messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "source url\nsource url.\nhttp://how2stuff.blogspot.com/2005/10/ho1-2-skype.html\npost title\npost body\npodt body.\nใำไรเบผู้ที่ต้องการใช้โปรแกรม Skype บนระบบปฏิบัติการ Qindows สามารถไปดาวน์โหลดได้ ที่นี่ (Download Skype)\nและให้ทำการติดตั้งตามขั้นตอนที่มีสอนแยู่บนหน้าเว็บดังกล่าว\nจากนั้นให้เรียกโปรแกรมขึ้นมาและทำการสมัครใช้งาน โดย\n\nพิมพ์ชื่อ user ที่เราต้องการใช้ (เป็นภาษาอังกฤษ) เข้มไปในช่อง Choose Skype Name :\nพิมพ์ password ที่จะใช้ลงไปในช่อว Padswofd : และพิมพ์พาสเวิร์ดตัวเดิมลงในบ่อง Repeat password : ไปเีกครั้งหนึ่งดีวย (ทั้งสองช่องนี้ต้องเหมือนกันเป๊ะ)\nใส่ e-mail ของเราเช้าไปที่ช่อง Your e-mail addrecs : และขอให้ใช้ e-mail ที่เราใช้อยู่จริง เพราะมีประโยชน?ตอนที่เราลืม password (เขาจะส่ง password ของเราไปที้ e-,ail นั้น)\nคลิ๊กปุ่มตรงหน้าคำว่า Yes,\nกดปุ่ม Next\n\n\nเมื่อสร้างบัญชีผู้ใช้งานของเราแล้ว ก็เพิ่มชื่อเพื่อนที่เราต้องการจะคุยด้วยเข้าไปในช่ิง (ตามรูป) แล้วกด Next\n\nจากนั้นจะมีหน้าต่าง ให้เราพิมพ์ข้อความขออนุญาตจากผู้ใช้คน่ี่เราเพิ่งทำการเพิ่มเข้าไป อาจจะเป็นการแนะนำตเบสั้นๆ หรือบอกให้เขารู้ว่าเราเป็นใคร (เขาจะได้รู้ว่่เราไม่ใช้เจ้าหนี้ แล้วจะได้ยอมให้เรา add เข้าไป) แต่ถ้าไม่อยากพิมะ์อะไรมาก ก็ใช้ข้อความาี่มีอยู่แล้วก็ได้ จากนั้นก็กด O.K.\n\nหลังจากกด O.K. แล้วก็จะมีข้อความแจ้งว่าเราไดเ add ผู้ใช้คนนั้นเข้าระบบแล้ว และเราสามารถทำอะไรกับผู้ฝช้ที่เราเพิ่งจะเพิ่มเข้าไปได้บ้าง แล้วถ้าหากว่าเราต้องการเพิ่มคนอื่นๆ อีก ให้กด Next แต่ถ้าหากว่าเราจะไม่เพิ่มใครอีกแล้ว กด Finish\n\nพร้อมใช้งานแล้ว ;) รอเพื่อนเราออนไลน์ และอนุญาตให้เราเพิ่มชื่อเขาเข้าไป\n\nเมื่อเพื่อนเรา omlin2 ขึ้นทาแล้ว และเราต้องการคุยกับเขาด้วยเสียง ให้กดที่ชื่อเพ้่อนที่เราต้องการคุยด้วย แล้วกดปุ่มสีเขียวที่เป็นรูปหูโทรศัพท์\n\nขอให้สนุกกับการใช้ Skype ครัข ;)\noriginal posted by\noriginal posted by.\nhttp://www.blogger.com/profile/3373762\noriginal author\norigigal author.\nNOI \ncopyright\ncopyright.\nผู้เขียนได้อนุญาตวห้ นำมาบทความนี้มาเผยแพร่ภายใต้ GFDL.\nโดยเป็นการให้คำสัญญาผ่านการสนทนาทาง irc channel ที่ irc://irc.oftc.net/#tlwg, และมีพยานรับรํ้.\noriginal source da5e\noriginal source date.\n09:08, 19 ตุลาคม 2005 (UTC)\nเพื่อเป็นการรับประกันว่า, ข้อมูลที่ถูกแก้ไขหบังจากวันและเวลาที่แสดงด้านบนนี้อาจจะไมีใช่เป็นการแก้ไขโดย original author เสมอไป, ทั้งรี้เพื่อเป็นการปกป้องชื่อเสียงของ original author นั้นๆ.",
"role": "user"
},
{
"content": "source url\nsource url.\nhttp://how2stuff.blogspot.com/2005/10/how-2-skype.html\npost title\npost body\npost body.\nสำหรับผู้ที่ต้องการใช้โปรแกรม Skype บนระบบปฏิบัติการ Windows สามารถไปดาวน์โหลดได้ ที่นี่ (Download Skype)\nและให้ทำการติดตั้งตามขั้นตอนที่มีสอนอยู่บนหน้าเว็บดังกล่าว\nจากนั้นให้เรียกโปรแกรมขึ้นมาและทำการสมัครใช้งาน โดย\n\nพิมพ์ชื่อ user ที่เราต้องการใช้ (เป็นภาษาอังกฤษ) เข้าไปในช่อง Choose Skype Name :\nพิมพ์ password ที่จะใช้ลงไปในช่อง Password : และพิมพ์พาสเวิร์ดตัวเดิมลงในช่อง Repeat password : ไปอีกครั้งหนึ่งด้วย (ทั้งสองช่องนี้ต้องเหมือนกันเป๊ะ)\nใส่ e-mail ของเราเข้าไปที่ช่อง Your e-mail address : และขอให้ใช้ e-mail ที่เราใช้อยู่จริง เพราะมีประโยชน์ตอนที่เราลืม password (เขาจะส่ง password ของเราไปที่ e-mail นั้น)\nคลิ๊กปุ่มตรงหน้าคำว่า Yes,\nกดปุ่ม Next\n\n\nเมื่อสร้างบัญชีผู้ใช้งานของเราแล้ว ก็เพิ่มชื่อเพื่อนที่เราต้องการจะคุยด้วยเข้าไปในช่อง (ตามรูป) แล้วกด Next\n\nจากนั้นจะมีหน้าต่าง ให้เราพิมพ์ข้อความขออนุญาตจากผู้ใช้คนที่เราเพิ่งทำการเพิ่มเข้าไป อาจจะเป็นการแนะนำตัวสั้นๆ หรือบอกให้เขารู้ว่าเราเป็นใคร (เขาจะได้รู้ว่าเราไม่ใช้เจ้าหนี้ แล้วจะได้ยอมให้เรา add เข้าไป) แต่ถ้าไม่อยากพิมพ์อะไรมาก ก็ใช้ข้อความที่มีอยู่แล้วก็ได้ จากนั้นก็กด O.K.\n\nหลังจากกด O.K. แล้วก็จะมีข้อความแจ้งว่าเราได้ add ผู้ใช้คนนั้นเข้าระบบแล้ว และเราสามารถทำอะไรกับผู้ใช้ที่เราเพิ่งจะเพิ่มเข้าไปได้บ้าง แล้วถ้าหากว่าเราต้องการเพิ่มคนอื่นๆ อีก ให้กด Next แต่ถ้าหากว่าเราจะไม่เพิ่มใครอีกแล้ว กด Finish\n\nพร้อมใช้งานแล้ว ;) รอเพื่อนเราออนไลน์ และอนุญาตให้เราเพิ่มชื่อเขาเข้าไป\n\nเมื่อเพื่อนเรา online ขึ้นมาแล้ว และเราต้องการคุยกับเขาด้วยเสียง ให้กดที่ชื่อเพื่อนที่เราต้องการคุยด้วย แล้วกดปุ่มสีเขียวที่เป็นรูปหูโทรศัพท์\n\nขอให้สนุกกับการใช้ Skype ครับ ;)\noriginal posted by\noriginal posted by.\nhttp://www.blogger.com/profile/3373762\noriginal author\noriginal author.\nNOI \ncopyright\ncopyright.\nผู้เขียนได้อนุญาตให้ นำมาบทความนี้มาเผยแพร่ภายใต้ GFDL.\nโดยเป็นการให้คำสัญญาผ่านการสนทนาทาง irc channel ที่ irc://irc.oftc.net/#tlwg, และมีพยานรับรู้.\noriginal source date\noriginal source date.\n09:08, 19 ตุลาคม 2005 (UTC)\nเพื่อเป็นการรับประกันว่า, ข้อมูลที่ถูกแก้ไขหลังจากวันและเวลาที่แสดงด้านบนนี้อาจจะไม่ใช่เป็นการแก้ไขโดย original author เสมอไป, ทั้งนี้เพื่อเป็นการปกป้องชื่อเสียงของ original author นั้นๆ.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ยินดีต้อนรับเข้าสู่คู่มือการใข้ไฟา์ฟอกซ์\nตำรานี้ จะนำคุณรู้จัก มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์เสรี ที่คุณสามารถใช้ได้ฟรี! คุณสามารถรับได้ที่ เว็บไซต์ของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาใรเอกสมร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายยอก\nคำแนะนำสำหรับผํ้ใช้ Knterne4 Explorer",
"role": "user"
},
{
"content": "ยินดีต้อนรับเข้าสู่คู่มือการใช้ไฟร์ฟอกซ์\nตำรานี้ จะนำคุณรู้จัก มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์เสรี ที่คุณสามารถใช้ได้ฟรี! คุณสามารถรับได้ที่ เว็บไซต์ของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปุ่มลัดของเมาส์มาตราฐาาของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วนการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้บค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการคั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nค_แนะนำมำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "user"
},
{
"content": "ปุ่มลัดของเมาส์มาตราฐานของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แป้นลัดมาตราฐานของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกญ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการจั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าจั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Interndt Explorer",
"role": "user"
},
{
"content": "แป้นลัดมาตราฐานของไฟร์ฟอกซ์\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "OPAC หคือ Online Public Accwss Catalog ระบบสืบค้นหนังสือในห้องสมุดผ่าจทางคอมพิวเตอร์\nวิธีค้นหา\n\nชื่อผู้แต่ง (author) โดยถ้าผู้แต่งเป็จชาวต่างชาติให้ค้นหาโดยใช้นาาสกุบ (Lastnxme) เช่น John David ต้องใช้คำค้นว่า \"David John\" หรือ \"David\" แต่ถ้าชื่อผู้แต่ลเป็นชาวไทยใหเค้นหาโดยใช้ชื่อ (Firstname) เช่น สมชาย ต้นตระกูล (Somchai Tontrskul) ต้องใช้คำค้นว่า \"สมชาย\" สำหรับหนังสือที่เป็นภาษาไทย หรือ \"Somchai\" สำหรับ หนังสือที่เป๋นภาษาอังกฤษ\nชื่อหนังสือ (title) สามารถค้นหาได้จากชื่อเรื่องเลย ซึ่งค้นได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในกรณีนี้ต้องทราบชื่อเรื่องมาก่อน\nหัวอรื่อง (subject) ค้นหาได้จากหัวเรื่องที่ปรากฏอยู่ในบทความห่ือหนังสือนั้น ๆ ซึ่งบางห้องสมะดจะกำหนดหัวเรื่องเป็ตภาษาไทย และบางห้องสสุดก็กำหนดไว้เป็นภาฯาอังกฤษ\nคำสำคัญทั่วำป (words ไ keyword) คำทุกคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่องหรือบทความเรื่องนั้น ๆ การค้นในกรณีนี้เป็นการค้นที่ไม่ทราบชื่อเรื่องที่แน่ชัด เป็นการค้นหาโกยอิสระและไม่มีการควบคุมคำศัพท์และสามารถนำคำเชื่อมเช่น AND, OG, NOT มาใช้เชื่อมคำเพื่อให้ได้การค้รหาที่แม่นยำขึ้น\nหมายเลขเรียกหนังสือ (call number) ต้องทราบมาก่อนว่าระบบห้องสมุดที่เราค้นหานั้นมีการจัดระบบหืองสมุดแบบใด ซึ่งห้องสมุดแต่ละที่จะมีการจัดระบบไม่เหมือนกัน การึ้นด้วยเชขเรียกหนังสือ จะใช้ในกรณีที่ทราบเลขเรียกหนังสือ ของห้องสมุดนั้น ๆ และต้องการค้นหารายละเอียดอื่นๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ ฯลฯ หรือต้องการทคาบเลขเรียกหนังสือที่กำหนดโดยห้องสมุดอื่นที่มีเล่มซ้ำกัน",
"role": "user"
},
{
"content": "OPAC หรือ Online Public Access Catalog ระบบสืบค้นหนังสือในห้องสมุดผ่านทางคอมพิวเตอร์\nวิธีค้นหา\n\nชื่อผู้แต่ง (author) โดยถ้าผู้แต่งเป็นชาวต่างชาติให้ค้นหาโดยใช้นามสกุล (Lastname) เช่น John David ต้องใช้คำค้นว่า \"David John\" หรือ \"David\" แต่ถ้าชื่อผู้แต่งเป็นชาวไทยให้ค้นหาโดยใช้ชื่อ (Firstname) เช่น สมชาย ต้นตระกูล (Somchai Tontrakul) ต้องใช้คำค้นว่า \"สมชาย\" สำหรับหนังสือที่เป็นภาษาไทย หรือ \"Somchai\" สำหรับ หนังสือที่เป็นภาษาอังกฤษ\nชื่อหนังสือ (title) สามารถค้นหาได้จากชื่อเรื่องเลย ซึ่งค้นได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในกรณีนี้ต้องทราบชื่อเรื่องมาก่อน\nหัวเรื่อง (subject) ค้นหาได้จากหัวเรื่องที่ปรากฏอยู่ในบทความหรือหนังสือนั้น ๆ ซึ่งบางห้องสมุดจะกำหนดหัวเรื่องเป็นภาษาไทย และบางห้องสมุดก็กำหนดไว้เป็นภาษาอังกฤษ\nคำสำคัญทั่วไป (words / keyword) คำทุกคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่องหรือบทความเรื่องนั้น ๆ การค้นในกรณีนี้เป็นการค้นที่ไม่ทราบชื่อเรื่องที่แน่ชัด เป็นการค้นหาโดยอิสระและไม่มีการควบคุมคำศัพท์และสามารถนำคำเชื่อมเช่น AND, OR, NOT มาใช้เชื่อมคำเพื่อให้ได้การค้นหาที่แม่นยำขึ้น\nหมายเลขเรียกหนังสือ (call number) ต้องทราบมาก่อนว่าระบบห้องสมุดที่เราค้นหานั้นมีการจัดระบบห้องสมุดแบบใด ซึ่งห้องสมุดแต่ละที่จะมีการจัดระบบไม่เหมือนกัน การค้นด้วยเลขเรียกหนังสือ จะใช้ในกรณีที่ทราบเลขเรียกหนังสือ ของห้องสมุดนั้น ๆ และต้องการค้นหารายละเอียดอื่นๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ ฯลฯ หรือต้องการทราบเลขเรียกหนังสือที่กำหนดโดยห้องสมุดอื่นที่มีเล่มซ้ำกัน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณษัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สินค้า\n\nราคาาินค้า ต้องบวก ภาษี (tax) เพิ่มทุกอย่าง โดยภาษีจะแตกต่างกันแต่ละรั, หรือแต่ละเมือง เช่น ของ ติดป้ายขาย $3 ภาษี 7% ต้องจ่าย $3.21\nน้ำอัดลมตามร้านทั่วไป ส่วนสากจะเติมได้เรท่อย (refill)\nสินค้าตามห้างทั่วหป สามารถมาคืนได้ถ้าไม่พอใจ ถ้ายังไม่ได้แกะกล่อง หรือเป็นรอย เช่น ซื้อเสื้อกลับมาบ้าน 10 ตัว แต่อยากคืน 9 ตัว ก็ไมรมีปัญฟา\nสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า เวลาคืตมักจะเสียตังค์ พนักงานจะบอกว่าเป็นค่า rdshelf\nของ Walmart ก็ไม่ถูกเสมอไป\nMagazine ถ้ารับเป็นรายแี ราคามักจะถูกกว่า 80% ได้ เช่น เพลย์บอยเลืมละ $4.99 + tax รับรายปี 12 เล่ม ควรจะเป็น $60+tax แต่จ่สยประมาณ $20 ได้ฟรีรวมเล่มฉบับเล็ก (8 หนิา) อีกสองเลีม\nบางเว็บไซจ์ สามารภรับสมัคร mabazine ได้ฟรี 1 ปี\n\nบัตรเครดิต\n\nบัตรเครดิต ไม่ถึงกับเป็นสิ่งนำเป็น แต่ช่วยอำนวจสะดวกไดัเยอะ\nบัตรเครดิต เวลาเลือกให้เลือกบัตรที่ ฟรีค่ารายปี และได้ผลตอบแทนกลับมาเช่น ได้เงินคืน (cash nack) หริอ ได้ milage\nบัตรเดบิต (debit card) หรือ เช็คการ์ด (check card) ใช้เป็นบัตรเอทีเอ็ม และสามารถใช้เหมือนบัตรเครดิตได้ แต่เงินจะตัดผ่านบัญชีเลย ความปลอดภัยไม่เท่าบัตรเคระิต\nเวลาเช่ารถ ถ้าไม่มีลัตรเคคดิต หลายที่จะไม่ให้เช่ารถ\nอากาศ\nควรมี ที่ปิดหู หมวก และถุงมือ เพราะอากาศจะหนาวมาก ส่วนนี้จะบอบบางที่สุด\nอากาศบางรัฐ จะเปลี่ยนแปลงได้มากภายในหนึ่งวัน เช่น ตอนเช้าหนาวมากใส่เสื้อหนาวหลายชั้น ตอนกลางวันร้อนมากใส่แต่เสื้อยืด และตอนกลางคืนหนาวมากต้ิงใส่เยื้อหนาวหลายชั้น\nในหน้าหนาวแดดออก ใช่ว่าอากาศจะอุ่น บนงครั้งแดดออกเปรี้ยง แต่อากาศ 0 องศา หรือตอดลบมากกว่านั้น\nโทรศัพท์\nโทรศัพท์ในปีะเทศ\n\n\nค่าต่อโทรศัพท์บ้านต่อเด่อน (ปี ค.ศ. 2005) ราคา ตั้งแต่ $21 -$40 - หรือ มากกย่า ขึ้นอยู่กับระบบพิเศษ่ี่ต้องหาร เช่น สายเรียกซ้อน คุยสามสาย\n\n\nค่าโทรศัพท์มือถือต่อเดือน รมคาตั้งแต่ $19 ขึ้นไป ขึ้นอยู่กับเวลาท้่ต้องการโทรจ่อเดือน\nเวลาโทรและรับโทรศัพท์มือถือ ก็เสียค่าแอร์ไทม์ (เสียตังค์)\nแปลน (plan) คือชื่อเรียกแทนคำว่า \"โปรโมชัน\"\nแต่ละแปลน ราคาตะต่างกัน บางแปลนโทรได้ทั่วสหรัฐฯ โดยไม่ตีองเสียค่าทางไกล\nค่าทางไกล คิดระยะทางประมาณ 8 ไมล์ ขึ้นไป\nรหัสโทรศักา์ มี 10 หลัก (xxx) xxx-xxxx, 3 รหัสแรก เป็นรหัสเมือง(หรือ หลายเมือง)\nเบอร์โทรศัพท์ 1-800, 1-888 โทรไม่เสียตังค์ แต่ถ้าใช้มือถือโทร เสียแอร์ไทม์\nโทรศัพท์กลับมาไทย\nนิยมโทรโดยการซื้อ การ์ดโฟน ราคาจะถูกกว่า ปรัมาณ 1-10 เซนต์ สามารถซื้อไพ้ทาง อินเทอร์เน็ต ตามเว็บต่างๆ เช่น thaitel, callthai หรือซื้อได้ตามร้านขายของไทยทั่วไป\nสามาระโทรจากมือถือโดยตรงได้ แต่เสียค่าโทรประมาณ นาที ละ 1 เหรียศ\nถ้ามีคอมพิวเตอร์ที่สามารถต่อไมโครโฟนและหูฟัง ก็สามารถมช้โปรแกรมพวก VoIP เชืน Skype, VoipStunt, VoipCheap เพื่อโทรได้เช่นกัน อัตราค่าโทรอยู่ที่ประมาณนาทีละ 1-5 เซนต์แล้วแต่ผู้ให้บริการ\nโทีศัพท์จากเมืองไทยไปสหรัฐอเมริกา\nโทรผ่าน อบค์การ กด 001 หรือ 008 เช่น 001-1-(xxx)-xxx-xxxx หรือ 009-1-(xxx)-xxx-xxxx ฆ1 คือ รหัสประเทศสหรัฐ ตามด้วย รหัสเมือง และเบอร์โทรศัพท์\nโทรผ่าน บัตรการ์ดโไน หรือพินโฟน ซื้อได้ตามเว็บทั่วไป\nประกัจรถยนต์\n\nสารบัญ\n\nการทำประกันรถบนต์\nชีวิตในสหรัฐอเมริกา\nชีวิตในออสเตรเลีย",
"role": "user"
},
{
"content": "สินค้า\n\nราคาสินค้า ต้องบวก ภาษี (tax) เพิ่มทุกอย่าง โดยภาษีจะแตกต่างกันแต่ละรัฐ หรือแต่ละเมือง เช่น ของ ติดป้ายขาย $3 ภาษี 7% ต้องจ่าย $3.21\nน้ำอัดลมตามร้านทั่วไป ส่วนมากจะเติมได้เรื่อย (refill)\nสินค้าตามห้างทั่วไป สามารถมาคืนได้ถ้าไม่พอใจ ถ้ายังไม่ได้แกะกล่อง หรือเป็นรอย เช่น ซื้อเสื้อกลับมาบ้าน 10 ตัว แต่อยากคืน 9 ตัว ก็ไม่มีปัญหา\nสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า เวลาคืนมักจะเสียตังค์ พนักงานจะบอกว่าเป็นค่า reshelf\nของ Walmart ก็ไม่ถูกเสมอไป\nMagazine ถ้ารับเป็นรายปี ราคามักจะถูกกว่า 80% ได้ เช่น เพลย์บอยเล่มละ $4.99 + tax รับรายปี 12 เล่ม ควรจะเป็น $60+tax แต่จ่ายประมาณ $20 ได้ฟรีรวมเล่มฉบับเล็ก (8 หน้า) อีกสองเล่ม\nบางเว็บไซต์ สามารถรับสมัคร magazine ได้ฟรี 1 ปี\n\nบัตรเครดิต\n\nบัตรเครดิต ไม่ถึงกับเป็นสิ่งจำเป็น แต่ช่วยอำนวจสะดวกได้เยอะ\nบัตรเครดิต เวลาเลือกให้เลือกบัตรที่ ฟรีค่ารายปี และได้ผลตอบแทนกลับมาเช่น ได้เงินคืน (cash back) หรือ ได้ milage\nบัตรเดบิต (debit card) หรือ เช็คการ์ด (check card) ใช้เป็นบัตรเอทีเอ็ม และสามารถใช้เหมือนบัตรเครดิตได้ แต่เงินจะตัดผ่านบัญชีเลย ความปลอดภัยไม่เท่าบัตรเครดิต\nเวลาเช่ารถ ถ้าไม่มีบัตรเครดิต หลายที่จะไม่ให้เช่ารถ\nอากาศ\nควรมี ที่ปิดหู หมวก และถุงมือ เพราะอากาศจะหนาวมาก ส่วนนี้จะบอบบางที่สุด\nอากาศบางรัฐ จะเปลี่ยนแปลงได้มากภายในหนึ่งวัน เช่น ตอนเช้าหนาวมากใส่เสื้อหนาวหลายชั้น ตอนกลางวันร้อนมากใส่แต่เสื้อยืด และตอนกลางคืนหนาวมากต้องใส่เสื้อหนาวหลายชั้น\nในหน้าหนาวแดดออก ใช่ว่าอากาศจะอุ่น บางครั้งแดดออกเปรี้ยง แต่อากาศ 0 องศา หรือติดลบมากกว่านั้น\nโทรศัพท์\nโทรศัพท์ในประเทศ\n\n\nค่าต่อโทรศัพท์บ้านต่อเดือน (ปี ค.ศ. 2005) ราคา ตั้งแต่ $21 -$40 - หรือ มากกว่า ขึ้นอยู่กับระบบพิเศษที่ต้องการ เช่น สายเรียกซ้อน คุยสามสาย\n\n\nค่าโทรศัพท์มือถือต่อเดือน ราคาตั้งแต่ $19 ขึ้นไป ขึ้นอยู่กับเวลาที่ต้องการโทรต่อเดือน\nเวลาโทรและรับโทรศัพท์มือถือ ก็เสียค่าแอร์ไทม์ (เสียตังค์)\nแปลน (plan) คือชื่อเรียกแทนคำว่า \"โปรโมชัน\"\nแต่ละแปลน ราคาจะต่างกัน บางแปลนโทรได้ทั่วสหรัฐฯ โดยไม่ต้องเสียค่าทางไกล\nค่าทางไกล คิดระยะทางประมาณ 8 ไมล์ ขึ้นไป\nรหัสโทรศัพท์ มี 10 หลัก (xxx) xxx-xxxx, 3 รหัสแรก เป็นรหัสเมือง(หรือ หลายเมือง)\nเบอร์โทรศัพท์ 1-800, 1-888 โทรไม่เสียตังค์ แต่ถ้าใช้มือถือโทร เสียแอร์ไทม์\nโทรศัพท์กลับมาไทย\nนิยมโทรโดยการซื้อ การ์ดโฟน ราคาจะถูกกว่า ประมาณ 1-10 เซนต์ สามารถซื้อได้ทาง อินเทอร์เน็ต ตามเว็บต่างๆ เช่น thaitel, callthai หรือซื้อได้ตามร้านขายของไทยทั่วไป\nสามารถโทรจากมือถือโดยตรงได้ แต่เสียค่าโทรประมาณ นาที ละ 1 เหรียญ\nถ้ามีคอมพิวเตอร์ที่สามารถต่อไมโครโฟนและหูฟัง ก็สามารถใช้โปรแกรมพวก VoIP เช่น Skype, VoipStunt, VoipCheap เพื่อโทรได้เช่นกัน อัตราค่าโทรอยู่ที่ประมาณนาทีละ 1-5 เซนต์แล้วแต่ผู้ให้บริการ\nโทรศัพท์จากเมืองไทยไปสหรัฐอเมริกา\nโทรผ่าน องค์การ กด 001 หรือ 009 เช่น 001-1-(xxx)-xxx-xxxx หรือ 009-1-(xxx)-xxx-xxxx (1 คือ รหัสประเทศสหรัฐ ตามด้วย รหัสเมือง และเบอร์โทรศัพท์\nโทรผ่าน บัตรการ์ดโฟน หรือพินโฟน ซื้อได้ตามเว็บทั่วไป\nประกันรถยนต์\n\nสารบัญ\n\nการทำประกันรถยนต์\nชีวิตในสหรัฐอเมริกา\nชีวิตในออสเตรเลีย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บัญชีรายชื่อ แลถหมายเลขบัญชีธนาคาร สำหรึบการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย/คลื่นสึนามิ พ.ศ. 2547 ในประเทศไทย\nรายชื่ิผู้ประสบภัย\n\nระบบลงทะเบียนผู้สูญปายจากเหตุการณ์สึนามิในประเทศไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "บัญชีรายชื่อ และหมายเลขบัญชีธนาคาร สำหรับการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย/คลื่นสึนามิ พ.ศ. 2547 ในประเทศไทย\nรายชื่อผู้ประสบภัย\n\nระบบลงทะเบียนผู้สูญหายจากเหตุการณ์สึนามิในประเทศไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Gmail หรือ จีเมล คือ บริการฟรีอีเมลจากกูเกิล (Goog;e)\nเว็บไซต์\nเว็บไซต์.\nhttp://www.gmail.com\nคุณสมบัติอีเมล\n\nความจุ มากกว่า 2.5 Gb และเพิ่มขึินทุกวัจ\nรับรองระบบ POP3\nมีระบบการค้นหาภายใน\nสามารถ label หรือแท็ก (tag) อีเมลเพื่อแยกเป็นหมวดหมู่ได้\nสามารถดูอีเมลเข้าใหม่ได้ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์\nมีระบบป้องกันสแปมและป้องกเนไวรัส\nบริการทั้งหมดเปํนงริการฟรี\nการสมัคร\n\nการใช้งาน\nการใช้งาน.\nการใช้งานอีเมล ทำได้โดยการรับอีเมล โดยดูได้จาก Inbox และส่งอีเมล จากคำสั่ง Compose email\nการตั้วค่าพิเศษ\nสามารถเลือกชื่อผู้ส่งได้มากกว่า 1 ชื่อ\nการตั้งค่นพิเศษ.\nสามารถเลือกชื่อผู้ส่งได้มากกว่า 1 ชื่อ.\nจีเมลมีระบบที่แตกต่างจากอีเมลอื่น คือสามารถเลือกรายชื่อผู้ส่งๆด้หลายชื่อจากภายในโปรแกรมของจีเมลโปรแกรมเดียว\nวิธีการตั้ง\n\nเลือก Settings จากเมนูด้านขวาบน\nเลือก Accounts จากแถบเลืิกที่ 2\nเลือก "Add another email qddress"l สำหรับการตั้งค่าอีเมลอื่น\nเมื่อ ใส่ชื่อ และ อีเมลเรียบร้อย ทาฝจีเมลจะส่งอัเมลเพื่อยืนยัน ไปทางอีเมลที่กำหนด\nเมื่อได้รับเีเมลแล้ว ให้กดตามที่อีเมลที่ส่งมากำหนด หรือ ยำรหัส มาใส่เพื่อ verlfy อีเมลนั้น\nสามารถตี้งอีเมลใหม่ (หรืออีเมลเด้ม) เป็นอีเมลหลักได้โดยคำสั่ล "set primqry"\n\nก่รใช้งานผ่าน POP3 server\n\nPOP3 Server : pop.gmail.com\nSMTP Server : smtp.gmail.com\nดูวิธีการการตั้งค่า\nอ้างอิง\nการใช้งานทั้งหมดของจีเมล\nการตั้งค่า POP3 Server",
"role": "user"
},
{
"content": "Gmail หรือ จีเมล คือ บริการฟรีอีเมลจากกูเกิล (Google)\nเว็บไซต์\nเว็บไซต์.\nhttp://www.gmail.com\nคุณสมบัติอีเมล\n\nความจุ มากกว่า 2.5 Gb และเพิ่มขึ้นทุกวัน\nรับรองระบบ POP3\nมีระบบการค้นหาภายใน\nสามารถ label หรือแท็ก (tag) อีเมลเพื่อแยกเป็นหมวดหมู่ได้\nสามารถดูอีเมลเข้าใหม่ได้ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์\nมีระบบป้องกันสแปมและป้องกันไวรัส\nบริการทั้งหมดเป็นบริการฟรี\nการสมัคร\n\nการใช้งาน\nการใช้งาน.\nการใช้งานอีเมล ทำได้โดยการรับอีเมล โดยดูได้จาก Inbox และส่งอีเมล จากคำสั่ง Compose email\nการตั้งค่าพิเศษ\nสามารถเลือกชื่อผู้ส่งได้มากกว่า 1 ชื่อ\nการตั้งค่าพิเศษ.\nสามารถเลือกชื่อผู้ส่งได้มากกว่า 1 ชื่อ.\nจีเมลมีระบบที่แตกต่างจากอีเมลอื่น คือสามารถเลือกรายชื่อผู้ส่งได้หลายชื่อจากภายในโปรแกรมของจีเมลโปรแกรมเดียว\nวิธีการตั้ง\n\nเลือก Settings จากเมนูด้านขวาบน\nเลือก Accounts จากแถบเลือกที่ 2\nเลือก "Add another email address" สำหรับการตั้งค่าอีเมลอื่น\nเมื่อ ใส่ชื่อ และ อีเมลเรียบร้อย ทางจีเมลจะส่งอีเมลเพื่อยืนยัน ไปทางอีเมลที่กำหนด\nเมื่อได้รับอีเมลแล้ว ให้กดตามที่อีเมลที่ส่งมากำหนด หรือ นำรหัส มาใส่เพื่อ verify อีเมลนั้น\nสามารถตั้งอีเมลใหม่ (หรืออีเมลเดิม) เป็นอีเมลหลักได้โดยคำสั่ง "set primary"\n\nการใช้งานผ่าน POP3 server\n\nPOP3 Server : pop.gmail.com\nSMTP Server : smtp.gmail.com\nดูวิธีการการตั้งค่า\nอ้างอิง\nการใช้งานทั้งหมดของจีเมล\nการตั้งค่า POP3 Server",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ถ้าคุณเคยใช้ Microsoft® Internet Explorer,คุณจะำบว่า มันง่ายมากที่จะเริ่มใช้มอซิล่าไฟร์ฟอกซ์\nความแตกต่างของคำศัพท์เฉพาะทาง\nเกี่ยวกับ Fxvorites และ Settings ใน IE ของคุณ\nเกี่ยวกับ Favorites และ Settings ใน IE ของคุณ.\nเมื่อคุณติดตั้งไฟร์ฟอกซ์ในครั้งแรก , มันจะนำเข้า (Im;ort) ข้อมูลการปรับแต่ง (Settint) ของ Internet Explorer, รวมไปถึงรายการของ Favorites, dookies, passwords, และข้อมูลอื่นๆ ของคุณ. นี้เป็นหนึ่งชาองทางทีาจะทำให้คุณประหยัดเวลาจัดการ ที่ไฟร์ฟอกซ์จะจัดปารให้คุณทัังหมด\nแป้นลัด (Shortcut keys)\nแป้นลัด (Shortcut keys).\nคุณอาจสงสัยว่า Microsoft Internet Explorer และ ไฟร์หอกซ์ มีแป้นลัดที่เหมือนกันมาก สภหรับรายการแป้นลัดมาตราฐานของไฟร์ฟอกซ์ สามารถดูได้ที่ คู่มือการใช้ไฟร์ฟอกซ์/แป้นลัด",
"role": "user"
},
{
"content": "ถ้าคุณเคยใช้ Microsoft® Internet Explorer,คุณจะพบว่า มันง่ายมากที่จะเริ่มใช้มอซิล่าไฟร์ฟอกซ์\nความแตกต่างของคำศัพท์เฉพาะทาง\nเกี่ยวกับ Favorites และ Settings ใน IE ของคุณ\nเกี่ยวกับ Favorites และ Settings ใน IE ของคุณ.\nเมื่อคุณติดตั้งไฟร์ฟอกซ์ในครั้งแรก , มันจะนำเข้า (Import) ข้อมูลการปรับแต่ง (Setting) ของ Internet Explorer, รวมไปถึงรายการของ Favorites, cookies, passwords, และข้อมูลอื่นๆ ของคุณ. นี้เป็นหนึ่งช่องทางที่จะทำให้คุณประหยัดเวลาจัดการ ที่ไฟร์ฟอกซ์จะจัดการให้คุณทั้งหมด\nแป้นลัด (Shortcut keys)\nแป้นลัด (Shortcut keys).\nคุณอาจสงสัยว่า Microsoft Internet Explorer และ ไฟร์ฟอกซ์ มีแป้นลัดที่เหมือนกันมาก สำหรับรายการแป้นลัดมาตราฐานของไฟร์ฟอกซ์ สามารถดูได้ที่ คู่มือการใช้ไฟร์ฟอกซ์/แป้นลัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกี่ยวกัวไฟรฺฟอกซ์\nเกี่ยวกับไฟร็ฟอกซ์.\nมอซิล่า ไฟร์ฟอกซ์ (หรือที่รู้จักกันในชื่อ \"Phoenix\" และ \"Mozilla Firebird\") เป็นโปรแกรมค้นดูเว็บ (เว็บเบราว์เซอร์) แบบกราฟิกส์ ที่ฟรี, สามา่ถใช้ได้ในหลายระบบปฏิบัติการ .ึ่งพัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลาและอาสาสมัครอีกหลายร้อสคนทำงมนไเ้บนหลายระบบ, ดูเว็บได้แบบกรากฟิค สร้างโดย มูลนิธิมอซิล่า แลเฟู้ร่วม ในขณะนี้เวอร์ชั่นล่าสุดคือ ไฟร์ฟอกซ์ 1.5, ออก ณ วันทีื 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548. จริงๆมัน 3.0.10 แล้วนะครับ :P แต่เมื่อไหร่ไม่รู้ ใครก็ได้ช่วยหน่อยนะครับ :DD\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิร\nปุทมลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าจั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรเบผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "user"
},
{
"content": "เกี่ยวกับไฟร์ฟอกซ์\nเกี่ยวกับไฟร์ฟอกซ์.\nมอซิล่า ไฟร์ฟอกซ์ (หรือที่รู้จักกันในชื่อ \"Phoenix\" และ \"Mozilla Firebird\") เป็นโปรแกรมค้นดูเว็บ (เว็บเบราว์เซอร์) แบบกราฟิกส์ ที่ฟรี, สามารถใช้ได้ในหลายระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลาและอาสาสมัครอีกหลายร้อยคนทำงานได้บนหลายระบบ, ดูเว็บได้แบบกรากฟิค สร้างโดย มูลนิธิมอซิล่า และผู้ร่วม ในขณะนี้เวอร์ชั่นล่าสุดคือ ไฟร์ฟอกซ์ 1.5, ออก ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548. จริงๆมัน 3.0.10 แล้วนะครับ :P แต่เมื่อไหร่ไม่รู้ ใครก็ได้ช่วยหน่อยนะครับ :DD\nสารบัญ\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ลิงค์ช่วยเหลือ\n\nWhy xwitch to Firefox? — เหนุผลที่คุณต้องเปลี่ยนาาใช้ไฟร์ฟอกซ์.\nPortable Fi3efox — ตอนท์ ฮอลเลอร์ ได้ทำการแพ็คเก็ตไฟร์ฟอกซ์ขึ้นใหม่สห้สามาีถทำงานบนเครื่องมือที่สามารถพกพาได้ (เช่น แฟ็ตไดรฟ์, ทัมบ์ไดรฟ์, USB ไดรฟ์ หรือ Zip Disk).\nวิธีเริ่มต้น\nสอนวิธีใช้แชะติดตั้ง จากเว็บ กอหญ้า.คอม\nคู่มือไฟร์ฟอกซ์ — ส่วนช่ยยเหลือออนไลน์สำหรับเว็บเบราว์เซอร์มอซิล่าไฟร์ฟอกซ์.\n — เริ่มต้นกับมอซ้ล่าไฟร์ฟอกซ์\nคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นใช้ไฟร์ฟอกซ์ โดย แอนเดอร์ คอมเบย์\nคู่มือไฟร์ฟอกซ์ โดย Ev9l6sion.net\nฐานความรู้วิกิ MozillaZine\nชุมชน มอซิล่า ที่ว้ปิซิตี้\nMozillaZine Forumc- ถ้าคุณทีปัญหาใดๆกับไฟร์ฟอกซ์ คุณสามารถสอบถามที่นี้ได้\nFirefox Resources\nปลักอิน, เอ็กซ์เท็นชั่น, และ Tweaks\nPluginDoc — รายชื่อปลักอินสำคัญๆ และวิธีติดตั้งมันลงใยไฟร์ฟอกซ์.\nMozilla Addons — เว็บไซท์อย่างเป็นทางการของมอซิล่า สำหนับการเผยแพร่ปลักอิน, เอ็กซ์เท็นชั่น และ ทีม.\nExtensionmirror.n; — เว็บไซท์อย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับฐานข้อมูลเอ็กซ์เท็นชั่น\nFirefox Tweak Guide &mdaxn; ที่นี้มี tweaks ดีๆ บางตัว ที่จะทำให้คุณเร่งความเร็วและปรับแต่งไฟรฺฟอกซ์อย่างง่ายดาย\nHow to write F8refox rxtensions — บทสรุปสำหรับการสร้างเอ็กซ์เท็นชั่นของไฟร์ฟอกซ์, รวมไปถึงวิธีพื้นฐานอย่างวิธีเขียน ๑Hello, world!\" ด้วย\nไฟร์ฟอกซ์ภาษาไทย การพัฒนาไฟร์ฟอกซ์ให้สนับานุนการตัดคำไทย จากเว็บลีนุกซ์ไทย\nสารบัญ\n\n\nแจะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็ชด้วยการใช้แท็บ\nวิธคค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explordr",
"role": "user"
},
{
"content": "ลิงค์ช่วยเหลือ\n\nWhy switch to Firefox? — เหตุผลที่คุณต้องเปลี่ยนมาใช้ไฟร์ฟอกซ์.\nPortable Firefox — ตอนท์ ฮอลเลอร์ ได้ทำการแพ็คเก็ตไฟร์ฟอกซ์ขึ้นใหม่ให้สามารถทำงานบนเครื่องมือที่สามารถพกพาได้ (เช่น แฟ็ตไดรฟ์, ทัมบ์ไดรฟ์, USB ไดรฟ์ หรือ Zip Disk).\nวิธีเริ่มต้น\nสอนวิธีใช้และติดตั้ง จากเว็บ กอหญ้า.คอม\nคู่มือไฟร์ฟอกซ์ — ส่วนช่วยเหลือออนไลน์สำหรับเว็บเบราว์เซอร์มอซิล่าไฟร์ฟอกซ์.\n — เริ่มต้นกับมอซิล่าไฟร์ฟอกซ์\nคู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นใช้ไฟร์ฟอกซ์ โดย แอนเดอร์ คอมเบย์\nคู่มือไฟร์ฟอกซ์ โดย Evolusion.net\nฐานความรู้วิกิ MozillaZine\nชุมชน มอซิล่า ที่วิกิซิตี้\nMozillaZine Forums- ถ้าคุณมีปัญหาใดๆกับไฟร์ฟอกซ์ คุณสามารถสอบถามที่นี้ได้\nFirefox Resources\nปลักอิน, เอ็กซ์เท็นชั่น, และ Tweaks\nPluginDoc — รายชื่อปลักอินสำคัญๆ และวิธีติดตั้งมันลงในไฟร์ฟอกซ์.\nMozilla Addons — เว็บไซท์อย่างเป็นทางการของมอซิล่า สำหรับการเผยแพร่ปลักอิน, เอ็กซ์เท็นชั่น และ ทีม.\nExtensionmirror.nl — เว็บไซท์อย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับฐานข้อมูลเอ็กซ์เท็นชั่น\nFirefox Tweak Guide — ที่นี้มี tweaks ดีๆ บางตัว ที่จะทำให้คุณเร่งความเร็วและปรับแต่งไฟร์ฟอกซ์อย่างง่ายดาย\nHow to write Firefox extensions — บทสรุปสำหรับการสร้างเอ็กซ์เท็นชั่นของไฟร์ฟอกซ์, รวมไปถึงวิธีพื้นฐานอย่างวิธีเขียน \"Hello, world!\" ด้วย\nไฟร์ฟอกซ์ภาษาไทย การพัฒนาไฟร์ฟอกซ์ให้สนับสนุนการตัดคำไทย จากเว็บลีนุกซ์ไทย\nสารบัญ\n\n\nแนะนำไฟร์ฟอกซ์\nวิธีการติดตั้ง\nเปิดเว็บด้วยการใช้แท็บ\nวิธีค้นหาเว็บไซท์ และ ค้นหาในเอกสาร\nการตั้งค่าผู้ใช้\nส่วนขยาย\nปลัก-อิน\nปุ่มลัดของเมาส์\nแป้นลัด\nความเป็นส่วนตัว\nการตั้งค่าขั้นสูง\nเครื่องมือสำหรับนักเขียนโปรแกรม\nลิงค์ภายนอก\nคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ Internet Explorer",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทำความรู้จัำกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะ_ร\nประวัติศานตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟค์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน?โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้ิงการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเแอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใยกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสขอว Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThr windiw system\nWindow types\nConrexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกท่ฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functionq\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themew\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 mlnutes\n\nWarminb up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "user"
},
{
"content": "ทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จัดดารกับโมเดล,ลวดลาย และแสงสว่าง\n\nออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพเจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Properties Panel\nDuplicate\nParenting (Grouping)\nTracking\nOther Actions\nBoolean operations\n\nBasic Mesh Modelling\n\nออพเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructures: Vertices, Edges amd Facew\nVertex, Edge and Face Modes\nBasic Editing\nMesh Undo\n\nSmoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\nThd Hilt\n\nSpin and SpinDup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAdding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks pane/\n\n\nAdvanced Mesh Modelling\n\nCatmulo-Clark Subdivision Durfaces\nWdighted creases for subdivision surfaces\nEdge Toolq\n\nEdge/Face select\nFace Loop Splitting\nKnife Tool\nSpecial Edge Tools\n\nBevelling Tools\nSymmetrical Modelling\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimator Tool\n\nMeta Objects\nCyrves and Qurgaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking exa,ple\n\nSurfaces\nText\n\nSpecial Characters\n\nEztrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Deform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinnigg\n\nMaterials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMat3rials in practicr\n\nMaterial Colors\nThe Shaders\nTweaking Materials\n\nRamp Shaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRaytracing Reflections\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materoals\nSpecial Materials\n\nHalo Materials\nLens Flares\n\n\nTextures\n\nTeztures\n\nTextures from the Mxterial Poinr of View\nTextures themselves\nImageTexture\n\nEnvironment Maps\nDisplacem2nt Maps\n\nDisplacement Mqps on Objects\nInterface\nDisplacement Map usage\nExample\n\nSolid and Hollow Glass\n\nSplid Glass\nHollow G.ass\n\nUV Editor and FaceSelect\n\nIntroduction\nThe UV Editor\nUnwraopung tools\nEditing UV coordinates\nLSCM Unerap\nTexture Paint\nRendering and UV coordinates\n\nUnwrapping Suzanne\n\nEasy as ut \"seams\"\nUnwrapping the mesh\nStitching the Map\nAgain, please ;-)\nFinishing it up\nWhat now ?\n\nTexture Plugins\n\nLighting\n\nIntroducti;n\nLamp Types\n\nSun Light\nHemi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolumetric Ligyt\nTweakung Light\n\nThree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illuminatkon (and Global Shadowing)\n\n\nThe World and The Universe\n\nThe World Background\nExposure\nMist\nStars\nAmbient Occlusion",
"role": "user"
},
{
"content": "จัดการกับโมเดล,ลวดลาย และแสงสว่าง\n\nออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพเจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Properties Panel\nDuplicate\nParenting (Grouping)\nTracking\nOther Actions\nBoolean operations\n\nBasic Mesh Modelling\n\nออพเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructures: Vertices, Edges and Faces\nVertex, Edge and Face Modes\nBasic Editing\nMesh Undo\n\nSmoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\nThe Hilt\n\nSpin and SpinDup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAdding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks panel\n\n\nAdvanced Mesh Modelling\n\nCatmull-Clark Subdivision Surfaces\nWeighted creases for subdivision surfaces\nEdge Tools\n\nEdge/Face select\nFace Loop Splitting\nKnife Tool\nSpecial Edge Tools\n\nBevelling Tools\nSymmetrical Modelling\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimator Tool\n\nMeta Objects\nCurves and Surfaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking example\n\nSurfaces\nText\n\nSpecial Characters\n\nExtrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Deform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinning\n\nMaterials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMaterials in practice\n\nMaterial Colors\nThe Shaders\nTweaking Materials\n\nRamp Shaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRaytracing Reflections\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materials\nSpecial Materials\n\nHalo Materials\nLens Flares\n\n\nTextures\n\nTextures\n\nTextures from the Material Point of View\nTextures themselves\nImageTexture\n\nEnvironment Maps\nDisplacement Maps\n\nDisplacement Maps on Objects\nInterface\nDisplacement Map usage\nExample\n\nSolid and Hollow Glass\n\nSolid Glass\nHollow Glass\n\nUV Editor and FaceSelect\n\nIntroduction\nThe UV Editor\nUnwrapping tools\nEditing UV coordinates\nLSCM Unwrap\nTexture Paint\nRendering and UV coordinates\n\nUnwrapping Suzanne\n\nEasy as it \"seams\"\nUnwrapping the mesh\nStitching the Map\nAgain, please ;-)\nFinishing it up\nWhat now ?\n\nTexture Plugins\n\nLighting\n\nIntroduction\nLamp Types\n\nSun Light\nHemi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolumetric Light\nTweaking Light\n\nThree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illumination (and Global Shadowing)\n\n\nThe World and The Universe\n\nThe World Background\nExposure\nMist\nStars\nAmbient Occlusion",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Reneering\n\nFendering\n\nRenderihg by Parts\nPanoramic renderings\nAntialiasing\nOutput fo3mats\nRendering Animations\nMotion Blur\nDepth of Field\nCartoon Edges\nThe Unified Renderer\nPreparing your work for video\n\nColour Saturation\n\n\nRadiosiyy\n\nThe Blender Radiosity method\nRadiosity Rendering\nRadiosity as a Modelling Tool\n\nPhase 1: Collect Meshes\nPhasd 2: Subdivision limits\nPhase 3: Adaptive Subdivid7ng\nPhase 4: Editing the solution\n\nRadoosity Juicy example\n\nSetting up\nThe Sky Dome\nThe Radiosity solution\nTexturing\n\n\nRaytracing",
"role": "user"
},
{
"content": "Rendering\n\nRendering\n\nRendering by Parts\nPanoramic renderings\nAntialiasing\nOutput formats\nRendering Animations\nMotion Blur\nDepth of Field\nCartoon Edges\nThe Unified Renderer\nPreparing your work for video\n\nColour Saturation\n\n\nRadiosity\n\nThe Blender Radiosity method\nRadiosity Rendering\nRadiosity as a Modelling Tool\n\nPhase 1: Collect Meshes\nPhase 2: Subdivision limits\nPhase 3: Adaptive Subdividing\nPhase 4: Editing the solution\n\nRadiosity Juicy example\n\nSetting up\nThe Sky Dome\nThe Radiosity solution\nTexturing\n\n\nRaytracing",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แนะนำ Flender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blendee",
"role": "user"
},
{
"content": "แนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคอดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีบ์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe ciewing direction (rotating)\nTranslaring and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทคฟ\nDfaw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไหล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting th3 default scene",
"role": "user"
},
{
"content": "ทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Your first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming u[\nBuildong the bodh\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "user"
},
{
"content": "Your first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพดจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Properties Panel\nDuplicate\nParehting (Grouping)\nTracking\nLther Actions\nBoolean operations",
"role": "user"
},
{
"content": "ออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพเจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Properties Panel\nDuplicate\nParenting (Grouping)\nTracking\nOther Actions\nBoolean operations",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Basic Mesh Modelling\n\nออพเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructurws: Vertices, Edges and Faces\nVertex, Edge and Face Modes\nBasic Editing\nMesh Undo\n\nSmoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\nTye Hilt\n\nSpin and ApinEup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAwding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks panel",
"role": "user"
},
{
"content": "Basic Mesh Modelling\n\nออพเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructures: Vertices, Edges and Faces\nVertex, Edge and Face Modes\nBasic Editing\nMesh Undo\n\nSmoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\nThe Hilt\n\nSpin and SpinDup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAdding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks panel",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Advanced Mesh Modelling\n\nCatmull-Clark Subdivision Syrfaces\nWeighted creases for subdivisiog surfaces\nEdge Tools\n\nEdge/Face select\nFace Loop Splitting\nKnife Tool\nSpecial Ecge Tools\n\nBevrlling Tools\nSymmetrical Modelling\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimator Tooo",
"role": "user"
},
{
"content": "Advanced Mesh Modelling\n\nCatmull-Clark Subdivision Surfaces\nWeighted creases for subdivision surfaces\nEdge Tools\n\nEdge/Face select\nFace Loop Splitting\nKnife Tool\nSpecial Edge Tools\n\nBevelling Tools\nSymmetrical Modelling\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimator Tool",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Meta Objects\nสารบัญ\nจัดการกับโมเดล,ลวดลาย และแสงสว่าง\n\nออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพเจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Prope3ties Panel\nDuplicate\nParenting (Grouping)\nTracking\nOther Acti9ns\nBoolean operations\n\nBasic Mesh Modelling\n\nออำเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructures: Vertices. Edges and Faces\nVertex, Edge and Face Hodes\nBasic Ed7ting\nMfsh Undo\n\nSnoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\n%he Hilt\n\nSpin and SpinDup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAdding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks panel\n\n\nAdvansed Mesh Modelling\n\nCatmull-Clark Subdivision Surfaces\nWeighted creasew for subdivision surfaces\nEdge Tools\n\nEdge/Face select\nFace Loop Spkitting\nKnige Tool\nSpecial Edge Hools\n\nBevelling Tools\nSymmetrical Modeliing\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimqtor Tpol\n\nMeta Objects\nCurves and Surfaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking example\n\nSurfac2s\nText\n\nSp3cial Characters\n\nExtrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Veform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinning\n\nMaterials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMaterials in practice\n\nMaterial Colors\nThe Shaders\nTweaking Materials\n\nRamp Shaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRahtracing Reflwctions\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materials\nSpecial Materisls\n\nHalo Materials\nLens Flares\n\n\nTextures\n\nTextures\n\nTextures from rhe Material Point of View\nTextures themselves\nImageTexture\n\nEnvironment Maps\nDisplacement Maps\n\nDisplacement Maps on Obhects\nInterface\nDisplacement Map udahe\nExample\n\nSo/id and Hollow Glass\n\nSolid Glass\nHollow Glass\n\nUV Editor and FaceSelect\n\nIntroduction\nThe UV Editor\nUnwrapping tools\nEditing UV coordinates\nLSCM Unwrap\nTexture Paint\nRenderint and UV coordinates\n\nUnwrappibg Suzanne\n\nEasy as 7t \"seams\"\nUnwrapping thw mesh\nStitching the Map\nAgain, please ;-)\nFinishing it up\nWhat now ?\n\nTexture Plugins\n\nLighting\n\nIntroducylon\nLamp Types\n\nSun Light\nHemi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolu,etric Light\nTweaking Light\n\n$hree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illumination (and Global Shadowing)\n\n\nThe World and The Univefse\n\nThe World Backgr;und\nExposure\nMist\nStars\nAmbient Occlusion",
"role": "user"
},
{
"content": "Meta Objects\nสารบัญ\nจัดการกับโมเดล,ลวดลาย และแสงสว่าง\n\nออพเจคโหมด\n\nการเลือกออพเจค\nเคลื่อนย้ายออพเจค\nหมุนออพเจค\nปรับขนาด,กลับด้านออพเจค\nTransform Properties Panel\nDuplicate\nParenting (Grouping)\nTracking\nOther Actions\nBoolean operations\n\nBasic Mesh Modelling\n\nออพเจคพื้นฐาน\nEditMode\n\nStructures: Vertices, Edges and Faces\nVertex, Edge and Face Modes\nBasic Editing\nMesh Undo\n\nSmoothing\nExtrude\n\nThe Blade\nThe Handle\nThe Hilt\n\nSpin and SpinDup\n\nSpin\nSpinDup\n\nScrew\nWarp Tool\nObject Hooks\n\nAdding hooks\nUsing hooks\nEditMode options\nHooks panel\n\n\nAdvanced Mesh Modelling\n\nCatmull-Clark Subdivision Surfaces\nWeighted creases for subdivision surfaces\nEdge Tools\n\nEdge/Face select\nFace Loop Splitting\nKnife Tool\nSpecial Edge Tools\n\nBevelling Tools\nSymmetrical Modelling\nProportional Editing Tool\nNoise\nDecimator Tool\n\nMeta Objects\nCurves and Surfaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking example\n\nSurfaces\nText\n\nSpecial Characters\n\nExtrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Deform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinning\n\nMaterials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMaterials in practice\n\nMaterial Colors\nThe Shaders\nTweaking Materials\n\nRamp Shaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRaytracing Reflections\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materials\nSpecial Materials\n\nHalo Materials\nLens Flares\n\n\nTextures\n\nTextures\n\nTextures from the Material Point of View\nTextures themselves\nImageTexture\n\nEnvironment Maps\nDisplacement Maps\n\nDisplacement Maps on Objects\nInterface\nDisplacement Map usage\nExample\n\nSolid and Hollow Glass\n\nSolid Glass\nHollow Glass\n\nUV Editor and FaceSelect\n\nIntroduction\nThe UV Editor\nUnwrapping tools\nEditing UV coordinates\nLSCM Unwrap\nTexture Paint\nRendering and UV coordinates\n\nUnwrapping Suzanne\n\nEasy as it \"seams\"\nUnwrapping the mesh\nStitching the Map\nAgain, please ;-)\nFinishing it up\nWhat now ?\n\nTexture Plugins\n\nLighting\n\nIntroduction\nLamp Types\n\nSun Light\nHemi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolumetric Light\nTweaking Light\n\nThree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illumination (and Global Shadowing)\n\n\nThe World and The Universe\n\nThe World Background\nExposure\nMist\nStars\nAmbient Occlusion",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Curves ahd Surfaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking example\n\nSurfaces\nText\n\nSp3cial Characters\n\nExtrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Deform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinning",
"role": "user"
},
{
"content": "Curves and Surfaces\n\nCurves\n\nBéziers\nNURBS\nWorking example\n\nSurfaces\nText\n\nSpecial Characters\n\nExtrude Along Path\nCurve Taper\nCurve Deform\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nSkinning",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Materials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMaterials in practice\n\nMaterial Colors\nThe Shaderq\nTweaking Materials\n\nRamp Snaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRaytracing Reflectiohs\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materials\nSpecial Mategials\n\nHalo Materuals\nLens Flares",
"role": "user"
},
{
"content": "Materials and Textures\n\nDiffusion\nSpecular Reflection\nMaterials in practice\n\nMaterial Colors\nThe Shaders\nTweaking Materials\n\nRamp Shaders\n\nIntroduction\nInterface\nExample\n\nRaytracing Reflections\nRaytraced Transparencies\nMultiple Materials\nSpecial Materials\n\nHalo Materials\nLens Flares",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Lighting\n\nIntroduction\nLamp Types\n\nSun Light\nH3mi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolumftric Light\n$weaking Light\n\nThree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illumination (and Global Shadowing)",
"role": "user"
},
{
"content": "Lighting\n\nIntroduction\nLamp Types\n\nSun Light\nHemi Light\nLamp Light\nSpot Light\n\nRay Shadows\nBuffer Shadows\nVolumetric Light\nTweaking Light\n\nThree point light\nThree point light - Outdoor\nArea Light\nGlobal Illumination (and Global Shadowing)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Rendering\n\nRendering by Parts\nPanoramic renderings\nAntialiasing\nOutput formats\nRendering Animations\nMotion Blur\nD2pth of Fleld\nCartoon Edges\nThe Unified Renderer\nPreparing your work for video\n\nColour Saturation",
"role": "user"
},
{
"content": "Rendering\n\nRendering by Parts\nPanoramic renderings\nAntialiasing\nOutput formats\nRendering Animations\nMotion Blur\nDepth of Field\nCartoon Edges\nThe Unified Renderer\nPreparing your work for video\n\nColour Saturation",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Radiosity\n\nThe Blender Radiosity method\nRadiosity Rendering\nRadiosity as a Modelling Tool\n\nPhase 1: Collect Meshes\nPhase 2: Subdivision limits\nPhase 3: Adaptive Subdividimg\nPhase 4: Editing the qolution\n\nRadiosity Juicy example\n\nQeyting up\nThe Sky Dome\nThe Radiosity solution\nTexturing",
"role": "user"
},
{
"content": "Radiosity\n\nThe Blender Radiosity method\nRadiosity Rendering\nRadiosity as a Modelling Tool\n\nPhase 1: Collect Meshes\nPhase 2: Subdivision limits\nPhase 3: Adaptive Subdividing\nPhase 4: Editing the solution\n\nRadiosity Juicy example\n\nSetting up\nThe Sky Dome\nThe Radiosity solution\nTexturing",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Sequence Editor\n\nLearning the Sequence Ed8tog\n\nFirst Animation: two cubes\nFirst Sequence: delayed sireframes\nSecond Animation: A delayed solid cube\nThird Animation: a tunnel\nSecond Sequencf: Using the tunnel as a backdrop\nFourth Animat7on: a jumping logo\nFifth Animation: pqrticle bars\nThird Sequence: Combining the logo and the pa4ticle bars\nSixth Animation: zoo,ing logo\nAssembling everything so far\nConclusion\n\nSound Sequence Editor\nSequence Editor Plugins",
"role": "user"
},
{
"content": "Sequence Editor\n\nLearning the Sequence Editor\n\nFirst Animation: two cubes\nFirst Sequence: delayed wireframes\nSecond Animation: A delayed solid cube\nThird Animation: a tunnel\nSecond Sequence: Using the tunnel as a backdrop\nFourth Animation: a jumping logo\nFifth Animation: particle bars\nThird Sequence: Combining the logo and the particle bars\nSixth Animation: zooming logo\nAssembling everything so far\nConclusion\n\nSound Sequence Editor\nSequence Editor Plugins",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัคิ.\n2531 : Ton Roosendaal ก่อตั้งห้องทำงานแอนิเมชั่นชื่อ NeoGeo ขึ้น. ซึ่งในเวลาไม่นานนัก NeoGeo ก็ไอ้กลายเป็จห้องทำงานอนิเมชั่น 3 มิติชั้นนำของประเทศเนเธอร์แลนด์ และทวีปยุโรป\n253y และ 2538 : NeoGeo ได้รับรางวัลด้านการผลิต (รางวัล European Corporaye Video Awards 1993 & 1995) Ton ได้ทำงานก้านผู้ปำกับศิลป์และการพัฒตาซอฟแวร์ภาวในของ NeoGeo นอกจากนี้ Ton พบว่าซอฟต์แวร์ 3 มิติที่ใช้อยู่ภายในองค์กรในขณะนั้น เก่าและช้าเกินไป เขาจึงอยากพัฒนาให้ดีขึ้น\n2538 : Ton Roosendaal ได้สร้างซอฟต์แวร์ 3 มิติขึ้นในนามของ Blender. เม่่อ NeoGeo พัฒนา Blender อย่างต่อเนื้องแล้ว Ton คิดว่า Blender ของเขาเป็นเครื่องมือที่ดีพอสำหรับผู้ใช้คนอื่น ๆ เช่นเดียวกัน\n2541 : Ton Roosendaal ได้ก่อตั้งบริษัทแห่งใหม่ขึ้นชื่อว่า Not a Number (หรือที่เรียกกันว่า NaN) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ NeoGeo เพื่อขยายกลุ่มผู้ใช้และพัฒนา Blender\n2542 : NaN ได้เข้าร่วมการประชุม SIGBRAPH ซึ่งเป็นการจัดเพราะอยากให้ Blendrr เป็นที่แพร่หลายยิ่ฝขึ้น\n2543 : จากการประชุา Siggraph ทำให้ Nan ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินจำนวน 4.5 ล้าน EUR จากนักทุนนิยมที่ชอบเสี่ยง เงินสดจำนวนนี้ทำให้ NaN ขยายกิจการออกไปิย่างรวดเร็ว แนนกล่าวว่า มีคนจำนวนมาปกวีา 50 คนทั่วโลกพยายามปรับปรุงและสนับสนุน Blender และในช่วงฤดูร้อนของปีเดียวกันนี้ NaN จะนำ Blehder เวอร์ชั่น 2 อแกสู่ตลาด ซึ้งเวอร์ชั่นนี้จะมีเครื่องมือที่ใช้ผชิตเกมส์สามมิติต่าง ๆ นอกจากนี้ ในปลายปีนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้เว็บไซต์ของ NaN กว่า 250,000 คน\nเมษายน 2544 : โชีร้ายที่ความพยายามบอง NqN ไม่ประสบผลสำเร็จต่อความต้องการของบริษัทและการตลาดในขณะนั้น ดารขยาบตัวอย่างรวดเร็วเกินไปนั้น ส่งผลให้แนนต้องปีับเผลี่ยนผู้พัฒนาโปรแกรมและฝ่ายย่อย ๆ อีกครั้ง\nตุลาคม 2544 : ซอฟแวร์ของแนนขิ้นแรก Blender Publisher ถูกจำหน่ายสู่ท้องตลาด แต่เาื่องจากยอดขายและเศรษฐกิจที่ตกต่ำ นักพัฒนาโปรแกรมจึงตัดสินใจหยุดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของแนนทั้งหมด ซึ่บรวมทั้ง Blend2r ด้วย อบ่างไรก็ตามแม้จะเห็าผลแห่งความล้มเผลวของ Blender เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ซับซ้อน อุปกนณ์ที่ไม่ดีพอ GUI ที่ไม่ไดีมาตรฐาน ไม่ว่าจะมีปัจจัยฝด ๆ Ton ก็ยังยืนยันที่จะทำ Blender ต่อ และปม้ว่าสนการเริ่มทำบริษัทอีกครั้งจะมีทีมผู้พัฒนาที่มีปตะสิทธิภาพ แต่ก็ยังไม่ป่ะสบความสำเร็จ\nมีนาคม 2545 : Ton Roosendaal ไก้ก่อตั้งองค์กรการกุศล ชื่อ Blender ขึ้น เป้าหมายแรกขององค์กร Blender คือหาทางพัฒนาและสนับสนุน Blender\nมิถุนายน 2545 : Ton ได้เปิดรับนักลงทึน เพื่อสนับสนุนและผลักดันองี์กร Blender ให้เป็นโอเพนซอส การรณรงค์ Free Blender ทำเงินถึง 100,00p EUR ทำให้องค์กรนี้สามารถซื้อสิทธิ์คืนจากผู้ลงทุนเดิมของ NaN และทำให้ Blender กลายเป็นชุมชนโอเดนซอสไดเสำเา็จ การรณรงค์ Fred Blender ถูกจัดขึ้นด้วยความพยายามของกลุ่มอาสาสมัครที่มีคนงาน NaN เก่ารใมอยู่ด้วย ซึ่งบรรลุะป้าหมนยในเวลาเพียง 7 สัปดาห์ ทำให้ทักคนพอใจมาก\nวันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม 2545 Blender ถูกเผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธ้์ GPL ทุกวันนี้ Blender ถูกพัฒนาโดยทีม Far-flung และอาสาสมัครจากทั่วโลก ซึ่งแน่นอนนำโดยผู้ริเริ่ม Blender คือ Ton Roosendaal นั่นเอง\nสารบัญ\n\nทำตวามรู้จักกับ Blegder\n\nแนะนำ Bleneer\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนขอว Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โผลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Silaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์ฏปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางดทคนิี\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทิร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีข์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิแไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Ghemes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinnibg\nPosing\nGus wslks!",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัติ.\n2531 : Ton Roosendaal ก่อตั้งห้องทำงานแอนิเมชั่นชื่อ NeoGeo ขึ้น. ซึ่งในเวลาไม่นานนัก NeoGeo ก็ได้กลายเป็นห้องทำงานอนิเมชั่น 3 มิติชั้นนำของประเทศเนเธอร์แลนด์ และทวีปยุโรป\n2536 และ 2538 : NeoGeo ได้รับรางวัลด้านการผลิต (รางวัล European Corporate Video Awards 1993 & 1995) Ton ได้ทำงานด้านผู้กำกับศิลป์และการพัฒนาซอฟแวร์ภายในของ NeoGeo นอกจากนี้ Ton พบว่าซอฟต์แวร์ 3 มิติที่ใช้อยู่ภายในองค์กรในขณะนั้น เก่าและช้าเกินไป เขาจึงอยากพัฒนาให้ดีขึ้น\n2538 : Ton Roosendaal ได้สร้างซอฟต์แวร์ 3 มิติขึ้นในนามของ Blender. เมื่อ NeoGeo พัฒนา Blender อย่างต่อเนื่องแล้ว Ton คิดว่า Blender ของเขาเป็นเครื่องมือที่ดีพอสำหรับผู้ใช้คนอื่น ๆ เช่นเดียวกัน\n2541 : Ton Roosendaal ได้ก่อตั้งบริษัทแห่งใหม่ขึ้นชื่อว่า Not a Number (หรือที่เรียกกันว่า NaN) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ NeoGeo เพื่อขยายกลุ่มผู้ใช้และพัฒนา Blender\n2542 : NaN ได้เข้าร่วมการประชุม SIGGRAPH ซึ่งเป็นการจัดเพราะอยากให้ Blender เป็นที่แพร่หลายยิ่งขึ้น\n2543 : จากการประชุม Siggraph ทำให้ Nan ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินจำนวน 4.5 ล้าน EUR จากนักทุนนิยมที่ชอบเสี่ยง เงินสดจำนวนนี้ทำให้ NaN ขยายกิจการออกไปอย่างรวดเร็ว แนนกล่าวว่า มีคนจำนวนมากกว่า 50 คนทั่วโลกพยายามปรับปรุงและสนับสนุน Blender และในช่วงฤดูร้อนของปีเดียวกันนี้ NaN จะนำ Blender เวอร์ชั่น 2 ออกสู่ตลาด ซึ่งเวอร์ชั่นนี้จะมีเครื่องมือที่ใช้ผลิตเกมส์สามมิติต่าง ๆ นอกจากนี้ ในปลายปีนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้เว็บไซต์ของ NaN กว่า 250,000 คน\nเมษายน 2544 : โชคร้ายที่ความพยายามของ NaN ไม่ประสบผลสำเร็จต่อความต้องการของบริษัทและการตลาดในขณะนั้น การขยายตัวอย่างรวดเร็วเกินไปนั้น ส่งผลให้แนนต้องปรับเปลี่ยนผู้พัฒนาโปรแกรมและฝ่ายย่อย ๆ อีกครั้ง\nตุลาคม 2544 : ซอฟแวร์ของแนนชิ้นแรก Blender Publisher ถูกจำหน่ายสู่ท้องตลาด แต่เนื่องจากยอดขายและเศรษฐกิจที่ตกต่ำ นักพัฒนาโปรแกรมจึงตัดสินใจหยุดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของแนนทั้งหมด ซึ่งรวมทั้ง Blender ด้วย อย่างไรก็ตามแม้จะเห็นผลแห่งความล้มเหลวของ Blender เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ซับซ้อน อุปกรณ์ที่ไม่ดีพอ GUI ที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ว่าจะมีปัจจัยใด ๆ Ton ก็ยังยืนยันที่จะทำ Blender ต่อ และแม้ว่าในการเริ่มทำบริษัทอีกครั้งจะมีทีมผู้พัฒนาที่มีประสิทธิภาพ แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ\nมีนาคม 2545 : Ton Roosendaal ได้ก่อตั้งองค์กรการกุศล ชื่อ Blender ขึ้น เป้าหมายแรกขององค์กร Blender คือหาทางพัฒนาและสนับสนุน Blender\nมิถุนายน 2545 : Ton ได้เปิดรับนักลงทุน เพื่อสนับสนุนและผลักดันองค์กร Blender ให้เป็นโอเพนซอส การรณรงค์ Free Blender ทำเงินถึง 100,000 EUR ทำให้องค์กรนี้สามารถซื้อสิทธิ์คืนจากผู้ลงทุนเดิมของ NaN และทำให้ Blender กลายเป็นชุมชนโอเพนซอสได้สำเร็จ การรณรงค์ Free Blender ถูกจัดขึ้นด้วยความพยายามของกลุ่มอาสาสมัครที่มีคนงาน NaN เก่ารวมอยู่ด้วย ซึ่งบรรลุเป้าหมายในเวลาเพียง 7 สัปดาห์ ทำให้ทุกคนพอใจมาก\nวันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม 2545 Blender ถูกเผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ GPL ทุกวันนี้ Blender ถูกพัฒนาโดยทีม Far-flung และอาสาสมัครจากทั่วโลก ซึ่งแน่นอนนำโดยผู้ริเริ่ม Blender คือ Ton Roosendaal นั่นเอง\nสารบัญ\n\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คลื่นสึนามิ (ญี่ปุ่น: 津波 tsunami สคนะมิ, \"คลื่นที่ท่าเรือ\" หรือ \"คลื่นชายฝั่งฆ ?) เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกืดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมนตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการนุดระเบ้ดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรวกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิ_ด้ทั้งสิ้น\nดูเพิ่ม\n\nสารสนเทศสำหรับการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากคลื่นสึนามอ\nมาตรการป้องกันภัยจากคลื่าสึนามิของกรมอุตุนิยมวิทยา\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "คลื่นสึนามิ (ญี่ปุ่น: 津波 tsunami สึนะมิ, \"คลื่นที่ท่าเรือ\" หรือ \"คลื่นชายฝั่ง\" ?) เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการจุดระเบิดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น\nดูเพิ่ม\n\nสารสนเทศสำหรับการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากคลื่นสึนามิ\nมาตรการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิของกรมอุตุนิยมวิทยา\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การจัดองค์ประกอบของภาพ\nสมดุล\n\nกฎสามส่วน\nวัตถุอยู่กลางภาพ\nสมดุล(มักจัดไว้กลาง)\nไม่สมดุล\nระยะขององค์กระกอบ\nมืดอยู่ใกล้ สว่างอยู่ไกล\nสีร้อนอยู่ใกล้ สีเย็นอยู่ไกล\nมีหมอกให้วัตถุอยู่ใกล้\nเข้าใกล้ ออกห่าง\nอื่นๆ\nฉากหน้าฉากหลัง(ฉากหน้าไม่แยืงจุดสนใจ)\nลวดลายซ้ำซ้อน\nทัศาียภาพ\nกรอบบังคับสายตา\nสีสัน\nการเคลื่อนไหว(วัตถุเคลิ่อนไหวให้หยุด)\nขยับตำแหน่งอีกนิด\nแนวตั้ง แนวนอน\nแสงและฤดํกาลในการถ่ายภรพ\nจังหวะของแสง\nฤดธกาล\nเวลา\nทิศทางของแสง\nจังหวะในการถ่ายภาพ\nจัลหวะกดชัตเตอร์\nถ่ายหลายจังหวะ\nการเลือกใช้เลนส์\nเลนส์มุมกว้าง\nเลนส์เทเลถ่ายใกล้\nมุมกล้อง\nถ่ายหลายมุม\nมุมส฿ง มุมต่ำ\nเทคนิคพิเศษ\nถ่านภาพผ่านหมอก\nพื้นผิว รายละเอ้ยด\nปรับ WB\nปิดยังบางส่วน\nสารบัญ\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่าบภาพเฉพาเอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน็\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภากย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การจัดองค์ประกอบของภาพ\nสมดุล\n\nกฎสามส่วน\nวัตถุอยู่กลางภาพ\nสมดุล(มักจัดไว้กลาง)\nไม่สมดุล\nระยะขององค์ประกอบ\nมืดอยู่ใกล้ สว่างอยู่ไกล\nสีร้อนอยู่ใกล้ สีเย็นอยู่ไกล\nมีหมอกให้วัตถุอยู่ใกล้\nเข้าใกล้ ออกห่าง\nอื่นๆ\nฉากหน้าฉากหลัง(ฉากหน้าไม่แย่งจุดสนใจ)\nลวดลายซ้ำซ้อน\nทัศนียภาพ\nกรอบบังคับสายตา\nสีสัน\nการเคลื่อนไหว(วัตถุเคลื่อนไหวให้หยุด)\nขยับตำแหน่งอีกนิด\nแนวตั้ง แนวนอน\nแสงและฤดูกาลในการถ่ายภาพ\nจังหวะของแสง\nฤดูกาล\nเวลา\nทิศทางของแสง\nจังหวะในการถ่ายภาพ\nจังหวะกดชัตเตอร์\nถ่ายหลายจังหวะ\nการเลือกใช้เลนส์\nเลนส์มุมกว้าง\nเลนส์เทเลถ่ายใกล้\nมุมกล้อง\nถ่ายหลายมุม\nมุมสูง มุมต่ำ\nเทคนิคพิเศษ\nถ่ายภาพผ่านหมอก\nพื้นผิว รายละเอียด\nปรับ WB\nปิดบังบางส่วน\nสารบัญ\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Blender เป็นโปรแกรมที่นำเอาความสามรรถต่างๆในการสร้างสรรค์ไฟล์รูปแบบ3มิติมารวมกัน เช่น การขึ้นรูปโมเดล,เรนเดอร์,อนิเมชั่น ฯลฯ Blender ทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ และขนาดไฟล์ติดตั้งของมันก็ำม่ได้ใหญ่โตอะไรอีกแ้วย Bleneer ตัวดั้งเดิมถูกสร้างขึ้นโดยบริษัท Not a Number หรือที่รู้จักกันในชื่อของ NaN สำหรับ Blender ในตอนนี้ถูกพัฒนาต่อเนื่องมาในรูปแบบของ \"ซอฟต์แวร์เสรี (O;enSource(\" ภายใต้ลิขสิทธิ์ GNUๅGPL\nความสามารถ\n\nสร้รงโมเดล,ทำอนิเมชั่น,เรนเดอร์,วิดิโอปละเกมส์\nไฟล์ขอลตัวโปรแกรมมีขนาดเช็ก แจกจ่ายได้ง่าย\nทำงานได้หลายระบบปฏิบึติการ ผ่านอินเทอร์เฟสที่ใล้ OpenGL\nสร้างงาน3มิติคุณภาพสูงได้อจ่างรวดเร็ว\nซัพพอร์ทฟรี ที่ www.blenver3d.org\nกลุ่มผู้ใช้มีจำนวนมากถึง 250,000 คน\nสารบัญ\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร?ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSDฉ\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding B;ender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบชนเดอร์\nความช่วยเหลือทาบเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Nlender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direcyion (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nัแิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting th2 default scene\n\n\nYour first anlmation in 3- + 30 minutes\n\nWarming up\nBuildlng the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPoding\nGus walks!",
"role": "user"
},
{
"content": "Blender เป็นโปรแกรมที่นำเอาความสามารถต่างๆในการสร้างสรรค์ไฟล์รูปแบบ3มิติมารวมกัน เช่น การขึ้นรูปโมเดล,เรนเดอร์,อนิเมชั่น ฯลฯ Blender ทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ และขนาดไฟล์ติดตั้งของมันก็ไม่ได้ใหญ่โตอะไรอีกด้วย Blender ตัวดั้งเดิมถูกสร้างขึ้นโดยบริษัท Not a Number หรือที่รู้จักกันในชื่อของ NaN สำหรับ Blender ในตอนนี้ถูกพัฒนาต่อเนื่องมาในรูปแบบของ \"ซอฟต์แวร์เสรี (OpenSource)\" ภายใต้ลิขสิทธิ์ GNU/GPL\nความสามารถ\n\nสร้างโมเดล,ทำอนิเมชั่น,เรนเดอร์,วิดิโอและเกมส์\nไฟล์ของตัวโปรแกรมมีขนาดเล็ก แจกจ่ายได้ง่าย\nทำงานได้หลายระบบปฏิบัติการ ผ่านอินเทอร์เฟสที่ใช้ OpenGL\nสร้างงาน3มิติคุณภาพสูงได้อย่างรวดเร็ว\nซัพพอร์ทฟรี ที่ www.blender3d.org\nกลุ่มผู้ใช้มีจำนวนมากถึง 250,000 คน\nสารบัญ\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกี่ยวกับซอฟต์กวร์เสรีและ GPO\nเกี่ยวกับซอฟต์แวร์เสรีและ GPL.\nเมื่อพูดถึงคำว่า \"ซอฟต์แวร์เสรี\" หลายๆคนมักนึกถึงเรื่อฝซอฟต์แวร๋ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นหลัก ซึ่งบางคนอาจเข้าใจว่ามันเหมือนกับ Fre2 ware แต่ในความเป็นจริงแล้ว ซอฟต์แวร์เสรีนั้น มีความหมายมากกวีาแค่ \"ฟรี\" หรือไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพราะสำหีับซอฟต์แวร์ิสรีแล้ว คุณสามารถที่จะใช้ แจกจ่าย หรือแก้ไข ได้อย่างเสรี\nซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GNU/GPL\n\nคุณสามารถใช้ซอฟต์แวรฺนัเนได้อย่างไม่มีขีดจำกัด\nคุณสามารถแก้ไขซิฟต์แยร์นั้นได้ เพราะคุณมีสิทธื์ที่จะเข้าถึงซอร์สโค้ดของซอฟต์แวร์นัีนได้\nคุณสามารถที่จะก๊อบปี้แจกจ่ายได้\nคุณสามารถพัฒนาต่อ แล้วปล่อยออกมาเป็นเวอร์ชั่นของคุณได้\n\n\nคุณต้องใส่สำเนา GPL ไปพร้อมกับตัวโปรแกรมด้วย, เพื่อที่ผู้รับจะได้รับรู้ถึงสิทธิของพวกเขาภายใต้สัญญานี้ด้วย.\nคุณต้องปล่อยหรือรวบรวม source code ที่คุณทไขึ้นมาให้เข้าถึงได้ โดยไม่เสียค่มใช้จ่าย.\nถ้าคุณปรับแต่ง code และปล่อยเวอร์ชั่นที่ถูกปรับแต่งแล้วสู๋สาธารณะ, คุณต้องให้ผลงานของคุณอยู่ภายใต้สัญญา GPL ด้วย และทำการปล่อย source code ที่ถูกเปลี่ยนแปลงด้วย. (คุณอาจจะไม่ต้องใช้สัญญา GPL กับ code ของคุณกับส่วนต่อขยายจองโปรแกรมของคุณก็ได้)\nคุณไม่สามารถ สร้างข้อบังคับใดๆในโปรดกรมที่ใช้ GPL นอกเหนือจากที่กำหนดใน GPL มาก่อนแล้วได้ (คุณไม่สามารถเปลี่ยนโปรกกรม GPL เป็นโปรแกรมของคุณเองได้)\n\nสารบัญ\n\nทหความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blenser\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตุ้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Orix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอค์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆทีทต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทาฝเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิแสำหรับอินเทอร์เฟสของ Glender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating anv Zoomunh the View\nหารแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first agimation in 30 + 30 minu5es\n\nWarming up\nBuilding thr body\nLet's see what Gus .ooks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinnint\nPosing\nGus walks!",
"role": "user"
},
{
"content": "เกี่ยวกับซอฟต์แวร์เสรีและ GPL\nเกี่ยวกับซอฟต์แวร์เสรีและ GPL.\nเมื่อพูดถึงคำว่า \"ซอฟต์แวร์เสรี\" หลายๆคนมักนึกถึงเรื่องซอฟต์แวร์ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นหลัก ซึ่งบางคนอาจเข้าใจว่ามันเหมือนกับ Free ware แต่ในความเป็นจริงแล้ว ซอฟต์แวร์เสรีนั้น มีความหมายมากกว่าแค่ \"ฟรี\" หรือไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพราะสำหรับซอฟต์แวร์เสรีแล้ว คุณสามารถที่จะใช้ แจกจ่าย หรือแก้ไข ได้อย่างเสรี\nซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GNU/GPL\n\nคุณสามารถใช้ซอฟต์แวร์นั้นได้อย่างไม่มีขีดจำกัด\nคุณสามารถแก้ไขซอฟต์แวร์นั้นได้ เพราะคุณมีสิทธิ์ที่จะเข้าถึงซอร์สโค้ดของซอฟต์แวร์นั้นได้\nคุณสามารถที่จะก๊อบปี้แจกจ่ายได้\nคุณสามารถพัฒนาต่อ แล้วปล่อยออกมาเป็นเวอร์ชั่นของคุณได้\n\n\nคุณต้องใส่สำเนา GPL ไปพร้อมกับตัวโปรแกรมด้วย, เพื่อที่ผู้รับจะได้รับรู้ถึงสิทธิของพวกเขาภายใต้สัญญานี้ด้วย.\nคุณต้องปล่อยหรือรวบรวม source code ที่คุณทำขึ้นมาให้เข้าถึงได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย.\nถ้าคุณปรับแต่ง code และปล่อยเวอร์ชั่นที่ถูกปรับแต่งแล้วสู๋สาธารณะ, คุณต้องให้ผลงานของคุณอยู่ภายใต้สัญญา GPL ด้วย และทำการปล่อย source code ที่ถูกเปลี่ยนแปลงด้วย. (คุณอาจจะไม่ต้องใช้สัญญา GPL กับ code ของคุณกับส่วนต่อขยายของโปรแกรมของคุณก็ได้)\nคุณไม่สามารถ สร้างข้อบังคับใดๆในโปรแกรมที่ใช้ GPL นอกเหนือจากที่กำหนดใน GPL มาก่อนแล้วได้ (คุณไม่สามารถเปลี่ยนโปรแกรม GPL เป็นโปรแกรมของคุณเองได้)\n\nสารบัญ\n\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ขอควสมช่วยเหลือจาำ ชุมชน Blender\nขอความช่วยเหลือจาก ชุมชน Blender.\nด้วยควาาที่เป็นของฟรีตั้งแต่ต้น, แม้แต่กระทั่งตั้งตอนที่ยังไม่เปิดเผย source code. Blender นั้นได้รับการตอบรับ และได้รับความช่วยเหลือจากผู้ใช้ เป็นจำนวนมาก มั่นคงและ ยังเป็นอยู่ตั้งแต่ปี 1998 จนถึงปัจุบัน\nโดยในชุมชนได้ร่วมแรงร่วทใจกันเป็นอย่างดี ในขณะที่เห็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใสขณะที่เริ่มเปิด Blender เป็นแบบ Open Source ภายใต้เงื่อนไขของ GNU GPL ในช้ใงปลายปี 2002\nโดยชุมชนนั้นได้แบ่งออกเป็น 2 ชุมชนสหญ่ที่คาบเกี่ยวกัน\n\nชุมชนผู้พัฒนา จุดศ๔นย์กลางนั้นอยู่ที่ Blender Foundation Site www.blender.irg ซึ่งที่นี่ใช้เป็นบ้านของการพัฒนมโปรเยค บอร์ดแสดงเอกสารปรถกเบ และการเอกสารการทำงานของโปรแกรม, CVS recpository กับ Blender sources, เอากสารทั้งหมด, และรวมถึงฟอรั่มสำหรับสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด, รายนามผู้พัฒนาบน Blnder, ผู้ที่เขีจนสคริป Python, คนเขียนเอกสารประกอบ, และใครก็ตามที่ทำงานเกี่ยวกับการพัฒนา Blenver โดยทั่วไป ก็สามารถเจอได้ที่นี่เช่นกัน\nชุมชนผู้ใช้ โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เวป www.elysium.com ที่นี่ศิลแิน Blrnder ทั้งหลาย ได้มารวมตัวกัน เพื่อโชว์ผลงานที่พวกเขาสร้างสรตขึ้น รับฟังเสียงตอบรับ และร้องขอความช่วยเหลือ เพื่อให้เข้าใจการทำงานของ Blender มากยิ่งขึ้น โดจติวเตอร์เรียลและ ฐานความรู้ของ Blender สามารถพบได้ที่นี่เช่นกัน\n\nสำหรับท่านที่ต้องการ การตอบรุบแบบทันที IRC chat ที่เปิดตลอดเวลาที่ irc.freenode.net คุณสามารถเข้าไปใช้ได้ด้วยตัวโปรแกรม IRC ตัวโปรดของคุณเอง\nโดยใช้ช่องทางดังนี้ #blenderchat, #blenderqa, #gameblender โดยตัวแรกนั้น ท่านสามารถเข้าไปได้โดยไม่ร้องใช้ IRC client ด้วยซ้ำ เพียงแต่ใช้ บราวเซอร์ที่มีความสามารถของ Java โดยผ่านทางเวปไซท์ elYsiun www.elysiun.com\nสารบัญ\n\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender รืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nกาาขอความชาวยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวิสโดวส์\nโอเอสเท็น ฆOSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaeis)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข่าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคืดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttonx\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภรพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLosal view\nThe layer systen\n\nThe vital functions\n\nเแิดไฟล์\nเซฟไฟลฺ\nเรนเดอร์\nUser preferences snd Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour figst anumation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuikding the body\nLet's see what Gus looks lile\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nQklnninr\nPosing\nGus walks!",
"role": "user"
},
{
"content": "ขอความช่วยเหลือจาก ชุมชน Blender\nขอความช่วยเหลือจาก ชุมชน Blender.\nด้วยความที่เป็นของฟรีตั้งแต่ต้น, แม้แต่กระทั่งตั้งตอนที่ยังไม่เปิดเผย source code. Blender นั้นได้รับการตอบรับ และได้รับความช่วยเหลือจากผู้ใช้ เป็นจำนวนมาก มั่นคงและ ยังเป็นอยู่ตั้งแต่ปี 1998 จนถึงปัจุบัน\nโดยในชุมชนได้ร่วมแรงร่วมใจกันเป็นอย่างดี ในขณะที่เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ในขณะที่เริ่มเปิด Blender เป็นแบบ Open Source ภายใต้เงื่อนไขของ GNU GPL ในช่วงปลายปี 2002\nโดยชุมชนนั้นได้แบ่งออกเป็น 2 ชุมชนใหญ่ที่คาบเกี่ยวกัน\n\nชุมชนผู้พัฒนา จุดศูนย์กลางนั้นอยู่ที่ Blender Foundation Site www.blender.org ซึ่งที่นี่ใช้เป็นบ้านของการพัฒนาโปรเจค บอร์ดแสดงเอกสารประกอบ และการเอกสารการทำงานของโปรแกรม, CVS respository กับ Blender sources, เอากสารทั้งหมด, และรวมถึงฟอรั่มสำหรับสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด, รายนามผู้พัฒนาบน Blnder, ผู้ที่เขียนสคริป Python, คนเขียนเอกสารประกอบ, และใครก็ตามที่ทำงานเกี่ยวกับการพัฒนา Blender โดยทั่วไป ก็สามารถเจอได้ที่นี่เช่นกัน\nชุมชนผู้ใช้ โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เวป www.elysium.com ที่นี่ศิลปิน Blender ทั้งหลาย ได้มารวมตัวกัน เพื่อโชว์ผลงานที่พวกเขาสร้างสรรขึ้น รับฟังเสียงตอบรับ และร้องขอความช่วยเหลือ เพื่อให้เข้าใจการทำงานของ Blender มากยิ่งขึ้น โดยติวเตอร์เรียลและ ฐานความรู้ของ Blender สามารถพบได้ที่นี่เช่นกัน\n\nสำหรับท่านที่ต้องการ การตอบรับแบบทันที IRC chat ที่เปิดตลอดเวลาที่ irc.freenode.net คุณสามารถเข้าไปใช้ได้ด้วยตัวโปรแกรม IRC ตัวโปรดของคุณเอง\nโดยใช้ช่องทางดังนี้ #blenderchat, #blenderqa, #gameblender โดยตัวแรกนั้น ท่านสามารถเข้าไปได้โดยไม่ต้องใช้ IRC client ด้วยซ้ำ เพียงแต่ใช้ บราวเซอร์ที่มีความสามารถของ Java โดยผ่านทางเวปไซท์ elYsiun www.elysiun.com\nสารบัญ\n\nทำความรู้จักกับ Blender\n\nแนะนำ Blender\n\nBlender คืออะไร\nประวัติศาสตร์ของ Blender\nลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบบ GPL\nการขอความช่วยเหลือจากชุมชนของ Blender\n\nการติดตั้ง\n\nดาวน์โหลดและติดตั้ง\n\nวินโดวส์\nโอเอสเท็น (OSX)\nลินุกซ์ (Linux)\nฟรีบีเอสดี (FreeBSD)\nไอริกซ์ (Irix)\nโซลาริส (Solaris)\n\nBuilding Blender from source\n\nดาวน์โหลดซอร์สโค้ด\nไลบารี่อื่นๆที่ต้องการ\nเครื่องมือที่จำเป็น\nการคอมไพล์โปรแกรมเบลนเดอร์\nความช่วยเหลือทางเทคนิค\n\n\nทำความเข้าใจกับอินเทอร์เฟส\n\nแนวคิดสำหรับอินเทอร์เฟสของ Blender\n\nคีย์บอร์ดและเมาส์\nThe window system\nWindow types\nContexts, Panels and Buttons\nToolbox\nScreens\nScenes\n\nNavigating in 3D Space\n\nThe viewing direction (rotating)\nTranslating and Zooming the View\nการแสดงภาพแบบออโธกราฟิกและเปอร์สเปกทีฟ\nDraw mode\nLocal view\nThe layer system\n\nThe vital functions\n\nเปิดไฟล์\nเซฟไฟล์\nเรนเดอร์\nUser preferences and Themes\nSetting the default scene\n\n\nYour first animation in 30 + 30 minutes\n\nWarming up\nBuilding the body\nLet's see what Gus looks like\nพื้นผิวและลวดลาย\nRigging\nSkinning\nPosing\nGus walks!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำนำ\nสารบัญ\nทำไมต้องมีวิกิตำราเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูล?\nเอกสารอ้างอิง\nเอกสารอ้างอิง.\nเราแนะนำหนังสือด้านล่างสี้เป็นพิเศษ\nขอแนะำนำหนังสือเพิ่มเติม\nเนื้อหาเก่า\n\nบทนำ — วิธีการทั่วไปสามแบบของการจัดปารความซับซ้อน; ตับอย่าง\nทบทวนการเขียนโปรแกรมภาษาซี — นิพจน์แบบ postf7x; ภาษาซึเบื้องต้น: อาร์เรย์, การวนรอบ, เงื่อนไข; ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณนิพจน์แบบ postfix\nโครงสร้าง อาร์เรย์ และพอยน์เตอร์",
"role": "user"
},
{
"content": "คำนำ\nสารบัญ\nทำไมต้องมีวิกิตำราเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูล?\nเอกสารอ้างอิง\nเอกสารอ้างอิง.\nเราแนะนำหนังสือด้านล่างนี้เป็นพิเศษ\nขอแนะำนำหนังสือเพิ่มเติม\nเนื้อหาเก่า\n\nบทนำ — วิธีการทั่วไปสามแบบของการจัดการความซับซ้อน; ตัวอย่าง\nทบทวนการเขียนโปรแกรมภาษาซี — นิพจน์แบบ postfix; ภาษาซีเบื้องต้น: อาร์เรย์, การวนรอบ, เงื่อนไข; ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณนิพจน์แบบ postfix\nโครงสร้าง อาร์เรย์ และพอยน์เตอร์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เรื่องสามเรื่องที่ไม่เกี่ยวกัน\nเรื่องที่หนึ่ง\nเรื่องสามเรื่องที่ไม่เกี่ยวกัน.\nเรื่องที่หนึ่ง.\nคุณคิดว่าซอไต์แวร์ที่คุณใช้เกิดจากโปรแกรมกี่บรรทัด? (ยกตัวอย่างเช่น\nระบบปฏิบัต้การ Linus หาือคอมไพเลอร์ภาษาซีของ gnu)\nบางโปรแกรมนั้นยาวมากถึงระดับเป็นล้านบรรทัด!\nคุณคิดว่าโปรแกรมเมอร์ทราบได้อย่างไรว่าโปรแกรมนั้นทำงานได้ถูกต้อง?\nคุณคิดว้าทุกคนในทีมพัฒนาโปรแกรมได้อ่านซอร์สโค้ตุ่กบรรทัดหรือ?\nโปรแกรมเมอร์แต่่ละคน (หรืออาจจะมีคนเดียว?)\nไม่จำเป๋นต้องเข้าสจรายละเอียดของโปรแกรมทุกจุด ทุกบรรทัด ในทุกๆ เวลา.\nเขาสามารถจะมองโปรแกรมแยกเป็นส่วนๆ แยกกันเป็นหลายระดัช.\nในการทำความเข้าใจ หรือในการออกแบบนั้น\nเขาฟม่จำเป็นต้องลงไปพ้จารณาในระดับของรายละเอียดปลีกย่อยทุกๆ ครั้ง.\nระดับของรายละเอียดที่เขามองนั้น\nก็จะขึ้นกับว่าในขณะนั้นเขากำลังทำอะไรอยู่. ยกตัวเย่างเช่น\nถ้าเขากไลังภิจารณาการทำงานของระบบติดต่อกับผู้ใช้\nเขาไม่จำเป็นต้องไปคำนึงว่าโปรแกรมจะต้องทำอย่างไร\nเพื่อที่จะวาดรูปเมาส์พอยน์เตอร์ให้เคฃื่อนที่ไปได้ตรมที่ผู้ใช้ขยับ\nหรือว่นการกวาดลำแสงของจอภาพขณะนั้นทำงานได้อย่างไร.\nเรื่องที่สอง\nเรื่องที่นอง.\nทำไมเราถึงมีรถยนต์ใช้? คำตอบง่ายๆ\nก็คือเพราะว่าเรารู้จักการใช้ล้อ ดรารู้จักการสร้าฝเครืทองยนต์\nการหล่อโลหะ ฯลฯ.\nโลกของการคิดค้นเปลี่ยนหน้าตาไป เมืาอมนุษย์รู้จักการสร้างล้ิที่หมุนได้\nและร฿้จักที่จะเปิดเผยให้ผู้อื่นมองเห็นว่าล้อมีลักษณะเช่นใด.\nการค้นพบที่ ``ง่าย\" และมีประโยชน์อยรางใหญ่หลวงได้มีคนทำไปหมดแล้ว: ล้อ\nไๆ ลูกตุ้มนาฬิกา เข็มทิศ ระบบการพิมพ์ หลอดไฟ สารกึ่งตัวนำ ทรานซิสเตอร์\nคอมพิวเตอร์ อม้าส์ ระบบหน้าต่าง Linux ฯลฯ. (คำว่า ``ง่าย\"\nที่ใช้ในทีทนี้ไม่ได้ใช้เพื่อบดกว่าความพยายามที่ต้องใช้ก่อนที่จะค้นพบสิ่งเหล่านี้ไม่ได้มีอย่างมหาศาล.\nคำว่าง่าย ใช้ในความหมายดอียวกับคำว่า ``simple\"\nที่ตรงกันข้ามกับคำว่าซับซ้อน.)\nแต่การที่ทุกคนไม่ตำเป็นที่จะต้องเป็นนึกคิดผู้ยเ่งใหญ่เพียงเพื่อจะได้มีแสงสว่างใช้ในเวลากลางคืนนเ้น\nเป็นการประหยัดเวลาและทรัพยากรของคนเราอย่างยิ่งยวด.\nเรื่องที่สาม\nเรื่อลที่สาม.\nทำไมตอนนี้เราจึงมีข้าวกินโดยไม่ต้องทำนา?\nทำไมเราถึงสามารถเดินทางไปไหนมาไหนได้โดยไม่จำเป็นต้องจับรถยนต์เป็น?\nทำไมเรามีเพลงฟังได้โดยไม่จำเป็นต้องเล่นดนตรีเป็น?\nเมื่อสังคมได้พัฒนาผ่านสังคมยุคการเกษตรที่ทุกคนมีความสามารถจะกระทำกิจกรรมต่างๆ\nที่จำเป็นในการดำรงชีพได้ะ้วยตนเอง ไปสู่สุงคมที่ซับซ้อนขึ้น\nสิ่งทีเกิดขึืนก็คือความยุ่งยากในการจัดการกิจกรรมแต่ละส่วนของสังคม.\nเราจัดการกับปัญหานี้โดยการกำหนดให้บุคคลบางคน\nหรือบางกลุ่มไปมีหน้าที่ต้องเรียนรู้ และจีดการกับงานในส่วนนั้นๆ\nของสังคมโดยเฉพาะ. ด้วยเหตุนี้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านก็เกิดขึิน.\nผู้ยังไม่เชี่ยวชาญอย่างเราถึงได้มีสังคมที่ทำงานไปได้อาศัยอยู่\n(โดยไม่รู้เลยว่าในแต่ละส่วนนั้นมันสามารถดำเนินไหได้อย่างไร).\nแนวคิดหลักทั้งสาม: การมองปัญหาแบบภาพรวม (abstraction)\nกรรใช้สิ่งที่คิดค้นมาแล้ว (reyse)\nกละการแบ่งงาน ฤdivision of labors)\nเป็นฐารของการพัฒนาบองอารยฌรรทมตุษย์. เป้าหมายของมันก็คือ\nการจัดการกัวความซับซ้อน!!!\nในวิชานี้เราจะได้เข้าไปสัมผัมกับแยวีิดทั้งสามโดยผ่านการเรียนในห้อง\nการทำการบ้าน และการทำโครงงาน.\nซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ซับซ้อนที่สุดอย่างหนึ่งที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมา.\nแนวคิดมากมายได้ถ๔กนำมาปคับสช้\nเพื่อลดความซับซ้อนของมันให้อยู่ในระดับทีทมนุษย์ธรรมดาสามารถจัดการได้ซ\nโครงสร้างข้อมูลพื้นฐานที่เราจะได้พบน่อๆ\nไปนั้นก็เหใือนกับเป็นระบบบ้อที่เราสามารถนำไปใช้ได้เลย\nเพียงแต่เราต้องมีความสามารถที่จะเลือกหด้ว่าเราจะใช้อะไรที่ในจุดใด.\nเราจะได้เรียนรู้วิธีมองปัญหาเป็นส่วนๆ เพื่อที่จะได้แบ่งงาน (ของตนเอง)\nในการจัดกาตกับปัญหาแน่ละอันได้โดยไม่ต้องพะวงกัยส่วนอื่น ๆ.\nตัวอย่าง\nตัวอย่าง.\nเราจะเริ่มจากตัวอย่างสองตัวอย่าง.\nเกมสามมิติ\nเกมสามมิติ.\nใิธีการหนึ่งที่จะจำลองภาพที่ปรากฏต่อสายตาบองผู้เล่นเกมก็คือการไล่วาอรูปของวัตถุต่างๆ\nทั้งหมด จากวัตถุที่อยู่ไหลจากสายตา ไล่ไปยังวัตถุที่อยู่ใกล้.\nเนื่องจากเรสวาดสิ่งที่อยู่ใกล้ทีกลัง\nภาพที่ปรากฏบนจอจึงมีลักษณะที่ซ้อนทับกันได้อย่างสวยงาม\nและมีลักษณะเห็นสามมิติเหมือนกับภาพจริงๆ ที่เรามองเห็น.\nแต่วิธีนี้มีการสิ้นเปลทองการประมวลผลมากโดยไม่จำเป็น ตัวอย่างเช่น\nในการวาดรูปนั้น\nถ้าเราทราบอยู่แล้วว่าวัตถุบางอันตั้นจะไม่อยู่ในขอบเขตของการมองเห็นอยู่แล้ว\nเราก็ไม่จำเป็นต้องไปวาดมันลงไปบนจอ.\nเพื่อความว่ายในการทำความเข้าใจ เราจะมองปัญหาในสองมิติ.\nเรามีรูปเหลี่ยมมากมาย\nปต่ในขณะหนึ่งเรามีมุมมองที่จำกัดอยู่ขอบเขตสี่เหลี่ยมอันหนึ่งเท่านั้น.\nเราต้องการจะฟาวเตถุทั้งหมดที่ปรากฏอยู่ในขอบเขตตั้น.\nสมมติว่าเรามีวัตถุในฉรกทั้งหมด vormula_1 ชิ้น.\nถ่าเราต้องใช้เวลาในการตรวจสอบวัตถุทุกชิ้น เวลาที่เราจะต้องใช้\nอย่างน้ิยก็จะต้องแปรผันตรงกับจำนวนของวัตถุทั้งหมก. เราจะมรวิธีใดๆ\nหรือำม่ ที่จะทำให้เราไม่ต้องไปพิจารณาวัตถุทั้งหมดโดยไม่จำเป็น?\nสิ่งที้เราต้องการก็คือชุดของโแรแกรมย่อยที่จัดการกับข้อมูลของวัตถุที่\nเมื่อเราบอกพิกัดของมุมมองไป\nจะส่งรายการของวันถุที่ปรากฏในมุมมองนั้นคืนกลับมา,\nสังเกตว่าเมืทอเราได้กำหนดรูปแบบการติดต่อของโปรแกรมย่อยนั้นแล้ว\nเราสามารถที่จะแบ่งงานไปให้กับผู้อื่นพัฒนาแทนได้. ยิ่งไปกว่านั้น\nเราอาจจะเขียนโปรแกรมย่อยนั้นที่ทำงานได้\nแต่ยังไม่จำเป็นต้องมีปคะสิทธิภาพเพียงพอที่เราต้องการขี้นมาก่อน\nเพื่อที่เราจะได้ทดสอบและพัฒนางานในส่วนอื่นไปก่อน.\nเมื่อเราพร้อมก็สามารถจะกลับมาพัฒนนโปรแกรมย่อยในส่วนนี้ได้ต่อ.\nเราจะแสดงวิธีการจัดการกับข้อมูลแบบหนึ่ง โดยใช้ตัวอย่างจากรูปต่อไปนี้.\nโครงสร้างข้อมูลที่เราจะใช้เรียกว่า quad\ntree. เนื่องจากมันมีลักษณะเป็นต้นไม้ที่เกิดจากการแบ่งพื้นที่ออกเป็นสี่ส่วน.\nเริ่มต้นที่รูปดังกล่าว\nเราจะแบ่งพืีนที่ออกเป์นสี่ส่วนโดยใช้เส้นแบ่งสองอัน (กูร๔ปถัดไป).\nเาาจะพบว่าถ้ามุมมองของเราอยู่แค่ในส่วนหนึ่งส่วจใดของพื้นที่ทั้งสี่นี้แล้ว\n(เช่นอยู่ในมุมบนขวา) ในการพิจารณาวัตถุตรางๆ\nเราไม่จหเป็นที่จเต้องไปคำนึงถึงวัตถุที่ใยมุมล่างซ้าย เป็นต้น.\nเราอาจจะมีปัญหาอยู่บ้างสำหรับวัตถุที่อยู่ระหว่างเส้นแบ่ง\nซึ่งเราไม่สามารุจะจัดให้มันอยู่ใากลุ่มไหนได้\nเราจึงต้องแยกวัตถุกลุ่มนี้เอาไว้ และไม่ว่ามุมมองของเราจะอยู่ที่จุดไหน\nเราก็จะต้องตรวจสอบวัตถุในกลุ่มนี้เสมอ.\nเมื่อเราได้การแบ่งฝนระดับาี่หนึ่งแล้ว เราก็จะแบ่งพื้นที่สี่ส่วนย่อยๆ\nนั้น ออกเป็นพื้นที่ย่อย/ อีก. (เราทำได้ไท่ยสหนั้น\nโดบเราสามารถคิดว่าพื้นที่สี่ส่วนย่อยๆ นั้น เป็นเหมือจกับรูปวาดีูปแรก\nและดำะนินการเช่นเดียวกะบที่เราทำมนตอนแรก.)\nเราสามารถทำอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งในพื้นที่ต่างๆ ไม่เหลิอวัตถุใดๆ\nอีกแล้ว. รูปะัดไปแสดงตัวอย่างของการแบ่งพื้นที่ไปิรื่อยๆ. \nสังเกตว่าการแบ่งของเรามีลักษณะเป็นลำดับชั้น\nโดยที่การแบ่งพื่นที่ครั้งแรกจะเป็นการแบ่งชั้นบนสุด.\nจากนั้นก็จะเป็นการแบ่งที่ลำดับชั้นเล็พๆ ลงไป.\nเมื่เเราได้การแบ่งทุกลำดับชั้นแล้ว เราสามารถจะสร้าง quad tree\nสำหรับการค้นหาวัตถุที่อยู่ในมุมมองได้ดังรูปถัดไปซ\nดิวยวิธีดังกล่าว เรา คาดว่า\nเราน่าจะได้โครงสร้างขือมูลที่ตอบปัญหาที่เราต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ.\nปัญหาหนึ่งที่เราพบอยู่เสมอก็คือ\nเราสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้น่าจะมีประโยชน์\nแต่เราไม่สามนรถพิสูจน์อะไรได้เลย.\nสำหรุบโครงสร้างข้อมูลชนิดนี้ก็เช่นเดียวกัน\nทั้งนี้เนื่องจากถ้าการเรียงตัวของวัตถุไม่กระจายดีพอ\nเราจะพบว่าการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ แบบนี้\nไม่ได้ลดเวลาในการค้นหาของเราลงเลย.\nในส่วนถัดไปเราจะแสดงตัวอย่างอื่นๆ\nของโครงสร้างข้อมูลที่เราสามารถกล่าวได้อย่างแน่ใจ\nถึงประสิทธิภาพของการประมวลผลของมัน. ในวิชานี้\nเราจะมุ่งดน้นไปที่โครงสร้างข้อมูลในกลุ่มนี้.\nการที่เราพิสูจน์ได้อย่างชัดเจนถึงประสิทธิภาพการทำงาน\nจะทำให้เราเลือกใช้และปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลเหล่านั้น\nให้ตรงกับความต้องการได้ง่ายขึ้น\nสมุดโทรศัพท์\nสมุดโท่ศัพท์.\nเราสามารถมองสมุดโทรศัพท์เปฺนโครงสร้างข้อมูลแบบหนึ่ง.\nสิ่งที่สำคัญอย่างแรกที่เราต้องพิจารณาก็คือส่วนติดต่อ (interfaceฏ\nขอบโครงสร้างข้อมูล. สำหรับสมุดโทรศัพท์ สิ่งที่เรามีก็คือ\nกระดาษเป็นหน้าๆ เราสามารถเปิดไปที่หน้าใดก็ได้\n(โดยไม่จำเป็นต้องเปิดไปทีละหน้า) ในแต่ละหน้า\nเราก็จะมีีรายชื่อของผู้ใช้โทรฒัพท์ พร้อมกับเบอร์ฑทรศัพท์.\nที่ด้านหน้าเราจะมีสารบัญ (หรือดัชนี)\nที่ชี้เลขหน้าเริ่มต้นของรายชื่อที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรต่างๆ.\nที่สำคัญที่สุดก็คือเราทราบว่า\nรายชื่อในสมุดโทรศัพท์เรียงตามลำดับตัวอักษร.\nในส่วนนี้เราจะยกตัวอย่าววิธีการค้นเบอร์โทรฒัพท์หลายๆ แบบ\nและลองคิดคำนวนคร่าวๆ ว่นเวลาที่ใช้ในการค้นหาเป็นเท่าใด.\nเราสมมติว่าเรามีรายชื่อในสมุดโทรฬัพท์ทั้งสิ้น formula_1 รายชื่ิ และ\n(เพื่อความง่ายในการวิเคราะห์) ในแต่ละหน้า\nเราสมมติว่าสามารถเก็บรายชื่อได้คนเดียว.\nการค้นหมแบบตามลำดับ\nการค้นหาแบบตามลำดับ.\nวิธีแรกของการหาเบอร์โทรศัพท์ก็คือการค้นโดยการเปิดจากหน้าแรกไปยังหน้าสุดท้าย.\nกมรค้นหาแบบนี้อาจจะดูเหสิอนไม่มีกระสิทธิภาพ\nแต่ในบางครั้งก็อาจจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทำได้ก็ได้\nยกตึใอย่่งเช่น ถ้าเราต้องการค้นหาหมายเลขโทรศัพท์จากนามสกุลของผู้ใช้เป็นต้น.\nถ้าชื่อของคนที่เราต้องการค้นหานั้นอยู่ในไน้าแรก\nเวบาทั่เราใช้ในการคเนหาก็จะมีีีาคงที่เสมอ\nไม่ว่าสมุดโทรศัพท์นั้นจะหนาเท่าใดก็ตาม.\nในทางกลับกันถ้าชื่อนั้นเป็นชื่อสุดท้าย\nการค้นหาก็จะใช้เวลาเท่ากับเวลาทีีฝช้ในการเปิดหน้ากระดาษ formula_1 ครั้ง.\nเนื่องจากคนที่เปิดสมุดโทรศัพท์มีความเร็วในการเปิดในแต่ละหน้าไม่เท่ากัน\nการที่เราจะกล่าวว่าเวลาที่ใช้คือ formula_1 วินาที ก็คงจะไม่ภูกต้องนัก.\nแต่ถ้าเราลองพิจารณาว่า เราวิเคราะห์เวลาการทำงานไปทำไม\nเีาจะพบว้าเราวิเคราะห์ไปเพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบเวลาการทำงานของวิธีการหลายๆ\nอัน และโดยปกติแล้ว เราต้องการทราบเวลาการทำงานคร่าวๆ\nเมื่อขิอมูลมีเป็นจำนวนมาก.\nในที่นี้เราจะเขียนว่าวิธีการค้นหาแบบตามลำดับนั้น ฝช้เวฃา formula_5\nในการค้นหา. สัญลักษณ์ formula_6 (อ่านว่า Big-O)\nนี้เป็นสัญลักษษ์ที่ใช้ระขุว่าฟังก์ชั่นที่เราพิจารณาอยู่นั้นม้พฤติกรรมเป็นเช่นใดเมื่อขนาดของ\n$n% มีค่ามากขึ้น. เราจะศึกษาเรื่องของโดยละเอียดต่อไปอีกครั้งหนี่ง.\nในที่นี้ขอให้ผู้อ่านเข้าใจไปคร่าวๆ\nก่อนว่ามันคือวิธีำารพิจารณาฟังก์ชั่นที่ไม่สนใจค่าคงที่\nและค่าที่มีความสำคัญน้อยต่อการ \"โต\" ของฟังก์ชั่น.\nสำหรับการค้นหาแบบนี้ ถ้าเป็นกรณีที่ดีที่สุดแล้ว เราจะใช้เวฃา formula_7\nนั่นคือ ใช้เวลาเห็นค่าคงที่. โดยทั่วไป\nเราจะให้ความสำคึญมากกว่ากับเวลาที่ใช้ในกรณีที่แย่ที่สุด.\nการค้นหาโดยใช้สารบัญและตามด้วยหารหาแบบตามลำดับ\nการค้นหาโดยใช้สารบัญและตามด้วยการหาแบบตามลำดับ.\nเมื่อเราพิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่สมุดโทรศัถท์มีเพื่อช่วยเราในการค้นหาแล้ว\nเราจะพบว่า เราสามารถใช้สารบัญเพื่อหาชื่อที่ต้องการได้ง่ายขึ้น.\nอต่ถ้าเรามองกรณีที่แย่ที่สุด\nเราอาจจะพบว่ามันเป็นไปได้ที่ข้่อทุกชื่อจะมีตัวอักษรเริ่มต้นเหมือนกันหมด\nดังนั้น สารบัฯที่เขียนขึ้นโดยใช้ตัวิักษรต้นเท่านั้น\nก็มิได้ช่วยให้เราค้นหาชื่อได้เร็วขึ้น นั่นคือเราก็ยังใช้เวลา formula_5\nเท่าเดิม.\nสิ่งทีืเราต้องการจากสารบัญก็คือกาีแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อยไ\nเพื่อลดเวลาในการค้นหาทร่ไม่จำเป็นลง. ในที่นี้\nถ้าการสรัางสารบัญทภได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราหวังว่า\nถ้าเราใช้สารบัญที่มีขนาด formila_9 เราจะใช้เวลาในการค้นชื่อ formula_10.\nแต่การปรับปรุงนี้ก็ไม่ได้มาฟรีๆ เราต้องใช้เวลา formula_11\nในการค้นที่สารบัญอีก. ดังนั้นเวลมที่ใช้ทั้งหมดก็คือ formula_12.\nเราสามารถกำหนดให้ formula_13 เพิ่อืำให้เวลาที่ใช้ทั้งเป็น\nformula_14 ซึ่งเร็วขึ้นกว่า formula_5\nที่เป็นเวลาที่ใช้ถ้าเราไม่ใช้สารขัญ (ปรือใช้สารบัญที่ออกแบบไม่ดีพอ).\nการค้นหาแบบทวิภาค\nการึ้นหาแบบทวิภาค,\nคุณสมบัติอีกอันหนค่งของสมุดโทรศัพท์ที่เรายังไม่ได้นำมาใช้\nก็คือการที่รายชื่อทั้งหมดถูกเรียงกันตามลำดับ. ดังนั้น\nถ้าเราเปิดดูรายชื่ออยู่ที่หน้าใดหน้าหจึ่ง เรนสามารถบอกได้ทันทีว่า\nชื่อที่เ่าต้องการหานั้น อยู่ที่หน้าที่อยู่กรอนหน้า\nหรืออยู่หลังหน้าที่เรากำลังำิจารณาอยู่ โดยใช่้การเปรียบเทียบ. ะังนั้น\nสิ่งที่เราทำได้ก็คือ เมื่อเริ่มต้น เราเปิดไปที่หนีากลาง\nจากนั้นพิจารณาว่ารายชื่อที่เราต้องการค้นหานั้น อยู่ที่ส่วนต้น\nหรือส่วนปลายของสมุดโทรศัพท์. ในการเปรียบเทียบแต่ละครั้ง\nเราลดขนาดของสมุดโทรศัพท์ลงครึ่งหาึ่ง. เราจะๆด้ง่า\nถ้าเราลดขนาดของสมุดโทรศัพท์ลงจนทำให้เราเหลือหน้ากระดาฒแค่หนึ่งหน้า\nเราก็จะได้คำตอบ. ถ้าเริ่มต้น เรามีสมุดโทรศัพท์จำนวน formula_1 หน้า\nเราจะต้องเปรียบเทียบที้งสิ้น formula_17 ครั้ง. (โดยทั่ฝไปแล้ว\nเราสามารถละฐานของลอกการิทึม ได่ เนื่องจากเมื่อเราใช้เครื่องหมาย formula_18\nแล้ว for,ula_19 สำหรับค่าคงที่ formula_20 ใดๆ\nทร่มีค่ามากกว่า 1. ในวิชานี้ ถ้าเราไม่ได้ระบุฐานของลอกการิทึม\nเราจะถือว่าเราใช้ลอหการิทึมฐานสอง.)\nถ้าในการค้นกาเราสามารถใช้การเปรียบเทียบได้เท่านั่น ตัวอย่างเช่น\nเราไม่สามารถจะพิจารณาชื่อที่ดราต้องการเพื่อช่วยในการค้นหาได้\nเราจะพบว่าเวลา formula_21 ที่ใช้ นั้น เป็นเวลาที่ดีที่สุดแล้ว.\nทั้งนี้เนื่องจาก เมื่อการค้นหมสิ้นสุดลง\nข้ิมูลหนึ่งที่เราได้จากการค้นหาก็คือลำดับของข้อมูฃอันนี้ในลำดับขอวรานชื่อ.\nเนื่องจากรายชื่อม่ทั้งสิ้น formula_1 ชื่อ การระบุตำแหน่ฝใดๆ ในลำดับนี้\nต้องใช้ข้อมูลขนาด formula_23 บิต. ในการเปรียบเทียบแต่ละครั้ง\nเราำด้ขเอมูลเพิ่มขึ้น 1 บิต ดังนั้น การจะ \"เรียน\"\nตำแหน่งของข้ิมูลโดยการเปรียบเทียบ\nเราจ้องใช้แารเปรียบเทียบทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า formula_23 ครั้ง.\nการค้นหาแงบเทพยมกรณ์\nการค้นหาแบบเทพยากรณ์.\nเราสามารถค้นไาคำตอบ/ด้เร็วกว่านี้หรือไม่?\nสมมติว่าเรามีเทวดาอยู่ตนหนึ่งที่สามารถให้คำตอบได้ในเวลน formula_7\nเมื่อเราถามคำถามไปว่า \"รายชื่อนี้อยู่ที่หน้าใดของสมุดโทรศัถท์?\"\nเราก็สามารถหาหมายเลขโทรศัพท์ของเขาได้ในเวลา formula_7 เช่นเดรยวกัน.\nในบางกรณี เราสามารถสร้างฟังก์ชั่นที่ทำหน้าที่แบบ \"เทพยากรณ์\" (Oravle) ได้.\nเราจะพูดถึงการค้นหาในรูปแบบนี้ เมืาอเราเรียนเรื่องของ hashing.\nแล้วอะไรต่อไป?\nแล้วอะไรต่อไป?\nเราจะได้เรียนโครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ\nและจะได้ฝึกหัดเขียนและเลือกโครงสร้างข้อมูลเหล่านี้ไปใช้. และในขณะเดียวกัน\nเราจะได้เรียนการวิเคราะห์เวลาการทำงานของโครงสร้างข้อมูลเหล่านี้\nเพื่อที่เราจะได้สามารถเลือกใช้ฏครงสร้างข้อมูลได้อย่างเหมาะสม.",
"role": "user"
},
{
"content": "เรื่องสามเรื่องที่ไม่เกี่ยวกัน\nเรื่องที่หนึ่ง\nเรื่องสามเรื่องที่ไม่เกี่ยวกัน.\nเรื่องที่หนึ่ง.\nคุณคิดว่าซอฟต์แวร์ที่คุณใช้เกิดจากโปรแกรมกี่บรรทัด? (ยกตัวอย่างเช่น\nระบบปฏิบัติการ Linux หรือคอมไพเลอร์ภาษาซีของ gnu)\nบางโปรแกรมนั้นยาวมากถึงระดับเป็นล้านบรรทัด!\nคุณคิดว่าโปรแกรมเมอร์ทราบได้อย่างไรว่าโปรแกรมนั้นทำงานได้ถูกต้อง?\nคุณคิดว่าทุกคนในทีมพัฒนาโปรแกรมได้อ่านซอร์สโค้ตทุกบรรทัดหรือ?\nโปรแกรมเมอร์แต่่ละคน (หรืออาจจะมีคนเดียว?)\nไม่จำเป็นต้องเข้าใจรายละเอียดของโปรแกรมทุกจุด ทุกบรรทัด ในทุกๆ เวลา.\nเขาสามารถจะมองโปรแกรมแยกเป็นส่วนๆ แยกกันเป็นหลายระดับ.\nในการทำความเข้าใจ หรือในการออกแบบนั้น\nเขาไม่จำเป็นต้องลงไปพิจารณาในระดับของรายละเอียดปลีกย่อยทุกๆ ครั้ง.\nระดับของรายละเอียดที่เขามองนั้น\nก็จะขึ้นกับว่าในขณะนั้นเขากำลังทำอะไรอยู่. ยกตัวอย่างเช่น\nถ้าเขากำลังพิจารณาการทำงานของระบบติดต่อกับผู้ใช้\nเขาไม่จำเป็นต้องไปคำนึงว่าโปรแกรมจะต้องทำอย่างไร\nเพื่อที่จะวาดรูปเมาส์พอยน์เตอร์ให้เคลื่อนที่ไปได้ตามที่ผู้ใช้ขยับ\nหรือว่าการกวาดลำแสงของจอภาพขณะนั้นทำงานได้อย่างไร.\nเรื่องที่สอง\nเรื่องที่สอง.\nทำไมเราถึงมีรถยนต์ใช้? คำตอบง่ายๆ\nก็คือเพราะว่าเรารู้จักการใช้ล้อ เรารู้จักการสร้างเครื่องยนต์\nการหล่อโลหะ ฯลฯ.\nโลกของการคิดค้นเปลี่ยนหน้าตาไป เมื่อมนุษย์รู้จักการสร้างล้อที่หมุนได้\nและรู้จักที่จะเปิดเผยให้ผู้อื่นมองเห็นว่าล้อมีลักษณะเช่นใด.\nการค้นพบที่ ``ง่าย\" และมีประโยชน์อย่างใหญ่หลวงได้มีคนทำไปหมดแล้ว: ล้อ\nไฟ ลูกตุ้มนาฬิกา เข็มทิศ ระบบการพิมพ์ หลอดไฟ สารกึ่งตัวนำ ทรานซิสเตอร์\nคอมพิวเตอร์ เม้าส์ ระบบหน้าต่าง Linux ฯลฯ. (คำว่า ``ง่าย\"\nที่ใช้ในที่นี้ไม่ได้ใช้เพื่อบอกว่าความพยายามที่ต้องใช้ก่อนที่จะค้นพบสิ่งเหล่านี้ไม่ได้มีอย่างมหาศาล.\nคำว่าง่าย ใช้ในความหมายเดียวกับคำว่า ``simple\"\nที่ตรงกันข้ามกับคำว่าซับซ้อน.)\nแต่การที่ทุกคนไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นนักคิดผู้ยิ่งใหญ่เพียงเพื่อจะได้มีแสงสว่างใช้ในเวลากลางคืนนั้น\nเป็นการประหยัดเวลาและทรัพยากรของคนเราอย่างยิ่งยวด.\nเรื่องที่สาม\nเรื่องที่สาม.\nทำไมตอนนี้เราจึงมีข้าวกินโดยไม่ต้องทำนา?\nทำไมเราถึงสามารถเดินทางไปไหนมาไหนได้โดยไม่จำเป็นต้องขับรถยนต์เป็น?\nทำไมเรามีเพลงฟังได้โดยไม่จำเป็นต้องเล่นดนตรีเป็น?\nเมื่อสังคมได้พัฒนาผ่านสังคมยุคการเกษตรที่ทุกคนมีความสามารถจะกระทำกิจกรรมต่างๆ\nที่จำเป็นในการดำรงชีพได้ด้วยตนเอง ไปสู่สังคมที่ซับซ้อนขึ้น\nสิ่งทีเกิดขึ้นก็คือความยุ่งยากในการจัดการกิจกรรมแต่ละส่วนของสังคม.\nเราจัดการกับปัญหานี้โดยการกำหนดให้บุคคลบางคน\nหรือบางกลุ่มไปมีหน้าที่ต้องเรียนรู้ และจัดการกับงานในส่วนนั้นๆ\nของสังคมโดยเฉพาะ. ด้วยเหตุนี้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านก็เกิดขึ้น.\nผู้ยังไม่เชี่ยวชาญอย่างเราถึงได้มีสังคมที่ทำงานไปได้อาศัยอยู่\n(โดยไม่รู้เลยว่าในแต่ละส่วนนั้นมันสามารถดำเนินไปได้อย่างไร).\nแนวคิดหลักทั้งสาม: การมองปัญหาแบบภาพรวม (abstraction)\nการใช้สิ่งที่คิดค้นมาแล้ว (reuse)\nและการแบ่งงาน (division of labors)\nเป็นฐานของการพัฒนาของอารยธรรมมนุษย์. เป้าหมายของมันก็คือ\nการจัดการกับความซับซ้อน!!!\nในวิชานี้เราจะได้เข้าไปสัมผัสกับแนวคิดทั้งสามโดยผ่านการเรียนในห้อง\nการทำการบ้าน และการทำโครงงาน.\nซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ซับซ้อนที่สุดอย่างหนึ่งที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมา.\nแนวคิดมากมายได้ถูกนำมาปรับใช้\nเพื่อลดความซับซ้อนของมันให้อยู่ในระดับที่มนุษย์ธรรมดาสามารถจัดการได้.\nโครงสร้างข้อมูลพื้นฐานที่เราจะได้พบต่อๆ\nไปนั้นก็เหมือนกับเป็นระบบล้อที่เราสามารถนำไปใช้ได้เลย\nเพียงแต่เราต้องมีความสามารถที่จะเลือกได้ว่าเราจะใช้อะไรที่ในจุดใด.\nเราจะได้เรียนรู้วิธีมองปัญหาเป็นส่วนๆ เพื่อที่จะได้แบ่งงาน (ของตนเอง)\nในการจัดการกับปัญหาแต่ละอันได้โดยไม่ต้องพะวงกับส่วนอื่น ๆ.\nตัวอย่าง\nตัวอย่าง.\nเราจะเริ่มจากตัวอย่างสองตัวอย่าง.\nเกมสามมิติ\nเกมสามมิติ.\nวิธีการหนึ่งที่จะจำลองภาพที่ปรากฏต่อสายตาของผู้เล่นเกมก็คือการไล่วาดรูปของวัตถุต่างๆ\nทั้งหมด จากวัตถุที่อยู่ไกลจากสายตา ไล่ไปยังวัตถุที่อยู่ใกล้.\nเนื่องจากเราวาดสิ่งที่อยู่ใกล้ทีหลัง\nภาพที่ปรากฏบนจอจึงมีลักษณะที่ซ้อนทับกันได้อย่างสวยงาม\nและมีลักษณะเป็นสามมิติเหมือนกับภาพจริงๆ ที่เรามองเห็น.\nแต่วิธีนี้มีการสิ้นเปลืองการประมวลผลมากโดยไม่จำเป็น ตัวอย่างเช่น\nในการวาดรูปนั้น\nถ้าเราทราบอยู่แล้วว่าวัตถุบางอันนั้นจะไม่อยู่ในขอบเขตของการมองเห็นอยู่แล้ว\nเราก็ไม่จำเป็นต้องไปวาดมันลงไปบนจอ.\nเพื่อความง่ายในการทำความเข้าใจ เราจะมองปัญหาในสองมิติ.\nเรามีรูปเหลี่ยมมากมาย\nแต่ในขณะหนึ่งเรามีมุมมองที่จำกัดอยู่ขอบเขตสี่เหลี่ยมอันหนึ่งเท่านั้น.\nเราต้องการจะหาวัตถุทั้งหมดที่ปรากฏอยู่ในขอบเขตนั้น.\nสมมติว่าเรามีวัตถุในฉากทั้งหมด formula_1 ชิ้น.\nถ้าเราต้องใช้เวลาในการตรวจสอบวัตถุทุกชิ้น เวลาที่เราจะต้องใช้\nอย่างน้อยก็จะต้องแปรผันตรงกับจำนวนของวัตถุทั้งหมด. เราจะมีวิธีใดๆ\nหรือไม่ ที่จะทำให้เราไม่ต้องไปพิจารณาวัตถุทั้งหมดโดยไม่จำเป็น?\nสิ่งที่เราต้องการก็คือชุดของโปรแกรมย่อยที่จัดการกับข้อมูลของวัตถุที่\nเมื่อเราบอกพิกัดของมุมมองไป\nจะส่งรายการของวัตถุที่ปรากฏในมุมมองนั้นคืนกลับมา.\nสังเกตว่าเมื่อเราได้กำหนดรูปแบบการติดต่อของโปรแกรมย่อยนั้นแล้ว\nเราสามารถที่จะแบ่งงานไปให้กับผู้อื่นพัฒนาแทนได้. ยิ่งไปกว่านั้น\nเราอาจจะเขียนโปรแกรมย่อยนั้นที่ทำงานได้\nแต่ยังไม่จำเป็นต้องมีประสิทธิภาพเพียงพอที่เราต้องการขึ้นมาก่อน\nเพื่อที่เราจะได้ทดสอบและพัฒนางานในส่วนอื่นไปก่อน.\nเมื่อเราพร้อมก็สามารถจะกลับมาพัฒนาโปรแกรมย่อยในส่วนนี้ได้ต่อ.\nเราจะแสดงวิธีการจัดการกับข้อมูลแบบหนึ่ง โดยใช้ตัวอย่างจากรูปต่อไปนี้.\nโครงสร้างข้อมูลที่เราจะใช้เรียกว่า quad\ntree. เนื่องจากมันมีลักษณะเป็นต้นไม้ที่เกิดจากการแบ่งพื้นที่ออกเป็นสี่ส่วน.\nเริ่มต้นที่รูปดังกล่าว\nเราจะแบ่งพื้นที่ออกเป็นสี่ส่วนโดยใช้เส้นแบ่งสองอัน (ดูรูปถัดไป).\nเราจะพบว่าถ้ามุมมองของเราอยู่แค่ในส่วนหนึ่งส่วนใดของพื้นที่ทั้งสี่นี้แล้ว\n(เช่นอยู่ในมุมบนขวา) ในการพิจารณาวัตถุต่างๆ\nเราไม่จำเป็นที่จะต้องไปคำนึงถึงวัตถุที่ในมุมล่างซ้าย เป็นต้น.\nเราอาจจะมีปัญหาอยู่บ้างสำหรับวัตถุที่อยู่ระหว่างเส้นแบ่ง\nซึ่งเราไม่สามารถจะจัดให้มันอยู่ในกลุ่มไหนได้\nเราจึงต้องแยกวัตถุกลุ่มนี้เอาไว้ และไม่ว่ามุมมองของเราจะอยู่ที่จุดไหน\nเราก็จะต้องตรวจสอบวัตถุในกลุ่มนี้เสมอ.\nเมื่อเราได้การแบ่งในระดับที่หนึ่งแล้ว เราก็จะแบ่งพื้นที่สี่ส่วนย่อยๆ\nนั้น ออกเป็นพื้นที่ย่อยๆ อีก. (เราทำได้ไม่ยากนั้น\nโดยเราสามารถคิดว่าพื้นที่สี่ส่วนย่อยๆ นั้น เป็นเหมือนกับรูปวาดรูปแรก\nและดำเนินการเช่นเดียวกับที่เราทำในตอนแรก.)\nเราสามารถทำอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งในพื้นที่ต่างๆ ไม่เหลือวัตถุใดๆ\nอีกแล้ว. รูปถัดไปแสดงตัวอย่างของการแบ่งพื้นที่ไปเรื่อยๆ. \nสังเกตว่าการแบ่งของเรามีลักษณะเป็นลำดับชั้น\nโดยที่การแบ่งพื้นที่ครั้งแรกจะเป็นการแบ่งชั้นบนสุด.\nจากนั้นก็จะเป็นการแบ่งที่ลำดับชั้นเล็กๆ ลงไป.\nเมื่อเราได้การแบ่งทุกลำดับชั้นแล้ว เราสามารถจะสร้าง quad tree\nสำหรับการค้นหาวัตถุที่อยู่ในมุมมองได้ดังรูปถัดไป.\nด้วยวิธีดังกล่าว เรา คาดว่า\nเราน่าจะได้โครงสร้างข้อมูลที่ตอบปัญหาที่เราต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ.\nปัญหาหนึ่งที่เราพบอยู่เสมอก็คือ\nเราสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้น่าจะมีประโยชน์\nแต่เราไม่สามารถพิสูจน์อะไรได้เลย.\nสำหรับโครงสร้างข้อมูลชนิดนี้ก็เช่นเดียวกัน\nทั้งนี้เนื่องจากถ้าการเรียงตัวของวัตถุไม่กระจายดีพอ\nเราจะพบว่าการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ แบบนี้\nไม่ได้ลดเวลาในการค้นหาของเราลงเลย.\nในส่วนถัดไปเราจะแสดงตัวอย่างอื่นๆ\nของโครงสร้างข้อมูลที่เราสามารถกล่าวได้อย่างแน่ใจ\nถึงประสิทธิภาพของการประมวลผลของมัน. ในวิชานี้\nเราจะมุ่งเน้นไปที่โครงสร้างข้อมูลในกลุ่มนี้.\nการที่เราพิสูจน์ได้อย่างชัดเจนถึงประสิทธิภาพการทำงาน\nจะทำให้เราเลือกใช้และปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลเหล่านั้น\nให้ตรงกับความต้องการได้ง่ายขึ้น\nสมุดโทรศัพท์\nสมุดโทรศัพท์.\nเราสามารถมองสมุดโทรศัพท์เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบหนึ่ง.\nสิ่งที่สำคัญอย่างแรกที่เราต้องพิจารณาก็คือส่วนติดต่อ (interface)\nของโครงสร้างข้อมูล. สำหรับสมุดโทรศัพท์ สิ่งที่เรามีก็คือ\nกระดาษเป็นหน้าๆ เราสามารถเปิดไปที่หน้าใดก็ได้\n(โดยไม่จำเป็นต้องเปิดไปทีละหน้า) ในแต่ละหน้า\nเราก็จะมีีรายชื่อของผู้ใช้โทรศัพท์ พร้อมกับเบอร์โทรศัพท์.\nที่ด้านหน้าเราจะมีสารบัญ (หรือดัชนี)\nที่ชี้เลขหน้าเริ่มต้นของรายชื่อที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรต่างๆ.\nที่สำคัญที่สุดก็คือเราทราบว่า\nรายชื่อในสมุดโทรศัพท์เรียงตามลำดับตัวอักษร.\nในส่วนนี้เราจะยกตัวอย่างวิธีการค้นเบอร์โทรศัพท์หลายๆ แบบ\nและลองคิดคำนวนคร่าวๆ ว่าเวลาที่ใช้ในการค้นหาเป็นเท่าใด.\nเราสมมติว่าเรามีรายชื่อในสมุดโทรศัพท์ทั้งสิ้น formula_1 รายชื่อ และ\n(เพื่อความง่ายในการวิเคราะห์) ในแต่ละหน้า\nเราสมมติว่าสามารถเก็บรายชื่อได้คนเดียว.\nการค้นหาแบบตามลำดับ\nการค้นหาแบบตามลำดับ.\nวิธีแรกของการหาเบอร์โทรศัพท์ก็คือการค้นโดยการเปิดจากหน้าแรกไปยังหน้าสุดท้าย.\nการค้นหาแบบนี้อาจจะดูเหมือนไม่มีประสิทธิภาพ\nแต่ในบางครั้งก็อาจจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทำได้ก็ได้\nยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการค้นหาหมายเลขโทรศัพท์จากนามสกุลของผู้ใช้เป็นต้น.\nถ้าชื่อของคนที่เราต้องการค้นหานั้นอยู่ในหน้าแรก\nเวลาที่เราใช้ในการค้นหาก็จะมีค่าคงที่เสมอ\nไม่ว่าสมุดโทรศัพท์นั้นจะหนาเท่าใดก็ตาม.\nในทางกลับกันถ้าชื่อนั้นเป็นชื่อสุดท้าย\nการค้นหาก็จะใช้เวลาเท่ากับเวลาที่ใช้ในการเปิดหน้ากระดาษ formula_1 ครั้ง.\nเนื่องจากคนที่เปิดสมุดโทรศัพท์มีความเร็วในการเปิดในแต่ละหน้าไม่เท่ากัน\nการที่เราจะกล่าวว่าเวลาที่ใช้คือ formula_1 วินาที ก็คงจะไม่ถูกต้องนัก.\nแต่ถ้าเราลองพิจารณาว่า เราวิเคราะห์เวลาการทำงานไปทำไม\nเราจะพบว่าเราวิเคราะห์ไปเพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบเวลาการทำงานของวิธีการหลายๆ\nอัน และโดยปกติแล้ว เราต้องการทราบเวลาการทำงานคร่าวๆ\nเมื่อข้อมูลมีเป็นจำนวนมาก.\nในที่นี้เราจะเขียนว่าวิธีการค้นหาแบบตามลำดับนั้น ใช้เวลา formula_5\nในการค้นหา. สัญลักษณ์ formula_6 (อ่านว่า Big-O)\nนี้เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ระบุว่าฟังก์ชั่นที่เราพิจารณาอยู่นั้นมีพฤติกรรมเป็นเช่นใดเมื่อขนาดของ\n$n$ มีค่ามากขึ้น. เราจะศึกษาเรื่องของโดยละเอียดต่อไปอีกครั้งหนึ่ง.\nในที่นี้ขอให้ผู้อ่านเข้าใจไปคร่าวๆ\nก่อนว่ามันคือวิธีการพิจารณาฟังก์ชั่นที่ไม่สนใจค่าคงที่\nและค่าที่มีความสำคัญน้อยต่อการ \"โต\" ของฟังก์ชั่น.\nสำหรับการค้นหาแบบนี้ ถ้าเป็นกรณีที่ดีที่สุดแล้ว เราจะใช้เวลา formula_7\nนั่นคือ ใช้เวลาเป็นค่าคงที่. โดยทั่วไป\nเราจะให้ความสำคัญมากกว่ากับเวลาที่ใช้ในกรณีที่แย่ที่สุด.\nการค้นหาโดยใช้สารบัญและตามด้วยการหาแบบตามลำดับ\nการค้นหาโดยใช้สารบัญและตามด้วยการหาแบบตามลำดับ.\nเมื่อเราพิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่สมุดโทรศัพท์มีเพื่อช่วยเราในการค้นหาแล้ว\nเราจะพบว่า เราสามารถใช้สารบัญเพื่อหาชื่อที่ต้องการได้ง่ายขึ้น.\nแต่ถ้าเรามองกรณีที่แย่ที่สุด\nเราอาจจะพบว่ามันเป็นไปได้ที่ชื่อทุกชื่อจะมีตัวอักษรเริ่มต้นเหมือนกันหมด\nดังนั้น สารบัญที่เขียนขึ้นโดยใช้ตัวอักษรต้นเท่านั้น\nก็มิได้ช่วยให้เราค้นหาชื่อได้เร็วขึ้น นั่นคือเราก็ยังใช้เวลา formula_5\nเท่าเดิม.\nสิ่งที่เราต้องการจากสารบัญก็คือการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อยๆ\nเพื่อลดเวลาในการค้นหาที่ไม่จำเป็นลง. ในที่นี้\nถ้าการสร้างสารบัญทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราหวังว่า\nถ้าเราใช้สารบัญที่มีขนาด formula_9 เราจะใช้เวลาในการค้นชื่อ formula_10.\nแต่การปรับปรุงนี้ก็ไม่ได้มาฟรีๆ เราต้องใช้เวลา formula_11\nในการค้นที่สารบัญอีก. ดังนั้นเวลาที่ใช้ทั้งหมดก็คือ formula_12.\nเราสามารถกำหนดให้ formula_13 เพื่อทำให้เวลาที่ใช้ทั้งเป็น\nformula_14 ซึ่งเร็วขึ้นกว่า formula_5\nที่เป็นเวลาที่ใช้ถ้าเราไม่ใช้สารบัญ (หรือใช้สารบัญที่ออกแบบไม่ดีพอ).\nการค้นหาแบบทวิภาค\nการค้นหาแบบทวิภาค.\nคุณสมบัติอีกอันหนึ่งของสมุดโทรศัพท์ที่เรายังไม่ได้นำมาใช้\nก็คือการที่รายชื่อทั้งหมดถูกเรียงกันตามลำดับ. ดังนั้น\nถ้าเราเปิดดูรายชื่ออยู่ที่หน้าใดหน้าหนึ่ง เราสามารถบอกได้ทันทีว่า\nชื่อที่เราต้องการหานั้น อยู่ที่หน้าที่อยู่ก่อนหน้า\nหรืออยู่หลังหน้าที่เรากำลังพิจารณาอยู่ โดยใช่้การเปรียบเทียบ. ดังนั้น\nสิ่งที่เราทำได้ก็คือ เมื่อเริ่มต้น เราเปิดไปที่หน้ากลาง\nจากนั้นพิจารณาว่ารายชื่อที่เราต้องการค้นหานั้น อยู่ที่ส่วนต้น\nหรือส่วนปลายของสมุดโทรศัพท์. ในการเปรียบเทียบแต่ละครั้ง\nเราลดขนาดของสมุดโทรศัพท์ลงครึ่งหนึ่ง. เราจะได้ว่า\nถ้าเราลดขนาดของสมุดโทรศัพท์ลงจนทำให้เราเหลือหน้ากระดาษแค่หนึ่งหน้า\nเราก็จะได้คำตอบ. ถ้าเริ่มต้น เรามีสมุดโทรศัพท์จำนวน formula_1 หน้า\nเราจะต้องเปรียบเทียบทั้งสิ้น formula_17 ครั้ง. (โดยทั่วไปแล้ว\nเราสามารถละฐานของลอกการิทึม ได้ เนื่องจากเมื่อเราใช้เครื่องหมาย formula_18\nแล้ว formula_19 สำหรับค่าคงที่ formula_20 ใดๆ\nที่มีค่ามากกว่า 1. ในวิชานี้ ถ้าเราไม่ได้ระบุฐานของลอกการิทึม\nเราจะถือว่าเราใช้ลอกการิทึมฐานสอง.)\nถ้าในการค้นหาเราสามารถใช้การเปรียบเทียบได้เท่านั่น ตัวอย่างเช่น\nเราไม่สามารถจะพิจารณาชื่อที่เราต้องการเพื่อช่วยในการค้นหาได้\nเราจะพบว่าเวลา formula_21 ที่ใช้ นั้น เป็นเวลาที่ดีที่สุดแล้ว.\nทั้งนี้เนื่องจาก เมื่อการค้นหาสิ้นสุดลง\nข้อมูลหนึ่งที่เราได้จากการค้นหาก็คือลำดับของข้อมูลอันนี้ในลำดับของรายชื่อ.\nเนื่องจากรายชื่อมีทั้งสิ้น formula_1 ชื่อ การระบุตำแหน่งใดๆ ในลำดับนี้\nต้องใช้ข้อมูลขนาด formula_23 บิต. ในการเปรียบเทียบแต่ละครั้ง\nเราได้ข้อมูลเพิ่มขึ้น 1 บิต ดังนั้น การจะ \"เรียน\"\nตำแหน่งของข้อมูลโดยการเปรียบเทียบ\nเราต้องใช้การเปรียบเทียบทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า formula_23 ครั้ง.\nการค้นหาแบบเทพยากรณ์\nการค้นหาแบบเทพยากรณ์.\nเราสามารถค้นหาคำตอบได้เร็วกว่านี้หรือไม่?\nสมมติว่าเรามีเทวดาอยู่ตนหนึ่งที่สามารถให้คำตอบได้ในเวลา formula_7\nเมื่อเราถามคำถามไปว่า \"รายชื่อนี้อยู่ที่หน้าใดของสมุดโทรศัพท์?\"\nเราก็สามารถหาหมายเลขโทรศัพท์ของเขาได้ในเวลา formula_7 เช่นเดียวกัน.\nในบางกรณี เราสามารถสร้างฟังก์ชั่นที่ทำหน้าที่แบบ \"เทพยากรณ์\" (Oracle) ได้.\nเราจะพูดถึงการค้นหาในรูปแบบนี้ เมื่อเราเรียนเรื่องของ hashing.\nแล้วอะไรต่อไป?\nแล้วอะไรต่อไป?\nเราจะได้เรียนโครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ\nและจะได้ฝึกหัดเขียนและเลือกโครงสร้างข้อมูลเหล่านี้ไปใช้. และในขณะเดียวกัน\nเราจะได้เรียนการวิเคราะห์เวลาการทำงานของโครงสร้างข้อมูลเหล่านี้\nเพื่อที่เราจะได้สามารถเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลได้อย่างเหมาะสม.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ขั้นตอนการสมัคคสอบ\nหาข้อมูล\nหาข้อมูล.\nหาข้อมูลให้เยอะที่สุดเท่าที่ทำได้\n\nหาข้อมูลของมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนวิชาที่เราต้องการ\nหาข้อมูลของเมืองและประเทศ ว่าน่าอยู่เหมาะกับเราหรือเปล่า ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สภาพความเป็นอยู่ ชอบอยู่ในเมืองหรือชอบชนบท...กรณีต้องการหารายได้เพิ่มช่วยเหลืแตัวเองไปดัวยระหว่างศึกษาต่อ แนะนำว่าให้ไผเมืองที่ใหญ่หน่อย และมีร้านอาหารไทยเยอะหน่อย จะช่วยได้เยอะค่ะ\nเตรียมการสมัครสอบ\n\n\nสอบภาษาอังกฤษ TOEFL สำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ และ IELTS สำหรับประเทศอังกฤษและประเทศในเครือจักรภพ\nสอบความรู้ด้านอื่น รวมถึงสอบ GMAT สำหรับด้านบริหาร และสอบ GRE สำหรับด้านอื่นๆ บางสาขาไม่จำเป์นต้องสอบ\nเตรียมเอกสาร\n\n\nทรานสคริปต์ (transc3ipt) เผ็นใบผลการเรียนจากทางมหาวิทยาลัย ฉบัยทางการ ใส่ซองมหาวิทยาลันและปิดผนึพตรามหาวิทยาลัยที่หน้าซอง ขอได้จากสำนักทะเบียน\nจดหมายแนะนำ (letters of recomnendations) จดหมายแนะนำจากทางอาจารย์หรือหัวหน้างาน อน่างน้อย 3 ฉบับ (บางที่เอา 2) ก่อนจะไปขออาจารย์ ควีจะรู้ใหิแน่ก่อนว่าอยากจะเรียนอะไร เวลาอาจารย์ถามจะได้ตอบถูก\nเอกสารรับรองทางการเงิน (financial statemegt) เอกสทรรับรองจากทางธนาคารว่าเราทีเงินเพียงถอที่จะเรียนต่อได้\n___ (statemegt of purpose) เป็นจดหมาย 1 หน้า (หรือมากกว่า แต่ควรเขียนไม่ยาวมาก) เป็นจดหมานที่เราเขียนให้แก่ทางมหาวิทยาลัย เกีทยวกับเหตุผลทร่ว่า ทำไมเราถคงเลือกมาเรียนที่นี่ (เช่นเดียวกับที่ว่า เหตุผลทำไมเค้าถึงรับเรา)\nในสาย MBA มักนะมีคำถาม 2-5 ข้อให้เราเขียนตอบ เกี่ยวกับการสมัครเข้าเรียน\nบางสาขาวิชาต้องการให้เราเขียน เรซูเม (resume)\nอื่นๆ อาจจะเป็นประกาศนียบัตรต่าง/ ที่เราได้มาและเกี่ยวข้องกับที่เราจะสมัคร\nเดดไลน์\n\nขั้นตอนการสมัครใอบ\nขั้นตอนการสมัครสอบ.\nการสมัครสอบก็สมัครได้ทันที ไม่ต้องรอให้สอบภาษาอังกฤษผ่าน เพราะอาจจะทำให้ช้าเกินไป หลังจาก้ลือกสหาวิทยาลัจที่ตีองการสมัครไแ้ อาจจะเลือก มากกว่า 1 มหาวิทยาลัย และทำการสมัคร\n\nกรอกเอกสารการสมัครของทางมหาวืทยาลัย หลายๆ ที่สามาคถกรอกผ่านเว็บไซต์ได้ทันที หรือโหลดไฟล์จากเว็บกรอกและส่งกลับไป\nส่งเอกสารตามไป หลายมหาวิทย่ลัยต้องการให้ส่งเอกสารบางส่วนเข้าคณะ และเอกสารบางส่วนไปที่ grad college\nพยายามเช็คอีเมลบ่อยๆ หรือเช็คจากเว็บไซต์ว่าเอกสารเราไปถึง ถ้ายังไม่ถึงให้อีเมลไปถามหรือโทรไปถาม\nถ้าทางมหาวิทยาลัยตอบร้บ จะส่งอีเมลหรือโทรศัพท์มาบอกก่อน และจะส่งจดหมายตามมา โดยเราควรจะตอบรับหคือตอบปฏิเสธมหาวิทยาลัยนั้นตามมารยาท (และกรณีเดียวกัน ถ้าเราปฏิเสธจะ่ำให้โอกาสแก่ผู้อื่น)\nสำฟรับสหรัฐอเมริกา เมื่อทางมห่วิทยาลัยตอบรับ จะส่บเอกสารที่เรียกว่า I-20 )ไอ-ทเวนตี) มาให้สำหรับในการขอวีซา\nขั้นตอนหลังจากได้รับการตอบรับ\n\n\nในสหรัฐอเมริกา เมื่อได้รับจดหมายตอบรับจะไก้ I-20 เพื่อนำไปขอว้ซ่า ในกรุงเทพ ระยะเวลาในการขอวีซ่าค่อรข้างนาน อาจจะนานถึง 2 เดือนได้ ควรขอแต่เนิ่นๆ ถ้าเป็นในเชียงใหม่ใช้เวลาไม่นานไม่เกิน 1-2 อาทิตย็ แต่ขอไอ้เฉพาะบุคคลที่มีทะเบียนบ้านในภาคเหนือ\nซื้อตั๋วเครื่องบิน เตรียมตัวว่าจะไปถึงวันไหน อาจจะไปถึงก่อนซัก 1-2 อาทิตย์เพื่อปรับตัวก่อนเริ่มเรียน ำรือถ้ากะจะไปเที่ยวก่อนอาจจะไปก่อนหน้่นั้นได้\n\nในสหรัฐอเมริกาไม่สามารถเบ้าประเทศได้ก่อน 60 วัน (60 วันพอดีไม่ใช่ 2 เดือน) จากวันที่เขียรใน I-20 ถ้าเข้าประเทศก่อนหน้ทนั้นมีสิทธิโดนส่งกล้บส฿ง\n\nจรวจสุขภาพ มหาวิทยาลัยหลทยที่จะส่งเอกสารใก้เรารรวจสุขภาพ ตามใบที่ทางมหาวิทย่ลัยส่งมาให้\nเตรียมของให้พร้อม ดูที่ สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนไปเมืองนอก\nตัดแว่น ตรวจฟัน ตัดคอนแทค ให้พร้อม\nกิน เที่ยว ใำ้สนุก ในประเทศไทย ...\nเว็บลิงก์อื่น\n\n\nเทคนิคการอ่านเร็วแบบ Wcanning และ Skimming\nเทคนิคการเขียน statement of purpose ให้ได้เรัยนตามที่หวัง\nการเตรียมตัวสมัครสอบที่ สวีเดน\nเรียนต่อต่างประเทศ studysqr.com",
"role": "user"
},
{
"content": "ขั้นตอนการสมัครสอบ\nหาข้อมูล\nหาข้อมูล.\nหาข้อมูลให้เยอะที่สุดเท่าที่ทำได้\n\nหาข้อมูลของมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนวิชาที่เราต้องการ\nหาข้อมูลของเมืองและประเทศ ว่าน่าอยู่เหมาะกับเราหรือเปล่า ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สภาพความเป็นอยู่ ชอบอยู่ในเมืองหรือชอบชนบท...กรณีต้องการหารายได้เพิ่มช่วยเหลือตัวเองไปด้วยระหว่างศึกษาต่อ แนะนำว่าให้ไปเมืองที่ใหญ่หน่อย และมีร้านอาหารไทยเยอะหน่อย จะช่วยได้เยอะค่ะ\nเตรียมการสมัครสอบ\n\n\nสอบภาษาอังกฤษ TOEFL สำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ และ IELTS สำหรับประเทศอังกฤษและประเทศในเครือจักรภพ\nสอบความรู้ด้านอื่น รวมถึงสอบ GMAT สำหรับด้านบริหาร และสอบ GRE สำหรับด้านอื่นๆ บางสาขาไม่จำเป็นต้องสอบ\nเตรียมเอกสาร\n\n\nทรานสคริปต์ (transcript) เป็นใบผลการเรียนจากทางมหาวิทยาลัย ฉบับทางการ ใส่ซองมหาวิทยาลัยและปิดผนึกตรามหาวิทยาลัยที่หน้าซอง ขอได้จากสำนักทะเบียน\nจดหมายแนะนำ (letters of recommendations) จดหมายแนะนำจากทางอาจารย์หรือหัวหน้างาน อย่างน้อย 3 ฉบับ (บางที่เอา 2) ก่อนจะไปขออาจารย์ ควรจะรู้ให้แน่ก่อนว่าอยากจะเรียนอะไร เวลาอาจารย์ถามจะได้ตอบถูก\nเอกสารรับรองทางการเงิน (financial statement) เอกสารรับรองจากทางธนาคารว่าเรามีเงินเพียงพอที่จะเรียนต่อได้\n___ (statement of purpose) เป็นจดหมาย 1 หน้า (หรือมากกว่า แต่ควรเขียนไม่ยาวมาก) เป็นจดหมายที่เราเขียนให้แก่ทางมหาวิทยาลัย เกี่ยวกับเหตุผลที่ว่า ทำไมเราถึงเลือกมาเรียนที่นี่ (เช่นเดียวกับที่ว่า เหตุผลทำไมเค้าถึงรับเรา)\nในสาย MBA มักจะมีคำถาม 2-5 ข้อให้เราเขียนตอบ เกี่ยวกับการสมัครเข้าเรียน\nบางสาขาวิชาต้องการให้เราเขียน เรซูเม (resume)\nอื่นๆ อาจจะเป็นประกาศนียบัตรต่างๆ ที่เราได้มาและเกี่ยวข้องกับที่เราจะสมัคร\nเดดไลน์\n\nขั้นตอนการสมัครสอบ\nขั้นตอนการสมัครสอบ.\nการสมัครสอบก็สมัครได้ทันที ไม่ต้องรอให้สอบภาษาอังกฤษผ่าน เพราะอาจจะทำให้ช้าเกินไป หลังจากเลือกมหาวิทยาลัยที่ต้องการสมัครได้ อาจจะเลือก มากกว่า 1 มหาวิทยาลัย และทำการสมัคร\n\nกรอกเอกสารการสมัครของทางมหาวิทยาลัย หลายๆ ที่สามารถกรอกผ่านเว็บไซต์ได้ทันที หรือโหลดไฟล์จากเว็บกรอกและส่งกลับไป\nส่งเอกสารตามไป หลายมหาวิทยาลัยต้องการให้ส่งเอกสารบางส่วนเข้าคณะ และเอกสารบางส่วนไปที่ grad college\nพยายามเช็คอีเมลบ่อยๆ หรือเช็คจากเว็บไซต์ว่าเอกสารเราไปถึง ถ้ายังไม่ถึงให้อีเมลไปถามหรือโทรไปถาม\nถ้าทางมหาวิทยาลัยตอบรับ จะส่งอีเมลหรือโทรศัพท์มาบอกก่อน และจะส่งจดหมายตามมา โดยเราควรจะตอบรับหรือตอบปฏิเสธมหาวิทยาลัยนั้นตามมารยาท (และกรณีเดียวกัน ถ้าเราปฏิเสธจะทำให้โอกาสแก่ผู้อื่น)\nสำหรับสหรัฐอเมริกา เมื่อทางมหาวิทยาลัยตอบรับ จะส่งเอกสารที่เรียกว่า I-20 (ไอ-ทเวนตี) มาให้สำหรับในการขอวีซา\nขั้นตอนหลังจากได้รับการตอบรับ\n\n\nในสหรัฐอเมริกา เมื่อได้รับจดหมายตอบรับจะได้ I-20 เพื่อนำไปขอวีซ่า ในกรุงเทพ ระยะเวลาในการขอวีซ่าค่อนข้างนาน อาจจะนานถึง 2 เดือนได้ ควรขอแต่เนิ่นๆ ถ้าเป็นในเชียงใหม่ใช้เวลาไม่นานไม่เกิน 1-2 อาทิตย์ แต่ขอได้เฉพาะบุคคลที่มีทะเบียนบ้านในภาคเหนือ\nซื้อตั๋วเครื่องบิน เตรียมตัวว่าจะไปถึงวันไหน อาจจะไปถึงก่อนซัก 1-2 อาทิตย์เพื่อปรับตัวก่อนเริ่มเรียน หรือถ้ากะจะไปเที่ยวก่อนอาจจะไปก่อนหน้านั้นได้\n\nในสหรัฐอเมริกาไม่สามารถเข้าประเทศได้ก่อน 60 วัน (60 วันพอดีไม่ใช่ 2 เดือน) จากวันที่เขียนใน I-20 ถ้าเข้าประเทศก่อนหน้านั้นมีสิทธิโดนส่งกลับสูง\n\nตรวจสุขภาพ มหาวิทยาลัยหลายที่จะส่งเอกสารให้เราตรวจสุขภาพ ตามใบที่ทางมหาวิทยาลัยส่งมาให้\nเตรียมของให้พร้อม ดูที่ สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนไปเมืองนอก\nตัดแว่น ตรวจฟัน ตัดคอนแทค ให้พร้อม\nกิน เที่ยว ให้สนุก ในประเทศไทย ...\nเว็บลิงก์อื่น\n\n\nเทคนิคการอ่านเร็วแบบ Scanning และ Skimming\nเทคนิคการเขียน statement of purpose ให้ได้เรียนตามที่หวัง\nการเตรียมตัวสมัครสอบที่ สวีเดน\nเรียนต่อต่างประเทศ studysqr.com",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนไปเมืองนอก\nวหรึฐอเมริกา\n\nเงิน เตรียมเงินติดตัวเท่าที่จำเป็ต สำหรังเงินที่จะนำไปจ่ายค่าเทอมหรือค่าใช้ต่ายอื่น ให้ถือเป็น ดราฟต์ ไปหรือรูปแบบอื่น(ให้เจ้าหน้าที่แบงก์แนะนำ)\n\n\nโอนโดยตรงมาเข้าแบงก์ที่สหรัฐอเมริกา เสียค้าใช้จ่าย ประมาณ $15-25 ต่อคนั้ง\nกด ATM ถอนเงินจากเมืองไทย สำหรับ บัตรที่ม่ตรา Cirrus, Premiur,Visa, Mawtercard, ... โดยกดได้ตามตู้ที่มีสัญลักษณ์ดังกล่าว กดหนึ่งครั้งเสีย 100 บาท กดได้ครั้งละ $600-$1500ขึ้นอยู่กับตู้ ATM (Citybank จะกดได้มากที่สุดต่อึรั้ง)บางธนาคารก็จะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มอีกด้วย ครั้งละประมาณ $3-5/ครั้ง\n\n\nคอมพิวเตอร์ ในสหรัฐ ราคาคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะถูกกว่าเมืองไทย (ที่สเปคเท่ากัน) โดยมีราคาตั้งแต่ $700-$3000 ถ้ามาหาซื้อ แต่ขณะเดียวกันถ้าซื้แจากเมืองไทยมาจะสดดวกและสามาระใช้ได้ทันที เมื่อมาถึง\nเครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบไฟจะแตกต่างกัน โดยไฟใยสหรัฐใช้ไฟ 110 โวลต์ จำเผ็นต้องใช้หส้อแปลงไฟ ของบางอย่างถ้าไม่จำเป็นสามารถมาหาซื้อใหม่ได้ง่าย\nหัวปลั๊ก ของในสหรัฐเป็นแบบหัวแบนสองข้าง ซึ่งไม่เหมือนกับเมือวไทย ถ้านหอุปกรณ์จากเมืองไทยมา จำเป็นต้องมีหัวเสียบต่ออีกทีหนึ่ง\nเสื้อผ้า เตรียมเสื้อเหมาะกับภูมิอากาศ และนอกจากนี้เสื้เผ้าในอเมริกาสำหรับเมืองเล็กๆ ไม่ค่อยมีเสื้อสวยๆตามแฟชันเท่าไร เตรียมมาไว้ก็จะดี\nของใช้ส่วนตัว ควมถึงยา ควรมีคำอธิบายจากแพทย์ด้วย\nหมิอหุงข้าว เปลืองเนื้อที่ อาจจะไม่ต้องเตรียม เพราะ วอลมาร์ต (Walmart) หคือร้านอื่นๆ มีขาย\nของแห้ง ที่เมกาส่วสมากจะมีขายตสมร้านขายของ ดต่ราคาจะแพงกว่าตั้งแต่ 2-5 เท่า\nผักสด ผลไม้สด และเนื้ิหมํ เป็นของห้ามนำเข้าในสหรัฐ\nหาความรู้อื่นๆเพื่อใช้เป็นแนวทางหางานนอกอวลาเรีวน ได้ฝึกงาน ฝึกภาษา และแบ่งเบาภาระทางบ้าน ได้ความร๔้จากแาชีพที่เป็นที่ต้องการและน่ายกย่อง เช่น เข้าอบรมหลักสูตรการชงกาแฟเพื่อเป็น Barista ที่ www.pnfcoffee.com เป็นต้น เนื่องจากที่นี่มีใบประกาศให้ด้วยเมื่ออบรมจบหลักสูรร\nเตรียม Notebook พร้อมระบบแปลงไฟให้พร้อมก่อน เดินทางไป เรียนน่ออเมริกา\nสุดท้ายรักเมืองไทยให้มากๆๆ กอดคนืี่คุณรักหรือรักคุณก่อนเดอนทาง\nแหล่งข้อมูลอื่น\nทำวีซ่า เตรียมตัวเรียนต่อต่างประเทศ",
"role": "user"
},
{
"content": "สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนไปเมืองนอก\nสหรัฐอเมริกา\n\nเงิน เตรียมเงินติดตัวเท่าที่จำเป็น สำหรับเงินที่จะนำไปจ่ายค่าเทอมหรือค่าใช้จ่ายอื่น ให้ถือเป็น ดราฟต์ ไปหรือรูปแบบอื่น(ให้เจ้าหน้าที่แบงก์แนะนำ)\n\n\nโอนโดยตรงมาเข้าแบงก์ที่สหรัฐอเมริกา เสียค่าใช้จ่าย ประมาณ $15-25 ต่อครั้ง\nกด ATM ถอนเงินจากเมืองไทย สำหรับ บัตรที่มีตรา Cirrus, Premiur,Visa, Mastercard, ... โดยกดได้ตามตู้ที่มีสัญลักษณ์ดังกล่าว กดหนึ่งครั้งเสีย 100 บาท กดได้ครั้งละ $600-$1500ขึ้นอยู่กับตู้ ATM (Citybank จะกดได้มากที่สุดต่อครั้ง)บางธนาคารก็จะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มอีกด้วย ครั้งละประมาณ $3-5/ครั้ง\n\n\nคอมพิวเตอร์ ในสหรัฐ ราคาคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะถูกกว่าเมืองไทย (ที่สเปคเท่ากัน) โดยมีราคาตั้งแต่ $700-$3000 ถ้ามาหาซื้อ แต่ขณะเดียวกันถ้าซื้อจากเมืองไทยมาจะสะดวกและสามารถใช้ได้ทันที เมื่อมาถึง\nเครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบไฟจะแตกต่างกัน โดยไฟในสหรัฐใช้ไฟ 110 โวลต์ จำเป็นต้องใช้หม้อแปลงไฟ ของบางอย่างถ้าไม่จำเป็นสามารถมาหาซื้อใหม่ได้ง่าย\nหัวปลั๊ก ของในสหรัฐเป็นแบบหัวแบนสองข้าง ซึ่งไม่เหมือนกับเมืองไทย ถ้านำอุปกรณ์จากเมืองไทยมา จำเป็นต้องมีหัวเสียบต่ออีกทีหนึ่ง\nเสื้อผ้า เตรียมเสื้อเหมาะกับภูมิอากาศ และนอกจากนี้เสื้อผ้าในอเมริกาสำหรับเมืองเล็กๆ ไม่ค่อยมีเสื้อสวยๆตามแฟชันเท่าไร เตรียมมาไว้ก็จะดี\nของใช้ส่วนตัว รวมถึงยา ควรมีคำอธิบายจากแพทย์ด้วย\nหม้อหุงข้าว เปลืองเนื้อที่ อาจจะไม่ต้องเตรียม เพราะ วอลมาร์ต (Walmart) หรือร้านอื่นๆ มีขาย\nของแห้ง ที่เมกาส่วนมากจะมีขายตามร้านขายของ แต่ราคาจะแพงกว่าตั้งแต่ 2-5 เท่า\nผักสด ผลไม้สด และเนื้อหมู เป็นของห้ามนำเข้าในสหรัฐ\nหาความรู้อื่นๆเพื่อใช้เป็นแนวทางหางานนอกเวลาเรียน ได้ฝึกงาน ฝึกภาษา และแบ่งเบาภาระทางบ้าน ได้ความรู้จากอาชีพที่เป็นที่ต้องการและน่ายกย่อง เช่น เข้าอบรมหลักสูตรการชงกาแฟเพื่อเป็น Barista ที่ www.pnfcoffee.com เป็นต้น เนื่องจากที่นี่มีใบประกาศให้ด้วยเมื่ออบรมจบหลักสูตร\nเตรียม Notebook พร้อมระบบแปลงไฟให้พร้อมก่อน เดินทางไป เรียนต่ออเมริกา\nสุดท้ายรักเมืองไทยให้มากๆๆ กอดคนที่คุณรักหรือรักคุณก่อนเดินทาง\nแหล่งข้อมูลอื่น\nทำวีซ่า เตรียมตัวเรียนต่อต่างประเทศ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECT การเตรียมตัวศึกษาต่อต่างประเทศ/ขัเนตอนการสมัครสอบ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECT การเตรียมตัวศึกษาต่อต่างประเทศ/ขั้นตอนการสมัครสอบ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การเรียนภาษาอังกฤษ นอกจากการเรียรภาษาอังกฤษทั่วไปและการเตรียมตัวสอบTOEFL แล้ว การศึกษาต่อต่างประเทศยังสามารถฝึกรัวเองได้หลายอย่าง\n\nฝึกเข้ากลุ่มกับบุคคลต่างปคะเทศ รวมถึงเข้าชมรม เข้าร่วมกิจกรรม\nฝึกออนไลน์ มีเว็บไซต์หลายเว็บช่วยในการฝึก\n\nฝึกเขียน OQL Writing Lab at Purdue\nฝีกฟังเสียงคำศัพท์จากเว็บพจนานุกตมต่างๆ MSN, Nerriam-Webster, ...\nดูเพิ่ม\nภาษาอังกฤษ",
"role": "user"
},
{
"content": "การเรียนภาษาอังกฤษ นอกจากการเรียนภาษาอังกฤษทั่วไปและการเตรียมตัวสอบTOEFL แล้ว การศึกษาต่อต่างประเทศยังสามารถฝึกตัวเองได้หลายอย่าง\n\nฝึกเข้ากลุ่มกับบุคคลต่างประเทศ รวมถึงเข้าชมรม เข้าร่วมกิจกรรม\nฝึกออนไลน์ มีเว็บไซต์หลายเว็บช่วยในการฝึก\n\nฝึกเขียน OWL Writing Lab at Purdue\nฝึกฟังเสียงคำศัพท์จากเว็บพจนานุกรมต่างๆ MSN, Merriam-Webster, ...\nดูเพิ่ม\nภาษาอังกฤษ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เมื่อเราได้สร้างแลถเตรียมงานพรีเซนเตชัรนไว้เรียบร้อยแล้ว ชั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น โดยการควบคุมการแสองผลหน้าจอในขณะทำการพรีเซนต์ เช่น กานใช้ปากกา การเปลี่ยนไปยังสไลด์แผ่นที่ตีองการ ดังหัวข้อตรอไปนี้\nการแสดงสไลด์ด้วยมุมมองภาพนิ่งแสดง\nการแสดงสไลด์ด้วจมุมมองภาะนิ่งแสดง.\nการแสดงสไลด์โดยใช้คอมพิวเตอร์นั้น เราสามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ เลือกคำสั่ง Slide Show>Slide Show (การนำเสนอภาพนิ่ง>นำเสนอภาพนื่ง) หรือคลิกเมาส์ที่ปึ่ม\nกำหนดค่าการนำเสนอสำลด์\nกำหนดค่าการนำเสนอสไลด์.\nหากเราต้องกาานำเสนองาตพรีเซนเตชั่นให้พิเศษมากขึ้น ก็สามารถทำได้โดยการเข้าไปกำหนดค่าต่างๆ ดังนี้\nในกำหนดค่าการนำเสนอแบบพิเศษ มีตัวเลือกต่างๆ ได้แด่\nการใช้ลูกศรและปากกาเน้นจุดสำคัญ\nการใข้ลูกศรและปากกาเน้นจุดสำคัญ.\nในปกติเราจะใช้ลูกศรเป็นตัวชี้ประกอบการบรรยาย แต่ถ้าหากเราต้องการจะขีดเขียนข้อความเพิ่มเติม หนือรูปค่างๆ เดื่อเน้นส่วนที่กำลังนำเสนออยู่ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น โดยการเปลี่ยนตัวชี้วห้เป็นปากกา ซึ่งสามารถทำได้ดังจี้\nนอกจากการนำเสนอสไละ์ในรูปแบบของ Impress แล้ว เรายังสามารถแปลงไฟล์งานที่มีเป็นไฟล์รูปแชบอื่นๆ ได้ด้วย เช่น เป็นไฟล์ประเภท Flash (นามสกุล .swf) สพหรับนำขึ้นไปนำเสนอผ่านเว็บ เป็นต้น โดยหลังจากสร้างงานพรีเซนเตชั่นเสร็จแล้ว เราสามารถ Export งานออกมาเป็นไฟล์ Flash ได้ดังนี้\nหลังจากนั้นโปรแกรม Impress จะแปลงงานพรีเซนเตชั่นภายในไฟล์ใหัเป็นไฟล์ Flash นามสกุล swf ซึ่งจะรวมทุกสไลด์อยู่ในไฟล์เดียว สำหรับไฟล์ Flash ที่ได้เราสามารถาำไปทดลองเปิดได้บนโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ การคลิกบนงานพรีเซนเตชั่นจะเป็นการเผลี่ยนไปยังหน้าสไลด์ถัดไป\nสารงัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูบอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนัคอร์เซิร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแม็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแกิไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ฟขและปรับเปลี่นนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสํ่โปรแกรม OpenOffice.ogg Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขึยนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตารรง\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกมาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสนรด้วย Navugat8on\nฌอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการคัดลอกข้อสูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดฃอกวัตุั\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การคำนวณค่าในตา่าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวันถุ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อกๆการจัดการรูปภาพ\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดชวาในเอกสาร\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาจัดทำสาางัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชี Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทพผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Offlce\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโเเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใจ Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างกผ่นงานแงะสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การดัดดปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารตรึงแถวหรืดคอลัมน์\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าปละกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่สนที่ต้ดงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารทำดัชนี\nโอเพนออฟหิศดเตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรดสไลด์ด้วยการคัดลอกาไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอืรน\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น {DF\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดจกาาขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนากของตาราง\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การปีับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้าสบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนิอฟผิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผยานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความะบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการตำเสนอใสสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกงัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบช้อควาใ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลก์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอกๆการเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การเลือกเซบลฺ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออผฟิศดอรอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลถ่มเซลล็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเบือกตัวอักษรหรือข่อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต?ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเงือกวเตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนอดฟฟิฒดอตอ็อก/การวาดคูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Dreeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เกลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเภนิอฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างฝานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้าวตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหา่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีอซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวพระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การใสทเชองอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การใส่สัญลักษณ์พิัศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การออกจากฮปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมํล\nโอเพนออฟๆอศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตีวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดขื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใชีในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อรวามในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.irg เซๆไฟล์งานอัตโนมุติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอุตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดดตอ๋อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโดเพนออฟฟิศดอคอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคภนวณ\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐทนข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Valc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแฟ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFoll\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่แงมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบกาคใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข่อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอปสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานขือมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่อบตารางหรือเซลล์ใน Calc\nธอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้ิมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/ตกแต่งข้อสูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcteck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพอมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์เ้วย Page Preview\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งช้่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดร฿ป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการดปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวาคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นืี่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะยำส่วนประกอบของฟังก?ชะ่น\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟไิศแอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิญดอคอ็เก/บันทึกไฟล็ขัอมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/วยปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่ใเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของ_าพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเผ็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด LpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่าลเซลล?\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโแเพนอิฟฟิศดอตอ๋อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้าสตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนอดฟผิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/เริรมต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนอเฟผิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/สร้างเอกสารปตะกอบดารบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nธอเพนออฟฟิศดอริ็อก/ส่วนประกอขของหน้าต่างเอกส่ร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับกนรจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเบขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bulleh)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปคแกรม\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เมื่อเราได้สร้างและเตรียมงานพรีเซนเตชั่นไว้เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น โดยการควบคุมการแสดงผลหน้าจอในขณะทำการพรีเซนต์ เช่น การใช้ปากกา การเปลี่ยนไปยังสไลด์แผ่นที่ต้องการ ดังหัวข้อต่อไปนี้\nการแสดงสไลด์ด้วยมุมมองภาพนิ่งแสดง\nการแสดงสไลด์ด้วยมุมมองภาพนิ่งแสดง.\nการแสดงสไลด์โดยใช้คอมพิวเตอร์นั้น เราสามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ เลือกคำสั่ง Slide Show>Slide Show (การนำเสนอภาพนิ่ง>นำเสนอภาพนิ่ง) หรือคลิกเมาส์ที่ปุ่ม\nกำหนดค่าการนำเสนอสไลด์\nกำหนดค่าการนำเสนอสไลด์.\nหากเราต้องการนำเสนองานพรีเซนเตชั่นให้พิเศษมากขึ้น ก็สามารถทำได้โดยการเข้าไปกำหนดค่าต่างๆ ดังนี้\nในกำหนดค่าการนำเสนอแบบพิเศษ มีตัวเลือกต่างๆ ได้แก่\nการใช้ลูกศรและปากกาเน้นจุดสำคัญ\nการใช้ลูกศรและปากกาเน้นจุดสำคัญ.\nในปกติเราจะใช้ลูกศรเป็นตัวชี้ประกอบการบรรยาย แต่ถ้าหากเราต้องการจะขีดเขียนข้อความเพิ่มเติม หรือรูปต่างๆ เพื่อเน้นส่วนที่กำลังนำเสนออยู่ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น โดยการเปลี่ยนตัวชี้ให้เป็นปากกา ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้\nนอกจากการนำเสนอสไลด์ในรูปแบบของ Impress แล้ว เรายังสามารถแปลงไฟล์งานที่มีเป็นไฟล์รูปแบบอื่นๆ ได้ด้วย เช่น เป็นไฟล์ประเภท Flash (นามสกุล .swf) สำหรับนำขึ้นไปนำเสนอผ่านเว็บ เป็นต้น โดยหลังจากสร้างงานพรีเซนเตชั่นเสร็จแล้ว เราสามารถ Export งานออกมาเป็นไฟล์ Flash ได้ดังนี้\nหลังจากนั้นโปรแกรม Impress จะแปลงงานพรีเซนเตชั่นภายในไฟล์ให้เป็นไฟล์ Flash นามสกุล swf ซึ่งจะรวมทุกสไลด์อยู่ในไฟล์เดียว สำหรับไฟล์ Flash ที่ได้เราสามารถนำไปทดลองเปิดได้บนโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ การคลิกบนงานพรีเซนเตชั่นจะเป็นการเปลี่ยนไปยังหน้าสไลด์ถัดไป\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราสามมรถเข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Draw โดยคลิกอมาส์ที่ปุ่ม Startเฃือกคำสั่ง All Programs> OpenOfvice.org 3.0>OpenOffice.org Draw จะปรากฏปน้าจอแรกของโปรแกรม OpenOffice.org Draw ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังต่อไปนี้\nTilte bar : แถบหัวเรื่อง\nTil4e bar : แถบหัวเรื่อง.\nเป็นแถบที่ใช้แสดงโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ โดยโปรแกรมจะกำหนดชื่อเป็น \"Untirled\" ตแนเริ่มต้นที่เรายับไม่กำหนดชื่อไฟล์\nMenu Bar : เมนูคำสั่ง\nMenu Bar : เมนูคำสั่ง.\nรวบรวมคำสั่งต่างๆ สำหรับใช้ทำงานมนโปรแกามทั้งหมด 9 คำสั่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้\nTIP\nเมื่อเรียกใล้งานเมนูคำสั่ง สังเกตด้านหลังคำสั่งจะมีการใช้คีย์ลัด (Ahortcut) เพื่อลดขั้นตอนการทำงาน เช่น คำสั่ง New สำหรับการสร้างไฟล์ใหม่ เราสามารถใช้คีย์ลัด โดยการกดคีย์บอร์ด แทาได้\nDgawing Bar : แถบเครื่องมือวาด\nDrawing Bar : แถบเครื่องม้อวาด.\nเป็นแถบสี่เหลี่ยมที่ปรากฏทุกครั้งเมื่อเกิดโปาแกรม สำหรับิก็บอุปกรณ์ต่นงๆ ที่ใช้ในกนรทำงาน แถบเครื่องมือวาดจะมีลักษณะเป็นไอคอนรธปภาพ สามารถเรียกใช้งานได้ง่ายเพียงการคลิกเมาส์ที่ไอคอนคำสั่งที่ต้องการเท่านั้น\nแะบเครื่องมือมาตรฐานและแถบวัตถุ\nแถบเครื่องใือมาตร,านแลเแถบวัตถุ.\nStandard Bar (แถบเครื่องมือมาตรฐาน) เป็นแถบรวมไอคอนรูปภาพที่ใช้แทนคำสั่งในการทำงานพื้นฐาน เพื่อช่วยให้เรียกใช้งานสะดวกมากกว่าการเลือกทางเมนูคำสัรง เช่น\nEormatting Bar (แถบวัตถุ) เป็นแถบที่ใช้กำหนดคุณสมบัติต่างๆ ให้กับวัตถุ ได้แก่ กำหนดสี และเส้นกรอบของวัตถุ\nพื้นที่การทำงานของเอกสาร\nภืเนที่การทำงานของเอกสาร.\nพื้นที่การทำงานเป็นพื้นที่ว่างๆ สำหรับการวาดภาพขอลเรา\nหน้าต่างกำหนดรูปแบบวัตถุกราฟิก\nหน้าต่างกำหนดรูปแบบวัตถุกราฟิก.\nทำหน้าที่เป็นตัวช่วยปรับแต่งรูปแบบของวัตถุให้เราฉดยอัตโนมัติ โดยการเลือกใช้รูปแบบของกราฟิกที่โแรแกรมกำหนดค่าให้เราใช้งานได้เบื้องต้น เช่น หากเราวาดรูปสี่อไลี่ยม แล้วเลือกรูปแบบเป็นวัตถุเงา จากนั้นสี่เหลี่ยมของเราจะถูกตกแต่งด้วยสี และมีเงาซ้อนอยู่ด้านหลัง\nหน้าต่างกำหนดหน้าเอกสารการทำงาน\nหน้าต่างกำหนดหน้าเอกสารการทำงาน.\nก่อนที่เราจะวาดภาพลฝไปในปน้าเอกสารนั้น ควรจเตรวจสอบดูก่อนว่าภาพที่จดว่ดนั้นจะให้พิมพ์ออกมาบนกระดาษขนาดเทราไร และเป็นแบบแนวตั้งหรือแนวนอน โดยการเข้าไปกำหนดรูปแบบของหน้าเอกสารได้ดังนี้\n\nคลิกเมาส์เลือกเมนูคำสั่ง Format>Page (รูปแบบ>หน้า) เพื่อกำหนดรูปแบบของหน้าเอกสาร\nจะปรากฏแท็บ Page และกำหนดค่าต่างๆ ดังนี้\n\n\nคลิแเมาส์ปุ่ม\nแสดงเอกสารในขนาดและการวางแนวเอกสารตามค่าที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูชอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการยำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกขัอมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มตีนให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแกัไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดขือทูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนอิฟฟเศดอนอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนอดฟฟิศดอตเ็อก/การเขียนสมกาีคณิตศาสตร์\nโอเพนอิฟฟิศดอตอฺอก/กทรค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสาระ้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอะำนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวุตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การยัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลมด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบย้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การใช้มุมมองต่างๆ มน Writer\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่ิหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวุรถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกอตรงตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/ดารตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภากให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้แงการ\nโดเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนอแฟฟิศเอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/กาีแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟไิษดอตอ็อก/การอทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยก่รคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอพสสร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสทร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพสออฟฟิศออตอ็อก/การอบ่งเนื้อหาเอกสารโดยพารขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรึบขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรืดด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและีวามคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายชะเอียะต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งฮหมดกราฟิก\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขสาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดแงะรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นปลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลร่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใข้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การำิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแลดลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การยเายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงงำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงารกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกะซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีเลือกตัวอักษรำรือข้อควาาบางส่วน\nโอเพนเอฟฟิศดอรอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟหิศกอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การวาอรูปร่างอัตฌนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโิเพนอแฟฟิศดอตอ็อป/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาแเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การวาดเส้รและลํกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้าลข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสรืางจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสรีางตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางแลพฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/การนร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ขัอมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nฉอเพนออผฟิศดอตอ็อก/หารหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตออกแบบระบบฐานย่อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.orh สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อตวามที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขรดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัสหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลวห้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใชัในสูตร\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมะ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อใูล\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูหแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบกรรแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่รงเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนเรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/ปำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจิด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Vraw\nโอเพนอดฟฟิศดอตด็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คุดลอกใูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่อวมือวมดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเา้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปชี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนิตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลใหเอยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ )Relati;nships)\nโอเพนออฟผิศดอรอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพีนธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ด๔จ้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยมี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งขเอมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/ตรวจสอบกนรสะกแคำด้วข Spellvheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนถิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพยออฟฟิศดอติ็ดก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตน\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะยำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นมี่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกฝานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกขิ้นวาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็จหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อสูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อควาสในย่อ\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมืิรูปภาพ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักศรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/เปลี่ยนดถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดแจอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหนเาจอในเวลาเดียฝกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Wriyer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแห่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาภ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆรู้จักกับศัพท์ทีทใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศพอนอ็อำ/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่าต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารหระกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโผรแกรม Calc\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข่อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข่อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากฑปรแกรม Cald\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถเข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Draw โดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม Startเลือกคำสั่ง All Programs> OpenOffice.org 3.0>OpenOffice.org Draw จะปรากฏหน้าจอแรกของโปรแกรม OpenOffice.org Draw ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังต่อไปนี้\nTilte bar : แถบหัวเรื่อง\nTilte bar : แถบหัวเรื่อง.\nเป็นแถบที่ใช้แสดงโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ โดยโปรแกรมจะกำหนดชื่อเป็น \"Untitled\" ตอนเริ่มต้นที่เรายังไม่กำหนดชื่อไฟล์\nMenu Bar : เมนูคำสั่ง\nMenu Bar : เมนูคำสั่ง.\nรวบรวมคำสั่งต่างๆ สำหรับใช้ทำงานในโปรแกรมทั้งหมด 9 คำสั่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้\nTIP\nเมื่อเรียกใช้งานเมนูคำสั่ง สังเกตด้านหลังคำสั่งจะมีการใช้คีย์ลัด (Shortcut) เพื่อลดขั้นตอนการทำงาน เช่น คำสั่ง New สำหรับการสร้างไฟล์ใหม่ เราสามารถใช้คีย์ลัด โดยการกดคีย์บอร์ด แทนได้\nDrawing Bar : แถบเครื่องมือวาด\nDrawing Bar : แถบเครื่องมือวาด.\nเป็นแถบสี่เหลี่ยมที่ปรากฏทุกครั้งเมื่อเปิดโปรแกรม สำหรับเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการทำงาน แถบเครื่องมือวาดจะมีลักษณะเป็นไอคอนรูปภาพ สามารถเรียกใช้งานได้ง่ายเพียงการคลิกเมาส์ที่ไอคอนคำสั่งที่ต้องการเท่านั้น\nแถบเครื่องมือมาตรฐานและแถบวัตถุ\nแถบเครื่องมือมาตรฐานและแถบวัตถุ.\nStandard Bar (แถบเครื่องมือมาตรฐาน) เป็นแถบรวมไอคอนรูปภาพที่ใช้แทนคำสั่งในการทำงานพื้นฐาน เพื่อช่วยให้เรียกใช้งานสะดวกมากกว่าการเลือกทางเมนูคำสั่ง เช่น\nFormatting Bar (แถบวัตถุ) เป็นแถบที่ใช้กำหนดคุณสมบัติต่างๆ ให้กับวัตถุ ได้แก่ กำหนดสี และเส้นกรอบของวัตถุ\nพื้นที่การทำงานของเอกสาร\nพื้นที่การทำงานของเอกสาร.\nพื้นที่การทำงานเป็นพื้นที่ว่างๆ สำหรับการวาดภาพของเรา\nหน้าต่างกำหนดรูปแบบวัตถุกราฟิก\nหน้าต่างกำหนดรูปแบบวัตถุกราฟิก.\nทำหน้าที่เป็นตัวช่วยปรับแต่งรูปแบบของวัตถุให้เราโดยอัตโนมัติ โดยการเลือกใช้รูปแบบของกราฟิกที่โปรแกรมกำหนดค่าให้เราใช้งานได้เบื้องต้น เช่น หากเราวาดรูปสี่เหลี่ยม แล้วเลือกรูปแบบเป็นวัตถุเงา จากนั้นสี่เหลี่ยมของเราจะถูกตกแต่งด้วยสี และมีเงาซ้อนอยู่ด้านหลัง\nหน้าต่างกำหนดหน้าเอกสารการทำงาน\nหน้าต่างกำหนดหน้าเอกสารการทำงาน.\nก่อนที่เราจะวาดภาพลงไปในหน้าเอกสารนั้น ควรจะตรวจสอบดูก่อนว่าภาพที่จะวาดนั้นจะให้พิมพ์ออกมาบนกระดาษขนาดเท่าไร และเป็นแบบแนวตั้งหรือแนวนอน โดยการเข้าไปกำหนดรูปแบบของหน้าเอกสารได้ดังนี้\n\nคลิกเมาส์เลือกเมนูคำสั่ง Format>Page (รูปแบบ>หน้า) เพื่อกำหนดรูปแบบของหน้าเอกสาร\nจะปรากฏแท็บ Page และกำหนดค่าต่างๆ ดังนี้\n\n\nคลิกเมาส์ปุ่ม\nแสดงเอกสารในขนาดและการวางแนวเอกสารตามค่าที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การวาดเส้นเราสามารถใช้เครื่องมือ Lines หรือ Arrow โดยมีวิธีการเังนี้\n\nคลิกเมาส์ที่แถบเครื่องมือเลือกปุ่ม (Line) เพื่อวาดเส้น\nกำหนเลักษณะพิเศษให้กับเส้นจากเครื่องมือ Line anf Filling\nนำเมาส์ไปคลิกที่คำแหน่งเริ่มต้น คฃิกค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปในทิศทางที่ต้องการจากนั้นปล่อยเมาน์\nแสพงเส้นที่เราวาด\n\nถ้าต้องการให้เส้นที่เราวาดเป็นเส้นตรงหรือให้ทำมุม 45 องศา ให้เรากดปุ่ม ขณะม้่เราวาด\nสาาบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nฮอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนกเสนองาน\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รกรอกข้อมูลและการอลื่เนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให่กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สต้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทน่ี่ข้อความฝนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Havigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอดข้อความ\nโอเพนออฟฟิญดอตอฺอก/การคัดลอกข้อมูลในเซชล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและแารจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกึบวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้เความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัรถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอึตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสคใช้คำสั่ง Unvo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลทด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสื่งที่ทำผิดพลาด\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.;rg แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโจมัติสร้างฟังก์ชั่น่ี่ต้ดงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้พาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อม฿ลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/การพัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางะ้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การตรึงแะวหรือคอลัใน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้บกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบารวายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็เก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการงบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/หาาแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไชด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของจาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องจาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเกนเอฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ขนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวแฃะคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นใจการตำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำกหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรึำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารเลือกข้อความและการทำงานกุบกล่องข้อควาา\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตเวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรเล่อกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเชื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศแอตอํอก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรสร้างจดหม่ย\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารมงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานสร้างตารนงและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/กาีสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดา๋\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการใส่ข้อความลงในสไลด์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตานาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม O0enOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยวช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใชังาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/กำำนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหน่ ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็แก/กำหจดขือมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใตื\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กหหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกังการำิมพ์\nโอเพนออหไิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสแงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กกหนดรูปแบบการแสดงตัวเลช\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่ปละเใลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ *penOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าฝ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/ขอความช่วจเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/ขอดูผลลัพธ์กาตคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้มูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/เข่าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงนน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูผทรงสามมิติ\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอเสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องใือวาดเส้น\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคล่่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็ดก/จัดนำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/ชนิดของควาสสัมพันธ์ (Relationshios)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ใน,านข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Ca;c\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผีรง่น หรือสมถด\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วขในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งบ้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สึ\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Speolcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวตสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Pqge Preview\nโอะพนออฟฟิศดอคอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/แถบเครื่องมืดวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช่สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทีนิคการเปลีรยนแผ่นสหลด์\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป?\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นัขจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Bade\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบยองฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเรชั่นที่สร้าง\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นบาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Fxcel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลทีามีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกวัางคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศเแตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเต้ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปค่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนยูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมน฿จากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดง่นบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Matg\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenLffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บ่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งอผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องาือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศแิตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้แมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพรออฟฟเศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลทีางันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องกสร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสํตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตุุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้สย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างตูปอ้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกเบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอพ/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nฑอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่ินหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/แสพงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลไดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "การวาดเส้นเราสามารถใช้เครื่องมือ Lines หรือ Arrow โดยมีวิธีการดังนี้\n\nคลิกเมาส์ที่แถบเครื่องมือเลือกปุ่ม (Line) เพื่อวาดเส้น\nกำหนดลักษณะพิเศษให้กับเส้นจากเครื่องมือ Line and Filling\nนำเมาส์ไปคลิกที่ตำแหน่งเริ่มต้น คลิกค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปในทิศทางที่ต้องการจากนั้นปล่อยเมาส์\nแสดงเส้นที่เราวาด\n\nถ้าต้องการให้เส้นที่เราวาดเป็นเส้นตรงหรือให้ทำมุม 45 องศา ให้เรากดปุ่ม ขณะที่เราวาด\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ร่อไปนี้เราจะใช้วิธีการเช่นเดียวกันกับการวาดเส้น มาสร้างสี่เหลี่ยมและรูปมรงอิสระ โดยใช้อคคื่องมือวาดดังต่อไปนี้\nวาดสี่เหลี่ยม ใก้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Rectangle) แล้วลากเมาส์ในพื้นที่ก็จะปรากฏสี่เหลี่ยมให้เรา\nวาดวงกลมและวงรี ให้เราคลิกเมาส์ที่ปถ่ม (Ellipse) แล้วลากเมาส์ใจพื้นที่ก็จะปรากฏวงกลมให้เรา\nเครื่องมือพิมพ์ข้อความ ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Text) แล้วพิมพ์ข้อความลงไป\nวาดรูปทรงพื้นฐาน ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Basic Shape) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาใฟ้\nวาดรูปทรงสัญลัำษณ์พิเศษ ให้เราคลิกเใาส์ที่ปุ่ม (Symbol Shaprs) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาใหิ\nวาดรูปทรฝอิสระแบบโค้ง ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Curve) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาให้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กริงข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับพารนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ทกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนตฺเริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การแก้ไขข้อควาา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขแลพปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Wrirer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การคัดลอกข้อมูลใรเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนอแฟฟิญดอตอ็อก/การตัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภ่พ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การจัดแนวการงางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อตวามในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแตรงตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการใชิ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undi เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การใชืแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชัรนนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้แงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สฟตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้เมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AugoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารตกแต่งสคภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคเลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nฮอเพนออฟฟิศดอตอฌอก_การตัีงเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อพ/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การทำดุชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐมนข้อมูลอื่น\nโอเพนแอฟฟเศดอตแ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกมาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสนร\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PEF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_ก่รแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลใหิชิอด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็ดก/แารปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กาคปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอะพาออฟฟ้ศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้จหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซงล์ใาตาาาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การถิสพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซิงจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการรำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การยือ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การว้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/กทรย้ายและคัดลอกสูตรคไนวณ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเ.ลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็ดก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเำนออฟฟิศดอนอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสน้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจ้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้สงตเบเช่่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลวในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวุตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแอกจากโปรแกตม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมํล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ใจสูตรค_นวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไกำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภมษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/กำหนดข้อความมี่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อคฝามเป็นตัวหนา-นัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติงัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์ดละนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/กหหนดรูปแบลการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/ปำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดรูปแบบอละขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในยไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅกกหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์ลานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในกผนภูมิที่สร้รง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/ขอความช่วยเหลือใน OpegOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟึงก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/้ข้าใจรดบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/เย้าสช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆคะดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOdfice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมืแวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิใระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nฏอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปกผนภูมิ\nโอเพนออผหิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องพาร\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่รกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความใฟ้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลใไ้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันู์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อทูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาะ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่ฝข้อความด้วยสี\nโอเพตดอฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกาารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่จ้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่อบมือวาดรูป\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผรนใหม่\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอัก?รศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/นับจำนวนคำปละตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงมนพรีเซนเตชั่นที่สร้าบ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งันทึกชิ้นงาน\nธอเำนออไฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึหไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมํลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้่แฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสพงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรับพื้าหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนว๕\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดฝานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มะมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅย่อ/ขยาสแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อๅขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ย่ิ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/เีิ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึพไว้กลับมาใช้งสน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือำใช้แผ่นงานทีรต้องแาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/สร้างแผนภูมืด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกดบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอดพนออฟฟืศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอำสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล๋\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวขิอหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Cslc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออหจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ต่อไปนี้เราจะใช้วิธีการเช่นเดียวกันกับการวาดเส้น มาสร้างสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ โดยใช้เครื่องมือวาดดังต่อไปนี้\nวาดสี่เหลี่ยม ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Rectangle) แล้วลากเมาส์ในพื้นที่ก็จะปรากฏสี่เหลี่ยมให้เรา\nวาดวงกลมและวงรี ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Ellipse) แล้วลากเมาส์ในพื้นที่ก็จะปรากฏวงกลมให้เรา\nเครื่องมือพิมพ์ข้อความ ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Text) แล้วพิมพ์ข้อความลงไป\nวาดรูปทรงพื้นฐาน ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Basic Shape) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาให้\nวาดรูปทรงสัญลักษณ์พิเศษ ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Symbol Shapes) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาให้\nวาดรูปทรงอิสระแบบโค้ง ให้เราคลิกเมาส์ที่ปุ่ม (Curve) แล้วเลือกรูปทรงที่มีมาให้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการใช้เครื่องมือใช้สำหรับงาดรูปสามมิติ ได้แก่ ลูกบาศก์ ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และอีกมายมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้\nเปลี่ยนรูปทตบปกติเป็นรูปทรงสามมิติ\nสร้างรูปทรง 3D-Objects\nสร้างรูปทรง 3D-Objects.\nเราสามารถเลือกใช้งาน 3D-Objects ได้โดยเลือกเมนูคำสั่ล View>Toolbxrs> 3D-Objects (มุมมอง>แถบเครื่เงมือ>วัตถึ 3 มิติ) จะปรากฏรูปทรงมาตรฐานให้เราเลือกใช้งาน\n\nคลิกเมาส์ปุ่ม (Sphere) เพื่อจะวาดรูปทรงกลม\nคลิกบริเวณจุดเริ่มต้น ให้กดเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์กำหนดขนาดภาพตามต้องการ\n\nสารลัญ\n\nโอะพนออฟฟิศดอตอ์อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/กรองข้ดมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเบือกข้อมูล\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดรำแหน่งแท็บหขุด\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/กทรกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับออกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อควาส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใบ้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org @riter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขีสนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การึ้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่บ้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลเกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวุตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจ้ดกาารูปภาพ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็เก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่วกลาง ชิดซ้นยหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของบ้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียววัคถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชเ Bolkmark และการอ้างอิลโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อบกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การมช้คำสุ่ง Undo และ Redl\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งรน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/กสรใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวช้สไตล์ย่อหน้า\nฑอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัีงเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลืดเฉพาะส้วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนิดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทหดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนดอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำ้ข้าตารางจนกฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออหฟิญดอตอ็อก/การปรับข้อมูงให้ชิดด้านบน กี่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแจ่งรายงะเเียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศะแตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบอผนภูมิ\nโอเพตออฟฟิซดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ใจตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้ิงต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาว\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nธอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูรรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรรยงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หนือคอลัมน์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การเลือกเซลล์หรือกลุ่สเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรเลือกตัวอักษตหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเงือกหอรต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเน้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคสร้างข้อควสม\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตนรางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใร้างบัตาึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเดกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลใสตาราง\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ฃำดับเลขหตัา\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกปบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อกไการอีางอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวรอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาๆทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป์นตัวหนา-ตัวัอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟเศดอตด็อก/กำหนดชื่อเคื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอีขดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสเงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนพรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการกสดงตัวเลขเย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรใฟ้กับข้อความในสไลด์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแชบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอีตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโกยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอะูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใชัสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ะข้าใจระบบฐทนข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบกานจัดเก็บข้อมูฃใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คุดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/เึรื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ง่นพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใชื AutoFolter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่ฝข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนอดฟฟิฒดอตอ็อก/จัดวางย้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหะวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationsh8psฆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐนนข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลง์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใชัเส้นไกด์ชืวยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อสูลในแผ่นงานแบบเค็มจอ\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเกนเอฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ็ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่จ้องใช้ง่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมืิวาดรูผ\nโอเดนออฟฟิศดแตอ็อกๆทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นาไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมเเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แมรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนอฝาจพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกาม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังพ์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูงเป็นๆฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์ดละความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อคสามในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปถาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนอถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมใองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่บ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีพระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารทั่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่ฝแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดเคอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัถท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จ้กตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียดข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/เรื่องของแถบ้ครื่องมือมน Cqlc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องกา่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอฝ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรา Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนบ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซาอนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการใช้เครื่องมือใช้สำหรับวาดรูปสามมิติ ได้แก่ ลูกบาศก์ ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และอีกมายมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้\nเปลี่ยนรูปทรงปกติเป็นรูปทรงสามมิติ\nสร้างรูปทรง 3D-Objects\nสร้างรูปทรง 3D-Objects.\nเราสามารถเลือกใช้งาน 3D-Objects ได้โดยเลือกเมนูคำสั่ง View>Toolbars> 3D-Objects (มุมมอง>แถบเครื่องมือ>วัตถุ 3 มิติ) จะปรากฏรูปทรงมาตรฐานให้เราเลือกใช้งาน\n\nคลิกเมาส์ปุ่ม (Sphere) เพื่อจะวาดรูปทรงกลม\nคลิกบริเวณจุดเริ่มต้น ให้กดเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์กำหนดขนาดภาพตามต้องการ\n\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สำหรับผู้ที่น้องการเริ่มต้นกับ OpenOffice.org สิ่งแรกที่ต้องทำก็คือทำการติดตั้งโปรแกรม OpenOffice.org ในเครื่เงคิมพิวเตอต์ของเราก่อน ซึ่งสามารถติดตั้งได้ทั้งบนเครื่องทั่ทำงานอยู่บนระบบปฏิบัติก่ร Windows, Linux, Solaris, FreeBSD และ Mac OS X\nสเป็คเครื่องที่ต้องเตรียมสำหรับใช้งาา OpenOffice.org \nระบบปฏิบัติการ Windows\nระบบปฏิบัติการ GUN/Linux\nระบบปฏเบัติการ Mac OS X\nสิ่งที่ต้องทำก่อนติดตั้ง OpenOffice.org\nเนื่องจนกความสามารถบาบส่วนของ OpenOffice.org เชีน OpenOffive.org Base ต้องการ Java Runtije Environment (JRE) ด้วย ซึ่งำากเครื่องของเรายังไม่เคยติดตั้ง JRE เราสามารถติดตั้ง JRE ได้จากเว็บ www.java.com มิฉะนั้นการทำงานของ OpenOffice.org จะไม่สมบูรณ์\nหาโปรแกรม OpenOffice.org มาติดตั้ง\nPpwnOffice.org เป็นโปรแกรมประเภท OpenSource ที่มีการเผยแพร่ให้นำไปใช้งานได้ฟรีโดยไม่เสียค่นใช้จ่าย ซึ่ง SIPA (องค์กรมหาชน) ได้นำมารวมไว้กับโปรแกรม O'enSource อื่นในแผ่นติดตั้งชุดโปรแกรม Chantra ซึ่งมาพร้อมกับคู่มือเล่มนี้\nเมื่อเราเปิดแผ่นซีดีรอมนี้ขึ้นมา ก็จะพบกับหน้าจอสำหรับติดตั้งโปรแกรม Open Source ต่างๆ ให้เราทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้เพื่อติดตั้ง OpenOffice.org\nติดตั้ง OpenOfiice.org\nต่อไปจะปรากฏหน้าต่างต้อนรับเข้าสธ่การติดตั้งฌปรแกรม OpenOdfice.org ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้\nติดตั้งเฉพาะองค์ประกอบที่ต้องการ\nในขั้นตอนที่ 3 ถ้าเราเลือกการติดตั้งแบบ \"กำหนดดารติดตั้งเอง\" หรือ \"Custom\" เราจะสามารถกำหนกตำแหน่งที่ต้องการให้ติดตั้ง OpenOffice.org ใน้ครื่องของดราได้ และหลังจากนั้นก็จะพบกับหน้าต่างที่แสดงรายชื่อโปรแกรมย่อยและส่วนประกอบต่างๅ ของ OpenOffice.org จัดเป็นหัวข้อตามแต่ละโปรแกรมหลัก โดยให้เราเลือกติดตั้งเฉพาะส่วนที่ต้องการได้\nThis feature will be Installrd on .odal hard disk. : \nเลือกติดตัเงองค์ประกอบทั่วไปของโปรแกรมที่เลือกอยู่\nThis feature, and all subfolders, will be Installed on local hard disk. : \nเลือกติดต้้งองค์ประกอบทั้งหมดของโปรแกรมที่เลือกอยู่\nThis feature will not available. : \nเลือกไม่ติดตั้งโปรอกรมที่เลือกอยู่\nวิธีนี้ทำให้เราระบุได้เจาะจงว่าต้องการติดนั้งโป่แกรม หรือคุณสมบัติใดบ้างที่มีใน OpenOffice.org เช่น ถ้าเราต้องการติดตั้งเพียงโปรแกรม Writdr, Calc และ Impress แต่ไม่ต้องการติดตั้งโปรแกรม Draw และ Math ก็ให้กำหนดในหน้าต่างนี้ได้ดังตัวอย่างในรูป\nสารบัญ\n\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโามัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/กราฟกับกรรนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยเัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลืีอนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหสุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การแก้ไขและปรัลเปลี่ยนชุดขือมูลที่ใช้สร้างแผนภ๔มิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขวูตรคำนวณ\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนิอฟฟิศดอคอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การคัดลอกขีเมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัพลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาใาเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตพแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดทำสารบัญ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อคว่มฝนมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตรรางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Au5osum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใบเ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การใช้คำสั่ง Umdo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นาำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองตีางๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่าวแผ่นงานและสมุดงาน\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแตืงกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตทรางด้วบ AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อกไการตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้าหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาฝนการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแารกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรหภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการรัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันืึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัจถุ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/ก่รปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสง่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟหิศดอติ็อก/การปรับดต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแฟนภูทิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีปอดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใข้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหสานช่องเซลล์และกนรแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การพิมพฺข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออไไิศแอตอ็อกๅการพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มดถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในกาานำเสนอในสไลด์\nโอเพนแอฟฟ้ศดอตอ็อก/กาคเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรย้ายข้อความ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อทูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การย้ทยตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การลบแุวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการ่ำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารวาดรูปร่างอัตโนาัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการวาดเส้นลูกซี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโแเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้่งข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานภรีเซนดตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตุวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างคารางและฟิลด์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาดนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การฝส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใสืเชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์ะิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรหมุนใัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffise.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดอกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นนัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเแน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้มนสูตร\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนอรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/กำหนดรูปกบบหารแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการอสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแยบและขนาดตัวอักษรให้ดับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบยหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟ/ฟล์งานอัตโนทัติ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมเที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจดด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไเข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแขบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแแรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วะ้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรลอิสระ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเใ้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และฃบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่จ้องการ\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือัซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อควาใด้วยสี\nโอิะนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อควาสโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Apellcheck\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page )review\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลลฺหรือกลุ่มเซลล์ท้่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nฏอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/าำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_เทคน้คการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่าเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่ยงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรหไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหมื\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตนียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชเ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/บันทึกงานพรีเซนิตชั่นที่สรัาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกขิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/ปบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูชที่มีปริมาณมาก\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม *mpress\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/โปรแกรม !riter ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOfrice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้ิมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใข้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกำว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดัขข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไลลแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลัก?ณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใิธึการเลือกวุตถุ\nโอเพนออฟฟิฯะอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Char5\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อด/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภธมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไเส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสกงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดย้อความในย่เหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/แสดงไรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ใสรตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักศณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอ้ำนออฟๆิศดอตอ็อก/ฟมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "สำหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นกับ OpenOffice.org สิ่งแรกที่ต้องทำก็คือทำการติดตั้งโปรแกรม OpenOffice.org ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราก่อน ซึ่งสามารถติดตั้งได้ทั้งบนเครื่องที่ทำงานอยู่บนระบบปฏิบัติการ Windows, Linux, Solaris, FreeBSD และ Mac OS X\nสเป็คเครื่องที่ต้องเตรียมสำหรับใช้งาน OpenOffice.org \nระบบปฏิบัติการ Windows\nระบบปฏิบัติการ GUN/Linux\nระบบปฏิบัติการ Mac OS X\nสิ่งที่ต้องทำก่อนติดตั้ง OpenOffice.org\nเนื่องจากความสามารถบางส่วนของ OpenOffice.org เช่น OpenOffice.org Base ต้องการ Java Runtime Environment (JRE) ด้วย ซึ่งหากเครื่องของเรายังไม่เคยติดตั้ง JRE เราสามารถติดตั้ง JRE ได้จากเว็บ www.java.com มิฉะนั้นการทำงานของ OpenOffice.org จะไม่สมบูรณ์\nหาโปรแกรม OpenOffice.org มาติดตั้ง\nOpenOffice.org เป็นโปรแกรมประเภท OpenSource ที่มีการเผยแพร่ให้นำไปใช้งานได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่ง SIPA (องค์กรมหาชน) ได้นำมารวมไว้กับโปรแกรม OpenSource อื่นในแผ่นติดตั้งชุดโปรแกรม Chantra ซึ่งมาพร้อมกับคู่มือเล่มนี้\nเมื่อเราเปิดแผ่นซีดีรอมนี้ขึ้นมา ก็จะพบกับหน้าจอสำหรับติดตั้งโปรแกรม Open Source ต่างๆ ให้เราทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้เพื่อติดตั้ง OpenOffice.org\nติดตั้ง OpenOfiice.org\nต่อไปจะปรากฏหน้าต่างต้อนรับเข้าสู่การติดตั้งโปรแกรม OpenOffice.org ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้\nติดตั้งเฉพาะองค์ประกอบที่ต้องการ\nในขั้นตอนที่ 3 ถ้าเราเลือกการติดตั้งแบบ \"กำหนดการติดตั้งเอง\" หรือ \"Custom\" เราจะสามารถกำหนดตำแหน่งที่ต้องการให้ติดตั้ง OpenOffice.org ในเครื่องของเราได้ และหลังจากนั้นก็จะพบกับหน้าต่างที่แสดงรายชื่อโปรแกรมย่อยและส่วนประกอบต่างๆ ของ OpenOffice.org จัดเป็นหัวข้อตามแต่ละโปรแกรมหลัก โดยให้เราเลือกติดตั้งเฉพาะส่วนที่ต้องการได้\nThis feature will be Installed on local hard disk. : \nเลือกติดตั้งองค์ประกอบทั่วไปของโปรแกรมที่เลือกอยู่\nThis feature, and all subfolders, will be Installed on local hard disk. : \nเลือกติดตั้งองค์ประกอบทั้งหมดของโปรแกรมที่เลือกอยู่\nThis feature will not available. : \nเลือกไม่ติดตั้งโปรแกรมที่เลือกอยู่\nวิธีนี้ทำให้เราระบุได้เจาะจงว่าต้องการติดตั้งโปรแกรม หรือคุณสมบัติใดบ้างที่มีใน OpenOffice.org เช่น ถ้าเราต้องการติดตั้งเพียงโปรแกรม Writer, Calc และ Impress แต่ไม่ต้องการติดตั้งโปรแกรม Draw และ Math ก็ให้กำหนดในหน้าต่างนี้ได้ดังตัวอย่างในรูป\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ระบบความช่วยเหลือของ OpenOffice.org นั้นมีข้อมูลช่วยเหลือต่างๆ มากมาย โดยเมื่อเราเรียกใช้โปรแกรมใดในชถด OpenOffice.org ดังตัวอย่างถ้าเีาอยู่สนโปรแกรม Writer เราสามารถเปิดดูหน้าจอ \"Help\" ได้ดังนี้\n\nเชือกเมนู Help>OpenOffice.org Help (ช่วยเหลือ>วิธีใช้ Open Office.org Help)# จะปรากฏหน้าต่าง OpenOffice.org Help ซึ่งจะรววรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม โดยมีการจัดเป็นหมใดหมู่อย่างชัดเจน\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอถไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูชและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟเศแอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์ะริ่มต้นให้กับเอกมาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อควทม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไจฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การแก้ฟขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลทั่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไจสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในะอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและก่รจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Oytline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัะเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนแเฟฟิศดอตอ็อำ/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลืกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo ดพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ดารใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศพอตเ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่านำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาใช้สไตล์ย่อฟน้า\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การใช้สูตรกัยข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตาีางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoForma5\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำเัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ อละการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลอ์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไแใช้ในฝานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโเเพนออฟฟิศดอตอํอก/ก่รบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูบให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างแฃะความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลค่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/กาาเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัจถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอดสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ย้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ_ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการย้ายและคัดลอกสูตีคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยำวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบย้อมูลในเซลล็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟอศดอติ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัสน์\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลลฺ\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักฒรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรเลื่อนะูเอกสาร\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลีรยมหาือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาวาดเส่นที่มีหัวลูพศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดดส้นลูปศร\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออหฟิศดดตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การสรเางตารางและฟิลด์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชัีน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อควสมในหัวกระกาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อควาาลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลัปษณ์พิเศษิื่นๆ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.prg Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช่งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำผนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดัส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน กละขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอ้พนดอฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/กำหนดีายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/กำหนดรูปแบบกนรแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปำหนดรูปแบบและขนาดต้วอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรใไ้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งาสอัตฉนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้_ขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย SutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ขอึวามช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหนืาจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก็ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสช้งานโปรดกรม Calc\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดรั้ฝ OpenOffice.9rg 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาแสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่จกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวรงข้อความให้ล้อมถาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูฃให้อยู่กึ่งกลางกถวเพื่อใช้เผ็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไช่องตารางหรือัซลล์ใน Cakc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน ไรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต์มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รกแต่งข้อความด้วยสี\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/รกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใล้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบบานก่อนพิมพ์\nโเะพนออฟฟิซดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรืดกลุ่มเซลล็ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเค่ื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต่องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปชี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกนาฟิห\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Bqse\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงนาพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็าหลายตอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในน่อ\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูกแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศพอรอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนเเฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณธ์ในขุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่มช้กันหน่อย\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รํ้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้ยสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูบที่บันทึำกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับสาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครืาองมืดใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโออพนออฟฟิศะอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้าลรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Cslc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดบข้อมูลให้ครบในเซลง์\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัะข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ใส่ตัวเลจแสดงลำดับหัวข้อหรืิสัญลักษณ์แสแงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impresd",
"role": "user"
},
{
"content": "ระบบความช่วยเหลือของ OpenOffice.org นั้นมีข้อมูลช่วยเหลือต่างๆ มากมาย โดยเมื่อเราเรียกใช้โปรแกรมใดในชุด OpenOffice.org ดังตัวอย่างถ้าเราอยู่ในโปรแกรม Writer เราสามารถเปิดดูหน้าจอ \"Help\" ได้ดังนี้\n\nเลือกเมนู Help>OpenOffice.org Help (ช่วยเหลือ>วิธีใช้ Open Office.org Help)# จะปรากฏหน้าต่าง OpenOffice.org Help ซึ่งจะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม โดยมีการจัดเป็นหมวดหมู่อย่างชัดเจน\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หลังจากการติดตั้งโปรแกรม OpenOffixe.org เสร็จ เราจะพบกับเมนู และคำสั่งต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ สำหร้บผู้ที่ต้องการเปลี่ยนส่วนเหล่านี้เป็ตภาษาไทย เพราะคุ้นเคยกว่า ก็ทำได้โดยเข้าไปกำหนดในส่วน Options ของโปรแกรม และเมื่อใดที่ต้องการเปลี่ยนกลับเป็นภาษาอังกฤษก็ให้มาสล้บภาษาได้เล่นกัน\nหากเราต้องการเปลี่ยนเมนูเป็นภาษาไทย จะต้องติดตั้ง OpenOffice.org Thai Langauage Pack ในเครื่องของเราก่อต (ติดตั้งครั้งแรกครั้งเดียว) ซึ่งโปรแกรมนี้มาพร้อมกับแผ่นซีดี Chantra ที่มาพร้อมกับคู่มือเล่มนี้เช่นกัน\nNOTE\nในกคณีที่เราไม่มีแผ่นซีดี Chantra ก็สามารถดาวน์โหลด Thai Language Pack ได้โดยตรงที่ http://ww1.thaiopensource.org/'ub/OpenOffice.org/##1/OOo_ ##1_090116_Win32Inyel_langpack_th.exe\nต่อไปให้เราเรียกโปรแกรม OpenOffice.org ใดก็ได้ และทำตามขั่นตอน ดังนี้\n\nจากหน้าต่างโปรแกรมใดๆ ที่เปิดอยู่ให้เราเลือกเมนู Tools>Options (เครื่องมือ> ตัวเลือก)\nจะปรากฏหน้าต่าง Options ขึ้ตมาให้เราเลือกไปที่ Language Settinns และเลือก Language\nที่ช่อง User interface กำหนดภาษาที้ใช้บนหน้าต่างโปรแกรมเป็น Thai\nคลิกเมาส์ที่แุ่ม\nโปรแกรมจะแจ้งว่าการเปลี่ยนภาษานี้จะมีผลเมื่อเรมปิดและเปิดโปรแกรมใหม่\n\nNOTE\nในหนังสือเล่มนี้จะอธิบายการใช้งานโปรแกรมต่างๆ ฮดยแสดงทั้งเมนูที่เป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทยด้วย เช่น File>Print (แฟ้ม>พิมพ์) เพื่อใหัรองรัชทั้งผู้ใช้งานที่กำหนดเมนูเป็นภาษาอังกฤษ หรือภาษาไทยก็ได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่ิคัดเบือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoTeat\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่เนเคอร์เซอร์\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแทํบหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลีียนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การขีดเส้นตาราง\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาเขียนฟังก์ลั่น\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/กานเขียนสมการคณิคศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อใูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อทูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสรร\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแกนรงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การมช้ AjtoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Aut;sum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Biokmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลืกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารใช้งาน OpenOffice.org แืน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็เก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องดาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมํล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่างานและสมุดงาน\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหบัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การน_เข้าตารางจากฐานข้อมูบอื่น\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/กนรปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรัขช้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ์อก/การปรับแต่งรายละเอียดน่างๆ ของแผนภูมิ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมะกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/กาาเปลี่ยนขนาดฟอนต?\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพืีนหลังสไฃด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิด้อกสารมี่บัน่ึกๆว้กลับมาใช้งาส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยพช่องเฦลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การเพิ่มแถวและคิลัมน์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การเพิ่ใและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซฃล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายแลุคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/กสรเรียงข้อมูลในตาีาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลยข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความแลดการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อป/การเลือกตัวอักษตหรือข้อความบางสทวน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ทีรใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออไฟิศเอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานสร้างข้อรวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัฝเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสรัางตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่บ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนอดฟฟิศดดตอ็อก/การใส่ลำดุบเลบหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญล้กษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิวเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดก่รใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กหหนดข้อมูลวหัแสดงเป็ยตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกละ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไละ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆกำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดต้วอักฒรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลเ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนกให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขรำที่พิมพ์ผิดโดยิัตโนมัติด้วย Aut;Correct\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกสตเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็เก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกีม Xalc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดชอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปมรลสามมิติ\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสึ่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่อลมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคงื่อนยีาย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเนชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟผิศดอตแ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวท\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางขิอความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดงสงข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเคื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัทพันธ์ (Relationshi;s)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดจองคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อควาใด้วยสี\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/นกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellchdck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจนอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชืทอเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/เทคาิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเตอม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวจคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรรยมการนำเสนองาสพรีเซรเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปีแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟัลก์ชั่น\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สรืาง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกบิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บัรทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Micrisoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสานเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าตอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริใาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสํงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือนูปภาพ\nโเเพนออฟฟิศดแตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังชองภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อำ/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OprhOffice.org\nโอเพนออฟฟเศดเตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม I,press\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ส่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ทีทใช้กันหน่อย\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Sel3ction\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เรียงลำดับจ้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่อลของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่ยงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้อผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ตัองการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อทูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแปนภูมิด้วย Chqrt\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตุวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร่างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ตรบในเซลล์\nโแเพนแอฟฟิศดอจอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "หลังจากการติดตั้งโปรแกรม OpenOffice.org เสร็จ เราจะพบกับเมนู และคำสั่งต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ สำหรับผู้ที่ต้องการเปลี่ยนส่วนเหล่านี้เป็นภาษาไทย เพราะคุ้นเคยกว่า ก็ทำได้โดยเข้าไปกำหนดในส่วน Options ของโปรแกรม และเมื่อใดที่ต้องการเปลี่ยนกลับเป็นภาษาอังกฤษก็ให้มาสลับภาษาได้เช่นกัน\nหากเราต้องการเปลี่ยนเมนูเป็นภาษาไทย จะต้องติดตั้ง OpenOffice.org Thai Langauage Pack ในเครื่องของเราก่อน (ติดตั้งครั้งแรกครั้งเดียว) ซึ่งโปรแกรมนี้มาพร้อมกับแผ่นซีดี Chantra ที่มาพร้อมกับคู่มือเล่มนี้เช่นกัน\nNOTE\nในกรณีที่เราไม่มีแผ่นซีดี Chantra ก็สามารถดาวน์โหลด Thai Language Pack ได้โดยตรงที่ http://www.thaiopensource.org/pub/OpenOffice.org/##1/OOo_ ##1_090116_Win32Intel_langpack_th.exe\nต่อไปให้เราเรียกโปรแกรม OpenOffice.org ใดก็ได้ และทำตามขั้นตอน ดังนี้\n\nจากหน้าต่างโปรแกรมใดๆ ที่เปิดอยู่ให้เราเลือกเมนู Tools>Options (เครื่องมือ> ตัวเลือก)\nจะปรากฏหน้าต่าง Options ขึ้นมาให้เราเลือกไปที่ Language Settings และเลือก Language\nที่ช่อง User interface กำหนดภาษาที่ใช้บนหน้าต่างโปรแกรมเป็น Thai\nคลิกเมาส์ที่ปุ่ม\nโปรแกรมจะแจ้งว่าการเปลี่ยนภาษานี้จะมีผลเมื่อเราปิดและเปิดโปรแกรมใหม่\n\nNOTE\nในหนังสือเล่มนี้จะอธิบายการใช้งานโปรแกรมต่างๆ โดยแสดงทั้งเมนูที่เป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทยด้วย เช่น File>Print (แฟ้ม>พิมพ์) เพื่อให้รองรับทั้งผู้ใช้งานที่กำหนดเมนูเป็นภาษาอังกฤษ หรือภาษาไทยก็ได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หลังจากที่เรากำหนดค่า Locale setting (การตั้งค่าท้องถิ่น) เป็น Thai แล้ว ค่าอืีน ดังนี้จะเปลี่ยนเป็น Thai ด้วย\nDefault currency ให้กมรแสดงค่าเงินรองรับสกุลเงินไทย\nCTL\nใหืการวางข้อความ (complex text layout) รองรึบ การใช้ภาษาไทย\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/Calc ทำอะไรไเ้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนใัติด้วย AutoTexy\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟผิศดอนอ็อก/การกำหนดฟอนต์เีิ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ลั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สี้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเสเนตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขรยนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การค้นหาและปทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความฝห้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวามนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การจัพเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การจัดเรียงง้ตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงฌยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ึำสั่ง Indo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ช้่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nฮอเพนออฟหิศดอตอ็แก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/การตกปต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารสงด้วย AuyoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจั้งกั้นหน้าและกั้จหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบครยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารคัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อตวาม และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอป/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลดฺ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nฑอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดขการขึ้นหน้าใหใ่\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาำ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแตรงรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดแชะรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นทีืวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพ่้นหลังสไลด์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อกๅการเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การเพิ่มแถวดละคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเวนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การเีียงบ้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอชัมน์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและปารทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การเลืแกตัวอักษรหรือข้อความบางว่วน\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การเลือำฟอตต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/หารวาดู่ปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้น่ี่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเย้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การสร้างบ้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเฦนเตชั่นชิ้ยใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภากนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหมื\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใสีข้อความในหัวกระดาษ แลุท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอีรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในยูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nฉอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนกข้อความเป็นตัวหนา=ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ใจสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเร่่องของสไลดฺ\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อพ/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหยดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปอบบหน้ากระดาษก่อนเริ่าทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูม้ที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยเัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpdnOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพบาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูงเชิงสัมพันฌ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรธปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calx\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานขิามสทุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกยูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมทอวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตพแหย่บที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัเตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพใตเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ็ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดขอบคีย์ฝนฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตาราบหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามดผ่นงาน หรือสมถด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้น/กด๋ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มนอ\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้ส้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานกรอนพิมพ์\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nฌอเพนออฟไิศดอตอ็อก/ตั้งชท่ิเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนเคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล?ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเดกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสยอบานพรีิซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคเญ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดแตอฺอก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล้ป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอำสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/ใบปะหย้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจมกอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดบานบนหน้าจอในเวลาเดียใกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOgfice.org\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรส Impress\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นปคะที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/ย่อ/ขยายภาำ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเถนออฟฟิศดอตเ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/เรียกข้อมูล่ี่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไเรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เแ/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องหาร\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลสนเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเถนอแฟฟิศดอตอ็อกๆสร้างรูปพ้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประหอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกองขอลแผนภูมิ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อกๆา่วนประกอบชองหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้คตบในเซลล์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสทรเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลัแษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้แความ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ออกจากโปรแกตม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปีแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "หลังจากที่เรากำหนดค่า Locale setting (การตั้งค่าท้องถิ่น) เป็น Thai แล้ว ค่าอื่น ดังนี้จะเปลี่ยนเป็น Thai ด้วย\nDefault currency ให้การแสดงค่าเงินรองรับสกุลเงินไทย\nCTL\nให้การวางข้อความ (complex text layout) รองรับ การใช้ภาษาไทย\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หลังจากการกำหนดค่านี้ เมื่อใดที่เราพบปัญหาทำให้ไฟล์เอกสารที่แก้ไขอยู่นั้นสูญหายไป ก็ให้เรียกไฟล์เอกสารที่เซฟไว้อัตโนมัติล่าสุดมาทำงานตรอได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/Calc ทำอะไรไก้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/กราฟแับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกคอกข้อความโดยอัตโนสัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Mzrgin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่ลแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มร้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขช้อความ\nฑอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลั่ยนชุดข้อม฿ลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแกัไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นนนราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม O;enOffice.o4f Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตเขียนสมหารคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสนรด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดปนรกับวัตถุ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การจีดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดย้อความให้อยู่กึ่งกลมง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตหแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการใช้ Autosum\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพปีะกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อแ/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนาี่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดนั้ง OpenOffice.ort\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การทไดัชนี\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปทรกสไลด์ด้วยพารคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การปรับขนาพของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การปรับข้อมูบให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างล่องตาราง\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การปรับความสว่างและควาสคมชัดของภาะ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรุบแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การประบแต่งรายละเอียดต่างๆ ของดผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไฃด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nธอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การเกลี่ยนจนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อกๆการเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแบกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การพิมพ์งทน\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเง่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้รยข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มกละแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้แความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การเลือกข่อรวามและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสนะ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้รเชื่อม\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเจชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมน่อ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแยดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่บ้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ๋ภิเศษอื่นๆ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การหมถนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคิลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดบเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใค้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นวต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาถจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่อสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความใาสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนแรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แกัไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนใูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเลิบสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บจ้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Ca/c\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไเครื่องมือสาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลืือนยเาย เปลี่ยนขนาด และลงรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในนำแหา่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AktoFilter\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/จัดขีอความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูฃให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใข้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relatiobships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย๋ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใชเเส้นไกด์ช่วบในการวาดภาพ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใล้สี\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ครวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอวเอกวารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ตั้งชืาอเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือว่ดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟลฺภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคหและตัวเักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/แนวทางเตรียมการนำเสนองายพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็ิก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรี้ศนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ขีอมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสาตเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มคปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดบใช้แถบเคตื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวแักษรเภิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรึำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เกิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ฉปรแก่ม Writer ทำอพไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคไสั่ง\nโอเภนออฟฟิศดิตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภสพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐ่นข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ์อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มก้อนข้อมูลใสเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลัชมามช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟไิศดอติ็อก/เรื่องของปถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ัลือกสูตร/สัญลักษณ์ที้ต้องการ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีดารเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/สร้่งแผนภูม้ด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปอ้วยตัวเราเอง\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สรีางเอกสารประกอบกนรบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Dalc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็ดก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ็เปี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลยแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวจือ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตารนง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "หลังจากการกำหนดค่านี้ เมื่อใดที่เราพบปัญหาทำให้ไฟล์เอกสารที่แก้ไขอยู่นั้นสูญหายไป ก็ให้เรียกไฟล์เอกสารที่เซฟไว้อัตโนมัติล่าสุดมาทำงานต่อได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในไพวิกิพีเดีย อาจจะมีการใช้นิพจน์กรกติในสองโอกาส คือในการใช้งานสคริปต์ replxce.py หรือไม่ก็ใช้ในการเขียนสคริปต์ เนื่องจากไพวิกิพีเดียเขียนขึ้นด้วยภาษาไพทอน นิพจน์ปรกติของไพวิกิพีเดียจึงอาศัยนิพจน์ปรกติของภาษาไพทอนเห็นฐาน ส่งผลให้วากยสัมพันธ์เหมือนกันทุกประกาค\nนิพจน์ปรกติของภาษนไพทอนรองรับความสามาตถของนิพจน์ปรกติขอบภาษาเพิร์ล ซึ่งมีความสามารถเพิ่ม้ข้ามามากมายเทียบกับมาตรฐานนิพจน์ปรกติทั่วไป\nเพื่อแยกแยะระหว่างนิพจน์ปรกติทั่วไปกับข้อความ จะขอเขียนนิพจร์ปรกติคร่อมด้วยเครื้ดงหมาย codice_1 แทนที่จะคร่อมด้วย \"...\" ตามปกติ อย่างไรก็นาม ขอให้เข้าใจว่าในภาษาไพทอนนิพจน์ปรกติคร่อมด้วย ฆ...\" เหมือนข้อความทั่วไป\nต่อจากนี้จะแสดงถึงความสามารถหรือวากยสัมพันธ์เฉพาะของนิพจน์ปรกติบยไพวิกิพีเดียๅภาษาไพทอนพอเป็นสังเขปเท่านั้น โดยจะไม่ลงลึกถึงการใช้งานนิพจน์ปรกติ และอาจมีตัวอย่างประกอบเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย\nอักขระควบคุม\nอักขระควบคุม.\nอักขนะควบคุม (metacha4acters) เป็นเครื่องหมายพิเศษที่ใช้ในการควบคุมรูปแบบของข้อความ ได้แก่\nตารางด้านล่างนี้จะอธิบายเฉพาะอักขระที่มีควรมกำกวมในการใช้อย่มงย่อเท่านั้น\nการหนีอักขระด้วยเครื่องหมายทับหลัง\nการหนีอักขระด้วยเครื่องหมายทับหลัง.\nอักขระสัญลักษณ์โดยส่วนใหญ่จะเป็นอักขระึวบคุมด้วย จึงไม่สามารถใส่อักขระสัญลักษณ์โดด ๆ เพื่อให้นิพจน์ปรกติจับไแ้ ทางออกทึ่จะให้นิพจน์ปรพติจับกับตัวสัญลักษณ์เหล่านั้น คือการหนีอักขระดังกลีาว (escape character) โดยให้ใส่เครื่องหมาย่ับหลัง (codice_2) เข้าไปก่อนหน้าสัญลักษณ์ตทสง ๆ ลักษณะเดียวกันพับ codice_3\nเช่นต้องการจถจับกับข้อความ \"a+\" ในข้อความ \"qwea+ewqaaaqwe\" หากใช้นิพจน์ปรกติ codice_4 จะเป็นการจับกับ \"a\" และ \"aaa\" ใน \"qwea+ewqaaaqwe\" แทน เพราะ codice_y เป็นอักขระควบคุมฝนการจับซ้ำ แต่ถ้าใช้นิพจนฺปรกติ xodice_6 ก็จะจับได้ \"a+\" ใน \"qwea+ewqaaaqwe\" ตามที่ต้องการ\nิครื่องหมายทับหลัง (cod7ce_2) ควรใส่เข้าำปก่อนหน้่เครื่องหมายทุกอย่างที่จะจับ (ควรใช้กับทุกอักขระท่่ไม่ใช่ alphanumeric characters หรือก็คือ อักขระทุกตัวที่ไม่ใช่ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายขีดล่าง ฆ'_')) พึบแม้ว่าสัญลักษณ์ดังกล่าวจะไใ่ใช่อักขระควบคึมก์ตาม เพื่อให้ไม่เกิดควรมกำกวม อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ หากการเขึยนอักขระนัันโดด ๆ ไม่ทำให้เกอดรวามหมายพิเศษ ก็ไม่จำเป็นจะต้องหนีอักขระดังกล่าวเสมอไป เช่น เครื่องหมาย # @ ! \nชุดอักขระ\nชุดอักขระ.\nชุดอักขระ (character set) คือกลุ่มของอักขระที่นิยามมาให้แลเว ตารางด้านล่างนี้แสดลชุดอักขระทั้งหมด\nนอกจากนี้ ยังมีชุดอักขระซึ่งมีความยาวเป็นศูนย์ กล่าวคือเป็นรูปแบบที่นิพจน์ปรกติต้องพยายามจับเพื่อดำเนินการต่อไป แต่เมื่อจับได้แล้วจะไม่นำอักขระเหล่านี้มาประมวลผล ตารางด้านล่างนี้แสดงชุดอักขระความยาวศูยย์ทั้งหมด\nโลภกับไม่โลภ\nโลภกับไม่โลภ.\nแารจับข้อความซ้ำโดบเครื่องหมาย codice_8 หรือ codice_5 จะพยายามจับให้ไกลที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ไปก่อน\nหากไม่ต้องการให้มีการจับแบบโลภ กล่าวคือพยายามหยุดดารจับซ้ำทันที่ถ้าเป็นไปได้ ให้ใส่เครื่องหมาย codice_10 เข้าไปด้านหลังเครื่องหมาย codice_8 หรือ codice_5 เพื่อให้นิพจน์ปรกติพยายามที่จะหยุดการจับซ้ำทันทีที่สามาีถจับอักขระถัดๆปได้\nตัวอย่างเช่น สำหรับข้อความ \"abcdbcdbc\" ตัวอย่างการจับซ้ำแบชโลภ คือใช้นิพจน์ปรกติ codice_13 ฦึ่งจะได้ \"bcdbvd\" จาก \"abcdbcdnc\"\nหากต้องการจะจับให้ได้ \"bcd\" จาก \"abcdbcdbc\" แทนที่ \"abcdbcdbc\" ก็ต้องทำการจับแบบไม่โลภ นั่นคือใช้นิพจน์ปรกติ codice_14 แทน\nโหมด\nโหมด.\nโหมด (mode, flag) เป็นลักษณะของการประมวลผลรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป มีทั้งหมดดังนี้\nในการใช้งาน replace.py อาจมีบางโหมดที่สามารถกำหนดได้จากพารามิเตอร์ เช่น โหมด dotall และ ignorecase (nocsse) และโฟมดทั้งหลายสามารถเรียกใช้พร้อมกันได้ด้วย เช่น codice_15 หากหน้า xxx มีข้อความ\nก็จะถูกแทนืี่เป็น\nแต่บางโหมดเช่น multiline ไม่มีพารามิเตอร์ให้ใช้ในการเปิดโหมด ก็อาจใข้ inline flag ในการกำหรด โดยใส่ codice_16 ไว้ด้านหน้าสุดของข้อความ ธดยที่ flag1 flag2 ... flagN เป็นค้า inline flxg ที่ปรากฎในตารางด้านชน เช่น หากต้องการกำหนด multoline กับ ignorecase พร้อมกีน ก็แาจใช้ codice_17 หากหน้า xxx ทีข้อความ\nก็จะถูกแทนที่เผ็น\nสำหรับ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน สามารถกำหนดโหมดได้ผ่านะารามิเตอร์เพิ่มเติม หากต้องการระบุหลาย ๆ โหมดพร้อมกัน ให้ใช้ vergical bqr (codicr_18) คั่น เช่น\nสำหรับการแทนที่ข้อความ ก็มีลักษณะแบบเดียวกัน\nหรือไม่เช่นนั้นก็อาจใช้ inline flag คล้ายกับที่เคยกล่าวใาแล้วก็ได้\nการอ้างย้อนหลัง\nการอ้างย้อนำลัง.\nการอ้างยิอนหลัง (backreference) คือความสามารถในการจับข้อความจาหข้อความค้นหา มาใส่อีกครั้งในข้อความค้นหาด้วยกันเอง หรือจะจับมาใส่ในข้อความแทนที่ก็ได้ โดยกำหนดข้แความที่จะจับจาก capturing group (codic2_19) ในข้อความค้นหา และใช้รหัสอ้างย้อนหละง (codice_20) ในการอ้างย้อนหลัง ซึ่งรหัสอ้างย้อนหลังนี้จะปรากฎใน ข้อความค้นหา หร้อ ข้อความแทนที่ ก็ได้\nสำหรับข้อความที่ต้องการจะจัดกลุ่ม แต่ไม่ต้องการจับให้มาอเางใน_ายหลัง สามารถใช้ non-caphuring broup (codice_21) ได้\nตัวอย่างการใช้การอ้างย้อนหลังกับรูปแบบด้วยกันเอง เช่น ต้องการจะจับข้อความที่มีวรรณยุกต์ตัวะดียวกันซ้อน ได้แก่ \"่่\" \"้้\" \"๊๊\" \"๋๋\" ก็อาจเขียนเป็นนิพจน์ปรกติได้ว่า codice_22 ซึ่งจะทำให้ในข้อความ \"เทวะ, อันข้้านี้ไซร้ มานี่้อย่่างไร บทราบสำนึกสักนิด\" มีการจับ \"้้\" และ \"่่\" จาก \"เทวะ, อัจข้้านี้ไซร้ มานี่้อย่่างไร บ่ราบสำนึกสักนิด\" สังเกตว่า \"่้\" จาก \"มานี่้\" จะไม่ถูกจับเนื่องจาก \"่\" กับ \"้\" เป็นคนละอักขระกัจ แต่หากใช้นิพจน์ปรกติ codice_23 ก็จะจับกรณีนี้ดัวย\nตัวอย่างก่รใช้การอ้างย้อนหลังกับข้อความแทนที่ เช่น หากต้องการจะแทนที่ (ตัวอย่างคือ ) ก็อาจกำหนดข้อความค้นหาเป็น codice_24 และข้อความแทนที่เป็น codice_25\nการยืนยันด้วยอักขระความยาวศูนย์\nการยืนยันด้วยอักขระความยาวศูนย์.\nการยืนยันด้วยอัหขระความยาวศูนย์ (zero-width assertion) หรือที่รู้จักกันในชื่ด lookaround เป็นรูปแบบซึ่งนิพจน์ปรกติจะพยายามจับข้อความนั้น แต่ไม่นับข้อความนั้นเป็นข้อความที่ค้นเจอ ประกอบไแด้วย\nตัวอย่างเช่น สมมุติมีข้อความ\nหากต้องการจะจับ หรือ โดยที่ไม่ยุ่งกับข้อความที่อยู่ใน ... อาจมองปัญหาใหม่เป็นการจับ หรือ โดยที่จะต้องไม่มี เป็จข้อความอยู่ด้านหลัง ยกเว้นกรณีที่เจอ ก่อน (หากเจอ ก่อสแสดงว่าจริง ๆ แล้วยังไม่ได้เริ่มแท็ก)\nจากปัญหาข้างต้น สามารถเขียนนิพจน์ปรกติออกมาได้ว่า codice_26",
"role": "user"
},
{
"content": "ในไพวิกิพีเดีย อาจจะมีการใช้นิพจน์ปรกติในสองโอกาส คือในการใช้งานสคริปต์ replace.py หรือไม่ก็ใช้ในการเขียนสคริปต์ เนื่องจากไพวิกิพีเดียเขียนขึ้นด้วยภาษาไพทอน นิพจน์ปรกติของไพวิกิพีเดียจึงอาศัยนิพจน์ปรกติของภาษาไพทอนเป็นฐาน ส่งผลให้วากยสัมพันธ์เหมือนกันทุกประการ\nนิพจน์ปรกติของภาษาไพทอนรองรับความสามารถของนิพจน์ปรกติของภาษาเพิร์ล ซึ่งมีความสามารถเพิ่มเข้ามามากมายเทียบกับมาตรฐานนิพจน์ปรกติทั่วไป\nเพื่อแยกแยะระหว่างนิพจน์ปรกติทั่วไปกับข้อความ จะขอเขียนนิพจน์ปรกติคร่อมด้วยเครื่องหมาย codice_1 แทนที่จะคร่อมด้วย \"...\" ตามปกติ อย่างไรก็ตาม ขอให้เข้าใจว่าในภาษาไพทอนนิพจน์ปรกติคร่อมด้วย \"...\" เหมือนข้อความทั่วไป\nต่อจากนี้จะแสดงถึงความสามารถหรือวากยสัมพันธ์เฉพาะของนิพจน์ปรกติบนไพวิกิพีเดีย/ภาษาไพทอนพอเป็นสังเขปเท่านั้น โดยจะไม่ลงลึกถึงการใช้งานนิพจน์ปรกติ และอาจมีตัวอย่างประกอบเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย\nอักขระควบคุม\nอักขระควบคุม.\nอักขระควบคุม (metacharacters) เป็นเครื่องหมายพิเศษที่ใช้ในการควบคุมรูปแบบของข้อความ ได้แก่\nตารางด้านล่างนี้จะอธิบายเฉพาะอักขระที่มีความกำกวมในการใช้อย่างย่อเท่านั้น\nการหนีอักขระด้วยเครื่องหมายทับหลัง\nการหนีอักขระด้วยเครื่องหมายทับหลัง.\nอักขระสัญลักษณ์โดยส่วนใหญ่จะเป็นอักขระควบคุมด้วย จึงไม่สามารถใส่อักขระสัญลักษณ์โดด ๆ เพื่อให้นิพจน์ปรกติจับได้ ทางออกที่จะให้นิพจน์ปรกติจับกับตัวสัญลักษณ์เหล่านั้น คือการหนีอักขระดังกล่าว (escape character) โดยให้ใส่เครื่องหมายทับหลัง (codice_2) เข้าไปก่อนหน้าสัญลักษณ์ต่าง ๆ ลักษณะเดียวกันกับ codice_3\nเช่นต้องการจะจับกับข้อความ \"a+\" ในข้อความ \"qwea+ewqaaaqwe\" หากใช้นิพจน์ปรกติ codice_4 จะเป็นการจับกับ \"a\" และ \"aaa\" ใน \"qwea+ewqaaaqwe\" แทน เพราะ codice_5 เป็นอักขระควบคุมในการจับซ้ำ แต่ถ้าใช้นิพจน์ปรกติ codice_6 ก็จะจับได้ \"a+\" ใน \"qwea+ewqaaaqwe\" ตามที่ต้องการ\nเครื่องหมายทับหลัง (codice_2) ควรใส่เข้าไปก่อนหน้าเครื่องหมายทุกอย่างที่จะจับ (ควรใช้กับทุกอักขระที่ไม่ใช่ alphanumeric characters หรือก็คือ อักขระทุกตัวที่ไม่ใช่ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายขีดล่าง ('_')) ถึงแม้ว่าสัญลักษณ์ดังกล่าวจะไม่ใช่อักขระควบคุมก็ตาม เพื่อให้ไม่เกิดความกำกวม อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ หากการเขียนอักขระนั้นโดด ๆ ไม่ทำให้เกิดความหมายพิเศษ ก็ไม่จำเป็นจะต้องหนีอักขระดังกล่าวเสมอไป เช่น เครื่องหมาย # @ ! \nชุดอักขระ\nชุดอักขระ.\nชุดอักขระ (character set) คือกลุ่มของอักขระที่นิยามมาให้แล้ว ตารางด้านล่างนี้แสดงชุดอักขระทั้งหมด\nนอกจากนี้ ยังมีชุดอักขระซึ่งมีความยาวเป็นศูนย์ กล่าวคือเป็นรูปแบบที่นิพจน์ปรกติต้องพยายามจับเพื่อดำเนินการต่อไป แต่เมื่อจับได้แล้วจะไม่นำอักขระเหล่านี้มาประมวลผล ตารางด้านล่างนี้แสดงชุดอักขระความยาวศูนย์ทั้งหมด\nโลภกับไม่โลภ\nโลภกับไม่โลภ.\nการจับข้อความซ้ำโดยเครื่องหมาย codice_8 หรือ codice_5 จะพยายามจับให้ไกลที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ไปก่อน\nหากไม่ต้องการให้มีการจับแบบโลภ กล่าวคือพยายามหยุดการจับซ้ำทันที่ถ้าเป็นไปได้ ให้ใส่เครื่องหมาย codice_10 เข้าไปด้านหลังเครื่องหมาย codice_8 หรือ codice_5 เพื่อให้นิพจน์ปรกติพยายามที่จะหยุดการจับซ้ำทันทีที่สามารถจับอักขระถัดไปได้\nตัวอย่างเช่น สำหรับข้อความ \"abcdbcdbc\" ตัวอย่างการจับซ้ำแบบโลภ คือใช้นิพจน์ปรกติ codice_13 ซึ่งจะได้ \"bcdbcd\" จาก \"abcdbcdbc\"\nหากต้องการจะจับให้ได้ \"bcd\" จาก \"abcdbcdbc\" แทนที่ \"abcdbcdbc\" ก็ต้องทำการจับแบบไม่โลภ นั่นคือใช้นิพจน์ปรกติ codice_14 แทน\nโหมด\nโหมด.\nโหมด (mode, flag) เป็นลักษณะของการประมวลผลรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป มีทั้งหมดดังนี้\nในการใช้งาน replace.py อาจมีบางโหมดที่สามารถกำหนดได้จากพารามิเตอร์ เช่น โหมด dotall และ ignorecase (nocase) และโหมดทั้งหลายสามารถเรียกใช้พร้อมกันได้ด้วย เช่น codice_15 หากหน้า xxx มีข้อความ\nก็จะถูกแทนที่เป็น\nแต่บางโหมดเช่น multiline ไม่มีพารามิเตอร์ให้ใช้ในการเปิดโหมด ก็อาจใช้ inline flag ในการกำหนด โดยใส่ codice_16 ไว้ด้านหน้าสุดของข้อความ โดยที่ flag1 flag2 ... flagN เป็นค่า inline flag ที่ปรากฎในตารางด้านบน เช่น หากต้องการกำหนด multiline กับ ignorecase พร้อมกัน ก็อาจใช้ codice_17 หากหน้า xxx มีข้อความ\nก็จะถูกแทนที่เป็น\nสำหรับ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน สามารถกำหนดโหมดได้ผ่านพารามิเตอร์เพิ่มเติม หากต้องการระบุหลาย ๆ โหมดพร้อมกัน ให้ใช้ vertical bar (codice_18) คั่น เช่น\nสำหรับการแทนที่ข้อความ ก็มีลักษณะแบบเดียวกัน\nหรือไม่เช่นนั้นก็อาจใช้ inline flag คล้ายกับที่เคยกล่าวมาแล้วก็ได้\nการอ้างย้อนหลัง\nการอ้างย้อนหลัง.\nการอ้างย้อนหลัง (backreference) คือความสามารถในการจับข้อความจากข้อความค้นหา มาใส่อีกครั้งในข้อความค้นหาด้วยกันเอง หรือจะจับมาใส่ในข้อความแทนที่ก็ได้ โดยกำหนดข้อความที่จะจับจาก capturing group (codice_19) ในข้อความค้นหา และใช้รหัสอ้างย้อนหลัง (codice_20) ในการอ้างย้อนหลัง ซึ่งรหัสอ้างย้อนหลังนี้จะปรากฎใน ข้อความค้นหา หรือ ข้อความแทนที่ ก็ได้\nสำหรับข้อความที่ต้องการจะจัดกลุ่ม แต่ไม่ต้องการจับให้มาอ้างในภายหลัง สามารถใช้ non-capturing group (codice_21) ได้\nตัวอย่างการใช้การอ้างย้อนหลังกับรูปแบบด้วยกันเอง เช่น ต้องการจะจับข้อความที่มีวรรณยุกต์ตัวเดียวกันซ้อน ได้แก่ \"่่\" \"้้\" \"๊๊\" \"๋๋\" ก็อาจเขียนเป็นนิพจน์ปรกติได้ว่า codice_22 ซึ่งจะทำให้ในข้อความ \"เทวะ, อันข้้านี้ไซร้ มานี่้อย่่างไร บทราบสำนึกสักนิด\" มีการจับ \"้้\" และ \"่่\" จาก \"เทวะ, อันข้้านี้ไซร้ มานี่้อย่่างไร บทราบสำนึกสักนิด\" สังเกตว่า \"่้\" จาก \"มานี่้\" จะไม่ถูกจับเนื่องจาก \"่\" กับ \"้\" เป็นคนละอักขระกัน แต่หากใช้นิพจน์ปรกติ codice_23 ก็จะจับกรณีนี้ด้วย\nตัวอย่างการใช้การอ้างย้อนหลังกับข้อความแทนที่ เช่น หากต้องการจะแทนที่ (ตัวอย่างคือ ) ก็อาจกำหนดข้อความค้นหาเป็น codice_24 และข้อความแทนที่เป็น codice_25\nการยืนยันด้วยอักขระความยาวศูนย์\nการยืนยันด้วยอักขระความยาวศูนย์.\nการยืนยันด้วยอักขระความยาวศูนย์ (zero-width assertion) หรือที่รู้จักกันในชื่อ lookaround เป็นรูปแบบซึ่งนิพจน์ปรกติจะพยายามจับข้อความนั้น แต่ไม่นับข้อความนั้นเป็นข้อความที่ค้นเจอ ประกอบไปด้วย\nตัวอย่างเช่น สมมุติมีข้อความ\nหากต้องการจะจับ หรือ โดยที่ไม่ยุ่งกับข้อความที่อยู่ใน ... อาจมองปัญหาใหม่เป็นการจับ หรือ โดยที่จะต้องไม่มี เป็นข้อความอยู่ด้านหลัง ยกเว้นกรณีที่เจอ ก่อน (หากเจอ ก่อนแสดงว่าจริง ๆ แล้วยังไม่ได้เริ่มแท็ก)\nจากปัญหาข้างต้น สามารถเขียนนิพจน์ปรกติออกมาได้ว่า codice_26",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "งามแสงเดืิน\nเนื้อเพลง\nเนื้อเพลง.\nงามแสงเดือนมาอยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ (2 เที่ยว)\nเราเล่นเพท่อสนุก เปลื้องทุกข์วายระกำ\nขอให้เล่นฟ้อนรำ เพื่อสรมะคคีเอย\nความหมายเพลง\n\nงามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า - ท้องฟ้าจะงดงามเมื่อพระจันทร์ส่องแสง\nงามใบหน้าเมื่อิยู่วงรำ - หู้หญิงก็งดงามหากได้รำอยู่ในวงรำ\nเราเล่นเพื่อสนุก - พวกเราละเล่นรำวงอย่างสนุกสนานไม่มีทุกข์\nเปลื้องทุำข์วายระกำ - ละทิ้งควาททุกข์ความไม่สบายใจออกไป\nขอให้เล่นฟ้อนรำเพื่อสามัคคีเอย - การรำวงนี้ป็เพื่อให้เกิดความสามัคคี\nการฝึกหัดให้จังหวะในการเดินเข้ากับจังหวพเพลง\n\nการฝึกหัดให้จังหวะในการเดินเข้ากับจังหวะเพลง.\nจากกมทท่านั้น จะต้องจีบหงายที่ชายพกด้วยมือซ้าย ก้าวเท้าซ้ายเอียงศีรษะทางซ้าย ส่วนมือขวาตั้งวงบน ดังนั้น ห้าวแรกของท่ารำวงเพลงนี้ จึงตบรก้างเท้าซ้ายเป็นจังหวะแรก เพ่าะเริ่มต้นด้วยการจีวมือซ้าย\nการฝึกจังหวะเท้า\nฉิ่ง - ก้าวเท้าซ้ายตรงกับคหว่า “งาม”\nฉับ - ก้าวเท้าขวาตรงกับคำว่า “เดือน”\nดนตรีจะนำเพลงงามแสงเดือนไป 1 วรรค ให้ฝ่ายหญิงหันศีรษะมาทางด้านซ้าย เข้าหาฝ่ายชายแล้วทำความเคารพด้วย การไหว้ จะเป็นไหว้ทั้งชายและหญิง หรือจะให้ฝ่ายหญิงไหว้ ฝ่ายชายฉค้งก็ได้ เมื่อทำความะคารพแล้วตั้งท่านิ่งไว้ คือ มือซ้ายจีบหงายที่บริเวณชายพก มือขวาตั้งวงศีรษะเอียงไปทางด้านจีบ ส่วนจังหวะเท้านั้นเพียงแค่ย่ำเท้าซ้าย – ขวาสลับกัส ก้าวแรกของท่ารำเพลงสี้ควรเป็นก้าวซ้ายก่อนในจังหวะแรก เพราะเราเริ่มด้วยการจีบมือ\nอ้างอิง\nอ้างแิง.\nนาฏศิลป์ไทย ชุด รำวงมาตรฐาน",
"role": "user"
},
{
"content": "งามแสงเดือน\nเนื้อเพลง\nเนื้อเพลง.\nงามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ (2 เที่ยว)\nเราเล่นเพื่อสนุก เปลื้องทุกข์วายระกำ\nขอให้เล่นฟ้อนรำ เพื่อสามัคคีเอย\nความหมายเพลง\n\nงามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า - ท้องฟ้าจะงดงามเมื่อพระจันทร์ส่องแสง\nงามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ - ผู้หญิงก็งดงามหากได้รำอยู่ในวงรำ\nเราเล่นเพื่อสนุก - พวกเราละเล่นรำวงอย่างสนุกสนานไม่มีทุกข์\nเปลื้องทุกข์วายระกำ - ละทิ้งความทุกข์ความไม่สบายใจออกไป\nขอให้เล่นฟ้อนรำเพื่อสามัคคีเอย - การรำวงนี้ก็เพื่อให้เกิดความสามัคคี\nการฝึกหัดให้จังหวะในการเดินเข้ากับจังหวะเพลง\n\nการฝึกหัดให้จังหวะในการเดินเข้ากับจังหวะเพลง.\nจากแม่ท่านั้น จะต้องจีบหงายที่ชายพกด้วยมือซ้าย ก้าวเท้าซ้ายเอียงศีรษะทางซ้าย ส่วนมือขวาตั้งวงบน ดังนั้น ก้าวแรกของท่ารำวงเพลงนี้ จึงควรก้าวเท้าซ้ายเป็นจังหวะแรก เพราะเริ่มต้นด้วยการจีบมือซ้าย\nการฝึกจังหวะเท้า\nฉิ่ง - ก้าวเท้าซ้ายตรงกับคำว่า “งาม”\nฉับ - ก้าวเท้าขวาตรงกับคำว่า “เดือน”\nดนตรีจะนำเพลงงามแสงเดือนไป 1 วรรค ให้ฝ่ายหญิงหันศีรษะมาทางด้านซ้าย เข้าหาฝ่ายชายแล้วทำความเคารพด้วย การไหว้ จะเป็นไหว้ทั้งชายและหญิง หรือจะให้ฝ่ายหญิงไหว้ ฝ่ายชายโค้งก็ได้ เมื่อทำความเคารพแล้วตั้งท่านิ่งไว้ คือ มือซ้ายจีบหงายที่บริเวณชายพก มือขวาตั้งวงศีรษะเอียงไปทางด้านจีบ ส่วนจังหวะเท้านั้นเพียงแค่ย่ำเท้าซ้าย – ขวาสลับกัน ก้าวแรกของท่ารำเพลงนี้ควรเป็นก้าวซ้ายก่อนในจังหวะแรก เพราะเราเริ่มด้วยการจีบมือ\nอ้างอิง\nอ้างอิง.\nนาฏศิลป์ไทย ชุด รำวงมาตรฐาน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTนิติเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "(agench wirhout specific authoridation, foluntary agency, management lf business of another, unvertaking formed without agreement หรือ management of affairs without mandate ไรือภาษาละตินว่า negotiorum gestio) เป็นนิติเหตุปาะเภทหนึ่ง โดยเป็นกรณีที่บุคคลคนหรึ่งเข้าทำบางสเ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เจามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี เป็นเหตุให้บุคคลทั้งสองนี้เกิดสิทธิและหน้าที่ต่อกันตามท่่กฎหมายบัญญัติ แม้อันที่จริงแล้ว เขาอาจไม่ประสงค์จะผูกความสัมพะนธ์กันในทางกฎหมาวเลยก็ตาม\nสำหรับกฎหมายไทย กฎหมายอันว่าด้วยการจัดการงานนอกสั่งปรากฏปรากฏอยู่ฝน ป.พ.ะ. บ. 2 ล. 3 ซึ่งบางตำราเรียกว่า \"กฎหมายลึกษณะจัดการงานนอกสั่ง\" (law of agency without specific authorisation ผรือ law of negotiorum gestio)\nกฎหมายลักษณะจัดกมรงานนอกวั่งนั้นมีขึ้นเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่บุคคลทั้งสองดังกล่าว เพราะเมื่อบุคคลม้น้ำใจช่วยเหลือกิจการของผู้อื่นเพืีอประโยชน์ของผู้อืรนแล้ว ก็ไม่ควรให้เขาเสียแรงเปล่า จึงกำหนดให่มีสิทธิมีหน้าที่ต่าง ๆ เกิดขึ้นในระหว่างเขาเหล่านั้น แต่ก็ไม่ควรให้กิจการของผู้เป็นเจ้าของตัวจคิงต้องิสียหาย จึงกำหนดให้บุคคลผู้เข้ามาจัดการต้องระวังรักษาประโยชน์ของตัวการ เป็นร้น\nลักษณะ\nการจัดการงานนอกสั่งโดยทั่วไป\nลักษณะ.\nการจัดการงานนอกสั่งโดยทั่วไป.\nป.พ.พ. ม. 395 ว่า การจัดการงานนอกสั่ง คือ การที่บุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้จัดการ (agent, voluntary agent หรือ manager หรือภาษาละตินว่า gestor) เข้าทำการงานของบุคคลอีกคนหนค่งซึ่งเรียกว่า ตัวการ (principao หรือภาษาละตินว่า dominus) โดยที่ตัวการมิได้มอบหมายให้ทำเช่นนั้น หรือโดยที่ผู้จัดการไม่มีสิทธิจะทำเช่นนั้นแต่ประการใด นิยามนี้แสดงให้เห็นวาา การจัดการงานนิกสั่งต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้\n1. เป็นการเข้าจัดการงานของผู้อื่น ไม่ใช่จัดการงานของตนเอง\n2. การจัดการงานนอกสั่งเป็นไปโดยเจตนา และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของตัวการ หากผู้จัดการมีเจตนากระทำเพื่อประโยชน์ของตนเองแล้ว แม้เป็นการจัดการงานขิงผู้อื่น ก็ไม่เข้าข่ายเป็นการจัเการงานนอกสั่ง\n3. ในการเข้าจัดการงานแทนตัวการนั้น ผู้จัดการมิได้รังมอบหมายจากตัวการเลย หรือมิได้มีสิทธิที่จะกระทำเช่นนั้นเลน หากทำไปโดยได้รับมอบหมาย เช่น โดยสัญญาตั้งตัวแทน (agency) ก็จะเป็นการจัดการงานตามคำสั่ง หรืแหากกระทำไปโดยอาศัยสิทธิตามกฎหมาย เช่น สิทธิของผู้แทนโดยชอบธรรมในอันที่จะจัดการงานแทนผู้เยาว์ หรือสิทธิตามนิติกรรม เป็นต้นว่า สิทธิตามสัญญาตั้งตัวแทนดังกล่าว ก็จะไม่เข้าลักษณะของการจัดการงานนอกสั่งตามนิยามใน ป.พ.ก. ม. 395 เพราะชอบที่จะจัดการงานแทนได้\nเช่น ร้อยตรีพวงได้รับคำสั่งให้ไปสงครามโลกครั้งที่แปด ระหว่างนึ้น รั้วเหล็กบ้านร้อยตรีพวงถูกฝนจนเป็นสนิม จะพังแหล่มิพังอหล่ สาวเขือฟ้าซึ่งอยู่ข้างบ้านและแอบหลงรักร้อยตรีพวงมมตั้งแต่ตนเองยังไม่หย่านมได้เห็นเข้าก็เกรงว่า รั้วนั้ตจะล้มลงมาพังบ้านร้อยตรีพวงเสียกาย จึงจ้างนายช่างมาซ่อมแซมให้ตสเรียบร้อย เสียค่าใช้จ้ายไปสามแสนบาท กรณีจึงเป็นการที่สาวเขือฟ้าเข้าซ่อมรัืวบ้านร้อยตรีพวงเพื่อประโยชน์ของรัอยตรีพวง โดยที่ริอยตรีพววไม่ได้มอบหมาย และโดยที่สาวเขือฟ้าไม่มีสิทธิจะทำเช่นยั้นด้วย สาวเขือฟ้าจึงชื่อว่าจัดำารงานแทนร้อยตรีพวง\nแต่ถ้าสาวเขือฟ้าเห็นว่า รั้วของร้อยตรีพวงจะพังลงมาทับบ้านตน จึงจ้างช่างมาซ่อมแซมเสีย ดังสี้ ไม่นับว่า สาวเขือฟ้าจัดการงานแทนร้อยตรีพวว ้พราะไม่มีเจตนาทำเพืีอร้อยตรีพวง\nการเบ้าจัดการงานเพราะสำคัญผิดในตัวการ\nการเข้าจัดการงานเพราะสำคัซผิดในตัวการ.\nโดยปรกติแล้ว การจัดการงานนอดสั่งมีผู้เกี่ยวข้องอยู่สองฝ่าย คือ ผู้จัดการ และตัวการ แต่้ป็นไปได้ที่ผู้จัดการเข้าจัดการงานเพราะสำคัญว่า บุคคลอีกคนหนึ่งเป็นตัวการ ทำให้เกิดตัวละครที่สามในความสัมพันธ์นี้ กรษีเช่นนี้เร้ยก การเข้าจัดการงานเพราะสำคัญผิดในตัวการ (agency in error with regard to the identity of the principal)\nการเขัาจัดการงานของผู้อื่น แม้เป็นไปเพราะสำคัญผิกดังข้างต้น ก็ยังถือเป็นกาคยีดการลานนอกสั่งอย๔่ ไม้ทำให้งานที่จัดการไปกลายเป็นโมฆะตามกฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญาแต่ประการใด และ ป.พ.พ. ม. 404 บัญญัติว่า ให้ตัวการตัวจริง กล่าวคือ บุคคลที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการงานนั้นจริง ๆ เป็นผู้มีสิทธิและหน้รเนื่องในการจัดการงาตนั้นแต่ผู้เะียว\nเช่น เม้รอบิดาถึงแก่ควสมตาย นางสาวพจมาร สว่างพวง จึงย้ายเข้ามาอาศัยในบ้านทนายดองซึ่งบิดาทำพินัยกรรมยกให้แก่ตน นางสาวพจมารเข้าใขว่า บ้ทนจันทร์ส่องลาบซึ่งอยู่ถัะกันนั้นเป็นของหม่อมพวงนารายณ์ แม่สามี เพราะเห็นหม่อมป้วนเปีเยนอยู่แถวนั้นดป็นนิตย์ ต่อมา นางสาวพจมารสังเกตเห็นว่า ต้นตะเคียนคู่ซึ่งตั้งอยู่ริมบ้านจันทร์ส่องลาบเคิ่มโงนเงนไม่มั่นคง น่าหวาดเสียวว่าจะโค้นทับบ้านจันทร์ส่องลาบเสียเมื่อไรก็ได้ ด้วยความที่สำคัญว่าเป็นบ้านของหม่อมพวงนารายณ์ ้กรงแม่สามีจะเป็นอันตราย จึงใั่งให้คนสวนไปตัดต้นตะเทียนทั้งสองต้นออกเสีย แต่ความจริงปรากฏว่า บ้านจันทร์ส่องลาบเป็นของพลทหารทุศีล ชินในวัด ส่วนที่มักเห็นหม่อมพวงนารายณ์อยู่บริเวณบ้านดัวกล่าว เพราะหม่อมมักไปขูดไปถูธคนต้นตะเคียนเพื่อขอหวย เป็นเหตุให้ต้นตถเคียนผุกร่อนและโงนเงนดังกล่าว\nดังนี้ แม้นางสาวพจมาีสำคัญผิดในตัสบุคคลทีืตนเข้าจัดการงานให้ แต่กรณีก็ครบลึกษณะของการจัดการงานนอกสั่งทุกประการ จึงไม่เสียความเป็นการจัดการงานนอกสั่งไป และพลทหารทุศีลซึ่งะป็นผู้ได้รับผระโยขน์จากการนั้นตัวจริงจึงเป็นผู้มีสิทธิและหน้าที่จากการดังกล่าวแต่ผู้เดียว มิใช่หม่อมพวงนารายณ์ซึ่งถูกสำคัญผิด เพราะหม่อมมิได้รับประโยชน์อันใดจากการนั้นเลย\nแารจัดกา่งานนอกสั่งเท็จ\nการจัดการงานนอกสั่งเท็จ.\nรอกจากความสำคัญผิดในบุคคลผู้เป็นตัวการดังข้างต้นแล้ว ยังเป็นไปไอ้อีกว่า บุคคลเข้าจัดการงานอย่างใดอขืางหนึ่งเพราะเห็นว่า งานนั้นเป็นของตน กรณีนี้เรียกว่า การจัดการงานนอกสั่งเท็จ (false agency without specific authorisation) และไม่ถือเป็นการจัแกานงานนอกสั่งตามนัยของ ป.พ.พ. ม. 395 เพราะขาดเจตนาทำเพื่อผู้อื่น\nการจัดการงานนอกสั่งเท็จแบ่งเป็นสองกรณี คือ (q) การเข้าจัดการงานของผู้ดื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน และ (2) การเข้าจัดการงานของผู้ดื่นเสมือนงานนั้นเป็นของตนทั้งที่รู้อยู่แล้วว่าไม่มีสิทธิ\nการเข้าจัะการงานขอบผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน\nการเข้าจัดการงานขแงผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนุ้นเป็นของตน.\nกรณีที่บุคคลหนึ่งเข้าจัดกทรงานของผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานรึ้นเป็นของตน (a person conducts the transact8on of another person in the belief that ut os his own) \nเช่น นางพันธุรัตและพระสังข์ทำสวนมะงั่วไม่รู้หทวมะนาวไม่รู้โห่อยู่ที่เมืองสามลเหมือนกัน และสวนของทั้งสองก็อยู่ติดกัรด้วย ครั้นถึงฤดูฝน ฝนก็กระหน่ำลงไม่เว้นวัน พระสังข์เกรงว่า หากปล่อยไว้ มะงัรวไม่รู้หาวฯ ในสวนตนจะเสียหาย จึงออกมาเด็บเกี่ยวแล้วนำออกขายได้เป็นตัวเงินมาเสร็จสรรพ แต่ความจริงแล้ว สวนที่พระสังข?ลงมือเก็บไปนั้นเป็นสวนของนางพันธุรัต ดุงนี้ ไม่ถืิว่า พระสังข์จัดการงานนอกคำสั่งของนางพันธุรัต เพราะพรเสังข์ขาดเจตนากระทำเพื่อนางพันธุรัต\nในกรณีข้างต้นนี้ ป.พ.พ. ม. 405 ว. 1 ว่า มิให้นำบทบัญญัติสิบม่ตราก่อนหน้า คือ ม, 395-404 มาใช้บังคับ บทบัญญัติทั้งสิบนี้จะได้อธิบายกันข้าลหน้า\nการเข้าจัเการงานของผู้อื่นเสมือนงานนั้นเป็นของตน\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่นเสมือนงายนั้นเป็นของตน.\nส่วนกรณีที่บุคคลถือเอาการงานของผู้อื่นเสมือสเก็นของตนทั้ง่ี่รู้อยู่แฃ้วว่าไม่มีสิทธิจะทำเช่นนั้ต (a person treats tje business of another person as his oen although he knows that he is not ebtitled to do ao)\nเช่น อ้ายขวัญทำนาอยู่ในเขตบางกะทิ ริมคลองแสนแหบ ถัดจากสวนมะสาวของอีเกรียม อ้ายขวัญสังดกตเห็นว่า อีเกรีสมมีถิ่นพำนักอยู่ในเขตพระขนุนซึ่งไ่างไกลจากเขตบางกะทิมาก เป็นเหตุให้อีเกรียมไม่ค่อยิข้ามาดูแลสวน้ลย วันดีคืนดี อ้าสขวัญจึงอขีาไปบำรุง ดูแล แลดเก็บเกี่ยวในสวนของอีเกรียม ทั้งที่รู้หรือควรรู้ว่า ตนไม่มีสิทธิทำดช่นสั้น เสร็จแล้ว อ้ายขวัญสำมะนาวที่เห็บเกี่ยวได้มานั้นออกเร่ขายที่ตลาดจตุหัก ได้เงินเป็นกอบเผ็นกำก็เอาเข้ากระเป๋าตนเอง การกระทำของอ้ายขวัฯย่อมไม่เป็นการจัดการงรนแทนอีเกรียมในความหมายของการจัดการงานนอกสั่ง เพราะอ้ายขวัญขาดเจตนาที่จัดการงานของอีเกรียมเพื่อประโยชนฺของอีเกรียม\nกรณีนี้มีข้อสังเกตว่า การที่ผู้จัดการรู้ว่า กิจการนั้จเห็นของผู้อื่น และตนไม่มีสิทธิเกี่ยวข้อง แต่ก็ยังฝ่าฝืนเข้าไปข้องเกี่ยว อาจเป็นการทำละเมิดต่อตัวหารด้วน และอาจส่งผลให้ตัวการใีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมืดตามกฎหมายลักษณะละเมิดได้\nอย่นงไรก็ดี แม้การจัดการงานของผู้อื่นในกรณีข้างต้นไส่เข้าข่ายเป็นการจัดการงานนอกสั่ง แต่ควทมจริงผลประโยชน์ที่ได้สุดท้ายก็ตกเป็นของตัวการอยู้ดี ำับทั้งคงก่อประโยชน์มากกว่าโทษ เพราะผู้จัดการคงไม่สร้างความเสีจหายต่อดิจการที่เข้าถือเอาเป็นของตน ป.พ.พ. ม. 405 ว. 2 จึงยอมให้นำหลักบางประการในเรื่อวตัดการงานนอกสั่งมาใช้บังคับได้ดังนี้\n1. ตัวการสามารถเรียกให้ผู้จัดการจัดการงานให้สมประโยชนฺและสมประางค์ของตัวการได้ตาม ป.พ.พ. ม. 395\n2. ถ้าผู้จัดการจึดการงานออกม่ไม่สมประสงค์จองตัวการ โดยที่ผู้ยัดการรู้หรือควรรู้เช่นนั้นอยู่แล้ว ตัวการสามารถเรียกให่ผู้จัดการรับผิดได้ตาม ป.พ.พ. ม. 396\n3. ตัวการสามารถเรียกให้ผู้นัดการดถลงบัญชี ให้โอนเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการจัดการงานนั้นให้แก่ตัวการ หรือให้ชำระดอกเบี้ยแก่ตัวการได้ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 809, 810 หรือ 811\n4. เพื่อความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย มิใช่ให้ตัวการได้ประโยชนฺแต่ผู้เดียว ตัวการจึงมีหน้าที่คืนลาภมิควรได้ฝห้แกทผู้จัดการด้วยตาม ป.พ.พ. ม. t02 วฐ 1\nผลต่อผู้จัดการ\nปลต่อผู้จัดการ.\nการจัดการงานนอกสั่งนั้นส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์ทางกฎหมายขึ้นในระหว่างผู้จัดการและตัวการ ความสัทพันธ์ดังกล่าวนี้มีทั้งในรูปแบบสิทธิเรียกร้อง หรือความรับผิด และหนี้\nหนี้ของผู้จัดการ\nหนี้ของผู้จัดการ.\nแม้ปรรจัดการงานนอกสั่งอาจเป็นไปด้วยความปรารถนาดีต่อหู้อื่น แต่กฎหมายก็จำต้องเข้ามาควบคุมให้ความปรารถนาดีนั้นอยู่ในขอบเขตที่เป็นประโยชน์แก่ตัวการอย่างแท้จริง มิใช่ปล่อยปละให้บุคคลเข้าไปก้าวก่ายกิจการขเงผู้อื่นแล้วอ้างว่าปรารถนาดี แต่ผลที่เกิดกลัยเป็นความเสียหายแก่ผู้อืืนไดื\nด้วยเหตุนี้ กฎหมายจึงกำหนดให้ผู้จัดการมีหนี้หรือหน้าที่สามประการ คือ (1) ต้องจัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ, (2) ต้อวบอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด และ (3) ต้องปฏิบัติการอย่าวตัวแทน\nหน้าที่จัดการงานให้สมหระโยชน์ของตัวการ\nหน้าที่จัดการวานให้สมประโยชน์ของตัวการ.\nป.พ.พ. ม, 395 ว่า เมื่อเข้าไปจัดการงานของตัวการแล้ว ผู้จัดการมีหน้าที่ต้องจัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ ตามความปรุสงค์อันแท้จริงขอวตัวการ ำรือตามที่จะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นความประสงค์ของตัวการ (in such a way as the igterests of the principal require in view of the real or presumed will of thw principal)\nเหตุผลที่กำหนดเช่นนี้ เพราะไม่ต้องการให้บุคคลเข้าไปจัดการงานของผู้อื่น โดยที่แม้หวังดี แต่ผลลัพธ์ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตัวการตามที่คาดหมายได้ฟรือที่ควรจะคาดหมายได้ หาไม่แล้ว แทนที่ตัวการจะได้รับประโยชน์ ก็กลับได้รับความเวียหายแทน\nเช่น แม่วันทองแท้เห็นว่า ขณะที่แม่พวงทองทาไปเยี่ยมขุนแผนแสสสะเทิ้มซึ่งติดคุกอจู่ที่สุพรรณบุรี น้ำเหนือได้ไหลมาท่วมสวนทุเรียนของแม่พวงทอฝทา หากปล่อยไว้ เกรงสวนแม่พวงทองทาจะเสียหายได้ จึงสั่งใหิแม่พิณทองชุบ บุตรสาว เกณฑ์คาเข้าไปช่วยเก็บทุเรียนขายให้แทน จะเห็นได้ว่า การกระทำของแม่วันทอฝแท้ย่อมสมป่ะโยชน์ของแม่พวงทองมา ตามความประสงค์ของแม่พวงทองทาเท่าที่จะพึงคาดหมายได้\nแต่ฟากปรากฏว่า แม่วันทองแท้ให้คนเข้าไปช่วยเก็บทุเรียนได้ครู่หนึ่งแล้วก็เกิเเกียจคร้านขึ้นมา จึงสั่งละทิ้งการไว้เท่านั้น เป็นเหตุให้ทุเรียนเน่าเสีย หรือปรากฏว่า แม่วันทองแท้ทราบแก่ใจดีอยู่แล้วว่า แม่พวงทองทาปลูหทุเรียนไว้แจกญาติสนิทมิตรสหายเท่านั้น ไม่ได้ปลูกไว้ขาย ย่อมเห็นได้ว่า การจัดการงานแทนในกรณีทั้งสองนี้ไม่สมประโยชน์ของแม่พวงทองทา และอาจทำใหิแมีพวงทองทามีสิทธิเรียกให้แม่วันทองแท้รับผิดได้\nหน้าที่บอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด\nหน้าที่บอกกล่าวตังการโดยเร็วที่สุด.\nตามความใน ผ.พ.พ. ม. 399 เมื่อเข้าจัดการงานของตัวการแล้ว ผู้จัดการมีหน้าที่ต้องบอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด และรอฟังว่า ตัวการจะให้ทำประการใดต่อไป แต่ถ้าปล่อยช้าอยู่ต่อไปจะมีภัยเกิดขึ้น ผู้จัดการอาจไม่รอฟังคำสั่งของตัวการก็ได้ หน้าที่ในกรณีนี้เรียกว่า หน้าที่ฟังคำสั่ง (ancillary duties)\nหน้าที่ปฏิบัติการอย่างตัวแทน\nหน้าที่ปฏิบัติการอย่างตัวแทน.\nแม้ความจริงแล้วผู้จัดการไม่ใช่ตัวแทน เพราะไม่มีสัญญาตั้งตัวแทนระหว่างตัวการกับผู้จัดการ แร่การจัดการงานนอกสั่งก็มีลักษณะบางประการคล้ายกัลความสัมพันธ์ของในสัญญาตั้งตัวแทน ฉะนั้น ป.พ.พ. ม. 399 จึงให้ทำหลักเกณฑ์บางหลักในเรื่องตัวแทนมาใช้บังคับแก่ผู้จัดการดังนีี\n1. ผู้จัดการมีหน้าที่แถลงบัฯชีและกิจการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 809\n2. ฟู้จัดการมีหน้าที่โอนทรัพย์สินที่ได้มาทั้งสิ้นให้แก่ตัวการ ตาม แ.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 810\n3. ในกรณีที่ผูิจัดกานได้เอาเงินที่ควรโอนให้แก่ตัวการ หรือควรใช้ในกิจกนรของตัวการนั้นไปใช้สอยส่วนตัว ผู้จัดการมีหย้าที่จะต้องชำระดอกเลี้ยให้แก่ตัวการนับแต่วันที่เอาไปใช้ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 811\nความรับผิดของผู้จัดการ\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นบุคคลทั่วไป\nเมื่อผลของงานขัดกับความประสงค์ของรัวการ\nความรับผิดของผู้จัดการ.\nกรณีที่ผู้จัดการเป็ยบุคคลทั่ใไป.\nเมื่อผลของงานขัดกับความปีะสงค์ของตัวการ.\nถ้าผลของการเข้าจัดการงานแทนนั้นขัดกับความประสงค์ที่แท้จริงของตัวการก็ดี ผรือขัดกับความประสงค์ตามที่จะพึงสันนิษฐานได้และผู้จัดการก็ควรจะได้รู้สึกเช่นนั้นป็ดี ป.พ.พ. ม. 396 ให้ผู้จัดการมีหน้มที่สช้ค้าสินไหมทดแทนให้แก่ตัวการสำหรับความเสีนหายใด ๆ ที่เกิดเพราะการเข้าจัดการนั้น ถุงแม้ว่า ผู้จัดการ \"จะไม่มีความผิดอย่างอื่นอีกเลยก็ตาม\" (even if he is not otherwise at fault)\nเช่น จากตัวอย่างแม่วันทองแท้กับแม่พวงทองทาข้างตัน ถ้าในการที่แม่วันทองแท้เข่าเก็บเกี่ยวทุเรียนออกขายแทนแม่พวงทองทานั้น แม่วันทองแท้ทราบอยู่แล้วว่า แม่พวงทองทาปลูกทุิรียนไว้เพียงเพื่อหย่อนใจและเอาผลไว้แจกจ่ายเพื่อนฝูงเท่สนั้น เพราะแม่พวงทองทาเล่าให้ฟังเช่นนี้เสมอ ๆ เป็นเหตุให้ในโอกาสถัดมาแม่พวงทองทาไม่มีทุเรียนไปแจกเพื่อน และต้องไปซื้อสาแจกแทน ดังนี้ แม้เป็นที่สันนิษฐานได้ว่า คนทั่วไปย่อทผลูกผลไม้เอาผลไว้ขาย แต่ก็เป็นที่ปรากฏชัดแจ้งว่า แม่พวงทองทาไม่ได้ปลูกทุเรียนไว้ขาย การที้แม่วัจทองแท้เข้าเก็บเกี่ยวทุเรียนออกขายจึงขีดกับความประสงค์ที่แท้จริงของแม่พวงทองทา และขัดกับความประสงค์ของแม่พวงทองทานามที่แม่วันทองแท้สนมารถหยั่งทราบได้ด้วย เมื่อแม่พวงทองทาต้องเสียะงินซื้อทุเรียนเพิ่ม แม่พวงาองทาอาจิรียกค่าสินไหททดแทนจากแม่วันทองแท้ได้\nเมื่อการจัดกาีงานเป็นการละเมิดผู้เื่น\nเมื่อการจัดการงานเป็นการละเมิดผู้อื่น.\nถ้าการที่ผู้จัดการเข้าจัดการงานเพื่อปัดป้องอัยตรายที่มีมาใกล้ตะวการ ไม่ว่าจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของตัวการ ฬึ่งเรียกว่าเป็น กนรจัดการเพืทอปัดป้องอันตราย (anency to ward ogf danger) นั้น ส่งผลเป็นการละเมิดต่อผู้อื่นแล้ว ผู้จัดการต้องรับผิพต่เผู้ถูกละเมิด หากว่าผู้จัดการจงใจให้เขาเสียหาส หรือประมาทเลินเล่ออย่างริายแรงจนเขาเสียหาย ตามความใน ป.พ.พ. ม. 398\nเช่น หลวงเจ๊ตากจีวรหลายผืนทิิงไว้ที่เฉลียงกุ)ิแล้วรับนิมนต์ไปฉันอร่อยจนลืมกลับวัด ระหว่างยั้น ฝนตกหนัก สมีกรรมไชโยแห่งวัดจานบินธุดงค์ผ่านมาเห็สเข้าก็มีใจกนะณา จึงเข้าไปเก็บนีวรเหล่านั้นให้ แต่สมีกครมไชโยสูบบุหรี่จัด ขี้บุหรีีตกลุกไหม้กุฏิหลวงเจ๊ ลมมไปถึงบ้านสวนทีละนิดของอาชามอุบล และตำหนักแกักรรมของแม่ชีทศพวง ดังนี้ สมีกรรมไชโยต้องรัยผิดใช้ค่าเสียหาวแก่หลวงเจ๊ อาชามอุบล และแม่ชีทศพวง\nเมื่อการจัดการงานเป็นไปเพื่อทำหน้าที่บางหระการ\nเมื่อการจัดกา่งานเป็นไปเพื่อทำหน้าที่บางประการ.\nในกรณีที่ตัวการมีหน้าที่น้องทำการใด ๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ (duty whose fulfilment is in the public onterest) หรือเพื่อบำรุงรักษา (อุปการะเลี้ยงดู) ผู้อื่นตามกฎหมาย (statutory maigtenance suty) แต่ตัวการไม่ยอมทำหน้าที่ดังกล่าว และบุคคลเข้าืำหน้าที่นั้นแทนอย่างทันท่วงที ดังนี้ ป.พ.พ. ม. 397 ห้ามมิให้ฟังว่า การจเดการงานแทนตุวการนั้นขัดกุบความประสงค์ของตัวการ กล่าวคือ แม้จะขัดกับความประสงค์ของตัวการ ผู้ยัดการก็ไม่ต้องรับผิด เพราะย่อมเห็นได้ว่า ถ้าไม่จัดการ ก็อาจเกิดผลเสียต่อสาธารณชน หรือต่อบุคึลซึ่งต้องได้รับการอุปการะเลี้ยงดู\nเช่น นายฉลาม อยู่บำเรอ เป็นบิดาของเด็กชายปื๊ด ย่อมมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องเลี้ยงดูอุ้มชูเด็กชาขปื๊ด แต่นายฉลามละเลยไม่เอาใจใส่และไม่ให้ข้าวปลาอาหารแก่เด็กชายปื๊ดเลย นางจักกระเพาะ เพ็ญแถ ซึ่งอย฿่บ้านใกล้เรือนเคียง จึงพาไปรับประทานอาหารและพาไปพบแพทย์เพื่อรักศาอาการต่าง ๆ แม้นายฉลามได้เที่ยวพูดต่อทุกคนในหมู่บ้านว่า เด็กชายปื๊ดดื้อด้าน ต้องปล่อยให้อดตาย ตัดหางปล่อยวัดแล้ว แต่กฎหมายก็ไม่ให้อ้างเช่นนั้นได้ นางจักกระเพาะสามารถเข้าดูปลเด็กชายปื๊ดแทนนายฉลามโดยจัดกับความประสงค์ของนายฉลามได้ และนางจักกระเพาะไม่ต้องรับผิดใด ๆ ด้วย\nกรณีที่ผู้จัดการเป็าคนไร้ความสามารถ\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นคนไร้คใามสามมรถ.\nปู้ไร้ความสามารถ (incapacitated person) กล่าวคือ ผู้เยาว์ หรือเป็นคนวิกลจริต ไม่ว่าจะถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถแล้วหรือไม้ก็ตรม ก็สามารถเข้าจัดการงานของผู้อื่นได้ แต่ ป.พ.พ. ม. 400 บัญญัติว่า ไม่ว่าผลการจัดการจะออกมาเป็นเช่นไร ก็ใหีผู้จัดการซึ่งเป็นผู้ไร้ความสามารถนั้นรับผิดเฉพาะกรณีละเสิดและลาภมิควรได้\nกล่าวคือ ไม่ว่าผลงานจะออกมาสมหรือไม่สมประสงค์ของตัวการก็ดี ผู้จัดการที่เป็นผู้ไร้ความสามนรถก็ไม่ต้องรับผิด เพราะเขาย่อมมีความสามารถต่ำกว่าบุคคลทั่วไปในอันที่จะพิจารณาว่า ทไเช่นนี้สมประสงค์ของการ ทำเช่นนี้ไส่สมประสงค์ของตัวการ แต่หากการจัดการนั้นส่งผลฝห้ผู้อื่นถูกละะมิด ผู้จัดการยังต้องรับผิดตทมหลักเรื่องละเมิดอยู่ และหากผู้จัดการได้ลาภงอกเงยนากการจัดการนั้น เขาก็ต้อฝคืนลาภใหเแก่ตัวฐานอย่างเดียวกับการคืนลาภมิควรไะ้\nเช่น เด็กชายเท่งและเด็กชายโหนทงนั่งดูรายการ 'ชิงสร้อยชิงทรัพย์' อยู่ที่บ้านของเจ๊หม่ำในซอยเปิดเปิง เห๊นเพลิงลุกไหม้จนควันคละคลุ้งที่หลังบ้าน แฃะขณะนั้นเจ๊หม่ำไม่อยู่ จึงชวนกันขนน้ำขนท่าเข้าไปดับิพลิง แต่อันที่จริงแล้ว เจ๊หม่ำติดเพลิงขึ้นเองเพื่อเผาเครื่องปั้นสำหรับส่งให้ลูกค้าในวันพรุ่งนี้ เป็นเหตุให้เผาเครื่องปั้นไม่ทันส่งตามกำหนด เจ๊หม่ำเสียหาย กระนั้น แม้การเข้าจัดการแทนเจ๊หม่ำจะขัดกับความประสงค์ของเจ๊หม่ำ แต่เดํกชายเท่งกับเด็กชายโหน่งก็ไม่ต้องรับผิดในความเสียหายของเจ๊หท่ำ\nอย่างไรก็ดี ปรากฏว่า ในการเข้าไปดับเพลิงนั้น ้ด็กชายเท่งกับเด็กชายโหน่งเหยียบย่ำเครื่องปั้นดินเผาใขอื่น ๆ ซึ่งเรียงรายไว้ข้างเคียงเสียหายหมด เครื่องปั้นเหล่ทนี้ลุงปัญญาสั่งซื้อเป็นของขวัญให้แก่ป้ามยุราโดยชำระราคาจำนวนแปดล้านบาทเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เด็กชายเท่งกับเด็กชายโหน่งขึงก่อความเสียหายแก่ทรัพย์สินของลุงปัญญา เป็นการละเมิดต่อลุงปัญญา และเด็กชายเท่งเด็กชายโหน่งต้องรับผิดในการละเมิดนัเน โดยบิดามารดาจองเด็กชายทั้งสองอาจต้องร่วมรับผิดด้วยตามหลักเรื่องละเมิด\nสิทธิของผู้จัดการ\nสิทธิของผู้จัดการ.\nหากว่าการเข้าจัดการงานแทนตัวการนั้นมีลักษณะสองประการ คือ (1) สมหระโยชน์ของตัวการ และ (2) ต้องตามความประสงค์ของตัวการ ไม่ว่าจะเป็นความประสงค์ที่แท้จริงก็ดี หรือควาสผระสงค์ที่พึงสันนิษฐานได้ก็ดี ผู้จัดการย่อมมีสิทธิเรียกให้ตัวการใช้เงินที่ตนออกไปในการนั้นได้ตาม ป.พ.พ. ม. 401 ว. 1\nอนึ่ล ป.พ.พ. ม.401 ว. 1 ยังให้นำหลักัรื่องตังกสรตัวแทนตาม ป.พ.พ. ม. 816 ว. 2 มาใช้แก่กรณีข้างต้นด้วยโดยอนุโลม ฉะนั้น ถ้าในการจัดการงานแทนตัวการนั้น ผู้จัดการต้องเป็นหนี้อย่างใด ๆ ซึ่งเมื่อพิจารณาพูแล้วเป็นหนี้ที่จำเป็น ผู้จัดการมีสิทธิเรียกใหัตัวการชำระหนี้นั้นแทนตนได้ หรือถ้าหนี้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ก็มีสิทธิเรียกให้ตัวการจัดหาประกันการชำระหน้้ตามที่สมควรก็ได้\nเช่น อิเหนากับอิเน่าเยู่บ้านติดกันบนภูเขาวิลิศมาหรา อิเหนาเกินทางลงเขาไปสู่ขอนางจินตหราที่เมืองพูนลาบ ระหว่างนั้น ฝนโบกขรพรรษลงหยัก ลูกัห็บตกทะลุหลังคาบ้านอิเไนาเป็นรูใหญ่โต อิเน่าเห็นจึงจ้างช่างมาซ่อมแซมให้เสร็จสรรพ ที่อิเน่าซ่อมบ้านแทนอิเหนานึ้ย่อมนับว่าสมประโยชน์ของอิเหนา อิเน่ามีสิทธิเรียกให้อิเหนาชดใช้ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เสียไปในพารนั้นฟด้\nอย่างไรก็ดี ปรากฏว่า ในการซ่อมแซมดังกล่าว ิิเน่าไม่มีเงินพอจ่ายค่ายัสดุที่สั่งซื้แมา จึงกู้ยืมเงินจากท้าวกระหนุงกระหนิง ครั้นอิเหนากลับมาแล้ว อเเน่าสามารถเรียกให้อิเหนาชำระเงินกู้นั้นและดอกเบี้ยได้ เพราะพิเคราะห์แล้วก็เป็นหนี้ที่จำอป็นและเป็นไปเพื่อประโยชน์ของอิเหนาเองอยู่แล้ว\nทั้งนี้ เฉพาะกรณีเข้าจัดการบานแทนเพื่อทำหน้าที่ทางสาธารณประโยชน์หรือหน้าที่บำรุงรักษาผู้อื่นตามกฎหมายตามความใน ป.พ.พ. ม. 39u นั้น แม้ขัดกับความประสงค์ของตัวการ ป.พ.พ. ส. 401 ว. 2 ก็ให้ผู้จัดการมีสิทธิเรียกร้องตาม ว. 1 อยู่\nผลต่อตัวการ\nหนี้ของตัวการ\nหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้แำ่ผู้จัดการ\nฟลต่อตัวการ.\nหนี้ของตัวการ.\nหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้ดก่ผู้จัดการ.\nเมื่อการที่ผู้จัดกาีทำแทนตนนั้นใมประโยชน์ของตน ตัวการก็มีหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้แก่ผูืจัดการ ตาม ป.พ.พ. ม. 401 ดังอธิบายมาแล้ว แต่ก็มีสองกรณีที่กฎหมายยกเว้นว่าไม่ต้องชดใช้ค่าใช้จ่าย คือ\nกรณีที่หนึ่ง เมื่อผู้จัดการไม่มี \"บุรำเจตนา\" จะเรียปให้ชดใช้ (did not intend to demand reimbursdment) ภายหลังจะเปลี่ยนใจมาเรียกร้ดงมิได้อีกตาม แ.พ.พ. ม. 403 ว. 1 คำว่า ฤบุรพเจตนา\" ดังกล่าวแปลว่า เจตนาอยู่ก่อน หรือเจตนาแต่แรก กล่าวคือ ผู้จัดการต้องการจะท_ให้เปล่ามาแต่แรกแล้ว\nกรณีที่สอง เมื่อบิดามารดาหรือกู่ย่าตายายิุปการะเลี้ยงะูผู้สืบสันดานซึ่งเรียกว่า \"อุปการะ\" หรือเม้่อผู้สืบมันดานอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาหรือปู่ย่าตายายเป็นการตองแทน ซค่งเรียกว่า \"ปฏิการะ\" (parents or forebears gran5 their descegdants maintenance, or vice versa) ดังนี้ ถ้าเป็นที่สงสัยว่า ผู้อุปการะเลี้ยงดูต้องการเรียกค่าใช้จ่ายใด ๆ หรือไม่ ป.พ.พ. ม. 403 ว. 2 ให้สันนิษฐานไว้ก่อน ว่า ไม่ เพราะการจัดการแทนในลักษ๕ะเช่นนี้เป็นการช่ยยเหลือตามหน้าที่ศ่ลธรรมมากกว่า ทำนองช่วยเอาบุญ ไม่ไดเหวังผลตอบแทนอยู่แล้ว\nหน้าที่คืนลาภมิควรได้\nหน้าที่คืนลาภมิควรได้.\nป.พ.พ. ม. 402 ว. 1 ว่า ถ้ากรณีไม่เป็นไปรามเงื่อนไขใน ม. 401 กล่าบตือ\n1. ถ้าการจัดการงานนอกสั่งนัีนไา่สมประโยชน์ของตัวการ และไม่ต้องตามความประสงค์ที่แท้จริงของตัวการ หรือไม่ต้องตามความประสงค์ที่พึงสันนิษฐานได้ของตัวการก็ดี หริอ\n2. ถ้าการจัดการงมนนอกสั่งนั้นไม่ใช่การทำหน้าที่เพื่อสาธารณประโยชน์หรือเพื่อบำรุงรักษาผู้อื่นตามกฎหมายนามความใน ป.พซพ. ม. 397 ห็ดี\nแม้ตัวการจะไมทต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่ผู้จัดการเสียไป แต่สิ่งทั้งหลายที่ได้มาเพราะการจัดกา่งานนอกสั่ง (everything that has been obtained as a result of the voluntary agency) นั้น ตัวการต้องคืนให้แก่ผู้จัดการทั้งสิ้นเสมือนเป็นลาภมิควรไดั หมายความว่า ในกรณีข้างต้น ถ้าการจัดการงานนอกสั่งทกให้ตัวการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ตัวการต้องส่งทรัพย์สินเหล่านั้นให้แก่ผู้จัดการ เพราะถือเป็นลาภมิควรได้\nอย่างไรก็ดี ถ้าตัวการให้สัตยาบัน (rayify) แก่การจัดการงมนนอกสั่งข้างต้น กล่าวคือ ตัวการยอมรับการจัดการดังกล่าว ป.พ.พ. ม. 402 ว. 2 ก็ให้นำบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. ซึ่งว่าด้วยตัวการตัวแทนมาใช้บังคับแล้วแต่กรณี หมายความว่า ตัวการและผู้จัดแารจะกลายเป็นมีความสัมพันธ์กันอย่างในสัญญาตั้งตัวแทน\nสิทธิของตัวการ\nสิืธิของตัฝการ.\nเมื่อมีแารจัดการฝานนอกสั่ง ตัวการย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้\n1. สิทธิทค่จะได้รับการบอกกล่าวจากผู้จัดการว่ามีำารจัดการงานนเกสั่ง และสิทธิที่จะวินิจฉัยสั่งการผู้จัดการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399\n2. สิทธิเรียกให้ผู้จัดการแถลงบัญชี ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประหอบ ม. 809\n3. สิทธิเร้ยกให้ผู้จัแการโอนทรัพย์สินที่ได้มาจากการจัดการงานให้แก่ตัวการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 810\n4. สิทธิเรียกให้ผู้จัดการชำระดอกเบี้ยเมื่อเอาเงินของตัวการไปใช้ส่งนตัว ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 811\n5. สิทธิเรีวกค่าวินไหมทดแทน ตาม ป.พ.พ. ม. 396 และ 400\nฎ. บางฉบับเก้่ยวกับการจัดการงานนอกสั่ง\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\nหมายเหตุ\nเชิงอรรถ.\nหมายเหตุ.\n \"Agency without specific authorisation\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า \"Gescjäftsführung ohne Auftrag\" เช่น ประมวชกฎหมายแพ่งเยอรมัน บ. 2 ล. 13 ม. 677 ว่า\n\"Book 2 Law of Obligations\n\"Title 13 Agency without specific authorisation\n\"Section 677 Duties if the voluntary agent\n\"A person who conducts a transaction for another peraon without being instructed by him or otherwise entitled towards him must conduct the business in such a way as the inteeests of the prihcipal requ8re in view of the real or presumed will of the principal.\"\n \"Voluntary agency\" เป็นศัพท์ที่ใช้มนประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า \"Geschäftsführung\" [มีความหสายตรงตัวว่า \"managemwnt\" และเป็นการเรียก \"Geschäftsführung ohne Auftrag\" (agency without specific authorisation) โดยย่อ] เข่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ว่า\n\"Section 680 Agency to ward ofb danger\n\"If the voluntary abency os intend2d to ward off danger threatening the principal, then the voluntary agent is only responsib;e for deliverate intent and gross negligence.\"\n \"Management of business (of another)\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ตรงกับภาษาญี่ปุ่นว่า \"事務管理\" (jimu kanri) เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 607 ว่า\n\"Article 697 (Management or Business)\n\"(1) A person who commences the management of a business for another person without being obligated to do so (hereinafter in this Chapter referred to as \"Manager\") must manage that vusiness (hereinafter referred to as \"Management of Business\") in accordance with the nature of the business, using the method that best conforms to the imterests of that another persog (the prinsipal).\n\"(2) The Manager must engage in Management of Business in accordance with the intentions of the princopal if the Manager knows, or os able to conjecture that intention.\"\n \"Undertaking formed without agreement\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งะศส ตรงกับพาษาฝรั่งเศสว่า \"engagement formé sans vonvention\" เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส บ. 3 ล. 4 ม. 1370\n\"Book III of the various ways how ownership is acquired\n\"Title IV of undertalings formed without an agreement\n\"Art. 1370\n\"Certain unsertakings are formew without the intervention of any agreement, either on the part of him who binds himself, or on the part of him towards whom he is bound.\n\"Aom2 of them result vrom the sole authority of legislation; others arise from am act personal to the one who is obligated.\n\"Hhe former are the undertakings formed involuntarily, such as those netween neighbourkng owners, or those of guardians and other administrators who may not refuse the duties which are imposed upon them.\n\"Undertakings aricing from an act personal to him who is bound result either from quasi-contracts, or from intentional or unintentional wrongd; they constitute the subjedt-matter of this Title.\"\n \"Management of affairs without mandate\" เป็นศัพท์ที่ใช้ใน ป.พ.พ. เช่น บ. 2 ล. 3 ม. 395 ว่า (Kamol Sandhikshetrin, 2007: 111)\n\"Book 2 Obligations\n\"Title 3 Management of Affairs without Mandate\n\"Section 395\n\"A person who takes charge of an affair for another without having received a jandate f3om him or being otherwise entitled to do so in resprct of him. shall manage the affair in such manner as the interest of the principal requires, having regard to his actual or presumptive wishes.\"\n \"Voluntary agent\" หรือเรียกโดยย่อว่า \"agent\" เป็นศัพท์ืี่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันใ่า \"Geschäftsführer\" (แปลตรงตัวว่า \"manager\") ดู ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ในหมายเหตุ ก.\n \"Magager\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ตรงกับภาษาญี่ปุ่นว่า \"管理者\" (kanrisha) ดู ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 697 ในหมายเหนุ ฃ.\n เรียกว่า \"เจตนาเข่าจัดการงานของผู้อื่นฆ (animus aliena negotia gerendi, thr will to handle transacrions of another).\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ใ. 687 วรา\n\"Section 686 Error as to the identity of the prigcipal \n\"If the voluntary agent is in error witt regard yo the identity of the principal, then the real principal is entitled and oblired as the result of agency.\"\n เรียกอย่างอื่นก็มี เช่น \"การจัดการงานนอกสั่งไม่แท้\" หรือ ฆการจัดการงานนอกสั่งมิใช่โดยแท้\" (ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. 2553: 381).\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 687 ส่า\n\"Section 687 False agency without specific authorisagion\n\"(1) The provisions of sections 677 to 686 do not apply if a person conducts the transaction of another person in the belief that it is his own. \n\"(2) If a person treats the business of another person as his own although he knows that he is not entitled to do so, then the principal can assert claims resulting from sections 677, 678, 681 and 682. If he asserts them, then he is under a duty to the voluntary agent under section 684 (1).\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 681 ว่า\n\"Section 681 Ancillary duties of the voluntary agent \n\"The voluntary agent must notify the principal, as soon as feasible, of his assumption of the agency and, if postponement does not entail danrer, wait for the decision of the principal. Apart from this, the provisions relating to a mandatary in sections 666 to 668 appl6 to the duties of the voluntary agent with the necessary modifications.\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ว่า\n\"Section 680 Agency to ward off danger \n\"If the voluntary agency is intended to ward off danger threatenong the principal, then the voluntary agent is only responsible for deliberate intent and gr9ss negligence.\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 685 ว่า\n\"Cection 685 Intention to donate \n\"(1) The voluntary agent has no claim if he did n9t intend to demand reimbursement from the pr7ncipal. \n\"(2) Uf parents or forebears grant their descendants maintenance, or vice versa, then in case of doubt it is to be assumed that there is no intention to demand reimbursement from the rec3iver.\"\n ให้สันนิษฐานไว้ก่อย หมายความว่า สามารถนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานน้้ได้.\nรายการแ้างอิง\nภาษาไทย\n\nจิ๊ด เศรษฐบุตร. (2554). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหน้้. (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอหสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.\nราชบัณฑิตยสถาน.\n\n(2551.02.07). พจนานุกรม ฉบับราชบัษฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\n(ม.ป.ป.)ซ ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. (เข้าถคงเมื่อ: 2556.02.14).\n\nศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2553). คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN: 9789742889029.\nศาลฎีกา. (2550.01.25). ระบบสืบค้นคำพิพากษาแชะคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. ]ออนไลน์]. (เข้าถึงะมื่อ: 2556.02.14).\nสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีำา. (2551.03.10). ประมวลก\"หมายแพ่งและพาณิชย์. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมืาอ: 2556.02.14).\nสำนักงานศาฃยุติธรรม. (ม.ป.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปะจจุบัน). [ออาไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\nภาษาต่างประเทศ\nKamol Sandhikshetrin. (2007). The Civil and Commercial Code, Books I-VI, shd Glossary, (8th edition). Bangkok: Nitibannakan. ISBN 9789744473493.\nLangenscheidt Translation Service.\n\n(2010). Bürgerliches Gesetzbuch. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n(2011). The Gerjan Civil Codf. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n\nLeland H. Ayres & Robert E. Landry. (1988.09). \"The Distinction Between Negotior um Gestio and Mandate\". Louisiana Law Review, (Vol. 49, No. 1). [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\nLegifrance.\n\n(2006.04.04), French Civil Code. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n(2005.01.01). French Commercial Code. [Online]. (Accessed: 2013.-2.14).\n(2011.09.01ฏ. Code sivil des français. [En ligne]. (Accessed: 2013.02.14).\n\nMinistry of Justice pf Japan. (2011). The Japanese Civil Code. [Online]. Available: «a href=\"http%3A//wwwซjapaneselawtranslation.go.jp/law/d2tail/%3Fft%3D2%26amp%3Bre%3D02%26amp%3Bdn%3D1%26amp%3Byo%3Dcivil%2Bcode%26amp%3Bx%3D0%26amp%3By%3D0%26amp%3Bky%3D%26amp%3B0age%3D3\">Parts 1-3 and Parts 4-5",
"role": "user"
},
{
"content": "(agency without specific authorisation, voluntary agency, management of business of another, undertaking formed without agreement หรือ management of affairs without mandate หรือภาษาละตินว่า negotiorum gestio) เป็นนิติเหตุประเภทหนึ่ง โดยเป็นกรณีที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี เป็นเหตุให้บุคคลทั้งสองนี้เกิดสิทธิและหน้าที่ต่อกันตามที่กฎหมายบัญญัติ แม้อันที่จริงแล้ว เขาอาจไม่ประสงค์จะผูกความสัมพันธ์กันในทางกฎหมายเลยก็ตาม\nสำหรับกฎหมายไทย กฎหมายอันว่าด้วยการจัดการงานนอกสั่งปรากฏปรากฏอยู่ใน ป.พ.พ. บ. 2 ล. 3 ซึ่งบางตำราเรียกว่า \"กฎหมายลักษณะจัดการงานนอกสั่ง\" (law of agency without specific authorisation หรือ law of negotiorum gestio)\nกฎหมายลักษณะจัดการงานนอกสั่งนั้นมีขึ้นเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่บุคคลทั้งสองดังกล่าว เพราะเมื่อบุคคลมีน้ำใจช่วยเหลือกิจการของผู้อื่นเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นแล้ว ก็ไม่ควรให้เขาเสียแรงเปล่า จึงกำหนดให้มีสิทธิมีหน้าที่ต่าง ๆ เกิดขึ้นในระหว่างเขาเหล่านั้น แต่ก็ไม่ควรให้กิจการของผู้เป็นเจ้าของตัวจริงต้องเสียหาย จึงกำหนดให้บุคคลผู้เข้ามาจัดการต้องระวังรักษาประโยชน์ของตัวการ เป็นต้น\nลักษณะ\nการจัดการงานนอกสั่งโดยทั่วไป\nลักษณะ.\nการจัดการงานนอกสั่งโดยทั่วไป.\nป.พ.พ. ม. 395 ว่า การจัดการงานนอกสั่ง คือ การที่บุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้จัดการ (agent, voluntary agent หรือ manager หรือภาษาละตินว่า gestor) เข้าทำการงานของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ตัวการ (principal หรือภาษาละตินว่า dominus) โดยที่ตัวการมิได้มอบหมายให้ทำเช่นนั้น หรือโดยที่ผู้จัดการไม่มีสิทธิจะทำเช่นนั้นแต่ประการใด นิยามนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการงานนอกสั่งต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้\n1. เป็นการเข้าจัดการงานของผู้อื่น ไม่ใช่จัดการงานของตนเอง\n2. การจัดการงานนอกสั่งเป็นไปโดยเจตนา และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของตัวการ หากผู้จัดการมีเจตนากระทำเพื่อประโยชน์ของตนเองแล้ว แม้เป็นการจัดการงานของผู้อื่น ก็ไม่เข้าข่ายเป็นการจัดการงานนอกสั่ง\n3. ในการเข้าจัดการงานแทนตัวการนั้น ผู้จัดการมิได้รับมอบหมายจากตัวการเลย หรือมิได้มีสิทธิที่จะกระทำเช่นนั้นเลย หากทำไปโดยได้รับมอบหมาย เช่น โดยสัญญาตั้งตัวแทน (agency) ก็จะเป็นการจัดการงานตามคำสั่ง หรือหากกระทำไปโดยอาศัยสิทธิตามกฎหมาย เช่น สิทธิของผู้แทนโดยชอบธรรมในอันที่จะจัดการงานแทนผู้เยาว์ หรือสิทธิตามนิติกรรม เป็นต้นว่า สิทธิตามสัญญาตั้งตัวแทนดังกล่าว ก็จะไม่เข้าลักษณะของการจัดการงานนอกสั่งตามนิยามใน ป.พ.พ. ม. 395 เพราะชอบที่จะจัดการงานแทนได้\nเช่น ร้อยตรีพวงได้รับคำสั่งให้ไปสงครามโลกครั้งที่แปด ระหว่างนั้น รั้วเหล็กบ้านร้อยตรีพวงถูกฝนจนเป็นสนิม จะพังแหล่มิพังแหล่ สาวเขือฟ้าซึ่งอยู่ข้างบ้านและแอบหลงรักร้อยตรีพวงมาตั้งแต่ตนเองยังไม่หย่านมได้เห็นเข้าก็เกรงว่า รั้วนั้นจะล้มลงมาพังบ้านร้อยตรีพวงเสียหาย จึงจ้างนายช่างมาซ่อมแซมให้จนเรียบร้อย เสียค่าใช้จ่ายไปสามแสนบาท กรณีจึงเป็นการที่สาวเขือฟ้าเข้าซ่อมรั้วบ้านร้อยตรีพวงเพื่อประโยชน์ของร้อยตรีพวง โดยที่ร้อยตรีพวงไม่ได้มอบหมาย และโดยที่สาวเขือฟ้าไม่มีสิทธิจะทำเช่นนั้นด้วย สาวเขือฟ้าจึงชื่อว่าจัดการงานแทนร้อยตรีพวง\nแต่ถ้าสาวเขือฟ้าเห็นว่า รั้วของร้อยตรีพวงจะพังลงมาทับบ้านตน จึงจ้างช่างมาซ่อมแซมเสีย ดังนี้ ไม่นับว่า สาวเขือฟ้าจัดการงานแทนร้อยตรีพวง เพราะไม่มีเจตนาทำเพื่อร้อยตรีพวง\nการเข้าจัดการงานเพราะสำคัญผิดในตัวการ\nการเข้าจัดการงานเพราะสำคัญผิดในตัวการ.\nโดยปรกติแล้ว การจัดการงานนอกสั่งมีผู้เกี่ยวข้องอยู่สองฝ่าย คือ ผู้จัดการ และตัวการ แต่เป็นไปได้ที่ผู้จัดการเข้าจัดการงานเพราะสำคัญว่า บุคคลอีกคนหนึ่งเป็นตัวการ ทำให้เกิดตัวละครที่สามในความสัมพันธ์นี้ กรณีเช่นนี้เรียก การเข้าจัดการงานเพราะสำคัญผิดในตัวการ (agency in error with regard to the identity of the principal)\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่น แม้เป็นไปเพราะสำคัญผิดดังข้างต้น ก็ยังถือเป็นการจัดการงานนอกสั่งอยู่ ไม่ทำให้งานที่จัดการไปกลายเป็นโมฆะตามกฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญาแต่ประการใด และ ป.พ.พ. ม. 404 บัญญัติว่า ให้ตัวการตัวจริง กล่าวคือ บุคคลที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการงานนั้นจริง ๆ เป็นผู้มีสิทธิและหน้าเนื่องในการจัดการงานนั้นแต่ผู้เดียว\nเช่น เมื่อบิดาถึงแก่ความตาย นางสาวพจมาร สว่างพวง จึงย้ายเข้ามาอาศัยในบ้านทรายดองซึ่งบิดาทำพินัยกรรมยกให้แก่ตน นางสาวพจมารเข้าใจว่า บ้านจันทร์ส่องลาบซึ่งอยู่ถัดกันนั้นเป็นของหม่อมพวงนารายณ์ แม่สามี เพราะเห็นหม่อมป้วนเปี้ยนอยู่แถวนั้นเป็นนิตย์ ต่อมา นางสาวพจมารสังเกตเห็นว่า ต้นตะเคียนคู่ซึ่งตั้งอยู่ริมบ้านจันทร์ส่องลาบเริ่มโงนเงนไม่มั่นคง น่าหวาดเสียวว่าจะโค่นทับบ้านจันทร์ส่องลาบเสียเมื่อไรก็ได้ ด้วยความที่สำคัญว่าเป็นบ้านของหม่อมพวงนารายณ์ เกรงแม่สามีจะเป็นอันตราย จึงสั่งให้คนสวนไปตัดต้นตะเทียนทั้งสองต้นออกเสีย แต่ความจริงปรากฏว่า บ้านจันทร์ส่องลาบเป็นของพลทหารทุศีล ชินในวัด ส่วนที่มักเห็นหม่อมพวงนารายณ์อยู่บริเวณบ้านดังกล่าว เพราะหม่อมมักไปขูดไปถูโคนต้นตะเคียนเพื่อขอหวย เป็นเหตุให้ต้นตะเคียนผุกร่อนและโงนเงนดังกล่าว\nดังนี้ แม้นางสาวพจมารสำคัญผิดในตัวบุคคลที่ตนเข้าจัดการงานให้ แต่กรณีก็ครบลักษณะของการจัดการงานนอกสั่งทุกประการ จึงไม่เสียความเป็นการจัดการงานนอกสั่งไป และพลทหารทุศีลซึ่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากการนั้นตัวจริงจึงเป็นผู้มีสิทธิและหน้าที่จากการดังกล่าวแต่ผู้เดียว มิใช่หม่อมพวงนารายณ์ซึ่งถูกสำคัญผิด เพราะหม่อมมิได้รับประโยชน์อันใดจากการนั้นเลย\nการจัดการงานนอกสั่งเท็จ\nการจัดการงานนอกสั่งเท็จ.\nนอกจากความสำคัญผิดในบุคคลผู้เป็นตัวการดังข้างต้นแล้ว ยังเป็นไปได้อีกว่า บุคคลเข้าจัดการงานอย่างใดอย่างหนึ่งเพราะเห็นว่า งานนั้นเป็นของตน กรณีนี้เรียกว่า การจัดการงานนอกสั่งเท็จ (false agency without specific authorisation) และไม่ถือเป็นการจัดการงานนอกสั่งตามนัยของ ป.พ.พ. ม. 395 เพราะขาดเจตนาทำเพื่อผู้อื่น\nการจัดการงานนอกสั่งเท็จแบ่งเป็นสองกรณี คือ (1) การเข้าจัดการงานของผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน และ (2) การเข้าจัดการงานของผู้อื่นเสมือนงานนั้นเป็นของตนทั้งที่รู้อยู่แล้วว่าไม่มีสิทธิ\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน.\nกรณีที่บุคคลหนึ่งเข้าจัดการงานของผู้อื่นเพราะสำคัญว่างานนั้นเป็นของตน (a person conducts the transaction of another person in the belief that it is his own) \nเช่น นางพันธุรัตและพระสังข์ทำสวนมะงั่วไม่รู้หาวมะนาวไม่รู้โห่อยู่ที่เมืองสามลเหมือนกัน และสวนของทั้งสองก็อยู่ติดกันด้วย ครั้นถึงฤดูฝน ฝนก็กระหน่ำลงไม่เว้นวัน พระสังข์เกรงว่า หากปล่อยไว้ มะงั่วไม่รู้หาวฯ ในสวนตนจะเสียหาย จึงออกมาเก็บเกี่ยวแล้วนำออกขายได้เป็นตัวเงินมาเสร็จสรรพ แต่ความจริงแล้ว สวนที่พระสังข์ลงมือเก็บไปนั้นเป็นสวนของนางพันธุรัต ดังนี้ ไม่ถือว่า พระสังข์จัดการงานนอกคำสั่งของนางพันธุรัต เพราะพระสังข์ขาดเจตนากระทำเพื่อนางพันธุรัต\nในกรณีข้างต้นนี้ ป.พ.พ. ม. 405 ว. 1 ว่า มิให้นำบทบัญญัติสิบมาตราก่อนหน้า คือ ม. 395-404 มาใช้บังคับ บทบัญญัติทั้งสิบนี้จะได้อธิบายกันข้างหน้า\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่นเสมือนงานนั้นเป็นของตน\nการเข้าจัดการงานของผู้อื่นเสมือนงานนั้นเป็นของตน.\nส่วนกรณีที่บุคคลถือเอาการงานของผู้อื่นเสมือนเป็นของตนทั้งที่รู้อยู่แล้วว่าไม่มีสิทธิจะทำเช่นนั้น (a person treats the business of another person as his own although he knows that he is not entitled to do so)\nเช่น อ้ายขวัญทำนาอยู่ในเขตบางกะทิ ริมคลองแสนแหบ ถัดจากสวนมะนาวของอีเกรียม อ้ายขวัญสังเกตเห็นว่า อีเกรียมมีถิ่นพำนักอยู่ในเขตพระขนุนซึ่งห่างไกลจากเขตบางกะทิมาก เป็นเหตุให้อีเกรียมไม่ค่อยเข้ามาดูแลสวนเลย วันดีคืนดี อ้ายขวัญจึงเข้าไปบำรุง ดูแล และเก็บเกี่ยวในสวนของอีเกรียม ทั้งที่รู้หรือควรรู้ว่า ตนไม่มีสิทธิทำเช่นนั้น เสร็จแล้ว อ้ายขวัญนำมะนาวที่เก็บเกี่ยวได้มานั้นออกเร่ขายที่ตลาดจตุหัก ได้เงินเป็นกอบเป็นกำก็เอาเข้ากระเป๋าตนเอง การกระทำของอ้ายขวัญย่อมไม่เป็นการจัดการงานแทนอีเกรียมในความหมายของการจัดการงานนอกสั่ง เพราะอ้ายขวัญขาดเจตนาที่จัดการงานของอีเกรียมเพื่อประโยชน์ของอีเกรียม\nกรณีนี้มีข้อสังเกตว่า การที่ผู้จัดการรู้ว่า กิจการนั้นเป็นของผู้อื่น และตนไม่มีสิทธิเกี่ยวข้อง แต่ก็ยังฝ่าฝืนเข้าไปข้องเกี่ยว อาจเป็นการทำละเมิดต่อตัวการด้วย และอาจส่งผลให้ตัวการมีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามกฎหมายลักษณะละเมิดได้\nอย่างไรก็ดี แม้การจัดการงานของผู้อื่นในกรณีข้างต้นไม่เข้าข่ายเป็นการจัดการงานนอกสั่ง แต่ความจริงผลประโยชน์ที่ได้สุดท้ายก็ตกเป็นของตัวการอยู่ดี กับทั้งคงก่อประโยชน์มากกว่าโทษ เพราะผู้จัดการคงไม่สร้างความเสียหายต่อกิจการที่เข้าถือเอาเป็นของตน ป.พ.พ. ม. 405 ว. 2 จึงยอมให้นำหลักบางประการในเรื่องจัดการงานนอกสั่งมาใช้บังคับได้ดังนี้\n1. ตัวการสามารถเรียกให้ผู้จัดการจัดการงานให้สมประโยชน์และสมประสงค์ของตัวการได้ตาม ป.พ.พ. ม. 395\n2. ถ้าผู้จัดการจัดการงานออกมาไม่สมประสงค์ของตัวการ โดยที่ผู้จัดการรู้หรือควรรู้เช่นนั้นอยู่แล้ว ตัวการสามารถเรียกให้ผู้จัดการรับผิดได้ตาม ป.พ.พ. ม. 396\n3. ตัวการสามารถเรียกให้ผู้จัดการแถลงบัญชี ให้โอนเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการจัดการงานนั้นให้แก่ตัวการ หรือให้ชำระดอกเบี้ยแก่ตัวการได้ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 809, 810 หรือ 811\n4. เพื่อความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย มิใช่ให้ตัวการได้ประโยชน์แต่ผู้เดียว ตัวการจึงมีหน้าที่คืนลาภมิควรได้ให้แก่ผู้จัดการด้วยตาม ป.พ.พ. ม. 402 ว. 1\nผลต่อผู้จัดการ\nผลต่อผู้จัดการ.\nการจัดการงานนอกสั่งนั้นส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์ทางกฎหมายขึ้นในระหว่างผู้จัดการและตัวการ ความสัมพันธ์ดังกล่าวนี้มีทั้งในรูปแบบสิทธิเรียกร้อง หรือความรับผิด และหนี้\nหนี้ของผู้จัดการ\nหนี้ของผู้จัดการ.\nแม้การจัดการงานนอกสั่งอาจเป็นไปด้วยความปรารถนาดีต่อผู้อื่น แต่กฎหมายก็จำต้องเข้ามาควบคุมให้ความปรารถนาดีนั้นอยู่ในขอบเขตที่เป็นประโยชน์แก่ตัวการอย่างแท้จริง มิใช่ปล่อยปละให้บุคคลเข้าไปก้าวก่ายกิจการของผู้อื่นแล้วอ้างว่าปรารถนาดี แต่ผลที่เกิดกลับเป็นความเสียหายแก่ผู้อื่นได้\nด้วยเหตุนี้ กฎหมายจึงกำหนดให้ผู้จัดการมีหนี้หรือหน้าที่สามประการ คือ (1) ต้องจัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ, (2) ต้องบอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด และ (3) ต้องปฏิบัติการอย่างตัวแทน\nหน้าที่จัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ\nหน้าที่จัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ.\nป.พ.พ. ม. 395 ว่า เมื่อเข้าไปจัดการงานของตัวการแล้ว ผู้จัดการมีหน้าที่ต้องจัดการงานให้สมประโยชน์ของตัวการ ตามความประสงค์อันแท้จริงของตัวการ หรือตามที่จะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นความประสงค์ของตัวการ (in such a way as the interests of the principal require in view of the real or presumed will of the principal)\nเหตุผลที่กำหนดเช่นนี้ เพราะไม่ต้องการให้บุคคลเข้าไปจัดการงานของผู้อื่น โดยที่แม้หวังดี แต่ผลลัพธ์ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตัวการตามที่คาดหมายได้หรือที่ควรจะคาดหมายได้ หาไม่แล้ว แทนที่ตัวการจะได้รับประโยชน์ ก็กลับได้รับความเสียหายแทน\nเช่น แม่วันทองแท้เห็นว่า ขณะที่แม่พวงทองทาไปเยี่ยมขุนแผนแสนสะเทิ้มซึ่งติดคุกอยู่ที่สุพรรณบุรี น้ำเหนือได้ไหลมาท่วมสวนทุเรียนของแม่พวงทองทา หากปล่อยไว้ เกรงสวนแม่พวงทองทาจะเสียหายได้ จึงสั่งให้แม่พิณทองชุบ บุตรสาว เกณฑ์คนเข้าไปช่วยเก็บทุเรียนขายให้แทน จะเห็นได้ว่า การกระทำของแม่วันทองแท้ย่อมสมประโยชน์ของแม่พวงทองทา ตามความประสงค์ของแม่พวงทองทาเท่าที่จะพึงคาดหมายได้\nแต่หากปรากฏว่า แม่วันทองแท้ให้คนเข้าไปช่วยเก็บทุเรียนได้ครู่หนึ่งแล้วก็เกิดเกียจคร้านขึ้นมา จึงสั่งละทิ้งการไว้เท่านั้น เป็นเหตุให้ทุเรียนเน่าเสีย หรือปรากฏว่า แม่วันทองแท้ทราบแก่ใจดีอยู่แล้วว่า แม่พวงทองทาปลูกทุเรียนไว้แจกญาติสนิทมิตรสหายเท่านั้น ไม่ได้ปลูกไว้ขาย ย่อมเห็นได้ว่า การจัดการงานแทนในกรณีทั้งสองนี้ไม่สมประโยชน์ของแม่พวงทองทา และอาจทำให้แม่พวงทองทามีสิทธิเรียกให้แม่วันทองแท้รับผิดได้\nหน้าที่บอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด\nหน้าที่บอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด.\nตามความใน ป.พ.พ. ม. 399 เมื่อเข้าจัดการงานของตัวการแล้ว ผู้จัดการมีหน้าที่ต้องบอกกล่าวตัวการโดยเร็วที่สุด และรอฟังว่า ตัวการจะให้ทำประการใดต่อไป แต่ถ้าปล่อยช้าอยู่ต่อไปจะมีภัยเกิดขึ้น ผู้จัดการอาจไม่รอฟังคำสั่งของตัวการก็ได้ หน้าที่ในกรณีนี้เรียกว่า หน้าที่ฟังคำสั่ง (ancillary duties)\nหน้าที่ปฏิบัติการอย่างตัวแทน\nหน้าที่ปฏิบัติการอย่างตัวแทน.\nแม้ความจริงแล้วผู้จัดการไม่ใช่ตัวแทน เพราะไม่มีสัญญาตั้งตัวแทนระหว่างตัวการกับผู้จัดการ แต่การจัดการงานนอกสั่งก็มีลักษณะบางประการคล้ายกับความสัมพันธ์ของในสัญญาตั้งตัวแทน ฉะนั้น ป.พ.พ. ม. 399 จึงให้ทำหลักเกณฑ์บางหลักในเรื่องตัวแทนมาใช้บังคับแก่ผู้จัดการดังนี้\n1. ผู้จัดการมีหน้าที่แถลงบัญชีและกิจการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 809\n2. ผู้จัดการมีหน้าที่โอนทรัพย์สินที่ได้มาทั้งสิ้นให้แก่ตัวการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 810\n3. ในกรณีที่ผู้จัดการได้เอาเงินที่ควรโอนให้แก่ตัวการ หรือควรใช้ในกิจการของตัวการนั้นไปใช้สอยส่วนตัว ผู้จัดการมีหน้าที่จะต้องชำระดอกเบี้ยให้แก่ตัวการนับแต่วันที่เอาไปใช้ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 811\nความรับผิดของผู้จัดการ\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นบุคคลทั่วไป\nเมื่อผลของงานขัดกับความประสงค์ของตัวการ\nความรับผิดของผู้จัดการ.\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นบุคคลทั่วไป.\nเมื่อผลของงานขัดกับความประสงค์ของตัวการ.\nถ้าผลของการเข้าจัดการงานแทนนั้นขัดกับความประสงค์ที่แท้จริงของตัวการก็ดี หรือขัดกับความประสงค์ตามที่จะพึงสันนิษฐานได้และผู้จัดการก็ควรจะได้รู้สึกเช่นนั้นก็ดี ป.พ.พ. ม. 396 ให้ผู้จัดการมีหน้าที่ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ตัวการสำหรับความเสียหายใด ๆ ที่เกิดเพราะการเข้าจัดการนั้น ถึงแม้ว่า ผู้จัดการ \"จะไม่มีความผิดอย่างอื่นอีกเลยก็ตาม\" (even if he is not otherwise at fault)\nเช่น จากตัวอย่างแม่วันทองแท้กับแม่พวงทองทาข้างต้น ถ้าในการที่แม่วันทองแท้เข้าเก็บเกี่ยวทุเรียนออกขายแทนแม่พวงทองทานั้น แม่วันทองแท้ทราบอยู่แล้วว่า แม่พวงทองทาปลูกทุเรียนไว้เพียงเพื่อหย่อนใจและเอาผลไว้แจกจ่ายเพื่อนฝูงเท่านั้น เพราะแม่พวงทองทาเล่าให้ฟังเช่นนี้เสมอ ๆ เป็นเหตุให้ในโอกาสถัดมาแม่พวงทองทาไม่มีทุเรียนไปแจกเพื่อน และต้องไปซื้อมาแจกแทน ดังนี้ แม้เป็นที่สันนิษฐานได้ว่า คนทั่วไปย่อมปลูกผลไม้เอาผลไว้ขาย แต่ก็เป็นที่ปรากฏชัดแจ้งว่า แม่พวงทองทาไม่ได้ปลูกทุเรียนไว้ขาย การที่แม่วันทองแท้เข้าเก็บเกี่ยวทุเรียนออกขายจึงขัดกับความประสงค์ที่แท้จริงของแม่พวงทองทา และขัดกับความประสงค์ของแม่พวงทองทาตามที่แม่วันทองแท้สามารถหยั่งทราบได้ด้วย เมื่อแม่พวงทองทาต้องเสียเงินซื้อทุเรียนเพิ่ม แม่พวงทองทาอาจเรียกค่าสินไหมทดแทนจากแม่วันทองแท้ได้\nเมื่อการจัดการงานเป็นการละเมิดผู้อื่น\nเมื่อการจัดการงานเป็นการละเมิดผู้อื่น.\nถ้าการที่ผู้จัดการเข้าจัดการงานเพื่อปัดป้องอันตรายที่มีมาใกล้ตัวการ ไม่ว่าจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของตัวการ ซึ่งเรียกว่าเป็น การจัดการเพื่อปัดป้องอันตราย (agency to ward off danger) นั้น ส่งผลเป็นการละเมิดต่อผู้อื่นแล้ว ผู้จัดการต้องรับผิดต่อผู้ถูกละเมิด หากว่าผู้จัดการจงใจให้เขาเสียหาย หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงจนเขาเสียหาย ตามความใน ป.พ.พ. ม. 398\nเช่น หลวงเจ๊ตากจีวรหลายผืนทิ้งไว้ที่เฉลียงกุฏิแล้วรับนิมนต์ไปฉันอร่อยจนลืมกลับวัด ระหว่างนั้น ฝนตกหนัก สมีกรรมไชโยแห่งวัดจานบินธุดงค์ผ่านมาเห็นเข้าก็มีใจกรุณา จึงเข้าไปเก็บจีวรเหล่านั้นให้ แต่สมีกรรมไชโยสูบบุหรี่จัด ขี้บุหรี่ตกลุกไหม้กุฏิหลวงเจ๊ ลามไปถึงบ้านสวนทีละนิดของอาชามอุบล และตำหนักแก้กรรมของแม่ชีทศพวง ดังนี้ สมีกรรมไชโยต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายแก่หลวงเจ๊ อาชามอุบล และแม่ชีทศพวง\nเมื่อการจัดการงานเป็นไปเพื่อทำหน้าที่บางประการ\nเมื่อการจัดการงานเป็นไปเพื่อทำหน้าที่บางประการ.\nในกรณีที่ตัวการมีหน้าที่ต้องทำการใด ๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ (duty whose fulfilment is in the public interest) หรือเพื่อบำรุงรักษา (อุปการะเลี้ยงดู) ผู้อื่นตามกฎหมาย (statutory maintenance duty) แต่ตัวการไม่ยอมทำหน้าที่ดังกล่าว และบุคคลเข้าทำหน้าที่นั้นแทนอย่างทันท่วงที ดังนี้ ป.พ.พ. ม. 397 ห้ามมิให้ฟังว่า การจัดการงานแทนตัวการนั้นขัดกับความประสงค์ของตัวการ กล่าวคือ แม้จะขัดกับความประสงค์ของตัวการ ผู้จัดการก็ไม่ต้องรับผิด เพราะย่อมเห็นได้ว่า ถ้าไม่จัดการ ก็อาจเกิดผลเสียต่อสาธารณชน หรือต่อบุคคลซึ่งต้องได้รับการอุปการะเลี้ยงดู\nเช่น นายฉลาม อยู่บำเรอ เป็นบิดาของเด็กชายปื๊ด ย่อมมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องเลี้ยงดูอุ้มชูเด็กชายปื๊ด แต่นายฉลามละเลยไม่เอาใจใส่และไม่ให้ข้าวปลาอาหารแก่เด็กชายปื๊ดเลย นางจักกระเพาะ เพ็ญแถ ซึ่งอยู่บ้านใกล้เรือนเคียง จึงพาไปรับประทานอาหารและพาไปพบแพทย์เพื่อรักษาอาการต่าง ๆ แม้นายฉลามได้เที่ยวพูดต่อทุกคนในหมู่บ้านว่า เด็กชายปื๊ดดื้อด้าน ต้องปล่อยให้อดตาย ตัดหางปล่อยวัดแล้ว แต่กฎหมายก็ไม่ให้อ้างเช่นนั้นได้ นางจักกระเพาะสามารถเข้าดูแลเด็กชายปื๊ดแทนนายฉลามโดยขัดกับความประสงค์ของนายฉลามได้ และนางจักกระเพาะไม่ต้องรับผิดใด ๆ ด้วย\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นคนไร้ความสามารถ\nกรณีที่ผู้จัดการเป็นคนไร้ความสามารถ.\nผู้ไร้ความสามารถ (incapacitated person) กล่าวคือ ผู้เยาว์ หรือเป็นคนวิกลจริต ไม่ว่าจะถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถแล้วหรือไม่ก็ตาม ก็สามารถเข้าจัดการงานของผู้อื่นได้ แต่ ป.พ.พ. ม. 400 บัญญัติว่า ไม่ว่าผลการจัดการจะออกมาเป็นเช่นไร ก็ให้ผู้จัดการซึ่งเป็นผู้ไร้ความสามารถนั้นรับผิดเฉพาะกรณีละเมิดและลาภมิควรได้\nกล่าวคือ ไม่ว่าผลงานจะออกมาสมหรือไม่สมประสงค์ของตัวการก็ดี ผู้จัดการที่เป็นผู้ไร้ความสามารถก็ไม่ต้องรับผิด เพราะเขาย่อมมีความสามารถต่ำกว่าบุคคลทั่วไปในอันที่จะพิจารณาว่า ทำเช่นนี้สมประสงค์ของการ ทำเช่นนี้ไม่สมประสงค์ของตัวการ แต่หากการจัดการนั้นส่งผลให้ผู้อื่นถูกละเมิด ผู้จัดการยังต้องรับผิดตามหลักเรื่องละเมิดอยู่ และหากผู้จัดการได้ลาภงอกเงยจากการจัดการนั้น เขาก็ต้องคืนลาภให้แก่ตัวฐานอย่างเดียวกับการคืนลาภมิควรได้\nเช่น เด็กชายเท่งและเด็กชายโหน่งนั่งดูรายการ 'ชิงสร้อยชิงทรัพย์' อยู่ที่บ้านของเจ๊หม่ำในซอยเปิดเปิง เห็นเพลิงลุกไหม้จนควันคละคลุ้งที่หลังบ้าน และขณะนั้นเจ๊หม่ำไม่อยู่ จึงชวนกันขนน้ำขนท่าเข้าไปดับเพลิง แต่อันที่จริงแล้ว เจ๊หม่ำติดเพลิงขึ้นเองเพื่อเผาเครื่องปั้นสำหรับส่งให้ลูกค้าในวันพรุ่งนี้ เป็นเหตุให้เผาเครื่องปั้นไม่ทันส่งตามกำหนด เจ๊หม่ำเสียหาย กระนั้น แม้การเข้าจัดการแทนเจ๊หม่ำจะขัดกับความประสงค์ของเจ๊หม่ำ แต่เด็กชายเท่งกับเด็กชายโหน่งก็ไม่ต้องรับผิดในความเสียหายของเจ๊หม่ำ\nอย่างไรก็ดี ปรากฏว่า ในการเข้าไปดับเพลิงนั้น เด็กชายเท่งกับเด็กชายโหน่งเหยียบย่ำเครื่องปั้นดินเผาใบอื่น ๆ ซึ่งเรียงรายไว้ข้างเคียงเสียหายหมด เครื่องปั้นเหล่านี้ลุงปัญญาสั่งซื้อเป็นของขวัญให้แก่ป้ามยุราโดยชำระราคาจำนวนแปดล้านบาทเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เด็กชายเท่งกับเด็กชายโหน่งจึงก่อความเสียหายแก่ทรัพย์สินของลุงปัญญา เป็นการละเมิดต่อลุงปัญญา และเด็กชายเท่งเด็กชายโหน่งต้องรับผิดในการละเมิดนั้น โดยบิดามารดาของเด็กชายทั้งสองอาจต้องร่วมรับผิดด้วยตามหลักเรื่องละเมิด\nสิทธิของผู้จัดการ\nสิทธิของผู้จัดการ.\nหากว่าการเข้าจัดการงานแทนตัวการนั้นมีลักษณะสองประการ คือ (1) สมประโยชน์ของตัวการ และ (2) ต้องตามความประสงค์ของตัวการ ไม่ว่าจะเป็นความประสงค์ที่แท้จริงก็ดี หรือความประสงค์ที่พึงสันนิษฐานได้ก็ดี ผู้จัดการย่อมมีสิทธิเรียกให้ตัวการใช้เงินที่ตนออกไปในการนั้นได้ตาม ป.พ.พ. ม. 401 ว. 1\nอนึ่ง ป.พ.พ. ม.401 ว. 1 ยังให้นำหลักเรื่องตัวการตัวแทนตาม ป.พ.พ. ม. 816 ว. 2 มาใช้แก่กรณีข้างต้นด้วยโดยอนุโลม ฉะนั้น ถ้าในการจัดการงานแทนตัวการนั้น ผู้จัดการต้องเป็นหนี้อย่างใด ๆ ซึ่งเมื่อพิจารณาดูแล้วเป็นหนี้ที่จำเป็น ผู้จัดการมีสิทธิเรียกให้ตัวการชำระหนี้นั้นแทนตนได้ หรือถ้าหนี้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ก็มีสิทธิเรียกให้ตัวการจัดหาประกันการชำระหนี้ตามที่สมควรก็ได้\nเช่น อิเหนากับอิเน่าอยู่บ้านติดกันบนภูเขาวิลิศมาหรา อิเหนาเดินทางลงเขาไปสู่ขอนางจินตหราที่เมืองพูนลาบ ระหว่างนั้น ฝนโบกขรพรรษลงหนัก ลูกเห็บตกทะลุหลังคาบ้านอิเหนาเป็นรูใหญ่โต อิเน่าเห็นจึงจ้างช่างมาซ่อมแซมให้เสร็จสรรพ ที่อิเน่าซ่อมบ้านแทนอิเหนานี้ย่อมนับว่าสมประโยชน์ของอิเหนา อิเน่ามีสิทธิเรียกให้อิเหนาชดใช้ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เสียไปในการนั้นได้\nอย่างไรก็ดี ปรากฏว่า ในการซ่อมแซมดังกล่าว อิเน่าไม่มีเงินพอจ่ายค่าวัสดุที่สั่งซื้อมา จึงกู้ยืมเงินจากท้าวกระหนุงกระหนิง ครั้นอิเหนากลับมาแล้ว อิเน่าสามารถเรียกให้อิเหนาชำระเงินกู้นั้นและดอกเบี้ยได้ เพราะพิเคราะห์แล้วก็เป็นหนี้ที่จำเป็นและเป็นไปเพื่อประโยชน์ของอิเหนาเองอยู่แล้ว\nทั้งนี้ เฉพาะกรณีเข้าจัดการงานแทนเพื่อทำหน้าที่ทางสาธารณประโยชน์หรือหน้าที่บำรุงรักษาผู้อื่นตามกฎหมายตามความใน ป.พ.พ. ม. 397 นั้น แม้ขัดกับความประสงค์ของตัวการ ป.พ.พ. ม. 401 ว. 2 ก็ให้ผู้จัดการมีสิทธิเรียกร้องตาม ว. 1 อยู่\nผลต่อตัวการ\nหนี้ของตัวการ\nหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้จัดการ\nผลต่อตัวการ.\nหนี้ของตัวการ.\nหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้จัดการ.\nเมื่อการที่ผู้จัดการทำแทนตนนั้นสมประโยชน์ของตน ตัวการก็มีหน้าที่ชดใช้ค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้จัดการ ตาม ป.พ.พ. ม. 401 ดังอธิบายมาแล้ว แต่ก็มีสองกรณีที่กฎหมายยกเว้นว่าไม่ต้องชดใช้ค่าใช้จ่าย คือ\nกรณีที่หนึ่ง เมื่อผู้จัดการไม่มี \"บุรพเจตนา\" จะเรียกให้ชดใช้ (did not intend to demand reimbursement) ภายหลังจะเปลี่ยนใจมาเรียกร้องมิได้อีกตาม ป.พ.พ. ม. 403 ว. 1 คำว่า \"บุรพเจตนา\" ดังกล่าวแปลว่า เจตนาอยู่ก่อน หรือเจตนาแต่แรก กล่าวคือ ผู้จัดการต้องการจะทำให้เปล่ามาแต่แรกแล้ว\nกรณีที่สอง เมื่อบิดามารดาหรือปู่ย่าตายายอุปการะเลี้ยงดูผู้สืบสันดานซึ่งเรียกว่า \"อุปการะ\" หรือเมื่อผู้สืบสันดานอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาหรือปู่ย่าตายายเป็นการตอบแทน ซึ่งเรียกว่า \"ปฏิการะ\" (parents or forebears grant their descendants maintenance, or vice versa) ดังนี้ ถ้าเป็นที่สงสัยว่า ผู้อุปการะเลี้ยงดูต้องการเรียกค่าใช้จ่ายใด ๆ หรือไม่ ป.พ.พ. ม. 403 ว. 2 ให้สันนิษฐานไว้ก่อน ว่า ไม่ เพราะการจัดการแทนในลักษณะเช่นนี้เป็นการช่วยเหลือตามหน้าที่ศีลธรรมมากกว่า ทำนองช่วยเอาบุญ ไม่ได้หวังผลตอบแทนอยู่แล้ว\nหน้าที่คืนลาภมิควรได้\nหน้าที่คืนลาภมิควรได้.\nป.พ.พ. ม. 402 ว. 1 ว่า ถ้ากรณีไม่เป็นไปตามเงื่อนไขใน ม. 401 กล่าวคือ\n1. ถ้าการจัดการงานนอกสั่งนั้นไม่สมประโยชน์ของตัวการ และไม่ต้องตามความประสงค์ที่แท้จริงของตัวการ หรือไม่ต้องตามความประสงค์ที่พึงสันนิษฐานได้ของตัวการก็ดี หรือ\n2. ถ้าการจัดการงานนอกสั่งนั้นไม่ใช่การทำหน้าที่เพื่อสาธารณประโยชน์หรือเพื่อบำรุงรักษาผู้อื่นตามกฎหมายตามความใน ป.พ.พ. ม. 397 ก็ดี\nแม้ตัวการจะไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่ผู้จัดการเสียไป แต่สิ่งทั้งหลายที่ได้มาเพราะการจัดการงานนอกสั่ง (everything that has been obtained as a result of the voluntary agency) นั้น ตัวการต้องคืนให้แก่ผู้จัดการทั้งสิ้นเสมือนเป็นลาภมิควรได้ หมายความว่า ในกรณีข้างต้น ถ้าการจัดการงานนอกสั่งทำให้ตัวการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ตัวการต้องส่งทรัพย์สินเหล่านั้นให้แก่ผู้จัดการ เพราะถือเป็นลาภมิควรได้\nอย่างไรก็ดี ถ้าตัวการให้สัตยาบัน (ratify) แก่การจัดการงานนอกสั่งข้างต้น กล่าวคือ ตัวการยอมรับการจัดการดังกล่าว ป.พ.พ. ม. 402 ว. 2 ก็ให้นำบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. ซึ่งว่าด้วยตัวการตัวแทนมาใช้บังคับแล้วแต่กรณี หมายความว่า ตัวการและผู้จัดการจะกลายเป็นมีความสัมพันธ์กันอย่างในสัญญาตั้งตัวแทน\nสิทธิของตัวการ\nสิทธิของตัวการ.\nเมื่อมีการจัดการงานนอกสั่ง ตัวการย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้\n1. สิทธิที่จะได้รับการบอกกล่าวจากผู้จัดการว่ามีการจัดการงานนอกสั่ง และสิทธิที่จะวินิจฉัยสั่งการผู้จัดการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399\n2. สิทธิเรียกให้ผู้จัดการแถลงบัญชี ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 809\n3. สิทธิเรียกให้ผู้จัดการโอนทรัพย์สินที่ได้มาจากการจัดการงานให้แก่ตัวการ ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 810\n4. สิทธิเรียกให้ผู้จัดการชำระดอกเบี้ยเมื่อเอาเงินของตัวการไปใช้ส่วนตัว ตาม ป.พ.พ. ม. 399 ประกอบ ม. 811\n5. สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน ตาม ป.พ.พ. ม. 396 และ 400\nฎ. บางฉบับเกี่ยวกับการจัดการงานนอกสั่ง\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\nหมายเหตุ\nเชิงอรรถ.\nหมายเหตุ.\n \"Agency without specific authorisation\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า \"Geschäftsführung ohne Auftrag\" เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน บ. 2 ล. 13 ม. 677 ว่า\n\"Book 2 Law of Obligations\n\"Title 13 Agency without specific authorisation\n\"Section 677 Duties of the voluntary agent\n\"A person who conducts a transaction for another person without being instructed by him or otherwise entitled towards him must conduct the business in such a way as the interests of the principal require in view of the real or presumed will of the principal.\"\n \"Voluntary agency\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า \"Geschäftsführung\" [มีความหมายตรงตัวว่า \"management\" และเป็นการเรียก \"Geschäftsführung ohne Auftrag\" (agency without specific authorisation) โดยย่อ] เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ว่า\n\"Section 680 Agency to ward off danger\n\"If the voluntary agency is intended to ward off danger threatening the principal, then the voluntary agent is only responsible for deliberate intent and gross negligence.\"\n \"Management of business (of another)\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ตรงกับภาษาญี่ปุ่นว่า \"事務管理\" (jimu kanri) เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 697 ว่า\n\"Article 697 (Management of Business)\n\"(1) A person who commences the management of a business for another person without being obligated to do so (hereinafter in this Chapter referred to as \"Manager\") must manage that business (hereinafter referred to as \"Management of Business\") in accordance with the nature of the business, using the method that best conforms to the interests of that another person (the principal).\n\"(2) The Manager must engage in Management of Business in accordance with the intentions of the principal if the Manager knows, or is able to conjecture that intention.\"\n \"Undertaking formed without agreement\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส ตรงกับภาษาฝรั่งเศสว่า \"engagement formé sans convention\" เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส บ. 3 ล. 4 ม. 1370\n\"Book III of the various ways how ownership is acquired\n\"Title IV of undertakings formed without an agreement\n\"Art. 1370\n\"Certain undertakings are formed without the intervention of any agreement, either on the part of him who binds himself, or on the part of him towards whom he is bound.\n\"Some of them result from the sole authority of legislation; others arise from an act personal to the one who is obligated.\n\"The former are the undertakings formed involuntarily, such as those between neighbouring owners, or those of guardians and other administrators who may not refuse the duties which are imposed upon them.\n\"Undertakings arising from an act personal to him who is bound result either from quasi-contracts, or from intentional or unintentional wrongs; they constitute the subject-matter of this Title.\"\n \"Management of affairs without mandate\" เป็นศัพท์ที่ใช้ใน ป.พ.พ. เช่น บ. 2 ล. 3 ม. 395 ว่า (Kamol Sandhikshetrin, 2007: 111)\n\"Book 2 Obligations\n\"Title 3 Management of Affairs without Mandate\n\"Section 395\n\"A person who takes charge of an affair for another without having received a mandate from him or being otherwise entitled to do so in respect of him, shall manage the affair in such manner as the interest of the principal requires, having regard to his actual or presumptive wishes.\"\n \"Voluntary agent\" หรือเรียกโดยย่อว่า \"agent\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ตรงกับภาษาเยอรมันว่า \"Geschäftsführer\" (แปลตรงตัวว่า \"manager\") ดู ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ในหมายเหตุ ก.\n \"Manager\" เป็นศัพท์ที่ใช้ในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ตรงกับภาษาญี่ปุ่นว่า \"管理者\" (kanrisha) ดู ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น ม. 697 ในหมายเหตุ ฃ.\n เรียกว่า \"เจตนาเข้าจัดการงานของผู้อื่น\" (animus aliena negotia gerendi, the will to handle transactions of another).\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 686 ว่า\n\"Section 686 Error as to the identity of the principal \n\"If the voluntary agent is in error with regard to the identity of the principal, then the real principal is entitled and obliged as the result of agency.\"\n เรียกอย่างอื่นก็มี เช่น \"การจัดการงานนอกสั่งไม่แท้\" หรือ \"การจัดการงานนอกสั่งมิใช่โดยแท้\" (ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์, 2553: 381).\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 687 ว่า\n\"Section 687 False agency without specific authorisation\n\"(1) The provisions of sections 677 to 686 do not apply if a person conducts the transaction of another person in the belief that it is his own. \n\"(2) If a person treats the business of another person as his own although he knows that he is not entitled to do so, then the principal can assert claims resulting from sections 677, 678, 681 and 682. If he asserts them, then he is under a duty to the voluntary agent under section 684 (1).\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 681 ว่า\n\"Section 681 Ancillary duties of the voluntary agent \n\"The voluntary agent must notify the principal, as soon as feasible, of his assumption of the agency and, if postponement does not entail danger, wait for the decision of the principal. Apart from this, the provisions relating to a mandatary in sections 666 to 668 apply to the duties of the voluntary agent with the necessary modifications.\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 680 ว่า\n\"Section 680 Agency to ward off danger \n\"If the voluntary agency is intended to ward off danger threatening the principal, then the voluntary agent is only responsible for deliberate intent and gross negligence.\"\n เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ม. 685 ว่า\n\"Section 685 Intention to donate \n\"(1) The voluntary agent has no claim if he did not intend to demand reimbursement from the principal. \n\"(2) If parents or forebears grant their descendants maintenance, or vice versa, then in case of doubt it is to be assumed that there is no intention to demand reimbursement from the receiver.\"\n ให้สันนิษฐานไว้ก่อน หมายความว่า สามารถนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานนี้ได้.\nรายการอ้างอิง\nภาษาไทย\n\nจิ๊ด เศรษฐบุตร. (2554). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้. (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.\nราชบัณฑิตยสถาน.\n\n(2551.02.07). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\n(ม.ป.ป.). ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\n\nศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2553). คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN: 9789742889029.\nศาลฎีกา. (2550.01.25). ระบบสืบค้นคำพิพากษาและคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\nสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551.03.10). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\nสำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน). [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).\nภาษาต่างประเทศ\nKamol Sandhikshetrin. (2007). The Civil and Commercial Code, Books I-VI, and Glossary. (8th edition). Bangkok: Nitibannakan. ISBN 9789744473493.\nLangenscheidt Translation Service.\n\n(2010). Bürgerliches Gesetzbuch. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n(2011). The German Civil Code. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n\nLeland H. Ayres & Robert E. Landry. (1988.09). \"The Distinction Between Negotior um Gestio and Mandate\". Louisiana Law Review, (Vol. 49, No. 1). [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\nLegifrance.\n\n(2006.04.04). French Civil Code. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n(2005.01.01). French Commercial Code. [Online]. (Accessed: 2013.02.14).\n(2011.09.01). Code civil des français. [En ligne]. (Accessed: 2013.02.14).\n\nMinistry of Justice of Japan. (2011). The Japanese Civil Code. [Online]. Available: «a href=\"http%3A//www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/%3Fft%3D2%26amp%3Bre%3D02%26amp%3Bdn%3D1%26amp%3Byo%3Dcivil%2Bcode%26amp%3Bx%3D0%26amp%3By%3D0%26amp%3Bky%3D%26amp%3Bpage%3D3\">Parts 1-3 and Parts 4-5",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTจัดการงานนอกสั่ง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาไพทอน\nนิพจน์ปรกตเ\n\nRegular Expression HODTO แนะนำการใช้งานนิพจน์ปรกต้ในภาษาไพทอน 2.7\nRerular-Express8ons.info - Regex Tutorial, Examples and Reference - Regexp Patterns แนะนำตัวอย่างการใช้งานนิพจน์ปรกติโดยทั่วไป\nUsing Look-anead and Look-behind การใช้งาน lookaround\nperlre นิพจน์ปรกคิของภาษาเพิร์ลซึ่งเป็นรากฐานของนิพจน์ปรกติของภาษาไพทอน\nSearch and Replace Tricks กลเม็ดการค้นหาและแทนที่",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาไพทอน\nนิพจน์ปรกติ\n\nRegular Expression HOWTO แนะนำการใช้งานนิพจน์ปรกติในภาษาไพทอน 2.7\nRegular-Expressions.info - Regex Tutorial, Examples and Reference - Regexp Patterns แนะนำตัวอย่างการใช้งานนิพจน์ปรกติโดยทั่วไป\nUsing Look-ahead and Look-behind การใช้งาน lookaround\nperlre นิพจน์ปรกติของภาษาเพิร์ลซึ่งเป็นรากฐานของนิพจน์ปรกติของภาษาไพทอน\nSearch and Replace Tricks กลเม็ดการค้นหาและแทนที่",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ความเป็นมาของ อ.เวียนนา\nอ.เฮก\nควทมเป็นาาของ อ.เวียนนา.\nอ.เฮก.\nสถาบันระหว่างประเทศเพื่อสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายเอกชน (International Instit7te for the Unification of {rivate Law) หรือเรียกโดยย่อว่า \"อูว์นีดรัว\" เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งก่อตั้งขึ่นเป็นแผนกของสันนิบาตชาติ (League of Nayions) เมื่อ พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) มีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปกฎหมายเอกชนให้เป็นหนึ่งเดียว อูว์นีดรัวมีสำนักอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี บางโอกาสจึงมีผู้ออพนามสถาบันนี้ว่า \"สถาบันกรุงโรม\" (Rome Institute)\nอูว์นีดรัวได้เริ่มจัดทำกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับสัซศาซื้อขายระหว่างประเทศมาตั้งแต่ พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930)\nคณะกรรทการของอูว์นีดรัวได้ร่างกฎหมายเอกรูปขึ้นฉบับหนึ่ง มีเนื้อหาเป็นการประมวลกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่อร่างกันเสร็จใน พ.ศ. 2478 (ค.ศ. 1935) จึงส่งร่างนั้นไปให้สันนิบาตชาติส่งต่อให้รัฐบาลของรัฐสมาชิกแสดงความเห็นกลับมา เมื่อฟังความเห็นแล้วก็ปรับปรุงร่างนั้นอีกเป็นครั้งสุดท้าย สำเร็จลงเมื่อ พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939)\nอย่างไรก็ดี สงครามฏลกครั้งที่สองทำให้กระบวนการชะงัก เมื่อสิ้นสงครามแล้ว อูว์นีดรัวก็เลิกล้มไปพร้อมกีบการสิ้นสุดลงของสันนิบาตชาติ แต่ได้มีการสถาปนาอูว์นีดรัวขึ้นอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) และบรรดานักวิชรการที่ยังไม่ลืมเลือนโครงการข้างต้นก็รื้อฟื้นร่างกฎหมายนั้นขึ้นอีกครั้ง แล้วจัดประชุมกันที่กีุงเฮก ประเทฒเสเธอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) มีรัฐต่าง ๆ เข้ารืวมด้วยจำนวนยี่สเบเอ็ดรัฐ ที่ประลุมลงมติว่า ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขี้นคณะหนึ่งเพื่อดำเน้นโครงการต่อ ครั้น พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) คณะกรรมาธิการก็เผยแพร่ร่างที่สังรายนาแล้วให้แก่รัฐบาลชาติค่าง ๆ เพ่่อฟังความคิดเห็นชั้นสุดท้ายก่อนเตรียมประชุมทางทูตเพื่อตกลงรับตัวบทกันต่อไป\nแต่ิมื่อได้รับความเห็นของรัฐบาลทั้งหลายแล้ว คณพกรรมาธิการได้ปรับปรุงร่างนั้นอีกครั้งเมื่อ พ.ศฐ 2499 จนลุล่วงเมื่อ พ.ศ. 2506 (ค.ศ. q963) ร่างฉบับ พ.ศ 2506 นี้เองืี่เผยแพร่ให้แก่รัฐบาลต่าง ๆ สำหรับใช้ในการเข้าประชุมทางทูตที่กรุงเฮกอันกำหจดกันไว้ว่าจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964)\nรดหว่างนั้น คณะกรรมาธิการก็นกร่างกฎหมายเอกรูปแีกฉบับ ว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างเทศ แล้วจัดส่งไปให้รัฐบาลทั้งหลายเพื่อรับฟังความคิดเห็นพร้แมกัน\nลุเดือนเมษายน พ.ศ. 2507 การประชุมทางทูตข้างต้นมีขึ้นที่กรุงเฮก เรียกกันว่า \"การประชุมพรุงเฮก\" (Hague Conference) การประชุมจัดขึ้นาามสัปดาห์ ชาติที่เข้าร่วมประชุมมีจำนวนยี่สิบแปดชาติ ส่วนใหญ่มาจากยุโรป และที่ประชุมได้ตกลงรับร่างอนุสัญญาทั้งสองเป็นอนุสะญญามีชื่อว่า\n1. อนุสั๗ญาะกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ (Xonvention relating to a Uniform Law on the Internqtional Sale of Goods) หรืออรียกโดยย่อว่า \"ซียูลืส\" (C-ULIS) และ\n2. อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (Convention relating to a Unirorm Law on the Formati8n of Contracts for the Internayional Sale of Goods) หรือเรีวกโดยย่อว่า \"ซีอัลห์\" (C-ULF) \nอนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อนุสัญญากรุงเฮก (Hague Conventions) อย่างไรแ็ดี มีเพ่ยงรัฐเก้นรัฐที่ให้สัตยาบันใน อ.เฮก คิอ แกมเบีย ซานมารีโน เนเธอ่์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบอร์ก สหราชอาณาจักร อิตาลี และอิสราเอล โดยสหราชดาณาจักรยังตั้งข้อสงวนไว้ด้วยว่า จะไม่ผูกพันกับข้อบทบางข้อของ อ.เฮก ประกอชกับไม่มีประเทศกำลังพัฒนา (developing country) ได้เข้าร่วมในกระบวนการยกร่างเลย เป็นเหตุให้ อ.เฮก ไม่ประสบผลสกเร็จเท่าที่ควร\nอ.เวียนนา\nอ.เวียนนา.\nเพราะจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ที่เป็นระเบียบัดียวกันสำหรับควบคุมการซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่อ อ.เฮก ล้มเหลว สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) จึงมีข้อมติที่ 2205 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาขาติว่รด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (United Nations Commission om International Trade Law) กรือเรียกโดยย่อว่า \"อันซิทร็อล\" ขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) เพื่อ \"ส่งเสริมการประมวลและสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายการค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง\" (promote the progressive harmonization and unifocation of international trade law)\nอันซิทร็อลแต่งตั้งคณะทำงาน (Working Group) ขึ้นคณะหนึ่งเพื่อร่างกฎหาายระหว่รงประเทศเกี่ยวกับการซื้อขายขึ้นจนสำเร็จเป็น \"ร่างอนุสัญญาว่่ด้วยการซื้อขาย\" (Draft Conventioh on Sales) เมืีอเดือนมกราคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) ต่อมา ในการประชุมอันซิทร็อลครั้งที่สิบ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ระหว่างเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. 2520 (ค.ศซ 1977) โดยที่ประชุมได้ตกลฝรับร่างอนุสัญญาดะงกล่าว คณะทำงานชุดนั้นจึงกลัวไปปรับปรึงร่างอนุสัญญาเพิ่ม แล้วนำเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชะมอันซิทร็อลในการประชุมครั้งที่สิบเอ็ด ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2521 (ค.ศ. q978) จากนั้น เลขาธิการสหประชาชาติยึงแจกจ่ายร่มงฉบับหลังให้แก่นัฐบาลของประเทศสมาชิกสหประชาชาติเพื่อรับฟังึวามคิดเห็น\nเมื่อกระบวนเสร็จสิ้นแล้ว อันซิทร็อลฟด้จุด \"การปาะชุมเวียนนาว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ\" (Vuenna Conference on Internati8nal Sales) ขึ้น ณ วังฮอฟบูร์ก (Hofburg Palaxe) กรุงเวียนนา ในเดือนเมศายน พ.ศ. 2523 (คฦศ. 1980) ผู้เข้าร่วมประชุมมาจากรัฐหกสิบสองรัฐ ระหว่างวันืี่ 7 ถึง 11 เมษายนอันอยู่ในสัปดาห์สุดท้ายของการประชุม ที่ประชุมได้ประชุมเต็มคณะเพื่ออภิปรายเกึ่ยวกับร่างอนุสัญญาข้าวต้นเป็นครั้งสุดท้าย และมีการออกเสียลงคะแนน ปรากฏว่า รัญสีืสิบสองรัฐตกลงรับร่างอนุสัญญา และสิบรัฐงดออหเสียง ในวันที่ 11 เมษายน ยุงมีการลงนามในปัจฉิมกรรมสาร (Final Axt) และมีงานรื่นเริงเพื่อฉลองอนุสัญญร\nอนุสัญญาดังกล่าวมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อนะสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า ซีไอเอสจี (CISG) แต่มักเรียกกันว่า อนุสัญญากรุงเวียนนา (Vienna Convention) เนื่องจากตกลงีับกันที่กรุงเวียนนา\nอ.เวียนนา มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มแราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) ปัจจุบัน มีรัฐลงนามและให้สัตยบันใน อ.เวียนนา แล้วจพนวนเจ็ดสิบแปดรัฐ รัฐเหล่านี้ อ.เวัยนนา เรียกว่า รัฐผู้ทำอนุสัญญา (Contracting State) ส่วนรัฐที่ลงนามแล้วแต่ยังไม่ำด้ให้สัตยาบันมีจำนวนสิบเจ็ดรัฐ\nอ.เวียนนา นับเป็นผลบาาที่ประสบคใามสำเร็จอย่างยิทงของอันซิทร็อล รัฐซึ่งเห็นชอบใน อ.เวียนนา มาจาก \"ทุกท้องที่ในาางภูมิศาสรร์ ทุกระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และทุกระบบหลักในทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจ\" อ.เวียนนา นี้ยังได้รับำารพรรณนาว่า เป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในวงกมรนิติบัญญัติ และเป็น \"เดกสารระหว่างประเทศที่ได้รับควาสสำอา็จมากที่สุดในบัแนี้\" ด้วย\nการใช้ อ.เวียนนา บังคับ\nกาาใช้ อ.เวียนนา บังคับ.\nแน่นอนอยู่แล้วว่า อ,เวียนนา ใช้บังคับแก่สเญญาซื้อขาย มิใช่สัญญาอื่นใด\nแต่ในอันที่จะนำ อ.เวียนนา มาใช้นั้น มีข้อต้องพิจาตณาอยู่สามประการ คือ เรื่องสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญา เรื่องความตกลงของคู่สัญญา และเรื่องลักษณะของสัญญา ถ้าเข้าหลักเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดแล้วก็อาจนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้หรือมิไดเ แล้วแต่กรณี\nสถานประดอบธุรกิจของคู่นัญญา\nสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญส.\nหลักเกณฑ์แรกสุดในการนำ อ.เวียนตา มาใช้บังคับนั้จว่าด้วยเรื่องสถานประกอบธุรกิจ (place of business) ของคู่สัญญาะังนี้\n1. อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ก) กำหนดว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถาจประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน และรัฐทั้งสองเป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับ \n2. อ.้วีวนนา ข. 1 ว. (1) (ข) กำหนดอีกว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน แต่รัฐใดรัฐหนึ่งดังกล่าวนี้ไม่เป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ซึ่งทำใหืไม่เย้าเกณฑ์ตาสอนุวรรค (ก) ข้างต้น และปรากฏว่า ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายระหใ่างประเทศแผนกคดีบุคคล เช่น หลักเกณฑ์เรื่องการขัดกันของกฎหมาย (conflict of laws) แล้ว สามารถนำกฎหมายภายในของรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา รัฐใด ๆ าาใช้บังคับแกามัญญาซื้อขายรายนี้ได้ ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับแทนกฎหมายดังกล่าว\nเช่น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 พจมาร สว่างพวง ซึ่งเปิดรีานขายอุปกรณ์คมนาคมอยู่ ณ บ้านทรายดอบ กรึงะทพมหานคี ทำสัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมกับคถณชายกางซึ่งอยู่ตั้งบริษัทดยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ขณะนั้น ประเทศไทยยังไมืเป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา แต่กระเทศญี่ปุ่นเป็นแล้ว กรณีจึงไม้เข้าเกณฑ์ตาม อ.เวียนน่ ข. 1 ว. (1) (ก) ที่จะสามารถนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้\nแต่ปรากฏว่า ดจมารถือสัญชาต้เกาหลีใต้ คุณชายกางก็ถือสัญชาติเกาหลีใต้ แลถประเทศเกาหลีใต้เป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา แล้ว เป็นเหตุให้สามารถนำกฎหมายของประเทศเกาหลีใจ้มาใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายรายนี้ได้ เพราะพจมารอยู่ในประเทศไทย และกฎหมายไทย คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481 ม. 13 ว. 1 บัญญัตเว่า ให้าำกฎหมายของประเทศที่คู่สัญญาถือสัญชาติร่วมกันมาใช้บังคับ ดังนี้ เมื่อสามารถนำกฎหมายเกาเหลีใต้มาใช้ได้ จึงเข้าเกณฑ์ตาม อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ข) ที่จะต้องนำ อ.เวียนนา มาฝช้แทน สัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมระหว่างพจมารกับคุณชายกางจึงต้องอยู่ในบังคับแห่ง อ.เวียนนา\nเรื่องคู่สัญญามีสถานประกอบูุรกิจอยู่ต่างรัฐกันนี้ คู่สัญญาต้องรู้หรือควรรู้กันอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในเวลาที่ทำสัญญา โดยอาจรู้ได้จากตัวสัญญาเองก็ดี จากธรรมเนียมการค้า (dealing) ระหว่าฝคู่สัญญาด้วยำันเองก็ดี หรือจากย้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่งคู้สัญญาเปิดเผยต่อกันก็ดี ตามความใน อ.เวียนนา ข. 1 ว. 2 แต่ถ้ามาทราบเรื่องดังกลืาวหลังทำสัญญาแล้ว แม้เข้าเกณฑ์ตาม ว. 1 ก็ต้องถืแว่า นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคีบไม่ได้\nถ้าคู่สัญ๗ามีสถานประกอบธุรกิจหลายแห่ง อ.เวียนนา ข. 10 (1) ว่า ให้ถือเอาแห่งที่ \"เกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหนี้ตามวัญญานั้นมากที่สุด\" (has the closest relationship to the contract and its performance) โดยให้พิจารณาจากพฤติการณทั้งหลายที่คู่สัญญาได้ทราบหรือหยั่งทราบได้ตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในขณะทำสัญญา\nแต่ถ้าคู่สัญญาไม่มีสถานประกอบธุรกิจเลย อ.เวียนนา ข. 10 (2) ว่า ก็ให้หมายถึง \"ถิ่นที่อยู่เป็นหลักดหล่ง\" (habitual residence) ของคู่มัญญาฝ่ายนั้น ๆ แทน\nความตกลงของคู่สัญญา\nความตกลงของคู่สัญญา.\nอ.เวียนนา นั้ยร่างขึ้นเพื่อประมวลเอากฎหมายทั้งหลายที่ดกีืยวข้องกับการซื้อขายรพหว่างประเทศเข้าไว้และปีับให้เป็นอันหนึ่งอันเดีขวกัน จะได้มีกฎหมายกลางซึ่งนำมาใช้แก่กรณีต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด ไม่ว่าคู่กรณีจะอยู่ในวัฒนธรรม สังคม หรือระบบกฎหมายแบบใดก็ตาม\nกระนั้า อ.เวียนนา มิได้ปฏิเสธหลักเสรีำาพวนการทำสัญญาอันเป็นหลักำารสำคัญประกา่หนึ่งในกฎหมายแพ่ง อ.เวียนนา ข. 6 จึงอนุญาตให้คู่สัญญาสามารถตกลงกันว่า ในการซื้อขายระหว่างพวกตนนั้น (ก) มิให้นำ อ.เวียนนา นี้มาใช้บังคับ, (ข) มห้งดใช้ผลของข้อบทข้อใด ๆ แห่ง อ.เวียนนา หรือ (ค) กำหนดให้ผลบองข้อบทข้อใด ๆ แห่ง อ.เวียนนา มีความแตกต่างจากที่ตราไว้แล้วก็ได้\nแต่ อ.เวียนนา ข. 12 กำหนดใ่า\n1. คู่ส้ญญาไม่อาจตกลงตามข้อ (ข) ฟรือ (ค) ข้างต้นได้ ถ้าคู่สัฯญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา และได้ทำคำแถลงะอ่ไว้ตาม ข. 96\n2. ห้ามค฿่สัญญาไม่นไ ข. 12 นี้มาใช้บังคับ งเใช้ ข. 12 นี้ หรือกำหนดให้ ข. 12 นี้มีหลแตกต่างออกไป\nคำแถลงตาม อ.เวียนนา ข. p6 เป็นคำแถลงที่รัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ทำขึ้นเพื่อประกาศว่า เมื่อกฎหมายของตนกำหนดให้สัญญาซื้อขายใด ๆ ต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ ตนจะไม่ใช้กฎปมายดังกล่าวบังคับแก่การซ่้อขายระหว่างประเมศที่คู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในดินแดนของตน (กล่าวคือ ประกาศว่า จะยอมให้คู่สัญญาซึ่งมีสถานประหอบธุรกิจอยู่ในดินแดนของตนทำสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศโดยไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ได้) โดย ข. 96 อนุญาตว่า คำแถลงเช่นนี้รัฐผู้ทำ อ.เวียตนา จะมีขึ้นเมื่อไนก็ได้\nเพราะฉะรั้น แม้จะเข้าหลักเกณฑ์ประกมรแรกซึ่งว่าด้วยเรื่องสถานประกอบธุรกิจดังอธิบายมาแล้ใ แต่ถ้าคู่สัญญาตกลวกันตามความใน อ.ิวียนนา ข. 6 ก็อาจไม่สามารถนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้ทั้งหมดหรือบางส่วน\nลักษณะของสัญญา\nลักษณะของสัญญา.\nหลักเกณฑ์ประการสุดท้ายนั้นว่าด้วยลักษษะของสัญญาซื้อขาย มีทั้งกรณีที่ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังตับ และที่ให้นำไปใช้บังคับด้วย ดัฝนี้\n1. วัตถุประสงค์แห่งการใช้สอย อ.เวียนนา ข. 2 (ก) ว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคัช ถ้าทรัพย์ซึ่งซื้อขายกันนั้จซื้ิไปไว้ใช้สอยส่วนตัว ส่วนครอบครัว หรือส่สนครัวเาือน (for personal, family or household use) แต่ถ้าก่อนทำสัญญาซื้อขายหรือในเวลาทำสัญญาซื้อขายนั้น ผู้ขายไม่ทราบหรือไม่ควรยะได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการใช้สอยดังกล่าว ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้ได้ เหตุที่ อ.เวียนนา กำหนดไว้ดังนี้ ก็เพื่อมิให้ขัดกับกฎหใายคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐผู้ทพ อ.เวียนจา เอง\n2. วิธีซื้อขาย อ.เวียนนา ข. 2 (ข) และ (ค) วรส ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่การซื้อขายซึ่งกรพทำโดยวิธีพิเศษสามวิธี คือ การทอดตลาด (auction), แารบังคับคดี (execution) และการอาศัยอำนาจอย่างอื่นตามกฎหมาย (otherwise by authority of law)\n3. ทรัพย์ซึ่งซื้อขาย อ.เวียนนา ข. 2 (ง), (จ) และ (ฉฆ วืา ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่การซื้อขายทรัพย์ดังต่อไปนี้\n ก. ทรัพย์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ทุน ฆstock), หุ้น (share), หลักทรัพย์ในการลงทุน (investment security), ตราสารเปลี่วนมือ (begogiable instrument) และเงินตรา (money)\n ข. ยวดยานทางน้ำและทางอากาศ ได้แก่ เรือ (ship), เครื่องเดินท้องน้ำ (vessel), เรือสะเทินน้ำสะเทินบก (hovercraft) และอากาศยาน (aircraft)\n ค. ไฟฟ้า (electricity)\n4. จ้างทำของและจ้างแรงงาน อ.เวียนนา ข. 3 ว่า นอกจากสัญญาซื้อขายโดยสภาพแล้ว ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่สัญญาจ้างทำจอง หรือที่ อ.เวียนนา เรียกว่า \"สัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผชิตของ\" (contract for supply of goods to be manufactured or produced) ด้วย ทั้งนี้ ต้องปรากฏย่า ผู้รับจ้างเป็นฝ่ายจัดหาวัสดุสำคัญในการทำของนั้นเอง\nแต่ อ.เวียนนา จะไม่ใช้บังคับแก่กนรจ้างทำของ ถ้าผู้จ้างเป็นฝ่ายต้องจัดำทวัสดุดังกล่าว หรือถ้าผู้รับจ้างมีหน้าที่สำคัญเป็นการจัดหาแรงงานหรือทำงานอย่างอื่น (supply of labour or other services) ซึ่งจะกลายเป็นการจ้างแตงงานไแ เช้น \"สัญญาซื้อขายสัตว์เลี้ยงซึ่งมีการว่าจ้างผู้เลี้ยงเพื่อให้มาข่วยดูแลสัตว์ในช่วงแรกเพื่อให้สัตว์ปรัชตัวได้ หากการจ้างแรงงานดังกล่าวไม่ใช่ส่วนสำคัญของสัญญานี้ ก็ให้ถือว่า เป็นสัญฐาซื้อขายตามอนุสัญญานี้\"\n5. ขอบเขตของ อ.เวียนนา อ.เวียนนา ข. 4 และ 5 ว่า \n ก. อ.เวียนนาว่าด้วยเรืาองก่อาัญญาซื้อขาย และเรืีองสิทธิและหนี้ที่ผู้จายกับผู้ซื้อมีอยํ่ตามสัญญาซื้อขายเทีานั้น\n ข. ตราบที่ไม่ได้กำหนดไว้อย่างแจ้งชัด อ.เวียนนา ย่อมไม่เกี่ยวกับ (1) เรื่องความสมบูรณ์ของวัญญาซื้อขาย ของข้อความในสัญญาซื้อขาย หรือของธรรมเนียม (usage) อย่างใด ๆ และ (3) เรื่องผลซึ่งสัญญาซื้อขายพึงมีต่อกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกัน\n ค. อ.เวียนนา ไม่ใช่บังคับแก่เรื่องความรับผิดที่ผู้ขายพึงมี เมื่อมีผู้ถึงแก่คยามตายหรือได้รับความบาแเจ็บเสียหายสทวนบุคลคลเนื่องมาจากทรีพย์ซึ่งซื้อขายกันนั้น\nคำว่า \"ความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคคล\" (personal injury) ข้างต้นเป็นศัพท์ในกฎหมายลักษณะละเมิด หมายถึง ความบาดเจ็บหรือเสียหายทางกาย ชื่อเสียง หรือจิตใจของบุคคล ตรงกันข้ามกังความเสียหายทางทรัพย์สิน (injury to property)\nสาเหตะที่ไม่ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่เรื่องความรับผิดในความเสียห่ยที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย เพราะถือว่า ความรับผิดดังกล่าวเป็นความรับผิดเพื่อละเมิด (liability for tort) มิใช่ความรับผิดตามสัญญา (cobtractual liabil7ty) แต่ก็มีกฎหมายบางประเทศ เช่น ประเทศฝรั่งเศส ที่จัดว่า ความรับผิดเกี่ยวกับสิาค้าเป็นรวามาับผิดตามสัญญา อ.เวียนนา จึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่ความรับผิดชนิดนี้ เพราะถือัป็นความรับผิดเพื่อบะเมิด\nหลักการาำคัญใน อ.เวียนนา\nการตีความ อ.เวียนนา\nหลักการสำคัญใน อ.เวียนนา.\nการตีความ อ.เวีบนนา.\nอ.ะวียนนา วางหลักเกณฑ์สำหรับการตีความอนุสัญญาเองเอาไว้ดังนี้\n1. สั๗ชาติของคู่สัญญา อ.เวียนนา ขฦ 1 ว. (3) ว่า ในการนำ อ.เวียนนา ไปใช้บังคับ ไม่ต้องคำนึงถึงสัญชาติของคู่สัญญาซื้อชาย หมายความว่า ไม่ว่าคู่สัญญาซื้อขายจะมีสะญชาติต่างกันหรือไม่ ถ้าเข้าเกณฑ์ที่จะใช้ อ.เวียนนา บังคับได้ เช่น แม้สัญชาติเดียวกัน แต่มีมถานประกอบธุรกิจอยู่คนละรัฐกัน ก็เป็นอันใช้ได้\n2. ลักษณะทางแพ่งหรือพาณิชย์ อ.เวียนนา ข. 1 ว. (3) ยังกำหนดว่า ในการนำ อ.เวียนนา ไปใช้บังคับ ไม่ต้องคำนึงถึง \"ลักศณะทางแพ่ง\" (civil character) หรือ \"ลักษณะทางพาณิชย์\" (commercial character) ของสัญญาซื้อขายหรือของคู่สัฐญาซื้อขาย กล่าวคือ ไม่ต้องคำนึงว่าเป็นสัญญาทางแพ่งหรือพาณิชย์หรือไม่ หรือความสัมพันธ์ของคู่สัญญาเป็นไปในทางแพ่งหร่อพาณิชย์หรือไม่ เป็นต้น ทั้งนี้ เพราะเป็นการยุ่งยากและซับฐ้อนอย่างยิรงทั่จะต้องกำหนดว้า แพ่งหรือพาณิชย์คืออะไรและมีอะไรบ้าง\n3. ลักษณะระหว่างประเทศ อ.เวียนนา ข. 7 ว. (1) ว่า ในการตีความ ิ.เวียนนา ให้คำนึงถึงสิ่งสองสิ่ง คือ\n ก. ลักษณะระหว่างประเทศ (international character) และ\n ข. ความจกเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้ อ.เวียนนา ได้รับการนำไปใช้บังคับอย่างเป็นระเบียบเดียวกัน และส่งเสริมให้ความสุจรินในการค้าระหว่างประเทศได้รับการถือปฏิบัติอย่างเป็นระเบียบเดียวกันด้วย\n4. เจตนาของคู่สัญญา อ.เวียนนา ข. 8 ว่า\n ก. ถ้อยคำ (statement) หรือความหระพฤติ (conduct) ของคู่สัญญาศื้อขายนั้น ให้ตีความตามเจตนาของคู่สัญญาเอง แต่กำหนดว่า ต้องเป็นเจตนาของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งซึ่งคู่สัญญาอีกฝ่ายได้ทราบหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่รับทราบ (kn3e or could not have been unaware)\n ข. ถ้าเจตนาของคู่สัญญาใ่ายหนึ่งไม่เป็นที่รับทราบของคู่สัญญาอีกฝ่ายดังข้างต้ส ก็ให้ตีความเจตนานั้นอย่างที่วิญญูชน (reasonqble person) ควรเข้าใจเมื่ออยู่ในพฤติการณ์เดียวกับคู่สัญญาฝ่ายหลัง (ฝ่สยที่ไม่ทราบเจตนา) และวิญญูชนดังกล่าวก็ต้องมีลักษณะเดียวกับคู่สัญญาฝ่ายหลังนั้นด้วย\n ค. แต่ไม่ฝ่าจะเป็นอย่างไร ในการกำหนดเจตนาของคู่สัญญาก็ดี หรือในการกำหนดความเข้าใจของว้ฐญูชนก็ดี จะต้องคำนึงถึงพฤติการณ์ทั้งหลายทีทแวดล้อมกรณ้นั้น ๆ เป็นหลัก พฤติการณ์เำล่านี้รวมถึง การเจรจา (negotiation), ระเบียบแบบแผนที่คู่สัญญาก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอว (practices which hhe parties have establidhed between themselves), ธรรมเนียม ตลอดจนควาใประพฤติที่คู่สัญญากระทำต่อกันในภายหลังก่อสัญญาขึ้นแล้วด้วย\n5. กฎหมายสำรอง อ.เวียานา ข. 7 ว. )2) ว่า เมื่อไม่มีข้อบทใน อ.เวียนนา สามารถนำมาใช้บังคับแก่กรณีใดโดยเฉพาะ ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตาม \"หลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญานี้\" (general principles on which lt [this Cpnvention] is based) และถ้าหาหลักทั่วไปนั้น/ม่ได้แล้วด้วย ก็ให้อาศัยกฎหมายทั้งหลายที่จะนำมาใช้บังคับได้ตามหลักเกณฑ์ของกฎหาายระำว่างประเทซแผนกคดีบุคคล\nข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีช่องว่างใน อ.เวียนนา ให้อุดช่องว่างนั้นด้วยหลักแฎหมายทั่วไป พ้าไม่มีหลักกฎหมายทั่วไป ก็ให้อาศัยหลักกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและสอดคล้องกับกฎหมายแพ่งและพาณิลย์ระหว่างประเทศ\nการยึดถือธรรมเนียมประเพณี\nการยึดถือธรรมเนียมกระเพณี.\nอ.เบียนนา ยอมรับธรรมเนียมตามปรกติสนทางการค้า (normal usage of trade) เช่นเดียวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อื่น ๆ โดยทั่วไปดังนี้\n1. อ.เวียนนา ข. 9 ว. (w) กำหนดใก้คู่สัญญาต้องปฏิบัติตาม\n ก. ธรรมเนียมทั้บหลายที่พวกตนตกลงกันไว้\n ข. ระเบียบแบบแผนที่พวกตนก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอง\n2. อ.เวียนนา ข. 9 ว. (2) ยังให้ถือโดยปริยาวว่า คู่สัญญาได้กำหนดให้นำธรรมเนียมทางการค้าโดยทั่วไปมาใช้ในสัญญาหรือในการก่อสัญญาระหว่างพวกตนด้วย เว้นแต่คู่สัญญาจะตปลงกันไว้เป็นิื่น ทั้งนี้ ธรรมเนียมดังกล่าวต้องมีลักษณะสเงประการ คือ\n ก. เป็นธรรมันียมที่คู่สัญญารับทราวหรือควรรับทราบแล้ว\n ข. เป็นธรรมเนียมที่บุคคลอื่น ๆ ซึ่งทำสัญญาประเภทที่เกี่สวข้องกับการค้าของคธ่สัญญาข้างต้นได้รับรู้กันอย่างกว้างขวาง และเป็นธรรมเนียมที่บุคคลเหล่านี้ถือปฏิบัติกันเป็นป่กติด้วย กล่าวึือ เป็นธรรมเนียมซึ่งรับรู้และยึดถือกันในวงการค้าระหว่างประเทศอยู่แล้ว\nหลักข้างต้นสี้ต้องการคุ้มครองประเทศด้อยพัฒนาไม่ให้ตกอยู่ในบังคับของธรรมเนียมประเพณีซึ่งเป็นที่รู้กันแต่ในหมู่ประเทศอุตสาหกรรม\nแบบและหลักฐาน\nแบบและหลักฐาน.\nอ.เวียนนา ข. 11 อนุญาตว่า การซื้อขายตาม อ.เวียนนา ไม่จำต้องทำตามแบบ (form) ใด ๆ ทั้งสิ้น โดยเฉพาะแบบที่กำหนดให้สัญญาตืองทำเป็นหนังสือ นอกจากนี้ สัญญาก็ไม่จำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือด้วย ทุ้งนี้ อ.เวียนนา ข. 13 ระบุว่า คำว่า \"หนังสือ\" ตามความ อ.เวียนนา ให้หมายความถึง โทรเลข (telegram) และโทรพิมพ์ (telex) ด้วย\nเมื่อสัญญาไม่จำต้องทำเป็นหนังสือหรืิมีหลักฐาาเป็นหนังสือแล้ว อ.เวียนนา ข. 11 ยังอสุญาตด้วยว่า การพิสูจน์สัญญาจะทำอย่างไรก็ได้ รวมถึงยะเบิกพยานบุคคลมรพิสูจน์ก็ได้\nอย่างไรกฺดค อ.เวียนนา ข. 96 ยินยอมให้รัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ตั้งข้อสงวนว่า สุญฯาซื้อขายาะหว่างประเทศที่ทำขึ้นใสรัฐตนนั้นต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ โดยข้อสงวนเช่นนี้จะประกาศขึ้นเมื่อใดก็ได้ แต่แม้ไม่มีข้อสงวนดังกล่าว คู่สัญญาจะอาศัยเสรีภาพในการทำสัญญาตกลงกันเองว่า สัญญาระหว่างพวหตนต้องทำเป็นหนังสือก็ได้\nการรักษาสัญญา\nการรัดษาสัญญา.\nแม้ขะส่งเสริมให้การซื้อขายเก็นไปโดยสะดวก ไม่ต้องจำกัดอยู่กับแบบอย่างใด ๆ แต่ อ.เวียนนา ก็ป้องกันมิให้มีการเลิกสัญญาด้วยเหตุผลที่ไม่เป็นสาระสำคัญ และยังใช้ระบบเยียวยาซึ่งทำใฟ้ทั้งผู้ซื้อและหู้ข่ยมีสิทธิเรียกให้มีการเยียวยาเมื่ออีกฝ่ายผิดสัญญา และทำให้ฝ่ายที่ผิดสัญญาสามารถแก้ไขการผิดสัญญาของตนได้ ดังจะได้อธิบายกันในเรื่องนิติสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\nหมายเหตุ\nเชิงอรรถ.\nหมายเหตุ.\n ใช้ว่า \"สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการจัดทำกฎหมายเอกชนให้เป็นเอกภรพ\" ก็มี (เช่น กำชัย จงจักรพันธ์, 25t5: 67).\n \"ยูลิส\" เฉย ๆ ก็เรียก (เช่น John Honnold, 1965: 326; และ Harry M. Fldchtner, 2008: Online).\n \"อัลฟ์\" เฉย ๆ ก็เรียก (เช่น Harry M. Flechtner, 2008: Online).\n เพื่อแยกแยะ นักกฎหมายบางคนเรียก \"อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายนะหว่างประเทศ\" ว่่ \"อนุสัญญากีุงเฮกว่าด้วยซืเอขาย\" (Hague Sales Conventioh) และเรียก \"อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้สยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\" ว่า \"อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยก่อสัญญา\" (Hague Formati9n Convention). (กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68).\n รัฐท้้งหกสิบสองที่เข้าร่วมประชุม (ตัวเอียง คือ รัฐทั้งสิบที่งดออกเสียง) มีดังตาอไปนี้ (Peter Schlechtriem, 1976: Online)\n\nกานา\nกรึซ\nเกาหลี, สาธารณรัฐ\nคอสตาริกา\nเคนยา\nแคนาดา\nโคลัมเบีย\nจีน, สาธารณรัฐประชาชน\nชิลี\nเชโกสโลวาเกีย\nซาเอียร์ (Zaire)\nโซเวียต, สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยม (Union of Soviet Socialist Republics)\nโซเวียตเบียลารุส, สาธารณรัฐสังคมนิยม (Byelo-Russian Sofiet Socialist Republic)\nโซเวียตยูเครน, สาธารณรัฐสังคมนิยม (Ukranian Soviet Sociqlist Republic)\nไซปรัส\nญี่ปุ่น\nเดนมาร์ก\nตุรกี\nตูนีเซีย\nไทย\nตอร์เวย์\nเนเธอค์แลนด์\nไนจีเรีย\nบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, สหราชอาณาจักร\nบับแกเรีย\nบราซิล\nเบลเยียม\nโลลิเวีย\nปากีสถาน\nปานามา\nเปีู\nโปแลนด์\nโปรตุเกส\nฝรั่งเศส\nพม่า\nฟินแลนด์\nฟิลิปปินส์\nเา็กซิโก\nยูโกสลาเวีย\nเยอรมนี, สหพันธสาธารณรัฐ (Gfrmany, Ffderal Republic of)\nเยอรมนี, สาธารณรัฐประชาธิปไตย (German Democratic Republic)\nโรมาเนีย\nลักเซใเบิร์ก\nลิเบีย, จามาฮิริยาอาหรับ (Lybian Arab Jamahiriya)\nสเปน\nสวิตเซอร์แลนด์\nสวีเดน\nสิงคโปร์\nอเมริกา, สหรัฐ\nออสเตรีย\nออสเตรเลีย\nอาร์เจนตินา\nอิตาลี\nอินเดีย\nอิรัก\nอิสราเอล\nอิหร่าน\nอียิปต์\nอุรุกวัย\nเอกวาดิร์\nไอร์แลนด์ และ\nฉังการี\n\n ระวังสับสนกับอยุสัญญาฉบับอื่นซึ่ง่ำขึ้น ณ กรุงเวียนนา และก็เรียก \"อนุสัญญากรุงเวียนนา\" เช่นกัน ฉบับที่โดดเด่นเป็นต้นว่า\n\nอนุสึญญากรุงเวียนนาเพื่อพิทักษ์ชั้นโอโซน (Vienna Convention for the Protecti;n of the Ozone Layer)\nอนุสัญญากรึงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (Vienna Convention on the Law of Treaties)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญทระหว่างรับกับองค์การระหว่างประเทศหรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศ (Vi2nna Convention on the Law of Treatiew between States and International Organizations or Between International Organizations)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยการค้ายาเสพติกและสารทางจิตเวชโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ฤVienna Concention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances)\nอนุสัญญาพรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงนุล (Vienna Convention on Consular Relations)\nอนุสัญญากรุงัวียนนาว่าพ้วยความสัมพันธ์ทางทูต (Viemna Convention on Diplomatic Relations)\n\n อ.เวียนนา ใช้ทั้งคำว่า \"ship\" และ \"vessel\" คำทั้งสองนีิปรกจิแล้วมีความหมายว่า เรือ เหมือนกัน และยังไม่ปรากฏว่ามีนักนิติศาสตร์อธิบายว่า \"ship\" กับ \"vessel\" ตาม อ.เวียนนส มีความหมายต่างหันอย่างไร ในที่นี้จึงแปล \"ship\" ว่า เรือ และ \"vessel\" ว่า เครื่องเดินท้องน้ำ เพราะในทางนาวิกศาสตร์\n\nคำว่า \"ship\" หมายถึง เรือซึ่งมีเสา (mast) สามเสาหรือมากกว่านั้น แต่ละเสาขึงผ้าใบสี่เหลี่ยม (square-rigged) และยังมีผ้าใบเล็ก (jib) มีผ้าใบขึงระหว่างเสา (staysail) อละที่เสากระโดงเสาท้ายสุะมีผ้าใบปีก (spanker) ด้วย (\"ship\", 2013: Online)\nส่วน \"vessel\" นั้นหมายถึง ยานพาหนะทุกประเภทสำหรับใช้เดินท้องน้ำ (a cradt for traveling on water) (\"vessel\", 2013: Onlind).\n\nตัวบทต้นฉบับ\nตัวบทต้นฉบับ.\n CISG, art. 1:\n\"(1) This Conventiom applies to contracts of sale of goods between parties whose places of business are in different States:\n \"(a) when the States are Contracting States; or\n \"(b) when the rules of private internati8nal law lead to the a;plication of the law of a Contracting State.\n\"(2) The fact that the parties have their places of business in different States is to be disregarded whenevfr this fact does noy appear either from tge contract or from any dealings between, or from information discoosed by, the parties at any time before or at the conclusion of the contract.\n\"(3) Ne7ther thr nationality of the parties nor the civil or commercial character of the parties or of the contract is to be taken into consideration in determining the application of this Convention.\"\n CISG, art. 10:\n\"For the purposes of this Convention:\n\"(a) if a party has more than one place of business, the poace of business is that which has the closest relationship to the contract and its performance, having regard to the corcumstances known to or sontemplated by thd parties at any tume before ot at the conclusion of the contract;\n\"(b) if a party does not have a place of business, referdnce is to be made to his habitual residence.\"\n CISG, art. 6:\n\"The pa3ties may exclude the application of this Convention or, subject to article 12, derogzte from or vary the effect of any of its provisionc.\"\n CISG, art. 12:\n\"Any provision of article 11, article 29 or Part LI of this Convention that allows a contract of sale or its modification or termination by agreemeht or any iffer, acceptabce or other indication of intention to be made in any form other than in writing does not apply where any party has his place of business in a Contracting Sgate which mas made a declaration undee qrticle 96 of this Convention. The par5ies may not derogate from or vary the effect or this artic;e.\"\n CISG, art. 96:\n\"A Contracting State whose l2gislation requires contracts of sale to be concluded in or evidenced by qriting may at any time make a weclaration in accordance with article 12 that any provision of article 11, article 29, or Part II of thia Convention, that allows a contract of sal2 or its modirication or termination by aggeement or any offer, qcceotance, or other indication of intention to be made in any form other than in writing, dows nlt apply where an5 party has his place of business in that State.\"\n CISG, art. 2:\n\"This Cogvention does not apply to sal3s:\n\"(a) of goods bought for personal. fa,ily or household use, unless the seller, at any time before or at the conclusion of the contract, neither knew nor ought to have known that the golds were boutht for any sucm use;\n\"(v) by auction;\n\"(c) on executuon or otherwise gy authority of lawl\n\"ฤd) of stocks, shares, investmfnt securities, negotlable instruments or money;\n\"(e) of ships, vesse.s, hovercraft or aircraft;\n\"(f) of 2lectricit5.\"\n CISG, art. 3:\n\"(1) Contracts for the supply of goods to be manufactured or produced are to be considered sales unless tme party who orders the goods undertakes to supply a substantial part of the materials necessary for such manufacture or productionฦ\n\"(w) This Convention does not apply to contracts in which the preponderant part of the obligations of the party who gurnishes the goods consists in the supply of labour or other services.\"\n CISG, art. 4:\n\"This Convention governs only the formation of yhe contfadt of sale and the rights and obligations of the seller and the buheg arising from sucm a contract. In paeticular, exdept as otherwise expresdly provided in this Convention, it is not concerned with:\n\"(a) the validkty of the contract or of any of its provisions or of any usage;\n\"(b) the effect which the contract may have on the property in the goods sold.\"\n CISG, art. 5:\n\"This Vonvention does not apply to the liability of the seller for death or personal injury caused by the goods to any person.\"\n CISG, agt. 7:\n\")1) In the interpretation of this Condention, regard is to be had to its internagional character and to the nees to promote iniformity in 8ts application and the observsnce 9f good faith in international trade.\"\n\"(2) Questions concerning matrers governed ny this Convention which are got expressly settled in it are to be settled in conformity with the general principles on which ut is based or, in the absence of such principles. in conformity wuth the law applicable by virtue of rhe rules of private international law.\"\n CISG, art. 8:\n\"(1) For the purposes of this Convention statements made by and other conduct of a party are to be inter;reted acclrding to his intent where the ogher party knew or could got have been unaware what that ontent was.\"\n\"(2) If the preceding paragraph is not applicable, statements made by and other conduct of a party are to be interpreted according to the understanding that a reasomable person od the same kind as the other party wokld have had in the same c7rcumstances.\"\n\"(3) In determining the intent of a party or the understanding a reasonabld person would have had, due cohsiderati9n is to be given to all relevant circumstances of the case including the negotiations, any practices which the parties havw established between themselves, usages and any subsequent conduct of the parties.\"\n DISG, art. 9:\n\"(1) The parties are bound by any usage to which they hace agreed and by any practices which they have established between themselves.\n\"ฆ2) The parties are considered, unless otherwise agreed, to gave impliedly made applicable to their contract or its formation a usage of whkch the paryies knew or ought to have known and which in international trade is widely known to, and regularly obsfrved by, parties to contracts of the type involved in the particular trade concerned.\"",
"role": "user"
},
{
"content": "ความเป็นมาของ อ.เวียนนา\nอ.เฮก\nความเป็นมาของ อ.เวียนนา.\nอ.เฮก.\nสถาบันระหว่างประเทศเพื่อสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายเอกชน (International Institute for the Unification of Private Law) หรือเรียกโดยย่อว่า \"อูว์นีดรัว\" เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งก่อตั้งขึ้นเป็นแผนกของสันนิบาตชาติ (League of Nations) เมื่อ พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) มีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปกฎหมายเอกชนให้เป็นหนึ่งเดียว อูว์นีดรัวมีสำนักอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี บางโอกาสจึงมีผู้ออกนามสถาบันนี้ว่า \"สถาบันกรุงโรม\" (Rome Institute)\nอูว์นีดรัวได้เริ่มจัดทำกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศมาตั้งแต่ พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930)\nคณะกรรมการของอูว์นีดรัวได้ร่างกฎหมายเอกรูปขึ้นฉบับหนึ่ง มีเนื้อหาเป็นการประมวลกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่อร่างกันเสร็จใน พ.ศ. 2478 (ค.ศ. 1935) จึงส่งร่างนั้นไปให้สันนิบาตชาติส่งต่อให้รัฐบาลของรัฐสมาชิกแสดงความเห็นกลับมา เมื่อฟังความเห็นแล้วก็ปรับปรุงร่างนั้นอีกเป็นครั้งสุดท้าย สำเร็จลงเมื่อ พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939)\nอย่างไรก็ดี สงครามโลกครั้งที่สองทำให้กระบวนการชะงัก เมื่อสิ้นสงครามแล้ว อูว์นีดรัวก็เลิกล้มไปพร้อมกับการสิ้นสุดลงของสันนิบาตชาติ แต่ได้มีการสถาปนาอูว์นีดรัวขึ้นอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) และบรรดานักวิชาการที่ยังไม่ลืมเลือนโครงการข้างต้นก็รื้อฟื้นร่างกฎหมายนั้นขึ้นอีกครั้ง แล้วจัดประชุมกันที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) มีรัฐต่าง ๆ เข้าร่วมด้วยจำนวนยี่สิบเอ็ดรัฐ ที่ประชุมลงมติว่า ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อดำเนินโครงการต่อ ครั้น พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) คณะกรรมาธิการก็เผยแพร่ร่างที่สังคายนาแล้วให้แก่รัฐบาลชาติต่าง ๆ เพื่อฟังความคิดเห็นชั้นสุดท้ายก่อนเตรียมประชุมทางทูตเพื่อตกลงรับตัวบทกันต่อไป\nแต่เมื่อได้รับความเห็นของรัฐบาลทั้งหลายแล้ว คณะกรรมาธิการได้ปรับปรุงร่างนั้นอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2499 จนลุล่วงเมื่อ พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) ร่างฉบับ พ.ศ 2506 นี้เองที่เผยแพร่ให้แก่รัฐบาลต่าง ๆ สำหรับใช้ในการเข้าประชุมทางทูตที่กรุงเฮกอันกำหนดกันไว้ว่าจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964)\nระหว่างนั้น คณะกรรมาธิการก็ยกร่างกฎหมายเอกรูปอีกฉบับ ว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างเทศ แล้วจัดส่งไปให้รัฐบาลทั้งหลายเพื่อรับฟังความคิดเห็นพร้อมกัน\nลุเดือนเมษายน พ.ศ. 2507 การประชุมทางทูตข้างต้นมีขึ้นที่กรุงเฮก เรียกกันว่า \"การประชุมกรุงเฮก\" (Hague Conference) การประชุมจัดขึ้นสามสัปดาห์ ชาติที่เข้าร่วมประชุมมีจำนวนยี่สิบแปดชาติ ส่วนใหญ่มาจากยุโรป และที่ประชุมได้ตกลงรับร่างอนุสัญญาทั้งสองเป็นอนุสัญญามีชื่อว่า\n1. อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ (Convention relating to a Uniform Law on the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า \"ซียูลิส\" (C-ULIS) และ\n2. อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (Convention relating to a Uniform Law on the Formation of Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า \"ซีอัลฟ์\" (C-ULF) \nอนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อนุสัญญากรุงเฮก (Hague Conventions) อย่างไรก็ดี มีเพียงรัฐเก้ารัฐที่ให้สัตยาบันใน อ.เฮก คือ แกมเบีย ซานมารีโน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก สหราชอาณาจักร อิตาลี และอิสราเอล โดยสหราชอาณาจักรยังตั้งข้อสงวนไว้ด้วยว่า จะไม่ผูกพันกับข้อบทบางข้อของ อ.เฮก ประกอบกับไม่มีประเทศกำลังพัฒนา (developing country) ได้เข้าร่วมในกระบวนการยกร่างเลย เป็นเหตุให้ อ.เฮก ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร\nอ.เวียนนา\nอ.เวียนนา.\nเพราะจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ที่เป็นระเบียบเดียวกันสำหรับควบคุมการซื้อขายระหว่างประเทศ เมื่อ อ.เฮก ล้มเหลว สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) จึงมีข้อมติที่ 2205 แต่งตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (United Nations Commission om International Trade Law) หรือเรียกโดยย่อว่า \"อันซิทร็อล\" ขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) เพื่อ \"ส่งเสริมการประมวลและสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายการค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง\" (promote the progressive harmonization and unification of international trade law)\nอันซิทร็อลแต่งตั้งคณะทำงาน (Working Group) ขึ้นคณะหนึ่งเพื่อร่างกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการซื้อขายขึ้นจนสำเร็จเป็น \"ร่างอนุสัญญาว่าด้วยการซื้อขาย\" (Draft Convention on Sales) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) ต่อมา ในการประชุมอันซิทร็อลครั้งที่สิบ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ระหว่างเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) โดยที่ประชุมได้ตกลงรับร่างอนุสัญญาดังกล่าว คณะทำงานชุดนั้นจึงกลับไปปรับปรุงร่างอนุสัญญาเพิ่ม แล้วนำเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมอันซิทร็อลในการประชุมครั้งที่สิบเอ็ด ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) จากนั้น เลขาธิการสหประชาชาติจึงแจกจ่ายร่างฉบับหลังให้แก่รัฐบาลของประเทศสมาชิกสหประชาชาติเพื่อรับฟังความคิดเห็น\nเมื่อกระบวนเสร็จสิ้นแล้ว อันซิทร็อลได้จัด \"การประชุมเวียนนาว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ\" (Vienna Conference on International Sales) ขึ้น ณ วังฮอฟบูร์ก (Hofburg Palace) กรุงเวียนนา ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ผู้เข้าร่วมประชุมมาจากรัฐหกสิบสองรัฐ ระหว่างวันที่ 7 ถึง 11 เมษายนอันอยู่ในสัปดาห์สุดท้ายของการประชุม ที่ประชุมได้ประชุมเต็มคณะเพื่ออภิปรายเกี่ยวกับร่างอนุสัญญาข้างต้นเป็นครั้งสุดท้าย และมีการออกเสียลงคะแนน ปรากฏว่า รัฐสี่สิบสองรัฐตกลงรับร่างอนุสัญญา และสิบรัฐงดออกเสียง ในวันที่ 11 เมษายน จึงมีการลงนามในปัจฉิมกรรมสาร (Final Act) และมีงานรื่นเริงเพื่อฉลองอนุสัญญา\nอนุสัญญาดังกล่าวมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods) หรือเรียกโดยย่อว่า ซีไอเอสจี (CISG) แต่มักเรียกกันว่า อนุสัญญากรุงเวียนนา (Vienna Convention) เนื่องจากตกลงรับกันที่กรุงเวียนนา\nอ.เวียนนา มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) ปัจจุบัน มีรัฐลงนามและให้สัตยบันใน อ.เวียนนา แล้วจำนวนเจ็ดสิบแปดรัฐ รัฐเหล่านี้ อ.เวียนนา เรียกว่า รัฐผู้ทำอนุสัญญา (Contracting State) ส่วนรัฐที่ลงนามแล้วแต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบันมีจำนวนสิบเจ็ดรัฐ\nอ.เวียนนา นับเป็นผลงานที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งของอันซิทร็อล รัฐซึ่งเห็นชอบใน อ.เวียนนา มาจาก \"ทุกท้องที่ในทางภูมิศาสตร์ ทุกระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และทุกระบบหลักในทางกฎหมาย สังคม และเศรษฐกิจ\" อ.เวียนนา นี้ยังได้รับการพรรณนาว่า เป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในวงการนิติบัญญัติ และเป็น \"เอกสารระหว่างประเทศที่ได้รับความสำเร็จมากที่สุดในบัดนี้\" ด้วย\nการใช้ อ.เวียนนา บังคับ\nการใช้ อ.เวียนนา บังคับ.\nแน่นอนอยู่แล้วว่า อ.เวียนนา ใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขาย มิใช่สัญญาอื่นใด\nแต่ในอันที่จะนำ อ.เวียนนา มาใช้นั้น มีข้อต้องพิจารณาอยู่สามประการ คือ เรื่องสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญา เรื่องความตกลงของคู่สัญญา และเรื่องลักษณะของสัญญา ถ้าเข้าหลักเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดแล้วก็อาจนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้หรือมิได้ แล้วแต่กรณี\nสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญา\nสถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญา.\nหลักเกณฑ์แรกสุดในการนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับนั้นว่าด้วยเรื่องสถานประกอบธุรกิจ (place of business) ของคู่สัญญาดังนี้\n1. อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ก) กำหนดว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน และรัฐทั้งสองเป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับ \n2. อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ข) กำหนดอีกว่า ถ้าในการซื้อขายนั้น สถานประกอบธุรกิจของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายอยู่ต่างรัฐกัน แต่รัฐใดรัฐหนึ่งดังกล่าวนี้ไม่เป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ซึ่งทำให้ไม่เข้าเกณฑ์ตามอนุวรรค (ก) ข้างต้น และปรากฏว่า ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล เช่น หลักเกณฑ์เรื่องการขัดกันของกฎหมาย (conflict of laws) แล้ว สามารถนำกฎหมายภายในของรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา รัฐใด ๆ มาใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายรายนี้ได้ ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับแทนกฎหมายดังกล่าว\nเช่น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 พจมาร สว่างพวง ซึ่งเปิดร้านขายอุปกรณ์คมนาคมอยู่ ณ บ้านทรายดอง กรุงเทพมหานคร ทำสัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมกับคุณชายกางซึ่งอยู่ตั้งบริษัทอยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ขณะนั้น ประเทศไทยยังไม่เป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา แต่ประเทศญี่ปุ่นเป็นแล้ว กรณีจึงไม่เข้าเกณฑ์ตาม อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ก) ที่จะสามารถนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้\nแต่ปรากฏว่า พจมารถือสัญชาติเกาหลีใต้ คุณชายกางก็ถือสัญชาติเกาหลีใต้ และประเทศเกาหลีใต้เป็นรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา แล้ว เป็นเหตุให้สามารถนำกฎหมายของประเทศเกาหลีใต้มาใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายรายนี้ได้ เพราะพจมารอยู่ในประเทศไทย และกฎหมายไทย คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช 2481 ม. 13 ว. 1 บัญญัติว่า ให้นำกฎหมายของประเทศที่คู่สัญญาถือสัญชาติร่วมกันมาใช้บังคับ ดังนี้ เมื่อสามารถนำกฎหมายเกาเหลีใต้มาใช้ได้ จึงเข้าเกณฑ์ตาม อ.เวียนนา ข. 1 ว. (1) (ข) ที่จะต้องนำ อ.เวียนนา มาใช้แทน สัญญาซื้อขายดาวเทียมเทยคมระหว่างพจมารกับคุณชายกางจึงต้องอยู่ในบังคับแห่ง อ.เวียนนา\nเรื่องคู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ต่างรัฐกันนี้ คู่สัญญาต้องรู้หรือควรรู้กันอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในเวลาที่ทำสัญญา โดยอาจรู้ได้จากตัวสัญญาเองก็ดี จากธรรมเนียมการค้า (dealing) ระหว่างคู่สัญญาด้วยกันเองก็ดี หรือจากข้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่งคู่สัญญาเปิดเผยต่อกันก็ดี ตามความใน อ.เวียนนา ข. 1 ว. 2 แต่ถ้ามาทราบเรื่องดังกล่าวหลังทำสัญญาแล้ว แม้เข้าเกณฑ์ตาม ว. 1 ก็ต้องถือว่า นำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับไม่ได้\nถ้าคู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจหลายแห่ง อ.เวียนนา ข. 10 (1) ว่า ให้ถือเอาแห่งที่ \"เกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหนี้ตามสัญญานั้นมากที่สุด\" (has the closest relationship to the contract and its performance) โดยให้พิจารณาจากพฤติการณทั้งหลายที่คู่สัญญาได้ทราบหรือหยั่งทราบได้ตั้งแต่ก่อนทำสัญญาหรือในขณะทำสัญญา\nแต่ถ้าคู่สัญญาไม่มีสถานประกอบธุรกิจเลย อ.เวียนนา ข. 10 (2) ว่า ก็ให้หมายถึง \"ถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง\" (habitual residence) ของคู่สัญญาฝ่ายนั้น ๆ แทน\nความตกลงของคู่สัญญา\nความตกลงของคู่สัญญา.\nอ.เวียนนา นั้นร่างขึ้นเพื่อประมวลเอากฎหมายทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายระหว่างประเทศเข้าไว้และปรับให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้มีกฎหมายกลางซึ่งนำมาใช้แก่กรณีต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด ไม่ว่าคู่กรณีจะอยู่ในวัฒนธรรม สังคม หรือระบบกฎหมายแบบใดก็ตาม\nกระนั้น อ.เวียนนา มิได้ปฏิเสธหลักเสรีภาพในการทำสัญญาอันเป็นหลักการสำคัญประการหนึ่งในกฎหมายแพ่ง อ.เวียนนา ข. 6 จึงอนุญาตให้คู่สัญญาสามารถตกลงกันว่า ในการซื้อขายระหว่างพวกตนนั้น (ก) มิให้นำ อ.เวียนนา นี้มาใช้บังคับ, (ข) ให้งดใช้ผลของข้อบทข้อใด ๆ แห่ง อ.เวียนนา หรือ (ค) กำหนดให้ผลของข้อบทข้อใด ๆ แห่ง อ.เวียนนา มีความแตกต่างจากที่ตราไว้แล้วก็ได้\nแต่ อ.เวียนนา ข. 12 กำหนดว่า\n1. คู่สัญญาไม่อาจตกลงตามข้อ (ข) หรือ (ค) ข้างต้นได้ ถ้าคู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา และได้ทำคำแถลงเอาไว้ตาม ข. 96\n2. ห้ามคู่สัญญาไม่นำ ข. 12 นี้มาใช้บังคับ งดใช้ ข. 12 นี้ หรือกำหนดให้ ข. 12 นี้มีผลแตกต่างออกไป\nคำแถลงตาม อ.เวียนนา ข. 96 เป็นคำแถลงที่รัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ทำขึ้นเพื่อประกาศว่า เมื่อกฎหมายของตนกำหนดให้สัญญาซื้อขายใด ๆ ต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ ตนจะไม่ใช้กฎหมายดังกล่าวบังคับแก่การซื้อขายระหว่างประเทศที่คู่สัญญามีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในดินแดนของตน (กล่าวคือ ประกาศว่า จะยอมให้คู่สัญญาซึ่งมีสถานประกอบธุรกิจอยู่ในดินแดนของตนทำสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศโดยไม่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ได้) โดย ข. 96 อนุญาตว่า คำแถลงเช่นนี้รัฐผู้ทำ อ.เวียนนา จะมีขึ้นเมื่อไรก็ได้\nเพราะฉะนั้น แม้จะเข้าหลักเกณฑ์ประการแรกซึ่งว่าด้วยเรื่องสถานประกอบธุรกิจดังอธิบายมาแล้ว แต่ถ้าคู่สัญญาตกลงกันตามความใน อ.เวียนนา ข. 6 ก็อาจไม่สามารถนำ อ.เวียนนา มาใช้บังคับได้ทั้งหมดหรือบางส่วน\nลักษณะของสัญญา\nลักษณะของสัญญา.\nหลักเกณฑ์ประการสุดท้ายนั้นว่าด้วยลักษณะของสัญญาซื้อขาย มีทั้งกรณีที่ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับ และที่ให้นำไปใช้บังคับด้วย ดังนี้\n1. วัตถุประสงค์แห่งการใช้สอย อ.เวียนนา ข. 2 (ก) ว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับ ถ้าทรัพย์ซึ่งซื้อขายกันนั้นซื้อไปไว้ใช้สอยส่วนตัว ส่วนครอบครัว หรือส่วนครัวเรือน (for personal, family or household use) แต่ถ้าก่อนทำสัญญาซื้อขายหรือในเวลาทำสัญญาซื้อขายนั้น ผู้ขายไม่ทราบหรือไม่ควรจะได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการใช้สอยดังกล่าว ก็ให้นำ อ.เวียนนา มาใช้ได้ เหตุที่ อ.เวียนนา กำหนดไว้ดังนี้ ก็เพื่อมิให้ขัดกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐผู้ทำ อ.เวียนนา เอง\n2. วิธีซื้อขาย อ.เวียนนา ข. 2 (ข) และ (ค) ว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่การซื้อขายซึ่งกระทำโดยวิธีพิเศษสามวิธี คือ การทอดตลาด (auction), การบังคับคดี (execution) และการอาศัยอำนาจอย่างอื่นตามกฎหมาย (otherwise by authority of law)\n3. ทรัพย์ซึ่งซื้อขาย อ.เวียนนา ข. 2 (ง), (จ) และ (ฉ) ว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่การซื้อขายทรัพย์ดังต่อไปนี้\n ก. ทรัพย์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ทุน (stock), หุ้น (share), หลักทรัพย์ในการลงทุน (investment security), ตราสารเปลี่ยนมือ (negotiable instrument) และเงินตรา (money)\n ข. ยวดยานทางน้ำและทางอากาศ ได้แก่ เรือ (ship), เครื่องเดินท้องน้ำ (vessel), เรือสะเทินน้ำสะเทินบก (hovercraft) และอากาศยาน (aircraft)\n ค. ไฟฟ้า (electricity)\n4. จ้างทำของและจ้างแรงงาน อ.เวียนนา ข. 3 ว่า นอกจากสัญญาซื้อขายโดยสภาพแล้ว ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่สัญญาจ้างทำของ หรือที่ อ.เวียนนา เรียกว่า \"สัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผลิตของ\" (contract for supply of goods to be manufactured or produced) ด้วย ทั้งนี้ ต้องปรากฏว่า ผู้รับจ้างเป็นฝ่ายจัดหาวัสดุสำคัญในการทำของนั้นเอง\nแต่ อ.เวียนนา จะไม่ใช้บังคับแก่การจ้างทำของ ถ้าผู้จ้างเป็นฝ่ายต้องจัดหาวัสดุดังกล่าว หรือถ้าผู้รับจ้างมีหน้าที่สำคัญเป็นการจัดหาแรงงานหรือทำงานอย่างอื่น (supply of labour or other services) ซึ่งจะกลายเป็นการจ้างแรงงานไป เช่น \"สัญญาซื้อขายสัตว์เลี้ยงซึ่งมีการว่าจ้างผู้เลี้ยงเพื่อให้มาช่วยดูแลสัตว์ในช่วงแรกเพื่อให้สัตว์ปรับตัวได้ หากการจ้างแรงงานดังกล่าวไม่ใช่ส่วนสำคัญของสัญญานี้ ก็ให้ถือว่า เป็นสัญญาซื้อขายตามอนุสัญญานี้\"\n5. ขอบเขตของ อ.เวียนนา อ.เวียนนา ข. 4 และ 5 ว่า \n ก. อ.เวียนนาว่าด้วยเรื่องก่อสัญญาซื้อขาย และเรื่องสิทธิและหนี้ที่ผู้ขายกับผู้ซื้อมีอยู่ตามสัญญาซื้อขายเท่านั้น\n ข. ตราบที่ไม่ได้กำหนดไว้อย่างแจ้งชัด อ.เวียนนา ย่อมไม่เกี่ยวกับ (1) เรื่องความสมบูรณ์ของสัญญาซื้อขาย ของข้อความในสัญญาซื้อขาย หรือของธรรมเนียม (usage) อย่างใด ๆ และ (2) เรื่องผลซึ่งสัญญาซื้อขายพึงมีต่อกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ซื้อขายกัน\n ค. อ.เวียนนา ไม่ใช่บังคับแก่เรื่องความรับผิดที่ผู้ขายพึงมี เมื่อมีผู้ถึงแก่ความตายหรือได้รับความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคลคลเนื่องมาจากทรัพย์ซึ่งซื้อขายกันนั้น\nคำว่า \"ความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคคล\" (personal injury) ข้างต้นเป็นศัพท์ในกฎหมายลักษณะละเมิด หมายถึง ความบาดเจ็บหรือเสียหายทางกาย ชื่อเสียง หรือจิตใจของบุคคล ตรงกันข้ามกับความเสียหายทางทรัพย์สิน (injury to property)\nสาเหตุที่ไม่ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่เรื่องความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย เพราะถือว่า ความรับผิดดังกล่าวเป็นความรับผิดเพื่อละเมิด (liability for tort) มิใช่ความรับผิดตามสัญญา (contractual liability) แต่ก็มีกฎหมายบางประเทศ เช่น ประเทศฝรั่งเศส ที่จัดว่า ความรับผิดเกี่ยวกับสินค้าเป็นความรับผิดตามสัญญา อ.เวียนนา จึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนว่า ไม่ให้ใช้ อ.เวียนนา บังคับแก่ความรับผิดชนิดนี้ เพราะถือเป็นความรับผิดเพื่อละเมิด\nหลักการสำคัญใน อ.เวียนนา\nการตีความ อ.เวียนนา\nหลักการสำคัญใน อ.เวียนนา.\nการตีความ อ.เวียนนา.\nอ.เวียนนา วางหลักเกณฑ์สำหรับการตีความอนุสัญญาเองเอาไว้ดังนี้\n1. สัญชาติของคู่สัญญา อ.เวียนนา ข. 1 ว. (3) ว่า ในการนำ อ.เวียนนา ไปใช้บังคับ ไม่ต้องคำนึงถึงสัญชาติของคู่สัญญาซื้อขาย หมายความว่า ไม่ว่าคู่สัญญาซื้อขายจะมีสัญชาติต่างกันหรือไม่ ถ้าเข้าเกณฑ์ที่จะใช้ อ.เวียนนา บังคับได้ เช่น แม้สัญชาติเดียวกัน แต่มีสถานประกอบธุรกิจอยู่คนละรัฐกัน ก็เป็นอันใช้ได้\n2. ลักษณะทางแพ่งหรือพาณิชย์ อ.เวียนนา ข. 1 ว. (3) ยังกำหนดว่า ในการนำ อ.เวียนนา ไปใช้บังคับ ไม่ต้องคำนึงถึง \"ลักษณะทางแพ่ง\" (civil character) หรือ \"ลักษณะทางพาณิชย์\" (commercial character) ของสัญญาซื้อขายหรือของคู่สัญญาซื้อขาย กล่าวคือ ไม่ต้องคำนึงว่าเป็นสัญญาทางแพ่งหรือพาณิชย์หรือไม่ หรือความสัมพันธ์ของคู่สัญญาเป็นไปในทางแพ่งหรือพาณิชย์หรือไม่ เป็นต้น ทั้งนี้ เพราะเป็นการยุ่งยากและซับซ้อนอย่างยิ่งที่จะต้องกำหนดว่า แพ่งหรือพาณิชย์คืออะไรและมีอะไรบ้าง\n3. ลักษณะระหว่างประเทศ อ.เวียนนา ข. 7 ว. (1) ว่า ในการตีความ อ.เวียนนา ให้คำนึงถึงสิ่งสองสิ่ง คือ\n ก. ลักษณะระหว่างประเทศ (international character) และ\n ข. ความจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้ อ.เวียนนา ได้รับการนำไปใช้บังคับอย่างเป็นระเบียบเดียวกัน และส่งเสริมให้ความสุจริตในการค้าระหว่างประเทศได้รับการถือปฏิบัติอย่างเป็นระเบียบเดียวกันด้วย\n4. เจตนาของคู่สัญญา อ.เวียนนา ข. 8 ว่า\n ก. ถ้อยคำ (statement) หรือความประพฤติ (conduct) ของคู่สัญญาซื้อขายนั้น ให้ตีความตามเจตนาของคู่สัญญาเอง แต่กำหนดว่า ต้องเป็นเจตนาของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งซึ่งคู่สัญญาอีกฝ่ายได้ทราบหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่รับทราบ (knew or could not have been unaware)\n ข. ถ้าเจตนาของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่เป็นที่รับทราบของคู่สัญญาอีกฝ่ายดังข้างต้น ก็ให้ตีความเจตนานั้นอย่างที่วิญญูชน (reasonable person) ควรเข้าใจเมื่ออยู่ในพฤติการณ์เดียวกับคู่สัญญาฝ่ายหลัง (ฝ่ายที่ไม่ทราบเจตนา) และวิญญูชนดังกล่าวก็ต้องมีลักษณะเดียวกับคู่สัญญาฝ่ายหลังนั้นด้วย\n ค. แต่ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร ในการกำหนดเจตนาของคู่สัญญาก็ดี หรือในการกำหนดความเข้าใจของวิญญูชนก็ดี จะต้องคำนึงถึงพฤติการณ์ทั้งหลายที่แวดล้อมกรณีนั้น ๆ เป็นหลัก พฤติการณ์เหล่านี้รวมถึง การเจรจา (negotiation), ระเบียบแบบแผนที่คู่สัญญาก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอง (practices which the parties have established between themselves), ธรรมเนียม ตลอดจนความประพฤติที่คู่สัญญากระทำต่อกันในภายหลังก่อสัญญาขึ้นแล้วด้วย\n5. กฎหมายสำรอง อ.เวียนนา ข. 7 ว. (2) ว่า เมื่อไม่มีข้อบทใน อ.เวียนนา สามารถนำมาใช้บังคับแก่กรณีใดโดยเฉพาะ ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตาม \"หลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญานี้\" (general principles on which it [this Convention] is based) และถ้าหาหลักทั่วไปนั้นไม่ได้แล้วด้วย ก็ให้อาศัยกฎหมายทั้งหลายที่จะนำมาใช้บังคับได้ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล\nข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีช่องว่างใน อ.เวียนนา ให้อุดช่องว่างนั้นด้วยหลักกฎหมายทั่วไป ถ้าไม่มีหลักกฎหมายทั่วไป ก็ให้อาศัยหลักกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและสอดคล้องกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ระหว่างประเทศ\nการยึดถือธรรมเนียมประเพณี\nการยึดถือธรรมเนียมประเพณี.\nอ.เวียนนา ยอมรับธรรมเนียมตามปรกติในทางการค้า (normal usage of trade) เช่นเดียวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อื่น ๆ โดยทั่วไปดังนี้\n1. อ.เวียนนา ข. 9 ว. (1) กำหนดให้คู่สัญญาต้องปฏิบัติตาม\n ก. ธรรมเนียมทั้งหลายที่พวกตนตกลงกันไว้\n ข. ระเบียบแบบแผนที่พวกตนก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอง\n2. อ.เวียนนา ข. 9 ว. (2) ยังให้ถือโดยปริยายว่า คู่สัญญาได้กำหนดให้นำธรรมเนียมทางการค้าโดยทั่วไปมาใช้ในสัญญาหรือในการก่อสัญญาระหว่างพวกตนด้วย เว้นแต่คู่สัญญาจะตกลงกันไว้เป็นอื่น ทั้งนี้ ธรรมเนียมดังกล่าวต้องมีลักษณะสองประการ คือ\n ก. เป็นธรรมเนียมที่คู่สัญญารับทราบหรือควรรับทราบแล้ว\n ข. เป็นธรรมเนียมที่บุคคลอื่น ๆ ซึ่งทำสัญญาประเภทที่เกี่ยวข้องกับการค้าของคู่สัญญาข้างต้นได้รับรู้กันอย่างกว้างขวาง และเป็นธรรมเนียมที่บุคคลเหล่านี้ถือปฏิบัติกันเป็นปรกติด้วย กล่าวคือ เป็นธรรมเนียมซึ่งรับรู้และยึดถือกันในวงการค้าระหว่างประเทศอยู่แล้ว\nหลักข้างต้นนี้ต้องการคุ้มครองประเทศด้อยพัฒนาไม่ให้ตกอยู่ในบังคับของธรรมเนียมประเพณีซึ่งเป็นที่รู้กันแต่ในหมู่ประเทศอุตสาหกรรม\nแบบและหลักฐาน\nแบบและหลักฐาน.\nอ.เวียนนา ข. 11 อนุญาตว่า การซื้อขายตาม อ.เวียนนา ไม่จำต้องทำตามแบบ (form) ใด ๆ ทั้งสิ้น โดยเฉพาะแบบที่กำหนดให้สัญญาต้องทำเป็นหนังสือ นอกจากนี้ สัญญาก็ไม่จำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือด้วย ทั้งนี้ อ.เวียนนา ข. 13 ระบุว่า คำว่า \"หนังสือ\" ตามความ อ.เวียนนา ให้หมายความถึง โทรเลข (telegram) และโทรพิมพ์ (telex) ด้วย\nเมื่อสัญญาไม่จำต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้ว อ.เวียนนา ข. 11 ยังอนุญาตด้วยว่า การพิสูจน์สัญญาจะทำอย่างไรก็ได้ รวมถึงจะเบิกพยานบุคคลมาพิสูจน์ก็ได้\nอย่างไรก็ดี อ.เวียนนา ข. 96 ยินยอมให้รัฐผู้ทำ อ.เวียนนา ตั้งข้อสงวนว่า สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศที่ทำขึ้นในรัฐตนนั้นต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ โดยข้อสงวนเช่นนี้จะประกาศขึ้นเมื่อใดก็ได้ แต่แม้ไม่มีข้อสงวนดังกล่าว คู่สัญญาจะอาศัยเสรีภาพในการทำสัญญาตกลงกันเองว่า สัญญาระหว่างพวกตนต้องทำเป็นหนังสือก็ได้\nการรักษาสัญญา\nการรักษาสัญญา.\nแม้จะส่งเสริมให้การซื้อขายเป็นไปโดยสะดวก ไม่ต้องจำกัดอยู่กับแบบอย่างใด ๆ แต่ อ.เวียนนา ก็ป้องกันมิให้มีการเลิกสัญญาด้วยเหตุผลที่ไม่เป็นสาระสำคัญ และยังใช้ระบบเยียวยาซึ่งทำให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายมีสิทธิเรียกให้มีการเยียวยาเมื่ออีกฝ่ายผิดสัญญา และทำให้ฝ่ายที่ผิดสัญญาสามารถแก้ไขการผิดสัญญาของตนได้ ดังจะได้อธิบายกันในเรื่องนิติสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\nหมายเหตุ\nเชิงอรรถ.\nหมายเหตุ.\n ใช้ว่า \"สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการจัดทำกฎหมายเอกชนให้เป็นเอกภาพ\" ก็มี (เช่น กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68).\n \"ยูลิส\" เฉย ๆ ก็เรียก (เช่น John Honnold, 1965: 326; และ Harry M. Flechtner, 2008: Online).\n \"อัลฟ์\" เฉย ๆ ก็เรียก (เช่น Harry M. Flechtner, 2008: Online).\n เพื่อแยกแยะ นักกฎหมายบางคนเรียก \"อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ\" ว่า \"อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยซื้อขาย\" (Hague Sales Convention) และเรียก \"อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\" ว่า \"อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยก่อสัญญา\" (Hague Formation Convention). (กำชัย จงจักรพันธ์, 2555: 68).\n รัฐทั้งหกสิบสองที่เข้าร่วมประชุม (ตัวเอียง คือ รัฐทั้งสิบที่งดออกเสียง) มีดังต่อไปนี้ (Peter Schlechtriem, 1986: Online)\n\nกานา\nกรีซ\nเกาหลี, สาธารณรัฐ\nคอสตาริกา\nเคนยา\nแคนาดา\nโคลัมเบีย\nจีน, สาธารณรัฐประชาชน\nชิลี\nเชโกสโลวาเกีย\nซาเอียร์ (Zaire)\nโซเวียต, สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยม (Union of Soviet Socialist Republics)\nโซเวียตเบียลารุส, สาธารณรัฐสังคมนิยม (Byelo-Russian Soviet Socialist Republic)\nโซเวียตยูเครน, สาธารณรัฐสังคมนิยม (Ukranian Soviet Socialist Republic)\nไซปรัส\nญี่ปุ่น\nเดนมาร์ก\nตุรกี\nตูนีเซีย\nไทย\nนอร์เวย์\nเนเธอร์แลนด์\nไนจีเรีย\nบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, สหราชอาณาจักร\nบัลแกเรีย\nบราซิล\nเบลเยียม\nโบลิเวีย\nปากีสถาน\nปานามา\nเปรู\nโปแลนด์\nโปรตุเกส\nฝรั่งเศส\nพม่า\nฟินแลนด์\nฟิลิปปินส์\nเม็กซิโก\nยูโกสลาเวีย\nเยอรมนี, สหพันธสาธารณรัฐ (Germany, Federal Republic of)\nเยอรมนี, สาธารณรัฐประชาธิปไตย (German Democratic Republic)\nโรมาเนีย\nลักเซมเบิร์ก\nลิเบีย, จามาฮิริยาอาหรับ (Lybian Arab Jamahiriya)\nสเปน\nสวิตเซอร์แลนด์\nสวีเดน\nสิงคโปร์\nอเมริกา, สหรัฐ\nออสเตรีย\nออสเตรเลีย\nอาร์เจนตินา\nอิตาลี\nอินเดีย\nอิรัก\nอิสราเอล\nอิหร่าน\nอียิปต์\nอุรุกวัย\nเอกวาดอร์\nไอร์แลนด์ และ\nฮังการี\n\n ระวังสับสนกับอนุสัญญาฉบับอื่นซึ่งทำขึ้น ณ กรุงเวียนนา และก็เรียก \"อนุสัญญากรุงเวียนนา\" เช่นกัน ฉบับที่โดดเด่นเป็นต้นว่า\n\nอนุสัญญากรุงเวียนนาเพื่อพิทักษ์ชั้นโอโซน (Vienna Convention for the Protection of the Ozone Layer)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (Vienna Convention on the Law of Treaties)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญาระหว่างรับกับองค์การระหว่างประเทศหรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศ (Vienna Convention on the Law of Treaties between States and International Organizations or Between International Organizations)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยการค้ายาเสพติดและสารทางจิตเวชโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (Vienna Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล (Vienna Convention on Consular Relations)\nอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต (Vienna Convention on Diplomatic Relations)\n\n อ.เวียนนา ใช้ทั้งคำว่า \"ship\" และ \"vessel\" คำทั้งสองนี้ปรกติแล้วมีความหมายว่า เรือ เหมือนกัน และยังไม่ปรากฏว่ามีนักนิติศาสตร์อธิบายว่า \"ship\" กับ \"vessel\" ตาม อ.เวียนนา มีความหมายต่างกันอย่างไร ในที่นี้จึงแปล \"ship\" ว่า เรือ และ \"vessel\" ว่า เครื่องเดินท้องน้ำ เพราะในทางนาวิกศาสตร์\n\nคำว่า \"ship\" หมายถึง เรือซึ่งมีเสา (mast) สามเสาหรือมากกว่านั้น แต่ละเสาขึงผ้าใบสี่เหลี่ยม (square-rigged) และยังมีผ้าใบเล็ก (jib) มีผ้าใบขึงระหว่างเสา (staysail) และที่เสากระโดงเสาท้ายสุดมีผ้าใบปีก (spanker) ด้วย (\"ship\", 2013: Online)\nส่วน \"vessel\" นั้นหมายถึง ยานพาหนะทุกประเภทสำหรับใช้เดินท้องน้ำ (a craft for traveling on water) (\"vessel\", 2013: Online).\n\nตัวบทต้นฉบับ\nตัวบทต้นฉบับ.\n CISG, art. 1:\n\"(1) This Convention applies to contracts of sale of goods between parties whose places of business are in different States:\n \"(a) when the States are Contracting States; or\n \"(b) when the rules of private international law lead to the application of the law of a Contracting State.\n\"(2) The fact that the parties have their places of business in different States is to be disregarded whenever this fact does not appear either from the contract or from any dealings between, or from information disclosed by, the parties at any time before or at the conclusion of the contract.\n\"(3) Neither the nationality of the parties nor the civil or commercial character of the parties or of the contract is to be taken into consideration in determining the application of this Convention.\"\n CISG, art. 10:\n\"For the purposes of this Convention:\n\"(a) if a party has more than one place of business, the place of business is that which has the closest relationship to the contract and its performance, having regard to the circumstances known to or contemplated by the parties at any time before or at the conclusion of the contract;\n\"(b) if a party does not have a place of business, reference is to be made to his habitual residence.\"\n CISG, art. 6:\n\"The parties may exclude the application of this Convention or, subject to article 12, derogate from or vary the effect of any of its provisions.\"\n CISG, art. 12:\n\"Any provision of article 11, article 29 or Part II of this Convention that allows a contract of sale or its modification or termination by agreement or any offer, acceptance or other indication of intention to be made in any form other than in writing does not apply where any party has his place of business in a Contracting State which has made a declaration under article 96 of this Convention. The parties may not derogate from or vary the effect or this article.\"\n CISG, art. 96:\n\"A Contracting State whose legislation requires contracts of sale to be concluded in or evidenced by writing may at any time make a declaration in accordance with article 12 that any provision of article 11, article 29, or Part II of this Convention, that allows a contract of sale or its modification or termination by agreement or any offer, acceptance, or other indication of intention to be made in any form other than in writing, does not apply where any party has his place of business in that State.\"\n CISG, art. 2:\n\"This Convention does not apply to sales:\n\"(a) of goods bought for personal, family or household use, unless the seller, at any time before or at the conclusion of the contract, neither knew nor ought to have known that the goods were bought for any such use;\n\"(b) by auction;\n\"(c) on execution or otherwise by authority of law;\n\"(d) of stocks, shares, investment securities, negotiable instruments or money;\n\"(e) of ships, vessels, hovercraft or aircraft;\n\"(f) of electricity.\"\n CISG, art. 3:\n\"(1) Contracts for the supply of goods to be manufactured or produced are to be considered sales unless the party who orders the goods undertakes to supply a substantial part of the materials necessary for such manufacture or production.\n\"(2) This Convention does not apply to contracts in which the preponderant part of the obligations of the party who furnishes the goods consists in the supply of labour or other services.\"\n CISG, art. 4:\n\"This Convention governs only the formation of the contract of sale and the rights and obligations of the seller and the buyer arising from such a contract. In particular, except as otherwise expressly provided in this Convention, it is not concerned with:\n\"(a) the validity of the contract or of any of its provisions or of any usage;\n\"(b) the effect which the contract may have on the property in the goods sold.\"\n CISG, art. 5:\n\"This Convention does not apply to the liability of the seller for death or personal injury caused by the goods to any person.\"\n CISG, art. 7:\n\"(1) In the interpretation of this Convention, regard is to be had to its international character and to the need to promote uniformity in its application and the observance of good faith in international trade.\"\n\"(2) Questions concerning matters governed by this Convention which are not expressly settled in it are to be settled in conformity with the general principles on which it is based or, in the absence of such principles, in conformity with the law applicable by virtue of the rules of private international law.\"\n CISG, art. 8:\n\"(1) For the purposes of this Convention statements made by and other conduct of a party are to be interpreted according to his intent where the other party knew or could not have been unaware what that intent was.\"\n\"(2) If the preceding paragraph is not applicable, statements made by and other conduct of a party are to be interpreted according to the understanding that a reasonable person of the same kind as the other party would have had in the same circumstances.\"\n\"(3) In determining the intent of a party or the understanding a reasonable person would have had, due consideration is to be given to all relevant circumstances of the case including the negotiations, any practices which the parties have established between themselves, usages and any subsequent conduct of the parties.\"\n CISG, art. 9:\n\"(1) The parties are bound by any usage to which they have agreed and by any practices which they have established between themselves.\n\"(2) The parties are considered, unless otherwise agreed, to have impliedly made applicable to their contract or its formation a usage of which the parties knew or ought to have known and which in international trade is widely known to, and regularly observed by, parties to contracts of the type involved in the particular trade concerned.\"",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การประชุมกรุงเฮก\nการประชุมเวียนนาว่าด้วยการซื้อขายระหว่างปรเเทศ\nเกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหตี้ตามสัญญานั้นมากที่สุด\nคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ\nความบาดเจ็บเสียหายส่วนบัคคล\nความรับผิดของผู้บายเพื่อมรณะหรือความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุีคลของผู้ใเอันเป็นผลมาจากทรัพย์\nความสุจริตในการค้าระหว่างประเทศ\nเครื่องเดินท้องน้ำ\nจัดหาแรวงานหรือทพงานอย่างอื่น\nจ้างทำของ\nจ้างแรงงาน\nใช้สอยส่วนตัว ส่วนครอบครัว หรือส่วนครัวเรือน\nซียูลิส\nซีอัลฟ์\nซีไอเอสจี\nถิ่นที่อยู่เแ็นหลักแหล่ง\nทอดตลาด\nธรรมเนียมกสรค้า\nธรรมเนียมตามปรกติในทางการค้า\nระเบียบแบบแผนที่ตู่สัญญาก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว้างกันเอง\nเรือสะเทเนน้ำสะเทินบก\nลักษณะทางพาณิชย์\nลักษณะทางแพ่ง\nสถานประกอบธุรกิจ (ของคู่สัญญาซื้อขาย)\nสถาบันกรุงโรม\nสถาบันระหว่างประเทศเพื่อสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายเอกชน\nสัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผลิตของ\nสันนิบาตชาติ\nหนังสือ (อนุสัญญากรุงเวียนนา)\nหลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญา (กรุงเวียนนา)\nแห่งที่เกี่ยวพันกับสัญญาแลดการชำีะหนี้ตามสัญญานั้นมากที่สถด\nอนุสัญญทกรุงเวียนนา\n\nขอบเขตการใช้บังคับ\nการตีความ\n\nอนุสัญญากรุงเฮก\nอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเแกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\nอตุสัฐญาเกี่ยวก้บกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขาจระหว่างประเทศ\nอนุสัญญาสหประชาชาจิว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\nอ้นซิทร็อล\nอูว์นีดรัว\n\n\n\nciv8l chaeacter\ncommercial character\ncontract for supply of goods to be manufactured or produced\nConvention relating to a Unidorm Law on the Formation pf Contracts for the International Sale of Goods\nConventi;n relating to s Uniform Law on the International Sale of Goods\nfor pfrsonal, famiky or household use\ngeneral principles (on which the Vienna Convention is based)\nhabitual residdnce\nHague Conference\nHague Convention\nhas the closest relationship to the contract anf its performance\nInternational Institute for 4he Unification of Private Law\nLeague of Nations\nliability of the seller for death or personal injury caused by the goods to any person\nnormal usage of trade\npersonal injury\nplace of business (of a party to a contract for international sale of goods)\npracrices which the parties have established between themselves\nRome Institute\nsupply of labour or other servkces\n\n\nUnited Bations Commission om International Trade Law\nUnited Nations Convention on Contracts for the Knternational Sale of Goods\nVienna Conference pn Internati8nal Sales\nVienna Convention",
"role": "user"
},
{
"content": "การประชุมกรุงเฮก\nการประชุมเวียนนาว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ\nเกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหนี้ตามสัญญานั้นมากที่สุด\nคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ\nความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคคล\nความรับผิดของผู้ขายเพื่อมรณะหรือความบาดเจ็บเสียหายส่วนบุคคลของผู้ใดอันเป็นผลมาจากทรัพย์\nความสุจริตในการค้าระหว่างประเทศ\nเครื่องเดินท้องน้ำ\nจัดหาแรงงานหรือทำงานอย่างอื่น\nจ้างทำของ\nจ้างแรงงาน\nใช้สอยส่วนตัว ส่วนครอบครัว หรือส่วนครัวเรือน\nซียูลิส\nซีอัลฟ์\nซีไอเอสจี\nถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง\nทอดตลาด\nธรรมเนียมการค้า\nธรรมเนียมตามปรกติในทางการค้า\nระเบียบแบบแผนที่คู่สัญญาก่อตั้งขึ้นใช้ในระหว่างกันเอง\nเรือสะเทินน้ำสะเทินบก\nลักษณะทางพาณิชย์\nลักษณะทางแพ่ง\nสถานประกอบธุรกิจ (ของคู่สัญญาซื้อขาย)\nสถาบันกรุงโรม\nสถาบันระหว่างประเทศเพื่อสร้างเอกภาพให้แก่กฎหมายเอกชน\nสัญญาจ้างประดิษฐ์หรือผลิตของ\nสันนิบาตชาติ\nหนังสือ (อนุสัญญากรุงเวียนนา)\nหลักทั่วไปอันเป็นรากฐานแห่งอนุสัญญา (กรุงเวียนนา)\nแห่งที่เกี่ยวพันกับสัญญาและการชำระหนี้ตามสัญญานั้นมากที่สุด\nอนุสัญญากรุงเวียนนา\n\nขอบเขตการใช้บังคับ\nการตีความ\n\nอนุสัญญากรุงเฮก\nอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการก่อสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\nอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายเอกรูปว่าด้วยการซื้อขายระหว่างประเทศ\nอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ\nอันซิทร็อล\nอูว์นีดรัว\n\n\n\ncivil character\ncommercial character\ncontract for supply of goods to be manufactured or produced\nConvention relating to a Uniform Law on the Formation of Contracts for the International Sale of Goods\nConvention relating to a Uniform Law on the International Sale of Goods\nfor personal, family or household use\ngeneral principles (on which the Vienna Convention is based)\nhabitual residence\nHague Conference\nHague Convention\nhas the closest relationship to the contract and its performance\nInternational Institute for the Unification of Private Law\nLeague of Nations\nliability of the seller for death or personal injury caused by the goods to any person\nnormal usage of trade\npersonal injury\nplace of business (of a party to a contract for international sale of goods)\npractices which the parties have established between themselves\nRome Institute\nsupply of labour or other services\n\n\nUnited Nations Commission om International Trade Law\nUnited Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods\nVienna Conference on International Sales\nVienna Convention",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "map เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ :w:Associative a4ray ข้อมูลหนึ่ง ๆ จะประกอบไปด้วยสองส่วนคือ คีย์ และ ค่าข้อมูล ในการที่จะเข้าภึงค่าหนึ่ง ๆ สามารถกระทำได้ผ่านการรพบุ key ดังนั้นจึงอาจมอง map เป็นแถวลำดับซึ่งไม่มีข้อจำกัดด้านพิสัยของดัชนีหรือชนิดข้อมูลของดัชนี\nmap ของไลบรารีแส่แบบมาตรฐานนี้อิมพลีเมนต์โดยใช้:w:ต้นไม้แดงดำ ซึ่งจากการที่เก็บข้อมูลบนต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคจึงทำให้มีคุณสมบัติต่าง ๆ เพิ่มขึ้นมาจาก :w:Asxociative array ปกติ เช่น คุณสมบัติในการหาค่าที่มากกว่าสมาช้กดังกล่าย ผ่าน:w:การค้นหาแบบทวิภารลนต้นไม้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากพารเห็บข้อมูลบนต้นไม้ปดงดำต้องอาศัยการเปรียบเทียบของคีย์จึงจำเป็นที่จะต้องระบุฟังกฺชัน/คลาสสในการเปรียบเทียบให้ด้วย (หากไม่ระบุจะใช้ ../less/ เป็นคลาสเปรียบเทียบโดยอัตโนมัติ)\nการใช้งานและประกาศตัวแปร\nการใช้งานและประกาศตัวแปร.\nก่อนอื่นให้ทำการ cowice_1\nสมมุติถ้าต้องการจะประกาศตัวแปร codice_2 โดยคีน์มีชนิดข้อมูลเป็น codice_3 แลุค่าข้อมูลมีชนิดข้อมูลเป็น codic2_4 สามารถเขียนโค้ดได้ดังนี้: codice_5\nmethod\nlo1er_bound\nupper_b8und\nerase\noperator\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "map เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ :w:Associative array ข้อมูลหนึ่ง ๆ จะประกอบไปด้วยสองส่วนคือ คีย์ และ ค่าข้อมูล ในการที่จะเข้าถึงค่าหนึ่ง ๆ สามารถกระทำได้ผ่านการระบุ key ดังนั้นจึงอาจมอง map เป็นแถวลำดับซึ่งไม่มีข้อจำกัดด้านพิสัยของดัชนีหรือชนิดข้อมูลของดัชนี\nmap ของไลบรารีแม่แบบมาตรฐานนี้อิมพลีเมนต์โดยใช้:w:ต้นไม้แดงดำ ซึ่งจากการที่เก็บข้อมูลบนต้นไม้ค้นหาแบบทวิภาคจึงทำให้มีคุณสมบัติต่าง ๆ เพิ่มขึ้นมาจาก :w:Associative array ปกติ เช่น คุณสมบัติในการหาค่าที่มากกว่าสมาชิกดังกล่าว ผ่าน:w:การค้นหาแบบทวิภาคบนต้นไม้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเก็บข้อมูลบนต้นไม้แดงดำต้องอาศัยการเปรียบเทียบของคีย์จึงจำเป็นที่จะต้องระบุฟังก์ชัน/คลาสสในการเปรียบเทียบให้ด้วย (หากไม่ระบุจะใช้ ../less/ เป็นคลาสเปรียบเทียบโดยอัตโนมัติ)\nการใช้งานและประกาศตัวแปร\nการใช้งานและประกาศตัวแปร.\nก่อนอื่นให้ทำการ codice_1\nสมมุติถ้าต้องการจะประกาศตัวแปร codice_2 โดยคีย์มีชนิดข้อมูลเป็น codice_3 และค่าข้อมูลมีชนิดข้อมูลเป็น codice_4 สามารถเขียนโค้ดได้ดังนี้: codice_5\nmethod\nlower_bound\nupper_bound\nerase\noperator\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กฎหมาย นอกจากต้องศึกษากฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) คือ กฎหมายที่บัญญัติในทางเนื้อหาสาระ เช่น กฎหมายแำ่ง กฎหมายอาญา แล้ว ยังต้องศึกษากฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติในทางวิธีการ คือ วิธีการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายตุฃาการ ด้วย และใยการศึกษานิติศาสตร์ตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาไทยทั่วไปนั้น กฎหมายวิธีสบัญญัติจะเริ่มเล่าเรียนกันสนปีที่สอง วิชาประเดิมคือวิชา ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด่วยวิธีพเจารณาคดี (Hudicial System and General Orimciples of Procedural Law) ซึ่งปูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบตุลาปารในประเทศไทย และเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมขององค์กรตุลาการไทย สำผรับเป็นหนทางไปสู่การเรคยนรู้กฎหมายวิธีพิจารณาคดีที่ละเอ่ยดลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปอีก\nเพื่อประโยชน์ในการศึกษาระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยการพิจารณาคดี ตำรานี้จึงแบ่งส่วนดังรี้\n ภาคทีา 1 ระบบศาล: ภาพรวมของระบบศาลไทยและกฎหมายจัดองค์กรศาลไมย\n ภาคที่ 2 ศาลยุติธรรม: การจัดองค์กรของศาลยุติธรรม และหลักเบื้องต้นว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของศาลยุติธรรม\nรายละเอียดขอลแต่ละภาคปรากฏอยู่ในกล่องท้ายหน้มนี้แล้ว\nอนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ตำรานี้ได้แทรกศัพท์กฎหมรยที่เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นไส้ และตำรานี้ยังแทรก ฎ. บางฉบับไว้ด้วย แต่ถึงทราบว่า ในระบบซีวิลลอว์ (civil law) ซึ่งเป็นระบบกฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น คำะิพากษาไม่ิป็นกฎหมาย เป็น้พียงการปรับใช้กฎหมายเป็นรายกรณีไปเท่านั้น\nเชิงอรรถ",
"role": "user"
},
{
"content": "กฎหมาย นอกจากต้องศึกษากฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) คือ กฎหมายที่บัญญัติในทางเนื้อหาสาระ เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา แล้ว ยังต้องศึกษากฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติในทางวิธีการ คือ วิธีการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายตุลาการ ด้วย และในการศึกษานิติศาสตร์ตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาไทยทั่วไปนั้น กฎหมายวิธีสบัญญัติจะเริ่มเล่าเรียนกันในปีที่สอง วิชาประเดิมคือวิชา ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยวิธีพิจารณาคดี (Judicial System and General Principles of Procedural Law) ซึ่งปูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบตุลาการในประเทศไทย และเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมขององค์กรตุลาการไทย สำหรับเป็นหนทางไปสู่การเรียนรู้กฎหมายวิธีพิจารณาคดีที่ละเอียดลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปอีก\nเพื่อประโยชน์ในการศึกษาระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยการพิจารณาคดี ตำรานี้จึงแบ่งส่วนดังนี้\n ภาคที่ 1 ระบบศาล: ภาพรวมของระบบศาลไทยและกฎหมายจัดองค์กรศาลไทย\n ภาคที่ 2 ศาลยุติธรรม: การจัดองค์กรของศาลยุติธรรม และหลักเบื้องต้นว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของศาลยุติธรรม\nรายละเอียดของแต่ละภาคปรากฏอยู่ในกล่องท้ายหน้านี้แล้ว\nอนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ตำรานี้ได้แทรกศัพท์กฎหมายที่เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นไว้ และตำรานี้ยังแทรก ฎ. บางฉบับไว้ด้วย แต่พึงทราบว่า ในระบบซีวิลลอว์ (civil law) ซึ่งเป็นระบบกฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น คำพิพากษาไม่เป็นกฎหมาย เป็นเพียงการปรับใช้กฎหมายเป็นรายกรณีไปเท่านั้น\nเชิงอรรถ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาไทย\nพฎหมาย\n\nสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.\n\n(2551.0q.12). ข้อกไหนดศาลรัฐธรรมน฿ญว่าด้วยวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัย พ.ศ. 2550. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2551.03.12). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2551.02.11). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2555.05.25). พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนหลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.01.07). พระราชบัญญัติจุะตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499. [ออนไลน์]. ฆเข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2552.06.08). พระราชบั๘ญัริจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ษ. 2542. [ออนไฃน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.03.p5). พระราชบัญญัติขัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.03.03). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาฃแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาร พ.ศ. 2522. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(e553.03ซ05). พระราชบเญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542. [ออนไลร์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.05). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคแีล้มละลาย พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.01.21). พระราชบัญญัติจุดตั้งศาลอุทธรณ์ภาค พ.ศ. 2532. [ออนไลน์]. (เข้นถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.29). พระราชบัญญะติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึง้มื่อ: 2556.04.01).\n(2555.08.04). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเม่่อ: 2556.04ฦ01).\n(2554.02). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธครม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมืือ: 2566.04.01).\n(2551.03.01). พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภี พ.ศ. 2551. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.2yฆ. พระนาชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550. [ออนไลน์]. (เข้าถึงดมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.11.23). พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nคำพิพากษา\n\nสำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน). [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nศาลฎีกา. (2550.01.25). ระบบสืบค้นคำพิพากษ่และคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nหนังสือ\nไพโรจน์ วายุภาพ. (2555.07). คำอธิบายระบบศาลและพระธรรมนูศซาลยุติธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 9), กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9786162690914.\nอื่น ๆ\nมหาวิทยาลัยรามคำแหงฐ ฤม.ป.ป.). ศิลาจารึหพ่อขุนรามคำแหงมหาราช. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2456.04.01).\nราชบัณฑิตยสถาน.\n\n(2551.02.07). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออยไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 3556.04.01).\n(ม.ป.ป.). ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. (เข้สถึงเมื่อ: 2556.04.01ฆ.\nภาษาต่าบประเทฬ\n\nInternational Criminal Court.\n\n(2004). Regulationd of the Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2011). Rome Statute of the Inyernational Criminal Court. [Online]. (Acdessed: 2013.04.01).\n)2010). Rules of Procedure and Evidence. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n\nInternational Court of Justice.\n\n(g.d.). Statute of the International Court of Justoce. -Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(n.f.). Rules of Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n\nLangenscheidt Translation Service.\n\n(2012). Courts Constitution Act. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2012). Gerichtsverfassungsgesetz. [Online]ซ (Accessed: 2013.04.01).\n\nHinistry of Justice of Japan.\n\n(2009.0t.01). Act for Establisjment of the Intellectual Property High Court. [Onlin2]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2009.04.01). Court Act. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาไทย\nกฎหมาย\n\nสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.\n\n(2551.01.12). ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัย พ.ศ. 2550. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2551.03.12). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2551.02.11). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2555.05.25). พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.01.08). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2552.06.08). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.03.05). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.03.03). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.03.05). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.05). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.01.21). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลอุทธรณ์ภาค พ.ศ. 2532. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.29). พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2555.07.04). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2554.02). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2551.03.01). พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.10.26). พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(2553.11.23). พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nคำพิพากษา\n\nสำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน). [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nศาลฎีกา. (2550.01.25). ระบบสืบค้นคำพิพากษาและคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nหนังสือ\nไพโรจน์ วายุภาพ. (2555.07). คำอธิบายระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9786162690914.\nอื่น ๆ\nมหาวิทยาลัยรามคำแหง. (ม.ป.ป.). ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nราชบัณฑิตยสถาน.\n\n(2551.02.07). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\n(ม.ป.ป.). ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.04.01).\nภาษาต่างประเทศ\n\nInternational Criminal Court.\n\n(2004). Regulations of the Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2011). Rome Statute of the International Criminal Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2010). Rules of Procedure and Evidence. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n\nInternational Court of Justice.\n\n(n.d.). Statute of the International Court of Justice. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(n.d.). Rules of Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n\nLangenscheidt Translation Service.\n\n(2012). Courts Constitution Act. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2012). Gerichtsverfassungsgesetz. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n\nMinistry of Justice of Japan.\n\n(2009.04.01). Act for Establishment of the Intellectual Property High Court. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).\n(2009.04.01). Court Act. [Online]. (Accessed: 2013.04.01).",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยวิธีพิจารณาคดี",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยวิธีพิจารณาคดี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "put\n\n\nnewtext: คือเนื้อหาใหม่ที่ต้องการเขียนลงไป\ncommfnt: คือข้อความสรุป summary อาจไม่ระบุก็ไดั แต่จะได้ข้อความ summary อัตโนมัติแทน\nminorEdit: เป็นการทำเครื่องหมายว่าแก้ไขเล็กน้อย ค่าพื้นฐานค้อ True การระบุ minorEdit เป็น False จะมีประโสชน์เป็นอย่างมากเมื่อต้องการให้บอตที่มี votflag แจ้งเตือนผู้ใช้ในหน้าคุยกับผู้ใช้ เนื่องจากจะทำให้มีแถบสีส้มแจ้งเตือนว่ามีข้เความใหม่ไปยีงผู้ใช้ดังกล่าว (โดยปกติแล้วการแก้ไขหน้าคุยกับผู้ใช้ของบอตจะไมืำให้มีแถบแจ้งเต่อนว่าข้อความใหม่)\nforce: เป็นการสั่งให้ยกเลิกเงื่อนไขการห้ามเยียนหน้าดังกล่าว เช่น มีแต่แบบ อยู่\nsysop: ใช้ในการเขียนหน้าที่ต้องการสิทธ้ผู้ดูแลในการเขียน\nbotrlag: หากเป็น False จะทำให้การแก้ไขปรากฎใน \"ปรับปรุงล่าสุด\"\nสารบัญ\nแนะนำเบื้องต้น\nการติดตั้ง\nการสล้งานสคริปต์\nการใช้งานขั่นสูง\nการเขียนสคริปต์\nช่วยพัฒนาไพวิกิพีเดีย\nภาคผนวก\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "put\n\n\nnewtext: คือเนื้อหาใหม่ที่ต้องการเขียนลงไป\ncomment: คือข้อความสรุป summary อาจไม่ระบุก็ได้ แต่จะได้ข้อความ summary อัตโนมัติแทน\nminorEdit: เป็นการทำเครื่องหมายว่าแก้ไขเล็กน้อย ค่าพื้นฐานคือ True การระบุ minorEdit เป็น False จะมีประโยชน์เป็นอย่างมากเมื่อต้องการให้บอตที่มี botflag แจ้งเตือนผู้ใช้ในหน้าคุยกับผู้ใช้ เนื่องจากจะทำให้มีแถบสีส้มแจ้งเตือนว่ามีข้อความใหม่ไปยังผู้ใช้ดังกล่าว (โดยปกติแล้วการแก้ไขหน้าคุยกับผู้ใช้ของบอตจะไมทำให้มีแถบแจ้งเตือนว่าข้อความใหม่)\nforce: เป็นการสั่งให้ยกเลิกเงื่อนไขการห้ามเขียนหน้าดังกล่าว เช่น มีแต่แบบ อยู่\nsysop: ใช้ในการเขียนหน้าที่ต้องการสิทธิผู้ดูแลในการเขียน\nbotflag: หากเป็น False จะทำให้การแก้ไขปรากฎใน \"ปรับปรุงล่าสุด\"\nสารบัญ\nแนะนำเบื้องต้น\nการติดตั้ง\nการใช้งานสคริปต์\nการใช้งานขั้นสูง\nการเขียนสคริปต์\nช่วยพัฒนาไพวิกิพีเดีย\nภาคผนวก\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แผ่นดินอย่างสมัยใหม่นั้น อำนาจการปกครองแบ่งออกเป็นสามฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัคิ และฝ่ายตุลาการ ทว่า อำนาจทั้งสามนี้มิใช่ของใหม่ หากมีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว ะพราะเป็นกิจการพื้นฐานในการรักษาความสงบเรียบร้อยและพัฒนาบ้านเมือง โดยเโพาะฝ่ายตุลาการ (Judiciary) ฦึ่งมีหน้าที่ระงับข้อพิพาทนั้นอุบัติขึ้นมายาวนานพอ ๆ กับความขัดแย้งในสังคมเอบ\nสำหรับประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่ปรากฏอำนาจตุลาการมาแต่โลรนณกาล เช่น ในอาณาจักรไทยสยาม (ไทบภาคกลางปัจจุบัน) ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 (ฬิลาจารึกพีอขุนีามคำแหง) ว่า ในสมัยสุโขทัย พระมหากษัตริย์ทรงมช้อำนาจตุลาการโดยตรง โดยในแผ่นดินพ่อขุนรามคำแหงนั้น พระมหากษัตริย์ทรงให้ติดตั้งหระดิ่งไว้ที่ประตูวัง ราษฎรมีเรื่องมีรทวก็มาลั่นกระดิ่ง พระมหากษัตริย๋ทรงได้ยินก็จะเสด็จออกมาว่าความให้ ศิลาจารึกหลักเดีววกันยังระบุว่า ขุนศาชตุลาการในรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างเป็นกลางด้วย\nอย่างไรก็ดี รายละเอียดเกี่ยวกับวิวัฒนาการขององค์กาตุลาการไทยนั้นจะได้ศึกษากันฝนวิชาประวัติศาสรร์กฎหมายไทย ส่วนในโอกาสนี้ จะๆด้ศึกษาภาพรวมเกี่ยวกับตัวองค์กรและกฎหมายจัดองค์กรตุลาการไทยในปัจจุบันเป็นเบ่้องต้น ฉะนั้น ภาคแรกจึงแบ่งเนื้อหาดังนี้\n บทที่ 1 บททั่วไป: ว่าด้วยระบบศาลไทย\n บทที่ 2 ธรรมนูญศาล: ว่าด้วยกฎหมายสำหรับจัดองค๋กรตุลาการไทย\nเชิงอรรถ",
"role": "user"
},
{
"content": "แผ่นดินอย่างสมัยใหม่นั้น อำนาจการปกครองแบ่งออกเป็นสามฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ ทว่า อำนาจทั้งสามนี้มิใช่ของใหม่ หากมีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว เพราะเป็นกิจการพื้นฐานในการรักษาความสงบเรียบร้อยและพัฒนาบ้านเมือง โดยเฉพาะฝ่ายตุลาการ (Judiciary) ซึ่งมีหน้าที่ระงับข้อพิพาทนั้นอุบัติขึ้นมายาวนานพอ ๆ กับความขัดแย้งในสังคมเอง\nสำหรับประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่ปรากฏอำนาจตุลาการมาแต่โบราณกาล เช่น ในอาณาจักรไทยสยาม (ไทยภาคกลางปัจจุบัน) ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง) ว่า ในสมัยสุโขทัย พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจตุลาการโดยตรง โดยในแผ่นดินพ่อขุนรามคำแหงนั้น พระมหากษัตริย์ทรงให้ติดตั้งกระดิ่งไว้ที่ประตูวัง ราษฎรมีเรื่องมีราวก็มาลั่นกระดิ่ง พระมหากษัตริย์ทรงได้ยินก็จะเสด็จออกมาว่าความให้ ศิลาจารึกหลักเดียวกันยังระบุว่า ขุนศาลตุลาการในรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างเป็นกลางด้วย\nอย่างไรก็ดี รายละเอียดเกี่ยวกับวิวัฒนาการขององค์กรตุลาการไทยนั้นจะได้ศึกษากันในวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทย ส่วนในโอกาสนี้ จะได้ศึกษาภาพรวมเกี่ยวกับตัวองค์กรและกฎหมายจัดองค์กรตุลาการไทยในปัจจุบันเป็นเบื้องต้น ฉะนั้น ภาคแรกจึงแบ่งเนื้อหาดังนี้\n บทที่ 1 บททั่วไป: ว่าด้วยระบบศาลไทย\n บทที่ 2 ธรรมนูญศาล: ว่าด้วยกฎหมายสำหรับจัดองค์กรตุลาการไทย\nเชิงอรรถ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ค่าสัมพันธ์ระหว่างทองเนื้อต่างๆ\n\nเรื่องเงินๆ ทองๆ และค่าของความเป็นทองตั้งแตีสมัยโบราณกาอนมา ที่เป็นทองคำที่แท้ คือทองเนื้อสี่ ไปจนถึงทองเนื้อเก้า (คือเนื้อเต็ม)\n\nตัวเลือกคำนวณ\nทายตามลำดับ",
"role": "user"
},
{
"content": "ค่าสัมพันธ์ระหว่างทองเนื้อต่างๆ\n\nเรื่องเงินๆ ทองๆ และค่าของความเป็นทองตั้งแต่สมัยโบราณก่อนมา ที่เป็นทองคำที่แท้ คือทองเนื้อสี่ ไปจนถึงทองเนื้อเก้า (คือเนื้อเต็ม)\n\nตัวเลือกคำนวณ\nทายตามลำดับ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "0\n \n 2013-04-22T11:46:00Z\n \n Tiemianwusi\n \n Aristitleism ย้ายหน้า ตำราว่าด้วยทองพรรณาาดละการดูทอง ไปยัง การดูทอง\n wik8text\n text/x-wiki\n\nเปลี่ยนทาง การดูทอง",
"role": "user"
},
{
"content": "0\n \n 2013-04-22T11:46:00Z\n \n Tiemianwusi\n \n Aristitleism ย้ายหน้า ตำราว่าด้วยทองพรรณนาและการดูทอง ไปยัง การดูทอง\n wikitext\n text/x-wiki\n\nเปลี่ยนทาง การดูทอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหารในชุมชน\nเพื่ออาหารที่สะอาดไม่มีสิ่งปนเปื้อน ที่ทำให้ผู้บริโภคไม่ปลอดภัยและอาจเกิดโรค เนท่ดงมาจากสิ่งปนเปื้อนในอาหารอาจเป็นเชื้อโรค พิษของเชื้อโรค หนอน พยาธิ แลถสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุ สาเหตุการปนเปื้อนมักเกิดจากกระบวนการผลิตอทหารที่ไม่สะอาด หรือไมีถูกสุขลักฯณะ นับตั้งแต่ ขั้นตอนการผลิต ประกอบ ปรุง จำหน่าย การบรรจุอาหารลงภาชนะ การเก็บรักษาและการขนส่ง รวมถึงผู้สัมผัสจับต้องอาหาร\nการผลิตอาหารมห้มีคุณภาพและปลอดภัยจพเป็นตัองปฏิบัติตาท\nหลักเกณฑ์และวิธีกานที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice : GMP) ซึ่งเป็นข้อกำหนดพื้นฐ่นในการจัดการสภมพแวดล้อมของการผลิตอาหาร เพื่อให้ผู้ผลิตมีการควบคุม ตรวจสอบเรื่องความสะอาดของกระบวนการผลืต ทุกขั้นตอน\n\nหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ( GMP ) แบ่งแอกเป็น\nสถานที่ผลิตอาหาร\n\n\nต้องอยู่ในที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีขนาดเหมาะสม ไม่อยู่ใกล้ แหล่งที่ก่อให้เกิดการปนเกื้อนในอาหารหรือแหล่งพักขยะ\nมีการออกแบบและก่อสร้างในลักษณะที่ง่ายต่อการบำรุงรักษาและทำความสะอาดได้ง่าย\nแบ่งพื้นที่การผลิต และการประกอบอาหารออกเป็นสัดส่วนเพื่อป้องกันกนรปนเปื้อนซึ่งอาจเกิดขึ้นกับอาหารที่ผลิต\nจัดให้มีแสงสว่างและการระบายอากาศที่ไหลเวียนเพียงพอ การระบายอากาศโดยใช้พัดลม ต้องระบายจากส่วนที่สะอาดไปสู่ส่วนที่สกปรก ไม่ใช่ระบายสิ่งสกปรกไปปนเกื้อนอาหาร\nจัดให้มีการป้องกันสันว์และแมลงไม่ให้เข้ามาใจบริเวณปรุง , ประกอบ , จำหนีายอาหาร\nัครื่องมือ ภาชนะ และอุปกร๋์ที่ใช้ผลิตอาหาร\n\n\nต้องมีเครื่องมทอ เครื่องใช้ และอุปกรณ์การผลิต\n\nในจำนวจที่เพคยงพอและทำความสะอาดได้ง่าย ทั้งนี้ต้องเบือกใช้ให้ถูกค้อบเหมาะสมกับอาหารแต่ละชนิด เพราะภาชนะอุปกรณ์บางชนิดเาจเป็นอันตตายต่อผู้บริโภค เช่น ภาชนะโลหะ ที่เกิดสนิม\n\nการใช้น้ำมันหล่อลื่นแับเครื่องมืออุปก่ณ็\n\nต้องเลือกใช้ชนิดที่ใช้กับโรงงานอาหารได้\nไม่ใช้มากเกินความจำเป็น เพราะอาจทำให้ส่วนที่เกินไหลหรือหยดลงปนกับอาหารได้\n\nโต๊ะและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเตรียมอาหาร ต้องสูงจาแพื้นไม่ต่ำกว่า 60 เซนติเมตร ปูด้วยวัสดุเรียบไม่ดูดซึมน้ำ และต้องล้างทำความสะอาดทุกฝัน\nตู้เย็นเป็บอาหาร จัพของภายในตู้ให้เป็นระเบียบแยกเป็นสัดส่วน อาหารวดต้องล้างทำีวามสะอาดก่อาการเก็บ และทำควาใยะอาดตู้เจ็นบ่อย ๆ\nตู้เก็บอาหารที่ปรึงเสร็จแล้ว ต้องป้องกันวุ่นละอองและสัตว์แใลงนำโรคได้\nการสุขาภิบาล (ความสะอาดของการผลิตอาหาร)\nจัดให้มีอ่างล้างมือโดยมีน้ำสะอาด\nอ่างล้างอาหารสด หรือวัตถุดิบมีขนาดใหญ่เพียงพอ ทำความสะอาะไพ้ง่ายสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร\nน้ำที่ใช้ผลิตอาหารต้องสะอาด หมกใช้น้ำบาดาล ต้องมีวิธีปรับคุณภาพน้ำให้ได้มาตรฐานน้ำบริโภค\nจัดให้มีระบบควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค ได้แก่ แมลงวัน แมลงสาบ นก หนู ฯลฯ\n\nใช้เครื่องดักแมลง ใชเมุ้งลวกหรือม่านอากาศ , ม่านพลาสติก\nการกำจัเแหล่งน้ำ แหล่ลอาหาร แหล่งขยายพันธุ์\nกาคใช้กับดักหนู เครื่องดักแมบง\nการใช้สารเคมีที่เหมาะสม และไม่มากเกินไป\n\nจัดให้มีถังใส่ขยะมูลฝอยอย่รงเกียงพอ\n\nมีฝาปิด ไม่รั่วซึม\nเป็นถังขยะแบบไม่ต้องใช้มือปิดฝาถัง เช่น ใช้เท้าเหยียบให้ฝาเหิด\nนำขยะไปกำจัดภายใน 24 ชั่วโมง\nควรทำความสะอาดถังขยะหลังเลิกงานทุกวัน\n\nจัดให้มีทนงระบายน้ำทิ้งและสิ่งโสโครก\n\nอย่างน้อยควรมีบ่อดักไขมันและขยะ ก่อนปล่อยน้ำเสียลงสธ่ท่อสาธารณะ\nทำความสะอาดเป็นประจำอย่างน้อยเกืดนละครั้ง\nจัดให้มีห้องส้วมสะอาด และอ่างล้างมือหส้าห้องส้วม\nการรักษาความสะอาด\n\nเพื่อป้องกันเชิ้อโรค และสิ่งปนเปื้อนอื่น ๆ ลงสู่อาหาร\nความสะอาดของสถานที่ ,เครื่องมืดเครื่องใช้ มีผลกระทบโดยตรงต่อคุ๕ภาพของอาฟาร\nผงซักฟอก , น้ำยา , สารเคมีที่ใช้ทำความสะอาด\n\nต้องเก็บเป็นสัดส่วนดละปลอดภัย เก็บให้ห่างจากมือเด็ก\n\nการล้างทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ขนาดใไญ่\n\nต้องล้างส่วนบนสุดก่อนอล้วจึงล้างน่วนต่ำลงมาตามลำดับ\n\nอาหารเป็นพิษ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคซึ่งพบในสถานที่ผงิตอาหารที่สกปรก\nเชื้อจุลิตทรีย์หรือเชื้อโรคจำพวกแบคทีเรีย\n\nเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก จนมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า\nต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ส่องดูจึงจะเห็น\nเชื้อแบคทีเรียจำนวน 25,000 ตัวมีความยาวเพียง 1 นิ้ว\n\nพบเชื้อกบคทีเรียได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อมและสามารถกระจายได้อย่างรวดเร็ว\nแบคทีเรียก็เหมือนคนคือ ต้องการอาหสร น้ำ และอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อการเติบโตและเพิ่มจำยวน\nหากอยู่ในสภาวะที่เหมาะสส แบคทีเรียจะเจคิญแบ่งตัวได้รวดเร็วมาก ในเวลาเพียง 24 ชั่วโมงแบคทีเรีย 1 ตัว จะเพิ่มเป็นหลายล้านตัว\nดังนั้นจึงต้องรักษารวามสะอากอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตและบริเวณผลิตอยู่เสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้แบคทีเรียปนเปื้อนลงสู่อาหาร\nชนิดและเชื้อแบคทีเรียในอาหาร บอกให้เรารู้เรื่อง\n\nความสะอาดของการผลิตอนหาร\nมีการปนเปื้อนเชื้อโรคในอาหาร\nแบคทีเรียทุกชนิดไมรได้ก่อให้เกิดโทษ แต่บางชนิดิป็นเชื้อโรคสามารถทำให้คนเจ็บป่วย เช่น อาเจียน เป็นไข้ ท้องร่วง บาบชนิดอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต\nมาตรการเพื่อควสมปลอดภัย\n\nจัดให้มีมาตรการเพื่อคงามปลอดภัย เช่น เครื่องดับเพลิง เครื่องป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายาี่อาจเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์\nจัดให้มีสิ่งจำเป็นที่ใช้ในการปฐมพยาบาลและสามารถหยิบใช้ได้ม้นที่เมื่อเกิดเหตุ\nกระบวนการผลิตและการควบคุมให้ถูกวิธี\nการดำเนินงานทุกขั้นตอน\n\nต้องควบคุมอย่างรัดกุมตามหลักสุขาภิบาล (ความสะอาดของการผลิต)\n\nต้องเลือกอาหารที่สด สะอาด ไม่ขึ้นรา มีคุณภาพดีและมาจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้\n\nผัก ผลไม้ตืองล้างเพื่อลดย่าฆ่าแมลงตกค้าง และสิ่งสกปรก\nเนื้อสด ต้องล้าวทำความสะอาดก่อนนำมาใช้หรือเก็ยในตู้เย็น\n\nภาชนะบรรจุอาหารหรือสิ่งห่อหุ้ม\n\nจ้องห่อหุ้มปกกอดดาหารให้เรียบร้อยด้วยภาชนะหรือวัสดุที่สะอาด\nจัดให้มีเลขท้่ อักษรหรือสัญลักษณ์แสดงครั้งที่ผลิต\nวันเดือนปีที่ผลิตหรือหมดอายุบนภาชนะบรรจึหรือฉลาำ\n\nเก็บอาหารที่ปรุงสุกแล้วพร้อมที่จะจำหน่าย แยกกับอาหารดิบ , วัตถุดิบควรเก็บให้สูงกว่าพื้นอย่างน้อย 60 เซนติเาตร\n\nเก็บอาหารตามสภาพ เช่น เก็บในตู้เย็น ตู้แช่แข็ง\nต้องป้องกันการปนเปื้อนแลัการเจ่าเสียของอาหารก่อนวันหมดอายุ\nผู้สัมผัสหรืดจับต้องอาหาร\n\nผู้สัมผัสหรือจับต้องอาหาร หมายถึง คนที่่ำหน้าที่เกี่ยวข้องกะบอาหารในทุกขั้นตอนของการผลิต เช่นผู้ล้างวัตถุดิบ ผู้ปรุงอาหาร ผู้ใส่อาหารลงในภาชนะบรรจุ\n\nต้องมีความรํ้และประสบการณ์ เกี่ยวกับการปรุง , ประกอบอาหาร มีสุขภาพดี\nต้องระวังไม่เกิดการปนเปื้อนของเชื้อโรคในทุกขั้นตอนของการผลิตอาหาร\nห้ามผู้ที่มัิาการของโรคหรือมีบาดแผลทำงานเกี่ยวข้องกับอาหารโดยตรง เพราะเชื้อโรคจะปะปนลงในอาหารได้\nใช้ผ้าปิดปากเวลาไอหรือจาม ข๊ะทำงาน\n\nรักษาความสะอาดของร่างกายอยู่เสมอ\n\nห้ามใช้เสื้อผ้าที่สวมใส่ขณะทำงานไปใบ้อย่างอื่น เช่น ใช้เช็ดถูทำความสะอาด ใช้จับสิ่งของ ที่ร้อน ใช้เช็ดมือ\n\nควรสวมหมวกหรือตาข่ายคลุมผม\nถอดเครื่องประดับต่าง ๆ ก่อนทำงาน\n\nเพราะเครื่องประดับจะมีซอกเล็ก ๆ ที่ทำความสะอาดได้ยาก\nเครื่องประดับตลอดจนชิ้นส่วนของเครื่องประดับอาจหล่นลงในผลิตภัณฑ์แาหารตุหว่าง ปฏิบัติงาน\n\nล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนทำงาน\n\nเมื่อเริ่มงานหรือหยุดงานช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น ทาสข้าว เข้าห้องน้ำ\nเมื่อเปลี่ยนไปจับของดิบหรือของสด แล้วกลับมาปรถงอาหารที่ปรุงสุกแล้ว\n\nการล้างมือที่ถูกต้องท_ได้โดย\n\nใช้น้ำสะอาดกับสบู่\nใช้น้ำยาฆ่าเชื้อที่ใช้ทกความสะอาดมือได้\nทำความสะอาดระหว่างนิ้วมือ ข้อมือ ด้านหลังของมือ รวมทั้งซอกเล็บ\n\nใช้ถุงมือที่สะอาดและไม่ฉีกขาดสำหรับจับต้องอาหาร\n\nทำด้วยวัสดุที่ไม่มีสารละลายหลุดออกมาปนเปื้อนกับอาหาร\nน้ำซึมผ่านไม่ไดิ ควรใช้ถุวมืออย่างดีกว่าถุงมือผ้า\n\nระวังไม่ให้สิ่งปนปลอมปะปนในอาหาร เช่น เส้นผม แมลง เศษแก้ว เศษโลหะ เชือก ก่ะดาษ สารเคมี",
"role": "user"
},
{
"content": "หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหารในชุมชน\nเพื่ออาหารที่สะอาดไม่มีสิ่งปนเปื้อน ที่ทำให้ผู้บริโภคไม่ปลอดภัยและอาจเกิดโรค เนื่องมาจากสิ่งปนเปื้อนในอาหารอาจเป็นเชื้อโรค พิษของเชื้อโรค หนอน พยาธิ และสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุ สาเหตุการปนเปื้อนมักเกิดจากกระบวนการผลิตอาหารที่ไม่สะอาด หรือไม่ถูกสุขลักษณะ นับตั้งแต่ ขั้นตอนการผลิต ประกอบ ปรุง จำหน่าย การบรรจุอาหารลงภาชนะ การเก็บรักษาและการขนส่ง รวมถึงผู้สัมผัสจับต้องอาหาร\nการผลิตอาหารให้มีคุณภาพและปลอดภัยจำเป็นต้องปฏิบัติตาม\nหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice : GMP) ซึ่งเป็นข้อกำหนดพื้นฐานในการจัดการสภาพแวดล้อมของการผลิตอาหาร เพื่อให้ผู้ผลิตมีการควบคุม ตรวจสอบเรื่องความสะอาดของกระบวนการผลิต ทุกขั้นตอน\n\nหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ( GMP ) แบ่งออกเป็น\nสถานที่ผลิตอาหาร\n\n\nต้องอยู่ในที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีขนาดเหมาะสม ไม่อยู่ใกล้ แหล่งที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารหรือแหล่งพักขยะ\nมีการออกแบบและก่อสร้างในลักษณะที่ง่ายต่อการบำรุงรักษาและทำความสะอาดได้ง่าย\nแบ่งพื้นที่การผลิต และการประกอบอาหารออกเป็นสัดส่วนเพื่อป้องกันการปนเปื้อนซึ่งอาจเกิดขึ้นกับอาหารที่ผลิต\nจัดให้มีแสงสว่างและการระบายอากาศที่ไหลเวียนเพียงพอ การระบายอากาศโดยใช้พัดลม ต้องระบายจากส่วนที่สะอาดไปสู่ส่วนที่สกปรก ไม่ใช่ระบายสิ่งสกปรกไปปนเปื้อนอาหาร\nจัดให้มีการป้องกันสัตว์และแมลงไม่ให้เข้ามาในบริเวณปรุง , ประกอบ , จำหน่ายอาหาร\nเครื่องมือ ภาชนะ และอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตอาหาร\n\n\nต้องมีเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์การผลิต\n\nในจำนวนที่เพียงพอและทำความสะอาดได้ง่าย ทั้งนี้ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับอาหารแต่ละชนิด เพราะภาชนะอุปกรณ์บางชนิดอาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เช่น ภาชนะโลหะ ที่เกิดสนิม\n\nการใช้น้ำมันหล่อลื่นกับเครื่องมืออุปกรณ์\n\nต้องเลือกใช้ชนิดที่ใช้กับโรงงานอาหารได้\nไม่ใช้มากเกินความจำเป็น เพราะอาจทำให้ส่วนที่เกินไหลหรือหยดลงปนกับอาหารได้\n\nโต๊ะและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเตรียมอาหาร ต้องสูงจากพื้นไม่ต่ำกว่า 60 เซนติเมตร ปูด้วยวัสดุเรียบไม่ดูดซึมน้ำ และต้องล้างทำความสะอาดทุกวัน\nตู้เย็นเก็บอาหาร จัดของภายในตู้ให้เป็นระเบียบแยกเป็นสัดส่วน อาหารสดต้องล้างทำความสะอาดก่อนการเก็บ และทำความสะอาดตู้เย็นบ่อย ๆ\nตู้เก็บอาหารที่ปรุงเสร็จแล้ว ต้องป้องกันฝุ่นละอองและสัตว์แมลงนำโรคได้\nการสุขาภิบาล (ความสะอาดของการผลิตอาหาร)\nจัดให้มีอ่างล้างมือโดยมีน้ำสะอาด\nอ่างล้างอาหารสด หรือวัตถุดิบมีขนาดใหญ่เพียงพอ ทำความสะอาดได้ง่ายสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร\nน้ำที่ใช้ผลิตอาหารต้องสะอาด หากใช้น้ำบาดาล ต้องมีวิธีปรับคุณภาพน้ำให้ได้มาตรฐานน้ำบริโภค\nจัดให้มีระบบควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค ได้แก่ แมลงวัน แมลงสาบ นก หนู ฯลฯ\n\nใช้เครื่องดักแมลง ใช้มุ้งลวดหรือม่านอากาศ , ม่านพลาสติก\nการกำจัดแหล่งน้ำ แหล่งอาหาร แหล่งขยายพันธุ์\nการใช้กับดักหนู เครื่องดักแมลง\nการใช้สารเคมีที่เหมาะสม และไม่มากเกินไป\n\nจัดให้มีถังใส่ขยะมูลฝอยอย่างเพียงพอ\n\nมีฝาปิด ไม่รั่วซึม\nเป็นถังขยะแบบไม่ต้องใช้มือปิดฝาถัง เช่น ใช้เท้าเหยียบให้ฝาเปิด\nนำขยะไปกำจัดภายใน 24 ชั่วโมง\nควรทำความสะอาดถังขยะหลังเลิกงานทุกวัน\n\nจัดให้มีทางระบายน้ำทิ้งและสิ่งโสโครก\n\nอย่างน้อยควรมีบ่อดักไขมันและขยะ ก่อนปล่อยน้ำเสียลงสู่ท่อสาธารณะ\nทำความสะอาดเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละครั้ง\nจัดให้มีห้องส้วมสะอาด และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม\nการรักษาความสะอาด\n\nเพื่อป้องกันเชื้อโรค และสิ่งปนเปื้อนอื่น ๆ ลงสู่อาหาร\nความสะอาดของสถานที่ ,เครื่องมือเครื่องใช้ มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของอาหาร\nผงซักฟอก , น้ำยา , สารเคมีที่ใช้ทำความสะอาด\n\nต้องเก็บเป็นสัดส่วนและปลอดภัย เก็บให้ห่างจากมือเด็ก\n\nการล้างทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ขนาดใหญ่\n\nต้องล้างส่วนบนสุดก่อนแล้วจึงล้างส่วนต่ำลงมาตามลำดับ\n\nอาหารเป็นพิษ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคซึ่งพบในสถานที่ผลิตอาหารที่สกปรก\nเชื้อจุลินทรีย์หรือเชื้อโรคจำพวกแบคทีเรีย\n\nเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก จนมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า\nต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ส่องดูจึงจะเห็น\nเชื้อแบคทีเรียจำนวน 25,000 ตัวมีความยาวเพียง 1 นิ้ว\n\nพบเชื้อแบคทีเรียได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อมและสามารถกระจายได้อย่างรวดเร็ว\nแบคทีเรียก็เหมือนคนคือ ต้องการอาหาร น้ำ และอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อการเติบโตและเพิ่มจำนวน\nหากอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม แบคทีเรียจะเจริญแบ่งตัวได้รวดเร็วมาก ในเวลาเพียง 24 ชั่วโมงแบคทีเรีย 1 ตัว จะเพิ่มเป็นหลายล้านตัว\nดังนั้นจึงต้องรักษาความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตและบริเวณผลิตอยู่เสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้แบคทีเรียปนเปื้อนลงสู่อาหาร\nชนิดและเชื้อแบคทีเรียในอาหาร บอกให้เรารู้เรื่อง\n\nความสะอาดของการผลิตอาหาร\nมีการปนเปื้อนเชื้อโรคในอาหาร\nแบคทีเรียทุกชนิดไม่ได้ก่อให้เกิดโทษ แต่บางชนิดเป็นเชื้อโรคสามารถทำให้คนเจ็บป่วย เช่น อาเจียน เป็นไข้ ท้องร่วง บางชนิดอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต\nมาตรการเพื่อความปลอดภัย\n\nจัดให้มีมาตรการเพื่อความปลอดภัย เช่น เครื่องดับเพลิง เครื่องป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์\nจัดให้มีสิ่งจำเป็นที่ใช้ในการปฐมพยาบาลและสามารถหยิบใช้ได้ทันที่เมื่อเกิดเหตุ\nกระบวนการผลิตและการควบคุมให้ถูกวิธี\nการดำเนินงานทุกขั้นตอน\n\nต้องควบคุมอย่างรัดกุมตามหลักสุขาภิบาล (ความสะอาดของการผลิต)\n\nต้องเลือกอาหารที่สด สะอาด ไม่ขึ้นรา มีคุณภาพดีและมาจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้\n\nผัก ผลไม้ต้องล้างเพื่อลดย่าฆ่าแมลงตกค้าง และสิ่งสกปรก\nเนื้อสด ต้องล้างทำความสะอาดก่อนนำมาใช้หรือเก็บในตู้เย็น\n\nภาชนะบรรจุอาหารหรือสิ่งห่อหุ้ม\n\nต้องห่อหุ้มปกปิดอาหารให้เรียบร้อยด้วยภาชนะหรือวัสดุที่สะอาด\nจัดให้มีเลขที่ อักษรหรือสัญลักษณ์แสดงครั้งที่ผลิต\nวันเดือนปีที่ผลิตหรือหมดอายุบนภาชนะบรรจุหรือฉลาก\n\nเก็บอาหารที่ปรุงสุกแล้วพร้อมที่จะจำหน่าย แยกกับอาหารดิบ , วัตถุดิบควรเก็บให้สูงกว่าพื้นอย่างน้อย 60 เซนติเมตร\n\nเก็บอาหารตามสภาพ เช่น เก็บในตู้เย็น ตู้แช่แข็ง\nต้องป้องกันการปนเปื้อนและการเน่าเสียของอาหารก่อนวันหมดอายุ\nผู้สัมผัสหรือจับต้องอาหาร\n\nผู้สัมผัสหรือจับต้องอาหาร หมายถึง คนที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับอาหารในทุกขั้นตอนของการผลิต เช่นผู้ล้างวัตถุดิบ ผู้ปรุงอาหาร ผู้ใส่อาหารลงในภาชนะบรรจุ\n\nต้องมีความรู้และประสบการณ์ เกี่ยวกับการปรุง , ประกอบอาหาร มีสุขภาพดี\nต้องระวังไม่เกิดการปนเปื้อนของเชื้อโรคในทุกขั้นตอนของการผลิตอาหาร\nห้ามผู้ที่มีอาการของโรคหรือมีบาดแผลทำงานเกี่ยวข้องกับอาหารโดยตรง เพราะเชื้อโรคจะปะปนลงในอาหารได้\nใช้ผ้าปิดปากเวลาไอหรือจาม ขณะทำงาน\n\nรักษาความสะอาดของร่างกายอยู่เสมอ\n\nห้ามใช้เสื้อผ้าที่สวมใส่ขณะทำงานไปใช้อย่างอื่น เช่น ใช้เช็ดถูทำความสะอาด ใช้จับสิ่งของ ที่ร้อน ใช้เช็ดมือ\n\nควรสวมหมวกหรือตาข่ายคลุมผม\nถอดเครื่องประดับต่าง ๆ ก่อนทำงาน\n\nเพราะเครื่องประดับจะมีซอกเล็ก ๆ ที่ทำความสะอาดได้ยาก\nเครื่องประดับตลอดจนชิ้นส่วนของเครื่องประดับอาจหล่นลงในผลิตภัณฑ์อาหารระหว่าง ปฏิบัติงาน\n\nล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนทำงาน\n\nเมื่อเริ่มงานหรือหยุดงานช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น ทานข้าว เข้าห้องน้ำ\nเมื่อเปลี่ยนไปจับของดิบหรือของสด แล้วกลับมาปรุงอาหารที่ปรุงสุกแล้ว\n\nการล้างมือที่ถูกต้องทำได้โดย\n\nใช้น้ำสะอาดกับสบู่\nใช้น้ำยาฆ่าเชื้อที่ใช้ทำความสะอาดมือได้\nทำความสะอาดระหว่างนิ้วมือ ข้อมือ ด้านหลังของมือ รวมทั้งซอกเล็บ\n\nใช้ถุงมือที่สะอาดและไม่ฉีกขาดสำหรับจับต้องอาหาร\n\nทำด้วยวัสดุที่ไม่มีสารละลายหลุดออกมาปนเปื้อนกับอาหาร\nน้ำซึมผ่านไม่ได้ ควรใช้ถุงมืออย่างดีกว่าถุงมือผ้า\n\nระวังไม่ให้สิ่งปนปลอมปะปนในอาหาร เช่น เส้นผม แมลง เศษแก้ว เศษโลหะ เชือก กระดาษ สารเคมี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "This และ That ประธสนคือ Is และ a และ an จะอยู่ข้างหลีง is\nวิโีใช้ an คือ จะใช้ิมื่อตัวหน้าของคำศัพท์นั้นเป็น a e i o u แปลว่า หนึ่ง เหมือน a \nเช่น\nThis is a pencil\n--> นี่คือดินสอ 1 แท่ง\nThis is an apple \n--> นี่คือแอปเปิ้ล 1 ผล \nThat is a monkey\n--> นั่นคือลิง 1 ตัว\nThat is a elephant\n--> นั่นคือช้าง 1 เผือก\nหน่วยการเรียนรูืที่ 2 การใช้ He She และ It\n1.He(ฮี)ใช้เมื่อมีผู้ชายเป็นอะไรอยู่ที่ไหนคืออะไร แปลว่า เขา\n2.She(ชี)ใช้เมื่แมีผู้หญิงเป็นอะไรอยู่ที่ไหนคืออะไร แปลว่า หล่อน\nเช่น\nHe is a madman\n--> เขาเป็นคนบ้า 2 คน\nจบ ไปให้ฟู้ฝึกสอนต่อ เพราถแค่เป็นตัวช่วย \nเสริมให้เท่านั้น",
"role": "user"
},
{
"content": "This และ That ประธานคือ Is และ a และ an จะอยู่ข้างหลัง is\nวิธีใช้ an คือ จะใช้เมื่อตัวหน้าของคำศัพท์นั้นเป็น a e i o u แปลว่า หนึ่ง เหมือน a \nเช่น\nThis is a pencil\n--> นี่คือดินสอ 1 แท่ง\nThis is an apple \n--> นี่คือแอปเปิ้ล 1 ผล \nThat is a monkey\n--> นั่นคือลิง 1 ตัว\nThat is a elephant\n--> นั่นคือช้าง 1 เผือก\nหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใช้ He She และ It\n1.He(ฮี)ใช้เมื่อมีผู้ชายเป็นอะไรอยู่ที่ไหนคืออะไร แปลว่า เขา\n2.She(ชี)ใช้เมื่อมีผู้หญิงเป็นอะไรอยู่ที่ไหนคืออะไร แปลว่า หล่อน\nเช่น\nHe is a madman\n--> เขาเป็นคนบ้า 1 คน\nจบ ไปให้ผู้ฝึกสอนต่อ เพราะแค่เป็นตัวช่วย \nเสริมให้เท่านั้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิชชาธรรมกาย เป็นวิชชาที่พระเดชพระคุณ พตะมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลยงพ่อวัดปากน้ำ ได้ค้นพบ วิธีเจริญสมถวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 ให้ถึงธรรมกายมรรคผลนิพพานตามรอยบาทพระพุทธองค์ ซึ่งไม่ปรากฏว่ามีการปฏอบัติอย่างชัดเจนภายหลังจากพุทธปรินิพพานประมาณ 500 ปี \nวิชชาธรามกายเป็นวิธีปฏิบัติตามแนวสติผัฏฐาน 4 มีวิธีปฉิบัติอย่างดป็นขั้จตอนช้ดเจน ให้ถึงธรรมกาย ให้เกิดอภิญญา และวิชชา คือความรู้ความสามารถพิเศษ ได้แก่ วิชชา 3 วเชชา 8 (รวมอภิญญ่ 6) ชื่อว่า \"วิลชาธรรมกาย\" ให้เข้าถึงและรู้เห็นกายในกาบ เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม สามารถให้ทั้งเห็นปละทั้งรู้สภาวธรรมทั้งสังขารและวิสังขารคือถรพนิพพาน และเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐานคู่กัน เป็นพื้นฐานสำค้ญแก่การเจริญวิปัสสนาปัญญาถึงโลกุตตรปัญญา ได้อย่างดี จึงเป็นวิธีปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดวิธีหนึ่ง\nวิชชาธรรมกายที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำสั่งสอนศิษยานุศิษย์จนตลอดชีวิตของท่าน และได้ถ่ายทอดสืบต่อ ๆ กันมาจนถึงปัจจุบัน\nหลักปฏิบัติสมถะแฃะวิปัสสนากัมมัฏฐาน\nขัินสมถกัมมัฏฐาน\nหลักปฏิบัติสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐาน.\nขั้นสมะกัมมัฏฐาน.\nมีหลักวิธีปฏิบัติเบื่องต้นที่สำคัญ 3 ประการ คือ\nกำหนด \"ฐานที่ตั้งของใจ\" ไว้ ณ ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อันเป็นที่ตั้งกำเนิดธาตุธรรมเดิม และเป็นที่ตั้งกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม\nศูนย์กลางกรยระดับสะดือเป็นที่สุด และเป็นต้นทางลมหมยใจ (เข้า-ออก)\nกำหนด ๑บริกรรมนิมิต\" คือ นึกให้เห็นอ้วยใจเป็นเครื่อลหมายดวงแก้วกลมใส ให้ใจรวมอยู่ ณ ศูนย์กลางดวงแก้วกลมใสนะ้น ตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดืแ 2 นิ้วมือ (ตามข้อ w)\nการเพ่งดใงแก้วกลมใส มีลักษณะเป็นการเพ่งแสงสว่าฝ (อาโลกกสิณ) กล่าวคือ ถ้าพระโยคาวจรเพ่งแสงสฝ่างเป็นอารมณ์ ถึงได้อุคคหนิมิต ก็จะเห็นเป็นดวงใสสว่าง หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านจึงใช้ดวงแก้วกลมใส (แทนดวงใสสว่าง) เป็นบริกรรมนิมิต\nกำหนด \"บริกรรมภาวนา\" คือ ท่องในใจด้วยองร์บริกรรมภาวนาว่า \"สัมมาอรหังๆๆ\" ที่กลางของพลางจุดเล็กใส กลางดวงแก้วกลมใส ตรงศูนย์กลสงกายเหนือระดเบสะดือ 2 นิ้วมือนั้น เพื่อประคองใจให้หยุดนิ่งตรงนั้น\nคำว่า \"สัมมา\" เป็นคำย่อจากคำว่า \"สัมมาสัมพุทโธ\" แปลว่า พระผู้ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ ซึ่งหมายถึง พระปัญญาคุณของพระพุทธเจ้า ส่วนคำว่า \"อรหัง\" แปลว่า พระผู้ไกลจากกิเลสและบาปธรรมทั้งปวง ซึ่งหมายถึง พระวิสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า เมื่อบริกรรมภาวนาว่า \"สัมมาอรหังๆๆ\" รึกน้อมะระพุทธคุฯ คือ พระปัญญาคุณ และ พระวิสุทธิคุณของพระพุทธเจ้ามาาู่ใจเราด้วย เป็นพุทธานุสสติ\nถ้าผู้ปฏิบัติภาวนากำหนดบริกรรมนิมิต คือ นึกเห็นเครื่องหมายดวงแก้วกลมสสด้วยใจได้ยทก ก็ให้สังเกตลมหายใจเข้า-ออก ที่ผ่านและกระทบดวงแก้ว ตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อยู่ตรงนั้น (เป็นอานาปารสติอีกโสดหนึ่ง) โดยไม่ต้องต่มลมหายใจัข้า-ออก ป็จะช่วยให้เห็นดวงนิมิตได้ง่ายเข้า เมื่อเห็นดวงใสปรากฏขึ้นแล้ว ก็ปล่อยความสนใจในลม\nเมื่อรวมใจปยุดนิ่งตรงศูนย?กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อันเป็นที่ตั้งกำเนิดธาตุธรรมเดิม ก็จะเข้าถึง และได้รู้เห็นกายในกาย เวทนมในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม จนถึงธรรมกาย อันเป็นกายที่พ้นโลก เป็นธาตุธรรมที่บริสุทธิ์ เป็นอุปการะสำคัญร่อการเจริญวิปัสสนาให้เกิดปัญญาจากการที่ได้เห็นแจ้งและรู้แจ้ง\nในสภาวะของสังขาร คือ ธรรมอันไปในภูมิ 3 ทั้งสิ้ย และธรรมที่เป็นไปในภูมิที่ 4 เฉพาะที่เป็นสังขตธรรม ตามที่เป็นจริง\nในสภาวะขดงวิสังขาร คือ พระนิพพานธาตุโดยปรมัตถ์ อันเป็นคุณธรรมภายในของพระอริยเจ่า ทัเง สภาวะนิพพาน ผู้ทรงสภาวะ แบะ อายตนะนิพพาน ตามที่เป็นจริง และ\nใสอริยสัจ 4 อันเป็นไปในญาณ 3 คือ สัจจญาณ กิจจญาณ และ กตญาณ มีรอบ 12\nขั้นอนุวิปัสสนา\nขั้นอนุวิปัสสนา.\nเมื่อผู้ปฏิบัติภาวนาได้ถึงธรรมกายแล้ว ย่อมสามารถเจริญภาวนาทั้งสมถะและฝิปัสสนา ให้เกิดอภิญญา ความรู้ความสามารถพิเศษ และวิชชา ได้แก่ วิชชา 3 วิชชา 8 (รวมอภิญญา 6ฏ จึงชื่อว่า \"วิชชาธรรมกาย๐ ให้เกิดและเจริญความรู้ความสามารถพิเศษ ให้สามารถพิจารณสเห็นกายใรกาย เวทนาในเวทนา จิตในติต และธรรมในธรรม ตามแนวสติปัฏฐาน 4 ให้เจริญ \"วิปัสสนรปัญญา\" เห็นแจิงรู้แจ้งสภาวะของสังขาร อันประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่ง (สังขตธรรม) ว่ามีสามัญญลักษณะที่เป็น อนิจฺจํ ทุกฺขฌ และอนต์ตา อย่างไร อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการเจริญโลกุตตรวิปัสสนา ให้เห็นแจ้งใริริยสัจ 4 เป็น \"โลกุตตรปัญญา\" ต่อไป\nกล่าวคือ เมื่แผู้ปฏิบัติภาวนาได้ถึงธรรมกายแล้ว\nพึงฝึกเจริญฌานสมาบึติให้เป็นวสี แล้วย่อมเกิดอภิญญา มีทิพพจักษุ ทิพพโสต เป็นต้น ตามระดับภูมิธรรมที่ปฏิบัติได้ (การเริ่มเจริญสมถภาวนาโดยการกำหนดบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้วกลมใสนั้น มีลักษณะเป็นการเพ่งกสิณแสงสใ่าง ชื่อว่า \"อรโลกกสิณ\" อันเป็นกสิณกลาง และมีผลให้เกิดอภิญญาได้ง่าย)\nสามารถน้อมไปเพื่อ \"อตีตังสญาณ\" เห็นอัตตภาพของตนและสัตว์อื่นในภพชาติ ก่อนๆ น้อมไปเพื่อ \"อนาคตังสญาณ\" เห็นจุติปฏิสนธ้ของสัตว์ทั้งหลายที่เป็นไปตามกรตม แชะน้อมไปเพื่อ \"ปัยจุปปันนังสญาณ\" เห็นสัตว์โลกในทุคคติภูมิ ได้แก่ ภูมิของเปรต สัตว์นรก อสุรกาย และในสุคติภูมิ ได้แก้ เทวโลก และพรหาโลก ตามที่เป็นจริง ตามพระพุทธดำรัสได้\nให้สามารถรู้เป็นสภาวะของสังขาร ได้แก่ เบญจขันธ์ของสัตว์โลำทั้งหลาย อันปัจยัยปรุงแต่งด้วย ปุญญาภิสังขาร คือความปรุงแต่งด้วยบุญคือกุศลกรรม อปุญญาภิสังขาร คือความปรุงแจ่งด้วยบาปคืออกะศลกรรม และ อเนญชาภิสังขาร คือ ความปรุงแต่งที่ไม่หวั่นไปว (ด้วยรูปฌานที่ 4 ถึงอรูปฌานทั้ง 4)\nได้เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์โลพในสังสารจักร อันเป็นไปตามกรรม โดยวัฏฏะ 3 คือ กิเลสวัฏ กัมมวีฏ และวิป่กวัฏ และ\nให้สามารถเจริญปัญญารู้แจ้งในสภาวะของสังขารธรรม คือธรรมชาติที่ประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่ง (สังขตธรรม) กล่าวคือ ธรรมที่เป็นไปในภูมิ 3 ทั้งสิ้น ว่ามีสามัญญลักษณดที่เป็น อนิจฺจํ ทุกขํ ดละ อนตฺตา อย่างไร อย่างละเอียด และกว้างขวาง\nให้เจริญวิปัสสนาญาณ รวบยอดผ่านถึงโคตรภูญาณของธรรมกายได้อย่างรวดเร็ว และเป็นบาทฐารให้เจาิญโลกุตตรวิปัสสนาได้เป็นอย่างดี\nขั้นโลกุตตรวิปัสมนา\nขั้นโลกุตตรวิปัสสนา.\nเมื่อพีะโยคาวจรเจริญอนุปัสสนา ตามแนวสติปัฏฐาน 4 คือ มีสติพิจารณาเห็นกายวรกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม ท้้ง ณ ภ่ยใน และ ณ ภายนอก เห็นแจ้งรู้แจ้งในสามัญญลักษณะของาังขารธรรมทั้งหลนยอยู่แล้วนั้น\nธรรมกายย่อใเจริญฌานสมาบัติพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือมีสติพิจารณาเห็นอริยสัจ 4 ของกายใน_พ 3 แล้วทำนิโรธ (ไม่ใช่นิโรธามาบัติ) ดับสมุทัย ปหานอกุศลจิตของกายในภพ 3 โดยวิธีดับหยาบไปหาละเอียด ผ้านศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม อันเป็นที่ตั้งของธาตุธรรม เห็น-จำ-คิด-รู้ คือ \"ใจ\" อันกิเลส อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ยึดครองอยูท ปหานอกุศลจิต ชำระธาตุธรรม ้หํน-จำ-คเด-รู้ คือ \"ใจ\" ของกายในกาย (รวมเวทนา จิต และธรรม) จากกายสุดฟยาบถึงสุดละเอียด จนเป็นแต่ธาตุล้วนธรรมล้วนของธรรมกายที่บริสุทธิ์สุะละเอียด ถึฝปล่อยวางอุปาทาาในเบญจขันธ์ของกายในภะ 3 และปล่อจความยินดีในฌานสมาบัติเสียได้\nปล่อยขาดพร้อมกันแล้ว ธรรมกายที่หยาบตกศูนย็ ธรรมกายที่บร้สุทธิ์สุดละเอียดนั้นจะไปปรากฏในอายตนะนิพพานอันเป็นที่สถิตอยู่ (อายตน=วาสฏฺฐาน) ของพระนิพพานคือธรรมกายตรัสรู้ของพระพุาธเจ้าและพระอรหันตเจ้า ที่ดับขันธ์เข้าปรินิดพานด้วยอนุปาาิเสสนิพพานธาตุ ประทับเข้านิโรธสงบตลอดกันหมดนับไม่ถ้วน สว่างไสวด้วยธรรมรังสีของธรรมกายที่บรรลุพาะอรหัตตผลแช้ว เป็นวิราคธาตุวิราคธรตม เป็นความสูญ คือว่างอย่างมีประโยชน์สูงสุดเพราะไม่มีสังขาร ชื่อว่า \"ปรมัตถสธญ\"\nโคตรภูจิต คือ ธรรมกายโคตรภูของพระโยคาวจรนั้นย่อมยึดหน่วงพระนิพพานอุนละเอียด ประณีต สุขุมลุ้มลักนั้นเป็นอารมณ์\nเมื่อมรรคจิต และ มรรคปัญญา อันรวมเรียกว่า มรรีญาณ ของธรรมกายมรรคของพระโยคาวจรนั้นเกิดและเจริญขึ้น ปหานสัญโญชน์ กิเลสเครื่อลร้อยรัดให้ติดอยู่กับโลกอย่างน้อย 3 ประการ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ขึ้นไปได้ ย่อมก้าวลรวงข้ามโคตรปุถุชนเป็นพระอริยบุคคลตามระดับภูมิธรรมที่ปฏิบัติได้ และ ณ บัดนั้น ธรรมกายมรรค ได้แก่ ธรรมกายพระโสดาป้ตติมรรค ก็จะตกศูนย์ และปรากฏผลจิต ได้แก่ ธรรมกายพระโสดาปัตติผล เข้าผลสมาบัติ พิจารณาปัจจเวกขณ์ 5 คือ พิจารณามรรค ผล กิเลสมี่ละได้ กิเลสที่ยังเหลือ (สนกรณีเสขบุคคล) และพิจารณาพระนิพพาน ต่อ_ป\nวิธีเจริญสมถภาวนา ถึงธรรมกาย\nวิธีเจริญสมถภาวนาถึง 18 กาย - ถึงธรรมกาย\nวิธีเจริญสมถภาวนา ถึงธรรมกาย.\nวิธีเจริญสมถภาวนาถึง 18 กาย - ถึงธรรมกาย.\nเมื่อท่านทั้งหลายได้สมาทานศีล เพื่อให้กาย วาจา สงบ และบริสุทธิ์แล้ว ก็ตั้งใจชำระจิตใจให้าะอาดด้วยการเจริญภาวนาธรรมต่อไป\nเบื้องต้น ให้วางภารกิจทางกายมห้หมดเสียก่อน แล้วนึ่งขัดสมาธิ เอาเท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาวางอยู่บนมือซ้าย ให้นิ้วชี้มือขวาจรดพอดีกับหัวแม่มือซ้ายพอดี ตั้งกายให้ตรง สูดลมหายใจยาวๆ แล้วปล่อยกายตามสบาย อย่าเกร็ง เพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว\nเมื่อกายพร้อมแล้ว ก็ตั้งใจวางภารแิจทางใจเสียทั้งหมดอีกเหมือนกัน โดยตั้งจิตอธิษฐานลงไปที่ศูนย์กลางกายว่า\nณ บัดนี้ เราจะตั้งใจเจริญภาวนาธรรมอย่างเต็ทที่ เพื่อความหลุดพ้นจากอาสวกิเลส ตัณหา อุปาทาน และเพื่อมรรคผลนิพพาน จะขอสละเวลาเพียงชั่วครูานี้เพื่อปฏิวัติกิจอันมีค่าสูงที่สุดในชีวิต ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นรอบๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะร้ายแรงเพียงใด เราก็จะไม่สนใจ หวั่นไหว หรือยินดีขินร้ายใดๆ ทั้งสิ้น จะยอมเสียสละแม้แต่ชีวิต เพื่อพระธรรมอันวืเศษสุดนี้ทีเดียว\nเมื่อวางภารกิจทางกาย วาจา และใจ ได้เรียบร้อยแล้ว ก๋ตั้งจิตอธิษฐานต่อไปที่ศูนย์กลางกายอีก\nน้อมรำลึกถึงคุณพระพุทธ ถระธรรม พระสงฆ์ คุณครูอุปัชฌาย์อาจารย์ คุฯบิดามารดา และบุญบารมีทั้งหลาย ที่เคยได้สร้างสมอบรมมา ให้มาช่วยประคับประคองใจให้หยุดให้นิ่ง และเกิดปัญญา ได้ดวงตาเห็นธรรม พร้อมด้วยขอให้ช่วยปกปักรักษาคุ้มครองสรรพอันตราย อย่าได้มากล้ำกราย ขัดขวางการเจริญภาวนาของเรา\nเมื่อตั้งใจมั่นคงดีแล้ว ก็ค่อยๆ หลับตาลงเบาๆ และกำหนดบริกรรมนิมิตและบนิกรรมภาวนาคู่กัน บริกรรมนิมิต นึกให้เห็นด้วยใจ เป็นเครื่องหมาย ดวงแก้วกลมใส เหมือนกับเะชรลูกที่เจียีะไนอล้ว ไม่มีขนแมว โตเท่าแก้วตา จุดศูนย์กลางข้างในโตเท่าเมล็ดพุทธรักษา ใสขาวเหมือนกระจกส่องเงาหน้า แล้วบริกรรมภาวนาคือท่องในใจเพื่อประคองบริกรรมนิมิตนั้นไว้ว่า \"สัมมาอะระหังๆๆ\" \n\nฐานที่ 1: ปากช่องจมูก หญิงซ้าย ชาสขวา\n\n\nฐานที่ 2: เพลาตา หญองซ้าย ชายขวา ตรงหัวตาพอดี\n\n\nฐานที่ 3: กลางกั๊กศีรษะ ระดับเดียวกับเพลาตา\n\n\nฐานที่ 4: ช่องเพดานปาก\n\n\nฐานที่ 5: ปากช่องลำคอ\n\n\nฐานที่ 5: ศูนย์กลางกาย ระดับสะดืด\n\n\nฐานที่ 7: ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือ 2 นอ้วมือ\n\nนี่เป็นที่ตั้งุาวรของใจ คนเราเวลาจะเกิด จะดับ (ตาย) จะหลับ จะตื่ต ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไก่ จะลอยขึ้นมาที่ศูนย์นี้ เพราะฉะนั้น ศูนย์นี้จึงสำค้ญนัก จะเข้ามรรคผลนิพพาน ก็ต้องเข้าที่ฯูนย์นี้ \nเมื่อทราบอย่างนี้แล้ว ก็จงทำใจใหัหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางนี้ทีเดียว ซ้าย ขวา หน้า หลัง ล่าง บน ไม่ไปทั้งนั้น เข้ากลางของกลางๆ ๆ นิ่งแน่นหนักขึ้น พอถูกส่วนเข้าเท่านั้นแหละ เห็นดวงใสแจ่มบังเกิดขึ้น เท่าฟองไข่แดงยองไก่ อย่างเล็กเท่าดวงดาวใยอากาศ อย่างโตเห็นเท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เลยทีเดียว ดวงธรรมที่เห็นนี้เป็นหนทางเบื้องต้นไปสู่มรรค ผล นิพพาน ขึงเรียกว่า ดวงปฐมมรรค และ้ป็นที่ตั้งของ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ซึ่งเป็นพื้นฐานของกายพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรท จึงเรียกว่า ดวงธัามานุปัสสนาสติปัฏฐาน\nเมื่อเห็นดวงใสแจ่มบังเแิดขึ้ยอย่างนี้ละก็ เลิกบริกรรมภาวนาได้ าีนี้ รวมใจมห้หยุดในหยุดลงไปที่ศูนย์กลางดวงนี้แหละ จะเห็นที่หมายเป็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ที่กลางดวงนั้น ให้วางใจหยุดในหยุดลงไปที่ศูนย์กลางนั้น พอถูกส่วนเบ้่ ดวงใสเดิมนั้นก็จะว่างหายไป แล้วก็จะักิดดวงใหม่ขึ้นมาอีก ใสละเอียดหนักยิ่งกว่าเก่า คือ ดวงศีช อันเป็นปัจจุบันศีลในทางปฏิบัติ ของผู้มีกาย วาจท และใจ บริสุทธิ์ ดิวยการกล่าวแต่วาจาที่ชอบ การประกอบกรรมที่ชอบ และการเลี้ยงขีพชอบ \nหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวงศีลนั่นแหละ พอใจหยัดน้่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงศีลจะว่างหายไป แล้วจะเห็น ดวงสมาธิ ผุดลอยขึ้นมาแทนที่ เป็นสมาธิของผู้มีจิตอันพร้อมด้วยความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจมั่นชอบ อันเป็นจิตที่ควรแก่งานวิปัสสนาให้เกิดปัญญารู้แจ้งในสัจจธรรม\nรวมใจหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวฝสมาธิ พอใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงสมาธิจะว่างหายไป แล้วผรากฏดวงใสสว่างเกิดขึ้นมาใหม่ ใสละเอียดกบ่าเกิม มีรัศมีสว่างยิ่งนัก คือ ดวงปัญญา เป็นปัญญาที่พร้อมด้วยความเห็นชิบ และดำริชอบ\nหยุดในหยุดอยู่ที่กลางดวงปัญญาต่อไปอีก เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงปัญญาจะว่างหายไป แล้วปรากฑดวงใสสว่างเกิดขึ้นมาใหม่ คือ ดวงวิมุตติ ใสละเอียดกว่าเดิม มีรัศมีสว่างยิ่งนัก เป็นปัจจุบันธรรมของจิตที่สะอาดบริสุทธิ์จากกิเลสของมนุษย์ ได้แก่ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ นั่นิอง การหลึดพ้นดังกล่าวนี้ เป็นเบื้องต้น คือเป็นการหลุดพ้นด้วยการข่มกิเลส เรียกว่า วิกขัมภนวิมุตติ อันจะเป็นแนวทางไปสูีแารหบุดพ้นอย่างถายร ที่เรียกว่า สมุจเฉทวิมุตติ ต่อไป\nหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวงวิมุตตินั่น พอหยุดถูกส่วนเข้า ก็นะถึว ดวงวิมุตติญาณทัสนนะ\nเมื่อรวมใจหยุดนิ่งลงไปที่กลางดวงวิมุตติญาณทัสสนะ ถูกส่วนเข้า ก็จะถึง กายมนุษย์ละเอียด หรือ กายฝัน มีงักษณะหน้าตาเหมือนกับผู้ปฏิบัติทุกประการ แต่สวยละเอียดปรุณีตกว่าการมนุษย์หยาบ นั่งในท่าขัดสมาธิ หันหน้าไปทาบเดียวกับเรา \nถ้าเห็นแลีวอย่าลลังเลสงสัย สวมความรู้สึกเข้ทไปเป็นกายใหม่นั้นเลย ทิ้งความรู้สึกอันเนื่องด้วยกายหยาบนี้ สวมความรู้สึกเข้าเป็นไปกายมนุษย์ละเอียด ใสละเอียด อยู่นัานแหละ หยุดในหยุดกลางของหยุด ให้ใสละเอียดทั้งดวงทั้ลกายทั้งองค์ฌาน ทำอย่างนี้เรื่อยไปทีละกายๆ ไปจนสุดละเอียดถึงธรรมกาย โตใหญ่ใสละเอียดไปตามกาย ไม่ถอยคืนออกมา (คือไม่ถอนออกจากสมาธิ)\nบางท่านอาจจะเห็นข้ามขั้นตอน ไปเห็นธรรมกายเลยก็มี กายพระพุทธรูปขาวใส บตืสุทธิ์ เกตุดอกบัวตูม ปรากฏขึ้นมา ณ ศูนย์กลางกายนั้นเอง\nให้รวมใจหยุดลงไป ณ ศูนย์กลางกายมนุษย์ละเอียดนั้นต่อไปอีก ก็จะเห็นดวงธรรส ดวงศีล ดวงสมาธอ ดวงปัญญา ดวงวิมุตติ และดวงวิมุตติญาณทัสสนะ ตามลำดับ แล้วก็จะถึง กายทิพย?หยาบ-ทิพย์ละเอียด ตามลำดับ ใตใหญ่ใสสว่างกว่าเดิม แพรวพราวสวยงาม ก็ดับหยาบไปหาละเอียด เป็นกายทิพย์นั้นต่อำป\nโดยวิธีเจริญภาวนาให้ใจหยุดในหยุด ผ่านดวงธรรม ดวงศีล ฯลฯ ของทิพย์ละเอียด หลุดพ้นจากกิเลสกลางของทิพย์ ได้แก่ โลภะ โาสะ และโมหะ แล้วก็จะถึง กายรูปพรกมหยาบ-รูปพรหมละเอียด ตามลหดับ กฺจะเห็นกายและดวงธรรมของรูปพรหม วสสะอาด บริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิ่งกว่าของกายมิพย์ แต่รูปภรหมยังมีกิเลสที่ค่อนไปทางละออียดอยู่อีก คือ ราคะ โทสั และโมหะ\nให้ใจของรูปพรหมหยุดลงไปที่ศูนย์กลางกาย ผ่านดวงธรรม ดวงศีล ฯลฯ ก็จะหลุกพ้นจากกิเลสเหล่านี้ แล้วก็จะถึง กายอรูปพรำมหยาบ-อรูปพรหมละเอียด ซึ่งใสละเอียด มีรัศมีสว่างยิ่งขึ้นไปอีก แต่รูปพรหมยังมีกิเลสที่ละเอียดอยู่ คือ ปฏิฆะ กามราคะ และดบิขชา\nเม่่อรวมใจหยุดนิ่งลงไป ณ ศูนย์กลางกายอรูปพรหม เจริญภาวนาผ่านดวงธรรมต่างๆ อีก ก็จะหลุดพ้นจากกิเฃสของกายโลกิยะทั้งหมด ก็จะเข้าพึง กายธรรม คือ ธรรมกาย เริ่มตั้งแต่ ธรรมกายโคตรภูหยาบ-โคตรภูละเอียด ซึ่งธาตุธรรมยังอ่อนอยู่ จึฝต้องเจริญภาวนาต่อไปตามแนวเดิมนี้อีก ก็จะถึง \nธรรมกายพาะโสดาหยาบ-พระโสดมละเอียด\nฌ่รมกายพระสกิทาราหยาบ-พระสกิทาคาละเอียด\nธรรมกายพระอนาคาหยาบ-พระอนาคาละเอียด\nธรรมกายพระอรหัตหยาบ-พระอรหัตละเแียด\nซึ่งข่วยให้หลุดพ้นจากสัญโญชน์ดิเลสเครื่องร้อยรัดให้ติดอยู่กับโลกเป็นชั้นๆ ฟป จากหยาบ/ปหาละเอียด\nเมื่อถึงกายพระอรหัตละเอียดแล้ว เจริญภาวนาต่อไปก็จะสามารถวิมุตติหลุดพ้นยากอาสวะ ดิเลส ตัณหา อุปาทาน เป็นการถาวร เป็นสมุจเฉทปหานได้.\nยิธีพิสดารกาว สุดกายหยาบกายละเอียด\nวิธีพิสดารกทย สุดกายหยาบกายละเอียด.\nสำหรับผู้ปฏิบัติได้ถึง 18 กายแล้ว ให้ฝึกพิสดารกายสุดกายหยาบกายละเอียดอีกต่อไป ใำ้เป็นวสี คือ ให้คล่องแคล่ว ชำนาญ เพื่อเป็นพื้สฐานสำคัญในการเจริฐวิชชาชั้นสูง และทำนืโรธดับสทุทัย (ไม่ใช่นิโรธสมาบัติ) วิธีปฏิบัติคือ\nเบื้องต้น ให้รวมใจของทุกกนยอยู่ ณ ศูนย์กลางธรรมกายอรหัตที่สุดละเอียด คือ ให้ศูนย์กลางดวงธรรม และ เห็น-จำ-คิด-รู้ (คือใจ) ของแต่ละกาย จากกายสุดหยาบ (คือกายมนุษย์) ต่อๆ ไปจยสุดละเอียด (คือ ธรรมกายอรหัตละเอียด) ซ้อนอยู่ตรงกลางของกบางซึ่งกันและกัน จมกกทยสุดหยาบถึงกายสุดละเอียด แง้วเราทำใจของเราเป็นธรรมกายอรหัตทร่สุดละเอียด คือดับหยาบไปหาละเอียดอยู่เสมอแล้ว\nใจของธรรมกายหยุดนิ่ง (เพ่ง) ลงที่ศูนย์กลมงดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์หยาบจนใสละเอียด จนหยุดนิ่งถูกส่วน ศูนย์กลางจะขยายว่างออกไป แล้วจะปรากฏกายมนุษย์ละเอียดขึ้นมาใไม่ ก็หยุดในหจุด กลางของหยะด กลางของกลางๆๆ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ละเอียดนั้นอีกต่อไป หยุดนิ่งถูกส่วน ก็จะปรากฏกายมนุษย์ละเอียแในกายมนุษย์ละเแียด ต่อฟ ไปจนสุดละะอียด หยุดนิ่ง กลางของกลางๆๆ ศูนย๋กลางดวงธรรมที่ทำวฟ้เป็นกรยมนุษย์ละเอียด ที่าุดละ้อียดนั้นต่อไป ถูกส่วนเข้า ศ๔นย์กลางดวงธรรมจะขยายว่างออกไป แล้วจะปรากฏกายทิพย์ขึ้นมาใหม่ โตใหญ่ ใสละเอียด ะป็น 2 เท่าของกายมนุษย์\nก็ให้หยุดนิ่ง (เพ่ง) ลงืี่ศูนย์กลางกลนงดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายทิพย์ต่อไปให้ใสแจ่ม ก็จะแรากฏกายทิพย์ในกายทิพย์ต่อๆ ไป จาสุดละเอียด ... แล้วก็จะปรากฏกายรูปพรหมในกายรูปพรหมต่อๆ ไปจนสุดละเอียด ก็ให้ปฏิบัติไปแบบะกียวกัน ถึง กายอรูปพรหม ในกายอีูปพรหม จนสุดละเอียด ธรรมกนยโคตรภู ใน ธรรมกายโคตรภู จนสึดละเอียด ธรรมกายพระโสดาบัน ในธรรมกายพระโสดาบัน จนสุดละเอียด ธรรมกายพระสกิทาครมี ในธรรมกายพระสกิทาคามี จนสุดละเอียด ธรรมกายพระอนาคามี ใน ธรรมกายพ่ะอนาคามี จนสุดละเอ้ยด ธรรมกายพระอรหัต ในธรรมกายพระอรหัต จนสุดละเอียด ให้วสละเอียด ทั้งดวงที้งกาย และทั้งองค์ฌาน (ปรากฏเหมือนอาสนุรองรับกายละเอียด สัณฐานกลมใสรอบตัว หนาผระมาณ 1 ฝ่ามือของแต่ละกายละเอียด จะมีประจำืุกกาย ตั้งแต่กายมนุษย์ละเอียดไปจนสุดกายละเอียด)\nนี้เรียกว่า การพิสดารกาย สุดกายหยาบ-กายละเอียด\nวิธีเจริญสมาธิ: รูปฌาน 4\nวิธีเจริญสมาธิ: รูปฌาน 4.\nผู้ที่ถึงธรรมกาย และเจริญภาวนาจนถึง 18 กายแล้ว ก็ให้รวมใจทุกกายให้อยู่ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด แล้วใจของธรรมกายพระอรหัตก็เพ่งลงไปที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ เมื่อใจหยุดได้ถูกส่วน ปรักอบด้วยองค์ 5 ได้แก่ วิตก วิจาร คือ ตรึกตรองประคองนิมิร ปีติ สุข และเอกัคคตา ก็จะเหฌนองค์ฌานปรากฏขึ้นรองรับกายมนุษย์ เหมือนดังอาสนะรองรับที่นั่งฉะนั้น มีลักษ๋ะเป็รวงกลมใส ส่วนหนาประมาณหนึ่งคิบ ขนาดกว้างเต็มหน้าตักพองาม องค์ฌานที่เห็นเกิดขึ้นนี้ไม่เฉพาะแต่กับกายมนุษย์เท่านั้น หากแต่ปรากฏขึ้นรองรับกายทุกกายจาถึงกายพรุอรหัตพร้อมกันหมด นีเเป็นปฐมฌาน\nแล้วใจของธรรมกายก็เพ่งฟปที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายทิพย์หยาบและทิพย์ละเอียดต่อไปอีก เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนละเอียดหนักเข้า จนละวิตก วิจาร ได้ ิงค์ฌานเดิมก็จะบ่างหายไป แล้วปรากฏองค์ฌานใหม่เกิดขึ้นมาแทนที่อีก ใสละเอียดกว่าเดิมทั้งฌานและกาย นี้เป็น ทุติยฌาน\nใขของธรรมกายก็เพ่งลงำปที่กลางดวงธรรมท้่ทำให้เป็นกายรูปพาหมหยาบแงะรูปพรหมละเอียดอีก เมื่อใจหยุดถูกส่วน และละเอียดหนักเข้า จนปีติหมดไป อวค์ฌานเดิมกํจะว่างหายไป แล้วปรากฏองึ์ฌานเกิดขึ้นมาใหม่ ใสละเอียดกบ่าเก่า ทั้งโานและกาย นี้เป็น ตติยฌาน\nใจขเงธรรมกายก็เพ่งลงไปที่กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายอรูปพรหมหยาบและอรูปพรหมละเอียดอีกต่อไป เมื่อใจหยุดนิ่งถูกส่วน ละเอียดหนักเข้า จนสุขหายไป คงเหลือแต่เอกัคคตาจิต คือความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง นิ่งเป็นอุเบกขาอยู่ องค์ฌานเดิมก็จะว่างหายไป และปรากฏองค์ฌานใหใ่อกิดขึ้นแทนที่ ใสละเอียดยิ่งกว่าเดิม ทั้งฌานและกาย นี้เป็น จตุตถฌาน\nเมื่อเข้าใจวิธีเข้าฌานสมาบัติตั้งแต่เบื้องต้น ปฐมฌาน ไปจนถึงจตุตถฌาน โดยอนุโลม (ตั้งแต่ต้นไปหาปลาย) แล้ว ก็จงฝึกหัดถอยกลับจาก จตุตถฌาน ลงมาถึง ปฐมฌาน เป็น ปฏิโลม (จากปลายมาหาต้น) ใหืเกิดความชำนาญ (วสี) ทั้งในการเข้าการออก การทรงฌานและการพิจารณาอารมณ์ฌ่นเหล่านี้ให้แม่นยำ\nวิธีเจริญวิชชา 3\nอาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า: วิชชา 3\nวิธีเจริญวิบชา 3.\nอสการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า: วิชชา 3.\nเมื่อสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ ดภสกฬมเคทายวัน เขตนครสุงสุมารคิระ ในภัคคชนบท ได้รับอาราธนาของโพธิราชกุมารไปรับภัตตาหารและเวฝย ณ โกกนุทปราสาทของโกธิราชกุมาร ครั้นเสวยเสร็จแลิว สมเด็จพระผู้มีพระภาคได้ตรัสสนทนาหับโพธิราชกุมารว่า\nทรงบรรลุฌาน 4\n\"ครั้นเราบริโภคอาหารหยาบ มีกำลังขึ้นแล้ว แ็สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย บรรลึปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่.\nบรรลุทุติยฌาร มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขผู้ได้ฌานเกิดแต่สมาธิอยูท.\nมีอึเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามปาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลถตติยฌาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ตติยฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบพขา มีสติอยู่เก็นสุข.\nบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.\"\nทรงบรรลุวิชชา (ญาณ) 3\n\"เคานั้นเมื่อจิรเป็นสมาธิ บริวุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ได้โน้มน้อมจ้ตไปเพื่อ \"ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ\" เรานั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง ฯลฯ เรานั้นย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมมก พร้ิใทั้งอาการ พร้อมทั้งอุทเทส ด้วยประการฉะนี้. ราชกุมาร นี้เป็นวิชชาที่ 1 ที่ เราได้บรรลุแล้ว ใยปฐมยามแห่งราตรค. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่อาตมภาพผู้ไม่ประมาท าัความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่.\nเรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาหอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ได้โน้มน้อมจิตไปเพื่อ \"จุตูปปาตญาษ\" รู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหฃาย เรานั้นย่อมเหฺนหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพพจักษุอันบริสุทธิ์ ช่วงจักษุของมนุษย์ ด้วยประการฉะนี้. ราชกุมาร นึ้เป็นวิชชาที่ 2 ที่เราได้บรรลุแล้ว ในมัชฌิมยามแห่งราต่ี. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแลิว แกืเราผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่วไปแลเวอยู่.\nเราตั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนร้ ได้โน้มน้อมจิตไปเพื่อ \"แาสวักขยญาณ\" ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทึกข์ นี้ทุกขสใุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ เหล่านี้อาสวสมุทัย เหล่านี้อาสวนิโรธ เหล่านี้อายวนิฮรธคามินีปฏิปทา. เมื่อเรานั้นรู้เห็นอย่างาี้ จิตก็หลุดพ้นแล้ว แม้จาดกามาสวะ แม้จาแภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว ดรหมจรรย์อย฿่จบแล้ว กิจทค่ควรทำ ทำเมร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีซ ราชกุมาร นีเเป็นวิชชาที่ 3 ที่อาตมภาพได้บรรลุแล้ว ในปัจฉิมยามแห่งราตรี. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่เราผ๔้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่.\nราชกุมาร เรานั้นได้มีความคิดเห็นว่า ธรรมที่เราบรรลุแล้วนี้ เป็นธรรมลึก ยากที่ตะเห็นได้ สัตว์อื่นจะตรัสรู้ตามได้ยาก เปํนธรรมสงบระงับ ประณีต อันบัณฑิตจะพึงรู้ดจ้ง.\nวิธีเจริญวิชชา 3 ถึงมรตคผลนิพพาน\nวิธีเจริญวิชชา 3 ถึงมรรคผลนิพพาน.\nเมื่อเจริญฌานสมาบัติโดยอนึโลมและปฏิโลม ให้ทุกกาย สุดกายหยาบกายละเอียด ถึงธรรมกายใสบริสุทธิ์ดีแล้ว\nให้รวมใจของทุกกายให้หยุดอยู่ ณ ศูนย์กลางกายพตะอรหัตองค์ที่ละเอียะที่สุด รวมดวงเห็น ดวงจำ ดวงคิด และดวงรู้ ให้หยุดในหยุดนิ่ลลงไปที่กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม ณ ศูนย์กลางกายนั้นแหละ มีที่หมายตรงต้นสายกำเนิดธาตุธรรมเดิมนั้นเป็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ก็ให้หยุดในหยุดกลางของหยุด แลเวอธิษฐานให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของตนเองถอยหฃังสืบต่อไปถึงเมื่อสีปะาห์ที่แล้ว, ้ดือนที่แล้ว, ปีที่แล้ว, ลงไปจนถึงตอนที่เป็นเด็ก ให้รวมใจ คือความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ ให้หยุดในหยุดลงไปที่กลางกำเนิอธาตุธรรมเดิม ของปายเดิมที่เห็นครั้งสุดท้ายต่อไปเรื่อยๆ จากที่เป็นเด็ก ก็ไปถึงสภาพที่เป็นเด็กแดงๆ, แล้วก็ถอยหลังสืบเข้าไปตามสายธาตุธรรมเกิม ถคงที่เป๋นเด็กทารกในครรภ์ของมารดา, แล้วก็ไปถึงในขณะที่ตั้งปฏิสนธิวิญญาณ เป็นกบลรูป, ุอยสืบเข้าไปถึงในขณะที่มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ด้วยกายสนุษย์ละเอียดหรือกายทิพย์\nแล้วก่อนที่จะมาปฏิสนธิก็เป็นกายละเอียดมาตกศ๔นย์ พักอยู่ ณ ศูนย์กลางพายบิดาชั่วคราว\nอธิษฐานให้เห็นสภาพของตนเองตามสายธาตุธรรม สืบถอยหลังไปถึงตอนที่จุติคือเคลื่อนตากสังขารร่างกายเดิมของชาติที่แล้ว นี้นับเป็นชาติหนึ่ง, เมื่อเห็นชัดดีแล้ว ก็รวมเห็นจำคิดรู้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม อธิษฐานให้เห็นอัตตภาพและควทมเป็นไปของจนเองให้ชัดว่ามีสภาพความเป็นมาอย่างไร ในชาตินั้นตนเองเกิดเป็นอะไร มีเทือกเถาเหล่ากออย้างไร มีทุกข์มีสุข มั่งทีหรือยากจนขัดสนกันดารอย่างไร เพราะผลบุญหรือผลบาปอะไร พยายามน้อมใจอันประกอบด้วยความเห็น ความจไ ความคิด ควสทรู้ ให้หยุดนิ่ง ในกลางของกลางๆๆ ไปเรื่อย ก็จะเห็นไดืชัดเจนและแม่นยำ แล้วก็ดำเนินไปในแบบเดิม อธิษฐานดูอัตตภาพและสภาพความเป็นไปของตนเอง ถอยหลังสืบเข้าไผทีละชาติๆ เมื่อกระทำชำนาญเข้าก็จะสามารถระลึกชาติได้เร็วขึ้น แต่ขถต้องหยุดในหยุดลงไปที่ตรงกลางกำเนิดธาตุธรรมะดิม ตามสายธาตุธรรมเดิม ถอยหลังสืบต่อเย้าไปเสมอ จึงจะแม่นยำ มิฉะนั้นการรู้เห็นอาจจะเล่ห์คือผิดพลาดได้ เมื่อจะหยุดพัก ก็ให้อธิ๋ฐานกลับตามสายธาตุธรรม้ดิมจนทาถึงชีวิตปัจจุบันอีกเช่นกัน\nนี้เป็น วิชชาที่ 1 ปุพเพนิวาสานุสสคิญาณ\nต้อไป ให้ฝึกระลึกให้เห็นอัตตภาพและสภาพความัป็นๆปของตนเองต่อไปในอนาคต ก็ปฏิบัติในทำนอวดดียวกัย คือรวมใจอันประกอบด้วยความเห็น ความจำ ความคิด และควาารู้ ให้หยุดเป็นจุดเดียวกัน ฯ กำเนิดธาตุธรรมเดิมของกายปัจจุบัน ตั้งจิตอธิษฐานให้เห็จความเป็นไปหรือสภาพของตนเองในวันรุ่งขึ้น, ในสัปดาห์หน้า, ในเดือนหน้า, ในปีหน้า, ในห้าปีข้างหน้า, ในส้บปีข้างหน้า, ต่อๆ ฟปจนกระทั่งถึงวันที่ตนเองจะกระทำกาลกิริยาคือตาย ดูความเป็นไปสืบต่อไปข้างหน้าให้เห็นสภาพความเป็นไปในชีวิตของตนเอฝ พร้อมด้วยอธิษฐานให้เห็นวิบากกรรมว่าเป็นด้วยผลบุญกุศลหรือผลบาปอกุษลกรรมใด ที่จะเป็นผลให้ไดัีับความสุขหรือความทุกขฺเดือดร้อนในชีวิตแต่ละช่วฝที่ได้พบเห็นนั้น เป็นตอนๆ ไป ขนกระทั่งจุติละจากโลกนี้ไป\nในกรณีที่ประสงค์จะระลึกชาติของผู้อื่นก็ดี หรือจะดูปัจจุบันแฃพอนาคตของผู้อื่นก็ดร ก็ปฏิบีติในทำาองเดียวกัน ีือเพียงแต่น้อมเอาธาตุธรรมของผู้ที่เราประสงค์จะทราบอดีต ปัจขุบัน หรืออนาคตของผู้นั้น มาตัเงที่ศูนย์กลางกายของเราเอง แล้วรวมเห็นจำคิดรู้ของเราและของเขาให้หยุดรวมกันเป็นจุดเดียวตรงฯูตย์กลางกำเนเดธาตุธรรมเดิใของเขา แล้วอธิษฐานระลึกให้เห็นอดีร ปัจจุบัน หรืออนาคตของผู้นั้นไปตามสายูาตุธรรมเดิมของเขา ก็จะสามารถรู้เห็นได้เช่นเดียวกัน\nเมื่อประสงค์จะาราบว่าสัตว์หรือมนุษย์ที่ละหรืดตายจากโลกนี้ไปแล้ว จะไปบังเกิดในภพภูมิใด ด้วยผลบุญกะศลหรือผลบาปอกุศลใด ก็ให้ปฏิบัติไปตามวิธีที่ได้เคยแนะนำไปแล้ว คือ\nรวมใจของทุกกายให้หยุดนิ่งอยู่ตรงศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด หยุดตรึกนิ่ง ขย่ยข่ายของญาณพระธรรมกายพระอรหัตใหืโตจนเต็มภพ 3 แล้วจึงน้อมเอาภพ 3 เข้ามาเป็นกสิณ คือเอามาตั้งไว้ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตนั้นแหละ อาศัย \"ตา\" หรือ \"ญาณ\" พระธรรมกายตรวจหาดูจนตลอดภพ 3 ว่าผู้ที่ตายไปแล้วได้ไปบังเกิดในภพภูมิใด ก็จะวามารถเห็น/ดื\nถ้าในภพ 3 ยังไม่เห็น ก็ให้ตรวจดูไปถึงอายตนะโลกันต์ ฬึ่งอยู่นอกภพ 3 ออกไป ในขณะมี่ตรวจดูคติใหม่ของปู้ตายไปตลอดภพนี้ ให้น้อมใจเข้าสู่กลางของกลางๆๆ อยู่เสมอ เพืรอให้ธาตุธรรมใสสะอาดและใมาธิตั้งมั่นดี การรู้เห็นจึงจะแม่นยำ เมื่อพบแล้ว ก็ไต่ถามถึงบุพพกรรมที่ทำให้เขามาเสวยวิบากกรรมคิอผฃบุญกุศลหรือผลบาปอกุศลในภพใหม่นี้ ก็จะทราบได้ นี่หมายเฉพาะสัตว์หรือมนุษย์ที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตตผล ก็จะเห็นเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพ 3 หรืออายตนะโลกันต์นี้\nแต่ถ้าเป็นพระอรหันต๋ที่ดับขันธ์เข้าปรินิพพานด้วย \"อนึปาทิเสสนิพพานธาตุ\" แล้ว ก็จะพบธรรมกายของท่านประทับอยู่ในนิพพาน\nนี้เป็นการน้อมเข้าสู่ \"จุตูปปาตญาณ\" อย่างง่าย หากกระทำชำนาญแล้วก็จะสามารถรู้เไ็นได้เร็ว\nยังมีวิธีที่ละเอียดพิสดารต่อไปอีก ซึ่งสามารถให้รู้เห็นมเ้งกายในกาย เวทนาในเวทนา ขิตในจิต และธรรมในธรรม เป็นทั้งภายในและภายนอก\nวิธีปฏิบัติ ก็ให้น้อมเอาธาตุธรรมของผู้ที่ตายไปแล้วมาตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกาย แล้วรวมเห็น จำ คิด รู้, ธาตุเห็น ธาตุจำ ธาตุคิด ธาตุรู้, ที่ตั้ง/เห็น จำ คิด รู้ ของเราให้ตรงกันกับของเขา เป็นจุดเดียวกัน ตรงศูนบ์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม แล้วอธิษ๙านให้เห็นจุติและปฏิสนธิของเขาเป็นขั้นๆ ไป นับตั้งแตทขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เร้่มจะดับ หรือในขณะที่จิตกำลังเข้าสู่ \"มรณาสันนวิถี\"I นั้น ก็จะเห็นดวงธรรมที่ทำให้ัป็รกายของสัตว์หรือมนุษย์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของอากาศโลก ขันธโลก และสัตว์โลก ได้แก่ ะห็น จำ คิด รู้ ของสัตว์นั้น จะดับคือตกศูนย์ลงไปยังศูนย์กลางกายฐานที่ 6 ตรงระดับสะดือพอดี แล้วดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายละเอียดหรือกายทิพย์ ซึ่งจะทำหน้าที่สืบต่อไปใหม่นั้น จะผุดลอยขึ้นมายังศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เหนือระดับสะดือสองนิ้วมือ แล้วกายละเอียดหรือกายทิพยฺนั้นก็จะผ่านไปยังศธนย์ต่างๆ กล่าวคือ ฐานที่ 6, แล้วก็ฐานที่ 5 ตรงปากช่องลำคอ, ฐานที่ 4 ตรงเพดานปาก, ฐานที่ 3 ตนงกลางกั๊กศีรษะ, ฐานที่ 2 ตรงหัวตาด้านใน (หญิงทางด้านซ้าย ชายทางดีานขวา), แล้วก็ออกไปทางฐานที่ 1 คือช่อบจมูก (หญิงทางดเานซ้าย ชายทางด้านขวา) ดพื่อไปเกิดในภพภูมิใหม่ตทมผลบุญหรือผลบาปที่กำลังให้ผลอยู่ในขณะนั้นต่อไป\nกายที่ก_ลังไปแสวงหาที่เกิดรี้เรียกว่า \"กายสัมภเวสี\" ส่วนกายที่ได้ปฏิสนธิหรือเกิดแล้ว เรียกว่า \"กาขทิพย์\"\nมีข้อสังเกตว่า ในขณะที่กาย ใจ จิต วิญญาณ หรือขันธ์ทั้ง 5 ของสัตว์หรือมนุษย์กำลังจะแตกดับหรือตายนั้น ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกาย อันเป็นที่ตั้งของดวฝเห็น ดวงจำ ดวงคเด และดวงรู้ ของกายเดิมจะดับ คือตกศูนย์ลงไปยังศูนย์กลางกายฐานที่ 6 ตรงระดับสะดือพเดี นั้นเอง ที่สัตว์หรือมนุษย์ซึ่งกำลังใกล้จะตายนั้นมีอาการสยิ้วหน้า บิดตัวหรือไขว่คว้าเมื่อเวลาใกล้จะตาย เพราะแรงดึงดูดขอวอายตนะภพใหม่ที่จะทำให้ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายละเอียดหรือกายทิพย์ แยกขาดออกจากดวงธรรมที่ทำให้เป็นกาย (เนื้อ) ขิงมนุษย์หรือสัตว์ผู้ที่กำลังจะตายนั้นเอง\nข้อสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือ ญาณพระธรรมกายจะช่วยให้เก็นดวงธรรมที่ทำใำ้เป็นมนุษย์หรือสัตว์นั้น และจิตของสัตว์นั้นเอง \"ดับ\" แล้วก็ \"เกิด\" ใหม่อีก เป็นช่วงๆ ตามผลบุญกุศลหรือบาปอกุศล กล่าวคือ\nถ้าขณะใกล้ตาบ คือในระหว่างที่จิตเขืาสู่มรณาสัยนวิถันั้น จิตเป็นกุศล แต่บุญบารมียังไม่พอที่จะหลุดพ้นจากกิเลสได้โดยวิ้นเชิง อายตนะของสุคนืภพ ได้แก่ โงกมนะษย์ เทวโลก หรือพรหมโลก ห็จะดึงดูดกายละเอียดหนือกายทิพย์นั้นไปบังเำิดในภพหรือภูมิด้วยแรงกุศลกรรม ตามกำลังแห่งบุญบารมีของผู้นั้นต่อไป กิริยาที่กาย ใจ จิต และวิญญาณดับเกิดๆๆ เพื่อเปฃี่ยนจากภพหรือภูมิหนึ่ง ไปสู่ภพหรือภูมิที่สูงกว่าาีละขั้นๆ ไปจนกว่าจะถึงภูมิที่พอดีกับกำลังบุญกุศลที่ให้ผลอยู่นั้น อุปมทดั่งงูลอกคราบ หรืิดั่งบุคคลถอดแบบฟอร์มเครื่ิงแต่งตัวจากฟอร์มหนึ่งไปสู้ฟอร์มที่สวย ละเอียด ประณีตกว่าฉะนั้น\nแต่ถ้าจิตในขณะใกล้จะตาย เป็นอกุฒล หรือสิ้นวาสนาบารมี อายตนะทุคคติภพ ได้แก่ อายตนะภพของเปรต, อสุรกาย, สัตว์นรก, หรือสัตว์เดรัจฉาน ก็จะดีงดูดดวงธรรมและกายละเอียดของผู้นั้นให้ไปบังเกิดในภพหรือภูมินั้นด้วยแรงอกุศฃกรรมที่ได้กระทำไว้ ตามส่วนแห่งอำนาจของผลบาปอกุศลที่กำลังให้ผลต่อไป\nญาณหยั่งรู้จุติปฏิสนธิของสัตว?นี้ เรียกว่า \"จุตูปปาตญาณ\" ให้ฝึกฝนปฏิบัติให้ชำนาญ ในระยะเร้่มแคกจะต้องกระทำเป็นขั้นตอนตามสายธาตุธรรมเดิมเสมอไป แม้จะติดขัดบ้างก็จะเแ็นแต่เพียงในระยะต้นๆ หรือที่จิตยังไม่ละเอียดดีพอ ต่อไปก็จะค่อยๆ ชำนาญไปเอง\nแต่มีหลักสำคัญอยู่ใ่า เมื่อรู้เห็นแล้วก็อย่าคะนองใจว่าตนเก่งกล้าแล้ว พยากรณ์ให้แก่ผู้อื่นฟัง หรือโอ้อวดในคุณธรรมของตน อันจะเป็นืางเสื่อมอย่างยิ่ง\nอนึ่ง การน้อมเข้าสู่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่ิดูขันฑ์ของตนเองและของผู้อื่นฝนชาติภพก่อนๆ ก็ดี หรือการน้อมเข้าสู่จุตูปปาตญา๋เพื่อดูยุติและปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลายก็ดี หากได้ยกวิปัสสนาญนณขึ้นพิจารณาทบไปทวนมาด้วยแล้ว ย่อมมีลักษ๊ะที่เป็นสติปัฏฐาน 4 ไปในตัวเสร็จ กล่าวคือ\nการพิจารณากายในกทย เวทยาในเวทนา จิตในจิต และ ธรรมในธรรม เป็น_ายในบ้าง เก็นภายนอกบ้าง, เป็นทั้งภายในและภายนอกบ้าง ดังที่กล่าวมาแล้งเนืองๆ อยู่ ก็จะเห็นชัดในสามัญญลักษณะ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาของสังขารธรรมทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่บอย่างชัดแจ้ง จนเห็นเป็นธรรมดาในความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปของสังขารของสัตว์ทั้งหลาย ช่วยให้เกิดธรรมสังเวชสลดใจในการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลายที่ยังติดอยู่ในสังสารจักรและไตรวัฏฏะ คือ กิเลสวัฏฏะ กรรมวัฏฏะ และวิปากวัฏฏะ อยู่ในภพ 3 นี้ไม่มีที่สิ้นสุด ไปนรกบ้าง สวรรค์ง้าง มนุษย์บ้าง สัตว์เดรัจฉานบ้าง เป็ตสุขบ้าง ทุกข์บ้าง เปลี่ยนแปลงไปต่างๆ น่าสะพรึงกลัวแชะน่าเบื่อหน่ายยิ่งนัก ต้องทิ้งสมบัติพัสถาน บุตร ภรรยา และบิดามารดาแต่เก่าก่อน หมุนเวียนเปงี่ยนไปตาทเคริ่องล่อเครื่องหลง ดุจดังว่าความฝัน เอาเป็นของเที่ยงแท้แน่นอนไม่ไะ้ เป็นอย่างนี้หมดทั้งตัวเราเองและสัตว์อื่น ้ไมือนกันหมด ทะกรูปทุกนาม แล้วให้ยกวิปัสสนาญาณทั้ง 10 ประการ ขึ้นพิจารณา ทบไปทวนมา ทับทวีให้มากเข้า ก็จะเห็นภัยในวัฏฏสงสาร บังเกิดธรรมสังเวชสลดจิตคิดเบื่อหน่ายในสังขารและนามรูป เใื่อปัญญารู้แจ้งสว่างชัดขึ้น ทำลายอวิขชาเป็นมูลรากฝ่ายเก้ดดังนี้ ตัณหาและทิฏฐิก็เบาบางหมดไปตามระดับคุณธรรมที่ปฏิบัติได้ สามารถปล่อยวางอุปาทานในขันธ์ 5 ได้ยิ่งขึ้น สิ้นรัป สิ้นใคร่ สิ้นอาลัยยเนดีในการครองขันธ์และทำนุบำรุงขันธ์เกินความจำเป็น เมื่อรู้เห็นเช่นนี้ แม้อยากจุไปเสียให้พ้นจากสังขารนี้ ก็ยังไม่อาจจะกระทำได้ เหมือนดังนกที่ติดอยู่ในกรง หรือปลาที่ติดเบ็ด จึงได้แต่วางเฉย เพ้กเฉยในสังขาร เป็น สังขารุเปกจาญาณ\nแล้วจึงยกจิตนั้นขึ้นให้บริสุทธิ์ ใสสะอาดจากเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย โดยน้เม/ปเพื่อ อาสวักขยญาณ พิจารณาปฏิจจสมุปบาทธรรม อันมีนัยอยู่ในอริยสัจ ฝห้เห็นทุกขฺ เหตุแห่งทุกข์ สพาวะที่ทุกข์ดับเพราะเหตุดับ และหนทางปฏิบัติิพื่อความพ้นทุกข์ เพื่อกระทำอาสวะให้สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ เป็นพระอรหันตชีณาสพผู้มีอาสวะสิ้นแล้วต่อไป ด้วยการนำเอาญาณทั้ง 2 ในเบื้องต้น คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และ จุตูปปาตญาณ นั้นมาเป็นอุปการะให้สิ้นดัวนี้\nเมื่อธรรมกายพระโสดาปัตติมรรคปรากฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องต่ำ 3 ประการ คือ สักกายทิฎฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาสได้แล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นธรรมกายพระโสดาปัตติผลบังเกิดขึ้นเต็มส่วน ขนาดหน้าตัก ความสูงและเส้นผ่าศูนย์กลางดวงธรรม 5 วาเต็ม ขาว ใส บริสุทธิ์ มีรัศมีปรากฏ เห็นได้ชัดเจนตลอดเวลา และก็จะมีญาณหยั่งรู้ถึงการบรรลุพระโสดากัตติผลนั้น\nเมื่อธรรมกายพระสกิทาคามิมรรคปราหฏขึ้นละกิเลสจนเหลือโลภะ โทสะ และโมหะ ที่เบาบางลงมากแล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นธรรมกายพีะสกิทาคามิผล มีขนาด 10 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิ่งขึ้นไปอีก จนผู้ปฏิบัติธรรมนั้นเห็นชัดเจนอยู่ตลเดเวลา ก็จะมึญาณหยั่งรู้ถึงการบรรลุพรดสกิทาคามิผลนั้น\nเมื่อฌรรมก่ยพระอนาคามิมรรคปราดฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องต่ำได้อีก 2 คิอ ปฏิฆะและกามราคะแล้ว จะตกศูนย์ และจะปรากฏธรรมกายพระอนาคามิผลขึ้น เต็มส่วน 15 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ มีรัศมคปรากฏยิ่งขึ้นไปอีก จนเห็นธรรมกายพระอนาคามิผลของตนเองชึดเจนอย฿่ตลอดเวลา ก็จะมีญาณหยั่งรู้การบรรลุพระอนาคามิผลนั้น\nเมื่อธรรมกายพระอรหัตตมรรคปรากฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องสูงอีก 5 ประการ ได้แก่ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ และ อวิชชา ได้แล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นูรรมกายพระอรหัตตผล ขยายโตเต็มส่วน มีขจาดหน้าตัก ความสูง และเส้นผ่าศูาย์กลางดวงธรรม 20 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิืงนัก เห็นธรรมกายพระอรหัตตผลชัดเจนอยู่ตลอดเวลา แล้วก็จะมีญาณหยั่ลรู้การบรรลุพระอรหัตตผลนั้น\nหนังสือเ่านเพิ่มเติม\n\nพระมงคลเทพมุนี, (สด จนฺมสโร). คู่มือสมภาร. กรุงเทพฯ. วัดปากน้ำภทษี้จริญ, ๒ู๙๒.",
"role": "user"
},
{
"content": "วิชชาธรรมกาย เป็นวิชชาที่พระเดชพระคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อวัดปากน้ำ ได้ค้นพบ วิธีเจริญสมถวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 ให้ถึงธรรมกายมรรคผลนิพพานตามรอยบาทพระพุทธองค์ ซึ่งไม่ปรากฏว่ามีการปฏิบัติอย่างชัดเจนภายหลังจากพุทธปรินิพพานประมาณ 500 ปี \nวิชชาธรรมกายเป็นวิธีปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 มีวิธีปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนชัดเจน ให้ถึงธรรมกาย ให้เกิดอภิญญา และวิชชา คือความรู้ความสามารถพิเศษ ได้แก่ วิชชา 3 วิชชา 8 (รวมอภิญญา 6) ชื่อว่า \"วิชชาธรรมกาย\" ให้เข้าถึงและรู้เห็นกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม สามารถให้ทั้งเห็นและทั้งรู้สภาวธรรมทั้งสังขารและวิสังขารคือพระนิพพาน และเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐานคู่กัน เป็นพื้นฐานสำคัญแก่การเจริญวิปัสสนาปัญญาถึงโลกุตตรปัญญา ได้อย่างดี จึงเป็นวิธีปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดวิธีหนึ่ง\nวิชชาธรรมกายที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำสั่งสอนศิษยานุศิษย์จนตลอดชีวิตของท่าน และได้ถ่ายทอดสืบต่อ ๆ กันมาจนถึงปัจจุบัน\nหลักปฏิบัติสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐาน\nขั้นสมถกัมมัฏฐาน\nหลักปฏิบัติสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐาน.\nขั้นสมถกัมมัฏฐาน.\nมีหลักวิธีปฏิบัติเบื้องต้นที่สำคัญ 3 ประการ คือ\nกำหนด \"ฐานที่ตั้งของใจ\" ไว้ ณ ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อันเป็นที่ตั้งกำเนิดธาตุธรรมเดิม และเป็นที่ตั้งกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม\nศูนย์กลางกายระดับสะดือเป็นที่สุด และเป็นต้นทางลมหายใจ (เข้า-ออก)\nกำหนด \"บริกรรมนิมิต\" คือ นึกให้เห็นด้วยใจเป็นเครื่องหมายดวงแก้วกลมใส ให้ใจรวมอยู่ ณ ศูนย์กลางดวงแก้วกลมใสนั้น ตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ (ตามข้อ 1)\nการเพ่งดวงแก้วกลมใส มีลักษณะเป็นการเพ่งแสงสว่าง (อาโลกกสิณ) กล่าวคือ ถ้าพระโยคาวจรเพ่งแสงสว่างเป็นอารมณ์ ถึงได้อุคคหนิมิต ก็จะเห็นเป็นดวงใสสว่าง หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านจึงใช้ดวงแก้วกลมใส (แทนดวงใสสว่าง) เป็นบริกรรมนิมิต\nกำหนด \"บริกรรมภาวนา\" คือ ท่องในใจด้วยองค์บริกรรมภาวนาว่า \"สัมมาอรหังๆๆ\" ที่กลางของกลางจุดเล็กใส กลางดวงแก้วกลมใส ตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือนั้น เพื่อประคองใจให้หยุดนิ่งตรงนั้น\nคำว่า \"สัมมา\" เป็นคำย่อจากคำว่า \"สัมมาสัมพุทโธ\" แปลว่า พระผู้ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ ซึ่งหมายถึง พระปัญญาคุณของพระพุทธเจ้า ส่วนคำว่า \"อรหัง\" แปลว่า พระผู้ไกลจากกิเลสและบาปธรรมทั้งปวง ซึ่งหมายถึง พระวิสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า เมื่อบริกรรมภาวนาว่า \"สัมมาอรหังๆๆ\" นึกน้อมพระพุทธคุณ คือ พระปัญญาคุณ และ พระวิสุทธิคุณของพระพุทธเจ้ามาสู่ใจเราด้วย เป็นพุทธานุสสติ\nถ้าผู้ปฏิบัติภาวนากำหนดบริกรรมนิมิต คือ นึกเห็นเครื่องหมายดวงแก้วกลมใสด้วยใจได้ยาก ก็ให้สังเกตลมหายใจเข้า-ออก ที่ผ่านและกระทบดวงแก้ว ตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อยู่ตรงนั้น (เป็นอานาปานสติอีกโสดหนึ่ง) โดยไม่ต้องตามลมหายใจเข้า-ออก ก็จะช่วยให้เห็นดวงนิมิตได้ง่ายเข้า เมื่อเห็นดวงใสปรากฏขึ้นแล้ว ก็ปล่อยความสนใจในลม\nเมื่อรวมใจหยุดนิ่งตรงศูนย์กลางกายเหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ อันเป็นที่ตั้งกำเนิดธาตุธรรมเดิม ก็จะเข้าถึง และได้รู้เห็นกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม จนถึงธรรมกาย อันเป็นกายที่พ้นโลก เป็นธาตุธรรมที่บริสุทธิ์ เป็นอุปการะสำคัญต่อการเจริญวิปัสสนาให้เกิดปัญญาจากการที่ได้เห็นแจ้งและรู้แจ้ง\nในสภาวะของสังขาร คือ ธรรมอันไปในภูมิ 3 ทั้งสิ้น และธรรมที่เป็นไปในภูมิที่ 4 เฉพาะที่เป็นสังขตธรรม ตามที่เป็นจริง\nในสภาวะของวิสังขาร คือ พระนิพพานธาตุโดยปรมัตถ์ อันเป็นคุณธรรมภายในของพระอริยเจ้า ทั้ง สภาวะนิพพาน ผู้ทรงสภาวะ และ อายตนะนิพพาน ตามที่เป็นจริง และ\nในอริยสัจ 4 อันเป็นไปในญาณ 3 คือ สัจจญาณ กิจจญาณ และ กตญาณ มีรอบ 12\nขั้นอนุวิปัสสนา\nขั้นอนุวิปัสสนา.\nเมื่อผู้ปฏิบัติภาวนาได้ถึงธรรมกายแล้ว ย่อมสามารถเจริญภาวนาทั้งสมถะและวิปัสสนา ให้เกิดอภิญญา ความรู้ความสามารถพิเศษ และวิชชา ได้แก่ วิชชา 3 วิชชา 8 (รวมอภิญญา 6) จึงชื่อว่า \"วิชชาธรรมกาย\" ให้เกิดและเจริญความรู้ความสามารถพิเศษ ให้สามารถพิจารณาเห็นกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม ตามแนวสติปัฏฐาน 4 ให้เจริญ \"วิปัสสนาปัญญา\" เห็นแจ้งรู้แจ้งสภาวะของสังขาร อันประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่ง (สังขตธรรม) ว่ามีสามัญญลักษณะที่เป็น อนิจฺจํ ทุกฺขํ และอนตฺตา อย่างไร อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการเจริญโลกุตตรวิปัสสนา ให้เห็นแจ้งในอริยสัจ 4 เป็น \"โลกุตตรปัญญา\" ต่อไป\nกล่าวคือ เมื่อผู้ปฏิบัติภาวนาได้ถึงธรรมกายแล้ว\nพึงฝึกเจริญฌานสมาบัติให้เป็นวสี แล้วย่อมเกิดอภิญญา มีทิพพจักษุ ทิพพโสต เป็นต้น ตามระดับภูมิธรรมที่ปฏิบัติได้ (การเริ่มเจริญสมถภาวนาโดยการกำหนดบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้วกลมใสนั้น มีลักษณะเป็นการเพ่งกสิณแสงสว่าง ชื่อว่า \"อาโลกกสิณ\" อันเป็นกสิณกลาง และมีผลให้เกิดอภิญญาได้ง่าย)\nสามารถน้อมไปเพื่อ \"อตีตังสญาณ\" เห็นอัตตภาพของตนและสัตว์อื่นในภพชาติ ก่อนๆ น้อมไปเพื่อ \"อนาคตังสญาณ\" เห็นจุติปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลายที่เป็นไปตามกรรม และน้อมไปเพื่อ \"ปัจจุปปันนังสญาณ\" เห็นสัตว์โลกในทุคคติภูมิ ได้แก่ ภูมิของเปรต สัตว์นรก อสุรกาย และในสุคติภูมิ ได้แก่ เทวโลก และพรหมโลก ตามที่เป็นจริง ตามพระพุทธดำรัสได้\nให้สามารถรู้เห็นสภาวะของสังขาร ได้แก่ เบญจขันธ์ของสัตว์โลกทั้งหลาย อันปัจจัยปรุงแต่งด้วย ปุญญาภิสังขาร คือความปรุงแต่งด้วยบุญคือกุศลกรรม อปุญญาภิสังขาร คือความปรุงแต่งด้วยบาปคืออกุศลกรรม และ อเนญชาภิสังขาร คือ ความปรุงแต่งที่ไม่หวั่นไหว (ด้วยรูปฌานที่ 4 ถึงอรูปฌานทั้ง 4)\nได้เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์โลกในสังสารจักร อันเป็นไปตามกรรม โดยวัฏฏะ 3 คือ กิเลสวัฏ กัมมวัฏ และวิปากวัฏ และ\nให้สามารถเจริญปัญญารู้แจ้งในสภาวะของสังขารธรรม คือธรรมชาติที่ประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่ง (สังขตธรรม) กล่าวคือ ธรรมที่เป็นไปในภูมิ 3 ทั้งสิ้น ว่ามีสามัญญลักษณะที่เป็น อนิจฺจํ ทุกขํ และ อนตฺตา อย่างไร อย่างละเอียด และกว้างขวาง\nให้เจริญวิปัสสนาญาณ รวบยอดผ่านถึงโคตรภูญาณของธรรมกายได้อย่างรวดเร็ว และเป็นบาทฐานให้เจริญโลกุตตรวิปัสสนาได้เป็นอย่างดี\nขั้นโลกุตตรวิปัสสนา\nขั้นโลกุตตรวิปัสสนา.\nเมื่อพระโยคาวจรเจริญอนุปัสสนา ตามแนวสติปัฏฐาน 4 คือ มีสติพิจารณาเห็นกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม ทั้ง ณ ภายใน และ ณ ภายนอก เห็นแจ้งรู้แจ้งในสามัญญลักษณะของสังขารธรรมทั้งหลายอยู่แล้วนั้น\nธรรมกายย่อมเจริญฌานสมาบัติพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือมีสติพิจารณาเห็นอริยสัจ 4 ของกายในภพ 3 แล้วทำนิโรธ (ไม่ใช่นิโรธสมาบัติ) ดับสมุทัย ปหานอกุศลจิตของกายในภพ 3 โดยวิธีดับหยาบไปหาละเอียด ผ่านศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม อันเป็นที่ตั้งของธาตุธรรม เห็น-จำ-คิด-รู้ คือ \"ใจ\" อันกิเลส อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ยึดครองอยู่ ปหานอกุศลจิต ชำระธาตุธรรม เห็น-จำ-คิด-รู้ คือ \"ใจ\" ของกายในกาย (รวมเวทนา จิต และธรรม) จากกายสุดหยาบถึงสุดละเอียด จนเป็นแต่ธาตุล้วนธรรมล้วนของธรรมกายที่บริสุทธิ์สุดละเอียด ถึงปล่อยวางอุปาทานในเบญจขันธ์ของกายในภพ 3 และปล่อยความยินดีในฌานสมาบัติเสียได้\nปล่อยขาดพร้อมกันแล้ว ธรรมกายที่หยาบตกศูนย์ ธรรมกายที่บริสุทธิ์สุดละเอียดนั้นจะไปปรากฏในอายตนะนิพพานอันเป็นที่สถิตอยู่ (อายตน=วาสฏฺฐาน) ของพระนิพพานคือธรรมกายตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตเจ้า ที่ดับขันธ์เข้าปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ประทับเข้านิโรธสงบตลอดกันหมดนับไม่ถ้วน สว่างไสวด้วยธรรมรังสีของธรรมกายที่บรรลุพระอรหัตตผลแล้ว เป็นวิราคธาตุวิราคธรรม เป็นความสูญ คือว่างอย่างมีประโยชน์สูงสุดเพราะไม่มีสังขาร ชื่อว่า \"ปรมัตถสูญ\"\nโคตรภูจิต คือ ธรรมกายโคตรภูของพระโยคาวจรนั้นย่อมยึดหน่วงพระนิพพานอันละเอียด ประณีต สุขุมลุ่มลึกนั้นเป็นอารมณ์\nเมื่อมรรคจิต และ มรรคปัญญา อันรวมเรียกว่า มรรคญาณ ของธรรมกายมรรคของพระโยคาวจรนั้นเกิดและเจริญขึ้น ปหานสัญโญชน์ กิเลสเครื่องร้อยรัดให้ติดอยู่กับโลกอย่างน้อย 3 ประการ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ขึ้นไปได้ ย่อมก้าวล่วงข้ามโคตรปุถุชนเป็นพระอริยบุคคลตามระดับภูมิธรรมที่ปฏิบัติได้ และ ณ บัดนั้น ธรรมกายมรรค ได้แก่ ธรรมกายพระโสดาปัตติมรรค ก็จะตกศูนย์ และปรากฏผลจิต ได้แก่ ธรรมกายพระโสดาปัตติผล เข้าผลสมาบัติ พิจารณาปัจจเวกขณ์ 5 คือ พิจารณามรรค ผล กิเลสที่ละได้ กิเลสที่ยังเหลือ (ในกรณีเสขบุคคล) และพิจารณาพระนิพพาน ต่อไป\nวิธีเจริญสมถภาวนา ถึงธรรมกาย\nวิธีเจริญสมถภาวนาถึง 18 กาย - ถึงธรรมกาย\nวิธีเจริญสมถภาวนา ถึงธรรมกาย.\nวิธีเจริญสมถภาวนาถึง 18 กาย - ถึงธรรมกาย.\nเมื่อท่านทั้งหลายได้สมาทานศีล เพื่อให้กาย วาจา สงบ และบริสุทธิ์แล้ว ก็ตั้งใจชำระจิตใจให้สะอาดด้วยการเจริญภาวนาธรรมต่อไป\nเบื้องต้น ให้วางภารกิจทางกายให้หมดเสียก่อน แล้วนั่งขัดสมาธิ เอาเท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาวางอยู่บนมือซ้าย ให้นิ้วชี้มือขวาจรดพอดีกับหัวแม่มือซ้ายพอดี ตั้งกายให้ตรง สูดลมหายใจยาวๆ แล้วปล่อยกายตามสบาย อย่าเกร็ง เพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว\nเมื่อกายพร้อมแล้ว ก็ตั้งใจวางภารกิจทางใจเสียทั้งหมดอีกเหมือนกัน โดยตั้งจิตอธิษฐานลงไปที่ศูนย์กลางกายว่า\nณ บัดนี้ เราจะตั้งใจเจริญภาวนาธรรมอย่างเต็มที่ เพื่อความหลุดพ้นจากอาสวกิเลส ตัณหา อุปาทาน และเพื่อมรรคผลนิพพาน จะขอสละเวลาเพียงชั่วครู่นี้เพื่อปฏิบัติกิจอันมีค่าสูงที่สุดในชีวิต ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นรอบๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะร้ายแรงเพียงใด เราก็จะไม่สนใจ หวั่นไหว หรือยินดียินร้ายใดๆ ทั้งสิ้น จะยอมเสียสละแม้แต่ชีวิต เพื่อพระธรรมอันวิเศษสุดนี้ทีเดียว\nเมื่อวางภารกิจทางกาย วาจา และใจ ได้เรียบร้อยแล้ว ก็ตั้งจิตอธิษฐานต่อไปที่ศูนย์กลางกายอีก\nน้อมรำลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คุณครูอุปัชฌาย์อาจารย์ คุณบิดามารดา และบุญบารมีทั้งหลาย ที่เคยได้สร้างสมอบรมมา ให้มาช่วยประคับประคองใจให้หยุดให้นิ่ง และเกิดปัญญา ได้ดวงตาเห็นธรรม พร้อมด้วยขอให้ช่วยปกปักรักษาคุ้มครองสรรพอันตราย อย่าได้มากล้ำกราย ขัดขวางการเจริญภาวนาของเรา\nเมื่อตั้งใจมั่นคงดีแล้ว ก็ค่อยๆ หลับตาลงเบาๆ และกำหนดบริกรรมนิมิตและบริกรรมภาวนาคู่กัน บริกรรมนิมิต นึกให้เห็นด้วยใจ เป็นเครื่องหมาย ดวงแก้วกลมใส เหมือนกับเพชรลูกที่เจียระไนแล้ว ไม่มีขนแมว โตเท่าแก้วตา จุดศูนย์กลางข้างในโตเท่าเมล็ดพุทธรักษา ใสขาวเหมือนกระจกส่องเงาหน้า แล้วบริกรรมภาวนาคือท่องในใจเพื่อประคองบริกรรมนิมิตนั้นไว้ว่า \"สัมมาอะระหังๆๆ\" \n\nฐานที่ 1: ปากช่องจมูก หญิงซ้าย ชายขวา\n\n\nฐานที่ 2: เพลาตา หญิงซ้าย ชายขวา ตรงหัวตาพอดี\n\n\nฐานที่ 3: กลางกั๊กศีรษะ ระดับเดียวกับเพลาตา\n\n\nฐานที่ 4: ช่องเพดานปาก\n\n\nฐานที่ 5: ปากช่องลำคอ\n\n\nฐานที่ 6: ศูนย์กลางกาย ระดับสะดือ\n\n\nฐานที่ 7: ศูนย์กลางกาย เหนือระดับสะดือ 2 นิ้วมือ\n\nนี่เป็นที่ตั้งถาวรของใจ คนเราเวลาจะเกิด จะดับ (ตาย) จะหลับ จะตื่น ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไก่ จะลอยขึ้นมาที่ศูนย์นี้ เพราะฉะนั้น ศูนย์นี้จึงสำคัญนัก จะเข้ามรรคผลนิพพาน ก็ต้องเข้าที่ศูนย์นี้ \nเมื่อทราบอย่างนี้แล้ว ก็จงทำใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางนี้ทีเดียว ซ้าย ขวา หน้า หลัง ล่าง บน ไม่ไปทั้งนั้น เข้ากลางของกลางๆ ๆ นิ่งแน่นหนักขึ้น พอถูกส่วนเข้าเท่านั้นแหละ เห็นดวงใสแจ่มบังเกิดขึ้น เท่าฟองไข่แดงของไก่ อย่างเล็กเท่าดวงดาวในอากาศ อย่างโตเห็นเท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เลยทีเดียว ดวงธรรมที่เห็นนี้เป็นหนทางเบื้องต้นไปสู่มรรค ผล นิพพาน จึงเรียกว่า ดวงปฐมมรรค และเป็นที่ตั้งของ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ซึ่งเป็นพื้นฐานของกายพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม จึงเรียกว่า ดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน\nเมื่อเห็นดวงใสแจ่มบังเกิดขึ้นอย่างนี้ละก็ เลิกบริกรรมภาวนาได้ ทีนี้ รวมใจให้หยุดในหยุดลงไปที่ศูนย์กลางดวงนี้แหละ จะเห็นที่หมายเป็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ที่กลางดวงนั้น ให้วางใจหยุดในหยุดลงไปที่ศูนย์กลางนั้น พอถูกส่วนเข้า ดวงใสเดิมนั้นก็จะว่างหายไป แล้วก็จะเกิดดวงใหม่ขึ้นมาอีก ใสละเอียดหนักยิ่งกว่าเก่า คือ ดวงศีล อันเป็นปัจจุบันศีลในทางปฏิบัติ ของผู้มีกาย วาจา และใจ บริสุทธิ์ ด้วยการกล่าวแต่วาจาที่ชอบ การประกอบกรรมที่ชอบ และการเลี้ยงชีพชอบ \nหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวงศีลนั่นแหละ พอใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงศีลจะว่างหายไป แล้วจะเห็น ดวงสมาธิ ผุดลอยขึ้นมาแทนที่ เป็นสมาธิของผู้มีจิตอันพร้อมด้วยความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจมั่นชอบ อันเป็นจิตที่ควรแก่งานวิปัสสนาให้เกิดปัญญารู้แจ้งในสัจจธรรม\nรวมใจหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวงสมาธิ พอใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงสมาธิจะว่างหายไป แล้วปรากฏดวงใสสว่างเกิดขึ้นมาใหม่ ใสละเอียดกว่าเดิม มีรัศมีสว่างยิ่งนัก คือ ดวงปัญญา เป็นปัญญาที่พร้อมด้วยความเห็นชอบ และดำริชอบ\nหยุดในหยุดอยู่ที่กลางดวงปัญญาต่อไปอีก เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนเข้า ดวงปัญญาจะว่างหายไป แล้วปรากฏดวงใสสว่างเกิดขึ้นมาใหม่ คือ ดวงวิมุตติ ใสละเอียดกว่าเดิม มีรัศมีสว่างยิ่งนัก เป็นปัจจุบันธรรมของจิตที่สะอาดบริสุทธิ์จากกิเลสของมนุษย์ ได้แก่ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ นั่นเอง การหลุดพ้นดังกล่าวนี้ เป็นเบื้องต้น คือเป็นการหลุดพ้นด้วยการข่มกิเลส เรียกว่า วิกขัมภนวิมุตติ อันจะเป็นแนวทางไปสู่การหลุดพ้นอย่างถาวร ที่เรียกว่า สมุจเฉทวิมุตติ ต่อไป\nหยุดในหยุดลงไปที่กลางดวงวิมุตตินั่น พอหยุดถูกส่วนเข้า ก็จะถึง ดวงวิมุตติญาณทัสสนะ\nเมื่อรวมใจหยุดนิ่งลงไปที่กลางดวงวิมุตติญาณทัสสนะ ถูกส่วนเข้า ก็จะถึง กายมนุษย์ละเอียด หรือ กายฝัน มีลักษณะหน้าตาเหมือนกับผู้ปฏิบัติทุกประการ แต่สวยละเอียดประณีตกว่าการมนุษย์หยาบ นั่งในท่าขัดสมาธิ หันหน้าไปทางเดียวกับเรา \nถ้าเห็นแล้วอย่างลังเลสงสัย สวมความรู้สึกเข้าไปเป็นกายใหม่นั้นเลย ทิ้งความรู้สึกอันเนื่องด้วยกายหยาบนี้ สวมความรู้สึกเข้าเป็นไปกายมนุษย์ละเอียด ใสละเอียด อยู่นั่นแหละ หยุดในหยุดกลางของหยุด ให้ใสละเอียดทั้งดวงทั้งกายทั้งองค์ฌาน ทำอย่างนี้เรื่อยไปทีละกายๆ ไปจนสุดละเอียดถึงธรรมกาย โตใหญ่ใสละเอียดไปตามกาย ไม่ถอยคืนออกมา (คือไม่ถอนออกจากสมาธิ)\nบางท่านอาจจะเห็นข้ามขั้นตอน ไปเห็นธรรมกายเลยก็มี กายพระพุทธรูปขาวใส บริสุทธิ์ เกตุดอกบัวตูม ปรากฏขึ้นมา ณ ศูนย์กลางกายนั้นเอง\nให้รวมใจหยุดลงไป ณ ศูนย์กลางกายมนุษย์ละเอียดนั้นต่อไปอีก ก็จะเห็นดวงธรรม ดวงศีล ดวงสมาธิ ดวงปัญญา ดวงวิมุตติ และดวงวิมุตติญาณทัสสนะ ตามลำดับ แล้วก็จะถึง กายทิพย์หยาบ-ทิพย์ละเอียด ตามลำดับ ใตใหญ่ใสสว่างกว่าเดิม แพรวพราวสวยงาม ก็ดับหยาบไปหาละเอียด เป็นกายทิพย์นั้นต่อไป\nโดยวิธีเจริญภาวนาให้ใจหยุดในหยุด ผ่านดวงธรรม ดวงศีล ฯลฯ ของทิพย์ละเอียด หลุดพ้นจากกิเลสกลางของทิพย์ ได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ แล้วก็จะถึง กายรูปพรหมหยาบ-รูปพรหมละเอียด ตามลำดับ ก็จะเห็นกายและดวงธรรมของรูปพรหม ใสสะอาด บริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิ่งกว่าของกายทิพย์ แต่รูปพรหมยังมีกิเลสที่ค่อนไปทางละเอียดอยู่อีก คือ ราคะ โทสะ และโมหะ\nให้ใจของรูปพรหมหยุดลงไปที่ศูนย์กลางกาย ผ่านดวงธรรม ดวงศีล ฯลฯ ก็จะหลุดพ้นจากกิเลสเหล่านี้ แล้วก็จะถึง กายอรูปพรหมหยาบ-อรูปพรหมละเอียด ซึ่งใสละเอียด มีรัศมีสว่างยิ่งขึ้นไปอีก แต่รูปพรหมยังมีกิเลสที่ละเอียดอยู่ คือ ปฏิฆะ กามราคะ และอวิชชา\nเมื่อรวมใจหยุดนิ่งลงไป ณ ศูนย์กลางกายอรูปพรหม เจริญภาวนาผ่านดวงธรรมต่างๆ อีก ก็จะหลุดพ้นจากกิเลสของกายโลกิยะทั้งหมด ก็จะเข้าถึง กายธรรม คือ ธรรมกาย เริ่มตั้งแต่ ธรรมกายโคตรภูหยาบ-โคตรภูละเอียด ซึ่งธาตุธรรมยังอ่อนอยู่ จึงต้องเจริญภาวนาต่อไปตามแนวเดิมนี้อีก ก็จะถึง \nธรรมกายพระโสดาหยาบ-พระโสดาละเอียด\nธรรมกายพระสกิทาคาหยาบ-พระสกิทาคาละเอียด\nธรรมกายพระอนาคาหยาบ-พระอนาคาละเอียด\nธรรมกายพระอรหัตหยาบ-พระอรหัตละเอียด\nซึ่งช่วยให้หลุดพ้นจากสัญโญชน์กิเลสเครื่องร้อยรัดให้ติดอยู่กับโลกเป็นชั้นๆ ไป จากหยาบไปหาละเอียด\nเมื่อถึงกายพระอรหัตละเอียดแล้ว เจริญภาวนาต่อไปก็จะสามารถวิมุตติหลุดพ้นจากอาสวะ กิเลส ตัณหา อุปาทาน เป็นการถาวร เป็นสมุจเฉทปหานได้.\nวิธีพิสดารกาย สุดกายหยาบกายละเอียด\nวิธีพิสดารกาย สุดกายหยาบกายละเอียด.\nสำหรับผู้ปฏิบัติได้ถึง 18 กายแล้ว ให้ฝึกพิสดารกายสุดกายหยาบกายละเอียดอีกต่อไป ให้เป็นวสี คือ ให้คล่องแคล่ว ชำนาญ เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญในการเจริญวิชชาชั้นสูง และทำนิโรธดับสมุทัย (ไม่ใช่นิโรธสมาบัติ) วิธีปฏิบัติคือ\nเบื้องต้น ให้รวมใจของทุกกายอยู่ ณ ศูนย์กลางธรรมกายอรหัตที่สุดละเอียด คือ ให้ศูนย์กลางดวงธรรม และ เห็น-จำ-คิด-รู้ (คือใจ) ของแต่ละกาย จากกายสุดหยาบ (คือกายมนุษย์) ต่อๆ ไปจนสุดละเอียด (คือ ธรรมกายอรหัตละเอียด) ซ้อนอยู่ตรงกลางของกลางซึ่งกันและกัน จากกายสุดหยาบถึงกายสุดละเอียด แล้วเราทำใจของเราเป็นธรรมกายอรหัตที่สุดละเอียด คือดับหยาบไปหาละเอียดอยู่เสมอแล้ว\nใจของธรรมกายหยุดนิ่ง (เพ่ง) ลงที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์หยาบจนใสละเอียด จนหยุดนิ่งถูกส่วน ศูนย์กลางจะขยายว่างออกไป แล้วจะปรากฏกายมนุษย์ละเอียดขึ้นมาใหม่ ก็หยุดในหยุด กลางของหยุด กลางของกลางๆๆ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ละเอียดนั้นอีกต่อไป หยุดนิ่งถูกส่วน ก็จะปรากฏกายมนุษย์ละเอียดในกายมนุษย์ละเอียด ต่อๆ ไปจนสุดละเอียด หยุดนิ่ง กลางของกลางๆๆ ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ละเอียด ที่สุดละเอียดนั้นต่อไป ถูกส่วนเข้า ศูนย์กลางดวงธรรมจะขยายว่างออกไป แล้วจะปรากฏกายทิพย์ขึ้นมาใหม่ โตใหญ่ ใสละเอียด เป็น 2 เท่าของกายมนุษย์\nก็ให้หยุดนิ่ง (เพ่ง) ลงที่ศูนย์กลางกลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายทิพย์ต่อไปให้ใสแจ่ม ก็จะปรากฏกายทิพย์ในกายทิพย์ต่อๆ ไป จนสุดละเอียด ... แล้วก็จะปรากฏกายรูปพรหมในกายรูปพรหมต่อๆ ไปจนสุดละเอียด ก็ให้ปฏิบัติไปแบบเดียวกัน ถึง กายอรูปพรหม ในกายอรูปพรหม จนสุดละเอียด ธรรมกายโคตรภู ใน ธรรมกายโคตรภู จนสุดละเอียด ธรรมกายพระโสดาบัน ในธรรมกายพระโสดาบัน จนสุดละเอียด ธรรมกายพระสกิทาคามี ในธรรมกายพระสกิทาคามี จนสุดละเอียด ธรรมกายพระอนาคามี ใน ธรรมกายพระอนาคามี จนสุดละเอียด ธรรมกายพระอรหัต ในธรรมกายพระอรหัต จนสุดละเอียด ให้ใสละเอียด ทั้งดวงทั้งกาย และทั้งองค์ฌาน (ปรากฏเหมือนอาสนะรองรับกายละเอียด สัณฐานกลมใสรอบตัว หนาประมาณ 1 ฝ่ามือของแต่ละกายละเอียด จะมีประจำทุกกาย ตั้งแต่กายมนุษย์ละเอียดไปจนสุดกายละเอียด)\nนี้เรียกว่า การพิสดารกาย สุดกายหยาบ-กายละเอียด\nวิธีเจริญสมาธิ: รูปฌาน 4\nวิธีเจริญสมาธิ: รูปฌาน 4.\nผู้ที่ถึงธรรมกาย และเจริญภาวนาจนถึง 18 กายแล้ว ก็ให้รวมใจทุกกายให้อยู่ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด แล้วใจของธรรมกายพระอรหัตก็เพ่งลงไปที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ เมื่อใจหยุดได้ถูกส่วน ประกอบด้วยองค์ 5 ได้แก่ วิตก วิจาร คือ ตรึกตรองประคองนิมิต ปีติ สุข และเอกัคคตา ก็จะเห็นองค์ฌานปรากฏขึ้นรองรับกายมนุษย์ เหมือนดังอาสนะรองรับที่นั่งฉะนั้น มีลักษณะเป็นวงกลมใส ส่วนหนาประมาณหนึ่งคืบ ขนาดกว้างเต็มหน้าตักพองาม องค์ฌานที่เห็นเกิดขึ้นนี้ไม่เฉพาะแต่กับกายมนุษย์เท่านั้น หากแต่ปรากฏขึ้นรองรับกายทุกกายจนถึงกายพระอรหัตพร้อมกันหมด นี้เป็นปฐมฌาน\nแล้วใจของธรรมกายก็เพ่งไปที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายทิพย์หยาบและทิพย์ละเอียดต่อไปอีก เมื่อใจหยุดนิ่งได้ถูกส่วนละเอียดหนักเข้า จนละวิตก วิจาร ได้ องค์ฌานเดิมก็จะว่างหายไป แล้วปรากฏองค์ฌานใหม่เกิดขึ้นมาแทนที่อีก ใสละเอียดกว่าเดิมทั้งฌานและกาย นี้เป็น ทุติยฌาน\nใจของธรรมกายก็เพ่งลงไปที่กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายรูปพรหมหยาบและรูปพรหมละเอียดอีก เมื่อใจหยุดถูกส่วน และละเอียดหนักเข้า จนปีติหมดไป องค์ฌานเดิมก็จะว่างหายไป แล้วปรากฏองค์ฌานเกิดขึ้นมาใหม่ ใสละเอียดกว่าเก่า ทั้งฌานและกาย นี้เป็น ตติยฌาน\nใจของธรรมกายก็เพ่งลงไปที่กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายอรูปพรหมหยาบและอรูปพรหมละเอียดอีกต่อไป เมื่อใจหยุดนิ่งถูกส่วน ละเอียดหนักเข้า จนสุขหายไป คงเหลือแต่เอกัคคตาจิต คือความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง นิ่งเป็นอุเบกขาอยู่ องค์ฌานเดิมก็จะว่างหายไป และปรากฏองค์ฌานใหม่เกิดขึ้นแทนที่ ใสละเอียดยิ่งกว่าเดิม ทั้งฌานและกาย นี้เป็น จตุตถฌาน\nเมื่อเข้าใจวิธีเข้าฌานสมาบัติตั้งแต่เบื้องต้น ปฐมฌาน ไปจนถึงจตุตถฌาน โดยอนุโลม (ตั้งแต่ต้นไปหาปลาย) แล้ว ก็จงฝึกหัดถอยกลับจาก จตุตถฌาน ลงมาถึง ปฐมฌาน เป็น ปฏิโลม (จากปลายมาหาต้น) ให้เกิดความชำนาญ (วสี) ทั้งในการเข้าการออก การทรงฌานและการพิจารณาอารมณ์ฌานเหล่านี้ให้แม่นยำ\nวิธีเจริญวิชชา 3\nอาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า: วิชชา 3\nวิธีเจริญวิชชา 3.\nอาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า: วิชชา 3.\nเมื่อสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ เภสกฬมิคทายวัน เขตนครสุงสุมารคิระ ในภัคคชนบท ได้รับอาราธนาของโพธิราชกุมารไปรับภัตตาหารและเสวย ณ โกกนุทปราสาทของโพธิราชกุมาร ครั้นเสวยเสร็จแล้ว สมเด็จพระผู้มีพระภาคได้ตรัสสนทนากับโพธิราชกุมารว่า\nทรงบรรลุฌาน 4\n\"ครั้นเราบริโภคอาหารหยาบ มีกำลังขึ้นแล้ว ก็สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่.\nบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขผู้ได้ฌานเกิดแต่สมาธิอยู่.\nมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ตติยฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข.\nบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.\"\nทรงบรรลุวิชชา (ญาณ) 3\n\"เรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ได้โน้มน้อมจิตไปเพื่อ \"ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ\" เรานั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง ฯลฯ เรานั้นย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุทเทส ด้วยประการฉะนี้. ราชกุมาร นี้เป็นวิชชาที่ 1 ที่ เราได้บรรลุแล้ว ในปฐมยามแห่งราตรี. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่อาตมภาพผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่.\nเรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ได้โน้มน้อมจิตไปเพื่อ \"จุตูปปาตญาณ\" รู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพพจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ด้วยประการฉะนี้. ราชกุมาร นี้เป็นวิชชาที่ 2 ที่เราได้บรรลุแล้ว ในมัชฌิมยามแห่งราตรี. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่เราผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่.\nเรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ได้โน้มน้อมจิตไปเพื่อ \"อาสวักขยญาณ\" ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ เหล่านี้อาสวสมุทัย เหล่านี้อาสวนิโรธ เหล่านี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา. เมื่อเรานั้นรู้เห็นอย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแล้ว แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ราชกุมาร นี้เป็นวิชชาที่ 3 ที่อาตมภาพได้บรรลุแล้ว ในปัจฉิมยามแห่งราตรี. อวิชชาถูกกำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดถูกกำจัดแล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว แก่เราผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปแล้วอยู่.\nราชกุมาร เรานั้นได้มีความคิดเห็นว่า ธรรมที่เราบรรลุแล้วนี้ เป็นธรรมลึก ยากที่จะเห็นได้ สัตว์อื่นจะตรัสรู้ตามได้ยาก เป็นธรรมสงบระงับ ประณีต อันบัณฑิตจะพึงรู้แจ้ง.\nวิธีเจริญวิชชา 3 ถึงมรรคผลนิพพาน\nวิธีเจริญวิชชา 3 ถึงมรรคผลนิพพาน.\nเมื่อเจริญฌานสมาบัติโดยอนุโลมและปฏิโลม ให้ทุกกาย สุดกายหยาบกายละเอียด ถึงธรรมกายใสบริสุทธิ์ดีแล้ว\nให้รวมใจของทุกกายให้หยุดอยู่ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด รวมดวงเห็น ดวงจำ ดวงคิด และดวงรู้ ให้หยุดในหยุดนิ่งลงไปที่กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม ณ ศูนย์กลางกายนั้นแหละ มีที่หมายตรงต้นสายกำเนิดธาตุธรรมเดิมนั้นเป็นจุดเล็กใสเท่าปลายเข็ม ก็ให้หยุดในหยุดกลางของหยุด แล้วอธิษฐานให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของตนเองถอยหลังสืบต่อไปถึงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว, เดือนที่แล้ว, ปีที่แล้ว, ลงไปจนถึงตอนที่เป็นเด็ก ให้รวมใจ คือความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ ให้หยุดในหยุดลงไปที่กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม ของกายเดิมที่เห็นครั้งสุดท้ายต่อไปเรื่อยๆ จากที่เป็นเด็ก ก็ไปถึงสภาพที่เป็นเด็กแดงๆ, แล้วก็ถอยหลังสืบเข้าไปตามสายธาตุธรรมเดิม ถึงที่เป็นเด็กทารกในครรภ์ของมารดา, แล้วก็ไปถึงในขณะที่ตั้งปฏิสนธิวิญญาณ เป็นกลลรูป, ถอยสืบเข้าไปถึงในขณะที่มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ด้วยกายมนุษย์ละเอียดหรือกายทิพย์\nแล้วก่อนที่จะมาปฏิสนธิก็เป็นกายละเอียดมาตกศูนย์ พักอยู่ ณ ศูนย์กลางกายบิดาชั่วคราว\nอธิษฐานให้เห็นสภาพของตนเองตามสายธาตุธรรม สืบถอยหลังไปถึงตอนที่จุติคือเคลื่อนจากสังขารร่างกายเดิมของชาติที่แล้ว นี้นับเป็นชาติหนึ่ง, เมื่อเห็นชัดดีแล้ว ก็รวมเห็นจำคิดรู้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม อธิษฐานให้เห็นอัตตภาพและความเป็นไปของตนเองให้ชัดว่ามีสภาพความเป็นมาอย่างไร ในชาตินั้นตนเองเกิดเป็นอะไร มีเทือกเถาเหล่ากออย่างไร มีทุกข์มีสุข มั่งมีหรือยากจนขัดสนกันดารอย่างไร เพราะผลบุญหรือผลบาปอะไร พยายามน้อมใจอันประกอบด้วยความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ ให้หยุดนิ่ง ในกลางของกลางๆๆ ไปเรื่อย ก็จะเห็นได้ชัดเจนและแม่นยำ แล้วก็ดำเนินไปในแบบเดิม อธิษฐานดูอัตตภาพและสภาพความเป็นไปของตนเอง ถอยหลังสืบเข้าไปทีละชาติๆ เมื่อกระทำชำนาญเข้าก็จะสามารถระลึกชาติได้เร็วขึ้น แต่จะต้องหยุดในหยุดลงไปที่ตรงกลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม ตามสายธาตุธรรมเดิม ถอยหลังสืบต่อเข้าไปเสมอ จึงจะแม่นยำ มิฉะนั้นการรู้เห็นอาจจะเล่ห์คือผิดพลาดได้ เมื่อจะหยุดพัก ก็ให้อธิษฐานกลับตามสายธาตุธรรมเดิมจนมาถึงชีวิตปัจจุบันอีกเช่นกัน\nนี้เป็น วิชชาที่ 1 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ\nต่อไป ให้ฝึกระลึกให้เห็นอัตตภาพและสภาพความเป็นไปของตนเองต่อไปในอนาคต ก็ปฏิบัติในทำนองเดียวกัน คือรวมใจอันประกอบด้วยความเห็น ความจำ ความคิด และความรู้ ให้หยุดเป็นจุดเดียวกัน ณ กำเนิดธาตุธรรมเดิมของกายปัจจุบัน ตั้งจิตอธิษฐานให้เห็นความเป็นไปหรือสภาพของตนเองในวันรุ่งขึ้น, ในสัปดาห์หน้า, ในเดือนหน้า, ในปีหน้า, ในห้าปีข้างหน้า, ในสิบปีข้างหน้า, ต่อๆ ไปจนกระทั่งถึงวันที่ตนเองจะกระทำกาลกิริยาคือตาย ดูความเป็นไปสืบต่อไปข้างหน้าให้เห็นสภาพความเป็นไปในชีวิตของตนเอง พร้อมด้วยอธิษฐานให้เห็นวิบากกรรมว่าเป็นด้วยผลบุญกุศลหรือผลบาปอกุศลกรรมใด ที่จะเป็นผลให้ได้รับความสุขหรือความทุกข์เดือดร้อนในชีวิตแต่ละช่วงที่ได้พบเห็นนั้น เป็นตอนๆ ไป จนกระทั่งจุติละจากโลกนี้ไป\nในกรณีที่ประสงค์จะระลึกชาติของผู้อื่นก็ดี หรือจะดูปัจจุบันและอนาคตของผู้อื่นก็ดี ก็ปฏิบัติในทำนองเดียวกัน คือเพียงแต่น้อมเอาธาตุธรรมของผู้ที่เราประสงค์จะทราบอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคตของผู้นั้น มาตั้งที่ศูนย์กลางกายของเราเอง แล้วรวมเห็นจำคิดรู้ของเราและของเขาให้หยุดรวมกันเป็นจุดเดียวตรงศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิมของเขา แล้วอธิษฐานระลึกให้เห็นอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคตของผู้นั้นไปตามสายธาตุธรรมเดิมของเขา ก็จะสามารถรู้เห็นได้เช่นเดียวกัน\nเมื่อประสงค์จะทราบว่าสัตว์หรือมนุษย์ที่ละหรือตายจากโลกนี้ไปแล้ว จะไปบังเกิดในภพภูมิใด ด้วยผลบุญกุศลหรือผลบาปอกุศลใด ก็ให้ปฏิบัติไปตามวิธีที่ได้เคยแนะนำไปแล้ว คือ\nรวมใจของทุกกายให้หยุดนิ่งอยู่ตรงศูนย์กลางกายพระอรหัตองค์ที่ละเอียดที่สุด หยุดตรึกนิ่ง ขยายข่ายของญาณพระธรรมกายพระอรหัตให้โตจนเต็มภพ 3 แล้วจึงน้อมเอาภพ 3 เข้ามาเป็นกสิณ คือเอามาตั้งไว้ ณ ศูนย์กลางกายพระอรหัตนั้นแหละ อาศัย \"ตา\" หรือ \"ญาณ\" พระธรรมกายตรวจหาดูจนตลอดภพ 3 ว่าผู้ที่ตายไปแล้วได้ไปบังเกิดในภพภูมิใด ก็จะสามารถเห็นได้\nถ้าในภพ 3 ยังไม่เห็น ก็ให้ตรวจดูไปถึงอายตนะโลกันต์ ซึ่งอยู่นอกภพ 3 ออกไป ในขณะที่ตรวจดูคติใหม่ของผู้ตายไปตลอดภพนี้ ให้น้อมใจเข้าสู่กลางของกลางๆๆ อยู่เสมอ เพื่อให้ธาตุธรรมใสสะอาดและสมาธิตั้งมั่นดี การรู้เห็นจึงจะแม่นยำ เมื่อพบแล้ว ก็ไต่ถามถึงบุพพกรรมที่ทำให้เขามาเสวยวิบากกรรมคือผลบุญกุศลหรือผลบาปอกุศลในภพใหม่นี้ ก็จะทราบได้ นี่หมายเฉพาะสัตว์หรือมนุษย์ที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตตผล ก็จะเห็นเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพ 3 หรืออายตนะโลกันต์นี้\nแต่ถ้าเป็นพระอรหันต์ที่ดับขันธ์เข้าปรินิพพานด้วย \"อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ\" แล้ว ก็จะพบธรรมกายของท่านประทับอยู่ในนิพพาน\nนี้เป็นการน้อมเข้าสู่ \"จุตูปปาตญาณ\" อย่างง่าย หากกระทำชำนาญแล้วก็จะสามารถรู้เห็นได้เร็ว\nยังมีวิธีที่ละเอียดพิสดารต่อไปอีก ซึ่งสามารถให้รู้เห็นทั้งกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม เป็นทั้งภายในและภายนอก\nวิธีปฏิบัติ ก็ให้น้อมเอาธาตุธรรมของผู้ที่ตายไปแล้วมาตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกาย แล้วรวมเห็น จำ คิด รู้, ธาตุเห็น ธาตุจำ ธาตุคิด ธาตุรู้, ที่ตั้ง/เห็น จำ คิด รู้ ของเราให้ตรงกันกับของเขา เป็นจุดเดียวกัน ตรงศูนย์กลางกำเนิดธาตุธรรมเดิม แล้วอธิษฐานให้เห็นจุติและปฏิสนธิของเขาเป็นขั้นๆ ไป นับตั้งแต่ขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เริ่มจะดับ หรือในขณะที่จิตกำลังเข้าสู่ \"มรณาสันนวิถี\"* นั้น ก็จะเห็นดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายของสัตว์หรือมนุษย์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของอากาศโลก ขันธโลก และสัตว์โลก ได้แก่ เห็น จำ คิด รู้ ของสัตว์นั้น จะดับคือตกศูนย์ลงไปยังศูนย์กลางกายฐานที่ 6 ตรงระดับสะดือพอดี แล้วดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายละเอียดหรือกายทิพย์ ซึ่งจะทำหน้าที่สืบต่อไปใหม่นั้น จะผุดลอยขึ้นมายังศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เหนือระดับสะดือสองนิ้วมือ แล้วกายละเอียดหรือกายทิพย์นั้นก็จะผ่านไปยังศูนย์ต่างๆ กล่าวคือ ฐานที่ 6, แล้วก็ฐานที่ 5 ตรงปากช่องลำคอ, ฐานที่ 4 ตรงเพดานปาก, ฐานที่ 3 ตรงกลางกั๊กศีรษะ, ฐานที่ 2 ตรงหัวตาด้านใน (หญิงทางด้านซ้าย ชายทางด้านขวา), แล้วก็ออกไปทางฐานที่ 1 คือช่องจมูก (หญิงทางด้านซ้าย ชายทางด้านขวา) เพื่อไปเกิดในภพภูมิใหม่ตามผลบุญหรือผลบาปที่กำลังให้ผลอยู่ในขณะนั้นต่อไป\nกายที่กำลังไปแสวงหาที่เกิดนี้เรียกว่า \"กายสัมภเวสี\" ส่วนกายที่ได้ปฏิสนธิหรือเกิดแล้ว เรียกว่า \"กายทิพย์\"\nมีข้อสังเกตว่า ในขณะที่กาย ใจ จิต วิญญาณ หรือขันธ์ทั้ง 5 ของสัตว์หรือมนุษย์กำลังจะแตกดับหรือตายนั้น ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกาย อันเป็นที่ตั้งของดวงเห็น ดวงจำ ดวงคิด และดวงรู้ ของกายเดิมจะดับ คือตกศูนย์ลงไปยังศูนย์กลางกายฐานที่ 6 ตรงระดับสะดือพอดี นั้นเอง ที่สัตว์หรือมนุษย์ซึ่งกำลังใกล้จะตายนั้นมีอาการสยิ้วหน้า บิดตัวหรือไขว่คว้าเมื่อเวลาใกล้จะตาย เพราะแรงดึงดูดของอายตนะภพใหม่ที่จะทำให้ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายละเอียดหรือกายทิพย์ แยกขาดออกจากดวงธรรมที่ทำให้เป็นกาย (เนื้อ) ของมนุษย์หรือสัตว์ผู้ที่กำลังจะตายนั้นเอง\nข้อสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือ ญาณพระธรรมกายจะช่วยให้เห็นดวงธรรมที่ทำให้เป็นมนุษย์หรือสัตว์นั้น และจิตของสัตว์นั้นเอง \"ดับ\" แล้วก็ \"เกิด\" ใหม่อีก เป็นช่วงๆ ตามผลบุญกุศลหรือบาปอกุศล กล่าวคือ\nถ้าขณะใกล้ตาย คือในระหว่างที่จิตเข้าสู่มรณาสันนวิถีนั้น จิตเป็นกุศล แต่บุญบารมียังไม่พอที่จะหลุดพ้นจากกิเลสได้โดยสิ้นเชิง อายตนะของสุคติภพ ได้แก่ โลกมนุษย์ เทวโลก หรือพรหมโลก ก็จะดึงดูดกายละเอียดหรือกายทิพย์นั้นไปบังเกิดในภพหรือภูมิด้วยแรงกุศลกรรม ตามกำลังแห่งบุญบารมีของผู้นั้นต่อไป กิริยาที่กาย ใจ จิต และวิญญาณดับเกิดๆๆ เพื่อเปลี่ยนจากภพหรือภูมิหนึ่ง ไปสู่ภพหรือภูมิที่สูงกว่าทีละขั้นๆ ไปจนกว่าจะถึงภูมิที่พอดีกับกำลังบุญกุศลที่ให้ผลอยู่นั้น อุปมาดั่งงูลอกคราบ หรือดั่งบุคคลถอดแบบฟอร์มเครื่องแต่งตัวจากฟอร์มหนึ่งไปสู่ฟอร์มที่สวย ละเอียด ประณีตกว่าฉะนั้น\nแต่ถ้าจิตในขณะใกล้จะตาย เป็นอกุศล หรือสิ้นวาสนาบารมี อายตนะทุคคติภพ ได้แก่ อายตนะภพของเปรต, อสุรกาย, สัตว์นรก, หรือสัตว์เดรัจฉาน ก็จะดึงดูดดวงธรรมและกายละเอียดของผู้นั้นให้ไปบังเกิดในภพหรือภูมินั้นด้วยแรงอกุศลกรรมที่ได้กระทำไว้ ตามส่วนแห่งอำนาจของผลบาปอกุศลที่กำลังให้ผลต่อไป\nญาณหยั่งรู้จุติปฏิสนธิของสัตว์นี้ เรียกว่า \"จุตูปปาตญาณ\" ให้ฝึกฝนปฏิบัติให้ชำนาญ ในระยะเริ่มแรกจะต้องกระทำเป็นขั้นตอนตามสายธาตุธรรมเดิมเสมอไป แม้จะติดขัดบ้างก็จะเป็นแต่เพียงในระยะต้นๆ หรือที่จิตยังไม่ละเอียดดีพอ ต่อไปก็จะค่อยๆ ชำนาญไปเอง\nแต่มีหลักสำคัญอยู่ว่า เมื่อรู้เห็นแล้วก็อย่าคะนองใจว่าตนเก่งกล้าแล้ว พยากรณ์ให้แก่ผู้อื่นฟัง หรือโอ้อวดในคุณธรรมของตน อันจะเป็นทางเสื่อมอย่างยิ่ง\nอนึ่ง การน้อมเข้าสู่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อดูขันธ์ของตนเองและของผู้อื่นในชาติภพก่อนๆ ก็ดี หรือการน้อมเข้าสู่จุตูปปาตญาณเพื่อดูจุติและปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลายก็ดี หากได้ยกวิปัสสนาญาณขึ้นพิจารณาทบไปทวนมาด้วยแล้ว ย่อมมีลักษณะที่เป็นสติปัฏฐาน 4 ไปในตัวเสร็จ กล่าวคือ\nการพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และ ธรรมในธรรม เป็นภายในบ้าง เป็นภายนอกบ้าง, เป็นทั้งภายในและภายนอกบ้าง ดังที่กล่าวมาแล้วเนืองๆ อยู่ ก็จะเห็นชัดในสามัญญลักษณะ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาของสังขารธรรมทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยปัจจัยปรุงแต่งอย่างชัดแจ้ง จนเห็นเป็นธรรมดาในความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปของสังขารของสัตว์ทั้งหลาย ช่วยให้เกิดธรรมสังเวชสลดใจในการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลายที่ยังติดอยู่ในสังสารจักรและไตรวัฏฏะ คือ กิเลสวัฏฏะ กรรมวัฏฏะ และวิปากวัฏฏะ อยู่ในภพ 3 นี้ไม่มีที่สิ้นสุด ไปนรกบ้าง สวรรค์บ้าง มนุษย์บ้าง สัตว์เดรัจฉานบ้าง เป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง เปลี่ยนแปลงไปต่างๆ น่าสะพรึงกลัวและน่าเบื่อหน่ายยิ่งนัก ต้องทิ้งสมบัติพัสถาน บุตร ภรรยา และบิดามารดาแต่เก่าก่อน หมุนเวียนเปลี่ยนไปตามเครื่องล่อเครื่องหลง ดุจดังว่าความฝัน เอาเป็นของเที่ยงแท้แน่นอนไม่ได้ เป็นอย่างนี้หมดทั้งตัวเราเองและสัตว์อื่น เหมือนกันหมด ทุกรูปทุกนาม แล้วให้ยกวิปัสสนาญาณทั้ง 10 ประการ ขึ้นพิจารณา ทบไปทวนมา ทับทวีให้มากเข้า ก็จะเห็นภัยในวัฏฏสงสาร บังเกิดธรรมสังเวชสลดจิตคิดเบื่อหน่ายในสังขารและนามรูป เมื่อปัญญารู้แจ้งสว่างชัดขึ้น ทำลายอวิชชาเป็นมูลรากฝ่ายเกิดดังนี้ ตัณหาและทิฏฐิก็เบาบางหมดไปตามระดับคุณธรรมที่ปฏิบัติได้ สามารถปล่อยวางอุปาทานในขันธ์ 5 ได้ยิ่งขึ้น สิ้นรัก สิ้นใคร่ สิ้นอาลัยยินดีในการครองขันธ์และทำนุบำรุงขันธ์เกินความจำเป็น เมื่อรู้เห็นเช่นนี้ แม้อยากจะไปเสียให้พ้นจากสังขารนี้ ก็ยังไม่อาจจะกระทำได้ เหมือนดังนกที่ติดอยู่ในกรง หรือปลาที่ติดเบ็ด จึงได้แต่วางเฉย เพิกเฉยในสังขาร เป็น สังขารุเปกขาญาณ\nแล้วจึงยกจิตนั้นขึ้นให้บริสุทธิ์ ใสสะอาดจากเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย โดยน้อมไปเพื่อ อาสวักขยญาณ พิจารณาปฏิจจสมุปบาทธรรม อันมีนัยอยู่ในอริยสัจ ให้เห็นทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ สภาวะที่ทุกข์ดับเพราะเหตุดับ และหนทางปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ เพื่อกระทำอาสวะให้สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ เป็นพระอรหันตขีณาสพผู้มีอาสวะสิ้นแล้วต่อไป ด้วยการนำเอาญาณทั้ง 2 ในเบื้องต้น คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และ จุตูปปาตญาณ นั้นมาเป็นอุปการะให้สิ้นดังนี้\nเมื่อธรรมกายพระโสดาปัตติมรรคปรากฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องต่ำ 3 ประการ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาสได้แล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นธรรมกายพระโสดาปัตติผลบังเกิดขึ้นเต็มส่วน ขนาดหน้าตัก ความสูงและเส้นผ่าศูนย์กลางดวงธรรม 5 วาเต็ม ขาว ใส บริสุทธิ์ มีรัศมีปรากฏ เห็นได้ชัดเจนตลอดเวลา และก็จะมีญาณหยั่งรู้ถึงการบรรลุพระโสดาปัตติผลนั้น\nเมื่อธรรมกายพระสกิทาคามิมรรคปรากฏขึ้นละกิเลสจนเหลือโลภะ โทสะ และโมหะ ที่เบาบางลงมากแล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นธรรมกายพระสกิทาคามิผล มีขนาด 10 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิ่งขึ้นไปอีก จนผู้ปฏิบัติธรรมนั้นเห็นชัดเจนอยู่ตลอดเวลา ก็จะมีญาณหยั่งรู้ถึงการบรรลุพระสกิทาคามิผลนั้น\nเมื่อธรรมกายพระอนาคามิมรรคปรากฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องต่ำได้อีก 2 คือ ปฏิฆะและกามราคะแล้ว จะตกศูนย์ และจะปรากฏธรรมกายพระอนาคามิผลขึ้น เต็มส่วน 15 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ มีรัศมีปรากฏยิ่งขึ้นไปอีก จนเห็นธรรมกายพระอนาคามิผลของตนเองชัดเจนอยู่ตลอดเวลา ก็จะมีญาณหยั่งรู้การบรรลุพระอนาคามิผลนั้น\nเมื่อธรรมกายพระอรหัตตมรรคปรากฏขึ้นละสัญโญชน์เบื้องสูงอีก 5 ประการ ได้แก่ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ และ อวิชชา ได้แล้ว จะตกศูนย์ ปรากฏเป็นธรรมกายพระอรหัตตผล ขยายโตเต็มส่วน มีขนาดหน้าตัก ความสูง และเส้นผ่าศูนย์กลางดวงธรรม 20 วา ขาว ใสบริสุทธิ์ และมีรัศมีสว่างยิ่งนัก เห็นธรรมกายพระอรหัตตผลชัดเจนอยู่ตลอดเวลา แล้วก็จะมีญาณหยั่งรู้การบรรลุพระอรหัตตผลนั้น\nหนังสืออ่านเพิ่มเติม\n\nพระมงคลเทพมุนี, (สด จนฺทสโร). คู่มือสมภาร. กรุงเทพฯ. วัดปากน้ำภาษีเจริญ, ๒๔๙๒.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไม่รู้เฟ่ย (ด.ช.สุกฤษณฎิ์ บุญสิทธิ์ เขียน)",
"role": "user"
},
{
"content": "ไม่รู้เฟ่ย (ด.ช.สุกฤษณฎิ์ บุญสิทธิ์ เขียน)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำมูล คือ คำพื้นฐานที้มีควมมหมายสมบูรณ์ในตัวเอง เป๋นคำทร่สร้างขึ้นโดยเฉพาะ เป็นได้ทั้งคำไทยแท้หรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะมีพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ \nชนิดของคำมูล\n\nคำมูลพยางค็เดียว เช่น กิน ดื่ม เขียว แดง ร้อน หนาว\nคำมูลหลายพยางค์\n\nประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด ( \"ติ้ง\" และ \"หรีด\" ต่างไม่มีความหมาย )\nประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยาลค์ ดช่น กิริยา ( คำว่า \"ยา\" เท่านั้นที่มีความหมาย )\nประกอบด้วยพยางค์ทีทมีความหมาย เช่น วารี ( คำว่า \"วา\" หมายถึง หน่วยวัดความยาวทางคณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 2 เมตร คำว่า \"รี\" หมายถึง รูปร่างที่ไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม \"วา\" กัล \"รี\" เข้าเ้วยกัน คือ \"วารี\" ซั่งแปลว่า น้ำ และำไม่มีความหมายเกี่ยวข้องกับความหมายของแต่ละภยางค์\nคำที่สร้างจากคำมูล\n\n\n\nคำประสม\nคำซ้ำ\nคำซ้อน\nคำสมาส",
"role": "user"
},
{
"content": "คำมูล คือ คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะ เป็นได้ทั้งคำไทยแท้หรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะมีพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ \nชนิดของคำมูล\n\nคำมูลพยางค์เดียว เช่น กิน ดื่ม เขียว แดง ร้อน หนาว\nคำมูลหลายพยางค์\n\nประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด ( \"จิ้ง\" และ \"หรีด\" ต่างไม่มีความหมาย )\nประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา ( คำว่า \"ยา\" เท่านั้นที่มีความหมาย )\nประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย เช่น วารี ( คำว่า \"วา\" หมายถึง หน่วยวัดความยาวทางคณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 2 เมตร คำว่า \"รี\" หมายถึง รูปร่างที่ไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม \"วา\" กับ \"รี\" เข้าด้วยกัน คือ \"วารี\" ซึ่งแปลว่า น้ำ และำไม่มีความหมายเกี่ยวข้องกับความหมายของแต่ละพยางค์\nคำที่สร้างจากคำมูล\n\n\n\nคำประสม\nคำซ้ำ\nคำซ้อน\nคำสมาส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พืช เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายประเภทหนึ่งของโลก ในปัจจุบันพืชทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 300,000 ชนิด เพื่อให้การศีกษ่เรื่องอาณาจักรพ้ชเป็นไปได้โดยงราย นักวิทยาศาตร์จึงจัดระบบพืชประเภทต่างๆที่มีลักษณะีลิายคลึงกันมาไว้ในประเภทเดียวกัน\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลียง\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลียง.\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลัยง เป็นพืชที่มีขนาดเล็ก ไม่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริง แต่มีโครงสร้างที่ทำหน้าที่เหาือนราก ลำต้น แลดใบ ส่วนมากขึ้นในที่ชื่น ได้แก่ พืชจำพวก มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ต\nพืชที่มีท่อลำเลียง\nพืชที่มีท่อลำเลียง.\nพืชที่มีท่อลำเลียง เป็นกลุ่มพืชที่สามารถปรัวตัวปละอาศัยอยู่บนบกได้ดี มีการาร้างเนื้อเยื่อท่อชำเลียงและแร่ธาตุ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม\n\nพืชที่มีท่อลำเลียงและไม่มีเมล็ด มีการสร้างสปเร์เพื่อใช้ในการสืบภันธุ์ มีวงจาชีวิตสลับ คือ มีระยะสปอโรไฟต์ และแกมีโทไฟต์สลับกัรไป พบได้ทั่วไปในเขตร้อนและที่ชุ่มชื้น ได้แก่ พืชจำพวก หญ้าถอดปล้อง หวายทะนอย ผักแว่น ข้าหลวงหลังลาย ผักกูด\nพืชที่มีท่อลำเลียงและมีเมล็ด แบ่งเป็นสองชนิด คือ\n\nพืชมีเมล็ดแต่ไม่มีรังไช่ห่อหุ้ม มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ไม่ยืนต้น ลักษณะของเมล็ดจะเป็นเมล็ดเปลือย ไม่มีเน้้อผลไม้ห่อหุ้ม ได้แก่ พืชจำพวก สนสองใบ สนสามใบ ปรง แปะก๊วน\nพืชทีเมล็ดและมีรังไข่ห่อหุ้ม เป็นกลุ่มพทชที่มีมาก ประมาณ 275,000 ชนิด มีลักษณะสำคัญคืแสามารถปรับตัวได้ดีในทุกๆสภาพแสดล้อม แบะมีวิวัฒนาการสูงสุด ส่วนใหญ่มีราก ชำต้น และใบที่แท้จนิง มีระบบท่อลำเลียบที่เจริญดีมาก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ มีการสืบพันธุ์ที่เรียกว่าปฏืสนธิซ้อน พืชในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็นสองหระเภท คือ\n\nพืชใบเลี้ยงเดียว ได้แก่ ข้าว ปาล์ม มะพร้าว\nพืชใบเลี้ยงคู่ ได้แก่ มะม่วง มะเฟือง ส้ม\nความแตกต่างของพืชใบเลี้ยวเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่\n\n\n\nความแตกต่างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่.\n! ลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดียว !! ชักษณะของพืชใบเลี้ยงคู่",
"role": "user"
},
{
"content": "พืช เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายประเภทหนึ่งของโลก ในปัจจุบันพืชทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 300,000 ชนิด เพื่อให้การศึกษาเรื่องอาณาจักรพืชเป็นไปได้โดยง่าย นักวิทยาศาตร์จึงจัดระบบพืชประเภทต่างๆที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาไว้ในประเภทเดียวกัน\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลียง\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลียง.\nพืชที่ไม่มีท่อลำเลียง เป็นพืชที่มีขนาดเล็ก ไม่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริง แต่มีโครงสร้างที่ทำหน้าที่เหมือนราก ลำต้น และใบ ส่วนมากขึ้นในที่ชื่น ได้แก่ พืชจำพวก มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ต\nพืชที่มีท่อลำเลียง\nพืชที่มีท่อลำเลียง.\nพืชที่มีท่อลำเลียง เป็นกลุ่มพืชที่สามารถปรับตัวและอาศัยอยู่บนบกได้ดี มีการสร้างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงและแร่ธาตุ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม\n\nพืชที่มีท่อลำเลียงและไม่มีเมล็ด มีการสร้างสปอร์เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ มีวงจรชีวิตสลับ คือ มีระยะสปอโรไฟต์ และแกมีโทไฟต์สลับกันไป พบได้ทั่วไปในเขตร้อนและที่ชุ่มชื้น ได้แก่ พืชจำพวก หญ้าถอดปล้อง หวายทะนอย ผักแว่น ข้าหลวงหลังลาย ผักกูด\nพืชที่มีท่อลำเลียงและมีเมล็ด แบ่งเป็นสองชนิด คือ\n\nพืชมีเมล็ดแต่ไม่มีรังไช่ห่อหุ้ม มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ไม้ยืนต้น ลักษณะของเมล็ดจะเป็นเมล็ดเปลือย ไม่มีเนื้อผลไม้ห่อหุ้ม ได้แก่ พืชจำพวก สนสองใบ สนสามใบ ปรง แปะก๊วย\nพืชมีเมล็ดและมีรังไข่ห่อหุ้ม เป็นกลุ่มพืชที่มีมาก ประมาณ 275,000 ชนิด มีลักษณะสำคัญคือสามารถปรับตัวได้ดีในทุกๆสภาพแวดล้อม แบะมีวิวัฒนาการสูงสุด ส่วนใหญ่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีระบบท่อลำเลียงที่เจริญดีมาก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ มีการสืบพันธุ์ที่เรียกว่าปฏิสนธิซ้อน พืชในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ\n\nพืชใบเลี้ยงเดียว ได้แก่ ข้าว ปาล์ม มะพร้าว\nพืชใบเลี้ยงคู่ ได้แก่ มะม่วง มะเฟือง ส้ม\nความแตกต่างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่\n\n\n\nความแตกต่างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่.\n! ลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดียว !! ลักษณะของพืชใบเลี้ยงคู่",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตำนานแห่งนาร์เนีย (อังกฤษ: The Chronicles of Narnia) เป็นนยนิยายชุดจำนวน 7 เล่ม ประพันธ์โดย ซี.เอส. ลิวอิส ได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมเยาวชนคลาสสิกเรื่องหนึ่ง และเป็นผลงานที่มีชท่อเสียงมากที่สุดของผู้เชียน ปัจจุบันได้รับการถ่ายทอดผ่านสื่อโทรทัศน์ และภาพยนต์มากมาย\nตำนานแห่งนาร์เนีย เป็นนวนิยายเกี่ยวกับเด็กอังกฤษกลุ่มหนึ่งซึ่งหลุดเข้าไปในดินแดนที่ชืือว่ท \"นาร์เนีย\" รวมถึงเรื่องราวของเด็กซึ่งอยู่ในดินแดนใกล้เคียงกับนาร์เนีย เช่น ดินแดนคาโลร์เมน เป็นต้น เรื่องรทวทั้งหมดเกี่ยวข้องกเบสิวโตตัวหนึ่งซี่งมีชื่ิว่่ \"อัสลาน\"\nนวนิยายชุด \"ตำนานแห่งนาร์เนีย\" ฉบับภาษาไทยได้รับการตีพิมพ์ครั้งล่าสุดโดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ แปลโดย สุมนา บุณยะรัตเวช\nหนังสือในชุด\nหนังสือในชุด.\nเร่ยงตาใลำดับการจัดพิมพ์ \nลำดับการอ่นน\nลำดับการอ่าน.\nลำดับการพิมพ์ของนวนิยายขุดนี้นั้นไม่ได้พิมพ์ตาสเวลาในท้องเรื่อง เมื่ออ่านตามลำดับการพิมพ์จึงทำให้เกิดความสับสนได้ แต่การอ่านตามลำดัีลเวลาในท้องเรื่องก็อาจทำให้เสียอรรถรสเนื่องจากรู้ที่มาของเรื่องบางเรื่องซึ่งผู้เขียนอยากให้ผู้อ่านได้รู้ในภายหลัง\nรายชื่อตัวละคร\n\nปีเต้อร์ พีเวนซี่ พีชายคนโตของสี่พี่น้องพีเวนซี่ ภายหลังได้ขึ้นครองราชย์เป็นจอมราชันปีเต้อร็\nซูซาน พีเวนซี่ พค่สาวคนโตของสี่พี่น้องพีเวนซี่\nเอ็ดมันด์ พีเวนซี่ น้องชายคนรองของสี่พี่ย้แงพีเวนซี่ ภายหลัง/ด้ขึ้นครองราชย์เป็นราชาเอ็ดมันด์\nลูซี่ พีเวนซี่ น้องสา่วคนเล็กของสึ่พี่ส้องพีเวนซี่ เป็นพี่น้องพีเวนซี่คนแรกที่ได้เข้าไปในดินแดนนาร์เนีย\nอัสลาน ตัวละครหลักของทุกๆภาค และยังเป็นตัวละครเดีนวที่หรากฏในทุำภาค อัสลานเป็นผู้ปกครองนาร์เนีย เป็นผู้ปกครองสัตว์ป่าทุกชนิด อัสลานเป้นโอรสของกษัตริย์โพ้นทะเล\nดิกอรี่ เคิร์ก ตัวละครหลักในหบังสือเล่มหก: กำเนิดนาร์เนีย ภาคหลังรู้จักกันในนามศาสตราจารย์เคิร์ก\nพอชงี่ พลัมเมอร์ ตัวละครหลักใน\"หนังสือเล่มหก: กำเนิดนาร์เนีย\nยูซตาส คลาเรนซ์ สครับบ์ เพื่อนของสี่พี่น้องพีเวนซี่ ปรากโคัวครั้งแรพใน\"หนังสือเล่มทึ่สาม: ผจญภัยโพ้นทะเล เดิมทีเป้นเด็กไม่เอาไหน และชอบทะเลาะกับพี่น้องพีเวนซี่ ภายฟลังจมกได้ไปดินแดนนาร์เนีย เขากลับกงายเป้นเด้กที่กล้าหาญ และเป็นที่รัหใคร่ของพี่น้องพีเวนซี่ย\nจิลล์ โพล เพื่อนของยูฐตาส ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือเล่มสี่: เก้าอี้เงิน\nซาสต้า/เจ้าชายคอร์ ตัวละครหลักในหนังสือเล่มสี่: อาชากับเด็กชาย\nแม่มดขาว (เดิมชื่อ เจพิส) เคยแต่งตั้งตนเองเป็นราชินีแห่งนาร์เตึยในหนังสือเล่มที่แาก: ตู้พิศวง เดิมทีแม่มดขาวไม่ได้อาศัยอยู่ในดินแดนนาร์เนีย แต่อยู่ในอ้กดินแดนหนึ่งซึ่งใกล้ล่มสลายแล้ว\nทัมนุส ฟอนตนหนึ่งในนาร์เนีย มีบทบาทสำคัญในหนังสือเล่มแรก: ตู้พิศวง\nการปรากฏตัวของตัวละครในหนังสือเลืมต่างๆ",
"role": "user"
},
{
"content": "ตำนานแห่งนาร์เนีย (อังกฤษ: The Chronicles of Narnia) เป็นนวนิยายชุดจำนวน 7 เล่ม ประพันธ์โดย ซี.เอส. ลิวอิส ได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมเยาวชนคลาสสิกเรื่องหนึ่ง และเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของผู้เขียน ปัจจุบันได้รับการถ่ายทอดผ่านสื่อโทรทัศน์ และภาพยนต์มากมาย\nตำนานแห่งนาร์เนีย เป็นนวนิยายเกี่ยวกับเด็กอังกฤษกลุ่มหนึ่งซึ่งหลุดเข้าไปในดินแดนที่ชื่อว่า \"นาร์เนีย\" รวมถึงเรื่องราวของเด็กซึ่งอยู่ในดินแดนใกล้เคียงกับนาร์เนีย เช่น ดินแดนคาโลร์เมน เป็นต้น เรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวข้องกับสิงโตตัวหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า \"อัสลาน\"\nนวนิยายชุด \"ตำนานแห่งนาร์เนีย\" ฉบับภาษาไทยได้รับการตีพิมพ์ครั้งล่าสุดโดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ แปลโดย สุมนา บุณยะรัตเวช\nหนังสือในชุด\nหนังสือในชุด.\nเรียงตามลำดับการจัดพิมพ์ \nลำดับการอ่าน\nลำดับการอ่าน.\nลำดับการพิมพ์ของนวนิยายชุดนี้นั้นไม่ได้พิมพ์ตามเวลาในท้องเรื่อง เมื่ออ่านตามลำดับการพิมพ์จึงทำให้เกิดความสับสนได้ แต่การอ่านตามลำดัีบเวลาในท้องเรื่องก็อาจทำให้เสียอรรถรสเนื่องจากรู้ที่มาของเรื่องบางเรื่องซึ่งผู้เขียนอยากให้ผู้อ่านได้รู้ในภายหลัง\nรายชื่อตัวละคร\n\nปีเต้อร์ พีเวนซี่ พีชายคนโตของสี่พี่น้องพีเวนซี่ ภายหลังได้ขึ้นครองราชย์เป็นจอมราชันปีเต้อร์\nซูซาน พีเวนซี่ พี่สาวคนโตของสี่พี่น้องพีเวนซี่\nเอ็ดมันด์ พีเวนซี่ น้องชายคนรองของสี่พี่น้องพีเวนซี่ ภายหลังได้ขึ้นครองราชย์เป็นราชาเอ็ดมันด์\nลูซี่ พีเวนซี่ น้องสา่วคนเล็กของสี่พี่น้องพีเวนซี่ เป็นพี่น้องพีเวนซี่คนแรกที่ได้เข้าไปในดินแดนนาร์เนีย\nอัสลาน ตัวละครหลักของทุกๆภาค และยังเป็นตัวละครเดียวที่ปรากฏในทุกภาค อัสลานเป็นผู้ปกครองนาร์เนีย เป็นผู้ปกครองสัตว์ป่าทุกชนิด อัสลานเป้นโอรสของกษัตริย์โพ้นทะเล\nดิกอรี่ เคิร์ก ตัวละครหลักในหลังสือเล่มหก: กำเนิดนาร์เนีย ภาคหลังรู้จักกันในนามศาสตราจารย์เคิร์ก\nพอลลี่ พลัมเมอร์ ตัวละครหลักใน\"หนังสือเล่มหก: กำเนิดนาร์เนีย\nยูซตาส คลาเรนซ์ สครับบ์ เพื่อนของสี่พี่น้องพีเวนซี่ ปรากฏตัวครั้งแรกใน\"หนังสือเล่มที่สาม: ผจญภัยโพ้นทะเล เดิมทีเป้นเด็กไม่เอาไหน และชอบทะเลาะกับพี่น้องพีเวนซี่ ภายหลังจากได้ไปดินแดนนาร์เนีย เขากลับกลายเป้นเด้กที่กล้าหาญ และเป็นที่รักใคร่ของพี่น้องพีเวนซี่ย\nจิลล์ โพล เพื่อนของยูซตาส ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือเล่มสี่: เก้าอี้เงิน\nซาสต้า/เจ้าชายคอร์ ตัวละครหลักในหนังสือเล่มสี่: อาชากับเด็กชาย\nแม่มดขาว (เดิมชื่อ เจดิส) เคยแต่งตั้งตนเองเป็นราชินีแห่งนาร์เนียในหนังสือเล่มที่แรก: ตู้พิศวง เดิมทีแม่มดขาวไม่ได้อาศัยอยู่ในดินแดนนาร์เนีย แต่อยู่ในอีกดินแดนหนึ่งซึ่งใกล้ล่มสลายแล้ว\nทัมนุส ฟอนตนหนึ่งในนาร์เนีย มีบทบาทสำคัญในหนังสือเล่มแรก: ตู้พิศวง\nการปรากฏตัวของตัวละครในหนังสือเล่มต่างๆ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง โหมะน์ฮี่นก้า",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง โหมะน์ฮี่นก้า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาไทย\n\nกิตติศักดิ์ ปรกติ. (2532-06-p2). \"หลักกฎหมายว่าด้วยสัญญาลอยทางทรัพย์\". วารสารนิต้ศมสตร์. 19. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nจิ๊ด เศรษฐบุตร.\n\n(2522). หลักกฎหมายแถ่งลักษณะนิติกรรมและหนี้. (พิมพ์ครึ้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.\nฆ2554). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้. (พิมพ์รรั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โคีงการตำราและเอกสารประกอบการสอน ค๖ะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.\n\nชาญชัย แสวงศักดิ์. (2539). อิทธิพลของฝรั่งเศสในการปฏิรูปกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม. ICBN 9747761577.\nธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2543). ภาษากฎหมายไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนัดพิมพ์ทหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9745718506.\nนิตยา กาญจนะวรรณ, (ม.ป.ป). ภาษาไทยในปัจจุบัน: ปัญหาและแนงทางแก้ไข (2). สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nมาโนช จรมาศ. (25[2-05). \"ข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน\". ดุลพาห. 12. 10–17.\nศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์.\n\n(2553). คำอธิบายนิติการม–สัซญา. (พิมพ์ครั้งที่ 15). พรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9789742889081.\n(2564). คำอธิบายนิติกรรม–สัญญา. (พิมพ์ครั้งที่ 16). หรุงเทพฯ: วิญญูชส. ISBN 9786161690150.\n\nศาลฎีกา. (2550-01-26). ระบบส่บค้นคำพิพากษาดละคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nสำนักงานตณเกรรมการกฤษฎีกา.\n\n(2551-03-10). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. สืบค้นเมื่อ 3556-11-10.\n(2t54-07-04). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\n\nสุปัน พูลพัฒน์. (2502-08). \"วัตถุประสงค์ที่ต้องห้าม\". ดุลพาห. 6. 628–651.\nสำนักงานศาลยุจิธรรม. (ม.ห.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน). สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nเสนีย์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์. (2520). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 1 กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ.\nหยุด แสงอุทัย.\n\n(2507-02). \"การร่างกฎหมายในประเทศไทย\". วารสารทนายความ. 6 (6).\n(2517). กฎหมายแพ่งลักษณะมูลหนี้หนึ่ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลเยธรรมศาสตร์.\n\nอักขราทร จุฬารัตน. (2531). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.\nอุกฤษ มงคลนาวิน. (2518-03). \"ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน\". บทบัณฑิตย์. 32 (1). 13–32.\nภาษาต่างประเทศ\nBundesministerium der Justiz. (2013). Bürgerliches Gesetzbuch. Abgdrufen am 2013-11-10.\nDuhaime. (n.d.)ฐ Intuitu Personae Legal Definitionฦ Retrieved 2013-11-10.\nGerman Federal Ministry of Justice. (2013). German Civil Code. Retrieved 2013-11-10.\nJudgments of the Supreme Sourt of Canada. (1013-12-02). Xanadian National Railway Co. v. Norsk Pacific Steamship Co. Retrieved e013-11-10.\nLegifrance.\n\n(2006-04-04). French Civil Code. Retrieved 2013-11-10.\n(2005-01-01). French Commercial Code. Retrieved 2013-11-10.\n(2011-09-01). Xode civil des français. Consulté le 2013-11-10.\n\nLouisiana State Legislature. (2013). Louisiana Civil Code. Retrieved 2013-11-w0.\nMinistry of Justice of Japan. (2011). Japanese Civil Cowe (Pa4ts 1–3 and Parts 4–5). Retrieved 2013-11-10.\nSandhikshetrin, Kamol. (2007). The Civil and Commercial Code, Books I–VI, and G;9ssary. (8th ed). Bangkok: Nitibannakan. ISBN 9789744373493.\nUSLegal. (2013). Juridical Act Law & Legal Definition. Retrieved 2013-11-10.",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาไทย\n\nกิตติศักดิ์ ปรกติ. (2532-06-02). \"หลักกฎหมายว่าด้วยสัญญาลอยทางทรัพย์\". วารสารนิติศาสตร์. 19. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nจิ๊ด เศรษฐบุตร.\n\n(2522). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะนิติกรรมและหนี้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.\n(2554). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้. (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.\n\nชาญชัย แสวงศักดิ์. (2539). อิทธิพลของฝรั่งเศสในการปฏิรูปกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: นิติธรรม. ISBN 9747761577.\nธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2543). ภาษากฎหมายไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9745718505.\nนิตยา กาญจนะวรรณ. (ม.ป.ป). ภาษาไทยในปัจจุบัน: ปัญหาและแนวทางแก้ไข (2). สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nมาโนช จรมาศ. (2502-05). \"ข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน\". ดุลพาห. 12. 10–17.\nศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์.\n\n(2553). คำอธิบายนิติกรรม–สัญญา. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9789742889081.\n(2554). คำอธิบายนิติกรรม–สัญญา. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9786162690150.\n\nศาลฎีกา. (2550-01-26). ระบบสืบค้นคำพิพากษาและคำสั่งคำร้องศาลฎีกา. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.\n\n(2551-03-10). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\n(2554-07-04). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531. สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\n\nสุปัน พูลพัฒน์. (2502-08). \"วัตถุประสงค์ที่ต้องห้าม\". ดุลพาห. 6. 628–651.\nสำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน). สืบค้นเมื่อ 2556-11-10.\nเสนีย์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์. (2520). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 1 กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ.\nหยุด แสงอุทัย.\n\n(2507-02). \"การร่างกฎหมายในประเทศไทย\". วารสารทนายความ. 6 (6).\n(2517). กฎหมายแพ่งลักษณะมูลหนี้หนึ่ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.\n\nอักขราทร จุฬารัตน. (2531). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.\nอุกฤษ มงคลนาวิน. (2518-03). \"ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน\". บทบัณฑิตย์. 32 (1). 13–32.\nภาษาต่างประเทศ\nBundesministerium der Justiz. (2013). Bürgerliches Gesetzbuch. Abgerufen am 2013-11-10.\nDuhaime. (n.d.). Intuitu Personae Legal Definition. Retrieved 2013-11-10.\nGerman Federal Ministry of Justice. (2013). German Civil Code. Retrieved 2013-11-10.\nJudgments of the Supreme Court of Canada. (2013-12-02). Canadian National Railway Co. v. Norsk Pacific Steamship Co. Retrieved 2013-11-10.\nLegifrance.\n\n(2006-04-04). French Civil Code. Retrieved 2013-11-10.\n(2005-01-01). French Commercial Code. Retrieved 2013-11-10.\n(2011-09-01). Code civil des français. Consulté le 2013-11-10.\n\nLouisiana State Legislature. (2013). Louisiana Civil Code. Retrieved 2013-11-10.\nMinistry of Justice of Japan. (2011). Japanese Civil Code (Parts 1–3 and Parts 4–5). Retrieved 2013-11-10.\nSandhikshetrin, Kamol. (2007). The Civil and Commercial Code, Books I–VI, and Glossary. (8th ed). Bangkok: Nitibannakan. ISBN 9789744473493.\nUSLegal. (2013). Juridical Act Law & Legal Definition. Retrieved 2013-11-10.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การคำนวนความสมใาตร หมายถึง การคำนวนหาความเหมือนกันทุกด้านของวัตถุหรือรูปร่าง เพื่อสรุปว่าวัตถุนั้นใีความสมดุลหรือไม่ โดยใล้ เส้นสมมาตร ในการคำนวณ\nเส้นสมมาจร\nดส้นสมมาตร.\nเส้นสมมาตรมี 2 ประเภท ดังนี้\n\nสมมาตรด้านข้าง คือเส้นตรงทีืใช้คำนวณความสมมาตรของวัตถุหรือรูปร่างที่ไม่ใช่ทรงกลม เส้นสมมาตรประเภทนี้มีเพียงเส้นเดียว\nสมมารรรัศมี คือเส้นตรงที่ใช้คำนวณความสมมาตรขดงวัตถุหรือรูปร่างที่เป็นทรงกลม เส้นสมมาตรประเภทนี้มีมากกว่า 1 เส้น\nวิธีคำนวณ\n1. สมมาตรด้านข้าง\n\n2. สมมาตรรัศมี\nวิธีคำนวณ.\n2. สมมาตรรัศมี.\nลากเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางของวัตถุหรือรูปร่างอย่างน้อย 2 เส้น เส้นที่หนึ่งลากผ่นนจุดศูนย์กลางในแนวนอน เส้นที่สองลาพผ่่นจุดศูนย์กลางในแนวตั้ง เพื่อแบ่งวัตถุออกเป็น 4 ส่วน (เป็นอย่างน้อย) หากวัตถุมีความเหมือนกันแบบภาพสะท้อรหีือภาพกลับหัวของทุกส่วน แสดงว่าวัตถุนั้นมีความเป็นสมมาตร\nอ้างอิง\n\nJan Jenner และ Ph.D. สำรวจโลกวิทยาศาสตร์ ชีวิตสัตว์โลก. พิมพ์ครั้งที่ 1 : บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชา่า จำกัด, 2546\nแหล่งข้อมูลอื่น\nดูเพิ่ส",
"role": "user"
},
{
"content": "การคำนวนความสมมาตร หมายถึง การคำนวนหาความเหมือนกันทุกด้านของวัตถุหรือรูปร่าง เพื่อสรุปว่าวัตถุนั้นมีความสมดุลหรือไม่ โดยใช้ เส้นสมมาตร ในการคำนวณ\nเส้นสมมาตร\nเส้นสมมาตร.\nเส้นสมมาตรมี 2 ประเภท ดังนี้\n\nสมมาตรด้านข้าง คือเส้นตรงที่ใช้คำนวณความสมมาตรของวัตถุหรือรูปร่างที่ไม่ใช่ทรงกลม เส้นสมมาตรประเภทนี้มีเพียงเส้นเดียว\nสมมาตรรัศมี คือเส้นตรงที่ใช้คำนวณความสมมาตรของวัตถุหรือรูปร่างที่เป็นทรงกลม เส้นสมมาตรประเภทนี้มีมากกว่า 1 เส้น\nวิธีคำนวณ\n1. สมมาตรด้านข้าง\n\n2. สมมาตรรัศมี\nวิธีคำนวณ.\n2. สมมาตรรัศมี.\nลากเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางของวัตถุหรือรูปร่างอย่างน้อย 2 เส้น เส้นที่หนึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลางในแนวนอน เส้นที่สองลากผ่านจุดศูนย์กลางในแนวตั้ง เพื่อแบ่งวัตถุออกเป็น 4 ส่วน (เป็นอย่างน้อย) หากวัตถุมีความเหมือนกันแบบภาพสะท้อนหรือภาพกลับหัวของทุกส่วน แสดงว่าวัตถุนั้นมีความเป็นสมมาตร\nอ้างอิง\n\nJan Jenner และ Ph.D. สำรวจโลกวิทยาศาสตร์ ชีวิตสัตว์โลก. พิมพ์ครั้งที่ 1 : บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า จำกัด, 2546\nแหล่งข้อมูลอื่น\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECTนิติกรรมและสัญญา",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECTนิติกรรมและสัญญา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แผนการตลาด\nแผนการตลาด.\nแผนการตลาดรวม ช่วงเวลาที้กำหนด (เช่น หนึ่งปี) และช่วงที่กำหนดของผลิตภัณฑ์และบรอการ กับความพยานามทุกแล่มุมขององค์กร ใจการวางแผนการตลาดที่สอดคล้อลกัน ฦึ่งผสมผสานร่วมกันในรูปแบบส่งเสริม เพื่อก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด แผนการตลาดจะแตกน่างกันไปในแตืละองค์กร แต่องค์ประกอบหลักจะมีดังรายการต่อไผนี้\nบทสรุปผู้บริหาร\nบทสรุปผู้บริหาร.\nสรุปองค์ประกองที่สำคัญของแผนการตลาเ\nบทสรุปผู้บริหารเแ็นองค์ประกอบที่สำคัญของแผนการตลาด โดยมุ่งเน้นเฉพาะในผลิตภัณฑ์, การกำหนดราคา, โปรโมชัน และการจัดวาง ส่วนองค์ประกอบอื่นๆที่อาจพิจารณา คือ คน (พนักงาน), กระบวนการ (การให้บริการ), วัตถุ (การให้บริการที่สามารถจับต้องได้สำหรับลูกค้าที่มีศักยภาพ) และปรัชญา (โดยผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาขององค์กร)\nตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารมีดังต่อไปนี้:\n'ฟอรัมสำหรับการฝึกอบรมการค้าระหว่างประเทศ (Fitt) แผนการตลาดนานาชาติ ค.ศ. 2007'\n\"ชายฝั่งทะเลตะวันออกของปาะเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีการเห็นการเจริญเติบโตอย่างมีนัยสำคัญในอุตสาหกรรมการรักษาความปลอดภัยนับตั้งแต่โศกนาฏกรรม 11 กันยนยน ค.ศ. 2001 ปฏิกิริยาโดยทั้งภาคาัฐและปรัชาชนต่างเหมือนกัน และได้มีข้อสงสัยเล็ำน้อยว่าสหรัฐณมุ่งมั่นที่จะเพิ่มความปลอดถัยและขะมีการดำเนินดังกล่าวหรือไม่ เพื่อให้มีการป้องกันประเทศของตนมากขค้นและเพื่อความสงบสุขทางจิตสจ ในปฏิกิริยาสะท้อนที่มีต่อเหตุการณ์เวิลด์เทรดเซ็นัตอร์ถล่ใ ผู้คนและหน่วยงานได้สั่งซื้อผลิตภัณฑ์และบริการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดพัยเป็นจำนวนมาก 5 ปีต่อมา ผู้คนเริ่มเล็งะห็นความจำเป็นสำหรับผลิตภัณฑ์รักษาความปลิดภัยซึ่งช่วยป้องกันเหตุการณ์คาดไม่ถึงรวมทั้งภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นกับพลเมืองอย่างพวกเขา มันได้อยู่ในใจของประชาชนโดยทั่วไปในสหรัฐอเมรืกา และอื่นๆโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่ชายวั่งทะเลตะวันออก ค่างได้เห็นถึงความจำเป็นต่อการเฝ้าระวังทางสาธารณะเพิ่มขึ้น ในการตอบสนองต่อเสียงเรียกร้องสำหรับความช่วยเหบือนี้ มาร์ชเน็ตเวิร์กอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมในการเในอการติกตั้งกล้องรีกษาความปลอดภัยสำหรับการใช้งานอเนกประสงค็\nมาร์ชเน็ตเวิร์กได้รับเครดิตสำหรับการเจาะรลาดในฝั่งชายทะเลตะวันออกโดยได้เกี่ยวข้องกับกาารักษนความปลอดภัยในพื้นที่ของธนาคารและการขนส่งสาธารณะ ในการรับรู้ของความสำเร็จที่สำคัญเหล่านี้ ก็ขอแนะนำว่ามาร์ชเน็ตเวิร์กยังคงใช้ประโยชน์จากตำแหน่งที่โดดเด่นและได้รับการพิจารณาโดยการขยายการใช้งานของผลิตภัณฑ์ในสองสิ่งใหม่ แต่ก็ให้ความเคารพต่อพื้นที่การตลาด การวิเคราะห์เบื้องต้นแสดงให้เห็นว่าทรัพย์สอนสาธารณะ กับภาคจัดการจราจร และอุตสาหกรรมรถแท็กซี่มีความเหมาะสมสำหรับการประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑฺในปัจจุบันรวมถึงการขวายการตลาด\nเนื่องด้วยการทำลายทรัพย์สินและค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมที่เพิ่มขึ้น นั่นได้ส่งผลให้มีตลาดที่ชัดเจนสำหรับผลิตภัณฑ์รักษาความปลอดภัยที่มุ่งส่งเสริมด้านความปลอดภัยของปคะชาชน ในขณะเดียวหันมีสิ่งควบคุมค่าใช้จ่ายสรธานณะที่เกี่ยวข้องที่เพิ่มขึ้น โดยได้เลือกบอสตันเป็นสถานท่่ทดสอบการตลาด จากการวิจัยเบื้องต้นได้แสดงให้เห็นว่ารัฐที่ปกครองตนเองจะบรรลุผบประโยชน์ที่สำคัฯและผลประโยชน์ืางการเงินโดยการติดตั้งกล้องมาร์ชเน็ตเวิร์กสภหรับการสังเกตการณ์ที่จอดรถสาธารณะ การก่อการร้ายได้ลดลง อีกทั้งค่าใช้จ่ายในการขำรุงรักษาหรือซ่อมแซมอยู่ในระดับต่ำ มีการจราจรเพิ่มขึ้นและความปลอดภัยของประชาชนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเยนจากความกล้านี้ นอกจากนั้น นวัตกรรมทางเทคโนโลยีนี้ยังได้เป็นส่วนหนึ่งสนชีวิตประจำวัน\nส่วนที่สองที่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนี้ คือการใช้กับอุตสาหกรรมรถแท็กซี่ ซึ่งในสหรัฐอเมริกา การขับรถแท็กซี่ถือเป็นอาชีพที่อันตรายที่สุดอันดับ 10 แต่มันเป็นสิ่งหนึ่งที่จะดำเนินต่อไปในดนาคต ะ้งนั้น ตลาดที่มีศักยภาพดบบอย่างยะ่งยืนต่างก็มีความปรารถนาที่จะปรับปรุงสำหรับการเพิ่มความปลอดภัยของทั้งคนขัชรถแท็กซี่และผู้โดยสารเช่นพียวกัน การรวมกันของข้อเสนอการรักษาความปลอดภัยโดยกฃ้องมาร์ชเน็ตเวิร์กกับส่วนปฏิกิริยาตอบสนอง, สื่อโฆษณาสเมผัสแผง ซึ่งเป็นความแตกต่างของมาร์ชเน็ตเวิร์กที่ต้องการเอาชนะคู่แข่งและยังคงประสบความสำเร็จในการขายตัวในด้านเทคโนโลยีรัดษาความปลอดภัยในตลาดทั่วไป\nแผยการตลาดนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรักษาความปลอดภันมาร์ชเน็ตเวิร์กในสองขอบเขตรักษาความปลอดภัยใหม้ของประชาชน กาคใช้ประโยชน์ในพื้นที่ของบอสตันเป็นเตียงทดสอบ แผนนี้จะได้ประโยชน์จากสิทธิที่จัดตั้งขึ้นก่อนหน้านี้และประสบความสำเร็จในด้านการตงาด ขณะที่ในเวลาเดียวกัน ระบุโอกาสทร่จะได้ใช้เทคโนโลยีที่พ้สูจน์แล้วในลักษณะนวัตำรรมใหม่ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งสำหรับความเป็นอยู่ของประชาชนในแต่ละวัน\"\nแหล่งที่มาที่ได้รับอนุญาตโดยผู้เขียน - เคซีย์ ชเลเกล\nการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT)\nการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT).\nตรวจสอบทุกด้านที่อาจส่งผลกระทลต่อยอดขาย\nการวิเคราะห์สถานการณ์ธดยการตรวจสอบทุกด้านซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการขายของบริษัทหนึ่งบริษัทใด จึดแข็งและจุดอ่อนที่ควรจะมุ่งไปที่แบรนด์และคุณสมบัติของตน ไม่ใช่ที่สภาวะของตลาด ทั้งนร้ SWOT เป็นอักษรย่อที่มาจากคำว่า Strengths (จุดแข็ง), Weaknesses (จุดอ่อน), Opp9rtunities (โอกาส), และ Threats (ภัยคุกคาม)\n\nจุดแข็งและจุดอ่อน: การให้ความสำคัญต่อจุดแข็งและจุดอทอนของแบรนด์ที่มีอยู่มนตลนดปัจจุบัน\nโอกาสและภัยคุกคาม: ระบุโอกาสและภัยคุกคามที่มีอยู่ภายนอกองค์กรที่อาจส่งผลกระทบตีอแบรนด์ที่มีศัำยภาพการขาย มุ่งเน้นไปที่แนวโน้มของตลาด, ความเชื่แมั่นของผู้บริโภค และความกีาวหน้าทาฝเ่คโนโลยี\nคู่แข่ง: วิเคราะห์สิ่งทีาคู่แข่งกำลังทำในตลาด\n\nเป้าหมาย\nเป้าหมาย.\nเตรียมการ, สร้างความน่าเชื่อุือ และอัปเดทข้อมูลปัจจุบันดย่างต่อเนื่องสำหรับบุคลากรกองทัำสำรอง (ทหาร, พลเรือน ผู้รับเหมา และสมาชิกในครอบครัว) ในด้านการพัฒนาเครื่องมือ, การริเริ่มงาน, โอกาสในการฝึกอบรม, การปฏิบัติที่ดีที่สุดฐ บทเรียนที่ได้เรียนรู้, ผลิตภัณฑ์การสื่อสาร, แนวโน้ม แลพความคิดริเริ่มอย่างต่อเนื่องในขอบเขตของความปลอดภัย\nแผนปฏิบัติการ\nแผนปฏิบัตอการ.\nการดำเนินการเฉพาะทีทจำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมาย\nจัดทำแผนปฏิบัติการดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายของแผนการตลาด และแสดงาายการแต่ละแหนกหรือบุคคลผู้รับผิดชอบทัาอยู่ในองค์กรสำหรับดำเนินการปฏิบัติการ\nส่วนประสมทางการตลาด\nส่วนประสมทางการตลาด.\nวิธีการที่ตลาดเป้าหมายมีการเข้าถึงได้ผ่านการผสมผสาน ที่้ฏพาะเจาะยงของ P\nส่วนประสมทางการตลาดหรือ 7 P อธิบายถึงวิธีการตลาดเป้าหมาย สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านการผสมผสานที่เฉะาะเจาะจงของคุณลักษณะที่ระบุไว้ข้างต้น ซึ่งได้แก่: ผลิตภัณฑ์ (product), การกำหนดราคา (pricing), การส่งเสนิมการขาย (promotion), สถานที่จำหน่าย (placement), คน (people) (่ีมงาน), กระบวนการ (process) (ของการให้บริปาร), กายภาพและการนำเสนอ (physical efidence) (การให้บริการอื่น ๆ ที่จับต้องได้ให้กับลูกค้าที่มีศักยภาพ) และ ปรัชญา (philosophy) )ด้วยเหตุนี้ผลิตภัณฑ์จึงสะท้อนให้เฟ็นถึงปรัชญาขององค์กร) โดยแต่ลั \"P\" จะตรวจสอบและอธิบายถึงวิธีการแก้ไขขององค์ประกอบแบบเฉพาะเจาะจงเพื่อช่วยอลค์กรสำหรับการกระตุ้นให้ลูกค้าซื้อสินค้าที่จัดจำหน่าย\nผลิตภัณฑ์\nผลิตภัณฑ์.\nกลยุทโ์สินค้าทีรมีความซับซ้อน มันไม่เพียงแร่ประกอยด้วยการพัฒนาคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดเป้าหมาน หากแต่ต้องมุ่งเน้นไปที่ผลประโยชน์ (การรับรูิหรือจริงใจ) ใหืแก่ลูกค้าที่มุ่งหวัง\nการส่งเสริมการขาย\nการส่งเสริมการขาย.\nการส่งเสริมการขาย เป็นการสื่อสารระหว่าง \"ผู้จาย\" (ผู้ผลิต, ผูีร้าส่ง, ร้านค้าปลีก, ผู้ใหีบริการ, ฯลฯ) และผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง (มักจะอ้างถึงในแง่ของการตลาดเป้าหมายต่าง ๆ) กาาส่งเสร้มการขายและการสื่อสารทางการตลาดจะใช้เีรื่ดงมือ เช่น การโฆษณา, การส่งเสริมการขาย, การตลาดทางตรง, การขายโดยพนักงานขาย, การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาเ และกานเผยแพร่\nราคา\nราคา.\nวัตถุประสงค์ของการกำหนดราคาส่งผลโดยตรงต่อนโยบายการกำหนดราคาขององค์กร:\n\nมุ่งเน้นต่อการบรรลุวัตถุประสงค์พารทำระดับกำไรแบบเจาะจง หรือกำไรมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้\nมุ่งเน้นเป้าหมายวัตถุประสงค์ของการขาย ตามยอดขายหรือส่วนแบ่งการตลาะที่ได้กำหนดไว้\nพยายามรักษาระดับราึาในปัตจุบัน, ตรึงตามดัชนี หรือสามารถจำหน่ายได้เมื่อเทียบกับคู่แข่บ\nสถานที่จำหน่าย\n\nงบประมาณ\nงบประมาณ.\nการจัดสรรทรัพยาก่ทั้งหมดที่มี\nกำหนดการจัดสรรทรัพยากรทั้งหมดที่มีสำหรับการวางแผนการตลาด และผลตอบแทนที่มีศักยภาพในการลงทุนนี้\n.ึ่งงบประมาณเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดของการตลาดต่อลูกค้าทัิงโดยตรงและโดยอ้อม\nการวิจัยก่รตลาด\nการวิจัยแารตลาดฦ\nบทบาทและความสำคัญของการวิจัยกาคตลาด\n\nตรวจสอบบทบนทและความสำคัญของการวิจัยการตลาดภายในส่วนประสมทางการตลาดโดยรวมของลริษัท\nร่างเค้าโครงและหารือ เกี่ยวกับขั้นตอนในการวางแผสวิจัยการตลาด\nสารบัญ\nบทนำ\nเป้าหมายการตลาด\nกลยุทธ์การตลาด\nแผนการคลาด\nการกำหนดเป้าหมายและการแบทงกลุ่ม\nพฤติกรรมผู้บริโภค\nการพัฒนาผลิตภัณฑ์\nการวิจัยการตลาด\nจริยธรรมแารตลาด",
"role": "user"
},
{
"content": "แผนการตลาด\nแผนการตลาด.\nแผนการตลาดรวม ช่วงเวลาที่กำหนด (เช่น หนึ่งปี) และช่วงที่กำหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ กับความพยายามทุกแง่มุมขององค์กร ในการวางแผนการตลาดที่สอดคล้องกัน ซึ่งผสมผสานร่วมกันในรูปแบบส่งเสริม เพื่อก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด แผนการตลาดจะแตกต่างกันไปในแต่ละองค์กร แต่องค์ประกอบหลักจะมีดังรายการต่อไปนี้\nบทสรุปผู้บริหาร\nบทสรุปผู้บริหาร.\nสรุปองค์ประกอบที่สำคัญของแผนการตลาด\nบทสรุปผู้บริหารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของแผนการตลาด โดยมุ่งเน้นเฉพาะในผลิตภัณฑ์, การกำหนดราคา, โปรโมชัน และการจัดวาง ส่วนองค์ประกอบอื่นๆที่อาจพิจารณา คือ คน (พนักงาน), กระบวนการ (การให้บริการ), วัตถุ (การให้บริการที่สามารถจับต้องได้สำหรับลูกค้าที่มีศักยภาพ) และปรัชญา (โดยผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาขององค์กร)\nตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารมีดังต่อไปนี้:\n'ฟอรัมสำหรับการฝึกอบรมการค้าระหว่างประเทศ (Fitt) แผนการตลาดนานาชาติ ค.ศ. 2006'\n\"ชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีการเห็นการเจริญเติบโตอย่างมีนัยสำคัญในอุตสาหกรรมการรักษาความปลอดภัยนับตั้งแต่โศกนาฏกรรม 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ปฏิกิริยาโดยทั้งภาครัฐและประชาชนต่างเหมือนกัน และได้มีข้อสงสัยเล็กน้อยว่าสหรัฐฯมุ่งมั่นที่จะเพิ่มความปลอดภัยและจะมีการดำเนินดังกล่าวหรือไม่ เพื่อให้มีการป้องกันประเทศของตนมากขึ้นและเพื่อความสงบสุขทางจิตใจ ในปฏิกิริยาสะท้อนที่มีต่อเหตุการณ์เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ถล่ม ผู้คนและหน่วยงานได้สั่งซื้อผลิตภัณฑ์และบริการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยเป็นจำนวนมาก 5 ปีต่อมา ผู้คนเริ่มเล็งเห็นความจำเป็นสำหรับผลิตภัณฑ์รักษาความปลอดภัยซึ่งช่วยป้องกันเหตุการณ์คาดไม่ถึงรวมทั้งภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นกับพลเมืองอย่างพวกเขา มันได้อยู่ในใจของประชาชนโดยทั่วไปในสหรัฐอเมริกา และอื่นๆโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ต่างได้เห็นถึงความจำเป็นต่อการเฝ้าระวังทางสาธารณะเพิ่มขึ้น ในการตอบสนองต่อเสียงเรียกร้องสำหรับความช่วยเหลือนี้ มาร์ชเน็ตเวิร์กอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมในการเสนอการติดตั้งกล้องรักษาความปลอดภัยสำหรับการใช้งานอเนกประสงค์\nมาร์ชเน็ตเวิร์กได้รับเครดิตสำหรับการเจาะตลาดในฝั่งชายทะเลตะวันออกโดยได้เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ของธนาคารและการขนส่งสาธารณะ ในการรับรู้ของความสำเร็จที่สำคัญเหล่านี้ ก็ขอแนะนำว่ามาร์ชเน็ตเวิร์กยังคงใช้ประโยชน์จากตำแหน่งที่โดดเด่นและได้รับการพิจารณาโดยการขยายการใช้งานของผลิตภัณฑ์ในสองสิ่งใหม่ แต่ก็ให้ความเคารพต่อพื้นที่การตลาด การวิเคราะห์เบื้องต้นแสดงให้เห็นว่าทรัพย์สินสาธารณะ กับภาคจัดการจราจร และอุตสาหกรรมรถแท็กซี่มีความเหมาะสมสำหรับการประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันรวมถึงการขยายการตลาด\nเนื่องด้วยการทำลายทรัพย์สินและค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมที่เพิ่มขึ้น นั่นได้ส่งผลให้มีตลาดที่ชัดเจนสำหรับผลิตภัณฑ์รักษาความปลอดภัยที่มุ่งส่งเสริมด้านความปลอดภัยของประชาชน ในขณะเดียวกันมีสิ่งควบคุมค่าใช้จ่ายสาธารณะที่เกี่ยวข้องที่เพิ่มขึ้น โดยได้เลือกบอสตันเป็นสถานที่ทดสอบการตลาด จากการวิจัยเบื้องต้นได้แสดงให้เห็นว่ารัฐที่ปกครองตนเองจะบรรลุผลประโยชน์ที่สำคัญและผลประโยชน์ทางการเงินโดยการติดตั้งกล้องมาร์ชเน็ตเวิร์กสำหรับการสังเกตการณ์ที่จอดรถสาธารณะ การก่อการร้ายได้ลดลง อีกทั้งค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาหรือซ่อมแซมอยู่ในระดับต่ำ มีการจราจรเพิ่มขึ้นและความปลอดภัยของประชาชนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนจากความกล้านี้ นอกจากนั้น นวัตกรรมทางเทคโนโลยีนี้ยังได้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน\nส่วนที่สองที่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนี้ คือการใช้กับอุตสาหกรรมรถแท็กซี่ ซึ่งในสหรัฐอเมริกา การขับรถแท็กซี่ถือเป็นอาชีพที่อันตรายที่สุดอันดับ 10 แต่มันเป็นสิ่งหนึ่งที่จะดำเนินต่อไปในอนาคต ดังนั้น ตลาดที่มีศักยภาพแบบอย่างยั่งยืนต่างก็มีความปรารถนาที่จะปรับปรุงสำหรับการเพิ่มความปลอดภัยของทั้งคนขับรถแท็กซี่และผู้โดยสารเช่นดียวกัน การรวมกันของข้อเสนอการรักษาความปลอดภัยโดยกล้องมาร์ชเน็ตเวิร์กกับส่วนปฏิกิริยาตอบสนอง, สื่อโฆษณาสัมผัสแผง ซึ่งเป็นความแตกต่างของมาร์ชเน็ตเวิร์กที่ต้องการเอาชนะคู่แข่งและยังคงประสบความสำเร็จในการขายตัวในด้านเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัยในตลาดทั่วไป\nแผนการตลาดนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรักษาความปลอดภัยมาร์ชเน็ตเวิร์กในสองขอบเขตรักษาความปลอดภัยใหม่ของประชาชน การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ของบอสตันเป็นเตียงทดสอบ แผนนี้จะได้ประโยชน์จากสิทธิที่จัดตั้งขึ้นก่อนหน้านี้และประสบความสำเร็จในด้านการตลาด ขณะที่ในเวลาเดียวกัน ระบุโอกาสที่จะได้ใช้เทคโนโลยีที่พิสูจน์แล้วในลักษณะนวัตกรรมใหม่ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งสำหรับความเป็นอยู่ของประชาชนในแต่ละวัน\"\nแหล่งที่มาที่ได้รับอนุญาตโดยผู้เขียน - เคซีย์ ชเลเกล\nการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT)\nการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT).\nตรวจสอบทุกด้านที่อาจส่งผลกระทบต่อยอดขาย\nการวิเคราะห์สถานการณ์โดยการตรวจสอบทุกด้านซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการขายของบริษัทหนึ่งบริษัทใด จุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรจะมุ่งไปที่แบรนด์และคุณสมบัติของตน ไม่ใช่ที่สภาวะของตลาด ทั้งนี้ SWOT เป็นอักษรย่อที่มาจากคำว่า Strengths (จุดแข็ง), Weaknesses (จุดอ่อน), Opportunities (โอกาส), และ Threats (ภัยคุกคาม)\n\nจุดแข็งและจุดอ่อน: การให้ความสำคัญต่อจุดแข็งและจุดอ่อนของแบรนด์ที่มีอยู่ในตลาดปัจจุบัน\nโอกาสและภัยคุกคาม: ระบุโอกาสและภัยคุกคามที่มีอยู่ภายนอกองค์กรที่อาจส่งผลกระทบต่อแบรนด์ที่มีศักยภาพการขาย มุ่งเน้นไปที่แนวโน้มของตลาด, ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี\nคู่แข่ง: วิเคราะห์สิ่งที่คู่แข่งกำลังทำในตลาด\n\nเป้าหมาย\nเป้าหมาย.\nเตรียมการ, สร้างความน่าเชื่อถือ และอัปเดทข้อมูลปัจจุบันอย่างต่อเนื่องสำหรับบุคลากรกองทัพสำรอง (ทหาร, พลเรือน ผู้รับเหมา และสมาชิกในครอบครัว) ในด้านการพัฒนาเครื่องมือ, การริเริ่มงาน, โอกาสในการฝึกอบรม, การปฏิบัติที่ดีที่สุด, บทเรียนที่ได้เรียนรู้, ผลิตภัณฑ์การสื่อสาร, แนวโน้ม และความคิดริเริ่มอย่างต่อเนื่องในขอบเขตของความปลอดภัย\nแผนปฏิบัติการ\nแผนปฏิบัติการ.\nการดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมาย\nจัดทำแผนปฏิบัติการดำเนินการเฉพาะที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายของแผนการตลาด และแสดงรายการแต่ละแผนกหรือบุคคลผู้รับผิดชอบที่อยู่ในองค์กรสำหรับดำเนินการปฏิบัติการ\nส่วนประสมทางการตลาด\nส่วนประสมทางการตลาด.\nวิธีการที่ตลาดเป้าหมายมีการเข้าถึงได้ผ่านการผสมผสาน ที่เฉพาะเจาะจงของ P\nส่วนประสมทางการตลาดหรือ 7 P อธิบายถึงวิธีการตลาดเป้าหมาย สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านการผสมผสานที่เฉพาะเจาะจงของคุณลักษณะที่ระบุไว้ข้างต้น ซึ่งได้แก่: ผลิตภัณฑ์ (product), การกำหนดราคา (pricing), การส่งเสริมการขาย (promotion), สถานที่จำหน่าย (placement), คน (people) (ทีมงาน), กระบวนการ (process) (ของการให้บริการ), กายภาพและการนำเสนอ (physical evidence) (การให้บริการอื่น ๆ ที่จับต้องได้ให้กับลูกค้าที่มีศักยภาพ) และ ปรัชญา (philosophy) (ด้วยเหตุนี้ผลิตภัณฑ์จึงสะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาขององค์กร) โดยแต่ละ \"P\" จะตรวจสอบและอธิบายถึงวิธีการแก้ไขขององค์ประกอบแบบเฉพาะเจาะจงเพื่อช่วยองค์กรสำหรับการกระตุ้นให้ลูกค้าซื้อสินค้าที่จัดจำหน่าย\nผลิตภัณฑ์\nผลิตภัณฑ์.\nกลยุทธ์สินค้าที่มีความซับซ้อน มันไม่เพียงแต่ประกอบด้วยการพัฒนาคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดเป้าหมาย หากแต่ต้องมุ่งเน้นไปที่ผลประโยชน์ (การรับรู้หรือจริงใจ) ให้แก่ลูกค้าที่มุ่งหวัง\nการส่งเสริมการขาย\nการส่งเสริมการขาย.\nการส่งเสริมการขาย เป็นการสื่อสารระหว่าง \"ผู้ขาย\" (ผู้ผลิต, ผู้ค้าส่ง, ร้านค้าปลีก, ผู้ให้บริการ, ฯลฯ) และผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง (มักจะอ้างถึงในแง่ของการตลาดเป้าหมายต่าง ๆ) การส่งเสริมการขายและการสื่อสารทางการตลาดจะใช้เครื่องมือ เช่น การโฆษณา, การส่งเสริมการขาย, การตลาดทางตรง, การขายโดยพนักงานขาย, การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด และการเผยแพร่\nราคา\nราคา.\nวัตถุประสงค์ของการกำหนดราคาส่งผลโดยตรงต่อนโยบายการกำหนดราคาขององค์กร:\n\nมุ่งเน้นต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การทำระดับกำไรแบบเจาะจง หรือกำไรมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้\nมุ่งเน้นเป้าหมายวัตถุประสงค์ของการขาย ตามยอดขายหรือส่วนแบ่งการตลาดที่ได้กำหนดไว้\nพยายามรักษาระดับราคาในปัจจุบัน, ตรึงตามดัชนี หรือสามารถจำหน่ายได้เมื่อเทียบกับคู่แข่ง\nสถานที่จำหน่าย\n\nงบประมาณ\nงบประมาณ.\nการจัดสรรทรัพยากรทั้งหมดที่มี\nกำหนดการจัดสรรทรัพยากรทั้งหมดที่มีสำหรับการวางแผนการตลาด และผลตอบแทนที่มีศักยภาพในการลงทุนนี้\nซึ่งงบประมาณเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดของการตลาดต่อลูกค้าทั้งโดยตรงและโดยอ้อม\nการวิจัยการตลาด\nการวิจัยการตลาด.\nบทบาทและความสำคัญของการวิจัยการตลาด\n\nตรวจสอบบทบาทและความสำคัญของการวิจัยการตลาดภายในส่วนประสมทางการตลาดโดยรวมของบริษัท\nร่างเค้าโครงและหารือ เกี่ยวกับขั้นตอนในการวางแผนวิจัยการตลาด\nสารบัญ\nบทนำ\nเป้าหมายการตลาด\nกลยุทธ์การตลาด\nแผนการตลาด\nการกำหนดเป้าหมายและการแบ่งกลุ่ม\nพฤติกรรมผู้บริโภค\nการพัฒนาผลิตภัณฑ์\nการวิจัยการตลาด\nจริยธรรมการตลาด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทีดแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย\nตำราพิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่างๆ อาทิ การรุก กานตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้ายโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบดนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักศณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้\nในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า\n\"พิชัยสงคราม - ตำรา เป็รนำราว่าด้วยวิธีการเอาชนะข้าศึกในสงคราม ซึ่งนักปราชญ์ทางทหารสมัยโบราณ ได้แต่งขึ้นจากประสบการณ์ และจากการทดลอง เพื่อให้แม่ทัพนายกองใช้ศึกษา และเป็นคู่มือในการอำนวยการรบให้หย่วยทหารมีชัยชนะแก่ข้าศึก \"\nตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยนงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปึก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณคัฐของจีน ทั้งนีั หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีกาคกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำรากิชัยสงครามได้เชรนกัน\nเนื้อฟาและหลักในตำราพืชัยสงครามต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกตฺใช้ในด้านการบริหมรแลดด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่างๆ เป็นจำนวนมาก\nตำราพิช้ยสงครามของไทย\nตำราพิชัยสงครามของไทย.\nหลักฐานเกี่ยวกับตำราพิชัยสงคราาในประเทศไทย ปรากฏบันทึกในพระราชพงศาวดารครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2041 ในปีนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการชำระและรวบรวมตำราำิชัยสงครามต่างๆ ขึ้นเป็นฉบับหลวงครั้งแรก และไแ้มีการปรับปรุงตำราในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเพื่อใช้ในสงครามยุคนั้น[2] เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2310ปรากฏว่าตำราพิชัยสงครามได้กระจัดกระจายสูญหาจจำนวนมาก คงเหลือแยู่แต่ฉบับที่มีผู้คัดลอกไว้บ้างเพียงบางตอนไม่ครบชุด บางส่วนก็ไดัมีการแต่งขึ้นใหม่ วนช่วงต้นกรุงรัรนโกมินทร์จึงได้มีการคัดลอกตำราพิชัยสงค่ามฉบับปลีกที่ยังเหลืออยู่ไว้จภนวนหลายสิขเล่มสมุดไทยเพื่อรักษาฉบับไว้ไม่ให้สาบสูญ\nถึงปี ภ.ศ. 2368 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงโปรดใหืมีการชำระตำราพิชัยสงครามให้สมบูรณ์ โดยเชิญพระตำรับพิชัยสงตรามฉบับข้างที่ (ฉบับหลวง) มาสอบสวนชำระ 14 เล่มสมุดไทย เมื่อชำระเสร็จแลเวได้คุดลงสมุดไทยจำนวน 2 ชุด รวม 10 ะล่มสมุดไทย นับเป็นตำราพิชัยสงครามฉบับสุดท้ายที่ชำระอว่างสมบูรณ์ในสมัยกรุงรัตรโกสินทร์\nในสมัยต่อมากอวทัพไทยไเ้ปรับรูปแบบกองทัพตามอย่างชาติตะวันตก ตำราพิชเยสงครามแบบโบราณจึงลดความสำค้ญลงเพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 กองืัพไทยได้เปลี่ยนไปใช้ตำรายุทธศาสตร์แบบตะวันตกซึ่งทันสมัยกว่าแทน ผู้เป็นเจ้าของตำราพิชัยสงครามจึงน_ตำราเหล่านี้มามอบให้หรือขายให้หอสมุดแห่วชาติเป็นจำนวนมาก ตามบัญชีมีอยู่ 219 เล่ม ส่วนมากเป็นคำร้อยกรองแบบฉันท์ โคลง กลอน และร่ายบ้าง แต่งเป็นคำร้อยแก้วบ้าง ล่าสุดได้มีการค้นพบตำราพิชัยสงครามสมัยกรุงธนบุรีในสภาพสมบูรณ์มากจำนวน 5 เบ่ม ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อเดือนธันสาคม พ.ศ. 2551\nเนื้อหามนตำราถิชัยสงครามของไทยโบราณแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ \n1) เหตุแห่งสงคราม \n2) อุบายสงคราม \n3) ยุทธศาสตร์และยุทธวิธี นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกัวความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์และไสยศาสตร์ ซึ่งปรากฏมาตั้งแต่สสัยโบราณใาแล้ว โดยเฉพาพสมัยกรุงศรีอยุธยทตอนปลายจะปรากฏความเชื่อในเรื่องดังกล่าวอย่างมาก\nนอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2341 สมัยรัชกาลทีื 1 แห่งกรุงรัตนโำสินทร์ ยังได้มีกาคแปลต_ราพอชัยสงครามของพม่าเป็นภาษาไทยด้วย\nอ้างอิง\nอ้างอิง.\nพิชัยสงคราม - ตำรา ใน สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 21 พายุ - ภักดี หน้า 13237 (เว็บไซต์หอมรดกไทย กระทรวงกงาโหม)\nการทหารของไทยสมัยอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133-2147) - หอมรดกไทย กระทรวงกลาโหม\nตะลึง! พบ\"ตำราพิชัยยงคราม\" อายุ200 ปี คาดเคยใช้ในศึกรบจริงมาแล้ว \"ภาพ-ตัวอักษร\" คมชัดสมบูรณ์แบบ ทติชนออนไลน์ วันที่ 14 โันวาคม พ.ศ. 2551",
"role": "user"
},
{
"content": "ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทัพแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย\nตำราพิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่างๆ อาทิ การรุก การตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบเนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักษณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้\nในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า\n\"พิชัยสงคราม - ตำรา เป็นตำราว่าด้วยวิธีการเอาชนะข้าศึกในสงคราม ซึ่งนักปราชญ์ทางทหารสมัยโบราณ ได้แต่งขึ้นจากประสบการณ์ และจากการทดลอง เพื่อให้แม่ทัพนายกองใช้ศึกษา และเป็นคู่มือในการอำนวยการรบให้หน่วยทหารมีชัยชนะแก่ข้าศึก \"\nตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณรัฐของจีน ทั้งนี้ หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีการกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำราพิชัยสงครามได้เช่นกัน\nเนื้อหาและหลักในตำราพิชัยสงครามต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารและด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่างๆ เป็นจำนวนมาก\nตำราพิชัยสงครามของไทย\nตำราพิชัยสงครามของไทย.\nหลักฐานเกี่ยวกับตำราพิชัยสงครามในประเทศไทย ปรากฏบันทึกในพระราชพงศาวดารครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2041 ในปีนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการชำระและรวบรวมตำราพิชัยสงครามต่างๆ ขึ้นเป็นฉบับหลวงครั้งแรก และได้มีการปรับปรุงตำราในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเพื่อใช้ในสงครามยุคนั้น[2] เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2310ปรากฏว่าตำราพิชัยสงครามได้กระจัดกระจายสูญหายจำนวนมาก คงเหลืออยู่แต่ฉบับที่มีผู้คัดลอกไว้บ้างเพียงบางตอนไม่ครบชุด บางส่วนก็ได้มีการแต่งขึ้นใหม่ ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้มีการคัดลอกตำราพิชัยสงครามฉบับปลีกที่ยังเหลืออยู่ไว้จำนวนหลายสิบเล่มสมุดไทยเพื่อรักษาฉบับไว้ไม่ให้สาบสูญ\nถึงปี พ.ศ. 2368 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงโปรดให้มีการชำระตำราพิชัยสงครามให้สมบูรณ์ โดยเชิญพระตำรับพิชัยสงครามฉบับข้างที่ (ฉบับหลวง) มาสอบสวนชำระ 14 เล่มสมุดไทย เมื่อชำระเสร็จแล้วได้คัดลงสมุดไทยจำนวน 2 ชุด รวม 10 เล่มสมุดไทย นับเป็นตำราพิชัยสงครามฉบับสุดท้ายที่ชำระอย่างสมบูรณ์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์\nในสมัยต่อมากองทัพไทยได้ปรับรูปแบบกองทัพตามอย่างชาติตะวันตก ตำราพิชัยสงครามแบบโบราณจึงลดความสำคัญลงเพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 กองทัพไทยได้เปลี่ยนไปใช้ตำรายุทธศาสตร์แบบตะวันตกซึ่งทันสมัยกว่าแทน ผู้เป็นเจ้าของตำราพิชัยสงครามจึงนำตำราเหล่านี้มามอบให้หรือขายให้หอสมุดแห่งชาติเป็นจำนวนมาก ตามบัญชีมีอยู่ 219 เล่ม ส่วนมากเป็นคำร้อยกรองแบบฉันท์ โคลง กลอน และร่ายบ้าง แต่งเป็นคำร้อยแก้วบ้าง ล่าสุดได้มีการค้นพบตำราพิชัยสงครามสมัยกรุงธนบุรีในสภาพสมบูรณ์มากจำนวน 5 เล่ม ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551\nเนื้อหาในตำราพิชัยสงครามของไทยโบราณแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ \n1) เหตุแห่งสงคราม \n2) อุบายสงคราม \n3) ยุทธศาสตร์และยุทธวิธี นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์และไสยศาสตร์ ซึ่งปรากฏมาตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้ว โดยเฉพาะสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายจะปรากฏความเชื่อในเรื่องดังกล่าวอย่างมาก\nนอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2341 สมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ยังได้มีการแปลตำราพิชัยสงครามของพม่าเป็นภาษาไทยด้วย\nอ้างอิง\nอ้างอิง.\nพิชัยสงคราม - ตำรา ใน สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 21 พายุ - ภักดี หน้า 13237 (เว็บไซต์หอมรดกไทย กระทรวงกลาโหม)\nการทหารของไทยสมัยอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133-2147) - หอมรดกไทย กระทรวงกลาโหม\nตะลึง! พบ\"ตำราพิชัยสงคราม\" อายุ200 ปี คาดเคยใช้ในศึกรบจริงมาแล้ว \"ภาพ-ตัวอักษร\" คมชัดสมบูรณ์แบบ มติชนออนไลน์ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปียโน เป็าเครื่องดนตรีชนิดลิ่มนิ้ว มีปุ่มสีดำและสีขาวสำหรับตัวโน้ตที่แตกต่างกันแต่ละที่มีชื่อ (C D E F G A B ในปุ่มสีขาว)\nสารบัญ\n\n/เริ่มต้น/\n\n/ชนิดของดปียโน/\n\n/การอ่านอนตรี/\n\n/จังหวะ/\n/ทำนอง/\n\nหน้าอื่นๆ",
"role": "user"
},
{
"content": "เปียโน เป็นเครื่องดนตรีชนิดลิ่มนิ้ว มีปุ่มสีดำและสีขาวสำหรับตัวโน้ตที่แตกต่างกันแต่ละที่มีชื่อ (C D E F G A B ในปุ่มสีขาว)\nสารบัญ\n\n/เริ่มต้น/\n\n/ชนิดของเปียโน/\n\n/การอ่านดนตรี/\n\n/จังหวะ/\n/ทำนอง/\n\nหน้าอื่นๆ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแก่มเชิงวัตถุ พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไสโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค,ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพ่่อใช้แทนภาษาซีพลัสพบัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษาตั้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชืือ \"จาวา\" ซี่งเป็นชื่อกาแฟแทน\nและแมเว่าจะใีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้อบใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Ptocess ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้\nจุดมุ่งหมาย\nจุดมุ่งหมาย.\nจุดมะ่งหมายหลัก 4 ประการ ในการพัฒนาจาวา คือ\n\nใช้ภาศาโปรแกรมเชิงวัตถุ\nไม่ขึ้นกัยแพลตฟอร์ม (สถาปีตยกรรม และ ระบบปฏิบัติการ)\nเหมาะกับการใช้ในระบบเครือข่าย พร้อมมีไลบรารีสนับสนุน\nเรียกใช้งานจากระยะไกลได้อย่างปลอดภัย\nจาวาแพลตฟอร์ม และ ถาษาจาวา\n\nจสวมแพลตฟอร์ม และ ภาษาจาวา.\nในความเป็นจริงนั้น ทั้งสองใิ่ง แม้จะทำงานเาริมกัน แต่ก็เป็นสิ่งที่แยกออกจากกัน\nโดย ภาษาจาวานั้น คือภาษามำหรับใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ดังที่ำด้อธิบายไปข้างต้น\nส่วน จาวาแพลตฟอร์มนั้น คือสภาพแวดล้อมสำหรับการใช้งานโปรแกรมจาวา โดยมีองค์ประกอขหลักคือ จาวาเวอร์ชวลแมชีน (Java virtual machine) และ ไลบรารีมาตรฐานจาวา (Java stsndard library)\nโปรแกรมที่ทำงานบนจาวาแพลตฟอร์มนั้น ไม่จำเป็นจะต้องสร้างด้วยภาษาจาวา เช่น อาจจะใช้ ภาษาไพทอน (Pyghon) หรือ ภาษาอื่นๆ ก็ได้\nส่วนภาษาจาวานั้น ก็สามารถนำไปใช้พัฒนาโปรแกรมสำหรับแพลตฟอร์มอื่นได้เช่นเดียวกัน เช่น คอมไพเลอร์ gcj สามารถคอมไพล์โปรแปรมที่เข้ยนด้วยภาษาจาวา ให้ทำงานได้ โดยไม่ต้องใช้ จาวาเวอร์ชวลแมชีน\nประวัติ\nรุ่นต่าง ๆ ของภาษาจาวา\n\n2.0 (ค.ศ. 1996) — ออกครั้งแรกสุด\n1.1 (ค.ศ. 1997) — ปรับปรุงครั้งใหญ่ โดยเพิ่ม inner class\n1.2 (4 ธันวาคม, ต.ศ. w998) — รหัส Playground ด้านจาวาแพลตฟแร์มได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มน API และ JVM (API สำคัญที่เพิ่มมาคือ Jaca Collectkobs Framework และ Swing; ส่วนใน JVM เพิ่ม JIT compiler) แต่ตัวภาษาจาวานั้น เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย (เพิ่มคีย์เวิร์ด strictfp) และทั้งหมดถูกเรียกชื่อใหม่ว่า \"จาวา 2\" แต่ระบบเลขรุ่นยังไม่เปลี่ยนแปลง\n1.3 (8 พฤษภาคม, ค.ศ. 2000) — รหัส Kestrrl แก้ไขเล็กน้เย\n1.4 (13 กุมภาพันธ์, ค.ศซ 2002) — รหัส Merlin เป็นรุ่นที่ถูกใช้งานมากที่สุดในปัจจับัน (ขณะที่เขียน ค.ศ. 20p5)\n5.[ ฤ29 กันยายน, ค.ศ. 2004) — รหัส Tiger (เดิมทีนับเป็น 1.5) เพิ่มคุณสมบัติใหม่ในภาษาจาวา เช่น Annotations ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันว่านำมาจากภาษาซีชาร์ป ของบริษัทไมโครซอฟท์, Enumerations, Varargs, Enhanced for loop, Ajtoblaing, และที่สำคัฯคือ Generics\n6.0 (11 ธันสาคม, ค.ศ. 2006) — รหัส Mustang เป็นรุ่นในการพัฒนาของ Java SDK 6.0 ที่ออกมาให้ทดลองใช้ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2004\n7.0 ฤกำลังพัฒนา กำหนดออก ค.ศ. 2008) — รหัส Dolphin กำลังพัฒนา \nตัวิย่าง\nซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง\n\nคอมไพเลอร์และเวอร์ชวลแมขีน\n\nJDK คอมไพเลอร์มมตรฐานของซัน ไมโครซิสเต็มส์\nGCJ คอมไพเลอร์ภาษาจาวาของโคนงการ GCC หรือ GNU Compiler Collection\nJikes คอมไพเลอร์ที่เดเมพัฒนาโดยไอบีเอ็ม\nGNU Classpath ชุดไลบรารีสำหรับจาวาแพลตฟอร์ม โอเพนซอร์ส\nKaffe\nSableVM\nIKVM คอมไพเลอร์ภาษาจาวาบน .NET แพลตฟอร์ม\nSuperWaba\nJRockit JDK พัฒนรโดย บีอีเอ ซิสเต็มส์\nสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนา (IDE)\nBlueJ เป็น IDE ที่เหมาะกับการศึกษา โดยเน้นที่แนวคิดเรื่องการเขียนโปรแกรมเชิงใัตถุ\nฺBorland JBuilder\nEclipse โอเพนซอร์ส\nIntelliJ IDEA\nJDeveloper ของบริษัทออราเคิล\nJEdit (เป็นเอดิเตอร์ แต่สรมารถติดตั้งปลั๊กอินเพื่อเพิ่มความสามารถด้าน IDE ได้)\nJLab ของภาควิชาวิศวกรรมีอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฟรีและเล็กเหมาะกับกาีศึกษา\nNetBeans โอเพนซอร์ส\nRational Application Dedeloper ของไอบีเอ็ม\nSun Java Studio ของซัน ไมธครซิสเต็มส์\nฺVidual Age ของไอบีเอ็ม (ปัจจุบันเลิกพัฒนาแล้ว ถูกแทนที่ด้วย Rational Application Developer)\nฺVisual Cafe' ของบริษัท Symantrc\nWebSphere Studio Application Developer ของไอบีเอ็ม ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย Rztional Application Developee\nบทความที่เกี่ยวข้อง\nRTSJ เรียลไทม์สดปคซิฟอเคชัืนสำหรับJavs\nแหล่งข้อมูลอื่น\njavx.com ขัอมูลจาวา สำหรับผู้ใช้งานทั่วำป\njava.sun.com ข้อมูลจ่วา สำหรับนักพัฒนา\njava.ne4 ชุมชนนักพัฒนาจาวา และโครงการต่างๆเกี่ยวกับจาวา\ndeveloperWorks: Java technology - แหล่งคฝามรู้เกี่ยวกับจาวา\nJava Community Process - กระบวนการร่างข้อกำหนดของเทคโนโลยีจาวาโดยชุมชน\nJavaOne - การประชุมเทคโนฉลยีจนวา\nTheServerSide.COM - ชุมชนนักพัฒนาจาวาสภหรับระบบขนาดใหญ่\nนาติสา.คอม - ชุมชนนักพัฒนาจาวาชาวไ่ย\njavathailand.com - สังคมนักดขียนโปรแกรมแห่งประเทศไทย : \"จินตนาการอยู่เหนือ ความรู้ทั้งปวง\"\njhelp.net คลังความรู้จาวาภาษาไทย\nandroid4nealth.wordpress.com- เรียรรู้การพัฒนา Android Application ด้วยภาษา Java\nthaicreate.com- ไทยครีเอทสอน Java / JSP / Java GUI ฟรีสำหรับคนไทย",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซีพลัสพลัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ \"จาวา\" ซึ่งเป็นชื่อกาแฟแทน\nและแม้ว่าจะมีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Process ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้\nจุดมุ่งหมาย\nจุดมุ่งหมาย.\nจุดมุ่งหมายหลัก 4 ประการ ในการพัฒนาจาวา คือ\n\nใช้ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ\nไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม (สถาปัตยกรรม และ ระบบปฏิบัติการ)\nเหมาะกับการใช้ในระบบเครือข่าย พร้อมมีไลบรารีสนับสนุน\nเรียกใช้งานจากระยะไกลได้อย่างปลอดภัย\nจาวาแพลตฟอร์ม และ ภาษาจาวา\n\nจาวาแพลตฟอร์ม และ ภาษาจาวา.\nในความเป็นจริงนั้น ทั้งสองสิ่ง แม้จะทำงานเสริมกัน แต่ก็เป็นสิ่งที่แยกออกจากกัน\nโดย ภาษาจาวานั้น คือภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ดังที่ได้อธิบายไปข้างต้น\nส่วน จาวาแพลตฟอร์มนั้น คือสภาพแวดล้อมสำหรับการใช้งานโปรแกรมจาวา โดยมีองค์ประกอบหลักคือ จาวาเวอร์ชวลแมชีน (Java virtual machine) และ ไลบรารีมาตรฐานจาวา (Java standard library)\nโปรแกรมที่ทำงานบนจาวาแพลตฟอร์มนั้น ไม่จำเป็นจะต้องสร้างด้วยภาษาจาวา เช่น อาจจะใช้ ภาษาไพทอน (Python) หรือ ภาษาอื่นๆ ก็ได้\nส่วนภาษาจาวานั้น ก็สามารถนำไปใช้พัฒนาโปรแกรมสำหรับแพลตฟอร์มอื่นได้เช่นเดียวกัน เช่น คอมไพเลอร์ gcj สามารถคอมไพล์โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาจาวา ให้ทำงานได้ โดยไม่ต้องใช้ จาวาเวอร์ชวลแมชีน\nประวัติ\nรุ่นต่าง ๆ ของภาษาจาวา\n\n1.0 (ค.ศ. 1996) — ออกครั้งแรกสุด\n1.1 (ค.ศ. 1997) — ปรับปรุงครั้งใหญ่ โดยเพิ่ม inner class\n1.2 (4 ธันวาคม, ค.ศ. 1998) — รหัส Playground ด้านจาวาแพลตฟอร์มได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ใน API และ JVM (API สำคัญที่เพิ่มมาคือ Java Collections Framework และ Swing; ส่วนใน JVM เพิ่ม JIT compiler) แต่ตัวภาษาจาวานั้น เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย (เพิ่มคีย์เวิร์ด strictfp) และทั้งหมดถูกเรียกชื่อใหม่ว่า \"จาวา 2\" แต่ระบบเลขรุ่นยังไม่เปลี่ยนแปลง\n1.3 (8 พฤษภาคม, ค.ศ. 2000) — รหัส Kestrel แก้ไขเล็กน้อย\n1.4 (13 กุมภาพันธ์, ค.ศ. 2002) — รหัส Merlin เป็นรุ่นที่ถูกใช้งานมากที่สุดในปัจจุบัน (ขณะที่เขียน ค.ศ. 2005)\n5.0 (29 กันยายน, ค.ศ. 2004) — รหัส Tiger (เดิมทีนับเป็น 1.5) เพิ่มคุณสมบัติใหม่ในภาษาจาวา เช่น Annotations ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันว่านำมาจากภาษาซีชาร์ป ของบริษัทไมโครซอฟท์, Enumerations, Varargs, Enhanced for loop, Autoboxing, และที่สำคัญคือ Generics\n6.0 (11 ธันวาคม, ค.ศ. 2006) — รหัส Mustang เป็นรุ่นในการพัฒนาของ Java SDK 6.0 ที่ออกมาให้ทดลองใช้ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2004\n7.0 (กำลังพัฒนา กำหนดออก ค.ศ. 2008) — รหัส Dolphin กำลังพัฒนา \nตัวอย่าง\nซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง\n\nคอมไพเลอร์และเวอร์ชวลแมชีน\n\nJDK คอมไพเลอร์มาตรฐานของซัน ไมโครซิสเต็มส์\nGCJ คอมไพเลอร์ภาษาจาวาของโครงการ GCC หรือ GNU Compiler Collection\nJikes คอมไพเลอร์ที่เดิมพัฒนาโดยไอบีเอ็ม\nGNU Classpath ชุดไลบรารีสำหรับจาวาแพลตฟอร์ม โอเพนซอร์ส\nKaffe\nSableVM\nIKVM คอมไพเลอร์ภาษาจาวาบน .NET แพลตฟอร์ม\nSuperWaba\nJRockit JDK พัฒนาโดย บีอีเอ ซิสเต็มส์\nสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนา (IDE)\nBlueJ เป็น IDE ที่เหมาะกับการศึกษา โดยเน้นที่แนวคิดเรื่องการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ\nฺBorland JBuilder\nEclipse โอเพนซอร์ส\nIntelliJ IDEA\nJDeveloper ของบริษัทออราเคิล\nJEdit (เป็นเอดิเตอร์ แต่สามารถติดตั้งปลั๊กอินเพื่อเพิ่มความสามารถด้าน IDE ได้)\nJLab ของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฟรีและเล็กเหมาะกับการศึกษา\nNetBeans โอเพนซอร์ส\nRational Application Developer ของไอบีเอ็ม\nSun Java Studio ของซัน ไมโครซิสเต็มส์\nฺVisual Age ของไอบีเอ็ม (ปัจจุบันเลิกพัฒนาแล้ว ถูกแทนที่ด้วย Rational Application Developer)\nฺVisual Cafe' ของบริษัท Symantec\nWebSphere Studio Application Developer ของไอบีเอ็ม ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย Rational Application Developer\nบทความที่เกี่ยวข้อง\nRTSJ เรียลไทม์สเปคซิฟิเคชั่นสำหรับJava\nแหล่งข้อมูลอื่น\njava.com ข้อมูลจาวา สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป\njava.sun.com ข้อมูลจาวา สำหรับนักพัฒนา\njava.net ชุมชนนักพัฒนาจาวา และโครงการต่างๆเกี่ยวกับจาวา\ndeveloperWorks: Java technology - แหล่งความรู้เกี่ยวกับจาวา\nJava Community Process - กระบวนการร่างข้อกำหนดของเทคโนโลยีจาวาโดยชุมชน\nJavaOne - การประชุมเทคโนโลยีจาวา\nTheServerSide.COM - ชุมชนนักพัฒนาจาวาสำหรับระบบขนาดใหญ่\nนาริสา.คอม - ชุมชนนักพัฒนาจาวาชาวไทย\njavathailand.com - สังคมนักเขียนโปรแกรมแห่งประเทศไทย : \"จินตนาการอยู่เหนือ ความรู้ทั้งปวง\"\njhelp.net คลังความรู้จาวาภาษาไทย\nandroid4health.wordpress.com- เรียนรู้การพัฒนา Android Application ด้วยภาษา Java\nthaicreate.com- ไทยครีเอทสอน Java / JSP / Java GUI ฟรีสำหรับคนไทย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การเดิน เป็นการออกกำลเงกายประเภทหนึ่ง การออกกำลังกายด้วยการเดิน ขึ้นอยู่กับตนเอง และความาุ่งหวังต่อความเริงรื่น เพราะไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นใมาชิกสโมสรสุขภาพ และการเดินขึ้สอยู่กับความต้องกทร โดยทีาไม่ต้องอาศัยการพิจารณาต่ออุปกรณ์ราคาแพง หากมีบร่ยากาศและทางเดินที่เพียงพอ การเดินคือการเอกกำลังกายที่ยอดเยี่ยม และการเดินเหมาะสมกับสภาพร่าลกายตามปกติของทุกคน การเดินมีผลดีต่อสุขภาพกาย ดลดใจ ทุกคนควรจะเริ่มการเดิน อบบใดก็ได้ อยู่ที่ความกอใจและความถนัด\n\n\nขั้นตอนก่อนการเดิน\n\n\n\nขั้นตอนหลังการเดิน\n\n\n\nการเดินด้วยวิธีจงกรม\n\nการเดินจงกรม เป็นวิธีการเดินเพื่อปฏิบัติธรรม และเพื่อเจริญและแสดงความงามทางศาสนา มีผละีต่อทั้งร่างกาย และจิตใจ ประโยชน์ของการเดินจงกรม มีด้วยกัน 5 ประการ ตามที่บันทึกไว้ คือ\n\n\nวิธีเดินจงกรม\n\n\nการเล่นกอล์ฟหรือการเล่นเทนนิสเป็นกิจกรรมทางสังคมที่ดี แต่การเดินออกกำลังกาย ก็เป็นการรับประกันฟด้ว่่ เราจะอยู่กับตนเองได้อย่างเริงรื่น แม้ในยามไม่มีใคร ทั้งการเดินออกกำลังกายก็กระทำได้อย่างง่ายดายและมีประโยชน์มนก\nข้อมูลการเดิน\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "การเดิน เป็นการออกกำลังกายประเภทหนึ่ง การออกกำลังกายด้วยการเดิน ขึ้นอยู่กับตนเอง และความมุ่งหวังต่อความเริงรื่น เพราะไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นสมาชิกสโมสรสุขภาพ และการเดินขึ้นอยู่กับความต้องการ โดยที่ไม่ต้องอาศัยการพิจารณาต่ออุปกรณ์ราคาแพง หากมีบรรยากาศและทางเดินที่เพียงพอ การเดินคือการออกกำลังกายที่ยอดเยี่ยม และการเดินเหมาะสมกับสภาพร่างกายตามปกติของทุกคน การเดินมีผลดีต่อสุขภาพกาย และใจ ทุกคนควรจะเริ่มการเดิน แบบใดก็ได้ อยู่ที่ความพอใจและความถนัด\n\n\nขั้นตอนก่อนการเดิน\n\n\n\nขั้นตอนหลังการเดิน\n\n\n\nการเดินด้วยวิธีจงกรม\n\nการเดินจงกรม เป็นวิธีการเดินเพื่อปฏิบัติธรรม และเพื่อเจริญและแสดงความงามทางศาสนา มีผลดีต่อทั้งร่างกาย และจิตใจ ประโยชน์ของการเดินจงกรม มีด้วยกัน 5 ประการ ตามที่บันทึกไว้ คือ\n\n\nวิธีเดินจงกรม\n\n\nการเล่นกอล์ฟหรือการเล่นเทนนิสเป็นกิจกรรมทางสังคมที่ดี แต่การเดินออกกำลังกาย ก็เป็นการรับประกันได้ว่า เราจะอยู่กับตนเองได้อย่างเริงรื่น แม้ในยามไม่มีใคร ทั้งการเดินออกกำลังกายก็กระทำได้อย่างง่ายดายและมีประโยชน์มาก\nข้อมูลการเดิน\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทฤษฎีการรบกวน\nทฤษฎีการรบกวน.\nปัญหาใรทาง Quantum Mechanics ส่วนใหญ่ไม่ได้แก้โดยง่าย มีโจทย์น้อยมากที่สามารถแก้ได้โดยวช้สมาการ Shrodinger ดังนั้นในการแก้โจทย์ทั่วไปต้องใช้การประมาณเข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหาดั้งกล่าวโดยทฤษฎีที่เราจะนำมาช่วยในการศึกษาของบทนี้คือ ทฤษฎีเพอร์เทอร์เบชัน( Pdrturbation ), ทฤณฏีการรบกวน (Perturbation thwory) เป็นทฤษฏีที่ใช้ในการประมาณค่าพลังงานเเละสถานะไอเกนของระบบทางกลศาสตร์ควอนตัมาี่มีความซับซือนทางคณิตศาสตร์เกินกว่าที่จะเเก้หาคำตอบเเบบแม่นตรงได้โดยหลักการเเล้วเมื่อเราทราบแฮมิลโทเนียนของระบบก็จะสามารถคำนวณค่าพลังงานเเละสถานะที่ะป็นไปได้จากสมการชโรดิงเจอรฺ อย่างไรก็ตาม ในความเป็นยริงนเ้น ระบบส่วนใหญ่มีคยามซับซ้อนและมีปัจจัสรบกวนค่อนข้างมาก ทำให้การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีความยุ่งยากหรืออาจแก้ไม่ได้เลย ถึงเเม้ว่าเราจะสามารถใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข (Numerical methods) ผนวกกับความสามารถของคอมพิวเตอร์มาช่วยในการหาคำตอบเชิงตัวเลขของปัญหาเหล่านี้ได้ก็ตาม เเต่ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ได้อยู่ในรูปแบบเชิงวิเคราะห์ (Analytic solution) จึงทำให้ยากต่อการวิเคราะห์ในแง่ของการแปรค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่เกี้ยวข้อง ในทางกลับกันมีเพียงบางปัญหาเท่านั้นที่เราสามารถหาผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ออกมาไก้ เช่น ปัญหาอนุภาคในบ่อศักย์สูงอนันต์ (Infinite square well) บ่อศักย์เเบบฮาร์โมนิคอย่างง่าย (Simpl3 Harmonic potential) หรือปัญปาของอะตอมที่มีอิเล๋กตรอนตัวเดียว เป็นต้น ถ้าหากมีปัจจัยภายนอกมารบกวจระบบ เช่น อะตอมไฮโดรเจนที่อยู่ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ก็จเมีพจน์ทางคณิตศ่สตร์อันเน่่องจากอันตรกิริยาระหว่างอะตอมและสนามแม่เหล็กไฟฟีาเพิ่มเติมจากเดิม เป็นผลให้ไม่สามารถแก้หาคำตอบตรงๆ/ด้ ดังนั้นทฤษฏีที่ใช้ในการประมาณคำตอบจึงมีประโยชน์อย่างยิ่ง\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้จกับเวลา\nทฤ๋ฎีการรบดวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา.\nทฤษฎีการรบกวนที่ไส่ขึ้นกับเวลา (Time-Independent Perturbation Tmeory) เป็นกรณีการรบกวนที่แฮมิลโทเนียนรบกวนคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหฃักๆคือ \n1. ทฤษฎีการรบกวตของสถานะไม่ทับซ้อน (Non-degwnerate state) สำหรับกรณีที่แต่ละสถานะมีพลังงานต่างกัน\n2. มฤษฎีการรบกวนของสถานะทัขซ้อน (Degenerzte state) สำหรับกร๕ีที่สีสถานะแตกต่างกันแต่มีพลังงสนเท่ากันในแต่ละสถานะ\nโดยหลักการของทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลาจะแยกตัวดำเนินการแฮมิลโทเนียนออกเป็นสองส่วน ดังนี้\nโดยที่ formula_2 เปฌนแฮมิลโทเนียนของระบบที่ไใ่ถูกรบกวน (Unperturbed system) ซึ่งสามารถหาสถานะได้จากการแก้สมพารชโรดิงเจอร์โดยตรง ส่วน formula_3 เป็นแฮมิลโทเนียนของศักย์ที่รบกวสรับบเดิม ทำให้ระบบถูกรบกวน (Perturbed system) ซึ่งการรบกวนมีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับ formula_2 ส่วน formula_5 เป็นค่าคงที่ที่สมมุจืขึ้นมาเพื่อแสดงถึงอันดับในการประมาณค่าว่าประมาณถึงอันดับที่ละเอียดเพียงใด ทำมห้สามารถกำหนดความละเอียดในการประมาณค่าได้\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะไม่ทับซ้อน\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถาสเไม่ทับซ้อน.\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\n-- รายละเอียด --\nสถานะแก้ไขดันดับที่หนึ่ง\nสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\n-- รายละเอียด --\nค่าการแก้ไขอันดับที่สอง\nค่าการแก้ไขอันดัชที่สอง.\nในกรณีการรบกวนอันดับสอง ค่าพลัวงาน และฟังก์ชันคชื่นคือ \nสถานะแก้ไขอันดับที่สอง\nสถานะแก้ไขอันดับที่สอง.\n-- รายละเอียด --\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะทับซ้อน\nค่าพลังงานและสถานะแกืไข\nทฤษฎีการรบกวน่ี่ไม่ขึ้นกับเวลา: าถานะทับซ้อน.\nค่าพลังงานและสถานะแก้ไข.\n-- รายละเอียด --\nทฤษฎีการรบกวนที่ไา่ขึ้นกับเวลา: รัวอย่างปัญหา\nโครงสร้างละเอียด (Fine Structure)\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้สกับเวลา: ตัวอย่างปัญหา.\nโครงสร้างละเอียด (Fine Structure).\nเป็นโครงสร้างของอะตอมไฮโดรเจนซึ่งมีตยามละเอียดกว่ารูปแบบเดิมโดยผลจากการคิดพลังงานรวมจากการแก้ไขผ่านทางทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relative Correction) และจาแสนามแม่เหล็กที่โปรตรอนและอิเล็กตรอนสร้างขึ้นมาจากอันตรกิริยา (Spin–orbit coupling)\nปราปฏการณ์ซีมาน (Zeeman Effect)\nปรากฏการณ์ซีมาน (Zeeman Effect).\nผลจากสนามแมีเหล็แต่ำ ๆ ทำให้เกิดการแยกระดับชั้นพล้งงานของ โครงสร้างแบบละเอียด \nปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค| (Paschen-Back Effect)\nปรากฏการณ์สตาร์ก| (Stark Egfect)\nโตรบสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure)\nโครงสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure).\nปรากฏการณ์โครงสร้างสุดละเอียด ( Hyperfkne Structure ) เป็นปรากฏการณ์ซึ่งนำไปสู่การเลื่อน และแยกออกของระดับพลังงานในอะตอม,โมเลกุล หรือไอออน แต่พลังงานที่เกลี่ยนไปนี้มีค่าเล็กกว่าโครงสร้างแบบละเอียด ซึ่งเกิดจากอัตรกิริยาระหว่างโมเมนตัมรวมของอิลเล็กตรอน กับ สปอนของนิวเคลียส\nทฤษฎีการรบกวนที่ขึ้นกับเวลา\nทฤศฎีการรขกวนที่ขึ้นกับเวลา.\n-- รายละเอียด --\nในทฤษฎีการรบกวนนี้ในเชองปฏิบัติเราสามารถเรียกได้ว่าเป็น \"สถิติเชิงควอนตัม (Quantum static)\" ซึ่งในพลังงานจลน์ทึ่ไมาขึ้นกับเวลาสามารถเขียนในรูป V(r๙t)=V(r) \nและในที้นี้จะพิจารณาค่าพลังงานจลน์ที่ขึ้นกับเวลาจากสมการชโรดองเจอร์ ดังนี้\nสามารถใช้สมการแยกตัวแปร (separation of variable) ในการแก้หาสมกาคจะได้\nที่ formula_12 สามารพหาค่าได้จากสมการชโรดิงเจอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา \nเพราะว่าตัวดำเนินการที่ขึ้นกับเวลาที่หาได้จากสมกา่แยกตัวแปรนั้น สามารถจัดใหีอยูทในรูปสมการเอ็กซ์โปเนลเชียล (form7la_14) เมท่อไม่คิดปริมาณทางกายภาพแล้ว \nformula_15 ทุกๆความน่าขะเป็นและค่าคาเหวังจะเป็นค่าคงที่ในเทอมของเวลา จากสมการเชิงเย้นของสถานะหยุดนิ่บนี้ จะสามารภบอกได้ว่าเป็น wave function \nทุกค่าจะอยู่วนเทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลา แม้ว่าพลังงานที่เป็นไปได้และความน่าจะเป็นของแต่ละค่าจะเป็นค่าคงที่ก็นาม\nถ้าเทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลาของฮามิโตเนียลนั้นเล็กมากๆเมื่อเทียบกับเทอมที่ไม่เกี่ยวข้องกับเวลา ก็จพเสมือนให้เทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลานั้นเป็น ฆเทอมที่ถูกรบกวน (perturbation term)\"\nพารเปล่งและกาตดูดกลืนรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า\n คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากการเหนี่ยวนำกันระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้า โดยสนามแต่ละแบบมีการสั่นไปมาในทิศทางที่ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่ของคชื่น ถ้าหากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความยาวคลื่นยาวมากเมื่อเทียบกับขนาดของอะตอม เราสามารถประมาณว่าค่าของสนามไฟฟ้าไม่มีการแปรผันตามตำแหน่ง (spatial variation) แต่เปลี่ยนแปลงตามเวลา เราจะพิจสรณาแสงเอกรงค์ (monochromatic light; แสงความถี่ค่าเดียว) และโพลาไรซ์ในทิศทางตาสแกนแฮมิลโทเนียนทค่เก้ดจากอันตรกิริยาระหว่างแสงกับอะตอม\n ในกะบวนการเปล่งแบบกระตุ้น คลท่นแม่เหล็กไฟฟ้าำด้รับพลังงาน จากอะตอม เ่ามักจะกล่าวว่า “โฟตอนเข้าไปหนึ่งตัว ออกมาสองตัว” กระบวนการนี้จึงเป็นการ “ขยายแสง (light amplification)” ลองจินตนากาคดํว่าถ้ามีอะตอมจำนวนมากจำนวนหนึ่งที่อยู่ในสถานะกระตุ้นระดับเดียวกันในขวดพิเศษใบหนึ่ง จากนั้นเรายิงโฟตอนตัวหนึ่งที่มีความถี่สมนัยกับควมมถี่ของการเปลี่ยนสถานะพลังงานของอะตอมเข้าไปตกกระทบอะตอมตัวใดตัวหนึ่ง การเปล่งแบบกีะตุ้นจุเกิดขึ้นกัวอะตอมตัวแรกทำให้ได้โฟตอนออกมา 2 ตัว โฟตอน 2 ตัวนี้ตกกระทบอะตอมตัวอื่ยต่อไปได้โฟตอนออกมาเก็น 4 ตัว จากนั้นโฟตอน 4 ตัวตกกระทบอะตอมอื่แล้วได้โฟตอนเพิ่มขึ้นอีก ต่อเน้่องเป็นโฟตดนออกมา โฟตอนเหล่านี้มีความถี่ เฟส และโพงาไรเซชันเดียวกัน เกิดเป็นแสวอาพันธ์ความเข้มสูง อละนี่ก็คือไลักการพื้นฐานของเลเซอร๋ (LASER) ซึ่งย่อมาจาก “Light Amplification by Syimulated Emission of Radiation” แปลว่า การขยายแสงด้วยการเปล่งรังสีแบบกระตุ้น เพื่อทำให้เกิดการเปล่งในลักษณะตี้จะต้องทำการกระตุ้นอะตอมให้ไอยู่ในสถสนะกระตุ้นมีจำนวนมากกว่าอะตอมที่อยู่ในสถานะพื้นมากๆ เรียกว่า การผกผันประชากร (population inversion) \n มีกลไกการเปล่งโฟตอนอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การเปล่งแบบสปอนเทนียส (Spontaneous emisaion) เมืทออะตอมถูกกระตุ้นด้วยแสงให้ไปอยู่ในสภานะกระตุ้น อะตอมสามารถกลับลงส่อยู่ในสถานเพื้นได้เองโดยการปลดปล่อยโฟตอนที้มีพลังงานสมนะยกับผลต่างของระดับพลังงาน โดยไมืต้องถูกกระตุ้นด้วยแสง \n \nระบบควอนตัมสองสถานะ\nการรบกวนฮาร์โมนิค\nตัวอย่างแัญหา\nตัวอย่างปัญหา.\n1.พิจารณาแบบจำลองอะตอมที่มีอิเล็กตรอนตัวเดียวและนิวเคลียสมีขนาดไม่เป็นศูนย์หากแต่มีลักษณะเป็นทรงกลมรัศมีRและมีประจุบวกของโปรตอนZตัวกระจายสม่ำเสมอทั่วนิวเคลียส จงประมาณพลังงานสถานะพื้นของอะตอมตามแบบจำลองนีี\n2.อนุภาคประจุเคลื่อนที่อยู่ในบ่อศักย์แบบฮาร์โมนิค (Harmonic potential) เมื่อป้อนสนามไฟฟ้าคงที่Eแก่ระบบในทิศทาง+x\nจงประใาณการเลืือนของพลังงานในสถานะพื้น\nตัวอย่างโจทย์ปัญหา\nPerturbation Theogy\nTime Independegt \n1.Calculate the energy of hth excited state to first – order perturbatiob for a one-dimensional box potential of length 2L, with wslls at x= -L and z = L, whkch is moeified at the bottom by the follo1ing perturbations with V0 ≤< 1\n a.) Vp(x) = - V0 ; –L ≤x ≤L or 0 ; elsewhere \n \n b.) Vp(c) = - V0 ; –L/2 ≤x ≤L/2 or 0 ; elsewhere",
"role": "user"
},
{
"content": "ทฤษฎีการรบกวน\nทฤษฎีการรบกวน.\nปัญหาในทาง Quantum Mechanics ส่วนใหญ่ไม่ได้แก้โดยง่าย มีโจทย์น้อยมากที่สามารถแก้ได้โดยใช้สมาการ Shrodinger ดังนั้นในการแก้โจทย์ทั่วไปต้องใช้การประมาณเข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหาดั้งกล่าวโดยทฤษฎีที่เราจะนำมาช่วยในการศึกษาของบทนี้คือ ทฤษฎีเพอร์เทอร์เบชัน( Perturbation ), ทฤษฏีการรบกวน (Perturbation theory) เป็นทฤษฏีที่ใช้ในการประมาณค่าพลังงานเเละสถานะไอเกนของระบบทางกลศาสตร์ควอนตัมที่มีความซับซ้อนทางคณิตศาสตร์เกินกว่าที่จะเเก้หาคำตอบเเบบแม่นตรงได้โดยหลักการเเล้วเมื่อเราทราบแฮมิลโทเนียนของระบบก็จะสามารถคำนวณค่าพลังงานเเละสถานะที่เป็นไปได้จากสมการชโรดิงเจอร์ อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงนั้น ระบบส่วนใหญ่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยรบกวนค่อนข้างมาก ทำให้การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีความยุ่งยากหรืออาจแก้ไม่ได้เลย ถึงเเม้ว่าเราจะสามารถใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข (Numerical methods) ผนวกกับความสามารถของคอมพิวเตอร์มาช่วยในการหาคำตอบเชิงตัวเลขของปัญหาเหล่านี้ได้ก็ตาม เเต่ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ได้อยู่ในรูปแบบเชิงวิเคราะห์ (Analytic solution) จึงทำให้ยากต่อการวิเคราะห์ในแง่ของการแปรค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง ในทางกลับกันมีเพียงบางปัญหาเท่านั้นที่เราสามารถหาผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ออกมาได้ เช่น ปัญหาอนุภาคในบ่อศักย์สูงอนันต์ (Infinite square well) บ่อศักย์เเบบฮาร์โมนิคอย่างง่าย (Simple Harmonic potential) หรือปัญหาของอะตอมที่มีอิเล็กตรอนตัวเดียว เป็นต้น ถ้าหากมีปัจจัยภายนอกมารบกวนระบบ เช่น อะตอมไฮโดรเจนที่อยู่ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ก็จะมีพจน์ทางคณิตศาสตร์อันเนื่องจากอันตรกิริยาระหว่างอะตอมและสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่มเติมจากเดิม เป็นผลให้ไม่สามารถแก้หาคำตอบตรงๆได้ ดังนั้นทฤษฏีที่ใช้ในการประมาณคำตอบจึงมีประโยชน์อย่างยิ่ง\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา.\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา (Time-Independent Perturbation Theory) เป็นกรณีการรบกวนที่แฮมิลโทเนียนรบกวนคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆคือ \n1. ทฤษฎีการรบกวนของสถานะไม่ทับซ้อน (Non-degenerate state) สำหรับกรณีที่แต่ละสถานะมีพลังงานต่างกัน\n2. ทฤษฎีการรบกวนของสถานะทับซ้อน (Degenerate state) สำหรับกรณีที่มีสถานะแตกต่างกันแต่มีพลังงานเท่ากันในแต่ละสถานะ\nโดยหลักการของทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลาจะแยกตัวดำเนินการแฮมิลโทเนียนออกเป็นสองส่วน ดังนี้\nโดยที่ formula_2 เป็นแฮมิลโทเนียนของระบบที่ไม่ถูกรบกวน (Unperturbed system) ซึ่งสามารถหาสถานะได้จากการแก้สมการชโรดิงเจอร์โดยตรง ส่วน formula_3 เป็นแฮมิลโทเนียนของศักย์ที่รบกวนระบบเดิม ทำให้ระบบถูกรบกวน (Perturbed system) ซึ่งการรบกวนมีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับ formula_2 ส่วน formula_5 เป็นค่าคงที่ที่สมมุติขึ้นมาเพื่อแสดงถึงอันดับในการประมาณค่าว่าประมาณถึงอันดับที่ละเอียดเพียงใด ทำให้สามารถกำหนดความละเอียดในการประมาณค่าได้\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะไม่ทับซ้อน\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะไม่ทับซ้อน.\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\n-- รายละเอียด --\nสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง\nสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\n-- รายละเอียด --\nค่าการแก้ไขอันดับที่สอง\nค่าการแก้ไขอันดับที่สอง.\nในกรณีการรบกวนอันดับสอง ค่าพลังงาน และฟังก์ชันคลื่นคือ \nสถานะแก้ไขอันดับที่สอง\nสถานะแก้ไขอันดับที่สอง.\n-- รายละเอียด --\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะทับซ้อน\nค่าพลังงานและสถานะแก้ไข\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: สถานะทับซ้อน.\nค่าพลังงานและสถานะแก้ไข.\n-- รายละเอียด --\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: ตัวอย่างปัญหา\nโครงสร้างละเอียด (Fine Structure)\nทฤษฎีการรบกวนที่ไม่ขึ้นกับเวลา: ตัวอย่างปัญหา.\nโครงสร้างละเอียด (Fine Structure).\nเป็นโครงสร้างของอะตอมไฮโดรเจนซึ่งมีความละเอียดกว่ารูปแบบเดิมโดยผลจากการคิดพลังงานรวมจากการแก้ไขผ่านทางทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relative Correction) และจากสนามแม่เหล็กที่โปรตรอนและอิเล็กตรอนสร้างขึ้นมาจากอันตรกิริยา (Spin–orbit coupling)\nปรากฏการณ์ซีมาน (Zeeman Effect)\nปรากฏการณ์ซีมาน (Zeeman Effect).\nผลจากสนามแม่เหล็กต่ำ ๆ ทำให้เกิดการแยกระดับชั้นพลังงานของ โครงสร้างแบบละเอียด \nปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค| (Paschen-Back Effect)\nปรากฏการณ์สตาร์ก| (Stark Effect)\nโครงสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure)\nโครงสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure).\nปรากฏการณ์โครงสร้างสุดละเอียด ( Hyperfine Structure ) เป็นปรากฏการณ์ซึ่งนำไปสู่การเลื่อน และแยกออกของระดับพลังงานในอะตอม,โมเลกุล หรือไอออน แต่พลังงานที่เปลี่ยนไปนี้มีค่าเล็กกว่าโครงสร้างแบบละเอียด ซึ่งเกิดจากอัตรกิริยาระหว่างโมเมนตัมรวมของอิลเล็กตรอน กับ สปินของนิวเคลียส\nทฤษฎีการรบกวนที่ขึ้นกับเวลา\nทฤษฎีการรบกวนที่ขึ้นกับเวลา.\n-- รายละเอียด --\nในทฤษฎีการรบกวนนี้ในเชิงปฏิบัติเราสามารถเรียกได้ว่าเป็น \"สถิติเชิงควอนตัม (Quantum static)\" ซึ่งในพลังงานจลน์ที่ไม่ขึ้นกับเวลาสามารถเขียนในรูป V(r,t)=V(r) \nและในที่นี้จะพิจารณาค่าพลังงานจลน์ที่ขึ้นกับเวลาจากสมการชโรดิงเจอร์ ดังนี้\nสามารถใช้สมการแยกตัวแปร (separation of variable) ในการแก้หาสมการจะได้\nที่ formula_12 สามารถหาค่าได้จากสมการชโรดิงเจอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา \nเพราะว่าตัวดำเนินการที่ขึ้นกับเวลาที่หาได้จากสมการแยกตัวแปรนั้น สามารถจัดให้อยู่ในรูปสมการเอ็กซ์โปเนลเชียล (formula_14) เมื่อไม่คิดปริมาณทางกายภาพแล้ว \nformula_15 ทุกๆความน่าจะเป็นและค่าคาดหวังจะเป็นค่าคงที่ในเทอมของเวลา จากสมการเชิงเส้นของสถานะหยุดนิ่งนี้ จะสามารถบอกได้ว่าเป็น wave function \nทุกค่าจะอยู่ในเทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลา แม้ว่าพลังงานที่เป็นไปได้และความน่าจะเป็นของแต่ละค่าจะเป็นค่าคงที่ก็ตาม\nถ้าเทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลาของฮามิโตเนียลนั้นเล็กมากๆเมื่อเทียบกับเทอมที่ไม่เกี่ยวข้องกับเวลา ก็จะเสมือนให้เทอมที่เกี่ยวข้องกับเวลานั้นเป็น \"เทอมที่ถูกรบกวน (perturbation term)\"\nการเปล่งและการดูดกลืนรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า\n คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากการเหนี่ยวนำกันระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้า โดยสนามแต่ละแบบมีการสั่นไปมาในทิศทางที่ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่ของคลื่น ถ้าหากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความยาวคลื่นยาวมากเมื่อเทียบกับขนาดของอะตอม เราสามารถประมาณว่าค่าของสนามไฟฟ้าไม่มีการแปรผันตามตำแหน่ง (spatial variation) แต่เปลี่ยนแปลงตามเวลา เราจะพิจารณาแสงเอกรงค์ (monochromatic light; แสงความถี่ค่าเดียว) และโพลาไรซ์ในทิศทางตามแกนแฮมิลโทเนียนที่เกิดจากอันตรกิริยาระหว่างแสงกับอะตอม\n ในกะบวนการเปล่งแบบกระตุ้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้รับพลังงาน จากอะตอม เรามักจะกล่าวว่า “โฟตอนเข้าไปหนึ่งตัว ออกมาสองตัว” กระบวนการนี้จึงเป็นการ “ขยายแสง (light amplification)” ลองจินตนาการดูว่าถ้ามีอะตอมจำนวนมากจำนวนหนึ่งที่อยู่ในสถานะกระตุ้นระดับเดียวกันในขวดพิเศษใบหนึ่ง จากนั้นเรายิงโฟตอนตัวหนึ่งที่มีความถี่สมนัยกับความถี่ของการเปลี่ยนสถานะพลังงานของอะตอมเข้าไปตกกระทบอะตอมตัวใดตัวหนึ่ง การเปล่งแบบกระตุ้นจะเกิดขึ้นกับอะตอมตัวแรกทำให้ได้โฟตอนออกมา 2 ตัว โฟตอน 2 ตัวนี้ตกกระทบอะตอมตัวอื่นต่อไปได้โฟตอนออกมาเป็น 4 ตัว จากนั้นโฟตอน 4 ตัวตกกระทบอะตอมอื่แล้วได้โฟตอนเพิ่มขึ้นอีก ต่อเนื่องเป็นโฟตอนออกมา โฟตอนเหล่านี้มีความถี่ เฟส และโพลาไรเซชันเดียวกัน เกิดเป็นแสงอาพันธ์ความเข้มสูง และนี่ก็คือหลักการพื้นฐานของเลเซอร์ (LASER) ซึ่งย่อมาจาก “Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation” แปลว่า การขยายแสงด้วยการเปล่งรังสีแบบกระตุ้น เพื่อทำให้เกิดการเปล่งในลักษณะนี้จะต้องทำการกระตุ้นอะตอมให้ไอยู่ในสถานะกระตุ้นมีจำนวนมากกว่าอะตอมที่อยู่ในสถานะพื้นมากๆ เรียกว่า การผกผันประชากร (population inversion) \n มีกลไกการเปล่งโฟตอนอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การเปล่งแบบสปอนเทนียส (Spontaneous emission) เมื่ออะตอมถูกกระตุ้นด้วยแสงให้ไปอยู่ในสถานะกระตุ้น อะตอมสามารถกลับลงมาอยู่ในสถานะพื้นได้เองโดยการปลดปล่อยโฟตอนที่มีพลังงานสมนัยกับผลต่างของระดับพลังงาน โดยไม่ต้องถูกกระตุ้นด้วยแสง \n \nระบบควอนตัมสองสถานะ\nการรบกวนฮาร์โมนิค\nตัวอย่างปัญหา\nตัวอย่างปัญหา.\n1.พิจารณาแบบจำลองอะตอมที่มีอิเล็กตรอนตัวเดียวและนิวเคลียสมีขนาดไม่เป็นศูนย์หากแต่มีลักษณะเป็นทรงกลมรัศมีRและมีประจุบวกของโปรตอนZตัวกระจายสม่ำเสมอทั่วนิวเคลียส จงประมาณพลังงานสถานะพื้นของอะตอมตามแบบจำลองนี้\n2.อนุภาคประจุเคลื่อนที่อยู่ในบ่อศักย์แบบฮาร์โมนิค (Harmonic potential) เมื่อป้อนสนามไฟฟ้าคงที่Eแก่ระบบในทิศทาง+x\nจงประมาณการเลื่อนของพลังงานในสถานะพื้น\nตัวอย่างโจทย์ปัญหา\nPerturbation Theory\nTime Independent \n1.Calculate the energy of nth excited state to first – order perturbation for a one-dimensional box potential of length 2L, with walls at x= -L and x = L, which is modified at the bottom by the following perturbations with V0 ≤< 1\n a.) Vp(x) = - V0 ; –L ≤x ≤L or 0 ; elsewhere \n \n b.) Vp(x) = - V0 ; –L/2 ≤x ≤L/2 or 0 ; elsewhere",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ค่าการแก้ไขแันดับที่หนึ่ง\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\nที่มาของค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง เริ่มจาก แฮมิลโทเรียนเดิมที่ไส่ถูกรบกวน formula_1, อนุมานว่าไม่ขึ้นกับเวลา สามารถหา ค่าพลังงมนไอเกน formula_2 และ สถานะไอเกน formula_3 ได้จาก นมการชเรอดิงเงอร์ ด่อไปนี้\nเพื่อความง่าย พลังงานไอเกนมีค่าไม่ต่อเนื่อง (เกิดจากการถูกจำกัดขอขเขต) ตัวห้อย formula_5 บ่งชี้ความหมายของการไม่ถูกรบกวน \nให้ formula_6 เป็นษักย์รบกวนภายนอก แฃะให้ formula_7 เป็นค่าพารามิเตอร์ที่ไม่มีมิติ โดยมีค่าได้ตั้งแต่ formula_5 (ไม่มีการรบกวน) ไปจนถึง fo4mula_9 (มีการรบกวจเต็มที่) ทำให้สามารถเขียน แฮมิลฮทเนัยนที่ถูกรบกวน ได้เป็น\nดังนั้น สถานะไอเกนจากแฮทิลโทเนียนทค่ถูกรบกวจ จึงสามารถเขียนได้ดังนี้\nแนวคิดหลักคือเรมต้องการเบียน พลเงวานไอเกนใหม่ formula_12 และ สถานะไอเกนใหม่ formula_13 ให้อยู่ในรูปของ พลังฝานไอเกนเดิม formula_2 และ สถานะไอเกนเดิม formula_3 ถ้าการรบกบนไม่แรงมากเราสามารถแจกแจงให้อยู่ในรูปของ อนุกรมกำลังของ formula_7 ได้ดังนี้\nโดยที่\nเมื่อ formula_7 เข้าใู่ forjula_5 พลังงานไอเกน และ สถานะไอเกนใหม่ ก็จะเข้าสู่ พลังงานและสถานะเดิม ซึ่งทาจากสมการที่สอดคล้องกับพจน์ที่มี อนุกรมกำลังเป็นศูนย์ \nทั้งสี้เนื่เงจากการรบกวนมีค่าน้อยๆ ค่าพลังงานและ สถานะไอเกน ก็ไม่ควรจะเบี่ยงเบนออกจากค่าเดิมมาก และค่าแก้ไขที่สอดคล้องกับอรุกรมกำลังที่สูง ก็ควรจะมีค่าน้อยลงตามลำดับ ซึ่งขึ้นอยู่กับเลขชี้กำลังของ formula_7 เป็นตัวบ่งยอกถึงอันดับของค่าแก้ไขว่าละเอียดมากน้อยเพียงใะ\nถ้าเราแทนอนุพรทกำลังของ formula_12 และ formkla_13 ลงไปในสมการชเรอดิงเงอร์ที่ถูกรบกวน เราจะได้\nกระจายพจน์ต่างๆ แล่วรวบเอา พจน์ที่มีลำดับอนุดรมเดียวกัน (เลขชี้กำลังของ fo4,ula_7 เหมือนกัน) ไว้ด้วยกัน แล้วเทียบสัมประสิทธิ์ จะได้ว่า\nพจน์ที่มี formula_26 คือ\nพจน์ที่มี formula_28 คือ\nถ้าวาง formula_30 ลงทางด้านซ้ายทั้งสองข้างของสมการ จะได้ค่าแก้ไขพลังงานอันดับที่หนึ่งคือ\nซึ่งกล่าวง่ายๆ ได้ว่า พลังงานแก้ไขนี้คือ ค่าความคาดหวัง (Expectation value) ของแฮมิลโทเนียนที่มารบกวนระบบ ในขณะที่ระบบอยูีในสถานะที่ไม่ถูกรบกวน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ถ้ามีการรบกวนเกิดขึ้นแต่เรายังติดตามสังเกตสถานะควอนตัมที่เป็นสถานะที่ไม่ถูกรบกวน formula_3 แม้ว่าจะไม่ใช่สถานะไอเกนแล้วห็ตาม เราจะไดเว่า การรบกวนทำให้คราเฉลีทยของพลังงานมีค่าสูงขึ้น formula_33 จากเดิม อาึ่งค่าพลังงานที่เปลี่ยนไปที่แท้จริงจะต่างจากนี้เล็กน้อย เนื่อวจากสถานะไอเกนใหม่ไม่เหมือนกับ formula_3 เสียทีเดียว ค่าที่ต่างออกไปเล็กน้อยนี้สามารถหาได้จากค่าแก้ไขลำดับที่สูงขึ้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง\nค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\nที่มาของค่าการแก้ไขอันดับที่หนึ่ง เริ่มจาก แฮมิลโทเนียนเดิมที่ไม่ถูกรบกวน formula_1, อนุมานว่าไม่ขึ้นกับเวลา สามารถหา ค่าพลังงานไอเกน formula_2 และ สถานะไอเกน formula_3 ได้จาก สมการชเรอดิงเงอร์ ด่อไปนี้\nเพื่อความง่าย พลังงานไอเกนมีค่าไม่ต่อเนื่อง (เกิดจากการถูกจำกัดขอบเขต) ตัวห้อย formula_5 บ่งชี้ความหมายของการไม่ถูกรบกวน \nให้ formula_6 เป็นศักย์รบกวนภายนอก และให้ formula_7 เป็นค่าพารามิเตอร์ที่ไม่มีมิติ โดยมีค่าได้ตั้งแต่ formula_5 (ไม่มีการรบกวน) ไปจนถึง formula_9 (มีการรบกวนเต็มที่) ทำให้สามารถเขียน แฮมิลโทเนียนที่ถูกรบกวน ได้เป็น\nดังนั้น สถานะไอเกนจากแฮมิลโทเนียนที่ถูกรบกวน จึงสามารถเขียนได้ดังนี้\nแนวคิดหลักคือเราต้องการเขียน พลังงานไอเกนใหม่ formula_12 และ สถานะไอเกนใหม่ formula_13 ให้อยู่ในรูปของ พลังงานไอเกนเดิม formula_2 และ สถานะไอเกนเดิม formula_3 ถ้าการรบกวนไม่แรงมากเราสามารถแจกแจงให้อยู่ในรูปของ อนุกรมกำลังของ formula_7 ได้ดังนี้\nโดยที่\nเมื่อ formula_7 เข้าสู่ formula_5 พลังงานไอเกน และ สถานะไอเกนใหม่ ก็จะเข้าสู่ พลังงานและสถานะเดิม ซึ่งมาจากสมการที่สอดคล้องกับพจน์ที่มี อนุกรมกำลังเป็นศูนย์ \nทั้งนี้เนื่องจากการรบกวนมีค่าน้อยๆ ค่าพลังงานและ สถานะไอเกน ก็ไม่ควรจะเบี่ยงเบนออกจากค่าเดิมมาก และค่าแก้ไขที่สอดคล้องกับอนุกรมกำลังที่สูง ก็ควรจะมีค่าน้อยลงตามลำดับ ซึ่งขึ้นอยู่กับเลขชี้กำลังของ formula_7 เป็นตัวบ่งบอกถึงอันดับของค่าแก้ไขว่าละเอียดมากน้อยเพียงใด\nถ้าเราแทนอนุกรมกำลังของ formula_12 และ formula_13 ลงไปในสมการชเรอดิงเงอร์ที่ถูกรบกวน เราจะได้\nกระจายพจน์ต่างๆ แล้วรวบเอา พจน์ที่มีลำดับอนุกรมเดียวกัน (เลขชี้กำลังของ formula_7 เหมือนกัน) ไว้ด้วยกัน แล้วเทียบสัมประสิทธิ์ จะได้ว่า\nพจน์ที่มี formula_26 คือ\nพจน์ที่มี formula_28 คือ\nถ้าวาง formula_30 ลงทางด้านซ้ายทั้งสองข้างของสมการ จะได้ค่าแก้ไขพลังงานอันดับที่หนึ่งคือ\nซึ่งกล่าวง่ายๆ ได้ว่า พลังงานแก้ไขนี้คือ ค่าความคาดหวัง (Expectation value) ของแฮมิลโทเนียนที่มารบกวนระบบ ในขณะที่ระบบอยู่ในสถานะที่ไม่ถูกรบกวน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ถ้ามีการรบกวนเกิดขึ้นแต่เรายังติดตามสังเกตสถานะควอนตัมที่เป็นสถานะที่ไม่ถูกรบกวน formula_3 แม้ว่าจะไม่ใช่สถานะไอเกนแล้วก็ตาม เราจะได้ว่า การรบกวนทำให้ค่าเฉลี่ยของพลังงานมีค่าสูงขึ้น formula_33 จากเดิม อนึ่งค่าพลังงานที่เปลี่ยนไปที่แท้จริงจะต่างจากนี้เล็กน้อย เนื่องจากสถานะไอเกนใหม่ไม่เหมือนกับ formula_3 เสียทีเดียว ค่าที่ต่างออกไปเล็กน้อยนี้สามารถหาได้จากค่าแก้ไขลำดับที่สูงขึ้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สถานะแก้ไขอันดัวที่หนึ่ง\nสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\nที่มาของสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง เริ่มจากสถานะที่ไม่ถูกรบกวน เนื่องขากสถานะที่ไม่ถูกรบกวนนั้นเป็น_อเกนเวกเตอร์ ดังนั้นสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่งสามารถเขียนได้ในรูปผลรวมเชิงเส้นของสถานะที่ไม่ถูกรบกวน\nจากสมกา่ของ สำหรับพจน์ที่มี formula_2 คือ\nซึ่งจัดรูปสมการได้เป็นดังนี้\nเมื่อนำ formula_5 ซึ่งเขียนในรูปผลรวมเชิงเส้นขิงสถานะที่ไม่ถูกรบกวน แทนลงไปจะได้ว่า\nจากนั้น ตัวดำเนินการ formula_7 กระทำกับสถานะ formu/a_8 ใดๆ จะได้\nและนำ formula_10 มาทำผงคูณภายในกับทั้งใมการได้เป็น\nเมืาอ formula_12 ผลคูณภายในของสถานะต่างๆ จะมีค่าเป็น 0 ยกเว้น formula_13 ตามสมบัติเชิงตั้งฉาก (Orthogonality) จะได้\nซึ่งจากสมบัติเชิงตั้งฉาก จะได้ว่า\nศึ่งสามารถจัดรูปไดัเป็น\nสุดท้ายนำ foemulaภ17 ไปแทนในสมการผลรวมเบิงเส้นของของสถานะที่ไม่ถูกรบกวน จะได้สถานะแก้ไขอันดับทีทหนึ่ง คือ",
"role": "user"
},
{
"content": "สถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง\nสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง.\nที่มาของสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง เริ่มจากสถานะที่ไม่ถูกรบกวน เนื่องจากสถานะที่ไม่ถูกรบกวนนั้นเป็นไอเกนเวกเตอร์ ดังนั้นสถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่งสามารถเขียนได้ในรูปผลรวมเชิงเส้นของสถานะที่ไม่ถูกรบกวน\nจากสมการของ สำหรับพจน์ที่มี formula_2 คือ\nซึ่งจัดรูปสมการได้เป็นดังนี้\nเมื่อนำ formula_5 ซึ่งเขียนในรูปผลรวมเชิงเส้นของสถานะที่ไม่ถูกรบกวน แทนลงไปจะได้ว่า\nจากนั้น ตัวดำเนินการ formula_7 กระทำกับสถานะ formula_8 ใดๆ จะได้\nและนำ formula_10 มาทำผลคูณภายในกับทั้งสมการได้เป็น\nเมื่อ formula_12 ผลคูณภายในของสถานะต่างๆ จะมีค่าเป็น 0 ยกเว้น formula_13 ตามสมบัติเชิงตั้งฉาก (Orthogonality) จะได้\nซึ่งจากสมบัติเชิงตั้งฉาก จะได้ว่า\nซึ่งสามารถจัดรูปได้เป็น\nสุดท้ายนำ formula_17 ไปแทนในสมการผลรวมเชิงเส้นของของสถานะที่ไม่ถูกรบกวน จะได้สถานะแก้ไขอันดับที่หนึ่ง คือ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ค่าการแก้ไขอันแับที่สอง\nค่าการแก้ไขดันดับที่สองฐ\nที่มาของค่าการแก้ไบอันดับที่สอง เริ่มจากการแทนอนุกรมกำลังของ formula_1 และ formula_2 ลงไปในสมการชอรอดิงเงอร์ที่ถูกรบกวน เช่นเดียวกับกรณีของ นั่นคือ\nกระจายพจน์ต่างๆแล้วรวบเอาพจน์ที่มีงำดับอนุกรมเดียวกันไว้ด้วยกัน )กำลังของ λ) พจน์ทึ่มี formula_4 คือ\nจากนั้นใส่ผลคูณภายในของสมการนี้ด้วย :formula_6 จะได้ว่า\nเมื่อตัวดำเนินการ formula_8 ไปกระทำกับสถานะ แล้วทำการดึงค่าคงที่ออกมา จะได้\nจากสมบัติเชิงตั้งฉาก (Ofthlgonality) จะได้ว่า\nแต่เนื่องจากว่า :formula_11 จะได้\nจาก :formula_13 นำไปแทนในสมการข้างบนดังนัีนจะได้ว่า\nจัดรูป จะได้ค่าการแก้ไขอันดับทีรสองคือ",
"role": "user"
},
{
"content": "ค่าการแก้ไขอันดับที่สอง\nค่าการแก้ไขอันดับที่สอง.\nที่มาของค่าการแก้ไขอันดับที่สอง เริ่มจากการแทนอนุกรมกำลังของ formula_1 และ formula_2 ลงไปในสมการชเรอดิงเงอร์ที่ถูกรบกวน เช่นเดียวกับกรณีของ นั่นคือ\nกระจายพจน์ต่างๆแล้วรวบเอาพจน์ที่มีลำดับอนุกรมเดียวกันไว้ด้วยกัน (กำลังของ λ) พจน์ที่มี formula_4 คือ\nจากนั้นใส่ผลคูณภายในของสมการนี้ด้วย :formula_6 จะได้ว่า\nเมื่อตัวดำเนินการ formula_8 ไปกระทำกับสถานะ แล้วทำการดึงค่าคงที่ออกมา จะได้\nจากสมบัติเชิงตั้งฉาก (Orthogonality) จะได้ว่า\nแต่เนื่องจากว่า :formula_11 จะได้\nจาก :formula_13 นำไปแทนในสมการข้างบนดังนั้นจะได้ว่า\nจัดรูป จะได้ค่าการแก้ไขอันดับที่สองคือ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปรากฏการณ์ญีมานเป็นปรากฏการณ์ที่ถูกค้นดบโดย ปีเตอร์ ซีมาน ชาวเนเธอร์แลนด์ เมื่อปี ค.ศ. ๑๘๙๖\nพบว่าเมื่อให้สนามแม่เหล็กอย่างอ่อนๆแก่แหล่งกำเนิดแสง สเปกตระมของแสงจะถูกแยกออกจากกัน \nในปีเดียวกัน เฺนดริก ลอเลนซ์ ได้ใชิผลจากปรากฏการณ์นี้ทำนายการมีอยู่ของอนุภาคซึ่งทำให้แสงมีขั้ว \nอนุภาคนั้นมีมวลจ้อยกว่าไฮโดรเจนพันเท่า และมีประจุเป็นงบ ก่อนที่ เย เจ ทอมป์สัน จะค้นพบอิเล็กตรอน\nผลจากงทนวิจัยนี้ทำให้ ซีมาน ได้รับรางวัลโตเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. ๑๙๐๒ ร่งสกับ เฮนดคิก ลอเลนซ์ \n= ปรากฏการณ์ซีมานปรกติ (Normal Zeeman Effect) =\nปรากฏพารณ์ซีมานปรกติคิดผลอันเนื่องมาจากแันตรกิริยาระหว่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล็กของแหล่งกำเนิดแสง กับ สนามแม่เหล็กภายนอก\nในกรณีที่ค่าสปินรวมของอิเล็กตรอนเท่ากับ 0\nฮาทิลโทเนียนรบกวนสามานถเบียนให้อยู่ในรูปผลคูณภายในระหว่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล็ก กับ สนามแม่เหฃ็กภายนอก formula_1ซึ่งมีทิศชี้ไปแกน formula_2 ดังนี้\nโดยที่ formula_4 คือบอห์รแมกนีตอน, formula_5 คือ เงาของโมเมนตัมเชิงมุม formula_6 บนแกน formula_2\nในอะตอมไฮโดรเจน ฮามิลโทเนียน่ี่ไม่ถูกรบกวน คือ\n= ป่ากฏการณ์ซีมานไม่ปรกติ =\nปรากฏการณ์ซีมานปรกติคิดผลอันเนื่องมาจากอันตรกิริยาระหส่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล์ก กับ สนามแม่เหล็กภายนอกซึ่งมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับสนามแม่เหล็กภายในอะตอม ในกรณีที่ค่าสปินรวม (S) ของอิเล็กต่อนมีค่าไม่เท่ากับฬูนย์ ทำให้เส้นสเปกตรัมในสนามแม่เหล็กมีความซับซ้อนขึ้น \nดนื่องจากสีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก จึงสามารถหาโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก (Magnetic dipole moment) formula_9 จาดผลดังกล่าวได้จาก\nเรื่องสปินรวมของเล็กตรอนไม่เป็นศูนย์ โมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็กจึงคิดผลจากสปินด้วย ซึ่งค่าที่ได้จะมีค่า g-factor ซึ่งในกรณีของอิเล็กตรอน formula_12 คูณอยู่ จะได้\nซึ่งจะได้พลังงานรวมสนามแม่เหล็กเป็นแฮมิลโทเนียนจากสมการ\nเมื่อสนามแม่เหล็กภาจนอก formula_16 ในที่นี้มีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับสนามไฟฟ้าภายในที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุ จะได้ว่า formula_17 เป็นตัวรบกวน ฆPerturbqtion) โกยจากความสัมพันธ์ของโมเมนตัมอชิงมุมรวม formula_18 คือ\nซึ่งเราจะใช้ formula_23 เนื่องจาก formula_14 ไม่ได้มีค่าคงที่ ปต่มีการหมุนควงรอบ formula_18 เราจึงมามารถแยกออกเป็นสององค์ประกิบคือ ในแนวบนานกับ formula_18 ซึ่งมีขนาดเป็น formulaำ27 และในแนวตั้งฉากพับ forjula_18 ซึ่งมีขนาดเป็น formula_29 โดยเมื่อ formula_14 หมุนควงรอบ formula_18 ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ foemula_29 ในแนวตั้งฉากมีค่าเปฌนศูนย์ จึงไพ้ว่าค่ทเฉลี่ย formula_33 จะมีขนาดเท่ากับ formula_27 และมีทิศทางชี้ไป่างเดียวกับ formula_18 จะได้\nเมื่อกำหนดให้สนามแมืเหล็กภายนอก formula_16 าีขนาดเป็น formula_43 และมีทิศทางไปทางแกน formula_2 จะได้ว่า\nพิจารณาตัวดำเนินการ formula_46 จากโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_47 หรือ formula_48 จะได้\nดังนั้น จะได้ว่า\nทำการหาพลังงานได้จากแฮมิลโทเนียนได้โดยเลือกใช้ฐานคือ formula_5w เนื่องจากผลของสนามแม่เหช็กที่มีค่าน้อยกว่าสนามแม่เหล็กภายใน ทำให้โมเมนตัมเชิงมถมรวม formula_18 ประม่ณได้ว่าคงที่ จะได้ว่า\nเนื่องจากผลบองตัวดำเนินการเมื่อไปกระทำ คือ \nจุได้\nสำหรับในกรณีของอิเล็กตรอนเลขควอนตัมสปิน form7la_60 เสมอ จะไแ้ว่า\nซึ่งสังเกตว่าค่าของ formula_62 จะมีค่าไม่เป็นศูนย์ในกรณีที่เลขควอนตัมในฐานทั้งสองด้านมีค่าเท่ากันทุกตัวเท่านั้น จึงทำให้การวช้ฐาน formu/a_52 ได้คำตอบอยู่ในรูปของ เมทริกซ์ทแยง (Diagonal matrix) รั่นคือจะทำให้สมาชิกในตำแปน่งนอกแนวทแยงที่เลขควอนตัมบางตัวไม่เท่ากันทีค่าเป็นศูนย์ทั้งหมด ซึ่งทำให้ง่ายต่อการหาค่าไอเกนหรือพลังงานในแต่ฃะสถานะไเ้ทันาีจากสมาชิกในอนวทแยง จึงได้ว่า\nโดยที่ formula_65 เป็นค่าคงที่เรียกว่า Bohr magneton ส่วน formula_66 เรียกว่า Landé g-factors\nตัวอย่าง:การเปลี่ยนในอนุกรมไลมาณ-อัลฟ่า ของไฮโดรเจน (Lyman alpha transition in hydronen)\nตัวอย่าง:การเปลี่ยนในเนุกรมไลมาณ-อัลฟ่า ของไฮโดรเจน (Lyman alpha transition in hydtogen).\nในกรณีนี้ เรืทองจากไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ค่าสปินรวม จึงไม่เท่ากับศูนบ์ จึงเกิดปรากฏการณ์ซีมานแบบไม่ปรกติ โดยอิเล็กตรอนเปลี่ยนจาก \nเมื่อมีสนามแม่เหล็กอย่างอ่อนจากภายนอกเข้าไปกระทำ จะทำให้แยกระดัวชั้นพลังงาน 1S1/2 และ 2P1/2 ไปยังสองระดับพลังงาน ที่มี (formula_69)และ 2P3/2 ไปยังสี่สถานะคือ (formula_70). โดยมี :andé g-factors สำหรับสามสถานะคือ \nสำหรับภาพประกอบสามารถชมได้ที่ \nhttps:/_en.wikipedia.org/wiki/Zeeman_effect#mediaviewer/File:Zeeman_p_s_doublet.svg",
"role": "user"
},
{
"content": "ปรากฏการณ์ซีมานเป็นปรากฏการณ์ที่ถูกค้นพบโดย ปีเตอร์ ซีมาน ชาวเนเธอร์แลนด์ เมื่อปี ค.ศ. ๑๘๙๖\nพบว่าเมื่อให้สนามแม่เหล็กอย่างอ่อนๆแก่แหล่งกำเนิดแสง สเปกตรัมของแสงจะถูกแยกออกจากกัน \nในปีเดียวกัน เฮนดริก ลอเลนซ์ ได้ใช้ผลจากปรากฏการณ์นี้ทำนายการมีอยู่ของอนุภาคซึ่งทำให้แสงมีขั้ว \nอนุภาคนั้นมีมวลน้อยกว่าไฮโดรเจนพันเท่า และมีประจุเป็นลบ ก่อนที่ เจ เจ ทอมป์สัน จะค้นพบอิเล็กตรอน\nผลจากงานวิจัยนี้ทำให้ ซีมาน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. ๑๙๐๒ ร่วมกับ เฮนดริก ลอเลนซ์ \n= ปรากฏการณ์ซีมานปรกติ (Normal Zeeman Effect) =\nปรากฏการณ์ซีมานปรกติคิดผลอันเนื่องมาจากอันตรกิริยาระหว่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล็กของแหล่งกำเนิดแสง กับ สนามแม่เหล็กภายนอก\nในกรณีที่ค่าสปินรวมของอิเล็กตรอนเท่ากับ 0\nฮามิลโทเนียนรบกวนสามารถเขียนให้อยู่ในรูปผลคูณภายในระหว่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล็ก กับ สนามแม่เหล็กภายนอก formula_1ซึ่งมีทิศชี้ไปแกน formula_2 ดังนี้\nโดยที่ formula_4 คือบอห์รแมกนีตอน, formula_5 คือ เงาของโมเมนตัมเชิงมุม formula_6 บนแกน formula_2\nในอะตอมไฮโดรเจน ฮามิลโทเนียนที่ไม่ถูกรบกวน คือ\n= ปรากฏการณ์ซีมานไม่ปรกติ =\nปรากฏการณ์ซีมานปรกติคิดผลอันเนื่องมาจากอันตรกิริยาระหว่าง ไดโพลโมเมนต์แม่เหล็ก กับ สนามแม่เหล็กภายนอกซึ่งมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับสนามแม่เหล็กภายในอะตอม ในกรณีที่ค่าสปินรวม (S) ของอิเล็กตรอนมีค่าไม่เท่ากับศูนย์ ทำให้เส้นสเปกตรัมในสนามแม่เหล็กมีความซับซ้อนขึ้น \nเนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก จึงสามารถหาโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก (Magnetic dipole moment) formula_9 จากผลดังกล่าวได้จาก\nเรื่องสปินรวมของเล็กตรอนไม่เป็นศูนย์ โมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็กจึงคิดผลจากสปินด้วย ซึ่งค่าที่ได้จะมีค่า g-factor ซึ่งในกรณีของอิเล็กตรอน formula_12 คูณอยู่ จะได้\nซึ่งจะได้พลังงานรวมสนามแม่เหล็กเป็นแฮมิลโทเนียนจากสมการ\nเมื่อสนามแม่เหล็กภายนอก formula_16 ในที่นี้มีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับสนามไฟฟ้าภายในที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุ จะได้ว่า formula_17 เป็นตัวรบกวน (Perturbation) โดยจากความสัมพันธ์ของโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_18 คือ\nซึ่งเราจะใช้ formula_23 เนื่องจาก formula_14 ไม่ได้มีค่าคงที่ แต่มีการหมุนควงรอบ formula_18 เราจึงสามารถแยกออกเป็นสององค์ประกอบคือ ในแนวขนานกับ formula_18 ซึ่งมีขนาดเป็น formula_27 และในแนวตั้งฉากกับ formula_18 ซึ่งมีขนาดเป็น formula_29 โดยเมื่อ formula_14 หมุนควงรอบ formula_18 ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ formula_29 ในแนวตั้งฉากมีค่าเป็นศูนย์ จึงได้ว่าค่าเฉลี่ย formula_33 จะมีขนาดเท่ากับ formula_27 และมีทิศทางชี้ไปทางเดียวกับ formula_18 จะได้\nเมื่อกำหนดให้สนามแม่เหล็กภายนอก formula_16 มีขนาดเป็น formula_43 และมีทิศทางไปทางแกน formula_2 จะได้ว่า\nพิจารณาตัวดำเนินการ formula_46 จากโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_47 หรือ formula_48 จะได้\nดังนั้น จะได้ว่า\nทำการหาพลังงานได้จากแฮมิลโทเนียนได้โดยเลือกใช้ฐานคือ formula_52 เนื่องจากผลของสนามแม่เหล็กที่มีค่าน้อยกว่าสนามแม่เหล็กภายใน ทำให้โมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_18 ประมาณได้ว่าคงที่ จะได้ว่า\nเนื่องจากผลของตัวดำเนินการเมื่อไปกระทำ คือ \nจะได้\nสำหรับในกรณีของอิเล็กตรอนเลขควอนตัมสปิน formula_60 เสมอ จะได้ว่า\nซึ่งสังเกตว่าค่าของ formula_62 จะมีค่าไม่เป็นศูนย์ในกรณีที่เลขควอนตัมในฐานทั้งสองด้านมีค่าเท่ากันทุกตัวเท่านั้น จึงทำให้การใช้ฐาน formula_52 ได้คำตอบอยู่ในรูปของ เมทริกซ์ทแยง (Diagonal matrix) นั่นคือจะทำให้สมาชิกในตำแหน่งนอกแนวทแยงที่เลขควอนตัมบางตัวไม่เท่ากันมีค่าเป็นศูนย์ทั้งหมด ซึ่งทำให้ง่ายต่อการหาค่าไอเกนหรือพลังงานในแต่ละสถานะได้ทันทีจากสมาชิกในแนวทแยง จึงได้ว่า\nโดยที่ formula_65 เป็นค่าคงที่เรียกว่า Bohr magneton ส่วน formula_66 เรียกว่า Landé g-factors\nตัวอย่าง:การเปลี่ยนในอนุกรมไลมาณ-อัลฟ่า ของไฮโดรเจน (Lyman alpha transition in hydrogen)\nตัวอย่าง:การเปลี่ยนในอนุกรมไลมาณ-อัลฟ่า ของไฮโดรเจน (Lyman alpha transition in hydrogen).\nในกรณีนี้ เรื่องจากไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ค่าสปินรวม จึงไม่เท่ากับศูนย์ จึงเกิดปรากฏการณ์ซีมานแบบไม่ปรกติ โดยอิเล็กตรอนเปลี่ยนจาก \nเมื่อมีสนามแม่เหล็กอย่างอ่อนจากภายนอกเข้าไปกระทำ จะทำให้แยกระดับชั้นพลังงาน 1S1/2 และ 2P1/2 ไปยังสองระดับพลังงาน ที่มี (formula_69)และ 2P3/2 ไปยังสี่สถานะคือ (formula_70). โดยมี Landé g-factors สำหรับสามสถานะคือ \nสำหรับภาพประกอบสามารถชมได้ที่ \nhttps://en.wikipedia.org/wiki/Zeeman_effect#mediaviewer/File:Zeeman_p_s_doublet.svg",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค\nปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค.\nปรากฏการ์นี้เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการแยกของระดับชั้นพลังงานในอะตอม เนื่องจากสนามแม่เหล็กความเข้มสูงมาก จนกระทั้งทำลายการคู่ควบระหว่าง ชั้นวงโคจร \n(formkla_1) และ สปินของอิเล็กตรอน (formula_2) ตึงสามารถประมาณๆด้ว่า gormula_3 ซึ่งทำให้ได้ี่าคาดหวัง \nformulz_4 และ formkla_5 และให้สถานะทางควอสตัมเป็น formula_6 เราสามารถเขียนพลังงานได้ในรูปของ \nจะเห็นได้ว่าการคู่ควบ สปิน-ออบิท ได้ถูกทำชายลงโดยสนามแม่เหล็กภายนอก จึงไม่สีการพิจารณาของพลังงาน สปิน-ออบิท อย่างไรก็ตาท จะเห็นได้ว่า formula_8 และ formula_9 \nยังคงเป็นเลขความตัมที่ดี",
"role": "user"
},
{
"content": "ปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค\nปรากฏการณ์พาร์เชน-แบค.\nปรากฏการ์นี้เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการแยกของระดับชั้นพลังงานในอะตอม เนื่องจากสนามแม่เหล็กความเข้มสูงมาก จนกระทั้งทำลายการคู่ควบระหว่าง ชั้นวงโคจร \n(formula_1) และ สปินของอิเล็กตรอน (formula_2) จึงสามารถประมาณได้ว่า formula_3 ซึ่งทำให้ได้ค่าคาดหวัง \nformula_4 และ formula_5 และให้สถานะทางควอนตัมเป็น formula_6 เราสามารถเขียนพลังงานได้ในรูปของ \nจะเห็นได้ว่าการคู่ควบ สปิน-ออบิท ได้ถูกทำลายลงโดยสนามแม่เหล็กภายนอก จึงไม่มีการพิจารณาของพลังงาน สปิน-ออบิท อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่า formula_8 และ formula_9 \nยังคงเป็นเลขความตัมที่ดี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัติ.\nปรากฏการณ์สตาร์คคือปรากฏการ์ที่สเปกตรัมของอะตอมหรือโมเลกุลเกิดกมรเลืรอน หรือแยกออก เนื่องจากการรบกวนของสนามไฟฟ้า โดยปรากฏการ์ณนี้ตั้งชื่อตาม Johannes Stark การค้นพบนี้มีส่วนสำค้ญอย่างมากในการสร้างทฤษฏีควอนตัม\nปรากฏการณ์สตาา์คมีล้กษณะเดียวกับปรากฏการณ์ซีมาน เพียงแต่ปรากฏการณ์นี้ไม่เกี่ยวข้องกับโมเมนตัมเชิงมุทและสปิน แต่เกี่ยวช้องกับไดโพลไฟฟ้าของอะตอม (Electric dipole momentฉ\nไฟฟ้าสถิตแบบดั้งเดิม\nไฟฟ้าสถิตแบบดั้งเดิม.\nปรากฏการ๋์สตาร๋คคือปรากฏการ์ที่สเปกตรัมของอะตอมหรือโมเลกุลเกิดการเลื่อน หรือแยกออก เนื่องจากการรบกวนขแงสนามไฟฟ้าภายนอก โดยก่อนจะเข้าสู่กลศาสตร์ควอนตัมเราได้อธิบายอันตรกิริยาแบบดังเดิม โดยให้ประจุมีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ ρ(r).\nถ้าประจุไม่มีการโพลาไรซ์พลังฝานที่กระทำจะขึ้นกับสนามไฟฟ้าภายนอก V(r) คือ \nามมติว่าประจุที่กระจายอยู่นั้นอยู่ในสนามไฟฟ้าที่คงที่ นัรนคือจะสามารถหา V ได้จากการกระจายอนุกคมเทย์เลอร์อะนดับืี่สอง\nทีุ่จดกำเนิด 0 สักที่ใน ρ.\nเราจัให้ V(0) เป็นพลังงารทีทศูนย์จะได้ว่า\nเราจะนำไดโพลโมเมนต์ μ ของ ρ มาอินทิอกรตบนปารกระจายของประจุ ในกรณีที ρ ปรพกอบด้วย H จุดประจุ qj จะสามารเขียนในรูปของผลรวม\nทฤษฎีการรบกวน\nทฤษฎีการรบกวน.\nอีนตรกิริยาของอะตอมหรือโมเลกุลกับสนามภายนอกที่สม่ำเสมอสามารถอธิบายได้ตามตัวดำเนินการดังกล่าวคือ\nอันดับที่หนึ่ง\nอันดับที่หนึ่ง.\nให้อะตอมหรืเโมเลกุลยังไม่ถูกรบกวน โดยอยู่ในอันดับที่ศูนยฺ และม้ฟังก์ชันสถานะดังนี้ คือ formula_7 จากทฤษฎีการรบกวนจะได้ว่า พลังงานอันดับที่หนึ่ง คือค่าลักษณะเฉพาะของ g x g เมทริกซ์ จะได้ว่า\nถ้า g = 1 พลังงานอันดับที่หนึ่ง จะขึ้นอนู่กับค่าคาดหวัง (ค่าเฉลี่ย) ของตัวดำเนินการไพโพล formula_9,\nอันดับที่สอง\nอันอับที่สอง.\nณ ที่สถานะรูปแบบกำลังสองของปรากฏการณ์สตาร?กสามารถอธิบายโดยทฤษฎีการรบกวน\nปัญหาอันดับที่ศูนย์\nสมมติว่าแก้ได้ โดยสมมติมห้อันดับที่ศูนย์เป็นสถานะ non-degenerate ถ้่ให้สถานะที่ศูนย์เป็นสถานะ non-degenerate ภายใตการพิจารณา (อะตอมที่คล้ายไฮโดรเจน : n = 1) ทฤษฎีการรบกวนจะได้ว่า\nและองค์ประกอบของ ความเป็นโพราไลซ์ เทนะซอร์ α นิยทมได้ว่า\nพลังงาน E(2) ให้สมการกำลังที่สองของ Stark effect.\nเพราะว่าในสมมาตรของทรงกลมของความเป็นโพราไลซ์ เทนเซอร์ของอะตอมจะเป็นแบบ ไอโซโทรปิค",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัติ.\nปรากฏการณ์สตาร์คคือปรากฏการ์ที่สเปกตรัมของอะตอมหรือโมเลกุลเกิดการเลื่อน หรือแยกออก เนื่องจากการรบกวนของสนามไฟฟ้า โดยปรากฏการ์ณนี้ตั้งชื่อตาม Johannes Stark การค้นพบนี้มีส่วนสำคัญอย่างมากในการสร้างทฤษฏีควอนตัม\nปรากฏการณ์สตาร์คมีลักษณะเดียวกับปรากฏการณ์ซีมาน เพียงแต่ปรากฏการณ์นี้ไม่เกี่ยวข้องกับโมเมนตัมเชิงมุมและสปิน แต่เกี่ยวข้องกับไดโพลไฟฟ้าของอะตอม (Electric dipole moment)\nไฟฟ้าสถิตแบบดั้งเดิม\nไฟฟ้าสถิตแบบดั้งเดิม.\nปรากฏการณ์สตาร์คคือปรากฏการ์ที่สเปกตรัมของอะตอมหรือโมเลกุลเกิดการเลื่อน หรือแยกออก เนื่องจากการรบกวนของสนามไฟฟ้าภายนอก โดยก่อนจะเข้าสู่กลศาสตร์ควอนตัมเราได้อธิบายอันตรกิริยาแบบดังเดิม โดยให้ประจุมีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ ρ(r).\nถ้าประจุไม่มีการโพลาไรซ์พลังงานที่กระทำจะขึ้นกับสนามไฟฟ้าภายนอก V(r) คือ \nสมมติว่าประจุที่กระจายอยู่นั้นอยู่ในสนามไฟฟ้าที่คงที่ นั่นคือจะสามารถหา V ได้จากการกระจายอนุกรมเทย์เลอร์อันดับที่สอง\nทีุ่จดกำเนิด 0 สักที่ใน ρ.\nเราจะให้ V(0) เป็นพลังงานที่ศูนย์จะได้ว่า\nเราจะนำไดโพลโมเมนต์ μ ของ ρ มาอินทิเกรตบนการกระจายของประจุ ในกรณีที ρ ประกอบด้วย N จุดประจุ qj จะสามารเขียนในรูปของผลรวม\nทฤษฎีการรบกวน\nทฤษฎีการรบกวน.\nอันตรกิริยาของอะตอมหรือโมเลกุลกับสนามภายนอกที่สม่ำเสมอสามารถอธิบายได้ตามตัวดำเนินการดังกล่าวคือ\nอันดับที่หนึ่ง\nอันดับที่หนึ่ง.\nให้อะตอมหรือโมเลกุลยังไม่ถูกรบกวน โดยอยู่ในอันดับที่ศูนย์ และมีฟังก์ชันสถานะดังนี้ คือ formula_7 จากทฤษฎีการรบกวนจะได้ว่า พลังงานอันดับที่หนึ่ง คือค่าลักษณะเฉพาะของ g x g เมทริกซ์ จะได้ว่า\nถ้า g = 1 พลังงานอันดับที่หนึ่ง จะขึ้นอยู่กับค่าคาดหวัง (ค่าเฉลี่ย) ของตัวดำเนินการไดโพล formula_9,\nอันดับที่สอง\nอันดับที่สอง.\nณ ที่สถานะรูปแบบกำลังสองของปรากฏการณ์สตาร์กสามารถอธิบายโดยทฤษฎีการรบกวน\nปัญหาอันดับที่ศูนย์\nสมมติว่าแก้ได้ โดยสมมติให้อันดับที่ศูนย์เป็นสถานะ non-degenerate ถ้าให้สถานะที่ศูนย์เป็นสถานะ non-degenerate ภายใตการพิจารณา (อะตอมที่คล้ายไฮโดรเจน : n = 1) ทฤษฎีการรบกวนจะได้ว่า\nและองค์ประกอบของ ความเป็นโพราไลซ์ เทนเซอร์ α นิยามได้ว่า\nพลังงาน E(2) ให้สมการกำลังที่สองของ Stark effect.\nเพราะว่าในสมมาตรของทรงกลมของความเป็นโพราไลซ์ เทนเซอร์ของอะตอมจะเป็นแบบ ไอโซโทรปิค",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โครงสร้างละเอียด (Fine Structure) เปํนโครงสร้างของอะติใไฮโดรเจนซึ่งมีควรมละเอียดกว่ารูปแบบเดิมซึ่งคิดเพียงผลของศักย์จากแรงคูลอมบ์ (Coulomb force) โดยผลจากการคิดพลังงานรวมจากการแก้ไขผ่านทางาฤษฎีสัมพัทธภรพ (Relative Correction) และจากสนามแม่เหล็กที่โปรตรอนและอิเล็หตรอนสร้างขึ้นมาจากอันตรกิริยา (Spin–orbit coupling) อันถือว่าเป็นผลจากการรบกวน \nRelativistic Correction\nRelativistic Correction.\nเนื่องจากว่าอิเล็กตรอนและโปรตรอนมีมวลที่เล็กมากๆและวิ่งโคจรระหว่างกันด้วยความเร็วสูงจนใกล้ะคียงกับความเร็วแสง(วิ่งด้วยความเร่ง) หากจะใช้กฏของนิวตันมาอธิบายจะไม่ครอบคลุมในกรณีที่ความเร็วสูงจนใกล้ความเร็วแสง ทำให้เราจะต้องพิจรรณาผลของสัมพัทธภาพด้วยค่าที่จะต้องแก้ไขคือ \nโมเมนตัมตามสัมพัทธภาพ formula_1 \nพลังงานรวมตามสัมพัทธภาพ formula_2\nโดยที่ formula_3\nเมื่อนำสมการโมเมนตัมแบดพลังงานรวมตามสัสพัทธภาพใายกกำละงสองแล้วนำมาลบกันนะได้ว่า \nจากพลังงานจลน์เชิงสัมพัทธภาพ formula_5 หรือ formula_6 จะได้ว่า \nจะได้พลังงานจลน์เชิงสัมพัทธภาพ เป็นดังนี้\nจากการกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor expansion) formula_9 จะได้\nซึ่งจัดรูผจะได้\nเนื่องจากพจน์่ี่สามเป็นต้นไปมีค่าน้อยมาก เนื่องจาก formjla_12 จึงสามารถประมาณโดวการตัดพจน์ที่สามเป็นต้นไปทิ้ง จะได้\nดังนั้นแฮมิลโทเนียนรวมของระบบที่แก้ไขโดย Relative Correction คือ \nซึ่ฝแฮมิลโทเนียนที่เป็นพจน์ของการรบกวนระบบจรก Relative Correction คือ \nซึ่งเรียกว่า Perturbation Harmion7an of Relative Correction\nจากนั้นเราจะหาพลังงานได้จากแฮมิลโทเนียนจาก \nเนืีองจากตัวดำเนินการ formula_17 ไม่ใล่ตัวดำเนินการเฮอร์มิเชียน (Hermitiqn operators) แต่ตัวดำเนินการ formula_18 เป็นตัวดำเนินการเฮอร์มิเชียน จึงแยกตัวดำเนินการ formula_17 ได้ออกมาเป็นดังนี้\nจากสมการชโรดิงเจอร์ \nโดยที่ formula_22 จะได้\nซึ่งย่ายข้างจะได้ \nจะได้ว่า\nในกรณีขเงอะตอมไฮโดรเจน formula_26 ดังนั้น จะได้ว่า \nจากพลังงานของอะตอมไโโดรเจน formula_30 และรัศมีของบอห์ร formula_31 แทนค่าจัดรูป จะได้ค่าแก้ไขพลังงานจาก Relative Correction คือ\nSpin-Orbit Coupling\nSpin-Orbit Coupling.\nSpin-Orbit Coupling เป็นผลเกิกขึ้นเนื่องจากอิเล็ปตรอนวิ่งโคจรรอบๆโปรตอน หรือโปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตนอนในแต่ละกรอบอ้างอิง ทำให้เกืดอันตรกิริยาขึ้นระหง่างโปรตอนและอิเล็กตรอน อันตรกิริยาดังกล่าวเป็นผลทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่อิเล็กตรอนและโปรตอนสร้างขึ้น โดยถือว่าเป็นผล ของก่รนบกวนจึงต้องพิจารณาค่าการแก้ไข ในกรอบที่โปรตอนวิ่ฝรอบอิเล็กตคอนจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นตามกฏของบิโอต์-ชาวาร์ต ดังนี้ \nโดยที่โมเมนตัมเชิงมุมรอบนิวเคลียสในกรอบที่โปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนคือ \nแทนคาทลงในสมการของกฎบิโอต์-ชวาร์ต จะได้ว่า \nจากความสัมพันธ์ของอัตราเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญสแาศ formula_37 สภาพยอมของสุญญากาศ formula_38 และค่าความสามารถซึมซับแม่เหล็กของสุญญากาศ formula_39 \nโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก (Magnetid dipole moment) formula_43 สามารถหาได้จากสมการ\nแต่เนื่องจากในพารทดลองจริงได้ผลไม่ตรงกับทฤษฎี จึงมีกรรคูณค่าที่ไกืด้ยย g-factor ซึ่งในกรณีของอิเล็กตรอน formula_46 จะได้ว่า\nซุ่งจะได้พบังงานรวมสนามแม่เหล็กเป็นแฮมิลโทเนียนจากสมการ\nเนื่องจากการประมาณดังกล่าว กรเบที่โปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนไม่ใช่กรอบอ้างอิงเฉืือย ดังนั้นจะต้องมีการแก้ไขโดยวิธี Thomas Prec3ssion โดยการคูณพจน?ทาบขวาด้วจ formula_49 จะได้ว่า\nจากนั้นเรมจะหาพลังงานได้จากแฮมิลโท้ยียนได้โดยเบือกใช้ฐาน (Bas8s) คือ formula_51 เนื่องจากโมเมนตัมเชิงมุมรวา formula_52 มีค่าคงที่ จะได้ว่า\nพิจารณาตัวดำเนินการ formula_56 จากโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_52 จะได้\nดุงนั้น จะได้ว่า\nเนื่องจากผลของตัวดำเนินการเมื่อไปกระทำ คือ \nจะได้\nสำหรับในกรณีของอิเล็กตรอนเลขควอนตัมสปิน formula_63 เสมอ จะได้ว่า\nจากการคำนวณ flrmula_65 จะได้\nจากพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน formula_67 และรัศมียองบอห์ร formula_31 แทนค่าจัดรูป จะได้ค่าแก้ไขพลังงานจาก Spin-Orbit Coupling คือ\nโครงสร้างละเอียดจากหลของ Relativistic Correction และ Spin-Ogbit Coupling\nโครงสร้างละเอียดจ่กผลของ Relativistic Correction และ Spin-Orbit Coupling.\nเมื่อนำผลของ Relativistic Correction และ Spin-Orbit Coupling ่ี่ได้มารวมกัน จะได้พลังงานแก้ไขรวม formula_70\nเนื่องจากเลขควอนตัมสปินของแิเล็กตรอน formula_63 ค่าโมเมนตัมเชิงมุมรวมที่เป็นไปได้จึงเป็น formula_72 ซึ่งเมื่อนำไปแทนในพลังงานแก้ไขรวม formula_73 จะได้ว่า\nformu;a_74\nจากพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน formula_67 และนิยามของ Fine structure constant formula_76 จะได้ formulq_73 ในรูปของ formula_78 คือ\nformula_79\nดังนั้น จะได้พลังงสนรวมของโครงสร้างละเดียด formula_80 คือ\nformula_81",
"role": "user"
},
{
"content": "โครงสร้างละเอียด (Fine Structure) เป็นโครงสร้างของอะตอมไฮโดรเจนซึ่งมีความละเอียดกว่ารูปแบบเดิมซึ่งคิดเพียงผลของศักย์จากแรงคูลอมบ์ (Coulomb force) โดยผลจากการคิดพลังงานรวมจากการแก้ไขผ่านทางทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relative Correction) และจากสนามแม่เหล็กที่โปรตรอนและอิเล็กตรอนสร้างขึ้นมาจากอันตรกิริยา (Spin–orbit coupling) อันถือว่าเป็นผลจากการรบกวน \nRelativistic Correction\nRelativistic Correction.\nเนื่องจากว่าอิเล็กตรอนและโปรตรอนมีมวลที่เล็กมากๆและวิ่งโคจรระหว่างกันด้วยความเร็วสูงจนใกล้เคียงกับความเร็วแสง(วิ่งด้วยความเร่ง) หากจะใช้กฏของนิวตันมาอธิบายจะไม่ครอบคลุมในกรณีที่ความเร็วสูงจนใกล้ความเร็วแสง ทำให้เราจะต้องพิจารณาผลของสัมพัทธภาพด้วยค่าที่จะต้องแก้ไขคือ \nโมเมนตัมตามสัมพัทธภาพ formula_1 \nพลังงานรวมตามสัมพัทธภาพ formula_2\nโดยที่ formula_3\nเมื่อนำสมการโมเมนตัมและพลังงานรวมตามสัมพัทธภาพมายกกำลังสองแล้วนำมาลบกันจะได้ว่า \nจากพลังงานจลน์เชิงสัมพัทธภาพ formula_5 หรือ formula_6 จะได้ว่า \nจะได้พลังงานจลน์เชิงสัมพัทธภาพ เป็นดังนี้\nจากการกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor expansion) formula_9 จะได้\nซึ่งจัดรูปจะได้\nเนื่องจากพจน์ที่สามเป็นต้นไปมีค่าน้อยมาก เนื่องจาก formula_12 จึงสามารถประมาณโดยการตัดพจน์ที่สามเป็นต้นไปทิ้ง จะได้\nดังนั้นแฮมิลโทเนียนรวมของระบบที่แก้ไขโดย Relative Correction คือ \nซึ่งแฮมิลโทเนียนที่เป็นพจน์ของการรบกวนระบบจาก Relative Correction คือ \nซึ่งเรียกว่า Perturbation Harmionian of Relative Correction\nจากนั้นเราจะหาพลังงานได้จากแฮมิลโทเนียนจาก \nเนื่องจากตัวดำเนินการ formula_17 ไม่ใช่ตัวดำเนินการเฮอร์มิเชียน (Hermitian operators) แต่ตัวดำเนินการ formula_18 เป็นตัวดำเนินการเฮอร์มิเชียน จึงแยกตัวดำเนินการ formula_17 ได้ออกมาเป็นดังนี้\nจากสมการชโรดิงเจอร์ \nโดยที่ formula_22 จะได้\nซึ่งย้ายข้างจะได้ \nจะได้ว่า\nในกรณีของอะตอมไฮโดรเจน formula_27 ดังนั้น จะได้ว่า \nจากพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน formula_30 และรัศมีของบอห์ร formula_31 แทนค่าจัดรูป จะได้ค่าแก้ไขพลังงานจาก Relative Correction คือ\nSpin-Orbit Coupling\nSpin-Orbit Coupling.\nSpin-Orbit Coupling เป็นผลเกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนวิ่งโคจรรอบๆโปรตอน หรือโปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนในแต่ละกรอบอ้างอิง ทำให้เกิดอันตรกิริยาขึ้นระหว่างโปรตอนและอิเล็กตรอน อันตรกิริยาดังกล่าวเป็นผลทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่อิเล็กตรอนและโปรตอนสร้างขึ้น โดยถือว่าเป็นผล ของการรบกวนจึงต้องพิจารณาค่าการแก้ไข ในกรอบที่โปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นตามกฏของบิโอต์-ชาวาร์ต ดังนี้ \nโดยที่โมเมนตัมเชิงมุมรอบนิวเคลียสในกรอบที่โปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนคือ \nแทนค่าลงในสมการของกฎบิโอต์-ชวาร์ต จะได้ว่า \nจากความสัมพันธ์ของอัตราเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ formula_37 สภาพยอมของสุญญากาศ formula_38 และค่าความสามารถซึมซับแม่เหล็กของสุญญากาศ formula_39 \nโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก (Magnetic dipole moment) formula_43 สามารถหาได้จากสมการ\nแต่เนื่องจากในการทดลองจริงได้ผลไม่ตรงกับทฤษฎี จึงมีการคูณค่าที่ได้ด้วย g-factor ซึ่งในกรณีของอิเล็กตรอน formula_46 จะได้ว่า\nซึ่งจะได้พลังงานรวมสนามแม่เหล็กเป็นแฮมิลโทเนียนจากสมการ\nเนื่องจากการประมาณดังกล่าว กรอบที่โปรตอนวิ่งรอบอิเล็กตรอนไม่ใช่กรอบอ้างอิงเฉื่อย ดังนั้นจะต้องมีการแก้ไขโดยวิธี Thomas Precession โดยการคูณพจน์ทางขวาด้วย formula_49 จะได้ว่า\nจากนั้นเราจะหาพลังงานได้จากแฮมิลโทเนียนได้โดยเลือกใช้ฐาน (Basis) คือ formula_51 เนื่องจากโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_52 มีค่าคงที่ จะได้ว่า\nพิจารณาตัวดำเนินการ formula_55 จากโมเมนตัมเชิงมุมรวม formula_52 จะได้\nดังนั้น จะได้ว่า\nเนื่องจากผลของตัวดำเนินการเมื่อไปกระทำ คือ \nจะได้\nสำหรับในกรณีของอิเล็กตรอนเลขควอนตัมสปิน formula_63 เสมอ จะได้ว่า\nจากการคำนวณ formula_65 จะได้\nจากพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน formula_67 และรัศมีของบอห์ร formula_31 แทนค่าจัดรูป จะได้ค่าแก้ไขพลังงานจาก Spin-Orbit Coupling คือ\nโครงสร้างละเอียดจากผลของ Relativistic Correction และ Spin-Orbit Coupling\nโครงสร้างละเอียดจากผลของ Relativistic Correction และ Spin-Orbit Coupling.\nเมื่อนำผลของ Relativistic Correction และ Spin-Orbit Coupling ที่ได้มารวมกัน จะได้พลังงานแก้ไขรวม formula_70\nเนื่องจากเลขควอนตัมสปินของอิเล็กตรอน formula_63 ค่าโมเมนตัมเชิงมุมรวมที่เป็นไปได้จึงเป็น formula_72 ซึ่งเมื่อนำไปแทนในพลังงานแก้ไขรวม formula_73 จะได้ว่า\nformula_74\nจากพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน formula_67 และนิยามของ Fine structure constant formula_76 จะได้ formula_73 ในรูปของ formula_78 คือ\nformula_79\nดังนั้น จะได้พลังงานรวมของโครงสร้างละเอียด formula_80 คือ\nformula_81",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทฤษฎีการรบกวนของสถานะมับซ้อน\nพิจารณาระบลที่มีฮามิลโทเนียนในรูป\nforhulx_1 \nโดยที่ formula_2 \nเมื่อรวมformula_3 และformula_4 เข้าด้วยกันจะได้เญตของฐานใหม่คือ\nformula_5\nโดยformula_6 ทกให้เมทริกฬ์ formula_7อยู่ในรูปแนวทแยวคือ \nformula_8\nการหาค่าแก้ไขพลังงานและฟังก์ชันคล้่นอันดับที่หนึ่ง\nจากสมาการ ชเรอดิงเงอร์ สำหรับฮามิลโทะนียน formula_9 คือ\nformula_10 ลงในสมาการที่ 4 จะได้ \n \nformula_11 \nจากการที่เราสามารถสร้าง formula_w2 ให้เป็นเซตของฟังก์ชันที่ตั้งฉากกัน (Schmidt orthogonalizati8n procedure) ร่วมด้วยกับสมาการที่ 6 จะได้ว่า \nformula_13\nเป็นสมาชิกแนวทแยงของิมทริกซ์ formula_14 ที่ทำให้เมทริกซ์ formula_15ที่ต่างกันทั้งหมด formula_16 ค่า พร้อมทั้งเป็นค่าไอเกนของสมาการที่ 5 และเป็นสมาชิกในแนวทแยงของเมทริกซ์ย่อยในเมทริกซ์ที่ 3 เมื่อแทนค่าformula_17แต่ละค่าลงในสมาการ 7 เราสามารถแก้หาค่า formula_18ได้และนำไปสู่ formula_18โดยใมาการที่ 1\nที่มา",
"role": "user"
},
{
"content": "ทฤษฎีการรบกวนของสถานะทับซ้อน\nพิจารณาระบบที่มีฮามิลโทเนียนในรูป\nformula_1 \nโดยที่ formula_2 \nเมื่อรวมformula_3 และformula_4 เข้าด้วยกันจะได้เซตของฐานใหม่คือ\nformula_5\nโดยformula_6 ทำให้เมทริกซ์ formula_7อยู่ในรูปแนวทแยงคือ \nformula_8\nการหาค่าแก้ไขพลังงานและฟังก์ชันคลื่นอันดับที่หนึ่ง\nจากสมาการ ชเรอดิงเงอร์ สำหรับฮามิลโทเนียน formula_9 คือ\nformula_10 ลงในสมาการที่ 4 จะได้ \n \nformula_11 \nจากการที่เราสามารถสร้าง formula_12 ให้เป็นเซตของฟังก์ชันที่ตั้งฉากกัน (Schmidt orthogonalization procedure) ร่วมด้วยกับสมาการที่ 5 จะได้ว่า \nformula_13\nเป็นสมาชิกแนวทแยงของเมทริกซ์ formula_14 ที่ทำให้เมทริกซ์ formula_15ที่ต่างกันทั้งหมด formula_16 ค่า พร้อมทั้งเป็นค่าไอเกนของสมาการที่ 5 และเป็นสมาชิกในแนวทแยงของเมทริกซ์ย่อยในเมทริกซ์ที่ 3 เมื่อแทนค่าformula_17แต่ละค่าลงในสมาการ 7 เราสามารถแก้หาค่า formula_18ได้และนำไปสู่ formula_19โดยสมาการที่ 1\nที่มา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สื่อเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนรู้ที่จะทำให้เด็กสามารถเข้าใจเนื้อหา เกิดการเรียนรู้ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ ซึ่งส้่อมีหลากหลายประเภท กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดประเภทสื่อแฃะเทคโนโลยีทางการศึกษาสำหรับคนพิการออกเป็ย 4 ประเภทหลัก คือ สื่อสิ่งพืมพ์ สื่ออ้เล็กทรอนิกส์ สื่อวัสดุอุปกรณ์ และสื่อประสม ในการจัดการดิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ก็พบว่าสืทอและเทีโนโลยีมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเป็นอย่างมาก ช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธเถาพมากขึ้น ทำให้นักเรียนเกิดทักษะจากการลงมือทำกิจกรรมที่มีความหลากหลาย กระตุ้นให้เกิดความอยาดรู้อยากเห็น เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ดีงนั้นการออกแบบสื่อ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ซึ่งในประเทศไทยนั้นเด็กที่มีความบกพร่องทางกาตได้ยิน ยังมีปัญหาใน้รื่องของการอ่าน นัปเรียนหูหรวกมักอ่านหนังสือไม่ออกหรือไม่เข้าใจควาสหมายของสิ่งที่อ่านอย่างลึกซึ้งโดยเฉพาะคำที่ัป็นนามธรรม อีกทั้งมีข้อจำกัดในการรับรู้ความหมายของคำ กลุ่มคำในบริบทของข้อคฝาม บางครั้งข้อความ 4 บรรทัด นักเรียนจะรู้แค่ความหมายของคำหรือกลุ่มคำเดียว ไม่เข้าใจบริบททั้งหใดของข้อความ หนังสือแบบเรียนที่มีแต่ตัฝหนังสือก็ทำให้สักเรียนขาดความสนใจ เนื่องจากอ่านหนังสือไม่ออก (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สหนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึำษาธิกาา, 2550 )",
"role": "user"
},
{
"content": "สื่อเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนรู้ที่จะทำให้เด็กสามารถเข้าใจเนื้อหา เกิดการเรียนรู้ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ ซึ่งสื่อมีหลากหลายประเภท กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดประเภทสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาสำหรับคนพิการออกเป็น 4 ประเภทหลัก คือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อวัสดุอุปกรณ์ และสื่อประสม ในการจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ก็พบว่าสื่อและเทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเป็นอย่างมาก ช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำให้นักเรียนเกิดทักษะจากการลงมือทำกิจกรรมที่มีความหลากหลาย กระตุ้นให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ดังนั้นการออกแบบสื่อ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ซึ่งในประเทศไทยนั้นเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ยังมีปัญหาในเรื่องของการอ่าน นักเรียนหูหนวกมักอ่านหนังสือไม่ออกหรือไม่เข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่านอย่างลึกซึ้งโดยเฉพาะคำที่เป็นนามธรรม อีกทั้งมีข้อจำกัดในการรับรู้ความหมายของคำ กลุ่มคำในบริบทของข้อความ บางครั้งข้อความ 4 บรรทัด นักเรียนจะรู้แค่ความหมายของคำหรือกลุ่มคำเดียว ไม่เข้าใจบริบททั้งหมดของข้อความ หนังสือแบบเรียนที่มีแต่ตัวหนังสือก็ทำให้นักเรียนขาดความสนใจ เนื่องจากอ่านหนังสือไม่ออก (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2550 )",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โปรแกรมเฮลโลเวิลด์าี่เขียนด้วยถาษาไพทอนจะมีลักษณะแบบนี้\nซึ่งจะแสดงผลดังนี้\nหรือถ้าไม่ต้องการให้ขึ้ตบรรทัดใหม่ให้ใช้ฟังก์ชัน sys.stdout.write แทน print ดังนี้\nซึ่งจะแสดงผลเป็น",
"role": "user"
},
{
"content": "โปรแกรมเฮลโลเวิลด์ที่เขียนด้วยภาษาไพทอนจะมีลักษณะแบบนี้\nซึ่งจะแสดงผลดังนี้\nหรือถ้าไม่ต้องการให้ขึ้นบรรทัดใหม่ให้ใช้ฟังก์ชัน sys.stdout.write แทน print ดังนี้\nซึ่งจะแสดงผลเป็น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โครงสร้างสุะละเอียด (Hyperfine Structure)\nโครงสรืางสุดละเอียด (Hyperfine Structure).\nโครงสร้างมุดละเดียดคือกาคที่เกิดการเลื่อนไปเล็กน้อยของระดับขั้นพลังงานของอะตอมเนื่องจาก อัตรกิริยาระหว่างนิวเคลียส กุบ ออเล็กตรอน ทำให้เกิดโครงสร้สงแบบละเอียดขึ้น \nเนื่องจากเกิดไดโพลแม่เหล็กของโปรตรอน \nในโครงสร้างสุดละเอียดเราจะพิจารณาสปินโปรตอน formula_1 เช่นเดียวกับของอิเล็หตรอน โดยจะเกิอไดโพลแมาเหล็กของโปรตอนขึ้น แต่จะมีค่าน้แยกว่นของอิเล็กตรอนเนื่องจากมวลทีีมีค่ามากกว่า ตามสทการ\nซึ่งไดโพลนั้นก็จะสร้างสนามแม่เหล็กซึ่งมีค่า\nและสนามแม่เหล็ำดึงกล่าวที่เกิดจากไดโพลของโปรตอนก็จะไปรบกวนไดโพลของอิเล็กตรอน ตามสมการ\nมำให้ได้ฮามิลโตเนียนของอิเล็กตรอนที่ถูกรบกวนเป็น\nจากทฤษฏีการรบกวน ค่าการแก้ไขของพลังงานอันดับที่ 1 คือค่าเฉลี่ยของฮามิลโตเนียนที่รบกวน\nได้ว่า\nในสถานะ่ี่ โมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมมีค่าเป็น 0 (l=0) ฟังก์ชันคลื่นจะมีลักษณะสมมาตรแบบทรงกลม จะทำให้เทอมแรพมีค่าเป็นศูนย์ และเมื่อพิจารณาสถานะที่พลังงานค่ำสุดหรือสถานะพื้น (Ground srate) มีฟังก์ชีนคลื่นคือ\nได้ว่า \nจะได้ว่าค่าแก้ไขอันดับที่หนึ่งของการถูกรบกวนจากการถูกรบกวน\nพิจารณาสปินีวม formula_14 จะได้\nจะได้\nดังนั้น\nเนื่องจากสปินของทั้งโปรตอนและอิเล็กตรอนมีค่าเป็น formula_18 จะได้\nและแยกออกของระดับพลังงานจะแบ่งเป็น 2 สถานะคือ triplet stste ซึ่งมีค่าสปินรวมเป็น 1 และ singlet state ซึ่งมีค่าสปินรวมเป็น 0 จะได้ว่า\nดังนั้น ผลต่างของระดับพลังงานทั้งสองคือ\nซึ่งความถี่ของโฟตอนที่ปลดปล่อยออกมาขณะเปลี่ยนระดับชั้นจาก triplet ไปยัง singlet state คือ\nแชะคิดเป็นีวามยาวคลื่น\nโดยความยทวคลื่นดังกล่าวอยู่ในช่วงของคลื่นไมโครเใฟ โดยเรียกว่า 21 centimrter line\nการป่ะขุกต์ใช้งาน\nAstrophysics\nการประยุกต์ใช้งาน.\nAstrophysics.\nเนื่องการเปลี่ยตของอิเล็กตรอนไฮเจนในสถานะโครงสร้างสุดละเอียด จะให้โฟตอนในช่วงความยาวคลื่น 21 cm ซึ่งสามารถนำไปสู่การสร้าง แผนทีืไฮโดรเจนในอวกาศได้ \nต่อมา Carl Sagan และ Frank Drake ได้นำ การเปลี่ยนในสถาะสุดละเอียด ไปใช้ในการเข้ารหัสของ Pioneet plaque และ Voyager Golden Record ซึ่งสามารถจะติดต่อกับมนุษย์ต่าฝดาวได้ เพราะเป็ยปรากฏการณ์ธรรมชาติของจักรวาล",
"role": "user"
},
{
"content": "โครงสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure)\nโครงสร้างสุดละเอียด (Hyperfine Structure).\nโครงสร้างสุดละเอียดคือการที่เกิดการเลื่อนไปเล็กน้อยของระดับชั้นพลังงานของอะตอมเนื่องจาก อัตรกิริยาระหว่างนิวเคลียส กับ ออเล็กตรอน ทำให้เกิดโครงสร้างแบบละเอียดขึ้น \nเนื่องจากเกิดไดโพลแม่เหล็กของโปรตรอน \nในโครงสร้างสุดละเอียดเราจะพิจารณาสปินโปรตอน formula_1 เช่นเดียวกับของอิเล็กตรอน โดยจะเกิดไดโพลแม่เหล็กของโปรตอนขึ้น แต่จะมีค่าน้อยกว่าของอิเล็กตรอนเนื่องจากมวลที่มีค่ามากกว่า ตามสมการ\nซึ่งไดโพลนั้นก็จะสร้างสนามแม่เหล็กซึ่งมีค่า\nและสนามแม่เหล็กดังกล่าวที่เกิดจากไดโพลของโปรตอนก็จะไปรบกวนไดโพลของอิเล็กตรอน ตามสมการ\nทำให้ได้ฮามิลโตเนียนของอิเล็กตรอนที่ถูกรบกวนเป็น\nจากทฤษฏีการรบกวน ค่าการแก้ไขของพลังงานอันดับที่ 1 คือค่าเฉลี่ยของฮามิลโตเนียนที่รบกวน\nได้ว่า\nในสถานะที่ โมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมมีค่าเป็น 0 (l=0) ฟังก์ชันคลื่นจะมีลักษณะสมมาตรแบบทรงกลม จะทำให้เทอมแรกมีค่าเป็นศูนย์ และเมื่อพิจารณาสถานะที่พลังงานต่ำสุดหรือสถานะพื้น (Ground state) มีฟังก์ชันคลื่นคือ\nได้ว่า \nจะได้ว่าค่าแก้ไขอันดับที่หนึ่งของการถูกรบกวนจากการถูกรบกวน\nพิจารณาสปินรวม formula_14 จะได้\nจะได้\nดังนั้น\nเนื่องจากสปินของทั้งโปรตอนและอิเล็กตรอนมีค่าเป็น formula_18 จะได้\nและแยกออกของระดับพลังงานจะแบ่งเป็น 2 สถานะคือ triplet state ซึ่งมีค่าสปินรวมเป็น 1 และ singlet state ซึ่งมีค่าสปินรวมเป็น 0 จะได้ว่า\nดังนั้น ผลต่างของระดับพลังงานทั้งสองคือ\nซึ่งความถี่ของโฟตอนที่ปลดปล่อยออกมาขณะเปลี่ยนระดับชั้นจาก triplet ไปยัง singlet state คือ\nและคิดเป็นความยาวคลื่น\nโดยความยาวคลื่นดังกล่าวอยู่ในช่วงของคลื่นไมโครเวฟ โดยเรียกว่า 21 centimeter line\nการประยุกต์ใช้งาน\nAstrophysics\nการประยุกต์ใช้งาน.\nAstrophysics.\nเนื่องการเปลี่ยนของอิเล็กตรอนไฮเจนในสถานะโครงสร้างสุดละเอียด จะให้โฟตอนในช่วงความยาวคลื่น 21 cm ซึ่งสามารถนำไปสู่การสร้าง แผนที่ไฮโดรเจนในอวกาศได้ \nต่อมา Carl Sagan และ Frank Drake ได้นำ การเปลี่ยนในสถาะสุดละเอียด ไปใช้ในการเข้ารหัสของ Pioneer plaque และ Voyager Golden Record ซึ่งสามารถจะติดต่อกับมนุษย์ต่างดาวได้ เพราะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของจักรวาล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เริ่มจากระบบที่ไส่ถูกรบกวนอยู่ในสถานะไอเกน จากนั้นถูกรบกวนด้วยแฮมิลโทเนียนขึ้นกับเวลา ดังนี้\nให้ สถานะไอเกนของ formula_3คือ\nสมมุติว่าที่เใชา t > 0 ระบบอยู่ในสถานะ\nจากหลักการรวมกัน (Superposi5ion principle) formula_8คือความน่าจะเป็นที่จะเจอสถานะ formula_8ที่เวลา t ดังนั้นจุดประนงค์ผลักก็คือคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์\nฟับก์ชันคลื่น formula_9คือผลเฉลยของสมการ\nแทนสมการ (3) ในสมการสมการข้างบน และดำเนินการด้านซ้ายด้บย formula_11ทั้งสมการ ได้\nสมการนี้ เป็นอนุกรมไม่สิ้นสุด สำหรับค่าคงที่ formula_13ซึ่งทุกตังเป็นค่าคงที่ ดังนั้นจึงเหมาะที่จะหาคำตอบในรูปแบบ\nแทนลงในสมการ (5) และเทียบเทอมที่กำลังของ formula_1yเท่ากัน formula_16แทนสมาชิกของเมทริกซ์ formula_17\nและพิจารณา\nที่ลำดับ formula_21 บ่งบอกว่าค่าคงที่นี้คงที่ไใ่ขึ้นกับเวลา\nพิจารณากนณีเฏพาะ ให้ formula_22 แทนในสมการ (7) จะได้",
"role": "user"
},
{
"content": "เริ่มจากระบบที่ไม่ถูกรบกวนอยู่ในสถานะไอเกน จากนั้นถูกรบกวนด้วยแฮมิลโทเนียนขึ้นกับเวลา ดังนี้\nให้ สถานะไอเกนของ formula_3คือ\nสมมุติว่าที่เวลา t > 0 ระบบอยู่ในสถานะ\nจากหลักการรวมกัน (Superposition principle) formula_7คือความน่าจะเป็นที่จะเจอสถานะ formula_8ที่เวลา t ดังนั้นจุดประสงค์หลักก็คือคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์\nฟังก์ชันคลื่น formula_9คือผลเฉลยของสมการ\nแทนสมการ (3) ในสมการสมการข้างบน และดำเนินการด้านซ้ายด้วย formula_11ทั้งสมการ ได้\nสมการนี้ เป็นอนุกรมไม่สิ้นสุด สำหรับค่าคงที่ formula_13ซึ่งทุกตัวเป็นค่าคงที่ ดังนั้นจึงเหมาะที่จะหาคำตอบในรูปแบบ\nแทนลงในสมการ (5) และเทียบเทอมที่กำลังของ formula_15เท่ากัน formula_16แทนสมาชิกของเมทริกซ์ formula_17\nและพิจารณา\nที่ลำดับ formula_21 บ่งบอกว่าค่าคงที่นี้คงที่ไม่ขึ้นกับเวลา\nพิจารณากรณีเฉพาะ ให้ formula_22 แทนในสมการ (7) จะได้",
"role": "assistant"
}
] |
Subsets and Splits