|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
29,0033,001,"<B>อารมณ์มีลักษณะเป็น ๓ คือพอใจ, ไม่พอใจ, เฉย ๆ</B> "
|
|
29,0033,002,ผู้จะทำกัมมัฏฐาน ต้องรู้จักนวรณ์ ๕
|
|
29,0033,003,๑. พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบ เรียกกามฉันท์
|
|
29,0033,004,๒. คิดปองร้ายผู้อื่น เรียกพยาบาท
|
|
29,0033,005,๓. ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม เรียกถีนมิทธะ
|
|
29,0033,006,๔. ฟุ้งซ่านและรำคาญ เรียกอุทธัจจกุกกุจจะ
|
|
29,0033,007,๕. ลังเลไม่ตกลงได้ เรียกวิจิกิจฉา
|
|
29,0033,008,<B>นิวรณ์ ๕</B>
|
|
29,0033,009,เกิด แก้
|
|
29,0033,010,สุภนิมิต เห็นว่างาม กมฉันท์ อสุภนิมิต เห็นว่าไม่งาม
|
|
29,0033,011,ปฏิฆะ คับแค้นใจ พยาบาท เมตตา ความปรารถนาดี
|
|
29,0033,012,"อนรติ ไม่ยินดี ถีนมิทธะ อารัมภะ (ความริเริม,"
|
|
29,0033,013,ปรารภความเพียร)
|
|
29,0033,014,อวปสมะ ใจไม่สงบ อุทธัจจกุกกุจจะ วูปสมะ ความสงบ
|
|
29,0033,015,อโยนิโสมนสิการ วิจิกิจฉา โยนิโสมนสิการ (ทำใจให้
|
|
29,0033,016,แน่วแน่)
|
|
29,0033,017,<B>วิธีละกามฉันท์</B>
|
|
29,0033,018,๑. เรียนนิมิตในอสุภกัมมัฏฐาน พิจารณาดูซากศพ
|
|
29,0033,019,๒. สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
|
|
29,0033,020,๓. รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร
|
|
29,0033,021,๔. หมั่นเจริญอสุภกัมมัฏฐาน
|
|
29,0033,022,๕. เลือกคบมิตร คบแต่มิตรทีดี
|
|
|