dhamma-scholar-book / 31 /310049.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
3.03 kB
Book,Page,LineNumber,Text
31,0049,001,ต. ไม่ต้อง เพราะในสิกขาบทตติยปาราชิกระบุไว้ชัดว่า แกล้ง
31,0049,002,จึงต้อง.
31,0049,003,๒๔๖๐
31,0049,004,ถ. พระ ก. ลอบประหารชีวิตพระ ข. ตาย แต่ไม่มีใครรู้เห็น
31,0049,005,จึงเงียบความไป ถ้าเทียบทางบ้านเมืองก็คงไม่ต้องรับโทษอะไร ส่วน
31,0049,006,ทางพระศาสนาของเราเป็นเช่นนั้นหรือไม่ เพราะเหตุไร ?
31,0049,007,ต. หาเป็นเช่นนั้นไม่ เธอผู้นั้นจะต้องได้รับโทษ คือขาดจาก
31,0049,008,ความเป็นภิกษุทันที ซึ่งถ้าจะเทียบกับทางบ้านเมืองแล้ว เท่ากับต้อง
31,0049,009,ประหารชีวิต. เพราะการลงโทษทางพระพุทธศาสนา ไม่ต้องมีผู้อื่น
31,0049,010,เป็นผู้ลงโทษ จะว่าเจ้าตัวเองต้องลงโทษตัวเองก็ว่าได้ ยกเสียแต่ผู้ที่
31,0049,011,หยาบคายจนเกินส่วน ถึงกับผู้อื่นจับได้ จึงเป็นหน้าที่ของเพื่อนกันจะ
31,0049,012,พึงช่วยเพิ่มโทษ เช่นคัดออกจากหมู่เป็นต้น.
31,0049,013,๓๐/๙/๖๕
31,0049,014,ถ. ความทารุณโหดร้าย สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรง
31,0049,015,โปรด ทรงคาดโทษในทางพระวินัยอย่างสูงไว้เพียงแค่ไหน มีสิกขาบท
31,0049,016,อะไรเป็นหลักอ้าง ? ความว่ากระไร ? จงว่ามา.
31,0049,017,ต. เพียงแค่ขาดจากภิกษุภาวะ คือปรับโทษถึงปาราชิกเป็นอย่าง
31,0049,018,สูง. มีปาราชิกสิกขาบทที่ ๓ เป็นหลักอ้าง. ความว่า ภิกษุแกล้งฆ่า
31,0049,019,มนุษย์ให้ตาย ต้องปาราชิก ดังนี้.
31,0049,020,๒๔๗๖
31,0049,021,ถ. อย่างไรเรียกว่าอวดอุตตริมนุสสธรรม ?