dhamma-scholar-book / 41 /410047.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
3.36 kB
Book,Page,LineNumber,Text
41,0047,001,อัปปนาภาวนา ๑ ทั้ง ๓ นี้ จัดเข้าในสมถภาวนา ไม่มีข้อใดจัดเข้าใน
41,0047,002,วิปัสสนาภาวนา. ที่จัดเช่นนี้ เพราะภาวนาทั้ง ๓ เป็นสมถะทั้งหมด
41,0047,003,ส่วนวิปัสสนา เป็นทัสสนะทางใจในคติธรรมดา ปรารภสภาวธรรมและ
41,0047,004,สามัญญลักษณะ.
41,0047,005,๒๕๑๕
41,0047,006,ถ. ปริญญา เป็นเหตุผลเนื่องกันอย่างไรหรือไม่ ? จงอธิบาย.
41,0047,007,ต. เป็นเหตุผลอันเนื่องกัน อธิบายว่า ญาตปริญญา กำหนด
41,0047,008,รู้ปัญญจขันธ์เป็นต้น โดยวิภาคจากที่คุมกันแล้ว ย่อมจำกัดความ
41,0047,009,หลงว่าคนจริงจัง เหมือนหยุดเครื่องยนต์อันมีปกติหมุนได้แล้ว เห็น
41,0047,010,ตัวจักรถนัด เป็นเหตุให้เกิดตีรณปริญญา พิจารณาเห็นไตรลักษณ์
41,0047,011,ที่ไม่เที่ยงไม่ทนหรือทนยาก พ้นอำนาจตามเป็นจริงอย่างไร อันเป็น
41,0047,012,ปัจจัยให้เกิดปหานปริญญา กำหนดละฉันทะในปัญจขันธ์เป็นต้นนั้น.
41,0047,013,๒๔๗๕
41,0047,014,ถ. กำหนดรู้ด้วยการรู้ กับกำหนดรู้ด้วยการพิจารณานั้น ต่าง
41,0047,015,กันอย่างไร ?
41,0047,016,ต. ต่างกัน. กำหนดรู้ด้วยการรู้นั้น หมายเพียงรู้จักแยกขันธ์
41,0047,017,ออกเป็นส่วน ๆ จากสังขาร ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไรแล้ว รู้จัก
41,0047,018,ลักษณะแห่งส่วนนั้น ๆ นี้เรียกว่ากำหนดรู้ด้วยการรู้. ส่วนกำหนด
41,0047,019,รู้ด้วยการพิจารณานั้น คือกำหนดส่วนแห่งขันธ์เป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง
41,0047,020,หรือทั้งหมดแล้ว พิจารณาหาเหตุผลและเกิดดับ ยกขึ้นพิจารณา
41,0047,021,โดยพระไตรลักษณ์จนมีความเห็นแน่ว่าส่วนนั้น ๆ ย่อมประกอบด้วยเถิด