|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0049,001,สุข ๒
|
|
39,0049,002,<B>กายิกสุข</B> สุขทางกาย
|
|
39,0049,003,<B>เจตสิกสุข</B> สุขทางใจ
|
|
39,0049,004,๑. <B>กายิกสุข</B> คือสุขทางกายนั้น ได้แก่ การที่ร่างกายของบุคคล
|
|
39,0049,005,ไม่มีความทุกข์ ไม่มีโรค ไม่มีภัยเบียดเบียน อวัยวะร่างกายก็มีความสมบูรณ์
|
|
39,0049,006,มีสุขภาพพลานามัยดี จะเคลื่อนไหว จะทำอะไรก็มีความคล่องแคล่ว ชำนิ
|
|
39,0049,007,ชำนาญทำได้ในเวลาอันรวดเร็วอย่างนี้เรียกว่า กายิกสุข คือเป็นสุขที่บุคคล
|
|
39,0049,008,พึงได้ทางร่างกาย
|
|
39,0049,009,๒. <B>เจตสิกสุข</B> สุขทางจิตใจ ได้แก่ลักษณะทางอารมณ์ของบุคคล
|
|
39,0049,010,ในยามใดก็ตาม ที่จิตใจประกอบด้วยความคลายกำหนัดไม่ดิ้นพล่านไปใน
|
|
39,0049,011,อารมณ์ทั้งหลายด้วยอำนาจของความใคร่อยู่ด้วยความเมตตา กรุณา อันมี
|
|
39,0049,012,ลักษณะสงบจิต จิตใจมีความกระตือรือร้น มีความเพียรพยายาม ความ
|
|
39,0049,013,มั่นคง สามารถสงบอยู่ได้ในอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะเช่น
|
|
39,0049,014,อารมณ์ที่เป็นกลาง ๆ หรืออารมณ์ที่เป็นกุศล ไม่มีความเคลือบแคลงลังเล
|
|
39,0049,015,สงสัยในสิ่งต่าง ๆ มีความมั่นใจในธรรมะ ในตัวเอง ในบุคคล ในการงาน
|
|
39,0049,016,เป็นต้น เรียกว่า เป็นคนที่มีสุขภาพจิตดี
|
|
39,0049,017,เมื่อกล่าวโดยสรุปในภาษาปัจจุบันก็คือว่า กายิกสุขก็คือ คนที่มี
|
|
39,0049,018,สุขภาพกายดี เจตสิกสุขก็คือ คนที่มีสุขภาพจิตดี ชีวิตของบุคคลเรานั้น
|
|
39,0049,019,ประกอบด้วยกายกับจิต เมื่อสุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี ชีวิตของบุคคลนั้น
|
|
|