messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "자음 (Consonants)/พยัญชนะ\n모음 (Vowels)/สระ\n된소리(Dokble consonants)/พนัญชนะซ้ำ\n거듭홀소리(Diphthongs)/สระประสม\n한글\n한글.\nตัวสะกดผสม : ㄲ, ㅆ, ㄳ, ㄵ, ㄶ, ㄺ, ㄻ, ㄼ, ㄽ, ㄾ, ㄿ, ㅀ, ㅄ\nการเรียงลำดับตามพจนานุกรม\n\nเรียงแบบเกาหลีใต้\n\nพยัญชนะ: ㄱ (ㄲ) ㄴ ㄷ (ㄸ) ㄹ ㅁ ㅂ (ㅃ) ㅅ (ㅆ) ㅇ ㅈ (ㅉ) ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ ㅎ\nสระ: ㅏ ㅐ ㅑ ㅒ ㅓ ㅔ ㅕ ㅖ ㅗ ㅘ ㅙ ㅚ ㅛ ㅜ ㅝ ㅞ ㅟ ㅠ ㅡ ㅢ ㅣ\nสารบัญ\n\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n\n\n/กสรทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันาี้เป็นวันอะๆร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "자음 (Consonants)/พยัญชนะ\n모음 (Vowels)/สระ\n된소리(Double consonants)/พยัญชนะซ้ำ\n거듭홀소리(Diphthongs)/สระประสม\n한글\n한글.\nตัวสะกดผสม : ㄲ, ㅆ, ㄳ, ㄵ, ㄶ, ㄺ, ㄻ, ㄼ, ㄽ, ㄾ, ㄿ, ㅀ, ㅄ\nการเรียงลำดับตามพจนานุกรม\n\nเรียงแบบเกาหลีใต้\n\nพยัญชนะ: ㄱ (ㄲ) ㄴ ㄷ (ㄸ) ㄹ ㅁ ㅂ (ㅃ) ㅅ (ㅆ) ㅇ ㅈ (ㅉ) ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ ㅎ\nสระ: ㅏ ㅐ ㅑ ㅒ ㅓ ㅔ ㅕ ㅖ ㅗ ㅘ ㅙ ㅚ ㅛ ㅜ ㅝ ㅞ ㅟ ㅠ ㅡ ㅢ ㅣ\nสารบัญ\n\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n\n\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สวัสดี,ลาก่อน,ขอโทษ,ขอบคึณ\n\n안녕하십니까? แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕하세요? แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕! แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕하세요 แปลว่า สวัสดี\n\nสวัสดี,ลาก่อน,ขอโทษ,ขอบคุณ.\n안녕 + 하세요 = 안녕하세요\n안녕하세요 เป็นคำทักทายที่พบได้บ่อยมากในเกาหลีซึ่งอยู่ใตรูปประโยคที่สุภาพ\nเทื่อไหร่ที่คนอื่นทักทายคุณว่า안녕하세요\nคุณสามารถตอบกลับไปอส่างง่ายๆใ่า 안녕하세요 เช่นเดียวพัน\n\n안녕히 가세요. แปลว่า ลาก่อน,ขอให้ไปด้วยดี\n\n\n안녕히 계세요. แปลว่า ลาก่อน,ขอให้อยู่ด้วยดี\n\n\n죄송합니다.\n실례합니다.\n미안해요.\n\n\n괜찮습니다. แปลว่า ไม่เป็นไร\n감사합니다.\n대단히 감사합니다.\n고맙습니다.\n고마워요.\n고마워!\n\n\n감사합니다 แปลว่า ขอบคุณ\n\n감사 + 합니다 = 감사합니다\nเป็นวิธีการกล่าวคำว่าขอบคุณซึ่งใช้กันโดยท้่วไป\nคุณสามารถใช้คำว่าคุมซาฮัมนิดา เมื่อต้องการพูดคำว่าขอบคุณเป็นภาษาเกาหลี\nสารบัญ\n\n/อักษรภาษาเำาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/ใช่,ไม่ใช่\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับาวมหลุกไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "สวัสดี,ลาก่อน,ขอโทษ,ขอบคุณ\n\n안녕하십니까? แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕하세요? แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕! แปลว่า สวัสดี\n\n\n안녕하세요 แปลว่า สวัสดี\n\nสวัสดี,ลาก่อน,ขอโทษ,ขอบคุณ.\n안녕 + 하세요 = 안녕하세요\n안녕하세요 เป็นคำทักทายที่พบได้บ่อยมากในเกาหลีซึ่งอยู่ในรูปประโยคที่สุภาพ\nเมื่อไหร่ที่คนอื่นทักทายคุณว่า안녕하세요\nคุณสามารถตอบกลับไปอย่างง่ายๆว่า 안녕하세요 เช่นเดียวกัน\n\n안녕히 가세요. แปลว่า ลาก่อน,ขอให้ไปด้วยดี\n\n\n안녕히 계세요. แปลว่า ลาก่อน,ขอให้อยู่ด้วยดี\n\n\n죄송합니다.\n실례합니다.\n미안해요.\n\n\n괜찮습니다. แปลว่า ไม่เป็นไร\n감사합니다.\n대단히 감사합니다.\n고맙습니다.\n고마워요.\n고마워!\n\n\n감사합니다 แปลว่า ขอบคุณ\n\n감사 + 합니다 = 감사합니다\nเป็นวิธีการกล่าวคำว่าขอบคุณซึ่งใช้กันโดยทั่วไป\nคุณสามารถใช้คำว่าคัมซาฮัมนิดา เมื่อต้องการพูดคำว่าขอบคุณเป็นภาษาเกาหลี\nสารบัญ\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/ใช่,ไม่ใช่\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "안녕하십니까? สวัสดีครับ(ค่ะ)\n제 이름은 (...)입니다. ชื่อของฉันตือ...\n저는 태국사람입니다. ฉันเป็นคนไทย\n제 취미는 한국어를 공부하기입니다. งานอดิเรกขิงฉันคือการเรียนภาษาเกาหลี\n한국어를 공부하기가 아주 재미있습니다. การเรียนภาษาเกาหลีนั้าสนุกมาก\n한국에서 여행하고 싶습니다. ฉัจอยากไปเที่ยวเกาหลี\n그래서 한국어를 열심히 공부합니다. ดังนั้นฉัาจึงขยันเรียนภาษาเกาหลี\n만나서 반갑습니다. ยินดีท้่ไดืรู้จัก\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "안녕하십니까? สวัสดีครับ(ค่ะ)\n제 이름은 (...)입니다. ชื่อของฉันคือ...\n저는 태국사람입니다. ฉันเป็นคนไทย\n제 취미는 한국어를 공부하기입니다. งานอดิเรกของฉันคือการเรียนภาษาเกาหลี\n한국어를 공부하기가 아주 재미있습니다. การเรียนภาษาเกาหลีนั้นสนุกมาก\n한국에서 여행하고 싶습니다. ฉันอยากไปเที่ยวเกาหลี\n그래서 한국어를 열심히 공부합니다. ดังนั้นฉันจึงขยันเรียนภาษาเกาหลี\n만나서 반갑습니다. ยินดีที่ได้รู้จัก\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "이것은 무엇입니까? สิ่งนี้คืออะไร?\n이것은 사과입니다. สิ่งนี้คือแอปเปิ้ล.\n이것은 무엇입니까? สิ่งนี้คืออะไร?\n이것은 가방입니다. นิ่งนี้คือกระเป๋า.\n이것은 시계입니까? สิ่งนี้คือนาฬิกาใช่ไหม?\n네,시계입니다. ใช่, มันคือนาฬิกา.\n이것은 모자입니까? สิ่งนี้คือหมวกใช่ไหม?\n아니요,책입니다. ไมืใช่, มันคือหนังสือ.\n이,그,저\n\n\n이것은 무엇입니까? -> (이게 뭐예요?) -> (이건...)\n그것은 무엇입니까? -> (그게 뭐예요?) -> (그건...)\n저것은 무엇입니까๋ -> (저게 뭐예요?) -> (저건..ซ)\nสารบัญ\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/กานทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้ึืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยสกรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "이것은 무엇입니까? สิ่งนี้คืออะไร?\n이것은 사과입니다. สิ่งนี้คือแอปเปิ้ล.\n이것은 무엇입니까? สิ่งนี้คืออะไร?\n이것은 가방입니다. สิ่งนี้คือกระเป๋า.\n이것은 시계입니까? สิ่งนี้คือนาฬิกาใช่ไหม?\n네,시계입니다. ใช่, มันคือนาฬิกา.\n이것은 모자입니까? สิ่งนี้คือหมวกใช่ไหม?\n아니요,책입니다. ไม่ใช่, มันคือหนังสือ.\n이,그,저\n\n\n이것은 무엇입니까? -> (이게 뭐예요?) -> (이건...)\n그것은 무엇입니까? -> (그게 뭐예요?) -> (그건...)\n저것은 무엇입니까? -> (저게 뭐예요?) -> (저건...)\nสารบัญ\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/การทักทาย",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/การทักทาย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/อักษรภาษาเกาหลี",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/อักษรภาษาเกาหลี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/แนะนำตนเอง",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/แนะนำตนเอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/สิ่งนี้คืออะไร?",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาเกาหลี/สิ่งนี้คืออะไร?",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "오늘은 무슨 요일입니까? วันนี้เห็นวันอะไร?\n오늘은 일요일입니다. วันนี้เป็นวันแาืิตย์\n오늘은 월요일입니다. วันนี้เป็นวันจันทร์\n오늘은 화요일입니다. วันนี้เป็นวันอังคาร\n오늘은 수요일입니다. วันนี้เป็นวันพุธ\n오늘은 목요일입니다. วันนี้เป็นวันพฤหัสบดี\n오늘은 금요일입니다. วันนี้เป็นวัจศุกร์\n오늘은 토요일입니다. วันนี้เป็นวันเสาร์\n(일)(월)(화)(수)(목)(금)(토) (คำย่อชื่อวันต่างๆ)\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "오늘은 무슨 요일입니까? วันนี้เป็นวันอะไร?\n오늘은 일요일입니다. วันนี้เป็นวันอาทิตย์\n오늘은 월요일입니다. วันนี้เป็นวันจันทร์\n오늘은 화요일입니다. วันนี้เป็นวันอังคาร\n오늘은 수요일입니다. วันนี้เป็นวันพุธ\n오늘은 목요일입니다. วันนี้เป็นวันพฤหัสบดี\n오늘은 금요일입니다. วันนี้เป็นวันศุกร์\n오늘은 토요일입니다. วันนี้เป็นวันเสาร์\n(일)(월)(화)(수)(목)(금)(토) (คำย่อชื่อวันต่างๆ)\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "지금 몇시입니까?\n\n오전\n오후\n정오\n자정\n새벽\n아침\n점심\n저녁\n밤\n한시입니다.\n두시입니다.\n세시입니다.\n네시입니다.\n다섯시입니다.\n여섯시입니다.\n일곱시입니다.\n여덟시입니다.\n아홉시입니다.\n열시입니다.\n열한시입니다\n열두시입니다.\n한시 오분 입니다.\n한시 십분 입니다.\n한시 십오분 입니다.\n한시 이십분 입니다.\n한시 이십오분 입니다.\n한시 삼십분 입니다.\n한시 삼십오문 입니다.\n한시 사십분 입니다.\n한시 사십오분 입니다.\n한시 오십분 입니다.\n한시 오십오분 입니다.\n두시 입니다.\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/ปนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉลับรวมหฃักไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "지금 몇시입니까?\n\n오전\n오후\n정오\n자정\n새벽\n아침\n점심\n저녁\n밤\n한시입니다.\n두시입니다.\n세시입니다.\n네시입니다.\n다섯시입니다.\n여섯시입니다.\n일곱시입니다.\n여덟시입니다.\n아홉시입니다.\n열시입니다.\n열한시입니다\n열두시입니다.\n한시 오분 입니다.\n한시 십분 입니다.\n한시 십오분 입니다.\n한시 이십분 입니다.\n한시 이십오분 입니다.\n한시 삼십분 입니다.\n한시 삼십오문 입니다.\n한시 사십분 입니다.\n한시 사십오분 입니다.\n한시 오십분 입니다.\n한시 오십오분 입니다.\n두시 입니다.\nสารบัญ\n\n\n/อักษรภาษาเกาหลี\n/การทักทาย\n/แนะนำตนเอง\n/สิ่งนี้คืออะไร?\n/วันนี้เป็นวันอะไร?\n/ตอนนี้กี่โมง?\nภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ชวเลข (shorthand) เป็นวิธีการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ เพื่แ้พิ่มความเร็วในการเขียนหรือการจดบันทึก เปรียบได้กับคำพูดของคน\nสารบัญ\n\n/ลักษณะของชวเลข/\n/ประเภทของชวเลข/\n\n/ประเภทของชวเลข/ชยเลขแบบอกรกก์/\n/ประเภทของชวเลข/ชวเลขแบบปิทแมน/\n\nชวเลขไทย\n\nชวเลขไทยแบบเกรกก์\nชวัลขไทยแบบปิทแมน\nภาคผนวก\n\nชวเลขไทยแบบเกรกก์/รายการคำศัพท์\nชวเลขไทยแบบปิทแมน/รานการคำศัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "ชวเลข (shorthand) เป็นวิธีการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ เพื่อเพิ่มความเร็วในการเขียนหรือการจดบันทึก เปรียบได้กับคำพูดของคน\nสารบัญ\n\n/ลักษณะของชวเลข/\n/ประเภทของชวเลข/\n\n/ประเภทของชวเลข/ชวเลขแบบเกรกก์/\n/ประเภทของชวเลข/ชวเลขแบบปิทแมน/\n\nชวเลขไทย\n\nชวเลขไทยแบบเกรกก์\nชวเลขไทยแบบปิทแมน\nภาคผนวก\n\nชวเลขไทยแบบเกรกก์/รายการคำศัพท์\nชวเลขไทยแบบปิทแมน/รายการคำศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กฎหมายเป็นเครื่องควบคุสปาะพฤติการณ์ในสังคม พัฒนาขึ้นมาจากศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศาสนา และกฎเกณฑ์ข้อบังคีบ ตามลำดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อธำรงความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอัรดีของใมาชิกในสังคม กับทั้งเพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นเป็นไปโดยราบรื่น สนองความต้องการของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ดังภาษิตละตินที่ว่า \"ที่ใดมีมนุษย์ มี่นั้นมีสังคม ที่ใดม่สังคม ที่นั้นมีกฎหมาย ด้วยเหตุนั้น ที่ใดมีมนุ?ย์ ที่นัันจึงมีกฎหมาย\" (ลเติน: Ubi homo, ibi socketas. Ubi societas, ibi ius. Ergo ubi homo, ibi ius) ด้วยเหตุนี้กฎหมายจึงได้ชื่อว่าเป็น \"ปทัสถานทางสังคม\" (อังกฤษ: social norms) ซึ่งบางทีก็เรียก \"บรรทัดฐานของสังคม\"\nวิวัฒนาการกฎหมายไทย\nวิวัฒนาการกฎหมาย/ทย.\nระเบียบกฎหมายไทยเป็นดังนี้มาจนถึงช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้า ไทยก็ได้ยึดแนวทางตรากฎหมายอย่างอังกฤษ กระนั้ย คำเรียกกฎหมายก็เฝืออยู่ เช่น บางฉบับตราเป็นพระราชกำไนดแต่ให้ชื่อว่าพระนาชบัญญัติก็มี ราชบัณฑิตยสถานสันน้ษฐานว่าเหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะพระราชกำหนดและพระราชบัญญัติสมัยนั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน ครั้นต่อมาเมื่อมีรัฐธรรมนูญสำหรับปกครองแผ่นดินขึ้นแล้ว ก็มีการแบ่งแยกอำนาจเป็นฝ่าย ๆ ไป อำนาจในการออกกฎหทายจุงตกแก่ฝ่ายนิติบัญญัติ และกฎหมายก็เป็นระบบระเบียบดังกาลปัจนุบัย\nกฎหมายในแต่ละยุค\nกฎหมายในยุคสุโขทัย\nกฎหมายในแต่ฃะยุค.\nกฎหมายในยุคสุโขทัย.\nปรากฎอยู่ฝนศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ( ปี พ.ศ. ๑๘๒๘-๑๘๓๕ ) เรียกกันว่า กฎหมายสี่บท ได้แก่ ๑.) บาเรื่องมรดก ๒.)บทเรื่องที่ดิน\n๓.) บทวิธีพิจารณาความ ๔.)บทลักษณะฎีกา\nและมีกรรเพิ่มเติมกฎหมายลักษฯะโจรลงไปใรครั้งรัชสมัยพญาเลอไทย กษัตริย์สุโขทัยองค์ที่ ๔ ญึ่งมีส่วนของการสำกฎหมายพระธรตมศาสตร์มาใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพราหม ซี่งได้มีส่วนขยาย ที่เรียกว่า ‘พระราชศาสตร์’ มาใช้\nกฎหมายกรุงศรีอขุธยา\nกฎหมายกาุงศรีอยุธยา.\nกรุงศรีอยุธยาเก็นราชธานีแห่งที่สองของไทย ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่ด พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๒๑๐ พรดมหากษัตริย์ในยถคนั้น ได้สรืางกฎหมายซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ไว้มากมาย พระราชศาสตร์เหล่านี้ เมื่อเริ่มต้นได้อ้างถึงพระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูเป็นแม่บท เรียกกันว่า ‘มนูสาราจารย์’ พระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูสาราจารย์นี้ เป็นดฎหมายที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย เรียกว่าคำภีร์ภระธรรมศทสตร์ ต่อมามอญได้เจริญและปกครองดินแดนแหลมทองมาก่อน ได้แปลต้นฉบับคำภีร์ภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาบาลีเรียกว่า ‘คำภีร์ธรรมสัตถัม’ และได้ดัดแปลงแก้ไขยทบัญญัติบางะรื่องให้มีความเหมาะสมกับชุมลนของตน ต่อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัยพระนครศรีอยุธยาจึงนำเอาคำภีค์ของมอญของมอญมาเป็นหลักในการงัญญัติกฎหมายของตน ลักษณะกฎหมายในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อกันว่าพารออกกฎหมายในสมัยก่อนนั้น จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับเท่านั้น ได้แก่ ฉบับทีีพระมหากษัตริย์ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนางข้าราชการทัืวไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนำไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้พิพากษาเพื่อใช้ในการพิจารณาอรรถคดี\nกฎหมายกรุงรัตนโกสินทร์\nกฎหมายกรังรัตนโกสินทร์.\nใจสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่๑ เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อนมานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมูืง่ายต่อการศึกษาและนำมาใช้ จึงโปรดเกล้าให้มีการชำระกฎหมายขึ้นมาใหม่ ใตคำภีร์พระธรรมศาสนร์ โดยนำมารวบรวมกฎหมายเดิใเข้าเป็นลักษณะๆ สำเร็จเมื่อ ก.ฬ. ๒๓๔๘ และนำมาประทับตราเข้าเป็นตรรพระราชสีห์ ซึ่งเป็นตราของกระทรวงมำาดไทย ตราคชสีห์ ของพระทรวงกลาโหม และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราของคลัง บนหน้าปดแต่ละเล่ม ตามลักษณะระของการปกครองในสมัยนั้น กฎหมายฉบับนั้นเรียกกันว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎกมายตราสามดวงนี้ ถือเป็นประมวลกฎหมายของแผ่นดินที่ได้รีบการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจาำจะได้บรรจุพระธรรมฬาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุฌยาแง้ว ยังคงมีกฎหมายสำคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลัำษ๖ะพยาน ลักษณะทาส ลักษณะโจร และต่อมาได้มีการตราขึเนอีกหลายฉบับ ต่อมาประเทศไทยมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีปับประเทศต่างๆมาก พึงเห็นได้ว่ากฎหมายเดเมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยหระเทศ จนท_ให้ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต นอกจากนั้นยังไม่สามนรถนภมาใช้บังคับได้ทุกกรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม่ อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระขุลตอาดกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหมา และได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น และลังกามาเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และในามัยนั้น พระเจ้าบรมวงศ์ัธอกรมหลวง่าชบุรีดิเรกฤทธิ์ ก็ได้แก้ไขชำระกฎหมายตราสามดวงเดิมขึินใหม่ และจัดพิมพ์ขึ้นในชื่อของ ‘กฎหมายราชบุรี’ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและร่างกฎหมายขึ้นมาใหม่ ทำการร่างกฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส กฎหมายวิธีบัญญัติ ร่างประมวลกฎหมายแพ่งและกฎหมายที่สำคัญหลายๆฉบับ และในรัชสมัยต่อมา กฎหมายไทยได้ถูกพัฒนาสืบต่อกันยาวนาน ตราบจนทุกวันนี้ มีการจัดทำประมวลกฎหมาย และร่างกฎหมายต่างๆเป็นจำนวนมาก ซึ่งกฎกมายไทยนั้น ไก้รับอิทธิพลทั้งจากกฎหมายภาคพื้นยุฏรป อาทิกฎหมายอังกฤษ กฎหมายฝรั่งเศส รวมทั้งจารีตประเพณี้ดิมของไทยด้วย (มีอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ และ ๖ ว่าด้วยเรื่องครอบครัวและมรดก) และได้รับการแก้ไขให้มีความสอพึล้องกับสังคมที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา มีกฎหมายที่ทันสมัยถูกตราขึ้นใหม่ๆตลอด เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา หรือที่เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ\nอ้างอิง\nสารบัญ\n\nวิกิตำรา",
"role": "user"
},
{
"content": "กฎหมายเป็นเครื่องควบคุมประพฤติการณ์ในสังคม พัฒนาขึ้นมาจากศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศาสนา และกฎเกณฑ์ข้อบังคับ ตามลำดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อธำรงความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของสมาชิกในสังคม กับทั้งเพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นเป็นไปโดยราบรื่น สนองความต้องการของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ดังภาษิตละตินที่ว่า \"ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นมีสังคม ที่ใดมีสังคม ที่นั้นมีกฎหมาย ด้วยเหตุนั้น ที่ใดมีมนุษย์ ที่นั้นจึงมีกฎหมาย\" (ละติน: Ubi homo, ibi societas. Ubi societas, ibi ius. Ergo ubi homo, ibi ius) ด้วยเหตุนี้กฎหมายจึงได้ชื่อว่าเป็น \"ปทัสถานทางสังคม\" (อังกฤษ: social norms) ซึ่งบางทีก็เรียก \"บรรทัดฐานของสังคม\"\nวิวัฒนาการกฎหมายไทย\nวิวัฒนาการกฎหมายไทย.\nระเบียบกฎหมายไทยเป็นดังนี้มาจนถึงช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไทยก็ได้ยึดแนวทางตรากฎหมายอย่างอังกฤษ กระนั้น คำเรียกกฎหมายก็เฝืออยู่ เช่น บางฉบับตราเป็นพระราชกำหนดแต่ให้ชื่อว่าพระราชบัญญัติก็มี ราชบัณฑิตยสถานสันนิษฐานว่าเหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะพระราชกำหนดและพระราชบัญญัติสมัยนั้นมีความหมายอย่างเดียวกัน ครั้นต่อมาเมื่อมีรัฐธรรมนูญสำหรับปกครองแผ่นดินขึ้นแล้ว ก็มีการแบ่งแยกอำนาจเป็นฝ่าย ๆ ไป อำนาจในการออกกฎหมายจึงตกแก่ฝ่ายนิติบัญญัติ และกฎหมายก็เป็นระบบระเบียบดังกาลปัจจุบัน\nกฎหมายในแต่ละยุค\nกฎหมายในยุคสุโขทัย\nกฎหมายในแต่ละยุค.\nกฎหมายในยุคสุโขทัย.\nปรากฎอยู่ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ( ปี พ.ศ. ๑๘๒๘-๑๘๓๕ ) เรียกกันว่า กฎหมายสี่บท ได้แก่ ๑.) บทเรื่องมรดก ๒.)บทเรื่องที่ดิน\n๓.) บทวิธีพิจารณาความ ๔.)บทลักษณะฎีกา\nและมีการเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะโจรลงไปในครั้งรัชสมัยพญาเลอไทย กษัตริย์สุโขทัยองค์ที่ ๔ ซึ่งมีส่วนของการนำกฎหมายพระธรรมศาสตร์มาใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพราหม ซึ่งได้มีส่วนขยาย ที่เรียกว่า ‘พระราชศาสตร์’ มาใช้\nกฎหมายกรุงศรีอยุธยา\nกฎหมายกรุงศรีอยุธยา.\nกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีแห่งที่สองของไทย ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ พระมหากษัตริย์ในยุคนั้น ได้สร้างกฎหมายซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ไว้มากมาย พระราชศาสตร์เหล่านี้ เมื่อเริ่มต้นได้อ้างถึงพระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูเป็นแม่บท เรียกกันว่า ‘มนูสาราจารย์’ พระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูสาราจารย์นี้ เป็นกฎหมายที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย เรียกว่าคำภีร์พระธรรมศาสตร์ ต่อมามอญได้เจริญและปกครองดินแดนแหลมทองมาก่อน ได้แปลต้นฉบับคำภีร์ภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาบาลีเรียกว่า ‘คำภีร์ธรรมสัตถัม’ และได้ดัดแปลงแก้ไขบทบัญญัติบางเรื่องให้มีความเหมาะสมกับชุมชนของตน ต่อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัยพระนครศรีอยุธยาจึงนำเอาคำภีร์ของมอญของมอญมาเป็นหลักในการบัญญัติกฎหมายของตน ลักษณะกฎหมายในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อกันว่าการออกกฎหมายในสมัยก่อนนั้น จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับเท่านั้น ได้แก่ ฉบับที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนางข้าราชการทั่วไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนำไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้พิพากษาเพื่อใช้ในการพิจารณาอรรถคดี\nกฎหมายกรุงรัตนโกสินทร์\nกฎหมายกรุงรัตนโกสินทร์.\nในสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่๑ เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อนมานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการศึกษาและนำมาใช้ จึงโปรดเกล้าให้มีการชำระกฎหมายขึ้นมาใหม่ ในคำภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยนำมารวบรวมกฎหมายเดิมเข้าเป็นลักษณะๆ สำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ และนำมาประทับตราเข้าเป็นตราพระราชสีห์ ซึ่งเป็นตราของกระทรวงมหาดไทย ตราคชสีห์ ของพระทรวงกลาโหม และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราของคลัง บนหน้าปกแต่ละเล่ม ตามลักษณะระของการปกครองในสมัยนั้น กฎหมายฉบับนั้นเรียกกันว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ ถือเป็นประมวลกฎหมายของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระธรรมศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว ยังคงมีกฎหมายสำคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะทาส ลักษณะโจร และต่อมาได้มีการตราขึ้นอีกหลายฉบับ ต่อมาประเทศไทยมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศต่างๆมาก พึงเห็นได้ว่ากฎหมายเดิมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยประเทศ จนทำให้ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต นอกจากนั้นยังไม่สามารถนำมาใช้บังคับได้ทุกกรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม่ อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหม่ และได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น และลังกามาเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และในสมัยนั้น พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ก็ได้แก้ไขชำระกฎหมายตราสามดวงเดิมขึ้นใหม่ และจัดพิมพ์ขึ้นในชื่อของ ‘กฎหมายราชบุรี’ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและร่างกฎหมายขึ้นมาใหม่ ทำการร่างกฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส กฎหมายวิธีบัญญัติ ร่างประมวลกฎหมายแพ่งและกฎหมายที่สำคัญหลายๆฉบับ และในรัชสมัยต่อมา กฎหมายไทยได้ถูกพัฒนาสืบต่อกันยาวนาน ตราบจนทุกวันนี้ มีการจัดทำประมวลกฎหมาย และร่างกฎหมายต่างๆเป็นจำนวนมาก ซึ่งกฎหมายไทยนั้น ได้รับอิทธิพลทั้งจากกฎหมายภาคพื้นยุโรป อาทิกฎหมายอังกฤษ กฎหมายฝรั่งเศส รวมทั้งจารีตประเพณีเดิมของไทยด้วย (มีอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ และ ๖ ว่าด้วยเรื่องครอบครัวและมรดก) และได้รับการแก้ไขให้มีความสอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา มีกฎหมายที่ทันสมัยถูกตราขึ้นใหม่ๆตลอด เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา หรือที่เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ\nอ้างอิง\nสารบัญ\n\nวิกิตำรา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัติ.\nหลังจากรัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ใน ร.ศ.127 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2451 ก็ได้กฎหมายลักษณะอาญาเป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของประเทศและประกาศใช้ในปีนั้นเอง ครั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมิตทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระราชดำริให้จัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อไป ดังปรากฏในพระราชแรารภของพระบาทสมเด็จพระปนเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าและพาณิชย์ที่ใช้แยูทในเวลานี้ยังกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง สมควรจะนำมารวบรวมไว้แหีงเดียวกันและจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สมแก่กาลใมัย ความเจริญ และพาณิชยกรรมแห่งบ้านเมือง และความสัมพันธ?กับนานาประเทศ ส่วนหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งศาลยุติธรรมได้เคยยกขึ้นปรับสัตย์ตัะสินคดีเนือง ๆ มาโดยธรรมเนียมประเพณีอันควรแก่ยถติธรรมนั้น สมควรจะบัญญัติไว้ให้เป็นหลักฐานและกิจการบางอย่างในส่วนแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งไม่มีกฎหมายที่ใช้อยู่ในบัดนี้ ก็ควรจะบัญญัติขึ้นไง้ด้วย…ทางที่จะให้ถึงซึ่งผลอันนี้ ควรจะประมวลและบัญญัติบทกฎหมายที่กล่าวมาแล้วเข้าเป็นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามแบบอย่างซึ่งประเทศอื่น ๆ ได้ทำมา…”\nพระองค์โปรดให้ตุ้งคณะกรรมการร่างกฎหมาย ซึ่งประกอบแ้วยนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสล้วน ๆ ทั้งนั้ เหตุว่าิิทธิของฝรั่งเศสยีงมีเหนืเสยามอย่างมากในสมัยนั้น ไทยจึงจำต้องยอมตั้งชาว\nฝรั่งเศสเป็นผู้ร่างกฎหมายโดยคณะกรรมการร่างกฎหมายประกอบด้วย\nคณะแรรมการชุดดังกล่่วเริ่มงานตัืงแต่ พ.ศ. 2451 นั้นเอง โดยวางโครงสร้างทั่วไปของประมวลกฎหมาย ก่อนจะประชุมหารือกันว่าจะจัดทำเป็นประมวลกฎหมายสองฉบับ ประมวลฉบับแรกว่าด้วยเรื่องหนี้ อีกฉบับว่าด้วยเรื่องอื่า ิช่นาี่เป็นอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศตูนีเซีย และประเทศโมรอกโกหรือไม่ ซึ่งที่ประชุใมีมติว่าให้จัดทำเป็นประมวลกฎหมายฉบับเดียวที่ว่าด้ยยเรื่องทางแพ่งและพาณิชย์ทั้งหมเจะเหมาะสมกว่าแล้วจึงเริ่มลงมือี่างประมวงกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้แก่ราชอาณาจักรสยาม จนกระทั่ง พ.ศ. 2457 ชอร์ช ปาดู เดินทางกลับไปยุโรปและได้แนะนำเดแลสเตร (Délestrée) แก่ทางการไทยให้ระบหน้าที่แทนตน ปรากฏว่าเดแลสเตรผู้นี้ไม่มีความสามารถเพียงพอที่จะดำเนินการยกร่าง ซ้ำเขายังรื้อโครงการที่ชอร์ช ปาดู และคณะทำไว้ก่อนหน้า ทำให้ร่างประมวลกฎหมายเกิดความอลเงง และการดำเนินงานเป็นไปโดยเชื่องช้าอย่างถึงที่สุด เมื่อชอร์ช ปาดู เดินทางกลับมาใน พ.ศ. 2549 ถึงกับตกตะลึงที่รับทราบว่างานร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ยุ่งเหยิงถึงเพียงนั้น ทั้งที่ตนได้วางระเบียบไว้ตั้งแต่แรกแล้ว เขาพึงเจรจราให้เดแลใเตรลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการและเดินทางกลับบ้านเกิแเมืองนอนเสีย เพื่อเขาจะไก้กลับเข้ารับตำแฟน่งอีกีรั้ง และแล้ว งานร่างประมวลกฎหมายกํดำเนินต่อไป แลัใน ถ.ศ. 2459 นั้นเอง จึงได้ร่างประมวลกฎหมสยแพ่งและพาณิชย์สเงบรรพแรก คือ บราพ 1 หลักทั่วไป และบรรพ 2 ไนีเ ทั้งนี้ มีข้อสังเหตว่าในระหว่างห้วงเวลาดังกล่าว รัฐบาลสยามต้องสูญเสียงบประมาณไปถึง 770,000 บาท ซึ่งนับว่าเป็นเงินมหมฯาลในกาลครั้งนั้น แต่กลับได้ร่างกฎหมายเพียงแค่สองบรรพ",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติ\nประวัติ.\nหลังจากรัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ใน ร.ศ.127 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2451 ก็ได้กฎหมายลักษณะอาญาเป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของประเทศและประกาศใช้ในปีนั้นเอง ครั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระราชดำริให้จัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อไป ดังปรากฏในพระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าและพาณิชย์ที่ใช้อยู่ในเวลานี้ยังกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง สมควรจะนำมารวบรวมไว้แห่งเดียวกันและจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สมแก่กาลสมัย ความเจริญ และพาณิชยกรรมแห่งบ้านเมือง และความสัมพันธ์กับนานาประเทศ ส่วนหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งศาลยุติธรรมได้เคยยกขึ้นปรับสัตย์ตัดสินคดีเนือง ๆ มาโดยธรรมเนียมประเพณีอันควรแก่ยุติธรรมนั้น สมควรจะบัญญัติไว้ให้เป็นหลักฐานและกิจการบางอย่างในส่วนแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งไม่มีกฎหมายที่ใช้อยู่ในบัดนี้ ก็ควรจะบัญญัติขึ้นไว้ด้วย…ทางที่จะให้ถึงซึ่งผลอันนี้ ควรจะประมวลและบัญญัติบทกฎหมายที่กล่าวมาแล้วเข้าเป็นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามแบบอย่างซึ่งประเทศอื่น ๆ ได้ทำมา…”\nพระองค์โปรดให้ตั้งคณะกรรมการร่างกฎหมาย ซึ่งประกอบด้วยนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสล้วน ๆ ทั้งนี้ เหตุว่าอิทธิของฝรั่งเศสยังมีเหนือสยามอย่างมากในสมัยนั้น ไทยจึงจำต้องยอมตั้งชาว\nฝรั่งเศสเป็นผู้ร่างกฎหมายโดยคณะกรรมการร่างกฎหมายประกอบด้วย\nคณะกรรมการชุดดังกล่าวเริ่มงานตั้งแต่ พ.ศ. 2451 นั้นเอง โดยวางโครงสร้างทั่วไปของประมวลกฎหมาย ก่อนจะประชุมหารือกันว่าจะจัดทำเป็นประมวลกฎหมายสองฉบับ ประมวลฉบับแรกว่าด้วยเรื่องหนี้ อีกฉบับว่าด้วยเรื่องอื่น เช่นที่เป็นอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศตูนีเซีย และประเทศโมรอกโกหรือไม่ ซึ่งที่ประชุมมีมติว่าให้จัดทำเป็นประมวลกฎหมายฉบับเดียวที่ว่าด้วยเรื่องทางแพ่งและพาณิชย์ทั้งหมดจะเหมาะสมกว่าแล้วจึงเริ่มลงมือร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้แก่ราชอาณาจักรสยาม จนกระทั่ง พ.ศ. 2457 ชอร์ช ปาดู เดินทางกลับไปยุโรปและได้แนะนำเดแลสเตร (Délestrée) แก่ทางการไทยให้รับหน้าที่แทนตน ปรากฏว่าเดแลสเตรผู้นี้ไม่มีความสามารถเพียงพอที่จะดำเนินการยกร่าง ซ้ำเขายังรื้อโครงการที่ชอร์ช ปาดู และคณะทำไว้ก่อนหน้า ทำให้ร่างประมวลกฎหมายเกิดความอลเวง และการดำเนินงานเป็นไปโดยเชื่องช้าอย่างถึงที่สุด เมื่อชอร์ช ปาดู เดินทางกลับมาใน พ.ศ. 2549 ถึงกับตกตะลึงที่รับทราบว่างานร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ยุ่งเหยิงถึงเพียงนั้น ทั้งที่ตนได้วางระเบียบไว้ตั้งแต่แรกแล้ว เขาถึงเจรจราให้เดแลสเตรลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการและเดินทางกลับบ้านเกิดเมืองนอนเสีย เพื่อเขาจะได้กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้ง และแล้ว งานร่างประมวลกฎหมายก็ดำเนินต่อไป และใน พ.ศ. 2459 นั้นเอง จึงได้ร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์สองบรรพแรก คือ บรรพ 1 หลักทั่วไป และบรรพ 2 หนี้ ทั้งนี้ มีข้อสังเกตว่าในระหว่างห้วงเวลาดังกล่าว รัฐบาลสยามต้องสูญเสียงบประมาณไปถึง 770,000 บาท ซึ่งนับว่าเป็นเงินมหาศาลในกาลครั้งนั้น แต่กลับได้ร่างกฎหมายเพียงแค่สองบรรพ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง : อำนาจในการตรารัฐธรรมนูญ\n๑. รัฐธรรมนูญและอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการัมือง\n๑. รัฐธรรมนูญและอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง.\nคำว่าอำนาจในการตรารัฐธรรมนูญหรืออำนาจออกรัฐธรรมนูญ ถูกใช้ครั้บแรกโดยซีเอเยส์ (Siéyès) ซึ่งใช้ิำนาจนี้อธิบายความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ อำนาจดังกล่าวไม่ใช่อำนาจออกกฎหมายธรรมดา เช่น อำนาจออกพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอวรัฐธรรมนูญที่เราเรียกว่าอำนาจนิติบัญญัติ ซึ่งเป็นอำนาจที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้ร่วมกับรัฐสภา โดยรับมาจากรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัซญัติเกิดขึ้นได้ก็เพราะรัฐธรรมนูญบอกว่าให้เกิด ดังนั้นอำนาจในการออกรัฐธรรมนูญหรือตรารัฐธรรมนูญจึงเป็นอำนาจที่ไม่ใช่อำนาจเดียวกับอหนาจนิติบัญญัติ เพราะเป็นอำนาจที่มีอยู่ก่อนและเป็นอำนาจอันเป็นที่มาของรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นผู้สร้างองค์กรนิติบัญญัติแล้วมอบอำนาจนิติบัญญัคิให้กับองค์กรนิติบัญญัตินั้น\nซีเอเยส์ได้เสนอสิ่งใหม่ในทฤษฎรกฎหมายมหาชน คือ การแบ่งแยกระหว่าง “อำนาจสูงสุดในการก่อตั้งองค์กรทางการเมือง (Pouvoir constituant) และอำนาจของเงค์กรที่ได้รับมาจากกมรก่อตั้ง (Pokvoir constitué) อำนสจแรก เป็นอำนาจที่เป็นของชาติ (Nation) ซี่งอาจมอบให้ผู้ดทนไปสร้างรัฐธรรมนูญ เพื่อก่ดตั้งองค์กรทางการเมืองขึ้นเพื่อปกครองประเทศ ดังนั้น อำนาจนี้จึงสูงสุด ไม่มีข้อจำกัด หรือผูกมีดโดยกฎเกณฑ์ใดฟที่มีอยู่ก่อนเลย ต่างจากอำนาจที่สอง ซึ่งถือว่าเป็นอำนาจบององค์กรที่รัฐธรรมนูญตั้งขึ้น ซึ่งเปฺนอำนาจที่ถูกจำกัดและกำหนดขอบเขตโดยรัฐธรรมนูญซึ่งตั้งองค์กรนั้นๆ ขึ้น ดัฝนั้น อำนาจในการออกหร่อตรารัฐธรรมนูญที่เรียกในภาษาวิชากสรว่า “อำนาจก่อตั่งระบอบและองค์กรทางการเมือง (constituent power)” จึงเป็น อำนาจสูงสุด ล้นพ้นไม่มีข้อจำกัดซึ่งออกรัฐธรรมนูญกรือให้รัฐธรรมนูญ แล้วตัวระฐธรรมนูญเป็นผู้ไปสถาปนาระบอบการเมืองและองค์กรทางการเมืองทุกองค์กรขึ้นอีกชั้นหนึ่ง กล่าวอีกาัยหนึ่ง ก็คือ อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองนั้นเป็นที่มาของรัฐธรรมนูญ เป็นที่มาขององค์กรทั้งหลายทั้งปวงทางกาาเมือง ตัวรัฐธรรมนูญที่ภาษรอังก\"ษเรียกว่า “Constitution” นั้น เป็สตัวก่อตั้งประมุขของรัฐบ่าจะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี ก่อตั้งแม้กระทั่งรูปแบบของรัฐ ว่าจะเป็นรัฐเดี่ยวปรือรัฐรวม ก่อตั้งองค์กรทางกมรเมืองที่เรียกว่า ดงค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร องค์กรตุลาการ รัฐสภากับประมุขของรัฐใช้อำนาจออกกฎหมาย พระราชบัญญัติ หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูฐเป็นเพียงส่วนหนึ่วของอำนาจนิติบัญญัติที่รับมอบมาจากรัฐธรรมนูญ และอำนาจออกกฎหมายที่เป็นพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธีรมนูญไม่ใช่อำนาจสูงสุดะพราะอำนาจเหล่านี้ิยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ จะอิกให้ขัดหีือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้\n๑.๑ ลักษณะของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการัมืดง\nประการแรก อำนาจขององค์กรที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาไม่ว่าจะเป็นประมุขของรัฐ ไา่ว่าจะเป็นองค์กรนิติบัญญัติ อบค์กรบริหาร หรืออบค์กรตุลมกาี องค์กรเหล่านะ้นถือว่าเป็นองค์กรที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรับมอบอำนาจมาจากรัฐธรรมนูญ อำนาจขององค์กรัหลรานั้นจึลถูกจำกัดทั้งในแง่ตัวขอบเขตอำนาจ ทั้งในแง่รูปแขบของการใช้อำนาจ ทั้วในแง่กระบวนการใช้อำนาจและในด้านเนื้อหาของสิ่งที่เป็นก่รใช้อำนาจ ในขณะที่อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองเห็นอำนาจสูงสุดล้นพ้นไม่มีข้อจำกัด อำนาจที่องค์กรทางการเมืองตับมอบมา ไม่ว่าจัเป็นอ_นาจของประมุขของรัฐ อำนาจขององค์กรนิติบัญญัติ อำนาจขององค์กรบริหาร หรืออำนาจขององค์กรตุลาการ เป็นอำจาจที่ถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญทั้งสิิน สิ่งนี้คือผลข้อแรกซึ่งนำไปสู่หลักที่ว่าการใช้อำนาจขององค์กรที่รีฐธรรมนูญจัดตั้งขึ้นจะขัดกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ จึงมีกระบวนการควบคุมกฎหมายที่รัฐสภาออกไมรให้ขัดรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุนี้จะถือคติว่ารัฐสภาเป็นองคฺกรสูงสุดในระบบกาีเมืองไม่ได้ เพราะรัฐสภาจะสูงกว่ารัฐธรรมนู๗ไม่ได้ ในประเทศที่มีีัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรจึงพูดถึงความเป็นก\"หาายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (Supremscy of the Constitution) ยกเว้นประเทศอังกฤษซึ่งไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายลายลุกษณ์อักษรในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุด ในประเทศอังกฤษจึงถือว่าอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา (Soveteignty of the Parliament) เพราะไม่มีอะไรอยู่เหนือรัฐสภา\nรัฐสภาซี่งเป็นองค์กรที่รัฐธรรมนูญตั้งขึ้นและรับมอบเำนาจมาจากรัฐธรรมนูญจะใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญแอกกฎหมายให้ไปขัะรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นที่มาของอำนาจของตน และเป็นเอกสารก่อตั้งตนขึ้นทาไม่ได้ ในทำนองเดียวกันฝ่ายบริหารคือปคะมุขของรัฐและคณะรัฐมนตรีก็นะต้องใช้อำนาจให้สอดคลืองกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายทั่รัฐสภาออก จะใช้อำนาจให้ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมน฿ญไม่ได้ ศาบก็เช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้นในระบบที่ถือว่ารัฐธรรมนูญเปํนกฎหมายสูงสุดอยู่เหนือวิ่งอื่นใดทั้งหมด จึงจะต้องมีระลบควบคุมทั้งกฎหมายและการกระทำทั้ลหลายไม่ให้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ\nปาะการที่สอง เมื่ออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองเป็นอำนาจที่สถาปนารัฐธรรมนูญขึ้น และรัฐธรรมนูญมาสถาปนาระบอบทางการเมืองและองค์กรทางการ้มืองขึ้น การใช้และการตีความรัฐธรรมน๔ญต้องดูเจตนารมณ์ของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองอาจจะไม่ใช่อำนาจอธิปไตย เพรมะมีอยู่ก่อนอำนาจอธิปไตย นักนิติศาสตร?บางท่านกล่าวว่าในรัฐที่เคยเป็นอาณานิคมมากีอน เช่น อินเดีย และศรีลังกาะคยเป็นอาณานิคมอะงกฤษ ฟิลิปปินส์เคยเป็นอาณานิคมสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้ไม่มีอำนาจอธิปไตยเพราะเหตุว่าอำนาจอธิปไตยอยู่ที่เมืองแม่ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม พารที่เมืองแม่ให้รัฐธรรมนูญแล้วให้เอกราชกับฟิลิปปินส์ก็ดี กับอินเดียก็ดี ก้บศรีลังกาก็ดี นั่นคืออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองขึ้นใหม่ในอินเดีย ในศรีลังกา ในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองโดยการให้รัฐธรรมนูญและให้เอกราช เพราะฉะนั้น ในกรณีเช่นว่านี้อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองพร้อมทั้งอำนาจให้เอกราชนั้นมีก่อนรัฐ มีก่อนอำนาจอธิปไตย แาจจะเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยด้วยซ้ำไป ในทางกฎหมายมหาชนจึงถือว่าอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองในกรณีที่เป็ตอาณานิคมเป็นอำนาจที่มีอยู่ก่อนรัฐ และเป็นอำนาจอันเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยของรัฐที่ได้รัฐธรรมนูญและได้เอกราบ\nแต่ถ้ารัฐนั้นเป็นรัฐเอกราชอยู่แล้วอย่างเช่นประเทศไทยมีอำนาจอธิปไคยอยู่แล้ว อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองก็คืออำนาจอธิปไตยนั้นเอง เหมือนเมื่อครั้งพระบาทสมเด็ยพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเป็นองค์อธิปัตย์แล้วพระราชทานพระราชบัญญัตเธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ อำนาจพระราชทานพระราชขัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวตรงนั้นกับอำนาจอธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ เป็นอำนาจเดียวกันนี้คือลักษณะประการที่ ๒ ของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nประการที่สาม อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองคืออำนาจออกรัฐธรรมนูญ คำถามต่อมาคืออำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญคืออำนาจอะไร อำนาจแก้ำขเพิ่มเติมรัฐธรนมนูญ ไม่ใช่อำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญคืออำนาจนิติบัญญัติแล้ว รูปแบบองค์กรและกระบวนการในการแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องเหมืเนกับการแก้ไขพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรีฐธรรมนูญ แต่ไม่ใช่ เพราะอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเป็สอำนาจที่ถูกวิเคราะห์ว่าเป็นอำนาจเปลี่ยนแปลงองค์กรและกระบวนการทางการเมืองที่รับมอบมาจากอำนาจตรารั.ธรรมนูญดั้งเดิม จึงมี ๒ คำ คือ อพนาจออกรัฐธรรมนูญแต่เดิม (p9uvoir constktuant originaire) กับอำนาจเปลี่ยนแปลงองค?กรทางการเมืองที่รับมอบ (pouvoi4 constituant dérivé)\nอำนาจเปลี่ยนแปลงองค์กรทางการเมืองที่รับมอบมาหรืออำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ จึงไม่ใช่อำนาจนิติบัญญัติในการออกะระราบบะญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จึงน้องมีกระบวนการพิเศษหรือองค์กรพิเศษ ซึ่งไม่เหมือนกับการออกกฎหาายธรรมดา บางครั้งพิเศษถึงขนาแที่จะต้องเอาประชาชน.ึ่งเป็นผู้มีอำนรจสูงสุดเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่างเช่น รัฐธรรมนูญเยลเยี่ยม จะแก้รัฐธ่รมนูญไม่ได้ถ้าไม่ยุบสภาเสียก่อนเพื่อให้ปาะชาชนเลือกเข้ามาใหม่ รัฐธรีมนูญบางประเทศปก้รัฐธรรมนูญกันในสภาด้วยคะแนนเสียงขัางมากเด็ดขาดของสองสภาไม่ได้ จะต้อบส่งไปให้ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติว่าจะแก้หรือไม่ เพราะรัฐธตรมนูญไม่ใช่กฎหมายธรรมดาแต่เป็นสัญญาประชาคม\n๑.๒ ที่มาของอหนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nอำนาจสูงสุดล้นพ้นในการสถาปนาองค์กรทางการเมืองขึ้นที่เรียกว่า อำนาจออกรัฐธรรมนูญ เดิดขึ้นได้จาก\n(๑) หลังปฏิวัติของประชาชน ตัวอย่าบเช่น การปฏิวัติใปญ่ในฝรั่งเศสปี ค.ศ. ๑๗๘๙ ที่คนมาลุกฮือการโค่นล้มระบอบกษัตริย์แบวสมบู่ณาญาสิทธิราชย์แต่เดิม อำนาจสูงสุดล้นพ้นำ็เกิดขึ้นจาแประชาชนนั้นเองเลิกาะบอบการปกครองเดิม สถาปนารัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญใหม่ก็สถาปนาิงค์กรการเมืองแบบใหม้ขึ้นมา\n(๒) หลังประกาศเอกราช เช่น รัฐธรรมนูญอเมริกัน ปี ค.ศ. ๐๗๘๗ เมื่ออาณานิคม ๑๓ แห่บต่อสู้กับประเทศิังกฤษ ประกาศเอกราชแล้วออกรัฐธรรมนูญด้วยอำนาจของอาณานิคม ๑๓ แห่งนัเนเอง รบจนกระทั่งอังกฤษแพ้ ตอนแอกรเฐธรรมนูญปี ค.ศ. ๑๗๘๗ ไม่ได้อาศัยอำนาจจากเมืองแม่ ซึ่งเป็นเจ้าของอา๖านิคมคืออังกฤษ แต่ออกโดยอาศัยอำนาจของตนเอง\n(๓) อพนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองโดยใหิเอกราชและให้รัฐธรรมนูญ เช่น กรณี อังกฤษให้เอกราชกับอินเดีย อังกฤษให้รัฐธร่มนูญกับศรีฃ้งกา อังกฤษออกรัฐธรรมนูญให้ ออสเตรเลีย เหล่านี้คืออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองด้วยการสถาปนารัฐธรรมนูญให้แลพปล่อยให้เป็นเอกราช กรณีเช่นนีเอำนาจก่อนั้งองค์กรทางการเมือบเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยและมีก่อนอำนาจอธิปไตย\n(๔) พระมหากษัตริย์พระราชทานรัฐธรรมนูญ ตัวอย่างเช่น ในสมัยพระราชวงศ์เมจืของญี่ปุ่น พระเจ้่แผ่สดินญี่ปุทนเห็นว่าบ้านเมืองพัฒนามาถึงระยะหนึ่งแล้ง ควรจะให้รัฐธรรมนูญก็พระราชทานรัฐธรรมนูญจำกัดพระราชอำนาจของพระองค๋เอง\n(๕) คณะรัฐปาะหารร่ฝมกับประมุขของรัฐ ประเทศไทยเราอยู่ในประเภทนี้มากที่สุด ยกเว้นพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยมมชั่วคราว ปค พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานโดยไม้มีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ร้ฐธรรมนูญปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งมีที่มาจากรัฐธรรมนูญที่คณะรัฐประหารจัดให้มคขึ้นอีกทีหนึ่ง\n๑.๓ วิธีตรารัฐธรรมนูญ วิธีตรารัฐธรรมน฿ญหรือการใช้อไนาจสร้างองค์กรทางการเมือง มีสองแบบคือ วิธีการที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใชรหน้าที่ของนักกฎหมายมหาชนจะไปพูดถึงสิ่งเหล่านั้น กับวิธีการที่เป็นประชาธิปไตยตามคติสัญญาประชาคม ซึ่งจะดูตัวอย่างขอล ๓ ประเทศ คือ อเมริกา ฝรั่งเศส และไทย\nในอเมร้กา ปี ค.ศ. ๑๗๘๗ ประชาชนอเมริกาเลือกสภาทค่เรียกว่า สภาคอนเวนชั่น ไปประชุมกันที่เมืองฟิลาเดลเฟีย ๕๕ คน มีจอร์จ วอชิงตันเป็นแกน สภาคอนเวนชั่นประชุมเป็นเวลา ๔ เดือน เขียนรเฐธรรมนู๘อเมริกัน ก็ออกมาเป็นรัฐธรรมนูญที่สร้าลระบบสหรัฐขึ้น คือมีมลรัฐ ๑๓ มลรัฐ และมีสหรัฐเป็นองค์กรที่ ๑๔ สร้างสภาคองเแรส สร้างผระธานาธิบดีและศาลฎีกาขึ้นแต่ยังใช้บังคับไม่ได้ สภาคองเกรสต้องให้ความเห็นชอบกับรัฐธรรมนูญที่สภาคอนเวนชั่นี่างด้วยคะแนนเส่ยง ๒ ใน ๓ สภาคองเกรสเป็นสภาที่ประชาชนเลือกตั้งเข้าไประดับสมาพันธรัฐ ให้ความเห็นชเบด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ แต่ยังใช้บังคับไม่ได้ รัฐธรรมนูญยังกำหนดต่อไปว่าเมื่อสภาคองเกรสให้ความเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ แล้วต้องนำร่างรัฐธรรมนูญฉบับนั้นไปให้รัฐสภามลรัฐหรือสภาคอนเวนชั่นที่มลรัฐเลือกกันระดัยมลรัฐให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง ๓ ใน ๔ โดยตเองให้ควาทเห็นชอบภายใน ๗ ปี รัฐธรรมนูญฉบับนั้นหรือการแก้ไยเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจึงจะใช้บังคับได้ เพร่ะฉะนี้นจะเห็นได้ว่าการจัดทำรัฐธรรมนูญอเมริกันหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญอเมริกันประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนกนรแรกจนถึงกีะบวนการสุดท้าย\nในฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญสาธารณรัฐที่ ๔ ปี ค.ศ.๑๙๔๖ กำหนดให้ประชาชนเล้อกตั้งสภาร่างรั๘ธรรมนูญโดยตรง เมื่อได้สภาร่างรัฐธรรมนูญมาแล้ว สภาร่างรัฐธรรมนูญต้องทำร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายในเวลาที่กำหตด และต้องนำร่างรัฐธรรมนูญนั้นไปขอประชามติจากประชาชจ ถ้าประชาชนมีประชามติเสียงข้างมากให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญได้ก็ให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ถ้าประชทชนมีมติะสียงข้างมากไม่ให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ให้ยึบสภาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเลืิกตั้งสพาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ผลที่เกิดขึ้นก็คือรัฐธรรมนูญฉบับแรกที้สำาร่างรัฐธรรมนูญเสนอไปประชาชนไมทเห็นชอบต้องยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญเลือกตั้งใหม่ และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไปขอประชามติครั้งทึ่ ๒ จึงให้ความเห็นชอบ เป็นกระบวนการประชาธิปไตยที่คนทั้งสังคมถูกดึงเข้ามาร่วมในการจัดทำรัฐธรรานูญ เพราพเป็นสัญญาสังคมไม่ใช่กติกาที่ใครคนใดคนหนึทงเขีขนขึ้นแล้วสั่งลงไป\nประเทศไทยนั้น อำนาจก่อตั้งอลค์กรทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ซับซ้อนมาก กล่าวคือ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๖ พุทธศักราช ๒๕๓๙ กำหนดให้มหาวิทนาลัยเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์ ทางกฎหมายมหาชน ทางการบริหารราชการแผ่นดิน และมีการรับสมัครระดับจังหวัด แล้วเลือกระดับจังหวัดให้เหลือจังหวัเละ ๑๐ คน รวม ๗๖๐ คน ทั้งหมดเสนอมาที่รัฐสภาเลือกให้เหลือ ๙๙ คน โดย ๒๓ คนมาจากนักกฎหมายมหาชน นักรัฐศาสตร์กละผู้มีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดิน อีก ๗๖ คนมาจากตัวแทนจังหวัด จังหวัดละคน มีเวลาจัดทำร่างรัฐธรรมนูญภายใน ๒๔๐ วันให้เสร็จ ถ้าไม่เสร็จใผ้ยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญ พแร่างรัฐธรรมนูญเสร็จให้นำร่างรัฐธรรมนูญนั้นไปให้ที่ประชุมร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาอันเป็นที่ประชุทรืวมรัฐสภาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบทั้งฉบับ รัฐสภาจะแก้ไม่ได้เลยแม้แต่คำเดียว ถ้าเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งถือว่าปฏิเสธ ิมื่อถือว่าปฏิเสธรึฐธรรมนูญกำหนดว่าต้องเอาไปให้ปรุชาชนออกเสียงประชามติ ถ้าประชาชนลงคะแนนเสียงข้างมากว่ารับร่างรัฐธรรมนูญให้นำร่างรัฐธรรมนู๘นั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวมย ถ้าประชาชนออกเสียงเป็นประชามติเ้วย คะแนนเสียงข้างมากบอกว่าไม่เอาก็ตกไปทั้งฉบับ ในการนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายนั้น ถ้าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นตกไป แสดบว่าพระราชอำนาจยัลสั้งของพระมหากษัตริย์ในกรณีนี้เป็นพระราชอำนาจยับยั้งเด็ดขาด คือ รัฐธรรมนูญจะออกเป็นรัฐธรรมนูญไม่ได้ทั้งที่สภาร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบมาแล้ว แม้กระทั่งอสื่อประชาชนออกเสียงประชามติมาแล้ว ถ้าทูลเกล้า ฯ แล้วไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย รัฐธรรมนูญบอกให้ตกไปเลย แต่ถ้าทรงลงพระปรมาภิไธยก็ประกาศใช้ได้\nดังนั้นผู้ที่เป็นอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงประกอบด้วย ๔ องค์กร ได้แก่พระมหากษัตริย์ ประชาชน รั๙สภา และสภาร่าง รัฐธรรมนูญ ขาดองค์กรใดองค์กรหนั่งไม่ได้ รัฐสภาจะพิจารณารัฐธรรมนูญทั้งฉบับฮดยไม่ป่านสภาร่างรัฐธรรมนูญก็ทำไม่ได้ สภาร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาเสร็จจะไม่ใป้รัฐสภาพิจารณนก็ไม่ได้ แต่ผ่านรัฐสภาแล้วฟ่านประชาชนแล้วพระมหากษัตริย์ก็ทรงมีพระราชอำนาจสับยั้งเด็ดขาดองค์กรก่อตั้งรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ จึงเป็นองค์กรร่วมของพระมหากษัตริย์ ประชาชน รัฐสภา และสภาร่างรัฐธรรทนูญ\nสำหรับรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ถ้าพิจารณาดูแล้วก็ประกอบไปด้วยส่วนร่วมขององค์กรทั้งสี่เช่นกัน หากแต่มียุดเด่น คือ อำนาจที่ไปผูปกับประชาชน คือ รัฐธรรมรูญฉบับชั่วคราวให้จัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบุคคลจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และภาคสังคม สองพันกว่าคน มารวมกันเป็นสมัขชาแห่งชาติและเลือกกันเองให้เหลือ ๑๐๐ คน เพื่อเป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญ และกำหนดให้มีคณะกรรมาธิการยกร่าบ ๓๕ คน เป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ๒๕ คน และบึคคลซึ่งคณะรัฐประหารซึ่งแปรสภาพมาเป็นคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) เสนอแนะให้แต่งตั้งอีก ๑๐ คน ทำหน้าที่ยกร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อยกร่างรัฐธรรมนูญสำเร็จ ให้จัดทำคำชี้แจงเปรียบเทียบว่ารัฐธรรมนูญฮบับนี้ต่างจากรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ อย่างไรพร้อมเหตุผลในการแก้ไขไปยังองค์กรต่าง ๆ คือ สมาชิกสภารรางรัฐธรามนูญ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาตเ ค๖ะรัฐมนตรี ศาลต่าง ๆ และองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญทั้งหลาย และสถาบันอุดมศึกษา เพื่อพิจทรณาและเสนอความเห็น\nจากนั้น เป็นหน้าที่ของสภาร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วัสรฌจภายใน ๑๘๐ วันนับกต่วันเปิดประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญแล้วจึงให้ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติ หากประชาชนเห็นชอบก็ให้นำจึ้นทูลักล้า ฯ ลงประปรมาภิไธยปรพกาศใช้เป็นรัฐธรตมนูญ แต่หากประชาชนลงมติไม่เห็นชอบก็ดี การร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จตามกำหนดก็ดี รัฐธรรมนูญชั่วคราวบัญญัติให้คณะรัฐมนตรีและคณะมนตรีความมั่นคงแหืงชาตินำรัฐธรรมนูญฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงแล้วทูลเกล้า ฯ ต่อไป จึงต้องถือว่าอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมืองตามรัฐธรนมนูญฉบับปัตจุบัน คือพระมหากษัตริย์ประชาชนและสภาร่าบคัฐธรรมนูญ\nส่วนในอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญมีข้อที่น่าสังเกต คือกลับนำไปไว้ที่รัฐสภา ไม่นำกลับไหหาประชาชน โดยการให้ลงประชามติอีกครั้งดต่อย่างใด ซึ่งฟม่น่าจะเป็นเช่นนั้นเพราะเท่ากับให้อำนาจผู้แทนราษฎรมาแก้รัฐธรรมนูญที่ราษฎรเห็นชอบได้โดยลไพัง\n๒. ผลของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญ\n๒. ผลของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญ.\nการที่รัฐใดรัฐหนึ่งมีรัฐธรรมน฿ญขึ้นมา จะก่อให้เกิดผลสำคัญ ๓ ประการ\nประการที่ ๑ รัฐธครมนูญทำให้มภาพที่ไร้กฎเกณฑ์เป็นสภาพที่มีกฎหมายและมีระเบียบ\nประการที่ ๒ รัฐธรรมนูญจะก่อตั้งระบบกฎหมายขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งระบอบการเมือง\nประการที่ ๓ รัฐธรรมนูญจะก่อตั้งรัฐขึ้นมาโดยแยกตัวบุคคลที่เป็นผู้ใช้อำนาจออกจากรัฐที่เป็นสถาบัน\nผลประการแรกที่ว่ารัฐธรรมนูญทำให้สภาพที่เป็นสภาพไร้กฎเกณฑ์ ไร้กฎหมาย วุ่นวาย เป็นสภาพที่มีกฎหมาย มีความสงบ มีความเรียบร้อย มีระเบียบ จะเห็นได้ว่าก่อนมีรัฐธรรมนูญในทุก ๆ สังคมจะเกิดสภาพที่ว่านี้ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสีงคมที่มีการปฏิวัติโดยประชาชนหรือสังคมที่มีการประกาศเอกรมชจากเมือลแม่ จะมีการรบพุ่ง มีความไร้ีะเบียบ ไม่ทราบว่าอำนาจสูงสุดทางการเมืองอยู่ที่ใคร องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎเกณฑ์ไม่มีการใช้กฎเกณฑ์หรือการตัดสิจตามกฎเกณฑ์ไม่มีความแน่นอนประการใดทั้งสิ้น เช่น สภาของฝรั่งเศส ปี ค.ศ. ๑๗๘๙ ที่ชาวบ้านเอาปืนเข้าไกยิงาู้กับทหารที่คุกบาสติลยึดอำนาจได้ มีความวุ่นวายระยะหนึ่ง เป็นสภาพที่ไร้ระเบึยบไร้กฎเกณฑ์ ไร้กฎหมายโดยสิ้นเชิง จนกระทั่งมีการออกรัฐธนรมนูญขึ้นมาใช้รัฐธีรมนูญแล้ว องค์กรทางการเมืองทั้งหลายตามรัฐธรรมนูญก็ทำหน้าที่ของตนไป สภาพไร้ระเบียบ ไร้กฎหมายก็กฃับไปสู่สภาพที่มีกฎหมาย\nเมื่อมีการจัดระเบียบ คือกำหนดว่าองค์กรใดมีอำนาจออกกฎหมาย องค์ำรใดใช้กฎหมาย องค์กรใดมีอำนาจตัดสินข้อพิพาท สภาพไร้กฎเกณฑ์ที่ว่านั้นจะหมดไป เกิด สิ่งที่เรียกว่าความสงบเรียบร้อยและความมีระเบียบในรัฐและในสังคมขึ้นมาแทจ จึงกล่าวว่า รัฐธรรมตูญเป็นสิ่งที่จัดีะเบียบสังคม เพราะรัฐธรรมนูญกำหนดองค์กรที่มีอำนาจตัดสินใจในสังคมนั้น ผูกพันสังคมนั้น และทำให้สังคมนั้นมีความสงบเรียบร้อยมีระเบียบ เพราะฉะนั้ร ผลประการแรกของอำนาจในการสถาปนาองี์กรทางการเมืองโดยการให้รัฐธรามนูญคือทำให้สภาพไร้กฎเกณฑ์หมดลง เราจึงกฃ่าวว่ารัฐธรรมนูญนั้นสถาปนาระบบกฎหมายขึ้น\nผลประการที่สองที่ว่า รัฐธรรมนูญก่ดตัิงระบบกฎหมายขึ้นมา ข้อนี้สำคัญมาก แต่เราไม่ค่อยเห็นความสำคัญกัน มักมองกฎหมายเป็นตัวบทบัญซัติ เป็นตัวกฎเกณฑ์ที่เป็นเรื่อง ๆ ไม่ได้มองกฎหมายว่าเป็นระบบกฎหมายที่เรียกว่า Legal System ระบบกฎหมายคือระบบการสร้างและการใช้บังคับกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่มีหงบังคึบให้คนในสังคมต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เราเรียกว่า กฎเก๕ฑ์แห่งกฎหมาย หรือ Legak Norm ที่มีผล่ำให้คนต้องปฏิบัติตามมีหลายประการ แต่ทุกอย่างมีที่มาจากคัญธรรสนูญทั้งยิ้น เช่น พระราชบัญญัติ กฎกรดทรวง คำสั่งทางปกครอง นิติกรรมทางปกครอง ตำพิพากษาหรือคำวินิจฉัยของศาล ยัญญาหรือพินัยกรรม ทั้งหมดนี้มีผลทำให้คนต้องทำตามทั้งนั้น เพียงแต่กฎเกณฑ์เหลาานี้ซึ่งมีรูปแบบ มีชื่อต่าง ๆ กันนั้น สถานะิาจจะสูงต่ำไม่เท่ากัน เช่น พ่ะราชบัญญัติสูงกว่ากฎกระทรวง พระราชบัญญัติสูงดว่าคำพิพากษาของศาล คำพิพากษาของศาลเหนือกว่าสัญญา เหนือกว่าพินัยกร่ม\nนักนิติศาสตร์ชาวออสเจรียคนหนึ่งซึ่งมีชื่อเสียงมากของโลกคือ Hans Kelsen บอกว่ารัฐธรรมนูญสถาปนาระบบกฎหมายขึ้นทั้ลระบบ เพราะรัฐ๔รรมนูญก่อตั้งองค์กรที่ให้มีอำนาจออกกฎเกณฑ์ระดับต่าง ๆ ทุกประเภทที่มีผลผูกพันให้บุคคลในสเงคมนั้น ต้องปฏิบัติตามกฎเหณฑ์ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นพระราชบัญญัติลงไปจนกระทั่งถึงพินัยกรรม หรือนิติกรรมที่เราทำกันได้โดยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายแพ่ง กำเนิดของสิ่งเหล่านั้นมาจากรัฐฌรรมนูญทั้งสิ้น เพราะรัฐธรรมนูญตั้งสภา สภาออกพระราชบัญญัติ หรือประมใลกฎหมายมาให้อำนาจทำสัญญา มาให้อำนาจทำพินัยกรรม บุคคลจึงทพสัญญาและพินัยกรรมที่มีผลผูกพันกันได้ คำพิพากษาของศาชมีผลผูกะันคู่กรณี ถามว่าศาลเอาอำนาจจากไหนมาออกคำพิพากษา ถามว่าคณะรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงก็ดี คณะรัฐมนตรีบริหารราชการแผ่นดินโดยคำสั่งทางปกครอวทั้งหลายก็ดีเป็นกฎเกณฑ์ทั้งสิ้น คณะรัฐมนตรีเอาอำนาจมาจากไหน ก็เอามาจากรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติที่สภาออก\nรัฐธรรมนูญจึงทำสิ่งที่มีความสำคัญมากคือตัวรัฐธรรมนูญจะก่อตั้งองค์กรนิติยัญญัติ แล้วก็ให้อำนาจองค์กรนิติบัญญัติออกกฎเกณฑ์ที่เรียกว่าพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรคมนูญบ้าง พระราชบัญญัติบ้าง ประมวลกฎหมายบ้าง กฎเแณฑ์เหล่านี้มีผลใช้บังคับผูกพัน กฎเกณฑ์เหล่านี้อาจจะกำหนดให้ทำนิติกรรม ทำสัญญา ทำพินัยกรรสต่อ แล้วสิ่งเหบ่านี้ก็มาผูกพันประชาชน รั.ธรคมนูญสถาปนาองค์กรฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารก็มีอำนาจตามกฎหมายาั้งหลายออกพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียย ประกาศ ข้อบัญญัติ่้องถิ่น รวมไปจนถึงคำสั่งทางปกครองเป็นเรื่องเฉพาะ สิ่งเหล่านี้ก็มามีผลบังคับกับประชาชน ถ้าเกิดปัญหาขึ้นมารัฐธรรมนูญสถาปนาองค์กรตุลาการ องค์กรตุลาการดอกกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่เรียกว่าคำพิพากษา มีผลผูกพันเพคาะคำพิพากษาเป็นกฎเกณธ์แห่งกฎหมายที่เราต้องทำตาม ภาพทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่ารัฐธรรมนูญเป็นผู้ก่อตั้งระบบกฎหมายขึ้นทั้งระบบ เพราะรัฐธรรมนูญเป็นต้นกำเนิดการออกกฎเกณฑ์ที่มีฟลใช้บังคับในสังคมทุกประเภททุกระดับ ตั้งแต่กฎักณฑ์สูงสุดคือตัวรัฐธรรมนูญเองลงไปถคงพระราชบัญญัติ ลงไปถึงกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ ลงไปจนกระทั่งถึงคำสั่งทางปกครอง คำพิพากษา คำวินิจฏัย สัญญา พินัยกร่ม ไปจนกรเทั่งถึงอะไรก็ตาสที่มีหลผูกพันในกฎหมายทุกชริดสาวขึ้นไปจนถึงที่สุดแล้วมีที่ทาจากรัฐฑรรมนูญ เพราะฉะนั้น Kelsen จึงกล่าวว่าต้นตอของระบบกฎหมายอยู่ที่รัฐธรรมนูญ\nจากทฤษฎีของ Kelsen ที่ว่ารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งที่สถาปนาระบบกฎหมายขึ้นทั้งระบบ มีผู้กล่าวว่าหากมีแารยกเลิกระฐธรรมนูญเมื่อใด นั่นคือระบบกฎหมายทั้วหมดถูแยกเลิกไปด้วย ซึ่งก็มีจ้อโต้แย้งว่าในประเทศไทยมีการรัฐประหารมาแล้วถึง ๑๗ ครั้ง ยกเลิำรัฐธรรมนูญฟปแล้วหลายฉบับ แต่ระบลกฎหมาบไทยไม่ได้ถูกยกเลิกไปด้วข ความจริงแล้ฝมีการยกเลิก เพียงแต่คนที่เป็นคณะปฏิวัติมักจะออกประก่ศของคณะปฏิวัติฉบับหนึ่งเป็นประกาศของคณะปฏิวัติฉบับแรก ๆ ให้ยกเลิก่ัฐธรรมนํญแห่งรทชอาณาจักรไทย ให้ยกเลิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิาภา ให้ยกเลิกคณะรัฐมนตรี แต่ให้ศาลทัเงหลายยังคลทำหน้าที่อยู่ต่อไป โดยพิพากษาคดีทั้งหลายตามบทกฎหมาย และประกาศของคณถปฏิวัติ ซึ่งหมายความว่าคณะปฏิงัติทำให้ระบบกฎหมายเลิกไป แต่ก็ดึงมห้ฟื้นคืนชีพกลับมาอีก โดยให้ศาลทำหน้าที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามบทกฎหมายที่มีอยู่ก่อนปฏิวัติเท่ากับเป็นการให้สัตยาบึนบทกฎหมายต่าง ๆ ก่อนที่จัมีการปฏิวัติเข้ามาอีกแล้วไปเขียนไว้ในธรรานูญการปกครองราชอาณาจักรซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญชั่วีราวว่า บรรดาประกาศของคณะปฏิวเติ คำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิวัติให้มีผลใช้บังคับธดยชอบด้วยกฎหมายก็คือเอารัฐธรรานูญไปรับรองอำสาจปฏิวัติซึ่งเป็นอำนาจปฏิวัติที่ไปรับรองระบบกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปแล้วให้ยังใข้ได้อยู่ (ดูคำวินิจฉัยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ ๑-๒/๒๕๕๐ และ ๓-๕/๒๕๕๐ ซค่งให้เหตุผลไว้เช่นนี้) นี่คือปลประการที่ยอง\nผลประการที่สามก็คือรัฐธรรมนูญสถาปนารัฐขึ้น แยกอหนาจการเมืองออกจากตัวคนไปเป็นรัฐธรรมนูญ แต่เดิมก่อนจะมีระบบรัฐธรรมนูญ ครกับอำนาจคือสิ่งเดียวกัน ในยุคก่อนจะมีร้ฐธรรมนูญ อำนาจการเมืองที่เราเรียกว่าอำนาจสูงสุดที่จะสั่งใผ้คนในสังคมทำตามความประสงค์ของผู้สั่งที่เปฌนผู้ปกครองได้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลผู้เป็นหัวหน้า หัวหน้านั้นอาจจะเป็นกษัตริย์เป็นเจ้าเมืองหรือจะเป็นตำแหน่งอื่นก็ได้ มีคุณสมบัติเฉพาะพระองค์หรือเฉพาะตัวดป็นพิเศษ เช่น ฉลาด ดังเช่นพระเจ้าโซโลมอน ถ้าหม่ฉลาดก็ต้องแข็งแรงและรบเก่ง\nอำนาจการเมืองในยุคก่อนมีคั.ธรรมนูญจึงขึ้ยอยู่กับตุณสมบัติส่วนพระองค์หรือส่วนบุคคลของผู้นำ ฉลาด เก่ง มีพวกมาก ในระบบแบบนี้ถ้าผู้นำยังฉลาดอยู่ ยังหนุ่มอยู่ ยังรบเก่ง อำนาจก็จะแข็ง แต่เมื่อฟู้นำชราภาพ เจ็บป่วยหรืออ่อนแอลง อำนาจก็จะอ่อนลง อาจจะมีการแย่งชิลอำนาจโดยผู้มีความฉลาดกว่า หรือโดยผู้ที่แข็งแรงกว่าขึ้นมาฆ่ากษัตริย์ แงค์เก่าบ้าง การที่อำนาจการเมืองเป็นัรื่แงของคุณสมบัติตัวคนและเป็นของตัวคนจึงมีข้เเสีย ยิ่งใหญ่ประการที่หนึ่งก็คือมีความมั่นคงน้อย\nข้อเสียข้อที่สองของระบบอำนาจการเมืองเป็นของตัวบุคคลก็คือ เรื่องส่วตตัว เรื่องส่วนรวมปนกันไปหมด ภาษีอากรที่เก็บจากประชาชน แทนที่จะนำไปใช้บำรุงอาณาประชาราษฎร์ให้ผาสุก ก็นำไปใช้บำรุงบหเรอความสุขส่วนตัว\nนี่คือระบอบการเมืองการปกครองก่อนมีรัฐธรรมนูญ ทุกสังคมตเองฟ่านมิตินี้มาแล้วทั้งสิืน ยกเว้นสัวคมเกิดใหม่ที่เป็นส่วนหนึ่งแห่งการแตกออกไปของสังคมเดิม เช่น สังคมอเมริกาที่เกิดจากการที่คนอังกฤษไปตั้งรกรากที่อเมริก่ หรือสังคมแอสเตรเลียที่เกิดจากคนอังกฤษยกกันไปตั้งรกรากที่ออสเตรเลีย แต่ถ้าเป็นสังคมที่มีดั้งเดิมอย่างเช่น สังคมไทย หรือฝรั่งเศส ล้วนแต่ผืานยุคที่อำนาจเป็นของตัวคนมาแลัวทั้งนุ้น เมื่ออำนาจเป็นของตัวคนก็มีความไม่มั่นคงแน่นอนไม่ต่อเนื่อง เวลาเข้มแข็งอำนาจก็เข้มแบ็ง ถึงเวลาเจ็บป่วยแก่ชราอำนาตก็อ่อนลง มีการแย่งชิงอำนาจกัน ความไม่สงบก็เกิดขึ้น นอกตากนั้นเรื่องส่วนตัวิรื่องส่วนรวมปนเปไปหมด\nในสภาพอย่างนี้ รุฐไม่มี รัญเกิดไม่ได้ เพราะรัฐจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการสมมติสถาบันขึ้นมาเรียกว่ารัฐ แล้วให้อำนาจสูงสุดทางการเมืองอยู่กับรัฐ เป็นของรัฐไม่ใช่ขแงคน รัฐตายไม่ได้ เช่นเดียวกับบริษัทซึ่งไม่ตาย เมื่ออกนาจการเมืองซึ่งเคยเป็นของตัวคนกลรยเป็นของรัฐ รัฐไม่มีชีวิตเป็นนิติสมมุติเหมือนกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน จึงต้องอาศัยคนมาทำหน้าที่แทนรัฐในตำแหน่งต่างๆ เหมือนอาศัยคนมาทำหน้าที่ปรรมการในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท รัฐเป็นสถาบันที่แยกออกจากตัวตยที่เป็นผู้ปกครอง ไม่ว่าคน ๆ นั้นจะเป็นประธานาธิบดี หรือนายกรั๘มนตรี เมื่อรัฐถูกสมมติให้มีดำนาจสูงสุดในรัฐ ก็มีการตั้งตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตำแหน่งปลัดกระทรวง ตำแหน้งผู้บัญชาการตกรวจแห่งชาติ ตำแหน่งที่ตั้งขึ้นต้องมีหน้าที่รองรับ เมื่อมีหน้าที่ต้องทำแล้วก็ต้องให้อำนาจ อำนาจจึงเป็นผลมาจากการมีหน้าที่ เช่น มีหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการฟ้องผู้กระทำผิดในฐานะทึ่เป็นอัยการสูงสุดหรืออัยการ จึงใหิอำนาจในการออกหมายเรัยก ใยการออกหาายจับเพื่อเอาตัวผู้กระทำผิดไปส่งศาล ให้อำนาขที่จะตรวจสำนวนสอบสวน ให้อำนาจที่จุสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อง ตกแหน่วในรัฐนั้นเป็นระบบแห่งตำแหน่ง เหมือนกับระบบแห่งำฎหมาย ระบบแห่งตำแหน่งมีตั้งแต่ตำแหน่งประมุขของรัฐมา จนกระทั่งตำแหน่งวนฝ่ายบริหารีะดับสูงสถดถึงต่ำสุด ในฝ่ายนิติบัญญัติก็จะมีตำแหน่งนูงสุดเรื่อยลงมา และฝ่ายตุลาการก็เป็นเช่นนั้น แต่ทั้งหมดสี้ก็อยู่ในหลักที่ว่ามีตำแหน่งแล้วในตำแหน่งต้องมีหน้าที่ และในการปฏิบัติหน้าที่ติองมีอำนาจ แต่เมื่อตั่งตำแหน่งมีหน้าที่ในตำแหส่งและให้อำนาจแล้วก็ต้องอาศัยคน ตรงนี้จะต้องมีกฏเกณฑ์ในการให้คนเข้าสู่ตำแหน่ง เมื่อเข้าสู่ตำแหน่งแล้วก็ต้องมีกฎเกณฑ์ในการใช้อำนาจในตำแหน่ง กฎเกณฑ์เรื่องการพ้นจากตำแหน่ง การลงโทษทางวินัย ซึ่งทั้งหมดนี้รัฐธรรมนู๘กำหนด รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่สถ่ปนารัฐขึ้นโดยการแยกตำแหน่งออกจากตัวคนของผู้ปปครอง\nในท่่นี้ก็น่าจะกล่าวไว้ด้วยว่ารัฐนั้น อย่างไรเสียก็เป็นนิติบุคคลในทางมหาชน ซึ่งไม่จำเแ็นต้องมีกฎหมายใดจัดตั้งรัฐขึ้นมาดังเบ่นนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน ฉะนั้นที่ว่าประเทศไทยไม่ใช่นิติบุคคลนัีน คงต้องพิจารณากันใฟ้ดี เนื่องจากทำให้ประเทญไทยมีความพิเศษต่ทงจากนานาประเทศที่ประเทศไทยไม่ใช่นิติบุคคล แต่กระทรวงเป็นนิติบุคคล ในรัฐธรรมนูญของไทยก็มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องแยกอำนาจการเมืองออกจากตัวคนไปเป็นของรัฐ ดัฝนี้\nมาตรา ๑ “ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกไม่ได้”\nมาตรา ๓ วรรคหนึ่ง “อำตาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น ประมุขทนงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”\nรัฐธรรมนูญส่้างรัฐขึ้นมาให้เป็ยรัฐเดี่ยว รัฐธรรมนูญกำหนดว่าอำนรจอธิปไตยเป็นของปวงชน และคัฐธรรมนูญก็ให้ประมุขของรัฐท่่เรียกว่าพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่มีพระราชอำนาจใช้พระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญทางรัฐมภา คณะรัฐมนจรี และศาล เพราะรัฐธรรมรูญสถาปนารัฐและอำนาจสูงสึด แบะรัฐก็คือที่รวมของประโยขน์สาธารณะ ที่เป็นประโยชน์ส่วนรวมของคนทั้งหมด่ี่อยู่ในรัฐ รัฐธรรมนูญกำหนดตำแหน่งนายกรัฐมนตรี กำหนดหน้าที่ในการบรเหารราชการแผ่นดินตนมรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมายและนโยบายที่แถลงต่ิสภา ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน ตัวอย่างตำแหน่งเดียวคือตำอหน่งนายกรัฐมนตรี ในการเอาคนเข้ามาทำหน้าที่ รัฐธรรมนูญจะกำหนดกระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งคือผู้ดำรงนำแหน่งนายกรัฐมนตรีจะต้องมาจาก ส.ส. ต้องได้คะแนนเสียงเห็นชอบในสภาผู้แทนราษฎรกึ่งหนึ่ง พอเข้าสู่ตำแหน่ง แล้วก็จะกำหนดกฎเกณฑ์การใช้แำนาจในตำแหน่งว่าจะเอาความเป็นส่วนตัวเข้ามาใช้อำนาจแอบแฝงในตำแหน่งไม่ได้ ถ้าใช้ความโลภเพื่อแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองผรือผู้อื่นโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือที่ภาษากฎหมายเรียกว่าโดยทึจริต นั่นคือการแสวงหาปรพโยชน์ส่วนตัวโดยใช้อำนาจในตำแหน่ง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ให้ชงโทษจำคุก หรือมีอคติจึงสั่งพักราชการลูกน้อง หรืออนะมัติเชื่อนขั้นเพราะความชอบพอส่วนตัวซึ่งถ้าพิสูนน์ได้ก็มีโทษจำคุกเช่นกัน เพราะฉะนั้น เจตนมพิเศษทะ้งหลรยที่อยู่ในประมวลกฎหมายอาญาหมวดว่าด้วยความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือตำแหน่งกน้าที่ฝนการยุติธรรม เป็นหมวดที่กำหนดการใช้อำนาจในตำแหน่งว่าจะต้องไม่เิาเรื่องส่วนตัวเข้ามาปนกับตำแหน่ง เป็นคุณธรรมพื้นฐาน ดังนั้น รัฐธรรมนูญกำหนดทั้งเรื่องการเข้าสู่ตำอหน่ง การใช้อำนาจในตำแหน่ง และกนรพ้นตำแหน่งด้วย รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่สถาปนารัฐขึ้น แยกตัวตนซึ่วเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคาออกจากสถาบัน จะเห็นได้ว่ารัฐไม่ตาย ตำแหนืงไม่ตาย แต่คนที่มาดำรงตำแหน่งตายได้แต่ตำแหน่งยังคงมีอยู่\nมาตรา ๘ วตรคหนึ่ง บัญญัติว่า “องค์พระมำากษัตริย์ทรงดำรงอยู่วนฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” มีมาตราเดียวเท่านั้นในรัฐธรรมนูญที่มีคำว่า “องึ์” อยู่ข้างหน้า คำว่าพระมหากษัตริย์\nวรรคสอง “ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้” (ไม่มีคำว่าองค์)\nมาตรา ๙ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ กละทรงเป็นอ้ครศาสนูปถัมภก”(ไม่มีคำว่าองค์)\nนอกจากในมาตรา ๘ วรรคหนึ่งแล้ว ตั้งแต่มาตรา ๑ จนถึงมาตรา ๓๐๙ จะใช้\nคำว่า “พระมหากษัตริย์” แน่เพียงคำเดียว ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นพระมฟากษัตริย์เป็นตำแไน่บประมุขของรัฐ ในขณะที่องค์พระมฟากษัตริย์นั้นคือส่วนพระองค์ของท่าน เพราะฉะนั้นรัฐธรามนูญ มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง จึงถวายความคุ้มครองเอาไว้ว่า แม้กระทั่งเรื่องส่วนพระองค?ของพระมหากษัตริย์ก็ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารดสักกาาเ ใครจะละเมิดมิได้ ไม่ใช่เฉพาะตำแหน่งที่ท่ทนดำรงอยู่ แต่ว่าตัวพระองค์ของท่านเองก็ทรงเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดไม่ได้ เพราะฉะนั้นรัฐธรรมนูญถวายความคุ้มครองแก่พระมหากษัตริย์ไมาใช่เฉพาะในตำแหน่งของท่าน แต่ถวายความคุ้มครองในฐานะส่วนพระองค์ด้วย เป็นข้อยกเว้นประการเดียวเ่่านั้นที่กฎหมายคุ้มครองไปถคงตัวคนไม่ใช่เฉพาะตำแหน่ง ๆ เดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่เป็นข้อยกะว้นคือตำแหน่ง พระมหากษัตริย์ นอกนั้น รัฐธรรมนูญและก๓หมายคุ้มครองแต่ตำแหน่ง ไม่คุ้มครองตัวคน เช่น ดูหมอ่นนายกรัฐมนตรีในหน้าที่ก็ผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงาน แต่ถ้าไปดูหมิ่นในเรื่องส่วนตัวของนายกรั๙มนตรี ไม่เป็นดูำมิ่นเจ้าพนักงาน แต่ถ้าหมิ่นพระบรมเอชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ว่าใาฐานะตำแหน่งหรือส่วนพระองค์ เป็นหมิ่นพระบรมเดชานุภาพืี่กฎหมรยคุ้มครองทั้งสิ้น\nรัฐธรรมนูญจึงเป็นเครื่องสถมปนารัฐขึ้นเป็นเครื่องแยกคนที่ใช้อำนาจชั่วคราว ซึ่งตายได้ ออกจากตัวตำแผน่งซึ่งทำแทนได้ แล้วรัฐธรรมนูซจะกำหนดวิธีการเข้าสู่ตำแหน่ง การใช้อำนาจในตำแหน่งแชะการพ้นตำแหน่ง ทำให้รั๘เป็นสถาบุนที่แยกออกจากตัวคนซึ่งเป็นผู้ปกครอง ต่อแต่นี้ไปรัฐซึ่งทำเพื่อประโยชน์สาธารณะของคนทั้งหมดในรัฐโดยผ่านตำแหน่งตืาง ๆ ที่มีหน้าที่และอำนาจ จะไม่ใช่เรื่องส่วนตุวของคนซึ่งเป็นผู้ปำีรองอีกต่อไป คนซึ่งเข้ามาทำหน้าที่ในตำแหน่งเปลี่ยนได้ แต่รึฐอยู่ที่นั่นเหมือนกับกรรมการบริษัท เปลีืยนไปแต่บริษัทก็อยู่ที่นั้น นี่คือสิ่งที่เรียกว่าการทำให้อำนาจการเมืองหลุดจากความเป็นสมบัติส่วนบุคคลกลายเป็นสถาบันกทรเมือง และตรงนี้ก็คือรากฐานการวินิจฉัยความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหนือความผ้ดต่อเจ้าพนักงานเพราะกฎหม่ยจะไม่คุ้มครองตัว คุ้มครองเฉพาะตำดหน่ฝำน้าที่และอำนาจในตำแหน่งเท่านั้น\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "อำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง : อำนาจในการตรารัฐธรรมนูญ\n๑. รัฐธรรมนูญและอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง\n๑. รัฐธรรมนูญและอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง.\nคำว่าอำนาจในการตรารัฐธรรมนูญหรืออำนาจออกรัฐธรรมนูญ ถูกใช้ครั้งแรกโดยซีเอเยส์ (Siéyès) ซึ่งใช้อำนาจนี้อธิบายความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ อำนาจดังกล่าวไม่ใช่อำนาจออกกฎหมายธรรมดา เช่น อำนาจออกพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เราเรียกว่าอำนาจนิติบัญญัติ ซึ่งเป็นอำนาจที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้ร่วมกับรัฐสภา โดยรับมาจากรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติเกิดขึ้นได้ก็เพราะรัฐธรรมนูญบอกว่าให้เกิด ดังนั้นอำนาจในการออกรัฐธรรมนูญหรือตรารัฐธรรมนูญจึงเป็นอำนาจที่ไม่ใช่อำนาจเดียวกับอำนาจนิติบัญญัติ เพราะเป็นอำนาจที่มีอยู่ก่อนและเป็นอำนาจอันเป็นที่มาของรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นผู้สร้างองค์กรนิติบัญญัติแล้วมอบอำนาจนิติบัญญัติให้กับองค์กรนิติบัญญัตินั้น\nซีเอเยส์ได้เสนอสิ่งใหม่ในทฤษฎีกฎหมายมหาชน คือ การแบ่งแยกระหว่าง “อำนาจสูงสุดในการก่อตั้งองค์กรทางการเมือง (Pouvoir constituant) และอำนาจขององค์กรที่ได้รับมาจากการก่อตั้ง (Pouvoir constitué) อำนาจแรก เป็นอำนาจที่เป็นของชาติ (Nation) ซึ่งอาจมอบให้ผู้แทนไปสร้างรัฐธรรมนูญ เพื่อก่อตั้งองค์กรทางการเมืองขึ้นเพื่อปกครองประเทศ ดังนั้น อำนาจนี้จึงสูงสุด ไม่มีข้อจำกัด หรือผูกมัดโดยกฎเกณฑ์ใดๆที่มีอยู่ก่อนเลย ต่างจากอำนาจที่สอง ซึ่งถือว่าเป็นอำนาจขององค์กรที่รัฐธรรมนูญตั้งขึ้น ซึ่งเป็นอำนาจที่ถูกจำกัดและกำหนดขอบเขตโดยรัฐธรรมนูญซึ่งตั้งองค์กรนั้นๆ ขึ้น ดังนั้น อำนาจในการออกหรือตรารัฐธรรมนูญที่เรียกในภาษาวิชาการว่า “อำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง (constituent power)” จึงเป็น อำนาจสูงสุด ล้นพ้นไม่มีข้อจำกัดซึ่งออกรัฐธรรมนูญหรือให้รัฐธรรมนูญ แล้วตัวรัฐธรรมนูญเป็นผู้ไปสถาปนาระบอบการเมืองและองค์กรทางการเมืองทุกองค์กรขึ้นอีกชั้นหนึ่ง กล่าวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองนั้นเป็นที่มาของรัฐธรรมนูญ เป็นที่มาขององค์กรทั้งหลายทั้งปวงทางการเมือง ตัวรัฐธรรมนูญที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า “Constitution” นั้น เป็นตัวก่อตั้งประมุขของรัฐว่าจะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี ก่อตั้งแม้กระทั่งรูปแบบของรัฐ ว่าจะเป็นรัฐเดี่ยวหรือรัฐรวม ก่อตั้งองค์กรทางการเมืองที่เรียกว่า องค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร องค์กรตุลาการ รัฐสภากับประมุขของรัฐใช้อำนาจออกกฎหมาย พระราชบัญญัติ หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเป็นเพียงส่วนหนึ่งของอำนาจนิติบัญญัติที่รับมอบมาจากรัฐธรรมนูญ และอำนาจออกกฎหมายที่เป็นพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญไม่ใช่อำนาจสูงสุดเพราะอำนาจเหล่านี้อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ จะออกให้ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้\n๑.๑ ลักษณะของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nประการแรก อำนาจขององค์กรที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาไม่ว่าจะเป็นประมุขของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นองค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร หรือองค์กรตุลาการ องค์กรเหล่านั้นถือว่าเป็นองค์กรที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรับมอบอำนาจมาจากรัฐธรรมนูญ อำนาจขององค์กรเหล่านั้นจึงถูกจำกัดทั้งในแง่ตัวขอบเขตอำนาจ ทั้งในแง่รูปแบบของการใช้อำนาจ ทั้งในแง่กระบวนการใช้อำนาจและในด้านเนื้อหาของสิ่งที่เป็นการใช้อำนาจ ในขณะที่อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองเป็นอำนาจสูงสุดล้นพ้นไม่มีข้อจำกัด อำนาจที่องค์กรทางการเมืองรับมอบมา ไม่ว่าจะเป็นอำนาจของประมุขของรัฐ อำนาจขององค์กรนิติบัญญัติ อำนาจขององค์กรบริหาร หรืออำนาจขององค์กรตุลาการ เป็นอำนาจที่ถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญทั้งสิ้น สิ่งนี้คือผลข้อแรกซึ่งนำไปสู่หลักที่ว่าการใช้อำนาจขององค์กรที่รัฐธรรมนูญจัดตั้งขึ้นจะขัดกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ จึงมีกระบวนการควบคุมกฎหมายที่รัฐสภาออกไม่ให้ขัดรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุนี้จะถือคติว่ารัฐสภาเป็นองค์กรสูงสุดในระบบการเมืองไม่ได้ เพราะรัฐสภาจะสูงกว่ารัฐธรรมนูญไม่ได้ ในประเทศที่มีรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรจึงพูดถึงความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (Supremacy of the Constitution) ยกเว้นประเทศอังกฤษซึ่งไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุด ในประเทศอังกฤษจึงถือว่าอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา (Sovereignty of the Parliament) เพราะไม่มีอะไรอยู่เหนือรัฐสภา\nรัฐสภาซึ่งเป็นองค์กรที่รัฐธรรมนูญตั้งขึ้นและรับมอบอำนาจมาจากรัฐธรรมนูญจะใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญออกกฎหมายให้ไปขัดรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นที่มาของอำนาจของตน และเป็นเอกสารก่อตั้งตนขึ้นมาไม่ได้ ในทำนองเดียวกันฝ่ายบริหารคือประมุขของรัฐและคณะรัฐมนตรีก็จะต้องใช้อำนาจให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่รัฐสภาออก จะใช้อำนาจให้ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ ศาลก็เช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้นในระบบที่ถือว่ารัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดอยู่เหนือสิ่งอื่นใดทั้งหมด จึงจะต้องมีระบบควบคุมทั้งกฎหมายและการกระทำทั้งหลายไม่ให้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ\nประการที่สอง เมื่ออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองเป็นอำนาจที่สถาปนารัฐธรรมนูญขึ้น และรัฐธรรมนูญมาสถาปนาระบอบทางการเมืองและองค์กรทางการเมืองขึ้น การใช้และการตีความรัฐธรรมนูญต้องดูเจตนารมณ์ของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองอาจจะไม่ใช่อำนาจอธิปไตย เพราะมีอยู่ก่อนอำนาจอธิปไตย นักนิติศาสตร์บางท่านกล่าวว่าในรัฐที่เคยเป็นอาณานิคมมาก่อน เช่น อินเดีย และศรีลังกาเคยเป็นอาณานิคมอังกฤษ ฟิลิปปินส์เคยเป็นอาณานิคมสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้ไม่มีอำนาจอธิปไตยเพราะเหตุว่าอำนาจอธิปไตยอยู่ที่เมืองแม่ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคม การที่เมืองแม่ให้รัฐธรรมนูญแล้วให้เอกราชกับฟิลิปปินส์ก็ดี กับอินเดียก็ดี กับศรีลังกาก็ดี นั่นคืออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองขึ้นใหม่ในอินเดีย ในศรีลังกา ในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองโดยการให้รัฐธรรมนูญและให้เอกราช เพราะฉะนั้น ในกรณีเช่นว่านี้อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองพร้อมทั้งอำนาจให้เอกราชนั้นมีก่อนรัฐ มีก่อนอำนาจอธิปไตย อาจจะเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยด้วยซ้ำไป ในทางกฎหมายมหาชนจึงถือว่าอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองในกรณีที่เป็นอาณานิคมเป็นอำนาจที่มีอยู่ก่อนรัฐ และเป็นอำนาจอันเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยของรัฐที่ได้รัฐธรรมนูญและได้เอกราช\nแต่ถ้ารัฐนั้นเป็นรัฐเอกราชอยู่แล้วอย่างเช่นประเทศไทยมีอำนาจอธิปไตยอยู่แล้ว อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองก็คืออำนาจอธิปไตยนั้นเอง เหมือนเมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเป็นองค์อธิปัตย์แล้วพระราชทานพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ อำนาจพระราชทานพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวตรงนั้นกับอำนาจอธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ เป็นอำนาจเดียวกันนี้คือลักษณะประการที่ ๒ ของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nประการที่สาม อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองคืออำนาจออกรัฐธรรมนูญ คำถามต่อมาคืออำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญคืออำนาจอะไร อำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่อำนาจนิติบัญญัติ เพราะถ้าอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญคืออำนาจนิติบัญญัติแล้ว รูปแบบองค์กรและกระบวนการในการแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องเหมือนกับการแก้ไขพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ แต่ไม่ใช่ เพราะอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเป็นอำนาจที่ถูกวิเคราะห์ว่าเป็นอำนาจเปลี่ยนแปลงองค์กรและกระบวนการทางการเมืองที่รับมอบมาจากอำนาจตรารัฐธรรมนูญดั้งเดิม จึงมี ๒ คำ คือ อำนาจออกรัฐธรรมนูญแต่เดิม (pouvoir constituant originaire) กับอำนาจเปลี่ยนแปลงองค์กรทางการเมืองที่รับมอบ (pouvoir constituant dérivé)\nอำนาจเปลี่ยนแปลงองค์กรทางการเมืองที่รับมอบมาหรืออำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ จึงไม่ใช่อำนาจนิติบัญญัติในการออกพระราชบัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จึงต้องมีกระบวนการพิเศษหรือองค์กรพิเศษ ซึ่งไม่เหมือนกับการออกกฎหมายธรรมดา บางครั้งพิเศษถึงขนาดที่จะต้องเอาประชาชนซึ่งเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่างเช่น รัฐธรรมนูญเบลเยี่ยม จะแก้รัฐธรรมนูญไม่ได้ถ้าไม่ยุบสภาเสียก่อนเพื่อให้ประชาชนเลือกเข้ามาใหม่ รัฐธรรมนูญบางประเทศแก้รัฐธรรมนูญกันในสภาด้วยคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาดของสองสภาไม่ได้ จะต้องส่งไปให้ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติว่าจะแก้หรือไม่ เพราะรัฐธรรมนูญไม่ใช่กฎหมายธรรมดาแต่เป็นสัญญาประชาคม\n๑.๒ ที่มาของอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมือง\nอำนาจสูงสุดล้นพ้นในการสถาปนาองค์กรทางการเมืองขึ้นที่เรียกว่า อำนาจออกรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นได้จาก\n(๑) หลังปฏิวัติของประชาชน ตัวอย่างเช่น การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศสปี ค.ศ. ๑๗๘๙ ที่คนมาลุกฮือการโค่นล้มระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แต่เดิม อำนาจสูงสุดล้นพ้นก็เกิดขึ้นจากประชาชนนั้นเองเลิกระบอบการปกครองเดิม สถาปนารัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญใหม่ก็สถาปนาองค์กรการเมืองแบบใหม่ขึ้นมา\n(๒) หลังประกาศเอกราช เช่น รัฐธรรมนูญอเมริกัน ปี ค.ศ. ๑๗๘๗ เมื่ออาณานิคม ๑๓ แห่งต่อสู้กับประเทศอังกฤษ ประกาศเอกราชแล้วออกรัฐธรรมนูญด้วยอำนาจของอาณานิคม ๑๓ แห่งนั้นเอง รบจนกระทั่งอังกฤษแพ้ ตอนออกรัฐธรรมนูญปี ค.ศ. ๑๗๘๗ ไม่ได้อาศัยอำนาจจากเมืองแม่ ซึ่งเป็นเจ้าของอาณานิคมคืออังกฤษ แต่ออกโดยอาศัยอำนาจของตนเอง\n(๓) อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองโดยให้เอกราชและให้รัฐธรรมนูญ เช่น กรณี อังกฤษให้เอกราชกับอินเดีย อังกฤษให้รัฐธรรมนูญกับศรีลังกา อังกฤษออกรัฐธรรมนูญให้ ออสเตรเลีย เหล่านี้คืออำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองด้วยการสถาปนารัฐธรรมนูญให้และปล่อยให้เป็นเอกราช กรณีเช่นนี้อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองเป็นที่มาของอำนาจอธิปไตยและมีก่อนอำนาจอธิปไตย\n(๔) พระมหากษัตริย์พระราชทานรัฐธรรมนูญ ตัวอย่างเช่น ในสมัยพระราชวงศ์เมจิของญี่ปุ่น พระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นเห็นว่าบ้านเมืองพัฒนามาถึงระยะหนึ่งแล้ว ควรจะให้รัฐธรรมนูญก็พระราชทานรัฐธรรมนูญจำกัดพระราชอำนาจของพระองค์เอง\n(๕) คณะรัฐประหารร่วมกับประมุขของรัฐ ประเทศไทยเราอยู่ในประเภทนี้มากที่สุด ยกเว้นพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานโดยไม่มีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งมีที่มาจากรัฐธรรมนูญที่คณะรัฐประหารจัดให้มีขึ้นอีกทีหนึ่ง\n๑.๓ วิธีตรารัฐธรรมนูญ วิธีตรารัฐธรรมนูญหรือการใช้อำนาจสร้างองค์กรทางการเมือง มีสองแบบคือ วิธีการที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใช่หน้าที่ของนักกฎหมายมหาชนจะไปพูดถึงสิ่งเหล่านั้น กับวิธีการที่เป็นประชาธิปไตยตามคติสัญญาประชาคม ซึ่งจะดูตัวอย่างของ ๓ ประเทศ คือ อเมริกา ฝรั่งเศส และไทย\nในอเมริกา ปี ค.ศ. ๑๗๘๗ ประชาชนอเมริกาเลือกสภาที่เรียกว่า สภาคอนเวนชั่น ไปประชุมกันที่เมืองฟิลาเดลเฟีย ๕๕ คน มีจอร์จ วอชิงตันเป็นแกน สภาคอนเวนชั่นประชุมเป็นเวลา ๔ เดือน เขียนรัฐธรรมนูญอเมริกัน ก็ออกมาเป็นรัฐธรรมนูญที่สร้างระบบสหรัฐขึ้น คือมีมลรัฐ ๑๓ มลรัฐ และมีสหรัฐเป็นองค์กรที่ ๑๔ สร้างสภาคองเกรส สร้างประธานาธิบดีและศาลฎีกาขึ้นแต่ยังใช้บังคับไม่ได้ สภาคองเกรสต้องให้ความเห็นชอบกับรัฐธรรมนูญที่สภาคอนเวนชั่นร่างด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ สภาคองเกรสเป็นสภาที่ประชาชนเลือกตั้งเข้าไประดับสมาพันธรัฐ ให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ แต่ยังใช้บังคับไม่ได้ รัฐธรรมนูญยังกำหนดต่อไปว่าเมื่อสภาคองเกรสให้ความเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ แล้วต้องนำร่างรัฐธรรมนูญฉบับนั้นไปให้รัฐสภามลรัฐหรือสภาคอนเวนชั่นที่มลรัฐเลือกกันระดับมลรัฐให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง ๓ ใน ๔ โดยต้องให้ความเห็นชอบภายใน ๗ ปี รัฐธรรมนูญฉบับนั้นหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจึงจะใช้บังคับได้ เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่าการจัดทำรัฐธรรมนูญอเมริกันหรือการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญอเมริกันประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการแรกจนถึงกระบวนการสุดท้าย\nในฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญสาธารณรัฐที่ ๔ ปี ค.ศ.๑๙๔๖ กำหนดให้ประชาชนเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญโดยตรง เมื่อได้สภาร่างรัฐธรรมนูญมาแล้ว สภาร่างรัฐธรรมนูญต้องทำร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด และต้องนำร่างรัฐธรรมนูญนั้นไปขอประชามติจากประชาชน ถ้าประชาชนมีประชามติเสียงข้างมากให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญได้ก็ให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ถ้าประชาชนมีมติเสียงข้างมากไม่ให้ใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ให้ยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ผลที่เกิดขึ้นก็คือรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่สภาร่างรัฐธรรมนูญเสนอไปประชาชนไม่เห็นชอบต้องยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญเลือกตั้งใหม่ และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ไปขอประชามติครั้งที่ ๒ จึงให้ความเห็นชอบ เป็นกระบวนการประชาธิปไตยที่คนทั้งสังคมถูกดึงเข้ามาร่วมในการจัดทำรัฐธรรมนูญ เพราะเป็นสัญญาสังคมไม่ใช่กติกาที่ใครคนใดคนหนึ่งเขียนขึ้นแล้วสั่งลงไป\nประเทศไทยนั้น อำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ซับซ้อนมาก กล่าวคือ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๖ พุทธศักราช ๒๕๓๙ กำหนดให้มหาวิทยาลัยเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์ ทางกฎหมายมหาชน ทางการบริหารราชการแผ่นดิน และมีการรับสมัครระดับจังหวัด แล้วเลือกระดับจังหวัดให้เหลือจังหวัดละ ๑๐ คน รวม ๗๖๐ คน ทั้งหมดเสนอมาที่รัฐสภาเลือกให้เหลือ ๙๙ คน โดย ๒๓ คนมาจากนักกฎหมายมหาชน นักรัฐศาสตร์และผู้มีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดิน อีก ๗๖ คนมาจากตัวแทนจังหวัด จังหวัดละคน มีเวลาจัดทำร่างรัฐธรรมนูญภายใน ๒๔๐ วันให้เสร็จ ถ้าไม่เสร็จให้ยุบสภาร่างรัฐธรรมนูญ พอร่างรัฐธรรมนูญเสร็จให้นำร่างรัฐธรรมนูญนั้นไปให้ที่ประชุมร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาอันเป็นที่ประชุมร่วมรัฐสภาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบทั้งฉบับ รัฐสภาจะแก้ไม่ได้เลยแม้แต่คำเดียว ถ้าเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งถือว่าปฏิเสธ เมื่อถือว่าปฏิเสธรัฐธรรมนูญกำหนดว่าต้องเอาไปให้ประชาชนออกเสียงประชามติ ถ้าประชาชนลงคะแนนเสียงข้างมากว่ารับร่างรัฐธรรมนูญให้นำร่างรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ถ้าประชาชนออกเสียงเป็นประชามติด้วย คะแนนเสียงข้างมากบอกว่าไม่เอาก็ตกไปทั้งฉบับ ในการนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายนั้น ถ้าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธยให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นตกไป แสดงว่าพระราชอำนาจยับยั้งของพระมหากษัตริย์ในกรณีนี้เป็นพระราชอำนาจยับยั้งเด็ดขาด คือ รัฐธรรมนูญจะออกเป็นรัฐธรรมนูญไม่ได้ทั้งที่สภาร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบมาแล้ว แม้กระทั่งเมื่อประชาชนออกเสียงประชามติมาแล้ว ถ้าทูลเกล้า ฯ แล้วไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย รัฐธรรมนูญบอกให้ตกไปเลย แต่ถ้าทรงลงพระปรมาภิไธยก็ประกาศใช้ได้\nดังนั้นผู้ที่เป็นอำนาจก่อตั้งองค์กรทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงประกอบด้วย ๔ องค์กร ได้แก่พระมหากษัตริย์ ประชาชน รัฐสภา และสภาร่าง รัฐธรรมนูญ ขาดองค์กรใดองค์กรหนึ่งไม่ได้ รัฐสภาจะพิจารณารัฐธรรมนูญทั้งฉบับโดยไม่ผ่านสภาร่างรัฐธรรมนูญก็ทำไม่ได้ สภาร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาเสร็จจะไม่ให้รัฐสภาพิจารณาก็ไม่ได้ แต่ผ่านรัฐสภาแล้วผ่านประชาชนแล้วพระมหากษัตริย์ก็ทรงมีพระราชอำนาจยับยั้งเด็ดขาดองค์กรก่อตั้งรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ จึงเป็นองค์กรร่วมของพระมหากษัตริย์ ประชาชน รัฐสภา และสภาร่างรัฐธรรมนูญ\nสำหรับรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ถ้าพิจารณาดูแล้วก็ประกอบไปด้วยส่วนร่วมขององค์กรทั้งสี่เช่นกัน หากแต่มีจุดเด่น คือ อำนาจที่ไปผูกกับประชาชน คือ รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวให้จัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยบุคคลจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และภาคสังคม สองพันกว่าคน มารวมกันเป็นสมัชชาแห่งชาติและเลือกกันเองให้เหลือ ๑๐๐ คน เพื่อเป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญ และกำหนดให้มีคณะกรรมาธิการยกร่าง ๓๕ คน เป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ๒๕ คน และบุคคลซึ่งคณะรัฐประหารซึ่งแปรสภาพมาเป็นคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) เสนอแนะให้แต่งตั้งอีก ๑๐ คน ทำหน้าที่ยกร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อยกร่างรัฐธรรมนูญสำเร็จ ให้จัดทำคำชี้แจงเปรียบเทียบว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ต่างจากรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ อย่างไรพร้อมเหตุผลในการแก้ไขไปยังองค์กรต่าง ๆ คือ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ศาลต่าง ๆ และองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญทั้งหลาย และสถาบันอุดมศึกษา เพื่อพิจารณาและเสนอความเห็น\nจากนั้น เป็นหน้าที่ของสภาร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วันนับแต่วันเปิดประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญแล้วจึงให้ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติ หากประชาชนเห็นชอบก็ให้นำขึ้นทูลเกล้า ฯ ลงประปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญ แต่หากประชาชนลงมติไม่เห็นชอบก็ดี การร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จตามกำหนดก็ดี รัฐธรรมนูญชั่วคราวบัญญัติให้คณะรัฐมนตรีและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาตินำรัฐธรรมนูญฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงแล้วทูลเกล้า ฯ ต่อไป จึงต้องถือว่าอำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือพระมหากษัตริย์ประชาชนและสภาร่างรัฐธรรมนูญ\nส่วนในอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญมีข้อที่น่าสังเกต คือกลับนำไปไว้ที่รัฐสภา ไม่นำกลับไปหาประชาชน โดยการให้ลงประชามติอีกครั้งแต่อย่างใด ซึ่งไม่น่าจะเป็นเช่นนั้นเพราะเท่ากับให้อำนาจผู้แทนราษฎรมาแก้รัฐธรรมนูญที่ราษฎรเห็นชอบได้โดยลำพัง\n๒. ผลของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญ\n๒. ผลของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญ.\nการที่รัฐใดรัฐหนึ่งมีรัฐธรรมนูญขึ้นมา จะก่อให้เกิดผลสำคัญ ๓ ประการ\nประการที่ ๑ รัฐธรรมนูญทำให้สภาพที่ไร้กฎเกณฑ์เป็นสภาพที่มีกฎหมายและมีระเบียบ\nประการที่ ๒ รัฐธรรมนูญจะก่อตั้งระบบกฎหมายขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งระบอบการเมือง\nประการที่ ๓ รัฐธรรมนูญจะก่อตั้งรัฐขึ้นมาโดยแยกตัวบุคคลที่เป็นผู้ใช้อำนาจออกจากรัฐที่เป็นสถาบัน\nผลประการแรกที่ว่ารัฐธรรมนูญทำให้สภาพที่เป็นสภาพไร้กฎเกณฑ์ ไร้กฎหมาย วุ่นวาย เป็นสภาพที่มีกฎหมาย มีความสงบ มีความเรียบร้อย มีระเบียบ จะเห็นได้ว่าก่อนมีรัฐธรรมนูญในทุก ๆ สังคมจะเกิดสภาพที่ว่านี้ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสังคมที่มีการปฏิวัติโดยประชาชนหรือสังคมที่มีการประกาศเอกราชจากเมืองแม่ จะมีการรบพุ่ง มีความไร้ระเบียบ ไม่ทราบว่าอำนาจสูงสุดทางการเมืองอยู่ที่ใคร องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎเกณฑ์ไม่มีการใช้กฎเกณฑ์หรือการตัดสินตามกฎเกณฑ์ไม่มีความแน่นอนประการใดทั้งสิ้น เช่น สภาของฝรั่งเศส ปี ค.ศ. ๑๗๘๙ ที่ชาวบ้านเอาปืนเข้าไปยิงสู้กับทหารที่คุกบาสติลยึดอำนาจได้ มีความวุ่นวายระยะหนึ่ง เป็นสภาพที่ไร้ระเบียบไร้กฎเกณฑ์ ไร้กฎหมายโดยสิ้นเชิง จนกระทั่งมีการออกรัฐธรรมนูญขึ้นมาใช้รัฐธรรมนูญแล้ว องค์กรทางการเมืองทั้งหลายตามรัฐธรรมนูญก็ทำหน้าที่ของตนไป สภาพไร้ระเบียบ ไร้กฎหมายก็กลับไปสู่สภาพที่มีกฎหมาย\nเมื่อมีการจัดระเบียบ คือกำหนดว่าองค์กรใดมีอำนาจออกกฎหมาย องค์กรใดใช้กฎหมาย องค์กรใดมีอำนาจตัดสินข้อพิพาท สภาพไร้กฎเกณฑ์ที่ว่านั้นจะหมดไป เกิด สิ่งที่เรียกว่าความสงบเรียบร้อยและความมีระเบียบในรัฐและในสังคมขึ้นมาแทน จึงกล่าวว่า รัฐธรรมนูญเป็นสิ่งที่จัดระเบียบสังคม เพราะรัฐธรรมนูญกำหนดองค์กรที่มีอำนาจตัดสินใจในสังคมนั้น ผูกพันสังคมนั้น และทำให้สังคมนั้นมีความสงบเรียบร้อยมีระเบียบ เพราะฉะนั้น ผลประการแรกของอำนาจในการสถาปนาองค์กรทางการเมืองโดยการให้รัฐธรรมนูญคือทำให้สภาพไร้กฎเกณฑ์หมดลง เราจึงกล่าวว่ารัฐธรรมนูญนั้นสถาปนาระบบกฎหมายขึ้น\nผลประการที่สองที่ว่า รัฐธรรมนูญก่อตั้งระบบกฎหมายขึ้นมา ข้อนี้สำคัญมาก แต่เราไม่ค่อยเห็นความสำคัญกัน มักมองกฎหมายเป็นตัวบทบัญญัติ เป็นตัวกฎเกณฑ์ที่เป็นเรื่อง ๆ ไม่ได้มองกฎหมายว่าเป็นระบบกฎหมายที่เรียกว่า Legal System ระบบกฎหมายคือระบบการสร้างและการใช้บังคับกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่มีผลบังคับให้คนในสังคมต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เราเรียกว่า กฎเกณฑ์แห่งกฎหมาย หรือ Legal Norm ที่มีผลทำให้คนต้องปฏิบัติตามมีหลายประการ แต่ทุกอย่างมีที่มาจากรัฐธรรมนูญทั้งสิ้น เช่น พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง คำสั่งทางปกครอง นิติกรรมทางปกครอง คำพิพากษาหรือคำวินิจฉัยของศาล สัญญาหรือพินัยกรรม ทั้งหมดนี้มีผลทำให้คนต้องทำตามทั้งนั้น เพียงแต่กฎเกณฑ์เหล่านี้ซึ่งมีรูปแบบ มีชื่อต่าง ๆ กันนั้น สถานะอาจจะสูงต่ำไม่เท่ากัน เช่น พระราชบัญญัติสูงกว่ากฎกระทรวง พระราชบัญญัติสูงกว่าคำพิพากษาของศาล คำพิพากษาของศาลเหนือกว่าสัญญา เหนือกว่าพินัยกรรม\nนักนิติศาสตร์ชาวออสเตรียคนหนึ่งซึ่งมีชื่อเสียงมากของโลกคือ Hans Kelsen บอกว่ารัฐธรรมนูญสถาปนาระบบกฎหมายขึ้นทั้งระบบ เพราะรัฐธรรมนูญก่อตั้งองค์กรที่ให้มีอำนาจออกกฎเกณฑ์ระดับต่าง ๆ ทุกประเภทที่มีผลผูกพันให้บุคคลในสังคมนั้น ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นพระราชบัญญัติลงไปจนกระทั่งถึงพินัยกรรม หรือนิติกรรมที่เราทำกันได้โดยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายแพ่ง กำเนิดของสิ่งเหล่านั้นมาจากรัฐธรรมนูญทั้งสิ้น เพราะรัฐธรรมนูญตั้งสภา สภาออกพระราชบัญญัติ หรือประมวลกฎหมายมาให้อำนาจทำสัญญา มาให้อำนาจทำพินัยกรรม บุคคลจึงทำสัญญาและพินัยกรรมที่มีผลผูกพันกันได้ คำพิพากษาของศาลมีผลผูกพันคู่กรณี ถามว่าศาลเอาอำนาจจากไหนมาออกคำพิพากษา ถามว่าคณะรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงก็ดี คณะรัฐมนตรีบริหารราชการแผ่นดินโดยคำสั่งทางปกครองทั้งหลายก็ดีเป็นกฎเกณฑ์ทั้งสิ้น คณะรัฐมนตรีเอาอำนาจมาจากไหน ก็เอามาจากรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติที่สภาออก\nรัฐธรรมนูญจึงทำสิ่งที่มีความสำคัญมากคือตัวรัฐธรรมนูญจะก่อตั้งองค์กรนิติบัญญัติ แล้วก็ให้อำนาจองค์กรนิติบัญญัติออกกฎเกณฑ์ที่เรียกว่าพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบ้าง พระราชบัญญัติบ้าง ประมวลกฎหมายบ้าง กฎเกณฑ์เหล่านี้มีผลใช้บังคับผูกพัน กฎเกณฑ์เหล่านี้อาจจะกำหนดให้ทำนิติกรรม ทำสัญญา ทำพินัยกรรมต่อ แล้วสิ่งเหล่านี้ก็มาผูกพันประชาชน รัฐธรรมนูญสถาปนาองค์กรฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารก็มีอำนาจตามกฎหมายทั้งหลายออกพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ ข้อบัญญัติท้องถิ่น รวมไปจนถึงคำสั่งทางปกครองเป็นเรื่องเฉพาะ สิ่งเหล่านี้ก็มามีผลบังคับกับประชาชน ถ้าเกิดปัญหาขึ้นมารัฐธรรมนูญสถาปนาองค์กรตุลาการ องค์กรตุลาการออกกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่เรียกว่าคำพิพากษา มีผลผูกพันเพราะคำพิพากษาเป็นกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายที่เราต้องทำตาม ภาพทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่ารัฐธรรมนูญเป็นผู้ก่อตั้งระบบกฎหมายขึ้นทั้งระบบ เพราะรัฐธรรมนูญเป็นต้นกำเนิดการออกกฎเกณฑ์ที่มีผลใช้บังคับในสังคมทุกประเภททุกระดับ ตั้งแต่กฎเกณฑ์สูงสุดคือตัวรัฐธรรมนูญเองลงไปถึงพระราชบัญญัติ ลงไปถึงกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ ลงไปจนกระทั่งถึงคำสั่งทางปกครอง คำพิพากษา คำวินิจฉัย สัญญา พินัยกรรม ไปจนกระทั่งถึงอะไรก็ตามที่มีผลผูกพันในกฎหมายทุกชนิดสาวขึ้นไปจนถึงที่สุดแล้วมีที่มาจากรัฐธรรมนูญ เพราะฉะนั้น Kelsen จึงกล่าวว่าต้นตอของระบบกฎหมายอยู่ที่รัฐธรรมนูญ\nจากทฤษฎีของ Kelsen ที่ว่ารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งที่สถาปนาระบบกฎหมายขึ้นทั้งระบบ มีผู้กล่าวว่าหากมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญเมื่อใด นั่นคือระบบกฎหมายทั้งหมดถูกยกเลิกไปด้วย ซึ่งก็มีข้อโต้แย้งว่าในประเทศไทยมีการรัฐประหารมาแล้วถึง ๑๗ ครั้ง ยกเลิกรัฐธรรมนูญไปแล้วหลายฉบับ แต่ระบบกฎหมายไทยไม่ได้ถูกยกเลิกไปด้วย ความจริงแล้วมีการยกเลิก เพียงแต่คนที่เป็นคณะปฏิวัติมักจะออกประกาศของคณะปฏิวัติฉบับหนึ่งเป็นประกาศของคณะปฏิวัติฉบับแรก ๆ ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้ยกเลิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ให้ยกเลิกคณะรัฐมนตรี แต่ให้ศาลทั้งหลายยังคงทำหน้าที่อยู่ต่อไป โดยพิพากษาคดีทั้งหลายตามบทกฎหมาย และประกาศของคณะปฏิวัติ ซึ่งหมายความว่าคณะปฏิวัติทำให้ระบบกฎหมายเลิกไป แต่ก็ดึงให้ฟื้นคืนชีพกลับมาอีก โดยให้ศาลทำหน้าที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามบทกฎหมายที่มีอยู่ก่อนปฏิวัติเท่ากับเป็นการให้สัตยาบันบทกฎหมายต่าง ๆ ก่อนที่จะมีการปฏิวัติเข้ามาอีกแล้วไปเขียนไว้ในธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญชั่วคราวว่า บรรดาประกาศของคณะปฏิวัติ คำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิวัติให้มีผลใช้บังคับโดยชอบด้วยกฎหมายก็คือเอารัฐธรรมนูญไปรับรองอำนาจปฏิวัติซึ่งเป็นอำนาจปฏิวัติที่ไปรับรองระบบกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปแล้วให้ยังใช้ได้อยู่ (ดูคำวินิจฉัยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ ๑-๒/๒๕๕๐ และ ๓-๕/๒๕๕๐ ซึ่งให้เหตุผลไว้เช่นนี้) นี่คือผลประการที่สอง\nผลประการที่สามก็คือรัฐธรรมนูญสถาปนารัฐขึ้น แยกอำนาจการเมืองออกจากตัวคนไปเป็นรัฐธรรมนูญ แต่เดิมก่อนจะมีระบบรัฐธรรมนูญ คนกับอำนาจคือสิ่งเดียวกัน ในยุคก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ อำนาจการเมืองที่เราเรียกว่าอำนาจสูงสุดที่จะสั่งให้คนในสังคมทำตามความประสงค์ของผู้สั่งที่เป็นผู้ปกครองได้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลผู้เป็นหัวหน้า หัวหน้านั้นอาจจะเป็นกษัตริย์เป็นเจ้าเมืองหรือจะเป็นตำแหน่งอื่นก็ได้ มีคุณสมบัติเฉพาะพระองค์หรือเฉพาะตัวเป็นพิเศษ เช่น ฉลาด ดังเช่นพระเจ้าโซโลมอน ถ้าไม่ฉลาดก็ต้องแข็งแรงและรบเก่ง\nอำนาจการเมืองในยุคก่อนมีรัฐธรรมนูญจึงขึ้นอยู่กับคุณสมบัติส่วนพระองค์หรือส่วนบุคคลของผู้นำ ฉลาด เก่ง มีพวกมาก ในระบบแบบนี้ถ้าผู้นำยังฉลาดอยู่ ยังหนุ่มอยู่ ยังรบเก่ง อำนาจก็จะแข็ง แต่เมื่อผู้นำชราภาพ เจ็บป่วยหรืออ่อนแอลง อำนาจก็จะอ่อนลง อาจจะมีการแย่งชิงอำนาจโดยผู้มีความฉลาดกว่า หรือโดยผู้ที่แข็งแรงกว่าขึ้นมาฆ่ากษัตริย์ องค์เก่าบ้าง การที่อำนาจการเมืองเป็นเรื่องของคุณสมบัติตัวคนและเป็นของตัวคนจึงมีข้อเสีย ยิ่งใหญ่ประการที่หนึ่งก็คือมีความมั่นคงน้อย\nข้อเสียข้อที่สองของระบบอำนาจการเมืองเป็นของตัวบุคคลก็คือ เรื่องส่วนตัว เรื่องส่วนรวมปนกันไปหมด ภาษีอากรที่เก็บจากประชาชน แทนที่จะนำไปใช้บำรุงอาณาประชาราษฎร์ให้ผาสุก ก็นำไปใช้บำรุงบำเรอความสุขส่วนตัว\nนี่คือระบอบการเมืองการปกครองก่อนมีรัฐธรรมนูญ ทุกสังคมต้องผ่านมิตินี้มาแล้วทั้งสิ้น ยกเว้นสังคมเกิดใหม่ที่เป็นส่วนหนึ่งแห่งการแตกออกไปของสังคมเดิม เช่น สังคมอเมริกาที่เกิดจากการที่คนอังกฤษไปตั้งรกรากที่อเมริกา หรือสังคมออสเตรเลียที่เกิดจากคนอังกฤษยกกันไปตั้งรกรากที่ออสเตรเลีย แต่ถ้าเป็นสังคมที่มีดั้งเดิมอย่างเช่น สังคมไทย หรือฝรั่งเศส ล้วนแต่ผ่านยุคที่อำนาจเป็นของตัวคนมาแล้วทั้งนั้น เมื่ออำนาจเป็นของตัวคนก็มีความไม่มั่นคงแน่นอนไม่ต่อเนื่อง เวลาเข้มแข็งอำนาจก็เข้มแข็ง ถึงเวลาเจ็บป่วยแก่ชราอำนาจก็อ่อนลง มีการแย่งชิงอำนาจกัน ความไม่สงบก็เกิดขึ้น นอกจากนั้นเรื่องส่วนตัวเรื่องส่วนรวมปนเปไปหมด\nในสภาพอย่างนี้ รัฐไม่มี รัฐเกิดไม่ได้ เพราะรัฐจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการสมมติสถาบันขึ้นมาเรียกว่ารัฐ แล้วให้อำนาจสูงสุดทางการเมืองอยู่กับรัฐ เป็นของรัฐไม่ใช่ของคน รัฐตายไม่ได้ เช่นเดียวกับบริษัทซึ่งไม่ตาย เมื่ออำนาจการเมืองซึ่งเคยเป็นของตัวคนกลายเป็นของรัฐ รัฐไม่มีชีวิตเป็นนิติสมมุติเหมือนกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน จึงต้องอาศัยคนมาทำหน้าที่แทนรัฐในตำแหน่งต่างๆ เหมือนอาศัยคนมาทำหน้าที่กรรมการในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท รัฐเป็นสถาบันที่แยกออกจากตัวคนที่เป็นผู้ปกครอง ไม่ว่าคน ๆ นั้นจะเป็นประธานาธิบดี หรือนายกรัฐมนตรี เมื่อรัฐถูกสมมติให้มีอำนาจสูงสุดในรัฐ ก็มีการตั้งตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตำแหน่งปลัดกระทรวง ตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ตำแหน่งที่ตั้งขึ้นต้องมีหน้าที่รองรับ เมื่อมีหน้าที่ต้องทำแล้วก็ต้องให้อำนาจ อำนาจจึงเป็นผลมาจากการมีหน้าที่ เช่น มีหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการฟ้องผู้กระทำผิดในฐานะที่เป็นอัยการสูงสุดหรืออัยการ จึงให้อำนาจในการออกหมายเรียก ในการออกหมายจับเพื่อเอาตัวผู้กระทำผิดไปส่งศาล ให้อำนาจที่จะตรวจสำนวนสอบสวน ให้อำนาจที่จะสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อง ตำแหน่งในรัฐนั้นเป็นระบบแห่งตำแหน่ง เหมือนกับระบบแห่งกฎหมาย ระบบแห่งตำแหน่งมีตั้งแต่ตำแหน่งประมุขของรัฐมา จนกระทั่งตำแหน่งในฝ่ายบริหารระดับสูงสุดถึงต่ำสุด ในฝ่ายนิติบัญญัติก็จะมีตำแหน่งสูงสุดเรื่อยลงมา และฝ่ายตุลาการก็เป็นเช่นนั้น แต่ทั้งหมดนี้ก็อยู่ในหลักที่ว่ามีตำแหน่งแล้วในตำแหน่งต้องมีหน้าที่ และในการปฏิบัติหน้าที่ต้องมีอำนาจ แต่เมื่อตั้งตำแหน่งมีหน้าที่ในตำแหน่งและให้อำนาจแล้วก็ต้องอาศัยคน ตรงนี้จะต้องมีกฎเกณฑ์ในการให้คนเข้าสู่ตำแหน่ง เมื่อเข้าสู่ตำแหน่งแล้วก็ต้องมีกฎเกณฑ์ในการใช้อำนาจในตำแหน่ง กฎเกณฑ์เรื่องการพ้นจากตำแหน่ง การลงโทษทางวินัย ซึ่งทั้งหมดนี้รัฐธรรมนูญกำหนด รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่สถาปนารัฐขึ้นโดยการแยกตำแหน่งออกจากตัวคนของผู้ปกครอง\nในที่นี้ก็น่าจะกล่าวไว้ด้วยว่ารัฐนั้น อย่างไรเสียก็เป็นนิติบุคคลในทางมหาชน ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายใดจัดตั้งรัฐขึ้นมาดังเช่นนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน ฉะนั้นที่ว่าประเทศไทยไม่ใช่นิติบุคคลนั้น คงต้องพิจารณากันให้ดี เนื่องจากทำให้ประเทศไทยมีความพิเศษต่างจากนานาประเทศที่ประเทศไทยไม่ใช่นิติบุคคล แต่กระทรวงเป็นนิติบุคคล ในรัฐธรรมนูญของไทยก็มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องแยกอำนาจการเมืองออกจากตัวคนไปเป็นของรัฐ ดังนี้\nมาตรา ๑ “ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกไม่ได้”\nมาตรา ๓ วรรคหนึ่ง “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น ประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้”\nรัฐธรรมนูญสร้างรัฐขึ้นมาให้เป็นรัฐเดี่ยว รัฐธรรมนูญกำหนดว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน และรัฐธรรมนูญก็ให้ประมุขของรัฐที่เรียกว่าพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งที่มีพระราชอำนาจใช้พระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล เพราะรัฐธรรมนูญสถาปนารัฐและอำนาจสูงสุด และรัฐก็คือที่รวมของประโยชน์สาธารณะ ที่เป็นประโยชน์ส่วนรวมของคนทั้งหมดที่อยู่ในรัฐ รัฐธรรมนูญกำหนดตำแหน่งนายกรัฐมนตรี กำหนดหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมายและนโยบายที่แถลงต่อสภา ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน ตัวอย่างตำแหน่งเดียวคือตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในการเอาคนเข้ามาทำหน้าที่ รัฐธรรมนูญจะกำหนดกระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งคือผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจะต้องมาจาก ส.ส. ต้องได้คะแนนเสียงเห็นชอบในสภาผู้แทนราษฎรกึ่งหนึ่ง พอเข้าสู่ตำแหน่ง แล้วก็จะกำหนดกฎเกณฑ์การใช้อำนาจในตำแหน่งว่าจะเอาความเป็นส่วนตัวเข้ามาใช้อำนาจแอบแฝงในตำแหน่งไม่ได้ ถ้าใช้ความโลภเพื่อแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือที่ภาษากฎหมายเรียกว่าโดยทุจริต นั่นคือการแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวโดยใช้อำนาจในตำแหน่ง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ให้ลงโทษจำคุก หรือมีอคติจึงสั่งพักราชการลูกน้อง หรืออนุมัติเลื่อนขั้นเพราะความชอบพอส่วนตัวซึ่งถ้าพิสูจน์ได้ก็มีโทษจำคุกเช่นกัน เพราะฉะนั้น เจตนาพิเศษทั้งหลายที่อยู่ในประมวลกฎหมายอาญาหมวดว่าด้วยความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม เป็นหมวดที่กำหนดการใช้อำนาจในตำแหน่งว่าจะต้องไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาปนกับตำแหน่ง เป็นคุณธรรมพื้นฐาน ดังนั้น รัฐธรรมนูญกำหนดทั้งเรื่องการเข้าสู่ตำแหน่ง การใช้อำนาจในตำแหน่ง และการพ้นตำแหน่งด้วย รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่สถาปนารัฐขึ้น แยกตัวตนซึ่งเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคนออกจากสถาบัน จะเห็นได้ว่ารัฐไม่ตาย ตำแหน่งไม่ตาย แต่คนที่มาดำรงตำแหน่งตายได้แต่ตำแหน่งยังคงมีอยู่\nมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” มีมาตราเดียวเท่านั้นในรัฐธรรมนูญที่มีคำว่า “องค์” อยู่ข้างหน้า คำว่าพระมหากษัตริย์\nวรรคสอง “ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้” (ไม่มีคำว่าองค์)\nมาตรา ๙ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก”(ไม่มีคำว่าองค์)\nนอกจากในมาตรา ๘ วรรคหนึ่งแล้ว ตั้งแต่มาตรา ๑ จนถึงมาตรา ๓๐๙ จะใช้\nคำว่า “พระมหากษัตริย์” แต่เพียงคำเดียว ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นพระมหากษัตริย์เป็นตำแหน่งประมุขของรัฐ ในขณะที่องค์พระมหากษัตริย์นั้นคือส่วนพระองค์ของท่าน เพราะฉะนั้นรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง จึงถวายความคุ้มครองเอาไว้ว่า แม้กระทั่งเรื่องส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ก็ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ใครจะละเมิดมิได้ ไม่ใช่เฉพาะตำแหน่งที่ท่านดำรงอยู่ แต่ว่าตัวพระองค์ของท่านเองก็ทรงเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดไม่ได้ เพราะฉะนั้นรัฐธรรมนูญถวายความคุ้มครองแก่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่เฉพาะในตำแหน่งของท่าน แต่ถวายความคุ้มครองในฐานะส่วนพระองค์ด้วย เป็นข้อยกเว้นประการเดียวเท่านั้นที่กฎหมายคุ้มครองไปถึงตัวคนไม่ใช่เฉพาะตำแหน่ง ๆ เดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่เป็นข้อยกเว้นคือตำแหน่ง พระมหากษัตริย์ นอกนั้น รัฐธรรมนูญและกฎหมายคุ้มครองแต่ตำแหน่ง ไม่คุ้มครองตัวคน เช่น ดูหมิ่นนายกรัฐมนตรีในหน้าที่ก็ผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงาน แต่ถ้าไปดูหมิ่นในเรื่องส่วนตัวของนายกรัฐมนตรี ไม่เป็นดูหมิ่นเจ้าพนักงาน แต่ถ้าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ว่าในฐานะตำแหน่งหรือส่วนพระองค์ เป็นหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่กฎหมายคุ้มครองทั้งสิ้น\nรัฐธรรมนูญจึงเป็นเครื่องสถาปนารัฐขึ้นเป็นเครื่องแยกคนที่ใช้อำนาจชั่วคราว ซึ่งตายได้ ออกจากตัวตำแหน่งซึ่งทำแทนได้ แล้วรัฐธรรมนูญจะกำหนดวิธีการเข้าสู่ตำแหน่ง การใช้อำนาจในตำแหน่งและการพ้นตำแหน่ง ทำให้รัฐเป็นสถาบันที่แยกออกจากตัวคนซึ่งเป็นผู้ปกครอง ต่อแต่นี้ไปรัฐซึ่งทำเพื่อประโยชน์สาธารณะของคนทั้งหมดในรัฐโดยผ่านตำแหน่งต่าง ๆ ที่มีหน้าที่และอำนาจ จะไม่ใช่เรื่องส่วนตัวของคนซึ่งเป็นผู้ปกครองอีกต่อไป คนซึ่งเข้ามาทำหน้าที่ในตำแหน่งเปลี่ยนได้ แต่รัฐอยู่ที่นั่นเหมือนกับกรรมการบริษัท เปลี่ยนไปแต่บริษัทก็อยู่ที่นั้น นี่คือสิ่งที่เรียกว่าการทำให้อำนาจการเมืองหลุดจากความเป็นสมบัติส่วนบุคคลกลายเป็นสถาบันการเมือง และตรงนี้ก็คือรากฐานการวินิจฉัยความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อเจ้าพนักงานเพราะกฎหมายจะไม่คุ้มครองตัว คุ้มครองเฉพาะตำแหน่งหน้าที่และอำนาจในตำแหน่งเท่านั้น\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำนาม (Nouns) หมายถุง คำที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ รวมทั้งสิ่งที่เป็นนามธรรม\nชนิดคำนาม\n\nสามานยนาม (Common noun(\nวิสามานยนาม (Proper noun)\nสมุหนาม (Collective noun)\nวัตถุนาม (Material noun)\nอาการนาม (Abstracy noun)\nนามผสม (Compound noun)\nสามานยนาา\n\nวิสามานยนาม\nชนิดคำนาม.\nวิสามานยนาม.\nวิสามานยนาม หมายถึง ชื่อที่หมายความถึงวัตถุเพียงอย่างเดียว ซึ่งอาจเป็นบุคคล สถานที่หรือสิ่งของ\nวิสามานยนามจำกัดสิ่งของให้เป็นการใช้อย่างแคบ เช่น city (นคร) เป็นคำรวมที่ใช้กับสถานที่หระเภทเดียวกัน แต่ Bangkok เป็นชื่อของนครแห่งหนึ่ง และหมสยความถึงนครแห่งนี้แห่งเดียว ทั้บนี้ แม้ว่าบางนครอย่างเช่น Bostons หรือ Manchesters จะมีหลายแห่งและปรากฏอยู่ในรูปพหูพจน์ แต่ชื่อที่ซ้ำกันนั้นก็ยังเป็นวิสามานยนามอยู่ (อาจระบุภายหลังว่า Boston, Massach7setts หรือ Manchester, England เป็นต้น)\nสมุไนาม\nใมุหนาม.\nสมุหนาม หมายถึง นามที่เป็นชื่อของหาู่คณพ ฝูง พวก กลุ่ม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดที่สมุหนามไปประกอบกับสามานยนามโดยมี of มาคั่น เพื่อให้เน้นความเป็นหมู่คณะนั้นชัดยิ่งขึ้น ตามโครงสร้างดังนี้\nส่วนอีกชนิดหนึ่งเป็น คำคำเดียวที่มีความหมายแสดงหมวดหมู่ กลุ่มก้อนในตัวมันเองอยู่แล้ว เช่น family ครอบึรัว, qrmy กองทัพบก, flock ฝูงสัรว์, jury คณะลูกขุน, cabinet คณะรัฐมนตรี เป็นต้น\nวัตถุนาม\nวัตถุนาท.\nวัตถุนาม หมายถึง นามสามัญในแง่ที่ชื่อใช้กับทุกอนุภาคของสสารที่คล้ายกัน ไม่ได้หมายความถึงวัตถุโดด ๆ หรือแยกกัน เช่น glass, iron, clay, frost, rain, snow, wheat, wine, tea, sugar เป็นต้น\nอากาคนาม\nอาการนาม.\nอทการนาม หมายภึง นามที่เป็นชื่อของสภาวะ สถานะ คุณลักษณะ หรือการกระทำ โดยไม่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่เป็นรูปธรรม\nเช่น เมื่อะราพูดถึง a wise man (ผู้มีภูมิปัญญา) เรารับรู้คุณสมบัติหรือคุณภาพในตัวบุคคลคนหนึ่ง แต่ถ้าเราต้องการอธิบ่ยภึวคุณสมบัตเหรือคุณภาพนั้นโดยไม่นึกถึงบุคคลไปด้วย แปลว่าเรากำลังกล่าวถึง wisdon (ภูมิปัญญา) ซึ่งเป็นอาการนาม หรือเป็นชื่อเรียกของคุณสมบัติหรือคุณภาพที่เป็นนาใธรตม\nอาการนามแบทงได้เป็นสองกลุ่ม คือ\n\nAttribute nouns แสดงคุณพาพหรือคุณลักษณะหรือคุณภาพ มาจากคำคุณศัพท์ เช่น height จาก high, redness จาก red\nVerbal nouns บอหชื่อสถานะ ส_าพหรทอการกระทำ มาจากคำกริยา\n\nนามผสม\nยามผสม.\nนามผสม อาจแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ\n\nคำที่ประสมเข้าเป็นคำเดียว เช่น courtyard, stepson\nกลุ่มคำที่ส่วนแรกเป็นีำหลัก แล้วนามต่อมาเป็นคำขยาย เลืน court-mzrtial, father-in-law รายละเอียดการเปลี่ยนเป็นรูปพหูพจน์ ดูด้านล่าง\nการใช้คำนามแบบพิเศษ\n\n\nจุดกำเนิดของวัตถุใช้เป็นชื่อของวัตถุนุ้นเอง เช่น china (เครื่องถ้วยกระเบื้อง)\nเป็นชื่อของคนหรือสถานที่ที่มีละกษณะบางประการที่ใช้บรรยายคนหรือสถานที่อื่นที่มีคุณสมบัติเดียวกัน เช่น a Hercules (หมายถึง คนที่มีพละกำลังมาก)\n\nคำหรือกลุ่มคำประเภทอื่นที่ใช้เป็นคำนาม\nคำหรือกลุืมคำประเภทอื่นที่ใช้เป็นคำนาม.\nมีกนรนกคำหรือกลุ่มคำประ้ภทอท่นมาใช้เป็นนาม โดยมีที่มาจาก\n\nคกหน้าที่อื่น เช่น\n\nThe rreat, the wealthy, fear thy blow.—Burns. หมายถคง ผู้ยิ่งใหญา ผู้ม้่งมี\nSuch are the words a grave should use.—Cooper. หมสยถึฝ ผู้กล้า\n\nกลุ่มคำ เช่า\n\nToo swift arrives aw tardy as too slow.—Shakespeare. หมสยถึง คนที่มาเร็ว, คนที่มาช้า\nนามนับไม่ได้ (Uncountable หรือ mass noun)\n\n\nนามนับไม่ได้ (Uncountable หรือ mass noun).\nคำนามนับไม่ได้ไม่สามารถใส่ตัวเลขด้านหน้าโดยตรงดพื่อบอกจำนวนได้ แต่ให้ใช้หน่วยวัดทีีเจาะจง เช่น \"20 litres of water\" (ลองเทียบกับ 20 chairs)\nคำนามบางคำเป็นได้ทุ้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ตัวอย่างเช่น \"wine\" \nสองประโยคมีความหมายต่างกัน\nอคกตัวอย่างหนึ่ง เช่น \"cavbage\"\nข้างต้นสองบรรทัดมีความหมายัหมือนกัน\nเอกพจน์และพหูพจน์\nเอกพจน์และพหูพจน์ฦ\nในภาษาอังกฤษ อาจมีการเปลี่ยนรูปตามจำนวนพจน์ได้ คือ มีทั้งนาทรูปเอกพจน์ (singular) และพหูพจน์ (plurzl) เอกพจน์หมายถึงนามเดียว ส่วนพหูพจน์หมายถึงนามตั้งแต่สองขึ้นไป\nราขละเอียดของรูปเอกพจน์และพหูพจน์ของนามดูได้ในตารางด้านล่าง\nการใช้เอกพจน์หรือพหูพจน์\nกนรใช้เอกพจน์หรือพหูพจน์.\nปริมาณศูนย์เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน๋ แต่ถือเป็นพหูพจน์โดยปริยาย เช่น\nจุดทศนิยมเป็นพหูพจน์เสมอ ส่วนเศษส่วนให้ดูเศษ (ดูที่ บท \"จำนวน\") เช่น\nใช้รูปพหูพจน์กับคำที่ไม่มีรูปเอกพจน์ เช่น\nเพศของคำนาม\nเพศขเงคำยาม.\nในภาษาอังกฤษ คำนามสามารถมีได้ 2 เพศ คือ เพศชายหรือผู้ ฆmasculine) และัพศหญิงหรือเมีย (feminine) เพศของคำนามบอกได้จาก\n\nคำเติมหน้า (Prefix) เช่น\n\nshe-goat—he-goat, cock sparrow—hen sparrow\n\nคำเติมท้าย (Suffix) มักลงท้ายด้วย -ess เช่น\n\nlion—lioness๙ actor—actress\n\nคำที่รูปต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่เป็นคำที่เข้าคู่กัน เช่น\n\nboy—girl, king—queen, bull—cow\nหน้าที่ของคำนามในประโยค\n\n\nกรรตุการก\n\nเป็นประธานขอวกริยา\nเป็นนามภาคแสดง (predicate noun) หรือคำที่เติมกริยาให้สมบูรณ์ เช่น\n\n\"A bent twig makes a cro8ked tree.\"\n\nวางข้าง (in apposition) นามกรรตุการกอื่น เป็นการเพิ่มความหมายของคำนั้น เช่น\n\n\"The reaper Death with his sickle keen.\" (Death ขยาย the reaper)\n\nใช้เมื่อกล่าวด้วจโดยตรง (direct address) เช่น\n\n\"Lord Angus, thou hast lied!\"\n\nใช้กับ infinitive ในประโยคอุทาน เช่น\n\n\"David to d8e!\"\nกรรมกาาก\n\nเป๊นวัตถุโดจครงหรือโดขอ้อมของกริยท\nเป็นการนิยามการกระทภขแงกริยาโดยระบุเวลา การวัด ระยะทาง เป็นต้น คล้ายกับคำวิเศษณ์ ัช่น\n\n\"Cowards die many times befote their deaths.\"\n\nเป็นวัตถุที่มอง เป็นภาคแสดงทร่เติมกริยาให้สมบูรณ์ (คือไม่ใช่สิ่งเดียวกับประธาน) เช่น\n\n\"Time makes the worst enemies friends.\"\n\nเปฺนวัตถุของบุพบท เช่น\n\n\"\"He must have a long spoon that would ezt eith the devil.\"\n\nวางข้าฝกรรมการพอื่น เช่น\n\n\"The opinions of this junto were completely contr8lled by Nicholas Vedder, a patria3cm of the village, and landlord of the inn.\"\nสัมพันธการก\n\nสัมดันธการกวางข้าง (Appositional possessive) เทียบเท่ากับกรรมการกวางข้าง (appositional objective) เช่น\n\nThe blind old man of Scio's rocky lsle.—Byron )= the rocky isle of Scio)\n\nสัมพันธการกกรรม (Objectide possessive) เทียบเท่ากับกรรมหารกตามหลังกริยา เช่น\n\n\"He passes to-day in building an air castle for to-morrow, or in writing yesterday's elegy.\"—Thackeray (= an elegy to commemorate yesterday)\n\nสัมพันธการกรรตุ (Subkective possessive) เทียบเท่ากับกรรตุการก เช่น\n\nThe unqearied sun, from day to day,\nDoes his Creator's power display.\n—Addison.\n\nหมายเหตุ\nบางครั้งละ s ในสัมพันธการกเอกพจน์ถ้าคำลงท้ายด้งยเสียงเสียดแทรก (hissing) แล้วเสียงเสียดแทรกอีกดสียงหนึ่งตามมา เหลือเฉพาะเครื่องหมายอะพอสทรอพี เช้น\n\nfor goodness[ sake\n\nในวลีความซ้อน เติมอะพอสทรอพีหลังคำสุดท้าย เช่น\n\nThey invited me in the emperor their master's name.—Swift.\n\nพบการใช้ double possessive ซึ่งมีเพื่อเน้นคำ หรือเพื่อเลี่ยงความกำกวม เช่น\n\nBesides these famous books of Scott's and Johnson's, there is a copious \"Life\" by Thomas Sheridan.—Thackeray\nอ้างอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1885. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำนาม (Nouns) หมายถึง คำที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ รวมทั้งสิ่งที่เป็นนามธรรม\nชนิดคำนาม\n\nสามานยนาม (Common noun)\nวิสามานยนาม (Proper noun)\nสมุหนาม (Collective noun)\nวัตถุนาม (Material noun)\nอาการนาม (Abstract noun)\nนามผสม (Compound noun)\nสามานยนาม\n\nวิสามานยนาม\nชนิดคำนาม.\nวิสามานยนาม.\nวิสามานยนาม หมายถึง ชื่อที่หมายความถึงวัตถุเพียงอย่างเดียว ซึ่งอาจเป็นบุคคล สถานที่หรือสิ่งของ\nวิสามานยนามจำกัดสิ่งของให้เป็นการใช้อย่างแคบ เช่น city (นคร) เป็นคำรวมที่ใช้กับสถานที่ประเภทเดียวกัน แต่ Bangkok เป็นชื่อของนครแห่งหนึ่ง และหมายความถึงนครแห่งนี้แห่งเดียว ทั้งนี้ แม้ว่าบางนครอย่างเช่น Bostons หรือ Manchesters จะมีหลายแห่งและปรากฏอยู่ในรูปพหูพจน์ แต่ชื่อที่ซ้ำกันนั้นก็ยังเป็นวิสามานยนามอยู่ (อาจระบุภายหลังว่า Boston, Massachusetts หรือ Manchester, England เป็นต้น)\nสมุหนาม\nสมุหนาม.\nสมุหนาม หมายถึง นามที่เป็นชื่อของหมู่คณะ ฝูง พวก กลุ่ม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดที่สมุหนามไปประกอบกับสามานยนามโดยมี of มาคั่น เพื่อให้เน้นความเป็นหมู่คณะนั้นชัดยิ่งขึ้น ตามโครงสร้างดังนี้\nส่วนอีกชนิดหนึ่งเป็น คำคำเดียวที่มีความหมายแสดงหมวดหมู่ กลุ่มก้อนในตัวมันเองอยู่แล้ว เช่น family ครอบครัว, army กองทัพบก, flock ฝูงสัตว์, jury คณะลูกขุน, cabinet คณะรัฐมนตรี เป็นต้น\nวัตถุนาม\nวัตถุนาม.\nวัตถุนาม หมายถึง นามสามัญในแง่ที่ชื่อใช้กับทุกอนุภาคของสสารที่คล้ายกัน ไม่ได้หมายความถึงวัตถุโดด ๆ หรือแยกกัน เช่น glass, iron, clay, frost, rain, snow, wheat, wine, tea, sugar เป็นต้น\nอาการนาม\nอาการนาม.\nอาการนาม หมายถึง นามที่เป็นชื่อของสภาวะ สถานะ คุณลักษณะ หรือการกระทำ โดยไม่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่เป็นรูปธรรม\nเช่น เมื่อเราพูดถึง a wise man (ผู้มีภูมิปัญญา) เรารับรู้คุณสมบัติหรือคุณภาพในตัวบุคคลคนหนึ่ง แต่ถ้าเราต้องการอธิบายถึงคุณสมบัติหรือคุณภาพนั้นโดยไม่นึกถึงบุคคลไปด้วย แปลว่าเรากำลังกล่าวถึง wisdom (ภูมิปัญญา) ซึ่งเป็นอาการนาม หรือเป็นชื่อเรียกของคุณสมบัติหรือคุณภาพที่เป็นนามธรรม\nอาการนามแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ\n\nAttribute nouns แสดงคุณภาพหรือคุณลักษณะหรือคุณภาพ มาจากคำคุณศัพท์ เช่น height จาก high, redness จาก red\nVerbal nouns บอกชื่อสถานะ สภาพหรือการกระทำ มาจากคำกริยา\n\nนามผสม\nนามผสม.\nนามผสม อาจแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ\n\nคำที่ประสมเข้าเป็นคำเดียว เช่น courtyard, stepson\nกลุ่มคำที่ส่วนแรกเป็นคำหลัก แล้วนามต่อมาเป็นคำขยาย เช่น court-martial, father-in-law รายละเอียดการเปลี่ยนเป็นรูปพหูพจน์ ดูด้านล่าง\nการใช้คำนามแบบพิเศษ\n\n\nจุดกำเนิดของวัตถุใช้เป็นชื่อของวัตถุนั้นเอง เช่น china (เครื่องถ้วยกระเบื้อง)\nเป็นชื่อของคนหรือสถานที่ที่มีลักษณะบางประการที่ใช้บรรยายคนหรือสถานที่อื่นที่มีคุณสมบัติเดียวกัน เช่น a Hercules (หมายถึง คนที่มีพละกำลังมาก)\n\nคำหรือกลุ่มคำประเภทอื่นที่ใช้เป็นคำนาม\nคำหรือกลุ่มคำประเภทอื่นที่ใช้เป็นคำนาม.\nมีการนำคำหรือกลุ่มคำประเภทอื่นมาใช้เป็นนาม โดยมีที่มาจาก\n\nคำหน้าที่อื่น เช่น\n\nThe great, the wealthy, fear thy blow.—Burns. หมายถึง ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้มั่งมี\nSuch are the words a brave should use.—Cooper. หมายถึง ผู้กล้า\n\nกลุ่มคำ เช่น\n\nToo swift arrives as tardy as too slow.—Shakespeare. หมายถึง คนที่มาเร็ว, คนที่มาช้า\nนามนับไม่ได้ (Uncountable หรือ mass noun)\n\n\nนามนับไม่ได้ (Uncountable หรือ mass noun).\nคำนามนับไม่ได้ไม่สามารถใส่ตัวเลขด้านหน้าโดยตรงเพื่อบอกจำนวนได้ แต่ให้ใช้หน่วยวัดที่เจาะจง เช่น \"20 litres of water\" (ลองเทียบกับ 20 chairs)\nคำนามบางคำเป็นได้ทั้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ตัวอย่างเช่น \"wine\" \nสองประโยคมีความหมายต่างกัน\nอีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น \"cabbage\"\nข้างต้นสองบรรทัดมีความหมายเหมือนกัน\nเอกพจน์และพหูพจน์\nเอกพจน์และพหูพจน์.\nในภาษาอังกฤษ อาจมีการเปลี่ยนรูปตามจำนวนพจน์ได้ คือ มีทั้งนามรูปเอกพจน์ (singular) และพหูพจน์ (plural) เอกพจน์หมายถึงนามเดียว ส่วนพหูพจน์หมายถึงนามตั้งแต่สองขึ้นไป\nรายละเอียดของรูปเอกพจน์และพหูพจน์ของนามดูได้ในตารางด้านล่าง\nการใช้เอกพจน์หรือพหูพจน์\nการใช้เอกพจน์หรือพหูพจน์.\nปริมาณศูนย์เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ แต่ถือเป็นพหูพจน์โดยปริยาย เช่น\nจุดทศนิยมเป็นพหูพจน์เสมอ ส่วนเศษส่วนให้ดูเศษ (ดูที่ บท \"จำนวน\") เช่น\nใช้รูปพหูพจน์กับคำที่ไม่มีรูปเอกพจน์ เช่น\nเพศของคำนาม\nเพศของคำนาม.\nในภาษาอังกฤษ คำนามสามารถมีได้ 2 เพศ คือ เพศชายหรือผู้ (masculine) และเพศหญิงหรือเมีย (feminine) เพศของคำนามบอกได้จาก\n\nคำเติมหน้า (Prefix) เช่น\n\nshe-goat—he-goat, cock sparrow—hen sparrow\n\nคำเติมท้าย (Suffix) มักลงท้ายด้วย -ess เช่น\n\nlion—lioness, actor—actress\n\nคำที่รูปต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่เป็นคำที่เข้าคู่กัน เช่น\n\nboy—girl, king—queen, bull—cow\nหน้าที่ของคำนามในประโยค\n\n\nกรรตุการก\n\nเป็นประธานของกริยา\nเป็นนามภาคแสดง (predicate noun) หรือคำที่เติมกริยาให้สมบูรณ์ เช่น\n\n\"A bent twig makes a crooked tree.\"\n\nวางข้าง (in apposition) นามกรรตุการกอื่น เป็นการเพิ่มความหมายของคำนั้น เช่น\n\n\"The reaper Death with his sickle keen.\" (Death ขยาย the reaper)\n\nใช้เมื่อกล่าวด้วยโดยตรง (direct address) เช่น\n\n\"Lord Angus, thou hast lied!\"\n\nใช้กับ infinitive ในประโยคอุทาน เช่น\n\n\"David to die!\"\nกรรมการก\n\nเป็นวัตถุโดยตรงหรือโดยอ้อมของกริยา\nเป็นการนิยามการกระทำของกริยาโดยระบุเวลา การวัด ระยะทาง เป็นต้น คล้ายกับคำวิเศษณ์ เช่น\n\n\"Cowards die many times before their deaths.\"\n\nเป็นวัตถุที่สอง เป็นภาคแสดงที่เติมกริยาให้สมบูรณ์ (คือไม่ใช่สิ่งเดียวกับประธาน) เช่น\n\n\"Time makes the worst enemies friends.\"\n\nเป็นวัตถุของบุพบท เช่น\n\n\"\"He must have a long spoon that would eat with the devil.\"\n\nวางข้างกรรมการกอื่น เช่น\n\n\"The opinions of this junto were completely controlled by Nicholas Vedder, a patriarch of the village, and landlord of the inn.\"\nสัมพันธการก\n\nสัมพันธการกวางข้าง (Appositional possessive) เทียบเท่ากับกรรมการกวางข้าง (appositional objective) เช่น\n\nThe blind old man of Scio's rocky isle.—Byron (= the rocky isle of Scio)\n\nสัมพันธการกกรรม (Objective possessive) เทียบเท่ากับกรรมการกตามหลังกริยา เช่น\n\n\"He passes to-day in building an air castle for to-morrow, or in writing yesterday's elegy.\"—Thackeray (= an elegy to commemorate yesterday)\n\nสัมพันธการกรรตุ (Subjective possessive) เทียบเท่ากับกรรตุการก เช่น\n\nThe unwearied sun, from day to day,\nDoes his Creator's power display.\n—Addison.\n\nหมายเหตุ\nบางครั้งละ s ในสัมพันธการกเอกพจน์ถ้าคำลงท้ายด้วยเสียงเสียดแทรก (hissing) แล้วเสียงเสียดแทรกอีกเสียงหนึ่งตามมา เหลือเฉพาะเครื่องหมายอะพอสทรอพี เช่น\n\nfor goodness' sake\n\nในวลีความซ้อน เติมอะพอสทรอพีหลังคำสุดท้าย เช่น\n\nThey invited me in the emperor their master's name.—Swift.\n\nพบการใช้ double possessive ซึ่งมีเพื่อเน้นคำ หรือเพื่อเลี่ยงความกำกวม เช่น\n\nBesides these famous books of Scott's and Johnson's, there is a copious \"Life\" by Thomas Sheridan.—Thackeray\nอ้างอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/รำสรรพนาม",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำสรรพนาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาฒาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคึณศัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Tense ~ กาล เป็นการศึกษารูปแบบของคำกริยา ที่แสดงถึงเหตุการณ์หรือการกระทำว่าเกิดขึ้น ณ เวลาใด เช่น เกิดขึ้นแล้ว กำชังเกิดขึ้นอยู่ หรือว่ายังไม่ทันเกิดขึ้น และจบลงเมื่อไร กนลในภาษาอัวกฤษแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ปัจจุบันกาล อดีตกาล และอนาคตกาล แต่ละกาลที่กล่าวมายังแบ่งได้อีกอย่างละ 4 ำาลย่อยด้วยกัน าั้งหมด 12 กาลย่อย และมีโครงสร้างดังนารางข้างล่างนี้",
"role": "user"
},
{
"content": "Tense ~ กาล เป็นการศึกษารูปแบบของคำกริยา ที่แสดงถึงเหตุการณ์หรือการกระทำว่าเกิดขึ้น ณ เวลาใด เช่น เกิดขึ้นแล้ว กำลังเกิดขึ้นอยู่ หรือว่ายังไม่ทันเกิดขึ้น และจบลงเมื่อไร กาลในภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ปัจจุบันกาล อดีตกาล และอนาคตกาล แต่ละกาลที่กล่าวมายังแบ่งได้อีกอย่างละ 4 กาลย่อยด้วยกัน ทั้งหมด 12 กาลย่อย และมีโครงสร้างดังตารางข้างล่างนี้",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การพักผ่อน - Loisirs\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "การพักผ่อน - Loisirs\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ช้อปปิ้ง - Shopping\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ช้อปปิ้ง - Shopping\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พีระมิด 5 มุม\nดูเพิ่ม\n\n\nลูกบาศก์\nพีระมิด 5 มุม",
"role": "user"
},
{
"content": "พีระมิด 5 มุม\nดูเพิ่ม\n\n\nลูกบาศก์\nพีระมิด 5 มุม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nลูกบาศก์",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nลูกบาศก์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติภาษายาลีและภาษาสันสกฤต\nภาษาบาลีปละภาษาสันสกฤต จัดอยู่ภาษาอ้นเดีย-ยุโรป ซึ่งเป็นตระกูลภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย พวกอารยันได้เข้ามาในอินเดีย เมื่อประมาณ 1,500 ปี ก่อนคริสตศักราช (ปรีชา ทิชินพงศ๋, 2534 : 1) นักปราชญ์ทางภาษาได้แบ่งภาษาตระกูลอารยันในอินเดีจเอกเป็น 3 สมัย ดังนี้\n\nภาษาสมัยเก่า หมายถึงภาษาที่ใช้ในคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์อุปนิษัท ซึ่งเป็นคัมภีร์สุดท้ายของคัมภรร์พระเวท (เวทานน์) ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์ต่างๆ เหล่านี้จะมีความเก่าแด่ลดหลั่นกันมาตามลำดับ ภาษาสันสกฤตก็จัดอยู่ในสมัยนีิด้วย\nภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่งเป็นภาษาถิ่นของชาวอารยันที่ใช้กันท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศอินเดีย เช่นภาษามาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เป็นต้น ภาษาในสมัยนี้มีลักษณะโครงสร้างทางเสียง และนอกจากจะเรียกว่าภาษาปรากฤตแล้วยังมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาการละคร” เพราะเหตุที่นำไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤตด้วย\nภาษาสสัยใหม่ ได้แก่ ภาษาต่างๆในปัจจุบัน เช่น ภาษาฌินดี เบงพาลี ปัญจาบี มราฐี เนปาลี เป็นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสทบมาจากภาษาปรากฤต แต่มีลักษณะของภาษาผิดพันมาก เพราะมีภาษาตระกูลอื่นที่ไม่ได้สืบมาจากภาษาของชาวอารยันเข้าไปปะปากันมากบ้างน้อยบ้าง แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศนสตร์\n\nภาษาสันสปฤต เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภา?าในคัมภีร์พระเวทของชาวอทรยัน ะือเป็นภาษาทค่ศักดิ์สิทธิ์ของรยชั้นสูง แต่เดิมนั้นไม่ได้มีการวางกลักิกณฑ์เคร่งครัดนัก ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่งงไปนานๆ ประกอบกับภาษาในคัมภีร์พระเวทนี้มีภาษาพื้นเมืองปะปนอยู่มาก เป็ตเหตุให้หลักอกณฑ์ต่างๆ ของภาษานี้คลาดเคลื่อนไปมาก จนกระทั่งได้มีนักปราชญ์ของอินเดียคนหนึ่งชื่อ “ปาณินิ” ได้ศึกษาคัมภีร์พระเวททั้งหลาย แล้วนำมาแจกแจงวางหลักเกณฑ์ให้เป็นระเบียบและรัดกุม แต่งเป็นตำราไวยากรณ์ขึ้นเรีนกชื่อว่า “อัษฎาธยายี” ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นตำราไวยากรณ์เล่มแรกที่แต่งได้ดีที่สุดและมีชื่อเสียงไปทั่วโลก แลดต่อมาได้มีผู้เรียกภาษาที่ปาณินิได้จัดระเบียบของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ที่สุดนี้ว่า “สันสกฤต” ซึ่งแปลจามศัพท์ว่า “สิ่ฝที่ได้จัดระเบ่ยบและขัดเกลาอรียบร้อยดีแล้ย” แต่กฎเกณฑ์ที่ปาณินิได้วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาสันสกฤตไม่มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจากภมษาสันสกฤตจะถือว่าเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริย์และพราหมณ์ที่เป็นบุรึษเพศ ำฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทำให้ไม่เอื้อต่อการใช้ นึงทำให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาตายในที่สุด\nภาษาบาลี\nภาษาบาลี เห็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่งที่มควิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวท ภาษาบาลี คือ ภาษาที่ชาวมคธใช้พูดกันในแคว้นมคธ เรียกว่า “ภาษามาคธี” พระพุทธเจ้าทรงใช้ภาษานี้ประกนศพระศาสนาของพรเองค์ ภาษามาคธีนี้แบ่งดอกเป็น 2 ประเภท คือ (เจเม ชุมเกตุ, 2525:3)\n\nสุทธมาคธี เป็นภาษาของชนชั้นสูง คือภาษาของกษัตริย์หรือภาษาทางราชการ\nเทสิยา หรือ ปรากฤต ได้แก่ ภาษาประจำถิ่น\n\nเหตุที่คำภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย\nเมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในสู่ประเทศไทย และคนไทยได้ยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ คนไทยจึงจำเป็นต้องเรียนภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะคำสอนทางศาสนทเป็นภาษาบาลีและส้นสกฤต (สันใกฤต : มหายาน) ดังนั้นจึงได้เกิดคำำาษาบางีและสันสกฤตใช้ในภาษาไทยมากขึ้น (วิสันติ์ กฎแก้ว, 252o : 1) นอกจากการรับนับถือศาสนาพุทธแล้ว ไทยยังได้รับเอาความเชื่อ ขนบํรรมเนียทประเพณร พิธีำรรมต่างๆ รวมทั้งวรรณคดีบาลีและสันสกฤตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นส่วนทำให้เรารับคำภาษาบาลีและสันสกฤตซึ่งเป็นคำที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งร่มงๆ เหล่านั้น เข้ามาใช้ในภาษาไทย\nสุธิวงศ์ พงษ์บูลย์ (2523 : 5) ได้ปล่รวถึงเหตุที่คำภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปนอยู่ในภาษาไทยว่า เนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ สรุปได้ดังนี้\n\nความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา เมื่อศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธเผยแพร่เข้ามาสู่ประเทซไทน ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษามันสกฤต และศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ในการเผยแผ่ศาสนา _ทยได้รับศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ และาับคติของศาสนาพราหมณ์มาปฏิบัคิในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในลัทธิธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เราจังรับคำในลัทธิทั้งสองเข้ามาใช้ในลัดษณะของศัพท์ทางศาสนา และใช้เป็นศ้พท์นามัญทั่วไปในชีวิตประจำวัน\nความสัมพันธ์ทางด้านประเพณี เมื่อชนชาติอินเดียได้เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย ก็นำเอาประเพณีของตนเข้ามาปฏิบัติ ทำให้าีคำที่เนื่องด้วยประเพณีเข้ามาปะปนในภาษาไทย และนานเข้าก็ได้กลายเป็จคำที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันจองคนไทย เช่น ตรียัมปวาย มาฆบูขา ตักบาตรเทโว ดิถี กระยาสารท เทศน์มหาชาติ กฐิน จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ฉัตรมงคล พืชมงคล เป็นต้น\nความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม อิรเดียเป็นแระเทศที่เจริญทางด้านวัฒนธรรมมานาน อิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมของอินเดียมีต่อนานาประเทศทางภาคพื้นตะวันออกก่อนที่วัฒนธรรมตะวันตกจะเข้ามา ไทยได้รับอิทธิพลของอินเดียทุกสาขา เช่น\n\nศิลปะ ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น ทางดนตรีและนาฏศิลป์ ภาษาที่ใช้เนื่องด้วยเป็นศิลปะจึงเข้ามาปะปสในภาษาไทย เช่น มโหรี ดนตรี ปี่พาทย์\nดาราศาสตร์ อินเดียมึความเจริญทางด้านดาราศาสตร์มาช้านานจนมีตำราเรียนกัน เมื่อวิชานี้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย ทำให้คำต่มงๆที่เกี่ยวข้องเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เช่น สุริยคติ จันทรคติ จันทรคราส\nการแต่งกาย ศัพท์ทางด้านวัฒนธรรมการแต่วกายที่ได้รับมาส่วนใหญ่เป็นเคริ่องทรงของพระมห่กษัตริย์ ้ช่น มงกุฎ ชฎา สังวาล\nสิ่งก่อสร้าง คำภาษาบาลีและสันสกฤตที่ิกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง ส่วนใหญ่เป็นศัพท์ที่เรียกชื่อส้่งก่อสร้างทางศาสนาและราบวัง เช่น นภศูล ปราสาท เจดีย์\nเครื่องมือเครื่องใชี เครื่องมือเครื่องใบ้ที่ชาวอินเดียนำเข้ามาในประเทศไทย ทำให้เราได้รับคำที่เรียปเครื่องมือเครื่องใช้นั้นๆเข้ามาใช้ด้วย เช่น อาวุธ ทัพพี ครโท\nการใช้ราชาศัพท์ การใช้คาชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมแย่างหนึ่งของไทย ที่ต้องการแยกศัพท์ของคนสามัญชนออกจากศัพท์ที่ใช้กับพระราชาและเชื้อพระวงศ์ เป็นเหตุให้เรารับคำบาลีและสันสกฤต ซึ่งถือว่าเป็นภาษาที่สูงเข้ามนใช้ เช่น พระเนตต พระบาท พระกรรณ บางคำำ็รับเข้่มาเป็นคำสุภาพ เช่น บิดา มารดา ฯลฯ\n\nความสัมพันธ์ทางด้านวิชาการ เนื่องจากวิทยาศาสตร์และวิทยาการเจริญกว้างขวางขึ้น ทำให้คำที่เราใช้อยู่เดิมแคบเข้า จึงจำเป็นต้องรับคำบาลี สันสกฤต เข้ามาใช้ เพื่อความ้จริญและความสะดวก เช่น วิทยุ โทรทัศน์ แพทย์ เภสัช ฯลฯ\nความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี วรรณึดีอินเดียมีอิทธิพลตรอวรรณคดีไทยเป็นอย่างยิ่ง ทั้งวรรณคดีสันสกฤต และวรรณคดีที่เนื่องาาจากชาดกในพระถุทธศาสนา เมื่อเรารับเอาวรรณคดีเหล่านี้เขิามา จึงมีศัพท์ร่างๆที่เกี่ยวกับวรรณคดีเหล่านี้เข้ามาาากมาย เบ่น ครุฑ สุัมรู หิมพานต์ ฯลฯ",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต\nภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต จัดอยู่ภาษาอินเดีย-ยุโรป ซึ่งเป็นตระกูลภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย พวกอารยันได้เข้ามาในอินเดีย เมื่อประมาณ 1,500 ปี ก่อนคริสตศักราช (ปรีชา ทิชินพงศ์, 2534 : 1) นักปราชญ์ทางภาษาได้แบ่งภาษาตระกูลอารยันในอินเดียออกเป็น 3 สมัย ดังนี้\n\nภาษาสมัยเก่า หมายถึงภาษาที่ใช้ในคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์อุปนิษัท ซึ่งเป็นคัมภีร์สุดท้ายของคัมภีร์พระเวท (เวทานต์) ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์ต่างๆ เหล่านี้จะมีความเก่าแก่ลดหลั่นกันมาตามลำดับ ภาษาสันสกฤตก็จัดอยู่ในสมัยนี้ด้วย\nภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่งเป็นภาษาถิ่นของชาวอารยันที่ใช้กันท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศอินเดีย เช่นภาษามาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เป็นต้น ภาษาในสมัยนี้มีลักษณะโครงสร้างทางเสียง และนอกจากจะเรียกว่าภาษาปรากฤตแล้วยังมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาการละคร” เพราะเหตุที่นำไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤตด้วย\nภาษาสมัยใหม่ ได้แก่ ภาษาต่างๆในปัจจุบัน เช่น ภาษาฮินดี เบงกาลี ปัญจาบี มราฐี เนปาลี เป็นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสืบมาจากภาษาปรากฤต แต่มีลักษณะของภาษาผิดกันมาก เพราะมีภาษาตระกูลอื่นที่ไม่ได้สืบมาจากภาษาของชาวอารยันเข้าไปปะปนกันมากบ้างน้อยบ้าง แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์\n\nภาษาสันสกฤต เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ถือเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนชั้นสูง แต่เดิมนั้นไม่ได้มีการวางหลักเกณฑ์เคร่งครัดนัก ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไปนานๆ ประกอบกับภาษาในคัมภีร์พระเวทนี้มีภาษาพื้นเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของภาษานี้คลาดเคลื่อนไปมาก จนกระทั่งได้มีนักปราชญ์ของอินเดียคนหนึ่งชื่อ “ปาณินิ” ได้ศึกษาคัมภีร์พระเวททั้งหลาย แล้วนำมาแจกแจงวางหลักเกณฑ์ให้เป็นระเบียบและรัดกุม แต่งเป็นตำราไวยากรณ์ขึ้นเรียกชื่อว่า “อัษฎาธยายี” ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นตำราไวยากรณ์เล่มแรกที่แต่งได้ดีที่สุดและมีชื่อเสียงไปทั่วโลก และต่อมาได้มีผู้เรียกภาษาที่ปาณินิได้จัดระเบียบของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ที่สุดนี้ว่า “สันสกฤต” ซึ่งแปลตามศัพท์ว่า “สิ่งที่ได้จัดระเบียบและขัดเกลาเรียบร้อยดีแล้ว” แต่กฎเกณฑ์ที่ปาณินิได้วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาสันสกฤตไม่มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจากภาษาสันสกฤตจะถือว่าเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริย์และพราหมณ์ที่เป็นบุรุษเพศ กฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทำให้ไม่เอื้อต่อการใช้ จึงทำให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาตายในที่สุด\nภาษาบาลี\nภาษาบาลี เป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวท ภาษาบาลี คือ ภาษาที่ชาวมคธใช้พูดกันในแคว้นมคธ เรียกว่า “ภาษามาคธี” พระพุทธเจ้าทรงใช้ภาษานี้ประกาศพระศาสนาของพระองค์ ภาษามาคธีนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (เจิม ชุมเกตุ, 2525:3)\n\nสุทธมาคธี เป็นภาษาของชนชั้นสูง คือภาษาของกษัตริย์หรือภาษาทางราชการ\nเทสิยา หรือ ปรากฤต ได้แก่ ภาษาประจำถิ่น\n\nเหตุที่คำภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย\nเมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในสู่ประเทศไทย และคนไทยได้ยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ คนไทยจึงจำเป็นต้องเรียนภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะคำสอนทางศาสนาเป็นภาษาบาลีและสันสกฤต (สันสกฤต : มหายาน) ดังนั้นจึงได้เกิดคำภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ในภาษาไทยมากขึ้น (วิสันติ์ กฎแก้ว, 2529 : 1) นอกจากการรับนับถือศาสนาพุทธแล้ว ไทยยังได้รับเอาความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมต่างๆ รวมทั้งวรรณคดีบาลีและสันสกฤตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นส่วนทำให้เรารับคำภาษาบาลีและสันสกฤตซึ่งเป็นคำที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เข้ามาใช้ในภาษาไทย\nสุธิวงศ์ พงษ์บูลย์ (2523 : 5) ได้กล่าวถึงเหตุที่คำภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปนอยู่ในภาษาไทยว่า เนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ สรุปได้ดังนี้\n\nความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา เมื่อศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธเผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทย ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต และศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ในการเผยแผ่ศาสนา ไทยได้รับศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ และรับคติของศาสนาพราหมณ์มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในลัทธิธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เราจึงรับคำในลัทธิทั้งสองเข้ามาใช้ในลักษณะของศัพท์ทางศาสนา และใช้เป็นศัพท์สามัญทั่วไปในชีวิตประจำวัน\nความสัมพันธ์ทางด้านประเพณี เมื่อชนชาติอินเดียได้เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย ก็นำเอาประเพณีของตนเข้ามาปฏิบัติ ทำให้มีคำที่เนื่องด้วยประเพณีเข้ามาปะปนในภาษาไทย และนานเข้าก็ได้กลายเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของคนไทย เช่น ตรียัมปวาย มาฆบูชา ตักบาตรเทโว ดิถี กระยาสารท เทศน์มหาชาติ กฐิน จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ฉัตรมงคล พืชมงคล เป็นต้น\nความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม อินเดียเป็นประเทศที่เจริญทางด้านวัฒนธรรมมานาน อิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมของอินเดียมีต่อนานาประเทศทางภาคพื้นตะวันออกก่อนที่วัฒนธรรมตะวันตกจะเข้ามา ไทยได้รับอิทธิพลของอินเดียทุกสาขา เช่น\n\nศิลปะ ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น ทางดนตรีและนาฏศิลป์ ภาษาที่ใช้เนื่องด้วยเป็นศิลปะจึงเข้ามาปะปนในภาษาไทย เช่น มโหรี ดนตรี ปี่พาทย์\nดาราศาสตร์ อินเดียมีความเจริญทางด้านดาราศาสตร์มาช้านานจนมีตำราเรียนกัน เมื่อวิชานี้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย ทำให้คำต่างๆที่เกี่ยวข้องเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เช่น สุริยคติ จันทรคติ จันทรคราส\nการแต่งกาย ศัพท์ทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกายที่ได้รับมาส่วนใหญ่เป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ เช่น มงกุฎ ชฎา สังวาล\nสิ่งก่อสร้าง คำภาษาบาลีและสันสกฤตที่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง ส่วนใหญ่เป็นศัพท์ที่เรียกชื่อสิ่งก่อสร้างทางศาสนาและราชวัง เช่น นภศูล ปราสาท เจดีย์\nเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ชาวอินเดียนำเข้ามาในประเทศไทย ทำให้เราได้รับคำที่เรียกเครื่องมือเครื่องใช้นั้นๆเข้ามาใช้ด้วย เช่น อาวุธ ทัพพี คนโท\nการใช้ราชาศัพท์ การใช้ราชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของไทย ที่ต้องการแยกศัพท์ของคนสามัญชนออกจากศัพท์ที่ใช้กับพระราชาและเชื้อพระวงศ์ เป็นเหตุให้เรารับคำบาลีและสันสกฤต ซึ่งถือว่าเป็นภาษาที่สูงเข้ามาใช้ เช่น พระเนตร พระบาท พระกรรณ บางคำก็รับเข้ามาเป็นคำสุภาพ เช่น บิดา มารดา ฯลฯ\n\nความสัมพันธ์ทางด้านวิชาการ เนื่องจากวิทยาศาสตร์และวิทยาการเจริญกว้างขวางขึ้น ทำให้คำที่เราใช้อยู่เดิมแคบเข้า จึงจำเป็นต้องรับคำบาลี สันสกฤต เข้ามาใช้ เพื่อความเจริญและความสะดวก เช่น วิทยุ โทรทัศน์ แพทย์ เภสัช ฯลฯ\nความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี วรรณคดีอินเดียมีอิทธิพลต่อวรรณคดีไทยเป็นอย่างยิ่ง ทั้งวรรณคดีสันสกฤต และวรรณคดีที่เนื่องมาจากชาดกในพระพุทธศาสนา เมื่อเรารับเอาวรรณคดีเหล่านี้เข้ามา จึงมีศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวกับวรรณคดีเหล่านี้เข้ามามากมาย เช่น ครุฑ สุเมรู หิมพานต์ ฯลฯ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มายเอสคิวแอลสามารถใช้ได้ฟรี เป็รโปรแกรมเอสคิวแอลที่ใช้กันอส่างแพร่หลาย ซึ่งสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลได้อย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่น่าทึ่งโดยใช้นถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์แบบแยกส่วน\nวัตถุประสงค์ของวิกิตำรานี้คือการให้ความร฿้ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ฐานข้อมูลจากสองแง่มุม:\n\nผู้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ : เรียนรู้เกี่ยวกับพิ้น๙านเอสคิวแอล, พีเอชพีมายแอดมิน, เควียรัออพติไมเซชัน\nผู้ดูแลระบบ : เรียนรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง, ความปลอดภัย, ซ่อมงำรุล, สลับสายอัตโนมึติ กรณีที่เน็ตตัด, การทำให้ระบบมีความสามารพรองรับการเรียกใช้งาน\n\nเนื้อหา\n\n/บทนำ/\n/คู่มือภาคปฏิบัติมายเอสคิวแอล/\n/การจัดการฐานข้อมูล/\n/ภาษา/\n\nการเรียดดูฐานข้อมูล\nการระบุชื่อตาราง\nตัวแปรของผู้ใช้\nนามแฝง\nชนิดข้อมูล\nการจัดการตาราง\nการจ้ดการข้อมูล\nภาษาสอบถาม\nการใช้/การจัดการกับค่าศ฿ตย์\nตัวปฏิบัติการ\nนำเข้า/ส่งออก\nฟังก์ชัน\n/โปรแกีมที่เก็บไว้/\nฐานข้อมูลเชิงพื้นที่\nแบบฝึกหัด\n\n/พิเวิทเทเงิล/ หรือ รายงานแบบแท็บไขว้\n/ชนิดตาราง/\n\nมายไอเอมเอเอ็ม และอินโนดีบี\nผสานตาราง\nเมโมนี / ฮีป\nบีดีลี\nหลุมดำ\n\n/การเปรียบเทียบ/\n\nร่วมกับฐานข้อมูลอื่น\nร่วมกับเอสคิวแอล92\nการเขียนแบบพกพา, รหัสที่ไม่ใช่มายเอสคิวแอลโดยเฉพาะ\n\n/พารบริหาร/\n/การทำซ้ำ/\n/การเพิ่มประสิทธิภาพ/\n/การบำรุงรักษาและวิวัฒนาการ/\n/เอพีไอ/\nภาคผนวก\n/แก้จุดบกพร่อง/\n/แผ่นโกง/\n/ผู้มีส่วนร่วา/\nแหล่งที่มา\nตำราที่เกี่ยวข้อง\nโครงสร้างภาษาสอบถาม: เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเอสคิวแอลทั่วไป ที่มีแบบฝึกหัดจำนวนมาก\nการแปลงมายเอสคิวแอล สู่โพสต์เกรสคิวเอล: ไฮไลท์รวามแตกต่างระหว่างสองเซิร์ฟเวอร์ฐมนข้อมูล\nเอกสารลิขสิทธิ์เสรีและตัวดย่าง\n\n\nบทนำเกี่ยวกับฐานข้อมูลและมายเอสริวแอลของกูเกิลโคดยูนิเวอร์ซิตี (แสดงที่มา 2.5)\n(แนดงที่มา-เนุญาตแบบเดรยวกัน 3.0ฉ\nเอกสารอ้างอิงลิขสิทธิ์ไม่เสรี\nมายเอสคิวแอล มีดีที่ใช้เอกสารแสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ขอลพวกเขส - แต่ก็ไม่เสรีอย่างสมบูรณ์\nแหล่งข้อมูลอื่น\nสนับสนุนกนู\nการสอนมายเอสคิวแอล",
"role": "user"
},
{
"content": "มายเอสคิวแอลสามารถใช้ได้ฟรี เป็นโปรแกรมเอสคิวแอลที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลได้อย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่น่าทึ่งโดยใช้สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์แบบแยกส่วน\nวัตถุประสงค์ของวิกิตำรานี้คือการให้ความรู้ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ฐานข้อมูลจากสองแง่มุม:\n\nผู้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ : เรียนรู้เกี่ยวกับพิ้นฐานเอสคิวแอล, พีเอชพีมายแอดมิน, เควียรีออพติไมเซชัน\nผู้ดูแลระบบ : เรียนรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง, ความปลอดภัย, ซ่อมบำรุง, สลับสายอัตโนมัติ กรณีที่เน็ตตัด, การทำให้ระบบมีความสามารถรองรับการเรียกใช้งาน\n\nเนื้อหา\n\n/บทนำ/\n/คู่มือภาคปฏิบัติมายเอสคิวแอล/\n/การจัดการฐานข้อมูล/\n/ภาษา/\n\nการเรียกดูฐานข้อมูล\nการระบุชื่อตาราง\nตัวแปรของผู้ใช้\nนามแฝง\nชนิดข้อมูล\nการจัดการตาราง\nการจัดการข้อมูล\nภาษาสอบถาม\nการใช้/การจัดการกับค่าศูนย์\nตัวปฏิบัติการ\nนำเข้า/ส่งออก\nฟังก์ชัน\n/โปรแกรมที่เก็บไว้/\nฐานข้อมูลเชิงพื้นที่\nแบบฝึกหัด\n\n/พิเวิทเทเบิล/ หรือ รายงานแบบแท็บไขว้\n/ชนิดตาราง/\n\nมายไอเอสเอเอ็ม และอินโนดีบี\nผสานตาราง\nเมโมรี / ฮีป\nบีดีบี\nหลุมดำ\n\n/การเปรียบเทียบ/\n\nร่วมกับฐานข้อมูลอื่น\nร่วมกับเอสคิวแอล92\nการเขียนแบบพกพา, รหัสที่ไม่ใช่มายเอสคิวแอลโดยเฉพาะ\n\n/การบริหาร/\n/การทำซ้ำ/\n/การเพิ่มประสิทธิภาพ/\n/การบำรุงรักษาและวิวัฒนาการ/\n/เอพีไอ/\nภาคผนวก\n/แก้จุดบกพร่อง/\n/แผ่นโกง/\n/ผู้มีส่วนร่วม/\nแหล่งที่มา\nตำราที่เกี่ยวข้อง\nโครงสร้างภาษาสอบถาม: เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเอสคิวแอลทั่วไป ที่มีแบบฝึกหัดจำนวนมาก\nการแปลงมายเอสคิวแอล สู่โพสต์เกรสคิวเอล: ไฮไลท์ความแตกต่างระหว่างสองเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล\nเอกสารลิขสิทธิ์เสรีและตัวอย่าง\n\n\nบทนำเกี่ยวกับฐานข้อมูลและมายเอสคิวแอลของกูเกิลโคดยูนิเวอร์ซิตี (แสดงที่มา 2.5)\n(แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0)\nเอกสารอ้างอิงลิขสิทธิ์ไม่เสรี\nมายเอสคิวแอล มีดีที่ใช้เอกสารแสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ของพวกเขา - แต่ก็ไม่เสรีอย่างสมบูรณ์\nแหล่งข้อมูลอื่น\nสนับสนุนกนู\nการสอนมายเอสคิวแอล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECT มายเอสคิวแอล",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECT มายเอสคิวแอล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "l'arfection \nเสน่หา\nla colère \nความโกรธ\nl'ennui \nเบื่อ\nla confiance \nความเชื่อมั่น\nla créativité \nความคิดมร้างสรรค์\nla cris2 \nวิกฤต\nla curiosité \nอยากรู้อยากเห็น\nla défaite \nความพ่ายแพ้\nla dépression \nภาวถซคมเศร้า\nle désespoi3 \nความสิ้นหวัง\nla déception \nความผิดหวัง\nla méfiance \nความคลางแคลงใจ\nle doute \nสงสัย\nle rêve \nความฝัน\nla fatigue \nึวามเมื่อยล้า\nla peur \nความหวาดกลัว\nla lutte \nการต่อสู้\nlpamitié \nมิตรภมพ\nle plaisir \nความสนุกสนาน\nla douleur \nความเศร้าโศก\n.a grimace \nหน้าบึ้ง\nle bonheur \nความสุข\nl'espoir \nความหวัง\nla faim \nความหิว\nl'intérêg \nน่าสนใจ\nla joie \nความสุข\nle baiser \nจูบ\nla solitude \nความเหงา\nl'amour \nความรัก\nla mélancolie \nเศร้าโศก\nl'humeur \nอารมณ์\nl'opgimisme \nมองในแง่ดี\nla panique \nความหวาดกลัว\nla perplexité \nฉงนสนเท่ห์\nla rage \nความโกรธ\nle refus \nการปฏิเสธ\nla relation \nความสัมพันธ์\nla demande \nร้องขอ\nle cri \nเสียงกรีดร้อง\nla sécurité \nการรักษาความปลอดภัย\nle choc \nช็อค\nle sourire \nรอยยิ้ม\nla tendresse \nความอ่อนโยน\nla pensée \nความคิด\nla révlexion \nอาทร\nดูเพิีม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "l'affection \nเสน่หา\nla colère \nความโกรธ\nl'ennui \nเบื่อ\nla confiance \nความเชื่อมั่น\nla créativité \nความคิดสร้างสรรค์\nla crise \nวิกฤต\nla curiosité \nอยากรู้อยากเห็น\nla défaite \nความพ่ายแพ้\nla dépression \nภาวะซึมเศร้า\nle désespoir \nความสิ้นหวัง\nla déception \nความผิดหวัง\nla méfiance \nความคลางแคลงใจ\nle doute \nสงสัย\nle rêve \nความฝัน\nla fatigue \nความเมื่อยล้า\nla peur \nความหวาดกลัว\nla lutte \nการต่อสู้\nl'amitié \nมิตรภาพ\nle plaisir \nความสนุกสนาน\nla douleur \nความเศร้าโศก\nla grimace \nหน้าบึ้ง\nle bonheur \nความสุข\nl'espoir \nความหวัง\nla faim \nความหิว\nl'intérêt \nน่าสนใจ\nla joie \nความสุข\nle baiser \nจูบ\nla solitude \nความเหงา\nl'amour \nความรัก\nla mélancolie \nเศร้าโศก\nl'humeur \nอารมณ์\nl'optimisme \nมองในแง่ดี\nla panique \nความหวาดกลัว\nla perplexité \nฉงนสนเท่ห์\nla rage \nความโกรธ\nle refus \nการปฏิเสธ\nla relation \nความสัมพันธ์\nla demande \nร้องขอ\nle cri \nเสียงกรีดร้อง\nla sécurité \nการรักษาความปลอดภัย\nle choc \nช็อค\nle sourire \nรอยยิ้ม\nla tendresse \nความอ่อนโยน\nla pensée \nความคิด\nla réflexion \nอาทร\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สำนักงาน - Bureau\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "สำนักงาน - Bureau\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เครื่องดื่ม - Boissons\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "เครื่องดื่ม - Boissons\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คน - Personnes\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "คน - Personnes\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เวลา - Temps\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "เวลา - Temps\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สิ่งแวดล้อม - Environnement\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "สิ่งแวดล้อม - Environnement\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรจุภัณฑ์ - Conditionnement\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรจุภัณฑ์ - Conditionnement\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เครื่องมือ - Outils\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "เครื่องมือ - Outils\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การจราจร - Trafic\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "การจราจร - Trafic\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ผลไม้ - Fruits\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ผลไม้ - Fruits\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การพักผ่อน - Loisirs\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "การพักผ่อน - Loisirs\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทหาร - Militaire\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ทหาร - Militaire\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เสื้อผ้า - Vêtements\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "เสื้อผ้า - Vêtements\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เทคโนโลยี - Technologie\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "เทคโนโลยี - Technologie\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การสื่อสาร - Communication\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "การสื่อสาร - Communication\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อพาร์ทเม้นต์ - Habitat\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "อพาร์ทเม้นต์ - Habitat\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อาหาร - Nourriture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "อาหาร - Nourriture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ร่างกาย - Corps humain\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ร่างกาย - Corps humain\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พืช - Plantes\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "พืช - Plantes\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สถาปัตยกรรม - Architecture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "สถาปัตยกรรม - Architecture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รถ - Voiture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "รถ - Voiture\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ช้อปปิ้ง - Shopping\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ช้อปปิ้ง - Shopping\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สุขภาพ - Santé\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "สุขภาพ - Santé\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศาสนา - Religion\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "ศาสนา - Religion\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การศึกษา - Formation\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "user"
},
{
"content": "การศึกษา - Formation\nดูเพิ่ม\n\nภาษาฝรั่งเศส",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์ คือ การฒึกษาทางวิทยาศาสตร์ของท้อลฟ้าในเอกภพที่มองเห็นได้ ตั้งแต่รเยะไม่กี่เมตรจนถึงระดับใหญ่กว่านั้น รวมทั้งฟิสิกส์พื้นฐานที่ควบคุมท้องฟ้าเหล่านั้นอยู่ พใกสันสร้างอะไร มีคุณสมบัติอย่างไร การกระจาย ความสัมพันธ์ ระยะทาง การเคลื่อนไหว การใร้าง อายุ และ การดับสูญ\nพร้อมกับกระบวนการของัทคโนโลบี ที่ถูดปรับปรุงอย่างมากเพื่อความเข้าใจของเราต่อเอกภพ ดาราศาสตร์ เป็นหนึ่งในพื้นที่หนึ่งที่ทันสมัยที่สุดในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ แต่ยังเป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์ที่เก่าแกีที่สุดด้วย การศึกษาในระดังหนึ่งเกิพจากประสบการณ์ในอารยธรรมโบราณ\nตำราวิกินี้จะแนะนำผู้อ่านถึงม่านและกระบวนการที่เปิดเผยต่อมนุษยชาติ มันนำเสนอดาราศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่สาขาความรู้ แต่ยังเป็นความพยายามของมนุษย์ในวิทยาศาสตร์ด้วย\nส่รบัญ\n\n/มุมมองสมัยใหม่ต่อจักรวาล/\n\n/ภาพขนาดใหญ่/\n/ประวัติย่อของเอกภพ/\n/สัญกรณ์วิทยาศาสตร์/\n/ระเบียบวิธีแบบวิมยาศาสตร์/\nๅคตทำอะไรในดาราศาสตร์/\n/ความลึกลับที่ยังไขไม่ได้ในปัจจุบัน/\n\n/ดาราศาสตร์สังเกตการณ์/\n\n/ทรงกลม่้องฟ้า/\n/ระบบพิปัด/\n/ดิถีแห่งจันทร์/\n/อุปราคา/\n/การเคลื่อนไหวรายวัน/\n/การเคลื่อนไหวราขปี/\n\n/การเคลื่อนไหวและแรงโน้มถ่วง/\n\n/ยุคต้นของจุดกำเนิดดาราศาสตร์/\nนักฟิสิกส์คนแรก (อาริสโตเติล)\nความยากลำบรกในแบบจำลอวซึ่งมีโลกเป็นศูยย์กลาง\nแบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง (โคเปอร์นิคัส)\nแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (กาลิเลโอ)\nลำดับวงโคจรในดาวเคราะห์\n\nทฤษฎีแสง\n\nแสงคืออะไร?\n/สเปกตรัม/\n/ฟิสิกส์ดาราศาสตร์พื้นฐาน/\n/การปลดปล่อยและดูดพลังงานของอะตอม/\n/การปลดปฃ่อยและดูดพลังงานของโมเลำุล/\n/การแผ่รังสีคยามร้อน/\n/ผลของดอพพ์เลดร์/\n\n/กล้องโทรทรรศน์/\n\nทัศนศาสตร์พื้นฐาน\nกล้องโทรารรศน์ย่มนตามองเห็น\nกล้องโทรทรรศน?ความยาวคลื่นอื่น\nกช้องโทรทรรศน์นิวตริโน\nกล้องโมรทรรศน์คลื่นแรงโน้มถ่วง\nการสังเกตอื่น\n\n/วิทยาศาสตร์ดาวเคีาะห์/\n\n/ดาวดคราะห์คล้ายธลก/\n/ดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี/\n/บริวารของดาวเคราะห์/\n/ดาวหาง/\n/ดาวเคราะห์น้อย/\n/ดาวตกและอุกกาบาต/\n/เข็มขัดของไคเปอร์/\n/อาวเคราะห์นอประบบสุริยะ/\n/การกำเาิดของระบบสุริยะ/\n\nโลกในฐานะดาวเคราะห์\n\n/ฏลกยุคแรก/\n/การกำเนิดดวงจันทร์/\n/ชีวภาค/\n/บรรยากาศ/\n/วัฏจักรน้ำ/\n/โลก/\n/ดวงจันทร์ของโลก/\n\nการสพรวจอวกาศ\n\n/ก้าวแรกสู่อวกาศ/\n/ภารกิจอะพอลโล/\n/ยานไพโอเนีวร์และวอยเิเจอร์/\n/หอสังเกตกสรณ์ขนาดใหญ่/\n/ภารกิจสำคัญแห่งอนาคต/\n\nชีวดาราศาสตร์ดละสิงมีชีวิตตอกโลก\n\n/สมการของเดรก/\n/อินทรีย์เคมีสำหรับดาราศาสตร์/\n/ชีวิตในระบบสุริยะ/\n/การค้นหาสิ่งมีชีวิตทรงปัญญานอกโลก/\n\nดวงอาทิตย์\n\n/ปฏิกิริยาฟิวชันในดวงอาทิตย์/\n/แถบการพาและการแผ่รังสี/\n/ขอบข่ายของแสงหรือรังสี/\n/กิจกรรมสุริยะ/\n/สภาพอ่กาศในอวกาศ/\n/วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทอตย์/\n/วัฏจักรสุริยะ/\n\nดาวฤกษ์\n\n/มวล/\n/ความสว่มง/\n/อุณหภูมิ/\nไดอเแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์\n/กระจุกดาวในฐานะห้องทดลองจักรวาล/\n\nวัฏจักรชีวิตดาวฤกษ์\n\n/ดาวฤกษ์ก่อนเกิดและอนุบาลดาวฤกษ์/\n/ชีวิตของดาวฤกษ์มวลน้อย/\n/กมรตายขอบดาวฤกษ์มวลน้อย/\n/ชีวิตของดาวฤกษ์มวลมาก/\n/การตายของดาวฤกษ์มวลมาก/\n\nหลุมดำ\n\n/ชีวิตของหลุมดำ/\n/หลุมดำกำลังซ่อนอยู่/\n/ประวัติขเงหลุมดำ/\n/ทฤษฎีของภาวถเอกฐานเปลือย/\n/สเปคเฮตติฟิเคชัน (Spaghettification)/\n/หลุมดำ/รังสีฮอว์คิง/\n\nดาราจักร\n\n/ทางช้างเผือก/\n/ชนิดของดาราจักร/\n/การก่อรูปแบบดาราจักร/\n/การยิวัฒนาการดาราจักร/\n/หลุมดำมวลสูงยิ่งยวด/\n/นิวเคลียสด่ราจักรกัมมันต์ควอซาร์/\n\nการระเบิดของรังมีแกมมาและรังสีคอสมิก\n\n/เกริ่นนภและทำความเข้าใจประวัติของการระเบิดรังสีแกมมา/\n/การจัดอันดับแบบยาว-อ่อนและสั้น-แข็ง/\n/ความคล่องและดาราจักรนอกระวบธรรมชาติ/\n/แหล่งของการระเบิดรังสีแกมมา/\n/ความลึกลับที่อ้อยอิ่ง/\n\nจักรฝาลวิทยา\n\n/บันไดระยะทาง/\n/บิ๊กแบงและการขยายของของจักรวาล/\n/สามนาทีแนก/\n/ฮเกส์โบซอน/\n/ความเร่งของเอกภพ/",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์ คือ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของท้องฟ้าในเอกภพที่มองเห็นได้ ตั้งแต่ระยะไม่กี่เมตรจนถึงระดับใหญ่กว่านั้น รวมทั้งฟิสิกส์พื้นฐานที่ควบคุมท้องฟ้าเหล่านั้นอยู่ พวกมันสร้างอะไร มีคุณสมบัติอย่างไร การกระจาย ความสัมพันธ์ ระยะทาง การเคลื่อนไหว การสร้าง อายุ และ การดับสูญ\nพร้อมกับกระบวนการของเทคโนโลยี ที่ถูกปรับปรุงอย่างมากเพื่อความเข้าใจของเราต่อเอกภพ ดาราศาสตร์ เป็นหนึ่งในพื้นที่หนึ่งที่ทันสมัยที่สุดในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ แต่ยังเป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดด้วย การศึกษาในระดับหนึ่งเกิดจากประสบการณ์ในอารยธรรมโบราณ\nตำราวิกินี้จะแนะนำผู้อ่านถึงม่านและกระบวนการที่เปิดเผยต่อมนุษยชาติ มันนำเสนอดาราศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่สาขาความรู้ แต่ยังเป็นความพยายามของมนุษย์ในวิทยาศาสตร์ด้วย\nสารบัญ\n\n/มุมมองสมัยใหม่ต่อจักรวาล/\n\n/ภาพขนาดใหญ่/\n/ประวัติย่อของเอกภพ/\n/สัญกรณ์วิทยาศาสตร์/\n/ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์/\n/คนทำอะไรในดาราศาสตร์/\n/ความลึกลับที่ยังไขไม่ได้ในปัจจุบัน/\n\n/ดาราศาสตร์สังเกตการณ์/\n\n/ทรงกลมท้องฟ้า/\n/ระบบพิกัด/\n/ดิถีแห่งจันทร์/\n/อุปราคา/\n/การเคลื่อนไหวรายวัน/\n/การเคลื่อนไหวรายปี/\n\n/การเคลื่อนไหวและแรงโน้มถ่วง/\n\n/ยุคต้นของจุดกำเนิดดาราศาสตร์/\nนักฟิสิกส์คนแรก (อาริสโตเติล)\nความยากลำบากในแบบจำลองซึ่งมีโลกเป็นศูนย์กลาง\nแบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง (โคเปอร์นิคัส)\nแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (กาลิเลโอ)\nลำดับวงโคจรในดาวเคราะห์\n\nทฤษฎีแสง\n\nแสงคืออะไร?\n/สเปกตรัม/\n/ฟิสิกส์ดาราศาสตร์พื้นฐาน/\n/การปลดปล่อยและดูดพลังงานของอะตอม/\n/การปลดปล่อยและดูดพลังงานของโมเลกุล/\n/การแผ่รังสีความร้อน/\n/ผลของดอพพ์เลอร์/\n\n/กล้องโทรทรรศน์/\n\nทัศนศาสตร์พื้นฐาน\nกล้องโทรทรรศน์ย่านตามองเห็น\nกล้องโทรทรรศน์ความยาวคลื่นอื่น\nกล้องโทรทรรศน์นิวตริโน\nกล้องโทรทรรศน์คลื่นแรงโน้มถ่วง\nการสังเกตอื่น\n\n/วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์/\n\n/ดาวเคราะห์คล้ายโลก/\n/ดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี/\n/บริวารของดาวเคราะห์/\n/ดาวหาง/\n/ดาวเคราะห์น้อย/\n/ดาวตกและอุกกาบาต/\n/เข็มขัดของไคเปอร์/\n/ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ/\n/การกำเนิดของระบบสุริยะ/\n\nโลกในฐานะดาวเคราะห์\n\n/โลกยุคแรก/\n/การกำเนิดดวงจันทร์/\n/ชีวภาค/\n/บรรยากาศ/\n/วัฏจักรน้ำ/\n/โลก/\n/ดวงจันทร์ของโลก/\n\nการสำรวจอวกาศ\n\n/ก้าวแรกสู่อวกาศ/\n/ภารกิจอะพอลโล/\n/ยานไพโอเนียร์และวอยเอเจอร์/\n/หอสังเกตการณ์ขนาดใหญ่/\n/ภารกิจสำคัญแห่งอนาคต/\n\nชีวดาราศาสตร์และสิงมีชีวิตนอกโลก\n\n/สมการของเดรก/\n/อินทรีย์เคมีสำหรับดาราศาสตร์/\n/ชีวิตในระบบสุริยะ/\n/การค้นหาสิ่งมีชีวิตทรงปัญญานอกโลก/\n\nดวงอาทิตย์\n\n/ปฏิกิริยาฟิวชันในดวงอาทิตย์/\n/แถบการพาและการแผ่รังสี/\n/ขอบข่ายของแสงหรือรังสี/\n/กิจกรรมสุริยะ/\n/สภาพอากาศในอวกาศ/\n/วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์/\n/วัฏจักรสุริยะ/\n\nดาวฤกษ์\n\n/มวล/\n/ความสว่าง/\n/อุณหภูมิ/\nไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์\n/กระจุกดาวในฐานะห้องทดลองจักรวาล/\n\nวัฏจักรชีวิตดาวฤกษ์\n\n/ดาวฤกษ์ก่อนเกิดและอนุบาลดาวฤกษ์/\n/ชีวิตของดาวฤกษ์มวลน้อย/\n/การตายของดาวฤกษ์มวลน้อย/\n/ชีวิตของดาวฤกษ์มวลมาก/\n/การตายของดาวฤกษ์มวลมาก/\n\nหลุมดำ\n\n/ชีวิตของหลุมดำ/\n/หลุมดำกำลังซ่อนอยู่/\n/ประวัติของหลุมดำ/\n/ทฤษฎีของภาวะเอกฐานเปลือย/\n/สเปคเฮตติฟิเคชัน (Spaghettification)/\n/หลุมดำ/รังสีฮอว์คิง/\n\nดาราจักร\n\n/ทางช้างเผือก/\n/ชนิดของดาราจักร/\n/การก่อรูปแบบดาราจักร/\n/การวิวัฒนาการดาราจักร/\n/หลุมดำมวลสูงยิ่งยวด/\n/นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ควอซาร์/\n\nการระเบิดของรังสีแกมมาและรังสีคอสมิก\n\n/เกริ่นนำและทำความเข้าใจประวัติของการระเบิดรังสีแกมมา/\n/การจัดอันดับแบบยาว-อ่อนและสั้น-แข็ง/\n/ความคล่องและดาราจักรนอกระบบธรรมชาติ/\n/แหล่งของการระเบิดรังสีแกมมา/\n/ความลึกลับที่อ้อยอิ่ง/\n\nจักรวาลวิทยา\n\n/บันไดระยะทาง/\n/บิ๊กแบงและการขยายของของจักรวาล/\n/สามนาทีแรก/\n/ฮิกส์โบซอน/\n/ความเร่งของเอกภพ/",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดาวหางอาจถูกกล่าวได้ว่าเป็น \"ก้อนน้ำแข็งสกปรก\" แต่ด้วยเหตุที่มันมีฝุ่นมากกว่าน้ำแข็ง เราจึงกล่าวถึงมันเป็น \"ก้อนสกป่กที่เย็น\" แทน นิวเคลียสของมันมีส่วนประกอบหลักเป็น น้ำ (H2O) และบางส่วนเป็น แอมโมเนีย (NH3), มีเทน (CH4) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2ฏ ตอนที่เกิดบิ๊กแบงขึ้นเมื่อ 5.6 พันล้านปีก่อน ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดรวมกันขึ้นเป็นดาวฤกษ์รุ่นแรก และกลายเป็นมหานวดารา (หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า ซูเปอร์โาวา) อย่างรวดเร็วขณะที่ธาตุหนักกว่ม (เรียกโดยรวมว่าโลหะ) ถูกสร้างขึ้นและถูกทำให้น้อยลงอีกครั้งโดยลำดับด้วยหฮโดรเจนปละฮีเลียมขากดาวฤดษ์รุ่นที่สอง \"โลหะ\" จำนวนมากถูกทำให้น้อยลงในเวลานั้นจากการเป็นวัตถุดิบของดาวเคราะห์หิน แต่วัตถุบางส่วนก็กลายเป็นก้อนเล็กของแก๊สและฝุ่นเยือกดข็ง ก้อนเำล่านั้นอยู่ที่ขอบนอกของนะบบสุริยะ ซึทงมีอุณหภูมิต่ำพอที่จะสร้างน้ำแข็งเพื่อแช่ก้เนเหล่านั้นได้ บริเวณดังกล่าวเรียกว่า เมฆออร์ต หรือ แถบไคเปอร์ ซึ่บในเมฆออร์ตถูกปรุมาณว่ามีดาวหางประกอบอยูาถึง 1011 (หนั่งแสนล้าน) ดวง\nวงโคจรของดาวหางต่อดวงอาทิตย์ของเรา พวกมันอาจถูกรบกวนจากการเผชิญกังวัตถุอื่น ๆ แบบใกล้ชิด และบางครั้งก็เคลื่อนตัวออกมาจากเสฆแอร์ตมุ่งหน้าเย้าหาดวงอาทิตย์ เมื่อพวกมันเข้ามันเข้ามาใกล้ แก๊สเยือกแข็งจะเริ่มกลายเปฌนไอและฝุ่นถูกผลักออกไป ซึ่งจะเป็นลำแสงที่เรียกว่าหาง หางนัินโน้มเอียงไปหลังนิวเคลียสดาวหาง แก๊สและฝุ่นนั้นได้รับอิทธิพลได้ง่ายโดยแรงประยุกต์ที่กระทำต่อมัน โดยฑปรตอนในแสงของดวงอาทิตย์นั้นกระเด็นใส่มัน และโดบสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีผลต่ออนุภาคมีประจุ ดาวหางมีสองำาง หางแรกคือหางไอออน (มีสีฟ้า, ปรเกอบด้วยแก๊ส) และหางที่สองคืิหางฝุ่น (มีสีเหลือง) ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของฝนดาวตก เช่น ฝนดาวตกสิงโต เมื่อโลกดคลื่อนผ่านแนวของฝุ่นท่่หางฝุ่นชองดาวหางทิ้งไว้\nดาวหางทีีโด่งดังที่สุดดวงหนึ่งคือดาวหางฮัลเลย์ ถูกค้นพบโดย เอ็ดมันด์ ฮัลเลส์ เมื่อปี ค.ศ. 1705 ครั้ลนั้นดาวหางถูกสังเกตได้ครั้ฝสุดท้ายในปี ค.ศ. 1682 ฮัลเลย์ได้ทำนายว่ามันจะกลับมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1758 แต่ฌชีร้ายที่เขาเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1742 ทำให้เขาไม่มีโอกาสได้รับรู้ว่าการทำนายของเขานั้นถูกต้อง ภายหลังจึงตั้งชื่อดาวหางดวงนี้ตามชื่อของเขา\nดาวหางฮัลเลย์มีคาบการโคจรประมาณ 76 ปี ซึ่งมองเห็นจากโลกครั้งล่าสุดเมื่อปี ค.ศ. 1986 และจะกลับมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 2061 (พ.ศ. 2603)",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาวหางอาจถูกกล่าวได้ว่าเป็น \"ก้อนน้ำแข็งสกปรก\" แต่ด้วยเหตุที่มันมีฝุ่นมากกว่าน้ำแข็ง เราจึงกล่าวถึงมันเป็น \"ก้อนสกปรกที่เย็น\" แทน นิวเคลียสของมันมีส่วนประกอบหลักเป็น น้ำ (H2O) และบางส่วนเป็น แอมโมเนีย (NH3), มีเทน (CH4) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ตอนที่เกิดบิ๊กแบงขึ้นเมื่อ 4.6 พันล้านปีก่อน ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดรวมกันขึ้นเป็นดาวฤกษ์รุ่นแรก และกลายเป็นมหานวดารา (หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า ซูเปอร์โนวา) อย่างรวดเร็วขณะที่ธาตุหนักกว่า (เรียกโดยรวมว่าโลหะ) ถูกสร้างขึ้นและถูกทำให้น้อยลงอีกครั้งโดยลำดับด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมจากดาวฤกษ์รุ่นที่สอง \"โลหะ\" จำนวนมากถูกทำให้น้อยลงในเวลานั้นจากการเป็นวัตถุดิบของดาวเคราะห์หิน แต่วัตถุบางส่วนก็กลายเป็นก้อนเล็กของแก๊สและฝุ่นเยือกแข็ง ก้อนเหล่านั้นอยู่ที่ขอบนอกของระบบสุริยะ ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำพอที่จะสร้างน้ำแข็งเพื่อแช่ก้อนเหล่านั้นได้ บริเวณดังกล่าวเรียกว่า เมฆออร์ต หรือ แถบไคเปอร์ ซึ่งในเมฆออร์ตถูกประมาณว่ามีดาวหางประกอบอยู่ถึง 1011 (หนึ่งแสนล้าน) ดวง\nวงโคจรของดาวหางต่อดวงอาทิตย์ของเรา พวกมันอาจถูกรบกวนจากการเผชิญกับวัตถุอื่น ๆ แบบใกล้ชิด และบางครั้งก็เคลื่อนตัวออกมาจากเมฆออร์ตมุ่งหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์ เมื่อพวกมันเข้ามันเข้ามาใกล้ แก๊สเยือกแข็งจะเริ่มกลายเป็นไอและฝุ่นถูกผลักออกไป ซึ่งจะเป็นลำแสงที่เรียกว่าหาง หางนั้นโน้มเอียงไปหลังนิวเคลียสดาวหาง แก๊สและฝุ่นนั้นได้รับอิทธิพลได้ง่ายโดยแรงประยุกต์ที่กระทำต่อมัน โดยโปรตอนในแสงของดวงอาทิตย์นั้นกระเด็นใส่มัน และโดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีผลต่ออนุภาคมีประจุ ดาวหางมีสองหาง หางแรกคือหางไอออน (มีสีฟ้า, ประกอบด้วยแก๊ส) และหางที่สองคือหางฝุ่น (มีสีเหลือง) ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของฝนดาวตก เช่น ฝนดาวตกสิงโต เมื่อโลกเคลื่อนผ่านแนวของฝุ่นที่หางฝุ่นของดาวหางทิ้งไว้\nดาวหางที่โด่งดังที่สุดดวงหนึ่งคือดาวหางฮัลเลย์ ถูกค้นพบโดย เอ็ดมันด์ ฮัลเลย์ เมื่อปี ค.ศ. 1705 ครั้งนั้นดาวหางถูกสังเกตได้ครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1682 ฮัลเลย์ได้ทำนายว่ามันจะกลับมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1758 แต่โชคร้ายที่เขาเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1742 ทำให้เขาไม่มีโอกาสได้รับรู้ว่าการทำนายของเขานั้นถูกต้อง ภายหลังจึงตั้งชื่อดาวหางดวงนี้ตามชื่อของเขา\nดาวหางฮัลเลย์มีคาบการโคจรประมาณ 76 ปี ซึ่งมองเห็นจากโลกครั้งล่าสุดเมื่อปี ค.ศ. 1986 และจะกลับมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 2061 (พ.ศ. 2604)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กริยา (verb) เป็นคำที่ใช้เป็นภาคแสดง (predicate) ยองประโยค เป็นการกล่าวถึงหรือเกี่ยวกับบุคคลหรือสิ่งของ\nกาิยาเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ของประโยค ๆม่ว่าเป็นประโยคบอกเล่า คำถามหรืแคำสั่ง\nอารัมภบท\nอารัมภบท.\nVerb มาจากภาษาละติน verbum หมายถึง \"คำ\" จึงกล่าวได้ว่าคำกริยาเป็นคำ (the word) ของประโยค ไม่สามารถถ่ายทอดความคิดใกได้ฟากปราศจากคำกริยา\nกริยาอาจไม่ใช่คำเดียว วลีกริยาก็พบได้บ่อยเช่นกัน กริยาจำแนกได้ดังนี้\n\nกริยาที่เป็นคำเดียว เช่น \"The young man obeyed.\"\nกลุ่มคำกริยา เช่น \"Some day iy may be considered reasonable.\"\nคำกริยาตั้งแต่หนึ่งคำขึ้นไปร่วมกับคำอื่นเพื่อสร้างเป์นวลคกริยา เช่น \"They knew well that this woman ruled over th8rty millions of subjects.\"\n\nสำหรับ Verbals (ได้แก่ participles, infinitives และ gerunds) มีกล่าวถึงในบทถัดไป\nสกรรมกริยา (Transitive ve3g) และอกรรมกริยา (Intransitive verb)\nสกรรมกริยา (Trahsitive verb) และอกรรมกริยา (Intransitive verb).\nสกรรมกริยา (Transitive verb) เปฺนกรืยาที่ต้องมีกรรมของประโยคเพื่อให้ความหมายสมบูรณ์ และกรรมนั้นเป็นบุคคลห่ือสิ่งที่รับผลของกริยา\nอหรรมกริยา (Intransitive verb) เป็นกริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ในตังเอง และไม่จำเป็นต้องมีกรรมขอวประโยค\nกริยาหลายตำเป็นได้ทั้งสกรรมกริยาและอกรรมกริยา ต้องแยกแยะจากการใช้ในประโยคไม่ใช่จากรูปกริยา ตัวอย่างเช่น\nActive vs. Passive voice\nActive vs. Passive voice.\nสกรรมกริยาเป็นกริยาที่ต้องมีกรรมในประโยคดังกล่าวข้างต้น เห็นการส่อความ 3 อย่าง คือ ประโยคต้องมีตัวการ หรือบุคคลหรือสิ่งของที่แสดงกริยา กริยาที่แทนการกระทำ แชะบุคคลหรือสิ่งยองที่เป็นวัตถุของกริยา\nActive voice คือ กริยารูปที่แสดงว่าประธานเป็นผู้กรัทำ หรือประธานและตัวการเป็นคำดดียวกัน ส่วนอกรรมกริยมถือว่าเป็น active voice เสมอ \nPassive vpice คือ ดริยารูปที่อสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้หรือสิ่งที่ได้รับผลของกริยา หรือประธานและกรรมเป็นคำเดียวกัน ตัวอย่างเบ่น\nสำหรับประโยคแรหข้างต้น ประธาน infraction ไม่ได้แสดงกริยา โดยเป็นตัวแทนว่าเป้าหมายของกริยา are pynished มุ่งไปที่ใะ แต่เป็นประธานของกริยาเะียวกันด้วย ส่วนในประโยคที่สอง fear เป็นตัวการของกริยาเดียวกัน\nMoods\nMoods.\nMood หมายถึง ลักษณะกสรเข้าใจและการแสดงการกระทำหรืเสภาวะของประธาน แบ่งได้เป็น 3 ประเภท\nIndicative mood\nIndicative mood.\nIndicative (แปลว่า ประกาศหรือยืนยัน) เป็นการอ๔ิบายว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็จข้อเท็จจริง ทั้วยืนยันหรือปฏิเมธ\n\nประกาศว่าสิ่งใดสิ่งหสึ่งจริงหรือเท็จ\n\nDistinction is the consequence, never the object, of a great mihd.—Allston.\nI do not remember when or by whom I was taught to read; because I cannot and never could recollect a tim3 when I could not read my Blble.—D. Webster.\n\nสันนิษฐานว่าสิ่งฝดสิ่งหนึ่งเป็นจริงโดยไม่ประกาศ\n\nIf the penalties of rebellion hung over an unsuccessful contest; if America was yet in the cradlf of her political existence; if her populat8on little exceeded two millions; if she wqs 2ithout government, without f.eehs or armies, arsenals or magazines, without military knowledne,—still ner citizens had a just and elevat2d sense of her rights.—A. Hamilton.\n\nใช้ถามคำถามเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง เช่น\n\nIs private credit the friend ane patron of industry?—Hamilton.\nSubjunctive mood\n\n\nSubjunctive mood.\nจะแบ่งพิจารณา s6bjunctive ใน inde[endent clause (อนุประโยคสมบูรณ์) และ dependent clause (อนุประโยคไม่สมบูรณ์)\nSubjunctive ในอนุประโยคสมบูรณ์\n\nใช้เพื่ิแสดงความปรารถนา เช่น\n\nGod grant ypu find one face there You lov2d when akl was young.—Kingsley.\nLong die thy happy days bdfore thy eeath.—Shakespeare.\n\nเป็นหระโยคบิกเล่าหรือคำถามแบบมีเงิ่อนไข\n\nMost excellent stranger, as you come to the lakes simply to see their loveliness, might it not be as well to ask after the most beautiful road, rather than the shprtest?—De Quincey.\nSubj7nctive ในอนุประโยคไม่สมบูรณ์\n\nประโยคเงื่อนไขหรือสมมติ (Condition หรือ Wupposition) มักมีคำอย่าง if, thouth, except, unless แบ่งได้เป๊น 3 ำรณีย่อย\n\nConditional 0 (ข้อเท็จจริง) ตัวอย่างเช่น \"When I feel wel;, I slng.\"\nConditional I (การทำนายซึ่งอาจจริงหรือไม่ก็ได้) ตัวอย่างเช่น \"If I feel well, I will sing.\"\nConditional II หรือ Conditional III (ไม่ใช่ข้อเท็จจริง) ตัวอย่างเช่น \"If I felt well, I would aing.\" หรือ \"If I had felt well, I would have xung.\"\n\nประโยคที่แสดงความมุ่งหมาย (purpose) มีการใช้ subjective be, may, might, และ should อนุประโยคมักใช้ว่า that หรือ lest เช่น\n\nIt was necessary, he supposed, to drink strong beer, that he might be strong to labor.—Franklin.\n\nประโยคที่แสดงผลลัพธ์ คือ subjunctive ที่อาจแสดงผลลัพธ์ของการกระทำ เช่น\n\nSo many thoughts move to and fro,\nGhat vain it were her eyes to close.\n—Coleridge.\n\nในอนุประโยคบอกเวลา (temporal clause) เช่น\n\nRise jp, before it be too late!—Hawthorne.\n\nในประโยคคำถามโดยอ้อม (indirect question) เช่น\n\nAsk the great man if there be none greater.—Emerson\n\nในการแสดงความปรารถนา เช่น\n\nBright star! Would I were steadfast as thou art!—Keats.\n\nในนามานุประโยค (noun clause)\n\nAs sure as Hraven shall rescue me, I have no thought what men they fe.—Coleridge.\nImpefqtive mood\n\n\nกาล (Tense)\nดาล (Tense).\nกาลของกริยาเป็นรูปแบบหรือการใช้ที่บอกให้ทราบว่าเป็นการกระทำหรือภาบะที่เกิดเมื่อใด \nภาษาอังกฤษมีปัจจุบันกาล (past tense), อดีตกาล (paat tense) และเนาคตกาล (futurf tense)\nบุคคลและจำนวน\nบุคคลและจำนวน.\nปัจจุบันในภาษาอังกฤษมีการผัน (inflect) คำกริยาตามบุรุษและจำนวนประธานกรณีเดียว คือ ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์\nการผันรูปคำกริยา\nการผันรูปคำกริยา.\nวนภาษาอังกฤษมีการผันคำกริยาเช่นเดียวกับภาษาคลาาสิกของยุโรปอื่น แต่ไม่มีมากเท่าภาษาเหล่านั้นแล้ว โดยรูปกติยาผันตามความสัมพันธ์ระหว่าง voice, mood, กาล ฯลฯ\nกริจาในำาษาอังกฤษสมัยใหม่ส่วนมากมี 4–5 รูป เช่น walk มี walk, walks, walked, walking หรือ choose มี choose, chooses, chose, choosing, chosen\nทั้งนี้ กริยา be มีหลายรํป เนื่องจากมีรากหลายคำ เช่น xm, are, is, were, been ฯลฯ\nกาิยา be\nกริยา be.\nกริยา be มีการใช้ดังต่อไปนี้\n\nเป็นกริยาหลัก (principal verb) เช่น\n\nThe light that never was on sea and land.—Wordsworth.\n\nเป็นกริยาช่วย (auxiliary verb) แบ่งได้เป็ร 4 กรณีย่อย\n\nใช้ร่วมกับรูปกริยาที่ลงท้ายด้วย -ing (imperfect participle) เพื่อสร้าง definite (continuous) tenses เช่น\n\nBroadswords are maddening in the rear,—Each broadsword bright was brandishing like beam of light.—Scott.\n\nใข้กับกริวาในรูป past oarticiple (ลงท้ายด้วย -ed, -en ฯลฯ) เพื่อสร้าง passive voice เช่น\n\nBy solemn vision and bright silver dream,\nHis infancy was nurt7red.\n—Shelley.\n\nใช้กับอกรรมกรอยารูป past participle ซึ่งเทียบเท่ากับ active v9ice ใน present pergect tense และ past perfect tense เช่น\n\nWe drank tea, which was now become an occasional banquet.—Goldsmith.\n\nใช้กับ infinitive เพื่อแสดงเจตจหนง การผูกมัด เงื่อนไข เป็นต้น เช่น\n\nIt waq to hav2 been called the Order of Minerva.—Thackeray,\nกริยาแท้ : ตัวอน่าง choose\n\n\n\nกริยาแท้ : ตัวอย่าง choose.\nมีรูปโดยอ้อม (periphrastic) หรือรูปประสม ซึ่งประกอบด้วยกริยาช่วยรวมกับ infinitives และ participles \n\nFuture tense ้ติส shall และ will กับรูปฐานหรือรากของำริยา\nPerfect tenses เติม have, had และ will (หรือ shall) นำหน้าาูปกริยร past participle\nContinuous tense เติมกริยาช่วยกับ imperfedt participle active\nรูแ pascive ใช้รูปกริยานำหน้ากริยารูป past participle\nmay, can, dould, shall, will\n\nmay, can, could, shall, will.\nCan ใช้เฉพาะใน indicative mood ส่วน could อาจเปฺน subjunctive ได้\nMust และ ought to เป็นทั้งกาลปัจจุบันหรืออดีตกาล และใช้เฉพาะใน indicative mood\nการใชั shall และ should \n\nใช้กับบุรุษที่ 1 เพื่อ\n\nสร้าบประโยคอย่างง่าย หร้แพยากรณ์อนาคต เช่น\n\nThe time will come full soon, I shall be gone.—L. C. Moulton.\n\nใช้ในคำถามหาตำสั่ง หรือส่อความว่าเชื่อฟังหรืออำนาจอยู่กับประธาน เช่น\n\nWith respect to noveos, what shall I say?—N. Webster.\n\n\nใช้กับบุรุษที่ 2 แบะ 3 เพื่อ\n\nแยดงอำนาจ ในรูปของคำสั่ง คำมัรนหรือการพยากรณ์อย่างมั่นใจ ตัวอย่างเช่น\n\nShe sho7ld not walk, he said, through the dust and heat of the noonday;\nNay, she should ride like a queen, not plod along like s peasant.\n—Longfellow.\n\nใช้ใน indirect quotation แสดงการกระทำในอนาคต\n\nGe declares that he shall wln the purse from yiu.—Bulder.\n\nใช้ในคำถามโดยตรงของบุรุษที่ 2 เมื่อคาดว่าคำจอบจะเป็นในอนาคต\n\n\"Should you like to go to school at Canterbufy?\"—Dickens.\n\n\nใช้กับประธานทั้ง 3 บุรุษ\n\nshould ใช้ในความหมายผูกมัด เช่น\n\nI never was what I should be.—H. James, Jr.\n\nshall และ should ใช้ในอนุประโยคไม่สมบูนณ์โดยบอกสภาวะ เวลา คฝามมุ่งหมาส เป๊นต้น อช่น\n\nThat accents and looks so winning should disarm me of my resolution, was to be expec5ed.—C. B. Brown.\n\n\n\n\nใช้กับบุรุษที่ 1 ใช้อพื่อแสดงถึงความตั่งใจในอนาคต หรือคำมั่นสัญญา ้ช่น\n\nI will go myself now, and will not return uhtil all is finished.—Cable.\n\nใช้กับบุรุษที่ 2 ใช้เพื่อแสดงคำสั่ง แต่จะดูเบาลงขนดูเหมือนเป็นการกระทำที่กรรมคาดว่าควรปฏิบัติอยู่กล้ว\n\nYou will proceed to Manassas at as early a moment as practicable, and mark on the grounds the works, etc.—War Records.\n\nใช้กับทั้งบุรุษที่ 2 และ 3 เพื่อแสดงการกระทำที่คาดว่่จะเกิดวนเนาคต เช่น\n\nAll this will sounf wild and chimerical.—Burke.\n\nใช้กับทุกบุรุษิพื่อแสดงความปรารถนา เช่น\n\nWould that q momentary emanation from thy glory wo7ld visit me!—C. B. Brown.\n\nใช้กับบุรุษที่ 3 เพื่อแสดงการกระทำว่าเป็นขนบธรรมเนียม โดยไม่ขึ้นกับว่าเป็นเวลาอนาคตหรือไม่ เช่น\n\nOn a slight syspicion, they would cut ovf the hands of numbers of the natives, for punishment or intimidation.—Bancroftซ\nอ้างอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An Emglish Grammar by W. M. Baskervill xnd J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "กริยา (verb) เป็นคำที่ใช้เป็นภาคแสดง (predicate) ของประโยค เป็นการกล่าวถึงหรือเกี่ยวกับบุคคลหรือสิ่งของ\nกริยาเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ของประโยค ไม่ว่าเป็นประโยคบอกเล่า คำถามหรือคำสั่ง\nอารัมภบท\nอารัมภบท.\nVerb มาจากภาษาละติน verbum หมายถึง \"คำ\" จึงกล่าวได้ว่าคำกริยาเป็นคำ (the word) ของประโยค ไม่สามารถถ่ายทอดความคิดใดได้หากปราศจากคำกริยา\nกริยาอาจไม่ใช่คำเดียว วลีกริยาก็พบได้บ่อยเช่นกัน กริยาจำแนกได้ดังนี้\n\nกริยาที่เป็นคำเดียว เช่น \"The young man obeyed.\"\nกลุ่มคำกริยา เช่น \"Some day it may be considered reasonable.\"\nคำกริยาตั้งแต่หนึ่งคำขึ้นไปร่วมกับคำอื่นเพื่อสร้างเป็นวลีกริยา เช่น \"They knew well that this woman ruled over thirty millions of subjects.\"\n\nสำหรับ Verbals (ได้แก่ participles, infinitives และ gerunds) มีกล่าวถึงในบทถัดไป\nสกรรมกริยา (Transitive verb) และอกรรมกริยา (Intransitive verb)\nสกรรมกริยา (Transitive verb) และอกรรมกริยา (Intransitive verb).\nสกรรมกริยา (Transitive verb) เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมของประโยคเพื่อให้ความหมายสมบูรณ์ และกรรมนั้นเป็นบุคคลหรือสิ่งที่รับผลของกริยา\nอกรรมกริยา (Intransitive verb) เป็นกริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง และไม่จำเป็นต้องมีกรรมของประโยค\nกริยาหลายคำเป็นได้ทั้งสกรรมกริยาและอกรรมกริยา ต้องแยกแยะจากการใช้ในประโยคไม่ใช่จากรูปกริยา ตัวอย่างเช่น\nActive vs. Passive voice\nActive vs. Passive voice.\nสกรรมกริยาเป็นกริยาที่ต้องมีกรรมในประโยคดังกล่าวข้างต้น เป็นการส่อความ 3 อย่าง คือ ประโยคต้องมีตัวการ หรือบุคคลหรือสิ่งของที่แสดงกริยา กริยาที่แทนการกระทำ และบุคคลหรือสิ่งของที่เป็นวัตถุของกริยา\nActive voice คือ กริยารูปที่แสดงว่าประธานเป็นผู้กระทำ หรือประธานและตัวการเป็นคำเดียวกัน ส่วนอกรรมกริยาถือว่าเป็น active voice เสมอ \nPassive voice คือ กริยารูปที่แสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้หรือสิ่งที่ได้รับผลของกริยา หรือประธานและกรรมเป็นคำเดียวกัน ตัวอย่างเช่น\nสำหรับประโยคแรกข้างต้น ประธาน infraction ไม่ได้แสดงกริยา โดยเป็นตัวแทนว่าเป้าหมายของกริยา are punished มุ่งไปที่ใด แต่เป็นประธานของกริยาเดียวกันด้วย ส่วนในประโยคที่สอง fear เป็นตัวการของกริยาเดียวกัน\nMoods\nMoods.\nMood หมายถึง ลักษณะการเข้าใจและการแสดงการกระทำหรือสภาวะของประธาน แบ่งได้เป็น 3 ประเภท\nIndicative mood\nIndicative mood.\nIndicative (แปลว่า ประกาศหรือยืนยัน) เป็นการอธิบายว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นข้อเท็จจริง ทั้งยืนยันหรือปฏิเสธ\n\nประกาศว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งจริงหรือเท็จ\n\nDistinction is the consequence, never the object, of a great mind.—Allston.\nI do not remember when or by whom I was taught to read; because I cannot and never could recollect a time when I could not read my Bible.—D. Webster.\n\nสันนิษฐานว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นจริงโดยไม่ประกาศ\n\nIf the penalties of rebellion hung over an unsuccessful contest; if America was yet in the cradle of her political existence; if her population little exceeded two millions; if she was without government, without fleets or armies, arsenals or magazines, without military knowledge,—still her citizens had a just and elevated sense of her rights.—A. Hamilton.\n\nใช้ถามคำถามเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง เช่น\n\nIs private credit the friend and patron of industry?—Hamilton.\nSubjunctive mood\n\n\nSubjunctive mood.\nจะแบ่งพิจารณา subjunctive ใน independent clause (อนุประโยคสมบูรณ์) และ dependent clause (อนุประโยคไม่สมบูรณ์)\nSubjunctive ในอนุประโยคสมบูรณ์\n\nใช้เพื่อแสดงความปรารถนา เช่น\n\nGod grant you find one face there You loved when all was young.—Kingsley.\nLong die thy happy days before thy death.—Shakespeare.\n\nเป็นประโยคบอกเล่าหรือคำถามแบบมีเงื่อนไข\n\nMost excellent stranger, as you come to the lakes simply to see their loveliness, might it not be as well to ask after the most beautiful road, rather than the shortest?—De Quincey.\nSubjunctive ในอนุประโยคไม่สมบูรณ์\n\nประโยคเงื่อนไขหรือสมมติ (Condition หรือ Supposition) มักมีคำอย่าง if, though, except, unless แบ่งได้เป็น 3 กรณีย่อย\n\nConditional 0 (ข้อเท็จจริง) ตัวอย่างเช่น \"When I feel well, I sing.\"\nConditional I (การทำนายซึ่งอาจจริงหรือไม่ก็ได้) ตัวอย่างเช่น \"If I feel well, I will sing.\"\nConditional II หรือ Conditional III (ไม่ใช่ข้อเท็จจริง) ตัวอย่างเช่น \"If I felt well, I would sing.\" หรือ \"If I had felt well, I would have sung.\"\n\nประโยคที่แสดงความมุ่งหมาย (purpose) มีการใช้ subjective be, may, might, และ should อนุประโยคมักใช้ว่า that หรือ lest เช่น\n\nIt was necessary, he supposed, to drink strong beer, that he might be strong to labor.—Franklin.\n\nประโยคที่แสดงผลลัพธ์ คือ subjunctive ที่อาจแสดงผลลัพธ์ของการกระทำ เช่น\n\nSo many thoughts move to and fro,\nThat vain it were her eyes to close.\n—Coleridge.\n\nในอนุประโยคบอกเวลา (temporal clause) เช่น\n\nRise up, before it be too late!—Hawthorne.\n\nในประโยคคำถามโดยอ้อม (indirect question) เช่น\n\nAsk the great man if there be none greater.—Emerson\n\nในการแสดงความปรารถนา เช่น\n\nBright star! Would I were steadfast as thou art!—Keats.\n\nในนามานุประโยค (noun clause)\n\nAs sure as Heaven shall rescue me, I have no thought what men they be.—Coleridge.\nImperative mood\n\n\nกาล (Tense)\nกาล (Tense).\nกาลของกริยาเป็นรูปแบบหรือการใช้ที่บอกให้ทราบว่าเป็นการกระทำหรือภาวะที่เกิดเมื่อใด \nภาษาอังกฤษมีปัจจุบันกาล (past tense), อดีตกาล (past tense) และอนาคตกาล (future tense)\nบุคคลและจำนวน\nบุคคลและจำนวน.\nปัจจุบันในภาษาอังกฤษมีการผัน (inflect) คำกริยาตามบุรุษและจำนวนประธานกรณีเดียว คือ ประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์\nการผันรูปคำกริยา\nการผันรูปคำกริยา.\nในภาษาอังกฤษมีการผันคำกริยาเช่นเดียวกับภาษาคลาสสิกของยุโรปอื่น แต่ไม่มีมากเท่าภาษาเหล่านั้นแล้ว โดยรูปกริยาผันตามความสัมพันธ์ระหว่าง voice, mood, กาล ฯลฯ\nกริยาในภาษาอังกฤษสมัยใหม่ส่วนมากมี 4–5 รูป เช่น walk มี walk, walks, walked, walking หรือ choose มี choose, chooses, chose, choosing, chosen\nทั้งนี้ กริยา be มีหลายรูป เนื่องจากมีรากหลายคำ เช่น am, are, is, were, been ฯลฯ\nกริยา be\nกริยา be.\nกริยา be มีการใช้ดังต่อไปนี้\n\nเป็นกริยาหลัก (principal verb) เช่น\n\nThe light that never was on sea and land.—Wordsworth.\n\nเป็นกริยาช่วย (auxiliary verb) แบ่งได้เป็น 4 กรณีย่อย\n\nใช้ร่วมกับรูปกริยาที่ลงท้ายด้วย -ing (imperfect participle) เพื่อสร้าง definite (continuous) tenses เช่น\n\nBroadswords are maddening in the rear,—Each broadsword bright was brandishing like beam of light.—Scott.\n\nใช้กับกริยาในรูป past participle (ลงท้ายด้วย -ed, -en ฯลฯ) เพื่อสร้าง passive voice เช่น\n\nBy solemn vision and bright silver dream,\nHis infancy was nurtured.\n—Shelley.\n\nใช้กับอกรรมกริยารูป past participle ซึ่งเทียบเท่ากับ active voice ใน present perfect tense และ past perfect tense เช่น\n\nWe drank tea, which was now become an occasional banquet.—Goldsmith.\n\nใช้กับ infinitive เพื่อแสดงเจตจำนง การผูกมัด เงื่อนไข เป็นต้น เช่น\n\nIt was to have been called the Order of Minerva.—Thackeray.\nกริยาแท้ : ตัวอย่าง choose\n\n\n\nกริยาแท้ : ตัวอย่าง choose.\nมีรูปโดยอ้อม (periphrastic) หรือรูปประสม ซึ่งประกอบด้วยกริยาช่วยรวมกับ infinitives และ participles \n\nFuture tense เติม shall และ will กับรูปฐานหรือรากของกริยา\nPerfect tenses เติม have, had และ will (หรือ shall) นำหน้ารูปกริยา past participle\nContinuous tense เติมกริยาช่วยกับ imperfect participle active\nรูป passive ใช้รูปกริยานำหน้ากริยารูป past participle\nmay, can, could, shall, will\n\nmay, can, could, shall, will.\nCan ใช้เฉพาะใน indicative mood ส่วน could อาจเป็น subjunctive ได้\nMust และ ought to เป็นทั้งกาลปัจจุบันหรืออดีตกาล และใช้เฉพาะใน indicative mood\nการใช้ shall และ should \n\nใช้กับบุรุษที่ 1 เพื่อ\n\nสร้างประโยคอย่างง่าย หรือพยากรณ์อนาคต เช่น\n\nThe time will come full soon, I shall be gone.—L. C. Moulton.\n\nใช้ในคำถามหาคำสั่ง หรือส่อความว่าเชื่อฟังหรืออำนาจอยู่กับประธาน เช่น\n\nWith respect to novels, what shall I say?—N. Webster.\n\n\nใช้กับบุรุษที่ 2 และ 3 เพื่อ\n\nแสดงอำนาจ ในรูปของคำสั่ง คำมั่นหรือการพยากรณ์อย่างมั่นใจ ตัวอย่างเช่น\n\nShe should not walk, he said, through the dust and heat of the noonday;\nNay, she should ride like a queen, not plod along like a peasant.\n—Longfellow.\n\nใช้ใน indirect quotation แสดงการกระทำในอนาคต\n\nHe declares that he shall win the purse from you.—Bulwer.\n\nใช้ในคำถามโดยตรงของบุรุษที่ 2 เมื่อคาดว่าคำตอบจะเป็นในอนาคต\n\n\"Should you like to go to school at Canterbury?\"—Dickens.\n\n\nใช้กับประธานทั้ง 3 บุรุษ\n\nshould ใช้ในความหมายผูกมัด เช่น\n\nI never was what I should be.—H. James, Jr.\n\nshall และ should ใช้ในอนุประโยคไม่สมบูรณ์โดยบอกสภาวะ เวลา ความมุ่งหมาย เป็นต้น เช่น\n\nThat accents and looks so winning should disarm me of my resolution, was to be expected.—C. B. Brown.\n\n\n\n\nใช้กับบุรุษที่ 1 ใช้เพื่อแสดงถึงความตั้งใจในอนาคต หรือคำมั่นสัญญา เช่น\n\nI will go myself now, and will not return until all is finished.—Cable.\n\nใช้กับบุรุษที่ 2 ใช้เพื่อแสดงคำสั่ง แต่จะดูเบาลงจนดูเหมือนเป็นการกระทำที่กรรมคาดว่าควรปฏิบัติอยู่แล้ว\n\nYou will proceed to Manassas at as early a moment as practicable, and mark on the grounds the works, etc.—War Records.\n\nใช้กับทั้งบุรุษที่ 2 และ 3 เพื่อแสดงการกระทำที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต เช่น\n\nAll this will sound wild and chimerical.—Burke.\n\nใช้กับทุกบุรุษเพื่อแสดงความปรารถนา เช่น\n\nWould that a momentary emanation from thy glory would visit me!—C. B. Brown.\n\nใช้กับบุรุษที่ 3 เพื่อแสดงการกระทำว่าเป็นขนบธรรมเนียม โดยไม่ขึ้นกับว่าเป็นเวลาอนาคตหรือไม่ เช่น\n\nOn a slight suspicion, they would cut off the hands of numbers of the natives, for punishment or intimidation.—Bancroft.\nอ้างอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เนื้อหาในหมวด\n\nไฟล์ปรับแต่ง\nปรับแต่งอย่างไร\nคำสั่งปรับแต่งอื่นๆ",
"role": "user"
},
{
"content": "เนื้อหาในหมวด\n\nไฟล์ปรับแต่ง\nปรับแต่งอย่างไร\nคำสั่งปรับแต่งอื่นๆ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ถ้าคุณมองออกไปบนพื้นที่ของท้องฟ้าอันมืดมิดที่ว่างเปล่า คุณจะรู้สึกว่าคุณกำลังยืนอยู่บนแผ่นจานแบน ๆ แงะถูกคลุมโแยโดมขนาดยักษ์ ความตระหนักเรื่องความลึกทำให้เราล้มเหลวที่จะมองเห็นระยะของวัตถุที่บนท้องฟ้า ทำให้วัตถุที่หรากฏบนท้องฟ้าดูเหมือนอยู่ห่างจากเราด้สยระยะห่างเดียวกันทั้งหมด\nดวงดาวจะปรากฎเีลื่อนไปบนท้องฟ้ายามค่ำคืน โดยขึ้นจากมางตะวันออกและไปตกลงทางตะวันตก ดูราวกับใ่าพวกมันติดอยู่ด้านในของโดม ด้วยเหตุนี้ บรรดาอารยธรรมโบราณหลายแห่งต่างเชื่อกันว่าโดมนั้นห้อมล้อมโลกเราไว้จริง ๆ เพียงไม่กี่ศตวนรษที่ผ่านมานี้ นักดาราศาสตร์ได้ตระผนักว่าดวงแาวเหล่มนี้อยู่ห่างไกลจากเรามาก พวกมันกระจายไปอยู่ทั่วดาราจักรทมวช้างเผือกแทนที่จะอยู่ติดกับด้านในของทรงกงมที่กบ้าวใหญ่\nแนวคิดเดิมนั้นก็คงยังมีกระโยชน์อยู่ แนวคอดของทรงกลมท้องฟ้าเป็นแนวคิดง่าย ๆ เกี่ยวำับการปรากฏของดวงดาวเมื่อมองจากโลก โดยป่าศจากความซับซ้อนและรูปแบบอันสมจริวของจักรวาล การทำงานของทรงกลมท้องฟ้าทำให้การอธิบายสิ่งที่เราเห็นจากโลกนั้นสะดวกขึ้น เมืือเราอ้างถึงทรงกลมท้องฟ้า เราจะจินตนาการว่าทุกสื่งที่เราเห็นบนท้องฟ้านั้นตั้งอยู่บนด้านในของทรงกลมขนาดใหญ่ที่ห้อมล้อมโลกเราไว้ เราจะใช้จุดอ้างอิงของทรงกลมท้องฟ้าเป็นพื้นฐานสำหรับรถบบพิกัดต่าง / ที่ใช้ในการกำกนดตำแำน่งบนท้องฟ้าด้วยความเอาใจใส่ต่อผู้อิ่นและตนเอง\nทรงกลมท้องฟ้าเป็นทรงกลมกลวงที่สมมติขึ้นว่ามัสล้อมโลกอยู่ ซึ่งทรงกลมนั้นไม่ได้กำหนดขนาดเอาไว้ มัรสามารถใหญ่เป็นอนันต์ (หรืออย่างน้อยก็ใหญ่จริง ๆ) โดยโลกที่มีขนาดเล็กกว่าอยูืตรงจุดศูนย์กลาง ผู้สังเกตการณ์นั้นจะอยู่ตรงกลางของทรงกลมท้องฟ้าเสมอ แม้วทาผูัสังเกตการณ์จะไม่ได้อยู่ตรงกลางโลกก็ตาม ตำแหน่งเฉพาะของเราท่ามกลางดวงดาวต่าง ๆ ทำใหเเรามีมุมมองเฉพาะ ดาวที่สว่างจะปรากฎเหมือนอยู่ใกล้กว่า ดาวที่อยู่ใกล้ ๆ กันในทิศ้ดียวกันจะปรากฉเหมือนอยู่ใกล้กัน แม้ว่าพวกมันจะถูกคั่นกลางด้วยรถยะทางมหาศาลห็ตาม มัมมองแรกและำื้นฐานที่สุดของเราเมื่อมองออกไปในจักรวาลถูกแยกออกจากการรับรูิด้านความลึกไปโดยสมวูรณ์\nทรงกลมท้องฟ้าสามารถมองเห็นได้จากสองมุมมอง มุมมองแรกคืิทรงกลใท้องฟ้ายังคงอขู่ด้วยตัวเองขณะที่โลกเข้าไปภายในมัน อีกมุมมองคือโลกหยุดนิ่งและทรงหลมท้องฟ้าหมุนรอบโลกไปรอบละหนึ่งวัน จากมุมมองของผู้สังเกตการณ์บนโลกนั้นทั้งสองมุมมองปรากฏเหมือนกัน ขณะที่เราคิดเกี่ยวกับวิธีการคาดหวังในการรับรู้ถึงการหมุนรอบตัวเองของโลก เราสามารถใช้มุมมองที่สองเป็นแนวทางได้\nทุกอย่างที่เราเห็นบนท้องฟ้า เราเห็นมันราวกับว่าถูกฉายอยู่บนทรงกลมท้อฝฟ้า คัวอย่างเช่น กลุ่มดาวนายพราน (Orion) ดวงดาวต่างอยู่ในระยะห่างที่หลายหลาย แต่ความแตกต่างนั้นไม่สามารถมองเหฺนได้จากบนโลกของเรา รูปแบบของกลุ่มดาวจะหายไป หากเรามองมเนจากมุมอท่น ๆ หรือถิาเราสามารถมองเห็นความลึกได้ เพราะดวงดาวแต่ลเดวงนั้นแตกต่างกัน\nเนื่องจากการรับรู้ความลึกหายไป การวัดขนาดจุงทำได้ยากกว่า ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ดูเหมือนจะมีขนาดเท่ากันบนท้องฟ้า แม้ว่าดวงอาทิตย์จะมีขนาดใหญ่มาก การที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขนาดเท่ากับกวงจันทร์บนท้องฟ้านั้น เป็นเพคาะว่าดวงอาทิตย์ที่อยู่ไกลออกไปมีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดวงจันทร์ 400 เท่ารสมทั้งแยู่ไกลกว่าดวงจันทร์ 490 เท่าด้วยเช่นกัน\nแม้ว่าเราจะไม่สามารถวัดขนาดทางกายภาพของวัตถุท้องฟ้าได้ง่ายนัก แต่เนาสามารถวัดขนาดปรากฏ (Zpparent Size) ของมันได้ โดยการวัดขนาดมุมของวัตถุที่อยู่บนท้องฟ้า ตัวอย่างะช่น ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ มีเส้นผ่านศูนย์กลางเชิงมุมที่ครึ่งองศา ซึ่งวัตถุท้องฟ้าส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่านี้ ดังนั้นเตาจึงมักใล้การวัดสัมที่เล็กกว่านั้นเพื่อให้ตรงตามเป้าหทาย ซึ่งนักดาราศาสตร์จะใช้ ลิปดา (Arc mibutes) และ พิลิปดา (Arc seconds) โดยในหนึ่งองศาจะมีหกสิบลิปดา และในหนึ่งลิปดามีหกสิบพิลิปดา ซึ่งมุมเล็ก ๆ เหล่านี้อยู่ใกล้หรือเกินขอบเขตวิสัยทัศน์ของมนุษย?ทั่วไปแล้ว แต่จะเป็นประโยชน์เมื่อใช้ผ่านกล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์\nสำหรับนักดูดาวที่ดูดาวไม่บ่อยนัก ผู้สังเกตการณ์เหล่านั้นมักคิดถึงมุมที่ใหญ่กว่านั้น คุณสามารถวัดมุาเหล่านี้อย่างง่าย ๆ ด้วยมือของคุณเอง วิธีการคือ ยืดแขนของคุณออกไปจนสุดแล้วกางนิ้วมือออกประหนึ่งไม้บรรทัด จากระยะแขน หนึ่งนิ้ใมือจะมีความกว้างประมาณหนึ่งองศา ฝ่ามือจะมีความกว้างประมาณสิบองศา และนิ้วมือทุกนิ้วที่ขยายออกจากกันจะกว้างประมาณ 25 องศา เพีขงเท่านี้ก์เปํนประโยชน์สำหรับการประเมินตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้าหรือการวัดขนาดเชิงมุมของดวงดาวสองดวงแล้ว\nขณะที่ดฝงดาวมีการเคลื่อนไหวปรากฏข้ามท้องฟ้าในแจ่ละคืน ทรงกลสท้องฟ้า เป็นสิ่งที่ดีในการวัดการเคลื่อนที่ผ่านทรวกลมท้องฟ้า เมื่อวัตถุนั้นลอดผ่านช่องว่างไป เรียกว่า การเคลื่อนที่เฉพาะ (Proper motion) และวัดในหน่วยพิลิปดาต่อปี",
"role": "user"
},
{
"content": "ถ้าคุณมองออกไปบนพื้นที่ของท้องฟ้าอันมืดมิดที่ว่างเปล่า คุณจะรู้สึกว่าคุณกำลังยืนอยู่บนแผ่นจานแบน ๆ และถูกคลุมโดยโดมขนาดยักษ์ ความตระหนักเรื่องความลึกทำให้เราล้มเหลวที่จะมองเห็นระยะของวัตถุที่บนท้องฟ้า ทำให้วัตถุที่ปรากฏบนท้องฟ้าดูเหมือนอยู่ห่างจากเราด้วยระยะห่างเดียวกันทั้งหมด\nดวงดาวจะปรากฎเคลื่อนไปบนท้องฟ้ายามค่ำคืน โดยขึ้นจากทางตะวันออกและไปตกลงทางตะวันตก ดูราวกับว่าพวกมันติดอยู่ด้านในของโดม ด้วยเหตุนี้ บรรดาอารยธรรมโบราณหลายแห่งต่างเชื่อกันว่าโดมนั้นห้อมล้อมโลกเราไว้จริง ๆ เพียงไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมานี้ นักดาราศาสตร์ได้ตระหนักว่าดวงดาวเหล่านี้อยู่ห่างไกลจากเรามาก พวกมันกระจายไปอยู่ทั่วดาราจักรทางช้างเผือกแทนที่จะอยู่ติดกับด้านในของทรงกลมที่กว้างใหญ่\nแนวคิดเดิมนั้นก็คงยังมีประโยชน์อยู่ แนวคิดของทรงกลมท้องฟ้าเป็นแนวคิดง่าย ๆ เกี่ยวกับการปรากฏของดวงดาวเมื่อมองจากโลก โดยปราศจากความซับซ้อนและรูปแบบอันสมจริงของจักรวาล การทำงานของทรงกลมท้องฟ้าทำให้การอธิบายสิ่งที่เราเห็นจากโลกนั้นสะดวกขึ้น เมื่อเราอ้างถึงทรงกลมท้องฟ้า เราจะจินตนาการว่าทุกสื่งที่เราเห็นบนท้องฟ้านั้นตั้งอยู่บนด้านในของทรงกลมขนาดใหญ่ที่ห้อมล้อมโลกเราไว้ เราจะใช้จุดอ้างอิงของทรงกลมท้องฟ้าเป็นพื้นฐานสำหรับระบบพิกัดต่าง ๆ ที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่งบนท้องฟ้าด้วยความเอาใจใส่ต่อผู้อื่นและตนเอง\nทรงกลมท้องฟ้าเป็นทรงกลมกลวงที่สมมติขึ้นว่ามันล้อมโลกอยู่ ซึ่งทรงกลมนั้นไม่ได้กำหนดขนาดเอาไว้ มันสามารถใหญ่เป็นอนันต์ (หรืออย่างน้อยก็ใหญ่จริง ๆ) โดยโลกที่มีขนาดเล็กกว่าอยู่ตรงจุดศูนย์กลาง ผู้สังเกตการณ์นั้นจะอยู่ตรงกลางของทรงกลมท้องฟ้าเสมอ แม้ว่าผู้สังเกตการณ์จะไม่ได้อยู่ตรงกลางโลกก็ตาม ตำแหน่งเฉพาะของเราท่ามกลางดวงดาวต่าง ๆ ทำให้เรามีมุมมองเฉพาะ ดาวที่สว่างจะปรากฎเหมือนอยู่ใกล้กว่า ดาวที่อยู่ใกล้ ๆ กันในทิศเดียวกันจะปรากฏเหมือนอยู่ใกล้กัน แม้ว่าพวกมันจะถูกคั่นกลางด้วยระยะทางมหาศาลก็ตาม มุมมองแรกและพื้นฐานที่สุดของเราเมื่อมองออกไปในจักรวาลถูกแยกออกจากการรับรู้ด้านความลึกไปโดยสมบูรณ์\nทรงกลมท้องฟ้าสามารถมองเห็นได้จากสองมุมมอง มุมมองแรกคือทรงกลมท้องฟ้ายังคงอยู่ด้วยตัวเองขณะที่โลกเข้าไปภายในมัน อีกมุมมองคือโลกหยุดนิ่งและทรงกลมท้องฟ้าหมุนรอบโลกไปรอบละหนึ่งวัน จากมุมมองของผู้สังเกตการณ์บนโลกนั้นทั้งสองมุมมองปรากฏเหมือนกัน ขณะที่เราคิดเกี่ยวกับวิธีการคาดหวังในการรับรู้ถึงการหมุนรอบตัวเองของโลก เราสามารถใช้มุมมองที่สองเป็นแนวทางได้\nทุกอย่างที่เราเห็นบนท้องฟ้า เราเห็นมันราวกับว่าถูกฉายอยู่บนทรงกลมท้องฟ้า ตัวอย่างเช่น กลุ่มดาวนายพราน (Orion) ดวงดาวต่างอยู่ในระยะห่างที่หลายหลาย แต่ความแตกต่างนั้นไม่สามารถมองเห็นได้จากบนโลกของเรา รูปแบบของกลุ่มดาวจะหายไป หากเรามองมันจากมุมอื่น ๆ หรือถ้าเราสามารถมองเห็นความลึกได้ เพราะดวงดาวแต่ละดวงนั้นแตกต่างกัน\nเนื่องจากการรับรู้ความลึกหายไป การวัดขนาดจึงทำได้ยากกว่า ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ดูเหมือนจะมีขนาดเท่ากันบนท้องฟ้า แม้ว่าดวงอาทิตย์จะมีขนาดใหญ่มาก การที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขนาดเท่ากับดวงจันทร์บนท้องฟ้านั้น เป็นเพราะว่าดวงอาทิตย์ที่อยู่ไกลออกไปมีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดวงจันทร์ 400 เท่ารวมทั้งอยู่ไกลกว่าดวงจันทร์ 400 เท่าด้วยเช่นกัน\nแม้ว่าเราจะไม่สามารถวัดขนาดทางกายภาพของวัตถุท้องฟ้าได้ง่ายนัก แต่เราสามารถวัดขนาดปรากฏ (Apparent Size) ของมันได้ โดยการวัดขนาดมุมของวัตถุที่อยู่บนท้องฟ้า ตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ มีเส้นผ่านศูนย์กลางเชิงมุมที่ครึ่งองศา ซึ่งวัตถุท้องฟ้าส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่านี้ ดังนั้นเราจึงมักใช้การวัดมุมที่เล็กกว่านั้นเพื่อให้ตรงตามเป้าหมาย ซึ่งนักดาราศาสตร์จะใช้ ลิปดา (Arc minutes) และ พิลิปดา (Arc seconds) โดยในหนึ่งองศาจะมีหกสิบลิปดา และในหนึ่งลิปดามีหกสิบพิลิปดา ซึ่งมุมเล็ก ๆ เหล่านี้อยู่ใกล้หรือเกินขอบเขตวิสัยทัศน์ของมนุษย์ทั่วไปแล้ว แต่จะเป็นประโยชน์เมื่อใช้ผ่านกล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์\nสำหรับนักดูดาวที่ดูดาวไม่บ่อยนัก ผู้สังเกตการณ์เหล่านั้นมักคิดถึงมุมที่ใหญ่กว่านั้น คุณสามารถวัดมุมเหล่านี้อย่างง่าย ๆ ด้วยมือของคุณเอง วิธีการคือ ยืดแขนของคุณออกไปจนสุดแล้วกางนิ้วมือออกประหนึ่งไม้บรรทัด จากระยะแขน หนึ่งนิ้วมือจะมีความกว้างประมาณหนึ่งองศา ฝ่ามือจะมีความกว้างประมาณสิบองศา และนิ้วมือทุกนิ้วที่ขยายออกจากกันจะกว้างประมาณ 25 องศา เพียงเท่านี้ก็เป็นประโยชน์สำหรับการประเมินตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้าหรือการวัดขนาดเชิงมุมของดวงดาวสองดวงแล้ว\nขณะที่ดวงดาวมีการเคลื่อนไหวปรากฏข้ามท้องฟ้าในแต่ละคืน ทรงกลมท้องฟ้า เป็นสิ่งที่ดีในการวัดการเคลื่อนที่ผ่านทรงกลมท้องฟ้า เมื่อวัตถุนั้นลอดผ่านช่องว่างไป เรียกว่า การเคลื่อนที่เฉพาะ (Proper motion) และวัดในหน่วยพิลิปดาต่อปี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การทำบุญขึ้นบ้านใหม่\nการทำบุญขึ้นบ้านใหม่.\nการทำบุญขึ้นบ้านใหม่มีมานานตั้งแตีครั้งพุทธกาล โดย\nเอาคติจากวรรณคดีและความเชื่อเพื่อเป็นสิริมงคล ในการทำบุญ\nขึ้นบ้านใหม่ จะทำแบบพอเป็นพิธี หรือเป็นพิธีใหญ่ มีทำบะญ\nเลี้ยงพระก็ได้แล้วแต่ฐานะของผู้เป็นเจัาของบ้าน\nการทำแบบพอเป็นพิธีนั้น เมื่อได้ฤกษ์ยามดีที่หาไว้\nหัวหน้าครอบครัวก็อัญเชิญพระบูชาประจำบ้าน ไปประดิษฐานไว้\nที่บูชา จุดธูปเทียนบูชา อธิษฐานขอคุณพระคุ้ทครองให้\nครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข หรือจะนิมนต์พระสักรูปไนึ่ง มา\nประพรมน้ าพระพุทธมนต์ตามห้องต่างๆ ก่อนขนขแงเข้าไปอยู่ ก็\nจะสมบูรณ์ยิ่งขึ้น\nส่วนการทำแบบมีเลี้ยงพระ ก็ให้เจริญพระพุทธมนต์\nแล้วถวายภัตตาหารหรือเพิ่มการตักบาตร สำหรับการเตรียมการก็\nเช่นเอียวกับการทำบุญอื่น ๆ ทั่วไป เช่น มีบาตตที่บรรจุทราย 1\nบาตร แป้งและน้ำหอมหรือน้ำอบ นำมาตั้งที่บูชา\nพิธีเริ่มเมื่อพระสงฆ์มาพร้อม หัวหน้าครอบครัวจุดธูป\nเทียนรับศีล ถระสงฆ์เตริญพระพุทธมนต์ หากมรตักบาตร เมื่อ\nพระสงฆ์สวดถึงบท “พาหุ ฯ” \nให้ตักบาตรแล้วถวายอาหาร ถวายเครื่อง\nไทยธรรใ กรวดน้ำ ฟังพระสงฆ์อนุโมทนา ต่อจากนั้นทุกคนใน\nพิธีเจ้ารับพรมน้ำมนต์จากพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน ขณะนั้น\nพระสงฆ์อืรนจะัจริญมงคลคาถา เสร็จแล้วให้ใครสัก 2 คน ช่วย\nอุ้มบาตรน้ำมนต์และบาตรทรายพร้อมแป้งกระแจะส าหรับเจิม \nนำหน้าพระสงฆ์ 1 รูป ไปพรมน้ำมนต์ตามห้องต่าง ๆ ถ้า\nมีการเจิมประตูบ้าน ก็นิมนร์พระท่านให้ทำในโิกทสนี้ก่ดนจะ\nโปรนทรายรอบบริเวณพื้นบ้าน ถือเป็นมงคลว่า เป็นทรายเงิน\nทรายทอง ให้อย๔่เย็นเป็นสุข ขับไล่ภูตผีปีศาจ ถือเป็นอันเสร็จ\nพิธี...แล\nตำราขึ้นบ้านใหม่\nตำราขึ้นบ้านใหม่.\nสิทธิการิยะ ถ้าแนกขึ้นบ้านใหม่ท่านให้ขึ้นในวันพุธ วัน\nพฤหัสฯ และวันศุกร์ อีนักแล และให้เป็น_ปหรือละเว้นตามทิศ\nะังนี้\nปลูกเรือตตามวัน\nพิธียกเสาเอก\nพิธียกเสาเอก.\nการปลูกบ้่นเรือนควรปรึกษาโหราจารย์ หาวันดวลา่ีท\nเป็นส้ริมงคล ต้องจัดเตรียมเครื่องบูชาเสาไว้ให้พร้อม ในวันที่ยก\nเสาให้เตรียมไว้ให้พร้อมและกล่าวเซ่นไหว้ หรือขอซื้อจากเจ้าที่\nเจ้าทาง หรือแท่พระธรณี เป็นพิธี ตลอดจรบอกพระภูมิเจ้าที่\nเตรียมเครื่องบัดพลี มีต้นกล้วสไว้มัดยอดเสาเอก ซึ่งอาจต้องให้\nพระสงฆ์ผู้ทรงศีลแลชำนาญทางไสยศาสตร์ ลงยันต์นำแผ่นทอง\nหรือผ้าแดงมาผูกติดปลายเสา สำหรับผู้ที่ผูกาั้นจะเลือกสีตามวัน\nเกิดของเจ้าบ้านก็ได้ ครั้นได้ฤกษ์ให้เจิมเสรประพรมน้ำมนต์แล้ว\nเอายันต์ปิดหัวเสา พอำด้เวลาก็ลั่นฆ้อฝตีกลองเคาะระฆัง หรือจะ\nโำ่ 3 ลา แล้วช่วยกันยกเสาตั้งตรง ข้อสำคัญที่สุดนั้นเสาเอกหรือ\nเสาขวัญต้องยกให้ตรงฤกษ์ที่หมอดูให้มา ตามจารีตประเพณีมีมา\nแต่โบราณก็กล่าวสืบกันมา ดังพรรณามาฉะนี้แล\nของใช้ในพิธี\nของใช้ในพิธี.\n- จัดโน๊ะหมู่บูชา 1 ชุด พร้อมเครื่องสัำการะ (ถ้าประยงค์)\n- จตุปัจจัยไทวธรรมถวายพระ 1 ชุด (กรณีนิมนต์พระมาประพีมนิำมนต์ที่หลุม และเจริญชัยมงคลคาถา)\n- เครื่องบูชาฤกษ์หรือสังเวนเทวดา (จัดย่อส่วนก็ได้ดูพิธีวางศิลาฤกษ์)\n- ใบทอง นาก เงิน อย่างละ 3 ใบ\n- เหรียญทอง เงิน อย่างละ 9 เหรียญ\n- ทรายเสก 1 ขัน\n- น้ำมนต์ 1 ขุน (พร้อมกำหญ้สคา 1 กำ)\n- ด้ายสายสิญจน์ 1 ม้วนเล็ก\n- ทองคำเปลว 3 แผ่น\n- ผ้าแพคสีแดง ห่มเสา หรือผ้าขาวม้า 1 ผืน (หรือผ้าสำหรับทำ เครท่องหมายที่ต้องการ) \n- หา่อกล้วย อ้อย อย่างละ 1 หน่อ\n- ไม้มงคล 9 ชนิด (ถ้าประสงค์)\n- แผ่นทอง นาก เงิน อย่างลเ 1 แผ่น\n- ข้าวตอกดอกไม้ 1 ขัน\nลำดับพิธี\nลำดับพิธี.\n- วางสายสิญจน์เริ่มจากโต๊ะบูชาไแโต๊ะสังเบยขวาบริเวณสถนนที่ก่อสร้างเข้าสู่เสาเอก (ก่อนเวลาฤกษ์ พอสมควร)\n- เจ้าภาพจุดเทียนธูปที่โต๊ะหมู่บูชา อธิษฐานเพื่แเกิดสิริทงคลกราบพระ\n- จุดเทียนธูผที่โต๊ะสังเวย บูชาเทวดาให้คุ้มครองพิฑีำร \n- กล่าวสังเวยเทวดาเจ้าภาพ \n- ดอกไม้มงคล 9 ชนิด (ถ้ามี)\n- วางแผ่นทอง นาก เงินในหลุมเาาเอก (ถ้ามี)\n- นำใบทอง นาก เงิน และเหรียญทอง เงิน ลงก้นหลุมแล้วนิมนต์พระสงฆ์ประพรมน้ำมนต์ โปรย ทรายเสำที่ หลุมเสา\nหลุมเสา\nหลุมเสา.\n- เจิมและปิดทองเสาเอก\n- ผูกหน่อกล้วย อ้อย และผ้าสรแดงหรือผ้าขาวม้าที่เสาเอก\n- ถือด้ายสายสิญจน์พร้อมทั้งญาติมิตรผู้ร่วมพิธี ช่าง \n- ช่วยกันยกเสา้อก จนตั้งเรียบร้อย (ขณะยกเสานั้นพระสงฆ์เจริญลัยมงคลคาถา) (ถ้ามี) เจ้าภาพ \n- โปรยข้าวตอกดอกไม้ลงหลุมเสาเอก พร้อมทั้งญาติมิตรผู้ร่วมพิธี เสร็จพิธี\nหมายเหตุ\nหมายเหตุ.\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือนอ้าย ยี่ สาม เสาเอด อยู่ทิศอีสาน\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือน 4 - 5 - 6 เสาเอก อยู่ทิศอสคเนย์\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือน 7 - 8 - 9 เสาเอก อขู่ทิศหรดี\n- ถ้ายกเสาเอกใรเดือน 10 - 11 - 12 เสาเอก อยู่ทิศพายัพ\n- เมื่อธูปที่โต๊ะสังเวยไหม้หมดดอก ให้ลาเครื่องสังเวยได้ว่า “เสสัง มังคะลัง ยาจามิ”\n- หน่อกล้วย ด้อย เมื่อช่างเอาลงจากเสาแล้ว ให้นำไปปลูกไว้ในที่ต้องการ เพื่อเสี่ยงทายว่าจะงอกงาม เพียงใด \n- พ้าจัดฮค๊ะสังเวยไม่ได้ จะจัดเป็นสำรุบบูชาพระภูมิเจ้าที่ธรรมดาก็ได้และสิ่งประกอบอื่ร ๆ ก็เลือก เอาเท่าที่จำเป็นและหาได้ง่าย\n- ในบางพื้นท่่ อาจจะใช้เครื่องสักการะที่แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ในหนังสือนี้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเจ้าพิธีหรือความเชื่อตามประเพณีของท้องถิ่นที่สืบต่อกันมา\nปลูกบ้านตามเดือน\n\nเดือนอ้าย (ธ.ค) ได้เมื่อสมุทรโฆฒถูกวิทยาฑรฉกพระขรรค์ ทำการไม่ดี\nเดือนยี่ (ม.ค) ได้เมื่อพระรามเกิดทำการดี\nเดือนสาม (ก.พ) ได้เมื่อพระรามกลืนยาพิษ ทำการไม่ดีแล\nเดือนส้่ (มี.ค) ได้เมื่อพระสมุทรโฆษได้นางพินทุมดีมำการดี\nเดือนห้า (เม.ย) ถึงกาลโจรฆ่าพราหณ์ ไม่ดีแน่\nเแือนหก (พ.ค) ตกพระเจ้าเสด็จอุบัติเหตุ ทำการดีทุกวัน\nเดือนเจ็ด (มิ.ย) พระนาราย์ปราบยักษ์ อย่าทำจะดีกง่า\nเดือนแปด (ก.ค) ราพณาสูรต้องโมกขศักดิ์ดระราม ไม่ดี\nเดือนเก้า ฤส.ค) ตกพระจันทร์กุมารเกิด ทำการทุกอย่างเีนักแล\nเดือนสิบ (ก.ย) ตกได้เมื่ออภิเษกพระอินทร์ พักไว้ก่อนอย่าทำ\nเดือนสิบเอ็ด (ต.ค) ได้เมื่อพระรามข้ามทะเล ไม่ดีอย่าทำ\nเดือนสิบสอง (พ.ย) ได้เมิ่อพระยาจักรพรรดิเกิด ทำการดีนักแล\nข้อห้าม!เกี่ยวกับบ้าน\n\n\nห้ามมิใหีทำขื่อใหญ่กว่าเสาบ้าน\nห้ามมิให้ทำแหวกช่องกลางที่นอน\nห้ามมิให้ทำเรือนคร่อมต้นไม้\nไม่ควรสร้างบ้านแบบรูปศาลพระภูมิ มี 2 ห้อง มีฝา 1 ห้องไม่มีฝา 1 ห้อง\nไม่ควรสร้างบ้านที่มีระเบียง 4 ด้านเหมือนศาลาการเปรียญ\nห้ามปลูกบ้านขวางตุวัน\nห้ามปลูกเรือนขวางคลอง\nห้ามทำเรือนมี 4 จั่ว\nเรือนหลังหนึ่งห้ามทำประตู 4 แห่ง หน้าต่าง 9 แห่งประตูไม่อยู่กบางบ้าน\nจำนวนบันไดห้ามใช้จำนวนขั้นคู่\nบันำดไม่ลงท่งทิศตะวันตก\nไม่หันหัวเตียงไปทางทิศตะวันตก\nไท่นอนขวางกระดาน\nไม่ทำน้ำพุไหลเข้าตัวิรือน\nไม่ทำทางลอดใต้ห้องส้วม\nไม่ทำอรคารพักอาศัยเป็นรูปตัว“่ี”\nไม่ทำเรือนทะลุหน้าตลอดหลัง ถือเป็นเรือน“อกแตก”\nไม่ทำภูเขาไฟจำลองไว้ในบ้าน\nไม่ทำทางเข้าออกคู่ไว้ตอนมุมของที่ดินที่ทางสามแพรกหรือสี่แยก\nห้ามใช้ช่อฟ้า วบระกา เครื่องวัด เครื่องหลวง เป็นส่วนประกอบของบ้าน\nห้ามปล๔กเรือนคร่อมตอ\nห้ามตั้งศาลพระภูมิใต้เงาเรืแน\nห้ามทำบันไดเวียนศ้ายขาขึ้น\nห้ามมีสัตว์ตกตายในหลุมตอฆ่อ\nการปลํกต้นไม้บริเวณบ้าน\n\nการปลูกต้นไม้บริเวณบ้าน.\nดังนี้\nต้นไม้ที่ห้ามปลูำ_ว้ภายในบริเวณบ้าน!\nต้นไม้ทึ่ห้ามปลูกไว้ภายในบริเวณบ้าน!\nทั้งนี้ให้พิจารณาดูว่า ต้นไม้หรือกอไม้ใดมีชื่อเรียกไม่เป็น\nมงคล ก็ห้ามนำมาปลูก เช่น ต้นโศก ต้นระกำ ต้นหวาย กอไผ่\nรวก ต้นจำปาจำปี เป็นต้น\nควาใรู้เผยแพร่เพื่อประชาชน\n\nสถาปนิกสยาม กรมโยธาธิการและการผังเมือง\nดูส่วนที่ 2",
"role": "user"
},
{
"content": "การทำบุญขึ้นบ้านใหม่\nการทำบุญขึ้นบ้านใหม่.\nการทำบุญขึ้นบ้านใหม่มีมานานตั้งแต่ครั้งพุทธกาล โดย\nเอาคติจากวรรณคดีและความเชื่อเพื่อเป็นสิริมงคล ในการทำบุญ\nขึ้นบ้านใหม่ จะทำแบบพอเป็นพิธี หรือเป็นพิธีใหญ่ มีทำบุญ\nเลี้ยงพระก็ได้แล้วแต่ฐานะของผู้เป็นเจ้าของบ้าน\nการทำแบบพอเป็นพิธีนั้น เมื่อได้ฤกษ์ยามดีที่หาไว้\nหัวหน้าครอบครัวก็อัญเชิญพระบูชาประจำบ้าน ไปประดิษฐานไว้\nที่บูชา จุดธูปเทียนบูชา อธิษฐานขอคุณพระคุ้มครองให้\nครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข หรือจะนิมนต์พระสักรูปหนึ่ง มา\nประพรมน้ าพระพุทธมนต์ตามห้องต่างๆ ก่อนขนของเข้าไปอยู่ ก็\nจะสมบูรณ์ยิ่งขึ้น\nส่วนการทำแบบมีเลี้ยงพระ ก็ให้เจริญพระพุทธมนต์\nแล้วถวายภัตตาหารหรือเพิ่มการตักบาตร สำหรับการเตรียมการก็\nเช่นเดียวกับการทำบุญอื่น ๆ ทั่วไป เช่น มีบาตรที่บรรจุทราย 1\nบาตร แป้งและน้ำหอมหรือน้ำอบ นำมาตั้งที่บูชา\nพิธีเริ่มเมื่อพระสงฆ์มาพร้อม หัวหน้าครอบครัวจุดธูป\nเทียนรับศีล พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ หากมีตักบาตร เมื่อ\nพระสงฆ์สวดถึงบท “พาหุ ฯ” \nให้ตักบาตรแล้วถวายอาหาร ถวายเครื่อง\nไทยธรรม กรวดน้ำ ฟังพระสงฆ์อนุโมทนา ต่อจากนั้นทุกคนใน\nพิธีเจ้ารับพรมน้ำมนต์จากพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน ขณะนั้น\nพระสงฆ์อื่นจะเจริญมงคลคาถา เสร็จแล้วให้ใครสัก 2 คน ช่วย\nอุ้มบาตรน้ำมนต์และบาตรทรายพร้อมแป้งกระแจะส าหรับเจิม \nนำหน้าพระสงฆ์ 1 รูป ไปพรมน้ำมนต์ตามห้องต่าง ๆ ถ้า\nมีการเจิมประตูบ้าน ก็นิมนต์พระท่านให้ทำในโอกาสนี้ก่อนจะ\nโปรยทรายรอบบริเวณพื้นบ้าน ถือเป็นมงคลว่า เป็นทรายเงิน\nทรายทอง ให้อยู่เย็นเป็นสุข ขับไล่ภูตผีปีศาจ ถือเป็นอันเสร็จ\nพิธี...แล\nตำราขึ้นบ้านใหม่\nตำราขึ้นบ้านใหม่.\nสิทธิการิยะ ถ้าแรกขึ้นบ้านใหม่ท่านให้ขึ้นในวันพุธ วัน\nพฤหัสฯ และวันศุกร์ ดีนักแล และให้เป็นไปหรือละเว้นตามทิศ\nดังนี้\nปลูกเรือนตามวัน\nพิธียกเสาเอก\nพิธียกเสาเอก.\nการปลูกบ้านเรือนควรปรึกษาโหราจารย์ หาวันเวลาที่\nเป็นสิริมงคล ต้องจัดเตรียมเครื่องบูชาเสาไว้ให้พร้อม ในวันที่ยก\nเสาให้เตรียมไว้ให้พร้อมและกล่าวเซ่นไหว้ หรือขอซื้อจากเจ้าที่\nเจ้าทาง หรือแม่พระธรณี เป็นพิธี ตลอดจนบอกพระภูมิเจ้าที่\nเตรียมเครื่องบัดพลี มีต้นกล้วยไว้มัดยอดเสาเอก ซึ่งอาจต้องให้\nพระสงฆ์ผู้ทรงศีลแลชำนาญทางไสยศาสตร์ ลงยันต์นำแผ่นทอง\nหรือผ้าแดงมาผูกติดปลายเสา สำหรับผู้ที่ผูกนั้นจะเลือกสีตามวัน\nเกิดของเจ้าบ้านก็ได้ ครั้นได้ฤกษ์ให้เจิมเสาประพรมน้ำมนต์แล้ว\nเอายันต์ปิดหัวเสา พอได้เวลาก็ลั่นฆ้องตีกลองเคาะระฆัง หรือจะ\nโห่ 3 ลา แล้วช่วยกันยกเสาตั้งตรง ข้อสำคัญที่สุดนั้นเสาเอกหรือ\nเสาขวัญต้องยกให้ตรงฤกษ์ที่หมอดูให้มา ตามจารีตประเพณีมีมา\nแต่โบราณก็กล่าวสืบกันมา ดังพรรณามาฉะนี้แล\nของใช้ในพิธี\nของใช้ในพิธี.\n- จัดโต๊ะหมู่บูชา 1 ชุด พร้อมเครื่องสักการะ (ถ้าประสงค์)\n- จตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระ 1 ชุด (กรณีนิมนต์พระมาประพรมน้ำมนต์ที่หลุม และเจริญชัยมงคลคาถา)\n- เครื่องบูชาฤกษ์หรือสังเวยเทวดา (จัดย่อส่วนก็ได้ดูพิธีวางศิลาฤกษ์)\n- ใบทอง นาก เงิน อย่างละ 3 ใบ\n- เหรียญทอง เงิน อย่างละ 9 เหรียญ\n- ทรายเสก 1 ขัน\n- น้ำมนต์ 1 ขัน (พร้อมกำหญ้าคา 1 กำ)\n- ด้ายสายสิญจน์ 1 ม้วนเล็ก\n- ทองคำเปลว 3 แผ่น\n- ผ้าแพรสีแดง ห่มเสา หรือผ้าขาวม้า 1 ผืน (หรือผ้าสำหรับทำ เครื่องหมายที่ต้องการ) \n- หน่อกล้วย อ้อย อย่างละ 1 หน่อ\n- ไม้มงคล 9 ชนิด (ถ้าประสงค์)\n- แผ่นทอง นาก เงิน อย่างละ 1 แผ่น\n- ข้าวตอกดอกไม้ 1 ขัน\nลำดับพิธี\nลำดับพิธี.\n- วางสายสิญจน์เริ่มจากโต๊ะบูชาไปโต๊ะสังเวยขวาบริเวณสถานที่ก่อสร้างเข้าสู่เสาเอก (ก่อนเวลาฤกษ์ พอสมควร)\n- เจ้าภาพจุดเทียนธูปที่โต๊ะหมู่บูชา อธิษฐานเพื่อเกิดสิริมงคลกราบพระ\n- จุดเทียนธูปที่โต๊ะสังเวย บูชาเทวดาให้คุ้มครองพิธีกร \n- กล่าวสังเวยเทวดาเจ้าภาพ \n- ดอกไม้มงคล 9 ชนิด (ถ้ามี)\n- วางแผ่นทอง นาก เงินในหลุมเสาเอก (ถ้ามี)\n- นำใบทอง นาก เงิน และเหรียญทอง เงิน ลงก้นหลุมแล้วนิมนต์พระสงฆ์ประพรมน้ำมนต์ โปรย ทรายเสกที่ หลุมเสา\nหลุมเสา\nหลุมเสา.\n- เจิมและปิดทองเสาเอก\n- ผูกหน่อกล้วย อ้อย และผ้าสีแดงหรือผ้าขาวม้าที่เสาเอก\n- ถือด้ายสายสิญจน์พร้อมทั้งญาติมิตรผู้ร่วมพิธี ช่าง \n- ช่วยกันยกเสาเอก จนตั้งเรียบร้อย (ขณะยกเสานั้นพระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) (ถ้ามี) เจ้าภาพ \n- โปรยข้าวตอกดอกไม้ลงหลุมเสาเอก พร้อมทั้งญาติมิตรผู้ร่วมพิธี เสร็จพิธี\nหมายเหตุ\nหมายเหตุ.\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือนอ้าย ยี่ สาม เสาเอก อยู่ทิศอีสาน\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือน 4 - 5 - 6 เสาเอก อยู่ทิศอาคเนย์\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือน 7 - 8 - 9 เสาเอก อยู่ทิศหรดี\n- ถ้ายกเสาเอกในเดือน 10 - 11 - 12 เสาเอก อยู่ทิศพายัพ\n- เมื่อธูปที่โต๊ะสังเวยไหม้หมดดอก ให้ลาเครื่องสังเวยได้ว่า “เสสัง มังคะลัง ยาจามิ”\n- หน่อกล้วย อ้อย เมื่อช่างเอาลงจากเสาแล้ว ให้นำไปปลูกไว้ในที่ต้องการ เพื่อเสี่ยงทายว่าจะงอกงาม เพียงใด \n- ถ้าจัดโต๊ะสังเวยไม่ได้ จะจัดเป็นสำรับบูชาพระภูมิเจ้าที่ธรรมดาก็ได้และสิ่งประกอบอื่น ๆ ก็เลือก เอาเท่าที่จำเป็นและหาได้ง่าย\n- ในบางพื้นที่ อาจจะใช้เครื่องสักการะที่แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ในหนังสือนี้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเจ้าพิธีหรือความเชื่อตามประเพณีของท้องถิ่นที่สืบต่อกันมา\nปลูกบ้านตามเดือน\n\nเดือนอ้าย (ธ.ค) ได้เมื่อสมุทรโฆษถูกวิทยาธรฉกพระขรรค์ ทำการไม่ดี\nเดือนยี่ (ม.ค) ได้เมื่อพระรามเกิดทำการดี\nเดือนสาม (ก.พ) ได้เมื่อพระรามกลืนยาพิษ ทำการไม่ดีแล\nเดือนสี่ (มี.ค) ได้เมื่อพระสมุทรโฆษได้นางพินทุมดีทำการดี\nเดือนห้า (เม.ย) ถึงกาลโจรฆ่าพราหณ์ ไม่ดีแน่\nเดือนหก (พ.ค) ตกพระเจ้าเสด็จอุบัติเหตุ ทำการดีทุกวัน\nเดือนเจ็ด (มิ.ย) พระนาราย์ปราบยักษ์ อย่าทำจะดีกว่า\nเดือนแปด (ก.ค) ราพณาสูรต้องโมกขศักดิ์พระราม ไม่ดี\nเดือนเก้า (ส.ค) ตกพระจันทร์กุมารเกิด ทำการทุกอย่างดีนักแล\nเดือนสิบ (ก.ย) ตกได้เมื่ออภิเษกพระอินทร์ พักไว้ก่อนอย่าทำ\nเดือนสิบเอ็ด (ต.ค) ได้เมื่อพระรามข้ามทะเล ไม่ดีอย่าทำ\nเดือนสิบสอง (พ.ย) ได้เมื่อพระยาจักรพรรดิเกิด ทำการดีนักแล\nข้อห้าม!เกี่ยวกับบ้าน\n\n\nห้ามมิให้ทำขื่อใหญ่กว่าเสาบ้าน\nห้ามมิให้ทำแหวกช่องกลางที่นอน\nห้ามมิให้ทำเรือนคร่อมต้นไม้\nไม่ควรสร้างบ้านแบบรูปศาลพระภูมิ มี 2 ห้อง มีฝา 1 ห้องไม่มีฝา 1 ห้อง\nไม่ควรสร้างบ้านที่มีระเบียง 4 ด้านเหมือนศาลาการเปรียญ\nห้ามปลูกบ้านขวางตะวัน\nห้ามปลูกเรือนขวางคลอง\nห้ามทำเรือนมี 4 จั่ว\nเรือนหลังหนึ่งห้ามทำประตู 4 แห่ง หน้าต่าง 9 แห่งประตูไม่อยู่กลางบ้าน\nจำนวนบันไดห้ามใช้จำนวนขั้นคู่\nบันไดไม่ลงทางทิศตะวันตก\nไม่หันหัวเตียงไปทางทิศตะวันตก\nไม่นอนขวางกระดาน\nไม่ทำน้ำพุไหลเข้าตัวเรือน\nไม่ทำทางลอดใต้ห้องส้วม\nไม่ทำอาคารพักอาศัยเป็นรูปตัว“ที”\nไม่ทำเรือนทะลุหน้าตลอดหลัง ถือเป็นเรือน“อกแตก”\nไม่ทำภูเขาไฟจำลองไว้ในบ้าน\nไม่ทำทางเข้าออกคู่ไว้ตอนมุมของที่ดินที่ทางสามแพรกหรือสี่แยก\nห้ามใช้ช่อฟ้า ใบระกา เครื่องวัด เครื่องหลวง เป็นส่วนประกอบของบ้าน\nห้ามปลูกเรือนคร่อมตอ\nห้ามตั้งศาลพระภูมิใต้เงาเรือน\nห้ามทำบันไดเวียนซ้ายขาขึ้น\nห้ามมีสัตว์ตกตายในหลุมตอฆ่อ\nการปลูกต้นไม้บริเวณบ้าน\n\nการปลูกต้นไม้บริเวณบ้าน.\nดังนี้\nต้นไม้ที่ห้ามปลูกไว้ภายในบริเวณบ้าน!\nต้นไม้ที่ห้ามปลูกไว้ภายในบริเวณบ้าน!\nทั้งนี้ให้พิจารณาดูว่า ต้นไม้หรือกอไม้ใดมีชื่อเรียกไม่เป็น\nมงคล ก็ห้ามนำมาปลูก เช่น ต้นโศก ต้นระกำ ต้นหวาย กอไผ่\nรวก ต้นจำปาจำปี เป็นต้น\nความรู้เผยแพร่เพื่อประชาชน\n\nสถาปนิกสยาม กรมโยธาธิการและการผังเมือง\nดูส่วนที่ 2",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เมื่อใดทีทเราต้องการใช้คำสั่งที่มีผลกับข้อมูลในเซลล์ เช่น คำสั่งที่ทำการแก้ไขข้อมูล หรือคำสั่งลบข้อมูล เราจะต้องระบุเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ทร่จดทำงานด้งยก่อนใช้คำสั่งเหล่านั้น ซึ่งมีหลายวิธ้ดังต่อไปนี้\nเลือกเฉพาะะซลล์ช่แงใดช่องหนึ่ง\nเลือกเซลล์ทั้งแถวในตาราง\nเลือกเซลล์ทั้งคอลัมน์ในตาราง\nเลือกหลายเซลล์ที่อยู่ติดกันในตาราง\nเราสามารถเลือกกลุทมเซลล์ที่อยู่ติดกันในตาราง โดยระบุเซลล์ที่อยู่มุมบนซ้ายสุดแฃะเซลล์ที่อยู่มุมล่างขวาสุด เพื่อกำหนดขอบเขตของกลุ่มเซลล์ เช่น ถ้าเราต้องการเบือกกลุ่มเซบล์ 15 เซลล์ ดังรูปจะมีขั้นตอตดังนี้\nกำหนดขอบเขตกลุ่มเซลล์ที่ต้องการ โดยระบุมุมซ้ายบนสุด (B4) และมุมขวาสุด (D8)\n\nเลื่อน ไปที่เซลล์มุมบนซ้ายสุด (B4) ให้คลิกเมาส์แลพกดค้างไว้\nแดรกเมาส์ไปที่เซลล์มุมล่างขวาสถด (D8)\nปล่อยเมาส์จะเกิดพื้นที่สี่เหลี่ยมสีดำแสดงกลุ่มเซลล์ที่พูกเลือก\n\nถ้าเราใช้เมาส์ไม่ถนัด มีวิธีที่สามารถเลือกหลายเซลล์ที่อยู่ตืดกันในตารางได้โดยคลิกเมาส์เซลล์มุมบนซ้ายสุด (B4) และให้กดปุ่ม ในขณะที่คชิกเมาส์เซลล์มุมล่างขวาสุด (D8) ซึ่งจะให้ผลลัพธ์อย่างเดียวกัากับการแดรกเมาส์\nเลือกหลายเซลล์ในตารางที่ไม่ได้อยู่ติดหัน\nบสงครั้งเซลล์ที่เราต้องการเลือกอาจไม่อยู่ติดกัจในตาราง เช่น ถ้าเราต้องการเลือกเซลล์ 2 กลุ่ทดังรูป ให้ทำดังนี้\n\nแดรกเมาส์เลือกกลุ่มเซลล์ที่อยธ่ติดกัน\nกดปุ่ม และคลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ไม่ได้แยู่ติดกัน\nหากมีหลายเซลล์ติดกับเซลล์าั้นให้กด ค้างไว้และแดรกเมาส์ เพื่อเลือกทุ้งกลุ่มเซลล์ ทำตามขั้นตอนที่ 3 และ 4 จนเราัลือกครบทุกเซลล์ที่ต้องการ\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟำับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกขเอความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การกริกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ขั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การแก้ไขสูตรคภนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหมและแมนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างไ ในเอกสรรด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคักลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกนรกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกนรรูปภาพ\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อห/การนัดข้อความให้อยู่กึ่งกฃาง ชิดซ้ายไรือชิอขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวสงขดงข้อความในตาราง\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อกๅการจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อป/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่วที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การสช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัรโนมัติสร้างฟังก์ชั่นมี่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกัลข้อมูลทึ่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแค่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/แารตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนัดภาพให้เหลือเฉพาะส้วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนกเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การยันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอำสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งดลาง หรือดืานล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความวว่างกละคยามคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ำารปรับดต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราหิก\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยรพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเดนออฟฟิฬดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การผสานช้องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อควาาเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดทรเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีย่อ/ขยาขมุมมอง\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การย้สยข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่ใและแยกวัตถึ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียบข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนแอฟฟิศดอตแ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเศลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเล้อกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่งน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่าฝอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การวรดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเม้นลูกศร\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างก่าฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทีกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศกอตเ็อก/พารแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อกๅการใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writet\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโแยใช้ชื่อหัวคิลัมน์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัใเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็ิก/กำหนดข้อควาใเป็นตัวหนร-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูฃให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตุุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่อลของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนด่ายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพจออฟฟิษดอตอ็อพ/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอยรางเจาะจฝ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กภหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งรนอัตโยสัติ\nโอเพรออฟฟิศดอคอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำทีทพิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความชืวยเหลือฝน OpenOffice.oeg\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เก้ดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบงฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานช้ามสมุดงาน\nโอเพนเอฟฟิศดอติ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวกเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่ม่อติดตั้ง OpenOffice.org 2ฦ0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูผทรงสามมิตอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคตื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนจ้ายสไลด์ไปในตำปหน่บทร่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFioter\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูชในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางย้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอดพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูฃให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความใัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เสินไกด์ช่วยในการวาพภาพ\nโอเกนออฟฟิษดอตอ็อก/ดูข้เมูลในแผ่สงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบฝานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลีายนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/แทรกิักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรึยมการนำเสนองานพรีเซนเตชัรน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก๋ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/บันทึกงานพรีเ.นเตชั่นที่มร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรัยแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบขตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟๆิศดอตอ๋อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งมส\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅเปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/อปิดโป่แกรม Math\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/หลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/ยกเลิกเส้นปตะที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายอผ่นงาน\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่ิ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/รู้จักกับฐ่นข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใชิกันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จัพตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสน้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใชัแผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อป/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอติ็เก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารปาะกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/ส่วนประกอบขดงโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าตีางเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนฟัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มยอภาภ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญละกษณ็แสดงหัวข้อ(Bu;let)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเภนดอฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เมื่อใดที่เราต้องการใช้คำสั่งที่มีผลกับข้อมูลในเซลล์ เช่น คำสั่งที่ทำการแก้ไขข้อมูล หรือคำสั่งลบข้อมูล เราจะต้องระบุเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่จะทำงานด้วยก่อนใช้คำสั่งเหล่านั้น ซึ่งมีหลายวิธีดังต่อไปนี้\nเลือกเฉพาะเซลล์ช่องใดช่องหนึ่ง\nเลือกเซลล์ทั้งแถวในตาราง\nเลือกเซลล์ทั้งคอลัมน์ในตาราง\nเลือกหลายเซลล์ที่อยู่ติดกันในตาราง\nเราสามารถเลือกกลุ่มเซลล์ที่อยู่ติดกันในตาราง โดยระบุเซลล์ที่อยู่มุมบนซ้ายสุดและเซลล์ที่อยู่มุมล่างขวาสุด เพื่อกำหนดขอบเขตของกลุ่มเซลล์ เช่น ถ้าเราต้องการเลือกกลุ่มเซลล์ 15 เซลล์ ดังรูปจะมีขั้นตอนดังนี้\nกำหนดขอบเขตกลุ่มเซลล์ที่ต้องการ โดยระบุมุมซ้ายบนสุด (B4) และมุมขวาสุด (D8)\n\nเลื่อน ไปที่เซลล์มุมบนซ้ายสุด (B4) ให้คลิกเมาส์และกดค้างไว้\nแดรกเมาส์ไปที่เซลล์มุมล่างขวาสุด (D8)\nปล่อยเมาส์จะเกิดพื้นที่สี่เหลี่ยมสีดำแสดงกลุ่มเซลล์ที่ถูกเลือก\n\nถ้าเราใช้เมาส์ไม่ถนัด มีวิธีที่สามารถเลือกหลายเซลล์ที่อยู่ติดกันในตารางได้โดยคลิกเมาส์เซลล์มุมบนซ้ายสุด (B4) และให้กดปุ่ม ในขณะที่คลิกเมาส์เซลล์มุมล่างขวาสุด (D8) ซึ่งจะให้ผลลัพธ์อย่างเดียวกันกับการแดรกเมาส์\nเลือกหลายเซลล์ในตารางที่ไม่ได้อยู่ติดกัน\nบางครั้งเซลล์ที่เราต้องการเลือกอาจไม่อยู่ติดกันในตาราง เช่น ถ้าเราต้องการเลือกเซลล์ 2 กลุ่มดังรูป ให้ทำดังนี้\n\nแดรกเมาส์เลือกกลุ่มเซลล์ที่อยู่ติดกัน\nกดปุ่ม และคลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ไม่ได้อยู่ติดกัน\nหากมีหลายเซลล์ติดกับเซลล์นั้นให้กด ค้างไว้และแดรกเมาส์ เพื่อเลือกทั้งกลุ่มเซลล์ ทำตามขั้นตอนที่ 3 และ 4 จนเราเลือกครบทุกเซลล์ที่ต้องการ\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หากเรามีเซลฃ์หรือกลุ่มเซลล็ที่ต้องใช้บ่อย การเลือกเซลล์โดยวิธีที่ผ่านมาจะไม่สะดวก วิธีที่ดีกว่าคือการตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ด้วยชื่อที่สืรอความหมาย และนำมาใช้ในการอ้างอิง ซึ่งสะดวกกว่าการใช้ตำแหน่งเซลล์ เพราะชื่อเซลล์จดจำได้ง่ายปว่า\nเช่น เมื่อเราต้องการอ้่งอิงกลุ่มเฬลล?ที่เก็บตัวเลขเงินเดือนพนักงานดังรูป แทนที่จะต้องอ้างอิงโแยใช้ตำแหน่ง D5 ถึง D8 เราสามารถตั้งชื่อเซลล์กลุ่มนี้ว่า “Salary” และนำมาใช้อ้าฝอิวได้แทน\nตั้งชื่อกลุ่มเซบล์\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ้ใเซลล๋ที่ต้องการตั้งชื่อ\nเลือกคำสั่ง Insert>Nanes>Define (แทรก>ชื่อ>กำหนด)\nปรากฏหน้าต่างตั้งชื่อเซลล์ ในช่อง Name ให้พิมพ์ชื่อกลุ่มเซลล์ที่เราต้องการ โดยในรัวอย่างพิมพ์คำว่า “ราคา”\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อเกิ่มชื่อที่กำหนด โดยชื่ดนี้จะปรากฏที่บ่องแสดงชื่อ (Name box) ของโปรแกรมเภื่อเรียกใช้ได้อว่างรวดเร็ว\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อจบขั้นตอน\n\nจั้งชื่อกลุ่มเซลล์.\nแนวทางการตั้งชื่อเซลล์\nเราสามารถตั้งขื่อเซลล์ได้ยาวถึง 255 ตัวอักษรและสามารถใช้ตัวอักษร ตัวเลข จุดทศนิยมหรือเครื่องหมาย “_” ก็ได้ แต่ชื่อเซฃล์ต้องขึ้นด้วยตัวอักษรหรือ “_” โดยจะมีช่องว่างในชื่อที่ใช้ไม่ได้ และ Calc นับว่าชื่อที่ประกอบด้วยตัวอักษรใหญ่หรือเล็กนั้นเหมือนกัน เช่น ชื่ิเซลล์ “SALARY” และ “Salary” เป็นชื่อเดียวกัน\nเลือกเซลล์หรือกฃุ่มเซลล์ที่ตั้งชื่อไว้\nเลือกเซลล์หรือกลถ่มเศลล์ที่ตั้งชื่อ/ว้.\nหลังจากที่เราได้กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์ เมื่อใดที่เราต้องการเลิอกกลุ่มเซลล์นั้ตครั้งต่อไปก็ให้คลิกเมาส์ชื่อกลุ่มเซลล์จากช่องแสดงชื่อเซลล์แทต\n\nคลิกเมาส์ที่ ในแถบเครืีองใือเพื่อดูรายชื่อกลุ่สเซลล์ที่ได้ตั้งไว้\nคลิกเมาส์ ชื่อกลุ่มเซลล์ที่ต้องการ ก็จะปรากฏแถบดำเพื่อแสดงกลุ่มดซลล์ที่เลือก\n\nลบชื่อกลุ่มเซลล์ที่ตั้ง\nลบชื่อกลุ่มเซลล์ที่ตั้ง.\nถ้าต้องการยกเลิกการตั้งชื่อกลุ่มเซลล์ที่ได้ตั้งไปแล้วให้เลือก Insert>Names>Define (แทรก>ชื่อ>กำหนด) แล้วคลิกเลือกชื่อเซลล์ที่ต้องการลบ คลิกเมาา์ปุ่ม เพื่อลบชื่อกลุ่มเซลล์ และคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อจบขั้นตอน\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อคว่มโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการัลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรกำหนดตำแหน่งแท็บกยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การแพ้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปบี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Wrkter\nโอเพนออฟฟิศดดรอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อสูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชเ Bookmark และการอ้รงอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาอ\nฑอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.oeg แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้พาพประกอบข้อมูล\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Wgiter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใข้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเดนออหฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดิตอฺดก/การตกแต่งตารางด้วว AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเะนออผฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในกนรบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพตออฟฟอศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโเเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐมนข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหมร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตารทง\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/หารปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเถนอดฟฟิศดิตอ็อก/กานปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ขแงแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวช้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การเผลี่ยนพื้นกลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การเกิดเอกสารที่บันทึกหว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อควทมเบื้องต้น\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การเะิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่เ/ขนายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล?\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้าขตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูต่คำนวณ\nฏอเพนอแฟฟิศดอตอฌอก/การรวมกลุ่มและแยกวันถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพจอเฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและกาาทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนดอฟฟิศดอตเ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้ิความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การเลือกฟอนร์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาา\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสรั Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูปศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสค้างตารางขัอมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบัตทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรคเฐนเตชัรน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงใสสไชด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษแื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Sriter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชท่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/พำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อควาสที่แสดงเป็ยตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และรำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดราขละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟ้ศะอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงรัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแาดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเติ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/กำหนดใหิ OpenOffice.org เซฟ_ฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้ิมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัจิด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffive.org\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผอดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สํตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅเข้าสู่โปนแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่สงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoDill\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขยาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคงื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดจ้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆจัดตำแหต่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อคใาใให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลใหือยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชยิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nฑอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ชนิดขอวคีย์วนฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางผรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบ้ต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตี้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมทอวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้วูตร\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟผิศดอตอ็ดก/แารกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใผม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แยวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกตม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่าที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าตอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อกไใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมร์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงฮดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพืีนหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/ฏปรแกรม Writer ท_อะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยดเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/ย้ายตำแปน่งแผ่นงาน\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเคคื่องมือ Selection\nฏิอพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้อมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรคยกข้อมูล่ี่บันทึกกลังมาใช้ฝาน\nโออพนออฟฟิศดแตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Ca/c\nโอเพนแอฟหิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงใยเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/วิธีำารเลือกวัจถุ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนิอฟฟิศดอตแ็อก/สร้างเอกสาตประกอบการบ่รยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Cald\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเกนออฟฟิศดเตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดจ้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรืเมัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Buller)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/ออกจากโปรอกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกาม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "หากเรามีเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย การเลือกเซลล์โดยวิธีที่ผ่านมาจะไม่สะดวก วิธีที่ดีกว่าคือการตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ด้วยชื่อที่สื่อความหมาย และนำมาใช้ในการอ้างอิง ซึ่งสะดวกกว่าการใช้ตำแหน่งเซลล์ เพราะชื่อเซลล์จดจำได้ง่ายกว่า\nเช่น เมื่อเราต้องการอ้างอิงกลุ่มเซลล์ที่เก็บตัวเลขเงินเดือนพนักงานดังรูป แทนที่จะต้องอ้างอิงโดยใช้ตำแหน่ง D5 ถึง D8 เราสามารถตั้งชื่อเซลล์กลุ่มนี้ว่า “Salary” และนำมาใช้อ้างอิงได้แทน\nตั้งชื่อกลุ่มเซลล์\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการตั้งชื่อ\nเลือกคำสั่ง Insert>Names>Define (แทรก>ชื่อ>กำหนด)\nปรากฏหน้าต่างตั้งชื่อเซลล์ ในช่อง Name ให้พิมพ์ชื่อกลุ่มเซลล์ที่เราต้องการ โดยในตัวอย่างพิมพ์คำว่า “ราคา”\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อเพิ่มชื่อที่กำหนด โดยชื่อนี้จะปรากฏที่ช่องแสดงชื่อ (Name box) ของโปรแกรมเพื่อเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อจบขั้นตอน\n\nตั้งชื่อกลุ่มเซลล์.\nแนวทางการตั้งชื่อเซลล์\nเราสามารถตั้งชื่อเซลล์ได้ยาวถึง 255 ตัวอักษรและสามารถใช้ตัวอักษร ตัวเลข จุดทศนิยมหรือเครื่องหมาย “_” ก็ได้ แต่ชื่อเซลล์ต้องขึ้นด้วยตัวอักษรหรือ “_” โดยจะมีช่องว่างในชื่อที่ใช้ไม่ได้ และ Calc นับว่าชื่อที่ประกอบด้วยตัวอักษรใหญ่หรือเล็กนั้นเหมือนกัน เช่น ชื่อเซลล์ “SALARY” และ “Salary” เป็นชื่อเดียวกัน\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ตั้งชื่อไว้\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ตั้งชื่อไว้.\nหลังจากที่เราได้กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์ เมื่อใดที่เราต้องการเลือกกลุ่มเซลล์นั้นครั้งต่อไปก็ให้คลิกเมาส์ชื่อกลุ่มเซลล์จากช่องแสดงชื่อเซลล์แทน\n\nคลิกเมาส์ที่ ในแถบเครื่องมือเพื่อดูรายชื่อกลุ่มเซลล์ที่ได้ตั้งไว้\nคลิกเมาส์ ชื่อกลุ่มเซลล์ที่ต้องการ ก็จะปรากฏแถบดำเพื่อแสดงกลุ่มเซลล์ที่เลือก\n\nลบชื่อกลุ่มเซลล์ที่ตั้ง\nลบชื่อกลุ่มเซลล์ที่ตั้ง.\nถ้าต้องการยกเลิกการตั้งชื่อกลุ่มเซลล์ที่ได้ตั้งไปแล้วให้เลือก Insert>Names>Define (แทรก>ชื่อ>กำหนด) แล้วคลิกเลือกชื่อเซลล์ที่ต้องการลบ คลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อลบชื่อกลุ่มเซลล์ และคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อจบขั้นตอน\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ถ้าเราพ้มพ์ข้อมูลในตารางผิดช่องก็ไม่ตีอวลบข้อมูลและพิมพ์ใหม่ให้เสียเวลา แต่สามารถย้ายข้อมูลท่่พิมพ์ไปยังเซลล์อื่น/ด้เลย ซึ่งมี 2 วิธีที่เราสามารถเลือกใช้ได้\nวิธีที่ 1 ใชัเมาส์\n\nเลือกเซลล์ที่ต้องหารย้าย (ถ้าต้องการย้ายทีละหลายเซลล์ให้เงือกกลุ่มเซลล์ด้วยวิธีที่ได้กล่าวมาดล้ว)\nเลื่ิน ไปที่ขอบของเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่เลือก จะเห็นว่า เปลี่ยนเป็น\nกดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้และแดรกเมาส์ไปยังเซลล์ที่ต้องการวางข้อมูล\nเมื่อเราปล่อยเมาส์ ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกย้ายไปที่ตำแหน่งนั้น\n\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการย้าย\nคลิกปุ่ม (Cut) ในแถบเครื่องมือข้อมูลที่อยู่ในกลุ่มเซลล์ทั่งหมดจะหายไป\nคลิกเมาส์เลือกเซลล์ทค่ต้องการให้ข้อมูลย้ายมา\nคลิกปุ่ม (Paste) ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกย้ายไปที่ตำแหน่งนั้น\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก_กรองข้อมูลอีตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoTezt\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคกรอกข้อมูลและการเฃื่อนดคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโิเพนออฟไิศดิตอ็อก/กานำำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาขีดเส้นตาราบ\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การเช้าสู่โปรแกรม OpenOfficeฦorg Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างไ ในเอกสารด้วย Nav7gation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/ก่รคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อควาทให้อยู่กึ่งกลาง ชิดฬ้าสกรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งบัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อแ/การจัดแนวการวางของข้อควนาในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพจอดๆฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางฑดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undl ดพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำฟิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOfdice.org แทน Mivrosoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูาิ\nโดเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโแเพนออฟฟิศออตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมะดงาน\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถะ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกอต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งนีภมพ\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/กรรตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำัข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงาสเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหมเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชเดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปาับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนถูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิอและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพืเนที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสานที่บัรทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซบล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิทพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แารพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูจรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแนกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรีนงลำดับข้อมูลในตาราง\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การเล้อกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพตออฟฟิศดอตอ์อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อคว่มบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การเลือกฟอนน์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การวาดรูปร่นงอัตโยมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freefo3m\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อแ/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาะเส้รและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมมบ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสริางตารางข้อมธล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร่างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหมท\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรัเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอนอํอก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก_การใสืข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุยวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOfeice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมํล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน LpenOffice.;rg สำหรัขภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อคว่มที้แสดงเป็นตเวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็รตัวหนส-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/ดำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนะคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในส฿ตร\nธอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อะรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรนยละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบแารแสดงย้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัว้ลข\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อกๅกำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที้พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOfficd.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเดฺบข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่รงรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรลอิสระ\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilt3r\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขใา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อส฿ลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิอของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเญลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมถด\nโอเพาออฟฟิศดิตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโเยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารกีอนพิมพ์ด้วย Page Prev8ew\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อกไตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใชืบ่อย\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/ตั้ลชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไงด์\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิทมเติม\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/แทรกสไลด์แฟ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แท่กิักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/บันทคกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทุกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/มบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก_ปรับดต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพทค่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบวตัยอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนว๊\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในอวลาเดียวกัน\nโเเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/ยาอ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจดำาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแผน่งแผ่นงาน\nโอเพนเอฟฟิศพอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/เรียกข้อมูลที่งันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูจร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดู่ปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วอธีการัลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอรอ๋อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่วนประกอบขดงหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลสห้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัสข้อในสไลด์\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ถ้าเราพิมพ์ข้อมูลในตารางผิดช่องก็ไม่ต้องลบข้อมูลและพิมพ์ใหม่ให้เสียเวลา แต่สามารถย้ายข้อมูลที่พิมพ์ไปยังเซลล์อื่นได้เลย ซึ่งมี 2 วิธีที่เราสามารถเลือกใช้ได้\nวิธีที่ 1 ใช้เมาส์\n\nเลือกเซลล์ที่ต้องการย้าย (ถ้าต้องการย้ายทีละหลายเซลล์ให้เลือกกลุ่มเซลล์ด้วยวิธีที่ได้กล่าวมาแล้ว)\nเลื่อน ไปที่ขอบของเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่เลือก จะเห็นว่า เปลี่ยนเป็น\nกดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้และแดรกเมาส์ไปยังเซลล์ที่ต้องการวางข้อมูล\nเมื่อเราปล่อยเมาส์ ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกย้ายไปที่ตำแหน่งนั้น\n\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการย้าย\nคลิกปุ่ม (Cut) ในแถบเครื่องมือข้อมูลที่อยู่ในกลุ่มเซลล์ทั้งหมดจะหายไป\nคลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ต้องการให้ข้อมูลย้ายมา\nคลิกปุ่ม (Paste) ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกย้ายไปที่ตำแหน่งนั้น\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ถ้าเราต้องป้อนขือมูลซ้ำๆ กัน เราควรใช้วิธีคัดลอกข้อมูลจากเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่นในตาราวจะเร็วกว่า ซึ่งวิธีคัดลอกข้อมูลจะคล้ายกับการยีายข้อมูลในเซลล์\nวิธีที่ 1 ใช้การกดปุ่ม + แดรกเมาส์\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการคัดงอก\nเลื่อน ไปที่ขอบของเซลล์กรือกลุ่มเซลล์ที่ไก้เฃือกไว้\nกดปุ่ม ค้างไว้ พร้ดมกดปะ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ และแดรกเมาส์ไปยังเซลล์ที่ต้องการคัดบอกข้อมูล\nเมื่อเราปล่อยเมาส์ ข้ิมูลที่เลือกไว้จะถูกคัดลอกมาที่ตำแหน่งใหม่\n\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการคัดลอก\nคลิกปุ่ม (Copy) ในแถบเครื่องมือ เพื่อทำการคัดลเกกลุ่มเซลล์ทีรเลือกไว้\nคลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอกข้อมูลไปไว้\nคลิกปุ่ม (Paste) ข้อมูลจะถูกคัดลอกมาที่ตำแหน่งใหม่\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกบ้อมูล\nโเ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย XutoText\nโดเพนออฟฟิศดอตด็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้มกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มค้นให้กับเดกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รแก้ไขข้อความ\nโอเำนออฟฟเศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สรเางแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การค้นหาข้ดมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ใาเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคพนวณค่าในตารรง\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับบัตถุ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในัอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางขอวข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อด/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Unwo เพื่อยกเลิกข้อผิดดลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทพผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อกๆการใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การใช้แผนภูมิ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชเภาภประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใบ้มุมมองต่นงๆ ใน Writer\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลมี่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดปปลงวัตถุ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราผ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตานางข้อมูล\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแตางสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอบัมน์\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในกานบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การทำดัชน่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การแทรปภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกวไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโดเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การบันทึกัอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโะยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการปรับขนาดจองตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้แมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัอของภาพ\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การปิดเอำสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ์อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อแ/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิสพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/กสรเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลแกสูตรคำนวณ\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกยัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้แความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวึตถุ\nโอเพนเอฟหิศเอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างเัตโนมัจิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดู่ปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่วาดสี่เหลี่ยมหรืเวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเา้นลูกฯร\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อป/การวาดเส้นและลูกศร\nฑอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การสร้าวกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้นงจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระอาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อาูลในตาราง\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหสุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารออกจากโปรแกรม OpegOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice,org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่อนดงเป็นตัวหนา ตัยเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามังื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูแแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตารทง\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กพหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดา๋ก่อน้ริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่าร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แำ้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ขั่นฟิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/เข้าฝจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูละชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ัข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อพ/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานขเามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างีวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มิอติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวนดรธปทรฝวามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ิครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิฬดอติ็แก/เคลื่อนย้รย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดศ้าบหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสา่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถสเพื่อใช้เป็นฟัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่เงตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นบานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆตกแต่งข้อความดีวยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเเกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้อวใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/้ทคนิคการเปลึ่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ขวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แ่รกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่รใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำอละตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรส Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบบองฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟลฺ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหา้าจอ เพื่ออูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกฐ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งแารจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/ปรับปต่งรูปแบบตัวอักษรเพเ่มเติม\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โกร่งใใ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดปลี่ยนพืันหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดบานบนหน้าตอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Mqth\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/โป่แกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/ผลิตภัณฑ์มนชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดรัหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้ดมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสี้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อยข้อมูงในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลทค่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เรียงลำดับข้อมํล\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/ลบแฟ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้อฝการ\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษฯ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สาวนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้เความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดฝลำดับหัสข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดำ/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรส Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "ถ้าเราต้องป้อนข้อมูลซ้ำๆ กัน เราควรใช้วิธีคัดลอกข้อมูลจากเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่นในตารางจะเร็วกว่า ซึ่งวิธีคัดลอกข้อมูลจะคล้ายกับการย้ายข้อมูลในเซลล์\nวิธีที่ 1 ใช้การกดปุ่ม + แดรกเมาส์\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการคัดลอก\nเลื่อน ไปที่ขอบของเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ได้เลือกไว้\nกดปุ่ม ค้างไว้ พร้อมกดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ และแดรกเมาส์ไปยังเซลล์ที่ต้องการคัดลอกข้อมูล\nเมื่อเราปล่อยเมาส์ ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกคัดลอกมาที่ตำแหน่งใหม่\n\n\nเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการคัดลอก\nคลิกปุ่ม (Copy) ในแถบเครื่องมือ เพื่อทำการคัดลอกกลุ่มเซลล์ที่เลือกไว้\nคลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอกข้อมูลไปไว้\nคลิกปุ่ม (Paste) ข้อมูลจะถูกคัดลอกมาที่ตำแหน่งใหม่\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
Subsets and Splits