|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
27,0009,001,อาบัติ แปลว่า ความต้อง มีโทษ ๓ สถาน คือ :-
|
|
27,0009,002,๑. อย่างหนัก ให้ขาดจากความเป็นภิกษุ.
|
|
27,0009,003,๒. อย่างกลาง ต้องให้อยู่กรรม.
|
|
27,0009,004,๓. อย่างเบา ให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุด้วยกัน.
|
|
27,0009,005,อาบัติอีก ๒ สถาน
|
|
27,0009,006,๑. อเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขไม่ได้.
|
|
27,0009,007,๒. สเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขได้.
|
|
27,0009,008,ชื่อของอาบัติ ๗
|
|
27,0009,009,๑. ปาราชิก ๒. สังฆาทิเสส ๓. ถุลลัจจัย ๔. ปาจิตตีย์
|
|
27,0009,010,๕. ปาฏิเทสนียะ ๖. ทุกกฏ ๗. ทุพภาสิต.
|
|
27,0009,011,ปาราชิกมีโทษอย่างหนัก เป็นอเตกิจฉา สังฆาทิเสสมีโทษอย่าง
|
|
27,0009,012,กลาง ถุลลัจจัย ฯ ลฯ ทุพภาสิต ๕ นี้ มีโทษอย่าเบา ตั้งแต่
|
|
27,0009,013,สังฆาทิเสสลงมาเป็นสเตกิจฉา.
|
|
27,0009,014,สมุฏฐานแห่งอาบัติโดยตรง ๔
|
|
27,0009,015,๑. ลำพังกาย.
|
|
27,0009,016,๒. ลำพังวาจา.
|
|
27,0009,017,๓. กายกับจิต.
|
|
27,0009,018,๔. วาจากับจิต.
|
|
27,0009,019,ในบาลีเพิ่มเข้าอีก ๒
|
|
27,0009,020,๑. กายกับวาจาควบกันเข้า.
|
|
27,0009,021,๒. กายกับวาจานั้น เติมจิตเข้าด้วย.
|
|
|