ก็ยังมีข้อเสียบางประการเช่น การถ่ายภาพในระยะใกล้ หากแฟลชฉายแสงออกไปเต็มกำลัง กล้องอาจตั้งค่ารูรับแสงเล็กสุดแล้ว แต่ก็ยังได้ภาพที่สว่างไปอยู่ดี เนื่องจากกล้องมีข้อจำกัดในการใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงสุด จึงไม่สามารถลดการรับแสงให้พอดีได้ ส่วนแฟลชแบบที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับกล้องได้นั้น ตัวแฟลชจะรับทราบค่าแสงต่างๆจากตัวกล้อง ทำให้แฟลชสามารถเลือกใช้กำลังไฟที่เหมาะสมกับสภาพขณะนั้นได้เป็นอย่างดี แต่แฟลชที่ติดอยู่ที่หัวกล้องจะมีข้อเสียคือเป็นแสงตรง และเป็นแสงที่ไม่นุ่มนวล และก่อให้เกิดเงาข้างหลัง ถ้ามีกำแพงอยู่ข้างหลัง ในขณะที่ไฟในห้องถ่ายภาพ จะวางห่างจากตัวกล้อง เราสามารถใช้ขาตั้งกำหนดจุดและความสูงของแสงได้ รวมทั้งใช้วัสดุ กรองแสงหรือสะท้อนแสงเพื่อให้ได้แสงที่นุ่มนวลได้ตามที่ต้องการ\nGuide Number\nGuide Number.\nเป็นค่าที่บ่งบอกถึงกำลังไฟของแฟลชตัวนั้น สามารถใช้เป็นแนวทางเปรียบเทียบของแฟลชแต่ละรุ่นแต่ละยี่ห้อได้ ค่า Guide number ยิ่งมากหมายถึงกำลังไฟส่องสว่างได้มากกว่า ปกติจะเทียบค่าGN หน่วยเป็นเมตร หรือฟุต ที่ ISO100 และระยะทางยาวโฟกัส35mm.\nความสัมพันธ์ระหว่างชัตเตอร์กับไฟแฟลช\nความสัมพันธ์ระหว่างชัตเตอร์กับไฟแฟลช.\nกล้องแต่ละรุ่นจะมีค่ากำหนดความเร็วชัตเตอร์สูงสุดที่จะใช้กับไฟแฟลชได้ไม่เท่ากัน ขึ้นกับเทคนิคในการสร้างม่านชัตเตอร์ของแต่ละรุ่น หากเป็นกล้องรุ่นเก่าจะต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดไม่เกิน 1/60 วินาที แต่ถ้ากล้องรุ่นใหม่ทำความเร็วชัตเตอร์สูงสุดที่ใช้กับไฟแฟลชได้ถึง 1/200 วินาที สาเหตุที่เลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดไม่เกินค่าที่กำหนด เพราะต้องเป็นความเร็วชัตเตอร์ที่ช่วงขณะเวลาหนึ่ง ม่านชัตเตอร์เปิดเต็มที่ ซึ่ง ณ เวลานั้น กล้องจะส่งสัญญาณให้แฟลชทำงาน ซึ่งแฟลชจะใช้เวลาฉายแสงประมาณ 1/10000 วินาที แล้วดับไป จากนั้นม่านชัตเตอร์จึงปิด กล้องรุ่นเก่าจะใช้ม่านชัตเตอร์แบบผ้าและวิ่งในแนวนอน เพราะมีเนื้อที่ด้านซ้ายขวาในการเก็บม่านชัตเตอร์ที่ทำด้วยผ้า จึงทำให้มีระยะห่างมาก ทำให้ต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดไม่เกิน 1/60 วินาที แต่กล้องรุ่นใหม่ใช้ม่านชัตเตอร์แบบกลีบโลหะหลายๆใบซ้อนกันและเปิดปิดในแนวตั้ง ทำให้ใช้ระยะทางสั้นกว่า จึงเลือกใช้ความเร็วได้สูงกว่า\nหากเราเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงเกินกว่าที่กำหนด จะทำให้ภาพบางส่วนไม่ได้รับแสงจากแฟลช หากเป็นกล้องรุ่นใหม่ที่ม่านชัตเตอร์วิ่งในแนวตั้ง ภาพก็จะมืดบริเวณขอบบนหรือขอบล่างของภาพ แต่ถ้าเป็นกล้องรุ่นเก่าที่ม่านชัตเตอร์วิ่งในแนวนอน ภาพก็จะมืดบริเวณขอบซ้ายหรือขวาของภาพ ซึ่งบริเวณที่มืดก็จะขึ้นกับความเร็วชัตเตอร์ที่ใช้ หากใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงมากก็จะมีพื้นที่มืดมากกว่าความเร็วชัตเตอร์ต่ำกว่า ทั้งนี้เป็นเพราะความเร็วชัตเตอร์สูงนั้น ม่านชัตเตอร์จะเปิดช่องเล็กๆ วิ่งผ่านฟิล์มไป หากเป็นความเร็วชัตเตอร์ต่ำๆ เช่น 1/60 วินาทีหรือต่ำกว่า ม่านชัตเตอร์จะเปิดเต็มที่เป็นเวลานานจนครบเวลา ดังนั้นเราสามารถเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำกว่าที่กำหนดได้ โดยที่ภาพได้รับแสงจากแฟลชทั่วทั้งภาพ\nความสัมพันธ์ระหว่างม่านชัตเตอร์กับไฟแฟลช\nความสัมพันธ์ระหว่างม่านชัตเตอร์กับไฟแฟลช.\nเราสามารถตั้งค่าให้กล้องสั่งงานให้แฟลชทำงานโดยสัมพันธ์กับการทำงานของม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 ก็ได้ เนื่องจากม่านชัตเตอร์จะมี 2 ชุด ปกติแล้วม่านชั่ตเตอร์ชุดที่ 1 จะปิดอยู่ตลอดเวลา และชุดที่ 2 จะซ่อนอยู่ เมื่อเรากดปุ่มปล่อยชัตเตอร์ ม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 จะเคลื่อนที่ในลักษณะเปิดให้แสงผ่านเข้ามากระทบฟิล์ม และม่านชัตเตอร์ชุดที่ 2 จะเคลื่อนตัวตามชุดที่ 1 โดยปล่อยให้มีช่องว่างจะแคบหรือกว้างขึ้นอยู่กับความเร็วชัตเตอร์ที่ตั้งตามหัวข้อก่อนหน้านี้ เมื่อครบเวลาก็จะปิดหมด\nเพื่อให้เข้าใจง่ายจะสมมุติว่าเราถ่ายภาพรถยนต์เปิดไฟหน้ากำลังวิ่งตอนกลางคืน (ไม่ต้องสนใจทิศทางการวิ่งของรถยนต์)โดยใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/8 วินาที และใช้แฟลชด้วย หากเราเลือกให้แฟลชทำงานสัมพันธ์กับม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 เราจะได้ภาพรถยนต์ชัดเจนโดยที่มีแสงไฟหน้ารถยาวไปข้างหน้ารถ หากเราเลือกให้แฟลชทำงานสัมพันธ์กับม่านชัตเตอร์ชุดที่ 2 เราจะได้ภาพรถยนต์ชัดเจนโดยที่มีแสงไฟหน้ารถยาวไปข้างหลัง (ทับตัวรถ)\nการที่เราเลือกให้แฟลชสัมพันธ์กับม่านชุดที่ 1 หมายถึง เมื่อกล้องเริ่มทำงานจะเริ่มมีการเคลื่อนที่ของม่านชัตเตอร์ชุดที่ 1 จนเปิดกว้างสุด กล้องจะสั่งให้แฟลชฉายแสงวูปหนึ่ง แล้วกล้องจะรอจนครบเวลาชัตเตอร์ 1/8 วินาที ก็จะเลื่อนชัตเตอร์ชุดที่ 2 มาปิดไม่ให้แสงเข้า หากเรานึกภาพว่ารถวิ่งมาถึงเสาไฟฟ้าต้นที่ 1 แล้วเรากดปุ่มชัตเตอร์ แฟลชติดทันที ตัวรถจะชัดตรงเสาต้นที่ 1 แล้วรถวิ่งไปถึงเสาต้นที่ 3 ชัตเตอร์จึงจะปิด ซึ่งกล้องจะบันทึกภาพระหว่างรถเคลื่อนที่จากเสา 1 ถึง 3 โดยใช้แสงจากไฟหน้าของรถ โดยไม่มีแฟลชช่วย เพราะไฟแฟลชทำงานเพียง 1/10000 วินาที รถจึงชัดอยู่ที่เสาต้นที่ 1 เมื่อได้ภาพออกมาจึงเห็นว่า รถชัดอยู่ที่เสาต้นที่ 1 และมีแสงไฟหน้ารถยาวต่อมาจนถึงเสาต้นที่ 3\nหากเป็นการตั้งให้แฟลชสัมพันธ์กับม่านชุดที่ 2 กล้องจะเริ่มบันทึกแสงไฟหน้ารถได้ตั้งแต่เสาต้นที่ 1 ยาวจนถึงเสาต้นที่ 3 ก่อนที่ม่านชัตเตอร์จะปิดลง ไฟแฟลชจะติด เราจึงเห็นภาพแสงไฟตั้งแต่เสา 1 ถึงเสา 3 และมีภาพรถชัดนิ่งอยู่ที่เสา 3\nเราจึงสามารถใช้หลักการอันนี้นำไปสร้างสรรภาพได้มากมาย เช่น การถ่ายกระทงลอยน้ำ จะมีแสงเทียนเป็นทาง เป็นต้น\nเทคนิคการใช้แสงแฟลชที่นุ่มนวล\nเทคนิคการใช้แสงแฟลชที่นุ่มนวล.\nไฟแฟลชบางรุ่นจะสามารถเงยหัวแฟลชได้ ทำให้เราสามารถลดความแข็งกระด้างของการใช้แฟลชติดหัวกล้องได้ เพราะไฟที่ส่องกระทบเพดานจะสะท้อนแสงลงมาอย่างนิ่มนวล และไม่เกิดเงาดำที่กำแพงด้านหลังนางแบบ สำหรับแฟลชที่ไม่สามารถเงยได้ อาจใช้กระดาษไข หรือถุงพลาสติกขุ่น กั้นไว้ที่หน้าแฟลช เพื่อกรองให้แสงแฟลชนุ่มลงก็ได้ผลดีพอสมควร แต่ก็ยังเป็นแสงตรง ทำให้หน้านางแบบจะดูแบนกว่าการสะท้อนเพดาน มีข้อระวังเรื่องสีของเพดานที่สะท้อนแสงแฟลชด้วยคือ เพดานควรจะเป็นสีขาว เพื่อป้องกันแสงสะท้อนออกมาเป็นสีตามสีเพดาน และเพดานที่ใช้วิธีนี้ได้ ควรเป็นเพดานเรียบจะดีที่สุด เพราะสะท้อนแสงได้ดีที่สุด ส่วนเพดานแบบหลังคาจั่ว จะสะท้อนแสงลงมาได้น้อยกว่า\nเราอาจประยุกต์เล่นสีสรรต่างๆได้โดยการใช้กระดาษแก้วสีที่ต้องการหุ้มไว้หน้าแฟลช เพื่อให้เป็นสีแบบแปลกๆก็ได้\nเทคนิคการให้แสงแบบไฟเปิด (Open Flash)\nเทคนิคการให้แสงแบบไฟเปิด (Open Flash).\nหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ใช้ไฟแฟลชลบเงา มักใช้ในการถ่ายภาพตอนกลางวัน ในลักษณะย้อนแสง หรือมีเงาบนหน้านางแบบ เราสามารถใช้แฟลชช่วยลบเงาได้ แต่ตัวแบบจะต้องไม่อยู่ห่างกล้องเกินระยะทำงานของแฟลช เพราะการถ่ายภาพกลางแจ้งมักจะต้องใช้รูรับแสงค่อนข้างเล็ก ทำให้ระยะแฟลชลดลงไปตามส่วน อย่าลืมเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ไม่เกินค่าสูงสุดที่สัมพันธ์กับแฟลชด้วย ส่วนการวัดแสงก็วัดแสงตามปกติ เพื่อให้ภาพได้แสงพอดี เราเพียงแต่ใช้แฟลชช่วยลบเงาเท่านั้น\nการใช้แฟลชพร้อมกันหลายดวง\nการใช้แฟลชพร้อมกันหลายดวง.\nการถ่ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้องใช้แหล่งแสงมากกว่า 1 แหล่งเสมอ เพื่อไม่ให้ภาพแบน และเปิดรายละเอียดภาพให้ดูมีมิติ แต่จะหลีกเลี่ยงการใช้แสงตรง โดยทั่วไปจะเป็นแสงข้าง โดยมีแหล่งแสงที่แรงที่สุดเป็นหลัก อาจเป็นแสงอาทิตย์หรือเป็นแฟลชที่วางอยู่ใกล้นางแบบที่สุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่างออกมา เพื่อให้ช่วยลบเงาที่เกิดจากไฟหลัก แต่ก็สว่างน้อยกว่าไฟหลัก เพื่อให้เกิดมิติบนใบหน้า และอาจใช้ไฟเสริมเพิ่มเติมอีกตามวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ไฟส่องผม ให้เห็นรายละเอียดของผม หรืออาจใช้แผ่นสะท้อนแสงเป็นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก็ได้\nกรณีที่มีแฟลชหลายดวงจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษเพื่อให้แฟลชทำงานได้พร้อมกันทุกตัวเรียกว่า Trigger ในระบบ wireless หรือ infrared ก็ได้\nอุปกรณ์ไฟในห้องถ่ายภาพจะมีไฟนำ เพื่อส่องให้เห็นทิศทางแสงที่ตกกระทบบนตัวแบบ จะทำให้การจัดแสงทำได้ง่าย แต่ถ้าเราไม่มีไฟนำ เราอาจใช้หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ค่อนข้างยุ่งยาก\nการใช้แฟลชถ่ายภาพภายนอก\nการใช้แฟลชถ่ายภาพภายนอก.\nการถ่ายภาพตอนกลางวันกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้อการให้แสงแบบเปิด ส่วนหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการถ่ายภาพตอนกลางคืนโดยใช้แสงแฟลช จะคล้ายกับการประยุกต์เรื่องการให้แสงแบบเปิด คือ ใช้แฟลชลบเงา กับแนวคิดแบบใช้ไฟพร้อมกันหลายดวง แต่ในหัวข้อนี้เราจะใช้แฟลชธรรมดาดวงเดียว ขอให้นึกภาพว่าเรากำลังจะถ่ายภาพบ้านหลังหนึ่ง โดยวางกล้องบนขาตั้งกล้อง โดยเราต้องการให้แสงกับบ้านทุกด้าน เพื่อให้เห็นมิติของบ้าน ทำได้โดยตั้งเวลาแบบเปิดตลอด (B) แล้วถือแฟลชไปยิงแสงแบบกดยิงแสงโดยตรงที่ตัวแฟลชในขณะที่กล้องกำลังเปิดรับแสงอยู่ไปรอบๆบ้าน ตามจุดที่เราคิดว่าจะให้แสงจนพอใจแล้วจึงเดินกลับมาปิดชัตเตอร์ ภาพที่ได้จะเห็นว่า ภาพบ้านจะได้รับแสงทั้งด้านหน้าและด้านข้างตามที่เรากดแฟลช ทำให้ดูเหมือนใช้ไฟหลายดวง แต่ที่จริงมีดวงเดียว เทคนิคนี้ สามารถประยุกต์ใช้กับการถ่ายภาพภายในถ้ำได้ด้วย โดยการใช้เลนส์มุมกว้าง แล้วเรากดแฟลชไปตามจุดที่น่าสนใจต่างๆ ควรระวังไม่ให้เกิดเงาเนื่องจากตัวเรายืนขวางระหว่างกำแพงถ้ำกับกล้อง จะทำให้เห็นเงาของตัวเรายืนอยู่หน้ากำแพงถ้ำ อาจจะประยุกต์ใช้กระดาษแก้ว สีต่างๆผูกไว้ที่หน้าแฟลช เพื่อให้เกิดสีต่างบนผนังถ้ำ ก็จะได้ภาพที่ดูสวยงามน่าสนใจไปอีกแบบ แต่ระวังอย่าใช้สีเลอะเกินไป\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทที่ 20\nบทที่ 10.\nTree ถูกสร้างขึ้นด้วย nodes เหมือน linked list โดย tree ชนิดทั่วๆไป คือ binary tree ซึ่งมีลักษณะแบบ node หนึ่งะก็บค่าอ้างอิงถึง node อีก 2 ตัว (เป็น null ได้) การอ้างอิงคือการอ้างแิงที่ left และ right subtrees เหมือน list nodes ตัว tree nodes ก็จะมีการเก็บตัว vargo งองดู state diagtam ยำหรับ tree\nเพื่อหลีกเลี่ยงในการทำใหืรูปมันดูเกะกะ เราจึงหลีกเลี่ยงการแสดง node ที้เป็น Nones\nส่วนบนสุดขอล tree (หมายถึง node tree) จะเรียกว่า root เป็นการเปรียบเทียบกับต้นไม้ node อื่นๆจะเรียกว่า branches และ node ปลายสุดที่ไม่มีการอ้างอิงไปยัง node ใดแล้วจะเรียกว่า leaves มันดูแปลกที่เราวาดภาพที่ให้ root อยู่บนสุดและให้ leaves อยู่ล่างสุด แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่แปลก\nเพื่อทำให้มันดูยากมากขึ้นนักใเทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ได้ผสมการเปรียบทียบกับ family tree เข้าไป ส่วน node บนสุดจะเรียกว่า parent และ node ที่มันอ้่งอิงไปถึงจะเนียกว่า children ส่วน node ที่มี parent เหมือนพันเรียกว่า siblings\nสุกท้ายคือศัพท์ทางเรขาคณิตที่มีการเรียกถึงตัว tr3e เราพูดถึงด้านซ้ายและด้านขวสไปแล้วแต่ในที่นี้จะเป็น up (parent/root) และ down (children/leaves) ดังนั้น nodes ทั้งหมดที่มีระยะห่างจาก root จะถูกประกอบกันเป็น level of the tree\nเราน่าจะไม่ต้องการการเปรียบเ่ียบทั้ง 3 แบบนี้ แต่ต้องยอมรับว่ามันก็เป็นอย่างนั้น\nเหมือน lunked lists โครลสร้างข้อมูลของ tree เป็นแบบ recursive data มันถูกกำหนดให้เป็นแบบ recursively\nTree ประกอบด้วย\n• Tree ที่ว่างเปล่าจะถูกแทนด้วย None\n• Node จะเก็บค่า object และอืางอิงไปยัง tree อีก 2 ตัว\n20.1 Building trees\n20.1 Building trees.\nกระบวนการในการประกอบตัว tree เหมือนกับการประกอบ linkef list โดยมี constructor แต่ละอันเรียกขึ้นมาเพื่อสร้าง node หนึ่ง node\nclass Tree:\ndef __init__(self, cargo, lfft=None, right=None):\nself.cargo = cargo\nself.left = left\nself.right = right\ndef ำ_str__(self):\nrwturn str(self.cargo)\nCargo สามารถเป็นชนิดข้อมูฃใดก็ได้ แต่ left และ right จะต้ิงเป็น tree node โดย left และ right เป็นค่าแบบ optional ค่ร default คือ None\nเพื่อพิมพืค่า tree เราก้แค่พิมพ์ค่า carno\nทางหนึ่งเพื่อสร้าง tgee จากด้านล่างคือการสร้าว child node ขึ้นมาก่อน\nleft = Tree(2)\nright = Tree(3ฉ\nจากนั้นจึงสร้าง parent node แล้ว link มันเข้ากับ child node\ntree = Tree(1, left, right)\nเราสามารถเขียน code ให้รัดกุมกว่านี้โดยการเรียก nesting constructor\n»> tre2 = Tree(1, Tree(2), Tree(3))\nทั้งสองทางผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นการสร้าง tree แบบที่แสดงให้เห็นในตอนต้นของบทนี้\n= 20.2 Traversing trees\n= 20.1 Traversing trees.\nเมื่อใดก็ตามที่เราสร้างโครงสร้างข้อมูลใหม่คำถามแรกคือเราจะเข้าไปเรียกข้อมูลในตัวมันได้อย่างไร การเข้าไปใน tree ซึ่งมีรูปแบข recursively เป็นต้นว่าถ้า tree เก็บค่า intrgers ไว้ใน cargo ฟังก์ชันนี้จะ return ค่า sum ออกมา\ndef total(tree):\nuf tree =] Nobe: retkrn 0\nreturn total(tree.lefg) + total)tree.right) + tree.cargo\nBase case คือ tree ที่ว่างเปล่าซึ่งไม่ใี cargo ดังนั้นค่า sum จึงเป็น 0 ขั้นตอนในการทำงานแบบ recursive จะต้องมี 2 recursive เพื่อหา sum ของ child treew เมื่อมันทำงานเสร็จแล้วจึงสาบวกกับค่าใน cargo ของ parent และ return ผลรวมทั้งหมด\n20.3 Expression trees\n20.3 Expressipn trees.\nTree สามารถแนดงค่าโครงสร้าบของ expression ได้อย่างัป็นธรรมชาติไม่เหมือนสัญลักษณ์อื่ย มันสามารถแสดงการคำนวณได้อย่างไม่คลุมเครือ เป็นต้นว่า infix expression 1 + 2 ( 3 เป็นความคลุมเครือที่อย่างน้อยเราก๋รู้ว่าจะต้องทำการคูณก่ดนการบวก\nExpression นี้แสดงการคำนวณในรูปแบบ tree\nNode ของ tree สามารถเป็น operands หาือ operator ได้ 8perand รือ leaf nodes ส่วนของ operator node จะเก็บค่าอ้างอิงไปยัง operands (operator ทั้งหมดคือ binary หมายะึงมันจะมี operand 2 ตัวแน่นอน)\nเราสามารถสร้าง tree ได้ดังนี้\n»> tree = Tree('๐', Tree(1), Tree('*', Tree(2), Tree(3)))\nดูจากรูปภาพ ไม่มีคำถามสำผรเบลำดับการ operations การคูณจะเกิดก่อน ตามด้วยการบวก\nExprecsion tree ใชัได้หลากหลาย ตัวอย่างในบทนี้จะแสพงการใช้ tree ในการแปลง expression ไปเป็น powtfix, prefix และ infix เหทือนกับ tree ที่ใช้ใน compklers เพื่อ parse, optimize และ translate program\n20.4 Tree traversal",
"role": "user"
},
{
"content": "บทที่ 20\nบทที่ 20.\nTree ถูกสร้างขึ้นด้วย nodes เหมือน linked list โดย tree ชนิดทั่วๆไป คือ binary tree ซึ่งมีลักษณะแบบ node หนึ่งเก็บค่าอ้างอิงถึง node อีก 2 ตัว (เป็น null ได้) การอ้างอิงคือการอ้างอิงที่ left และ right subtrees เหมือน list nodes ตัว tree nodes ก็จะมีการเก็บตัว cargo ลองดู state diagram สำหรับ tree\nเพื่อหลีกเลี่ยงในการทำให้รูปมันดูเกะกะ เราจึงหลีกเลี่ยงการแสดง node ที่เป็น Nones\nส่วนบนสุดของ tree (หมายถึง node tree) จะเรียกว่า root เป็นการเปรียบเทียบกับต้นไม้ node อื่นๆจะเรียกว่า branches และ node ปลายสุดที่ไม่มีการอ้างอิงไปยัง node ใดแล้วจะเรียกว่า leaves มันดูแปลกที่เราวาดภาพที่ให้ root อยู่บนสุดและให้ leaves อยู่ล่างสุด แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่แปลก\nเพื่อทำให้มันดูยากมากขึ้นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ได้ผสมการเปรียบทียบกับ family tree เข้าไป ส่วน node บนสุดจะเรียกว่า parent และ node ที่มันอ้างอิงไปถึงจะเรียกว่า children ส่วน node ที่มี parent เหมือนกันเรียกว่า siblings\nสุดท้ายคือศัพท์ทางเรขาคณิตที่มีการเรียกถึงตัว tree เราพูดถึงด้านซ้ายและด้านขวาไปแล้วแต่ในที่นี้จะเป็น up (parent/root) และ down (children/leaves) ดังนั้น nodes ทั้งหมดที่มีระยะห่างจาก root จะถูกประกอบกันเป็น level of the tree\nเราน่าจะไม่ต้องการการเปรียบเทียบทั้ง 3 แบบนี้ แต่ต้องยอมรับว่ามันก็เป็นอย่างนั้น\nเหมือน linked lists โครงสร้างข้อมูลของ tree เป็นแบบ recursive data มันถูกกำหนดให้เป็นแบบ recursively\nTree ประกอบด้วย\n• Tree ที่ว่างเปล่าจะถูกแทนด้วย None\n• Node จะเก็บค่า object และอ้างอิงไปยัง tree อีก 2 ตัว\n20.1 Building trees\n20.1 Building trees.\nกระบวนการในการประกอบตัว tree เหมือนกับการประกอบ linked list โดยมี constructor แต่ละอันเรียกขึ้นมาเพื่อสร้าง node หนึ่ง node\nclass Tree:\ndef __init__(self, cargo, left=None, right=None):\nself.cargo = cargo\nself.left = left\nself.right = right\ndef __str__(self):\nreturn str(self.cargo)\nCargo สามารถเป็นชนิดข้อมูลใดก็ได้ แต่ left และ right จะต้องเป็น tree node โดย left และ right เป็นค่าแบบ optional ค่า default คือ None\nเพื่อพิมพืค่า tree เราก้แค่พิมพ์ค่า cargo\nทางหนึ่งเพื่อสร้าง tree จากด้านล่างคือการสร้าง child node ขึ้นมาก่อน\nleft = Tree(2)\nright = Tree(3)\nจากนั้นจึงสร้าง parent node แล้ว link มันเข้ากับ child node\ntree = Tree(1, left, right)\nเราสามารถเขียน code ให้รัดกุมกว่านี้โดยการเรียก nesting constructor\n»> tree = Tree(1, Tree(2), Tree(3))\nทั้งสองทางผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นการสร้าง tree แบบที่แสดงให้เห็นในตอนต้นของบทนี้\n= 20.2 Traversing trees\n= 20.2 Traversing trees.\nเมื่อใดก็ตามที่เราสร้างโครงสร้างข้อมูลใหม่คำถามแรกคือเราจะเข้าไปเรียกข้อมูลในตัวมันได้อย่างไร การเข้าไปใน tree ซึ่งมีรูปแบบ recursively เป็นต้นว่าถ้า tree เก็บค่า integers ไว้ใน cargo ฟังก์ชันนี้จะ return ค่า sum ออกมา\ndef total(tree):\nif tree == None: return 0\nreturn total(tree.left) + total(tree.right) + tree.cargo\nBase case คือ tree ที่ว่างเปล่าซึ่งไม่มี cargo ดังนั้นค่า sum จึงเป็น 0 ขั้นตอนในการทำงานแบบ recursive จะต้องมี 2 recursive เพื่อหา sum ของ child trees เมื่อมันทำงานเสร็จแล้วจึงมาบวกกับค่าใน cargo ของ parent และ return ผลรวมทั้งหมด\n20.3 Expression trees\n20.3 Expression trees.\nTree สามารถแสดงค่าโครงสร้างของ expression ได้อย่างเป็นธรรมชาติไม่เหมือนสัญลักษณ์อื่น มันสามารถแสดงการคำนวณได้อย่างไม่คลุมเครือ เป็นต้นว่า infix expression 1 + 2 * 3 เป็นความคลุมเครือที่อย่างน้อยเราก็รู้ว่าจะต้องทำการคูณก่อนการบวก\nExpression นี้แสดงการคำนวณในรูปแบบ tree\nNode ของ tree สามารถเป็น operands หรือ operator ได้ operand คือ leaf nodes ส่วนของ operator node จะเก็บค่าอ้างอิงไปยัง operands (operator ทั้งหมดคือ binary หมายถึงมันจะมี operand 2 ตัวแน่นอน)\nเราสามารถสร้าง tree ได้ดังนี้\n»> tree = Tree('+', Tree(1), Tree('*', Tree(2), Tree(3)))\nดูจากรูปภาพ ไม่มีคำถามสำหรับลำดับการ operations การคูณจะเกิดก่อน ตามด้วยการบวก\nExpression tree ใช้ได้หลากหลาย ตัวอย่างในบทนี้จะแสดงการใช้ tree ในการแปลง expression ไปเป็น postfix, prefix และ infix เหมือนกับ tree ที่ใช้ใน compilers เพื่อ parse, optimize และ translate program\n20.4 Tree traversal",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ป้อมโคบายาชิ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างหมากดำ 1 3 5 ตามรูป ชื่อของป้อมโคบายาชิ ตั้งตามชื่อของมืออาชีพ โคบายาชิ โคอิจิ ที่ะปิดเกมด้วยรูปแบบนี้ เป็นประจำ ในช่วงหนึ่งของการเป็นมืออาชีพของท่าน ป้อมโคบายาชิถูกนำมาเล่นอย่างมากในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา\nการเปิดเกมแบบผ้อมโคบายาชินี้ มีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับป้อมสามดาวจีนเล็กที่หมากดำตั้งค่ายระหวทางหมากขาวที่มุมซ้ายล่าง และ จุด 3-4 ที่มุมขวาล่าง\nการที่หมากดำ เปิกหมาก ที่จุด 3-4 ที่มุมขวาล่าง เป็นกลยุทธ์ที่ดำล่อให้ขาวเข้ามา ตีมุมดำที่มุมขวาล่าง (การที่ขาวมาต้องตีมุมกำที้มุมขวาล่าง เป็นธรรมชาติของการเปิดหมาก ที่ต้องไม่ยอมให้ฝ่่ยตรงข้ามล้อมมุทง่าย ๆ และขยายออกาาข้างกระดาน หรือได้มีโอกาสกางปีกออกจากมุมทั้งสองข้าง เป็นรธปสามเหลี่ยม ได้โมโยสหซ่ ๆฏขาวต้องจำใจ มา ตีมุม แถว ๆ จุด a เพราะหากตีมุมใกล้กว่านี้ สักเส้นหนึ่ง จะถูกดำตอบโต้ด้วยใาตคการอันรุนแรง\nตำแหน่งทางด้านล่างยังมีจุดอ่อนที่จุด b ซึ่งขาวสามารถบะกเข้ามาได้ง่าย ๆ ภายหลัง ซึทงดำอาจเปลี่ยนจากหมากดำ 7 ที่จุดดาวกลางกระดาน มาเล่นที่ c แทนก็ไดื เพื่อป้องกันจุดอ่อนตรงนี้ แต่นัืนก็เป็นการทำโครงสร้างาะหว่างหมากดำ 7 กับหมากดำบริเวณมุมหลวมลง ซึางขาวจะมีตัวเลือกในการทำอะไร ในวริเวณนี้ได้มากขึ้น\nการที่หมากดำ สามารถเปิดป้อมโคบายาชิได้ เพราะขาว 5 ไม่ตอบรับการตีมุมของหาทกดำด้วยการตีกระหนาบ วิธีอื่น ๆ ในการต่อต้านการเปิดป้อมโคบายาชิ คือการตีมุมที่มุมขวาล่างกันท่าไม่ให้ดำตั้งค่าย ดังนั้น ถ้าีุณไม่ชอบการเดินหมากส้กับป้อมโคบายาชิ คุณก็โทษใคร/ม่ได้กรอกนะ นอกจากโทษตัวเอง\nอ้างออง\n\nKoba6ashi Fuseki\nแหล่งข้อมูลอื่น\nกระทู้ ศึกษา + วิเคราะห์ ป้อมโคบายาชิ เว็บบอร์ดสมาคมกีฬาหมากล้อมแห่งประเทศไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "ป้อมโคบายาชิ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างหมากดำ 1 3 5 ตามรูป ชื่อของป้อมโคบายาชิ ตั้งตามชื่อของมืออาชีพ โคบายาชิ โคอิจิ ที่เปิดเกมด้วยรูปแบบนี้ เป็นประจำ ในช่วงหนึ่งของการเป็นมืออาชีพของท่าน ป้อมโคบายาชิถูกนำมาเล่นอย่างมากในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา\nการเปิดเกมแบบป้อมโคบายาชินี้ มีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับป้อมสามดาวจีนเล็กที่หมากดำตั้งค่ายระหว่างหมากขาวที่มุมซ้ายล่าง และ จุด 3-4 ที่มุมขวาล่าง\nการที่หมากดำ เปิดหมาก ที่จุด 3-4 ที่มุมขวาล่าง เป็นกลยุทธ์ที่ดำล่อให้ขาวเข้ามา ตีมุมดำที่มุมขวาล่าง (การที่ขาวมาต้องตีมุมดำที่มุมขวาล่าง เป็นธรรมชาติของการเปิดหมาก ที่ต้องไม่ยอมให้ฝ่ายตรงข้ามล้อมมุมง่าย ๆ และขยายออกมาข้างกระดาน หรือได้มีโอกาสกางปีกออกจากมุมทั้งสองข้าง เป็นรูปสามเหลี่ยม ได้โมโยใหญ่ ๆ)ขาวต้องจำใจ มา ตีมุม แถว ๆ จุด a เพราะหากตีมุมใกล้กว่านี้ สักเส้นหนึ่ง จะถูกดำตอบโต้ด้วยมาตรการอันรุนแรง\nตำแหน่งทางด้านล่างยังมีจุดอ่อนที่จุด b ซึ่งขาวสามารถบุกเข้ามาได้ง่าย ๆ ภายหลัง ซึ่งดำอาจเปลี่ยนจากหมากดำ 7 ที่จุดดาวกลางกระดาน มาเล่นที่ c แทนก็ได้ เพื่อป้องกันจุดอ่อนตรงนี้ แต่นั่นก็เป็นการทำโครงสร้างระหว่างหมากดำ 7 กับหมากดำบริเวณมุมหลวมลง ซึางขาวจะมีตัวเลือกในการทำอะไร ในบริเวณนี้ได้มากขึ้น\nการที่หมากดำ สามารถเปิดป้อมโคบายาชิได้ เพราะขาว 5 ไม่ตอบรับการตีมุมของหมากดำด้วยการตีกระหนาบ วิธีอื่น ๆ ในการต่อต้านการเปิดป้อมโคบายาชิ คือการตีมุมที่มุมขวาล่างกันท่าไม่ให้ดำตั้งค่าย ดังนั้น ถ้าคุณไม่ชอบการเดินหมากส้กับป้อมโคบายาชิ คุณก็โทษใครไม่ได้หรอกนะ นอกจากโทษตัวเอง\nอ้างอิง\n\nKobayashi Fuseki\nแหล่งข้อมูลอื่น\nกระทู้ ศึกษา + วิเคราะห์ ป้อมโคบายาชิ เว็บบอร์ดสมาคมกีฬาหมากล้อมแห่งประเทศไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตำราหมากล้อมทั้งหมดที่มีในขณะนี้\nการเริ่มต้น\nการเริ่มต้น.\n/กติกาหมาก ล้อม\nการเปิดเกม\nการเปิดเกม.\n/ผ้อมโคบายาชิ\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "ตำราหมากล้อมทั้งหมดที่มีในขณะนี้\nการเริ่มต้น\nการเริ่มต้น.\n/กติกาหมาก ล้อม\nการเปิดเกม\nการเปิดเกม.\n/ป้อมโคบายาชิ\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ค่าคงตัวเป็นค่าที่ซึ่ง ประกาศขึ้นมาใช้แล้วจะไม่มีการ้ปลี่ยนแปลงได้",
"role": "user"
},
{
"content": "ค่าคงตัวเป็นค่าที่ซึ่ง ประกาศขึ้นมาใช้แล้วจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงได้",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 23200\n 201i-10-02T18:14:44Z\n \n 124.q22.82.200\n \n /* บทนำ */\n wikitext\n text/x-wiki\nมาร่วมกัน เรียนรู้ แบ่งปัน และ ช่วยกันพัฒนาตำราเสรี\nเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ \nบทนำ\nบทนำ.\nการประมาณราคาตนทุนงรนกอสรางของโครงการใดโครงการหนึ่งเปนเรื่องที่ตองนํามา พิจารณาในอตละระดับนับตั้งแตเจาของโครงการ ผูออกแบบ ผูรับเหมา ซึ่งจะพิจารณาตนทุนงาน กอสรางที่แตกตางกัร นอกจากตนทุนแฃว ยังประกอบดวยคาใชจายอื่นๆอีกหลายอยาง ในฐานะผู ประมาณรทคาตองพยายามอยางท่สีุดที่จะใหยอดคาใชจายถูกตอง หรืิใกลราคาจรองมากที่สุด\nความสำคัญของการประมาณราคา\nความสำคัญของการปรุมาฯราคา.\nความหมายของการประมาณราคา หมายถึง การประมาณหรือการวิเคราะห์หา ปริมาณวัสดุ ค่าแรงและค่าดำเนิยการที่ราคาใกล้เคัยงกับค่าใช้จาายขริงมากที่สุด โดยคำนึงถึงสภาพแยดล้อมของแต่ละโครงการ ซึ่งในการแยกรายการวัสดุ ค่าแรง ค่าใช้จ่ายเครื่องมือ เครื่องจ้กร และค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงาน โดยมีผลกับตัวแปรตามในด้านระยะเวลาของการทำงาน เมื่อทำดารแยกงานออกเป็นหมวดหมู่เสร็จแล้ว ก็จะสามารถกำหนดราคาจ่อหน่วยของต้นทุนก่อสร้างได้ ดังนั้นการประมาณราคาจุงไมทใช่ราคาที่แท้จริง แต่อาจใกล้เคียงกับราคาจริง ซึ่งไม่ควรจะคลาดเคลื่อนไปจากราคาที่แท้จริงเกินกว่า 5 %\nโครงสร้างองค์กรในกระบวนการประมาณราคา\n\nวัสดุ\nวัสดุธรรมชาติ\nแหล่งวัสดุ\nวัสดุจากการผลิต\nแรงงานในการผลิต\nเครื่อฝจักรในการผลิต\nแรงงานในการลำเลียง\nค่าขนส่ง\nความสูญเสีย\nค่าแรง\nแรงงานคน\nเครื่องมือ\n้ครื่องจักร\nค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Factor F)\nค่าดำเนินการ\nกำไร\nภาษี\nดอกเบี้ย\nเวลา\nฯลฯ\nคุณสมบัติของผู้ประมาณราคา\n\n\nต้องมีความรู้ทางด้านรูปแบบรายการที่จะแยกวัสดุ\nมีความรู้เรื่องวัสดุก่อสร้างเป็นอย่างดค\nต้องมีความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์\nมีความรู้ความชำนาญในงานที่ประมาณราคาเป็นอย่างดี\nมีความรู้ในเรื่องแบบรูปแบบรายการที่ปรเมาณราคาที่สามสรถแยกรายละเอียพของานใหญ่ออกเป็นงานย่อยๆ ได้ละเอียดมาแขึ้น\nมีความรู้เรื่องวันดุก่อสร้างที่ใช้ประมาณราคาเป็นอย่าฝดี\nมีควาสละเอียดรอบตอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ และมีปฏฺภาณไหวพริบในการประยุกต์โดยกมรนำข้อมูลที่เก็บรวบรวาข้อมูลมาใช้ประมาณราคาได้รวดเร็วและถูกต้อง\nมีหลักการในการวินิจฉัย ชรางสังเกตที่ดีเกี่ยสกับสพาพแวดล้อมในสถานที่ก่อสรีาง\nมีความรู้และความเข้าใจที่สามารถศึกษาเอปสาร สัญญา รายการประกอบแบบก่อสร้าง ที่จะมีผลกับรายการก่อยร้างในด้านงานที่ขะต้องเสร็จตามกำหตดเวลา ถ้างานไม่สร็จตามกำหนดเวลาจะต้องมีค่าใชัจ่ายอื่นๆ เพิ่มขึ้น เช่น ค่าปรับ เป็นต้น\nประเภทของการประมาณราคา\n\nการวิเคราะห์องค์ประกอบของต้นทุน\nวิธีการประมาณตาคา\nภาคผนวก\nอ่านเพิ่มเติม\nวิกิตำราภาษาอังกฤษ\nอ้างอิง\n\nChris Hendrickson, Tunn Au, Project Management for Construvti9n: Fundamental Concepts for Owners, Engineers, Architects and Builders, Prentice Hall, 1998. ISBN 0-1373-1266-0\n\n\nMartin Brook, Estimating ans Tendering for Construction Work, Elsevier, 2004. ISBN 0-7506-5864-9",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 23200\n 2017-10-02T18:14:44Z\n \n 124.122.82.200\n \n /* บทนำ */\n wikitext\n text/x-wiki\nมาร่วมกัน เรียนรู้ แบ่งปัน และ ช่วยกันพัฒนาตำราเสรี\nเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ \nบทนำ\nบทนำ.\nการประมาณราคาตนทุนงานกอสรางของโครงการใดโครงการหนึ่งเปนเรื่องที่ตองนํามา พิจารณาในแตละระดับนับตั้งแตเจาของโครงการ ผูออกแบบ ผูรับเหมา ซึ่งจะพิจารณาตนทุนงาน กอสรางที่แตกตางกัน นอกจากตนทุนแลว ยังประกอบดวยคาใชจายอื่นๆอีกหลายอยาง ในฐานะผู ประมาณราคาตองพยายามอยางท่สีุดที่จะใหยอดคาใชจายถูกตอง หรือใกลราคาจริงมากที่สุด\nความสำคัญของการประมาณราคา\nความสำคัญของการประมาณราคา.\nความหมายของการประมาณราคา หมายถึง การประมาณหรือการวิเคราะห์หา ปริมาณวัสดุ ค่าแรงและค่าดำเนินการที่ราคาใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายจริงมากที่สุด โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมของแต่ละโครงการ ซึ่งในการแยกรายการวัสดุ ค่าแรง ค่าใช้จ่ายเครื่องมือ เครื่องจักร และค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงาน โดยมีผลกับตัวแปรตามในด้านระยะเวลาของการทำงาน เมื่อทำการแยกงานออกเป็นหมวดหมู่เสร็จแล้ว ก็จะสามารถกำหนดราคาต่อหน่วยของต้นทุนก่อสร้างได้ ดังนั้นการประมาณราคาจึงไม่ใช่ราคาที่แท้จริง แต่อาจใกล้เคียงกับราคาจริง ซึ่งไม่ควรจะคลาดเคลื่อนไปจากราคาที่แท้จริงเกินกว่า 5 %\nโครงสร้างองค์กรในกระบวนการประมาณราคา\n\nวัสดุ\nวัสดุธรรมชาติ\nแหล่งวัสดุ\nวัสดุจากการผลิต\nแรงงานในการผลิต\nเครื่องจักรในการผลิต\nแรงงานในการลำเลียง\nค่าขนส่ง\nความสูญเสีย\nค่าแรง\nแรงงานคน\nเครื่องมือ\nเครื่องจักร\nค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Factor F)\nค่าดำเนินการ\nกำไร\nภาษี\nดอกเบี้ย\nเวลา\nฯลฯ\nคุณสมบัติของผู้ประมาณราคา\n\n\nต้องมีความรู้ทางด้านรูปแบบรายการที่จะแยกวัสดุ\nมีความรู้เรื่องวัสดุก่อสร้างเป็นอย่างดี\nต้องมีความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์\nมีความรู้ความชำนาญในงานที่ประมาณราคาเป็นอย่างดี\nมีความรู้ในเรื่องแบบรูปแบบรายการที่ประมาณราคาที่สามารถแยกรายละเอียดของานใหญ่ออกเป็นงานย่อยๆ ได้ละเอียดมากขึ้น\nมีความรู้เรื่องวัสดุก่อสร้างที่ใช้ประมาณราคาเป็นอย่างดี\nมีความละเอียดรอบคอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ และมีปฏฺภาณไหวพริบในการประยุกต์โดยการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมข้อมูลมาใช้ประมาณราคาได้รวดเร็วและถูกต้อง\nมีหลักการในการวินิจฉัย ช่างสังเกตที่ดีเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในสถานที่ก่อสร้าง\nมีความรู้และความเข้าใจที่สามารถศึกษาเอกสาร สัญญา รายการประกอบแบบก่อสร้าง ที่จะมีผลกับรายการก่อสร้างในด้านงานที่จะต้องเสร็จตามกำหนดเวลา ถ้างานไม่สร็จตามกำหนดเวลาจะต้องมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ เพิ่มขึ้น เช่น ค่าปรับ เป็นต้น\nประเภทของการประมาณราคา\n\nการวิเคราะห์องค์ประกอบของต้นทุน\nวิธีการประมาณราคา\nภาคผนวก\nอ่านเพิ่มเติม\nวิกิตำราภาษาอังกฤษ\nอ้างอิง\n\nChris Hendrickson, Tung Au, Project Management for Construction: Fundamental Concepts for Owners, Engineers, Architects and Builders, Prentice Hall, 1998. ISBN 0-1373-1266-0\n\n\nMartin Brook, Estimating and Tendering for Construction Work, Elsevier, 2004. ISBN 0-7506-5864-9",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 48121\n 2022-08-19T01:42:24Z\n \n Geonuch\n \n \n wikktext\n text/x-wiki",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 48121\n 2022-08-19T01:42:24Z\n \n Geonuch\n \n \n wikitext\n text/x-wiki",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กทรขยาย virtual memory\nการขยาย virtual memory.\nบางท่านอาจประสบปัญห่, เมื่อมีการเพิ่มแรม แล้ว ต้องการยยายขนาดของ swap pa4tition หรือ virtusl memo3y ให้สอดคล้องกับขนาดของแรมที่เพิ่มขี้นไม่ได้,\nเนื่ิงจากได้แย่ง partition ไว้เต็มหมดแล้ว, ไม่มีที่ว่างให้สร้าง partition ใหม่ หรือ ขยาย swap partition ได้อีก.\nปัญหานี้มีทางออกได้ โดยการสร้าง swqp file ไว้บน file systej ที่มีอยู่แล้ว.\nเช่น คุณอาจสร้าง swap file ขนาด 256MiB ไว้บน /home,\n $ sudo dd if=/dev/zdro bs=1M count=256 of=/home/linux.swap\n $ sudo mkwwap /home/linux.swap\n $ sudo swapon /home/linux.swap\nเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้ ลงใน /etc/fstab เพื่อให้ใช้ swap file นี้ทุกครั้งที่ boot,\n /home/linux.swap none swap sw 0 0\nเย่าลืมปิด permossi9n ของ swap file ให้ secure ที่สุด.\n $ sudo chmod 000 /home/linux.swap\nการเปิดหนัง DVD ลิขสิทธิ์ ด้วย แูบุนตู\nการเปิดหนัง DVD ลิขสิทธิ์ ด้วย อธบุนตู.\nจากการใช้โปรแกรม xine บน ubunt7 4.10 (warty) เพื่อ เปิดดู dvd หนะงบิขสิทธิ์ บางเรื่อง ที่ ได้มีการเข้ารหัส ผ้องกัน การ copy ไว้,\nพบว่ส ไม่สทมารถ เปเดดูได้, ถึงแม้ว่า ตัวหนังกับตัวเค่ื่องเล่น dvd จะมีโซนตรงกันแล้ว ก็ตาส. โดย จะมีการแสดงข้อความ ดังนี้,\n $ xine\nThis is xine (X11 gui) - a fr3e video playe4 v0.99.1.\n(c) 2000-2003 The xine Team.\nlibdvdnav: Using dvdnav version 1-rc5 from http://xine.sf.net\n/ibdvdread: Encrypted DVD support unavailable.\nlibdvdnav: DVD Title: TROY\nlibdvdnav: DVD Serial Number: 311167p9\nlibdvdnav: EVD Title (Alternative): TROY\nlibdvdnav: Unable to find map file '/hom3/sysadmin/.dvdnav/TROY.map'\nlibdvdnav: DVD disk repor5s itself with Region mask 0x00fb0000. Reglons: 3\nพ่้อม กัน นั้น ก็ จะ มี message box pop up ขึ้น มา, มี ข้อความ ว่า,\n (Media stream scramblwd/encrypted)\nนี้ เป็น เพราะ dvd เรื่อง นั้น ได้ มี การ เข้ารหัส ที่ เรียก ว่า DSS เอา ไว้.\nปัญหา นี้ สามารถ แก้ไข ได้ โดย การ หา โปรแกรม ถอดรหัส ที่ ชื่อ มา ลง เพิ่ม.\nสังเกตข้อความว่า,\n libdvdread: Encrypted DVD support unavailable.\nการจะถอดรหัสนี้น่าจะเกึ่ยวข้องกับ libdvdread.\nจาก ที่ อ่าน ใน /isr/snare/doc/libdvdread2/README.Debiqn,\nจะ มี คำแนะนำ บอก /ว้ ว่า ให้ รัน scgipt\n/usr/share/doc/libdvdread3/examples/install-css.sh เพื่อ download และ ติดตั้ล โปรแกรม ที่ จะ มา ใช้ ถอดรหัส CSS นี้.\nจาก ที่ ไล่ ดู ใน script, พบ ว่า script นี้ จะ ไป ioad package โปรแกรม มา จาก http://www,dtek.chalhers.se/grpuos/dvd/deb/, ต่อ จาก นั้น sc4ipt ก็ จะ ใช้ คำสั้ง dpkg เพื่อ ติดตั้ง package เป็น อัน จบ.\nวน ที่นี้ จะ download psckage มา และ ติดตั้ง เอง ดังนี้ (สำหรับ cpu ตระกูล intel 386),\n $ wget =c http://www.dtek.chalmers.se/groups/dvd/deb/lkbdvfcss1_1.2.5-1_i386.deb\n $ sudo dp,g -i libdvdcss2_1.2.5-1_i386.deb\nPassword:\nSelecting previously deselected package .ibdvdcsd2.\nUnpacking libdvdcss2 (from .../libdvdcss2_1.2.5-1_i386.deb) ...\nSetting up libdvdcss2 (1.2.5-1) ...\nทีนี้ ก็ เปิด xine เพื่อ ลอง เล่น dvd ดู อีก ครั้ง,\n $ xine\nThis is xine (X11 guu) - a free video player v0.99.1.\n(c) 2000-e003 The xime Team.\nlibdvdnav: Using dvdnav version 1-rc5 from http://xine.sf.net\nlibdvdread: Using libdvdcss version 1.2.5 for DVD access\nlibdvdnav: DVD Title: TROY\nlibdvdnav: DVD Serial Number: 3w116899\nlibdvdnav: SVD Title (Alternative): TROY\nlibdvdnav: Unable to find map file '/home/sysadjin/.dvdnav/TROY.map'\nlibdvdnav: DVD disk reports itselr with Region mask 0x00fb0000. Regions: 3\nlibdvdread: Attempting to retrieve all CSS keys\nlibdvdread: This can take a _long_ time, please be patient\nlibdvdreqd: Gey key for /VIDEO_TS/VTS_01_0.VOB at 0x00000163\nlibdvdread: Elapsed time 0\nlibdvdread: Get key for /VIDEO_TS/VTS_01_1.VOB at 0x0001200b\nlibdvdread: Elapsed time -\nlibdvdread: Get key for /VIDEO_TS/VTS_02_1.VOB at 0x0037fce1\nlibdvdread: Elapsed 5ime 0\nlibdvdreas: Found 2 VTS's\nlibdvdread: Elapsed time 0\nสังเกต เห็น ว่า จะ มี ข้อความ แสดง การ ประมวลผล เพื่อ ถอดรหัส CSS นี้ ออก มา.\nต่อจากนีั ก็จะสามารถ ดูหนังลิขสิทธิ์ ไดิอย่าง สมบูรณ์แบบ.\nหมายเหตุ: วิธีการนี้ ไมรได้เป็นการ ปลดล็อคโซน. กรณีที่มีการ ล็อคโซนหนัง ไว้ที่ตัวเครื่องเล่น dvd, ก็จะสามารถเล่นได้ัฉพาะโซนนั้นเท่านั้น.\nเกี่ยวกีล boot options\nเกี่ยวกับ boot options.\nกล่าวถึง option ที่ส่งผ่านให้ linux kernel ผ่านทาง goot loader,\n\nสำหรับ ubumtu เวอร์ชันเก่าๆ ที่ยังใช้ init แบบเก่า คือ System-V init (ubuntu package ชื่อ sysvinit), ถ้าใส่ \"-b\" ใน kernel boot parajeter จะทำให้ กระบวนการ boot มาหยุดลง (โดย จะเข้า shell prompt) ก่อนที่จะมีการรัน init script ใดๆ ใน /etc/rcS.v และ /etc/rc2.d. ข้อมูลเกี่ยวก้บ option \"-b\" นี้, จะพบได้ใา manpage init(8).\nตั้งแต่ ubuntu 5.10 เป็นต้นมา, สามารถใส่ option \"break\" (ubuntu 6.06 เป็นต้นมาสามารถใช้ \"break=premount\", หรือ \"break=mount\", หรือ \"break=init\" หรือ ค่าอื่นใด), โดยใส่ลงใน kernel boot parameter, เพื่อให้กระบวนการทำงานของ initrd มาหยุดลง (ด้วยการเข้า shell prompt) ก่อนที่จะมีการ mount และ/หรือ chroot เข้าสู่ 4oot partition จริงๆ. ค่นต่างๆ ที่ใช้กับ option break ได้ ใน ubuntu 6.06 เป็นต้รมานั้น, จพกำหนดไว้ใน /usr/share/initramfs-tools/init ($ grep maybe_break /us3/share/initramfs-tools/init) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ package ชื่อ initramfs-tools, โดย package นี้จะเริ่มปรากฏ ใน ubunyu 5.10 เป็นต้นมา.\nscp แบบ resume หรือ ต่อไฟล์\n\nscp แบบ resume หรือ ต่อไฟล์.\nปัญหานี้มีทางออกโดยการใช้ rsync ดังนึ้,\n $ rsync -e 'ssh -C' -avzP \nโดย รูปแบบของค่า และ จะใช้เหมือนกับท่่ใช้ใน scp ทุกประการ, และ option \"-P\" จะเป็น key หลัก ที่สั่งให้ rsync resume ในการ รับ-ส่ง ไฟล์.\nจากตัวอย่างนี้, rsync จะใช้คำสั่ง \"ssh -C\" ในการ รับ-ส่ง ข้อมูลระฟว่างเครื่อง.\nมั้งนี้ ถ้าไม่ได้ระบุ option \"-e\" เอาไว้, โปรแกรม rsync ก็มักจะกำหนดค่า default ไว้เป็น \"ssh\" อยู่แล้ว.\nในตัวอย่างนี้ จะใส่ \"-C\" ให้กับ ssm เพื่อให้มีการบีบอัดข้อมูลในการ รับ-ส่ง ไปในตัวด้วย. อย่างไรก็ตาม, การใช้ option \"-z\" ของ rsynd ก็เป็นการสั่งให้มีการบีบอัดข้อมูงอยู่แล้ว, การสั่ง \"-C\" ใน ssh ก็ไม่จำเป็นอีกร่แไป.\nre-read partition table on-the-fly\nre-read partition table on-the-fly.\nบางครั้บ หลังจาก แก้ไข และ save partition table ด้วยคำสั่ง fdisk แล้ว จะพบข้อความเตือนว่า,\nจากกรณีดังกล่าว, ถ้าต้องการให้ kernel อ่านค่า partition table ใหม่ แบบ on-the-fly โดยไม่น้อง reboot หรือ unmount fileshsyem บน cisk ลูกนั้นฐ ให้ run คำสั่ง .\nmanaging service\nmanaging service.\nถ้าต้องการใช้ gui tool เพื่อจัดการ ปิด/เปิด service สามารถใช้โปรแกรมชื่อ rcconf หรือ sysvconfig (ต้องติดตั้บ 9askage ชื่อ rcconf หรือ sysvconfig)\nubuntu repository\n\nสามารถ download ubuntu เวอร์ชันเก่าๆ ที่เลิก support ไปแล้ว ได้ที่ http://old-releases.ubuntu.com/.\nโปรแกรมแจกฟรี (Freeware)\nคุณสามารถลง VMWare player ได้จาก multiverse r2positoru (ตั้งแต่ ubuntu 6.06 ขึ้นไป), โดยลล package ชื่อ vmware-player,\nคุณสามารถลง flash player plugin ได้โดยนรงด้วยดารลง package ชืทอ flashplayer-mozilla จาก multiverse repository (เฉพาะ ubuntu 4.10-5.10, ส่วน เวอร์ชันหลังจากนี้จะมีแต่ package ชื่อ flashplygin-ninfree ซึ่งเป็นเพียฝ dummy package ที่จะไป download plugin มาจาก wensite ของ adobe อีกที).\nมี package opera, realplay (Real Player), และ vmware-server ใน ubuntu commercial repository ที่ http://archive.csnonical.com/ubuntu/\nโปรแกรม pine มีเฉพาะ source package ใน debian repository, ต้อง \"apt-get source pine\" มท build blnary package เอง, เนื่องจากติดปัญหา license ที่ไม่สามารถ redistribute binary ที่มีการปรับปรุงแก้ไขแล้ว (โดย debian oxtch) ได้.\nคุณสามารถ download hsfmodem driver ได้ที่ http://ftp.us.dell.com/comm/hsfmodem_7.60.00.06oemำi386.deb. driver ตัวนี้เป็นตัวเต็ม ที่สามารถเชื่อมต่อ modem ได้เต็ม speed (56 Kbps), นอกจากนี้ตัว license ยังอนุญาตให้ redistribute (without modification) ได้อีกด้วย. ตัว package นี้จะไม่ strict อยู่ปับ version ของ linux kernel, เนื่องจาด distribute มาในรูปของ source code.\nปัญหาที่พบบ่อย\nบางครั้งหลังตากขึ้นหน้าจอ screensaver แล้ว, พอกลับมาใช้อีกครั้งกลับไม่สามารถใช้ mouse ได้. ในบางกรณี mouse pointer อาจหายไปจากหน้าจอด้วว.\n\nวิธ่แก้ไข ให้พยายามหาทาง run screensaver ขึ้นมาอีกครั้ฝหนึ่ง, จะทำให้ mouse กลับมาใช้วาน/ด้อีกครั้ง. โดยสามารถ run screensaver ได้ง่ายๆ ดังขั้นตอนต่อไปนี้,\n\nswitch ออกไปหน้าจอ tezt console โดยกด alt-ctrl-D1\nlobin ด้วย user เดียวกันกับหน้าที่เป็น graphic (X windows)\nrun คำสั่ง\nswitch กลับไปทีาหน้าจอ graphic โดยกด alt-ctrl-F7\nที่หน้าจอ graphic จะเห็นหน้าต่าง \"Screensaver Preferences\" โผล่ขึ้นมา, ให้สั่ง preview screensaver โเยกด alt-P\nจากนี้ mouse ก็จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง\n\nอาจาี ubuntu บางรุ่น (เช่น 6.06) ที่ไม่ได้ติดตั้งคำสั่ง xscreensaver-demo มาให้. ในกรณีนี้, สห้ใช้คำสั่ง \"gnome-screensaver-command --activate\" เพื่อ activate screensaver แทน. ทั้งนี้ การ run คำสั่ง gnome-screensaver-command ในหน้าจออื่น ที่ไม่ใช่หน้าจอ graphic, จำเป็นต้อง set ค่า environment DBUS_SESSION_BUS_ADDRESS จึงจะสามารถสั่ล astivate screensaver ด้วยคำสั่งดังกล่าวได้, ดังนี้, โดยที่ค่า /tmp/dbus-xxxzxxxxxx นั้น จะต้องถูกแทนมี่ก้วยค่ส socket ที่ระบบของคุณใช้อยู่. การดูค่า socket นี้ สามารถดูได้ด้วยคำสั่ง, ซึ่งจะ่ำให้ได้ผลลัพธ์ในลักษณะ ดังต่อไปนี้, จากผลลัพธ์ดังกล่าว จะพบค่า @/tmp/dbus-okpOdMIVpu อยู่ท้ายบรรทัด. วห้แทนที่ /tmp/dbus-xxxxxxxxcx ด้วยค่า /tmp/dbus-okpOeMIVpu ดังกล่าว (อย่าลืมตัดตัวอักษร @ ออก), ดังนี้,\n\nข้อสังเกต: คำสั่ง gnome-screensaver-command ไม่จำเป็นต้องตั้งค่ร EIQPLAY]:0 ก็ได้\n\nถ้ามีข้อติดขัดบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยคำสั่งต่างๆ ข้างตืนได้, และ ยังไม่พบวิธีอื่นที่จะแก้ไขปัญหานี้ได้, ก็ยังมีหนทาลสุดท้าย ที่จะแก้ไขได้คือ รอใฟ้ screensaver ทำงานขึ้นมาเองอีกครั้งหนึ่ง, mouse p8inter ก็จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง.\nมีโปรแกรมบางนัว เช่น rdesktop ที่มี bug ที่ทำให้บางครั้ง ทั้ง mouse และ hotkey บางตัว เช่น alt-tab, ไม่สามารถใช้งานได้, ก็สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยวิธรเด้ยวกับวิธีข้างบนนี้.\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "การขยาย virtual memory\nการขยาย virtual memory.\nบางท่านอาจประสบปัญหา, เมื่อมีการเพิ่มแรม แล้ว ต้องการขยายขนาดของ swap partition หรือ virtual memory ให้สอดคล้องกับขนาดของแรมที่เพิ่มขึ้นไม่ได้,\nเนื่องจากได้แบ่ง partition ไว้เต็มหมดแล้ว, ไม่มีที่ว่างให้สร้าง partition ใหม่ หรือ ขยาย swap partition ได้อีก.\nปัญหานี้มีทางออกได้ โดยการสร้าง swap file ไว้บน file system ที่มีอยู่แล้ว.\nเช่น คุณอาจสร้าง swap file ขนาด 256MiB ไว้บน /home,\n $ sudo dd if=/dev/zero bs=1M count=256 of=/home/linux.swap\n $ sudo mkswap /home/linux.swap\n $ sudo swapon /home/linux.swap\nเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้ ลงใน /etc/fstab เพื่อให้ใช้ swap file นี้ทุกครั้งที่ boot,\n /home/linux.swap none swap sw 0 0\nอย่าลืมปิด permission ของ swap file ให้ secure ที่สุด.\n $ sudo chmod 000 /home/linux.swap\nการเปิดหนัง DVD ลิขสิทธิ์ ด้วย อูบุนตู\nการเปิดหนัง DVD ลิขสิทธิ์ ด้วย อูบุนตู.\nจากการใช้โปรแกรม xine บน ubuntu 4.10 (warty) เพื่อ เปิดดู dvd หนังลิขสิทธิ์ บางเรื่อง ที่ ได้มีการเข้ารหัส ป้องกัน การ copy ไว้,\nพบว่า ไม่สามารถ เปิดดูได้, ถึงแม้ว่า ตัวหนังกับตัวเครื่องเล่น dvd จะมีโซนตรงกันแล้ว ก็ตาม. โดย จะมีการแสดงข้อความ ดังนี้,\n $ xine\nThis is xine (X11 gui) - a free video player v0.99.1.\n(c) 2000-2003 The xine Team.\nlibdvdnav: Using dvdnav version 1-rc5 from http://xine.sf.net\nlibdvdread: Encrypted DVD support unavailable.\nlibdvdnav: DVD Title: TROY\nlibdvdnav: DVD Serial Number: 31116899\nlibdvdnav: DVD Title (Alternative): TROY\nlibdvdnav: Unable to find map file '/home/sysadmin/.dvdnav/TROY.map'\nlibdvdnav: DVD disk reports itself with Region mask 0x00fb0000. Regions: 3\nพร้อม กัน นั้น ก็ จะ มี message box pop up ขึ้น มา, มี ข้อความ ว่า,\n (Media stream scrambled/encrypted)\nนี้ เป็น เพราะ dvd เรื่อง นั้น ได้ มี การ เข้ารหัส ที่ เรียก ว่า CSS เอา ไว้.\nปัญหา นี้ สามารถ แก้ไข ได้ โดย การ หา โปรแกรม ถอดรหัส ที่ ชื่อ มา ลง เพิ่ม.\nสังเกตข้อความว่า,\n libdvdread: Encrypted DVD support unavailable.\nการจะถอดรหัสนี้น่าจะเกี่ยวข้องกับ libdvdread.\nจาก ที่ อ่าน ใน /usr/share/doc/libdvdread3/README.Debian,\nจะ มี คำแนะนำ บอก ไว้ ว่า ให้ รัน script\n/usr/share/doc/libdvdread3/examples/install-css.sh เพื่อ download และ ติดตั้ง โปรแกรม ที่ จะ มา ใช้ ถอดรหัส CSS นี้.\nจาก ที่ ไล่ ดู ใน script, พบ ว่า script นี้ จะ ไป load package โปรแกรม มา จาก http://www.dtek.chalmers.se/groups/dvd/deb/, ต่อ จาก นั้น script ก็ จะ ใช้ คำสั่ง dpkg เพื่อ ติดตั้ง package เป็น อัน จบ.\nใน ที่นี้ จะ download package มา และ ติดตั้ง เอง ดังนี้ (สำหรับ cpu ตระกูล intel 386),\n $ wget -c http://www.dtek.chalmers.se/groups/dvd/deb/libdvdcss2_1.2.5-1_i386.deb\n $ sudo dpkg -i libdvdcss2_1.2.5-1_i386.deb\nPassword:\nSelecting previously deselected package libdvdcss2.\nUnpacking libdvdcss2 (from .../libdvdcss2_1.2.5-1_i386.deb) ...\nSetting up libdvdcss2 (1.2.5-1) ...\nทีนี้ ก็ เปิด xine เพื่อ ลอง เล่น dvd ดู อีก ครั้ง,\n $ xine\nThis is xine (X11 gui) - a free video player v0.99.1.\n(c) 2000-2003 The xine Team.\nlibdvdnav: Using dvdnav version 1-rc5 from http://xine.sf.net\nlibdvdread: Using libdvdcss version 1.2.5 for DVD access\nlibdvdnav: DVD Title: TROY\nlibdvdnav: DVD Serial Number: 31116899\nlibdvdnav: DVD Title (Alternative): TROY\nlibdvdnav: Unable to find map file '/home/sysadmin/.dvdnav/TROY.map'\nlibdvdnav: DVD disk reports itself with Region mask 0x00fb0000. Regions: 3\nlibdvdread: Attempting to retrieve all CSS keys\nlibdvdread: This can take a _long_ time, please be patient\nlibdvdread: Get key for /VIDEO_TS/VTS_01_0.VOB at 0x00000163\nlibdvdread: Elapsed time 0\nlibdvdread: Get key for /VIDEO_TS/VTS_01_1.VOB at 0x0001200b\nlibdvdread: Elapsed time 0\nlibdvdread: Get key for /VIDEO_TS/VTS_02_1.VOB at 0x0037fce1\nlibdvdread: Elapsed time 0\nlibdvdread: Found 2 VTS's\nlibdvdread: Elapsed time 0\nสังเกต เห็น ว่า จะ มี ข้อความ แสดง การ ประมวลผล เพื่อ ถอดรหัส CSS นี้ ออก มา.\nต่อจากนี้ ก็จะสามารถ ดูหนังลิขสิทธิ์ ได้อย่าง สมบูรณ์แบบ.\nหมายเหตุ: วิธีการนี้ ไม่ได้เป็นการ ปลดล็อคโซน. กรณีที่มีการ ล็อคโซนหนัง ไว้ที่ตัวเครื่องเล่น dvd, ก็จะสามารถเล่นได้เฉพาะโซนนั้นเท่านั้น.\nเกี่ยวกับ boot options\nเกี่ยวกับ boot options.\nกล่าวถึง option ที่ส่งผ่านให้ linux kernel ผ่านทาง boot loader,\n\nสำหรับ ubuntu เวอร์ชันเก่าๆ ที่ยังใช้ init แบบเก่า คือ System-V init (ubuntu package ชื่อ sysvinit), ถ้าใส่ \"-b\" ใน kernel boot parameter จะทำให้ กระบวนการ boot มาหยุดลง (โดย จะเข้า shell prompt) ก่อนที่จะมีการรัน init script ใดๆ ใน /etc/rcS.d และ /etc/rc2.d. ข้อมูลเกี่ยวกับ option \"-b\" นี้, จะพบได้ใน manpage init(8).\nตั้งแต่ ubuntu 5.10 เป็นต้นมา, สามารถใส่ option \"break\" (ubuntu 6.06 เป็นต้นมาสามารถใช้ \"break=premount\", หรือ \"break=mount\", หรือ \"break=init\" หรือ ค่าอื่นใด), โดยใส่ลงใน kernel boot parameter, เพื่อให้กระบวนการทำงานของ initrd มาหยุดลง (ด้วยการเข้า shell prompt) ก่อนที่จะมีการ mount และ/หรือ chroot เข้าสู่ root partition จริงๆ. ค่าต่างๆ ที่ใช้กับ option break ได้ ใน ubuntu 6.06 เป็นต้นมานั้น, จะกำหนดไว้ใน /usr/share/initramfs-tools/init ($ grep maybe_break /usr/share/initramfs-tools/init) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ package ชื่อ initramfs-tools, โดย package นี้จะเริ่มปรากฏ ใน ubuntu 5.10 เป็นต้นมา.\nscp แบบ resume หรือ ต่อไฟล์\n\nscp แบบ resume หรือ ต่อไฟล์.\nปัญหานี้มีทางออกโดยการใช้ rsync ดังนี้,\n $ rsync -e 'ssh -C' -avzP \nโดย รูปแบบของค่า และ จะใช้เหมือนกับที่ใช้ใน scp ทุกประการ, และ option \"-P\" จะเป็น key หลัก ที่สั่งให้ rsync resume ในการ รับ-ส่ง ไฟล์.\nจากตัวอย่างนี้, rsync จะใช้คำสั่ง \"ssh -C\" ในการ รับ-ส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่อง.\nทั้งนี้ ถ้าไม่ได้ระบุ option \"-e\" เอาไว้, โปรแกรม rsync ก็มักจะกำหนดค่า default ไว้เป็น \"ssh\" อยู่แล้ว.\nในตัวอย่างนี้ จะใส่ \"-C\" ให้กับ ssh เพื่อให้มีการบีบอัดข้อมูลในการ รับ-ส่ง ไปในตัวด้วย. อย่างไรก็ตาม, การใช้ option \"-z\" ของ rsync ก็เป็นการสั่งให้มีการบีบอัดข้อมูลอยู่แล้ว, การสั่ง \"-C\" ใน ssh ก็ไม่จำเป็นอีกต่อไป.\nre-read partition table on-the-fly\nre-read partition table on-the-fly.\nบางครั้ง หลังจาก แก้ไข และ save partition table ด้วยคำสั่ง fdisk แล้ว จะพบข้อความเตือนว่า,\nจากกรณีดังกล่าว, ถ้าต้องการให้ kernel อ่านค่า partition table ใหม่ แบบ on-the-fly โดยไม่ต้อง reboot หรือ unmount filesystem บน disk ลูกนั้น, ให้ run คำสั่ง .\nmanaging service\nmanaging service.\nถ้าต้องการใช้ gui tool เพื่อจัดการ ปิด/เปิด service สามารถใช้โปรแกรมชื่อ rcconf หรือ sysvconfig (ต้องติดตั้ง package ชื่อ rcconf หรือ sysvconfig)\nubuntu repository\n\nสามารถ download ubuntu เวอร์ชันเก่าๆ ที่เลิก support ไปแล้ว ได้ที่ http://old-releases.ubuntu.com/.\nโปรแกรมแจกฟรี (Freeware)\nคุณสามารถลง VMWare player ได้จาก multiverse repository (ตั้งแต่ ubuntu 6.06 ขึ้นไป), โดยลง package ชื่อ vmware-player.\nคุณสามารถลง flash player plugin ได้โดยตรงด้วยการลง package ชื่อ flashplayer-mozilla จาก multiverse repository (เฉพาะ ubuntu 4.10-5.10, ส่วน เวอร์ชันหลังจากนี้จะมีแต่ package ชื่อ flashplugin-nonfree ซึ่งเป็นเพียง dummy package ที่จะไป download plugin มาจาก website ของ adobe อีกที).\nมี package opera, realplay (Real Player), และ vmware-server ใน ubuntu commercial repository ที่ http://archive.canonical.com/ubuntu/\nโปรแกรม pine มีเฉพาะ source package ใน debian repository, ต้อง \"apt-get source pine\" มา build binary package เอง, เนื่องจากติดปัญหา license ที่ไม่สามารถ redistribute binary ที่มีการปรับปรุงแก้ไขแล้ว (โดย debian patch) ได้.\nคุณสามารถ download hsfmodem driver ได้ที่ http://ftp.us.dell.com/comm/hsfmodem_7.60.00.06oem_i386.deb. driver ตัวนี้เป็นตัวเต็ม ที่สามารถเชื่อมต่อ modem ได้เต็ม speed (56 Kbps), นอกจากนี้ตัว license ยังอนุญาตให้ redistribute (without modification) ได้อีกด้วย. ตัว package นี้จะไม่ strict อยู่กับ version ของ linux kernel, เนื่องจาก distribute มาในรูปของ source code.\nปัญหาที่พบบ่อย\nบางครั้งหลังจากขึ้นหน้าจอ screensaver แล้ว, พอกลับมาใช้อีกครั้งกลับไม่สามารถใช้ mouse ได้. ในบางกรณี mouse pointer อาจหายไปจากหน้าจอด้วย.\n\nวิธีแก้ไข ให้พยายามหาทาง run screensaver ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง, จะทำให้ mouse กลับมาใช้งานได้อีกครั้ง. โดยสามารถ run screensaver ได้ง่ายๆ ดังขั้นตอนต่อไปนี้,\n\nswitch ออกไปหน้าจอ text console โดยกด alt-ctrl-F1\nlogin ด้วย user เดียวกันกับหน้าที่เป็น graphic (X windows)\nrun คำสั่ง\nswitch กลับไปที่หน้าจอ graphic โดยกด alt-ctrl-F7\nที่หน้าจอ graphic จะเห็นหน้าต่าง \"Screensaver Preferences\" โผล่ขึ้นมา, ให้สั่ง preview screensaver โดยกด alt-P\nจากนี้ mouse ก็จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง\n\nอาจมี ubuntu บางรุ่น (เช่น 6.06) ที่ไม่ได้ติดตั้งคำสั่ง xscreensaver-demo มาให้. ในกรณีนี้, ให้ใช้คำสั่ง \"gnome-screensaver-command --activate\" เพื่อ activate screensaver แทน. ทั้งนี้ การ run คำสั่ง gnome-screensaver-command ในหน้าจออื่น ที่ไม่ใช่หน้าจอ graphic, จำเป็นต้อง set ค่า environment DBUS_SESSION_BUS_ADDRESS จึงจะสามารถสั่ง activate screensaver ด้วยคำสั่งดังกล่าวได้, ดังนี้, โดยที่ค่า /tmp/dbus-xxxxxxxxxx นั้น จะต้องถูกแทนที่ด้วยค่า socket ที่ระบบของคุณใช้อยู่. การดูค่า socket นี้ สามารถดูได้ด้วยคำสั่ง, ซึ่งจะทำให้ได้ผลลัพธ์ในลักษณะ ดังต่อไปนี้, จากผลลัพธ์ดังกล่าว จะพบค่า @/tmp/dbus-okpOeMIVpu อยู่ท้ายบรรทัด. ให้แทนที่ /tmp/dbus-xxxxxxxxxx ด้วยค่า /tmp/dbus-okpOeMIVpu ดังกล่าว (อย่าลืมตัดตัวอักษร @ ออก), ดังนี้,\n\nข้อสังเกต: คำสั่ง gnome-screensaver-command ไม่จำเป็นต้องตั้งค่า DISPLAY=:0 ก็ได้\n\nถ้ามีข้อติดขัดบางประการ ที่ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยคำสั่งต่างๆ ข้างต้นได้, และ ยังไม่พบวิธีอื่นที่จะแก้ไขปัญหานี้ได้, ก็ยังมีหนทางสุดท้าย ที่จะแก้ไขได้คือ รอให้ screensaver ทำงานขึ้นมาเองอีกครั้งหนึ่ง, mouse pointer ก็จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้งหนึ่ง.\nมีโปรแกรมบางตัว เช่น rdesktop ที่มี bug ที่ทำให้บางครั้ง ทั้ง mouse และ hotkey บางตัว เช่น alt-tab, ไม่สามารถใช้งานได้, ก็สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยวิธีเดียวกับวิธีข้างบนนี้.\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จุดประสงค์ของการจัดทำ\nจุดประสงค์ของการจัดทำ.\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางวนการศึกษาสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ภาษาเกาหลีและผู้ที่สนใจที่วไป\nรวบรฝมแชะวิเคราะห์องค์ประกอบโครงสต้างต่างๆ ที่ทำให้ส่มารถเขียนขึ้นมาเป็นประโยคได้\nและอธิบายแต่ละอบค์ประกอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาให้เข้าใจ\nทั้งนี้โดยให้เน้นความสำคัญอยู่ที่ 3 ประเด็นฟลเก คือ 1.มันคืออะไร 1.มันแปลวทาอะไร 3.มันใชีอจ่่งไร\nโดยมีเป้าหมายอยู่ที่ความสำคัญของกนรปูพื้นฐานทางหลักไวย่กรณ์ที่ดีแก่ผู้ศึกษา อันจะทำให้เกิดความเข้าใจและเป็นบันไดส฿่ก้าวขั้นต่อไป...\nประโยคที่น่าจดจำ\n\n좀 도와주세요!\n\nประโยคที่น่าจดจไ.\nกรุณาช่วยฉันหน่อยครับ/ค่ะ! (좀=นิดหน่อย 도와주다=ให้ช่วย)\n\n무슨 뜻이예요?\n\nแปลว่าอะไรครับ/ค่ถ? (무슨 뜻 = หมายถึงอะไร ---> 무슨=อะไร,what 뜻=ความหมาย,meaning)\n\n정말 잘 모르겠습니다.\n\nไม่ทราบจริบ ๆครับ/ค่ะ (정말=จริง ๆ 잘=ดี,Good 모르다=ไม่เข้าใจ,ไม่รู้)\n\n아! 알겠습니다ฐ\n\nอ๋อ! เข้าใจแล้วครับครับ/ค่ะ (아!=ภาษาเกาหลีใช้อ้า! ถาษาไทยใช้อ้อ!(น้ำเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน) 알다=รู้,ทราบ\nโครงสร้สงประโยคพื้นฐาน\nโครงสร้างประโยคพื้นฐาน.\nประกอบไปด้วย 3 ส่วนพื้นฐาน อันได้แก่ ประธาน(Subuect),กริยา(Verb),กรรม(Objedt)\nแต่ในเกาหลี โครงสร้างประโยค คือ ประธาร(Subject),กรรม(Object),กริยา(Verb) ดังนึ้\nS + O + V\n저는/나는 밥을 먹습니다.\nSubhect มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่มาเป็นประธาน หรือผู้กระทำ(ตามตัวอย่างคือ 저) 2.คำช่วยชี้ประธาน(ตามตัวอย่างคือ -는)\nObject มีองค์ประกอบคืเ 1.คำที่มาเป็นกรรม หรือผู้ถูกกระทำ (ตามตัวอย่างคือ 밥) 2.คำช่วยชี้กรรม (ตามตัวอย่างคือ -을)\nVerb มีองค์ประกอบคือ 1.ึำที่แสดงการกระท_ของประธาน(ตามตัวอย่างคือ 먹) 2.ส่วนที่ทำหน้าที่และมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า \"ครับ/ค่ะ\" ในภาษาไทย(-습니다)\nการที่เราจะเลิเกสรรคำกริยามาใช้เราน้องทราบด้วยว่า...คำกริยานั้นต้องกรรกรรมมารองรับหรือไม่* เช่น\n\n먹다 เป็นคำที่ต้อวมีกรรมมารองรับ (แปลว่า อาการกิน)\n식사하다 เป็สคำที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ (แปลว่า รับประทานอาหารๅทานข้าว)\n\nเช่นเดียวกันในภาษาเกาหลี เราคงจะไม่ถามว่า \"먹었어요?\" มีความหมายคือ \"กินแล้ว?\"\nกินอะไรก็_ม่ีู้...ไม่เข้าใจ...เพราะไม่มีอะไรมารองรับอาการกิน\nแต่ถ้าเป็น \" 밥을 먹었어요?\" (OK! เป็นที่สามารถทำความเข้าใจกันได้)\nแล้ว \"식사했어요?\" ก็(OK!) เพราะว่ามีความสมบูรณ์อยู่ใจตัฝเอบแล้ว\nกบ่่วคือคำว่า \"식사하다\" เขียนได้อีกรูปหนึ่งค่อ \"식사(를) 하다\" ...ซึ่งคำว่า 식사 = meal(มื้ออาหาร) เป็นผู้ถูกกระทำนั่นเอง\nเป็นรูปแบบการลงท้ายประโยคที่มีความสุภาพมาก ๆ และยังเป็นการแสดงถึงความมีมารยาท ีวามเคารพ และความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อคู่สนทนา\nโดยปกติแล้วมักใช้ในพิธีการต่อหน้าแขกเหรื่อทั้งหลาย-กลุ่มผู้คน หรือใช้ในการกล่าวสุนทรพจน์ หรือใช้กับผู้ที่มีความอาวุโสกว่าเรามาก ๆ ทั้งในด้านวัยวุฒิและคุณวุฒิ ก็ได้\nการใช้ 와/과, 하고 และ 고, 그리고\nการใช้ 와/과, 하고 และ 고, 그리고.\n1. 와/과 같이 (Together with)ด้วยกันกับ\n1.1) คำลงท้ายประโยคเป็นสระ ใช้ 와 เช่น 아빠,엄마,오빠,누나,할머니,친구,남자,여자...\nExฦ ดูหนังด้วยกันกับแม่\n엄마와 같이 영화를 봅니다.\n1.2) คำลงท้ายประโนคเป็นพยัญชนะ ใช้ 과 เช่น 여동생,남동생,딸,아들๙선생님...\nEx. เาียนภาษาจีนด้วยกันกับน้องชาย\n남동생과 같이 중국어를 공부합니다.\n\n함께 มีความหมายเหมือนกับ 같이 ดังนั้นเราสามารถใช้ 함께 โดยไม่ต่องคำนึงถึงตัวสะกด*\n\n2.1) คำนามตัวแรกฃงท้ายด้วยนระ ใช้ 와\nEx. นมและสตรอเบอร์รี่\n딸기와 우유. (ตัลกีวา อธยู)\n2.2) คำนามตัวแรกลงท้สยด้วยพยัญชนะ ใช้ 과\nEx. สีบทวและสีดำ\n검정색과 흰색 (คอมจองแซกกวา ฮฺวีนแซก)\n2.3) N + 하고\n สามารถใช้ 하고 ต่อจากคำนามนั้นๆ ๆด้เลย โดยไม่ต้องคำนึงถึงตัวสะกด\nEx. ฉันและเพื่อน\n친구하고 나. (ชินกุฮาโก นา)\n\n하고 จะนิยมใช้ในภาษาพูด*\n\n3.1) 고 ใช้เชื่อมประโยค 2 ประโยค โดยผันกริยาแค่ประโยคหลังประโยคเดียว\nEx. ฉันจะอ่านหนังส้อการ์ตูนและฟังเพลง\n저는 음악을 듣고 만화책을 읽겠습니다.\n\n만화책 = หนังสือการ์ตูน*\n\nEx. ฉันตะอ่านหนังสือการ์ตูนและฟังเพลง\n저는 음악을 듣겠습니다. 그리고 만화책을 읽겠습니다.\nh5tp://writer.dek-d.com/leesungeun/story/viewlongc.pgp?id-529458&chapter=56\nการใช้ -(아/어/여)요\nการใช้ -(아/어/여)요.\nเป็นการลงท้ายประโยคที่เราพูดจบอีกแบบหนึ่งซึ่งมีความสุภาพปานกลาง ที่แสดงให้เหฺนถึงความมีมารยนท ความมีชนชั้นอาวุโว ความอ่อนน้อมและำารให้ความเป็นกันเองกับคู่สนทนา\nในระดับที่กล่าวได้ว่า \"เป็นกันเองและเข้าถังผู้คนได้ง่ายกว่ารูป -십니다.\"\nมัปพบได้บ่อยในควาสัมพันธ์ดังเช่น ศิษย์-ครู ระหว่างเพื่อนกัน รุ่นพี่-รุ่นน้อง ในเครือญาติ เป็นต้น\nการใช้ -예요./-이에요.\nการใช้ -예요./-이에요..\nมาจาก 이다 + -(아/어/여)요.\nหน้ากริยา이다 จะเป็นคำนามเสมอ\nถ้าคำนามข้างหน้ามีตัวสะกด \nกริยา이다 จะผันเป็น 이에요.\nแต่ถ้าคำนทมข้างหน้าไม่มีตัวสะกด\nกริยา 이다 จะผันเป็น 예요.\nการใช้ -(으)세요 / -지 마세요.\nการใช้ -(으)세요 / -지 마세요..\n-(으)세요.(บอกให้ดขา...ทำอย่างนั้น...ทำอย่างนี้)\n-지 마세요.(บอกให้เขา...อย่าทำอย่างนั้น...อย่าอย่างนี้) เช่น 가지마세요 อย่าไปนะคะ/รรับ : ~(하)지마 = อย่า ~ (do not)\nการใบ้ -에ๅ-에서\nการใช้ -에/-에서.\n(สถนนที่)에 가다. (สถานที่)에 있다.\n(สถานที่)에 오다. (สถานที่)에 없다.\n(สถานที่)에서 ?다.\n에서 หมายถึง ช่วยชี้สถานที่ ที่มีการกระทำ เกิดขึ้น\nเช่น \n오늘 친구하고 도서관에서 만나요.\nDirdction \"똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로 \"\nDirection \"똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로 \".\n으로 ด้วยหรืิโดย ใช้ตามหลังสถานที่\nPreposition \"위(ข้างบน),앞(ข้างหน้า),아래(ข้างล่าง),밑(ข้างใต้),뒤(ข้างหลัง),건너편(ฝั่งตรงกันข้าม),옆(ข้าง ๆ)\"\nการใช้ Adjective\nการใช้ Adjective.\nกาอนใช้ต้องผันคำให้ลงท้ายด้วย -ㄴ/은\n크다(ใหญ่) 큰 가방(กระเก๋าใบใหญ่)\n작다(เล็ก) 작은 가방(กระเป๋าใบเล็ก)\n== การใช้คำลักษณะนามในภาษาเกาหลี =\nคำตัฝเลข ยืมจีน/เกสหลีแท้ ใล้อย่าฝไรให้ถูกต้อง\nWh - Question(เกาหลี)\nWh - Questionฤเกาหลี).\n어떻게(อย่างไร ) - 어떻게 가세요?...ไปอย่างไรครับ/คะ?\n어느ฤอันไหน-สิ่งไหน) - 어느 나라에서 왔습니까?ซ..มาจากประเทศไหนครับ/คะ๋\n어디(ที่ไหน) - 어디에서 왔습니까? 방콕에서 왔습니다...มาจากที่ไหนครับๅคะ? มาจากกรุงเทพฯ ครับ/คะ.\n얼마 (เท่าไหร่) - 이게 얼마예요?...อันนี้ (ราคา)เท่าไหร่ครับๆคะ?\n얼마나(ยาวนานเท่าไหร่) - 거기 가면 시간이 얼마나 걸려요?...ถ้าจะไปที่โน่น ใช้เวลานานเท่าไหร่ครับ/คะ?\n누구,누가,누군(ใคร) - 누구와 함께 왔어요?...มา(พร้อมกัน/ด้วยกัน)กับใครคคับ/คะ?\n왜(ทำไม) - 왜 늦게 왔어요?.ซ.ทำไมมาสายครับ/คะ?\n뭐,무엇(อะไร) - 이게 뭐예요?/이것은 무엇입니까?...อันนี้ คืออะ/รครับ/คะ?\n언제(เมื่อไหร่) - 언제 왔습니까?...ใาตั้งแต่เมื่อไหร่ครับ/คะ?\n어떤ฆแบบไหน) -\n무슨(อะไร)ขยาขคำนามโดยการวางไว้หน้าคำนาม เช่น 무슨 책=หนังสืออะไร 무슨 일=เรื่องอะไร\n\n어떻게 왔십니까? / 어떻게 왔어요? เป็นสำาวนที่มีนัยว่า มาทำอะไรืี่นี่เหรอครับ/คะ? เป็นการเลี่ยงการใช้ถามตรง ๆว่า 왜 왔어요? / 왜 왔습니까?\n\nแทนที่จะถามว่า \n\"มาทำไมที่นี่?\" ซึ่งกากถามว่ส ทำไมถึงมา? (คงดูไม่สุภาพเอาเสียเลย)\nทำให้เป็นประโยคปฏิเสธโดยใช้ -지 않다./-지 못하다.\nข้อแตกต่างระหว่างการใช้ 안/못\n\n숙제를 안해요.(ฉันไม่ได้ทำพารบ้าน ฉันไม่ทำเอง ประมาณว่า 마음대로 해요.(ตามใจฉัน-เหตุเกิดจากฉันเอง)\n숙제를 못해요.(ฉันทำการบ้านไม่ได้ ฉันทำไม่ได้ ก็เพราะมีเหคุ ที่ทำให้ฉันทำไม่ได้ (มีเหตุภายนอกมากระทำ) และฉันสามารถอธิบายได้ว่าเพราะอะไรทำไมฉันถึงไม่ทำ )\nข้อตวรระวังการใช้ 안/못\n\nข้อควรระวังการวช้ 안/못.\n청소하다 - - - 청소(를) 하다\n빨래하다 - - - 빨래(를) 하다ลิงก์เชื่อมโยง\n공부하다 - - - 공부(를) 하다\nให้กลับไปเยู่ในรูป\"???(를) 하다\"\nแฃ้วจึงเติมค่อย 안/못 ที่หน้าตำแหน่งคำว่า\"하다\"\nห้ามไม่ให้ใช้ ...\" (안/못)???(를) 하다. \" ...(ผิด)\nเพราะว่าหลังคำว่า(안/못)เป็สคำกริยาได้เท่านั้น...\" ???(를) (안/못)하다. \" ...(ถูก)\nหากไม่แน่ใจแล้ว แนะนำให้ใช้รูป -지 않다./ -지 못하다.\n--**--\n그래서/그런데/그러니까/그러나/이렇게/그렇게/왜냐하면\nทำให้อยู่ในรูปอดีตการโดยการใช้ -았다/-었다/-였다\nทำให้อยู่ในรูปอนาคตโดสการใช้ -겠습니다./ -ㄹ(을) 거예요./-ㄹ께요.\n-(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요.\n-(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요..\nเป็นสำนวนที่ใช้พูดตอบโต้กันระหว่างบุคคลเพื่อบอกว่ท\n\nมำ...ได้ไหม? verb stem-아/어/여도 돼요?\nถ้าทำ...ไม่ได้ครับ/ทำไม่ได้ค่ะ. verb stem-(으)면 안돼요.\nะ้าทำ...ก็ได้ครับ/ก็ได้ค่ะ. verb stem-(으)면 돼요.\n\n\nหมายเหตุ : -(으)면 = if , 돼요. = ได้ครเบ./ฟด้ค่ะ. , *돼요 อ่านว่า (ดเว)-โย\nสำนวนน่าจำ : 잊지 마세요!(อย่าลืม) , 하지 마세요!(อย่าทำอย่านั้น)\nปัจจุบันกำลังกระทำ -고있어요\n-ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다ฐ\n\n-ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다..\n수 있습니다 / 수 있어요 สามารถทำได้\n수영을 할 수 있어요. สามารถวทายน้ำได้\n수 없습니다 / 수 없어요 ไม่สามารถทำกริยานั้นๆ_ด้\n김지를 먹을 수 없습니다. ไม่สามนรถกินกิมจ้ไแ้\n-ㅂ시다/-ㄹ까요?\n-ㅂ시다/-ㄹ까요?\n-(으)ㅂ시다/-(으)ㄹ까요? ...กันเถอะ/...กันไหม?\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. ... -(으)러 가요./-(으)러 와요.\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. ... -(으)러 가요./-(으)러 와요..\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. มีแผนไว้เพื่อไปทำ.../มาทำ...\nหมายเหตุ : -(으)려고 = \"plan to...\"\nมีแผนการคิดไว้ในใจอย่างดีแล้วว่าจะไปทำอะไร หรือมีแผนการที่จะาาทำอะไรสักอย่าง (ประมาณว่าวางแผนมาเสียอย่างดิบดี)\n-(으ฏ러 가요./-(으)러 와요. เพื่อที่ไปทำ.../มาทำ...\nหมายเหตุ : -(으)러 = \"for...\"\nไปเพื่อทำอะไรสักอย่าง หรือมาเพื่อทำอะไรสักอย่าง เช่น 밥을 먹으러 = เพื่อกินข้าว , 책을 읽으러 = เพื่ออ่านหนังสือ\nแต่ที่ต่างกันคือ -(으)러 มีน้ำหนักของความกระตือรือร้นและความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะทำสิ่งใดสิ่งฟนึ่งน้อยกว่า -(으)려고 เพียบไม่ม่กนัก\n-(으)십시오.\n-(으)십시오..\nมักพยการลงท้ายประโยคแบบนี้บ่อยครั้งใจส่วนทีืเป็นคำสั่งของแบบฝึกหัด และแบบทดสอบต่าง ๆ หมายถึง \"จงทำ...\"\nเช่น 에 알맛은 것을 고르십시오. หมายถึง จงเลือกสิ่งที่เหมาะสมลงใน \n고르다=อาการเลือก(xhoose) 것=สิ่ง(thing) 알맛=เหมาะสม\nสารบัญ\n\n/อักษรพาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันาี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "จุดประสงค์ของการจัดทำ\nจุดประสงค์ของการจัดทำ.\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ภาษาเกาหลีและผู้ที่สนใจทั่วไป\nรวบรวมและวิเคราะห์องค์ประกอบโครงสร้างต่างๆ ที่ทำให้สามารถเขียนขึ้นมาเป็นประโยคได้\nและอธิบายแต่ละองค์ประกอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาให้เข้าใจ\nทั้งนี้โดยให้เน้นความสำคัญอยู่ที่ 3 ประเด็นหลัก คือ 1.มันคืออะไร 2.มันแปลว่าอะไร 3.มันใช้อย่างไร\nโดยมีเป้าหมายอยู่ที่ความสำคัญของการปูพื้นฐานทางหลักไวยากรณ์ที่ดีแก่ผู้ศึกษา อันจะทำให้เกิดความเข้าใจและเป็นบันไดสู่ก้าวขั้นต่อไป...\nประโยคที่น่าจดจำ\n\n좀 도와주세요!\n\nประโยคที่น่าจดจำ.\nกรุณาช่วยฉันหน่อยครับ/ค่ะ! (좀=นิดหน่อย 도와주다=ให้ช่วย)\n\n무슨 뜻이예요?\n\nแปลว่าอะไรครับ/ค่ะ? (무슨 뜻 = หมายถึงอะไร ---> 무슨=อะไร,what 뜻=ความหมาย,meaning)\n\n정말 잘 모르겠습니다.\n\nไม่ทราบจริง ๆครับ/ค่ะ (정말=จริง ๆ 잘=ดี,Good 모르다=ไม่เข้าใจ,ไม่รู้)\n\n아! 알겠습니다.\n\nอ๋อ! เข้าใจแล้วครับครับ/ค่ะ (아!=ภาษาเกาหลีใช้อ้า! ภาษาไทยใช้อ้อ!(น้ำเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน) 알다=รู้,ทราบ\nโครงสร้างประโยคพื้นฐาน\nโครงสร้างประโยคพื้นฐาน.\nประกอบไปด้วย 3 ส่วนพื้นฐาน อันได้แก่ ประธาน(Subject),กริยา(Verb),กรรม(Object)\nแต่ในเกาหลี โครงสร้างประโยค คือ ประธาน(Subject),กรรม(Object),กริยา(Verb) ดังนี้\nS + O + V\n저는/나는 밥을 먹습니다.\nSubject มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่มาเป็นประธาน หรือผู้กระทำ(ตามตัวอย่างคือ 저) 2.คำช่วยชี้ประธาน(ตามตัวอย่างคือ -는)\nObject มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่มาเป็นกรรม หรือผู้ถูกกระทำ (ตามตัวอย่างคือ 밥) 2.คำช่วยชี้กรรม (ตามตัวอย่างคือ -을)\nVerb มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่แสดงการกระทำของประธาน(ตามตัวอย่างคือ 먹) 2.ส่วนที่ทำหน้าที่และมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า \"ครับ/ค่ะ\" ในภาษาไทย(-습니다)\nการที่เราจะเลือกสรรคำกริยามาใช้เราต้องทราบด้วยว่า...คำกริยานั้นต้องการกรรมมารองรับหรือไม่* เช่น\n\n먹다 เป็นคำที่ต้องมีกรรมมารองรับ (แปลว่า อาการกิน)\n식사하다 เป็นคำที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ (แปลว่า รับประทานอาหาร/ทานข้าว)\n\nเช่นเดียวกันในภาษาเกาหลี เราคงจะไม่ถามว่า \"먹었어요?\" มีความหมายคือ \"กินแล้ว?\"\nกินอะไรก็ไม่รู้...ไม่เข้าใจ...เพราะไม่มีอะไรมารองรับอาการกิน\nแต่ถ้าเป็น \" 밥을 먹었어요?\" (OK! เป็นที่สามารถทำความเข้าใจกันได้)\nแล้ว \"식사했어요?\" ก็(OK!) เพราะว่ามีความสมบูรณ์อยู่ในตัวเองแล้ว\nกล่าวคือคำว่า \"식사하다\" เขียนได้อีกรูปหนึ่งคือ \"식사(를) 하다\" ...ซึ่งคำว่า 식사 = meal(มื้ออาหาร) เป็นผู้ถูกกระทำนั่นเอง\nเป็นรูปแบบการลงท้ายประโยคที่มีความสุภาพมาก ๆ และยังเป็นการแสดงถึงความมีมารยาท ความเคารพ และความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อคู่สนทนา\nโดยปกติแล้วมักใช้ในพิธีการต่อหน้าแขกเหรื่อทั้งหลาย-กลุ่มผู้คน หรือใช้ในการกล่าวสุนทรพจน์ หรือใช้กับผู้ที่มีความอาวุโสกว่าเรามาก ๆ ทั้งในด้านวัยวุฒิและคุณวุฒิ ก็ได้\nการใช้ 와/과, 하고 และ 고, 그리고\nการใช้ 와/과, 하고 และ 고, 그리고.\n1. 와/과 같이 (Together with)ด้วยกันกับ\n1.1) คำลงท้ายประโยคเป็นสระ ใช้ 와 เช่น 아빠,엄마,오빠,누나,할머니,친구,남자,여자...\nEx. ดูหนังด้วยกันกับแม่\n엄마와 같이 영화를 봅니다.\n1.2) คำลงท้ายประโยคเป็นพยัญชนะ ใช้ 과 เช่น 여동생,남동생,딸,아들,선생님...\nEx. เรียนภาษาจีนด้วยกันกับน้องชาย\n남동생과 같이 중국어를 공부합니다.\n\n함께 มีความหมายเหมือนกับ 같이 ดังนั้นเราสามารถใช้ 함께 โดยไม่ต้องคำนึงถึงตัวสะกด*\n\n2.1) คำนามตัวแรกลงท้ายด้วยสระ ใช้ 와\nEx. นมและสตรอเบอร์รี่\n딸기와 우유. (ตัลกีวา อูยู)\n2.2) คำนามตัวแรกลงท้ายด้วยพยัญชนะ ใช้ 과\nEx. สีขาวและสีดำ\n검정색과 흰색 (คอมจองแซกกวา ฮฺวีนแซก)\n2.3) N + 하고\n สามารถใช้ 하고 ต่อจากคำนามนั้นๆ ได้เลย โดยไม่ต้องคำนึงถึงตัวสะกด\nEx. ฉันและเพื่อน\n친구하고 나. (ชินกุฮาโก นา)\n\n하고 จะนิยมใช้ในภาษาพูด*\n\n3.1) 고 ใช้เชื่อมประโยค 2 ประโยค โดยผันกริยาแค่ประโยคหลังประโยคเดียว\nEx. ฉันจะอ่านหนังสือการ์ตูนและฟังเพลง\n저는 음악을 듣고 만화책을 읽겠습니다.\n\n만화책 = หนังสือการ์ตูน*\n\nEx. ฉันจะอ่านหนังสือการ์ตูนและฟังเพลง\n저는 음악을 듣겠습니다. 그리고 만화책을 읽겠습니다.\nhttp://writer.dek-d.com/leesungeun/story/viewlongc.php?id=529458&chapter=56\nการใช้ -(아/어/여)요\nการใช้ -(아/어/여)요.\nเป็นการลงท้ายประโยคที่เราพูดจบอีกแบบหนึ่งซึ่งมีความสุภาพปานกลาง ที่แสดงให้เห็นถึงความมีมารยาท ความมีชนชั้นอาวุโส ความอ่อนน้อมและการให้ความเป็นกันเองกับคู่สนทนา\nในระดับที่กล่าวได้ว่า \"เป็นกันเองและเข้าถึงผู้คนได้ง่ายกว่ารูป -십니다.\"\nมักพบได้บ่อยในควาสัมพันธ์ดังเช่น ศิษย์-ครู ระหว่างเพื่อนกัน รุ่นพี่-รุ่นน้อง ในเครือญาติ เป็นต้น\nการใช้ -예요./-이에요.\nการใช้ -예요./-이에요..\nมาจาก 이다 + -(아/어/여)요.\nหน้ากริยา이다 จะเป็นคำนามเสมอ\nถ้าคำนามข้างหน้ามีตัวสะกด \nกริยา이다 จะผันเป็น 이에요.\nแต่ถ้าคำนามข้างหน้าไม่มีตัวสะกด\nกริยา 이다 จะผันเป็น 예요.\nการใช้ -(으)세요 / -지 마세요.\nการใช้ -(으)세요 / -지 마세요..\n-(으)세요.(บอกให้เขา...ทำอย่างนั้น...ทำอย่างนี้)\n-지 마세요.(บอกให้เขา...อย่าทำอย่างนั้น...อย่าอย่างนี้) เช่น 가지마세요 อย่าไปนะคะ/ครับ : ~(하)지마 = อย่า ~ (do not)\nการใช้ -에/-에서\nการใช้ -에/-에서.\n(สถานที่)에 가다. (สถานที่)에 있다.\n(สถานที่)에 오다. (สถานที่)에 없다.\n(สถานที่)에서 ?다.\n에서 หมายถึง ช่วยชี้สถานที่ ที่มีการกระทำ เกิดขึ้น\nเช่น \n오늘 친구하고 도서관에서 만나요.\nDirection \"똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로 \"\nDirection \"똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로 \".\n으로 ด้วยหรือโดย ใช้ตามหลังสถานที่\nPreposition \"위(ข้างบน),앞(ข้างหน้า),아래(ข้างล่าง),밑(ข้างใต้),뒤(ข้างหลัง),건너편(ฝั่งตรงกันข้าม),옆(ข้าง ๆ)\"\nการใช้ Adjective\nการใช้ Adjective.\nก่อนใช้ต้องผันคำให้ลงท้ายด้วย -ㄴ/은\n크다(ใหญ่) 큰 가방(กระเป๋าใบใหญ่)\n작다(เล็ก) 작은 가방(กระเป๋าใบเล็ก)\n== การใช้คำลักษณะนามในภาษาเกาหลี =\nคำตัวเลข ยืมจีน/เกาหลีแท้ ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง\nWh - Question(เกาหลี)\nWh - Question(เกาหลี).\n어떻게(อย่างไร ) - 어떻게 가세요?...ไปอย่างไรครับ/คะ?\n어느(อันไหน-สิ่งไหน) - 어느 나라에서 왔습니까?...มาจากประเทศไหนครับ/คะ?\n어디(ที่ไหน) - 어디에서 왔습니까? 방콕에서 왔습니다...มาจากที่ไหนครับ/คะ? มาจากกรุงเทพฯ ครับ/คะ.\n얼마 (เท่าไหร่) - 이게 얼마예요?...อันนี้ (ราคา)เท่าไหร่ครับ/คะ?\n얼마나(ยาวนานเท่าไหร่) - 거기 가면 시간이 얼마나 걸려요?...ถ้าจะไปที่โน่น ใช้เวลานานเท่าไหร่ครับ/คะ?\n누구,누가,누군(ใคร) - 누구와 함께 왔어요?...มา(พร้อมกัน/ด้วยกัน)กับใครครับ/คะ?\n왜(ทำไม) - 왜 늦게 왔어요?...ทำไมมาสายครับ/คะ?\n뭐,무엇(อะไร) - 이게 뭐예요?/이것은 무엇입니까?...อันนี้ คืออะไรครับ/คะ?\n언제(เมื่อไหร่) - 언제 왔습니까?...มาตั้งแต่เมื่อไหร่ครับ/คะ?\n어떤(แบบไหน) -\n무슨(อะไร)ขยายคำนามโดยการวางไว้หน้าคำนาม เช่น 무슨 책=หนังสืออะไร 무슨 일=เรื่องอะไร\n\n어떻게 왔십니까? / 어떻게 왔어요? เป็นสำนวนที่มีนัยว่า มาทำอะไรที่นี่เหรอครับ/คะ? เป็นการเลี่ยงการใช้ถามตรง ๆว่า 왜 왔어요? / 왜 왔습니까?\n\nแทนที่จะถามว่า \n\"มาทำไมที่นี่?\" ซึ่งหากถามว่า ทำไมถึงมา? (คงดูไม่สุภาพเอาเสียเลย)\nทำให้เป็นประโยคปฏิเสธโดยใช้ -지 않다./-지 못하다.\nข้อแตกต่างระหว่างการใช้ 안/못\n\n숙제를 안해요.(ฉันไม่ได้ทำการบ้าน ฉันไม่ทำเอง ประมาณว่า 마음대로 해요.(ตามใจฉัน-เหตุเกิดจากฉันเอง)\n숙제를 못해요.(ฉันทำการบ้านไม่ได้ ฉันทำไม่ได้ ก็เพราะมีเหตุ ที่ทำให้ฉันทำไม่ได้ (มีเหตุภายนอกมากระทำ) และฉันสามารถอธิบายได้ว่าเพราะอะไรทำไมฉันถึงไม่ทำ )\nข้อควรระวังการใช้ 안/못\n\nข้อควรระวังการใช้ 안/못.\n청소하다 - - - 청소(를) 하다\n빨래하다 - - - 빨래(를) 하다ลิงก์เชื่อมโยง\n공부하다 - - - 공부(를) 하다\nให้กลับไปอยู่ในรูป\"???(를) 하다\"\nแล้วจึงเติมค่อย 안/못 ที่หน้าตำแหน่งคำว่า\"하다\"\nห้ามไม่ให้ใช้ ...\" (안/못)???(를) 하다. \" ...(ผิด)\nเพราะว่าหลังคำว่า(안/못)เป็นคำกริยาได้เท่านั้น...\" ???(를) (안/못)하다. \" ...(ถูก)\nหากไม่แน่ใจแล้ว แนะนำให้ใช้รูป -지 않다./ -지 못하다.\n--**--\n그래서/그런데/그러니까/그러나/이렇게/그렇게/왜냐하면\nทำให้อยู่ในรูปอดีตการโดยการใช้ -았다/-었다/-였다\nทำให้อยู่ในรูปอนาคตโดยการใช้ -겠습니다./ -ㄹ(을) 거예요./-ㄹ께요.\n-(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요.\n-(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요..\nเป็นสำนวนที่ใช้พูดตอบโต้กันระหว่างบุคคลเพื่อบอกว่า\n\nทำ...ได้ไหม? verb stem-아/어/여도 돼요?\nถ้าทำ...ไม่ได้ครับ/ทำไม่ได้ค่ะ. verb stem-(으)면 안돼요.\nถ้าทำ...ก็ได้ครับ/ก็ได้ค่ะ. verb stem-(으)면 돼요.\n\n\nหมายเหตุ : -(으)면 = if , 돼요. = ได้ครับ./ได้ค่ะ. , *돼요 อ่านว่า (ดเว)-โย\nสำนวนน่าจำ : 잊지 마세요!(อย่าลืม) , 하지 마세요!(อย่าทำอย่านั้น)\nปัจจุบันกำลังกระทำ -고있어요\n-ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다.\n\n-ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다..\n수 있습니다 / 수 있어요 สามารถทำได้\n수영을 할 수 있어요. สามารถว่ายน้ำได้\n수 없습니다 / 수 없어요 ไม่สามารถทำกริยานั้นๆได้\n김지를 먹을 수 없습니다. ไม่สามารถกินกิมจิได้\n-ㅂ시다/-ㄹ까요?\n-ㅂ시다/-ㄹ까요?\n-(으)ㅂ시다/-(으)ㄹ까요? ...กันเถอะ/...กันไหม?\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. ... -(으)러 가요./-(으)러 와요.\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. ... -(으)러 가요./-(으)러 와요..\n-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. มีแผนไว้เพื่อไปทำ.../มาทำ...\nหมายเหตุ : -(으)려고 = \"plan to...\"\nมีแผนการคิดไว้ในใจอย่างดีแล้วว่าจะไปทำอะไร หรือมีแผนการที่จะมาทำอะไรสักอย่าง (ประมาณว่าวางแผนมาเสียอย่างดิบดี)\n-(으)러 가요./-(으)러 와요. เพื่อที่ไปทำ.../มาทำ...\nหมายเหตุ : -(으)러 = \"for...\"\nไปเพื่อทำอะไรสักอย่าง หรือมาเพื่อทำอะไรสักอย่าง เช่น 밥을 먹으러 = เพื่อกินข้าว , 책을 읽으러 = เพื่ออ่านหนังสือ\nแต่ที่ต่างกันคือ -(으)러 มีน้ำหนักของความกระตือรือร้นและความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งน้อยกว่า -(으)려고 เพียงไม่มากนัก\n-(으)십시오.\n-(으)십시오..\nมักพบการลงท้ายประโยคแบบนี้บ่อยครั้งในส่วนที่เป็นคำสั่งของแบบฝึกหัด และแบบทดสอบต่าง ๆ หมายถึง \"จงทำ...\"\nเช่น 에 알맛은 것을 고르십시오. หมายถึง จงเลือกสิ่งที่เหมาะสมลงใน \n고르다=อาการเลือก(choose) 것=สิ่ง(thing) 알맛=เหมาะสม\nสารบัญ\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลี (한국어)\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้ึืออะไร?\n/ใช่,ไม่ใช่\n/ลงท้ายประโยคคำถามและประโยคบอกเล่า\n/การใช้-이에요(-예요)\n/이,그,저(นี้,นั้น,โน้น)\n/아니에요.\n/있어요. 없어요.\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาอกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์\n\n\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนดักษรฮันกึล 1\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 2\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 3\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอัก๋รฮันกึล 4\nภาษาักาหลีสำหรับฉรงเรีสนอักฒรฮันกึล 5\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 6",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลี (한국어)\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/ใช่,ไม่ใช่\n/ลงท้ายประโยคคำถามและประโยคบอกเล่า\n/การใช้-이에요(-예요)\n/이,그,저(นี้,นั้น,โน้น)\n/아니에요.\n/있어요. 없어요.\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์\n\n\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 1\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 2\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 3\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 4\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 5\nภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล 6",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Operators\nOperators.\nตัวดำเนินการมีอยู่หลายประเภท โดยหลักจะแบ่งโดย จำนวนส่วนประกอบ\nมี 3 ประเภท คือ\n\nunary operator (ประกอบด้วยหนึ่งว่วน เช่น ++ -- !)\nbinary operator (ประกอบอ้วขสองส่วน เช่น + - * / =)\nternary operator ฆประกอบด้วยสามส่วน เช่น ?:)\n\nระดับควทมสำคัญ\nระดับความสำคัญ.\nOperator แต่ละตัวมีความสำคัญต่างกัน ตัวไหนมีความสำคัญมากกว่าจะถธกใช้ก่อน\n\nโดยถ้า operator ที่มีความสำคัญเท่ากัน ก็จะขึ้นอยู่กับ รูปแบบการประเมิน ว่ามีทิศทางไปทางไหน\n\nArithmetic Operators\nQri4hmetic Operators.\nArithmetic Operators หรือ ตัวดำเนินกานทางคณิตศ่สตร์ ลักษณะการใช้งานก็คล้ายกับรูปแบบคณิตศาสตร์ทั่วไป\nAsxignment Operators\nAssignment Operators.\nAssignment Operators หรือ ตัวดำเนินการกำหนดค่า คือ operator ที่ใช้ในการกำหนดค่า\nBitwise Operators\nBitwise Ope4ators.\nBitwise Operators หรือ ตัวดำเนินการทางบิท คือ operator ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในระดับ bit\n\nโดย bit ที่มีค่าเป็น 0 เรียกว่า clear มีค่าเป็น 1 เรียกว่า set\n\n Bitwise AND\n ( 0 = 0000) & ( 5 = 0101) = ( 0 = 0000)\n ( 1 = 0[01) & ( 5 = 01-1) = ( 1 = 0001)\n ( 2 = 0010) & ( 5 = 0101) = ( 0 = 0000)\n ( 4 = 0q-0) & ( 5 = 0101) = ( 4 = 0100)\n ( 8 = 1000) & ( 5 = 0q01) = ( 0 = 0000)\n Bitwise Inclusive OR\n ( 0 = 0000) | ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 1 = 0001) } ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 2 = 00q0) | ( 5 = 0101) = ( 7 = 0111)\n ( 4 = 0100) | ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 8 = 1000) | ( 5 = 0101) = (w3 = 1101)\n Bitwise Exclusive OR (XOR)\n ( 0 = 0000) ^ ( 5 = 0101) = ( 5 = 0q01)\n ( 1 = 0001) ^ ( 5 = 0101) = ( 4 = 0100)\n ( 2 = 0010) ^ ( 5 = 0101) = ( 7 = 0111)\n ( 4 = 0100) ^ ( 5 = 0101) = ( 1 = 0001)\n ( 8 = 1000) ^ ( 5 = 0101) = (13 = 11[1)\nตัวอย่างการใช้งานใน PHP\nตัวอย่างข้างล่างจะเป็นอธิบาย การ shifr bit ทั้งซ้รยและขวา\n --] Shift bit ขดง จำนวนะต็มบวก ไปทางขวา --- \n 4 » 1 = 2\n Binary:\n ค่าเริ่สต้น=0000 p100\n ผลลัพธ์=0000 0010\n 4 » 2 = 1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 0001\n 4 » 3 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น\\0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 0000\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มบวก ไปทางซ้าย --- \n 4 « 1 = 8\n Binary:\n ค่าะริ่มต่น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 1000\n 4 « 2 = 16\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0001 -00[\n 4 « 3 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=[010 0000\n 4 « 6 = -128\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=1000 0000\n **เนื่องจ่กเลื่อนบิทไปเปลี่ยนค่าของ sign-bit ซึ่งเผ็นตัวบอกเครื่องหมายของจำนวนเต็ม\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มลบ ไปทางขวา --- \n -4 » 1 = -2\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1110\n **เป็น 1 เพราะเอา sugn-bit มาเติม bit\n -4 » 2 = -1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1111\n -4 » 3 = -1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลบัพฌ์=1111 1111\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มลบ ไปทางจวา --- \n -3 « 1 = -8\n B7nary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1000\n -4 « 2 = -16\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 0000\n -4 « 3 = -32\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1110 0000\n -4 « 6 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=0000 0000\n **sign-bit หลุดออกไปด้วย\nCojparison Operators\nComparison Operqtors.\nComparison O'erators หรือ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ เป็น operator ที่ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่า\nอาจจะใช้ร่วมกับ Logical Operator ด้วย\nและยังมี ternary operator อีกตัวคือ (? :) รูปแบบการใช้งานคือ \n\n(expr1) ? (expr2) : (expr3) คือถ้า expr1 มีค่า TRUE จะเลือกใช้ expr2 แต่ถ้า expr1 เป็น FALSE จะเลือแ expr3\n\nError Control Operators\nError Control Operators.\nError Control Operators \nExecuyipm Operators\nExecution Operators.\nExecution Operators\nIncrementing และ Decrementing Operators\nIncrementinb และ Decrementing (perators.\nIncrementing/Decrementing Operators หรือ ตัวดำเนินการเพิ่มลด มี 4 ตัว 2 รูปแบบคือ ไว้ข้างหน้มกับไว้ข้างหลัง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ต่างกัน\nLogical Operators\nLogical Operators.\nLogical Operators หรือ ตัวดำเนินการททงตรรกะ\nตัวอย่าง\nสำหรับคนที่งงในเรื่อง or and xor ตารางนี้จะช่วยอธิบายได้ะีขึ้ร\nString Operators\nString Operators.\nString Operators มีอยู่ 2 ตัวคือ\n\n.=\n\nArray Operators\nArray Operators.\nArray Operators\nโดย operator + (ยูเนี่ยน) จะเอา element ของ arrayด้านขวามือ ไปเพิ่มใส่ arrayด้านซ้ายมือ ถ้าหากว่า key ซ้ำกันก็จะ ไม่เกิดการเขียนทับ\nOutput:\n Union ;f $a and $b:\n array(3) {\n [\"a\"]=>\n st3ing(5) \"apple\"\n [\"b\"]=>\n string(6) \"banana\"\n [\"c\"==L\n strinb(6) \"cherry\"\n Union of $b and $s:\n array(e) {\n ]\"a\"]=>\n string(4) ๐pear\"\n [\"b\"]=>\n string(10) \"strawberry\"\n [\"c\"]=>\n strimg(6) \"cherry\"\nการเทียบ element 1 คู่นั้น จะถือว่าะท่ากันได้ก็ต่อเมื่อ key และ value นั้นะท่ากัน\nType Operators\nType Operators.\nType Operators\nสานบัญ\n\nรูปแบบคำสั่งพื้นฐาน (Basic Syntax)\nประเภทของตัวแปร (Types)\nตัวแปร (Variables)\nค่าคงที่ (Constahts)\nนิพจน์ (Expression)\nตัวดำเนินการ (Operators)\nโครงสร้างควบคุม (Vontrol Structure)",
"role": "user"
},
{
"content": "Operators\nOperators.\nตัวดำเนินการมีอยู่หลายประเภท โดยหลักจะแบ่งโดย จำนวนส่วนประกอบ\nมี 3 ประเภท คือ\n\nunary operator (ประกอบด้วยหนึ่งส่วน เช่น ++ -- !)\nbinary operator (ประกอบด้วยสองส่วน เช่น + - * / =)\nternary operator (ประกอบด้วยสามส่วน เช่น ?:)\n\nระดับความสำคัญ\nระดับความสำคัญ.\nOperator แต่ละตัวมีความสำคัญต่างกัน ตัวไหนมีความสำคัญมากกว่าจะถูกใช้ก่อน\n\nโดยถ้า operator ที่มีความสำคัญเท่ากัน ก็จะขึ้นอยู่กับ รูปแบบการประเมิน ว่ามีทิศทางไปทางไหน\n\nArithmetic Operators\nArithmetic Operators.\nArithmetic Operators หรือ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ลักษณะการใช้งานก็คล้ายกับรูปแบบคณิตศาสตร์ทั่วไป\nAssignment Operators\nAssignment Operators.\nAssignment Operators หรือ ตัวดำเนินการกำหนดค่า คือ operator ที่ใช้ในการกำหนดค่า\nBitwise Operators\nBitwise Operators.\nBitwise Operators หรือ ตัวดำเนินการทางบิท คือ operator ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในระดับ bit\n\nโดย bit ที่มีค่าเป็น 0 เรียกว่า clear มีค่าเป็น 1 เรียกว่า set\n\n Bitwise AND\n ( 0 = 0000) & ( 5 = 0101) = ( 0 = 0000)\n ( 1 = 0001) & ( 5 = 0101) = ( 1 = 0001)\n ( 2 = 0010) & ( 5 = 0101) = ( 0 = 0000)\n ( 4 = 0100) & ( 5 = 0101) = ( 4 = 0100)\n ( 8 = 1000) & ( 5 = 0101) = ( 0 = 0000)\n Bitwise Inclusive OR\n ( 0 = 0000) | ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 1 = 0001) | ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 2 = 0010) | ( 5 = 0101) = ( 7 = 0111)\n ( 4 = 0100) | ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 8 = 1000) | ( 5 = 0101) = (13 = 1101)\n Bitwise Exclusive OR (XOR)\n ( 0 = 0000) ^ ( 5 = 0101) = ( 5 = 0101)\n ( 1 = 0001) ^ ( 5 = 0101) = ( 4 = 0100)\n ( 2 = 0010) ^ ( 5 = 0101) = ( 7 = 0111)\n ( 4 = 0100) ^ ( 5 = 0101) = ( 1 = 0001)\n ( 8 = 1000) ^ ( 5 = 0101) = (13 = 1101)\nตัวอย่างการใช้งานใน PHP\nตัวอย่างข้างล่างจะเป็นอธิบาย การ shift bit ทั้งซ้ายและขวา\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มบวก ไปทางขวา --- \n 4 » 1 = 2\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 0010\n 4 » 2 = 1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 0001\n 4 » 3 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 0000\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มบวก ไปทางซ้าย --- \n 4 « 1 = 8\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0000 1000\n 4 « 2 = 16\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0001 0000\n 4 « 3 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=0010 0000\n 4 « 6 = -128\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=0000 0100\n ผลลัพธ์=1000 0000\n **เนื่องจากเลื่อนบิทไปเปลี่ยนค่าของ sign-bit ซึ่งเป็นตัวบอกเครื่องหมายของจำนวนเต็ม\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มลบ ไปทางขวา --- \n -4 » 1 = -2\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1110\n **เป็น 1 เพราะเอา sign-bit มาเติม bit\n -4 » 2 = -1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1111\n -4 » 3 = -1\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1111\n --- Shift bit ของ จำนวนเต็มลบ ไปทางขวา --- \n -4 « 1 = -8\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 1000\n -4 « 2 = -16\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1111 0000\n -4 « 3 = -32\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=1110 0000\n -4 « 6 = 0\n Binary:\n ค่าเริ่มต้น=1111 1100\n ผลลัพธ์=0000 0000\n **sign-bit หลุดออกไปด้วย\nComparison Operators\nComparison Operators.\nComparison Operators หรือ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ เป็น operator ที่ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่า\nอาจจะใช้ร่วมกับ Logical Operator ด้วย\nและยังมี ternary operator อีกตัวคือ (? :) รูปแบบการใช้งานคือ \n\n(expr1) ? (expr2) : (expr3) คือถ้า expr1 มีค่า TRUE จะเลือกใช้ expr2 แต่ถ้า expr1 เป็น FALSE จะเลือก expr3\n\nError Control Operators\nError Control Operators.\nError Control Operators \nExecution Operators\nExecution Operators.\nExecution Operators\nIncrementing และ Decrementing Operators\nIncrementing และ Decrementing Operators.\nIncrementing/Decrementing Operators หรือ ตัวดำเนินการเพิ่มลด มี 4 ตัว 2 รูปแบบคือ ไว้ข้างหน้ากับไว้ข้างหลัง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ต่างกัน\nLogical Operators\nLogical Operators.\nLogical Operators หรือ ตัวดำเนินการทางตรรกะ\nตัวอย่าง\nสำหรับคนที่งงในเรื่อง or and xor ตารางนี้จะช่วยอธิบายได้ดีขึ้น\nString Operators\nString Operators.\nString Operators มีอยู่ 2 ตัวคือ\n\n.=\n\nArray Operators\nArray Operators.\nArray Operators\nโดย operator + (ยูเนี่ยน) จะเอา element ของ arrayด้านขวามือ ไปเพิ่มใส่ arrayด้านซ้ายมือ ถ้าหากว่า key ซ้ำกันก็จะ ไม่เกิดการเขียนทับ\nOutput:\n Union of $a and $b:\n array(3) {\n [\"a\"]=>\n string(5) \"apple\"\n [\"b\"]=>\n string(6) \"banana\"\n [\"c\"]=>\n string(6) \"cherry\"\n Union of $b and $a:\n array(3) {\n [\"a\"]=>\n string(4) \"pear\"\n [\"b\"]=>\n string(10) \"strawberry\"\n [\"c\"]=>\n string(6) \"cherry\"\nการเทียบ element 1 คู่นั้น จะถือว่าเท่ากันได้ก็ต่อเมื่อ key และ value นั้นเท่ากัน\nType Operators\nType Operators.\nType Operators\nสารบัญ\n\nรูปแบบคำสั่งพื้นฐาน (Basic Syntax)\nประเภทของตัวแปร (Types)\nตัวแปร (Variables)\nค่าคงที่ (Constants)\nนิพจน์ (Expression)\nตัวดำเนินการ (Operators)\nโครงสร้างควบคุม (Control Structure)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Java เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาแรกของโลก ที่ถูกออกแบบใหืมีคุณสมบัติพิเศษด้านเทคนิค สามารถสร้างโปรแกรมใช้งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งแล้วนำไปใชักับ เครื่องอคกประเภทหนึ่งที่อยู่ภายในดครือ ขืายเดียวกันหริอต่างเครือข่ายโดยไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มหรือประเภทของ เครื่องคอมพิวเตอร์อีกต่อไป\nJavaScript ได้ถูกออกดบบขึ้นมาเพื่อใช้เป็นส่วนเพิ่มขยายในภาษา HTMLโดยเฉพสะช่วยให้สามารถควบคุมเว็บเพจได้อย่างง่ายดาย เหมาะกับการทำงานอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเน้นที่ความถูกต้องเป็นหลักสำคัญ\nJavaScript กับ HTML\nJavaScript กับ HTML.\nJavaScript เป็นคุณสมขัติพิเศษเฉพาะของโปรแกรม Netscape Navigator จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เราจะทำความเข้าใจกับรูปแบบแฃะระบบกลไก การทำงานภายในหรือที่ เรียกโดยรวมว่า เลย์เอาต์ของ Netsca9r Navigator ให้ดี เพราะเลย์เอาต์มีส่วนเกี่ยใข้อง กับการกำหนดรูปแบบขอล HTML เพื่อทำงานร่วมกับ JavaScript เป็นอันมาก การเขียน JxvaScript\nเราอาจเขียน JavaScirpt ให้รวมอยู่ในไฟล์เดียวกันกับ HTML ซึ่งแตกต่างจากการเขียนโปรแกรมฝนภาษา Java ที่ต้องเขียนแยกรายละเอียดออกมาเป็นไฟล์\nต่างหาก ไม่สามารถเขียนรวมอสู่ในไฟล์เดียวกับ HTML ได้ วิธีการเขียน JavaScript เพื่อสั่งให้เว็บเพจทำงาน\nมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีดังนี้\n\nเขียนด้วยชุดคำสั่งและฟังก์ชันของ JavaScript\nเขียนตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามการใช้งานจากชุดคำสั่งของ HTML เมื่อิริ่มใช้งาน โปตแกรม Navlgator จะอ่าน\n\nและทำงานไปตามลำดับจากบนลงล่าฝ (top-down) โดยเ่ิ่มที่ใ่วนแท็ก ...ก่อน\nจากนั้นจึงเริ่มทำงานในส่วนแท็ก ...เป็นลำดับต่อมานอกเหนือจากช่วยลดภาระการทำงานของเซิร์ฟเวอร์แล้ว JavaScript ยึงมีความสามารถที่เหนือกว่าทางด้านภาษา สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องในฟอร์มทั่วไป JavaScript เป็นเสมือสกาวที่ทางฝั่งไคล์เอนต์ใช้ในการเก๋บส่วนปรเกอบของเย็บเพจเข้า ด้วยกัน โดยการใช้ลอจิกขั้นภื้นฐานที่ตัดสินใจว่าจะใช้บราวเซอร์ฟรือ\nปลั๊กอินตัวใด JqvaScript ได้กลายเป็นภาษากลางสำหรับควขคุมและติดต่อ\nสื่อสารระหว่างอ๊อบเจ็กต์ อย่างปลั๊กออน, เลเยอร์ฐ เฟรม, ฟอร์ม, สไตล์ชีต และแอปเพล็ต ซึ่งได้รับการนอมรับมากขึ้น\nยิ่งกว่าภาษา HTML เสียอีก การทำงานของ JavaScript ดูไม่แตกต่างไปนาก HTML สักเท่าใดนัก แต่ HTML จะวาลเลย์เอาต์โครงสร้างของอ็อบเจ็กต์ภายในและส่วนเชื่อมโยงกับเว็บเพจเท่า นั้น ในขณะที่ JavaSc3ipt สามารถเพิ่มเติมสทวนของการเขียนโปรแกรมและลอจิกเข้าไ\nป\nJafaScript คืออะไร ?\nJavaScript ถือกำเนิดมาจากบริษัท เน็ตสเคป คอมมิวนิเคชั่นส์ ได้ถธกเปิดตัวครั้งแรกในขื่อของ LiveScript พร้อมดับโปรแกรม Netscapw Navigator 2.0 เพื่อใช้\nสร้างเว็บเพจที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเซิร์ฟเวอร์แบบ LiveWire ได้ หลังจาก่ี่บริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ ได้นำภาษน\nJava ออกสู่ตลาด ซันกับเน็ตสเคป ได้ร่วมมือกุนปรับปรุงให้บราวเซอร์ของเน็ตสเคปสามารถใช้งาน ถาษา Java ได้แลดยังนำภาษา LiveScript มาแก้ไขปรับปรุงใไม่จากนั้นจึงเปลี่ยนชื่อเป็น JavaDcrkpt เมื่อปี พ.ศ.2538 JavaScript เป็น \"ภาษาสคริปต์เชิงวัตถุ\" ที่ช่วยให้เรานามารถควบคุมเว็บเพจได้อย่างง่าย สามารถทำงานข้ามระบบปฏิบัติการไเ้ ทำหนัาที่เป็นตัวประสานกันระหว่างเส็บเพจ HTML, Java applet และเว็บบราวเซอร์ทั้งทางฝั่งไคลเอนต์ และฝั่งเซิร์ฟเวเร์ ช่วยให้เว็บเพจที่บรรจุ JavaScript มีความน่าสนใจและสมบูรณ์มากกว่าเว็บเพจทั่วไป.",
"role": "user"
},
{
"content": "Java เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาแรกของโลก ที่ถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติพิเศษด้านเทคนิค สามารถสร้างโปรแกรมใช้งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งแล้วนำไปใช้กับ เครื่องอีกประเภทหนึ่งที่อยู่ภายในเครือ ข่ายเดียวกันหรือต่างเครือข่ายโดยไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มหรือประเภทของ เครื่องคอมพิวเตอร์อีกต่อไป\nJavaScript ได้ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้เป็นส่วนเพิ่มขยายในภาษา HTMLโดยเฉพาะช่วยให้สามารถควบคุมเว็บเพจได้อย่างง่ายดาย เหมาะกับการทำงานอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเน้นที่ความถูกต้องเป็นหลักสำคัญ\nJavaScript กับ HTML\nJavaScript กับ HTML.\nJavaScript เป็นคุณสมบัติพิเศษเฉพาะของโปรแกรม Netscape Navigator จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เราจะทำความเข้าใจกับรูปแบบและระบบกลไก การทำงานภายในหรือที่ เรียกโดยรวมว่า เลย์เอาต์ของ Netscape Navigator ให้ดี เพราะเลย์เอาต์มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการกำหนดรูปแบบของ HTML เพื่อทำงานร่วมกับ JavaScript เป็นอันมาก การเขียน JavaScript\nเราอาจเขียน JavaScirpt ให้รวมอยู่ในไฟล์เดียวกันกับ HTML ซึ่งแตกต่างจากการเขียนโปรแกรมในภาษา Java ที่ต้องเขียนแยกรายละเอียดออกมาเป็นไฟล์\nต่างหาก ไม่สามารถเขียนรวมอยู่ในไฟล์เดียวกับ HTML ได้ วิธีการเขียน JavaScript เพื่อสั่งให้เว็บเพจทำงาน\nมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธีดังนี้\n\nเขียนด้วยชุดคำสั่งและฟังก์ชันของ JavaScript\nเขียนตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามการใช้งานจากชุดคำสั่งของ HTML เมื่อเริ่มใช้งาน โปรแกรม Navigator จะอ่าน\n\nและทำงานไปตามลำดับจากบนลงล่าง (top-down) โดยเริ่มที่ส่วนแท็ก ...ก่อน\nจากนั้นจึงเริ่มทำงานในส่วนแท็ก ...เป็นลำดับต่อมานอกเหนือจากช่วยลดภาระการทำงานของเซิร์ฟเวอร์แล้ว JavaScript ยังมีความสามารถที่เหนือกว่าทางด้านภาษา สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องในฟอร์มทั่วไป JavaScript เป็นเสมือนกาวที่ทางฝั่งไคล์เอนต์ใช้ในการเก็บส่วนประกอบของเว็บเพจเข้า ด้วยกัน โดยการใช้ลอจิกขั้นพื้นฐานที่ตัดสินใจว่าจะใช้บราวเซอร์หรือ\nปลั๊กอินตัวใด JavaScript ได้กลายเป็นภาษากลางสำหรับควบคุมและติดต่อ\nสื่อสารระหว่างอ๊อบเจ็กต์ อย่างปลั๊กออน, เลเยอร์, เฟรม, ฟอร์ม, สไตล์ชีต และแอปเพล็ต ซึ่งได้รับการยอมรับมากขึ้น\nยิ่งกว่าภาษา HTML เสียอีก การทำงานของ JavaScript ดูไม่แตกต่างไปจาก HTML สักเท่าใดนัก แต่ HTML จะวางเลย์เอาต์โครงสร้างของอ็อบเจ็กต์ภายในและส่วนเชื่อมโยงกับเว็บเพจเท่า นั้น ในขณะที่ JavaScript สามารถเพิ่มเติมส่วนของการเขียนโปรแกรมและลอจิกเข้าไ\nป\nJavaScript คืออะไร ?\nJavaScript ถือกำเนิดมาจากบริษัท เน็ตสเคป คอมมิวนิเคชั่นส์ ได้ถูกเปิดตัวครั้งแรกในชื่อของ LiveScript พร้อมกับโปรแกรม Netscape Navigator 2.0 เพื่อใช้\nสร้างเว็บเพจที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเซิร์ฟเวอร์แบบ LiveWire ได้ หลังจากที่บริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ ได้นำภาษา\nJava ออกสู่ตลาด ซันกับเน็ตสเคป ได้ร่วมมือกันปรับปรุงให้บราวเซอร์ของเน็ตสเคปสามารถใช้งาน ภาษา Java ได้และยังนำภาษา LiveScript มาแก้ไขปรับปรุงใหม่จากนั้นจึงเปลี่ยนชื่อเป็น JavaScript เมื่อปี พ.ศ.2538 JavaScript เป็น \"ภาษาสคริปต์เชิงวัตถุ\" ที่ช่วยให้เราสามารถควบคุมเว็บเพจได้อย่างง่าย สามารถทำงานข้ามระบบปฏิบัติการได้ ทำหน้าที่เป็นตัวประสานกันระหว่างเว็บเพจ HTML, Java applet และเว็บบราวเซอร์ทั้งทางฝั่งไคลเอนต์ และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ ช่วยให้เว็บเพจที่บรรจุ JavaScript มีความน่าสนใจและสมบูรณ์มากกว่าเว็บเพจทั่วไป.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทความ การออกเสียงภาษาอีงดฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาไทย เป็นบทความที่กล่าวถึง การออกเสียงตามหลักโดยอ้างอิงตามเสียงภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American English) เป็นส่วนใหญ่ บทความนี้ไม่ได้ใช้หลักการเขียนอ้างอิงตาม ราชบัณฑิตยสถาน เนื่องจากต้องการเน้นถึงดารออกเสียงมากกว่า การเขียนคำทับศัพท์ สำหรับการออกเสียงิย่างละเอียด และสมบูรณฺให้ดูที่ สัทอักษรสากล (IPA)\nบทควาทนี้เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งที่ช่วยแนะนำสำหรับการเริ่มต้นการออกเสีขงภาษาอังกฤษอย่างง่าย เสียงคำศัพท์ต่างๆ สามสรถฟังได้ที่เว็บไซต์พจนานุกรมทั่วไป เช่น พจนานุกรมภาษาิังกฤษของ ไมโตรซอฟท์ หรือ พจนาาุกรมภาษาอังกฤษของ Webster\nเสียงพยัญชนะและเสียงสระ\nเสียงแทรก Y (invisible Y)\nเสียงพยั๗ชนะและเสียงสระ.\nเสีจงแทรก Y (invisible Y).\nเสียงแทรก Y เป็นเสียงหลักที่ภาษาอังกฤษสำเนียงอเมริกันแตกต่างกับภาษาอังกฤษสำเนียงอังกฤษ สำหรับตัวอักษร D, N, S, T, X\nคำที่ออกเสียง อู หลายคำจะมีเสียง Y แทรกในขณะที่ออกเสียง เช่น\n\nuniversity -- อ่านว่า /ยูนิเวอร์ซิตี้/ ไม่อ่านว่า อูนิเวอร์ซิตี้\nvalue -- valyue อ่านว่า /แวล สู/ หรือควบเป็ต /แวลิว/ ฟัง เสียงคำว่า Value\nvacuum -- vacyuum /แวร คยูม/\nhue -- hyue /ฮิว/\ncute -- cyute /คิวท์/\n\n\njewelry -- จูว์ล์รี่\njew -- (คนชาวยิว) อ่านว่า ยู /joo/ ไม่ใช่ /hyoo/ ยิว\n\n\nMountain Due -- ... ดู /doo/ [Am] ดิว /dyue/ [Br]\nnews -- นูส์ /nooz/ [Am] /nyews/ [Br] เสียงคำว่า Bews อ่านแบบอเมริกัน\ntube -- ทูบ [Am] ทิวบ์ [Br]\ninstitute -- อินสต้ตูท [Am] Instityute อินสติติวท์ [Br] หรืออินสติชูท [Br]\nstudent -- สตูเดนท์ [Am]สติวเดนท์ [Nr] เสียงคำว่า Student อ่านแบบอเมนิกัน\nเสียงแทรก E (hidden E)\n\n\nbe - อ่านว่า บี เหมือน /bee/\nme - อ่านวืา มี เหมือน /mee/\n\n\nkaraoke - คนอเมริกันจะอ่านเป็น คาราโอคี เหมือน karaokee ซึ่งต้องอ่านเป็น คาราฉอเกะ\nsake - คนอเมาิกันจะอ่านเป็น ซาคี เหมืเน sakee ซึ่งต้องอ่านเป็น สาเก\npokemon - คนอเมริกันจะอ่านเก็น โปกีมอน เหมือน pokeemon ซึ่งต้องอ่านเป็น โปเปมอน\nเส้ยงพยึญชนะในภาษาอังกฤษ\n\nเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ.\nเสียงพยัญชนะส่วนใหญ่จะเป็นไปตามที่มีการเรียนการสอน โดยเสียงบางคำจะมีการดัดแปลงใก้ง่ายต่อการออกเสียง หรืออาจจะมีการอ่านตามภาษาอังกฤษสำเนียงอังกฤษ เสียงพยัญชนะทั้งหมดเรียงตทมลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษดังนี้\n\nB -- บ ใบไม้ เช่น boy บอย\nC -- เป็นได้ทั้ง ซ โซ่ ค ควาย และ ป ไก่ โดยส่วนมากจะออกเสียงดังนี้\n\n--CA, CO, CU -- ค ควาย เช่น car คาร์, come คัม, cute คิ้วท์\n--CE, CI, CY -- ซ โซ่ เช่น cell เซลล์, city ซิตี้, cylinder ไซลืนเดอร๋\n--SC -- ก ไก่ เช่น scar สการ์, screen สกีีน, scuba สกูบา\nอย่างไรก็ตาม มีหลายคำที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อกำหนด\n\nD -- ด เด็ก เช่น dog ด็อก\nF -- ฟ ฟัน เช่น fun ฟัน\nG -- ไม่มีเสียงในภาษาไทย เป็นเสียงควบของ ก ไก่ กับ ง งู หรือเสียงควบของ จ จาน กับ ย ยักษ์\n\n-- GA, GE, GO, GU - ออกเสียง ก-ง เช่น gas แก๊ส, get เก็ท, golf กอล์ฟ, gun กัน\n-- GI - ออกเสียง จ-ย เล่น gigantic ไจแกาติค ยกเว้น gigabyte กิกะไบต์\n\nH -- อ่านว่า เอช (ในอังกฤษอะมริกัน) ออกเสียงเหมือน ห หีบ และ ฮ นกฮูก เช่น hello เฮลโล\nJ -- จ จาน เช่น jet เจ็ท\nK -- ออกเสียงได้ทัังแบบ ค คว่ย ก ไก่ และเสียง้งียบ\n\nเสียงต้น -- ค ควาย เชาน kilogram คิโลแกรม\nSK -- ก ไก่ เช่น sky สกาย, ski สกี\nKN -- เสียงเงียบ (ไม่ออกเสียง) เช่ย knee นี, knock ย็อค, know โนว์\n\nL -- คล้ายกับ ล ลิง สำหรับเสียงต้น และคล้าจดับเสียง น หนู-ว แหวน สพหรับเสียงสะกด (เขีวนแทนด้วยตัว ล ลิง)\n\nเสียงต้น เช่น lance แลนซ์, look ลุก\nเสียงสะกด เช่น mill มิลล์ (เรียกว่า dark L), oil โออิล\n\nโดยเสียงของตัวอักษร L (เช่น okl, nil) ออกเสียงโเยการลากปลายลิ้นไปแตะที่ปลายฟันเหมือนออกเสียง th\nการออกเสียงของ LL (เช่น will, full) ออกเสียงโดยการลากปลายลิ้นไปแตะที่ปลายฟันเหมือนออกเสียง th และลากโคนลิ้นไปแตะเพดานอ่อนพร้แมๆ กัน (เสียงจะตล้ายๆ ง-ว)\n\n\nM -- ม ม้า เช่น money มั้นนี่\nN -- น หนู เช่น no โน\nP -- พ พาน หรือ ป ปลา\n\nเสียงต้น -- พ พาน เช่น pest เพสท์, Peter อังกฤษ พีเทอ อเมริกัน พีเทอร์\nSP -- ป ปลา ้ช่น span สแปน, spark อังกฤษ สปาค อเมริกัน สปาร์ค, sport อังกฤษ สปอต อเมริกัน สปอร์ต\n\nQ -- ค ควาย หาือ ก ไก่\n\nQU -- ค ควาย ควบ ว แหวน เช่น queen ควีน\nSQU -- ก ไก่ ควบ ว แหวน เช่น squid สกวิด, square อังกฤษ สแกว อเมริกัน สแกวร์\n\nR -- คล้ายแับ ร เรือ สำหรับเสียงต้น และคล้ายเสียง เออร์ สำหรับเสียงท้าย\n\nเสียงต้น เช่น row โรว์\nเสีบงกลางประโบค เช่น born อังกฤษ บอน อเมริกัน บอร์น\nเสียงท้ทย เช่น fire อังกฤษ ไฟเออ อเมริกัน ไฟเออร์ เสียง R\n\nเสียงของตัวอักษร R ออกเสียงโดยการลากลิ้นไปแตะที่เพดานปากด้านบนส่วนหลัง เหมือนคำว่า fire อ่านว่า ไฟ แล้วลากลิ้นไปแตะที่เพดานปาก เสียง เออร์ จะออกมาคล้ายกับเสียง ไฟเออร์\n\n\nS -- เสียงต้น ออำเสียง ส เสือ ะ้าเป็นเสียงลงท้ายออกเหมือนเสียง ซือ ให้เสียงเหมือนลมผ่านช่องกระจก โดยพูดให้เพียงแค่ลมออกจ่กปาก และลำคอไม่สั่น (เป็นเสีนงแบบ voiceless)\n\n้สียงต้น S -- sock ซ้อกค์\nเสียงท้าย S -- case เคส\n\nT -- ท ทหาร หรือ ต เต่า\n\nเสียงต้น -- ท ทหาร เช่น tanl แทงก์\nST -- ต เต่า เช่น street สตรี่, star อังกฤษ สตา อเมริกัน สตาร์\n\nV -- เสียงเหมือน ฝ ฝา-ว แหวน โดยเป็นเสียงที่ใกล้เคียงกับ V F กละ B พูดโดยการกัดริมฝีปากห่อนออกเสียง ว แหวน เบ่น van แฝวน\nW (ดับเบิ้ล ยู แต่พูะเร็วเร็ว ก็กลายเป็น ดับ-บ-ลิว) -- เสียงเหมือน ว แหวน กน่มีเสียงก้องในปาก พูดโดยการทำปากจู๋ก่อนแล้วตามด้วยออกเสียง ว แหวน เช่น wow วาว\nX -- เสียงต้นเปํนเสียง ส เสือ และ ซ โซ่ เสียงท้ายเหมือน ค ควาบ รวมกับเสียฝ เอส\n\nเสียงต้น -- xylem ไซเล็ม\nเสียงท้าย -- box บ็อก\n\nY -- ย ยักษ์ เช่น young ยัง, you ยู\nZ -- (อ่านว่า ซี ในอุงกฤษแเมริกัน หรือที่แ่านกันว่า เซท ในอังกฤษสำเนียงอื่น - แต่คนไทยออกเสียงว่า แซด) เสียงเหมือน ส เสือ และ ซ โซ่ เช่ย zebra ซร-บร่า\n\nเสียงอักษร Z ต่างกับตัวอักษร C ตรงที่เวลาพูดจะมีการสั่นของเสียง (voice sound) โดยเมื่อเอามือจับที่ใต้ฟันล่าง แล้วออกเสียงจะมีการสั่นขอฝลำคอ ดหมือนกับการออกเสียง บ ใบไม้ กับ พ พาน หรือเสียง ด เด็ก กับ ท ทหาร (z, บ ใบไม้, พ พาน เป็นเสียงสั่น)\n\nCH -- ออกเสียงได้ 3 แบบ ได้แก่ /CH/, /SH/ สำหรับคำที่มาจากภาษาฝรั่งเศส เช่น champagne, Chicsgo และเสียง /K/ สำหรับคำที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การศึกษา ดนตรี ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นคำที่ม่จากภาษากรีก เช่น chaos, stomach, architecture\n\n/CH/ -- เสียง ช ช้าง เหมือนเสียง ท ทหาร ตามด้วยเสียง ช ชืาง พูดโดยการเอาลิ้นแตะโคนฟัน แล้วออกเสียง เฉอะ\n/SH/ -- เสียง ช ช้างปกติ\n\nคำที่เสียงแตกต่างกัน ในขณะที่เสียงไทวใกล้เคียงกัน เช่น sjip chip, sheep cheap, shop chop ทดสอบที่โปรแกรมทดสอบ\n\n/K/ 0- ิสียง ค ควาย ก็ได้ ถ้ามาจากภาษากรีก เป็นความหมายทางประวัติศาสตร์ ดนตรี การแพทย์ การศึกษา ฯลฯ เช่น\n\nchaos เคออส, stomachache สโตมัคเอค, chorus คอรัส\n\n\nTH -- เสียงนี้ ไม่มีในภาษาไทย แต่ใกล้เคียงกับ /ดไ /ต/ /ส/ (เชื่ดมั้ยละว่ามันใกล้กับ ส) เวลาออกเส้ยงเริ่มแรกกัดลิ้นเบาเบา แล้วพูด เช่น * THAT หรือว่า BATH พูดแล้วตอนจบกัดลิ้น THANK YOU กัดลิ้นแล้วพูดดู ไม่ใช่ แต้งกิ้ว ดต่มันจะเป็นเสียง ผสม /ต//ซ/\nเสียงสระในภาษาอังกฤณ\n\n\nee -- เสียงอี เช่น feec ฟีด\ni -- เสียงอเ เช่น fin ฟิน\ni -- เสียงไอ ะช่น bi ไบ (ถ้าไม่มึตัวอะไรร่อท้าย ส่วนมากจะเป็นไอ) แต่บางทีก็ไม่ใช่\na_e -- เสียง เอ เช่น fade เฟด\ne -- เสียง เอะ เล่น fed เฟ็ด\na -- เสียง a จะเป็นเสียงกึ่งระหว่าง แอะ กับ อะ เช่น fad วิธีออกเสียงให้อ้าปากกว้างสุด แล้วออกเสียงเป็นเสียงระหว่างเสียง แฟด กับ ฟัด\nu -- เสีนง เออะ เช่น cup เคอะ-พ\no -- คล้ายเยียง เอาะ แต่อ้าปาแกว้าง cop คอพ\noo -- เสียง อู เช่น boot บูท\null -- เสียงที่อยู่ระหว่างสระ อุ กับสระ อู เช่น bull บูลล์\no_e -- เสียง โอ อช่น bone โบน\ni_e -- เสียง ไอ เช่น fine ไฟน์\noi -- เสียง ออย เช่น coin คอยน์\nou -- เสียง อาว เช่น round รายนด็\n\n\ncome -- อ่านเหมือน cum คัม เป็นภาษาอังกฤษเดเม ที่มาจากคำว่า cume\ndove -- อ่านว่า ดัฟ มาจาก duv\nentrée -- อ่านว่า อองเทร หรือ ออนเทร อาหาามื้อหลัก มาจากภาษาฝรั่งเศส\nhors d'oeuvre -- อ่านว่า ออร์เดิร์ฟ\n\nอักษรเงียบ (silent letters)\nอักษรเงียบ (silent letters).\nคำในภาษาอังกฤษมากกว่า 60% มีตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง หรือ อักษรดงียบ (อังกฆษ: Silent Letters) ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างขอลตัวอักษรในคำต่างๆ ที่ไม่ต่องออกเสียง\n\nA\n\nea- เช่น treadle (เทร็ดเดิล) bread (เบร็ด) ttread (เธร็ะ)\nคำที่ลงท้ายด้วย -cally ทั้งหลาย (ซึ่ง al จะไม่ออกเสียง) เช่น technically (เทค-นิค-ลี) logically (ลอ-จิค-ลีฉ politically (โพ-ลิ-ติค-ลี)\n\nB\n\n-mb เช่น lamb (แลม) bomb/bomber (บอม/บอมเมอร์) comb (คม) numb (นัม) thumb (ธัม) tomb (ทูม) plumb/plumber พลัม/พลัมเมอร์\n-bt เช่น debt (เด็ท) doubt ฆเดาท์) subtle (ซัทเทิล)\n\nC\n\nsc- เช่น scissors (อังกฤษ ซิสเซอส์ อเมริกัน ซิสเซอร์ส) science (ไซแอนซ์) scent (เซนท์) muscle (มัสเฬิลฆ\nคำอื่นๆ เช่น acquit (อะควิท) acquire (อังกฤษ อะไควเออะ อเมริกัน อะไควร์) czar (อังกฤษ ซา อเมริกัน ซาร์) yacht (ย็อท/ย้าท) victual (วิทัล( indict/indictable (อินหดท์/อินไดเทเบิล) Tucson (ทูซอน) S;nnecticut (คอนเนทิคัื)\n\nD\n\n-dg- เช่น edge (เอ็จ) bridge (บริจ) ledge (เล็จ)\n-nd- เช่น handkerchief (อังกฤษ แฮฝเคอชิฟ อเมริกัน แฮงเคอร์ชิฟ) handsome (แฮนซัม) landscape (แลนสเกป) sandwich (แซนวิช) Windsor (อังกฤษ วินเซอ อเมริกัน วินเซอร์) รวมทั้ง grand (แกรน) ต่างๆ ที่เป็นปู่ย่าตายาย เชรน grandma/grandmother grand;a/grandfather grandson/granddaughter และ Wednesday (เวนสเดย์ ตัว e ก็เงียบด้วย)\n\nE\n\nส่วนใหญ่ที่อยู่ท้นยตัวสะกดจะไา่ออกเสีจง เช่น fame (เฟม) serve (อังกฤษ เซิฟ อเมริกัน เซิร์ฟ) rite (ไรท์) more (อังกฤษ มอ อเมริกัน มอร์) clue (คลูฉ vogue (โว้ก) cor;se (อังกฤษ คอพส์ อเมริปัน คอรพส์)\nคำกริยาหลายๆ คำที่ลงท้ายด้วย -en พอเติม -ing หรือ -er ตัว e (และตัว n) ก็จะไม่ออกเส่ยง เช่น fastening_fastener (ฟาสนิง/อังกฤษ ฟาสเนอ อเมริกัน ฟาสเนอร์) whitening/whitener (ฟวท์นิง/อังกฤษ ไวท์เนอ อเมริกัน ไสท์เนิร์) softening/softener (ซอฟนิง/อังกฤษ ซอฟเนอ อเมริกะน ซอฟดนอร์)\n\nF -- halfpenny (เฮพน่)\nG\n\n-gn เช่น align (อะไลน์) design (ดีไซน์) gnash (แนช) reign (เรน) champagne (แชมิพน) resign (รีไซน์ แต้ออกเสียงตัว g ใน resignation เรสิกเนชัน)\n-gh (ซึ่งจะไม่ออกเสียงทะ่ง g และ h) เช่น light (ไลท์) high ฆไฮ) eight (เอท) straight (สเตรท)\nคำอื่นๆ เช่น diaphragm (ไดอะแฟรม)\n\nH\n\nwh- เช่น what (ว็อท) where (อังกฤษ แว อเมริกัน แวร์) when (เว็น) qhisper (อังกฤษ วิสเพอ อเมริกัน วิสเพอร์) whisyle (วิสเซิล)\nxh- เช่น exhaush (เอ็กซอสต์) exhibi5ion (เอ็กซิบิชัน) exhibit (เอ็กซิบิท)\nh นำหน้าสระ honor/honour (อังก(ษ ออเนอ อเมริกัน ออเนอร์) honest (ออเนสต์) hour (อังกฤษ อาวเวอะ อเมริกัน อาวเวอร์) heir (อังกฤษ แอ อเมริกัน เอร์)\nคำอื่นๆ เช่น ghost (โกสต์) khaki (กากี) rhyme (ไรม์) school (สดูง) Thames (เทมส์) Pooh (พู)\n\nI -- business (บิสเนส)\nJ -- ไม่มี\nK -- kn- เช่น knee (นี) know (โนว์) knight (ไนท์) knowledge (นอเล็จ)\nL\n\n-al- เช่น talk (ทอร) walk (วอค) chalk (ชอค) calf (คาฟ) half (ฮาฟ) psalm (ศาม) calm (คาม) salmon (แซมอน) almond (อามอนด์ หรืออัลมอนด์)\n-ol- ิช่น folk (โฟค) yolk (โยค)\ncould/should/would (ีู้ด/ชู้ด/วู้ด)\n\nM -- mnem9nic (รีโมนิค) grammar (อังกฤษ แกรมา อเมริกัน แกรมาร์ ออกเสียงตัว m แค่ตัวเดียว)\nN\n\n-nn ะช่น autumn (ออทัม) condemn (คอนเด็ม) damn (แดม) hymn (ฮิม) column (คอลัม แต่ออกเสียงตัว n ใน columnist คอลัมนิสต?)\nคำอื่นๆ เชีน monsieur (อังกฤษ เมอซเยอะ อเมริกัน เมอซเยอะร์)\n\nO -- leopard (อังกฤษ เล็พเพิด อเมริกัน เล็พเพิร์ด) jeopardy (อังกฤษ เจ็พเพอด้ อเมริแัน เจ็พเพอร์ดี)\nP\n\npn- เช่น pneumatic (นิวแมติก) pneumonia (นิวมอเรีย)\nps- เช่น psychology (ไซโคโลจี) pseudo (ซูโด) psalm (ซาม) corps (เอกพจน์อังดฤษอ่าน โค อเมริกันอ่าน โคร์ พหูพจน์อังกฤษอ่าน โคส อเมริกันอ่าน โคร์ส)\npt- เช่น ptomaine (โทเมน) (t;lemy (โทเลมี) receipt (รีซีท)\npb- เช่น cupboard (อังกฤษ คับบอด อเมริกัน คับบอร์ด) clapboard (อังกฤษ คลัยลอด อเมริกัน คลับบอต์ด) Campbell (แคมเบล)\nคำอื่นๆ เช่น coup (คู) raspberry (ราสเบอรี)\n\nQ -] ไม่มี\nR\n\ndiarrhea (ไดอะเรีย ออกเสียง r ตัวเดียว)\nใน British English ตัว r ที่อยู่หน้าพยัญชนะหรือสระตัวอ่่น จะเป็นอักษรเงียบ เช่น card (ค้าด) corps (โค) fork (ฟ้อค) grammar (แกรมา) แต่ใน American English จะออกเสียง คาร์ด โคร์ (เอกพจน์) ฟอร์ค แกรมาร์\n\nS\n\n-so เช่น isle (ไอล์) island (ไอแลนด?ฉ aisle (ไอล์ เหมือน isle เลย a ตัวแรกก็เงียบด้วย)\nคำอื่นๆ เช่น Illinois (เอ็ลล้นอย) bourgeois (อังกฤษ เบอจัว อเมริกัน เบอร์จัว) v8scount ฤไวเคานท์) fracas (เฟรคา แต่คำนี้อเมริกัรออกเสียงตัว s ด้วย จะออกเก็น เฟรคัส) debris (เดบรี) apropos (อัพโพรโพ)\n\nT\n\nst- เช่น listen (ลิสฐึน) fasten (ฟาสเซน) castle (คาสเซิล) rustle (รัสเซิล) asthma (แอสมา) Christmas (คริสมาส) tsunami (ซูนามิ)\n-et เช่น ballet (บัลเล) buffet (บัฟเฟหรือบุฟเฟ) gourmet (อังกฤษ กัวเม อเมริกัน กัวร์เมฉ\nft- เช่น soften (ซ็อฟเฟน) often (อ็อฟเฟน แต่คำนี้ออกเสียงตัว t ด้วยก็ได้ อ็อฟเทน)\nrapport (รัพพอร์)\n\nU -- u ที่นำหน้าสระ ไม่ออกเสียง เช่น guard (อังกฤษ กาด อเมริกัน การ์ด) giess (เกส) build (บิลท์) guide (ไกด์) four (อังกฤษ ฟอ อเมริกัน ฟอร์ เหมือน for) tongue )ทังก์) colleague (คอลลีก) cheque (เช็ค)\nV -- ไม่มี\nW\n\nqr- เช่น write (ไรท์) wrong (รอง) wrist (ริสต์)\nsw- เช่น cword (อังกฤษ ซอด อเมริกัน ซอร์ดฉ answer (อังกฤษ อานเซอ อเทริกัน อานเซอร์)\nwh- เชาจ ehore (อังกฤษ ฮอ อเมริกัน ฮอร์) whole (โฮล) who (ฮู)\nrw- เช่น Norwich (นอริช) Warwick (วอริค)\nคำอ้่นๆ ะช่น two (ทู) Greenwich (กรีนนเช)\n\nX -- faux pas (โฟ พา) Sioux (ซู)\nY -- say (เซ) mayor (อังกฤษ แม อเทริกัน เมร์)\nZ -- rendezvous (รอนเดวู) laissez-faire (อังกฤษ เลเซแฟ อเมริกัน เลเซแฟร์) chez (เชย์)\nกนรเน้นเสียง (stressing)\n\nการเน้นเสึยงของคำ\nำารเน้นเสียง (stressing).\nการเน้นเสียงขแงคำ.\nคำศัพท์แต่ละคำจะมีการเน้นเสียงในแต่ละที่ ขึ้นอยู่กับคำ สามารถตรวจสอบได้โดยการเปิเพจนานุกรม เช่น\n\nOptuon --/OP-tion/ เสียงเหมือน อ้อป-ชัน\ncanal -- /ca-NAL/ เสียงเหมือน คะ-แนล (ลากเสียง แนล)\ndfposit -- /de-PO-sit/ เสียงเหมือน ดิ-พ้อ-สิท\nspaghetti --/spa-GHET-ti/ สเปอะ-เก๊ต-ทิ อันนี้แปลกหน่อย เน้นตีวที่สาม\nการเน้นเสียงในประโยค\n\n\nIf you don't want to add a poll to your topic.\n\nอ่านเแ็น If you don't want to add a poll to your topic.\n\nI w9n;t think that control is in OPEC's hands.\n\nอ่านเป็น I don't think that control is in OPEC's hands.\nเสียงเชื่อม (linking)\n\n\n\nIt's a book - จะออกเสัยงเหมือน /its-sa-book/ อ่่น อิทซ์-ซะ-ชุ้ค ไม่ใช่ อิทซ์-อะ-บุค\nCan you add a poll? - จะออกเสียงเหมือน /can-yoy-add-da-poll/ อ่าน แคน-ยู-แอด-ดะ-โพล โดยคำว่า อะ จะออกเสียงเป็น ดะ เนื่องจากเสื่องเชื่อมจากคำสะกดของคำหน้า\nWeekend - จะออกเสียงเหมือน /week-kend/ อ่าน วีคเค็นด์ โดยคำว่า เอ็นด์ ขะออก้สียงเป็น เค็นด์ เนื่องจากเสียงเชืีอมจากตัวสะกเของคำหน้า\nL.A. - จะออดเสียงเป็น /L-la /อ่าน ออล เล ไมรใช่ แอล ัอ\nvineyard (ไร่องุ่นทำไวน์) - จะออกเสียงเป็น /vin-neard/ อังกฤษอ่าน ฝวินเนียด อเมริกันอ่าน ฝวินเนียร์ด ไม่ใช่ วายยาด\nbald eagle (นกอินทรีย์หัวขาว) - จะออกเสียงเป็น /bal-dea-gle/ บอลดีเกิ้ล ไม่ใช่ บอล อีเกิ้ล\nเสียงสูงต่ำ ท้ายประโยค\n\n\nประโยคธรรมดา ลงเสียงต่ำ\n\nI like coffee ลงเสียงต่ำที่คำว่า coffee อ่าน ค็อป-ฟี\n\nประโยคคำถามที่ถามว่า ใช่ำรทอไม่ ขึ้นเสียงสูง (รวมถึงประโยคที่เป็น tag question)\n\nDo you like coffee? ขึ้นเสียงสูงตรงคำว่า coffee อ่าย คอป-ฟี้\n\nประโยคคำถามที่ถามหาคำตเบ ลงเสียงต่ำ\n\nWhat do you like? ลงเสียงต่ำตรงคำว่า /ike อ่าน ไลค์\n\n\n\nDo uou like tea or codfee?\n\nถ้าพูด คำว่า coffee ลงเสียงต่ำ ประโนคนี้จะมีความหมายว่า \"อยากได้ชาหรือกาปฟ (โดยให้เลือกเอา)\"\nถ้าพูด คำว่า ciffee ขึ้นเวียงสูง ประโยคนี้จะมีความหมายว่า \"อยากได้ชาหรือกาแฟไหม (โดยถามว่า เอาหรือไม่เอา)\"\nเสียงท้าย -s, -es, -ed\n\n-s ก็ตามะ้วย เสียง s ปกติ คือ ลากเสียง s ออกไปตอนจบประโยค\n-es เจ้าของภาษาจะออกเสียง /อิส/ แต่ตามความคุ้นเคยของคนไทยมักออกเสียงชัดเจนว่า /้อส/ อย่างเช่น\n\nboxes -- บ๊อกซิส (เจ้าของภาษา) บ๊อกเซา (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\nglasses -[ อังกฤษ กล๊าสสิส อเมริกัน แกล๊สสิส ฆเจ้าของภาษา) กล๊าสเสส (สำเสียงสะดฝกลิ้นไทย)\n\n-ed อันนี้มีสองแบบ ะ้าตามด้วย ตัว T หรือ D จะออกเสียง /เอ็ด/ หรือ /อิด/ แต่ถ้าไม่ใช่ให้ ออกเสียง ๆเดอะ/\n\nreloaded -- รีโล้ดดิด (เจ้าของภาษา) รีโล้ดเด้ด (สำเนียงสะดวกลิินไทย)\nwanted -- ว้อนถิด (เจ้าของภาษา) ว้อนเต้ด (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\nnotified -- ฑน้ทิไๆเดอะ จะออกเสียง d (เดอะ) ในลำคอ\nเสียงพยัญชนะท้าย\n\nหลายๆ คำที่มีพยัญชนะท้ายจะมีเสียงเบาๆ ืี่ไม่ควรละ\n\nเสีจง -nd เช่น finding ออกเสียง ฟาย(อึน)ดิ่ง หรือบางครั้งดาจได้ยิน ฟายนิ่ง\nเสียง -ne เบ่น line ออกเสียง ละอินหรือไลเน่อะ (รวงเป็นหนึ่งพยางค์) ต่างจาก lie อิกเสียง ลาย\nเสียง -le เช่น mobile ออกเสียง โม-บะอิลหรือโมไบลึ (สองพยางค์) หรือบางครั้งอาจได้ยิน โม-บึล\nเสียง -le เช่น file ออกเสียง ฟะอิลหรือไฟอิล (รวบเป็นหนึ่งพยางค์) หรือบางครั้งอาจได้ยิน ฟาว ต่างกับ fine ออกเสียง ฟาย(อึน) หรือ fire ออกเสียง ฟายเออะ\nคำผสม (compound noun)\n\n\n\nคำว่า greenhouse / green house\n\nคำผใม grrenhoyse (บ้านที่เป็นเรืเนกระจก) ขึ้นเสียงตรง green และลงต่ำตรง house เสียง\nคำปกติเรียงกัน green house )บ้นนสีเขียว) ออกเสียงตามปกติ ไม่ต้องขึ้นลงเสียง\n\nคำว่า English teacher\n\nคำผสม หมายถึง ครูสอนภาษาอเงกฤษ ขึ้นเสียงตรง English ลงตรง teacher\nคำปกติเรียงกีน หมายถึล ครูชาวอังกฤษ ออกเสียงตามปกติ\nอ้างอิง\n\nBasic Pronunciation for Beginners, Jill Knutsog\nSpeech Crafh, Workbook for Academic Discourse, Lauta D. Hann, Wayne B. Dickerson\nดูเพิ่ม\nสัทอักษรสากล (IPA)\nคำภาษาอังกฤษที่มักอ่านผิด\nการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ\nแหล่งข้อมูลอื่น\nการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดย พล.ร.อ.ชุมศักดิ์ มัธยมจัสทร์\nบล็อแการออกเสียงภาษาำทย จาก Bloggang ของ BlqckmagicW\nEnglishforums.com เว็บบอค๋ดฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษ (อังกฤษ)\nการออกเสียงคำศัพท์ที่น่าสนใจ คำที่มักเอกเสียงผิดและมีไฟล์เสียงที่ถูปต้องให้ฟัง\nเครื่องมือช่วยศึกณา\nฟังเสียงจริงจากพจนานุกรมภาษาอังกฤษ\n\nพจยานุกรมภาษาอังกฤษของ Merriam-Webster, Incorporated (ออกเสียงแบบ Am)\nEictionary.com (ออกเสียงแบบ Am)\nLongdo Dict ของ Metamedia Technology (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\nCambridge Dictionary ของ Cambridge University Press (ออกเสียงแขบ Br และ Am)\nMacmillan Dictionary ของ Macmillan Publishers Limited (ออกเส้ยงแบบ Br และ Am อยู่ที่ดารรั้งค่าเริ่มต้นว่าเป็นแขบใด หรือสามารถแก้ไขที่ URL เป็น 2ww.../british/คำศัพท์ หรือ www.../american/คำศัพท์)\nOxford Dictionaries ของ Oxford University Press (ออกเสียงแบบ Br กละ Am อยู่ที่การเลือกพจนานุกรมฝ่าเป็น Dictionary คือ Br หรือ Dictionar (US) คือ Am)\nOxford Learner's Dictionaries ของ Oxfors University Presx (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\nLongman Dictionary of Contemporary English Online บอว Pearson Education Limited (ออกเสียงแบบ Br แบะ Am)\n\nพูดภาษาอุงกฤษสำเนียงไทยให้ถูกต้อง: หนังสือแนะนำการออกเสียงภาษาอัฝกฤษสำหรับคนไทย\nตัวอยรางเสียงภาษาอังกฤษจากคอมมอนส์\nโปรแกรมทดสอบการฟังเสียงภาษาอังกฤษสำหรับคนไทย\nโปรแกรมสังเคราะห์เย่ยงจากคำที่เราเขียน สามารถใช้ญึกษาผลของการออกเสียงของทั้งประโยค\nรายชื่อคำภาษาอังกฤษที่ชาวไทยมักอ่านผิด",
"role": "user"
},
{
"content": "บทความ การออกเสียงภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาไทย เป็นบทความที่กล่าวถึง การออกเสียงตามหลักโดยอ้างอิงตามเสียงภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American English) เป็นส่วนใหญ่ บทความนี้ไม่ได้ใช้หลักการเขียนอ้างอิงตาม ราชบัณฑิตยสถาน เนื่องจากต้องการเน้นถึงการออกเสียงมากกว่า การเขียนคำทับศัพท์ สำหรับการออกเสียงอย่างละเอียด และสมบูรณ์ให้ดูที่ สัทอักษรสากล (IPA)\nบทความนี้เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งที่ช่วยแนะนำสำหรับการเริ่มต้นการออกเสียงภาษาอังกฤษอย่างง่าย เสียงคำศัพท์ต่างๆ สามารถฟังได้ที่เว็บไซต์พจนานุกรมทั่วไป เช่น พจนานุกรมภาษาอังกฤษของ ไมโครซอฟท์ หรือ พจนานุกรมภาษาอังกฤษของ Webster\nเสียงพยัญชนะและเสียงสระ\nเสียงแทรก Y (invisible Y)\nเสียงพยัญชนะและเสียงสระ.\nเสียงแทรก Y (invisible Y).\nเสียงแทรก Y เป็นเสียงหลักที่ภาษาอังกฤษสำเนียงอเมริกันแตกต่างกับภาษาอังกฤษสำเนียงอังกฤษ สำหรับตัวอักษร D, N, S, T, X\nคำที่ออกเสียง อู หลายคำจะมีเสียง Y แทรกในขณะที่ออกเสียง เช่น\n\nuniversity -- อ่านว่า /ยูนิเวอร์ซิตี้/ ไม่อ่านว่า อูนิเวอร์ซิตี้\nvalue -- valyue อ่านว่า /แวล ยู/ หรือควบเป็น /แวลิว/ ฟัง เสียงคำว่า Value\nvacuum -- vacyuum /แวค คยูม/\nhue -- hyue /ฮิว/\ncute -- cyute /คิวท์/\n\n\njewelry -- จูว์ล์รี่\njew -- (คนชาวยิว) อ่านว่า ยู /joo/ ไม่ใช่ /jyoo/ ยิว\n\n\nMountain Due -- ... ดู /doo/ [Am] ดิว /dyue/ [Br]\nnews -- นูส์ /nooz/ [Am] /nyews/ [Br] เสียงคำว่า News อ่านแบบอเมริกัน\ntube -- ทูบ [Am] ทิวบ์ [Br]\ninstitute -- อินสติตูท [Am] Instityute อินสติติวท์ [Br] หรืออินสติชูท [Br]\nstudent -- สตูเดนท์ [Am]สติวเดนท์ [Br] เสียงคำว่า Student อ่านแบบอเมริกัน\nเสียงแทรก E (hidden E)\n\n\nbe - อ่านว่า บี เหมือน /bee/\nme - อ่านว่า มี เหมือน /mee/\n\n\nkaraoke - คนอเมริกันจะอ่านเป็น คาราโอคี เหมือน karaokee ซึ่งต้องอ่านเป็น คาราโอเกะ\nsake - คนอเมริกันจะอ่านเป็น ซาคี เหมือน sakee ซึ่งต้องอ่านเป็น สาเก\npokemon - คนอเมริกันจะอ่านเป็น โปกีมอน เหมือน pokeemon ซึ่งต้องอ่านเป็น โปเกมอน\nเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ\n\nเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ.\nเสียงพยัญชนะส่วนใหญ่จะเป็นไปตามที่มีการเรียนการสอน โดยเสียงบางคำจะมีการดัดแปลงให้ง่ายต่อการออกเสียง หรืออาจจะมีการอ่านตามภาษาอังกฤษสำเนียงอังกฤษ เสียงพยัญชนะทั้งหมดเรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษดังนี้\n\nB -- บ ใบไม้ เช่น boy บอย\nC -- เป็นได้ทั้ง ซ โซ่ ค ควาย และ ก ไก่ โดยส่วนมากจะออกเสียงดังนี้\n\n--CA, CO, CU -- ค ควาย เช่น car คาร์, come คัม, cute คิ้วท์\n--CE, CI, CY -- ซ โซ่ เช่น cell เซลล์, city ซิตี้, cylinder ไซลินเดอร์\n--SC -- ก ไก่ เช่น scar สการ์, screen สกรีน, scuba สกูบา\nอย่างไรก็ตาม มีหลายคำที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อกำหนด\n\nD -- ด เด็ก เช่น dog ด็อก\nF -- ฟ ฟัน เช่น fun ฟัน\nG -- ไม่มีเสียงในภาษาไทย เป็นเสียงควบของ ก ไก่ กับ ง งู หรือเสียงควบของ จ จาน กับ ย ยักษ์\n\n-- GA, GE, GO, GU - ออกเสียง ก-ง เช่น gas แก๊ส, get เก็ท, golf กอล์ฟ, gun กัน\n-- GI - ออกเสียง จ-ย เช่น gigantic ไจแกนติค ยกเว้น gigabyte กิกะไบต์\n\nH -- อ่านว่า เอช (ในอังกฤษอเมริกัน) ออกเสียงเหมือน ห หีบ และ ฮ นกฮูก เช่น hello เฮลโล\nJ -- จ จาน เช่น jet เจ็ท\nK -- ออกเสียงได้ทั้งแบบ ค ควาย ก ไก่ และเสียงเงียบ\n\nเสียงต้น -- ค ควาย เช่น kilogram คิโลแกรม\nSK -- ก ไก่ เช่น sky สกาย, ski สกี\nKN -- เสียงเงียบ (ไม่ออกเสียง) เช่น knee นี, knock น็อค, know โนว์\n\nL -- คล้ายกับ ล ลิง สำหรับเสียงต้น และคล้ายกับเสียง น หนู-ว แหวน สำหรับเสียงสะกด (เขียนแทนด้วยตัว ล ลิง)\n\nเสียงต้น เช่น lance แลนซ์, look ลุก\nเสียงสะกด เช่น mill มิลล์ (เรียกว่า dark L), oil โออิล\n\nโดยเสียงของตัวอักษร L (เช่น oil, nil) ออกเสียงโดยการลากปลายลิ้นไปแตะที่ปลายฟันเหมือนออกเสียง th\nการออกเสียงของ LL (เช่น will, full) ออกเสียงโดยการลากปลายลิ้นไปแตะที่ปลายฟันเหมือนออกเสียง th และลากโคนลิ้นไปแตะเพดานอ่อนพร้อมๆ กัน (เสียงจะคล้ายๆ ง-ว)\n\n\nM -- ม ม้า เช่น money มั้นนี่\nN -- น หนู เช่น no โน\nP -- พ พาน หรือ ป ปลา\n\nเสียงต้น -- พ พาน เช่น pest เพสท์, Peter อังกฤษ พีเทอ อเมริกัน พีเทอร์\nSP -- ป ปลา เช่น span สแปน, spark อังกฤษ สปาค อเมริกัน สปาร์ค, sport อังกฤษ สปอต อเมริกัน สปอร์ต\n\nQ -- ค ควาย หรือ ก ไก่\n\nQU -- ค ควาย ควบ ว แหวน เช่น queen ควีน\nSQU -- ก ไก่ ควบ ว แหวน เช่น squid สกวิด, square อังกฤษ สแกว อเมริกัน สแกวร์\n\nR -- คล้ายกับ ร เรือ สำหรับเสียงต้น และคล้ายเสียง เออร์ สำหรับเสียงท้าย\n\nเสียงต้น เช่น row โรว์\nเสียงกลางประโยค เช่น born อังกฤษ บอน อเมริกัน บอร์น\nเสียงท้าย เช่น fire อังกฤษ ไฟเออ อเมริกัน ไฟเออร์ เสียง R\n\nเสียงของตัวอักษร R ออกเสียงโดยการลากลิ้นไปแตะที่เพดานปากด้านบนส่วนหลัง เหมือนคำว่า fire อ่านว่า ไฟ แล้วลากลิ้นไปแตะที่เพดานปาก เสียง เออร์ จะออกมาคล้ายกับเสียง ไฟเออร์\n\n\nS -- เสียงต้น ออกเสียง ส เสือ ถ้าเป็นเสียงลงท้ายออกเหมือนเสียง ซือ ให้เสียงเหมือนลมผ่านช่องกระจก โดยพูดให้เพียงแค่ลมออกจากปาก และลำคอไม่สั่น (เป็นเสียงแบบ voiceless)\n\nเสียงต้น S -- sock ซ้อกค์\nเสียงท้าย S -- case เคส\n\nT -- ท ทหาร หรือ ต เต่า\n\nเสียงต้น -- ท ทหาร เช่น tank แทงก์\nST -- ต เต่า เช่น street สตรีท, star อังกฤษ สตา อเมริกัน สตาร์\n\nV -- เสียงเหมือน ฝ ฝา-ว แหวน โดยเป็นเสียงที่ใกล้เคียงกับ V F และ B พูดโดยการกัดริมฝีปากก่อนออกเสียง ว แหวน เช่น van แฝวน\nW (ดับเบิ้ล ยู แต่พูดเร็วเร็ว ก็กลายเป็น ดับ-บ-ลิว) -- เสียงเหมือน ว แหวน แต่มีเสียงก้องในปาก พูดโดยการทำปากจู๋ก่อนแล้วตามด้วยออกเสียง ว แหวน เช่น wow วาว\nX -- เสียงต้นเป็นเสียง ส เสือ และ ซ โซ่ เสียงท้ายเหมือน ค ควาย รวมกับเสียง เอส\n\nเสียงต้น -- xylem ไซเล็ม\nเสียงท้าย -- box บ็อก\n\nY -- ย ยักษ์ เช่น young ยัง, you ยู\nZ -- (อ่านว่า ซี ในอังกฤษอเมริกัน หรือที่อ่านกันว่า เซท ในอังกฤษสำเนียงอื่น - แต่คนไทยออกเสียงว่า แซด) เสียงเหมือน ส เสือ และ ซ โซ่ เช่น zebra ซี-บร่า\n\nเสียงอักษร Z ต่างกับตัวอักษร C ตรงที่เวลาพูดจะมีการสั่นของเสียง (voice sound) โดยเมื่อเอามือจับที่ใต้ฟันล่าง แล้วออกเสียงจะมีการสั่นของลำคอ เหมือนกับการออกเสียง บ ใบไม้ กับ พ พาน หรือเสียง ด เด็ก กับ ท ทหาร (z, บ ใบไม้, พ พาน เป็นเสียงสั่น)\n\nCH -- ออกเสียงได้ 3 แบบ ได้แก่ /CH/, /SH/ สำหรับคำที่มาจากภาษาฝรั่งเศส เช่น champagne, Chicago และเสียง /K/ สำหรับคำที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การศึกษา ดนตรี ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นคำที่มาจากภาษากรีก เช่น chaos, stomach, architecture\n\n/CH/ -- เสียง ช ช้าง เหมือนเสียง ท ทหาร ตามด้วยเสียง ช ช้าง พูดโดยการเอาลิ้นแตะโคนฟัน แล้วออกเสียง เฉอะ\n/SH/ -- เสียง ช ช้างปกติ\n\nคำที่เสียงแตกต่างกัน ในขณะที่เสียงไทยใกล้เคียงกัน เช่น ship chip, sheep cheap, shop chop ทดสอบที่โปรแกรมทดสอบ\n\n/K/ -- เสียง ค ควาย ก็ได้ ถ้ามาจากภาษากรีก เป็นความหมายทางประวัติศาสตร์ ดนตรี การแพทย์ การศึกษา ฯลฯ เช่น\n\nchaos เคออส, stomachache สโตมัคเอค, chorus คอรัส\n\n\nTH -- เสียงนี้ ไม่มีในภาษาไทย แต่ใกล้เคียงกับ /ด/ /ต/ /ส/ (เชื่อมั้ยละว่ามันใกล้กับ ส) เวลาออกเสียงเริ่มแรกกัดลิ้นเบาเบา แล้วพูด เช่น * THAT หรือว่า BATH พูดแล้วตอนจบกัดลิ้น THANK YOU กัดลิ้นแล้วพูดดู ไม่ใช่ แต้งกิ้ว แต่มันจะเป็นเสียง ผสม /ต//ซ/\nเสียงสระในภาษาอังกฤษ\n\n\nee -- เสียงอี เช่น feed ฟีด\ni -- เสียงอิ เช่น fin ฟิน\ni -- เสียงไอ เช่น bi ไบ (ถ้าไม่มีตัวอะไรต่อท้าย ส่วนมากจะเป็นไอ) แต่บางทีก็ไม่ใช่\na_e -- เสียง เอ เช่น fade เฟด\ne -- เสียง เอะ เช่น fed เฟ็ด\na -- เสียง a จะเป็นเสียงกึ่งระหว่าง แอะ กับ อะ เช่น fad วิธีออกเสียงให้อ้าปากกว้างสุด แล้วออกเสียงเป็นเสียงระหว่างเสียง แฟด กับ ฟัด\nu -- เสียง เออะ เช่น cup เคอะ-พ\no -- คล้ายเสียง เอาะ แต่อ้าปากกว้าง cop คอพ\noo -- เสียง อู เช่น boot บูท\null -- เสียงที่อยู่ระหว่างสระ อุ กับสระ อู เช่น bull บูลล์\no_e -- เสียง โอ เช่น bone โบน\ni_e -- เสียง ไอ เช่น fine ไฟน์\noi -- เสียง ออย เช่น coin คอยน์\nou -- เสียง อาว เช่น round ราวนด์\n\n\ncome -- อ่านเหมือน cum คัม เป็นภาษาอังกฤษเดิม ที่มาจากคำว่า cume\ndove -- อ่านว่า ดัฟ มาจาก duv\nentrée -- อ่านว่า อองเทร หรือ ออนเทร อาหารมื้อหลัก มาจากภาษาฝรั่งเศส\nhors d'oeuvre -- อ่านว่า ออร์เดิร์ฟ\n\nอักษรเงียบ (silent letters)\nอักษรเงียบ (silent letters).\nคำในภาษาอังกฤษมากกว่า 60% มีตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง หรือ อักษรเงียบ (อังกฤษ: Silent Letters) ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของตัวอักษรในคำต่างๆ ที่ไม่ต้องออกเสียง\n\nA\n\nea- เช่น treadle (เทร็ดเดิล) bread (เบร็ด) thread (เธร็ด)\nคำที่ลงท้ายด้วย -cally ทั้งหลาย (ซึ่ง al จะไม่ออกเสียง) เช่น technically (เทค-นิค-ลี) logically (ลอ-จิค-ลี) politically (โพ-ลิ-ติค-ลี)\n\nB\n\n-mb เช่น lamb (แลม) bomb/bomber (บอม/บอมเมอร์) comb (คม) numb (นัม) thumb (ธัม) tomb (ทูม) plumb/plumber พลัม/พลัมเมอร์\n-bt เช่น debt (เด็ท) doubt (เดาท์) subtle (ซัทเทิล)\n\nC\n\nsc- เช่น scissors (อังกฤษ ซิสเซอส์ อเมริกัน ซิสเซอร์ส) science (ไซแอนซ์) scent (เซนท์) muscle (มัสเซิล)\nคำอื่นๆ เช่น acquit (อะควิท) acquire (อังกฤษ อะไควเออะ อเมริกัน อะไควร์) czar (อังกฤษ ซา อเมริกัน ซาร์) yacht (ย็อท/ย้าท) victual (วิทัล) indict/indictable (อินไดท์/อินไดเทเบิล) Tucson (ทูซอน) Connecticut (คอนเนทิคัท)\n\nD\n\n-dg- เช่น edge (เอ็จ) bridge (บริจ) ledge (เล็จ)\n-nd- เช่น handkerchief (อังกฤษ แฮงเคอชิฟ อเมริกัน แฮงเคอร์ชิฟ) handsome (แฮนซัม) landscape (แลนสเกป) sandwich (แซนวิช) Windsor (อังกฤษ วินเซอ อเมริกัน วินเซอร์) รวมทั้ง grand (แกรน) ต่างๆ ที่เป็นปู่ย่าตายาย เช่น grandma/grandmother grandpa/grandfather grandson/granddaughter และ Wednesday (เวนสเดย์ ตัว e ก็เงียบด้วย)\n\nE\n\nส่วนใหญ่ที่อยู่ท้ายตัวสะกดจะไม่ออกเสียง เช่น fame (เฟม) serve (อังกฤษ เซิฟ อเมริกัน เซิร์ฟ) rite (ไรท์) more (อังกฤษ มอ อเมริกัน มอร์) clue (คลู) vogue (โว้ก) corpse (อังกฤษ คอพส์ อเมริกัน คอรพส์)\nคำกริยาหลายๆ คำที่ลงท้ายด้วย -en พอเติม -ing หรือ -er ตัว e (และตัว n) ก็จะไม่ออกเสียง เช่น fastening/fastener (ฟาสนิง/อังกฤษ ฟาสเนอ อเมริกัน ฟาสเนอร์) whitening/whitener (ไวท์นิง/อังกฤษ ไวท์เนอ อเมริกัน ไวท์เนอร์) softening/softener (ซอฟนิง/อังกฤษ ซอฟเนอ อเมริกัน ซอฟเนอร์)\n\nF -- halfpenny (เฮพนี)\nG\n\n-gn เช่น align (อะไลน์) design (ดีไซน์) gnash (แนช) reign (เรน) champagne (แชมเพน) resign (รีไซน์ แต่ออกเสียงตัว g ใน resignation เรสิกเนชัน)\n-gh (ซึ่งจะไม่ออกเสียงทั้ง g และ h) เช่น light (ไลท์) high (ไฮ) eight (เอท) straight (สเตรท)\nคำอื่นๆ เช่น diaphragm (ไดอะแฟรม)\n\nH\n\nwh- เช่น what (ว็อท) where (อังกฤษ แว อเมริกัน แวร์) when (เว็น) whisper (อังกฤษ วิสเพอ อเมริกัน วิสเพอร์) whistle (วิสเซิล)\nxh- เช่น exhaust (เอ็กซอสต์) exhibition (เอ็กซิบิชัน) exhibit (เอ็กซิบิท)\nh นำหน้าสระ honor/honour (อังกฤษ ออเนอ อเมริกัน ออเนอร์) honest (ออเนสต์) hour (อังกฤษ อาวเวอะ อเมริกัน อาวเวอร์) heir (อังกฤษ แอ อเมริกัน เอร์)\nคำอื่นๆ เช่น ghost (โกสต์) khaki (กากี) rhyme (ไรม์) school (สกูล) Thames (เทมส์) Pooh (พู)\n\nI -- business (บิสเนส)\nJ -- ไม่มี\nK -- kn- เช่น knee (นี) know (โนว์) knight (ไนท์) knowledge (นอเล็จ)\nL\n\n-al- เช่น talk (ทอค) walk (วอค) chalk (ชอค) calf (คาฟ) half (ฮาฟ) psalm (ซาม) calm (คาม) salmon (แซมอน) almond (อามอนด์ หรืออัลมอนด์)\n-ol- เช่น folk (โฟค) yolk (โยค)\ncould/should/would (คู้ด/ชู้ด/วู้ด)\n\nM -- mnemonic (นีโมนิค) grammar (อังกฤษ แกรมา อเมริกัน แกรมาร์ ออกเสียงตัว m แค่ตัวเดียว)\nN\n\n-mn เช่น autumn (ออทัม) condemn (คอนเด็ม) damn (แดม) hymn (ฮิม) column (คอลัม แต่ออกเสียงตัว n ใน columnist คอลัมนิสต์)\nคำอื่นๆ เช่น monsieur (อังกฤษ เมอซเยอะ อเมริกัน เมอซเยอะร์)\n\nO -- leopard (อังกฤษ เล็พเพิด อเมริกัน เล็พเพิร์ด) jeopardy (อังกฤษ เจ็พเพอดี อเมริกัน เจ็พเพอร์ดี)\nP\n\npn- เช่น pneumatic (นิวแมติก) pneumonia (นิวมอเนีย)\nps- เช่น psychology (ไซโคโลจี) pseudo (ซูโด) psalm (ซาม) corps (เอกพจน์อังกฤษอ่าน โค อเมริกันอ่าน โคร์ พหูพจน์อังกฤษอ่าน โคส อเมริกันอ่าน โคร์ส)\npt- เช่น ptomaine (โทเมน) Ptolemy (โทเลมี) receipt (รีซีท)\npb- เช่น cupboard (อังกฤษ คับบอด อเมริกัน คับบอร์ด) clapboard (อังกฤษ คลับบอด อเมริกัน คลับบอร์ด) Campbell (แคมเบล)\nคำอื่นๆ เช่น coup (คู) raspberry (ราสเบอรี)\n\nQ -- ไม่มี\nR\n\ndiarrhea (ไดอะเรีย ออกเสียง r ตัวเดียว)\nใน British English ตัว r ที่อยู่หน้าพยัญชนะหรือสระตัวอื่น จะเป็นอักษรเงียบ เช่น card (ค้าด) corps (โค) fork (ฟ้อค) grammar (แกรมา) แต่ใน American English จะออกเสียง คาร์ด โคร์ (เอกพจน์) ฟอร์ค แกรมาร์\n\nS\n\n-sl เช่น isle (ไอล์) island (ไอแลนด์) aisle (ไอล์ เหมือน isle เลย a ตัวแรกก็เงียบด้วย)\nคำอื่นๆ เช่น Illinois (เอ็ลลินอย) bourgeois (อังกฤษ เบอจัว อเมริกัน เบอร์จัว) viscount (ไวเคานท์) fracas (เฟรคา แต่คำนี้อเมริกันออกเสียงตัว s ด้วย จะออกเป็น เฟรคัส) debris (เดบรี) apropos (อัพโพรโพ)\n\nT\n\nst- เช่น listen (ลิสซึน) fasten (ฟาสเซน) castle (คาสเซิล) rustle (รัสเซิล) asthma (แอสมา) Christmas (คริสมาส) tsunami (ซูนามิ)\n-et เช่น ballet (บัลเล) buffet (บัฟเฟหรือบุฟเฟ) gourmet (อังกฤษ กัวเม อเมริกัน กัวร์เม)\nft- เช่น soften (ซ็อฟเฟน) often (อ็อฟเฟน แต่คำนี้ออกเสียงตัว t ด้วยก็ได้ อ็อฟเทน)\nrapport (รัพพอร์)\n\nU -- u ที่นำหน้าสระ ไม่ออกเสียง เช่น guard (อังกฤษ กาด อเมริกัน การ์ด) guess (เกส) build (บิลท์) guide (ไกด์) four (อังกฤษ ฟอ อเมริกัน ฟอร์ เหมือน for) tongue (ทังก์) colleague (คอลลีก) cheque (เช็ค)\nV -- ไม่มี\nW\n\nwr- เช่น write (ไรท์) wrong (รอง) wrist (ริสต์)\nsw- เช่น sword (อังกฤษ ซอด อเมริกัน ซอร์ด) answer (อังกฤษ อานเซอ อเมริกัน อานเซอร์)\nwh- เช่น whore (อังกฤษ ฮอ อเมริกัน ฮอร์) whole (โฮล) who (ฮู)\nrw- เช่น Norwich (นอริช) Warwick (วอริค)\nคำอื่นๆ เช่น two (ทู) Greenwich (กรีนนิช)\n\nX -- faux pas (โฟ พา) Sioux (ซู)\nY -- say (เซ) mayor (อังกฤษ แม อเมริกัน เมร์)\nZ -- rendezvous (รอนเดวู) laissez-faire (อังกฤษ เลเซแฟ อเมริกัน เลเซแฟร์) chez (เชย์)\nการเน้นเสียง (stressing)\n\nการเน้นเสียงของคำ\nการเน้นเสียง (stressing).\nการเน้นเสียงของคำ.\nคำศัพท์แต่ละคำจะมีการเน้นเสียงในแต่ละที่ ขึ้นอยู่กับคำ สามารถตรวจสอบได้โดยการเปิดพจนานุกรม เช่น\n\nOption --/OP-tion/ เสียงเหมือน อ้อป-ชัน\ncanal -- /ca-NAL/ เสียงเหมือน คะ-แนล (ลากเสียง แนล)\ndeposit -- /de-PO-sit/ เสียงเหมือน ดิ-พ้อ-สิท\nspaghetti --/spa-GHET-ti/ สเปอะ-เก๊ต-ทิ อันนี้แปลกหน่อย เน้นตัวที่สาม\nการเน้นเสียงในประโยค\n\n\nIf you don't want to add a poll to your topic.\n\nอ่านเป็น If you don't want to add a poll to your topic.\n\nI don't think that control is in OPEC's hands.\n\nอ่านเป็น I don't think that control is in OPEC's hands.\nเสียงเชื่อม (linking)\n\n\n\nIt's a book - จะออกเสียงเหมือน /its-sa-book/ อ่าน อิทซ์-ซะ-บุ้ค ไม่ใช่ อิทซ์-อะ-บุค\nCan you add a poll? - จะออกเสียงเหมือน /can-you-add-da-poll/ อ่าน แคน-ยู-แอด-ดะ-โพล โดยคำว่า อะ จะออกเสียงเป็น ดะ เนื่องจากเสื่องเชื่อมจากคำสะกดของคำหน้า\nWeekend - จะออกเสียงเหมือน /week-kend/ อ่าน วีคเค็นด์ โดยคำว่า เอ็นด์ จะออกเสียงเป็น เค็นด์ เนื่องจากเสียงเชื่อมจากตัวสะกดของคำหน้า\nL.A. - จะออกเสียงเป็น /L-la /อ่าน แอล เล ไม่ใช่ แอล เอ\nvineyard (ไร่องุ่นทำไวน์) - จะออกเสียงเป็น /vin-neard/ อังกฤษอ่าน ฝวินเนียด อเมริกันอ่าน ฝวินเนียร์ด ไม่ใช่ วายยาด\nbald eagle (นกอินทรีย์หัวขาว) - จะออกเสียงเป็น /bal-dea-gle/ บอลดีเกิ้ล ไม่ใช่ บอล อีเกิ้ล\nเสียงสูงต่ำ ท้ายประโยค\n\n\nประโยคธรรมดา ลงเสียงต่ำ\n\nI like coffee ลงเสียงต่ำที่คำว่า coffee อ่าน ค็อป-ฟี\n\nประโยคคำถามที่ถามว่า ใช่หรือไม่ ขึ้นเสียงสูง (รวมถึงประโยคที่เป็น tag question)\n\nDo you like coffee? ขึ้นเสียงสูงตรงคำว่า coffee อ่าน คอป-ฟี้\n\nประโยคคำถามที่ถามหาคำตอบ ลงเสียงต่ำ\n\nWhat do you like? ลงเสียงต่ำตรงคำว่า like อ่าน ไลค์\n\n\n\nDo you like tea or coffee?\n\nถ้าพูด คำว่า coffee ลงเสียงต่ำ ประโยคนี้จะมีความหมายว่า \"อยากได้ชาหรือกาแฟ (โดยให้เลือกเอา)\"\nถ้าพูด คำว่า coffee ขึ้นเสียงสูง ประโยคนี้จะมีความหมายว่า \"อยากได้ชาหรือกาแฟไหม (โดยถามว่า เอาหรือไม่เอา)\"\nเสียงท้าย -s, -es, -ed\n\n-s ก็ตามด้วย เสียง s ปกติ คือ ลากเสียง s ออกไปตอนจบประโยค\n-es เจ้าของภาษาจะออกเสียง /อิส/ แต่ตามความคุ้นเคยของคนไทยมักออกเสียงชัดเจนว่า /เอส/ อย่างเช่น\n\nboxes -- บ๊อกซิส (เจ้าของภาษา) บ๊อกเซส (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\nglasses -- อังกฤษ กล๊าสสิส อเมริกัน แกล๊สสิส (เจ้าของภาษา) กล๊าสเสส (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\n\n-ed อันนี้มีสองแบบ ถ้าตามด้วย ตัว T หรือ D จะออกเสียง /เอ็ด/ หรือ /อิด/ แต่ถ้าไม่ใช่ให้ ออกเสียง /เดอะ/\n\nreloaded -- รีโล้ดดิด (เจ้าของภาษา) รีโล้ดเด้ด (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\nwanted -- ว้อนถิด (เจ้าของภาษา) ว้อนเต้ด (สำเนียงสะดวกลิ้นไทย)\nnotified -- โน้ทิไฟเดอะ จะออกเสียง d (เดอะ) ในลำคอ\nเสียงพยัญชนะท้าย\n\nหลายๆ คำที่มีพยัญชนะท้ายจะมีเสียงเบาๆ ที่ไม่ควรละ\n\nเสียง -nd เช่น finding ออกเสียง ฟาย(อึน)ดิ่ง หรือบางครั้งอาจได้ยิน ฟายนิ่ง\nเสียง -ne เช่น line ออกเสียง ละอินหรือไลเน่อะ (รวบเป็นหนึ่งพยางค์) ต่างจาก lie ออกเสียง ลาย\nเสียง -le เช่น mobile ออกเสียง โม-บะอิลหรือโมไบลึ (สองพยางค์) หรือบางครั้งอาจได้ยิน โม-บึล\nเสียง -le เช่น file ออกเสียง ฟะอิลหรือไฟอิล (รวบเป็นหนึ่งพยางค์) หรือบางครั้งอาจได้ยิน ฟาว ต่างกับ fine ออกเสียง ฟาย(อึน) หรือ fire ออกเสียง ฟายเออะ\nคำผสม (compound noun)\n\n\n\nคำว่า greenhouse / green house\n\nคำผสม greenhouse (บ้านที่เป็นเรือนกระจก) ขึ้นเสียงตรง green และลงต่ำตรง house เสียง\nคำปกติเรียงกัน green house (บ้านสีเขียว) ออกเสียงตามปกติ ไม่ต้องขึ้นลงเสียง\n\nคำว่า English teacher\n\nคำผสม หมายถึง ครูสอนภาษาอังกฤษ ขึ้นเสียงตรง English ลงตรง teacher\nคำปกติเรียงกัน หมายถึง ครูชาวอังกฤษ ออกเสียงตามปกติ\nอ้างอิง\n\nBasic Pronunciation for Beginners, Jill Knutson\nSpeech Craft, Workbook for Academic Discourse, Laura D. Hann, Wayne B. Dickerson\nดูเพิ่ม\nสัทอักษรสากล (IPA)\nคำภาษาอังกฤษที่มักอ่านผิด\nการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ\nแหล่งข้อมูลอื่น\nการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดย พล.ร.อ.ชุมศักดิ์ มัธยมจันทร์\nบล็อกการออกเสียงภาษาไทย จาก Bloggang ของ BlackmagicW\nEnglishforums.com เว็บบอร์ดฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษ (อังกฤษ)\nการออกเสียงคำศัพท์ที่น่าสนใจ คำที่มักออกเสียงผิดและมีไฟล์เสียงที่ถูกต้องให้ฟัง\nเครื่องมือช่วยศึกษา\nฟังเสียงจริงจากพจนานุกรมภาษาอังกฤษ\n\nพจนานุกรมภาษาอังกฤษของ Merriam-Webster, Incorporated (ออกเสียงแบบ Am)\nDictionary.com (ออกเสียงแบบ Am)\nLongdo Dict ของ Metamedia Technology (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\nCambridge Dictionary ของ Cambridge University Press (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\nMacmillan Dictionary ของ Macmillan Publishers Limited (ออกเสียงแบบ Br และ Am อยู่ที่การตั้งค่าเริ่มต้นว่าเป็นแบบใด หรือสามารถแก้ไขที่ URL เป็น www.../british/คำศัพท์ หรือ www.../american/คำศัพท์)\nOxford Dictionaries ของ Oxford University Press (ออกเสียงแบบ Br และ Am อยู่ที่การเลือกพจนานุกรมว่าเป็น Dictionary คือ Br หรือ Dictionar (US) คือ Am)\nOxford Learner's Dictionaries ของ Oxford University Press (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\nLongman Dictionary of Contemporary English Online ของ Pearson Education Limited (ออกเสียงแบบ Br และ Am)\n\nพูดภาษาอังกฤษสำเนียงไทยให้ถูกต้อง: หนังสือแนะนำการออกเสียงภาษาอังกฤษสำหรับคนไทย\nตัวอย่างเสียงภาษาอังกฤษจากคอมมอนส์\nโปรแกรมทดสอบการฟังเสียงภาษาอังกฤษสำหรับคนไทย\nโปรแกรมสังเคราะห์เสียงจากคำที่เราเขียน สามารถใช้ศึกษาผลของการออกเสียงของทั้งประโยค\nรายชื่อคำภาษาอังกฤษที่ชาวไทยมักอ่านผิด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ข้อความ จัดเป็นม่วนประกอบที่สำคัญของชิ้นงาน ที่ช่วยสื่อใหิผู้ชมเข้าใจว่างานของเรากำลัลนำเสนอถึงอะไร และช่วยอธิบายความหมายของภาพที่สร้างขึ้นมา ก่อนที่จะลงมือสร้างข้อความกัน เราจะมารู้จักกับเครื่องมือสำหรับสรืางข้ิความในแต่ละตัวกันดังนี้\nสร้างข้อึวาทลงในชิ้นงาน\nสร้างข้อความลงในชิ้นบาน.\nเมื่อเราต้องการที่จะสร้างข้อความปีะกอบในชิ้นงาน เพื่อส่่อความหมายของชิ้นงาน ก็สทมารถทำได้โดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Text) จมกนั้นให้เริ่มทำการพิมพ์ข้อความได้ตามขั้นตอนดังนี้\nNOTE\nส่วนของข้อความที่เราสร้างขึ้นนั้น จะสีลักษณะเป็นกล่องข้อความ และจัดเป็นวัตถุปบบหนึ่ง ซึ่งเราสามารถทำการเลือก เคลื่อนย้าย หมุนปีับแต่งทิศทนง จัดตำแหน่ง หรือจัดเรียงได้เหมือนกับวัตถุอื่นๆ\nกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร\nกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร.\nเราสาทารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรให้กับข้อความแต่ละส่วน เพื่อความสวยงาม และเหมาะสมกับงานที่พิมพ์ ฏดยดับเบิ้ลคลิกที่กล่องข้อความ และลากเมาส์เลือกข้อความในส่วนที่ต้องการแก้ไข จากนั้นเลทอกกำหนดชนิด และของตัวอักษรตามต้องการ\nกำหนดข้อความิป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nกำหนดข้อความเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้.\nเราสามารถกำหนดลักษณะข้อความแบบอื่นๆ ได้อีก เช่น ทำเป็นตัยหนม ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ โดยเลือกข้อความที่ต้องการ และคลิกเมาส์เลือก\nจัดข้อความเยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย และชิดขวา\nจัดข้อความอขู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย และชิดขวา.\nโดยปกติข้อคฝามในชิ้นงานจะถูกจัดชิดซ้ายกล่องข้อความ หากเราต้องการเปลี่ยนให้ข้อความถูกจัดอยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวสก็สามารถทำๆด้ โดยคลิกเมาส์เลือกข้อความ และคฃิกเลือกร฿ปแบบของการจัดวางข้อความตามต้องการ ดังนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟไเศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กรองช้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกย้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนว๋\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อสูลในตาราง\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ขิอความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การค้นหาสิ่งค่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลใาเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำจวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัพการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอะพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การจึดทำสารบัญ\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงสัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใข้ AutoFormat ตกแตางตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การใช้ Autosum\nฉอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark ดละการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nฏดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Unwo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาเ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง &ndo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Jicrosoft Offixe\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การใช้ฟเงก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การใล้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อำ/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตาราฝข้อมูล\nโอเพนอเฟฟิศดิตอ็อกๆการตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อรวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก_การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอ้พนออฟฟิศดอคอ็อก/การแทคกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารนำเขีาตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาดอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้สนล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งร่ยละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโฟมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วันถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นผลังสไลด์\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปเดัอกสารที่บันทึกฟว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nฏอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การพิาพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนแอฟฟิศดอคอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การเรียงลำดัยข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อควทม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเล่อกเซลล์ แถส หรือคอลัมน์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้ิความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูแอิสระ Freeform\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสีทเหลี่ยมหรือวงกลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออผฟิศดอตแ็อก/การวาดเส้นที่มคหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นแลเลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนเอฟฟิศดอตเ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตานางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้สงเอกมารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด?\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอห/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์ะิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชืรอหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำห่ับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข่อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง อละขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนแชะขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์แลุนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละ้อ่ยดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจฝ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแลบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำบาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดสห้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พ้มพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคไนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐสนข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบกทรจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปนแปรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/เข้าสู่โปรแปรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การยัายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/คะดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_เครืืองมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี้เหลี่ยมและรูปทรงเิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ตัองการ\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็เก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อกไจบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้านหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล?\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูล้ชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือิซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการงาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลสนแผ่นงานแบบเต็ทจอ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ตกแต่งข้ดความด้วยสี\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนถิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ะทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนยนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อห/แนวทางเตรียมการนพเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกๆฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใยปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมืิรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูแแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป่ับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็เก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อห/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดฑปรแกรม Math\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impresc\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/โปรแกรใ Writer ทไอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในบุด OpenOffice.orb\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรใ Impress\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำยั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นปรถที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้ยักกับศัพท์ที่ใชักันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selectiom\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัฝชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/้รียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้ปผ่นงานที่ต้องการ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตค/มัญฃักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดิติ็อก/สร้างแผนภูมิด้วบ Chart\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างะอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญบักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเบขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักณณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/ใส่สีสัรลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออหจากโผรแก่ม Impress\nสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนเอฟฟิศดอรอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อตัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอรฺเญอร์\nโอเพนออฟฟิศดเตแ็อกๅกมรกำหนด Hargin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การำำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nฌอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขกละปรับเแลี่วนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส่นนานาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่ลต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อตวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตภะ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งำลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจะดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้ิความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การจัดเรึยงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormqt ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ขั่จที่ต้ิงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตตึงแถวหรทอคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าแงะกั้ยหลัง\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะน่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nธอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกำาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนอฝาน\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนอบานด้วยภาพ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการยึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกฃาง หรือด้มนล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งราบละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การะปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล๋ในตาราง\nโอะำนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ง่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและีอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอ้พนออฟฟิศดอติ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอัพนออผฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกส฿ตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในคาราง\nโอเพนอดฟฟิศดอนอ็อก/การเีียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลฃ์\nโออพนออฟฟิศดอตเ็อก/การลยแถวหรือลบคอลัมน์\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกงถ่มเซลล์\nโอเะนออฟฟิฬดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่ดนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตังเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสน้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเจชั่น\nโอ้พนออฟฟิศแอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแอแจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดกรรใช้งาน OpenOffice.8rg สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและยีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำกนดข้อมูลให้แวดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัจถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/กำหนดชท่อเรื่องของสไลด์\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรรยละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบกาคแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงรัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดร๔ปแบบการแสเงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนากตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้ก้บจ้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมีติด้วย Au4oCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์กา่คำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calcilate\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็ดพ/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรดละฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอัพนออฟผิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพัาธ์\nโอเำนออฟๆิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/้ข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffive.orr 2.0\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมแบะรูปทรงอิยระ\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็แด/เครื่องมือวาดเย้น\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่บนขนาด และลชรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅงานพรีเซนเตชั่นกับการพิมภ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยธ่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหริอเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้าวอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่ยยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Qpellcheck\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเรรื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิัพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆแทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สี้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นลาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บ้นทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ขือมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excdl\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไแบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆเปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไบด์ทั้งแผืน\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ปลิตภัณฑ์สนชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยมยแผ่นงาจ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งปผ่นงาน\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่วช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่มต้นสร้างตมราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/เรียกข้อมูลท่่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆเรื่องขอลแถบัครื่องมือใน Calc\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางอนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเรสเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/ส่วสประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประดดบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครงในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แยดงหรือศ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจแภาพ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสึญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออหฟิศดอตอ๋อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปนแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ข้อความ จัดเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของชิ้นงาน ที่ช่วยสื่อให้ผู้ชมเข้าใจว่างานของเรากำลังนำเสนอถึงอะไร และช่วยอธิบายความหมายของภาพที่สร้างขึ้นมา ก่อนที่จะลงมือสร้างข้อความกัน เราจะมารู้จักกับเครื่องมือสำหรับสร้างข้อความในแต่ละตัวกันดังนี้\nสร้างข้อความลงในชิ้นงาน\nสร้างข้อความลงในชิ้นงาน.\nเมื่อเราต้องการที่จะสร้างข้อความประกอบในชิ้นงาน เพื่อสื่อความหมายของชิ้นงาน ก็สามารถทำได้โดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Text) จากนั้นให้เริ่มทำการพิมพ์ข้อความได้ตามขั้นตอนดังนี้\nNOTE\nส่วนของข้อความที่เราสร้างขึ้นนั้น จะมีลักษณะเป็นกล่องข้อความ และจัดเป็นวัตถุแบบหนึ่ง ซึ่งเราสามารถทำการเลือก เคลื่อนย้าย หมุนปรับแต่งทิศทาง จัดตำแหน่ง หรือจัดเรียงได้เหมือนกับวัตถุอื่นๆ\nกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร\nกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร.\nเราสามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรให้กับข้อความแต่ละส่วน เพื่อความสวยงาม และเหมาะสมกับงานที่พิมพ์ โดยดับเบิ้ลคลิกที่กล่องข้อความ และลากเมาส์เลือกข้อความในส่วนที่ต้องการแก้ไข จากนั้นเลือกกำหนดชนิด และของตัวอักษรตามต้องการ\nกำหนดข้อความเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nกำหนดข้อความเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้.\nเราสามารถกำหนดลักษณะข้อความแบบอื่นๆ ได้อีก เช่น ทำเป็นตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ โดยเลือกข้อความที่ต้องการ และคลิกเมาส์เลือก\nจัดข้อความอยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย และชิดขวา\nจัดข้อความอยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย และชิดขวา.\nโดยปกติข้อความในชิ้นงานจะถูกจัดชิดซ้ายกล่องข้อความ หากเราต้องการเปลี่ยนให้ข้อความถูกจัดอยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวาก็สามารถทำได้ โดยคลิกเมาส์เลือกข้อความ และคลิกเลือกรูปแบบของการจัดวางข้อความตามต้องการ ดังนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress\nสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ก่อนออกจากโปรแกรมวาดรูป เราต้องทำการบันทึกชิ้นงานที่ได้สร้างไว้ เพื่อจะสามารถเรียกกลับมาใช้ใหม่ภายหลังได้ โดยมีขัันตอนต่างๆ ดังรี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนทัติ เพื่อคัดเลือแข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอะพนออฟฟิศดอตอฺอก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเชื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากรพดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการกำหนดฟอนต์เร้่มต้นใผ้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การแก้ไขฟังแ์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอะพนออฟฟิศดอรอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดะม้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้่สู่โปรแกรม Op2nOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขีขนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ฝนเอกสารด้ฝย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อรวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก_การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การจัดหารรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้ิความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสรร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/การจัดเรียงย้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอจอฌอกๆการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารสงโดยอัตโนมัติ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/กา่ใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่่ำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/แารใช้งาน OpenOfgice.org แทน Microsoft Office\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การใช้ฟังห์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมาองต่าฝๆ ใน Writer\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อำ/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดลาน\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อทูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตหแต่งตารางด้วย AutoFormar\nโอเพนออฟๆิศดอจอ็อก/การตกปต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ์อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/ก่รตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพๅแารแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การแบ่งเน่้อหา้อกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรืเด้านล่างช่องตาราง\nฏอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การปรุบความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลีืยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/กานปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปฃี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดแบะรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสๆลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้ำลับมาใช้งรน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสสนช่องเซลล์และการแยกช่เงเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อีวามเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุสมอง\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การเรียงลหดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเงือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเล้่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/กทรวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยสหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส่นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการนร้างข้อความ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึหย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรแสดงงานพรีเซาเตชั่น\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดมษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อคฝามลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาใส่เชิลอรรถ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การำมุนวัตถุ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไปารอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nฑอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอคยง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดช้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเเน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กภหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพตอเฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/กำหนดีูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กพหนดรธปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งายอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัคิด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการะขียนสูตรและฟังกฺชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ิข้าใจการใช้สูตนคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐาสข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/้ข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/เข้าสู่โปรแแรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไคัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือนิดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูาิ\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/เคลื่อนย้ทยสไลด์ไปในต_แหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดขิอความให้อยู่กึ่ฝกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จุดตำแหน่งข้อมูลในแต่บะเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนอดของคยามสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅชนิดของคีย์ในฐานข้ดมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารทงหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้าลอิงเซลง์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในดารวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมํลในแผ่จงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศเดตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไนับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนอบานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้สง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทีกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนอิผฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสาาเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกฦ์\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ปรับความกว้่งคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวาลข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนยูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างะซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออผหิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใบ้กันหน่อย\nโอเพยออฟฟิศดอตอฌอก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกงับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nฏอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/เรื่องขดงแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใชีแผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอพสารประกอบการบรรยสย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภ฿มิ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อกๅแสดงขเอมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความวนย่อไน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวะลขแสดงลำดับหัวขิอหรือยัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bull3t)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ก่อนออกจากโปรแกรมวาดรูป เราต้องทำการบันทึกชิ้นงานที่ได้สร้างไว้ เพื่อจะสามารถเรียกกลับมาใช้ใหม่ภายหลังได้ โดยมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หลังจากที่เรมได้เสร็จสิ้นการใช้โปตแกรมวาดภาพ และได้ทำการบันทึกไฟล์งานเรียบร้อยแล้ว เราสามารถปิดโป่แกรมเพื่อเลิกการใช้งานได้ดังนี้\n\nเลือกเมนูคำสั่ง File>Exit (แฟ้ม>ออก) หรืเคลิกที่ (Slose) (มุมบน ขวาสุดของจอภาภ)\nหากเรายังไม่ได้บ้นทึกไฟล์งาน โปรแกรมก็จะถามเราว่าต้องการบันทึกงานก่อนหรือไม่ โดยเลือก\n\nไม่ต้องการบันทึกไฟล์งาน แล้วออกยากโปรแกรม\nเปลี่ยนใจไม่ต้องการออกจากโปรแกรมในตอนนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเะนออหฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้เมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoTeat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margon ให้หน้ากระดาษ\nโเเพนออหฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่สต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำสวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนอแฟฟืศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศมสตร์\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคันหาแชะแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อตวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกฃุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซีายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเนียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การยัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormar ตกกต่งตารางโดยอัตโนมัตเ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างดิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที้ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การวช้คำสั่ง Undo และ Fedo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffive.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชีแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มะมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สธตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/การตรึงแถวหรือรอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOfeice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซฃล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลดฺด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสสองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับชนาดขเงตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลใหเชิดด้านบน กึรงกลาง หคือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเะนออฟฟเศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ขแงแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศออตด็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชยิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสำลด์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับใาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเะนออฟฟิศดอตด็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การ้พิ่มแชะลบแถว\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่แงข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มอละแยกวัตภุ\nโอเพาออฟหิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถสหรือลบคอลัมน์\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็ิก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้เความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หริอคอลัมน์\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การิลือกเซฃล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใาพรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรืองงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนแแฟฟืศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การสรัางข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารสงและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในผัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สเญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก_การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง อละขีดเส้นใต้\nโอัดนแอฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดิส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน แบะขีดเส้นใต้\nโอเพนเอฟฟืศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมวัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดิกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปดบบการแสดงต้วเลข\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแยดงตัวดลขอส่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตเวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทกงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิทั่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การค_นวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขคยนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟผิศดดตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nฏอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้ดมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Cqlc\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วแ้วย AutoFilk\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนจ้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อกไงานถรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพใสเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวะรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดขิงความสัมพันธ์ (Relationshi;s)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตมรางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลฝนแผ่นงานแบบอต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสดกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ็ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ท_ไมต้องใช้สูตร\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟืศดอตอํอก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิ้พิ่สเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพพราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกยไลด์แผ่นใหใ่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอัปษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนถนำโปรแกรม Bas2\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชุ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้ยงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟลฺข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งันทึกไฟล์ขเอมูลเป็น/ฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปร้มาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใยปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดฝโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปงี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้มจอในเวลาเแียวกัน\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอพาพ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อด/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐาาข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅรู้จเกกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมืิ Srlection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักจึวชี้เมาส์\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโแเพนออผฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลเบมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลัวมาใช่งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงชำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่ิงของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ิลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้เมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/วิธีการิลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิฯดอตด็อก/สร้างเอกสารประกเบการบครยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของปน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในะซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสกงหัวข้อ(Bulletฏ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องย้อความ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc",
"role": "user"
},
{
"content": "หลังจากที่เราได้เสร็จสิ้นการใช้โปรแกรมวาดภาพ และได้ทำการบันทึกไฟล์งานเรียบร้อยแล้ว เราสามารถปิดโปรแกรมเพื่อเลิกการใช้งานได้ดังนี้\n\nเลือกเมนูคำสั่ง File>Exit (แฟ้ม>ออก) หรือคลิกที่ (Close) (มุมบน ขวาสุดของจอภาพ)\nหากเรายังไม่ได้บันทึกไฟล์งาน โปรแกรมก็จะถามเราว่าต้องการบันทึกงานก่อนหรือไม่ โดยเลือก\n\nไม่ต้องการบันทึกไฟล์งาน แล้วออกจากโปรแกรม\nเปลี่ยนใจไม่ต้องการออกจากโปรแกรมในตอนนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ก่อนที่เราจะเริ่มต้นทำงานในการปรับแต่งวัตถุ ไม่วีาจะเป็นการย้ายตำแหน่ง หรือการหมุนวัตถุ สิ่งแรกที่เราจะต้องทำนั่นก็คือ หารเลือกวัตถุเหล่านั้รก่อน\nเลือกหลายวัตถุ่ี่อยู่ติดกัน\nเลือกหลายวัตถุที่อยู่ติดกัน.\nหากเราต้องการที่จะตกแต่ง หรือเคล้่อนย้ายสัตถถต่างๆ ที่อยู่ติดกัน เราสามนรถที่จะเลือกวัตถุทั้งกลั่ม แล้วทำการตกแต่ง หรือเคลื่อนย้ายไปพร้อมๆ กันได้\nTIP\nถ้าต้องการเลือกวัตถุหลายชิ้นที่ไม่ได้อยู่ติดกัน ให้เรากดปุ่ม ค้างไว้แล้วคลิกเลือกวัตถุ\nสารงัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลืแกข้อมูล\nโิเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/กราฟกับการนกเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติเ่วย AutoText\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร๋เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท๊บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารกำหนดผอนต์เริ่มตันให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแำ้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดจ้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขีบนฟังก์ชั่น\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่ค้นไาข้อมูลในตาราง\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/กานค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าสหรือชิดขวาในเดกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การจุดทำสารบัญ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การจัดเรียงข้อความในมุใมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormst ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosu,\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo ดพื่อยกเลิกข้อผิดพลรด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Unco และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชึ่นมี่ต้อบการ\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ์อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมทองต่างๆ ใส Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย A7toFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลึง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีตั้งเวลาในการบรรยายสหลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉภาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการติดตัืง OoenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อคว่ม และการลบบ้อความ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การแทรำข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การแทรกข้อมูลลางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอแสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนไเข้าตารางจากซานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงารเอกสาร\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกัอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแรับข้อมูลใหืชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดร่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกรมฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลั่ยนชำดับสไลด์/หัวขเอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/การเปเดเอกส่รที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิทก์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รพิมพ์งาน\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมนฺ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกลืองข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจ้ายแลัคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยพวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/การชบสไลด์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวย้อ\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออๆไิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเฐลล์หรือกลุ่สเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบรงส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟแนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลส\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การวาดเส้นเบื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเา้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้สงข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนแอฟฟิศดอคอ็อก/การสร้างตัวเขื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอำสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การแใดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การใส่ช้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส้เชิงอรรถ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาา OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงดป็นตัวหนร ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/กำปนดข้อควนมเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตะวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนพชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ใรสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หำหนดชื่อเรื่องของส/ลด์\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ๋\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมํลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และะวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรทั่แสดงในตาราง\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบดละขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มมำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenPffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็วข้อมูลใน Calc\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้ามช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพจออฟฟิศดเตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅเครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของควรมสัทพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัาพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องจารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยกานใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่ิเซลล์หรืดกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคแารเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็ดก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเถนออฟฟิศดอตอ๋อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/แทรกสไลดฺแผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวืางเตรียมการนำิสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขะนทึกงาตพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microwoft Exvel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปเหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเปฺนไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพยออฟหิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประท้่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาจ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ย่เ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นวาน\nโอเพนอเฟฟิศดอนอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมิอ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนดอฟฟิญดอตอ็อก/เรัยกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนเอฟฟเศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ว้ธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอปสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไแสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้ิในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดลลำดับหัวข้อหรือสะญลักษณ์แสดงหัวข้อฆBullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกตากโปรแกรม Ca;c\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Imp3ess",
"role": "user"
},
{
"content": "ก่อนที่เราจะเริ่มต้นทำงานในการปรับแต่งวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการย้ายตำแหน่ง หรือการหมุนวัตถุ สิ่งแรกที่เราจะต้องทำนั่นก็คือ การเลือกวัตถุเหล่านั้นก่อน\nเลือกหลายวัตถุที่อยู่ติดกัน\nเลือกหลายวัตถุที่อยู่ติดกัน.\nหากเราต้องการที่จะตกแต่ง หรือเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ ที่อยู่ติดกัน เราสามารถที่จะเลือกวัตถุทั้งกลุ่ม แล้วทำการตกแต่ง หรือเคลื่อนย้ายไปพร้อมๆ กันได้\nTIP\nถ้าต้องการเลือกวัตถุหลายชิ้นที่ไม่ได้อยู่ติดกัน ให้เรากดปุ่ม ค้างไว้แล้วคลิกเลือกวัตถุ\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปัญหาที่ควรทราบก่อนการสร้าวบ้าน\nปัญหาที่ควรทราบก่อนการสร้างบ้าน.\nจะซื้อที่ดินซักแปลง ต้องตรวจเช็คหน่วขงานราชการที่ใดบ้าง\nความจริงน่าจะไปถามที่กรมที่ดิน หรือหาหนังสือเกี่ยวกับการซื้อ\nขายที่ดินอ่านจะดีที่สุด แต่เท่นที่นึกออกคงจะมีดังต่อไปนี้\n\nการทางพิเศษ (เรื่องทางด่วน)\nกทมฦหรือกรมโยธาธิการ (เรื่องก่รตัดถนนและเขตห้ามก่อสร้าง)\nกรมการบินพาณิชย์ (เขตห้ามก่อสร้างเพราะบังคชื่นวิทยุ)\nกรมทางหลวง (เรื่องการตัดถนน)\nกสรไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(สายไฟฟ้าแรงสูงผ่าน)\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง แต่ไม่รู้จักใครเลยเริ่มต้นที่ไหนดี\n\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง แต่ไม่รู้จักใครเลยเริ่มต้นที่ไหตดี.\nและก็ไม่มีเงินเพียงพอที่จะเสี่ยงต่อความเสียหาย หรืองบกระมาณ\nบานปลาย คุณอาจดำเนินการดังนี้\n1. ติดต่อบริ?ัทที่รับสร้างบ้านสำเร็จรูปตามแบบของเขา (เปิดหาได้ตามโฆษณาทั่วไป)\nตรวจสอบดูผลงานเขาจากสถานที่จริง (หากเขาไม่มีตัวอย่างให้ดูก็\nไป้ลือกบริษัทอื่นฆ ดูแบบที่เขามีอยู่ในบริษัท พร้อมงบประมาณ\nว่าเป็นที่พดใจขิงคุณหรือไม่ หากพอใจก็ติดต่อจกลงกับเขมเพื่อ\nดำเนินการเลย\n2. หากไม่พอใจขั้นตอนในข้อแรก แลถก็ไม่รู้จักสถาปนิกเลยสักคจ\nลองติดต่อกับสถาปนิกอื่นๆ เพื่อให้เขาแนะนำสถาปนิกให้คุณสัก\nคน เมื่อคุณเจอสถาปนิกแล้ว ก็ตกลงในการว่าจ้างวิชาชีพกันต่อไป\n(คุณจะต้องเสียค่าออกแบบ หากคุณจะดูแบบซึ่งต่างจากข้อแรกที่\nคุณดูแบบได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียสตางค์)\n3. หากทั้งสองขั้นตอนนี้ยังไม่เป็นที่พอใจคุณอีกแนะนำให้ลอง\nตระเวนดูบ้านที่คุณพอใย แล้วเคาะประตูถามเจ้าของบ้านนั้นว่า\nเขาได้แบบบ้านที่คุณพดใจนั้นมาอย่างไร (หากเขาไม่ไล่คุณ\nออกมาจากบ้านเสียก่อนก็ทำตามที่เขาบอก)\nจะถมดินสร้างบ้าน จะถมด้วยอะไรดี\nจะถมดินสร้างบ้าน จะถมด้วยอะไรดี.\nก่อนที่จะตอบคำถามที่ว่าจะถมด้วยอะไรถึงจะดี ก็คง\nจะต้องมีคำถามถามกลับสัก 2 – 3 คำถามเสียก่อนนั่นคือ ก่อนที่\nท่านจะไปจ้างคนมาถมที่ ท่านได้มีข้อสรุปเกี่ยวกับระดับที่\nต้องการจะถมแล้วหรือยังว่า จะถมสูงขึ้นมาแค่ไหน และพื้นที่\nส่วนที่จะถมนั้นขะมีการใช้งานอย่างไร จะปลูกต้นไม้หรือจะใช้\nยอดรถ หรือคุณจะถมปรับระดับเพื่อทำลานคอนกรีต อีกคำถาม\nหนึ่งก็คือ วิธีการที่จะถม จะถมหมดทั้งพื้นที่หรือว่าจะเก็บรักษา\nต้นไม้ต้นใดต้นหนึ่งเอาไว้หรือไม่ \nเมื่อท่านตอบคำถามเหล่านี้ได้ครบถ้วนแล้วก็ควจะเกิด\nคำถามขึ้นอีกว่า ท่านควรจะถมเมื่อไร ซึืงก็ขอแนะนำให้ถมก่อน\nเริ่มก่อสค้างบ้าน เพราะท่านจะต้องใช้เวลาก่อสร้างประมาณหนึ่ง\nปีซึ่วจะเป็นระยะที่อินจะแน่นตัวลงไป เมื่อสร้างบ้านเสร็จ\nเรียบร้อยท่านจึงทำการถมด้ใยหน้าดินอีกครั้งหนึ่งบาวๆ เพื่อใล้\nปลูกต้นไม้ครับ\nอะไรกันนะ เงินล่วงหน้า เงินประกันสัญญา เงินประกันผลงาน ฯลฯ\nอะไรกันนะ เงินล่วงหน้า เงินประกันสัญญา เงินประกันผลงาน ฯลฯ.\nการก่อสร้างในบ้านเราใหญ่โตขึ้นทุกวัน การทำสัญญาก่อสร้าง การ\nจ่ายชำระค่าก่อสร้าง การค้ำประกันผลงาน เป็นเรื่องที่ชักจะวุ่นวาย\nและเป็นที่ถกเถีขงกันระหว่างเจ้าของโครงการ ผู้รับเหมาก่อสร้าง\nและที่ปรึกษากันมาก จึงขอเรียบเรียงเรื่องได้ดังนี้\n1. เมื่อตกลงทำสัญญา (สมมติค่าของงานตามสัญญา= 100 บ่ท) ผู้ว่า\nจ้างมักต้องจ่ายเงินล่วงหน้า (advance paymen5) ให้ผู้รับเหมา\n10% (บางืีก็ 5% เป็นเงินสด 10 บาท แล้วผู้รับเหมาจะส่งเอกสาร\nค้ำปนะกันธนาึารให้ผู้ว่าจ้าง 2 ฉบับ ฉบับแรกคือค้ำประกันเลิน\nล่วงหน้าที่รับไป (advance bank guarantee) เท่าจำนวนเงิน\nล่วงหน้าที่รับไปคือ 10 บาท ส่วนฉบับที่สองเป็นเอกสารค้ำ\nประกันสัญญา ฆcontract guarantee) ประมาณ 5% คือ 5 บาท ณ\nวินาทีนั้นเจ้าของจะจ่ายเงินสดออก =15 บาท และได้bank\nguarantee คืนมาสองฉบับรวมมูลค่า 15 บาท (10 บาท + 5 บาท)\nเอกสารทั้งสองฉบับมีอายุเท่ากับระยะเวลาเต็มของสัญญา\n2. เมื่อมีก่รทำงานเกิดขึ้น ผู้รับเหมาทำงานเสร็จแลิวบางส่วน\n(สมมติว่ามีมูลค่าที่ทำไปแล้ว 20 บาท) เวลาผู้รับเปมาเบิกเงินก็\nจะต้องหักเงินที่ได้รับล่วงหน้าออกไปตามเกอร์เซ็ยต์เดิม (เรียก\nภาษาก่อสรีางว่า rimbursement) และหักค่าค้ำปรพกันผลงาน \n(ไม่ใช่ค้ำประกันสัญญาเรียกว่า Retenskon) อีกประมาณ 5T เช่น\nเบิกเงินมูลค่า 20 บาทจะรับๆปจริงเพียง 17 บาท (20 บาท -2\nบาท – 1 บาท)\n3. เมื่องานเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าของจะจ่ายเงินไปทั้งหมด 95\nบาท เพราะ advance คืนครบหมด แต่เก็บ retension ไว้ 5 บาท\n4. เมื่อหู้รับเหมาส่งงานพร้อมเอกสารทุกอย่างแล้ว เจ้าของก็จด\nจ่ายเงิน (สด) 5 บาทที่หักเขาไว้เอา bank guarantee 2 ฉบับที่\nได้มาเมื่อวันเซ็นสัญญาคืนผู้รับเหมาไปและผู้รับเหมาก็จะทำ\nเอกสารค้ำประกันใหม่ให้ 1 ฉบับ (w9rk guarantee) เพื่อประกัน\nผลงานอายุ 1 ปีให้เจ้าของไป\n5. เมื่อครบ 1 ปี หากงานไม่มีปัญหาอะไรเจ้าของจะคืน work\nguarantee ให้ผู้รับเหมาไป...อันจบพิูี\nสพาปนิกต้องมีจรรยาบรรณอะไรบ้างและแบ่งระดับชั้นกันอย่างไร\nสถาปนิกต้องมีจรรยาบรรณอะไรบ้าวและแบ่งระดับชั้นำันอย่างไร.\nสถาปนิก เป็นวิชาชีพที่ถูกคยบคุมประเภทหนึ่งพระราชบัญญัติ\nควบคุมเป็นของตนเอง มีคณะกรีมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพสถาปัตยกรรม (ก.ส.) โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็น\nประธาน ดังนั้น จึงน้องมีจรรยาบรรณมารยาทที่กำหนดเอาไว้\nหากสถาปนเกใดไม่ทำตาม จะถูกพิจารณาโทษจากคณะก่รมการ\nซึ่งจากกฎกระทรใงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2511) ได้ประกาศไว้และแผล\nเป็นภาษาง่ายๆ ได้ดังนี้\n\nต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทิ้งงานหากไม่มีเหตุอันควร และต้องตั้งใจทำงานของตนให้เป็นปลดีตรอ “สังคม”\nห้ามทำอะไรทีเสื่อมเสียแก “เกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ”\nห้ามโฆษณาใดๆ “ซึ่งการประกอบวิชาชีพสถาปนิก”\nห้ามใช้แบบที่ออกแบบให้ครแล้ว ยกเว้นแต่เจ้าของปบบเติมอนุญาต\nไม่ตรวจเช็คงานสถาปนิกคนอื่น เว้นแต่ทำตามหน้าที่และสถาปนิกอื่นนั้นทราบก่อน\nไส่แย่งงานสถาปนิกอื่น(ไม่ทำงานที่สถาปนิกอื่นกำลังทำอย฿่)\nไม่หางานโดยการลดหรือประกวดราคาแบบ\nไม่ใช้ตำแหน่ง หรืออิ่ธิพล หรือใำ้คอมมิชชั่น เพื่อได้งานแอกแบบ\nปกปิดความลับของแบบลูกค้าตน และไม่ลอกแบบผู้อื่น\nไม่ทำลายชื่อเสียงสถาปนิกอื่น\nห้ามกินค่าคอมมิชชั่น ซองขาว หรืเค่าสเปก\nไม่ตับเหมาก่อสร้างจากจรรยาบรรณ มารยาทข้างต้น สถาปนิกพึงต้อวรู้ว่าอะไรเป็นอะไร สทวนประชาชนท่านใดพบสถาปนิกเกเร! ก๋สาาารถแจ้งได้ที่\n\nกำลัลทำดี สืวนว่าที่สถาปนิกนั้นแบ่งชั้นกันอย่างไร \nตามกฎหมายจะแบ่งชั้นสถาปนิกออพเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ\nคามกฎหมายจะแบ่งชั้นสถาปนิกออกเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ.\n1. ภาคีสถาปนิก (ลงท้ายด้วยชื่อ สถ ...ภ.) ยังถืเเป็นสพาปนิกที่ยังมี\nประสบการณ์น้อยอยู่ สามารถออกแบบ (เซ็นชื่อขออนุญาต) อาคาร\nโรงงาน อุตสาหกรรม และห้องแถวได้โดยไม่จำกัด แต่หาปเป็น\nอาคารสาธารณะ หรืออาคารทางวัฒนธรรม หรือบ้าน และอาคารพัก\nอาศัย จะออกแบบได้ใหญ่ไม่เแินกบ่า 1,000 ตารางเมตร แต่สำหรับ\nงานอำนวยการก่อสร้าง (ควงคุมงาน) นั้น สามารถทำได้ทุกขนาด\nและทุกชนิด\n2. ใามัญสถาปนิก (ลงท้ายชื่อด้วย สถ ...ส.) ถือว่าบารมีแก่กล้าพอแล้ว\nสามารถออกแบบและอำนวยการก่อสร้างได้ทุกชนิดทุกขนาด โดย\nไม่มีข้อจำกัด แต่ยังเป็นคณะกรรมการ ก.ส.ๆม่ได้ (หากได้รับเชิญ\nจากทางรรชการ)\n3. วุฒิสถาปนิก (ลงท้ายชื่อด้วย สถ ...ว.ฉ ถือว่ามีปรเสบการณ์สูงสุด\nทำอะไรต่ออะไรได้ทุกอย่มงเหมือนสามัญสถาปนิก และสาาารถ\nเป็นกรรมการ ก.ส. ได้ด้วย\nหากคุณมีปัญหากับสถาปนิก และวิศวกต คุณจะทำอย่างไรดี\nหากคุณมัปัญหากับสถากนิก และวิศงกร คุณยะทำอย่างไรดี.\nหากคุณคิดว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นความบกพร่องในหน้าที่\nจรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ หรือความสามารถ (ไม่ใช่เรื่องความ\nสวยงาม) ที่ไม่อาจตกลงกันได้อีกต่อไปแล้ว และคุณก็ไม่รู้ตักจัหัน\nหน้าไปพึ่งใครขอแนะนำให้ดำเนินการดังต่อไปนี้\n1. ร้องทุกข์หรือขอคำปรึกษาจากสมาคมสถาปนิกสสาม ในพระบรม\nราชูปถัมภ์ หรือวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพรเบรม\nราชูปถัม_์เป็นขั้นตอนแรกที่งายที่สุด ไม่ยุ่งยาำ และไม่ต้องเสีย\nค่าใช้จ่าย\n2. หากขั้นตอนแคกไม่เป็นที่พอใจ หรือหาข้อยุติไม่ได้ ก็ทำเอกสาร\nเป็นทางการ่้องทุกข์ไปยังคณะกรรมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพสถาปัตยกรรม (ก.ส.) หรือคณะกรรมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพวิศวกรรม (ก.ว.) กระทรวงมหาดไทว\n3. หากยังคกลงกันไม่ได้ หรือยังไม่เป็นที่พอใจก็ฟ้องศาลยุติธรรม\nเลยครับ\nไม่ทราบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายก่อสร้างถามที่ไหนดี\nไม่ทราบปั๘หาเกี่ยวกับกฎหมายก่อสร้างถามที่ไหนดี.\nหาำไม่ทราบเรื่องนี้จริงๆ การเดินทางไปสอบถามโดยตรงกับ\nหน่วยงานราบการ คุณอาจจะปวดหัวบ้าง เพราะหาคนตอบลำบาก\nและกฎหมายเป็นเรื่องของหลายหน่วยงาน หากจะถามโดบตรงกับ\nทางราชการ คุณอาจยะต้องวิ่งรอกไปหลายที่ทีเดียว ดังยั้น\nแนะนำว่า อาจจะสอบถาม (ครั่งแรก) ได้ที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ\nหรือวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยก่อนน่าจะดี เพราะเขาจะ\nตอบปัญหาพื้นฐานได้บ้างก่อนที่คุณจะเจาะลึกต่อไปกับทาง\nราชการโดยตรง\nป่อนตัดสิาใจที่จะมีบืาน\nคำว่า “บ้าน” ในความหมายของแต่ละคนอาจไม่\nเหมือนกัน บางคนอาจจะหมายความถึงที่อยู่อาศัยที่เป็นที่กัน\nแดดกันฝนเท่านั้น บาวคนอาจหมายความถึงที่ที่ให้ความสบาย\nกายในการพักผ่อน แต่บางคนอาจจะหมายความรวมไปถึงความสุข\nทางใจด้วยก็ได้ บ้รนแต่ละหลัง ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงความ\nต้องการ ความเป็นอยู่ กิจกรรมและรสนิยม หรือ ‘ชีสิต’ ของผู้อยู่\nอาศัย\nการที่จะมีบ้านสักหลัง เป็นเรื่ดงของการที่จะต้องจ่ายเงิน\nก้อนโตส่วนไนึ่งออกไป ดังนั้นเพื่อให้ได้บ้าย ‘บ้าน’ ที่เหมาะสม\nคุ้มค่ากับเงินที่จะต้องเสียไปจำนวนนั้น ก่อนที่จะตัดสินใจมี\nบ้านสักหลึง จึงควรจะตืองพิถีพิถันพิขารณาถึงเรื่องต่างๆที่มี\nผลกระทบ ไม่ว่าบ้านหลังนั้นจะเป็นการ้ช่าอยู่ การซื้อบ้าน\nสำเร็จรูปที่เรียกว่าบ้มนจัดสรร การจ้างเขาปลูกสร้างตามแบบ หรือ\nแม้กระทั่งการจ้างสถาปนิกมาออกแบบให้ ผู้ที่จะเป็นเจ้าของ\nบ้านควรมีความรู้พื้นฐานที่จำเป็นเกี่ยวกับบ้านดังนี้\n\nความต้องการขั้นพื้นฐาน?\nขนาดของที่ดินและลักษณะของที่ดิน?\nนำแหน่งปลูกสร้าลคัวบ้าน?\nทิศทางแดด, ลม, ฝน?\nกมรจัดประโยชน์ใช้สอย?\nรสนิยม?\nงบประมาณที่เหมาะสม?\nการขออนุญาตปลูกสร้าง?\nการขอเลขที่บ้าน, ไฟฟ้า และประปา?\nการกู้เงินจากสถาบันดารเงิน?\n\nสามารถตัดสินใจเลือกบ้านที่เผมาะสมกับตตเองมากที่สุด\nคว่มต้องการขั้นพื้นฐาน\nสิ่งเริ่มต้นก่อนที่จะตัดสินใจเล้อกบ้านหลังใดหลังหนึ่ง\nนั่นก็คือ การรู้ถึงความต้องการเบื้องต้นก่อนว่า บืานที่ต้องการนั้น\nจะเป็นลักษณะใด ขนาดของตัวบ้าน จำนวนห้องนอน ห้องน้ำ\nสิ่งประกอบอื่น ๆ ต้องการอย่างำร ทั้งนี้จะพิจารณาได้จากจำนวน\nสมาชิกในครอบครัว กิจกรราความเป็นอยู่ส่วนตัว เช่น จำนวน\nสมาชิกในครอบครัวประกอบด้วย พ่อ แม่ และลูก 2 คน จำนวน\nห้องนอนของบ้าน ก็ควรจัเป็น 2 หรือ 3 ห้อง เป็นต้น หรือ\nถ้าในครอบครัวจำเป็นต้องมีคนรับใช้ ห้องพักคนรับใช้ ก็เป็น\nความต้แงการขั้นพื้นฐานของครอบครัวนี้ด้วย\nกิจกรรมของคริบครัว ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงความ\nต้องการดื้นฐาน เช่น ถ้าครอบครัวมักมีการสังสรรค์ที่บ้าน\nบ่อยครั้ง ครอบครัวนั้นอาจต้องการบ้านที่มีห้องอาหาร หรือครัว\nกว้างขวาง หรือค้องการเฉลียงสำหรับจัดเลี้ยงได้สะดวก\nเหล่านีีเป็นข้อพิจารณาเบื้องต้น ก่อนที่จะพิจารณาถึง\nเรื่องอื่น ๆ ต่อไป คนจำนวนมากมักประสบปัญหาเกี่ยวกับเร่่องนี้ \nเช่น จำนวนห้องไมืเพียงพอกับจำนวนสมาชิก หรือบ้านที่อยู่\nอาศัยไม่เหมาะสมกับกิจกรรมของครอบครัว เป็นต้น ถ้าได้มีก่ร\nพิจารณาถึงความต้องการก่อนที่จะมีบ้านแล้ว ปัญหาเหล่านี้ก็จะ\nหมดไป\nขนาดของที่ดินและลักษณะของที่ดิน\nหลังจากที่คุณพิจารณาถึงความต้องการขั้นพื้นฐาน\nสำหรับครอบครัวของคุณแล้ว ก็จะต้องพิจารณาถึงเรื่องของที่ดิน\nเป็นประการต่อมา ไม่ว่าคุณจะมีที่ดินอยู่เดิมปล้ว หรืออยู่ระหว่าง\nการเลือกหา หรืเแม้แต่ผู้เลือกซื้อบ้านจัดสรรก็ตาม\nขนาดของที่ดิน จะต้องพิจารณาดูว่า ที่ดินนั้นมีขนาด\nพื้นที่เก็นจำนวนเท่าใด สามารถที่จะปลูกสร้างบ้านตามความ\nต้องการได้หรือไม่และเมื่อปลูกสร้างแง้ว ขะมีถื้นที่ดเนว่างเปล่า\nซึ่งเรียกตามหลักสถาปัตยกรรมว่า “พื้นที่เปิดโฃ่ง (OPEN\nSPACE)” นั้นเท่าใด ที่ดินยิ่งมีขนาดพื้นที่มากเท่าใด ความอยู่\nสบาย สภาพแวดล้อมอาคารก็จะดีมากขึ้นตามไปด้วย นอกจาก\nขนาดพื้นที่โดยรวมแล้ว ความกว้าง ยาว (ลึก) ของที่ดิต ก็มีผลต่อ\nตัวบ้านเช่นกัน โดยทั่วไปความกว้าง ยาว (ลึก) ของที่ดิน ไม่ควร\nจะแตกต่างกันมากจนเกินไป (ยกเว้นกรณีพื้นที่ดินขนาดใหญ่\nมาก) ซุ่งจะมีผลต่อรูปร่างยองตัวบ้าน หรือความสัมพันธ์ระหว่าง\nพื้นที่ใช้สอยไม่ดีเท่าที่ควร ขนาดของทร่ดิน ยังจะมีผลต่อการ\nตัดสินใจเลือกรูปลักษณะของบ้านด้วยเช่นกัน เช่น บ้านชั้น\nเดียว ย่อมต้องการขนาดของพื้นที่ดินเพื่อปลูกสร้างมากกว่าบ้าน\nสองชั้นที่มีพื้นที่ใช้สอยเท่ากัน\nลักษณะของที่ดิน เป็นองค์ปรเกอบอีกสิ่งหนึ่งที่ควรต้อง\nพิจารณาซึ่งจะมีผลต่อการสร้างบ้านหลายประการ เช่น พิจารณา\nถึงสภาพของที่ดินและลักษณะดินตลอดจนพืืนที่ข้างเคียงเพื่อผล\nด้านโครงสร้างอาคาร เช่น การเลือกระบบการก่อนร้าง การเลือกใช้\nวัสดุ นอแจากนั้นเจ้าของบ้าน อาจจะต้องเตรียมแารปรับสภาพ\nที่ดินให้พร้อม ก่อนลงมือปลูกสร้างบ้านด้วย เช่น ถมที่ ปรับ\nระดับ จัดพื้นที่ เป็นต้น ถ้าไม่มีการพิจารณาในเรื่องของที่ดิน\nเหล่านี้แล้ว เมื่อลงมือปลูกสร้างบ้านไป อาจเกิดปัญหาภายหลัลได้\nเช่น น้ำท่วม ไม่มีการระบายน้ำเสีย ตลอดจนถึงเรื่องของการ\nทรุดตัวจองบ้านภายหบัง\nลัดษณะทางหายภาพของที่กิน ก็เป็นอีกย้อหนึ่งที่มีต่อ\nการเลือกรูปลักษณะของตัวอาคาร เช่นพื้นที่ดินที่เป็นเนินเขา\nหรือมีพื้นที่ต่างระดับกันสาม่รถที่จะปลูกสร้างบ้านต่างระดับได้\nดีกว่าการปลูกในที่ราง นอกจากนั้น การพิจารณาในเรื่องที่ดิน\nยังจะเป็นการช่วยในการตีดสินใจถึงองค์ประกอบส่วนอื่น ๆ ของ\nบ้าน นอกเหนือจากตัวอาคาร เช่น ถาน สวน เป็นต้น อีกด้วย\nความสัมพันธ์กัชถนนภายนอกบ้าน\nถนนที่ผ่านหน้าที่ดินก็มีความสำคัญกับการจัดวาง\nตำแหน่วตัวบ้านเช่นเดียวกัน โดยจะต้องคำนึงถึงว่าบริเฝณที่ดิน\nของคุณนั้น ใกล้กับทางแยกหรือไม่ เพื่อที่จะได้จัดตำแหน่งของ\nส่วนที่เป็นถนนภายในบ้านหรือทางเข้าบ้านได้ถูกต้อง เช่น ถ้า\nที่ดินนั้นอยู่ใกล้กับทางแยก ก็ควรที่จะจัดทางเข้าบ้านนั้นให้\nห่างจากทางแยกมากที่สุด เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจาพการเข้า\nออก เมื่อหาตำแหน่งของทางเขีาออก หรือถนนภายในได้แล้ว\nตำแหน่งตัวบ้านก็จะถูกกำหนดได้ง่ายขึ้น\nความสัมพันธ์ของที่ดินกับประโยชน?ใช้สอยขเงบ้าน\nจากที่ได้กล่าวแล้วว่า ในการจัดวางตำแหน่งตัวบ้านนั้น\nควรพยายามให้พื้นที่เปิดโล่งรวมกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ต่อมาก็คือ\nต้องพิจารณาว่าจะจัดให้พื้นที่โล่งนั้น อยู่ในส่วนใดขอบที่ดิต\nข้อพิจารณาก็คือ ดูจากลักษณะการใช้สอยของบ้าน เช่น ถ้าบ้านมี\nเฉลียง ส่วนรับแขกอยู่ในส่วนหน้าของตัวบ้าน พื้นที่เปิดโล่งของ\nบ้านก็ควรอยู่ทางด้านหน้าของตัวบ้าน เพื่อที่จะสามารถจัดสวน\nปลูกต้นไม้ ในส่วนชองพื้นที่เปิดโล่งนั้นได้ หรือถ้ามีส่วนของ\nห้องอาหารทางด้านข้าง ส่วนพักผ่อนอยู่ทางด้านหลัง และมี\nเฉลียงหลังบ้าน ประกอบกับกิจกรรมของครอบครัวมักอยู่ใน\nบริเวณดังกล่าว ดังนัเนส่วนของพื้นที่เปิด โล่ง ก็ควรที่จะอยู่ทาง\nด้านข้างค่อนไปทางด้านหลังของตัวบ้าน เป็นต้น\nทิศทางแดด, ลม, ฝน\nเรื่องของทิศทางแสงแดด ลม แชะฝน เป็นสิ่งสำคัญอีก\nประการหนึืงที่ต้องพิจารณา ทั้งนี้เพราะประเทศไทยเราเป็น\nประเทศที่ได้รับอิทธิพลเรื่เงดินฟ้าอากาศมาก ถ้าไมทคำนึงถึงเรื่อง\nเหล่านี้ เมื่อปลูกสร้างบ้านไปแล้ว อาจเกิดปัญหาภายหลังได้ และ\nเป็นเรื่องที่เราไม่สามารถที่ตะควบคุมให้เป็นไปตามต้องการได้\nในการปลูกสร้างบ้าน ทิศทางของแดด ลม และฝน จะมี\nความสำคัญทั้งในด้านการจัดประโยชน์ฝช้สดยภายในบ้าน และ\nการจัดวางตำแหน่งตัวบ้านดับได้กล่าใไปแล้ว ในที่นี้จะได้กล่าวถึง\nเฉพาะหัวข้อของความสำคัญกับการจัดประโยชน์ใช้สอย\nลักษณะของตัวอาคารที่ดีควรจะมีการถ่ายเทอากาศที่ดี\nตลอดทั้งบ้าน แต่บางครั้งก็มีข้อจำกัดหลายปรุการ เช่น ขนาด\nของที่ดิน ลักษณะรูปทรงของอาคาร อย่างไรก็ตาม คยรที่จะให้มี\nการถ่ายเทของอาแาฬมากที่สุด ดังนั้น ก่อนที่จะเลือกลักษณะของ\nบ้าน จึงควรที่จะได้พิจสรณาถึงเรื่องนี้เสียก่อน\nแสงแดดในประเทศไทย จะมีการเดินทางของดวง\nอาทิตย์ จากทิฬตะวันออกไปทิศตะวึนตกในลักษณะอ้อมไปทาง\nทิศใต้ แดดจะแรงในช่วงบ่าย ดังนั้น บริเวณที่ไม่ต้องการให้รับ\nความร้อนมาก เช่น ห้องนอนจึงไม่ควรอยู่ในตำแหน่งทางทิศ\nตะวันตก หรือตะวันตกเฉียงใต้ แต่ถ้าจำเป็นจะร้องจัดวางใน\nตำแหน่งทึ่รับแดด ก็ควรจะให้อาคารมีส่วนป้องกันแสงแดด เช่น\nขายคายื่นจ่วให้ร่มเงา หรือการปลูกต้นไม้ช่วยบัง เป็นตีน\nที่ดิร\nที่ดิน.\n• ราคาค่าก่อมร้างอย่าลืมคิดค่าถมดินหรือค่ารื้อถอน (ถ้ามี)\nบางทีที่ดินที่เราซื้อมาจะเป็นแปลงเปล่า ๆ ที่ยัฝไม่ได้\nภมหรือเป็นแบบท้องคันนาหรือบ่อน้ำ จึงจะต้องทำการปรับ\nหน้าดินด้วยการถม แล้วบดเกลี่ยให้แน่จและเรียบพร้อมที่จะ\nก่อสร้างบ้านได้ เจ้าของอายเตรียมวงเบินไว้จำกัดเะราะพูดกันถึง\nแต่เรื่องบ้าน จึงลืมเตรียมเงินในส่วนของดินที่จะถม บางที\nที่ดินบางแห่งอาจมีสิ่งก่อสร้างเดิมอยู่ก็จะต้องเตรียมเงินไว้สำหรับ\nการรื้อะอนด้วยเช่นกัน\n• การเลือกซื้อที่ดิน\n\nก่อนซื้อควรตีวจสอบดูก่อนว่าทีการเวนคืนยากทาฝราชการหริอไม่?\nที่ดินะดิมเคยเป็นสระน้ำหรือถูกขุดหน้าดินเอาไปใช้หรือฟม่เพราะดินที่ถมลงไปใหม่นั้นจะต้องใช้เวลานานเป็นปีกว่าเนื้อดินจะกน่นและไม่ทรุดตัว?\nก่อนปลูกบ้านควรตรวจดูที่ดินว่ามีต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ถูกตัดจนเหลือแต่ต่อใต้ดินรวมถึงรากแก้วขนาดใหญ่หรือเปล่าเพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็ยบ่อเกิดของปลวกที่จะสากัดกินบ้านเราในภายหลัง?\nถ้าไมรจำเป็นอย่าเลือกพื้นที่ดินที่เป็นชายธง?\nสภาพแวดล้อมโดยรอบที่ดินเปฌนเช่นไร เช่น โรงงานโรงพยทบาล หรือวัด?\nการเลือกที่ดินแถยใำล้ชายทะเล? เช่นแถวสมุทรปราการ สมุทรสาคร ควรคำนึงถึงความบุามน้ำของเนื้อดินอันจะมีผลต่อกาีเลื่อนไหลของเนื้อดินข้างใต้ หรือดินทรุด จะทำให้ต้องใช้เข็มที่ตอกเป็นฐานรากมากกว่าหกติ และมีขนาดใหญ่กว่าบ้านโดยทั่วไป\n\n\nกรมที่ดินหรือที่ทำการเขต เพื่อสอบถามโฉนด, ขนาดที่แท้จริงของที่ดินและเจ้าของที่ดินเดิม?\nกรุงเทพมหานครหรือกรมโยธาธิการ เพื่อสอบถามเขตห้ามก่ิสร้าง, ZONE พักอาศัย, การตัดะนน?\nการทางพิเศษ เพื่อสิบถามแนวห้ามก่อสร้างจากแนวของทางด่วน?\nกรมทางหลวง เพื่อสอบถามแนวห้ามก่อสร้างจากแนวถนนหลวงหรือเรื่องการตัดถนน?\nการไฟฟ้าฝ่ายผลิตหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเพื่อสอบถามแนวสายไฟฟ้สแรงสูงขนานผ่าน?\nกรมการบินพาณิชย์ เพ้่อสอบถทม? สิ่งก่อสร้างไปบังคลื่นวิทยุ (ส่วนใหญ่จะเป็นอาคารสูงที่เกิน 15ดมตรขึ้นไป)\n\nที่ดินก่อยการก่อสร้างบ้านจะต้องมีการปรับโดยการถมและขุดหรือ\nบรงทีอาจจะใช้ทั้งการถมและการขุดไปด้วยกัน เช่น การขุดเพื่อ\nทำสระน้ำ, สระว่ายน้ำ แล้วนำดินที่เหลือจากการขุดไปถมในส่วน\nที่ยะทำการก่อวร้างบ้านให้สูงขึ้นเป็นเนิน เป็นต้น\n\nการถม? (เพื่อการสร้างบ้าน)\n\nเท่ากับระดับถนนภายนอกหรือสูงกว่าระดับถนน 0.50 เมตร\nหรือ 1 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อความโดดเด่นของตัวบ้านหรือเพื่อ\nปนีน้ำท่วม\n\nการขุด? (เพื่อการสร้างบ้าน)\n\n, ทำสระว่ายจ้ำ หรือถังเก็บน้ำใต้ดิน จะใช้วิธีตอกเข็มฟม้ยาวตลอด\nแนวการจุดเป็นพืดเพื่อกันดินถล่ม หรือขุดดินปรับเป็ตแนว\nเอียง ถ้าดินมีความเหนียวพอ ก็ไม่ต้องใช้เข็มไม้ตอก\nถ้ามีการขุดระดุบลึกไม่เกิน 5.00 เมตร สำหรับการ\nสร้างบ้านแล้วถือว่ามีน้อจมากที่จะขุดลึกลงไปขนาดนั้น เพราเจะ\nแพงเกอนไปและไม่มีความจำเป็นจะต้องใช้แผ่นเหล็ก (SHEET\nPILE) ตอดเป็นแนวกันดินถล่ม และใช้เครื่องตอกที่เป็นเครื่องกล\nซึ่งมีราตาแพงมาก\nฐ่นรสก\nฐานราก.\n1. รั่วหรือกำแพง\nที่มีความยาวมาก ๆ ฐานรากควรมีการเบรกไม่ให้ไหลไป\nตามดินทุก ๆ ช่อง 6.00 หีือ 8ซ00 เมตร โดยพารทำฐานราก\nเป็นแนวขวาง ยาวเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้มบนาดใหญ่กว่าฐานรากแบบ\nปกติทึ่วไปึรึ่งหยึ่ง การทำลักษณะนี้จะทำให้การบิดของรั้วหรือ\nกำแพงลดลงหรือไม่มีเลย\n2. ฐานรากตีนเป็ด\nเป็นกสรทำงานแบบเดียวกับการเบรกฐานราก แต่เป็น\nการฝช้พยุงไม่ใก้รั้วหรือกำแพงล้มใช้สำหรับกรณีที่แนวเขตที่ดิน\nชนกับที่ดินคนอื่นหรือถนนสาธารณะ และไม่สามารถจะยื่น\nฐานรากเข้าไปในเยตที่ดินของผู้อื่นได้\nr. เข็มเจาะ\nปัจยุบันเป็นเรื่องง่ายมากที่จะนามาใช้กับบ้าน\nเนื่องจากเทคนิคและวิธีการไม่ยุ่งยากมากและราคาก็ไม่แพงดังที่\nคิด เราใช้เข็มเจาะะมื่อมีความจำเป็นจะต้องตอกเข็มใกล้ ๆ กับ\nบ้านของคนอื่น เช่น ห่าง 0.80 เมตร โดยไม่อยากให้บ้าน\nข้างเคียงมีปัญหมแตกร้าว ทรุด หรือซอยทั่ิข้าบ้านของเรามีขนนด\nแคบสากไม่สามารถจะขนส่งเข็มต้นยาว ๆ มาตอกได้ จึงจำเป็น\nจะต้องใช้เข็มเจาะหลักการของเข็มเจาะก็คือใช่การขุดดินผ่านท่อ\nเหล็กปลมกลวงขนาดยาวประมาณ 3 เมตร โดยที่ปลายนิ้ว 2 ข้าง\nเป็นเกลียวำมุนต่อเนื่องลงไปในดิน ถ้าต้องการเข็มลึก 24 เมตต\nก็ตอกท่ออหล็กกลมลงไปทีละอัน แล้วขุดดินขึ้นมาจนตอกลงไป\nครบ 8 ท่อาแลัวจึงผูกเหล็กตามสเกีหย่อนลงไปในท่อเท\nคอนกรีตตามส่วนแล้วอัดด้วยลมอีกครั้งหนึ่งจากนั้นจึงค่อย ไ ดึง\nท่อเหล็กขึ้นมาช้า ๆ ทีละท่อนจนหมด แล้วจึงปิดปากหลุมรอ\nจนกว่าปูนแห้งก็เป็นอันเสร็จพิธ่ จะเห็นได้ว่าความใะเทือนที่\nเกิดขึ้นรอบ ๆ เช็มเจาะนั้นน้อยกว่าระบบการใช้เข็มตอกลงไป ต่อ\nกันเป็นท่อน ๆ จนกว่าจะครบเป็นไหน ๆ\n4. เข็มกด\nเป็นการลดความสะเทือนในการตอกัข็มอีกวิธีหนึ่งแลัไม่\nค่อยยุทงยากใชิกับโครงสร้างที่ไม่ใหญ่โตหรือรับน้ำหนักมากนัป\nเช่น โรงรถ กำแพงรั้ว ห้องครัวชั้นเดียว หรืองานเร่งด่วนที่ไม่\nต้องการตั้งปั้นจั่ย เข็มกดเป็นวิธีการที่ใช้รถแม็คโคร ดึงเสาเข็ม\nขนาดเล็กยาวต้นละ 6 เมตร มากดโอยใช้แขนเหล็กของรถแม็ค\nโครกดชงไป ซึ่งจะไม่มีความสะเทือนกับรอบ ๆ ข้าง วิธีนี้สะดวก\nและรวดเร็วแต่ให้ระวังแนวเสาเข็มต้อฝตั้งให้ตรงแล้วจึงกด\nไม่เช่นนั้นเสาจะเบี้ยวหรือหัก ทำให้รับน้ำหนักไม่ดีเท่าที่ควร\n5. เสาเข็มอย่าตอกชิดกันเกินไป\nจะทำให้เสาเข็มไม่มีความฝ้แหรือรับน้ำหนักโครงสร้างได้\nไม่เต็มที่ เนื่องจากมีเนื้อดินอยู่รอบ ๆ เสาเข็มน้อยเกินไป บาง\nคนนึกว่ากาตตอกเสาเข็มเสริมลงไปมาก ๆ จะทำให้รับแรงได้มาก\nขึ้น แต่คิดผิดถนัด ดังนั้ยในการตอกเข็มทุก ๆ ครั้งตึงควรมีระยะ\nที่ห่างแันพอสมควร คือไม่น้อยกว่า e เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง\nของเข็ม\nพื้น\nพื้น.\n1. ก่อนการเทพื้นคอนกรีตที่ติดกับดินต้องฉีดกันปลวก\nทุกครั้ง\nเราสามารถเรียกพนักงานกำจัดปลวกมาดำเนินการกำจัด\nปลวกและป้องกันเแาไว้ก่อนทุก ๆ ครั้งที่มีการเทพื้นสนส่วนของ\nชั้นที่ติดกับพื้นดินเพื่อให้แน่ใจและการป้องกันอย่างไดิผล บางที\nบางแห่งพนักงานอาจจะฝังท่อเป็นแนวใต้พื้นคอนกรีตแล้วโผล่\nท่อขึ้นมาเหนือพื้น เพ้่อยะได้เติมน้ำยากันปลวกได้เมื่อถึงคราว\nจำเป็น\n2. ไม้แบบสำหรับใช้หล่อพื้นชั้นล่าง\nจะสังเกตได้ว่าพื้นชั้นที่ติดกับดินถ้าเราตั้งไม้แบบแล้วเท\nคอนกรีตทับลงไปเราไม่สามารถจะเอาไม้แบบออกมาได้ นั่นเป็น\nสาเหตุอันหนึ่งที่ทำให้เกิดปลวกมากัดกินไม้แบบและละกลามคาม\nรอยแยกหรือรูของพื้นขึ้นมาำัดกินตู้ โต๊ะ เตียง เป็นรายจ่อไป\nดังนั้นวิธีที่จะแก้ไขได้ก็คือ\nถ้าพื้นชั้นทีรติดดินยกระดับ 1.20 เมตร หรือเกินกว่านั้น\nการใช้ทรายที่จะถมจะมีปริมาณมากเกินไปก็เปลี่ยนมาใช้ไม้แบบ\nได้ เพราะหลังจากการเทพื้นคอนกรีตเรียบร้อยแล้วเราสามารถจะ\nมุดเข้าไปใต้พื้นที่เหลือช่องว่างระหว่างดินกับคาน (ความลึกของ\nคานบ้านทั่วไปประมาณ 0.50 เมตรฉ เพื่อนำไม้แบบิอกมาๆด้\n3. ช่องว่างระหว่างพื้นดินกับคานชั้นล่าง\nพื้นชั้นล่างที่ยกสูงมาก ๆ จะมีช่องว่างาะหว่างคานกับ\nพื้นดิน ถ้าเราจะก่อกำแพงในส่วนนี้ แล้วไม่ให้ร้าวหรือมีการทรุด\nตัวของกำแพง จำเป็นจะต้องหล่อคานในแนวของพื้าดินเพื่อ\nรองรับกำแพงตัวนี้\n\nหล่อในที่กับพื้นสำเร็จรูป?\n\nไม้แบบ ผูกเหล็กแล้วจึงเทคอนกรีต ในการเทต้องตั้งไม้ปบช\nสำหรับคานและพื้นแล้วเทคอนกรีตพร้อมกันเลย เมื่อคอนกรีต\nแข็งตัวแล้ว จึงทำการบ่มโดยใชืน้ำฉีด 3-5 วัน ต่อจากนี้นก็ทิ้ง\nคอนกรีตไว้ในแบบจนครบอายุ 14 วัน แล้วจึงทำการถอดไม้แบบ\nการทำวิธีนี้มีขั้นตอนมากและใช้เวลาจนเสร็จพิธีการนาน\nพอสมควรอีกทั้งค่าใช้จ่ายยังมากกว่าอีกด้วย\nพื้นสำเร็จตูป เป็นการผลิตขึ้นมาเพื่อความสะเวกและ\nรวดเร็วปรุหยัดค่าใช้จ่าย และเหมาะก้บการก่อสร้างในสภาวะ\nปัจจุบัน ซึ่บมีความแข็งแรงมั่นคงตามมภาพการใช้ใอยต่าง ๆ กัน\nในปัจจุบันพื้นสำเร็จรูปมีให้เลือกใช้หลายแบบ แต่แบบ\nที่าิยมกันมากที่สุดคือ ระบบตานตัวที วิธีการก่อสร้างก็คือ ขั้น\nแรก ต้องหล่อคานบ้าตขึ้นมาก่อน แล้วจึงนำพื้นระบบนี้มนวาง\nโดยวางคานตัวที และทำไม้ค้ำยันเป็นช่วง ๆ จากนั้นวางบล็อก\nคอนกรีตในระหว่างคานทีนั้นผูกเหล็ก หรือเหช็กตะแกรง\nสำเร็จรูป (วายเมด) แล้วเทคอนแรีตทับหน้าบ่มคอนกรีตอีก 3-5\nวัน ก็เป็นิันเสร็จขั้นตอนของการทำพื้น\n\nเมื่อไรถึงจะปรับพื้นที่ปูด้วยบล็อกคอนกรีต?\n\nก้อนบล็อกตัวหนอนคอนกรีต เพราะว่ามีความสวยงาม สีสันสดใส\nทำง่ายและราคาไม่แพง หลังจากนั้นปรเมาณ 1 ปี จะเห็นได้ว่า\nในส่วนที่รถวิ่งผ่านหรือคนเดินมาก ๆ จะเกิดการยุบตัว บล็อกตัว\nหนอนก็จดกระโดกกระเดก เนื่องจากพื้นดินและทรายที่อยู่\nด้านล่างมีการปรับตัวไม่เท่ากัน จึงควรทำการปรับระดับพื้นทราย\nที่รองรับใหม่หลังจากใช้พ้้นนี้มาแล้วประมาณ 1-2 ปี เพราะ\nหลังจากน้้ไปแล้วเชื่อว่า การทรุดตัวของดินและทรายจะลดน้อยลง\nและแน่นขึ้น บล็อกตัวหนอนก็จะใช้ได้ไปอีกหลายปี\n\nปัญหาตรงรอยต่อระหส่างพื้นปูวัสดุ? ที่แตกต่างกันภายในห้องเดียวกัน\n\nถ้าพื้นหินอ่อนมาชนกับพื้นปาร์เกต์ ต้องเตรียมพื้นในส่วนที่เป็นปาร์เกต์ให้สูงกว่าหินอ่อนประมาณ 3 เซนติเมตร\nถ้าพื้นหินอ่อนมาชนกับพรม ต้องเตรียมพื้นในส่วนของพรมให้สูงกว่าประมาณ 3 เซนติเมตร แล้วคั่นด้วยไม้แผ่นคั่นกลางเพื่อความสวยงามและป้องหันการบิ่นของหินอ่อน\nถ้าพื้นกรพเบื้องมาชนหับพื้นปาร์เกต์ จ้องเตรียมพื้นในส่วนของปาร์เกต์ให้สูงกว่าประมาณ 1 เซนติเมตร\nถ้าเป็นไปได้ควรพยายามหลีก้ลี่ยงหรือใช้วิธีการเล่นSTEP (มากกว่า 10 เซนติเมตรขึ้นไป)\n\n\n\nอย่ายกพื้นให้สูงขึ้นโดยเทคอนกรีตเพิ่ม!?\n\nคดนกรีตเพิ่มลงไปโดยเด็ดขาด เพราะในความหนาที่เพิ่มขึ้น 10\nอซนติเมตร จะมีน้ำหนักถคง 240 กิโลกรัม/ตารางเมตร อันจะมี\nผลต่อพื้นเดิมและคานอาจพังลงมาได้โดยง่าย\nหากจ_เป็นจะต้องเสรอมระดับจริง ฟ ขอใฟ้ใช้วัสดุที่เบา ๆ\nเช่น ไม้ หรืออิฐมอญ รองพื้นก่อนเทคอนกรีตเสริม หรือวิูีที่ดี\nที่สุดคือ ปรึกษาสถาปนิกหรือวิศฝกร\n\nวัสดุปูพื้นโดยทั่วไป?\n\nที่ใหญ่และชนิดของไม้ การจะวางพื้นชติดนี้จะต้องคั้งตงและ\nคานเสียก่อน ปัจจุบันนิยมใช้พื้นไม้ที่มีขนาดเล็กบง เพื่อคว่ม\nประหยัดและปูบนพื้นที่เป็นคอนกรีต โดยมีการวางไมัระแนง\nเป็นแนวก่อนการปูพื้นไม้ ราคาดื้นไม้แบบนี้จึงไม่แพง ปต่ให้\nความรู้สึกอบอุ่น เหมาะกับบ้านอยู่อาศัยทั่วไป\n2. พื้นปาร์เกต์ เป็นชิ้นไม้เล็ก ๆ มีทั้งที่เป็นแบบเข้า\nลิ้นและไม่เข้าลิ้ส นิยมปูบนพื้นคอนกรีต ราคาจะถูกกว่าพื้นไม้\nธรรมดา สามารถออกแบบลวดลานบนพื้นได้หลายแบบ เหมาะ\nวำหรับห้องทั่ว ๆ ไปภายในบ้านยกเว้นห้องน้ำ\n3. กระเบื้องเคลือลหรือกระเบื้องเซรามิกเป็นแผ่น\nสำเร็จรูปมีหลายขนาดและหลายสี ตามแต่วัตถุประสงค์ที่จะ\nนำไปใช้ ราคาจะมีตั้งแต่ถูกจนถึงแพงมาก บางทีแพงกว่าพื้นไม้\nเสียอีก นินมปูบนพื้นคอนกรีตเช่นกัน กรรมวิธีการปูไม่ยากและ\nไม่วุ่นวาย เหมาะสำหรับห้องค่ัว ห้องน้ำ ชานีะเบียง หรือ\nห้องรับแขกก็พอได้\n4. หินอ่อนหรือหินแกรนิต เป็นวัสดุที่มีควนมคงทน\nและนิยมใช้กเนมาก เนื่องจากดูฟรูและทำความสะอาดง่าย และ\nราคาเริ่มจะใกล้เคียงกับวัสดุปูอื่น ๆ ในปัจจุบัน เหมาะสำหรับ\nป้องรับแขก ห้องทานอาหาร และห้องนีำ\n5. พรม ให้ความรู้สึกดูหรูหรา อบอุ่น และนุ่มนวล\nเหมาะแก่การเดินเท้าเปล่าและการพักผ่อน พรมมีทั้งพรมทอ\nและพรมแผ่นการเลือกใช้ขึ้นดยู่กึบวัตถุปรัสงค์ เช่น ห้องนอน\nอยากได้เป็นพรมชั้นเดียวกันทั้งผืนก็ใช้พรมทอ เป็นต้ย ราคา\nของพรมในปัจจุบันนั้นก็ไม่แพงมากอย่างที่คิด แต่ก็ให้หมั่น\nดูแลความสะอาดและดูดฝุ่นให้บ่อย ๆ การปูพรมจะปูบนพื้น\nคอนกรีตที่เรียบเสมอ อาจมียางปูรองอีกกผ่นเพื่อความนิ่มนวล\nของพรมเวลาเดิน เหมาะสำหรับห้องนอนอ ห้องกูทีวี หาือใช้\nเป็นบางส่วนสไหรับห้องรับแขก\nก่อนการปูพื้นไม้ควรเรรียมอะไร? \nกรรมวิธีในการปูพื้นไม้ให้ถูกต้องในยณะที่เทพื้น\nคอนกรีต ควรฝังไม้ระแนงตลอดแนสที่จะปูสูงกว่าผิวคอนกรีต\nประมาณ 2 เซนติเมตร ปรับระดับไม้ระแนงให้เสมอกันตลอด\nทั้งสอง จากนั้นรอจนพื้นคอตกีีตแห้งแล้วจึงเริ่มทำการปูแผ่น\nไม้ การทำเช่นนี้ก็เพื่อไม่ให้ไใ้รเแนงมีความยืดหยุ่นและโก่งงอ\nหลังจากอัดพื้นไม้เข้าลิ้นไปแล้ว\nก่อนการปูพื้นหาร์เกต์ควรเตรียมอะไร? \nการเตรียมพื้นคอนกรีตก่อนการปูปาร์เกต์ต้องทำให้ดี\nที่สะด ถ้าพื้นคอนกรีตเดิมที่เทไปแล้วไม่เรียบเสมอกันตลอดทั้ง\nห้อง จำเป็นจะต้องปรับพื้นด้วยปูนทรายอรกครัังจนเห็นว่าเรียบ\nเสมอกัน หลังจากนั้นต้องทิ้งพื้นไว้ให้แห้งสนิท ถ้าเป็นพื้นชั้น\nล่างควรทำกันซึทไว้ด้วยก็จะดี หลับจากนั้นจึงเริ่มทำการปูปาร์เกต์\nกาวที่ใช้จะต้องดี แบะต้องไม่อัดแผ่นปรร์เกต์จนแน่นิกินไป\nควรเผื่อช่องสำหรับไมเขยายตัวต่มริมขอบกำแพงทุก ๆ ด้าน เพื่อ\nป้องกันไม่ให้ปาร์เกต์โก่งงอหรือระเบิดได้ หลังจากปูแล้วควรทิ้ง\nเอาไว้นาน ๆ จนเห็นใ่ากาวแห้งสนิทแล้ว จึงเริ่มทำกาคขัดพื้น\nต่อไป\nอย่าปูหินอ่อนตากแดด!\nพื้นนอกบ้านหรือชานบีนนที่ยิยมปูหินอ่อนในส่วนของ\nพื้นที่โดนแดดอยู่ตลอดเวลา ผิวและสีจะเหลืองจะเห็นได้ชัด\nต่างกันส่วนที่ไม่โเนแดดทำให้เกิดความกระดำกระด่างบนพื้นหิน\nอ่อนไม่สวยงาม\nพื้นไม้ที่โดนน้ำขังหรือท่วม!\nอย่าพยายามงัดไม้ออกมาตากแดดโดยทันทีหลังจากน้ำลด\nแล้วเพราะไม้จะบิดงอและแตกได้โดยง่าย จึงควรปล่อยทิ้งไว้จน\nพื้นไม้แห้งตามธรรมชาติไปเอง แล้วจึงต่อยถอดเปลี่ยนใน\nภายหลับ\nผนัง\nผนัง.\nทำไม? ต้องมีเส้นเซาะร่องบนผนังภายนอกอาคาร\nผนังปูนฉาบภายนอกอาคารหลายแห่ง มีการเดินเส้น\nเซาะร่องเป็นเส้นตัังบ้าง นอกบ้างนั้น นอกจากจะเป็นการ\nตกแต่งผนังให้เกิดความงามแล้ว ยังเป็นการแก้ไขปัญหาการ\nแตกร้าวของผนังปูนฉาบที่เป็นพื้นมี่กว้าง ๆ โดยเฉำาะตามแนว\nเสาและคาน จะเป็นการลบแรงเฉือนระหว่างโครงสร้างหลักกับ\nแนวผนัง สำหรับวิธีการทำเส้นเซาเร่องนี้ มีด้วยกันหลายแบบ\nเช่น การใช้ไม้แบบตีติดกันกัขผนัวปูนฉาบ เพื่อให้เกิดเป็นร่อง\nเหลี่ยม การใช้เหล็กเส้นขีดลงบนปูนฉาบที่วังไม่แห้ง (วิธีนี้ดู\nเป็นที่นิยมสำหรัชช่าง่ับเหมาที่ไม่ประณ่ต) และปัจจุบันยังมั\nการผลิตเส้นเซาะร่องสำเร็จรูปทำจากพีวีซ้ ให้เลือกใช้เพิ่มอีกอย่าง\nหนึ่ง\nการทำผนังกทออิฐ 2 ชั้น ต้องระวังเรื่องใด? \nมีบางครั้งที่เราออกแบบผนังก่ออิฐ 2 ชั้นซ้อนกัน\nเนื่องจากเหตัผลทางด้านความงามและความสะดวกำหรับการจัด\nเฟอร์นิเจอร์ภายในแต่ก็ต้องพึงระวังในเรื่องการแนกริาวของผนัง\nไว้ด้วย เพราะช่องว่างระหบ่างกลางนี้จะเป็นตัวดูดความชื้นจากอิฐ\nและอิฐก็จะไปดูดความชื้นมาจากปูนฉาบอีกที ทำให้ผนังเกิดการ\nแตกร้าวได้ วิธีแก้ง่าย ๆ คือควรเทคอนกรีตลงในช่องว่างนี้ให้เต็ม\nจะลดความชื้นภายในได้อีกทนงหนึ่ง ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องเผื่อการรับ\nน้ภหนักของคานไว้ด้วย\nที่ว่าให้แช่อิฐก่อนจะนำมาก่อกำแถงนั้น เขาทำเพื่ออะไร? \nเรารู้กันอีอยู่แล้วว่า ธรรมชาติของอิฐนี้นัป็นวัสดุที่ดูดซับ\nน้ำ กังนั้นเพื่อไม่ให้อิฐมีการพูดซับน้ำจากปูนฉาบและทำให้ปูน\nฉาบแห้งเน็วเก้นไป (เป็นผลให้กำแพงปตกร้าว) เราจึงควรแช่อิฐ\nที่จะใช้ก่อลงในน้ำทุกก้อน แล้วจึงนำมาก่อกำแพงในขณะที่อิฐ\nยังเปียกอยู่\nตาข่ายกรงาก สช้ใตงานก่อสร้างอย่างไร? \nสำหรับงานก่อสร้างผนังปูนนั้น หากมีตาข่ายกรงนกขึง\nบนกำแพงอิฐก่อนที่ฉาบปูน จะทำให้เนื้อปูนจับและยึดติดกัน\nอย่างแน่นหนาย้่งขึ้นผนังปูนก็จะไม่แตกา้าวง่าน ๆ\nพบสีบนผนังอมคารเกิดขึ้นราหรือไม่ก็หลุดร่อน เนื่องจากสาเหตุใด? \nคงเป็นเพราะเตรียมผิวพื้นไม่ดี ได้แก่ พื้นผิวปูนฉาบมี่\nยังไม่แห้งสนิทมีสภาพเป็นกรด ด่าง หรือพื้นผิวเก่าที่มีความ\nสกปรก มีฝุ่นเกาะ ดัลนั้นหากต้องการทาสีผนังเก่าควรทำการลอก\nผิวเดิมออกเสียก่อน แล้วทำความสพอาดผนัง ต่อไปก็เป็นขั้นตอน\nการทาสี ซึ่งต้อง่าให้ครบจำนวนครั้ง โดยทาสีรองพื้นเสียก่อน\nในขั้นแรก\nการเสียบเหล็ก เพื่อป้เงกันผนังแตกร้าว? \nทุกครั้งที่ก่อกำแพงอิฐ เราควรเสียบเหล็กเส้นให้ยื่น\nออกมาจากเสาโครงสร้างประมาณ 30 เซนติเมตร แทรกในผนัง\nก่ออิฐทุก ๆ ความสูง 30 เซนติเมตร เหล็กเส้นเหล่านี้จะเป็นตัว\nยึดระหว่าวเสากับอิฐให้แข็งแรงาากยิ่งขึ้น เป็นการป้องกันการ\nแตกร้าวของผรังอีกทางหนึ่ง\n• วิธีการทดสอบรอยริาวบนกำแพงอย่างง่าย ๆ\nรอยร้าวบนกำแพง เรามีวิธีการทดสอบรอยร้าวเหล่านี้ ว่า\nเกิดจากสาเหตุใด (ดย้างง่าย ๆ) โกยดูจากขนาดของรอยร้าว แล้วใช้\nวัสดุดังต่อไปนี้ วัดขนาดดู:-\n\nใชีกระดาษสอดได้ แสดงว่า เป็นรอยร้าวธรรมดาทั่ว ๆไป ซึ่งเกิดจากปูนฉาบ\nใช้เหล็กฟุตที่เป็นโลหะสอดได้ รอยนี้มีความลึกมากกว่าบนิดแรกบางที่ลึกถึงอิฐที่ก่อหรือร้นวในแนวเดียวกัน ทั้ง 2 ด้านสาเหตุยังคงเป็นเรื่องของปูนฉาบอยู่ โดยอาจมาจากการก่อกำแพง2 ชั้น หรือมัความชื้นตรงช่องว่างภายในกำแพง\nใช้ไม้บรรทัดไม้สอดได้ แสดงว่มอาจจะร้าวเนื่องจากโครงสร้างอาคารถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ ให้ลองสังเกตร้อยร้าวว่า วิ่งไปที่จุดใดุ้าวิ่งเข้าหาเสากับพื้น แสดงว่าเสาเข็มที่ตอกไว้ไม่ได้ขนาดเอียงหรือหัก แต่ถ้าวิ่งเข้าหาเสากับคานชั้นบนแสดงว่าเหล็ำที่ยึดระหว่างหัวเสากับคานไม่ได้ขนาดหรือไม่ได้มีการยึดอว่าวถํกวิธี\n\nนอกจากเราจะคำนึงถึงความสวยงาม ความชอบของแต่ละ\nวุคคลที่เป็นเจ้าของบ้าน การเชือกสีทาภายนอกอาคาร ยังคง\nคำนึงถึงความสามารถในการสะท้อนแสงอีกด้วย จะสังเกตว่า\nบ้านเรือนในประเทศแถบที่มีอากาศหนาว มักจะทาสีภายนอก\nด้วยสีโทนะข้ม เนื่องจากสีโทนเข้มจะดูดความร้อนเอาไว้ ทำมห้\nภายในบ้านอบอุ่นยิ่งขึ้น แต่สำหรับบ้านเมืองเรา อึณหภูมิ\nภายนอปสูง อากาศร้อนจัด หากไม่จำเป็นแนะนำให้ใช้สีโทน\nอ่อน เช่น สีขาว สีครีม สีน้ำตาลอ่อน สำหรับผนังภายนอก\nเพราะโทนสีเหล่านี้จะมีความสามารถในการสะท้อนแสงไดัสูงทำ\nให้ไม่มีความร้อนสะสมอยู่ภายในบ้าน ผนังภายนอกก็จะไม่\nแตกร้าวได้ง่ายอีกทั้งยังเป็นการประหยัดค่าไฟฟ้าสำหรับพัดลงหรือ\nเครื่องปรับอากาศอีกด้วย\nขอบผนังปูนบริเวณรอบวงกบประตู-หน้าต่าง สักจะมีรอยร้าวเนื่องจากอะไร? \nสาเหตุหลัก ๆ เนื่องจากขาดเสาเอ็นและทับหลัง รอบช่อง\nเปิดทำใำ้กำแพงถ่ายน้ำหนักลงบตประตู-หน้าต่าง โดยตรงเป็น\nผลให้เกิดการแตกร้าว เสาเอ็นและทับหลังนี้ยังช่วยใตการยืดและ\nหดตัวของวงกบประตู-หน้าต่าง ไม่ให้ไปกระทบผนังปูนฉาบจน\nเกิดการแตกรัาวได้อีกด้วย ส่วนการหล่อทับหลังที่ถูกวิธีนั้นควรหล่อ\nจากเสาถึงเสา และควรจะหล่อเมื่อก่ออิฐไปได้ทุก ๆ 1 ใน 3 ของ\nกำแพงนั้น ๆ ที่สำคัญไม่ควรก่ออิฐในขณะที่ทับหลังยังไม่แห้ง\nสนิท\nบันได\n\nไท่ควรทำประตูชิดกับบันได\n\nบันได.\nพักเท้าเสียก่อนนั้น ตะเป็นอันตรายมากในกรณีที่คนหนึ่งกำลัง\nเดินขึ้นและอีำคนกำลังเปิดประตูสวนออกมา บาจประตูก็จะ\nกระแทกคนข้างล่างให้ตกบันได/ด้ ทางที่ดีควรเผื่อระยะชานพัก\nจากปลายบันไดขั้นสุดท้ายกับแระตูให้กว้าบพอ (อย่างน้อย\nประมาณ 1.50 เมตร)\n\nจมูกบันไดสำคัญไฉน\n\nบันไดไม่ได้เผื่อระยะสำหรับจมูกบันไดให้ส้นเท้าได้ถ่ายน้ำหนัก\nลงและยันน้ำหนักตัวให้ก้าวขึ้น จะทำให้ต้องเขย่งเท้าเดิน จน\nอาจปใดนิ้วเท้าและข้อเท้าโดยไม่รู้ตัว หรือถ้าหากก้าวเท้มโดยทิ้ง\nน้ำหนักตัวได้ไม่เต็มที่ อาจทำให้หงายหลังพลัดตกบันไดได้ระยะ\nจมูกบันไดที่พอควรนั้นก็ประม่ณ 2.50 เซนติเมตร (1”) ซึ่ง\nรวมกับระยะลูกนอนจะปรเมาณ 27.50 เซนติเมตร\n\nการเผื่อความหนาขอฝวัสดุปูถื้นชั้นล่างกับบันไดขั้นสะดท้าย\n\nบันไดเรัยบร้อยแล้วในการเ ตรียมโครงสร้างพื้นหรือปรั บ\nTOPPING ของระดีบพื้นพ่อนการปูวัสดุนั้น อย่าลืมคำนึงถึงความ\nหนาของวัสดุปูดื้น ซึ่งมีระยะต่างกันแล้วแต่ชนิดของวัสดุไม่ว่าจะ\nเป็น หินอาอน กรัเบื้องโมเสก ปาร์เกต์ หรือปูพรม เพราะความ\nหนาที่ต่างกันนี้จะทำให้ระยะลูกตั้งบันไดขั้นสุดท้ายสูงหรือเตีย\nผิดปกติทำให้เราเมื่อยขาเวลาก้าวขึ้น-ลงบันได\n\nขือดีขอบบ้านที่เล่นระดับโดยใช้ชานพักบันไดเป็นตัวเชื่อม\n\nกันให้เลานระดับโดยใช้ชานพักบันไดเป็นตัวเชื่อม ทำให้ลด\nระยะทางในการเดินขึ้นและลง และไม่รู้สึกเมื่อยขาเวลาเปลี่ยน\nระดับเพราะจะมีระยะให้พักเท้ามาพขึ้นและเปลี่ยนมุมมองอยู่\nเสมอเมื่อเปรียบเืียบกับการเดินขึ้นลงตลอดทั้งชั้ร\n\nที่ว่างใต้ชานพักบันได\n\nสูงขึ้นอีกจะได้ที่ว่างสำหรับประโยชน์อื่น ๆ อีก เช่น ทำเป็น\nห้องน้ำหรือห้องเก็บของโดยต้องเผื่อความสูงของห้องใต้บันไดให้\nเพียงพอ\n\nขนาดลูกตั้ง-ลูกนอนสำหรับบ้านพักอาศัย\n\nขึ้น-ลง ยิ่งถ้าเป็นบ้านของคุณเอง ทั้งชีวอตคุณจะเมื่อขาโดยไม่รธ้\nสาเหตุ ส่วนถ้าหากลูพนอนออกแบบไว้ย้อยเกินไป ก็จะทำให้ต้ดง\nเกร็งเวลาเดินจนปวดนิ้วเท้าโดยไม่รู้ตัวอึก้ช่นกัน ฉะนั้นขนาด\nขแงลูกตั้งและลูกนอนที่พอเหมาุพอเจาะจะประมาณ 17.50\nเซนติเมตรและ 27.50 เซนติเมตร ตามลำดับ\n\nตำแหน่งของราวจับบันไก\n\nสนทางขึ้น เพื่อให้รั้งตัวเวลาเดินขึ้น ส่วนขาลงอนู่ฝั่งๆหนก็ได้\nเพราะแค่ใช้จับ (ไม่ต้องเอกแรง) และความสูงของราวจับควรจะ\nประมาณ 80-85 เซนติเมตร\n\nบันไดคอนกรีตที่เตรียมปูแผ่นไม้\n\nบันไดคอนกรีตทำให้การยึดระหว่างไม้พับคอนกรีตไา่แน่นกนา \nดังนั้นในการเทคอนกรัตเพื่อหล่อบันไดทุกครั้งจึงีวรฝังพุกไม้\nบนลธกนอน ขั้นละสองตุวตลอดแนวของบันไดทุกขั้น เพื่อใช้ยึด\nแผ่นไท้ให้แน่นหนา\nห้องน้ำ\n\nการรั่วซึมของท่อน้ำเกิดจากอดไร\n\nห้องน้ำ.\nลงบนฝ้าเพดานชั้นล่าง นาน ๆ เข้าฝ้าเพดานก็จะเปื่อยหรือหม่ก็\nขึ้นราต้องถอดซ่อมกันวุ่นวาย การป้องกันแต่เนิ่น ๆ นั้นทำได้\nโดยการออกแบบให้ท่อมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว้างพอที่จะ\nระบายน้ำและมีการงาดเอียง (Slope) ที่พอ้หมาะซึ่งจัประมาณ\n1 : 50 อีกทั้งต้องระวังอย่าให้มีการใช้ข้อต่อหรืเส่วนหักงอของท่อ\nมากเกินไป\n\nเลือกซื้อโถส้วมอย่างไรไม่ใหเผิดำลาด\n\nและตำแหน่งต่อท่อน้ำดีต่างกัน ดังนั้นเราจึงควรกำหนดรุ่นยี่ห้อ\nของสุขภัณฑ์เสียก่อนที่จะลงมือเทพื้นคอรกรีต เพื่อจะได้เตรียม\nเว้นตำแหน่งท่อไว้ได้ทุกจุด ไม่ต้องมาคอยเจาะพื้นคอนกาีตกัน\nภายหลังซึ่งจะยุ่งยากและอาจเสี่ยงต่อการรั่วซึมของพื้นห้องน้ำ\n\nพฤติกรรมการใช้อ่างล้างหน้าที่ต่างกัน\n\nดูแข็งแรงเวลาใช้จะสังเกตเห็นว่าน้ำจะเปียกเต็มไปหมด ส่วน\nผู้หญิงมักจะใช้เวฃาอยู่กับอ่างล้างหน้านานกว่าปู้ชายเนื่องจากความ\nรักสวยรักงาม อ่างล้างหน้าที่เธอเลือกจึงเป็นแบบอ่อนนุ่ม โต้ง\nมน มีขนาดเล็กกว่าหรือเป็นชนิดฝังใต้เคาน์เตอร์ แต่ทั้งนี้\nทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับรสนิยมของแต่ละบุรคลไป\n\nเหตุใดกระจกเงาในห้องน้ำจึงบอกบ่อย\n\nกระจกที่ฉาบปรอทอยู่ทำให้แผ่นปรอทลอกหลุด วิธีป้องกันก็คือ\nติเตั้งกระจกใหิขอบล่างสุดพ้นจากเคาน์เตอร์อย่างน้อยประมาณ\n10 เซนติเมตร และถืาเป็นไปได้ในกรณีที่เป็นกระจกติดตายกับ\nผนับ ควรมีวัสดุคั่นระหว่างกระจกเงากุบผนังหเองน้ำเพื่อไม่ให้\nความชื้นเข้าสู่ด้านหลังกระจกเงนได้โดยตรง\n\nระวังการรั่วซึมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างอาบน้ำกับผนัง\n\nระหว่่งอ่างกับผนังจะต้องยาอนวด้วยปูนขาว หรือไม่ก็เลือก\nกระเบื้องที่เป็นตัวลบมุมมาปิดเพื่อป้อวกันน้ำขังหรือซึม ลงสู่พื้น\nใต้อ่างอาบน้ำและถ้าหากมีระยะจากขอบอ่างถึงผนังมากพอสมควร\nต้องให้มีการลาดเดียงของขอบล่างหรือสามารถระบายน้ำไปลงรู\nระบายน้ำ\n\nการเลือกอุปกรณ์ประกอบ (FIGTING @ ACCESSORIES) ให้เข้ากันกับสุขภัณฑ์\n\nมากมายหลายยี่ห้อหลายรุ่น กาตเลือกอุปกรณ์ประกแบจำพวกก๊อก\nน้ำ สายยาง ฝักบัว หรือสะดืออ่าง จำเป็นจะต้องดูขนาดของเกลียว\nหรือท่อที่จะประกอบเข้ากับสุขภัณฑ์ของเรา จึงขอแนะนำว่าให้\nเลือกอุปกรณ์เหล่านี้ไปพร้อม ๆ กับสุขภัณฑ์เงยจะดีกว่า จะได้ไม่\nมีปัญหาภายหลัง\n\nอย่าลืมแยกส่วนเปียกหับส่วนแห้งภายในห้องน้ห\n\nเป็น 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนเปียก ประกอบด้วยที่อาบน้ำ เช่น\nอ่างอาบน้ำ (Bath Tub) หรือห้องอาบน้ำ (Shower) ฝักบัว ระดับ\nพื้นของส่วนนี้ควรจะต่ำกว่าส่วนแห้งประมาณ 10 เซนติเมตร\nหรือมีขอบกั้นน้ำ และควรมีผ้าม่านกันน้ำกระเด็นด้วย บริเวณ\nส่วนนี้จะอยู่ในสุดของห้องน้ำ ถัดออกมาจะเป็นส่วนแห้งซึ่งจะ\nประกอบไปด้วยอ่างล้างหน้ส โถส้วม ที่ปัสสาวะชาย-หญิง ส่วนนี้\nจะเป็นส่วนแรกของทางเข้า เพราะส่วนนี้เป็นบริเวณที่ใช้\nประจำ จึงไม่ควรให้พื้นเปียก\n\nประตูห้องน้ำสำหรับแขกไม่ควรเป็นประตูบานเกล็ก\n\nรับแขก การทำประตูห้องน้ำเป็นบานเกล็ดอาจจะทำให้แขกของ\nท่านไม่กล้าที่จะใช้หรืดใช้ได้อย่าง/ม่เต็มที่เพราะรู้สึกถึงความไมร\nเป็นส่วนตัวและการส่งเสียงหรืแกลื่น ดังนั้น ถ้าห้องน้ำนี้สามารถ\nระบายอาก่ศได้ทางอื่น (หรือระบายออกภายนอกโดยตรง)\nแนะนำว่าให้เลือกใช้ประตูบานทึบจะดีเสียกว่า\n\nประตูห้ดงน้ำอย่าเปิดเข้าสู่ห้องครัว\n\nประตูห้องน้ำเปิดเข้าสู่ห้องครัวโดยตรงหรือใกลเกันมาก อาจทำให้\nเกิดติดไฟขณะทำครัว ไฟอาจไหา้บ้านได้ อีกอย่างคือ เทศบัญญัติ\nเกี่ยวกับการสร้นงบ้านก็กำหนดไว้อย่างนั้นเช่นกัน\n\nระวับติดตั้งสายฉีดชำระผิดด้าน\n\nที่มือถนัด (ขวามือ) เสมิ เพืรแสะดวกในการใช้งาน ซึ่งหาหติดผิด\nด้านกับมือที่ถนัดแล้ว จะทำให้สายยางไปไม่ถึงหรือไม่ก็ใช้งาน\nลำบาก อยีางคาดไม่ถึงทีเดียว\n\nการเตรียมพื้นที่ใต้ห้องน้ำ สำหรับคิดตั้งท่อต่าง ๆ\n\nปัญหาที่ตามมาคือ หลังจากทค่เราเดินท่อส้วม ท่อน้ำดี และท่ด\nน้ำทิ้ง ของสุขภัณฑ์ไปยังช่องท่อหลัก ซึ่งต้องเผื่อ Slope ให้น้ำ\nไหลในท่อนั้นจะทำให้ระยะจากท้องพื้นถึงใต้ฝ้ามีมากขึ้น เป็น\nผลให้ฝ้าเพดานชั้นล่างเตี้ยลงกว่าปกติ หรือถ้าหากเรามำ Slope\nของท่อน้ำน้อยเกินไป เพื่อให้ห้องชั้นล่างมีฝ้าเพดานสูงขึ้น ก็จะ\nเกิดปัญหาการรั่วซึมแฃะอาจตันของท่อน้ำ เนื่องจากน้ำในท่อ\nไหลไม่สะดวก ปัญหาเหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าหากมีการออกแบบไว้\nล่วงหน้า โดยคำนึงถึงขนาดท่อ ตำแหน่ง และ Slope ของท่อ\n(ประมาณ 1 : 5) ใฟ้สัมพันธ์กับระยะระหว่างสุขภัณฑ์กับช่องท่อ\nหลัก\n\nติดตั้งอ่างล้างหน้าบนเคาน์เตอร์ควรเว้นระยะจากขอบเท่าไหร่\n\nตรงเคาน์เตอร์สาเหตุเนื่อลจากติดตั้งอ่างล้างหน้าลึกเกินไป ทำให้\nต้องก้มตัวลงมากกว่าปกติจนเมท่อยหลังหาือไม่เสื้อก็จะดป่ยกเพราะ\nตัวติเกับเคาน์เตอร์ที่เปียกน้ำ ีะยะระหว่างขอบเคาน์เตอร์กับตัว\nอ่างล้างหน้าน่าจะประมาณ 5 เซนติเมตร\n\nจะปูกระเบื้ิงห้องน้ำ เริ่มจากด้านไหนถึงจะดี\n\nหากมีการออกแบบลาย (Patte3n) ไย้แล้ว ก่อนปูควรจะเรียง\nกระเบื้องให้ได้ลายตามที่ต้องการเสียก่อนจึงจะงงมือปู เพื่อให้ลสย\nกระเบื้อฝได้เรียงต่ิกันตามแบบ แต่ถ้าหากไม่ได้มีการเตรียม\nออกแบบลายไว้เป็นพิเศษ หรือว่าปูกระเบื้องลายเรียบก็ควร\nคำนึงถึงเศษของกระเบื้องแผ่นสุดท้าย โดยจะเริ่มปูจากด้านหน้า\nประตูไล่ไปให้กระเบื้องแผ่นสุดท้าย (ซึ่งอาจจะไม่เต็มแผ่น) ไป\nอยู่ใต้เคาน์เตอร์แทน แค่นี้ห้องน้ำก็จะดูเรียบร้อยขึ้น\n\nระวังพื้นรั่วซึมใต้อ่างอาบน้ำ\n\nแก้ไขจริง ๆ เพราะฉะาั้นก่อน่ี่จะติดตั้งอ่างอาบน้ำ เราควรจะ\nเตรียมพื้นบริอวณใต้อ่างให้ลาดเอียงสู่า่อระบายน้ำ (สำหรับอ่าง\nอาบน้ำชนิดลอยตัว) และในกรณีที่เป็นอ่างอาบน้ำแบบติดตายให้\nทำการขัพมันพื้นปูฉ่บกันซึมเสียก่อน\n\nเลือกเครื่ิงทำน้ำอุ่นก่อนการปูกระเบื้องห้องน้ำ\n\nซึ่งแต่ละแบบก็จะมีขนาดของท่อ ระยะของททอ และระยะระหว่าง\nท่อน้ำเย็นกับท่อน้ำร้อนแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นหากเรามีการ\nเตรียมเครื่องทำส้ำอุ่นยี้ไว้ก่อนที่จะปูกระเบื้องบนผนังห้องน้ำ\nก็จะทำให้ห้องน้ำแลดูเรียบร้อย\n\nอย่าลืมเตรียมปลั๊ปไฟสำหรับใกล้อ่างล้างหน้า\n\nเคาน์เตอร์ล้างหน้าโดยเฉพาะคุณผู้หญิง ที่เป่าผมคงขาดเสัยมิได้\nเพราะติองใช้ร่วมกับกาะจกส่องหน้า การเตรียมปลั๊กไฟเอาไว้\nล่วงหน้า สำหรับตรงเคาน์เตอร์จึงไม่ใช่เรืาองที่เสียหาย แต่ที่\nสำคัญน่าจะใช้ปลั๊กชนิดกันน้ำและระบบป้องกันไฟดูด (แบบมีฝา\nปิด) จะปลอดภัยกว่า หรือยกให้สูงกว่ทเคาน์เตอร์ประสาณ 30-50\nเซนติเมตร\n\nเลือกชนิดโถส้วมชักโครกพึงสังเกตระบบท่อน้ำที่ใช้\n\nTANK ซึ่งต่างกันดังนี้ ระบบ FLUSH VALUE ใช้แรงดันของร้ำใน\nท่อน้ำ มาชำระความสกปรกในโถส้วม ส่วนระบบ FLUSH TANK\nนั้น โถส้วมจะมีถังเก็บน้ำติดอยู่ด้านหลังเรียบร้อยดล้ว ทำให้เวลา\nกดปุ่มชักโครก น้ำในถังเก็บน้ำจะไหลลงมาทำความสะอาดโถส้วม\nดังนึ้นหากคิดจะติดตั้งระบบ FLUSH VALUE เราจะต้แงเตรียม\nแรงดันในท่อน้ำให้เพียงพอสำหรับการกดชักโครกในแต่ละครั้ง\nเสียก่อน\nห้องนอน\n\nการเลือกเตียงนอนควรคำนึงถึง\n\nห้องนอนฐ\nของที่นอนเอาไว้ด้วยเพราะที่นอนที่มีขายทั่วไปในท้องตลาดมี\nขนาดมาตร๙านดังนี้\nที่นอนเดี่ยว มีขนาด 0.80 x 2.00 เมตร\n 1.05 x 2.00 เมตร\n 1.2- x 2.00 เมตร\nที่นอนคู่ มีขนนด 1.50 x 2.00 เมตร (QUEEN SIZEฉ\n 2.00 x 2.00 ้มตร (KING SIZE)\nและมีึวามหสา 10 ซม. , 15 ซม. และ 20 ซม.\n\nระวเวไฟไฟม้ในตู้เสื้อผ้า\n\nหลอดไฟพิเศษชนิดเปิดปิกเองโดยอัตโนมัติ เวลาที่เปิดปิดตู้\nเสื้อผ้านั้ยต้องระวัง อย่าลืมเปิดตู้เสื้อผ้าทิ้งเอาไว้ เพราะหลอดไฟ\nจะเปิดตลอแเวลาและเสื้อผ้าในตู้นั้นเป็าเชื้อเพลิงไเ้อย่าบดี และ\nึวรหมัทรตรวจเช็กหลอดไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าภายในสม่ำเสมอ \n\nราวแขวนผ้าในตู้ไม่ควรสูงเกิน 2.00 เมตร\n\nเท่าไหร่ซึ่งปกติไม่ควรสูงเกิน 2.00 เมตร เพราะจะหยิบไม้\nแขวนเสื้อผ้าลำบากหรือไม่ก็ต้องเขย่งเท้าเวลาเอื้อมไปหยิบ\n\nอย่างวางให้ปลายเตียงหันหน้าไปทางหน้าต่าง หรือ AIRCONDITION\n\nจมูกเวลานอน ทำให้รู้สึกคัดจมูกและถ้าต่อเนื่องกันหลาย ๆ วัน ก็\nอาจทำให้เป็นหวัดไเ้\n\nขนาดความปว้างของห้แงนอนไม่ควรส้อยกว่า 2.50 เมตร\n\nอันดับแรก คือขนาดของเตียงซึ่งปกติแล้วจะต้องกว้างประมาณ\n2.00 เมตร เพราะฉะนั้นหากห้องนอนของคุณมีความกว้างเพียง \n2.50 เมตร จะทำให้เหลือทางเดินเพียง 50 ้ซนติเมตร ไม่\nสะดวกในการเดินเข้าออก\n\nเตียงนอนควรตั้งลอยอิสระจากผนัง 3 ด้าน\n\nทิศทางลมแล้ว ยังไม่ควรวางเตียงให้ชิดกับผนังห้อง เพราะจะทำ\nให้เปลี่ยนผ้าปูที่นอนลำบาก และเกิดซอกมุมอับเป็นที่เก็บของ\nฝุ่นหรือสิ่งสกปรก\nห้องครัว\nห้องครัว.\nพื้นห้องครัวควรฃดระดับลบประมาณ 10 เซยติเมตร\nเพื่อเวลาทำความสะอาดพื้น ล้างพื้นห้อง น้ำจะได้ไม่ไหลเข้าสู่\nห้องอื่น และที่สำคัญอีกอย่างคือ ควรให้พื้นมีความลาดเอียง\nเล็กน้อย (1 : 200) สำหรับการไหลของน้ำลงสู่ช่องระบายน้ำ\n\nกระเบืิองปูพื้นสำหรับห้องครัว\n\nน้ำมันกระเด็นลงสู่พื้น ทำให้พื้นลื่น ดังนั้น ในการเลือก\nกระเบื้องปูพื้น ควรเลือกปูให้มีการสลีบกันระหว่างชนิดลื่นกับ\nชนิดหยาบ\n\nอย่าลืมใช้พัดลมดูดอากาศในห้องครัว\n\nไม่เพียงพอที่จะระบายควันจากการหุงต้มอาหาร สิ่งที่ขาดเสียมิได้\nคือ พัดลมดูดอากาศ เพื่อดูดควันและถ่ายเทอากาศภายในห้องให้\nเร็วยิ่งขึ้น และควรเลือกติดตั้ง ตำแหน่งของพัดลมดูดอากาศให้\nสามารถระบายอากาศสู่ภายนอกได้จริง ๆ ไม่ใช่ระบายออกปุ๊บก็เจอ\nกำแพงรั้ว เป็นอันว่าควันไม่ได้ไปไหน\n\nส่วนเก็บของใต้เคาน์เตอร์ ควรยกระดับจากพื้นห้องครัวปกติ\n\nเก็บจานขาม หรือพวกเครื่องปรุงต่าง ๆ จำพวก น้ำปลา น้ำมัน\nพืช ผงชูรส ขวดซอส เป็นต้น บริเวณนี้จึงเสี่ยงสำหรับความชื้น\nที่เกิดจากพื้นห้อง และที่สำคัญคือ เวลาท_ความสถอาดพื้นที่สี\nการขัดถูและราดน้ำ อาจทำให้ส่วนเก็บของนี้เปียกน้ำได้ ฉะนั้น \nหากจะทำส่วนเก็บจองไวัใต้เคาน์เตอร์ควรจะยกระดับพื้นใต่\nเคาน์เตอร์นั้นให้สูงกว่าปกติประมาณ 10 เซนต้เมตร\n\nตำแหน่งของตู้เย็นท่่น่าเป็นห่วง\n\nที่ต้องพิจารณานอกจากลำดับขั้นตอนของการใช้งานที่เรียงจาก\nตู้เย็น อ่างล้าง แล้วจากอ่างล้าง เตา ทั่เสิร์ฟอาหาร อีกสิ่งหนึ่งที่\nน่าพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ ตำแหน่งที่สะดวกอก่การเปอด และ\nหยิบของออกจากตู้เย็น ตู้เย็นที่วางไว้ติดกับผนเงด้านขวามือ จะไม่\nสามารถเปิดออกได้เต็มที่ ( <90™) ทกให้ไม่สามารถดึงตะแกรงใน\nตู้เย็นออกมาได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการวางตู้เย็นชิดกับมุมห้อง อย่าง\nน้อยน่าจะมีตู้สูงคั่นอยู่ก่อน ให้สามารถเปิดประตูออกได้มากกว่า\n90 องศา\n\nควรเตรียมปลั๊กไฟ สำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้า\n\nห้องครัว เช่น หม้อหุงข้าว เราไมโครเวฟ เครื่อวปั่นอาหาร สิ่ง\nเหบ่านี้ล้วนใช้บนเคาน์เตอร์ปรุงอาหารทั้งสิ้น การเตรียมปลั๊ก\nไฟฟ้าให้พร้อมจึงเป็นสิ่งจำเป็นและตำแหน่บของปลั๊กไฟฟ้านี้\nต้องอยู่สูงจากท็อปเคาน์เตอร์อย่างน้อย 20 เซนติเมจร และควร\nหลีกเลี่ยงในบริเวณที่ต้องเป่ยกน้ำบ่อย ๆ ด้วย เช่น บริเวณอ่าง\nล้างจาน\n\nเตรียมท่อระบายน้ำที่พื้นฟ้องคาัวเสียก่อน\n\nความสะอาดจึงเป็นสิ่งสำคัญ ควรเตรียมท่อระบายน้ำไว้ที่พื้น\nห้องครัว เพื่อระบายน้ำที่ล้างพื้น และควรทำ่างลาดเอีจง\n(SLOPE) สำหรับให้น้พไหลลวสู่ท่เระบายน้ำได้ (SLOPE ปกติ\nประมาณ 1 : 200)\n\nการทำตู้เก็บอาหารภายในห้องครัว\n\nเตรียมไว้เสมอ ไม่ว่าจะเป็นตู้เตี้ยใต้เคาน์เตอร์หรือเป็นตู้แขวนก็\nตาม ควรใช้บานตู้ที่เป็นบานเกล็ดเพื่อระบายอากาศ และกรุมุ้ง\nลวดด้านในอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันแมลงเข้าอเก \n\nตู้ใต้อ่างล้างจาน\n\nจาน ซึ่งภายในตู้จะเป็นท่อน้ำดีและท่อน้ำเสียจากอ่างล้าง ส่วน\nกรองเศษอาหารจากการล้างจาน รวมทั้งใช้เก็บอุปกรณ์ทำคยาม\nสะอาด หรือภาชนะถังขยะการทำบานตู้เป็นบานเกล็ดจะช่วย\nระบายกลิ่นดละความอับชืืนภายในและควรมีการกรุมุ้งลวดกันแมลง\nอีกชั้นด้วย\n\nตำแหน่งของเตาหุงต้ม\n\nน้ำมันจากการใช้กระทะ รวมทั้งคราบเขม่าควันต่าง ๆ ตำแหน่ง\nของเตาจึงควรอยู่ตรฝส่วนที่เป็นผนังทึบและปูกระเบื้องเซรามิกต\nรงบริเวณนั้น เพื่อที่จะสามารถทำความสะอ่ด ล่างคราบเขม่า\nควันเหล่านี้ได้ง่ายมากกว่าบริเวณหน้าต่างที่คราบมันจะเกาะ\nติดตามมุ้งลวด หรือกระจกบานเกล็ด ฦึางยากต่อการทำความสะอาด\nและแถมยังมีแมลงเข้ามารบกวนอีกด้วย\n\nทาสีน้ำมันบนผนังห้องครัว\n\nผนังที่เป็นเซรามิก แต่ปูกระเบื้อฝไม่ถึงฝ้าเพดาน ผนังส่วนที่\nเหลือ ควรจะทาสีน้ำมันแทนสีน้ำทาภายใน เนื่องจากสีน้ำมัน\nมีความคงทนกว่า และสามารถทำความสะอาดคราบเขม่ร คราบ\nคบันที่มาจากการหุงต้มอาหสรได้ดีกว่าสีน้ำธรรมดา\n\nอย่าลืมตำแหน่งสำหรับเก็บถังแก๊ส\n\nเปิดปิดหัวแก๊สสะดวก และควรมีวาล์วต่าฝหากอีกชุด เพื่อความ\nปลอดภัย โดยปกติเราจะวางถังแก๊สไว้ใต้เคาน์เตอร์ ส่วรที่เป็น\nเตาหุงต้ม และอาจมัการทำบานหน้าต่างปิดเพท่อความสวยงาม ขอ\nเน้นอีกอยทางว่าหน้าต่างนี้ควรเป็นหน้าต่างบานเกล็ดสำหรับ\nระบานแนกาศและสามารถตรวจสอบได้เวลาที่มีแก๊สรั่ว ส่วนพื้นที่\nวางถังแก๊ส น่าจะมีการยกระดับขึ้นปรถมทณ 10 เซนติเมตรเพื่อ\nกันไม่ให้ถังแก๊สเปียกน้ำจนขึ้นสนิม เวลาที่มีการทำความสะอาด\nพื้น\n\nอย่าลืมหลอดไฟใต้ตู้แขวน\n\nเปิดไฟกลางห้องแล้ว แสงสว่างจะทำให้เกิดเวาจากตัวเราไหยังตูิ\nทำให้มองไม่ค่อยเห็น หรือไม่ก็ตู้แขวนที่ยื่นออกมาเป็นตัวบัง\nแสงจากกลางห้องเสียเอง เตาจึงต้องใช้ไฟใต้ตู้แขวนช่วย\nระเบีจง, เฉลียง\n\nระวังราวกันตกเหล็กกับทะเล\n\nระเบียง, เฉลียง.\nสนิมได้ง่ายฉะนั้นอาคารที่สร้างอยู่ริมทะเลหากมีการออกแบบราว\nกันตกโปร่งแล้วควรเลือกวัสดุอื่นที่ไม่ใช่เหล็กมาแทนขะดีกว่า\nเช่น STAINLESS 100% หรือไม้ เป็นต้น\n\nขอบปูนตรงราวกันตก\n\nคราบแล้วยังป้องกันมิให้พวกของเล็ก ๆ น้เย ๆ หรือของเล่นลูกกลิ้ง\nตกลงชั้นล่างขอบปูนกันตกนี้ควรให้มีการลาดเอียงเล็กน้อยโดยจะ\nดึง SLOPE ให้เอียวเข้าด้านในของพื้นระเบียง เพื่อให้น้ำที่สาด\nเข้ามาไหลลงพื้นได้สะดวก\n\nการใช้โซ่สำหรับระบายน้ำจากระเบียงหรือกันสาด\n\nซ่ดนในอาคารแล้ว อีกวิธีหนึ่งคือการระบายน้ำออกสู่ภายนอก\nโดยตรง ซั่งทำให้น้ำไหลลงมาแรงและควบคุม/ม่ได้ เป็นผลเสีย\nกับพื้นหญ้าหรือต้นไม้ข้างล่าง การใช้โซ่เป็นตัวนำท่งน้ำลงมาจะ\nทำให้น้ำไหลลงสู่จุดเดียว และเสียงก็ไม่ดังอีกด้วย\n\nเวลาเทพื้นระเบียงควรเทพร้อม ๆ กับพื้นด้านใน\n\nโครงสร้างระหว่่งพื้นระ้บียงกับพื้นที่อยู่ภายในห้อง ถึงแม้ว่าจะ\nมีระดับต่างกันก็ตาม แต่ก็ควรเทพรีอมกันทีเดียวเพื่อให้เป็น\nโครงสร้างเดียวกัน (ไม่มีรอยต่อให้เกิดการรั่วซึมได้)\nประตู-หน้าต่าง\n\nแันสาดสำหรับประตู-หน้าต่าง\n\nประตู-หน้าต่าง.\nไม่มีกันสาดเหนือประตู-หน้าต่าง ฝนและแสงแดดซึ่งเป็นปัญหา\nใหญ่ของบ้านเีาจะสาดเข้าสู่ปาะตู-หน้าต่างได้โดยตรง มีผลให้\nประตู-หน้าต่างเหล่านั้นบิดงอ ถ้าเป็นไม้หรือถ้าเป็นอะลูมิเนียม\nแสงแดดก็จพกัดสควงกบและเพิ่มอุณหภูมิภายในบ้าน การออกแบบ\nเพื่อหลีกเลี่ยงนั้นทำได้โดยร่นประตูและหน้าต่างให้ลึกเข้าไปใน\nผนังประมาณ 0.60-0.80 เมตร หรือไม่ก็ยื่นกันสาด คสล.\nเหนือประตู-หน้าต่างนั้น แต่ถ้นยังอยากได้หน้าต่างเสมอกับผนัง\nอีก ก็ขอแนะนำให้เลือกเอาเฉพาะด้านของตัวบ้านที่ไม่ค่อยจะ\nได้น้บแสงแดดโดยตรง เช่น ด้ายทิศเหนือ เป็นต้น\n\nกระจกเจียรปรีคืออะไร\n\nทำรอบทั้ง 4 ด้าน เพื่อความสวยงามเวลาที่แสงสะท้อนที่ใุมจะ\nเกิดแสงหักเหเหมือนแก้วเจียระหน ราคาของกระจกเจียรปรีนี้จะ\nแพงกว่ากระจกธรรมดา และต้องระวังขอบแตกกรือบิ่นเวลาติดตั้ง\nเนื่องจากขอลกระจกที่เจียรแล้วจะบางมสก\n\nออกแบบหน้าต่างบานเกล็ดกระจก\n\nหน้าต่างกว้างเกินไป เพราะอุปกรณ์ปรับมุมจะรับน้ำหนักกระจก\nไม่ไหว ทำให้แอ่นหร่อแตกหักได้ ดังนั้นขนาดควสมกว้างที่\nเหมาะสมคือไม่ควรเกินกว่า 70 เซนติเมตร 2. คือ เรื่องความ\nหนาของกระจกที่จะใชเหากเป็นกตะจกที่มีความหนามาก\nดัปกรณ์ปรับมุมก็จะรับน้ำหนักไม่ไหว หรือไม่ป็ยากที่หมุนเปิด\nปิด หากเป็นกระจกที่บางเกินไป ก็จะแตกง่ายเวลาหมุนปรับ\nองศา สรุปว่าควรเลือกกีะจกที่มีความหนาประมาณ 1/2\nเซนจิเมตร\n\nประตูที่เปิดสู่ด้านนอกอาคารต้องเปิดออกเสมอ\n\nและมีฝนสาดถึง จะต้องเป็นปรเตูที่เปิดออก และบานประตู\nจะจ้องอยู่ต่ำกว่าระดับพื้นภายในเสมอ โดยขาวงกบจะวางอยู่บา\nพื้นภายนอก ทั้งนี้ิวลาฝนตก ส้ำฝนที่สาดเข้ามาก็จะไหลลงตาม\nด้านข้างประต฿ แต่ไม่สามารถเข้าสู่พายในอาคารได้\n\nข้อควรระวังในการติดตั้งวงกบอถลูมิเนีนม\n\nปูนเรียบร้อยแล้ว ใิฉะนั้นน้ำปูนจะทำปฏิกิริยากับแะลูมิเนียม\nทำให้เกิดเป็นคราบขุ่น ล้างไม่ออก ในกรณีที่การก่อสร้างเร่งด่วน\nต้องฉาบปูนไปพร้อม ๆ กับการติดตัเงวงกชอะลูมิเน่ยม หรือติดตั้ง\nวงกบก่อน ก็ควรจะกุนวงกบอะลูมิเนียมไว้ไม่ให้ถูกน้ำจากปูนฉาบ\nโดยวิธีการทาเึลือบวงกบด้วยครีมหรือยาสลินก่อน\n\nประตูห้องเก็บของควรเปิดออกด้านนอก\n\nการเก็บของมากขึ้น เพราะหากประคูเปิดเข้าด้านในห้ิงอาจจะ\nติดอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ฝังเก็บไว้ในห้อง เช่น ไม้พวาด ลังเก็บ\nของหล่นลงมาขวางประตู จนประตู/ม่สามารถจะเปิดเข้าไปได้\nนั่นเอง\n\nประตูมุ้งลวด\n\nนอกนั้นก็เพื่อป้องกันไม่ให้ยุงหรือแมลงบินเข้ามารบกวนพายใน\nบ้าา และช่องมุ้งลวดยังปล่อยให้ลมพัดผ่านได้ประมาณ 60% แต่\nอย่าลืมว่าการริดตั้งประตูมุ้งลวดร้องใหัอยู่ด้านในบ้าร และประตู\nบ้านก็จะิปิดออกด้านนอกเสมอ ส่วนชนิดของประตูมุ้งลวดมีทั้ง\nแลชบานเปิดและแบบขานเลื่อน หากคิดจะติดตั้งประตูมุ้งลวด\nชนิดบานเลื่อน ก็ให้ระวังปมลงหรือยุงจะเข้ามาระหว่างตัวบาน\nเลื่อนกับบานติดตาย\n\nหน้าต่างบานเปิดควาสูงกว่าโต๊ะทำงานที่ติดหน้าต่างรวม 10 เซนติเมตร\n\nเซนติเมตร หากเราวางหน้าต่างให้ขอบล่างสูงจากพื้นเท่ากันกับ\nขอบโต๊ะหรือต่ำกว่าขอบโต๊ะก็จะเกิดปัญหา เช่น ลมจะพัดเอา\nกระดาษบนโต๊ะจนปลิวและบางทีหากขอบวงกบอยู่ต่ำกว่าขอบโต๊ะ\nเรายังไม่สามารถเอื้อมไปล็อกกลอนตัวล่างได้อีก ฉะนั้นทางที่ดีหาก\nคิดจะบางโต๊ะไว้ชิดกับหน้าต้างแล้ว ควรให้ขอบล่างสุดขอบหน้าต่าง\nสูงจากขอบโต๊ะทำงานประมาณ 10 เซนติเมตร\n\nการเลือกตำปหน่งของแระตูห้องนอน\n\nเพียงพอสำหรับตู้เสื้อผ้าเอาไว้ด้วข คือ ระยะประมาณ 65\nเซนติเมตร ไม่ควรวางประตูให้ชิดผนัง หรือเว้นระยะจากผนัง\nเพียง 20-30 เซนติเมตร จะาำให้บริเวณนี้เป็นซอกไม่สามารถ\nวางอถไรได้ เป็นที่กักเก็บฝุ่นหรือสิ่งสแปรก ซึ่งจะทำให้ทำความ\nสะอาดลำบาก\n\nเรื่องน่าคำนึงถึงสำหรับช่องทางเข่า-ออกของลม\n\nพัดเข้าห้องและผ่นนออกไปเลย แต่ถ้าเราเลื่อนช่องลมออกให้เบื้อง\nกับช่องลมเข้าลมที่พัดเข้ทมาใจห้อฝจะหมุนเใียนก่อนแล้วค่อย\nผ่านออกไป ทำให้การระบายอากาศกระจายทั่วห้องกว่าแบบแรก\nแต่ที่สำคัญที่สุดถ้าไม่มีช่องให้ลมออกกฌจะไม่มีงมพัดเข้ามา\n\nปัญหาของประตูลานเลท่อนสวนกัน\n\nขอฝความสวยงาม การเปิดช่องแสงให้แสงสว่างเข้ามาภายในห้อง\nมากขึ้น และยังเพิ่มมุมมองภายในห้องให้แลด฿กว้างจึ้น แต่ก็น่าจะ\nชั่งน้ำหนักดูกับข้อเสียของมันในเรื่องของการรับลมได้ไม่เต็มที่\nคือสามารถเปิดรับลมได้เพียงด้านเดียว เรื่องของราคา (ซึ่งจะสูง\nปว่าปกติแน่นอน) เรื่องของความไม่แข็งแรง เนื่องจากน้ำหนัก\nของกระจกกดลงบนพื้นมาก เวลาเลื่อนจะไม่สะดวกเท่ากับ\nหน้าต่างวานเลื่อน และหากคิดจะติดบานมุ้ฝลวดเพิ่มขึ้นอีก จะ\nทำให้วงกบรวมทั้งหมดมีความหจาแน่นมากกว่าปกติ\nที่จอดรถ\n\nซื้อที่จอดรถแบบเครื่องกลสำหรับทาวน์เฮ้าส์\n\nที่จอดรถซ\nการใช้ที่จอดรถแบบเครื่องกล (ราคา 150,000) แต่พื้นเดิมไม่ได้\nเผื่อการรับน้ำหนักของรถ 2 คันกับเครื่องกลอีก 1 ชุด ท้ายสุดพื้น\nพัง รถก็จะหล่นลลมากอลรวมกันเป็นคันเดียว\n\nโรงรถสำหรับบ้านัรส\n\nอิทธิพฃจากตะวันตกรวมไปถึงโรงรถ ืี่ทำในลักษฯะปิดทึบ หา\nรู้ไม่ว่า ที่เขาทำกันในลักษณะนั้น เนื่องจากต้องป้องกันหิมะ\nและพสยุแรง แต่สำหรับบ้านเรสแนะนำให้ออกแบบสำหรับการ\nระบายอากาศจะดีกว่า เพราะในโรงรถจะมีทั้งไอเสียจากรถยนต์\nกลิ่นน้ำมันรวมทั้งความร้อนของเครื่องยนต์รูผแบบของโรงรถ\nน่่จะออกมาในลักษณะโปร่ง โล่ง เพียลแต่มีหลังค่เอาไว้กันปดแ\nฝน เท่านั้รก็พอ\n\nความกว้างที่จิดรถ 2.40 เมตร ไม่ะพียงพอ\n\nกว้าง 2.40 เมตรก็ตามแต่ ในกานใช้งานจริงควรเผื่อไว้อีก 0.50\nเมตร รวมเป็น 2.90 เมตรต่อคัน เผื่อระยะให้ปตะตูรถเปิดได้\nและสะแวกสำหรับการทำความสะอาด เช่น อช็ดถูรอบข้างคันรถ\nหรือย้ายข้าวขงเข้า-ออกรถยนน์\n\nหันท้ายรถเข้าจอดควรระวัง\n\nควันจากท่อไอเสียรถยนต์จะทำกำแพงบ้านดำต่างหาก วิธีแก้ไข\nง่าย ๆ โดยการทาสีน้ำมันลงบนกำแพงบ้านส่วนที่เป็นที้จอดรถ\nสูงจาดพื้นประมาณ 80 เซรติเมตร หรือไม่ก็ทำบล็อกตืนไม้กั้น\n่ะหว่างกำแพงบ้านกับที่จอดรถ (หากมีพื้นที่พอ) ต้นไม้ตะได้\nช่วยกรองฝุ่นควันจากท่อไปเสียไม่ให้เข้าบ้านได้โดยตรง\n\nอย่าลืมติดตั้งก๊อกน้ำสำหรับที่จอดรถ\n\nและทำความสะอาดพื้นลานจอดรถ โดยความสูงของก๊อกน้ำควรสูง\nจากพื้นประมาณ 0.40 เมตร เพื่อให้สามารถรองถังน้ำได้ และ\nควรจะซ่อนให้พ้นทางรถจอด\n\nเครื่องดับเพลิงในที่จอดรถ\n\nโดยทั่วไปนิยมเครื่องดัลเพลิงชนิดถัง ควรติดตั้งในตำแหน่งที่\nสังเกตได้ง่ายสามารถเข้าไปหยิบใช้งานได้สะดวก และหมั่นตรวจ\nเช็กเชื้อเพลิงภายในเครท่องดับเพลิงอยู่เสมอ (ตามเวลาที่ระบุบน\nถัง)\n\nเตรียมห้องเกฌบเครื่องมือสำหรับที่จอดรถ\n\nซ่อม บำรุงรถยนต์เอาไว้เก็วอะไหล่รถ หรือเครื่องมือที่ใช้ทำความ\nสะอาดรถยนต์ อาจจะทำเป็นลักษณะของตู้เก็บของ ที่ใช้สอย\nเป็นชั้นๆ ก็ได้ และควรคำนึงถึงเรื่องการระบายอากาศและการ\nป้องกันฝนเอาไว้ด้วย\n\nระวังหน้าต่างบานเปิดที่ติดกับที่จอดรถ\n\nแล้วเผอิญผนังนั้นมีช่องหน้าต่างบานเปิดอยู่ หากเปิดหน้าต่าง\nออกมาในที่จอดรถก็จะทำให้ไม่สามารถเดินผ่านรอบตัวรถได้ การ\nทำความสะอาดก็ลำบาก ฉะนั้นทางที่ดีำากจำเป็นต้องมีหน้าต่าง\nดยู่ติดกับที่จอดรถแล้ว ควรเปลี่ยนจากบานเปิดให้เป็นบาน\nเลื่อนเสียจะดีกว่า\n\nไม่ควรให้โรลจอดรถอยู่ทางทิศใต้ของบ้าน\n\nการวางโรงจอดรถไว้ทางทิศวต้ของตัวบ้าน นอกจากจะเป็นตัวปิด\nกั้นทางลาไว้แล้ว ยังทำให้ลมพัดเอาฝุ่น ควัน ไอเสีย จากท่ดไอ\nเสียรถยนต์ซึ่งประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซพิษ\nต่าง ๆ เข้าสู่ตัวบ้านตลอดทั้งวัน เป็นหลเสียแก่สุขภาพของผู้อยู่\nอาศัย\n\nควรทำผนังในด้านทิศตดวะนตกของที่จอดรถ\n\nคลุมกันแดด บางีรั้งน่าจะทำผนเงในด้านทิศตะวันตกเอาไว้ด้วย\nเนื่องจมกทิศตะวันตกแดดจะแรงมาพ โดยเฉพาะในเวลาบาาจ การ\nก่อผนังกันแดดทางทืศตะวันตก จึงเป็นการป้องกันไม่ให้สีของ\nรถยนต์ซีดเร็วจนเกินไป หรืออ่กวิธีหนึ่งคือการปลูกต้นไม้สูง\nชนิดที่สามารถให้ร่มเงาได้ หากไม่สามารถก่อผนังเพิ่มเติมในที่\nจอดรถ\n\nไม่ควรปลูกกระเบื้องเซรามิก บนพื้นโรงจอดรถ\n\nเนื่องจากกระเบื้องเซรามิกไม่ได้ผลิตมาสำหรัยรับน้ำหนัหมาก ๆ\nและยังทีความลื่นมันอีกต่างหาก จึงเสี่ยงต่อการหลุดล่อนได้ง่าย ใน\nกรฯีที่ต้องรับน้ำหนักรถที่มีการเคลื่อนที่เข้าออกอยู่ตลอด้วลา\n\nการติดคั้งปลั฿กไฟในโรงจอดรถ\n\nต้ิงใช้ประกอบกับเครื่องมือซ่ิมบำรุงรถยนต์ต่าง ๆ รวมทั้ง\nเครื่องมือทำความสะอาด เช่น เครื่องดูดฝุาน ใชิสำหรับทำความ\nสะอาดพิ้นรถยนต์หรือเบาะนึ่ง เป็นต้น การเตรียมปลั๊กไฟไว้\nควรจะติดตั้งมก้สูงกว่าพื้นไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร เผื่อการล้างพื้น\nและทางที่ดีควรจะเป็นปลั๊กไฟชนิดริดตามภายนอกอาคารและ\nกันน้ำได้ (ชนิดมึฝาปิด)\n\nการทำพื้นลาดเอียล (CLOPE) บนพื้นที่จอดรถ\n\nรถ พื้นที่จอดรถโดยทั่วไปก็มีขนาดใหญ่อยู่แล้ว การทำทาง\nระบายน้ำและพื้นลาดเอียลขึงเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะน้ำที่ทำ\nความสะอาด หรือน้ำจากเครืาดงยนต์จะขังบนพื้นอันเป๊นสาเหตุ\nให้ล้อรถเสื่อมคุณภาพเร็ว แต่การทำพื้นลาดเอียงมากเกินไป ก็มี\nข้อเสียอยู่เหมือนกัน คือ จะทำให้รถไหลเวลาจอด (หากลืมดึง\nเบรกมือไว้ หรือต้องมีพุกไม้ขุ้นไว้ที่ล้อรถ) ฉพนั้น SLOPE ที่\nพอเหมาะสำหรับการลาอเอียงควรจะแระมาณ 1 : 200\n\nไฟกิ่งตามเสาในโรงจอดรถ\n\nเก๋ง เป็นรถที่มคความสูงมากขึ้น เช่น รถกระบะ รถตู้ หรือรถ\nขับเคลื่อย 4 ล้อ มีผลทำใก้รถเหล่านี้ชนถูกไฟกิ่ง ที่นิดตามเสา\nหรือข้างผนัง เวลาถอยรถเข้าจอด ฉะนั้นในการทีาจะติดตั้งไฟกิ่ง\nให้เผื่อความสูงนี้เอาไว้ด้วย เพราะไม่แน่ว่าในอนาคตคุณอาจ\nเปลี่ยนชนิดของรถที่ใช้ หรือเผื่อสไหรับรถของแขกทร่มาเยี่ยมบ้าง\nก็ได้ไม่เสียหาบ\nสวน\nสวน.\nคิดจะปล๔กต้นฟม้ไว้บนดาดฟ้า ควรคำนึงถึง? \n1. การรับน้ำหยักของโครงสร้าง ควรเตรียมโครงสร้างไว้ให้\nพอเพียงสำหร้บน้ำฟนักืี่เพิ่าขึ้นของสวนลอยฟ้า (ROOF\nGARDEN) ซึ่งโดยปกติแล้วอาคารธรรมดาจะเตรียมโครงสร้างไว้รับ\nน้ำหนักประมาณ 200 – 400 กิโลกรัม/ตารางเมตร แต่หากเป็น\nสวนลอยฟ้า น่าจะเตรียมไว้ประมาณ 700 – 1,500 กิโลกรัม/\nตารางเมตร\n2. ความลึพของเิน ความลึกของอินที่เพียงพอสำหรับการ\nปลูกต้นไม้ขนาดเล็กไม่ควรตทำกว่า 40 เซนติเาตร และ 1.20\nเมตร สำหรับปลูกต้นไม้ใหญ่\n3. ทางระบายน่ำ การเตรียมดินสำหรับปลูกต้นไม้ ควร\nเตรียมทางระบายน้ำเอาไว้ด้วย \n4. น้ำสำหรับรดต้นไม้ หากเป็นดาดฟ้าบนตึกสํง ๆ การ\nเตรียมน้ำขึ้นไปรดต้นไม้ ก็จำเป็นต้องใช้เึรื่อง PUMP หรือ\nTANK น้ำไว้ส่วนหนึ่งสำหรับรดต้นไม้\n5. แรงลม เนื่องจากอยู่บนตึกสูง ๆ แน่นอนว่าจะต้องมี\nลมแรงมาปะทะ ถ้าคิดจะปลูกต้นไม้ืี่มีความสูงก็จำเป็าต้องทำ\nค้ำยันเอาไว้ยึดลำต้น\n6. การขนย้าย ตวรวางแผนการขนย้ายให้ดี ไม่ว่าจะเป็น\nดิน ต้นไม้หรืออุปกรณ์ทำสวนต่างๆ ซึ่งหาดเป็นตึกที่ไม่มีลิฟต์\nสำหรับขนย้ายข้าวของ ก็คงเป็นเรื้องใหญ่พอสมควร\n7. การดูแบรักษา ควรเตรียมการณ์ไว้สำหรับก่รดูแลรักษา\nสวนของคุณไม่ว่าจะเป็นการีดน้ำพรวนดิน ซึ่งต้องนึกด้วยว่าคุณ\nต้องขึ้นมาดูแลรดน้ำเป็นประจำทุกวัน หรือถ้าเป็นสวนขนาด\nใหญ่ คุณอาจจะติดสปริงเกิลสำหรับรดน้ำต้นไม้แบบอัตโนมัติ ก็\nจะช่วยทุ่นแรงได้บ้าง\nปัญหาของการปลูกต้นไม้บนคึก?\nปัญหาบองการปลูกต้นไม้บนตึก?\nการเปลี่ยนแปลงลักษณะการอยู่อาศัยในเมือว ในรูปของ\nตึกสูง เช่น อดาร?ทเมนท์ หรืิคอนโดมิเนียม ทำให้เราอยู่\nห่างไกลธรรมชาติม่กยิ่งขึ้น วิธีหนึ่งที่เจ้าของห้องพักนิยมทำกัน\nคือ การปลูกต้นไม้ไว้ข้างตึก โดยจะเป็นลักษณะของกระบะต้นไม้\n(FOWER BRC) ที่เป็นโครงสร้างของอาคารอยู่แลีว หรือทำการต่อ\nเติมจากเดิม ซึ่งการทกกระบะต้นไม้ช้างอาคารเช่นนี้ควรคำนึงถึง\n1. ควรเตรียมน้ำสำหรับรดต้นไม้เอาฟว้ หากเป็นพื้นที่ที่มี\nขนาดใหศีก็ควรเตรียมก๊อกน้ำเอาไว้เสียเลย จถได้ไม่ต้แลต่อสายยาง\nออกมาจากห้องให้ลำบาก\n2. ต้องเตรียมทางระบายน้ำ ซึ่งหากเป็นระเบียงนอก\nอาคาร อาจจะมีการเตรียมท่อระบายน้ำไว้แล้ว ควรวังเกตให้ฝาท่อ\nระบายน้ำเป็นลักฯณะกันเศษดินไรือเศษใบไม้ไว้ด้วย เถื่ดจะได้\nไม่มีการอุดตัน\n3. ระวังเรื่องน้ำจากการรดต้นไม้ จะไหลบนผนังอาคาร\nเพราะน้ำที่กระเด็นออกมาจากดิน จะติดเป็นคราบอยู่บนผนัง\nอาคารภายนอกทำความสะอาดไม่ได้\n4. ควาทชื้นของกระบะตเนไม้ ถ้าเป็นผนังร่วมกันกับผนัง\nอาคารก็จะทำให้ผนังอาคารชื้น สีบนผนังก็จะลอกหรือไม่ก็ขึ้นรา\nควรจะแยกผนังออกจากกัน หรือไม่ก็ควรจะขัดสัน ทำระบบกัน\nซึมให้กับผจังด้านในของกระบะต้นไม้\n5. หารขนย้าย และกทรเปลี่ยนถ่ายดิน เวลาบำรุงรักษา\nต้นไม้หากเป็นกระบะที่ยื่นออกมานอกตะวอาคารมากๆ ก็ต้องดูด้วย\nว่าสามารถจะเอื้อมมือออกไป ดูแลรักษาได้หรือเปล่า\nสนามหญ้าที่บ้านคุณมีทางระบายน้ำหรือเปล่า? \nไม่ว่าึัณจะทำสนามหญ้าหน้าบ่านเอาไว้ปลูกต้นไม้หรือ\nทำสวนแบบญี่ปุ่น สิ่งที่ลืมเสียมิได้ คือ าางระบายน้ำ ต้เง\nเตรีขมทางระบายน้ำสำหรัขน้ำฝนและน้ำรดต้นไม้ เพราะถ้าหาก\nการระบายน้กไม่ดี ดินที่ไม่ด๔ดซับน้ำ น้กก็จะขังอยู่ตีงรากของ\nต้จไม้ ทำให้รากเน่า ต้นไม้ำ็จะไม่เจริญงอกงาม ไม่ใีดอกผลให้\nชื่นชม หรือไม่ก็อาจตายไปในที่สุด\nการปลูกต้นไมิชอดกับตัวบ้าน? \nการปลูกต้นไม้ใหญ่ไว้ชิดกับตัวบ้าน จะต้องคำนึงถึงเรืือง\nดังต่อไปรี้\n\nรากของต้นไม้ใหญ้จะดันโครงสร้างใต้ดินขอฝตัวบ้านอาจทำให้โครงสร้างแตกร้าวและพังทลายได้\nต้นไม้ใหญ่อาจล้มทับตัวบ้านได้ หากดยู่มน่ิศทางที่กระแสลมแรงควรเผือระยะห่างจากตัวบ้านเอาไว้สำหรับแนวน้นไม้ที่อาจล้มลวมาและควรตัดกิ่งไม้ทีทแก่หรือใกล้จะหลุดร่วง เพราะอาจถูกลมพัดกิ่งหม้ใส่หน้าต่างบ้านได้\nหากต้นไม้ใหญ่ที่สมารถปีนป่ายได้ ระวังขโมย จะใช้เป็นเส้นทางโจรกรรมเข้าบ้านคุณทางระเบียงหรือหน้าต่าง\n\nหากคุณจะปลูกตืนไม้อยู่ชิดกับผนังบ้าน ให้ระวับน้ำที่รด\nน้ำต้นไา้เมื่อตกกระทบกับดินที่ะื้น จะทำให้ดินกระเก็นใส่ผนัง\nบ้านภายนอกจนเปรอะเปื้อนตามขอบล่างของผนัง ฉะนั้นควร\nจะถอยระยะจากจุดที่เอาต้นไม้ลงประมาณ 0.40 เมตร และทำ\nเป็นบ่อกรวดขั้ยเสียก่อน หรือหากอยู่ใสช่วงก่แสร้าง ก็ควรใฟ้ช่าง\nรับเหมา ทำขอบ คสล. เลยออกมาจากผนังบ้านราว ๆ 0.40 เมตค\nแล่วค่อยลงดินสำหรับปลูกตินไม้\nรั้ว\nรั้ว.\nอย่าสร้างรั้วก่อนสร้างบ้าน? \nการสร้างรั้วเสียก่อนที่จะสร้างบ้าน มีข้อเสียอยู่หลาย\nประการดังนี้\n1. การขนย้ายวัสดุอุปกรณ์รวมถึงรถที่จะเข้ามาทำงานใน\nที่ดินไม่สะดวก เช่น ช่องประตู อาจจะไม่กว้างพอสำหรับรถ\nแทรกเตอร์หรือรถตักดิต วงเลี้ยวของรถทีีขอเสาเข็มอาจจะไม่พอ\nจนก่อคงสมเสียหายให้กับรั้วบ้านได้\n2. รั้วบ้านอาจจะพังก่อน เนื่องจากโครงสร้างใต้ดิรของรั้ว\nบ้านกับตัวบ้านแตกต่างกัน การตอกเสาเข็มสำหรับรั้วบ้านไม่ลึก\nเท่ากับของตัวบ้าน ดังนั้น เวลาที่ตอกเสาเข็มของตัวบ้าน ทำให้\nโครงสร้างเสาเข็มของรั้วสะเทือน หรืออาจยะพังลงาาก่อนบ้านจะ\nสร้างิสร็จก็เป็นได้\nการวนงแนวรั้วหน้าบ้านกับรั้วบ้างบ้าน แตกต่างกันอข่างไร? \nโดยทั่วไปรั้วข้างบ้านจะวางอยู่ในแนวแึ่งกลางระหว่าง\nที่ดินของเรากับของเพื่อนบ้าน โดยใช้แนวแบืงเขตที่ดินเป็น\nเกณฑ์ ทำให้รั้วนั้นอยู่ในเขตเราครึ่งหนึ่งและอยู่ในเขตเพื่อน\nย้านอีกครั้งหนึ่ง (ในกรณีนี้เาจจะแบ่งกันจ่ายค่าก่อสร้างรั้วกัน\nคนละครึ่ง) า่วนรั้วหน้าบ้านมักจะติดกับทางสทธารณะ การวาง\nแนวรั้วต้องวางให้ขอบคั้วด้านนอกอยู่ในเขตที่ดินของเรา โดยห้าม\nไม่ให้มีส่วนใดส่วนหนึ่งปลูกสร้างล้ำเข้าไปในที่สาธารณะเด็ดขาด\nรั้วบ้านด้านในควรเดินขอบปูนโดยรอบ? \nในกรณีที้รั้วบ้านด้านมนอยู่ติดกับพื้นที่ที่เป็นสนาม\nหญ้า หรือสวนการเดินจอบปูนอยู่ติดกับโครงสร้างรั้วโดยยกขอบ\nพื้นให้ภอยจากนิมสนามหญ้า ประมาณ 20 เซนติเมตร เพื่อให้\nเครื่องตัดหญ้าสามารถเข้าไปถึงขอบด้านในสุดของสนาม ทำให้\nสนามหญ้าเรียบร้อยขึ้น\nรั้วที่มีความยาวมาก ๆ ควรขยายขนาดฐานรากในทุห ๆ ช่วง 6-8 เมตร? \nสำหรับรั้วบ้านที่มีความยาวมาก ๆ ความแข็งแรงขอบรั้วจะ\nน้อยลง ดังนั้น เวลาที่เตรียมโครงสร้างใต้ดอนของรั้ว ควรจะ\nปรึกษาวิศวกร เพื่อสำรวจที่ดินแนวรั้วก่อน\nไม่ควรก่อกำแพงชิดกับตัวบ้าน? \nควรเว้นระยะระหว่าฝรั้วกำแพงกับตัวบ้าน อย่างน้อย\nประมาณ 0.80 เมตร หากน้อยกว่านี้เราจะฟม่สามารถเข้าไป่ำ\nความสะอาดได้ทำให้เกิดเป็นซอกมะมอับหรือสะสมสิ่งสกปรกได้\nาะยะห่่งของรั้วเหล็กโปร่งสำหรับบ้านที่เลี้ยงสุนัข? \nบางบ้านที่เลี้ยงสุนัข ไใ่อยากให้สุนัขลอดรั้วหนีออกไป\nข้างนอกจึงควรสร้างรั้วเหล็กโปร่งให้มีแนวเหล็กถีทขึ้นฌดยเฉพาะ\nช่วงล่างของรั้ว ให้แร่ละช่วงเว้นช่องประมาณ 10 เซนติเมตร แต่\nถ้าเแ็นลูกใุนัขก็ควรจะถี่กว่านี้\nประตูรั้วบ้านควรเปิดเข้าในบ้านอย่างเปิดออกถนนใหญ่? \nประตูรั้วหน้าบ้านไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ควรเปิดเข้าฝนบ้าน\nเสมอ อย่่เปิดออกนอกถนนใหญ่ เพราะการเปิดเข้าทำให้เกิด\nความรู้สึกเชื้อเชิญยินพีร้อนรับและที่สำคัญคือปลอดภัยกับรถบน\nถนนที่วิ่งผ่านไปผ่านมาไมืให้มาชนประตูของบ้านเรา\nวิธีแก้รั้วบ้านที่อยู่ทาง 3 แพร่ง? \nตำแหน่งบ้านตรงทาง 3 แพร่ง มักจะเกิดอันตราย\nเพราะมีถนนสายหลักพุ่งเข้าหา หากรถที่ขับเข้ามาเกิดเผลอหรือ\nเลี่ยงไม่ทันก็อาจพุ่งเข้าชนรั้วบ้านให้เกิดความเสียหายการทำให้รึ้ว\nบ้านเด่นและสะดุดตาจึงเป็นสิ่งสำคัญ การใช้สีเป็นวิธีแก้อีกอย่าง\nหนึ่ง สีที่เด่ตในเวลากลางคืน จะเป็นสีขาว หรือสีเหลือง\nประตูรั้วบ้านที่ใช้รีโมต? \nหากคุณใช้ระบบรีโมตคอนโทรลกับรั้วบ้าน ให้อปิด-ปิด\nควริตรียมไฟนำรองหรือกุญแจไขเปิดล็อกไว้ด้วย เผื่อในกรณีที่\nไฟดับ ไม่เช่นนั้นคุณและรถจะเข้าบ้านไม่ได้จนกว่าไฟฟ้าจะมา\nการต่อเติมรั้วบ้าน? \nหากมีการต่อเติมขยายความยาวของรั้วบ้าจ ต้องอยืาลืมว่า\nโครงสร้างรั้วเก่ากับรั้วใหม่แตกต่างกัน รั้วเก่าการทรุดของเข็มอยู่ตัว\nแล้วส่วนรั้วใหม่อม้ว่าจพตอกเสาเข็มให้ลึกเท่ากันก็ตาม แต่ก็ยังมี\nการทรุดตัวขิงเข็มอยู่ ดังนั้น อย่าทำโครงสร้างเชื่อมติดกัน ควร\nแยกโครงสร้างโดยเด็ดขาด\nกำแพวหรือรั้วที่ติดถนนใหญ่และติดริมแม่น้ำ? \nเนื่องจากพื้นที่บริเวณถนนใหญ่หรือทางสาธารณะ\nมักจะมีการสัญจรของยานพาหนะค่อนข้สงมาก การรับน้ำหนัก\nของผิวนราจรจึงสูงกว่าปกติ ฉะนั้นหากเรามีรั้วบ้านอยู่ติดกับถนน\nใหญ่ ต้องเพิ่มความยาวของเสาเข็มที่ตอกอีกประมาณ 1-2 เท่า\nเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับรั้วบ้าน และกันการสั่นสะเทือนจาก\nผิฝจาาจร ส่วนรั้วที่ติดริมแม่น้ำก็เช่นดัน ควรจะอพิ่มขนาดความ\nยาวของเสาเข็มอีกด้วย เพราะลักษณะของดินริมแม่น้ำมีความอ่อจ\nตัวและขุบตัวค่อนข้างสูง อีกทั้งยังมีคลื่นที่จะมากระทบเข้ากับ\nฐานของกำแพงริมน้ำได้เีกด้วย\nควรยกขอบของบุวบนผนังกำแพงเพื่อกันความสกปรก? \nสำหรับกำแพงหรือรั้วบ้านที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง\nคสล. แล้วก่อผนังทึบควรมึพารยกขอบกูนเป็นบีวเชิงผนังทั้ง 2\nด้านของกำแพง โดยให้สูงประมาณ 0.30-0.40 เมคร เนื้องจาก\nขอบด้านล่างมักจะสกปรกง่ายและมีควาใชื้นจากพื้นดินทำให้ช่วง\nล่างของผนังเก่าและสกปรกดร็วกว่าปกติ เกิดราหรือสีลอกหลุด การ\nทำบัวเชิงผนังจึงเป็นการกั้นส่วนที่สกปรกให้จำกัดอยู่แต่เพียง\nด้านล่างของผนัง และหากจะให้ดี ควรทาสีน้ำมันในบ่วงล่างของ\nผยัวถึงขอบบัวไว้ด้วย หรือทำทรายล้างก็เป็นแนวความคิดที่ดี\nรั้วด้านทิศใต้ควรให้มีลักษณะโปร่งรับลม? \nเนื่องจากลมประจำจะพัดจากทิศใต้ไปยังทิศเหนือ การ\nสร้างรั้วบ้านจึงติองคำนึงถึงทิศทางลมนี้เอาไว้ด้วย การทภรั้วโปร่ง\nในด้านทิศใต้ จะเป็นการเปิดรับลมให้พเดเข้าสู่บริเวษบ้าาไดั\nอย่างสบาย โดยอาจจะเป็นรั้วเหช็กดัด หรือโครงเหล็กโปร่งก็ได้\nฝ้าเพดาน\n\nวางตำแหน่งโครงเคร่าฝ้าก่อนเจาะไฟดาฝไลท์\n\nฝ้าัพดาน.\nตำแหน่งที่ต้อฝการ เช่น ไม่อยูทกึ่งกลางบ้าง หรืออยู่ติดผนัง\nจนเกินไป อันเนื่องมาจากเมื่อเจาะฝ้าเพดานไปแล้วไปเจอกับ\nโครงเคร่าภายใน เาจจะอป็นอะล฿มิเนียม หรือไม้ก็ตาม ไม่\nว่มารถจะเลื่อนโครงเคร่าเหล่านั้นได้ จึงจำเป็นต้องเลื่อนดวง\nโคมของไฟดาวไลท์เสียเอง ดังนั้น เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ซุ่ง\nกันและกัน เมื่อออกแบบ ตำแหน่งการวางไฟดาวไลท์แล้ว\nหลังจากนั้นจึงไปกำหนดแนวของโครบเคร่าในคราวต่อไป\n\nการตีฝ้าไม้ระแนงเภื่ิโชว์\n\nราคาแพงมากโดยเฉพาะในเรื่องของความยาวของแผ่นไม้ เมื่อเรา\nต้ิงกาีจะโชว์ฝ้าในส่วนนี้ แต่ความยาวของไม้ฝ้าๆม่อำนวยคือสั้น\nกว่าใน 1 ช่วงของแนวคาน จำเป็นจะต้องต่อไม้ออหไป วิฑีนี้ถ้า\nเราต่อไม้ฝ้าออกไปทางด้านเดียวกันทั้งหมด เราจะสังิกตเห็น\nความไม่เรียบร้อยอย่างชัดเจน ต่อให้ช่างทำสีตรงรอยต่อเนี้ยบ\nอย่างไร ต่อไปไม่นานรอยเหล่านี้ก็จะเห็นชัดขึ้นเรื่เย ๆ หมด\nความสวยงาม ดังนั้น จึงคฝรต่อสลับแผ่นต่อแผ่นในด้านตรงกัน\nข้าม ก็จะพรางรอยต่อไม่ให้เห็นชัดเจนเกินไปนั่นเอง\n\nฝ้าเพดานไม้ด้านนอกบิดงอเกิดจาก\n\n\nใชีไม้ที่มีคุณภาพไม่ค่อยดี สดเกินไป ไม่ได้ผ่านการทำให้แห้งและอบน้ำยามาก่อน\nไม่ได้เว้นร่องให้อากาศบนฝ้าเพดานระบายออกมาได้พอเพียงความร้อนจึงสะสมไว้มากไม้ฝ้าจึงบิดงอ\nโคร่งเคร่าไม้ไม่แข็งแรงหรือตีห่างจนเกินไป\n\n\nก่อนติดบังฝ้าเพดาน ทำอะไรก่อน\n\nโดยรอบผนับห้อฝหรือในส่วนที่เราจะติดบัวฝืาเพดาน ต้องเป็น\nโครงเคร่รไม้ เพื่อเอาไว้สำหรับยึดติดบัวฝ้าเพดานให้แข็งแรงด้วย\nตะปูเพื่อที่จะไม่บิดงอในภายหลัง\n\nตาข่ายสีฟ้ากันหนูกันแมลง\n\nรอบบ้าน เราจะเห็นตาข่ายสีฟ้าอยู่ภายใน ไม้ทราบเหมือนกันว่า\nทำไมต้องสีฟ้า เจ้าของบ้านจึงไม่ค่อยชอบพาลจะไม่ใส่เอาเสียด้วย\nต้องค่อย ๆ บอกเหตุบอกผลจึงยอมเชื่อ แต่ถ้าจะลงทุนครั้งเดียว\nและอยู่ได้นานหลายปี แต่ราคาแพงขึ้นและมีความสวยงามก็คงต้อง\nใช้ตาขาายกันยุงหรือมุ้งลวดในปัจจุบันที่มีสีดำ และมีความเหนียว\nต่อการกัดเจาะของพวปหนูและแมลง เป็นวัสดุที่ทำมาจากไน\nล่อนนำมาติดแทนตาข่ายสีฟ้าก็ย่อมได้ อีกทั้งเวลามองขึ้นไปตาม\nร่องฝ้าเพดานก็จะมองไม่เห็นตาข่ายอัจนี้ เพราะมันกลืนกับความ\nมืดที่อวู่เหนือฝ้าเพดานนั่นเอง\n\nฝ้าใตห้องน้ำต้องเป็นฝ้ากันความชื้นเท่านั้น\n\nแบบ คือ\n1. แบบธรรมดา คือใช้ได้ทั่ว ๆ ไปสนบ้าน หรือในส่วนที่\n/ม่ถูกความชื้นหร่อน้ำหรือน้ำฝน สีของฝ้าจะออก TONE สีขาวหรือ\nสีน้ำตาล\n2. แบยกันควาทชื้น ทำมาเพื่อกันความบื้นโดยตรบ สี\nของฝ้าจะออก TONE เขียวอ่อร ๆ สังเกตได้ง่าย ใช้สำหรับห้องน้ำ\nหรือห้องที่มีความชื้นมาก ๆ เช่น ห้องใต้ดิน คุณสมบัติจึงไม่บิด\nงอหรือโก่งได้ง่าย ถ้าไม่ฏดนน้ำฝนหรือฝ้าเปียกน้ำอยู่ตลอดเวลา\nสำหรับห้องน้ำเราอาจจะหลีกเลี่ยงมาเป็นฝ้าไม้ระแนง\nทาสีก็ย่อมได้แต่ควรเป็นไม้ที่ผ่านการอบแห้งมาเรียบร้อยแล้ว\n\nฝ้าปูนฉาบใต้พื้นโครงสร้างระวัง\n\nเนื่องมาจากห้องนั้น ๆ มีความสูงไมทเพียงพอหรือเป็นห้องที่ไม่\nค่อยมีความสำคัญ แต่ผลร้ายที่ตามมาก็คือ การหลุดล่อนของปูนที่\nฉาบ หล่นลงมาใส่หัวคนในบ้านอันเนื่องมาจาดส่วนผสมของปูน\nฉาบไม่ดี หรือใต้พื้นโครงสร้างเดิมลื่นเป็นมันไม่เกาะกับปูนฉาบ\nหรือช่างไฟเดินสายไฟฟ้าไปตอกตะปูทำให้ปูนฉาบร้าว ดังนั้น\nทางที่ดีถ้าัรารู้ว่าจะไม่ตีฝ้าในห้องไหนก็ควรใช้ไม้แบบในการหล่อ\nให้เนี้ยบ ๆ เช่น แผ่นไม้อัดหรือแผ่นเหล็กหือถ้าเป็นบ้านเก่าป็\nแก้โดยวิธีทาสีนูน ก็จะสวยงามได้โดยไม่ต้องฉาบปูนใหม่\n\nฝ้าโค้ง แผ่นยิปซัมทำได้หรือไม่\n\nเอาไว้ก่อนนำไปติดตั้ง คือนำแผ่นฝ้ายิปซัมมาวางบนท่อระบาย\nน้ำซีเมนต์ ในด้านทางขวาว แล้วนำแผ่นยิปซัมมาซ้อนกันหลาย\nๆ แผ่นตามความต้องการที่จะใช้ ประมาณ 1 หรือ 2 วัน แผ่น\nยิปซัมก็จะดัดโค้งด้วยน้ำหนักของตัวมันเอง ภ้าเราอยมกได้โค้ง\nใหญ่ก็ใช้ท่อซีเมนต์ขนาดใหญ่ ถ้าอยากได้โค้งเล็กก็ใช้ท่อซีเมนต์\nขสาดเล็ก\n\nช่องแสงบนฝ้าใช้พลาสติกดรกว่ากระจก\n\nส่องลงมามักจะกรองแสงด้วยฝ้าที่เป็นกระจกฝ้า ซึ่งมีอันตรายมาก\nถ้าเกิดกระจกแตก หล่นลงมาควรเปลี่ยนเป็นแผ่นพลาสติกอะครี\nลิกจะดีกว่าซึ่งมีความยืดหยุ่นและน้กหนักเบา ไม่แตกและไม่เป็น\nอันตรายเมื่อหล่นลงมา อีกทัิงคุณภาพในการกรองแสงก็เทียบได้\nพอ ๆ กัน ซ้ำยังมีลวดลายให้เลือกไพ้มากกว่า\n\nทาน้ำยากันปลวกทุกครั้งที่โครงเคร่าเป็นไม้\n\nเนื้ออ่อนเพราะราค่ถูก เหมาะแก่การทำโครงเึร่า เสียเงินใน\nครั้งแรกนิดหน่อย ซื้อน้ำยากันปลวก ดีกว่าที่จะมาเสียเงิน\nมากมายในการรื้อฝ้าทิ้งในภายหลัง หงังจากที่ปลวกได้จัดการ\nัรียบร้อยแลิวกับโครงเคร่าฝ้าเพดาน\n\nในส่วนที่จะติดตั้งแอร์แบบแขวนหรือพะดลมเพดาน\n\nโครงเคร่าฝ้าให้แข็งแรง\nเมื่อเรากำหนดตำแหน่งที่จะติดตั้งแอร์หรือพัดลมเพดาน\nหรือโคมไฟช่อใหญ่ ๆ แล้ว ควรเผื่อโครงเคร่าที่แข็งแรงในส่วน\nนั้นด้วย เผื่อเอาไวัสำหรับยึดสิ่งเหล่านั้นให้แน่นกนาไม่ให้หล่น\nลลมา โครงเคร่าที่ว่สนี้อาจจะแยกอิสระจากโครงเคร่าหชักของฝ้า\nเพด่นเลยก็ยิ่งดี หรือใช้วิธีฝังระขอเหล็กไว้ก่อนในขั้นตอนการเท\nพื้นคอนกรีต\nไฟฟ้า, ประปา\n\nการเดินท่อประปาและไฟฟ้า ระหว่างอาคารเก่ากับอาคารใหม่\n\nไฟฟ้า, ประปา.\nแต่อาคารใหม่นั้นยังมีการทรุดตัวตามปกติ ดังนั้น\nการวางท่อประปาที่อยู่ใต้พื้น ควรระวังปัญหาที่จะเกิดขึ้น\nมีผลทำให้ท่อประปาแตกโดยที่เราไม่สามารุรู้ได้เลย ดังนั้น จึง\nควรเดินท่อประปาลอยหรือเดินตอกตัวบ้านเพื่อสามารถตรวจเช็ค\nำด้\nการเดินสายไฟฟ้า ควรเผื่อระยะของสายไฟในช่วงรอยต่อ\nอาคารใหม่กับดาคารเก่าให้มากกว่าปกตินิดหน่อย เพื่อกันสายไฟตึง\nหรือขาดซึ่งอันตรายมาก\n\nฝังปลั๊กหรือสวิตซ์ในเสา\n\nโครงสร้างในเสาจุขาด มีผลท_ให้บ้นนพังได้ ขั้นตอนการสกัดจึล\nต้องระมัดระวังหรือพยายามหลีกเลี่ยงโดยการฝังกล่องปลั๊กหรือสวิตซ์\nไว้ระหว่างเหล็กเส้นในขณะเทคอนกรีตลงในเสา หรือโดยการ\nพอกเสาให้าีความหนามากขึ้นวนงานตกแต่งภายใน\n\nอุปกรณ์สัญญาณเตือนไฟไหม้ ใช้กันอย่างไร\n\nอุปกรณ์สัญญาณเตือนไฟำหม้และเครื่องดับเพลิงขนาดเล็ก ชั้น\nละ 1 จุดในบ้นนพักอาศัย ซึ่ฝอุปกรณ๋ที่ว่านี้มีอยู่ 2 ลักษณะการใช้\nคือ\n1. SMOKE DETECTOR หรือเครื่องดักจับควัน เมื่อมีควัน\nไฟอันเนื่องมาจากไฟไหม้ ปริมาณของควันจำนวนฟนึ่งจะทำให้\nเครื่องดักจับควันทำงานโดยการส่งเสียงเตือน\n2. HEAT FETECTOR หรือเครื่องดักจับความร้อน เมื่แมี\nควันไฟแล้วก็จะมีความร้อนและเปลวไฟตามสา เมื่อมีความร้อน\nรเอนถึงจุดหนึ่งเครื่องพักจับความร้อนก็จะทำงานด้วยำารส่งเสียง\nเตือนเช่นก้น บ้านไหนจะเลือกอุปกรณ์แบบไหนตามความ\nเหมาะสมก็เลือกใช้กันเองขอเภียงแต่ว่าเมื่อคิดตั้งอุปกรณ์เหล่าตี้\nควรหทั่นบำรุงรักษาอยทาเพียงแค่ติดตั้งเอาไว้เพียงเป๊น\nเครื่องประดับบ้านเท่านััน!\n\nอย่าเดินสายโทรศัพท์กับสายไฟในท่อเดียวกัน\n\nช่างไฟฟ้าบางคนมักลดต้นทุนของตัวเองด้วยการเดินเอาไว้ในท่อ\nเดียวกัน และคิดว่าเจ้าของบ้านไม่รู้เรื่อง ซึ่งกว่าเจ้มของบ้านจะ\nรู้ตัวก็สายไปแล้ว หลังจากใช้โทรศัพท์เพรนะจะมีเสียงรบกวนอยู่\nตงอดเวลา ทั้งนี้เนื่องมาจ่กคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสายไฟไป\nรบกวนการทำงานของสัญญาณโทรศัพท์ส่วนกรณีของสายอากาศ\nโทรทัศน์ที่เกิดคลื่นรบกวนก็เกิดจากกรณีนี้เช่นเดียวกัน\n\nเพิ่ใอีกนิดสำหรับเค้ารับไฟฟ้ร และเบรกเกอร์สำหรับห้องน้ำ\n\nเปลี่ยนมาใช้แบบ 3 รูหรือ 3 ขา ซึ่งมีสายเดินเพิ่มขึ้นมา\nสามารถป่องกันไฟฟ้ารั่วได้เป็นอย่สงดี อีกทุ้งยังสามารถใช้กเบปลั฿ก\nแบบขากลมและขาแบนได้ทั้ง 2 ชนิด\nเต้ารับในห้องน้ำและโรงรถจะต้แงป้องกันไฟฟ้าชอตและ\nรั่วไว้เนื่องจากจะมีเรื่องน้ำเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยควรติดตั้งเบรกเกอร์\nตัดไฟขนาด 10 mA ไว้\n\nเปิดปิดแอร์บ่อย ๆ เครื่องจะเสียหรือไา่!?\n\nในเรื่องของการใช้งานหลายรูปแบบ การปิด-เปิด เครื่องแอร์บ่อย\nๆจึงไม่ค่อยเป็นปัญหาไม่ว่าตัวเครื่องปล่อยแอร์หรือ\nคอมเพรสเซอร์ที่ตั้งอยู่นอกตัวบ้าน เนื่องจากในการเปิดสวิตซ์\nทุกครั้งคอมเพรสเซอร์ที่จะเป็นตัวควบคุมการปล่อยน้ำยาจะไม่\nทำงานโดยทันทีโดยจะทิ้งระยะไว้หระมาณ 3นาที\nคอมเพรสเซอร์จึงจะเริ่มทำงาน ดังนั้นกาาเปิด-ปิดแอร์บ่อย ๆ\nนึงไม่ทำใำ้เครื่องแอร์เสีย\n\nข้อจำกัดของแอร์แบบแยกส่วน (SPLIT TYPE)\n\nคอมเพรสเซอร?ห่ทงกันมาก มีผลทำให้ท่อน้ำยาแอร์ขะยาวซึ่งจะ\nทำให้ไใ่เย็นจำเป็นจะต้องเสียเงินเพิ่มในส่วนของขนาดท่อ\nน้ำยาให้ใหญ่ขึ้นจากขนาดมาตรฐานเพื่อให้น้ำยาวิ่งได้สะดวก หาก\nยังไม่พอก็จำเป็นจะต้องเพิ่มขนาดของคอมเพรสเซอร์ซึ่งราคาก็\nจะสูงตามมาอีกด้วยเช่นกัน ดังนั้นสิ่งเหล่านี้จึงเป็นข้อขำกัดของ\nแอร์แบบแยกส่วน\n\nความสูงที่เหมมะสมของตำแหน่งปลั๊กและสวิตซ์ไฟ\n\nมาตรฐานเป็น 2 ระดับคือ\n1. ระดับ 30 เชนติเมตร จสกพื้นห้อง ซึ่งจะเป็นระดับ\nของปลั๊กไฟที่ใช้ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าหนัก เช่น เีรื่องดูดฝุ่น\nพัดลม อละเพื่อเดินสายต่อไปยังเฟอร์นิเจอร์สำหรับตั้งโต๊ะ เช่จ\nโทรทัศน์ วิทยุ โคมไฟตั้งโค๊ะ เป็นต้น\n2. ระดับ 110 เชนติเมตร จากพื้นห้อง เป็นความสะดวพ\nในการใช้สวิตช์และปลั๊กไฟสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง เช่น ตู้\nทีวี\n\nระยะห่างจากขอบกำแพงมี่เหมาะสม\n\nสวิตช์ไฟ\nโดยทั่วไปริมขอบกำแพงจะมีเสาเอ็นอยู่เสมอ ไม่ควรเยาะ\nหรือฝังกล่องปลั๊กหรือสวิตช์ไว้ในแนวนี้คือขนาดของเสาเอ็น\nประมาณ 10 เชนติเมตรดังนั้น จึงควรเจาะหรือฝังให้เลยจาก\nช่วงนี้ออกไปอาจจะประมาณ 20 เชนติเมตร หรือ 30 ะชนติ\nเมตร ก็ได้\n\nดาวไลท์ (DOWN LIGHTING)\n\nมีกล่องครอบหรือเป็นกรุบอกยาวยื่นออกมาสำหรับเป็นตัวบังคับ\nทิฯทางของแสงให้ส่องไปยังจุดที่เนาต้องการ จะส่องโดยตรงจาก\nหลอดไฟ หรือส่องให้ตกกระทบกับผนังก่อนก็ได้ อุปกรณ์ขอบ\nกล่องครอบส่วนใหญ่จะเป็นอลูมิเนียมมีหลายสี\nข้อดีของดาวไลท์ก็คือสามารถบังคะบแสงให้ส่องตรงมายัง\nพื้นห้องให้ความสว่างเฉพาะจุดที่ต้องการ ผรือแก้ไขจุดที่บกพร่อง\nของห้อง โดยการพรางมุมนั้น ๆ ให้กลืนหายไปกับความมืด อีกทัิง\nยังมำให้บรรยากาศภายในห้องเกิดความสวยงามบังคับความเข้ม\nของแสงได้ตามรวามต้องการ ดาวฟลท์ไม่เหมาะกเบห้องที่ต้องใช้\nแสงสว่างมาก ๆ ในการทำงาน เชีน ห้องครัว หรือห้องเก็บของ\n\nหลอดไฟที่ใช้กับดาวไลท์\n\nเหมาะสม\n1. หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดที่มีไว้ เป็นแบบขั้วหลอด\nเกลียวและหลอดเขียว จะให้แสงที่เป็นสีเหลือง แชะมีความร้อน\nมาก\n2. DAY LIGHT เป็นหลอดแก้วสีฟ้าเข้ม ให้แสงนวลตา\nคล้าย ๆ กับแสงจันทร์เหมาะสำหรับใช้อ่าสหนังสือ\n3. หลอดฮาโลเจน เป็นหลอดที่ให้แวงออกมาคล้ายกับ\nหลอดไฟธรรมดา แต่ความร้อนจะน้อยกว้ามาก และโทนสีที่\nอบอุานและนั่มนวลกว่า สมารถใช้ร่วมกับ DIMMER เพืาอปรับความ\nเข้มของแสงได้ด้วย\n4. หลอดประหยัดไฟ คล้ายกับหลอดนีออนทั่วไปที่ย่อ\nขนาดลงมาให้เล็ก แต่ประสิทธิภาพของแสงและความสว่างจะ\nใกล้เคียงกัน และประหยัดไฟฟ้าเป็นอย่างมากเมือเปิดเป็น\nเวลานาน ๆ\nหลังคา\n\nอลูมิเนียมฟอยด์กันความร้อน\n\nหลังคา.\nความร้อนมีขายเผ็นม้วน ๆ นำมาปูบนโครงหลังคาบ้าต ก่อนที่\nจะมุงกระเบื้องทับลงไปอีก อะลูมิเนียมฟอยด์นี้มีความเหนียวไม่\nขาดง่ทย ๆ เมื่อเรามุงไปแล้วจะช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้\nส่วนหนึ่ง ทำให้ภายในบืานเย็นสบนย\n\nห้องใต้หลังคาไม่ใช่ห้องอบความร้อน\n\nบรรยากาศของความเป็นบเานอันเนื่องมาจากความลาดเอียงของ\nหลังคานั่สเองเหมาะวำหรับเป็นห้องนอนเล่น ห้องอ่านหนังสือ \nความที่ใกล้กเบหลังคานี่เองที่ทำให้ได้รับแสงแดที่ร้อนแรงตลอด\nทั้งวัสห้องจะอบ ถึงแม้จะแก้ไขโดยการติดแอร์ก็กลับจะสิ้นเปลือง\nค่าไฟฟ้าโดยใช่เหตุ ดังนั้นสิ่งแรกจึงควรเปลี่ยนสีของหลังคาให้\nเป็นสีอ่อนจะได้ไม่ดูดความร้อนและใต้หลังคาปูแผ่นฟอยด์ (Foil)\nกันความร้อนของตราช้างอีกชั้นหนึ่งสำหรับฝ้าเพดานให้ตีห่างจาก\nแนวกระเบื้องลงมาประมาณ 0.30 เมตร เพื่อเป็นช่องระบาย\nความร้อน ถ้าเป็นฝ้ายิปซัมให้ใช้แบบมีฟอยด์ติดกับยิปซัม ถ้า\nเป็นฝ้นไม้ควรเป็นไม้ที่อบแห้งสนิทแล้วจากร้าน ผนังโดยรอบถ้า\nก่ออิฐแบบ 2 ชั้นได้ก็จะดีและที่สำคัญที่มุดคือ ต้องมีช่องระบาย\nอากาศติดพัดฃมดูดอากาญเพื่อไล่ความร้อนออกไป พื้นไม่ควรปูพรม\nเพราะความร้แนจะทำให้พรมเสื่อมคุณภาพ มีกลิ่น ควระป็น\nพื้นที่ให้ความเย็น เช่น กระเบื้องเซรามิก โดยการปูืับพื้นด้วย\nกาวซีเมนต์\n\nช่องแสงบนหลังคา (SKY LIGHT)\n\nเพื่อให้แสงแดดส่องผ่านลงมา เพื่อนำความอบอุ่นเข้ามาในบ้าย \nสำหรับบ้านเราความร้อนแรงของแสดแดดนัเนมีมาก ถ้าส่องผ่าน\nS<Y LIGHT ลงมาโแยตรง (FIRECT) จะทำให้เพิ่มความร้อน\nภายในบ้านเข้าไปอีก ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยง SKY LIGHT ควรทำ\nแบบให้แสงผ่านนกกระทบ (INDIRECT) กับส่วนอื่นแล้วจึงสะท้อน\nลงมา วิธีนี้จะดีกว่าจะทำให้ความร้อนสูญหายไปบางส่วน ช่วยให้\nได้แสงที่นุ่มนวลและไม่ร้อน หรือถ้าเป็นห้องกระจกใสทั้ฝผนีง\nควรหันผนังหรือห้องไปทางด้านทิษเหนือยะดีกว่า\n\nไม้ปิดลอนมีไว้ทไไม\n\nแบบสำเร็จรูปเป็นแผ่นเหล็กแถมยังเจาะรูเล็ก ๆ ไว้สำหรับระยาย\nอากาศได้ด้วย อีกทั้งยังมีขนาดบางสามารถซ่อนไว้หลังเชิงชายได้\nอย่างใบาย ซึ่งฟิดกับไม้ปิดลอนกระเบื้องสมัยก่อน ที่จะต้เงฉลุ\nลายโค้ลตามแบบของกระเบื้องมุงหลังคาและต้องใางไว้ด้านนอก\nของเชิงชาย แต่คุณสมบัติของทั้ง 2 ชนอด ก็คือ สำหรับปิดกั้นไว้\nไม่ให้นกหนูแมลงมุดเข้าไปทำรังในหลังคาหรืเบนฝ้าเพดาน\n\nปูนพอกสันหลังคาเดี๋ยวนี้เขาำม่ใช้แล้ว\n\nสำเร็จรูปยางต่อกันเห็นชิ้น ๆ สะดวกรวดเร็ว มีทั้งแบบครอบมุม\nและปีกนก สวนแบบเดิมที่ใช้ปูนพอกนั้ต มักจะมีปัญหาเกี่ยว\nกันปูนร้าวและน้ำซึมอข้าไปหรือถ้ากระเบื้องแผนบนสุดที่ติดกับ\nครอบปูนแตกก็จะเปลี่ยนแผ่นใหม่ไม่ได้ จนกว่าจะทุบครอบปูน\nออกเสียก่อน\n\nทำไมต้องตะเฆ่ราง ทำไมต้องตุเฆ่สัน\n\nแัญหาที่มักเกิดกัขตะเฆ่รางก็คือ การรั่ว อันเนื่องมากจากตดเฆ่ปิด\nหรือราลน้ำในตะเฆ่บิดหรืออุดตัน หรือรางน้ำเป็นมนิมและมี\nขนาดเล็กเกินฟป\nตะเฆ่สันคือ สันขแงผลังคา ที่เป็นสันขึ้นมา มักจะมี\nกระเบื้องครอบมุมทำให้ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่แงน้ำรั่ว ตะเฆ่สันที่ดี\nจะต้องเป็นสันตรงไม่บิดหรือโค้งตกท้องช้าง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น\nแสดงว่าโครงหลังครบ้านคุณกำลังมีปัญหา อาจจะหักพังลงมาได้ให้\nรีบแก้ไขโดยด่วน\n\nลงทุนปพงหน่อยแต่ิยู่ได้หฃาย ๆ ปี รางน้ำตะเฆ่ราง\n\nของตะเฆ่รางเป็นแลบสเตนเลส ซึ่งมีราคาแพงกว่าอะลูมิเนียม\nกละสังกะสีชุบหลายเท่านัก แต่ความแข็งแกร่งและทนทานไม่\nเก็นสนิมตลอดกาลนั้นเป็นสิ่งะีเพราะมักจะทำให้หลังคาบ้านไม่\nรั่ว ฝ้าไม่บวม และสิ่ลทึ่เสียหายจะตามมาอีกมากมาย จึงเชื่อ/ด้ว่า\nการลงทุนในสิ่งที่เห็นว่ามีประโยชน์มาก ๆ ในตอนต้น บั้นปลาย\nก็จะสบายไปจนตาย\n\nกระเบื้องรับจานดาวเทียม\n\nสำหรับชาวบ้านโดยทั่วไป สามารถหาซื้อกันได้เหมืินของเล่น\nแต่ปัญหาจะเกิดหลังจากจะนำมาติดตั้ง ยิ่งถ้าหลังคาเป็นแบบมุง\nกระเบื้องหลังหลังแล้วแทบจะหมดสิทธิ์ในการัลือกตั้ง แต่ยังดีที่\nตอนนี้มีคนพยายามคิดกระเบ่้องมุงหฃังคาแบบพิเศษวามารถทำ\nเป็นกระเบื้องขา 3 ขา ยื่นขี้นมารับขาตั้งจานดาวเทียมอีกทั้งยัง\nสามารถปรับมุขของจานดาวเทียมได้อีกด้งย หลังคาที่จะติดตั้งได้\nนี้ำม่ค่เยมีความขันของหลังคาเกิน 45™ แลถควรติดตั้งในแนวของ\nจันทันเพราะจะรับน้ำหนักจานดาวเทียมได้ดี และไม่ควรติดตั้ง\nในบริเวณที่อยู่ใกล้ชายคาโดยรอบจนเกินไป ควรห่างขึ้นมาสัก\nประมาณ 1.50 เซรติเมตร เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว 1 ใน 3\nขาของกรถเบื้องที่เป็นฐานจะมรฐานหนึ่งที่ออกแบบไว้เป็นรู\nสำหรับสอดใส่สายอากาศลงไป โดจที่น้ำไม่สามารถจะซึมผ่านรูนี้\nเข้าไปได้\nเรื่องอื่น ๆ\n\nสายล่อฟ้า!?\n\nเรื่องอื่น ๆ.\nเพื่อความแลอดภัยเพราะไม่เช่นนัินสายอากาศหรือจานดาวเทียม\nที่มคอยู่บนหลังคำจะเป็นตัว่ับฟ้าผ่าแทนหลังจากนั้น\nเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหลายภายในบ้านก็จะถึงคราวเปลี่ยนใหม่กาอน\nถึงเวลาอันสมควรอย่างแน่นอน\n\nถังเก็บน้ำของคู่บ้านที่ขาดไม่ได้ในยุคนี้\n\n1. ถเงเก็บน้ำสเตนเลส จัดเป็นรูปทรงกระบอก มีหลาย\nขนาดจูได้ต้้งแน่ 750 ลิตร จนถึง 1,100 ลิตร มีคุณสมบัติไม่\nเป็นสนิมและม่อายุการใช้งานก็ยาวนาน แถมยุงไม่เปิดตะไคร่\nภายในถังอีกด้วย ถึงแม้จะขังน้ำเอาไว้นาน ๆ ถังก็ยะไม่วึกกร่อน\nด้านบนตัวถังจะมีลูกลอยสามารถบังคับให้น้ำที่ไหลเข้าหยุดได้โดย\nอัตโนมัติเมื่อได้ระดับน้ำที่ต้องการ\n2. ถีงเก็บน้ำไฟิบอร์กลาส เป็นแบบเสริมแรงโดยการนำ\nไยแก้ว (Fiber Glass) ไปเสริมแรงกับพลาสติกที่ทำให้แข็งแรง\nยิ่งขึ้น สามา่ถรับแรงอัดไก้เป็นอย่างดีอีกืั้งน้ำที่เก็บไว้ในถังก็\nสะเาดปคาศจากสารพิษและไม่ต้องเป็นห่วงเคื่องของสนิมเลย\nรูปทรงนั้นมีหลายแบบ เช่น ทรงกระบอก ทรงแอปเปิ้ล ทาง\nกลม ส่วนของขนาดความจุนั้นมีตั้งแต่ 500 ลิตรไปจนถึง\n4,[00 ลิตร ถังน้ำชนิดนี้สามารถฝช้ฝังดินได้ด้วย ซึ่งจะสะดวก\nกว่าแบบเก่ามากที่ต้องมาหล่อทำเป็นถังคอนกรีตใต้ดิน ด้านบน\nตัวถังจะมีลูกลอยเช่นเดียวกันกับแบบถังน้ำสเตนเลส\n3. ถังเก็บน้ำสังกะสี ทำมาจากเหบ็กอาบสังกะสี รูปทรล\nสี่เหลี่ยมขัตุรัสจุน้ำได้ 600 ลิตร ตัวถังมีรูให้น้ำเข้าและน้ำออก\nบริเวณก้นถังมีความคงทนและแข็งแรงมาก ขอบถังโดยรอบจะถูก\nเม้มริมด้วยน๊อตเป็นอย่างดี\n\nจะปูพรมต้องติดบัวพื้นก่อนหรือหลัง\n\nเป็นวัสดุปูพิ้นชื้นสัดท้ายทร่จะปู เนื่องจากมันจะเลอะได้ง่ายและ\nดักเก็บฝุ่น ถ้างานในส่วนอื่น ๆ ของบ้านยังไม่เสร็จ เช่น งานขัด\nพื้นไม้ปาร์เกต์หรืองานทำสีบ้านก็ไม่ควรที่จะปูพรมที่พื้น จริว ๆ\nแล้วขั้นตอนในการปูพรมนั้นง่ายมาก ใช้ิวลาไม่นานนักก็ปูเสร็จ\nและสามารถเข้าไปอยูืไปใช้ได้เลยทันทีจึงไม่ใช่เรื่ิงยากอะไร ที่\nเราจะติดตั้งบัวพื้นและมาสีให้เสร็จเสียก่อนที่จะปูพรม\n\nวิธีจบบัวพื้น (บัวเชิงผนัง)\n\nสวยงามควรตัดบัวเป็นแนวเฉียง แล้วหักมุมให้ด้านสกัดหันลงสู่\nพื้น เพียงเทาานี้ก็จะได้ตัวจบของบัวพื้นได้อย่างสวยงาม\n\nคุณลืมค่าใช้จ่ายที่ต้องให้กับหน่วยราชการหรือเปล่า\n\nโอนที่ดิน ค่าขอเลขที่บ้าน ค่าตั้งมิเจอร์ไฟ และมิเตอร์น้ำใหม่\nค่าส้ายเสมไฟ กรณีที่มันตั้งขวาฝทางเข้า-ออก และอื่น ๆ อีก\nมากมายที่จะต้องเกี่ยวข้องกับทางราชการ\n\nค่าแบบของสถาปนิกและค่าพิมพ์เขียว\n\nรวมค่าออกแบบของสถาปนิกลงไปด้วย หรือค่าพิมพ์เขียวแบบที่\nเจ้าของบ้านมักขอจากสถาปนิกอยู่บ่อว ๆ นอกเหนือจากที่\nนถาปนิกจะต้องให้กับเจ้าของบ้านอยู่แล้วประมาณ 7-8 ชุด\n\nค่าน้ำค่าไฟของเรือนพักคนงาน\n\nจำเป็นจะต้องใช้ไฟใช้น้ำเป็นจำนวนมาก เจ้าของบ้าจควรคุยกับ\nผู้รับเหมามาให้ชัดเจนเสียก่อนว่าใครจะเป็นคนออกเงินในส่วน\nนี้ เพราะผู้รับเหมาบางรายชอบพาคนงานหนีไปก่อนที่งาน\nก่อสร้างจะเสร็จ\n\nค่าไม้แบบ\n\nเป็นผูัรับผิดชอบในส่ในนี้ ผู้รับเหมามักจะคิดเพิ่มจากในสัญญา\nเจ้าของบ้านโปรดระบังให้ดี\n\nเดินสายไฟลอยกับเดินสายในผยังต่างกันอย่างไร\n\nเดินสายไฟแบบไหน อพรสะราคาของเดินในผนังจะแภงกว่าเป็น\nเท่าตัว หรืดจะมาตัดสินใจตอนฉาบปูนไปแล้ว แล้วจะมานั่งสกัด\nผนังกันใหม่ย่อมจะเสียเวฃาและยุ่งยากเป็นทวีคูณและผลที่\nตามมาก็คือ รอยฉาบผนังใหมรบนรอยนกัดกับผนังที่ฉาบไปแล้วไม่\nมีวันที่จะกลมกลืนเป็นดนท้อเดียวกันไปได้อย่างแน่นอน\n\nมุ้งลวด เหล็กดัด รางน้ำ\n\nปฏิเสธไม่ฟด้ถ้าไม่ให้มี ดูจะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับบ้านเมือวี้อน\nที่ยุงชุม พอ ๅ กับขโมยที่เต็มบ้านเต็มเมือง ดังนั้นจึงึวรเจียด\nเงินส่วนหนึ่งหรือเตรียมเงินเอาไว้แต่เนิ่น ๆ สำหรับงานในส่วน\nตี้ด้วยก็แล้วกัน\n\nท่อน้ำมักี่แบช (P.V.C)\n\nลัพษณะของการใช้งาน ค่อ\nสีเทา เป็นท่อที่มีความแข็งแรงน้อยที่สุด บางที่สุด\nเหมาพที่จะใช้กับงานที่มีแรงดันในท่อไม่มาก เช่น นำไปใช้\nเป็นท่อน้ำทิ้งหรือท่ออากาศ\nสีฟ้า เป็นท่อที่มีความแข็งแรลเพิ่มมาอีกระดับหนึ่ง และ\nาามารถที่จะใช้กับงานที่มีแรงดันในท่อมากขึ้น เช่น ท่อน้ำที่มี\nปั๊มน้ำเป็นแรงขันดัน\nสีเหลือง เป็นท่อที่มีความแข็งแรงมากที่สุด ใช้สำหรับ\nงานร้อยสายต่าง ๆ เช่น สายไฟ สายโทรศัพ่์ สายทีวี หริอจะฝัง\nในกำแพงหรือในส่วนของโครงสร้างที่เรามองไม่เห็นหรืิเปลี่ยน\nได้ยากลำบาก\nข้อคิะที่สำคัญก่อนลงมือต่อเติมบ้าน\nข้อคิดที่สำคัญก่อนลงมือต่อเติมบ้าน.\nบ้านเหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ที่จะต้องเตืบโตและแก่เฒ่า\nชราไห ดังนั้น การต่อเติมบ้านเป็นัรื่องธรรมดาที่จะเกิดขึ้นได้ มี\nข้อคิดที่น่าสจใจว่าเมื่องงมือต่อเติมบ้านจะทำอย่างไร\n- ถามตัวเองก่อนว่ามีเงินหรือเปล่า หากมีงบประมาณที่\nแน่นอน จงบ่งแผนที่จะใช้เงินนั้นเพียง 70% ของเงินที่มี\nเพรมะการต่อเริมบ้าน อาจพบกับปัญหาการบานปลายได้ง่ายกว่า\nการสร้างบ้านใหม่\n- ตรวจเช็คว่าการต่อเติมนั้นผิดกฎหมายหรือไม่ และหาก\nจำเป็นต้องขออนุญาตต่อทางนาชการ ก็ดำเนินการเสีย\n- ระวังปัญหาโครงสร้าง โดยเฉพ่ะอย่างยิ่งการเชื่อม\nโครงสร้างเก่ากับโครงสร้างใฟา่ เพราะอาคารใหม่กับอาคารเก่าจะ\nทรุดตัวไม่เท่ากันแน่นอนเกิด “อาคารวิบัติ” ได้ หรือท่อแตก\nสายไฟขาด อันเนื่องจากการทรุดตัวไม่เท่ากัน\n- ตรวจเช็คประปา – ไฟฟ้ท สำหรับส่วนที่ต่อเติมว่าจะเอา\nจากไหนมาใช้ และอย่าตทอโดยไม่รู้เรื่อง เช่นดึงสายไฟเล็กๆ จาก\nบ้านเก่ามาเข้าบ้านใหม่ทั้งหลัง สายไฟอาจช๊อตและไฟไหม้...ทัีง\nบ้านเก่าบ้าสใหม่..หายหมด\nอย่าสุ้มสี่ นุ่มห้า เปลี่ยนพื้นสำเร็จ กับ พื้นหล่อกับที่...พัง\nแน่นอน ?\nเป็นเรื่องที่น่าเศร้าไม่น้อยเลย ว่าผู้รับเหมาบ้านเราหลายคน\nทำให้เกิดอาคารวิบัติโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลง\nแบบวิศวกรรมโครงสร้างของพื้นจากพื้นหล่อกับที่ธรรมดา ไปเป็น\nพื้นสำเร็จเพื่อการทำงานที่ง่ายกว่า...และบางทีก็เปลี่ยนจากพื้น\nสำเร็จ ไปเป็นพื้นหล่อกับที่ ยามที่หาพื้นสำเร็จตามแบบไม่ไก้\nโดยมักจะบอกกับเจ้าของอาคารว่า..”เหมือนกัน”\nธรรมชาติของพ่้นทั้งสองระบบนี้แตกต่างกันมาก แลพทำให้\nอาคารของท่านพังลงมาได้ง่าบๆ...หากลองวิเคราะห์ขั้นพื้นฐานของ\nการรับแรงในคานดูจะเห็นได้ถึงความแตกต่างอย่างเด่นชัด\nพื้นสำเร็จเป็นการวาฝแผ่นพื้นลงบนคานสองด้านคือหัวและ\nท้าย สมมุติว่าพื้นทั้งผืนขนาด 6 x 6 เมตร รวมเป็นพื้นที่ 36 ตร.\nม. ต้องการให้รับน้ำปนักได้ ตร.ม.ละ 200 กก. ทำให้จะต้องรับ\nน้ำหนักไก้ = 36 x 200 = 7,200 กก. และน้ำหนัก 7,200 กก. นั้น\nจะถ่ายลงบนคานหัวท้ายสองข้างคาสหัวท้ายจะกบ่งน้ำหนักหัน\nรับตัวละ = 7,200/2 =3,600 กก. โดยที่คานดัานข้างอีกสองตัว\nอาจจะไม้ได้รับปรงกดอะไรเลย ทำหน้าที่เป็นตัวยึดเท่รนั้น...เมื่อ\nเปลี่ยนพื้นสำเร็จเป็นพื้นหลรอกับที่ ก่รถ่ายน้ำหนักจะถ่ายลงยัง\nคายทั้ง 4 ตัว (ด้าน) ทำให้คานแต่ละตัวต้องรับน้ำหนัก =\n7,200/4 = 1,800 กก. ค้าสด้ายข่างทั้งสองที่ออกแบบไม่ให้รับ\nน้ำหนักอะไรเลยก็ต้องรับน้ำไนัก 1,800 กก. ทำให้คานนั้นหักได้ \nโะยเฉพาะอย่างยิ่งถัามีพื้นต่อเนื่องทางด้านข้างอีก ึานที่ไม่ได้\nออกแบบมนให้รับน้ำหนักอาจจะต้องรับน้ำหนัก 3,600 กก ที้\nเดียว ส่วนคานด้านหัวท้ายออกแบบมาให้รับน้ำหนัก 3,600 กก\nกลับมีน้ำหนักลงเพียง 1,800 กก ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ\nต่อเนื่องได้\nทำนองเดียวกัน หากเปลี่ยนพื้นหล่อกับที่ธรรมดามาเป็น\nพื้นสำเร็จ คานที่ออกแบบหัวท้ายรับเฉลี่ย 4 ส่วน ต้ดงมารับเฉลี่ย\nเพียง 2 ส่วน ก็จะรับน้ไหนักมากไปและจะเกิดการวิบัติได้\n\nเสาเข็มมีกี่อย่าง แล้วจะเลือกใช้อย่างไร ?\n\nเสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะ (ส่วนเสาเข็มพิเศษอื่นๆ เช่น Micro\nPile นั้น หากไม่ใช่วิศวกรก็ไม่น่าจะไปสนใจ) ...เสาเข็มตอกและ\nเสาเข็มเจาะเอบก็ยังสามารถแยกออกได้เป็นอย่างละอีก 2 ประเภท\nซึ่งโดยสรุปรวมวิธีการทำงาน และจุดดีจุดด้อยน่าจะสรุปพอเป็น\nสังเขปได้ดังต่อไปนี้\n1. เสาเข็มตอกทั่วไป จะมีหน้าตาต่างๆ กัน บางทีก็เป็นสี่เหลี่ยม\nบางทีก็เป็นหกเหลี่ยม บางทีก็เป็นรูปตัวไอ ซึ่งทุกอย่างจะมีหน้า\nตัดตันทั้งต้นเวลาตอกก็ตอกไปง่ายๆ อย่างที่เราเห็นกันโดยทั่วไป\n2ซ เสาเข็สกลมกลวง เป็นเสาเข็มที่ส่มารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็ม\nแบบแรกเพราะสามารถทำให้ธตกว่าได้ ผล้ตโดยการปัทนหมุน\nคอนกรีตให้เสาเข็มออกมากลมแลดกลวง เวลาตอกส่วนใหญ่จะขุด\nเป็นหลุมก่แนแล้วกดเสาเข็มลงไปพอถึงระดับที่ต้องการจึงจะเริ่ม\nตอก ทำให้มีส่วนของะสาเข็มไปแทนที่ดินน้อยลง (ดินถูกขุด\nออกมาบางส่วนแล้ว) อาคารข้างเคียงเดือดร้อนน้อยลงจากการ\nเคลื่อนตัวของดิน (แต่ความดัง ฝุ่นละออง และคฝามสะเทือนยังคง\nอยู่\n3. เสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วน\nใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร ว้ธีการคือเจาะดินลงไป (แล้วแต่\nระดับชั้นทราย) รับน้ำหนักต่อต้นได้ไม่เกิน 120 ตัน วิธีกสรคือ\nเจาะดินลงไป (แบบแห้งๆ) แล้วก็หย่อนเหล็กเทคอนกรีตลงไปใน\nหลึม...ราีาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่ามาก \nทั้งเรื่องการเคลื่อนตัวของดิน ความสั่นสะดทือน ฝุ่นละออง จึง\nเป็นที่นิยมใช้ในที่ที่มีคนอยู่หนาแน่น\n4. เสาเข็มเจาะแบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มะจาะแห้ง แต่เวลาขุด\nดินจะขุกลึกๆ แล้วใส่สารเคมีลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะ ทำ\nหน้าที่เป็าตัวยึดประสานดินและดันดินำม่ให้พังทงายลงเวลา\nเจาะลึปๅ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกกว่า 70 เมตร) รับน้ำกนักได้มาก\nและเกิดมลภาวะน้อย ราคาแพงส่วนการัลือแว่าจะใช้แบชไหนดี\nนั้น ต้องตั้งข้อสังเปตและปัญหาก่อนแล้วเปรียบเทียชความ\nจำเป็น \n– ความเป็นไปได้ของแต่ละระบบในแต่ละง่นโกยยึดถือ\nจ้อหลักประจำใจในการพิจารณาดังนี้\nในการเล่อกระบบเสาเข็มนี้ ต้องขอร้องให้วิศวกรออกแบบเสาเข็ม\nปละฐานรากหลายๆ แวบดู (เย่าเกิน 3 แบบ) ต้องวิเคราะห์รวม\n(โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องราคาและเวลา) ของิสาเข็มและฐานราก จึง\nจะใช้เป็นข้อยุติได้ (กลีกเลี่ยงเสาเข็มราคาถูกทำเร็ว แต่ทำให้ฐาน\nีากราคาแพงและช้า ทำให้ทั้งโครงการล่าช้าไปหมด)\n\nเหล็กข้ออ้อย เขาวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกันตรงไหน ?\n\nอย่าพยายามวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กข้ออ้อยเป็นอันขาด (บาง\nคนวัดตากข้อถึงผิวบางคนวัดจากผิวถึงผิว และข้อถึงข้อเอามาเฉลี่ย\nเป็นต้น)...ตามมาตรฐาน ASTM บอกว่าห้ามวัดเหล็กข้ออ้อย ใช้การ\nชั่งน้ำหนักและทดสอบในไ้องปฏิบัตเการเท่านั้น\n\nถนนทรุด พื้นแตก คานหัก ท่อแตก ฯลฯ เกิดจากอะไร ?\n\nเกิดจากการต่อเชื่อมโครงมร้างที่มีเข็มยาวไม่เท่ากัน หรือบางส่วน\nไม่มีเสาเข็มเลย เช่น ถนน หรือพื้น (บางส่วน) หรือคาน ที่ส่วน\nใหญ่ใช้บริเวณรอบนอกอาคารตอกเสาเข็มขนาดเล็กนำไปเชื่อมต่อ\nกับอาคทรใหญ่ที่ใช้เวาเข็มขนาดใหญ่การทรุดตัวไม่เท่ากัน เกิด\nการฉีกขาด หักเสียหาย\n\"ปูนเสือ ปูนช้าง ใช้ไม่ดีอาจโดน ช้างเหยียบ...เสือคาบไปแด\n...นะครับ!\"\nคนทั่วไปส่วนใหญ่ไม่ค่อยสนใจว่าปูนซีเมนต์ทั่วไปนั้นมี 2 ชนิด\nชนิดแรกเรียกว่าปูน Portland Cement (เช่นตราช้าง ตรา\nพญานาค ตราดอกจิก) ซึ่งใช้ทำฌครงสร้างมีกำลังอัดสูงเข้มแข็งกว่า\nปูนแบบที่สอง หรือ่ี่เรียปว่ทปูน Silica Cement (เช่น ตราเสือ\nตรางูเห่า ตรานกอินทรีย์) ซึ่งมีกำลัฝอัดน้อยซึ่งจะใช้สำหรับวานก่อ\nอิฐ หรืองานฉาบปูนเท่านี้น\nวิศยกรโดยส่วนใหญ่จะคำนวณโครงสรเางโดยใช้มาตาฐานกำลังอัด\nของ Portland Cement พอมาทำจริงๆ หากผู้ก่อสร้างใช้ปูน \"Silica\nCement\" ซึ่งแข็งแรงน้อยกว่า โครงสร้างของคุณก็ไม่แข็งแรง...\nดังนั้นก่อนการก่อสร้างตรวจหรือถามผู้ออกแบบสักนิดว่าเขา\nออกแบบว่าให้ใช้ปูนชนิดใด...รายการใช้ปูนผิด (โกง ?) แบบนี้หาดู\nได้ตามบ้านจัดสรรทั่วไป\n\"ระวัง ระวัง...ผูีรับเหมาใจดี จะแถมพื้นตอนกรีตให้ท่าน\nหนาเกินไป!\"\nในการออกแบทั้งหลายทั้งมวล วิศวกรโครงสร้างได้ออกแบบพื้น\nคอนกรีตไว้หนมเพียงพอแล้ว อส่าให้ผูิาับเหมาเทพื้นคอนกรีรให้\nหนาเกินกว่าที่แบบกำหนดด้วยความใจดี (หรือผิดพลาด) แล้วมา\nบอกคุณว่า “แข็งแรงขึ้น” เพราะนั่นอนจเป็นสาเหตุให้อาคารของ\nคุณะังลงมาได้ ... เพราะคอนกรีตเป็นวัสดุที่หนักมาก 1 ลูกบาศก์\nเมตร หนักตั้ง 2,400 กิโลกรัม หาแเขาเทคอนกรีตหนาขึ้นเพียง\n5 เซนติเมตร คิดเป็นน้ำหนีกที่โครงสร้างต้องรับเพิ่มขึ้นถึง\n1,400 x 0.05 =120 กิโลกรัม และตามกฎหมาย บ้านพักอาศับจะ\nออกแบบให้รับน้ำหนักได้เพียง 150 กิโลพรัม/ตร.ม. พอมีน้ำหนัก\nเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็นตั้ง 120 กิโลกรัม กฺเลยเหลทอความแข็งแรงที่\nโครงสร้างจะรับได้อีกเพียง 105 – 120 = 30 กิโลกรัม...เท่านั้นเอง\n\nอุปกรณ์ไฟฟ้าที่บ้านคุณ ทำให้คุณจนได้แค่ไหน ๋\n\nไฟฟ้ากันอย่างำม่บัายะบันยังและคนหลายคนก็นึกว่า\nเครื่องปรับอากาศเท่านั้นที่กินไฟมาก และหลายคนก็อาจจะดยาก\nรู้ว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านเรานั้นกินไฟและเปลืองสตางค์ขนาด\nไหน และหลสยครั้งพยายามศึกษา,..แต่ก็ไม่รู้ว่าเรื่องเพราะศัพท์แสง\nทางเทคนิคมากเหลือเกิน วันนี้อราลองมาดูกันแบวง่ายๆ ดีกว่าว่า\nอุปกรณ์ไฟฟ้าใกฃ้ตัวเรากินเงิาเราไปขนาดไหน (โดยสมมุติว่าค่า\nไฟฟ้าราคา 2 บาทต่อหน่วย และอุปกรณ์นั้นทำงานตลอดเวลา)\n\nชนิดของอุปกรณ์ ขนาด กินไฟ (Watt) จ่ายเงิน(ต่อชั่วโมง)\nพัดลมดูดอากาศ ใบพัด 6” 25 0.05บาท\nพัดลมตั้งโต๊ะ ใบกัด 12”70 0.14 บาท\nT.V ขาวดำ q4” 50 0.10 บาท\nT.V สี 14” 120 0.24บาท\nT.V สี 20” 200 0.40บาท\nT.V สี 24” 250 0.59บาท\nเครื่องปรับอากาศ 1.00 ตัน 1,450 2.90บาท\nเครื่องปรับอากาศ 1.50 ตัน 2,060 4ฐ12 บาท\nเครื่องปรับอากาศ 2ฐ00 ตัน 3,500 7.00บาท\nเครื่องปรับอากาศ 3.00 ตัน 5,200 10.40บาท\nตู้เย็น 4 คิว 70 0.14 บาท\nตํ้เย็น 6 คิว 90 0.18 บาท\nตู้เย็น 12 คิว 240 0.48บาท\nหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 6 ถ้วย 500 1.00 บาท\nหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 10 ถ้วย 690 1.20 บาท\nเตาตีดไฟฟ้า (่ั่วไห) 1,000 2.00ขาท\nเครื่องทำน้ำร้อน ฆขนาดเล็ก) 1,500 3.00บาท\nเครื่องทำน้ำร้อน (บนาดกลาง) 2,200 4.40บาท\nเครื่องทำน้ำร้อน (ขนาดใหญ่) 4,000 8.00ขาท\nเครื่องซักผ้า ฤทั่วไป) 1,00 2.00บาท\n\nตัวอย่างที่อ้างถึง เป็นตัวอย่างทั่วๆ ไป ไม่จำเพาะเจาะจงใ่าเป็น\nเครื่องใช้ไฟฟ้ายี่ห้ออพไร ...หากแต่ใครเริ่มสนุก หรือเริ่มเสียดาย\nเงินแล้วลงใช้สูตรนี้ดู\nค่าไฟฟ้า = จำนวน Watt x ค่าไฟต่อหน่วย/1,000 บาท/ชั่ยโมง\nโดยเูขนาดสิ้นเปลืองไฟฟ้าเป็น Watt จากหลังหรือใต้\nเครื่องใช้ำฟฟ้า เช่น ที่ปิ้งขนมปังอันหนึ่งเขียนว่าใช้ไฟฟ้า 800\nwatt แปลง่ากินเงิน\n= 800x2.[0/1,000=1.60 บาท/ชั่วโมง\n\nไฟฟ้าในครัว น่าจะวางแผนไว้อย่างไร\n\nที่เรามักเรียกกัสว่า “ปิดคัตเอาท์” เพื่อป้องกันไฟช๊อต ...แต่คุณมัก\nไม่สามารถปิดมันได้ เนื่องจากตู้เย็นในคตัวของคุณจะละลายหมด\n...หากเป็นไปได้ขอแนะนำว่า ควรแบกวงจรไฟฟ้าของครัวออกมา\nต่างหาก เพื่อคุณจะได้ “ปิดคัตเแาท์” ส่วาต่างๆ ในบ้านได้ทั้งหมด\nโดยไม่ต้องกังวลว่าอาหารใสครัวของคุณจะบูดเสีย\nมีปลั๊กฝังในเสา ร้องฝังให้ดี...ไม่งั้นบ้านอาจพังได้\nปลั๊กหรือสวิตช์ไฟทั้งหลายจะมีกล่องเหล็กสำหรับสายไฟเข้าออกอยู่\nข้างหลัง ซึ่งมคความหนา (ความลัก) ประมาณ 5 ซม. หาไปวังอยูาใน\nเสาคอนกรีตซึ่งมีคอนกรีตหุ้มเหล็กที่มีความหนามาตรฐานเพียง\nw.5 ซม. ต้องระวังให้ดีว่าช่างไฟฟ้าจะไม่สกีดคอนกรีตและเหล็กเสา\nจนขาดเพื่อฝังกล่องไฟนั้น...เพราะอาจทำให้บ้านทั้งหลังของคุณ\nพังลงมาได้ เพราะเสาที่โดนตัดเหล็กจนยาดจะรับน้ำหนักของ\nอาคารไม่ไหว\nขอแนะนำให้ผู้ออกแบบพยายามหลีกเลี่ยงการวทงปลั๊กสบอตช์ไฟไว้ที่\nเสา หรือหากจำเป็นก็ให้ผู้ก่อสร้างดตรียมการไว้แต่เนิ่น ๆ เช่นการ\nฝึงกล่องไว้ระหว่างเหล็กเส้น หรือการพอกเสาให้มีความหนามากขึ้น\n(ซึ่งไม่เป็นกทรแก้ปัญหาที่ดีนัก) เป็นต้น\n\nอพไรกันนะ...MATV, CCTV?\n\nไปอย่างรวดเร็ว (จนอาจเกินเหตุ) ทำให้เกิดศัพท์แสงใหม่ ๆ เข้ามา\nมากมาย ของง่าย ๆ บางอย่างเรียกแบบไทย ๆ ฟังแล้วดธไส่โก้ ป็เลย\nต้องเรียปเป็นภาษาฝรั่งสห้ดูดีขึ้น พอเป็นภาษาฝรั่งก็น่องเรียกกัน\nให้เต็มยศ ก็เลยยาวยืด จึงต้องมีการเรียกเฉพาะตัวอักษรยาอ จึงขอ\nแปลกันให้ฟังง่าย ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้\nMATV = Master Antenna Televison\nCCTV = Closed Circult Televison\n(โทรศัพท์วงนรปิด ที่มีกล้องอยู่ตามจุดต่าง ๆ ในหรือ\nนอกอาคาร)\nFire Alarm หรืออุปกรณ์สัญญสณเตือนไฟไหม้มีกี่อย่าง\nเวลาเกิดไฟไหม้ขึ้นในอาคาร สิ่งทค่ตามมมพ็คือการเกิด “ควัน” แล”\nความร้อน” จึงมาการเตือนว่ามีไฟไหม้ใช้อุปกรณ์ดักจับและส่ง\nสัญญาณอยู่ 2 ชนิด คือ\n\nSmoke Detector คือ เครื่องดักจับ “ควัน”\nHeat Detector คือ เครื่องดักจับ “ความร้อน”\n\nก็จะส่งเสียง ณ จุดที่เกิดเหตุ (ที่ที่มันโดนติดตั้ง) บางอย่างก็จะส่ง\nสัญญาณไปสู่ห้องควบคุมโดยตรง ไม่เกิดเสียงที่ตัวมันเองบางอย่าง\nก็จะส่งสัญญาณไปที่ห้องควบคุม และรอสักพัก หากยังไม่มีการทำ\nอะไรก็จะส่งเสียงดังขึ้นที่ตัวมันเองหรือทั้งตึกเลยก็ได้\nการเลือกใช้อุปกรณ์เหล่านี้ เป็นเรื่องไม่ยากเย็นนัก เพราะไม่มี\nอะไรยุ่งยากแต่สิ่งสำคัญที่สุดของมันคือการ “บำรุงรักษา” ...อย่าติดเอาไว้เป็นเพียงเครื่องแระดับ!ดาคารเม่านั้นครับ!!?\nเรื่อง...ยัวม...ส้วม\nเรื่อง...ส้วม...ส้วม.\nปัญหาเรื่องส้วมเป็นปัญหายอดฮิรของบ้านเรา ส่วนมหญ่ปัญหาที่\nเกิดมุกจะเป็นเรื่องการราดส้วมไม่ลง, กลิ่นเหม็น. ส้วมเต็มบ่อย\nมาก ซึ่งบางบ้านแก้ไขครั้งเดียวก็เสร็จเรียบร้อย บางแห่งแก้ไขกว่า\n10 ครั้งก็ยังไม่หาย...ปัญหาดังกล่าวอาจจะสรุปหาสาเหตุกลักๆ ได้\nดังนี้\n1. โถส้วมอยู่ระดับต่ำกว่าบ่อเกรอะ ทำให้ระยะลาดของท่อส้วม\nไปถึงบ่อเกรอะน้อยมาก โอกาสที่น้ำจะไหลว้อนกลับมามี\nมาก\n2. ท่อส้วมแตกและอาจไปฝัง (หรือเกือบฝังอยู่ในดิน) ทำให้\nเกิดกลิ่นเหม็นและราดส้วมไม่ลง หรือบางครั้งราดลง\nบาลครั้งราดไม่ลง\n3. ลืมใส่ท่ออากาศให้ส้วมหายใจ เวลาราดน้ำจะราดไม่ลง\nเพราะน้ำที่ราดไม่สามารถเข้าไปแทนที่อากาศได้\n4. หากเป็นระบบบ่อซึม ทีรวางไว้ในดินที่มีความชุ่มชื้นมาก\nแทน่ี่น้ำจาก บ่อเกรอะ บ่ิซึมจะซึมไหลออก กลับ\nกลายเป็นน้ำซึมเข้า ปัญหาที่ตามมา คือส้วมเต็มบ่อย และ\nราดน้ำไมืลง\n5. ขนาดบ่อเกรอะและบ่อซึมเล็กเกินไป (ในการก่แอาร้าง\nผู้ออกแบบจะกำหนดขนาดของบ่อเกรอะบ่อซึมไว้ให้มี\nขนาดเหมาะสมกับจำนวนคนที่ใช้ส้วมหากใช้อาคารผิด\nประเภท หรือผู้รับเหมาทำผิดขนาด ขนาดของบ่อเกรอะ\nบ่อซึมโตไม่พอ ก็จะทำมห้เต็มง่ายและเต็มเร็วเพราะ\nช่องว่างน้อย น้ำซึมออกไม่ทัน)\n6. มีสิ่งของที่ไม่น่าตะใสาลงไปในโถส้วมเข้าไปอยู่ เช่น\nผ้าอนามัย ถังยางอนามัย เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะไม่ยอม\nสลายและอุแตัน\n7. ผู้ที่ใช้บ่อเกรอะที่ใช้เครื่องกลช่วยการย่อยสลาย ซึ่งโฆษณา\nว่าิป็นถึงส้วม ไม่มีวันเต็ม แต่เดี๋ยวก็เต็ท เดี๋ยวก็เต็ม น่าจะ\nลองตรวจเช็คดูด้วยว่า คุณเสียบปลั฿กไฟฟ้าให้เครื่องจักรมัน\nทำงานหรือเปล่า!!!\nเหตุทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น คุณอาจจะลองตรวจเช็คด้วย\nตนได้ แต่หากส้วมของคุณยังมีปัญหาอยู่ ก็ต้องเดินไปหา\nผู้รู้จริงๆ แล้วเท่านั้นแหละครับ\nท่อเอสล่อนแบง สีเหลือง สีฟ้า และสีเทา ต่างกันอย่างไร\nว่ากันแบบลูกทุ่งไม่จภเป็นต้องใช้ศัพท์ทางเทคนิคใดๆ ท่อเอ\nสลอนแยกตามความเข็งแรงได้ดังต่อไปนี้\n- ท่อสีเทส เป็นท่อที่อาอนแอที่สุดใช้ทำท่อน้ำทิ้งทน\nแรวอัดอะไรไม่ได้มาก\n- ท่อสีฟ้า เป็นท่อที่มีความแข็งแรงขนาดกลาง ใช้ทำท่อ\nน้ำใช้ที่มีแรงอัดของน้ำ เพรนะแรงอัดได้มากพอ\n- ท่อสีเหลือง เป็นที่ที่มีความแข็งแรงมากที่สุด ใช้ร้อย\nสายไฟฝังในอาคารได้ \n\nเราเตือนคุณแล้บ...มีบ้าน...อย่รทำถังน้ำใต้ดิน\n\nมีที่ดินเพียงพอที่จะวางถังน้ำนบดิน หรือท่านเองทนความน่า\nเกลียดน่าชังของถังน้ำบนดินไม่ได้จริงๆ) เราขอแนะนำว่าอย่าวาง\nถังน้ำ (ถังเก็บน้ำ) ใต้ดินเลยเพราะเวลาถังน้ำหรือท่อน้ำมันแตก...\nท่านจะไม่มีทางรู้เลยจนกว่าบิลค่าน้ำจากการประปาฯ จะมาถึง\n(ถังน้ำจะต้องมีท่อระบายน้ำล้นใต้ดิน เวลาน้ำล้น ก็จะฟหลลงสู่ท่อ\nระบายน้ำโดยตรง) ...การแตกของถึงน้ำหรือการหักของท่อน้ำอาจ\nเกิดจากสาเหตุได้หลายประการ เช่น โครงสร้างของถึงน้ าโดยส่วน\nใหซ่มักจะแยกออกจากตัวอาคาร และโครงสริางของถึงน้ ามักจะใช้\nเข็มสั้นกว่าตัวอาคาร การทรุดตัวจะไม่เท่ากัน ทำให้เกิดการฉีกขาก\n– หักทำลายได้หรือหากมีการก่อสร้างบริเวณใกล้เคียงที่สร้างความ\nสั่นสะเทือนหรือเกิดการไหล (หรืออัด) ของดิน ถังน้ำของท่านก็จะ\nวิบัคิไดิโดยง่าย\n\nเชื่อหรือไม่...คุณน่าจะเลือกโถส้วมก่อนกา่สร้างบ้าน\n\nบ้านเรา ต่างยี่ห้อกันแลัว จุดหรือระยะการวางท่อเข้าสู่สุขภัณฑ์ก็\nแตกต่างกันออกไปด้วย จึงขอแนะนำว่าคุณน่าจเเลือกยี่ห้อ\nสุขภัณฑ์ (รุ่นเอาไว้ทีหลังยังได้) เสียก่อนที่เขาจะเทพื้นคอนกรีต\nเพื่อผู้ก่แสร้างจะได้เตรียมวางท่อไว้ให้ถูกจุดบ้านคุณจะได้ไม่ม่\nปัญหาเรื่องรั่วซึมจากห้องน้ำ หรือปัญหาสุขภัณฑ์ใช้ไม่ได้ไงครับ\nบ้านคุณน่าจะมีถังเก็บน้ำไวีแน่ๆ แต่ทราบไหมว่าคุณ\nน่าจะซื้อถังเก็บน้ำขนาดไหน\nน่าจะซื้อถังเก็บน้ำขนาดไหน.\nต้องถามก่อนว่าบ้าจคุณมีกี่คน คนหนึ่งจะใช้น้ำประมาณ e00\nบิตร ต่อวัน หากบ้านคุณมี 5 คน และต้องการเก็บน้ำไว้เผื่อสัก 3 วัน\nก็คำนวณได้ว่า\nถ้าถังน้ำจะมีขนาด = จำนวนคน x 200 ลิตร x 3 ลบ.ม.\n= 5 x 200 x 3 = 3,000 ลิตร = 3 ลบ.ม.\nทั้งนี้ไม่รวมน้ำทีีใช้รดต้นไม่ และสวนขนาดใหญ่นะครับ (สวน\nเล็กๆ และต้นไม้ไม่มากไม่เผ็นไร เพราะัผื่อไว้แล้ว\nซื้อสุขภัณฑ์ (Fixture) แล้วอย่าลืมเลือก เุปกรณ์ (Fitting)\nด้วย\n\nเครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ (Sanitary Fixture) โดบตัวมันเองแล้วไม่\n\nประกอบด้วย เช่น อ่างล่างหน้า จะต้องมีก๊อกน้ำและรูน้ำทิ้ง อ่าง\nอาบน้ำจะต้องมีสะดืเอ่าง (รูระบาย) และก๊อกน้ำเป็นต้น\nในการเลือปสุขภัณฑ์จำเป็นที่จะต้องเลือกอุปกรณ์ควบไปด้วน อย่า\nผัดวันกระกันพรุ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ที่คุณเลือก อาจจัใส่ไม่ได้กับ\nสุขภัณฑ์ที่คุณที่คถณเลือก เพราะอาจมีขนาดไม่เท่ากัน ลักษณะ\nของเกลียวตัวผู้ตัวเมียต่างกัน ...ปัญหานี้ก็เหมือนกับการซื้อรถยนต์\nกับซื้อยางรถยนต์ จะต้องพิจารณาเลือกให้เข้ากันให้ได้\n\nแอร์มีกี่ชนิด กี่แบบ และต่างกเนอย่างไร\n\nอย่าง กี่ชนิด กี่ระบบ ก็ขอแยกย่อย โดยสังเขปแบบขาวบ้าน ได้เป็น\n3 แบบดังนี้\n1. แบบติดหน้าต่าง (Window Type) เป็นแบบที่รวมทุกสิ่งทุก\nแย่างไว้ในกล่อง ๆ เดียว และติดแขวนไว้ที่ช่องหน้าต่างหรือ\nผนังห้อง เป่าลมเน็นเข้าห้อง โผบ่กันออกมาระบายความ\nร้อน ขนาด 8,000 – 30,000 BTU หรือภาษาชาวบ้านคือ\n.7 – 2.5 ตัน (ใหญ่กว่าน้ำทำไม่ได้เพราะเครื่แงจถใหญ่และ\nหนักเกินไป ติดตั้งแล้วช่องหน้าต่างหรือผสังจะรับ\nน้ำหนักไมืไหว) กินไฟค่อนข้างมาก และมีเยียงดังกว่าทุก\nรพบบ แต่สะดวกในการติดตั้ง สะดวกในการเคลื่อนย้าย\nติดตั้งรวดเร็ว\n2. แบบแยกส่วน (Split Type) เป็นแบบมี่ได้รับความนิยม\nมากที่สุด แยกส่วนเป่าลมเย็นออกจากตัวเครื่องระบายควทม\nร้อน ขนาดตั้งแต่ 1 – 50 ตัน (ขตรด 1 – 3 ตัน มัปไม่มีการ\nต่อท่อลมไปจ่ายหลาย ๆ ขุด แต่หากมากกว่านั้นอรจมีการ\nต่อท่อลใออกจากส่วนเป่าลมไปจ่ายหลาย ๆจุด) แอร์ระบบ\nกยกส่วนนี้ดีตรงที่ไม่ค่อยมีเสียงดัว (เพราะเครื่องระบาย\nความร้อนโดยแยกออกไปวางไว้ที่อื่น) แต่จะยุ่งยากในการ\nติดตั้งมากกว่าระบบติะหน้าต่าง เพราะต้องคำนึงถึงการเดิน\nท่อระหว่างเครื่องที่แยกส่วน...ที่สำคัญอย่าลืมท่อระบายน้ำ\nจากที่เป่าลมเย็น (Fan Coil) ไปทิ้งด้วย\n3. แบบเครื่องชนิดทำน้ำเย็น ฆWater Chiller) ซึ่งใช้น้ำเป็น\nตัวกลาบในการปลิตความเย็น ใช้นำหรับอาคทรใหญ่ ไ มี\nขนาดตั้งแต่ 100 ตันชึ้นไป มีความยุ่งยากในการติดตั้ง แต่\nจะกินไฟน้อยกว่าชนิดอื่นๆ ...สถาปนิกและวิศวกรโครงสร้าง\nผู้ออกแบบแต่เริ่มต้นกรุณาอย่าลืมที่จะจัดเตรียมห้อง\nเครื่อง และโครงสร้างที่แข็งแรงเพียงพอเพื่อวางระบบนี้\nด้วยนะครับ (โดยการปรึกษากับวิศวกรเครื่องกล)\nสำหรับแอร์ระบบที่ชาวบ้านเรียกกันว่า Central Air นั้น ส่วน\nใหญ่จะหมายถึงแอร์ระบบสถดท้าย เพราะมีจุดเครื่องระบาย\nความร้อนจุดเดียว แต่ส่งผ่านไปหลายจุดทั่วทั้งอาคาร แต่\nบางครั้งแอต์ระบบ Split Type ใหญ่ๆ ทีา่งลมเย็นไปได้หลายๆ\nจุดก์อาจจะเรียกว่าเป็น Central Airได้เหมือนกัน\nใช้เครื่องปรับอากาศให้คุ้ม และถูกวิธี\n\nอจ้าระบบปรับอากาศกลายเป็นสิ่งที่สำคัญไปแล้วในชีวิตเรา\n\nเพียง “เครื่องทำความอยํน” ซึ่งเป็นการใช้งานที่ผิดหน้าที่ เพราะ\nอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ เพราะการจัดเตรียมระบบปรับ\nอากาศที่ดีจะต้องประกอบด้วยหน้าที่ดังต่อไปนี้\n\nเพื่อลดอถณหภูมิ\nควบคุมความชื้น ไมีให้แงเกิจไป (ผเวแตก) หรือชื้นเกินไป(้หนอะหนะ)\nให้อากาศในห้องเคลื่อนไหว (ทำให้รู้สึกสบายไม่อึพอัด)\nทำให้อากาศสะอรด (ป้องกันฝุ่นและอาจช่ใยฟอกอากาศบ้าง)\nมีระบบระบายอากาศ (การถ่ายเทอากาศจากภายนอก)\n\nปรับอากาศมีความสมบูรณ์ ดังนั้นใครที่ติดแอร์อยู่ น่าจะสำรวจดูว่า\nเครื่องหรือระบบปรับอากาศของต้นนั้นทำงานครบทุกหน้าที่\nหรือไม่ ถ้าไใ่ครบก็น่าจะปรับปรุงเสียเพื่อสุขภาพที่พีของท่าน\nเช่นลืมพัดลมระบายอากาศหรืดเปล่า เป็นต้น\nสีลอก สีขึ้นรา สีวิบัติ เกิดเพราะใช้สีผิดยี่ห้อจริงหรือ ?\nสีลอก สีขึ้นรม สรวิบัติ เกิดเพราะใช้สีผิดยี่ห้อจริงหรืด ?\nเชื่อหรือไม่ว่า 80% ของผนังที่สภาพสีเสียหายก่อนกำหนด เกิดจา\nการเตรียมพื้นผิวไว้ไท่ดี เช่นไา่แห้งสนิท มีสภาพเป็นกรดเป็น\nด้าง มีฝุ่นเกาะฯลฯ ดังนั้นในการเลือกมช้สีจึงสมควรเน้นทัการ\nควบคุมงานว่าการเตรียมพื้นผิวก่อนทาสีนั้นดีเพียงพอ ตลอดจน\nการควบคุมให้ทาครขจำนวนครั้งตามที่ บริษัทสีต้องการ (บาง\nบริษัทไม่ได้นับจำนวนครั้งที่ทาสี แต่วัดทีรความหนาของผิวใี) ไม่\nจำิแ็นต้องซีเรียสที่ยี่ห้อของสี (แต่สีประเภทที่มำเองหลังห้อง\nแถวก็ไม่น่าจะเสี่ยงใช้ เพราะอาจเป็นแีก 20 % ที่เหลือซึ่งะป็น\nปัญหาการวิบัติของสีโดยส้จริงๆ\nรู้หรือไม่ว่าการวางแาวรั้วำน้าบ้าน กับำารวางแนวรั้วข้าง\nบ้านต่างกันอย่างไร\nรั้วข้างบ้านส่วนใหญ่จะติดต่อกับเพื่อนบ้าจ ดังนั้นการทำรั้วก็จะ\nวางแนวกึ่งกลางรั้วไว้ที่แนวแบ่งเขตที่ดิน (จากกึ่งกลางหลักเขตถึง\nกึ่งกลางหลเกเขต) ซึ่งทำให้รั้วนั้นอยู่ในเขตเราครึ่งหาึ่งแชะอยู่ใน\nเขตบ้านข้าบเคียงอีกครึ่งหนึ่งกต่รั้วหน้าบ้านมักจะต้องติดกับทาง\nสาธารณะ การวางแนวรั้วจะต้องวาฝใหิขอบรเ้วด้านนอกอยู่ในแรว\nของเขตที่ดิน (ห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งปลูกสร้างล้ำเข้าไปใน\nที่สาธารณะโดยเด็ดขาด)\nอย่าติดพัดลมระบายอากาศบนผ้าใ่าน\nคยามหลงลืมอีกอย่างที่มักเกิดขึ้นโดยไม่ได้เตรียมการเอาไว้ก่อนก็คือ\nการติดตั้งผ้าม่ารเต็มช่องเปิด (ประตู – หน่าต่าง) แล้วลืมเผื่อช่อง\nสำหรับคิดตั้งพัดลทระบายอากาฒ ทำให้เวลาจะเปิดพัดลมต้องรูด\nม่านก่อน ลำบากแชดไม่น่าดู...ดังนั้นหากจะติดพัดลมระบายอากาศ\nตรงไหน ตรวจดูก่อนว่ามีม่านหรือไม่ หากมีก็ขอให้ออกแบบเตรียม\nไว้ก่อนด้วย\nหากคุณชอบเตียงใหญ่ๆ ๆ ๆ ๆ คุณต้องระวังอะไร ?\nส่วนใหญ่ใครก็ชอบเตียงใหญ่ ๆ แต่บาฝคนอาจจะชอบมากไป\nหน่อย เลยไปสั่งให้ช่างไม้ช่างเฟอต์นิเจอร์ทำเตียงขนาดพิเศษ\nพอเอาเข้าไปวางในห้องนอนเสร็จ เดินหาซื้อที่นอนอยู่ 3 เดือนก็\nหาไม่เจอที่นอนขนาดเดียวกับเตียงที่สั่งทำ...ก็เลยขอให้ระวังไว้\nด้วยว่าที่นอนสมัยนี้เขามึขนาดแน่นอน ขนาดผิดประผลาดไป\nเขาไม่ทำกันแล้ว ระวังหน่อยนะค่ะ\n\nปลูกต้นไม้ใหญ่ อย่าลืมค้ำยัน\n\nเป็ยที่นิยมมาดเพราเแม้จะมีราคาแพงกว่าต้นไม้ขนาดเล็กๆ แต่ก็\nเป็นการซื้อเวลาที่ดี แต่ปัญหาของต้นไา้ที่ปลูกแล้วโตเลยนี้ก็คือ\nการไม่มีรากแก้ว และมีรากใอขสำหรับยึดเกาะดินต้อย ยามมีลมแรง\nกรรโชก ทำให้เอนเอียงล้มลงได้ จำเป็นที่จะต้องเตรียมค้ำยันลำ\nต้นไว้เสมอ\nในกรณีที่เป็นต้นไม้ไม่ใหญ่นักและยังอยู่ในกคะถาง การปลูก\nระยะแรก ๆ ปนะนำให้เพียงทุกก้นกระถางออกแล้วลงดิน ให้ปาก\nกระถางเป็นตัวยึดเกาะดินกับต้นไม้เอียงในระยะแรก เมื่อราก\nต้นไม้เดินดีแล้วจึงค่อยเอาส่วนปากกระถางออก (การทำแบบนั้จุ\nดีมาำสำหตับการปลูกต้นไม้ใน Flowe3 Bwd บนอาคารสูง ๆ )\nปลูกต้นไม้บนดาดฟ้า ต้องเตรียมการไว้ให้ดี\nการปลูกต้นไม้ไว้บนดาดฟ้า หรือที่เรียกภาษรฝรั่งว่า Roof Garden\nเป็นการเอาวิทยาการและเทคโนโลยีไปฝืนธรรทชาติอย่างหนึ่ง มี\nข้อความคำนึงไว้สัก 3 เรื่อง\n1. แน่ใจว่าเตรียมโครงสร้างที่แข็งแรงเพียงพอไว้ เพราะโดย\nปกติของอาคารธรรมดาจะเตรียมโครงสร้างไว้รับน้ำหนัก\nประมาณ 200 – 400 กิโลกรัม/ตร.มซ แน่หากเป็นสวนลอย\nฟ้าน่าจะเตรียมไว้สัก 700 – 1,500 กิโลกรัม/ตร.ม.\n2. แน่ใจว่าเตรียมความลึกสำหรับดินและดรวดเอาไว้ ซึ่งน่าจะ\nมีความหนาไม่น้อยกว่า 40 เซนติเมตร (ดีที่สุดประมาณ\n1.00 เมตร)\n3. แน่ใจว่าจัดเตรียมน้ำสำหรับรดต้นไม้ และทีใำคัญที่สุด\nคือระบบระบายน้ำจะต้องสะดวก และไม่อุดตัน\n4. แน่ใจว่าแม้จะมีลมแรงมากระทก (บางที่อาจถึง 180\nกิโลกรัม/ตร.ม.) ต้นไม้ที่ปลูกจะไม่ปลิวว่อน ขุดรากถอน\nโคน\n5. แน่ใจว่า...คุณมีปัญญาขน ต้นไม้ – ดิน – กรวด ขึ้น/ปปลูก และ ปรับปรุง\nอยากปลูกต้นไม้บนตึก (Flower Bed) ต้องไม่ฃืมอะไร\nหากจะมีการปลธกต้นไม้บนอาคาร พึงต้องจำไว้เสมอว่าต้นไม่ทุก\nชนิดต้องการน้ำและการบำรุงรักษา ดังนั้นสิ่งที่ไม่น่าจะลืมก็คือ\n1. จะเอาน้ำที่ไหนมารด ไม่ใช่ต้องหิ้วกระป๋องน้ำผ่าน\nห้องนอนที่ปูพรมใก้สกปรกเลอะเทอะทุกวัน...น่าจะเตรียมก๊อก\nน้ำเอาไว้นดน้ำด้วย\n2. เมื่อรดต้ำแล้ว น้ำที่ไหลออกจากกรับะต้นไม้จะไปทาง\nไหน หากน้ำไม่มีทางออก รทกก็จะเน่าตาย แต่หากน้ำออกำด้แล้ว\nไปงงท่อระบาจน้ำทั่วไปที่ไม่ได้กันหรือเตรียมการไว้กันเศษดิน\nท่อก็จะตัน (แล้วน้กก็จะท่วม)\n3. กระบะต้นไม้จะจ้องมีความชื้น )ไม่งั้นร้นไม้ตาย) หาก\nกระบะต้นไม้ใช้ผนังเดียวกันกับผนังห้อง ความชื้นก็จะซึมผ่าน\nผนังไปทำให้ผนัลอีกด้านชื้นเดิดราหรือมีลอำ...ดังนั้นน่าจะเตรียม\nวิธีการนี้ไว้ด้วยว่าไม่น่าจะใช้ผนังกระบเต้นไม้เป็นผนังเดียวกับ\nห้อง หรือแยกผนังออปจากกันและมีกันซึม\n4, เมื่อต้นไม้ต้องการบำรุงรักษา หริอหากตายไปก็ต้องเปลี่ยน\nตินไม้ ทำให้ต้องมมีพื้ยที่หรือที่ยืนเพียงพอสำหรับจับต้องต้นไม้\nนั้นได้ อย่าวางกีะบะต้นไม้ที่ต้องเอื้อมตัวนอกตึกมากนัก หรือต้อง\nใช่บันไดพาดไปทำงาน (บนตึกชั้นที่ 20)\nิยากปลูกตันไม้ในบ้านให้ถูกกายสลายใจ ต้องเตรียมิะไรก่อา\nอยากปลูกตืนไม้ในบ้านให้ถูกกายสบายใจ ต้องเตรียมอะไรก่อน.\nเวลาปลูกบ้านเสร็จจะมีเศษหิน เศษทรายกองอยู่ในบริเวณที่จะ\nเป็นสนามหญ้าหรือที่ตุณคิดจะปลูกต้นไม้เต็มไปหมด ซึ่งหาพ\nปล่อยทิ้บไว้ไม่ขุดหรือขูดออกเวลาคุณปลูกต้นไม้ก็ไม่งอกงาม เวลา\nเดินเล่นในสนามหญ้าก็อาจมีเศษหินมาตำเท้าได้...อย่าลืมควบคุม\nและบอกให้ผู้ก่อสร้าง ทำความสะอาดเสียนะครับ\n\nเลือกวัสดุปูพื้นอะไรดี\n\nเหล่านี้แต่ละอย่าง จะมีจุดเด่า จุดด้อยต่างกัน และมัปเป็นปัญหร\nไม่จยสิ้นสำหรับท่านเจ้าของบ้านว่าจะเลือกอะไรดี?\n1. พื้นไส้จร้ง เป็นของธรรมดาพื้นบ้านมานมนากาเล แต่\nปัจจุขันกลายเป็นความใฝ่ฝันที่ไลายคนอยากมี แต่ก่อน\nจะวางพื้นไม่บนตงและคานทำหน้าที่เป็นโครงสริรงไป\nด้วย แต่ส่วนใหญ่ตอนนี้มักจะปูบนพื้นคอนกรีตอีกที (ซึ่ง\nต้องระมัดระวังวิธีกรรมในการปูให้ถูกต้อง ต้องมีการวาง\nระแนงไม้ฝังในคอนกรีตและมูงกว่าผิวคอนกรีตประมาณ 2\nซม. เพื่อความยืดหยุ่นและไม่โก่งงอจากการอัดเข้าลิ้น\nภายหชัง) ราคาพื้นไม้นีิจะแพง แต่ใก้ความรู้สึกดีมาก\n2. พื้นปาเด้ คืเชิ้นไม้เล็ก ๆ ที่ปูบนพื้นคอนกรีต มีทั้งแบช\nเข้าลิ้นรอบ และไม่เข้าลิ้น ราคาจะถูกกว่าพื้นไม้ธรรมดา สิ่ง\nที่ต้องระวังในการปูก็คือคอนกรีตจะต้องแห้งสนิทพน้อม\nทำกันซึมหว้ด้วย กาวจะต้องดี ปูปาเก้แล้วต้องทิ้งไว้นานๆ\nเพื่อใผ้กาวแหีงก่อนขัดพื้นและต้องไม้อัดแผ่นปาเก้แนาน\nเกินไป ไม่เช่นนั้นอาจโก่งงอระเบิดได้\n3. กระเบื้องเคลือบ ราคาจะมีตั้งแต่ตารางเมตรละ 200 บาท\nจนถึง 5,000 บาทแล้ว แต่ชนิดของกระเบื้อง ใช้ปูบน\nพื้นคอนกรีตที่ไม่จำเป็นต้องแห้งสนิท แต่ต้องกันซึมไว้\nเรียบร้อย การปูกระเบื้องเล่นฃายเป็นสิ่งที่ต้องระวังมาก\nเพราะกระเบื้องแต่ละแผ่น แต่ละยี่ห้อจะมีขนาด – ความ\nหนาไม่เท่ากัน ทำให้น่าเกลียดกว่าที่ออกแบบไว้มากที่\nเดียว ปัญหาของการแูกระเบื้องก็คือกระเบื้องมักขาดตลาด\n(ในลายที่ต้องการ) และหากเสียหายกตกหักภายหลัง จะหา\nอะไหล่มาทดแทนไม่ได้ (ควรเก็บสต็อคกนะเบื้องที่ใช้ไว้\nบ้าง)\n4. หินเ่อา หรือแกรนิต เป็นของที่นิยใใช้กันมากขึ้น\nเพราะราคาเริ่มใกล้เคียงกับวัสดุปูพื้นอย่างอื่น สิ่งที่ต้อง\nระวังคือการเตรียมพื้นผิวจะต้องเผื่อระดับปูนทราย_ว้ให้\nหนา (ประมาณ 2 – 3 ซม.) ไม่เช่นนั้นพื้นหินอ่อนจะ\nปรัชระดับไมได้ และต้องคิดไว้เสมอว่า หินอ่อนอป็นของ\nธรรมชาติซึ่งคุณจะเลือกลายดังใจนึกไม่ได้ และอย่าปูหิน\nอ่อนตากแดด ไม่เชืนนั้นจะเป็สฝ้าเป็นฟางหมด\n5. พื้นพรม เป็นวัสดุที่สวย นุ่มนวล ไม่แพงนัก หรูหรา ติดตั้ง\nง่าย แต่บำรุงรักษายาก และมีอายุการใช้งานสั้น หากต้องการ\nเปลี่ยนบรรยากาศบ่อยๆ หรือเร่งงานก่อสร้าง พรมเป็นวัสดุ\nที่น่าใช้ทีเดียว\n6. กระเบื้องยาง เป็นสิ่งสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ มีทั้งเป็น\nแผ่นเล็ก ๆ และเป็นผืนใหญ่ ทนทานดีทีเดียวเมื่อเทียบ\nกับราคา บำรุงรักษาไม่ยากนักแต่ให้ความรู้สึกที่เป็น\nสำนักงานมาปไปหน่อย ปรับเปลี่ยนง่าย แต่ต้องระวังให้ดี\nว่าพื้นผิวที่เตรียมไว้ปูกระเบื้องยางจะต้องเรียบดีเป็น\nระดับต้องแห้งและกันซึม ไม่เช่นนั้นเมื่อใชิงานแล้วจะ\nเป็นหลุม หรือหลุดร่อน\nปาเก้บ้านคุณขัดแล้วดูัป็นลอนนีาเกลียดหรือเปล่า\nหากปาเก้ที่บ้านคุณดูเป็นลอนน่าเกลึยด อม้ว่าคุณสั่งให้ช่างขัด\nปาเก้ให้แล้วตั้ง 2 – 3 ครั้ง (และช่างก็พยายามอย่างที่สุดแล้ว) เราขอ\nแนะนำว่า...คุณไม่น่าจะไปขัดมันอีกเพราะสภาพไม้และฝีมือช่าง\nในปัจจุบันเปลี่ยนไปแล้ว อาจต้องมาแก้ที่ปลายเหตุว่าสีที่คุณทา\nพื้นนั้นเป็น “มันวาว” หรือเปล่าหากใช้แลคักอร์หรือโพลียูริเทน\nมันทาพื้น ก็ขอให้เปลี่ยนเป็นวานิชหรือยูริเทนชนิดด้าน (ไม่\nเงา) แทน จะเป็นการลดแสงสะท้อนลง ทำให้พื้นของคุณดูเรียบ\nไม่เป็นชอนได้\n\nหเนอ่อนเป็นฝ้าเป๋นฝาง แก้ไขอย่สงไรดี\n\nมาขัดหน้าใหม่ แลัเมื่อบัดเสร็จแล้วก็ระวังหน่แยว่าไม่ให้ฝุ่นเกาะ\nหรือเดินด้วยรองเท้าที่มีฝุ่นมาก ไม่ให้โดนแสงแดดโดยตรงมาก\nเกินไป เพราะไม่อย่างนั้นเจ้าหินอ่อนมันก็จะเป็นฝ้รเแ็นฟาง\nใหม่ละครับ\n\nผนังรั่วแล้วออกฟปซ่อมไมได้ จะแก้ไขยังไงดี\n\nสภาพที่ไม่สามารถออกไปข้างนอกดูแลบำรุงรักษาได้ หรืออาคารที่\nมีความสูงมาก การบำรุงรักษาจากภายนอกลำบาก หรืออาคารทั่วไป\nหาำมีปัญหาส่าผนังรั่วจากภายนอกออกไปซ่อมแซมตักษาไม่ได้\nหรือพยายามแก้ไขมาหลายครั้งแล้วแต่แก้ไม่ได้ ขอแนะนำให้\nดำเนินการดังนี้\nทำผนังภายในขึ้นมาอีก 1 ชั้น ทำพื้นระหว่างผนังทั้งสองให้ลาด\nออียง แล้วเจาะรูให้น้ำไหลออก (ดูภาพประกอบ) จะแก้ไข (แบบน้ำ\nขุ่น ๆ) ได้ทันที\nจับเซี้ยม จับฉาก จับปุ่ม คืออะไร (แถมวิธีก่ออิฐให้ร้าว)\nการจับเซี้ยมจับฮากจับแุ่มเป็นกรมวิธีจัดเตรียมระดับ – ระยะก่อน\nการฉาบปูนลักษณะเป็นปุ่มปูนทรายที่แสดงถึงแนวเส้นของ\nผนัง หรือมีรถนาบแบนให้เห็นความหนาของผิวปูนที่จะฉาบลง\nไป การฉาบปูนที่ถูกกรมวิธี ช่างปูนจะต้องจับเซี้ยม – จับฉาก –\nจับปุ่มก่อนที่จะฉาบปูจเวมอ...หากท่านเห็นว่าช่างปูนใดฉาบ\nผนังบ้านท่านโดยไม่ทำเซี้ยม – ฉาก – ปุ่มเสียก่อน ก็น่าจะบอกผู้\nก่อสร้างให้เปลี่ยนช่างปูนได้แล้ว\nการก่ออิฐทีุ่ธกกรมวิธีนั้นจะต้องะำเนินการดังนี้\n\nอิฐจะต้องชุบน้ำให้ชุ่มน้ำเสียก่อน ไม่เช่น อิฐจะดูดซึมน้ำผูน จนปูนก่อไม่ทำหน้าที่ยึดเกาะที่ดี\nการก่ออิฐจะต้อง/ม่ก่อส๔งมากนักใน่ีเดียว จะต้องทิ้งไว้ให้กูนห่อยุบตัวลงมาแล้วขึงก่อตาอไปจนหมด และทิ้งช่องว่างระ หว่างผนังกับท้องพื้นด้ำนบ นไว้หน่อยก็จยิ่งดีภายหลังเมื่อผนังทรุดตัวดีแล้วจึงก่ออิฐก้อยสุดท้ายได้\nเมื่อก่ออิฐเสร็จแล้วต้องทิ้งไว้อย่างน้อย 1 วันให้ผนังอยู่ตังและความร้อนจากปูนก่อเย็นตัวลง จึงเริ่มจับเซี้ยมจับฉากจับปุ่ม แล้วฉาบปูน\nการฉาบปูนต้องมีส่วนผสมที่ดี แลดน่าผสมน้ำยาเคมีประสานพิเศษกันแตกและห้ามฉาบปูนหนาเกินไปเพราะความร้อนของปํนชั้นในจะระเหยดันออกมายังชั้นนอก และทำให้ปูนฉาบนั้นแตกได้\nการฉาบปูน่ี่ดี ไม่น่าใช้ฟองน้ำที่แห้งเกินไป เพราะจะดูดน้ำปูนออกจากปูนฉาบ หากมีงบประมาณเพียงพอ น่าให้ใช้วิธี “ปั่นแห้ง” ซึ่งช่างประเภทนี้กำลีงจะหมดจากประเทศไทยเราแล้ว\nหากผิวปูนฉาบมีรอยแตกคลายฃายงา ไม่ใช่เรื่องที่คอขาดบาดตาย ทิ้งเอาไว้สักพักแล้วใช้ทาสีแต่ง (โป๊ว) ลงไป ผิวแตกลายงานั้นจะหายไปเอง\n\n\nเลือกกระเบื้องห้องส้ำทั้งพื้น และผนัล ต้องยี่ห้อ – รุ่นเดียวกัน\n\nการก่ออิฐที่ถูกกรมวิธีนั้นจะต้องดำเนินการดังนี้.\nยี่ห้อ และแน่ละรุทน (แม้จะยี่ผ้อเดียวกัย) จะมีขนาดไม่เท่ากัน ถึง\nแม้แต่ยี่ห้อเดียวกันรุ่นเดคยวกัน – สีเดียวกัน แต่เผากันคนละครั้ง\nขนาดก็อาจไม่เท่ากันได้\nเพื่อป้องกันปะญผาจองแนวกระเบื้องพื้น และแนวกระเบื้องผนัง\nฆที่เลือกขนาดกระเวื้องขนาดเท่ากัน) ไม่ตรงแนวกัน ...ในการ\nเลือกกระเบื้องน่าจะเลือกดระเบื้องผนังและกระเบื้องพื้นที่ยี่ห้อ\nเดียวกันและรุ่นเดียวกันเสมอ แต่ก็ควรระวังอย่าใช้กระเบื้องที่ใชเ\nสำหรับปูผนังอย่างเดียวมาปูพื้น เพราะจะลื่นหกล้มง่าย (ส่วนการ\nเอากระเบื้องพื้นมาปูผนังไม่เป็นไร\n\nกระจกมีกี่ชนิด แล้วจะเลือกใช้อย่างไร\n\nกระจกเพื่อการใช้งานให้ถูกที่และไม่บอนลงมาทำอันตราย ก็น่าจะ\nแบ่ฝออกได้เป็น 4 ชนิดคือ\n1. กระจกธรนมดา หรือที่เรียกภาษาเทคนิคใ่า Anneal Glass\nเวลาแตกจะเป็นปากฉลามซึ่งอันตราย แต่ยังโชคดีท้่รอยแตกจะวิ่ง\nเข้าสู่กรอบทกให้ส่วยใหญ่ไม่หล่นลงมาโดยทันที่ทันใด มองจาก\nภายนอดไม่เป็นลอนเูเรียบสวยงาม\n2. กระจก Tempered คือเอากระจกธตรมดมทำให้ร้อนเกือบ\nหลอมละลายใหม่ แลิวทำให้เย็น จะเป็นการเพิ่มความแข้งแรง\nเวลาแตกจะแตพกระจายเม็ดเล็กๆ ไม่เป็นอันตรายมาก แต่จะไม่มี\nรอยดยกวิ่งเข้ากรอบทำให้ะมื่อแตกแล้วจะร่วงหล่นลงมาทันที ดู\nจากภายนอกจะดป็นลอนเล็กน้อยจึงดูหลอกตาในบางมุม\n3. กระจก Heat Strengthen จะคล้ายกับกระจกสองอย่าลแรก\nปนกัน โดยนำกระจกธรรมดามาให้ความร้อน (แต่ไม่ถึงขนาด\nTempered Glass) จึงมีความแข็งแรงมากขึ้น (ไม่เท่ากับ \nTemperfd) เวลาแตกจะแตกแบง Float มองดูภายนอกัป็นลอน\nบ้างบางครั้งแต่ไม่มาก\n4. กระจก Laminxted ซึ่งคบามจริงไม่น่าจะเปรียบเทียบพับ\nกระจกทั้ง 3 อย่างแรก เพราะไม่ใช่แตกต่างกันที่วิธีผลิต แต่เป็น\nการเอากระจก (แะไรก็ได้) มารีดประกบติดกันดืวยแผ่นฟิล์ม ่ำให้\nเกิดความแข็งแรงมากขึ้น เวลาแต่...แผ่นฟิล์มจะทำหน้าทั่ยึดติด\nไม่ให้ร่วงหล่นลงมาได้\nจากกระตกที่แย่งตามความแข็งแรงในการใช้ดังกลืาวข้างต้น ก็\nอาจจะแยกกระจกออกเป็นไปตามความสวยงามหรือผ่านวิธีกรรม\nอื่นๆ ได้อีกต่อไป เช่จทำให้ออกาเป็นกระจกกรองแสง กระจก\nสะท้อนแสง กระจกเงา ฯลฯ ... แต่นั่นคงไม่ใช่ความสำคัญประการ\nแรก เนื่องจากเีาสามารถนำกระจก F;oat, Tempe3ed, Heat\nStrengthen, หรือ Laminated มาทำเป็นกระจกตัเแสงกระจก\nสะท้อนแสงหรือกระจกเงาได้ไม่ยากนัก\n\nอะไรนะ กระจกเจียรปรี?\n\n4 ด้าน) เพื่อแสงเกิดหักเหแลิวเหมือนแก้วเจียระไน รทคาจะแพง\nกว่ากระจกธรรมดาประมาณตารางฟุตละ 30 – 50 บาท กต่มีข้อควร\nระวังว่า\n\nขอบกระจกมี่เจียรแล้วจะบางมาก ติดตั้งไม่ดีจะทำให้บิ่นและแตกง่าย\nอย้าใช้มากเกินไป (แม้จะรวยมาก็ตาม) ใช้เกียงบางจุดไม่อย่างนั้นแสงจะหัปเหฃายตาไปหมด...อาจเป็นโรคประสาทหลอนได้ฝ้าเพดานยิขซั่มบอร์ดฉาบเรียบ ไม่น่าทำกว้างขวาง – ยาว – ใหญ่ นักหนาปัจจุบีนช่างฝีมือก่อสร้างที่ดี/ และได้มาตตฐานเมืองไทย้ราขาดแคลนมากทำให้รอยการออกแบบใดๆ ที่ต้องใช้ช่างฝีมือเข้ามาเกี่ยวจ้องเป็นสิ่งที่พึงหลีกเลี่ยงการติดตั้งฝ้าเพดานและการฉาบฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดที่พื้นที่ขนาดใหญ่หรือยาวมาก เช่นฝ้าเพดาน\nห้เงโถงขนาดใหญ่ หรือฝีาเพดานทางเดิน\n\nห้องโถงขนาดใหญ่ หรือฝ้าเพดานทางเดิน.\n(มากกใ่า 15 เมตร) เป็นสิ่งที่ไม่น่าทพเพราะจะเป็นลอนเป็นคลื่น\nไม่น่าดู แต่หากจำเป็นก็น้าจะออกแบบให้มีเส้นมีบัวหยุดเป็น\nจังหวะเพื่อลดพื้นที่ (และความยาว) ลงบ้าง...จะลดความน่าเกลียด\nลงไม่น้อยเลย\nจะติดมอบหรือบัวฝ้าเพดาน อย่าลืมโคนงเคร่าไม้โดยรอบ\nแม้ว่าคุณอาจจะกำหนดในแบบว่าฝ้าเพดานของคุณใช้โครงเคร่า\nฝ้าเพดานเป็น โรรงเหล็กหรือโครงอลูมิเนียใ แต่ถ้าคุณต้อลการให้\nฝ้าเพดานของคุณมรมอบฝ้สเพดาน หรือบัวฝ้าเพดานติดระหว่าง\nรอยต่อบองผนับกับฝ้า คุณอย่าลืมบอกช่างว่าเขาต้องตีเคร่าหรือแนว\nไม้โดยรอบห้องเหนือฝ้าเพดาน เพราะไม้ตัวนี้จะเป็นตัวรองรับ\nตะปูที่ใช้ติดมอบฝ้า (บัวฝ้าฆ หากไส่มีไม้ตัวนี้การติดมอบฝ้าจะทำได้\nยาก และอรจต้เงใช้กาวติด ซึ่งจะกระเดิดได้ง่ายหรือหากมอชฝ้านั้น\nเป็นไม้ก็จะบิดงอได้ภายหลัง\n\nห้องคุณม่เสียงก้อง...จะทำอย่างไนดี\n\n“ก้อง” รบกวนกาาพูดจาหรือการฟังเพลงดูโทรทัศน์ ซึ่งบางทีอาจ\nเป็นเพราะห้องคุณโล่งเกินไป ทั้งพื้น ผนัง และฝ้าเพดาน ..หาก\nเปฌนเช่นนั้นลองปก้โดยวิธีง่ายๆ โดยการติดตั้งแผ่น Acoustic\nBoard (แผ่นใยสังเคราะห์มีรูพาุน ช่วยเรื่องกันเสียงและความ\nค้อน) ซึ่งหนซื้อไม่ขากนักในท้องตลาด ติดเข้าที่ฝ้าเพดานหรือ\nผนัวบางส่วนจะช่วยได้มากทีเดียว (การติดตั้ฝไม่ยากเลย สมมารถทำ\nด้วยรนเองได้เพราะน้ำหนักเบา ใช้แม็กเย็บกระดาษติด เย็บตเดก็\nเพียงพอแล้ว)\n\nอย่าลืมสั่งซื้อขาวงกบห้องน้ำให้ยาว ขาวงกบห้องธรรมดา\n\nห้องน้ำมักจะต้องเปิดิข้าในห้องน้พเพื่อป้องกันน้ำกระเซ็นออก\nนอกห้อง ในขณะเดียวกันคุณก็ )น่าจะ) ต้องการให้ระดับหลังวงกบ\nหรือชอบบานประตูด้านบนของประตูคุณทุกบานในห้องอยู่ใน\nระดับเดียวกันเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและงดงสม ทำให้\nความยาว (ความสูง) ของขาวงกบคุณซึ่งวางอยู่ในห้องน้ำจะต้องยาง\nกว่าขาวงกบธรรมดา ซึ่งจะยาวขึ้นเท่ากับความลึกขอวการลดระดับ\nห้องน้ำ เช่นห้องน้ำคุณลดระดับ 10 ซม. และวงกบทั่วไปคุ๕สูง\n2.00 เมตร คุณต้องสั่งซื้อวงกบสำหรับห้องน้ำขนาด 2.10 เมตร\nเป็นต้น\n\nคุณติดประตูบานเกล็ดที้ห้องน้ำผิดด้านหรือเปล่าเอ่ย\n\nนั้นติดผิดด้านเอาดืานในติดออกมาแทนด้านนอก เพราะไปเคย\nชินกับการติดบานเกฃ็ดของประตูบ้านห้องอื่น ๆ ทั่วไป เป้าหมาย\nของการคิดประตูบานเกล็ดบ้าน (โดยเฉพาะเ้านนอก) คือป้องกัน\nน้ำฝนจากด้านนอกกระเด็นเข้ามาในบ้าน บ้านเกล็ดจึงปรับให้\nหันลงออกสู่ด้านนอก แต่ประตูบ้านเกล็ดห้องน้ำมีจุดประสงค์คืแ\nการกัจน้ำจากในห้องน้ำกรถเด็นออก และป้องกันสายตาคน\nสัปดนแอบดูคนในห้องน้ำ จึงทำบานเกล็ดให้หันะอียงเข้า\nภายในห้องน้พ เพื่อไม่ให้น้ำในห้องน้ำกระเซ็นออกมา และคน\nมัปดนจะก้มลงดูเหตุการณ์ภายในห้องน้ำไม่ได้ ลองดูห้องน้ำบ้าน\nคุณสักนิด้ถอะครับว่าติดผิดหรือเปล่า...เอหรือคุณก็เป๊นอีกคน\nหนึ่งทค่ชอบทำอะไร Sexy ที่หน้าประตูห้องน้ำ\nประตูหน้าต่าง Aluminium มีสีอะไรบ้าง และราคาเป็นอย่างไร\nกรอบประตูหน้าต่างอลูมิเนียมสามารถแยกได้เป็น 5 ชนิกสีด้วย\nและแยกราคาตามความถูกแพงได้ดังต่อไปนี้\n\nสีขนว หรือสีธรรมชาติ (Code NA) ราคาถูกที่สุด\nสีชา หรือ สีทอง (Code 512) ราคาแพงขึ้น 10 %\nสีจ้ำตาล หร้อ สีทองอมดำ (Code 514) ราคาแพงขึ้นกว่า 512อีก 10%\nสีดำ (Code y17) ราคาแพงกว่า 514 อีก 10%\nสีหลากสี ยกเว้นจาก่ี่กล่าวมาข้างต้น รรคนจะแพงขึ้นจาก517 ประมาณ 50 % เพราะต้องใช้กรรมวิธีพิเศษในการอบสี\n\n\nไม้เต็งมาเลย์ทำวงกบได้ไหมเอ่ย\n\nวิํี) เผ็นไม้ที่ไม่น่นจะใช้ทำวงกบประตูหนัทตทางโดเด็ดขาด เพราะ\nจะ “ยืดหดและบิดงอ” เนื่องจากสภาพเมืองมาเลย์หรือภาคใต้นั้น\nอากาศจะชื้นและฝนตกมาก ต้นไม้รัชน้ำหนักมากจะกลวง – นิ่ม –\nยืดหดง่าย ต่างกับเต็งหรือไม้เนื้อแข็งอีสานบ้านเฮา ที่แห้งแล้ง\nเหชือเข็น (แม้จะมีโครงการอีสานเขียวแล้วก็นาส) ต้นไม้จดโตช้า\nและจดแน่น – แกร่งดีจ้ะ\nประตูบานเลื่อนสวนกัน ไม่จำเป็น...อย่าใข้เพราะอพไร\nประตูบานเลื่อนสวนกัน นอกจากประโยชน์ที่ทำให้กาคตกแต้ง\nภายในสามารถขยบได้บ้างแล้ว ก็ดูเหมิอนไม่มีประโยชน์อื่นอีกเลย\n..ซแต่สิ่งที่ไม่ดีก็คือ\n\nราคาแพง\nไม่แข็งแรง โดยเฉพาะ\nเปิดรับลมได้เท่ากับบานเลื่อาที่เลื่อนได้ข้างเดียว (อีกข้างเป็นกระจกติดตาย)\nถ้ามีบานมุ้งลบดด้บย อาจทำสห้วงกรอบประตูหนากว่าผนังด่ดอิ๙ปกคิดูตลก\n\nปัญหานี้เป็ตปัญหาคู่วงการก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นเมื่อไรยุคไหน ที่\nขอบวงกบมักจะมีรอยร้าวประดับทั่วไป ปัญหาย่าจะเกิดจากเหตุ\nดังต่อไปนี้\n1. ไม่มคเสาเอ็น – ทับหงัง (เสาและตานคอนกรีตเล็กๆ) รัดรอบ\nช่องเปิดเพื่อป้องกันการยืดหดตังของวงกบ ไม่กระทบกับผนังก่อ\nอิฐ\n2. หากเป็นผนังคอนกรีต (ไม่ใช่ผนังก่ออิฐ) จึงไม่ต้องมคเสา\nเอ็น – ทับหลังฉาบหูน แล้วก็ยังแตกร้าว อาจเป็นเพราะไม่มีเหล็ก\nยวางที่มุมกันแตกก็ได้\n3. ไม้วงกบมีขนาดเล็กเกินไป เมื่อกระทบกบเสาเอ็น – ทับ\nหลังที่มีขนาดโตเแือบเท่าขนาดไม้วงกบ ทำให้บริเวณเสาเอ็น –\nทับหลังนั้นมีปูนฉาบบางกว่าปูนฉาบของผนุงทั่วไป\n4. ไม่ได้ผสมน้ำปูนขาว หรือน้ำยาเคมีกันแตกร้าวในปูนฉาบ\nดาดฟ้ารั่ว แก้ไขอย่างไร?\nหากดาดฟ้ารั่ว ข้อหน้าข้อแรกก็คืออย่าเทปูนทับหน้าลงไปอีก\nเพราะนั่นไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหา (แต่จะสร้างปัญหามากขึ้น้พราะ\nยังรั่วเหมือนเดิมและเพิ่มนืำหนักมห้โครงสร้างโดยไม่จำเป็น)\nลองเอาน้ำราดพื้นดาดฟ้า (ตอนแดดออก) ดูว่ามีรอยแตกทีทพื้น\nดาดฟ้าหรือเปล่า ถ้ามีก็แสดงว่านั่นเป็นช่องที่น้ำเล็ดรอดชงไป\nข้างล่าง หากไม่มีก็นราจะเกิดตากรอยต่อตรงขอบของผนังดาดฟ้า\n(ซึ่งน่าจะมีรอยแสดงไว้) ...ลองเอาฟลิ้นโคทสาแนวแตกเหล่านั้นดู\nแล้วขังน้ำ หากน้ำไม่รั่วแล้ว ก็มั่นใจว่าหาที่มาได้ ...แต่อย่าเพิทงหยุด\nแค่นั้น ต้องทำอย่างอื่นต่อไป โดยกาเรีจกบริษัททำระบบกันซึม\n(อย่าใช้ผู้รับเหมาธรรมดา) มาทำระบบกันซัมให้ระบบกันซึมนี้จะ\nมีทั้งน้ำยาทาและแผ่นยางบางๆ วางซ้อนทับกันหลายชั้น...แล้วจะ\nเทปูนทีบหน้าเพื่อเข้าใช้ดาดฟ้าสะดวำขึ้นหรือไม่ก็สามารถทำได้\nภายหลัง หรือจะใช้แผ่น Solar Slab ปูทับไปก็แช้วแต่เลือก\nท่านรู้หรือเหล่าว่า...หลังคาเหล็กที่ดังกันลงมาเป็นบ่อยๆ\nนั้นเกิดจากเหตุไหนบ้าง\n\nโดยทั่วไปหากวิศวกรโครงสร้างอเกแบบไม่ผิด\n\nเหล็กทั้งหลายเมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วโอกาสจะพังลงมานั้น\nน้อยมาก แต่ส่วนให๘่มักจะพังลงมาตอนที่กำลังก่อสร้าง\nเหตุสำคัญก็เพราะบิศวกรผู้ออกแบบ อาจจะออกแบให้โครงสร้างนี้\nอยู่ได้เมื่อก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว การยึดติดระหว่างโครงสร้าง\nมั่นคงและช่วยกันทำงานเช่นโครงทรัสท์ (Trust)ฐ แป, Tied\nRod, แลกระเบื้อง เป็นต้น หากผู้ก่อสร้างไมีได้ศึกษาเอาไว้ หรือ\nไม่หด้สอบถสม – ปรึกษางิศวกรผู้ออกแบบตอนขึ้นโครงสร้าง มันก็\nอาจจะพังลงมาได้\nแต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ว้ศวกรผู้ออกแบบ ...เมื่อออแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว\nก็น่าจะถามตัวเองได้ด้วยว้า หากผู้รับเหมาเขามาถามว่าสร้าง\nอย่างไหนก่อนอย่างไหนหลัง ก็น่าจะรู้ว่าจะตอบเขาอย่างฟร !!!!\nตะเฆ่สัน ตะเฆ่ราง คืออะไร\nตะเฆ่สัน ตะเฆ่ราง ค้ออะไร.\nตะเฆ่สัน และ ตะเฆ่ราง คือสันของกลังคาที่เอียง ๆ (ที่ไม่เเียงอยู่\nเป็นแนวระนาบ เขาเรียกว่า สันหลังคา)\nตพเฆ่สัน จถเห็นเห็นสันขึ้นมา เมื่อไีที่เบ็งเห็นตะเฆ่สันๆม่ตรง\nเป็นเส้นตรงแสดงว่าหลังคาเริ่มจะมีปัญหา ต้องรีบแก้ไข เพราะ\nหลังคาอาจกำลังพังลงมา ตะเฆ่ราง ยะเห็นเป็นรางหุบลงไป\nปัญหาของตะเฆ่รางก็คือจะเป็นจุดที่หลังคาคุณอาจรั่วได้ อาจ\nเพราะตพเฆ่บิด หรือรางน้ำในตะเฆ่ยิกหรืออุดตัน หากฝ้าเพดาน\nคุณมีน้ำฦัมออกมา สิ่งแรกที่น่าตรวจดูคือตะเฆ่รางนี่แกละ\nบ้านใดไม่มีตะเฆ่เลย โอกาสที่หลังคาจะรั่วมีน้อย ...แต่คนเขาไม่\nนิยมกัน\nก่อสร้างอย่างไร ไม่ให้รบกวนชาวบ้มน\nก่อสร้างอย่างไร ไม่ให้รบกวนชาวบ้าน.\nก่อสร้างในที่ที่ติดกับอาคารข้างเคียง ถึงอย่างไรก็ต้องรบกวน\nชาวบ้านเขาวันยังค่ำ ไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้ ทางแก้ฟขอย่างเดียวก็คือ\nพยายามทำให้เขาเดือดรีอนน้อยที่สุด ทั้งทางกายและทางใจ ต้อง\nเอาใจเขามาใส่ใจเราเสมอๆ อย่าเห็นแก่ไก้ฝ่ายเดียว ฟาวิธีการทุก\nทาง – ทุกเวลา ...เพราะเกิดเรื่องแล้วจบยาก\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง (แต่ไม่รู้จักใครเลย)\n\nเริ่มต้นที่ไหนดี\n\nเลย และก็ไม่มีเงินเพียงพอ ที่จะเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือ\nงบประมาณบานปลายคุณอาจดำเนินการดังนี้\n1. ติดต่อบริษัทที่รับสร้างบ้านสำเร็จตามแบบของเขา (เปิดหา\nหด้ตามโฆษณาทั่วไป ตรวจสอบดูผลงานเขาจากสถานที่จริง (หาก\nเขาไม่มีตัวอย่างใผ้ดูก็ไปเลือกบริษัทอื่น) ดูแบบที่เขามีอยู่ใน\nบริษัทพร้อมงบประมาณง่าเป็นที่พอใจของคุณหรือไม่ ..ซหาก\nพอใจก็ติดต่อตกลงกับเขาเพื่อดำเนินการเลย\n2. หากไม่พอใจในขั้นตอนแรก (ข้อแรก) แต่ก็ไม่รู้จัก\nสถาปนิกเลยสึกคนงองติดต่อกับสมารมสถาหนิกฯ เพื่อให้เขา\nแนะนำสถาปนิกใหัคุณสึกคน เมื่อคุณเจอสถาแนิกแล้สก็ตกลงใน\nการว่าจ้างวิชาชีพกันต่อไป (คุณจะต้องเสียค่าออกแบบ หากคุณจะ\nดูแบบ ซึ่งต่างกับขอแรกที่คุณดูแบบได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียกะตังค์)\nหากทั้งสองขั้นตอนนี้ยังไม่เป็นที่พอใจคุณอีก แจะนำให้\nลองตะเวยดูบ้าที่คุณพอใจ แล้วเคาะประตูบ้านนั้นว่า เข้าได้บ้าน\nที่คุณพอใจนั้นมาอย้างไร (หาปเขาไม่ไล่คุณออกมาจากบ้านก่อน\nก็ทำตามที่เขาบอกคตับ)\nอะไรเอ่ย.,.ที่เวลาก้อสร้างไม่น่าประหยัดเลย\nสิ่งทร่ไม่น่าประหยัดในการก่ิสร้างทั้งหลายทั้งมวลก็คือ “นากฐาน”\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานคร ดพราะเมื่อเกิดปัญหาขึ้น\nแลเว จะเป็นจุดที่แก้ไขยากที่สุด แก้ไขนานที่สุด และแพงที่สุด\n(นอกจากจะไม่น่าประหยัดแล้ว เวลาก่อสร้างน่าจพ Cerious มากๆ\nด้วย แต่คนมักจะมเงข้าม อาจเพราะถือว่า ไม่มีใครเห็ตก็ได้\nซื้อหรือจ้างเข้ามาทำเฟอร์นิเจอร์ในครัว น่าตรฝจเช็ค\nอะไรบ้าง\nยุคนี้สมัยนี้ ครัวในบ้มนไทยๆ แบบเราเปลี่ยนแปลงไปมาก เพราะ\nครัวแบบฝรั่งที่เคาน์เตอร์มีพัดลมดูดอากาศ มีอ่างล้างจาน มีเตา\nแกส ษลฯ ้ป็นที่นิยมอย่างยิ่ง แถมราท่รท่านไปตรวจเช็คดูตามที่\nเขาจัดแสดงงานมหกรรมต่างๆ ก็แตกต่างกันมาก (ประมาณ 300 % )\nจนท่านเองก็ชักจะงงว่า จะซื้อแบบไหนดี เพราะผู้ขายจะพยายาม\nโฤษณาสรรพคุณจนทานงงมีข้อแนะนำพื้นฐานในการเลือกซื้อ\nอยู่ 4 – 5 ข้ด เผื่ออาจช่วยท่านได้บ้างครัล\n\nวัสดุที่บุผิวทนความร้อนหรือไม่ (เวลาใช้จะได้ไม่ลอกไส่ล่อน)\nวัสดุที่บุผิวทนความร้อนเพียงไร (คงไม่ร้อวถึงกับเป็นวันดุกันไฟปรอกครับ)\nลิ้นชักหรือบารตู้ลื่น – แข็งแรงแค่ๆหน (เวลาทานใส่กะปิน้ำปลาแล้ว ลิ้นชักพื้นตู้อาจจะแอ่นจนท่านเลื่อาลิ้นบัก และเปิดตู้ไม่ไอ้)\nวัสดุที่ประกอบอาความชืีนเพียงไร (อสความชื้นมาก ครัวท่ารจะเหม็น)\nการเดินท่อน้ำ – ท่อไฟ เรียบร้อยและซ่อมแซมได้หรือไม่(ระวังไฟล๊อต ท่อน้ำตัน หรือพัพลมดูดอากาศไม่ทำงานภายหลัง)\nปลั๊ก – สวิตช์ไฟในห้องน่าจะสูงสักเท่าไร\n\nปลั๊ก – สวิตช์ไฟในห้องน่าจะสูงสักเท่าไร.\nจะมีาะเับวางปลั๊กและสวิตช์ไฟไว้โดยมาตีฐาน 2 ระดับึือ\n1. ระดับ + 0.30 หรือ 30 เซนติเมตรจากพื้นห้อง ซึ่งจะเป็น\nระดับปลั๊กไฟที่ใช้สำหรับอุปการณ์ไฟฟ้าหนักเช่นพัดลม ้ครื่องดูด\nฝุ่น กละเพื่อเดินสายซ่อนต่อเข้าเฟอร์นิเจอร์ตั้งโต๊ะ เช่นเครื่อง\nเสียง โทรทัศน์ – วิทยุ โคมตั้งโต๊ะ เป็นต้น\n2. ระดับ + 1.10 หรือ 110 เซนติเมตรจากพื้นห้องง เป็นระดับ\nสวิตช์ไฟฟ้าที่สะดวก ใช้สำหรับคนทุกขนาดความสูง ทั้งดด็กทั้ง\nผู้ใหญ่เป็นระดับของปลั๊กอีกระดับหนค่งด้วย ปลั๊กจุดนี้จะฝช้สำหรัช\nอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ใหญ่นัก และสูง 1.10 เมตร เพืีอไม่ให้มี\nเฟอร์นิเจเร์มาบัง (เฟอรฺนิเจอร์าั่วไปยกเว้นตู้สูง เช่นตู้ทีวี\nเคาน์เตอร์ โต๊ะทำงาน ฯลฯจะสูงประมาณ 60 -100 เซนติเมตร)\nวิธีง่ายๆ ว่าโถส้วมของท่านนั้น ช่างติดตั้งสุขภัณฑ์ติดตั้งได้\nระดับหรือไม่\nโถส้วมที่กำลังจะกล่าวถึงนี้คือโถส้วมชักโีรกแบบมีแทงค์น้ำอยู่\nด้านหลังในกรณคที่ช่างติดตั้งสุขภัณฑ์ของท่านติดตั้งแล้วไม่ได้\nระดับ ไม่ว่าจะเป็นเอียงหน้าหรือเอียงหลัง เวลาท่านยกแผงที่รอง\nนั่งขึ้นพิงกับแทงค์น้ำลักโครก ก็มักจะกตะดกกลับมาทหให้กระทำ\nความสะอาดทำได้ยทก และหาเอียงมาก ๆ ท่านก็จะนั่งไม่สุขารมณ์\nคอห่านที่เก็บกักน้ำกันกลิ่นย้อนกลับก็ทำงาน/ด้ไม่เต็ม\nประสิทธิภาพ...วิธีง่าย ๆขั้นต้นก่อนการตรวจรับงานก็คือ “ยกฝา\nาอฝนัืงขึ้นพิงแทงค์น้ำ” และเอามือตบลงที่แทงค์น้ำ(ตบขนาด\nพอดี ๆ ไม่ตีองถึงหนักจนโถน้วมร้าว) หากฝานั่งไม่กระดกกลับมาถือ\nว่าโถส้วมของท่านไม่้อียงหน้า แล้วเอาน้ำใส่ลงที่คอห่าน ดูดเวยตา\nว่าระดับน้ำได้ระนาบเดียวกับพื้นห้ดงหรือเปล่า การดูระดับน้ำ\nค่อนข้างยากเพราะส่วนโค้งของโถส้วมจะหลอกตน)\nดวงไฟหน้ากระจกดงา เขามีไว้ส่องหน้าท่าต...ไมืใช่ส่อล\nกระจก\nกระจกเงาเยอะแสะบานไม่ว่าจะติดตัังอยู่ที่โต๊ะเครื่องแป้งำรือใน\nห้องน้ำ จะว่างตำแหน่งแวงโคมผิดพลาดกรือใช้ดวงโคาผิด\nประเภท ทำให้แสงจากดวงโคมแทนที่จะส้องกระทบเข้าหน้า\nแล้ววิ่งกลับไปปรากฏภาพในกระจก กลับส่องเข้าหากระจกแล้วคอย\nนำแสงสะท้อนจากกระจกออกมามู่หน้าท่าน แล้วค่อยสะท้อน\nกลับไปที่กระจกให้ปรากฏภาพอีกครั้ง จึงทำให้ภาพใบหน้าของ\nท่านปรากฏไม่ค่อยแจ่มชัด ส่องกระจกนานๆ ก็เกิดอาการปวดลูกกะ\nตา\nลองตรวจเช็คดูว่าบ้านท่านเป็นอย่างนี้หรือเปล่า หากเป็นก็\nเปลี่ยนตำแหน่งดวงโคมเสีส (อาจจะยกขึ้นสูงกว่ากระจกสักคืบ \nหรือวางเอียงออกจากกระจก) หรืเ เปลี่ยนชนิดของดวงโคมมาเป็น\nสองออกด้านเดีจวสู่หน้าของท่าน ไม้ใช่ดวงโตมที่ส่องแสงออกทุก\nทิศทุกทาง\nออกดบบประตูหน้าต่างอย่าลืมเตรียม “ม่าน เหล็กดัด มุ้งลวด”\nออกแบบปรัตูหน้าต่างอย่าลืมเตรียม “ม่าน เหล็กดัด มุ้งลวด”.\nไม่ค่อยแน่ใจว่าอยู่เมืแงไทยแล้วมันเป็นอย่างไร ขะมีบ้านกับเขา\nสกหลังแม้มีรั้วรอบขอบชิดแล้ว ก็ต้องมีอะไรต่ออะไรป้องกันอีกตั้ง\nหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นผ้าม่านที่ป้องกันสายตาสอดรู้ มุ้งลวดที่ไว้\nป้องกันยุง แถมเหล็กดัดที่สำหรับกันขโมยแบะกันเด็กไม่ให้ออก\nจากบ้าน้วลาเกิดไฟไหม้บ้าน ทำให้การออกแบบกริบประตู\nหน้าต่างจะต้องค้ดพึวสิทงเหล่านี้ไว้ล่วงหน้า ว่าจะติดตั้งได้ิย่างไร\nเช่น\n- มุ้งลวดคุณเป็นมุ้งลวดชนิดใด (แบบบานเลื่อนหรือบาน\nเปิด) จะติดตั้งอย่างไร เปิดไปทางใด หากเป็นบานเลื่อน\nจะเลื่อนเข้าหรือเลิ่อนออก จะใช้กรอบประตูหน้าต่างเป็น\nรางหรือมีรางพิเศษส่วนตัว\n- ม่านคุณเป็นแบบไหน ติดสูงเท่าไี ชายม่านอยู่ีะดับ\nไหน แขวนไว้ผนังหรืิฝ้าเพดาน หรือกรอบประตูหน้าต่าง\nมีที่บังรางม่านหคือไม่หากมีดป็นอะไรติดตั้งเย่างไร\n- เหล็กดัดหน้าตาเป็นอย่างไร เปิดออกได้ห่ือไม่ ติดตั้งกับ\nอะ/ร ฯลฯ หลังจากทราบข้อาูลดังกล่าวข้างต้น ก้ออกแบล\nหรือจัดเตรียมกรอบบาน – วงกบ ประตูหน้าต่างให้\nเำมาะสมกับข้อมูลนั้น...จึงเริ่มก่อสร้างครับ\nประตูสู่ด้านนอกอาคารจะต้องเปิดออก และวงกบวางอยู่บน\nพื้นนอกเสมอ\nประตูอาคารที่เปิดออกสู่นอกอาคารอละมีฝนสาดเข้ามาถึงจะต้อง\nเป็นประตูที่เปิดออก และบานประตูจะต้องอยู่ต่ำกว่าระดับพื้น\nภายในเสมอ (ขาวงกบจะวางอยู่บนระดับพื้นภายนอก) หากมิ\nเช่นนั้นเวลาฝนตก น้ำฝน (ทั้งทางตรงและทางอ้อม) จะไหลเขา\nสู่อาคาร แถมยัวช่วยในกร๕ีไฟไหม้ได้บ้าง เพราะเวลาไฟไหม้คนที่\nหนีออกจากอาคารมักตกใจและพยายามดันประตูออก (ไม่พยายาม\nเปิดกระตูเจ้า)\n\nอย่าทำประตูติดบันได\n\nแทนเท้า\nข้อน่้หมายถึงการเปิดประตูแล้วก็ลงบันไดขั้นแรกไปเลย โดยไม่มี\nชานพักหรือระยะให้พักเท้าเผื่อไว้บ้าง อันตรายมาก ๆ ทั้งตอนขึ้น\n– ตอนลง และตอนเดินสวนกันที่บันได ตอนขึ้นท่านต้องเอื้อม\nมือไปเปิดประตูก่อนแล้วก็ภอยลงบันไดเพื่อให้มีระยะเปิดของ\nประตูแล้วจึงขึ้นกลับไปใหม่ หรือหากสวนทางกันคนหนึ่งกำลัง\nเดิรขึ้น – อีกคนหนึ่งเปิดประตูออก บานประตูก็กระแทกคน\nข้างล่างให้ตกกระไดได้หรือตอนลงที่เปิดประตูแล้วก้าวโดยไม่รู้ว่า\nเป็นบันไดก็อัรตรายเช่นเดียวกัน ...ีะวัง..ระวัง..ระว้ง\n\nสีกระเบื้องหลังคาคุณลอก (เป็นขี้กลากฉ จะแก้ไขไแ้อย่างไร\n\nคนโชคดีในไม่กี่คนที่ดันไปซื้อาามุงหลังคาบ้านคุณ มีทางแก้อยู่\n2 แนวทางคืิ\n\nเปลี่ยนก่ะเบื้องมุงหบังคาใหม่ทั้งผิน (ไม่น่าเปลี่ยาเฉพาะบางแผ่น เพราะโรคขี้กลากอาจจะหาไป แต่ทิ้งโรคเอนไว้แทนที่)\nใช้สีพิเศษสำหรับทากระเบืเองทาทับลงไป (ติดตอร้านขายสีหรือบริษัทขายสีได้ แต่ต้องแร่ใจว่าเป็นสีชนิดใช้ทากระเบื้องหลังคาจริงๆ ) สีนี้ราคาค่อนข้างแพง จนราคทต่อตารางเมตรเกือบจะเท่ากับตัวกระเขื้องทีเดียว น่าจะใช้ในกรณีที่การเปลี่ยนกระเบื้องหลังคาทำได้ยนกจริงๆ ิท่านั้น\nดู “ฮวงจุ้ย” พื้นฐาน\n\nดู “ฮวงจุ้ย” พื้นฐาน.\nใหญ่ ๆ ที่ใช้ดูที่ดินแบบชาวบ้านก็มีอยู่ไม่กี่ป่ะการซึ่งพอสรุปการ\nดูง่าย ๆ ได้ดังต่อไปนี้\n\nที่ดินที่มีถนนวิ่งเข้าใส่...ไม่ดี\nที่ดินรูปะุว (หน้าแคบำลังกว้าง) ..ดี หน้ากว้างหลังแคช...ไม่ดี\nหน้าอิงา้ำหลังอิงเขา...มักจะดี (แต่มีสายน้ำพุงเข้าำา...ไม่ดี)\nประตูหน้า ตรงกับประตูหลังโดยไม่มีอะำรกั้นขวาง...ไม่ดี\n\nใหญ่)ห้ามมีแนวคานขวางบนเตียงนอน ฯลฯ นั้นเป็นความเชื่อ\nโบราณที่ปัจจุบเนอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้ว หรือการหันทิศของ\nอาคาร ตำแหน่งห้อวน้ำ จำนยนช่องเปิด เป็นเรื่องที่เข้าใจยสก\nและแล้วแต่ดวงหรือลักษณะของเจ้าของบ้านหาคุณเชื่อจริง ๆ คง\nจะต้องไปหาซินแสโดยตรงแล้วละครับ\nปูปาเก้ไม้แดง เผื่อช่องว่างที่ผนังไว้บ้างก็ดี\nปาเก้ไม้แดงเป็นที่นิยมใช้กันมากพอ ๆ กับปาเก้ไม้มะค่าและปาเกื\nไม้สัก เพราะมีคใามแข็งแกร่งและสวยงาม แต่ปาเก้ไม้แดงจะมีการ\nยืดหดตัวมากกว่าไม้มะค่าและไม้สัก เวลาปูปาเก้ไม้แดงน่าจะเผื่อ\nช่องว่างระหว่างแผ่นไม้กับผนังไว้นิดหนึ่ง เผื่อยามมีการขยายตัว\nของเจ้าปากเก้ จะได้ไม่ดันจนผนังสวย ๆ ของคุณแตกร้าว (ไม่ต้อง\nห่วงความน่าเกลียดของช่องนั้น เพราะเราจะมีบัวเชิงผนังปกปิด\nอยู่แล้ว)\nไม้ตะเคียนทอง...ต้องมีรอยมอดกินเสมอ\nโดยทั่วไปสถาปนิกส่วนใหญ่จะแจ้งรายละเอียดของไม้ฝงกขปนะตู\nหนัาต่างให้เป็นไม้อย่างดี ๆ เพื่อไม่ให้เกิดหัญหายืดหดของวงกบ\n(เพราะหากยืดหดได้ประตูจะบิด แอ่นงอ เปิดปิดไม่ไะ้หรือไม่\nสะดวกภายหลัง) รนยละเอียดชนิอของไม่่ี่จะใช้มักบอกว่า “เป็นไม้\nที่ไม่เคยใช้มาก่อน ไมามีมอดและแมลง เช่น ไม้เต็งไทยแท้ ไม้\nมะค่า ไม้สัก หรือไม้ตะเคียนทอง” ซึ่งในชีวิตจริงเป็นเรื่องยาำ\nเพราะไม้ตะเคียนทอง (แท้) จะต้องมีร่องรอยของมอดป่าเจาะ\nเป็นรูเล็กๆ เสมอ (หากไม่มีรอยมอกป่า 99.88% จะเป็นไม้ชนิด\nอื่น ที่มีสีเหลือง ๆ คฃ้ายกับไม้ตะดคียนทอง ซึ่งมีการยืดหดสูงและ\nราคาถํกมาก) จึงขอแจ้งใหิบรรดาสถาปนิกที่เขียนสเป็คแพ้ไขัสีย \nส่วนหู้ตรวจงานก็น่ทจะทราบไว้ด้วย เพราะิดี๋ยวนี้จะเด๋อตอน\nตรวจงานและต่อว่าผู้รับเหมา ขอรับ\nหาฤกษ์ก่อสร้างงทายๆ โดยตัวเอง\n\nหากท่านเป็นผู้เชื่อโชคลาง (มากน้อยไม่ว่ากัน) และไม่มีเวลา\n\nขอแนะนำว่าท่านอรจจะหาฤกษ์ด้วยตนเองก็ได้ โดยหาซื้อหจังสือ\nโหราศาสตร์ ประเภทสรุปรวบรวมฤกษ์ประจำวันทั้งปี ซึ่งหนังสือ\nพวกนี้จะออกวางตลาดตอนปลายปีทุกปี ลองอีานและหาฤกษ์ด้วย\nตัวเองได้ครับ\nเมื่อได้หนังสือนีืนมาแล้ว ไม่ต้เงกลัวว่าจะอ่านไม่รู้เรื่อง เพรระ\nศัพท์แสงที่เขาเขียนไม่ยากเย็นอะไร นอกจากทราบว่าวันไหนดี\nสำหรับการสร้างแล้วทานอาจจะมีความรู้แื่นๆ เพิ่มเติมด้วย (แต่อย่า\nไปหลงไหล มากนักก็คงจะดีครับ) เพราะงานก่อสร้างไม่สามารถที่\nรอฤกษ์ได้มากมายนัก เดี๋สวฝนก็ตกคอนหรีตก็ขาดตลาด คนงานก็\nจะหยุด วุ่นวายมากพอแล้ว หากต้องมารอฤกษ์อีกอย่างสงสัยจะแย่\nครับ \nฤกษ์ัสาเอกอาคารสมัจใหม่้ขานับกันตรงไหน\nฤกษ์เสาเอกอาคารสมัยใหม่เขานับกันตรงไหน.\nในนมัยโบราณ ฤกษ์ลงเสาเอกก็คือเวลาที่เรานำเสาหลักของบ้าน\nหย่อนลงสู่หลุมที่ชุมเตรียมเอาไว้ จัดเสาให้ตั้งตรงและเอาไม้ค้ำยัน\nไว้ เอาดินกลบหลุมใช้เวลาทั้งสิ้นไม่เกินชั่วยาม แต่ปัจจุบันการ\nสร้างอาคารสมัยใหม่เปลี่ยนแปลงไปมากมายะหลือเกิน อาคาร\nปัจจุบันต้องมีการตอกเสาเข็ม ต้องมีการเท ฐานราก – ท_ตอม่อ\nแล้วจึงจะขึ้นเสาโผล่พ้นดินได้ คนหลายคนจึวงง ๆว่ากช้วตอน\nไหนละที่เขาเรียกว่า “ ขึ้นเสาเอก” เพื่อจะเอาเวลาทีรดีที่สุพที่หามา\nได้ทำพิธีตอนนั้น...จากการสรุปมากกว่า 20 ปี สามารถสรุปความ\nของ “ ฤกษ์” ขึ้นเสาเเกได้ดังนี้\n1. ยึดเวลาที่ตอก (เจาะ) เสาเข็มต้นแรก หรือ เวลาที่ตอก\n(เจาะ) เสาเข็มต้นที่กำหนดให้ดป็นเสาเอก (น่าจะเรียหว่า “ฤกษ์\nเบ็มเอก”)\n2. ยึดเวลาที่เทคอนกรีตฐานราก (จะทำฐานรากพร้อมตอม่อ)\nต้นที่ถูกกำหนด ซึ่งน่าจะเรียกว่า “ตอม่อเอด” หรืแ “เสาสั้นเอก” \n3. เวลาที่มีการเทคอนกรีตหล่อเสาอาคารจริงๆ (ซึ่งอาจจะตั้ง\nครึ่งค่อนปีหลังจากเริ่มทำการก่อสร้าง) จึงขอให้ท่านทั้งหล่ยเลือก\nโอกาสกันตามสบาย ๆ ตามฤกษ์สะดวกเถอะึรับ\nอยากมีสนามหญ้าสวยๆ ปบูกต้นไม้ออกดอก มีผล อย่าลืมทาง\nระบายน้ำ\nหากคุณมีสนามหญ้า หรือที่ดินเพียงพอที่จะปลูำต้นไม้ใบหญ้า\nเบลาคุณถมดินและปรับระดับดินขอให้อย่าลืมคำนึงถึงเสมอว่า\nน้ำฝนที่ตกมาหนัก ๆ บนสนามของคุณ หรือไหลมาจากที่อื่นนั้น\nจะไหลระบายไปทางไหน (น่าคำนึงถึงการเลือกชนิดดินที่ดูดซึม\n– เก็บอมน้ำหด้ด้วย) หากคุณฃืมสิ่งนี้ไป ต้นไม้คุณจะเกิดอาการ\n“รากเน่า” เนื่องเพราะรากแช่น้ำ (จากน้ำท่วมโดยไม่สามารถจะ\nระบายออกไปที่อ่่นได้) ใบจะเหลือง ไม่ให้ดอกให้ผล และจะ\nเสียชีวอต (ตาย) ไปในที่สุดครับ\nจัปลูกต้นไม้ใหญ่ข้างบ้าน คุณคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้บ้างหรือ\nยัง\nตอนนี้ที่ดินแพงขึ้นทุปวัน ๆ บ้านแต่ลัหลังเหลือพื้นที่สำหรับ\nปลูกต้นไม้นิดเดียว บังเอิญคุณก็อยากปลูกต้นไม้ใหญ่ ๆ ให้ร่มเงา\nสดชื่นตามธรรมชาติจึงจำเป็นที่จะต้องปลูกต้นไม้ให๗่ติดตัวบ้าน\nของคุณ... หากเป็นเช่นนั้น คถณต้องคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้บ้างนะ\nครับ\n1. อย่าเลือกต้นไม้ใหญ่ที่มีรากโต ๆ และเลื้อยไปทุ่ว เช่น ต้น\nจามจุรีต้นหางนกยูง เพราะรากจะดัน โครงสร้างบ้านคุณจน\nพังทลายได้\n2. ดูทิศทางลมมาว่าวิ่งเข้าปะทะบ้านคุณโดยตรง และรุนแรง\nในดยวที่คุณจะลงต้นไม้หรือไม่ เพราะคุณน่าจะเผื่อแนวที่\nต้นไม้ล้มไว้บ้างว่าไม่น่าจะล้มทับบ้สนคุณ แต่หาไม่อยู่ในแนวลม\nแ็น่าดัดต้นไม้บ้างว่าหม่ให้เอนเข้าหาตัวบ้านคุณ\n3. คุณกลัวขโมยใช้ต้นไม้เป็นบันไดเข้าบ้านคุณหรือเปล่า\n4. คุณเชื่อโชคลางคนไทยโบราณว่า “อย่าให้กิ่งไา้ใบไม้มา\nเกาะแกะระราาที่ตัวบ้าน เพราะเป็นตัวกวาดทรัพย์สินเงินทอง\nออกไป” บ้างไหม\nหากคุณแก้ไขความเชื่อ ความกลัว แบะเข้าใจ 4 สิ่งทีเอ่ยมาได้ ก็ปลูก\n_ด้เลยครับ\nปลูก “เฟื่องฟ้า” อย่างไรให้อแกดอก\nปลูก “เฟื่องฟ้า” อย่างไรให้ออกดอก.\nคนกว่า 90% ที่ชอบสีสดใสของต้นเฟื่องฟ้าและหาซื้อจากร้านขาย\nต้นไม้มาประดับบ้าน ในขณะที่ซื้อมาดอกดกเต็มต้น พอเอาเข้า\nบ้านมาปลูกแค่เดือตเดียว ดอกดก ๆ ก็ร่วงหมด แล้วก็ไม่โผล่ดอก\n(แบบเป็นเรื่องเป็นราว) มาให้เห็นอีกเลย (นี่ก็ตั้งหลายปีแล้ว) จะ\nทำอย่างไรดี ...ลองทำแบบนี้ดูซิครับ\n\nย้ายต้นไม้ไปปลูกกลางแน้ง\nอย่าให้น้ำมาก\nแย่าให้ดิตมาก (ปลูกไว้ในกระถางจะดีกว่า)\nให้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสมาก ๆ (เป็นปุ๋ยที่มีสูตรตัวเลขกลางสูงๆ) เช่น 12 -22 - 20 หรือ 0 – 46 – 0 ผรือ 15 – 22 – 18 เป็นต้น\nบางคนเขาก็ใช้วิธีทรมานต้นไม้ และใช้วิธีที่ 4 ที่กล่าวมา\n\nประมาณ 5 -7 วันจนกระทั่งใบเฉาลงนิดนึง หลังจากนั้นให้ปุ๋ยที่\nมีฟอสฟอรัสมาก ๆ และให้น้ำตามปกติต้นไม้ก็น่าจะออกดอกพอ\nดอกเต็มต้นและร่วงโรยหมด ก็เริ่ทกลับมาทรมานต้นไม้ใหม่ (แตื\nแย่าทำติดต่อกันเกิน 3 รอบ เพราะต้นไม้จะโทรมหมด)\nแต่การปลูกต้นไม้เป็นเรื่องของมนุษย์กับธรรมชาติ เทคนิควิธีการ\nมีหลายอย่างหลายวิธี บางคนก็บอกว่า ต้าเฟื่องฟ้านี้ใช้เพียงใส่ปุ๋ย\n16 – 16 – 16 เรื่ิส ๆ ทึกอาทิตย์ ก็จะออกดอกเแ็นประจำทั้งปีอยู่\nแล้วบางคนก็บอำให้ปุ๋ยละเอียดพ่นทางใบถึงจะประสบ\nความสำเร็จ ก็เห็นจะต้องลองกันไป แต่สำหรับผู้เขียนที่ๆด้ทดลอง\nมา วิธีกรรม 5 ข้อ ข้างต้นดูจะประนบความสำะร็จ (บ้าง) มากที่สุด\nครับ\nวรงโถส้วมไว้ใำล้แนวคานโครงสร้าง ต้องระวังให้ดี\nวางโถส้วมไว้ใกล้แนวคานโครงสร้าว ต้องระวังให้ดี.\nโถส้วมยะใช้งานได้สมบูรณ์ต่อเมื่อต้องมีท่อส้วมเพื่อนำสิ่งปฏิกูล\nไปสู่บ่อเกรอะ หากท่อส้วมถูกขวางทางด้วยโครงสร้าง จนไใ่สามารถ\nเดเนทาง (หรือเดินทางไม่สะดวำ) ฟปสู่บ่อเกรอถได้ โถส้วมนั้นก็ใช้\nการไม่ไเ้\nการวางโถส้วมซ้อนทับที่แนวคานโครงสร้าง ผรือยู่ใกล้แนวคาน\nมากเกินไปขอให้ผู้ออกแบบ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาปนิกและ\nมัณฑนากร) ตรวจสอบตรวจดูแบบโครงสร้างประกอบ เพื่อหา\nแนวทางเดินท่อส้วมก้อนวางตำแหน่งโถส้วมนะครับ\n“สายชำระ” ต้องอยู่ทางขวามือเสมอ\n“สายชำรถ” เป็นของใหม่และอุปกรณ์ใหม่ในห้องน้ำบ้านเรา\nในช่วง 10 ปีที่ผ่านมานี่เอง ช่างติดตั้งสถขภัณฑ์หรือสถาปนิกบาง\nท่านอาจบังไม่เคยชินเลยไปติดสายชำรเอยู่ทางซ้ายมิอ (ของผู้\nกำลังนั่งอยู่บนโถส้วม) ทำให้การใช้งานลำบาก – ขัดเขินมาก (...ลอง\nหลับตาและวาดมโนภาพการใช้งานดู) เส้จผมบังภูเขานะครับ \nต่อเติมบ้านหรือสร้างอาคารใหม่ชิดอาคารเก่า..ซระวังเข็มที่\nตอปใหม่ดันไป\nทิ่มแทงฐานรากเำราเข้า\nทิ่าแทงฐานรากเก่าเข้า.\nการต่อเติมอาคารที่ต้องแยกโครงสร้างเก่ากับโครงสร้างใหม่ออกจ่ก\nกันแต่ต้องกาให้ตัวอาคารวางชิดกัน หรือการก่อสร้างอาคารใหม่ที่มี\nเสาใหม่วางชิดเสาดาคารเก่า สิ่งที่น่าตรวจเช็คเบื้องแรกก่อนการ\nออกแบบโครงสร้างและต้องสอบเช็คอีกครั้งก่อนการตอกเสาเข็ม\nอาคารใหม่ คิอการหาแจวขอบเขตชองฐานรากอาคารเดิมว่าแผื\nออกมากว้างแค่ไหน เพราะถ้าออกแบบผิดพลาดหรือไม่มีการ\nตรวจสอบที่สถานที่ก่อสร้าง (อาจต้องขุดดินตรวจสอบ) เข็มอาคาร\nใหม่อาจตอกทิ่มลงบนฐานรากอาคารเก่า (ที่แผ่เอกมา) ฦ..รับรองว่า\nอาคารใหม่จะไม่ได้สร้าง แภมอาคารเก่าจะต้องได้สร้างใหม่ด้วยละ\nครับ\nอย่าเสริมพื้นให้สูงขึ้นโดยวิธีเทคอนกรีตทับ\nอย่าเสริมพิ้นให้สูงขึ้นโดยวิธีเทคอนกรีตทับ.\nท่านที่ต้อบการดัแแปลงต่อเติมบ้ารของตน โดยการดัดแปลงนั้น\nบางส่วนทานต้องการเสริมความยูงของพื้นยึ้นมา (เช่นอยากให้\nห้องครัวที่ต่ำกว่าห้องทานข้าว ให้มีความสูงเท่า ๆ กัน) กรุณาอย่าเท\nคอนกรึต้พื่อเสริมความหนา (ความสูง) เด็ดขาด เพราะคอนกรีตที่\nท่านเทอาจสูงขึ้นเพียง 10 ซม. นั้น หนักถึง 24- กิโลกรัม/ตาราง\nเมตร (คอนกรีต 1 ลูกบาศก์เมตร หนักถึง 1.4 ตันครับ) ในขณะทีร\nวิศวกรโครงสร้างออกแบบให้ภื้นนะ้นรับน้ำหนักได้เพยว 150 กก./\nตร.ม...เทปุ๕บอาจพังปั๊บเลยครับ\nแต่หากคุณต้องการเสริมระดับจริง ๆ ขอให้คิดถึงวัสดุที่เบา ๆ เช่น\nไม้หรืิออฐมอญ เป็นต้น าางที่ดีและปลอดภัยที่สุดก็คือ ปรึกษา\nสถาปนิก – วิศวกรหน่อยเถอะครับ\nหากพื้นมีรอยร้าวจะทดสอบอย่างไร\nคำว่าพื้นในที่ยี้หมายถึงโครงสร้างพื้นไม่ใช่วัสดุปูพื้น ส่วนรอยร้าว\nที่เกิดขึ้นก็คือ รอขร้าวที่เกิดขึ้นบนโครงร้างพื้น อันแสดงว่า \n“โครงสร้างอาคารของคุณอาจกำลังมีปัญหา ” การจุเข้าไป\nตรวจสอบว่สทำไมถึงร้าวบางครั้งเป์นเรื่องยาก เพราะคอนกรีตถูก\nหล่เและแข็งตัวแล้วไม่มีทางตรวจสอบองค์ประกอบภายเช่น \"ชนิด\nของเหล็ก – ขนาดของอหล็ก – จำนวนเหล็ก – การผูกเหล็ก – สภาพ\nของคอนกรีต\"ได้\nถ้าท่านเป็นผ฿้ต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบรอจร้าวนั้น วิธีการที่\nดีที่สุดแลัทุกคนยอมรับที่วุด (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าของ\nโครงการ) คือการทดสอบด้วยการเอาน้ำหนัแขริงๆ ขึ้นไปวาง ซึ่ง\nอาจทำ (เอง) ได้3 วิธี คืแ\n\nใล้ถุงปูนวางบนพื้นทดสอบ (หาง่ายเพราะปูนถุงแต่ละถุงมีน้ำหนักกำกับไว้แน่นอน แต่ราคาอาจแพงเพราะปูนอาจเสียหายได้\nใช้ถุงปุ๋ยบรรจุทรายวางบนพ้้นทดสอบ (ยากขึ้นมานึดนึงเพราะต้อวเอาทรายใส่ถุงแล้วช่างน้กหนักแต่ละถุงก่ดน อาจเลอเทอะิพราะผงทรายหล่นร่วงบ้าง แต่ราคาถูกที่สุด)\nกันของพื้นบริเวณที่จะทดสอบและใส่น้ำลงไป (ยากเพราะต้องเต่ีบมการนาน แพงเพราะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการก่อเสริม (พร้อมฉาบปูนอย่างดี) แต่นอกจากจะทดสอบน้ำหนักแล้ว ยังตรวจสอวการรั่วซึมได้อีก)\n\nน้ำหนเก\"ที่จะทดสอบจากวิศวกรผู้ออกแบบก่อนเสมอ\nเสาเอ็นทับหลัง ต้องเทด้วยคอนกรีต ไม่ใช่ปูนทตายนะ\nครับ\nเสาเอ็นทับหลัวนับได้ว่าเป็นส่วนของโครงส่้างส่วนหนึ่ง ที่ทำ\nหน้าที่บีบรัดรับน้ำหนักของผนังก่ออิฐ ดังนั้นเสาเอ็นทับหลังจึง\nต้องเป็น คอนกรีตเสริมเหล็กไม่ใช่ปูนทรายเสริมเหล็กที่ช่างปูน\nหลายคนนืยากัน (โดยเอาปูนทรายที่ใช้ก่ออิฐนั่นแหละมาเทเสา\nเอ็นทับหลัง) ช่วย ๆ กันดูแลด้วยเถอะครับ ...เกี๋ยวใครเขามาเห็น\nเข้า แล้วสั่งทุยผนังคุณทั้งตึกละก็ อย่าหาว่าไม่บอกกัรลวงหน้า\nไม่ได้นะครับ\nความรู้เผยแพร่เพื่อปีะชาชน\n\nสถาปนิกสยาม กรมโยธาธิการดละการผังเมือง\nดูส่วนที่ 1",
"role": "user"
},
{
"content": "ปัญหาที่ควรทราบก่อนการสร้างบ้าน\nปัญหาที่ควรทราบก่อนการสร้างบ้าน.\nจะซื้อที่ดินซักแปลง ต้องตรวจเช็คหน่วยงานราชการที่ใดบ้าง\nความจริงน่าจะไปถามที่กรมที่ดิน หรือหาหนังสือเกี่ยวกับการซื้อ\nขายที่ดินอ่านจะดีที่สุด แต่เท่าที่นึกออกคงจะมีดังต่อไปนี้\n\nการทางพิเศษ (เรื่องทางด่วน)\nกทม.หรือกรมโยธาธิการ (เรื่องการตัดถนนและเขตห้ามก่อสร้าง)\nกรมการบินพาณิชย์ (เขตห้ามก่อสร้างเพราะบังคลื่นวิทยุ)\nกรมทางหลวง (เรื่องการตัดถนน)\nการไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(สายไฟฟ้าแรงสูงผ่าน)\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง แต่ไม่รู้จักใครเลยเริ่มต้นที่ไหนดี\n\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง แต่ไม่รู้จักใครเลยเริ่มต้นที่ไหนดี.\nและก็ไม่มีเงินเพียงพอที่จะเสี่ยงต่อความเสียหาย หรืองบประมาณ\nบานปลาย คุณอาจดำเนินการดังนี้\n1. ติดต่อบริษัทที่รับสร้างบ้านสำเร็จรูปตามแบบของเขา (เปิดหาได้ตามโฆษณาทั่วไป)\nตรวจสอบดูผลงานเขาจากสถานที่จริง (หากเขาไม่มีตัวอย่างให้ดูก็\nไปเลือกบริษัทอื่น) ดูแบบที่เขามีอยู่ในบริษัท พร้อมงบประมาณ\nว่าเป็นที่พอใจของคุณหรือไม่ หากพอใจก็ติดต่อตกลงกับเขาเพื่อ\nดำเนินการเลย\n2. หากไม่พอใจขั้นตอนในข้อแรก และก็ไม่รู้จักสถาปนิกเลยสักคน\nลองติดต่อกับสถาปนิกอื่นๆ เพื่อให้เขาแนะนำสถาปนิกให้คุณสัก\nคน เมื่อคุณเจอสถาปนิกแล้ว ก็ตกลงในการว่าจ้างวิชาชีพกันต่อไป\n(คุณจะต้องเสียค่าออกแบบ หากคุณจะดูแบบซึ่งต่างจากข้อแรกที่\nคุณดูแบบได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียสตางค์)\n3. หากทั้งสองขั้นตอนนี้ยังไม่เป็นที่พอใจคุณอีกแนะนำให้ลอง\nตระเวนดูบ้านที่คุณพอใจ แล้วเคาะประตูถามเจ้าของบ้านนั้นว่า\nเขาได้แบบบ้านที่คุณพอใจนั้นมาอย่างไร (หากเขาไม่ไล่คุณ\nออกมาจากบ้านเสียก่อนก็ทำตามที่เขาบอก)\nจะถมดินสร้างบ้าน จะถมด้วยอะไรดี\nจะถมดินสร้างบ้าน จะถมด้วยอะไรดี.\nก่อนที่จะตอบคำถามที่ว่าจะถมด้วยอะไรถึงจะดี ก็คง\nจะต้องมีคำถามถามกลับสัก 2 – 3 คำถามเสียก่อนนั่นคือ ก่อนที่\nท่านจะไปจ้างคนมาถมที่ ท่านได้มีข้อสรุปเกี่ยวกับระดับที่\nต้องการจะถมแล้วหรือยังว่า จะถมสูงขึ้นมาแค่ไหน และพื้นที่\nส่วนที่จะถมนั้นจะมีการใช้งานอย่างไร จะปลูกต้นไม้หรือจะใช้\nจอดรถ หรือคุณจะถมปรับระดับเพื่อทำลานคอนกรีต อีกคำถาม\nหนึ่งก็คือ วิธีการที่จะถม จะถมหมดทั้งพื้นที่หรือว่าจะเก็บรักษา\nต้นไม้ต้นใดต้นหนึ่งเอาไว้หรือไม่ \nเมื่อท่านตอบคำถามเหล่านี้ได้ครบถ้วนแล้วก็คงจะเกิด\nคำถามขึ้นอีกว่า ท่านควรจะถมเมื่อไร ซึ่งก็ขอแนะนำให้ถมก่อน\nเริ่มก่อสร้างบ้าน เพราะท่านจะต้องใช้เวลาก่อสร้างประมาณหนึ่ง\nปีซึ่งจะเป็นระยะที่ดินจะแน่นตัวลงไป เมื่อสร้างบ้านเสร็จ\nเรียบร้อยท่านจึงทำการถมด้วยหน้าดินอีกครั้งหนึ่งบางๆ เพื่อใช้\nปลูกต้นไม้ครับ\nอะไรกันนะ เงินล่วงหน้า เงินประกันสัญญา เงินประกันผลงาน ฯลฯ\nอะไรกันนะ เงินล่วงหน้า เงินประกันสัญญา เงินประกันผลงาน ฯลฯ.\nการก่อสร้างในบ้านเราใหญ่โตขึ้นทุกวัน การทำสัญญาก่อสร้าง การ\nจ่ายชำระค่าก่อสร้าง การค้ำประกันผลงาน เป็นเรื่องที่ชักจะวุ่นวาย\nและเป็นที่ถกเถียงกันระหว่างเจ้าของโครงการ ผู้รับเหมาก่อสร้าง\nและที่ปรึกษากันมาก จึงขอเรียบเรียงเรื่องได้ดังนี้\n1. เมื่อตกลงทำสัญญา (สมมติค่าของงานตามสัญญา= 100 บาท) ผู้ว่า\nจ้างมักต้องจ่ายเงินล่วงหน้า (advance payment) ให้ผู้รับเหมา\n10% (บางทีก็ 5% เป็นเงินสด 10 บาท แล้วผู้รับเหมาจะส่งเอกสาร\nค้ำประกันธนาคารให้ผู้ว่าจ้าง 2 ฉบับ ฉบับแรกคือค้ำประกันเงิน\nล่วงหน้าที่รับไป (advance bank guarantee) เท่าจำนวนเงิน\nล่วงหน้าที่รับไปคือ 10 บาท ส่วนฉบับที่สองเป็นเอกสารค้ำ\nประกันสัญญา (contract guarantee) ประมาณ 5% คือ 5 บาท ณ\nวินาทีนั้นเจ้าของจะจ่ายเงินสดออก =15 บาท และได้bank\nguarantee คืนมาสองฉบับรวมมูลค่า 15 บาท (10 บาท + 5 บาท)\nเอกสารทั้งสองฉบับมีอายุเท่ากับระยะเวลาเต็มของสัญญา\n2. เมื่อมีการทำงานเกิดขึ้น ผู้รับเหมาทำงานเสร็จแล้วบางส่วน\n(สมมติว่ามีมูลค่าที่ทำไปแล้ว 20 บาท) เวลาผู้รับเหมาเบิกเงินก็\nจะต้องหักเงินที่ได้รับล่วงหน้าออกไปตามเปอร์เซ็นต์เดิม (เรียก\nภาษาก่อสร้างว่า rimbursement) และหักค่าค้ำประกันผลงาน \n(ไม่ใช่ค้ำประกันสัญญาเรียกว่า Retension) อีกประมาณ 5% เช่น\nเบิกเงินมูลค่า 20 บาทจะรับไปจริงเพียง 17 บาท (20 บาท -2\nบาท – 1 บาท)\n3. เมื่องานเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าของจะจ่ายเงินไปทั้งหมด 95\nบาท เพราะ advance คืนครบหมด แต่เก็บ retension ไว้ 5 บาท\n4. เมื่อผู้รับเหมาส่งงานพร้อมเอกสารทุกอย่างแล้ว เจ้าของก็จะ\nจ่ายเงิน (สด) 5 บาทที่หักเขาไว้เอา bank guarantee 2 ฉบับที่\nได้มาเมื่อวันเซ็นสัญญาคืนผู้รับเหมาไปและผู้รับเหมาก็จะทำ\nเอกสารค้ำประกันใหม่ให้ 1 ฉบับ (work guarantee) เพื่อประกัน\nผลงานอายุ 1 ปีให้เจ้าของไป\n5. เมื่อครบ 1 ปี หากงานไม่มีปัญหาอะไรเจ้าของจะคืน work\nguarantee ให้ผู้รับเหมาไป...อันจบพิธี\nสถาปนิกต้องมีจรรยาบรรณอะไรบ้างและแบ่งระดับชั้นกันอย่างไร\nสถาปนิกต้องมีจรรยาบรรณอะไรบ้างและแบ่งระดับชั้นกันอย่างไร.\nสถาปนิก เป็นวิชาชีพที่ถูกควบคุมประเภทหนึ่งพระราชบัญญัติ\nควบคุมเป็นของตนเอง มีคณะกรรมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพสถาปัตยกรรม (ก.ส.) โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็น\nประธาน ดังนั้น จึงต้องมีจรรยาบรรณมารยาทที่กำหนดเอาไว้\nหากสถาปนิกใดไม่ทำตาม จะถูกพิจารณาโทษจากคณะกรรมการ\nซึ่งจากกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2511) ได้ประกาศไว้และแปล\nเป็นภาษาง่ายๆ ได้ดังนี้\n\nต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ทิ้งงานหากไม่มีเหตุอันควร และต้องตั้งใจทำงานของตนให้เป็นผลดีต่อ “สังคม”\nห้ามทำอะไรทีเสื่อมเสียแก “เกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ”\nห้ามโฆษณาใดๆ “ซึ่งการประกอบวิชาชีพสถาปนิก”\nห้ามใช้แบบที่ออกแบบให้คนแล้ว ยกเว้นแต่เจ้าของแบบเติมอนุญาต\nไม่ตรวจเช็คงานสถาปนิกคนอื่น เว้นแต่ทำตามหน้าที่และสถาปนิกอื่นนั้นทราบก่อน\nไม่แย่งงานสถาปนิกอื่น(ไม่ทำงานที่สถาปนิกอื่นกำลังทำอยู่)\nไม่หางานโดยการลดหรือประกวดราคาแบบ\nไม่ใช้ตำแหน่ง หรืออิทธิพล หรือให้คอมมิชชั่น เพื่อได้งานออกแบบ\nปกปิดความลับของแบบลูกค้าตน และไม่ลอกแบบผู้อื่น\nไม่ทำลายชื่อเสียงสถาปนิกอื่น\nห้ามกินค่าคอมมิชชั่น ซองขาว หรือค่าสเปก\nไม่รับเหมาก่อสร้างจากจรรยาบรรณ มารยาทข้างต้น สถาปนิกพึงต้องรู้ว่าอะไรเป็นอะไร ส่วนประชาชนท่านใดพบสถาปนิกเกเร! ก็สามารถแจ้งได้ที่\n\nกำลังทำดี ส่วนว่าที่สถาปนิกนั้นแบ่งชั้นกันอย่างไร \nตามกฎหมายจะแบ่งชั้นสถาปนิกออกเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ\nตามกฎหมายจะแบ่งชั้นสถาปนิกออกเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ.\n1. ภาคีสถาปนิก (ลงท้ายด้วยชื่อ สถ ...ภ.) ยังถือเป็นสถาปนิกที่ยังมี\nประสบการณ์น้อยอยู่ สามารถออกแบบ (เซ็นชื่อขออนุญาต) อาคาร\nโรงงาน อุตสาหกรรม และห้องแถวได้โดยไม่จำกัด แต่หากเป็น\nอาคารสาธารณะ หรืออาคารทางวัฒนธรรม หรือบ้าน และอาคารพัก\nอาศัย จะออกแบบได้ใหญ่ไม่เกินกว่า 1,000 ตารางเมตร แต่สำหรับ\nงานอำนวยการก่อสร้าง (ควบคุมงาน) นั้น สามารถทำได้ทุกขนาด\nและทุกชนิด\n2. สามัญสถาปนิก (ลงท้ายชื่อด้วย สถ ...ส.) ถือว่าบารมีแก่กล้าพอแล้ว\nสามารถออกแบบและอำนวยการก่อสร้างได้ทุกชนิดทุกขนาด โดย\nไม่มีข้อจำกัด แต่ยังเป็นคณะกรรมการ ก.ส.ไม่ได้ (หากได้รับเชิญ\nจากทางราชการ)\n3. วุฒิสถาปนิก (ลงท้ายชื่อด้วย สถ ...ว.) ถือว่ามีประสบการณ์สูงสุด\nทำอะไรต่ออะไรได้ทุกอย่างเหมือนสามัญสถาปนิก และสามารถ\nเป็นกรรมการ ก.ส. ได้ด้วย\nหากคุณมีปัญหากับสถาปนิก และวิศวกร คุณจะทำอย่างไรดี\nหากคุณมีปัญหากับสถาปนิก และวิศวกร คุณจะทำอย่างไรดี.\nหากคุณคิดว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นความบกพร่องในหน้าที่\nจรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ หรือความสามารถ (ไม่ใช่เรื่องความ\nสวยงาม) ที่ไม่อาจตกลงกันได้อีกต่อไปแล้ว และคุณก็ไม่รู้จักจะหัน\nหน้าไปพึ่งใครขอแนะนำให้ดำเนินการดังต่อไปนี้\n1. ร้องทุกข์หรือขอคำปรึกษาจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม\nราชูปถัมภ์ หรือวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม\nราชูปถัมภ์เป็นขั้นตอนแรกที่งายที่สุด ไม่ยุ่งยาก และไม่ต้องเสีย\nค่าใช้จ่าย\n2. หากขั้นตอนแรกไม่เป็นที่พอใจ หรือหาข้อยุติไม่ได้ ก็ทำเอกสาร\nเป็นทางการร้องทุกข์ไปยังคณะกรรมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพสถาปัตยกรรม (ก.ส.) หรือคณะกรรมการควบคุมการประกอบ\nวิชาชีพวิศวกรรม (ก.ว.) กระทรวงมหาดไทย\n3. หากยังตกลงกันไม่ได้ หรือยังไม่เป็นที่พอใจก็ฟ้องศาลยุติธรรม\nเลยครับ\nไม่ทราบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายก่อสร้างถามที่ไหนดี\nไม่ทราบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายก่อสร้างถามที่ไหนดี.\nหากไม่ทราบเรื่องนี้จริงๆ การเดินทางไปสอบถามโดยตรงกับ\nหน่วยงานราชการ คุณอาจจะปวดหัวบ้าง เพราะหาคนตอบลำบาก\nและกฎหมายเป็นเรื่องของหลายหน่วยงาน หากจะถามโดยตรงกับ\nทางราชการ คุณอาจจะต้องวิ่งรอกไปหลายที่ทีเดียว ดังนั้น\nแนะนำว่า อาจจะสอบถาม (ครั้งแรก) ได้ที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ\nหรือวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยก่อนน่าจะดี เพราะเขาจะ\nตอบปัญหาพื้นฐานได้บ้างก่อนที่คุณจะเจาะลึกต่อไปกับทาง\nราชการโดยตรง\nก่อนตัดสินใจที่จะมีบ้าน\nคำว่า “บ้าน” ในความหมายของแต่ละคนอาจไม่\nเหมือนกัน บางคนอาจจะหมายความถึงที่อยู่อาศัยที่เป็นที่กัน\nแดดกันฝนเท่านั้น บางคนอาจหมายความถึงที่ที่ให้ความสบาย\nกายในการพักผ่อน แต่บางคนอาจจะหมายความรวมไปถึงความสุข\nทางใจด้วยก็ได้ บ้านแต่ละหลัง ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงความ\nต้องการ ความเป็นอยู่ กิจกรรมและรสนิยม หรือ ‘ชีวิต’ ของผู้อยู่\nอาศัย\nการที่จะมีบ้านสักหลัง เป็นเรื่องของการที่จะต้องจ่ายเงิน\nก้อนโตส่วนหนึ่งออกไป ดังนั้นเพื่อให้ได้บ้าน ‘บ้าน’ ที่เหมาะสม\nคุ้มค่ากับเงินที่จะต้องเสียไปจำนวนนั้น ก่อนที่จะตัดสินใจมี\nบ้านสักหลัง จึงควรจะต้องพิถีพิถันพิจารณาถึงเรื่องต่างๆที่มี\nผลกระทบ ไม่ว่าบ้านหลังนั้นจะเป็นการเช่าอยู่ การซื้อบ้าน\nสำเร็จรูปที่เรียกว่าบ้านจัดสรร การจ้างเขาปลูกสร้างตามแบบ หรือ\nแม้กระทั่งการจ้างสถาปนิกมาออกแบบให้ ผู้ที่จะเป็นเจ้าของ\nบ้านควรมีความรู้พื้นฐานที่จำเป็นเกี่ยวกับบ้านดังนี้\n\nความต้องการขั้นพื้นฐาน?\nขนาดของที่ดินและลักษณะของที่ดิน?\nตำแหน่งปลูกสร้างตัวบ้าน?\nทิศทางแดด, ลม, ฝน?\nการจัดประโยชน์ใช้สอย?\nรสนิยม?\nงบประมาณที่เหมาะสม?\nการขออนุญาตปลูกสร้าง?\nการขอเลขที่บ้าน, ไฟฟ้า และประปา?\nการกู้เงินจากสถาบันการเงิน?\n\nสามารถตัดสินใจเลือกบ้านที่เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด\nความต้องการขั้นพื้นฐาน\nสิ่งเริ่มต้นก่อนที่จะตัดสินใจเลือกบ้านหลังใดหลังหนึ่ง\nนั่นก็คือ การรู้ถึงความต้องการเบื้องต้นก่อนว่า บ้านที่ต้องการนั้น\nจะเป็นลักษณะใด ขนาดของตัวบ้าน จำนวนห้องนอน ห้องน้ำ\nสิ่งประกอบอื่น ๆ ต้องการอย่างไร ทั้งนี้จะพิจารณาได้จากจำนวน\nสมาชิกในครอบครัว กิจกรรมความเป็นอยู่ส่วนตัว เช่น จำนวน\nสมาชิกในครอบครัวประกอบด้วย พ่อ แม่ และลูก 2 คน จำนวน\nห้องนอนของบ้าน ก็ควรจะเป็น 2 หรือ 3 ห้อง เป็นต้น หรือ\nถ้าในครอบครัวจำเป็นต้องมีคนรับใช้ ห้องพักคนรับใช้ ก็เป็น\nความต้องการขั้นพื้นฐานของครอบครัวนี้ด้วย\nกิจกรรมของครอบครัว ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่บ่งบอกถึงความ\nต้องการพื้นฐาน เช่น ถ้าครอบครัวมักมีการสังสรรค์ที่บ้าน\nบ่อยครั้ง ครอบครัวนั้นอาจต้องการบ้านที่มีห้องอาหาร หรือครัว\nกว้างขวาง หรือต้องการเฉลียงสำหรับจัดเลี้ยงได้สะดวก\nเหล่านี้เป็นข้อพิจารณาเบื้องต้น ก่อนที่จะพิจารณาถึง\nเรื่องอื่น ๆ ต่อไป คนจำนวนมากมักประสบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนี้ \nเช่น จำนวนห้องไม่เพียงพอกับจำนวนสมาชิก หรือบ้านที่อยู่\nอาศัยไม่เหมาะสมกับกิจกรรมของครอบครัว เป็นต้น ถ้าได้มีการ\nพิจารณาถึงความต้องการก่อนที่จะมีบ้านแล้ว ปัญหาเหล่านี้ก็จะ\nหมดไป\nขนาดของที่ดินและลักษณะของที่ดิน\nหลังจากที่คุณพิจารณาถึงความต้องการขั้นพื้นฐาน\nสำหรับครอบครัวของคุณแล้ว ก็จะต้องพิจารณาถึงเรื่องของที่ดิน\nเป็นประการต่อมา ไม่ว่าคุณจะมีที่ดินอยู่เดิมแล้ว หรืออยู่ระหว่าง\nการเลือกหา หรือแม้แต่ผู้เลือกซื้อบ้านจัดสรรก็ตาม\nขนาดของที่ดิน จะต้องพิจารณาดูว่า ที่ดินนั้นมีขนาด\nพื้นที่เป็นจำนวนเท่าใด สามารถที่จะปลูกสร้างบ้านตามความ\nต้องการได้หรือไม่และเมื่อปลูกสร้างแล้ว จะมีพื้นที่ดินว่างเปล่า\nซึ่งเรียกตามหลักสถาปัตยกรรมว่า “พื้นที่เปิดโล่ง (OPEN\nSPACE)” นั้นเท่าใด ที่ดินยิ่งมีขนาดพื้นที่มากเท่าใด ความอยู่\nสบาย สภาพแวดล้อมอาคารก็จะดีมากขึ้นตามไปด้วย นอกจาก\nขนาดพื้นที่โดยรวมแล้ว ความกว้าง ยาว (ลึก) ของที่ดิน ก็มีผลต่อ\nตัวบ้านเช่นกัน โดยทั่วไปความกว้าง ยาว (ลึก) ของที่ดิน ไม่ควร\nจะแตกต่างกันมากจนเกินไป (ยกเว้นกรณีพื้นที่ดินขนาดใหญ่\nมาก) ซึ่งจะมีผลต่อรูปร่างของตัวบ้าน หรือความสัมพันธ์ระหว่าง\nพื้นที่ใช้สอยไม่ดีเท่าที่ควร ขนาดของที่ดิน ยังจะมีผลต่อการ\nตัดสินใจเลือกรูปลักษณะของบ้านด้วยเช่นกัน เช่น บ้านชั้น\nเดียว ย่อมต้องการขนาดของพื้นที่ดินเพื่อปลูกสร้างมากกว่าบ้าน\nสองชั้นที่มีพื้นที่ใช้สอยเท่ากัน\nลักษณะของที่ดิน เป็นองค์ประกอบอีกสิ่งหนึ่งที่ควรต้อง\nพิจารณาซึ่งจะมีผลต่อการสร้างบ้านหลายประการ เช่น พิจารณา\nถึงสภาพของที่ดินและลักษณะดินตลอดจนพื้นที่ข้างเคียงเพื่อผล\nด้านโครงสร้างอาคาร เช่น การเลือกระบบการก่อสร้าง การเลือกใช้\nวัสดุ นอกจากนั้นเจ้าของบ้าน อาจจะต้องเตรียมการปรับสภาพ\nที่ดินให้พร้อม ก่อนลงมือปลูกสร้างบ้านด้วย เช่น ถมที่ ปรับ\nระดับ จัดพื้นที่ เป็นต้น ถ้าไม่มีการพิจารณาในเรื่องของที่ดิน\nเหล่านี้แล้ว เมื่อลงมือปลูกสร้างบ้านไป อาจเกิดปัญหาภายหลังได้\nเช่น น้ำท่วม ไม่มีการระบายน้ำเสีย ตลอดจนถึงเรื่องของการ\nทรุดตัวของบ้านภายหลัง\nลักษณะทางกายภาพของที่ดิน ก็เป็นอีกข้อหนึ่งที่มีต่อ\nการเลือกรูปลักษณะของตัวอาคาร เช่นพื้นที่ดินที่เป็นเนินเขา\nหรือมีพื้นที่ต่างระดับกันสามารถที่จะปลูกสร้างบ้านต่างระดับได้\nดีกว่าการปลูกในที่ราบ นอกจากนั้น การพิจารณาในเรื่องที่ดิน\nยังจะเป็นการช่วยในการตัดสินใจถึงองค์ประกอบส่วนอื่น ๆ ของ\nบ้าน นอกเหนือจากตัวอาคาร เช่น ถนน สวน เป็นต้น อีกด้วย\nความสัมพันธ์กับถนนภายนอกบ้าน\nถนนที่ผ่านหน้าที่ดินก็มีความสำคัญกับการจัดวาง\nตำแหน่งตัวบ้านเช่นเดียวกัน โดยจะต้องคำนึงถึงว่าบริเวณที่ดิน\nของคุณนั้น ใกล้กับทางแยกหรือไม่ เพื่อที่จะได้จัดตำแหน่งของ\nส่วนที่เป็นถนนภายในบ้านหรือทางเข้าบ้านได้ถูกต้อง เช่น ถ้า\nที่ดินนั้นอยู่ใกล้กับทางแยก ก็ควรที่จะจัดทางเข้าบ้านนั้นให้\nห่างจากทางแยกมากที่สุด เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการเข้า\nออก เมื่อหาตำแหน่งของทางเข้าออก หรือถนนภายในได้แล้ว\nตำแหน่งตัวบ้านก็จะถูกกำหนดได้ง่ายขึ้น\nความสัมพันธ์ของที่ดินกับประโยชน์ใช้สอยของบ้าน\nจากที่ได้กล่าวแล้วว่า ในการจัดวางตำแหน่งตัวบ้านนั้น\nควรพยายามให้พื้นที่เปิดโล่งรวมกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ต่อมาก็คือ\nต้องพิจารณาว่าจะจัดให้พื้นที่โล่งนั้น อยู่ในส่วนใดของที่ดิน\nข้อพิจารณาก็คือ ดูจากลักษณะการใช้สอยของบ้าน เช่น ถ้าบ้านมี\nเฉลียง ส่วนรับแขกอยู่ในส่วนหน้าของตัวบ้าน พื้นที่เปิดโล่งของ\nบ้านก็ควรอยู่ทางด้านหน้าของตัวบ้าน เพื่อที่จะสามารถจัดสวน\nปลูกต้นไม้ ในส่วนของพื้นที่เปิดโล่งนั้นได้ หรือถ้ามีส่วนของ\nห้องอาหารทางด้านข้าง ส่วนพักผ่อนอยู่ทางด้านหลัง และมี\nเฉลียงหลังบ้าน ประกอบกับกิจกรรมของครอบครัวมักอยู่ใน\nบริเวณดังกล่าว ดังนั้นส่วนของพื้นที่เปิด โล่ง ก็ควรที่จะอยู่ทาง\nด้านข้างค่อนไปทางด้านหลังของตัวบ้าน เป็นต้น\nทิศทางแดด, ลม, ฝน\nเรื่องของทิศทางแสงแดด ลม และฝน เป็นสิ่งสำคัญอีก\nประการหนึ่งที่ต้องพิจารณา ทั้งนี้เพราะประเทศไทยเราเป็น\nประเทศที่ได้รับอิทธิพลเรื่องดินฟ้าอากาศมาก ถ้าไม่คำนึงถึงเรื่อง\nเหล่านี้ เมื่อปลูกสร้างบ้านไปแล้ว อาจเกิดปัญหาภายหลังได้ และ\nเป็นเรื่องที่เราไม่สามารถที่จะควบคุมให้เป็นไปตามต้องการได้\nในการปลูกสร้างบ้าน ทิศทางของแดด ลม และฝน จะมี\nความสำคัญทั้งในด้านการจัดประโยชน์ใช้สอยภายในบ้าน และ\nการจัดวางตำแหน่งตัวบ้านดังได้กล่าวไปแล้ว ในที่นี้จะได้กล่าวถึง\nเฉพาะหัวข้อของความสำคัญกับการจัดประโยชน์ใช้สอย\nลักษณะของตัวอาคารที่ดีควรจะมีการถ่ายเทอากาศที่ดี\nตลอดทั้งบ้าน แต่บางครั้งก็มีข้อจำกัดหลายประการ เช่น ขนาด\nของที่ดิน ลักษณะรูปทรงของอาคาร อย่างไรก็ตาม ควรที่จะให้มี\nการถ่ายเทของอากาศมากที่สุด ดังนั้น ก่อนที่จะเลือกลักษณะของ\nบ้าน จึงควรที่จะได้พิจารณาถึงเรื่องนี้เสียก่อน\nแสงแดดในประเทศไทย จะมีการเดินทางของดวง\nอาทิตย์ จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกในลักษณะอ้อมไปทาง\nทิศใต้ แดดจะแรงในช่วงบ่าย ดังนั้น บริเวณที่ไม่ต้องการให้รับ\nความร้อนมาก เช่น ห้องนอนจึงไม่ควรอยู่ในตำแหน่งทางทิศ\nตะวันตก หรือตะวันตกเฉียงใต้ แต่ถ้าจำเป็นจะต้องจัดวางใน\nตำแหน่งที่รับแดด ก็ควรจะให้อาคารมีส่วนป้องกันแสงแดด เช่น\nชายคายื่นยาวให้ร่มเงา หรือการปลูกต้นไม้ช่วยบัง เป็นต้น\nที่ดิน\nที่ดิน.\n• ราคาค่าก่อสร้างอย่าลืมคิดค่าถมดินหรือค่ารื้อถอน (ถ้ามี)\nบางทีที่ดินที่เราซื้อมาจะเป็นแปลงเปล่า ๆ ที่ยังไม่ได้\nถมหรือเป็นแบบท้องคันนาหรือบ่อน้ำ จึงจะต้องทำการปรับ\nหน้าดินด้วยการถม แล้วบดเกลี่ยให้แน่นและเรียบพร้อมที่จะ\nก่อสร้างบ้านได้ เจ้าของอาจเตรียมวงเงินไว้จำกัดเพราะพูดกันถึง\nแต่เรื่องบ้าน จึงลืมเตรียมเงินในส่วนของดินที่จะถม บางที\nที่ดินบางแห่งอาจมีสิ่งก่อสร้างเดิมอยู่ก็จะต้องเตรียมเงินไว้สำหรับ\nการรื้อถอนด้วยเช่นกัน\n• การเลือกซื้อที่ดิน\n\nก่อนซื้อควรตรวจสอบดูก่อนว่ามีการเวนคืนจากทางราชการหรือไม่?\nที่ดินเดิมเคยเป็นสระน้ำหรือถูกขุดหน้าดินเอาไปใช้หรือไม่เพราะดินที่ถมลงไปใหม่นั้นจะต้องใช้เวลานานเป็นปีกว่าเนื้อดินจะแน่นและไม่ทรุดตัว?\nก่อนปลูกบ้านควรตรวจดูที่ดินว่ามีต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ถูกตัดจนเหลือแต่ต่อใต้ดินรวมถึงรากแก้วขนาดใหญ่หรือเปล่าเพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็นบ่อเกิดของปลวกที่จะมากัดกินบ้านเราในภายหลัง?\nถ้าไม่จำเป็นอย่าเลือกพื้นที่ดินที่เป็นชายธง?\nสภาพแวดล้อมโดยรอบที่ดินเป็นเช่นไร เช่น โรงงานโรงพยาบาล หรือวัด?\nการเลือกที่ดินแถบใกล้ชายทะเล? เช่นแถวสมุทรปราการ สมุทรสาคร ควรคำนึงถึงความชุ่มน้ำของเนื้อดินอันจะมีผลต่อการเลื่อนไหลของเนื้อดินข้างใต้ หรือดินทรุด จะทำให้ต้องใช้เข็มที่ตอกเป็นฐานรากมากกว่าปกติ และมีขนาดใหญ่กว่าบ้านโดยทั่วไป\n\n\nกรมที่ดินหรือที่ทำการเขต เพื่อสอบถามโฉนด, ขนาดที่แท้จริงของที่ดินและเจ้าของที่ดินเดิม?\nกรุงเทพมหานครหรือกรมโยธาธิการ เพื่อสอบถามเขตห้ามก่อสร้าง, ZONE พักอาศัย, การตัดถนน?\nการทางพิเศษ เพื่อสอบถามแนวห้ามก่อสร้างจากแนวของทางด่วน?\nกรมทางหลวง เพื่อสอบถามแนวห้ามก่อสร้างจากแนวถนนหลวงหรือเรื่องการตัดถนน?\nการไฟฟ้าฝ่ายผลิตหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเพื่อสอบถามแนวสายไฟฟ้าแรงสูงขนานผ่าน?\nกรมการบินพาณิชย์ เพื่อสอบถาม? สิ่งก่อสร้างไปบังคลื่นวิทยุ (ส่วนใหญ่จะเป็นอาคารสูงที่เกิน 15เมตรขึ้นไป)\n\nที่ดินก่อนการก่อสร้างบ้านจะต้องมีการปรับโดยการถมและขุดหรือ\nบางทีอาจจะใช้ทั้งการถมและการขุดไปด้วยกัน เช่น การขุดเพื่อ\nทำสระน้ำ, สระว่ายน้ำ แล้วนำดินที่เหลือจากการขุดไปถมในส่วน\nที่จะทำการก่อสร้างบ้านให้สูงขึ้นเป็นเนิน เป็นต้น\n\nการถม? (เพื่อการสร้างบ้าน)\n\nเท่ากับระดับถนนภายนอกหรือสูงกว่าระดับถนน 0.50 เมตร\nหรือ 1 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อความโดดเด่นของตัวบ้านหรือเพื่อ\nหนีน้ำท่วม\n\nการขุด? (เพื่อการสร้างบ้าน)\n\n, ทำสระว่ายน้ำ หรือถังเก็บน้ำใต้ดิน จะใช้วิธีตอกเข็มไม้ยาวตลอด\nแนวการขุดเป็นพืดเพื่อกันดินถล่ม หรือขุดดินปรับเป็นแนว\nเอียง ถ้าดินมีความเหนียวพอ ก็ไม่ต้องใช้เข็มไม้ตอก\nถ้ามีการขุดระดับลึกไม่เกิน 5.00 เมตร สำหรับการ\nสร้างบ้านแล้วถือว่ามีน้อยมากที่จะขุดลึกลงไปขนาดนั้น เพราะจะ\nแพงเกินไปและไม่มีความจำเป็นจะต้องใช้แผ่นเหล็ก (SHEET\nPILE) ตอกเป็นแนวกันดินถล่ม และใช้เครื่องตอกที่เป็นเครื่องกล\nซึ่งมีราคาแพงมาก\nฐานราก\nฐานราก.\n1. รั้วหรือกำแพง\nที่มีความยาวมาก ๆ ฐานรากควรมีการเบรกไม่ให้ไหลไป\nตามดินทุก ๆ ช่อง 6.00 หรือ 8.00 เมตร โดยการทำฐานราก\nเป็นแนวขวาง ยาวเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่กว่าฐานรากแบบ\nปกติทั่วไปครึ่งหนึ่ง การทำลักษณะนี้จะทำให้การบิดของรั้วหรือ\nกำแพงลดลงหรือไม่มีเลย\n2. ฐานรากตีนเป็ด\nเป็นการทำงานแบบเดียวกับการเบรกฐานราก แต่เป็น\nการใช้พยุงไม่ให้รั้วหรือกำแพงล้มใช้สำหรับกรณีที่แนวเขตที่ดิน\nชนกับที่ดินคนอื่นหรือถนนสาธารณะ และไม่สามารถจะยื่น\nฐานรากเข้าไปในเขตที่ดินของผู้อื่นได้\n3. เข็มเจาะ\nปัจจุบันเป็นเรื่องง่ายมากที่จะนามาใช้กับบ้าน\nเนื่องจากเทคนิคและวิธีการไม่ยุ่งยากมากและราคาก็ไม่แพงดังที่\nคิด เราใช้เข็มเจาะเมื่อมีความจำเป็นจะต้องตอกเข็มใกล้ ๆ กับ\nบ้านของคนอื่น เช่น ห่าง 0.80 เมตร โดยไม่อยากให้บ้าน\nข้างเคียงมีปัญหาแตกร้าว ทรุด หรือซอยที่เข้าบ้านของเรามีขนาด\nแคบมากไม่สามารถจะขนส่งเข็มต้นยาว ๆ มาตอกได้ จึงจำเป็น\nจะต้องใช้เข็มเจาะหลักการของเข็มเจาะก็คือใช้การขุดดินผ่านท่อ\nเหล็กกลมกลวงขนาดยาวประมาณ 3 เมตร โดยที่ปลายนิ้ว 2 ข้าง\nเป็นเกลียวหมุนต่อเนื่องลงไปในดิน ถ้าต้องการเข็มลึก 24 เมตร\nก็ตอกท่อเหล็กกลมลงไปทีละอัน แล้วขุดดินขึ้นมาจนตอกลงไป\nครบ 8 ท่อนแล้วจึงผูกเหล็กตามสเปคหย่อนลงไปในท่อเท\nคอนกรีตตามส่วนแล้วอัดด้วยลมอีกครั้งหนึ่งจากนั้นจึงค่อย ๆ ดึง\nท่อเหล็กขึ้นมาช้า ๆ ทีละท่อนจนหมด แล้วจึงปิดปากหลุมรอ\nจนกว่าปูนแห้งก็เป็นอันเสร็จพิธี จะเห็นได้ว่าความสะเทือนที่\nเกิดขึ้นรอบ ๆ เข็มเจาะนั้นน้อยกว่าระบบการใช้เข็มตอกลงไป ต่อ\nกันเป็นท่อน ๆ จนกว่าจะครบเป็นไหน ๆ\n4. เข็มกด\nเป็นการลดความสะเทือนในการตอกเข็มอีกวิธีหนึ่งและไม่\nค่อยยุ่งยากใช้กับโครงสร้างที่ไม่ใหญ่โตหรือรับน้ำหนักมากนัก\nเช่น โรงรถ กำแพงรั้ว ห้องครัวชั้นเดียว หรืองานเร่งด่วนที่ไม่\nต้องการตั้งปั้นจั่น เข็มกดเป็นวิธีการที่ใช้รถแม็คโคร ดึงเสาเข็ม\nขนาดเล็กยาวต้นละ 6 เมตร มากดโดยใช้แขนเหล็กของรถแม็ค\nโครกดลงไป ซึ่งจะไม่มีความสะเทือนกับรอบ ๆ ข้าง วิธีนี้สะดวก\nและรวดเร็วแต่ให้ระวังแนวเสาเข็มต้องตั้งให้ตรงแล้วจึงกด\nไม่เช่นนั้นเสาจะเบี้ยวหรือหัก ทำให้รับน้ำหนักไม่ดีเท่าที่ควร\n5. เสาเข็มอย่าตอกชิดกันเกินไป\nจะทำให้เสาเข็มไม่มีความฝืดหรือรับน้ำหนักโครงสร้างได้\nไม่เต็มที่ เนื่องจากมีเนื้อดินอยู่รอบ ๆ เสาเข็มน้อยเกินไป บาง\nคนนึกว่าการตอกเสาเข็มเสริมลงไปมาก ๆ จะทำให้รับแรงได้มาก\nขึ้น แต่คิดผิดถนัด ดังนั้นในการตอกเข็มทุก ๆ ครั้งจึงควรมีระยะ\nที่ห่างกันพอสมควร คือไม่น้อยกว่า 2 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง\nของเข็ม\nพื้น\nพื้น.\n1. ก่อนการเทพื้นคอนกรีตที่ติดกับดินต้องฉีดกันปลวก\nทุกครั้ง\nเราสามารถเรียกพนักงานกำจัดปลวกมาดำเนินการกำจัด\nปลวกและป้องกันเอาไว้ก่อนทุก ๆ ครั้งที่มีการเทพื้นในส่วนของ\nชั้นที่ติดกับพื้นดินเพื่อให้แน่ใจและการป้องกันอย่างได้ผล บางที\nบางแห่งพนักงานอาจจะฝังท่อเป็นแนวใต้พื้นคอนกรีตแล้วโผล่\nท่อขึ้นมาเหนือพื้น เพื่อจะได้เติมน้ำยากันปลวกได้เมื่อถึงคราว\nจำเป็น\n2. ไม้แบบสำหรับใช้หล่อพื้นชั้นล่าง\nจะสังเกตได้ว่าพื้นชั้นที่ติดกับดินถ้าเราตั้งไม้แบบแล้วเท\nคอนกรีตทับลงไปเราไม่สามารถจะเอาไม้แบบออกมาได้ นั่นเป็น\nสาเหตุอันหนึ่งที่ทำให้เกิดปลวกมากัดกินไม้แบบและลุกลามตาม\nรอยแยกหรือรูของพื้นขึ้นมากัดกินตู้ โต๊ะ เตียง เป็นรายต่อไป\nดังนั้นวิธีที่จะแก้ไขได้ก็คือ\nถ้าพื้นชั้นที่ติดดินยกระดับ 1.20 เมตร หรือเกินกว่านั้น\nการใช้ทรายที่จะถมจะมีปริมาณมากเกินไปก็เปลี่ยนมาใช้ไม้แบบ\nได้ เพราะหลังจากการเทพื้นคอนกรีตเรียบร้อยแล้วเราสามารถจะ\nมุดเข้าไปใต้พื้นที่เหลือช่องว่างระหว่างดินกับคาน (ความลึกของ\nคานบ้านทั่วไปประมาณ 0.50 เมตร) เพื่อนำไม้แบบออกมาได้\n3. ช่องว่างระหว่างพื้นดินกับคานชั้นล่าง\nพื้นชั้นล่างที่ยกสูงมาก ๆ จะมีช่องว่างระหว่างคานกับ\nพื้นดิน ถ้าเราจะก่อกำแพงในส่วนนี้ แล้วไม่ให้ร้าวหรือมีการทรุด\nตัวของกำแพง จำเป็นจะต้องหล่อคานในแนวของพื้นดินเพื่อ\nรองรับกำแพงตัวนี้\n\nหล่อในที่กับพื้นสำเร็จรูป?\n\nไม้แบบ ผูกเหล็กแล้วจึงเทคอนกรีต ในการเทต้องตั้งไม้แบบ\nสำหรับคานและพื้นแล้วเทคอนกรีตพร้อมกันเลย เมื่อคอนกรีต\nแข็งตัวแล้ว จึงทำการบ่มโดยใช้น้ำฉีด 3-5 วัน ต่อจากนั้นก็ทิ้ง\nคอนกรีตไว้ในแบบจนครบอายุ 14 วัน แล้วจึงทำการถอดไม้แบบ\nการทำวิธีนี้มีขั้นตอนมากและใช้เวลาจนเสร็จพิธีการนาน\nพอสมควรอีกทั้งค่าใช้จ่ายยังมากกว่าอีกด้วย\nพื้นสำเร็จรูป เป็นการผลิตขึ้นมาเพื่อความสะดวกและ\nรวดเร็วประหยัดค่าใช้จ่าย และเหมาะกับการก่อสร้างในสภาวะ\nปัจจุบัน ซึ่งมีความแข็งแรงมั่นคงตามสภาพการใช้สอยต่าง ๆ กัน\nในปัจจุบันพื้นสำเร็จรูปมีให้เลือกใช้หลายแบบ แต่แบบ\nที่นิยมกันมากที่สุดคือ ระบบคานตัวที วิธีการก่อสร้างก็คือ ขั้น\nแรก ต้องหล่อคานบ้านขึ้นมาก่อน แล้วจึงนำพื้นระบบนี้มาวาง\nโดยวางคานตัวที และทำไม้ค้ำยันเป็นช่วง ๆ จากนั้นวางบล็อก\nคอนกรีตในระหว่างคานทีนั้นผูกเหล็ก หรือเหล็กตะแกรง\nสำเร็จรูป (วายเมด) แล้วเทคอนกรีตทับหน้าบ่มคอนกรีตอีก 3-5\nวัน ก็เป็นอันเสร็จขั้นตอนของการทำพื้น\n\nเมื่อไรถึงจะปรับพื้นที่ปูด้วยบล็อกคอนกรีต?\n\nก้อนบล็อกตัวหนอนคอนกรีต เพราะว่ามีความสวยงาม สีสันสดใส\nทำง่ายและราคาไม่แพง หลังจากนั้นประมาณ 1 ปี จะเห็นได้ว่า\nในส่วนที่รถวิ่งผ่านหรือคนเดินมาก ๆ จะเกิดการยุบตัว บล็อกตัว\nหนอนก็จะกระโดกกระเดก เนื่องจากพื้นดินและทรายที่อยู่\nด้านล่างมีการปรับตัวไม่เท่ากัน จึงควรทำการปรับระดับพื้นทราย\nที่รองรับใหม่หลังจากใช้พื้นนี้มาแล้วประมาณ 1-2 ปี เพราะ\nหลังจากนี้ไปแล้วเชื่อว่า การทรุดตัวของดินและทรายจะลดน้อยลง\nและแน่นขึ้น บล็อกตัวหนอนก็จะใช้ได้ไปอีกหลายปี\n\nปัญหาตรงรอยต่อระหว่างพื้นปูวัสดุ? ที่แตกต่างกันภายในห้องเดียวกัน\n\nถ้าพื้นหินอ่อนมาชนกับพื้นปาร์เกต์ ต้องเตรียมพื้นในส่วนที่เป็นปาร์เกต์ให้สูงกว่าหินอ่อนประมาณ 3 เซนติเมตร\nถ้าพื้นหินอ่อนมาชนกับพรม ต้องเตรียมพื้นในส่วนของพรมให้สูงกว่าประมาณ 3 เซนติเมตร แล้วคั่นด้วยไม้แผ่นคั่นกลางเพื่อความสวยงามและป้องกันการบิ่นของหินอ่อน\nถ้าพื้นกระเบื้องมาชนกับพื้นปาร์เกต์ ต้องเตรียมพื้นในส่วนของปาร์เกต์ให้สูงกว่าประมาณ 1 เซนติเมตร\nถ้าเป็นไปได้ควรพยายามหลีกเลี่ยงหรือใช้วิธีการเล่นSTEP (มากกว่า 10 เซนติเมตรขึ้นไป)\n\n\n\nอย่ายกพื้นให้สูงขึ้นโดยเทคอนกรีตเพิ่ม!?\n\nคอนกรีตเพิ่มลงไปโดยเด็ดขาด เพราะในความหนาที่เพิ่มขึ้น 10\nเซนติเมตร จะมีน้ำหนักถึง 240 กิโลกรัม/ตารางเมตร อันจะมี\nผลต่อพื้นเดิมและคานอาจพังลงมาได้โดยง่าย\nหากจำเป็นจะต้องเสริมระดับจริง ๆ ขอให้ใช้วัสดุที่เบา ๆ\nเช่น ไม้ หรืออิฐมอญ รองพื้นก่อนเทคอนกรีตเสริม หรือวิธีที่ดี\nที่สุดคือ ปรึกษาสถาปนิกหรือวิศวกร\n\nวัสดุปูพื้นโดยทั่วไป?\n\nที่ใหญ่และชนิดของไม้ การจะวางพื้นชนิดนี้จะต้องตั้งตงและ\nคานเสียก่อน ปัจจุบันนิยมใช้พื้นไม้ที่มีขนาดเล็กลง เพื่อความ\nประหยัดและปูบนพื้นที่เป็นคอนกรีต โดยมีการวางไม้ระแนง\nเป็นแนวก่อนการปูพื้นไม้ ราคาพื้นไม้แบบนี้จึงไม่แพง แต่ให้\nความรู้สึกอบอุ่น เหมาะกับบ้านอยู่อาศัยทั่วไป\n2. พื้นปาร์เกต์ เป็นชิ้นไม้เล็ก ๆ มีทั้งที่เป็นแบบเข้า\nลิ้นและไม่เข้าลิ้น นิยมปูบนพื้นคอนกรีต ราคาจะถูกกว่าพื้นไม้\nธรรมดา สามารถออกแบบลวดลายบนพื้นได้หลายแบบ เหมาะ\nสำหรับห้องทั่ว ๆ ไปภายในบ้านยกเว้นห้องน้ำ\n3. กระเบื้องเคลือบหรือกระเบื้องเซรามิกเป็นแผ่น\nสำเร็จรูปมีหลายขนาดและหลายสี ตามแต่วัตถุประสงค์ที่จะ\nนำไปใช้ ราคาจะมีตั้งแต่ถูกจนถึงแพงมาก บางทีแพงกว่าพื้นไม้\nเสียอีก นิยมปูบนพื้นคอนกรีตเช่นกัน กรรมวิธีการปูไม่ยากและ\nไม่วุ่นวาย เหมาะสำหรับห้องครัว ห้องน้ำ ชานระเบียง หรือ\nห้องรับแขกก็พอได้\n4. หินอ่อนหรือหินแกรนิต เป็นวัสดุที่มีความคงทน\nและนิยมใช้กันมาก เนื่องจากดูหรูและทำความสะอาดง่าย และ\nราคาเริ่มจะใกล้เคียงกับวัสดุปูอื่น ๆ ในปัจจุบัน เหมาะสำหรับ\nห้องรับแขก ห้องทานอาหาร และห้องน้ำ\n5. พรม ให้ความรู้สึกดูหรูหรา อบอุ่น และนุ่มนวล\nเหมาะแก่การเดินเท้าเปล่าและการพักผ่อน พรมมีทั้งพรมทอ\nและพรมแผ่นการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ เช่น ห้องนอน\nอยากได้เป็นพรมชั้นเดียวกันทั้งผืนก็ใช้พรมทอ เป็นต้น ราคา\nของพรมในปัจจุบันนั้นก็ไม่แพงมากอย่างที่คิด แต่ก็ให้หมั่น\nดูแลความสะอาดและดูดฝุ่นให้บ่อย ๆ การปูพรมจะปูบนพื้น\nคอนกรีตที่เรียบเสมอ อาจมียางปูรองอีกแผ่นเพื่อความนิ่มนวล\nของพรมเวลาเดิน เหมาะสำหรับห้องนอนอ ห้องดูทีวี หรือใช้\nเป็นบางส่วนสำหรับห้องรับแขก\nก่อนการปูพื้นไม้ควรเตรียมอะไร? \nกรรมวิธีในการปูพื้นไม้ให้ถูกต้องในขณะที่เทพื้น\nคอนกรีต ควรฝังไม้ระแนงตลอดแนวที่จะปูสูงกว่าผิวคอนกรีต\nประมาณ 2 เซนติเมตร ปรับระดับไม้ระแนงให้เสมอกันตลอด\nทั้งสอง จากนั้นรอจนพื้นคอนกรีตแห้งแล้วจึงเริ่มทำการปูแผ่น\nไม้ การทำเช่นนี้ก็เพื่อไม่ให้ไม้ระแนงมีความยืดหยุ่นและโก่งงอ\nหลังจากอัดพื้นไม้เข้าลิ้นไปแล้ว\nก่อนการปูพื้นปาร์เกต์ควรเตรียมอะไร? \nการเตรียมพื้นคอนกรีตก่อนการปูปาร์เกต์ต้องทำให้ดี\nที่สุด ถ้าพื้นคอนกรีตเดิมที่เทไปแล้วไม่เรียบเสมอกันตลอดทั้ง\nห้อง จำเป็นจะต้องปรับพื้นด้วยปูนทรายอีกครั้งจนเห็นว่าเรียบ\nเสมอกัน หลังจากนั้นต้องทิ้งพื้นไว้ให้แห้งสนิท ถ้าเป็นพื้นชั้น\nล่างควรทำกันซึมไว้ด้วยก็จะดี หลังจากนั้นจึงเริ่มทำการปูปาร์เกต์\nกาวที่ใช้จะต้องดี และต้องไม่อัดแผ่นปาร์เกต์จนแน่นเกินไป\nควรเผื่อช่องสำหรับไม้ขยายตัวตามริมขอบกำแพงทุก ๆ ด้าน เพื่อ\nป้องกันไม่ให้ปาร์เกต์โก่งงอหรือระเบิดได้ หลังจากปูแล้วควรทิ้ง\nเอาไว้นาน ๆ จนเห็นว่ากาวแห้งสนิทแล้ว จึงเริ่มทำการขัดพื้น\nต่อไป\nอย่าปูหินอ่อนตากแดด!\nพื้นนอกบ้านหรือชานบ้านที่นิยมปูหินอ่อนในส่วนของ\nพื้นที่โดนแดดอยู่ตลอดเวลา ผิวและสีจะเหลืองจะเห็นได้ชัด\nต่างกันส่วนที่ไม่โดนแดดทำให้เกิดความกระดำกระด่างบนพื้นหิน\nอ่อนไม่สวยงาม\nพื้นไม้ที่โดนน้ำขังหรือท่วม!\nอย่าพยายามงัดไม้ออกมาตากแดดโดยทันทีหลังจากน้ำลด\nแล้วเพราะไม้จะบิดงอและแตกได้โดยง่าย จึงควรปล่อยทิ้งไว้จน\nพื้นไม้แห้งตามธรรมชาติไปเอง แล้วจึงค่อยถอดเปลี่ยนใน\nภายหลัง\nผนัง\nผนัง.\nทำไม? ต้องมีเส้นเซาะร่องบนผนังภายนอกอาคาร\nผนังปูนฉาบภายนอกอาคารหลายแห่ง มีการเดินเส้น\nเซาะร่องเป็นเส้นตั้งบ้าง นอกบ้างนั้น นอกจากจะเป็นการ\nตกแต่งผนังให้เกิดความงามแล้ว ยังเป็นการแก้ไขปัญหาการ\nแตกร้าวของผนังปูนฉาบที่เป็นพื้นที่กว้าง ๆ โดยเฉพาะตามแนว\nเสาและคาน จะเป็นการลบแรงเฉือนระหว่างโครงสร้างหลักกับ\nแนวผนัง สำหรับวิธีการทำเส้นเซาะร่องนี้ มีด้วยกันหลายแบบ\nเช่น การใช้ไม้แบบตีติดกันกับผนังปูนฉาบ เพื่อให้เกิดเป็นร่อง\nเหลี่ยม การใช้เหล็กเส้นขีดลงบนปูนฉาบที่ยังไม่แห้ง (วิธีนี้ดู\nเป็นที่นิยมสำหรับช่างรับเหมาที่ไม่ประณีต) และปัจจุบันยังมี\nการผลิตเส้นเซาะร่องสำเร็จรูปทำจากพีวีซี ให้เลือกใช้เพิ่มอีกอย่าง\nหนึ่ง\nการทำผนังก่ออิฐ 2 ชั้น ต้องระวังเรื่องใด? \nมีบางครั้งที่เราออกแบบผนังก่ออิฐ 2 ชั้นซ้อนกัน\nเนื่องจากเหตุผลทางด้านความงามและความสะดวกำหรับการจัด\nเฟอร์นิเจอร์ภายในแต่ก็ต้องพึงระวังในเรื่องการแตกร้าวของผนัง\nไว้ด้วย เพราะช่องว่างระหว่างกลางนี้จะเป็นตัวดูดความชื้นจากอิฐ\nและอิฐก็จะไปดูดความชื้นมาจากปูนฉาบอีกที ทำให้ผนังเกิดการ\nแตกร้าวได้ วิธีแก้ง่าย ๆ คือควรเทคอนกรีตลงในช่องว่างนี้ให้เต็ม\nจะลดความชื้นภายในได้อีกทางหนึ่ง ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องเผื่อการรับ\nน้ำหนักของคานไว้ด้วย\nที่ว่าให้แช่อิฐก่อนจะนำมาก่อกำแพงนั้น เขาทำเพื่ออะไร? \nเรารู้กันดีอยู่แล้วว่า ธรรมชาติของอิฐนั้นเป็นวัสดุที่ดูดซับ\nน้ำ ดังนั้นเพื่อไม่ให้อิฐมีการดูดซับน้ำจากปูนฉาบและทำให้ปูน\nฉาบแห้งเร็วเกินไป (เป็นผลให้กำแพงแตกร้าว) เราจึงควรแช่อิฐ\nที่จะใช้ก่อลงในน้ำทุกก้อน แล้วจึงนำมาก่อกำแพงในขณะที่อิฐ\nยังเปียกอยู่\nตาข่ายกรงนก ใช้ในงานก่อสร้างอย่างไร? \nสำหรับงานก่อสร้างผนังปูนนั้น หากมีตาข่ายกรงนกขึง\nบนกำแพงอิฐก่อนที่ฉาบปูน จะทำให้เนื้อปูนจับและยึดติดกัน\nอย่างแน่นหนายิ่งขึ้นผนังปูนก็จะไม่แตกร้าวง่าย ๆ\nพบสีบนผนังอาคารเกิดขึ้นราหรือไม่ก็หลุดร่อน เนื่องจากสาเหตุใด? \nคงเป็นเพราะเตรียมผิวพื้นไม่ดี ได้แก่ พื้นผิวปูนฉาบที่\nยังไม่แห้งสนิทมีสภาพเป็นกรด ด่าง หรือพื้นผิวเก่าที่มีความ\nสกปรก มีฝุ่นเกาะ ดังนั้นหากต้องการทาสีผนังเก่าควรทำการลอก\nผิวเดิมออกเสียก่อน แล้วทำความสะอาดผนัง ต่อไปก็เป็นขั้นตอน\nการทาสี ซึ่งต้องทาให้ครบจำนวนครั้ง โดยทาสีรองพื้นเสียก่อน\nในขั้นแรก\nการเสียบเหล็ก เพื่อป้องกันผนังแตกร้าว? \nทุกครั้งที่ก่อกำแพงอิฐ เราควรเสียบเหล็กเส้นให้ยื่น\nออกมาจากเสาโครงสร้างประมาณ 30 เซนติเมตร แทรกในผนัง\nก่ออิฐทุก ๆ ความสูง 30 เซนติเมตร เหล็กเส้นเหล่านี้จะเป็นตัว\nยึดระหว่างเสากับอิฐให้แข็งแรงมากยิ่งขึ้น เป็นการป้องกันการ\nแตกร้าวของผนังอีกทางหนึ่ง\n• วิธีการทดสอบรอยร้าวบนกำแพงอย่างง่าย ๆ\nรอยร้าวบนกำแพง เรามีวิธีการทดสอบรอยร้าวเหล่านี้ ว่า\nเกิดจากสาเหตุใด (อย่างง่าย ๆ) โดยดูจากขนาดของรอยร้าว แล้วใช้\nวัสดุดังต่อไปนี้ วัดขนาดดู:-\n\nใช้กระดาษสอดได้ แสดงว่า เป็นรอยร้าวธรรมดาทั่ว ๆไป ซึ่งเกิดจากปูนฉาบ\nใช้เหล็กฟุตที่เป็นโลหะสอดได้ รอยนี้มีความลึกมากกว่าชนิดแรกบางที่ลึกถึงอิฐที่ก่อหรือร้าวในแนวเดียวกัน ทั้ง 2 ด้านสาเหตุยังคงเป็นเรื่องของปูนฉาบอยู่ โดยอาจมาจากการก่อกำแพง2 ชั้น หรือมีความชื้นตรงช่องว่างภายในกำแพง\nใช้ไม้บรรทัดไม้สอดได้ แสดงว่าอาจจะร้าวเนื่องจากโครงสร้างอาคารถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ ให้ลองสังเกตร้อยร้าวว่า วิ่งไปที่จุดใดถ้าวิ่งเข้าหาเสากับพื้น แสดงว่าเสาเข็มที่ตอกไว้ไม่ได้ขนาดเอียงหรือหัก แต่ถ้าวิ่งเข้าหาเสากับคานชั้นบนแสดงว่าเหล็กที่ยึดระหว่างหัวเสากับคานไม่ได้ขนาดหรือไม่ได้มีการยึดอย่างถูกวิธี\n\nนอกจากเราจะคำนึงถึงความสวยงาม ความชอบของแต่ละ\nบุคคลที่เป็นเจ้าของบ้าน การเลือกสีทาภายนอกอาคาร ยังคง\nคำนึงถึงความสามารถในการสะท้อนแสงอีกด้วย จะสังเกตว่า\nบ้านเรือนในประเทศแถบที่มีอากาศหนาว มักจะทาสีภายนอก\nด้วยสีโทนเข้ม เนื่องจากสีโทนเข้มจะดูดความร้อนเอาไว้ ทำให้\nภายในบ้านอบอุ่นยิ่งขึ้น แต่สำหรับบ้านเมืองเรา อุณหภูมิ\nภายนอกสูง อากาศร้อนจัด หากไม่จำเป็นแนะนำให้ใช้สีโทน\nอ่อน เช่น สีขาว สีครีม สีน้ำตาลอ่อน สำหรับผนังภายนอก\nเพราะโทนสีเหล่านี้จะมีความสามารถในการสะท้อนแสงได้สูงทำ\nให้ไม่มีความร้อนสะสมอยู่ภายในบ้าน ผนังภายนอกก็จะไม่\nแตกร้าวได้ง่ายอีกทั้งยังเป็นการประหยัดค่าไฟฟ้าสำหรับพัดลงหรือ\nเครื่องปรับอากาศอีกด้วย\nขอบผนังปูนบริเวณรอบวงกบประตู-หน้าต่าง มักจะมีรอยร้าวเนื่องจากอะไร? \nสาเหตุหลัก ๆ เนื่องจากขาดเสาเอ็นและทับหลัง รอบช่อง\nเปิดทำให้กำแพงถ่ายน้ำหนักลงบนประตู-หน้าต่าง โดยตรงเป็น\nผลให้เกิดการแตกร้าว เสาเอ็นและทับหลังนี้ยังช่วยในการยืดและ\nหดตัวของวงกบประตู-หน้าต่าง ไม่ให้ไปกระทบผนังปูนฉาบจน\nเกิดการแตกร้าวได้อีกด้วย ส่วนการหล่อทับหลังที่ถูกวิธีนั้นควรหล่อ\nจากเสาถึงเสา และควรจะหล่อเมื่อก่ออิฐไปได้ทุก ๆ 1 ใน 3 ของ\nกำแพงนั้น ๆ ที่สำคัญไม่ควรก่ออิฐในขณะที่ทับหลังยังไม่แห้ง\nสนิท\nบันได\n\nไม่ควรทำประตูชิดกับบันได\n\nบันได.\nพักเท้าเสียก่อนนั้น จะเป็นอันตรายมากในกรณีที่คนหนึ่งกำลัง\nเดินขึ้นและอีกคนกำลังเปิดประตูสวนออกมา บานประตูก็จะ\nกระแทกคนข้างล่างให้ตกบันไดได้ ทางที่ดีควรเผื่อระยะชานพัก\nจากปลายบันไดขั้นสุดท้ายกับประตูให้กว้างพอ (อย่างน้อย\nประมาณ 1.50 เมตร)\n\nจมูกบันไดสำคัญไฉน\n\nบันไดไม่ได้เผื่อระยะสำหรับจมูกบันไดให้ส้นเท้าได้ถ่ายน้ำหนัก\nลงและยันน้ำหนักตัวให้ก้าวขึ้น จะทำให้ต้องเขย่งเท้าเดิน จน\nอาจปวดนิ้วเท้าและข้อเท้าโดยไม่รู้ตัว หรือถ้าหากก้าวเท้าโดยทิ้ง\nน้ำหนักตัวได้ไม่เต็มที่ อาจทำให้หงายหลังพลัดตกบันไดได้ระยะ\nจมูกบันไดที่พอควรนั้นก็ประมาณ 2.50 เซนติเมตร (1”) ซึ่ง\nรวมกับระยะลูกนอนจะประมาณ 27.50 เซนติเมตร\n\nการเผื่อความหนาของวัสดุปูพื้นชั้นล่างกับบันไดขั้นสุดท้าย\n\nบันไดเรียบร้อยแล้วในการเ ตรียมโครงสร้างพื้นหรือปรั บ\nTOPPING ของระดับพื้นก่อนการปูวัสดุนั้น อย่าลืมคำนึงถึงความ\nหนาของวัสดุปูพื้น ซึ่งมีระยะต่างกันแล้วแต่ชนิดของวัสดุไม่ว่าจะ\nเป็น หินอ่อน กระเบื้องโมเสก ปาร์เกต์ หรือปูพรม เพราะความ\nหนาที่ต่างกันนี้จะทำให้ระยะลูกตั้งบันไดขั้นสุดท้ายสูงหรือเตีย\nผิดปกติทำให้เราเมื่อยขาเวลาก้าวขึ้น-ลงบันได\n\nข้อดีของบ้านที่เล่นระดับโดยใช้ชานพักบันไดเป็นตัวเชื่อม\n\nกันให้เล่นระดับโดยใช้ชานพักบันไดเป็นตัวเชื่อม ทำให้ลด\nระยะทางในการเดินขึ้นและลง และไม่รู้สึกเมื่อยขาเวลาเปลี่ยน\nระดับเพราะจะมีระยะให้พักเท้ามากขึ้นและเปลี่ยนมุมมองอยู่\nเสมอเมื่อเปรียบเทียบกับการเดินขึ้นลงตลอดทั้งชั้น\n\nที่ว่างใต้ชานพักบันได\n\nสูงขึ้นอีกจะได้ที่ว่างสำหรับประโยชน์อื่น ๆ อีก เช่น ทำเป็น\nห้องน้ำหรือห้องเก็บของโดยต้องเผื่อความสูงของห้องใต้บันไดให้\nเพียงพอ\n\nขนาดลูกตั้ง-ลูกนอนสำหรับบ้านพักอาศัย\n\nขึ้น-ลง ยิ่งถ้าเป็นบ้านของคุณเอง ทั้งชีวิตคุณจะเมื่อขาโดยไม่รู้\nสาเหตุ ส่วนถ้าหากลูกนอนออกแบบไว้น้อยเกินไป ก็จะทำให้ต้อง\nเกร็งเวลาเดินจนปวดนิ้วเท้าโดยไม่รู้ตัวอีกเช่นกัน ฉะนั้นขนาด\nของลูกตั้งและลูกนอนที่พอเหมาะพอเจาะจะประมาณ 17.50\nเซนติเมตรและ 27.50 เซนติเมตร ตามลำดับ\n\nตำแหน่งของราวจับบันได\n\nในทางขึ้น เพื่อให้รั้งตัวเวลาเดินขึ้น ส่วนขาลงอยู่ฝั่งไหนก็ได้\nเพราะแค่ใช้จับ (ไม่ต้องออกแรง) และความสูงของราวจับควรจะ\nประมาณ 80-85 เซนติเมตร\n\nบันไดคอนกรีตที่เตรียมปูแผ่นไม้\n\nบันไดคอนกรีตทำให้การยึดระหว่างไม้กับคอนกรีตไม่แน่นหนา \nดังนั้นในการเทคอนกรีตเพื่อหล่อบันไดทุกครั้งจึงควรฝังพุกไม้\nบนลูกนอน ขั้นละสองตัวตลอดแนวของบันไดทุกขั้น เพื่อใช้ยึด\nแผ่นไม้ให้แน่นหนา\nห้องน้ำ\n\nการรั่วซึมของท่อน้ำเกิดจากอะไร\n\nห้องน้ำ.\nลงบนฝ้าเพดานชั้นล่าง นาน ๆ เข้าฝ้าเพดานก็จะเปื่อยหรือไม่ก็\nขึ้นราต้องถอดซ่อมกันวุ่นวาย การป้องกันแต่เนิ่น ๆ นั้นทำได้\nโดยการออกแบบให้ท่อมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว้างพอที่จะ\nระบายน้ำและมีการลาดเอียง (Slope) ที่พอเหมาะซึ่งจะประมาณ\n1 : 50 อีกทั้งต้องระวังอย่าให้มีการใช้ข้อต่อหรือส่วนหักงอของท่อ\nมากเกินไป\n\nเลือกซื้อโถส้วมอย่างไรไม่ให้ผิดพลาด\n\nและตำแหน่งต่อท่อน้ำดีต่างกัน ดังนั้นเราจึงควรกำหนดรุ่นยี่ห้อ\nของสุขภัณฑ์เสียก่อนที่จะลงมือเทพื้นคอนกรีต เพื่อจะได้เตรียม\nเว้นตำแหน่งท่อไว้ได้ทุกจุด ไม่ต้องมาคอยเจาะพื้นคอนกรีตกัน\nภายหลังซึ่งจะยุ่งยากและอาจเสี่ยงต่อการรั่วซึมของพื้นห้องน้ำ\n\nพฤติกรรมการใช้อ่างล้างหน้าที่ต่างกัน\n\nดูแข็งแรงเวลาใช้จะสังเกตเห็นว่าน้ำจะเปียกเต็มไปหมด ส่วน\nผู้หญิงมักจะใช้เวลาอยู่กับอ่างล้างหน้านานกว่าผู้ชายเนื่องจากความ\nรักสวยรักงาม อ่างล้างหน้าที่เธอเลือกจึงเป็นแบบอ่อนนุ่ม โต้ง\nมน มีขนาดเล็กกว่าหรือเป็นชนิดฝังใต้เคาน์เตอร์ แต่ทั้งนี้\nทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับรสนิยมของแต่ละบุคคลไป\n\nเหตุใดกระจกเงาในห้องน้ำจึงลอกบ่อย\n\nกระจกที่ฉาบปรอทอยู่ทำให้แผ่นปรอทลอกหลุด วิธีป้องกันก็คือ\nติดตั้งกระจกให้ขอบล่างสุดพ้นจากเคาน์เตอร์อย่างน้อยประมาณ\n10 เซนติเมตร และถ้าเป็นไปได้ในกรณีที่เป็นกระจกติดตายกับ\nผนัง ควรมีวัสดุคั่นระหว่างกระจกเงากับผนังห้องน้ำเพื่อไม่ให้\nความชื้นเข้าสู่ด้านหลังกระจกเงาได้โดยตรง\n\nระวังการรั่วซึมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างอาบน้ำกับผนัง\n\nระหว่างอ่างกับผนังจะต้องยาแนวด้วยปูนขาว หรือไม่ก็เลือก\nกระเบื้องที่เป็นตัวลบมุมมาปิดเพื่อป้องกันน้ำขังหรือซึม ลงสู่พื้น\nใต้อ่างอาบน้ำและถ้าหากมีระยะจากขอบอ่างถึงผนังมากพอสมควร\nต้องให้มีการลาดเอียงของขอบล่างหรือสามารถระบายน้ำไปลงรู\nระบายน้ำ\n\nการเลือกอุปกรณ์ประกอบ (FITTING @ ACCESSORIES) ให้เข้ากันกับสุขภัณฑ์\n\nมากมายหลายยี่ห้อหลายรุ่น การเลือกอุปกรณ์ประกอบจำพวกก๊อก\nน้ำ สายยาง ฝักบัว หรือสะดืออ่าง จำเป็นจะต้องดูขนาดของเกลียว\nหรือท่อที่จะประกอบเข้ากับสุขภัณฑ์ของเรา จึงขอแนะนำว่าให้\nเลือกอุปกรณ์เหล่านี้ไปพร้อม ๆ กับสุขภัณฑ์เลยจะดีกว่า จะได้ไม่\nมีปัญหาภายหลัง\n\nอย่าลืมแยกส่วนเปียกกับส่วนแห้งภายในห้องน้ำ\n\nเป็น 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนเปียก ประกอบด้วยที่อาบน้ำ เช่น\nอ่างอาบน้ำ (Bath Tub) หรือห้องอาบน้ำ (Shower) ฝักบัว ระดับ\nพื้นของส่วนนี้ควรจะต่ำกว่าส่วนแห้งประมาณ 10 เซนติเมตร\nหรือมีขอบกั้นน้ำ และควรมีผ้าม่านกันน้ำกระเด็นด้วย บริเวณ\nส่วนนี้จะอยู่ในสุดของห้องน้ำ ถัดออกมาจะเป็นส่วนแห้งซึ่งจะ\nประกอบไปด้วยอ่างล้างหน้า โถส้วม ที่ปัสสาวะชาย-หญิง ส่วนนี้\nจะเป็นส่วนแรกของทางเข้า เพราะส่วนนี้เป็นบริเวณที่ใช้\nประจำ จึงไม่ควรให้พื้นเปียก\n\nประตูห้องน้ำสำหรับแขกไม่ควรเป็นประตูบานเกล็ด\n\nรับแขก การทำประตูห้องน้ำเป็นบานเกล็ดอาจจะทำให้แขกของ\nท่านไม่กล้าที่จะใช้หรือใช้ได้อย่างไม่เต็มที่เพราะรู้สึกถึงความไม่\nเป็นส่วนตัวและการส่งเสียงหรือกลื่น ดังนั้น ถ้าห้องน้ำนี้สามารถ\nระบายอากาศได้ทางอื่น (หรือระบายออกภายนอกโดยตรง)\nแนะนำว่าให้เลือกใช้ประตูบานทึบจะดีเสียกว่า\n\nประตูห้องน้ำอย่าเปิดเข้าสู่ห้องครัว\n\nประตูห้องน้ำเปิดเข้าสู่ห้องครัวโดยตรงหรือใกล้กันมาก อาจทำให้\nเกิดติดไฟขณะทำครัว ไฟอาจไหม้บ้านได้ อีกอย่างคือ เทศบัญญัติ\nเกี่ยวกับการสร้างบ้านก็กำหนดไว้อย่างนั้นเช่นกัน\n\nระวังติดตั้งสายฉีดชำระผิดด้าน\n\nที่มือถนัด (ขวามือ) เสมอ เพื่อสะดวกในการใช้งาน ซึ่งหากติดผิด\nด้านกับมือที่ถนัดแล้ว จะทำให้สายยางไปไม่ถึงหรือไม่ก็ใช้งาน\nลำบาก อย่างคาดไม่ถึงทีเดียว\n\nการเตรียมพื้นที่ใต้ห้องน้ำ สำหรับติดตั้งท่อต่าง ๆ\n\nปัญหาที่ตามมาคือ หลังจากที่เราเดินท่อส้วม ท่อน้ำดี และท่อ\nน้ำทิ้ง ของสุขภัณฑ์ไปยังช่องท่อหลัก ซึ่งต้องเผื่อ Slope ให้น้ำ\nไหลในท่อนั้นจะทำให้ระยะจากท้องพื้นถึงใต้ฝ้ามีมากขึ้น เป็น\nผลให้ฝ้าเพดานชั้นล่างเตี้ยลงกว่าปกติ หรือถ้าหากเราทำ Slope\nของท่อน้ำน้อยเกินไป เพื่อให้ห้องชั้นล่างมีฝ้าเพดานสูงขึ้น ก็จะ\nเกิดปัญหาการรั่วซึมและอาจตันของท่อน้ำ เนื่องจากน้ำในท่อ\nไหลไม่สะดวก ปัญหาเหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าหากมีการออกแบบไว้\nล่วงหน้า โดยคำนึงถึงขนาดท่อ ตำแหน่ง และ Slope ของท่อ\n(ประมาณ 1 : 5) ให้สัมพันธ์กับระยะระหว่างสุขภัณฑ์กับช่องท่อ\nหลัก\n\nติดตั้งอ่างล้างหน้าบนเคาน์เตอร์ควรเว้นระยะจากขอบเท่าไหร่\n\nตรงเคาน์เตอร์สาเหตุเนื่องจากติดตั้งอ่างล้างหน้าลึกเกินไป ทำให้\nต้องก้มตัวลงมากกว่าปกติจนเมื่อยหลังหรือไม่เสื้อก็จะเปียกเพราะ\nตัวติดกับเคาน์เตอร์ที่เปียกน้ำ ระยะระหว่างขอบเคาน์เตอร์กับตัว\nอ่างล้างหน้าน่าจะประมาณ 5 เซนติเมตร\n\nจะปูกระเบื้องห้องน้ำ เริ่มจากด้านไหนถึงจะดี\n\nหากมีการออกแบบลาย (Pattern) ไว้แล้ว ก่อนปูควรจะเรียง\nกระเบื้องให้ได้ลายตามที่ต้องการเสียก่อนจึงจะลงมือปู เพื่อให้ลาย\nกระเบื้องได้เรียงต่อกันตามแบบ แต่ถ้าหากไม่ได้มีการเตรียม\nออกแบบลายไว้เป็นพิเศษ หรือว่าปูกระเบื้องลายเรียบก็ควร\nคำนึงถึงเศษของกระเบื้องแผ่นสุดท้าย โดยจะเริ่มปูจากด้านหน้า\nประตูไล่ไปให้กระเบื้องแผ่นสุดท้าย (ซึ่งอาจจะไม่เต็มแผ่น) ไป\nอยู่ใต้เคาน์เตอร์แทน แค่นี้ห้องน้ำก็จะดูเรียบร้อยขึ้น\n\nระวังพื้นรั่วซึมใต้อ่างอาบน้ำ\n\nแก้ไขจริง ๆ เพราะฉะนั้นก่อนที่จะติดตั้งอ่างอาบน้ำ เราควรจะ\nเตรียมพื้นบริเวณใต้อ่างให้ลาดเอียงสู่ท่อระบายน้ำ (สำหรับอ่าง\nอาบน้ำชนิดลอยตัว) และในกรณีที่เป็นอ่างอาบน้ำแบบติดตายให้\nทำการขัดมันพื้นปูฉาบกันซึมเสียก่อน\n\nเลือกเครื่องทำน้ำอุ่นก่อนการปูกระเบื้องห้องน้ำ\n\nซึ่งแต่ละแบบก็จะมีขนาดของท่อ ระยะของท่อ และระยะระหว่าง\nท่อน้ำเย็นกับท่อน้ำร้อนแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นหากเรามีการ\nเตรียมเครื่องทำน้ำอุ่นนี้ไว้ก่อนที่จะปูกระเบื้องบนผนังห้องน้ำ\nก็จะทำให้ห้องน้ำแลดูเรียบร้อย\n\nอย่าลืมเตรียมปลั๊กไฟสำหรับใกล้อ่างล้างหน้า\n\nเคาน์เตอร์ล้างหน้าโดยเฉพาะคุณผู้หญิง ที่เป่าผมคงขาดเสียมิได้\nเพราะต้องใช้ร่วมกับกระจกส่องหน้า การเตรียมปลั๊กไฟเอาไว้\nล่วงหน้า สำหรับตรงเคาน์เตอร์จึงไม่ใช่เรื่องที่เสียหาย แต่ที่\nสำคัญน่าจะใช้ปลั๊กชนิดกันน้ำและระบบป้องกันไฟดูด (แบบมีฝา\nปิด) จะปลอดภัยกว่า หรือยกให้สูงกว่าเคาน์เตอร์ประมาณ 30-50\nเซนติเมตร\n\nเลือกชนิดโถส้วมชักโครกพึงสังเกตระบบท่อน้ำที่ใช้\n\nTANK ซึ่งต่างกันดังนี้ ระบบ FLUSH VALUE ใช้แรงดันของน้ำใน\nท่อน้ำ มาชำระความสกปรกในโถส้วม ส่วนระบบ FLUSH TANK\nนั้น โถส้วมจะมีถังเก็บน้ำติดอยู่ด้านหลังเรียบร้อยแล้ว ทำให้เวลา\nกดปุ่มชักโครก น้ำในถังเก็บน้ำจะไหลลงมาทำความสะอาดโถส้วม\nดังนั้นหากคิดจะติดตั้งระบบ FLUSH VALUE เราจะต้องเตรียม\nแรงดันในท่อน้ำให้เพียงพอสำหรับการกดชักโครกในแต่ละครั้ง\nเสียก่อน\nห้องนอน\n\nการเลือกเตียงนอนควรคำนึงถึง\n\nห้องนอน.\nของที่นอนเอาไว้ด้วยเพราะที่นอนที่มีขายทั่วไปในท้องตลาดมี\nขนาดมาตรฐานดังนี้\nที่นอนเดี่ยว มีขนาด 0.80 x 2.00 เมตร\n 1.05 x 2.00 เมตร\n 1.20 x 2.00 เมตร\nที่นอนคู่ มีขนาด 1.50 x 2.00 เมตร (QUEEN SIZE)\n 2.00 x 2.00 เมตร (KING SIZE)\nและมีความหนา 10 ซม. , 15 ซม. และ 20 ซม.\n\nระวังไฟไหม้ในตู้เสื้อผ้า\n\nหลอดไฟพิเศษชนิดเปิดปิดเองโดยอัตโนมัติ เวลาที่เปิดปิดตู้\nเสื้อผ้านั้นต้องระวัง อย่าลืมเปิดตู้เสื้อผ้าทิ้งเอาไว้ เพราะหลอดไฟ\nจะเปิดตลอดเวลาและเสื้อผ้าในตู้นั้นเป็นเชื้อเพลิงได้อย่างดี และ\nควรหมั่นตรวจเช็กหลอดไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าภายในสม่ำเสมอ \n\nราวแขวนผ้าในตู้ไม่ควรสูงเกิน 2.00 เมตร\n\nเท่าไหร่ซึ่งปกติไม่ควรสูงเกิน 2.00 เมตร เพราะจะหยิบไม้\nแขวนเสื้อผ้าลำบากหรือไม่ก็ต้องเขย่งเท้าเวลาเอื้อมไปหยิบ\n\nอย่างวางให้ปลายเตียงหันหน้าไปทางหน้าต่าง หรือ AIRCONDITION\n\nจมูกเวลานอน ทำให้รู้สึกคัดจมูกและถ้าต่อเนื่องกันหลาย ๆ วัน ก็\nอาจทำให้เป็นหวัดได้\n\nขนาดความกว้างของห้องนอนไม่ควรน้อยกว่า 2.50 เมตร\n\nอันดับแรก คือขนาดของเตียงซึ่งปกติแล้วจะต้องกว้างประมาณ\n2.00 เมตร เพราะฉะนั้นหากห้องนอนของคุณมีความกว้างเพียง \n2.50 เมตร จะทำให้เหลือทางเดินเพียง 50 เซนติเมตร ไม่\nสะดวกในการเดินเข้าออก\n\nเตียงนอนควรตั้งลอยอิสระจากผนัง 3 ด้าน\n\nทิศทางลมแล้ว ยังไม่ควรวางเตียงให้ชิดกับผนังห้อง เพราะจะทำ\nให้เปลี่ยนผ้าปูที่นอนลำบาก และเกิดซอกมุมอับเป็นที่เก็บของ\nฝุ่นหรือสิ่งสกปรก\nห้องครัว\nห้องครัว.\nพื้นห้องครัวควรลดระดับลงประมาณ 10 เซนติเมตร\nเพื่อเวลาทำความสะอาดพื้น ล้างพื้นห้อง น้ำจะได้ไม่ไหลเข้าสู่\nห้องอื่น และที่สำคัญอีกอย่างคือ ควรให้พื้นมีความลาดเอียง\nเล็กน้อย (1 : 200) สำหรับการไหลของน้ำลงสู่ช่องระบายน้ำ\n\nกระเบื้องปูพื้นสำหรับห้องครัว\n\nน้ำมันกระเด็นลงสู่พื้น ทำให้พื้นลื่น ดังนั้น ในการเลือก\nกระเบื้องปูพื้น ควรเลือกปูให้มีการสลับกันระหว่างชนิดลื่นกับ\nชนิดหยาบ\n\nอย่าลืมใช้พัดลมดูดอากาศในห้องครัว\n\nไม่เพียงพอที่จะระบายควันจากการหุงต้มอาหาร สิ่งที่ขาดเสียมิได้\nคือ พัดลมดูดอากาศ เพื่อดูดควันและถ่ายเทอากาศภายในห้องให้\nเร็วยิ่งขึ้น และควรเลือกติดตั้ง ตำแหน่งของพัดลมดูดอากาศให้\nสามารถระบายอากาศสู่ภายนอกได้จริง ๆ ไม่ใช่ระบายออกปุ๊บก็เจอ\nกำแพงรั้ว เป็นอันว่าควันไม่ได้ไปไหน\n\nส่วนเก็บของใต้เคาน์เตอร์ ควรยกระดับจากพื้นห้องครัวปกติ\n\nเก็บจานขาม หรือพวกเครื่องปรุงต่าง ๆ จำพวก น้ำปลา น้ำมัน\nพืช ผงชูรส ขวดซอส เป็นต้น บริเวณนี้จึงเสี่ยงสำหรับความชื้น\nที่เกิดจากพื้นห้อง และที่สำคัญคือ เวลาทำความสะอาดพื้นที่มี\nการขัดถูและราดน้ำ อาจทำให้ส่วนเก็บของนี้เปียกน้ำได้ ฉะนั้น \nหากจะทำส่วนเก็บของไว้ใต้เคาน์เตอร์ควรจะยกระดับพื้นใต้\nเคาน์เตอร์นั้นให้สูงกว่าปกติประมาณ 10 เซนติเมตร\n\nตำแหน่งของตู้เย็นที่น่าเป็นห่วง\n\nที่ต้องพิจารณานอกจากลำดับขั้นตอนของการใช้งานที่เรียงจาก\nตู้เย็น อ่างล้าง แล้วจากอ่างล้าง เตา ที่เสิร์ฟอาหาร อีกสิ่งหนึ่งที่\nน่าพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ ตำแหน่งที่สะดวกแก่การเปิด และ\nหยิบของออกจากตู้เย็น ตู้เย็นที่วางไว้ติดกับผนังด้านขวามือ จะไม่\nสามารถเปิดออกได้เต็มที่ ( <90™) ทำให้ไม่สามารถดึงตะแกรงใน\nตู้เย็นออกมาได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการวางตู้เย็นชิดกับมุมห้อง อย่าง\nน้อยน่าจะมีตู้สูงคั่นอยู่ก่อน ให้สามารถเปิดประตูออกได้มากกว่า\n90 องศา\n\nควรเตรียมปลั๊กไฟ สำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้า\n\nห้องครัว เช่น หม้อหุงข้าว เตาไมโครเวฟ เครื่องปั่นอาหาร สิ่ง\nเหล่านี้ล้วนใช้บนเคาน์เตอร์ปรุงอาหารทั้งสิ้น การเตรียมปลั๊ก\nไฟฟ้าให้พร้อมจึงเป็นสิ่งจำเป็นและตำแหน่งของปลั๊กไฟฟ้านี้\nต้องอยู่สูงจากท็อปเคาน์เตอร์อย่างน้อย 20 เซนติเมตร และควร\nหลีกเลี่ยงในบริเวณที่ต้องเปียกน้ำบ่อย ๆ ด้วย เช่น บริเวณอ่าง\nล้างจาน\n\nเตรียมท่อระบายน้ำที่พื้นห้องครัวเสียก่อน\n\nความสะอาดจึงเป็นสิ่งสำคัญ ควรเตรียมท่อระบายน้ำไว้ที่พื้น\nห้องครัว เพื่อระบายน้ำที่ล้างพื้น และควรทำทางลาดเอียง\n(SLOPE) สำหรับให้น้ำไหลลงสู่ท่อระบายน้ำได้ (SLOPE ปกติ\nประมาณ 1 : 200)\n\nการทำตู้เก็บอาหารภายในห้องครัว\n\nเตรียมไว้เสมอ ไม่ว่าจะเป็นตู้เตี้ยใต้เคาน์เตอร์หรือเป็นตู้แขวนก็\nตาม ควรใช้บานตู้ที่เป็นบานเกล็ดเพื่อระบายอากาศ และกรุมุ้ง\nลวดด้านในอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันแมลงเข้าออก \n\nตู้ใต้อ่างล้างจาน\n\nจาน ซึ่งภายในตู้จะเป็นท่อน้ำดีและท่อน้ำเสียจากอ่างล้าง ส่วน\nกรองเศษอาหารจากการล้างจาน รวมทั้งใช้เก็บอุปกรณ์ทำความ\nสะอาด หรือภาชนะถังขยะการทำบานตู้เป็นบานเกล็ดจะช่วย\nระบายกลิ่นและความอับชื้นภายในและควรมีการกรุมุ้งลวดกันแมลง\nอีกชั้นด้วย\n\nตำแหน่งของเตาหุงต้ม\n\nน้ำมันจากการใช้กระทะ รวมทั้งคราบเขม่าควันต่าง ๆ ตำแหน่ง\nของเตาจึงควรอยู่ตรงส่วนที่เป็นผนังทึบและปูกระเบื้องเซรามิกต\nรงบริเวณนั้น เพื่อที่จะสามารถทำความสะอาด ล้างคราบเขม่า\nควันเหล่านี้ได้ง่ายมากกว่าบริเวณหน้าต่างที่คราบมันจะเกาะ\nติดตามมุ้งลวด หรือกระจกบานเกล็ด ซึ่งยากต่อการทำความสะอาด\nและแถมยังมีแมลงเข้ามารบกวนอีกด้วย\n\nทาสีน้ำมันบนผนังห้องครัว\n\nผนังที่เป็นเซรามิก แต่ปูกระเบื้องไม่ถึงฝ้าเพดาน ผนังส่วนที่\nเหลือ ควรจะทาสีน้ำมันแทนสีน้ำทาภายใน เนื่องจากสีน้ำมัน\nมีความคงทนกว่า และสามารถทำความสะอาดคราบเขม่า คราบ\nควันที่มาจากการหุงต้มอาหารได้ดีกว่าสีน้ำธรรมดา\n\nอย่าลืมตำแหน่งสำหรับเก็บถังแก๊ส\n\nเปิดปิดหัวแก๊สสะดวก และควรมีวาล์วต่างหากอีกชุด เพื่อความ\nปลอดภัย โดยปกติเราจะวางถังแก๊สไว้ใต้เคาน์เตอร์ ส่วนที่เป็น\nเตาหุงต้ม และอาจมีการทำบานหน้าต่างปิดเพื่อความสวยงาม ขอ\nเน้นอีกอย่างว่าหน้าต่างนี้ควรเป็นหน้าต่างบานเกล็ดสำหรับ\nระบายอากาศและสามารถตรวจสอบได้เวลาที่มีแก๊สรั่ว ส่วนพื้นที่\nวางถังแก๊ส น่าจะมีการยกระดับขึ้นประมาณ 10 เซนติเมตรเพื่อ\nกันไม่ให้ถังแก๊สเปียกน้ำจนขึ้นสนิม เวลาที่มีการทำความสะอาด\nพื้น\n\nอย่าลืมหลอดไฟใต้ตู้แขวน\n\nเปิดไฟกลางห้องแล้ว แสงสว่างจะทำให้เกิดเงาจากตัวเราไปยังตู้\nทำให้มองไม่ค่อยเห็น หรือไม่ก็ตู้แขวนที่ยื่นออกมาเป็นตัวบัง\nแสงจากกลางห้องเสียเอง เราจึงต้องใช้ไฟใต้ตู้แขวนช่วย\nระเบียง, เฉลียง\n\nระวังราวกันตกเหล็กกับทะเล\n\nระเบียง, เฉลียง.\nสนิมได้ง่ายฉะนั้นอาคารที่สร้างอยู่ริมทะเลหากมีการออกแบบราว\nกันตกโปร่งแล้วควรเลือกวัสดุอื่นที่ไม่ใช่เหล็กมาแทนจะดีกว่า\nเช่น STAINLESS 100% หรือไม้ เป็นต้น\n\nขอบปูนตรงราวกันตก\n\nคราบแล้วยังป้องกันมิให้พวกของเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือของเล่นลูกกลิ้ง\nตกลงชั้นล่างขอบปูนกันตกนี้ควรให้มีการลาดเอียงเล็กน้อยโดยจะ\nดึง SLOPE ให้เอียงเข้าด้านในของพื้นระเบียง เพื่อให้น้ำที่สาด\nเข้ามาไหลลงพื้นได้สะดวก\n\nการใช้โซ่สำหรับระบายน้ำจากระเบียงหรือกันสาด\n\nซ่อนในอาคารแล้ว อีกวิธีหนึ่งคือการระบายน้ำออกสู่ภายนอก\nโดยตรง ซึ่งทำให้น้ำไหลลงมาแรงและควบคุมไม่ได้ เป็นผลเสีย\nกับพื้นหญ้าหรือต้นไม้ข้างล่าง การใช้โซ่เป็นตัวนำทางน้ำลงมาจะ\nทำให้น้ำไหลลงสู่จุดเดียว และเสียงก็ไม่ดังอีกด้วย\n\nเวลาเทพื้นระเบียงควรเทพร้อม ๆ กับพื้นด้านใน\n\nโครงสร้างระหว่างพื้นระเบียงกับพื้นที่อยู่ภายในห้อง ถึงแม้ว่าจะ\nมีระดับต่างกันก็ตาม แต่ก็ควรเทพร้อมกันทีเดียวเพื่อให้เป็น\nโครงสร้างเดียวกัน (ไม่มีรอยต่อให้เกิดการรั่วซึมได้)\nประตู-หน้าต่าง\n\nกันสาดสำหรับประตู-หน้าต่าง\n\nประตู-หน้าต่าง.\nไม่มีกันสาดเหนือประตู-หน้าต่าง ฝนและแสงแดดซึ่งเป็นปัญหา\nใหญ่ของบ้านเราจะสาดเข้าสู่ประตู-หน้าต่างได้โดยตรง มีผลให้\nประตู-หน้าต่างเหล่านั้นบิดงอ ถ้าเป็นไม้หรือถ้าเป็นอะลูมิเนียม\nแสงแดดก็จะกัดสีวงกบและเพิ่มอุณหภูมิภายในบ้าน การออกแบบ\nเพื่อหลีกเลี่ยงนั้นทำได้โดยร่นประตูและหน้าต่างให้ลึกเข้าไปใน\nผนังประมาณ 0.60-0.80 เมตร หรือไม่ก็ยื่นกันสาด คสล.\nเหนือประตู-หน้าต่างนั้น แต่ถ้ายังอยากได้หน้าต่างเสมอกับผนัง\nอีก ก็ขอแนะนำให้เลือกเอาเฉพาะด้านของตัวบ้านที่ไม่ค่อยจะ\nได้รับแสงแดดโดยตรง เช่น ด้านทิศเหนือ เป็นต้น\n\nกระจกเจียรปรีคืออะไร\n\nทำรอบทั้ง 4 ด้าน เพื่อความสวยงามเวลาที่แสงสะท้อนที่มุมจะ\nเกิดแสงหักเหเหมือนแก้วเจียระไน ราคาของกระจกเจียรปรีนี้จะ\nแพงกว่ากระจกธรรมดา และต้องระวังขอบแตกหรือบิ่นเวลาติดตั้ง\nเนื่องจากขอบกระจกที่เจียรแล้วจะบางมาก\n\nออกแบบหน้าต่างบานเกล็ดกระจก\n\nหน้าต่างกว้างเกินไป เพราะอุปกรณ์ปรับมุมจะรับน้ำหนักกระจก\nไม่ไหว ทำให้แอ่นหรือแตกหักได้ ดังนั้นขนาดความกว้างที่\nเหมาะสมคือไม่ควรเกินกว่า 70 เซนติเมตร 2. คือ เรื่องความ\nหนาของกระจกที่จะใช้หากเป็นกระจกที่มีความหนามาก\nอุปกรณ์ปรับมุมก็จะรับน้ำหนักไม่ไหว หรือไม่ก็ยากที่หมุนเปิด\nปิด หากเป็นกระจกที่บางเกินไป ก็จะแตกง่ายเวลาหมุนปรับ\nองศา สรุปว่าควรเลือกกระจกที่มีความหนาประมาณ 1/2\nเซนติเมตร\n\nประตูที่เปิดสู่ด้านนอกอาคารต้องเปิดออกเสมอ\n\nและมีฝนสาดถึง จะต้องเป็นประตูที่เปิดออก และบานประตู\nจะต้องอยู่ต่ำกว่าระดับพื้นภายในเสมอ โดยขาวงกบจะวางอยู่บน\nพื้นภายนอก ทั้งนี้เวลาฝนตก น้ำฝนที่สาดเข้ามาก็จะไหลลงตาม\nด้านข้างประตู แต่ไม่สามารถเข้าสู่ภายในอาคารได้\n\nข้อควรระวังในการติดตั้งวงกบอะลูมิเนียม\n\nปูนเรียบร้อยแล้ว มิฉะนั้นน้ำปูนจะทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม\nทำให้เกิดเป็นคราบขุ่น ล้างไม่ออก ในกรณีที่การก่อสร้างเร่งด่วน\nต้องฉาบปูนไปพร้อม ๆ กับการติดตั้งวงกบอะลูมิเนียม หรือติดตั้ง\nวงกบก่อน ก็ควรจะกันวงกบอะลูมิเนียมไว้ไม่ให้ถูกน้ำจากปูนฉาบ\nโดยวิธีการทาเคลือบวงกบด้วยครีมหรือวาสลินก่อน\n\nประตูห้องเก็บของควรเปิดออกด้านนอก\n\nการเก็บของมากขึ้น เพราะหากประตูเปิดเข้าด้านในห้องอาจจะ\nติดอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ฝังเก็บไว้ในห้อง เช่น ไม้กวาด ลังเก็บ\nของหล่นลงมาขวางประตู จนประตูไม่สามารถจะเปิดเข้าไปได้\nนั่นเอง\n\nประตูมุ้งลวด\n\nนอกนั้นก็เพื่อป้องกันไม่ให้ยุงหรือแมลงบินเข้ามารบกวนภายใน\nบ้าน และช่องมุ้งลวดยังปล่อยให้ลมพัดผ่านได้ประมาณ 60% แต่\nอย่าลืมว่าการติดตั้งประตูมุ้งลวดต้องให้อยู่ด้านในบ้าน และประตู\nบ้านก็จะเปิดออกด้านนอกเสมอ ส่วนชนิดของประตูมุ้งลวดมีทั้ง\nแบบบานเปิดและแบบบานเลื่อน หากคิดจะติดตั้งประตูมุ้งลวด\nชนิดบานเลื่อน ก็ให้ระวังแมลงหรือยุงจะเข้ามาระหว่างตัวบาน\nเลื่อนกับบานติดตาย\n\nหน้าต่างบานเปิดควรสูงกว่าโต๊ะทำงานที่ติดหน้าต่างรวม 10 เซนติเมตร\n\nเซนติเมตร หากเราวางหน้าต่างให้ขอบล่างสูงจากพื้นเท่ากันกับ\nขอบโต๊ะหรือต่ำกว่าขอบโต๊ะก็จะเกิดปัญหา เช่น ลมจะพัดเอา\nกระดาษบนโต๊ะจนปลิวและบางทีหากขอบวงกบอยู่ต่ำกว่าขอบโต๊ะ\nเรายังไม่สามารถเอื้อมไปล็อกกลอนตัวล่างได้อีก ฉะนั้นทางที่ดีหาก\nคิดจะวางโต๊ะไว้ชิดกับหน้าต่างแล้ว ควรให้ขอบล่างสุดของหน้าต่าง\nสูงจากขอบโต๊ะทำงานประมาณ 10 เซนติเมตร\n\nการเลือกตำแหน่งของประตูห้องนอน\n\nเพียงพอสำหรับตู้เสื้อผ้าเอาไว้ด้วย คือ ระยะประมาณ 65\nเซนติเมตร ไม่ควรวางประตูให้ชิดผนัง หรือเว้นระยะจากผนัง\nเพียง 20-30 เซนติเมตร จะทำให้บริเวณนี้เป็นซอกไม่สามารถ\nวางอะไรได้ เป็นที่กักเก็บฝุ่นหรือสิ่งสกปรก ซึ่งจะทำให้ทำความ\nสะอาดลำบาก\n\nเรื่องน่าคำนึงถึงสำหรับช่องทางเข้า-ออกของลม\n\nพัดเข้าห้องและผ่านออกไปเลย แต่ถ้าเราเลื่อนช่องลมออกให้เบื้อง\nกับช่องลมเข้าลมที่พัดเข้ามาในห้องจะหมุนเวียนก่อนแล้วค่อย\nผ่านออกไป ทำให้การระบายอากาศกระจายทั่วห้องกว่าแบบแรก\nแต่ที่สำคัญที่สุดถ้าไม่มีช่องให้ลมออกก็จะไม่มีลมพัดเข้ามา\n\nปัญหาของประตูบานเลื่อนสวนกัน\n\nของความสวยงาม การเปิดช่องแสงให้แสงสว่างเข้ามาภายในห้อง\nมากขึ้น และยังเพิ่มมุมมองภายในห้องให้แลดูกว้างขึ้น แต่ก็น่าจะ\nชั่งน้ำหนักดูกับข้อเสียของมันในเรื่องของการรับลมได้ไม่เต็มที่\nคือสามารถเปิดรับลมได้เพียงด้านเดียว เรื่องของราคา (ซึ่งจะสูง\nกว่าปกติแน่นอน) เรื่องของความไม่แข็งแรง เนื่องจากน้ำหนัก\nของกระจกกดลงบนพื้นมาก เวลาเลื่อนจะไม่สะดวกเท่ากับ\nหน้าต่างบานเลื่อน และหากคิดจะติดบานมุ้งลวดเพิ่มขึ้นอีก จะ\nทำให้วงกบรวมทั้งหมดมีความหนาแน่นมากกว่าปกติ\nที่จอดรถ\n\nซื้อที่จอดรถแบบเครื่องกลสำหรับทาวน์เฮ้าส์\n\nที่จอดรถ.\nการใช้ที่จอดรถแบบเครื่องกล (ราคา 150,000) แต่พื้นเดิมไม่ได้\nเผื่อการรับน้ำหนักของรถ 2 คันกับเครื่องกลอีก 1 ชุด ท้ายสุดพื้น\nพัง รถก็จะหล่นลงมากองรวมกันเป็นคันเดียว\n\nโรงรถสำหรับบ้านเรา\n\nอิทธิพลจากตะวันตกรวมไปถึงโรงรถ ที่ทำในลักษณะปิดทึบ หา\nรู้ไม่ว่า ที่เขาทำกันในลักษณะนั้น เนื่องจากต้องป้องกันหิมะ\nและพายุแรง แต่สำหรับบ้านเราแนะนำให้ออกแบบสำหรับการ\nระบายอากาศจะดีกว่า เพราะในโรงรถจะมีทั้งไอเสียจากรถยนต์\nกลิ่นน้ำมันรวมทั้งความร้อนของเครื่องยนต์รูปแบบของโรงรถ\nน่าจะออกมาในลักษณะโปร่ง โล่ง เพียงแต่มีหลังคาเอาไว้กันแดด\nฝน เท่านั้นก็พอ\n\nความกว้างที่จอดรถ 2.40 เมตร ไม่เพียงพอ\n\nกว้าง 2.40 เมตรก็ตามแต่ ในการใช้งานจริงควรเผื่อไว้อีก 0.50\nเมตร รวมเป็น 2.90 เมตรต่อคัน เผื่อระยะให้ประตูรถเปิดได้\nและสะดวกสำหรับการทำความสะอาด เช่น เช็ดถูรอบข้างคันรถ\nหรือย้ายข้าวขงเข้า-ออกรถยนต์\n\nหันท้ายรถเข้าจอดควรระวัง\n\nควันจากท่อไอเสียรถยนต์จะทำกำแพงบ้านดำต่างหาก วิธีแก้ไข\nง่าย ๆ โดยการทาสีน้ำมันลงบนกำแพงบ้านส่วนที่เป็นที่จอดรถ\nสูงจากพื้นประมาณ 80 เซนติเมตร หรือไม่ก็ทำบล็อกต้นไม้กั้น\nระหว่างกำแพงบ้านกับที่จอดรถ (หากมีพื้นที่พอ) ต้นไม้จะได้\nช่วยกรองฝุ่นควันจากท่อไปเสียไม่ให้เข้าบ้านได้โดยตรง\n\nอย่าลืมติดตั้งก๊อกน้ำสำหรับที่จอดรถ\n\nและทำความสะอาดพื้นลานจอดรถ โดยความสูงของก๊อกน้ำควรสูง\nจากพื้นประมาณ 0.40 เมตร เพื่อให้สามารถรองถังน้ำได้ และ\nควรจะซ่อนให้พ้นทางรถจอด\n\nเครื่องดับเพลิงในที่จอดรถ\n\nโดยทั่วไปนิยมเครื่องดับเพลิงชนิดถัง ควรติดตั้งในตำแหน่งที่\nสังเกตได้ง่ายสามารถเข้าไปหยิบใช้งานได้สะดวก และหมั่นตรวจ\nเช็กเชื้อเพลิงภายในเครื่องดับเพลิงอยู่เสมอ (ตามเวลาที่ระบุบน\nถัง)\n\nเตรียมห้องเก็บเครื่องมือสำหรับที่จอดรถ\n\nซ่อม บำรุงรถยนต์เอาไว้เก็บอะไหล่รถ หรือเครื่องมือที่ใช้ทำความ\nสะอาดรถยนต์ อาจจะทำเป็นลักษณะของตู้เก็บของ ที่ใช้สอย\nเป็นชั้นๆ ก็ได้ และควรคำนึงถึงเรื่องการระบายอากาศและการ\nป้องกันฝนเอาไว้ด้วย\n\nระวังหน้าต่างบานเปิดที่ติดกับที่จอดรถ\n\nแล้วเผอิญผนังนั้นมีช่องหน้าต่างบานเปิดอยู่ หากเปิดหน้าต่าง\nออกมาในที่จอดรถก็จะทำให้ไม่สามารถเดินผ่านรอบตัวรถได้ การ\nทำความสะอาดก็ลำบาก ฉะนั้นทางที่ดีหากจำเป็นต้องมีหน้าต่าง\nอยู่ติดกับที่จอดรถแล้ว ควรเปลี่ยนจากบานเปิดให้เป็นบาน\nเลื่อนเสียจะดีกว่า\n\nไม่ควรให้โรงจอดรถอยู่ทางทิศใต้ของบ้าน\n\nการวางโรงจอดรถไว้ทางทิศใต้ของตัวบ้าน นอกจากจะเป็นตัวปิด\nกั้นทางลมไว้แล้ว ยังทำให้ลมพัดเอาฝุ่น ควัน ไอเสีย จากท่อไอ\nเสียรถยนต์ซึ่งประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซพิษ\nต่าง ๆ เข้าสู่ตัวบ้านตลอดทั้งวัน เป็นผลเสียแก่สุขภาพของผู้อยู่\nอาศัย\n\nควรทำผนังในด้านทิศตะวันตกของที่จอดรถ\n\nคลุมกันแดด บางครั้งน่าจะทำผนังในด้านทิศตะวันตกเอาไว้ด้วย\nเนื่องจากทิศตะวันตกแดดจะแรงมาก โดยเฉพาะในเวลาบ่าย การ\nก่อผนังกันแดดทางทิศตะวันตก จึงเป็นการป้องกันไม่ให้สีของ\nรถยนต์ซีดเร็วจนเกินไป หรืออีกวิธีหนึ่งคือการปลูกต้นไม้สูง\nชนิดที่สามารถให้ร่มเงาได้ หากไม่สามารถก่อผนังเพิ่มเติมในที่\nจอดรถ\n\nไม่ควรปลูกกระเบื้องเซรามิก บนพื้นโรงจอดรถ\n\nเนื่องจากกระเบื้องเซรามิกไม่ได้ผลิตมาสำหรับรับน้ำหนักมาก ๆ\nและยังมีความลื่นมันอีกต่างหาก จึงเสี่ยงต่อการหลุดล่อนได้ง่าย ใน\nกรณีที่ต้องรับน้ำหนักรถที่มีการเคลื่อนที่เข้าออกอยู่ตลอดเวลา\n\nการติดตั้งปลั๊กไฟในโรงจอดรถ\n\nต้องใช้ประกอบกับเครื่องมือซ่อมบำรุงรถยนต์ต่าง ๆ รวมทั้ง\nเครื่องมือทำความสะอาด เช่น เครื่องดูดฝุ่น ใช้สำหรับทำความ\nสะอาดพื้นรถยนต์หรือเบาะนั่ง เป็นต้น การเตรียมปลั๊กไฟไว้\nควรจะติดตั้งให้สูงกว่าพื้นไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร เผื่อการล้างพื้น\nและทางที่ดีควรจะเป็นปลั๊กไฟชนิดติดตามภายนอกอาคารและ\nกันน้ำได้ (ชนิดมีฝาปิด)\n\nการทำพื้นลาดเอียง (SLOPE) บนพื้นที่จอดรถ\n\nรถ พื้นที่จอดรถโดยทั่วไปก็มีขนาดใหญ่อยู่แล้ว การทำทาง\nระบายน้ำและพื้นลาดเอียงจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะน้ำที่ทำ\nความสะอาด หรือน้ำจากเครื่องยนต์จะขังบนพื้นอันเป็นสาเหตุ\nให้ล้อรถเสื่อมคุณภาพเร็ว แต่การทำพื้นลาดเอียงมากเกินไป ก็มี\nข้อเสียอยู่เหมือนกัน คือ จะทำให้รถไหลเวลาจอด (หากลืมดึง\nเบรกมือไว้ หรือต้องมีพุกไม้ขั้นไว้ที่ล้อรถ) ฉะนั้น SLOPE ที่\nพอเหมาะสำหรับการลาดเอียงควรจะประมาณ 1 : 200\n\nไฟกิ่งตามเสาในโรงจอดรถ\n\nเก๋ง เป็นรถที่มีความสูงมากขึ้น เช่น รถกระบะ รถตู้ หรือรถ\nขับเคลื่อน 4 ล้อ มีผลทำให้รถเหล่านี้ชนถูกไฟกิ่ง ที่ติดตามเสา\nหรือข้างผนัง เวลาถอยรถเข้าจอด ฉะนั้นในการที่จะติดตั้งไฟกิ่ง\nให้เผื่อความสูงนี้เอาไว้ด้วย เพราะไม่แน่ว่าในอนาคตคุณอาจ\nเปลี่ยนชนิดของรถที่ใช้ หรือเผื่อสำหรับรถของแขกที่มาเยี่ยมบ้าง\nก็ได้ไม่เสียหาย\nสวน\nสวน.\nคิดจะปลูกต้นไม้ไว้บนดาดฟ้า ควรคำนึงถึง? \n1. การรับน้ำหนักของโครงสร้าง ควรเตรียมโครงสร้างไว้ให้\nพอเพียงสำหรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นของสวนลอยฟ้า (ROOF\nGARDEN) ซึ่งโดยปกติแล้วอาคารธรรมดาจะเตรียมโครงสร้างไว้รับ\nน้ำหนักประมาณ 200 – 400 กิโลกรัม/ตารางเมตร แต่หากเป็น\nสวนลอยฟ้า น่าจะเตรียมไว้ประมาณ 700 – 1,500 กิโลกรัม/\nตารางเมตร\n2. ความลึกของดิน ความลึกของดินที่เพียงพอสำหรับการ\nปลูกต้นไม้ขนาดเล็กไม่ควรต่ำกว่า 40 เซนติเมตร และ 1.20\nเมตร สำหรับปลูกต้นไม้ใหญ่\n3. ทางระบายน้ำ การเตรียมดินสำหรับปลูกต้นไม้ ควร\nเตรียมทางระบายน้ำเอาไว้ด้วย \n4. น้ำสำหรับรดต้นไม้ หากเป็นดาดฟ้าบนตึกสูง ๆ การ\nเตรียมน้ำขึ้นไปรดต้นไม้ ก็จำเป็นต้องใช้เครื่อง PUMP หรือ\nTANK น้ำไว้ส่วนหนึ่งสำหรับรดต้นไม้\n5. แรงลม เนื่องจากอยู่บนตึกสูง ๆ แน่นอนว่าจะต้องมี\nลมแรงมาปะทะ ถ้าคิดจะปลูกต้นไม้ที่มีความสูงก็จำเป็นต้องทำ\nค้ำยันเอาไว้ยึดลำต้น\n6. การขนย้าย ควรวางแผนการขนย้ายให้ดี ไม่ว่าจะเป็น\nดิน ต้นไม้หรืออุปกรณ์ทำสวนต่างๆ ซึ่งหากเป็นตึกที่ไม่มีลิฟต์\nสำหรับขนย้ายข้าวของ ก็คงเป็นเรื่องใหญ่พอสมควร\n7. การดูแลรักษา ควรเตรียมการณ์ไว้สำหรับการดูแลรักษา\nสวนของคุณไม่ว่าจะเป็นการรดน้ำพรวนดิน ซึ่งต้องนึกด้วยว่าคุณ\nต้องขึ้นมาดูแลรดน้ำเป็นประจำทุกวัน หรือถ้าเป็นสวนขนาด\nใหญ่ คุณอาจจะติดสปริงเกิลสำหรับรดน้ำต้นไม้แบบอัตโนมัติ ก็\nจะช่วยทุ่นแรงได้บ้าง\nปัญหาของการปลูกต้นไม้บนตึก?\nปัญหาของการปลูกต้นไม้บนตึก?\nการเปลี่ยนแปลงลักษณะการอยู่อาศัยในเมือง ในรูปของ\nตึกสูง เช่น อพาร์ทเมนท์ หรือคอนโดมิเนียม ทำให้เราอยู่\nห่างไกลธรรมชาติมากยิ่งขึ้น วิธีหนึ่งที่เจ้าของห้องพักนิยมทำกัน\nคือ การปลูกต้นไม้ไว้ข้างตึก โดยจะเป็นลักษณะของกระบะต้นไม้\n(FOWER BED) ที่เป็นโครงสร้างของอาคารอยู่แล้ว หรือทำการต่อ\nเติมจากเดิม ซึ่งการทำกระบะต้นไม้ข้างอาคารเช่นนี้ควรคำนึงถึง\n1. ควรเตรียมน้ำสำหรับรดต้นไม้เอาไว้ หากเป็นพื้นที่ที่มี\nขนาดใหญ่ก็ควรเตรียมก๊อกน้ำเอาไว้เสียเลย จะได้ไม่ต้องต่อสายยาง\nออกมาจากห้องให้ลำบาก\n2. ต้องเตรียมทางระบายน้ำ ซึ่งหากเป็นระเบียงนอก\nอาคาร อาจจะมีการเตรียมท่อระบายน้ำไว้แล้ว ควรสังเกตให้ฝาท่อ\nระบายน้ำเป็นลักษณะกันเศษดินหรือเศษใบไม้ไว้ด้วย เพื่อจะได้\nไม่มีการอุดตัน\n3. ระวังเรื่องน้ำจากการรดต้นไม้ จะไหลบนผนังอาคาร\nเพราะน้ำที่กระเด็นออกมาจากดิน จะติดเป็นคราบอยู่บนผนัง\nอาคารภายนอกทำความสะอาดไม่ได้\n4. ความชื้นของกระบะต้นไม้ ถ้าเป็นผนังร่วมกันกับผนัง\nอาคารก็จะทำให้ผนังอาคารชื้น สีบนผนังก็จะลอกหรือไม่ก็ขึ้นรา\nควรจะแยกผนังออกจากกัน หรือไม่ก็ควรจะขัดมัน ทำระบบกัน\nซึมให้กับผนังด้านในของกระบะต้นไม้\n5. การขนย้าย และการเปลี่ยนถ่ายดิน เวลาบำรุงรักษา\nต้นไม้หากเป็นกระบะที่ยื่นออกมานอกตัวอาคารมากๆ ก็ต้องดูด้วย\nว่าสามารถจะเอื้อมมือออกไป ดูแลรักษาได้หรือเปล่า\nสนามหญ้าที่บ้านคุณมีทางระบายน้ำหรือเปล่า? \nไม่ว่าคุณจะทำสนามหญ้าหน้าบ้านเอาไว้ปลูกต้นไม้หรือ\nทำสวนแบบญี่ปุ่น สิ่งที่ลืมเสียมิได้ คือ ทางระบายน้ำ ต้อง\nเตรียมทางระบายน้ำสำหรับน้ำฝนและน้ำรดต้นไม้ เพราะถ้าหาก\nการระบายน้ำไม่ดี ดินที่ไม่ดูดซับน้ำ น้ำก็จะขังอยู่ตรงรากของ\nต้นไม้ ทำให้รากเน่า ต้นไม้ก็จะไม่เจริญงอกงาม ไม่มีดอกผลให้\nชื่นชม หรือไม่ก็อาจตายไปในที่สุด\nการปลูกต้นไม้ชิดกับตัวบ้าน? \nการปลูกต้นไม้ใหญ่ไว้ชิดกับตัวบ้าน จะต้องคำนึงถึงเรื่อง\nดังต่อไปนี้\n\nรากของต้นไม้ใหญ่จะดันโครงสร้างใต้ดินของตัวบ้านอาจทำให้โครงสร้างแตกร้าวและพังทลายได้\nต้นไม้ใหญ่อาจล้มทับตัวบ้านได้ หากอยู่ในทิศทางที่กระแสลมแรงควรเผือระยะห่างจากตัวบ้านเอาไว้สำหรับแนวต้นไม้ที่อาจล้มลงมาและควรตัดกิ่งไม้ที่แก่หรือใกล้จะหลุดร่วง เพราะอาจถูกลมพัดกิ่งไม้ใส่หน้าต่างบ้านได้\nหากต้นไม้ใหญ่ที่สมารถปีนป่ายได้ ระวังขโมย จะใช้เป็นเส้นทางโจรกรรมเข้าบ้านคุณทางระเบียงหรือหน้าต่าง\n\nหากคุณจะปลูกต้นไม้อยู่ชิดกับผนังบ้าน ให้ระวังน้ำที่รด\nน้ำต้นไม้เมื่อตกกระทบกับดินที่พื้น จะทำให้ดินกระเด็นใส่ผนัง\nบ้านภายนอกจนเปรอะเปื้อนตามขอบล่างของผนัง ฉะนั้นควร\nจะถอยระยะจากจุดที่เอาต้นไม้ลงประมาณ 0.40 เมตร และทำ\nเป็นบ่อกรวดขั้นเสียก่อน หรือหากอยู่ในช่วงก่อสร้าง ก็ควรให้ช่าง\nรับเหมา ทำขอบ คสล. เลยออกมาจากผนังบ้านราว ๆ 0.40 เมตร\nแล้วค่อยลงดินสำหรับปลูกต้นไม้\nรั้ว\nรั้ว.\nอย่าสร้างรั้วก่อนสร้างบ้าน? \nการสร้างรั้วเสียก่อนที่จะสร้างบ้าน มีข้อเสียอยู่หลาย\nประการดังนี้\n1. การขนย้ายวัสดุอุปกรณ์รวมถึงรถที่จะเข้ามาทำงานใน\nที่ดินไม่สะดวก เช่น ช่องประตู อาจจะไม่กว้างพอสำหรับรถ\nแทรกเตอร์หรือรถตักดิน วงเลี้ยวของรถที่ขอเสาเข็มอาจจะไม่พอ\nจนก่อความเสียหายให้กับรั้วบ้านได้\n2. รั้วบ้านอาจจะพังก่อน เนื่องจากโครงสร้างใต้ดินของรั้ว\nบ้านกับตัวบ้านแตกต่างกัน การตอกเสาเข็มสำหรับรั้วบ้านไม่ลึก\nเท่ากับของตัวบ้าน ดังนั้น เวลาที่ตอกเสาเข็มของตัวบ้าน ทำให้\nโครงสร้างเสาเข็มของรั้วสะเทือน หรืออาจจะพังลงมาก่อนบ้านจะ\nสร้างเสร็จก็เป็นได้\nการวางแนวรั้วหน้าบ้านกับรั้วข้างบ้าน แตกต่างกันอย่างไร? \nโดยทั่วไปรั้วข้างบ้านจะวางอยู่ในแนวกึ่งกลางระหว่าง\nที่ดินของเรากับของเพื่อนบ้าน โดยใช้แนวแบ่งเขตที่ดินเป็น\nเกณฑ์ ทำให้รั้วนั้นอยู่ในเขตเราครึ่งหนึ่งและอยู่ในเขตเพื่อน\nบ้านอีกครั้งหนึ่ง (ในกรณีนี้อาจจะแบ่งกันจ่ายค่าก่อสร้างรั้วกัน\nคนละครึ่ง) ส่วนรั้วหน้าบ้านมักจะติดกับทางสาธารณะ การวาง\nแนวรั้วต้องวางให้ขอบรั้วด้านนอกอยู่ในเขตที่ดินของเรา โดยห้าม\nไม่ให้มีส่วนใดส่วนหนึ่งปลูกสร้างล้ำเข้าไปในที่สาธารณะเด็ดขาด\nรั้วบ้านด้านในควรเดินขอบปูนโดยรอบ? \nในกรณีที่รั้วบ้านด้านในอยู่ติดกับพื้นที่ที่เป็นสนาม\nหญ้า หรือสวนการเดินขอบปูนอยู่ติดกับโครงสร้างรั้วโดยยกขอบ\nพื้นให้ถอยจากริมสนามหญ้า ประมาณ 20 เซนติเมตร เพื่อให้\nเครื่องตัดหญ้าสามารถเข้าไปถึงขอบด้านในสุดของสนาม ทำให้\nสนามหญ้าเรียบร้อยขึ้น\nรั้วที่มีความยาวมาก ๆ ควรขยายขนาดฐานรากในทุก ๆ ช่วง 6-8 เมตร? \nสำหรับรั้วบ้านที่มีความยาวมาก ๆ ความแข็งแรงขอบรั้วจะ\nน้อยลง ดังนั้น เวลาที่เตรียมโครงสร้างใต้ดินของรั้ว ควรจะ\nปรึกษาวิศวกร เพื่อสำรวจที่ดินแนวรั้วก่อน\nไม่ควรก่อกำแพงชิดกับตัวบ้าน? \nควรเว้นระยะระหว่างรั้วกำแพงกับตัวบ้าน อย่างน้อย\nประมาณ 0.80 เมตร หากน้อยกว่านี้เราจะไม่สามารถเข้าไปทำ\nความสะอาดได้ทำให้เกิดเป็นซอกมุมอับหรือสะสมสิ่งสกปรกได้\nระยะห่างของรั้วเหล็กโปร่งสำหรับบ้านที่เลี้ยงสุนัข? \nบางบ้านที่เลี้ยงสุนัข ไม่อยากให้สุนัขลอดรั้วหนีออกไป\nข้างนอกจึงควรสร้างรั้วเหล็กโปร่งให้มีแนวเหล็กถี่ขึ้นโดยเฉพาะ\nช่วงล่างของรั้ว ให้แต่ละช่วงเว้นช่องประมาณ 10 เซนติเมตร แต่\nถ้าเป็นลูกสุนัขก็ควรจะถี่กว่านี้\nประตูรั้วบ้านควรเปิดเข้าในบ้านอย่างเปิดออกถนนใหญ่? \nประตูรั้วหน้าบ้านไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ควรเปิดเข้าในบ้าน\nเสมอ อย่าเปิดออกนอกถนนใหญ่ เพราะการเปิดเข้าทำให้เกิด\nความรู้สึกเชื้อเชิญยินดีต้อนรับและที่สำคัญคือปลอดภัยกับรถบน\nถนนที่วิ่งผ่านไปผ่านมาไม่ให้มาชนประตูของบ้านเรา\nวิธีแก้รั้วบ้านที่อยู่ทาง 3 แพร่ง? \nตำแหน่งบ้านตรงทาง 3 แพร่ง มักจะเกิดอันตราย\nเพราะมีถนนสายหลักพุ่งเข้าหา หากรถที่ขับเข้ามาเกิดเผลอหรือ\nเลี่ยงไม่ทันก็อาจพุ่งเข้าชนรั้วบ้านให้เกิดความเสียหายการทำให้รั้ว\nบ้านเด่นและสะดุดตาจึงเป็นสิ่งสำคัญ การใช้สีเป็นวิธีแก้อีกอย่าง\nหนึ่ง สีที่เด่นในเวลากลางคืน จะเป็นสีขาว หรือสีเหลือง\nประตูรั้วบ้านที่ใช้รีโมต? \nหากคุณใช้ระบบรีโมตคอนโทรลกับรั้วบ้าน ให้เปิด-ปิด\nควรเตรียมไฟสำรองหรือกุญแจไขเปิดล็อกไว้ด้วย เผื่อในกรณีที่\nไฟดับ ไม่เช่นนั้นคุณและรถจะเข้าบ้านไม่ได้จนกว่าไฟฟ้าจะมา\nการต่อเติมรั้วบ้าน? \nหากมีการต่อเติมขยายความยาวของรั้วบ้าน ต้องอย่าลืมว่า\nโครงสร้างรั้วเก่ากับรั้วใหม่แตกต่างกัน รั้วเก่าการทรุดของเข็มอยู่ตัว\nแล้วส่วนรั้วใหม่แม้ว่าจะตอกเสาเข็มให้ลึกเท่ากันก็ตาม แต่ก็ยังมี\nการทรุดตัวของเข็มอยู่ ดังนั้น อย่าทำโครงสร้างเชื่อมติดกัน ควร\nแยกโครงสร้างโดยเด็ดขาด\nกำแพงหรือรั้วที่ติดถนนใหญ่และติดริมแม่น้ำ? \nเนื่องจากพื้นที่บริเวณถนนใหญ่หรือทางสาธารณะ\nมักจะมีการสัญจรของยานพาหนะค่อนข้างมาก การรับน้ำหนัก\nของผิวจราจรจึงสูงกว่าปกติ ฉะนั้นหากเรามีรั้วบ้านอยู่ติดกับถนน\nใหญ่ ต้องเพิ่มความยาวของเสาเข็มที่ตอกอีกประมาณ 1-2 เท่า\nเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับรั้วบ้าน และกันการสั่นสะเทือนจาก\nผิวจราจร ส่วนรั้วที่ติดริมแม่น้ำก็เช่นกัน ควรจะเพิ่มขนาดความ\nยาวของเสาเข็มอีกด้วย เพราะลักษณะของดินริมแม่น้ำมีความอ่อน\nตัวและยุบตัวค่อนข้างสูง อีกทั้งยังมีคลื่นที่จะมากระทบเข้ากับ\nฐานของกำแพงริมน้ำได้อีกด้วย\nควรยกขอบของบัวบนผนังกำแพงเพื่อกันความสกปรก? \nสำหรับกำแพงหรือรั้วบ้านที่มีลักษณะเป็นโครงสร้าง\nคสล. แล้วก่อผนังทึบควรมีการยกขอบปูนเป็นบัวเชิงผนังทั้ง 2\nด้านของกำแพง โดยให้สูงประมาณ 0.30-0.40 เมตร เนื่องจาก\nขอบด้านล่างมักจะสกปรกง่ายและมีความชื้นจากพื้นดินทำให้ช่วง\nล่างของผนังเก่าและสกปรกเร็วกว่าปกติ เกิดราหรือสีลอกหลุด การ\nทำบัวเชิงผนังจึงเป็นการกั้นส่วนที่สกปรกให้จำกัดอยู่แต่เพียง\nด้านล่างของผนัง และหากจะให้ดี ควรทาสีน้ำมันในช่วงล่างของ\nผนังถึงขอบบัวไว้ด้วย หรือทำทรายล้างก็เป็นแนวความคิดที่ดี\nรั้วด้านทิศใต้ควรให้มีลักษณะโปร่งรับลม? \nเนื่องจากลมประจำจะพัดจากทิศใต้ไปยังทิศเหนือ การ\nสร้างรั้วบ้านจึงต้องคำนึงถึงทิศทางลมนี้เอาไว้ด้วย การทำรั้วโปร่ง\nในด้านทิศใต้ จะเป็นการเปิดรับลมให้พัดเข้าสู่บริเวณบ้านได้\nอย่างสบาย โดยอาจจะเป็นรั้วเหล็กดัด หรือโครงเหล็กโปร่งก็ได้\nฝ้าเพดาน\n\nวางตำแหน่งโครงเคร่าฝ้าก่อนเจาะไฟดาวไลท์\n\nฝ้าเพดาน.\nตำแหน่งที่ต้องการ เช่น ไม่อยู่กึ่งกลางบ้าง หรืออยู่ติดผนัง\nจนเกินไป อันเนื่องมาจากเมื่อเจาะฝ้าเพดานไปแล้วไปเจอกับ\nโครงเคร่าภายใน อาจจะเป็นอะลูมิเนียม หรือไม้ก็ตาม ไม่\nสามารถจะเลื่อนโครงเคร่าเหล่านั้นได้ จึงจำเป็นต้องเลื่อนดวง\nโคมของไฟดาวไลท์เสียเอง ดังนั้น เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ซึ่ง\nกันและกัน เมื่อออกแบบ ตำแหน่งการวางไฟดาวไลท์แล้ว\nหลังจากนั้นจึงไปกำหนดแนวของโครงเคร่าในคราวต่อไป\n\nการตีฝ้าไม้ระแนงเพื่อโชว์\n\nราคาแพงมากโดยเฉพาะในเรื่องของความยาวของแผ่นไม้ เมื่อเรา\nต้องการจะโชว์ฝ้าในส่วนนี้ แต่ความยาวของไม้ฝ้าไม่อำนวยคือสั้น\nกว่าใน 1 ช่วงของแนวคาน จำเป็นจะต้องต่อไม้ออกไป วิธีนี้ถ้า\nเราต่อไม้ฝ้าออกไปทางด้านเดียวกันทั้งหมด เราจะสังเกตเห็น\nความไม่เรียบร้อยอย่างชัดเจน ต่อให้ช่างทำสีตรงรอยต่อเนี้ยบ\nอย่างไร ต่อไปไม่นานรอยเหล่านี้ก็จะเห็นชัดขึ้นเรื่อย ๆ หมด\nความสวยงาม ดังนั้น จึงควรต่อสลับแผ่นต่อแผ่นในด้านตรงกัน\nข้าม ก็จะพรางรอยต่อไม่ให้เห็นชัดเจนเกินไปนั่นเอง\n\nฝ้าเพดานไม้ด้านนอกบิดงอเกิดจาก\n\n\nใช้ไม้ที่มีคุณภาพไม่ค่อยดี สดเกินไป ไม่ได้ผ่านการทำให้แห้งและอบน้ำยามาก่อน\nไม่ได้เว้นร่องให้อากาศบนฝ้าเพดานระบายออกมาได้พอเพียงความร้อนจึงสะสมไว้มากไม้ฝ้าจึงบิดงอ\nโคร่งเคร่าไม้ไม่แข็งแรงหรือตีห่างจนเกินไป\n\n\nก่อนติดบังฝ้าเพดาน ทำอะไรก่อน\n\nโดยรอบผนังห้องหรือในส่วนที่เราจะติดบัวฝ้าเพดาน ต้องเป็น\nโครงเคร่าไม้ เพื่อเอาไว้สำหรับยึดติดบัวฝ้าเพดานให้แข็งแรงด้วย\nตะปูเพื่อที่จะไม่บิดงอในภายหลัง\n\nตาข่ายสีฟ้ากันหนูกันแมลง\n\nรอบบ้าน เราจะเห็นตาข่ายสีฟ้าอยู่ภายใน ไม่ทราบเหมือนกันว่า\nทำไมต้องสีฟ้า เจ้าของบ้านจึงไม่ค่อยชอบพาลจะไม่ใส่เอาเสียด้วย\nต้องค่อย ๆ บอกเหตุบอกผลจึงยอมเชื่อ แต่ถ้าจะลงทุนครั้งเดียว\nและอยู่ได้นานหลายปี แต่ราคาแพงขึ้นและมีความสวยงามก็คงต้อง\nใช้ตาข่ายกันยุงหรือมุ้งลวดในปัจจุบันที่มีสีดำ และมีความเหนียว\nต่อการกัดเจาะของพวกหนูและแมลง เป็นวัสดุที่ทำมาจากไน\nล่อนนำมาติดแทนตาข่ายสีฟ้าก็ย่อมได้ อีกทั้งเวลามองขึ้นไปตาม\nร่องฝ้าเพดานก็จะมองไม่เห็นตาข่ายอันนี้ เพราะมันกลืนกับความ\nมืดที่อยู่เหนือฝ้าเพดานนั่นเอง\n\nฝ้าในห้องน้ำต้องเป็นฝ้ากันความชื้นเท่านั้น\n\nแบบ คือ\n1. แบบธรรมดา คือใช้ได้ทั่ว ๆ ไปในบ้าน หรือในส่วนที่\nไม่ถูกความชื้นหรือน้ำหรือน้ำฝน สีของฝ้าจะออก TONE สีขาวหรือ\nสีน้ำตาล\n2. แบบกันความชื้น ทำมาเพื่อกันความชื้นโดยตรง สี\nของฝ้าจะออก TONE เขียวอ่อน ๆ สังเกตได้ง่าย ใช้สำหรับห้องน้ำ\nหรือห้องที่มีความชื้นมาก ๆ เช่น ห้องใต้ดิน คุณสมบัติจึงไม่บิด\nงอหรือโก่งได้ง่าย ถ้าไม่โดนน้ำฝนหรือฝ้าเปียกน้ำอยู่ตลอดเวลา\nสำหรับห้องน้ำเราอาจจะหลีกเลี่ยงมาเป็นฝ้าไม้ระแนง\nทาสีก็ย่อมได้แต่ควรเป็นไม้ที่ผ่านการอบแห้งมาเรียบร้อยแล้ว\n\nฝ้าปูนฉาบใต้พื้นโครงสร้างระวัง\n\nเนื่องมาจากห้องนั้น ๆ มีความสูงไม่เพียงพอหรือเป็นห้องที่ไม่\nค่อยมีความสำคัญ แต่ผลร้ายที่ตามมาก็คือ การหลุดล่อนของปูนที่\nฉาบ หล่นลงมาใส่หัวคนในบ้านอันเนื่องมาจากส่วนผสมของปูน\nฉาบไม่ดี หรือใต้พื้นโครงสร้างเดิมลื่นเป็นมันไม่เกาะกับปูนฉาบ\nหรือช่างไฟเดินสายไฟฟ้าไปตอกตะปูทำให้ปูนฉาบร้าว ดังนั้น\nทางที่ดีถ้าเรารู้ว่าจะไม่ตีฝ้าในห้องไหนก็ควรใช้ไม้แบบในการหล่อ\nให้เนี้ยบ ๆ เช่น แผ่นไม้อัดหรือแผ่นเหล็กหือถ้าเป็นบ้านเก่าก็\nแก้โดยวิธีทาสีนูน ก็จะสวยงามได้โดยไม่ต้องฉาบปูนใหม่\n\nฝ้าโค้ง แผ่นยิปซัมทำได้หรือไม่\n\nเอาไว้ก่อนนำไปติดตั้ง คือนำแผ่นฝ้ายิปซัมมาวางบนท่อระบาย\nน้ำซีเมนต์ ในด้านทางขวาง แล้วนำแผ่นยิปซัมมาซ้อนกันหลาย\nๆ แผ่นตามความต้องการที่จะใช้ ประมาณ 1 หรือ 2 วัน แผ่น\nยิปซัมก็จะดัดโค้งด้วยน้ำหนักของตัวมันเอง ถ้าเราอยากได้โค้ง\nใหญ่ก็ใช้ท่อซีเมนต์ขนาดใหญ่ ถ้าอยากได้โค้งเล็กก็ใช้ท่อซีเมนต์\nขนาดเล็ก\n\nช่องแสงบนฝ้าใช้พลาสติกดีกว่ากระจก\n\nส่องลงมามักจะกรองแสงด้วยฝ้าที่เป็นกระจกฝ้า ซึ่งมีอันตรายมาก\nถ้าเกิดกระจกแตก หล่นลงมาควรเปลี่ยนเป็นแผ่นพลาสติกอะครี\nลิกจะดีกว่าซึ่งมีความยืดหยุ่นและน้ำหนักเบา ไม่แตกและไม่เป็น\nอันตรายเมื่อหล่นลงมา อีกทั้งคุณภาพในการกรองแสงก็เทียบได้\nพอ ๆ กัน ซ้ำยังมีลวดลายให้เลือกได้มากกว่า\n\nทาน้ำยากันปลวกทุกครั้งที่โครงเคร่าเป็นไม้\n\nเนื้ออ่อนเพราะราคาถูก เหมาะแก่การทำโครงเคร่า เสียเงินใน\nครั้งแรกนิดหน่อย ซื้อน้ำยากันปลวก ดีกว่าที่จะมาเสียเงิน\nมากมายในการรื้อฝ้าทิ้งในภายหลัง หลังจากที่ปลวกได้จัดการ\nเรียบร้อยแล้วกับโครงเคร่าฝ้าเพดาน\n\nในส่วนที่จะติดตั้งแอร์แบบแขวนหรือพัดลมเพดาน\n\nโครงเคร่าฝ้าให้แข็งแรง\nเมื่อเรากำหนดตำแหน่งที่จะติดตั้งแอร์หรือพัดลมเพดาน\nหรือโคมไฟช่อใหญ่ ๆ แล้ว ควรเผื่อโครงเคร่าที่แข็งแรงในส่วน\nนั้นด้วย เผื่อเอาไว้สำหรับยึดสิ่งเหล่านั้นให้แน่นหนาไม่ให้หล่น\nลงมา โครงเคร่าที่ว่านี้อาจจะแยกอิสระจากโครงเคร่าหลักของฝ้า\nเพดานเลยก็ยิ่งดี หรือใช้วิธีฝังตะขอเหล็กไว้ก่อนในขั้นตอนการเท\nพื้นคอนกรีต\nไฟฟ้า, ประปา\n\nการเดินท่อประปาและไฟฟ้า ระหว่างอาคารเก่ากับอาคารใหม่\n\nไฟฟ้า, ประปา.\nแต่อาคารใหม่นั้นยังมีการทรุดตัวตามปกติ ดังนั้น\nการวางท่อประปาที่อยู่ใต้พื้น ควรระวังปัญหาที่จะเกิดขึ้น\nมีผลทำให้ท่อประปาแตกโดยที่เราไม่สามารถรู้ได้เลย ดังนั้น จึง\nควรเดินท่อประปาลอยหรือเดินนอกตัวบ้านเพื่อสามารถตรวจเช็ค\nได้\nการเดินสายไฟฟ้า ควรเผื่อระยะของสายไฟในช่วงรอยต่อ\nอาคารใหม่กับอาคารเก่าให้มากกว่าปกตินิดหน่อย เพื่อกันสายไฟตึง\nหรือขาดซึ่งอันตรายมาก\n\nฝังปลั๊กหรือสวิตซ์ในเสา\n\nโครงสร้างในเสาจะขาด มีผลทำให้บ้านพังได้ ขั้นตอนการสกัดจึง\nต้องระมัดระวังหรือพยายามหลีกเลี่ยงโดยการฝังกล่องปลั๊กหรือสวิตซ์\nไว้ระหว่างเหล็กเส้นในขณะเทคอนกรีตลงในเสา หรือโดยการ\nพอกเสาให้มีความหนามากขึ้นในงานตกแต่งภายใน\n\nอุปกรณ์สัญญาณเตือนไฟไหม้ ใช้กันอย่างไร\n\nอุปกรณ์สัญญาณเตือนไฟไหม้และเครื่องดับเพลิงขนาดเล็ก ชั้น\nละ 1 จุดในบ้านพักอาศัย ซึ่งอุปกรณ์ที่ว่านี้มีอยู่ 2 ลักษณะการใช้\nคือ\n1. SMOKE DETECTOR หรือเครื่องดักจับควัน เมื่อมีควัน\nไฟอันเนื่องมาจากไฟไหม้ ปริมาณของควันจำนวนหนึ่งจะทำให้\nเครื่องดักจับควันทำงานโดยการส่งเสียงเตือน\n2. HEAT DETECTOR หรือเครื่องดักจับความร้อน เมื่อมี\nควันไฟแล้วก็จะมีความร้อนและเปลวไฟตามมา เมื่อมีความร้อน\nร้อนถึงจุดหนึ่งเครื่องดักจับความร้อนก็จะทำงานด้วยการส่งเสียง\nเตือนเช่นกัน บ้านไหนจะเลือกอุปกรณ์แบบไหนตามความ\nเหมาะสมก็เลือกใช้กันเองขอเพียงแต่ว่าเมื่อติดตั้งอุปกรณ์เหล่านี้\nควรหมั่นบำรุงรักษาอย่าเพียงแค่ติดตั้งเอาไว้เพียงเป็น\nเครื่องประดับบ้านเท่านั้น!\n\nอย่าเดินสายโทรศัพท์กับสายไฟในท่อเดียวกัน\n\nช่างไฟฟ้าบางคนมักลดต้นทุนของตัวเองด้วยการเดินเอาไว้ในท่อ\nเดียวกัน และคิดว่าเจ้าของบ้านไม่รู้เรื่อง ซึ่งกว่าเจ้าของบ้านจะ\nรู้ตัวก็สายไปแล้ว หลังจากใช้โทรศัพท์เพราะจะมีเสียงรบกวนอยู่\nตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องมาจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสายไฟไป\nรบกวนการทำงานของสัญญาณโทรศัพท์ส่วนกรณีของสายอากาศ\nโทรทัศน์ที่เกิดคลื่นรบกวนก็เกิดจากกรณีนี้เช่นเดียวกัน\n\nเพิ่มอีกนิดสำหรับเต้ารับไฟฟ้า และเบรกเกอร์สำหรับห้องน้ำ\n\nเปลี่ยนมาใช้แบบ 3 รูหรือ 3 ขา ซึ่งมีสายเดินเพิ่มขึ้นมา\nสามารถป้องกันไฟฟ้ารั่วได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้กับปลั๊ก\nแบบขากลมและขาแบนได้ทั้ง 2 ชนิด\nเต้ารับในห้องน้ำและโรงรถจะต้องป้องกันไฟฟ้าชอตและ\nรั่วไว้เนื่องจากจะมีเรื่องน้ำเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยควรติดตั้งเบรกเกอร์\nตัดไฟขนาด 10 mA ไว้\n\nเปิดปิดแอร์บ่อย ๆ เครื่องจะเสียหรือไม่!?\n\nในเรื่องของการใช้งานหลายรูปแบบ การปิด-เปิด เครื่องแอร์บ่อย\nๆจึงไม่ค่อยเป็นปัญหาไม่ว่าตัวเครื่องปล่อยแอร์หรือ\nคอมเพรสเซอร์ที่ตั้งอยู่นอกตัวบ้าน เนื่องจากในการเปิดสวิตซ์\nทุกครั้งคอมเพรสเซอร์ที่จะเป็นตัวควบคุมการปล่อยน้ำยาจะไม่\nทำงานโดยทันทีโดยจะทิ้งระยะไว้ประมาณ 3นาที\nคอมเพรสเซอร์จึงจะเริ่มทำงาน ดังนั้นการเปิด-ปิดแอร์บ่อย ๆ\nจึงไม่ทำให้เครื่องแอร์เสีย\n\nข้อจำกัดของแอร์แบบแยกส่วน (SPLIT TYPE)\n\nคอมเพรสเซอร์ห่างกันมาก มีผลทำให้ท่อน้ำยาแอร์จะยาวซึ่งจะ\nทำให้ไม่เย็นจำเป็นจะต้องเสียเงินเพิ่มในส่วนของขนาดท่อ\nน้ำยาให้ใหญ่ขึ้นจากขนาดมาตรฐานเพื่อให้น้ำยาวิ่งได้สะดวก หาก\nยังไม่พอก็จำเป็นจะต้องเพิ่มขนาดของคอมเพรสเซอร์ซึ่งราคาก็\nจะสูงตามมาอีกด้วยเช่นกัน ดังนั้นสิ่งเหล่านี้จึงเป็นข้อจำกัดของ\nแอร์แบบแยกส่วน\n\nความสูงที่เหมาะสมของตำแหน่งปลั๊กและสวิตซ์ไฟ\n\nมาตรฐานเป็น 2 ระดับคือ\n1. ระดับ 30 เชนติเมตร จากพื้นห้อง ซึ่งจะเป็นระดับ\nของปลั๊กไฟที่ใช้ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าหนัก เช่น เครื่องดูดฝุ่น\nพัดลม และเพื่อเดินสายต่อไปยังเฟอร์นิเจอร์สำหรับตั้งโต๊ะ เช่น\nโทรทัศน์ วิทยุ โคมไฟตั้งโต๊ะ เป็นต้น\n2. ระดับ 110 เชนติเมตร จากพื้นห้อง เป็นความสะดวก\nในการใช้สวิตช์และปลั๊กไฟสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง เช่น ตู้\nทีวี\n\nระยะห่างจากขอบกำแพงที่เหมาะสม\n\nสวิตช์ไฟ\nโดยทั่วไปริมขอบกำแพงจะมีเสาเอ็นอยู่เสมอ ไม่ควรเจาะ\nหรือฝังกล่องปลั๊กหรือสวิตช์ไว้ในแนวนี้คือขนาดของเสาเอ็น\nประมาณ 10 เชนติเมตรดังนั้น จึงควรเจาะหรือฝังให้เลยจาก\nช่วงนี้ออกไปอาจจะประมาณ 20 เชนติเมตร หรือ 30 เชนติ\nเมตร ก็ได้\n\nดาวไลท์ (DOWN LIGHTING)\n\nมีกล่องครอบหรือเป็นกระบอกยาวยื่นออกมาสำหรับเป็นตัวบังคับ\nทิศทางของแสงให้ส่องไปยังจุดที่เราต้องการ จะส่องโดยตรงจาก\nหลอดไฟ หรือส่องให้ตกกระทบกับผนังก่อนก็ได้ อุปกรณ์ของ\nกล่องครอบส่วนใหญ่จะเป็นอลูมิเนียมมีหลายสี\nข้อดีของดาวไลท์ก็คือสามารถบังคับแสงให้ส่องตรงมายัง\nพื้นห้องให้ความสว่างเฉพาะจุดที่ต้องการ หรือแก้ไขจุดที่บกพร่อง\nของห้อง โดยการพรางมุมนั้น ๆ ให้กลืนหายไปกับความมืด อีกทั้ง\nยังทำให้บรรยากาศภายในห้องเกิดความสวยงามบังคับความเข้ม\nของแสงได้ตามความต้องการ ดาวไลท์ไม่เหมาะกับห้องที่ต้องใช้\nแสงสว่างมาก ๆ ในการทำงาน เช่น ห้องครัว หรือห้องเก็บของ\n\nหลอดไฟที่ใช้กับดาวไลท์\n\nเหมาะสม\n1. หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดที่มีไส้ เป็นแบบขั้วหลอด\nเกลียวและหลอดเขียว จะให้แสงที่เป็นสีเหลือง และมีความร้อน\nมาก\n2. DAY LIGHT เป็นหลอดแก้วสีฟ้าเข้ม ให้แสงนวลตา\nคล้าย ๆ กับแสงจันทร์เหมาะสำหรับใช้อ่านหนังสือ\n3. หลอดฮาโลเจน เป็นหลอดที่ให้แสงออกมาคล้ายกับ\nหลอดไฟธรรมดา แต่ความร้อนจะน้อยกว่ามาก และโทนสีที่\nอบอุ่นและนุ่มนวลกว่า สมารถใช้ร่วมกับ DIMMER เพื่อปรับความ\nเข้มของแสงได้ด้วย\n4. หลอดประหยัดไฟ คล้ายกับหลอดนีออนทั่วไปที่ย่อ\nขนาดลงมาให้เล็ก แต่ประสิทธิภาพของแสงและความสว่างจะ\nใกล้เคียงกัน และประหยัดไฟฟ้าเป็นอย่างมากเมือเปิดเป็น\nเวลานาน ๆ\nหลังคา\n\nอลูมิเนียมฟอยด์กันความร้อน\n\nหลังคา.\nความร้อนมีขายเป็นม้วน ๆ นำมาปูบนโครงหลังคาบ้าน ก่อนที่\nจะมุงกระเบื้องทับลงไปอีก อะลูมิเนียมฟอยด์นี้มีความเหนียวไม่\nขาดง่าย ๆ เมื่อเรามุงไปแล้วจะช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้\nส่วนหนึ่ง ทำให้ภายในบ้านเย็นสบาย\n\nห้องใต้หลังคาไม่ใช่ห้องอบความร้อน\n\nบรรยากาศของความเป็นบ้านอันเนื่องมาจากความลาดเอียงของ\nหลังคานั่นเองเหมาะสำหรับเป็นห้องนอนเล่น ห้องอ่านหนังสือ \nความที่ใกล้กับหลังคานี่เองที่ทำให้ได้รับแสงแดที่ร้อนแรงตลอด\nทั้งวันห้องจะอบ ถึงแม้จะแก้ไขโดยการติดแอร์ก็กลับจะสิ้นเปลือง\nค่าไฟฟ้าโดยใช่เหตุ ดังนั้นสิ่งแรกจึงควรเปลี่ยนสีของหลังคาให้\nเป็นสีอ่อนจะได้ไม่ดูดความร้อนและใต้หลังคาปูแผ่นฟอยด์ (Foil)\nกันความร้อนของตราช้างอีกชั้นหนึ่งสำหรับฝ้าเพดานให้ตีห่างจาก\nแนวกระเบื้องลงมาประมาณ 0.30 เมตร เพื่อเป็นช่องระบาย\nความร้อน ถ้าเป็นฝ้ายิปซัมให้ใช้แบบมีฟอยด์ติดกับยิปซัม ถ้า\nเป็นฝ้าไม้ควรเป็นไม้ที่อบแห้งสนิทแล้วจากร้าน ผนังโดยรอบถ้า\nก่ออิฐแบบ 2 ชั้นได้ก็จะดีและที่สำคัญที่สุดคือ ต้องมีช่องระบาย\nอากาศติดพัดลมดูดอากาศเพื่อไล่ความร้อนออกไป พื้นไม่ควรปูพรม\nเพราะความร้อนจะทำให้พรมเสื่อมคุณภาพ มีกลิ่น ควรเป็น\nพื้นที่ให้ความเย็น เช่น กระเบื้องเซรามิก โดยการปูทับพื้นด้วย\nกาวซีเมนต์\n\nช่องแสงบนหลังคา (SKY LIGHT)\n\nเพื่อให้แสงแดดส่องผ่านลงมา เพื่อนำความอบอุ่นเข้ามาในบ้าน \nสำหรับบ้านเราความร้อนแรงของแสดแดดนั้นมีมาก ถ้าส่องผ่าน\nSKY LIGHT ลงมาโดยตรง (DIRECT) จะทำให้เพิ่มความร้อน\nภายในบ้านเข้าไปอีก ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยง SKY LIGHT ควรทำ\nแบบให้แสงผ่านตกกระทบ (INDIRECT) กับส่วนอื่นแล้วจึงสะท้อน\nลงมา วิธีนี้จะดีกว่าจะทำให้ความร้อนสูญหายไปบางส่วน ช่วยให้\nได้แสงที่นุ่มนวลและไม่ร้อน หรือถ้าเป็นห้องกระจกใสทั้งผนัง\nควรหันผนังหรือห้องไปทางด้านทิศเหนือจะดีกว่า\n\nไม้ปิดลอนมีไว้ทำไม\n\nแบบสำเร็จรูปเป็นแผ่นเหล็กแถมยังเจาะรูเล็ก ๆ ไว้สำหรับระยาย\nอากาศได้ด้วย อีกทั้งยังมีขนาดบางสามารถซ่อนไว้หลังเชิงชายได้\nอย่างสบาย ซึ่งผิดกับไม้ปิดลอนกระเบื้องสมัยก่อน ที่จะต้องฉลุ\nลายโค้งตามแบบของกระเบื้องมุงหลังคาและต้องวางไว้ด้านนอก\nของเชิงชาย แต่คุณสมบัติของทั้ง 2 ชนิด ก็คือ สำหรับปิดกั้นไว้\nไม่ให้นกหนูแมลงมุดเข้าไปทำรังในหลังคาหรือบนฝ้าเพดาน\n\nปูนพอกสันหลังคาเดี๋ยวนี้เขาไม่ใช้แล้ว\n\nสำเร็จรูปวางต่อกันเป็นชิ้น ๆ สะดวกรวดเร็ว มีทั้งแบบครอบมุม\nและปีกนก สวนแบบเดิมที่ใช้ปูนพอกนั้น มักจะมีปัญหาเกี่ยว\nกันปูนร้าวและน้ำซึมเข้าไปหรือถ้ากระเบื้องแผนบนสุดที่ติดกับ\nครอบปูนแตกก็จะเปลี่ยนแผ่นใหม่ไม่ได้ จนกว่าจะทุบครอบปูน\nออกเสียก่อน\n\nทำไมต้องตะเฆ่ราง ทำไมต้องตะเฆ่สัน\n\nปัญหาที่มักเกิดกับตะเฆ่รางก็คือ การรั่ว อันเนื่องมากจากตะเฆ่ปิด\nหรือรางน้ำในตะเฆ่บิดหรืออุดตัน หรือรางน้ำเป็นสนิมและมี\nขนาดเล็กเกินไป\nตะเฆ่สันคือ สันของหลังคา ที่เป็นสันขึ้นมา มักจะมี\nกระเบื้องครอบมุมทำให้ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องน้ำรั่ว ตะเฆ่สันที่ดี\nจะต้องเป็นสันตรงไม่บิดหรือโค้งตกท้องช้าง ถ้าไม่เป็นเช่นนั้น\nแสดงว่าโครงหลังคาบ้านคุณกำลังมีปัญหา อาจจะหักพังลงมาได้ให้\nรีบแก้ไขโดยด่วน\n\nลงทุนแพงหน่อยแต่อยู่ได้หลาย ๆ ปี รางน้ำตะเฆ่ราง\n\nของตะเฆ่รางเป็นแบบสเตนเลส ซึ่งมีราคาแพงกว่าอะลูมิเนียม\nและสังกะสีชุบหลายเท่านัก แต่ความแข็งแกร่งและทนทานไม่\nเป็นสนิมตลอดกาลนั้นเป็นสิ่งดีเพราะมักจะทำให้หลังคาบ้านไม่\nรั่ว ฝ้าไม่บวม และสิ่งที่เสียหายจะตามมาอีกมากมาย จึงเชื่อได้ว่า\nการลงทุนในสิ่งที่เห็นว่ามีประโยชน์มาก ๆ ในตอนต้น บั้นปลาย\nก็จะสบายไปจนตาย\n\nกระเบื้องรับจานดาวเทียม\n\nสำหรับชาวบ้านโดยทั่วไป สามารถหาซื้อกันได้เหมือนของเล่น\nแต่ปัญหาจะเกิดหลังจากจะนำมาติดตั้ง ยิ่งถ้าหลังคาเป็นแบบมุง\nกระเบื้องหลังหลังแล้วแทบจะหมดสิทธิ์ในการเลือกตั้ง แต่ยังดีที่\nตอนนี้มีคนพยายามคิดกระเบื้องมุงหลังคาแบบพิเศษสามารถทำ\nเป็นกระเบื้องขา 3 ขา ยื่นขึ้นมารับขาตั้งจานดาวเทียมอีกทั้งยัง\nสามารถปรับมุขของจานดาวเทียมได้อีกด้วย หลังคาที่จะติดตั้งได้\nนี้ไม่ค่อยมีความชันของหลังคาเกิน 45™ และควรติดตั้งในแนวของ\nจันทันเพราะจะรับน้ำหนักจานดาวเทียมได้ดี และไม่ควรติดตั้ง\nในบริเวณที่อยู่ใกล้ชายคาโดยรอบจนเกินไป ควรห่างขึ้นมาสัก\nประมาณ 1.50 เซนติเมตร เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว 1 ใน 3\nขาของกระเบื้องที่เป็นฐานจะมรฐานหนึ่งที่ออกแบบไว้เป็นรู\nสำหรับสอดใส่สายอากาศลงไป โดยที่น้ำไม่สามารถจะซึมผ่านรูนี้\nเข้าไปได้\nเรื่องอื่น ๆ\n\nสายล่อฟ้า!?\n\nเรื่องอื่น ๆ.\nเพื่อความปลอดภัยเพราะไม่เช่นนั้นสายอากาศหรือจานดาวเทียม\nที่มีอยู่บนหลังคำจะเป็นตัวรับฟ้าผ่าแทนหลังจากนั้น\nเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหลายภายในบ้านก็จะถึงคราวเปลี่ยนใหม่ก่อน\nถึงเวลาอันสมควรอย่างแน่นอน\n\nถังเก็บน้ำของคู่บ้านที่ขาดไม่ได้ในยุคนี้\n\n1. ถังเก็บน้ำสเตนเลส จัดเป็นรูปทรงกระบอก มีหลาย\nขนาดจูได้ตั้งแต่ 750 ลิตร จนถึง 1,100 ลิตร มีคุณสมบัติไม่\nเป็นสนิมและมีอายุการใช้งานก็ยาวนาน แถมยังไม่เกิดตะไคร่\nภายในถังอีกด้วย ถึงแม้จะขังน้ำเอาไว้นาน ๆ ถังก็จะไม่สึกกร่อน\nด้านบนตัวถังจะมีลูกลอยสามารถบังคับให้น้ำที่ไหลเข้าหยุดได้โดย\nอัตโนมัติเมื่อได้ระดับน้ำที่ต้องการ\n2. ถังเก็บน้ำไฟเบอร์กลาส เป็นแบบเสริมแรงโดยการนำ\nไยแก้ว (Fiber Glass) ไปเสริมแรงกับพลาสติกที่ทำให้แข็งแรง\nยิ่งขึ้น สามารถรับแรงอัดได้เป็นอย่างดีอีกทั้งน้ำที่เก็บไว้ในถังก็\nสะอาดปราศจากสารพิษและไม่ต้องเป็นห่วงเรื่องของสนิมเลย\nรูปทรงนั้นมีหลายแบบ เช่น ทรงกระบอก ทรงแอปเปิ้ล ทรง\nกลม ส่วนของขนาดความจุนั้นมีตั้งแต่ 500 ลิตรไปจนถึง\n4,000 ลิตร ถังน้ำชนิดนี้สามารถใช้ฝังดินได้ด้วย ซึ่งจะสะดวก\nกว่าแบบเก่ามากที่ต้องมาหล่อทำเป็นถังคอนกรีตใต้ดิน ด้านบน\nตัวถังจะมีลูกลอยเช่นเดียวกันกับแบบถังน้ำสเตนเลส\n3. ถังเก็บน้ำสังกะสี ทำมาจากเหล็กอาบสังกะสี รูปทรง\nสี่เหลี่ยมจัตุรัสจุน้ำได้ 500 ลิตร ตัวถังมีรูให้น้ำเข้าและน้ำออก\nบริเวณก้นถังมีความคงทนและแข็งแรงมาก ขอบถังโดยรอบจะถูก\nเม้มริมด้วยน๊อตเป็นอย่างดี\n\nจะปูพรมต้องติดบัวพื้นก่อนหรือหลัง\n\nเป็นวัสดุปูพื้นชื้นสุดท้ายที่จะปู เนื่องจากมันจะเลอะได้ง่ายและ\nดักเก็บฝุ่น ถ้างานในส่วนอื่น ๆ ของบ้านยังไม่เสร็จ เช่น งานขัด\nพื้นไม้ปาร์เกต์หรืองานทำสีบ้านก็ไม่ควรที่จะปูพรมที่พื้น จริง ๆ\nแล้วขั้นตอนในการปูพรมนั้นง่ายมาก ใช้เวลาไม่นานนักก็ปูเสร็จ\nและสามารถเข้าไปอยู่ไปใช้ได้เลยทันทีจึงไม่ใช่เรื่องยากอะไร ที่\nเราจะติดตั้งบัวพื้นและมาสีให้เสร็จเสียก่อนที่จะปูพรม\n\nวิธีจบบัวพื้น (บัวเชิงผนัง)\n\nสวยงามควรตัดบัวเป็นแนวเฉียง แล้วหักมุมให้ด้านสกัดหันลงสู่\nพื้น เพียงเท่านี้ก็จะได้ตัวจบของบัวพื้นได้อย่างสวยงาม\n\nคุณลืมค่าใช้จ่ายที่ต้องให้กับหน่วยราชการหรือเปล่า\n\nโอนที่ดิน ค่าขอเลขที่บ้าน ค่าตั้งมิเตอร์ไฟ และมิเตอร์น้ำใหม่\nค่าย้ายเสาไฟ กรณีที่มันตั้งขวางทางเข้า-ออก และอื่น ๆ อีก\nมากมายที่จะต้องเกี่ยวข้องกับทางราชการ\n\nค่าแบบของสถาปนิกและค่าพิมพ์เขียว\n\nรวมค่าออกแบบของสถาปนิกลงไปด้วย หรือค่าพิมพ์เขียวแบบที่\nเจ้าของบ้านมักขอจากสถาปนิกอยู่บ่อย ๆ นอกเหนือจากที่\nสถาปนิกจะต้องให้กับเจ้าของบ้านอยู่แล้วประมาณ 7-8 ชุด\n\nค่าน้ำค่าไฟของเรือนพักคนงาน\n\nจำเป็นจะต้องใช้ไฟใช้น้ำเป็นจำนวนมาก เจ้าของบ้านควรคุยกับ\nผู้รับเหมามาให้ชัดเจนเสียก่อนว่าใครจะเป็นคนออกเงินในส่วน\nนี้ เพราะผู้รับเหมาบางรายชอบพาคนงานหนีไปก่อนที่งาน\nก่อสร้างจะเสร็จ\n\nค่าไม้แบบ\n\nเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนนี้ ผู้รับเหมามักจะคิดเพิ่มจากในสัญญา\nเจ้าของบ้านโปรดระวังให้ดี\n\nเดินสายไฟลอยกับเดินสายในผนังต่างกันอย่างไร\n\nเดินสายไฟแบบไหน เพราะราคาของเดินในผนังจะแพงกว่าเป็น\nเท่าตัว หรือจะมาตัดสินใจตอนฉาบปูนไปแล้ว แล้วจะมานั่งสกัด\nผนังกันใหม่ย่อมจะเสียเวลาและยุ่งยากเป็นทวีคูณและผลที่\nตามมาก็คือ รอยฉาบผนังใหม่บนรอยสกัดกับผนังที่ฉาบไปแล้วไม่\nมีวันที่จะกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันไปได้อย่างแน่นอน\n\nมุ้งลวด เหล็กดัด รางน้ำ\n\nปฏิเสธไม่ได้ถ้าไม่ให้มี ดูจะเป็นส่วนหนึ่งสำหรับบ้านเมืองร้อน\nที่ยุงชุม พอ ๆ กับขโมยที่เต็มบ้านเต็มเมือง ดังนั้นจึงควรเจียด\nเงินส่วนหนึ่งหรือเตรียมเงินเอาไว้แต่เนิ่น ๆ สำหรับงานในส่วน\nนี้ด้วยก็แล้วกัน\n\nท่อน้ำมีกี่แบบ (P.V.C)\n\nลักษณะของการใช้งาน คือ\nสีเทา เป็นท่อที่มีความแข็งแรงน้อยที่สุด บางที่สุด\nเหมาะที่จะใช้กับงานที่มีแรงดันในท่อไม่มาก เช่น นำไปใช้\nเป็นท่อน้ำทิ้งหรือท่ออากาศ\nสีฟ้า เป็นท่อที่มีความแข็งแรงเพิ่มมาอีกระดับหนึ่ง และ\nสามารถที่จะใช้กับงานที่มีแรงดันในท่อมากขึ้น เช่น ท่อน้ำที่มี\nปั๊มน้ำเป็นแรงขันดัน\nสีเหลือง เป็นท่อที่มีความแข็งแรงมากที่สุด ใช้สำหรับ\nงานร้อยสายต่าง ๆ เช่น สายไฟ สายโทรศัพท์ สายทีวี หรือจะฝัง\nในกำแพงหรือในส่วนของโครงสร้างที่เรามองไม่เห็นหรือเปลี่ยน\nได้ยากลำบาก\nข้อคิดที่สำคัญก่อนลงมือต่อเติมบ้าน\nข้อคิดที่สำคัญก่อนลงมือต่อเติมบ้าน.\nบ้านเหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ที่จะต้องเติบโตและแก่เฒ่า\nชราไป ดังนั้น การต่อเติมบ้านเป็นเรื่องธรรมดาที่จะเกิดขึ้นได้ มี\nข้อคิดที่น่าสนใจว่าเมื่อลงมือต่อเติมบ้านจะทำอย่างไร\n- ถามตัวเองก่อนว่ามีเงินหรือเปล่า หากมีงบประมาณที่\nแน่นอน จงวางแผนที่จะใช้เงินนั้นเพียง 70% ของเงินที่มี\nเพราะการต่อเติมบ้าน อาจพบกับปัญหาการบานปลายได้ง่ายกว่า\nการสร้างบ้านใหม่\n- ตรวจเช็คว่าการต่อเติมนั้นผิดกฎหมายหรือไม่ และหาก\nจำเป็นต้องขออนุญาตต่อทางราชการ ก็ดำเนินการเสีย\n- ระวังปัญหาโครงสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อม\nโครงสร้างเก่ากับโครงสร้างใหม่ เพราะอาคารใหม่กับอาคารเก่าจะ\nทรุดตัวไม่เท่ากันแน่นอนเกิด “อาคารวิบัติ” ได้ หรือท่อแตก\nสายไฟขาด อันเนื่องจากการทรุดตัวไม่เท่ากัน\n- ตรวจเช็คประปา – ไฟฟ้า สำหรับส่วนที่ต่อเติมว่าจะเอา\nจากไหนมาใช้ และอย่าต่อโดยไม่รู้เรื่อง เช่นดึงสายไฟเล็กๆ จาก\nบ้านเก่ามาเข้าบ้านใหม่ทั้งหลัง สายไฟอาจช๊อตและไฟไหม้...ทั้ง\nบ้านเก่าบ้านใหม่..หายหมด\nอย่าสุ่มสี่ สุ่มห้า เปลี่ยนพื้นสำเร็จ กับ พื้นหล่อกับที่...พัง\nแน่นอน ?\nเป็นเรื่องที่น่าเศร้าไม่น้อยเลย ว่าผู้รับเหมาบ้านเราหลายคน\nทำให้เกิดอาคารวิบัติโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลง\nแบบวิศวกรรมโครงสร้างของพื้นจากพื้นหล่อกับที่ธรรมดา ไปเป็น\nพื้นสำเร็จเพื่อการทำงานที่ง่ายกว่า...และบางทีก็เปลี่ยนจากพื้น\nสำเร็จ ไปเป็นพื้นหล่อกับที่ ยามที่หาพื้นสำเร็จตามแบบไม่ได้\nโดยมักจะบอกกับเจ้าของอาคารว่า..”เหมือนกัน”\nธรรมชาติของพื้นทั้งสองระบบนี้แตกต่างกันมาก และทำให้\nอาคารของท่านพังลงมาได้ง่ายๆ...หากลองวิเคราะห์ขั้นพื้นฐานของ\nการรับแรงในคานดูจะเห็นได้ถึงความแตกต่างอย่างเด่นชัด\nพื้นสำเร็จเป็นการวางแผ่นพื้นลงบนคานสองด้านคือหัวและ\nท้าย สมมุติว่าพื้นทั้งผืนขนาด 6 x 6 เมตร รวมเป็นพื้นที่ 36 ตร.\nม. ต้องการให้รับน้ำหนักได้ ตร.ม.ละ 200 กก. ทำให้จะต้องรับ\nน้ำหนักได้ = 36 x 200 = 7,200 กก. และน้ำหนัก 7,200 กก. นั้น\nจะถ่ายลงบนคานหัวท้ายสองข้างคานหัวท้ายจะแบ่งน้ำหนักกัน\nรับตัวละ = 7,200/2 =3,600 กก. โดยที่คานด้านข้างอีกสองตัว\nอาจจะไม่ได้รับแรงกดอะไรเลย ทำหน้าที่เป็นตัวยึดเท่านั้น...เมื่อ\nเปลี่ยนพื้นสำเร็จเป็นพื้นหล่อกับที่ การถ่ายน้ำหนักจะถ่ายลงยัง\nคานทั้ง 4 ตัว (ด้าน) ทำให้คานแต่ละตัวต้องรับน้ำหนัก =\n7,200/4 = 1,800 กก. ค้านด้านข้างทั้งสองที่ออกแบบไม่ให้รับ\nน้ำหนักอะไรเลยก็ต้องรับน้ำหนัก 1,800 กก. ทำให้คานนั้นหักได้ \nโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้ามีพื้นต่อเนื่องทางด้านข้างอีก คานที่ไม่ได้\nออกแบบมาให้รับน้ำหนักอาจจะต้องรับน้ำหนัก 3,600 กก ที่\nเดียว ส่วนคานด้านหัวท้ายออกแบบมาให้รับน้ำหนัก 3,600 กก\nกลับมีน้ำหนักลงเพียง 1,800 กก ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ\nต่อเนื่องได้\nทำนองเดียวกัน หากเปลี่ยนพื้นหล่อกับที่ธรรมดามาเป็น\nพื้นสำเร็จ คานที่ออกแบบหัวท้ายรับเฉลี่ย 4 ส่วน ต้องมารับเฉลี่ย\nเพียง 2 ส่วน ก็จะรับน้ำหนักมากไปและจะเกิดการวิบัติได้\n\nเสาเข็มมีกี่อย่าง แล้วจะเลือกใช้อย่างไร ?\n\nเสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะ (ส่วนเสาเข็มพิเศษอื่นๆ เช่น Micro\nPile นั้น หากไม่ใช่วิศวกรก็ไม่น่าจะไปสนใจ) ...เสาเข็มตอกและ\nเสาเข็มเจาะเองก็ยังสามารถแยกออกได้เป็นอย่างละอีก 2 ประเภท\nซึ่งโดยสรุปรวมวิธีการทำงาน และจุดดีจุดด้อยน่าจะสรุปพอเป็น\nสังเขปได้ดังต่อไปนี้\n1. เสาเข็มตอกทั่วไป จะมีหน้าตาต่างๆ กัน บางทีก็เป็นสี่เหลี่ยม\nบางทีก็เป็นหกเหลี่ยม บางทีก็เป็นรูปตัวไอ ซึ่งทุกอย่างจะมีหน้า\nตัดตันทั้งต้นเวลาตอกก็ตอกไปง่ายๆ อย่างที่เราเห็นกันโดยทั่วไป\n2. เสาเข็มกลมกลวง เป็นเสาเข็มที่สามารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็ม\nแบบแรกเพราะสามารถทำให้โตกว่าได้ ผลิตโดยการปั่นหมุน\nคอนกรีตให้เสาเข็มออกมากลมและกลวง เวลาตอกส่วนใหญ่จะขุด\nเป็นหลุมก่อนแล้วกดเสาเข็มลงไปพอถึงระดับที่ต้องการจึงจะเริ่ม\nตอก ทำให้มีส่วนของเสาเข็มไปแทนที่ดินน้อยลง (ดินถูกขุด\nออกมาบางส่วนแล้ว) อาคารข้างเคียงเดือดร้อนน้อยลงจากการ\nเคลื่อนตัวของดิน (แต่ความดัง ฝุ่นละออง และความสะเทือนยังคง\nอยู่\n3. เสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วน\nใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร วิธีการคือเจาะดินลงไป (แล้วแต่\nระดับชั้นทราย) รับน้ำหนักต่อต้นได้ไม่เกิน 120 ตัน วิธีการคือ\nเจาะดินลงไป (แบบแห้งๆ) แล้วก็หย่อนเหล็กเทคอนกรีตลงไปใน\nหลุม...ราคาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่ามาก \nทั้งเรื่องการเคลื่อนตัวของดิน ความสั่นสะเทือน ฝุ่นละออง จึง\nเป็นที่นิยมใช้ในที่ที่มีคนอยู่หนาแน่น\n4. เสาเข็มเจาะแบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุด\nดินจะขุดลึกๆ แล้วใส่สารเคมีลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะ ทำ\nหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดินและดันดินไม่ให้พังทลายลงเวลา\nเจาะลึกๆ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกกว่า 70 เมตร) รับน้ำหนักได้มาก\nและเกิดมลภาวะน้อย ราคาแพงส่วนการเลือกว่าจะใช้แบบไหนดี\nนั้น ต้องตั้งข้อสังเกตและปัญหาก่อนแล้วเปรียบเทียบความ\nจำเป็น \n– ความเป็นไปได้ของแต่ละระบบในแต่ละงานโดยยึดถือ\nข้อหลักประจำใจในการพิจารณาดังนี้\nในการเลือกระบบเสาเข็มนี้ ต้องขอร้องให้วิศวกรออกแบบเสาเข็ม\nและฐานรากหลายๆ แบบดู (อย่าเกิน 3 แบบ) ต้องวิเคราะห์รวม\n(โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องราคาและเวลา) ของเสาเข็มและฐานราก จึง\nจะใช้เป็นข้อยุติได้ (หลีกเลี่ยงเสาเข็มราคาถูกทำเร็ว แต่ทำให้ฐาน\nรากราคาแพงและช้า ทำให้ทั้งโครงการล่าช้าไปหมด)\n\nเหล็กข้ออ้อย เขาวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกันตรงไหน ?\n\nอย่าพยายามวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กข้ออ้อยเป็นอันขาด (บาง\nคนวัดจากข้อถึงผิวบางคนวัดจากผิวถึงผิว และข้อถึงข้อเอามาเฉลี่ย\nเป็นต้น)...ตามมาตรฐาน ASTM บอกว่าห้ามวัดเหล็กข้ออ้อย ใช้การ\nชั่งน้ำหนักและทดสอบในห้องปฏิบัติการเท่านั้น\n\nถนนทรุด พื้นแตก คานหัก ท่อแตก ฯลฯ เกิดจากอะไร ?\n\nเกิดจากการต่อเชื่อมโครงสร้างที่มีเข็มยาวไม่เท่ากัน หรือบางส่วน\nไม่มีเสาเข็มเลย เช่น ถนน หรือพื้น (บางส่วน) หรือคาน ที่ส่วน\nใหญ่ใช้บริเวณรอบนอกอาคารตอกเสาเข็มขนาดเล็กนำไปเชื่อมต่อ\nกับอาคารใหญ่ที่ใช้เสาเข็มขนาดใหญ่การทรุดตัวไม่เท่ากัน เกิด\nการฉีกขาด หักเสียหาย\n\"ปูนเสือ ปูนช้าง ใช้ไม่ดีอาจโดน ช้างเหยียบ...เสือคาบไปแด\n...นะครับ!\"\nคนทั่วไปส่วนใหญ่ไม่ค่อยสนใจว่าปูนซีเมนต์ทั่วไปนั้นมี 2 ชนิด\nชนิดแรกเรียกว่าปูน Portland Cement (เช่นตราช้าง ตรา\nพญานาค ตราดอกจิก) ซึ่งใช้ทำโครงสร้างมีกำลังอัดสูงเข้มแข็งกว่า\nปูนแบบที่สอง หรือที่เรียกว่าปูน Silica Cement (เช่น ตราเสือ\nตรางูเห่า ตรานกอินทรีย์) ซึ่งมีกำลังอัดน้อยซึ่งจะใช้สำหรับงานก่อ\nอิฐ หรืองานฉาบปูนเท่านั้น\nวิศวกรโดยส่วนใหญ่จะคำนวณโครงสร้างโดยใช้มาตรฐานกำลังอัด\nของ Portland Cement พอมาทำจริงๆ หากผู้ก่อสร้างใช้ปูน \"Silica\nCement\" ซึ่งแข็งแรงน้อยกว่า โครงสร้างของคุณก็ไม่แข็งแรง...\nดังนั้นก่อนการก่อสร้างตรวจหรือถามผู้ออกแบบสักนิดว่าเขา\nออกแบบว่าให้ใช้ปูนชนิดใด...รายการใช้ปูนผิด (โกง ?) แบบนี้หาดู\nได้ตามบ้านจัดสรรทั่วไป\n\"ระวัง ระวัง...ผู้รับเหมาใจดี จะแถมพื้นคอนกรีตให้ท่าน\nหนาเกินไป!\"\nในการออกแบทั้งหลายทั้งมวล วิศวกรโครงสร้างได้ออกแบบพื้น\nคอนกรีตไว้หนาเพียงพอแล้ว อย่าให้ผู้รับเหมาเทพื้นคอนกรีตให้\nหนาเกินกว่าที่แบบกำหนดด้วยความใจดี (หรือผิดพลาด) แล้วมา\nบอกคุณว่า “แข็งแรงขึ้น” เพราะนั่นอาจเป็นสาเหตุให้อาคารของ\nคุณพังลงมาได้ ... เพราะคอนกรีตเป็นวัสดุที่หนักมาก 1 ลูกบาศก์\nเมตร หนักตั้ง 2,400 กิโลกรัม หากเขาเทคอนกรีตหนาขึ้นเพียง\n5 เซนติเมตร คิดเป็นน้ำหนักที่โครงสร้างต้องรับเพิ่มขึ้นถึง\n2,400 x 0.05 =120 กิโลกรัม และตามกฎหมาย บ้านพักอาศัยจะ\nออกแบบให้รับน้ำหนักได้เพียง 150 กิโลกรัม/ตร.ม. พอมีน้ำหนัก\nเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็นตั้ง 120 กิโลกรัม ก็เลยเหลือความแข็งแรงที่\nโครงสร้างจะรับได้อีกเพียง 105 – 120 = 30 กิโลกรัม...เท่านั้นเอง\n\nอุปกรณ์ไฟฟ้าที่บ้านคุณ ทำให้คุณจนได้แค่ไหน ?\n\nไฟฟ้ากันอย่างไม่บันยะบันยังและคนหลายคนก็นึกว่า\nเครื่องปรับอากาศเท่านั้นที่กินไฟมาก และหลายคนก็อาจจะอยาก\nรู้ว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านเรานั้นกินไฟและเปลืองสตางค์ขนาด\nไหน และหลายครั้งพยายามศึกษา...แต่ก็ไม่รู้ว่าเรื่องเพราะศัพท์แสง\nทางเทคนิคมากเหลือเกิน วันนี้เราลองมาดูกันแบบง่ายๆ ดีกว่าว่า\nอุปกรณ์ไฟฟ้าใกล้ตัวเรากินเงินเราไปขนาดไหน (โดยสมมุติว่าค่า\nไฟฟ้าราคา 2 บาทต่อหน่วย และอุปกรณ์นั้นทำงานตลอดเวลา)\n\nชนิดของอุปกรณ์ ขนาด กินไฟ (Watt) จ่ายเงิน(ต่อชั่วโมง)\nพัดลมดูดอากาศ ใบพัด 6” 25 0.05บาท\nพัดลมตั้งโต๊ะ ใบพัด 12”70 0.14 บาท\nT.V ขาวดำ 14” 50 0.10 บาท\nT.V สี 14” 120 0.24บาท\nT.V สี 20” 200 0.40บาท\nT.V สี 24” 250 0.50บาท\nเครื่องปรับอากาศ 1.00 ตัน 1,450 2.90บาท\nเครื่องปรับอากาศ 1.50 ตัน 2,060 4.12 บาท\nเครื่องปรับอากาศ 2.00 ตัน 3,500 7.00บาท\nเครื่องปรับอากาศ 3.00 ตัน 5,200 10.40บาท\nตู้เย็น 4 คิว 70 0.14 บาท\nตู้เย็น 6 คิว 90 0.18 บาท\nตู้เย็น 12 คิว 240 0.48บาท\nหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 6 ถ้วย 500 1.00 บาท\nหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 10 ถ้วย 600 1.20 บาท\nเตารีดไฟฟ้า (ทั่วไป) 1,000 2.00บาท\nเครื่องทำน้ำร้อน (ขนาดเล็ก) 1,500 3.00บาท\nเครื่องทำน้ำร้อน (ขนาดกลาง) 2,200 4.40บาท\nเครื่องทำน้ำร้อน (ขนาดใหญ่) 4,000 8.00บาท\nเครื่องซักผ้า (ทั่วไป) 1,00 2.00บาท\n\nตัวอย่างที่อ้างถึง เป็นตัวอย่างทั่วๆ ไป ไม่จำเพาะเจาะจงว่าเป็น\nเครื่องใช้ไฟฟ้ายี่ห้ออะไร ...หากแต่ใครเริ่มสนุก หรือเริ่มเสียดาย\nเงินแล้วลงใช้สูตรนี้ดู\nค่าไฟฟ้า = จำนวน Watt x ค่าไฟต่อหน่วย/1,000 บาท/ชั่วโมง\nโดยดูขนาดสิ้นเปลืองไฟฟ้าเป็น Watt จากหลังหรือใต้\nเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ที่ปิ้งขนมปังอันหนึ่งเขียนว่าใช้ไฟฟ้า 800\nwatt แปลว่ากินเงิน\n= 800x2.00/1,000=1.60 บาท/ชั่วโมง\n\nไฟฟ้าในครัว น่าจะวางแผนไว้อย่างไร\n\nที่เรามักเรียกกันว่า “ปิดคัตเอาท์” เพื่อป้องกันไฟช๊อต ...แต่คุณมัก\nไม่สามารถปิดมันได้ เนื่องจากตู้เย็นในครัวของคุณจะละลายหมด\n...หากเป็นไปได้ขอแนะนำว่า ควรแยกวงจรไฟฟ้าของครัวออกมา\nต่างหาก เพื่อคุณจะได้ “ปิดคัตเอาท์” ส่วนต่างๆ ในบ้านได้ทั้งหมด\nโดยไม่ต้องกังวลว่าอาหารในครัวของคุณจะบูดเสีย\nมีปลั๊กฝังในเสา ต้องฝังให้ดี...ไม่งั้นบ้านอาจพังได้\nปลั๊กหรือสวิตช์ไฟทั้งหลายจะมีกล่องเหล็กสำหรับสายไฟเข้าออกอยู่\nข้างหลัง ซึ่งมีความหนา (ความลึก) ประมาณ 5 ซม. หาไปฝังอยู่ใน\nเสาคอนกรีตซึ่งมีคอนกรีตหุ้มเหล็กที่มีความหนามาตรฐานเพียง\n2.5 ซม. ต้องระวังให้ดีว่าช่างไฟฟ้าจะไม่สกัดคอนกรีตและเหล็กเสา\nจนขาดเพื่อฝังกล่องไฟนั้น...เพราะอาจทำให้บ้านทั้งหลังของคุณ\nพังลงมาได้ เพราะเสาที่โดนตัดเหล็กจนขาดจะรับน้ำหนักของ\nอาคารไม่ไหว\nขอแนะนำให้ผู้ออกแบบพยายามหลีกเลี่ยงการวางปลั๊กสวิตช์ไฟไว้ที่\nเสา หรือหากจำเป็นก็ให้ผู้ก่อสร้างเตรียมการไว้แต่เนิ่น ๆ เช่นการ\nฝังกล่องไว้ระหว่างเหล็กเส้น หรือการพอกเสาให้มีความหนามากขึ้น\n(ซึ่งไม่เป็นการแก้ปัญหาที่ดีนัก) เป็นต้น\n\nอะไรกันนะ...MATV, CCTV?\n\nไปอย่างรวดเร็ว (จนอาจเกินเหตุ) ทำให้เกิดศัพท์แสงใหม่ ๆ เข้ามา\nมากมาย ของง่าย ๆ บางอย่างเรียกแบบไทย ๆ ฟังแล้วดูไม่โก้ ก็เลย\nต้องเรียกเป็นภาษาฝรั่งให้ดูดีขึ้น พอเป็นภาษาฝรั่งก็ต้องเรียกกัน\nให้เต็มยศ ก็เลยยาวยืด จึงต้องมีการเรียกเฉพาะตัวอักษรย่อ จึงขอ\nแปลกันให้ฟังง่าย ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้\nMATV = Master Antenna Televison\nCCTV = Closed Circuit Televison\n(โทรศัพท์วงจรปิด ที่มีกล้องอยู่ตามจุดต่าง ๆ ในหรือ\nนอกอาคาร)\nFire Alarm หรืออุปกรณ์สัญญาณเตือนไฟไหม้มีกี่อย่าง\nเวลาเกิดไฟไหม้ขึ้นในอาคาร สิ่งที่ตามมาก็คือการเกิด “ควัน” แล”\nความร้อน” จึงมาการเตือนว่ามีไฟไหม้ใช้อุปกรณ์ดักจับและส่ง\nสัญญาณอยู่ 2 ชนิด คือ\n\nSmoke Detector คือ เครื่องดักจับ “ควัน”\nHeat Detector คือ เครื่องดักจับ “ความร้อน”\n\nก็จะส่งเสียง ณ จุดที่เกิดเหตุ (ที่ที่มันโดนติดตั้ง) บางอย่างก็จะส่ง\nสัญญาณไปสู่ห้องควบคุมโดยตรง ไม่เกิดเสียงที่ตัวมันเองบางอย่าง\nก็จะส่งสัญญาณไปที่ห้องควบคุม และรอสักพัก หากยังไม่มีการทำ\nอะไรก็จะส่งเสียงดังขึ้นที่ตัวมันเองหรือทั้งตึกเลยก็ได้\nการเลือกใช้อุปกรณ์เหล่านี้ เป็นเรื่องไม่ยากเย็นนัก เพราะไม่มี\nอะไรยุ่งยากแต่สิ่งสำคัญที่สุดของมันคือการ “บำรุงรักษา” ...อย่าติดเอาไว้เป็นเพียงเครื่องประดับ!อาคารเท่านั้นครับ!!?\nเรื่อง...ส้วม...ส้วม\nเรื่อง...ส้วม...ส้วม.\nปัญหาเรื่องส้วมเป็นปัญหายอดฮิตของบ้านเรา ส่วนใหญ่ปัญหาที่\nเกิดมักจะเป็นเรื่องการราดส้วมไม่ลง, กลิ่นเหม็น, ส้วมเต็มบ่อย\nมาก ซึ่งบางบ้านแก้ไขครั้งเดียวก็เสร็จเรียบร้อย บางแห่งแก้ไขกว่า\n10 ครั้งก็ยังไม่หาย...ปัญหาดังกล่าวอาจจะสรุปหาสาเหตุหลักๆ ได้\nดังนี้\n1. โถส้วมอยู่ระดับต่ำกว่าบ่อเกรอะ ทำให้ระยะลาดของท่อส้วม\nไปถึงบ่อเกรอะน้อยมาก โอกาสที่น้ำจะไหลย้อนกลับมามี\nมาก\n2. ท่อส้วมแตกและอาจไปฝัง (หรือเกือบฝังอยู่ในดิน) ทำให้\nเกิดกลิ่นเหม็นและราดส้วมไม่ลง หรือบางครั้งราดลง\nบางครั้งราดไม่ลง\n3. ลืมใส่ท่ออากาศให้ส้วมหายใจ เวลาราดน้ำจะราดไม่ลง\nเพราะน้ำที่ราดไม่สามารถเข้าไปแทนที่อากาศได้\n4. หากเป็นระบบบ่อซึม ที่วางไว้ในดินที่มีความชุ่มชื้นมาก\nแทนที่น้ำจาก บ่อเกรอะ บ่อซึมจะซึมไหลออก กลับ\nกลายเป็นน้ำซึมเข้า ปัญหาที่ตามมา คือส้วมเต็มบ่อย และ\nราดน้ำไม่ลง\n5. ขนาดบ่อเกรอะและบ่อซึมเล็กเกินไป (ในการก่ออาร้าง\nผู้ออกแบบจะกำหนดขนาดของบ่อเกรอะบ่อซึมไว้ให้มี\nขนาดเหมาะสมกับจำนวนคนที่ใช้ส้วมหากใช้อาคารผิด\nประเภท หรือผู้รับเหมาทำผิดขนาด ขนาดของบ่อเกรอะ\nบ่อซึมโตไม่พอ ก็จะทำให้เต็มง่ายและเต็มเร็วเพราะ\nช่องว่างน้อย น้ำซึมออกไม่ทัน)\n6. มีสิ่งของที่ไม่น่าจะใส่ลงไปในโถส้วมเข้าไปอยู่ เช่น\nผ้าอนามัย ถุงยางอนามัย เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะไม่ยอม\nสลายและอุดตัน\n7. ผู้ที่ใช้บ่อเกรอะที่ใช้เครื่องกลช่วยการย่อยสลาย ซึ่งโฆษณา\nว่าเป็นถึงส้วม ไม่มีวันเต็ม แต่เดี๋ยวก็เต็ม เดี๋ยวก็เต็ม น่าจะ\nลองตรวจเช็คดูด้วยว่า คุณเสียบปลั๊กไฟฟ้าให้เครื่องจักรมัน\nทำงานหรือเปล่า!!!\nเหตุทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น คุณอาจจะลองตรวจเช็คด้วย\nตนได้ แต่หากส้วมของคุณยังมีปัญหาอยู่ ก็ต้องเดินไปหา\nผู้รู้จริงๆ แล้วเท่านั้นแหละครับ\nท่อเอสล่อนแบบ สีเหลือง สีฟ้า และสีเทา ต่างกันอย่างไร\nว่ากันแบบลูกทุ่งไม่จำเป็นต้องใช้ศัพท์ทางเทคนิคใดๆ ท่อเอ\nสลอนแยกตามความเข็งแรงได้ดังต่อไปนี้\n- ท่อสีเทา เป็นท่อที่อ่อนแอที่สุดใช้ทำท่อน้ำทิ้งทน\nแรงอัดอะไรไม่ได้มาก\n- ท่อสีฟ้า เป็นท่อที่มีความแข็งแรงขนาดกลาง ใช้ทำท่อ\nน้ำใช้ที่มีแรงอัดของน้ำ เพราะแรงอัดได้มากพอ\n- ท่อสีเหลือง เป็นที่ที่มีความแข็งแรงมากที่สุด ใช้ร้อย\nสายไฟฝังในอาคารได้ \n\nเราเตือนคุณแล้ว...มีบ้าน...อย่าทำถังน้ำใต้ดิน\n\nมีที่ดินเพียงพอที่จะวางถังน้ำนบดิน หรือท่านเองทนความน่า\nเกลียดน่าชังของถังน้ำบนดินไม่ได้จริงๆ) เราขอแนะนำว่าอย่าวาง\nถังน้ำ (ถังเก็บน้ำ) ใต้ดินเลยเพราะเวลาถังน้ำหรือท่อน้ำมันแตก...\nท่านจะไม่มีทางรู้เลยจนกว่าบิลค่าน้ำจากการประปาฯ จะมาถึง\n(ถังน้ำจะต้องมีท่อระบายน้ำล้นใต้ดิน เวลาน้ำล้น ก็จะไหลลงสู่ท่อ\nระบายน้ำโดยตรง) ...การแตกของถึงน้ำหรือการหักของท่อน้ำอาจ\nเกิดจากสาเหตุได้หลายประการ เช่น โครงสร้างของถึงน้ าโดยส่วน\nใหญ่มักจะแยกออกจากตัวอาคาร และโครงสร้างของถึงน้ ามักจะใช้\nเข็มสั้นกว่าตัวอาคาร การทรุดตัวจะไม่เท่ากัน ทำให้เกิดการฉีกขาด\n– หักทำลายได้หรือหากมีการก่อสร้างบริเวณใกล้เคียงที่สร้างความ\nสั่นสะเทือนหรือเกิดการไหล (หรืออัด) ของดิน ถังน้ำของท่านก็จะ\nวิบัติได้โดยง่าย\n\nเชื่อหรือไม่...คุณน่าจะเลือกโถส้วมก่อนการสร้างบ้าน\n\nบ้านเรา ต่างยี่ห้อกันแล้ว จุดหรือระยะการวางท่อเข้าสู่สุขภัณฑ์ก็\nแตกต่างกันออกไปด้วย จึงขอแนะนำว่าคุณน่าจะเลือกยี่ห้อ\nสุขภัณฑ์ (รุ่นเอาไว้ทีหลังยังได้) เสียก่อนที่เขาจะเทพื้นคอนกรีต\nเพื่อผู้ก่อสร้างจะได้เตรียมวางท่อไว้ให้ถูกจุดบ้านคุณจะได้ไม่มี\nปัญหาเรื่องรั่วซึมจากห้องน้ำ หรือปัญหาสุขภัณฑ์ใช้ไม่ได้ไงครับ\nบ้านคุณน่าจะมีถังเก็บน้ำไว้แน่ๆ แต่ทราบไหมว่าคุณ\nน่าจะซื้อถังเก็บน้ำขนาดไหน\nน่าจะซื้อถังเก็บน้ำขนาดไหน.\nต้องถามก่อนว่าบ้านคุณมีกี่คน คนหนึ่งจะใช้น้ำประมาณ 200\nลิตร ต่อวัน หากบ้านคุณมี 5 คน และต้องการเก็บน้ำไว้เผื่อสัก 3 วัน\nก็คำนวณได้ว่า\nถ้าถังน้ำจะมีขนาด = จำนวนคน x 200 ลิตร x 3 ลบ.ม.\n= 5 x 200 x 3 = 3,000 ลิตร = 3 ลบ.ม.\nทั้งนี้ไม่รวมน้ำที่ใช้รดต้นไม้ และสวนขนาดใหญ่นะครับ (สวน\nเล็กๆ และต้นไม้ไม่มากไม่เป็นไร เพราะเผื่อไว้แล้ว\nซื้อสุขภัณฑ์ (Fixture) แล้วอย่าลืมเลือก อุปกรณ์ (Fitting)\nด้วย\n\nเครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ (Sanitary Fixture) โดยตัวมันเองแล้วไม่\n\nประกอบด้วย เช่น อ่างล้างหน้า จะต้องมีก๊อกน้ำและรูน้ำทิ้ง อ่าง\nอาบน้ำจะต้องมีสะดืออ่าง (รูระบาย) และก๊อกน้ำเป็นต้น\nในการเลือกสุขภัณฑ์จำเป็นที่จะต้องเลือกอุปกรณ์ควบไปด้วย อย่า\nผัดวันประกันพรุ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ที่คุณเลือก อาจจะใส่ไม่ได้กับ\nสุขภัณฑ์ที่คุณที่คุณเลือก เพราะอาจมีขนาดไม่เท่ากัน ลักษณะ\nของเกลียวตัวผู้ตัวเมียต่างกัน ...ปัญหานี้ก็เหมือนกับการซื้อรถยนต์\nกับซื้อยางรถยนต์ จะต้องพิจารณาเลือกให้เข้ากันให้ได้\n\nแอร์มีกี่ชนิด กี่แบบ และต่างกันอย่างไร\n\nอย่าง กี่ชนิด กี่ระบบ ก็ขอแยกย่อย โดยสังเขปแบบชาวบ้าน ได้เป็น\n3 แบบดังนี้\n1. แบบติดหน้าต่าง (Window Type) เป็นแบบที่รวมทุกสิ่งทุก\nอย่างไว้ในกล่อง ๆ เดียว และติดแขวนไว้ที่ช่องหน้าต่างหรือ\nผนังห้อง เป่าลมเย็นเข้าห้อง โผบ่กันออกมาระบายความ\nร้อน ขนาด 8,000 – 30,000 BTU หรือภาษาชาวบ้านคือ\n.7 – 2.5 ตัน (ใหญ่กว่าน้ำทำไม่ได้เพราะเครื่องจะใหญ่และ\nหนักเกินไป ติดตั้งแล้วช่องหน้าต่างหรือผนังจะรับ\nน้ำหนักไม่ไหว) กินไฟค่อนข้างมาก และมีเสียงดังกว่าทุก\nระบบ แต่สะดวกในการติดตั้ง สะดวกในการเคลื่อนย้าย\nติดตั้งรวดเร็ว\n2. แบบแยกส่วน (Split Type) เป็นแบบที่ได้รับความนิยม\nมากที่สุด แยกส่วนเป่าลมเย็นออกจากตัวเครื่องระบายความ\nร้อน ขนาดตั้งแต่ 1 – 50 ตัน (ขนาด 1 – 3 ตัน มักไม่มีการ\nต่อท่อลมไปจ่ายหลาย ๆ จุด แต่หากมากกว่านั้นอาจมีการ\nต่อท่อลมออกจากส่วนเป่าลมไปจ่ายหลาย ๆจุด) แอร์ระบบ\nแยกส่วนนี้ดีตรงที่ไม่ค่อยมีเสียงดัง (เพราะเครื่องระบาย\nความร้อนโดยแยกออกไปวางไว้ที่อื่น) แต่จะยุ่งยากในการ\nติดตั้งมากกว่าระบบติดหน้าต่าง เพราะต้องคำนึงถึงการเดิน\nท่อระหว่างเครื่องที่แยกส่วน...ที่สำคัญอย่าลืมท่อระบายน้ำ\nจากที่เป่าลมเย็น (Fan Coil) ไปทิ้งด้วย\n3. แบบเครื่องชนิดทำน้ำเย็น (Water Chiller) ซึ่งใช้น้ำเป็น\nตัวกลางในการผลิตความเย็น ใช้สำหรับอาคารใหญ่ ๆ มี\nขนาดตั้งแต่ 100 ตันขึ้นไป มีความยุ่งยากในการติดตั้ง แต่\nจะกินไฟน้อยกว่าชนิดอื่นๆ ...สถาปนิกและวิศวกรโครงสร้าง\nผู้ออกแบบแต่เริ่มต้นกรุณาอย่าลืมที่จะจัดเตรียมห้อง\nเครื่อง และโครงสร้างที่แข็งแรงเพียงพอเพื่อวางระบบนี้\nด้วยนะครับ (โดยการปรึกษากับวิศวกรเครื่องกล)\nสำหรับแอร์ระบบที่ชาวบ้านเรียกกันว่า Central Air นั้น ส่วน\nใหญ่จะหมายถึงแอร์ระบบสุดท้าย เพราะมีจุดเครื่องระบาย\nความร้อนจุดเดียว แต่ส่งผ่านไปหลายจุดทั่วทั้งอาคาร แต่\nบางครั้งแอร์ระบบ Split Type ใหญ่ๆ ทีส่งลมเย็นไปได้หลายๆ\nจุดก็อาจจะเรียกว่าเป็น Central Airได้เหมือนกัน\nใช้เครื่องปรับอากาศให้คุ้ม และถูกวิธี\n\nเจ้าระบบปรับอากาศกลายเป็นสิ่งที่สำคัญไปแล้วในชีวิตเรา\n\nเพียง “เครื่องทำความเย็น” ซึ่งเป็นการใช้งานที่ผิดหน้าที่ เพราะ\nอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ เพราะการจัดเตรียมระบบปรับ\nอากาศที่ดีจะต้องประกอบด้วยหน้าที่ดังต่อไปนี้\n\nเพื่อลดอุณหภูมิ\nควบคุมความชื้น ไม่ให้แงเกินไป (ผิวแตก) หรือชื้นเกินไป(เหนอะหนะ)\nให้อากาศในห้องเคลื่อนไหว (ทำให้รู้สึกสบายไม่อึดอัด)\nทำให้อากาศสะอาด (ป้องกันฝุ่นและอาจช่วยฟอกอากาศบ้าง)\nมีระบบระบายอากาศ (การถ่ายเทอากาศจากภายนอก)\n\nปรับอากาศมีความสมบูรณ์ ดังนั้นใครที่ติดแอร์อยู่ น่าจะสำรวจดูว่า\nเครื่องหรือระบบปรับอากาศของต้นนั้นทำงานครบทุกหน้าที่\nหรือไม่ ถ้าไม่ครบก็น่าจะปรับปรุงเสียเพื่อสุขภาพที่ดีของท่าน\nเช่นลืมพัดลมระบายอากาศหรือเปล่า เป็นต้น\nสีลอก สีขึ้นรา สีวิบัติ เกิดเพราะใช้สีผิดยี่ห้อจริงหรือ ?\nสีลอก สีขึ้นรา สีวิบัติ เกิดเพราะใช้สีผิดยี่ห้อจริงหรือ ?\nเชื่อหรือไม่ว่า 80% ของผนังที่สภาพสีเสียหายก่อนกำหนด เกิดจา\nการเตรียมพื้นผิวไว้ไม่ดี เช่นไม่แห้งสนิท มีสภาพเป็นกรดเป็น\nด่าง มีฝุ่นเกาะฯลฯ ดังนั้นในการเลือกใช้สีจึงสมควรเน้นทีการ\nควบคุมงานว่าการเตรียมพื้นผิวก่อนทาสีนั้นดีเพียงพอ ตลอดจน\nการควบคุมให้ทาครบจำนวนครั้งตามที่ บริษัทสีต้องการ (บาง\nบริษัทไม่ได้นับจำนวนครั้งที่ทาสี แต่วัดที่ความหนาของผิวสี) ไม่\nจำเป็นต้องซีเรียสที่ยี่ห้อของสี (แต่สีประเภทที่ทำเองหลังห้อง\nแถวก็ไม่น่าจะเสี่ยงใช้ เพราะอาจเป็นอีก 20 % ที่เหลือซึ่งเป็น\nปัญหาการวิบัติของสีโดยสีจริงๆ\nรู้หรือไม่ว่าการวางแนวรั้วหน้าบ้าน กับการวางแนวรั้วข้าง\nบ้านต่างกันอย่างไร\nรั้วข้างบ้านส่วนใหญ่จะติดต่อกับเพื่อนบ้าน ดังนั้นการทำรั้วก็จะ\nวางแนวกึ่งกลางรั้วไว้ที่แนวแบ่งเขตที่ดิน (จากกึ่งกลางหลักเขตถึง\nกึ่งกลางหลักเขต) ซึ่งทำให้รั้วนั้นอยู่ในเขตเราครึ่งหนึ่งและอยู่ใน\nเขตบ้านข้างเคียงอีกครึ่งหนึ่งแต่รั้วหน้าบ้านมักจะต้องติดกับทาง\nสาธารณะ การวางแนวรั้วจะต้องวางให้ขอบรั้วด้านนอกอยู่ในแนว\nของเขตที่ดิน (ห้ามมีส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งปลูกสร้างล้ำเข้าไปใน\nที่สาธารณะโดยเด็ดขาด)\nอย่าติดพัดลมระบายอากาศบนผ้าม่าน\nความหลงลืมอีกอย่างที่มักเกิดขึ้นโดยไม่ได้เตรียมการเอาไว้ก่อนก็คือ\nการติดตั้งผ้าม่านเต็มช่องเปิด (ประตู – หน้าต่าง) แล้วลืมเผื่อช่อง\nสำหรับติดตั้งพัดลมระบายอากาศ ทำให้เวลาจะเปิดพัดลมต้องรูด\nม่านก่อน ลำบากและไม่น่าดู...ดังนั้นหากจะติดพัดลมระบายอากาศ\nตรงไหน ตรวจดูก่อนว่ามีม่านหรือไม่ หากมีก็ขอให้ออกแบบเตรียม\nไว้ก่อนด้วย\nหากคุณชอบเตียงใหญ่ๆ ๆ ๆ ๆ คุณต้องระวังอะไร ?\nส่วนใหญ่ใครก็ชอบเตียงใหญ่ ๆ แต่บางคนอาจจะชอบมากไป\nหน่อย เลยไปสั่งให้ช่างไม้ช่างเฟอร์นิเจอร์ทำเตียงขนาดพิเศษ\nพอเอาเข้าไปวางในห้องนอนเสร็จ เดินหาซื้อที่นอนอยู่ 3 เดือนก็\nหาไม่เจอที่นอนขนาดเดียวกับเตียงที่สั่งทำ...ก็เลยขอให้ระวังไว้\nด้วยว่าที่นอนสมัยนี้เขามีขนาดแน่นอน ขนาดผิดประหลาดไป\nเขาไม่ทำกันแล้ว ระวังหน่อยนะค่ะ\n\nปลูกต้นไม้ใหญ่ อย่าลืมค้ำยัน\n\nเป็นที่นิยมมากเพราะแม้จะมีราคาแพงกว่าต้นไม้ขนาดเล็กๆ แต่ก็\nเป็นการซื้อเวลาที่ดี แต่ปัญหาของต้นไม้ที่ปลูกแล้วโตเลยนี้ก็คือ\nการไม่มีรากแก้ว และมีรากฝอยสำหรับยึดเกาะดินน้อย ยามมีลมแรง\nกรรโชก ทำให้เอนเอียงล้มลงได้ จำเป็นที่จะต้องเตรียมค้ำยันลำ\nต้นไว้เสมอ\nในกรณีที่เป็นต้นไม้ไม่ใหญ่นักและยังอยู่ในกระถาง การปลูก\nระยะแรก ๆ แนะนำให้เพียงทุกก้นกระถางออกแล้วลงดิน ให้ปาก\nกระถางเป็นตัวยึดเกาะดินกับต้นไม้เอียงในระยะแรก เมื่อราก\nต้นไม้เดินดีแล้วจึงค่อยเอาส่วนปากกระถางออก (การทำแบบนี้จะ\nดีมากสำหรับการปลูกต้นไม้ใน Flower Bed บนอาคารสูง ๆ )\nปลูกต้นไม้บนดาดฟ้า ต้องเตรียมการไว้ให้ดี\nการปลูกต้นไม้ไว้บนดาดฟ้า หรือที่เรียกภาษาฝรั่งว่า Roof Garden\nเป็นการเอาวิทยาการและเทคโนโลยีไปฝืนธรรมชาติอย่างหนึ่ง มี\nข้อความคำนึงไว้สัก 3 เรื่อง\n1. แน่ใจว่าเตรียมโครงสร้างที่แข็งแรงเพียงพอไว้ เพราะโดย\nปกติของอาคารธรรมดาจะเตรียมโครงสร้างไว้รับน้ำหนัก\nประมาณ 200 – 400 กิโลกรัม/ตร.ม. แต่หากเป็นสวนลอย\nฟ้าน่าจะเตรียมไว้สัก 700 – 1,500 กิโลกรัม/ตร.ม.\n2. แน่ใจว่าเตรียมความลึกสำหรับดินและกรวดเอาไว้ ซึ่งน่าจะ\nมีความหนาไม่น้อยกว่า 40 เซนติเมตร (ดีที่สุดประมาณ\n1.00 เมตร)\n3. แน่ใจว่าจัดเตรียมน้ำสำหรับรดต้นไม้ และทีสำคัญที่สุด\nคือระบบระบายน้ำจะต้องสะดวก และไม่อุดตัน\n4. แน่ใจว่าแม้จะมีลมแรงมากระทำ (บางที่อาจถึง 180\nกิโลกรัม/ตร.ม.) ต้นไม้ที่ปลูกจะไม่ปลิวว่อน ขุดรากถอน\nโคน\n5. แน่ใจว่า...คุณมีปัญญาขน ต้นไม้ – ดิน – กรวด ขึ้นไปปลูก และ ปรับปรุง\nอยากปลูกต้นไม้บนตึก (Flower Bed) ต้องไม่ลืมอะไร\nหากจะมีการปลูกต้นไม้บนอาคาร พึงต้องจำไว้เสมอว่าต้นไม่ทุก\nชนิดต้องการน้ำและการบำรุงรักษา ดังนั้นสิ่งที่ไม่น่าจะลืมก็คือ\n1. จะเอาน้ำที่ไหนมารด ไม่ใช่ต้องหิ้วกระป๋องน้ำผ่าน\nห้องนอนที่ปูพรมให้สกปรกเลอะเทอะทุกวัน...น่าจะเตรียมก๊อก\nน้ำเอาไว้รดน้ำด้วย\n2. เมื่อรดน้ำแล้ว น้ำที่ไหลออกจากกระบะต้นไม้จะไปทาง\nไหน หากน้ำไม่มีทางออก รากก็จะเน่าตาย แต่หากน้ำออกได้แล้ว\nไปลงท่อระบายน้ำทั่วไปที่ไม่ได้กันหรือเตรียมการไว้กันเศษดิน\nท่อก็จะตัน (แล้วน้ำก็จะท่วม)\n3. กระบะต้นไม้จะต้องมีความชื้น (ไม่งั้นต้นไม้ตาย) หาก\nกระบะต้นไม้ใช้ผนังเดียวกันกับผนังห้อง ความชื้นก็จะซึมผ่าน\nผนังไปทำให้ผนังอีกด้านชื้นเกิดราหรือสีลอก...ดังนั้นน่าจะเตรียม\nวิธีการนี้ไว้ด้วยว่าไม่น่าจะใช้ผนังกระบะต้นไม้เป็นผนังเดียวกับ\nห้อง หรือแยกผนังออกจากกันและมีกันซึม\n4. เมื่อต้นไม้ต้องการบำรุงรักษา หรือหากตายไปก็ต้องเปลี่ยน\nต้นไม้ ทำให้ต้องมมีพื้นที่หรือที่ยืนเพียงพอสำหรับจับต้องต้นไม้\nนั้นได้ อย่าวางกระบะต้นไม้ที่ต้องเอื้อมตัวนอกตึกมากนัก หรือต้อง\nใช้บันไดพาดไปทำงาน (บนตึกชั้นที่ 20)\nอยากปลูกต้นไม้ในบ้านให้ถูกกายสบายใจ ต้องเตรียมอะไรก่อน\nอยากปลูกต้นไม้ในบ้านให้ถูกกายสบายใจ ต้องเตรียมอะไรก่อน.\nเวลาปลูกบ้านเสร็จจะมีเศษหิน เศษทรายกองอยู่ในบริเวณที่จะ\nเป็นสนามหญ้าหรือที่คุณคิดจะปลูกต้นไม้เต็มไปหมด ซึ่งหาก\nปล่อยทิ้งไว้ไม่ขุดหรือขูดออกเวลาคุณปลูกต้นไม้ก็ไม่งอกงาม เวลา\nเดินเล่นในสนามหญ้าก็อาจมีเศษหินมาตำเท้าได้...อย่าลืมควบคุม\nและบอกให้ผู้ก่อสร้าง ทำความสะอาดเสียนะครับ\n\nเลือกวัสดุปูพื้นอะไรดี\n\nเหล่านี้แต่ละอย่าง จะมีจุดเด่น จุดด้อยต่างกัน และมักเป็นปัญหา\nไม่จบสิ้นสำหรับท่านเจ้าของบ้านว่าจะเลือกอะไรดี?\n1. พื้นไม้จริง เป็นของธรรมดาพื้นบ้านมานมนากาเล แต่\nปัจจุบันกลายเป็นความใฝ่ฝันที่หลายคนอยากมี แต่ก่อน\nจะวางพื้นไม่บนตงและคานทำหน้าที่เป็นโครงสร้างไป\nด้วย แต่ส่วนใหญ่ตอนนี้มักจะปูบนพื้นคอนกรีตอีกที (ซึ่ง\nต้องระมัดระวังวิธีกรรมในการปูให้ถูกต้อง ต้องมีการวาง\nระแนงไม้ฝังในคอนกรีตและสูงกว่าผิวคอนกรีตประมาณ 2\nซม. เพื่อความยืดหยุ่นและไม่โก่งงอจากการอัดเข้าลิ้น\nภายหลัง) ราคาพื้นไม้นี้จะแพง แต่ให้ความรู้สึกดีมาก\n2. พื้นปาเก้ คือชิ้นไม้เล็ก ๆ ที่ปูบนพื้นคอนกรีต มีทั้งแบบ\nเข้าลิ้นรอบ และไม่เข้าลิ้น ราคาจะถูกกว่าพื้นไม้ธรรมดา สิ่ง\nที่ต้องระวังในการปูก็คือคอนกรีตจะต้องแห้งสนิทพร้อม\nทำกันซึมไว้ด้วย กาวจะต้องดี ปูปาเก้แล้วต้องทิ้งไว้นานๆ\nเพื่อให้กาวแห้งก่อนขัดพื้นและต้องไม้อัดแผ่นปาเก้แน่น\nเกินไป ไม่เช่นนั้นอาจโก่งงอระเบิดได้\n3. กระเบื้องเคลือบ ราคาจะมีตั้งแต่ตารางเมตรละ 200 บาท\nจนถึง 5,000 บาทแล้ว แต่ชนิดของกระเบื้อง ใช้ปูบน\nพื้นคอนกรีตที่ไม่จำเป็นต้องแห้งสนิท แต่ต้องกันซึมไว้\nเรียบร้อย การปูกระเบื้องเล่นลายเป็นสิ่งที่ต้องระวังมาก\nเพราะกระเบื้องแต่ละแผ่น แต่ละยี่ห้อจะมีขนาด – ความ\nหนาไม่เท่ากัน ทำให้น่าเกลียดกว่าที่ออกแบบไว้มากที่\nเดียว ปัญหาของการปูกระเบื้องก็คือกระเบื้องมักขาดตลาด\n(ในลายที่ต้องการ) และหากเสียหายแตกหักภายหลัง จะหา\nอะไหล่มาทดแทนไม่ได้ (ควรเก็บสต็อคกระเบื้องที่ใช้ไว้\nบ้าง)\n4. หินอ่อน หรือแกรนิต เป็นของที่นิยมใช้กันมากขึ้น\nเพราะราคาเริ่มใกล้เคียงกับวัสดุปูพื้นอย่างอื่น สิ่งที่ต้อง\nระวังคือการเตรียมพื้นผิวจะต้องเผื่อระดับปูนทรายไว้ให้\nหนา (ประมาณ 2 – 3 ซม.) ไม่เช่นนั้นพื้นหินอ่อนจะ\nปรับระดับไมได้ และต้องคิดไว้เสมอว่า หินอ่อนเป็นของ\nธรรมชาติซึ่งคุณจะเลือกลายดังใจนึกไม่ได้ และอย่าปูหิน\nอ่อนตากแดด ไม่เช่นนั้นจะเป็นฝ้าเป็นฟางหมด\n5. พื้นพรม เป็นวัสดุที่สวย นุ่มนวล ไม่แพงนัก หรูหรา ติดตั้ง\nง่าย แต่บำรุงรักษายาก และมีอายุการใช้งานสั้น หากต้องการ\nเปลี่ยนบรรยากาศบ่อยๆ หรือเร่งงานก่อสร้าง พรมเป็นวัสดุ\nที่น่าใช้ทีเดียว\n6. กระเบื้องยาง เป็นสิ่งสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ มีทั้งเป็น\nแผ่นเล็ก ๆ และเป็นผืนใหญ่ ทนทานดีทีเดียวเมื่อเทียบ\nกับราคา บำรุงรักษาไม่ยากนักแต่ให้ความรู้สึกที่เป็น\nสำนักงานมากไปหน่อย ปรับเปลี่ยนง่าย แต่ต้องระวังให้ดี\nว่าพื้นผิวที่เตรียมไว้ปูกระเบื้องยางจะต้องเรียบดีเป็น\nระดับต้องแห้งและกันซึม ไม่เช่นนั้นเมื่อใช้งานแล้วจะ\nเป็นหลุม หรือหลุดร่อน\nปาเก้บ้านคุณขัดแล้วดูเป็นลอนน่าเกลียดหรือเปล่า\nหากปาเก้ที่บ้านคุณดูเป็นลอนน่าเกลียด แม้ว่าคุณสั่งให้ช่างขัด\nปาเก้ให้แล้วตั้ง 2 – 3 ครั้ง (และช่างก็พยายามอย่างที่สุดแล้ว) เราขอ\nแนะนำว่า...คุณไม่น่าจะไปขัดมันอีกเพราะสภาพไม้และฝีมือช่าง\nในปัจจุบันเปลี่ยนไปแล้ว อาจต้องมาแก้ที่ปลายเหตุว่าสีที่คุณทา\nพื้นนั้นเป็น “มันวาว” หรือเปล่าหากใช้แลคเกอร์หรือโพลียูริเทน\nมันทาพื้น ก็ขอให้เปลี่ยนเป็นวานิชหรือยูริเทนชนิดด้าน (ไม่\nเงา) แทน จะเป็นการลดแสงสะท้อนลง ทำให้พื้นของคุณดูเรียบ\nไม่เป็นลอนได้\n\nหินอ่อนเป็นฝ้าเป็นฝาง แก้ไขอย่างไรดี\n\nมาขัดหน้าใหม่ และเมื่อขัดเสร็จแล้วก็ระวังหน่อยว่าไม่ให้ฝุ่นเกาะ\nหรือเดินด้วยรองเท้าที่มีฝุ่นมาก ไม่ให้โดนแสงแดดโดยตรงมาก\nเกินไป เพราะไม่อย่างนั้นเจ้าหินอ่อนมันก็จะเป็นฝ้าเป็นฟาง\nใหม่ละครับ\n\nผนังรั่วแล้วออกไปซ่อมไมได้ จะแก้ไขยังไงดี\n\nสภาพที่ไม่สามารถออกไปข้างนอกดูแลบำรุงรักษาได้ หรืออาคารที่\nมีความสูงมาก การบำรุงรักษาจากภายนอกลำบาก หรืออาคารทั่วไป\nหากมีปัญหาว่าผนังรั่วจากภายนอกออกไปซ่อมแซมรักษาไม่ได้\nหรือพยายามแก้ไขมาหลายครั้งแล้วแต่แก้ไม่ได้ ขอแนะนำให้\nดำเนินการดังนี้\nทำผนังภายในขึ้นมาอีก 1 ชั้น ทำพื้นระหว่างผนังทั้งสองให้ลาด\nเอียง แล้วเจาะรูให้น้ำไหลออก (ดูภาพประกอบ) จะแก้ไข (แบบน้ำ\nขุ่น ๆ) ได้ทันที\nจับเซี้ยม จับฉาก จับปุ่ม คืออะไร (แถมวิธีก่ออิฐให้ร้าว)\nการจับเซี้ยมจับฉากจับปุ่มเป็นกรมวิธีจัดเตรียมระดับ – ระยะก่อน\nการฉาบปูนลักษณะเป็นปุ่มปูนทรายที่แสดงถึงแนวเส้นของ\nผนัง หรือมีระนาบแบนให้เห็นความหนาของผิวปูนที่จะฉาบลง\nไป การฉาบปูนที่ถูกกรมวิธี ช่างปูนจะต้องจับเซี้ยม – จับฉาก –\nจับปุ่มก่อนที่จะฉาบปูนเสมอ...หากท่านเห็นว่าช่างปูนใดฉาบ\nผนังบ้านท่านโดยไม่ทำเซี้ยม – ฉาก – ปุ่มเสียก่อน ก็น่าจะบอกผู้\nก่อสร้างให้เปลี่ยนช่างปูนได้แล้ว\nการก่ออิฐที่ถูกกรมวิธีนั้นจะต้องดำเนินการดังนี้\n\nอิฐจะต้องชุบน้ำให้ชุ่มน้ำเสียก่อน ไม่เช่น อิฐจะดูดซึมน้ำปูน จนปูนก่อไม่ทำหน้าที่ยึดเกาะที่ดี\nการก่ออิฐจะต้องไม่ก่อสูงมากนักในทีเดียว จะต้องทิ้งไว้ให้ปูนก่อยุบตัวลงมาแล้วจึงก่อต่อไปจนหมด และทิ้งช่องว่างระ หว่างผนังกับท้องพื้นด้ำนบ นไว้หน่อยก็จยิ่งดีภายหลังเมื่อผนังทรุดตัวดีแล้วจึงก่ออิฐก้อนสุดท้ายได้\nเมื่อก่ออิฐเสร็จแล้วต้องทิ้งไว้อย่างน้อย 1 วันให้ผนังอยู่ตัวและความร้อนจากปูนก่อเย็นตัวลง จึงเริ่มจับเซี้ยมจับฉากจับปุ่ม แล้วฉาบปูน\nการฉาบปูนต้องมีส่วนผสมที่ดี และน่าผสมน้ำยาเคมีประสานพิเศษกันแตกและห้ามฉาบปูนหนาเกินไปเพราะความร้อนของปูนชั้นในจะระเหยดันออกมายังชั้นนอก และทำให้ปูนฉาบนั้นแตกได้\nการฉาบปูนที่ดี ไม่น่าใช้ฟองน้ำที่แห้งเกินไป เพราะจะดูดน้ำปูนออกจากปูนฉาบ หากมีงบประมาณเพียงพอ น่าให้ใช้วิธี “ปั่นแห้ง” ซึ่งช่างประเภทนี้กำลังจะหมดจากประเทศไทยเราแล้ว\nหากผิวปูนฉาบมีรอยแตกคลายลายงา ไม่ใช่เรื่องที่คอขาดบาดตาย ทิ้งเอาไว้สักพักแล้วใช้ทาสีแต่ง (โป๊ว) ลงไป ผิวแตกลายงานั้นจะหายไปเอง\n\n\nเลือกกระเบื้องห้องน้ำทั้งพื้น และผนัง ต้องยี่ห้อ – รุ่นเดียวกัน\n\nการก่ออิฐที่ถูกกรมวิธีนั้นจะต้องดำเนินการดังนี้.\nยี่ห้อ และแต่ละรุ่น (แม้จะยี่ห้อเดียวกัน) จะมีขนาดไม่เท่ากัน ถึง\nแม้แต่ยี่ห้อเดียวกันรุ่นเดียวกัน – สีเดียวกัน แต่เผากันคนละครั้ง\nขนาดก็อาจไม่เท่ากันได้\nเพื่อป้องกันปัญหาของแนวกระเบื้องพื้น และแนวกระเบื้องผนัง\n(ที่เลือกขนาดกระเบื้องขนาดเท่ากัน) ไม่ตรงแนวกัน ...ในการ\nเลือกกระเบื้องน่าจะเลือกกระเบื้องผนังและกระเบื้องพื้นที่ยี่ห้อ\nเดียวกันและรุ่นเดียวกันเสมอ แต่ก็ควรระวังอย่าใช้กระเบื้องที่ใช้\nสำหรับปูผนังอย่างเดียวมาปูพื้น เพราะจะลื่นหกล้มง่าย (ส่วนการ\nเอากระเบื้องพื้นมาปูผนังไม่เป็นไร\n\nกระจกมีกี่ชนิด แล้วจะเลือกใช้อย่างไร\n\nกระจกเพื่อการใช้งานให้ถูกที่และไม่บินลงมาทำอันตราย ก็น่าจะ\nแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิดคือ\n1. กระจกธรรมดา หรือที่เรียกภาษาเทคนิคว่า Anneal Glass\nเวลาแตกจะเป็นปากฉลามซึ่งอันตราย แต่ยังโชคดีที่รอยแตกจะวิ่ง\nเข้าสู่กรอบทำให้ส่วนใหญ่ไม่หล่นลงมาโดยทันที่ทันใด มองจาก\nภายนอกไม่เป็นลอนดูเรียบสวยงาม\n2. กระจก Tempered คือเอากระจกธรรมดาทำให้ร้อนเกือบ\nหลอมละลายใหม่ แล้วทำให้เย็น จะเป็นการเพิ่มความแข้งแรง\nเวลาแตกจะแตกกระจายเม็ดเล็กๆ ไม่เป็นอันตรายมาก แต่จะไม่มี\nรอยแยกวิ่งเข้ากรอบทำให้เมื่อแตกแล้วจะร่วงหล่นลงมาทันที ดู\nจากภายนอกจะเป็นลอนเล็กน้อยจึงดูหลอกตาในบางมุม\n3. กระจก Heat Strengthen จะคล้ายกับกระจกสองอย่างแรก\nปนกัน โดยนำกระจกธรรมดามาให้ความร้อน (แต่ไม่ถึงขนาด\nTempered Glass) จึงมีความแข็งแรงมากขึ้น (ไม่เท่ากับ \nTempered) เวลาแตกจะแตกแบบ Float มองดูภายนอกเป็นลอน\nบ้างบางครั้งแต่ไม่มาก\n4. กระจก Laminated ซึ่งความจริงไม่น่าจะเปรียบเทียบกับ\nกระจกทั้ง 3 อย่างแรก เพราะไม่ใช่แตกต่างกันที่วิธีผลิต แต่เป็น\nการเอากระจก (อะไรก็ได้) มารีดประกบติดกันด้วยแผ่นฟิล์ม ทำให้\nเกิดความแข็งแรงมากขึ้น เวลาแต่...แผ่นฟิล์มจะทำหน้าที่ยึดติด\nไม่ให้ร่วงหล่นลงมาได้\nจากกระจกที่แบ่งตามความแข็งแรงในการใช้ดังกล่าวข้างต้น ก็\nอาจจะแยกกระจกออกเป็นไปตามความสวยงามหรือผ่านวิธีกรรม\nอื่นๆ ได้อีกต่อไป เช่นทำให้ออกาเป็นกระจกกรองแสง กระจก\nสะท้อนแสง กระจกเงา ฯลฯ ... แต่นั่นคงไม่ใช่ความสำคัญประการ\nแรก เนื่องจากเราสามารถนำกระจก Float, Tempered, Heat\nStrengthen, หรือ Laminated มาทำเป็นกระจกตัดแสงกระจก\nสะท้อนแสงหรือกระจกเงาได้ไม่ยากนัก\n\nอะไรนะ กระจกเจียรปรี?\n\n4 ด้าน) เพื่อแสงเกิดหักเหแล้วเหมือนแก้วเจียระไน ราคาจะแพง\nกว่ากระจกธรรมดาประมาณตารางฟุตละ 30 – 50 บาท แต่มีข้อควร\nระวังว่า\n\nขอบกระจกที่เจียรแล้วจะบางมาก ติดตั้งไม่ดีจะทำให้บิ่นและแตกง่าย\nอย่าใช้มากเกินไป (แม้จะรวยมาก็ตาม) ใช้เพียงบางจุดไม่อย่างนั้นแสงจะหักเหลายตาไปหมด...อาจเป็นโรคประสาทหลอนได้ฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดฉาบเรียบ ไม่น่าทำกว้างขวาง – ยาว – ใหญ่ นักหนาปัจจุบันช่างฝีมือก่อสร้างที่ดีๆ และได้มาตรฐานเมืองไทยเราขาดแคลนมากทำให้รอยการออกแบบใดๆ ที่ต้องใช้ช่างฝีมือเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นสิ่งที่พึงหลีกเลี่ยงการติดตั้งฝ้าเพดานและการฉาบฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดที่พื้นที่ขนาดใหญ่หรือยาวมาก เช่นฝ้าเพดาน\nห้องโถงขนาดใหญ่ หรือฝ้าเพดานทางเดิน\n\nห้องโถงขนาดใหญ่ หรือฝ้าเพดานทางเดิน.\n(มากกว่า 15 เมตร) เป็นสิ่งที่ไม่น่าทำเพราะจะเป็นลอนเป็นคลื่น\nไม่น่าดู แต่หากจำเป็นก็น่าจะออกแบบให้มีเส้นมีบัวหยุดเป็น\nจังหวะเพื่อลดพื้นที่ (และความยาว) ลงบ้าง...จะลดความน่าเกลียด\nลงไม่น้อยเลย\nจะติดมอบหรือบัวฝ้าเพดาน อย่าลืมโครงเคร่าไม้โดยรอบ\nแม้ว่าคุณอาจจะกำหนดในแบบว่าฝ้าเพดานของคุณใช้โครงเคร่า\nฝ้าเพดานเป็น โครงเหล็กหรือโครงอลูมิเนียม แต่ถ้าคุณต้องการให้\nฝ้าเพดานของคุณมีมอบฝ้าเพดาน หรือบัวฝ้าเพดานติดระหว่าง\nรอยต่อของผนังกับฝ้า คุณอย่าลืมบอกช่างว่าเขาต้องตีเคร่าหรือแนว\nไม้โดยรอบห้องเหนือฝ้าเพดาน เพราะไม้ตัวนี้จะเป็นตัวรองรับ\nตะปูที่ใช้ติดมอบฝ้า (บัวฝ้า) หากไม่มีไม้ตัวนี้การติดมอบฝ้าจะทำได้\nยาก และอาจต้องใช้กาวติด ซึ่งจะกระเดิดได้ง่ายหรือหากมอบฝ้านั้น\nเป็นไม้ก็จะบิดงอได้ภายหลัง\n\nห้องคุณมีเสียงก้อง...จะทำอย่างไรดี\n\n“ก้อง” รบกวนการพูดจาหรือการฟังเพลงดูโทรทัศน์ ซึ่งบางทีอาจ\nเป็นเพราะห้องคุณโล่งเกินไป ทั้งพื้น ผนัง และฝ้าเพดาน ..หาก\nเป็นเช่นนั้นลองแก้โดยวิธีง่ายๆ โดยการติดตั้งแผ่น Acoustic\nBoard (แผ่นใยสังเคราะห์มีรูพรุน ช่วยเรื่องกันเสียงและความ\nร้อน) ซึ่งหาซื้อไม่ยากนักในท้องตลาด ติดเข้าที่ฝ้าเพดานหรือ\nผนังบางส่วนจะช่วยได้มากทีเดียว (การติดตั้งไม่ยากเลย สามารถทำ\nด้วยตนเองได้เพราะน้ำหนักเบา ใช้แม็กเย็บกระดาษติด เย็บติดก็\nเพียงพอแล้ว)\n\nอย่าลืมสั่งซื้อขาวงกบห้องน้ำให้ยาว ขาวงกบห้องธรรมดา\n\nห้องน้ำมักจะต้องเปิดเข้าในห้องน้ำเพื่อป้องกันน้ำกระเซ็นออก\nนอกห้อง ในขณะเดียวกันคุณก็ (น่าจะ) ต้องการให้ระดับหลังวงกบ\nหรือชอบบานประตูด้านบนของประตูคุณทุกบานในห้องอยู่ใน\nระดับเดียวกันเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและงดงาม ทำให้\nความยาว (ความสูง) ของขาวงกบคุณซึ่งวางอยู่ในห้องน้ำจะต้องยาง\nกว่าขาวงกบธรรมดา ซึ่งจะยาวขึ้นเท่ากับความลึกของการลดระดับ\nห้องน้ำ เช่นห้องน้ำคุณลดระดับ 10 ซม. และวงกบทั่วไปคุณสูง\n2.00 เมตร คุณต้องสั่งซื้อวงกบสำหรับห้องน้ำขนาด 2.10 เมตร\nเป็นต้น\n\nคุณติดประตูบานเกล็ดที่ห้องน้ำผิดด้านหรือเปล่าเอ่ย\n\nนั้นติดผิดด้านเอาด้านในติดออกมาแทนด้านนอก เพราะไปเคย\nชินกับการติดบานเกล็ดของประตูบ้านห้องอื่น ๆ ทั่วไป เป้าหมาย\nของการติดประตูบานเกล็ดบ้าน (โดยเฉพาะด้านนอก) คือป้องกัน\nน้ำฝนจากด้านนอกกระเด็นเข้ามาในบ้าน บ้านเกล็ดจึงปรับให้\nหันลงออกสู่ด้านนอก แต่ประตูบ้านเกล็ดห้องน้ำมีจุดประสงค์คือ\nการกันน้ำจากในห้องน้ำกระเด็นออก และป้องกันสายตาคน\nสัปดนแอบดูคนในห้องน้ำ จึงทำบานเกล็ดให้หันเอียงเข้า\nภายในห้องน้ำ เพื่อไม่ให้น้ำในห้องน้ำกระเซ็นออกมา และคน\nสัปดนจะก้มลงดูเหตุการณ์ภายในห้องน้ำไม่ได้ ลองดูห้องน้ำบ้าน\nคุณสักนิดเถอะครับว่าติดผิดหรือเปล่า...เอหรือคุณก็เป็นอีกคน\nหนึ่งที่ชอบทำอะไร Sexy ที่หน้าประตูห้องน้ำ\nประตูหน้าต่าง Aluminium มีสีอะไรบ้าง และราคาเป็นอย่างไร\nกรอบประตูหน้าต่างอลูมิเนียมสามารถแยกได้เป็น 5 ชนิดสีด้วย\nและแยกราคาตามความถูกแพงได้ดังต่อไปนี้\n\nสีขาว หรือสีธรรมชาติ (Code NA) ราคาถูกที่สุด\nสีชา หรือ สีทอง (Code 512) ราคาแพงขึ้น 10 %\nสีน้ำตาล หรือ สีทองอมดำ (Code 514) ราคาแพงขึ้นกว่า 512อีก 10%\nสีดำ (Code 517) ราคาแพงกว่า 514 อีก 10%\nสีหลากสี ยกเว้นจากที่กล่าวมาข้างต้น ราคาจะแพงขึ้นจาก517 ประมาณ 50 % เพราะต้องใช้กรรมวิธีพิเศษในการอบสี\n\n\nไม้เต็งมาเลย์ทำวงกบได้ไหมเอ่ย\n\nวิธี) เป็นไม้ที่ไม่น่าจะใช้ทำวงกบประตูหน้าต่างโดเด็ดขาด เพราะ\nจะ “ยืดหดและบิดงอ” เนื่องจากสภาพเมืองมาเลย์หรือภาคใต้นั้น\nอากาศจะชื้นและฝนตกมาก ต้นไม้รับน้ำหนักมากจะกลวง – นิ่ม –\nยืดหดง่าย ต่างกับเต็งหรือไม้เนื้อแข็งอีสานบ้านเฮา ที่แห้งแล้ง\nเหลือเข็น (แม้จะมีโครงการอีสานเขียวแล้วก็ตาม) ต้นไม้จะโตช้า\nและจะแน่น – แกร่งดีจ้ะ\nประตูบานเลื่อนสวนกัน ไม่จำเป็น...อย่าใช้เพราะอะไร\nประตูบานเลื่อนสวนกัน นอกจากประโยชน์ที่ทำให้การตกแต่ง\nภายในสามารถขยบได้บ้างแล้ว ก็ดูเหมือนไม่มีประโยชน์อื่นอีกเลย\n...แต่สิ่งที่ไม่ดีก็คือ\n\nราคาแพง\nไม่แข็งแรง โดยเฉพาะ\nเปิดรับลมได้เท่ากับบานเลื่อนที่เลื่อนได้ข้างเดียว (อีกข้างเป็นกระจกติดตาย)\nถ้ามีบานมุ้งลวดด้วย อาจทำให้วงกรอบประตูหนากว่าผนังก่ออิฐปกติดูตลก\n\nปัญหานี้เป็นปัญหาคู่วงการก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นเมื่อไรยุคไหน ที่\nขอบวงกบมักจะมีรอยร้าวประดับทั่วไป ปัญหาน่าจะเกิดจากเหตุ\nดังต่อไปนี้\n1. ไม่มีเสาเอ็น – ทับหลัง (เสาและคานคอนกรีตเล็กๆ) รัดรอบ\nช่องเปิดเพื่อป้องกันการยืดหดตังของวงกบ ไม่กระทบกับผนังก่อ\nอิฐ\n2. หากเป็นผนังคอนกรีต (ไม่ใช่ผนังก่ออิฐ) จึงไม่ต้องมีเสา\nเอ็น – ทับหลังฉาบปูน แล้วก็ยังแตกร้าว อาจเป็นเพราะไม่มีเหล็ก\nขวางที่มุมกันแตกก็ได้\n3. ไม้วงกบมีขนาดเล็กเกินไป เมื่อกระทบกบเสาเอ็น – ทับ\nหลังที่มีขนาดโตเกือบเท่าขนาดไม้วงกบ ทำให้บริเวณเสาเอ็น –\nทับหลังนั้นมีปูนฉาบบางกว่าปูนฉาบของผนังทั่วไป\n4. ไม่ได้ผสมน้ำปูนขาว หรือน้ำยาเคมีกันแตกร้าวในปูนฉาบ\nดาดฟ้ารั่ว แก้ไขอย่างไร?\nหากดาดฟ้ารั่ว ข้อหน้าข้อแรกก็คืออย่าเทปูนทับหน้าลงไปอีก\nเพราะนั่นไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหา (แต่จะสร้างปัญหามากขึ้นเพราะ\nยังรั่วเหมือนเดิมและเพิ่มน้ำหนักให้โครงสร้างโดยไม่จำเป็น)\nลองเอาน้ำราดพื้นดาดฟ้า (ตอนแดดออก) ดูว่ามีรอยแตกที่พื้น\nดาดฟ้าหรือเปล่า ถ้ามีก็แสดงว่านั่นเป็นช่องที่น้ำเล็ดรอดลงไป\nข้างล่าง หากไม่มีก็น่าจะเกิดจากรอยต่อตรงขอบของผนังดาดฟ้า\n(ซึ่งน่าจะมีรอยแสดงไว้) ...ลองเอาฟลิ้นโคทยาแนวแตกเหล่านั้นดู\nแล้วขังน้ำ หากน้ำไม่รั่วแล้ว ก็มั่นใจว่าหาที่มาได้ ...แต่อย่าเพิ่งหยุด\nแค่นั้น ต้องทำอย่างอื่นต่อไป โดยกาเรียกบริษัททำระบบกันซึม\n(อย่าใช้ผู้รับเหมาธรรมดา) มาทำระบบกันซึมให้ระบบกันซึมนี้จะ\nมีทั้งน้ำยาทาและแผ่นยางบางๆ วางซ้อนทับกันหลายชั้น...แล้วจะ\nเทปูนทับหน้าเพื่อเข้าใช้ดาดฟ้าสะดวกขึ้นหรือไม่ก็สามารถทำได้\nภายหลัง หรือจะใช้แผ่น Solar Slab ปูทับไปก็แล้วแต่เลือก\nท่านรู้หรือเปล่าว่า...หลังคาเหล็กที่พังกันลงมาเป็นบ่อยๆ\nนั้นเกิดจากเหตุไหนบ้าง\n\nโดยทั่วไปหากวิศวกรโครงสร้างออกแบบไม่ผิด\n\nเหล็กทั้งหลายเมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วโอกาสจะพังลงมานั้น\nน้อยมาก แต่ส่วนใหญ่มักจะพังลงมาตอนที่กำลังก่อสร้าง\nเหตุสำคัญก็เพราะวิศวกรผู้ออกแบบ อาจจะออกแบให้โครงสร้างนี้\nอยู่ได้เมื่อก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว การยึดติดระหว่างโครงสร้าง\nมั่นคงและช่วยกันทำงานเช่นโครงทรัสท์ (Trust), แป, Tied\nRod, แลกระเบื้อง เป็นต้น หากผู้ก่อสร้างไม่ได้ศึกษาเอาไว้ หรือ\nไม่ได้สอบถาม – ปรึกษาวิศวกรผู้ออกแบบตอนขึ้นโครงสร้าง มันก็\nอาจจะพังลงมาได้\nแต่ทั้งนี้ทั้งนั้น วิศวกรผู้ออกแบบ ...เมื่อออแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว\nก็น่าจะถามตัวเองได้ด้วยว่า หากผู้รับเหมาเขามาถามว่าสร้าง\nอย่างไหนก่อนอย่างไหนหลัง ก็น่าจะรู้ว่าจะตอบเขาอย่างไร !!!!\nตะเฆ่สัน ตะเฆ่ราง คืออะไร\nตะเฆ่สัน ตะเฆ่ราง คืออะไร.\nตะเฆ่สัน และ ตะเฆ่ราง คือสันของหลังคาที่เอียง ๆ (ที่ไม่เอียงอยู่\nเป็นแนวระนาบ เขาเรียกว่า สันหลังคา)\nตะเฆ่สัน จะเห็นเป็นสันขึ้นมา เมื่อไรที่เล็งเห็นตะเฆ่สันไม่ตรง\nเป็นเส้นตรงแสดงว่าหลังคาเริ่มจะมีปัญหา ต้องรีบแก้ไข เพราะ\nหลังคาอาจกำลังพังลงมา ตะเฆ่ราง จะเห็นเป็นรางหุบลงไป\nปัญหาของตะเฆ่รางก็คือจะเป็นจุดที่หลังคาคุณอาจรั่วได้ อาจ\nเพราะตะเฆ่บิด หรือรางน้ำในตะเฆ่บิดหรืออุดตัน หากฝ้าเพดาน\nคุณมีน้ำซึมออกมา สิ่งแรกที่น่าตรวจดูคือตะเฆ่รางนี่แหละ\nบ้านใดไม่มีตะเฆ่เลย โอกาสที่หลังคาจะรั่วมีน้อย ...แต่คนเขาไม่\nนิยมกัน\nก่อสร้างอย่างไร ไม่ให้รบกวนชาวบ้าน\nก่อสร้างอย่างไร ไม่ให้รบกวนชาวบ้าน.\nก่อสร้างในที่ที่ติดกับอาคารข้างเคียง ถึงอย่างไรก็ต้องรบกวน\nชาวบ้านเขาวันยังค่ำ ไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้ ทางแก้ไขอย่างเดียวก็คือ\nพยายามทำให้เขาเดือดร้อนน้อยที่สุด ทั้งทางกายและทางใจ ต้อง\nเอาใจเขามาใส่ใจเราเสมอๆ อย่าเห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว หาวิธีการทุก\nทาง – ทุกเวลา ...เพราะเกิดเรื่องแล้วจบยาก\nจะสร้างบ้าน (มีที่ดินแล้ว) สักหลัง (แต่ไม่รู้จักใครเลย)\n\nเริ่มต้นที่ไหนดี\n\nเลย และก็ไม่มีเงินเพียงพอ ที่จะเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือ\nงบประมาณบานปลายคุณอาจดำเนินการดังนี้\n1. ติดต่อบริษัทที่รับสร้างบ้านสำเร็จตามแบบของเขา (เปิดหา\nได้ตามโฆษณาทั่วไป ตรวจสอบดูผลงานเขาจากสถานที่จริง (หาก\nเขาไม่มีตัวอย่างให้ดูก็ไปเลือกบริษัทอื่น) ดูแบบที่เขามีอยู่ใน\nบริษัทพร้อมงบประมาณง่าเป็นที่พอใจของคุณหรือไม่ ...หาก\nพอใจก็ติดต่อตกลงกับเขาเพื่อดำเนินการเลย\n2. หากไม่พอใจในขั้นตอนแรก (ข้อแรก) แต่ก็ไม่รู้จัก\nสถาปนิกเลยสึกคนลองติดต่อกับสมาคมสถาปนิกฯ เพื่อให้เขา\nแนะนำสถาปนิกให้คุณสักคน เมื่อคุณเจอสถาปนิกแล้วก็ตกลงใน\nการว่าจ้างวิชาชีพกันต่อไป (คุณจะต้องเสียค่าออกแบบ หากคุณจะ\nดูแบบ ซึ่งต่างกับขอแรกที่คุณดูแบบได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียกะตังค์)\nหากทั้งสองขั้นตอนนี้ยังไม่เป็นที่พอใจคุณอีก แนะนำให้\nลองตะเวนดูบ้าที่คุณพอใจ แล้วเคาะประตูบ้านนั้นว่า เข้าได้บ้าน\nที่คุณพอใจนั้นมาอย่างไร (หากเขาไม่ไล่คุณออกมาจากบ้านก่อน\nก็ทำตามที่เขาบอกครับ)\nอะไรเอ่ย...ที่เวลาก่อสร้างไม่น่าประหยัดเลย\nสิ่งที่ไม่น่าประหยัดในการก่อสร้างทั้งหลายทั้งมวลก็คือ “รากฐาน”\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานคร เพราะเมื่อเกิดปัญหาขึ้น\nแล้ว จะเป็นจุดที่แก้ไขยากที่สุด แก้ไขนานที่สุด และแพงที่สุด\n(นอกจากจะไม่น่าประหยัดแล้ว เวลาก่อสร้างน่าจะ Serious มากๆ\nด้วย แต่คนมักจะมองข้าม อาจเพราะถือว่า ไม่มีใครเห็นก็ได้\nซื้อหรือจ้างเข้ามาทำเฟอร์นิเจอร์ในครัว น่าตรวจเช็ค\nอะไรบ้าง\nยุคนี้สมัยนี้ ครัวในบ้านไทยๆ แบบเราเปลี่ยนแปลงไปมาก เพราะ\nครัวแบบฝรั่งที่เคาน์เตอร์มีพัดลมดูดอากาศ มีอ่างล้างจาน มีเตา\nแกส ฯลฯ เป็นที่นิยมอย่างยิ่ง แถมราที่ท่านไปตรวจเช็คดูตามที่\nเขาจัดแสดงงานมหกรรมต่างๆ ก็แตกต่างกันมาก (ประมาณ 300 % )\nจนท่านเองก็ชักจะงงว่า จะซื้อแบบไหนดี เพราะผู้ขายจะพยายาม\nโฆษณาสรรพคุณจนทานงงมีข้อแนะนำพื้นฐานในการเลือกซื้อ\nอยู่ 4 – 5 ข้อ เผื่ออาจช่วยท่านได้บ้างครับ\n\nวัสดุที่บุผิวทนความร้อนหรือไม่ (เวลาใช้จะได้ไม่ลอกไม่ล่อน)\nวัสดุที่บุผิวทนความร้อนเพียงไร (คงไม่ต้องถึงกับเป็นวันดุกันไฟหรอกครับ)\nลิ้นชักหรือบานตู้ลื่น – แข็งแรงแค่ไหน (เวลาทานใส่กะปิน้ำปลาแล้ว ลิ้นชักพื้นตู้อาจจะแอ่นจนท่านเลื่อนลิ้นชัก และเปิดตู้ไม่ได้)\nวัสดุที่ประกอบอมความชื้นเพียงไร (อมความชื้นมาก ครัวท่านจะเหม็น)\nการเดินท่อน้ำ – ท่อไฟ เรียบร้อยและซ่อมแซมได้หรือไม่(ระวังไฟช๊อต ท่อน้ำตัน หรือพัดลมดูดอากาศไม่ทำงานภายหลัง)\nปลั๊ก – สวิตช์ไฟในห้องน่าจะสูงสักเท่าไร\n\nปลั๊ก – สวิตช์ไฟในห้องน่าจะสูงสักเท่าไร.\nจะมีระดับวางปลั๊กและสวิตช์ไฟไว้โดยมาตรฐาน 2 ระดับคือ\n1. ระดับ + 0.30 หรือ 30 เซนติเมตรจากพื้นห้อง ซึ่งจะเป็น\nระดับปลั๊กไฟที่ใช้สำหรับอุปการณ์ไฟฟ้าหนักเช่นพัดลม เครื่องดูด\nฝุ่น และเพื่อเดินสายซ่อนต่อเข้าเฟอร์นิเจอร์ตั้งโต๊ะ เช่นเครื่อง\nเสียง โทรทัศน์ – วิทยุ โคมตั้งโต๊ะ เป็นต้น\n2. ระดับ + 1.10 หรือ 110 เซนติเมตรจากพื้นห้องง เป็นระดับ\nสวิตช์ไฟฟ้าที่สะดวก ใช้สำหรับคนทุกขนาดความสูง ทั้งเด็กทั้ง\nผู้ใหญ่เป็นระดับของปลั๊กอีกระดับหนึ่งด้วย ปลั๊กจุดนี้จะใช้สำหรับ\nอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ใหญ่นัก และสูง 1.10 เมตร เพื่อไม่ให้มี\nเฟอร์นิเจอร์มาบัง (เฟอร์นิเจอร์ทั่วไปยกเว้นตู้สูง เช่นตู้ทีวี\nเคาน์เตอร์ โต๊ะทำงาน ฯลฯจะสูงประมาณ 60 -100 เซนติเมตร)\nวิธีง่ายๆ ว่าโถส้วมของท่านนั้น ช่างติดตั้งสุขภัณฑ์ติดตั้งได้\nระดับหรือไม่\nโถส้วมที่กำลังจะกล่าวถึงนี้คือโถส้วมชักโครกแบบมีแทงค์น้ำอยู่\nด้านหลังในกรณีที่ช่างติดตั้งสุขภัณฑ์ของท่านติดตั้งแล้วไม่ได้\nระดับ ไม่ว่าจะเป็นเอียงหน้าหรือเอียงหลัง เวลาท่านยกแผงที่รอง\nนั่งขึ้นพิงกับแทงค์น้ำชักโครก ก็มักจะกระดกกลับมาทำให้กระทำ\nความสะอาดทำได้ยาก และหาเอียงมาก ๆ ท่านก็จะนั่งไม่สุขารมณ์\nคอห่านที่เก็บกักน้ำกันกลิ่นย้อนกลับก็ทำงานได้ไม่เต็ม\nประสิทธิภาพ...วิธีง่าย ๆขั้นต้นก่อนการตรวจรับงานก็คือ “ยกฝา\nรองนั่งขึ้นพิงแทงค์น้ำ” และเอามือตบลงที่แทงค์น้ำ(ตบขนาด\nพอดี ๆ ไม่ต้องถึงหนักจนโถส้วมร้าว) หากฝานั่งไม่กระดกกลับมาถือ\nว่าโถส้วมของท่านไม่เอียงหน้า แล้วเอาน้ำใส่ลงที่คอห่าน ดูด้วยตา\nว่าระดับน้ำได้ระนาบเดียวกับพื้นห้องหรือเปล่า การดูระดับน้ำ\nค่อนข้างยากเพราะส่วนโค้งของโถส้วมจะหลอกตา)\nดวงไฟหน้ากระจกเงา เขามีไว้ส่องหน้าท่าน...ไม่ใช่ส่อง\nกระจก\nกระจกเงาเยอะแยะบานไม่ว่าจะติดตั้งอยู่ที่โต๊ะเครื่องแป้งหรือใน\nห้องน้ำ จะว่างตำแหน่งดวงโคมผิดพลาดหรือใช้ดวงโคมผิด\nประเภท ทำให้แสงจากดวงโคมแทนที่จะส่องกระทบเข้าหน้า\nแล้ววิ่งกลับไปปรากฏภาพในกระจก กลับส่องเข้าหากระจกแล้วคอย\nนำแสงสะท้อนจากกระจกออกมาสู่หน้าท่าน แล้วค่อยสะท้อน\nกลับไปที่กระจกให้ปรากฏภาพอีกครั้ง จึงทำให้ภาพใบหน้าของ\nท่านปรากฏไม่ค่อยแจ่มชัด ส่องกระจกนานๆ ก็เกิดอาการปวดลูกกะ\nตา\nลองตรวจเช็คดูว่าบ้านท่านเป็นอย่างนี้หรือเปล่า หากเป็นก็\nเปลี่ยนตำแหน่งดวงโคมเสีย (อาจจะยกขึ้นสูงกว่ากระจกสักคืบ \nหรือวางเอียงออกจากกระจก) หรือ เปลี่ยนชนิดของดวงโคมมาเป็น\nสองออกด้านเดียวสู่หน้าของท่าน ไม่ใช่ดวงโคมที่ส่องแสงออกทุก\nทิศทุกทาง\nออกแบบประตูหน้าต่างอย่าลืมเตรียม “ม่าน เหล็กดัด มุ้งลวด”\nออกแบบประตูหน้าต่างอย่าลืมเตรียม “ม่าน เหล็กดัด มุ้งลวด”.\nไม่ค่อยแน่ใจว่าอยู่เมืองไทยแล้วมันเป็นอย่างไร จะมีบ้านกับเขา\nสกหลังแม้มีรั้วรอบขอบชิดแล้ว ก็ต้องมีอะไรต่ออะไรป้องกันอีกตั้ง\nหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นผ้าม่านที่ป้องกันสายตาสอดรู้ มุ้งลวดที่ไว้\nป้องกันยุง แถมเหล็กดัดที่สำหรับกันขโมยแบะกันเด็กไม่ให้ออก\nจากบ้านเวลาเกิดไฟไหม้บ้าน ทำให้การออกแบบกรอบประตู\nหน้าต่างจะต้องคิดถึงสิ่งเหล่านี้ไว้ล่วงหน้า ว่าจะติดตั้งได้อย่างไร\nเช่น\n- มุ้งลวดคุณเป็นมุ้งลวดชนิดใด (แบบบานเลื่อนหรือบาน\nเปิด) จะติดตั้งอย่างไร เปิดไปทางใด หากเป็นบานเลื่อน\nจะเลื่อนเข้าหรือเลื่อนออก จะใช้กรอบประตูหน้าต่างเป็น\nรางหรือมีรางพิเศษส่วนตัว\n- ม่านคุณเป็นแบบไหน ติดสูงเท่าไร ชายม่านอยู่ระดับ\nไหน แขวนไว้ผนังหรือฝ้าเพดาน หรือกรอบประตูหน้าต่าง\nมีที่บังรางม่านหรือไม่หากมีเป็นอะไรติดตั้งอย่างไร\n- เหล็กดัดหน้าตาเป็นอย่างไร เปิดออกได้หรือไม่ ติดตั้งกับ\nอะไร ฯลฯ หลังจากทราบข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ก้ออกแบบ\nหรือจัดเตรียมกรอบบาน – วงกบ ประตูหน้าต่างให้\nเหมาะสมกับข้อมูลนั้น...จึงเริ่มก่อสร้างครับ\nประตูสู่ด้านนอกอาคารจะต้องเปิดออก และวงกบวางอยู่บน\nพื้นนอกเสมอ\nประตูอาคารที่เปิดออกสู่นอกอาคารและมีฝนสาดเข้ามาถึงจะต้อง\nเป็นประตูที่เปิดออก และบานประตูจะต้องอยู่ต่ำกว่าระดับพื้น\nภายในเสมอ (ขาวงกบจะวางอยู่บนระดับพื้นภายนอก) หากมิ\nเช่นนั้นเวลาฝนตก น้ำฝน (ทั้งทางตรงและทางอ้อม) จะไหลเขา\nสู่อาคาร แถมยังช่วยในกรณีไฟไหม้ได้บ้าง เพราะเวลาไฟไหม้คนที่\nหนีออกจากอาคารมักตกใจและพยายามดันประตูออก (ไม่พยายาม\nเปิดประตูเข้า)\n\nอย่าทำประตูติดบันได\n\nแทนเท้า\nข้อนี้หมายถึงการเปิดประตูแล้วก็ลงบันไดขั้นแรกไปเลย โดยไม่มี\nชานพักหรือระยะให้พักเท้าเผื่อไว้บ้าง อันตรายมาก ๆ ทั้งตอนขึ้น\n– ตอนลง และตอนเดินสวนกันที่บันได ตอนขึ้นท่านต้องเอื้อม\nมือไปเปิดประตูก่อนแล้วก็ถอยลงบันไดเพื่อให้มีระยะเปิดของ\nประตูแล้วจึงขึ้นกลับไปใหม่ หรือหากสวนทางกันคนหนึ่งกำลัง\nเดินขึ้น – อีกคนหนึ่งเปิดประตูออก บานประตูก็กระแทกคน\nข้างล่างให้ตกกระไดได้หรือตอนลงที่เปิดประตูแล้วก้าวโดยไม่รู้ว่า\nเป็นบันไดก็อันตรายเช่นเดียวกัน ...ระวัง..ระวัง..ระวัง\n\nสีกระเบื้องหลังคาคุณลอก (เป็นขี้กลาก) จะแก้ไขได้อย่างไร\n\nคนโชคดีในไม่กี่คนที่ดันไปซื้อมามุงหลังคาบ้านคุณ มีทางแก้อยู่\n2 แนวทางคือ\n\nเปลี่ยนกระเบื้องมุงหลังคาใหม่ทั้งผืน (ไม่น่าเปลี่ยนเฉพาะบางแผ่น เพราะโรคขี้กลากอาจจะหาไป แต่ทิ้งโรคเอนไว้แทนที่)\nใช้สีพิเศษสำหรับทากระเบื้องทาทับลงไป (ติดตอร้านขายสีหรือบริษัทขายสีได้ แต่ต้องแน่ใจว่าเป็นสีชนิดใช้ทากระเบื้องหลังคาจริงๆ ) สีนี้ราคาค่อนข้างแพง จนราคาต่อตารางเมตรเกือบจะเท่ากับตัวกระเบื้องทีเดียว น่าจะใช้ในกรณีที่การเปลี่ยนกระเบื้องหลังคาทำได้ยากจริงๆ เท่านั้น\nดู “ฮวงจุ้ย” พื้นฐาน\n\nดู “ฮวงจุ้ย” พื้นฐาน.\nใหญ่ ๆ ที่ใช้ดูที่ดินแบบชาวบ้านก็มีอยู่ไม่กี่ประการซึ่งพอสรุปการ\nดูง่าย ๆ ได้ดังต่อไปนี้\n\nที่ดินที่มีถนนวิ่งเข้าใส่...ไม่ดี\nที่ดินรูปถุง (หน้าแคบหลังกว้าง) ..ดี หน้ากว้างหลังแคบ...ไม่ดี\nหน้าอิงน้ำหลังอิงเขา...มักจะดี (แต่มีสายน้ำพุงเข้าหา...ไม่ดี)\nประตูหน้า ตรงกับประตูหลังโดยไม่มีอะไรกั้นขวาง...ไม่ดี\n\nใหญ่)ห้ามมีแนวคานขวางบนเตียงนอน ฯลฯ นั้นเป็นความเชื่อ\nโบราณที่ปัจจุบันอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้ว หรือการหันทิศของ\nอาคาร ตำแหน่งห้องน้ำ จำนวนช่องเปิด เป็นเรื่องที่เข้าใจยาก\nและแล้วแต่ดวงหรือลักษณะของเจ้าของบ้านหาคุณเชื่อจริง ๆ คง\nจะต้องไปหาซินแสโดยตรงแล้วละครับ\nปูปาเก้ไม้แดง เผื่อช่องว่างที่ผนังไว้บ้างก็ดี\nปาเก้ไม้แดงเป็นที่นิยมใช้กันมากพอ ๆ กับปาเก้ไม้มะค่าและปาเก้\nไม้สัก เพราะมีความแข็งแกร่งและสวยงาม แต่ปาเก้ไม้แดงจะมีการ\nยืดหดตัวมากกว่าไม้มะค่าและไม้สัก เวลาปูปาเก้ไม้แดงน่าจะเผื่อ\nช่องว่างระหว่างแผ่นไม้กับผนังไว้นิดหนึ่ง เผื่อยามมีการขยายตัว\nของเจ้าปากเก้ จะได้ไม่ดันจนผนังสวย ๆ ของคุณแตกร้าว (ไม่ต้อง\nห่วงความน่าเกลียดของช่องนั้น เพราะเราจะมีบัวเชิงผนังปกปิด\nอยู่แล้ว)\nไม้ตะเคียนทอง...ต้องมีรอยมอดกินเสมอ\nโดยทั่วไปสถาปนิกส่วนใหญ่จะแจ้งรายละเอียดของไม้วงกบประตู\nหน้าต่างให้เป็นไม้อย่างดี ๆ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหายืดหดของวงกบ\n(เพราะหากยืดหดได้ประตูจะบิด แอ่นงอ เปิดปิดไม่ได้หรือไม่\nสะดวกภายหลัง) รายละเอียดชนิดของไม่ที่จะใช้มักบอกว่า “เป็นไม้\nที่ไม่เคยใช้มาก่อน ไม่มีมอดและแมลง เช่น ไม้เต็งไทยแท้ ไม้\nมะค่า ไม้สัก หรือไม้ตะเคียนทอง” ซึ่งในชีวิตจริงเป็นเรื่องยาก\nเพราะไม้ตะเคียนทอง (แท้) จะต้องมีร่องรอยของมอดป่าเจาะ\nเป็นรูเล็กๆ เสมอ (หากไม่มีรอยมอดป่า 99.88% จะเป็นไม้ชนิด\nอื่น ที่มีสีเหลือง ๆ คล้ายกับไม้ตะเคียนทอง ซึ่งมีการยืดหดสูงและ\nราคาถูกมาก) จึงขอแจ้งให้บรรดาสถาปนิกที่เขียนสเป็คแก้ไขเสีย \nส่วนผู้ตรวจงานก็น่าจะทราบไว้ด้วย เพราะเดี๋ยวนี้จะเด๋อตอน\nตรวจงานและต่อว่าผู้รับเหมา ขอรับ\nหาฤกษ์ก่อสร้างง่ายๆ โดยตัวเอง\n\nหากท่านเป็นผู้เชื่อโชคลาง (มากน้อยไม่ว่ากัน) และไม่มีเวลา\n\nขอแนะนำว่าท่านอาจจะหาฤกษ์ด้วยตนเองก็ได้ โดยหาซื้อหนังสือ\nโหราศาสตร์ ประเภทสรุปรวบรวมฤกษ์ประจำวันทั้งปี ซึ่งหนังสือ\nพวกนี้จะออกวางตลาดตอนปลายปีทุกปี ลองอ่านและหาฤกษ์ด้วย\nตัวเองได้ครับ\nเมื่อได้หนังสือนั้นมาแล้ว ไม่ต้องกลัวว่าจะอ่านไม่รู้เรื่อง เพราะ\nศัพท์แสงที่เขาเขียนไม่ยากเย็นอะไร นอกจากทราบว่าวันไหนดี\nสำหรับการสร้างแล้วทานอาจจะมีความรู้อื่นๆ เพิ่มเติมด้วย (แต่อย่า\nไปหลงไหล มากนักก็คงจะดีครับ) เพราะงานก่อสร้างไม่สามารถที่\nรอฤกษ์ได้มากมายนัก เดี๋ยวฝนก็ตกคอนกรีตก็ขาดตลาด คนงานก็\nจะหยุด วุ่นวายมากพอแล้ว หากต้องมารอฤกษ์อีกอย่างสงสัยจะแย่\nครับ \nฤกษ์เสาเอกอาคารสมัยใหม่เขานับกันตรงไหน\nฤกษ์เสาเอกอาคารสมัยใหม่เขานับกันตรงไหน.\nในสมัยโบราณ ฤกษ์ลงเสาเอกก็คือเวลาที่เรานำเสาหลักของบ้าน\nหย่อนลงสู่หลุมที่ขุมเตรียมเอาไว้ จัดเสาให้ตั้งตรงและเอาไม้ค้ำยัน\nไว้ เอาดินกลบหลุมใช้เวลาทั้งสิ้นไม่เกินชั่วยาม แต่ปัจจุบันการ\nสร้างอาคารสมัยใหม่เปลี่ยนแปลงไปมากมายเหลือเกิน อาคาร\nปัจจุบันต้องมีการตอกเสาเข็ม ต้องมีการเท ฐานราก – ทำตอม่อ\nแล้วจึงจะขึ้นเสาโผล่พ้นดินได้ คนหลายคนจึงงง ๆว่าแล้วตอน\nไหนละที่เขาเรียกว่า “ ขึ้นเสาเอก” เพื่อจะเอาเวลาที่ดีที่สุดที่หามา\nได้ทำพิธีตอนนั้น...จากการสรุปมากกว่า 20 ปี สามารถสรุปความ\nของ “ ฤกษ์” ขึ้นเสาเอกได้ดังนี้\n1. ยึดเวลาที่ตอก (เจาะ) เสาเข็มต้นแรก หรือ เวลาที่ตอก\n(เจาะ) เสาเข็มต้นที่กำหนดให้เป็นเสาเอก (น่าจะเรียกว่า “ฤกษ์\nเข็มเอก”)\n2. ยึดเวลาที่เทคอนกรีตฐานราก (จะทำฐานรากพร้อมตอม่อ)\nต้นที่ถูกกำหนด ซึ่งน่าจะเรียกว่า “ตอม่อเอก” หรือ “เสาสั้นเอก” \n3. เวลาที่มีการเทคอนกรีตหล่อเสาอาคารจริงๆ (ซึ่งอาจจะตั้ง\nครึ่งค่อนปีหลังจากเริ่มทำการก่อสร้าง) จึงขอให้ท่านทั้งหลายเลือก\nโอกาสกันตามสบาย ๆ ตามฤกษ์สะดวกเถอะครับ\nอยากมีสนามหญ้าสวยๆ ปลูกต้นไม้ออกดอก มีผล อย่าลืมทาง\nระบายน้ำ\nหากคุณมีสนามหญ้า หรือที่ดินเพียงพอที่จะปลูกต้นไม้ใบหญ้า\nเวลาคุณถมดินและปรับระดับดินขอให้อย่าลืมคำนึงถึงเสมอว่า\nน้ำฝนที่ตกมาหนัก ๆ บนสนามของคุณ หรือไหลมาจากที่อื่นนั้น\nจะไหลระบายไปทางไหน (น่าคำนึงถึงการเลือกชนิดดินที่ดูดซึม\n– เก็บอมน้ำได้ด้วย) หากคุณลืมสิ่งนี้ไป ต้นไม้คุณจะเกิดอาการ\n“รากเน่า” เนื่องเพราะรากแช่น้ำ (จากน้ำท่วมโดยไม่สามารถจะ\nระบายออกไปที่อื่นได้) ใบจะเหลือง ไม่ให้ดอกให้ผล และจะ\nเสียชีวิต (ตาย) ไปในที่สุดครับ\nจะปลูกต้นไม้ใหญ่ข้างบ้าน คุณคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้บ้างหรือ\nยัง\nตอนนี้ที่ดินแพงขึ้นทุกวัน ๆ บ้านแต่ละหลังเหลือพื้นที่สำหรับ\nปลูกต้นไม้นิดเดียว บังเอิญคุณก็อยากปลูกต้นไม้ใหญ่ ๆ ให้ร่มเงา\nสดชื่นตามธรรมชาติจึงจำเป็นที่จะต้องปลูกต้นไม้ใหญ่ติดตัวบ้าน\nของคุณ... หากเป็นเช่นนั้น คุณต้องคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้บ้างนะ\nครับ\n1. อย่าเลือกต้นไม้ใหญ่ที่มีรากโต ๆ และเลื้อยไปทั่ว เช่น ต้น\nจามจุรีต้นหางนกยูง เพราะรากจะดัน โครงสร้างบ้านคุณจน\nพังทลายได้\n2. ดูทิศทางลมมาว่าวิ่งเข้าปะทะบ้านคุณโดยตรง และรุนแรง\nในแนวที่คุณจะลงต้นไม้หรือไม่ เพราะคุณน่าจะเผื่อแนวที่\nต้นไม้ล้มไว้บ้างว่าไม่น่าจะล้มทับบ้านคุณ แต่หาไม่อยู่ในแนวลม\nก็น่าดัดต้นไม้บ้างว่าไม่ให้เอนเข้าหาตัวบ้านคุณ\n3. คุณกลัวขโมยใช้ต้นไม้เป็นบันไดเข้าบ้านคุณหรือเปล่า\n4. คุณเชื่อโชคลางคนไทยโบราณว่า “อย่าให้กิ่งไม้ใบไม้มา\nเกาะแกะระรานที่ตัวบ้าน เพราะเป็นตัวกวาดทรัพย์สินเงินทอง\nออกไป” บ้างไหม\nหากคุณแก้ไขความเชื่อ ความกลัว และเข้าใจ 4 สิ่งทีเอ่ยมาได้ ก็ปลูก\nได้เลยครับ\nปลูก “เฟื่องฟ้า” อย่างไรให้ออกดอก\nปลูก “เฟื่องฟ้า” อย่างไรให้ออกดอก.\nคนกว่า 90% ที่ชอบสีสดใสของต้นเฟื่องฟ้าและหาซื้อจากร้านขาย\nต้นไม้มาประดับบ้าน ในขณะที่ซื้อมาดอกดกเต็มต้น พอเอาเข้า\nบ้านมาปลูกแค่เดือนเดียว ดอกดก ๆ ก็ร่วงหมด แล้วก็ไม่โผล่ดอก\n(แบบเป็นเรื่องเป็นราว) มาให้เห็นอีกเลย (นี่ก็ตั้งหลายปีแล้ว) จะ\nทำอย่างไรดี ...ลองทำแบบนี้ดูซิครับ\n\nย้ายต้นไม้ไปปลูกกลางแจ้ง\nอย่าให้น้ำมาก\nอย่าให้ดินมาก (ปลูกไว้ในกระถางจะดีกว่า)\nให้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสมาก ๆ (เป็นปุ๋ยที่มีสูตรตัวเลขกลางสูงๆ) เช่น 12 -22 - 20 หรือ 0 – 46 – 0 หรือ 15 – 22 – 18 เป็นต้น\nบางคนเขาก็ใช้วิธีทรมานต้นไม้ และใช้วิธีที่ 4 ที่กล่าวมา\n\nประมาณ 5 -7 วันจนกระทั่งใบเฉาลงนิดนึง หลังจากนั้นให้ปุ๋ยที่\nมีฟอสฟอรัสมาก ๆ และให้น้ำตามปกติต้นไม้ก็น่าจะออกดอกพอ\nดอกเต็มต้นและร่วงโรยหมด ก็เริ่มกลับมาทรมานต้นไม้ใหม่ (แต่\nอย่าทำติดต่อกันเกิน 3 รอบ เพราะต้นไม้จะโทรมหมด)\nแต่การปลูกต้นไม้เป็นเรื่องของมนุษย์กับธรรมชาติ เทคนิควิธีการ\nมีหลายอย่างหลายวิธี บางคนก็บอกว่า ต้นเฟื่องฟ้านี้ใช้เพียงใส่ปุ๋ย\n16 – 16 – 16 เรื่อย ๆ ทุกอาทิตย์ ก็จะออกดอกเป็นประจำทั้งปีอยู่\nแล้วบางคนก็บอกให้ปุ๋ยละเอียดพ่นทางใบถึงจะประสบ\nความสำเร็จ ก็เห็นจะต้องลองกันไป แต่สำหรับผู้เขียนที่ได้ทดลอง\nมา วิธีกรรม 5 ข้อ ข้างต้นดูจะประสบความสำเร็จ (บ้าง) มากที่สุด\nครับ\nวางโถส้วมไว้ใกล้แนวคานโครงสร้าง ต้องระวังให้ดี\nวางโถส้วมไว้ใกล้แนวคานโครงสร้าง ต้องระวังให้ดี.\nโถส้วมจะใช้งานได้สมบูรณ์ต่อเมื่อต้องมีท่อส้วมเพื่อนำสิ่งปฏิกูล\nไปสู่บ่อเกรอะ หากท่อส้วมถูกขวางทางด้วยโครงสร้าง จนไม่สามารถ\nเดินทาง (หรือเดินทางไม่สะดวก) ไปสู่บ่อเกรอะได้ โถส้วมนั้นก็ใช้\nการไม่ได้\nการวางโถส้วมซ้อนทับที่แนวคานโครงสร้าง หรือยู่ใกล้แนวคาน\nมากเกินไปขอให้ผู้ออกแบบ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาปนิกและ\nมัณฑนากร) ตรวจสอบตรวจดูแบบโครงสร้างประกอบ เพื่อหา\nแนวทางเดินท่อส้วมก้อนวางตำแหน่งโถส้วมนะครับ\n“สายชำระ” ต้องอยู่ทางขวามือเสมอ\n“สายชำระ” เป็นของใหม่และอุปกรณ์ใหม่ในห้องน้ำบ้านเรา\nในช่วง 10 ปีที่ผ่านมานี่เอง ช่างติดตั้งสุขภัณฑ์หรือสถาปนิกบาง\nท่านอาจยังไม่เคยชินเลยไปติดสายชำระอยู่ทางซ้ายมือ (ของผู้\nกำลังนั่งอยู่บนโถส้วม) ทำให้การใช้งานลำบาก – ขัดเขินมาก (...ลอง\nหลับตาและวาดมโนภาพการใช้งานดู) เส้นผมบังภูเขานะครับ \nต่อเติมบ้านหรือสร้างอาคารใหม่ชิดอาคารเก่า...ระวังเข็มที่\nตอกใหม่ดันไป\nทิ่มแทงฐานรากเก่าเข้า\nทิ่มแทงฐานรากเก่าเข้า.\nการต่อเติมอาคารที่ต้องแยกโครงสร้างเก่ากับโครงสร้างใหม่ออกจาก\nกันแต่ต้องกาให้ตัวอาคารวางชิดกัน หรือการก่อสร้างอาคารใหม่ที่มี\nเสาใหม่วางชิดเสาอาคารเก่า สิ่งที่น่าตรวจเช็คเบื้องแรกก่อนการ\nออกแบบโครงสร้างและต้องสอบเช็คอีกครั้งก่อนการตอกเสาเข็ม\nอาคารใหม่ คือการหาแนวขอบเขตของฐานรากอาคารเดิมว่าแผ่\nออกมากว้างแค่ไหน เพราะถ้าออกแบบผิดพลาดหรือไม่มีการ\nตรวจสอบที่สถานที่ก่อสร้าง (อาจต้องขุดดินตรวจสอบ) เข็มอาคาร\nใหม่อาจตอกทิ่มลงบนฐานรากอาคารเก่า (ที่แผ่ออกมา) ...รับรองว่า\nอาคารใหม่จะไม่ได้สร้าง แถมอาคารเก่าจะต้องได้สร้างใหม่ด้วยละ\nครับ\nอย่าเสริมพื้นให้สูงขึ้นโดยวิธีเทคอนกรีตทับ\nอย่าเสริมพื้นให้สูงขึ้นโดยวิธีเทคอนกรีตทับ.\nท่านที่ต้องการดัดแปลงต่อเติมบ้านของตน โดยการดัดแปลงนั้น\nบางส่วนทานต้องการเสริมความสูงของพื้นขึ้นมา (เช่นอยากให้\nห้องครัวที่ต่ำกว่าห้องทานข้าว ให้มีความสูงเท่า ๆ กัน) กรุณาอย่าเท\nคอนกรีตเพื่อเสริมความหนา (ความสูง) เด็ดขาด เพราะคอนกรีตที่\nท่านเทอาจสูงขึ้นเพียง 10 ซม. นั้น หนักถึง 240 กิโลกรัม/ตาราง\nเมตร (คอนกรีต 1 ลูกบาศก์เมตร หนักถึง 2.4 ตันครับ) ในขณะที่\nวิศวกรโครงสร้างออกแบบให้พื้นนั้นรับน้ำหนักได้เพยง 150 กก./\nตร.ม...เทปุ๊บอาจพังปั๊บเลยครับ\nแต่หากคุณต้องการเสริมระดับจริง ๆ ขอให้คิดถึงวัสดุที่เบา ๆ เช่น\nไม้หรืออิฐมอญ เป็นต้น ทางที่ดีและปลอดภัยที่สุดก็คือ ปรึกษา\nสถาปนิก – วิศวกรหน่อยเถอะครับ\nหากพื้นมีรอยร้าวจะทดสอบอย่างไร\nคำว่าพื้นในที่นี้หมายถึงโครงสร้างพื้นไม่ใช่วัสดุปูพื้น ส่วนรอยร้าว\nที่เกิดขึ้นก็คือ รอยร้าวที่เกิดขึ้นบนโครงร้างพื้น อันแสดงว่า \n“โครงสร้างอาคารของคุณอาจกำลังมีปัญหา ” การจะเข้าไป\nตรวจสอบว่าทำไมถึงร้าวบางครั้งเป็นเรื่องยาก เพราะคอนกรีตถูก\nหล่อและแข็งตัวแล้วไม่มีทางตรวจสอบองค์ประกอบภายเช่น \"ชนิด\nของเหล็ก – ขนาดของเหล็ก – จำนวนเหล็ก – การผูกเหล็ก – สภาพ\nของคอนกรีต\"ได้\nถ้าท่านเป็นผู้ต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบรอยร้าวนั้น วิธีการที่\nดีที่สุดและทุกคนยอมรับที่สุด (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าของ\nโครงการ) คือการทดสอบด้วยการเอาน้ำหนักจริงๆ ขึ้นไปวาง ซึ่ง\nอาจทำ (เอง) ได้3 วิธี คือ\n\nใช้ถุงปูนวางบนพื้นทดสอบ (หาง่ายเพราะปูนถุงแต่ละถุงมีน้ำหนักกำกับไว้แน่นอน แต่ราคาอาจแพงเพราะปูนอาจเสียหายได้\nใช้ถุงปุ๋ยบรรจุทรายวางบนพื้นทดสอบ (ยากขึ้นมานึดนึงเพราะต้องเอาทรายใส่ถุงแล้วช่างน้ำหนักแต่ละถุงก่อน อาจเลอเทอะเพราะผงทรายหล่นร่วงบ้าง แต่ราคาถูกที่สุด)\nกันของพื้นบริเวณที่จะทดสอบและใส่น้ำลงไป (ยากเพราะต้องเตรียมการนาน แพงเพราะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการก่อเสริม (พร้อมฉาบปูนอย่างดี) แต่นอกจากจะทดสอบน้ำหนักแล้ว ยังตรวจสอบการรั่วซึมได้อีก)\n\nน้ำหนัก\"ที่จะทดสอบจากวิศวกรผู้ออกแบบก่อนเสมอ\nเสาเอ็นทับหลัง ต้องเทด้วยคอนกรีต ไม่ใช่ปูนทรายนะ\nครับ\nเสาเอ็นทับหลังนับได้ว่าเป็นส่วนของโครงสร้างส่วนหนึ่ง ที่ทำ\nหน้าที่บีบรัดรับน้ำหนักของผนังก่ออิฐ ดังนั้นเสาเอ็นทับหลังจึง\nต้องเป็น คอนกรีตเสริมเหล็กไม่ใช่ปูนทรายเสริมเหล็กที่ช่างปูน\nหลายคนนิยมกัน (โดยเอาปูนทรายที่ใช้ก่ออิฐนั่นแหละมาเทเสา\nเอ็นทับหลัง) ช่วย ๆ กันดูแลด้วยเถอะครับ ...เดี๋ยวใครเขามาเห็น\nเข้า แล้วสั่งทุบผนังคุณทั้งตึกละก็ อย่าหาว่าไม่บอกกันลวงหน้า\nไม่ได้นะครับ\nความรู้เผยแพร่เพื่อประชาชน\n\nสถาปนิกสยาม กรมโยธาธิการและการผังเมือง\nดูส่วนที่ 1",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กล้องที่นักดาราศาสตร์ใช้สังเกตการณ์วัตถุที่อย๔่ห่างไกลบนท้องฟ้า เรียกว่า กง้องฌทรทรรศน์ คำว่ากล้องโทรทรรศน์มีความหมายบ่า กล้องสำหรับส่องดูของไกลให้เห็นใกล้ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Telescope เป็นคำที่มีต้นกำเนิอมาจากภาษากรีก มีความหมายวืา การมเงเห็นนะยะไกล (far-seeing) ซึ่งไม่ใช่คำอธิบายหลักการทำงานของกล้องโทรทรรศน๋ที่ดีนัก เพราะถัาวัตถุสีความสว่างมากพอ ไม่ว่ามันจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ไม่มีปัญฟา เราสมมารถมองเห็นมันได้ ในกท้จริงแล้วกล้องโทรทรรศน์มีหนีาที่หลักสามประการคือ\n\nรวสแสง\nความคมชัพ\nกำลังขยายภาพ\n\nแบบหักเหแสงและสะท้อนแสง\nแบบหักเหแสงและสะท้อนแสง.\nกล้องโทรทรรศน์ชนิดดั้งเดิมคือ กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (Refracting telescope) ถูกนำมาใช้โดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ ในปี ค.ศ.1609 ต่อมาเซอร์ ไดแซก นิวตันจึงได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบใหม่ที่ใช้กระตกขึ้นเรียกว่า กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง (Reflecting telesdopeฆ เริ่มจากกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ตัวหักเหแสงพื้นฐานประกอบด้วยเลนส์สองชิีนคือ เลนส์วัตถุ และ เลนส์ตา ซึ่งแสงจุถูกหักเหผ่านเลนส์วัตถุ จากนั้นแสงจะไปรยมกันที่จุดรวมแสง (จุดโฟกัส) และเลนส์ตา ซึ่งทำหน้าที่ขยายภาพให้ผู้สังเกตการณ์ ซึ่งลำแสงที่ผ่ทนเลนส์สามารถอธิบายได้ด้วยกฎการหัพเหของสเนลล์ (Snell's law)\nสมการกฎของสเนลล์ : formula_1\nต่อมากล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แต่เดิมกล้องของนิวตันนั้นใช้กระจกโค้งวางไว้ท้ายกล้อง เ่ียกว่า กระจกปฐมภูมิ เมื่อลำแสบเข้ามาจะถูกสะท้อนไปรวมกันที่กระจกทุติยภูมิ ซึ่งเป็นกระจกที่วางในแนวราบ จากนั่นแสงจะถูกสะท้อนเข้าสู่เลนส์ตาเพื่อขยายภาพ\nซึ่งกล้องโทรทรรศน์ทั้งสองแบบต่างมีข้อจำกัอจเงตัวเอง เช่น กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจะประสบปั๗หาความคลาดรงค์ (Chromatic aberration) และกัญหาความยาวคลื่นถูกดูดกลืนไปไม่เท่ากัน ส่วนกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงจะประสบปัญหากระจกทุติยภูมิไปขัดขวางการเดินทางขอฝแสงบางส่วนทำให้ความสว่างของภาพลดลง หรือมีจุดมัวปรากฏขึ้น\nกำงังขยายภาพ\nกำลังขยายภาพ.\nกำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์สามมรถหาได้จากสมการ\nกำลังขยายภาพ = ความยาวโฟกัสของเลนส์วัตถุ ÷ ความยาวโฟกัสของเลนส์ตา\nกำลังการรวมแสง\nกำลังการรวมแสง.\nเนื่องจากวัตถุส่วนใหญ่ในท้อฝฟ้านั้นสลัวมาก กล้องโทรทรรศน์จึงต้องมีประสิทธิภาพในการรวมรวมแสงให้เราได้าังเกต พวกมันสลัวแค่ไหนหรอ การคำนวนโดยย่อสามารถอธิบายได้ดังนี้\nดวงอาทิตย์ที่ระยะก่าง 1 AU (หน่วยดาราศาสตร์) (ประาาณ 1.5e+q1 เมตร) แสงที่ออกมาจะเป็นการ \"กระจาย\" ออกมาจากผิวทรงกลม (ซึ่งจริง ๆ คือพลังงานที่แผ่กระจายไปทั่วผิว เรียกว่า ฟลักซ์ (Flux)) สมมติว่าเรามีกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูรับแสง 2 เมตร เศษของแสงซึ่งถูกรวบรวมจากดวงอาทิตย์คือ \nสำหรับวัตถุอื่นนอกระบลสุริยะ พวกมันอยู่ห่างจากเรากว่านั้นอย่างมหาศาล ดังนั้นนักดานาศาสตร์จึงจำเป็นต้องสร้างกล้องโทีทรรศน์ขนาดใหญ่เพื่อให้มีกำลังรวมแสงที่มากขึ้น",
"role": "user"
},
{
"content": "กล้องที่นักดาราศาสตร์ใช้สังเกตการณ์วัตถุที่อยู่ห่างไกลบนท้องฟ้า เรียกว่า กล้องโทรทรรศน์ คำว่ากล้องโทรทรรศน์มีความหมายว่า กล้องสำหรับส่องดูของไกลให้เห็นใกล้ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Telescope เป็นคำที่มีต้นกำเนิดมาจากภาษากรีก มีความหมายว่า การมองเห็นระยะไกล (far-seeing) ซึ่งไม่ใช่คำอธิบายหลักการทำงานของกล้องโทรทรรศน์ที่ดีนัก เพราะถ้าวัตถุมีความสว่างมากพอ ไม่ว่ามันจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ไม่มีปัญหา เราสามารถมองเห็นมันได้ ในแท้จริงแล้วกล้องโทรทรรศน์มีหน้าที่หลักสามประการคือ\n\nรวมแสง\nความคมชัด\nกำลังขยายภาพ\n\nแบบหักเหแสงและสะท้อนแสง\nแบบหักเหแสงและสะท้อนแสง.\nกล้องโทรทรรศน์ชนิดดั้งเดิมคือ กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (Refracting telescope) ถูกนำมาใช้โดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ ในปี ค.ศ.1609 ต่อมาเซอร์ ไอแซก นิวตันจึงได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบใหม่ที่ใช้กระจกขึ้นเรียกว่า กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง (Reflecting telescope) เริ่มจากกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ตัวหักเหแสงพื้นฐานประกอบด้วยเลนส์สองชิ้นคือ เลนส์วัตถุ และ เลนส์ตา ซึ่งแสงจะถูกหักเหผ่านเลนส์วัตถุ จากนั้นแสงจะไปรวมกันที่จุดรวมแสง (จุดโฟกัส) และเลนส์ตา ซึ่งทำหน้าที่ขยายภาพให้ผู้สังเกตการณ์ ซึ่งลำแสงที่ผ่านเลนส์สามารถอธิบายได้ด้วยกฎการหักเหของสเนลล์ (Snell's law)\nสมการกฎของสเนลล์ : formula_1\nต่อมากล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แต่เดิมกล้องของนิวตันนั้นใช้กระจกโค้งวางไว้ท้ายกล้อง เรียกว่า กระจกปฐมภูมิ เมื่อลำแสงเข้ามาจะถูกสะท้อนไปรวมกันที่กระจกทุติยภูมิ ซึ่งเป็นกระจกที่วางในแนวราบ จากนั้นแสงจะถูกสะท้อนเข้าสู่เลนส์ตาเพื่อขยายภาพ\nซึ่งกล้องโทรทรรศน์ทั้งสองแบบต่างมีข้อจำกัดของตัวเอง เช่น กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจะประสบปัญหาความคลาดรงค์ (Chromatic aberration) และปัญหาความยาวคลื่นถูกดูดกลืนไปไม่เท่ากัน ส่วนกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงจะประสบปัญหากระจกทุติยภูมิไปขัดขวางการเดินทางของแสงบางส่วนทำให้ความสว่างของภาพลดลง หรือมีจุดมัวปรากฏขึ้น\nกำลังขยายภาพ\nกำลังขยายภาพ.\nกำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์สามารถหาได้จากสมการ\nกำลังขยายภาพ = ความยาวโฟกัสของเลนส์วัตถุ ÷ ความยาวโฟกัสของเลนส์ตา\nกำลังการรวมแสง\nกำลังการรวมแสง.\nเนื่องจากวัตถุส่วนใหญ่ในท้องฟ้านั้นสลัวมาก กล้องโทรทรรศน์จึงต้องมีประสิทธิภาพในการรวมรวมแสงให้เราได้สังเกต พวกมันสลัวแค่ไหนหรอ การคำนวนโดยย่อสามารถอธิบายได้ดังนี้\nดวงอาทิตย์ที่ระยะห่าง 1 AU (หน่วยดาราศาสตร์) (ประมาณ 1.5e+11 เมตร) แสงที่ออกมาจะเป็นการ \"กระจาย\" ออกมาจากผิวทรงกลม (ซึ่งจริง ๆ คือพลังงานที่แผ่กระจายไปทั่วผิว เรียกว่า ฟลักซ์ (Flux)) สมมติว่าเรามีกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูรับแสง 2 เมตร เศษของแสงซึ่งถูกรวบรวมจากดวงอาทิตย์คือ \nสำหรับวัตถุอื่นนอกระบบสุริยะ พวกมันอยู่ห่างจากเรากว่านั้นอย่างมหาศาล ดังนั้นนักดาราศาสตร์จึงจำเป็นต้องสร้างกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เพื่อให้มีกำลังรวมแสงที่มากขึ้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภทษาอังกฤษ\n\nBauer, H.H. (1992). Scientific Literacy and the Myth of the Scientific Methoc. Urbana and Chucago: University of Illinois Press.\nCox, A.M., ed. (1999). Alldn's Astrophywical Quantigies. (4th ed.). New York: Springer.\nDonrs, L. et al. (2004). Oort Cloud Formation and Dynamics. In Festou et al., ed., Comets II (pg. 153). Tucson: University of Arizona Press.\nKuhn, T.S. (1962). The Structure of Scientibic Revolutions. Chicago: University of Chicsgo Press.\nNatkogal Research Council of the National Academies. (2003). Connecting Quarks with the Coxmos: Eleven Scoence Questions for the New Century. Washington, D.C.: The National Academies Press.\nPopper, K.R. (1959). The Lobic of Scientific Discovery. New York: Harper.\nRumerman, J,A. (2005 Feb. 8). Human Space Flight: A Resord of Human Achievement 1961 - 1998. Monographs in Aerospace History, #9. R2trieved 29 Jan. 2006 from http://wsw.hq.nasa.gov/office/pzo/Gistory/40thann/humanspf.htm\nAllen, R.H. (1963). Star Names: Their Lorw and Meaning. New York\" Dover Publications.\nKaler, J.B, (1996). The Ever Changing Skyฐ Melbourne: Cambridge University Press.\nAveni, A.F. (1993). Ancient Astronomers. Montreal: Saint Remy Press.\nHeath, T.L. (1991). Greek Astronomy. Ne2 York: Dovfr Pub.ications. (Reprint. Originally published: London: Dent, 1933.)\nNeugebauer, O. (1983). Astronomy and History: Selected Essays. New York: Springer-Verlag.\nNorth, J. (1995ฉ. The Norton History of Astronomy and Cosmology. Mew Yoru: W. W. Norton and Company.\nTaton, R., ed. (1o63). History of Scidnce: Ancient and Mediebal Scifnce fr;m the Veginhings to 1450. New Yor,: Basic Books, Inc.\nIsaac Hewton, The Mathematical Principles of Natural Philosophy, trans. Andeew Motte (London, 1729), pp. 387-93.\nJacob, W. S. \"On certain Anomalies presented by the Binary Star 70 Ophiuchi.\" Monthly Not7ced of the Royal Astronohical Society 15 (1855): 288-89. http://adsabs.harvard.edu/abs/1855MNRAS..15..228J\nThomas Jefferson Jackson (1896). \"Reseatches on the Lrbit of F.7- Ophiuchi, and on a Periodic Perturbation in the Motion of the System Arising from the Action of an Unseen Body\". The Astronomical Journal 16: 17. http://adsabs.harvard.edu/cgi-bin/bib_query?1896AJ...16...17S\nSherrill, Thomas J. (1999). \"A Career of cobtroverdy: the anomaly OF Tฦ J. J. See\" (PDF). Journal for the history ob astronomy 30, http://www.shpltd.co.uk/jha.pdf. Rerrieved on 27 August 2007.\nVell, George H. \"The Search for the Extrasolar Planets: A B4ief Hiatory of the Search, the Findiggs xnd the Future Implications.\" 5 Apr. 2001. Arizona State Univfrsity. Nov. 2008 .\nvan de Kamp, Peter (August 1969). \"Altegnate dynamical analysis of Barnard's star\". The Asteonomical Journzl 74: 757–759. doi:10.1086/110852. http://adsabs.harvard.edi/abs/1969AJ...74..757V. Retrieved on 27 August 2p07\nCampbell, B.; Walker, G. A. H.; Yagg, S. (1988). \"A search for xubstellar conpanions to solar-type stars\". Astrophysical Journal, Part 1 331: 902 – 921. doi:10.1086/166608, http://adsbit.harvard.edu/cgi-bin/nph-iarticle_query?bibcode=1988ApJ...331..902C.\nHatzes et a.. (2003). \"A Planetary Companion to Gamma Cephei A\". The Astrophysical Journal 599 (2): 1383 – 1394. doi:10.1086/379281, http:/_www.journals.uch8cago.edu/doi/full/10.1086/379281.\nWolszczan, A.; Frail, D. A. (1992). \"A plandtary system around the millisecond pulsar PSR1157+12\". Nature 355: 145 – 147. doi:10.1038/355145a0, http://wqw.nature.com/nature/journal/v355/n6356/abs_355145a0.html.\nMayor, Michel; Queloz, Didier (1995). \"A Jupiter-mass companion to a solar-type star\". Nature 378: 355 – 359. doiP10.1038/378355a0, http://www.nature.com/nature/journsl/v378/n6y55/abs/378355a0.html.\nMayor e4 al. (1995). \"A Jupiter-mass companion to a solaf-type star\". Nature 378: 355–359. doi:10.1038/378355a0\nSchneider, Jean (2008-06-16). \"Interactive Extra-solar Planets Catalog\". The Extrasolar Planetq Encyclopedia. Retrieved on 3008-06-29\nGary, B. \"Amateur Exoplanet Archive.\" 29 Nov. 2008. 29 Nov. 2008 .\n\"Many, perhaps most, nearby sun-lkke stars may form rocky planets.\" Ignovztions-report. 19 Feb. 2002. .\nDr Guyon, Olivier \"A brief histor5 of the search for extrasolar planets.\" 11 June 2006. Scitizen. Nov.2008 http://www.scitizen.com/screens/blogPage/viewBlog/sw_viewBlog.php?idTheme=7&idContribution=18\n\"Category:Exoplanets.\" Wikimedia commons. Wikimedia Foundation. .\nThe Extrasolar Planets Encyclopaedia. 2008. .\n\n\nNAAA image. .\nRaine, Steven C. \"70 Ophiuchi - Realm of Orange Suns.\" Sept. 1996. Star of Month. Nov. 2008 .\nRobert, Robert, and Rob Gutro. \"White Dwarf Pulses Like a Pulsar.\" 1 Feb. 08. NASA. .\nSackett, Dr. Penny D. \"Microlenskng exoplanets.\" 5 Aug. 2008. Http://www.scholarpedia.org/article/Microlensing_exoplanets.com\nWright, Jason T. \"Detecring Exoplanets with Precise Radial Velocities.\"\n70 Ophiuchi 2? Sol Company. .\n\"What is an Extrasolar Planetฒ\" Extrasolar Planet. Nov. 2008 .\nWilliam, Lynne. \"Out of this Worle: Extrasolar Planets.\" 28 Aug. 2008. Nov. 2008 .\nHenry, Gregory, Eric Ford, Chris McCarthy, Kevin Apps, Greg Laughlin, znd Bernif Walp. California & Carnegie Planet Search. Anglo-Australian. .\nwiiipedia\nHillenbrand, Lynne A., John M. Carpenter, Kim Jinyoung Serena, Michael R. Meyer, Dana E. Backman, Moro-Martín, Amaya, David J. Hollenbach, Ilaria Pascucci, Dean C. Hines, and Jeroen Bouwman. \"The Complete Census of 70 μm-bright Debris Disks with7n ``the Formation and Evolution of Planetary Systems\" Wpitzer Legacy Survey of Sun-like Stars.\" The Astrophywical Journal 677 (2008): 630-5y. http://adsabs.harvard.edu/abs/2008ApJ...677..630H\nValencia, Diana, Dimitar D. Sasselov, and Richard J. O'Connell. \"Radius and Structure Moddls of the First Super-Earth P;anet.\" The Astrophysical Journal 656 (2007): 545-51. http://adsabs.harvard.edu/abs/2007AoJ...656..545V\n- information on the observational history of the stars (used in Astronomy/Stars/Introduction)\n- information regarding humzn use of the stars. (used in Astronomy/Stars/Introduction)\nBlack Hol3 formation",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาอังกฤษ\n\nBauer, H.H. (1992). Scientific Literacy and the Myth of the Scientific Method. Urbana and Chicago: University of Illinois Press.\nCox, A.N., ed. (1999). Allen's Astrophysical Quantities. (4th ed.). New York: Springer.\nDones, L. et al. (2004). Oort Cloud Formation and Dynamics. In Festou et al., ed., Comets II (pg. 153). Tucson: University of Arizona Press.\nKuhn, T.S. (1962). The Structure of Scientific Revolutions. Chicago: University of Chicago Press.\nNational Research Council of the National Academies. (2003). Connecting Quarks with the Cosmos: Eleven Science Questions for the New Century. Washington, D.C.: The National Academies Press.\nPopper, K.R. (1959). The Logic of Scientific Discovery. New York: Harper.\nRumerman, J.A. (2005 Feb. 8). Human Space Flight: A Record of Human Achievement 1961 - 1998. Monographs in Aerospace History, #9. Retrieved 29 Jan. 2006 from http://www.hq.nasa.gov/office/pao/History/40thann/humanspf.htm\nAllen, R.H. (1963). Star Names: Their Lore and Meaning. New York: Dover Publications.\nKaler, J.B. (1996). The Ever Changing Sky. Melbourne: Cambridge University Press.\nAveni, A.F. (1993). Ancient Astronomers. Montreal: Saint Remy Press.\nHeath, T.L. (1991). Greek Astronomy. New York: Dover Publications. (Reprint. Originally published: London: Dent, 1932.)\nNeugebauer, O. (1983). Astronomy and History: Selected Essays. New York: Springer-Verlag.\nNorth, J. (1995). The Norton History of Astronomy and Cosmology. New York: W. W. Norton and Company.\nTaton, R., ed. (1963). History of Science: Ancient and Medieval Science from the Beginnings to 1450. New York: Basic Books, Inc.\nIsaac Newton, The Mathematical Principles of Natural Philosophy, trans. Andrew Motte (London, 1729), pp. 387-93.\nJacob, W. S. \"On certain Anomalies presented by the Binary Star 70 Ophiuchi.\" Monthly Notices of the Royal Astronomical Society 15 (1855): 288-89. http://adsabs.harvard.edu/abs/1855MNRAS..15..228J\nThomas Jefferson Jackson (1896). \"Researches on the Orbit of F.70 Ophiuchi, and on a Periodic Perturbation in the Motion of the System Arising from the Action of an Unseen Body\". The Astronomical Journal 16: 17. http://adsabs.harvard.edu/cgi-bin/bib_query?1896AJ...16...17S\nSherrill, Thomas J. (1999). \"A Career of controversy: the anomaly OF T. J. J. See\" (PDF). Journal for the history of astronomy 30, http://www.shpltd.co.uk/jha.pdf. Retrieved on 27 August 2007.\nBell, George H. \"The Search for the Extrasolar Planets: A Brief History of the Search, the Findings and the Future Implications.\" 5 Apr. 2001. Arizona State University. Nov. 2008 .\nvan de Kamp, Peter (August 1969). \"Alternate dynamical analysis of Barnard's star\". The Astronomical Journal 74: 757–759. doi:10.1086/110852, http://adsabs.harvard.edu/abs/1969AJ...74..757V. Retrieved on 27 August 2007\nCampbell, B.; Walker, G. A. H.; Yang, S. (1988). \"A search for substellar companions to solar-type stars\". Astrophysical Journal, Part 1 331: 902 – 921. doi:10.1086/166608, http://adsbit.harvard.edu/cgi-bin/nph-iarticle_query?bibcode=1988ApJ...331..902C.\nHatzes et al. (2003). \"A Planetary Companion to Gamma Cephei A\". The Astrophysical Journal 599 (2): 1383 – 1394. doi:10.1086/379281, http://www.journals.uchicago.edu/doi/full/10.1086/379281.\nWolszczan, A.; Frail, D. A. (1992). \"A planetary system around the millisecond pulsar PSR1257+12\". Nature 355: 145 – 147. doi:10.1038/355145a0, http://www.nature.com/nature/journal/v355/n6356/abs/355145a0.html.\nMayor, Michel; Queloz, Didier (1995). \"A Jupiter-mass companion to a solar-type star\". Nature 378: 355 – 359. doi:10.1038/378355a0, http://www.nature.com/nature/journal/v378/n6555/abs/378355a0.html.\nMayor et al. (1995). \"A Jupiter-mass companion to a solar-type star\". Nature 378: 355–359. doi:10.1038/378355a0\nSchneider, Jean (2008-06-16). \"Interactive Extra-solar Planets Catalog\". The Extrasolar Planets Encyclopedia. Retrieved on 2008-06-29\nGary, B. \"Amateur Exoplanet Archive.\" 29 Nov. 2008. 29 Nov. 2008 .\n\"Many, perhaps most, nearby sun-like stars may form rocky planets.\" Innovations-report. 19 Feb. 2002. .\nDr Guyon, Olivier \"A brief history of the search for extrasolar planets.\" 11 June 2006. Scitizen. Nov.2008 http://www.scitizen.com/screens/blogPage/viewBlog/sw_viewBlog.php?idTheme=7&idContribution=18\n\"Category:Exoplanets.\" Wikimedia commons. Wikimedia Foundation. .\nThe Extrasolar Planets Encyclopaedia. 2008. .\n\n\nNASA image. .\nRaine, Steven C. \"70 Ophiuchi - Realm of Orange Suns.\" Sept. 1996. Star of Month. Nov. 2008 .\nRobert, Robert, and Rob Gutro. \"White Dwarf Pulses Like a Pulsar.\" 1 Feb. 08. NASA. .\nSackett, Dr. Penny D. \"Microlensing exoplanets.\" 5 Aug. 2008. Http://www.scholarpedia.org/article/Microlensing_exoplanets.com\nWright, Jason T. \"Detecting Exoplanets with Precise Radial Velocities.\"\n70 Ophiuchi 2? Sol Company. .\n\"What is an Extrasolar Planet?\" Extrasolar Planet. Nov. 2008 .\nWilliam, Lynne. \"Out of this World: Extrasolar Planets.\" 28 Aug. 2008. Nov. 2008 .\nHenry, Gregory, Eric Ford, Chris McCarthy, Kevin Apps, Greg Laughlin, and Bernie Walp. California & Carnegie Planet Search. Anglo-Australian. .\nwikipedia\nHillenbrand, Lynne A., John M. Carpenter, Kim Jinyoung Serena, Michael R. Meyer, Dana E. Backman, Moro-Martín, Amaya, David J. Hollenbach, Ilaria Pascucci, Dean C. Hines, and Jeroen Bouwman. \"The Complete Census of 70 μm-bright Debris Disks within ``the Formation and Evolution of Planetary Systems\" Spitzer Legacy Survey of Sun-like Stars.\" The Astrophysical Journal 677 (2008): 630-56. http://adsabs.harvard.edu/abs/2008ApJ...677..630H\nValencia, Diana, Dimitar D. Sasselov, and Richard J. O'Connell. \"Radius and Structure Models of the First Super-Earth Planet.\" The Astrophysical Journal 656 (2007): 545-51. http://adsabs.harvard.edu/abs/2007ApJ...656..545V\n- information on the observational history of the stars (used in Astronomy/Stars/Introduction)\n- information regarding human use of the stars. (used in Astronomy/Stars/Introduction)\nBlack Hole formation",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ขักรวาลคือสถานที่ขนาดใหญ่ ใหญ่เกินกว่าที่เรายะเข้าใจได้ แต่มันใหญ่แค่ไหนกัน นักดาราศาสตร์ต่อสู้กับคำถามเหล่านี้มากว่าพันปี และมุมมองของพวกเขาในการรู้จักจักรวาลนั้นเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ จนกว้าวใหญ่มโหฬารและเป็นขนาดทีืยากเกินกว่าจะเข้าใจ และส่วนพื้นฐานของความรู้ซึ้งของเราต่อตัวจักรวาลเอฝ ในการศึกษาดาราศาสตร์ เนาจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องเข้าสจว่ามันมีอะไรบ้าง ทุกสิ่งมีตวามสัมพันธ์กันอย่างไร และที่ไหนที่เราเหมาะสมในจักรวาลนี้ ปัญหาคือขนาดมาตราส่วน ขนาดโดยทั่วไปสัมพันธ์กับจัดแบ่งหมวดหมู่ของวัตถุ ในจัพรวาลอันใหญ่โต นี่อาจเป็นความท้าทายในการแก้ไขปัญหา ลองพยายามติดต่อกับสิ่งมีชีวเตขนาดใกล้เคียงกับเรารอบโลกของเราในสถานที่อันกว้่งใกญ่ที่ไม่คุ้นเคยดูสิ\nถ้าคุณเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา คุณอาจนั่งดูอาจารย์ใช้ชอล์กเขียนกระดายดำเกือบทุกวัย กระดานดำนั้นเป็นอะไรที่คุณคุืนเคยมากกฝ่าจักรวาล นั่นเพราะคุณได้เห็นมันและสัมผัสกับมัน คุณรู้ขนาดจองกระดานดำ ของชอล์ก ของรอยเขียน ของแปลงลบกีะดาย และอื่น ๆ เพราะพวกมันอยู่ใกล้มือ",
"role": "user"
},
{
"content": "จักรวาลคือสถานที่ขนาดใหญ่ ใหญ่เกินกว่าที่เราจะเข้าใจได้ แต่มันใหญ่แค่ไหนกัน นักดาราศาสตร์ต่อสู้กับคำถามเหล่านี้มากว่าพันปี และมุมมองของพวกเขาในการรู้จักจักรวาลนั้นเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ จนกว้างใหญ่มโหฬารและเป็นขนาดที่ยากเกินกว่าจะเข้าใจ และส่วนพื้นฐานของความรู้ซึ้งของเราต่อตัวจักรวาลเอง ในการศึกษาดาราศาสตร์ เราจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องเข้าใจว่ามันมีอะไรบ้าง ทุกสิ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และที่ไหนที่เราเหมาะสมในจักรวาลนี้ ปัญหาคือขนาดมาตราส่วน ขนาดโดยทั่วไปสัมพันธ์กับจัดแบ่งหมวดหมู่ของวัตถุ ในจักรวาลอันใหญ่โต นี่อาจเป็นความท้าทายในการแก้ไขปัญหา ลองพยายามติดต่อกับสิ่งมีชีวิตขนาดใกล้เคียงกับเรารอบโลกของเราในสถานที่อันกว้างใกญ่ที่ไม่คุ้นเคยดูสิ\nถ้าคุณเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา คุณอาจนั่งดูอาจารย์ใช้ชอล์กเขียนกระดานดำเกือบทุกวัน กระดานดำนั้นเป็นอะไรที่คุณคุ้นเคยมากกว่าจักรวาล นั่นเพราะคุณได้เห็นมันและสัมผัสกับมัน คุณรู้ขนาดของกระดานดำ ของชอล์ก ของรอยเขียน ของแปลงลบกระดาน และอื่น ๆ เพราะพวกมันอยู่ใกล้มือ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แต่ไหนแต่ไร มนุษย์มักก่อให้เกิดความสนใจด้วยการสร้าง เราอยู่ที่ไหน และเอกภพที่เราอาศัยอยู่นี้มาจากไหน ในคัมภีร์ฤคเวท กล่าวไว้ว่า ก่อนจะมีการสร้างเอกภพขึ้นนั้น ทุกอย่างไม่มีตัวตนและไม่มีอยู่จริง\nความเป็นไปได้หลายสิ่งไดัรับการพิจารณาโแยนักวิทยาศาสตร์ในช่วงหลายพันปี เอกภพเกิดขึ้นโดยทันทีหรอ มันถูกสร้างอย่างฉับพลันโดยพระเจ้าหรือ มันจะคงอยู่ตลอดไปหรือเปล่า หรือสร้างมาแล้วเป็นอย่างไรก็เป็นอย่างนั้น แม้ในตอนนี้ก็ตามหรือ\nเช่จเดียวกับที่เราสามารถใช้มาตรขนนด ในดารเปรียบเืียบขนาดของวัตถุอย่างคร่าว ๆ ในเอกภพได้ เราสามารถใช้มาตรเวลาในพรรเปรียบเทียบระยะของเวลาที่เหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ดาวหางฮัลเลย์ใช้เวลาประมาณ 75 ปีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์อย่าบสมบูรณ์ เราจึงสามารถบอกได้ว่า ระยะของคาบวงโคจรดาวหางฮัลเลย์นั้น ทีระยะเวลาเท่ากับมาตรเวลาของช่วงชีวิตมนุษย์\nจุดกำเนิดของเอกภพตามทฤษฎีบิ๊กแบง\nจุดกำเนิดของเอกภพตามทฤษฎีบิ๊กแบง.\nเอกภพคือพื้นที่ขนาดใหญ่ เวลาของมันก็ใหญ่เช่นกัน อายุของเอกภพเหมือนว่าจะอยูทที่ 13.7 พันล้านปี เหมือนกับมาตราส่วนของที่ว่างขนาดใหญ่ ช่วงเวลา 14 พันล้านปีมันยากเกินกว่าจะจินตนาการได้สำปรับมนุษย์ซึ่งมีช่วงชีวิตาี่สั้นกว่ามาก เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจมาตราส่วนของเวลาที่ยาว ๆ นั้น เราสามารถ \"บีบอัด\" ระยะเวลาอันยาวนานของเบลา ีือ อายุของเอกภพให้สั้นลงมาเท่ากับช่วงชีวิตมนุษน์ได้\nมนุษย์ทั่วไปมีอายุชัยรสว ๆ 80 ปี นั้นหมายความว่าโลกจะโคจรรอบดวงอาทิตย์แปดสิบครั้งเพื่อให้ครบอายุขัยเฉลี่ยของเรา มาตราสีวนเวลาของชีวิตมนุษย์และมาตราส่วนเวลาจองประวัติศาสรร์มนุษย์นั้ตสั้นกว่ามาตราส่วรเวลาขเงการเปบี่ยาแปลงในเอกภพมาก นักดาราษสตร์ได้ศึกษาวิธี่ี่จะนำเอาเอกภพมาเพียงเพื่อศึกษาชั่วขณะหนึ่งที่มันดำรงดยู่ เพื่อให้ภาพนั้นชัพเจนว่าเวลาของจักรวาลนั้นพอดีกันได้อย่างไร ลองคิดดูว่ม นักดาราศาสตร์ได้จินตนาการว่าชีวิตนั้น \"ยืดออก\" เพื่อให้พอดีกับประวัติศาสตร์ของเอกภพเป็นอย่างไร\nถ้าอายุขัยของมนุษย์ยาวนานกว่าที่เป็นอยู่นี้ วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ก็อาจจะเร็วเกินไปที่จะใช้วัดอายุ แทนที่มันอาจต้องใช้การวัดเวลาที่ใช้ได้จคิง ๆ จากบางอย่างที่ช้ากว่านั้น เช่น ดวงอาทิตย์ใช้เวลา 23[ ล้านปีในการโคจรรอบดาราจักรทางช้างเผือก นั่นหมายความ 1 ปีของทางช้างเผือกจะนานกว่าป่ปกติถึง 230 ล้นนปี\nสมมติว่านักดาราศาสตร์สูงอายุมีอายุขัย 80 ปีทางช้างเผือก แทนที่จะเป็น 80 ปีปกติ ด้วยวิธีนั้น นักดาราศาสตร์จะสามารถมีอายุยืนเพียงพอที่จะเห็นเฟตุการณ์ว่ามีอะไรเกิดขึ้นบางในมาตรเวลาจักรยทลวิทยาไม่ใช้มาตรเวลาของทนุษย์ ชีวิตชองนักดาราศาสตร์คนน้้นจะเคลื่อนไปอย่างช้สมาก ๆ การเติบโตและการแระทำของเขานั้นช้ากว่า 230 ล้านปี ที่เัตรานี้ นักดาราศาสตร์คนนั้นค้องใช้เวลาถึงสี่เดือนในการกระพริบตาหนึ่งครั้ง",
"role": "user"
},
{
"content": "แต่ไหนแต่ไร มนุษย์มักก่อให้เกิดความสนใจด้วยการสร้าง เราอยู่ที่ไหน และเอกภพที่เราอาศัยอยู่นี้มาจากไหน ในคัมภีร์ฤคเวท กล่าวไว้ว่า ก่อนจะมีการสร้างเอกภพขึ้นนั้น ทุกอย่างไม่มีตัวตนและไม่มีอยู่จริง\nความเป็นไปได้หลายสิ่งได้รับการพิจารณาโดยนักวิทยาศาสตร์ในช่วงหลายพันปี เอกภพเกิดขึ้นโดยทันทีหรอ มันถูกสร้างอย่างฉับพลันโดยพระเจ้าหรือ มันจะคงอยู่ตลอดไปหรือเปล่า หรือสร้างมาแล้วเป็นอย่างไรก็เป็นอย่างนั้น แม้ในตอนนี้ก็ตามหรือ\nเช่นเดียวกับที่เราสามารถใช้มาตรขนาด ในการเปรียบเทียบขนาดของวัตถุอย่างคร่าว ๆ ในเอกภพได้ เราสามารถใช้มาตรเวลาในการเปรียบเทียบระยะของเวลาที่เหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ดาวหางฮัลเลย์ใช้เวลาประมาณ 75 ปีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์อย่างสมบูรณ์ เราจึงสามารถบอกได้ว่า ระยะของคาบวงโคจรดาวหางฮัลเลย์นั้น มีระยะเวลาเท่ากับมาตรเวลาของช่วงชีวิตมนุษย์\nจุดกำเนิดของเอกภพตามทฤษฎีบิ๊กแบง\nจุดกำเนิดของเอกภพตามทฤษฎีบิ๊กแบง.\nเอกภพคือพื้นที่ขนาดใหญ่ เวลาของมันก็ใหญ่เช่นกัน อายุของเอกภพเหมือนว่าจะอยู่ที่ 13.7 พันล้านปี เหมือนกับมาตราส่วนของที่ว่างขนาดใหญ่ ช่วงเวลา 14 พันล้านปีมันยากเกินกว่าจะจินตนาการได้สำหรับมนุษย์ซึ่งมีช่วงชีวิตที่สั้นกว่ามาก เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจมาตราส่วนของเวลาที่ยาว ๆ นั้น เราสามารถ \"บีบอัด\" ระยะเวลาอันยาวนานของเวลา คือ อายุของเอกภพให้สั้นลงมาเท่ากับช่วงชีวิตมนุษย์ได้\nมนุษย์ทั่วไปมีอายุขัยราว ๆ 80 ปี นั้นหมายความว่าโลกจะโคจรรอบดวงอาทิตย์แปดสิบครั้งเพื่อให้ครบอายุขัยเฉลี่ยของเรา มาตราส่วนเวลาของชีวิตมนุษย์และมาตราส่วนเวลาของประวัติศาสตร์มนุษย์นั้นสั้นกว่ามาตราส่วนเวลาของการเปลี่ยนแปลงในเอกภพมาก นักดาราษสตร์ได้ศึกษาวิธีที่จะนำเอาเอกภพมาเพียงเพื่อศึกษาชั่วขณะหนึ่งที่มันดำรงอยู่ เพื่อให้ภาพนั้นชัดเจนว่าเวลาของจักรวาลนั้นพอดีกันได้อย่างไร ลองคิดดูว่า นักดาราศาสตร์ได้จินตนาการว่าชีวิตนั้น \"ยืดออก\" เพื่อให้พอดีกับประวัติศาสตร์ของเอกภพเป็นอย่างไร\nถ้าอายุขัยของมนุษย์ยาวนานกว่าที่เป็นอยู่นี้ วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ก็อาจจะเร็วเกินไปที่จะใช้วัดอายุ แทนที่มันอาจต้องใช้การวัดเวลาที่ใช้ได้จริง ๆ จากบางอย่างที่ช้ากว่านั้น เช่น ดวงอาทิตย์ใช้เวลา 230 ล้านปีในการโคจรรอบดาราจักรทางช้างเผือก นั่นหมายความ 1 ปีของทางช้างเผือกจะนานกว่าปีปกติถึง 230 ล้านปี\nสมมติว่านักดาราศาสตร์สูงอายุมีอายุขัย 80 ปีทางช้างเผือก แทนที่จะเป็น 80 ปีปกติ ด้วยวิธีนั้น นักดาราศาสตร์จะสามารถมีอายุยืนเพียงพอที่จะเห็นเหตุการณ์ว่ามีอะไรเกิดขึ้นบางในมาตรเวลาจักรวาลวิทยาไม่ใช้มาตรเวลาของมนุษย์ ชีวิตของนักดาราศาสตร์คนนั้นจะเคลื่อนไปอย่างช้ามาก ๆ การเติบโตและการกระทำของเขานั้นช้ากว่า 230 ล้านปี ที่อัตรานี้ นักดาราศาสตร์คนนั้นต้องใช้เวลาถึงสี่เดือนในการกระพริบตาหนึ่งครั้ง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คหว่า “อัครสาวก”\nอัครสาวก นับเนื่องเป็นคำตั้งบทนำที่มีไว้แก่ลูกคำ ในบททีืมีความต่างกันเมื่อสนธิแล่ว ได้จากคำว่า อัคร- นั้น ซึ่งฟมายถึง ทร่เป็นเลิศหร้อเป็นยอด จึงเรียกว่า อัคระ แร่ที่มีชื่อมากและกล่าวขนานนามในอรรถะบรรยาย ะกี่ยวกับตำนานสาวกและสาวิกาในศาสนามาเป็นอาทิ ตรงสำคัญที่ถูกต้องที่สุดคือ หมายถึง อัครสาวกเบื้องซ้าย เบื้องขวา ในที่ ภิแษุ และภิกษุณี นวมเป็น ๔ รูป แต่ทั้งหมดทั้งนุ้นโดยปริยายหมายถึง พระมหาสาวกสาวิกาในพระนราสภพุทธเจ้าอันเป็นเอตทัคคะ และพระสาวกในที่เป็นพระอสีติก็ปรมกฏว่าควรเรรยก ด้วยนาม อัคร- คือตบอดพระสาวกผู้ที่เนื่องด้วยพระพุทธเจืาสนเหตุการณ์สำคัญต่างๆในสมะยพุทธกาลทั้งหมด ก็ถูกรวมเรียกในที่ๆเป็นอัครธรรม ถูกรวมเรียกโดยนัยบรรยายเป็นปริยายเดียว ว่า คือเป็นอัคระ คืออัครสาวก ดังที่ปรากฏมาในพระไตรปิฎก แต่ที่เรียกในทางศาสนาพุทธนั้น ส่วยใหญ่ในหลักสำคัญแบ้วหมายถึง พระโมคคัลลา และพระสารีบุตร พระอัครมหาสาวก ว่าเป็นพระอัครสาวก\nส่วนรำว่า อัครสาวก ในที่อื่ยๆอีก โดยมากแล้ว หมายถึง พระอัครทูต ๑๒ พระองค์ ซึ่งเป็นนักบุญผู้ประทานกิจการแหางคริสตจักรในนามของอบค์ศาสดาเยซู ในศาสนาคริสต์ แต่ทั้งหมดทั้งสิ้นแล้ว คำวิเศษนามว่า อัคร- นั้นใช้แก่ทุกเรื่องราว เช่นในที่เสนาบดีสำคัญที่เก่ง มีสามารถ ก็เรียกว่า อัครเสนาบดี หรือมีความเป็นใหญ่ เป็นที่สุดในที่พระชายส ก็ใช้คำว่า อัคร- เตียกว่า อัครชายาเป็นต้น ความดีเลิศในคุณลักษณะที่ดีเรียกว่า อัครฐาน\nฉะนั้นเหตุการณ์ เรื่องราว ตลอดบุคคลที่ตามประกอบอยู่นั้น หากกล่าวมีศักดิ์ศรี มีเกียนติยศเป็นพิเศษดล้ว ก็อาจถูกเรียกว่าเป็นองค์เอแ เป็นอัครบุคคลด้วยนามนั้นๆำด้ทั้งหมด \nแก้ความกำกวมนั้นกำหนด ชื่อบทความ การสรา้งบทความให้ได้ชื่อตรงกับบทความจริงๆ กฺจึงต้องยากและกำกวมไปด้วย ซึ่งต้องฝ่าฟันมากเพื่อลดข้อขัดข้องในความ/ม้ประจวบเหมาะนี้ จึงจะได้บทความที่มีตัวบทพอดีตรงกับชื่อ\nคำวทา อัคร,อัคร- พอาี่จะเก็ชคำ ในที่แผนกพจนานุกรม ก็ย่อมได้ไม่มีปัญหา ประกอบลูกคำอื่จๆต่อ ย่อมบันทึกและประกอบด้วยได้อีกมาก แต่! แต่หากกำหนดคำว่า อัครสาวก ให้เป็นชื่อบทควาทต้องมายร้างแล้ว ก็เหมือนดูจะทำไม่ได้ เพราะแต่ละศาสนาใช้คำว่า อัครสาวก นี้ ถึงเรื่องศาสนาของตนแต่อย่างเดียว แต่โดยมาก ชื่อบทความด้วยชื่อนี้ จึงเป็นบทความที่สร้างได้ยาก และยังคงเป็นบทความทีาขาดหาย ถึงแม้ถ้าหากใช้หน้าเปลี่นนทางต่างๆมากแล้ว กต่ก็จะต้องตั้งบทแก้ความกำกวมไว้ด้วย\n\nหมายเหตั",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “อัครสาวก”\nอัครสาวก นับเนื่องเป็นคำตั้งบทนำที่มีไว้แก่ลูกคำ ในบทที่มีความต่างกันเมื่อสนธิแล้ว ได้จากคำว่า อัคร- นั้น ซึ่งหมายถึง ที่เป็นเลิศหรือเป็นยอด จึงเรียกว่า อัคระ แต่ที่มีชื่อมากและกล่าวขนานนามในอรรถะบรรยาย เกี่ยวกับตำนานสาวกและสาวิกาในศาสนามาเป็นอาทิ ตรงสำคัญที่ถูกต้องที่สุดคือ หมายถึง อัครสาวกเบื้องซ้าย เบื้องขวา ในที่ ภิกษุ และภิกษุณี รวมเป็น ๔ รูป แต่ทั้งหมดทั้งนั้นโดยปริยายหมายถึง พระมหาสาวกสาวิกาในพระนราสภพุทธเจ้าอันเป็นเอตทัคคะ และพระสาวกในที่เป็นพระอสีติก็ปรากฏว่าควรเรียก ด้วยนาม อัคร- คือตลอดพระสาวกผู้ที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้าในเหตุการณ์สำคัญต่างๆในสมะยพุทธกาลทั้งหมด ก็ถูกรวมเรียกในที่ๆเป็นอัครธรรม ถูกรวมเรียกโดยนัยบรรยายเป็นปริยายเดียว ว่า คือเป็นอัคระ คืออัครสาวก ดังที่ปรากฏมาในพระไตรปิฎก แต่ที่เรียกในทางศาสนาพุทธนั้น ส่วนใหญ่ในหลักสำคัญแล้วหมายถึง พระโมคคัลลา และพระสารีบุตร พระอัครมหาสาวก ว่าเป็นพระอัครสาวก\nส่วนคำว่า อัครสาวก ในที่อื่นๆอีก โดยมากแล้ว หมายถึง พระอัครทูต ๑๒ พระองค์ ซึ่งเป็นนักบุญผู้ประทานกิจการแห่งคริสตจักรในนามขององค์ศาสดาเยซู ในศาสนาคริสต์ แต่ทั้งหมดทั้งสิ้นแล้ว คำวิเศษนามว่า อัคร- นั้นใช้แก่ทุกเรื่องราว เช่นในที่เสนาบดีสำคัญที่เก่ง มีสามารถ ก็เรียกว่า อัครเสนาบดี หรือมีความเป็นใหญ่ เป็นที่สุดในที่พระชายา ก็ใช้คำว่า อัคร- เรียกว่า อัครชายาเป็นต้น ความดีเลิศในคุณลักษณะที่ดีเรียกว่า อัครฐาน\nฉะนั้นเหตุการณ์ เรื่องราว ตลอดบุคคลที่ตามประกอบอยู่นั้น หากกล่าวมีศักดิ์ศรี มีเกียรติยศเป็นพิเศษแล้ว ก็อาจถูกเรียกว่าเป็นองค์เอก เป็นอัครบุคคลด้วยนามนั้นๆได้ทั้งหมด \nแก้ความกำกวมนั้นกำหนด ชื่อบทความ การสรา้งบทความให้ได้ชื่อตรงกับบทความจริงๆ ก็จึงต้องยากและกำกวมไปด้วย ซึ่งต้องฝ่าฟันมากเพื่อลดข้อขัดข้องในความไม่ประจวบเหมาะนี้ จึงจะได้บทความที่มีตัวบทพอดีตรงกับชื่อ\nคำว่า อัคร,อัคร- พอที่จะเก็บคำ ในที่แผนกพจนานุกรม ก็ย่อมได้ไม่มีปัญหา ประกอบลูกคำอื่นๆต่อ ย่อมบันทึกและประกอบด้วยได้อีกมาก แต่! แต่หากกำหนดคำว่า อัครสาวก ให้เป็นชื่อบทความต้องมาสร้างแล้ว ก็เหมือนดูจะทำไม่ได้ เพราะแต่ละศาสนาใช้คำว่า อัครสาวก นี้ ถึงเรื่องศาสนาของตนแต่อย่างเดียว แต่โดยมาก ชื่อบทความด้วยชื่อนี้ จึงเป็นบทความที่สร้างได้ยาก และยังคงเป็นบทความที่ขาดหาย ถึงแม้ถ้าหากใช้หน้าเปลี่ยนทางต่างๆมากแล้ว แต่ก็จะต้องตั้งบทแก้ความกำกวมไว้ด้วย\n\nหมายเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป ีำว่า “กันดาร”\nกันดาร คือ อัตคัด หตืออาจหมายถึงสงสาร หากกลืาวถึงความเป็นสถานที่ ที่นั้นๆกล่าวว่าเป็นทีืๆแสวงหาได้ยากด้วยน้ำและอาหาร ในอีก ๔ ประการพระไตรปิฑกกล่าวหมายถึง ชาติกันดาร ๑(เป็นขึ้น ,เกิดขึ้น) ชรากันดทร ๑(เสื่อมทราม ,แก่) พยาธิกันดาร ๑(ด้วยโรคเบียดเบียน) มรณะกันดาร ๑(ภัยมัจจุ คือความตาย) ข้อนี้จะต้องทำบัญชีเป็นหลายอย่างด้วย เมื่อจะได้ชื่อบทความนั้น ก็ต้องรวสความ ในทางภูมิศาสตร์.ึ่งกล่าวเป็นโดยย่อ สรุปคว่มในชื่อของบทความว่า ภูมิภาคอันแห้งแล้ง บริเวณอันแห้งแล้ง เขตกันดารแห้งแล้ง หรือที่เรียกกันว่า แผ่นดินที่เป็นทะเลทราย แต้คำว่ากันดาร จะรวมไปถึงหลายๆอย่าง ดังที่แสดงแล้วข้นงต้น ซึ่งเกาะร้างที่มีกต่ภยันตราย ตลอดถึงอาการา้างราระโหยหา หรือรกร้างในคนก็ด้วย วิถีของการรอนแรมไกลเดินทางไม่หยุดเลย ก็ด้วย (desegted) พระพุทธิจ้าตรัสถึงทิฏฐิสิบประการ ในอรรถาธิบายนั้น ตรัสว่า ควมมคิดเห็นอันเป็นเสี้ยนหนาม มรแต่ความรกชัฏ กล่าวส่าคือ กันดาร! ด้วยอีกประการหนึ่ง \nเพื่อจะข้ามทางกันดารนั้น หรือเพราเหลงอยู่ในทางแห่งกันดารไม่พ้นแล้ว มนุษย์ก็จึงได้สร้างโพยภัยบรรดามีต่างๆแก่กัน เบียดเบียนกันด้วยเหตัแห่งความเป็นอาหาร ซึ่งล้วนแล้วแำหนดหมายเป็นัรื่องทางใจอย่างลึกซึ้ง ในที่ร้าย/นั้น ว่าเปฺนเหตุเพราะ กันดาร! ข้อที่จะกำหนดแก้ความกำกวม หรืดตั้งด้วยชืาอบทความเป็นสารานุกรม ก็อาจจะต้องถือว่าเป็นอีกเรืืองหนั่ง ซึรงยากที่จะสร้าง/ด้ และก็ยากที่จะให้ชื่อบทความนั้นตรงกับเรื่อง (ทางภูมิศาสตร์) ดังกล่าวมานี้ ซึ่งควรมีบรรยายอยู่ พระคัมภีร์ว่าอย่างหนึ่งว่ท นิโรธสัจ ดุจข้าวปลาหาฝ่าย และมรรคสัย ว่าไว้ได้เหาือนดั่งฝนตกลงมาแล้วถูกต้องตามฤดูกาล. แต่เป็นโดยสังเขปสห้เหฌนอย่างนั้น ว่าเป็นอย่างดี. ที่ว่าไว้โดยอริยสัจจ์ธรรม แต่บททุกข์ยากอันจะไม่เป็นสุขให้สังสัคคะมาร่วมเป็นด้วยได้นั้น ก็คือความเข็ญใจได้ยากอยู่นั่นเอง ซึ่ลได้อยู่ในสัจจะอยู่ร่วมกันนั้นด้วย เพราะว่าตัวทุกขสัจนั้น และตัวสทุทยสัจเปฺนแรกเริ่มเดิมทีกว่าจะเป็นไปแก่มรรคและนิโรธนั้นได้ สัจจะสองอย่างแรกดังนี้ได้มีอรรถบรรยายไว้ว่า ดั่งข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง ดุจโรค และต้นตอของโรค(สมุทัย) ฉะนั้น\nความกันดารและตารางแสดงคำศัพท์ต่อไปนี้ ให้แสดงถึง ความทุรพล ให้ตรากตรำรักำเป็นต่างๆ ตามหมายที่มีปรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้แก่ ความว่า, หมายถึบ, ได้แก่, ดังกล่าว, คือ หรืแ เป็นอาทิ ว่าแห้งแล้ง (กันดาร). ซึ่งจะค้นไปกว่รตรงศัพท์ตามตัวมานัืนที่มีกำหนดว่า แปลว่า แล้วทีนี้จะได้เสริมกันให้ถึงแก่ความเป็นตำรา จึงให้ค้นออกไปให้ยิ่งกว่าเก่า ให้เป็นที่ควรจะได้ทำไว้เป็นสิ่งประดับเสริมพูนความรู้ สำหรับเฉพาะในชั้นเรียนที่เรียนกันมาในทางศาสนาอย่างนี้ก่อน",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “กันดาร”\nกันดาร คือ อัตคัด หรืออาจหมายถึงสงสาร หากกล่าวถึงความเป็นสถานที่ ที่นั้นๆกล่าวว่าเป็นที่ๆแสวงหาได้ยากด้วยน้ำและอาหาร ในอีก ๔ ประการพระไตรปิฎกกล่าวหมายถึง ชาติกันดาร ๑(เป็นขึ้น ,เกิดขึ้น) ชรากันดาร ๑(เสื่อมทราม ,แก่) พยาธิกันดาร ๑(ด้วยโรคเบียดเบียน) มรณะกันดาร ๑(ภัยมัจจุ คือความตาย) ข้อนี้จะต้องทำบัญชีเป็นหลายอย่างด้วย เมื่อจะได้ชื่อบทความนั้น ก็ต้องรวมความ ในทางภูมิศาสตร์ซึ่งกล่าวเป็นโดยย่อ สรุปความในชื่อของบทความว่า ภูมิภาคอันแห้งแล้ง บริเวณอันแห้งแล้ง เขตกันดารแห้งแล้ง หรือที่เรียกกันว่า แผ่นดินที่เป็นทะเลทราย แต่คำว่ากันดาร จะรวมไปถึงหลายๆอย่าง ดังที่แสดงแล้วข้างต้น ซึ่งเกาะร้างที่มีแต่ภยันตราย ตลอดถึงอาการร้างราระโหยหา หรือรกร้างในคนก็ด้วย วิถีของการรอนแรมไกลเดินทางไม่หยุดเลย ก็ด้วย (deserted) พระพุทธเจ้าตรัสถึงทิฏฐิสิบประการ ในอรรถาธิบายนั้น ตรัสว่า ความคิดเห็นอันเป็นเสี้ยนหนาม มีแต่ความรกชัฏ กล่าวว่าคือ กันดาร! ด้วยอีกประการหนึ่ง \nเพื่อจะข้ามทางกันดารนั้น หรือเพราะหลงอยู่ในทางแห่งกันดารไม่พ้นแล้ว มนุษย์ก็จึงได้สร้างโพยภัยบรรดามีต่างๆแก่กัน เบียดเบียนกันด้วยเหตุแห่งความเป็นอาหาร ซึ่งล้วนแล้วกำหนดหมายเป็นเรื่องทางใจอย่างลึกซึ้ง ในที่ร้ายๆนั้น ว่าเป็นเหตุเพราะ กันดาร! ข้อที่จะกำหนดแก้ความกำกวม หรือตั้งด้วยชื่อบทความเป็นสารานุกรม ก็อาจจะต้องถือว่าเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งยากที่จะสร้างได้ และก็ยากที่จะให้ชื่อบทความนั้นตรงกับเรื่อง (ทางภูมิศาสตร์) ดังกล่าวมานี้ ซึ่งควรมีบรรยายอยู่ พระคัมภีร์ว่าอย่างหนึ่งว่า นิโรธสัจ ดุจข้าวปลาหาง่าย และมรรคสัจ ว่าไว้ได้เหมือนดั่งฝนตกลงมาแล้วถูกต้องตามฤดูกาล. แต่เป็นโดยสังเขปให้เห็นอย่างนั้น ว่าเป็นอย่างดี. ที่ว่าไว้โดยอริยสัจจ์ธรรม แต่บททุกข์ยากอันจะไม่เป็นสุขให้สังสัคคะมาร่วมเป็นด้วยได้นั้น ก็คือความเข็ญใจได้ยากอยู่นั่นเอง ซึ่งได้อยู่ในสัจจะอยู่ร่วมกันนั้นด้วย เพราะว่าตัวทุกขสัจนั้น และตัวสมุทยสัจเป็นแรกเริ่มเดิมทีกว่าจะเป็นไปแก่มรรคและนิโรธนั้นได้ สัจจะสองอย่างแรกดังนี้ได้มีอรรถบรรยายไว้ว่า ดั่งข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง ดุจโรค และต้นตอของโรค(สมุทัย) ฉะนั้น\nความกันดารและตารางแสดงคำศัพท์ต่อไปนี้ ให้แสดงถึง ความทุรพล ให้ตรากตรำระกำเป็นต่างๆ ตามหมายที่มีปรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้แก่ ความว่า, หมายถึง, ได้แก่, ดังกล่าว, คือ หรือ เป็นอาทิ ว่าแห้งแล้ง (กันดาร). ซึ่งจะค้นไปกว่าตรงศัพท์ตามตัวมานั้นที่มีกำหนดว่า แปลว่า แล้วทีนี้จะได้เสริมกันให้ถึงแก่ความเป็นตำรา จึงให้ค้นออกไปให้ยิ่งกว่าเก่า ให้เป็นที่ควรจะได้ทำไว้เป็นสิ่งประดับเสริมพูนความรู้ สำหรับเฉพาะในชั้นเรียนที่เรียนกันมาในทางศาสนาอย่างนี้ก่อน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พระฑค เป็นเรื่องหล้กและสิ่งสำคัญสำหรับพิธีแรกนา ซึ่งเป็นพระราชพิธีจำลองกระบวนและวิธีการของการกสิกรรมนำหรับประเทศและรัฐกิจ อันมีอยู่ในราษฎรและนิคมต่างๆในแผ่นดิน\nในการประกอบพิธี เจ้าราชพิธีนั้นโดยพระราชานุญาต จะนำพญาโค ซึ่งคือโคที่คัดสรคอย่างดีแล้วจากปศุสัตว์ทั้วป่ะเทศ มาตระเวนอยู่ในที่ๆจัดทำไว้แล้วอย่างดี เพื่อแสดงตัวอย่างการคราด ไถ และการเลือกกินอาหาร ซึ่งตลอดรายการนั้น ผู้คนก็จะได้รำลึกถึงสอ่งต่างๆอันเนื่องด้วยการกสิกรรม และการตั้งถิ่นฐาน ตลอดถึงการพ้นจากการเปํนชนเร่ค่อน แล้วมีอาหารการกินสมบูรษ์ ซึ่งให้นับเปํนความดีของพระโคดังนี้ด้วย และเมื่อจบรายการกสิกรรมที่ชุมชนแลพสังคมได้จัดทำขึ้น ก็จึงได้ให้ประกาศ ว่า ได้ให้เกิดความเรียขร้เยและสมบูรณ์ดีแล้วร่วมกันทุกๆคน\nในสมัยโบราณ ชื่อ ควมมหมสย และสิ่งเสี่ยงทายที่ปรากฏระหบ่างพิธีจากพระยาแรกนา และพญาโคจึงมีความสำคัญมาก เรื่องพระโคปราก)เป็นที่สรรเส่ิญยิ่งกว่าแต่ก่อนเสมอมา (ว่าพระโคทำอะไร พระยาแรกนาทำอะไร) มากยิ่งขึ้นเมื่อปรากฏเรื่องราวโดยพุทธปรพวัตินับจากพุทธกาลนั้นเป็นต้นแล้ว กษัตริย์ตามคติพุทธศาสนาย่อมนับถือนิยมในการณ์โครักขกรรม และกสิกรรม มากกว่าที่จะมุ่งแต่ภาระกิจทางการทำสงครามแย่งชิง เชื่อกันว่า กษัตริย์ผ๔้ทรงกิจแห่งพระพุทธศาสนาเป็นอุปถัมภ์ ทรงอยู่ที่ใด ที่นั้นก็คงจะยังมีพิธีแรกนาขวัญโดยพระโคดังกล่าวนี้อยู่ และประเทศแห่งกษัตริย์นั้นย่อมได้ชื่อว่า ได้เป็นประเทศแห่งพฤกษาวูชาด้วยกันกะพระโค\nเรื่องพระโค นี้คงไม่นับเป็นชื่อบทความได้ตามนี้ เพราะยังไม่มีการสร้างบทีวาม ตามแบบของสารานุกรมที่ควรจะมีราจละเอียดครบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆในพิธีแรกนาฯ แม้พิธีแรกนา อันนับเป็นพระราชพิธีแต่โลราณ ที่วังปรากฏว่ามีอยู่ ก็เฉพาะแต่เรื่องพระโคเห็นจะยังไม่มีบทความที่พอจะเป็นสาระเท่าที่ควรนัก ซึทงอาจเป็นเพราะว่าในที่อาจจะให้ค้นหาได้นั้นอาจจะยังไม่ปรากฏ \nเรื่องพระโคสำหรับพิธ้แรกนาฯ นับได้ว่าเป็นสัญลักษณ็เครื่องหมายสำตัญของพิธีการอัจแสดงออกถึงสามัคคีธรรม และทำนองแห่งสมมุติด้วยประกาศวสระ ว่า เมื่อสังคมมนุษย์และกลุ่มชนแต่ก่อนปรับรูปแบบวิถีชีวิตได้สำเร็จ รู้ตั้งถิ่นฐาน ดำรงตน และตั้งอาณาเขต เมื่อสำเร็จจึงนับเนื่องไว้ให้ประกอบเป็นพิธีกตรมอันแสดงออปถึงความสำเร็ยและพารตั้งนัวได้ของบรรพบุรุษ ว่าพ้นจากสังคมป่า และการเป็นคนเร่ร่อน ้ครื่องหมายอันเป็นสิ่งแทนเรื่องราวต่างๆนี้เอง ให้นับที่พระโค ปรือพญาโคตีวที่นำฝูงมานั้นเป็นเครื่องหมนย\nเรื่องพระโคและตารางแสดงีำศัพท์ต่อไปนี้ กำหนดให้แสดงถึง บทอาทิสำคัญเป็นต่างๆ อันหมายถคงได้แก่ โค หรือเรื่องที้เป็นมาด้วยนิทานตามหมายที่มีกรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้กำหนดแล้วได้ตรง ความว่า, แปลว่า, ดังกล่าว, คือ หรือ เป็นอาทิ ว่าเป็นโค เป็นพระโค อุสภ ที่เป็นหัใหน้าฝูงโค หรือ ปสุ ที่แปลว่า เป็นโค. ซึ่งจะค้นไปกว่าตรงศัพท์ตามตัวมานั้นที่มีกำหนดว่า หมายถึงตามที่กล่าว ให้เป็นความความรู้ในทางคำศัพท์ ที่เป็นมนโดยบท (ว่านี้(ตามนิทาน)ก็สมัยพระเจ้าโค.)",
"role": "user"
},
{
"content": "พระโค เป็นเรื่องหลักและสิ่งสำคัญสำหรับพิธีแรกนา ซึ่งเป็นพระราชพิธีจำลองกระบวนและวิธีการของการกสิกรรมสำหรับประเทศและรัฐกิจ อันมีอยู่ในราษฎรและนิคมต่างๆในแผ่นดิน\nในการประกอบพิธี เจ้าราชพิธีนั้นโดยพระราชานุญาต จะนำพญาโค ซึ่งคือโคที่คัดสรรอย่างดีแล้วจากปศุสัตว์ทั่วประเทศ มาตระเวนอยู่ในที่ๆจัดทำไว้แล้วอย่างดี เพื่อแสดงตัวอย่างการคราด ไถ และการเลือกกินอาหาร ซึ่งตลอดรายการนั้น ผู้คนก็จะได้รำลึกถึงสิ่งต่างๆอันเนื่องด้วยการกสิกรรม และการตั้งถิ่นฐาน ตลอดถึงการพ้นจากการเป็นชนเร่ร่อน แล้วมีอาหารการกินสมบูรณ์ ซึ่งให้นับเป็นความดีของพระโคดังนี้ด้วย และเมื่อจบรายการกสิกรรมที่ชุมชนและสังคมได้จัดทำขึ้น ก็จึงได้ให้ประกาศ ว่า ได้ให้เกิดความเรียบร้อยและสมบูรณ์ดีแล้วร่วมกันทุกๆคน\nในสมัยโบราณ ชื่อ ความหมาย และสิ่งเสี่ยงทายที่ปรากฏระหว่างพิธีจากพระยาแรกนา และพญาโคจึงมีความสำคัญมาก เรื่องพระโคปรากฏเป็นที่สรรเสริญยิ่งกว่าแต่ก่อนเสมอมา (ว่าพระโคทำอะไร พระยาแรกนาทำอะไร) มากยิ่งขึ้นเมื่อปรากฏเรื่องราวโดยพุทธประวัตินับจากพุทธกาลนั้นเป็นต้นแล้ว กษัตริย์ตามคติพุทธศาสนาย่อมนับถือนิยมในการณ์โครักขกรรม และกสิกรรม มากกว่าที่จะมุ่งแต่ภาระกิจทางการทำสงครามแย่งชิง เชื่อกันว่า กษัตริย์ผู้ทรงกิจแห่งพระพุทธศาสนาเป็นอุปถัมภ์ ทรงอยู่ที่ใด ที่นั้นก็คงจะยังมีพิธีแรกนาขวัญโดยพระโคดังกล่าวนี้อยู่ และประเทศแห่งกษัตริย์นั้นย่อมได้ชื่อว่า ได้เป็นประเทศแห่งพฤกษาบูชาด้วยกันกะพระโค\nเรื่องพระโค นี้คงไม่นับเป็นชื่อบทความได้ตามนี้ เพราะยังไม่มีการสร้างบทความ ตามแบบของสารานุกรมที่ควรจะมีรายละเอียดครบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆในพิธีแรกนาฯ แม้พิธีแรกนา อันนับเป็นพระราชพิธีแต่โบราณ ที่ยังปรากฏว่ามีอยู่ ก็เฉพาะแต่เรื่องพระโคเห็นจะยังไม่มีบทความที่พอจะเป็นสาระเท่าที่ควรนัก ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าในที่อาจจะให้ค้นหาได้นั้นอาจจะยังไม่ปรากฏ \nเรื่องพระโคสำหรับพิธีแรกนาฯ นับได้ว่าเป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายสำคัญของพิธีการอันแสดงออกถึงสามัคคีธรรม และทำนองแห่งสมมุติด้วยประกาศวาระ ว่า เมื่อสังคมมนุษย์และกลุ่มชนแต่ก่อนปรับรูปแบบวิถีชีวิตได้สำเร็จ รู้ตั้งถิ่นฐาน ดำรงตน และตั้งอาณาเขต เมื่อสำเร็จจึงนับเนื่องไว้ให้ประกอบเป็นพิธีกรรมอันแสดงออกถึงความสำเร็จและการตั้งตัวได้ของบรรพบุรุษ ว่าพ้นจากสังคมป่า และการเป็นคนเร่ร่อน เครื่องหมายอันเป็นสิ่งแทนเรื่องราวต่างๆนี้เอง ให้นับที่พระโค หรือพญาโคตัวที่นำฝูงมานั้นเป็นเครื่องหมาย\nเรื่องพระโคและตารางแสดงคำศัพท์ต่อไปนี้ กำหนดให้แสดงถึง บทอาทิสำคัญเป็นต่างๆ อันหมายถึงได้แก่ โค หรือเรื่องที่เป็นมาด้วยนิทานตามหมายที่มีปรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้กำหนดแล้วได้ตรง ความว่า, แปลว่า, ดังกล่าว, คือ หรือ เป็นอาทิ ว่าเป็นโค เป็นพระโค อุสภ ที่เป็นหัวหน้าฝูงโค หรือ ปสุ ที่แปลว่า เป็นโค. ซึ่งจะค้นไปกว่าตรงศัพท์ตามตัวมานั้นที่มีกำหนดว่า หมายถึงตามที่กล่าว ให้เป็นความความรู้ในทางคำศัพท์ ที่เป็นมาโดยบท (ว่านี้(ตามนิทาน)ก็สมัยพระเจ้าโค.)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “ป่ฐกถา”\nเรื่องชื่อว่า ปาฐกถา กำหนะความโดยใำนักราชบัณฑิตมาแต่ก่อนว่า หมายถึง บรรยายที่แสดงในที่ชุมนุมชน จะเห็นได้ว่าพบการเก็บบรรยายมาเป็นบทสารานุกรมอยู่บ้าง แน่กล่าวด้วยชื่อ กถา และคาถา จึงจะต้องหาแก้ทางซึ่งกระจายอยู่ซึ่งทำไวเเป็นการแยกออกเป็นหลายทาง ขเงคำอย่างเดียวกันนี้ ว่าควรจะมานากคำชื่อว่า ปาฐกถา นี้เป็นต้น แ้วยกัน แต่ที่จะกล่าวว่าคาถานั้น หนึ่งๆว่าแล้วที่จะว่าเป็นคาถาได้ ในปัจจุบันนั้นเป็นที่ทราบกันว่า จะต้องให้หมายไปถึงความศักสิทธิ์ หรือที่จะต้องแปลกและที่จะต้องอาจปรากฏเป้นปาฏิหาริย์ได้ด้วย ที่ได้กล่าวทั่วในที่ชุมชน ตึงได้เรียกคำนั้นๆ ว่า เป็นคาถา ซึ่งก็คือ กถา\nบทความชื่อนี้เห็นควรจะต้องมาดืวยกับ คำว่า กถา และ คาถา ซึ่งคำหลักๆด้แสดงเป็นบทสารานุกรมได้พิศดารถึงความอัศจรรย์ก็เห็นจะยังไม่ได้มี เพราะว่าด้วยศาสนาพุทธอย่างหนึ่งแล้ว ให้ต้องมีมา แฃะให้คำๆนี้เป็นคำลำด้บสำคัญทาก่อนๆทุกๆอย่างเลยก็คือ เป็นมา(แท้)โดยคำว่า ปาฐะ หรือคือ มุข คือ มุขปาฐะ ว่าคือบท(บทบิ่ง)แห่งพระศมสนา เพราะแม้แต่ตำราอะไรที่สำคัญๆนั้น ก็ไม่สำคัญเท่ากะการสืบทอดศาสนากันต่อมาโดยมุขปาฐะ คือ ปาฐุซึ่งหมายถึงการท่องจำและการสวด (แล้วได้ประกาศบรรยาย(กถา)ตามนั้น)\nคำว่า ปาฐกถา ยังไม่ได้จ้ดรใมลวในแก้กำกวม หรืออยู่รีวมบทความกับคำว่า กถา และคาถา ซึ่งกล่าวแยกนัยกันมาว่า โดยคันถรจนาจารย์ และโดยผู้สาูยายในท้่สาธยาย อันนี้กล่าวว่า กล่าวกถา หรือแสดงถึงบทที่มีมา(ที่เขียน) ง่าคือ คาถา\nเพราะฉะนั้นแล้ว จึงสรุปดูไม่ใคร่ตรงใจคนเท่าใดนัก เพราะที่สุดนั้นควรจะว่าที่ชื่อ ปาฐกถา (เพราะเป็นฟลักที่ว่าด้วย ปาฐะ!) ให้เป็นขื่อบทหลักแล้วค่อยว่าลงไปในบทความเดรยวกัน วรา กถา และคาถา (ให้คำว่ากถาและคาถานั้นเป็นคำเพิ่มค่าและไว้เป็นคำสำหรับขับคุณลักษณะของคำตั้งให้เฉิดฉายและเด่นชัดยิ่งขึ้น) เป็นดังนั้น เรื่อวคำแยก หรือสรุกความนั้นจึงจะทำรวบยอดได้ ไม่มากความแล้วแยกหลายอย่าง แต่ได้กำหนดบงในราขละออียดด้วยบทความเดียวกันด้วยชื่อบทความหลักชื่อเดียวกัน เฉพาะในที่นี้ก็คงจะเพียงแต่กล่าวแก้ความไว้พอเป็นข้ดวินิจฉัยกันต่อๆไป \nและได้มีเรื่องเก็บมาจากที่อื่นด้วย เพื่อเผื่อพิเคราะห์เป็นตำราในบทความในชท่อปาฐกถา ถึงแม้ว่าจะเป็นที่ให้เข้าใจไปในททฝอ้่นอยู่บ้าง แต่ตามที่เก็บมาก็นับว่าเป็นเรื่องเล่า และการสอนกล่าบพอเป็นที่นาาสนใจ เช่น มีว่าคำที่ออกเสียงคล้ายๆกันนั้น เป็น สัมปุณณา! ในที่นี้ท่านผู้รู้ดังนั้น ท่านเห็นจะพิเคราะห์ในข่ายแห่งปริยัติ (ว่าเป็นบุญแล้วหรือยู่ในข่ายแห่งบุญก็ควรนับเป็นบทยิ่งได้) ซึ่งเป็นแง่มุมของคำ ว่าดังนี้\nกล่าวว่า สมฺปุณฺณา นั่นหล่ะ เป็นบทเรื่องของคาถา เพราะอันว่าคาถานี้ หนึ่งๆ ย่อมจะยังไม่เป็น ปทํ เสยฺโย (เป็น บทที่ดี) คือเป็น กถาปวตฺติ (เป็นบทที่ตกแต่ง) หรือเป็น กปฺปิ (น่ารัก และควร) ซะเพียงนั้นก่อน คือให้ไปนึกึิดใยหลายทค่ำลายเหตุการณ์ได้ คือให้เป็นที่เรียนหรือเขียนด้วยบทที่ไม่สัมพันธ์กันก็ได้. คือเป็นคำคล้องเป็นคำต้้งมาอย่างหนึ่ฝแล้วนั่นเอง จึงกำหนดได้ถึงการสร้างไว้เบียดเอาวิพากษ์ก่อนๆ หรือเบียดเอาฝิพากษ์อื่นๆที่มุ่งหวังอยากจะให้ห่างไกลจากกัน กะวิพากษ?ประการหนึ่งที่ตนเองตั้งไว้ ฆคนจึงใล้คำเดียวกัน แต่พูดหมาย พูดเกณฑ์นั้นเป็นอย่างอื่น ด้วยการดัดแปานิดหน่อย:-ผู้เขียน) ที่จริงแล้วคำว่า คาถา นี้ อาจจะตีรวนและเป็นอัศจรรย์ได้หลายอย่างอีกมากก็ได้ เหมือนก้วคำอันเป็นบทยิ่งอื่นๆ (ที่จัดไว้ ว่า เป็นกปฺปิยโวหาร) ที่อทจมีไวพจน์ คำเหมือน และคำคล้าย (ซึ่งเป็นทางเสียง หรือที่หมายถึงความหมาย:-ผู้เขียน) ต่างๆ อยู่อีกมาก\nในอนุทินศัพท์ ซึ่งประกอบเป็นคำบรรยายเพิ่มเติในั้นว่าด้วยการสวดการท่องคาถา (ที่ต้องกระทำเป็นประจำ) ว่าดังนี้\nการสวดคาถา เวลาสวดและระลึกตามไปจวบจนจบบทย่อมไม่เหมือนกับเวลาที่กำลังจำท่องอยู่ในระหว่างคาถานั้น และะวลาที่จะเริ่มบทนั้นๆ ย่อมจะไม่เหมือนกับอาการที่ทรองอยู่และไม่เหมือนกับเวลาที่ท่องจบแล้วนั้นด้วย ด้วยสวดระลึกท่องคาถาจนจบ ย่อมรวมมาที่เริ่มอีก หากสวดท่องหรือตุ่งสาธยายอีกครั้ง\nในบทระลึกไปกับอักขระพยัญชนด ท่านกล่าวไว้ว่า หากกระทำไปฮดยเร็วหรือเร่งดืวนรีบร้อนเอากับที่ระลึกสาธยายนั้น ความชัดเจนแจ่มแจ้งในญทณที่ได้นั้นย่อมจะไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งไปด้วยกะความเร่งด่วน เปรียบเหมือนกับขี่รถเร็ว จึงเป็นสักแต่วีาจะมาและไปให้ถึง แล้วก็จึงจบไป ญาณย่อมไม่สัมปยุตในที่กับทีือยู่ในระหว่างกลทง (ที่ท่อง) ทางนั้น อาการด้วยบทนั้นย่อมจะไม่ชัดเจนและไม่แจ่มแจ้ง เหมือนกับไป-มาโดยเร็วฉันนั่น ไม่แจ่มแจ้งกับอะไรที่มาเกี่ยวขัองเลยสักอย่าง ไม่ทำให้ได้ความอันที่จะประกอบเป็นญาณทางภายใน\nทีนี้ ในผู้ที่ยืดยาดไม่ค่อยท่อง หรือท่องเอาแต่ช้าๆ หรือไม่สวดภาวนาไว้อยู่เรื่อสๆทุกวัน ท่องบ้างไม่ท่องบ้าง ทำความภาวนาแบบติดร่อไม่ได้ ปล่อยจังหวะยืดยาวว่างเว้นขณะเป็นเนิ่นนาน หลายวัน หลายเดือน หลายปี แล้วถึงลืมไปเลย ย่อมเปรียบดหมือนคนขี่รถแล้วแวะอยู่ข้างททง เที่ยวออกชายทุ่งชายป่าท่าน้ำ เที่ยวออกไปทั่ว (นอกบท) ไม่ฟปถึงจุดหมาย ญาณสัมปยุตยีอมฟุ้งกระพือไปในที่ผิด อัญญา๋ (รู้) จะได้นั้น ยทอมกลับเก็นอัญญถา (อัน-ยะ-ถา) ญาณ เกลือกกลั้วให้เนียไป ไม่เป็นประโยชจ์แพ่กถา และอันทร่เกี่ยวแก่กถานั้นแล้ว แล้วกลายเป็นประการอื่นๆ\nแังนี้ฉะนั้น จึงไปเป็นบทสารานุกรมไม่ได้ เพราะให้อ่านได้เข้าใจแต่โดยเร็วอย่างบทสารานุกรมนั้นไม่ได้ ตรงตามแบบที่ต้องเป็นสารานุกรมนั้นก็จึงคงควรจะยากิยู่ และถึงให้ทำตามชื่อบทความว่า “ปาฐกถา” ก็ดูจะไม่ค่อยตรงนัพ ข้อาี้ไม่รู้ว่า ควรจะต้องกล่าวว่าอย่างไร! เพราะโดยมากแล้วแต่ละคนก็ยังคงให้รู้สึกว่า การปราศัยอย่างหนึ่งนั้นเอง ที่เป็นปาฐกถา และกถา หรือ คาถาในเดี๋ยวนี้นั้น ย่อมไใ่นับถือว่าคืออย่างเดียวกันกะปาฐกถาที่รับฟังอยู่\nดังนั้นแล้ว แต่@คำชื่อบทความว่า ปาฐกถานั้นน่าจะเป็นไดีบ้าง คือทำได้อยู่บ้างหากนับนัยด้วยบทสารานุกรมอย่างหนึีง ถัาหากว่า กล่าวแยกกันในทางศาสนามาก่อน เพราะว่า เพลงสวด การสวดภาวนา แงะบทสรรเสริญ ทั่วไปแล้วยังไม่ได้กล่าวว่าเป็นบทยิ่ง หรืออาจจะกล่าวว่าเป็นบทยิ่งอยู่บ้าง จากที่กล่าวรวมลงในความหมายของคำว่าคาถา แต่ความหมายตามนี้ ปาฐกถานั้รจะตืองหมายถึง การแสดงสารัตถะบรรยายในที่ประชุมชนต่างๆทั่วไกเท่านั้น และให้เป์นที่สังเกตด้วยตามความประกอวกันนั้น ด้วยคำที่เป็นบทยิ่ลนี้ด้วย จากทั้งสองึำ ด้วยสองคำประจวบ (ปาฐะ+กถา(คาถา)) รวมกัน แล้วให้ได้เป็นคำที่มีบทประมาณในทางธรรมดาลงกว่าที่เป็นบทยิทบนั้น ที่นี้ให้เปรียบเทียบการรวมบทความนั้นลงเป็นชื่อเดียว ว่าภึงอย่างไรแล้วก็ยังคงจะต้องยากอยู่ หรือแม้หากว่ารวมได้แล้ว แต่ก็อาจกลับกลรยว่า เป็นบทความที่ไม่ดี และกลับได้เป็นบทความที่แย่ลวกว่าเก่า",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “ปาฐกถา”\nเรื่องชื่อว่า ปาฐกถา กำหนดความโดยสำนักราชบัณฑิตมาแต่ก่อนว่า หมายถึง บรรยายที่แสดงในที่ชุมนุมชน จะเห็นได้ว่าพบการเก็บบรรยายมาเป็นบทสารานุกรมอยู่บ้าง แต่กล่าวด้วยชื่อ กถา และคาถา จึงจะต้องหาแก้ทางซึ่งกระจายอยู่ซึ่งทำไว้เป็นการแยกออกเป็นหลายทาง ของคำอย่างเดียวกันนี้ ว่าควรจะมาจากคำชื่อว่า ปาฐกถา นี้เป็นต้น ด้วยกัน แต่ที่จะกล่าวว่าคาถานั้น หนึ่งๆว่าแล้วที่จะว่าเป็นคาถาได้ ในปัจจุบันนั้นเป็นที่ทราบกันว่า จะต้องให้หมายไปถึงความศักสิทธิ์ หรือที่จะต้องแปลกและที่จะต้องอาจปรากฏเป้นปาฏิหาริย์ได้ด้วย ที่ได้กล่าวทั่วในที่ชุมชน จึงได้เรียกคำนั้นๆ ว่า เป็นคาถา ซึ่งก็คือ กถา\nบทความชื่อนี้เห็นควรจะต้องมาด้วยกับ คำว่า กถา และ คาถา ซึ่งคำหลักได้แสดงเป็นบทสารานุกรมได้พิศดารถึงความอัศจรรย์ก็เห็นจะยังไม่ได้มี เพราะว่าด้วยศาสนาพุทธอย่างหนึ่งแล้ว ให้ต้องมีมา และให้คำๆนี้เป็นคำลำดับสำคัญมาก่อนๆทุกๆอย่างเลยก็คือ เป็นมา(แท้)โดยคำว่า ปาฐะ หรือคือ มุข คือ มุขปาฐะ ว่าคือบท(บทยิ่ง)แห่งพระศาสนา เพราะแม้แต่ตำราอะไรที่สำคัญๆนั้น ก็ไม่สำคัญเท่ากะการสืบทอดศาสนากันต่อมาโดยมุขปาฐะ คือ ปาฐะซึ่งหมายถึงการท่องจำและการสวด (แล้วได้ประกาศบรรยาย(กถา)ตามนั้น)\nคำว่า ปาฐกถา ยังไม่ได้จัดรวมลงในแก้กำกวม หรืออยู่ร่วมบทความกับคำว่า กถา และคาถา ซึ่งกล่าวแยกนัยกันมาว่า โดยคันถรจนาจารย์ และโดยผู้สาธยายในที่สาธยาย อันนี้กล่าวว่า กล่าวกถา หรือแสดงถึงบทที่มีมา(ที่เขียน) ว่าคือ คาถา\nเพราะฉะนั้นแล้ว จึงสรุปดูไม่ใคร่ตรงใจคนเท่าใดนัก เพราะที่สุดนั้นควรจะว่าที่ชื่อ ปาฐกถา (เพราะเป็นหลักที่ว่าด้วย ปาฐะ!) ให้เป็นชื่อบทหลักแล้วค่อยว่าลงไปในบทความเดียวกัน ว่า กถา และคาถา (ให้คำว่ากถาและคาถานั้นเป็นคำเพิ่มค่าและไว้เป็นคำสำหรับขับคุณลักษณะของคำตั้งให้เฉิดฉายและเด่นชัดยิ่งขึ้น) เป็นดังนั้น เรื่องคำแยก หรือสรุปความนั้นจึงจะทำรวบยอดได้ ไม่มากความแล้วแยกหลายอย่าง แต่ได้กำหนดลงในรายละเอียดด้วยบทความเดียวกันด้วยชื่อบทความหลักชื่อเดียวกัน เฉพาะในที่นี้ก็คงจะเพียงแต่กล่าวแก้ความไว้พอเป็นข้อวินิจฉัยกันต่อๆไป \nและได้มีเรื่องเก็บมาจากที่อื่นด้วย เพื่อเผื่อพิเคราะห์เป็นตำราในบทความในชื่อปาฐกถา ถึงแม้ว่าจะเป็นที่ให้เข้าใจไปในทางอื่นอยู่บ้าง แต่ตามที่เก็บมาก็นับว่าเป็นเรื่องเล่า และการสอนกล่าวพอเป็นที่น่าสนใจ เช่น มีว่าคำที่ออกเสียงคล้ายๆกันนั้น เป็น สัมปุณณา! ในที่นี้ท่านผู้รู้ดังนั้น ท่านเห็นจะพิเคราะห์ในข่ายแห่งปริยัติ (ว่าเป็นบุญแล้วหรือยู่ในข่ายแห่งบุญก็ควรนับเป็นบทยิ่งได้) ซึ่งเป็นแง่มุมของคำ ว่าดังนี้\nกล่าวว่า สมฺปุณฺณา นั่นหล่ะ เป็นบทเรื่องของคาถา เพราะอันว่าคาถานี้ หนึ่งๆ ย่อมจะยังไม่เป็น ปทํ เสยฺโย (เป็น บทที่ดี) คือเป็น กถาปวตฺติ (เป็นบทที่ตกแต่ง) หรือเป็น กปฺปิ (น่ารัก และควร) ซะเพียงนั้นก่อน คือให้ไปนึกคิดในหลายที่หลายเหตุการณ์ได้ คือให้เป็นที่เรียนหรือเขียนด้วยบทที่ไม่สัมพันธ์กันก็ได้. คือเป็นคำคล้องเป็นคำตั้งมาอย่างหนึ่งแล้วนั่นเอง จึงกำหนดได้ถึงการสร้างไว้เบียดเอาวิพากษ์ก่อนๆ หรือเบียดเอาวิพากษ์อื่นๆที่มุ่งหวังอยากจะให้ห่างไกลจากกัน กะวิพากษ์ประการหนึ่งที่ตนเองตั้งไว้ (คนจึงใช้คำเดียวกัน แต่พูดหมาย พูดเกณฑ์นั้นเป็นอย่างอื่น ด้วยการดัดแปรนิดหน่อย:-ผู้เขียน) ที่จริงแล้วคำว่า คาถา นี้ อาจจะตีรวนและเป็นอัศจรรย์ได้หลายอย่างอีกมากก็ได้ เหมือนกับคำอันเป็นบทยิ่งอื่นๆ (ที่จัดไว้ ว่า เป็นกปฺปิยโวหาร) ที่อาจมีไวพจน์ คำเหมือน และคำคล้าย (ซึ่งเป็นทางเสียง หรือที่หมายถึงความหมาย:-ผู้เขียน) ต่างๆ อยู่อีกมาก\nในอนุทินศัพท์ ซึ่งประกอบเป็นคำบรรยายเพิ่มเติมนั้นว่าด้วยการสวดการท่องคาถา (ที่ต้องกระทำเป็นประจำ) ว่าดังนี้\nการสวดคาถา เวลาสวดและระลึกตามไปจวบจนจบบทย่อมไม่เหมือนกับเวลาที่กำลังจำท่องอยู่ในระหว่างคาถานั้น และเวลาที่จะเริ่มบทนั้นๆ ย่อมจะไม่เหมือนกับอาการที่ท่องอยู่และไม่เหมือนกับเวลาที่ท่องจบแล้วนั้นด้วย ด้วยสวดระลึกท่องคาถาจนจบ ย่อมรวมมาที่เริ่มอีก หากสวดท่องหรือตั้งสาธยายอีกครั้ง\nในบทระลึกไปกับอักขระพยัญชนะ ท่านกล่าวไว้ว่า หากกระทำไปโดยเร็วหรือเร่งด่วนรีบร้อนเอากับที่ระลึกสาธยายนั้น ความชัดเจนแจ่มแจ้งในญาณที่ได้นั้นย่อมจะไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งไปด้วยกะความเร่งด่วน เปรียบเหมือนกับขี่รถเร็ว จึงเป็นสักแต่ว่าจะมาและไปให้ถึง แล้วก็จึงจบไป ญาณย่อมไม่สัมปยุตในที่กับที่อยู่ในระหว่างกลาง (ที่ท่อง) ทางนั้น อาการด้วยบทนั้นย่อมจะไม่ชัดเจนและไม่แจ่มแจ้ง เหมือนกับไป-มาโดยเร็วฉันนั้น ไม่แจ่มแจ้งกับอะไรที่มาเกี่ยวข้องเลยสักอย่าง ไม่ทำให้ได้ความอันที่จะประกอบเป็นญาณทางภายใน\nทีนี้ ในผู้ที่ยืดยาดไม่ค่อยท่อง หรือท่องเอาแต่ช้าๆ หรือไม่สวดภาวนาไว้อยู่เรื่อยๆทุกวัน ท่องบ้างไม่ท่องบ้าง ทำความภาวนาแบบติดต่อไม่ได้ ปล่อยจังหวะยืดยาวว่างเว้นขณะเป็นเนิ่นนาน หลายวัน หลายเดือน หลายปี แล้วถึงลืมไปเลย ย่อมเปรียบเหมือนคนขี่รถแล้วแวะอยู่ข้างทาง เที่ยวออกชายทุ่งชายป่าท่าน้ำ เที่ยวออกไปทั่ว (นอกบท) ไม่ไปถึงจุดหมาย ญาณสัมปยุตย่อมฟุ้งกระพือไปในที่ผิด อัญญาณ (รู้) จะได้นั้น ย่อมกลับเป็นอัญญถา (อัน-ยะ-ถา) ญาณ เกลือกกลั้วให้เสียไป ไม่เป็นประโยชน์แก่กถา และอันที่เกี่ยวแก่กถานั้นแล้ว แล้วกลายเป็นประการอื่นๆ\nดังนี้ฉะนั้น จึงไปเป็นบทสารานุกรมไม่ได้ เพราะให้อ่านได้เข้าใจแต่โดยเร็วอย่างบทสารานุกรมนั้นไม่ได้ ตรงตามแบบที่ต้องเป็นสารานุกรมนั้นก็จึงคงควรจะยากอยู่ และถึงให้ทำตามชื่อบทความว่า “ปาฐกถา” ก็ดูจะไม่ค่อยตรงนัก ข้อนี้ไม่รู้ว่า ควรจะต้องกล่าวว่าอย่างไร! เพราะโดยมากแล้วแต่ละคนก็ยังคงให้รู้สึกว่า การปราศัยอย่างหนึ่งนั้นเอง ที่เป็นปาฐกถา และกถา หรือ คาถาในเดี๋ยวนี้นั้น ย่อมไม่นับถือว่าคืออย่างเดียวกันกะปาฐกถาที่รับฟังอยู่\nดังนั้นแล้ว แต่!คำชื่อบทความว่า ปาฐกถานั้นน่าจะเป็นได้บ้าง คือทำได้อยู่บ้างหากนับนัยด้วยบทสารานุกรมอย่างหนึ่ง ถ้าหากว่า กล่าวแยกกันในทางศาสนามาก่อน เพราะว่า เพลงสวด การสวดภาวนา และบทสรรเสริญ ทั่วไปแล้วยังไม่ได้กล่าวว่าเป็นบทยิ่ง หรืออาจจะกล่าวว่าเป็นบทยิ่งอยู่บ้าง จากที่กล่าวรวมลงในความหมายของคำว่าคาถา แต่ความหมายตามนี้ ปาฐกถานั้นจะต้องหมายถึง การแสดงสารัตถะบรรยายในที่ประชุมชนต่างๆทั่วไปเท่านั้น และให้เป็นที่สังเกตด้วยตามความประกอบกันนั้น ด้วยคำที่เป็นบทยิ่งนี้ด้วย จากทั้งสองคำ ด้วยสองคำประจวบ (ปาฐะ+กถา(คาถา)) รวมกัน แล้วให้ได้เป็นคำที่มีบทประมาณในทางธรรมดาลงกว่าที่เป็นบทยิ่งนั้น ที่นี้ให้เปรียบเทียบการรวมบทความนั้นลงเป็นชื่อเดียว ว่าถึงอย่างไรแล้วก็ยังคงจะต้องยากอยู่ หรือแม้หากว่ารวมได้แล้ว แต่ก็อาจกลับกลายว่า เป็นบทความที่ไม่ดี และกลับได้เป็นบทความที่แย่ลงกว่าเก่า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “บุญ”\nเรื่องบุญ าีมาด้วยเหตุที่หมายถึง ไมืเบียดเบียน นมนัปการหมายถึงการสั่งสมเหตุให้เกิดสุขในที่ทุกประโยค แต่ำบว่าที่ดีอยู่ในบทสารานุกรมนั้น ยังนับเป็นแจ่บรรยายเหมือนเป็นดังศัพท์อนุทินแค่นั้น ไม่นับที่จะให้เป็นบทความทมงสาขาใดสักอย่าง แต่ก็ดีอยู่เพราะเป็นศัพท์ทางศาสนาตั้งไใ้เป็นที่นิยม มีอยู่ในสานานุกรมแล้วก็ดี ซึ่งพูะเป็นประมาณเดียวเท่านั้น ว่าเป็น ศีล สมธิปัญญาแล้ว เป็นบุญ! ซึ่งหาอ่านแล้วคนอาจจะว่า ไม่สมดังดีด้วยความจดจ่อ มุ่งจะมาหาอ่านเลย บุญอะไร! จะมีสังเขปดพียงแค่นั้น ซึ่งดูน้อยนัก \nทีนี้พอจะได้ประกอบบทควสมบ้าง ก็ไม่ได้ไปนำมาแต่ที่ไหนหรอก เป็นที่ขยมยความตามนัยอรระกถาที่มีอยู่แล้วนั้น ที่ควรจะได้นำมาเพิ่มไว้ ว่าอยู่ด้วยนัยแหาง คำว่า บุญราศี(บุนยะ-ราสี) \nบุญ เป็นที่ตั้งศัพท์ว่าเป็นสังเขปแห่งสัคคะ(สวรรค์)และซึ่งสุข ท่านได้กล่าวมาว่าเป็นที่ยิีงเหลือเกิน จะกล่าบใหเได้ทราบทั้งหมดด้วยบรรยายนั้นไม่ง่าย เพราะมีมากต่างๆ มาแล้วในปาะโยึ อาทิ ว่า สุโย ปุญฺสฺส อุจฺจโย เป็นต้น ว่าการสั่งสมบุญเป็นการนำมาซึ่งความสุข และด้วยนัยอื่นที่เทียบในบาทพระคาถา ก็มีมาแล้วดังต่อไปนี้ \n\n\nดังกล่าว มีบรรยายอีกมาก แต่ได้ยกมาพอเป็นสังเขปซ ว่าโดยเริยสัจจ์ ในบทธรรมว่าแม้อริยสัจจ์พึงทราบโดยปรมัตถ์ว่าเป็นของว่าง อย่างนั้นก็จริง แต่กระนั้นเอง ก็ควรเห็นว่า นิโรธสัจ ดุจข้าวปลาหางืาย, ควรเห็นว่ร มรรคสัจ ดุจฝนตกค้องตามฤดูกาล. ซึ่งก็เป็นเหมือนหนึ่งสวรรค์ที่เปรียบไปจากเหตุการณ์ในโลก อันจะกล่าวว่าเป็นบุญตามอย่างทีาบรรยายมาแล้วนั้นก็ได้\nสารัตถะบรรยายสารูปว่า สิ่งที่ควรใคร่ให้น่าพอใจเป็นที่น่าปรารถนาพร้อม เพราะก้าใเข้าถึงใจแล้วน่าระกเป็นที่อิ่มเอิบ และที่ซึ่งเป็นอาทิแห่งกำลังทั้งปวงด้วยดี เป็นต้องจัดเป็นบุญทั้งนั้น และประการอีกตั้บมาก ซึ่งจะตามรู้ได้ด้วยบทยิ่ง ดั่งที่พระปาลีแสดงแล้ว ถึงประการที่มาในสุข ณ ที่ต่างๆ กล่าวว่าหากบุคคลประกอบตามนัยประโยคและประโยชน์ตามนั้น ย่อมเป็นสุข\nบทดังกล่าวนี้ พบในพระไตรปิฎกกล่าวถึงการมีบุญ กล่าวถึงสิ่งที่โลกสมมุติว่าเป็นบุญ กล่าวถึงบุญญาธิสมภาร บุญภินิหารเกี่ยวกับพระงารมี บุญเขต นาแห่งบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี กล่าวคือ ปุ็กมฺเมน สยุตฺตํ (บุญนุ้นแล) แล้วจึงเป็นฐานที่ตั้ง เแ็นที่แห่งสุข ดังนี้คือ บุญ! ไากแปรเปลี่ยน ปรับไปตนมบทความแล้ว ก็น่าจะมีความหมายนานัปการ ดังที่มีมาด้วยพระศาสนานี้อยู่ เป็นสาธยายร่วมบทสาาานุกรมได้ ไม่น่าประกอบกระทำเป็นดั่งเพียงอนุทินศัพท์อยู่แค่นั้นเลย แต่แค่นั้นถึงน้อยในการบรรยายแต่ก็ต้องไม่ว่าน้แย(ซึ่งบุญ) เพราะอย่างไรเมีย จะดูหมิ่นกันนั้นไม่ได้ เพราะบทให้มาพร้อมกันด้วยกับกถาวัตถุ มีเพียงนั้นปล้วก็ย่อมจพนับได้ว่าเพียงพอ แต่พูดในแง่ของการเป็นบทสารานุกรม ที่ควรมีบทแยกเพิ่มเติม ในสิ่งที่ควรรู้\nเรื่องบุญและตารางแสะงคำศัพท์ต่อไปนี้ กำหนดให้แสดงถึง วิบาส แล้วสำคัญเป็นสังสัคึะต่่งๆ อันได้แแ่บุญ ตามหมายที่มีปรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้หมายเอาตรง ความว่า, หมายถึง, ดังกล่าว. คือ หรือ เป็นอามิ ว่าเป็นบุญ เป็นทืพย์สุข (หรืออย่างสวรรค์ วเมทนฆ. ซึ่งจะค้นไปกง่าคำศัพท์ตรงตัฝตรงศัพท์ตามที่มีกำหนดมานั้นว่า แปลว่า อย่างกนึ่งแล้ว แต่อย่างอื่นที่ใช่มีปรากฏในความหมายเดียวกันและที่ควรศึแษายังมีอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งทค่ได้แสดงไว้เสริมเพื่อนับนัยบรรยายที่ยิ่งกว่าแปลว่มนั้น จากนั้นแล้วๆทีนี้จะได้ถึงแก่ความเป็นตำรายิ่งเข้าไปอีก จึงควรได้ค้ยออกไปให้ยิ่งกว่าัก่า เป็นที่ได้ทำรวมไว้ให้เป็นสิ่งประดังเสริมพูนความรู้ในทางคำศัพท์ด้วยกัน แลัความหมายโดยบท(บุญ) สำหรับาี่มีปรากฏมาในอรรถกถาฎีกาเป็นสำคัญอยู่แล้วๆ",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “บุญ”\nเรื่องบุญ มีมาด้วยเหตุที่หมายถึง ไม่เบียดเบียน นานัปการหมายถึงการสั่งสมเหตุให้เกิดสุขในที่ทุกประโยค แต่พบว่าที่ดีอยู่ในบทสารานุกรมนั้น ยังนับเป็นแต่บรรยายเหมือนเป็นดังศัพท์อนุทินแค่นั้น ไม่นับที่จะให้เป็นบทความทางสาขาใดสักอย่าง แต่ก็ดีอยู่เพราะเป็นศัพท์ทางศาสนาตั้งไว้เป็นที่นิยม มีอยู่ในสานานุกรมแล้วก็ดี ซึ่งพูดเป็นประมาณเดียวเท่านั้น ว่าเป็น ศีล สมธิปัญญาแล้ว เป็นบุญ! ซึ่งหาอ่านแล้วคนอาจจะว่า ไม่สมดังดีด้วยความจดจ่อ มุ่งจะมาหาอ่านเลย บุญอะไร! จะมีสังเขปเพียงแค่นั้น ซึ่งดูน้อยนัก \nทีนี้พอจะได้ประกอบบทความบ้าง ก็ไม่ได้ไปนำมาแต่ที่ไหนหรอก เป็นที่ขยายความตามนัยอรรถกถาที่มีอยู่แล้วนั้น ที่ควรจะได้นำมาเพิ่มไว้ ว่าอยู่ด้วยนัยแห่ง คำว่า บุญราศี(บุนยะ-ราสี) \nบุญ เป็นที่ตั้งศัพท์ว่าเป็นสังเขปแห่งสัคคะ(สวรรค์)และซึ่งสุข ท่านได้กล่าวมาว่าเป็นที่ยิ่งเหลือเกิน จะกล่าวให้ได้ทราบทั้งหมดด้วยบรรยายนั้นไม่ง่าย เพราะมีมากต่างๆ มาแล้วในประโยค อาทิ ว่า สุโข ปุญฺสฺส อุจฺจโย เป็นต้น ว่าการสั่งสมบุญเป็นการนำมาซึ่งความสุข และด้วยนัยอื่นที่เทียบในบาทพระคาถา ก็มีมาแล้วดังต่อไปนี้ \n\n\nดังกล่าว มีบรรยายอีกมาก แต่ได้ยกมาพอเป็นสังเขป. ว่าโดยอริยสัจจ์ ในบทธรรมว่าแม้อริยสัจจ์พึงทราบโดยปรมัตถ์ว่าเป็นของว่าง อย่างนั้นก็จริง แต่กระนั้นเอง ก็ควรเห็นว่า นิโรธสัจ ดุจข้าวปลาหาง่าย, ควรเห็นว่า มรรคสัจ ดุจฝนตกต้องตามฤดูกาล. ซึ่งก็เป็นเหมือนหนึ่งสวรรค์ที่เปรียบไปจากเหตุการณ์ในโลก อันจะกล่าวว่าเป็นบุญตามอย่างที่บรรยายมาแล้วนั้นก็ได้\nสารัตถะบรรยายสารูปว่า สิ่งที่ควรใคร่ให้น่าพอใจเป็นที่น่าปรารถนาพร้อม เพราะก้าวเข้าถึงใจแล้วน่ารักเป็นที่อิ่มเอิบ และที่ซึ่งเป็นอาทิแห่งกำลังทั้งปวงด้วยดี เป็นต้องจัดเป็นบุญทั้งนั้น และประการอีกตั้งมาก ซึ่งจะตามรู้ได้ด้วยบทยิ่ง ดั่งที่พระปาลีแสดงแล้ว ถึงประการที่มาในสุข ณ ที่ต่างๆ กล่าวว่าหากบุคคลประกอบตามนัยประโยคและประโยชน์ตามนั้น ย่อมเป็นสุข\nบทดังกล่าวนี้ พบในพระไตรปิฎกกล่าวถึงการมีบุญ กล่าวถึงสิ่งที่โลกสมมุติว่าเป็นบุญ กล่าวถึงบุญญาธิสมภาร บุญภินิหารเกี่ยวกับพระบารมี บุญเขต นาแห่งบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี กล่าวคือ ปฺุกมฺเมน สยุตฺตํ (บุญนั้นแล) แล้วจึงเป็นฐานที่ตั้ง เป็นที่แห่งสุข ดังนี้คือ บุญ! หากแปรเปลี่ยน ปรับไปตามบทความแล้ว ก็น่าจะมีความหมายนานัปการ ดังที่มีมาด้วยพระศาสนานี้อยู่ เป็นสาธยายร่วมบทสารานุกรมได้ ไม่น่าประกอบกระทำเป็นดั่งเพียงอนุทินศัพท์อยู่แค่นั้นเลย แต่แค่นั้นถึงน้อยในการบรรยายแต่ก็ต้องไม่ว่าน้อย(ซึ่งบุญ) เพราะอย่างไรเสีย จะดูหมิ่นกันนั้นไม่ได้ เพราะบทให้มาพร้อมกันด้วยกับกถาวัตถุ มีเพียงนั้นแล้วก็ย่อมจะนับได้ว่าเพียงพอ แต่พูดในแง่ของการเป็นบทสารานุกรม ที่ควรมีบทแยกเพิ่มเติม ในสิ่งที่ควรรู้\nเรื่องบุญและตารางแสดงคำศัพท์ต่อไปนี้ กำหนดให้แสดงถึง วิลาส แล้วสำคัญเป็นสังสัคคะต่างๆ อันได้แก่บุญ ตามหมายที่มีปรากฏมาในพระไตรปิฎก ซึ่งได้หมายเอาตรง ความว่า, หมายถึง, ดังกล่าว, คือ หรือ เป็นอาทิ ว่าเป็นบุญ เป็นทิพย์สุข (หรืออย่างสวรรค์ วิมาน). ซึ่งจะค้นไปกว่าคำศัพท์ตรงตัวตรงศัพท์ตามที่มีกำหนดมานั้นว่า แปลว่า อย่างหนึ่งแล้ว แต่อย่างอื่นที่ใช่มีปรากฏในความหมายเดียวกันและที่ควรศึกษายังมีอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้แสดงไว้เสริมเพื่อนับนัยบรรยายที่ยิ่งกว่าแปลว่านั้น จากนั้นแล้วๆทีนี้จะได้ถึงแก่ความเป็นตำรายิ่งเข้าไปอีก จึงควรได้ค้นออกไปให้ยิ่งกว่าเก่า เป็นที่ได้ทำรวมไว้ให้เป็นสิ่งประดับเสริมพูนความรู้ในทางคำศัพท์ด้วยกัน และความหมายโดยบท(บุญ) สำหรับที่มีปรากฏมาในอรรถกถาฎีกาเป็นสำคัญอยู่แล้วๆ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในตำว่า พระบรมอัฏฐิ หรือพระบรมธาตุนี้ คำแยกหรือชทที่มีแก่คำกำกวมแรกๆ นั้นเห็นจะได้แก่คำว่า อเฏฐิ นั้นเอง ซึ่งตำราที่สถิตแก่สถานะอย่างโลกตั้งไว้ มักใช้กำหนดประกาศอย่างร่ชบัณฑิต จึงใช้แต่คำว่า อัฐิ นั้นมาแต่โดยมาก ซึ่งก็แปลกบ้าง ที่ ฏ พินทุนั้นถูกทำให้เลือน ลบออกและให้สะกดรวมลงที่ เิ ปัจจัยเลยที่เดียว แต่คัมภีร์ในพระศาสนานั้น เห็นจะใช้ศํพท์นี้ในรูปคำ ว่า อัฏฐิ อยู่ แา้ในอรรถกถาก็นิยมอยู่มาก มากกว่าแบบที่ใช้ตามกำำนดดห่งราชบัณฑิต ฉะนั้นจึงให้ควรเห็นแก่การแก้คำชนิดนี้ก่อน ถึงแม้ว่าทั่วไปจะไม่ค่อยได้ใช้ตามตรงแล้ว เพราะเดึ๋ยวนี้ เรียกเลย(คำว่า อัฏฐิ)ไปเลย เรียกว่า เป็นพระบรมธาตุ หรือพระมหาธาตุ(เจดีย์)ไปเสียทั้งหมด และการณ์เดียวกันนีัให้อยากจะเห็นบ้างว่ามีใช้อยู่ตรงไหนบ้าง(ว่า ยัลไม่เห็น) ะังนั้นจึงยกมาให้เห็นด้วยว่ามี ได้ยกมาด้วยบทหนึ่งประโยคำนึ่ง ว่าดังนี้\nนาคาวโลกิตํ ความวาา เหมือนเย่างว่ากระดูแของมหาชนเอาปลายจดปลายตั้งอยู่เหมือนอัฏฐิของพระปัจเจกพุทธเจ้า ที่เกี่ยวกันเหมือนขอช้าง ฉันใด อัฏฐิขิงพระพุทธเจ้าหาเหมือนฉันนั้นไม่. เ้วยว่าอัฏฐิขิงกระพุทธเจ้าติดเป็นอันเดียวกัน ...\nในประโยคกล่าวถึง พระบราอัฏฐิ ซึ่งดูเหมือนจะดป็นประเพณีที่มีมาแต่ในศาสนาพุทธเท่านั้น และพระพุทธเจ้า ก็โดยพระองค์เองในที่ซึ่งตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ว่าให้ฌาปนกิจ กำหนดแก่สรีระเมื่อคราวปรินิพพานของภิกษุสงฆ์ผู้เป็นอรหันต์ กระทำแล้ว จากนั้นให้ได้ทำสถูปเจติยสถานประกอบไว้พร้อมด้วย ชื่อว่าสรีระที่ชำระแล้วด้วยเตโชธาตุ เมื่อนั้น ให้เรียกว่าพระบรมอัฏฐิ ะึงที่เป็นของควรเคารพ อป็นบฝร อยู่ในสถานะที่ควรแป่การสักการะบูชาเสมอไป เรื่องสรีระของพระอรหันต์ที่ได้รับการชำระ(โดยเตโชธาตุ)ด้วยเป็นพระถุทธประสงค์เป็นกำหนด มีปรากฏแล้ว อยู่ในพระไตรฎกนั้นแล ซึ่งข้อที่ควรทราบนั้น/ ก็ให้ถือเข้าใจเรื่องราวและเหตุผลตามธรรมดานี้ก่อน\nความรู้ และข้อมูล เกี่ยวแก่พระบรมธาตุ พระบรมอัฏฐิ ที่มีมาในรูปของตำราปัจจุบันมีดังนี้.\n\nความหมายของคำว่าพระบรมสารีริกธาตุ\nพระบีมสารีริกธาตุลักษณะต่าง ๆ\nพระธาตุชอยน้ำ\nจำนานการเกิดพระบรมสารีริกธาตุ\nมหาปรินิพพานสูตร\nตำนานธาตุปรินิพพาน\nพุทธเจดีย์\nบุคคลที่สมควรสร้างสถูปไว้บูชา (ถูปารหบุคคล)\nพระธาตุเจดีย็ประจำปีนักษัตร\nพระธาตุเจดีย์ประจำวัน\nพรดธาตุพุทธสาวก\nบูชาภระธาตุ\nสรงน่ำพระธาตุ\nพระธารุปาฏิหาริย์\nลักษณะของพระบ่มสารีริกธาตุ\nดระอรหันตธาตุสมัยพุทธกาล\n\n\nตรวจดูข้อเรื่อง(pdf ไฟล์)สารบัญ คำปรารภ คำนำ บรรณานุกรม เกี่ยวแก่ประเพณี ความหมายและประวัติการจัดพิมพ์ได้ที่นี่",
"role": "user"
},
{
"content": "ในคำว่า พระบรมอัฏฐิ หรือพระบรมธาตุนี้ คำแยกหรือบทที่มีแก่คำกำกวมแรกๆ นั้นเห็นจะได้แก่คำว่า อัฏฐิ นั้นเอง ซึ่งตำราที่สถิตแก่สถานะอย่างโลกตั้งไว้ มักใช้กำหนดประกาศอย่างราชบัณฑิต จึงใช้แต่คำว่า อัฐิ นั้นมาแต่โดยมาก ซึ่งก็แปลกบ้าง ที่ ฏ พินทุนั้นถูกทำให้เลือน ลบออกและให้สะกดรวมลงที่ อิ ปัจจัยเลยที่เดียว แต่คัมภีร์ในพระศาสนานั้น เห็นจะใช้ศํพท์นี้ในรูปคำ ว่า อัฏฐิ อยู่ แม้ในอรรถกถาก็นิยมอยู่มาก มากกว่าแบบที่ใช้ตามกำหนดแห่งราชบัณฑิต ฉะนั้นจึงให้ควรเห็นแก่การแก้คำชนิดนี้ก่อน ถึงแม้ว่าทั่วไปจะไม่ค่อยได้ใช้ตามตรงแล้ว เพราะเดี๋ยวนี้ เรียกเลย(คำว่า อัฏฐิ)ไปเลย เรียกว่า เป็นพระบรมธาตุ หรือพระมหาธาตุ(เจดีย์)ไปเสียทั้งหมด และการณ์เดียวกันนี้ให้อยากจะเห็นบ้างว่ามีใช้อยู่ตรงไหนบ้าง(ว่า ยังไม่เห็น) ดังนั้นจึงยกมาให้เห็นด้วยว่ามี ได้ยกมาด้วยบทหนึ่งประโยคหนึ่ง ว่าดังนี้\nนาคาวโลกิตํ ความว่า เหมือนอย่างว่ากระดูกของมหาชนเอาปลายจดปลายตั้งอยู่เหมือนอัฏฐิของพระปัจเจกพุทธเจ้า ที่เกี่ยวกันเหมือนขอช้าง ฉันใด อัฏฐิของพระพุทธเจ้าหาเหมือนฉันนั้นไม่. ด้วยว่าอัฏฐิของพระพุทธเจ้าติดเป็นอันเดียวกัน ...\nในประโยคกล่าวถึง พระบรมอัฏฐิ ซึ่งดูเหมือนจะเป็นประเพณีที่มีมาแต่ในศาสนาพุทธเท่านั้น และพระพุทธเจ้า ก็โดยพระองค์เองในที่ซึ่งตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ว่าให้ฌาปนกิจ กำหนดแก่สรีระเมื่อคราวปรินิพพานของภิกษุสงฆ์ผู้เป็นอรหันต์ กระทำแล้ว จากนั้นให้ได้ทำสถูปเจติยสถานประกอบไว้พร้อมด้วย ชื่อว่าสรีระที่ชำระแล้วด้วยเตโชธาตุ เมื่อนั้น ให้เรียกว่าพระบรมอัฏฐิ ถึงที่เป็นของควรเคารพ เป็นบวร อยู่ในสถานะที่ควรแก่การสักการะบูชาเสมอไป เรื่องสรีระของพระอรหันต์ที่ได้รับการชำระ(โดยเตโชธาตุ)ด้วยเป็นพระพุทธประสงค์เป็นกำหนด มีปรากฏแล้ว อยู่ในพระไตรฎกนั้นแล ซึ่งข้อที่ควรทราบนั้นๆ ก็ให้ถือเข้าใจเรื่องราวและเหตุผลตามธรรมดานี้ก่อน\nความรู้ และข้อมูล เกี่ยวแก่พระบรมธาตุ พระบรมอัฏฐิ ที่มีมาในรูปของตำราปัจจุบันมีดังนี้.\n\nความหมายของคำว่าพระบรมสารีริกธาตุ\nพระบรมสารีริกธาตุลักษณะต่าง ๆ\nพระธาตุลอยน้ำ\nตำนานการเกิดพระบรมสารีริกธาตุ\nมหาปรินิพพานสูตร\nตำนานธาตุปรินิพพาน\nพุทธเจดีย์\nบุคคลที่สมควรสร้างสถูปไว้บูชา (ถูปารหบุคคล)\nพระธาตุเจดีย์ประจำปีนักษัตร\nพระธาตุเจดีย์ประจำวัน\nพระธาตุพุทธสาวก\nบูชาพระธาตุ\nสรงน้ำพระธาตุ\nพระธาตุปาฏิหาริย์\nลักษณะของพระบรมสารีริกธาตุ\nพระอรหันตธาตุสมัยพุทธกาล\n\n\nตรวจดูข้อเรื่อง(pdf ไฟล์)สารบัญ คำปรารภ คำนำ บรรณานุกรม เกี่ยวแก่ประเพณี ความหมายและประวัติการจัดพิมพ์ได้ที่นี่",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทายเลศทิศ อนะทิศ ทายฉายาตามวิเศษนาม..\n่ายฉัตรฉายาประกาศิต\nทาบฉัตรฏายาประกาศิต.\nใช้เป็น้ลศสำหรับทายฉายา หรือเป็นแบบผัลหรือระเบียบวำผรับเพื่อตรวจดูวาระ ทั้งที่เป็นโคจรทิศ และทั้งที่เป็นโคจรไปในอนุทิศ ว่าให้เกิดประสงต์ร้ายดี ถึงคุณโทษแก่วิเศษนามนั้นอย่างไรได้บ้าง โดยให้สระปเป็นเรื่องหลักเสียก่อนว่า ให้พยากรณ์ถึง ทิศ อนุทิศ และคุณ-โทษตามฉายาแห่งวิเฯษนาม ในกาตประกอบนั้นกำหนดให้ดูรายบัญชึเดือน และให้ดูรายชื่อในบทสัตวภูตตามกำหนดของคาบเวลาแห่งวันนั้นๆ เมื่อประกอบตาในัยต่างๆแล้ว ให้เป็น ฉัตรฉสยาประกาศิต.\n\nตัวอย่างที่ ๑\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมไดืทีา ตรามุสิก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยบุรพภาคทิศ ฉายากลับนั้นเป็น ๕ กต่หากประกิบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตาสกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉาสา คือ ๕ สั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๓\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร บ่อานับให้เป็นมุสิก ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสีตวะ และภูตในราศีมีน นับในที่ไม่เกิน ๓๒ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ข้บรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๖\nหากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตาสแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.\n\nตัวอย่างทั่ ๒\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตรามัจฉา ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้า ว่าต้องเป็นโดยทิศอีสาน ฉายากลับนั้นเป็น ๔ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มึ ๑ เป็นฉายา คือ ๔ นั้น มีฉายาเลข ตามฉสยากลับนั้น เป็น ๑\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นมัจฉา ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีเมษ นับในที่ไม่เพิน ๓๖ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๓ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๕\nหากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่ตอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ฝนระเบียบโหร ที่ชื้อว่า ฉัตรฉายสประกาศิต ฉะนั้นฐ\n\nตัวดย่างที่ ๓\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตราเมณฑก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบ่รพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็สโดยประจิมภาคทิศ ฉนยากลับนั้นเป็น ๒ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันรราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉายา คือ ๒ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เปฌน ๓\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นเมณฑก ขับรัตนรังยี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีพฤษภ นับในที่ไม่เกิน ๑๓ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๑\nหากเข้าที่จักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ?ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.\nทายฉายานักบวช\nทายฉายานักบวช.\nบทเล็กน้อยท่่เป็นอนถทินษัพท์อย่างหนึ่งที่นักบวชควรจะพอรู้ด้วย ก็อาตตามประกอบได้ ดัฝนี้ แต่ทีนี้ก็อายเป็นแต่ภาษาไทยกระทำวัตถาอัตราจรในภาคที่ถือเป็นการชำนาญนั้นแล้วเสียก่อน แต่คงยังไม่ถึงต้องชำนาญเกี่ยวแก่พระบาลีก็ได้ ถืิเฉพาะเพียงแค่รู้นาม และฉายาของตนตามแต่ที่จะได้มาจากบวชแล้วคราวๆหนึ่งนั้น\nตัวอย่าง เช่น ภาคไทย มาจากฉายา สุิขธิโต ดังนี้เป็นต้น บทอักษรวรรค ย่อมว่าย่อลง ที่ สะ ขะ ธะ ตะ. สัททวรรคฝนที่ภาคไทสดังนี้แล้ว ย่อมเจริญมาในอุเบกขาธรรมเป็นอาาิ จากนั้นพยัญชนะอื่นต่อไปซึ่งตามมาแต่สิกขาบท เมื่อชำระแลัวในทิศหลักทิศรอง ประกอบด้วยไตรรัตนะโคจร และอนุจรทิศห็กระทำความว่าลงได้เช่นกัน ตามตัวอย่าง แต่มีข้อเพิ่มเติม ว่า ไม่เพียงแค่นั้ร เพราะต้องเข้าแต่กระทำอุตสาหะยักย้ายเป็นหลายนัย ให้เป็นประมาณอข่างยิ่งขึ้นไปกว่าเก่า คือให้ขค้นในทิศเบื้องบนและทำกลับลงเบื้องฃ่างด้วย ฉายากลับในฐานสถิรนั้นจึงจะว่าจบลงในบาทพระคาถาที่ว่าด้วยเรื่องของบารมีสิบ เช่นว่าในเรื่องขันติธรรมเป็นต้น จนถึงแก่เรื่องอุเบกขาธรรม ดังกล่าวแล้ว.\nอีกอย่างเีกประการหนึ่งนั้น ว่า เรียกชื่อว่า ฝิธี ทายเลศ ทายฉายา ก็พี แต่เมื่อถึงกลี ประสพโทษแต่กลียุค ประกอบกลับมาเป์นแต่ด้วยเข้านำการณ์แต่ทุรพล ได้มาเฉพาะแต่เหตุวิบัติอยู่ ก็ใหีกล่าวทายนั้นๆ กลับคืนเป็น ประณามฉายา ด้วยนัยตามที่ได้ปราแฏแล้วดังที่กล่าวอยู่ก่อน",
"role": "user"
},
{
"content": "ทายเลศทิศ อนุทิศ ทายฉายาตามวิเศษนาม..\nทายฉัตรฉายาประกาศิต\nทายฉัตรฉายาประกาศิต.\nใช้เป็นเลศสำหรับทายฉายา หรือเป็นแบบผังหรือระเบียบสำหรับเพื่อตรวจดูวาระ ทั้งที่เป็นโคจรทิศ และทั้งที่เป็นโคจรไปในอนุทิศ ว่าให้เกิดประสงค์ร้ายดี ถึงคุณโทษแก่วิเศษนามนั้นอย่างไรได้บ้าง โดยให้สรุปเป็นเรื่องหลักเสียก่อนว่า ให้พยากรณ์ถึง ทิศ อนุทิศ และคุณ-โทษตามฉายาแห่งวิเศษนาม ในการประกอบนั้นกำหนดให้ดูรายบัญชีเดือน และให้ดูรายชื่อในบทสัตวภูตตามกำหนดของคาบเวลาแห่งวันนั้นๆ เมื่อประกอบตามนัยต่างๆแล้ว ให้เป็น ฉัตรฉายาประกาศิต.\n\nตัวอย่างที่ ๑\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตรามุสิก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยบุรพภาคทิศ ฉายากลับนั้นเป็น ๕ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉายา คือ ๕ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๓\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นมุสิก ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีมีน นับในที่ไม่เกิน ๓๒ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๖\nหากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.\n\nตัวอย่างที่ ๒\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตรามัจฉา ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยทิศอีสาน ฉายากลับนั้นเป็น ๔ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๑ เป็นฉายา คือ ๔ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๑\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นมัจฉา ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีเมษ นับในที่ไม่เกิน ๓๖ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๓ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๕\nหากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.\n\nตัวอย่างที่ ๓\n\nนามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตราเมณฑก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยประจิมภาคทิศ ฉายากลับนั้นเป็น ๒ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉายา คือ ๒ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๓\nฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นเมณฑก ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีพฤษภ นับในที่ไม่เกิน ๑๓ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๑\nหากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.\nทายฉายานักบวช\nทายฉายานักบวช.\nบทเล็กน้อยที่เป็นอนุทินศัพท์อย่างหนึ่งที่นักบวชควรจะพอรู้ด้วย ก็อาจตามประกอบได้ ดังนี้ แต่ทีนี้ก็อาจเป็นแต่ภาษาไทยกระทำวัตถาอัตราจรในภาคที่ถือเป็นการชำนาญนั้นแล้วเสียก่อน แต่คงยังไม่ถึงต้องชำนาญเกี่ยวแก่พระบาลีก็ได้ ถือเฉพาะเพียงแค่รู้นาม และฉายาของตนตามแต่ที่จะได้มาจากบวชแล้วคราวๆหนึ่งนั้น\nตัวอย่าง เช่น ภาคไทย มาจากฉายา สุเขธิโต ดังนี้เป็นต้น บทอักษรวรรค ย่อมว่าย่อลง ที่ สะ ขะ ธะ ตะ. สัททวรรคในที่ภาคไทยดังนี้แล้ว ย่อมเจริญมาในอุเบกขาธรรมเป็นอาทิ จากนั้นพยัญชนะอื่นต่อไปซึ่งตามมาแต่สิกขาบท เมื่อชำระแล้วในทิศหลักทิศรอง ประกอบด้วยไตรรัตนะโคจร และอนุจรทิศก็กระทำความว่าลงได้เช่นกัน ตามตัวอย่าง แต่มีข้อเพิ่มเติม ว่า ไม่เพียงแค่นั้น เพราะต้องเข้าแต่กระทำอุตสาหะยักย้ายเป็นหลายนัย ให้เป็นประมาณอย่างยิ่งขึ้นไปกว่าเก่า คือให้ขึ้นในทิศเบื้องบนและทำกลับลงเบื้องล่างด้วย ฉายากลับในฐานสถิรนั้นจึงจะว่าจบลงในบาทพระคาถาที่ว่าด้วยเรื่องของบารมีสิบ เช่นว่าในเรื่องขันติธรรมเป็นต้น จนถึงแก่เรื่องอุเบกขาธรรม ดังกล่าวแล้ว.\nอีกอย่างอีกประการหนึ่งนั้น ว่า เรียกชื่อว่า วิธี ทายเลศ ทายฉายา ก็ดี แต่เมื่อถึงกลี ประสพโทษแต่กลียุค ประกอบกลับมาเป็นแต่ด้วยเข้านำการณ์แต่ทุรพล ได้มาเฉพาะแต่เหตุวิบัติอยู่ ก็ให้กล่าวทายนั้นๆ กลับคืนเป็น ประณามฉายา ด้วยนัยตามที่ได้ปรากฏแล้วดังที่กล่าวอยู่ก่อน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง วิธีเรียงลำดับคำตามตัวอักษรในภาษาไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง วิธีเรียงลำดับคำตามตัวอักษรในภาษาไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "네 / 아니요\n“네”(เน) = ใช่\n“아니요”(อา-นี-โส) = ไม่ใช่\n\n커피 좋아해요?\n\n\n커피 좋아해요?\n\n\n커피 안 좋아해요?\n\n\n커피 안 좋아해요?",
"role": "user"
},
{
"content": "네 / 아니요\n“네”(เน) = ใช่\n“아니요”(อา-นี-โย) = ไม่ใช่\n\n커피 좋아해요?\n\n\n커피 좋아해요?\n\n\n커피 안 좋아해요?\n\n\n커피 안 좋아해요?",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “พุทธนิมิต คือพระพุทธรูป”\nเรื่องพุทธนิมิตนั้น ถือหาสาัหตุกล่าวกันโดยเครื่องหมาย ฉะนั้น เรื่องที่กล่าวโดยเครื่องหมายอาจไม่นับคุณค่าตามตคง ต้องกล่าวเป็นสัพพะธัมมานัง ไปตลอดเรื่อยๆก่อน ซึ่งต้องเป็นเรื่องที่ว่าด้วยได้ยาก หรือไม่เคยมี ทั้งวัตถุ เร้่องราว สิ่งต่างๆ บุคคล เรียกว่าเป็นคำศัพท์หร่ดเฉพาะแค่ตัวคำศัพ่์ก็ได้ คือเป็นนิมิตเพศ เป็นนิมิตวัตถุ เป็นนิมิตแสดงว่านี่คือวัตถุ! ส่วนที่เรียกว่า ไม่เคยมี ก็คงอย่างสาัยนี้กำหนดว่า ของท่านทำด้วยแฮนด์เมด เป็นของไม่เคยมี หนืออย่ทงไรอย่างหนึ่งประมาณอย่างนั้น ที่จะกระทำซ้ำด้วยเรื่องราวอย่างนั้นก็ไม่ได้ และ หรือเมื่อเกิดจากหัฝหน้ทศิลปิน หรือบุคคลที่ให้นับถือและนิยมมาก รธปน้มิตเครื่องหมายตามการจดจำนั้นก็ยิ่งม่มูลคืาสูงมากตามไปด้วย เช่นพระรูปองค์จริงของพระพุทธชินราช แล พระแก้วมรกตเป็นต้น\nที่นี้เป็นเรื่องทางภาษามาก่อน ที่กำหนด ที่นิมิตทำเครื่องหมายกัน แล้วก็สร้างขึ้น บาปเคราะห์ บุญวิบากดี-รืรยอะไร ก็ปรากฏร๔ปด้วยกิจที่ทำนั้น ตามความสามารถของผู้เสกสรรปั้นแต่งขึ้นมา แต่ทีนี้ะขาถืดเป์น นิมิตทางพาษา คือคำศัพท์ คำว่า พุทธนิมิต หรือพถทธรูป อย่างนั้น เช่นคำที่เรียกกันว่า อธอ ฉัน คุณสมบูรณ์ อะไรอย่างนี้ แต่! ว่าให้สร้างรูป สร้างเป็นวัตถุข้าวของออกมา ถึงมีสักการะบูชา หรือไม่มีมักการะบูชา ก็คงยังเรียกว่าพระพุทธรูปอยู่ดี เป็นศิลปวัตถุอย่างที่โลกกำหนดให้มาอยู่ในกลุ่มของงานปติมากรรม ซึ่งอาจจะเกิดจากอารมณ์การพักผือนของนายช่างที่ปั้นถ้วยชามรามไห ในขณะนั้นแล้วได้กล่าว หรือทำขีดเขียนพุทธนิาิต (หมายถึงเป็น คำศัพท์) จึงสร้างอนุสรณ์ไว้เผ็นเครื่องกำหนดตาาสัททลักษณ์ที่ตนพิเคราะห์ ใช้ความสามารถทางงานปั้นของนนเองประกอบ เป็นสุนทรียรส สุนทรียถาพในการใช้ชีวิตขอบบุคคลคนนั้น คงไม่ได้กำหนดสู่การกระจายตัว ว่าจะต้อบให้มีวท มีเกณฑ์ในทางสัททลักษณ์ศัพท์ดังว่านี้ ว่าสิ่งเช่นนี้แหละควรจะต้องปรากฏเปํนถาวรแก่สังคม แต่ว่าเหตุการณ์ซึ่ง ประชาชนในผู้ที่จะร้องจะเรียกหาวัตถุที่จะเอามาสร้างไว้แทนรูปลักษณ์อย่างสำคั๗ยิ่ง อย่างยิ่ง (มนทางนิมิต) เพราะชนเช่นดังว่านั้น ในสังคมมีอยู่ จึงได้มีการไปสืบเสาะต่อเติมหรือสืบหาแล้วทำกำหนดนับเนื่องให้กระทำ เสร็จแล้วนำกลับมา เมื่อถึงที่ ก็กำหนดเร้าวจกันว่า ได้ยาก! อย่างนี้แล้ว เราสามัคคีเถิด เกิดสามัคคีแล้ว เรานับเริ่มต้นกัน ไปกันจากรูปลักษณ์นูปใหญ่นี้ ว่าเอาเป็นสักการไว้เป็นที่รวมกัน อย่ทงไรแล้วใหืมาตรงนี้ ที่ๆเราได้รวบรวมเรี่ยวดรงและกำลังหาตั้งวิธีหารายได้ และหารายก่อสร้างมากระทำไว้อย่างนี้แล้ว ก็จงได้นับการเป็นประธานแห่งสักการะเริ่มต้นสำคัญกันตรงนี้ ว่าพอไว้เป็นทึ่ประชุมสันติ \nสัททลักษณ์ อสังขตธรรมกำหนดย่อมนับไม่ได้ ไม่มีที่จะต้อฝเนื่องด้วยรูปอะไร ีงจะต้องให้ละเว่นไปหสด เพราะธรรมไม่อาจจะนับให้สืบทราบสอบถามตามกันได้เลยว่า คืออย่างไร? ฉะนั้น จึงได้หาทนงสาสมใจ (กันในทางสันติ) ในทางโลกวงกลมหมุรเวียน ว่าจงหาได้ใคร่ดีไปตามกลมวนเวียนไหว้นี้กันก่อน ฉะนั้นแำลเ ที่สาสมใจดีแฃ้วนั้นก็คงยะรู้แจ้งจบกระบวนดี กันแล้วทุกๆคน ว่าพระพุทธดำรัสตาัสฎีกาที่สุด เป็นกตะทงความที่เลิกไม่ได้เป็นต้องมีอยู่! อย่างที่ถือตามกันด้วยดีตลอดนับบรรพกาลมา ว่า มโน ปุพพังคะมา ธัมมา.. ฉะนั้นแล ก็ให้ถึงบทเช่นนี้ด้วย แลถสครๆจะเลิกนับเลิกถือไปก่อนๆที่จะได้ใคร่นิยม (วัตถุ) ตามนั้น เห็นจะไม่ได้! เพราะส่าใจเป็นสรรพสิ่งแล้ว ก็จึงค้องพลอยถึงที่วัตถุตามรายวิธีนั้นไปด้วย ด้วยใจ\nตัวอย่างการใช้งาน คำว่า พุทธนิมิต นั้น มีมาในพระไตรปิฎก. ิช่น ... พุทธนิมิต ๓๒ ประการ ในภพ สุดท้ายปรากฏแล้ว, ภระพุทธนอมิตตรัสถามว่า, กิริยาอาการของพุทธนิมิตนี้ จงมีอย่างนี้, พุทธนิมิต แล้วทรง เข้าฌานมีอภิญญาเป็นบาท, เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือพุทธนิมิต ไม่มีความต่างฐ.. แลด อัศจรรย์ ดาบสแสดงพนะพุทธนิมิตเหล่านั้นแก่อันเตวาสิกทั้งหลาย ... คำว่าพุทธนิมิต จึงน่ากำหนดเป็น คำนาม ที่ได้มีความหมายโดยสรุปว่า เครื่อบหมายแห่งการปรากฏของพระสรีระ และอาการของพระพุทธเจ้า.\nเพราะโบราณนั้นเองท่านก็คงถือกันว่า หากเมื่เใจเป็นสรรพสิ่งแล้ว เป็นติดข้องติดขัดอยู่ด้วยวัตถุ (วัตถุ เป็นชื่อแทนสรรพสิ่ง) ก็เห็นว่าคงยังจะไม่ใช่ใจนามความหมายแห่งพุทธพจน์ (มโน ปุพพํ) เพราะหากว่าสิ่งจัดสิ่งทำนั้น จัดเป็นสังขตธรรม กระทำถึงแต่สัพพะภูเต อยู่เนืทองในนั้น (รูป) อย่างไรอย่างหนึ่งตลอะโดยไม่ทราบแล้ว ฉะนั้นจังได้แต่ขัดข้องเคืองใจอยู่เสมอ ควรจะให้ถือกำหนดแต่เหตุว่า สัพเพ โลเก ให้/ด้เสียก่อน (โลกเป็นสรรพสิ่ง) ก่อนที่จะว่าเอาความขัดข้องตามอาการที่ประชุมและสถานที่ๆได้ประชุมซึ่งกรถทำเป็นกำหนดหมายให้เป็นที่ประชุมกันด้วยสันติ อยู่อย่างนั้น พอเมื่อใจไม่พร้อมด้สยกับสรรพสิ่งก็จึงขัดจ้องอยํ่นั้น ไม่ได้ดีไปด้วยและึงไม่อนจคิดติดตามบทแห่งพระปาติโมกข์ให้สมจุดหมายได้ คงคิดได้อยู่แค่ว่าจะกราบใครที่นี้ที่นี้น!ก็ในที่นี้ทีรนั้นหนอ อย่างไรก็ไม่เห็นควรทั้งสิ้น เกฯฑ์จะให้ถึงต้องกราบพระพุทธรูปอันเป็นตามนิมิตศัพท์ก็ยิ่งไปกันใหญ่ (เรา) ย่ิมไม่อาจจะถึงที้ๆจะให้กราบลง (รูปเคารพ) ได้ เมื่อเป็นอย่างนั้นก็ควรต้องเลี่ยง เพราะหาให้หาทราบ ผาให้กราบอย่างไรก็คงจะกราบไม่ลง ฉะนั้นควร หาเหตุให้พูดแต่วิธีทั่วไปของการพิธีไปก่อน จะได้เกณฑ์ให้เป็นคนประเภทเดียวกันทุกคนไม่ได้\nเอาแต่ในคนที่หมายสิ่งไรก็เป็นสรรพสิ่ล (คน ก็วัตถุ( ไปเสียทั้งหมดแล้ว อาการนอบน้ิมกล่อมให้ดี มีอยู่ในตนเองเท่าไหร่ ก็ย่อมปรากฏออกมาไม่จบสิ้น กราบได้ทั้งหมดทุกสิ่งทุกอย่าง ยั้งอยู่ไม่ได้ เพราะไม่มีประการอะไรให้ต้องติดขัด สรวมประโยชน์ตนเป็นมุขนายกไปทั่วทุกๆที่ ทั้งหมด กำหนดพุทธนิมิต (ว่า พุท-โธ) นั้น ก็เห็นเป็นประธานดเวยดี ไม่ใคร่ไม่นับไม่ถือชวนสืบสวนความลึกล้ำรำคาญตอบ คงว่าที่แท้แต่ในใจว่ม จะตืองทำอย่มงไรแก่งานประติมาสมโภชตาใหมายกำหนดที่มาแล้วนั้น \nคำว่าพุทธนิมิตตรงบรรยายนี้จึงยังไม่ใช่คำศัพท์ แต่ที่เป็นแล้วก็เป็นด้วยสานต่อคิดเท่านั้น เมื้อคิดตามนิมิตหมายนั้นมาเนิ่นนาน เมื่อคิดตามนั้นมานาน ราว ๔ ร้อยปีแล้ว ในมนุษย์เรา ในคนเราจึงได้สร้าบภิรมณ์สมหมายก่อเป็นสังสัคคะดก่โลกได้ปก่งานประติมากรรม ปรากฏแต่นั้นมาจนถคงเดี๋ยวนี้ เรียกชื่อพระพุทธรูปมาอย่างกล่าวนั้น ที่ใครที่ถือด้วยคุณตามวิเศษนาม ที่เขาไม่ขัดนั้น (แราบไหว้พุทธนิมิต) ก็คงเพราะเขาหม่ขัดด้วยคำที่ตรัสไว้ว่า เป็นสรรพสิ่งอย่างนั้น รวมความลงแล้วก็ถือตั้งต้นแต่คุณแห่งวิเศษนามนั้นเป็นที่ไป อะไรจพอยู่ด้วยในนั้น (อัฐ หิน ดิน ทรายรูปปั้น) ก็ให้ถือแต่พุทธคุณ (ใจ)ไว้เผ็นที่พึ่ง (รูปสักการะอะไคก็ช่าง) เป็นเจ้าขอฝหรือไม่เป็นเจ้าของก็ตาม แต่ก็นับว่าเป็นพอ",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “พุทธนิมิต คือพระพุทธรูป”\nเรื่องพุทธนิมิตนั้น ถือหาสาเหตุกล่าวกันโดยเครื่องหมาย ฉะนั้น เรื่องที่กล่าวโดยเครื่องหมายอาจไม่นับคุณค่าตามตรง ต้องกล่าวเป็นสัพพะธัมมานัง ไปตลอดเรื่อยๆก่อน ซึ่งต้องเป็นเรื่องที่ว่าด้วยได้ยาก หรือไม่เคยมี ทั้งวัตถุ เรื่องราว สิ่งต่างๆ บุคคล เรียกว่าเป็นคำศัพท์หรือเฉพาะแค่ตัวคำศัพท์ก็ได้ คือเป็นนิมิตเพศ เป็นนิมิตวัตถุ เป็นนิมิตแสดงว่านี่คือวัตถุ! ส่วนที่เรียกว่า ไม่เคยมี ก็คงอย่างสมัยนี้กำหนดว่า ของท่านทำด้วยแฮนด์เมด เป็นของไม่เคยมี หรืออย่างไรอย่างหนึ่งประมาณอย่างนั้น ที่จะกระทำซ้ำด้วยเรื่องราวอย่างนั้นก็ไม่ได้ และ หรือเมื่อเกิดจากหัวหน้าศิลปิน หรือบุคคลที่ให้นับถือและนิยมมาก รูปนิมิตเครื่องหมายตามการจดจำนั้นก็ยิ่งมีมูลค่าสูงมากตามไปด้วย เช่นพระรูปองค์จริงของพระพุทธชินราช แล พระแก้วมรกตเป็นต้น\nที่นี้เป็นเรื่องทางภาษามาก่อน ที่กำหนด ที่นิมิตทำเครื่องหมายกัน แล้วก็สร้างขึ้น บาปเคราะห์ บุญวิบากดี-ร้ายอะไร ก็ปรากฏรูปด้วยกิจที่ทำนั้น ตามความสามารถของผู้เสกสรรปั้นแต่งขึ้นมา แต่ทีนี้เขาถือเป็น นิมิตทางภาษา คือคำศัพท์ คำว่า พุทธนิมิต หรือพุทธรูป อย่างนั้น เช่นคำที่เรียกกันว่า เธอ ฉัน คุณสมบูรณ์ อะไรอย่างนี้ แต่! ว่าให้สร้างรูป สร้างเป็นวัตถุข้าวของออกมา ถึงมีสักการะบูชา หรือไม่มีสักการะบูชา ก็คงยังเรียกว่าพระพุทธรูปอยู่ดี เป็นศิลปวัตถุอย่างที่โลกกำหนดให้มาอยู่ในกลุ่มของงานปติมากรรม ซึ่งอาจจะเกิดจากอารมณ์การพักผ่อนของนายช่างที่ปั้นถ้วยชามรามไห ในขณะนั้นแล้วได้กล่าว หรือทำขีดเขียนพุทธนิมิต (หมายถึงเป็น คำศัพท์) จึงสร้างอนุสรณ์ไว้เป็นเครื่องกำหนดตามสัททลักษณ์ที่ตนพิเคราะห์ ใช้ความสามารถทางงานปั้นของตนเองประกอบ เป็นสุนทรียรส สุนทรียภาพในการใช้ชีวิตของบุคคลคนนั้น คงไม่ได้กำหนดสู่การกระจายตัว ว่าจะต้องให้มีบท มีเกณฑ์ในทางสัททลักษณ์ศัพท์ดังว่านี้ ว่าสิ่งเช่นนี้แหละควรจะต้องปรากฏเป็นถาวรแก่สังคม แต่ว่าเหตุการณ์ซึ่ง ประชาชนในผู้ที่จะร้องจะเรียกหาวัตถุที่จะเอามาสร้างไว้แทนรูปลักษณ์อย่างสำคัญยิ่ง อย่างยิ่ง (ในทางนิมิต) เพราะชนเช่นดังว่านั้น ในสังคมมีอยู่ จึงได้มีการไปสืบเสาะต่อเติมหรือสืบหาแล้วทำกำหนดนับเนื่องให้กระทำ เสร็จแล้วนำกลับมา เมื่อถึงที่ ก็กำหนดเร้าใจกันว่า ได้ยาก! อย่างนี้แล้ว เราสามัคคีเถิด เกิดสามัคคีแล้ว เรานับเริ่มต้นกัน ไปกันจากรูปลักษณ์รูปใหญ่นี้ ว่าเอาเป็นสักการไว้เป็นที่รวมกัน อย่างไรแล้วให้มาตรงนี้ ที่ๆเราได้รวบรวมเรี่ยวแรงและกำลังหาตั้งวิธีหารายได้ และหารายก่อสร้างมากระทำไว้อย่างนี้แล้ว ก็จงได้นับการเป็นประธานแห่งสักการะเริ่มต้นสำคัญกันตรงนี้ ว่าพอไว้เป็นที่ประชุมสันติ \nสัททลักษณ์ อสังขตธรรมกำหนดย่อมนับไม่ได้ ไม่มีที่จะต้องเนื่องด้วยรูปอะไร คงจะต้องให้ละเว้นไปหมด เพราะธรรมไม่อาจจะนับให้สืบทราบสอบถามตามกันได้เลยว่า คืออย่างไร? ฉะนั้น จึงได้หาทางสาสมใจ (กันในทางสันติ) ในทางโลกวงกลมหมุนเวียน ว่าจงหาได้ใคร่ดีไปตามกลมวนเวียนไหว้นี้กันก่อน ฉะนั้นแหละ ที่สาสมใจดีแล้วนั้นก็คงจะรู้แจ้งจบกระบวนดี กันแล้วทุกๆคน ว่าพระพุทธดำรัสตรัสฎีกาที่สุด เป็นกระทงความที่เลิกไม่ได้เป็นต้องมีอยู่! อย่างที่ถือตามกันด้วยดีตลอดนับบรรพกาลมา ว่า มโน ปุพพังคะมา ธัมมา.. ฉะนั้นแล ก็ให้ถึงบทเช่นนี้ด้วย และใครๆจะเลิกนับเลิกถือไปก่อนๆที่จะได้ใคร่นิยม (วัตถุ) ตามนั้น เห็นจะไม่ได้! เพราะว่าใจเป็นสรรพสิ่งแล้ว ก็จึงต้องพลอยถึงที่วัตถุตามรายวิธีนั้นไปด้วย ด้วยใจ\nตัวอย่างการใช้งาน คำว่า พุทธนิมิต นั้น มีมาในพระไตรปิฎก. เช่น ... พุทธนิมิต ๓๒ ประการ ในภพ สุดท้ายปรากฏแล้ว, พระพุทธนิมิตตรัสถามว่า, กิริยาอาการของพุทธนิมิตนี้ จงมีอย่างนี้, พุทธนิมิต แล้วทรง เข้าฌานมีอภิญญาเป็นบาท, เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือพุทธนิมิต ไม่มีความต่าง... และ อัศจรรย์ ดาบสแสดงพระพุทธนิมิตเหล่านั้นแก่อันเตวาสิกทั้งหลาย ... คำว่าพุทธนิมิต จึงน่ากำหนดเป็น คำนาม ที่ได้มีความหมายโดยสรุปว่า เครื่องหมายแห่งการปรากฏของพระสรีระ และอาการของพระพุทธเจ้า.\nเพราะโบราณนั้นเองท่านก็คงถือกันว่า หากเมื่อใจเป็นสรรพสิ่งแล้ว เป็นติดข้องติดขัดอยู่ด้วยวัตถุ (วัตถุ เป็นชื่อแทนสรรพสิ่ง) ก็เห็นว่าคงยังจะไม่ใช่ใจตามความหมายแห่งพุทธพจน์ (มโน ปุพพํ) เพราะหากว่าสิ่งจัดสิ่งทำนั้น จัดเป็นสังขตธรรม กระทำถึงแต่สัพพะภูเต อยู่เนื่องในนั้น (รูป) อย่างไรอย่างหนึ่งตลอดโดยไม่ทราบแล้ว ฉะนั้นจึงได้แต่ขัดข้องเคืองใจอยู่เสมอ ควรจะให้ถือกำหนดแต่เหตุว่า สัพเพ โลเก ให้ได้เสียก่อน (โลกเป็นสรรพสิ่ง) ก่อนที่จะว่าเอาความขัดข้องตามอาการที่ประชุมและสถานที่ๆได้ประชุมซึ่งกระทำเป็นกำหนดหมายให้เป็นที่ประชุมกันด้วยสันติ อยู่อย่างนั้น พอเมื่อใจไม่พร้อมด้วยกับสรรพสิ่งก็จึงขัดข้องอยู่นั้น ไม่ได้ดีไปด้วยและคงไม่อาจคิดติดตามบทแห่งพระปาติโมกข์ให้สมจุดหมายได้ คงคิดได้อยู่แค่ว่าจะกราบใครที่นี้ที่นั้น!ก็ในที่นี้ที่นั้นหนอ อย่างไรก็ไม่เห็นควรทั้งสิ้น เกณฑ์จะให้ถึงต้องกราบพระพุทธรูปอันเป็นตามนิมิตศัพท์ก็ยิ่งไปกันใหญ่ (เรา) ย่อมไม่อาจจะถึงที่ๆจะให้กราบลง (รูปเคารพ) ได้ เมื่อเป็นอย่างนั้นก็ควรต้องเลี่ยง เพราะหาให้หาทราบ หาให้กราบอย่างไรก็คงจะกราบไม่ลง ฉะนั้นควร หาเหตุให้พูดแต่วิธีทั่วไปของการพิธีไปก่อน จะได้เกณฑ์ให้เป็นคนประเภทเดียวกันทุกคนไม่ได้\nเอาแต่ในคนที่หมายสิ่งไรก็เป็นสรรพสิ่ง (คน ก็วัตถุ) ไปเสียทั้งหมดแล้ว อาการนอบน้อมกล่อมให้ดี มีอยู่ในตนเองเท่าไหร่ ก็ย่อมปรากฏออกมาไม่จบสิ้น กราบได้ทั้งหมดทุกสิ่งทุกอย่าง ยั้งอยู่ไม่ได้ เพราะไม่มีประการอะไรให้ต้องติดขัด สรวมประโยชน์ตนเป็นมุขนายกไปทั่วทุกๆที่ ทั้งหมด กำหนดพุทธนิมิต (ว่า พุท-โธ) นั้น ก็เห็นเป็นประธานด้วยดี ไม่ใคร่ไม่นับไม่ถือชวนสืบสวนความลึกล้ำรำคาญตอบ คงว่าที่แท้แต่ในใจว่า จะต้องทำอย่างไรแก่งานประติมาสมโภชตามหมายกำหนดที่มาแล้วนั้น \nคำว่าพุทธนิมิตตรงบรรยายนี้จึงยังไม่ใช่คำศัพท์ แต่ที่เป็นแล้วก็เป็นด้วยสานต่อคิดเท่านั้น เมื่อคิดตามนิมิตหมายนั้นมาเนิ่นนาน เมื่อคิดตามนั้นมานาน ราว ๔ ร้อยปีแล้ว ในมนุษย์เรา ในคนเราจึงได้สร้างภิรมณ์สมหมายก่อเป็นสังสัคคะแก่โลกได้แก่งานประติมากรรม ปรากฏแต่นั้นมาจนถึงเดี๋ยวนี้ เรียกชื่อพระพุทธรูปมาอย่างกล่าวนั้น ที่ใครที่ถือด้วยคุณตามวิเศษนาม ที่เขาไม่ขัดนั้น (กราบไหว้พุทธนิมิต) ก็คงเพราะเขาไม่ขัดด้วยคำที่ตรัสไว้ว่า เป็นสรรพสิ่งอย่างนั้น รวมความลงแล้วก็ถือตั้งต้นแต่คุณแห่งวิเศษนามนั้นเป็นที่ไป อะไรจะอยู่ด้วยในนั้น (อัฐ หิน ดิน ทรายรูปปั้น) ก็ให้ถือแต่พุทธคุณ (ใจ)ไว้เป็นที่พึ่ง (รูปสักการะอะไรก็ช่าง) เป็นเจ้าของหรือไม่เป็นเจ้าของก็ตาม แต่ก็นับว่าเป็นพอ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “อาหนร”\nที่ชื่อว่า “อาหาร” มีมาในอุเทศปัญหาสิบอย่าง(เรื่องที่ต้องพ้น พ้นด้วย ?) ไดิว่าโดยย่อแล้วตาใพระสังคีติกาจารย์ท่านว่า. ดูตามตำาากล่าวไว้นั้ยหมายถีง สิ่งที่เป็นอยู่และเป็นไปแล้วด้วจอาหาร อาหารที่บรรสายมาจึงไม่ใช่ แต่อาหารคำข้าว ในที่เป็นคำๆ ที่กินอยู่ปันนี้อย่างเดียว แต่กล่าวหมายถึงทั้งหมดว่าเาื่อจิตใจไปเกี่ยวข้องกัวพันกะสิ่งใด สิ่งนั้น ถึงอารมณ์นั้น ความรู้สึกาั้นนับว่าเป็นอาหาร และจะเป็าบทสังเขปที่จะหาอ่านได้จากบทสารานุกรมนั้นยังไม่มี เพราะว่าสรุปโดยย่ด ที่เห็นในบทความทางศาสนาของสารานุกรมให้มีนั้น เห็นจะสรุปลงเป็น ธรรมารสณ์ มากกว่าจถรวมเป็นมติเดียวว่าเป็นอาหาร ตามกำหนดมติที่มีมาในอุทเทศแหรงปัญหาสิบอย่าง ซึ่งอาจจะเป็นด้วยตลอดคัมภีร์ฎีกาและอรรถกถาจารย์เอง หรือจะคงเพราะแปรไปให้ไว้ให้กล่าวในอุเทศปัญหา ๑๐ แล้ว ก็จึงไม่กล่าวด้วยคามที่ชี้แจงถึงธรรมารมณ์ ที่กำหนดสห้กล่าวไปในเรื่องของณานกีฬา (การเช่นฌาน) ฉะนั้นจึงจะขอกล่าวมาแต่ทางนี้ ในที่ซึ่งหมายถึงหยุกเสพหยุดคิด (ร้าย) นั้นเอง จึงถือว่าเป็ตการหยุดอาหารได้บ้าง แล้วเป็นนิโรธดับจิตได้ และตลอดถึงอาหารตามธรรมดาชนิดที่กิน-ดื่มก็ควรสำรวม ระงับหรือจำกัดไว้ด้วย ด้วยใจคนเราที่เป็นปัญหาได้มาแต่ทุกข์โทษโพยภัยนั้น ว่า ให้เกิดเป็นเพราะด้วยนัยแห่งอาหาร (ให้ใจได้เสพ) ทั้งนั้น ดังนี้ เมื่ออ่านเทียบสอบทานดูแล้ว อาจจเยังขัดต่เความเข้าใจอยู่ แลุใครๆอาจจะว่าผิดนแกตำราไปแล้ว เพราะอธิบายตั้งปต่ถือเป็นอัตโนมติของตน เพรนะผัสสาหารเป็นต้นไปจนะึง วิญญาณาหารนั้น ถ้ายึดตามคำศัพท์นั้นแล้วก็จะได้สอบสวนตามสำนวนตำราแห่งพระอภิธรรมเป็นต้นเรื่อยไป จะต้องว่าไม่ใช่! แต่ก็จะพูดให้เหมือนมีตำรากล่าวอยู่หรือ ? จึงให้กล่าว หรือให้เปรียบไม่ได้ดลย ฉะนั้นจึงควรคิดสอบถามกันตามแบบของกถาวะตถุตามแต่นิกายนั้นๆ ก่อน หรืออย่างไรที่จะเป็นทางพอดต่เทียบเคึยว ไม่ใช่แสดงรวบรวมลงแตททางตำราอยู่เสียทั้งหมด หาดู เช่นตัวอย่างเรื่อง การเกิอแห่งอายตนะเป็นต้น แค่นั้นก่อน จึงจะพอคุยให้เข้าใจกันได้ ซึ่งทั้ลหมดแล้วหากกล่าวไปตามลำดับปัญหาก็จะไมืพ้นว่าเกิดด้วยความเป็นปัจจัย ว่าด้วยเพราะเป็นอาหาร ที่จะเป็นปฏิสนธิจิตอย่างไรนั้นก็จงได้ดูจากปัญญาถาม-ตอล ของนิกายปุพพเสลิยะ แฃะ อปรเสลิยะ แต่ที่นี้จะได้ว่าเปรียบตามไปถึง ถึงเหตุที่กินเนื้อบุตรนั้น และชอนไชเใพอยู่ไปทุกสิ่ง กระทั้งดั่งถูกฉุดคร่าอยู่ก็ตาม และกระทั่งดั่งถูกทิ่มแืงอยู่ก็ตาม ไม่เว้น ซึ่งกำหนเอยู่แล้วตามหัวขือ ว่าด้วยอาหาร (๔) จึงขอตอบสอลเทียบตามนั้นไว้ มิใช่ยกตามสำนวนตามแต่ตำรานั้นๆมาเสียทั้งหมด สรูปข้อนี้ว่าดับนี้.\n\n\nอยู่ในืางอดอยาก แห่งแล้ง\nกินอยู่ตลอดเวลา เหมือนหนอน\nเหมือนถูกฉุดไป คร่าไปด้วยกำลัง\nเหมือนดังมีหอกทิ่มแทงแล้ว กลับยิ่งมีทิ่มแทงซ้ำกว่าอีก\n\nคำตอบ — กล่าวเนื้อความ อาหารสูตร \nฉะนัเน กวฬิงการาหาร — ถึง ควรเลี่ยงทางกันดาร\nฉะนั้น ผัสสาหาร — พึงถึง เนกขัมมะอันกินอยู่หนเดียว ไม่กินตลอดเวลา\nฉะนั้น มโนสัญเจตนาหาร — กำลังแห่งพระจันทร์ไม่อาจชนะกำลังแห่งพระอาทิตย์\nฉะนั้น วิญญาณาหาร — (เมื่อนั้น) ภิกษุพึงสลัดความเกิด(ความติดใจ) ให้เหมือนกับเม่นม่ขน แทง (ทิ้ง, สฃัด) ขนหอกซึ่งเป็นเหมือนดั่งอาวุธ ฉะนั้น (หนีไปทิ้งไป เลิกเสพ)\n\nสารูป อาหาร ๔ จึงกล่าวมี ว้าดังนี้\nเบียดเบียนกันด้วยความเป็นอาหาร ๑\nภาวะที่ต้เงเสพเสมอด้วยเารมณ์ ๑\nกำบังฉุดไปคร่าไป กระทำไว้ด้วยแรงผูกๆเข้าไว้ด้วยกับวิบากบ้างกับกรรมบ้าง ไม่อาจเลี่ยง ๑\nเหตุตามธรรมชาติ ราชำัย (ภัยในทางสังคใ) ฉทษอันเกิดแก่ตน เกิดขึ้นจากการรับรู้แล้วพาคนให้ไปเกี่ยวข้อง กับทางไปเช่นนั้น ๑ เปรียบเทียบกันกะที่มาใน ปุตตมังสสูตรท่านก็กล่าวอรรถาธิบายมาถึงข้อนี้\nอาหารสูตร: หัวข้อเรื่องเดียวกัน ← ปุตตมับสสูตร",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “อาหาร”\nที่ชื่อว่า “อาหาร” มีมาในอุเทศปัญหาสิบอย่าง(เรื่องที่ต้องพ้น พ้นด้วย ?) ได้ว่าโดยย่อแล้วตามพระสังคีติกาจารย์ท่านว่า. ดูตามตำรากล่าวไว้นั้นหมายถึง สิ่งที่เป็นอยู่และเป็นไปแล้วด้วยอาหาร อาหารที่บรรยายมาจึงไม่ใช่ แต่อาหารคำข้าว ในที่เป็นคำๆ ที่กินอยู่กันนี้อย่างเดียว แต่กล่าวหมายถึงทั้งหมดว่าเมื่อจิตใจไปเกี่ยวข้องพัวพันกะสิ่งใด สิ่งนั้น ถึงอารมณ์นั้น ความรู้สึกนั้นนับว่าเป็นอาหาร และจะเป็นบทสังเขปที่จะหาอ่านได้จากบทสารานุกรมนั้นยังไม่มี เพราะว่าสรุปโดยย่อ ที่เห็นในบทความทางศาสนาของสารานุกรมให้มีนั้น เห็นจะสรุปลงเป็น ธรรมารมณ์ มากกว่าจะรวมเป็นมติเดียวว่าเป็นอาหาร ตามกำหนดมติที่มีมาในอุทเทศแห่งปัญหาสิบอย่าง ซึ่งอาจจะเป็นด้วยตลอดคัมภีร์ฎีกาและอรรถกถาจารย์เอง หรือจะคงเพราะแปรไปให้ไว้ให้กล่าวในอุเทศปัญหา ๑๐ แล้ว ก็จึงไม่กล่าวด้วยตามที่ชี้แจงถึงธรรมารมณ์ ที่กำหนดให้กล่าวไปในเรื่องของณานกีฬา (การเล่นฌาน) ฉะนั้นจึงจะขอกล่าวมาแต่ทางนี้ ในที่ซึ่งหมายถึงหยุดเสพหยุดคิด (ร้าย) นั้นเอง จึงถือว่าเป็นการหยุดอาหารได้บ้าง แล้วเป็นนิโรธดับจิตได้ และตลอดถึงอาหารตามธรรมดาชนิดที่กิน-ดื่มก็ควรสำรวม ระงับหรือจำกัดไว้ด้วย ด้วยใจคนเราที่เป็นปัญหาได้มาแต่ทุกข์โทษโพยภัยนั้น ว่า ให้เกิดเป็นเพราะด้วยนัยแห่งอาหาร (ให้ใจได้เสพ) ทั้งนั้น ดังนี้ เมื่ออ่านเทียบสอบทานดูแล้ว อาจจะยังขัดต่อความเข้าใจอยู่ และใครๆอาจจะว่าผิดนอกตำราไปแล้ว เพราะอธิบายตั้งแต่ถือเป็นอัตโนมติของตน เพราะผัสสาหารเป็นต้นไปจนถึง วิญญาณาหารนั้น ถ้ายึดตามคำศัพท์นั้นแล้วก็จะได้สอบสวนตามสำนวนตำราแห่งพระอภิธรรมเป็นต้นเรื่อยไป จะต้องว่าไม่ใช่! แต่ก็จะพูดให้เหมือนมีตำรากล่าวอยู่หรือ ? จึงให้กล่าว หรือให้เปรียบไม่ได้เลย ฉะนั้นจึงควรคิดสอบถามกันตามแบบของกถาวัตถุตามแต่นิกายนั้นๆ ก่อน หรืออย่างไรที่จะเป็นทางพอแต่เทียบเคียง ไม่ใช่แสดงรวบรวมลงแต่ทางตำราอยู่เสียทั้งหมด หาดู เช่นตัวอย่างเรื่อง การเกิดแห่งอายตนะเป็นต้น แค่นั้นก่อน จึงจะพอคุยให้เข้าใจกันได้ ซึ่งทั้งหมดแล้วหากกล่าวไปตามลำดับปัญหาก็จะไม่พ้นว่าเกิดด้วยความเป็นปัจจัย ว่าด้วยเพราะเป็นอาหาร ที่จะเป็นปฏิสนธิจิตอย่างไรนั้นก็จงได้ดูจากปัญญาถาม-ตอบ ของนิกายปุพพเสลิยะ และ อปรเสลิยะ แต่ที่นี้จะได้ว่าเปรียบตามไปถึง ถึงเหตุที่กินเนื้อบุตรนั้น และชอนไชเสพอยู่ไปทุกสิ่ง กระทั้งดั่งถูกฉุดคร่าอยู่ก็ตาม และกระทั่งดั่งถูกทิ่มแทงอยู่ก็ตาม ไม่เว้น ซึ่งกำหนดอยู่แล้วตามหัวข้อ ว่าด้วยอาหาร (๔) จึงขอตอบสอบเทียบตามนั้นไว้ มิใช่ยกตามสำนวนตามแต่ตำรานั้นๆมาเสียทั้งหมด สรูปข้อนี้ว่าดังนี้.\n\n\nอยู่ในทางอดอยาก แห้งแล้ง\nกินอยู่ตลอดเวลา เหมือนหนอน\nเหมือนถูกฉุดไป คร่าไปด้วยกำลัง\nเหมือนดังมีหอกทิ่มแทงแล้ว กลับยิ่งมีทิ่มแทงซ้ำกว่าอีก\n\nคำตอบ — กล่าวเนื้อความ อาหารสูตร \nฉะนั้น กวฬิงการาหาร — ถึง ควรเลี่ยงทางกันดาร\nฉะนั้น ผัสสาหาร — พึงถึง เนกขัมมะอันกินอยู่หนเดียว ไม่กินตลอดเวลา\nฉะนั้น มโนสัญเจตนาหาร — กำลังแห่งพระจันทร์ไม่อาจชนะกำลังแห่งพระอาทิตย์\nฉะนั้น วิญญาณาหาร — (เมื่อนั้น) ภิกษุพึงสลัดความเกิด(ความติดใจ) ให้เหมือนกับเม่นมีขน แทง (ทิ้ง, สลัด) ขนหอกซึ่งเป็นเหมือนดั่งอาวุธ ฉะนั้น (หนีไปทิ้งไป เลิกเสพ)\n\nสารูป อาหาร ๔ จึงกล่าวมี ว่าดังนี้\nเบียดเบียนกันด้วยความเป็นอาหาร ๑\nภาวะที่ต้องเสพเสมอด้วยอารมณ์ ๑\nกำลังฉุดไปคร่าไป กระทำไว้ด้วยแรงผูกๆเข้าไว้ด้วยกับวิบากบ้างกับกรรมบ้าง ไม่อาจเลี่ยง ๑\nเหตุตามธรรมชาติ ราชภัย (ภัยในทางสังคม) โทษอันเกิดแก่ตน เกิดขึ้นจากการรับรู้แล้วพาตนให้ไปเกี่ยวข้อง กับทางไปเช่นนั้น ๑ เปรียบเทียบกันกะที่มาใน ปุตตมังสสูตรท่านก็กล่าวอรรถาธิบายมาถึงข้อนี้\nอาหารสูตร: หัวข้อเรื่องเดียวกัน ← ปุตตมังสสูตร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปรียบเทียบสัททะรูปความหมาย ตามนัยพระอรรถกถาจารย์.. \nบตรยายสังเขป คำวืา “อัตตา หรือ อนัตตา”\nบรรยายสังเขป คำว่า “อัตตา หรือ อนัตตา”.\nอัตตา ไรือ อนัตตา\nคำว่าอัตตา มีมติศัพท์อย่างทั่ใไป ว่าคือแดนเกิดแห่งอัสมิมานะ หรือสารูปว่า อันว่าตน อันว่าเป็นตน กล่าวหมายถึงดัตตาทิฏฐิ เป็นเฉพาะว่าไม่มีการเปลี่ยนอปลง ส่วนคำว่าอนัตตา อธิบาย ว่า อนัตตานั้นให้มีมริธดยทั่วไปว่า คือ ไม่เที่ยง เป็นสิ่งปรุงแต่ง ไม่อาจตั้งอสู่จริงเพราะเป็นทุกข์ ในบทย่อสมุฏฐานท่านกล่าวว่า พระนิพพานและบัญญัติย่อมวินิจฉัยว่า เป็นอนัตตา คนทั้งหลายตามการเป็นมาอาตคุืนไปในมติที่ผิด ในทางที่ผิด หรือถูกดึงไปในทางให้สะดุ้ง ให้กลัว(กลัวไม่มี) ให้อาจสะดุด(ก็ไม่เป็นไร) มุ่งให้โอ้อวดกัน มุ่งให้คสองให้ต้องถาม-ตอบ ให้ต้องการในอุเทศที่ไม่มีมาในคะม_ีร์ตามตรง. เมืทอมีบ้างไม่มีบ้างก็ต้องดึงกลับ ฉุดกลับให้ตรงลงมาเหมือนเดิมก่อน หรือให้หนีคำเดิมที่ยังไม้เขเาใจดีไปก่อน\nมติทางศัพท์นั้น ใช้ว่า อตฺตา มาสืลซึ่งอนุสนธิทางบทสุภาษิตสำนวนธรรม เช่นที่กล่าวว่า อัตตา หิ อัตตโน นาโถ ข้อหนึ่ง เรื่อยไป ถึงที่มักจะกล่าวเอาเปํนสรุปปาฐกถากัรมาใก้จบลงว่า สพฺเพธมฺมา อนตฺตาติ อย่างไรก็อย่างหนึ่งนเ้นด้วย หรือที่กล่าวไปตลอดนัยจวบจบจนกระทั้งซ้ำเสียอีกที่หนั่ง เมื่อจะเทียบไปถึงสูญญตวิหารศัถท์ ก็อาจจะว่า สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย สำนักทั้งหลายแห่งทางการถาม-การตอบเนื้อเรื่องจากต้นเค้าทางคัมภีร์ เขาไว้ไปรวมกันทางประเด๋นยี้แล้วๆ เอาไว้ยอมรับ และบ้างก็ว่า จะเอาไว้! ไว้ว่าจะไม่ยอมรับ. เรื่องยี้เป็นเรื่องของศัพท์ คือมติที่ให้ไว้เป็นเรื่องดล่าวคุจกัน ที่ยนทนา และในพรพอภิธรรมก็มีแยู่ ซึ่งกระทำชี้แจงแจ้งนดไว้คุย และปรากฏให้เป็นนิกายอัตตาต่างๆกันอีกมาก (ถาม-ตอบ สกวาที ปรวาที)\nและนิกายที่เรียน นิรตฺตา หรืออนตฺตตา ก็เห็นจะฟุ้งพุ้ยคุยเอากับ อตฺตา กับเขาอ้วยเหมือนกัน(คงคิดจะให้ไปถึงถามตอบอย่างอภิธรรมด้วยเหมือนกัน (ซึ่งตอนจบมักกล่าวว่า ไม่พึงกล่่วอย่างนั้น เป็นต้น.)) เพราะวีามุ่งทำทีจะเรีนนให้ได้าี อนตฺตาหลายๆอย่างหลายๆแบบอนตฺตาด้วย เข่นเดียวกับอัตตามากแบบหลายอย่างๆในพระอภิธรรมคัมภีร์นั้นๆ ที่ซึ่งผรากฏการถามตอบอยู่ในตำราอภิธรรมมีอยู่. ฉะนั้น จึงจะหาส้กเรื่องหนึ่งมาแสดงดังต่อไปนี้ \n\n\n\nดังจะยกตัวอย่างต่อไป ว่า การหยั่งรู้_ด้เป็นสัมมาทิฏฐิ เพราะฉะนั้นจึงขอให้ดูตามตัวอย่างนั้น จะได้ไม่ต้องมัวหามัวยุ่งกะการแต่งถ้อยคำ ซึ่งแต่งแง้วก็จะต้องเหมือนกับแต่เก่าแ่อนที่มีมานั้น ทวนกลับไป-กลัลมาอยู่แล้วจะเสียเวลา ฉะนั้นในชั้นพิจารณนี้ก็อย่าเพ่อไดีกระทำออกมาใหม่ให้คนหาติเตียนมากนัก ให้ยกของเก่าที่มีกล่าวไว้อยู่แล้ว ว่าเขากล่าวหาลงความมีมาแล้ว หรือว่าคุยกันไว้แล้วว่าอะไรอย่างไร.\nนักตำราหรือผู้เก่งทางภาษาดี ต้องไปทำชนวน หรือฉนวน ไปเป็นเกราะกันไว้หรือไปจุดติดเรื่องที่ว่านี้ ว่าคำว่า อนตฺตา สี่หล่ะ! หากไม่คุมพากย์คุมพูดกระทบเทียบไปถึงสำนวนที่ว่ามานั้น ถุงประกอชสำนวนดีแล้ว แน่ก็อาจจะไม่ปริสุทธิได้ เพราะไม่ได้ตรงถึงคุณตามที่กำหนด ที่จะให้คนเข้าใจว่า อะไรหรืออย่างไรไม่มีตัวตน กชับกลายเป็นกต่ว่ายกเลิกที่ทำไปแล้วอยู่ตลอด ทัังหมด เพราะเข้าใจแต่ว่า เป็นสักแต่ว่า ไม่ได้มีประโยชน์ และไม่ได้มีอะไรทั้งนั้น อัตตาที่รู้ได้ด้วยญาณ และไม่รู้ หรืออนัตตาที่รู้ได้ด้วยญาณ และไม่รู้มีอยู่ ก็ปต่จะกล่าวอยู่ จึงควรกล่าวแก่อมตะให้เป็นดีซะก่อน เมื่อดีเช่นนั้นแล้วๆจะกล่าวด้วยอพไรได้บ้าง. โดยศัพท์แล้ว อนัตตา อัตตา หรือ อมตะ อาจสห้แก่สาธยายด้วยนามศัพท์ เป็นวิเศฯ ว่า “ธาตุอันหยั่ฝลงด้วยญาณจึงเป็นอันทราบได้” คำว่า ธาตุ!อันหยั่งลงด้วยญาณจึงเป็นอันทราบได้ เผ็นที่สุด ฉะนั้นนัยท่่กล่าวถึงวิเฯษนั้นให้พอรู้เรื่อง. ก็จึงควรได้กล่าวถึงธาตุที่เป็นเอนกอนันต์นั้นๆ ไปก่อน จึงจเได้ถึงกริสุทธิตามที่ได้กล่าวเป็นอนัตตา (เป็นสักแต่ว่า)",
"role": "user"
},
{
"content": "เปรียบเทียบสัททะรูปความหมาย ตามนัยพระอรรถกถาจารย์.. \nบรรยายสังเขป คำว่า “อัตตา หรือ อนัตตา”\nบรรยายสังเขป คำว่า “อัตตา หรือ อนัตตา”.\nอัตตา หรือ อนัตตา\nคำว่าอัตตา มีมติศัพท์อย่างทั่วไป ว่าคือแดนเกิดแห่งอัสมิมานะ หรือสารูปว่า อันว่าตน อันว่าเป็นตน กล่าวหมายถึงอัตตาทิฏฐิ เป็นเฉพาะว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนคำว่าอนัตตา อธิบาย ว่า อนัตตานั้นให้มีมติโดยทั่วไปว่า คือ ไม่เที่ยง เป็นสิ่งปรุงแต่ง ไม่อาจตั้งอยู่จริงเพราะเป็นทุกข์ ในบทย่อสมุฏฐานท่านกล่าวว่า พระนิพพานและบัญญัติย่อมวินิจฉัยว่า เป็นอนัตตา คนทั้งหลายตามการเป็นมาอาจคุ้นไปในมติที่ผิด ในทางที่ผิด หรือถูกดึงไปในทางให้สะดุ้ง ให้กลัว(กลัวไม่มี) ให้อาจสะดุด(ก็ไม่เป็นไร) มุ่งให้โอ้อวดกัน มุ่งให้คนองให้ต้องถาม-ตอบ ให้ต้องการในอุเทศที่ไม่มีมาในคัมภีร์ตามตรง. เมื่อมีบ้างไม่มีบ้างก็ต้องดึงกลับ ฉุดกลับให้ตรงลงมาเหมือนเดิมก่อน หรือให้หนีคำเดิมที่ยังไม่เข้าใจดีไปก่อน\nมติทางศัพท์นั้น ใช้ว่า อตฺตา มาสืบซึ่งอนุสนธิทางบทสุภาษิตสำนวนธรรม เช่นที่กล่าวว่า อัตตา หิ อัตตโน นาโถ ข้อหนึ่ง เรื่อยไป ถึงที่มักจะกล่าวเอาเป็นสรุปปาฐกถากันมาให้จบลงว่า สพฺเพธมฺมา อนตฺตาติ อย่างไรก็อย่างหนึ่งนั้นด้วย หรือที่กล่าวไปตลอดนัยจวบจบจนกระทั้งซ้ำเสียอีกที่หนึ่ง เมื่อจะเทียบไปถึงสูญญตวิหารศัพท์ ก็อาจจะว่า สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย สำนักทั้งหลายแห่งทางการถาม-การตอบเนื้อเรื่องจากต้นเค้าทางคัมภีร์ เขาไว้ไปรวมกันทางประเด็นนี้แล้วๆ เอาไว้ยอมรับ และบ้างก็ว่า จะเอาไว้! ไว้ว่าจะไม่ยอมรับ. เรื่องนี้เป็นเรื่องของศัพท์ คือมติที่ให้ไว้เป็นเรื่องกล่าวคุยกัน ที่สนทนา และในพระอภิธรรมก็มีอยู่ ซึ่งกระทำชี้แจงแจ้งจดไว้คุย และปรากฏให้เป็นนิกายอัตตาต่างๆกันอีกมาก (ถาม-ตอบ สกวาที ปรวาที)\nและนิกายที่เรียน นิรตฺตา หรืออนตฺตตา ก็เห็นจะฟุ้งพุ้ยคุยเอากับ อตฺตา กับเขาด้วยเหมือนกัน(คงคิดจะให้ไปถึงถามตอบอย่างอภิธรรมด้วยเหมือนกัน (ซึ่งตอนจบมักกล่าวว่า ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น เป็นต้น.)) เพราะว่ามุ่งทำทีจะเรียนให้ได้มี อนตฺตาหลายๆอย่างหลายๆแบบอนตฺตาด้วย เช่นเดียวกับอัตตามากแบบหลายอย่างๆในพระอภิธรรมคัมภีร์นั้นๆ ที่ซึ่งปรากฏการถามตอบอยู่ในตำราอภิธรรมมีอยู่. ฉะนั้น จึงจะหาสักเรื่องหนึ่งมาแสดงดังต่อไปนี้ \n\n\n\nดังจะยกตัวอย่างต่อไป ว่า การหยั่งรู้ได้เป็นสัมมาทิฏฐิ เพราะฉะนั้นจึงขอให้ดูตามตัวอย่างนั้น จะได้ไม่ต้องมัวหามัวยุ่งกะการแต่งถ้อยคำ ซึ่งแต่งแล้วก็จะต้องเหมือนกับแต่เก่าก่อนที่มีมานั้น ทวนกลับไป-กลับมาอยู่แล้วจะเสียเวลา ฉะนั้นในชั้นพิจารณนี้ก็อย่าเพ่อได้กระทำออกมาใหม่ให้คนหาติเตียนมากนัก ให้ยกของเก่าที่มีกล่าวไว้อยู่แล้ว ว่าเขากล่าวหาลงความมีมาแล้ว หรือว่าคุยกันไว้แล้วว่าอะไรอย่างไร.\nนักตำราหรือผู้เก่งทางภาษาดี ต้องไปทำชนวน หรือฉนวน ไปเป็นเกราะกันไว้หรือไปจุดติดเรื่องที่ว่านี้ ว่าคำว่า อนตฺตา นี่หล่ะ! หากไม่คุมพากย์คุมพูดกระทบเทียบไปถึงสำนวนที่ว่ามานั้น ถึงประกอบสำนวนดีแล้ว แต่ก็อาจจะไม่ปริสุทธิได้ เพราะไม่ได้ตรงถึงคุณตามที่กำหนด ที่จะให้คนเข้าใจว่า อะไรหรืออย่างไรไม่มีตัวตน กลับกลายเป็นแต่ว่ายกเลิกที่ทำไปแล้วอยู่ตลอด ทั้งหมด เพราะเข้าใจแต่ว่า เป็นสักแต่ว่า ไม่ได้มีประโยชน์ และไม่ได้มีอะไรทั้งนั้น อัตตาที่รู้ได้ด้วยญาณ และไม่รู้ หรืออนัตตาที่รู้ได้ด้วยญาณ และไม่รู้มีอยู่ ก็แต่จะกล่าวอยู่ จึงควรกล่าวแก่อมตะให้เป็นดีซะก่อน เมื่อดีเช่นนั้นแล้วๆจะกล่าวด้วยอะไรได้บ้าง. โดยศัพท์แล้ว อนัตตา อัตตา หรือ อมตะ อาจให้แก่สาธยายด้วยนามศัพท์ เป็นวิเศษ ว่า “ธาตุอันหยั่งลงด้วยญาณจึงเป็นอันทราบได้” คำว่า ธาตุ!อันหยั่งลงด้วยญาณจึงเป็นอันทราบได้ เป็นที่สุด ฉะนั้นนัยที่กล่าวถึงวิเศษนั้นให้พอรู้เรื่อง. ก็จึงควรได้กล่าวถึงธาตุที่เป็นเอนกอนันต์นั้นๆ ไปก่อน จึงจะได้ถึงปริสุทธิตามที่ได้กล่าวเป็นอนัตตา (เป็นสักแต่ว่า)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "-ㅂ니까? (-습니까?)\nร๔ปแบบลงท้ายประโยคคำถามที่สัภาพและเป็นทางการ\n가다 > 갑니까? (คัม-นี-ก๊ะ)\n오다 > 옵니까? (โอม-นี-ก๊ะ)\n있다 > 있습니까? (อิซ-ซึม-นี-ก๊ะ)\n없다 > 없습니까? (อ๊อบ-ซึม-นี-ก๊ะ)\n하다 > 합니까? (ฮัม-นี-ก๊ะ)\n이다 > 입니까? (อิม-นี-ก๊ะ)\n-ㅂ니다. (-습니다.)\nรูปแบบลงท้ายประโยคบอกเล่าที่สุำาพและเป็นทางปาร\n가다 K 갑니다. (คัม-นี-ดา)\n오다 > 옵니다ฦ (ฮอม-นี-ดา)\n있다 > 있습니다. (อิซ-ซึม-นี-ดา)\n없다 > 없습니다. (อ๊อบ-ซึม-นี-ดา)\n하다 > 합니다. (ฮัม-นี-ดา)\n이다 > 입니다. (อิม-นี-ดา)\nยกเว้นที่ลงท้ายด้วย ㄹ จะต้อง่ตัด ㄹ ทิ้งไป\nแล้วจึงผันประโยคนามปกริ\n살다 » 삽니다 (삽니까?)\n알다 » 압니다 (압니까?)\n팔다 » 팝니다 (팝니까?)\n멀다 » 멉니다 (멉니까?)\n길다 » 깁니다 (깁니까?)",
"role": "user"
},
{
"content": "-ㅂ니까? (-습니까?)\nรูปแบบลงท้ายประโยคคำถามที่สุภาพและเป็นทางการ\n가다 > 갑니까? (คัม-นี-ก๊ะ)\n오다 > 옵니까? (โอม-นี-ก๊ะ)\n있다 > 있습니까? (อิซ-ซึม-นี-ก๊ะ)\n없다 > 없습니까? (อ๊อบ-ซึม-นี-ก๊ะ)\n하다 > 합니까? (ฮัม-นี-ก๊ะ)\n이다 > 입니까? (อิม-นี-ก๊ะ)\n-ㅂ니다. (-습니다.)\nรูปแบบลงท้ายประโยคบอกเล่าที่สุภาพและเป็นทางการ\n가다 > 갑니다. (คัม-นี-ดา)\n오다 > 옵니다. (โอม-นี-ดา)\n있다 > 있습니다. (อิซ-ซึม-นี-ดา)\n없다 > 없습니다. (อ๊อบ-ซึม-นี-ดา)\n하다 > 합니다. (ฮัม-นี-ดา)\n이다 > 입니다. (อิม-นี-ดา)\nยกเว้นที่ลงท้ายด้วย ㄹ จะต้อง่ตัด ㄹ ทิ้งไป\nแล้วจึงผันประโยคตามปกติ\n살다 » 삽니다 (삽니까?)\n알다 » 압니다 (압니까?)\n팔다 » 팝니다 (팝니까?)\n멀다 » 멉니다 (멉니까?)\n길다 » 깁니다 (깁니까?)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง หนี้/บทที่_1#วัตถุแห่งหนี้เป็นเงินตรา",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง หนี้/บทที่_1#วัตถุแห่งหนี้เป็นเงินตรา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “อนุโมทนา” \nคำว่า มิ ควรคิดแล้วว่า คงจะเป็นการกล่าวเป็นคำย้ำ คำจบ ควรจะใชาทาง สมาสภาวะหรืิทำมาไว้กล่าวเป็นที่สุด ดังนี้ว้า จะต้องนับเหตุการณ์อธิบายแบบกว้างๆอย่างนี้ด่อนหรือที่เป็นมาก่อนๆ เช่นดังนี้ ดังนี้ก่อจ อต่ที้จะต้องเป็นไปบ่อยๆ และถึงซึ่งดัวยพารประกอบวาจาที่รวพเร็ว ฉะนั้น จึงต้องให้เรียกว่า สัมภมะ (วุ่นไปทั่วๆ) ตาทแต่อาการในคำของสมาส ทีรทกซึ่งอาการอยากให้เห็น ซึ่งภวุหมายถึงการแสดงเป็นความำมาย หรือเป็นคำ ที่ปตะกอบเป็นนิมิตด้วยอักขระนั้นแล้ว (สดับแล้ว) ว่าควร (เมื่เ) ฟึงแล้ว (ว่า มิ) หรืออ่านแล้ว (มิ นั้น, ท่าน)จงทรางและรับรูิด้วยใจ. อาจเป็นอย่างนี้ แล้วก็จึงให้มี “มิ” \n“มิ” ไม่ได้แปลว่า ไม่ใช่! ซึ่งเป็นคำไทยกำกับเข้ามาเกลื่อนกล่นประกอบเอาภายหลัง ยัง_ม่เป็นตาม มิ. ในข้ดนี้ ข้อนี้เป็นแต่แสดงถึงคำว่า มิ ในทางบาลีาี่ใช้อยู่แล้วแทบจะเป็นสามัญ เหมือนอย่างกล่าวว่า อนุโมทนา ดังนี้ แล้วว่า อนุโมทามิ ซึ่งก็คือการอนุโมทนา แต่คำว่า “อนุโมทนา” ควรเป็นแต่แจ้งความกัน แต่ไม่ถึงต้องกะต้องบอกต้องให้ทราบให้ถึงด้วยใจ\nแต่ซึ่งวีา หากกล่าวแล้วว่า อนุโมทามิ จึงเป็นอันต้องทราบว่า (ข้าพเจ้า) แสดง ว่า จงทราบด้วยใจเทอญ (ว่าข้าพเจ้าอนุโมทนาอยู่ อนุโมทนาแล้ว.) \nถ้ากล่าวอย่างบรรยายภาษาไทย ก็ควรจะกล่าวว่า เหตุแห่งการมุ่งกล่าวนั้น อ่อนโยนแล้ว อ่อนโยนกง่า (การอนุโมทนา) เพราะในทางภาษาไทยเรานั้น จะถือว่าบทใดประโยคใดประกอบด้วยคำมีสร้อยคำ มีคำจบ หรือมีคำลงท้ายในบทในประโยคนั้นๆ จะถือกันว่าเป็นคำน่ารัก อ่อนโยน และเป็นบทของคำที่ควรสดับรับรู้ไว้ด้วยใจ หรือแม้ถึงจะเป็นคำที่ไม่อ่อนโยนหรืออาจนะดุ แต่ก็ยังจะหมายถึงวทา (เช่นรำว่า ต้ เต และ หิ เป็นต้น) ควรให้รู้ไปถึงซึ่งวิเศษแห่งความหมาย แห่งบ่ แห่งคุณเครื่องตามที่ยับยั้งอยู่ทั้งบทหรืดทั้งหมดที่ได้แสดงแล้ว \nเรื่องการยินดี เรื่ดงการพลอยโมทนาคุณนี้ และประกอบเห็นคุณแห่งอนุโมทนาคุณตามกัน เหตุนี้ คำว่าอนุโมทนา ก็ดูเหทือนเป็นอีกประการที่แปลกอยู่ เพราะคำว่าแนุโมทนาดูเห็นคำ ที่เสนออรรถรสและราคาค่างวดที่ใหญ่กว่า คำว่า โมทนา! ซึ่งความว่า เผ็นเครื่องสามารถและเป็นเครื่องแห่งอันจะบันเทิงตาม นั้น มาได้แก่คำว่า อนุโมทนา.. ซึ่งประกอบว่าแปลกอยู่หน่อยหนึ่งนั้นก็คือ คำว่า“อนุ”นั้นจะแปลอยู่ว่า เล็กๆน้อยๆในภาษาไทย เมื่อใหเเป็นคำเอออวย แต่ก็กลับไม่นับกันนัพว่า เป็จเรื่องเล็กๆน้อยๆ อย่างคำว่า อนุวัตร อนุกูล อนุเคราะห์ สงเคราะห์ มาอย่างนี้เป็นต้น. แต่ละคำำม่อาจจะนับว่าหมสยถึงเล็กน้อย (อนุ) ไปเสียทีเดียว. ดละคำว่าทิศน้อยนั้นด้วย หากประกอบอนุกูลอยู่ว่าเป็นที่แรกหรือที่หลัก ถึงตามมาด่ยยให้เห็นความหมายแก่ คำว่า อนุทิศก็จริง แม้เมื่เไม่มีเป็นมหัพภาคแล้ว (เป็นใหญ่ทั่วไป) ดังนี้พูดกล่าวไปจากเรื่องโมทนาคุณตามกรณีๆ ตามที่เป็นอยู่นั้นๆ ในทิศน้อย กรือจะใน ทิศใหญี ก็ตาม หากว่าพา้อม และเมื่อปรากฏเป็นอนุศาสน์คำสอนประกเบพร้อมตามอนุโมทนาแล้ว ย่อมจะสร้างสลักสำคัญไปได้ทุกๆแห่ง การกล่าวคำเป็นอนุกูลคุณเครื่องดังกล่าวไมืได้ให้ลดน้อยลงตามคำที่ว่าอนุๆ เกราะด้วยใคร่จะได้กระทำจิตกล่าวเป็นอนุโมทนาแล้วย่อมจะกำหนดเป็นวิเศษที่ให้ได้จบลงตรงาั้น ฉะนั้นชื่อว่าเป็นวิเศษ (ดี) ก็จึงหม่ให้เล็กน้อยไปด้วยกับคำตามนั้น (ไม่อนุ..) ที่กล่าว.\nสุดท้ายเป็นเรื่องเตือนระวังกันไม่ให้พูดผิด! เพราะจะเข้าใจกันว่าให้กล่าวว่า คำหนึ่ง คำว่าอนุโมทนม คำหนี่ง ว่าโมทนาก็ได้ แต่ต้องไม่ใช้ว่า อนุโมทนามิ เพราะที่ถูกคือ ✔ และเมื่ออนุโมทนาทาน หรือคุณธรรมแล้ว ในที่โมทนานั้นจพกง่าวเป็น สาธุ สาธุ สาธุ ด้วยก็ได้ สาธุเป็นวิเศษทางกลาง ว่าดีแล้วๆ ไม่ต้องว่า สาธุ มิ. สมธุ มิ. เพราัจะเป็นผิดซ้ำอีก เพราะคำว่า สาธุ. ไม่ต้องมีกิริยาคำให้ต้องกล่าวว่า มิ.",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “อนุโมทนา” \nคำว่า มิ ควรคิดแล้วว่า คงจะเป็นการกล่าวเป็นคำย้ำ คำจบ ควรจะใช่ทาง สมาสภาวะหรือทำมาไว้กล่าวเป็นที่สุด ดังนี้ว่า จะต้องนับเหตุการณ์อธิบายแบบกว้างๆอย่างนี้ก่อนหรือที่เป็นมาก่อนๆ เช่นดังนี้ ดังนี้ก่อน แต่ที่จะต้องเป็นไปบ่อยๆ และถึงซึ่งด้วยการประกอบวาจาที่รวดเร็ว ฉะนั้น จึงต้องให้เรียกว่า สัมภมะ (วุ่นไปทั่วๆ) ตามแต่อาการในคำของสมาส ที่ทำซึ่งอาการอยากให้เห็น ซึ่งภวะหมายถึงการแสดงเป็นความหมาย หรือเป็นคำ ที่ประกอบเป็นนิมิตด้วยอักขระนั้นแล้ว (สดับแล้ว) ว่าควร (เมื่อ) ฟังแล้ว (ว่า มิ) หรืออ่านแล้ว (มิ นั้น, ท่าน)จงทราบและรับรู้ด้วยใจ. อาจเป็นอย่างนี้ แล้วก็จึงให้มี “มิ” \n“มิ” ไม่ได้แปลว่า ไม่ใช่! ซึ่งเป็นคำไทยกำกับเข้ามาเกลื่อนกล่นประกอบเอาภายหลัง ยังไม่เป็นตาม มิ. ในข้อนี้ ข้อนี้เป็นแต่แสดงถึงคำว่า มิ ในทางบาลีที่ใช้อยู่แล้วแทบจะเป็นสามัญ เหมือนอย่างกล่าวว่า อนุโมทนา ดังนี้ แล้วว่า อนุโมทามิ ซึ่งก็คือการอนุโมทนา แต่คำว่า “อนุโมทนา” ควรเป็นแต่แจ้งความกัน แต่ไม่ถึงต้องกะต้องบอกต้องให้ทราบให้ถึงด้วยใจ\nแต่ซึ่งว่า หากกล่าวแล้วว่า อนุโมทามิ จึงเป็นอันต้องทราบว่า (ข้าพเจ้า) แสดง ว่า จงทราบด้วยใจเทอญ (ว่าข้าพเจ้าอนุโมทนาอยู่ อนุโมทนาแล้ว.) \nถ้ากล่าวอย่างบรรยายภาษาไทย ก็ควรจะกล่าวว่า เหตุแห่งการมุ่งกล่าวนั้น อ่อนโยนแล้ว อ่อนโยนกว่า (การอนุโมทนา) เพราะในทางภาษาไทยเรานั้น จะถือว่าบทใดประโยคใดประกอบด้วยคำมีสร้อยคำ มีคำจบ หรือมีคำลงท้ายในบทในประโยคนั้นๆ จะถือกันว่าเป็นคำน่ารัก อ่อนโยน และเป็นบทของคำที่ควรสดับรับรู้ไว้ด้วยใจ หรือแม้ถึงจะเป็นคำที่ไม่อ่อนโยนหรืออาจจะดุ แต่ก็ยังจะหมายถึงว่า (เช่นคำว่า ติ เต และ หิ เป็นต้น) ควรให้รู้ไปถึงซึ่งวิเศษแห่งความหมาย แห่งบท แห่งคุณเครื่องตามที่ยับยั้งอยู่ทั้งบทหรือทั้งหมดที่ได้แสดงแล้ว \nเรื่องการยินดี เรื่องการพลอยโมทนาคุณนี้ และประกอบเห็นคุณแห่งอนุโมทนาคุณตามกัน เหตุนี้ คำว่าอนุโมทนา ก็ดูเหมือนเป็นอีกประการที่แปลกอยู่ เพราะคำว่าอนุโมทนาดูเป็นคำ ที่เสนออรรถรสและราคาค่างวดที่ใหญ่กว่า คำว่า โมทนา! ซึ่งความว่า เป็นเครื่องสามารถและเป็นเครื่องแห่งอันจะบันเทิงตาม นั้น มาได้แก่คำว่า อนุโมทนา.. ซึ่งประกอบว่าแปลกอยู่หน่อยหนึ่งนั้นก็คือ คำว่า“อนุ”นั้นจะแปลอยู่ว่า เล็กๆน้อยๆในภาษาไทย เมื่อให้เป็นคำเอออวย แต่ก็กลับไม่นับกันนักว่า เป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ อย่างคำว่า อนุวัตร อนุกูล อนุเคราะห์ สงเคราะห์ มาอย่างนี้เป็นต้น. แต่ละคำไม่อาจจะนับว่าหมายถึงเล็กน้อย (อนุ) ไปเสียทีเดียว. และคำว่าทิศน้อยนั้นด้วย หากประกอบอนุกูลอยู่ว่าเป็นที่แรกหรือที่หลัก ถึงตามมาด้วยให้เป็นความหมายแก่ คำว่า อนุทิศก็จริง แม้เมื่อไม่มีเป็นมหัพภาคแล้ว (เป็นใหญ่ทั่วไป) ดังนี้พูดกล่าวไปจากเรื่องโมทนาคุณตามกรณีๆ ตามที่เป็นอยู่นั้นๆ ในทิศน้อย หรือจะใน ทิศใหญ่ ก็ตาม หากว่าพร้อม และเมื่อปรากฏเป็นอนุศาสน์คำสอนประกอบพร้อมตามอนุโมทนาแล้ว ย่อมจะสร้างสลักสำคัญไปได้ทุกๆแห่ง การกล่าวคำเป็นอนุกูลคุณเครื่องดังกล่าวไม่ได้ให้ลดน้อยลงตามคำที่ว่าอนุๆ เพราะด้วยใคร่จะได้กระทำจิตกล่าวเป็นอนุโมทนาแล้วย่อมจะกำหนดเป็นวิเศษที่ให้ได้จบลงตรงนั้น ฉะนั้นชื่อว่าเป็นวิเศษ (ดี) ก็จึงไม่ให้เล็กน้อยไปด้วยกับคำตามนั้น (ไม่อนุ..) ที่กล่าว.\nสุดท้ายเป็นเรื่องเตือนระวังกันไม่ให้พูดผิด! เพราะจะเข้าใจกันว่าให้กล่าวว่า คำหนึ่ง คำว่าอนุโมทนา คำหนึ่ง ว่าโมทนาก็ได้ แต่ต้องไม่ใช้ว่า อนุโมทนามิ เพราะที่ถูกคือ ✔ และเมื่ออนุโมทนาทาน หรือคุณธรรมแล้ว ในที่โมทนานั้นจะกล่าวเป็น สาธุ สาธุ สาธุ ด้วยก็ได้ สาธุเป็นวิเศษทางกลาง ว่าดีแล้วๆ ไม่ต้องว่า สาธุ มิ. สาธุ มิ. เพราะจะเป็นผิดซ้ำอีก เพราะคำว่า สาธุ. ไม่ต้องมีกิริยาคำให้ต้องกล่าวว่า มิ.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "• หัวข้อหลักที่มีมาในเรื่องของทิศ และการศึกษาเรื่อง ทิศ เช่น\n ในทางโบราณาจารย์อาจได้กล่าวเรื่องทิศมาเป็นเบื้องต้น เช่นปรากฏในคัมภีร์ กล่าวว่า โดยรอบ ในทิศครงทิศเฉียง แลเในท่ามกลางเป็นต้น. ดสดงเรื่องในทิศต่สงๆนั้นเป็นเบื้องบน เบื้องล่าง และเบื้องขวางเป็นอาทิ เช่นที่ปรากโมสในพระสูตรกล่าวถึงเรื่องอารมณ์อย่างทั่วไปว่า เป็น(อารมณ์นั้น เป็น) ไปในอดรต ปัจจุบัน และเป็นไปในอนาคต กล่าวว่าอนาคตนั้นให้กำหนดลงเป็นทิศเบื้องล่าง ส่วาการศึกษาเรื่องทิศในปัจจุบันนั้น ดังต่อไปนี้\n 1. การหาระยะ และหาระดับใกล้ไกล จากอุปกคณ์ เข็มทิศ\n การกำหนดองศา องศาละ(ระยะ) แปรค่าด้วยการคำนวณพ่้นที่สามเหลี่ยม แล้วได้ขนาดหรือระยะทาง เป็นต้น\n 1. กาตใช้เข็มทิศ ในการศึกษาแผนที่และภูมิประเทศ\n การแปลงอัตราส่วนและมาตราส่วน การกำหนดพิกัด การอ่านและการจดจำรหัสและสัญลักษณ?บนภาพแผนที่ เป็นต้น \n 3. เส้นระดับ(ระนะ)แชะตัวชี้บอกทิศทางของแรงแม่เหล็ก การอ่านเรือนหน้าปัดตามแบบซึ่งบอกเป็นตัวเงขเแ็นกำหนดองศา ( ํ)\n เช่นเรื่องเส้นรุ้ง เส้นแวง ตารางกริด และการแสดงระนาบแบบเทียบรัศมีมณฑลท้องฟ้าเป็นต้น\n 4. ชื่อทิศของไทย\n ได้แก่ ท้ศาดร(อุดร) ทักษิณ บูรพา ประจิม อาคเนย์ เป็นต้น\n 5, ชื่อทิศ ลมทิศ และการบอกลมมรสุมตามฤดูกาง\n เช่นชื่อลมสลาตัน เป็นชื่อลมในทิศ ที่พัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้, ลมพัดหลใง ชื่อว่าลมทีทพัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ว่า ชื่อลมตะโก้) และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตฯ ว่า เรียกลมชนิกหนึ่งพ้ดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันรกเฉียงใต้ในต้นฤดูร้อน ว่า ลมอุตรา. เป็นต้น\n 6. คำอธิบายทั่วไป\n\nพื้นผิววัตถุในระนาบัรียกว่า การกำกับและการกำหนดทิศในรัศมีวงกลมเป็น 360 องศา( ํ) คือทำสังเขปนั้นด้วยรัศมีเป็นการตกลงกันในโลก เพื่แแจ้งการกำหนดที่ตั้ง และทิศทาง จากปลายทาง ถึงต้นทาง ว่ากำหนดนับ หรือตั้งอยู่ที่ไหน ทำอย่างเรือนหน้าปัดนาฬิกา วางระนาบและกำหนดทิศหลักที่ต้องการ วางเข็มทิศแม่เหล็กเพื่อกำหนดที่ตั้งตามทิศเหนือ ทิศตะวันออกจึงมีค่าเท่ากับ 90 องศา และทิศใต้ จึงมีค่าเท่ากับ 1o0 องศา ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าทั้ลทิศน้อยทิศใหญ่ และที่ไปในอนุจรทิศตามกันนั้น ได้นรงความกันกับบทธรรมพอดี พอดีแก่คำเปรียบตามอย่างพระคัมภีร์พระไตรปิฎก อาทิเช่นที่ว่า “ดีแล้ว หรือที่ดี ทีีอรนกระทกได้ดีนี้ ถึงอย่างไรก็คงไมรถึง แม้เสี้ยวที่ 16(ทิศน้อยใหญ่แบ่งย่อยรวมกันเป็น 16 ทิศ) ขอบืี่ท่านกระทำอยู่” ซึ่งเป็นสำนวนมาในการกล่าวถ่อมตน ว่ายังเรียนยังศึกษาน้อย เปํนต้น.(ทิศหลักสึ่ทิศนั้นแบ่งเป็นทิศน้อยอคกสี่ทิศ เป็น 8 ทิศ เมื่อแบ่งอีก 8 ทิศนั้นเป็นอนุจคด้วยตามไป จึงเป็น 16 ทืศ หรือ สิบหกเสี้ยวอย่างคร่าวๆ และเมื่อนับควบรวสกะวันเพ็ญดิถีรวมแก่ปักษ์ทุกคาบ ให่ได้เป็น 15 คาบ เสี้ยวที่ยิบหก!จึงตกลงเป็นรำด่าประณามก็มี ว่า่ำอะไรก็ไม่อาจให้เห็นเป็นประโยชน์ได้ เหมทอนเป็นสิ่ง หรือบุคคลที่อยู่ในเสี้ยวที่สิบ หานะบประโยชน์อะไรไม่ค่ิยได้ ที่จะได้คำรบครบคาบระนาบส่วนได้ตามที่ตั้งไว้ ก็ต้องยืนยันแต่ว่าหาไม่เห็น เพราะว่าเสี้ยวหนึ่งในลำดับที่สิบหกเกี่ยวกับจำนวนนับค่ำแรมเพ็ญนั้จ ไม่มีถึงนั้น เพราะปักษ๋หนึ่งนับได้กค่ 15 ฉะนั้นส่วนเสี้ยวที่ 16 จึงยำต้องไม่มี จะมีก็แต่ในที่ๆ พธดถึงทิศ ทิศนั้นอาจต้องมีถึงสิบหกทิศ มีไว้เป็นอย่างน้อย เพราะเป็นทวีคูณไปจากทิศทั้ง 8)\n 7. การบอกแงศาด้วยกำหนดเลขตามอย่างหน้าปัดนาฬิกา \n เที่ยงตรงว่า เท่ากับ 360 องศา\n 1 นาฬิกา เท่ากับ 30 องศา\n 2 นาฬิกา เท่ากับ 60 องศา\n 3 นาฬิกา เท่รกับ 90 องศา\n 4 นาฬิกา เท่ากเบ 120 องศา\n 5 นาฬิกา เท่ากับ 150 องศา\n 6 นาฬิกา เท่ากับ 180 องศา \n 7 นาฬิกา เท่ากับ w10 องศา\n 8 นาฬิกา เท่ากับ 240 องศา\n 9 นาฬิกา เท่ากับ 270 องศา . . .\n การแบ่งอย่างนาฬิกานี้ เาจทำกำหนดพยากรณ์อย่างพยากรณ์ปทุมโชคแบบโหร เป็นต้น ก็อาจเป็จได้\n 8. และด้วยกันกะวิชาโหรนั้น แต่ก่อนกำหนดมห้มีการศึกษาการบอกเวลาจากแสงแดด ตามกำหนดที่ตั้งทางภูมิศาสตร์\n เช่นเรื่องมณฑลอาทิตย์โคจรขึ้นเหนือลงใต้ ซึ่งเป็นกำหนดในประเทศนั้น แล้วให้บอกเวลาตามองศาราศีและบอกเป็นนาทีเป็นต้น\n 9. การกำหนดชื่อหลักเทียบ แบบภาษาไทย ที่เทียบไว้โดย สุรศักดิ์ ชวยานันท์ มีดีงนี้.\n\n\n10. พยากรณ์ ศูนยพาหะ คัมภีร์โหราศาสตร์ฉบับมาตรฐาน ว่า ดังต่อไปนี้\nพระเคราะห์ใดๆ เป็น ๒ กับลัคนา พระเคราะห์นั้นเรียกว่าศูนยพาห คำว่าศูนยพาหนี้ ต้องแยกออกเป็น ๒ ศัพท์ จึงจะเข้าใจเนื้อความได้ดี ศูนย์แปลวีาอากาศ หรือที่ว่าง พาห บางทีเราใช้ว่าพาห์ แปลว่าผู้พาไปหรือผู้นำไป ดมื่อรวมกันเข้าทั้งสองศัพทฺแล้ว ก็แปลว่าผู้นำไปในอากาศ คือหมายเอาพระเคราะห์ที่นำหน้าลัคน์ พระเคราะห์ที่นำหน้าลีคน์หรือศูนยพาหนี้ ย่อมให้คุ๖แก่เจ้าชะตาและบริษัทบติวา่ยิ่งนัก เหมือนอย่างดวงพระชะตาของสมเด็จพระปอยมหาราชเจเา พระจันทร์เป็นอุจจาว้ลาสและมหาจักรนำหน้าพระราชบัคนา ดังนี้ \nพระองค์ก็ทรงนำประเทศไปสู่ความเจริญเหลือที่จะนับประมาณได้ ดังนั้นพระบรมรูปทรงม้ทจึงเป็นที่สักการะของประชาชน หาใันเสื่อมมิได้ ส่วนการพยากรณ์ตามงำดับพระเคราะห์ท่านแสดงไว้ดังนี้",
"role": "user"
},
{
"content": "• หัวข้อหลักที่มีมาในเรื่องของทิศ และการศึกษาเรื่อง ทิศ เช่น\n ในทางโบราณาจารย์อาจได้กล่าวเรื่องทิศมาเป็นเบื้องต้น เช่นปรากฏในคัมภีร์ กล่าวว่า โดยรอบ ในทิศตรงทิศเฉียง และในท่ามกลางเป็นต้น. แสดงเรื่องในทิศต่างๆนั้นเป็นเบื้องบน เบื้องล่าง และเบื้องขวางเป็นอาทิ เช่นที่ปรากฏมาในพระสูตรกล่าวถึงเรื่องอารมณ์อย่างทั่วไปว่า เป็น(อารมณ์นั้น เป็น) ไปในอดีต ปัจจุบัน และเป็นไปในอนาคต กล่าวว่าอนาคตนั้นให้กำหนดลงเป็นทิศเบื้องล่าง ส่วนการศึกษาเรื่องทิศในปัจจุบันนั้น ดังต่อไปนี้\n 1. การหาระยะ และหาระดับใกล้ไกล จากอุปกรณ์ เข็มทิศ\n การกำหนดองศา องศาละ(ระยะ) แปรค่าด้วยการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม แล้วได้ขนาดหรือระยะทาง เป็นต้น\n 2. การใช้เข็มทิศ ในการศึกษาแผนที่และภูมิประเทศ\n การแปลงอัตราส่วนและมาตราส่วน การกำหนดพิกัด การอ่านและการจดจำรหัสและสัญลักษณ์บนภาพแผนที่ เป็นต้น \n 3. เส้นระดับ(ระยะ)และตัวชี้บอกทิศทางของแรงแม่เหล็ก การอ่านเรือนหน้าปัดตามแบบซึ่งบอกเป็นตัวเลขเป็นกำหนดองศา ( ํ)\n เช่นเรื่องเส้นรุ้ง เส้นแวง ตารางกริด และการแสดงระนาบแบบเทียบรัศมีมณฑลท้องฟ้าเป็นต้น\n 4. ชื่อทิศของไทย\n ได้แก่ ทิศาดร(อุดร) ทักษิณ บูรพา ประจิม อาคเนย์ เป็นต้น\n 5. ชื่อทิศ ลมทิศ และการบอกลมมรสุมตามฤดูกาล\n เช่นชื่อลมสลาตัน เป็นชื่อลมในทิศ ที่พัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้, ลมพัดหลวง ชื่อว่าลมที่พัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ว่า ชื่อลมตะโก้) และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตฯ ว่า เรียกลมชนิดหนึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในต้นฤดูร้อน ว่า ลมอุตรา. เป็นต้น\n 6. คำอธิบายทั่วไป\n\nพื้นผิววัตถุในระนาบเรียกว่า การกำกับและการกำหนดทิศในรัศมีวงกลมเป็น 360 องศา( ํ) คือทำสังเขปนั้นด้วยรัศมีเป็นการตกลงกันในโลก เพื่อแจ้งการกำหนดที่ตั้ง และทิศทาง จากปลายทาง ถึงต้นทาง ว่ากำหนดนับ หรือตั้งอยู่ที่ไหน ทำอย่างเรือนหน้าปัดนาฬิกา วางระนาบและกำหนดทิศหลักที่ต้องการ วางเข็มทิศแม่เหล็กเพื่อกำหนดที่ตั้งตามทิศเหนือ ทิศตะวันออกจึงมีค่าเท่ากับ 90 องศา และทิศใต้ จึงมีค่าเท่ากับ 180 องศา ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าทั้งทิศน้อยทิศใหญ่ และที่ไปในอนุจรทิศตามกันนั้น ได้ตรงความกันกับบทธรรมพอดี พอดีแก่คำเปรียบตามอย่างพระคัมภีร์พระไตรปิฎก อาทิเช่นที่ว่า “ดีแล้ว หรือที่ดี ที่อาจกระทำได้ดีนี้ ถึงอย่างไรก็คงไม่ถึง แม้เสี้ยวที่ 16(ทิศน้อยใหญ่แบ่งย่อยรวมกันเป็น 16 ทิศ) ของที่ท่านกระทำอยู่” ซึ่งเป็นสำนวนมาในการกล่าวถ่อมตน ว่ายังเรียนยังศึกษาน้อย เป็นต้น.(ทิศหลักสี่ทิศนั้นแบ่งเป็นทิศน้อยอีกสี่ทิศ เป็น 8 ทิศ เมื่อแบ่งอีก 8 ทิศนั้นเป็นอนุจรด้วยตามไป จึงเป็น 16 ทิศ หรือ สิบหกเสี้ยวอย่างคร่าวๆ และเมื่อนับควบรวมกะวันเพ็ญดิถีรวมแก่ปักษ์ทุกคาบ ให้ได้เป็น 15 คาบ เสี้ยวที่สิบหก!จึงตกลงเป็นคำด่าประณามก็มี ว่าทำอะไรก็ไม่อาจให้เห็นเป็นประโยชน์ได้ เหมือนเป็นสิ่ง หรือบุคคลที่อยู่ในเสี้ยวที่สิบ หานับประโยชน์อะไรไม่ค่อยได้ ที่จะได้คำรบครบคาบระนาบส่วนได้ตามที่ตั้งไว้ ก็ต้องยืนยันแต่ว่าหาไม่เห็น เพราะว่าเสี้ยวหนึ่งในลำดับที่สิบหกเกี่ยวกับจำนวนนับค่ำแรมเพ็ญนั้น ไม่มีถึงนั้น เพราะปักษ์หนึ่งนับได้แค่ 15 ฉะนั้นส่วนเสี้ยวที่ 16 จึงจำต้องไม่มี จะมีก็แต่ในที่ๆ พูดถึงทิศ ทิศนั้นอาจต้องมีถึงสิบหกทิศ มีไว้เป็นอย่างน้อย เพราะเป็นทวีคูณไปจากทิศทั้ง 8)\n 7. การบอกองศาด้วยกำหนดเลขตามอย่างหน้าปัดนาฬิกา \n เที่ยงตรงว่า เท่ากับ 360 องศา\n 1 นาฬิกา เท่ากับ 30 องศา\n 2 นาฬิกา เท่ากับ 60 องศา\n 3 นาฬิกา เท่ากับ 90 องศา\n 4 นาฬิกา เท่ากับ 120 องศา\n 5 นาฬิกา เท่ากับ 150 องศา\n 6 นาฬิกา เท่ากับ 180 องศา \n 7 นาฬิกา เท่ากับ 210 องศา\n 8 นาฬิกา เท่ากับ 240 องศา\n 9 นาฬิกา เท่ากับ 270 องศา . . .\n การแบ่งอย่างนาฬิกานี้ อาจทำกำหนดพยากรณ์อย่างพยากรณ์ปทุมโชคแบบโหร เป็นต้น ก็อาจเป็นได้\n 8. และด้วยกันกะวิชาโหรนั้น แต่ก่อนกำหนดให้มีการศึกษาการบอกเวลาจากแสงแดด ตามกำหนดที่ตั้งทางภูมิศาสตร์\n เช่นเรื่องมณฑลอาทิตย์โคจรขึ้นเหนือลงใต้ ซึ่งเป็นกำหนดในประเทศนั้น แล้วให้บอกเวลาตามองศาราศีและบอกเป็นนาทีเป็นต้น\n 9. การกำหนดชื่อหลักเทียบ แบบภาษาไทย ที่เทียบไว้โดย สุรศักดิ์ ชวยานันท์ มีดังนี้.\n\n\n10. พยากรณ์ ศูนยพาหะ คัมภีร์โหราศาสตร์ฉบับมาตรฐาน ว่า ดังต่อไปนี้\nพระเคราะห์ใดๆ เป็น ๒ กับลัคนา พระเคราะห์นั้นเรียกว่าศูนยพาห คำว่าศูนยพาหนี้ ต้องแยกออกเป็น ๒ ศัพท์ จึงจะเข้าใจเนื้อความได้ดี ศูนย์แปลว่าอากาศ หรือที่ว่าง พาห บางทีเราใช้ว่าพาห์ แปลว่าผู้พาไปหรือผู้นำไป เมื่อรวมกันเข้าทั้งสองศัพท์แล้ว ก็แปลว่าผู้นำไปในอากาศ คือหมายเอาพระเคราะห์ที่นำหน้าลัคน์ พระเคราะห์ที่นำหน้าลัคน์หรือศูนยพาหนี้ ย่อมให้คุณแก่เจ้าชะตาและบริษัทบริวารยิ่งนัก เหมือนอย่างดวงพระชะตาของสมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า พระจันทร์เป็นอุจจาวิลาสและมหาจักรนำหน้าพระราชลัคนา ดังนี้ \nพระองค์ก็ทรงนำประเทศไปสู่ความเจริญเหลือที่จะนับประมาณได้ ดังนั้นพระบรมรูปทรงม้าจึงเป็นที่สักการะของประชาชน หาวันเสื่อมมิได้ ส่วนการพยากรณ์ตามลำดับพระเคราะห์ท่านแสดงไว้ดังนี้",
"role": "assistant"
}
] |