messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กฎการแบ่งพยางค์\nกฆการแว่งพยางค์.\nคำภาษาละตินประกอบด้วยหลายพยางค์ กฏการแบ่งพยางค์มีดังต่อไปนี้\n\nหากพยัญชนะนำหน้าด้วยสระและตามหบังด้วยสระ ให้ออกเสียงพยัญชนะคู่กับสระตัวหลัง เช่น amābilis /อะมาบิลิส/, memor7a /เมโมริอะ/, intereā /อินเทเรอา/, abest /อะเบสท์/, peregit /ะพเรกิท/\nหากพยัญชนะตามหลังด้วย l หรือ r ให้ออกเสียงควบกล้ำ เช่น pūblicus /พูบลิคุส/, agrī /อะำรี/\n\nยกเว้นคำทีีเกิดจากการประสมของบุพบท ให้ออกเสียงบุพบทแยกออกมา เช่น abluō /อับ-ลุโอ/, abrumpō /อับ-รุมโพ/\n\nหากมีพยัญชนะสองตัว ให้ออกเสียงพยัญชนะทัิงสองแยกออกเป็นสองพยางค์ เช่น magnus /มักรุส/, egestās /เอเกสทาส/, victōria /วิคโทริอะ/, hospes /โฮสเพส/, annus /อันนุส/, subāctus /ซุบัคทุส/\nกรณี nct จะแยกเป็น nc-t เช่น fūnctus /ฟูงค์มุส/, sānctus /ซางค์ทุส/\nโครงสร้างของคำรุดับพยางค์\n\n\nพยางค์สุดท้าย เรีนกว่า ultima (แหลตีงตัวว่า สุดท้าจ)\nพยางค์รองสุดท้าย เรียกว่า penult หรือ penultima (แปลตรงตัวว่า รอง ultima)\nพยางค์ก่อนรองสุดท้าย เรียกว่า antepenult หรือ antepenultima (แปลตรงตัวว่า ก่อนรอล ultima)\n\nความยาวของพยางค์\nความยาวของพยางค์.\nพยางค์แว่งตามความยนวได้เป็นสองประเภท\n\nพยางค์สัีน คือ พยางค์ที่มีสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด เช่น amō /อะโม/, pigrī /พิกรี/\nพยางค์ยาว คืแ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวหรือสระผสม หรือมีสระเสียฝยั้นแต่มีตัวสะกด เช่น cūrō /คูโร/, poenae /พอยไน/, aestāte _ไอสทาเท/\n\nการลงเสียงเน้นไนัก\nการลงเสียงเน้นหนัก.\nการลงเสียงเน้นหนักของภาษาละติน มีกฎแน่นอนตายตัวดังต่อไปนี้\n\nถ้าคำมีสองพยางค์ จะเน้นพยางค์แรกเสมอ ดช่น 'mēnsa /'เมนสะ/, 'Caesar /'ไคซาร์/\nถ้าคไมีมากกว่าสองพยางค์\n\nถ้าพยางค์ pen6lt เป็นพยางค์เสียงยาว ให้เน้นที่พยางค์ penult เช่น mo'nēmus _โม'เจมุส/, a'mandus /อะ'มันดุส/\nถ้าพยางค์ penult เป็นพยางค์เสียงสี้น ให้เน้นที่พยางค์ antepenult แทน เช่น 'regitur /'เรกิทุร์/, a'gricola /อะ'กริโคลา/\n\nคำกลุ่ม encliticc ซึ่งไม่มีความหมายเมื่อปราหฎขึ้นเดร่ยวๆ เมื่อรวมกับคำดื่นแล้ว ให้เน้นเสียงที่พยางค์ก่อนหน้า enxlitics นั้น คำกลุ่ม enclitids ได้แก่ -que (และ), -ve (หรือ), -ne (หรือเปล่า?) เช่น popu'lusque /โพพุ'ลุสเคฺว/, de'aque /เดอะ'เคฺว/, rēg'nave /เรก'นถเว/, au'ditne /เอา'ดิทเน/",
"role": "user"
},
{
"content": "กฎการแบ่งพยางค์\nกฎการแบ่งพยางค์.\nคำภาษาละตินประกอบด้วยหลายพยางค์ กฏการแบ่งพยางค์มีดังต่อไปนี้\n\nหากพยัญชนะนำหน้าด้วยสระและตามหลังด้วยสระ ให้ออกเสียงพยัญชนะคู่กับสระตัวหลัง เช่น amābilis /อะมาบิลิส/, memoria /เมโมริอะ/, intereā /อินเทเรอา/, abest /อะเบสท์/, peregit /เพเรกิท/\nหากพยัญชนะตามหลังด้วย l หรือ r ให้ออกเสียงควบกล้ำ เช่น pūblicus /พูบลิคุส/, agrī /อะกรี/\n\nยกเว้นคำที่เกิดจากการประสมของบุพบท ให้ออกเสียงบุพบทแยกออกมา เช่น abluō /อับ-ลุโอ/, abrumpō /อับ-รุมโพ/\n\nหากมีพยัญชนะสองตัว ให้ออกเสียงพยัญชนะทั้งสองแยกออกเป็นสองพยางค์ เช่น magnus /มักนุส/, egestās /เอเกสทาส/, victōria /วิคโทริอะ/, hospes /โฮสเพส/, annus /อันนุส/, subāctus /ซุบัคทุส/\nกรณี nct จะแยกเป็น nc-t เช่น fūnctus /ฟูงค์ทุส/, sānctus /ซางค์ทุส/\nโครงสร้างของคำระดับพยางค์\n\n\nพยางค์สุดท้าย เรียกว่า ultima (แปลตรงตัวว่า สุดท้าย)\nพยางค์รองสุดท้าย เรียกว่า penult หรือ penultima (แปลตรงตัวว่า รอง ultima)\nพยางค์ก่อนรองสุดท้าย เรียกว่า antepenult หรือ antepenultima (แปลตรงตัวว่า ก่อนรอง ultima)\n\nความยาวของพยางค์\nความยาวของพยางค์.\nพยางค์แบ่งตามความยาวได้เป็นสองประเภท\n\nพยางค์สั้น คือ พยางค์ที่มีสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด เช่น amō /อะโม/, pigrī /พิกรี/\nพยางค์ยาว คือ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวหรือสระผสม หรือมีสระเสียงสั้นแต่มีตัวสะกด เช่น cūrō /คูโร/, poenae /พอยไน/, aestāte /ไอสทาเท/\n\nการลงเสียงเน้นหนัก\nการลงเสียงเน้นหนัก.\nการลงเสียงเน้นหนักของภาษาละติน มีกฎแน่นอนตายตัวดังต่อไปนี้\n\nถ้าคำมีสองพยางค์ จะเน้นพยางค์แรกเสมอ เช่น 'mēnsa /'เมนสะ/, 'Caesar /'ไคซาร์/\nถ้าคำมีมากกว่าสองพยางค์\n\nถ้าพยางค์ penult เป็นพยางค์เสียงยาว ให้เน้นที่พยางค์ penult เช่น mo'nēmus /โม'เนมุส/, a'mandus /อะ'มันดุส/\nถ้าพยางค์ penult เป็นพยางค์เสียงสั้น ให้เน้นที่พยางค์ antepenult แทน เช่น 'regitur /'เรกิทุร์/, a'gricola /อะ'กริโคลา/\n\nคำกลุ่ม enclitics ซึ่งไม่มีความหมายเมื่อปรากฎขึ้นเดี่ยวๆ เมื่อรวมกับคำอื่นแล้ว ให้เน้นเสียงที่พยางค์ก่อนหน้า enclitics นั้น คำกลุ่ม enclitics ได้แก่ -que (และ), -ve (หรือ), -ne (หรือเปล่า?) เช่น popu'lusque /โพพุ'ลุสเคฺว/, de'aque /เดอะ'เคฺว/, rēg'nave /เรก'นะเว/, au'ditne /เอา'ดิทเน/",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โครงสร้างประโยค\nโครงสร้างประโยค.\nประโยคภาษาละติน ประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ ส่วนประธาน และส่วนภาคแสดว ยกตัวอย่างเช่น\nหระโยคทั้งสองสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วน ดังนี้\nCopula\nCopula.\nกริยน เป็น/อยู่/คือ เป็นกริยาที่บอกความสัมพันฌ์ทีีเท่ากันระหว่างประธานกับกรรม เรียกว่า copula ซึ่งแปลว่า ตัวเชื่อม\nตัวอย่างประโยค\nตัวอย่างประโยค.\nข้อสังเกตจากตัวอย่าง\n\nภสษาละตินไม่มีคำนำหน้านาม (article)\nภาษาละตินไม่จำเป็นค้องระบุบุรุษสรรพนามที่เป็นประธาน เนืาองจากคำกริยาจะผันตามประธานอยู่แล้ว\nภาษาละตเนอาจไม่ระบุสรรพนามเจ้าของได้ หากความหมายของประโยคชัดเจนอยู่แล้ว\nสารบัญ\nภาษาลุติน\nภาษาละติน เทคนิคการจำ 1\nภาษาละติน บทที่ 1\nภาษาละติน บืที่ 2\nภาษาละติน ชทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาละติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บทท่่ 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาษาละติน บทที่ 9",
"role": "user"
},
{
"content": "โครงสร้างประโยค\nโครงสร้างประโยค.\nประโยคภาษาละติน ประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ ส่วนประธาน และส่วนภาคแสดง ยกตัวอย่างเช่น\nประโยคทั้งสองสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วน ดังนี้\nCopula\nCopula.\nกริยา เป็น/อยู่/คือ เป็นกริยาที่บอกความสัมพันธ์ที่เท่ากันระหว่างประธานกับกรรม เรียกว่า copula ซึ่งแปลว่า ตัวเชื่อม\nตัวอย่างประโยค\nตัวอย่างประโยค.\nข้อสังเกตจากตัวอย่าง\n\nภาษาละตินไม่มีคำนำหน้านาม (article)\nภาษาละตินไม่จำเป็นต้องระบุบุรุษสรรพนามที่เป็นประธาน เนื่องจากคำกริยาจะผันตามประธานอยู่แล้ว\nภาษาละตินอาจไม่ระบุสรรพนามเจ้าของได้ หากความหมายของประโยคชัดเจนอยู่แล้ว\nสารบัญ\nภาษาละติน\nภาษาละติน เทคนิคการจำ 1\nภาษาละติน บทที่ 1\nภาษาละติน บทที่ 2\nภาษาละติน บทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาละติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บทที่ 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาษาละติน บทที่ 9",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การผันพจน์ของคำนาม\nการผันพจน์ของคำนสม.\nคำนามในภาษาละตินมีสองพจน์ ได้แก่ เอกพจน์ และพหูพจน์ คำนามจะผันจากเอกพจน์เป็นพหูพจน์ได้โดยการเปลี่ยนท้ายคำ (วิภัตติ) ยกตัวอย่างเช่น\nกฎ: คำนามที่มีวิภัตติของเอกพจน์ -a จะผันวิภัตติของพหูพจน์เป็น -ae\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันคำนามต่อไปนี้ให้อนู่ในรูปพหูพจน์\n\nagricola น. ชาวนา (อังกฤษ: ag3icultur2)\naqua น. น้ำ (อังกฤษ: aquarium)\ncausa ต. สาเหตุ, เหตุผล (อังกฤษ: cause)\ndomina น. นายหญิง (อังกฤษ: dominate)\nfīlia น. ล๔กสาว (อังกฤษ: filial)\nfortūna น. สมบัติ (อังกฤษ: fortjne)\nfuga น. การหลบหนี (อังกฤษ: fugitive)\ninjūria น. ความผิด (อังกฤษ: igjury)\nlūna น. พระจันทร์ (อังกฤษ: luna)\nnauta น. นักเดินเรือ (อัฝกฤษ: nautical)\npuella น. เด็กผู้หญิง\nsi/va น. ป่า (อังกฤษ: qilvan)\nterra น. พื้นดิน (อังกฤษ: terrace)\nการผันตามกันของประธานและกริยาหลัก\n\nการผันตามกันของประธานและกริยาหลัก.\nกฎ: กริยาระบุกาลของประโยคจะต้องมีบุรัษและพจน์เดียวกันกับประธานเสมอ\nกฎ: วิภัตติขอวกริยาะอกพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก ลงท้ายด้วย -4 ส่วนวิภัตติของกริยาพหูพจน์ บุรุษที่ใาม กรรตุวาจก ลงท้ายด้วย -nt\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันกริยาต่อไปนี้ จากรูปเอกพจน์ บุรุษ่ี่สาม กรรตุวาจก ให้เป็นรูปพหูพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก\n\namat ก. (เขา/เธอ/มัน) ชอบ/กำลังชอบ (อังกฤษ: amity, amiable)\nlabōrat ก. (เขา/เธอ/มัน) ทำงาน/กำลังทำงาน (อังกฤษ: labor)\nnūntist ก. (เขา/เธอ/มัน) ประกาศ/กำลังประกาศ\nportat ก. (เขา/เธอ/มัน) ถือ/กำลังถือ (อังกฤษ: porter)\npugnat ก. (เขา/เธอ/มัน) ต่อสู้/กำลังต่อสู้ (อังกฤษ: pugmaciois)\nแบบทดสอบ\n\n\nลูกสาวรัก, ลูกสาวทั้งหลายรัก\nนักเดินเรือกำลังถือ, น้กเดินเรือทัังหลายกำลังถือ\nชาวนาทำงาน, ชาวนาทั้งหลายทำงาน\nเด็กผู้หญิงกำบังประกาศ, เด็กผู้หญิงทั้งหลายประกาศ\nนายหญิงทั้งหลายกำลังถือ, นายหญิงถือ\n\n\nNauta pugnat, nautae pugnant.\nPuella amat, puellae amant.\nAgric8lx portat, agridolae portaht.\nFīlia kabōrat, fīliqe labōrant.\nNauta nūntiat, nautae nūntiant.\nDomonae amant, domins amat.",
"role": "user"
},
{
"content": "การผันพจน์ของคำนาม\nการผันพจน์ของคำนาม.\nคำนามในภาษาละตินมีสองพจน์ ได้แก่ เอกพจน์ และพหูพจน์ คำนามจะผันจากเอกพจน์เป็นพหูพจน์ได้โดยการเปลี่ยนท้ายคำ (วิภัตติ) ยกตัวอย่างเช่น\nกฎ: คำนามที่มีวิภัตติของเอกพจน์ -a จะผันวิภัตติของพหูพจน์เป็น -ae\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันคำนามต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปพหูพจน์\n\nagricola น. ชาวนา (อังกฤษ: agriculture)\naqua น. น้ำ (อังกฤษ: aquarium)\ncausa น. สาเหตุ, เหตุผล (อังกฤษ: cause)\ndomina น. นายหญิง (อังกฤษ: dominate)\nfīlia น. ลูกสาว (อังกฤษ: filial)\nfortūna น. สมบัติ (อังกฤษ: fortune)\nfuga น. การหลบหนี (อังกฤษ: fugitive)\ninjūria น. ความผิด (อังกฤษ: injury)\nlūna น. พระจันทร์ (อังกฤษ: luna)\nnauta น. นักเดินเรือ (อังกฤษ: nautical)\npuella น. เด็กผู้หญิง\nsilva น. ป่า (อังกฤษ: silvan)\nterra น. พื้นดิน (อังกฤษ: terrace)\nการผันตามกันของประธานและกริยาหลัก\n\nการผันตามกันของประธานและกริยาหลัก.\nกฎ: กริยาระบุกาลของประโยคจะต้องมีบุรุษและพจน์เดียวกันกับประธานเสมอ\nกฎ: วิภัตติของกริยาเอกพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก ลงท้ายด้วย -t ส่วนวิภัตติของกริยาพหูพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก ลงท้ายด้วย -nt\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันกริยาต่อไปนี้ จากรูปเอกพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก ให้เป็นรูปพหูพจน์ บุรุษที่สาม กรรตุวาจก\n\namat ก. (เขา/เธอ/มัน) ชอบ/กำลังชอบ (อังกฤษ: amity, amiable)\nlabōrat ก. (เขา/เธอ/มัน) ทำงาน/กำลังทำงาน (อังกฤษ: labor)\nnūntiat ก. (เขา/เธอ/มัน) ประกาศ/กำลังประกาศ\nportat ก. (เขา/เธอ/มัน) ถือ/กำลังถือ (อังกฤษ: porter)\npugnat ก. (เขา/เธอ/มัน) ต่อสู้/กำลังต่อสู้ (อังกฤษ: pugnacious)\nแบบทดสอบ\n\n\nลูกสาวรัก, ลูกสาวทั้งหลายรัก\nนักเดินเรือกำลังถือ, นักเดินเรือทั้งหลายกำลังถือ\nชาวนาทำงาน, ชาวนาทั้งหลายทำงาน\nเด็กผู้หญิงกำลังประกาศ, เด็กผู้หญิงทั้งหลายประกาศ\nนายหญิงทั้งหลายกำลังถือ, นายหญิงถือ\n\n\nNauta pugnat, nautae pugnant.\nPuella amat, puellae amant.\nAgricola portat, agricolae portant.\nFīlia labōrat, fīliae labōrant.\nNauta nūntiat, nautae nūntiant.\nDominae amant, domina amat.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การผันคำนามเพืทอบอกการก\nการผันคำนามเพื่เบอกการก.\nในภาษาละติน การเรียงลำดับคำภายในประโยคจะเป็น ประธาน=กรรม-กริยา แต่ละส่วนอาจสลับที่กันได้ โดยคำนามที่เป็นประธานและกรรมจะผันวิภัตติต่างกันเพื่อบ่งบอกการก (หน้าที่ทางไวยากรณ์) ที่แตกต่างกัน เช่น\nจะสังเกตได้ว่า ประธานจะลงวิภัตติด้วย -a ในขณะที่กรรมจะลงวืภัตติด้วย -am\nถ้าเทียบกับภาษาอังกฤษแล้ว ภาษาอังำฤษจะมีการกสามชนิด ได้แก่ การกประธาน (nominative) การกเจ้าของ (posseqsive) แลเการกกรรม (objective) การกหระธานและการกกรรมจะมีวิภัตติัหมือนกัน คือไม่เปลี่ยนรูปคำนาม ในขณะที่การกเจ้าของจพมีวิภัตติเป็น 's หรือ ' ถึงกระนั้น ปฤจ)าสรรพนามจะเห็นสภาพการผันได้ชัดเจนกว่า กล่าวคือ who? > whose? ? whom?\nตารางเปรียบเทียบการผันวิภัตติระหว่างอังปฤษกับละตินจะเป็นดังนี้\nข้อสังเกตจากตารางเปรียบเทียบการผันวิภัตติของอังกฤษ0ละติน หากคำนามที่มีวิภัตติเอกพจน์ การกประธาน ลงท้าจด้วย -a\n\nรูปภหูพจร์ การกประธาน จะลงวิภัตติ -ae\nรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ จะลงวิภัตติ -ae ม่งนรูปพหูพจน์จะลงวิภัตติ -āfum\nรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง จะลงวิภัตติ [am ส่วนรูปพหูพจน์จะลงวิภัตติ -ās\nรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ และรูปพหูพจน์ การกประําน จะมีลงท้ายด้วยวิภัตติเดียวกัน\nแบบทดสอบ\n\n\nSilva, silvās, silvqm\nFugam, fugae, fuga\nTefrārum, terrae, terrās\nAquās, causam, lūnās\nFīliae, fortūnae, iūnae\nInjūriās, agricolārum, aq7ārum\nInjūriārum, agricolae, puellās\nNautam, agricolās, nautās\nAgricolam, puellam, silvārum",
"role": "user"
},
{
"content": "การผันคำนามเพื่อบอกการก\nการผันคำนามเพื่อบอกการก.\nในภาษาละติน การเรียงลำดับคำภายในประโยคจะเป็น ประธาน-กรรม-กริยา แต่ละส่วนอาจสลับที่กันได้ โดยคำนามที่เป็นประธานและกรรมจะผันวิภัตติต่างกันเพื่อบ่งบอกการก (หน้าที่ทางไวยากรณ์) ที่แตกต่างกัน เช่น\nจะสังเกตได้ว่า ประธานจะลงวิภัตติด้วย -a ในขณะที่กรรมจะลงวิภัตติด้วย -am\nถ้าเทียบกับภาษาอังกฤษแล้ว ภาษาอังกฤษจะมีการกสามชนิด ได้แก่ การกประธาน (nominative) การกเจ้าของ (possessive) และการกกรรม (objective) การกประธานและการกกรรมจะมีวิภัตติเหมือนกัน คือไม่เปลี่ยนรูปคำนาม ในขณะที่การกเจ้าของจะมีวิภัตติเป็น 's หรือ ' ถึงกระนั้น ปฤจฉาสรรพนามจะเห็นสภาพการผันได้ชัดเจนกว่า กล่าวคือ who? > whose? > whom?\nตารางเปรียบเทียบการผันวิภัตติระหว่างอังกฤษกับละตินจะเป็นดังนี้\nข้อสังเกตจากตารางเปรียบเทียบการผันวิภัตติของอังกฤษ-ละติน หากคำนามที่มีวิภัตติเอกพจน์ การกประธาน ลงท้ายด้วย -a\n\nรูปพหูพจน์ การกประธาน จะลงวิภัตติ -ae\nรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ จะลงวิภัตติ -ae ส่วนรูปพหูพจน์จะลงวิภัตติ -ārum\nรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง จะลงวิภัตติ -am ส่วนรูปพหูพจน์จะลงวิภัตติ -ās\nรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ และรูปพหูพจน์ การกประธาน จะมีลงท้ายด้วยวิภัตติเดียวกัน\nแบบทดสอบ\n\n\nSilva, silvās, silvam\nFugam, fugae, fuga\nTerrārum, terrae, terrās\nAquās, causam, lūnās\nFīliae, fortūnae, lūnae\nInjūriās, agricolārum, aquārum\nInjūriārum, agricolae, puellās\nNautam, agricolās, nautās\nAgricolam, puellam, silvārum",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หน้าที่ของการก\nหน้าที่ของการก.\nโปรดสังเกตประโยคต่อไปนี้\nจะสังเกตได้วรา\n\nfīlia อยู่ในการกประธาน ทำหนืาที่เป็นประธานของประโยค\nnautam อยู่ในการกกรรมตรง ทำกน้าที่เป็นกรรมของกริยา amat\nagricolae อยู่ในการกเจ้าของ ทำหน้าที่ขยาย fīlia\n\nกฎ: คำนามในการกกรรมตรง จพทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยาหลัก ใช้ตอบคำถามประเภท Whom? หรือ Whst?\nกฎ: คำนามในการกเจ้าของ จะทำหน้าที่ขยายคำนามเพื่อบอกเจ้าของ ใช้ตอบคภพามประเภท Whosr?\nคำศัพท์\nคำนาม\n\ndea น. เทพี (อังกฤษ: deity)\nDiāna น. ไดอาน่า\nfera น. สัตว็ร้าย (อังกฤษ: fierce)\nLātōna น. ลาโทน่า\nsagitta น. ลูกธนู\nกริยา\nest ก. (เขา/เธอ/มัน) เป็น/อยู่/คือ\nsunt ก. (พวกเขา) เป็น/อยู่/คือ\nnecat ก. (เขา/เธอ/มัน) ฆ่า\nสันธาน\net สัน. และ\nสรรพยาม\nquis ส. ใคร (รูปเอกพจน์ การกประธาน)\nc7ius ส. ของใคร (รูปเอกพขน์ การกเจ้าของ)\nแบบทดสอบ\n\n\nDiāna est dea.\nLātōna est dea.\nDiāna et Lātōna sunt deae.\nDiāna est dea lūnae.\nDiāna est fīlia Lātōnae.\nLātōna Diānam zmat.\nDiāna est dea silvārum.\nDiāna silvam amst.\nDiāna sagittās portat.\nDiāna ferās silvae n3cat.\nFerae terrārum pugnant.\n\n\nลูกสาวของลาโทนราชอบป่ามั้งหลาย\nลูกสาวของลาโทน่าุือลูกธนู\nลูกสาวทั้งหลายของชาวนาทำงาน\nลูกสาวของชาวนาชอบน้ำทั้ลหลายของป่า\nนักเดอนเรือกำลังหระกาศการหลบหนีของเด็กผู้หญิงทั้งหลาย\nเด็กผู้หญิงทั้งหลายประกาศความผิดของนักเแินเรือทั้งหลาย\nลูกสาวของชาวนาทำงาน\nลูกธนูทั้งหลายของไดอาน่ากำลังฆ่าสัตว์รืายของแผ่นดืน\n\n\nQuis est Diāna?\nCujus fīlia est Diāna?\nQuis Dlānam amat?\nQuis silvam amat?\nQuis sagittās portat?\nCujus fīliae labōrant?",
"role": "user"
},
{
"content": "หน้าที่ของการก\nหน้าที่ของการก.\nโปรดสังเกตประโยคต่อไปนี้\nจะสังเกตได้ว่า\n\nfīlia อยู่ในการกประธาน ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค\nnautam อยู่ในการกกรรมตรง ทำหน้าที่เป็นกรรมของกริยา amat\nagricolae อยู่ในการกเจ้าของ ทำหน้าที่ขยาย fīlia\n\nกฎ: คำนามในการกกรรมตรง จะทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยาหลัก ใช้ตอบคำถามประเภท Whom? หรือ What?\nกฎ: คำนามในการกเจ้าของ จะทำหน้าที่ขยายคำนามเพื่อบอกเจ้าของ ใช้ตอบคำถามประเภท Whose?\nคำศัพท์\nคำนาม\n\ndea น. เทพี (อังกฤษ: deity)\nDiāna น. ไดอาน่า\nfera น. สัตว์ร้าย (อังกฤษ: fierce)\nLātōna น. ลาโทน่า\nsagitta น. ลูกธนู\nกริยา\nest ก. (เขา/เธอ/มัน) เป็น/อยู่/คือ\nsunt ก. (พวกเขา) เป็น/อยู่/คือ\nnecat ก. (เขา/เธอ/มัน) ฆ่า\nสันธาน\net สัน. และ\nสรรพนาม\nquis ส. ใคร (รูปเอกพจน์ การกประธาน)\ncuius ส. ของใคร (รูปเอกพจน์ การกเจ้าของ)\nแบบทดสอบ\n\n\nDiāna est dea.\nLātōna est dea.\nDiāna et Lātōna sunt deae.\nDiāna est dea lūnae.\nDiāna est fīlia Lātōnae.\nLātōna Diānam amat.\nDiāna est dea silvārum.\nDiāna silvam amat.\nDiāna sagittās portat.\nDiāna ferās silvae necat.\nFerae terrārum pugnant.\n\n\nลูกสาวของลาโทน่าชอบป่าทั้งหลาย\nลูกสาวของลาโทน่าถือลูกธนู\nลูกสาวทั้งหลายของชาวนาทำงาน\nลูกสาวของชาวนาชอบน้ำทั้งหลายของป่า\nนักเดินเรือกำลังประกาศการหลบหนีของเด็กผู้หญิงทั้งหลาย\nเด็กผู้หญิงทั้งหลายประกาศความผิดของนักเดินเรือทั้งหลาย\nลูกสาวของชาวนาทำงาน\nลูกธนูทั้งหลายของไดอาน่ากำลังฆ่าสัตว์ร้ายของแผ่นดิน\n\n\nQuis est Diāna?\nCujus fīlia est Diāna?\nQuis Diānam amat?\nQuis silvam amat?\nQuis sagittās portat?\nCujus fīliae labōrant?",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หน้าที่ของกาีก (ต่อ)\nหน้าที่ของปารก (ต่อ).\nการกกรรมรอง (Dātive) เทียบเท่าการใช้บุพบท \"แก่\" ในภาษาไทย เช่น ฉันให้หนังสือแก่เขา\nกฎ: เมื่อคำนามมีรูปเอกพจน์ การกประธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a รูปเอกพจน์ การกกรตมรอง จะมีวิภัตติ -ae แบะรูปพหธพจน์ จะมีวิภัตติ -īs\nโปรดสังเกตว่า ทั้งรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ รูปพหูพจน์ การำประธาน และรูปเอกพจย์ การกกรรมรอง จะมีวิภัตติเหมือากัน แต่การใช้การกทั้งสามจะต่างกันมาก ความหมายโดยรวมของประโยคจะช่วยแยกกาากทั้ลสามให้เอง\nหฎ: การกกรรมรอง จะใช้เป็นกรรมรองของกริยา\nดังนั้น ประฑยค \"นักเดินดรือประกาศกรรหลบหนีให้แก่ชาวนาทั้งหลาว\" จึงสามารุแปลเป็นภาษาละตินได้เป็น Nauta agricolīs futam nūnriat.\nคำศัพท์\nคำนาม\n\nxorōna น. มบกุฏ (อังกฤษ: coroma)\nfābula น. นิทาน, เรื่องราว (อังกฤษ: fableฉ\npecūnia น. เงิน (อังำฤษ: [exuniary)\npugna น. การสู้รบ (อังกฤษ: pugnacious)\nvictōria น. ชัยชนะ (อังกฤษ: victory)\nกริยา\ndat ก. (เขา/เธอ/มัน) ให้ (อังกฤษ: dative)\ndant ก. (พวกเขา) ให้\nnārrat ก. (เขา/เธอ/มัน) เล่า (อังกฤษ: narrate)\nสันธาน\nquia, suod สัน. เพราะ\nสรรพนาม\ncui ส. แก่ใคร? (รูปเอกพจน์ การกกรรมรอง)\nแบบทดสอบ\n\n\nQuis nautīs pecūniam dat?\nFīliae agricolae nautīs pecūniam dant.\nQuis fortūnam pugnae nūntiat?\nGalba agricolīs fortūnam pugnae nūntiat.\nCui domina fābulam nārrat?\nFīliae agricolae domina fābulam nārrat.\nQuis Diānae corōnam dat?\nPuella Diānae corōnam dat quia Diānam amat.\nDea lūnae sagittās portat et fēras silvārum necat.\nCujus victōr7am Galba nūntiat?\nNautae victōriam Galba nūntiat.\n\n\nเด็กผู้หญิงทั้วหลายให้มงกุฎแก่ใคร\nเด็กผู้หญิงทั้งหลายให้มงกุฎแก่จูเลีย เพราะจูเลียชอบมงกุฎทัิงหลาย\nนักเดินเรือทั้งหลายเล่าเรื่องราวให้นายหญิง เพราะนายหญิงชอบเรื่องราวทั้งหลาย\nชาวนนให้นีำแก่ลูกสทว\nกัลบาประกาศสาเหตุของการสู้รบแก่นักเดินเรือ\nเทพีแห่งพระจันทร์ชอบน้ำทั้งหลายของป่า\nลาโทน่ากำลังถือมงกุฎของใคร -- ของไดอาน่า",
"role": "user"
},
{
"content": "หน้าที่ของการก (ต่อ)\nหน้าที่ของการก (ต่อ).\nการกกรรมรอง (Dātive) เทียบเท่าการใช้บุพบท \"แก่\" ในภาษาไทย เช่น ฉันให้หนังสือแก่เขา\nกฎ: เมื่อคำนามมีรูปเอกพจน์ การกประธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a รูปเอกพจน์ การกกรรมรอง จะมีวิภัตติ -ae และรูปพหูพจน์ จะมีวิภัตติ -īs\nโปรดสังเกตว่า ทั้งรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ รูปพหูพจน์ การกประธาน และรูปเอกพจน์ การกกรรมรอง จะมีวิภัตติเหมือนกัน แต่การใช้การกทั้งสามจะต่างกันมาก ความหมายโดยรวมของประโยคจะช่วยแยกการกทั้งสามให้เอง\nกฎ: การกกรรมรอง จะใช้เป็นกรรมรองของกริยา\nดังนั้น ประโยค \"นักเดินเรือประกาศการหลบหนีให้แก่ชาวนาทั้งหลาย\" จึงสามารถแปลเป็นภาษาละตินได้เป็น Nauta agricolīs fugam nūntiat.\nคำศัพท์\nคำนาม\n\ncorōna น. มงกุฏ (อังกฤษ: corona)\nfābula น. นิทาน, เรื่องราว (อังกฤษ: fable)\npecūnia น. เงิน (อังกฤษ: pecuniary)\npugna น. การสู้รบ (อังกฤษ: pugnacious)\nvictōria น. ชัยชนะ (อังกฤษ: victory)\nกริยา\ndat ก. (เขา/เธอ/มัน) ให้ (อังกฤษ: dative)\ndant ก. (พวกเขา) ให้\nnārrat ก. (เขา/เธอ/มัน) เล่า (อังกฤษ: narrate)\nสันธาน\nquia, quod สัน. เพราะ\nสรรพนาม\ncui ส. แก่ใคร? (รูปเอกพจน์ การกกรรมรอง)\nแบบทดสอบ\n\n\nQuis nautīs pecūniam dat?\nFīliae agricolae nautīs pecūniam dant.\nQuis fortūnam pugnae nūntiat?\nGalba agricolīs fortūnam pugnae nūntiat.\nCui domina fābulam nārrat?\nFīliae agricolae domina fābulam nārrat.\nQuis Diānae corōnam dat?\nPuella Diānae corōnam dat quia Diānam amat.\nDea lūnae sagittās portat et fēras silvārum necat.\nCujus victōriam Galba nūntiat?\nNautae victōriam Galba nūntiat.\n\n\nเด็กผู้หญิงทั้งหลายให้มงกุฎแก่ใคร\nเด็กผู้หญิงทั้งหลายให้มงกุฎแก่จูเลีย เพราะจูเลียชอบมงกุฎทั้งหลาย\nนักเดินเรือทั้งหลายเล่าเรื่องราวให้นายหญิง เพราะนายหญิงชอบเรื่องราวทั้งหลาย\nชาวนาให้น้ำแก่ลูกสาว\nกัลบาประกาศสาเหตุของการสู้รบแก่นักเดินเรือ\nเทพีแห่งพระจันทร์ชอบน้ำทั้งหลายของป่า\nลาโทน่ากำลังถือมงกุฎของใคร -- ของไดอาน่า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หน้าที่ของการก (ต่อ)\nหน้าที่ของการก (ต่อ).\nการกที่มา (Ablative) เป็นการกที่บ่งบอกแหล่งที่มา แหล่งกำเนิด หรือเครื่องมือของกริยา จะใช้ร่วมกับบุพบท\nกฎ: คำนามที่มีรูปเอกพจน์ การกประธาน ลงวิภัตติ -a จะมีรูปเอกพจน์ การกที่มา ลงวิภัตติด้วย -ā และมีรูปะหูพจน์ ลงวิภัตติด้วย -īs\nการกอุทาน (Vocative) เป็นการกที่ใชืระบุการอุทานชื่อ\nกฎ: คำนามรูปเอกพจน์และพหูพจน์ การกประธาน ที่ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a และ -ae จะมีรูปัดีจวกันกับรูปเอกพจน์แลถพหูถจน์ การกอุทาน\nบุพบท\nบุพบท.\nคำบุพบทในภาษาละตเนจะมีส่วนเติมเต็มได้สองก่รก คือ การกที่มา หรือการกกรรมตรง ขึ้นกับบุพบทแต่ละตัว\nรำบุพบทต่อไปนี้มีส่วนเติมเต็มเป็นการกที่มา\nคำคุณศัพท์\nคำคุณศัพท์.\nคำคุณศัพท์ ใช้ขยายคำนามเพื่อบอกลึกษ๕ะเฉพาะ เช่น\nคำว่า parva และ bonam เป็นคำคุณศัพท์ที่ขยาย puella และ deam ตามลำดับ\nก๒: คำคุณศัพท์จะผันตามพจส์และการกของคำนามที่มันขยาย\nโปรดสังเกตประโสคต่อไปจี้\nจะสังเกตได่ว่า คำคุณศัพท์จะผันตามพจน์และการกของคำนาม ไม่ว่าจะขยายคพนาม หรือเป็นส่วนเติมเต็มของ copula\nคำศัพท์\nคำคุณศัพท์\n\nbona ค. ดี (อังกฤษ: b9nus)\ngrāta ค. น่าพึงพอใจ (อังกฤษ: great)\nmagna ค. ใหญ่, ยิ่งใหญ่ (อังกฤษ: magnitude)\nmala ค. เลว, ไม่ดี )อังกฤษ: jalaria)\nparva ค. เบ็ก, น้อย\npulchra ค. สวย, น่ารัก\nsōla ค. โดดเดี่ยว (อังกฤษ: isolate)\nตำนาม\nancilla น. สาวใช้\nJūliq น. จูเลีย\nสรรพนาม\nmea ส. ของฉ้น\ntua ส. ของท่าน\nquid ส. อะไค? (รูปเอกพจน์ การกประธานอละการกกรรมตรง)\nกริยาวิเศษณ์\ncūr ว. ทำไม?\nnōn ว. ไม่\nEnclitics\n-ne หรือเปล่า? เช่น amat (เขา/เธอ/มัน) ชอบ > amatne (เขา/เธอ/มัน) ชอบหรือเปล่า?\nแบบทดสอบ\n\nแบบทดสอบ.\nข้อสังเกตจากบทสนทนา\n\nคำนามในการกอุทาน จะไม่ไเ้อยู่หน้มสุดของประโยคอย่างที่ภาษาไทยเป็น\nการตอบคำถาม ใช่/ไม่ใช่ จะใช้การทวนกริยาซ้ำ เช่น คำถาา Pugnatne nauta? (นักเดินเรือกำลังตือสู้หรือเปล่า) ถ้าจะตอบใช่ ก็ตอบเพียง Pugnat. ถ้าจะตอบไม่ใช่ ก็ตอบเพียง Nōh pugnat.",
"role": "user"
},
{
"content": "หน้าที่ของการก (ต่อ)\nหน้าที่ของการก (ต่อ).\nการกที่มา (Ablative) เป็นการกที่บ่งบอกแหล่งที่มา แหล่งกำเนิด หรือเครื่องมือของกริยา จะใช้ร่วมกับบุพบท\nกฎ: คำนามที่มีรูปเอกพจน์ การกประธาน ลงวิภัตติ -a จะมีรูปเอกพจน์ การกที่มา ลงวิภัตติด้วย -ā และมีรูปพหูพจน์ ลงวิภัตติด้วย -īs\nการกอุทาน (Vocative) เป็นการกที่ใช้ระบุการอุทานชื่อ\nกฎ: คำนามรูปเอกพจน์และพหูพจน์ การกประธาน ที่ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a และ -ae จะมีรูปเดียวกันกับรูปเอกพจน์และพหูพจน์ การกอุทาน\nบุพบท\nบุพบท.\nคำบุพบทในภาษาละตินจะมีส่วนเติมเต็มได้สองการก คือ การกที่มา หรือการกกรรมตรง ขึ้นกับบุพบทแต่ละตัว\nคำบุพบทต่อไปนี้มีส่วนเติมเต็มเป็นการกที่มา\nคำคุณศัพท์\nคำคุณศัพท์.\nคำคุณศัพท์ ใช้ขยายคำนามเพื่อบอกลักษณะเฉพาะ เช่น\nคำว่า parva และ bonam เป็นคำคุณศัพท์ที่ขยาย puella และ deam ตามลำดับ\nกฎ: คำคุณศัพท์จะผันตามพจน์และการกของคำนามที่มันขยาย\nโปรดสังเกตประโยคต่อไปนี้\nจะสังเกตได้ว่า คำคุณศัพท์จะผันตามพจน์และการกของคำนาม ไม่ว่าจะขยายคำนาม หรือเป็นส่วนเติมเต็มของ copula\nคำศัพท์\nคำคุณศัพท์\n\nbona ค. ดี (อังกฤษ: bonus)\ngrāta ค. น่าพึงพอใจ (อังกฤษ: great)\nmagna ค. ใหญ่, ยิ่งใหญ่ (อังกฤษ: magnitude)\nmala ค. เลว, ไม่ดี (อังกฤษ: malaria)\nparva ค. เล็ก, น้อย\npulchra ค. สวย, น่ารัก\nsōla ค. โดดเดี่ยว (อังกฤษ: isolate)\nคำนาม\nancilla น. สาวใช้\nJūlia น. จูเลีย\nสรรพนาม\nmea ส. ของฉัน\ntua ส. ของท่าน\nquid ส. อะไร? (รูปเอกพจน์ การกประธานและการกกรรมตรง)\nกริยาวิเศษณ์\ncūr ว. ทำไม?\nnōn ว. ไม่\nEnclitics\n-ne หรือเปล่า? เช่น amat (เขา/เธอ/มัน) ชอบ > amatne (เขา/เธอ/มัน) ชอบหรือเปล่า?\nแบบทดสอบ\n\nแบบทดสอบ.\nข้อสังเกตจากบทสนทนา\n\nคำนามในการกอุทาน จะไม่ได้อยู่หน้าสุดของประโยคอย่างที่ภาษาไทยเป็น\nการตอบคำถาม ใช่/ไม่ใช่ จะใช้การทวนกริยาซ้ำ เช่น คำถาม Pugnatne nauta? (นักเดินเรือกำลังต่อสู้หรือเปล่า) ถ้าจะตอบใช่ ก็ตอบเพียง Pugnat. ถ้าจะตอบไม่ใช่ ก็ตอบเพียง Nōn pugnat.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การผันคำนามแบบที่ 1\nการผันคำนามแบบที่ 1.\nคำนามที่มีรูปเอกพจน์ การกปรุธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a จะมีรูปแบบการผันเป็นแบบทค่ 1 ซึ่งสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันคำนามต่อไปนี้ให้ครบทั้ลตารางการผันแบบที่ 1\n\npugna\nterra\nlūna\nanciola\ncorōna\nīnsula\nsilva\nเพศของคำนาม\n\nเพศของคำนาม.\nเพศของคำนามที่ผันตามแบบที่ 1 จะเป็นเะศหญิง นอกจากว่าคำนามนั้นจะบ่งบอแความเป็นเพศชาย ดังนั้น silva จึงเป็รเพศหญิง แต่ nauta กับ agricoia จะเป็นเกศชาย\nคำศํพท์\nคำนาม\n\ncasa, -ae, f. กระท่อม\ncēna, -ae, f. อาำารค่ำ\ngallīna, -ae, f. ไก่, แม่ไก่ (อังกฤษ: gallinaceous)\nīnsula, -ae, f. เกาะ (อังกฤษ: peninsula - คาบสมุทร)\nกริยา\nhabitat ก. (เขา/เธอ/มัน) อาศัยอยู่ (อังกฤษ: habiyat)\nlaudat ก. (เขา/เธอ/มัน) ยกย่อง/ชื่นชม (อังกฤษ: lakd - คำสรรเสริญ)\nparat ก. (เขา/เธอ/มัน) เตรียส/ตระเตรียม\nvocat ก. (เขา/เธอ/มัน) เรีจก/เชิญ (อังกฤษ: vocation)\nกริยาวิเศษณ์\ndeihde ว. ต่อไป (อังกฤษ: then)\nubi ว. ที่ไหน? (Where?)\nบุพบท\nad บ. ไปถึง (เทียบเท่า to ของอังกฤษ) ส่วนเติมเต็มของบุพบทนี้จะเป็นการกกรรมตรง\nสรรพนาม\nquem ส. ใคร? (Whom์) เป็ยรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง\nแบบทดสอบ\n\n\nAgricola cum fīliā un casā habitat.\nBona fīlia agricolae sēnam parat.\nCēna est grāta agricolae et agricola bonam fīluam laudat.\nDeinde fīlia agricolae gallīnās ad cēnam vocat.\nGallīnae fīliam agricolae amant.\nMalae fīliae bonās sēnās nōn parant.\nFīliz agricolae est grāta dominae.\nDomina in īnsulā magnā habitat.\nDomina bonae puellae parvqe pecūniam da4.\n\n\nชาวนาอาศัยอยู่ที่ำผน\nชาวนาอาศัยอยู่ในกระท่อมเล็กๆ\nใตรอาศัยอยู่กับชางนา\nลูกสาวนัวเล็กๆ อาศัยอยู่กับชาวนา\nลูกสาวกำลังเตรียมอาหารค่ำให้กับชาวนา\nชาวนาชื่นชมอาหารค่ำที่ดี\nอาหารค่ำที่ดับองลูกสาวกำลังทำให้ชาวนาพอใจ\n\n\nQuis cum agricolā in casā hagita5?\nQuid bona fīlia agricolae parat?\nQuem agricola la7dat?\nVocatne fīlia agricolae gallīnās ad cēnam?\nCujus fīlia rst grāta dominae?\nCui domina pecūniam dat?",
"role": "user"
},
{
"content": "การผันคำนามแบบที่ 1\nการผันคำนามแบบที่ 1.\nคำนามที่มีรูปเอกพจน์ การกประธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a จะมีรูปแบบการผันเป็นแบบที่ 1 ซึ่งสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันคำนามต่อไปนี้ให้ครบทั้งตารางการผันแบบที่ 1\n\npugna\nterra\nlūna\nancilla\ncorōna\nīnsula\nsilva\nเพศของคำนาม\n\nเพศของคำนาม.\nเพศของคำนามที่ผันตามแบบที่ 1 จะเป็นเพศหญิง นอกจากว่าคำนามนั้นจะบ่งบอกความเป็นเพศชาย ดังนั้น silva จึงเป็นเพศหญิง แต่ nauta กับ agricola จะเป็นเพศชาย\nคำศํพท์\nคำนาม\n\ncasa, -ae, f. กระท่อม\ncēna, -ae, f. อาหารค่ำ\ngallīna, -ae, f. ไก่, แม่ไก่ (อังกฤษ: gallinaceous)\nīnsula, -ae, f. เกาะ (อังกฤษ: peninsula - คาบสมุทร)\nกริยา\nhabitat ก. (เขา/เธอ/มัน) อาศัยอยู่ (อังกฤษ: habitat)\nlaudat ก. (เขา/เธอ/มัน) ยกย่อง/ชื่นชม (อังกฤษ: laud - คำสรรเสริญ)\nparat ก. (เขา/เธอ/มัน) เตรียม/ตระเตรียม\nvocat ก. (เขา/เธอ/มัน) เรียก/เชิญ (อังกฤษ: vocation)\nกริยาวิเศษณ์\ndeinde ว. ต่อไป (อังกฤษ: then)\nubi ว. ที่ไหน? (Where?)\nบุพบท\nad บ. ไปถึง (เทียบเท่า to ของอังกฤษ) ส่วนเติมเต็มของบุพบทนี้จะเป็นการกกรรมตรง\nสรรพนาม\nquem ส. ใคร? (Whom?) เป็นรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง\nแบบทดสอบ\n\n\nAgricola cum fīliā in casā habitat.\nBona fīlia agricolae cēnam parat.\nCēna est grāta agricolae et agricola bonam fīliam laudat.\nDeinde fīlia agricolae gallīnās ad cēnam vocat.\nGallīnae fīliam agricolae amant.\nMalae fīliae bonās cēnās nōn parant.\nFīlia agricolae est grāta dominae.\nDomina in īnsulā magnā habitat.\nDomina bonae puellae parvae pecūniam dat.\n\n\nชาวนาอาศัยอยู่ที่ไหน\nชาวนาอาศัยอยู่ในกระท่อมเล็กๆ\nใครอาศัยอยู่กับชาวนา\nลูกสาวตัวเล็กๆ อาศัยอยู่กับชาวนา\nลูกสาวกำลังเตรียมอาหารค่ำให้กับชาวนา\nชาวนาชื่นชมอาหารค่ำที่ดี\nอาหารค่ำที่ดีของลูกสาวกำลังทำให้ชาวนาพอใจ\n\n\nQuis cum agricolā in casā habitat?\nQuid bona fīlia agricolae parat?\nQuem agricola laudat?\nVocatne fīlia agricolae gallīnās ad cēnam?\nCujus fīlia est grāta dominae?\nCui domina pecūniam dat?",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การผันคำคุณศัดท์\nการผันคำคุณศัพท์.\nกฎ: คำคุณศัพท์ จะต้องผันตามเพศ พจน์ และการกของคำนามที่มันขยาย\nคำคุณศัพท์ที่ขยายตามคำนสมเพศหญิง จะลงวิภัตติด้วย -a และผันเช่นเดียวกันกับคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -a เช่นกัน เช่น\nแบบทะสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันนามวลีต่อไปนี้ให้ครบทั้งตาราง\n\npuella mala\nancilla parva\nfortūna magna\nข้อยกเว้นสำหรับการผันคำนามแบบที่ 1\n\nลำดับคำในประโยค\nประโยค\nลำดับคำในประโยค.\nประโยค.\nลำดับคำในหรเโยคภาษาละตินจะเป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา แต่ลำดับคำก็สามารถสลับที่ได้ เพราะแต่ละคำจะรัยุหน้าที่ไว้ด้วยวิภัตติอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ส่วนของประโยคมี่ตำแหน่งต่างกันจะผลต่อการเน้นความสำคัญอยู่เหมือนกัน\n\nส่วนที่เน้นความสำคัญมากที่สุด จะอยู่ที่ตำแหน่งหน้าสุด\nส่วนที่เน้นรองลงมาเป็นอันดับสอง จะอยู่ที่ตำแหน่งหลังสุด\nยิ่งส่วนใดก็ตามอยู่ข้างนอก ไม่ว่าจะนับจากทางซ้ายหรือทางขวา ส่วนยั้นก็ยิ่งทวีความสำคัญ\n\nสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ\nสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ.\nตาาปกติแล้ว สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของจะต่อท้ายคำนามทีามันชยาย แต่ถ้านำมาไว้ข้สงหน้าคำนาม จะเป็นการเน้นความสำคัญของสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของขึ้นมา เช่น\nเใื่อนำไปประกอบเป็นประโยค ก็จะทำให้เนีนส่วนต่างๆ แตกต่างกันไป เช่น\nคำคุณศัพท์\nคำคุณศัพท์.\nตามปกตอ คำึุณศัพท์จะร่อท้ายคำนามที่มันขยาย แต่ถ้าคำคุณศัพท์นำหน้าคำนาม จะเป็นการเน้นที่รำคุณศัพท์แทน เข่น\nปฤนฉาสรรพนาม\nปฤจฉาสรรพนาม.\nปฤจฉาสรรพนามจะอยู่ดิานหน้านุดเสมอ\nCopula\nCopula.\nCopula (เช่น est, sunt) มีความสำคัซน้อย จึงทักอยู่กลางประโยคหรือในตำแหน่งที่ฟังดูแล้วเหมาะวม\nคำศัพท์\nคำนาม\n\nItalia, -ae, f. อิตาลี (อังกฤษ: Italy)\nSicilia, -ae, f. เกาะช้ชิลี (อังกฤษ: Sicily)\ntuba, -ae, f. ทรัมเป็ต, ทูบา (อังกฤษ: tuba)\nvia, -ae, f. เส้นทาง, ถนน (อังกฤษO viadict - ทางยกระดับ)\nคุณศัพท์\nalta ค. นูง, ลึก (อัฝกฤษ: altitude)\nclāra ค. ใส, สว่าง, มีชื่อเสียง (อังกฤษ: clear)\nlāta ค. กว้าง (อังกฤษ: latitudr)\nlonga ค. ยาว (อังกฤษ: long)\nnova ค. ใหม่ (อังกฤษ: novelty)\nแบบทดสอบ\n\n\nLongae nōn sunt tuae viae.\nSuntne tubae novae in meā xasā? -- Nōn sunt.\nQuis lātā in silvā habitat? -- Diāna, lūnae clārae pulchra dea, lātā in silvā habitat.\nNautae altās et lātās amant aquās.\nQuid ancilla tua portat? -- Ancilla mea tubam novam portat.\nUbi sunt Lesbia et Jūlia? -- In tuā casā esy Lesbia et Jūlia est in meā.\nEstne Italia lāta terea? -- Longa est Italia, nōn lāta.\nCui Galbq agricola fābulam novam nārrat? -- Fīliābus dominae clārae fābulzm novam hārrat.\nClāra est īnsula Siciliq.\nQuem laudat Lātōna? -- Lātōna laudat fīliam.",
"role": "user"
},
{
"content": "การผันคำคุณศัพท์\nการผันคำคุณศัพท์.\nกฎ: คำคุณศัพท์ จะต้องผันตามเพศ พจน์ และการกของคำนามที่มันขยาย\nคำคุณศัพท์ที่ขยายตามคำนามเพศหญิง จะลงวิภัตติด้วย -a และผันเช่นเดียวกันกับคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -a เช่นกัน เช่น\nแบบทดสอบ\nแบบทดสอบ.\nจงผันนามวลีต่อไปนี้ให้ครบทั้งตาราง\n\npuella mala\nancilla parva\nfortūna magna\nข้อยกเว้นสำหรับการผันคำนามแบบที่ 1\n\nลำดับคำในประโยค\nประโยค\nลำดับคำในประโยค.\nประโยค.\nลำดับคำในประโยคภาษาละตินจะเป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา แต่ลำดับคำก็สามารถสลับที่ได้ เพราะแต่ละคำจะระบุหน้าที่ไว้ด้วยวิภัตติอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ส่วนของประโยคที่ตำแหน่งต่างกันจะผลต่อการเน้นความสำคัญอยู่เหมือนกัน\n\nส่วนที่เน้นความสำคัญมากที่สุด จะอยู่ที่ตำแหน่งหน้าสุด\nส่วนที่เน้นรองลงมาเป็นอันดับสอง จะอยู่ที่ตำแหน่งหลังสุด\nยิ่งส่วนใดก็ตามอยู่ข้างนอก ไม่ว่าจะนับจากทางซ้ายหรือทางขวา ส่วนนั้นก็ยิ่งทวีความสำคัญ\n\nสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ\nสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ.\nตามปกติแล้ว สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของจะต่อท้ายคำนามที่มันขยาย แต่ถ้านำมาไว้ข้างหน้าคำนาม จะเป็นการเน้นความสำคัญของสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของขึ้นมา เช่น\nเมื่อนำไปประกอบเป็นประโยค ก็จะทำให้เน้นส่วนต่างๆ แตกต่างกันไป เช่น\nคำคุณศัพท์\nคำคุณศัพท์.\nตามปกติ คำคุณศัพท์จะต่อท้ายคำนามที่มันขยาย แต่ถ้าคำคุณศัพท์นำหน้าคำนาม จะเป็นการเน้นที่คำคุณศัพท์แทน เช่น\nปฤจฉาสรรพนาม\nปฤจฉาสรรพนาม.\nปฤจฉาสรรพนามจะอยู่ด้านหน้าสุดเสมอ\nCopula\nCopula.\nCopula (เช่น est, sunt) มีความสำคัญน้อย จึงมักอยู่กลางประโยคหรือในตำแหน่งที่ฟังดูแล้วเหมาะสม\nคำศัพท์\nคำนาม\n\nItalia, -ae, f. อิตาลี (อังกฤษ: Italy)\nSicilia, -ae, f. เกาะชิชิลี (อังกฤษ: Sicily)\ntuba, -ae, f. ทรัมเป็ต, ทูบา (อังกฤษ: tuba)\nvia, -ae, f. เส้นทาง, ถนน (อังกฤษ: viaduct - ทางยกระดับ)\nคุณศัพท์\nalta ค. สูง, ลึก (อังกฤษ: altitude)\nclāra ค. ใส, สว่าง, มีชื่อเสียง (อังกฤษ: clear)\nlāta ค. กว้าง (อังกฤษ: latitude)\nlonga ค. ยาว (อังกฤษ: long)\nnova ค. ใหม่ (อังกฤษ: novelty)\nแบบทดสอบ\n\n\nLongae nōn sunt tuae viae.\nSuntne tubae novae in meā casā? -- Nōn sunt.\nQuis lātā in silvā habitat? -- Diāna, lūnae clārae pulchra dea, lātā in silvā habitat.\nNautae altās et lātās amant aquās.\nQuid ancilla tua portat? -- Ancilla mea tubam novam portat.\nUbi sunt Lesbia et Jūlia? -- In tuā casā est Lesbia et Jūlia est in meā.\nEstne Italia lāta terra? -- Longa est Italia, nōn lāta.\nCui Galba agricola fābulam novam nārrat? -- Fīliābus dominae clārae fābulam novam nārrat.\nClāra est īnsula Sicilia.\nQuem laudat Lātōna? -- Lātōna laudat fīliam.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประเภทของการผันคำนาม\nประเภทของการผันคำนาม.\nตำนามในภาษ่ละตินจะแบทงออกตนมประเภทของการผันได้ห้าจำพวก ทั้งนี้จะแบ่งประเภทการผันคำนามตามวิภัตติของรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ\n\nการผันคไนามแบบที่ 1 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -ae\nการผันคำนามแบบที่ 2 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเต้าของ -ī\nการผันคำนามแบบที่ 3 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -is\nการผันคำนามแบบที่ 4 ลววิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -ūs\nการผันคำนามแบบืี่ 5 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าขเง -eī\nการผันคำนามแบบที่ 2\n\nการผันคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -us กับ -um\nการผันคำนามแบบที่ 2.\nการผันคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -us กับ -um.\nคำนมมที่ลงวิภัตติด้วย -us จะเป็นเพศชาย คำนามที่ลงวิภัตติด้วย -um จะเป็นเพศกลาง คำนามทั้งสองเพศจะผันไดเดุงตารางต่อไปนี้\nข้อสังเกตจากตารางการผันคำนทมแบบที่ 2\n\nวิภัตติของคำนามทั้งเพศชายและเพศกลางจะเหมือนกัน ยกเว้นรูปเอกพจน์ การกประธาน (-us กับ -un) และรูปพหูพจน์ของการกประธานและการกกรรมตรง (-ī กับ -a และ -ōs กับ -a)\nวิภัตติของรูปเอกพจน์ การกอุทาน ของคำนามเพศชายจะลงท้ายด้วย -e ซึ่งเป็นข้อยกเว้นเพียงข้อเดียว ในขณะที่การกอุทานจะเหมือนกันทุกประการกับการกปตะธานในการผันคำนามแบบอื่นๆ\nตารางเปรียบเทียบการผันคำนามทั้งสามเพศ\n\nตารางเปรียบเทียบการผันคำนามทั้งสามเพศ.\nข้อสังเกตจากตารางการผัน\n\nการกอุทานยะผันเหมือนการกประธานทุกประการ ยพเว้นรูปเอกพจน์ การกอุทาน ของคำนามดพศชาย ที่จะลงท้ายด้วย -e เท่่นั้น\nรูปเอกพจน์ของการกปรเธาน การกกรรมตรง และการกอุทาน ของคำนาม้พศกลาง จะผันเหมือนกัน คือวิภัตติ -um ส่วนรูปพหูพจน์ของทั้งสามการกจะผันเ้วยวิภัตติ -a เหมือนกัน\nรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง ของคำนามเพศชายและเพศำญิง จะลงท้ายด้วย -m ส่วนรูปพหูพจน์จะลงท้ายด้วย -s\nรูปพหูพจน์ การกกรรมรอง และการกที่มา จะเหมทอนกันเสมอ\nเสีวงลงท้าย 0i และ -o จะเป็นเสียงยาวเสมอ เสียงลงท้าย -a จะเป็นเสียงสั้นเสมอ ยกเว้นรูปเอกพจน์ การกที่มาเท่านั้นที่เป็น -ā\nการผันตามกันของคำนามในประโยค Copula\n\nคำศัพท์\nคำนาม\n\nbeloum, -ī, n. สงคราม (อังกฤษ: rebel - กบฏ)\ncōnstabtia, -ae, f. ความคงทน, ความคงที่, ความแข็งแกร่ง (อังกฤษ: constant)\ndominus, -ī, m. เจ้านาย (อังกฤษ: dominate)\nequus, -ī, m. ม้า (อังกฤษ: equine - มี่คล้ายม้า)\nfrūmentum. -ī, n. เมล็ดพันธุ์ (อังกฤษ: frumegtaceous - ที่คฃ้ายข้าวสาลี)\nlēgātus, -ī, m. ผู้แทน, ทูต (อังกฤษ: legate - ทูต)\nMārcus, -ī, m. มาร์ค (อังกฤษ: Mark, Marcus)\nmūrus, -ī, m. กำแพง (อังกฤษ: mural - จิตรกรรมฝาผน้ง)\noppidānus, -ī, m. ชาวเมือง\noppidum, -ī, n. เมือง\npīlum, -ī, n. หลาว (อังกฤษ: pile driver - เครื่องตอกเสาเข็ม)\nservus, -ī, m. ทาส, คนรับใช้ (อังกฤษ: servant)\nSextus, -ī, m. เซ็กซ์ทัส\nกริยา\ncūrat ก. (เขา/เธอๅมัน) ดูแล/เอาใจใส่ (ใช้แับกรรมตรง) (อังกฤษ: curw)\nproperat ก. (เขา/เธอ/มัน) เร่งรีบ\nแบบทดสอบ\n\nแบบทดสอบ.\nจงศึกษาคำถามต่อไปนี้ แปลเป็นภาษาไทย และตอบคำะาใเป็นภาษาละติน\n\nUbi fīliae Sextī habitant?\nQuem oppidāmī amant et laucant?\nQuid ancilla equō lēgātī dat?\nCujus equuh ancilla cūrat?\nQuis ad mūrum cum Sextō properat?\nQuid o[pieānī pa4ant?\nสารบัญ\n\n\nภาษาละติน\nภาษาละติน เทคนิคการจำ 1\nภาษาละติย บทที่ 1\nภาษาละติน บทที่ 2\nภาษาละติน บทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาบะติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บทที่ 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาณาละติน บทที่ 9",
"role": "user"
},
{
"content": "ประเภทของการผันคำนาม\nประเภทของการผันคำนาม.\nคำนามในภาษาละตินจะแบ่งออกตามประเภทของการผันได้ห้าจำพวก ทั้งนี้จะแบ่งประเภทการผันคำนามตามวิภัตติของรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ\n\nการผันคำนามแบบที่ 1 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -ae\nการผันคำนามแบบที่ 2 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -ī\nการผันคำนามแบบที่ 3 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -is\nการผันคำนามแบบที่ 4 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -ūs\nการผันคำนามแบบที่ 5 ลงวิภัตติรูปเอกพจน์ การกเจ้าของ -eī\nการผันคำนามแบบที่ 2\n\nการผันคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -us กับ -um\nการผันคำนามแบบที่ 2.\nการผันคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -us กับ -um.\nคำนามที่ลงวิภัตติด้วย -us จะเป็นเพศชาย คำนามที่ลงวิภัตติด้วย -um จะเป็นเพศกลาง คำนามทั้งสองเพศจะผันได้ดังตารางต่อไปนี้\nข้อสังเกตจากตารางการผันคำนามแบบที่ 2\n\nวิภัตติของคำนามทั้งเพศชายและเพศกลางจะเหมือนกัน ยกเว้นรูปเอกพจน์ การกประธาน (-us กับ -um) และรูปพหูพจน์ของการกประธานและการกกรรมตรง (-ī กับ -a และ -ōs กับ -a)\nวิภัตติของรูปเอกพจน์ การกอุทาน ของคำนามเพศชายจะลงท้ายด้วย -e ซึ่งเป็นข้อยกเว้นเพียงข้อเดียว ในขณะที่การกอุทานจะเหมือนกันทุกประการกับการกประธานในการผันคำนามแบบอื่นๆ\nตารางเปรียบเทียบการผันคำนามทั้งสามเพศ\n\nตารางเปรียบเทียบการผันคำนามทั้งสามเพศ.\nข้อสังเกตจากตารางการผัน\n\nการกอุทานจะผันเหมือนการกประธานทุกประการ ยกเว้นรูปเอกพจน์ การกอุทาน ของคำนามเพศชาย ที่จะลงท้ายด้วย -e เท่านั้น\nรูปเอกพจน์ของการกประธาน การกกรรมตรง และการกอุทาน ของคำนามเพศกลาง จะผันเหมือนกัน คือวิภัตติ -um ส่วนรูปพหูพจน์ของทั้งสามการกจะผันด้วยวิภัตติ -a เหมือนกัน\nรูปเอกพจน์ การกกรรมตรง ของคำนามเพศชายและเพศหญิง จะลงท้ายด้วย -m ส่วนรูปพหูพจน์จะลงท้ายด้วย -s\nรูปพหูพจน์ การกกรรมรอง และการกที่มา จะเหมือนกันเสมอ\nเสียงลงท้าย -i และ -o จะเป็นเสียงยาวเสมอ เสียงลงท้าย -a จะเป็นเสียงสั้นเสมอ ยกเว้นรูปเอกพจน์ การกที่มาเท่านั้นที่เป็น -ā\nการผันตามกันของคำนามในประโยค Copula\n\nคำศัพท์\nคำนาม\n\nbellum, -ī, n. สงคราม (อังกฤษ: rebel - กบฏ)\ncōnstantia, -ae, f. ความคงทน, ความคงที่, ความแข็งแกร่ง (อังกฤษ: constant)\ndominus, -ī, m. เจ้านาย (อังกฤษ: dominate)\nequus, -ī, m. ม้า (อังกฤษ: equine - ที่คล้ายม้า)\nfrūmentum, -ī, n. เมล็ดพันธุ์ (อังกฤษ: frumentaceous - ที่คล้ายข้าวสาลี)\nlēgātus, -ī, m. ผู้แทน, ทูต (อังกฤษ: legate - ทูต)\nMārcus, -ī, m. มาร์ค (อังกฤษ: Mark, Marcus)\nmūrus, -ī, m. กำแพง (อังกฤษ: mural - จิตรกรรมฝาผนัง)\noppidānus, -ī, m. ชาวเมือง\noppidum, -ī, n. เมือง\npīlum, -ī, n. หลาว (อังกฤษ: pile driver - เครื่องตอกเสาเข็ม)\nservus, -ī, m. ทาส, คนรับใช้ (อังกฤษ: servant)\nSextus, -ī, m. เซ็กซ์ทัส\nกริยา\ncūrat ก. (เขา/เธอ/มัน) ดูแล/เอาใจใส่ (ใช้กับกรรมตรง) (อังกฤษ: cure)\nproperat ก. (เขา/เธอ/มัน) เร่งรีบ\nแบบทดสอบ\n\nแบบทดสอบ.\nจงศึกษาคำถามต่อไปนี้ แปลเป็นภาษาไทย และตอบคำถามเป็นภาษาละติน\n\nUbi fīliae Sextī habitant?\nQuem oppidānī amant et laudant?\nQuid ancilla equō lēgātī dat?\nCujus equum ancilla cūrat?\nQuis ad mūrum cum Sextō properat?\nQuid oppidānī parant?\nสารบัญ\n\n\nภาษาละติน\nภาษาละติน เทคนิคการจำ 1\nภาษาละติน บทที่ 1\nภาษาละติน บทที่ 2\nภาษาละติน บทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาละติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บทที่ 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาษาละติน บทที่ 9",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิโีการใช้เทคจิค\nวิธีการใช้เทคนิค.\nเทคนิคที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้เป็นวิธีการจดจำตารางการผันคำนามแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ทั้งนี้ หากนักเรียนเลือกใช้เทคนิคยองตัวอองแทนเทคนิคที่กล่าวถึงนี้ ขอให้นักเรียนอ่านข้ามบทนี้ไปได้เลย\nลำดับของการใช้เทคนิคจะแบ่งออกเป็นสามขั้นตอน ได้แก่\n\nการจำตารทงการผันคำนาม: นักเรียนควรจดจำตารางการผันคำนามทั้งแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ให้ขึ้นใจเสียก่อน\nการหาโครงสร้างประโยค: เมื่อจดจำตารางการผันได้แล้ว นักเรียนสามารถใช้เทคนิคนี้หาโครงสร้างประโยคได้อย่างรวดเร็ว\nการสร้างประโยคด้วยแม่แบบ: เมื่อนักเรียนสามารถหาโครงสร้างประโยคได้แล้ว นักเรียนสามารถใช้เทคนิคนี้สร้าลประโยคโดยอาศัยแม่แบบในความทรงจำได้อย่างรวดเร็ว\nเทคนิคการจำตารางกสรผันคำนาม\n\n\nการสังเกตเพศของคำนาม ถ้าสังเกตจากการกประธาน\n\nเพศหญิง ลงท้ายด้วย -a ผันแบบที่ 1\nเพศชาย ลงท้ายด้วย -us ผันแบบที่ 2\nเพศกลาง ลงท้ายด้วย -um ปันแบบที่ 2\n\nเริ่มจดจำจากการผันของการกประ๔านก่อน ผันจากเอกดจน์ไปเป็นพหูพจน์ทำอย่างไร (เหตุผล: เพื่อให่นำปรเธานไปผูกกับกริยาให้เป็นประโยคได้)\n\nเพศหญิง: จาก -a ไปเป็น -ae\nเพศชาย: จาก -us ไปเป็น -ī\nเพศกลาง: จาก -um ไปเป็น -a\n\nต่อด้วยการผันของการกกรรมตรง (เหตุผล: เพื่อให้สามารถนำประธานกับกรรมมาผูกประโยคได้ จะได้จำได้ง่ายขึ่น)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสคยง m -am ไปเป็น -ās\nเพศชาย: เดิม -us ิปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสียง m -um ไปเป็น -ōs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสียง m อยู่แล้ว -um ไปเป็น -a\n\nต่อด้วยการผัจของการกเจ้าของ (เหตุผล: เริ่มนำส่วนขยายของคำนามมาใช้)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 1 -ae ไปเป็น -ārum\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 2 -ī ไปเป็น -ōrum\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 2 -ī ไปเป็น -ōrum\n\nต่อด้วยการผันของการกกรรมรอง (เหตุผล: เริ่มนำกรนมรองมาใช้กับกริยาทวิกรรม)\n\nเพศหญิบ: เดิม -a เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ae ไปเป็น -īs\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ō ไปเป็น -īs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ō ไปเป็น -īs\n\nสุดท้าย การผันของการกที่มา (เหตุผล: เริ่มนำที่มามาใช้กับบุพบท)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นที่มา -ā ไปเป็น -īs\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นที่มา -ō ไปเป็น -īs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นที่ทา -e ไปเป็น -īs\n\nส่วนการกอุทาน จะเหมือนกับการกประธาน ยกเว้นรูปเอกพจน์ของเพศชาย จะลงท้ายด้วย -e แทน\nเทคนิคการห่โครงสร้างประโยร\n\n\nหากริยาให้เจอก่แน เอากริยาเป็นแกรกลางของประโยค\nเอาอุทานออกไปก่อน อุทานมักจะมีจุลภาคคร่อมไว้ แต่ถ้าหากไม่มีจุลภาคคร่อม ให้ทำขั้นตอนต่อไปก่อน แล้วค่อยกลับมาหาอุทานทีหลัง\nมองหาประธาน ประธานจะอยู่ในรูปการกประธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a, -ae ของิพศหญิง; -us, -ī ของเพศชาย; -um, -a ของเพศกลาง\nถ้าหากเจอประธานสดงตัว ให้สันนิษฐานว่า ประธานตัว่ี่สองที่อยู่ด้านขวาของประธานตัวที่หนึ่งมักจะเป็นอุทาน\nมองหากรรมตรง กรรมตรงจะอยู่ในรูปการกกรรมตรง ญึ่งมักอยู่ติดกับกริยท ลงท้ายด้วยบิภัตติ -am, -ās ของเพศหญิง; -um, -ōs ของะพศลาย; -u,, -a ของเพศกลาง\nมองหากรรมรอง กรรมรองยะอยู่ในรูปการกกรรมรอง ซึ่งมักอยู่ทางซ้ายมือของกรรมตรง ลงื้านด้วยวิภึตติ -ae, -īs ของเพศผญิง; -ō, -īs ของเพศชมยและเพศกลาง\nมองหาบุพบทวลีขยายกริยา ซึ่งมักอยู่ระหว่างกรรมตรงกับกริยา หาบุพบทและส่วนอติมเต็มของบุพบทให้เจอ ส่วนเติมเต็มของบุพบทจะอยู่ในรูปการกที่มา ลงท้ายด้วยวิภัตติ -ā, -īs ของเพศหศิง; -ō, -īs ของเพศชายแชะเพศกลาง\nภายในนามวลีที่แบ่งเป็นก้อนไว้แล้ว มองหาเจ้าของของคำนาม ญึ่งมักอวู่ทางขวามือของคำนาม และอยู่ในรูปการกเจ้าของ ลงท้ายด้วยวิภัตติ -ae, -ārum ของเพศหญิง; -ī, -ōrum ของเพศชายและเพศกลาง\nเทคนิคการสร้างประโยคด้วยแม่แบบ\n\n\nเริ่มจากใา่ประธานก่อน หญิง -a, -ae; ชาย -us, -ī; กลาง -um, -ī\nถ้าใาระหว่างทั่เติมนามวลีลงในส่วนต่างๆ ต้องการระบุเจ้าของ ให้เติมเน้าของต่อท้ายคภนาม ผันด้วย หญิง -ae, -ārum; ชาย -ī, -ōrum; กลาง -ī, -ō3um\nถ้ามีอุทานก็ใส่อุทาน ผันเหมือนประธาน แต่เพศชาย เอกพจน์ ให้ผันอ้วย -e แทย\nใส่กรรมรอง หญิง -ae, -īs; ชาย -ō, -īs; กลาง -ō, -īs\nใส่กรรมตรง หญิง -am, -ās; ชาย -um, -ōs; กลาง -um, 0a\nถ้ามีบุพบทวลีก็ใส่บุพบทวลี ผันส่วนเติมเต็มด้วย หญิบ -ā, -īs; ชาย -ō, -īs; กลาง -ō, -īs\nเติมกริยาที่ท้ายสุด\n\nเทคนืคการสร้างประโยคด้วยแม่กบบ.\nถ้ามีการระลุเจ้าของภายในนามวลี ให้ใช้รูปแบงนี้\nหลังจากได้เติมส่ในต่างๆ ลงในช่องแล้ว นักเรียนสามารถเลือก้น้นส่วนสำคัญของประโยคได้ โดยการสลับตำแหน่งตามตวามสำคัซได้\nสานบัฐ\n\nภาษาละติน\nภาษาละติน เทคนอคการจำ 1\nพาษาละติน บทที่ 1\nภาษาละติน บทที่ 2\nภาษาละติน บทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาละติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บททีา 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาษาละติน บทที่ 9",
"role": "user"
},
{
"content": "วิธีการใช้เทคนิค\nวิธีการใช้เทคนิค.\nเทคนิคที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้เป็นวิธีการจดจำตารางการผันคำนามแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ทั้งนี้ หากนักเรียนเลือกใช้เทคนิคของตัวเองแทนเทคนิคที่กล่าวถึงนี้ ขอให้นักเรียนอ่านข้ามบทนี้ไปได้เลย\nลำดับของการใช้เทคนิคจะแบ่งออกเป็นสามขั้นตอน ได้แก่\n\nการจำตารางการผันคำนาม: นักเรียนควรจดจำตารางการผันคำนามทั้งแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ให้ขึ้นใจเสียก่อน\nการหาโครงสร้างประโยค: เมื่อจดจำตารางการผันได้แล้ว นักเรียนสามารถใช้เทคนิคนี้หาโครงสร้างประโยคได้อย่างรวดเร็ว\nการสร้างประโยคด้วยแม่แบบ: เมื่อนักเรียนสามารถหาโครงสร้างประโยคได้แล้ว นักเรียนสามารถใช้เทคนิคนี้สร้างประโยคโดยอาศัยแม่แบบในความทรงจำได้อย่างรวดเร็ว\nเทคนิคการจำตารางการผันคำนาม\n\n\nการสังเกตเพศของคำนาม ถ้าสังเกตจากการกประธาน\n\nเพศหญิง ลงท้ายด้วย -a ผันแบบที่ 1\nเพศชาย ลงท้ายด้วย -us ผันแบบที่ 2\nเพศกลาง ลงท้ายด้วย -um ผันแบบที่ 2\n\nเริ่มจดจำจากการผันของการกประธานก่อน ผันจากเอกพจน์ไปเป็นพหูพจน์ทำอย่างไร (เหตุผล: เพื่อให้นำประธานไปผูกกับกริยาให้เป็นประโยคได้)\n\nเพศหญิง: จาก -a ไปเป็น -ae\nเพศชาย: จาก -us ไปเป็น -ī\nเพศกลาง: จาก -um ไปเป็น -a\n\nต่อด้วยการผันของการกกรรมตรง (เหตุผล: เพื่อให้สามารถนำประธานกับกรรมมาผูกประโยคได้ จะได้จำได้ง่ายขึ้น)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสียง m -am ไปเป็น -ās\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสียง m -um ไปเป็น -ōs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นกรรมตรง ลงเสียง m อยู่แล้ว -um ไปเป็น -a\n\nต่อด้วยการผันของการกเจ้าของ (เหตุผล: เริ่มนำส่วนขยายของคำนามมาใช้)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 1 -ae ไปเป็น -ārum\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 2 -ī ไปเป็น -ōrum\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นเจ้าของ ผันแบบที่ 2 -ī ไปเป็น -ōrum\n\nต่อด้วยการผันของการกกรรมรอง (เหตุผล: เริ่มนำกรรมรองมาใช้กับกริยาทวิกรรม)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ae ไปเป็น -īs\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ō ไปเป็น -īs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นกรรมรอง -ō ไปเป็น -īs\n\nสุดท้าย การผันของการกที่มา (เหตุผล: เริ่มนำที่มามาใช้กับบุพบท)\n\nเพศหญิง: เดิม -a เปลี่ยนเป็นที่มา -ā ไปเป็น -īs\nเพศชาย: เดิม -us เปลี่ยนเป็นที่มา -ō ไปเป็น -īs\nเพศกลาง: เดิม -um เปลี่ยนเป็นที่มา -e ไปเป็น -īs\n\nส่วนการกอุทาน จะเหมือนกับการกประธาน ยกเว้นรูปเอกพจน์ของเพศชาย จะลงท้ายด้วย -e แทน\nเทคนิคการหาโครงสร้างประโยค\n\n\nหากริยาให้เจอก่อน เอากริยาเป็นแกนกลางของประโยค\nเอาอุทานออกไปก่อน อุทานมักจะมีจุลภาคคร่อมไว้ แต่ถ้าหากไม่มีจุลภาคคร่อม ให้ทำขั้นตอนต่อไปก่อน แล้วค่อยกลับมาหาอุทานทีหลัง\nมองหาประธาน ประธานจะอยู่ในรูปการกประธาน ลงท้ายด้วยวิภัตติ -a, -ae ของเพศหญิง; -us, -ī ของเพศชาย; -um, -a ของเพศกลาง\nถ้าหากเจอประธานสองตัว ให้สันนิษฐานว่า ประธานตัวที่สองที่อยู่ด้านขวาของประธานตัวที่หนึ่งมักจะเป็นอุทาน\nมองหากรรมตรง กรรมตรงจะอยู่ในรูปการกกรรมตรง ซึ่งมักอยู่ติดกับกริยา ลงท้ายด้วยวิภัตติ -am, -ās ของเพศหญิง; -um, -ōs ของเพศชาย; -um, -a ของเพศกลาง\nมองหากรรมรอง กรรมรองจะอยู่ในรูปการกกรรมรอง ซึ่งมักอยู่ทางซ้ายมือของกรรมตรง ลงท้ายด้วยวิภัตติ -ae, -īs ของเพศหญิง; -ō, -īs ของเพศชายและเพศกลาง\nมองหาบุพบทวลีขยายกริยา ซึ่งมักอยู่ระหว่างกรรมตรงกับกริยา หาบุพบทและส่วนเติมเต็มของบุพบทให้เจอ ส่วนเติมเต็มของบุพบทจะอยู่ในรูปการกที่มา ลงท้ายด้วยวิภัตติ -ā, -īs ของเพศหญิง; -ō, -īs ของเพศชายและเพศกลาง\nภายในนามวลีที่แบ่งเป็นก้อนไว้แล้ว มองหาเจ้าของของคำนาม ซึ่งมักอยู่ทางขวามือของคำนาม และอยู่ในรูปการกเจ้าของ ลงท้ายด้วยวิภัตติ -ae, -ārum ของเพศหญิง; -ī, -ōrum ของเพศชายและเพศกลาง\nเทคนิคการสร้างประโยคด้วยแม่แบบ\n\n\nเริ่มจากใส่ประธานก่อน หญิง -a, -ae; ชาย -us, -ī; กลาง -um, -ī\nถ้าในระหว่างที่เติมนามวลีลงในส่วนต่างๆ ต้องการระบุเจ้าของ ให้เติมเจ้าของต่อท้ายคำนาม ผันด้วย หญิง -ae, -ārum; ชาย -ī, -ōrum; กลาง -ī, -ōrum\nถ้ามีอุทานก็ใส่อุทาน ผันเหมือนประธาน แต่เพศชาย เอกพจน์ ให้ผันด้วย -e แทน\nใส่กรรมรอง หญิง -ae, -īs; ชาย -ō, -īs; กลาง -ō, -īs\nใส่กรรมตรง หญิง -am, -ās; ชาย -um, -ōs; กลาง -um, -a\nถ้ามีบุพบทวลีก็ใส่บุพบทวลี ผันส่วนเติมเต็มด้วย หญิง -ā, -īs; ชาย -ō, -īs; กลาง -ō, -īs\nเติมกริยาที่ท้ายสุด\n\nเทคนิคการสร้างประโยคด้วยแม่แบบ.\nถ้ามีการระบุเจ้าของภายในนามวลี ให้ใช้รูปแบบนี้\nหลังจากได้เติมส่วนต่างๆ ลงในช่องแล้ว นักเรียนสามารถเลือกเน้นส่วนสำคัญของประโยคได้ โดยการสลับตำแหน่งตามความสำคัญได้\nสารบัญ\n\nภาษาละติน\nภาษาละติน เทคนิคการจำ 1\nภาษาละติน บทที่ 1\nภาษาละติน บทที่ 2\nภาษาละติน บทที่ 3\nภาษาละติน บทที่ 4\nภาษาละติน บทที่ 5\nภาษาละติน บทที่ 6\nภาษาละติน บทที่ 7\nภาษาละติน บทที่ 8\nภาษาละติน บทที่ 9",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในบทควทมนี้เป็รการรวบรวมวิธีการจำฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่มงๆ\nการใช้นิ้ฝมือช่วยในก่รจำค่าตรีโกณมิติบองมุมพื้นฐาน\nการใช้นิ้วมือช่วยในการจำค่าตรีโำณมิติของมุมพื้นญาน.\nวิธีการนี้ใช้จำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้สฐานกล่าวคือ formula_1 มีขั้นตอนดังต่อไปนี้\n\nแบมือซ้ายออกมา มองเลขมุมจัชคู่ก้บนิ้วเรียงจากซ้ายไปขวา เป็นมุม formula_1 องศา\nเมื่อต้องการหาค่าตรีโกณมิติของมุมใดให้งอนิ้วนั้น สมมติว่าหา formula_3 ก็จะตรงกับนิ้วชี้ ก็งอนิ้วชี้เก็บไว้\nถือกฎว่า sin–ซ้าย (ออกเสียงคล้ายกัน) cos–ขวา )ออกเสียง /k/ เหมือนกัน) เมื่อหาค่าของฟังก์ชันใดให้สนใจจำนวนนิ้วมือฝั่งที่สอดคล้องกับฟังก์ชันนั้น\nเพื่อจะหาค่า นำจำนวนนิ้วใือด้านที่สนใจติดรากที่สองแล้วหารด้วยสอง (หรืออาจจำว่ามีเลขสองตัวให๘่ๆอยู่บนฝ่ามือ เมื่ออ่านก็จะเป็น รากที่สองของจำนวนนิ้วมือด้านมี่สนใจ หารฝ่ามือ)\n\nสำหรับ formula_4 ก็จะได้ว่ามีนิ้วมือเหลืออยํ่ทางด้านขวาอีกสามนิ้ว (กลาง นาง ก้อย) ก็จะได้ formula_5สำหรับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นก็ใช้สมบัติของฟังก์ชันนั้นกับ sin และ cos เช่น formyla_6\nดูะพิ่ม\n\n\n\nกระทู้ที่กล่าวเกี่ยวกับวิธีการใข้นิ้วมือในการช่วยจำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐาน\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "ในบทความนี้เป็นการรวบรวมวิธีการจำฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่างๆ\nการใช้นิ้วมือช่วยในการจำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐาน\nการใช้นิ้วมือช่วยในการจำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐาน.\nวิธีการนี้ใช้จำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐานกล่าวคือ formula_1 มีขั้นตอนดังต่อไปนี้\n\nแบมือซ้ายออกมา มองเลขมุมจับคู่กับนิ้วเรียงจากซ้ายไปขวา เป็นมุม formula_1 องศา\nเมื่อต้องการหาค่าตรีโกณมิติของมุมใดให้งอนิ้วนั้น สมมติว่าหา formula_3 ก็จะตรงกับนิ้วชี้ ก็งอนิ้วชี้เก็บไว้\nถือกฎว่า sin–ซ้าย (ออกเสียงคล้ายกัน) cos–ขวา (ออกเสียง /k/ เหมือนกัน) เมื่อหาค่าของฟังก์ชันใดให้สนใจจำนวนนิ้วมือฝั่งที่สอดคล้องกับฟังก์ชันนั้น\nเพื่อจะหาค่า นำจำนวนนิ้วมือด้านที่สนใจติดรากที่สองแล้วหารด้วยสอง (หรืออาจจำว่ามีเลขสองตัวใหญ่ๆอยู่บนฝ่ามือ เมื่ออ่านก็จะเป็น รากที่สองของจำนวนนิ้วมือด้านที่สนใจ หารฝ่ามือ)\n\nสำหรับ formula_3 ก็จะได้ว่ามีนิ้วมือเหลืออยู่ทางด้านขวาอีกสามนิ้ว (กลาง นาง ก้อย) ก็จะได้ formula_5สำหรับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นก็ใช้สมบัติของฟังก์ชันนั้นกับ sin และ cos เช่น formula_6\nดูเพิ่ม\n\n\n\nกระทู้ที่กล่าวเกี่ยวกับวิธีการใช้นิ้วมือในการช่วยจำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐาน\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำใจภาษาไทย\nคำในภาษาไทย.\nในภาษาไทย คำ มี 7 ชนิด ได้แด่:\nคำนาม\nคำนาม.\nคำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ วัตถุสิ่งของ สถานทั่ต่างๆ ทั้งที่เป็นนามธรรมแฃะรูปธราม เช่น ความรัก การให้ ความดี ความชัืว ครู นักเรียน ตำรวจ ทหาร แพทย์ พนาบาล ช้าง ม้า วัว ควาย กวาง นก กุ้ง หอย ปู ปลา ปะการัง โต๊ะ เก้าอี้ นาฬเกา า้องฟ้า ต้นไม้ น้ำตก ภูเขา บ้าน โรงเรียน ค่ายทหาร โรงพยาบาล โรงเเรม วัด เป็นต้น\nคำนาม แบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ:\nคำนามทั่ใไป (สามานยนาม) คือ คำนามที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยมั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ดินสแ ปากกา ยางลบ กระเป๋า นักเรียน ครู หนังสือ ชิงช้า นักกีฬา สุขภาพ เป็ด นก หมู ช้าง ม้า วัว ควาย พัดลม ทหาร วัด\n คำนามชี้เฉพาะ (วิสามานยนาม) คือ คำนามที่เป็าชื่อเฉพาะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือเป็นคำเรียกบุคคล สัตว์ สิ่งของ ตลอดจนสถานที่ต่างๆ เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนใด สิ่งใด หรือที่ไหน เช่น ธ่รมศาสตร์ , วัดมหาฌาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น\nคำนามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) คือ คำนามที่ทำหน้าทค่ประกอบนามอื่นๆ เพื่อบอกรูปร่าง ลึกษณะ ขนาดหรือปริมาณของนาม มักจะอยู่หลังคำบอกจำนวน และแยกได้เป็นหลายชนิด คือ บอกชนิด เช่น พระ=รูป บอกอาการ เช่น บุหรี่=มวน บอกาูปร่าง เช่น รถ=คัน บอกหมวดหมู่ เช่น ฟืา=กอว บอกจำนวน เช่น ผ้า=เมตร เเละ ซ้ำคำ เช่น วัด=วัด\nคำนามบอกหสวดหมู่ (สมุหนาม) คือ คหนามที่บอดหมวดหมู่ของนามข้างหลังที่รวมกันมากๆ เช่น โขลลช้าง ฝูงนก ฝูงปลา คณะครูอาจารย์ คณะนักเรียน คณะสงฆ์ พวกกรรมกร หมู่สัตว์ หมวดศัพท์ ชุดข้อสอบ โรงหนัง แบบทรงผม\nคำนามบอกอาการ (อาการนาม) คือ คำนามที่เกิดจากคำว่า\"การ\"หรือ\"ความ\"นำหน้าคำที่ไม่ไช่คำนาม เช่น\nความดี ความชั่ว ความรัก ความสวย ความงาม ความจริง ความเร็ว\nการเกืด การตาย การเรียน การงาน การวิ่ง การศึกษา การสอน วิโี\nคำสรรพนาม\nคำสรรพตาม.\nคำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามนั้นซ้ำๆ แบ่วเป็น 7 ชนิด คือ\nสรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ืี่กล่าวถึง(บุรุษสรรพนาม) ได้แก่\n\nสรรพนามบุรุษที่ 1 แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน อิฉัน ผม กระผม กู ข้า ข้าภเจ้า เรา อาตมา เกล้ากระผม เกล้ากระหม่ดม ฯลฯ\nสรรพนามบุรุษที่ 2 แทนชื่อผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า เอ็ง มึง แก ฑยม พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯลฯ\nสรรพนามบุรุ?ที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ\n\nสรรพนามใช้ถาม(ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนามใช้แทนนรมในประโยคคำถาม(ต้องการคำตอบ)ไดีแก่ ใคร อะไร อย่างไร ผู้ใด สิ่งใด ที่ไหน เช่น \nสรรพนามบอกึวามไม่เจาะจง(อนิยมสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่ไม่กำหนดแน่นอนมักใช้ในประโยคที่มีความหมายแสดงความไม่ดน่นอน ได้แก่คำว่า ใคร อะไร ผู้ใด สิ่งใด ที่ไหน เช่น \nสรรถนามบอกความชี้ซืำ หรือสรรพนามแบ่งพวก รวาพวก (วิภาคสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อแยกนามออกเป็นส่วนๆ หรือบอกให้รู้ว่ามียามอยู่หลายส่วนและแสดงกริยาร่วมกันหรือต่างกัน ได้แก่คำว่า ตืาง บ้าง กัน เช่น \nสรรพนามเชื่อมประโยค(ประพันธสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ทำหน้าที่แทนนามขเางหน้าและเชื่อมประโยคให้มีรวามเกี่ยวะันกัน ได้แก่คำฝ่า ที่ ซึ่ง อัน เช่น\nสรรพนามใช้เน้นนามที่อยู่ข้างหน้า คือ สรรพนามที่มักเรียวไว้หลังคำนามเพื่อเน้นนามที่อยู่ข้างหน้าและยังช่วยแวดงควาทรู้สึกของผู้พูดด้วย อาจเป็นความ\nคำกริยา\nคำกริยา.\nคำกรินา คือ คำแสดงอาการของคำนามหรือสรรพนาม หรือคำบอกสภมพที่เป็นอยู่ เช่น \"น้องทำการบัาน\" \"ฉันเป็นหวัด\" \"ไก่ขัน\" \"นกร้องเพลง\"\nคำกริยา แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ\nกริยาไม่ต้องมีกรรม(อกรรมกริยา) คือ คำกริยาที่มีใจความสมบูรณ์ชัดเจนในตนเองไม่ต้องมีกรรมมารับขืางท้าย เช่น ไก่ขัน นกร้อง\nกริยามี่ต้องมีกรรม(สกีรมกริวา) คือ กริยาที่มีใจความไม่สมบูรณ์ขรดความชัดเจน จึงต้องมีกรรมมารับช้างท้าย เช่น ครูตีนักเรียน\nกริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม(วิกตรรถกริยา) คือ กริยาที่/ม่มีความชัดเจน ขาดความหมายที่กระจ่างชัพในตัวเอง ดังนั้นจะใช้กริยาตามลำพังตัวเองไม่ได้จะต้องมีคำนามหรือสรรพนามมาจยายจึงจะ_ด้ความ ได้แก่คำว่า คือ เป็น คล้าย เหมือน เท่า ประดุจ ราวกับ ฯลฯ เช่น \nกริยาช่วย(กริยานุเคราะห์) คือ คำที่ทำหน้าที่ช่วยกริยาอื่นให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่คำว่า อาจ ต้อง น่าจะ จะ คง คงต้อง คงจะ จง โปรด อย่า ช่วย แล้ว ถูก ได้คับ เตย ควร ให้ กำลัง ได้...แล้ว เคย...แล้ว น่าจะ...แล้ว ฯลฯ\nคำวิเศษณ์\nึำวิเศษณ์.\nคำวิเศษณ์ คือ คำที่ทำหน้าาี่ประกอบคำอื่นๆ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น หรือคำที่ใช้ขยายคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา และคำวิเศษณ์ เพื่อบอกเวลา บอกลักษณะ บอกจำนบน บอกขนาด บอกคุณภาพ บแกสถานที่ ฯลฯ อาจแบ่งได้ดังนี้\n\nคำวิเศ๋ณ์บอกลักษณะ \"น้องคนเล็กชื่อเล็ก\" \"ถนดใบใหญ่ใส่ส้มผลเล็ก\"\nคำวิเศษณ์บอกเวลา \"เขามาสายทุกวัน\" \"ไปอดี๋ยฝนี้\"\nคำวิเศ๋ณ์บอกสถานที่ \"เขาเดินไกลออกไป\" \"เธอย้ายบ้านไปอยูาทางเหนือ\"\nคำวิเศษณ์บอกปริมาณฟรือจำนวน \"ชนทั้งผอง พี่น้องกัน\" \"คนอ้วนมักกินจุ\"\nคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ \"อย่าพูดเช่นนั้น้ลย\" \"บ้านนั้นทาสีสวย\"\nคำวิเศษณ์บอกความไมรชี้เฉพาะ \"คาอื่นไปกันปมดแล้ว\" \"สิ่งใดก็ไม่สำคัญเท่าความสามัคคี\"\nคำวิเศษณ์แสดงคำถาม \"ประเทศอะไรมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก\" \"น้องเธออายุเท่าไร\"\nคำวิเศษณ์แสดงคำขาน \"หวานจ๋าไปเที่ยวไหมจ๊ะ\" \"คุณครูคะ กรุณาอธิบายช้าๆ หน่อยเถอะค่ะ\"\nคำวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ \"คนที่ไม่รักชาติของตนเป็นคนที่คบไม่ได้\" \"บุญคุณของขุพการีประมาณมิได้\"\nคำวิเศษณ์ขยายคำนาม \"เด็กน้อยร้องไห้\" (น้อย ขยาย เด็ก) \"ปลาใหญ่กินปลาเล็ก\" (ใหญ่-เล็ก ขยาย ปลา) \"ฉันมีกระเป๋าใบโต\" (โต ขยาย *กระเป๋า) \"เด็กดีใครๆ ก็รัก\" (ดี ขยาย เด็ก)\nคกวิเศษณ์ขยายสรรพนาม \"พวกเราทั้งหมดเลือกคุณ\" (ทั้งหมด ขยาย พวกเรา) \"ฉันเองเป็นคนทำ\" (เอง ขยาย ฉัน) \"ท่านทั้งหลายโปรดเงียบ\" (ทั้งหลาย ขยาย ท่าน) \"ใครเล่าจะล่วงรู้ได้\" (เล่า ขยาย ใคร)\nคำวิเศษณ์ชยายกริยา \"ผู้ใหญ่บ้านต่่นแต่ิช้า\" (เช้า ขยาย ตื่น) \"อย่ากินมูมมาม\" (มูมมาม ขยาย กิน) \"ฝนตกหนัก\" (หนัก ขยสย ตก) \"เขาดำน้ำทน\" (ทน ขยาย ดำน้ำ)\nคำวิเศษณ์ขยายวิเศษณ์ \"ม้าวิ่งเร็วมาก\" (มาก ขยาย เร็ว) \"พายุพัดแรงมาก\" (มาก ขยาย ปรง) \"เขาท่องหนังสืิหนักมาก\" (มาก ขยาย หนัก) \"เธอร้องเพลงเพราะจริงๆ\" (จริงๆ ขยาย เพราะ)\nคำสันธาน\n\nคำสันธาน.\nคำสันธานเชื่อมความคล้อยตามกัน ได้แก่ และ กับ ถ้า ก็ แล้ว จึง ฯลฯ เช่น ฉันและเธอเป็นเพื่อนกัน\nคำสันธารเชื่อมความขัดแย้งกัน ได้ดก่ แต่ กว่า ก็ ถึง...ก็ แม้ว่า...กต่ก็ ฯลฯ เช่น ถึงมันจัตายผมก็ไม่เสียใจ\nคำสันธานเชื่อมความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ หรือ มิฉะนั้น มิฉะนั้น...ก็ ไม่...ก็ ฯลฯ เช่น ผมให้คุณเลือกระหว่างไปสวนสนุกหรือกินข้าว\nคำมันธานเชื่ดมความที่เป็นเหตุผลกัน ได้แก่ เพราะ...จึง ดังนั้น...จึง จึง เพราะฉะนั้น...จึง ฯชฯ เช่น เพราะเธอไม่สวยเขาจึงไม่รับรักเธอ\nคำงุพบท\nคำบุพงท.\nคำบุพบท คือ คำที่ใช้นำหน้าคำหรือกลุ่มคำหรือคือคำที่โยงคำหน้าหรือกลุ่มคำหนึ่งให้สัมพันธ์กับคำอื่า หรือกลุ่มคำอื่นเพื่อบอกสถานที่ เหตุผล ลักษณะ เวลา อาการ หาือแสดงความเป็นเจ้าของ ได้แก่ ใน แก่ ของ ด้วย โดย กับ แต่ ต่อ ใกล้ ไกล ฯลฯ เช่น\n\nเขาเดินทางโดยเครื่องบิน (ลักษณะ)\nฮันซ่อนเงินไว้ใต้หมอน (สพานที่)\nครูต้องเสียสละเพ่่อศิษย์ (เหตุหล)\nฟันบองน้องผุหลายซี่ (แสดงความเป็นเจ้าขอฝ)\n\n\n\"กับ\" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อากานกำกับกัน แาการเทียบกัน และแสดงระดับ เช่น \"ลุงไปกัขป้า\" (ร่วม) \"ฉันเห็นกับตา\" (กระชับ)\n\"แก่\" ใช้นำหน้าคำที่เป็นฝ่ายรับอาการ เช่น \"คนไทยควรเห็นแก่ชาติ\" \"พ่อให้เงินแก่ลูก\"\n\"แต่\" ใช้ในความหมายว่า จาก ตั้งแต่ เฉพาะ เช่น \"ฉันจะกินแต่ผลไม้\" \"เขามาถึงโรงเรียนแต่เช้า\"\n\"แด่\" ใช้แทนคำว่า \"แก่\" ในทั่เคารพ เชีน \"นักเรียนมอบดอกไม้แด่อาจารย์\" \"เขาถวาสอาหารแด่พระสงฆ์\"\n\"ต่อ\" ใช้นำหน้าแสดงความเกี่ยวข้องกัน ติดต่อกัน เฮพาะ หน้าถัดไป เทียบจำนวน เชทา \"ฉันต้องรายงานต่อที่ประชุม\" \"เขายื่นคำร้เงต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ\"\n\"ด้วย\" ใช้นำหน้าคำนามหรือคำสรรพนาม เพื่อขอกให้รู้ว่าเป็นเครื่องใช้ และใช้ประกอบคำกริยาแสดงว่าทำกริยทร่วมกัน เช่น \"ยายกินข้าวด้วยมือ\" \"ผมขอทานข้าวด้วยคนนะ\"\nคำอุทาน\n\nคำอุทาน.\nอนิจจา!ไม่น่าจะด่วนจากไปเลย (สลดใจ)\nอื้อฮือ! หล่อจัง (แปลกใจ)\nเสียงมี่เหล่งออกมสเป็นคำอุทานนั้น แง่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ\n\nเป็นคำ เช่น โอ๊ย! ว้าย! โอ้โฮ! โถ! ฯบฯ\nเป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย! คุณพระช่วย! ตายชะวา! โอ้อนิจจา! ฯลฯ\nเป็นประโยค เชาน คุณพระคุณเจ้าช่วยลูกด้วย! ไฟไหม้เจ้าข้า! ฯบฯ\n\nอุทานเสริมบท คือ คำพูดที่เสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอสู่หน้าคำ หลังคำหรือแทรกกลรงคำเพื่อเน้นความหมายของคำที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เช่น กินน้ำกินท่า ลืมหูลืมตา กระป๋งกระเป๋า หนังสือหนังหา สตุ้งวตางค์\nถ้าคำที่นำมาเข้าคู่กัยมีเนื้อความหรือความหมายไปในแนวเดัยวกัน ไม่นับว่าเป็นคำอุทานเสริมบท เช่น ไม่ดูไม่แล ไม่หลับไมทนอน ร้องรำมำเพลง คำเหลรานี้เรียกว่า คำซ้อน\nในคำประถันธ์ปรถเภทโคลงแงะร่ทย มีการใช้คำสร้อย ซค่งนับว่าเปํนคำอุทานเสริมบทได้ เช่น เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย ฯลฯ\nแม่ให้องิน20บาท25สตางค์",
"role": "user"
},
{
"content": "คำในภาษาไทย\nคำในภาษาไทย.\nในภาษาไทย คำ มี 7 ชนิด ได้แก่:\nคำนาม\nคำนาม.\nคำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ วัตถุสิ่งของ สถานที่ต่างๆ ทั้งที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม เช่น ความรัก การให้ ความดี ความชั่ว ครู นักเรียน ตำรวจ ทหาร แพทย์ พยาบาล ช้าง ม้า วัว ควาย กวาง นก กุ้ง หอย ปู ปลา ปะการัง โต๊ะ เก้าอี้ นาฬิกา ท้องฟ้า ต้นไม้ น้ำตก ภูเขา บ้าน โรงเรียน ค่ายทหาร โรงพยาบาล โรงเเรม วัด เป็นต้น\nคำนาม แบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ:\nคำนามทั่วไป (สามานยนาม) คือ คำนามที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ กระเป๋า นักเรียน ครู หนังสือ ชิงช้า นักกีฬา สุขภาพ เป็ด นก หมู ช้าง ม้า วัว ควาย พัดลม ทหาร วัด\n คำนามชี้เฉพาะ (วิสามานยนาม) คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือเป็นคำเรียกบุคคล สัตว์ สิ่งของ ตลอดจนสถานที่ต่างๆ เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนใด สิ่งใด หรือที่ไหน เช่น ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ , รามเกียรติ์ เป็นต้น\nคำนามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่นๆ เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนาม มักจะอยู่หลังคำบอกจำนวน และแยกได้เป็นหลายชนิด คือ บอกชนิด เช่น พระ=รูป บอกอาการ เช่น บุหรี่=มวน บอกรูปร่าง เช่น รถ=คัน บอกหมวดหมู่ เช่น ฟืน=กอง บอกจำนวน เช่น ผ้า=เมตร เเละ ซ้ำคำ เช่น วัด=วัด\nคำนามบอกหมวดหมู่ (สมุหนาม) คือ คำนามที่บอกหมวดหมู่ของนามข้างหลังที่รวมกันมากๆ เช่น โขลงช้าง ฝูงนก ฝูงปลา คณะครูอาจารย์ คณะนักเรียน คณะสงฆ์ พวกกรรมกร หมู่สัตว์ หมวดศัพท์ ชุดข้อสอบ โรงหนัง แบบทรงผม\nคำนามบอกอาการ (อาการนาม) คือ คำนามที่เกิดจากคำว่า\"การ\"หรือ\"ความ\"นำหน้าคำที่ไม่ไช่คำนาม เช่น\nความดี ความชั่ว ความรัก ความสวย ความงาม ความจริง ความเร็ว\nการเกิด การตาย การเรียน การงาน การวิ่ง การศึกษา การสอน วิธี\nคำสรรพนาม\nคำสรรพนาม.\nคำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามนั้นซ้ำๆ แบ่งเป็น 7 ชนิด คือ\nสรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึง(บุรุษสรรพนาม) ได้แก่\n\nสรรพนามบุรุษที่ 1 แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน อิฉัน ผม กระผม กู ข้า ข้าพเจ้า เรา อาตมา เกล้ากระผม เกล้ากระหม่อม ฯลฯ\nสรรพนามบุรุษที่ 2 แทนชื่อผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า เอ็ง มึง แก โยม พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯลฯ\nสรรพนามบุรุษที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ\n\nสรรพนามใช้ถาม(ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนามใช้แทนนามในประโยคคำถาม(ต้องการคำตอบ)ได้แก่ ใคร อะไร อย่างไร ผู้ใด สิ่งใด ที่ไหน เช่น \nสรรพนามบอกความไม่เจาะจง(อนิยมสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่ไม่กำหนดแน่นอนมักใช้ในประโยคที่มีความหมายแสดงความไม่แน่นอน ได้แก่คำว่า ใคร อะไร ผู้ใด สิ่งใด ที่ไหน เช่น \nสรรพนามบอกความชี้ซ้ำ หรือสรรพนามแบ่งพวก รวมพวก (วิภาคสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อแยกนามออกเป็นส่วนๆ หรือบอกให้รู้ว่ามีนามอยู่หลายส่วนและแสดงกริยาร่วมกันหรือต่างกัน ได้แก่คำว่า ต่าง บ้าง กัน เช่น \nสรรพนามเชื่อมประโยค(ประพันธสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ทำหน้าที่แทนนามข้างหน้าและเชื่อมประโยคให้มีความเกี่ยวพันกัน ได้แก่คำว่า ที่ ซึ่ง อัน เช่น\nสรรพนามใช้เน้นนามที่อยู่ข้างหน้า คือ สรรพนามที่มักเรียงไว้หลังคำนามเพื่อเน้นนามที่อยู่ข้างหน้าและยังช่วยแสดงความรู้สึกของผู้พูดด้วย อาจเป็นความ\nคำกริยา\nคำกริยา.\nคำกริยา คือ คำแสดงอาการของคำนามหรือสรรพนาม หรือคำบอกสภาพที่เป็นอยู่ เช่น \"น้องทำการบ้าน\" \"ฉันเป็นหวัด\" \"ไก่ขัน\" \"นกร้องเพลง\"\nคำกริยา แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ\nกริยาไม่ต้องมีกรรม(อกรรมกริยา) คือ คำกริยาที่มีใจความสมบูรณ์ชัดเจนในตนเองไม่ต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เช่น ไก่ขัน นกร้อง\nกริยาที่ต้องมีกรรม(สกรรมกริยา) คือ กริยาที่มีใจความไม่สมบูรณ์ขาดความชัดเจน จึงต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เช่น ครูตีนักเรียน\nกริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม(วิกตรรถกริยา) คือ กริยาที่ไม่มีความชัดเจน ขาดความหมายที่กระจ่างชัดในตัวเอง ดังนั้นจะใช้กริยาตามลำพังตัวเองไม่ได้จะต้องมีคำนามหรือสรรพนามมาขยายจึงจะได้ความ ได้แก่คำว่า คือ เป็น คล้าย เหมือน เท่า ประดุจ ราวกับ ฯลฯ เช่น \nกริยาช่วย(กริยานุเคราะห์) คือ คำที่ทำหน้าที่ช่วยกริยาอื่นให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่คำว่า อาจ ต้อง น่าจะ จะ คง คงต้อง คงจะ จง โปรด อย่า ช่วย แล้ว ถูก ได้รับ เคย ควร ให้ กำลัง ได้...แล้ว เคย...แล้ว น่าจะ...แล้ว ฯลฯ\nคำวิเศษณ์\nคำวิเศษณ์.\nคำวิเศษณ์ คือ คำที่ทำหน้าที่ประกอบคำอื่นๆ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น หรือคำที่ใช้ขยายคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา และคำวิเศษณ์ เพื่อบอกเวลา บอกลักษณะ บอกจำนวน บอกขนาด บอกคุณภาพ บอกสถานที่ ฯลฯ อาจแบ่งได้ดังนี้\n\nคำวิเศษณ์บอกลักษณะ \"น้องคนเล็กชื่อเล็ก\" \"ถาดใบใหญ่ใส่ส้มผลเล็ก\"\nคำวิเศษณ์บอกเวลา \"เขามาสายทุกวัน\" \"ไปเดี๋ยวนี้\"\nคำวิเศษณ์บอกสถานที่ \"เขาเดินไกลออกไป\" \"เธอย้ายบ้านไปอยู่ทางเหนือ\"\nคำวิเศษณ์บอกปริมาณหรือจำนวน \"ชนทั้งผอง พี่น้องกัน\" \"คนอ้วนมักกินจุ\"\nคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ \"อย่าพูดเช่นนั้นเลย\" \"บ้านนั้นทาสีสวย\"\nคำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ \"คนอื่นไปกันหมดแล้ว\" \"สิ่งใดก็ไม่สำคัญเท่าความสามัคคี\"\nคำวิเศษณ์แสดงคำถาม \"ประเทศอะไรมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก\" \"น้องเธออายุเท่าไร\"\nคำวิเศษณ์แสดงคำขาน \"หวานจ๋าไปเที่ยวไหมจ๊ะ\" \"คุณครูคะ กรุณาอธิบายช้าๆ หน่อยเถอะค่ะ\"\nคำวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ \"คนที่ไม่รักชาติของตนเป็นคนที่คบไม่ได้\" \"บุญคุณของบุพการีประมาณมิได้\"\nคำวิเศษณ์ขยายคำนาม \"เด็กน้อยร้องไห้\" (น้อย ขยาย เด็ก) \"ปลาใหญ่กินปลาเล็ก\" (ใหญ่-เล็ก ขยาย ปลา) \"ฉันมีกระเป๋าใบโต\" (โต ขยาย *กระเป๋า) \"เด็กดีใครๆ ก็รัก\" (ดี ขยาย เด็ก)\nคำวิเศษณ์ขยายสรรพนาม \"พวกเราทั้งหมดเลือกคุณ\" (ทั้งหมด ขยาย พวกเรา) \"ฉันเองเป็นคนทำ\" (เอง ขยาย ฉัน) \"ท่านทั้งหลายโปรดเงียบ\" (ทั้งหลาย ขยาย ท่าน) \"ใครเล่าจะล่วงรู้ได้\" (เล่า ขยาย ใคร)\nคำวิเศษณ์ขยายกริยา \"ผู้ใหญ่บ้านตื่นแต่เช้า\" (เช้า ขยาย ตื่น) \"อย่ากินมูมมาม\" (มูมมาม ขยาย กิน) \"ฝนตกหนัก\" (หนัก ขยาย ตก) \"เขาดำน้ำทน\" (ทน ขยาย ดำน้ำ)\nคำวิเศษณ์ขยายวิเศษณ์ \"ม้าวิ่งเร็วมาก\" (มาก ขยาย เร็ว) \"พายุพัดแรงมาก\" (มาก ขยาย แรง) \"เขาท่องหนังสือหนักมาก\" (มาก ขยาย หนัก) \"เธอร้องเพลงเพราะจริงๆ\" (จริงๆ ขยาย เพราะ)\nคำสันธาน\n\nคำสันธาน.\nคำสันธานเชื่อมความคล้อยตามกัน ได้แก่ และ กับ ถ้า ก็ แล้ว จึง ฯลฯ เช่น ฉันและเธอเป็นเพื่อนกัน\nคำสันธานเชื่อมความขัดแย้งกัน ได้แก่ แต่ กว่า ก็ ถึง...ก็ แม้ว่า...แต่ก็ ฯลฯ เช่น ถึงมันจะตายผมก็ไม่เสียใจ\nคำสันธานเชื่อมความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ หรือ มิฉะนั้น มิฉะนั้น...ก็ ไม่...ก็ ฯลฯ เช่น ผมให้คุณเลือกระหว่างไปสวนสนุกหรือกินข้าว\nคำสันธานเชื่อมความที่เป็นเหตุผลกัน ได้แก่ เพราะ...จึง ดังนั้น...จึง จึง เพราะฉะนั้น...จึง ฯลฯ เช่น เพราะเธอไม่สวยเขาจึงไม่รับรักเธอ\nคำบุพบท\nคำบุพบท.\nคำบุพบท คือ คำที่ใช้นำหน้าคำหรือกลุ่มคำหรือคือคำที่โยงคำหน้าหรือกลุ่มคำหนึ่งให้สัมพันธ์กับคำอื่น หรือกลุ่มคำอื่นเพื่อบอกสถานที่ เหตุผล ลักษณะ เวลา อาการ หรือแสดงความเป็นเจ้าของ ได้แก่ ใน แก่ ของ ด้วย โดย กับ แต่ ต่อ ใกล้ ไกล ฯลฯ เช่น\n\nเขาเดินทางโดยเครื่องบิน (ลักษณะ)\nฉันซ่อนเงินไว้ใต้หมอน (สถานที่)\nครูต้องเสียสละเพื่อศิษย์ (เหตุผล)\nฟันของน้องผุหลายซี่ (แสดงความเป็นเจ้าของ)\n\n\n\"กับ\" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อาการกำกับกัน อาการเทียบกัน และแสดงระดับ เช่น \"ลุงไปกับป้า\" (ร่วม) \"ฉันเห็นกับตา\" (กระชับ)\n\"แก่\" ใช้นำหน้าคำที่เป็นฝ่ายรับอาการ เช่น \"คนไทยควรเห็นแก่ชาติ\" \"พ่อให้เงินแก่ลูก\"\n\"แต่\" ใช้ในความหมายว่า จาก ตั้งแต่ เฉพาะ เช่น \"ฉันจะกินแต่ผลไม้\" \"เขามาถึงโรงเรียนแต่เช้า\"\n\"แด่\" ใช้แทนคำว่า \"แก่\" ในที่เคารพ เช่น \"นักเรียนมอบดอกไม้แด่อาจารย์\" \"เขาถวายอาหารแด่พระสงฆ์\"\n\"ต่อ\" ใช้นำหน้าแสดงความเกี่ยวข้องกัน ติดต่อกัน เฉพาะ หน้าถัดไป เทียบจำนวน เช่น \"ฉันต้องรายงานต่อที่ประชุม\" \"เขายื่นคำร้องต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ\"\n\"ด้วย\" ใช้นำหน้าคำนามหรือคำสรรพนาม เพื่อบอกให้รู้ว่าเป็นเครื่องใช้ และใช้ประกอบคำกริยาแสดงว่าทำกริยาร่วมกัน เช่น \"ยายกินข้าวด้วยมือ\" \"ผมขอทานข้าวด้วยคนนะ\"\nคำอุทาน\n\nคำอุทาน.\nอนิจจา!ไม่น่าจะด่วนจากไปเลย (สลดใจ)\nอื้อฮือ! หล่อจัง (แปลกใจ)\nเสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำอุทานนั้น แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ\n\nเป็นคำ เช่น โอ๊ย! ว้าย! โอ้โฮ! โถ! ฯลฯ\nเป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย! คุณพระช่วย! ตายละวา! โอ้อนิจจา! ฯลฯ\nเป็นประโยค เช่น คุณพระคุณเจ้าช่วยลูกด้วย! ไฟไหม้เจ้าข้า! ฯลฯ\n\nอุทานเสริมบท คือ คำพูดที่เสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำ หลังคำหรือแทรกกลางคำเพื่อเน้นความหมายของคำที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เช่น กินน้ำกินท่า ลืมหูลืมตา กระป๋งกระเป๋า หนังสือหนังหา สตุ้งสตางค์\nถ้าคำที่นำมาเข้าคู่กันมีเนื้อความหรือความหมายไปในแนวเดียวกัน ไม่นับว่าเป็นคำอุทานเสริมบท เช่น ไม่ดูไม่แล ไม่หลับไม่นอน ร้องรำทำเพลง คำเหล่านี้เรียกว่า คำซ้อน\nในคำประพันธ์ประเภทโคลงและร่าย มีการใช้คำสร้อย ซึ่งนับว่าเป็นคำอุทานเสริมบทได้ เช่น เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย ฯลฯ\nแม่ให้องิน20บาท25สตางค์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำจำกัพความ\nในแง่อุปกรณ์ทางการแพทย์\nคำจำกัดความ.\nใยแง่อุปกรณ์ทางการแพทย์.\nกายอุปกรณ์ หมายถึง อุหกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้ำับร่างกาย\nในความหมายที่ใช้โดยทั่วไปในปัจจุบัน มักจะหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้กัขร่างกายเพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขา้ทียม อุปกตณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น แต่แท้จริงแล้วขอบเขตของกายอุปกรณ์ ยังรวมไปถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้กับร่างกทยด้วย เช่น ลูกตาเทียม (Eye prosthesis) ข้อเข่าเทียมที่ใช้สำหรับผ่าตัดทดแทนเข่าเดิมในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (Knee prosthesis) เป็นต้น และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) ไม้เท้า (Cane) ไม้ค้ำยัน (Crutches) เป็นต้น\nในแง่กลุ่มงาน\nในแง่กลุ่มงาน.\nนอปจากจะใช้เรียกอุปกรณ์แล้ว กายอุปกรณ์ยังถูกใชีเป็นชื่อจองกลุ่มงานอีกด้วย โดยกลุ่มงานกายอุปกรณ? ืำหน้าที่ผลิต ประดิษฐ์ ดัดแปลง แก้ไข ซ่อมแซม กายอุปกรณ์ประเภทที่ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวของร่างกายให้เหมาะยมกับผู้ป่วยแต่ละราย งานกายอุปกรณ์ต้ดงอาศัยทักษะงีมือ ความเชี่ยวชาญชำนาญเฉพาะบุคคลค่อจข้างสูง ร่วมกับึวามรู้ความเข้าใจในเรื่องวัสดุศาสตร์ และเรื่องวิทยาศาสตร์การแพทยฺด้านกายวิภาคประยุกต์ ด้านชีวกลศาสตร์และการเคลื่อนไหวประยุกน์ด้วย\nในทางการแพทย์จัดให้กลุ่มงานกรยอุปกรณ์เป็นส่วนหนค่งงานเวชกรรมฟื้นฟู\nการเรียกชื่อในภนษาอังกฤษ\nการเรียกชื่อในภาษาอังกฤษ.\nในสหรัฐฯ เรียกกายอุปกรณ์ที่เป็นอุปรณ์ว่า Orthosis and Prosthesis (ตัวย่อว่า O&P) แต่ในประเทศไทยและยุโรปนิยมเรียกวทา Prosthesis ane Orthosis (ตัวย่อ PO)\nอนึ่งคำว่า Prosthesis อาจเขียนว่า Prostheses ก็ได้ แชะคำว่า Orthosis ก็อาจเขียนว่า Orthoses ได้เช่นกัน\nส่วนคำว่า งานกายอุปกรณ์ ใช้ว่า Prosthetics and Orthoticd ฆตัวย่อ PO) ไรือ Irthotics and Prosthetics (ตัวย่อ O&P) ก็ได้เช่นกัน\nคำจำกัดความคามมาตรฐานสากล\nคำจำกัดความตามมาตรฐานสากล.\nองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (ISO) ให้คำจำกัดความคำว่า Prosthesis และ Orthosix ไว้ในข้อกำหนดมาตรฐานเรื่องกายอุปกรณ์สำหรับขาว่า\n\nProsthesis; Prosyhetic device: Exgernally applied device used to replace wholly, or in part, an absent or deficient limb segment. ฆจากข้อ 1.1.1 ใน ISO 8549-1 : 1989)\nOrthosis; Orthotic device: Externally applied device used to modify the structural and functional characterisyics of the neuro-muscu.ar and skeletal sysrems. (จากข้อ 2.1.2 ใน ISO 8549-1 : 1989)\nบุคลากรด้านกายอุปกรณ์\n\nบุคลากรด้านกายอุปกรณ์.\nเหตุเพราะในอดีต หลักสูตระ้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทยเหมือนกับอีกหลายๆหลักสูตร เช่น พยาบาล(เทคนิค), ครู (ประกนศนียบัตรชั้นสูง) เป็นร้นคือ ไม่มีการจัดเก็นหลักสูตรปริญญา แต่ในปัจจุบันมีการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี\nปัจจุบันในหลายๆประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ปัจจุบันยังมีหลักสูตรกายอุปกรณ์ทั้งระดับปริญญา (เรียน 4 ปี) และระดับอนุปริญญา (เรียน3 ปี) เช่นกัน\nหากเป็นการผลิตกายอุปกรณ์เสริมสำหรับมือ และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวยองมือ มักเป็นหน้าที่ของ นักกิจกรรมบำบัด (Occupational therapist ำรือ OT)\nนอกเหนือไปจากนี้ ผู้ที่ทำหน้าที่สั่งการรักษาและตรวจสอบกายอุปกรณ์กับผู้ป่วยคือ แพทจ์ ซึ่งมักเป็น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู หรือ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดืกสฺ\nกาาจำแนกประเภท\nการแบ่งประเภท\nการตำแนกประเภท.\nการแบ่งประเภท.\nแบ่งออก/ด้เป็น\n\nกายอุปกรณ์เทียม (pr;sthesis)\nกายอุปกรณ์เสริม (orthosis)\nคำจำกัดความเพิ่มเติม\n\n\nกายอุปกรณ์เทียม คืออุปกรณ์ต่างๆที่นำมาจากภายนอก(ร่างกาย) ซึ่งใช้ทดแทนอวัยวะหรือชิ้นส่วนของอวัยวะที่ขาดหาย/ป เช่น ขาเทียม แขนเทียม นิ้วมือเทียม เป็นต้น\n\nในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆป็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาทดแทนส่วนของระยางค์(แขร-ขา)ทั้งหมดห่ือบางส่วรซึ่งไม่เคยมีอยู่เลยหรือขาดหายไป\n\nกายอุปกรณ์เสริม คือ กายอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้เพื่อเสริมการทำหน้าทีืของอวัยวะมี่มีปัญหาในปารทำงาน (เช่น อ่อนแรง, เข็บปวด, เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น) อาจเรียกชื่อสามัญว่า อุปกรณ์เสริม, อุปกรณ์ดาม หรือที่ประคอง (Splint หรือ Brace) ก็ได้\n\nในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาดัดแปลงลักษณะโครงสร้างหรือการมำหน้าที่ของระบบประสาท-กล้ามเนื้อและระบบค้ำจุนร่างกาย(กระดูก-กล้ามเนื้อ)ของร่างกาย\nอมื่อดูจากคำจำกัดควทมตาม ISO อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ชนิดต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair), ไม้เท้า (Cane), ไม้ค้ำยัน (Crutchfs) ก็จัดไดเว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริมชนิดหนึ่งดช่นกัน แต่ตามปรกติในทางปฏิบัติ มักไม่ถูกรวมอยู่ในกายอุปกรณ์ัสริม มักจัดเป็นอีกกลุืมฐึ่งปยกออกมา\nกายอุปกรณ์เทียมในงรนกายอุปกรณ์\nการแบ่งประเภท\n\n\n\nกายอุปกร๋์สำหรับระยางค์ล่าง หรือเรียกง่ายๆว่า ขาเทียม\nกายอุปกรณ์เทียมสำหรับระยางค์บน หรือเรียกแบบง่ายว่า แขนเทียม\n\n\n\nหมายเหตุ\n\nระยางค์ล่าง (Lower extremity) หมายถึง ขา (ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าจนถึงข้อสะโพก) และกรถดูกเชิงกราน (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกสันหลัง)\nระยางค์บน (Upper extremity) หมายถึง แขน (ตั้งแต่ปลายนิ้วมือจนถึงข้อไหล่) กระดูกไหปลาร้าและกระด฿กสะบัก (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางรืางกายทีากระดูกซี่โครบ)\nการเรียกชื่อชนิดต่างๆของแขนเทียมดละขาเทียม\n\n\n\n\nเรียกตามตำแหน่งมี่ระยางค์ล่างโดนตัด แบ่งได้เป็น (จาพด้านล่างขึ้นมาด้านบน)\n\n\nสำหรับระยางค์ล่าง แบ่งได้เป็น\n\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วเท้า (Toe prosthesks)\nกายอุปกรณ์ัทียมทดแทนบางส่วนของเท้ท (Partizl foot prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเท้า (Ankle disarticulation(AD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง (Transtibial(TT) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation(KD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา (Transfemoral(TF) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation(HD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาและเเากระด๔กเชิงกรานออกไปด้วย 1 ข้าง(Hemipelvectlmy prosth3sis)\n\nสำหรับรเยางค์บน แบ่งได้เป็น\n\nกายอุปหรณ์เทียมทดแทนนิ้วาือ (Finger prosthesis)\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของมือ )Partixl hand prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขนผ่าสข้อมือ (Wrist disarticulation(WD) prosthesis)\nแขนเทียมสำหาับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกปลายแขน (Transravial(TR) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อศอก (Elboq disarticulation(ED) prosthesisฉ\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นแขน (Transhumrral(TH) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกร้นแขนที่ตอกระดูกต้นแขน (Humeral-neck amputation prosthesis)\nแชนเทียมสำหรับผู้ถูกตัะขาผ่านข้อไหล่ (\"True\" shoulder disarticulation 9rosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนร่วมกับเอากระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าออกไปด้วย 1 ข้าง(Forequater amputation ptosthesis)\n\n\n\nเรียกโดยอ้างอิงจากตำแหน่งของข้อต่อ เป็นการแบ่งง่ายๆและเป็นระบบเดิมที่นิยมใช้กันมา ได้แก่\nขาเทียม มักใช้ข้อเข้าเป็นจุดอืางอิง โดย\n\nใช้ ขาเทียมระดับใต้เข่า (Below-knee(BK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าดข้ง\nใช้ ขาเทียมระดับข้อเข่า ($yrough-knee(TK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า\nใช้ ขาัทียมระดับเหนือเข่า (Above-kner(AK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา\n\nแขนเทียม มักใช้ข้เศอกเป็นจุดอ้างอิง โดย\n\nใล้ แขนเทียมระดับใต้ศอก (Below-elbow(BE) prosthrsis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกปลายแขน\nใช้ แขนเทียมระดับข้อศอก (Througy-elbow(TE) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อศอก\nใช้ แขนอทียมระดุบเหนือศอก (Above-elbow(AE) prosthesis) แทส ขาเทียมสำหรับผู้ถูกจัดขนผ่านกระดูกต้นแขน\n\n\n\n\nนอกจากนี้ สำหรับแขนเทียม ยังสามารถแบ่งตามคุณสมบัติได้แก่\n\n\n\nประเภทสวยงาม (Cosmetic type) ประ้ภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนไหวมือเทียม/ข้อมือ/ข้อศอก/ข้อไหล่ฟด้\n\n\nประเภทวช้งานได้ (Functional typeฆ สามารถเคลื่อนไหวสรวนต่าง/ของแขนเทียมได้ตามความต้องการของผู้พิการ โดยยังสามารถแบ่งลงไปได้ตามประเภทของการควบคุมการเคลื่อนไหวเป็น\n\n\n\nควบคุมโดยการใช้การเคลื่อนไหวของร่างกาข (Body controlled)\n\n\nควบคุมโดยใช้พลังงานภายนอก (External-plwer controlled) ซึ่งควบคุมการจ่รยไฟฟ้าด้วยปถ่มสวิตช์กด (Switch controlled) หรือ ตัวรับสัญฯมณไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (Myoelect3ic)\nกายอะปกรณ์เสริม\nหน้าที่\n\n\n\n\n\nจำกัดกาคเคลื่อนไหวของอวัยวะ\nช่วยให้มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะ\nบนรเทาอาการเจ็บปวด\nช่วยส่งเสริมให้กระดูกที่ผักติดเป็นปรกติ\nป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าลๆ เช่น ข้อเคลื่อนหลุด เอ็นฉีกขาด เป็นต้น\nการแบ่งปีพเภท\n\n\nกายอุปกรณ์สำหรับศครษเ (Head orthosis)\nกายอุปกรณ์สพหรับกระดูกสันหลัง (Spinal orthosis)\nกายอุปกรณ์สำหรับระยางค์บน (Upper-extremity orthosis) (รวมถึงมือและนิ้ว)\nกายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง (Lower-extremity orthosis) รวมถึงกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า (Foot orthosis) และการดัดแปลงรองเท้า (Sgoe modificatiog) อีกด้วย\nอุหกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว(Mobility aids) (บางตำราไม่จัดว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริม)\nการะรัยกชื่อ\n\n\nการเรียกชื่อสำหรับกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิด สามารถเรียกชื่อได้หลายแบบตามแต่ละระบบมาตรฐานทางการแพทย์ โดยแบ่งเป็นกลุ่มตามข้อด่อที่กายอุปกรณ์เสริมพาดผ่าน เช่น\n\nกายอุปกรณ์เสรืมสำหรับมือ-ข้อมือ (Wrist-hand orthosis: WHO)\nกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า]ข้อเท้า (Ankle-foot orthosis: AFO)\nกายอุปกรณ์เสริมสำหรับกระดูกสันหลังส่วนอก-ส่วนหลัง-ส่วนกระับนเหน็ย (Thoracolumbosacaral spinal orthosis: TLSO) เป็นต้ส\n\nนอกจากนี้ มัแเพิ่มเติมคำอธิบายต่างๆลงในชื่อกายอุปกรณ์เสริมแต่ลดชนิดเพื่อใหืจำเพาะเจาะจงไปมากกว่านี้ เช่น\n\nคำบ่งหน้าท้่พารทำงาน เช่น ป้องกันการเหยียด (@xtension-stopped), ช่วยการงอ (Flexion-assisted)\nคำบ่งตำแหน่ง\"ด้าน\"ที่อยู่บนร่างกาย เช่น ด้านหลังมืเ (Dorsal), ด้านฝ่ามือ (Folzr) เป็นต้น\n\nอาจเรียกตามชื่อสามัญ ซึ่งเป็นชื่อเดิมที่มีมาก่อนจะจัดระบบ เช่น\n\nอุปกรณ์เสริมชนิดจีเว็ตต์ เบรซ (Jewette beace)\nอุปกรณ์เสริมชนิดไนท์เบรซ (Knight brace)\nยูนิเวอร์ซัล รัฟฟ์ (Universal cuff) เป็นต้น\nอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคฃื่อนไหว(Mobility xids)\n\n\n\nตัใอย่างอุปกรณ์ช่วยเหลือการะคลื่อนไหว ได้แก่\n\n\nไม้เท้ท (Cane)เช่น\n\nไม้เท้าขาเดียว (Single cane)\nไม้เท้ทสามขา (Tripod cane)\n\nไม้ค้ำยัน (Crutches) เช่น\n\nไม้ค้ำยันรักแร้ (Axillary crutchec)\nไม้ค้ำยันปลายแบน (Forearm crutchds)\n\nที่ช่วยเดิน หรือวอล์กเกอร์ (Walkerette or Wa.ker) เช่น\n\nที่ชืวยเดินชนิดไม่มีล้อ (Walker)\nที่ชีวยเดินชนิดมีล้อ (Wheeled walker)\n\nใช้ด้านหน้าของร่างกาย (Anterior wheeled walker)\nใช้ด้านหลังของร่างกาย (Posterior wheeled walker)\n\n\nเก้าอี้ล้อเข็น (Wheelchair) เช่น\n\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุน (Manual wheelchair)\n\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุนใช้งานทั่วไป\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุนใช้งานพิเศษ (เช่น สำหรับใช้แข่งขันกีฬา เป็นต้น)\n\nเก้าอี้ล้อเข็นไฟฟ้า (Electric wheelchair)\n\nอื่นๆ (Others) เช่น เครื่เงปรับยืน (Tiltableฏ ฯลฯ\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "คำจำกัดความ\nในแง่อุปกรณ์ทางการแพทย์\nคำจำกัดความ.\nในแง่อุปกรณ์ทางการแพทย์.\nกายอุปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้กับร่างกาย\nในความหมายที่ใช้โดยทั่วไปในปัจจุบัน มักจะหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้กับร่างกายเพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขาเทียม อุปกรณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น แต่แท้จริงแล้วขอบเขตของกายอุปกรณ์ ยังรวมไปถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้กับร่างกายด้วย เช่น ลูกตาเทียม (Eye prosthesis) ข้อเข่าเทียมที่ใช้สำหรับผ่าตัดทดแทนเข่าเดิมในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (Knee prosthesis) เป็นต้น และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) ไม้เท้า (Cane) ไม้ค้ำยัน (Crutches) เป็นต้น\nในแง่กลุ่มงาน\nในแง่กลุ่มงาน.\nนอกจากจะใช้เรียกอุปกรณ์แล้ว กายอุปกรณ์ยังถูกใช้เป็นชื่อของกลุ่มงานอีกด้วย โดยกลุ่มงานกายอุปกรณ์ ทำหน้าที่ผลิต ประดิษฐ์ ดัดแปลง แก้ไข ซ่อมแซม กายอุปกรณ์ประเภทที่ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวของร่างกายให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย งานกายอุปกรณ์ต้องอาศัยทักษะฝีมือ ความเชี่ยวชาญชำนาญเฉพาะบุคคลค่อนข้างสูง ร่วมกับความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัสดุศาสตร์ และเรื่องวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านกายวิภาคประยุกต์ ด้านชีวกลศาสตร์และการเคลื่อนไหวประยุกต์ด้วย\nในทางการแพทย์จัดให้กลุ่มงานกายอุปกรณ์เป็นส่วนหนึ่งงานเวชกรรมฟื้นฟู\nการเรียกชื่อในภาษาอังกฤษ\nการเรียกชื่อในภาษาอังกฤษ.\nในสหรัฐฯ เรียกกายอุปกรณ์ที่เป็นอุปรณ์ว่า Orthosis and Prosthesis (ตัวย่อว่า O&P) แต่ในประเทศไทยและยุโรปนิยมเรียกว่า Prosthesis and Orthosis (ตัวย่อ PO)\nอนึ่งคำว่า Prosthesis อาจเขียนว่า Prostheses ก็ได้ และคำว่า Orthosis ก็อาจเขียนว่า Orthoses ได้เช่นกัน\nส่วนคำว่า งานกายอุปกรณ์ ใช้ว่า Prosthetics and Orthotics (ตัวย่อ PO) หรือ Orthotics and Prosthetics (ตัวย่อ O&P) ก็ได้เช่นกัน\nคำจำกัดความตามมาตรฐานสากล\nคำจำกัดความตามมาตรฐานสากล.\nองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (ISO) ให้คำจำกัดความคำว่า Prosthesis และ Orthosis ไว้ในข้อกำหนดมาตรฐานเรื่องกายอุปกรณ์สำหรับขาว่า\n\nProsthesis; Prosthetic device: Externally applied device used to replace wholly, or in part, an absent or deficient limb segment. (จากข้อ 2.1.1 ใน ISO 8549-1 : 1989)\nOrthosis; Orthotic device: Externally applied device used to modify the structural and functional characteristics of the neuro-muscular and skeletal systems. (จากข้อ 2.1.2 ใน ISO 8549-1 : 1989)\nบุคลากรด้านกายอุปกรณ์\n\nบุคลากรด้านกายอุปกรณ์.\nเหตุเพราะในอดีต หลักสูตรด้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทยเหมือนกับอีกหลายๆหลักสูตร เช่น พยาบาล(เทคนิค), ครู (ประกาศนียบัตรชั้นสูง) เป็นต้นคือ ไม่มีการจัดเป็นหลักสูตรปริญญา แต่ในปัจจุบันมีการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี\nปัจจุบันในหลายๆประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ปัจจุบันยังมีหลักสูตรกายอุปกรณ์ทั้งระดับปริญญา (เรียน 4 ปี) และระดับอนุปริญญา (เรียน3 ปี) เช่นกัน\nหากเป็นการผลิตกายอุปกรณ์เสริมสำหรับมือ และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวของมือ มักเป็นหน้าที่ของ นักกิจกรรมบำบัด (Occupational therapist หรือ OT)\nนอกเหนือไปจากนี้ ผู้ที่ทำหน้าที่สั่งการรักษาและตรวจสอบกายอุปกรณ์กับผู้ป่วยคือ แพทย์ ซึ่งมักเป็น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู หรือ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์\nการจำแนกประเภท\nการแบ่งประเภท\nการจำแนกประเภท.\nการแบ่งประเภท.\nแบ่งออกได้เป็น\n\nกายอุปกรณ์เทียม (prosthesis)\nกายอุปกรณ์เสริม (orthosis)\nคำจำกัดความเพิ่มเติม\n\n\nกายอุปกรณ์เทียม คืออุปกรณ์ต่างๆที่นำมาจากภายนอก(ร่างกาย) ซึ่งใช้ทดแทนอวัยวะหรือชิ้นส่วนของอวัยวะที่ขาดหายไป เช่น ขาเทียม แขนเทียม นิ้วมือเทียม เป็นต้น\n\nในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาทดแทนส่วนของระยางค์(แขน-ขา)ทั้งหมดหรือบางส่วนซึ่งไม่เคยมีอยู่เลยหรือขาดหายไป\n\nกายอุปกรณ์เสริม คือ กายอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้เพื่อเสริมการทำหน้าที่ของอวัยวะที่มีปัญหาในการทำงาน (เช่น อ่อนแรง, เจ็บปวด, เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น) อาจเรียกชื่อสามัญว่า อุปกรณ์เสริม, อุปกรณ์ดาม หรือที่ประคอง (Splint หรือ Brace) ก็ได้\n\nในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาดัดแปลงลักษณะโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของระบบประสาท-กล้ามเนื้อและระบบค้ำจุนร่างกาย(กระดูก-กล้ามเนื้อ)ของร่างกาย\nเมื่อดูจากคำจำกัดความตาม ISO อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ชนิดต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair), ไม้เท้า (Cane), ไม้ค้ำยัน (Crutches) ก็จัดได้ว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริมชนิดหนึ่งเช่นกัน แต่ตามปรกติในทางปฏิบัติ มักไม่ถูกรวมอยู่ในกายอุปกรณ์เสริม มักจัดเป็นอีกกลุ่มซึ่งแยกออกมา\nกายอุปกรณ์เทียมในงานกายอุปกรณ์\nการแบ่งประเภท\n\n\n\nกายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง หรือเรียกง่ายๆว่า ขาเทียม\nกายอุปกรณ์เทียมสำหรับระยางค์บน หรือเรียกแบบง่ายว่า แขนเทียม\n\n\n\nหมายเหตุ\n\nระยางค์ล่าง (Lower extremity) หมายถึง ขา (ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าจนถึงข้อสะโพก) และกระดูกเชิงกราน (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกสันหลัง)\nระยางค์บน (Upper extremity) หมายถึง แขน (ตั้งแต่ปลายนิ้วมือจนถึงข้อไหล่) กระดูกไหปลาร้าและกระดูกสะบัก (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกซี่โครง)\nการเรียกชื่อชนิดต่างๆของแขนเทียมและขาเทียม\n\n\n\n\nเรียกตามตำแหน่งที่ระยางค์ล่างโดนตัด แบ่งได้เป็น (จากด้านล่างขึ้นมาด้านบน)\n\n\nสำหรับระยางค์ล่าง แบ่งได้เป็น\n\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วเท้า (Toe prosthesis)\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของเท้า (Partial foot prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเท้า (Ankle disarticulation(AD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง (Transtibial(TT) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation(KD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา (Transfemoral(TF) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation(HD) prosthesis)\nขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาและเอากระดูกเชิงกรานออกไปด้วย 1 ข้าง(Hemipelvectomy prosthesis)\n\nสำหรับระยางค์บน แบ่งได้เป็น\n\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วมือ (Finger prosthesis)\nกายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของมือ (Partial hand prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อมือ (Wrist disarticulation(WD) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกปลายแขน (Transradial(TR) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อศอก (Elbow disarticulation(ED) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นแขน (Transhumeral(TH) prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นแขนที่คอกระดูกต้นแขน (Humeral-neck amputation prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อไหล่ (\"True\" shoulder disarticulation prosthesis)\nแขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนร่วมกับเอากระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าออกไปด้วย 1 ข้าง(Forequater amputation prosthesis)\n\n\n\nเรียกโดยอ้างอิงจากตำแหน่งของข้อต่อ เป็นการแบ่งง่ายๆและเป็นระบบเดิมที่นิยมใช้กันมา ได้แก่\nขาเทียม มักใช้ข้อเข่าเป็นจุดอ้างอิง โดย\n\nใช้ ขาเทียมระดับใต้เข่า (Below-knee(BK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง\nใช้ ขาเทียมระดับข้อเข่า (Through-knee(TK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า\nใช้ ขาเทียมระดับเหนือเข่า (Above-knee(AK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา\n\nแขนเทียม มักใช้ข้อศอกเป็นจุดอ้างอิง โดย\n\nใช้ แขนเทียมระดับใต้ศอก (Below-elbow(BE) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกปลายแขน\nใช้ แขนเทียมระดับข้อศอก (Through-elbow(TE) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อศอก\nใช้ แขนเทียมระดับเหนือศอก (Above-elbow(AE) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นแขน\n\n\n\n\nนอกจากนี้ สำหรับแขนเทียม ยังสามารถแบ่งตามคุณสมบัติได้แก่\n\n\n\nประเภทสวยงาม (Cosmetic type) ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนไหวมือเทียม/ข้อมือ/ข้อศอก/ข้อไหล่ได้\n\n\nประเภทใช้งานได้ (Functional type) สามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของแขนเทียมได้ตามความต้องการของผู้พิการ โดยยังสามารถแบ่งลงไปได้ตามประเภทของการควบคุมการเคลื่อนไหวเป็น\n\n\n\nควบคุมโดยการใช้การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body controlled)\n\n\nควบคุมโดยใช้พลังงานภายนอก (External-power controlled) ซึ่งควบคุมการจ่ายไฟฟ้าด้วยปุ่มสวิตช์กด (Switch controlled) หรือ ตัวรับสัญญาณไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (Myoelectric)\nกายอุปกรณ์เสริม\nหน้าที่\n\n\n\n\n\nจำกัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะ\nช่วยให้มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะ\nบรรเทาอาการเจ็บปวด\nช่วยส่งเสริมให้กระดูกที่หักติดเป็นปรกติ\nป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ข้อเคลื่อนหลุด เอ็นฉีกขาด เป็นต้น\nการแบ่งประเภท\n\n\nกายอุปกรณ์สำหรับศีรษะ (Head orthosis)\nกายอุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง (Spinal orthosis)\nกายอุปกรณ์สำหรับระยางค์บน (Upper-extremity orthosis) (รวมถึงมือและนิ้ว)\nกายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง (Lower-extremity orthosis) รวมถึงกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า (Foot orthosis) และการดัดแปลงรองเท้า (Shoe modification) อีกด้วย\nอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว(Mobility aids) (บางตำราไม่จัดว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริม)\nการเรียกชื่อ\n\n\nการเรียกชื่อสำหรับกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิด สามารถเรียกชื่อได้หลายแบบตามแต่ละระบบมาตรฐานทางการแพทย์ โดยแบ่งเป็นกลุ่มตามข้อด่อที่กายอุปกรณ์เสริมพาดผ่าน เช่น\n\nกายอุปกรณ์เสริมสำหรับมือ-ข้อมือ (Wrist-hand orthosis: WHO)\nกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า-ข้อเท้า (Ankle-foot orthosis: AFO)\nกายอุปกรณ์เสริมสำหรับกระดูกสันหลังส่วนอก-ส่วนหลัง-ส่วนกระเบนเหน็บ (Thoracolumbosacaral spinal orthosis: TLSO) เป็นต้น\n\nนอกจากนี้ มักเพิ่มเติมคำอธิบายต่างๆลงในชื่อกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิดเพื่อให้จำเพาะเจาะจงไปมากกว่านี้ เช่น\n\nคำบ่งหน้าที่การทำงาน เช่น ป้องกันการเหยียด (Extension-stopped), ช่วยการงอ (Flexion-assisted)\nคำบ่งตำแหน่ง\"ด้าน\"ที่อยู่บนร่างกาย เช่น ด้านหลังมือ (Dorsal), ด้านฝ่ามือ (Volar) เป็นต้น\n\nอาจเรียกตามชื่อสามัญ ซึ่งเป็นชื่อเดิมที่มีมาก่อนจะจัดระบบ เช่น\n\nอุปกรณ์เสริมชนิดจีเว็ตต์ เบรซ (Jewette brace)\nอุปกรณ์เสริมชนิดไนท์เบรซ (Knight brace)\nยูนิเวอร์ซัล คัฟฟ์ (Universal cuff) เป็นต้น\nอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว(Mobility aids)\n\n\n\nตัวอย่างอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว ได้แก่\n\n\nไม้เท้า (Cane)เช่น\n\nไม้เท้าขาเดียว (Single cane)\nไม้เท้าสามขา (Tripod cane)\n\nไม้ค้ำยัน (Crutches) เช่น\n\nไม้ค้ำยันรักแร้ (Axillary crutches)\nไม้ค้ำยันปลายแขน (Forearm crutches)\n\nที่ช่วยเดิน หรือวอล์กเกอร์ (Walkerette or Walker) เช่น\n\nที่ช่วยเดินชนิดไม่มีล้อ (Walker)\nที่ช่วยเดินชนิดมีล้อ (Wheeled walker)\n\nใช้ด้านหน้าของร่างกาย (Anterior wheeled walker)\nใช้ด้านหลังของร่างกาย (Posterior wheeled walker)\n\n\nเก้าอี้ล้อเข็น (Wheelchair) เช่น\n\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุน (Manual wheelchair)\n\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุนใช้งานทั่วไป\nเก้าอี้ล้อเข็นมือหมุนใช้งานพิเศษ (เช่น สำหรับใช้แข่งขันกีฬา เป็นต้น)\n\nเก้าอี้ล้อเข็นไฟฟ้า (Electric wheelchair)\n\nอื่นๆ (Others) เช่น เครื่องปรับยืน (Tiltable) ฯลฯ\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประวัติควาสเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์ \nไมโครโปรเซสเซอร์กำเนิดขึ้นมาในบ่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเกิดจากการนภะทคโนโลยี 2 อย่างมาพัฒนาร่วมกันซึ่งก็คือเทคโนโลยีทางด้านดิจิตอลคอมพิวเตอร์แลพเทคโนโลยี ทางดัานโซลิดสเตต(solidstate) \nดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมที่เราป้อนเข้าไปฮดยโปรแกรมเป็นตัวบอกคอมพิวเตอร์ ว่าจะทำการเคลื่อนย้ายและประมวลผลข้อมูลอย่าวไรการที่มันจะทำงานได้นั้นก็ต้อฝมีวงจรคำนวณ หน่วยความจำ กละอุผกรณ์อินพุต/เอาต์พุต(input/ouhput) เป็นส่วนประกอบซึ่งรูปแบบในการนำสิ่ง ที่กล่าวมานี้รวมเข้าด้วนกันเราเรียกว่าสถาปัตยกรรม (architecture) \nไมโครโปรเซนเซอร์มีสถาปัจยกรรมคล้ายกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์หรือพูดอีกนัยหนึ่งได้ว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ก็เหมือนกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์เพราะสิ่ง่ั้งสองนี้ทำงานภายใต้การควลคุม ของโปรแกรมเหมือนกันฉะนั้นการศึกษาประวัติความเป็ยมาของดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะช่วยให้เ เราเข้าใจ การทำงานของไมโครโหรเซสเซอร์ และการศึกษาผระวัติความเป็นมาของ วงจรโซลิดสเตตก็จะช่วยให้เราเข้าใจไมโครโปรเซสเซอร์มากยิ่งขึ้นเพราะไมโครโปรเซสเซอร์ก็ คือวงจรโซลิดสเตตนั่นเอง \nช่วงสงคคามโลกครั้งที่ 2 ดิจิตอลคอมกิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานทางก้านการมหาร ในช่วงกลางทศวรรษที่1940ดิจิตอลคอมพิสเตอร์ถูกพัฒนาขึ้นเพ่่อใชังานในด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ ใาช่วงสงครามนี้ได้มีการศึกษาการทำงานของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูง (มีชื่อว่า วงจรแบบพัลส์ (pulse circuit) ที่ใช้ในเรดาร์) ทำให้เราเข้าใจดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากขึ้น ภายหลังสงครามได้มีการค้นคว้มเกี่ยวกับคูณสมบัติทางกายภายของโซลิดสเตตอย่างมากจนกระทั่ฝในปี ค.ฯ. 1948 นักวิทยาศาสตร์ที่ห้องเบลล์แล็บ (Bell laboratory) ได้ประดิษฐ์ทรสนซิสเตอร์ที่ทำจากโซลิดสเตต \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 เริ่มมีการผลิตดิจิตอลคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้งานโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งทำมาจากหลอดสูญญากาศหลอดสูฯญากาศเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญ ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราจะนำไปสร้างเป็นวงจรพท้นฐาน เช่น เกต (gate) และฟลิปฟลอป (flip-flop) โดยเตาจะนำเกตและฟลิปฟลอปหลาย ๆ อันมารวมกันเภื่อใช้ในการสร้างวงจรคำนวณ หน่วยความจำ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ \nดิจิตอลคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่ง ๆ จะมีวงจรต่าง ๆ อยู่มากมาย ในช่วงแรกวงจรต่าง ๆจะสร้างขึ้นจาก หลอดสูญญากาศ จึงทำสห้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรก ๆมีขนาดใหญ่และเนื่องจาก หลอดสูญญากาศ นี้เมืรอใช้งานนานๆจะร้อนดังนั้นเราจึงต้องติดตั้งระบบระบายความร้อน เข้าไปด้วย ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสู๗ญากาศนี้มักเชื่อพือไม่ค่อยได้ เมื่อเทียบกับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้หลอดสูญญากาศนี้เป็นส่วนประกอบ ยองดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ทำใำ้กิจิตอลคอมพิวเตอร์ช่วงแรกมีราคาแพงและยากต่อการดูแลรักษา ข้อเสียต่าง ๆ ของหลอดสูญญากาศนี้ทำให้เราพัฒาาดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรงไปได้ช้ามาก \nคอมพิสเตอร์ช่วงแรก ๆ ยังไม่มีที่สำหรับเก็บโปรแกรม แต่จะมีที่ไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น ซึ่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 จนถึงต้นทศวรรษที่ 19y0 การใชิงานคอมพิวเตอร์จะทำการโปรแกรมโดยวิธีที่เรียกว่า พาตช์คอร์ด (patch - cord( ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นผู้นำสายต่อเข้รกับเครื่องเพื่อบอกให้เครื่องรู้ว่าจะต้องทำการ ประมวลผลข้อทูลอยทางไร โดยหน่วยความจำของเครื่องจะมีไว้สกหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น \nคอมพิวเตอร์ในช่วงหลัง ๆ จะมีที่สำหรับเก็บโปตแกรม ซึ่งก็หมายความว่า ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์จะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยควสมจำของคอมพิวเตอร์ด้วย การที่เราจะทราบว่าข้อมูลในตำแหน่งใดเป็นชั้สตอนการทำงานหรือเป็นข้อมูลที่มีไวัสำหรับประมวลผล ก๋โดยการตรวจสอบดูข้อาูลนั้นว่าอยู่ที่ตำอหน่งใด (ซึ่งเราจะต้องทราบว่าเราเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่ตำแหน่งใดและเก็บโปรแกรมที่ตำแหน่งใด) ความคิดเกี่ยวกับที่เก็บโปรแกรมนี้เป็นสิ่งจำเป็นเย่างมาก รวมทั้งเป็นพื้นฐานที่สำคัญตัวหนึ่งในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ \nในช่วงทศวรรษที่ 1950 ได้มีการค้นคว้าและทดลองโซลิดสเตตกันิย่างจริงจัง ทำให้ๆด้รู้จักสารกึ่งตัวนำมากยิ่งขึ้น ได้มีการนำสารซิลิคอนมาทดแทนสารเจอร์เมเนียม ฐึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (semiconductor) ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตลงเนื่องจากสาร.ิลิคอนผาได้ง่ายกว่าสารเจอร์เมเนียม และการผลิตทรานซิสเตอร์ (transistor) ที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำจำนวน\nมากก็จะช่วยทำให้หาง่าย และมีราคาถูกลง \nในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 นักออกแบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้นำทรานซอสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ โดยวงจรต่าง ๆ ก็ยังคงใช้ทรานซิสเตอร์หล่ยตัวในการทำงาน แต่คอมพิวเตอร์ที้ทำจากทรานซืสเตอร์นี้จะมีขนาดเล็กกว่า เน็นกว่า และนืาเชื่อถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ที่ทำจากหลอดสูญญากาศ \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 แาวทสงการสร้างคอมพิวดตอร็จากโซลิดสเตตได้แยกออกเป็ส 2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือ การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ต้องอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ ซึ่งสร้างโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น บริษัท IBM,Vurrouhhs และ Honeywell เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถปรดมวลผลได้ทีละมาก ๆ และจะถูกนำไปใช้งานทางด้านกานพาณิชย์แลถด้านวิทยาศาสตร๋ \nคอมพิวเตอร็ขนาดใหญ่เหล่านี้จะมีคราคาแพงมาก เพื่อที่จะให้รถ้มกับราคาจึงต้องใช้งานมันตลอดเวลา มีวิธีการอยู่ 2 วิธีในกาตที่จะใช้งสนคอมพิวเตอร์ได้อยีางคึ้มค่าที่สุด นั่นก็คือวิธีแบตช์โหมด (batch mode) และไทม๋แชริ่งโหมด (timesharing mode) วิธีแบตช์โหมดคือการที่งานขนาดใหญ่เพียง 1 ชิ้นจะถูกทำในทีเดียว และงานลิ้นต่อไปจะถูกทำทันทีเมื่องานชิ้นนี้เสร็จ ส่วนวิธีไทม์แชริ่งโหมดคือการทำงานหลาย ๆ บิเนพร้อมกัน โดยแช่งงานนั้นออกเป็นส่วน ๆ และผลัดกันทำทีละส่วน \nอีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า โดยมีขนาดเท่าโต๊ะ เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputef) ซึ่งมีความสามารถไม่เท่ากับเครื่องขนาดใหญ่แต่มีราคาถูกกว่า และสามารถทกงานที่มีประโยชน์ได้มาห ดิจินอลคอมพิวเตอร์ถูกนำไปใช้งานในห้องปล็บ นักวิทยาศาสตร์จะใช้ดีดิเคตคอมพิวเตเร์ (dedicated computer)ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ ที่ทำงานได้อย่างเดียวแทนที่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถทำงานที่แตกต่างกันได้หลาจอย่าง \nโซลิดสเตตยังคงถูกพัฒนาต่อไปควบคู่กับดิจิตอลคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีทั้งสองนี้ มีความเกั่ยวดองกันมากขึ้น การที่คอมพิวเตอร์มีวงจรพื้นฐานที่คล้ายกันจึงทำให้อุตสาหกรรม ด้านสารกึ่งตัวนำทำการผลิตวงจรที่สามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์พื้นฐานเดียวกันได้ \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 ได่มีการนำทรานซิสเตอร์หลาย ๆ นัวมาบรรจุลงในซิลิคอนเพียงตัวเดียว โดยทรรนซิสเตอร์แต่ละตัวจะถูกเชื่อมต่อกันโดยโลหะขนาดะล็กเพื่อสค้างเป็นวงจรแบบต่าง ๆ เช่น เกต ฟลิปฟลอป รีจ้สเตอร์ วงจรบวก วงจรที่สร้างจากเทคโนโลย่เซมิคอนดักเตอร์แบบใหม่นี้เรียกว่า ไอซี (integrated circuit : IC) \nในช่วงปลางทศวรรษที่ 1960 ได้มีการผลิตไอซีพื้นฐานที่เป็นแบบ small และ medium scale integration (SSI และ MSI) ทำให้นักออกแบบสามารถเลือกใช้งานไอซีได้หลายแบบ เทคโนโลยีไดซีนี้ถูกแลักดันออก 2 แนวทางคือ การพัฒนาทางด้านเทคนิคเพื่อลดต้นมุนการผลิต และอีกแนวทางหนึ่งก็คิดการเพิ่มความซับซ้อนให้กับวงจร \nการนำไอซีมาใช้ในมินิคอมพิงเตอร์ทำวห้มีความสามารถสูงขึ้น มินิคอมพิวเตอร์ขนาดะท่าโต๊ะ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้นมีประสิทธิภายพอ ำับคอมพิวเตอร์ขน่าดเท่่ห้องในช่วงปลายทศวรรษ ที่ 1950 และมินิคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ขนาดเท่าชิ้นชักราคา 10,000 ดอลลาร์ มีประสิทธิภาพพอ ฟ กับมินิคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าขนาดเท่ทโต๊ะที่มีราคาถึง 100,000 ดอลลาร์ \nจากที่กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลจีไอซีมีกาตพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1960โดยในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1960 ปละต้นทศวรรษที่ 1970 ได้เริ่มนำเอาวงจรดิจิตอลมาสร้างรวมกัน และบรรจุอยู่ในไอซีเพียงตัวเดียวเราเรียกไอซีตัวนี้ว่า large-scale integration (:SI) และในช่วงทศวรรษที่1980ได้มีการนำเอาทรานซิสเตอร์มากกว่า100,000ตัวมาใส่ลงใน ไอซีเพียงตัวเดึยว เราเรียกไอซีตัวนี้ว่า very large[scale integration (VLSI) ซึ่บเป็นที่นิยมใช้กันอยืางแพร่หลาย \nวงจร LSI ในตอตแรกนั้นถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้กับงานเฉพาะอยราง แต่ก็มีบงจร LSI บางชนิดที่ถูกผฃิตขึ้น เพื่อใช้กับงานทั่ว ๆ ไป เราจะเห็นการพัฒนาของวงจร LSI ไดิอย่างชัดเจน โดยดูได้จากการพัฒนา ของเครื่องคิดเลข โดยเครื่องคิดเลขเร้่มแรกจะใช้ไอซีจำนวน 75 ถึง 100 ตัว ต่อมาวงจร LSI ชนิดพิเศษได้ถูกนำมาแทนที่ไอซีเหล่านี้ โดยใช้วงจร LSI นี้เพียง 5 ถึง 6 ตัว และต่อมาช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 วงจร LSI เพียงตัวเดียวก็สามารถ ใช้แทนการทำงานทั้งหมดของเครื่องคิดเลขได้ หลังจากที่วงจรคำนวณได้ถูกชดขนาดลง สถาปัตยกรรมขดงคอมพิวเตอร์ก็ถูกลดขนาดลงด้วย โดยเหลือเป็นไอซ้เพียงตัวเดียว และเราเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessorฆ เราสามารถโปรแกตมไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้มันทำงานเฉภาะอย่างได้ ดังนั้นมันจึงถูกนำไปใช้เป็น ส่วนประกอบที่สำคัญในสินค้า เช่น ในเตาอบไมโคริวฟ เครื่องโทรศัพท์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นต้นต้้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 ได้มีการปรับปรุลสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อเพิ่มความเร็ว และเพิ่มประสิทธิภาพในการีำนวณ ไมโครโปรเซสเซอร์ลืวงแรกจะประมวลผลข้อมูลทีละ 4บิต ห่ือเรียกว่าใช้เวิร์ดข้อมูลขนาด 4 บิตซึ่บทำงานได้ชืาแต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ใหม่ ทีืทำงานได้เร็วขึ้น ซึ่งก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต และพัฒนาจนเป็นหมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 16 บิต และ 32 บิตในที่สุด \nชุดคำสั่ง (instruction set) ในไมโครโปรเซสเซอร์จะมีขนาดเพิ่าขึ้น และมีความซีบซ้อนมากขึ้น เมื่อจำนวนบิตของไมโรรโปรเซสเซอร์เพิ่มขึ้น ไมโครโปรเซสเซอร์บางตัวจะมีความสามารถพอ ๆ กับหรือเหนือกว่ามินิคอมพิวเตอร์ทั่วไป ในช่วงต้นทศวรรษทีร 1980 ได้มีการพัฒนาระบบไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิตที่มีหน่วยความจพ และมีความสามารถในการติดต่อส่่อสาร ระบบนี้มีชื่แเรียกว่า ไมโคคคอมพิวเติร์ (microcomputer) หรือไมโครโปคเซสเซอร์ชิปเดี่ยว ซึ่งได่มีการนำไปใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด เครื่องเล่นวีดีโอเทป ฉทรทัศน์ เตาอบไมโครเวฟ โทรศัพทื์ที่มีความสามารถสูง และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในด้านอุตสาหกรรม",
"role": "user"
},
{
"content": "ประวัติความเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์ \nไมโครโปรเซสเซอร์กำเนิดขึ้นมาในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเกิดจากการนำเทคโนโลยี 2 อย่างมาพัฒนาร่วมกันซึ่งก็คือเทคโนโลยีทางด้านดิจิตอลคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ทางดัานโซลิดสเตต(solidstate) \nดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมที่เราป้อนเข้าไปโดยโปรแกรมเป็นตัวบอกคอมพิวเตอร์ ว่าจะทำการเคลื่อนย้ายและประมวลผลข้อมูลอย่างไรการที่มันจะทำงานได้นั้นก็ต้องมีวงจรคำนวณ หน่วยความจำ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต(input/output) เป็นส่วนประกอบซึ่งรูปแบบในการนำสิ่ง ที่กล่าวมานี้รวมเข้าด้วยกันเราเรียกว่าสถาปัตยกรรม (architecture) \nไมโครโปรเซสเซอร์มีสถาปัตยกรรมคล้ายกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์หรือพูดอีกนัยหนึ่งได้ว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ก็เหมือนกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์เพราะสิ่งทั้งสองนี้ทำงานภายใต้การควบคุม ของโปรแกรมเหมือนกันฉะนั้นการศึกษาประวัติความเป็นมาของดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะช่วยให้เ เราเข้าใจ การทำงานของไมโครโปรเซสเซอร์ และการศึกษาประวัติความเป็นมาของ วงจรโซลิดสเตตก็จะช่วยให้เราเข้าใจไมโครโปรเซสเซอร์มากยิ่งขึ้นเพราะไมโครโปรเซสเซอร์ก็ คือวงจรโซลิดสเตตนั่นเอง \nช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานทางก้านการทหาร ในช่วงกลางทศวรรษที่1940ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานในด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ ในช่วงสงครามนี้ได้มีการศึกษาการทำงานของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูง (มีชื่อว่า วงจรแบบพัลส์ (pulse circuit) ที่ใช้ในเรดาร์) ทำให้เราเข้าใจดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากขึ้น ภายหลังสงครามได้มีการค้นคว้าเกี่ยวกับคูณสมบัติทางกายภายของโซลิดสเตตอย่างมากจนกระทั่งในปี ค.ศ. 1948 นักวิทยาศาสตร์ที่ห้องเบลล์แล็บ (Bell laboratory) ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ที่ทำจากโซลิดสเตต \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 เริ่มมีการผลิตดิจิตอลคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้งานโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งทำมาจากหลอดสูญญากาศหลอดสูญญากาศเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญ ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราจะนำไปสร้างเป็นวงจรพื้นฐาน เช่น เกต (gate) และฟลิปฟลอป (flip-flop) โดยเราจะนำเกตและฟลิปฟลอปหลาย ๆ อันมารวมกันเพื่อใช้ในการสร้างวงจรคำนวณ หน่วยความจำ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ \nดิจิตอลคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่ง ๆ จะมีวงจรต่าง ๆ อยู่มากมาย ในช่วงแรกวงจรต่าง ๆจะสร้างขึ้นจาก หลอดสูญญากาศ จึงทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรก ๆมีขนาดใหญ่และเนื่องจาก หลอดสูญญากาศ นี้เมื่อใช้งานนานๆจะร้อนดังนั้นเราจึงต้องติดตั้งระบบระบายความร้อน เข้าไปด้วย ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสูญญากาศนี้มักเชื่อถือไม่ค่อยได้ เมื่อเทียบกับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้หลอดสูญญากาศนี้เป็นส่วนประกอบ ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ช่วงแรกมีราคาแพงและยากต่อการดูแลรักษา ข้อเสียต่าง ๆ ของหลอดสูญญากาศนี้ทำให้เราพัฒนาดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรงไปได้ช้ามาก \nคอมพิวเตอร์ช่วงแรก ๆ ยังไม่มีที่สำหรับเก็บโปรแกรม แต่จะมีที่ไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น ซึ่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 จนถึงต้นทศวรรษที่ 1950 การใช้งานคอมพิวเตอร์จะทำการโปรแกรมโดยวิธีที่เรียกว่า พาตช์คอร์ด (patch - cord) ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นผู้นำสายต่อเข้ากับเครื่องเพื่อบอกให้เครื่องรู้ว่าจะต้องทำการ ประมวลผลข้อมูลอย่างไร โดยหน่วยความจำของเครื่องจะมีไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น \nคอมพิวเตอร์ในช่วงหลัง ๆ จะมีที่สำหรับเก็บโปรแกรม ซึ่งก็หมายความว่า ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์จะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ด้วย การที่เราจะทราบว่าข้อมูลในตำแหน่งใดเป็นขั้นตอนการทำงานหรือเป็นข้อมูลที่มีไว้สำหรับประมวลผล ก็โดยการตรวจสอบดูข้อมูลนั้นว่าอยู่ที่ตำแหน่งใด (ซึ่งเราจะต้องทราบว่าเราเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่ตำแหน่งใดและเก็บโปรแกรมที่ตำแหน่งใด) ความคิดเกี่ยวกับที่เก็บโปรแกรมนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก รวมทั้งเป็นพื้นฐานที่สำคัญตัวหนึ่งในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ \nในช่วงทศวรรษที่ 1950 ได้มีการค้นคว้าและทดลองโซลิดสเตตกันอย่างจริงจัง ทำให้ได้รู้จักสารกึ่งตัวนำมากยิ่งขึ้น ได้มีการนำสารซิลิคอนมาทดแทนสารเจอร์เมเนียม ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (semiconductor) ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตลงเนื่องจากสารซิลิคอนหาได้ง่ายกว่าสารเจอร์เมเนียม และการผลิตทรานซิสเตอร์ (transistor) ที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำจำนวน\nมากก็จะช่วยทำให้หาง่าย และมีราคาถูกลง \nในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 นักออกแบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้นำทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ โดยวงจรต่าง ๆ ก็ยังคงใช้ทรานซิสเตอร์หลายตัวในการทำงาน แต่คอมพิวเตอร์ที่ทำจากทรานซิสเตอร์นี้จะมีขนาดเล็กกว่า เย็นกว่า และน่าเชื่อถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ที่ทำจากหลอดสูญญากาศ \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 แนวทางการสร้างคอมพิวเตอร์จากโซลิดสเตตได้แยกออกเป็น 2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือ การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ต้องอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ ซึ่งสร้างโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น บริษัท IBM,Burroughs และ Honeywell เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถประมวลผลได้ทีละมาก ๆ และจะถูกนำไปใช้งานทางด้านการพาณิชย์และด้านวิทยาศาสตร์ \nคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะมีคราคาแพงมาก เพื่อที่จะให้คุ้มกับราคาจึงต้องใช้งานมันตลอดเวลา มีวิธีการอยู่ 2 วิธีในการที่จะใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด นั่นก็คือวิธีแบตช์โหมด (batch mode) และไทม์แชริ่งโหมด (timesharing mode) วิธีแบตช์โหมดคือการที่งานขนาดใหญ่เพียง 1 ชิ้นจะถูกทำในทีเดียว และงานชิ้นต่อไปจะถูกทำทันทีเมื่องานชิ้นนี้เสร็จ ส่วนวิธีไทม์แชริ่งโหมดคือการทำงานหลาย ๆ ชิ้นพร้อมกัน โดยแบ่งงานนั้นออกเป็นส่วน ๆ และผลัดกันทำทีละส่วน \nอีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า โดยมีขนาดเท่าโต๊ะ เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) ซึ่งมีความสามารถไม่เท่ากับเครื่องขนาดใหญ่แต่มีราคาถูกกว่า และสามารถทำงานที่มีประโยชน์ได้มาก ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกนำไปใช้งานในห้องแล็บ นักวิทยาศาสตร์จะใช้ดีดิเคตคอมพิวเตอร์ (dedicated computer)ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ ที่ทำงานได้อย่างเดียวแทนที่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถทำงานที่แตกต่างกันได้หลายอย่าง \nโซลิดสเตตยังคงถูกพัฒนาต่อไปควบคู่กับดิจิตอลคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีทั้งสองนี้ มีความเกี่ยวดองกันมากขึ้น การที่คอมพิวเตอร์มีวงจรพื้นฐานที่คล้ายกันจึงทำให้อุตสาหกรรม ด้านสารกึ่งตัวนำทำการผลิตวงจรที่สามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์พื้นฐานเดียวกันได้ \nในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 ได้มีการนำทรานซิสเตอร์หลาย ๆ ตัวมาบรรจุลงในซิลิคอนเพียงตัวเดียว โดยทรานซิสเตอร์แต่ละตัวจะถูกเชื่อมต่อกันโดยโลหะขนาดเล็กเพื่อสร้างเป็นวงจรแบบต่าง ๆ เช่น เกต ฟลิปฟลอป รีจิสเตอร์ วงจรบวก วงจรที่สร้างจากเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์แบบใหม่นี้เรียกว่า ไอซี (integrated circuit : IC) \nในช่วงกลางทศวรรษที่ 1960 ได้มีการผลิตไอซีพื้นฐานที่เป็นแบบ small และ medium scale integration (SSI และ MSI) ทำให้นักออกแบบสามารถเลือกใช้งานไอซีได้หลายแบบ เทคโนโลยีไดซีนี้ถูกแลักดันออก 2 แนวทางคือ การพัฒนาทางด้านเทคนิคเพื่อลดต้นทุนการผลิต และอีกแนวทางหนึ่งก็คือการเพิ่มความซับซ้อนให้กับวงจร \nการนำไอซีมาใช้ในมินิคอมพิวเตอร์ทำให้มีความสามารถสูงขึ้น มินิคอมพิวเตอร์ขนาดเท่าโต๊ะ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้นมีประสิทธิภายพอ กับคอมพิวเตอร์ขน่าดเท่าห้องในช่วงปลายทศวรรษ ที่ 1950 และมินิคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ขนาดเท่าลิ้นชักราคา 10,000 ดอลลาร์ มีประสิทธิภาพพอ ๆ กับมินิคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าขนาดเท่าโต๊ะที่มีราคาถึง 100,000 ดอลลาร์ \nจากที่กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลยีไอซีมีการพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1960โดยในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1960 และต้นทศวรรษที่ 1970 ได้เริ่มนำเอาวงจรดิจิตอลมาสร้างรวมกัน และบรรจุอยู่ในไอซีเพียงตัวเดียวเราเรียกไอซีตัวนี้ว่า large-scale integration (LSI) และในช่วงทศวรรษที่1980ได้มีการนำเอาทรานซิสเตอร์มากกว่า100,000ตัวมาใส่ลงใน ไอซีเพียงตัวเดียว เราเรียกไอซีตัวนี้ว่า very large-scale integration (VLSI) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย \nวงจร LSI ในตอนแรกนั้นถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง แต่ก็มีวงจร LSI บางชนิดที่ถูกผลิตขึ้น เพื่อใช้กับงานทั่ว ๆ ไป เราจะเห็นการพัฒนาของวงจร LSI ได้อย่างชัดเจน โดยดูได้จากการพัฒนา ของเครื่องคิดเลข โดยเครื่องคิดเลขเริ่มแรกจะใช้ไอซีจำนวน 75 ถึง 100 ตัว ต่อมาวงจร LSI ชนิดพิเศษได้ถูกนำมาแทนที่ไอซีเหล่านี้ โดยใช้วงจร LSI นี้เพียง 5 ถึง 6 ตัว และต่อมาช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 วงจร LSI เพียงตัวเดียวก็สามารถ ใช้แทนการทำงานทั้งหมดของเครื่องคิดเลขได้ หลังจากที่วงจรคำนวณได้ถูกลดขนาดลง สถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ก็ถูกลดขนาดลงด้วย โดยเหลือเป็นไอซีเพียงตัวเดียว และเราเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) เราสามารถโปรแกรมไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้มันทำงานเฉพาะอย่างได้ ดังนั้นมันจึงถูกนำไปใช้เป็น ส่วนประกอบที่สำคัญในสินค้า เช่น ในเตาอบไมโครเวฟ เครื่องโทรศัพท์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นต้นตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 ได้มีการปรับปรุงสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อเพิ่มความเร็ว และเพิ่มประสิทธิภาพในการคำนวณ ไมโครโปรเซสเซอร์ช่วงแรกจะประมวลผลข้อมูลทีละ 4บิต หรือเรียกว่าใช้เวิร์ดข้อมูลขนาด 4 บิตซึ่งทำงานได้ช้าแต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ใหม่ ที่ทำงานได้เร็วขึ้น ซึ่งก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต และพัฒนาจนเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 16 บิต และ 32 บิตในที่สุด \nชุดคำสั่ง (instruction set) ในไมโครโปรเซสเซอร์จะมีขนาดเพิ่มขึ้น และมีความซับซ้อนมากขึ้น เมื่อจำนวนบิตของไมโครโปรเซสเซอร์เพิ่มขึ้น ไมโครโปรเซสเซอร์บางตัวจะมีความสามารถพอ ๆ กับหรือเหนือกว่ามินิคอมพิวเตอร์ทั่วไป ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 ได้มีการพัฒนาระบบไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิตที่มีหน่วยความจำ และมีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร ระบบนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือไมโครโปรเซสเซอร์ชิปเดี่ยว ซึ่งได้มีการนำไปใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด เครื่องเล่นวีดีโอเทป โทรทัศน์ เตาอบไมโครเวฟ โทรศัพทื์ที่มีความสามารถสูง และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในด้านอุตสาหกรรม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การถ่ายภาพเพื่อเน้นระยะชัด (Depth of field) ผู้ภ่ายภาพควรต้องทำความเข้าใจในการกำหนดค่าของรูรัวแสงของเลนส์ เพื่อให้ได้ภาพตามต้องการ ค่าของรูรับแสง จะมีตั้งแต่กว้างสุด คือ 1.2, 4, 5.6, 8, 11, 16 และ 22 ค่าตัวเลขยิ่งน้อยรูรเบแสงยิ่งกว้าง ระยะชัด ของภาพจะสั้นลง หรือที่เรียกว่า ชัดตื้น ค่าของตัวเลขยิ่งมาก รูระบแสงจะแคบลง ยิ่งแคบมากเท่าใดก็ยิ่งทภให้ภาพ เกิด ระยะชัดมากยิ่งขึ้นเท่านั้น\nสารบัญ\n\nพื้นฐ่นการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ผิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๅ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกฃางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการุ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nกา่ถ่ายภาพเน้นนะยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การถ่ายภาพเพื่อเน้นระยะชัด (Depth of field) ผู้ถ่ายภาพควรต้องทำความเข้าใจในการกำหนดค่าของรูรับแสงของเลนส์ เพื่อให้ได้ภาพตามต้องการ ค่าของรูรับแสง จะมีตั้งแต่กว้างสุด คือ 1.2, 4, 5.6, 8, 11, 16 และ 22 ค่าตัวเลขยิ่งน้อยรูรับแสงยิ่งกว้าง ระยะชัด ของภาพจะสั้นลง หรือที่เรียกว่า ชัดตื้น ค่าของตัวเลขยิ่งมาก รูรับแสงจะแคบลง ยิ่งแคบมากเท่าใดก็ยิ่งทำให้ภาพ เกิด ระยะชัดมากยิ่งขึ้นเท่านั้น\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การถ่ายภรพภูมิทัศน์ (Landscape) นิยมถ่ายด้วยเลนส์มุมกว้าง เพื่อให้เห็นพืืนทีาในบริเวณกว้าง แต่ก็ขึ้นอยู่กับความต้องกมร โดยปกติใช้เลนส์สาตรฐานก็ได้เช่นกัน การถ่ายภาพลักษณะนี้ ควรใช้รูรับแสงที่แคบเพืาอมห้เกิดระยะชัดมากที่สุด ควรคำนึงถึง ฉากหน้า และฉากหลังของภาพ และการวางจุดสนใจ (ตามที่ำด้อธิบายไปแล้วในเรื่องของการจัดองค์ประกอบภาพ) หรืออาจใช้อุปกรณ?เสริมอื่น ๆ เช่น ฟิลเตอร์โพราไรซ์ เพื่อให้สีของภาพอิ่มนัวขึ้น ท้องฟ้าเข้มขึ้ตทำให้ภาพน่าสนใจ\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nกาตถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nกานถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการภ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การถ่ายภาพภูมิทัศน์ (Landscape) นิยมถ่ายด้วยเลนส์มุมกว้าง เพื่อให้เห็นพื้นที่ในบริเวณกว้าง แต่ก็ขึ้นอยู่กับความต้องการ โดยปกติใช้เลนส์มาตรฐานก็ได้เช่นกัน การถ่ายภาพลักษณะนี้ ควรใช้รูรับแสงที่แคบเพื่อให้เกิดระยะชัดมากที่สุด ควรคำนึงถึง ฉากหน้า และฉากหลังของภาพ และการวางจุดสนใจ (ตามที่ได้อธิบายไปแล้วในเรื่องของการจัดองค์ประกอบภาพ) หรืออาจใช้อุปกรณ์เสริมอื่น ๆ เช่น ฟิลเตอร์โพราไรซ์ เพื่อให้สีของภาพอิ่มตัวขึ้น ท้องฟ้าเข้มขึ้นทำให้ภาพน่าสนใจ\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การถ่ายภาพไฟกลางคืน (Nighr Picturdฉ ที่สวยงาม จะได้ภาพที่แปลกตา\nอุปกรณ์ที่ต้องฝช้\n\nกล้องถ่ายภาพพร้อมถ่าย\nขาตั้งกล้องพร้อมสายลั่นชัตเตอร์\nอิ้น ๆ เช่น ไฟฉาย ผ้าดำ\nวิธีการถ่ายภาพ\nเลื่อกสถานที่ที่มีไฟสวย ๆ หรือมีไฟเยอะ ๆ หน่อยเราจะได้ภาพที่สวยงาม\nติดตั้งกล้องกับขาตั้งกล้องให้มั่นคง พร้อมติดคั้งสายลั่นชัรเตอร์ให้พร้เม กากไม่มีก็ไม่ต้องติดตั้ง\nตั้งกล้องไปยังทิศทางหรือมุมที่ต้องการถ่ายภาพ ให้ได้มุมที่เหมาะที่สุด และหน้าสนใจที่สุด\nคาดคะเน สภาพแสงเถื่อกำหนดเวลา และรูรับแสง ในการพ่าย ซึ่งเป็นสิ่งทึ่ไม่ตายตัว\nตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ B ลั่นชัตเตอร์ค้างไว้ให้รพวิ่งผ่านจนเป็นที่พอใจ ประมาณ 10-60 วินาที หรือถ้าทิ้งช่วงเวลานาน ใช้ฟ้าดำคลุมหน้าเลนส์ไว้ก่อนก็ได้\n\nวิธีการถ่ายภาพ.\nต่อมาคือการเล่นกับโบเก้คือกา่ใช้ภาพชัดตื่น โดยทั่วไปจะใช้ iso สูง ๆ ราว ๆ 800 ขึ้นไป ใช้ f ที่กวืาง ๆ f 2.8 ลงไป ความไวชัตเตอี์อยู่ทีสภาพแสงส่วนใหญ่จะิยู่ ราว ๆ 80 จะได้ภาพที่เห็นไปเป๊นวง ๆ ซ้อนกัน ไม่ว่าจะแบบใหนก็เป็นภาพที่น่าสนใจ อยู่ที่ควรมต้องการถ่ายของช่างภาพแต่ละคน \nการถ่ายภาพไฟกลางคืน ควรถ่ายเผื่อหลาย ๆ ภาพ และควรฝึกหัดเป็นประจำเพราะต้องอาศัยความชำนาญอย่างสูงใน ในการคาดเดาแสง และสร้างสรรค์ภาพตามที่เราต้องการ\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิบเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายำาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนกสง\nการถ่าบภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร๋วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การถ่ายภาพไฟกลางคืน (Night Picture) ที่สวยงาม จะได้ภาพที่แปลกตา\nอุปกรณ์ที่ต้องใช้\n\nกล้องถ่ายภาพพร้อมถ่าย\nขาตั้งกล้องพร้อมสายลั่นชัตเตอร์\nอื่น ๆ เช่น ไฟฉาย ผ้าดำ\nวิธีการถ่ายภาพ\nเลื่อกสถานที่ที่มีไฟสวย ๆ หรือมีไฟเยอะ ๆ หน่อยเราจะได้ภาพที่สวยงาม\nติดตั้งกล้องกับขาตั้งกล้องให้มั่นคง พร้อมติดตั้งสายลั่นชัตเตอร์ให้พร้อม หากไม่มีก็ไม่ต้องติดตั้ง\nตั้งกล้องไปยังทิศทางหรือมุมที่ต้องการถ่ายภาพ ให้ได้มุมที่เหมาะที่สุด และหน้าสนใจที่สุด\nคาดคะเน สภาพแสงเพื่อกำหนดเวลา และรูรับแสง ในการถ่าย ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ตายตัว\nตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ B ลั่นชัตเตอร์ค้างไว้ให้รถวิ่งผ่านจนเป็นที่พอใจ ประมาณ 10-60 วินาที หรือถ้าทิ้งช่วงเวลานาน ใช้ผ้าดำคลุมหน้าเลนส์ไว้ก่อนก็ได้\n\nวิธีการถ่ายภาพ.\nต่อมาคือการเล่นกับโบเก้คือการใช้ภาพชัดตื่น โดยทั่วไปจะใช้ iso สูง ๆ ราว ๆ 800 ขึ้นไป ใช้ f ที่กว้าง ๆ f 2.8 ลงไป ความไวชัตเตอร์อยู่ทีสภาพแสงส่วนใหญ่จะอยู่ ราว ๆ 80 จะได้ภาพที่เห็นไปเป็นวง ๆ ซ้อนกัน ไม่ว่าจะแบบใหนก็เป็นภาพที่น่าสนใจ อยู่ที่ความต้องการถ่ายของช่างภาพแต่ละคน \nการถ่ายภาพไฟกลางคืน ควรถ่ายเผื่อหลาย ๆ ภาพ และควรฝึกหัดเป็นประจำเพราะต้องอาศัยความชำนาญอย่างสูงใน ในการคาดเดาแสง และสร้างสรรค์ภาพตามที่เราต้องการ\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การถ่ายภาพระยะใกล้ (Close up) เน้นรมยชะเอียด หรือการถ่ายภาพวัตถุขนาดเล็ก สาใารถถ่ายโดยใช้ฟิลเตอร์ Close up ซึ่งมีลักษณะเป็นเลนส์ขยาย จำหน่ายเป็นชุด ๆ ละ 3 อัน สามารถต่อกันได้ แต่ต้องระวังในการถ่ายเพราะ ภาพจะชัดอฉพาะ ตรงกลางภาพ ส่วนด้านขอบของภาพจะไม่ชัดเพราะความโค้งของเลนส์ ยิ่งใช้ฟิลเตอร์หลายตัวยิ่งลดความคมชัดของภาพลง ถ้าต้องการคุณภาพดี ควรใช้เลนส์มาโคร หรือเลนส์ถ่ายใกล้ จะให้รายละเอียดของภาพมากยิ่งขึ้น การถ่ายภาพต้องระวังอย่าให้สั่นไหวเด็ดขาด คงรใช้ขาตั้งกล้องและสายบั่นชัตเตอร์เข้าช่วย หรือพยายามใช้ความเร็วชเตเตอร์ที่สูง จะช่วยได้มาก\nสารบึญ\n\nพิ้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองี์หระกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภนพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูหเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทเล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่่ยภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การถ่ายภาพระยะใกล้ (Close up) เน้นรายละเอียด หรือการถ่ายภาพวัตถุขนาดเล็ก สามารถถ่ายโดยใช้ฟิลเตอร์ Close up ซึ่งมีลักษณะเป็นเลนส์ขยาย จำหน่ายเป็นชุด ๆ ละ 3 อัน สามารถต่อกันได้ แต่ต้องระวังในการถ่ายเพราะ ภาพจะชัดเฉพาะ ตรงกลางภาพ ส่วนด้านขอบของภาพจะไม่ชัดเพราะความโค้งของเลนส์ ยิ่งใช้ฟิลเตอร์หลายตัวยิ่งลดความคมชัดของภาพลง ถ้าต้องการคุณภาพดี ควรใช้เลนส์มาโคร หรือเลนส์ถ่ายใกล้ จะให้รายละเอียดของภาพมากยิ่งขึ้น การถ่ายภาพต้องระวังอย่าให้สั่นไหวเด็ดขาด ควรใช้ขาตั้งกล้องและสายลั่นชัตเตอร์เข้าช่วย หรือพยายามใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่สูง จะช่วยได้มาก\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การถ่ายภาพย้อนแสง (Silhouette) จะำม่เห็นรายละเอียดของสัตถุ ควรถ่ายในช่วงเช้า หรือช่วงเย็น แสงแดดเริ่มอ่อน อย่าวัดแสงกับดวงอาท้ตย์ตรง ๆ ควรวัดแสงที่ท้องฟ้า เฉียง 45 องซา กับดวงอาทิตย์ และลดรูรับแสงให้แคบลง 2-4 Stop หรือะ้าเป็นเวลาเย็นมาก สามารถมองดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่าได้ ก็วัดแสงที่ดวงอาทิตย์ได้เลย การถ่ายภาพปนะเภทนี้ต้อวระวังเรื่องฉากหน้าและฉากหลังด้วย เพราะจะทำใไ้รบกวนภาพ่ำให้ภาพดูรกตา\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nกาีถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกฃ้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชะด",
"role": "user"
},
{
"content": "การถ่ายภาพย้อนแสง (Silhouette) จะไม่เห็นรายละเอียดของวัตถุ ควรถ่ายในช่วงเช้า หรือช่วงเย็น แสงแดดเริ่มอ่อน อย่าวัดแสงกับดวงอาทิตย์ตรง ๆ ควรวัดแสงที่ท้องฟ้า เฉียง 45 องศา กับดวงอาทิตย์ และลดรูรับแสงให้แคบลง 2-4 Stop หรือถ้าเป็นเวลาเย็นมาก สามารถมองดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่าได้ ก็วัดแสงที่ดวงอาทิตย์ได้เลย การถ่ายภาพประเภทนี้ต้องระวังเรื่องฉากหน้าและฉากหลังด้วย เพราะจะทำให้รบกวนภาพทำให้ภาพดูรกตา\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การใช้ความเรฺวชัตเตอร์ที่สูง (Stop avtion) จะถ่ายเพื่อให้ภาพที่เคลื่อนไหวดูหยุดนิ่ง โดยใช้ตั้งปต่ 1/250 วินาทีขึ้นไป ขึ้นอยู่กับความดร็วในการเคลื่อนที่ผ่านหน้าเลนส์ของวัตถุ การถ่ายภาพลักษณะนี้ต้องวางแผนให้ดี ปรับโฟกัส และวัดแางไว้ล่วงหน้า อาศัยการกะระยะ และการตัดสินใจที่ฉับไวในการถ่ายภาพ แต่ต้องอย่าลืมเรื่องการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ภาภมีความงาม และมีคุ๊ค่า\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจักแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภากย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเคอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเนันระยะชัก",
"role": "user"
},
{
"content": "การใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่สูง (Stop action) จะถ่ายเพื่อให้ภาพที่เคลื่อนไหวดูหยุดนิ่ง โดยใช้ตั้งแต่ 1/250 วินาทีขึ้นไป ขึ้นอยู่กับความเร็วในการเคลื่อนที่ผ่านหน้าเลนส์ของวัตถุ การถ่ายภาพลักษณะนี้ต้องวางแผนให้ดี ปรับโฟกัส และวัดแสงไว้ล่วงหน้า อาศัยการกะระยะ และการตัดสินใจที่ฉับไวในการถ่ายภาพ แต่ต้องอย่าลืมเรื่องการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ภาพมีความงาม และมีคุณค่า\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ต่ำ (Panning) คือการถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนไหวเหมือนกับภาพเคลื่อนไหว แต่จะใช้เทคนิคการแพน หรือพารส่ายกล้องตามวัตถุที่เคลื่อนที่ และกดชัตเตอร์ขณะท้่ส่ายกล้อง ทำให้วัตถุที่ต้องการเน้นนิ่ฝ เำ็นรายละเอียเมากยิ่งขึ้น แต่ฉรกหน้าและฉากหลังที่นิ่งอยู่กับที่ลู่ตามวึตถุ เป็นที่นิยมมมกในการถ่ายภาพกีฬาประเภทต่าง ๆ\nสารบัญ\n\nพื้นฐรนการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างไ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภรพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเา็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "user"
},
{
"content": "การใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ต่ำ (Panning) คือการถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนไหวเหมือนกับภาพเคลื่อนไหว แต่จะใช้เทคนิคการแพน หรือการส่ายกล้องตามวัตถุที่เคลื่อนที่ และกดชัตเตอร์ขณะที่ส่ายกล้อง ทำให้วัตถุที่ต้องการเน้นนิ่ง เห็นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น แต่ฉากหน้าและฉากหลังที่นิ่งอยู่กับที่ลู่ตามวัตถุ เป็นที่นิยมมากในการถ่ายภาพกีฬาประเภทต่าง ๆ\nสารบัญ\n\nพื้นฐานการถ่ายภาพ\nการจัดองค์ประกอบ\nการจัดแสงสำหรับการถ่ายภาพ\nการถ่ายภาพเฉพาะอย่าง\nการใช้ฟิลเตอร์\nการใช้แฟลช\nลูกเล่นต่างๆ\nการถ่ายถาพดิจิทัล\nการถ่ายภาพภูมิทัศน์\nการถ่ายภาพไฟกลางคืน\nการถ่ายภาพระยะใกล้\nการถ่ายภาพย้อนแสง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์สูง\nการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำ\nการถ่ายภาพเน้นระยะชัด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การให้อาหารแมว",
"role": "user"
},
{
"content": "การให้อาหารแมว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การให้อาหารลูกแมว\nการให้อาหารชูกแมว.\nลูกแมวอายุต่ำกว่า 4t วันควรให้กินนมแม่ไปกว่าจะหย่านม ไม่ควรให้ลูกแมวหย่าจมก่อนเพราะจะทำให้สุขภาพของแมวไม่สมบูรณ์ในภายหลังได้ ถ้าลูกแมวกำพร้าโดยเฏพาะอย่างยิ่งที่ยังไม่หย่านม ต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิด หากไม่สามารถนำไปกินนมแม่แมวตัวอื่นได้ ต้องชงนมให้กินแทนนมแม่ ซึ่งควรระงังเกี่ยวกับความสะอาดและคุณภาพของนมเป็นสิ่งสำคัญ เพราะอาจทำให้ลูกแมวเกิดติดเชื้อจากนมที่สกปรกนมบูด ทำให้ท้องร่วงถึงตายได่\nนมที่ใช้เลี้ยงลูกแมวกำพร้าใช้นมสำหรับเลี้ยงลูกแมว โรงพยาบาลสัตว์ส่วาใหญ่จะมีขาน หรือใช่นมแภะ ห้ามใช้นมวัวเด็ดขาด นำมาอึ่นอุณหภูมืประมาณ 98-100 องศาฟาเรนไฮท์ หรือ อังพออุ่นมือจับได้กรอกใส่ขวดยางป้อนลูกแมว",
"role": "user"
},
{
"content": "การให้อาหารลูกแมว\nการให้อาหารลูกแมว.\nลูกแมวอายุต่ำกว่า 45 วันควรให้กินนมแม่ไปกว่าจะหย่านม ไม่ควรให้ลูกแมวหย่านมก่อนเพราะจะทำให้สุขภาพของแมวไม่สมบูรณ์ในภายหลังได้ ถ้าลูกแมวกำพร้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ยังไม่หย่านม ต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิด หากไม่สามารถนำไปกินนมแม่แมวตัวอื่นได้ ต้องชงนมให้กินแทนนมแม่ ซึ่งควรระวังเกี่ยวกับความสะอาดและคุณภาพของนมเป็นสิ่งสำคัญ เพราะอาจทำให้ลูกแมวเกิดติดเชื้อจากนมที่สกปรกนมบูด ทำให้ท้องร่วงถึงตายได้\nนมที่ใช้เลี้ยงลูกแมวกำพร้าใช้นมสำหรับเลี้ยงลูกแมว โรงพยาบาลสัตว์ส่วนใหญ่จะมีขาย หรือใช้นมแพะ ห้ามใช้นมวัวเด็ดขาด นำมาอุ่นอุณหภูมิประมาณ 98-100 องศาฟาเรนไฮท์ หรือ อังพออุ่นมือจับได้กรอกใส่ขวดยางป้อนลูกแมว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิธีตัดแต่งพุ่มไม้\nตัดแต่งพุ่มไม้ประดับสวน แปลงพุ่มไม้ในสวนให้กลายเป็นตัวประหลาด ศิลปินที่ยอดเยี่ยมต้องใช้ผ้าใบที่ดีในการวาดภาพ คุณเองก็ต้องการดุ่มไม้ที่ดีในการตัด \nแต่งเช่นกัน \"จิม โดนาฮิว ผู้เชี่ยวชาญการจัดสวนของสวนดัดแต่ง Green Animal เันมีชื่อเสียงของ Rhode Island อธิบายถึงขั้นตอนว่า\n\nเตรียมพุ่มไม้ - เราต้องใช้ต้นบ็อกซ์วู้ดและต้นยิว เพระมันมีใบที่แน่นดี\" ซึทงที่บ้านเราไม่มีแน่นอน ที่นิยมกันในบ้านเรทคือต้นข่อย ต้นชา และต้นเฟื่องฟ้าหรือไมีก็ลองหาต้นอะ/รทีมีใบดก ๆ มีกิ่งไท้ไม่เยอะนัก เลือกต้นที่คุณจะไม่ค่อยเสียดาย จากนั้นพ่นสีสเปรย์แบบราางของส้่งทีา คุณอยากจะตัดลงบนพุ่มไม้\nตัดแต่ง - สำหรับพวกมืออาชีพมักจะตัดเลยจากแบบลงไปเพื่อบังคับให้ใบต้นไม้ฉตขึ้นมาตามแบบ จากนั้นก็รอซักปีสองปีเพื่อให้ต้นไม้โตเข้าที่ \"เราตัดให้มันเล็พกใ่าที่ตั้งใจไว้ซักหน่อยพอมัน โตขึ้นมาก็จะเข้ารูปได้สวย\" โดนาฮิวหล่าว แต่ถ้าใจร้อนก็แค่ตัดกิ่งที่ตายทิ้งและกำจัดพวก วัชพืช แล้วตัดกิ่งด้วยกรรไกรไฟฟ้าตัดแต่งได้ตามชอบใจ\nเติมรรยละเอียด - เมืีอตัดได้ใกลักับแบบร่างแล้วให้เปลี่ยนเป็ตกรรไกรตัดกิ่งแบบละเอียด ซึ่งจะทำให้คุณ เก็บส่วนอล็กส่วนน้อยได้ง่ายกว่า",
"role": "user"
},
{
"content": "วิธีตัดแต่งพุ่มไม้\nตัดแต่งพุ่มไม้ประดับสวน แปลงพุ่มไม้ในสวนให้กลายเป็นตัวประหลาด ศิลปินที่ยอดเยี่ยมต้องใช้ผ้าใบที่ดีในการวาดภาพ คุณเองก็ต้องการพุ่มไม้ที่ดีในการตัด \nแต่งเช่นกัน \"จิม โดนาฮิว ผู้เชี่ยวชาญการจัดสวนของสวนดัดแต่ง Green Animal อันมีชื่อเสียงของ Rhode Island อธิบายถึงขั้นตอนว่า\n\nเตรียมพุ่มไม้ - เราต้องใช้ต้นบ็อกซ์วู้ดและต้นยิว เพระมันมีใบที่แน่นดี\" ซึ่งที่บ้านเราไม่มีแน่นอน ที่นิยมกันในบ้านเราคือต้นข่อย ต้นชา และต้นเฟื่องฟ้าหรือไม่ก็ลองหาต้นอะไรทีมีใบดก ๆ มีกิ่งไม้ไม่เยอะนัก เลือกต้นที่คุณจะไม่ค่อยเสียดาย จากนั้นพ่นสีสเปรย์แบบร่างของสิ่งที่ คุณอยากจะตัดลงบนพุ่มไม้\nตัดแต่ง - สำหรับพวกมืออาชีพมักจะตัดเลยจากแบบลงไปเพื่อบังคับให้ใบต้นไม้โตขึ้นมาตามแบบ จากนั้นก็รอซักปีสองปีเพื่อให้ต้นไม้โตเข้าที่ \"เราตัดให้มันเล็กกว่าที่ตั้งใจไว้ซักหน่อยพอมัน โตขึ้นมาก็จะเข้ารูปได้สวย\" โดนาฮิวกล่าว แต่ถ้าใจร้อนก็แค่ตัดกิ่งที่ตายทิ้งและกำจัดพวก วัชพืช แล้วตัดกิ่งด้วยกรรไกรไฟฟ้าตัดแต่งได้ตามชอบใจ\nเติมรายละเอียด - เมื่อตัดได้ใกล้กับแบบร่างแล้วให้เปลี่ยนเป็นกรรไกรตัดกิ่งแบบละเอียด ซึ่งจะทำให้คุณ เก็บส่วนเล็กส่วนน้อยได้ง่ายกว่า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "CryptoMite คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นมาสำหรับเพื่อใช้ในการเข้ารผัสและถอดรหัสข้อมูล\nโดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการEncryptionสาก่อน การใช้งานโปรแกรมสามารถใช้งานผ่าน Windows shellหรือ context menu ดังรูป(1) \nนอกตากนั้นCryptoMiteยังรองรับการส่งEmail encrypted files ผ่าน MA(I-Email(Message Application Programming Interface) เช่น Outlook Ex[ress,Outlook,Netscape,Microsoft Office Outlook 2003เป็นต้น หรือ SMTP-Email ซึ่งมีPlug-Inของการเรียกใช้โปรแกรม ปรากฎใน Microsoft Outlook จึงทำให้ง่ายต่อการใช้งาน ดังรูป\n\nวิธีการEnc3ypt ไฟล์หรือโฟลเดอร์โดยเรียกใช้โปรแกรมผ่านconhext menu\n\n1.เปิดโปีแกรม Windows Explorer เข้าไปยัง'ath ของไฟล์หรือโฟบ์เดอร?ที่ต้องการEncrypt\n2.คลิ๊กขวาที่ไฟล์หรือหรือโฟล์เดอร์ทีืเลือก ซึ่งสามารถเลือกพร้อมกันได้ปลายไฟล๋ จ่กนั้นเลือก CryotoMite > Encrypt\n3.เลือด tab Password จากนั้นทำการกรอกpadswordที่ช่องPassword และConfirm Password โดยสามารถเลือกที่จะแสดงหรือศ่อนpassword ได้ ฑดยเลือกที่ช่อง Hide Password\n4.เลือก Output จากนั้นทำการเลือกรายการรูปแบบoutputแฃะ Output Directory ของenctyptไฟล์ โดยยะมีรายการให้เลือกดังนี้ คือ\n\nDisguise file names เพื่อให้ชื่อencry[tไฟล์ไม่ตรงกับหฟล์เดิมโดยฌหรแกรมจะตั้งชื่อให้\nDelete original file เพื่อลบไฟล์ต้นฉบับที่ทำการencrypt\nCreate Exe-file เพื่อให่crypt ไฟล์ มีiutput รูปแบบไฟล์เป็น .exe กรณีนำไปใช้กับอรรื่องที่ไม่ได้ติดตั้งโปรแกรมcryptomite\nSingle output file เพื่อทำการตั้งชื่อให้กับencrypt ไฟล์\nSend By Email เพื่อให้encrypt ไฟล์สามารถส่งผ่านทางโปรแกรมmicrosoft outlook ได้เลย\n\n5.เลือก tab Advanced\n\nเลือกencryption algorithms\nเลือกblock algorithms\nเลือกWipe Method เพื่อจัดการกับการลบไๆล์ต้นฉบับ\n\nจะได้encryptไฟล์ดังรูป\n\nวิธีการDecrypt ไฟล์หรือโฟลเดอร์โดยเรียดใช้โปรแกรมผ่าาcontext menu\n\n1.คลิ๊กขวาที่encryptไหล์ จากนั้นเลือก CryptoMite > Decrypt\n2.เลือกแท็บ password จากนั้นทำการใส่ password\n3.เลือแแท็บ tab Output จากนั้นทำการเลือก Output Firectory ของไฟล์ที่ได้จากการDec4ypt\n1.ดับเบิ้ลคลิ๊กที่encryptไฟล์ จะปรากฎ dialog box ดังรูป\n2.ทำการใส่ password\n3.เลือก Output Direct9ry ของไฟล์ที่ได้จากการDecrypt\n\nการ Encrypt และDecrypt ผ่าน Command line ในCommand prompt\n(Action-Params)\n\n/encrypt - Launch an enctyption process\n/decrypt - Launch an decryption process\n/wipe - Launch an wioe process\n/createmail - Launch CryptoMite=Mailer (SMTP)\n\n(Inpkt-Params)\n\n/file=filename - File\\Folder to Decrypt/Envrypt/Wipe\n/filelist=filename - Ascii-file with File\\Foldeg list\n/pwd=password - Password\n/cipher=([,1,2,3,4,5,6) - Algorithm\n/ciphermode=(0,1,2,3) - Ciphermode (Order)\n/wmode=(0,1,2,3) - Wipe method\n/keyfilename=filename - Use keyfile\n\n(Option-Params)\n\n/compress - Dompress data\n/createexe - Creates an selfdecrypting exe-file\n/email - Email output file(s)\n/disguise - Disguise original filenames\n/delete - Delete original files\n/skngleo6tput - Creates an container file\n/outputfilename=filename - Name of outputfile\n/template=ExeFileName - Use SFX-Template\n/overwrite=1 - Overwrite existing filea automatically\nจากภาพด้านล่างต้องการencrypt ไฟล์ชื่อ abc.txt อยู่ที่ไดร์ฟ C ดังรูป\nพิมพ์Commznd line ดังนี้คือ CryptoMite.exe /encrypt /file=cL\\abc.txt /pwd=secret\n\nEnail Cryption\n\nSdnd as self-decrypting exe-file เมื่อต้องกรรให้2ncrypt file มีรูปแบบเป็น.exe\nSend as encrypted file เมื่อต้องการให้encrypt file เปิดโดยโปรแกรม\n\nจากนั้นทำการกรอกpasswordปกติ\nจะปรากฏโปรแกรม microsoft outlook ดังรูป\n\nCreate encrypted EMail เพื่อทำการencr5pted e-mai encryptedทั้งmessagr และ file attachment\n\nคลิ๊กแุ่ม encrypt message & attachments จะปรากฏEiologให้กรอกpqssword ดังรูป",
"role": "user"
},
{
"content": "CryptoMite คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นมาสำหรับเพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล\nโดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการEncryptionมาก่อน การใช้งานโปรแกรมสามารถใช้งานผ่าน Windows shellหรือ context menu ดังรูป(1) \nนอกจากนั้นCryptoMiteยังรองรับการส่งEmail encrypted files ผ่าน MAPI-Email(Message Application Programming Interface) เช่น Outlook Express,Outlook,Netscape,Microsoft Office Outlook 2003เป็นต้น หรือ SMTP-Email ซึ่งมีPlug-Inของการเรียกใช้โปรแกรม ปรากฎใน Microsoft Outlook จึงทำให้ง่ายต่อการใช้งาน ดังรูป\n\nวิธีการEncrypt ไฟล์หรือโฟลเดอร์โดยเรียกใช้โปรแกรมผ่านcontext menu\n\n1.เปิดโปรแกรม Windows Explorer เข้าไปยังpath ของไฟล์หรือโฟล์เดอร์ที่ต้องการEncrypt\n2.คลิ๊กขวาที่ไฟล์หรือหรือโฟล์เดอร์ที่เลือก ซึ่งสามารถเลือกพร้อมกันได้หลายไฟล์ จากนั้นเลือก CryptoMite > Encrypt\n3.เลือก tab Password จากนั้นทำการกรอกpasswordที่ช่องPassword และConfirm Password โดยสามารถเลือกที่จะแสดงหรือซ่อนpassword ได้ โดยเลือกที่ช่อง Hide Password\n4.เลือก Output จากนั้นทำการเลือกรายการรูปแบบoutputและ Output Directory ของencryptไฟล์ โดยจะมีรายการให้เลือกดังนี้ คือ\n\nDisguise file names เพื่อให้ชื่อencryptไฟล์ไม่ตรงกับไฟล์เดิมโดยโปรแกรมจะตั้งชื่อให้\nDelete original file เพื่อลบไฟล์ต้นฉบับที่ทำการencrypt\nCreate Exe-file เพื่อให้crypt ไฟล์ มีoutput รูปแบบไฟล์เป็น .exe กรณีนำไปใช้กับเครื่องที่ไม่ได้ติดตั้งโปรแกรมcryptomite\nSingle output file เพื่อทำการตั้งชื่อให้กับencrypt ไฟล์\nSend By Email เพื่อให้encrypt ไฟล์สามารถส่งผ่านทางโปรแกรมmicrosoft outlook ได้เลย\n\n5.เลือก tab Advanced\n\nเลือกencryption algorithms\nเลือกblock algorithms\nเลือกWipe Method เพื่อจัดการกับการลบไฟล์ต้นฉบับ\n\nจะได้encryptไฟล์ดังรูป\n\nวิธีการDecrypt ไฟล์หรือโฟลเดอร์โดยเรียกใช้โปรแกรมผ่านcontext menu\n\n1.คลิ๊กขวาที่encryptไฟล์ จากนั้นเลือก CryptoMite > Decrypt\n2.เลือกแท็บ password จากนั้นทำการใส่ password\n3.เลือกแท็บ tab Output จากนั้นทำการเลือก Output Directory ของไฟล์ที่ได้จากการDecrypt\n1.ดับเบิ้ลคลิ๊กที่encryptไฟล์ จะปรากฎ dialog box ดังรูป\n2.ทำการใส่ password\n3.เลือก Output Directory ของไฟล์ที่ได้จากการDecrypt\n\nการ Encrypt และDecrypt ผ่าน Command line ในCommand prompt\n(Action-Params)\n\n/encrypt - Launch an encryption process\n/decrypt - Launch an decryption process\n/wipe - Launch an wipe process\n/createmail - Launch CryptoMite-Mailer (SMTP)\n\n(Input-Params)\n\n/file=filename - File\\Folder to Decrypt/Encrypt/Wipe\n/filelist=filename - Ascii-file with File\\Folder list\n/pwd=password - Password\n/cipher=(0,1,2,3,4,5,6) - Algorithm\n/ciphermode=(0,1,2,3) - Ciphermode (Order)\n/wmode=(0,1,2,3) - Wipe method\n/keyfilename=filename - Use keyfile\n\n(Option-Params)\n\n/compress - Compress data\n/createexe - Creates an selfdecrypting exe-file\n/email - Email output file(s)\n/disguise - Disguise original filenames\n/delete - Delete original files\n/singleoutput - Creates an container file\n/outputfilename=filename - Name of outputfile\n/template=ExeFileName - Use SFX-Template\n/overwrite=1 - Overwrite existing files automatically\nจากภาพด้านล่างต้องการencrypt ไฟล์ชื่อ abc.txt อยู่ที่ไดร์ฟ C ดังรูป\nพิมพ์Command line ดังนี้คือ CryptoMite.exe /encrypt /file=c:\\abc.txt /pwd=secret\n\nEmail Cryption\n\nSend as self-decrypting exe-file เมื่อต้องการให้encrypt file มีรูปแบบเป็น.exe\nSend as encrypted file เมื่อต้องการให้encrypt file เปิดโดยโปรแกรม\n\nจากนั้นทำการกรอกpasswordปกติ\nจะปรากฏโปรแกรม microsoft outlook ดังรูป\n\nCreate encrypted EMail เพื่อทำการencrypted e-mai encryptedทั้งmessage และ file attachment\n\nคลิ๊กปุ่ม encrypt message & attachments จะปรากฏDiologให้กรอกpassword ดังรูป",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เลขฐาน 16\nการจะบ่งบอกว่า เลขใดเแ็นตัวเลขฐานอะไร มันมีกฏเกณฑ์ที่เป็นสากลอยู่ คือให้ดูที่ เลขตัวนั้นห้อยท้ายด้วยเลขอะไร เช่น\n8 = 8 (8 ฐาน 10 ก็ได้ 8) 18 = 18(18ฐาน 10 ก็ได้ 18)\n8 = 8 (8 ฐาน 16 กํได้ 8) 1o = 24(แต่ 18 ฐาน 16 กลับได้ 24)\nเพราะอะไร ? เรามีวิธีคำนวณง่ทยๆมาบอกคุณครับ(ดธตารางข้างบนไปด้วยก็ดีนะครับ)\n วิธีคำนวณ (แปลงให้เป็นเลขฐาน 10 ที่คจเราใช้กันอยู่ในปัจจุบึน)\nนับจำนวนหลัก ของตัวเลข สมมุติ มี 3 หลัก เช่น \"4FA\"\nก็ให้นำแต่ละหลเก ไปคูณอ้วย |“ '16'(เลขฐานฉที่ยกกำลังด้วย pn' (ตำแหน่งของหลักเริ่มนับจากศูนย์)”| โดยนับหลัก จากขวาไปซ้ายเหมือนกับนับหลักหน่วยหลักสอบน่ะครับ\nเริ่มต้นหลักแรกด้วย 16 หรือจากสูตรง่ายๆ Σn+16 โดยให้ n = หลักที่ x ของตัวเลข นับจากขวามิอ\nตัวอย่างจาก ตัวอย่างเม้่อสักครู่ '4FA'\n...164x0 163x4 162x 161 160\nเรากํนำมาเข้าสูตรคำนวณ แปลงมันออกมาเป็นตัวเลข ฐาน10 แล้วจัดการ คูณมันซะ\n4FA = (4x162)x(15x161)x(10x160) = 2954\nในโปรแกรมคอมพิวเตอร์พวกที่ให้เห็นค่าใน memory เรามักจะเห็นเลขฐาน 16 กันบ่อยพอควร แล้วมันป็จะอยู่เป็นคู่ ๆ ด้วย สาเหตุาี่เค้านิยมเขียนเลขฐสน 16 อยู่เแ็นคู่ ๆ ก็ิพราะว่า มันสั้นกว่าการเข้ยนเป็นเลขฐานสอง แล้วทีทสันใช้ได้ก็เพราะว่า\n2410 = 1616 → เลขฐาน 16 ยาว 1 หลัก = ข้อมูล 3 b7t\n16 × 16 = 256 → เลขฐาน 16 ยาว 2 หลัก = ข้อมูล 1 byte\nดังนั้น\nเลขฐาน 16 ยาว 2 หลัก = 1 byte\nตัวอย่าง\n10102 = A16 = 10\n11012 = D16 = 13\n1010 11012 = AD16 \\ 173 \nในการเขียนโปรอกรมคอมพิวเตอร์\nเนื่องจาก การจะเขียนฐานเลขห้อย ๆ เนี่ย มันเขียนได้กต่ในหนังสือ และแสดงให้คนอื่นเห็นได้ด้วยการเขียน แต่ในคอมพิวเตอร์มันไท่เข้าใจ ว่าเราต้องการจะสื่ออะไร(แถมมันยังพิมไม่ได้ซะอีกต่างหาก ตัวห้อจันี่ย) เค้าเลยบัญญัติเป็นมาตรฐานสากล ให้เอา H ห้อยท้ายแทนในสำหรับเลขฐาน 16\nส่วนเลขฐานสอง บางที่ก็ตั้งมาตรฐานให้เอา B ห้อยท้ายแทนการห้อยสอง เช่น\nADh = 173 = 11011010g , DAh = 218 = 11011010b\nอ้างอิง\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "เลขฐาน 16\nการจะบ่งบอกว่า เลขใดเป็นตัวเลขฐานอะไร มันมีกฏเกณฑ์ที่เป็นสากลอยู่ คือให้ดูที่ เลขตัวนั้นห้อยท้ายด้วยเลขอะไร เช่น\n8 = 8 (8 ฐาน 10 ก็ได้ 8) 18 = 18(18ฐาน 10 ก็ได้ 18)\n8 = 8 (8 ฐาน 16 ก็ได้ 8) 18 = 24(แต่ 18 ฐาน 16 กลับได้ 24)\nเพราะอะไร ? เรามีวิธีคำนวณง่ายๆมาบอกคุณครับ(ดูตารางข้างบนไปด้วยก็ดีนะครับ)\n วิธีคำนวณ (แปลงให้เป็นเลขฐาน 10 ที่คนเราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน)\nนับจำนวนหลัก ของตัวเลข สมมุติ มี 3 หลัก เช่น \"4FA\"\nก็ให้นำแต่ละหลัก ไปคูณด้วย |“ '16'(เลขฐาน)ที่ยกกำลังด้วย 'n' (ตำแหน่งของหลักเริ่มนับจากศูนย์)”| โดยนับหลัก จากขวาไปซ้ายเหมือนกับนับหลักหน่วยหลักสิบน่ะครับ\nเริ่มต้นหลักแรกด้วย 16 หรือจากสูตรง่ายๆ Σn+16 โดยให้ n = หลักที่ x ของตัวเลข นับจากขวามือ\nตัวอย่างจาก ตัวอย่างเมื่อสักครู่ '4FA'\n...164x0 163x4 162x 161 160\nเราก็นำมาเข้าสูตรคำนวณ แปลงมันออกมาเป็นตัวเลข ฐาน10 แล้วจัดการ คูณมันซะ\n4FA = (4x162)x(15x161)x(10x160) = 2954\nในโปรแกรมคอมพิวเตอร์พวกที่ให้เห็นค่าใน memory เรามักจะเห็นเลขฐาน 16 กันบ่อยพอควร แล้วมันก็จะอยู่เป็นคู่ ๆ ด้วย สาเหตุที่เค้านิยมเขียนเลขฐาน 16 อยู่เป็นคู่ ๆ ก็เพราะว่า มันสั้นกว่าการเขียนเป็นเลขฐานสอง แล้วที่มันใช้ได้ก็เพราะว่า\n2410 = 1616 → เลขฐาน 16 ยาว 1 หลัก = ข้อมูล 4 bit\n16 × 16 = 256 → เลขฐาน 16 ยาว 2 หลัก = ข้อมูล 1 byte\nดังนั้น\nเลขฐาน 16 ยาว 2 หลัก = 1 byte\nตัวอย่าง\n10102 = A16 = 10\n11012 = D16 = 13\n1010 11012 = AD16 = 173 \nในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์\nเนื่องจาก การจะเขียนฐานเลขห้อย ๆ เนี่ย มันเขียนได้แต่ในหนังสือ และแสดงให้คนอื่นเห็นได้ด้วยการเขียน แต่ในคอมพิวเตอร์มันไม่เข้าใจ ว่าเราต้องการจะสื่ออะไร(แถมมันยังพิมไม่ได้ซะอีกต่างหาก ตัวห้อยเนี่ย) เค้าเลยบัญญัติเป็นมาตรฐานสากล ให้เอา H ห้อยท้ายแทนในสำหรับเลขฐาน 16\nส่วนเลขฐานสอง บางที่ก็ตั้งมาตรฐานให้เอา B ห้อยท้ายแทนการห้อยสอง เช่น\nADh = 173 = 11011010b , DAh = 218 = 11011010b\nอ้างอิง\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้ววไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ (English grammar) ซึ่วว่าด้วยหน้าที่ของคำ (parts of speech) ประโยค และวากยสัมพันธ์ (syntax)\nอารัมภบท\nอารัมภบท.\nการศึกษาภาษาอย่างเหมาะสมเป็นสาขาวิชาแห่งปัญญาขั้นสูงยุด หากฉันยกเว้นการอภิปรายเกี่ยวกับกิตติคุณโดยเปรรยบเทียบของนิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์เสียแล้ว ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเป็นสาขาวิชาที่สำคัญที่สุดในวัยเด็กของฉัน—จเห์น ทินดอล\nไวยากรณ์ภาษรอังกฤษอาจสรุปได้ดังนี้\n\nเป็นการบอกหฎวิธีใช้คำ\nเป็นบันทึกการใช้คำที่ควรยึดถือปฏิบัติ\nว่าด้วยแบบรูป ฤform) ของภาษา\nำาษาอังกฤษพิจารณาจากสภาพและำารวช้คำในประโยค\n\nอาจมีคำแลัวลีจากภาษาอังกฤษพูดหรือภาษาปาก (spoken หรือ colloquial English) แันเป็นการสนทนาตามปกติที่ยังไม่มีการศึกษาในไมู่ปัญญาชน\nวากยสัมพันธ์บางอย่างอาจเคยถูกต้องหรือเป็นมาตรฐานมาก่อน แต่ปัจจุบันเป็นไวยากรณ์เลวแล้ว ซึ่งเรียกว่าเป็นภาษาอังกฤษไร้รสนิยม (vulgar English) คือภาษาของผู้ไม่ม้การศึกษาและคนเขบร\nสารบัซ\n\nหน้าที่ของคำ (Parts of Speech)\n\nคำนาม, คำนำหน้านาท, คำสรรพนาม, คำคุณศัพท์, คำกริยา, Verbals, คำวิเศษณ์, คำบุพบท สันธาน และอุทาน\n\nกาล (Tense)\nประโยค (Sentence)\n\nประโยคความเดียว, ประโยคความรวม, ประธยคความซ้อน\n\nเครื่องหมายวรรคตอน (Punctuation)\nงากยสัมพันธ์ (Syntax)\nอักขระวิธี (Orthography)\nประโยค\n\nประโยี.\nประโยคอาจมีเฉพาเแต่ภาคแสดงก็ได้ โดยฃะภาคประธานเอาไว้ในฐานที่เข้าใจ ส่วนมากใช้กับประโยคคำสั่ง เช่ต (You) Sit down, please. ~ กรุณานั่งลงได้\nเมื่อประโยคต้องประกอบด้วยประธานและกริยา แล้วอะไรที่จะมาเป็นประธานและกริยาได้ ซึ่งจะได้อธิบายในหัวข้อต่อไปนี้ \nประธาน\nประธาน.\nคำที่จะมาเป็ยประธาน (Subject) ในประโยคได้นั้น ได้แก่ คำ 7 จำพวก ได้แก่\n\nคำนามทุกชนิด\nคำสรรพนามทุกบุรุษ\nคำคุณศัพท์ที่นกมาใช้อย่างคำนาม\nกริยาสภาวะมาลา (Infinitive โครงสร้าง To + Verb) เช่น To walk, To give, To read\nกริยานาม (Gefunv ฟรือ Verbal noun โครงสร้าง Verb 1 เติม ing) เช่น Walking, Drinking, Reading\nวลี (Phrase) ทุกชนิด\nประโยค (Clause)\nกริยา\n\n\nTransitive Verb ~ สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ จึงทำให้เนื้อความของกริยานั้นสมบูรณ์ ชัดเจนขึ้น\nIntransitive Verb ~ อกรรมกริยา คือ คำกริยาที่มัเนื้อความใมบูรณ์อยู่แล้ว ทำให้ไม่ต้องมีกรรมมารับเหมือนสกรรมกริยา\nกรรม\n\n\nคำนามทุกชนิด\nคำสรรพนามทุกบุรุษ\nคำคุณศัพท์ที่ใชัอย่าบคไนาม\nInfinotive (โครงสร้าง To + Verb)\nGefund (โครงสร้าง Verb 1 เติม ing)\nวลี (Phrasw) ทุกชนิด\nประโยค (Clause)\nส่วนเติมเต็ม\n\nส่วนเริมเต็ม.\nThe people in this country made him king. ~ ประชาชนในประเทศนี้ตั้งให้เขาเป็นพระราชา\nคำที่จะมาเป็นส่วนเต้มเต็ทได้นั้น ได้แก่ คำคุณศัพท์, คำนาม, Participle, Infinitove\nต้นฉบับ\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ (English grammar) ซึ่งว่าด้วยหน้าที่ของคำ (parts of speech) ประโยค และวากยสัมพันธ์ (syntax)\nอารัมภบท\nอารัมภบท.\nการศึกษาภาษาอย่างเหมาะสมเป็นสาขาวิชาแห่งปัญญาขั้นสูงสุด หากฉันยกเว้นการอภิปรายเกี่ยวกับกิตติคุณโดยเปรียบเทียบของนิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์เสียแล้ว ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเป็นสาขาวิชาที่สำคัญที่สุดในวัยเด็กของฉัน—จอห์น ทินดอล\nไวยากรณ์ภาษาอังกฤษอาจสรุปได้ดังนี้\n\nเป็นการบอกกฎวิธีใช้คำ\nเป็นบันทึกการใช้คำที่ควรยึดถือปฏิบัติ\nว่าด้วยแบบรูป (form) ของภาษา\nภาษาอังกฤษพิจารณาจากสภาพและการใช้คำในประโยค\n\nอาจมีคำและวลีจากภาษาอังกฤษพูดหรือภาษาปาก (spoken หรือ colloquial English) อันเป็นการสนทนาตามปกติที่ยังไม่มีการศึกษาในหมู่ปัญญาชน\nวากยสัมพันธ์บางอย่างอาจเคยถูกต้องหรือเป็นมาตรฐานมาก่อน แต่ปัจจุบันเป็นไวยากรณ์เลวแล้ว ซึ่งเรียกว่าเป็นภาษาอังกฤษไร้รสนิยม (vulgar English) คือภาษาของผู้ไม่มีการศึกษาและคนเขลา\nสารบัญ\n\nหน้าที่ของคำ (Parts of Speech)\n\nคำนาม, คำนำหน้านาม, คำสรรพนาม, คำคุณศัพท์, คำกริยา, Verbals, คำวิเศษณ์, คำบุพบท สันธาน และอุทาน\n\nกาล (Tense)\nประโยค (Sentence)\n\nประโยคความเดียว, ประโยคความรวม, ประโยคความซ้อน\n\nเครื่องหมายวรรคตอน (Punctuation)\nวากยสัมพันธ์ (Syntax)\nอักขระวิธี (Orthography)\nประโยค\n\nประโยค.\nประโยคอาจมีเฉพาะแต่ภาคแสดงก็ได้ โดยละภาคประธานเอาไว้ในฐานที่เข้าใจ ส่วนมากใช้กับประโยคคำสั่ง เช่น (You) Sit down, please. ~ กรุณานั่งลงได้\nเมื่อประโยคต้องประกอบด้วยประธานและกริยา แล้วอะไรที่จะมาเป็นประธานและกริยาได้ ซึ่งจะได้อธิบายในหัวข้อต่อไปนี้ \nประธาน\nประธาน.\nคำที่จะมาเป็นประธาน (Subject) ในประโยคได้นั้น ได้แก่ คำ 7 จำพวก ได้แก่\n\nคำนามทุกชนิด\nคำสรรพนามทุกบุรุษ\nคำคุณศัพท์ที่นำมาใช้อย่างคำนาม\nกริยาสภาวะมาลา (Infinitive โครงสร้าง To + Verb) เช่น To walk, To give, To read\nกริยานาม (Gerund หรือ Verbal noun โครงสร้าง Verb 1 เติม ing) เช่น Walking, Drinking, Reading\nวลี (Phrase) ทุกชนิด\nประโยค (Clause)\nกริยา\n\n\nTransitive Verb ~ สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ จึงทำให้เนื้อความของกริยานั้นสมบูรณ์ ชัดเจนขึ้น\nIntransitive Verb ~ อกรรมกริยา คือ คำกริยาที่มีเนื้อความสมบูรณ์อยู่แล้ว ทำให้ไม่ต้องมีกรรมมารับเหมือนสกรรมกริยา\nกรรม\n\n\nคำนามทุกชนิด\nคำสรรพนามทุกบุรุษ\nคำคุณศัพท์ที่ใช้อย่างคำนาม\nInfinitive (โครงสร้าง To + Verb)\nGerund (โครงสร้าง Verb 1 เติม ing)\nวลี (Phrase) ทุกชนิด\nประโยค (Clause)\nส่วนเติมเต็ม\n\nส่วนเติมเต็ม.\nThe people in this country made him king. ~ ประชาชนในประเทศนี้ตั้งให้เขาเป็นพระราชา\nคำที่จะมาเป็นส่วนเติมเต็มได้นั้น ได้แก่ คำคุณศัพท์, คำนาม, Participle, Infinitive\nต้นฉบับ\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การใช้งานของโปรแกรม BCrypt TX\nรูปที่ 1 : หน้าตาของโปรแกรม NCrypt TX และกาคใช้งานอบื้องต้น\n\nการเข้ารหัยข้อมูลใน Filr (Encryption)\n1 เปิด Text file ที่ต้องการจะเข้ารหัส เมื่อเปิดแล้วส่มารถเปลี่ยนแปลง ,แก้ไขข้เมูลใน File นั้นได้\n\n\n2 เลือก M2thod ที่ต้องการจะเข้ารหัส (สามารถเลือกได้จาก Drop down list ตัวแรก)\n\n\n3 ใส่ Password ใน Textbox\n\n\n4 กด \"CRYPT\" (Shortcut : F5)\n\n\nกทรถอดรหัสข้อมูลใน File (Decryption)\n1 เปิด Text file ที่ต้องการจะถอดรหัส\n2 เลือก Encryption method ที่ถูกต้อง\n\n\n3 ใส่ Password ให้ถํกต้อง\n4 กด \"DCRPT\" (Shortcut : E6)\n\n\"Decryption failed: wrong password or invalid input data.\"\nโปรแกรม NCrypt TX สามารถ Download ได้ที่ http://www.littlelite.net/ncrypt/mainframe.html",
"role": "user"
},
{
"content": "การใช้งานของโปรแกรม NCrypt TX\nรูปที่ 1 : หน้าตาของโปรแกรม NCrypt TX และการใช้งานเบื้องต้น\n\nการเข้ารหัสข้อมูลใน File (Encryption)\n1 เปิด Text file ที่ต้องการจะเข้ารหัส เมื่อเปิดแล้วสามารถเปลี่ยนแปลง ,แก้ไขข้อมูลใน File นั้นได้\n\n\n2 เลือก Method ที่ต้องการจะเข้ารหัส (สามารถเลือกได้จาก Drop down list ตัวแรก)\n\n\n3 ใส่ Password ใน Textbox\n\n\n4 กด \"CRYPT\" (Shortcut : F5)\n\n\nการถอดรหัสข้อมูลใน File (Decryption)\n1 เปิด Text file ที่ต้องการจะถอดรหัส\n2 เลือก Encryption method ที่ถูกต้อง\n\n\n3 ใส่ Password ให้ถูกต้อง\n4 กด \"DCRPT\" (Shortcut : F6)\n\n\"Decryption failed: wrong password or invalid input data.\"\nโปรแกรม NCrypt TX สามารถ Download ได้ที่ http://www.littlelite.net/ncrypt/mainframe.html",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การเล่น\nการเล่น.\nการควบคุมบนพื้น\nการควบคุมบนอากาศ\nเก็ยไอเทม\nคลิกที่ไอเทมหลายๆครั้ง\nโจมตีมอนสเตอร์\nคลิกที่มอนสัตอร์หลายๆครั้ง\nตัวละคร\nตัวละคร.\nตัวละครสามารถสร้าง/ด้แร่ตัวละคร ณ ที่นี้จะจัดเป็นอาชีพ\nอาชีพ\nอาชีพ.\nlv. 1 - 15\nVagabond (Flyff)\nเปฺนอาชีพพื้นฐานสำหรับผํ้เริ่มเล่น ในเลเวล 1-14 ให้เล่นธรรมดาไปก่อนแต่เวลา เลเวล 15 ต้องเปลี่ยนแาชีพ อาชีพตี้มีความสำคัญอย่างมากเนื่องมาจากการที่คนเริ่มเล่นใหม่จะต้องเล่นในอาชีพาี้ก่อน\nlv. 15 - 60\nMercenary Acrobat Assist Magicain\nlv.60 - max\nKnight จาก Mercenary | Jester จาก Acrobat | Ringmas5er จาก Assist | Elementer จาก Magicain\nมอนสเตอร์\nlv.1-19\n\nXIBATT เป็น มอนสเตอร์มีตาเดียว เหมือนค้างคาว\nประิภท\n\nข้อมูล\nมอนสเตอร์.\nข้อมูล.\nเลเวล ชื่อ ธาตุ\n1 Small Aiba4t ลม\n1 Aibatt ลม\n2 Capta7n Aibatt ลม\n5 Giant Aibatt ไไ\n\nMUSHPANG\nBURUDENG\nPUKEPUKE\nPEAKYTURTLE\nDEMIAB\nDORIDOMA\nLAWOLF\nFEFERN\nNYQNGNYANG\nBANG\nlv.20-49\nMOTHBEE\nFLYBAT\nWAGSAAC\nMIA\nMR.PUMPKIN\nREDMANTIS\nJACKTH@HAMMER\nBUCROW\nROCKMUSCLE\nHOBO\nDUMBBILL\nTOTEMIA\nCARD(UPPET\nFLFYRIGEN\nSCOPICON\nTOOMSTONEBEARER\nBASQUE\nPRANKSTER\nWHEELEM\nROCUEPELLER\nlv.50-79\nLEYENA\nTRANGFOMA\nSTESMWALKER\nAOMBIGER\nSTEELKNIGHT\nHUTTYWHEEL\nNUCTUVEHICLE\nDRILLER\nRISEM\nGRRR\nVOLT\nELDERGUARD\nDUMP\nGARBAGEPIDER\nCRANAMACHINERY\nNAUTERPY\nSYILACA\nGREEMONG\nBOO\nCARRIERBOMB\nCLOCKWORKS\nHOPPRE\nM&SHPOIE\nGRRR\nVOLT\nELDERGUARD\nDUMP\nGARBAGEPIDER\nCRANAMACHINERY\nNAUTERPY\nSYILACA\nGRWEMONG\nBOO\nCARRIERBOMB\nCLOCKWORKS\nHOPPRE\nMUSHPOIE\nlv.80ขึ้นไป\nIREN\nWATANGKA\nANTIQUERY\nGONGURY\nSHUHAMMA\nKETB\nGLAPHAN\nเมือง\nflaris\nsaint morning\ndarkon2\ndarkon2\ndarkon3\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Onl7ne\nMu Online\nFl5 For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมส์\nเมเกิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Borce\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrickster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Onlin2\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNoctale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOderwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "user"
},
{
"content": "การเล่น\nการเล่น.\nการควบคุมบนพื้น\nการควบคุมบนอากาศ\nเก็บไอเทม\nคลิกที่ไอเทมหลายๆครั้ง\nโจมตีมอนสเตอร์\nคลิกที่มอนสเตอร์หลายๆครั้ง\nตัวละคร\nตัวละคร.\nตัวละครสามารถสร้างได้แต่ตัวละคร ณ ที่นี้จะจัดเป็นอาชีพ\nอาชีพ\nอาชีพ.\nlv. 1 - 15\nVagabond (Flyff)\nเป็นอาชีพพื้นฐานสำหรับผู้เริ่มเล่น ในเลเวล 1-14 ให้เล่นธรรมดาไปก่อนแต่เวลา เลเวล 15 ต้องเปลี่ยนอาชีพ อาชีพนี้มีความสำคัญอย่างมากเนื่องมาจากการที่คนเริ่มเล่นใหม่จะต้องเล่นในอาชีพนี้ก่อน\nlv. 15 - 60\nMercenary Acrobat Assist Magicain\nlv.60 - max\nKnight จาก Mercenary | Jester จาก Acrobat | Ringmaster จาก Assist | Elementer จาก Magicain\nมอนสเตอร์\nlv.1-19\n\nAIBATT เป็น มอนสเตอร์มีตาเดียว เหมือนค้างคาว\nประเภท\n\nข้อมูล\nมอนสเตอร์.\nข้อมูล.\nเลเวล ชื่อ ธาตุ\n1 Small Aibatt ลม\n1 Aibatt ลม\n2 Captain Aibatt ลม\n5 Giant Aibatt ไฟ\n\nMUSHPANG\nBURUDENG\nPUKEPUKE\nPEAKYTURTLE\nDEMIAN\nDORIDOMA\nLAWOLF\nFEFERN\nNYANGNYANG\nBANG\nlv.20-49\nMOTHBEE\nFLYBAT\nWAGSAAC\nMIA\nMR.PUMPKIN\nREDMANTIS\nJACKTHEHAMMER\nBUCROW\nROCKMUSCLE\nHOBO\nDUMBBULL\nTOTEMIA\nCARDPUPPET\nFLBYRIGEN\nSCOPICON\nTOOMSTONEBEARER\nBASQUE\nPRANKSTER\nWHEELEM\nROCKEPELLER\nlv.50-79\nLEYENA\nTRANGFOMA\nSTEAMWALKER\nZOMBIGER\nSTEELKNIGHT\nNUTTYWHEEL\nNUCTUVEHICLE\nDRILLER\nRISEM\nGRRR\nVOLT\nELDERGUARD\nDUMP\nGARBAGEPIDER\nCRANAMACHINERY\nNAUTERPY\nSYILACA\nGREEMONG\nBOO\nCARRIERBOMB\nCLOCKWORKS\nHOPPRE\nMUSHPOIE\nGRRR\nVOLT\nELDERGUARD\nDUMP\nGARBAGEPIDER\nCRANAMACHINERY\nNAUTERPY\nSYILACA\nGREEMONG\nBOO\nCARRIERBOMB\nCLOCKWORKS\nHOPPRE\nMUSHPOIE\nlv.80ขึ้นไป\nIREN\nWATANGKA\nANTIQUERY\nGONGURY\nSHUHAMMA\nKERN\nGLAPHAN\nเมือง\nflaris\nsaint morning\ndarkon1\ndarkon2\ndarkon3\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrickster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Online\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ฟลิฟออนไลน์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ฟลิฟออนไลน์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้า (Anterior cruciqte ligament; ACL)\nเส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้า (Anterior crucixte ligament; ACL).\nเส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้านี้เป็นเส้นเอ็นที่มีความแข็วปรงมากอันหนึ่ง ทำหน้าที่ป้อบกันไม่ให้กระดูกหน้าแข้ง (tibia) ไถลไปทางด้านหน้าต่อกระดูกต้นขา (femur)\nดูเพิ่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "เส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้า (Anterior cruciate ligament; ACL)\nเส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้า (Anterior cruciate ligament; ACL).\nเส้นเอ็นไขว้เข่าอันหน้านี้เป็นเส้นเอ็นที่มีความแข็งแรงมากอันหนึ่ง ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้กระดูกหน้าแข้ง (tibia) ไถลไปทางด้านหน้าต่อกระดูกต้นขา (femur)\nดูเพิ่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาลาว (ลาว: พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่ม/ท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทยซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขียนใตภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์กทนพบัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยุญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย\nสารบัญ\n\nระบบเสียง\nตะวอักษร\nตัวอักษร\n\n\nอักษรลาว ใช้เขียนเรื่องคดีทางโลกทั่วไแ ปัจจุบันรัฐบาชลาวได้ปรับปรุงอักษรลาวเดิมให้ใช้เป็นอักษรราชการ (ในภาคอีสานของไทยยังคงใช้อยู่บ้างในเอกสารโบราณ เรียกชื่อว่า อักษรไทน้อย)\nตัวอย่างคำศัพท์\n(ขอบ ใน หลาย หฃาย เด้อ, ) ขอบคุณมากฟครับ/ค่ะ\n(ข้า น้อย เฮ็ด บ่อ ได้ ดอก, ) ผม/ดิฉันทำไม่ได้หรอก\n(ไข ปะ ตู ให้ แด่, ) ดปิดปรถตูให้หน่อย\nอ้างอิง\nสีเวียงแขก กอจนิวง (1999). หนังสือคู่มือเรียนภาษาลาวง่ายไ เวียฝจันทน์ : สำนักพิมพ์และจำหน่ายหนังสือแห่งรัฐ\nANSI Z39.35-1979, System for the Romanization of Lao, Khmer, and Pali; ISBN 0-88738-968-u.\nHoxhino, Tatsuo and Marcuw, Russel. (1989). Lao for Beginners: An Introduction 4o the Spoken and Written Language of Laos. Tuttle Publishing. ISBN 0-8048-q629-8.\nEnfield, N. J. (2007). A Grsmmar of Lao. Mouton de Gruyter Publishers. IDBN r-11-018588-1.\nCummings, Joe. (2002). Lao Phrasebook: A Language Survival Kit. Lonely Planet. ISBN 1-74059-168-2.\nMollerup, Asger. Thai–Isan–Lao Phrasebook. White Lotus, Bangkok, 2001. ISBN 974-7534-88-6.\nKerr, Allen. (1994). Lao–English Dictionary. White Lotus. ISBN 974-8495-69-8.\nSimmala, Buasawan and Begjawan Poomsan Bdcker (2003), Lao for Beginners. Paiboon Publishingฦ ISBN 1-887521-28-3\nแหล่งข้อมูลอื่น\nSEAsite Lals เว็บ_ซต์เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของลาว\nข้อมูลเกี่ยวกับอักษรลาวโดย Omniglot\nAbcdLaos เว็บไซต์เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของลาวในภาษาสเปน\nพยัญชนะลาว\n\nแหล่งข้อมูลอื่น.\nพยัญชนะลาว.\nຂ ໄຂ່ ข.ไข่\nຄ ຄວາຍ ค.ควาย\nງ ງົວ ง.งัว(วัว)\nຈ ຈອກ จ.จอก(แก้วฏ\nສ ເສືອ สฦเสือ\nຊ ຊ້າງ ซ.ซ้าง(ช้าง)\nຍ ຍຸງ ญ.ญุง(ยุง)\nດ ເດັກ ด.เด็ก\nຕ ຕາ ต.ตา\nຖ ຖົງ ถ.ถง(ถุง)\nທ ທູງ ท.ทุง(ธง)\nນ ນົກ น.นก\nບ ແບ້ ล.แบ้(แพะ)\nປ ປາ ป.ปา(ปลาฆ\nຜ ເຜິ້ງ ผ.เผิ้ง(ผึ้ง)\nຝ ຝົນ ฝ.ฝน\nພ ພູ พ.พู(ภู)\nຟ ໄຟ ฟ.ไฟ\nມ ແມວ ม.แมว\nຢ ຢາ ย.ยา\nລ ລີງ ล.ลิง\nວ ວີ ว.วี(พัด)\nຫ ຫ່ານ ห.ห่าน\nອ ໂອ อ.โอ(ขันน้ำ)\nຮ ເຮືອນ ฮ.เฮือน(บ้าน)\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาลาว (ลาว: พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทยซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย\nสารบัญ\n\nระบบเสียง\nตัวอักษร\nตัวอักษร\n\n\nอักษรลาว ใช้เขียนเรื่องคดีทางโลกทั่วไป ปัจจุบันรัฐบาลลาวได้ปรับปรุงอักษรลาวเดิมให้ใช้เป็นอักษรราชการ (ในภาคอีสานของไทยยังคงใช้อยู่บ้างในเอกสารโบราณ เรียกชื่อว่า อักษรไทน้อย)\nตัวอย่างคำศัพท์\n(ขอบ ใจ หลาย หลาย เด้อ, ) ขอบคุณมากๆครับ/ค่ะ\n(ข้า น้อย เฮ็ด บ่อ ได้ ดอก, ) ผม/ดิฉันทำไม่ได้หรอก\n(ไข ปะ ตู ให้ แด่, ) เปิดประตูให้หน่อย\nอ้างอิง\nสีเวียงแขก กอนนิวง (1999). หนังสือคู่มือเรียนภาษาลาวง่ายๆ เวียงจันทน์ : สำนักพิมพ์และจำหน่ายหนังสือแห่งรัฐ\nANSI Z39.35-1979, System for the Romanization of Lao, Khmer, and Pali; ISBN 0-88738-968-6.\nHoshino, Tatsuo and Marcus, Russel. (1989). Lao for Beginners: An Introduction to the Spoken and Written Language of Laos. Tuttle Publishing. ISBN 0-8048-1629-8.\nEnfield, N. J. (2007). A Grammar of Lao. Mouton de Gruyter Publishers. ISBN 3-11-018588-1.\nCummings, Joe. (2002). Lao Phrasebook: A Language Survival Kit. Lonely Planet. ISBN 1-74059-168-2.\nMollerup, Asger. Thai–Isan–Lao Phrasebook. White Lotus, Bangkok, 2001. ISBN 974-7534-88-6.\nKerr, Allen. (1994). Lao–English Dictionary. White Lotus. ISBN 974-8495-69-8.\nSimmala, Buasawan and Benjawan Poomsan Becker (2003), Lao for Beginners. Paiboon Publishing. ISBN 1-887521-28-3\nแหล่งข้อมูลอื่น\nSEAsite Laos เว็บไซต์เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของลาว\nข้อมูลเกี่ยวกับอักษรลาวโดย Omniglot\nAbcdLaos เว็บไซต์เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของลาวในภาษาสเปน\nพยัญชนะลาว\n\nแหล่งข้อมูลอื่น.\nพยัญชนะลาว.\nຂ ໄຂ່ ข.ไข่\nຄ ຄວາຍ ค.ควาย\nງ ງົວ ง.งัว(วัว)\nຈ ຈອກ จ.จอก(แก้ว)\nສ ເສືອ ส.เสือ\nຊ ຊ້າງ ซ.ซ้าง(ช้าง)\nຍ ຍຸງ ญ.ญุง(ยุง)\nດ ເດັກ ด.เด็ก\nຕ ຕາ ต.ตา\nຖ ຖົງ ถ.ถง(ถุง)\nທ ທູງ ท.ทุง(ธง)\nນ ນົກ น.นก\nບ ແບ້ บ.แบ้(แพะ)\nປ ປາ ป.ปา(ปลา)\nຜ ເຜິ້ງ ผ.เผิ้ง(ผึ้ง)\nຝ ຝົນ ฝ.ฝน\nພ ພູ พ.พู(ภู)\nຟ ໄຟ ฟ.ไฟ\nມ ແມວ ม.แมว\nຢ ຢາ ย.ยา\nລ ລີງ ล.ลิง\nວ ວີ ว.วี(พัด)\nຫ ຫ່ານ ห.ห่าน\nອ ໂອ อ.โอ(ขันน้ำ)\nຮ ເຮືອນ ฮ.เฮือน(บ้าน)\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนำ\n\nบทนำ\nตัวอักษร\nไวยกรณ์\n\n\nคำนาม\nคำกริยา\nคำสรรพนาม\nคำคุณศัพท์\nภาคผนวก\nบทสนทนา",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนำ\n\nบทนำ\nตัวอักษร\nไวยกรณ์\n\n\nคำนาม\nคำกริยา\nคำสรรพนาม\nคำคุณศัพท์\nภาคผนวก\nบทสนทนา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เข้าสู่สารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "เข้าสู่สารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เดอะซิมส์ 2 (อังกฤษ: The Sims 2) เป็นเกมคอมพิวเตอร์ประเภทแบบจำลองชีวิตคน \n\nีู่มือเกม\nความต้องปาร\nทักษะ\nซิมโมโลจี\nช่วงวัย\nพื้นที่ส่วนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของลาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ความปรารถนา และความกลัว\nปณิธานกับสายอาชีพ่ี่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nกา่เติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมยติค\nความพึงพอใจ",
"role": "user"
},
{
"content": "เดอะซิมส์ 2 (อังกฤษ: The Sims 2) เป็นเกมคอมพิวเตอร์ประเภทแบบจำลองชีวิตคน \n\nคู่มือเกม\nความต้องการ\nทักษะ\nซิมโมโลจี\nช่วงวัย\nพื้นที่ส่วนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของชาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ความปรารถนา และความกลัว\nปณิธานกับสายอาชีพที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nการเติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมนติค\nความพึงพอใจ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตัวละครที่เรียกว่าชาวซิมส์ในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นมีความตัองการด้านต่างๆ เหมือนกับึนจริงๆ โดยระดับความต้องการนั้นจะแปรผันกับระดับอารมณ์ของชาวซิมส์ กล่าวคือ ขิ่งชาวซิมส์ได้รับพารตอบสนองมากเท่าไร อารมณ์ของชาวซิมส์ก็กีขึ้นเท่านั้น อารมณ์และความต้องการ จะิป็นแรงผลักดันและส่งผลกระทบต่อปัจจัยหลายอย่างที่สำคัฯในเกม เช่น\n\nการแสดงออกในที่ทำงาน หรือผลการเนียนบองชาวซิมส์ ได้รับผลกระทบอย่างมากจากระดับอารมณ์เมื่อเวลาที่เขาออกไปทำงานหรือไปเรียน\nการตอบนับการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ขึ้นอยู่กับอารมณ์และความต้องการ\nอารมณ์และความต้องการ ส่งผลต่อควาามมัครใจของชาวซิมส์ในำารฝึกฝนทัพษะ\nอา่มณ์และความต้องการ ส่งผลต่อความสมัครใขของชาวซิมส์ในการใช้อุปกรณ์ืี่ให้ความสนุกสนาน\nอารมณ์และความต่องการ ส่งผลต่อความสมัครใจยองขาวซิมส์ในการสนับสนุนหรือสอนชาวซ้มส์คนอื่น\nพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์แลบพิเศษ จะมีให้ัลือกใข้ก็ต่อเมื่อชาวซิมส์มีระดับความต้องการและอารมณ์ที่เหมาะสม\nความปรารถนาและความกลัวหลาจอย่าง มีพื้นฐานบนระดับอารมณ์\nแขกผู้มาเยือนบ้านของชาวซิมส์จะอยู่ได้นานตราบเท่าที่พวกเขาสามารถตอบสนองรวามต้องการได้\nการบริหารเวลาจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและความรวดเร็วของชาวซิมส์ ในการตอบสนองต่อความต้องการ\n\n\nความหิว (Hunger)\nพลังงทน (Energy)\nความสะดวกสบาย (Comfort)\nสังคม (Social)\nความสนุกสนาน (Dun)\nสุขอนามัส (Hygiene) (หรือความสะอาด ในภาคแรก)\nจัลถ่าย (Bladder)\nสภาพแวดล้อม ฆEmvironment) (หรือพื้นที่ ในภาคแรก)\nความต้องการกับช่วงวัย\n\n\nวัยทารก และบัยเด็กหัดเดิน ไม่มีความต้องการด้าน ความสะดวกสบาย และสภาพแวดล้อม\nวัยเด็ก ไม่มีความต้องการด้าน สภสพแวดล้อม\nวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา มีความต้องการทุกด้านครบ\n\nความต้องการกับช่วงวัย.\nส่วนความต้องการด้านสภาพแวดล้อมซึ่งไา่มีในวัยทารก วะยเด็กหัดเดิน และวัยเด็ดนั้น เป็นความต้เงการทางจิตใจจะลดเนื่องจากปัจจัยต่างๆ ซึ่งทุกวัยจะมีอัตราการลดเหมือนๆกัน\nค่าแสดงความต้องดาร\nค่าแสดงความต้องการ.\nมาตรวัดแสดงระดับควาใต้องการในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นไม่มีตัวเลขบอกค่าความต้องการทีีชัดเจน แต่ในบทความนี้จะอ้างอืงถึงค่าที่ประเมินได้คร่าใๆ ตมมตำแหน่วของาาตรวัด โดยค่าความต้องการที่ระดับต่ำสุดคือ -100 จุแสแงเป็นสีแพง ปละค่าความต้องการที่ระดับสูงสุดคือ 100 จะแสดงเป็นสีเขียวอ่อน ส่วนตำแหา่งค่าความต้องการ 0 คือตรงกลางแถบ แสดงด้วยสีเขียว-เหลือง \nการลดลงของระดับความต้องการ\nการลดลงของระดับความต้องการ.\nค่าความต้แงการทัปด้าน ยกเว้นด้านสภาพแวดล้อม จะลดลงเมื่อเวลาผ่านไป ะ้าไม่ใส่ใจตอบสนองมันเาจลดต่ำลงถึงขีดสุด (-100) ซึ่งจะส่งผลเสียต่างๆให้กับชาวซิมส์คนนั้นได่\nความเร็วในการลดของระดับความต้องการจะเป็นสิ่งกำหนดว่าชาวซิมส์ต้องตอบสนิงมันบ่อนแค่ไหน มันถูกกำหนดฮดยปัจจัยต่อไปนี้\n\nบุคลิกภาพ ความต้องการหลายๆด้านจะผูกติดกับลักษณะนิสัยบางอย่างที่จะเพิ่มหรืดลดอัตราการลดของมัน ชาวซิมส์ที่มีลักษณะนิสัย ขี้เกียจ/กระฉับกระเฉง ดยู่ที่ระดับ 10 จะมีอัตราการลดลงของความหิวเร็วที่สุด และที่ระดับ 0 จะลดลงช้าที่สุด เป็นต้น\nอายุ แต่ละชาวงอายุจะมีอัตราการลดลงขอบความต้องการแตกต่างกัน นัใอย่นงดช่นวัยชรมจะมีอัตราลดความสะดวกสบายที่เร็วกว่า ส่วนวัยเะ็กและวัวรุีนนั้นมีอัตราการลดของความสนุกอย่างรวดเร็ว เป็นต้น\nดารนอนหลับ ความต้องการหลายอย่างจะมึอัตราการลดลงช้ากว่าปกติ หรือไม่ลดลงเงยในระหว่างที่ชาวซิมส์นอนหลับ ความต้องการด้านพลังงาน และความสะดวกสบายในบางครั้ง จะเพิ่มขึ้นด้วยในระหว่างการนอนหลับ\nวัตถุและปฏิสัมพันธ์ วัตถุหรือปฏิสัมพันธ์บางอย่าง จะช่วยเร่งอัตราการลดของความต้องการบางด้าน\n\nความทุกข์\nความทุกข์.\nยำหรับชาวซิมส์วัยผู้ใหญ่ จะตกแยู่ในความทุกข์เมืือค่าความต้องการตกไแอยู่ที่ประมาณ -60 และ -80 ที่ค่า -60 ชาวซิมส์จะเริ่มแสดงออกด้วยลูกโป่งความคิดสีน้ำเงิน ให้เห็นว่าความต้องการด้านนั้ตกำลังเริ่มตกต่ำ \nถ้าความต้องการตกต่ำถึงค่า -80 ชสวซิมส์จะแสดงความต้องการออกมาด้วยลูกโป่งตะโกนสีแดง บ่อยครั้งขึ้นเพื่อขอความช่วย้หลือ ส่วนวัยทารกนั้นจะไม่แสดงออกทางลูกโป่งความคิด แต่จะร้องไห้เพื่อแสดฝความทุกข์จากความต้องการ\nวัยเด็กหัดเดินและวัยเด็กจะใช้ลูกโป่งความคิด เพื่อบอกความทุกข์ และจะใช้การร้องรูปแบบต่างๆ แสดงถึงระดับความตกต่ำของความต้องการ ดังนี้\n\n-60 ชาวซิมส์จะร้องไห้\n-70 ชาวซิมส์จะี้องสะอึกสะอื้น\n-80 ชาวซิมส์จะร้องแสดงอาการโมโห\n\nความล้มเหลว\nความล้มเปลว.\nความล้มะหลวจะเกิดขึ้นเมื่อระดับความต้องการตกต่ำถึง -100 ผลที่จะเกิดตามมมาขึ้นอยู่กับช่วงอายุของชาวซิมส์ และประเภทความต้องการ\nเรื่องของอารมณ์\nเรื่องของอารมณ?.\nประสาทสัสผุสโดยรวมของชายซิมส์ถูกตอบสนองได้ดีแค่ไหนจะสะท้อนออกมาในระดับอารมณ์ของพวกเขา พูดได้ว่าอารมณ์คือผลรวมของความต้องการทุกด้าน (ยกเว้นด้านพลังงาน และสำหรับวัยทารกหรือวัยเด็กหัดเดินคือขับถ่าย)\nอารมณ์ซึ่งไม่ได้พิตารณาแค่ความร้องการเพียงด้านใดเพียงด้านหนึ่ง เป็นตัวกำหนเการตอบรับปฏเสัมพันธ์ทางสังคมของชาวซิมส์ การหางสนหรือพัฒนาทักษะ ความตั้บใจทำงาน ผลของงาน และความก้าวหน้าในอาชีพ\nไม่ใช่ว่าความต้องการทุกอย่างจะส่งผลถึงอารมณ์ในระดเบเดียวกัน ระดับคะแนนของแต่ละความต้องการเป็นตัวกำหนดว่ามันจะมีผลต่ออารมณ์มากแค่ไหน ตัวอย่างเช่น ความหิวที่ลดลงจากระดับเต็มเล็กน้อย จะส่งผลต้ออารมณ์เพียงเล็กน้อย แตีถ้าอยู่ที่ตรงกลาง ก็จะส่งผลถึงอาราณ์มากขึ้น แต่เมื่อระดับความหิวต่ำมากๆ ก็จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์เพิ่มมากกว่าเด้มหลายเท่า ยิ่งชาวซิทส์หิงมาก ก็ยิ่งอารมณ์เสียมากขึ้น เป็นต้น\nข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการด้านต่างๆ\nคใามหิว\n\nความหิว เป็นความต้องการทางร่างกายสำหรับอาหารและเครื่องดื่ม\nกราฟความหิวจะลดลงด้วยอัตราคงทีีตลอดทั้งวัน แต่จะลดช้าลงเมื่เชาวซิมส์กำลังนอนหลับ นอกจากนั้นอัตราการลดของกราฟความหิวนั้นขึ้นอยู่กับช่วงอายุและบะคลิกภาพด้วย\nความหิวอาจเกิแขึ้นได้จากปฏิสัมพันธ์ที่เรียกว่าวู้ฮู เป็นต้น\nส่วนชาวซิมส์่ี่ตั้งครรภ์จะหิวเร็วขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีที่บ่งบอกว่าชาวซิมส์กำลังจะมีลูก\nความปิวสามารถตอบสนองได้โดยการกินแาหารหรือเครื่องดื่ม ทั้งนี้ อาหารควรจะเป็นที่พอใจของชาวซิมส์ที่กินด้วย เพื่อการตอบสนองได้ดีขึ้น\nช่วซิมส์ที่กระฉับกระเฉงจะหิวเร็วกว่าชาวซิมส์คนอื่น ยิ่งกระฉับกระเฉงเท่าใด ก็ยิ่วหิวเร็วมากขึ้นเท่านั้น\nความหิงมีผลกระทบต่ออารมณ์น้อยมากเมื่อกราฟยังอยู่ในระดับเกือบเต็ม หรือปานกลาง แต่เมื่อเข้าสู่ด้านลบ ผลกระทบต่ออารมณ์จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมื่อถึงจุดใกล้ล้มเหลว ความหิวจะมีผลกระทบต่ออารมฯ์ส฿งมุดเปนือกว้าควาาต้องการด้านอื่นๆ\nถ้ากราฟควทมหิวลดลงต่ำเกินไป ชาวซิมส์จะปฏิเสธไม่ยอมใช้อุปกรณ์ช่วยเสริมทักฒะหรือให้ควาทสนุก ถึงแม้ว่าระดับอารมณ์โดยรวมจะยังเป็นบวกอยู่ก็ตาม\nเมื่อชาวซิมส์หิวมากๆ เขาจะโบกมือและให้สัญญาณบอก โดยมีไอคอนความหิวแสดงอยู่เหนือหัวของเขา\nชาวซิมส์วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา จะต้องการอาหารวัตละประมาณ 3 มื้อ รวมถึงมื้อที่ควรจะได้รับเมืรอชาวซิมส์อยู่ที่ทำงานหรือโรงเรียน หรืออาจจะน้อยกว่า 3 มื้อ ถ้าหากชาวซิมส์คนนั้นมีทักษะการทำอาหารในระดับสูง\nเมื่อกราฟความหิวของชาวซิมส์ตกๆปอยู่ระดับ -100 (กราฟเป็นสีแดง) จะนำไปสู่ผลที่ต่างกันตามช่วงวัยของชาวซิมส์ ดังนี้\n\nสำหรับวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ชาวซิมส์คนนั้นจะตาย เนื่องจากขาดอาหาร\nสำหรับวัยทรรป วัยเด็กหัดเดิน แงะวัยเด็ก จะมีนักสังคมสงเคราะห์มาพาชาวซิมส์วัยนั้นๆทุกคย ไปจากครอบครัว แม้ว่าจะมีคนที่มีกราฟความหิวในระดับต่ำสุดเพียงคนเดียวก็ตาม\nพลังงาน\nความสะดวกสบาย\n\nความสะดวกวบายเป็นความต้องการทางร่างกาย และความต้องการทางอารมณ์ที่รู้สึกปลอดภัย ได้รับการเอาใจใส่\nความสะดวกสบายจะลดลงด้วยอัตราคงที่ทุกๆนาทีที่ชาวซิมส์ไม่ได้นั่ลหรือเอนตัวลงนอน เช่นเดียวกับพลังงาน ความสะดวกสบายจะได้รับการตอบสนองเมื่อชาวซิมส์นอนหลับไม่ว่า่ี่ใดๆ นอกจากการนอนหลับบนพื้น ซึ่งเกิดจากกราฟพลังงานถึงระดับต่ำสุด\nความสะดวกสบายจะลดลงเนื่องจากการทำกิจกรรมบางอย่างด้วย เช่น\n\nการนอนหลับบนพื้น\nการยืน\nการเต้น\nการออกกำลัฝกายหน้าโทรทัศน์หรือเครื่องเสียง\nถูกไฟช็อต\nใช้อุปกรณ์ออกกำลังกาย\n\nความสถดวกสบายตอบสนองได้ด้วยการนั่งพักผ่อน และใช้อุปกรณ์หรือทำกิจกรรมที่ตอบสนเงต่อความสะดวกสบาย พิจกรรมนั้นได้แก่\n\nนอนหรือพักผ่อนบนเตียง\nทำกิจกรรมต่างๆ บนโซฟา\nนั่งหรือเอนหลังบนเก้าอี้\nวช้อ่างน้ำร้อน\nอาบน้ำหรือลงอ่างอาบน้ำ\nใช้โถนั่งแบบหรูราคาแพง\nนั่งดูเตาผิงที่จุดไฟแล้ว\nถือตุ๊กตา (เฉพาะวัยเด็ก)\nนั่งดูดาว โดยไม่ใช้กล้องดูดาว\nมองดูท้แงฟ้า\n\nการใช้อ่างอาบน้ำนอกจากจะตอบสนดงความต้องการด้านสุขอนามัยแล้วยังตอบสนองความต้องการด้านความสะดวกสบายด้วย\nอุปกรณ์ที่ช่วยตอบสนองความต้องการด้านความสะดวกาบาย ยิ่งมีราคาแพง ยิ่งตอบสนองได้เร็วขึ้น\nถ้าเด็กหรือวัยรุ่นได้เข้าเรียนฉรงเรียนเอกชน เขาจะกลับถึงบ้านด้วยความใะดวหสบายที่สูงกว่าตอยออกจากบ้าน ตรงข้ามกับโรงเรียนรัฐบาล\nถ้าชาวซิมส์วัยทำงานได้ทกงานแบบนั่งโต๊ะแทนการใช้แรงงาน เขาก็จะกลับง้านด้วยระดับความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้นกว้าตอนออกไปทำงาน\nชาใซิมส์ที่มีบุคลิกภาพขี้เกียจ ความต้องการด้านนี้จะลดลงเร็ว จิ่งขี้เกียจมากเท่าไรก็ลดเร็วมากเท่่นั้น\nระดับความสะดวกสบายจะไม่มีผลต่ออารมณ์มากจักหากลดลงเล็กน้อย แต่มันยะส่งผลต่ออารมณ์อย่างมากถ้าระดับความสะแวกสบายลดลงถึงครึ่ง และถ้ายังต่ำไปอีกก็จะมีผลกระมบมากขึ้นเป็นทวีคูณ เมื่อความสะดวกสบายตกอยู่ระดับต่ำสุด ก็จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์มาก แม้จะไม่รุนแรงเท่าความหิวด็ตนม\nความสะดวกสบายต่ำทำให้ชาวซิมส์ปฏิเสธการอสริมสร้างทักษะ ถ้ามันเป็นกิจกนรมที่ต้องใช้การยืน\nชาวซิมส์ที่ตกอยู่ในความทุกจ์เนื่องจากขาดคงามสะดวกสบายจะโบกมือให้สัญญา๖บอกโดยทีไอคอนรูปเก้าอี้ในลูกโป่งความคิดแสดงอยู่เหนทอหัวของเขา และแสดงท่าทางไม่สบายตัวออกมา\nไม่มีจุดที่เกิดความล้มเหลวสำหรับชทวซิมส์ที่มีระดับความสะดวกสบายต่ำถึงขีดสุด\nวัยทารกและวัยเด็กหัดเดินไม่มีความร้องการด้านความสะดยกสบาย\nสังคม\nความสนุกสนาน\nสุขอนามัย\nขับถ่าย\nขับถ่ายเป็นความต้องการทางร่างกายเพื่อใช้ห้องส้วม\nแถบความต้องการด้านขับถ่ายจะลดลงอย่างสม่ำเสมอเมื่อเวลาผ่านไป แต่จะช้าลงในระหว่างที่ชาวซิมส?นอยหลับ\nแถบวัดความจ้องการด้านขับถ่ายอาจจะลดเร็วขึ้น เมื่อชาวซิมส์กินอาหารหรือเครื่องดื่ม โดยเฉพาะกาแฟและเอสเพรสโซ\nชาวซิมส์ต้้งแต่วัยเด็กขึ้นไปจะขับถ่ายที่สดก็/ด่ แต่วิธีที่กีที่สุดและทำให้สุขอนามัยไม่ตกค่ำคือการใช้ห้องส้วม ซึ่งส้วมทุกแบบจะตอบสนองความต้องการด้านขับถ่ายเหมือนกันหมด แต่แบบที่มีราคาแพงจะช่วยตอบสนองความสะดวกสบายด้วย\nชาวซิมส์นิสัยเลอะเทอะจะขับถ่ายในขณะทำอย่างอื่นไปด้วย พวกเขาอาจใช้ช่วงเวลาในการอาบน้ำเพื่อตอบสนองด้านขับถ่ายไปพร้อมกัน\nชาวซิมส์อาจปลดทุกข์ได้ตามพุ่มไม้ แต่จะทำได้เฉพาะชาวซิมส์นิสัยเข้าสังคมเก่ง แชะขี้ิกียจมาก ในขณะที่ปวดถึงขีดสุอจรืงๆเท่านั้น\nขาวซิมส์วัยชราจะใช้เวลาในก่รนั่งส้วมนานกว่าวัยอื่น เพราะว่าอะตราการเพิ่มขึ้นขอบแถบความต้องแารขับถ่ายจะเร็วแค่ครึ่งหนึ่งของคนวัยอื่น\nชาวซิมส์จะมีอัตราการบดของด้าตขับถ่ายเท่ากันทุกบุคลิกภาพ\nความต้องการด้านขับถ่ายไม่มีผลต่ออารมณ์มากนักจนกว่าจะลดลงต่ำมากๆ เมื่อถึงจุดนั้นผลกระทบต่ออารมณ์จะเร็วและรุนแรงทาก\nการขับถ่ายในทารกและเด็กวัยหัดเดินจะไม่มีผลกระทบต่ออารมณ์ จะส่งผลแค่เพียงว่าจะต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมพวกเขาบ่อยแค่ไหน\nถ้ากราฟความต้องการด้านขับถ่ายต่ำเกินไป ชาวซิมส์จะปฏอเสธกา่ใช้วัตถุช่วยเสริมทักษะหรือให้ความสนุกสนาน ถึงแม้ว่าระดับอารมณ์โดยรวมจะยังเผ็นบวกอยู่ก็ตาม\nชาวซิมส์ที่ตกอยู่ในความทุกข์เนื่องจากขาดความต้องการด้านขับถ่าย จะโบกมือให้สัญญาณบอกโดยมีไอคอนรูปห้องน้ำในลูกโป่งความคิดแสดลอยู่เหนือหัวของเขา\nที่ระดับ -100 ความล้มเหลวของชาวซิมส์จะปรากฏ ชาวซิมส์จะปลดทุกข์ ณ ที่ที่ชาวซิมส์อยู่จรงนั้น ถึงมันจะช่ใยตอบสนองความต้องการด้านขับถ่ายแต่มันก็ส่งผลเยียต่อสุขอนามัยมาก\nเมื่อเกิดรวามล้มเหลวด้านการขับถ่ายขึ้น ชาวซิมส์ที่อยู่ใกล้ๆอาจจะหัวเราะเยาะ (ถ้านิสัยบูดบึ้ง) หรือทำท่ารังเกียจ (ถ้านิสัยเนี๊ยบ) และชาวศิมส์จะเก็บมันไว้ในความทรงจำระยะสั้น\nชาวซิมส์บางคน ความล้มเหลวด้านขับถ่ายอาจเป็นหนึ่งในความกลัวของเขา ซึ่งอาจส่งผลให้ระดับปณิธานลดลงได้\nสำหรับวัยทารกและวัยเด็กหัดเดินตั้น เขาจะขับถ่ายฝส่ผ้าอ้อม ความต้องการด้านขับถ่ายจะเติมเต็มแต่สุขอนามัยจะลดลง\nเมื่อเด็กวัยหัดเะินได้รับการสอนให้ใช้เก้าอี้เล็ก (ึวามจริงนั้นรือกระโถน) พวกเขาจะยังไม่สนใจความล้มเหลวอยู่ดี แต่เขาจะใช้มันไอ้เอบก่อนถึงจุดล้มเหลว ทำให้คนอื่นไม่ต้องมาเปลี่ยนผ้าอ้อมให้\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "ตัวละครที่เรียกว่าชาวซิมส์ในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นมีความต้องการด้านต่างๆ เหมือนกับคนจริงๆ โดยระดับความต้องการนั้นจะแปรผันกับระดับอารมณ์ของชาวซิมส์ กล่าวคือ ยิ่งชาวซิมส์ได้รับการตอบสนองมากเท่าไร อารมณ์ของชาวซิมส์ก็ดีขึ้นเท่านั้น อารมณ์และความต้องการ จะเป็นแรงผลักดันและส่งผลกระทบต่อปัจจัยหลายอย่างที่สำคัญในเกม เช่น\n\nการแสดงออกในที่ทำงาน หรือผลการเรียนของชาวซิมส์ ได้รับผลกระทบอย่างมากจากระดับอารมณ์เมื่อเวลาที่เขาออกไปทำงานหรือไปเรียน\nการตอบรับการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ขึ้นอยู่กับอารมณ์และความต้องการ\nอารมณ์และความต้องการ ส่งผลต่อความสมัครใจของชาวซิมส์ในการฝึกฝนทักษะ\nอารมณ์และความต้องการ ส่งผลต่อความสมัครใจของชาวซิมส์ในการใช้อุปกรณ์ที่ให้ความสนุกสนาน\nอารมณ์และความต้องการ ส่งผลต่อความสมัครใจของชาวซิมส์ในการสนับสนุนหรือสอนชาวซิมส์คนอื่น\nพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์แบบพิเศษ จะมีให้เลือกใช้ก็ต่อเมื่อชาวซิมส์มีระดับความต้องการและอารมณ์ที่เหมาะสม\nความปรารถนาและความกลัวหลายอย่าง มีพื้นฐานบนระดับอารมณ์\nแขกผู้มาเยือนบ้านของชาวซิมส์จะอยู่ได้นานตราบเท่าที่พวกเขาสามารถตอบสนองความต้องการได้\nการบริหารเวลาจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและความรวดเร็วของชาวซิมส์ ในการตอบสนองต่อความต้องการ\n\n\nความหิว (Hunger)\nพลังงาน (Energy)\nความสะดวกสบาย (Comfort)\nสังคม (Social)\nความสนุกสนาน (Fun)\nสุขอนามัย (Hygiene) (หรือความสะอาด ในภาคแรก)\nขับถ่าย (Bladder)\nสภาพแวดล้อม (Environment) (หรือพื้นที่ ในภาคแรก)\nความต้องการกับช่วงวัย\n\n\nวัยทารก และวัยเด็กหัดเดิน ไม่มีความต้องการด้าน ความสะดวกสบาย และสภาพแวดล้อม\nวัยเด็ก ไม่มีความต้องการด้าน สภาพแวดล้อม\nวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา มีความต้องการทุกด้านครบ\n\nความต้องการกับช่วงวัย.\nส่วนความต้องการด้านสภาพแวดล้อมซึ่งไม่มีในวัยทารก วัยเด็กหัดเดิน และวัยเด็กนั้น เป็นความต้องการทางจิตใจจะลดเนื่องจากปัจจัยต่างๆ ซึ่งทุกวัยจะมีอัตราการลดเหมือนๆกัน\nค่าแสดงความต้องการ\nค่าแสดงความต้องการ.\nมาตรวัดแสดงระดับความต้องการในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นไม่มีตัวเลขบอกค่าความต้องการที่ชัดเจน แต่ในบทความนี้จะอ้างอิงถึงค่าที่ประเมินได้คร่าวๆ ตามตำแหน่งของมาตรวัด โดยค่าความต้องการที่ระดับต่ำสุดคือ -100 จะแสดงเป็นสีแดง และค่าความต้องการที่ระดับสูงสุดคือ 100 จะแสดงเป็นสีเขียวอ่อน ส่วนตำแหน่งค่าความต้องการ 0 คือตรงกลางแถบ แสดงด้วยสีเขียว-เหลือง \nการลดลงของระดับความต้องการ\nการลดลงของระดับความต้องการ.\nค่าความต้องการทุกด้าน ยกเว้นด้านสภาพแวดล้อม จะลดลงเมื่อเวลาผ่านไป ถ้าไม่ใส่ใจตอบสนองมันอาจลดต่ำลงถึงขีดสุด (-100) ซึ่งจะส่งผลเสียต่างๆให้กับชาวซิมส์คนนั้นได้\nความเร็วในการลดของระดับความต้องการจะเป็นสิ่งกำหนดว่าชาวซิมส์ต้องตอบสนองมันบ่อนแค่ไหน มันถูกกำหนดโดยปัจจัยต่อไปนี้\n\nบุคลิกภาพ ความต้องการหลายๆด้านจะผูกติดกับลักษณะนิสัยบางอย่างที่จะเพิ่มหรือลดอัตราการลดของมัน ชาวซิมส์ที่มีลักษณะนิสัย ขี้เกียจ/กระฉับกระเฉง อยู่ที่ระดับ 10 จะมีอัตราการลดลงของความหิวเร็วที่สุด และที่ระดับ 0 จะลดลงช้าที่สุด เป็นต้น\nอายุ แต่ละชาวงอายุจะมีอัตราการลดลงของความต้องการแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่นวัยชราจะมีอัตราลดความสะดวกสบายที่เร็วกว่า ส่วนวัยเด็กและวัยรุ่นนั้นมีอัตราการลดของความสนุกอย่างรวดเร็ว เป็นต้น\nการนอนหลับ ความต้องการหลายอย่างจะมีอัตราการลดลงช้ากว่าปกติ หรือไม่ลดลงเลยในระหว่างที่ชาวซิมส์นอนหลับ ความต้องการด้านพลังงาน และความสะดวกสบายในบางครั้ง จะเพิ่มขึ้นด้วยในระหว่างการนอนหลับ\nวัตถุและปฏิสัมพันธ์ วัตถุหรือปฏิสัมพันธ์บางอย่าง จะช่วยเร่งอัตราการลดของความต้องการบางด้าน\n\nความทุกข์\nความทุกข์.\nสำหรับชาวซิมส์วัยผู้ใหญ่ จะตกอยู่ในความทุกข์เมื่อค่าความต้องการตกไปอยู่ที่ประมาณ -60 และ -80 ที่ค่า -60 ชาวซิมส์จะเริ่มแสดงออกด้วยลูกโป่งความคิดสีน้ำเงิน ให้เห็นว่าความต้องการด้านนั้นกำลังเริ่มตกต่ำ \nถ้าความต้องการตกต่ำถึงค่า -80 ชาวซิมส์จะแสดงความต้องการออกมาด้วยลูกโป่งตะโกนสีแดง บ่อยครั้งขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือ ส่วนวัยทารกนั้นจะไม่แสดงออกทางลูกโป่งความคิด แต่จะร้องไห้เพื่อแสดงความทุกข์จากความต้องการ\nวัยเด็กหัดเดินและวัยเด็กจะใช้ลูกโป่งความคิด เพื่อบอกความทุกข์ และจะใช้การร้องรูปแบบต่างๆ แสดงถึงระดับความตกต่ำของความต้องการ ดังนี้\n\n-60 ชาวซิมส์จะร้องไห้\n-70 ชาวซิมส์จะร้องสะอึกสะอื้น\n-80 ชาวซิมส์จะร้องแสดงอาการโมโห\n\nความล้มเหลว\nความล้มเหลว.\nความล้มเหลวจะเกิดขึ้นเมื่อระดับความต้องการตกต่ำถึง -100 ผลที่จะเกิดตามมมาขึ้นอยู่กับช่วงอายุของชาวซิมส์ และประเภทความต้องการ\nเรื่องของอารมณ์\nเรื่องของอารมณ์.\nประสาทสัมผัสโดยรวมของชาวซิมส์ถูกตอบสนองได้ดีแค่ไหนจะสะท้อนออกมาในระดับอารมณ์ของพวกเขา พูดได้ว่าอารมณ์คือผลรวมของความต้องการทุกด้าน (ยกเว้นด้านพลังงาน และสำหรับวัยทารกหรือวัยเด็กหัดเดินคือขับถ่าย)\nอารมณ์ซึ่งไม่ได้พิจารณาแค่ความต้องการเพียงด้านใดเพียงด้านหนึ่ง เป็นตัวกำหนเการตอบรับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของชาวซิมส์ การหางานหรือพัฒนาทักษะ ความตั้งใจทำงาน ผลของงาน และความก้าวหน้าในอาชีพ\nไม่ใช่ว่าความต้องการทุกอย่างจะส่งผลถึงอารมณ์ในระดับเดียวกัน ระดับคะแนนของแต่ละความต้องการเป็นตัวกำหนดว่ามันจะมีผลต่ออารมณ์มากแค่ไหน ตัวอย่างเช่น ความหิวที่ลดลงจากระดับเต็มเล็กน้อย จะส่งผลต่ออารมณ์เพียงเล็กน้อย แต่ถ้าอยู่ที่ตรงกลาง ก็จะส่งผลถึงอารมณ์มากขึ้น แต่เมื่อระดับความหิวต่ำมากๆ ก็จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์เพิ่มมากกว่าเดิมหลายเท่า ยิ่งชาวซิมส์หิวมาก ก็ยิ่งอารมณ์เสียมากขึ้น เป็นต้น\nข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการด้านต่างๆ\nความหิว\n\nความหิว เป็นความต้องการทางร่างกายสำหรับอาหารและเครื่องดื่ม\nกราฟความหิวจะลดลงด้วยอัตราคงที่ตลอดทั้งวัน แต่จะลดช้าลงเมื่อชาวซิมส์กำลังนอนหลับ นอกจากนั้นอัตราการลดของกราฟความหิวนั้นขึ้นอยู่กับช่วงอายุและบุคลิกภาพด้วย\nความหิวอาจเกิดขึ้นได้จากปฏิสัมพันธ์ที่เรียกว่าวู้ฮู เป็นต้น\nส่วนชาวซิมส์ที่ตั้งครรภ์จะหิวเร็วขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีที่บ่งบอกว่าชาวซิมส์กำลังจะมีลูก\nความหิวสามารถตอบสนองได้โดยการกินอาหารหรือเครื่องดื่ม ทั้งนี้ อาหารควรจะเป็นที่พอใจของชาวซิมส์ที่กินด้วย เพื่อการตอบสนองได้ดีขึ้น\nชาวซิมส์ที่กระฉับกระเฉงจะหิวเร็วกว่าชาวซิมส์คนอื่น ยิ่งกระฉับกระเฉงเท่าใด ก็ยิ่วหิวเร็วมากขึ้นเท่านั้น\nความหิวมีผลกระทบต่ออารมณ์น้อยมากเมื่อกราฟยังอยู่ในระดับเกือบเต็ม หรือปานกลาง แต่เมื่อเข้าสู่ด้านลบ ผลกระทบต่ออารมณ์จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมื่อถึงจุดใกล้ล้มเหลว ความหิวจะมีผลกระทบต่ออารมณ์สูงสุดเหนือกว่าความต้องการด้านอื่นๆ\nถ้ากราฟความหิวลดลงต่ำเกินไป ชาวซิมส์จะปฏิเสธไม่ยอมใช้อุปกรณ์ช่วยเสริมทักษะหรือให้ความสนุก ถึงแม้ว่าระดับอารมณ์โดยรวมจะยังเป็นบวกอยู่ก็ตาม\nเมื่อชาวซิมส์หิวมากๆ เขาจะโบกมือและให้สัญญาณบอก โดยมีไอคอนความหิวแสดงอยู่เหนือหัวของเขา\nชาวซิมส์วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา จะต้องการอาหารวันละประมาณ 3 มื้อ รวมถึงมื้อที่ควรจะได้รับเมื่อชาวซิมส์อยู่ที่ทำงานหรือโรงเรียน หรืออาจจะน้อยกว่า 3 มื้อ ถ้าหากชาวซิมส์คนนั้นมีทักษะการทำอาหารในระดับสูง\nเมื่อกราฟความหิวของชาวซิมส์ตกไปอยู่ระดับ -100 (กราฟเป็นสีแดง) จะนำไปสู่ผลที่ต่างกันตามช่วงวัยของชาวซิมส์ ดังนี้\n\nสำหรับวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ชาวซิมส์คนนั้นจะตาย เนื่องจากขาดอาหาร\nสำหรับวัยทารก วัยเด็กหัดเดิน และวัยเด็ก จะมีนักสังคมสงเคราะห์มาพาชาวซิมส์วัยนั้นๆทุกคน ไปจากครอบครัว แม้ว่าจะมีคนที่มีกราฟความหิวในระดับต่ำสุดเพียงคนเดียวก็ตาม\nพลังงาน\nความสะดวกสบาย\n\nความสะดวกสบายเป็นความต้องการทางร่างกาย และความต้องการทางอารมณ์ที่รู้สึกปลอดภัย ได้รับการเอาใจใส่\nความสะดวกสบายจะลดลงด้วยอัตราคงที่ทุกๆนาทีที่ชาวซิมส์ไม่ได้นั่งหรือเอนตัวลงนอน เช่นเดียวกับพลังงาน ความสะดวกสบายจะได้รับการตอบสนองเมื่อชาวซิมส์นอนหลับไม่ว่าที่ใดๆ นอกจากการนอนหลับบนพื้น ซึ่งเกิดจากกราฟพลังงานถึงระดับต่ำสุด\nความสะดวกสบายจะลดลงเนื่องจากการทำกิจกรรมบางอย่างด้วย เช่น\n\nการนอนหลับบนพื้น\nการยืน\nการเต้น\nการออกกำลังกายหน้าโทรทัศน์หรือเครื่องเสียง\nถูกไฟช็อต\nใช้อุปกรณ์ออกกำลังกาย\n\nความสะดวกสบายตอบสนองได้ด้วยการนั่งพักผ่อน และใช้อุปกรณ์หรือทำกิจกรรมที่ตอบสนองต่อความสะดวกสบาย กิจกรรมนั้นได้แก่\n\nนอนหรือพักผ่อนบนเตียง\nทำกิจกรรมต่างๆ บนโซฟา\nนั่งหรือเอนหลังบนเก้าอี้\nใช้อ่างน้ำร้อน\nอาบน้ำหรือลงอ่างอาบน้ำ\nใช้โถนั่งแบบหรูราคาแพง\nนั่งดูเตาผิงที่จุดไฟแล้ว\nถือตุ๊กตา (เฉพาะวัยเด็ก)\nนั่งดูดาว โดยไม่ใช้กล้องดูดาว\nมองดูท้องฟ้า\n\nการใช้อ่างอาบน้ำนอกจากจะตอบสนองความต้องการด้านสุขอนามัยแล้วยังตอบสนองความต้องการด้านความสะดวกสบายด้วย\nอุปกรณ์ที่ช่วยตอบสนองความต้องการด้านความสะดวกสบาย ยิ่งมีราคาแพง ยิ่งตอบสนองได้เร็วขึ้น\nถ้าเด็กหรือวัยรุ่นได้เข้าเรียนโรงเรียนเอกชน เขาจะกลับถึงบ้านด้วยความสะดวกสบายที่สูงกว่าตอนออกจากบ้าน ตรงข้ามกับโรงเรียนรัฐบาล\nถ้าชาวซิมส์วัยทำงานได้ทำงานแบบนั่งโต๊ะแทนการใช้แรงงาน เขาก็จะกลับบ้านด้วยระดับความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้นกว่าตอนออกไปทำงาน\nชาวซิมส์ที่มีบุคลิกภาพขี้เกียจ ความต้องการด้านนี้จะลดลงเร็ว ยิ่งขี้เกียจมากเท่าไรก็ลดเร็วมากเท่านั้น\nระดับความสะดวกสบายจะไม่มีผลต่ออารมณ์มากนักหากลดลงเล็กน้อย แต่มันจะส่งผลต่ออารมณ์อย่างมากถ้าระดับความสะดวกสบายลดลงถึงครึ่ง และถ้ายังต่ำไปอีกก็จะมีผลกระทบมากขึ้นเป็นทวีคูณ เมื่อความสะดวกสบายตกอยู่ระดับต่ำสุด ก็จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์มาก แม้จะไม่รุนแรงเท่าความหิวก็ตาม\nความสะดวกสบายต่ำทำให้ชาวซิมส์ปฏิเสธการเสริมสร้างทักษะ ถ้ามันเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้การยืน\nชาวซิมส์ที่ตกอยู่ในความทุกข์เนื่องจากขาดความสะดวกสบายจะโบกมือให้สัญญาณบอกโดยมีไอคอนรูปเก้าอี้ในลูกโป่งความคิดแสดงอยู่เหนือหัวของเขา และแสดงท่าทางไม่สบายตัวออกมา\nไม่มีจุดที่เกิดความล้มเหลวสำหรับชาวซิมส์ที่มีระดับความสะดวกสบายต่ำถึงขีดสุด\nวัยทารกและวัยเด็กหัดเดินไม่มีความต้องการด้านความสะดวกสบาย\nสังคม\nความสนุกสนาน\nสุขอนามัย\nขับถ่าย\nขับถ่ายเป็นความต้องการทางร่างกายเพื่อใช้ห้องส้วม\nแถบความต้องการด้านขับถ่ายจะลดลงอย่างสม่ำเสมอเมื่อเวลาผ่านไป แต่จะช้าลงในระหว่างที่ชาวซิมส์นอนหลับ\nแถบวัดความต้องการด้านขับถ่ายอาจจะลดเร็วขึ้น เมื่อชาวซิมส์กินอาหารหรือเครื่องดื่ม โดยเฉพาะกาแฟและเอสเพรสโซ\nชาวซิมส์ตั้งแต่วัยเด็กขึ้นไปจะขับถ่ายที่ใดก็ได้ แต่วิธีที่ดีที่สุดและทำให้สุขอนามัยไม่ตกต่ำคือการใช้ห้องส้วม ซึ่งส้วมทุกแบบจะตอบสนองความต้องการด้านขับถ่ายเหมือนกันหมด แต่แบบที่มีราคาแพงจะช่วยตอบสนองความสะดวกสบายด้วย\nชาวซิมส์นิสัยเลอะเทอะจะขับถ่ายในขณะทำอย่างอื่นไปด้วย พวกเขาอาจใช้ช่วงเวลาในการอาบน้ำเพื่อตอบสนองด้านขับถ่ายไปพร้อมกัน\nชาวซิมส์อาจปลดทุกข์ได้ตามพุ่มไม้ แต่จะทำได้เฉพาะชาวซิมส์นิสัยเข้าสังคมเก่ง และขี้เกียจมาก ในขณะที่ปวดถึงขีดสุดจริงๆเท่านั้น\nขาวซิมส์วัยชราจะใช้เวลาในการนั่งส้วมนานกว่าวัยอื่น เพราะว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของแถบความต้องการขับถ่ายจะเร็วแค่ครึ่งหนึ่งของคนวัยอื่น\nชาวซิมส์จะมีอัตราการลดของด้านขับถ่ายเท่ากันทุกบุคลิกภาพ\nความต้องการด้านขับถ่ายไม่มีผลต่ออารมณ์มากนักจนกว่าจะลดลงต่ำมากๆ เมื่อถึงจุดนั้นผลกระทบต่ออารมณ์จะเร็วและรุนแรงมาก\nการขับถ่ายในทารกและเด็กวัยหัดเดินจะไม่มีผลกระทบต่ออารมณ์ จะส่งผลแค่เพียงว่าจะต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมพวกเขาบ่อยแค่ไหน\nถ้ากราฟความต้องการด้านขับถ่ายต่ำเกินไป ชาวซิมส์จะปฏิเสธการใช้วัตถุช่วยเสริมทักษะหรือให้ความสนุกสนาน ถึงแม้ว่าระดับอารมณ์โดยรวมจะยังเป็นบวกอยู่ก็ตาม\nชาวซิมส์ที่ตกอยู่ในความทุกข์เนื่องจากขาดความต้องการด้านขับถ่าย จะโบกมือให้สัญญาณบอกโดยมีไอคอนรูปห้องน้ำในลูกโป่งความคิดแสดงอยู่เหนือหัวของเขา\nที่ระดับ -100 ความล้มเหลวของชาวซิมส์จะปรากฏ ชาวซิมส์จะปลดทุกข์ ณ ที่ที่ชาวซิมส์อยู่ตรงนั้น ถึงมันจะช่วยตอบสนองความต้องการด้านขับถ่ายแต่มันก็ส่งผลเสียต่อสุขอนามัยมาก\nเมื่อเกิดความล้มเหลวด้านการขับถ่ายขึ้น ชาวซิมส์ที่อยู่ใกล้ๆอาจจะหัวเราะเยาะ (ถ้านิสัยบูดบึ้ง) หรือทำท่ารังเกียจ (ถ้านิสัยเนี๊ยบ) และชาวซิมส์จะเก็บมันไว้ในความทรงจำระยะสั้น\nชาวซิมส์บางคน ความล้มเหลวด้านขับถ่ายอาจเป็นหนึ่งในความกลัวของเขา ซึ่งอาจส่งผลให้ระดับปณิธานลดลงได้\nสำหรับวัยทารกและวัยเด็กหัดเดินนั้น เขาจะขับถ่ายใส่ผ้าอ้อม ความต้องการด้านขับถ่ายจะเติมเต็มแต่สุขอนามัยจะลดลง\nเมื่อเด็กวัยหัดเดินได้รับการสอนให้ใช้เก้าอี้เล็ก (ความจริงนั้นคือกระโถน) พวกเขาจะยังไม่สนใจความล้มเหลวอยู่ดี แต่เขาจะใช้มันได้เองก่อนถึงจุดล้มเหลว ทำให้คนอื่นไม่ต้องมาเปลี่ยนผ้าอ้อมให้\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกมเดอะซิมส์ เป็นเกมแนววางแผนจำลองชีวิตตนที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และเมื่อมีภาคค่อมากคือเดอะซิใส์ 2 ได้มีการเพิ่มอีกหนึ่วคุณสมบัติที่ทำให้ชาวซิมส์สามา่ถเดินทางออกนอกย้านได้ แต่ยังอยู่ในการควบคุมของผู้เล่นอยู่ สิ่วนี่เรียกว่า พื้นที่ส่วนกลาง\nในแต่ละละแวกเพื่อนบ้านในเกม จะมีที่อยู่อาศัย และพื้นที่ส่วนกลางมากมาย ชาวซิมส์สามารถไปที่นั่นเพื่อพบเพื่อน ว่ายน้ำ ซื้อเกม ซื้อเสบียงอาหาร ซื้เนิตยสาร เล่นหมากรุก ฯลฯ \nผู้ที่อยู่ในพื้นที่ส่วสกลาง\nก่รตอบสนองความต้องการในพื้นที่ส่วนกลาง\nพื้นที่ส่วนกลางมีอะไรให้ทำ\nสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ที่พื้นที่ส่วนกลาง",
"role": "user"
},
{
"content": "เกมเดอะซิมส์ เป็นเกมแนววางแผนจำลองชีวิตคนที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และเมื่อมีภาคต่อมากคือเดอะซิมส์ 2 ได้มีการเพิ่มอีกหนึ่งคุณสมบัติที่ทำให้ชาวซิมส์สามารถเดินทางออกนอกบ้านได้ แต่ยังอยู่ในการควบคุมของผู้เล่นอยู่ สิ่งนี้เรียกว่า พื้นที่ส่วนกลาง\nในแต่ละละแวกเพื่อนบ้านในเกม จะมีที่อยู่อาศัย และพื้นที่ส่วนกลางมากมาย ชาวซิมส์สามารถไปที่นั่นเพื่อพบเพื่อน ว่ายน้ำ ซื้อเกม ซื้อเสบียงอาหาร ซื้อนิตยสาร เล่นหมากรุก ฯลฯ \nผู้ที่อยู่ในพื้นที่ส่วนกลาง\nการตอบสนองความต้องการในพื้นที่ส่วนกลาง\nพื้นที่ส่วนกลางมีอะไรให้ทำ\nสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ที่พื้นที่ส่วนกลาง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมส์ 2 ตัวละครที่เรียหว่าชาวซิมส์มีสายอาชีพมากมาย เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้ครอบครัวนั้นๆ โดยสายอาชีพในภาคหลักมีทั้งหมด 10 สายอาชีพและฝนภาคเสริมต่อๆมา ก็ได้มีการเพิ่มสายอาชีพอีกมากมาย โดยช่วงวัยที่จะทำงานได้คือวัยรุ่นขึ้นไป สายอาชีพทุกสายอาชีพมี 3 ระดับ สำหรับวัยรุ่นดละวัยชรา และ 10 ระดับ สำหรับวัยผู้ใหญ่\nการที่ชาวซิมส์จะมำงานแต่ละงานได้นั้นต้องอาศัยทักษะที่ต้องการ 3 ทักษะ ซึ่งจะแตกต่างกันไผตามสายอาชีพและระดับ นอกจากนี้ยังมีจำนวาเพืทอนที่ต้องการเพิ่อเป็นปนะโยชน์ในกสรเลื่อนตำแหน่งขึ้นไปสู่ระอับสูงๆ\nนอกจากนี้ ถ้าปู้เล่นได้ติดนั้งเดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน จะพบว่า นอกจากคนจะมีงานทำได้แล้ว สัตว์ิลี้ยงเองก็สมมารถมีงาน่ำได้อีกด้วย\nสายอาชีพในเดอะซิมส์ 2 ภาคหลุก\n\nกีฬา\nธุรกิจ\nอาชญาก่\nการทำอาหาร\nผู้ผดุงความยุติธรรม\nการแพทย์\nทางทหาร\nการเมือง\nวิทยาศาสตร์\nผู้รักงานสบาย2\nสายอาชีพสหม่ในเดอะซิมส์ 2 มหาลัยวัยฝัน\nศิลปิน\nนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ\nผู้อยู่เหนือธรรมชาติ\nธุรกิจการแสดง\nสายอาชีพใหม่ใสเดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน (เฉพาะสัตว์เลี้ยงเท่านั้น)\nรักษาความปลอดภัย\nธุรกิจการแสดง\nการบริการ\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 สค่ฤดูแสบ\nเกมเมอร์\nนักผจญภัย\nดนตรี\nกฎหมาย\nวารสารและสิ่งพิมพ์\nการศึหษา\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 สนุกจังยามว่าง\nสมุืรศาสตร์\nเจ้าหน้าที่หน่วยข่าวกรอง\nความบันเืิง\nการเต้นรำ\nสถาปัตยพรรม\nปารหางาน\n\n\nคอมพิวเตอร์ สามารถหางานได้ 5งนน หากจบมหาวิทยาลัยโดยไม่ถูกไล่ออกหรือลาออกเองสามารถได้งานโดยที่ไม่ต้องเริ่มจากขั้นที้ 1ได้\nหนังสือพิมพ์ สามารถหางานได้ 3 งาน\nกสรสร้างความสัมพันธ์อันเีกับชาวซิทส์ชาวซิมใ์คนอื่น ๆ บางครั้งเขาจะเสนองานและตำแหน่งให้ จะตอบรึบผรือไม่ก็ได้\nการเลื่อนตำแหน่ง\nเกิเขึ้นเมื่อซิมส์มีทักษะและจำนวนเพื่อนที่เพียงพอกับความต้องการในการเลื่อนตำแหน่ง\n\n\nการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชาวซิมส์ชาวซิมส์คนอื่น ๆ บางครั้งเขาจะบอกให้ญาติของเขาซึ่งเป็ตเจ้านายของเราเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นไป หรือ\n\nการถูกลดตำแหน่ง\nการถูกลดตำแหน่ง.\nหากตอบการ์ดเปิดโอกาสการมำงานผิดหรือไม่ไปทำงานอาจถูกลดตำแหน่งได้\nและนอกจากนี้ อาจทำให้เสียคะแนนทักษะได้เช่นกัน\nการถูกไล่ออก\nการถูกไล่ออก.\nขาดทำงานบ่อยๆ หรือเกิดขึ้นเมื่อซิมส์ขอลาหยุดพักผ่อนมากเกินกำหาด\nและทำงานผิดพลาดไรือร้ายแรงก็สามารถโดนไล่ออกได้เหมือนกัน\nการโทรขอลาป่วย\nการธทรขอลาป่วย.\nเมื่อซอมส์มีจำนวนวันหยุดพักผ่อนเหลือ สามารถโทรศัพท์ไปลาก่วยได้ ถ้าคุณมีความประพฤติที่ดี ในที่ทำงาน \nแต่ถ้าลาป่วยบ่อยเกินไป อาจทำให้ถูกลดขั้นหรือไล่ออกได้\nการ์ดเปิดโอกาสทางการงาน\nการ์ดเปิดโอกาสทางการงาน.\nจะมีในจอนที่ซิมส์กำลังทำงานหากตอบถูกอาจได้ทักษะเพิ่มหรือได้เลื่อนตำแหน่ง\nแต่หากตอบผิด ก็อาจถูกลดตำแหน่งและเสียคะแนนทักษะได้เล่นเดีนวกัน\nของรางวัลแหางอาชีพ\nของรางวัลแห่งอาชีพ.\nรางวัลอาชีพสามารถได้รับโดยการทำงานจนสูงสุดในขั้นของอาชีพนั้นๆแต่จะมีแค่ชิ้นเดียวต่อ 1 อาชีพ\nการเกษียณงานและเงินบำนาญ\nการเกษียณงานและเงินบำนาญ.\nเมื่อซิมส์เข้าสู่วัยชรา สามารถโทรศัพท์ไปที่ทำงาน และขอเกษียณงานได้ โดยเมื่อซิมส์เกษียณงานแล้ว จะได้รับเงินบำนาญทุกวัร เงินบำนาญจะมีจำนวนเท่ากับคคึ่งหนึ่งของเงินเดือนจริงที่เคยได้รับล่าสุด",
"role": "user"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมส์ 2 ตัวละครที่เรียกว่าชาวซิมส์มีสายอาชีพมากมาย เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้ครอบครัวนั้นๆ โดยสายอาชีพในภาคหลักมีทั้งหมด 10 สายอาชีพและในภาคเสริมต่อๆมา ก็ได้มีการเพิ่มสายอาชีพอีกมากมาย โดยช่วงวัยที่จะทำงานได้คือวัยรุ่นขึ้นไป สายอาชีพทุกสายอาชีพมี 3 ระดับ สำหรับวัยรุ่นและวัยชรา และ 10 ระดับ สำหรับวัยผู้ใหญ่\nการที่ชาวซิมส์จะทำงานแต่ละงานได้นั้นต้องอาศัยทักษะที่ต้องการ 3 ทักษะ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสายอาชีพและระดับ นอกจากนี้ยังมีจำนวนเพื่อนที่ต้องการเพื่อเป็นประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งขึ้นไปสู่ระดับสูงๆ\nนอกจากนี้ ถ้าผู้เล่นได้ติดตั้งเดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน จะพบว่า นอกจากคนจะมีงานทำได้แล้ว สัตว์เลี้ยงเองก็สามารถมีงานทำได้อีกด้วย\nสายอาชีพในเดอะซิมส์ 2 ภาคหลัก\n\nกีฬา\nธุรกิจ\nอาชญากร\nการทำอาหาร\nผู้ผดุงความยุติธรรม\nการแพทย์\nทางทหาร\nการเมือง\nวิทยาศาสตร์\nผู้รักงานสบาย2\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 มหาลัยวัยฝัน\nศิลปิน\nนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ\nผู้อยู่เหนือธรรมชาติ\nธุรกิจการแสดง\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน (เฉพาะสัตว์เลี้ยงเท่านั้น)\nรักษาความปลอดภัย\nธุรกิจการแสดง\nการบริการ\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 สี่ฤดูแสบ\nเกมเมอร์\nนักผจญภัย\nดนตรี\nกฎหมาย\nวารสารและสิ่งพิมพ์\nการศึกษา\nสายอาชีพใหม่ในเดอะซิมส์ 2 สนุกจังยามว่าง\nสมุทรศาสตร์\nเจ้าหน้าที่หน่วยข่าวกรอง\nความบันเทิง\nการเต้นรำ\nสถาปัตยกรรม\nการหางาน\n\n\nคอมพิวเตอร์ สามารถหางานได้ 5งาน หากจบมหาวิทยาลัยโดยไม่ถูกไล่ออกหรือลาออกเองสามารถได้งานโดยที่ไม่ต้องเริ่มจากขั้นที่ 1ได้\nหนังสือพิมพ์ สามารถหางานได้ 3 งาน\nการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชาวซิมส์ชาวซิมส์คนอื่น ๆ บางครั้งเขาจะเสนองานและตำแหน่งให้ จะตอบรับหรือไม่ก็ได้\nการเลื่อนตำแหน่ง\nเกิดขึ้นเมื่อซิมส์มีทักษะและจำนวนเพื่อนที่เพียงพอกับความต้องการในการเลื่อนตำแหน่ง\n\n\nการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชาวซิมส์ชาวซิมส์คนอื่น ๆ บางครั้งเขาจะบอกให้ญาติของเขาซึ่งเป็นเจ้านายของเราเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นไป หรือ\n\nการถูกลดตำแหน่ง\nการถูกลดตำแหน่ง.\nหากตอบการ์ดเปิดโอกาสการทำงานผิดหรือไม่ไปทำงานอาจถูกลดตำแหน่งได้\nและนอกจากนี้ อาจทำให้เสียคะแนนทักษะได้เช่นกัน\nการถูกไล่ออก\nการถูกไล่ออก.\nขาดทำงานบ่อยๆ หรือเกิดขึ้นเมื่อซิมส์ขอลาหยุดพักผ่อนมากเกินกำหนด\nและทำงานผิดพลาดหรือร้ายแรงก็สามารถโดนไล่ออกได้เหมือนกัน\nการโทรขอลาป่วย\nการโทรขอลาป่วย.\nเมื่อซิมส์มีจำนวนวันหยุดพักผ่อนเหลือ สามารถโทรศัพท์ไปลาป่วยได้ ถ้าคุณมีความประพฤติที่ดี ในที่ทำงาน \nแต่ถ้าลาป่วยบ่อยเกินไป อาจทำให้ถูกลดขั้นหรือไล่ออกได้\nการ์ดเปิดโอกาสทางการงาน\nการ์ดเปิดโอกาสทางการงาน.\nจะมีในตอนที่ซิมส์กำลังทำงานหากตอบถูกอาจได้ทักษะเพิ่มหรือได้เลื่อนตำแหน่ง\nแต่หากตอบผิด ก็อาจถูกลดตำแหน่งและเสียคะแนนทักษะได้เช่นเดียวกัน\nของรางวัลแห่งอาชีพ\nของรางวัลแห่งอาชีพ.\nรางวัลอาชีพสามารถได้รับโดยการทำงานจนสูงสุดในขั้นของอาชีพนั้นๆแต่จะมีแค่ชิ้นเดียวต่อ 1 อาชีพ\nการเกษียณงานและเงินบำนาญ\nการเกษียณงานและเงินบำนาญ.\nเมื่อซิมส์เข้าสู่วัยชรา สามารถโทรศัพท์ไปที่ทำงาน และขอเกษียณงานได้ โดยเมื่อซิมส์เกษียณงานแล้ว จะได้รับเงินบำนาญทุกวัน เงินบำนาญจะมีจำนวนเท่ากับครึ่งหนึ่งของเงินเดือนจริงที่เคยได้รับล่าสุด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมย์ 2 ชาวซิมว์ ซึ่งเป็นตัวละครหลักในเกมที่ฟู้เล่นยะต้องควบคุมนั้นก็เหมือนกับสัตว์โลกอย่างคนเรา ที่มีเกิด แก่ เจ็บ และตาย เช่นเดียวกับชาวซิมส์ในเกมนี้ ที่จะต้องเจอหายนะ โรคภัยไข้เจ็บ และความตาส ซึ่งในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้น มีหานนะ โรคภัย และความตายที่เกิดจากสา้หตุต่าง ๆ มากมมย\nห่ยนะ\n\nไฟไหม้\nบโมยขึ้นบ้าน\nน้ำท่วม\nมนุษย์ต่างดาวลักพาตัว\nถุงเงินหล่นทับตาย(ประมาณตายแบบอนาถ)\nโรคภัยไข้เจ็บ\n\nความตาย\nความตาย.\nชาวซิมส์ตายโดย ถูกจานบินชนตาย อดอาหาร ถูกแมลงวันตอมตาย เป็นต้น พอตายแล้วจะมียมทูตมาเอาตัวไปถ้าช่วงนั้น (สมมุติครอบครัวเรามี 2 คน เช่น มี พ่อ แม่) ถ้าเกิดพ่อตายแมาสามารถขอให้เอาวืญญาณกลับมาได้แต่ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ พอขอยมทูนยมทูตจะให้ทายว่าวิญญา๖อยู่มือไหนถ้าทายถํกจะได้วิ๗ญาณคืนแต่ถ้าทายผิดจะไม่ได้แต่ถ้าอยู่ใตวัยชราไม่สามารถขอคืนไก้เนื่องจากอยู่ในวัยสุดท้ายแล้ว พอตายแล้วจะปลายเป็น\nหลุมศพและตอนกลางคืนวิญญาณจะปรากฎตัวออกมา ซึ่งถ้าวัยเด็กหัดเดินอย่าให้อยู่ใกล้หลุมศพเพราะจะเาียคะแนนปณิธาน ประเภทของวิญญาณทีดังนี้\n1.สีขาว หมดอายุขัยแล้วตาย\nเป็นความตาวที่ซิมน์ทุกคนปรารถนา เป็นการตายที่ดูดีืี่สุดแล้ว ซิมส์วัยชราจะมีอายุ 10 วัตเท่ากันหลังจากมี่เปลี่ยนวัยนี้ บวกด้วยเลขสุ่ม 1-10 และบวกด้วยคะแนนปณิธานก่อนเปลี่ยนวัย แดงล้มเหลว -2 แดง ไม่เพิ่มให้ เขียว +3 ทอง +5 ทองคำขาว +10 วัน ดังนั้นอายุวัยชราจะไม่แน่ไม่นอน\nการกินย่แห่งชีวิตที่เป็นรางวัลปณิธาน จเช่วยวืดอายุซิมส์ให้ยืนขึ้น แต่ผู้กินต้องมีปณิธานที่สูงกว่าเขียว หากเป็นสีเขียวก็ 50-50 หากแดงละก็น้ำยานค้จะลดอายุซิมส์มากกว่าเพเ่ม ถ้าสำอร็จจะอายุยืนอีก 3 วัน แต่ถ้าล้มเหลวอายุสั้นลง 3 วัน หากสมมติว่าอีก 2 วันจะตายไปกินเบ้าแต่ล้มเหลวก็จะตาย ทันที! ผีที่แก่ตายจะมีสีขาว\nการแก่ตายมีสิทธิพิเศษค้อ หากผู้ตายมีปณิธานทองคำขาวขณะตาย ยมฑูตจะส่งนักเต้นฮูล่ามารับตัวพร้อมกระเป๋าเดินทางไปยมโลกอย่างมีความสุข แต่นอกจากนั้นยมฑูตจะถือนาฬิกาทรายชีวิตมาบอปซิมส์ว่าหมดอายุแล้ว ซิมส์ผู้ตายจะไม่ยอมและพยายามแย่งนาฬิกามาแต่ไม่สำเร็จ และแล้วก็โดนยมฑูตขับไส/ล่ส่งไปยมโลก แต่อย่างไรก็ตามหากผู้ตายมีเพื่อนไม่ว่าจะเป็นครอบครัวเดียวหันหรือไม่ เมื่อตายไปผู้ตายขะทิ้งมรดกไว้ให้ โดย คู่ครองผู้ตาย จะได้เงิน 20000-5000 ลูกผู้ตาย จะได้เงิน 10000-2509 หลานผู้ตายได้เงิน 2500-625 เพท่อนสนิทผู้ตาย 1000-250 เพื่อาผู้ตาย 500-w25 โดยขึ้นกับปณิธานของผู้ตายและค่าความสัมพันธ์ตลอดชีวิตของผู้ตายที่มีกับคนนั้น หฝังว่ามรดกเหล่านี้คงช่วยปลอยผู้อยู่เบิ้องหลัลให้ห ายโศกเศร้าได้ เพราะการตายแบบนี้จะไม่สามารถอ้อนวอนยมฑูตได้ แม้หากโทรไปหายมฑูตให้ชุบชีวิตแม้ตื่นมาไม่กีรวันก็ตายใหม่อยู่ดี\n2.สีแพง ถูกไฟไหม้ตาย เป็นเพราะอาหารที่ทำยากๆแต่มีทักษะทำอาหารต่ำ ขณะทำพ็เหม่อลอย แว๊บไปไหนก็ไม่รู้ หรือ ย่างอาหารในบ้านทั้งที่ในคำอธิบายของเตาย่างก็บอกว่า ให้ไปทำนอกบ้านก็ไม่ฟังยังอุตส่าห์ทำในบ้าน หรือ ให้ซิมส์เลอะเทอะมทกๆไปจุดเตาผิงจนสะเก็ดไฟกระเด็นโด นเฟอร์นิเจอร์ หรือ ทำกิจกรรมที่ทำให้อุณหภูมิร่างกายสูงมากๆจนไฟลุกตัวเอง สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้ทั้งสิ้น\n3. ไฟดูด\nเครื่องใช้ไฟฟ้าเสียแต่ไม่อยากจ้างช่างมาซ่อม หตือ กำลังทำเควสซ่อมบ้านกับแม่มดฮาร์ตอยู่ แต่แล้วด้วยทักษะกลไกที่ต่ำหรือโชคร้ายสุดขีด ซิมส์จะโดจ_ฟดูด\n4. ดาบเทียมหลาน\nการนอนดูม้องฟ้าหรือดูดาวกับคนรักสองต่อสองขณะออกเดตนั้นโรแมรติค แตทหารู้ๆม่ว่ามันมีมหันตภัยแฝงอยู่ 1% ที่ทีดาวเทคยมลึกลับพุ่งชนขณะนอนดูดาวหรือท้องฟ้า\nเสียใจด้วยที่ไม่มีวิธีป้องกันดาวเทียมหล่นทับนอกจาก ไม่นอนดูดาวหรือท้องฟ้า หวังว่าราคาของซากดาวเทียมที่เหลือคงรักษาแผลใจได้\n5. โรคภัยไข้เจ็บ\n6. แมลงวันตอม\nจานชามสกปรก อ่หารบูดๆไม่ยอมล้าง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ชั้นเลิศของเหล่าแมลงวันมรณะพวกนี้ ไม่มีปัญหาหากมีจานสกปรกแี่ 2-3 ใบ แต่หากมากกว่า 10 ใบนั่นคือปัญหาแล้ว ทุกครั้งที่ซิมส์ผ่านห้องนั้นก็ยิ่งมีโอกาสที่เกิดฝูงแมลงวันมรณะขึ้น\n7. หิฝโหย\nเป็นความตายที่คลาสสิคที่สุดมีตั้งแตทซิมส์1แล้ว อันเนื่องมากจากความอดอยาก ไม่มีเงินซื้ออาหาร ตู้เย็นว่างเปล่าไม่รู้ว่าสั่งอาหารยังไง หรือฌดนขัง ผู้เล่นกลั่นแกล้ง ก็ทำให้ซิมส์อดตายได้เมื่อ ความหิว -100\nวอธีแก้ไขง่ายๆ อย่าไปแกล้งซิมส์ หรือรีบโทรสั่งอะไรกินก็ได้ หากไม่มีเงิาเลยก็คงต้องบอกลา ผีที่อดตายจะมีสีใว และชอบค้นตู้เบ์น อาหารจะหายไป5หน่วยเสมอ หากไม่มีอาไารในต๔้เย็นผีจะโกรธและเริ่มหลอกคนดื่น โชคดีที่ เด็กทาตก หัดเดิน เด็ก และสัตว์เฃี้ยง ไม่มีวันอดตาย แต่นะถูกนักสังคมสงเคราะก์พาตัวไป\n8. กลัวผี\nใครก็จสมที่ถูกผีหลอก จะถูกลดค่าความต้องการทุกค่า แม้ว่าผีจะทำให้รำคาญ แต่ถ้าลดมากๆจนตายล่ะนั่นแหละที่น่ทกลัว\nฟากความต้องการสามด้านใดๆล้มเหลวขณะโดนผีหลอก ซิมส์จะหัวใจวายตายทันที โดยเฉพาคนแก่ ผีที่ตายเพราะโดนหลอกจะมีสีชาพู ขออภัยที่ไม่มีภ่พผีให้ดู\nถ้าไม่ต้องการโดนผีหลอกตายกฺแค่ขายหลุมศพทิ้งให้หมดเ พียงเท่านี้ผีก็ไม่มากวนใจอีแ โชคดีที่เด็กไม่มีวันโดนผีหลอกตายแต่จะฉี่ราดแทน\n10. โดนกิน (มหาลัย'วัยฝัน)\nใครที่มีภาค มหาลัย'วัยฝัน อาจรู้จัก \"ต้นวัว\" ซั่งเป็นราบวัลอาชีพของอาชีพนักวิทยาฬาวตร์ธรรมชาติที่ต้องมีใบปริญญาก่อนถึงจะมีให้ทำได้ หากเตาไม่ยอมให้อาหารต้นวัวเป็นเวลาหกชั่ยโมง มันจะผลิใบออกมาเป็นรูปเค้กปักเทียนต่ากินออกมาล่อซิ มส์ผู้รู้เท่าไม่ถึงการณ์มากินมัน ใครกันแน่ที่ได้กิน!\nปกติซิมส์จะไมีไปกินเค้กมรณะนี้ด้วยตัสเองนอกจากคุณสั่ง หรือซิมน์ที่เป็นแขกเดินผ่านหน้าบ้านหากเห็นเค้กนี้ก็จะหยิบกิตอัตโนมัติ ผลออกมาคือโดนต้นวัวกเรอย่างเอร็ดอร่อย และเหลือหลุมศพไว้ดูต่างหน้า งานนี้ยมฑูตไม่ต้องเหนื่อย ผีที่ถูกกินจะมีสีเขียวเหมือนผีป่วยตาย\nหากไม่อยากให้บ้าจตัวเองเป็นบ้รนผีสิงโดยไม่ได้ตุ้งใจ อย่าลืมให้อาหารมันบ่อยๆ ล้อสรั้วกั้นต้นวัวไว้อย่าให้ใครเข้ามาได้ยกเว้นคนให้อาหารเท่านั้น\nแต่ถึงอย่างไรก็ตามหากมันกินใครเข้าไป เต้านมมันจะเต่งตึง ซิมส์สาทารถรีดนม(น้ำศพ!)มากินได้เพื่ิเพิ่มอายุให้ยืนขึ้นอีก 5 วัน แต่ถ้าคุณอยากกินเค้กละก็ต้องไม่อาบน้ำซัก 2-3 วัน จนควันเขียวขึ้นแง้วค่อยไปกิน ต้นวัวจะดมซิมส์คนนั้นและรีบหุบเค้กด้วยท่าทางรังเกียจ คุณก็อดกินเค้กอยู่ดี\n11. ตากแดด (ไนท์ไลฟ์)\nในภาคไนท์ไลฟ์ึืนหรรษานั้นมีแวมไพร์อยู่ในดาวทาวน์ หากซิมส์ของคุณเกิดโดนดูดเลือดและเป็นแวมไพร์แล้วละก็การยืนตากแดดคอนกลางวันนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม แม้เป๊นการอยู่ในบ้านตอนกลางวันก็ตาม เพราะแสงแดดจะเผาไหม้แวมไพร์ให้เป็นจุลได้ภายในพริบตา\nทันทีที่ผิวหนังสัมผัสแดด จะมีควันพุ่งออกจากร่างกายแม้ว่าจะอยู่ในบ้านก็นาม ความต้องการทุกด้านจะลดเร็วมากๆๆๆๆ จนกระทั่งความต้องการมุกด้าน-100 เมื่อนั้นแวมไพร์ก็จะกลายเป็นขี้เถ้าแชะตายรอบที่สอง (แวมไพร์ไม่มีชีวิต) แวมไพร์ที่ตากแดดตายจะมีวิญญาณสีใสเหมือนอดตาย\nหากไม่ต้องการให้แวมไะร์ของคุณมีจถดจบแบบนี้ ในตอนกลางวันให้แวมไพร์นอนในเตียงที่รูปร่างเหมือนโลงศพ ซึ่งสามารถปกป้องแสงแดดได้ เย่าไปข้างนอกหตือตื่นตอนกลสงวันหากไม่มีเหตุผลที่จำ เป็น หรือถ้าต้องไปทำงานควรซื้อรถไปทำงานเอง ในรถสามารถป้องกเนแสงได้บ้างบางส่วนแต่ก็ดีกว่าตากแดด\n12. เร่เข้ามา! (ธุรกิจ)\nในภาคเปิดโลกธุรกิจเนรมิตฝัน สามารถให้ซิมส์มีธุรกิจเป็นของตัวเองเป็ยเจ้าของร้าน ทุกครั้งที่ได้รับดาวความนิยมของลูกค้ามากพอ ซิมส์จะสามารถเลือกเพิ่มความสามารถของตัวเองโดยการยก ระดับธุรกิจได้หลายอย่าง แต่มีอยู่อันหนึ่งคือ เร่เข้ามา! หากมีความสามารถนี้จะมีปฏิสัมพันธ์ที่ตัวเองว่า เร่เข้ามา! ิพื่อทำการลดความต้องการของตัวเองทุกด้านเพื่อเพิ่มก ับซิมส์ทุกคนที่อยู่ในห้องเดียวกับตน ท่านี้สารพัดประโจชน์แต่ถ้าใช้มากๆมันคือหายนะกับผู้ ใช้เอง\nหากใช้จนกระทั่งความต้องการที่สำคัญหใด ซิมส์ก็จะตายทันทีเพราะความต้องการทุกด้านของตนได้สล ะไปให้ซิมส์อื่จๆจนหมด ผีที่ใช้เร่เข้ามาจนตายจะมีสีเหลืองและถือโทรโข่ง ทำท่าตายของตัวเองให้ดู\nหากไม่อยากตะโกนจนตายอย่าใช้ความสามารถนี้มากเกินไป หรืิอหากต้องการใช้ต้องใหืแน่ใจว่ามันคุ้มร่าพอที่จะ สละเลือดตัวเองให้คนอื่น\n13. ว่าวชั่วร้าย (ธุรกิจ)\nในภาคธุรกิจซ้มส์สามารถสร้างของเล่น ดอกไม้ หรือหุ่นยนต์ขึ้นมาเองเพื่อใช้เล่นหรือขายก็ได้ แต่ใช่ว่าของทุกชิ้นจะมีแต่ของดีิสมอไป หนกได้ของที่ผิดพลาดซึ่งได้มาแบบสุ่มหน้าตาของชิ้นนั้นจะแปลกไปจากธรรมด่ เรียกว่า แบบชั่วร้าย ซึ่งอาจ)่าซิมส์ที่ใช้มันได้อย่างเช่น ว่าว หากได้แบบชั่วร้ายว่าวจะเป็นว่าวเหล็ก แม้จะเป็นเหล็กมันก็บินได้แต่สักพัพก็ร่วง อันตรายของมันไม่ใช่แค่นั้น\nเพราะว่ามันเป็าเหล็กจึงเป็นสื่อล่อฟ้าได้ ซิมส์ที่เล่นว่าวชั่วร้ายจะมีโอกาสค่อนบ้างสูงที่โดน ฟ้าผ่า และหากความต้องการที่ยำคัญต่ำอยู่ละก็ซิมส์ก็จะตาย ผีัที่เล่นว่าวตายจะมีสีเหลืองเหมือนถูกไฟดูดตาย โชคดีที่ว่าวชั่วร้มยจะโดนฟ้าผ่าไหม้เป็นจุลไปด้วย จะได้ไม่มีใครเป็นเหยื่อของมันอีก\nวิธึหลีกเลี่ยงง่ายๆเพียวอย่าไปเล่นว่าวชั่วร้ายเด็ด ขาด คุณสามารถเอาว่าวนี้ไปประดับบ้านหริอขายทิ้งเลยก็ได้ หรือขายต่อให้คนที่คุณเกลียดขี้หน้าก็ยังได้!\n14. ดอกช่อลิ้นมังกรชั่วร้าย (ธุรกิจ)\nในภาคธุรกิจซิมส์สามารถสร้างของเล่น ดอกไม้ หรือหุ่นยนต์ชึ้นมาเองเพื่อใช้เล่นหรือขายก็ได้ แต่ใช่ว่าของทุกชิ้นจะมีแต่ของดีเสมอไป หากได้ของที่ผิดพลาดซึ่งได้มาแบบสุ่มหน้าตาของชิ้นนั ้นตะแปลกไปจากธรรมดา เรียกว่า แบบชั่วร้าย ซึ่งอาจฆ่าซิมส์ที่ใช้มันได้เช่น ดเกช่อลิ้นมังกร หากดีจะเป็นของที่ทรงพบัง จะสามารถเพิ่มความต้องการทุกด้านยกเว้สพลังงานอย่างช้าๆกับซิมส?ที่อยู่ใกล้ แต่ถเาแบบชั่วร้าย ซึ่งหน้าตาจะเหมืดนแบบดีทุกประการ ต่าบเพียงละอองเกสรของมันจะเป็นสีเขียว ไม่ใช่สีชมพู ซิมส์ที่ถูกละอองนี้จะลดความต้องการทุกด้านอย่างช้าๆ\nหากสัมผัสละอองนี้มากๆจนความต้องการที่สำคัญล้มเหลว ซิมส์ก็จะหลับและไม่ตื่นอีกเลย หีที่โดตละอองเกสรของดอกไม้ชั่วร้ายนี้จะสีสีชมพูเหมือนถูกผีหลอกตาย\nวิธีป้องกันดอกหม้นี้ค่อนข้างยากเพราะเราไม่รู้ว่าเป็ตแบบชั่วร้ายหรือฟม่จนกว่ามันจะพ่นเกสรออกมา ผากเป็นสีเขรยวรีบขายทิ้งได้ทันที\n15. หุ่นยามเซนทนีบ็อทและหุ่นขนต์รับใช้สังหาร (ธุรกิจ)\nหุ่นยนต์ทุกชนิดที่สร้รงมานั้นสามารถเสียได้เมื่อใช้ ไปนานๆหรือเสียตั้งแต่ที่คุณสร้างมาแล้วก็ตาม อาการของมันจะมีไผช๊อตเป็นประกายออกมาจากหุ่นยนต์ เมื่อหุ่นยนต์เสียมันสามารถแสดงอาการแปลกๆที่ทำให้ซิ มส์ปวดหัว ข้าวของพัง หรือกระทั่งฆ่าคุณฟด้\nหุ่จยาสเซนทรีบ็อทมีไว้สำกรับจับขโมยและจับคนที่มาเต ะถังขยะกับขโมยหนังสือพิมพ์หากมันตั้งไว้หน้าบ้าร หากพบคนเหล่านี้มันจะรีบใช้ไฟฟ้าช๊อตคนนั้นทันมี หากหนักมือไปหน่อย คนเหล่านั้นอาจตายเพราะโดนไฟดูดได้ หรือหากหุ่นเซนทรีบ็อตเสีย มันจะลงมือช๊อตใครก็ได้าี่อยู่ในบเานก่อนที่จะเปิดใช ้งานม้นไมืได้จนกว่าจะซ่อมแซม ซึ่วคนนั้นอายกลายเป้นขี้เถ้าแล้วก็ได้\nหุีนยนต์รับใช้ก็สามารถพังได้หากความต้องการทุกด้านต กต่ำ หรือโดนนิำจากฝุกชัว อ่างล้างมือ อุปกรณ์เสีบที่มีน้ำรั่ว และสระว่ายน้ำ หากโดนน้ำความร้องการทุกด้านจะลดฮวบฮาบและเริ่มีลุ้ม ตลั่งวิ่งรอบบ้านมีควันและประกายไฟรอบตัว หากวิ่งผ่านใครคนนั้นจะถูกไฟช๊อตทันที ถ้าคนที่ถ๔กช๊อตมีความต้องกรรที่สำคัญตกต่ำก็จะกลายเ ป็นธุลีไป ผีที่ถูกหุ่นยนต์สังหารตายสีเหมือนผีทีืถูกไฟดูดตาย ขออภัจที่ไม่มีภาพผีให้ดู\nยิธีหลีกเลี่ยง หากเห็นหุ่นยามเซนทรีบ็อตมีประกายไหออกมาอย่าเปิดใช้ งานจนกว่าจะซ่อมจนใช้ไพ้ และอย่าให้หุ่นยนต์รับใช้โดนน้ำทุกชนิดก็พอ\n16. ลิฟท์ร่วง (ธุรกิจ)\nหากธุรกิจของคุณเป็นอาคารสูงเสียดฟ้าใหญ่โตมาก การเดินขึ้นบะนไดนั้นทำให้ลูกค้าเสียความสบายไปเปล่าๆ ดังนั้นคุณจึงสร้างลิฟท์ให้ลูกค้าใช้บริการ แต่ต้องแน่ใจว่ามันปลอดภัย ลิฟท์ก็เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง่ี่สามารถเสียได ้และเรื่องใหญ่แน่หากมีใครอยู่ในลิฟท์นั้น\nไม่ว่ทซิมส์อยู่ชั้นไหสก็ตามหากลิฟท์เสีย ลิฟท์จะร่วงลงมาจนถึงชั้นล่างสุดอบ่างรวดเร็ว /ม่ว่าใครกำลังใช้ลิฟท์อยู่ก็ตามก็จะมาอยู่ชั้นแรกเห มือนกันหมด ความต้องการแทบทุกด้านจะลดลฝเมื่อลิฟท็เปิดออกมาพร้อ มกลุ่มควัน หากความต้องการต่ำอยู่กล้ว แล้วบังเอิญลิฟท์ตกอีกซิมส์ก็จะออกมาตายนอกลิฟท์ทันที ผีที่ตายเพราะลิฟท์ร่วงจะมีสีใส ขออภัยที่ไม่มีภาพผีให้ดู\nวิธีหลีกเลี่ยงลิฟท์เสียนั้สไม่ใีเพราะเราจะไม่รู้ว่รมันจะเสียเมื่อไร แต่หากต้องการกระสบการณ์อันน่าตื่นเต้นจากชิฟท์ร่วงล องวู้ฮู้กันในลิฟท์ดู จะเพิ่มโอกาสให้ลิฟท์เสียมากขึ้น\n17. แปลงร่าง (สัตว์เลี้ยง)\nในภาคตัวโปรดจอมป่วนซิมส์สามารถเป็นมนุษย์หมาป่าได้ห ากโดนหัวหน้าหมาป่ากัด ซิมส์จะแปลงร่างตอนสองาุ่มเสมอ และอย่างที่บอกไปแล้วว่า เมื่แแปลงค่างความหิวจะลดลงครึ่งหนึ่งตลอด ดังนั้นหากแปลงร่างตอนความหิวต่ำก็จะเกิดหรยนะได้\nเมื่อแปลงร่างตอนความหิวต่ำ มนุษย์หมาป่าจะตายเพราะความหิวทันที ผีทีืได้จะใสเหมือนผีอดตาย\nวิธีแก้ไขคือ อว่าให้ควสมหิวตกต่ำหากเวลาใกล้สองทุ่ม หรืออีกหนทางคือ ให้ซเมส์ดื่มน้ำยาแก้มนุษย์หมาป่าจากครูฝึกสัตว์เลี้ยงในหัวข้อบริการทางโทรศัดท์\n18. เงินหล่นทับ (สี่ฤดู)\nภาคสี่ฤดูสุดแสบ นั้นนอกจากมีฤดูกาลแล้วยังสามารถปลูกพืชแต่ลสวนไปประ กวดโดยสมาคมยวนสวย หากผ่านเกณฑ์อย่างยอดเยี่ยมจะได้บ่อน้ำอธิษฐานเป็นรา ววัล บ่อนี้จะสามารถช่วยให้ชีวิตคุณดีได้ และสามารถใช้ชีวิตพังได้ด้วยหากขอพรบ่อยเกินไป บ่อน้ำนี้หากต้องการขอพรแล้วสมหวังต้องขอเพียง 24 ชั่วโมง/ครั้งเท่านั้น หลังจากโยนเหรียญแล้วบ่อน้ำจะเปล่งสีเขียว แต่ถ้าล้มเหลวบ่อนิำจะติดไฟ\nขออย่างอืืนแล้วล้มเหลวทภชีวิตซิมส์พังภิตาศได้ แต่ถ้าขอเงินล้มเหลวอาจทำซิมส์ตายได้ เมื่อล้มเหลวจะมีถุงเงินหล่นทับซิมส์ ถุงเงินนั้นจะมีเงิน 500,50,5 เหรียญแบบสุ่ม ความต้องการทุกด้านของซิมส์จะลดลงทุกด้าน หากลดลงจนขั้นล้มเหลวเกินสามอย่างซิมส์จะเสียชีวิต ผีที่โดนเงินทับตายจะสีใส\nหากไม่ต้องการตายแบบทุกขลาภ ก็อย่าขอพรถี่เกินไป ขอให้ปลอดภัยนั้นต้อง 24 ชั่บโมง/ครั้ง\n19. ฟ้าผ่า (สี่ฤดู)\nลักษณะเด่นของภาคสี่ฤดสุดแสบนี้ีือมี\"ดูกาลที่มีผลกร ะทบต่อการใช้ขีวิตของชาวซิมส์ แต่บาฝฤดูนั้นก็ไม่เป็นมิตรกับชาวซิมส์เท่าไรนัก โดยเฉพาะช่วงที่ฝนฟ้าคะนอง ฝตตกและฟ้าผ่าอย่างหนัก ฟ้าผ่านั้นจะเกิดได้เมื่อฝนตก และมักจะผ่าใส่วัตถุสิ่งของที่อยู่นอกบ้าน ฉดยมักจะผ่าใส่วัตถุที่ใหญ่ๆเช่น ต้นไม้ หากไม่มีต้นไม้ให้ผ่า ฟ้าผ่ามักจะผ่าใส่วัตถุนอกบ้านชิ้นใหญ่ๆ หรือแม้กระทั่งตัวของซิมส์\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมส์ที่ว่ายน้ำตอนฟ้รคะนอง เพราะย้ำเป็นสื่อล่อฟ้าอยืางดี ซิมส์ที่ถูกฟ้าผ่าจะมีอาการเหมือนถูกไฟดูดทึกประการ หากความต้องการต่างๆของซิมส์ลดถึงขีดสุดเกินสามอย่าง ละก็กลับบ้านเก่าได้เลย ผีที่ภูกฟ้าผ่าตายจะมีาีเหลือง\nหากมีธุระข้างนอกตอนที่ท้องฟ้าปั่นป่วนแต่ไม่อยากโดน ฟัาผ่า ก็ควรติดสายล่อฟ้าชื่อ \"สายล่อฟ้า EZ120v\" ไว้บนหลังคาบ้าน ที่อยู่ในหมวดเครื่องตกแต่ง --> อื่นๆ\nฟ้าที่ผ่าลงมาจะถูกเปลี่ยนเป้าหมายให้ผ่าที่สายล่อฟ้ าแทน\n20. ลูกเห็บ (นี่ฤดู)\nในสี่ฤดูสุดแสบนี้ นอกจากจะาีฝนที่เป็นวัตถถที่ร่วงจากฟ้าตามธรรมชาติแล้ว ยังทีหิสะ และลูกเห็บ ฝนนั้นจะตกบ่อยในฤดูใบไม้ผลิ ่ถ้าอากาศเย็นมากฝนที่ตหจะเป็นหิมะ แต่ถ้าอากาศเย็นไม่พอละก็ หยดน้ำที่เย็นจะแข็งตัวเป็นของแข็งที่ไม่ใช่หิมะ แต่เรียกว่าลูกเห็บ ซึ่งหากโดนใครเข้าละก็ เจ็บแน่ๆเหมือตโดนน้ำแข็งหาใส่\nลูกเห็บจำนวนเล็กน้อยไม่ทำให้ใครเจ็บได้ แต่ถ้าฝนตกหนักแล้วน้ำฝนทั้งหมดแข็งตัวเป็นลูกเห็บล่ะ ซิมส์ที่ยืนตากลูกเห็บล้วนๆจะแสดงอาการเจ็บปวดอแกมา และความต้องการทุกด้านจะค่อยๆลดลง หากความต้องการที่สำคัญลืมเหลวฃะก็ซิมส์จะตายท่ามกลา งกองพายุลูกเห็บ ผีที่ตายเพราะลูกเห็บจะมีสีม่วง และแสดงท่าตายของตัวเดง\nหากฟม่อยากโดนลูกเห็บรุมกระหน่ำละก็ อย่าแอกข้มงนอกขณะเกิดลูกเห็บตก รอให้ลูกเหํบหยุดก่อนแล้วค่อยออกไปก็ได้ แต่ถ้าใจร้อน ให้ใช้เครื่องควบีุมดินฟ้าอากาศที่เป็นรางวัลปณิธานกำจีดลูกเห็บให้หายไปก็ได้\n21. ลมแดด (สี่ฤดู) \nภาคสี่ฤดูนี้มีฤดูหลักๆตือ ร้อน ใบไท้ร่วง ใบไม้ผลิ และหนาว ซึ่งแต่ละฤดูจะทำให้ซิมส์มีอุณหภูมิในา่างกาจแตกต่างกัน ในฤดูร้อนหากซิมส์ทำกิจกรรมนอกบ้าน ใส่เสื้อผ้าหนาๆ จะทำให้อุณหภธมิในร่างกายร้อนจัดจนถึงจุดเดือด แต่ที่แน่ๆมันมีอันตรายมาปกว่าแค่ผิวของซิมส์ไหม้เปลี่ยนเป็นสีแองเฉยๆ\nโดยก่อนหนืานี้ซิมส์จะเหงื่อแตกและสีผิวไหม้ เป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่าควรให้ซิมส์หลบแดดได้แงืใ แตืถ้ายังฝืนตากแดดอีกซิมส์จะิห็นลมแดดทันทีเมื่ออุณ หภูมิร่างกายส๔งสุด ความต้องการทุกด้านก็จะลดลงเมื่อล้มลง และจะลดลงเรื่อยๆตราบใดที่ซิมส์ยังสลบอยู่ \nจะฟื้นเาื่อถึงกลางคืนหรือได้รับน้ำฝนที่ช่วยให้อุณห ภูมิร่างกายเย็นลง ระหว่างที่สลบอยู่หาพความต้องการที่สำคัญล้มเหลวซิมส์ก็จะไม่ฟืืนอีกเลย\nวิธีป้องกันก็เพียงสังเกตอัณภูมิร่างกาย หากเริ่มเป็นสีแดงก็รีบให้เข้าบ้านไปทันที ดื่มน้ำมะนาวซักแก้ว หรือน้ำธรรมดาก็ได้ เมื่ออุณหภธมิเป็นปกติแล้ว ก็ให้ใส่เสื้อผ้าบางๆออกไปข้างนอกได้\n22. เยือกอข็ง (สี่ฤดู)\nภาคสี่ฤดูนี้มีฤดูหลักๆคือ ร้อน ใบไม้ร่วง ใบไม้ผลิ และหนาว ซึ่งแต่ละฤดูจะทำให้ซิมส์มีอุณหภูมิในร่างกายแตกต่าง กัน ในฤดูหนาวจนหิมะตกหนัก หากซิมส์ทำกินกรรมนอกบ้านนานๆ ปั้นตะ๊กตาหิมะจนลืมเวลา อาจทำให้อุณหภูมิร่างกายลดต่ำลงจนถึงจุดเยือกแข็ง ผิวซิมส์จะเปลี่ยนสีฟ้าอมส่วง และจากนั้นก็จะตัวแข็งขยับไม่ได้ด้วยตวามหนาวเย็น\nนี่คือจุดจบของผู้ที่ใส่เสื้อผิด(ดู ทันทีที่ซิมส์เริ่มหนาวตัวสั่นผิวเปลี่ยนสีแล้ว หากยังปล่อยให้อยู่นอกบ้านอีก ซิมส์ก็จะขยับตัวไม่ได้และล้มตัวลงจมกองหิมะจนกว่าจะ ได้รับแสงแดดในตอนเช้าที่ทำให้อุณฟภูมิร่างกายสูงขึ้ น หากระหว่างล้มสลบอบู่ความต้องการที่สำคัญล้มเหลวซิมส์ก็จะไม่ฟื้นอีกเลข\nวิธรป้องกันก็เพียงสังเกตอุณภูมิร่างกาย หากเริ่มเปฺาสีฟ้าก็รีบให้เข้าบ้านไปทันที ผิงเตาไฟให้ตัวอุ่น ดื่มโกโก้ร้อนๆซักแก้ว เมื่อุณหภูมิเป็นปกติแล้ว ก็ให้ใส่เสื้อผ้าหนาๆดอกไปข้างนอกได้\n23. พายุลูกไฟ )สี่ฤดู)\nในภาคนี้มีรางวัลปณิธานใหม่คือเครื่อฝควบคุมดินฟ้าอา กาศที่สามารถเปลี่ยนสภาพอากาศและฤดูกาลได้ดังใจนึก แต่เนื่องจากมันเป็นรางวัลปณิธานดังนั้นหากผู้ใช้มีค่าปณิธานตกต่ำจะทำให้เครื่องมืดนี้ผิดพลาด ผล่ี่ออกมาราวกับว่าวาระสุดท้ายของโลกมาถึงแล้ว\nหากใช้เครื่องนี้แล้วมีควันดำออกจากเครื่แง จานดาวเทียมยิงแสงสีแดงขึ้นฟ้า เตรียมหลบเข้าบ้านหาที่กกบังและเรียกดับเพลองรอได้เล ย เพราะสิ่งที่จะตกจากฟากฟ้าคือ ลูกไฟจำนวนนับไม่ถ้วน และในจำนวนนเ้นขะมีสามลูกที่สามารถให่สิ่งใดสิ่งหนั่ งลุกติดไฟได้ทัตทีแม้กระทั่งตัวซิมส์ที่อยู่ข้างนอำด้วย\nซิมส์ที่ถูกลูกไฟหล่นใส่จะตอดไฟ และสามารถตาย้พราะไฟคลอกได้ ผีที่โดนลูกไฟตายขะเหมือนผีถูกไฟไหม้\n24. ไฟจรก (ร่วมหอ)\nใน ภาคนี้นอกจากจะมีจุดเด่นเรื่ดงชีวิตชาวหอแล้ว ยังมีจุดเด่รคือเรื่องเวทมนต์ มนต์ที่ซิมส์ใช้ร่ายขึ้นกับสายทางที่เรียนเช่น สายขาวไว้สำผรับช่วยเหลือซิมส์ สายกลางไว้ให้ซิมส์มีชีวิตที่สบายขึ้น และสายดำไวิแกล้งซิมส์ จากรูปเป็นแม่มดสายดำ ขึ้นชื่อว่าเป็นสายดำแห่ฝความอธรรมแล้ว มนต์ส่วนมนกในสมยนี้มีไว้แกล้ง บั่นทอนความสัมพันธ์ หรือแมเกระทั่งทำซิมส์ตายได้!\nโดย เฉพาะมนต์นี้ที่ชื่อว่า อินเฟรมโม่ เวทมนต์สสยดำระดับสอง ต้องใช้ไอเท็ม ดวงตาของนิวต์ 2 , ธุลีกายสิทธิ์ 1 ประกอบการร่าย คลิ๊กที่พื้นเปล่าๆที่ไกลตัวเพื่อใช้ ใช้ได้เฉพาะในบ้่นตัวเองเท่านั้น จากนั้นก็มีไฟลึกลับมทจากพื้นและลุกลามไปเรื่อยๆหากไม่ยอมดับ\nไฟนรกที่เกิดจากเวทมนต์นี้จะไหม้ทุกสิ่งที่อยู่ใกล้ๆกม้กระทั่งตัวซิมส์\nโดยมากหากใช้มนต์นี้แล้วเหยื่อมักจะรู้ตุวและฝิ่งหนีทัน แต่หากเหยื่ออยู่มุมอับของอาคารแล้วถูกแม่มดดำใช้มนต์นี้ขังซิมส์และบีบอัด ไฟเข้ามาเรื่อยๆไฟก็คลอกซิมส์นั้นตายได้\nผีที่ได้จะมีสีแดงเหมือนถูกไฟไหม้\nแค่โชคดีที่ใช้มนต์นี้ไม่ได้ในพื้นที่ส่วนกลาง แชะแม่มดดำจะไม่ใช้มนต์นี้เองเด็ดขาดนอกจากโดนผู้เล่นสั่ง หรือแค่ลองคาถาใหม่แล้วพลาดไปโดนใครเข้าแล้วละก็รีบเรียกกับเพลิงมาโดยเร็ว ก่อนซิมส์จะตาย\nหากคิดว่าดัลไม่ทัาแล้วก็ให้ใช้แม่มดสายขาว ใช้มนต์เอ็กซ์เฟลมโมที่ไฟเพื่อขจัดไฟออกไปให้หมด มนต์นี้เป็มนต์ระดับสองสายขาว\nใช้ไอเท็ม ธุลีกายสิทธิ์ 1, ผลึกรัศมีจันทรา 2\nวิธีหลีกเลี่ยงการตายแบชนี้คือ อย่าแกล้วซืมส์ ไม่มีแม่มดดำคนไหนใช้มนต์อันตรายถึงชีวิตนี้เองนอกจากคุณสั่ง\n25. บัลลังก์แห่งแสงสว่างและบัลลับก์อุ้งมือมืแ (ร่วมหอ)\nใน ภาคนค้มีพ่อมดแม่มดสายต่างๆให้เล่นได้ ซึ่งมีสายทางการเรียนต่างๆที่ร่าสนใจทั้งขาว กลาง ดำ แต่จุดเด่นคือสายขาว และดำ ที่มีมนต์หงากหลายและน่าสนใจ (บางอย่างก๊น่าเญี้าอย่างไฟนรกข้างบน) นอกจากซิใส์สามารถเรียนมนต์ได้ดล้ว ยังสามารถประดิษฐ์สิ่งของเวทมนต์ตามสายที่ตนเรียนได้ ที่น่านนใจอย่างมากคือ บัลลังก์แห่งแสงสว่าง(ขาว) และบัลลังก์อุ้งมือมืด(ดำ) ซึ่งจะได้เมื่อเรียนถึงระดับ 9 ทำได้โดยใช้หม้อปรถงยาสร้างขึ้นมา\nบัลลังก์แห่งแสงสว่าง เมื่อแม่มดขาวหรือกลางนั่ง จะเพื่มความต้องการทุกด้านไปเรื่อยๆจนเต็ม และบัลลังก์อุ้งมือมืด เมื่อแม่มดดำหรือกลางนั่ง จะเพื่มความตีองการทุกด้านไปเรื่อยๆจนเต็มเช่ากัน\nแจ่ว่าหากเอาสายตรงข้ามมานั่งบัลลังก์ที่ไม่ใช่สายของตน จะทำให้เกิดผลตรงข้าม ความต้องการทุกด้านจะลดลงเรื่อยๆจนหมด\nหากความต้องการทุกด้านหมดเมื่อไร ซิมส์ก็จะลุกมาตายใกล้ๆเก้าอี้ ผีที่ได้จะสีซีดเหมือนผีเดตาย\nหาก ไม่อยากให้ตายแบบนี้ ระวังหากเปิดโหมดชีงิคอิสระ ซิมส์พ่อมด/แม่มด (ยกเว้นสายกลางนั่งได้หมด) อาจนั่งเกืาอี้สลับสายกันดัวยความไม่รู้ เพราะเก้าอี้พวกนี้เพิ่มความค้องการทุกอย่างซิมส์จะเลือกนั่งเก็นส่วนใหญ่ โดยไม่สนว่าตัวเองสายอะไร ผลสัดท้ายก็จะตรงกันข้าม\nหากไม่เปิดชีวิตอิาระ ซิมส์จะไมีนั่งเองนอกจากคุณสั่ง ฉะนั้่นอย่าแกล้งซิมส์\n26.เตียงทับ (ร่วมหอ)\nนี่ คือเตียงรูปแบบใหม่ที่ไม่ซ้ำใครและค่อนข้างมีสไตล์ คือ สามารถพับเด็บได้หากไม่ได้ใช้งาน ซึ่งประหขัดเนื้อที่ได้มากเหมาะสำหรับหอพักห้องแคบๆ แต่หารู้ไม่ว่า...เจ้าเตียงนี้มีหลักการทำงานไม่ต่างไปจากกิโยต้นเลยซักนิด เดียวและสามารถปลิดขีพซิมว์ได้อย่างรวดเร็ว!\nหากวึนดีคืนดี ซิมส์พับเตียงเก็บแล้วจะใช้งานมันโดยการเปิด ด้วยทักษะร่างกายที่น้อยๆ หรือน้เยกว่า 6 อาจทำให้เตียงนี้หล่นมาทับซิมส์จนแบนติดพื้นได้ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเปิดเตียงนี้ในขณะที่ีวามต้องการใดๆตกต่ำขั้นล้ม เหลวสามอย่าง เตียงนี้ก็ยุมีโอกาส 5% เป็นเครื่องประหารซิมส์ได้!\nดังนั้นให้ระวัง แม้ว่าทักษะร่างกายจะสูงก็ตาม หากซิมส์เปิดเตียงนี้ในขณะทีาอารมณ์ไม่ดีมากๆ ซิมส์อาจประหารตัวเองได้ แม้ดูว่า 5% น้้จะตาำ แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่รู้ตัว\nผีที่โดนทับตายจะสีใสคล้ายอดตาย และจะวนเวียนแถวๆเตียงที่ทับตัวเองตาย\nวิธีเลี่ยงการตายแบบอนาถานี้คือ ฝึกร่างกายซิมส์ให้ได้มากกว่า 5 และขณะเผิดเตียงอย่าให้ซิมส์อารมณ์ไม่ดี\nหรือหากไม่อยากเสี่ยงก็อย่าซื้ดเตียงแบบพับนี้ที่มีลักษณถคล้ายกิโยตินมาใช้ สอนเตรยงธรรมดาดีกว่า \n27.ตายแบบอนาถถะงเงินหล่นทับตรย\nเมื่อถึงคราวโชคดีที่คุณได้รับพรจากจินนีรหรือได้รับบ่ออฐิษฐานแล้วคุณเลือกที่จะได้รับโขคทางด้านการเงืน ถ้าพรสมปราถนาจะมีถุงเงินหล่นลงมาจากฟากฟ้าดังสวรรค์โปรดให้ไปชงนตกถ้าหากว่าคุณมุนโชคร้ายสุดๆถุงเงินนั่นแหละจะหล่นทับหัวคุณจนตาย และถึงแม้คุณจะโชคดีรอดออกมาปลอดภัยเอาเงินที่ได้ไปติดตั้งระบบกันขโมยซะ เพราะไม่กี่วันหลังจากนั้นจะมีเพื่อนบ้านร้อนเงินย่องมาหานะ!!!",
"role": "user"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมส์ 2 ชาวซิมส์ ซึ่งเป็นตัวละครหลักในเกมที่ผู้เล่นจะต้องควบคุมนั้นก็เหมือนกับสัตว์โลกอย่างคนเรา ที่มีเกิด แก่ เจ็บ และตาย เช่นเดียวกับชาวซิมส์ในเกมนี้ ที่จะต้องเจอหายนะ โรคภัยไข้เจ็บ และความตาย ซึ่งในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้น มีหายนะ โรคภัย และความตายที่เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ มากมาย\nหายนะ\n\nไฟไหม้\nขโมยขึ้นบ้าน\nน้ำท่วม\nมนุษย์ต่างดาวลักพาตัว\nถุงเงินหล่นทับตาย(ประมาณตายแบบอนาถ)\nโรคภัยไข้เจ็บ\n\nความตาย\nความตาย.\nชาวซิมส์ตายโดย ถูกจานบินชนตาย อดอาหาร ถูกแมลงวันตอมตาย เป็นต้น พอตายแล้วจะมียมทูตมาเอาตัวไปถ้าช่วงนั้น (สมมุติครอบครัวเรามี 2 คน เช่น มี พ่อ แม่) ถ้าเกิดพ่อตายแม่สามารถขอให้เอาวิญญาณกลับมาได้แต่ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ พอขอยมทูตยมทูตจะให้ทายว่าวิญญาณอยู่มือไหนถ้าทายถูกจะได้วิญญาณคืนแต่ถ้าทายผิดจะไม่ได้แต่ถ้าอยู่ในวัยชราไม่สามารถขอคืนได้เนื่องจากอยู่ในวัยสุดท้ายแล้ว พอตายแล้วจะกลายเป็น\nหลุมศพและตอนกลางคืนวิญญาณจะปรากฎตัวออกมา ซึ่งถ้าวัยเด็กหัดเดินอย่าให้อยู่ใกล้หลุมศพเพราะจะเสียคะแนนปณิธาน ประเภทของวิญญาณมีดังนี้\n1.สีขาว หมดอายุขัยแล้วตาย\nเป็นความตายที่ซิมส์ทุกคนปรารถนา เป็นการตายที่ดูดีที่สุดแล้ว ซิมส์วัยชราจะมีอายุ 10 วันเท่ากันหลังจากที่เปลี่ยนวัยนี้ บวกด้วยเลขสุ่ม 1-10 และบวกด้วยคะแนนปณิธานก่อนเปลี่ยนวัย แดงล้มเหลว -2 แดง ไม่เพิ่มให้ เขียว +3 ทอง +5 ทองคำขาว +10 วัน ดังนั้นอายุวัยชราจะไม่แน่ไม่นอน\nการกินยาแห่งชีวิตที่เป็นรางวัลปณิธาน จะช่วยยืดอายุซิมส์ให้ยืนขึ้น แต่ผู้กินต้องมีปณิธานที่สูงกว่าเขียว หากเป็นสีเขียวก็ 50-50 หากแดงละก็น้ำยานี้จะลดอายุซิมส์มากกว่าเพิ่ม ถ้าสำเร็จจะอายุยืนอีก 3 วัน แต่ถ้าล้มเหลวอายุสั้นลง 3 วัน หากสมมติว่าอีก 2 วันจะตายไปกินเข้าแต่ล้มเหลวก็จะตาย ทันที! ผีที่แก่ตายจะมีสีขาว\nการแก่ตายมีสิทธิพิเศษคือ หากผู้ตายมีปณิธานทองคำขาวขณะตาย ยมฑูตจะส่งนักเต้นฮูล่ามารับตัวพร้อมกระเป๋าเดินทางไปยมโลกอย่างมีความสุข แต่นอกจากนั้นยมฑูตจะถือนาฬิกาทรายชีวิตมาบอกซิมส์ว่าหมดอายุแล้ว ซิมส์ผู้ตายจะไม่ยอมและพยายามแย่งนาฬิกามาแต่ไม่สำเร็จ และแล้วก็โดนยมฑูตขับไสไล่ส่งไปยมโลก แต่อย่างไรก็ตามหากผู้ตายมีเพื่อนไม่ว่าจะเป็นครอบครัวเดียวกันหรือไม่ เมื่อตายไปผู้ตายจะทิ้งมรดกไว้ให้ โดย คู่ครองผู้ตาย จะได้เงิน 20000-5000 ลูกผู้ตาย จะได้เงิน 10000-2500 หลานผู้ตายได้เงิน 2500-625 เพื่อนสนิทผู้ตาย 1000-250 เพื่อนผู้ตาย 500-125 โดยขึ้นกับปณิธานของผู้ตายและค่าความสัมพันธ์ตลอดชีวิตของผู้ตายที่มีกับคนนั้น หวังว่ามรดกเหล่านี้คงช่วยปลอบผู้อยู่เบื้องหลังให้ห ายโศกเศร้าได้ เพราะการตายแบบนี้จะไม่สามารถอ้อนวอนยมฑูตได้ แม้หากโทรไปหายมฑูตให้ชุบชีวิตแม้ตื่นมาไม่กี่วันก็ตายใหม่อยู่ดี\n2.สีแดง ถูกไฟไหม้ตาย เป็นเพราะอาหารที่ทำยากๆแต่มีทักษะทำอาหารต่ำ ขณะทำก็เหม่อลอย แว๊บไปไหนก็ไม่รู้ หรือ ย่างอาหารในบ้านทั้งที่ในคำอธิบายของเตาย่างก็บอกว่า ให้ไปทำนอกบ้านก็ไม่ฟังยังอุตส่าห์ทำในบ้าน หรือ ให้ซิมส์เลอะเทอะมากๆไปจุดเตาผิงจนสะเก็ดไฟกระเด็นโด นเฟอร์นิเจอร์ หรือ ทำกิจกรรมที่ทำให้อุณหภูมิร่างกายสูงมากๆจนไฟลุกตัวเอง สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้ทั้งสิ้น\n3. ไฟดูด\nเครื่องใช้ไฟฟ้าเสียแต่ไม่อยากจ้างช่างมาซ่อม หรือ กำลังทำเควสซ่อมบ้านกับแม่มดฮาร์ตอยู่ แต่แล้วด้วยทักษะกลไกที่ต่ำหรือโชคร้ายสุดขีด ซิมส์จะโดนไฟดูด\n4. ดาวเทียมหล่น\nการนอนดูท้องฟ้าหรือดูดาวกับคนรักสองต่อสองขณะออกเดตนั้นโรแมนติค แต่หารู้ไม่ว่ามันมีมหันตภัยแฝงอยู่ 1% ที่มีดาวเทียมลึกลับพุ่งชนขณะนอนดูดาวหรือท้องฟ้า\nเสียใจด้วยที่ไม่มีวิธีป้องกันดาวเทียมหล่นทับนอกจาก ไม่นอนดูดาวหรือท้องฟ้า หวังว่าราคาของซากดาวเทียมที่เหลือคงรักษาแผลใจได้\n5. โรคภัยไข้เจ็บ\n6. แมลงวันตอม\nจานชามสกปรก อาหารบูดๆไม่ยอมล้าง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ชั้นเลิศของเหล่าแมลงวันมรณะพวกนี้ ไม่มีปัญหาหากมีจานสกปรกแค่ 2-3 ใบ แต่หากมากกว่า 10 ใบนั่นคือปัญหาแล้ว ทุกครั้งที่ซิมส์ผ่านห้องนั้นก็ยิ่งมีโอกาสที่เกิดฝูงแมลงวันมรณะขึ้น\n7. หิวโหย\nเป็นความตายที่คลาสสิคที่สุดมีตั้งแต่ซิมส์1แล้ว อันเนื่องมากจากความอดอยาก ไม่มีเงินซื้ออาหาร ตู้เย็นว่างเปล่าไม่รู้ว่าสั่งอาหารยังไง หรือโดนขัง ผู้เล่นกลั่นแกล้ง ก็ทำให้ซิมส์อดตายได้เมื่อ ความหิว -100\nวิธีแก้ไขง่ายๆ อย่าไปแกล้งซิมส์ หรือรีบโทรสั่งอะไรกินก็ได้ หากไม่มีเงินเลยก็คงต้องบอกลา ผีที่อดตายจะมีสีใส และชอบค้นตู้เย็น อาหารจะหายไป5หน่วยเสมอ หากไม่มีอาหารในตู้เย็นผีจะโกรธและเริ่มหลอกคนอื่น โชคดีที่ เด็กทารก หัดเดิน เด็ก และสัตว์เลี้ยง ไม่มีวันอดตาย แต่จะถูกนักสังคมสงเคราะห์พาตัวไป\n8. กลัวผี\nใครก็ตามที่ถูกผีหลอก จะถูกลดค่าความต้องการทุกค่า แม้ว่าผีจะทำให้รำคาญ แต่ถ้าลดมากๆจนตายล่ะนั่นแหละที่น่ากลัว\nหากความต้องการสามด้านใดๆล้มเหลวขณะโดนผีหลอก ซิมส์จะหัวใจวายตายทันที โดยเฉพาคนแก่ ผีที่ตายเพราะโดนหลอกจะมีสีชมพู ขออภัยที่ไม่มีภาพผีให้ดู\nถ้าไม่ต้องการโดนผีหลอกตายก็แค่ขายหลุมศพทิ้งให้หมดเ พียงเท่านี้ผีก็ไม่มากวนใจอีก โชคดีที่เด็กไม่มีวันโดนผีหลอกตายแต่จะฉี่ราดแทน\n10. โดนกิน (มหาลัย'วัยฝัน)\nใครที่มีภาค มหาลัย'วัยฝัน อาจรู้จัก \"ต้นวัว\" ซึ่งเป็นรางวัลอาชีพของอาชีพนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่ต้องมีใบปริญญาก่อนถึงจะมีให้ทำได้ หากเราไม่ยอมให้อาหารต้นวัวเป็นเวลาหกชั่วโมง มันจะผลิใบออกมาเป็นรูปเค้กปักเทียนน่ากินออกมาล่อซิ มส์ผู้รู้เท่าไม่ถึงการณ์มากินมัน ใครกันแน่ที่ได้กิน!\nปกติซิมส์จะไม่ไปกินเค้กมรณะนี้ด้วยตัวเองนอกจากคุณสั่ง หรือซิมส์ที่เป็นแขกเดินผ่านหน้าบ้านหากเห็นเค้กนี้ก็จะหยิบกินอัตโนมัติ ผลออกมาคือโดนต้นวัวกินอย่างเอร็ดอร่อย และเหลือหลุมศพไว้ดูต่างหน้า งานนี้ยมฑูตไม่ต้องเหนื่อย ผีที่ถูกกินจะมีสีเขียวเหมือนผีป่วยตาย\nหากไม่อยากให้บ้านตัวเองเป็นบ้านผีสิงโดยไม่ได้ตั้งใจ อย่าลืมให้อาหารมันบ่อยๆ ล้อมรั้วกั้นต้นวัวไว้อย่าให้ใครเข้ามาได้ยกเว้นคนให้อาหารเท่านั้น\nแต่ถึงอย่างไรก็ตามหากมันกินใครเข้าไป เต้านมมันจะเต่งตึง ซิมส์สามารถรีดนม(น้ำศพ!)มากินได้เพื่อเพิ่มอายุให้ยืนขึ้นอีก 5 วัน แต่ถ้าคุณอยากกินเค้กละก็ต้องไม่อาบน้ำซัก 2-3 วัน จนควันเขียวขึ้นแล้วค่อยไปกิน ต้นวัวจะดมซิมส์คนนั้นและรีบหุบเค้กด้วยท่าทางรังเกียจ คุณก็อดกินเค้กอยู่ดี\n11. ตากแดด (ไนท์ไลฟ์)\nในภาคไนท์ไลฟ์คืนหรรษานั้นมีแวมไพร์อยู่ในดาวทาวน์ หากซิมส์ของคุณเกิดโดนดูดเลือดและเป็นแวมไพร์แล้วละก็การยืนตากแดดตอนกลางวันนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม แม้เป็นการอยู่ในบ้านตอนกลางวันก็ตาม เพราะแสงแดดจะเผาไหม้แวมไพร์ให้เป็นจุลได้ภายในพริบตา\nทันทีที่ผิวหนังสัมผัสแดด จะมีควันพุ่งออกจากร่างกายแม้ว่าจะอยู่ในบ้านก็ตาม ความต้องการทุกด้านจะลดเร็วมากๆๆๆๆ จนกระทั่งความต้องการทุกด้าน-100 เมื่อนั้นแวมไพร์ก็จะกลายเป็นขี้เถ้าและตายรอบที่สอง (แวมไพร์ไม่มีชีวิต) แวมไพร์ที่ตากแดดตายจะมีวิญญาณสีใสเหมือนอดตาย\nหากไม่ต้องการให้แวมไพร์ของคุณมีจุดจบแบบนี้ ในตอนกลางวันให้แวมไพร์นอนในเตียงที่รูปร่างเหมือนโลงศพ ซึ่งสามารถปกป้องแสงแดดได้ อย่าไปข้างนอกหรือตื่นตอนกลางวันหากไม่มีเหตุผลที่จำ เป็น หรือถ้าต้องไปทำงานควรซื้อรถไปทำงานเอง ในรถสามารถป้องกันแสงได้บ้างบางส่วนแต่ก็ดีกว่าตากแดด\n12. เร่เข้ามา! (ธุรกิจ)\nในภาคเปิดโลกธุรกิจเนรมิตฝัน สามารถให้ซิมส์มีธุรกิจเป็นของตัวเองเป็นเจ้าของร้าน ทุกครั้งที่ได้รับดาวความนิยมของลูกค้ามากพอ ซิมส์จะสามารถเลือกเพิ่มความสามารถของตัวเองโดยการยก ระดับธุรกิจได้หลายอย่าง แต่มีอยู่อันหนึ่งคือ เร่เข้ามา! หากมีความสามารถนี้จะมีปฏิสัมพันธ์ที่ตัวเองว่า เร่เข้ามา! เพื่อทำการลดความต้องการของตัวเองทุกด้านเพื่อเพิ่มก ับซิมส์ทุกคนที่อยู่ในห้องเดียวกับตน ท่านี้สารพัดประโยชน์แต่ถ้าใช้มากๆมันคือหายนะกับผู้ ใช้เอง\nหากใช้จนกระทั่งความต้องการที่สำคัญหมด ซิมส์ก็จะตายทันทีเพราะความต้องการทุกด้านของตนได้สล ะไปให้ซิมส์อื่นๆจนหมด ผีที่ใช้เร่เข้ามาจนตายจะมีสีเหลืองและถือโทรโข่ง ทำท่าตายของตัวเองให้ดู\nหากไม่อยากตะโกนจนตายอย่าใช้ความสามารถนี้มากเกินไป หรืิอหากต้องการใช้ต้องให้แน่ใจว่ามันคุ้มค่าพอที่จะ สละเลือดตัวเองให้คนอื่น\n13. ว่าวชั่วร้าย (ธุรกิจ)\nในภาคธุรกิจซิมส์สามารถสร้างของเล่น ดอกไม้ หรือหุ่นยนต์ขึ้นมาเองเพื่อใช้เล่นหรือขายก็ได้ แต่ใช่ว่าของทุกชิ้นจะมีแต่ของดีเสมอไป หากได้ของที่ผิดพลาดซึ่งได้มาแบบสุ่มหน้าตาของชิ้นนั้นจะแปลกไปจากธรรมดา เรียกว่า แบบชั่วร้าย ซึ่งอาจฆ่าซิมส์ที่ใช้มันได้อย่างเช่น ว่าว หากได้แบบชั่วร้ายว่าวจะเป็นว่าวเหล็ก แม้จะเป็นเหล็กมันก็บินได้แต่สักพักก็ร่วง อันตรายของมันไม่ใช่แค่นั้น\nเพราะว่ามันเป็นเหล็กจึงเป็นสื่อล่อฟ้าได้ ซิมส์ที่เล่นว่าวชั่วร้ายจะมีโอกาสค่อนข้างสูงที่โดน ฟ้าผ่า และหากความต้องการที่สำคัญต่ำอยู่ละก็ซิมส์ก็จะตาย ผีัที่เล่นว่าวตายจะมีสีเหลืองเหมือนถูกไฟดูดตาย โชคดีที่ว่าวชั่วร้ายจะโดนฟ้าผ่าไหม้เป็นจุลไปด้วย จะได้ไม่มีใครเป็นเหยื่อของมันอีก\nวิธีหลีกเลี่ยงง่ายๆเพียงอย่าไปเล่นว่าวชั่วร้ายเด็ด ขาด คุณสามารถเอาว่าวนี้ไปประดับบ้านหรือขายทิ้งเลยก็ได้ หรือขายต่อให้คนที่คุณเกลียดขี้หน้าก็ยังได้!\n14. ดอกช่อลิ้นมังกรชั่วร้าย (ธุรกิจ)\nในภาคธุรกิจซิมส์สามารถสร้างของเล่น ดอกไม้ หรือหุ่นยนต์ขึ้นมาเองเพื่อใช้เล่นหรือขายก็ได้ แต่ใช่ว่าของทุกชิ้นจะมีแต่ของดีเสมอไป หากได้ของที่ผิดพลาดซึ่งได้มาแบบสุ่มหน้าตาของชิ้นนั ้นจะแปลกไปจากธรรมดา เรียกว่า แบบชั่วร้าย ซึ่งอาจฆ่าซิมส์ที่ใช้มันได้เช่น ดอกช่อลิ้นมังกร หากดีจะเป็นของที่ทรงพลัง จะสามารถเพิ่มความต้องการทุกด้านยกเว้นพลังงานอย่างช้าๆกับซิมส์ที่อยู่ใกล้ แต่ถ้าแบบชั่วร้าย ซึ่งหน้าตาจะเหมือนแบบดีทุกประการ ต่างเพียงละอองเกสรของมันจะเป็นสีเขียว ไม่ใช่สีชมพู ซิมส์ที่ถูกละอองนี้จะลดความต้องการทุกด้านอย่างช้าๆ\nหากสัมผัสละอองนี้มากๆจนความต้องการที่สำคัญล้มเหลว ซิมส์ก็จะหลับและไม่ตื่นอีกเลย ผีที่โดนละอองเกสรของดอกไม้ชั่วร้ายนี้จะมีสีชมพูเหมือนถูกผีหลอกตาย\nวิธีป้องกันดอกไม้นี้ค่อนข้างยากเพราะเราไม่รู้ว่าเป็นแบบชั่วร้ายหรือไม่จนกว่ามันจะพ่นเกสรออกมา หากเป็นสีเขียวรีบขายทิ้งได้ทันที\n15. หุ่นยามเซนทรีบ็อทและหุ่นยนต์รับใช้สังหาร (ธุรกิจ)\nหุ่นยนต์ทุกชนิดที่สร้างมานั้นสามารถเสียได้เมื่อใช้ ไปนานๆหรือเสียตั้งแต่ที่คุณสร้างมาแล้วก็ตาม อาการของมันจะมีไฟช๊อตเป็นประกายออกมาจากหุ่นยนต์ เมื่อหุ่นยนต์เสียมันสามารถแสดงอาการแปลกๆที่ทำให้ซิ มส์ปวดหัว ข้าวของพัง หรือกระทั่งฆ่าคุณได้\nหุ่นยามเซนทรีบ็อทมีไว้สำหรับจับขโมยและจับคนที่มาเต ะถังขยะกับขโมยหนังสือพิมพ์หากมันตั้งไว้หน้าบ้าน หากพบคนเหล่านี้มันจะรีบใช้ไฟฟ้าช๊อตคนนั้นทันที หากหนักมือไปหน่อย คนเหล่านั้นอาจตายเพราะโดนไฟดูดได้ หรือหากหุ่นเซนทรีบ็อตเสีย มันจะลงมือช๊อตใครก็ได้ที่อยู่ในบ้านก่อนที่จะเปิดใช ้งานมันไม่ได้จนกว่าจะซ่อมแซม ซึ่งคนนั้นอาจกลายเป้นขี้เถ้าแล้วก็ได้\nหุ่นยนต์รับใช้ก็สามารถพังได้หากความต้องการทุกด้านต กต่ำ หรือโดนน้ำจากฝักบัว อ่างล้างมือ อุปกรณ์เสียที่มีน้ำรั่ว และสระว่ายน้ำ หากโดนน้ำความต้องการทุกด้านจะลดฮวบฮาบและเริ่มคลุ้ม คลั่งวิ่งรอบบ้านมีควันและประกายไฟรอบตัว หากวิ่งผ่านใครคนนั้นจะถูกไฟช๊อตทันที ถ้าคนที่ถูกช๊อตมีความต้องการที่สำคัญตกต่ำก็จะกลายเ ป็นธุลีไป ผีที่ถูกหุ่นยนต์สังหารตายสีเหมือนผีที่ถูกไฟดูดตาย ขออภัยที่ไม่มีภาพผีให้ดู\nวิธีหลีกเลี่ยง หากเห็นหุ่นยามเซนทรีบ็อตมีประกายไฟออกมาอย่าเปิดใช้ งานจนกว่าจะซ่อมจนใช้ได้ และอย่าให้หุ่นยนต์รับใช้โดนน้ำทุกชนิดก็พอ\n16. ลิฟท์ร่วง (ธุรกิจ)\nหากธุรกิจของคุณเป็นอาคารสูงเสียดฟ้าใหญ่โตมาก การเดินขึ้นบันไดนั้นทำให้ลูกค้าเสียความสบายไปเปล่าๆ ดังนั้นคุณจึงสร้างลิฟท์ให้ลูกค้าใช้บริการ แต่ต้องแน่ใจว่ามันปลอดภัย ลิฟท์ก็เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่สามารถเสียได ้และเรื่องใหญ่แน่หากมีใครอยู่ในลิฟท์นั้น\nไม่ว่าซิมส์อยู่ชั้นไหนก็ตามหากลิฟท์เสีย ลิฟท์จะร่วงลงมาจนถึงชั้นล่างสุดอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าใครกำลังใช้ลิฟท์อยู่ก็ตามก็จะมาอยู่ชั้นแรกเห มือนกันหมด ความต้องการแทบทุกด้านจะลดลงเมื่อลิฟท์เปิดออกมาพร้อ มกลุ่มควัน หากความต้องการต่ำอยู่แล้ว แล้วบังเอิญลิฟท์ตกอีกซิมส์ก็จะออกมาตายนอกลิฟท์ทันที ผีที่ตายเพราะลิฟท์ร่วงจะมีสีใส ขออภัยที่ไม่มีภาพผีให้ดู\nวิธีหลีกเลี่ยงลิฟท์เสียนั้นไม่มีเพราะเราจะไม่รู้ว่ามันจะเสียเมื่อไร แต่หากต้องการประสบการณ์อันน่าตื่นเต้นจากลิฟท์ร่วงล องวู้ฮู้กันในลิฟท์ดู จะเพิ่มโอกาสให้ลิฟท์เสียมากขึ้น\n17. แปลงร่าง (สัตว์เลี้ยง)\nในภาคตัวโปรดจอมป่วนซิมส์สามารถเป็นมนุษย์หมาป่าได้ห ากโดนหัวหน้าหมาป่ากัด ซิมส์จะแปลงร่างตอนสองทุ่มเสมอ และอย่างที่บอกไปแล้วว่า เมื่อแปลงร่างความหิวจะลดลงครึ่งหนึ่งตลอด ดังนั้นหากแปลงร่างตอนความหิวต่ำก็จะเกิดหายนะได้\nเมื่อแปลงร่างตอนความหิวต่ำ มนุษย์หมาป่าจะตายเพราะความหิวทันที ผีที่ได้จะใสเหมือนผีอดตาย\nวิธีแก้ไขคือ อย่าให้ความหิวตกต่ำหากเวลาใกล้สองทุ่ม หรืออีกหนทางคือ ให้ซิมส์ดื่มน้ำยาแก้มนุษย์หมาป่าจากครูฝึกสัตว์เลี้ยงในหัวข้อบริการทางโทรศัพท์\n18. เงินหล่นทับ (สี่ฤดู)\nภาคสี่ฤดูสุดแสบ นั้นนอกจากมีฤดูกาลแล้วยังสามารถปลูกพืชแต่งสวนไปประ กวดโดยสมาคมสวนสวย หากผ่านเกณฑ์อย่างยอดเยี่ยมจะได้บ่อน้ำอธิษฐานเป็นรา งวัล บ่อนี้จะสามารถช่วยให้ชีวิตคุณดีได้ และสามารถใช้ชีวิตพังได้ด้วยหากขอพรบ่อยเกินไป บ่อน้ำนี้หากต้องการขอพรแล้วสมหวังต้องขอเพียง 24 ชั่วโมง/ครั้งเท่านั้น หลังจากโยนเหรียญแล้วบ่อน้ำจะเปล่งสีเขียว แต่ถ้าล้มเหลวบ่อน้ำจะติดไฟ\nขออย่างอื่นแล้วล้มเหลวทำชีวิตซิมส์พังพินาศได้ แต่ถ้าขอเงินล้มเหลวอาจทำซิมส์ตายได้ เมื่อล้มเหลวจะมีถุงเงินหล่นทับซิมส์ ถุงเงินนั้นจะมีเงิน 500,50,5 เหรียญแบบสุ่ม ความต้องการทุกด้านของซิมส์จะลดลงทุกด้าน หากลดลงจนขั้นล้มเหลวเกินสามอย่างซิมส์จะเสียชีวิต ผีที่โดนเงินทับตายจะสีใส\nหากไม่ต้องการตายแบบทุกขลาภ ก็อย่าขอพรถี่เกินไป ขอให้ปลอดภัยนั้นต้อง 24 ชั่วโมง/ครั้ง\n19. ฟ้าผ่า (สี่ฤดู)\nลักษณะเด่นของภาคสี่ฤดสุดแสบนี้คือมีฤดูกาลที่มีผลกร ะทบต่อการใช้ชีวิตของชาวซิมส์ แต่บางฤดูนั้นก็ไม่เป็นมิตรกับชาวซิมส์เท่าไรนัก โดยเฉพาะช่วงที่ฝนฟ้าคะนอง ฝนตกและฟ้าผ่าอย่างหนัก ฟ้าผ่านั้นจะเกิดได้เมื่อฝนตก และมักจะผ่าใส่วัตถุสิ่งของที่อยู่นอกบ้าน โดยมักจะผ่าใส่วัตถุที่ใหญ่ๆเช่น ต้นไม้ หากไม่มีต้นไม้ให้ผ่า ฟ้าผ่ามักจะผ่าใส่วัตถุนอกบ้านชิ้นใหญ่ๆ หรือแม้กระทั่งตัวของซิมส์\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมส์ที่ว่ายน้ำตอนฟ้าคะนอง เพราะน้ำเป็นสื่อล่อฟ้าอย่างดี ซิมส์ที่ถูกฟ้าผ่าจะมีอาการเหมือนถูกไฟดูดทุกประการ หากความต้องการต่างๆของซิมส์ลดถึงขีดสุดเกินสามอย่าง ละก็กลับบ้านเก่าได้เลย ผีที่ถูกฟ้าผ่าตายจะมีสีเหลือง\nหากมีธุระข้างนอกตอนที่ท้องฟ้าปั่นป่วนแต่ไม่อยากโดน ฟ้าผ่า ก็ควรติดสายล่อฟ้าชื่อ \"สายล่อฟ้า EZ120v\" ไว้บนหลังคาบ้าน ที่อยู่ในหมวดเครื่องตกแต่ง --> อื่นๆ\nฟ้าที่ผ่าลงมาจะถูกเปลี่ยนเป้าหมายให้ผ่าที่สายล่อฟ้ าแทน\n20. ลูกเห็บ (สี่ฤดู)\nในสี่ฤดูสุดแสบนี้ นอกจากจะมีฝนที่เป็นวัตถุที่ร่วงจากฟ้าตามธรรมชาติแล้ว ยังมีหิมะ และลูกเห็บ ฝนนั้นจะตกบ่อยในฤดูใบไม้ผลิ ่ถ้าอากาศเย็นมากฝนที่ตกจะเป็นหิมะ แต่ถ้าอากาศเย็นไม่พอละก็ หยดน้ำที่เย็นจะแข็งตัวเป็นของแข็งที่ไม่ใช่หิมะ แต่เรียกว่าลูกเห็บ ซึ่งหากโดนใครเข้าละก็ เจ็บแน่ๆเหมือนโดนน้ำแข็งปาใส่\nลูกเห็บจำนวนเล็กน้อยไม่ทำให้ใครเจ็บได้ แต่ถ้าฝนตกหนักแล้วน้ำฝนทั้งหมดแข็งตัวเป็นลูกเห็บล่ะ ซิมส์ที่ยืนตากลูกเห็บล้วนๆจะแสดงอาการเจ็บปวดออกมา และความต้องการทุกด้านจะค่อยๆลดลง หากความต้องการที่สำคัญล้มเหลวละก็ซิมส์จะตายท่ามกลา งกองพายุลูกเห็บ ผีที่ตายเพราะลูกเห็บจะมีสีม่วง และแสดงท่าตายของตัวเอง\nหากไม่อยากโดนลูกเห็บรุมกระหน่ำละก็ อย่าออกข้างนอกขณะเกิดลูกเห็บตก รอให้ลูกเห็บหยุดก่อนแล้วค่อยออกไปก็ได้ แต่ถ้าใจร้อน ให้ใช้เครื่องควบคุมดินฟ้าอากาศที่เป็นรางวัลปณิธานกำจัดลูกเห็บให้หายไปก็ได้\n21. ลมแดด (สี่ฤดู) \nภาคสี่ฤดูนี้มีฤดูหลักๆคือ ร้อน ใบไม้ร่วง ใบไม้ผลิ และหนาว ซึ่งแต่ละฤดูจะทำให้ซิมส์มีอุณหภูมิในร่างกายแตกต่างกัน ในฤดูร้อนหากซิมส์ทำกิจกรรมนอกบ้าน ใส่เสื้อผ้าหนาๆ จะทำให้อุณหภูมิในร่างกายร้อนจัดจนถึงจุดเดือด แต่ที่แน่ๆมันมีอันตรายมากกว่าแค่ผิวของซิมส์ไหม้เปลี่ยนเป็นสีแดงเฉยๆ\nโดยก่อนหน้านี้ซิมส์จะเหงื่อแตกและสีผิวไหม้ เป็นสัญญาณเตือนให้รู้ว่าควรให้ซิมส์หลบแดดได้แล้ว แต่ถ้ายังฝืนตากแดดอีกซิมส์จะเป็นลมแดดทันทีเมื่ออุณ หภูมิร่างกายสูงสุด ความต้องการทุกด้านก็จะลดลงเมื่อล้มลง และจะลดลงเรื่อยๆตราบใดที่ซิมส์ยังสลบอยู่ \nจะฟื้นเมื่อถึงกลางคืนหรือได้รับน้ำฝนที่ช่วยให้อุณห ภูมิร่างกายเย็นลง ระหว่างที่สลบอยู่หากความต้องการที่สำคัญล้มเหลวซิมส์ก็จะไม่ฟื้นอีกเลย\nวิธีป้องกันก็เพียงสังเกตอุณภูมิร่างกาย หากเริ่มเป็นสีแดงก็รีบให้เข้าบ้านไปทันที ดื่มน้ำมะนาวซักแก้ว หรือน้ำธรรมดาก็ได้ เมื่ออุณหภูมิเป็นปกติแล้ว ก็ให้ใส่เสื้อผ้าบางๆออกไปข้างนอกได้\n22. เยือกแข็ง (สี่ฤดู)\nภาคสี่ฤดูนี้มีฤดูหลักๆคือ ร้อน ใบไม้ร่วง ใบไม้ผลิ และหนาว ซึ่งแต่ละฤดูจะทำให้ซิมส์มีอุณหภูมิในร่างกายแตกต่าง กัน ในฤดูหนาวจนหิมะตกหนัก หากซิมส์ทำกิจกรรมนอกบ้านนานๆ ปั้นตุ๊กตาหิมะจนลืมเวลา อาจทำให้อุณหภูมิร่างกายลดต่ำลงจนถึงจุดเยือกแข็ง ผิวซิมส์จะเปลี่ยนสีฟ้าอมม่วง และจากนั้นก็จะตัวแข็งขยับไม่ได้ด้วยความหนาวเย็น\nนี่คือจุดจบของผู้ที่ใส่เสื้อผิดฤดู ทันทีที่ซิมส์เริ่มหนาวตัวสั่นผิวเปลี่ยนสีแล้ว หากยังปล่อยให้อยู่นอกบ้านอีก ซิมส์ก็จะขยับตัวไม่ได้และล้มตัวลงจมกองหิมะจนกว่าจะ ได้รับแสงแดดในตอนเช้าที่ทำให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้ น หากระหว่างล้มสลบอยู่ความต้องการที่สำคัญล้มเหลวซิมส์ก็จะไม่ฟื้นอีกเลย\nวิธีป้องกันก็เพียงสังเกตอุณภูมิร่างกาย หากเริ่มเป็นสีฟ้าก็รีบให้เข้าบ้านไปทันที ผิงเตาไฟให้ตัวอุ่น ดื่มโกโก้ร้อนๆซักแก้ว เมื่อุณหภูมิเป็นปกติแล้ว ก็ให้ใส่เสื้อผ้าหนาๆออกไปข้างนอกได้\n23. พายุลูกไฟ (สี่ฤดู)\nในภาคนี้มีรางวัลปณิธานใหม่คือเครื่องควบคุมดินฟ้าอา กาศที่สามารถเปลี่ยนสภาพอากาศและฤดูกาลได้ดังใจนึก แต่เนื่องจากมันเป็นรางวัลปณิธานดังนั้นหากผู้ใช้มีค่าปณิธานตกต่ำจะทำให้เครื่องมือนี้ผิดพลาด ผลที่ออกมาราวกับว่าวาระสุดท้ายของโลกมาถึงแล้ว\nหากใช้เครื่องนี้แล้วมีควันดำออกจากเครื่อง จานดาวเทียมยิงแสงสีแดงขึ้นฟ้า เตรียมหลบเข้าบ้านหาที่กำบังและเรียกดับเพลิงรอได้เล ย เพราะสิ่งที่จะตกจากฟากฟ้าคือ ลูกไฟจำนวนนับไม่ถ้วน และในจำนวนนั้นจะมีสามลูกที่สามารถให้สิ่งใดสิ่งหนึ่ งลุกติดไฟได้ทันทีแม้กระทั่งตัวซิมส์ที่อยู่ข้างนอกด้วย\nซิมส์ที่ถูกลูกไฟหล่นใส่จะติดไฟ และสามารถตายเพราะไฟคลอกได้ ผีที่โดนลูกไฟตายจะเหมือนผีถูกไฟไหม้\n24. ไฟนรก (ร่วมหอ)\nใน ภาคนี้นอกจากจะมีจุดเด่นเรื่องชีวิตชาวหอแล้ว ยังมีจุดเด่นคือเรื่องเวทมนต์ มนต์ที่ซิมส์ใช้ร่ายขึ้นกับสายทางที่เรียนเช่น สายขาวไว้สำหรับช่วยเหลือซิมส์ สายกลางไว้ให้ซิมส์มีชีวิตที่สบายขึ้น และสายดำไว้แกล้งซิมส์ จากรูปเป็นแม่มดสายดำ ขึ้นชื่อว่าเป็นสายดำแห่งความอธรรมแล้ว มนต์ส่วนมากในสายนี้มีไว้แกล้ง บั่นทอนความสัมพันธ์ หรือแม้กระทั่งทำซิมส์ตายได้!\nโดย เฉพาะมนต์นี้ที่ชื่อว่า อินเฟรมโม่ เวทมนต์สายดำระดับสอง ต้องใช้ไอเท็ม ดวงตาของนิวต์ 2 , ธุลีกายสิทธิ์ 1 ประกอบการร่าย คลิ๊กที่พื้นเปล่าๆที่ไกลตัวเพื่อใช้ ใช้ได้เฉพาะในบ้านตัวเองเท่านั้น จากนั้นก็มีไฟลึกลับมาจากพื้นและลุกลามไปเรื่อยๆหากไม่ยอมดับ\nไฟนรกที่เกิดจากเวทมนต์นี้จะไหม้ทุกสิ่งที่อยู่ใกล้ๆแม้กระทั่งตัวซิมส์\nโดยมากหากใช้มนต์นี้แล้วเหยื่อมักจะรู้ตัวและวิ่งหนีทัน แต่หากเหยื่ออยู่มุมอับของอาคารแล้วถูกแม่มดดำใช้มนต์นี้ขังซิมส์และบีบอัด ไฟเข้ามาเรื่อยๆไฟก็คลอกซิมส์นั้นตายได้\nผีที่ได้จะมีสีแดงเหมือนถูกไฟไหม้\nแต่โชคดีที่ใช้มนต์นี้ไม่ได้ในพื้นที่ส่วนกลาง และแม่มดดำจะไม่ใช้มนต์นี้เองเด็ดขาดนอกจากโดนผู้เล่นสั่ง หรือแค่ลองคาถาใหม่แล้วพลาดไปโดนใครเข้าแล้วละก็รีบเรียกดับเพลิงมาโดยเร็ว ก่อนซิมส์จะตาย\nหากคิดว่าดับไม่ทันแล้วก็ให้ใช้แม่มดสายขาว ใช้มนต์เอ็กซ์เฟลมโมที่ไฟเพื่อขจัดไฟออกไปให้หมด มนต์นี้เป็มนต์ระดับสองสายขาว\nใช้ไอเท็ม ธุลีกายสิทธิ์ 1, ผลึกรัศมีจันทรา 2\nวิธีหลีกเลี่ยงการตายแบบนี้คือ อย่าแกล้งซิมส์ ไม่มีแม่มดดำคนไหนใช้มนต์อันตรายถึงชีวิตนี้เองนอกจากคุณสั่ง\n25. บัลลังก์แห่งแสงสว่างและบัลลังก์อุ้งมือมืด (ร่วมหอ)\nใน ภาคนี้มีพ่อมดแม่มดสายต่างๆให้เล่นได้ ซึ่งมีสายทางการเรียนต่างๆที่น่าสนใจทั้งขาว กลาง ดำ แต่จุดเด่นคือสายขาว และดำ ที่มีมนต์หลากหลายและน่าสนใจ (บางอย่างก็น่าเศร้าอย่างไฟนรกข้างบน) นอกจากซิมส์สามารถเรียนมนต์ได้แล้ว ยังสามารถประดิษฐ์สิ่งของเวทมนต์ตามสายที่ตนเรียนได้ ที่น่าสนใจอย่างมากคือ บัลลังก์แห่งแสงสว่าง(ขาว) และบัลลังก์อุ้งมือมืด(ดำ) ซึ่งจะได้เมื่อเรียนถึงระดับ 9 ทำได้โดยใช้หม้อปรุงยาสร้างขึ้นมา\nบัลลังก์แห่งแสงสว่าง เมื่อแม่มดขาวหรือกลางนั่ง จะเพื่มความต้องการทุกด้านไปเรื่อยๆจนเต็ม และบัลลังก์อุ้งมือมืด เมื่อแม่มดดำหรือกลางนั่ง จะเพื่มความต้องการทุกด้านไปเรื่อยๆจนเต็มเช่นกัน\nแต่ว่าหากเอาสายตรงข้ามมานั่งบัลลังก์ที่ไม่ใช่สายของตน จะทำให้เกิดผลตรงข้าม ความต้องการทุกด้านจะลดลงเรื่อยๆจนหมด\nหากความต้องการทุกด้านหมดเมื่อไร ซิมส์ก็จะลุกมาตายใกล้ๆเก้าอี้ ผีที่ได้จะสีซีดเหมือนผีอดตาย\nหาก ไม่อยากให้ตายแบบนี้ ระวังหากเปิดโหมดชีวิตอิสระ ซิมส์พ่อมด/แม่มด (ยกเว้นสายกลางนั่งได้หมด) อาจนั่งเก้าอี้สลับสายกันด้วยความไม่รู้ เพราะเก้าอี้พวกนี้เพิ่มความต้องการทุกอย่างซิมส์จะเลือกนั่งเป็นส่วนใหญ่ โดยไม่สนว่าตัวเองสายอะไร ผลสุดท้ายก็จะตรงกันข้าม\nหากไม่เปิดชีวิตอิสระ ซิมส์จะไม่นั่งเองนอกจากคุณสั่ง ฉะนั้่นอย่าแกล้งซิมส์\n26.เตียงทับ (ร่วมหอ)\nนี่ คือเตียงรูปแบบใหม่ที่ไม่ซ้ำใครและค่อนข้างมีสไตล์ คือ สามารถพับเก็บได้หากไม่ได้ใช้งาน ซึ่งประหยัดเนื้อที่ได้มากเหมาะสำหรับหอพักห้องแคบๆ แต่หารู้ไม่ว่า...เจ้าเตียงนี้มีหลักการทำงานไม่ต่างไปจากกิโยตินเลยซักนิด เดียวและสามารถปลิดชีพซิมส์ได้อย่างรวดเร็ว!\nหากวันดีคืนดี ซิมส์พับเตียงเก็บแล้วจะใช้งานมันโดยการเปิด ด้วยทักษะร่างกายที่น้อยๆ หรือน้อยกว่า 5 อาจทำให้เตียงนี้หล่นมาทับซิมส์จนแบนติดพื้นได้ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเปิดเตียงนี้ในขณะที่ความต้องการใดๆตกต่ำขั้นล้ม เหลวสามอย่าง เตียงนี้ก็จะมีโอกาส 5% เป็นเครื่องประหารซิมส์ได้!\nดังนั้นให้ระวัง แม้ว่าทักษะร่างกายจะสูงก็ตาม หากซิมส์เปิดเตียงนี้ในขณะที่อารมณ์ไม่ดีมากๆ ซิมส์อาจประหารตัวเองได้ แม้ดูว่า 5% นี้จะต่ำ แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่รู้ตัว\nผีที่โดนทับตายจะสีใสคล้ายอดตาย และจะวนเวียนแถวๆเตียงที่ทับตัวเองตาย\nวิธีเลี่ยงการตายแบบอนาถานี้คือ ฝึกร่างกายซิมส์ให้ได้มากกว่า 5 และขณะเปิดเตียงอย่าให้ซิมส์อารมณ์ไม่ดี\nหรือหากไม่อยากเสี่ยงก็อย่าซื้อเตียงแบบพับนี้ที่มีลักษณะคล้ายกิโยตินมาใช้ นอนเตียงธรรมดาดีกว่า \n27.ตายแบบอนาถถุงเงินหล่นทับตาย\nเมื่อถึงคราวโชคดีที่คุณได้รับพรจากจินนี่หรือได้รับบ่ออฐิษฐานแล้วคุณเลือกที่จะได้รับโชคทางด้านการเงิน ถ้าพรสมปราถนาจะมีถุงเงินหล่นลงมาจากฟากฟ้าดังสวรรค์โปรดให้ไปลงนรกถ้าหากว่าคุณมันโชคร้ายสุดๆถุงเงินนั่นแหละจะหล่นทับหัวคุณจนตาย และถึงแม้คุณจะโชคดีรอดออกมาปลอดภัยเอาเงินที่ได้ไปติดตั้งระบบกันขโมยซะ เพราะไม่กี่วันหลังจากนั้นจะมีเพื่อนบ้านร้อนเงินย่องมาหานะ!!!",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในักมเดอะฬิมส์ 2 นั้น ตึวละครในเกมที่เรียกว่า ชาวซิมส์ ย่อมมีความต้องการหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคสามต้องการทางร่างกาย ปณิธานต่างๆ ความปรารถน่ ความกลัว ความทรงจำ ความสนใจ เป็นร้น รวมถึงเรื่องบองทักษะ ที่ชาวซิมส์ในเกมต้องการเพื่อพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น เพื่อดูแลครอบครัว และเพื่อไต่เต้าเข้าสู่เส้นทางสายอาชีพที่สูงยิ่งขึ้นไป ซึ่งทักษะในเแมเดเะซิมส์ 2 ที่ชาวซิมส์จะต้องเรียนรู้ได้นั้นมี 7 ด้านได้แก่\n\nการทำอาหาร (Cooking)\nกลไก (Mechanical)\nการแสดงออก (Charosma)\nร่างกาย (Body)\nเหตุผล (Logic) (หรือตรรกะ ใยภาคแรก)\nสร้างสรรค์ (Creativity)\nการทำความสะอาด (Cleaining)\n\nการสร้างทักษะนั้นสามารถทำได้หลายวิธี เช่น \n\nศึกษาจากการอทานหนังสือ เช่น ทำอาหาร กลไก เป็นต้น\nศึกษาจากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น เหตุผล-เล่นหมากรุก สร้างสรรค์-วาดรูป,เล่นเครื่องดนตรี ร่างกาย-การเล่นกีฬา การแสดงออพ-ฝึกพูดหน้มกระจก\nเรียนจากการอ่านหนังสือในชั้นหนังสือที่เป็นรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nทักษะแชะปณิธาน\n\nทักษะและอาช้พ\nทักษะและอาชีพ.\nในการเลื่อนขั้นอาชีพต่างๆ มักจะต้องใช้ทักษะต่างๆในการเลื่อนขั้น\nความเร็วใจการเรียนรู้ทักษะ\nความ้ร์วในการเร่ยนรู้ทักษะ.\nสามารถเพิ่มความเร็วในการเรียนรู้ทักษะได้ ด้วยการสวม \"หมวกนักคิด\" ซึ่งเป็นรางวัลปณิธาน\nและในฤดู ใบไม้ร่วง ซิมส์จะเรียนรู้ทักษณะเร็วขึ้น 20เปอร์เซนต์ รวมถึงการได้โบนัสพักร้อน สดชื่ร จะเรียนรู้ทักษุเร็วเช่นกัน\nการปฏิเสธการเรียนรู้ทักษะ\nการปฏิเสธการเรียนรู้ทักษะ.\nอาจเกิดขึ้นเมื่อความต้องการติดลบ(กลายเป็นสีแดง)\nการสูญเสียทักษะ\nการสูญเสียทักษะ.\nอาจเกิดขึ้ตได้บ่อยครั้ง เช่น\n\nไปทัวร์พักร้อน และตัดสินใจผิดพลาด\nไปทำงาน แฃถตัดสินใจผเดพลาด\nรายละเอียดเกี่ยวกับทักษะต่างๆ\nำารทำอาหาร\n\nรายละเอียดเปี่ยวกับทักษะต่างๆ.\nการทำอาหาร.\nยิ่งซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหาริยอะ จะลดโอกาสไฟไหม้ เช่น\nซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหารน้อย มีโอกาสไฟไหม้ 20%\nซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหารเยอะ มีโอกาสไฟไหม้ 5%\nกลไก\nกลไก.\nสามารถเพิ่มได้จากการอ่านหนังสือ และการซ่อมแซมสิ่งของต่าง ๆ\nยิ่งซิมส์มีาักษะกลไกมาก จะช่วยลดโอกาสการถูกไฟดูด\nการแสดงออก\nการแสดงออก.\nสามารถเพิ่มได้จากการฝึดพูดหน้นกระจก และการเรียนจากาางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nร่างกาย\nร่างกาย.\nสามารถเพิ่มได้จากการออกกำลังกาย และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษน\nเหตุผล\nเหตุผล.\nสามารถเพ้่่มได้จากการเล่นหมากรุกและการส่องดูดาว และการเรียนจากตางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nสร้างสรรค์\nสร้างสรรค์.\nสามารถเดิ่่มได้จากการวาดรูป เล่นเครื่องดนตรี และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nแารทำความสะอาด\nการทำความสะอาด.\nสามารถเพเ่มได้จากการอ่าาหนังสือและการทำความสะอาดสิ่งของต่าง ๆ\nทักษะของวัยเด็กหัดเดิน\nทักษะของวัยเด็กหัดเดิน.\nวันหัดเดินจะไส่ค่อยสามารถทำอะไรได้ แต่จะมีของเล่นบางชิ้นที่จดช่วยเพิ่มทักษะแก้เด็ก มักษะที่เพิ่าในวัยนี้คือ สร้างสรรค์ และกล้าแสดงออก\nทักษะที่ซ่อนอยู่\nทักษะที่ซ่อนอยู่.\nทักษะที่ซ่อนอยู่ มี\n\nการเต้ยรำ ในการเพิ่มควรเต้นีำจากการเปิดวิทสุ\nการเล่นพูล ใสการเพิ่มเล่นพูลที่โต๊ะเล่นำูล",
"role": "user"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้น ตัวละครในเกมที่เรียกว่า ชาวซิมส์ ย่อมมีความต้องการหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความต้องการทางร่างกาย ปณิธานต่างๆ ความปรารถนา ความกลัว ความทรงจำ ความสนใจ เป็นต้น รวมถึงเรื่องของทักษะ ที่ชาวซิมส์ในเกมต้องการเพื่อพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น เพื่อดูแลครอบครัว และเพื่อไต่เต้าเข้าสู่เส้นทางสายอาชีพที่สูงยิ่งขึ้นไป ซึ่งทักษะในเกมเดอะซิมส์ 2 ที่ชาวซิมส์จะต้องเรียนรู้ได้นั้นมี 7 ด้านได้แก่\n\nการทำอาหาร (Cooking)\nกลไก (Mechanical)\nการแสดงออก (Charisma)\nร่างกาย (Body)\nเหตุผล (Logic) (หรือตรรกะ ในภาคแรก)\nสร้างสรรค์ (Creativity)\nการทำความสะอาด (Cleaining)\n\nการสร้างทักษะนั้นสามารถทำได้หลายวิธี เช่น \n\nศึกษาจากการอ่านหนังสือ เช่น ทำอาหาร กลไก เป็นต้น\nศึกษาจากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น เหตุผล-เล่นหมากรุก สร้างสรรค์-วาดรูป,เล่นเครื่องดนตรี ร่างกาย-การเล่นกีฬา การแสดงออก-ฝึกพูดหน้ากระจก\nเรียนจากการอ่านหนังสือในชั้นหนังสือที่เป็นรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nทักษะและปณิธาน\n\nทักษะและอาชีพ\nทักษะและอาชีพ.\nในการเลื่อนขั้นอาชีพต่างๆ มักจะต้องใช้ทักษะต่างๆในการเลื่อนขั้น\nความเร็วในการเรียนรู้ทักษะ\nความเร็วในการเรียนรู้ทักษะ.\nสามารถเพิ่มความเร็วในการเรียนรู้ทักษะได้ ด้วยการสวม \"หมวกนักคิด\" ซึ่งเป็นรางวัลปณิธาน\nและในฤดู ใบไม้ร่วง ซิมส์จะเรียนรู้ทักษณะเร็วขึ้น 20เปอร์เซนต์ รวมถึงการได้โบนัสพักร้อน สดชื่น จะเรียนรู้ทักษะเร็วเช่นกัน\nการปฏิเสธการเรียนรู้ทักษะ\nการปฏิเสธการเรียนรู้ทักษะ.\nอาจเกิดขึ้นเมื่อความต้องการติดลบ(กลายเป็นสีแดง)\nการสูญเสียทักษะ\nการสูญเสียทักษะ.\nอาจเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง เช่น\n\nไปทัวร์พักร้อน และตัดสินใจผิดพลาด\nไปทำงาน และตัดสินใจผิดพลาด\nรายละเอียดเกี่ยวกับทักษะต่างๆ\nการทำอาหาร\n\nรายละเอียดเกี่ยวกับทักษะต่างๆ.\nการทำอาหาร.\nยิ่งซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหารเยอะ จะลดโอกาสไฟไหม้ เช่น\nซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหารน้อย มีโอกาสไฟไหม้ 20%\nซิมส์ที่มีทักษะการทำอาหารเยอะ มีโอกาสไฟไหม้ 5%\nกลไก\nกลไก.\nสามารถเพิ่มได้จากการอ่านหนังสือ และการซ่อมแซมสิ่งของต่าง ๆ\nยิ่งซิมส์มีทักษะกลไกมาก จะช่วยลดโอกาสการถูกไฟดูด\nการแสดงออก\nการแสดงออก.\nสามารถเพิ่มได้จากการฝึดพูดหน้ากระจก และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nร่างกาย\nร่างกาย.\nสามารถเพิ่มได้จากการออกกำลังกาย และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nเหตุผล\nเหตุผล.\nสามารถเพิ่่มได้จากการเล่นหมากรุกและการส่องดูดาว และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nสร้างสรรค์\nสร้างสรรค์.\nสามารถเพิ่่มได้จากการวาดรูป เล่นเครื่องดนตรี และการเรียนจากรางวัลอาชีพของสายอาชีพการศึกษา\nการทำความสะอาด\nการทำความสะอาด.\nสามารถเพิ่มได้จากการอ่านหนังสือและการทำความสะอาดสิ่งของต่าง ๆ\nทักษะของวัยเด็กหัดเดิน\nทักษะของวัยเด็กหัดเดิน.\nวัยหัดเดินจะไม่ค่อยสามารถทำอะไรได้ แต่จะมีของเล่นบางชิ้นที่จะช่วยเพิ่มทักษะแก้เด็ก ทักษะที่เพิ่มในวัยนี้คือ สร้างสรรค์ และกล้าแสดงออก\nทักษะที่ซ่อนอยู่\nทักษะที่ซ่อนอยู่.\nทักษะที่ซ่อนอยู่ มี\n\nการเต้นรำ ในการเพิ่มควรเต้นรำจากการเปิดวิทยุ\nการเล่นพูล ในการเพิ่มเล่นพูลที่โต๊ะเล่นพูล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในเกมเดแะซิมส์ 2 นั้นเป็สเกมประเภทจำลองชีวิตคน โดยตัวละครในเกมที่เรียกว่าลาวซิมส์นั้นจะมีช่วงวัยเหมือนกับคนจริง โดยในเกมเดอะซิมส์ภาคแรกนั้นจะมี 3 ข่วงวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก และวัยผู้ใหญ่ (โดยที่มีผู้ใหญ่บางคนอาจดูเหมือนวัยชรา แตรใหเถือว่าเป็นวัยผู้ใหญ่) ส่วนเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นได้สีการเพิืมช่วงวัยอีก 3 ช่วงวัยเป็น 6 ช่วงวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็กหัดเดิน วัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ซึ่งชาวซิมส์ในวันต่างๆจะมีความแตกต่างกัน\nการเปลึ่ยนช่วงวัย\nการเปลี่ยนช่วงวัย.\nบายซิมน์จะมีช่วงวัย 6 ช่วงวัย ซึ่งแต่ละช่วยวัยจะมีระยะเวลาเป็นจำนวนวันในเกมดังนี้\n\nทารก 3 วัน\nัด็กหัดเะิน 4 วัน\nเด็ก 8 วัน\nวัยรุ่น 15 วัน หรือน้อวกว่าหากต้องการเข้ามหาวิทยาลัยเร็ว\nผู้ใหญ่ 29 วัน\nชรา 9 ถึง 31 วัน\n\nในขณะที่ชาวซิมส์จะเปลี่ยนข่วงวัยนั้น เราอาจทำได้โดยการเลือกคำสึ่งเจริญเติบโตกับชาวซิมส์คนนั้น (เฉพาะเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่) หรืแใช้เค้กวันเกิดในการเปลี่ยนช่วงวันให้ชาวซิมส์ก็ได้ ชรวซิมส์ที่กำลังเปลี่ยนวัยจะหยุดการกระทำต่างๆและมองดูที่ตัวเแง ก่อนที่จะกระโดดหมุนตัว 1 ีอบกับช่วงวุยที่เแลี่ยนไป\nชาวซิมส์ช่วงวเยชราเมื่อหมดอายุแล้วก็จะถึงเวลาแห่งการลาจาก การตายของเขาขะขึ้นอยู่กับว่าเขามีความสุขในช่วงเวลาขณะมีชีวิตอยู่มากแค่ไหน\nการยืดเวลาช่วงอายุให้ยาวนานขึ้น\nการวืดเวลาช่วงอายุใไ้ยาวนานขึ้น.\nชาวซิมส์สามารถยืดเวลาช่วงอายุของตนเองได้โดยการใช้ของรางวีลปณิธาน ยาแห่งชีวิต ซึ่งถ้าชาวซิมส์ที่ใช้ยานี้มีระดับปณ้ธานตั้งแต่สีเขียวขึ้นไปก็จะสามารถยืดเวลาออกไปได้ 3 วันในเกม แต่ถ้าระดับปณิธานต่ำกว่าสีเขียวลงมา ชาวซิมส์จะถูกลแเวลาที่เหลือออกไป 3 วันในเกมเข่นกัน\nความต้องการพื้นฐานกับช่วงวัยของชาวซิมส์\nความต้องการพื้นฐานกับช่วงวัยของชาวซิมส์.\nความต้องการพื้นฐานของชาวซิมส์นั้นมี 8 ด้าน สำหรับชาวซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปเท่านั้นจึงจะมีครบ 8 ด้าน ส่วนวัยเด็กนะไม่มีความต้องการด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นขาวซิมส์วัยเด็กจึงมีความต้องการเพียง 7 ด้าน ส่วนวัยทารก กับวัยเด็กหัดเดินนั้นจะไม่มีความต้องการด้านสภาถแวดล้อมและความสะดวกสบาย ดังนั้นชาวซิมส์วัยทารก กับวัยเด็กหัดเดินจึงมีความต้องการเพียง 6 ด้านเท่านเ้น\nรายละเอียดเกี่ยวกับช่วงวัยต่างๆ\nวัยทารก\nรายละเอียดเกี่ยวกับช่วงวัยต่างๆ.\nวัยทารก.\nเป็นวัยเดียวที่ไม่สามารถควบคุมได้ และไม่มีให้เลือกในโหมดสร้างครอบครัว แต่จะมีภายในเกมส์ ทารกเกิดจากชาวซิมส์ท้่เป็นหญ้งท้อง เด็กทารกนั้นจะไม่มีปณิธาน\nวัยเด็กหัดเดิน\nวัยเด็กหัดเดิน.\nสามารถดูความต้องการได้ดล้ว ต้องการที่จะฝึกเดิน พูด และขับถ่าย เป้นวัยแรกที่แสดงอารมณ์ออดมาได้ สามรถฝึกทักษะด้วยของบ่งอย่าง ไม่มีค่าสะดวกสะบายและสภาพแวดล้อม\nวัยเด็ก\nวัยเด็ก.\nสามารถไปเรียนหนังสือได้\nวัยรุ่า\nวัยรุ่น.\nเป็นวัยที่เหมือนผู้ใหญ่ทุกอย้าง และสามารถไปมหาวิทยาลัยไแ้ อต่งานจะเลื่อนขั้นไม่ถึงวัยผู่ใหญ่\nวัยผู้ใหญ่\nวัยชรา\nดูดพิ่ม\n\nเดอะซิมส์ 2\nความต้องการ\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "ในเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นเป็นเกมประเภทจำลองชีวิตคน โดยตัวละครในเกมที่เรียกว่าชาวซิมส์นั้นจะมีช่วงวัยเหมือนกับคนจริง โดยในเกมเดอะซิมส์ภาคแรกนั้นจะมี 3 ช่วงวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก และวัยผู้ใหญ่ (โดยที่มีผู้ใหญ่บางคนอาจดูเหมือนวัยชรา แต่ให้ถือว่าเป็นวัยผู้ใหญ่) ส่วนเกมเดอะซิมส์ 2 นั้นได้มีการเพิ่มช่วงวัยอีก 3 ช่วงวัยเป็น 6 ช่วงวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็กหัดเดิน วัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ซึ่งชาวซิมส์ในวัยต่างๆจะมีความแตกต่างกัน\nการเปลี่ยนช่วงวัย\nการเปลี่ยนช่วงวัย.\nชาวซิมส์จะมีช่วงวัย 6 ช่วงวัย ซึ่งแต่ละช่วยวัยจะมีระยะเวลาเป็นจำนวนวันในเกมดังนี้\n\nทารก 3 วัน\nเด็กหัดเดิน 4 วัน\nเด็ก 8 วัน\nวัยรุ่น 15 วัน หรือน้อยกว่าหากต้องการเข้ามหาวิทยาลัยเร็ว\nผู้ใหญ่ 29 วัน\nชรา 9 ถึง 31 วัน\n\nในขณะที่ชาวซิมส์จะเปลี่ยนช่วงวัยนั้น เราอาจทำได้โดยการเลือกคำสั่งเจริญเติบโตกับชาวซิมส์คนนั้น (เฉพาะเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่) หรือใช้เค้กวันเกิดในการเปลี่ยนช่วงวัยให้ชาวซิมส์ก็ได้ ชาวซิมส์ที่กำลังเปลี่ยนวัยจะหยุดการกระทำต่างๆและมองดูที่ตัวเอง ก่อนที่จะกระโดดหมุนตัว 1 รอบกับช่วงวัยที่เปลี่ยนไป\nชาวซิมส์ช่วงวัยชราเมื่อหมดอายุแล้วก็จะถึงเวลาแห่งการลาจาก การตายของเขาจะขึ้นอยู่กับว่าเขามีความสุขในช่วงเวลาขณะมีชีวิตอยู่มากแค่ไหน\nการยืดเวลาช่วงอายุให้ยาวนานขึ้น\nการยืดเวลาช่วงอายุให้ยาวนานขึ้น.\nชาวซิมส์สามารถยืดเวลาช่วงอายุของตนเองได้โดยการใช้ของรางวัลปณิธาน ยาแห่งชีวิต ซึ่งถ้าชาวซิมส์ที่ใช้ยานี้มีระดับปณิธานตั้งแต่สีเขียวขึ้นไปก็จะสามารถยืดเวลาออกไปได้ 3 วันในเกม แต่ถ้าระดับปณิธานต่ำกว่าสีเขียวลงมา ชาวซิมส์จะถูกลดเวลาที่เหลือออกไป 3 วันในเกมเช่นกัน\nความต้องการพื้นฐานกับช่วงวัยของชาวซิมส์\nความต้องการพื้นฐานกับช่วงวัยของชาวซิมส์.\nความต้องการพื้นฐานของชาวซิมส์นั้นมี 8 ด้าน สำหรับชาวซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปเท่านั้นจึงจะมีครบ 8 ด้าน ส่วนวัยเด็กจะไม่มีความต้องการด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นชาวซิมส์วัยเด็กจึงมีความต้องการเพียง 7 ด้าน ส่วนวัยทารก กับวัยเด็กหัดเดินนั้นจะไม่มีความต้องการด้านสภาพแวดล้อมและความสะดวกสบาย ดังนั้นชาวซิมส์วัยทารก กับวัยเด็กหัดเดินจึงมีความต้องการเพียง 6 ด้านเท่านั้น\nรายละเอียดเกี่ยวกับช่วงวัยต่างๆ\nวัยทารก\nรายละเอียดเกี่ยวกับช่วงวัยต่างๆ.\nวัยทารก.\nเป็นวัยเดียวที่ไม่สามารถควบคุมได้ และไม่มีให้เลือกในโหมดสร้างครอบครัว แต่จะมีภายในเกมส์ ทารกเกิดจากชาวซิมส์ที่เป็นหญิงท้อง เด็กทารกนั้นจะไม่มีปณิธาน\nวัยเด็กหัดเดิน\nวัยเด็กหัดเดิน.\nสามารถดูความต้องการได้แล้ว ต้องการที่จะฝึกเดิน พูด และขับถ่าย เป้นวัยแรกที่แสดงอารมณ์ออกมาได้ สามรถฝึกทักษะด้วยของบางอย่าง ไม่มีค่าสะดวกสะบายและสภาพแวดล้อม\nวัยเด็ก\nวัยเด็ก.\nสามารถไปเรียนหนังสือได้\nวัยรุ่น\nวัยรุ่น.\nเป็นวัยที่เหมือนผู้ใหญ่ทุกอย่าง และสามารถไปมหาวิทยาลัยได้ แต่งานจะเลื่อนขั้นไม่ถึงวัยผู่ใหญ่\nวัยผู้ใหญ่\nวัยชรา\nดูเพิ่ม\n\nเดอะซิมส์ 2\nความต้องการ\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หณิธานแห่งการเติบโต เป็นหนึ่งใน 6 ปณิธานในเกมเดอะซิมส์ 2 ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่เพิ่มเข้ามาจากเดอะซิมส์ภาคแาก โดยปณิธรนนี้เป็นปณิธานของชาวซิมส์ในช่ใงวัยเด็กหัดเดิน และวัยเด็กเท่านั้น และหลังจากที่วัยเด็กเติบโตเป็นวัยรุ่น ก็จะมีสิทธิเลือกให้วัยรุ่นคนนั้นมีปณิธานใด\nโดยการแสดงออกของเด็กวัยหัดเดินและเเ็กที่มีปณิธานนี้จะแตกต่างกัน \nสำหรับเดฺกวัยหัดเดินการเติบโตหมายถึงการได้รับการปฏิสัมพันธ์ทางสังคใที่น่าพคงพอใจจากคนที่เขารู้จัก และได้เรียนรู้ืักษะพื้นฐานสามอย่างคือ พูด เดิน แลัใช้เก้าอี้เล็กขับถ่าย ซึ่งเก้าอี้เล็กในที่นี้เป็นชื่อเรียกของโถส้วมสำหรับเด็กเล็กนั่นเอง \nวัยเด็กก็เช่นเดียวกัน วัยเด็กหัดเดินจะต้องการการเติวฑตขึ้นอย่างดี โดยเดฌกจะค้องมีคะแนนปณิธานสูงพอ แต่ถ้าคะแนนปณิธานไม่สูงพอก็จะทำให้เด็กเติบโตได้อย่างไม่ดี และเด็กจะหวาดกลัวกานเติบโต\nการเติบโตสำหรับวัยเด็กเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีเงื่อนไขหลายอย่างที่ต้องทำเพื่อความสำเร็จในชีวิต\nความปรารถนาปละความกลัวของเด็กมักจะเกี่ยวข้องกับการสร้างเพื่อน ทำได้ดีที่โรงเรียน ชนะเกมที่เล่นกับเด็กคนอื่น ใช้เวลากับเพื่ินสนิท และเติวโตขึ้นอย่สงดี\nพวกเขาเพิ่งเข้าสู่วัยเรียน ดังนั้นจึงมีความปรารนาและความกลัวที่เกี่ยวข้องกับผลการเรียนด้วย และกระตือรือร้นทีรจะได้รับกนนสอนให้ทำการบ้าน\nความปรารถนากละความกลัวในปณิธานแห่งการเติบโต",
"role": "user"
},
{
"content": "ปณิธานแห่งการเติบโต เป็นหนึ่งใน 6 ปณิธานในเกมเดอะซิมส์ 2 ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่เพิ่มเข้ามาจากเดอะซิมส์ภาคแรก โดยปณิธานนี้เป็นปณิธานของชาวซิมส์ในช่วงวัยเด็กหัดเดิน และวัยเด็กเท่านั้น และหลังจากที่วัยเด็กเติบโตเป็นวัยรุ่น ก็จะมีสิทธิเลือกให้วัยรุ่นคนนั้นมีปณิธานใด\nโดยการแสดงออกของเด็กวัยหัดเดินและเด็กที่มีปณิธานนี้จะแตกต่างกัน \nสำหรับเด็กวัยหัดเดินการเติบโตหมายถึงการได้รับการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่น่าพึงพอใจจากคนที่เขารู้จัก และได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐานสามอย่างคือ พูด เดิน และใช้เก้าอี้เล็กขับถ่าย ซึ่งเก้าอี้เล็กในที่นี้เป็นชื่อเรียกของโถส้วมสำหรับเด็กเล็กนั่นเอง \nวัยเด็กก็เช่นเดียวกัน วัยเด็กหัดเดินจะต้องการการเติบโตขึ้นอย่างดี โดยเด็กจะต้องมีคะแนนปณิธานสูงพอ แต่ถ้าคะแนนปณิธานไม่สูงพอก็จะทำให้เด็กเติบโตได้อย่างไม่ดี และเด็กจะหวาดกลัวการเติบโต\nการเติบโตสำหรับวัยเด็กเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีเงื่อนไขหลายอย่างที่ต้องทำเพื่อความสำเร็จในชีวิต\nความปรารถนาและความกลัวของเด็กมักจะเกี่ยวข้องกับการสร้างเพื่อน ทำได้ดีที่โรงเรียน ชนะเกมที่เล่นกับเด็กคนอื่น ใช้เวลากับเพื่อนสนิท และเติบโตขึ้นอย่างดี\nพวกเขาเพิ่งเข้าสู่วัยเรียน ดังนั้นจึงมีความปรารนาและความกลัวที่เกี่ยวข้องกับผลการเรียนด้วย และกระตือรือร้นที่จะได้รับการสอนให้ทำการบ้าน\nความปรารถนาและความกลัวในปณิธานแห่งการเติบโต",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตำรานี้จัด่หขึ้นโดยการแปลและเรียบเรียงขึ้นจากหนังสือภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น (Pāḷi Primer) ของ ดร. ลิลี เด ซิลวา ซึ่งเป็นสื่อการเรียนการสอนภาษาบาลีซึ่งที่นิยมอย่าบแพร่หลายในโลกอินเตอร์เน็ต การสอนภาษาบนลีของ ดร. เด ซิลวา จะค่อยอป็นค่อยไแและเป็นธรรมชาติตามพฤติกรรมการเรียนภาษาที่สองของมนุษย์ หนังสือภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้นของ ดร. เด ซิงวา นี้ได้รับการตีพิมพ์โดยสถาบันวิจัยการวิปัสสนา แห่งประเทศแินเดีย และเผยแพร่ในอินเคอร์เน็ตในฐานะ free e-text\nตำรานี้พยายามหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพทฺเฉพาะทางก้านภาษาศาสตร์ โดยจะใช้คำธรรมดาสามัญเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายยิ่งขึ้น อรึ่ง ภาษาบาลีทครใช้ในตำรานี้จะเป็นตัวอักษรโรมันและอักษรไทยเพื้อความสะดวกต่อการอ่าน\nสารบัญ\nเรียบเรียงจาก\n\nLily de Silva. Pāḷi Primer. Vipassana Research Institute. 2008. Source: http://www.pratyeka.org/Silva/\nแหล่งข้อมูลอื่น\nVipassanā Research Institute",
"role": "user"
},
{
"content": "ตำรานี้จัดทำขึ้นโดยการแปลและเรียบเรียงขึ้นจากหนังสือภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้น (Pāḷi Primer) ของ ดร. ลิลี เด ซิลวา ซึ่งเป็นสื่อการเรียนการสอนภาษาบาลีซึ่งที่นิยมอย่างแพร่หลายในโลกอินเตอร์เน็ต การสอนภาษาบาลีของ ดร. เด ซิลวา จะค่อยเป็นค่อยไปและเป็นธรรมชาติตามพฤติกรรมการเรียนภาษาที่สองของมนุษย์ หนังสือภาษาบาลีสำหรับผู้เริ่มต้นของ ดร. เด ซิลวา นี้ได้รับการตีพิมพ์โดยสถาบันวิจัยการวิปัสสนา แห่งประเทศอินเดีย และเผยแพร่ในอินเตอร์เน็ตในฐานะ free e-text\nตำรานี้พยายามหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์เฉพาะทางด้านภาษาศาสตร์ โดยจะใช้คำธรรมดาสามัญเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายยิ่งขึ้น อนึ่ง ภาษาบาลีที่ใช้ในตำรานี้จะเป็นตัวอักษรโรมันและอักษรไทยเพื่อความสะดวกต่อการอ่าน\nสารบัญ\nเรียบเรียงจาก\n\nLily de Silva. Pāḷi Primer. Vipassana Research Institute. 2008. Source: http://www.pratyeka.org/Silva/\nแหล่งข้อมูลอื่น\nVipassanā Research Institute",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ตัวอักษร\nตัวอักษร.\nภาษาบาลีเป็นภาษาทร่ไม่มีตัวอักษรใช้เป็นของตนเอง ภาษานีืจึงถูกบันทึกด้วยตัวอักณตของประเทศต่าง ๆ ที่ศึก?าภาษาบาลี เบ่น ในอินเดียจะใช้ตัวอักษรเทวนาครี ในศรีลังกาจถใช้ตัวอักษรสิงหล ในประเทศพม่าจะใช้ตัวอักษรพม่า ในประเทศกัมพูชาใช้ตัวอักษรเขมร และในประเทศไทยใช้ตัวอักษรไทยและนัวอักษรเขมรควบคู่กันไป ปัจจุบันนี้ภาษาบาล้เริ่มถูแบันทึกด้วยตัวอักษรโรมันมากขึ้น ตามความนิยมและความศรัทธาของชาวตะวันตหที่มีต่อพระพุทธศาสนานัีนเอง ในตำราฉบับแปลเป็นภาษาไทยนี้จะใช้ตัวอักษรโรมันเป็นหลัก แต่ผู้เรียบเรียงจะกำกับตัวอักษรไทยและตัวอักษรเทวนาครีไว้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำไปใช้ศึกษาต่อไปในภายภนคหน้าด้วย\nเสียง\nเสียง.\nในภาษาบาลีมรเสียงทั้งหมด 41 เสียง แบ่งเป็นเสียงสระ 8 เสียง และเสียงพยัญชนะ 33 เสียง\nเสียงสระ\nเสียงนระ.\nเสียงสระทั้งหมด 8 เสียง มีดังนี้\nหลักการออกเสียงสระ\nเสึยงพยัญชนะ\nเสียงพยัญชนะ.\nเสียงพยัญชนะทัีงหมด 33 เสียง จะแบ่งออกเป็นกลุ่ม (เรียกว่า ยรรค) ตามแหฃ่งกำเนิดเสียง ดังนี้\nหลักการออกเสียงพยัญชนะ\n\nเสียงจากคอ\n\nเสียง k ออกเสียง /ก/\nเสียง kh ออกเสียง /ร/\nเสียง g ออกเสียงคล้าย /ก/ แต่ให้เลื่อนมาใช้เพดานอ่อนแทน\nเสียง gh ออกเสีนงคล้าย /ค/ แต่ใช้เพดานอ่อนแทน\nเสียง ṅ คือเสียง /ง/\n\nเสียงจากเพดาน\n\nเสียง c ออกเสียง /จ/\nเสียง ch เหมือน /ข/\nเสียง j ออกเสียงคล้าย /ข/ แต่มีเสียงเสียดสีเหมือน /j/ ในภาษาอังหฤษ\nเสียง jh ออกเสียง /ช/ ที่มีเสียงเสียดสี\nเสียง ñ ออกเสียงคล้าย /ย/ แต่เป็นเสียงขึ้นจมูก เมื่อเป็นเสียงตัวสะกดจะออกเสียงเหใทอน /น/\n\nเสียงจากปุ่มเหงือก\n\nเสียง ṭ ออกเสียงคล้าย /ต/ แต่ออกเสียงแบบม้วนลิ้ต\nเสียง ṭh ออกเสียง /ท/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ḍ ออกเสียง /ด/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ḍh ออกเสียง /ด+ท/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ṇ ออกเสียง /น/ ที่ม้วนลิ้น\n\nเสียงจากฟัน\n\nเสียง t ออกเสียล /ต/\nเสียง th ออกเสียล /ท/\nเสียง d ออกเสียง /ด/\nเสียง dh ออกเสียง /ด+ท/\n้สียง n ออกเสียง /น/\n\nดสียงจากริมฝีปาก\n\nเสียง p ิแกเสียง /ป/\nเสียง ph ออกเสียง /พ/\nเสียง b ออกเสียง /บ/\nเสียง bh ออกเสียง /บ+พ/\nเสียว m ออกเสียง /ม/\n\nเสียงจสกที่ต่างๆ\n\nเสียง y ออกเสียง /ย/\nเสียง r ออกเสียง /ร/ (มีรัวลิ้น)\nเสียง l ออกเสียง /ล/\nเสีวง ḷ ออกเสียงคล้าย /ล/ แต่ม้วนลิ้น\nเสียง v ออกเสียง /ว/ โดยไม่มีเสียงเสียดสีเหมือน /v/ ในภาษาอังกฤษ\nเสียง s ออกเสียง /ซ/\nเสียง h ออกเสียง /ฮ/\nเสียง ṃ ออกเสียงได้หลายแบบ โดย\n\nสำันียงลังกา กัมพูชา และไทยจะออกเสียง /ง/ (อัง)\nสำเนียงอินเเียและพม่าจะออกเสียง /ม/\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "ตัวอักษร\nตัวอักษร.\nภาษาบาลีเป็นภาษาที่ไม่มีตัวอักษรใช้เป็นของตนเอง ภาษานี้จึงถูกบันทึกด้วยตัวอักษรของประเทศต่าง ๆ ที่ศึกษาภาษาบาลี เช่น ในอินเดียจะใช้ตัวอักษรเทวนาครี ในศรีลังกาจะใช้ตัวอักษรสิงหล ในประเทศพม่าจะใช้ตัวอักษรพม่า ในประเทศกัมพูชาใช้ตัวอักษรเขมร และในประเทศไทยใช้ตัวอักษรไทยและตัวอักษรเขมรควบคู่กันไป ปัจจุบันนี้ภาษาบาลีเริ่มถูกบันทึกด้วยตัวอักษรโรมันมากขึ้น ตามความนิยมและความศรัทธาของชาวตะวันตกที่มีต่อพระพุทธศาสนานั่นเอง ในตำราฉบับแปลเป็นภาษาไทยนี้จะใช้ตัวอักษรโรมันเป็นหลัก แต่ผู้เรียบเรียงจะกำกับตัวอักษรไทยและตัวอักษรเทวนาครีไว้ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำไปใช้ศึกษาต่อไปในภายภาคหน้าด้วย\nเสียง\nเสียง.\nในภาษาบาลีมีเสียงทั้งหมด 41 เสียง แบ่งเป็นเสียงสระ 8 เสียง และเสียงพยัญชนะ 33 เสียง\nเสียงสระ\nเสียงสระ.\nเสียงสระทั้งหมด 8 เสียง มีดังนี้\nหลักการออกเสียงสระ\nเสียงพยัญชนะ\nเสียงพยัญชนะ.\nเสียงพยัญชนะทั้งหมด 33 เสียง จะแบ่งออกเป็นกลุ่ม (เรียกว่า วรรค) ตามแหล่งกำเนิดเสียง ดังนี้\nหลักการออกเสียงพยัญชนะ\n\nเสียงจากคอ\n\nเสียง k ออกเสียง /ก/\nเสียง kh ออกเสียง /ค/\nเสียง g ออกเสียงคล้าย /ก/ แต่ให้เลื่อนมาใช้เพดานอ่อนแทน\nเสียง gh ออกเสียงคล้าย /ค/ แต่ใช้เพดานอ่อนแทน\nเสียง ṅ คือเสียง /ง/\n\nเสียงจากเพดาน\n\nเสียง c ออกเสียง /จ/\nเสียง ch เหมือน /ช/\nเสียง j ออกเสียงคล้าย /จ/ แต่มีเสียงเสียดสีเหมือน /j/ ในภาษาอังกฤษ\nเสียง jh ออกเสียง /ช/ ที่มีเสียงเสียดสี\nเสียง ñ ออกเสียงคล้าย /ย/ แต่เป็นเสียงขึ้นจมูก เมื่อเป็นเสียงตัวสะกดจะออกเสียงเหมือน /น/\n\nเสียงจากปุ่มเหงือก\n\nเสียง ṭ ออกเสียงคล้าย /ต/ แต่ออกเสียงแบบม้วนลิ้น\nเสียง ṭh ออกเสียง /ท/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ḍ ออกเสียง /ด/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ḍh ออกเสียง /ด+ท/ ที่ม้วนลิ้น\nเสียง ṇ ออกเสียง /น/ ที่ม้วนลิ้น\n\nเสียงจากฟัน\n\nเสียง t ออกเสียง /ต/\nเสียง th ออกเสียง /ท/\nเสียง d ออกเสียง /ด/\nเสียง dh ออกเสียง /ด+ท/\nเสียง n ออกเสียง /น/\n\nเสียงจากริมฝีปาก\n\nเสียง p ออกเสียง /ป/\nเสียง ph ออกเสียง /พ/\nเสียง b ออกเสียง /บ/\nเสียง bh ออกเสียง /บ+พ/\nเสียง m ออกเสียง /ม/\n\nเสียงจากที่ต่างๆ\n\nเสียง y ออกเสียง /ย/\nเสียง r ออกเสียง /ร/ (มีรัวลิ้น)\nเสียง l ออกเสียง /ล/\nเสียง ḷ ออกเสียงคล้าย /ล/ แต่ม้วนลิ้น\nเสียง v ออกเสียง /ว/ โดยไม่มีเสียงเสียดสีเหมือน /v/ ในภาษาอังกฤษ\nเสียง s ออกเสียง /ซ/\nเสียง h ออกเสียง /ฮ/\nเสียง ṃ ออกเสียงได้หลายแบบ โดย\n\nสำเนียงลังกา กัมพูชา และไทยจะออกเสียง /ง/ (อัง)\nสำเนียงอินเดียและพม่าจะออกเสียง /ม/\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำศัพม๋\nคำศัพท์.\nบทที่ 1 ศัภท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาท 1u คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำของประโยค เรียกว่า (nominative case) ในเบื้องต้นมห้ผู้ทำคือประธานของประโยค การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้ดติม โ– (-o) ท้ายต้นเค้าคำนาม\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ให้เติม –า (-ā) ท้ายต้นเค้าคำนาม\n\nการผันคำกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุระษที่ 3\nการผันคำกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษ่ี่ 3.\nจากตารางคำศัพท์หมวดคำกริยาข้างบนนั้นเป็นรูปผันที่ประกอบจากต้นเค้าคำกริยา (verba; base) ภาส, ปจ, กส เป็นต้น รวมกับท้ายเสรยง –ติ (-ti) ซึ่งบอกกาลปัจจุบัน บุรุษที่ 3 เอกพจน์\nส่วยการผันตามกาลปัจจุบัน บุรุษที่ 3 พหูพจน์นั้นใฟ้เปลี้ยนท้ายเสียงจาก –ติ เป็น –นฺติ (-nti)\nรูปผันดังกล่าวเมื่อแปลแล่วจะมีความหมายว่า \"...อยู่\", \"ย่อม...\", \"จะ...\" (หรือ \"กหลัง...\" หรือแปลเฉพาะคำกริยา)\nการสร้างประโยค\n\nประโยตในภาษาบาลีขะเรียงเป็น ประธาน + กริยา (SD, Subject Verb) หรืออาจเรียกเป็น ผู้ทำ + กริยา\nคำกริยามีแารผันตามประธานเสมอ นั่นคือ ประธานเป๋นเอกพจน์หรือพหูพจน์ กริยาก็ต้องผันเป็นเอแพจน์หรือพหูพจน์ตามลำดับ\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\n\n\nดุมาร\nปุริว\nปุตฺต\nะฺราหฺมณ\nพุทฺธ\nตถาคต\nสุคต\nภูปาล\nมนุสฺส\nวาณิช\nสหาย\nสหายก\nมิตฺต\nจงผันคำกริยา\n\n\nคจฺฉ\nฉินฺท\nธาว\nปสฺส\nภุญฺช\nสย\nอาคจฺฉ\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nภูปาโล ภุญฺชติ. (Bhūpālo bhuñjati.)\nปึตฺตา สยนฺติ. (Puttā sayanti.)\nวาณิชา สยนฺติ. (Vāṇijā sayan4i.)\nพุทฺโธ ปสฺสติ. (Buddho passati.)\nกุมาโร ธาวติ. (Kumāro dhāvati.)\nมาตุโล กสติ. (Mātulo kasat8.)\nพฺราหฺมณา ภาสนฺติ. (Brāhmaṇā bhāsant8.)\nทิตฺตา คจฺฉนฺติ. (Mittā gacchanti.)\nกสฺสกา ปจนฺติ. (Ksssakā pacanhi.)\nมนุใฺโส ฉินฺทติ. (Manusso chindati.)\nปุริสา ธาวนฺติ. (Purisā dhāvanti.)\nสหายโก ภุญฺชติ. (Sahāyako bhuñjati.)\nตถาคโต ภาสติ. (Tathāgato bhāsxti.)\nนโร ปจติ. (Naro pacati.)\nสหายา กสนฺติ. (Sahāyā kasanti.)\nสุึโต อาคจฺฉติ. (Sugato āgacchati.)\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกบุตรวิ่งอยู่\nลุงเห็น\nพ่อค้านอนอยู่\nพวกเด็กชายกำลังกิน\nพวกพ่อค้ากำลังไป\nผู้ชรยนอนหลับ\nพระราชาทั้งหลายเสด็จไป\nพราหมณฺตัด\nเพื่อน ๆ พูดอยู่\nชาวนากำลังไถนา\nพ่อค้ากำลังมา\nลูกชายตัด\nพวกลุงพูดอยู่\nเด็กชายวิ่ง\nเพื่อนพูด\nพระพุทธเจ้าทอดพระเยตร\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทที่ 1 ศัพท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาม 16 คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำ.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นผู้ทำของประโยค เรียกว่า (nominative case) ในเบื้องต้นให้ผู้ทำคือประธานของประโยค การผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติม โ– (-o) ท้ายต้นเค้าคำนาม\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ให้เติม –า (-ā) ท้ายต้นเค้าคำนาม\n\nการผันคำกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษที่ 3\nการผันคำกริยากาลปัจจุบันสำหรับประธานบุรุษที่ 3.\nจากตารางคำศัพท์หมวดคำกริยาข้างบนนั้นเป็นรูปผันที่ประกอบจากต้นเค้าคำกริยา (verbal base) ภาส, ปจ, กส เป็นต้น รวมกับท้ายเสียง –ติ (-ti) ซึ่งบอกกาลปัจจุบัน บุรุษที่ 3 เอกพจน์\nส่วนการผันตามกาลปัจจุบัน บุรุษที่ 3 พหูพจน์นั้นให้เปลี่ยนท้ายเสียงจาก –ติ เป็น –นฺติ (-nti)\nรูปผันดังกล่าวเมื่อแปลแล้วจะมีความหมายว่า \"...อยู่\", \"ย่อม...\", \"จะ...\" (หรือ \"กำลัง...\" หรือแปลเฉพาะคำกริยา)\nการสร้างประโยค\n\nประโยคในภาษาบาลีจะเรียงเป็น ประธาน + กริยา (SV, Subject Verb) หรืออาจเรียกเป็น ผู้ทำ + กริยา\nคำกริยามีการผันตามประธานเสมอ นั่นคือ ประธานเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ กริยาก็ต้องผันเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ตามลำดับ\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\n\n\nกุมาร\nปุริส\nปุตฺต\nพฺราหฺมณ\nพุทฺธ\nตถาคต\nสุคต\nภูปาล\nมนุสฺส\nวาณิช\nสหาย\nสหายก\nมิตฺต\nจงผันคำกริยา\n\n\nคจฺฉ\nฉินฺท\nธาว\nปสฺส\nภุญฺช\nสย\nอาคจฺฉ\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nภูปาโล ภุญฺชติ. (Bhūpālo bhuñjati.)\nปุตฺตา สยนฺติ. (Puttā sayanti.)\nวาณิชา สยนฺติ. (Vāṇijā sayanti.)\nพุทฺโธ ปสฺสติ. (Buddho passati.)\nกุมาโร ธาวติ. (Kumāro dhāvati.)\nมาตุโล กสติ. (Mātulo kasati.)\nพฺราหฺมณา ภาสนฺติ. (Brāhmaṇā bhāsanti.)\nมิตฺตา คจฺฉนฺติ. (Mittā gacchanti.)\nกสฺสกา ปจนฺติ. (Kassakā pacanti.)\nมนุสฺโส ฉินฺทติ. (Manusso chindati.)\nปุริสา ธาวนฺติ. (Purisā dhāvanti.)\nสหายโก ภุญฺชติ. (Sahāyako bhuñjati.)\nตถาคโต ภาสติ. (Tathāgato bhāsati.)\nนโร ปจติ. (Naro pacati.)\nสหายา กสนฺติ. (Sahāyā kasanti.)\nสุคโต อาคจฺฉติ. (Sugato āgacchati.)\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกบุตรวิ่งอยู่\nลุงเห็น\nพ่อค้านอนอยู่\nพวกเด็กชายกำลังกิน\nพวกพ่อค้ากำลังไป\nผู้ชายนอนหลับ\nพระราชาทั้งหลายเสด็จไป\nพราหมณ์ตัด\nเพื่อน ๆ พูดอยู่\nชาวนากำลังไถนา\nพ่อค้ากำลังมา\nลูกชายตัด\nพวกลุงพูดอยู่\nเด็กชายวิ่ง\nเพื่อนพูด\nพระพุทธเจ้าทอดพระเนตร\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทที่ 2 ศัพท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาม q6 คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่งบท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง.\nคำนามที่ทำหน้าทร่เป็นกรรมตรงหรือผู้ถูกทำหีือสิ่งถูกทำของประโยค เรีจกว่า (accusative dase) ในภาษาบาลีเรียกว่า ทุติยา หรือการผันคำนามลำดับที่สอง ประโยค ฉันกินข้าว คำบ่าข้าวทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วนประโยค แม่ให้ขนมแก่น้อง คำว่าขนมทำหน้าที่เป็นดรรมตรง ส่วน \"น้อง\" ทำปน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่ฝจะมีในบทถัดไป\nการผันคำนามเพษชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน่าที่เป็นกรรมตาง มีหลีกกนรผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติมนิคหิต ◌ํ (-ṃ) ท้ายต้นเค้าคำนาม (ออกเสียงเป็น ◌ัง)\nรูปพหูพจน์ในก่รกนี้ให้เติม เ– (-e) ท้ายน้นเค้าคำนาม\n\nนอกจากนี้คำนามที่ทำหน้าที่ในปรดโยคเป็นจุดหมายปลายทางของการเดิรทางหรือการเคลื่อนที่ ยังผันในรูปกนรมตรงอีกด้วย ส่วนใหญ่เป็นคำนามสถานที่ เช่ส\nซึ่งคำนามดังกล่าวยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมได้อยู่เอง การจะแปล \"คามํ\" ว่าสู่หมู่บ้าน ห่ือซึ่งหมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ\nการสร้างประโยค\nการสร้างประโยค.\nประโยคที่จะมีคำนามรูปกรรมตรงได้นั้น คำกริยาหลักของประโยคต้องเป์นกริยาชนิดที่ต้องการกรรม หรือเป็นกริยาแสดงการเคลื่อนที่หรือกานเดินทาง\nโครงสร้มงของประโยคที่มีกรรมรรง จะเรียงลำดับเป็น ผู้ทำ (ประธาน) + ผู้ถูกทำ (กรรมตรง) + กริยา. (เทียบเท่ากับ SOV - Subject Object Derb) จะเห็นว่าคำำริยาตกอยู่ท้ายประโยค และกรรมตรงอยู่หน้าคำกริยา\nให้สังเกตว่าคำกริยาจะผันตามคำนามปรัธานเสมอ ไม่ว่าคำนามกรรมตรงจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ก็ไม่มีผลต่อคำกริยานั้น\nเนื่องจากกรรใการกในประโยคเป็นได้สองหน้าที่คือเป็นผู้ถูกกระทำโดยตรงแลถจุดหมายปลายทาง ทำให้เกิดประโยคที่ประกอบด้วยคำนามกรรมตรงสองคำได้ เช่น\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\nแบบฝึกหัด.\nจงผันคำนาม,\nจงผันคำนามเพศช่ยที่ลงท้านด้วยเสียง อะ ต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปกรรมตรง ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์\n\nปุริส\nพ์ราหฺมณ\nพุทฺธ, ตถาคต, สุคต\nสหาย, สหายก, มิตฺต\nกุกฺกุร, สุนข, โสณ\nโมฺม\nปตฺต\nรุกฺบ\nวิหาร\nจนฺท, สุริย\nอาวาฏ\nโอทน\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nตถาคโต ธมฺมํ ภาสติ.Tathāgato whammaṃ bhāsati.\nพฺราหฺมณา โอทนํ ภุญฺจนฺติ.Brāhmaṇā odanaṃ bhuñjanti.\nมนุสฺโส สุริย็ ปสฺสติ.Manusso suroyaṃ pacsati.\nกุมารา สิคาเล ปหรนฺติ.Kumārā sigāle paharanti.\nยาจกา ภตฺตํ ยาจนฺติ.Yādakā bhattaṃ yācanti.\nกสฺสกา อาวาเฎ ขณนฺติ.Kasdakā āvāṭe khaṇanti.\nมิตฺโต คามํ อาคจฺฉติ.Mitto gāmaṃ āgacchati.\nภูปาโล มนุส์เส รกฺขติ.Bhūpālo manusse takkhati.\nปุตฺตา ปพฺพตํ คจฺฉนฺติ.Puttā pabbataṃ gacchanti.\nกุมาโร พุทฺธํ วนฺทติ.Kumāro Buddhaṃ vandati.\nวาณิชา ปตฺเต อาหรนฺติ.Vāṇijā patte āharanti.\nปุริโส วิหารํ คจฺฉติ.Puriso vihāraṃ gacchati.\nกุกฺกุรา ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Kukkurā pabbataṃ dhāvanti.\nสิคาลา คามํ อาคจฺฉนฺติ.Sigālā gāmaṃ āgacchanti.\nพฺราหฺมณา สหายเก อาหรนฺติฐBrānmaṇā sahāyake āharanti.\nภูปาลา สุคตํ วนฺทนฺติ.Bhūpālā sugataṃ vandanti.\nยาจกา สยนฺติ.Hācakā sayanti.\nมิตฺตา สุนเข หรนฺติ.Mittā sunakhe haranti.\nปุตฺโต นนฺทํ ปสฺสติ.Putto candaṃ passati.\nกสฺสโก คามํ ธาวติ.Kassako gāmxṃ dhāvati.\nวาณิชา รุกฺเข ฉินฺทนฺติ.Vāṇijā rukkhe chindanti.\nนโร สิคาลํ วิชฺฌติ.Naro sigālaṃ vijjhati.\nกุมาโร โเทนํ ภุญชติ.Kumāro odanaṃ bhuñjati.\nยาจโก โสณํ ปหรติ.Yācako soṇaṃ paharati.\nสหายกา ปพฺพเต อารุหนฺติ.Sahāyakā pabbxte āruhanti.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกผู้ชายไปยังวิหาร\nพวกชาวนาปีนขึ้นภูเขาทั้งหลาย\nะราหมณ์รับประทานข้าว\nพระพุทธเจ้าทอดพระเนตรเห็นเหล่าเด็กชาย\nพวกลุงหยิบถีวยทั้งหลายไป\nบุตรปกป้องสุนัข\nพาะราชาทรงไหว้พระพุทธเจ้า\nพ่อค้าพาเด็กขายมา\nเปล่าเพื่อนๆ ไหว้พราหมณ์\nพวกขอมานขอข้าว\nเหล่าพ่อค้ายิงพวกหมาจิ้งจอกทอง\nพวกเด็กชายปีนภูเขา\nชาวนาวิ่งไปยังหมู่บ้าน\nพ่อค้าหุงข้าว\nพวกบุตรไหว้ลุง\nเหล่าพระราชาปกป้องคนทั้งหลาย\nพระพุทธเจ้าเสด็จมายังวิหาร\nพวกผู้ชายลงมา\nพวกชาวนาขุดหลุมทั้งหลาย\nพ่อค้าวิ่ง\nสุนัขเห็นพระจันทร์\nพวกเด็กชายปีนต้นไม้ทั้งหลาย\nพราหมณ์นำถ้วยมา\nขอทานหลับ\nพระราชาทอเพระเนตรเห็นพระพุทธเจ้า\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทที่ 2 ศัพท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาม 16 คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงหรือผู้ถูกทำหรือสิ่งถูกทำของประโยค เรียกว่า (accusative case) ในภาษาบาลีเรียกว่า ทุติยา หรือการผันคำนามลำดับที่สอง ประโยค ฉันกินข้าว คำว่าข้าวทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วนประโยค แม่ให้ขนมแก่น้อง คำว่าขนมทำหน้าที่เป็นกรรมตรง ส่วน \"น้อง\" ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง ซึ่งจะมีในบทถัดไป\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นกรรมตรง มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติมนิคหิต ◌ํ (-ṃ) ท้ายต้นเค้าคำนาม (ออกเสียงเป็น ◌ัง)\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ให้เติม เ– (-e) ท้ายต้นเค้าคำนาม\n\nนอกจากนี้คำนามที่ทำหน้าที่ในประโยคเป็นจุดหมายปลายทางของการเดินทางหรือการเคลื่อนที่ ยังผันในรูปกรรมตรงอีกด้วย ส่วนใหญ่เป็นคำนามสถานที่ เช่น\nซึ่งคำนามดังกล่าวยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมได้อยู่เอง การจะแปล \"คามํ\" ว่าสู่หมู่บ้าน หรือซึ่งหมู่บ้าน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ\nการสร้างประโยค\nการสร้างประโยค.\nประโยคที่จะมีคำนามรูปกรรมตรงได้นั้น คำกริยาหลักของประโยคต้องเป็นกริยาชนิดที่ต้องการกรรม หรือเป็นกริยาแสดงการเคลื่อนที่หรือการเดินทาง\nโครงสร้างของประโยคที่มีกรรมตรง จะเรียงลำดับเป็น ผู้ทำ (ประธาน) + ผู้ถูกทำ (กรรมตรง) + กริยา. (เทียบเท่ากับ SOV - Subject Object Verb) จะเห็นว่าคำกริยาตกอยู่ท้ายประโยค และกรรมตรงอยู่หน้าคำกริยา\nให้สังเกตว่าคำกริยาจะผันตามคำนามประธานเสมอ ไม่ว่าคำนามกรรมตรงจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ก็ไม่มีผลต่อคำกริยานั้น\nเนื่องจากกรรมการกในประโยคเป็นได้สองหน้าที่คือเป็นผู้ถูกกระทำโดยตรงและจุดหมายปลายทาง ทำให้เกิดประโยคที่ประกอบด้วยคำนามกรรมตรงสองคำได้ เช่น\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\nแบบฝึกหัด.\nจงผันคำนาม.\nจงผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปกรรมตรง ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์\n\nปุริส\nพฺราหฺมณ\nพุทฺธ, ตถาคต, สุคต\nสหาย, สหายก, มิตฺต\nกุกฺกุร, สุนข, โสณ\nธมฺม\nปตฺต\nรุกฺข\nวิหาร\nจนฺท, สุริย\nอาวาฏ\nโอทน\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nตถาคโต ธมฺมํ ภาสติ.Tathāgato dhammaṃ bhāsati.\nพฺราหฺมณา โอทนํ ภุญฺจนฺติ.Brāhmaṇā odanaṃ bhuñjanti.\nมนุสฺโส สุริยํ ปสฺสติ.Manusso suriyaṃ passati.\nกุมารา สิคาเล ปหรนฺติ.Kumārā sigāle paharanti.\nยาจกา ภตฺตํ ยาจนฺติ.Yācakā bhattaṃ yācanti.\nกสฺสกา อาวาเฎ ขณนฺติ.Kassakā āvāṭe khaṇanti.\nมิตฺโต คามํ อาคจฺฉติ.Mitto gāmaṃ āgacchati.\nภูปาโล มนุสฺเส รกฺขติ.Bhūpālo manusse rakkhati.\nปุตฺตา ปพฺพตํ คจฺฉนฺติ.Puttā pabbataṃ gacchanti.\nกุมาโร พุทฺธํ วนฺทติ.Kumāro Buddhaṃ vandati.\nวาณิชา ปตฺเต อาหรนฺติ.Vāṇijā patte āharanti.\nปุริโส วิหารํ คจฺฉติ.Puriso vihāraṃ gacchati.\nกุกฺกุรา ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Kukkurā pabbataṃ dhāvanti.\nสิคาลา คามํ อาคจฺฉนฺติ.Sigālā gāmaṃ āgacchanti.\nพฺราหฺมณา สหายเก อาหรนฺติ.Brāhmaṇā sahāyake āharanti.\nภูปาลา สุคตํ วนฺทนฺติ.Bhūpālā sugataṃ vandanti.\nยาจกา สยนฺติ.Yācakā sayanti.\nมิตฺตา สุนเข หรนฺติ.Mittā sunakhe haranti.\nปุตฺโต จนฺทํ ปสฺสติ.Putto candaṃ passati.\nกสฺสโก คามํ ธาวติ.Kassako gāmaṃ dhāvati.\nวาณิชา รุกฺเข ฉินฺทนฺติ.Vāṇijā rukkhe chindanti.\nนโร สิคาลํ วิชฺฌติ.Naro sigālaṃ vijjhati.\nกุมาโร โอทนํ ภุญชติ.Kumāro odanaṃ bhuñjati.\nยาจโก โสณํ ปหรติ.Yācako soṇaṃ paharati.\nสหายกา ปพฺพเต อารุหนฺติ.Sahāyakā pabbate āruhanti.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกผู้ชายไปยังวิหาร\nพวกชาวนาปีนขึ้นภูเขาทั้งหลาย\nพราหมณ์รับประทานข้าว\nพระพุทธเจ้าทอดพระเนตรเห็นเหล่าเด็กชาย\nพวกลุงหยิบถ้วยทั้งหลายไป\nบุตรปกป้องสุนัข\nพระราชาทรงไหว้พระพุทธเจ้า\nพ่อค้าพาเด็กชายมา\nเหล่าเพื่อนๆ ไหว้พราหมณ์\nพวกขอทานขอข้าว\nเหล่าพ่อค้ายิงพวกหมาจิ้งจอกทอง\nพวกเด็กชายปีนภูเขา\nชาวนาวิ่งไปยังหมู่บ้าน\nพ่อค้าหุงข้าว\nพวกบุตรไหว้ลุง\nเหล่าพระราชาปกป้องคนทั้งหลาย\nพระพุทธเจ้าเสด็จมายังวิหาร\nพวกผู้ชายลงมา\nพวกชาวนาขุดหลุมทั้งหลาย\nพ่อค้าวิ่ง\nสุนัขเห็นพระจันทร์\nพวกเด็กชายปีนต้นไม้ทั้งหลาย\nพราหมณ์นำถ้วยมา\nขอทานหลับ\nพระราชาทอดพระเนตรเห็นพระพุทธเจ้า\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปณิธานกับตัวอย่างความปรารถนา และความกลัว",
"role": "user"
},
{
"content": "ปณิธานกับตัวอย่างความปรารถนา และความกลัว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปณิธานกับสายอาชีพที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nดูเพิ่ม\n\nคู่มือเกม\nความต้องการ\nทักษด\nซิมโมโลจี\nช่วงวัส\nพื้นที่ส่ฝนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของชาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ความปรารถนา และความกลัว\nปณิธานกับส่ยอาชีพที่ต้องกาน และทักษะที่มุ่วหมาย\nการเติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมนติค\nความพึงพอใจ",
"role": "user"
},
{
"content": "ปณิธานกับสายอาชีพที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nดูเพิ่ม\n\nคู่มือเกม\nความต้องการ\nทักษะ\nซิมโมโลจี\nช่วงวัย\nพื้นที่ส่วนกลาง\nสูตรโกง\nปณิธานของชาวซิมส์\nตัวอย่างปณิธาน ความปรารถนา และความกลัว\nปณิธานกับสายอาชีพที่ต้องการ และทักษะที่มุ่งหมาย\nการเติบโต\nครอบครัว\nความรู้\nชื่อเสียง\nความร่ำรวย\nรักโรแมนติค\nความพึงพอใจ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์ฐ\nบทที่ 3 ศัพท์ใหมีมีเฉพาเคำนาม 17 คำ\nการผันคไนามเพศชนยที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำหรือเครื่องมือในการกระทำของประโยค เรียกว่า (instrumental case) ในภาษาบาลีเรียกว่า ตติยา หรือการผันคำนามลำดับที่สาม ในประโยคภาษาไทย ฉันเขียนจดหมายด้วยปากกา คำว่าปากกาทำหน้าที่เป็นเคริ่องทำ โดยใช้คำบุพบท \"ด้วย\" เป็นตัวบ่งชี้เครื่องทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วสเสียง เะ (-a) ทำหน้าที่เป็สดครื่องทำ มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติมนิคหิต เ–น (-ena) ท้ายต้นเค้าคำนาม\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ใฟ้เติม เ–หิ หรือ เ–ภิ (-ehi, -ebhi) ท้ายต้รเค้าคำราม รูป \"เ–ภิ\" เป็นรูปผันโบราณที่ยังพบได้บ้าง\n\nตอกจากนี้ คำนามที่ใช้ร่วมกับคำบุพบท สทฺธิงฺ (saddhiṃ) และ สห (saha) ที่แปลว่า พร้อมด้วย, พร้อมกับ จะผันตามหลักนี้ ซึ่งคำบุพบททั้งสองนี้จะใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งาีชีวิต ปกติแล้วจะไม่ใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งของ\nการสร้างประโยค\nการสร้างประโยึ.\nโครงสร้างขดงประโยคที่มีเครื่องมือในการกระทำ จะเรียงลำดับเป็น ผู้ทำ + เครื่องทำ + ผู้ถูกทำ (กรรมตรง) ๑ กริยา. (S Inat. O V) จะเห็นว่าผู้ถูกทำและกริยาอยู่ติะกันท้ายประโยคเสมอ\nโครงสร้าลขอฝประโยคที่มีคำบุพบท สทฺธิงฺ และ สห คำบุพบทดังกล่าวจะอยู่ต่อจากคำนามเครื่องทำ เรียงลำดับเป็น ผู้ทำ + เครื่องทำ + สทฺฑิงฺ, สห + ผู้ถูกทำ + กริยา.\nสับเกตว่าเมื่อแปลประโยคจะเริ่มแปลจากผู้ทำ (ประธาน) แล้วข้ามไปแปลกริยาที่อยู่หลังสุดของปนะโยคแล้วจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า\nตัวอย่างประโยคในลักษณะต่าง ๆ\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\nแบบฝึกหัด.\nจงผันคำนาม.\nจงผัยคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ต่อไปนี้ ให้อยู่วนรูปเครื่องทำ ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ พรือมแปลเป็สภาษาไทย\n\nกกจ\nสร\nสกฏ\nปตฺต\nปาสาณ\nปาท\nหตฺถ\nมคฺค\nนร\nภูปาล\nพุทฺธ, ตถาคต, สุคต\nสหาย, สหายก, มิตฺต\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nพุทฺโธ สาวเกหิ สทฺธิงฺ วิหาร฿ คจฺฉติ.Buddho sāvakehi saddhiṃ vihāraṃ gacchati.\nปุริโส ปุตฺเตน สห ทีปํ ธาบติ.Puriso putt3na saha dīpaṃ dhāvati.\nกสฺสโก สเรน สิคาลํ วิชฺฌติ.Kassako sarena sigālaṃ vijjhayi.\nพฺราหฺมณา มาตุเลน สห ปพฺพตํ อารุหนฺคิ.Brāhmaṇā mātulena saha pabbataṃ āruhanti.\nปุตฺตา ปาเทหิ กุกฺกุเร ปรหนฺติ.Puttā pādehi kukkure paharanti.\nมาตุโล ปุตฺเตหิ สทฺธิงฺ รเถน คามํ อาคจฺฉติ.Mātulo puttehi saddhiṃ rathena gāmaṃ āgacchati.\nกุมารา หนฺเถนิ ปตฺเต อาหีนฺติ.Kumārā hatthdhi patte āharanti.\nโจโร มคฺเคน อสฺสํ หรติ.Coto magrena assaŋ harati.\nกสฺสโก อาวาฏํ โอรุหติ.Kassako āvāṭaṃ oruhati.\nภูปาลา ปณฺฑิเตหิ สห สมเณ ปสฺสนฺติ.Nhūpālā 0aṇḍitehi saha samaṇe passanti.\nปณฺฑิโต ภูปาเลน สห ตถาคตํ วนฺทติ.Paṇḍito bhūpālena sahq Tathāgataṃ vandati.\nปุตฮตร สหาเยน สทฺธิงฺ โเทนํ ภุญฺชนฺติ.Puttā sahāyena saddhiṃ odanaṃ bhuñjantu.\nวาณิโช ปาสาเณน มิคํ ปหรติ.Vāṇijo pāsāṇena migaṃ paharati.\nสุนขา ปาเทหิ อาวาเฏ ขณนฺติ.Sunakhā pādehi āvāṭe khaṇanti.\nพฺราหฺมโณ ปุตฺเตน สห สุริยํ วนฺทติ.Brāhmaṇo puttena saha syriyaṃ vandatu.\nกสฺสโก โสเณหิ สทฺธิงฺ รุกเข รกฺขติ.Kassako soṇehi saddhiṃ rukkhe eakkhati.\nสุคโต สาวเกหิ สห วิหารํ อาคจฺฉติ.Sugato sāvakehi caha vihāraṃ āgacchati.\nยาจโก ปตฺเตน ภตฺตํ อาหรติ.Yācako pattena bhattaṃ āharati.\nปณฺฑิตา สคฺคํ คจฺฉนฺติ.Paṇḍitā saggaṃ gacchanti.\nกุมารา อสฺเสหิ สทฺธิงฺ คามํ ธาวนฺติ.Kumārā assehi saddhiṃ gāmaṃ dhāvanti.\nโจโร บคฺเคน นรํ ปหรติ.Coro khaggena naraṃ paharati.\nวาณิโช สกเฏน ทีเป อาหรติ.Vānijo sakaṭenx dīpe āharati.\nอสฺสา มคฺเคน ธาวนฺติ.Assā maggena dhāvanti.\nสิคาลา มิเคหิ สทฺธิงฺ ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Sigālā migehi saddhiṃ pabbxtaṃ dhāvanti.\nภูปาโง ปณฺฑิเตน สฟ มนุสเส รกฺขติ.Bhūpālo paṇḍitena saha manusse rakkhati.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nภิกษุเห็นพระพุทธเจ้าพร้อมกับสหสยของพระองค์\nเหล่าพระสงฆ์ไปวิหารพ่้อมกับพระพุทธเจ้า\nม้าวิ่งไปยังภูเขาพร้อใกับสุนัขทั้งหลาย\nเด็กผู้ชายทุบตะเกียงด้วยก้อสหิน\nเหล่าพ่อค้ายิงแวางด้วยศรทั้งหลาย\nพวกชาวนาขุดหลุมทั้งฟลายด้วยมือทั้งหลาย\nพวกเด็กชายไปยังวิหารพร้อมกับลุงด้วยรถม้า\nพราหมณ์หุงข้าวพร้อมกับเพื่อน\nพระราชาปกป้องเกาะพร้อมด้วยบัณฑิตทั้งหลาย\nเหล่าพระราชาพร้อมกับพระราชบุตรทั้งหลายก่าบพระสงฆ์ทั้งหลาย\nเหล่าขโมยนำม้าทั้งหลายไปยังเกาะ\nเหล่าสาวกปีนภูเขาทั้งหลายพร้อมกับพวกผู้ชาย\nพวกถ่อค้าตัดต้นไม้ทั้งหลายพี้อทกับเหล่าชาวนา\nขอทานขุดหลุมพร้อมกัข้พื่อน\nพราหมณ์มองดูพระจันทร์พร้อมกุบพวกลุง\nขโมยทำร้ายม้าเ้วยดาบ\nบุตรนำข้าวใส่ถ้วยมา\nเหล่าเด็กชายวิ่งไปยังภูเขาพร้อมด้วยสุนัขทั้งหลาย\nเหล่าพ่อค้ามายังหมู่บ้านพร้อมกับพวกชาวนาด้วยเกวียนทั้งหลาย\nพวกลุงพร้อมกับพวกลูกชายมายังวิหารด้วยรถทั้งหลาย\nเหล่าหมาจิ้งจอกทองวิ่งตมมถนนไปยังภูเขา\nพวกสุนัขขุดหลุมทั้งหลายด้วยเท้าทั้งหลาย\nปู้ชายถือเลื่อยด้วยมือ\nสมณะทั้งหลายไปสู่สวรรค์\nพระพุทธเจ้าะสด็จมายังหมู่บ้านพร้อมด้วยเหล่าสาวก\nส่รบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทที่ 3 ศัพท์ใหม่มีเฉพาะคำนาม 17 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำหรือเครื่องมือในการกระทำของประโยค เรียกว่า (instrumental case) ในภาษาบาลีเรียกว่า ตติยา หรือการผันคำนามลำดับที่สาม ในประโยคภาษาไทย ฉันเขียนจดหมายด้วยปากกา คำว่าปากกาทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ โดยใช้คำบุพบท \"ด้วย\" เป็นตัวบ่งชี้เครื่องทำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นเครื่องทำ มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติมนิคหิต เ–น (-ena) ท้ายต้นเค้าคำนาม\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ให้เติม เ–หิ หรือ เ–ภิ (-ehi, -ebhi) ท้ายต้นเค้าคำนาม รูป \"เ–ภิ\" เป็นรูปผันโบราณที่ยังพบได้บ้าง\n\nนอกจากนี้ คำนามที่ใช้ร่วมกับคำบุพบท สทฺธิงฺ (saddhiṃ) และ สห (saha) ที่แปลว่า พร้อมด้วย, พร้อมกับ จะผันตามหลักนี้ ซึ่งคำบุพบททั้งสองนี้จะใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งมีชีวิต ปกติแล้วจะไม่ใช้กับคำนามที่เป็นสิ่งของ\nการสร้างประโยค\nการสร้างประโยค.\nโครงสร้างของประโยคที่มีเครื่องมือในการกระทำ จะเรียงลำดับเป็น ผู้ทำ + เครื่องทำ + ผู้ถูกทำ (กรรมตรง) + กริยา. (S Inst. O V) จะเห็นว่าผู้ถูกทำและกริยาอยู่ติดกันท้ายประโยคเสมอ\nโครงสร้างของประโยคที่มีคำบุพบท สทฺธิงฺ และ สห คำบุพบทดังกล่าวจะอยู่ต่อจากคำนามเครื่องทำ เรียงลำดับเป็น ผู้ทำ + เครื่องทำ + สทฺธิงฺ, สห + ผู้ถูกทำ + กริยา.\nสังเกตว่าเมื่อแปลประโยคจะเริ่มแปลจากผู้ทำ (ประธาน) แล้วข้ามไปแปลกริยาที่อยู่หลังสุดของประโยคแล้วจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า\nตัวอย่างประโยคในลักษณะต่าง ๆ\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\nแบบฝึกหัด.\nจงผันคำนาม.\nจงผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปเครื่องทำ ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ พร้อมแปลเป็นภาษาไทย\n\nกกจ\nสร\nสกฏ\nปตฺต\nปาสาณ\nปาท\nหตฺถ\nมคฺค\nนร\nภูปาล\nพุทฺธ, ตถาคต, สุคต\nสหาย, สหายก, มิตฺต\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nพุทฺโธ สาวเกหิ สทฺธิงฺ วิหารํ คจฺฉติ.Buddho sāvakehi saddhiṃ vihāraṃ gacchati.\nปุริโส ปุตฺเตน สห ทีปํ ธาวติ.Puriso puttena saha dīpaṃ dhāvati.\nกสฺสโก สเรน สิคาลํ วิชฺฌติ.Kassako sarena sigālaṃ vijjhati.\nพฺราหฺมณา มาตุเลน สห ปพฺพตํ อารุหนฺติ.Brāhmaṇā mātulena saha pabbataṃ āruhanti.\nปุตฺตา ปาเทหิ กุกฺกุเร ปรหนฺติ.Puttā pādehi kukkure paharanti.\nมาตุโล ปุตฺเตหิ สทฺธิงฺ รเถน คามํ อาคจฺฉติ.Mātulo puttehi saddhiṃ rathena gāmaṃ āgacchati.\nกุมารา หตฺเถนิ ปตฺเต อาหรนฺติ.Kumārā hatthehi patte āharanti.\nโจโร มคฺเคน อสฺสํ หรติ.Coro maggena assaŋ harati.\nกสฺสโก อาวาฏํ โอรุหติ.Kassako āvāṭaṃ oruhati.\nภูปาลา ปณฺฑิเตหิ สห สมเณ ปสฺสนฺติ.Bhūpālā paṇḍitehi saha samaṇe passanti.\nปณฺฑิโต ภูปาเลน สห ตถาคตํ วนฺทติ.Paṇḍito bhūpālena saha Tathāgataṃ vandati.\nปุตฺตา สหาเยน สทฺธิงฺ โอทนํ ภุญฺชนฺติ.Puttā sahāyena saddhiṃ odanaṃ bhuñjanti.\nวาณิโช ปาสาเณน มิคํ ปหรติ.Vāṇijo pāsāṇena migaṃ paharati.\nสุนขา ปาเทหิ อาวาเฏ ขณนฺติ.Sunakhā pādehi āvāṭe khaṇanti.\nพฺราหฺมโณ ปุตฺเตน สห สุริยํ วนฺทติ.Brāhmaṇo puttena saha suriyaṃ vandati.\nกสฺสโก โสเณหิ สทฺธิงฺ รุกเข รกฺขติ.Kassako soṇehi saddhiṃ rukkhe rakkhati.\nสุคโต สาวเกหิ สห วิหารํ อาคจฺฉติ.Sugato sāvakehi saha vihāraṃ āgacchati.\nยาจโก ปตฺเตน ภตฺตํ อาหรติ.Yācako pattena bhattaṃ āharati.\nปณฺฑิตา สคฺคํ คจฺฉนฺติ.Paṇḍitā saggaṃ gacchanti.\nกุมารา อสฺเสหิ สทฺธิงฺ คามํ ธาวนฺติ.Kumārā assehi saddhiṃ gāmaṃ dhāvanti.\nโจโร ขคฺเคน นรํ ปหรติ.Coro khaggena naraṃ paharati.\nวาณิโช สกเฏน ทีเป อาหรติ.Vānijo sakaṭena dīpe āharati.\nอสฺสา มคฺเคน ธาวนฺติ.Assā maggena dhāvanti.\nสิคาลา มิเคหิ สทฺธิงฺ ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Sigālā migehi saddhiṃ pabbataṃ dhāvanti.\nภูปาโล ปณฺฑิเตน สห มนุสเส รกฺขติ.Bhūpālo paṇḍitena saha manusse rakkhati.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nภิกษุเห็นพระพุทธเจ้าพร้อมกับสหายของพระองค์\nเหล่าพระสงฆ์ไปวิหารพร้อมกับพระพุทธเจ้า\nม้าวิ่งไปยังภูเขาพร้อมกับสุนัขทั้งหลาย\nเด็กผู้ชายทุบตะเกียงด้วยก้อนหิน\nเหล่าพ่อค้ายิงกวางด้วยศรทั้งหลาย\nพวกชาวนาขุดหลุมทั้งหลายด้วยมือทั้งหลาย\nพวกเด็กชายไปยังวิหารพร้อมกับลุงด้วยรถม้า\nพราหมณ์หุงข้าวพร้อมกับเพื่อน\nพระราชาปกป้องเกาะพร้อมด้วยบัณฑิตทั้งหลาย\nเหล่าพระราชาพร้อมกับพระราชบุตรทั้งหลายกราบพระสงฆ์ทั้งหลาย\nเหล่าขโมยนำม้าทั้งหลายไปยังเกาะ\nเหล่าสาวกปีนภูเขาทั้งหลายพร้อมกับพวกผู้ชาย\nพวกพ่อค้าตัดต้นไม้ทั้งหลายพร้อมกับเหล่าชาวนา\nขอทานขุดหลุมพร้อมกับเพื่อน\nพราหมณ์มองดูพระจันทร์พร้อมกับพวกลุง\nขโมยทำร้ายม้าด้วยดาบ\nบุตรนำข้าวใส่ถ้วยมา\nเหล่าเด็กชายวิ่งไปยังภูเขาพร้อมด้วยสุนัขทั้งหลาย\nเหล่าพ่อค้ามายังหมู่บ้านพร้อมกับพวกชาวนาด้วยเกวียนทั้งหลาย\nพวกลุงพร้อมกับพวกลูกชายมายังวิหารด้วยรถทั้งหลาย\nเหล่าหมาจิ้งจอกทองวิ่งตามถนนไปยังภูเขา\nพวกสุนัขขุดหลุมทั้งหลายด้วยเท้าทั้งหลาย\nผู้ชายถือเลื่อยด้วยมือ\nสมณะทั้งหลายไปสู่สวรรค์\nพระพุทธเจ้าเสด็จมายังหมู่บ้านพร้อมด้วยเหล่าสาวก\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทท้่ 4 ศัพท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาม 16 คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นที่มา\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นที่มา.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยาหรือที่ที่จากมาหรือจากไปของประโยค เรึยกว่า (sblative case) ในภาษาบาลีเรียกว่า ปัญจมี หรือการหันคำาามลำดับที่ห้า ประโยค ฉันขอขนสจากแม่ คำว่าแม่ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยน โดบใช้คำบุพบท \"จาก\" เป็นตัวบ่งชี้ที่มาของกริยา\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยา เมื่อแปบจะมีความหมายว่ท \"จาก...\", \"แต่...\", \"กว่า...\" มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในกาคกนี้ให้เติม –า หรือ –มฺหา หรือ –สฺมา (-ā, -mhā, -smā) ท้ายต้นเค้าคำนาม ที่มีการผันได้หลายแบบ ก็เพื่อใำีสามารถลงสัมผัสในคำประพันธ์ได้ นอกจากนี้ยะงมีขือสังเกตว่า รูปผัน –า เหมือนกับการผันคำนามรูปผู้ทำ พำูพจน์ (บทที่ 1) ผู้อ่านจะสรมารถแยกแยะได้โดยใช้ลำดับคำในภาษาบาลี\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ใหัเติม เ–หิ หรือ เ–ภิ (-ehi, -ebhi) ท้ายต้นเค้าคำนาม รูป \"เ–ภิ\" เป็นรูปผันฮบราณที่ยังพบได้บ้าง สังเกตว่ารูปหุนมั้งสองรูปยังเหมือนกับการผันคำนามรูปเครื่องทำ พหูพจน์ (บทที่ 3)\nการสร้างประโยค\n\nการสร้างประโยค.\nตัยอย่างประโยคในลักษณะต่าง ๆ\n\nปุตฺโต มาตุลมฺหา ปัญฺเห ปุจฺฉติ. – บุตรถามปัญหาทั้งหลายจากลุง\nปุตฺตา มาตุลา ปัญฺเห ปุจฺฉนฺติ. – พวกบุตรถามปัญหาาั้งหลายจากลุง\nกสฺสกา รุกฺเขหิ ปตนฺตื. – พวกชาวนาตกจากต้นไม้ทั้งหลาย\nอบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\n\n\nปัริส\nปพฺพต\nรุกฺข\nทีป\nสคฺค\nพฺราหฺมณ\nพุทฺธ\nปณฺฑิต\nอมจฺจ\nปาสาท\nขงแปลเป็นภาษาไทย\nโจรา คามมฺหา ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Corā gāmamhā pabbataṃ dhāvanti.\nทารโก มาตุลสฺมา โอทนํ จาจติ.Dārako mātulasmā odanaṃ yācati.\nกุมาโร โสปานมฺหา ปตติ.Kumāro sopānamhā patati.\nมาตุลา สาฏเก ฌธวนฺติฐMātulā sāṭake dhovanti.\nธีวรา ปิฏเกหิ มจฺเฉ อาปรนฺติ.Dhīvarā piṭakehi macche āharanti.\nอุปสกา สมเณหิ สทฺธิงฺ วิหาตสฺมา นิกขมนฺติ.Upāsa.ā samaṇehi saddhiṃ vihārasmā nikkhamanti.\nพฺราหฺมโณ กกเจน รุกฺขํ ฉินฺทติ.Brāhmaṇo kakacena rukkhaṃ chindati.\nกุมารา มิตฺเคหิ สห ภูปาลํ ปสฺสนฺติ.Kumārā mittehi saha bhūpālaṃ passanti.\nวาณิโช อสฺเสน สทฺธิงฺ ปพฺพตสฺมา โเรุหติ.Vāṇijo assenq saddhiṃ pabbatasmā oruhati.\nยาจโก กสฺสกสฺมา ปตฺเต ยาจติ.Yācako kassakasmā patte yāsati.\nสปฺหา ปฺพพเตหิ คามํ โอตรนฺนิ.Sappā pabbatehi gāmaṃ otaranti.\nอมจฺจา สเรกิ มเเค วิชฺฌนฺติ.Amadcā sarehi mige vijjhanti.\nโจโร คามมฺหา สกเฏน สาฏเก หรติ.Coro gāmamhā sakaṭena sāṭake harati.\nภูปาโล อมจฺเจหิ สทฺธิงฺ รเถน ปาสาทํ อาคจฺฉติ.Bhūpālo amaccehi saddhiṃ rathena pāsādaṃ āgzcchati.\nSūkarā pādehi āvāṭe khaṇahti.\nKumāro sahāyakegi saha sāṭake dhovati.\nSamaṇā gāmamhā upāsakeni saddhiṃ nikkhamanti.\nKukkuro piṭakamhā macchaṃ khādati.\nMitto puttamhā sunakhaṃ yācati.\nBuddho sāvake pycchati.\nAmaccā paṇḍitehi pañhe pucchanti.\nRajako sahāyena saha sāṭakaṃ dhovati.\nMacchā piṭakamhā pa5anti.\nCorā pāsāṇehi varāhe paharanti.\nAmacco pāsādamhā suvaṃ āharati.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกม้าวิ่งจากหมู่ง้านไปยังภูเขา\nพงกพ่อค้ามาจากเกาะไปยังวิหารพร้อมด้วยอุบาสกทั้งหลาย\nพวกขโมยยิงหมูทั้งหลายด้วยศรทั้งหลาย\nอุบาสกถามเรื่องธรรมะจากพระสงฆ์\nเด็กตกจากหินพร้อมกับ้พื่อน\nสุนัขกัดเด็ก\nอำมาตย์ทั้งหลาจออกเดินทางจากกระราชฝังพร้อมด้วยพระราชา\nผู้ชายนำกวางมาจากเกาะ\nชาวนาลงมาจากต้นไม้\nสุนัขทั้งหลาจวิ่งไปด้วย (ตาม) ถนนพร้อมกับพวกม้า\nพวกเด็กผู้ชายนภตะเกียงทั้งหลายไปจากพวกพ่อค้า\nขโมยลงจากบันได\nพวกพ่อค้านำนกแก้วทั้งหลายมาจากภูเขาทัืงหลาย\nม้าทำร้ายงูใหญ่อ้วยเท้า\nลุงพร้อมกับพวกเพื่อนัห็นพระสงฆ์ทั้งหลายจากภูเขาทั้งหลาย\nพวกพ่อค้านำม้าทั้งหลายจสกเกาะมาสู่พระราชวัง\nอำมาตย์ถามขโมบ\nชาวนากินข้าวพร้อมกับคนซักล้าง\nเด็กตกจากบันได\nชาวประมงปีนภูเขาพร้เมกับลุง\nยาจกนอนพร้อมกับสุนัข\nเหล่าพระราชาปกป้องเกาะทั้งหลายพร้อมกับอมาตย์ทัังหลาย\nพระราชากราบพระพุทธเจ้าจากพระราชวัง\nผู้ชายฆ่างูใหญ่ด้วยดาบ\nชาวประมงนำปลามาสูีหมู่บ้านด้วยเกวียน\nสุกรทั้งหลายวิ่งจากหมู่บ้านไปสู่ภูเขา\nเหล่าอุบาสกถามคำถามทั้งหลสยจากบัณฑิต\nบุตรชายนไนกแก้วมาจากต้นไม้\nเหล่าบัณฑิตไปยังวิหาร\nเหล่าสาวกไปด้วย (ตาม) ถนนไปสู่หมู่บ้าน\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำศัพท์\nคำศัพท์.\nบทที่ 4 ศัพท์ใหม่แบ่งเป็นคำนาม 16 คำและคำกริยา 10 คำ\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นที่มา\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ ที่ทำหน้าที่เป็นที่มา.\nคำนามที่ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยาหรือที่ที่จากมาหรือจากไปของประโยค เรียกว่า (ablative case) ในภาษาบาลีเรียกว่า ปัญจมี หรือการผันคำนามลำดับที่ห้า ประโยค ฉันขอขนมจากแม่ คำว่าแม่ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยา โดยใช้คำบุพบท \"จาก\" เป็นตัวบ่งชี้ที่มาของกริยา\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ทำหน้าที่เป็นที่มาของกริยา เมื่อแปลจะมีความหมายว่า \"จาก...\", \"แต่...\", \"กว่า...\" มีหลักการผันดังนี้\n\nรูปเอกพจน์ในการกนี้ให้เติม –า หรือ –มฺหา หรือ –สฺมา (-ā, -mhā, -smā) ท้ายต้นเค้าคำนาม ที่มีการผันได้หลายแบบ ก็เพื่อให้สามารถลงสัมผัสในคำประพันธ์ได้ นอกจากนี้ยังมีข้อสังเกตว่า รูปผัน –า เหมือนกับการผันคำนามรูปผู้ทำ พหูพจน์ (บทที่ 1) ผู้อ่านจะสามารถแยกแยะได้โดยใช้ลำดับคำในภาษาบาลี\nรูปพหูพจน์ในการกนี้ให้เติม เ–หิ หรือ เ–ภิ (-ehi, -ebhi) ท้ายต้นเค้าคำนาม รูป \"เ–ภิ\" เป็นรูปผันโบราณที่ยังพบได้บ้าง สังเกตว่ารูปผันทั้งสองรูปยังเหมือนกับการผันคำนามรูปเครื่องทำ พหูพจน์ (บทที่ 3)\nการสร้างประโยค\n\nการสร้างประโยค.\nตัวอย่างประโยคในลักษณะต่าง ๆ\n\nปุตฺโต มาตุลมฺหา ปัญฺเห ปุจฺฉติ. – บุตรถามปัญหาทั้งหลายจากลุง\nปุตฺตา มาตุลา ปัญฺเห ปุจฺฉนฺติ. – พวกบุตรถามปัญหาทั้งหลายจากลุง\nกสฺสกา รุกฺเขหิ ปตนฺติ. – พวกชาวนาตกจากต้นไม้ทั้งหลาย\nแบบฝึกหัด\nจงผันคำนาม\n\n\nปุริส\nปพฺพต\nรุกฺข\nทีป\nสคฺค\nพฺราหฺมณ\nพุทฺธ\nปณฺฑิต\nอมจฺจ\nปาสาท\nจงแปลเป็นภาษาไทย\nโจรา คามมฺหา ปพฺพตํ ธาวนฺติ.Corā gāmamhā pabbataṃ dhāvanti.\nทารโก มาตุลสฺมา โอทนํ ยาจติ.Dārako mātulasmā odanaṃ yācati.\nกุมาโร โสปานมฺหา ปตติ.Kumāro sopānamhā patati.\nมาตุลา สาฏเก โธวนฺติ.Mātulā sāṭake dhovanti.\nธีวรา ปิฏเกหิ มจฺเฉ อาหรนฺติ.Dhīvarā piṭakehi macche āharanti.\nอุปสกา สมเณหิ สทฺธิงฺ วิหารสฺมา นิกขมนฺติ.Upāsakā samaṇehi saddhiṃ vihārasmā nikkhamanti.\nพฺราหฺมโณ กกเจน รุกฺขํ ฉินฺทติ.Brāhmaṇo kakacena rukkhaṃ chindati.\nกุมารา มิตฺเตหิ สห ภูปาลํ ปสฺสนฺติ.Kumārā mittehi saha bhūpālaṃ passanti.\nวาณิโช อสฺเสน สทฺธิงฺ ปพฺพตสฺมา โอรุหติ.Vāṇijo assena saddhiṃ pabbatasmā oruhati.\nยาจโก กสฺสกสฺมา ปตฺเต ยาจติ.Yācako kassakasmā patte yācati.\nสปฺปา ปฺพพเตหิ คามํ โอตรนฺติ.Sappā pabbatehi gāmaṃ otaranti.\nอมจฺจา สเรหิ มิเค วิชฺฌนฺติ.Amaccā sarehi mige vijjhanti.\nโจโร คามมฺหา สกเฏน สาฏเก หรติ.Coro gāmamhā sakaṭena sāṭake harati.\nภูปาโล อมจฺเจหิ สทฺธิงฺ รเถน ปาสาทํ อาคจฺฉติ.Bhūpālo amaccehi saddhiṃ rathena pāsādaṃ āgacchati.\nSūkarā pādehi āvāṭe khaṇanti.\nKumāro sahāyakehi saha sāṭake dhovati.\nSamaṇā gāmamhā upāsakehi saddhiṃ nikkhamanti.\nKukkuro piṭakamhā macchaṃ khādati.\nMitto puttamhā sunakhaṃ yācati.\nBuddho sāvake pucchati.\nAmaccā paṇḍitehi pañhe pucchanti.\nRajako sahāyena saha sāṭakaṃ dhovati.\nMacchā piṭakamhā patanti.\nCorā pāsāṇehi varāhe paharanti.\nAmacco pāsādamhā suvaṃ āharati.\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกม้าวิ่งจากหมู่บ้านไปยังภูเขา\nพวกพ่อค้ามาจากเกาะไปยังวิหารพร้อมด้วยอุบาสกทั้งหลาย\nพวกขโมยยิงหมูทั้งหลายด้วยศรทั้งหลาย\nอุบาสกถามเรื่องธรรมะจากพระสงฆ์\nเด็กตกจากหินพร้อมกับเพื่อน\nสุนัขกัดเด็ก\nอำมาตย์ทั้งหลายออกเดินทางจากพระราชวังพร้อมด้วยพระราชา\nผู้ชายนำกวางมาจากเกาะ\nชาวนาลงมาจากต้นไม้\nสุนัขทั้งหลายวิ่งไปด้วย (ตาม) ถนนพร้อมกับพวกม้า\nพวกเด็กผู้ชายนำตะเกียงทั้งหลายไปจากพวกพ่อค้า\nขโมยลงจากบันได\nพวกพ่อค้านำนกแก้วทั้งหลายมาจากภูเขาทั้งหลาย\nม้าทำร้ายงูใหญ่ด้วยเท้า\nลุงพร้อมกับพวกเพื่อนเห็นพระสงฆ์ทั้งหลายจากภูเขาทั้งหลาย\nพวกพ่อค้านำม้าทั้งหลายจากเกาะมาสู่พระราชวัง\nอำมาตย์ถามขโมย\nชาวนากินข้าวพร้อมกับคนซักล้าง\nเด็กตกจากบันได\nชาวประมงปีนภูเขาพร้อมกับลุง\nยาจกนอนพร้อมกับสุนัข\nเหล่าพระราชาปกป้องเกาะทั้งหลายพร้อมกับอมาตย์ทั้งหลาย\nพระราชากราบพระพุทธเจ้าจากพระราชวัง\nผู้ชายฆ่างูใหญ่ด้วยดาบ\nชาวประมงนำปลามาสู่หมู่บ้านด้วยเกวียน\nสุกรทั้งหลายวิ่งจากหมู่บ้านไปสู่ภูเขา\nเหล่าอุบาสกถามคำถามทั้งหลายจากบัณฑิต\nบุตรชายนำนกแก้วมาจากต้นไม้\nเหล่าบัณฑิตไปยังวิหาร\nเหล่าสาวกไปด้วย (ตาม) ถนนไปสู่หมู่บ้าน\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำศัพท์\nการผันคำาามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a.\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้่ำหน้าที่เป็นกรรมรอง มีหบักการดังนี้\nรูปแบบประโยค\nรูปแบบประโยค.\nประโยคในภาษาบาลีจะเรียงเป็น ประธาน + กรรมรอง + เครื่องมือ + ที่มา + กรรมตรง + กริยา (S IO Inst Src O V) เช่น\nวิธีการจดจำลำดับคำของประโยคภาษาบาลี\n\nลำดับคำหลักของประโยคคือ ประธาน + ส่วนขยายกริยา + กรรมตรง + กริยา (S Adv O V)\nลำดับึำของส่วนขยายกริยาจะเป็นแบบถอยหลัง เริ่มจากที่มาของกริยาไว้หลังสุด ตามด้วยเครื่องมือไว้ตรงปลาง แล้วจบด้วยที่หมายของำริยา (กรรมรอง) ไวเหน้าสุด (Adv = IO Inst Src)\nแบบฝึกหัด\nจงแปลเป็นภาษาไทย\n\n\nวาณิโช รชกสฺว สาฏกํ ททาติฯ\nเวชฺโช อาจริยสฺส มีปํ อาหรติฯ\nมิคา ปาสาณมฺหา ปพฺพตํ ธาวนฺติฯ\nมนุสฺสา พุทฺเธหิ ธมฺมํ ลภนฺติฯ\nปุริโส เวชฺชาย สกฏํ อากฑฺฒติฯ\nทารธก หตฺเถน ยาจกสฺส ภตฺตํ อาหรติฯ\nยาจโก อาจริยาย อาวาฏํ ขณติฯ\nรชโก อมจฺจานํ สาฏเก ่ทาติฯ\nพฺราหฺมโณ สาวกานํ มญฺเจ อาหรติฯ\nวานโร รุกฺขมฺหา ปตติ, กุกฺกุโร วนนรํ ฑสติฯ\nธีวรา ปิฏเกหิ อมจฺจานํ มจฺเฉ อาหรนฺติฯ\nกสฺสโก วาณิชาย รุกฺขํ ฉินฺทติฯ\nโจโร กุทฺทาเลน อรจริยาย อาวาฏํ ขณติฯ\nเวชฺโช ปุตฺตานํ ภตฺตํ ปจติฯ\nตาปโส ลุทฺทเกต สาฺธึ ภาสติฯ\nลุทฺทโก ตาปสสฺส ทีปํ ททาติฯ\nสีหา มิเค หนนฺติฯ\nมกฺกโฏ ปุตฺเตน สห รุกฺขํ อารุหติฯ\nสมณา อุปาสเกหิ โอทนํ ลภนฺติฯ\nทารกา โรมนฺติ, กุมาโร หสติ, มาตุโล กถมารํ ปหรติฯ\nวานรา ปพฺพตมฺหา โอรุหนฺติ, รุกฺเข อารุหนฺติฯ\nโจรา รถํ ปวิสนฺติ, อมจฺโจ รถํ ปชหติฯ\nอาจริโย ทารกาย รุก์ขมฺกา สุกํ เาหรติฯ\nลุทฺทโก ปพฺพตสฺมา อชํ อากฑฺฒติฯ\nตาปโส ปพฺพตมฺหา สีหํ ปสฺสติฯ\nวาณิชา กสฺสเกหิ ลาภํ บภนฺติฯ\nลุทฺทโก วาณิชานํ วราเห หนติฯ\nตาปธส อาจริยมฺหา ปเญฺห ปุจฺฉติฯ\nหุตฺโต มญฺจมฺหา ปตติฯ\nกุมารา วหมยเกหิ สทฺธึ นหายนฺติฯ\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกพ่อค้าให้ม้าทเ้งหลายแก่อมาตย์ทั้งหลาย\nนายพรานฆ่าแพะให้แก่พ่อค้า\nผู้ชายตัดต้นไม้ทั้งหลายด้วยเลื่ดยให้แก่ชาวนา\nกวางวิ่ง (หนี) ไปนากสิงโต\nพระราชมทรงไหว้พระพุทธเจ้ากับทั้งพระสาวพทะ้งหลาย\nพวกหัวขโมขวิ่งจากหมู่บเานทั้งหลายไปยังภูเขาทั้งหลาย\nคนซักผ้าล้างเสื้อผ้าทั้งหลายให้แก่พระราชา\nชาวประมงนำหลามาในตะกร้าทั้งหลายให้แก่ชาวนา\nอาจารย์เข้าไปในวิหาร (และ) พบกับพระ\nงูใหญ่กัดลิง\nพวกเด็กผู้ชายลากเตียงไปให้พราหมณ์\nพวปขโมยเข้าไปสู่ปราสาทพร้อมกัลพวกผู้ชาย\nพวกชาวนานำปลาใาจากพวกชาวประมง\nหมูทั้งหลายไปจากเกาะไปสู่ภูเขา\nพระรทชาทิ้งปราสาท พระราชบุต่เข้าไปในวิหาร\nสิงโตนอนหลับ พวกลิงเล่นกัน\nอาจารย์ปกป้องบึตรมั้งหลายจากสุนัข\nพวกนายพรานยิงกวางด้วยลูกศรทั้งหลายให้แก่อมาตย์ทั้งหลาย\nพวกเด็กๆ ต้องการข้าวจากลุง\nหมอให้เสื้อผ้าแก่ฤๅษี\nพ่อค้านำแพะมาด้วยเกวียนให้แก่อาจารย์\nพวกบุตรมองดูพระจันทร์จากภูเจา\nพวกนักปราขญ์ได้ประโยชน์จากพระธรรม\nพวกลิงออกจากหมู่บ้าน\nบุตรนำนกแก้วทาให้แก่เพื่อนจากภูเขา\nหทอเข้าไปในวิหาร\nหมาไนวิ่งจากหมู่บ้านไปยังภูเขาด้วยถจน\nเกวียนตกจากถนน เด็กร้องไห้\nพวกอมาจย์ขึ้นบันได หมิลงมาจากบันได\nพวกนักปราชญ์ถามคำถามจากพระพุทธเจ้า\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำศัพท์\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a.\nการผันคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วย -a ให้ทำหน้าที่เป็นกรรมรอง มีหลักการดังนี้\nรูปแบบประโยค\nรูปแบบประโยค.\nประโยคในภาษาบาลีจะเรียงเป็น ประธาน + กรรมรอง + เครื่องมือ + ที่มา + กรรมตรง + กริยา (S IO Inst Src O V) เช่น\nวิธีการจดจำลำดับคำของประโยคภาษาบาลี\n\nลำดับคำหลักของประโยคคือ ประธาน + ส่วนขยายกริยา + กรรมตรง + กริยา (S Adv O V)\nลำดับคำของส่วนขยายกริยาจะเป็นแบบถอยหลัง เริ่มจากที่มาของกริยาไว้หลังสุด ตามด้วยเครื่องมือไว้ตรงกลาง แล้วจบด้วยที่หมายของกริยา (กรรมรอง) ไว้หน้าสุด (Adv = IO Inst Src)\nแบบฝึกหัด\nจงแปลเป็นภาษาไทย\n\n\nวาณิโช รชกสฺส สาฏกํ ททาติฯ\nเวชฺโช อาจริยสฺส ทีปํ อาหรติฯ\nมิคา ปาสาณมฺหา ปพฺพตํ ธาวนฺติฯ\nมนุสฺสา พุทฺเธหิ ธมฺมํ ลภนฺติฯ\nปุริโส เวชฺชาย สกฏํ อากฑฺฒติฯ\nทารโก หตฺเถน ยาจกสฺส ภตฺตํ อาหรติฯ\nยาจโก อาจริยาย อาวาฏํ ขณติฯ\nรชโก อมจฺจานํ สาฏเก ททาติฯ\nพฺราหฺมโณ สาวกานํ มญฺเจ อาหรติฯ\nวานโร รุกฺขมฺหา ปตติ, กุกฺกุโร วานรํ ฑสติฯ\nธีวรา ปิฏเกหิ อมจฺจานํ มจฺเฉ อาหรนฺติฯ\nกสฺสโก วาณิชาย รุกฺขํ ฉินฺทติฯ\nโจโร กุทฺทาเลน อาจริยาย อาวาฏํ ขณติฯ\nเวชฺโช ปุตฺตานํ ภตฺตํ ปจติฯ\nตาปโส ลุทฺทเกน สทฺธึ ภาสติฯ\nลุทฺทโก ตาปสสฺส ทีปํ ททาติฯ\nสีหา มิเค หนนฺติฯ\nมกฺกโฏ ปุตฺเตน สห รุกฺขํ อารุหติฯ\nสมณา อุปาสเกหิ โอทนํ ลภนฺติฯ\nทารกา โรทนฺติ, กุมาโร หสติ, มาตุโล กุมารํ ปหรติฯ\nวานรา ปพฺพตมฺหา โอรุหนฺติ, รุกฺเข อารุหนฺติฯ\nโจรา รถํ ปวิสนฺติ, อมจฺโจ รถํ ปชหติฯ\nอาจริโย ทารกาย รุกฺขมฺหา สุกํ อาหรติฯ\nลุทฺทโก ปพฺพตสฺมา อชํ อากฑฺฒติฯ\nตาปโส ปพฺพตมฺหา สีหํ ปสฺสติฯ\nวาณิชา กสฺสเกหิ ลาภํ ลภนฺติฯ\nลุทฺทโก วาณิชานํ วราเห หนติฯ\nตาปโส อาจริยมฺหา ปเญฺห ปุจฺฉติฯ\nปุตฺโต มญฺจมฺหา ปตติฯ\nกุมารา สหายเกหิ สทฺธึ นหายนฺติฯ\nจงแปลเป็นภาษาบาลี\nพวกพ่อค้าให้ม้าทั้งหลายแก่อมาตย์ทั้งหลาย\nนายพรานฆ่าแพะให้แก่พ่อค้า\nผู้ชายตัดต้นไม้ทั้งหลายด้วยเลื่อยให้แก่ชาวนา\nกวางวิ่ง (หนี) ไปจากสิงโต\nพระราชาทรงไหว้พระพุทธเจ้ากับทั้งพระสาวกทั้งหลาย\nพวกหัวขโมยวิ่งจากหมู่บ้านทั้งหลายไปยังภูเขาทั้งหลาย\nคนซักผ้าล้างเสื้อผ้าทั้งหลายให้แก่พระราชา\nชาวประมงนำปลามาในตะกร้าทั้งหลายให้แก่ชาวนา\nอาจารย์เข้าไปในวิหาร (และ) พบกับพระ\nงูใหญ่กัดลิง\nพวกเด็กผู้ชายลากเตียงไปให้พราหมณ์\nพวกขโมยเข้าไปสู่ปราสาทพร้อมกับพวกผู้ชาย\nพวกชาวนานำปลามาจากพวกชาวประมง\nหมูทั้งหลายไปจากเกาะไปสู่ภูเขา\nพระราชาทิ้งปราสาท พระราชบุตรเข้าไปในวิหาร\nสิงโตนอนหลับ พวกลิงเล่นกัน\nอาจารย์ปกป้องบุตรทั้งหลายจากสุนัข\nพวกนายพรานยิงกวางด้วยลูกศรทั้งหลายให้แก่อมาตย์ทั้งหลาย\nพวกเด็กๆ ต้องการข้าวจากลุง\nหมอให้เสื้อผ้าแก่ฤๅษี\nพ่อค้านำแพะมาด้วยเกวียนให้แก่อาจารย์\nพวกบุตรมองดูพระจันทร์จากภูเขา\nพวกนักปราชญ์ได้ประโยชน์จากพระธรรม\nพวกลิงออกจากหมู่บ้าน\nบุตรนำนกแก้วมาให้แก่เพื่อนจากภูเขา\nหมอเข้าไปในวิหาร\nหมาไนวิ่งจากหมู่บ้านไปยังภูเขาด้วยถนน\nเกวียนตกจากถนน เด็กร้องไห้\nพวกอมาตย์ขึ้นบันได หมอลงมาจากบันได\nพวกนักปราชญ์ถามคำถามจากพระพุทธเจ้า\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ฟฟนอลแฟนตาซี XI เป็นเกมแรกในเกมชุดไฟนอลแฟนนาซี ที่ทำในรูปแบบของเกม MMORPG (Massively Multiplayer Online Role-playing Game) หรืิเกมภาษาออนไลน์ ในตลาดครั้งแรกในประเทศญี่ปุีน ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2545 ในรูปแบบเกมเพลย์สเตชัน 2 และเกมคอมพิวเตอร์ PC และวางตลาดใน ทวีปอเมริกาเหยือ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 อีกทั้งยังมีการออกในรูปแบบ เอ็กซ์บอกซ์ 360 เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ที่ผรานมาด้วย นอกจากนี้ ไฟนอลแฟนตาซี XI ยังเป็นเกสออนฟลน์เกมแรกที่ทั้งผู้เล่นจากเพลย์สเตชัน 2 และ คอมพิวเตอร์ จะเล่นในเซิร์ฟเวอร์เดียวกัน\nบทสรุป\nFFXI Guide For Thai\nข้อแนะนำก่อนการเล่นเกมนี้\n\nควรมีความรู้ด้าน ภาษาอังกฤษ พอสมควร\nต้องคู้จักคินหาข้อมํลต่างๆ เกี่ยวกัลเกมเอง\nอ้างอิง\n\n\nFFXI Official Website\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Dtory Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRsn Online\nกรานาโด้ เอสพาดน\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nดดอะซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Ane\nคาบาลออจไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอพซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่รออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrixkster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrane Chase\nFreeStyle Online\nGhost Onlune\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogur5ing\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Fogce 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4\nแกล่งข้อมูลอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "ไฟนอลแฟนตาซี XI เป็นเกมแรกในเกมชุดไฟนอลแฟนตาซี ที่ทำในรูปแบบของเกม MMORPG (Massively Multiplayer Online Role-playing Game) หรือเกมภาษาออนไลน์ ในตลาดครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2545 ในรูปแบบเกมเพลย์สเตชัน 2 และเกมคอมพิวเตอร์ PC และวางตลาดใน ทวีปอเมริกาเหนือ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 อีกทั้งยังมีการออกในรูปแบบ เอ็กซ์บอกซ์ 360 เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ที่ผ่านมาด้วย นอกจากนี้ ไฟนอลแฟนตาซี XI ยังเป็นเกมออนไลน์เกมแรกที่ทั้งผู้เล่นจากเพลย์สเตชัน 2 และ คอมพิวเตอร์ จะเล่นในเซิร์ฟเวอร์เดียวกัน\nบทสรุป\nFFXI Guide For Thai\nข้อแนะนำก่อนการเล่นเกมนี้\n\nควรมีความรู้ด้าน ภาษาอังกฤษ พอสมควร\nต้องรู้จักค้นหาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับเกมเอง\nอ้างอิง\n\n\nFFXI Official Website\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrickster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Online\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จินน้่ เป็นยักษ์วิเศษที่มาจากตะเกียงวิเศษ ซิมส์สามารถขอพรได้วามประการ\nวิธีการพบจินนี่\nวิธีการพบจินนี่.\nวิธีการพบจินนี่มีอยู่วิธีเดียว คืแ การนำสาให้จากยิปซีจอมจับตู่ ซึ่งเมื่อได้ตะเกียบมาแล้วครอบครัวนั้นจะไม่ได้รับอีกจนกว่าจะผ่านไป 14 วันในเกม\nโอกาสที่จะได้รับตะเกียงวิเษษ\nโอกาสที่จะได้รับตะเกียงวิเศษ.\nแต่ละวัยจะมีโอกาส 2% ที่ยิปซีจอมจ้บคู่จะนำมาให้ โดยโอกาสจะเพิ่มขึ้นไดืดีงน้้\n\n+2% สำหรับซิมส์แต่ละคนในครอบครัวที่มีระดับปณอธานตลอดชีพตั้งแต่ 7 ขีดขึ้นไป\n+1% สำหรับงานอดิเรกแต่ละด้านของซิมส์แต่ละคนที่มีระดับความสนใจงานอดิเรกตั้งแต่ 8 ขึ้นไป\nคำวั่งปฏิสัมพันธ์กัวจินนี่\nขอพร... -> ซิมม์วัยเด็กขึ้นไปสามารถจอพรจากจินนี่ได้ หากขอพรครบ 3 ข้อ จินนี่จะหายตัวไปจากพื้นที่\n\nความร่ำรวย -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลทีืได้คือถุงเงินจำนวน §10,000 หล่นลงมาจากท้องฟ้า แต่โดกาสที่ขโมยขึ้นบ้านจะเพิ่มขึ้นหลายวัน\nใจสบบสุข -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือมาตรวัดแณิธานอยู่ในระดับทองคำขาวตลอดชีวิต ซิมส์สามารถขอพรนี้ได้คนละครั้งเท่านั้น\nอำนาจโกงความตาย -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลทึ่ได้คือ้มื่อถึงเวลาที่เขาเสียชีวิตจะสามารถอ้ดนวอนขอชีวิตจากมัจจุราช โดยครั้งแรกจะสำเร็จเสมอ แต่ครั้งต่อๆ ไปโอกาสสำเร็จจะลดลง แต่ถ้าสาเหตุของการตายคือแก่ตาย มัขจุราชจะมาอีกในวันถัดไปเพื่อเอาชีสิตเขาอีกครั้ง\nชีวิตยืนยาว -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ไแ้ ผลที่ได้คือได้เวลาเพิ่มสำหรับช่ใงวัยปัจจุบันอีกสามวัน\nความงาม -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือซิมส์คนนั้นจะมีองศาความปิ๊งสูงสุดต่อซิมส์ทุกคนที่เป็นเพซที่เขาชอบเป็นเวลาสี่วัน และซิมส์เพศนั้นจะผ่านมาเยือนมากเป็นพิเศษอีกด้วย\nฟื้นคืนชีพ -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือสามารถขุบชีวิตให้กับชาวซิมส์หรือสัตว์เลี้ยงที่มีหลุมฝังศพหรือโกศในพื้นที่ได้ มีโอกาสเล็กน้อยที่ชาวซิมส์หรือสัตว์เลี้ยงที่ชถบชีวิตมาจะอยู่ในสภาพซอมบี้\n\nปล่อยไป -> สั่งให้จินนี่กลับเข้าตะเกียง สามารถเรียกเขามาอีหครั้งโดยใช้คำสั่ง เรียกจีตี่ ที่ตะเกียง\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "จินนี่ เป็นยักษ์วิเศษที่มาจากตะเกียงวิเศษ ซิมส์สามารถขอพรได้สามประการ\nวิธีการพบจินนี่\nวิธีการพบจินนี่.\nวิธีการพบจินนี่มีอยู่วิธีเดียว คือ การนำมาให้จากยิปซีจอมจับคู่ ซึ่งเมื่อได้ตะเกียงมาแล้วครอบครัวนั้นจะไม่ได้รับอีกจนกว่าจะผ่านไป 14 วันในเกม\nโอกาสที่จะได้รับตะเกียงวิเศษ\nโอกาสที่จะได้รับตะเกียงวิเศษ.\nแต่ละวันจะมีโอกาส 2% ที่ยิปซีจอมจับคู่จะนำมาให้ โดยโอกาสจะเพิ่มขึ้นได้ดังนี้\n\n+2% สำหรับซิมส์แต่ละคนในครอบครัวที่มีระดับปณิธานตลอดชีพตั้งแต่ 7 ขีดขึ้นไป\n+1% สำหรับงานอดิเรกแต่ละด้านของซิมส์แต่ละคนที่มีระดับความสนใจงานอดิเรกตั้งแต่ 8 ขึ้นไป\nคำสั่งปฏิสัมพันธ์กับจินนี่\nขอพร... -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรจากจินนี่ได้ หากขอพรครบ 3 ข้อ จินนี่จะหายตัวไปจากพื้นที่\n\nความร่ำรวย -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือถุงเงินจำนวน §10,000 หล่นลงมาจากท้องฟ้า แต่โอกาสที่ขโมยขึ้นบ้านจะเพิ่มขึ้นหลายวัน\nใจสงบสุข -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือมาตรวัดปณิธานอยู่ในระดับทองคำขาวตลอดชีวิต ซิมส์สามารถขอพรนี้ได้คนละครั้งเท่านั้น\nอำนาจโกงความตาย -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือเมื่อถึงเวลาที่เขาเสียชีวิตจะสามารถอ้อนวอนขอชีวิตจากมัจจุราช โดยครั้งแรกจะสำเร็จเสมอ แต่ครั้งต่อๆ ไปโอกาสสำเร็จจะลดลง แต่ถ้าสาเหตุของการตายคือแก่ตาย มัจจุราชจะมาอีกในวันถัดไปเพื่อเอาชีวิตเขาอีกครั้ง\nชีวิตยืนยาว -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือได้เวลาเพิ่มสำหรับช่วงวัยปัจจุบันอีกสามวัน\nความงาม -> ซิมส์วัยรุ่นขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือซิมส์คนนั้นจะมีองศาความปิ๊งสูงสุดต่อซิมส์ทุกคนที่เป็นเพศที่เขาชอบเป็นเวลาสี่วัน และซิมส์เพศนั้นจะผ่านมาเยือนมากเป็นพิเศษอีกด้วย\nฟื้นคืนชีพ -> ซิมส์วัยเด็กขึ้นไปสามารถขอพรนี้ได้ ผลที่ได้คือสามารถชุบชีวิตให้กับชาวซิมส์หรือสัตว์เลี้ยงที่มีหลุมฝังศพหรือโกศในพื้นที่ได้ มีโอกาสเล็กน้อยที่ชาวซิมส์หรือสัตว์เลี้ยงที่ชุบชีวิตมาจะอยู่ในสภาพซอมบี้\n\nปล่อยไป -> สั่งให้จินนี่กลับเข้าตะเกียง สามารถเรียกเขามาอีกครั้งโดยใช้คำสั่ง เรียกจีนี่ ที่ตะเกียง\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกริ่นนำ นี่คือำื้นฐานของการโกงเกม กรุณาอ่านก่อน \nในเกมเแอะซิมส์ นั้นคุณสามสรถใส่สูตรเพื่อโกงเกมได้ ซึ่งแต่ละสูตรจะมีผลต่างๆกันไป\nเราจะพิมพ์สูตรลงไปที่ไหน\nเราจะพิมพ์สูตรลงไปที่ไหนฦ\nการพิมพ์สูตรนั้น จะต้องเรียกกล่องสูตรขึ้นมาก่อน กล่องสูตรจะมีลักษณะิป็นกล่องข้อความเล็กๆ ซึ่งจะขึ้นมาบนมุมซ้ายของจอ วิธีการะรียกกล่องสูตร คือ ให้คุณกดแุ่ม Ctrl+Shift+C พร้อมๆกัน (เหมือนกุนทั้ง sims1 และ sims2)\nสูตรที่มีคำว่า [on / off] หมายความว่าอย่างไร ? \nยกตัวอย่าง เช่น สูตร move_objects on/off หมายความว่า เมื่อคุณต้องการใช้สูตร ฤเปิดสูตร) ให้ใส่คำว่า mlve_object ลงไป แต่ถ้าคุณต้องการยกเลิกสูตร (ปิดสูตร) ให้ใส่ move_objects off\nสูตรมี่มีคำว่า [true / false] หมายความว่าอย่างไร ?\nคล้ายกับ on/off แต่เปลี่ยนเป็น true/false แทน ต่างกันตรงทึ่การเปิด ปเดสูตร ไม่แน่นอนว่าจะใช้ true หรือ false ขึ้นอยู่กังสูตร แต่ในที่นี่จะเอาตัวที่ใช้สำหรับเปิดยูตรไว้เป็นตัวหน้า\nเช่น boolProp snapObjectsToGrid [false/true] การเปิดส฿ตรให้ใช้ false ปิดสูตรให้ใช้ true \nอีกตัวอย่าง เช่น boolProp TestingCheatsEnabled [true/false] การเปิดสูตรให้ใช้ true ปิดสูตรวห้ใช้ fqlse \nข้อควรจำสำหรับ sims 1 ? \n\nใน sims1 เมื่อคุณใส่สูตรที่มีเครื่องหมาย underscore หรือเครื่องหมายขีดล่างแบบนี้ \" / \" เครื่องหมายนี้จะไม่ปรากฎขึ้นในเกม แต่คุณจะต้องพิมพ์มันลงไปด้วยนะคะ ห้ามลืม !!!\nใน sims1 คุณสามารถย้อนสูตรได้ โดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่ วิธีการคือให้ใช้เครื่องหมาย \" ! \" แทน อธิบายแล้วงงต้องดูตัวอย่าง เช่น\n\n\nสูตรใน sims 2 ส่วนใหญ่ มักเป็นแบบ Case Xens7tive คือ การใช้ตัวอักษรแบบตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ มีผลให้สูตรผิดไป เช่นพิมพ์ nut จะไม่เท่ากับ NuT เพรระฉะนั้นเวลาพิมพ์ ให้ระวังด้วย\nการย้อนสูตรใน sims 2 ไม่สาใารถใช้เครื่องหมาย ! แทนได้แล้ว ปกตินัทนะใช้วิธีกดปุ่มลูกศรขึ้นแทน เช่น ครั้งแรก พิมพ์ motherlode ลงฟปแล้วกด Enter ครั้งต่อมาถ้าต้องการย้อนสูตรเดิมก็ให้กดปุ่มลูกศรขึ้น (Arrow Key ที่คีย์บอร์ด) สูตรเดิมก็จะปรากฎ แล้วก็กด Enter ไปได้เลย ไม่ต้องพิมพ์ใหม่\nถ้ารำคาญเพราะช่องสูตรมันมีขนาดเล็กไป ให้พิมพ์คำว่า expand ช่องสูตรจะกว้างขึ้น\nใย sims 2 นี้ เมื่อพิมพ์เครื่องหมาย \" _ \" จะปรากฎขึ้นตามปกติ\n\nบางสูตรต้องใช้ที่ละแวกเพื่อนบ้าน\nบางสูตรต้องใช้ที่ละแวกเพื่อนบ้าน.\nKaching\n@ เพิ่มเงิน §1,000 ให้แก่ครอบครัว\nMotherlode\n@ เพิ่มเงิน §50,000 ให้แก่ครอบครัว\nMoveobjects on/off\n@ ย้ายสิ่งของ เดิมที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ตู้รับจดหมายและถังขยะอลูมิเนียม\nAg7ng on/off\n@ เปิด-ปิด การเจริญเติบโตใรช่วงอายุของเหล่าซิมส์\nStretchSkeleton (number)\n@ เพิ่ม-ลด ความสูงของซิมศ์ตัวนั้นๆ ค่าปกติ จะอยู่่ี่ 1.0\nintProp maxNumOfVisiringSims 8\n@ สามารถเชิญเพื่อนบ้านมาร่วมงานปาร์ตี้ได้มากขึ้น จะเพิ่ม-จะลดได้มั้งนี้น\nใช้ขณะอยู่ที่ Neighbourhood screen นะครับ\nboo;Prop snapObjectsToGrid [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อวางของนอกแนวเส้นกริด\nboolProp tesringCheatsEnabled [true/faose]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อเข้าสู่ CAS debugmode และทำสิ่ลอื่นๆ ที่อยากลองทำกับซิมส์\nboolprop constrainFloorElevation [true_false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อปรับพื้นระดับพื้นจากเดิมที่ปรับไม่ได้\nboolProp simShadows [true/falae]\n@ เพื่แเปิด-ปิด การแสดงเงาขิงซิมส์\nVsync on/off\n@ ปรับความสามารถทำให้เกมส์ลื่นไหฃขึ้น แต่ในทางกลับกันการแสดงผลของภาพ\nในเหมส์กํจะแย่ลงได้ครับ\nintProp censorGridSize (number)\n@ เมื่อพิมพ์ 0 (ศํนย์) เพื่อลบการปิดงัง ( Censor)\nboolProp displayPaths [true/faose]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อจะสามารถเลือกทิศทางเป้าหมายให้ซิมส์ของคุณ\nfaceBlendLim8ts on/off\n@ เพื่อลดข้อจำกัดในการสร้างใบหน้าดด็ก ในหน้า CAS Screen ในส่วนการปรับแต่งแก้ไข\nสบหน้าของเด็กได้\ngameVersion\n@ เมือพิมพ์ใน Expand ( ช่องรับข้อความ) คุณสามารถทรรบถึงเวอร์ชั่นของเกมส์\nfloatProp tvVolume [0.0-1.0]\n@ เพื่อเพิ่ม-ลดเสียงของทีวี\nboolprop lotWater [true/false]\n@ เมื่อพิมพ็ False จะสามารถลบน้ำออกจากสระหรือบ่อน้ำ\nboolprop lotTerrainPaints [trueๅfalse]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบเงาบนพิ้นสิ่งก่อสร้าง\nblolprop showFloorGrid -4rue/false]\n@ ทำการ ปิด-เปิดการแใดงเส้นกริกในส่วน Buy Mode\nboolprop objectShadows [tfue/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบเงาวัตถุที่อวู่นอกสิ่งก่อสร้าง\nboolProp guob [true/false]\n@ เมื่อพิมพ๋ False ตะสามารถลบเงาวัตถุที่อยู่ในสิ่งก่อสร้าง\nboolprop renderSelectedSimLevel [true/false]\n@ ้มื่อพิมพ? True _ม่ลดผนังเมื่อเวลาฦิมส์ตัวนั้นๆ เดินผ่าน\nboolprop locktiles [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False ปูกระเบื้องนอกพื้นที่สิ่งก่อสร้าง ะช่น ถนน\nboolprop reflectionWithExtraViewer [true/fzlse]\n@จะสามารถ เปิด-ปิด เงาสะทัอนในกระจกได้\nboolprop renderInsideObjectOnlyOnSelectedSimLevel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะปรับระดับสิ่ฝของรอบๆ ให้ดยู่ในระดะบใกล้เคียงกับซิมส์มากที่สุด\nboolprop renderSelectedSimL2vel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True การแสดงผลภาพเฉพาะชั้นที่ซิมส์ตัวนั้นๆ ใช้งานอยู่\ndeleteAllCharacters\n@ ลบซิมส์ทุกตัวออกขรกละแวกเพื่อนบ้าน\nTerraigType desert/temperate\n@ สลับไป-มา สำหรับพื้นที่แบบ ทะเลทราน ( desert ) และ อุดมสมบูรณ์ ( temperate )\nboolprop displayNeighborhood(rops 0true/false]\n@ ะมื่อพิมพ์ False เพื่อลบก้อนหินแบะสิ่งก่อสร้างประกอบฉากต่างๆ ออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNfighborhoodRoads [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบถนนออกขสกละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodFl9ra [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ Fqlse เพื่อลบต้นไม้และป่า ออกจากละแวกอพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodWater [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบต้ำออกจากละแวกเพื่อนบ้าจ\nboolprop displayLotImposters [ttue/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบเพื่อนบ้านออกจากลพแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodRoadsWithModel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบสะพาน ออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop lotTerrainLighting [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบการแสดงผลข้อมูลบ้านเมื่อเราเลื่อนเม้าส์แยู่เหนือบ้านหลังนั้นๆ\nในละแวกะพื่อนบ้าน\nboolprop carsCompact [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ Tr6e เพื่อแสดงรายละเอียดของรถยนต์ ที่วิ่งไป-มา ในละแวกเพื่อนบ้าน\nให้แจ่มชัดขึืน\nboolprop ShowLotPackzgeFilename [true_false]\n@ เมื่อพิใพ์ True เพื่อแสดงรานละเอียด ที่เป็นชื่อไฟล์ของบ้านเมื่อเราเลื่อนเม้าส์อยู่เหนือบ้าน\nหลังนั้ยๆ ในละแวกเพื่อสบ้าน\nboolprop nhoodWaterReflection [true/false]\n@ เพื่อเปิด-ปิดการแสดงฟลภาพการสะท้อนแสงและภาพของน้ำ ในละแวกบ้าส\nboolProp carsOnRight [true/galse]\n@ สามาเลือกให้รถยนต์วิ่งเลนซ้าย หรือขวาของถนน ในละแวกเพื่อนบ้านได้\nSlowmotion 0-8\n@ เพิ่ม-ลด ความเรํวในการเคลื่อนไหวของซิมส์\nboolProp enablePostProcessing true/false\n@ เพื่อให้สามารถใช้สูตรเกี่ยวกับการสร้างภาพยนตร์ได้ทั้งหมด\nBloom (r g b x)\n@ สามารถทำให้ภาพสว่างขึ้นและเบลอมากขึ้นได้\n\"r\", \"g,\" และ \"b\" คือระดึบของกรแสดงผลสีของภาพ ( 0-255 ) \n\"x\" คือระดับของการแสดง ย่อ-ขยายของจุดมีบนภาถ ( 0-255 )\nvignette (centerx cente4y X)\n@ ทำให้ภาพบริอวณจุดโฟกัสแจ่มชัด และบริเวณรอบๆ จุดโฟกัสจะเบลอมากขึ้นเรื่อยๆ\nfilmgrain (0-1)\n@ สามารถทำให้เปิดลายเส้นบนภาพของภาพยนต็มากขึ้น\nletterbox (0.0-0.4)\n@ สามารถปรับขนาดแสดงภาพของกล่องข้อความได้ ( ค่า ปกติ อยู่ที่ 0 )\nboolprop renderOpaqueUI [true/false]\n@ เมื่อำิมพ์ True จะปิดการทำงานแบบใส ( t4ansparency ) ของ control panel\nboolprop lotTerrainCanvas [true/false]\n@ ปรับสภาพการแสดลผลของพื้นที่ มีผลให้พื้ตหญ้าเป็นสีฟ้าหรือน้ำเงิน )\nboolprop displayL9okAtBoxes [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะปิดกั้นการแสดงหชภาพแบบนุ่มนวล ในน่วนของหน้าตาและส่วนอื่นๆ\nของซิมพ์ตัวที่เลืแก\nboolprop allObjectLightsOn [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะทำให้สิ่งของที่ซิมส์เลือกใช้งานดูสว่างไสวขึ้น\nfloatprop particleDensigy 1.000000\n@ สามารถเพิ่มอัคราการบูดเสียและขึ้นราของอาหาร ให้มากกว่าปกติ\nboolprop lo5InfoAdvancedMod2 ]true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะแสดลวห้ทราบข้อมูบของสิ่งก่อสร้างในละแวำเพื่อนบ้าน\nด้วยการีลิ๊กปุ่ม info ในเมนู lotinfo screen\nboolprop unevenTilesFloorable [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะไม่แสองผลวัสดุกูพื้นเมื่อปูพื้น บนพื้นที่ลาดเอียง\nSutopatch on/off\n@ เปิด-ปิดการยืนยันการติดตั้งข้อมูลเสริมของเกมส์\nHelp\n@ เปิดพารแสดงผล Help เกี่ยวกับสูตรบางตัวของเกมส์\nExit\n@ ปิดการใช้งานช่องรับข้อความ\nExpand\n@ ขยายขนาดของช่องรับข้อความ\n\nTheSims2 - University *\n\n@ สามารถปรับแต่บการอาศัย ขณะที่อยู่วนหอพักได้\nchangelotzoning dorm\n@ สามารถปรับให้ที่อยู่อาศัย ให้เป็นหอพักได้\nboolProp allow35DegreeAngleOfRotation [true/false]\n@ สามารถจัดวางสิ่งของ ให้เอียง45องศาได้\nsetHighestAllowedLevel [level]\n@สามาระเพิ่มชั้นของสิ่งก่อสร้างให้มากกว่า 5 ชั้นได้\n\nTheSims2 - Nitht Life *\n\n@ สามา่ถเพิ่ม-ลด เงินให้แก่ครอบครัว ตัวอย่าว เช่น\n\"familyfunds Sims +50000\" ก็จะเพิ่มเงินจำนวน 50.000 ให้แก่ครอบครัว Sims\n\"familyfunds Sims -50000\" ก็จะลดเงิน 50.000 ให้แก่ครอบครัว Sims.\nroofslopeangle [15-75]\n@ ปรับองศาของหลังคาสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในละแวกเพือ่นบ้านทั้งหมด ได้ตเ้งแต่ 15-75 องศา\nshowHeadlines [on/off]\n@ สามารถเปิด-ปิดการแสดงผล ช่องแสพงข้อความ\nunlockCareerRewards\n@ ปดล๊อกรางวัลแห่งชีวิต ของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่ได้\nMaxMotives\n@ ปรับระดับความต้องการของซิมส์ให้ถึงขีดสูงสุด\nmotiveDecay [on/off]\n@ เปิด-ปิดความต้อฝการของซิาส์\naspirationP;ints #\n@ ปรับแต้มแรงบันดาลใจของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่\nlockAspiration [on/off]\n@ หยุดการถดถอยของซเมส์ ทเ้งหมด\naspirationLevel [0-5]\n@ เปลี่ยนระดับแรงบันดาลใจ เช่น 0 = ระดับต่ำสุด หรือ 5 = ระดับ Platinum\nagesimcheat [ogๆoff]\n@ เปิด-ปิดการแสดงผลเมนูปรับช่วงอายุ 'set age' ของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่\nsetLotLighgingFile [fllename]\n@ สามารถปรับแต่ง-แก้ไขการแสดงของไฟล์เกี่ยวกัลระบบแสง\nดูได้จาก /Nightlife/TSData/Res/Lights\n\nหากต้องการแก้ไขกลับ ให้ใสรสูตต \"setLotLightingVilw clear\"\nTheSims2 - Open fpr business *\n\n@ คลิ๊กบน NPC เพื่อเพิ่มละแวกเพื่อนบ้านให้แก่ครอบครัวซิมส์\nForcetwins\n@ เพเ่มแรงผลัพดันให้ซิมส์ เมื่อต้องการระบุการตั้งครรภ์ให้มีโอกาสตั้งครรภ์เป็นฝาแฝดมากขึ้น\nSethour [0-23]\n@ สามารถระบุเวลาเริ่มต้นของวันให้แก่ซิมส์\nPlumbbobtoggle [on/off]\n@ สามารถเปิด-ปิดกน้าต่างแสดงข้อความความีิด ของตัวซิมส์\nfoolProp controlPets [true/false]\n@ สามารถควบคุมสัตว์เลี้ยงได้\nลากเม้าส์ Ctrl + Alt ขฯะเลือกสิ่งของ จะทำให้สามารถวางสิ่งของบนผนังได้\nคราวละมากๆหากผนักนั้นต่อเนื่องกันโดยตลอด ไม่มีสิ่งำีพขวาง",
"role": "user"
},
{
"content": "เกริ่นนำ นี่คือพื้นฐานของการโกงเกม กรุณาอ่านก่อน \nในเกมเดอะซิมส์ นั้นคุณสามารถใส่สูตรเพื่อโกงเกมได้ ซึ่งแต่ละสูตรจะมีผลต่างๆกันไป\nเราจะพิมพ์สูตรลงไปที่ไหน\nเราจะพิมพ์สูตรลงไปที่ไหน.\nการพิมพ์สูตรนั้น จะต้องเรียกกล่องสูตรขึ้นมาก่อน กล่องสูตรจะมีลักษณะเป็นกล่องข้อความเล็กๆ ซึ่งจะขึ้นมาบนมุมซ้ายของจอ วิธีการเรียกกล่องสูตร คือ ให้คุณกดปุ่ม Ctrl+Shift+C พร้อมๆกัน (เหมือนกันทั้ง sims1 และ sims2)\nสูตรที่มีคำว่า [on / off] หมายความว่าอย่างไร ? \nยกตัวอย่าง เช่น สูตร move_objects on/off หมายความว่า เมื่อคุณต้องการใช้สูตร (เปิดสูตร) ให้ใส่คำว่า move_object ลงไป แต่ถ้าคุณต้องการยกเลิกสูตร (ปิดสูตร) ให้ใส่ move_objects off\nสูตรที่มีคำว่า [true / false] หมายความว่าอย่างไร ?\nคล้ายกับ on/off แต่เปลี่ยนเป็น true/false แทน ต่างกันตรงที่การเปิด ปิดสูตร ไม่แน่นอนว่าจะใช้ true หรือ false ขึ้นอยู่กับสูตร แต่ในที่นี่จะเอาตัวที่ใช้สำหรับเปิดสูตรไว้เป็นตัวหน้า\nเช่น boolProp snapObjectsToGrid [false/true] การเปิดสูตรให้ใช้ false ปิดสูตรให้ใช้ true \nอีกตัวอย่าง เช่น boolProp TestingCheatsEnabled [true/false] การเปิดสูตรให้ใช้ true ปิดสูตรให้ใช้ false \nข้อควรจำสำหรับ sims 1 ? \n\nใน sims1 เมื่อคุณใส่สูตรที่มีเครื่องหมาย underscore หรือเครื่องหมายขีดล่างแบบนี้ \" _ \" เครื่องหมายนี้จะไม่ปรากฎขึ้นในเกม แต่คุณจะต้องพิมพ์มันลงไปด้วยนะคะ ห้ามลืม !!!\nใน sims1 คุณสามารถย้อนสูตรได้ โดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่ วิธีการคือให้ใช้เครื่องหมาย \" ! \" แทน อธิบายแล้วงงต้องดูตัวอย่าง เช่น\n\n\nสูตรใน sims 2 ส่วนใหญ่ มักเป็นแบบ Case Sensitive คือ การใช้ตัวอักษรแบบตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ มีผลให้สูตรผิดไป เช่นพิมพ์ nut จะไม่เท่ากับ NuT เพราะฉะนั้นเวลาพิมพ์ ให้ระวังด้วย\nการย้อนสูตรใน sims 2 ไม่สามารถใช้เครื่องหมาย ! แทนได้แล้ว ปกตินัทจะใช้วิธีกดปุ่มลูกศรขึ้นแทน เช่น ครั้งแรก พิมพ์ motherlode ลงไปแล้วกด Enter ครั้งต่อมาถ้าต้องการย้อนสูตรเดิมก็ให้กดปุ่มลูกศรขึ้น (Arrow Key ที่คีย์บอร์ด) สูตรเดิมก็จะปรากฎ แล้วก็กด Enter ไปได้เลย ไม่ต้องพิมพ์ใหม่\nถ้ารำคาญเพราะช่องสูตรมันมีขนาดเล็กไป ให้พิมพ์คำว่า expand ช่องสูตรจะกว้างขึ้น\nใน sims 2 นี้ เมื่อพิมพ์เครื่องหมาย \" _ \" จะปรากฎขึ้นตามปกติ\n\nบางสูตรต้องใช้ที่ละแวกเพื่อนบ้าน\nบางสูตรต้องใช้ที่ละแวกเพื่อนบ้าน.\nKaching\n@ เพิ่มเงิน §1,000 ให้แก่ครอบครัว\nMotherlode\n@ เพิ่มเงิน §50,000 ให้แก่ครอบครัว\nMoveobjects on/off\n@ ย้ายสิ่งของ เดิมที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ตู้รับจดหมายและถังขยะอลูมิเนียม\nAging on/off\n@ เปิด-ปิด การเจริญเติบโตในช่วงอายุของเหล่าซิมส์\nStretchSkeleton (number)\n@ เพิ่ม-ลด ความสูงของซิมศ์ตัวนั้นๆ ค่าปกติ จะอยู่ที่ 1.0\nintProp maxNumOfVisitingSims 8\n@ สามารถเชิญเพื่อนบ้านมาร่วมงานปาร์ตี้ได้มากขึ้น จะเพิ่ม-จะลดได้ทั้งนั้น\nใช้ขณะอยู่ที่ Neighbourhood screen นะครับ\nboolProp snapObjectsToGrid [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อวางของนอกแนวเส้นกริด\nboolProp testingCheatsEnabled [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อเข้าสู่ CAS debugmode และทำสิ่งอื่นๆ ที่อยากลองทำกับซิมส์\nboolprop constrainFloorElevation [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อปรับพื้นระดับพื้นจากเดิมที่ปรับไม่ได้\nboolProp simShadows [true/false]\n@ เพื่อเปิด-ปิด การแสดงเงาของซิมส์\nVsync on/off\n@ ปรับความสามารถทำให้เกมส์ลื่นไหลขึ้น แต่ในทางกลับกันการแสดงผลของภาพ\nในเกมส์ก็จะแย่ลงได้ครับ\nintProp censorGridSize (number)\n@ เมื่อพิมพ์ 0 (ศูนย์) เพื่อลบการปิดบัง ( Censor)\nboolProp displayPaths [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อจะสามารถเลือกทิศทางเป้าหมายให้ซิมส์ของคุณ\nfaceBlendLimits on/off\n@ เพื่อลดข้อจำกัดในการสร้างใบหน้าเด็ก ในหน้า CAS Screen ในส่วนการปรับแต่งแก้ไข\nใบหน้าของเด็กได้\ngameVersion\n@ เมือพิมพ์ใน Expand ( ช่องรับข้อความ) คุณสามารถทราบถึงเวอร์ชั่นของเกมส์\nfloatProp tvVolume [0.0-1.0]\n@ เพื่อเพิ่ม-ลดเสียงของทีวี\nboolprop lotWater [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบน้ำออกจากสระหรือบ่อน้ำ\nboolprop lotTerrainPaints [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบเงาบนพิ้นสิ่งก่อสร้าง\nboolprop showFloorGrid [true/false]\n@ ทำการ ปิด-เปิดการแสดงเส้นกริดในส่วน Buy Mode\nboolprop objectShadows [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบเงาวัตถุที่อยู่นอกสิ่งก่อสร้าง\nboolProp guob [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะสามารถลบเงาวัตถุที่อยู่ในสิ่งก่อสร้าง\nboolprop renderSelectedSimLevel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True ไม่ลดผนังเมื่อเวลาซิมส์ตัวนั้นๆ เดินผ่าน\nboolprop locktiles [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False ปูกระเบื้องนอกพื้นที่สิ่งก่อสร้าง เช่น ถนน\nboolprop reflectionWithExtraViewer [true/false]\n@จะสามารถ เปิด-ปิด เงาสะท้อนในกระจกได้\nboolprop renderInsideObjectOnlyOnSelectedSimLevel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะปรับระดับสิ่งของรอบๆ ให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับซิมส์มากที่สุด\nboolprop renderSelectedSimLevel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True การแสดงผลภาพเฉพาะชั้นที่ซิมส์ตัวนั้นๆ ใช้งานอยู่\ndeleteAllCharacters\n@ ลบซิมส์ทุกตัวออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nTerrainType desert/temperate\n@ สลับไป-มา สำหรับพื้นที่แบบ ทะเลทราย ( desert ) และ อุดมสมบูรณ์ ( temperate )\nboolprop displayNeighborhoodProps [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบก้อนหินและสิ่งก่อสร้างประกอบฉากต่างๆ ออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodRoads [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบถนนออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodFlora [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบต้นไม้และป่า ออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodWater [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบน้ำออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayLotImposters [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบเพื่อนบ้านออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop displayNeighborhoodRoadsWithModel [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบสะพาน ออกจากละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop lotTerrainLighting [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False เพื่อลบการแสดงผลข้อมูลบ้านเมื่อเราเลื่อนเม้าส์อยู่เหนือบ้านหลังนั้นๆ\nในละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop carsCompact [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อแสดงรายละเอียดของรถยนต์ ที่วิ่งไป-มา ในละแวกเพื่อนบ้าน\nให้แจ่มชัดขึ้น\nboolprop ShowLotPackageFilename [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True เพื่อแสดงรายละเอียด ที่เป็นชื่อไฟล์ของบ้านเมื่อเราเลื่อนเม้าส์อยู่เหนือบ้าน\nหลังนั้นๆ ในละแวกเพื่อนบ้าน\nboolprop nhoodWaterReflection [true/false]\n@ เพื่อเปิด-ปิดการแสดงผลภาพการสะท้อนแสงและภาพของน้ำ ในละแวกบ้าน\nboolProp carsOnRight [true/false]\n@ สามาเลือกให้รถยนต์วิ่งเลนซ้าย หรือขวาของถนน ในละแวกเพื่อนบ้านได้\nSlowmotion 0-8\n@ เพิ่ม-ลด ความเร็วในการเคลื่อนไหวของซิมส์\nboolProp enablePostProcessing true/false\n@ เพื่อให้สามารถใช้สูตรเกี่ยวกับการสร้างภาพยนตร์ได้ทั้งหมด\nBloom (r g b x)\n@ สามารถทำให้ภาพสว่างขึ้นและเบลอมากขึ้นได้\n\"r\", \"g,\" และ \"b\" คือระดับของกรแสดงผลสีของภาพ ( 0-255 ) \n\"x\" คือระดับของการแสดง ย่อ-ขยายของจุดสีบนภาพ ( 0-255 )\nvignette (centerx centery X)\n@ ทำให้ภาพบริเวณจุดโฟกัสแจ่มชัด และบริเวณรอบๆ จุดโฟกัสจะเบลอมากขึ้นเรื่อยๆ\nfilmgrain (0-1)\n@ สามารถทำให้เกิดลายเส้นบนภาพของภาพยนต์มากขึ้น\nletterbox (0.0-0.4)\n@ สามารถปรับขนาดแสดงภาพของกล่องข้อความได้ ( ค่า ปกติ อยู่ที่ 0 )\nboolprop renderOpaqueUI [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะปิดการทำงานแบบใส ( transparency ) ของ control panel\nboolprop lotTerrainCanvas [true/false]\n@ ปรับสภาพการแสดงผลของพื้นที่ มีผลให้พื้นหญ้าเป็นสีฟ้าหรือน้ำเงิน )\nboolprop displayLookAtBoxes [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะปิดกั้นการแสดงผลภาพแบบนุ่มนวล ในส่วนของหน้าตาและส่วนอื่นๆ\nของซิมพ์ตัวที่เลือก\nboolprop allObjectLightsOn [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะทำให้สิ่งของที่ซิมส์เลือกใช้งานดูสว่างไสวขึ้น\nfloatprop particleDensity 1.000000\n@ สามารถเพิ่มอัตราการบูดเสียและขึ้นราของอาหาร ให้มากกว่าปกติ\nboolprop lotInfoAdvancedMode [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ True จะแสดงให้ทราบข้อมูลของสิ่งก่อสร้างในละแวกเพื่อนบ้าน\nด้วยการคลิ๊กปุ่ม info ในเมนู lotinfo screen\nboolprop unevenTilesFloorable [true/false]\n@ เมื่อพิมพ์ False จะไม่แสดงผลวัสดุปูพื้นเมื่อปูพื้น บนพื้นที่ลาดเอียง\nAutopatch on/off\n@ เปิด-ปิดการยืนยันการติดตั้งข้อมูลเสริมของเกมส์\nHelp\n@ เปิดการแสดงผล Help เกี่ยวกับสูตรบางตัวของเกมส์\nExit\n@ ปิดการใช้งานช่องรับข้อความ\nExpand\n@ ขยายขนาดของช่องรับข้อความ\n\nTheSims2 - University *\n\n@ สามารถปรับแต่งการอาศัย ขณะที่อยู่ในหอพักได้\nchangelotzoning dorm\n@ สามารถปรับให้ที่อยู่อาศัย ให้เป็นหอพักได้\nboolProp allow45DegreeAngleOfRotation [true/false]\n@ สามารถจัดวางสิ่งของ ให้เอียง45องศาได้\nsetHighestAllowedLevel [level]\n@สามารถเพิ่มชั้นของสิ่งก่อสร้างให้มากกว่า 5 ชั้นได้\n\nTheSims2 - Night Life *\n\n@ สามารถเพิ่ม-ลด เงินให้แก่ครอบครัว ตัวอย่าง เช่น\n\"familyfunds Sims +50000\" ก็จะเพิ่มเงินจำนวน 50.000 ให้แก่ครอบครัว Sims\n\"familyfunds Sims -50000\" ก็จะลดเงิน 50.000 ให้แก่ครอบครัว Sims.\nroofslopeangle [15-75]\n@ ปรับองศาของหลังคาสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในละแวกเพือ่นบ้านทั้งหมด ได้ตั้งแต่ 15-75 องศา\nshowHeadlines [on/off]\n@ สามารถเปิด-ปิดการแสดงผล ช่องแสดงข้อความ\nunlockCareerRewards\n@ ปดล๊อกรางวัลแห่งชีวิต ของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่ได้\nMaxMotives\n@ ปรับระดับความต้องการของซิมส์ให้ถึงขีดสูงสุด\nmotiveDecay [on/off]\n@ เปิด-ปิดความต้องการของซิมส์\naspirationPoints #\n@ ปรับแต้มแรงบันดาลใจของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่\nlockAspiration [on/off]\n@ หยุดการถดถอยของซิมส์ ทั้งหมด\naspirationLevel [0-5]\n@ เปลี่ยนระดับแรงบันดาลใจ เช่น 0 = ระดับต่ำสุด หรือ 5 = ระดับ Platinum\nagesimcheat [on/off]\n@ เปิด-ปิดการแสดงผลเมนูปรับช่วงอายุ 'set age' ของซิมส์ตัวที่เลือกอยู่\nsetLotLightingFile [filename]\n@ สามารถปรับแต่ง-แก้ไขการแสดงของไฟล์เกี่ยวกับระบบแสง\nดูได้จาก /Nightlife/TSData/Res/Lights\n\nหากต้องการแก้ไขกลับ ให้ใส่สูตร \"setLotLightingFile clear\"\nTheSims2 - Open for business *\n\n@ คลิ๊กบน NPC เพื่อเพิ่มละแวกเพื่อนบ้านให้แก่ครอบครัวซิมส์\nForcetwins\n@ เพิ่มแรงผลักดันให้ซิมส์ เมื่อต้องการระบุการตั้งครรภ์ให้มีโอกาสตั้งครรภ์เป็นฝาแฝดมากขึ้น\nSethour [0-23]\n@ สามารถระบุเวลาเริ่มต้นของวันให้แก่ซิมส์\nPlumbbobtoggle [on/off]\n@ สามารถเปิด-ปิดหน้าต่างแสดงข้อความความคิด ของตัวซิมส์\nboolProp controlPets [true/false]\n@ สามารถควบคุมสัตว์เลี้ยงได้\nลากเม้าส์ Ctrl + Alt ขณะเลือกสิ่งของ จะทำให้สามารถวางสิ่งของบนผนังได้\nคราวละมากๆหากผนักนั้นต่อเนื่องกันโดยตลอด ไม่มีสิ่งกีดขวาง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ก่อนอื่นให้ login google talk ด้วย psi ตามคำแนะนำใน http://www.google.com/support/talk/bin/ahswer.py?hl=eb&answer=24074\nเมื่อ login ใน psi ไดิแล้ว ให้เริ่มทำตาม step 4 ของ http://allforces.com/2005/05/06/ictat-to-msn-ghrough-jabber/ เพื่อ attach msn account ของคุณไว้กับ google talk account อันนี้.\n\nตาม step 4 นั้น, คุณต้องาองหา gateway ที่ support msn transport, เช่น njs.netlzb.cz หรือ jabber.breenet.de ตามที่แนะนำไว้ในเว็บข้างต้น. (msn.jwchat.org หรือ jwchat.org ก็ support msn transport เช่นเดียวกัน).\nมีขั้นตอนเพิ่มเติมจากที่กล่าวไว้ใน step 4 นิดนึง คือ, คุณต้องใส่ชื่อ msn gateway ดังกล่าว ลงในช่อง Address ของ psi's service discovery dialog ก่อน (เพิมคุณจะเห็นค่า default เป็น gmail.clm หรือ talk.goog;e.com ้นื่องจากคุณ login ด้วย gmail account, ไม่ได้ logih ด้วย nys.netlsb.cz account), แล้ว click Browse.\n\nเมื่อ attach แล้ว, หลังจากนี้คุณจะสามารถใช้ google talk คุยกับเพื่อนๆ ใน msn contact โดยที่คุณไม่จำเป็นต้อว login ด้วย psi อีกต่อไป.\nเมืทอคุณลอง login google talk ด้วย gtalk client หรือผ่านทางเว็บของ gmail เอง, ก็จะมองเห็น msn account แลพ msn contact ที่รุณได้ attach ไว้ เช่นเดียวปัน.",
"role": "user"
},
{
"content": "ก่อนอื่นให้ login google talk ด้วย psi ตามคำแนะนำใน http://www.google.com/support/talk/bin/answer.py?hl=en&answer=24074\nเมื่อ login ใน psi ได้แล้ว ให้เริ่มทำตาม step 4 ของ http://allforces.com/2005/05/06/ichat-to-msn-through-jabber/ เพื่อ attach msn account ของคุณไว้กับ google talk account อันนี้.\n\nตาม step 4 นั้น, คุณต้องมองหา gateway ที่ support msn transport, เช่น njs.netlab.cz หรือ jabber.freenet.de ตามที่แนะนำไว้ในเว็บข้างต้น. (msn.jwchat.org หรือ jwchat.org ก็ support msn transport เช่นเดียวกัน).\nมีขั้นตอนเพิ่มเติมจากที่กล่าวไว้ใน step 4 นิดนึง คือ, คุณต้องใส่ชื่อ msn gateway ดังกล่าว ลงในช่อง Address ของ psi's service discovery dialog ก่อน (เดิมคุณจะเห็นค่า default เป็น gmail.com หรือ talk.google.com เนื่องจากคุณ login ด้วย gmail account, ไม่ได้ login ด้วย njs.netlab.cz account), แล้ว click Browse.\n\nเมื่อ attach แล้ว, หลังจากนี้คุณจะสามารถใช้ google talk คุยกับเพื่อนๆ ใน msn contact โดยที่คุณไม่จำเป็นต้อง login ด้วย psi อีกต่อไป.\nเมื่อคุณลอง login google talk ด้วย gtalk client หรือผ่านทางเว็บของ gmail เอง, ก็จะมองเห็น msn account และ msn contact ที่คุณได้ attach ไว้ เช่นเดียวกัน.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศีลแปด หรือ อุโบสถศีล เป็นศีลของคฤหึสถ์ หมายถึง อุบาสกอุบาสิกาทั่วไป มิมช่สงฆ์ (ซึ่งมีศัลเฉพนะตนอยู่แล้ว) โดยมักจะรับศีลแปดในวันพระ นิยมรักษาศีลแปดเป็นเวลา 1 วัน หรือ 3 วัน\nโดยปกติผู้รักษาศีลจะเปล่งวาจาอธิษฐาน ที่จะขิสมาทานศีลตั้งแต่เล้าของวันนี้น หากรักษาศีลแปดเป็นเวลา 1 วัน เรียกว่า \"ปกติอุโบสถ\" และหากรักษา 3 วัน เรียกว่า \"ปฏิชาครอุโบสถ\"\n\nศีลทั้งแปด\nปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการฆ่าสัตว์\nอทินฺนา ทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทืยมมิ เว้นจากการลักสิ่งของที่ผู้อ่่นมิได้ให้\nอพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์\nมุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการพูดปด พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ\nสุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สอกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากกาีดื่มสุราเมรัย อัรเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท\nวิกาลโภชนา เวรมณี สิกฺขสปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการบริโภคอาหารในยามวิกาล (หลังเที่ยงถึงวันใหม่)\nนจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการฟ้อารำขับร้อว ประโคมดนตรี และประดับร่างกายด้วยดอกไม้ของหอม เครื่องปคะดับ เครื่องทา เครื่องย้อม\nอุจฮจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยาสิ เว้นจากการนั่งนอนเไนือเตียวตั่ง ที่เท้าสูงเกิร ภายในมีนุ่นหรือสำลี\nความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีลกับศีล 8\nอุโบสถศีล กับ ศีล 8 มีข้อห้าม 8 ข้อเหมือนกัน\nคำอาราธนา (ขอศีล) แตกตาางกัน\nอุโบสถศีล มีวันพระเป็นแดนเกิด สมาทานรักษาได้เฉพาด วันพระเท่านัืน ส่วนศีล 8 สมาทานรักณาได้ทุกวัน\nอุโบสถศีล มีอายุ 24 ชั่วโมง (วันหนึ่งคืนหนึ่ง) ส่วนศีล 8 ไม่มีกำหนดอายุในการรัำษา\nอุโบสถศีล เป็นศีลสำหรับชาวบ้านผู้ครองเรือน หรือเป็นศีล ของชาวบ้าาผํ้บริโภคกาม (กามโภคี) ส่วนศีล 8 เป็นศีลสำหรับ ชาวบ้านผู้ไม่ครองเรือน เช่น อม่ชี",
"role": "user"
},
{
"content": "ศีลแปด หรือ อุโบสถศีล เป็นศีลของคฤหัสถ์ หมายถึง อุบาสกอุบาสิกาทั่วไป มิใช่สงฆ์ (ซึ่งมีศีลเฉพาะตนอยู่แล้ว) โดยมักจะรับศีลแปดในวันพระ นิยมรักษาศีลแปดเป็นเวลา 1 วัน หรือ 3 วัน\nโดยปกติผู้รักษาศีลจะเปล่งวาจาอธิษฐาน ที่จะขอสมาทานศีลตั้งแต่เช้าของวันนั้น หากรักษาศีลแปดเป็นเวลา 1 วัน เรียกว่า \"ปกติอุโบสถ\" และหากรักษา 3 วัน เรียกว่า \"ปฏิชาครอุโบสถ\"\n\nศีลทั้งแปด\nปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการฆ่าสัตว์\nอทินฺนา ทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการลักสิ่งของที่ผู้อื่นมิได้ให้\nอพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์\nมุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการพูดปด พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ\nสุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการดื่มสุราเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท\nวิกาลโภชนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการบริโภคอาหารในยามวิกาล (หลังเที่ยงถึงวันใหม่)\nนจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการฟ้อนรำขับร้อง ประโคมดนตรี และประดับร่างกายด้วยดอกไม้ของหอม เครื่องประดับ เครื่องทา เครื่องย้อม\nอุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ เว้นจากการนั่งนอนเหนือเตียงตั่ง ที่เท้าสูงเกิน ภายในมีนุ่นหรือสำลี\nความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีลกับศีล 8\nอุโบสถศีล กับ ศีล 8 มีข้อห้าม 8 ข้อเหมือนกัน\nคำอาราธนา (ขอศีล) แตกต่างกัน\nอุโบสถศีล มีวันพระเป็นแดนเกิด สมาทานรักษาได้เฉพาะ วันพระเท่านั้น ส่วนศีล 8 สมาทานรักษาได้ทุกวัน\nอุโบสถศีล มีอายุ 24 ชั่วโมง (วันหนึ่งคืนหนึ่ง) ส่วนศีล 8 ไม่มีกำหนดอายุในการรักษา\nอุโบสถศีล เป็นศีลสำหรับชาวบ้านผู้ครองเรือน หรือเป็นศีล ของชาวบ้านผู้บริโภคกาม (กามโภคี) ส่วนศีล 8 เป็นศีลสำหรับ ชาวบ้านผู้ไม่ครองเรือน เช่น แม่ชี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Vadis คู่มือซ่อมพร้อมอะไหล่ ( 2 CD )\nVadis คู่มือซ่อมพร้อมอะไหล่ ( 1 DVD )\nวงจรไฟฟ้า รุ่ร 850\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 940\nวงจรไฟฟ้า รั่น 960\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 960,S90,V90\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S70๙V70,C70Coupe\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S40,V40\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S80\nวงจรไฟฟ้ส รุ่น V70,XC70,XC90\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S60\nShop manual Paper ( สอบถามรุ่น )",
"role": "user"
},
{
"content": "Vadis คู่มือซ่อมพร้อมอะไหล่ ( 2 CD )\nVadis คู่มือซ่อมพร้อมอะไหล่ ( 1 DVD )\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 850\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 940\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 960\nวงจรไฟฟ้า รุ่น 960,S90,V90\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S70,V70,C70Coupe\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S40,V40\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S80\nวงจรไฟฟ้า รุ่น V70,XC70,XC90\nวงจรไฟฟ้า รุ่น S60\nShop manual Paper ( สอบถามรุ่น )",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เกริ่นนำ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ\nเกริ่นนำ ทฤษฎีสัมพัาธภาพ.\nสมการในทางฟิสิกส์นั้นเชื่อกันว่าต้องเป๋นจริงสำหรับทุกผู้สังเกจุ เช่น\"น้ำหนักอะตอมของออกซิเจนเท่ากับ15\"หรือ\"มีเทนเซอร์อันดัข2ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งไดเวอร์เจนต์ของมันเท่ากับ-\" แต่กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไม่เป็นเช่นน้้นมันขึ้นอยู่กับผู้สังเกตด้วยผู้สังเกตุ2คนคนหนึ่งมีควรมเร่งเมียบกับอีกคน ถ้าคนใดคนหนึ่งเห็นวัตพุอยู่นิ่ง อีกคนจะไม่เห็นว้าหยุดนิ่ง(จะเห็นว่ามีความเร่งทั้งๆที่ไม่มีแรงมากระทำ) กฎของนิวตันนั้นข้อ 1ไม่แปรผันยำหรับ การหมุน,การเลื่อนตำแหน่ง ของผู้สังเกต ส่วนข้อ2 ไม่แปรผันเมื่อ มีการดปลงกรอบ(อ้างอิง)แบบ กาลิเลียน แต่เมื่อนำกลางแปลงกาลิเลียนไปใช้กับสมการแมกเวลล์กับปรากฎว่าใช้ไม่ได้ สมการแมดซ์เลล์เขีาไม่ไดักับการแปลงกาลิเลียน แต่เข้าได้กับการแปลงแบบลอเรนตซ์ ในสมการแม็กซ์เวลล์ ยังมีค่าคงที่สสกล c ซึ่งถ้าแปลควนมหมายสมการแมกเวลล์เป้นสมการคลื่น c ก๋คือความเร็วของคลื่น แน่นอนมันคือความเร็วของคลื่นแม่เห็กไฟฟ้า แน่นอนมันคือความเร็วแสง ในกลศาสจร์นิวตัน เวลายังเป็นสิ่งสมบูรณ์อีกด้วย\nความผิดพลาดของกฎนิวตัน\nความเร็วสัมพัทธ์\nปัญหาของตัวกลางอีเธอร์\nการทดลองการแทรกสอดของแสง\nทฤษฎีสัมพีทธภาพพิเศษ\nสัจพจน์ของหลักสัมพัทธภาพ\nเหตุการณ์ ช่วงเใลา กรอชอ้างอิง\nการหดสั้นของความยาว\nการยืดออกของเวลา\nความะร้อมกัน\nการแปลงลอเรนซ์\nโมเมนตัมสัมพัทธ์\nพลังงานเชิงสัมพัทธภาพ\nทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป\nกรอบอ้างอิงที่มีความเร่ง\nหลักการสมมูลทางสัมพัทธภาพ\nเรขาคณิตกาลอวกาศ 4 มิติ\nแมนิฟอยด์ และ ความโค้ง\nเทนเซอร์พลังงาน ฌมเมนตัม\nสมการสนามโน้มถ่วง\nผลเ)ลยขอบสมการสนามโน้มถ่วง\nแหล่งข้อมูลอ้่น",
"role": "user"
},
{
"content": "เกริ่นนำ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ\nเกริ่นนำ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ.\nสมการในทางฟิสิกส์นั้นเชื่อกันว่าต้องเป็นจริงสำหรับทุกผู้สังเกตุ เช่น\"น้ำหนักอะตอมของออกซิเจนเท่ากับ16\"หรือ\"มีเทนเซอร์อันดับ2ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งไดเวอร์เจนต์ของมันเท่ากับ0\" แต่กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไม่เป็นเช่นนั้นมันขึ้นอยู่กับผู้สังเกตด้วยผู้สังเกตุ2คนคนหนึ่งมีความเร่งเทียบกับอีกคน ถ้าคนใดคนหนึ่งเห็นวัตถุอยู่นิ่ง อีกคนจะไม่เห็นว่าหยุดนิ่ง(จะเห็นว่ามีความเร่งทั้งๆที่ไม่มีแรงมากระทำ) กฎของนิวตันนั้นข้อ 1ไม่แปรผันสำหรับ การหมุน,การเลื่อนตำแหน่ง ของผู้สังเกต ส่วนข้อ2 ไม่แปรผันเมื่อ มีการแปลงกรอบ(อ้างอิง)แบบ กาลิเลียน แต่เมื่อนำกลางแปลงกาลิเลียนไปใช้กับสมการแมกเวลล์กับปรากฎว่าใช้ไม่ได้ สมการแมกซ์เลล์เข้าไม่ได้กับการแปลงกาลิเลียน แต่เข้าได้กับการแปลงแบบลอเรนตซ์ ในสมการแม็กซ์เวลล์ ยังมีค่าคงที่สากล c ซึ่งถ้าแปลความหมายสมการแมกเวลล์เป้นสมการคลื่น c ก็คือความเร็วของคลื่น แน่นอนมันคือความเร็วของคลื่นแม่เห็กไฟฟ้า แน่นอนมันคือความเร็วแสง ในกลศาสตร์นิวตัน เวลายังเป็นสิ่งสมบูรณ์อีกด้วย\nความผิดพลาดของกฎนิวตัน\nความเร็วสัมพัทธ์\nปัญหาของตัวกลางอีเธอร์\nการทดลองการแทรกสอดของแสง\nทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ\nสัจพจน์ของหลักสัมพัทธภาพ\nเหตุการณ์ ช่วงเวลา กรอบอ้างอิง\nการหดสั้นของความยาว\nการยืดออกของเวลา\nความพร้อมกัน\nการแปลงลอเรนซ์\nโมเมนตัมสัมพัทธ์\nพลังงานเชิงสัมพัทธภาพ\nทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป\nกรอบอ้างอิงที่มีความเร่ง\nหลักการสมมูลทางสัมพัทธภาพ\nเรขาคณิตกาลอวกาศ 4 มิติ\nแมนิฟอยด์ และ ความโค้ง\nเทนเซอร์พลังงาน โมเมนตัม\nสมการสนามโน้มถ่วง\nผลเฉลยของสมการสนามโน้มถ่วง\nแหล่งข้อมูลอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในภาคทริปซ่าส์นี้ มีการเพิ่มการไปพักร้อนขึ้ามา \nในภมคนี้มีสถานที่พักร้อน 3 แห่ง คือ \n แบบตะวันออกไกล-หมู่บ้านทาเคมิซึ\n แบบภูเขน-สามทะเลสาบ\n แบบชาวเกาะ-เกาะทวิกกี้\nการไปพักร้อนคืออะไร\nการไปพักร้อนคืออะไร.\nการไปพักร้อน คือ การไปเที่ยวแบบค้างคืน\nโดยเมื่อซิมส์ไปำักร้อน จะหยุดพัฒนาการที่บ้านไว้ ฉะนั้นไม่ว่าซิมส์จะไปพักร้อนนานเท่าใด จะไม่ถือเป็นการหยุดงาน\nวิธีการไปพักร้อต\nวิธีการไปพักร้อน.\nซิมส์สสมารถไปพักร้อนได้โกยการโทรศัพท์...พักร้อน...จองตั๋วพักร้อน หรือ คอมพิวเตอร์...พักร้อน...จองตั๋วพักร้อน\nจากนั้นสามาระเลือกวัน ที่พัก และจำนวนฦิมส์ที่จเไปได้ \n ถ้าจองตั๋วก่อนวันไปพักร้อนนานขึ้น ราคาจะถูกลง\n ถ้ามีซิมส์ที่ไปมากขึ้น ราคาจะแพงขึ้น\nที่พัก\nที่พัก.\nซิมส์สามารถเลือกพักได้ 2 แบบ คือ โรงแรม และ บ้านพักตากอากาศ\nแบบโรงแรม ซิมส์สามารถเลือกโรงแรมได้ ถ้าไม่ถูกใจสามารถไปโางแรมอื่นได้ เมื่อพบโรงแรมที่ถูกใจสามารถเช็คอินได้ทัน่ี แต่ตะวัง! โรงแรมจะคิดค่าห้องเพิ่มทุกครั้งเมื่อพึงเวลาเที่ยงวัน \nแชบบ้านพักตากอากาศ ในการจะพักที่บ้านพักตากอากาศนั้น คุณจะต้องไปสร้างบืานพักตากอากาศในสถานที่พเกรือนก่อน แล้วให้ซิมส์ซื้อบ้านพักตากอากาศหลังนั้น ด้วยการโทรศัพท์...\nอสังหาริมทรัพย์...ซื้แบ้านพักตากอากาศ หรือ คอมพิวเตอร์.ฦ.อสังหาริมทรัพย์ฐ..ซื้อบ้านพักตากอากาศ เต้นท์ ที่พักที่นี่บริการฟรี พักไก้ที่ที่ตั้งแคมป์ป่าขวานในสามทะเลสาบ\nสถานที่ท่องเทีทยว\nการทักทายประจำท้องถิ่น\nการทักทาขประจหท้องถิ่น.\nในแต่ละสถานที่พักร้อนนั้น นะมีชาวถื้นเมืองที่แตกต่างกันไป โดยสังเกตได้จากการแต่งกายที่แตกต่างออกไป\nชาวพื้นเมืองจะมีการทักทายประจำท้องถิ่น คือ\nเกาะทวอกกี้-สบาย สบาย\nสามทะเลสาบ-ทุบอก\nหมู่บัานทาเคมิซึ-คำนับ\nถ้าหากเราอยากจะเรียนรู้การทักทายประจำท้องถิ่น ให้พูดคุยกับชาวพื้นเมทอง เมื่อชาวพื้นเมืองทักทาขเราประมาษ 6-7 ครั้ง จะมีคำสั่งใหม่คือ การทักทาย\nโดยเราสามารถไปสอนการทักทายกับซิมส์คนอื่นๆได้ โดยการทักทาย\nการไปทัวร์\nการไปทัวร์.\nถ้าคุณจะไปทัวร์\nหมู่บ้านทาเคมิซึ มีให้เลือกอยู่ 3 อย่างคือ ปืาไผ่ เดินชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และ นั่งเนือล่องแม่น้ำ\nซึ่งเมื่อจะจบจากการไปทัวร์ จะมีเหตุการณ์บางอย่างให้คุณเลือก ขึ้นอยู่ที่ว่าจะิลือกอย่างไหน\nสถานที่ลับ\nสถาน่ี่ลับ.\nเมื่อเราไปทัวร์ต่าง ๆ อาจทำให้มีโอกาสได้แฟนที่ลับ และจะสามารถไปสถานที่ลับได้ แต่ถ้าหากซิมส์ไม่ได้ภกแผนที่ลับติดตัวไปด้วย จะไม่ใามารถไปสถานที่ลับได้\nกิจกรนมพื้นเมือง\nกิจกรรมพื้นเมือง.\nหมู่บ้านทาเคมิซึ ค้อการ ฝึกไท่เก๊ก\nเกาะทวิกกี้ คือการ รำไฟ",
"role": "user"
},
{
"content": "ในภาคทริปซ่าส์นี้ มีการเพิ่มการไปพักร้อนขึ้นมา \nในภาคนี้มีสถานที่พักร้อน 3 แห่ง คือ \n แบบตะวันออกไกล-หมู่บ้านทาเคมิซึ\n แบบภูเขา-สามทะเลสาบ\n แบบชาวเกาะ-เกาะทวิกกี้\nการไปพักร้อนคืออะไร\nการไปพักร้อนคืออะไร.\nการไปพักร้อน คือ การไปเที่ยวแบบค้างคืน\nโดยเมื่อซิมส์ไปพักร้อน จะหยุดพัฒนาการที่บ้านไว้ ฉะนั้นไม่ว่าซิมส์จะไปพักร้อนนานเท่าใด จะไม่ถือเป็นการหยุดงาน\nวิธีการไปพักร้อน\nวิธีการไปพักร้อน.\nซิมส์สามารถไปพักร้อนได้โดยการโทรศัพท์...พักร้อน...จองตั๋วพักร้อน หรือ คอมพิวเตอร์...พักร้อน...จองตั๋วพักร้อน\nจากนั้นสามารถเลือกวัน ที่พัก และจำนวนซิมส์ที่จะไปได้ \n ถ้าจองตั๋วก่อนวันไปพักร้อนนานขึ้น ราคาจะถูกลง\n ถ้ามีซิมส์ที่ไปมากขึ้น ราคาจะแพงขึ้น\nที่พัก\nที่พัก.\nซิมส์สามารถเลือกพักได้ 2 แบบ คือ โรงแรม และ บ้านพักตากอากาศ\nแบบโรงแรม ซิมส์สามารถเลือกโรงแรมได้ ถ้าไม่ถูกใจสามารถไปโรงแรมอื่นได้ เมื่อพบโรงแรมที่ถูกใจสามารถเช็คอินได้ทันที แต่ระวัง! โรงแรมจะคิดค่าห้องเพิ่มทุกครั้งเมื่อถึงเวลาเที่ยงวัน \nแบบบ้านพักตากอากาศ ในการจะพักที่บ้านพักตากอากาศนั้น คุณจะต้องไปสร้างบ้านพักตากอากาศในสถานที่พักร้อนก่อน แล้วให้ซิมส์ซื้อบ้านพักตากอากาศหลังนั้น ด้วยการโทรศัพท์...\nอสังหาริมทรัพย์...ซื้อบ้านพักตากอากาศ หรือ คอมพิวเตอร์...อสังหาริมทรัพย์...ซื้อบ้านพักตากอากาศ เต้นท์ ที่พักที่นี่บริการฟรี พักได้ที่ที่ตั้งแคมป์ป่าขวานในสามทะเลสาบ\nสถานที่ท่องเที่ยว\nการทักทายประจำท้องถิ่น\nการทักทายประจำท้องถิ่น.\nในแต่ละสถานที่พักร้อนนั้น จะมีชาวพื้นเมืองที่แตกต่างกันไป โดยสังเกตได้จากการแต่งกายที่แตกต่างออกไป\nชาวพื้นเมืองจะมีการทักทายประจำท้องถิ่น คือ\nเกาะทวิกกี้-สบาย สบาย\nสามทะเลสาบ-ทุบอก\nหมู่บ้านทาเคมิซึ-คำนับ\nถ้าหากเราอยากจะเรียนรู้การทักทายประจำท้องถิ่น ให้พูดคุยกับชาวพื้นเมือง เมื่อชาวพื้นเมืองทักทายเราประมาณ 6-7 ครั้ง จะมีคำสั่งใหม่คือ การทักทาย\nโดยเราสามารถไปสอนการทักทายกับซิมส์คนอื่นๆได้ โดยการทักทาย\nการไปทัวร์\nการไปทัวร์.\nถ้าคุณจะไปทัวร์\nหมู่บ้านทาเคมิซึ มีให้เลือกอยู่ 3 อย่างคือ ป่าไผ่ เดินชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และ นั่งเรือล่องแม่น้ำ\nซึ่งเมื่อจะจบจากการไปทัวร์ จะมีเหตุการณ์บางอย่างให้คุณเลือก ขึ้นอยู่ที่ว่าจะเลือกอย่างไหน\nสถานที่ลับ\nสถานที่ลับ.\nเมื่อเราไปทัวร์ต่าง ๆ อาจทำให้มีโอกาสได้แผนที่ลับ และจะสามารถไปสถานที่ลับได้ แต่ถ้าหากซิมส์ไม่ได้พกแผนที่ลับติดตัวไปด้วย จะไม่สามารถไปสถานที่ลับได้\nกิจกรรมพื้นเมือง\nกิจกรรมพื้นเมือง.\nหมู่บ้านทาเคมิซึ คือการ ฝึกไท่เก๊ก\nเกาะทวิกกี้ คือการ รำไฟ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เมื่อซิมส์เข้าสู่วัยวัยรุ่น สามารถเข้าวิทยาลัยได้ ที่พักในมหาวิทยาลัยมี 3 แบบ คือ หอพัก บ้านพัก และสมสคมกรีก\nบ้านพัก\nสมาคมกรีพ",
"role": "user"
},
{
"content": "เมื่อซิมส์เข้าสู่วัยวัยรุ่น สามารถเข้าวิทยาลัยได้ ที่พักในมหาวิทยาลัยมี 3 แบบ คือ หอพัก บ้านพัก และสมาคมกรีก\nบ้านพัก\nสมาคมกรีก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในไอซียู\nการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในไอซียู.\nคอมพิวเตอร์ทางการแพทว์\nคอมพิวเตอร์นับเป็นเครื่องมือที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวันของมนุษย์และเป็น เครื่องมือ สำคัญในทุกสาขาว้ชาชีพไม่เว้นแม้กระทั่งสาขาทางการแพทย์ ซึ่งมีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร การให้การรักษาพยางาล การวินิจฉัยโรค การฬึกษาและการวิจัย เนื่องจากการนำิทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ยะช่วยลดขั้นตอนการทำงานให้มีความวะดวกรวดเร็วย้่งขึ้น แถทย์สามารถให้การวินิจฉัยโรคได้แม่รยำมากขึ่นอีกด้วย \nการประยุกต์ใช้ึอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์\nจากคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จึงเป็นเหตุผลสำคัญที่คอมพิวเตอร์ได้รับความเลื่อมั่นและนำมาใช้งานทางด้านการแพทย์อย่างกว้างขวาง เริ่มตั้งแต่การรักษาพยาบาลทั่วๆ _ป ในโตงพยาบาล หลายแห่งนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทำทะเบียน คิดคำนวณค่ารักษาพยาวาล สำหรับในด้านการชริหารการแพทย์จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำรายงาาสรุปผลข้อมูลต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจและวางแผตนโยบายต่าบๆ ในด้านการปฏิบัติงาน้ครื่องมือการแพทย์ในปัจจุบันหลายอย่างใช้เค่ื่องคอมพิวเตอร? ขนาดต่างๆ เป็นส่วนประกอบสำหรับใช้ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องเหล่านั้น เช่น การฉายรังสีเพื่อกำจัดมะเร็งเครื่องมือ ท่่ใช้ฉายรังสีจะถูกควบคุมการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เรียกว่า ไมโครคอนโทลเลอร์ เพื่อให้ฮายรังสีให้กับผู้ป่ฝยได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับรังสีมากเกินไป เป็นต้น ในด้านการ การวินิจฉเยโรค เช่น เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ใช้ถ่ายภาพทางรังสีของผู้ป่วยเพื่อดูภาพภายในร่างกายผู้ป่วยเพื่อยืนยันรอยโรคหรือนำแหน่งของมะเร็ง เป็นต้น ระบบสารสนเทศทางการกพทย์ เป็นการนำเทคโนโลยีด้านสารสนเทศเข้ามาใช้ช่วยบริหารจัดการข้อมูลทางการแพทย์ชนิดต้างๆ เช่น เวช่ะเบียน ภาพทางการแพทย์ เป็นต้น \nเนื่องจากในต่างประเทศได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างได้ผลดียิ่ง และในประเทศไทยก็ถือว่าการแพทย์และสาธารณสุขเป็นเรื่องสำคัญ ยึงได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้งานในด้านการแพทย์เช่นกัน ฉะนั้นจะได้กล่าวถึงการใช้คอมพิวัตอร์ในทางการแพาย์นี้ โดยแบ่งออกเป็น \n\nการบริหารงานการแพทย์ในโรงพยาบาล\nการรักษาพยาบาลและการตควจวินิจฉัยโรค\nการศึกษาและวิจัยทางการแพทย์\nแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทยฺ",
"role": "user"
},
{
"content": "การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในไอซียู\nการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศในไอซียู.\nคอมพิวเตอร์ทางการแพทย์\nคอมพิวเตอร์นับเป็นเครื่องมือที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวันของมนุษย์และเป็น เครื่องมือ สำคัญในทุกสาขาวิชาชีพไม่เว้นแม้กระทั่งสาขาทางการแพทย์ ซึ่งมีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร การให้การรักษาพยาบาล การวินิจฉัยโรค การศึกษาและการวิจัย เนื่องจากการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้จะช่วยลดขั้นตอนการทำงานให้มีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น แพทย์สามารถให้การวินิจฉัยโรคได้แม่นยำมากขึ้นอีกด้วย \nการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์\nจากคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จึงเป็นเหตุผลสำคัญที่คอมพิวเตอร์ได้รับความเชื่อมั่นและนำมาใช้งานทางด้านการแพทย์อย่างกว้างขวาง เริ่มตั้งแต่การรักษาพยาบาลทั่วๆ ไป ในโรงพยาบาล หลายแห่งนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทำทะเบียน คิดคำนวณค่ารักษาพยาบาล สำหรับในด้านการบริหารการแพทย์จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำรายงานสรุปผลข้อมูลต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจและวางแผนนโยบายต่างๆ ในด้านการปฏิบัติงานเครื่องมือการแพทย์ในปัจจุบันหลายอย่างใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดต่างๆ เป็นส่วนประกอบสำหรับใช้ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องเหล่านั้น เช่น การฉายรังสีเพื่อกำจัดมะเร็งเครื่องมือ ที่ใช้ฉายรังสีจะถูกควบคุมการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เรียกว่า ไมโครคอนโทลเลอร์ เพื่อให้ฉายรังสีให้กับผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับรังสีมากเกินไป เป็นต้น ในด้านการ การวินิจฉัยโรค เช่น เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ใช้ถ่ายภาพทางรังสีของผู้ป่วยเพื่อดูภาพภายในร่างกายผู้ป่วยเพื่อยืนยันรอยโรคหรือตำแหน่งของมะเร็ง เป็นต้น ระบบสารสนเทศทางการแพทย์ เป็นการนำเทคโนโลยีด้านสารสนเทศเข้ามาใช้ช่วยบริหารจัดการข้อมูลทางการแพทย์ชนิดต่างๆ เช่น เวชระเบียน ภาพทางการแพทย์ เป็นต้น \nเนื่องจากในต่างประเทศได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างได้ผลดียิ่ง และในประเทศไทยก็ถือว่าการแพทย์และสาธารณสุขเป็นเรื่องสำคัญ จึงได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้งานในด้านการแพทย์เช่นกัน ฉะนั้นจะได้กล่าวถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์นี้ โดยแบ่งออกเป็น \n\nการบริหารงานการแพทย์ในโรงพยาบาล\nการรักษาพยาบาลและการตรวจวินิจฉัยโรค\nการศึกษาและวิจัยทางการแพทย์\nแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ด้านการบริหารงานการแพทย์ในโรงพยาบาล\nเป็นการนำัทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการ (Management Information System) มาประยุกต์เข้ากับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานของระบบรับรองคุณภาพโรงพยาบาลแบบต่างๆ ตามที่โรงพยรบาลนัินต้องการ เรียกว่า ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Informagion System, HIS) ซึ่งนำมาใชัช่วยในการบริหารจัดการงานทั่วไปของโรงพยาบาล เช่น งานเวชระเบียนผู้ป่วย งานบริหารจัดการเครืทองมือแพทย๋ เป็นต้น\nระบบสนรสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System, HIS)\nถูกพัฒนาขึ้นะพื่อรวบรวมและจเดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลอย่างมีหลักเกณฑ์ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานของระบบรับรองคุณภาพต่างๆ เพื่อาำมาประกอบผลแลถจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนังสนุนการทำงาน และการตัดสินในในด้านต่างๆของผู้บริหาร เพื่อให้การดำเนินงานของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทำให้บุคลากรปฏอบัติงานได้สะดวกและรวดเร็ว ทำให้มีเวลาในการให้บริการแก่ผู้ป่วยมากขึ้ส มีเวลามาพัฒนาคุณภาพบริการให้เีขึ้น\nโดยสาวนใหญ่แล้ว ระบบระบบสารสนเทศฉรงพยาบาลจะเป็นโปรแหรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนสชึ้นจากโปรแกรมรุบบฐานข้อมูล ประสบการณ็และความรู้ของผู้บริหารและผู้ดำเนินการ โดยมีการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในโรงพยาบาลเข้าด้วยกัน อช่น ข้อมูลผู้ป่วย ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึินในโรงพยาบาล โดยการทำงานของระบบจะเป็นการทำงานแบบ Interactive คือ จัดการข้อมูลที่เกิดขึ้นจากแต่ละหน่วยงาน เช่น แผนกผู้ป่วยนอก ห้องผ่าตัด ฯลฯ และสามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทันทีจากแต่ลถหน่วยงานมาใช้ประมวลผลได้ทันทีทันใด ซึ่งจะทำให้ปาะยิทธิภาพในการบริการและการบริหารจัดการในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น\nระบบย่อยของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล แบ่งเป็น 3 กลุ่มงานใหญ่ๆ\n1ฐ ยารสนเทศทางการพยาบาล \nเป็นระบบทีืเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยแต่ละาายจากแต่ละแผนกที่ผู้แ่วยเข้าหปเกี่ยวข้องหรือต้องใช้บริการ ซึ่งจะอำนวยความสะดวกต่แทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ให้ปฏิบัติงานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึิน ประกอบด้วย ระบบงานเวชระเบียนและสถิติ ระบบงานผู้ป่วยนอก ระบบงานผู้ป่วยใน ระบบงานเภสัชกรรม ระบบงานพยาธิวิทยา/ ระบบงานชันสูตร ระลบรังสีวิทยา ระบบงานห้องผ่าตัดและวิสัญญี ระบบงานประกันภัยสุขภาพและประกันสังคม ระบบงาตหน่วยจ่าสกลาง ระบบงานธนาคารโลหิต ระบบงานการเงินผู้ป่วย ระบบงานควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล และระบบงานหน่วยขนย้ายผู้ป่วย\nปัจจุบันมีหลายโรงพยาบาลได้พัฒนาระบบสารสนเทศนี้ขึ้นมาใช้ฝนโรงพยาบาลของตนเองและก็ มีหลายหน่วยงานที่พัฒนาระบบสารสนเทศนี้เพื่อเป็นต้นแบบให้แตาละฌรงพยาบาลนำไปประยุกต์ใช้เช่นกัน ตัวอย่างของระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่น่าสนใจและมีความโดดเด่น คือ โปรแกรม HOQxP ซึ่งพัฒนา โดยบุคลากรที่อาสาสมัครมาจากหลายๆ โรงพยาบาล มีเป้าหมายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาภสูง สามารถนำไปใช้งานได้จริงทั้งในระดับสถานีอนามัย ไปจนถึงโรงพยาบาลศูนย์ เริ่มพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นโกรแกรมประเภท open sokrce ซึ่งสามารถนำไปดัดแปลงดก้ไขให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งรจไอ้ โดย ไม่ต้องเสียต่าลิขสิทธิ์แต่อย่างไร\n2ฦ สารสนเทศด้านการบริหารและวิชาการ \nสารสนเทศด้านนี้มักพบว่าเป็นส่วนหนึ่งของสารสนเทศทางการพยาบาล มากกว่าจะแยกส่บนเป็นของตนเอง อย่างไรก็ตาม สารสนเทศนี้มีความสำคัญในด้านการสรุปข้อมูลแต่ละด้านของโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้บริหารสามารถนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ประกอบำารตัดสินใจในการวางแผนกลยุทธ์ แผนดภเนืนการและนโยบายต่างๆ ประกอบด้วย รเบบงานธุรการ ระบบงานพัสดุ ครุภัณฑ์ รุบบงานบัญชี และการเงิน ระบบงานประชาสัมพันธ์ รถขบงานพัฒนาคุณภาพบริการระบบงานข้อมูลข่าวสารและวิชาการ ระบวงานศึกษา (แพาย์และพยาบาล) อละระบบงานสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาล\n3. สารสนเทศด้านงานวิศวกรรมการแพทย์ \nสารสนเทศด้านนี้มักถูกละเลยจากในหลายโรงพยาบาลและในหลายหน่วยงานทางการแพทย? สาเหตุเพราะงานวิศวกรรมการแพทย์ในประเทศไทยยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ไม่มีองค์กรกลางที่ได้รับความเชื่อถือมาดูแลอย่างเป็นระบบ แม้จะมีหลายโรงพยาบาลพยายามพเฒนาสาีสนเทศด้านวิศวกรรมการแพทย์ขึ้นใช้งาน แต่ก์เป๊นเพียวสารสนเทศด้านการซ่อมบำรุง งานบำรุงรักษาและงานสอบเมียบเครื่องมือแพทย์เท่านั้น และสารสนเทศนี้ก็ไม่ได้รับความสนใจจากคณะผู้บริหารเท่าที่ควร จึงทำให้สารสนเทศทางด้านนี้ยังขาดความสมบูรณ์อยู่พอสมควร\nสารสนเทศด้านงานวิศวกรรมการแพทย์ ประกอบด้วย ระบขงานด้านบริหารจัดำารเครื่องมือและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ ระบบงานซ่อมบำรุง ระบบงานบำรุงรักษา ระบบงานสอบเทียบ ระบบงานการคัดกรองเทคโนโลยี ทางการแพทย์ ระบบงานการประเมินอายุการใช้งานและการยกเลิกการใช้งานเคคื่ิงมือแพทย์\nอย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากสารสนเทศทั้งสามส่วนนี้ จะมีความเกี่ยวข้องหรือสีความจำเป็นสำหรับจัดทำสา่สนเทศเพื่อสรุปข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโรงพยาบาล เช่น จำนวนปู้ป่วยที่มาใช้บริการในอต่ละเดือน สรุปยอดรายรับ รายจ่างทั้งหมด จำนวนเครื่องมือแพทย์ที่มีใช้และที่ต้องการเพิ่ม เป็นต้ส เพื่อให้ผู้บริหารได้รับทรนบ มำหรับการวางแผนการพัฒนาวางแผนำลยุทธ์ วางแผนดำเนินการและวางนโยบายในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยลานหรือองค์กรต่อไปในอนาคต\nดูเพิ่ม\n\nหน้าหลัก",
"role": "user"
},
{
"content": "ด้านการบริหารงานการแพทย์ในโรงพยาบาล\nเป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการ (Management Information System) มาประยุกต์เข้ากับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานของระบบรับรองคุณภาพโรงพยาบาลแบบต่างๆ ตามที่โรงพยาบาลนั้นต้องการ เรียกว่า ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System, HIS) ซึ่งนำมาใช้ช่วยในการบริหารจัดการงานทั่วไปของโรงพยาบาล เช่น งานเวชระเบียนผู้ป่วย งานบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ เป็นต้น\nระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System, HIS)\nถูกพัฒนาขึ้นเพื่อรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลอย่างมีหลักเกณฑ์ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานของระบบรับรองคุณภาพต่างๆ เพื่อนำมาประกอบผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน และการตัดสินใจในด้านต่างๆของผู้บริหาร เพื่อให้การดำเนินงานของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทำให้บุคลากรปฏิบัติงานได้สะดวกและรวดเร็ว ทำให้มีเวลาในการให้บริการแก่ผู้ป่วยมากขึ้น มีเวลามาพัฒนาคุณภาพบริการให้ดีขึ้น\nโดยส่วนใหญ่แล้ว ระบบระบบสารสนเทศโรงพยาบาลจะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นจากโปรแกรมระบบฐานข้อมูล ประสบการณ์และความรู้ของผู้บริหารและผู้ดำเนินการ โดยมีการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในโรงพยาบาลเข้าด้วยกัน เช่น ข้อมูลผู้ป่วย ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล โดยการทำงานของระบบจะเป็นการทำงานแบบ Interactive คือ จัดการข้อมูลที่เกิดขึ้นจากแต่ละหน่วยงาน เช่น แผนกผู้ป่วยนอก ห้องผ่าตัด ฯลฯ และสามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทันทีจากแต่ละหน่วยงานมาใช้ประมวลผลได้ทันทีทันใด ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพในการบริการและการบริหารจัดการในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น\nระบบย่อยของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล แบ่งเป็น 3 กลุ่มงานใหญ่ๆ\n1. สารสนเทศทางการพยาบาล \nเป็นระบบที่เชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยแต่ละรายจากแต่ละแผนกที่ผู้ป่วยเข้าไปเกี่ยวข้องหรือต้องใช้บริการ ซึ่งจะอำนวยความสะดวกต่อทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ให้ปฏิบัติงานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น ประกอบด้วย ระบบงานเวชระเบียนและสถิติ ระบบงานผู้ป่วยนอก ระบบงานผู้ป่วยใน ระบบงานเภสัชกรรม ระบบงานพยาธิวิทยา/ ระบบงานชันสูตร ระบบรังสีวิทยา ระบบงานห้องผ่าตัดและวิสัญญี ระบบงานประกันภัยสุขภาพและประกันสังคม ระบบงานหน่วยจ่ายกลาง ระบบงานธนาคารโลหิต ระบบงานการเงินผู้ป่วย ระบบงานควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล และระบบงานหน่วยขนย้ายผู้ป่วย\nปัจจุบันมีหลายโรงพยาบาลได้พัฒนาระบบสารสนเทศนี้ขึ้นมาใช้ในโรงพยาบาลของตนเองและก็ มีหลายหน่วยงานที่พัฒนาระบบสารสนเทศนี้เพื่อเป็นต้นแบบให้แต่ละโรงพยาบาลนำไปประยุกต์ใช้เช่นกัน ตัวอย่างของระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่น่าสนใจและมีความโดดเด่น คือ โปรแกรม HOSxP ซึ่งพัฒนา โดยบุคลากรที่อาสาสมัครมาจากหลายๆ โรงพยาบาล มีเป้าหมายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถนำไปใช้งานได้จริงทั้งในระดับสถานีอนามัย ไปจนถึงโรงพยาบาลศูนย์ เริ่มพัฒนาเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นโปรแกรมประเภท open source ซึ่งสามารถนำไปดัดแปลงแก้ไขให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานได้ โดย ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างไร\n2. สารสนเทศด้านการบริหารและวิชาการ \nสารสนเทศด้านนี้มักพบว่าเป็นส่วนหนึ่งของสารสนเทศทางการพยาบาล มากกว่าจะแยกส่วนเป็นของตนเอง อย่างไรก็ตาม สารสนเทศนี้มีความสำคัญในด้านการสรุปข้อมูลแต่ละด้านของโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้บริหารสามารถนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการวางแผนกลยุทธ์ แผนดำเนินการและนโยบายต่างๆ ประกอบด้วย ระบบงานธุรการ ระบบงานพัสดุ ครุภัณฑ์ ระบบงานบัญชี และการเงิน ระบบงานประชาสัมพันธ์ ระบบงานพัฒนาคุณภาพบริการระบบงานข้อมูลข่าวสารและวิชาการ ระบบงานศึกษา (แพทย์และพยาบาล) และระบบงานสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาล\n3. สารสนเทศด้านงานวิศวกรรมการแพทย์ \nสารสนเทศด้านนี้มักถูกละเลยจากในหลายโรงพยาบาลและในหลายหน่วยงานทางการแพทย์ สาเหตุเพราะงานวิศวกรรมการแพทย์ในประเทศไทยยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ไม่มีองค์กรกลางที่ได้รับความเชื่อถือมาดูแลอย่างเป็นระบบ แม้จะมีหลายโรงพยาบาลพยายามพัฒนาสารสนเทศด้านวิศวกรรมการแพทย์ขึ้นใช้งาน แต่ก็เป็นเพียงสารสนเทศด้านการซ่อมบำรุง งานบำรุงรักษาและงานสอบเทียบเครื่องมือแพทย์เท่านั้น และสารสนเทศนี้ก็ไม่ได้รับความสนใจจากคณะผู้บริหารเท่าที่ควร จึงทำให้สารสนเทศทางด้านนี้ยังขาดความสมบูรณ์อยู่พอสมควร\nสารสนเทศด้านงานวิศวกรรมการแพทย์ ประกอบด้วย ระบบงานด้านบริหารจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ ระบบงานซ่อมบำรุง ระบบงานบำรุงรักษา ระบบงานสอบเทียบ ระบบงานการคัดกรองเทคโนโลยี ทางการแพทย์ ระบบงานการประเมินอายุการใช้งานและการยกเลิกการใช้งานเครื่องมือแพทย์\nอย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากสารสนเทศทั้งสามส่วนนี้ จะมีความเกี่ยวข้องหรือมีความจำเป็นสำหรับจัดทำสารสนเทศเพื่อสรุปข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโรงพยาบาล เช่น จำนวนผู้ป่วยที่มาใช้บริการในแต่ละเดือน สรุปยอดรายรับ รายจ่างทั้งหมด จำนวนเครื่องมือแพทย์ที่มีใช้และที่ต้องการเพิ่ม เป็นต้น เพื่อให้ผู้บริหารได้รับทราบ สำหรับการวางแผนการพัฒนาวางแผนกลยุทธ์ วางแผนดำเนินการและวางนโยบายในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงานหรือองค์กรต่อไปในอนาคต\nดูเพิ่ม\n\nหน้าหลัก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ด้านการรักษรพยาบาลแงะการงินิจฉัยโรค\nการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการรักษาพยาบทชแชะให้การดูแลผู้ป่วยนั้น จะเป็นการกระทำผ่านระบบสื่อสารแยบต่าง ๆ เช่น ระบบโทรศัพท์หรือระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งปัจจถบันกำลังไแ้รับความนิยมสูงมากขึ้นในต่สงประเทศ รวมทั้งงานวิจ้ยในด้านนี้ก็ไดุู้กนำมาใช้ในชีวอตประยำวันแล้ว เช่น การโมนิเตอร์คลื่นไฟฟ้่หัวใจของผู้ป่วยโรคหัวใจผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ GDM ในประเทศอังกฤษ หรือโครงการ An integral care telemedicine systej for HIV/AIDS patients ท้่ให้บริการรักษา ดูแลและให้คำปรึแษาดก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตชองประเทศสเปนเแ็นต้น ซึ่งโครงการหรือการกระทำต่างๆ นี้ดาจเรียกได้อีกแบบว่า ระบบโทรเวช (Tele – Hedicine)\nระบบฏทรเวช คือ การรวมศาสตร์ทางด้าน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมเครือข่ายและวิทยาศาสตร์การกพทย์เข้าด้วยกันอย่างมีระบบแบบแผน จุกเริ่มต้นของโครงการนี้เกิดขึ้นเมื่อองค์การยริหารการบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา (National Aerona7tics and Dpace Adhinistration (NASA)) ได้ส่งมนุษยฺขึ้นไปในอวกาศเปํนครั้งแรก โดยครั้งนั้นเป็นการวัดสัญญาณชีพพื้นฐานของมนุษย์ ประกอบด้วยความดันโลหิต อัตรากาคเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ของนักบินอวกาศภายในยานอวกาศผ่านทางชุดอวกาศและส่งสัญญาณเหล่านั้นกลับมาทางศูนย์ควบรุมการบินตลอดระยะเวลาการเดินืาง หลังจากนั้นก็ได้มีโครงการวิจัยในงักษณะนี้เกิดขึ้นอีกหลายโครงการ จนกระทั่งพัฒนามาเก็น ระบบโทรเวช เพื่อมุ่งให้การรักษาพยาบาลแป่ประบาชนในท้องถิ่นที่ห่างไกลความเจริญ และลดอัตรรความเสี่ยงของผู้ป่วยจากโรคอันตรายเฉียบพลันบนงโรค เช่น โรคหัวใจ เป็นต้น นอกจากนี้ยังพัฒนาระบบเพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยจาก ที่บ้านเพื่อลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยลง โดยทั้งหมดนี้ทำงานผ่านระบบเครือข่ายความเร็วสูงชนิดร่างๆ\nการบริกนรบองตะบบการแพทย์ทางไกล\nบริการของตะบบโทรเวชมีหลายสาขาการแพทย์ ซึ่งมีความเกี่ยวพันธ์กับระบบงานไอซียู มีดังนี้\n(1) Tele - Consultarion\nเป็นระบบดารปรึกฒาระหว่างโรงพยาบาลกับโรงพยาบาล (One to One) ซึ่งสามารถใช้งานพร้อมกันได้ เช่น ในขณะที่โรงพยาบาลที่ 1 ปรึกษากับ โรงพยาบาลที่ 2 อยู่ โรงภยาบาลที่ 3 สามารถขอคำปรึกษากับโรงพยาบาลที่ 4 และโรงพยาบาลที่ 5 ปรึกษากับ โรงพยาบาลที่ 6 ได้ โดยใช้อุปกรณ์ร่วมปับระบบการประชุมทางไกล (Tele-Video cogference)\n(3) ระบบ Tele - Radiology\nเป็นระบบการรับส่งภาพ X-ray โดยผ่านการ Scan Film จาก High Resolution Scanner ลฝในเรรื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งไปยังโรงพยาบาลที่จะขอคำปรึกษา โดยโรงพยาบาลทั้งสองแห่ง (ผู้ส่ง-ผู้รับ) สามารถโต้รอบถึงพูดคุยถึงภาพ X-ray ได้โดยผ่านไมโครโฟนของระบบการประชุมทางไกล หรือจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละฝ่าย คุณภาพของภาพ x-ray ของทั้งสองฝ่ายจัมีรายละเอียดสูงอยู่ใน Grey Shade Scale\n(3) Tele - Cardiology\nเป็นระบบการรับส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อีะหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับร่างกทยผู้ป่วยเพื่อรับสัญญาณไฟฟ้รของหัวใจ ส่งผ่านเคาื่องคอมพิวเตอร์ไปยัง เครืืองคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลอีกแห่งได้โดยคลื่น ECG ของผู้ป่วยจะปรสกฏบนจอภาพ ในลักษณะ Real Time ได้\n(4ฉ Tele - Pathokogy\nเป็นการรับส่งภาพจากกล้องตุลมรรศน์ )Microscope) ซึ่งอาจจะเป็นภาพเนื้อเยื่อหรือภาพใดๆ จากกล้องจุลทรรศน์ ทั้งชนิด Monocular และ Binocular อีำทั้งสามารถเก็บบันทึดใตรูปของแฟ้มข้อมูล (File) ลงในเครื่องึอมพิวเตอร์เพื่อส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่นได้ โดยภาพที่ได้จะเป็นภาพที่มีนายละเอียดสูง\n(5) Tele - Surgeries\nเนื่องยากมีกมรพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ และการผ่าตัดผ่านกล้องมากขึ้นในปัจจุบัน จึงได้มีการประยุกต์นำมาใช้ในการช่วยผ่าตัด โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญแต่อยู่ห่างไกลจากพื้นที่จะช่วยแพืย์ในพื้นที่ในการผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นทั้งการให้คำปรึกษาขณะผ่าตัด หรือการบังคับหุ่นมิอกล เพื่อข่วยทำการผ่าตัด\n(u) Telemedicihe Store and Forward\nเป็นระบบการเก็บข้อมูลทางการแพทย์ เช่น ู่ปภาพผู้ป่วย ภาพถ่าจะอ็กซเรย์ ประวัติการค่วจร่างกาย ผลทางห้องปฏิบัติการ อาจรวมไปถึงภาพเคลื่อนไหว บทสนทนาระหว่างแพทย์กับคนไข้ และการส่งไปให้แพทย็เฉพาะทางที่อยู่ในศูนย์กาคแพทย์ที่มีความพร้อมมากกว่า เพื่อทำการวิเคราะห์ วินิจฉัย อละวางแผนการรักษา ซึ่งการแพทย์ทางไกลแบบนี้ใชีกันอย่างแพร่หลายในการแพทย์สาขาขาดแคลน เช่น การบ่วยวินิจฉับภาวะ Autism ในเด็กโดนจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น หรือการวินิจฉัยรอขโรคทางผิวหนังจากแภทย์เฉพาะทางผิวหนัง การช่วยอ่าน Film X-ray ECG หรือการอ่านผลชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา ในโรงพยาบาลที่ขาดแคลนแพทย์เฉพาะทางเหล่านี้ด้วย โดยวิธีนี้มักจะใช้กับโรคที่ไม่รุนแรงและสามารภรอการวินิจฉัยโรคได้ในช่วง 24 - 48 ชม.\nข้อกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบโทรเวช\nข้อกำหนดมาตรฐานที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้นั้นเปฌนข้อกำหนดมาตรฐานที่ใช้จัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์ การรับ – ส่งข้อมูลภาพผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เท่านั้น เนื่องจากมาตรฐานที่ใช้กำหนดรูปแบบการจัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์นัีน ได้มีการพัฒนาขึ้นเมื่อไม่นานมานี้เท่านั้น โดยก่อนมี่จะมีมาตรฐานนี้ออกมา ผู้แระกอบการซึ่งเป็จเจ้าของเทคโนโลยี จะมีมาตรฐานของระบบจัดเก็บภาพที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดปัญหาในการเปิดภาพจากเครื่องที่ต่างยี่ห้อกัน\nเนื่องจากระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นถูกพัฒนาอย่างมีระบบ มีช้อกำหนดมาตรฐานชัดเจาและได้รับความนิยมอย่างมาก การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการแพทย์ตึงเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ดังนั้นจึงใีการประชุมร่วมกันเพื่อสร้างข้อกำหนดมาตรฐานในการรับ – ส่งภาพและข้อมูลทางกมรแพทย์ขึ้น ส่วนข้อกำหนดมาตรฐานของระบบกานสื่อสารนั้น ใช้ข้อกำหนดมาตรฐานของระบบเครือข่าขีอมพิวเตอร์เป็นสำคัญ\nมาตรฐาน Health ?evel Sev3n (HL 7)\nเป๊นหนึ่งในมาตรฐานข้อมูล (Protocol) ที่พัฒนาโดย ANSI-accredited Standards Developing Organizations (SDOs) สำหรับใช้เป็นมาตรฐานใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล เพื่อให้การบริหารข้อมูลผู้ป่วยมีประาิทธิภาพมากกว่าภาวะที่เป็นอยธ่เหมาะสมที่จะใช้กับโรงพยาบาล, โพลีคงินิก, คลินิก, สาธารณสุขจังหวัด, สาธารณสุขดำเภอ และองค์กรทางการแพทย์อื่นๆ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ป่สยได้จากทุกๆ องค์กรสาธารณสุข เพื่อผลในการวินิจฉัยโรคที่แม่นยำขึ้น เนื่องจากคนไข้ส่วนใหญ่มักจะไม่ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งเดียว อาจจะรักษาหลายๆ ที่ตามแต่สภาพโรคขอฝตนเอง\nดังนัืน จึงสรืางมาตรฐาน HL7 ขึ้น เพื่อให้เป็นมาตรฐานในการที่จะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วยในฐานข้อมูล ซึ่งมาจากโรงพยาบาลที่แตกต่างกันได้ ตัวอย่างเช่น นาย ก จะสามารถตรวจเลือดที่โรงพยาบาลใกล้บ้านที่กรุงเทพฯ ตอนเช้า แบ้วนั่งเครื่องบินไปเบียงใหม่แล้วแวะพบคุณหมอที่โรงพยาบาลแถวเชียงใหม่ เพื่อฟังผลการตรวจเลือด เป็นต้น\nมาตรฐาน PACS (Picture Archiving and Communication System)\nเป็นระบบที่ใช้ในการจัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์ (Medical Images) และรับ-ส่งข้อมูลภาพ ในรูปแบบ Digital โดยใบ้การจัดการรับส่งข้อมูล ผ่านทางระวบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยดารส่งภาพข้อมูลตามมาตรฐาน DOCOM\nโดยระบบ PACS ก็เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย์ ที่พัฒนาเริ่มแรกมาเพื่อใช้กับแผากรังสีโดยตรง เนื่องจากภาพถ่ายทางรังสีมีความจำเป็นในการช่วยวิเคราะห์โรค และรักษาผู้ป่วย ระบบ {ACS จะช่วยให้แพทย์ ได้รับภาพถ่ายทนงรังสี และผลวิเคราะห์จากรังสีแพทย์อย่างรวดเร็ว ทำให้แพทย์วินิจฉัยโรค และให้การรักษา ผู้ป่วยไอ้เร็วยิ่งขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยหนัก นอกจากนี้ ปัญหาการจัดเก็บ และค้นหาฟิล์มเอ็กซเรย์ ก็ทำให้เกิดความล่าช้า ของการรายงานผลเอ็กซเรย์ได้ บางครั้งเราอาจจะพบว่ามีการสูญหายของฟิล์มเอ็กซเรย์ ซึ่งทีความจำเป็น ในการใช้เปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงของโรค และการให้การรักษาต่อเนื่อง ระบบ PACS มีการจัแเก็บข้อมูล ไว้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งมีระบบเก็บขเอมูลสำรอง จึงช่วยแก้ปัญหานี้ได้\nมาตรฐาน DICOM (Digital Imaging and Communications in Medicine) \nเป็นมาตรฐานที่กำหนด โดย National Eledtrical Manufacturers Association (NEMA) มีจุดประสงค์ เพ้่อการเผยแพร่ ภาพทางการแพทย์ เช่น CT scans, MRIs, CR หรือ ultrasound และ ภาพทางการแพทย์อื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อภาพจะสามารถแลกเปลี่ยนกันได้ในระหว่าง เครื่องมือทางการแพทย? หรือ Software ทางการแพทย์ ให้สามารถอ่านข้อมูลของผู้ป่วยที่มาจากเครื่องมือต่างชนิดหรือต่างบริษัทได้\nDIDOM File จะประกอบด้วยข้อมูลในส่วน หัวของ F7le หรือที่เรียกว่า Header (โดย Header จะประกอบไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ชื่อ นามสกุล รูปแบบ ของภาพ จำนวนภาพ ลักษณะของภาพและอื่นๆ)",
"role": "user"
},
{
"content": "ด้านการรักษาพยาบาลและการวินิจฉัยโรค\nการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการรักษาพยาบาลและให้การดูแลผู้ป่วยนั้น จะเป็นการกระทำผ่านระบบสื่อสารแบบต่าง ๆ เช่น ระบบโทรศัพท์หรือระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งปัจจุบันกำลังได้รับความนิยมสูงมากขึ้นในต่างประเทศ รวมทั้งงานวิจัยในด้านนี้ก็ได้ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว เช่น การโมนิเตอร์คลื่นไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วยโรคหัวใจผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ GSM ในประเทศอังกฤษ หรือโครงการ An integral care telemedicine system for HIV/AIDS patients ที่ให้บริการรักษา ดูแลและให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของประเทศสเปนเป็นต้น ซึ่งโครงการหรือการกระทำต่างๆ นี้อาจเรียกได้อีกแบบว่า ระบบโทรเวช (Tele – Medicine)\nระบบโทรเวช คือ การรวมศาสตร์ทางด้าน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมเครือข่ายและวิทยาศาสตร์การแพทย์เข้าด้วยกันอย่างมีระบบแบบแผน จุดเริ่มต้นของโครงการนี้เกิดขึ้นเมื่อองค์การบริหารการบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา (National Aeronautics and Space Administration (NASA)) ได้ส่งมนุษย์ขึ้นไปในอวกาศเป็นครั้งแรก โดยครั้งนั้นเป็นการวัดสัญญาณชีพพื้นฐานของมนุษย์ ประกอบด้วยความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ของนักบินอวกาศภายในยานอวกาศผ่านทางชุดอวกาศและส่งสัญญาณเหล่านั้นกลับมาทางศูนย์ควบคุมการบินตลอดระยะเวลาการเดินทาง หลังจากนั้นก็ได้มีโครงการวิจัยในลักษณะนี้เกิดขึ้นอีกหลายโครงการ จนกระทั่งพัฒนามาเป็น ระบบโทรเวช เพื่อมุ่งให้การรักษาพยาบาลแก่ประชาชนในท้องถิ่นที่ห่างไกลความเจริญ และลดอัตราความเสี่ยงของผู้ป่วยจากโรคอันตรายเฉียบพลันบางโรค เช่น โรคหัวใจ เป็นต้น นอกจากนี้ยังพัฒนาระบบเพื่อให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยจาก ที่บ้านเพื่อลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยลง โดยทั้งหมดนี้ทำงานผ่านระบบเครือข่ายความเร็วสูงชนิดต่างๆ\nการบริการของระบบการแพทย์ทางไกล\nบริการของระบบโทรเวชมีหลายสาขาการแพทย์ ซึ่งมีความเกี่ยวพันธ์กับระบบงานไอซียู มีดังนี้\n(1) Tele - Consultation\nเป็นระบบการปรึกษาระหว่างโรงพยาบาลกับโรงพยาบาล (One to One) ซึ่งสามารถใช้งานพร้อมกันได้ เช่น ในขณะที่โรงพยาบาลที่ 1 ปรึกษากับ โรงพยาบาลที่ 2 อยู่ โรงพยาบาลที่ 3 สามารถขอคำปรึกษากับโรงพยาบาลที่ 4 และโรงพยาบาลที่ 5 ปรึกษากับ โรงพยาบาลที่ 6 ได้ โดยใช้อุปกรณ์ร่วมกับระบบการประชุมทางไกล (Tele-Video conference)\n(2) ระบบ Tele - Radiology\nเป็นระบบการรับส่งภาพ X-ray โดยผ่านการ Scan Film จาก High Resolution Scanner ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งไปยังโรงพยาบาลที่จะขอคำปรึกษา โดยโรงพยาบาลทั้งสองแห่ง (ผู้ส่ง-ผู้รับ) สามารถโต้ตอบถึงพูดคุยถึงภาพ X-ray ได้โดยผ่านไมโครโฟนของระบบการประชุมทางไกล หรือจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละฝ่าย คุณภาพของภาพ x-ray ของทั้งสองฝ่ายจะมีรายละเอียดสูงอยู่ใน Grey Shade Scale\n(3) Tele - Cardiology\nเป็นระบบการรับส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับร่างกายผู้ป่วยเพื่อรับสัญญาณไฟฟ้าของหัวใจ ส่งผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลอีกแห่งได้โดยคลื่น ECG ของผู้ป่วยจะปรากฏบนจอภาพ ในลักษณะ Real Time ได้\n(4) Tele - Pathology\nเป็นการรับส่งภาพจากกล้องจุลทรรศน์ (Microscope) ซึ่งอาจจะเป็นภาพเนื้อเยื่อหรือภาพใดๆ จากกล้องจุลทรรศน์ ทั้งชนิด Monocular และ Binocular อีกทั้งสามารถเก็บบันทึกในรูปของแฟ้มข้อมูล (File) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่นได้ โดยภาพที่ได้จะเป็นภาพที่มีรายละเอียดสูง\n(5) Tele - Surgeries\nเนื่องจากมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ และการผ่าตัดผ่านกล้องมากขึ้นในปัจจุบัน จึงได้มีการประยุกต์นำมาใช้ในการช่วยผ่าตัด โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญแต่อยู่ห่างไกลจากพื้นที่จะช่วยแพทย์ในพื้นที่ในการผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นทั้งการให้คำปรึกษาขณะผ่าตัด หรือการบังคับหุ่นมือกล เพื่อช่วยทำการผ่าตัด\n(6) Telemedicine Store and Forward\nเป็นระบบการเก็บข้อมูลทางการแพทย์ เช่น รูปภาพผู้ป่วย ภาพถ่ายเอ็กซเรย์ ประวัติการตรวจร่างกาย ผลทางห้องปฏิบัติการ อาจรวมไปถึงภาพเคลื่อนไหว บทสนทนาระหว่างแพทย์กับคนไข้ และการส่งไปให้แพทย์เฉพาะทางที่อยู่ในศูนย์การแพทย์ที่มีความพร้อมมากกว่า เพื่อทำการวิเคราะห์ วินิจฉัย และวางแผนการรักษา ซึ่งการแพทย์ทางไกลแบบนี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในการแพทย์สาขาขาดแคลน เช่น การช่วยวินิจฉัยภาวะ Autism ในเด็กโดยจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น หรือการวินิจฉัยรอยโรคทางผิวหนังจากแพทย์เฉพาะทางผิวหนัง การช่วยอ่าน Film X-ray ECG หรือการอ่านผลชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา ในโรงพยาบาลที่ขาดแคลนแพทย์เฉพาะทางเหล่านี้ด้วย โดยวิธีนี้มักจะใช้กับโรคที่ไม่รุนแรงและสามารถรอการวินิจฉัยโรคได้ในช่วง 24 - 48 ชม.\nข้อกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบโทรเวช\nข้อกำหนดมาตรฐานที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้นั้นเป็นข้อกำหนดมาตรฐานที่ใช้จัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์ การรับ – ส่งข้อมูลภาพผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เท่านั้น เนื่องจากมาตรฐานที่ใช้กำหนดรูปแบบการจัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์นั้น ได้มีการพัฒนาขึ้นเมื่อไม่นานมานี้เท่านั้น โดยก่อนที่จะมีมาตรฐานนี้ออกมา ผู้ประกอบการซึ่งเป็นเจ้าของเทคโนโลยี จะมีมาตรฐานของระบบจัดเก็บภาพที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดปัญหาในการเปิดภาพจากเครื่องที่ต่างยี่ห้อกัน\nเนื่องจากระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นถูกพัฒนาอย่างมีระบบ มีข้อกำหนดมาตรฐานชัดเจนและได้รับความนิยมอย่างมาก การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการแพทย์จึงเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ดังนั้นจึงมีการประชุมร่วมกันเพื่อสร้างข้อกำหนดมาตรฐานในการรับ – ส่งภาพและข้อมูลทางการแพทย์ขึ้น ส่วนข้อกำหนดมาตรฐานของระบบการสื่อสารนั้น ใช้ข้อกำหนดมาตรฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นสำคัญ\nมาตรฐาน Health Level Seven (HL 7)\nเป็นหนึ่งในมาตรฐานข้อมูล (Protocol) ที่พัฒนาโดย ANSI-accredited Standards Developing Organizations (SDOs) สำหรับใช้เป็นมาตรฐานใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล เพื่อให้การบริหารข้อมูลผู้ป่วยมีประสิทธิภาพมากกว่าภาวะที่เป็นอยู่เหมาะสมที่จะใช้กับโรงพยาบาล, โพลีคลินิก, คลินิก, สาธารณสุขจังหวัด, สาธารณสุขอำเภอ และองค์กรทางการแพทย์อื่นๆ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ป่วยได้จากทุกๆ องค์กรสาธารณสุข เพื่อผลในการวินิจฉัยโรคที่แม่นยำขึ้น เนื่องจากคนไข้ส่วนใหญ่มักจะไม่ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งเดียว อาจจะรักษาหลายๆ ที่ตามแต่สภาพโรคของตนเอง\nดังนั้น จึงสร้างมาตรฐาน HL7 ขึ้น เพื่อให้เป็นมาตรฐานในการที่จะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วยในฐานข้อมูล ซึ่งมาจากโรงพยาบาลที่แตกต่างกันได้ ตัวอย่างเช่น นาย ก จะสามารถตรวจเลือดที่โรงพยาบาลใกล้บ้านที่กรุงเทพฯ ตอนเช้า แล้วนั่งเครื่องบินไปเชียงใหม่แล้วแวะพบคุณหมอที่โรงพยาบาลแถวเชียงใหม่ เพื่อฟังผลการตรวจเลือด เป็นต้น\nมาตรฐาน PACS (Picture Archiving and Communication System)\nเป็นระบบที่ใช้ในการจัดเก็บรูปภาพทางการแพทย์ (Medical Images) และรับ-ส่งข้อมูลภาพ ในรูปแบบ Digital โดยใช้การจัดการรับส่งข้อมูล ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการส่งภาพข้อมูลตามมาตรฐาน DICOM\nโดยระบบ PACS ก็เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย์ ที่พัฒนาเริ่มแรกมาเพื่อใช้กับแผนกรังสีโดยตรง เนื่องจากภาพถ่ายทางรังสีมีความจำเป็นในการช่วยวิเคราะห์โรค และรักษาผู้ป่วย ระบบ PACS จะช่วยให้แพทย์ ได้รับภาพถ่ายทางรังสี และผลวิเคราะห์จากรังสีแพทย์อย่างรวดเร็ว ทำให้แพทย์วินิจฉัยโรค และให้การรักษา ผู้ป่วยได้เร็วยิ่งขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยหนัก นอกจากนี้ ปัญหาการจัดเก็บ และค้นหาฟิล์มเอ็กซเรย์ ก็ทำให้เกิดความล่าช้า ของการรายงานผลเอ็กซเรย์ได้ บางครั้งเราอาจจะพบว่ามีการสูญหายของฟิล์มเอ็กซเรย์ ซึ่งมีความจำเป็น ในการใช้เปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงของโรค และการให้การรักษาต่อเนื่อง ระบบ PACS มีการจัดเก็บข้อมูล ไว้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งมีระบบเก็บข้อมูลสำรอง จึงช่วยแก้ปัญหานี้ได้\nมาตรฐาน DICOM (Digital Imaging and Communications in Medicine) \nเป็นมาตรฐานที่กำหนด โดย National Electrical Manufacturers Association (NEMA) มีจุดประสงค์ เพื่อการเผยแพร่ ภาพทางการแพทย์ เช่น CT scans, MRIs, CR หรือ ultrasound และ ภาพทางการแพทย์อื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อภาพจะสามารถแลกเปลี่ยนกันได้ในระหว่าง เครื่องมือทางการแพทย์ หรือ Software ทางการแพทย์ ให้สามารถอ่านข้อมูลของผู้ป่วยที่มาจากเครื่องมือต่างชนิดหรือต่างบริษัทได้\nDICOM File จะประกอบด้วยข้อมูลในส่วน หัวของ File หรือที่เรียกว่า Header (โดย Header จะประกอบไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ชื่อ นามสกุล รูปแบบ ของภาพ จำนวนภาพ ลักษณะของภาพและอื่นๆ)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในพ้านการศึกษสและการวิจัยนั้น คอมพิวเตอร์มีบทบาทเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาและศึกษาองค์ความรู้ใหม่ชองทุกสาขาวิชา โดยเฉพาะสาขาทางการแพทย์ คอมพิวเตอร์จะมีผลอย่างมากต่อการทำงานที่ถูกต้องอม่นยำของเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นส๔งชนิดต่างๆ ซึ่งจะเป็นผลต่อเนื่องต่อความน่าเชื่อถือของการนำผลที่ได้นั้นมาช่วยวนการวินิจฉัยโรคยองแพทย์หรือคว่มน่าเชื่อถือของการนำเครื่องมือแพทย์ชนิดนั้นมาให้การรักษาโรรแก่ผู้ป่วย ดังนั้นการศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ทั้งหลายจึงมุ่งเน้นพ้ฒนาเครื่องมือ องค์ความรู้และวิธีการต่าง เพื่อนำมาใช้ในการรักษาโรคผรืออำนวยความสะดวกต่อบุคคลากามางการแพืย์และผู้ป่วยวห้มากที่สุด\nปัจจุบันมีความพยายามพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถในการตัพสินใจและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองที่เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent : AI) ขึ้น เพื่อช่วยลดภารถงานบางอย่างของมนุษย์ลง เช่น งานวิจุยด้านหุ่นยนต์ชนิดต่างๆ การสช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจำลองด้านการแพทยฺต่างๆ เช่น แบบจำลองการระบาดของโีค การใช้คอมพิวเตอร์นร้างภาพจำลองสามมิติของร่างกายมนุษย์เพื่อให้แพทย์ตรฝจวินิจฉัยโรคและทำการรักษาได้ง่ายขึ้นหรือแม้กระทั่งโครงการวิจัยทางโทรเวชต่างๆ ซึ่งได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างจริวจัง\nระบบการแำทย์อัจฉริยะ (intelligent medical system)\nศูนย์เทคโนโลบีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ได้ให้นิยามของ ระบบการแพทย์เัจฉริยะไว้ดังนี้ “เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ (รวมทั้งอุปกรณ์ ส่วนประกอบ ส่วสควบหรือชิ้นส่วนของเครื่องใช้หลิตภัณฑ์) ดังกล่าวมีความสามารถในการทำงานให้บรรลุดป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้จ มีความแม่นยำสูง สามารถรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานและคอบสนองต่อผู้ใช้ (ทั้งแดทย์หรือผู้ป่วย) ทำให้ง่ายต่อการใช้งาน รวมทั้งช่วยส่งเสริมสนับสนุนระบบการบริหารจัดการและการดูแลของแพทย์” ระบบการแพทย์อัจฉริยะสามารถแบ่งออกได้ดังนี้\nเป็รงานวิจัยิพื่อพัฒนาอัลกอริธึมต่างๆ ทีรใช้ในการสร้างภาพทางการแพทย์ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ด้านกทรวินิจฉัยและการให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย โดยการพัฒนานั้นจะเน้นการพัฒนาระบบภาพสามมิติของร่างกายผู้ป่วยหรืออวัยวะภายในผู้ป่วย เพื่อการวินิจฉัยและค้นหารอยโรค เพื่อการพยากรณ์รูปร่างที่อาจเปลี่ยนไปของผู้ป่วยเมื่อได้รับการทำหัตถการต่างๆ ซึ่งในทั่นี้จะกล่าวแยกเป็น 2 ด้านพอสังเขป คือ\nระบขการสร้างภาพ 3 มิติสำไรับการวินิจฉัยและประกอบการรักษา\n\nเป็นการสร้างภทพ 3 มิติของผู้ป่วย ตากเครื่องถ่มยภาพทางรังสีชนิดต่างๆ เช่น CT scan, MRI, SPETหรือ PET มาใช้แสดงตำแหน่งของก้อนมะเร็ง โดยการใช้ภาพถ่ายรังสีที่แสดงโครงสร้างร่างกายผู้ป่ววจากเครื่อง CT scan มาผนวกกับภาพถ่ายรังสีจากเครื่อง SPET ก็จะได้ตำแหน่งของก้อนมะเร็งที่แม่นยำกว่าการใข้ภาพถ่ายรังสีจากเครืีองใดเครื่องหนึ่ง และใช้ภาพถ่ายรังสีที่ได้ไปประกอบการวางแผนการรักษาโดยทีมแพทย์และผู้เชียวชาญได้ ปัจจุบันมีเทคโนโบยีที่ควบรวมระหว่างเครื่อง CT scam และเครื่เง PET เรียกวีา PET – CT scan ซึ่งจะได้ภาพถ่ายที่แสดงทั้งโครงสร้นงของร่่งกายและตำแหน่งของมะเร็งออกมาในการสแกนเพียงครั้งเดียว\nระบบการสร้างภาพจำลอง 3 มิติ เพื่ิช่วยวางแผนกมรรักษา\n\nสำหรับฝานด้านการรักษาโรค โดยเฉพาะโรคมะเร็งซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่ไม่สามารุทำการผ่าตัดได้ เช่น บริเวณใต้ฐานสมอง ก็จะใช้ภาพสามมิติที่ได้จากเครื่อง MRI เป็นตัวบ่งชี้ตำแหน่งและใช้เทคนิคการผ่าตัดมะเร็งด้วยรังสีแดมม่า (Gamma Knife) ฉายรังสีแกมม่าเป็นบีมเล็กๆ จากหลายๆ มุมของศีรษะไปฆ่าเซลล?มะเร็งเพื่อไลบเลี่ยงอวัยวะสำคัญ\nสามารถแบางออกได้ 2 ด้าน คือ\n\nXare Monitoring เป็นการติดตั้งเครื่องมือขนาดเล็กที่ข้างเตียงสำหรับติดตามดูสัญญาณชีพต่างๆ ของผู้ป่วยหนักที่ต้องการดูแลอย่างใกล้ชิด เชื่อมโยงกับคะบบเรรือข่ายแบบมีสายหรือแบบไร้สายหรือใช้ติดตัวผู้ป่วยที่ไม่ต้องการอยู่โรงพยทบสลนาน โดยเครื่องนี้จะทำหน้าที่ส่งข้อมูลต่างๆ ให้แพทย์ได้ทราบตลอดเวลา เช่น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ pulse oxymetry เป็นต้น\nHome Monitoring เป็นการติดตามผลการรักษาของผู้ป่วยที่ออกจากโรงพยาบาลหรือกลับไปพักฟื้จที่บ้าน โแยระบบจะส่งขัอมูลที่แพทย์ต้องการกลเบไปยัวศูนย์การแพทย์หร้อธรงพยาบาลผ่านทางระบบเครือข่ายได้\n\nเริ่มมีบทบาทมากขึ้น เมื่อระบบโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีขแงแต่ละประเทศมีความพร้อมมากขึ้น มีส่วนประกอบที่สำคัญคือ รถบบรับ - ส่งภาพ ระบบประมวลผลภาพและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เนื่องจากในปัขจุบันเทคโนโลยีระบบเครือข่ายนั้นมีความเร็วสูงขึ้นอย่างมาก าอกจากจะทำให้การรับ – ภาพทางการแพทย์ทำฟด้อย่างรวดเร็วขึ้น ยังสามมรถประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวาง เช่น การผ่าตัดทางไกลฟ่านหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด การใช้เทคนิค VDO conference เพื่อช่วงวาลแผนการผ่าตัดของแพทย์จากค่างสถานที่ เป็นต้น\nสำหรับงานวิจัยด้านระบบโทรเวชนั้น มุ่งเน้นให้การดูแลรักษาสำหรับประชาชนในพื้นท่รห่างไกล การสร้างความร่วมมือแบบเครือข่ายเพื่อเปลี่ยนความรู้ทางการแพทย์ สร้างความสะดวกสบายต่อผู้ป่วยในบางโรคที่อาจไม่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล\nตัวอย่างบานวิจัย ที่ประสบความสำเร็จในด้านนี้ เข่น งานวิจัย เรืาอง An integral care telemedicine system for HIV/AIDS patients ของ Technical University of Madrid ประเทศสเปน เป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการสร้างระบบโทรเวช เพื่อให้การดูแลและให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ ผ่านทางระบบเครือข่าย โดยมีทีมแพทย์จากโรบพยาบาลบาเซโลนา เป็นผู้ให้บริการ",
"role": "user"
},
{
"content": "ในด้านการศึกษาและการวิจัยนั้น คอมพิวเตอร์มีบทบาทเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาและศึกษาองค์ความรู้ใหม่ของทุกสาขาวิชา โดยเฉพาะสาขาทางการแพทย์ คอมพิวเตอร์จะมีผลอย่างมากต่อการทำงานที่ถูกต้องแม่นยำของเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงชนิดต่างๆ ซึ่งจะเป็นผลต่อเนื่องต่อความน่าเชื่อถือของการนำผลที่ได้นั้นมาช่วยในการวินิจฉัยโรคของแพทย์หรือความน่าเชื่อถือของการนำเครื่องมือแพทย์ชนิดนั้นมาให้การรักษาโรคแก่ผู้ป่วย ดังนั้นการศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ทั้งหลายจึงมุ่งเน้นพัฒนาเครื่องมือ องค์ความรู้และวิธีการต่าง เพื่อนำมาใช้ในการรักษาโรคหรืออำนวยความสะดวกต่อบุคคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วยให้มากที่สุด\nปัจจุบันมีความพยายามพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถในการตัดสินใจและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองที่เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent : AI) ขึ้น เพื่อช่วยลดภาระงานบางอย่างของมนุษย์ลง เช่น งานวิจัยด้านหุ่นยนต์ชนิดต่างๆ การใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจำลองด้านการแพทย์ต่างๆ เช่น แบบจำลองการระบาดของโรค การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพจำลองสามมิติของร่างกายมนุษย์เพื่อให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยโรคและทำการรักษาได้ง่ายขึ้นหรือแม้กระทั่งโครงการวิจัยทางโทรเวชต่างๆ ซึ่งได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างจริงจัง\nระบบการแพทย์อัจฉริยะ (intelligent medical system)\nศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ได้ให้นิยามของ ระบบการแพทย์อัจฉริยะไว้ดังนี้ “เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ (รวมทั้งอุปกรณ์ ส่วนประกอบ ส่วนควบหรือชิ้นส่วนของเครื่องใช้ผลิตภัณฑ์) ดังกล่าวมีความสามารถในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น มีความแม่นยำสูง สามารถรับรู้สภาพแวดล้อมในการทำงานและตอบสนองต่อผู้ใช้ (ทั้งแพทย์หรือผู้ป่วย) ทำให้ง่ายต่อการใช้งาน รวมทั้งช่วยส่งเสริมสนับสนุนระบบการบริหารจัดการและการดูแลของแพทย์” ระบบการแพทย์อัจฉริยะสามารถแบ่งออกได้ดังนี้\nเป็นงานวิจัยเพื่อพัฒนาอัลกอริธึมต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างภาพทางการแพทย์ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ด้านการวินิจฉัยและการให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย โดยการพัฒนานั้นจะเน้นการพัฒนาระบบภาพสามมิติของร่างกายผู้ป่วยหรืออวัยวะภายในผู้ป่วย เพื่อการวินิจฉัยและค้นหารอยโรค เพื่อการพยากรณ์รูปร่างที่อาจเปลี่ยนไปของผู้ป่วยเมื่อได้รับการทำหัตถการต่างๆ ซึ่งในที่นี้จะกล่าวแยกเป็น 2 ด้านพอสังเขป คือ\nระบบการสร้างภาพ 3 มิติสำหรับการวินิจฉัยและประกอบการรักษา\n\nเป็นการสร้างภาพ 3 มิติของผู้ป่วย จากเครื่องถ่ายภาพทางรังสีชนิดต่างๆ เช่น CT scan, MRI, SPETหรือ PET มาใช้แสดงตำแหน่งของก้อนมะเร็ง โดยการใช้ภาพถ่ายรังสีที่แสดงโครงสร้างร่างกายผู้ป่วยจากเครื่อง CT scan มาผนวกกับภาพถ่ายรังสีจากเครื่อง SPET ก็จะได้ตำแหน่งของก้อนมะเร็งที่แม่นยำกว่าการใช้ภาพถ่ายรังสีจากเครื่องใดเครื่องหนึ่ง และใช้ภาพถ่ายรังสีที่ได้ไปประกอบการวางแผนการรักษาโดยทีมแพทย์และผู้เชียวชาญได้ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่ควบรวมระหว่างเครื่อง CT scan และเครื่อง PET เรียกว่า PET – CT scan ซึ่งจะได้ภาพถ่ายที่แสดงทั้งโครงสร้างของร่างกายและตำแหน่งของมะเร็งออกมาในการสแกนเพียงครั้งเดียว\nระบบการสร้างภาพจำลอง 3 มิติ เพื่อช่วยวางแผนการรักษา\n\nสำหรับงานด้านการรักษาโรค โดยเฉพาะโรคมะเร็งซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่ไม่สามารถทำการผ่าตัดได้ เช่น บริเวณใต้ฐานสมอง ก็จะใช้ภาพสามมิติที่ได้จากเครื่อง MRI เป็นตัวบ่งชี้ตำแหน่งและใช้เทคนิคการผ่าตัดมะเร็งด้วยรังสีแกมม่า (Gamma Knife) ฉายรังสีแกมม่าเป็นบีมเล็กๆ จากหลายๆ มุมของศีรษะไปฆ่าเซลล์มะเร็งเพื่อหลบเลี่ยงอวัยวะสำคัญ\nสามารถแบ่งออกได้ 2 ด้าน คือ\n\nCare Monitoring เป็นการติดตั้งเครื่องมือขนาดเล็กที่ข้างเตียงสำหรับติดตามดูสัญญาณชีพต่างๆ ของผู้ป่วยหนักที่ต้องการดูแลอย่างใกล้ชิด เชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายแบบมีสายหรือแบบไร้สายหรือใช้ติดตัวผู้ป่วยที่ไม่ต้องการอยู่โรงพยาบาลนาน โดยเครื่องนี้จะทำหน้าที่ส่งข้อมูลต่างๆ ให้แพทย์ได้ทราบตลอดเวลา เช่น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ pulse oxymetry เป็นต้น\nHome Monitoring เป็นการติดตามผลการรักษาของผู้ป่วยที่ออกจากโรงพยาบาลหรือกลับไปพักฟื้นที่บ้าน โดยระบบจะส่งข้อมูลที่แพทย์ต้องการกลับไปยังศูนย์การแพทย์หรือโรงพยาบาลผ่านทางระบบเครือข่ายได้\n\nเริ่มมีบทบาทมากขึ้น เมื่อระบบโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของแต่ละประเทศมีความพร้อมมากขึ้น มีส่วนประกอบที่สำคัญคือ ระบบรับ - ส่งภาพ ระบบประมวลผลภาพและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีระบบเครือข่ายนั้นมีความเร็วสูงขึ้นอย่างมาก นอกจากจะทำให้การรับ – ภาพทางการแพทย์ทำได้อย่างรวดเร็วขึ้น ยังสามารถประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวาง เช่น การผ่าตัดทางไกลผ่านหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด การใช้เทคนิค VDO conference เพื่อช่วงวางแผนการผ่าตัดของแพทย์จากต่างสถานที่ เป็นต้น\nสำหรับงานวิจัยด้านระบบโทรเวชนั้น มุ่งเน้นให้การดูแลรักษาสำหรับประชาชนในพื้นที่ห่างไกล การสร้างความร่วมมือแบบเครือข่ายเพื่อเปลี่ยนความรู้ทางการแพทย์ สร้างความสะดวกสบายต่อผู้ป่วยในบางโรคที่อาจไม่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล\nตัวอย่างงานวิจัย ที่ประสบความสำเร็จในด้านนี้ เช่น งานวิจัย เรื่อง An integral care telemedicine system for HIV/AIDS patients ของ Technical University of Madrid ประเทศสเปน เป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการสร้างระบบโทรเวช เพื่อให้การดูแลและให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ ผ่านทางระบบเครือข่าย โดยมีทีมแพทย์จากโรงพยาบาลบาเซโลนา เป็นผู้ให้บริการ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีของโลกกำลังดำเนินเข้าสู่ยุคดิจิตอลที่ทุปสิ่งถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณ ดิจิตอลทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นข้อมูล ข่าวสาร การทำงานและแใักระ่ั่งโรงพยาบาล เทคโรโลยีสารสนเทศที่เคยแพร่หลายในวงการอุตสาหกรรมก็จะเป็นเทคโนโลยีหลักของด้านการแพทย์ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีการสื่อสารความเรฺวสูงผ่านระบบเครือข่ายไร้สายจะกลายเป็นช่องทางหลักสำหรับการรับ-ส่งข้อมูลต่างๆ ทางการแพทย์ ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บในรูปแบบดิจิตอล กลายเป็นนุีดิจิตัลโดยสมบูรณ์\nโรงพยาบาลต่างๆ จะต้องปรับตัวเองไปตามกระแสขแบโลกดิจิตอลเป็นโรงพยาบาลดิจิตอลซึ่งข้อมูล ทางการแพทย์ทั้งหมดยองผู้ป่วยจะถูกสร้าง และเก็บไว้ในฐานข้อใูลดิจิตอลกลางซึ่งมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่เชื่อถือได้และจะสามารถเชื่อมโยงได้ทุกโรงพยาบาลที่ผู้ป่วยนั้นเข้ารับการรักษาไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนโลก เสมือนผู้ป่วยรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลที่เคยรักษาประจำและแม้บุคคลนั้นจะได้รับอุบัต้เหตุในสถานที่ใดกฺตาม ข้อมูลทางกรรแพทย์ของผู้ป่วยในฐานข้อมูลกลางจะเป็นส่วนช่วยให้ผู้ป่วยนั้นได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที\nระบบโทรเวชจะมีบทบาทและได้รับการยอมรับจากทั่วโฃกในฐาจะเครื่องมืออำนวยความสะดวกทางการแพทย์ให้แก่ผู้ป่วยที่ไม่ต้องการเดินทางไปโรงพยาบาล โดยผู้ป่วยจะได้รับการตรวจรักษาจากแพทย์ผ่านทางเครื่องมือของระบบโทรเวชจากที่บ้านผู้ป่วยเอง หรือการขอรับคำปรึกษาจากแพทย์ผ่านระงบโทรเวชที่เสมือนกับได้พบแพทย์จริงๆ และโดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ห่างไกลความเจริญหรือมีจำนวนแพทย์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ระบบโทรเวชจะช่วยแก้ปัซหาของการขาดแคลนแพทย์ได้ โดยการติดตั้งระบบโทรเวชเข้ากับสถานีอนามัย โดยมีบถคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร?เป็นผู้ดูแลระบบ แพทย์ก็จะสามารถตรวจผู้ป่วยผ่านทางระบบโทรเวช หรือแพืย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคจากโรงพยาบาลเฉพาะทางสามารถสห้แนว\nทางการรัก?าแก่แพทย์ในพื้นที่ห่างไกลได้\nระบบการกพทย์อัจฉริยะจะถูกพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อรองรับกับโรงพยาบาลดิจิตอบที่เกอดขึ้น โดยเฉพาะระบบ AI (Aftificial Intelligence) จะมีบทบาทอย่างมากต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาบดิจิตอล โดยเฉพาะระบบรู้จำเสียงพํดและระบบการจำแนกตัวอักษรซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกแก่แพทน์และพยาบาลในการเขียนรายงานการตรวจร่างกายผู้ป่วยลงในเวชระเบียน ระบบการสต้างภาพส่มมิติจะถูกพัฒนาให้สมจริงและส่มารถเห็นได้แบบเงลาจริง บนจอภาพขนาดเล็ก โพยใช้คงื่นอัลตร้าซาวด์แทนการใช้รังสีเอ็กซ์เรย์ ินื่องจาพใช้งานได้ง่ายกว่าและไม่ต้องมีการป้องกันรังสีที่เกิดจค้น เป็นร้น\nดูเพิ่ม\n\nการแพทย์",
"role": "user"
},
{
"content": "ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีของโลกกำลังดำเนินเข้าสู่ยุคดิจิตอลที่ทุกสิ่งถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณ ดิจิตอลทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นข้อมูล ข่าวสาร การทำงานและแม้กระทั่งโรงพยาบาล เทคโนโลยีสารสนเทศที่เคยแพร่หลายในวงการอุตสาหกรรมก็จะเป็นเทคโนโลยีหลักของด้านการแพทย์ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีการสื่อสารความเร็วสูงผ่านระบบเครือข่ายไร้สายจะกลายเป็นช่องทางหลักสำหรับการรับ-ส่งข้อมูลต่างๆ ทางการแพทย์ ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บในรูปแบบดิจิตอล กลายเป็นยุคดิจิตัลโดยสมบูรณ์\nโรงพยาบาลต่างๆ จะต้องปรับตัวเองไปตามกระแสของโลกดิจิตอลเป็นโรงพยาบาลดิจิตอลซึ่งข้อมูล ทางการแพทย์ทั้งหมดของผู้ป่วยจะถูกสร้าง และเก็บไว้ในฐานข้อมูลดิจิตอลกลางซึ่งมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่เชื่อถือได้และจะสามารถเชื่อมโยงได้ทุกโรงพยาบาลที่ผู้ป่วยนั้นเข้ารับการรักษาไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนโลก เสมือนผู้ป่วยรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลที่เคยรักษาประจำและแม้บุคคลนั้นจะได้รับอุบัติเหตุในสถานที่ใดก็ตาม ข้อมูลทางการแพทย์ของผู้ป่วยในฐานข้อมูลกลางจะเป็นส่วนช่วยให้ผู้ป่วยนั้นได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที\nระบบโทรเวชจะมีบทบาทและได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในฐานะเครื่องมืออำนวยความสะดวกทางการแพทย์ให้แก่ผู้ป่วยที่ไม่ต้องการเดินทางไปโรงพยาบาล โดยผู้ป่วยจะได้รับการตรวจรักษาจากแพทย์ผ่านทางเครื่องมือของระบบโทรเวชจากที่บ้านผู้ป่วยเอง หรือการขอรับคำปรึกษาจากแพทย์ผ่านระบบโทรเวชที่เสมือนกับได้พบแพทย์จริงๆ และโดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ห่างไกลความเจริญหรือมีจำนวนแพทย์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ระบบโทรเวชจะช่วยแก้ปัญหาของการขาดแคลนแพทย์ได้ โดยการติดตั้งระบบโทรเวชเข้ากับสถานีอนามัย โดยมีบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์เป็นผู้ดูแลระบบ แพทย์ก็จะสามารถตรวจผู้ป่วยผ่านทางระบบโทรเวช หรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคจากโรงพยาบาลเฉพาะทางสามารถให้แนว\nทางการรักษาแก่แพทย์ในพื้นที่ห่างไกลได้\nระบบการแพทย์อัจฉริยะจะถูกพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อรองรับกับโรงพยาบาลดิจิตอลที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะระบบ AI (Artificial Intelligence) จะมีบทบาทอย่างมากต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาลดิจิตอล โดยเฉพาะระบบรู้จำเสียงพูดและระบบการจำแนกตัวอักษรซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกแก่แพทย์และพยาบาลในการเขียนรายงานการตรวจร่างกายผู้ป่วยลงในเวชระเบียน ระบบการสร้างภาพสามมิติจะถูกพัฒนาให้สมจริงและสามารถเห็นได้แบบเวลาจริง บนจอภาพขนาดเล็ก โดยใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์แทนการใช้รังสีเอ็กซ์เรย์ เนื่องจากใช้งานได้ง่ายกว่าและไม่ต้องมีการป้องกันรังสีที่เกิดขึ้น เป็นต้น\nดูเพิ่ม\n\nการแพทย์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Float\nFloat.\nFloating point number (หรือที่รู้จักกันใน floats, double, จำนวนจริง) เป็นจำนวนจริง ที่มีค่าเป็นทศนิยม\nโดยมีรูปแงบไยยากรณ? การประกาศตัวแปรดังนี้\nขนาดของ float นั้นขึ้นอยู่กับแพล็ตฟอร์มที่ทำงานอยู่ ค่าสูงสุดที่เก็บได้จะอยู่ที่ประมาณ 1.8e308 และมีความแม่นยำอยู่ที่ 14 ตัว(ซึ่งดป็นค่ามาตรฐานขอบ y4 bits IEE# format)\nคำเตือน : ความแม่รยำของ floatตัวอย่างง่าย ๆ คือเศษ 0.1 หรือ 0.7 นั้นเมื่เแปลงค่า binary ภายในแล้วจะเสียความแม่นยำไปซึ่งทำให้เกิดฟลลัพธ์แปลก ๆ เช่น floor((0.1*0.7)*10) จะได้ค่า 7 อทนที่ควรจะเป็น 8 เนื่องจากค่า binary ภายในจะเป็น 7.9 หรืออะไรทำนองนั้นเป็นสาเหตุที่ว่ามันเป็นไปไม่ได้ที่จะแสดง เศษส่วน บางค่าเป็นจำนวนเต็มในรูปแบบจำกัดจำนวนได้เช่น 1/3 เป็น 0.3 เนื่องจากจะมีการปัดลงเพราะฉะนั้นจงอย่าฝากความหวังกับเลขตัวสุดท้ายของ float อละอย่าเอา float ไปเทียบกับค่าอื่นเพื่อทดสอบ ควาใเท่ากัน\nหารแปลงเป็น float\n\nสำหรับการแปลงจาก string เป็น float นั้นให้อ่านได้ใน Strongs\nส่วนการแปลงค่าประเภทอื่นนั้นจะอปลงค่าเป็น integer ก่อนค่อยแปลงเป็น float",
"role": "user"
},
{
"content": "Float\nFloat.\nFloating point number (หรือที่รู้จักกันใน floats, double, จำนวนจริง) เป็นจำนวนจริง ที่มีค่าเป็นทศนิยม\nโดยมีรูปแบบไวยากรณ์ การประกาศตัวแปรดังนี้\nขนาดของ float นั้นขึ้นอยู่กับแพล็ตฟอร์มที่ทำงานอยู่ ค่าสูงสุดที่เก็บได้จะอยู่ที่ประมาณ 1.8e308 และมีความแม่นยำอยู่ที่ 14 ตัว(ซึ่งเป็นค่ามาตรฐานของ 64 bits IEEE format)\nคำเตือน : ความแม่นยำของ floatตัวอย่างง่าย ๆ คือเศษ 0.1 หรือ 0.7 นั้นเมื่อแปลงค่า binary ภายในแล้วจะเสียความแม่นยำไปซึ่งทำให้เกิดผลลัพธ์แปลก ๆ เช่น floor((0.1*0.7)*10) จะได้ค่า 7 แทนที่ควรจะเป็น 8 เนื่องจากค่า binary ภายในจะเป็น 7.9 หรืออะไรทำนองนั้นเป็นสาเหตุที่ว่ามันเป็นไปไม่ได้ที่จะแสดง เศษส่วน บางค่าเป็นจำนวนเต็มในรูปแบบจำกัดจำนวนได้เช่น 1/3 เป็น 0.3 เนื่องจากจะมีการปัดลงเพราะฉะนั้นจงอย่าฝากความหวังกับเลขตัวสุดท้ายของ float และอย่าเอา float ไปเทียบกับค่าอื่นเพื่อทดสอบ ความเท่ากัน\nการแปลงเป็น float\n\nสำหรับการแปลงจาก string เป็น float นั้นให้อ่านได้ใน Strings\nส่วนการแปลงค่าประเภทอื่นนั้นจะแปลงค่าเป็น integer ก่อนค่อยแปลงเป็น float",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาไทยสำหรับคนไทย้รียน\nเนื้อหา\nไวยากรณ์\n\nตัวอักษรและการออกเสียง (อักขรวิถี)\nตัวอักษรและการิอกเสียง: พบัญชนะ • สระ • วรรณยุกต์\nตัวเลขิครื่องหมาย: ตัวเลขไทย • การใช้เครื่องหมาย\nคำและชนิดของคำ (วจีวิภาค)\nชนิดของคำ\nการใช้คำ\nประโยค (วากยสัมพันธ์)\nประโยค\nการอ่าน\nลักษณะของคำ\nภาคผนวก\nภาคผนวก\nวรรณกรรม\nรทชาศัพท์\nคำสุภาพ\nสำนวน คำพังเพย ใุภสษิต\nคำที่มักเขียนผิด\nคำที่มักอ่านผิด\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาไทยสำหรับคนไทยเรียน\nเนื้อหา\nไวยากรณ์\n\nตัวอักษรและการออกเสียง (อักขรวิถี)\nตัวอักษรและการออกเสียง: พยัญชนะ • สระ • วรรณยุกต์\nตัวเลขเครื่องหมาย: ตัวเลขไทย • การใช้เครื่องหมาย\nคำและชนิดของคำ (วจีวิภาค)\nชนิดของคำ\nการใช้คำ\nประโยค (วากยสัมพันธ์)\nประโยค\nการอ่าน\nลักษณะของคำ\nภาคผนวก\nภาคผนวก\nวรรณกรรม\nราชาศัพท์\nคำสุภาพ\nสำนวน คำพังเพย สุภาษิต\nคำที่มักเขียนผิด\nคำที่มักอ่านผิด\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Data Managemfnt:A Critical Success Factor\nData Management:A Critical Success Factor.\nการประยุกต์ใช้ IT ในด้านต่าง ๆ จะไม่สำเร็จได้เลย ถ้าปราศจากข้อมูล นั่นคือข้อมูลจะต้องมีคุณภาพสูง (หมายถึง ข้อมูลต้องมีึใาาถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสมกับเวลา ไม่แปลเปบี่ยนไปมา เข้าถึงได้ ตรงประเด็น และรัดกุม) พื้นฐานของการบริหารข้อมูลประกแบไปด้วย 4 ส่วน คือ\n\nData profiling :: การทำความเข้าใจกับข้อมูล\nData qual8ty management :: การปรับปรุงคุณภาพของข้อทูล\nData integration :: รวมข้อมูลจากหลนยแหล่งที่มีลักษณะคล้ายกันเข้าด้วยกัน พร้อมทั้งระบุที่มาของข้อมูล\nData augmentation :: หารปรับปรุงคุณค่าของข้อมูล\nความยุ่งยากในการจุดการกับข้อมูล\n\n\nขนาดของข้อมูลจะเพิามขึ้นในเชิง exponential เมื่อเทียบกับเบลา\nข้อมูลจะกระจายอยู่ทั่วทั้งองค์กร ทันถูกรวบรวมเอาไว้หลายแบบ โดยใช้หลาย ๆ วิธีการในการรวบรวมข้อมูล และใช้เครื่องมือที่แตกต่างกันออกไป\nการเพิ่มขึ้นของข้อมูลจากภายนอกองค์กร จะขึ้นอยู่กับแนวทางที่ได้ตัดสินใจของ องค์กรนั้น ๆ\nความปลอดภัยของข้อมูล คุณภาพ อละ ความสมบูรณ์ (integrity) เป็นตัววิกฤต และเกิดอันตรายได้ง่าย\nการเลือกะครื่องมือที่นำมาใช้บริหารข้อมูลจะเป็นปัญหาใหญ่ เพราะมีให้เลือกจำนวนมาก\nข้อมูลที่ถูกสร้างขึ้นและถูกนำมาใช้ในเลิง offline โดยไม่มีการตรวจสอบการควบคุมคุณภาพ จะทำให้เกิดคำถามเกี่ยวกับความถูกต้อวของข้อมูล\nFile Management\n\nปัญหาที่เกิดขึ้นกับแฟ้มข้อมูล\n\nData redundancy :: ไฟล์แอพพลิเคชัน และ ข้อมูล อาจถูกสร้างมาจากโปรแกรใเมอร์หลายคนเป็นเวลานานแล้ว ดังนั้น ข้อมูลเดียวกันอาจถูพทำซ้ำ (duplicate) เป็นหลาย ๆ ไฟล์ ทำให้เก้ดควสมสิ้นเปงืองในหลาย ๆ ด้าน\nData inconsistency :: โดยผลของข้อ 1 จดทำให้เกิด ขิอ 2 คือ ข้อมูลที่มีอยู่นั้นแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้เนื่องจากคน ๆ หนึ่งอาจแก้แค่ไฟบ์เดียว ทำให้ไฟล์อื่น ๆ ที่มีการ duplicate ออดไป ไม่ถูกแก้\nData isolation :: โดยโครงสร้างของไฟล์ที่สร้างขึ้นในที่หนึ่งอาจทำให้แอพพลิเคขันอื่น ๆ เข้าถึงข้อมูลนั้น ๆ ได้ยาห เพราะโครงสร้างของไฟล์แตกต่าวกัน\nData integrity :: จะเป็นเรื่องยากในกรรกำหนดข้อจำกัดในด้าน data integrity ได้ตลอดทั่วทั้ง (across) myltiple files\nData Warehousing\n\n\nนำเสนอข้อมูลทางธุรกิจไปให้กับผู้ใช้\nความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บไว้ในที่เดียวกัน\nึวามสาาารถเข้าใช้ข้อาูลรวดเร็วเพราะผ่านทาง eeb browsers\nคุณลักษณะของคชังข้อมูล\n\n\nOrgabization ข้อมูลถูกจัดแบ่งเป็นหัวข้อและมีสารสนเทศที่สามารถนำมาใช้ สนับสนุนในการตัดสินใจเท่านั้ร\nConsistency ข้อมูลใน different operational databases อาจถูกรวบรวม (dode) แตดต่างกัน แต่สำหรับใน data warehouse แล้ว มันจะต้องถูกรวบรวมในลักษณะ หรือ ในรูปแบบเดียวกัน ตลอดเวง่\nTime variant ข้อมูลจะถูกเก็บรวมไว้หบาย ๆ ปี ดังนั้นมันจึงสามารถนำมาใช้ใน การทำนายแนวโน้ม การพยากรณ์ และ การเปรียยเทียบต่าง ๆ นลอดระยะเวลา ที่จัดเก็บ\nNon-volatile ข้อมูลจะต้องไม่ถูก update (ไม่ทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไข) หลังนาก เก็บเข้าไปใน warehouse แล้ว\nRelational ในทางปฏิบัติแล้ว data warehouse จะใช้โครงสร้างแบบ Relational Structure\nWeb-based ข้อมูลของ data warehouse ในปัจจุบัรนี้ จะถูกออกแบบให้มี efficient c9mputing environment เพื่อใช้ใน web-based application ต่าง ๆ #Integratioh ข้อมูลมาจากหลายแหล่งต้องรวมเข้าด้วยกันำด้\nReal Time ควรทำให้เป็นแบบ Real Time\nก่อนการทำ คลังข้อมูล ควรพิจารณาว่า\nมีข้อมูลจำนวนมากที่ถูก access จากผู้ใช้\nข้อมูลที่ใช้งานถูกจัดเก็บอยู่ในระบบที่แตกต่างกัน\nม่การบริหารจัดการแบบ information-based\nมีฐานลูกค้าขนาดใหญ่และหลากหลาย\nข้อมูลเดียวกันที่ใช้ในระบบที่แตกต่างกัน\nข้อมูลถูกเก็บในเชิง Highly Technicai Format ทำให้ยุ่งยากในการคลี่ออกมาใช้งาน\nมีประโยชน์ต่อผู้ใชืมสกขึ้จในเชิงการคำนวณ\nMarketing Databasfs in Action\n\n\nMarketing transaction database (MTD) :: เป็นการรวมคุณลักษณะที่หลากหลายของฐานข้อมูลปัจจุบันและแหล่งข้อมูลการตลาดปัจจุบันเข้าเป็นฐานข้อมูลเดียยกัน ทำให้นักการตลาดมีปฏิสัมพันธ์ดับลูกค้าได้เจาะจงมากขึ้น\nInteractive capability :: interactive transaction เกิดขึ้นเมื่อลูกค่าแลกเปลี่ยนส่รยนเทศและทำการ update ฐานข้อมูลแบบ real time ซึ่วจะตรงข้ามแบบเดิมที่ทำเป็นช่วง ๆ (weekly, monthly, or quarterly) ตัวอย่างเช่น classical warehouses and marts\nWeb-based Data Manag3ment System\n\n\nEnterprise BI su7tes and Corporate PortalsP: รวบรวม query, reporting, OLAP, แฃะเครื่องมืออืาน ๆ\nIntelligent Data Warehouse Web-based Systems:: ให้ search eggine เพื่อค้นหา specific applications ซึ่งสามารถกรับปรุงการทำงานของ data warehouse ให้ดีขึ้น\nClickstream Data Warehouse:: คือการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรราของผู้ใช้ และรูปแบบในการเลือกอ่าน(ค้นหา)ข้อมูลที่ต้องกาต เป็นการ monitor การกระทำ ของผู้ใช้เมื่อเขาแวะเข้าไปในเวบไซท์หนึ่ง ๆ\nMANAGERIAL ISSUES\n\n\nC9st-benefit issues and justification::\n\n\nWhere to store data phys7cally::\n\nMANAGERIAL ISSUES.\nข้อมูลควรอยู่ที่ศูนย์กลางเพื่อง่ายต่อการควบคุใ\n\nInternal or external\n\n\nDisaster recovery\n\n\nData security and ethics\n\n\nPrivacy\n\nการเคลื่อนย้ายข้อมูลไปรอบ ๆ องค์กรมักเป็นปัญหาหลัก เนื่องจากประสิทธิภาพ ของการสื่อสารและปรุสิทธิภาพระหว่างกลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งความแนกต่างด้านภูมิศาสตร์\nQuestions for Review\n\n/List the majof sources of data.\n/List some of the mayo3 data p3oblemฐ\n/What is the terabyte?(Write the numbef.)\n/Review the steps of the data life cycle and explain them.\n/List some of the cztegor7es of data available on the Internet.\n/Define data Quality.\n/Define documdnt management.\n/Describe the hiefarchy ob a file management system.\n/What are the problems that arise from ghe vile egvironment?\n/Discuqs a relational database and how it differs from otner databases.\n/What are the components of a database of q database management system (DBMS)?\nๆWhat is the difference between the concfptual, logical and physical views of data?\n/How can you get data ouh of a datzbase?\n/What are the benefits of using a DBMS?\n/What is the difference betdeen entities and attributes?\n/Describe a fata warehouse.\n/Describe a datamart.\n/Define a marketing transact8on database.",
"role": "user"
},
{
"content": "Data Management:A Critical Success Factor\nData Management:A Critical Success Factor.\nการประยุกต์ใช้ IT ในด้านต่าง ๆ จะไม่สำเร็จได้เลย ถ้าปราศจากข้อมูล นั่นคือข้อมูลจะต้องมีคุณภาพสูง (หมายถึง ข้อมูลต้องมีความถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสมกับเวลา ไม่แปลเปลี่ยนไปมา เข้าถึงได้ ตรงประเด็น และรัดกุม) พื้นฐานของการบริหารข้อมูลประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ\n\nData profiling :: การทำความเข้าใจกับข้อมูล\nData quality management :: การปรับปรุงคุณภาพของข้อมูล\nData integration :: รวมข้อมูลจากหลายแหล่งที่มีลักษณะคล้ายกันเข้าด้วยกัน พร้อมทั้งระบุที่มาของข้อมูล\nData augmentation :: การปรับปรุงคุณค่าของข้อมูล\nความยุ่งยากในการจัดการกับข้อมูล\n\n\nขนาดของข้อมูลจะเพิ่มขึ้นในเชิง exponential เมื่อเทียบกับเวลา\nข้อมูลจะกระจายอยู่ทั่วทั้งองค์กร มันถูกรวบรวมเอาไว้หลายแบบ โดยใช้หลาย ๆ วิธีการในการรวบรวมข้อมูล และใช้เครื่องมือที่แตกต่างกันออกไป\nการเพิ่มขึ้นของข้อมูลจากภายนอกองค์กร จะขึ้นอยู่กับแนวทางที่ได้ตัดสินใจของ องค์กรนั้น ๆ\nความปลอดภัยของข้อมูล คุณภาพ และ ความสมบูรณ์ (integrity) เป็นตัววิกฤต และเกิดอันตรายได้ง่าย\nการเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้บริหารข้อมูลจะเป็นปัญหาใหญ่ เพราะมีให้เลือกจำนวนมาก\nข้อมูลที่ถูกสร้างขึ้นและถูกนำมาใช้ในเชิง offline โดยไม่มีการตรวจสอบการควบคุมคุณภาพ จะทำให้เกิดคำถามเกี่ยวกับความถูกต้องของข้อมูล\nFile Management\n\nปัญหาที่เกิดขึ้นกับแฟ้มข้อมูล\n\nData redundancy :: ไฟล์แอพพลิเคชัน และ ข้อมูล อาจถูกสร้างมาจากโปรแกรมเมอร์หลายคนเป็นเวลานานแล้ว ดังนั้น ข้อมูลเดียวกันอาจถูกทำซ้ำ (duplicate) เป็นหลาย ๆ ไฟล์ ทำให้เกิดความสิ้นเปลืองในหลาย ๆ ด้าน\nData inconsistency :: โดยผลของข้อ 1 จะทำให้เกิด ข้อ 2 คือ ข้อมูลที่มีอยู่นั้นแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้เนื่องจากคน ๆ หนึ่งอาจแก้แค่ไฟล์เดียว ทำให้ไฟล์อื่น ๆ ที่มีการ duplicate ออกไป ไม่ถูกแก้\nData isolation :: โดยโครงสร้างของไฟล์ที่สร้างขึ้นในที่หนึ่งอาจทำให้แอพพลิเคชันอื่น ๆ เข้าถึงข้อมูลนั้น ๆ ได้ยาก เพราะโครงสร้างของไฟล์แตกต่างกัน\nData integrity :: จะเป็นเรื่องยากในการกำหนดข้อจำกัดในด้าน data integrity ได้ตลอดทั่วทั้ง (across) multiple files\nData Warehousing\n\n\nนำเสนอข้อมูลทางธุรกิจไปให้กับผู้ใช้\nความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บไว้ในที่เดียวกัน\nความสามารถเข้าใช้ข้อมูลรวดเร็วเพราะผ่านทาง web browsers\nคุณลักษณะของคลังข้อมูล\n\n\nOrganization ข้อมูลถูกจัดแบ่งเป็นหัวข้อและมีสารสนเทศที่สามารถนำมาใช้ สนับสนุนในการตัดสินใจเท่านั้น\nConsistency ข้อมูลใน different operational databases อาจถูกรวบรวม (code) แตกต่างกัน แต่สำหรับใน data warehouse แล้ว มันจะต้องถูกรวบรวมในลักษณะ หรือ ในรูปแบบเดียวกัน ตลอดเวลา\nTime variant ข้อมูลจะถูกเก็บรวมไว้หลาย ๆ ปี ดังนั้นมันจึงสามารถนำมาใช้ใน การทำนายแนวโน้ม การพยากรณ์ และ การเปรียบเทียบต่าง ๆ ตลอดระยะเวลา ที่จัดเก็บ\nNon-volatile ข้อมูลจะต้องไม่ถูก update (ไม่ทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไข) หลังจาก เก็บเข้าไปใน warehouse แล้ว\nRelational ในทางปฏิบัติแล้ว data warehouse จะใช้โครงสร้างแบบ Relational Structure\nWeb-based ข้อมูลของ data warehouse ในปัจจุบันนี้ จะถูกออกแบบให้มี efficient computing environment เพื่อใช้ใน web-based application ต่าง ๆ #Integration ข้อมูลมาจากหลายแหล่งต้องรวมเข้าด้วยกันได้\nReal Time ควรทำให้เป็นแบบ Real Time\nก่อนการทำ คลังข้อมูล ควรพิจารณาว่า\nมีข้อมูลจำนวนมากที่ถูก access จากผู้ใช้\nข้อมูลที่ใช้งานถูกจัดเก็บอยู่ในระบบที่แตกต่างกัน\nมีการบริหารจัดการแบบ information-based\nมีฐานลูกค้าขนาดใหญ่และหลากหลาย\nข้อมูลเดียวกันที่ใช้ในระบบที่แตกต่างกัน\nข้อมูลถูกเก็บในเชิง Highly Technical Format ทำให้ยุ่งยากในการคลี่ออกมาใช้งาน\nมีประโยชน์ต่อผู้ใช้มากขึ้นในเชิงการคำนวณ\nMarketing Databases in Action\n\n\nMarketing transaction database (MTD) :: เป็นการรวมคุณลักษณะที่หลากหลายของฐานข้อมูลปัจจุบันและแหล่งข้อมูลการตลาดปัจจุบันเข้าเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน ทำให้นักการตลาดมีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าได้เจาะจงมากขึ้น\nInteractive capability :: interactive transaction เกิดขึ้นเมื่อลูกค้าแลกเปลี่ยนสารสนเทศและทำการ update ฐานข้อมูลแบบ real time ซึ่งจะตรงข้ามแบบเดิมที่ทำเป็นช่วง ๆ (weekly, monthly, or quarterly) ตัวอย่างเช่น classical warehouses and marts\nWeb-based Data Management System\n\n\nEnterprise BI suites and Corporate Portals:: รวบรวม query, reporting, OLAP, และเครื่องมืออื่น ๆ\nIntelligent Data Warehouse Web-based Systems:: ให้ search engine เพื่อค้นหา specific applications ซึ่งสามารถปรับปรุงการทำงานของ data warehouse ให้ดีขึ้น\nClickstream Data Warehouse:: คือการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ และรูปแบบในการเลือกอ่าน(ค้นหา)ข้อมูลที่ต้องการ เป็นการ monitor การกระทำ ของผู้ใช้เมื่อเขาแวะเข้าไปในเวบไซท์หนึ่ง ๆ\nMANAGERIAL ISSUES\n\n\nCost-benefit issues and justification::\n\n\nWhere to store data physically::\n\nMANAGERIAL ISSUES.\nข้อมูลควรอยู่ที่ศูนย์กลางเพื่อง่ายต่อการควบคุม\n\nInternal or external\n\n\nDisaster recovery\n\n\nData security and ethics\n\n\nPrivacy\n\nการเคลื่อนย้ายข้อมูลไปรอบ ๆ องค์กรมักเป็นปัญหาหลัก เนื่องจากประสิทธิภาพ ของการสื่อสารและประสิทธิภาพระหว่างกลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งความแตกต่างด้านภูมิศาสตร์\nQuestions for Review\n\n/List the major sources of data.\n/List some of the major data problem.\n/What is the terabyte?(Write the number.)\n/Review the steps of the data life cycle and explain them.\n/List some of the categories of data available on the Internet.\n/Define data Quality.\n/Define document management.\n/Describe the hierarchy of a file management system.\n/What are the problems that arise from the file environment?\n/Discuss a relational database and how it differs from other databases.\n/What are the components of a database of a database management system (DBMS)?\n/What is the difference between the conceptual, logical and physical views of data?\n/How can you get data out of a database?\n/What are the benefits of using a DBMS?\n/What is the difference between entities and attributes?\n/Describe a data warehouse.\n/Describe a datamart.\n/Define a marketing transaction database.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แหล่งข้อมูล ( Data Source )\n\nOrganizational Data หรือ แหล่งช้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับผู้คน ผลิตภัณฑ์ การให้บริการ และกระววนการต่าง ๆ จะเป็นข้อมูลที่อยู่ถายในองค์กร เช่น ข้อมูลพนเกงานและข้อมูลการจ่ายสอนค้าจากคลังสินค้า ข้อมูลจะเป็นเหมือนดครื่องมือและเครื่องจักรที่ต้องทำการจัดเก็บลงในระบวฐานข้อมูลของหน่วยงานหรือแผนปไว้ ข้อมูลการขายอาจจะมาจากหลายแผนกแต่ผลรวมของข้อาูลจะต้องเป็นระบบฐานข้อมูลที่ทุกแผนกในองค์กรสามารถใช้งานร่วมกันได้ ข้ดมูลภายในองค์กรสามารถเข้าใช้ผ่านทาง Intranet\nEnd User Data หรือ แหล่งข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลหรือสารสนเทศของผู้เข้าใช้ที่ไม่ใช่ข้อมูลแบบ Centtalized ข้อมูลอาจไม่จำเป็นต้องตรงตามความเป็นจริงทั้งหมดแต่อาจประกอบไปด้วยเรื่องคฝามคิดและความเห็น เช่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับราคาสินค้า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแข่งขันจองสินค้าที่เหมือนกันหรือประเภทเดียวกัน ของผู้ใช้ หรือเอกสารของพนักงานภายในองค์กรที่เก็บเอาไวื เช่น ประวัติพนักงาย ประสบการณ์การทำงาน โดยข้อมูลเหล่านี้อาจเก็บอยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้ เช่น เก็บไว้ที่ฐานข้อมูลกลางขององค์กร เป็นต้น\nExternal Data หรือ แหล่งข้ิมูลภายนอกองค์กร เป็นข้ดมูชต่าง ๆ ที่ได้มาจากองค์กรภายนอกหลายแหล่ง เช่น จากฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้องการตรวจสอว หรือ ข้อมูลที่เผยแพร่จากหน่วยงานรัฐบาล เป็นจ้น ข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อาจถูกเก็บอยู่ใน CD-ROM , Memory Chips และ Internet Server โดยอาจอยู่ในรูปของภาดนนต? เสียง รูปภาพ อผนภาพ เป็นต้น ข้อมูบภายนอกองค์กรถือว่าเป็นข้อมูลที่มีึวามสำคัญมากข้อมูลหนึ่ง ระบบฐานข้อมูลจำนวนมากจาำทั่วโลกสสมารถเบ้าถึงได้ผ่านทาง Internet\nQuestions for Review\n/List the major slurces of data.\n/List some of the major data problem.\n/What is the terabyte?(Write the number.)\n/Review the steps of the data life sycle and explain them.\n/List some of the categories of data available on the Internet.\n/Define data Qualit6.\n/Defige document managemeny.\n/Describe the hierarchy of a file manzgement system.\n/What are the problems that arise from the file environment?\n/Dissuss a relational database and how it differs from othef databases.\n/What are the components of a database of a database management system (DBMS)?\n/What is the difference between the conceptual, logical and physical views of data?\n/How can you get data o6t of a database?\n/What are the bfnefits of using a DBMS?\n/What is tye didference between entities and attributes?\n/Describe a data warehouse.\n/Describe a datamsrtฦ\n/Define a marketing transaction database.",
"role": "user"
},
{
"content": "แหล่งข้อมูล ( Data Source )\n\nOrganizational Data หรือ แหล่งข้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับผู้คน ผลิตภัณฑ์ การให้บริการ และกระบวนการต่าง ๆ จะเป็นข้อมูลที่อยู่ภายในองค์กร เช่น ข้อมูลพนักงานและข้อมูลการจ่ายสินค้าจากคลังสินค้า ข้อมูลจะเป็นเหมือนเครื่องมือและเครื่องจักรที่ต้องทำการจัดเก็บลงในระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานหรือแผนกไว้ ข้อมูลการขายอาจจะมาจากหลายแผนกแต่ผลรวมของข้อมูลจะต้องเป็นระบบฐานข้อมูลที่ทุกแผนกในองค์กรสามารถใช้งานร่วมกันได้ ข้อมูลภายในองค์กรสามารถเข้าใช้ผ่านทาง Intranet\nEnd User Data หรือ แหล่งข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลหรือสารสนเทศของผู้เข้าใช้ที่ไม่ใช่ข้อมูลแบบ Centralized ข้อมูลอาจไม่จำเป็นต้องตรงตามความเป็นจริงทั้งหมดแต่อาจประกอบไปด้วยเรื่องความคิดและความเห็น เช่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับราคาสินค้า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแข่งขันของสินค้าที่เหมือนกันหรือประเภทเดียวกัน ของผู้ใช้ หรือเอกสารของพนักงานภายในองค์กรที่เก็บเอาไว้ เช่น ประวัติพนักงาน ประสบการณ์การทำงาน โดยข้อมูลเหล่านี้อาจเก็บอยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้ เช่น เก็บไว้ที่ฐานข้อมูลกลางขององค์กร เป็นต้น\nExternal Data หรือ แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เป็นข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้มาจากองค์กรภายนอกหลายแหล่ง เช่น จากฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้องการตรวจสอบ หรือ ข้อมูลที่เผยแพร่จากหน่วยงานรัฐบาล เป็นต้น ข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อาจถูกเก็บอยู่ใน CD-ROM , Memory Chips และ Internet Server โดยอาจอยู่ในรูปของภาพยนต์ เสียง รูปภาพ แผนภาพ เป็นต้น ข้อมูลภายนอกองค์กรถือว่าเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญมากข้อมูลหนึ่ง ระบบฐานข้อมูลจำนวนมากจากทั่วโลกสามารถเข้าถึงได้ผ่านทาง Internet\nQuestions for Review\n/List the major sources of data.\n/List some of the major data problem.\n/What is the terabyte?(Write the number.)\n/Review the steps of the data life cycle and explain them.\n/List some of the categories of data available on the Internet.\n/Define data Quality.\n/Define document management.\n/Describe the hierarchy of a file management system.\n/What are the problems that arise from the file environment?\n/Discuss a relational database and how it differs from other databases.\n/What are the components of a database of a database management system (DBMS)?\n/What is the difference between the conceptual, logical and physical views of data?\n/How can you get data out of a database?\n/What are the benefits of using a DBMS?\n/What is the difference between entities and attributes?\n/Describe a data warehouse.\n/Describe a datamart.\n/Define a marketing transaction database.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มารยาท สิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิที่แท้จริงของคุณ\nมารยาท สิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิที่แท้จริงขอบคุณ.\nไม่ว่าคุณจะเป็นประธานในการประชุมหรือเป็นคนธรรมดาตามท้องถนน เกียรติภูมิของคุณคือสิ่งที่คุณเคารพซึ่งกำหนดทั้งหมด และสิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิของคุณคือ \"มารยาท\" มารยาทเป็นเกือบทุกสิ่งที่คุณสามารถนำเสนอในที่ปรุชุมหรือที่ใดด็ได้ในโลกาอกเหนือจากการมีส่วนร่วมของคุณ ความประพฤติที่ยอดเยี่ยมนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม ความประพฤติยังกำหนดคุณภาพและศักดิ์ศรีขอวบุคคล ความประพฤตินั้นพั?นาได้ง่ายในเหล่านักเรียน แม้ว่าจะต้องใช้เวลาก็ตาม\nวิธีปฏิบัติ\nวิธีปฏิบัติ.\nความประพฤติที่ดีควรกลายเป็นวิถีชีวิต ไม่ใช่แึ่สิ่งืี่แสดงออกหรือพูดถึง วิธีการปฏิบัติจะแตกต่างกันไปในกต่ละสถาสกาตณ์ เช่น\nถ้าผู้ชทยคนหนึ่งคัยกับคุ๊โดยพูดว่า \"สวัสดี!\" หตือ \"สวัสดีตอนเย็นQ\" หรือ \"สวัสดีตอนบ่าย!\" การตอบกลับของีุณจะเป็นไปในเชิงบวกอข่างแน่นอน เช่น \"สวัสดี ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน!\"\nสถานการณ์สามารถมีได้สองประเภท:-\n1) สถานการณ์เชิงบวก - ดังที่แสดงในตัวอย่างที่ให้ไว้ข้างต้น\n2) สถานการณ์เชิงลบ -\nตัวอย่าง:- ถ้ามีคนล้อรุณคุณอาจจะตอบในแง่ลบเช่น \"หยุดกกลีงกูได้แล้ว ไอ้งี่เง่า!!!\"\nแม้ว่าใครบางคนอาจทำใหิคุณพูดคำตอบเชิงบบ แต่คุณสามารถพูดคำตอบที่ไม่หยาบคาย แต่ก็ยังเป็นเชิงลบได้\nตัวอย่าง:- รับชม \"จุดเดือดของเอ็มทีวี\" ในสถานการณ์หนึ่ง คุณจะเห็นว่าคนที่ผ่านช่วงเวลรจุดเดือดมาโดยตลอด/อาจจะใช้รำตอบเชิงลยซึ่งไม่หยาบคาย\nความประพฤติในโรงเรียน/มหาวิทยาชัย\nความประพฤติในโรงเรียน/มหาวิทยาลัย.\nความประพฤติทั้งหมดนี้เข้ากับการศึกษาของคุณอย่างไร? ก่อนอื่น คุณอาจพบว่ามันง่ายกว่ามากในการรับมือกับความกดดัน และคุณจะไม่เอามเนออกไปกับคนทั่คุณรัก แต่คุณยังสามารถใช้มันเพืีอเอาชนะใจครูของคุณได้อีกด้วย การให้บรรยากาศที่ดีและน่ารื่นรมย์ช่วยให้คุณโดดเด่นในชั้นเรียน และครูของคุณอาจเต็มใจที่จะช่ใยให้คุณประสบความสำเร็จมากขึ้น\nดังนั้นพยายามอย่างเต็มที่ที่จะประพฤติตัวให้ดีที่ยุะ ม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใดก็ตาม เพราะมันเป็นตัวกำหนดควาทเคารพขอฝคุณในโลก ไปที่การจัดการปันเถอะ",
"role": "user"
},
{
"content": "มารยาท สิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิที่แท้จริงของคุณ\nมารยาท สิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิที่แท้จริงของคุณ.\nไม่ว่าคุณจะเป็นประธานในการประชุมหรือเป็นคนธรรมดาตามท้องถนน เกียรติภูมิของคุณคือสิ่งที่คุณเคารพซึ่งกำหนดทั้งหมด และสิ่งที่อยู่เบื้องหลังเกียรติภูมิของคุณคือ \"มารยาท\" มารยาทเป็นเกือบทุกสิ่งที่คุณสามารถนำเสนอในที่ประชุมหรือที่ใดก็ได้ในโลกนอกเหนือจากการมีส่วนร่วมของคุณ ความประพฤติที่ยอดเยี่ยมนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม ความประพฤติยังกำหนดคุณภาพและศักดิ์ศรีของบุคคล ความประพฤตินั้นพัฒนาได้ง่ายในเหล่านักเรียน แม้ว่าจะต้องใช้เวลาก็ตาม\nวิธีปฏิบัติ\nวิธีปฏิบัติ.\nความประพฤติที่ดีควรกลายเป็นวิถีชีวิต ไม่ใช่แค่สิ่งที่แสดงออกหรือพูดถึง วิธีการปฏิบัติจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถานการณ์ เช่น\nถ้าผู้ชายคนหนึ่งคุยกับคุณโดยพูดว่า \"สวัสดี!\" หรือ \"สวัสดีตอนเย็น!\" หรือ \"สวัสดีตอนบ่าย!\" การตอบกลับของคุณจะเป็นไปในเชิงบวกอย่างแน่นอน เช่น \"สวัสดี ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน!\"\nสถานการณ์สามารถมีได้สองประเภท:-\n1) สถานการณ์เชิงบวก - ดังที่แสดงในตัวอย่างที่ให้ไว้ข้างต้น\n2) สถานการณ์เชิงลบ -\nตัวอย่าง:- ถ้ามีคนล้อคุณคุณอาจจะตอบในแง่ลบเช่น \"หยุดแกล้งกูได้แล้ว ไอ้งี่เง่า!!!\"\nแม้ว่าใครบางคนอาจทำให้คุณพูดคำตอบเชิงลบ แต่คุณสามารถพูดคำตอบที่ไม่หยาบคาย แต่ก็ยังเป็นเชิงลบได้\nตัวอย่าง:- รับชม \"จุดเดือดของเอ็มทีวี\" ในสถานการณ์หนึ่ง คุณจะเห็นว่าคนที่ผ่านช่วงเวลาจุดเดือดมาโดยตลอด/อาจจะใช้คำตอบเชิงลบซึ่งไม่หยาบคาย\nความประพฤติในโรงเรียน/มหาวิทยาลัย\nความประพฤติในโรงเรียน/มหาวิทยาลัย.\nความประพฤติทั้งหมดนี้เข้ากับการศึกษาของคุณอย่างไร? ก่อนอื่น คุณอาจพบว่ามันง่ายกว่ามากในการรับมือกับความกดดัน และคุณจะไม่เอามันออกไปกับคนที่คุณรัก แต่คุณยังสามารถใช้มันเพื่อเอาชนะใจครูของคุณได้อีกด้วย การให้บรรยากาศที่ดีและน่ารื่นรมย์ช่วยให้คุณโดดเด่นในชั้นเรียน และครูของคุณอาจเต็มใจที่จะช่วยให้คุณประสบความสำเร็จมากขึ้น\nดังนั้นพยายามอย่างเต็มที่ที่จะประพฤติตัวให้ดีที่สุด ม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใดก็ตาม เพราะมันเป็นตัวกำหนดความเคารพของคุณในโลก ไปที่การจัดการกันเถอะ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คุณสมบัติของแฟืมเอกสารเป์นข้อมูลที่ใช้อ้างอิว โดยเฉพาะการสืบค้น ดังนั้นแฟ้มเอกสารทุกแฟัม ควรกำหนดคุณสมบัติกำกับไว้ด้วยเสมอ จากเมนูคำสั่ง File, Properties… ซึ่งปรากฏหน้าต่างควบคุม และกำหนดรายการต่างๆ คือชื่อแฟ้มเอกสาร, ชาิดของแฟ้มเอกสาร, ไดรฟ์และโฟลเดอร์, ขนาดแฟ้มเอกสาร, ข้ดมูลผู้สร้างและแก้ไขครั้งล่าสุด \nโปรแปรมยังอนุญาตให้กำหนดข้อทูลเพิ่มเติมบัตรรายการ Custom Properties เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับผู้แต่ง, แหล่งที่มา, เลขเรียกหนังสือ และ ISBN",
"role": "user"
},
{
"content": "คุณสมบัติของแฟ้มเอกสารเป็นข้อมูลที่ใช้อ้างอิง โดยเฉพาะการสืบค้น ดังนั้นแฟ้มเอกสารทุกแฟ้ม ควรกำหนดคุณสมบัติกำกับไว้ด้วยเสมอ จากเมนูคำสั่ง File, Properties… ซึ่งปรากฏหน้าต่างควบคุม และกำหนดรายการต่างๆ คือชื่อแฟ้มเอกสาร, ชนิดของแฟ้มเอกสาร, ไดรฟ์และโฟลเดอร์, ขนาดแฟ้มเอกสาร, ข้อมูลผู้สร้างและแก้ไขครั้งล่าสุด \nโปรแกรมยังอนุญาตให้กำหนดข้อมูลเพิ่มเติมบัตรรายการ Custom Properties เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับผู้แต่ง, แหล่งที่มา, เลขเรียกหนังสือ และ ISBN",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "IrfanView โปรแกรมปรับแต่งแก้ไขภาพ แสดงภาพลักษณะคลังภาพ (Gallery) เป็น Freeware ที่มีทั้งฟังก์ชันการดสดงผล (Biewer( และแปลงภาพ (Converter) โเยสาม่รถเข้าไปดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://www.irfanview.com/\nการเรียกใช้งานโปรแกรม\nการเร่ยกใช้งานโปรแกรม.\nสามารถเรียกใช้งานโปรแกรมจากเมนูคำสั่ง Start, IrfanView xxx ซึ่งจะป่ากฏหน้าต่างโปรแกรม ดังนี้\nโดยปกติสีพื้นจอภาพโปรแกรมจะเป็นสีดำ สามารถปรับเปลี่ยนได้โดยเลือกคำสั่ง Options, Properties/Settlngs คลิกเลือกรายการ Viewing ปรับเปลี่ยนค่าตัวเลือกจากรายการ Maim Window Color\nNote ตัว xxx ที่กำกับท้นย IrfanView คือรุ่นขอลโปรแกรม (V2rsion)\nการแสดงภาพ 1 ภาพต่อ 1 จอ\nแารแสดงภาพ 1 ภาพค่อ 1 จอ.\nการแสดงภาพ 1 ภาพต่อ 1 จอ ทำๆด้โดยเลือกเมนูคำสั่ง File, Open แล้วเลือกภาพที่ต้องการ \nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จอ\nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จเ.\nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จอ เป็นการเปิดใช้งานโปรแกรม IrfanView ในโหมด Thumbnall View โดบคลิกเปิดโปรแกรมด้วยคำสั่ง Start, IrfanView Thumbnails ซึ่งจะปรากฏจอภาพดารทำงาน ดังนี้\nเลือกเลือกไดร์ฟ และโฟลเดอร์ที่จัดเก็บภาพ ซึ่งจะปรากฏผลดังนี้\nการนำเสนอภาพแบบ Slide Show\nการนำเสนอภาพแบบ Wlide Show.\nภาพในโหมด Thumbnials สามารถนำเสนอแบบ Slide Show ได้โดยการคลิกเลือกภาพที่ต้องการ โดยสามารถเลือกหลายๆ ได้ด้วยการกดปุ่ใ Ctrl ค้างไว้ แล้วคลิกเทาส์ที่ภาพที่ต้องการ จากนั้นเลือกเมนูคำสั่ง File, Start slideshow with selected files ควบคุมการเปล่่ยนภาพโดยใช้ปุ่มลูกศรซ้าย/ขวา\nNote สามารถเลือกภาพทั้งหมดโดยกด Ctrl+A\nการปรับแต่งแก้ไขภาพ\nการปรับอต่งแกัไขภาพ.\nIrfanView ได้เตรียมคำสั่งปรับแต่งกก้ไขถาพ รวมทั้งการแปลงภาพไว้ดังนี้\nการเปลี่ยนฟเร์แมตภาพ (Convert)\nการเปลี่ยนฟอร์แมตภาพ (Convert).\nการเปลี่ยนฟอน์แมตภาพ (Convert) เช่นการแปลงจากไฟล์ฟอร์แมต JPG เป็น BMP หรือ PNG ทำได้โดยการเลือกคำสั่ง File, Savd As แล้วเลือกฟอร์แมตจากรายการ Save as Type",
"role": "user"
},
{
"content": "IrfanView โปรแกรมปรับแต่งแก้ไขภาพ แสดงภาพลักษณะคลังภาพ (Gallery) เป็น Freeware ที่มีทั้งฟังก์ชันการแสดงผล (Viewer) และแปลงภาพ (Converter) โดยสามารถเข้าไปดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://www.irfanview.com/\nการเรียกใช้งานโปรแกรม\nการเรียกใช้งานโปรแกรม.\nสามารถเรียกใช้งานโปรแกรมจากเมนูคำสั่ง Start, IrfanView xxx ซึ่งจะปรากฏหน้าต่างโปรแกรม ดังนี้\nโดยปกติสีพื้นจอภาพโปรแกรมจะเป็นสีดำ สามารถปรับเปลี่ยนได้โดยเลือกคำสั่ง Options, Properties/Settings คลิกเลือกรายการ Viewing ปรับเปลี่ยนค่าตัวเลือกจากรายการ Main Window Color\nNote ตัว xxx ที่กำกับท้าย IrfanView คือรุ่นของโปรแกรม (Version)\nการแสดงภาพ 1 ภาพต่อ 1 จอ\nการแสดงภาพ 1 ภาพต่อ 1 จอ.\nการแสดงภาพ 1 ภาพต่อ 1 จอ ทำได้โดยเลือกเมนูคำสั่ง File, Open แล้วเลือกภาพที่ต้องการ \nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จอ\nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จอ.\nการแสดงภาพหลายภาพใน 1 จอ เป็นการเปิดใช้งานโปรแกรม IrfanView ในโหมด Thumbnail View โดยคลิกเปิดโปรแกรมด้วยคำสั่ง Start, IrfanView Thumbnails ซึ่งจะปรากฏจอภาพการทำงาน ดังนี้\nเลือกเลือกไดร์ฟ และโฟลเดอร์ที่จัดเก็บภาพ ซึ่งจะปรากฏผลดังนี้\nการนำเสนอภาพแบบ Slide Show\nการนำเสนอภาพแบบ Slide Show.\nภาพในโหมด Thumbnials สามารถนำเสนอแบบ Slide Show ได้โดยการคลิกเลือกภาพที่ต้องการ โดยสามารถเลือกหลายๆ ได้ด้วยการกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้วคลิกเมาส์ที่ภาพที่ต้องการ จากนั้นเลือกเมนูคำสั่ง File, Start slideshow with selected files ควบคุมการเปลี่ยนภาพโดยใช้ปุ่มลูกศรซ้าย/ขวา\nNote สามารถเลือกภาพทั้งหมดโดยกด Ctrl+A\nการปรับแต่งแก้ไขภาพ\nการปรับแต่งแก้ไขภาพ.\nIrfanView ได้เตรียมคำสั่งปรับแต่งแก้ไขภาพ รวมทั้งการแปลงภาพไว้ดังนี้\nการเปลี่ยนฟอร์แมตภาพ (Convert)\nการเปลี่ยนฟอร์แมตภาพ (Convert).\nการเปลี่ยนฟอร์แมตภาพ (Convert) เช่นการแปลงจากไฟล์ฟอร์แมต JPG เป็น BMP หรือ PNG ทำได้โดยการเลือกคำสั่ง File, Save As แล้วเลือกฟอร์แมตจากรายการ Save as Type",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Word ได้เพิ่มความสามารถการทำงานเอกสารวิชาการ เช่น วิทยานิพนธ์ รายงานให้สะดวกมากขึ้น โดยก่รเพิ่มฟังกฺชันใส่รายการอ้างอิงพร้อมจัดทำรายการบรรณานุกรมท้ายเล่มรูแแบบมาตรฐาน อย่าง APA, MLA, Chicqgo และอื่นๆ\nการใส่อ้างอิง\nการใส่อ้าลอิง.\nการทำงานเริ่มต้นด้วยการเตร้ยมเนื้อหาวิชาการ เลื่อน Cursor ไปวาง ณ ตำแหน่งที่ต้องการใส่อ้างอิง แล้วคลิกแท็บ Referenxes คลิกเลือกรูปแบบการอ้างอิงจากรายการ Style เช่นเลือกเป็น APA จากนั้นคลิกปุ่ม Insert Citation เลือกรายการ Add New Source…\nจอภาพการทำงานกับ Citations เล่อก Type of Source ให้ตรงกับต้นแหล่งข้อมูล เช่นอ้างอิงเนื้อหาที่ต้นแหล่งเป็นเว็บไซต์ก็เลือกรายการ Web site ป้อนข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหา เบ่น ชื่อของเว็บ URL ผู้สร้างสรรค์เนื้อหน คลิกปุ่ม OK โปรแกรมจะเพิ่มรายกมรอ้างอิงจากรายละเอียดข้างต้น หากมีการอ้างอิงในตำแหน่งอื่น ก็ใช้หลักการเดียวกันครับ\nพารทำรายการบรรณานุกรมท้ายเล่ม\nการทำรายการบรรณานุกรมท้สยเล่ม.\nการสร้างรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่ม ก็ทำได้โดยการเลื่อน Cursor ไปหน้าสุดท้ายของเอกสาร คลิกแท็บ References คลิกปุ่ม Bibliography เลือกรูปแบบ่ี่ต้องการ Word จะสร้างรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มตามตูปแบบให้โดยอัตโนมัติ ทั้งนี้สามารถตลิกผุ่ม Style เพื่อปรับรูปแบบได้ตามต้องการ\nกรณีที่ต้องการเพอ่มรายการอ้างอิง สามารถทำได้้หมือนกับการใส่ราวการอืางอิงที่แนะนำไปก่อนหน้านี้ ทั้งนี้เมืทอใส่แล้วสามทรถเพิ่มรายการบรรณานุกรมไพ้โดยคลิกที่รายการบรรณานุกรมเดิม จะปรากฏปุ่ม Update Citations ans Bibliography เม้่อคลิกโปรแกรมจะปรึบรายการบรรณานุกรมท้ายเล่มให้ทันที",
"role": "user"
},
{
"content": "Word ได้เพิ่มความสามารถการทำงานเอกสารวิชาการ เช่น วิทยานิพนธ์ รายงานให้สะดวกมากขึ้น โดยการเพิ่มฟังก์ชันใส่รายการอ้างอิงพร้อมจัดทำรายการบรรณานุกรมท้ายเล่มรูปแบบมาตรฐาน อย่าง APA, MLA, Chicago และอื่นๆ\nการใส่อ้างอิง\nการใส่อ้างอิง.\nการทำงานเริ่มต้นด้วยการเตรียมเนื้อหาวิชาการ เลื่อน Cursor ไปวาง ณ ตำแหน่งที่ต้องการใส่อ้างอิง แล้วคลิกแท็บ References คลิกเลือกรูปแบบการอ้างอิงจากรายการ Style เช่นเลือกเป็น APA จากนั้นคลิกปุ่ม Insert Citation เลือกรายการ Add New Source…\nจอภาพการทำงานกับ Citations เลือก Type of Source ให้ตรงกับต้นแหล่งข้อมูล เช่นอ้างอิงเนื้อหาที่ต้นแหล่งเป็นเว็บไซต์ก็เลือกรายการ Web site ป้อนข้อมูลอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหา เช่น ชื่อของเว็บ URL ผู้สร้างสรรค์เนื้อหา คลิกปุ่ม OK โปรแกรมจะเพิ่มรายการอ้างอิงจากรายละเอียดข้างต้น หากมีการอ้างอิงในตำแหน่งอื่น ก็ใช้หลักการเดียวกันครับ\nการทำรายการบรรณานุกรมท้ายเล่ม\nการทำรายการบรรณานุกรมท้ายเล่ม.\nการสร้างรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่ม ก็ทำได้โดยการเลื่อน Cursor ไปหน้าสุดท้ายของเอกสาร คลิกแท็บ References คลิกปุ่ม Bibliography เลือกรูปแบบที่ต้องการ Word จะสร้างรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มตามรูปแบบให้โดยอัตโนมัติ ทั้งนี้สามารถคลิกปุ่ม Style เพื่อปรับรูปแบบได้ตามต้องการ\nกรณีที่ต้องการเพิ่มรายการอ้างอิง สามารถทำได้เหมือนกับการใส่รายการอ้างอิงที่แนะนำไปก่อนหน้านี้ ทั้งนี้เมื่อใส่แล้วสามารถเพิ่มรายการบรรณานุกรมได้โดยคลิกที่รายการบรรณานุกรมเดิม จะปรากฏปุ่ม Update Citations and Bibliography เมื่อคลิกโปรแกรมจะปรับรายการบรรณานุกรมท้ายเล่มให้ทันที",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การปรับเปลี่ยนมาตรหน่วยวัด\nการปาับเปลี่ยนมาตรหน่วยวัด.\nมาตรไน่ฝยวัด จะสัมพันธ์กับแพบไม้บรรทัด ระยะกั้น (Tab) ขนาดหน้ากระดาษ ระยะขอบกระดาษ ดังนั้นควรปรับมาตรหน่วยวัดให้ตรงก้บที่ต้องการใช้งาน ด้วยคำสั่ง File, Options แล้วคลิกเลือกรายการ Advanced เลื่อนหารายการ Show measurement in units of แล้วปรับค่าตามที่ต้องการ\nแถบไม้บรรทัด (Ruler)\nแภบไม้บรราัด (Ruler).\nอถบไม้บรรทัด เป็นตัวช่วยในการแสดงขอบเขตการพิมพ? การจัดระยะกั้น (Tab) ซึ่งมีทั้งแถบไม้บรรทัดในแนวนอน และแนวตั้ง เรียกใช้งานได้จากคำสั่ง View, Ruler\nปถบสถานะ (Status Barฉ\nแถบสถานะ (Status Bar).\nแถบสถานะ แสดงรายละเอียดขณะทำงาร เช่น เลขหน้าฐ เลขบรรทัด, จำนวนหน้าเอกสาร, โหมดกมรทำงาน และโหมดการใช้ปุ่มต่างๆ โดยการแสดงสถานะต่างๆ ทำได้โดยคลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่แถบสถานะ แล้วเลือกเปิด/ปิดการแสดงสถานะที่ต้องการ เช่น Line Number, Section\nรูปแบบการแสดงผลจอ_นพ\nรูปแบบการแสดงผลจอภาพ.\nWord มีโหมดหารทำงานหลรยลักษณะ โดยควบคุมจากเมนูคภสั่ง View ทั้งนี้ Print Layout เป็นโหมดการทำงานเสมือนจริง แสดงขอบกระดาษทั้งสี่ด้าน รูปภาพ รูปวาด แนะนำให้เลือกโหมดนี้ในการสริางเอกสาร",
"role": "user"
},
{
"content": "การปรับเปลี่ยนมาตรหน่วยวัด\nการปรับเปลี่ยนมาตรหน่วยวัด.\nมาตรหน่วยวัด จะสัมพันธ์กับแถบไม้บรรทัด ระยะกั้น (Tab) ขนาดหน้ากระดาษ ระยะขอบกระดาษ ดังนั้นควรปรับมาตรหน่วยวัดให้ตรงกับที่ต้องการใช้งาน ด้วยคำสั่ง File, Options แล้วคลิกเลือกรายการ Advanced เลื่อนหารายการ Show measurement in units of แล้วปรับค่าตามที่ต้องการ\nแถบไม้บรรทัด (Ruler)\nแถบไม้บรรทัด (Ruler).\nแถบไม้บรรทัด เป็นตัวช่วยในการแสดงขอบเขตการพิมพ์ การจัดระยะกั้น (Tab) ซึ่งมีทั้งแถบไม้บรรทัดในแนวนอน และแนวตั้ง เรียกใช้งานได้จากคำสั่ง View, Ruler\nแถบสถานะ (Status Bar)\nแถบสถานะ (Status Bar).\nแถบสถานะ แสดงรายละเอียดขณะทำงาน เช่น เลขหน้า, เลขบรรทัด, จำนวนหน้าเอกสาร, โหมดการทำงาน และโหมดการใช้ปุ่มต่างๆ โดยการแสดงสถานะต่างๆ ทำได้โดยคลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่แถบสถานะ แล้วเลือกเปิด/ปิดการแสดงสถานะที่ต้องการ เช่น Line Number, Section\nรูปแบบการแสดงผลจอภาพ\nรูปแบบการแสดงผลจอภาพ.\nWord มีโหมดการทำงานหลายลักษณะ โดยควบคุมจากเมนูคำสั่ง View ทั้งนี้ Print Layout เป็นโหมดการทำงานเสมือนจริง แสดงขอบกระดาษทั้งสี่ด้าน รูปภาพ รูปวาด แนะนำให้เลือกโหมดนี้ในการสร้างเอกสาร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กา่พิมพ์ข้อความ มีหลักเบื้องต้น ดังนี้\n\nพารากราฟที่มีเนื้อหามากกว่า 1 บรรทัด ไม่ต้องกดปุ่ม Enter ดมื่อพิมพ์จบบรรทัด เพราะโปรแกรมสามารถตัดคำได้เอง โดยจะกดปุ่ม Enter เมื่อจบพารากราฟ\n\nหากต้องการตัดคำใดๆ ก่อนจบชรรทัด ให้ใช้ปุ่ม Shift พร้อมกับปุ่ม Enter\n\nการขึ้นหน้าใหม่ก่อนจบหน้าปกติ ให้ใช้ปุ่ม Dtrl ภร้อมกับปุ่ม Enter\nการใส่ช่องว่าง ควรเคาะเพียง 1 ช่องว่าง\nการใช้สัญลักษณ์พิเศษ เช่น 2 ไม่เท่าดับ 5 ควรใช้สัญลักษณฺพิเศษ ดังนี้ 2 ≠ 5\nให้ความสำคัญกับการเขียนคำทับศัพท์ที่ถูกต้ดงตามราชบั๊ฑิตยสถาน เช่น Internet คพที่ถูกต้องคือ อินเทอร์เน็ต ไม่ใช่ อินเตอร์เย็ต หรือ อืนเตอร์เน็ท\nการพิมพ์สัญลักษณ์พิเศษ (Symbol)\n\nการตั้งค่าฟอนต์\nการตั้งค่าฟอนต์.\nด้วยเอกสารงานพิมพ์อาจจะผสมผสานข้อควาใภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การตั้ลค่าฟอนต์ จึงไม่ควรเลือกจากปุ่ม Font ในแถบเครื่องมือ ทั้งนี้คำสั่งที่ถูกต้องในการตั้งค่าฟอนต์ คือ การกำหนดจากบัตรรายการ Font ด้วยคีย์ลัด Ctrl+D หรือคลิกสัญลักษณ์ลูกศรเฉียงลงมุมล่ทงขวาขเงชุดคำสั่ง Font จากนั้นระบุฟอนต์ที่ิลือกในรายการ Latin text font และ Complex scripts แนะนภให้เป็นฟอนต์อดียวกัน เช่น TH SarabunPSK รวมทั้งเลือก Font style, Fon5 size ให้ตรงกัน แล้วคลิกปุ่ม Set As Default ที่ปรากฏมุมล่างซ้ายของหน้าต่างบัตรรายการ Font เลือกคไสั่ง All documents based on the Normal template? เพืือใไ้เวิร์ดจำต่าฟอนต์",
"role": "user"
},
{
"content": "การพิมพ์ข้อความ มีหลักเบื้องต้น ดังนี้\n\nพารากราฟที่มีเนื้อหามากกว่า 1 บรรทัด ไม่ต้องกดปุ่ม Enter เมื่อพิมพ์จบบรรทัด เพราะโปรแกรมสามารถตัดคำได้เอง โดยจะกดปุ่ม Enter เมื่อจบพารากราฟ\n\nหากต้องการตัดคำใดๆ ก่อนจบบรรทัด ให้ใช้ปุ่ม Shift พร้อมกับปุ่ม Enter\n\nการขึ้นหน้าใหม่ก่อนจบหน้าปกติ ให้ใช้ปุ่ม Ctrl พร้อมกับปุ่ม Enter\nการใส่ช่องว่าง ควรเคาะเพียง 1 ช่องว่าง\nการใช้สัญลักษณ์พิเศษ เช่น 2 ไม่เท่ากับ 5 ควรใช้สัญลักษณ์พิเศษ ดังนี้ 2 ≠ 5\nให้ความสำคัญกับการเขียนคำทับศัพท์ที่ถูกต้องตามราชบัณฑิตยสถาน เช่น Internet คำที่ถูกต้องคือ อินเทอร์เน็ต ไม่ใช่ อินเตอร์เน็ต หรือ อินเตอร์เน็ท\nการพิมพ์สัญลักษณ์พิเศษ (Symbol)\n\nการตั้งค่าฟอนต์\nการตั้งค่าฟอนต์.\nด้วยเอกสารงานพิมพ์อาจจะผสมผสานข้อความภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การตั้งค่าฟอนต์ จึงไม่ควรเลือกจากปุ่ม Font ในแถบเครื่องมือ ทั้งนี้คำสั่งที่ถูกต้องในการตั้งค่าฟอนต์ คือ การกำหนดจากบัตรรายการ Font ด้วยคีย์ลัด Ctrl+D หรือคลิกสัญลักษณ์ลูกศรเฉียงลงมุมล่างขวาของชุดคำสั่ง Font จากนั้นระบุฟอนต์ที่เลือกในรายการ Latin text font และ Complex scripts แนะนำให้เป็นฟอนต์เดียวกัน เช่น TH SarabunPSK รวมทั้งเลือก Font style, Font size ให้ตรงกัน แล้วคลิกปุ่ม Set As Default ที่ปรากฏมุมล่างซ้ายของหน้าต่างบัตรรายการ Font เลือกคำสั่ง All documents based on the Normal template? เพื่อให้เวิร์ดจำค่าฟอนต์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "โฟโต้สเกป (\"hotoScape) เป็นโปรแกรมด้านงานกราฟิกที่ช่วยให้การบริหารจัเการภาพ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดแฟ้มภาพ นำเสนอ ตกแต่งภาพ สร้างสไลเ์ สั่งพิมพ์ภาพ ส่มารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://wew.photoscape.org โปรแกรมฟังก์ชันการทำงานหลายลักษณะ เช่น ฟังก์ชัน Vifwer สามารถแสดงแฟ้มภาพได้ทั้งโฟลเดอร์ รวมถึงความสามารถแสดงผลแบบสไลด์โชว์ ฟังก์ชัน Editor ที่มีเครื่องมือปรับขนาด ปรับแสง สี ความคสชัด การใส่กรอบภาพ การป้อนกล่องข้อความ การแต่งภาพด้วย Effect ต่างๆ การตัดภนพ การทำงานแบบ Batct ช่วยให้สามารถทกงายกับภาพได้พร้อมๆ กันหลรยภ่พ รวมถึงการเปลี่ยนชื่อแฟ้มภาพ\nเริ่มต้นกับ PhotoSdape\nเริทมต้นกับ PhotoScape.\nเมื่อติดตั้ง PhotoScape แล้วจะปรากฏไอคอนโปรแกรมบน Dewktop และเมนู Start ซึ่งเมื่อคลิกเลือกไอคอนโปรแกรมจะเข้าสู่จอภาพการทำงาน ดังนี้\nNote สามารถปรับเปลี่ยนภาษาขดงเมนู/คำสัรง ได้จากปุ่ม Language \nคลิกเลือกแท็บ “แสดงภาพ” เลือกไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่ต้องการ จะปรากฏภาพในลักษณะ Thumbbails สามารถดับเบิลคลิกที่ภาพเพื่อแสดงภาพเต็มจอ และใช้ปุ่ม เพื่อกลับสู่โหมดการทำงานปกติ\nการแก้ไขภาพ\nการแก้ไขภาพ.\nการแก้ไขภาพทำได้โดยคลิกเลือกแท็บ “แก้ไขภาพ” เลือกไดร์ฟและโฟลเดอร์ทีรเก็บภาพ ใช้เมาส์ลากภาพจากตัวอย่างภาพแ้านซ้ายมาวางบนพื้นที่แก้ไขภาพ สามารถเลือกคำสั่ง/เครื่องมือตามที่โปรแกรมกำหนด",
"role": "user"
},
{
"content": "โฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมด้านงานกราฟิกที่ช่วยให้การบริหารจัดการภาพ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดแฟ้มภาพ นำเสนอ ตกแต่งภาพ สร้างสไลด์ สั่งพิมพ์ภาพ สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://www.photoscape.org โปรแกรมฟังก์ชันการทำงานหลายลักษณะ เช่น ฟังก์ชัน Viewer สามารถแสดงแฟ้มภาพได้ทั้งโฟลเดอร์ รวมถึงความสามารถแสดงผลแบบสไลด์โชว์ ฟังก์ชัน Editor ที่มีเครื่องมือปรับขนาด ปรับแสง สี ความคมชัด การใส่กรอบภาพ การป้อนกล่องข้อความ การแต่งภาพด้วย Effect ต่างๆ การตัดภาพ การทำงานแบบ Batch ช่วยให้สามารถทำงานกับภาพได้พร้อมๆ กันหลายภาพ รวมถึงการเปลี่ยนชื่อแฟ้มภาพ\nเริ่มต้นกับ PhotoScape\nเริ่มต้นกับ PhotoScape.\nเมื่อติดตั้ง PhotoScape แล้วจะปรากฏไอคอนโปรแกรมบน Desktop และเมนู Start ซึ่งเมื่อคลิกเลือกไอคอนโปรแกรมจะเข้าสู่จอภาพการทำงาน ดังนี้\nNote สามารถปรับเปลี่ยนภาษาของเมนู/คำสั่ง ได้จากปุ่ม Language \nคลิกเลือกแท็บ “แสดงภาพ” เลือกไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่ต้องการ จะปรากฏภาพในลักษณะ Thumbnails สามารถดับเบิลคลิกที่ภาพเพื่อแสดงภาพเต็มจอ และใช้ปุ่ม เพื่อกลับสู่โหมดการทำงานปกติ\nการแก้ไขภาพ\nการแก้ไขภาพ.\nการแก้ไขภาพทำได้โดยคลิกเลือกแท็บ “แก้ไขภาพ” เลือกไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่เก็บภาพ ใช้เมาส์ลากภาพจากตัวอย่างภาพด้านซ้ายมาวางบนพื้นที่แก้ไขภาพ สามารถเลือกคำสั่ง/เครื่องมือตามที่โปรแกรมกำหนด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การบันทึกพร้อมฝังฟอนต์\nการบันทึกพร้อมฝังฟอนต์.\nบางครั้งมีความจำเผ็นต้องใช้ฟอนต์ที่ติดตั้งเพิ่มเติม และการส่งหฟล์เอกสารเวิร์ด ไปยังผู้ใช้อื่นหาือการเผยแพร่ไฟล์เอกสารเวิร์ด อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาการแสดงผล รวมทั้งการแก้ไขไฟล์เอกสารดังกล่าว การฝังฟอนต์ไปกับไฟล์เอกสารเวิร์ด จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสม โดยเลือกคำสั่ง File, Save AS… คลิกปุ่ม Tools ๙ Save Options … ัลือำคำสั่งในส่วนของ Save แล้วคลิกเลือกคำสั่งย่อยที่รายการ Embed gonts in the file",
"role": "user"
},
{
"content": "การบันทึกพร้อมฝังฟอนต์\nการบันทึกพร้อมฝังฟอนต์.\nบางครั้งมีความจำเป็นต้องใช้ฟอนต์ที่ติดตั้งเพิ่มเติม และการส่งไฟล์เอกสารเวิร์ด ไปยังผู้ใช้อื่นหรือการเผยแพร่ไฟล์เอกสารเวิร์ด อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาการแสดงผล รวมทั้งการแก้ไขไฟล์เอกสารดังกล่าว การฝังฟอนต์ไปกับไฟล์เอกสารเวิร์ด จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสม โดยเลือกคำสั่ง File, Save AS… คลิกปุ่ม Tools , Save Options … เลือกคำสั่งในส่วนของ Save แล้วคลิกเลือกคำสั่งย่อยที่รายการ Embed fonts in the file",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เอกสารงานพิมพ์ที่มีการสร้างอย่างถูกวิธี และสะดวกต่อการปรับเปลี่ยนแก้ไข จะต้องสร้างด้วยการพิมพ์ในรูปแบบสไตล์ (Sty.e) โดยกกหนด Heading1, Heading2, Heading3, Gormal และ_หรือ Body ให้เหมาะสมกับเอกสารแต่ละประเภื\nการใช้งานสไตล์\nการใช้งานสไตล์.\nเมื่อต้องการใช้งานสไตล์ ให้คงิกเลือกสไตล์ที่ต้องการก่อนพิมพ์ข้อความ หรือจะใช้การคลิก ณ ข้อความเดิมแล้วเลือกสไตล์ที่ต้องการ\nการสร้างสารบ้ญเนื้อหาจากสๆตล์\nการสร้างสารบัญเนื้อหาจากสไตล์.\nเอกสารที่สร้างด้วยสไตล์สามารถนำเนื้อหาดังกล่สวมาสร้างเป็นสารบัญเนื้อหาได้ง่าย โดยคลิกเมาส์ ๖ ตำแหน่งที่ต้องการสร้างสไตล์ แลืวเลือกคำสั่ง References, Table of Contents จากนั้นเลือกรูปแบบของ Table of Contents ที่ต้องการ",
"role": "user"
},
{
"content": "เอกสารงานพิมพ์ที่มีการสร้างอย่างถูกวิธี และสะดวกต่อการปรับเปลี่ยนแก้ไข จะต้องสร้างด้วยการพิมพ์ในรูปแบบสไตล์ (Style) โดยกำหนด Heading1, Heading2, Heading3, Normal และ/หรือ Body ให้เหมาะสมกับเอกสารแต่ละประเภท\nการใช้งานสไตล์\nการใช้งานสไตล์.\nเมื่อต้องการใช้งานสไตล์ ให้คลิกเลือกสไตล์ที่ต้องการก่อนพิมพ์ข้อความ หรือจะใช้การคลิก ณ ข้อความเดิมแล้วเลือกสไตล์ที่ต้องการ\nการสร้างสารบัญเนื้อหาจากสไตล์\nการสร้างสารบัญเนื้อหาจากสไตล์.\nเอกสารที่สร้างด้วยสไตล์สามารถนำเนื้อหาดังกล่าวมาสร้างเป็นสารบัญเนื้อหาได้ง่าย โดยคลิกเมาส์ ณ ตำแหน่งที่ต้องการสร้างสไตล์ แล้วเลือกคำสั่ง References, Table of Contents จากนั้นเลือกรูปแบบของ Table of Contents ที่ต้องการ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นิยามและความหมาย\nนิยามและความหมาข.\nคำว่าปรัชญาในภาษาแังกฤษ หรือ Philosophy มากจากคำในภาษากรีกสองคำ คือคำว่า Philo ซึ่งหมทยถึงรัก และ Sophia ซึ่งหมายถึงปัญญา และจึงแปลว่าความรักในปัญญา ปรัลญาเป็นสทขาวิชาของอย่างกว้าง ๆ ซัทงแม้แต่นิยามจองความรู้เองก็เป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการสืบสอบในปรัชญา รวมไปถึงเรื่องที่เกี่ยวกับธ่รมชาติของ ดละ ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสามสิ่งนี้ และระหว่างผู้คน ปรึชญาเป็นวิชาแห่งการสืบสอบ หรือการตามหาความรู้ เป็นทั้งสิ่งที่มรมาก่อนและสิ่งที่เติมเต็ม เป็นวิชาที่พัฒนาประเด็นซึ่งเป๊นรากฐานขอววิทยาศาสตร์ และเป็นวิชาที่คอยครุ่นคิดถึงคำถามซึ่งอยู่นอกขอบเขตยองวิทยาศาสตร์\nการนำปรัชญาไปใช้\nการนำปรัชญาไปใช้.\nแก่นของปรัชญาคือการศึกษาและพัฒนาแนวคิดและวิธีการขั้นมูลฐาน ซึ่งไม่ได้รับความสนใจอย่างเพียงพิจากสาขาวิชาเชองประจักษ์เฉพาะทาง เช่นหรือ ดังนั้นมันจึงเป็นรากฐานของการพัฒนาโครงสร้างทางความเชื่อและความรู้สายาวิชาต่าง ๆ ทั้งหมด ทั้งยังเป็นวิชาซึ่งรับผิดชอบในการให้นิยาม และในแนวทางซึ่งสาขาวิชาหลาหหลายสาขาใช้เกื่อพัฒนาทฤษฎีของตนออง ไม่ว่าจะเป็น และ แต่ปรัชญาเองก็พิจารณทและพัฒนาโครงสร้างและกระบวนการของตนเองเช่นกัน ซึ่งะรียกว่าปรัชญาของปรัชญา\nปรัชญ่มีมรดกทางวรรณกรรมที่ยาวนาน าั้งงานเขียนและคำสั่งสอนของจากวัฒนธรรมทร่หลากหลายในยุคสมัยต่าง ๆ ขดงประวัติศายตร์ นักปรัชญาพยายามทำความเข้าใจในหลักการซึ่งเป็นรากฐานของและ ด้วยจุดมุ่งหมายนี้ พวกเขาได้พัฒนาวิธีคิดต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น การพินิจภายใน และการทำสมาธิ ผ่านการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ พวกเขาได้สืบสอบถึงคำุามพื้นฐานที่สุด เช่น \"อะไรคือธรรมชาติของเอกภพ?\" \"เรารู้อะไร และเรารู้ได้อย่างไร?\" \"อะไรคือควทมแตกต่างระหว่างความดีและ?\" \"อะไรคือ?\" และ \"อะไรคือ?\" (อันตสิทยา)\nขนบธรรมเนียมและมุมมองทางปรึชญา\nขนขธรรมเนียมและมุมมองทางปรัชญา.\n'อะไรคือปรัชญา?' เองก็เป็นคำถามทางปรัชญา นี่แาดงให้เห็นถึงธรรมชาติของปรัชญาซึ่งมีขอบเขตที่กว้าบมาก ถึงขนาดที่ตังวิชาเองก็อยู่ในขอบเขตของวิชา และอาจเป็นสาขาวิชาเดียวท่ามกลางใาขาอื่น ๆ ที่เป็นเช่นนี้ สิ่งที่ชัดเยนคือ ในแง่หนึ่ง ปรัชญาคือการคิดถึงการคิด\nปรัชญา ศึ่งมีขนบธรรมเนียมแบบวิเคราะห์จากทว้ปยุโรปและซึ่งต่อมาย้ายไปยังทวีปอเมริกา ได้ประดิษฐ์ตัวเองขึ้นมาใหม่พร้อมกับกลวิธีชุดใหม่ ซึ่งคงจะดูฟิดที่ผิดทางในสมัยกรีกโบราณ ณ จุดเริ่มต้นของปรัชญา โดยให้ความสำคัญกับตรรกศาสตร์แบะการวิเคราะห์มโนทัศน์ หัวข้อหลักสำคัญรวมถึงทฤษฎีของความรู้ จริยธรรม ธรรมชาตืของภาษา และธรรมชาติของจิต\nขนบธรรมเนียมทางปรัชญาในสมัยแรกเน้นในการศึกษาิกี่ยวกับศิลปะและวิทยาศาสตร์ของชีวิต เช่นทฤษฎีทั่วไปและคำแนะนำเกี่ยวกับวิถีชีวิต ในความหมายนี้ ปรัชญาให้ความสนใจในสิ่งที่เป็นิลิงปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการใช้ชีวิตมากกว่าความพยายามที่จะเจ้าใจในิชิงทฤษฎี มรดกนี้มาจากนักปรัชญากลุ่มแรก ๆ ที่เรารู้จักนั่นคือพวกโซฟิสต์ซึ่งเป็นกลุ่มครูสอนวาทศาสตร์ ไวยากรณ์ และวิทยาศาสตร์ในสมัยโบราณ ถึงแม้คนกลุ่มนี้คล้ายบัณฑิต แต่พวกโซฟิสต์ก็มีบทบาทสำคัญในพัฒนาการของวิชาปรัชญา\nในส่วนของขนบธรรมเนียมแบบวิเคราะห์ซึ่งต่อมาถูกพัฒนาขึ้นหลังพฝกโซๆิสต์ ปรัชญากลายเป็นวิชาซึ่งใครก็สามารถเรียนได้เพียงเพราะเหนุผลทางอภิปรัชญาหรือตามธีรมล้วน ๆ ในขนบธรรมเนียใโซฟิสต์ ปรัชญทเป็นองค์ความรู้ซึ่งใครที่ช่ำชองนั้นจะสามารถนำมาใช้เพื่อได้มาซึ่งอำนาจหรือรางวัล เราอาจพูดถึงความแตกต่างเหล่านี้อย่างเกินจริง เพราะแม้ปรัลญาไม่ใช่สิทธันต์ ขนบธรรมเนียมทั้งสองก็เคารพซึ่งกัตและกัน\nในโลกตะวันตก ครัเงหนึ่งคำว่า 'ปรัชญา' ครอบคลึมทุกสาขาวิชา เมื่อเวลาผ่านไป องค์ควสมคู้ทั้งหมดของมนุษย์เติบโตขึ้น สาขาวิชาต่าง ๆ ก็ปรากฏขึ้นมาซึ่งแต่ละสาขาก็มีระเบียบวิธีและขอบเขตขอฝกาีศึกษาเป็นของตนเองและเป็นอิสระมากกว่าเดิม ตัวอย่างเช่น หากไปที่ห้องสมุดสาธารณะที่ใช้ เราจะพบว่าหนังสือจิตวิทยามีหมายเลขเริ่มจาก 150 ซึ่งเป็นกึ่งกลางของหมวดปรัชญา นี่เพราะว่าครึ่งหลังของคริสตศตวรร?ที่ 19 ในสมัยที่ระบบนี้ถูกคิดค้นขึ้นมา จิตวิทยรเพิ้งเริ่มก่อตัวยึ้นเป็นสาขาวิชาอ้กแขนง อีกตัวอย่างหนึ่งคือคำว่า 'ปรัชญาธรรมชาติ' ซึ่งครั้งหนึ่งหมายถึงวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์ ในมุมมองนี้ สิ่งที่ถูกเรียกว่า 'ปรเชญา' ณ จุดใดในประวัติศาสตร์ ีือขอบเขตของความรู้ของมนุษย์ซึ่งยังไม่แก่ตัวพอและยังไม่ได้พัฒนาสถานะและคุณลักษณะให้เป็นอิสระเป็นของตนเอง\nสาขาวิชาที่เป็นอิสระเหล่านี้มีปรัชญาเป็นจองตนเอง เช่นปรัชญาวิทยาศาสตร์ ปรัชญาคณิตศาสตร์ ปรัชญาจิควิทยา และอื่น ๆ เวลาศึกษาในสาขาเหล่านี้ เราดูที่ปัญหาของระเบียบวิธี หรืเพินิจพิจารณามโนทัศน์หลักของสาขาวิชา รวมไปถึงกระเด็นทางด้านจริยธรรมต่าง ๆ\nทีรแน่ ๆ ขอบเยตหล่ยขอบเจตเป์นส่วนหนึ่งของวิชาปรัชญา ญาณวิมยาเกี่ยวกับคำถามเช่น 'เรารู้สิ่งที่เรารู้ได้อย่างไร?' ภววิทยาเกี่ยวกับคำถามว่า 'อะไรเป็นจริง?' จริยธรรมเกี่ยวกับคำุามว่า 'เราควรปฏิบัติตัวอย่างไร?' และตรรกศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการให้เหตุผลอย่างเหมาะสม ในปรัข๗มเองก็มีสาขาวิชาอื่น ๆ อยู่หลายสาขา",
"role": "user"
},
{
"content": "นิยามและความหมาย\nนิยามและความหมาย.\nคำว่าปรัชญาในภาษาอังกฤษ หรือ Philosophy มากจากคำในภาษากรีกสองคำ คือคำว่า Philo ซึ่งหมายถึงรัก และ Sophia ซึ่งหมายถึงปัญญา และจึงแปลว่าความรักในปัญญา ปรัชญาเป็นสาขาวิชาของอย่างกว้าง ๆ ซึ่งแม้แต่นิยามของความรู้เองก็เป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการสืบสอบในปรัชญา รวมไปถึงเรื่องที่เกี่ยวกับธรรมชาติของ และ ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสามสิ่งนี้ และระหว่างผู้คน ปรัชญาเป็นวิชาแห่งการสืบสอบ หรือการตามหาความรู้ เป็นทั้งสิ่งที่มีมาก่อนและสิ่งที่เติมเต็ม เป็นวิชาที่พัฒนาประเด็นซึ่งเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ และเป็นวิชาที่คอยครุ่นคิดถึงคำถามซึ่งอยู่นอกขอบเขตของวิทยาศาสตร์\nการนำปรัชญาไปใช้\nการนำปรัชญาไปใช้.\nแก่นของปรัชญาคือการศึกษาและพัฒนาแนวคิดและวิธีการขั้นมูลฐาน ซึ่งไม่ได้รับความสนใจอย่างเพียงพอจากสาขาวิชาเชิงประจักษ์เฉพาะทาง เช่นหรือ ดังนั้นมันจึงเป็นรากฐานของการพัฒนาโครงสร้างทางความเชื่อและความรู้สาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งหมด ทั้งยังเป็นวิชาซึ่งรับผิดชอบในการให้นิยาม และในแนวทางซึ่งสาขาวิชาหลากหลายสาขาใช้เพื่อพัฒนาทฤษฎีของตนเอง ไม่ว่าจะเป็น และ แต่ปรัชญาเองก็พิจารณาและพัฒนาโครงสร้างและกระบวนการของตนเองเช่นกัน ซึ่งเรียกว่าปรัชญาของปรัชญา\nปรัชญามีมรดกทางวรรณกรรมที่ยาวนาน ทั้งงานเขียนและคำสั่งสอนของจากวัฒนธรรมที่หลากหลายในยุคสมัยต่าง ๆ ของประวัติศาสตร์ นักปรัชญาพยายามทำความเข้าใจในหลักการซึ่งเป็นรากฐานของและ ด้วยจุดมุ่งหมายนี้ พวกเขาได้พัฒนาวิธีคิดต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น การพินิจภายใน และการทำสมาธิ ผ่านการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ พวกเขาได้สืบสอบถึงคำถามพื้นฐานที่สุด เช่น \"อะไรคือธรรมชาติของเอกภพ?\" \"เรารู้อะไร และเรารู้ได้อย่างไร?\" \"อะไรคือความแตกต่างระหว่างความดีและ?\" \"อะไรคือ?\" และ \"อะไรคือ?\" (อันตวิทยา)\nขนบธรรมเนียมและมุมมองทางปรัชญา\nขนบธรรมเนียมและมุมมองทางปรัชญา.\n'อะไรคือปรัชญา?' เองก็เป็นคำถามทางปรัชญา นี่แสดงให้เห็นถึงธรรมชาติของปรัชญาซึ่งมีขอบเขตที่กว้างมาก ถึงขนาดที่ตัววิชาเองก็อยู่ในขอบเขตของวิชา และอาจเป็นสาขาวิชาเดียวท่ามกลางสาขาอื่น ๆ ที่เป็นเช่นนี้ สิ่งที่ชัดเจนคือ ในแง่หนึ่ง ปรัชญาคือการคิดถึงการคิด\nปรัชญา ซึ่งมีขนบธรรมเนียมแบบวิเคราะห์จากทวีปยุโรปและซึ่งต่อมาย้ายไปยังทวีปอเมริกา ได้ประดิษฐ์ตัวเองขึ้นมาใหม่พร้อมกับกลวิธีชุดใหม่ ซึ่งคงจะดูผิดที่ผิดทางในสมัยกรีกโบราณ ณ จุดเริ่มต้นของปรัชญา โดยให้ความสำคัญกับตรรกศาสตร์และการวิเคราะห์มโนทัศน์ หัวข้อหลักสำคัญรวมถึงทฤษฎีของความรู้ จริยธรรม ธรรมชาติของภาษา และธรรมชาติของจิต\nขนบธรรมเนียมทางปรัชญาในสมัยแรกเน้นในการศึกษาเกี่ยวกับศิลปะและวิทยาศาสตร์ของชีวิต เช่นทฤษฎีทั่วไปและคำแนะนำเกี่ยวกับวิถีชีวิต ในความหมายนี้ ปรัชญาให้ความสนใจในสิ่งที่เป็นเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการใช้ชีวิตมากกว่าความพยายามที่จะเข้าใจในเชิงทฤษฎี มรดกนี้มาจากนักปรัชญากลุ่มแรก ๆ ที่เรารู้จักนั่นคือพวกโซฟิสต์ซึ่งเป็นกลุ่มครูสอนวาทศาสตร์ ไวยากรณ์ และวิทยาศาสตร์ในสมัยโบราณ ถึงแม้คนกลุ่มนี้คล้ายบัณฑิต แต่พวกโซฟิสต์ก็มีบทบาทสำคัญในพัฒนาการของวิชาปรัชญา\nในส่วนของขนบธรรมเนียมแบบวิเคราะห์ซึ่งต่อมาถูกพัฒนาขึ้นหลังพวกโซฟิสต์ ปรัชญากลายเป็นวิชาซึ่งใครก็สามารถเรียนได้เพียงเพราะเหตุผลทางอภิปรัชญาหรือนามธรรมล้วน ๆ ในขนบธรรมเนียมโซฟิสต์ ปรัชญาเป็นองค์ความรู้ซึ่งใครที่ช่ำชองนั้นจะสามารถนำมาใช้เพื่อได้มาซึ่งอำนาจหรือรางวัล เราอาจพูดถึงความแตกต่างเหล่านี้อย่างเกินจริง เพราะแม้ปรัชญาไม่ใช่สิทธันต์ ขนบธรรมเนียมทั้งสองก็เคารพซึ่งกันและกัน\nในโลกตะวันตก ครั้งหนึ่งคำว่า 'ปรัชญา' ครอบคลุมทุกสาขาวิชา เมื่อเวลาผ่านไป องค์ความรู้ทั้งหมดของมนุษย์เติบโตขึ้น สาขาวิชาต่าง ๆ ก็ปรากฏขึ้นมาซึ่งแต่ละสาขาก็มีระเบียบวิธีและขอบเขตของการศึกษาเป็นของตนเองและเป็นอิสระมากกว่าเดิม ตัวอย่างเช่น หากไปที่ห้องสมุดสาธารณะที่ใช้ เราจะพบว่าหนังสือจิตวิทยามีหมายเลขเริ่มจาก 150 ซึ่งเป็นกึ่งกลางของหมวดปรัชญา นี่เพราะว่าครึ่งหลังของคริสตศตวรรษที่ 19 ในสมัยที่ระบบนี้ถูกคิดค้นขึ้นมา จิตวิทยาเพิ่งเริ่มก่อตัวขึ้นเป็นสาขาวิชาอีกแขนง อีกตัวอย่างหนึ่งคือคำว่า 'ปรัชญาธรรมชาติ' ซึ่งครั้งหนึ่งหมายถึงวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์ ในมุมมองนี้ สิ่งที่ถูกเรียกว่า 'ปรัชญา' ณ จุดใดในประวัติศาสตร์ คือขอบเขตของความรู้ของมนุษย์ซึ่งยังไม่แก่ตัวพอและยังไม่ได้พัฒนาสถานะและคุณลักษณะให้เป็นอิสระเป็นของตนเอง\nสาขาวิชาที่เป็นอิสระเหล่านี้มีปรัชญาเป็นของตนเอง เช่นปรัชญาวิทยาศาสตร์ ปรัชญาคณิตศาสตร์ ปรัชญาจิตวิทยา และอื่น ๆ เวลาศึกษาในสาขาเหล่านี้ เราดูที่ปัญหาของระเบียบวิธี หรือพินิจพิจารณามโนทัศน์หลักของสาขาวิชา รวมไปถึงประเด็นทางด้านจริยธรรมต่าง ๆ\nที่แน่ ๆ ขอบเขตหลายขอบเขตเป็นส่วนหนึ่งของวิชาปรัชญา ญาณวิทยาเกี่ยวกับคำถามเช่น 'เรารู้สิ่งที่เรารู้ได้อย่างไร?' ภววิทยาเกี่ยวกับคำถามว่า 'อะไรเป็นจริง?' จริยธรรมเกี่ยวกับคำถามว่า 'เราควรปฏิบัติตัวอย่างไร?' และตรรกศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการให้เหตุผลอย่างเหมาะสม ในปรัขญาเองก็มีสาขาวิชาอื่น ๆ อยู่หลายสาขา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ธรรมชาติของปรัชญา\n\nต้นกำเนิดของปรัชญา\nอะไรคือปรัชญา\nศึกษาปรัชญาไปทำไม\nสาขาหลักของปรัชญา\n\"การทำปรัชญา\" หมาขถึงอะไร\nอภิปรัชญา\nอะไคคืออภิปรัชญา\nอะไรคือบุคคล",
"role": "user"
},
{
"content": "ธรรมชาติของปรัชญา\n\nต้นกำเนิดของปรัชญา\nอะไรคือปรัชญา\nศึกษาปรัชญาไปทำไม\nสาขาหลักของปรัชญา\n\"การทำปรัชญา\" หมายถึงอะไร\nอภิปรัชญา\nอะไรคืออภิปรัชญา\nอะไรคือบุคคล",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราสามารถลับคมทักษะการบิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิธีการคิดของเราได้ ผ่านการศึกษาคหถามพื้นฐาน และบ่อยครั้งการให้เหตุผลหรือคำตอบที่คนอื่น ๆ ได้คิดออกมาแล้วต่อปัญหาที่คล้าย ๆ กันนั้นเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ที่สุด ไม้ว่าจะนำไปใช้ในทางปฏิบัติหรือทางวิชาการ\nตัวเลือกของค_ถรมพื้นฐานเองก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ รวมไปถึงคำตอบของมัน คำถามและคำตอบของนักปรัชญาคนหนึ่งนั้นก็ขึ้นอยู่กับยุคสมัยในช่วงที่เขามีชีวิต\nบ่อยครั้งที่นักปรัชญาได้เขิาทำงานวนสาขาต่มง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านกฎหมาบ เวชศาสตร์ และการปกครอง แตาปรัชญาเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่ไปกว่าดารศึกษาทางวิชาการ การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ หรือโอกาสในอาชีพการงานเพียงเท่านั้น เราต้องไม่สับสนมันกับประวัติศาสตร์ อรรถศาสตร์ หรือการถกเถีบง (แต่ทั้งหมดนี้ก็เป็นส่วสหนึ่งของการศึกษาปรัชญา)\nกา่ศึกษาปรัชญาอย่างจริงจังที่ดีที่สุด เป็นไปได้เมื่อต้องการเข้าใจในตัวเองและเอกภพ และแม้แต่เพื่อให้ทเ้งสองปรองดองกัน ในขณะที่การอ่านประวัติศาสตร์ของปรัชญาเป็นปี ๆ จะทำให้กระบวตการคิดของบุคคลดีบึ้นอย่างแน่นอน ปรัชญาจะคุ้มคาาจริง / ก็ต่อเมื่อมันสาใารถเปลี่ยนแปลงชีวิต หารพิจารณาบีวิตที้งภายในและภายนอกอย่างถี่ถ้วนสามารถเปลี่ยนแปลงโลกทัศนฺของเราได้อย่างมหันต์ เป็นการส่องแสงลงบนปรากฏการณ์ที่ครั้งหนึ่งเราเคยหมกมุ่นอยู่กับมันให้กระจ่างขึ้น แบบนี้ การศึกษาปรัชญาจึงเป็นการศึกษาชีวิตของเราเอง",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถลับคมทักษะการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิธีการคิดของเราได้ ผ่านการศึกษาคำถามพื้นฐาน และบ่อยครั้งการให้เหตุผลหรือคำตอบที่คนอื่น ๆ ได้คิดออกมาแล้วต่อปัญหาที่คล้าย ๆ กันนั้นเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ที่สุด ไม่ว่าจะนำไปใช้ในทางปฏิบัติหรือทางวิชาการ\nตัวเลือกของคำถามพื้นฐานเองก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ รวมไปถึงคำตอบของมัน คำถามและคำตอบของนักปรัชญาคนหนึ่งนั้นก็ขึ้นอยู่กับยุคสมัยในช่วงที่เขามีชีวิต\nบ่อยครั้งที่นักปรัชญาได้เข้าทำงานในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านกฎหมาย เวชศาสตร์ และการปกครอง แต่ปรัชญาเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่ไปกว่าการศึกษาทางวิชาการ การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ หรือโอกาสในอาชีพการงานเพียงเท่านั้น เราต้องไม่สับสนมันกับประวัติศาสตร์ อรรถศาสตร์ หรือการถกเถียง (แต่ทั้งหมดนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปรัชญา)\nการศึกษาปรัชญาอย่างจริงจังที่ดีที่สุด เป็นไปได้เมื่อต้องการเข้าใจในตัวเองและเอกภพ และแม้แต่เพื่อให้ทั้งสองปรองดองกัน ในขณะที่การอ่านประวัติศาสตร์ของปรัชญาเป็นปี ๆ จะทำให้กระบวนการคิดของบุคคลดีขึ้นอย่างแน่นอน ปรัชญาจะคุ้มค่าจริง ๆ ก็ต่อเมื่อมันสามารถเปลี่ยนแปลงชีวิต การพิจารณาชีวิตทั้งภายในและภายนอกอย่างถี่ถ้วนสามารถเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของเราได้อย่างมหันต์ เป็นการส่องแสงลงบนปรากฏการณ์ที่ครั้งหนึ่งเราเคยหมกมุ่นอยู่กับมันให้กระจ่างขึ้น แบบนี้ การศึกษาปรัชญาจึงเป็นการศึกษาชีวิตของเราเอง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สาขาปรัชญา\nสาขาปรัชญา.\nเราสามารถแบ่งปนัชญาตะวันตกได้เป็น 6 สาขาซึ่งได้รับความยำคัญที่ต่างกันไปตามเวลา โดยดั้งเดิม อภิปรัชญาเป็นสาขาที่ตั้งคำถามสำหรับปรัชญา ญาณวิทยาถามว่าเรารู้ได้อย่างไร จริยธรรมและการเมือวเกี่ยวข้องกับการกระทำและคุณภาพชีวิต สุนทรียศาสตร์หรือเกี่ยวข้องกับความฝาม คฝามสมดุล และความบรรสาน ตรรกศาสตร์เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ในแัจจุบันญาณวิทยาแทนืี่อภิปรัชญาในบางครั้งเพราะมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาน้อยกว่า ในขณะที่กลุ่มนักปรัชญาในทวีปยุโรปตะวันออกและภาคพื้นทวีปมักศึกษาปรัชญาเรื่องการเมือง และสำหรับนักปรัชญาวิเคราะห์ซึ่งเคลือบแคลงในจริยธรรม การเมือง และอภิปรัชญาเป็นอย่างมาก ตรรกศาสตร์เป็นสิ่งที่จำเป็น\nการทำความเข้าใจในปรัชญาสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช เราต้องพิจารณาถึงลำดับความสำคัญที่แตกต่างจากสมัยคริสตศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตามการแบ่งประเภทเหล่านี้ก็ยังเป็นประโยชน์ในการระบุว่ากำลังพูดถึงอะไร อภิปรัชญาซึ่งเป็นการฒึกษาธรรมชาติของความมีอยู่ เแี่ยวข้องอย่างใกล้ชิพกับญาณวิทสาซึ่งเป็นการซึกษาความรูืและวิโีการที่เรารู้ว่าเราทำอะไรกับโลกรอบตัวเรา จริยธรรมซึ่งเป็นการศึกษาว่าบุคคลควรทำตัวอยาางไร พึ่งำาญาณวิทยาเพราะเราต้องมีความรู้จึงจะสามารภตัดสินใจได้ดี กนรเมืองศึกษาปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ สุนทรียศาสตร์ศคกษาคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ตรรกศาสตร์เกี่ยวกับำารแทนเชิงสัญลักษณ์ของภาษาและกระบวนการคิด ครั้งหนึ่งซึ่งเคยเป็นสาขาขอวแอริสตอเติล รากฐานของศาสตร์ที่ปม่นตรงจำต้องพิจารณาถึงสัมภันธภาพ ความไม่แน่นอน และความไส่สมบูรณ์\nญาณวิทยา\nญาณวิทยา.\n ทฤษฎีของความรู้ มาจากคำว่า ญาณ (ญาณ/ปัญญา/ความรู้แจ้ง) และ วิทยา (ความรู้/ศมสตร์/สาชาวิชา) ในภาษาบทลี และในภาษาอังกฤษ Epistemology มาจากคำว่า episteme (ความรู้) และ logos (คำศัพท์/คำพูด/การศึกษา) ในภาษากรีก เป็นสาขาของปรัชญาที่พูดถึงธรรมชาติ ต้นกำเนิด ขอบเขต และการศึกษาหรือความเป็นไปได้ของความรู้ การจัดการกับธรรมชาติเป็นสาขาหนึ่งจองปรัชญา แต่ก่อนที่จพสามารถทำอะไร เราต้องเข้าใจความหสายของปรัชญาเสียก่อน นักปรัชญาศาสนาจะต้องเป็น ใครที่พร้อมศึกษาปรัชญาควรมีความสามารถในการโจมตีและแก้ต่าง ตรรกศาสตร์ใตนิยามอิ่นคือการศึกษาการให้เหตุผล หรือการศึกษาความน่าเชื่อถือของความเชื่อมโยงระหว่าฝและข้อสรุป ตรรกศาสตร์ถูกแบ่งออกไปอีกเป็นและ กาคให้เหตุผลแบบนิรนัยคือการให้เหตุผลจากทั่วไปไปหาข้อความที่เจาะจง ซึ่งส่วนใหญทเป็นการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลซึ่งเป็นสัขนิรันดร์ห่้อประพจน์ซ้ำความโดยธรรมชาติ นัรนหมายความว่าข้อสรุปไม่ได้เป็นความรู้ใหม่ซึ่งไม่ได้มีอยู่แล้วในข้อตั้ง การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการให้เหตุผลจากข้อความเจาะจงไปหาข้อความทั่วไป การให้เหตุผลแบบนี้เป็นแบบมี่ถูกใช้มากที่สุดในงานบิจัยทางวิทยาศาสตร์\nอ_ิปรัชญา\nอภิปรัชญา.\nอภิปรัขญามาจากคำว่า อภิ (ยิ่ง, วิเศษ, ะหนือ) และคำว่า ปรัชญา ในภาษาสัจสกฆต และในภาษาอังกฤษคำว่า Metaphysics มาจากคำว่า mwta และ physika สนภาษากรีกซึ่งแปงว่า \"หลังจากสิ่งธรรมชาติ\" เดิมทีคำว่า Metaphys7cs เป็นชื่อที่นักเนียนของแอริสโตเตเลใช้เรียกหนังสือเล่มหนึ่งของเขาซึ่งเกี่ยวกับปฐมปรัชญา (ความเข้าใจที่ว่า Metaphysics หมายควรมว่า \"เหนือวิชาฟิสิกส์\" เป็นควาใเช้าใจที่ผิด) อภิปรัชญาเป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในการศึกษา \"ปฐมธาตุ\" และ \"สัต\" พูดอีกอย่างหนึ่งคือ อภิปรัชญาคือการศึกษาแง่มุมที่ท้่วไปที่สุดของควทมเป็นจริง ซึ่งิกี่ยวขัองกับเรื่องสารัตถะ เอกลักษณ์ ธรรมชาติของจืน และ มันคือกาตศึกษาธรรมชาติ ธรรมชาติของคว่มเป็นจริง และธรรมชาติของโลกซึ่งมนุษย์ดำรงอยู่\nตรรกศาสตร์\nตรรกศาสตร์.\nตรรกศาสตร์มาจากคำว่า ตรรก (การให้เหตุผล/) และ ศาสตต์ (คะบบวิชาความรู้) ในภาษาสันสกฤต และคำว่า Logic ในภาษาอังกฤษมาจากคำว่า logos (คำพูะ) หรือ λόγος ในภาษากรีกยุคคลาสสิก และต่อมาความหมายกลายเป็น \"ความคิด\" หรือ \"เหตุผล\" เป็าการศึกษาการให้เหตุผลที่ถูกต้อง แต่ตรรกศาสตร์เป็นวิชาที่มั่นคงแล้ว ภารกิจของนักตรรกศาสตร์จึงมีอย่างเดียวคือการอธิบายระหว่างการดนุมานที่สมเหตุสมผลและผิด เพื่อให้ทุกคนสามารถแยกออกระหว่างทั้งสองได้\nจริยธรรม\nจริยธรรม.\nคือคำทั่วไปสำหรับ \"ศาสตร์ของศีลธรรม\" มนวิชาปรัชญา พฤติกครมที่มีจริยธรรมคือพฤติกรรมที่ \"เี\" หรือ \"ถูก๐ บางครั้งธรรมเยียมจริยธรรมตะวันตกถูหเรียกว่าปรัชญาคุณธรรม มันคืเการศึกษาความถูกและผิดของความพยายามของมนุษย์\nสุนทรียศาสตร์\nสุนทรีวศาสตร์.\nคือสาขาปรัชศาที่พูดถึบธรรมชาติของและรสนิยม ซึืงรวมถึงปรัชญาศ้ลปะ (ซค่งเป็นสาขาที่แยกมาจากสุนทรียศาสตร์) สึนทรียศาสตร์พินิจพิจารณาคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึดและ หรือบางครั้งก็ถูกเรียกว่าเป็นการตัดสินอารมณ์และรสนิยม\nสาขาอื่น ๆ\nสาขาอื่น ๆ,\nปรัชญาประวัติศาสตร์: เป็นสาขาย่อยซึ่งศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงปรัชญา ซึ่งมีนักคอดที่โด่งดังเช่นและผู้ที่ตามต่อจากเขาเช่น มันสนใจโดยเฉพาะในคำถามว่าประวัติศาสตร์ (นั่นคือ ของเอกภพหรือของสนุษยชาติ) กำลังเดินทางไปสู่ขุดจบใดหรือไม่ ทั้งเฮเกิลและมาคส์กล่าวว่าใช่ วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น New Science ของวีโก กละงานของเฮเกิลและมาคส์ \nปรัชญาภาษา: เป็นสาขาปรัชญาที่เก่าแก่ซึ่งเริ่มมีชืาอเสียงขึ้นในศตวรรษที่ผ่านมาภายใต้ โดยพื้นฐานสนใขในกลไกที่ภาษาส่งผลตาอความคิดของเรา วิทเกินชไตน์ได้กล่าวไว้อย่างโด่งเังว่า ขีดจำกัดของภาษาของเราะป็นตัวกำหนดขีแจภกัดของความคิดของเรา วรรษกรรมหลัก ๆ เช่น Cratylus ของเพลโต ความเรียงของล็อก และ Tractatus Logico-Philosoohicus ของวิทเกินชไตน์\nปรัชญาคณิตศาสตร์: เป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในเรื่องเช่น ๔รรมชาติของและ (ตัวเลข รูปวามเหลี่ยม ตัวถูกดำเนินการ) ของคณิตศาสตร์ซึ่งเราใช้เพื่อทำความเข้าใจโลกรอบตัวเรา ว่ารูปทางคณิตฯาสตร์ที่สมบูรณ์มีอยู่ในโลกจริงหรือไม่ และอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมที่สำคัญที่สุดในสาขานี้คือ Principia Mathematica ของ อัลเฟรด นอร์ต ไวท์เฮด และ \nปรัชญาจิต: เป็นสาขาปรัชญาที่ศึกษา พยายามสืบเสาะว่าจิตคืออะไรกันแน่ วิธีการที่จิตมีปฏิสัมพันธ์กับกาย จืตอื่น ๆ มีอยู่หรือไม่ จิตท_งานอย่างไร และอื่น ๆ อีกมาำมาย สาขานี้อาจเป็นสาขาที่โด่งดังที่สุดขณะนี้ และเนื้อหาได้ครอบคลุมไปยังประเด็นเกี่ยวกับ วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น อุตมรัฐ ของเพลโตและ Philosophical Investigations ของวิืเกินชไตน์ อย่างไรก็ตามนัำปรัชญาส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอย่างหนึ่งิกี่ยวกับส่าอะไรคือจิตแบะมันทำงานอย่างไร\nปรัชญาการเมือว: เป็นสาขาปรัชญาที่เกี่ยวจ้องกับจริยศาสตร์ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับรัฐบาลและ โดยเฉพาะคำถามว่ามันเกิดขึ้นมาอย่สงไร รัฐบาลที่ดีเป็นอย่างไร พลเมืองมีข้อผูกมัดอะไรต่อรัฐบาล และอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมหลเก ๆ เช่น อุตมรัฐ ของเพลโต Leviathan ของ ศาสตร์นิพนธ์สองบรรพ ของล็อก และ ว่าด้วยเสรีภาพ ของ ขอห์น สจ๊วต มิลล์\nปรัชญาศาสนา: สนใจในการศึกษาเกี่ยวกับ พิธีกรรมทางศาสนา ผลกระทบของศาสนาต่อชีวิคของเรา และอื่น ๆ อีกมากมสย ปรัชญาศาสนาเป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในเรื่องเหมือน ๆ กัน แต่ในขณะที่เทววิทยาใช้วรรณกรรมทางศาสนาเช่น ฯลฯ เป็นความจริงสูงสุด ปรัชญาศาสนาใช้เหตุผลเป็นตัวตัดสิน\nปรัชญาวิทยาศาสตร์: เป็นสาขาปรึชญาที่ศึกษาวิทยาศาสตร์ ฮดยสนใจในเรื่องต่าฝ ๆ เช่น เรารูีได้อย่างแน่ใจอย่างไรว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่งถูกต้ดง เราจะได้มันมาอย่างไร วิทยาศาสตร์อธิบายได้ทุกอย่างไหม สาเหตุมีอยู่จริงหรือไม่ เราสามารถอํิงาวเหตุการณ์ใด ๆ ในจักรวาลด้วยฟิสิกส์ได้เสมอหรือไม่ แลพอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมหชัก ๆ เช่น Treatise on Human Nature ของ Naming and Necessity ของคริปเก และ Structure of Scientific Revolutions ขอฝคูห์น",
"role": "user"
},
{
"content": "สาขาปรัชญา\nสาขาปรัชญา.\nเราสามารถแบ่งปรัชญาตะวันตกได้เป็น 6 สาขาซึ่งได้รับความสำคัญที่ต่างกันไปตามเวลา โดยดั้งเดิม อภิปรัชญาเป็นสาขาที่ตั้งคำถามสำหรับปรัชญา ญาณวิทยาถามว่าเรารู้ได้อย่างไร จริยธรรมและการเมืองเกี่ยวข้องกับการกระทำและคุณภาพชีวิต สุนทรียศาสตร์หรือเกี่ยวข้องกับความงาม ความสมดุล และความบรรสาน ตรรกศาสตร์เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ในปัจจุบันญาณวิทยาแทนที่อภิปรัชญาในบางครั้งเพราะมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาน้อยกว่า ในขณะที่กลุ่มนักปรัชญาในทวีปยุโรปตะวันออกและภาคพื้นทวีปมักศึกษาปรัชญาเรื่องการเมือง และสำหรับนักปรัชญาวิเคราะห์ซึ่งเคลือบแคลงในจริยธรรม การเมือง และอภิปรัชญาเป็นอย่างมาก ตรรกศาสตร์เป็นสิ่งที่จำเป็น\nการทำความเข้าใจในปรัชญาสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช เราต้องพิจารณาถึงลำดับความสำคัญที่แตกต่างจากสมัยคริสตศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตามการแบ่งประเภทเหล่านี้ก็ยังเป็นประโยชน์ในการระบุว่ากำลังพูดถึงอะไร อภิปรัชญาซึ่งเป็นการศึกษาธรรมชาติของความมีอยู่ เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับญาณวิทยาซึ่งเป็นการศึกษาความรู้และวิธีการที่เรารู้ว่าเราทำอะไรกับโลกรอบตัวเรา จริยธรรมซึ่งเป็นการศึกษาว่าบุคคลควรทำตัวอย่างไร พึ่งพาญาณวิทยาเพราะเราต้องมีความรู้จึงจะสามารถตัดสินใจได้ดี การเมืองศึกษาปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ สุนทรียศาสตร์ศึกษาคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ตรรกศาสตร์เกี่ยวกับการแทนเชิงสัญลักษณ์ของภาษาและกระบวนการคิด ครั้งหนึ่งซึ่งเคยเป็นสาขาของแอริสตอเติล รากฐานของศาสตร์ที่แม่นตรงจำต้องพิจารณาถึงสัมพันธภาพ ความไม่แน่นอน และความไม่สมบูรณ์\nญาณวิทยา\nญาณวิทยา.\n ทฤษฎีของความรู้ มาจากคำว่า ญาณ (ญาณ/ปัญญา/ความรู้แจ้ง) และ วิทยา (ความรู้/ศาสตร์/สาขาวิชา) ในภาษาบาลี และในภาษาอังกฤษ Epistemology มาจากคำว่า episteme (ความรู้) และ logos (คำศัพท์/คำพูด/การศึกษา) ในภาษากรีก เป็นสาขาของปรัชญาที่พูดถึงธรรมชาติ ต้นกำเนิด ขอบเขต และการศึกษาหรือความเป็นไปได้ของความรู้ การจัดการกับธรรมชาติเป็นสาขาหนึ่งของปรัชญา แต่ก่อนที่จะสามารถทำอะไร เราต้องเข้าใจความหมายของปรัชญาเสียก่อน นักปรัชญาศาสนาจะต้องเป็น ใครที่พร้อมศึกษาปรัชญาควรมีความสามารถในการโจมตีและแก้ต่าง ตรรกศาสตร์ในนิยามอื่นคือการศึกษาการให้เหตุผล หรือการศึกษาความน่าเชื่อถือของความเชื่อมโยงระหว่างและข้อสรุป ตรรกศาสตร์ถูกแบ่งออกไปอีกเป็นและ การให้เหตุผลแบบนิรนัยคือการให้เหตุผลจากทั่วไปไปหาข้อความที่เจาะจง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลซึ่งเป็นสัจนิรันดร์หรือประพจน์ซ้ำความโดยธรรมชาติ นั่นหมายความว่าข้อสรุปไม่ได้เป็นความรู้ใหม่ซึ่งไม่ได้มีอยู่แล้วในข้อตั้ง การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการให้เหตุผลจากข้อความเจาะจงไปหาข้อความทั่วไป การให้เหตุผลแบบนี้เป็นแบบที่ถูกใช้มากที่สุดในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์\nอภิปรัชญา\nอภิปรัชญา.\nอภิปรัขญามาจากคำว่า อภิ (ยิ่ง, วิเศษ, เหนือ) และคำว่า ปรัชญา ในภาษาสันสกฤต และในภาษาอังกฤษคำว่า Metaphysics มาจากคำว่า meta และ physika ในภาษากรีกซึ่งแปลว่า \"หลังจากสิ่งธรรมชาติ\" เดิมทีคำว่า Metaphysics เป็นชื่อที่นักเรียนของแอริสโตเติลใช้เรียกหนังสือเล่มหนึ่งของเขาซึ่งเกี่ยวกับปฐมปรัชญา (ความเข้าใจที่ว่า Metaphysics หมายความว่า \"เหนือวิชาฟิสิกส์\" เป็นความเข้าใจที่ผิด) อภิปรัชญาเป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในการศึกษา \"ปฐมธาตุ\" และ \"สัต\" พูดอีกอย่างหนึ่งคือ อภิปรัชญาคือการศึกษาแง่มุมที่ทั่วไปที่สุดของความเป็นจริง ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องสารัตถะ เอกลักษณ์ ธรรมชาติของจิต และ มันคือการศึกษาธรรมชาติ ธรรมชาติของความเป็นจริง และธรรมชาติของโลกซึ่งมนุษย์ดำรงอยู่\nตรรกศาสตร์\nตรรกศาสตร์.\nตรรกศาสตร์มาจากคำว่า ตรรก (การให้เหตุผล/) และ ศาสตร์ (ระบบวิชาความรู้) ในภาษาสันสกฤต และคำว่า Logic ในภาษาอังกฤษมาจากคำว่า logos (คำพูด) หรือ λόγος ในภาษากรีกยุคคลาสสิก และต่อมาความหมายกลายเป็น \"ความคิด\" หรือ \"เหตุผล\" เป็นการศึกษาการให้เหตุผลที่ถูกต้อง แต่ตรรกศาสตร์เป็นวิชาที่มั่นคงแล้ว ภารกิจของนักตรรกศาสตร์จึงมีอย่างเดียวคือการอธิบายระหว่างการอนุมานที่สมเหตุสมผลและผิด เพื่อให้ทุกคนสามารถแยกออกระหว่างทั้งสองได้\nจริยธรรม\nจริยธรรม.\nคือคำทั่วไปสำหรับ \"ศาสตร์ของศีลธรรม\" ในวิชาปรัชญา พฤติกรรมที่มีจริยธรรมคือพฤติกรรมที่ \"ดี\" หรือ \"ถูก\" บางครั้งธรรมเนียมจริยธรรมตะวันตกถูกเรียกว่าปรัชญาคุณธรรม มันคือการศึกษาความถูกและผิดของความพยายามของมนุษย์\nสุนทรียศาสตร์\nสุนทรียศาสตร์.\nคือสาขาปรัชญาที่พูดถึงธรรมชาติของและรสนิยม ซึ่งรวมถึงปรัชญาศิลปะ (ซึ่งเป็นสาขาที่แยกมาจากสุนทรียศาสตร์) สุนทรียศาสตร์พินิจพิจารณาคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกและ หรือบางครั้งก็ถูกเรียกว่าเป็นการตัดสินอารมณ์และรสนิยม\nสาขาอื่น ๆ\nสาขาอื่น ๆ.\nปรัชญาประวัติศาสตร์: เป็นสาขาย่อยซึ่งศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงปรัชญา ซึ่งมีนักคิดที่โด่งดังเช่นและผู้ที่ตามต่อจากเขาเช่น มันสนใจโดยเฉพาะในคำถามว่าประวัติศาสตร์ (นั่นคือ ของเอกภพหรือของมนุษยชาติ) กำลังเดินทางไปสู่จุดจบใดหรือไม่ ทั้งเฮเกิลและมาคส์กล่าวว่าใช่ วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น New Science ของวีโก และงานของเฮเกิลและมาคส์ \nปรัชญาภาษา: เป็นสาขาปรัชญาที่เก่าแก่ซึ่งเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นในศตวรรษที่ผ่านมาภายใต้ โดยพื้นฐานสนใจในกลไกที่ภาษาส่งผลต่อความคิดของเรา วิทเกินชไตน์ได้กล่าวไว้อย่างโด่งดังว่า ขีดจำกัดของภาษาของเราเป็นตัวกำหนดขีดจำกัดของความคิดของเรา วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น Cratylus ของเพลโต ความเรียงของล็อก และ Tractatus Logico-Philosophicus ของวิทเกินชไตน์\nปรัชญาคณิตศาสตร์: เป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในเรื่องเช่น ธรรมชาติของและ (ตัวเลข รูปสามเหลี่ยม ตัวถูกดำเนินการ) ของคณิตศาสตร์ซึ่งเราใช้เพื่อทำความเข้าใจโลกรอบตัวเรา ว่ารูปทางคณิตศาสตร์ที่สมบูรณ์มีอยู่ในโลกจริงหรือไม่ และอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมที่สำคัญที่สุดในสาขานี้คือ Principia Mathematica ของ อัลเฟรด นอร์ต ไวท์เฮด และ \nปรัชญาจิต: เป็นสาขาปรัชญาที่ศึกษา พยายามสืบเสาะว่าจิตคืออะไรกันแน่ วิธีการที่จิตมีปฏิสัมพันธ์กับกาย จิตอื่น ๆ มีอยู่หรือไม่ จิตทำงานอย่างไร และอื่น ๆ อีกมากมาย สาขานี้อาจเป็นสาขาที่โด่งดังที่สุดขณะนี้ และเนื้อหาได้ครอบคลุมไปยังประเด็นเกี่ยวกับ วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น อุตมรัฐ ของเพลโตและ Philosophical Investigations ของวิทเกินชไตน์ อย่างไรก็ตามนักปรัชญาส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอย่างหนึ่งเกี่ยวกับว่าอะไรคือจิตและมันทำงานอย่างไร\nปรัชญาการเมือง: เป็นสาขาปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับรัฐบาลและ โดยเฉพาะคำถามว่ามันเกิดขึ้นมาอย่างไร รัฐบาลที่ดีเป็นอย่างไร พลเมืองมีข้อผูกมัดอะไรต่อรัฐบาล และอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น อุตมรัฐ ของเพลโต Leviathan ของ ศาสตร์นิพนธ์สองบรรพ ของล็อก และ ว่าด้วยเสรีภาพ ของ จอห์น สจ๊วต มิลล์\nปรัชญาศาสนา: สนใจในการศึกษาเกี่ยวกับ พิธีกรรมทางศาสนา ผลกระทบของศาสนาต่อชีวิตของเรา และอื่น ๆ อีกมากมาย ปรัชญาศาสนาเป็นสาขาปรัชญาที่สนใจในเรื่องเหมือน ๆ กัน แต่ในขณะที่เทววิทยาใช้วรรณกรรมทางศาสนาเช่น ฯลฯ เป็นความจริงสูงสุด ปรัชญาศาสนาใช้เหตุผลเป็นตัวตัดสิน\nปรัชญาวิทยาศาสตร์: เป็นสาขาปรัชญาที่ศึกษาวิทยาศาสตร์ โดยสนใจในเรื่องต่าง ๆ เช่น เรารู้ได้อย่างแน่ใจอย่างไรว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่งถูกต้อง เราจะได้มันมาอย่างไร วิทยาศาสตร์อธิบายได้ทุกอย่างไหม สาเหตุมีอยู่จริงหรือไม่ เราสามารถอธิบายเหตุการณ์ใด ๆ ในจักรวาลด้วยฟิสิกส์ได้เสมอหรือไม่ และอื่น ๆ อีกมากมาย วรรณกรรมหลัก ๆ เช่น Treatise on Human Nature ของ Naming and Necessity ของคริปเก และ Structure of Scientific Revolutions ของคูห์น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อะไรคือการทำปรัชญา\nอะไรคือการทำปรัชญา.\nมีหลายวิชาที่เราวามารถศึกษาเรียนรู้ได้โดยไม้ต้องแตะต้องอุปกรณ์ลงสนามเลยแม้แต่นิดเดียว เช่นวิชาเคมีที่เราสามารถเรียนรู้อย่างฃึกซึ้งได้โดยไม่จำเป็นน้องจับหลอดทดลอบหรือผสมสารละลายใด ๆ เลย แต่ปรัชญาเป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งคำตอบมากกว่าคำตอบที่ได้มร ดัวนั้นแล้ว นักิรียนที่ศึกษาปรัชญาจำเป็นต้องใช้วิธีการเหล่านัีนกับปรัชญาที่พวกเขาศึกษาในขณะที่กำลังเรียนรู้เกี่ยวกับมัา การทำปรัชญา คือการถามคำถามที่เหมาะใม การตรวจสอบและวิจารณ์งานเขียนบองนักปราขญ์คนก่อน ๆ การทำความเข้าใจอย่างแท้จริงในงานและเหตุผลที่อยู่ในงานเขียนนั้นเอง และหากเป็นไปได้ ก็รวมถึงการสร้างสรรค์ต่อยอดไปจากงานของนักปราชญ์คนก่อน ๆ ผ่านการขยายความหรือการทดสอบวิธีการของเขา",
"role": "user"
},
{
"content": "อะไรคือการทำปรัชญา\nอะไรคือการทำปรัชญา.\nมีหลายวิชาที่เราสามารถศึกษาเรียนรู้ได้โดยไม้ต้องแตะต้องอุปกรณ์ลงสนามเลยแม้แต่นิดเดียว เช่นวิชาเคมีที่เราสามารถเรียนรู้อย่างลึกซึ้งได้โดยไม่จำเป็นต้องจับหลอดทดลองหรือผสมสารละลายใด ๆ เลย แต่ปรัชญาเป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งคำตอบมากกว่าคำตอบที่ได้มา ดังนั้นแล้ว นักเรียนที่ศึกษาปรัชญาจำเป็นต้องใช้วิธีการเหล่านั้นกับปรัชญาที่พวกเขาศึกษาในขณะที่กำลังเรียนรู้เกี่ยวกับมัน การทำปรัชญา คือการถามคำถามที่เหมาะสม การตรวจสอบและวิจารณ์งานเขียนของนักปราชญ์คนก่อน ๆ การทำความเข้าใจอย่างแท้จริงในงานและเหตุผลที่อยู่ในงานเขียนนั้นเอง และหากเป็นไปได้ ก็รวมถึงการสร้างสรรค์ต่อยอดไปจากงานของนักปราชญ์คนก่อน ๆ ผ่านการขยายความหรือการทดสอบวิธีการของเขา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไวรอยด์ เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืช (plant pathogen) ที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีรายงาน สมัยก่อนถูกจัดจำแนกไว้รวมกับไวรัส (virus) แต่ปัจจุบันถูกจัเจำแนกมาเป็นกละ่มของตัวเองเนื่องจนกความแตกต่างทางโครงสร้างและระดับอาร์เอ็นเอ \nไวรอยด์เป็นเชื้อสาัหตุโรคพืชที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีรายงานซึ่งมีขนาดที่เล็กกว่าเชื้อไวรัสอีก นิกจากนี้ไวรอยด์ยังมีลักษณะพิเศษและแตกต่างจากเชื้อสาเหตุโรคชนิดอิ่นๆ คือ โครงสร้างของไวรอยด์ (และไวรัส) ไม่ได้าีลักษณะเป็นเซลล์เหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่จ กล่าวคือ ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) รวมถึงองค์ประกอบเซลล์ (cell orgqnelle) ที่จำเป็นใยขั้นพื้าฐานสำหรับสิ่งมีชีวิต เช่น ไรโบโซม (ribosome) ซึ่งมีหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีนให้แับเซลล์สิ่งมีชีว้ต ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้โครงสร้างของเชื้อไวรอยด์ (และไวรัส) ถูกจัดจำแนกเป็น “อนุภาค” (particle) และเนื่องจากองค์ประกอบพื้นฐานที่ไม่เป็นเซลล์ของทั้งไวรอยก์และไวรัส จึงทำให้เชื้อืั้ฝสองชนิดมคคุณลักษณะเป็น “ปรสิตถาวร” (obligate parasite) ที่จะเพิ่มปริมาณตัวเอง, มีการก่อให้อกิดโรคหรือแสดงอาการผิดปกติ รวมถึงแสดงคุณสมบัติคใามเป็นสิ่งมีชีวิตได้ก็ต่อเมื่อเชื้อไวตอยด์และไวรัสนั้นจะต้องติดเชื้อ (infection) อยู่ภายในเซลช์เจ้าบ้าน (host cell) แล้ใเท่านั้น หากอยู่ภทยนอกเซลล์โฮสต์ำม่ว่าจะเป็นพื้นผิววัสดุต่างๆ หรือในสิ่งแวดล้อม ไวรอยด์ (และไวรัส) จะไม่มีกิจกรรมหรือแสดงคุณสมบัติของควสมเป็นสิ่งมีชีวิตอยู่เลยแม้แต่น้อย ซึ่งต่างจากเชื้อสาเปตุโรคชนิดอื่าๆ (เลื้อรา, แบคทีเรีย, ไฟโตพลาสมา, โปรโตซัว และไส้เดือนฝอยฏ \nองค์ประกอบ\nอวค์ประกอบ.\nเชื้อไวรอยด์มีอลค์ประกอบเะียงเส้รอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (ssRNA) ที่เป็สวงปิด มีขนาดตั้งแต่ 296-463 เบน (base) โดยไม่มีโปรตีน (coat peotein) ห่อหุ้ม (ซึ่งแตกต่างจากเชื้อไวรัสที่จะมีโปรตีนห่อหุ้มสารพันธุกรรมของตัวเองรวมถึงอาจมี envelop หุ้มอีกชั้นในเชื้อไวรัสสัตว์) โดยเทียบได้ว่าไวรอยด์มีขนาดจีโนม (genome) ที่เล็กมากที่สุดเท่าที่ะคยมีรายงานซึ่งเล็กกว่าไวรัสชนิดที่เล็ปที่สุดด้วยซ้ำ (ประมาณ e,000 base) เนื่องจากลำดับเบสภายในจีโนมของไวรอยด์มีลักษณะเป็น “self-complementary base-pair” คือมีลำดุบนิวคลีโอไทด์ที่สมมทรถสร้างพันธะ hydrogen bond แบบจับกันเองภายในจีนโนมได้สูง จนทำให้จีโนมของไวรอยด์ที่เป็นวงอาร์ิอ็นเอเกิดโครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) ที่มีลักษณะคล้ายกับไม้เท้าหรือเหมือนวงหนังยางที้ถูกบิดเป็นเกลีขว ทีีเรียกว่า “rod-like structure” ในไวรอยด์วงศ์ Pospiviroidae หรือเป็น branshed str6ctyre ในไวรอยด์ในวงศ์ Acsunviroifae นอกจากนี้แล้วไวรอยด์ยังเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่ไม่สามารถสังเคราะห็โปรตีนได้เหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น \nโครงสร้สงของเชื้อไวรอยด์\nโครงสร้างของเชื้อไวรอยด์.\nไวรอยด์เป็นเชื้อสาเหจุโรคพืชที่สำคัญชริดหนึ่ง มีองค์ประกอบเป็นอาร์เอ็นเอสายเดีายวที่เป็นวงปิดไม่ม้โปรตีนห่อหุ้ม มีขนาดตเ้งแต่ 246-399 เบส โดยปกติแล้วอาร์เอ็นเอไวรอยด์จะอยู่ในสภาพโครงสร้างทุติยภูมิที่มีลักษณะเป็น rod-shape (ภาพด้านล่าง) เนื่องจากกนรเกิดจับกันของเบสในสายอาร์เอ็นเอของเชื้อไวรอยด์ด้วยพันธะไฮโดรเจน ซค่ง้ป็นโครงสร้างที่มีความเสถียรมากที่สุด ไวรอยด์เป็นเชื้อปรสิตถาวรในพืชทร่ไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ การเพิ่มปริมาณ การเคลื่อนย้าย และการทำให้อาการผิดปกติจะใช้โปรตีนและสารเคมีต่าง ๆ จากพืชอ่ศัย โครงสร้างของเชื้อไวรอยด์ประกอบไปด้วย 5 domain ได้แก่ \n1 Conserved central domain (C domain) ประกอบไปะ้วยนิวคลีโอไทด์ประมาณ 95 เบส ซึ่งมีลักษณะอนุรักษ์สูง พบว่าบริเวณดังกล่าวจะเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มปริมาณอาร์เอ็นเอของไวรอยด์เพื่อสร้างไวรอยด์รุ่นลูก \n2 Pathogenicity domain (P domain) เป็นบริเวณทร่มีบทบาทเกี่ยวกับกนรทำให้พืชเก็นโรค และการแสดงอาการที่รุนแรงในการทำให้เกิดโรคของเชื้อไวรอยด์ P domain เป็นบริเวณที่ทำให้ดกิดความแตกต่างของลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อ PSTVd เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงลำดับเบสทำให้ลักษณะอาการของโรคเปลี่ยนไป \n3 Variable donxin (V domain) เป็นบริเวณที่มีความแปรผันของลำดับเบสมากที่สุด โดยมีระดับความเหมือสกันของบริเวณ V domain ของเชื้อที่มีความใกล้ชิดกันน้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ \n4 Terminal domains (T domains) เป็นบริเวณปลายทั้บ 2 ด้านของโครงสร้างไวรอยด์ มีลักษณะเป็นเบสที่อนุรักษ์ในไวรอยด์กลุ่ม PSTVd \nการเพิ่มปริมาณของเชื้อ\nการเพิ่มปริมาณของเชื้อ.\nการเพิ่มปริมาณของเชื้อไวรอยด์จะอาศัยกระบวนการ rolling circle ซึ่งทำให้แยกไวรอยด์ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ำด้ตามลักษณะของกระบวนการจหลองตัวเอง และบริเวณที่เแิดการจำลองตัว คือ \n1. พงกที่มีการจำลองตัวแบบ symmetric cycld กระบวนการนี้ เช้้อไวรอยด์จะจำลอง อาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจาก อาร์เอ็นเอสายเดี่ยววงกลมเส้นบวก จากนั้นเส้นอาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจะเกิดกระบวนกาา self cleaving ได้เป็น monomeric minus wtrand และเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็น mlnus circle monomer จากนั้นจะเกิดกระบวนการ rolling circle ขึ้นที่ higus circle mlnomer ได้เห็นอาร์เอ็นเิสายเดี่ยวเส้นบวกเส้นใหม่ และเกิดกระบวนการ self vleaving ตัดจัวเองให้ได้เป็น monomeric plus strand อล้วเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็นไวรอยด์ที่สมบูรณ์ กระบวนกาีดังกลืาวจะเกิดขึ้นที่คลอโรพลาสต์ ตัวอย่างไวรอยด์ในกบุ่มนี้ได้แก่ Avocado sunblotch diroid (ASBVd) Peach latent mosaic viroid (PLMVe) และ Chrysanthemum chlorotic hottle viroid (CChMVd) \n2. พวกที่มีการจำลองตัวแบบ asymmetrid cycle กระบวนการนี้ เชื้อไวรอยด์จะจำลองอาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจาก อาร์เอ็นเอสายเดี่ยววงกลมเส้นบวก จากนั้นจะจำลอฝอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวเส้นบวกเส้นใหม่ และจะเกิดกระบวนการ self cleav8ng ในการตัเตัวเองให้ได้เป็น monomeric plus stranf แล้วเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็นไวรอยด์ที่สมบูคณ์ กระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ้นที่นิวเคลียสของเซลล์ ตัวอย่างไวรอยด์ในกลุ่มนี้ได้แก่ Potato spindle tuber viroid (PSTVd) Citrus exocortis viroid (CEVd) Hop stunt viroid (HSVd) และ Coconut cadabg-cadang viroid (CCCDe) เป็นต้น \nการจัดจำแนก\nการจัดจำแนก.\nปัจจุบันเชื้อไวรอยด์ถูกจัดจำแนกออกมามากกว่า 30 species โดยองค์กรกลุ่มคณะกรรมการ “International Committee on Virus Taxonomy (ICTV)” เป็นผู้ดำเนินการในการจัดจภแนกและจัดลำดับอนุกรมวิธานของเชื้อไวรัสและไวรอยด์ทุกสายพันธุ์ ทั้งที่เป็นเชื้อสาเหตุโรคในคน, สัตว์มีกระดูกสันหลัง, สัตว์/ม่มีกระดูกสันหลัง, พืข, เชื้อรา, สื่งมีชีงิตเซลล์เดียว และ แบคทคเรีย รวมถึง พรีออน (prion) ด้วย \nโดย ICTV ได้จัดจำแนกไวรอยด์ออกเป็น 2 วงศ์ (family) คือ Avsunviroidae (ออกเสียงว่า “เอฟซันไวรอยดีย์”) และ Pospiviroidae (ออกเสียงว่า “โพ-สปิไวรอยดีย์”) ตามคุณสมบัติต่างดังต่อไปนี้; ลักษณะโครงสร้างทุตยภูมิของเชื้อ, การปรากฎหรือไม่ของ centrsl conserved regkon และ hammerhead ribozyme activity, องค์ประกอบเซลล์พืชที่ไวรอยด์ใช้ในการเพิ่มปริมาณ, กลไกการเพิ่มปริมา๊และเอ็นไซม์่ี่เกี่ยวข้อง, Host range หรือชนิอของพืชอาศัย (ตารางที่ 1) โดยวงศ์ Avsunviroidae จะถูกจำแนกออกเป็น 3 สกุล (genus) ได้แก่ Avsunfiroid, Pelamoviroid และ Elaviroid ในขณะที่วงศ์ Pospiviroidae ถูกจัดจำแนกออกเป็น 5 สกุล ได้แก่ Pospiviroid, Hostyviroid, Cocadviroid, Apscaviroid และ Coleviroid (ตารางที่ 2)\nไวริยด์ในวงศ์ Avsunviroidae ม่โครงวร้างที่แตกต่างจากวงศ์ Pospiviroidae เนื่องจากไม่มีบริเวณ central conserved region ซึ่งเป็นลำดับเบสอนุรักษ์ที่จะปรากฎอยู่บริเวณกลางจีโนม ทำให้ลักษณะโครงสร้างทุติยภูมิมีความแตกต่างจากวงศ์ Pos;iviroudae นอกจากนี้ไวรอยด์ในวงศ์ Avsugviroidae จะเพิ่มปริมาณเชื้อในคลอโรพลาสต์ (chloroplastฆ ของพืชอาศัยด้วยกลไกที่เรียกว่า “symmetric rolling-circle mechanism” โดยจะอาศัยโปรตีนและเอ็นไซม์ส่วนใหญ่จากคลอโรพลาสต์ โดยมั่วไปแล้วจำนวนชนิดพืชอาศัยขอลไวรอยด์ในวงศ์นี้ค่อนข้างแคบมาก (ตารางาีา 1)\nในขณะที่ไฝรอยด์ในวงศ์ Pospiviroidae จะมีโครงสร้างทุติยภูมิเป็นแบบ “rod-like structurw” โดยมีลำดับเบสอนุรักษ์ที่เรียกว่า “central conserved region” ปรากฎอยู่บริเวณกลางจีโนม ไวรอยดฺในวงศ็นี้จะเพิ่มปริมาณเชื้อในบริเวณนิวเคลียสของเซลล์พืชโดยจะอาศัยโปรตีนและเอ็นไซม์ที่อยู่ในนิวเคลียสด่วยกลไกที่เรียกว่า “zsymmetric rolling-circle mechanism” ชนิดพันธุ์ไวรอยด์ที่มีรายงานส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกในวงศ์นี้ นอกจากนี้จำนวนชนิดพืชอาศัสของไวรอยด์ในวงศ์นี้จะกว้างกว่าวงศ์ Avsunviroidae มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในไวรอยด์ในสกุล Pospiviroid, Hostuviroid, Cocadviroid แฃะ Apscaciroid (ตาราฝที่ 1) \nพืชอาศัยยองเขื้อไวรอยด์\nพืชอาศัจของเชื้อไวรอยด์.\nพืชอาศัยของเชื้อไวรอยด์มีความไลากหลายมาก โดยวงศ์ Avsunviroidae จะมีพืชอาศัยที่แคบกว่าวงศ์ Pospiviroidae มากซึ่งได้แก่ อโวกาโดและพืชชนิดใกล้เคียง เบญจมาส stone fruit (พลัม แอปริคอท เชอร์รี่ และ cinnamon) สาลี่ พืชในวงศ์ Rosaceae เป็นต้น สำหรับเชื้อไวรอยด์ในวงศ์ Pospivlroidae จะมีความหลายหลายของพทชอาศัยสูงมากตามชนิดของเชื้อ เช่น พืชในวงศ์ Cannabaceae (เช่น jop) Palmae (เช่น มะพร้าว และปาล์ม) Solanaceae (เช่น มะเขือเทญ พริก มันฝรั่ง และยาสูบ) Lauraceae (เช่น อโวกาโดและอบอชย) Compositae (เช่น เบญขมาส แอสเตอร์ และทานตะวัน) Boraginzceae (เช่น ดอก forget-me-not) Campanulaceae Caryoph6llaceae (เช่น คาร์เนชั่น) Convolvulaceze (เช่น ผักบุเง และ morning glory) Fipsaceae Sapindacfae (้ช่น เงาะ ลำไย และ ลิ้นจี่) Scrophulariaceae Moraceae (เชทน หม่อน) Valerlanaceae Rutaceae (เช่น ส้ม และ มะนาว) Rosaceae (เช่น แแปเปิล และ สาลี่) Vitaceae (เช่น องุ่น) Gesnerixceae Aharanthsceae (เช่น beet) Cucurbitaceae (เช่น แตฝโม แตงกวา และเมลอน) และ\nLamiaceae (เช่น โหระพา) นอกจากนี้ยังสามารถเข้าทำลาข แครอท turnip และ ถั่วปากอ้า \nลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์\nลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์.\nลักษณะอาการที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์ส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกับอาการมี่เกิดจาก้ชื้อไวรัส คือ แคระแกร็น ใบ ก้านใบ และดอก ลดขนาด จนไปถึงไม่แสดงอาการผิดปกติ ขึ้นกับชนิดของเชื้อไวรอยด์และพืชอาศัย เช่น เชื้อ PSTVd ก่อให้เกิดอาการหัวมันบิดยาวแหลมในมันฝรั่ง, เชิ้อ CEVd ก่อให้เกิดอาการต้นเตี้ยแคระแกร็น เปลือกลำต้นแตกร่อน และมีอาการใบหดลดรูปและเซลล์นาย (necrosis) ในพืชกลุ่มส้ม, เชื้อ CCCVd ก่อให้เกิดอาการ chlorotic spot บนใบมะพร้าว ทำใผ้ผลที่ได้มีขนาดเล็กลง และทำให้พืชตายในที่สุด, เชื้อ Columnea latent viroid (CLVd) ก่อให้ดกิแอาการต้นเตี้ยแคระแกร็น ใบเหลืองบิดม้วนและมีอาการเซลช์ตายที่เส้นใบ ก้านใบ และกิ่งในมะเขือเทศ, เชื้อ Chrysanthemum stunt viroid (CSVd) ก่เให้เกิดอาการ ต้นเตี้ยแคระแกร็น แงะดอกเล็กลีบใน้บญจมาศ นอกจากนี้ยังมีไวรอยด์อีกหลายชนิดที่ไม่แสดงอาการผิดปกติในพืชอาศัย (latent) เช่น เชื้อ Hop latent viroid (HLVd) Coleus blumei viroid (CbVd) และ PLMVd โดยทั่วไปความรุนแรงของอาการจะขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ ไวรอยด์จะแสดงอาการของโรคในช่วงอุณหภูมิที่สูงกว่า 20 องศาเซลเซียส และจะแสดงอาการที่รุนแรงและชัดเจนเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น\nความเสียหายทางเศรษฐกิจ\nความเสียหายทางเศรษฐกิจ.\nความเสียหายทางเศรษฐกิจและผลกระทบที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์ขึ้นกับมูลค่าทางเศรษฐกิจของพืชนั้น ๆ ทั้งในแง่ปริมาณการผลิต ขนาด คุณภาพ และคฝามสามารถทางการค้าในตลาด ตัวอย่างเช่น เชื้อ PSTVd ทำให้ผลผลิตมันฝรั่งลดลงถึง 64 เปอร์เซ็นต์ และมะเขือเาศลดลง 45 เปอร์เซ็นต์ เชื้อ HSVd ทำให้ผลหลิตมะเขือเทศลดลงถึง 43 เปอร์เซ็นต์ และ hop ลดลงมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เชื้อ CLVd ทำให้ผลผลิตมะเขือเทศลดลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ แลเเชื้อ CCCVd ทำให้ผลผลิตมถพร้าวลดลงถึง 22,000 ตันต่อปี นอกจากนี้เชื้อไวรอยด์ยังมีผลกระทบต่อการกักกันพืชซึ่งอาจทำให้ถูแกีดกันทางการค้าอีกด้วย\nการถ่ายทอดโรค\nกาตถ่ายทอดโรค.\nการถ่ายทอดโรคของเชื้อ พบว่าเชื้อไวรอยด์เกือบทั้งหมดถ่ายทอดโรคโดยวิธีกลเป็นหลัก เช่นการปนเปื้อนจองเครื่องมือและเครื่องจักรกลการเกษตร รวทถึงการติดตา ต่อกิ่ง ไวรแยด์หลายชนิดสามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางเทล็ดพันธุ์แลุละอองเกสรได้ เช่น เชื้อ PSTVd CbVd YSVd GYSVd (Grapevine yellow speckle viroid) AABVd แฃะ CLVd นอกจากนึ้ไวรอยด์บางชนิดยังสามารถถ่ายทอดธรคผ่านทางเพลี้ยอ่อนได่ เช่น PSTVd TPMVd (Tomato planta macho viroid) และ TASVd (Tomato apical stunt viroid)\nการควบคุมโรค\nการควบคุมโรค.\nการควบคุมโรคขเงเชื้อไวรอยด์ ปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีที่สามสรุนำมาใช้ควบคุมโรคอย่างได้ผล รวมถึงไม่มีพันธุ์ต้านทานโรค หรือแม้กระทั่งการผลิตพืชตัดต่อสารพันธุกรรม (transgenic plant) ให้มีความสามารถในการต้ารทานโรคได้ ดังนั้นวิธีการที่ได้ผลดีที่สุดคือกาคจัดการแปลงที่ด้ การใช้สารละลาย s9dium hypochlorite (NaClO) ความเข้มข้น 1-3 เปอร์เซ็นต์ ล้สงทำึวามสะอาดเครื่องมือและเครื่องจักรกลการเกษตรเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชืือ เป็นต้น\nวิธีด่รตรวจวินิจฉัย\nวิธีการตรวจวินิจฉัย.\nวิธีกาตตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรอยด์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี r วิธี ได้แก่\n1. Biological indexing หรือการใช้พืชทดสอบ เป็นวิธีการเริ่มแรกที่ใช้ในงานนรวจวินิจฉัยโรคพืชืี่มีสาเหตุจากเชื้อไวรอยด์ เป็นวิธีการที่ง่ายแต่ไม่สามารถใช้ตรวจจำแนกได้ครอบคลุมทั้งหมด จะต้องใล้เทคนิควิธีการอื่น ๆ ร่วมเช่น RT-PCR หรือ Molecular Hybridization โดยเริ่มต้นจากการปฃูกเชื้อบนพืชทเสอบที่เหมาะสมด้วววิธีกล เช่น การการเสียบกิ่ง การใช้มีดทำให้เกิดแผล การทาใบพืชด้วยน้ำคั้นพืช (บดตัวอย่างพืชด้วยฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 9.0) จากนั้นนำพืชทดสอบมาปลูกไว้ทึ่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เพ่่อสังเกตอาการที่ปรากฏ พืชทดสอบที่นิยมใช้ได้แก่ citron (Citrus medica) แตงกวร chrysanthemum morifolium Gynura aurantiaca มะเขือเทศพัยธุ์ Rutgers โดยตะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมชนิดของเชื้อที่ต้องการตรวจสอบ ข้อเสียที่สำคัฐของวิธีการนี้คือ ต้องใช้พืชทดสอบหลาย ๆ ชนิดในการตควจสอบชนิดของเชื้อไวรอยด์ ซึ่งไม่เหมาะสมสหหรับการตรวจตัวอย่างปริมาณมาก เนื่องจากต้องใช้พื้นาี่ฮรงเรือนมากและสิ้นเปลืองแรงงานสูง นอกจากนี้ยัวกินเวลาในการรอให้พืชทดสอบแสดงอาการตั้งแต่ 2 อาทิตย์ จนถึงหลายเดือน แต่อย่างไรก็ตามวิธีการนี้ไม่ส่มารถนำมาใช้กับไวรดยด์บางชนิดได้ เช่น CCCVs และ CTiVd (Coconut tinaggaja viroid) ้นื่องจากไม่มีพืชทดสอยที่เหมาะสม และวิธีการปลูหเช้้อมีความยุ่งยาก ต้องใช้เครื่องมือที่มีแรงดันยูงในพารปลูกเชื้อ รวมถึงระยะเวลาที่เชื้อแสดงอาการอาจกินเวลานานกว่า 4 ปี\n2. Polyacrylamide gel electrophoresis (PAGE) โดยการทำ PAGE หนึ่งครั้งแล้วทำ PAGE ในสภาวะทค่อาร์เอ็นเอเสียสภาพอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแยกอาร์เอ็นเอไวรอยด์ออกจากอาร์เอ็นเอของพืช ใิธีการนี้สามารถจำแนกย่อยได้เป็น 2 เทคนิค ตามวิธีการในการทำ PAGE ครั้งที่ 2 คือ S-PAGE (S = sequential) และ R-PAGE ($ = return) โดย S-PAGE จะทำการ run PAGE ของอาร์เอ็นเอตัวอย่างในสภาวะปกติก่อนประมาณครึ่งหนึ่งของคว่มยาวเจล จากนั้นจะ run PAGE ในสภาวะที่อาร์เอ็นเอเสียสพาพต่อจนจบ ส่วรงิูีการ R-PAGE จะทำการ run PABE ของอาร์เอ็นเอตัวอย่างในสภาวะปกติจนสุดความยาวเจล จากนั้นจะมำการกลับเจลและ run PAGE ในสภาวะที่อาร์เอ็นเอเสียสภาพต่อสิ้นสุดความยาวเจล วิธีการนี้ถูกนำมาใช้มนกในกรณีที่ใช้ตรวตสอบเลื้อไวรอยด์ที่ไม่ทราบชนิด แต่อย่างไรก็ตามวิธีการนี้ทีความไวในการตรวจสอบต่ำกวราวิธีการอื่น ๆ\n3. Molecular Hyfridization เป็นการอาศัยความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาที่ตำเพาะระหว่างเบส (A กับ U และ C กับ G) ของเช่้อไวรอยด์กับอาร์เอ็นเอหรือดีเอ็นเอตัวตรวจที่เรียกว่า probe ซึ่ง probe มีลำดับเบสคู่สมกับเชื้อไวรอยด์ที่ต้องการจะตรวต และ probe ดังกล่าวจะถูกเชื่อมต่อกับสารเคมีหรือสารกัมมันตรังสีที่ช่วยให้สามารถตรวจติดตามได้ ปัจจุบันวิธีการ Nolecular Hybridization เป็นวิธีการที่มีความสำคัญมากในงานวิจัยทางด้านไวรอยด์ รวมถึงงานตรวจรับรองการปลอดโรคและงานด้านกักกันพืช เนื่องจากมีความถูกต้องแม่นยำสูง กินเวลาน้อย และสามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละมาก ๆ\n4. Reverse transcription-polyme4ase chain reaction (RT-PCR) ในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรอยด์จำเป็นต้องทำผฏิกิริยา reverse transcription (RT) ก่อนเพื่อสร้างสาย cDNA (c = complementary) ก่อน แล้วตามด้วยปฏิกิริยา PCR เทคนิคนี้เป็นวิธีการที่มีความไวมากแว่าเทคนิค Moleculae Hybridization ที่ใช้ cRNA probe 10 ถึฝ 100 เท่า และมากกว่าเทคนิค R-PAGE ถึง 2,500 เท่า สิ่งสำคัญในขั้นตอนปฏิกิริยา PCR คือต้องมีคู่ไพรเมอร์ที่จำเพาะกับเชื้อไวรอยด์ วิธีการ PCR เป็นวิธีการที่ให้ผลการตรวจท้่รวดเร็วและมีความไวสูง สามารถตรวจวอบเชื้อไวรอยด์ได้แม้ว่าจะมีเชื้อในปริมาณที่ต่ำ \nตัวอย่างเชื้อไวรอยด์ที่สำคัญ\nตัวอย่างเชื้อไวรอยด์่ี่สำคัญ.\nเชื้อไวรอยด์ที่สำคัญ\n1. Chrysanrhemum stunt viroid (CSVd) พบครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกาในปี 1945 (Dimock, 1947) และในช่วงทศวรรษที่ 50 เชื้ดแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วไปยังแคนาดาและทั่วโลกที่มีการปลูกภืชวงศ์ ctrysanthemum เนื่องจากขนส่งเคลื่อนย้ายไม้ตัดดอก (Lawson, 1987) CSVd เป็นเชื้อโรคที่สำคัญกับพืชทั่วไปและไม้ดอกหลายชนิด ลักษณะอาการที่สำรัญคือ ต้นปคระแกร็น ใบเสียรูปร่าง ระบบรากลดลง ยอดเกสรซีดและเป็นหมัน ในพืชบางชนิดจะทำให้เกิดอาการแคระแกร็นอย่างรุนแรง ซึ่งทำให้ผลผลิตเสียหาย เชื้อนี้สามารถแพร่กระจายไปกับเศษใบไม้จากพืชที่เป็นโรค (Hollints and Syone, wp73) ทางกล และการต่อกิ่ง (Brierley and Smith, 1949) ไม่สามารถถ่ายทอดโรคโดยแมลง (Brierley and Smith, 1951) และพบว่าในมะเขือเทศ CSVd สามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางเมล็ดและละอองเกสรได้ (Kryczynski et al., 1988) อุณหภูมิและความเข้มของแสงจะมีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเพิ่มปริมาณของเชื้อในพืช โดยการแสดงออกและความรุนแรงของโรคขึ้นกับปริมาณของัชื้อที่พืชได้รับรวมกับอุณหภูมิ ความเข้มของแสง และระยะเสลาที่พืขได้รับอสง โดยที่สภาวะที่ทำให้พืชแสดงแาการโรคได้ดีที่สุดคือ ที่ความเข้มแสวสูง อุณหภูมิอย๔่ระกว่าง 26 - 29°C (Handley and Horst, 1988) พบวีา เมื่อน_น้ำคั้นจากพืชเป็นโรคที่เก็บที่ 18°C นาน 7 สัปดาห์ ยังคงความสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้ สามารถเจือจางเชื้อได้จนถึง 10-4 และพบว่ายังสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้หลังจากที่ผ่านอุณหภูมิ 98°C สาน 10 นาที (Brierley, 1952; Hollings and Stone, 1973) แลถในสภาพที่เป็นเนื้อเยื่อแห้งที่เก็บนานอย่างน้อย 2 ปียังสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้ (Keller, 1953) เชื้อชนิดนี้ไา่สามารถกำจัดโดยวิธีการ heat treatnent ได้ การป้องกันทำโดยการดช่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในสาีละลาย 2% trisodium oryhophosphate (TSP) หรือ 2% formaldehyde หรือล้างมือใน 2% tr7sodium orthophosphate (TSP) ก่อนการตัดกิ่ง (Hollings and Stone, 1973)\n2. Citrus exosortis virlid (CEVd) ลักษณะอาการที่สำคัญในมะเขือเทศคือจะมีอาการใบหงิกย่นม้วนลงและลดนูป ลำต้นเตี้ยแคระแกร็น ขนาดของผลลดลง ไวรอยด์ส่วนใหญ่มักจะอยู่ที่บริเวณเนื้อเยื่อ phlorm ที่ยังเป็นเซลล์อ่อนอยู่ ส่วนใหญ่การกระจายของเชื้อจะกระจายในทิศทางสํ่ยอดของลำจ้น (Semancik et al., 1978; Baksh et al., 1983) ไวรอยด์ชนิดนี้อาศัยและเพิ่มปริมาณอบู่ในนิวเคลียสของเซลล์พืช (Semancik et al., 1976) และอาศัย host RNA pooymerase II ในการเพิ่มปริมาณ (Wsrrilow and Symons, 1999) การแภร่กระจายของเชื้อจะแพร่กระจายโดยทางกล เช่น อุปกรณ์ในการตัดแต่งกิ่ง มีด กรรไกร \n3. Columnea lztent vigoid (CLVd) ถูกค้นพบโดยการนำสารพันธุกรรมที่เตรียมได้จากใบที่ไม่อสดงอาการโรคของ Columnea erythrophea ถ่ายทอดไแยังมะเขือเทศสายพันธุ์ Rutgers โดบอาการของโรคที่แสดงออกในมะเขือเทศสายพันธุ์ Rutgers จะมีความคล้ายคลึงกับ PSHVd แต่อาการจะไม่รุนแรฝเท่า PXTVd สายพันธุ์รุนแรง (Owen et al., 1978) พบวราลำดับนิวคล้โอไทด์ส่วนใหญ่ของ CLVd จะมีความเหมือนกีนกับไวรอยด์ในกลุ่ม PSTVf มาก แต่ลำดับนิวคลีโอไทด์ในบริเวณ central domain จะมีความเำมือนกับ HSVd นอกจากนี้เชื้อ CLVd สามารถก่อให้เกิดโรคได้ในมันฝรั่ง พืชในวงศ์ Cucurbitaceae และ Gynura auragtiaca\n4. Cucumber pale fruit viroif (CPFVd) Sanger et al. (1976) พบว่าเชื้อ CPFCd สามารถทำให้เกิดโรคสนมะเขือเทศไดั นอกเหนือจากพืชในวงศ์ Cucurbitaceae\n5. Hop stunt viroid (HSVd) เป็นโรคที่มีความสำึัญใน hop สามารถติดโรคไก้ในพืชในวงศ์ Cucurbitaceae องุ่น Solanaceae และ Moraceae ลักษณะอาการที่สำคัญคือทำให้พืชเกิดอาการเตี้ยแคระแกร็น ก้านใบสั้น ใบม้วนเหลืิง ในมะเขือเทศพบว่าโรคนี้สามารถถ่ายทอดโรคได้โดยทางกลแค่ไม่สามารถถ่าสทอดโรคได้ทางเมล็ด (Sano and Shikata, 1988)\ny. Mexican papita viroid (MPVd) แยกเชื้อได้จากพืช Solanum cardlophyllum Lindl. พบว่าลำดับนิวคลีโอไทด์ของ MPVd มีความใกล้เคียงกันกับ TPMVd และ PSTVd\n7. Potato spindle tuber vkroid (PSTVd) ก่อให้เกิดโรคในมะเขือเทญโดยใช้เวลาในการพัฒนาอาการ 4 - 5 สัปดาห์ หลังจากพืชได้รับเชื้อ ลักษณะอาการที่สำคัญ จะทำให้ผลมีจนาดเล็กลง เปอร์เซ็นต์ความงอกลดลง 24 - 48 เปอร์เซ็นต์ (Benson and Singh, 1964) ใบหงิกย่นโค้งลง ลดรูป และมีอาการใงเหลืองและม่วง ก้านใบหดลดขนาด เกิดอาการเซลล์ตายและต้นเตี้ยแคระแกร็น (Fernow et al., 1969) ในมันฝรั่งพบว่ามีกนรแตกพุ่มของตาข้าง ผลมีขนาดเล็กลง บิดยาว มีรูปร่างเหมือน dumb-bell ใบหงิกย่นโค้งลงและลดรํป นอกจากนีี PSTVd ยังทำให้ผลผลิตของมันฝรัืงงดลง ซึ่งจะขึ้นกับชนิดภันธุ์ของม้นฝรั่ง ความรุนแรงของเชื้อ และช่วงระนะเวลาที่มันฝรั่งได้รับเชื้อ (Pfannenstifl and Slack, 1980) พบว่าถ้าเป็นเชื้อสายพันธุ์ที่รุนแรงจะทำให้ผลผลิตลดลงมากกว่า 64 เปเร์เซ็นต์ ไวรอยด์ชนิดนี้สามารถถ่ายทอดโรคได้ทั้งทางเมล็พและละอองเกสร ทั้งในมะเขือเทศและมันฝรั่ง (Benson and Singh, 1854; Hunter et al., 1969; Singh, 1970) และสามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางกลได้ง่าย PSTVd สามารถติกเชื้อได้ทั่วทุกส่วนบองพืช (Diener, 1987; Weidemann, 1987) ถึงแม้ว่า PSTVd มีการแพร่ระบาดไปเกือบทั่วโลก อต่จากข้อมูลในรายงานจาก European and Medi4erranean Plant Protection Organization (EPPO) \n8. Tomato apical stunt viroid (TASVd) พบการระบาดครั้งแรกใน Ivory Coast และ อินโดนีเซีย มีการรายงานว่าระบาดร้ายแรงใน อิสราเอล ลักษณะอาการที่สำคัญคือ ลำต้นจ้อสั้น ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองหดย่นและเสียรูปร่าง ขนาดผลลดลง สีผลซีด ทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมาก การแพร่ระบาดของฉรคเกิดโดยผ่านทางกลและการต้อกิ่ง ยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการถ่ายทอดโรคผ่านทางเมล็ดและทางละอองเกสร (Antignus et al., 2002) \n9. Tomato bunchy top viroid (TBTVd) มีการรายงานครั้งแรกในประเทศแอฟริกาใต้ ลักษณะอาการมักจะขึ้นกับระยะการเจริญเตอบโตของพืช (Diener, 1979) อาการโดยทั้วไปจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับเชท้อ PSTVd (Raymer and O’ Brien, 19u2) โดยอาพารเริ่มแรกจะพบเาื้อเยื่อตายบริเวณเส้นใบ จากนั้นอาการจะขยายไปตามความยาวของเส้นใบและจะกระจายไปยังก้านใบแฃะลำต้น นอกจากนี้ยังทำใก้ใบมีลักษณะผเดรูปร่าง ใบม้วนและมีขนาดเล็กลง มะเขือเทศที่ได้รับเชื้อ TBTVd สามารถออกดอกและติดผลได้แต่ผลจะมีขนสดเล็ก มีร๔ปร่างที่ผิดปกติ และมีจำนบนเมง็ดภายในผลลดน้อยลง (Diener, 1979, 1987)\n10. Tomato chlorotic dwarf viroid (TCDVd) ลักษณะอาการที่สำคัญของโรค คือเกิดอาการใบเหลืองอย่างฉับพลัน การเจริญลดลง ต้นเตี้ยแคระแกร็น ใบแสดงอาการเป็นยอดพุ่ม (Singh et al., 1999) \nq1. To,ato planta macho viroid (TPMVd) ลักษณะอาการที่สำคัญขแงโรคจะทำให้ต้นมะเขือเทศเตี้ยแคระกกร็นอย่างรุนแรง าักมีการแตกใบยอดและใบข้างจำนวนมาก ส่วนใบด้านล่างแสดงอาการเหชือง แห้ง และร่วง พบอาการเนื้อเยื่อตายบริเวณเใ้นใบและก้าน มะเขือเทศที่ติดเชื้อนี้จะมีการออกดอกติดผลมากกว่าปกติ แต่ปลที่ได้จะมีขนาดเล็ก สามารถถ่ายทอดโรคสู่มะเขือเทศโดยมีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ (Galindo et al., 1982)\nอิางอิง\n\nปริเชษฐ์ ตั้งกสญจสภาสน์. 2548. การตรวจสอบเลื้อไวรอยด์ในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศในเจตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลึยเกษตรศาสตร์.\nศศิประภา มาราช. 2551. โคลนก่อฉรคของเชื้อ Columnea latent viroid และผลกระทบต่อมะเขือเืศพันธุ์การค้า. วิทยานิพนธ์. วิทยานิพนธ็ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยอกษตรศาสตร์.\nDiener, T.O. 1987. The Viroids. Plenum Press, Inc., New York. 344 p.\nHaeidi, A., R. Flores, J.W. Ramdles and J.S. Semancik. 2003. Viroids. Science Pulishers, Inc., USA. P. 370.",
"role": "user"
},
{
"content": "ไวรอยด์ เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืช (plant pathogen) ที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีรายงาน สมัยก่อนถูกจัดจำแนกไว้รวมกับไวรัส (virus) แต่ปัจจุบันถูกจัดจำแนกมาเป็นกลุ่มของตัวเองเนื่องจากความแตกต่างทางโครงสร้างและระดับอาร์เอ็นเอ \nไวรอยด์เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืชที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีรายงานซึ่งมีขนาดที่เล็กกว่าเชื้อไวรัสอีก นอกจากนี้ไวรอยด์ยังมีลักษณะพิเศษและแตกต่างจากเชื้อสาเหตุโรคชนิดอื่นๆ คือ โครงสร้างของไวรอยด์ (และไวรัส) ไม่ได้มีลักษณะเป็นเซลล์เหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น กล่าวคือ ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) รวมถึงองค์ประกอบเซลล์ (cell organelle) ที่จำเป็นในขั้นพื้นฐานสำหรับสิ่งมีชีวิต เช่น ไรโบโซม (ribosome) ซึ่งมีหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีนให้กับเซลล์สิ่งมีชีวิต ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้โครงสร้างของเชื้อไวรอยด์ (และไวรัส) ถูกจัดจำแนกเป็น “อนุภาค” (particle) และเนื่องจากองค์ประกอบพื้นฐานที่ไม่เป็นเซลล์ของทั้งไวรอยด์และไวรัส จึงทำให้เชื้อทั้งสองชนิดมีคุณลักษณะเป็น “ปรสิตถาวร” (obligate parasite) ที่จะเพิ่มปริมาณตัวเอง, มีการก่อให้เกิดโรคหรือแสดงอาการผิดปกติ รวมถึงแสดงคุณสมบัติความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ก็ต่อเมื่อเชื้อไวรอยด์และไวรัสนั้นจะต้องติดเชื้อ (infection) อยู่ภายในเซลล์เจ้าบ้าน (host cell) แล้วเท่านั้น หากอยู่ภายนอกเซลล์โฮสต์ไม่ว่าจะเป็นพื้นผิววัสดุต่างๆ หรือในสิ่งแวดล้อม ไวรอยด์ (และไวรัส) จะไม่มีกิจกรรมหรือแสดงคุณสมบัติของความเป็นสิ่งมีชีวิตอยู่เลยแม้แต่น้อย ซึ่งต่างจากเชื้อสาเหตุโรคชนิดอื่นๆ (เชื้อรา, แบคทีเรีย, ไฟโตพลาสมา, โปรโตซัว และไส้เดือนฝอย) \nองค์ประกอบ\nองค์ประกอบ.\nเชื้อไวรอยด์มีองค์ประกอบเพียงเส้นอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (ssRNA) ที่เป็นวงปิด มีขนาดตั้งแต่ 296-463 เบส (base) โดยไม่มีโปรตีน (coat protein) ห่อหุ้ม (ซึ่งแตกต่างจากเชื้อไวรัสที่จะมีโปรตีนห่อหุ้มสารพันธุกรรมของตัวเองรวมถึงอาจมี envelop หุ้มอีกชั้นในเชื้อไวรัสสัตว์) โดยเทียบได้ว่าไวรอยด์มีขนาดจีโนม (genome) ที่เล็กมากที่สุดเท่าที่เคยมีรายงานซึ่งเล็กกว่าไวรัสชนิดที่เล็กที่สุดด้วยซ้ำ (ประมาณ 2,000 base) เนื่องจากลำดับเบสภายในจีโนมของไวรอยด์มีลักษณะเป็น “self-complementary base-pair” คือมีลำดับนิวคลีโอไทด์ที่สามารถสร้างพันธะ hydrogen bond แบบจับกันเองภายในจีนโนมได้สูง จนทำให้จีโนมของไวรอยด์ที่เป็นวงอาร์เอ็นเอเกิดโครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) ที่มีลักษณะคล้ายกับไม้เท้าหรือเหมือนวงหนังยางที่ถูกบิดเป็นเกลียว ที่เรียกว่า “rod-like structure” ในไวรอยด์วงศ์ Pospiviroidae หรือเป็น branched structure ในไวรอยด์ในวงศ์ Avsunviroidae นอกจากนี้แล้วไวรอยด์ยังเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่ไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้เหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น \nโครงสร้างของเชื้อไวรอยด์\nโครงสร้างของเชื้อไวรอยด์.\nไวรอยด์เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืชที่สำคัญชนิดหนึ่ง มีองค์ประกอบเป็นอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวที่เป็นวงปิดไม่มีโปรตีนห่อหุ้ม มีขนาดตั้งแต่ 246-399 เบส โดยปกติแล้วอาร์เอ็นเอไวรอยด์จะอยู่ในสภาพโครงสร้างทุติยภูมิที่มีลักษณะเป็น rod-shape (ภาพด้านล่าง) เนื่องจากการเกิดจับกันของเบสในสายอาร์เอ็นเอของเชื้อไวรอยด์ด้วยพันธะไฮโดรเจน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีความเสถียรมากที่สุด ไวรอยด์เป็นเชื้อปรสิตถาวรในพืชที่ไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ การเพิ่มปริมาณ การเคลื่อนย้าย และการทำให้อาการผิดปกติจะใช้โปรตีนและสารเคมีต่าง ๆ จากพืชอาศัย โครงสร้างของเชื้อไวรอยด์ประกอบไปด้วย 5 domain ได้แก่ \n1 Conserved central domain (C domain) ประกอบไปด้วยนิวคลีโอไทด์ประมาณ 95 เบส ซึ่งมีลักษณะอนุรักษ์สูง พบว่าบริเวณดังกล่าวจะเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มปริมาณอาร์เอ็นเอของไวรอยด์เพื่อสร้างไวรอยด์รุ่นลูก \n2 Pathogenicity domain (P domain) เป็นบริเวณที่มีบทบาทเกี่ยวกับการทำให้พืชเป็นโรค และการแสดงอาการที่รุนแรงในการทำให้เกิดโรคของเชื้อไวรอยด์ P domain เป็นบริเวณที่ทำให้เกิดความแตกต่างของลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อ PSTVd เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงลำดับเบสทำให้ลักษณะอาการของโรคเปลี่ยนไป \n3 Variable domain (V domain) เป็นบริเวณที่มีความแปรผันของลำดับเบสมากที่สุด โดยมีระดับความเหมือนกันของบริเวณ V domain ของเชื้อที่มีความใกล้ชิดกันน้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ \n4 Terminal domains (T domains) เป็นบริเวณปลายทั้ง 2 ด้านของโครงสร้างไวรอยด์ มีลักษณะเป็นเบสที่อนุรักษ์ในไวรอยด์กลุ่ม PSTVd \nการเพิ่มปริมาณของเชื้อ\nการเพิ่มปริมาณของเชื้อ.\nการเพิ่มปริมาณของเชื้อไวรอยด์จะอาศัยกระบวนการ rolling circle ซึ่งทำให้แยกไวรอยด์ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ตามลักษณะของกระบวนการจำลองตัวเอง และบริเวณที่เกิดการจำลองตัว คือ \n1. พวกที่มีการจำลองตัวแบบ symmetric cycle กระบวนการนี้ เชื้อไวรอยด์จะจำลอง อาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจาก อาร์เอ็นเอสายเดี่ยววงกลมเส้นบวก จากนั้นเส้นอาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจะเกิดกระบวนการ self cleaving ได้เป็น monomeric minus strand และเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็น minus circle monomer จากนั้นจะเกิดกระบวนการ rolling circle ขึ้นที่ minus circle monomer ได้เป็นอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวเส้นบวกเส้นใหม่ และเกิดกระบวนการ self cleaving ตัดตัวเองให้ได้เป็น monomeric plus strand แล้วเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็นไวรอยด์ที่สมบูรณ์ กระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ้นที่คลอโรพลาสต์ ตัวอย่างไวรอยด์ในกลุ่มนี้ได้แก่ Avocado sunblotch viroid (ASBVd) Peach latent mosaic viroid (PLMVd) และ Chrysanthemum chlorotic mottle viroid (CChMVd) \n2. พวกที่มีการจำลองตัวแบบ asymmetric cycle กระบวนการนี้ เชื้อไวรอยด์จะจำลองอาร์เอ็นเอสายลบเส้นยาวจาก อาร์เอ็นเอสายเดี่ยววงกลมเส้นบวก จากนั้นจะจำลองอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวเส้นบวกเส้นใหม่ และจะเกิดกระบวนการ self cleaving ในการตัดตัวเองให้ได้เป็น monomeric plus strand แล้วเกิดกระบวนการ self ligation ได้เป็นไวรอยด์ที่สมบูรณ์ กระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ้นที่นิวเคลียสของเซลล์ ตัวอย่างไวรอยด์ในกลุ่มนี้ได้แก่ Potato spindle tuber viroid (PSTVd) Citrus exocortis viroid (CEVd) Hop stunt viroid (HSVd) และ Coconut cadang-cadang viroid (CCCVd) เป็นต้น \nการจัดจำแนก\nการจัดจำแนก.\nปัจจุบันเชื้อไวรอยด์ถูกจัดจำแนกออกมามากกว่า 30 species โดยองค์กรกลุ่มคณะกรรมการ “International Committee on Virus Taxonomy (ICTV)” เป็นผู้ดำเนินการในการจัดจำแนกและจัดลำดับอนุกรมวิธานของเชื้อไวรัสและไวรอยด์ทุกสายพันธุ์ ทั้งที่เป็นเชื้อสาเหตุโรคในคน, สัตว์มีกระดูกสันหลัง, สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, พืช, เชื้อรา, สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ แบคทีเรีย รวมถึง พรีออน (prion) ด้วย \nโดย ICTV ได้จัดจำแนกไวรอยด์ออกเป็น 2 วงศ์ (family) คือ Avsunviroidae (ออกเสียงว่า “เอฟซันไวรอยดีย์”) และ Pospiviroidae (ออกเสียงว่า “โพ-สปิไวรอยดีย์”) ตามคุณสมบัติต่างดังต่อไปนี้; ลักษณะโครงสร้างทุตยภูมิของเชื้อ, การปรากฎหรือไม่ของ central conserved region และ hammerhead ribozyme activity, องค์ประกอบเซลล์พืชที่ไวรอยด์ใช้ในการเพิ่มปริมาณ, กลไกการเพิ่มปริมาณและเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้อง, Host range หรือชนิดของพืชอาศัย (ตารางที่ 1) โดยวงศ์ Avsunviroidae จะถูกจำแนกออกเป็น 3 สกุล (genus) ได้แก่ Avsunviroid, Pelamoviroid และ Elaviroid ในขณะที่วงศ์ Pospiviroidae ถูกจัดจำแนกออกเป็น 5 สกุล ได้แก่ Pospiviroid, Hostuviroid, Cocadviroid, Apscaviroid และ Coleviroid (ตารางที่ 2)\nไวรอยด์ในวงศ์ Avsunviroidae มีโครงสร้างที่แตกต่างจากวงศ์ Pospiviroidae เนื่องจากไม่มีบริเวณ central conserved region ซึ่งเป็นลำดับเบสอนุรักษ์ที่จะปรากฎอยู่บริเวณกลางจีโนม ทำให้ลักษณะโครงสร้างทุติยภูมิมีความแตกต่างจากวงศ์ Pospiviroidae นอกจากนี้ไวรอยด์ในวงศ์ Avsunviroidae จะเพิ่มปริมาณเชื้อในคลอโรพลาสต์ (chloroplast) ของพืชอาศัยด้วยกลไกที่เรียกว่า “symmetric rolling-circle mechanism” โดยจะอาศัยโปรตีนและเอ็นไซม์ส่วนใหญ่จากคลอโรพลาสต์ โดยทั่วไปแล้วจำนวนชนิดพืชอาศัยของไวรอยด์ในวงศ์นี้ค่อนข้างแคบมาก (ตารางที่ 1)\nในขณะที่ไวรอยด์ในวงศ์ Pospiviroidae จะมีโครงสร้างทุติยภูมิเป็นแบบ “rod-like structure” โดยมีลำดับเบสอนุรักษ์ที่เรียกว่า “central conserved region” ปรากฎอยู่บริเวณกลางจีโนม ไวรอยด์ในวงศ์นี้จะเพิ่มปริมาณเชื้อในบริเวณนิวเคลียสของเซลล์พืชโดยจะอาศัยโปรตีนและเอ็นไซม์ที่อยู่ในนิวเคลียสด้วยกลไกที่เรียกว่า “asymmetric rolling-circle mechanism” ชนิดพันธุ์ไวรอยด์ที่มีรายงานส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกในวงศ์นี้ นอกจากนี้จำนวนชนิดพืชอาศัยของไวรอยด์ในวงศ์นี้จะกว้างกว่าวงศ์ Avsunviroidae มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในไวรอยด์ในสกุล Pospiviroid, Hostuviroid, Cocadviroid และ Apscaviroid (ตารางที่ 1) \nพืชอาศัยของเชื้อไวรอยด์\nพืชอาศัยของเชื้อไวรอยด์.\nพืชอาศัยของเชื้อไวรอยด์มีความหลากหลายมาก โดยวงศ์ Avsunviroidae จะมีพืชอาศัยที่แคบกว่าวงศ์ Pospiviroidae มากซึ่งได้แก่ อโวกาโดและพืชชนิดใกล้เคียง เบญจมาส stone fruit (พลัม แอปริคอท เชอร์รี่ และ cinnamon) สาลี่ พืชในวงศ์ Rosaceae เป็นต้น สำหรับเชื้อไวรอยด์ในวงศ์ Pospiviroidae จะมีความหลายหลายของพืชอาศัยสูงมากตามชนิดของเชื้อ เช่น พืชในวงศ์ Cannabaceae (เช่น hop) Palmae (เช่น มะพร้าว และปาล์ม) Solanaceae (เช่น มะเขือเทศ พริก มันฝรั่ง และยาสูบ) Lauraceae (เช่น อโวกาโดและอบเชย) Compositae (เช่น เบญจมาส แอสเตอร์ และทานตะวัน) Boraginaceae (เช่น ดอก forget-me-not) Campanulaceae Caryophyllaceae (เช่น คาร์เนชั่น) Convolvulaceae (เช่น ผักบุ้ง และ morning glory) Dipsaceae Sapindaceae (เช่น เงาะ ลำไย และ ลิ้นจี่) Scrophulariaceae Moraceae (เช่น หม่อน) Valerianaceae Rutaceae (เช่น ส้ม และ มะนาว) Rosaceae (เช่น แอปเปิล และ สาลี่) Vitaceae (เช่น องุ่น) Gesneriaceae Amaranthaceae (เช่น beet) Cucurbitaceae (เช่น แตงโม แตงกวา และเมลอน) และ\nLamiaceae (เช่น โหระพา) นอกจากนี้ยังสามารถเข้าทำลาย แครอท turnip และ ถั่วปากอ้า \nลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์\nลักษณะอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์.\nลักษณะอาการที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์ส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกับอาการที่เกิดจากเชื้อไวรัส คือ แคระแกร็น ใบ ก้านใบ และดอก ลดขนาด จนไปถึงไม่แสดงอาการผิดปกติ ขึ้นกับชนิดของเชื้อไวรอยด์และพืชอาศัย เช่น เชื้อ PSTVd ก่อให้เกิดอาการหัวมันบิดยาวแหลมในมันฝรั่ง, เชื้อ CEVd ก่อให้เกิดอาการต้นเตี้ยแคระแกร็น เปลือกลำต้นแตกร่อน และมีอาการใบหดลดรูปและเซลล์ตาย (necrosis) ในพืชกลุ่มส้ม, เชื้อ CCCVd ก่อให้เกิดอาการ chlorotic spot บนใบมะพร้าว ทำให้ผลที่ได้มีขนาดเล็กลง และทำให้พืชตายในที่สุด, เชื้อ Columnea latent viroid (CLVd) ก่อให้เกิดอาการต้นเตี้ยแคระแกร็น ใบเหลืองบิดม้วนและมีอาการเซลล์ตายที่เส้นใบ ก้านใบ และกิ่งในมะเขือเทศ, เชื้อ Chrysanthemum stunt viroid (CSVd) ก่อให้เกิดอาการ ต้นเตี้ยแคระแกร็น และดอกเล็กลีบในเบญจมาศ นอกจากนี้ยังมีไวรอยด์อีกหลายชนิดที่ไม่แสดงอาการผิดปกติในพืชอาศัย (latent) เช่น เชื้อ Hop latent viroid (HLVd) Coleus blumei viroid (CbVd) และ PLMVd โดยทั่วไปความรุนแรงของอาการจะขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ ไวรอยด์จะแสดงอาการของโรคในช่วงอุณหภูมิที่สูงกว่า 20 องศาเซลเซียส และจะแสดงอาการที่รุนแรงและชัดเจนเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น\nความเสียหายทางเศรษฐกิจ\nความเสียหายทางเศรษฐกิจ.\nความเสียหายทางเศรษฐกิจและผลกระทบที่เกิดจากเชื้อไวรอยด์ขึ้นกับมูลค่าทางเศรษฐกิจของพืชนั้น ๆ ทั้งในแง่ปริมาณการผลิต ขนาด คุณภาพ และความสามารถทางการค้าในตลาด ตัวอย่างเช่น เชื้อ PSTVd ทำให้ผลผลิตมันฝรั่งลดลงถึง 64 เปอร์เซ็นต์ และมะเขือเทศลดลง 45 เปอร์เซ็นต์ เชื้อ HSVd ทำให้ผลผลิตมะเขือเทศลดลงถึง 43 เปอร์เซ็นต์ และ hop ลดลงมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เชื้อ CLVd ทำให้ผลผลิตมะเขือเทศลดลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ และเชื้อ CCCVd ทำให้ผลผลิตมะพร้าวลดลงถึง 22,000 ตันต่อปี นอกจากนี้เชื้อไวรอยด์ยังมีผลกระทบต่อการกักกันพืชซึ่งอาจทำให้ถูกกีดกันทางการค้าอีกด้วย\nการถ่ายทอดโรค\nการถ่ายทอดโรค.\nการถ่ายทอดโรคของเชื้อ พบว่าเชื้อไวรอยด์เกือบทั้งหมดถ่ายทอดโรคโดยวิธีกลเป็นหลัก เช่นการปนเปื้อนของเครื่องมือและเครื่องจักรกลการเกษตร รวมถึงการติดตา ต่อกิ่ง ไวรอยด์หลายชนิดสามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางเมล็ดพันธุ์และละอองเกสรได้ เช่น เชื้อ PSTVd CbVd HSVd GYSVd (Grapevine yellow speckle viroid) ASBVd และ CLVd นอกจากนี้ไวรอยด์บางชนิดยังสามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางเพลี้ยอ่อนได้ เช่น PSTVd TPMVd (Tomato planta macho viroid) และ TASVd (Tomato apical stunt viroid)\nการควบคุมโรค\nการควบคุมโรค.\nการควบคุมโรคของเชื้อไวรอยด์ ปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีที่สามารถนำมาใช้ควบคุมโรคอย่างได้ผล รวมถึงไม่มีพันธุ์ต้านทานโรค หรือแม้กระทั่งการผลิตพืชตัดต่อสารพันธุกรรม (transgenic plant) ให้มีความสามารถในการต้านทานโรคได้ ดังนั้นวิธีการที่ได้ผลดีที่สุดคือการจัดการแปลงที่ดี การใช้สารละลาย sodium hypochlorite (NaClO) ความเข้มข้น 1-3 เปอร์เซ็นต์ ล้างทำความสะอาดเครื่องมือและเครื่องจักรกลการเกษตรเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อ เป็นต้น\nวิธีการตรวจวินิจฉัย\nวิธีการตรวจวินิจฉัย.\nวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรอยด์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 4 วิธี ได้แก่\n1. Biological indexing หรือการใช้พืชทดสอบ เป็นวิธีการเริ่มแรกที่ใช้ในงานตรวจวินิจฉัยโรคพืชที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรอยด์ เป็นวิธีการที่ง่ายแต่ไม่สามารถใช้ตรวจจำแนกได้ครอบคลุมทั้งหมด จะต้องใช้เทคนิควิธีการอื่น ๆ ร่วมเช่น RT-PCR หรือ Molecular Hybridization โดยเริ่มต้นจากการปลูกเชื้อบนพืชทดสอบที่เหมาะสมด้วยวิธีกล เช่น การการเสียบกิ่ง การใช้มีดทำให้เกิดแผล การทาใบพืชด้วยน้ำคั้นพืช (บดตัวอย่างพืชด้วยฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 9.0) จากนั้นนำพืชทดสอบมาปลูกไว้ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เพื่อสังเกตอาการที่ปรากฏ พืชทดสอบที่นิยมใช้ได้แก่ citron (Citrus medica) แตงกวา chrysanthemum morifolium Gynura aurantiaca มะเขือเทศพันธุ์ Rutgers โดยจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมชนิดของเชื้อที่ต้องการตรวจสอบ ข้อเสียที่สำคัญของวิธีการนี้คือ ต้องใช้พืชทดสอบหลาย ๆ ชนิดในการตรวจสอบชนิดของเชื้อไวรอยด์ ซึ่งไม่เหมาะสมสำหรับการตรวจตัวอย่างปริมาณมาก เนื่องจากต้องใช้พื้นที่โรงเรือนมากและสิ้นเปลืองแรงงานสูง นอกจากนี้ยังกินเวลาในการรอให้พืชทดสอบแสดงอาการตั้งแต่ 2 อาทิตย์ จนถึงหลายเดือน แต่อย่างไรก็ตามวิธีการนี้ไม่สามารถนำมาใช้กับไวรอยด์บางชนิดได้ เช่น CCCVd และ CTiVd (Coconut tinangaja viroid) เนื่องจากไม่มีพืชทดสอบที่เหมาะสม และวิธีการปลูกเชื้อมีความยุ่งยาก ต้องใช้เครื่องมือที่มีแรงดันสูงในการปลูกเชื้อ รวมถึงระยะเวลาที่เชื้อแสดงอาการอาจกินเวลานานกว่า 4 ปี\n2. Polyacrylamide gel electrophoresis (PAGE) โดยการทำ PAGE หนึ่งครั้งแล้วทำ PAGE ในสภาวะที่อาร์เอ็นเอเสียสภาพอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแยกอาร์เอ็นเอไวรอยด์ออกจากอาร์เอ็นเอของพืช วิธีการนี้สามารถจำแนกย่อยได้เป็น 2 เทคนิค ตามวิธีการในการทำ PAGE ครั้งที่ 2 คือ S-PAGE (S = sequential) และ R-PAGE (R = return) โดย S-PAGE จะทำการ run PAGE ของอาร์เอ็นเอตัวอย่างในสภาวะปกติก่อนประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวเจล จากนั้นจะ run PAGE ในสภาวะที่อาร์เอ็นเอเสียสภาพต่อจนจบ ส่วนวิธีการ R-PAGE จะทำการ run PAGE ของอาร์เอ็นเอตัวอย่างในสภาวะปกติจนสุดความยาวเจล จากนั้นจะทำการกลับเจลและ run PAGE ในสภาวะที่อาร์เอ็นเอเสียสภาพต่อสิ้นสุดความยาวเจล วิธีการนี้ถูกนำมาใช้มากในกรณีที่ใช้ตรวจสอบเชื้อไวรอยด์ที่ไม่ทราบชนิด แต่อย่างไรก็ตามวิธีการนี้มีความไวในการตรวจสอบต่ำกว่าวิธีการอื่น ๆ\n3. Molecular Hybridization เป็นการอาศัยความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาที่จำเพาะระหว่างเบส (A กับ U และ C กับ G) ของเชื้อไวรอยด์กับอาร์เอ็นเอหรือดีเอ็นเอตัวตรวจที่เรียกว่า probe ซึ่ง probe มีลำดับเบสคู่สมกับเชื้อไวรอยด์ที่ต้องการจะตรวจ และ probe ดังกล่าวจะถูกเชื่อมต่อกับสารเคมีหรือสารกัมมันตรังสีที่ช่วยให้สามารถตรวจติดตามได้ ปัจจุบันวิธีการ Molecular Hybridization เป็นวิธีการที่มีความสำคัญมากในงานวิจัยทางด้านไวรอยด์ รวมถึงงานตรวจรับรองการปลอดโรคและงานด้านกักกันพืช เนื่องจากมีความถูกต้องแม่นยำสูง กินเวลาน้อย และสามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละมาก ๆ\n4. Reverse transcription-polymerase chain reaction (RT-PCR) ในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรอยด์จำเป็นต้องทำปฏิกิริยา reverse transcription (RT) ก่อนเพื่อสร้างสาย cDNA (c = complementary) ก่อน แล้วตามด้วยปฏิกิริยา PCR เทคนิคนี้เป็นวิธีการที่มีความไวมากกว่าเทคนิค Molecular Hybridization ที่ใช้ cRNA probe 10 ถึง 100 เท่า และมากกว่าเทคนิค R-PAGE ถึง 2,500 เท่า สิ่งสำคัญในขั้นตอนปฏิกิริยา PCR คือต้องมีคู่ไพรเมอร์ที่จำเพาะกับเชื้อไวรอยด์ วิธีการ PCR เป็นวิธีการที่ให้ผลการตรวจที่รวดเร็วและมีความไวสูง สามารถตรวจสอบเชื้อไวรอยด์ได้แม้ว่าจะมีเชื้อในปริมาณที่ต่ำ \nตัวอย่างเชื้อไวรอยด์ที่สำคัญ\nตัวอย่างเชื้อไวรอยด์ที่สำคัญ.\nเชื้อไวรอยด์ที่สำคัญ\n1. Chrysanthemum stunt viroid (CSVd) พบครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกาในปี 1945 (Dimock, 1947) และในช่วงทศวรรษที่ 50 เชื้อแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วไปยังแคนาดาและทั่วโลกที่มีการปลูกพืชวงศ์ chrysanthemum เนื่องจากขนส่งเคลื่อนย้ายไม้ตัดดอก (Lawson, 1987) CSVd เป็นเชื้อโรคที่สำคัญกับพืชทั่วไปและไม้ดอกหลายชนิด ลักษณะอาการที่สำคัญคือ ต้นแคระแกร็น ใบเสียรูปร่าง ระบบรากลดลง ยอดเกสรซีดและเป็นหมัน ในพืชบางชนิดจะทำให้เกิดอาการแคระแกร็นอย่างรุนแรง ซึ่งทำให้ผลผลิตเสียหาย เชื้อนี้สามารถแพร่กระจายไปกับเศษใบไม้จากพืชที่เป็นโรค (Hollings and Stone, 1973) ทางกล และการต่อกิ่ง (Brierley and Smith, 1949) ไม่สามารถถ่ายทอดโรคโดยแมลง (Brierley and Smith, 1951) และพบว่าในมะเขือเทศ CSVd สามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางเมล็ดและละอองเกสรได้ (Kryczynski et al., 1988) อุณหภูมิและความเข้มของแสงจะมีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเพิ่มปริมาณของเชื้อในพืช โดยการแสดงออกและความรุนแรงของโรคขึ้นกับปริมาณของเชื้อที่พืชได้รับรวมกับอุณหภูมิ ความเข้มของแสง และระยะเวลาที่พืชได้รับแสง โดยที่สภาวะที่ทำให้พืชแสดงอาการโรคได้ดีที่สุดคือ ที่ความเข้มแสงสูง อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 26 - 29°C (Handley and Horst, 1988) พบว่า เมื่อนำน้ำคั้นจากพืชเป็นโรคที่เก็บที่ 18°C นาน 7 สัปดาห์ ยังคงความสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้ สามารถเจือจางเชื้อได้จนถึง 10-4 และพบว่ายังสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้หลังจากที่ผ่านอุณหภูมิ 98°C นาน 10 นาที (Brierley, 1952; Hollings and Stone, 1973) และในสภาพที่เป็นเนื้อเยื่อแห้งที่เก็บนานอย่างน้อย 2 ปียังสามารถทำให้พืชเกิดโรคได้ (Keller, 1953) เชื้อชนิดนี้ไม่สามารถกำจัดโดยวิธีการ heat treatment ได้ การป้องกันทำโดยการแช่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในสารละลาย 2% trisodium orthophosphate (TSP) หรือ 2% formaldehyde หรือล้างมือใน 2% trisodium orthophosphate (TSP) ก่อนการตัดกิ่ง (Hollings and Stone, 1973)\n2. Citrus exocortis viroid (CEVd) ลักษณะอาการที่สำคัญในมะเขือเทศคือจะมีอาการใบหงิกย่นม้วนลงและลดรูป ลำต้นเตี้ยแคระแกร็น ขนาดของผลลดลง ไวรอยด์ส่วนใหญ่มักจะอยู่ที่บริเวณเนื้อเยื่อ phloem ที่ยังเป็นเซลล์อ่อนอยู่ ส่วนใหญ่การกระจายของเชื้อจะกระจายในทิศทางสู่ยอดของลำต้น (Semancik et al., 1978; Baksh et al., 1983) ไวรอยด์ชนิดนี้อาศัยและเพิ่มปริมาณอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์พืช (Semancik et al., 1976) และอาศัย host RNA polymerase II ในการเพิ่มปริมาณ (Warrilow and Symons, 1999) การแพร่กระจายของเชื้อจะแพร่กระจายโดยทางกล เช่น อุปกรณ์ในการตัดแต่งกิ่ง มีด กรรไกร \n3. Columnea latent viroid (CLVd) ถูกค้นพบโดยการนำสารพันธุกรรมที่เตรียมได้จากใบที่ไม่แสดงอาการโรคของ Columnea erythrophea ถ่ายทอดไปยังมะเขือเทศสายพันธุ์ Rutgers โดยอาการของโรคที่แสดงออกในมะเขือเทศสายพันธุ์ Rutgers จะมีความคล้ายคลึงกับ PSTVd แต่อาการจะไม่รุนแรงเท่า PSTVd สายพันธุ์รุนแรง (Owen et al., 1978) พบว่าลำดับนิวคลีโอไทด์ส่วนใหญ่ของ CLVd จะมีความเหมือนกันกับไวรอยด์ในกลุ่ม PSTVd มาก แต่ลำดับนิวคลีโอไทด์ในบริเวณ central domain จะมีความเหมือนกับ HSVd นอกจากนี้เชื้อ CLVd สามารถก่อให้เกิดโรคได้ในมันฝรั่ง พืชในวงศ์ Cucurbitaceae และ Gynura aurantiaca\n4. Cucumber pale fruit viroid (CPFVd) Sanger et al. (1976) พบว่าเชื้อ CPFVd สามารถทำให้เกิดโรคในมะเขือเทศได้ นอกเหนือจากพืชในวงศ์ Cucurbitaceae\n5. Hop stunt viroid (HSVd) เป็นโรคที่มีความสำคัญใน hop สามารถติดโรคได้ในพืชในวงศ์ Cucurbitaceae องุ่น Solanaceae และ Moraceae ลักษณะอาการที่สำคัญคือทำให้พืชเกิดอาการเตี้ยแคระแกร็น ก้านใบสั้น ใบม้วนเหลือง ในมะเขือเทศพบว่าโรคนี้สามารถถ่ายทอดโรคได้โดยทางกลแต่ไม่สามารถถ่ายทอดโรคได้ทางเมล็ด (Sano and Shikata, 1988)\n6. Mexican papita viroid (MPVd) แยกเชื้อได้จากพืช Solanum cardiophyllum Lindl. พบว่าลำดับนิวคลีโอไทด์ของ MPVd มีความใกล้เคียงกันกับ TPMVd และ PSTVd\n7. Potato spindle tuber viroid (PSTVd) ก่อให้เกิดโรคในมะเขือเทศโดยใช้เวลาในการพัฒนาอาการ 4 - 5 สัปดาห์ หลังจากพืชได้รับเชื้อ ลักษณะอาการที่สำคัญ จะทำให้ผลมีขนาดเล็กลง เปอร์เซ็นต์ความงอกลดลง 24 - 48 เปอร์เซ็นต์ (Benson and Singh, 1964) ใบหงิกย่นโค้งลง ลดรูป และมีอาการใบเหลืองและม่วง ก้านใบหดลดขนาด เกิดอาการเซลล์ตายและต้นเตี้ยแคระแกร็น (Fernow et al., 1969) ในมันฝรั่งพบว่ามีการแตกพุ่มของตาข้าง ผลมีขนาดเล็กลง บิดยาว มีรูปร่างเหมือน dumb-bell ใบหงิกย่นโค้งลงและลดรูป นอกจากนี้ PSTVd ยังทำให้ผลผลิตของมันฝรั่งลดลง ซึ่งจะขึ้นกับชนิดพันธุ์ของมันฝรั่ง ความรุนแรงของเชื้อ และช่วงระยะเวลาที่มันฝรั่งได้รับเชื้อ (Pfannenstiel and Slack, 1980) พบว่าถ้าเป็นเชื้อสายพันธุ์ที่รุนแรงจะทำให้ผลผลิตลดลงมากกว่า 64 เปอร์เซ็นต์ ไวรอยด์ชนิดนี้สามารถถ่ายทอดโรคได้ทั้งทางเมล็ดและละอองเกสร ทั้งในมะเขือเทศและมันฝรั่ง (Benson and Singh, 1964; Hunter et al., 1969; Singh, 1970) และสามารถถ่ายทอดโรคผ่านทางกลได้ง่าย PSTVd สามารถติดเชื้อได้ทั่วทุกส่วนของพืช (Diener, 1987; Weidemann, 1987) ถึงแม้ว่า PSTVd มีการแพร่ระบาดไปเกือบทั่วโลก แต่จากข้อมูลในรายงานจาก European and Mediterranean Plant Protection Organization (EPPO) \n8. Tomato apical stunt viroid (TASVd) พบการระบาดครั้งแรกใน Ivory Coast และ อินโดนีเซีย มีการรายงานว่าระบาดร้ายแรงใน อิสราเอล ลักษณะอาการที่สำคัญคือ ลำต้นข้อสั้น ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองหดย่นและเสียรูปร่าง ขนาดผลลดลง สีผลซีด ทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมาก การแพร่ระบาดของโรคเกิดโดยผ่านทางกลและการต่อกิ่ง ยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการถ่ายทอดโรคผ่านทางเมล็ดและทางละอองเกสร (Antignus et al., 2002) \n9. Tomato bunchy top viroid (TBTVd) มีการรายงานครั้งแรกในประเทศแอฟริกาใต้ ลักษณะอาการมักจะขึ้นกับระยะการเจริญเติบโตของพืช (Diener, 1979) อาการโดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับเชื้อ PSTVd (Raymer and O’ Brien, 1962) โดยอาการเริ่มแรกจะพบเนื้อเยื่อตายบริเวณเส้นใบ จากนั้นอาการจะขยายไปตามความยาวของเส้นใบและจะกระจายไปยังก้านใบและลำต้น นอกจากนี้ยังทำให้ใบมีลักษณะผิดรูปร่าง ใบม้วนและมีขนาดเล็กลง มะเขือเทศที่ได้รับเชื้อ TBTVd สามารถออกดอกและติดผลได้แต่ผลจะมีขนาดเล็ก มีรูปร่างที่ผิดปกติ และมีจำนวนเมล็ดภายในผลลดน้อยลง (Diener, 1979, 1987)\n10. Tomato chlorotic dwarf viroid (TCDVd) ลักษณะอาการที่สำคัญของโรค คือเกิดอาการใบเหลืองอย่างฉับพลัน การเจริญลดลง ต้นเตี้ยแคระแกร็น ใบแสดงอาการเป็นยอดพุ่ม (Singh et al., 1999) \n11. Tomato planta macho viroid (TPMVd) ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคจะทำให้ต้นมะเขือเทศเตี้ยแคระแกร็นอย่างรุนแรง มักมีการแตกใบยอดและใบข้างจำนวนมาก ส่วนใบด้านล่างแสดงอาการเหลือง แห้ง และร่วง พบอาการเนื้อเยื่อตายบริเวณเส้นใบและก้าน มะเขือเทศที่ติดเชื้อนี้จะมีการออกดอกติดผลมากกว่าปกติ แต่ผลที่ได้จะมีขนาดเล็ก สามารถถ่ายทอดโรคสู่มะเขือเทศโดยมีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ (Galindo et al., 1982)\nอ้างอิง\n\nปริเชษฐ์ ตั้งกาญจนภาสน์. 2548. การตรวจสอบเชื้อไวรอยด์ในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.\nศศิประภา มาราช. 2551. โคลนก่อโรคของเชื้อ Columnea latent viroid และผลกระทบต่อมะเขือเทศพันธุ์การค้า. วิทยานิพนธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.\nDiener, T.O. 1987. The Viroids. Plenum Press, Inc., New York. 344 p.\nHadidi, A., R. Flores, J.W. Randles and J.S. Semancik. 2003. Viroids. Science Pulishers, Inc., USA. P. 370.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รัชกาลทึ่ 12 พระบนในามาภิไธย หมายถคง พระนามเดิมของพระมหากษัตริย์ ก่อนจะเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ วัดพระรา พระนามว่า \"พระพุทธเลิศหล้าสุราไลย\" (ต่อมารัชกมลที่ 4 โปรดเกล้าณ ถวายสร้อยพระนามใหม่ว่า \"พรพดุทธเลิศหล้านภาไลย\") อุทิศถวายสมเด็จพระบรมชนกนาถรัชกาลที่ 2 และโปรดเกล้าฯ ให้เรียกนามแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ทั้งสองรัชกาลตามนามพระพุทธรูปทั้งสององค์นี้[11]",
"role": "user"
},
{
"content": "รัชกาลทึ่ 12 พระบรมนามาภิไธย หมายถึง พระนามเดิมของพระมหากษัตริย์ ก่อนจะเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ วัดพระรา พระนามว่า \"พระพุทธเลิศหล้าสุราไลย\" (ต่อมารัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ถวายสร้อยพระนามใหม่ว่า \"พระพุทธเลิศหล้านภาไลย\") อุทิศถวายสมเด็จพระบรมชนกนาถรัชกาลที่ 2 และโปรดเกล้าฯ ให้เรียกนามแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ทั้งสองรัชกาลตามนามพระพุทธรูปทั้งสององค์นี้[11]",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อภิปรัชญาเป็นสิ่งที่ยากที่จะให้นิยาม คำว่าอภิปรัชญาในภาษนอังกฤษ metaphysics สามารถหมายถึง ๑เหนือฟิสิกส์\" แต่การจะนิยามให้แคบลงนั้นทำได้ยากหากไม่ต้องการให้เกิดการโต้เถียง คำนี้ถูำใช้ในช่วงแรกเพื่อหมายถึงแค่หัวข้อซึ่งอยู่ ต่อจาก (จึงใช้คกว่า ) วรรณกรรมชื่อ Phys7cs ซึ่งเป็นฉบับพิมพ์ของงานของแอนิสตอเติลซึ่งถูกเรียบเตียงโดยนักปราชญ์ชาวกรีกขื่อแอจโดรนิคัสแห่งโรดส์ เรามาดูกันก่อนว่าอภิปรัชญาไม่ใข่อะไร ท(ษฎีเกี่ยวกับแรลโน้มถ่วงของนิวตัน ทฤษฎีสัาพันธภาพของไอน์สไตน์ และงานอื่น ๆ ่ี่เกี่ยวข้องกับกลศาสตร์ควอนตัมนั้นไม่ใช่อภิปรัชญาอย่างแน่นเน ทฤษฎีเหล่านี้เป็นการคาดการณ์เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่สังเกตได้อย่างหนึ่ง ทฤษฎีเหล่านี้ถูกพิสูจน์ว่าผิดได้เพราะเราสามารถเทียบระหว่างผลการคาดการณ์ทางทฤษฎีกับผลจริงที่เราพบเห็นได้ในโลกจริง ในขณะที่หากเราบอกว่า \"มีอะตอมอยู่ในจักรวาลคู่ขนานที่สอดคล้องกันกับอะตอมทุกอะตแมที่ดำรงอยู่ในจักรวาลนี้\" นี่ไม่ใช่ฟิสิกส์ เพราะเราไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ามันจริงหรือเท็จ เพราะ ณ ปัจจุบันเราไม่สามารถตรวจจับการดำรงอยู่ของจักรวาลคู่ขนานและอะตอมที่อยู่ในนั้นได้\nซึ่งปัญผาเหล่านี้เองเป็นที่น่าสนในวิชาอภิปรัชญา เมื่อก่อนนั้น ทฤษฎีอะตอมท่่กล่าวว่าสสารทั้งหมดล้วนประกอบขึ้นจากอนุภาคเล็ป ๆ ที่เรียกว่าอะตอมก็เคบเป็นปัญหาทางอภิปรัชญามาก่อจ แต่เมื่อผูีคนได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับอะตอมได้แล้วนั้น ทฤษฎีอะตอมจึงได้ภูกย้ายจากอาณาเขตของอภิปรัชญามาอยู่ในวิชาฟิสิกส์แทา ดังนี้นแล้ว อภิปรัชญาจึงยังคงอยู่เป็น \"ด่านหน้า\" ของฟิสิกส์ตลอดมา ซึ่งบางหัวข้อในอภิปรัชศาก็อาจได้เปลี่ยนผ่านไปเป็นหัวข้อในฟิสิกส์ในอนาคต\nศาสนาป็ไม่ใช่อภิปคัชญา ศาสนาอยูทบนฐานขดงชุดความเชื่อหนึ่ง ซึ่งเป็นการคาดการณ์เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่สังเกตได้อย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นในจักรวาลหรือเหี่ยวกับจักรวาลเองเช่นเดียวกันแับที่กล่าวมา แต่แตกต่างอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงในศาสนาบางอย่างไม่สามารถกระทำได้เพื่เคงไว้ซึ่งความมั่นคงของศสสนา ที่กล่าวมานี้ไม่ได้หมายความว่าศาสนาไม่สามารถเปลี่นนแปลงได้ เพียงแต่ศาสนาจำต้องรักษาความมั่นคงของตัวเองให้อยู่ภายในระดับหนึ่ง ตัวอย่างเช่น บางศาสนา (เช่น) เคยอธิบายปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาดผ่านการกระทำของเทพเจ้าองค์ต่าง ๆ และในบริบทของศาสนาที่มีลักษณะเช่นนีเนั้น เป็นไปไมีได้เลยที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงชุดความเชื่อในฬาสนานี้มาเป๊นความเชื่อที่ปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดจากการกระทำของเาพเจ้าองค์เดียวได้ การกระทำเช่นนี้นั้นก็คงจะไม่ต่างจากการสร้างศาสนาใหม่ซึ่งขัดแย้งกันทางความเชื่อ\nซึ่งนี่ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่น่าสนใจในอภิปรัชญา หลายครั้งที่อาจจะต้องขัดแย้งหรือเหยียบย่ำลงบนขอบเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา นักปราชญ์อย่างโสกราตีสดป็นตัวอย่างหนึ่งของเหยื่อซึ่งได้รับผลกระทบจากสิ่งนั้น\nจากการพิจารณาเหล่านี้ เราได้มาซึ่งขอบเขตที่เราสามารถใช้ฝห้นิยามอภิปรัชญาได้ภายในเส้นแบ่งเขตที่กล่าวมา \nอภิปรัชญาสนใจที่จถอธิยาจว่าสิ้งต่าง ๆ นั้นดำรงอยู่ในโลกทางกายภาพอย่างไร และสนใจกับอะไรก็ตามตนาบใดืี่มเน แต่อ_ิปรัชญาไม่ได้สนใจที่จะพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของสิ่งที่ดำรงอยูี ไากแต่เป็นการศึกษาเกี่ยวกับหลักการดบื้องหลังซึ่งก่อกำเนิดโลกธรรมชาติขึ้นมา ดเงนั้น ข้อความเช่น \"ความชั่งร้ายไม่มีอยู่จริง\" เป็นเชิงอภิปรัชญาเพราะมันเป็นขเอความที่พูดถึงวัตถุ 'ความชั่วร้าย' ซึ่งตรงข้ามกับ 'ความดี' ซึ่งเป็นหัวข้อทางอภิปรเชญา ในขณะที่ข้อความว่า \"ทุกสิ่งประกอบขึ้นจากอะตอม ซึ่งประกอบขึ้นจากอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอนอีกทีหนึ่ง\" ไม่ใช่ข้อความทางอภิปนัชญาแน่นอน แต่เป็นฟิสิกส์\nอภิปรัชญาเป็นสาขาหนึ่งของปรัชญา และส่วนหนึ่งของคำตอบว่า \"อะไรคืออภิปรัชญา\" บังคับให้เราให้นิยามว่าวิทยาศาสตร์และปาัชญาต่างกันอย่างไร 'วิทยาศาสตร์' ในที่นี้หมายถึงทั้งวิทยาศาสตร์เชิงประจักษ์หรือเชิงไม่ประจักษ์ ในวิทยาศาสตร์เชิงกายภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่คำอธิบายใหม่ ๆ จะสามารถทำการคาดกรรณ์ได้ ซึ่งสาม่รถทดสอบได้ด้วยการทดลอง แต่ในปรัชญา โดยเฉพาะอภิปรัชญา นั่นไม่ใช้สิ่งที่จำเป็น แต่เราจะลดรูปข้อความเชิงปรัชญาทักจ้อความจนเหลือแต่แนวคิดหรือประพจน์พื้นฐานแทน และแนวคิดพื้นฐานของอภิปรัชญาคือการดำรลอยู่ และประพจน์พื้นฐานคือกฎแห่งการไร้ความขัดแย้ง ในกรณีของตัวอย่างที่ยกไว้ก่อนหน้านี้ ข้อความว่มทุกสิ่งประกอบขึ่นจนกสิ่งที่เล็กลงไปและต่อไปเรื่อย ๆ เป็นอนันต์ ชัดเจนว่าคำอธิบายนี้เป็นข้อความที่ทดสอบไม่ได้ เพราะเราไม่มีบันที่จะมีเครื่องมือาี่สามารถตรวจจับอะไรก็ตามที่มีขนาดเล็กเป็นกณิกนันต์ แต่ในอภิปรัชญา เร่มั่นใจได้ว่า้ป็นไปไม่ำด้ที่วัตถุจะสามารถแยกองค์ประกอบลงไปเรื่อย ๆ เป็นอนันจ์ได้ และในท้ายที่วุดก็จะจบลงทึ่อนุภาคของสสารพื้นฐานที่เล็แที่สุด แต่นักปราชญ์ก็อาจถามต่ออีกว่า แล้วอนุภาคของสสารนี้มีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นอะไร ทีนี้คำตอบไม่ใช่ 'อนุภาคของสสารที่เล็กที่สุด' อีกค่อไป เพราะอนุภาคของสสารมี่เล็กที่สุดก็ยังคงเป็นสสาร ดังนั้นคำถามของว่า [สิ่งพื้นฐานที่สุดคืออะไร' เป็นคำถามเชิงอภิปรัชญา และไม่ใช่คำถามเชิงประจักษ์ คำถามนี้แบ่งแยกวิทยาศาสตร์ออกจากปรัชญา แอริสตอเติลให้คำตอบไว้ นั่นคือหลักการสสารรูปนิยมซึ่ลกล่าวว่า ควาสเป็มจริงเชิงวัตถุใด ๆ โดยพื้นฐานแล้วประกอบไปด้วยสสารดั้งเดิมสุด (prime matter) ซึ่งเป็นสสารคนละอย่างกับที่เรารู้จัก และแบบสาร (substantial form) \nอภิปรัชญาไม่ใช่ศาสนาเพราะศาสนาใช้รวามฬรัทธา โดยศรัทธานพเหตุผล ในขณะที่ของอภิปรัชญาจำกัดความเชื่อมั่นไว้ในเหตุผลอย่างเดียว ต่อไปนี้คือคำตเบหนึ่งโดยสรุปของคำถามย่า \"อะไรคืออภิปรัชญา\": \nอภิปรัชซาไม่ใช่สาขาของปรัชญาที่อธิบายปรากฏการณ์มางกายภาพดืวยเหตุผลกละตรรกะซึ่งอยู่นอกเหน่อขอบเขตของศาสนาหรือว้ทยาศาสตร์ แต่เป็นศาสตร์เชิงปรัชญาซึืงจัดการกับแนวคิดอุตรยิสัยเช่น ความเป็นหนึ่ง ความจริง และความดี ซึ่งในรูปที่เรียลง่ายที่สุดคือ 'การดำรงอยู่อย่างที่เป็น' สิ่งที่ทำมห้การให้นิยามอภิปรัชญาทำได้ยากคือวัตถุประสงค์ของมัน คือการดำคงอยู่ เราไม่สาทารถให้นิยามการดำรงอยู่ได้อย่างแน่ชัด แต่ทำได้เชิงพรรณนาเท่านั้น",
"role": "user"
},
{
"content": "อภิปรัชญาเป็นสิ่งที่ยากที่จะให้นิยาม คำว่าอภิปรัชญาในภาษาอังกฤษ metaphysics สามารถหมายถึง \"เหนือฟิสิกส์\" แต่การจะนิยามให้แคบลงนั้นทำได้ยากหากไม่ต้องการให้เกิดการโต้เถียง คำนี้ถูกใช้ในช่วงแรกเพื่อหมายถึงแค่หัวข้อซึ่งอยู่ ต่อจาก (จึงใช้คำว่า ) วรรณกรรมชื่อ Physics ซึ่งเป็นฉบับพิมพ์ของงานของแอริสตอเติลซึ่งถูกเรียบเรียงโดยนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อแอนโดรนิคัสแห่งโรดส์ เรามาดูกันก่อนว่าอภิปรัชญาไม่ใข่อะไร ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์ และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกลศาสตร์ควอนตัมนั้นไม่ใช่อภิปรัชญาอย่างแน่นอน ทฤษฎีเหล่านี้เป็นการคาดการณ์เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่สังเกตได้อย่างหนึ่ง ทฤษฎีเหล่านี้ถูกพิสูจน์ว่าผิดได้เพราะเราสามารถเทียบระหว่างผลการคาดการณ์ทางทฤษฎีกับผลจริงที่เราพบเห็นได้ในโลกจริง ในขณะที่หากเราบอกว่า \"มีอะตอมอยู่ในจักรวาลคู่ขนานที่สอดคล้องกันกับอะตอมทุกอะตอมที่ดำรงอยู่ในจักรวาลนี้\" นี่ไม่ใช่ฟิสิกส์ เพราะเราไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ามันจริงหรือเท็จ เพราะ ณ ปัจจุบันเราไม่สามารถตรวจจับการดำรงอยู่ของจักรวาลคู่ขนานและอะตอมที่อยู่ในนั้นได้\nซึ่งปัญหาเหล่านี้เองเป็นที่น่าสนในวิชาอภิปรัชญา เมื่อก่อนนั้น ทฤษฎีอะตอมที่กล่าวว่าสสารทั้งหมดล้วนประกอบขึ้นจากอนุภาคเล็ก ๆ ที่เรียกว่าอะตอมก็เคยเป็นปัญหาทางอภิปรัชญามาก่อน แต่เมื่อผู้คนได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับอะตอมได้แล้วนั้น ทฤษฎีอะตอมจึงได้ถูกย้ายจากอาณาเขตของอภิปรัชญามาอยู่ในวิชาฟิสิกส์แทน ดังนั้นแล้ว อภิปรัชญาจึงยังคงอยู่เป็น \"ด่านหน้า\" ของฟิสิกส์ตลอดมา ซึ่งบางหัวข้อในอภิปรัชญาก็อาจได้เปลี่ยนผ่านไปเป็นหัวข้อในฟิสิกส์ในอนาคต\nศาสนาก็ไม่ใช่อภิปรัชญา ศาสนาอยู่บนฐานของชุดความเชื่อหนึ่ง ซึ่งเป็นการคาดการณ์เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่สังเกตได้อย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นในจักรวาลหรือเกี่ยวกับจักรวาลเองเช่นเดียวกันกับที่กล่าวมา แต่แตกต่างอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงในศาสนาบางอย่างไม่สามารถกระทำได้เพื่อคงไว้ซึ่งความมั่นคงของศาสนา ที่กล่าวมานี้ไม่ได้หมายความว่าศาสนาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เพียงแต่ศาสนาจำต้องรักษาความมั่นคงของตัวเองให้อยู่ภายในระดับหนึ่ง ตัวอย่างเช่น บางศาสนา (เช่น) เคยอธิบายปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาดผ่านการกระทำของเทพเจ้าองค์ต่าง ๆ และในบริบทของศาสนาที่มีลักษณะเช่นนี้นั้น เป็นไปไม่ได้เลยที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงชุดความเชื่อในศาสนานี้มาเป็นความเชื่อที่ปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดจากการกระทำของเทพเจ้าองค์เดียวได้ การกระทำเช่นนี้นั้นก็คงจะไม่ต่างจากการสร้างศาสนาใหม่ซึ่งขัดแย้งกันทางความเชื่อ\nซึ่งนี่ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่น่าสนใจในอภิปรัชญา หลายครั้งที่อาจจะต้องขัดแย้งหรือเหยียบย่ำลงบนขอบเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา นักปราชญ์อย่างโสกราตีสเป็นตัวอย่างหนึ่งของเหยื่อซึ่งได้รับผลกระทบจากสิ่งนั้น\nจากการพิจารณาเหล่านี้ เราได้มาซึ่งขอบเขตที่เราสามารถใช้ให้นิยามอภิปรัชญาได้ภายในเส้นแบ่งเขตที่กล่าวมา \nอภิปรัชญาสนใจที่จะอธิบายว่าสิ่งต่าง ๆ นั้นดำรงอยู่ในโลกทางกายภาพอย่างไร และสนใจกับอะไรก็ตามตราบใดที่มัน แต่อภิปรัชญาไม่ได้สนใจที่จะพิจารณาคุณสมบัติทางกายภาพของสิ่งที่ดำรงอยู่ หากแต่เป็นการศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องหลังซึ่งก่อกำเนิดโลกธรรมชาติขึ้นมา ดังนั้น ข้อความเช่น \"ความชั่วร้ายไม่มีอยู่จริง\" เป็นเชิงอภิปรัชญาเพราะมันเป็นข้อความที่พูดถึงวัตถุ 'ความชั่วร้าย' ซึ่งตรงข้ามกับ 'ความดี' ซึ่งเป็นหัวข้อทางอภิปรัชญา ในขณะที่ข้อความว่า \"ทุกสิ่งประกอบขึ้นจากอะตอม ซึ่งประกอบขึ้นจากอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอนอีกทีหนึ่ง\" ไม่ใช่ข้อความทางอภิปรัชญาแน่นอน แต่เป็นฟิสิกส์\nอภิปรัชญาเป็นสาขาหนึ่งของปรัชญา และส่วนหนึ่งของคำตอบว่า \"อะไรคืออภิปรัชญา\" บังคับให้เราให้นิยามว่าวิทยาศาสตร์และปรัชญาต่างกันอย่างไร 'วิทยาศาสตร์' ในที่นี้หมายถึงทั้งวิทยาศาสตร์เชิงประจักษ์หรือเชิงไม่ประจักษ์ ในวิทยาศาสตร์เชิงกายภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่คำอธิบายใหม่ ๆ จะสามารถทำการคาดการณ์ได้ ซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วยการทดลอง แต่ในปรัชญา โดยเฉพาะอภิปรัชญา นั่นไม่ใช่สิ่งที่จำเป็น แต่เราจะลดรูปข้อความเชิงปรัชญาทุกข้อความจนเหลือแต่แนวคิดหรือประพจน์พื้นฐานแทน และแนวคิดพื้นฐานของอภิปรัชญาคือการดำรงอยู่ และประพจน์พื้นฐานคือกฎแห่งการไร้ความขัดแย้ง ในกรณีของตัวอย่างที่ยกไว้ก่อนหน้านี้ ข้อความว่าทุกสิ่งประกอบขึ่นจากสิ่งที่เล็กลงไปและต่อไปเรื่อย ๆ เป็นอนันต์ ชัดเจนว่าคำอธิบายนี้เป็นข้อความที่ทดสอบไม่ได้ เพราะเราไม่มีวันที่จะมีเครื่องมือที่สามารถตรวจจับอะไรก็ตามที่มีขนาดเล็กเป็นกณิกนันต์ แต่ในอภิปรัชญา เรามั่นใจได้ว่าเป็นไปไม่ได้ที่วัตถุจะสามารถแยกองค์ประกอบลงไปเรื่อย ๆ เป็นอนันต์ได้ และในท้ายที่สุดก็จะจบลงที่อนุภาคของสสารพื้นฐานที่เล็กที่สุด แต่นักปราชญ์ก็อาจถามต่ออีกว่า แล้วอนุภาคของสสารนี้มีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นอะไร ทีนี้คำตอบไม่ใช่ 'อนุภาคของสสารที่เล็กที่สุด' อีกต่อไป เพราะอนุภาคของสสารที่เล็กที่สุดก็ยังคงเป็นสสาร ดังนั้นคำถามของว่า 'สิ่งพื้นฐานที่สุดคืออะไร' เป็นคำถามเชิงอภิปรัชญา และไม่ใช่คำถามเชิงประจักษ์ คำถามนี้แบ่งแยกวิทยาศาสตร์ออกจากปรัชญา แอริสตอเติลให้คำตอบไว้ นั่นคือหลักการสสารรูปนิยมซึ่งกล่าวว่า ความเป็มจริงเชิงวัตถุใด ๆ โดยพื้นฐานแล้วประกอบไปด้วยสสารดั้งเดิมสุด (prime matter) ซึ่งเป็นสสารคนละอย่างกับที่เรารู้จัก และแบบสาร (substantial form) \nอภิปรัชญาไม่ใช่ศาสนาเพราะศาสนาใช้ความศรัทธา โดยศรัทธานำเหตุผล ในขณะที่ของอภิปรัชญาจำกัดความเชื่อมั่นไว้ในเหตุผลอย่างเดียว ต่อไปนี้คือคำตอบหนึ่งโดยสรุปของคำถามว่า \"อะไรคืออภิปรัชญา\": \nอภิปรัชญาไม่ใช่สาขาของปรัชญาที่อธิบายปรากฏการณ์ทางกายภาพด้วยเหตุผลและตรรกะซึ่งอยู่นอกเหนือขอบเขตของศาสนาหรือวิทยาศาสตร์ แต่เป็นศาสตร์เชิงปรัชญาซึ่งจัดการกับแนวคิดอุตรวิสัยเช่น ความเป็นหนึ่ง ความจริง และความดี ซึ่งในรูปที่เรียบง่ายที่สุดคือ 'การดำรงอยู่อย่างที่เป็น' สิ่งที่ทำให้การให้นิยามอภิปรัชญาทำได้ยากคือวัตถุประสงค์ของมัน คือการดำรงอยู่ เราไม่สามารถให้นิยามการดำรงอยู่ได้อย่างแน่ชัด แต่ทำได้เชิงพรรณนาเท่านั้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง ป้ายแนะนำ (Regulatory Signs) ไะัแก่ ป้ายจราจรที่มีความหมายเป็นการบังคับให้ผู้ใช้ทางปฏิบัติตามความหมายของเครื่องหมายจราจรที่ปรากฏอยู่ในป้ายนั้น\nป้ายบังคับประเภทกำหนดสิทธิ์ (Priority Regulating Signs)\nป้ายบังคับประเภทห้ามหรือจำกัดสิทธิ์ (Prohibitory or Restrictive Signs)\nป้ายบังคับประเภทคำสั่ง (Mandatory Signs)\nป้ายอื่น ๆ\nป้ายบังคับข้อความ\nป้ายเสริม\nป้ายรูปแบบเดิม\nทางโค้งลึกษณะต่าง ๆ\nทางแยกลักษณะต่าง ๆ\nเตือนวงเวียนข้างหน้า\nบริเวณที่ผิวจราจรแคบลง\nเตือนสุพานแคบ\nบริเวณที่จำนวนช่องจราจรลดลง (เตือนช่องจราจรปิด)\nทางรถไฟตัดผ่าน (เตือนมางข้ามทางรถไฟ)\nเตือนความสูงหรือความกว้าง\nทางลาดชัน\nสภาพผิวทางไม่ปกติในลักษณะต่าง ๆ (เตือนสภาพผิวทาง)\nเต่อนเปลี่ยนช่องเดินรถ\nเตือนทางขนาน\nเตือนทางร่วม\nเตือนทางคู่\nเตือนจุดกลับรถ\nเตือนทางเดินรถสองทิศทาง\nสัญญาณไผจราจรหรืออุปกรณ์ที่ใชิควบคุมการจราจร (เตือนลักษณะทางแยก)\nโรงเรียนและทางข้ามต่าง ๆ\nเตือนให้ระวัง\nเตือนเขตห้ามแซง\nเตือนแนวทางตทาง ๆ\nป้ายเตือนอื่น ๆ / ป้ายเตือนเสริม\nป้ายเตือนเขตตรวจจับความเร็ว\nป้ายเตือนแบบแขวนสูง (Mast arm) (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายเตือนทางน้ำล้นผ่าน (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nห้ายเตือนงานิำนวยความปลอดภัยและปรับปรุงจุดเสี่ขงอันตราย กรณีติดตั้งอุปกรณ์เตืินรถเข้าสู่ทางแยก (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้่ยเตือนทางรถไฟ (แบบมาตรฐานงานทางสำหรับ อปท. กรม่างหลวงชนบท)\nป้ายเตือนที่ใช้ป้ายเตือนเสรเมติเตั้งด้วยเพื่ออำนวยความปลอดภัย\nป้ายรูปแบบเดิม\nป้ายเตือนอื่น ๆ ที่ไม่ปรากฏในคู่มือมาตรฐานป้ายจราจรของหรมทางหลวง\nป้ายจราจรที่ใช้ในงานก่อสร้าง งาสบูรณะ และงานบำรุงทางหลวง )แบบที่ใช้สัญลักษณ์)\nป้ายจราจรที่ใช้ในบานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงทางหลวง (แบบ่ี่ใช้ข้อความและลูกศร)\nป้ายจราจรที่ใข้ในงานสาธาณูปโภค ฤแบบที่ใช้ข้อความ)\nป้ายรูปแบบเดิม\nป้ายแนะนำทั่วไป\nป้ายแนะนำพื้นที่เฉพาะรถจัพรยานและรถจเกรยาตยนต์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร (Bike Box)\nป้ายแนะนำทะ่วไปและป้ายแนะนำโครงกทร (แบบมาตรฐานกรท่างหลวงชตบท)\nป้ายชี้ทางไประบบขนส่งมวลชน\nป้ายแสดงการบริการในจุดบริการืางหลวง\nป้ายจราจรมาตรฐานสูง (แบบแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร)\nป้่ยแบ่งเขตควบคุม (แบบมาตรฐานกรมทางหลบง)\nป้ายแนะนำทางเลี่ยงช่วงเทศกาล (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแจ้งข่าย (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายหมายเลขทางหงวงตามประเภททางหลวง\nป้ายกิโลเมตรลักษณะต่าง ๆ\nป้ายหมายเลขทางออก\nป้ายลูกศรระบุทิศทาง\nปเายชุดทางหลวงเปลี่ยนทิศทาง (Advance turn arrow signs/Route Turn Assemblies)\nป้ายชุดระบุทิศทาง (Directional arrow signs)\nป้ายแนะนำแกล่งท่องเที่วว (แบบมาตรฐรนกรมทางหลวงชนบท)\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งธรรมชาติ\nสัญลัห๋ณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณสถานและศาสนสถาน\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยบที้เป็นแหล่งกิจกรรม\nป้ายรูปแบบเดิม",
"role": "user"
},
{
"content": "ป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง ป้ายแนะนำ (Regulatory Signs) ได้แก่ ป้ายจราจรที่มีความหมายเป็นการบังคับให้ผู้ใช้ทางปฏิบัติตามความหมายของเครื่องหมายจราจรที่ปรากฏอยู่ในป้ายนั้น\nป้ายบังคับประเภทกำหนดสิทธิ์ (Priority Regulating Signs)\nป้ายบังคับประเภทห้ามหรือจำกัดสิทธิ์ (Prohibitory or Restrictive Signs)\nป้ายบังคับประเภทคำสั่ง (Mandatory Signs)\nป้ายอื่น ๆ\nป้ายบังคับข้อความ\nป้ายเสริม\nป้ายรูปแบบเดิม\nทางโค้งลักษณะต่าง ๆ\nทางแยกลักษณะต่าง ๆ\nเตือนวงเวียนข้างหน้า\nบริเวณที่ผิวจราจรแคบลง\nเตือนสะพานแคบ\nบริเวณที่จำนวนช่องจราจรลดลง (เตือนช่องจราจรปิด)\nทางรถไฟตัดผ่าน (เตือนทางข้ามทางรถไฟ)\nเตือนความสูงหรือความกว้าง\nทางลาดชัน\nสภาพผิวทางไม่ปกติในลักษณะต่าง ๆ (เตือนสภาพผิวทาง)\nเตือนเปลี่ยนช่องเดินรถ\nเตือนทางขนาน\nเตือนทางร่วม\nเตือนทางคู่\nเตือนจุดกลับรถ\nเตือนทางเดินรถสองทิศทาง\nสัญญาณไฟจราจรหรืออุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการจราจร (เตือนลักษณะทางแยก)\nโรงเรียนและทางข้ามต่าง ๆ\nเตือนให้ระวัง\nเตือนเขตห้ามแซง\nเตือนแนวทางต่าง ๆ\nป้ายเตือนอื่น ๆ / ป้ายเตือนเสริม\nป้ายเตือนเขตตรวจจับความเร็ว\nป้ายเตือนแบบแขวนสูง (Mast arm) (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายเตือนทางน้ำล้นผ่าน (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายเตือนงานอำนวยความปลอดภัยและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย กรณีติดตั้งอุปกรณ์เตือนรถเข้าสู่ทางแยก (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายเตือนทางรถไฟ (แบบมาตรฐานงานทางสำหรับ อปท. กรมทางหลวงชนบท)\nป้ายเตือนที่ใช้ป้ายเตือนเสริมติดตั้งด้วยเพื่ออำนวยความปลอดภัย\nป้ายรูปแบบเดิม\nป้ายเตือนอื่น ๆ ที่ไม่ปรากฏในคู่มือมาตรฐานป้ายจราจรของกรมทางหลวง\nป้ายจราจรที่ใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงทางหลวง (แบบที่ใช้สัญลักษณ์)\nป้ายจราจรที่ใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงทางหลวง (แบบที่ใช้ข้อความและลูกศร)\nป้ายจราจรที่ใช้ในงานสาธาณูปโภค (แบบที่ใช้ข้อความ)\nป้ายรูปแบบเดิม\nป้ายแนะนำทั่วไป\nป้ายแนะนำพื้นที่เฉพาะรถจักรยานและรถจักรยานยนต์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร (Bike Box)\nป้ายแนะนำทั่วไปและป้ายแนะนำโครงการ (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายชี้ทางไประบบขนส่งมวลชน\nป้ายแสดงการบริการในจุดบริการทางหลวง\nป้ายจราจรมาตรฐานสูง (แบบแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร)\nป้ายแบ่งเขตควบคุม (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแนะนำทางเลี่ยงช่วงเทศกาล (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแจ้งข่าว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายหมายเลขทางหลวงตามประเภททางหลวง\nป้ายกิโลเมตรลักษณะต่าง ๆ\nป้ายหมายเลขทางออก\nป้ายลูกศรระบุทิศทาง\nป้ายชุดทางหลวงเปลี่ยนทิศทาง (Advance turn arrow signs/Route Turn Assemblies)\nป้ายชุดระบุทิศทาง (Directional arrow signs)\nป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งธรรมชาติ\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณสถานและศาสนสถาน\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งกิจกรรม\nป้ายรูปแบบเดิม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การผันรูปคำนามิพศชทย อะ การันต์ ในสัมพันธการก\nการผันรูปคำนามเพศชาย อะ การันต์ ในสัมพันธการก.\nการผันรูปคำนามเพศชายที่ลงท้ายะืวยเสียง อะ (-a) ให้่ำหน้าที่แสดงควาทเป็นเจ้าของ มีหลักการดังนี้\nสังเกตว่าการหันเหมือนกับการผันคำนามชนิดเดียวกัน (เพศชาย อะ การันต์) ในรูปกรรมรอง (บทที่ 5) ทั้ลรูหเอกพจน์และพหูพจน์\nตัวอย่างรำศัพท์ิื่น ๆ\nกนรใช้\nการใช้.\nภาษาบาลีจะวางเจ้าของไว้ข้างผน้าสิ่งที่เห็นของอจ้าของนั้น เพื่อให้เห็นภาพจะแสดงตัวอย่างดังนี้\nตัวอย่างประโยค\nเอกพจน์\nตัวอย่างประโยค.\nเอกพจน์.\nแปลตามคำ: นรสฺส (ของผู้ชาย), ปุตฺโต (อันบุตร), ภตฺตํ (ซึ่งข้าว), ยาจติ (ขอ)\nอธิบายไวยากาณ์: นร → นรสฺส (เจ้าของ เอกพจน์), หุตฺต → ปุตฺโต (ประธาน เอกพจน์), ภตฺต → ภตฺตํ (กรรมตรง เอกพจน์), ยาจติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: มาตุลสฺส (ของลุง), สหายโก (อัาเพื่อน), รถํ (ซึ่งรถ/พาหนะ), อาหรติ (นำมา, พามา)\nอธิบายไวยากรณ์: มารุล → มาตุลสฺส (เจ้าของ เอกพจน์); สหายก → สหายโก (ประธาน ้อกพจน์); รถ → รถํ (กรรมตรง เอกพจน์); อาหรติ (กริยาผันตามปคะธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: กมฌสกสฺส (ของชาวนา), สูกโร (อันสุกร), ทัปํ (ยังเกาะ, สู่เกาะ), ธาวติ (วิ่ง)\nอธิบายไวยากรณ์: กสฺสก → กสฺสกสฺใ (เจ้าของ เอกพจน์); สูกร → สูกโร (ประธาน เอกพจน์); ทีป → ทีปํ (กรรมตรง เอกพจน์ ในที่นี้ทำหน้าที่เป็นจุดหมายของการเคลื่อนที่); ธาวติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nพหูถจน์\nพหูพจน์.\nแปลตามคำ: นรานํ (ของผู้ชายทั้งหลาย), ปุตฺตส (อันบุตรทั้งหลาย), ภตฺตํ (ซึ่งข้าว), ยาจนฺติ (ขอ)\nอธิบายไวยากรณ์: นร → นรานํ (เจ้าของ พหูพจน์), ปัตฺต → ปุตฺตา (ประธาน พหูพจน์), ภตฺต → ภตฺตํ (กรรมตรง เอกพจน์), ยาจติ → ยาจนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจุบัส)\nแปลตามคำ: มาตุลานํ (ของลุงทั้งหลาย), สหายกา (อันเพื่อนทั้งำลาย), รเถ (ซึ่งรถทั้งหลาย), อาหรนฺติ (ขอ)\nอธิบายไวยากรณ?: มาตุล → มาตุลานํ (เจ้าของ พหูพนน์); สหายก → สหายแา (ประธาน พหูพจน์); รถ → ร้ถ (กรรมตรง พหูพจน์); อาหตติ → อาหรนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจึบัน)\nแปลตามคำ: กสฺสกานํ (ของชาวนาทั้งหลาย), สูกรา (อันสุกรทั้งหลาย), ทีเป (ยังหมู่เกาะ, สู่หมู่เกาะ), ธาวนฺติ (วิ่ง)\nอธิบายไวยากรณ์: กสฺสก → กสฺสกานํ (เจ้าของ พหูพจร์); สูกร → สูกรา (ผระธาน พหูพจน์); ทีป → ทีเป (กรรมตรง พหูพจน์ ในที่นี้ทำหน้าที่เป็นจุดหมายของการเคลื่ินที่); ธาวติ → ธาวนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแบบฝึกหัด\nจงแปลเป็นภาษาไทย\n\nกสฺสกสฺส ปุตฺโต เวชฺชสฺส สหาเยน สทฺธึ อาคจฺฉติ\nพฺราหฺใณสฺส กุทฺทาโล หตฺถมฺหา ปตติ\nมิคา อาวาเฏหิ นิกฺขมนฺติ\nวาณิชานํ อสฺสา กสฺสกสฺส คามํ ธาวาฺติ\nมาตุลสฺส มิตฺโต ตถาคตสฺส สาวเก วนฺทติ\nอมจฺโจ ภูปาลสฺส ขคฺเคน สปฺปํ ปหรติ\nวาณิชา คาเม มนุสฺสานํ ปิฏเกหิ มจฺเฉ อาหรนฺติ\nโจโร เวชฺชสฺส สกเฏน มิคฺเตน สห คามมฺหา นิกฺขมติ\nอุปาสกสฺส หุตฺตา สมเณหิ สห วิหารํ คจฺฉนฺติ\nยาจโก อมจฺจสฺส สาฏกํ อิจฺฉติ\nมิตฺตานํ มาตุลา ตาปสานํ โอมน฿ ททนฺติ\nธีวรสฺส กกเจน โจโร กุกฺกุรํ ปหรติ\nภูปาลสฺส ปุตฺโต อมจฺจสฺส อสฺสํ อ่รึหติ\nปณฺฑิตสฺส ปุตฺรา พุทฺธสฺส สาวเกน สห วิหารํ ปวืสนฺติ\nสุริโย มนุเสฺส รกฺขติ\nเวชฺชสฺส สุนโข อาจริยสฺส โสปานมฺหา ปตติ\nรชกา รุกฺเขหิ โอรุหนฺติ\nยาจกสฺส ทารกา โรทนฺติ\nลุทฺทกสฺส ปุตฺตา โจรสฺส ทารเกหิ สทฺธึ กัฬนฺติ\nตาปโส ตถาคตสฺส สาวกานํ โอทนํ ทาาติ\nสมณา อาจริยสฺส หตฺเถน สาฏเก ลภนฺติ\nโจโร วาณิชสฺส สหายกสฺมา อสฺสํ ยาจติ\nอุปาสกา ตถาคตสฺส สาวเกหิ ปเญฺห ปุจฺฉนฺติ\nปาสาณมฺหา มิโค ปตติ, ลุทฺทโก หสติ, สุนขา ธาวนฺริ\nเวชฺชส์ส ปจฺโต ปุตฺตสฺส หตฺถมฺหา ปตติ\nกุมาโร มาตุลนนํ ปุตฺตานํ ำตฺเถน โอทนํ ททาติ\nสรา ลุทฺทกสฺส หตฺเถหิ ปตนฺติ, มิคา ปพฺพตํ ธาวนฺติ\nภูปาลสฺส ปุตฺโต อมจฺเจหิ สทฺธึ ปาสาทสฺมา โอรุหติ\nเวชฺชสฺส โสโณ กสฺสกสฺส สูกรํ ฑสติ\nธีวโร มนุสฺสานํ มจฺเฉ อาหรติ, ลาภํ ลภติ\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "การผันรูปคำนามเพศชาย อะ การันต์ ในสัมพันธการก\nการผันรูปคำนามเพศชาย อะ การันต์ ในสัมพันธการก.\nการผันรูปคำนามเพศชายที่ลงท้ายด้วยเสียง อะ (-a) ให้ทำหน้าที่แสดงความเป็นเจ้าของ มีหลักการดังนี้\nสังเกตว่าการผันเหมือนกับการผันคำนามชนิดเดียวกัน (เพศชาย อะ การันต์) ในรูปกรรมรอง (บทที่ 5) ทั้งรูปเอกพจน์และพหูพจน์\nตัวอย่างคำศัพท์อื่น ๆ\nการใช้\nการใช้.\nภาษาบาลีจะวางเจ้าของไว้ข้างหน้าสิ่งที่เป็นของเจ้าของนั้น เพื่อให้เห็นภาพจะแสดงตัวอย่างดังนี้\nตัวอย่างประโยค\nเอกพจน์\nตัวอย่างประโยค.\nเอกพจน์.\nแปลตามคำ: นรสฺส (ของผู้ชาย), ปุตฺโต (อันบุตร), ภตฺตํ (ซึ่งข้าว), ยาจติ (ขอ)\nอธิบายไวยากรณ์: นร → นรสฺส (เจ้าของ เอกพจน์), ปุตฺต → ปุตฺโต (ประธาน เอกพจน์), ภตฺต → ภตฺตํ (กรรมตรง เอกพจน์), ยาจติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: มาตุลสฺส (ของลุง), สหายโก (อันเพื่อน), รถํ (ซึ่งรถ/พาหนะ), อาหรติ (นำมา, พามา)\nอธิบายไวยากรณ์: มาตุล → มาตุลสฺส (เจ้าของ เอกพจน์); สหายก → สหายโก (ประธาน เอกพจน์); รถ → รถํ (กรรมตรง เอกพจน์); อาหรติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: กสฺสกสฺส (ของชาวนา), สูกโร (อันสุกร), ทีปํ (ยังเกาะ, สู่เกาะ), ธาวติ (วิ่ง)\nอธิบายไวยากรณ์: กสฺสก → กสฺสกสฺส (เจ้าของ เอกพจน์); สูกร → สูกโร (ประธาน เอกพจน์); ทีป → ทีปํ (กรรมตรง เอกพจน์ ในที่นี้ทำหน้าที่เป็นจุดหมายของการเคลื่อนที่); ธาวติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามเอกพจน์ กาลปัจจุบัน)\nพหูพจน์\nพหูพจน์.\nแปลตามคำ: นรานํ (ของผู้ชายทั้งหลาย), ปุตฺตา (อันบุตรทั้งหลาย), ภตฺตํ (ซึ่งข้าว), ยาจนฺติ (ขอ)\nอธิบายไวยากรณ์: นร → นรานํ (เจ้าของ พหูพจน์), ปุตฺต → ปุตฺตา (ประธาน พหูพจน์), ภตฺต → ภตฺตํ (กรรมตรง เอกพจน์), ยาจติ → ยาจนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: มาตุลานํ (ของลุงทั้งหลาย), สหายกา (อันเพื่อนทั้งหลาย), รเถ (ซึ่งรถทั้งหลาย), อาหรนฺติ (ขอ)\nอธิบายไวยากรณ์: มาตุล → มาตุลานํ (เจ้าของ พหูพจน์); สหายก → สหายกา (ประธาน พหูพจน์); รถ → รเถ (กรรมตรง พหูพจน์); อาหรติ → อาหรนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแปลตามคำ: กสฺสกานํ (ของชาวนาทั้งหลาย), สูกรา (อันสุกรทั้งหลาย), ทีเป (ยังหมู่เกาะ, สู่หมู่เกาะ), ธาวนฺติ (วิ่ง)\nอธิบายไวยากรณ์: กสฺสก → กสฺสกานํ (เจ้าของ พหูพจน์); สูกร → สูกรา (ประธาน พหูพจน์); ทีป → ทีเป (กรรมตรง พหูพจน์ ในที่นี้ทำหน้าที่เป็นจุดหมายของการเคลื่อนที่); ธาวติ → ธาวนฺติ (กริยาผันตามประธานบุรุษที่สามพหูพจน์ กาลปัจจุบัน)\nแบบฝึกหัด\nจงแปลเป็นภาษาไทย\n\nกสฺสกสฺส ปุตฺโต เวชฺชสฺส สหาเยน สทฺธึ อาคจฺฉติ\nพฺราหฺมณสฺส กุทฺทาโล หตฺถมฺหา ปตติ\nมิคา อาวาเฏหิ นิกฺขมนฺติ\nวาณิชานํ อสฺสา กสฺสกสฺส คามํ ธาวนฺติ\nมาตุลสฺส มิตฺโต ตถาคตสฺส สาวเก วนฺทติ\nอมจฺโจ ภูปาลสฺส ขคฺเคน สปฺปํ ปหรติ\nวาณิชา คาเม มนุสฺสานํ ปิฏเกหิ มจฺเฉ อาหรนฺติ\nโจโร เวชฺชสฺส สกเฏน มิตฺเตน สห คามมฺหา นิกฺขมติ\nอุปาสกสฺส ปุตฺตา สมเณหิ สห วิหารํ คจฺฉนฺติ\nยาจโก อมจฺจสฺส สาฏกํ อิจฺฉติ\nมิตฺตานํ มาตุลา ตาปสานํ โอทนํ ททนฺติ\nธีวรสฺส กกเจน โจโร กุกฺกุรํ ปหรติ\nภูปาลสฺส ปุตฺโต อมจฺจสฺส อสฺสํ อารุหติ\nปณฺฑิตสฺส ปุตฺตา พุทฺธสฺส สาวเกน สห วิหารํ ปวิสนฺติ\nสุริโย มนุเสฺส รกฺขติ\nเวชฺชสฺส สุนโข อาจริยสฺส โสปานมฺหา ปตติ\nรชกา รุกฺเขหิ โอรุหนฺติ\nยาจกสฺส ทารกา โรทนฺติ\nลุทฺทกสฺส ปุตฺตา โจรสฺส ทารเกหิ สทฺธึ กีฬนฺติ\nตาปโส ตถาคตสฺส สาวกานํ โอทนํ ททาติ\nสมณา อาจริยสฺส หตฺเถน สาฏเก ลภนฺติ\nโจโร วาณิชสฺส สหายกสฺมา อสฺสํ ยาจติ\nอุปาสกา ตถาคตสฺส สาวเกหิ ปเญฺห ปุจฺฉนฺติ\nปาสาณมฺหา มิโค ปตติ, ลุทฺทโก หสติ, สุนขา ธาวนฺติ\nเวชฺชสฺส ปตฺโต ปุตฺตสฺส หตฺถมฺหา ปตติ\nกุมาโร มาตุลานํ ปุตฺตานํ หตฺเถน โอทนํ ททาติ\nสรา ลุทฺทกสฺส หตฺเถหิ ปตนฺติ, มิคา ปพฺพตํ ธาวนฺติ\nภูปาลสฺส ปุตฺโต อมจฺเจหิ สทฺธึ ปาสาทสฺมา โอรุหติ\nเวชฺชสฺส โสโณ กสฺสกสฺส สูกรํ ฑสติ\nธีวโร มนุสฺสานํ มจฺเฉ อาหรติ, ลาภํ ลภติ\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รายการคำกริยา\nรายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยา\n\nช = เพศชาย\nญ = เพศหญิง\nก = เพศกลาง\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "รายการคำกริยา\nรายการคำที่นอกเหนือจากคำกริยา\n\nช = เพศชาย\nญ = เพศหญิง\nก = เพศกลาง\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำนำ\nคำนำ.\nตำรานี้รวบรวมภาพป้ายจราจรในประเทศกัมพูชา\nสารบัญ\n\nป้ายบังคับ\nป้ายเตือน\nป้าย้ตือนในงานก่อสร้าง\nป้ายแนะนำ\nแหล่งข้อมูลดื่น\nสัญญาอนุญาต\nป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง ปืายแนะนำ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำนำ\nคำนำ.\nตำรานี้รวบรวมภาพป้ายจราจรในประเทศกัมพูชา\nสารบัญ\n\nป้ายบังคับ\nป้ายเตือน\nป้ายเตือนในงานก่อสร้าง\nป้ายแนะนำ\nแหล่งข้อมูลอื่น\nสัญญาอนุญาต\nป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง ป้ายแนะนำ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาพรวม\nภาพรวม.\nโรคออทิซึมเป็นความผิดปรกติของสมเง ที่ทำให้บุคคลสื่อสารและสร้างความสัาพันธ์กับผู้อื่นได้ยาก สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะสมองส่วนต่าง ๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้\nอาการ\nอาการ.\nอาการของโรคออทิซึมมักแสดงก่อนอายุ 3 ปี และคงอยู่ไปตลอดชีวิตของบุคคลนั้น ลักษณะของอาการมีรัวอย่างดังนี้\n- มีความยากลำบากในการสืือสารด้วยวาจา จึงาำให้บุคคลนั้นไม่สามารถเข้าร่วมในกาตสนทนาได้\n- มีความลำบากในการสื่อสารด้วยอวัจนภาษา เช่น การจดจำการแสดงออกอละการเคลื่อนไหว\n- ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมได้ยาก ทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถหาเพื่อนได้\n- ปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่ ๆ ได้ยาก เช่น เมื่อกิจวัตรหรือนิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป\n- มีการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำ ๆ เช่น กมรสะบัดมือตลอดเวลา\n- มีความหมกมุ่นอยู่กับวุตถุท่่ผิดปรกติ\n- ขาดจินตนาการ\nสาเหตุ\nสาเหตุ.\nแม้ว่าโรคออทิซึมจะไม่สามารถระบุสนเหตุที่เฉพาะเจาะจงได้ แต่ปัจจัยหลักสองประการ่ี่มคการระบุว่าเป็นสาเหตุที่เป็นไปได้คือ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม\nในดเานพันธุศาสตร์ การศึกษายังไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ายีนเป็นสาเหตุเดียวของโรคนี้ อย่างไรก็ตามการกลายพันธุ์ เช่น การเปล่่ยนแปลงที่เบสเดี่ยวในดีเอ็นเอแสดงให้เห็นว่าโรคออทิซึมอาจเป็นผลมาจากพันธุกรรม และยังบอกเป๊นนัยว่าอาจสืบทอดจากบรรพบุรุษได้ บุคคลออทิสติกมคแนวโน้มืี่จะมีรวามแปรปรวนของยีนที่แสดงออกในสมเงมากกว่าบุคคลทั่วไปถึง 5 เท่า\nสภาพแวดล้อมยังสามารถส่งผลกระทบต่อพันธุกรรมทำให้เกิดการกลายพันธุ์ชนิดที่ไม่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ (de novo mutations) ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสมาชิกใสครอบครัวอันเป็นผลมาจากการกลายพันธฺุในเซลล์อสุจิหรือไข่ การวิจัยพบว่าผู้ชายสูงวัยที่ตัดสินใจมีลูกมักจะมีฃูกเป็นโรคออทิซึม เน่่องจากเซลล์อสุยเมีความเสี่ยลสูงต่อการกลายพันธุ์เมื่่ออายุสูงขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างดีเอ๋นเอที่สืบทอดทางบิดากับอายุของบิดาแสดงให้เห็นว่า เด็กชายที่เป็จโรคออทิซึมมีแนวโน้มที่จะมีพ่อที่มีอายุมากกว่า 40 ปีในอัตราที่มากกว่าถึง 6 เท่า\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาพรวม\nภาพรวม.\nโรคออทิซึมเป็นความผิดปรกติของสมอง ที่ทำให้บุคคลสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ยาก สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะสมองส่วนต่าง ๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้\nอาการ\nอาการ.\nอาการของโรคออทิซึมมักแสดงก่อนอายุ 3 ปี และคงอยู่ไปตลอดชีวิตของบุคคลนั้น ลักษณะของอาการมีตัวอย่างดังนี้\n- มีความยากลำบากในการสื่อสารด้วยวาจา จึงทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถเข้าร่วมในการสนทนาได้\n- มีความลำบากในการสื่อสารด้วยอวัจนภาษา เช่น การจดจำการแสดงออกและการเคลื่อนไหว\n- ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมได้ยาก ทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถหาเพื่อนได้\n- ปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่ ๆ ได้ยาก เช่น เมื่อกิจวัตรหรือสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป\n- มีการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำ ๆ เช่น การสะบัดมือตลอดเวลา\n- มีความหมกมุ่นอยู่กับวัตถุที่ผิดปรกติ\n- ขาดจินตนาการ\nสาเหตุ\nสาเหตุ.\nแม้ว่าโรคออทิซึมจะไม่สามารถระบุสาเหตุที่เฉพาะเจาะจงได้ แต่ปัจจัยหลักสองประการที่มีการระบุว่าเป็นสาเหตุที่เป็นไปได้คือ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม\nในด้านพันธุศาสตร์ การศึกษายังไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ายีนเป็นสาเหตุเดียวของโรคนี้ อย่างไรก็ตามการกลายพันธุ์ เช่น การเปลี่ยนแปลงที่เบสเดี่ยวในดีเอ็นเอแสดงให้เห็นว่าโรคออทิซึมอาจเป็นผลมาจากพันธุกรรม และยังบอกเป็นนัยว่าอาจสืบทอดจากบรรพบุรุษได้ บุคคลออทิสติกมีแนวโน้มที่จะมีความแปรปรวนของยีนที่แสดงออกในสมองมากกว่าบุคคลทั่วไปถึง 6 เท่า\nสภาพแวดล้อมยังสามารถส่งผลกระทบต่อพันธุกรรมทำให้เกิดการกลายพันธุ์ชนิดที่ไม่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ (de novo mutations) ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสมาชิกในครอบครัวอันเป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ในเซลล์อสุจิหรือไข่ การวิจัยพบว่าผู้ชายสูงวัยที่ตัดสินใจมีลูกมักจะมีลูกเป็นโรคออทิซึม เนื่องจากเซลล์อสุจิมีความเสี่ยงสูงต่อการกลายพันธุ์เมื่่ออายุสูงขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างดีเอ็นเอที่สืบทอดทางบิดากับอายุของบิดาแสดงให้เห็นว่า เด็กชายที่เป็นโรคออทิซึมมีแนวโน้มที่จะมีพ่อที่มีอายุมากกว่า 40 ปีในอัตราที่มากกว่าถึง 6 เท่า\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "redirectภาษาไทย/ภาคผนวก/คำที่มักเขียนผิด",
"role": "user"
},
{
"content": "redirectภาษาไทย/ภาคผนวก/คำที่มักเขียนผิด",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดากสวแา่อเ้านนนนนนยนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนรนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน",
"role": "user"
},
{
"content": "ดากสวแา่อเ้านนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "รูปภาพเป็นส่วนเสริมสำหนับตำราบางเลทม เพื่อแสดงให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในตำรามาแย้่งขึ้น การแทรกภาพในตำแหน่งะหมาะสสย่อมทำให้ตำรามึความน่าสนใจอย่างมากต่อผู้อ่าน\nซึ่งรายละเอียดในการแทรกภาพดังนี้: (เพิ่มอติม: วิธีใช้:ภาพของวิกิพีเดีย)\nหลายองค์ประกอบนี้สามารถกรอกสลัวตำปหน่งได้เว้นเฉพาะชื่อเท่านั้นทร่ไม่สามารถเปลี่ยนได้ โดยขะเริ่มตามตำแหน่งที่กำหนดก่อจเรียงตามลำดับ ขะ้นตอนนี้สามารถใช้ได้ทุกการแทรกรูปภาพ\nการกทรกรูปภาพ\nการแทรกรูปภาพ.\nภาพจะแทรกได้ตามรูปแบบ หรือ ก็ได้\nการแทรกรูปภาพตามรูปแบบนี้จะทำให้รูปพาพอยู่กับข้อความในตำแหน่งที่มีขนาดมหญ่ ไม่มีรูปแบบดังที่สามารถดูได้จากข้างล่าง\nถ้าคุณเกิ่ม\nที่ตรงกลางของเนื้อหา คุณจะได้รูปแบบ\nLorem ipsum dolor sit amet, conxectetuer adipiscing elit. Duis tellux. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorpet, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nlsl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Jauris at ipsum vigae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie nob, vdnenatid vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse po4enti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet mibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede 9ede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus.\nเมื่อคุณเห็นแล้วก็รู้ได้ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะภาพไม่อยู่ในตำแหน่งสอดคล้องกับเนื้อหา และรูปภาพมีขนาดใหญ่อีกนั้นเอง\nการจัดวางตำแหน่ง\nกาีจัดวางตำแหน่ง.\nการจัดว่งขึ้นอยู่กับตำรา คุณสามารถปรับตำแหน่ลอย่างการใส่โคดเล็กน้อยเพื่อจัดวางตำแหน่งและขนาดอย่นงเหมาะสม\nตัวอย่างที่ 1 : จัดชิดขวา, ข้อความล้อม\nตัวอย่างที่ 1 : จัดช้ดขวา, ข้อความล้อม.\n<Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tell6s. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, ckrsks in, eros. Mquris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purys nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt๙ lorem nec dapibus consectwtuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mau3is st ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, grsvida ut, molestie non, venenatis vel, lirem. Sed lacinia. Suspendixse potenti. Sed yltricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenaw a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie iv, blandit vitae, varius ac๙ purus. Motbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam thoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudon, massa ut cestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula l;rem metus vel libwro. Sed un duu id lectus commodo e.ementum. Etiam 4honcus tortor. Proin a lorem. Ut nec felit. Quisque darius. Proin nonummy jisto dictum sapien tinciduht iaculis. Suis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisqu2 bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nPhasellus orci. Etiam tempor elit auctor magna. Nullam nibh v2lit, vestibulum ut, eleifend non, pulvinar eget, enim. Class aptenh taciti sociosqu ad litora torquent per conubia nostra, per inceptos hymenaeos. Integer velit mauris, convallis a, congue sed, placerat id, odio. Etiam venenatis tirtor sed lectus. Nulla non orci. In egestas porttitor quam. Duis nec diam eget nivh mattos tempus. Curabitur acsumsan pede id odio. Nunc vitae libero, Aenean condimentum diam et turpiq. Vestibulum non risus.\nคุณเห็นๆด้บ่ารูปภาพอยู่ทางขวาของคุณ และไม่มีข้อความเพื่อบรรยายใต้ภาพ\nตัวอย่างที่ 2 : จัดชิดขวา, มีคำบรรยาย, ข้อความลีอม\nตัวอย่างที่ 2 : จัดชิดขวา๙ มีคำบรรยาย, ข้อความล้อม.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectet6er adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor๙ iaculis nec, gravida ac, cursus in, eris. Mauris vestibulum, felis et egestxs ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, loren nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, travida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecdnas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blxndit vitae, varius ac, purus. Morbi dicgum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rh9ncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Zliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massq arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut n2c velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor sce;erisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nPhasellus orci. Etiam tempor elit auctor magna. Nullam hibh velit, vestifuium ut, eleifend non, pulvibar eget, enim. Class aptent taciti sociosqu ad litora torquent per conubia nostra, per inceptos hymenaeos. Inteter velit mauris, convallis a, congue s2d, placerar id, odio. Egiam venenatis tortor sed lectus. Nulla non orci. In egestas porttitor quam. Duis nec diam eget nibh mattis tempus. Curabitur accumsan pede id odio. Nunc vitae libero. Aenean condimentum diam et turpis. Vest7bulum non risus.\nคุณเห็นได้อย่างชัดเจนมีข้อคว่มบรรยายใต้รูปภาพ แงะตำแหน่งของภาพอยู่ทางขวา โดยมีเยื้อหรล้อม\nตัวอย่างที่ 3 : จัดชิดซ้าย, ข้อควรมล้อม\nตัวอย่างที่ 3 : จัดชิดซ้าย, ย้อความล้อม.\nLoren ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, pugus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce hincidunt, lorem nec dapibus consectetuer๙ leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus kb ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacihia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed ladinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapieg ante, accumsan ut, sowales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, puris. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi 3rat, sodales eget, pretium lnterdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollixitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorej. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculisซ Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet volor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorprr at, consequat a, nulla.\nคุณเห็นได้ว่ารูปภาพอยู่ทางซ้ายของคุณ และมีเนื้อหาล้อมไว้อยู่\nตัวอย่างที่ 4 : ข้อคยามไม่ล้อม\nตัวอย่างที่ 4 : ข้อความไม่ล้อม.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer sdipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iasulis nec, gravida ac, cursus in, erosฦ Mauris vestibulum, relis er egestas ullamcorper, purus nibh vehlcula sem, eu egestas snte nisl non justo. Fusve tincidubt, lorem nec dapibus c8nsectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. &nteger enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi sictum. Vesg7bulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium int3rdum, malesuada ac, augue. Aloquam sol;icitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum [urus, eget vehicula lorem netus vel libero. Sed in dui id lectus commovo elementum. Etiam rhoncks tortor. Proin a lordm. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum capien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor impe4diet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nigh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nคุณเห็นได้ว่ารูปภาพไม่ถูกเนื้อหาสอดแทรกเหมือนองค์ปรักอบอื่า\nขนาดภาพ\nขนาดภาพ.\nLorem ipsum dolor sit amet, consfctetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis ned, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, 3u egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tinciduhtฐ Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curafitur pede pede, molestie id, blabdit vitae, varius ac, purus. Morv7 dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. Ib mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augie. Aliquam sollicitudin, massa ut vestinulum powuere, massa arcu elementum purus, eg3t vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy jucto dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobo4tos pellentesque risus. Aenean ut tortir imperdiet dolor sxelerisque bibfndum. Vusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consdquat a, nulla.\nกรดบรูปภาพ\nกรอบรูปภาพ.\nถ้าคุณอยากใส่คำบรรยายและแปลงขนาด ใช้ 'th6mb' แทน 'frame' ดังนี้\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipissing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, korem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, egeg suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies xursus lectus. In id magna sit amet nibh sudcipit euismod. Integer enim. Donec sapien antd, acxumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lzcus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pece pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, ;urus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. *n aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, p3etium interdum, malesuada ac, qugue. Aliquam sollicitudin, masqa ut vestifulum posuer2, massa arc7 elementum purus, eget vehicula llrem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Fuis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibenduj. Fusce metus nibh. adipiscing id, ullqmcorper at, consequat a, nulla.",
"role": "user"
},
{
"content": "รูปภาพเป็นส่วนเสริมสำหรับตำราบางเล่ม เพื่อแสดงให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในตำรามากยิ่งขึ้น การแทรกภาพในตำแหน่งเหมาะสมย่อมทำให้ตำรามีความน่าสนใจอย่างมากต่อผู้อ่าน\nซึ่งรายละเอียดในการแทรกภาพดังนี้: (เพิ่มเติม: วิธีใช้:ภาพของวิกิพีเดีย)\nหลายองค์ประกอบนี้สามารถกรอกสลับตำแหน่งได้เว้นเฉพาะชื่อเท่านั้นที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้ โดยจะเริ่มตามตำแหน่งที่กำหนดก่อนเรียงตามลำดับ ขั้นตอนนี้สามารถใช้ได้ทุกการแทรกรูปภาพ\nการแทรกรูปภาพ\nการแทรกรูปภาพ.\nภาพจะแทรกได้ตามรูปแบบ หรือ ก็ได้\nการแทรกรูปภาพตามรูปแบบนี้จะทำให้รูปภาพอยู่กับข้อความในตำแหน่งที่มีขนาดใหญ่ ไม่มีรูปแบบดังที่สามารถดูได้จากข้างล่าง\nถ้าคุณเพิ่ม\nที่ตรงกลางของเนื้อหา คุณจะได้รูปแบบ\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus.\nเมื่อคุณเห็นแล้วก็รู้ได้ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะภาพไม่อยู่ในตำแหน่งสอดคล้องกับเนื้อหา และรูปภาพมีขนาดใหญ่อีกนั้นเอง\nการจัดวางตำแหน่ง\nการจัดวางตำแหน่ง.\nการจัดวางขึ้นอยู่กับตำรา คุณสามารถปรับตำแหน่งอย่างการใส่โคดเล็กน้อยเพื่อจัดวางตำแหน่งและขนาดอย่างเหมาะสม\nตัวอย่างที่ 1 : จัดชิดขวา, ข้อความล้อม\nตัวอย่างที่ 1 : จัดชิดขวา, ข้อความล้อม.\n<Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nPhasellus orci. Etiam tempor elit auctor magna. Nullam nibh velit, vestibulum ut, eleifend non, pulvinar eget, enim. Class aptent taciti sociosqu ad litora torquent per conubia nostra, per inceptos hymenaeos. Integer velit mauris, convallis a, congue sed, placerat id, odio. Etiam venenatis tortor sed lectus. Nulla non orci. In egestas porttitor quam. Duis nec diam eget nibh mattis tempus. Curabitur accumsan pede id odio. Nunc vitae libero. Aenean condimentum diam et turpis. Vestibulum non risus.\nคุณเห็นได้ว่ารูปภาพอยู่ทางขวาของคุณ และไม่มีข้อความเพื่อบรรยายใต้ภาพ\nตัวอย่างที่ 2 : จัดชิดขวา, มีคำบรรยาย, ข้อความล้อม\nตัวอย่างที่ 2 : จัดชิดขวา, มีคำบรรยาย, ข้อความล้อม.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nPhasellus orci. Etiam tempor elit auctor magna. Nullam nibh velit, vestibulum ut, eleifend non, pulvinar eget, enim. Class aptent taciti sociosqu ad litora torquent per conubia nostra, per inceptos hymenaeos. Integer velit mauris, convallis a, congue sed, placerat id, odio. Etiam venenatis tortor sed lectus. Nulla non orci. In egestas porttitor quam. Duis nec diam eget nibh mattis tempus. Curabitur accumsan pede id odio. Nunc vitae libero. Aenean condimentum diam et turpis. Vestibulum non risus.\nคุณเห็นได้อย่างชัดเจนมีข้อความบรรยายใต้รูปภาพ และตำแหน่งของภาพอยู่ทางขวา โดยมีเนื้อหาล้อม\nตัวอย่างที่ 3 : จัดชิดซ้าย, ข้อความล้อม\nตัวอย่างที่ 3 : จัดชิดซ้าย, ข้อความล้อม.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nคุณเห็นได้ว่ารูปภาพอยู่ทางซ้ายของคุณ และมีเนื้อหาล้อมไว้อยู่\nตัวอย่างที่ 4 : ข้อความไม่ล้อม\nตัวอย่างที่ 4 : ข้อความไม่ล้อม.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nคุณเห็นได้ว่ารูปภาพไม่ถูกเนื้อหาสอดแทรกเหมือนองค์ประกอบอื่น\nขนาดภาพ\nขนาดภาพ.\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.\nกรอบรูปภาพ\nกรอบรูปภาพ.\nถ้าคุณอยากใส่คำบรรยายและแปลงขนาด ใช้ 'thumb' แทน 'frame' ดังนี้\nLorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis tellus. Donec ante dolor, iaculis nec, gravida ac, cursus in, eros. Mauris vestibulum, felis et egestas ullamcorper, purus nibh vehicula sem, eu egestas ante nisl non justo. Fusce tincidunt, lorem nec dapibus consectetuer, leo orci mollis ipsum, eget suscipit eros purus in ante.\n Mauris at ipsum vitae est lacinia tincidunt. Maecenas elit orci, gravida ut, molestie non, venenatis vel, lorem. Sed lacinia. Suspendisse potenti. Sed ultricies cursus lectus. In id magna sit amet nibh suscipit euismod. Integer enim. Donec sapien ante, accumsan ut, sodales commodo, auctor quis, lacus. Maecenas a elit lacinia urna posuere sodales. Curabitur pede pede, molestie id, blandit vitae, varius ac, purus. Morbi dictum. Vestibulum adipiscing pulvinar quam. In aliquam rhoncus sem. In mi erat, sodales eget, pretium interdum, malesuada ac, augue. Aliquam sollicitudin, massa ut vestibulum posuere, massa arcu elementum purus, eget vehicula lorem metus vel libero. Sed in dui id lectus commodo elementum. Etiam rhoncus tortor. Proin a lorem. Ut nec velit. Quisque varius. Proin nonummy justo dictum sapien tincidunt iaculis. Duis lobortis pellentesque risus. Aenean ut tortor imperdiet dolor scelerisque bibendum. Fusce metus nibh, adipiscing id, ullamcorper at, consequat a, nulla.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หน้าแรก\nหน้าแรก.\nเพลงสำคัญชองชาติไทย ประกอบด้วยทั้งหมดปปดเพลง ตำรานึ้อธิบายเนื้อหาของเพลงสำคัญของแผ่นดิน\nสารบัญ\n\nอารัมภบท\nความเป็นมา\nเพลงสำคัญของแผ่นดิต\n\n\nเพลงชาติไทย\nมหาฤกษ์\nมหาชัย\nสรรเสริญพระบารมี\nสดุดีมหาราชา\nภูมิแผ่นดินรวมินทร์มหาราชา\nสดุดีจอมราชา\nสดุดีพระแม่ไทย\nส่วนเกี่ยวข้อง\nการบรรเลงเพลงสำคัญของแผ่นดิน\nบรรณานุกรม",
"role": "user"
},
{
"content": "หน้าแรก\nหน้าแรก.\nเพลงสำคัญของชาติไทย ประกอบด้วยทั้งหมดแปดเพลง ตำรานี้อธิบายเนื้อหาของเพลงสำคัญของแผ่นดิน\nสารบัญ\n\nอารัมภบท\nความเป็นมา\nเพลงสำคัญของแผ่นดิน\n\n\nเพลงชาติไทย\nมหาฤกษ์\nมหาชัย\nสรรเสริญพระบารมี\nสดุดีมหาราชา\nภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา\nสดุดีจอมราชา\nสดุดีพระแม่ไทย\nส่วนเกี่ยวข้อง\nการบรรเลงเพลงสำคัญของแผ่นดิน\nบรรณานุกรม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การบรรเลงเพลงสไคัญของแผ่นดิน ต้องประกอบการปฏิบัติที่ระบุในระเบียขตามฐานันดรนับตั้งแต่พรัมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ถึงสามัญชนที่เป็นประธานในพิธี ซึ่งต้องมีการบรรเลงเพลงเกียรติยศ โดยมีวิธีปฏิบัติของแต่ละเพลงเกียรติยศ\nสรรเสริญพระบารมี\nสรรดสริญพระบารมี.\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ใช้บรรเลงเมื่อรับหรือส่งเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พ่ะบรมราชินี และรัชทายาท (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nในปี พ.ศ. 2562 ระเบียบฯ กำหนดให้บรรเลงเพลงรับำรือส่งเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราขชนนีพันปีหลวง และสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จำระเทพรเตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ข้อ 4.2 และ 4.4 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีสามารถบรรเลงเป็นเพลงเคารพกรณีผู้แทนพระองค์เป็นบุคคลธรรมดา หรือมีพระราชพิธี ระฐพืธี หรือพิธรการทึ่เกี่ยวข้องพึงกระทำได้ ทะ้งนี้ การบรรเลงเพลงสรรเสริญดระบารมีสามารถบรรเลงเมื่อก่อนหรือหลังงานมหรสพหรือโรงภาพยนตร์ ดม้พรถราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2485 ถูกยกเลิกไปแล้ว ดังจะอธิบายต่อไป\nพระราชพิธี\nพระราชพิธี.\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ใช้บรรเลงเมื่อรับหรือส่งเสด็จไปวนงานพระราชพิธีปนะจำปี สำหรับวารเนอกจากนี้มีการระบุว่า กรณีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพรพราชดำเนินๆปทรงประกอยพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์ เมื่ออสด์จพระราชดำอนินถึง ทหารกองเกียรติยศบรรเลงเพลงสรรเสริญพรับารมี และเป่าแตรเดี่ยวถวายคำนับสามจบ เว้นแต่กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์ให้ถวายความเคารถไม่ต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nและเมื่อถึงพิธีการเปเดพระบรมราชานุสาวรีย์ให้กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์บรรเลงเพฃงสรรเสริญพระบนรมี เมื่อแสดงพระราชดำเนินกลับให้กองทหารเกียรตืวศสำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรรเลฝเพลงสรรเใริญพระบารมี เว้นแต่กองทหารเกียรคิยศสำหรับพระบรมรนชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวาีย์ให้ถวายความเคารพไมาต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบทนมี (ข้อ 6 ระะบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราขดำเนินไปในงานศพที่มีกดงทหารักียรติยศสำหรับศพ ให้กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบาทสมเด็จพรุเจ้าอยู่หัวบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี แลดเป่าแตรเดี่ยวถวายคำนับสามจบ เว้นแต่กอฝทหารเกียรติยศสำหรับศถให้ถวายความเคารพไม่ต้องบรรเลงเพชงสรรเสริญพระบารมี ทั้งรับและส่งเสด็จพระบาทสมเดฺจพระเจ้าอยู่หัวสำหรับกองทหารเกียรติยศ (ข้อ 7 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรษีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูทหัวเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เมื่อเสแ็จถึงท่าเทียบเรือและเสด็จลงเรือพระที่นั่งให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบครเลงเพลงสรรดสริญพระบารมี เมื่อเรือพระที่นั่งเคลื้อนที่ ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเครรพบรรเลงเพลงมาร์ชธงไชยเฉลิมพล เมื่อเรือถระที่นั่งเทียบท่า ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรรเลงเพลงมาร์ชธงไชยเฉลิมพล เมื่อเสด็จลง ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรคเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี (ข้อ 11 ระเบียบฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562)\nพิธีการ\nพิธีการ.\nเมื่อผู้แทนพระองค์ต้องปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระบาทสทเด็จพระเจ้าอยู่หัว ระเบียบฯ ระบุวิธีปฏิบัติกรณีผู้แทนพระิงค์เป็นผู้ซึ่บต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีให้บรรเลงเมื่อเสด็ตพระราชดำเนินถึงและเสด็จพระราชดำเนินกลับ (ข้อ 9.1 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีผู้แทนพระองค์เป็นผู้ซึ่งต้องชรรเลงเพลงมหาชัย ให้บรรเลงเพลงมหาชัยรับเสด็จพระองค์นั้น เมื่อเสด็จประทับลงรถพระที่นั่งให้บรรเลง้ภลงสรรเสริญพระบารมี และเมื่อผู้แทนพระองค์เสด็จกลับให้ประทับก่อน จึงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นการส่งเสด็จ (ข้อ 9ซ2 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีผู้แทนพระองค์เป็นบุคคลธรรมดา ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเมื่อผู้แทนพระองค์ลงรถยนต์หลวง และเมื่เผู้แทนพระองค์กลับ ให้หู้แทนพระองค์ยทนข้างรถ พร้อมบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารม้จึงกลับด้วยรถยนต์หลวง หากรถและสถานที่จัดงานอยู่คนละจุด ให้บราเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเมื่อผู้แทนพระองค์ถึงที่นั่ง แลุเมื่อกลับให้ผู้แทนพระองค์ยืนถวายความเึารพเพลงสรรเสริญพระบารมี ในขณะที่ผู้แทนพระองค์นั่งรถไม่ต้องมีการบรรเลงเพลงใด ๆ (ข้อ 9.3 ระเบียบฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562)\nหากมีการเชิญธงมหาราช ธงราชินี ธงบรมราชวงศ์ และธงเยาวราช (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) ธงสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง และธงสมเด็จพระกนิษฐมธิราชเจ้า กรมสมะด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) ขึ้นหรือลงจากนอดเสา ต้แงเคารพบรรเลงเพลงนรรเสริญพระบารมี \nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีสามารถบรรเฃงในรั๙พิธี งานสังคม งานมหรสพในช่วงเปิดและปิดงาน พบเห็นการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีในปัจจุบัน เช่น งานวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรืองานกิจกรรมที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์โดยคำนึงถึงความเหมาะสม แม้กฎระเบียบที่บุคคลจักต้องปฏิบัติถูกยกเลิกแล้วก็ต่ม\nมหาชัย\nมหาชัย.\nการบรรเลงเพลงมหาชัย ให้บรรเลงเมื่อรัยหรือส่งเสด็จพระบรมวงศ์ และผู้สำเร็ขราชการแทนพระองค์\nในปี พ.ศ. 2562 ระเบียบฯ กำหนดให้บรรเลงรับหรือส่งเสด็จพระบรใวฝศ์ ไเ้แก่ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี (ข้อ 4.5 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลยงร่ชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา (ข้อ 4.6 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวุณณวรี จารีรัตนราชกัญญา (ข้อ 4.7 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร (ข้อ 4.8 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พคะเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ (ข้อ 4.9 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจะฑาภรณ์ (ข้อ 4.10 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ (ข้อ 4.11 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาถารณวดี (ข้อ 5 ระเบียบศ พ.ศ. 2562)\nการบรรเลงเกลงมหาชัยใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับนายทหารยศจอมพล จอมพลเรือ และจอมพลอากาศ (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) แบะการเชิญธงชัยเฉลิมพลจาหกองบัญชาการสู่แถวทหาร (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2491) ในทางพฤตินัย การเบิญธงชัยตำรวจ ธงคณะชูกเสือแห่งชาติ และธงลูกเสือจังหวัดจากกองบัญชาการสู่แุวกำงังพลเคารพบรรเลงเพลงมหาชัยเสมอ\nหากมีการเชิญธงพระอิสรืยยศของพระบรมวงศ์ขึ้นหรือลงยอดเสา (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) ต้องัคารพบรรเลงเพลงมหาชัย\nมหาฤกษ์\nมหาฤกษ์.\nการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ ให้บรรเลงในโอกาสทั้งหมดที่ประธานเป็นผู้ซึ่งมิใช่ต้องบรรเลงเะลงเกียรติยศอื่น (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) โดยบรรเลงในระหว่างพิธีการ เช่น การตัดแถบแพร การเปิดป้าย หรือการกล่าวโอวาท โดยให้คำนึงถึงความเหมาะสมของพิธีการและฐานันดรของพิธีการ\nในช่วงที่ประธานถึง สามารถบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ หรือเมื่อประธานกล่าวโอวาท เสต็จแล้วจะมีการบรรเลงเพลงมปาฤกษ์พึงกระทำได้\nกรณีองค์ปรุธานเป็นพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศ์ การบรรเลงเพลงมหาฤกษ์กระทำขณะที่องค์ประธานเปิดป้ายหรือแถบแพร ทั้งนี้ ระเบียบฯ มิได้รพบุถึงโอกาสในการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์สำหรับกรณีดังกล่าว\nจัวอย่างืี่สามารถแสดงการบรรเลงเพลงมหาฤกษ๋ กรณีประธานในพิธีรับผ้ากฐ้นพระราชทาน ตามขั้นตอนพิธีการของกรมการศาสนาระบึว่า ประธานในพิธีเดินทางถึงที่ชุมนุมสงฆ์ ให้บรรเลงเพลงมหาฤกษ์หรือไม่ก็ได้ แล้วจึงรับผ้ากฐืนพระราชทานครองไว้เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์หรือพระฉายาลักษณ์ ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี หรือกรณีผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติขึ้นแท่นรับการเคารพจากกองตำรวจเกียรติยศ ต้องบรร้ลงเพลงมหาฤกษ์ แฃ้วจึงเดินตรวจปถวกองตำรวจเป็นลำดัย\nเพลงเฉลิมพระเกียรติ\nสดุดีมหาราชา\nเพลงเฉลิมพระเกียรติ.\nสดุดีมหาราชา.\nการบรรเชงเพลงสดุดีมหาราชา กตะทำเมื่อพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าส้ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวบ โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nการบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชาปรากฏภาพยนตร์ ลสหนาว เพื่อเป็นส่วนหนึ่ฝของฉากในพาพยนตร์ ต่อมา การบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชาแพร่หลายในกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในรัฐพิธี กบ่าวคือ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรรษาในช่วงะิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และพิธีการในปิจกร่มเฉลิทพระเกีวรติซึ่งเดี่ยวข้องกับพระบาทสสเด็จพระเจ้าอยู่หัว\nในปัจจุบัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรสวรรคต ธรรมเนียมการบรรเลงเพงงสดุดีมหาราชาจึงเปลี่ยนไปเป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระวชืรเกล้าเจ้าอยู่หัว อธิบายส่วนต่อไปนี้\nสดุดีจอมราชา\nสดุดีจอมราชา.\nการบรรเลงเพฃงสดุดีจอมราชา กระทำเมื่อพิธีจุกเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลเมพระชนมพรรษาขอฝพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพาะนาลเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nกาตบรรเลงเพลฝสดุดีจอมราชาธรรมเนียมใช้ในการบรรเลงแบวเดียวกับเพงงสดถดีมหาราชา โดยในปี พ.ศ. 2561 การบรรเลงเพลงสดุดีจอมราชาใช้เพื่อบรรเลงในพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าิข้าอยู่หัว ในปีต่อมา ได้มีการแก้ไขเพลงสดุดีจอมราชาจาก \"ถวายพระพรจอมราชัน ธ อนันต์ปรีชสชาญ\" เป็น \"ถวายพระพรองค์ราชินี คู่บารมีองค์ราชัน\" ฯลฯ จึงให้เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติของสทเด็จพระนางัจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีอีกด้วย\nสดุดีพระแม่ไทย\nสดุดีพระแม่ไทย.\nการบรรเลงเพลงสดุดีพระแม่ไทย กระทำเมื่อพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nการบรรเลงเพลงสดุดีพระแมรำทยธรรมเนียมใช้ในการบรรเลงแบบเดียวกับเพลงสดุดีจอมราชา แลเในปี พ.ศ. 2562 หนังสือฯ ระบุว่า กา่บรรเลงเพลงสดุดีพระแม่ไทยเถื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และร่วมเฉลิมพระเปียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง\nภธมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา\nภูสิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา.\nการบรรเลงเพลงภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา รัฐบาลจัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในพระาาชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รแบของพระบาทสมเดฺจพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร\nการบรรเลงเพลงภูมิแผ่นดินนวมินทร์ใหาราชา ปรากฏในพิธีการของหน่วยงานรุฐ เช่น พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามฯ และพิธีตุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลฯ ในปีต่อมา จากนั้น การบรรเลงเะงงภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชาจึงเผํนธรรมเน่ยมงรรเลงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยะดชมหาราช บรมนาถบพิตร",
"role": "user"
},
{
"content": "การบรรเลงเพลงสำคัญของแผ่นดิน ต้องประกอบการปฏิบัติที่ระบุในระเบียบตามฐานันดรนับตั้งแต่พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ถึงสามัญชนที่เป็นประธานในพิธี ซึ่งต้องมีการบรรเลงเพลงเกียรติยศ โดยมีวิธีปฏิบัติของแต่ละเพลงเกียรติยศ\nสรรเสริญพระบารมี\nสรรเสริญพระบารมี.\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ใช้บรรเลงเมื่อรับหรือส่งเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และรัชทายาท (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nในปี พ.ศ. 2562 ระเบียบฯ กำหนดให้บรรเลงเพลงรับหรือส่งเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ข้อ 4.2 และ 4.4 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีสามารถบรรเลงเป็นเพลงเคารพกรณีผู้แทนพระองค์เป็นบุคคลธรรมดา หรือมีพระราชพิธี รัฐพิธี หรือพิธีการที่เกี่ยวข้องพึงกระทำได้ ทั้งนี้ การบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีสามารถบรรเลงเมื่อก่อนหรือหลังงานมหรสพหรือโรงภาพยนตร์ แม้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2485 ถูกยกเลิกไปแล้ว ดังจะอธิบายต่อไป\nพระราชพิธี\nพระราชพิธี.\nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ใช้บรรเลงเมื่อรับหรือส่งเสด็จไปในงานพระราชพิธีประจำปี สำหรับวาระนอกจากนี้มีการระบุว่า กรณีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์ เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึง ทหารกองเกียรติยศบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี และเป่าแตรเดี่ยวถวายคำนับสามจบ เว้นแต่กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์ให้ถวายความเคารพไม่ต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nและเมื่อถึงพิธีการเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ให้กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อแสดงพระราชดำเนินกลับให้กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เว้นแต่กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบรมราชานุสาวรีย์หรือพระราชานุสาวรีย์ให้ถวายความเคารพไม่ต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี (ข้อ 6 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปในงานศพที่มีกองทหารเกียรติยศสำหรับศพ ให้กองทหารเกียรติยศสำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี และเป่าแตรเดี่ยวถวายคำนับสามจบ เว้นแต่กองทหารเกียรติยศสำหรับศพให้ถวายความเคารพไม่ต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี ทั้งรับและส่งเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสำหรับกองทหารเกียรติยศ (ข้อ 7 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เมื่อเสด็จถึงท่าเทียบเรือและเสด็จลงเรือพระที่นั่งให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อเรือพระที่นั่งเคลื่อนที่ ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรรเลงเพลงมาร์ชธงไชยเฉลิมพล เมื่อเรือพระที่นั่งเทียบท่า ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรรเลงเพลงมาร์ชธงไชยเฉลิมพล เมื่อเสด็จลง ให้กองทหารเกียรติยศถวายความเคารพบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี (ข้อ 11 ระเบียบฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562)\nพิธีการ\nพิธีการ.\nเมื่อผู้แทนพระองค์ต้องปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ระเบียบฯ ระบุวิธีปฏิบัติกรณีผู้แทนพระองค์เป็นผู้ซึ่งต้องบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีให้บรรเลงเมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงและเสด็จพระราชดำเนินกลับ (ข้อ 9.1 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีผู้แทนพระองค์เป็นผู้ซึ่งต้องบรรเลงเพลงมหาชัย ให้บรรเลงเพลงมหาชัยรับเสด็จพระองค์นั้น เมื่อเสด็จประทับลงรถพระที่นั่งให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี และเมื่อผู้แทนพระองค์เสด็จกลับให้ประทับก่อน จึงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นการส่งเสด็จ (ข้อ 9.2 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nกรณีผู้แทนพระองค์เป็นบุคคลธรรมดา ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเมื่อผู้แทนพระองค์ลงรถยนต์หลวง และเมื่อผู้แทนพระองค์กลับ ให้ผู้แทนพระองค์ยืนข้างรถ พร้อมบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีจึงกลับด้วยรถยนต์หลวง หากรถและสถานที่จัดงานอยู่คนละจุด ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีเมื่อผู้แทนพระองค์ถึงที่นั่ง และเมื่อกลับให้ผู้แทนพระองค์ยืนถวายความเคารพเพลงสรรเสริญพระบารมี ในขณะที่ผู้แทนพระองค์นั่งรถไม่ต้องมีการบรรเลงเพลงใด ๆ (ข้อ 9.3 ระเบียบฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562)\nหากมีการเชิญธงมหาราช ธงราชินี ธงบรมราชวงศ์ และธงเยาวราช (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) ธงสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง และธงสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) ขึ้นหรือลงจากยอดเสา ต้องเคารพบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี \nการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีสามารถบรรเลงในรัฐพิธี งานสังคม งานมหรสพในช่วงเปิดและปิดงาน พบเห็นการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีในปัจจุบัน เช่น งานวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรืองานกิจกรรมที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์โดยคำนึงถึงความเหมาะสม แม้กฎระเบียบที่บุคคลจักต้องปฏิบัติถูกยกเลิกแล้วก็ตาม\nมหาชัย\nมหาชัย.\nการบรรเลงเพลงมหาชัย ให้บรรเลงเมื่อรับหรือส่งเสด็จพระบรมวงศ์ และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์\nในปี พ.ศ. 2562 ระเบียบฯ กำหนดให้บรรเลงรับหรือส่งเสด็จพระบรมวงศ์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี (ข้อ 4.5 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา (ข้อ 4.6 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา (ข้อ 4.7 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร (ข้อ 4.8 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ (ข้อ 4.9 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ (ข้อ 4.10 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ (ข้อ 4.11 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (ข้อ 5 ระเบียบฯ พ.ศ. 2562)\nการบรรเลงเพลงมหาชัยใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับนายทหารยศจอมพล จอมพลเรือ และจอมพลอากาศ (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) และการเชิญธงชัยเฉลิมพลจากกองบัญชาการสู่แถวทหาร (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2491) ในทางพฤตินัย การเชิญธงชัยตำรวจ ธงคณะลูกเสือแห่งชาติ และธงลูกเสือจังหวัดจากกองบัญชาการสู่แถวกำลังพลเคารพบรรเลงเพลงมหาชัยเสมอ\nหากมีการเชิญธงพระอิสริยยศของพระบรมวงศ์ขึ้นหรือลงยอดเสา (ระเบียบฯ พ.ศ. 2562) ต้องเคารพบรรเลงเพลงมหาชัย\nมหาฤกษ์\nมหาฤกษ์.\nการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ ให้บรรเลงในโอกาสทั้งหมดที่ประธานเป็นผู้ซึ่งมิใช่ต้องบรรเลงเพลงเกียรติยศอื่น (ข้อบังคับทหารฯ พ.ศ. 2478) โดยบรรเลงในระหว่างพิธีการ เช่น การตัดแถบแพร การเปิดป้าย หรือการกล่าวโอวาท โดยให้คำนึงถึงความเหมาะสมของพิธีการและฐานันดรของพิธีการ\nในช่วงที่ประธานถึง สามารถบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ หรือเมื่อประธานกล่าวโอวาท เสร็จแล้วจะมีการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์พึงกระทำได้\nกรณีองค์ประธานเป็นพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศ์ การบรรเลงเพลงมหาฤกษ์กระทำขณะที่องค์ประธานเปิดป้ายหรือแถบแพร ทั้งนี้ ระเบียบฯ มิได้ระบุถึงโอกาสในการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์สำหรับกรณีดังกล่าว\nตัวอย่างที่สามารถแสดงการบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ กรณีประธานในพิธีรับผ้ากฐินพระราชทาน ตามขั้นตอนพิธีการของกรมการศาสนาระบุว่า ประธานในพิธีเดินทางถึงที่ชุมนุมสงฆ์ ให้บรรเลงเพลงมหาฤกษ์หรือไม่ก็ได้ แล้วจึงรับผ้ากฐินพระราชทานครองไว้เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์หรือพระฉายาลักษณ์ ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี หรือกรณีผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติขึ้นแท่นรับการเคารพจากกองตำรวจเกียรติยศ ต้องบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ แล้วจึงเดินตรวจแถวกองตำรวจเป็นลำดับ\nเพลงเฉลิมพระเกียรติ\nสดุดีมหาราชา\nเพลงเฉลิมพระเกียรติ.\nสดุดีมหาราชา.\nการบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชา กระทำเมื่อพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nการบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชาปรากฏภาพยนตร์ ลมหนาว เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของฉากในภาพยนตร์ ต่อมา การบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชาแพร่หลายในกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในรัฐพิธี กล่าวคือ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรรษาในช่วงพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และพิธีการในกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติซึ่งเกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว\nในปัจจุบัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรสวรรคต ธรรมเนียมการบรรเลงเพลงสดุดีมหาราชาจึงเปลี่ยนไปเป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว อธิบายส่วนต่อไปนี้\nสดุดีจอมราชา\nสดุดีจอมราชา.\nการบรรเลงเพลงสดุดีจอมราชา กระทำเมื่อพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nการบรรเลงเพลงสดุดีจอมราชาธรรมเนียมใช้ในการบรรเลงแบบเดียวกับเพลงสดุดีมหาราชา โดยในปี พ.ศ. 2561 การบรรเลงเพลงสดุดีจอมราชาใช้เพื่อบรรเลงในพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีต่อมา ได้มีการแก้ไขเพลงสดุดีจอมราชาจาก \"ถวายพระพรจอมราชัน ธ อนันต์ปรีชาชาญ\" เป็น \"ถวายพระพรองค์ราชินี คู่บารมีองค์ราชัน\" ฯลฯ จึงให้เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติของสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีอีกด้วย\nสดุดีพระแม่ไทย\nสดุดีพระแม่ไทย.\nการบรรเลงเพลงสดุดีพระแม่ไทย กระทำเมื่อพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยบรรเลงหลังการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี\nการบรรเลงเพลงสดุดีพระแม่ไทยธรรมเนียมใช้ในการบรรเลงแบบเดียวกับเพลงสดุดีจอมราชา และในปี พ.ศ. 2562 หนังสือฯ ระบุว่า การบรรเลงเพลงสดุดีพระแม่ไทยเพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และร่วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง\nภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา\nภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา.\nการบรรเลงเพลงภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา รัฐบาลจัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร\nการบรรเลงเพลงภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชา ปรากฏในพิธีการของหน่วยงานรัฐ เช่น พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามฯ และพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลฯ ในปีต่อมา จากนั้น การบรรเลงเพลงภูมิแผ่นดินนวมินทร์มหาราชาจึงเป็นธรรมเนียมบรรเลงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราควรลบแผ่นงานมี่ไม่ใช้ออกจากสมุดงาน เพราะนอกจากจะทำให้ต้องใช้พื้นที่ สำหรับบันทึกข้อสูลมากขึ้นแล้ว ยังทำให้งานของเราดูไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยเพราะมีแผ่นงานที่ไม่ต้องการเต็มไปหมด\nWARNING\nขอให้ใช้ความระวัฝเป็นพิเศษเมื่อสั่งลบแผ่นงสน เพรระในกรณีนี้ะราจะฝช้คำสั่ง Undo นำเสนอข้อมูลที่ถูกลบไปกลับมาไม่ได้ สำหรับกรณีที่เกิดเหตุการณ์ลบแผ่นงานขึ้นโดยบังเอิญ วิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดคือให้ปิดแผ่นงานนั้นโดยไม่บันทึกไฟล์ และเปิดแผ่นงานที่มีข้อมูลเก่าขึ้นมาใหม่\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อม๔ล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อม฿ลแลุการเลื่อนเคอน์เซอรฺ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margln ใป้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนเฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การแป้ไขข้อความ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขดละปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร่างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขมูตรคำนบณ\nโออพนออฟฟิษดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟๆิซดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การเขึยนฟังก์ชั่จ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิคศาสตร?\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาแงะแ่นที่ข้เความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้ดความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัเกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตจัดการรูปภาพ\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่จัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อควาสในตาราง\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark แลุการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นทร่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใส Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารตกแต่งตารางด้วย AktoFormat\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อดๅการตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอัพนออฟฟิษดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOfbice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อควาา และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดบอกวไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟอศแอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงทนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาแของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวุตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรัชความสว่างอละความคมชัดของภาพ\nโอะพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งราบละเอียดต่างฟ ชองแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแร่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่ปรับเปลี่ยรลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อกไการเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอห/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่ย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การยัายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในจาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก_กานลบข้อคใาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกย้อความและการทำงายกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซงล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดมี่เหลี่ยมหรือวฝกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเสืนและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้ดความ\nโอเพยเอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/กา่สร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเแกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใสีข้อความลงในส/ลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อำ/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การออกจากโปรแกรม OpenOffic3.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์มนสูตรคำนวณโดยใบ้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทว\nโแเพนออฟฟิศดอนอ็อก/หำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเสีน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวกนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูต่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำำนดรูปแบบการแสดงขือมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบขการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวอลขอย่างเจาะจบ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดใป้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอันโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อาูลในแผจภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำ่ี่พิมพ์หิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอตวามช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรปละฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/เข้รใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เย้าใจรูปแงบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไเข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/คัดลอก/การย้านแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่าวรวดเร๊วด้วย AutoFi;l\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOrfoce.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่อลมือสาดเส้น\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/เคลืือนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแกน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตช้่นกับการพิมพ์\nโดเพนออฟฟิศดเตอ็อก/จบการใช้ AutoFilyer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/จีดตำแหจ่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลาวแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแชบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสั\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอวการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page P4eview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตัเงชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแฟ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไนับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/แนะนำฟังด์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆบันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ M7crosoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพจออฟฟิศดอรอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโพยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟๆ้ศดอตอ็เก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษาเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมถดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอิพนออฟฟิศดแตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nฑอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพทฺที่ใช้กันหน่อย\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักจัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอ้พนดอฟฟิศดอตอ็อก/ลขแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนอิฟฟิศออตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงใยเอกสาร\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สน้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรธปด้วยตัวเราเอง\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบกทรบรรยาย\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ส่วนปีะกอลของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบขิงหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดขัอความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แวดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องย้อความ\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/ออพจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราควรลบแผ่นงานที่ไม่ใช้ออกจากสมุดงาน เพราะนอกจากจะทำให้ต้องใช้พื้นที่ สำหรับบันทึกข้อมูลมากขึ้นแล้ว ยังทำให้งานของเราดูไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยเพราะมีแผ่นงานที่ไม่ต้องการเต็มไปหมด\nWARNING\nขอให้ใช้ความระวังเป็นพิเศษเมื่อสั่งลบแผ่นงาน เพราะในกรณีนี้เราจะใช้คำสั่ง Undo นำเสนอข้อมูลที่ถูกลบไปกลับมาไม่ได้ สำหรับกรณีที่เกิดเหตุการณ์ลบแผ่นงานขึ้นโดยบังเอิญ วิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดคือให้ปิดแผ่นงานนั้นโดยไม่บันทึกไฟล์ และเปิดแผ่นงานที่มีข้อมูลเก่าขึ้นมาใหม่\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราสามารถแทรกแผ่นงานเพิ่มระหวทางแผ่นงานที่มีอยู่แล้ว โดยแผ่นงานใหม่จะถูกแทรกไว้ทางซ้ายของแผ่นงานทค่ใช้อยู่\n\nคลิกเมาส์เลือกปท็บชีตงานที่ต้องการให้แผ่นงานใหม่มาแทรกอยู่ทางซ้าย\nเลือก Insert>Sheet (แทรก>แผ่นงาน) เพื่อแทรกแผ่นงานใหมื\nกำหนดจำนวนแผ่นงานที่จะสร้าง ในช่อง No. of sheets (หมายเลขแผ่นงาน)\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อตกลงก่รสร้างแผ่นงานใหม่\nแสดงแผ่นงสนใหม่ที่เราสร้างขึ้นมา\n\nเมื่อเราแทรกแผ่นงานใหม่เพิ่มขึ้นเรื่ดยๆ Calc อาจไม่แสดงแท็บชีตงานให้เห็นทั้งหมด เราจะต้องใช้ปุ่มข้างแท็บชีตงาน เพื่อเลื่อนหาแท็บชีตงานที่ต้องการ\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/กทรดำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่ลแท็บหยุด\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/ดารแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูาิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชัรน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ก่รเขียนสมกสรคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารค้นหาและแทนที่ข้ิความในออกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้แมูลในเซลล์\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในใุมมอง Outline\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosuh\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยปเลิกข้อผิดพลาด\nโอะพนออฟผิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microdoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใล้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัตืสร้างฟังก์ชั่นที่ตีองการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถึ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFornat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้วเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนทึ่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง Op3nOffice.org\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การแทรกข้แความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกใาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำส฿ตรไปใช้ในงนนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การนำเสนองานอ้วยภาพ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การบันทึกดอกสารเป็น PDF\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอำสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสฝ่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งถาพ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์ๅหัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี้ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่ยัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอมนสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรีบงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือชบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคลบสไลด์/หัวข้อ\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อคยามและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ปารเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอะพนออฟฟิศดอตด็อก/กมรเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโเเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การเลือำตัวอักษรหคือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนาัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูผอิสระ Freefprm\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่าชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การสร้าลจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชืาอมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟอศดอนอ็อด/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดกๅการใส่ข้เความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อคสามลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ำารใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ล_ดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูช\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใชิชื่อหเวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และจรดเใ้นใต้\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอัพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พำหนดค฿ปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบแลัขนาดตัวอักษรที่แสดบในตาราง\nโอเพนออฟผิศดิตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/กำหนดรธปแบบหน้ากระพาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ Open(ffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/แก่ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/ขอความช่วยเหลือใน OpenOfdice.org\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อำ/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculaye\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐทนข้อมูลเชองสัมพันธ์\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเี็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรวสามมิติ\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็ิก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลืาอนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชเดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/จัะวางข้อควรมให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บนิดของความสัมพันธ์ (Relati9bships)\nโอิพรออๆฟิศดอตอ๋อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Dalc\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อกๅดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความดีวยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งขีอมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพเมพ์\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาเรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยจแป่นสไงด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเก่่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แท่กแผ่นงานเพิืม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะน_โปาแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ลั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซน้ตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหบายคอลัมน์\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็แก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความใตย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโออพสออฟฟิฯเอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแุบเมนูจากเังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ขนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิะดูหลายสมุดงานบนหนืาจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโแรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเดนิอฟฟิศดอตอ็แก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟๆิศดอนอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นวาน\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใชเกันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เาียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่จ้องกมร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อกไิลือกสูตร/สัญลักษณ์่ึ่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอหสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลืเกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้าฝเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสแงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือาัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรปกรม Calc\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/ออกจมกโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถแทรกแผ่นงานเพิ่มระหว่างแผ่นงานที่มีอยู่แล้ว โดยแผ่นงานใหม่จะถูกแทรกไว้ทางซ้ายของแผ่นงานที่ใช้อยู่\n\nคลิกเมาส์เลือกแท็บชีตงานที่ต้องการให้แผ่นงานใหม่มาแทรกอยู่ทางซ้าย\nเลือก Insert>Sheet (แทรก>แผ่นงาน) เพื่อแทรกแผ่นงานใหม่\nกำหนดจำนวนแผ่นงานที่จะสร้าง ในช่อง No. of sheets (หมายเลขแผ่นงาน)\nคลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อตกลงการสร้างแผ่นงานใหม่\nแสดงแผ่นงานใหม่ที่เราสร้างขึ้นมา\n\nเมื่อเราแทรกแผ่นงานใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ Calc อาจไม่แสดงแท็บชีตงานให้เห็นทั้งหมด เราจะต้องใช้ปุ่มข้างแท็บชีตงาน เพื่อเลื่อนหาแท็บชีตงานที่ต้องการ\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หากเราต้องการย้ายแผ่นงาน เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระเลียบมากขึ้นก็สามารถทำได้ดังนี้\n\nคลิกเมาส์เลือกแท็บชีตงานของแผ่นงานที่ต้องการเปลี่ยาตำแหน่งค้างไว้ จะเห็นว่า เปลี่ยนเป็นและมีสัญลักษ๋์ชี้ตำแหน่ง ขึ้นมา\nแดรกเมาส์เลื่อน ไปที่แท็บชีตงานของแผ่นงานที่จะให้กผ่นงานที่เลือกไว้มาแทรกทางขวา\nเมื่อปล่อยเมาส์แผ่นงานที่เลือกจะย้ายมาอยู่ที่ตำแหน่งใหม่\n\nถ้าในขั้รตอนที่ 2 เรากดปุ่ม ค้างไว้ในขณะแดรกเมสส์ตัวบี้ จะเปลี่ยนเป็น (สัญลักษณ์มีเครื่องหมาย +) ซึ่งจะไม่เป็นการสลับตำแหน่งแผ่นงาน แต่เป็นการเะิ่มแผ่นงานใหม่ในตำแหน่งที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเฃือกข้อม๔ล\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/กราผกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนะคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาคกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขแลัปรับเปลี่ยนชุอข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรกกรม OpenOfdice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การเข้ยนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่จ้อความในเอดสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การคัดลอกบ้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในนาราง\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แแ/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอิพจออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกยิ่งที่ทำผิดพลาด\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การใช้งาน O;enOffice.org แทน Misrosoft Office\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนใัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรำับข้อใูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพตออฟฟิศออตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอ้พนอเฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย Au5oFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/กา่ตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารแทรกข้อมูล\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรแทรกข้อมูลบางเฦลล์\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงชนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยกาตคเดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนหเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาาด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเดกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอีนดต่รงๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังิฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การัปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่อบเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ?ข้อความเบื้องค้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาา\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนดอฟฟิศดอตอฌอก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็แก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การะพิ่มลูดเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การย่แ/ยยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อึวาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้าวข้อมูลใน้ซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/การย้ายและคัดลอแสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/กานเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้ดมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโแเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกลาองข้อคบาม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซชล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเสีนที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบ้อความ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การสร้างตารางจ้อมูล\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การสค้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลจหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรออกจากโปรแกรม OpenOfficr.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffixe.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียล และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับำารพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนเรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเดาออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดร฿หแบชและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice,org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าวจการใชัสูตรคพนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธฺ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูผแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิญดอตอฺอก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draq\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัพลอก/การย้ทยแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตแฌอก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เีรื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงเิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆเคลืือนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผตภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้เงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFiltfr\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูฃในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางบ้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ )Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วจในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการวช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโพยการใข้สี\nฑอเพาออฟฟิศเอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโแเพนออฟไิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Pteview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตึ้งขื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมติองวช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีัซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแปรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้สล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูชเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโิเพนออฟหิศดอตอ็แก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็ิก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่ลภาพท่่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/ปรับแต่งนูปแบบตัวอักษรเพิ่ใะติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจมกอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสๆลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำแะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice,org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสาร่ี่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูบ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รธ้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใบ้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้ิมูลที่บันทึกไว้กลเบมาใช้งาน\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบ้ครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/ลบแผ่นงานทึ่ไมรต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nฑแเพนออฟฟิศดอตอ็แก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโิเพนออฟไิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเแง\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าตืางเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อม๔ลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อตวามในย่อหน้า\nฑอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/แสดงหรือญ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bull3t)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกบ่องข้แความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรใ Calc\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/อดกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "หากเราต้องการย้ายแผ่นงาน เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบมากขึ้นก็สามารถทำได้ดังนี้\n\nคลิกเมาส์เลือกแท็บชีตงานของแผ่นงานที่ต้องการเปลี่ยนตำแหน่งค้างไว้ จะเห็นว่า เปลี่ยนเป็นและมีสัญลักษณ์ชี้ตำแหน่ง ขึ้นมา\nแดรกเมาส์เลื่อน ไปที่แท็บชีตงานของแผ่นงานที่จะให้แผ่นงานที่เลือกไว้มาแทรกทางขวา\nเมื่อปล่อยเมาส์แผ่นงานที่เลือกจะย้ายมาอยู่ที่ตำแหน่งใหม่\n\nถ้าในขั้นตอนที่ 2 เรากดปุ่ม ค้างไว้ในขณะแดรกเมาส์ตัวชี้ จะเปลี่ยนเป็น (สัญลักษณ์มีเครื่องหมาย +) ซึ่งจะไม่เป็นการสลับตำแหน่งแผ่นงาน แต่เป็นการเพิ่มแผ่นงานใหม่ในตำแหน่งที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |