thaexam_choice / ALevel_Chem_63.json
AIEIR's picture
Upload 18 files
e62af42 verified
[
{
"No": 1,
"Question": " พิจารณาแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนดังนี้ (มีแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอน) n เขียน E1ถึง E5 ที่ให้ E0 = 0 ในหน่วย 10^-21 kJ n = 5 E5 = -0.088 x 10^-21 kJ n = 4 E4 = -0.14 x 10^-21 kJ n = 3 E3 บอก E3 = -0.24 x 10^-21 kJ n = 2 E2 = -0.55 x 10^-21 kJ n = 1 E1 = -2.18 x 10^-21 kJ อะตอมไฮโดรเจนในสถานะพัน สามารถดูดกลืนแสงที่มีพลังงาน 1.80 x 10^-21 kJ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ",
"Choices": {
"A": "ได้ เพราะอิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ n = 2 ไป n = 3",
"B": " ไม่ได้ เพราะอะตอมไฮโดรเจนสามารถดูดกลืนพลังงานเท่าใดก็ได้",
"C": "ไม่ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kJ คือพลังงานที่น้อยเกินกว่าที่จำทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไฮโดรเจน",
"D": "ได้ เพราะ 1.80 x 10^-21 kj คือค่าให้พลังงานที่มีมากกว่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานที่ 2",
"E": "ไม่ได้ 1.80 x 10^-21 kj ไม่ใช่ค่าที่ตรงกับค่าผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะพื้นกับระดับพลังงานใด ๆ ของอะตอมไฮโดรเจน"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 2,
"Question": " กำหนดข้อมูลดังนี้ อิเล็กตรอนในอะตอมที่สถานะพื้นจะอยู่ในออร์บิทัลที่ระดับพลังงานต่ำสุดที่เป็นไปได้เมื่ออะตอมได้รับพลังงานมากพอจะเปลี่ยนไปอยู่ในสถานะกระตุ้นโดยมีเวลาเพียงสั้น ๆ และเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนไปสู่ออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่ำขึ้น จากข้อมูลข้างต้น การจัดอิเล็กตรอนในสถานะพื้นและสถานะกระตุ้นของอะตอมที่มีกลางข้อใดถูกต้อง ",
"Choices": {
"A": "สถานะพื้น =1s² 2p⁶ 3s สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² ",
"B": " สถานะพื้น = 1s² 2s² สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s¹ 3p⁵ 4s¹",
"C": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s² สถานะกระตุ้น =1s² 2s² 3s² ",
"D": "สถานะพื้น =1s² 2s² 2p⁶ 3s² สถานะกระตุ้น = 1s² 2s² 2p⁶ 3s² 3p⁵ 4s¹ ",
"E": "สถานะพื้น =[Ar] 3d¹ 4s¹ สถานะกระตุ้น = 1s² 2s²"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 3,
"Question": " ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p² ธาตุ D : [Ne]3s² 4s¹ ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด ",
"Choices": {
"A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
"B": "ธาตุ E เป็นธาตุแทรนซิซัน ",
"C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
"D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
"E": "ธาตุ A มักมีค่าอิเฃ็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่า D"
},
"Answer": "C"
}
,
{
"No": 3,
"Question": " ถ้าหากให้ธาตุ A, D และ E เป็นธาตุในตารางธาตุ ซึ่งอะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ โดยมีบางธาตุแสดงการจัดอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น ธาตุ A : 1s² 2s² 2p² ธาตุ D : 1s² 2s² 3s¹ ธาตุ E : [Ar] 4s¹ 3d⁵ขัอความเกี่ยวกับธาตุ A, D และ E ข้อใดผิด ",
"Choices": {
"A": "ธาตุ D และ E เป็นโลหะ",
"B": "ธาตุ E เป็นธาตุตามรณรัย ",
"C": "ธาตุ D อยู่ในหมากที่ 4 หมู่ IA",
"D": "สารประกอบออกไซด์ของธาตุ D คือ D₂O₃",
"E": "ธาตุ A มักถ่ายทอดโครงแบบอิเล็กทรอนิกส์ของก๊าซมีตระกูลธาตุ D"
},
"Answer": "C"
}
,
{
"No": 4,
"Question": "โครงสร้างอิเล็กตรอนที่เสถียรที่สุดของกรดไนตริก (HNO₃) มีจำนวนพันธะเดี่ยวทั้งหมด x พันธะคู่ทั้งหมด y พันธะและอิเล็กตรอนอิสระอยู่โดดเดี่ยวทั้งหมด z คู่ ถ้า x, y และ z ข้อใดถูก มีตารางดังนี้:",
"Choices": {
"A": "x=3,y = 1 ,z =7",
"B": "x= 4,y = 0 ,z 9 ",
"C": "x= 3,y = 1 ,z 8 ",
"D": "x= 2,y = 2 ,z 6 ",
"E": "x= 4,y = 0 ,z 8 "
},
"Answer": "A"
}
,
{
"No": 5,
"Question": "ข้อใดเป็นสารที่มีโครงสร้างเรโซแนนซ์จำนวนมากที่สุด โดยจำนวนเวลาเอาแช่อิเล็กตรอนแต่ละอะตอมไม่เกิน 8",
"Choices": {
"A": "SO₂",
"B": "NO₂",
"C": "CO₂",
"D": "SO₃²⁻",
"E": "CH₃COO⁻"
},
"Answer": "E"
}
,
{
"No": 6,
"Question": "5.ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประกอบไปด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (CₓHᵧ) ดำสมการมีดังนี้**[ CₓHᵧ(g) + O₂(g) rightarrow CO₂(g) + H₂O(g) ... (ยังไม่ดุล) ]ขึ้นปฏิกิริยาการเผาไหม้จะเกี่ยวข้องกับสารประกอบเอง 3 ชนิดคือ 1 mol มีค่าพลังงานการเกิดปฏิกิริยาที่คำนวณจากพลังงานพันธะ ในโมเลกุลที่เกี่ยวข้อง ดังแสดงในตาราง โดยกำหนดให้พันธชนิดเดียวกันกันระหว่างอะตอมคู่เดียวกันในทุกโมเลกุลมีต่าทางพลังงานพันธะเท่ากัน ชนิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอน | พลังงานการเกิดปฏิกิริยา (kJ/mol)\nไซโคลเฮกเซน (C6H12) | ΔHX\nไซโคลโพรเพน (C3H6) | ΔHY\nเอททีน (C2H4) | ΔHZ\n\nพิจารณาข้อความสัมพันธ์ของพลังงานการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้:\n\nก. ΔHX = 2ΔHY\nข. ΔHX = 3ΔHZ\nค. ΔHX - ΔHY = ΔHZ",
"Choices": {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ข. เท่านั้น",
"C": "ค. เท่านั้น",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
},
"Answer": "A"
}
,
{
"No": 7,
"Question": "ข้อความยืนคำอธิบายสารประกอบหมู่ VIIA นี้ ใดถูกต้อง*",
"Choices": {
"A": "วิธีหนึ่งที่ใช้เตรียมแก๊สคลอรีน คือ แยกสารละลาย NaCl อิ่มตัวด้วยกระแสไฟฟ้า ",
"B": "เมื่อผสมสารละลาย NaCl กับ Na แล้วเติม CCl₄, เขย่าแรงๆจะพบว่าชั้น CCl₄ เป็นสีม่วง",
"C": "เมื่อผสมสารละลายไอโอดีนใน CCl₄ กับสารละลาย KBr ในน้ำ จะสังเกตเห็นสารละลายสีส้มในชั้นของ CCl₄",
"D": "ธาตุหมู่นี้มีค่า EN สูง จึงเกิดสารประกอบไอออนิกกับธาตุกลุ่มอื่น ๆ ยกเว้นกับธาตุหมู่ VIIA ด้วยกัน จะเป็นสารโคเวเลนต์",
"E": "ฟลูออรีนมีค่า E° สูงมาก แสดงเด่นที่สามารถออกซิไดส์สารประกอบฟลูออไรด์ให้เป็นธาตุฟลูออรีนได้ มีเพียงแก๊สคลอรีนเท่านั้น"
},
"Answer": "A"
}
,
{
"No": 8,
"Question": "ธาตุ M, L และ Q มีเลขอะตอมเท่ากับ 22, 28 และ 30 ตามลำดับการเรียงเทียบเลขออกซิเดชันและจำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยวของ M, L และ Q ในสารประกอบเชิงซ้อน [M(H(_2)O)(_6)]Cl(_2), K(_2)[LCl(_4)] และ [Q(NH(_3))(_4)]SO(_4) ข้อใดถูกต้อง ตาราง: ในchoice แบ่งออกเป็น * เลขออกซิเดชัน * จำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยว",
"Choices": {
"A": "Q < L < M M < L < Q ",
"B": "Q < L < M Q < M < L",
"C": "Q < L < M Q < M < L ",
"D": "L = Q < M M = Q < L",
"E": "L = Q < M Q < M < L"
},
"Answer": "E"
},
{
"No": 9,
"Question": "วัตถุก้อนหนึ่งมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 2 จำนวน 8.50 mg ครึ่งชีวิตของ Z เท่ากับ 12 ปี ก่อนหน้าย้อนหลังไป 72 ปี วัดถุก้อนนี้นี้ Z ที่อยู่จะเหลือกี่ mg (กำหนดให้ 1 ปีมี 365 วัน)",
"Choices": {
"A": "51",
"B": "136",
"C": "272",
"D": "544",
"E": "1088"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 10,
"Question": "ธาตุ G และ T มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 และ 25 ตามลำดับ สมบัติของธาตุหรือสารประกอบของธาตุคู่ดังกล่าวข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "ธาตุ T ทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างรุนแรง เกิดแก๊สไฮโดรเจน",
"B": "ธาตุ G รวมตัวกับธาตุ T ได้สารประกอบไอออนิกที่มีสูตรเป็น GT",
"C": "ธาตุ T นำไฟฟ้าได้และมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าเมื่อเกิดสารประกอบชนิดต่าง ๆ",
"D": "เมื่อผสมสารละลายของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ G กับ Na₂CO₃ จะเกิดตะกอนสีขาวเกิดขึ้น",
"E": "ธาตุ G ทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน ได้ของแข็งสีขาว ซึ่งละลายน้ำได้และสารละลายมีสมบัติเป็นเบส"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 11,
"Question": "ถ้าการผลิตยาสีฟันฟลูออไรด์ทำโดยการเติมแคลเซียมฟลูออไรด์เพื่อให้ได้ปริมาณฟลูออไรด์ตามที่ต้องการ ในยาสีฟันหลอดหนึ่งที่ระบุว่ามีฟลูออไรด์ 500 ppm และในหลอดนั้นมียาสีฟัน 50.0 g จะมีปริมาณแคลเซียมฟลูออไรด์อยู่กี่มิลลิกรัม",
"Choices": {
"A": "1.03",
"B": "25.0",
"C": "51.3",
"D": "103",
"E": "205"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 12,
"Question": "การผลิตทองแดงทำได้โดยใช้วิธีการถลุงที่แร่ชนิดต่างๆ ที่มีทองแดงเป็นองค์ประกอบ สมมุติว่านักลงทุนการผลิตทองแดงคิดว่าต้นทุนสินแร่ที่ต้องใช้ซื้อสินแร่เท่ากับในการผลิตทองแดง 1 kg ที่มีราคาต้นทุนต่ำที่สุด ควรเลือกซื้อสินแร่ที่มีสารประกอบของแร่ชนิดใด กำหนดให้ต้นทุนแร่ทุกชนิดมีราคาเดียวกันต่อโลกรัมเท่ากัน และในสินแร่แต่ละก้อนมีสารประกอบทองแดงเพียงชนิดเดียวในปริมาณร้อยละโดยมวลเท่ากัน",
"Choices": {
"A": "Cu2S (159 g/mol)",
"B": "CuSO4 (159.5 g/mol)",
"C": "CuFeS2 (183.5 g/mol)",
"D": "Cu₂CO₃(OH)₂ (221 g/mol)",
"E": "Cu₃(CO₃)₂(OH)₂ (344.5 g/mol)"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 13,
"Question": "สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุ X, Y และ Z มีจำนวนธาตุ X 2 mol เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวได้ XY 2 mol และ Z2 3 mol สารประกอบนี้มีอัตราส่วนโดยโมลของ X:Y:Z เป็นเท่าใด",
"Choices": {
"A": "1 : 1 : 3",
"B": "1 : 2 : 3",
"C": "2 : 1 : 3",
"D": "2 : 2 : 3",
"E": "4 : 2 : 3"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 14,
"Question": "พิจารณาปฏิกิริยาทางเคมีดังสมการต่อไปนี้\n\n| ปฏิกิริยาเคมี | สมการเคมี (ยังไม่ดุล) |\n| --- | --- |\n| ก | S₈(s) + O₂(g) → SO₂(g) |\n| ข | H₂(g) + O₂(g) → H₂O(g) |\n| ค | HOBr(g) + HBr(g) → H₂O(g) + Br₂(g) |\n| ง | CO₂(g) + H₂(g) + C(s) → CH₃OH(g) |\nที่ภาวะเดียวกัน ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดมีปริมาณรวมของแก๊สที่ทำปฏิกิริยาเท่ากับปริมาตรรวมของแก๊สที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา",
"Choices": {
"A": "ก และ ข",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
},
"Answer": "B"
},
{
"No": 15,
"Question": "โลหะชนิดหนึ่ง 10.0 mol ทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในบรรยากาศอย่างสมบูรณ์ได้ออกไซด์ที่พบในธรรมชาติของโลหะนั้น 510 g โลหะชนิดนี้คือธาตุใด (มวลอะตอมของ Mg = 24, Al = 27, Ca = 40, Fe = 56, Cu = 63.5)",
"Choices": {
"A": "Mg",
"B": "Al",
"C": "Ca",
"D": "Fe",
"E": "Cu"
},
"Answer": "B"
},
{
"No": 16,
"Question": "ทำการทดลองโดยผสมสารละลาย K₂CrO₄ เข้มข้น 0.10 mol/dm³ ใส่หลอดทดลอง 3 หลอด จากนั้นเติมน้ำและสารละลาย AgNO₃ เข้มข้น 0.20 mol/dm³ ลงไปในแต่ละหลอด ใช้แท่งแก้วคนให้สารละลายผสมกัน ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Ag₂CrO₄ และ KNO₃ โดยปริมาณสารของสารละลาย K₂CrO₄ น้ำและสารละลาย AgNO₃ ที่ใส่ในแต่ละหลอดแสดงในตาราง :\n\n| หลอดที่ | ปริมาณ (cm³) |\n| --- | --- |\n| | สารละลาย K₂CrO₄ | น้ำ | สารละลาย AgNO₃ |\n| I | 1.00 | 5.00 | 4.00 |\n| II | 3.00 | 3.00 | 4.00 |\n| III | 5.00 | 1.00 | 4.00 |\n\nสารก่อตะกอนปริมาณของปฏิกิริยาในแต่ละหลอด ข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "AgNO₃ | AgNO₃ | AgNO₃",
"B": "ไม่มี | AgNO₃ | K₂CrO₄",
"C": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | K₂CrO₄",
"D": "K₂CrO₄ | K₂CrO₄ | AgNO₃",
"E": "K₂CrO₄ | ไม่มี | AgNO₃"
},
"Answer": "E"
},
{
"No": 17,
"Question": "พิจารณาสมบัติของสารต่อไปนี้:\n\nผลึกของแข็ง A: จุดหลอมเหลว 119°C, จุดเดือด 445°C, ความแข็งไม่ค่อยแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง B: จุดหลอมเหลว 1723°C, จุดเดือด 2230°C, ความแข็งแข็งมาก, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง C: จุดหลอมเหลว 2852°C, จุดเดือด 3600°C, ความแข็งแข็งปานกลาง, ไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว\n\nผลึกของแข็ง D: จุดหลอมเหลว 1085°C, จุดเดือด 2562°C, ความแข็งนำไฟฟ้า, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นผลึกของแข็ง, นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของเหลว",
"Choices": {
"A": "B เป็นผลึกโลหะ",
"B": "D เป็นลึกโมเลกุล",
"C": "C เป็นสารไอออนิก",
"D": "A และ B เป็นผลึกโมเลกุล",
"E": "C เป็นผลึกโควาเลนต์ร่างตาข่าย"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 18,
"Question": "พิจารณาของเหล่าต่อไปนี้\n\n| ของเหลว | สูตร | มวลต่อโมล (g/mol) |\n| --- | --- | --- |\n| เอทานอล | C₂H₆O | 46 |\n| ไดเอทิลอีเทอร์ | C₄H₁₀OC₂H₅ | 74 |\n| เพนทานอล | C₅H₁₂O | 92 |\n| กลีเซอรอล | CH₂(OH)CH(OH)CH₂(OH) | 92 |\n\nเมื่อหยดของเหลวแต่ละชนิดลงบนแผ่นกระจก และสังเกตลักษณะของหยดของเหลวทันที หยดของเหลวที่มีรูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด และแบนหรือกระจายออกมากที่สุด คือข้อใด",
"Choices": {
"A": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - กลีเซอรอล",
"B": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เพนเทน - เอทานอล",
"C": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:เอทานอล - ไดเอทิลอีเทอร์",
"D": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เพนเทน",
"E": "รูปรทรงค่อนข้างกลมที่สุด:กลีเซอรอล - เอทานอล"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 19,
"Question": "เมื่อบรรจุโบรมีน (Br₂) ในภาชนะสุญญากาศขนาด 410 cm³ แล้วทำให้กลายเป็นไอจนหมดที่อุณหภูมิ 27 °C พบว่าภายในภาชนะมีความดันเป็น 228 mmHg ไอโบรมีนในภาชนะดังกล่าวมีกี่กรัม (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹)",
"Choices": {
"A": "7.9 x 10⁻³",
"B": "5.0 x 10⁻³",
"C": "0.40",
"D": "0.80",
"E" : "3.8"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 20,
"Question": "สารชนิดหนึ่งมีสูตรเอมมลีคูลเป็น CH2 สารนี้ 0.70 กรัม ในสถานะแก๊สที่อุณหภูมิ 27 °C ความดัน 0.82 atm มีปริมาตร 0.300 L สูตรโมเลกุลของสารนี้เป็นดังถัดไปนี้ (ค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L·atm·mol⁻¹·K⁻¹ = 8.3 J·mol⁻¹·K⁻¹)",
"Choices": {
"A": "C3H6",
"B": "C2H4",
"C": "C3H10",
"D": "C4H12",
"E": "C2H14"
},
"Answer": "C"
}
,{
"No": 21,
"Question": "กำหนดให้สาร A ทำปฏิกิริยากลับกับสาร B ให้สาร P ดังสมการเคมีที่สมดุลแล้ว ดังนี้\n\n2A (aq) + B (aq) ⟶ 2P (aq)\n\nในการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาที่กำหนด โดยติดตามความเข้มข้นของสารที่เวลาต่าง ๆ ดังนี้:\n\n| การทดลองที่ | เวลา (s) | ความเข้มข้น (mol/dm³) |\n| --- | --- | --- |\n| | | A | B | C |\n| 1 | 0 | 0.0300 | 0.0100 | 0 |\n| 2 | 100 | 0.0200 | 0.0050 | 0.0100 |\n| 3 | 200 | 0.0140 | 0.0040 | 0.0160 |\n| 4 | 300 | 0.0100 | 0.0010 | 0.0180 |\n| 5 | 400 | 0.0110 | 0.00050 | 0.0190 |\n\nอัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นช่วงเวลาที่กำหนด ข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "ช่วงเวลา (S) 0 - 100 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-4",
"B": "ช่วงเวลา (S) 100 - 200 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 3.00 × 10^-5",
"C": "ช่วงเวลา (S) 200 - 300 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 2.00 × 10^-5",
"D": "ช่วงเวลา (S) 300 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.00 × 10^-5",
"E": "ช่วงเวลา (S) 0 - 400 | อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm³s) 1.90 × 10^-3"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 22,
"Question": "กิจกรรมแสดงกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยาการสลายตัวของสารตั้งต้นเป็นผลิตภัณฑ์ดังนี้\n\nกราฟแสดงให้เห็นพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ และมีพลังงานกระตุ้นที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดปฏิกิริยา แกน y แสดงพลังงานในหน่วย kJ และแกน x แสดงการดำเนินไปของปฏิกิริยา จากกราฟพบว่าพลังงานของสารตั้งต้นสูงกว่าพลังงานของผลิตภัณฑ์แสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน\n\nในการคำนวณพลังงานของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงนี้ ให้พิจารณาจากค่าพลังงานในตารางดังต่อไปนี้:\n\n| ประเภทปฏิกิริยา | พลังงานของปฏิกิริยา (kJ) | พลังงานกระตุ้น (kJ) | พลังงานผลิตภัณฑ์ (kJ) |\n| --- | --- | --- | --- |\n| การย่อยสลาย | 75 | 125 | 200 |\n| การสร้าง | 75 | 200 | 125 |\n| ดูดพลังงาน | 125 | 225 | 200 |\n| คายพลังงาน | 200 | 75 | 125 |\n\nข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "1. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
"B": "2. คายพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 225 kJ",
"C": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 25 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ",
"D": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 125 kJ",
"E": "ดูดพลังงาน: พลังงานของปฏิกิริยา 75 kJ, พลังงานก่อนเริ่มต้น 200 kJ"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 23,
"Question": "จากปฏิกิริยา A (aq) + 2B (aq) + 3C (aq) → 4D (aq) + E (aq)\nทำการทดลองที่อุณหภูมิคงที่โดยใช้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่างกันพบว่า ได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเริ่มต้น (r) ดังในตาราง:\n\nการทดลอง 1: [A] = 0.100 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 2: [A] = 0.200 mol/dm³, [B] = 0.100 mol/dm³, [C] = 0.100 mol/dm³, r = 1.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 3: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 2.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 4: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s\nการทดลอง 5: [A] = 0.300 mol/dm³, [B] = 0.200 mol/dm³, [C] = 0.200 mol/dm³, r = 8.00 x 10⁻⁴ mol/dm³·s",
"Choices": {
"A": "A, B, C",
"B": "B, C, A",
"C": "C, B, A",
"D": "A, C, B",
"E": "C, A, B"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 24,
"Question": "ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราการสลายตัวของสาร A และของสาร B ที่อุณหภูมิเดียวกันพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร A และของสาร B กับเวลาการเกิดปฏิกิริยาเป็นดังกราฟ\n\nกราฟแสดงความเข้มข้นของสารกับเวลา\n\nแกนแนวยาว (แกน X) คือ เวลา (s) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0 ถึง 160\nแกนแนวตั้ง (แกน Y) คือ ความเข้มข้น (mol/dm³) โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0.0000 ถึง 0.5000\n\nมีกราฟเส้นที่แสดงถึง:\n\n- สาร A (เส้นประจุด)\n- สาร B (เส้นทึบ)\n\nกราฟแสดงการลดลงของความเข้มข้นของสาร A และ B เมื่อเวลาผ่านไป\n\nจากกราฟ ตอบรูปที่เกี่ยวกับอัตราการสลายตัวของ A และ B ได้ดังนี้\n\nก. ตอนเริ่มการทดลอง อัตราการสลายตัวของ A เท่ากับ 5.00 x 10⁻³ mol/dm³s\nข. ในทุกช่วงเวลา อัตราการสลายตัวของสาร A มีค่าน้อยกว่าอัตราการสลายตัวของสาร B\nค. ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราการสลายตัวของ A มีค่าประมาณ 2 เท่าของอัตราการสลายตัวของสาร B\n\nการสรุปใดข้างต้น ข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "ก เท่านั้น",
"B": "ข เท่านั้น",
"C": "ค เท่านั้น",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 25,
"Question": "ปฏิกิริยา 2A (g) + B (s) ⇌ C (g) มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1.5 x 10⁻² และ 4.0 x 10⁻³ ที่ 50 °C และ 70 °C ตามลำดับ ถ้าเริ่มต้นการทดลองมีแก๊ส A และสาร B ในภาชนะปิดขนาด 5 dm³ ที่อุณหภูมิ 50 °C ระบบขณะเข้าสู่ภาวะสมดุลมีช่วงเวลาผ่านไป 5 นาที พิจารณาข้อความเกี่ยวกับความเข้มข้นของแก๊ส A ([A]) และแก๊ส C ([C]) ต่อไปนี้:\n\nก. [A] ที่เวลา 3 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 6 นาที\nข. [C] ที่เวลา 6 นาทีมีค่ามากกว่าที่เวลา 10 นาที\nค. [A] ณ ภาวะสมดุล เมื่อคงที่ปริมาตรที่เป็น 1 dm³ มีค่ามากกว่าในภาชนะ 5 dm³\nง. ถ้าเพิ่มการทดลองเดิมที่เริ่มที่อุณหภูมิ 70 °C ณ ภาวะสมดุลจะมีค่ามากกว่าที่อุณหภูมิ 50 °C",
"Choices": {
"A": "ก. เท่านั้น",
"B": "ค. เท่านั้น",
"C": "ก. และ ข.",
"D": "ก. และ ค.",
"E": "ข. และ ง."
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 26,
"Question": "จากสมการเคมีและค่าคงที่สมดุลต่อไปนี้\n\n2Ag (s) + H₂O₂ (aq) + 2Cl⁻ (aq) ⇌ 2AgCl (s) + 2OH⁻ (aq) (K₁)\n\nNH₃ (aq) + H₂O (l) ⇌ NH₄OH (aq) (K₂)\n\nAgCl (s) + 2NH₃ (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + Cl⁻ (aq) (K₃)\n\nคำถามที่สมดุลของปฏิกิริยา\n\nAg (s) + 1/2 H₂O₂ (aq) + 2NH₄OH (aq) ⇌ [Ag(NH₃)₂]⁺ (aq) + 2H₂O (l) + OH⁻ (aq)\n\nเป็นดังข้อใด",
"Choices": {
"A": "(K₁K₃) / (2K₂)",
"B": "(K₁¹/²K₃) / (K₂²)",
"C": "(K₁K₃) / (2K₂²)",
"D": "(K₁¹/²) / (2K₂K₃)",
"E": "K₁¹/² + (1 / K₂²) + K₃"
},
"Answer": "B"
},
{
"No": 27,
"Question": "ที่อุณหภูมิ 30 °C ปฏิกิริยา H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g) มีค่าคงที่สมดุล K = 9 ถ้าเริ่มต้นมีแก๊ส H₂ 1.0 mol และ I₂ 1.0 mol ในภาชนะปริมาตร 50 dm³ และปล่อยให้ปฏิกิริยาดำเนินไปจนเข้าสู่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของ HI ณ ภาวะสมดุลมีค่าเท่าใดในหน่วย mol/dm³",
"Choices": {
"A": "0.012",
"B": "0.015",
"C": "0.024",
"D": "0.75",
"E": "1.2"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 28,
"Question": "พิจารณาปฏิกิริยาที่เกิดภาวะสมดุลต่อไปนี้\n\nก. 2O₃ (g) ⇌ 3O₂ (g)\nข. N₂O₄ (g) ⇌ 2NO₂ (g)\nค. H₂ (g) + I₂ (g) ⇌ 2HI (g)\nง. 2NO (g) + Cl₂ (g) ⇌ 2NOCl (g)\nจ. H₂O (l) + CO₂ (g) ⇌ H₂CO₃ (aq)\nฉ. Cu (s) + 2Ag⁺ (aq) ⇌ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s)\nช. Pb(NO₃)₂ (aq) + 2KI (aq) ⇌ PbI₂ (s) + 2KNO₃ (aq)\n\nปฏิกิริยาที่ปริมาณของผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเพิ่มความดันให้กับระบบ เป็นดังข้อใด",
"Choices": {
"A": "ก ข และ ค",
"B": "ก ข และ ง",
"C": "ค ข และ ช",
"D": "ง ฉ และ จ",
"E": "จ ฉ และ ช"
},
"Answer": "C"
}
,{
"No": 29,
"Question": "ตามกฎปฏิกิริยาเบรินสเตด-ลาวรี โมเลกุลหรือไอออนทุกชนิดในข้อใดเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำ",
"Choices": {
"A": "F⁻ , HClO , HCO₃⁻",
"B": "S²⁻ , H₂O , HPO₄²⁻",
"C": "HS⁻ , CN⁻ , H₂PO₄⁻",
"D": "SO₄²⁻ , NH₄⁺ , PO₄³⁻",
"E": "NH₃ , CO₃²⁻ , HCOO⁻"
},
"Answer": "E"
},
{
"No": 30,
"Question": "กำหนดให้ตัวอย่างของการแตกตัวของกรดอ่อนมอนอไพโพรติก HA, HB และ HC เป็นดังนี้\n\n| สารละลายกรดอ่อน | ความเข้มข้น (mol/dm³) | ร้อยละของการแตกตัว |\n| --- | --- | --- |\n| HA | 0.10 | 1.0 |\n| HB | 0.20 | 0.50 |\n| HC | 1.0 | 0.10 |\n\nข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด",
"Choices": {
"A": "กรด HA มีความแรงมากที่สุด",
"B": "สารละลายกรด HA, HB และ HC มี pH เท่ากัน",
"C": "ค่าการแตกตัวของกรด HB น้อยกว่าค่าของกรด HC",
"D": "เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สารละลายที่สามารถเพิ่มความเข้มข้นของ H₃O⁺ เพิ่มขึ้น",
"E": "สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.20 mol/dm³ มีร้อยละของการแตกตัวน้อยกว่า 1.0"
},
"Answer": "C"
}
,
{
"No": 31,
"Question": "พิจารณาสารละลายเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ของสารต่อไปนี้: HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF\n\nข้อใดเรียงลำดับค่าสารละลายตามค่า pH จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง (กำหนดให้ Ka ของ HNO₂ = 4.5 x 10⁻⁴, Ka ของ NH₄⁺ = 6.0 x 10⁻¹⁰)",
"Choices": {
"A": "HBr , HNO₂ , NaNO₃ , K⁺ , NH₄Cl , KF",
"B": "HBr , NH₄Cl , HNO₂ , KF , NaNO₃ , K⁺",
"C": "KF , NaNO₃ , NH₄Cl , HNO₂ , HBr",
"D": "HNO₂ , HBr , NaNO₃ , NH₄Cl , K⁺ , KF",
"E": "NH₄Cl , HNO₂ , HBr , NaNO₃ , KF"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 33,
"Question": "นำยาลดกรดหนึ่งเม็ด ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)₂) 250 mg ใส่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.10 mol/dm³ ปริมาตร 120 cm³ เกิดปฏิกิริยาได้สาร A และ B ดังสมการ:\n\nMg(OH)₂ + 2HCl ⇌ A + 2B\n\nพิจารณาข้อความต่อไปนี้:\n\nก. สาร A คือ แมกนีเซียมคลอไรด์ และสาร B คือ น้ำ\nข. จำนวนโมลของ HCl ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ใช้คือ 0.012 mol\nค. จำนวนโมลของ Mg(OH)₂ ที่เกิดปฏิกิริยากับกรดเท่ากับกรดไฮโดรคลอริกคือ 0.0043 mol\nง. เมื่อสิ้นสุดสมดุลอีกครั้ง สารละลายผสมมีค่า pH เท่ากับ 7",
"Choices": {
"A": "ก และ ข เท่านั้น",
"B": "ก และ ค เท่านั้น",
"C": "ข และ ง เท่านั้น",
"D": "ง เท่านั้น",
"E": "ก, ข และ ง"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 34,
"Question": "สารละลายผสมต่อไปนี้ประกอบด้วยสาร 2 ชนิดที่มีความเข้มข้นในสารละลายผสมเท่ากัน:\n\n| สารละลายผสม | สารชนิดที่ 1 | สารชนิดที่ 2 |\n| --- | --- | --- |\n| I | H₂SO₃, (Kₐ = 1.2 × 10⁻²) | NaHSO₃ |\n| II | H₂CO₃, (Kₐ = 4 × 10⁻⁷) | NaHCO₃ |\n| III | NaHCO₃, (Kₐ = 5.0 × 10⁻¹¹) | Na₂CO₃ |\n| IV | NaH₂PO₄, (Kₐ = 6.0 × 10⁻⁸) | Na₂HPO₄ |\n| V | C₆H₅COOH (Kₐ = 6.4 × 10⁻⁵) | C₆H₅COONa |\n\nการเปรียบเทียบค่า pH ของสารละลายผสมข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "I > V > IV",
"B": "II > IV > I",
"C": "III > II > V",
"D": "IV > I > III",
"E": "V > III > II"
},
"Answer": "C"
}
,
{
"No": 35,
"Question": "พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ในสารละลายกรด\n\na MnO₄⁻ (aq) + b NO (g) + c H⁺ (aq) → d Mn²⁺ (aq) + e NO₃⁻ (aq) + f H₂O (l)\n\nโดย a, b, c, d, e และ f เป็นเลขสัมประสิทธิ์จำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้สามารถดุล ข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "b = 3",
"B": "c = 4",
"C": "d + f = 7",
"D": "a + c = b",
"E": "ผลรวมสัมประสิทธิ์ทั้งหมด = 18"
},
"Answer": "B"
},
{
"No": 36,
"Question": "เมื่อพุ่มแผ่นโลหะที่ได้ทำความสะอาดพื้นผิวแล้วลงในสารละลายไอออนของโลหะอีกชนิดหนึ่ง ได้ผลการทดลองดังนี้:\n\n1. การทดลอง I: แผ่นโลหะ Zn ในสารละลาย Fe²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Fe เกาะที่ผิว Zn\n2. การทดลอง II: แผ่นโลหะ Ni ในสารละลาย Sn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Sn เกาะที่ผิว Ni\n3. การทดลอง III: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Ni²⁺ -> ผลการทดลอง: โลหะ Ni เกาะที่ผิว Fe\n4. การทดลอง IV: แผ่นโลหะ Al ในสารละลาย Zn²⁺ -> ผลการทดลอง: มีโลหะ Zn เกาะที่ผิว Al\n5. การทดลอง V: แผ่นโลหะ Fe ในสารละลาย Al³⁺ -> ผลการทดลอง: ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อใดเรียงลำดับศักยภาพการยอมให้อิเล็กตรอนที่ผิวโลหะถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "Zn > Fe > Sn > Ni > Al",
"B": "Al > Zn > Fe > Ni > Sn",
"C": "Zn > Al > Fe > Sn > Ni",
"D": "Sn > Ni > Fe > Zn > Al",
"E": "Al > Fe > Zn > Sn > Ni"
},
"Answer": "B"
},
{
"No": 38,
"Question": "ถ้าค่อยๆชาร์จเซลล์และครึ่งเซลล์ Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 2 mol/dm3) Pt(s) | H2(g, 1 atm) | H+(aq, 0.1 mol/dm3) เข้าด้วยกัน ให้กระบวนจรพิจารณาผลที่ได้ต่อไปนี้ ก. จำนวน H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 เป็นบวกเคลไหว ข. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์ความเข้มข้นชนิดหนึ่ง ค. อิเล็กตรอนเคลื่อนไหวจากด้านที่ H+ เข้มข้น 2 mol/dm3 ไปยังด้านที่ H+ เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ง. ค่าเซลล์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์มีค่ามากกว่าศูนย์",
"Choices": {
"A": "ก และ ง",
"B": "ข และ ง",
"C": "ก ข และ ค",
"D": "ก และ ข",
"E": "ข และ ค"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 37,
"Question": "กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ดังกล่าวที่ 298 K:\n\nCu²⁺ (aq) + 2e⁻ → Cu (s) (E^0 = +0.34 V)\nAg⁺ (aq) + e⁻ → Ag (s) (E^0 = +0.80 V)\n\nถ้านำครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นทองแดงจุ่มในสารละลาย CuSO₄ มาต่อกับครึ่งเซลล์ที่มีแผ่นเงินจุ่มในสารละลาย AgNO₃ ให้เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี ข้อสรุปใดถูกต้อง:\n\n1. ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)\n2. มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น\n3. แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)\n4. ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)\n5. เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V",
"Choices": {
"A": "ตัวออกซิไดซ์คือ Ag(s)",
"B": "มวลของโลหะ Cu จะเพิ่มขึ้น",
"C": "แผนภาพเซลล์ที่เขียนได้ดังนี้: Cu (s) | Cu²⁺ (aq) || Ag⁺ (aq) | Ag (s)\n",
"D": "ปฏิกิริยารวมของเซลล์ที่เกิดคือ Cu²⁺ (aq) + 2Ag (s) → Cu (s) + 2Ag⁺ (aq)\n",
"E": "เซลล์ไฟฟ้าที่ได้เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์เท่ากับ +0.46 V"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 39,
"Question": "กการผลิตโลหะอะลูมิเนียมในอุตสาหกรรม ใช้วิธีอิเล็กโทรลิซิสของแร่บอกไซต์หลอมเหลว โดยผสมแร่ไครโอไลต์ (Na₃AlF₆) เพื่อช่วยให้หลอมเหลวง่ายขึ้น และแยกไฟฟ้าเป็นก้อนโลหะ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ \n\nก. เกิดแก๊ส F₂ ที่ขั้วแคโทด\nข. เกิดแก๊ส O₂ ที่ขั้วแอโนด\nค. ที่ขั้วแอโนดเกิด CO₂ เกิดขึ้นด้วย\nง. ถ้า Al₂O₃ ถูกแยกสายไป 1 mol ต้องใช้อิเล็กตรอนจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 6 mol\n\nข้อความใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "ก และ ง",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ง",
"D": "ข และ ค เท่านั้น",
"E": "ค และ ง เท่านั้น"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 40,
"Question": "พิจารณาสมบัติของแก้ว 3 ชนิดดังนี้:\n\n| ชนิดของแก้ว | สมบัติของแก้ว |\n| --- | --- |\n| ก | ทนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี ทนสารเคมี ใช้ทำเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ |\n| ข | ยอมให้แสงขาวผ่าน แต่ดูดรังสีอัลตราไวโอเลต ใช้ทำแก้วน้ำ ขวดน้ำ กระจกแผ่น|\n| ค | ตะกั่วเป็นองค์ประกอบหนึ่ง มีดัชนีการหักเหแสงสูง ใช้ทำเครื่องใช้ เครื่องประดับ |\n\nข้อใดระบุชนิดของแก้ว ก ข และ ค ได้ถูกต้องตามลำดับ",
"Choices": {
"A": "แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์, แก้วโบโรซิลิเกต ",
"B": "แก้วโซดาไลม์, แก้วบอโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล ",
"C": "แก้วคริสตัล, แก้วโบโรซิลิเกต, แก้ววิริศิลิกตัด",
"D": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วคริสตัล, แก้วโซดาไลม์",
"E": "แก้วโบโรซิลิเกต, แก้วโซดาไลม์, แก้วคริสตัล "
},
"Answer": "E"
},
{
"No": 41,
"Question": "สมการเคมีในข้อใดเกี่ยวข้องกับการผลิตสารฟอกขาว",
"Choices": {
"A": "2NaHCO₃(s) ⟶ Na₂CO₃(s) + CO₂(g) + H₂O(g)",
"B": "Ca(OH)₂(aq) + 2NH₄Cl(aq) ⟶ CaCl₂(s) + 2NH₃(g) + 2H₂O(l)",
"C": "2Ca(OH)₂(aq) + 2Cl₂(g) ⟶ Ca(OCl)₂(s) + CaCl₂(aq) + 2H₂O(l)",
"D": "CaF₂ + 3Ca₃(PO₄)₂(s) + 14H₃PO₄(aq) ⟶ 10 Ca(H₂PO₄)₂(s) + 2HF(aq)",
"E": "CO₂(g) + Na⁺(aq) + Cl⁻(aq) + NH₃(aq) + H₂O(l) ⟶ NaHCO₃(s) + NH₄⁺(aq) + Cl⁻(aq)"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 42,
"Question": "พิจารณาสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์แล้วการเขียนชื่อ (โดยไม่ระบุ cis- หรือ trans-) ของสารอินทรีย์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้:\n\n| สูตรโครงสร้าง | การเรียกชื่อ |\n| --- | --- |\n| ก. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 1,1-ไดเมทิล-3-บิวทีน |\n| ข. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิลเฮกเซน |\n| ค. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 4-เมทิล-2-เฮกไทน์ |\n| ง. (โครงสร้างทางเคมีของสารอินทรีย์) | 2,5-ไดเมทิล-3-เฮปไทน์ |\n\nการเรียกชื่อสารตามสูตรโครงสร้างที่กำหนด ข้อใดถูกต้องตามระบบ IUPAC",
"Choices": {
"A": "ก และ ข",
"B": "ก และ ค",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
},
"Answer": "E"
},
{
"No": 43,
"Question": "สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตรโครงสร้างดังแสดง\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี)\n\n[OH]\n[H₃C - CH - CH₃]\n\nข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารนี้",
"Choices": {
"A": "ละลายน้ำได้ดี",
"B": "เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้",
"C": "มีจุดเดือดต่ำกว่าเมทอกซีมีเทน",
"D": "เป็นไอโซเมอร์ของ 1-โพรพานอล",
"E": "เกิดปฏิกิริยาย่อยสลายอิพิทกับกับกรดคาร์บอกซิลิกได้"
},
"Answer": "C"
},
{
"No": 44,
"Question": "จากสูตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมี 5 ชนิด)\n\n**เอทิลเบนซีน**\n**ยูจีนอล**\n**พาราเซตามอล**\n**น้ำมันระกำ**\n**การบูร**\n\nข้อใดผิด",
"Choices": {
"A": "เอทิลเบนซีนไม่สามารถฟอกจางสีโบรมีน",
"B": "ยูจีนอลสามารถฟอกจางสีโบรมีนได้ในที่มืด",
"C": "การบูรและน้ำมันระกำมีกลุ่มฟังก์ชั่นเดียวกันคือหมู่คาร์บอลนิล",
"D": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของน้ำมันระกำคือเมทานอล",
"E": "ผลิตภัณฑ์ที่มาจากปฏิกิริยาไฮโดรซิสของพาราเซตามอลคือกรดแอซีติก"
},
"Answer": "A"
},
{
"No": 45,
"Question": "สารชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุล CₓHᵧOₓ เมื่อเข้าสารที่ 1 mol ไปเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ในอากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ 4 mol และน้ำ 5 mol สารนี้มีสูตรโครงสร้างที่เป็นแอลกอฮอล์ได้ทั้งหมดกี่แบบ",
"Choices": {
"A": "1 แบบ",
"B": "2 แบบ",
"C": "3 แบบ",
"D": "4 แบบ",
"E": "มากกว่า 4 แบบ"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 46,
"Question": "จากโครงสร้างพอลิเมอร์ต่อไปนี้ พอลิเมอร์ดังกล่าวชี้ถึงหลากสารที่ได้จากมอนอเมอร์ใด และปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์เป็นแบบใดมอนอเมอร์\n\n(แสดงภาพโครงสร้างทางเคมีของพอลิเมอร์)\n\nมอนอเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์",
"Choices": {
"A": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
"B": "H₃C-C-O-C-CH=CH₂ แบบเติม",
"C": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบควบแน่น",
"D": "H₃C-C-O-CH=CH₂ แบบเติม",
"E": "H₃C-C-O-O-CH=CH₂ แบบเติม"
},
"Answer": "D"
},
{
"No": 47,
"Question": "พิจารณาข้อความต่อไปนี้:\n\nก. ก๊อโรเจนเป็นสารประกอบอินทรีย์สำคัญที่พบในหินน้ำมัน\nข. ปิโตรเลียมมีปริมาณซัลเฟอร์และไนโตรเจนออกไซด์มากกว่าแก๊สไฮโดรเจน\nค. การเพิ่มค่าออกเทน ETBE ในน้ำมันไร้สารตะกั่วมักพิจารณาเป็นอีเทอร์\nง. anodic protection เป็นหนึ่งในวิธีที่นิยมใช้ป้องกันการผุกร่อนของท่อส่งแคตารธรรมชาติ\nจ. น้ำมันดิบบางชนิดมีสารประกอบซัลเฟอร์อยู่ต่ำและมีกำมะถันปนอยู่เล็กน้อยเรียกว่า sweet crude oil\n\nข้อใดถูกต้อง",
"Choices": {
"A": "ก และ ค",
"B": "ก และ ง",
"C": "ข และ ค",
"D": "ข และ ง",
"E": "ค และ ง"
},
"Answer": "A"
}
]