|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
04,reface,001,คำนำ
|
|
04,reface,002,พุทธประวัติตอนมัชฌิมโพธิกาลนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
|
|
04,reface,003,กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ทรงรจนาไว้. ต้นฉบับรวมอยู่กับ
|
|
04,reface,004,ต้นฉบับหนังสืออื่นหลายเรื่องที่พระตำหนักจันทร์ วัดบวรนิเวศวิหาร
|
|
04,reface,005,อันเป็นที่เก็บรวบรวมหนังสือและต้นฉบับพระนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ. เดิม
|
|
04,reface,006,เข้าใจกันว่า พุทธประวัติตอนนี้ยังไม่ได้เริ่มรจนา เพียงแต่ปรารภ
|
|
04,reface,007,จะทรงรจนา ดังที่ทรงแสดงไว้ในคำนำในหนังสือพุทธประวัติเล่ม ๑.
|
|
04,reface,008,เจ้าหน้าที่ของวัดพึ่งมาพบเรื่องนี้เข้า ในเมื่อเลือกต้นฉบับพระนิพนธ์
|
|
04,reface,009,เพื่อพิมพ์แจกในงานบำเพ็ญกุศลถวาย ในสุรทินตรงกับวันสิ้นพระชนม์
|
|
04,reface,010,ในวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๓.
|
|
04,reface,011,สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ทรงปรารภจะทรงรจนาพุทธ-
|
|
04,reface,012,ประวัติจนจบเรื่อง ตลอดถึงสังคีติกถา ปันเป็น ๔ วิภาค ดังแจ้งอยู่ใน
|
|
04,reface,013,พระนิพนธ์คำนำในพุทธประวัติเล่ม ๑.
|
|
04,reface,014,แต่เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ทรงรจนาแล้วเพียงเล่ม ๑
|
|
04,reface,015,ตอนปฐมโพธิกาล ไม่ทันความต้องการใช้ในการเรียนพุทธประวัติ
|
|
04,reface,016,จึงทรงดัดแปลงแก้ไขหนังสือปฐมสมโพธิตอนนิพพาน ที่สมเด็จพระ-
|
|
04,reface,017,สังฆราช (ปุสฺสเทว) ทรงจรนาไว้เป็นพุทธประวัติเล่ม ๓ ตอนปัจฉิม
|
|
04,reface,018,"โพธิกาล, ด้วยทรงมุ่งให้ใช้เป็นหนังสือเรียนไปพลาง กว่าฉบับใหม่"
|
|
04,reface,019,"จะทรงรจนาเสร็จ, เพราะตอนมัชฌิมโพธิกาลเป็นเรื่องไม่มีอนุสนธิ"
|
|
04,reface,020,คือจบในตอน ๆ เพียงเล่ม ๑ กับเล่ม ๓ ก็พอเข้าเรื่องกันได้ เช่นได้
|
|
04,reface,021,เคยทรงใช้พุทธานุพุทธประวัติกับนิพพานสูตรควบกันเป็นหลักสูตรแห่ง
|
|
04,reface,022,การเรียนพุทธประวัติมาแล้ว. (ความข้อนี้มีแจ้งอยู่ในพระนิพนธ์คำนำ
|
|
04,reface,023,ในพุทธประวัติเล่ม ๓). พุทธประวัติที่ใช้เป็นหลักสูตรการเรียน จึง
|
|
04,reface,024,มีเพียงเล่ม ๑ และเล่ม ๓.
|
|
04,reface,025,พุทธประวัติตอนมัชฌิมโพธิกาลนี้ ทรงรจนาไว้ได้เพียง ๓ ปริเฉท
|
|
04,reface,026,คือ ปริเฉทที่ ๙ ที่ ๑๐ ที่ ๑๑ ต่อจากปริเฉทที่ ๘ ในพุทธประวัติ
|
|
04,reface,027,เล่ม ๑ จึงนับเป็นพุทธประวัติเล่ม ๒.
|
|
04,reface,028,เพียงที่ทรงรจนาไว้นี้ ก็ให้สำเร็จประโยชน์ในการศึกษาพุทธ-
|
|
04,reface,029,ประวัติส่วนมัชฌิมโพธกาลสืบต่อจากปฐมโพธิกาล ถือเป็นแบบเรียน
|
|
04,reface,030,พุทธประวัติเล่มหนึ่ง. ผู้อ่านหรือผู้ศึกษาย่อมอ่านหรือศึกษาไว้จบ
|
|
04,reface,031,เฉพาะตอบ ๆ เพราะเป็นเรื่องจบในตอน ๆ ไม่มีอนุสนธิ และอาจ
|
|
04,reface,032,ถือเป็นแบบเพื่อรจนาต่อไปได้โดยสะดวก. น่าเสียดายที่ทรงรจนาไว้
|
|
04,reface,033,ไม่ได้มาก เพราะเวลาแห่งพระชนมชีพของพระองค์ไม่อำนวย แต่ก็ได้
|
|
04,reface,034,ทรงฝากได้ (ในคำนำพุทธประวัติเล่ม ๑) แก่ผู้สนใจในเรื่องนี้ ให้
|
|
04,reface,035,เสาะหาสอบสวนให้คงแก่เหตุผลรจนาขึ้นไว้ เพื่อความรู้ในเรื่องนี้
|
|
04,reface,036,เจริญขึ้นโดยลำดับ.
|
|
04,reface,037,มหามกุฏราชวิทยาลัย ได้พิมพ์พุทธประวัติมัชฌิมโพธิกาลนี้
|
|
04,reface,038,แจกถวายกุศลในสุรทินตรงกับวันสิ้นพระชนม์ ของสมเด็จพระมหา-
|
|
04,reface,039,สมณเจ้า ฯ ในวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ซึ่งเป็นปีครบที่ ๓๐ เป็น
|
|
04,reface,040,"ปฐม, และได้จัดพิมพ์เป็นพุทธประวัติเล่ม ๒ เพื่อให้เรื่องพุทธประวัติ"
|
|
04,reface,041,มีบริบูรณ์ ตามพระประสงค์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ พระองค์
|
|
04,reface,042,ผู้ทรงรจนาขึ้นไว้.
|
|
04,reface,043,ในการพิมพ์ครั้งนี้ คณะกรรมการแผนกตำราได้ตรวจชำระอักษร
|
|
04,reface,044,จัดวรรคตอน และบอกที่มา กับชี้แจงความบางประการไว้ที่เชิงหน้า
|
|
04,reface,045,นั้น ๆ.
|
|
04,reface,046,ขออุทิศกุศลจริยาทุกประการ บูชาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ
|
|
04,reface,047,พระองค์นั้น ผู้ประทานแสงสว่างคือวิทยาแก่ผู้ศึกษาและปฏิบัติธรรม
|
|
04,reface,048,ทางพระพุทธศาสนาทั่วไป.
|
|
04,reface,049,<B>แผนกตำรา</B>
|
|
04,reface,050,มหามกุฏราวิทยาลัย
|
|
|