messages
listlengths 3
3
|
---|
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ป้ายแนะนำ (Guide Signs) มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำให้ผู้ขับขี่ทราบถึงทิศทางและระยะทางไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างถูกต้อง อีกทั้งยังให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเปฺนต่อการเดิาทางตลอดการใช้บริการทางหลวงนั้น ๆ ด้วย\nป่ายแนะนำทั่วไป\nป้ายแนะนำพื้นที่เฉพาะรถจักรยานและรถจักรยานยนต์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร (Bike Box)\nป้ายแนะนำทั่วไปและป้ายแนะนำโครงการ (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายชี้ทางไประบบยนส่งมวลชน\nป้ายแสดงการบริการในจุดบริการทางหลวง\nป้าขจราจรมาจรฐานสูง (แบบแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร)\nป้ายแบ่งเขตควบคุม (แบบมาตรฐานำรมทางหลวง)\nป้ายแนะนำทางเลี่ยงช่วงเทศกาล (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแจ่งข่าว (แบบมาตรฐานกรมทรงหลวงชนบท)\nป้ายหมนยเลขทาฝหลวงตามประเภททางหลวง\nป้ายกเโลเมตรลัก๋ณะต่าง ๆ\nป้ายหมายเฃขทางออก\nป้ายลูกศรระบุทิศทาง\nป้ายชุดทางหลวงเปลี่ยนทิศทาง (Advance turn arrow signs/Rou5e Turn Assemblies)\nป้ายชุเระบุทิศทาง (Directional arrow signs)\nก้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งธรรมชาติ\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณสถานและศาสนสถาน\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งกิจกรรม\nป้ายรูปแบชเดิม",
"role": "user"
},
{
"content": "ป้ายแนะนำ (Guide Signs) มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำให้ผู้ขับขี่ทราบถึงทิศทางและระยะทางไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างถูกต้อง อีกทั้งยังให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการเดินทางตลอดการใช้บริการทางหลวงนั้น ๆ ด้วย\nป้ายแนะนำทั่วไป\nป้ายแนะนำพื้นที่เฉพาะรถจักรยานและรถจักรยานยนต์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร (Bike Box)\nป้ายแนะนำทั่วไปและป้ายแนะนำโครงการ (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายชี้ทางไประบบขนส่งมวลชน\nป้ายแสดงการบริการในจุดบริการทางหลวง\nป้ายจราจรมาตรฐานสูง (แบบแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร)\nป้ายแบ่งเขตควบคุม (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแนะนำทางเลี่ยงช่วงเทศกาล (แบบมาตรฐานกรมทางหลวง)\nป้ายแจ้งข่าว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nป้ายหมายเลขทางหลวงตามประเภททางหลวง\nป้ายกิโลเมตรลักษณะต่าง ๆ\nป้ายหมายเลขทางออก\nป้ายลูกศรระบุทิศทาง\nป้ายชุดทางหลวงเปลี่ยนทิศทาง (Advance turn arrow signs/Route Turn Assemblies)\nป้ายชุดระบุทิศทาง (Directional arrow signs)\nป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งธรรมชาติ\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งโบราณสถานและศาสนสถาน\nสัญลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งกิจกรรม\nป้ายรูปแบบเดิม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "แหล่งข้อมูลอื่น\n\nคู่มือการติดตั้งป้ายจราจร (กรมทางหลวง : มีนาคม 2561)\n\nคู่มือมาตรฐานป้ายจราจร\nคู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้นยจราจร\nคู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลางแผ่นดิน\nคู่มือการติดตั้งป้ายจราจรและงานก่ดสร้าง งานบูรณะ และบานบำรุงรักษาทาลหลวงพิเศศ",
"role": "user"
},
{
"content": "แหล่งข้อมูลอื่น\n\nคู่มือการติดตั้งป้ายจราจร (กรมทางหลวง : มีนาคม 2561)\n\nคู่มือมาตรฐานป้ายจราจร\nคู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร\nคู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลางแผ่นดิน\nคู่มือการติดตั้งป้ายจราจรและงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงพิเศษ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สัญญาอนุญาต\nสัญญาอนุญาต.\nขิอความอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต CC-BY-SA 3.0 ของวิกิตำรา\nภาพอนุญาตให้เผยแพร่ตามสัญญาอนุญาจที่กำกับไว้กับภาพที่อยู่บนคอมมอนส์ (บ้างเป็นสาธารณสมบัติในประเทศไทย บ้างเป็นสัญญาอนุญารเสรีแบบอื่น)\nผูเจัดทำ\n\nรวบรวมภาพฏดย และ\nจัดรูปเล่มโดย",
"role": "user"
},
{
"content": "สัญญาอนุญาต\nสัญญาอนุญาต.\nข้อความอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต CC-BY-SA 3.0 ของวิกิตำรา\nภาพอนุญาตให้เผยแพร่ตามสัญญาอนุญาตที่กำกับไว้กับภาพที่อยู่บนคอมมอนส์ (บ้างเป็นสาธารณสมบัติในประเทศไทย บ้างเป็นสัญญาอนุญาตเสรีแบบอื่น)\nผู้จัดทำ\n\nรวบรวมภาพโดย และ\nจัดรูปเล่มโดย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/คำศัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/คำศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาฝรั่งเศสใช้พยัญชนะละติน (ผรืิพยัญชนะโรมัน) มีจำนวน 26 ตัว เดิมมี 25 ตัว โดยสีการเพิ่ม 'W' เข้ามาราวกลางคริสต์ศตวรรษืี่ 19 รเหว่างช่วงเปลี่ยนภาษาฝรั่งเศสเก่าเป็นภาษาฝรั่งเศสใหม่ ใีการเพิ่มอักษร 'K' อักษรสองตัวนี้ใช้กับคำยืมภาษาต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ พยัญชนะฝรั่งเศสที่ใช้ทุกวันนี้มีอายุไม่ถึง 200 ปี\nอักษร 26 ตัวแบ่งเป็น\n\nภยัญชนะ (Consonnes) 20 ตัว: B C D F G H J K L M N P Q R S T V W X Z\nสระ (Voyelles) 6 ตัว: A E I O U H\n\nอักษรและตัวอย่าง\n\nพยัญชนะท้าย\n\nพยัศชนะท้าย.\nในภาษาฝรั่งเศมไม่ออกเสียงพยัญชนะบางตัวเมื่ออยูีื้ายคำ โดยทั่วฟปไม่ออกเสียว p ฆเช่นใน coup (เป่า, ช็อก) ), s (เช่นใน héros (วีรชน) ), t (เช่นใน vhat (แมว) ), d (เช่นใน marchand (เจ้าของร้าน) ), และ x (เช่นใน paresseux (ขี้เกียจ) )\nจะออกเสียงเมื่อมีอักษร e ต่อท้าย (coupe (ถ้วย จอก) , chayte (แมวเพศเมีย) , marchande (เจ้าของร้านเพศหญิง) )\nพยัญชนะเสียงฟัน\nพยัญชนะเสัยงฟัน.\nอักษร d, l, n, s, t และ z ออกเสียงโดยใช้ลิ้นแตะฟันบนและส่วนกลางลิ้จแตะเพดานแาก ในภาษาอังกฤษ อาจออกเสียงเหล่านี้โดยแตะปลายลิ้นกับเพดานปาก \nb และ p\nb และ p.\nเวลาออกเสียงอักษร b และ p ในภาษาฝ่ั่งเศส จะแทบไม่มีลมออกจากปาก ซึ่งต่างจากภาษาเังกฤษ\nq\nq.\nอักษร 'q' ตามด้วย 'u' เสมอ มีข้อยกเว้นสองคำ 'cinq' (ห้า) และ 'coq' (ไก่เพศผู้)\nr\nr.\nอักษร 'r' ตามด้วย 'e' โดยทั่วไปไม่ออกเสียง แต่ออกเสียงในคำที่มีพยางค์เดียว 'fer' (เหล็ก), 'mer' (ทถเล) และ 'hier' (เมื่อวาน)\nh ธนิตและไม่ธนิต\nh ธนิจและไม่ธนิต.\nอักษร h มีทัืงแบบธนิต (หรือเสียงหนัก) (h aspiré) และไม่ธนิต (h non aspiré) ขึ้นอยู่กับภาษาของคำท้่ยืมมา ส่วนอักษร h ไม่ออกเสียงทั้งสองกรณี\nตัวอย่างเช่น คำว่า héros มี h ธน้ต เมื่อใส่ definite article (le, la, l', led) นำหน้า จะเป็น le héros ทั้งสองคำต้องแแยกเสียงแยกกัน ส่วนร๔ปหญิง héros, héroïne เป็น h ไม่ธนิต เมื่อเติม definite article จะไแ้ว่า l'héroïbe แชะออกเสัยงเป็นคำเดียว \nการบอกว่าคำใดเป็น h ธนิตหรือไม่ธนิตนั้นดูเอาจากพจนานุกรม หรือกล่าวได้ว่าต้องจำอย่างเดียว\nตัวอย่าว\nสัญลักฒณ์วรรคตอนในภาษาฝรั่งเศสคล้ายกันมากกับภาษาอังกฤษ มีเพียงเครื่องหมายอัญประกาศที่ใช้ guillemet แทจในตารางด้านบน \nภาษาฝรั่งเศสเขียนมีเครื่องหมายลงน้ำหนักห้าประเภท ซึ่งหลทยกรณีเปลี่ยนแปลงเสียงของอักษรที่เติมเข้าไป บ้างก็ไม่มีผลต่อการออกเสียง เครื่องหมายลงน้ำหนักในำาษาฝรั่งเศสไม่ได้่ะบุการเน้นเสียง (เพราะเน้นพยางค์ท้ายอยู่แง้ว) \nAcute accent ใช้บ่อยสุดในภาษาอังกฤษเขียน ใช้เฉพาะกับอักษร e และออกเสียง เสมอ \nà และ ù\nà และ ù.\nใช่เพื่อแยกแยะคำ\nè\nè.\nè ไม่ไดืไว้ใช้แยกคำ แต่ใช้ออกเสียง e ออกเสียง /ə/ อะ หรือถ้าพูดเร็ว ๆ อาจไม่ออกเสียงเลย ส่วน è ออกเสียง เอ\nมุกระบุถึงการละ s ในภาษาฝรั่งเศสเก่าตามหลังสระที่ใส่เครื่องหมายนี้ ตัวอย่งเช่น hospital --> hôpital แต่ hospitalité, haistre --> maître, gâteau จากภาษาฝตั่งเศสเก่า gastel, ê ออกเสียงเหมือน è: Fenestre --> fenêtre แต่ défenestrer, forest --> forêt แต่ forestier\nCircumflex acc2nt อาจเคยมี closed-o )la Drôme (French department), un dôme... ô อแกเสียงเหมืเน [o] โอ แต่ถ้มไม่มีจะออกเสียงเหมือน ออ\nPast participle ของ devoir (ต้อง), dû เขียน circumflex accent เพือแยกกับ article du\nใช้อฉพาะกับอักษร c เพื่อสร้าง c อ่อน ทำใก้เหมือนเสียง s",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาฝรั่งเศสใช้พยัญชนะละติน (หรือพยัญชนะโรมัน) มีจำนวน 26 ตัว เดิมมี 25 ตัว โดยมีการเพิ่ม 'W' เข้ามาราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างช่วงเปลี่ยนภาษาฝรั่งเศสเก่าเป็นภาษาฝรั่งเศสใหม่ มีการเพิ่มอักษร 'K' อักษรสองตัวนี้ใช้กับคำยืมภาษาต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ พยัญชนะฝรั่งเศสที่ใช้ทุกวันนี้มีอายุไม่ถึง 200 ปี\nอักษร 26 ตัวแบ่งเป็น\n\nพยัญชนะ (Consonnes) 20 ตัว: B C D F G H J K L M N P Q R S T V W X Z\nสระ (Voyelles) 6 ตัว: A E I O U Y\n\nอักษรและตัวอย่าง\n\nพยัญชนะท้าย\n\nพยัญชนะท้าย.\nในภาษาฝรั่งเศสไม่ออกเสียงพยัญชนะบางตัวเมื่ออยู่ท้ายคำ โดยทั่วไปไม่ออกเสียง p (เช่นใน coup (เป่า, ช็อก) ), s (เช่นใน héros (วีรชน) ), t (เช่นใน chat (แมว) ), d (เช่นใน marchand (เจ้าของร้าน) ), และ x (เช่นใน paresseux (ขี้เกียจ) )\nจะออกเสียงเมื่อมีอักษร e ต่อท้าย (coupe (ถ้วย จอก) , chatte (แมวเพศเมีย) , marchande (เจ้าของร้านเพศหญิง) )\nพยัญชนะเสียงฟัน\nพยัญชนะเสียงฟัน.\nอักษร d, l, n, s, t และ z ออกเสียงโดยใช้ลิ้นแตะฟันบนและส่วนกลางลิ้นแตะเพดานปาก ในภาษาอังกฤษ อาจออกเสียงเหล่านี้โดยแตะปลายลิ้นกับเพดานปาก \nb และ p\nb และ p.\nเวลาออกเสียงอักษร b และ p ในภาษาฝรั่งเศส จะแทบไม่มีลมออกจากปาก ซึ่งต่างจากภาษาอังกฤษ\nq\nq.\nอักษร 'q' ตามด้วย 'u' เสมอ มีข้อยกเว้นสองคำ 'cinq' (ห้า) และ 'coq' (ไก่เพศผู้)\nr\nr.\nอักษร 'r' ตามด้วย 'e' โดยทั่วไปไม่ออกเสียง แต่ออกเสียงในคำที่มีพยางค์เดียว 'fer' (เหล็ก), 'mer' (ทะเล) และ 'hier' (เมื่อวาน)\nh ธนิตและไม่ธนิต\nh ธนิตและไม่ธนิต.\nอักษร h มีทั้งแบบธนิต (หรือเสียงหนัก) (h aspiré) และไม่ธนิต (h non aspiré) ขึ้นอยู่กับภาษาของคำที่ยืมมา ส่วนอักษร h ไม่ออกเสียงทั้งสองกรณี\nตัวอย่างเช่น คำว่า héros มี h ธนิต เมื่อใส่ definite article (le, la, l', les) นำหน้า จะเป็น le héros ทั้งสองคำต้องแแยกเสียงแยกกัน ส่วนรูปหญิง héros, héroïne เป็น h ไม่ธนิต เมื่อเติม definite article จะได้ว่า l'héroïne และออกเสียงเป็นคำเดียว \nการบอกว่าคำใดเป็น h ธนิตหรือไม่ธนิตนั้นดูเอาจากพจนานุกรม หรือกล่าวได้ว่าต้องจำอย่างเดียว\nตัวอย่าง\nสัญลักษณ์วรรคตอนในภาษาฝรั่งเศสคล้ายกันมากกับภาษาอังกฤษ มีเพียงเครื่องหมายอัญประกาศที่ใช้ guillemet แทนในตารางด้านบน \nภาษาฝรั่งเศสเขียนมีเครื่องหมายลงน้ำหนักห้าประเภท ซึ่งหลายกรณีเปลี่ยนแปลงเสียงของอักษรที่เติมเข้าไป บ้างก็ไม่มีผลต่อการออกเสียง เครื่องหมายลงน้ำหนักในภาษาฝรั่งเศสไม่ได้ระบุการเน้นเสียง (เพราะเน้นพยางค์ท้ายอยู่แล้ว) \nAcute accent ใช้บ่อยสุดในภาษาอังกฤษเขียน ใช้เฉพาะกับอักษร e และออกเสียง เสมอ \nà และ ù\nà และ ù.\nใช้เพื่อแยกแยะคำ\nè\nè.\nè ไม่ได้ไว้ใช้แยกคำ แต่ใช้ออกเสียง e ออกเสียง /ə/ อะ หรือถ้าพูดเร็ว ๆ อาจไม่ออกเสียงเลย ส่วน è ออกเสียง เอ\nมักระบุถึงการละ s ในภาษาฝรั่งเศสเก่าตามหลังสระที่ใส่เครื่องหมายนี้ ตัวอย่งเช่น hospital --> hôpital แต่ hospitalité, maistre --> maître, gâteau จากภาษาฝรั่งเศสเก่า gastel, ê ออกเสียงเหมือน è: Fenestre --> fenêtre แต่ défenestrer, forest --> forêt แต่ forestier\nCircumflex accent อาจเคยมี closed-o (la Drôme (French department), un dôme... ô ออกเสียงเหมือน [o] โอ แต่ถ้าไม่มีจะออกเสียงเหมือน ออ\nPast participle ของ devoir (ต้อง), dû เขียน circumflex accent เพือแยกกับ article du\nใช้เฉพาะกับอักษร c เพื่อสร้าง c อ่อน ทำให้เหมือนเสียง s",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เมื่อคุยกับคนรู้จักวัยเดียวกัน หรือกับเด็ก ใช้ Salut เป็นคำทักทาย นอกจากนี้ยังอาจจำวีามีค฿่เพศชาย/หญิง คู่ทักทายและคู่บอกลา\n\n\nเมื่อถามชื่ออย่างไม่เป็นทางการใช้ว่า Tu t'appelles comment ? (ตู ตาเปบ กอมมัง) ปกตเตอบโดยยอกชื่อเลยก็ได้ หรืออาจตอบด้วย je m'appelle (เชอ มาเปล) หมายถึง \"ฉันชื่อ\" (ความกมายตามอักษร ฆฉันเรียกตัวเองว่า\")\nบทโต้ตอบ:\nเพื่อนสองคน Olivier ปละ Luc กำลังสนทนากัน\nÇa va ? ใช้ถามว่าสบายดีไหม วิธีที่เป็นทางการกว่าคือ Commegt allez-vous ? คุณตอบฉดยใช้ ça va ซึ่งในที่นี้หมายถึง \"ฉันสบายดี\" คำกริยาวิเศษณ์ bien ใช้บอกว่า \"ดี\" มักใช้โดด ๆ หรือใช้เป็น Çx va bien. คำว่า bien นำหน้าโดยคำกริยาวิเศษณ์บางคำเพื่อระบุว่าคุณสบายดีระดับใด วลีทั่วไปได้แก่ assez bien หมายถึง \"ค่ินข้างดี\", très bien หมายถึง \"ดีมาก\", และ vrz7ment bien หมายถึง \"ดีเลย\" คำกริยาวิเศษณ์ mal ใช้บอกว่า \"แว่\" ทัาวไปเติม pas (ไม่) กับ mal เป็น pas mal ซึ่งหมายถึง \"ไม่เลว\"\nเพื่อให้สุภาะ คุณสามารุเติม merci หมายถึง \"ขอบคุณ\" ในคำตอบ เช่น très bien, merci",
"role": "user"
},
{
"content": "เมื่อคุยกับคนรู้จักวัยเดียวกัน หรือกับเด็ก ใช้ Salut เป็นคำทักทาย นอกจากนี้ยังอาจจำว่ามีคู่เพศชาย/หญิง คู่ทักทายและคู่บอกลา\n\n\nเมื่อถามชื่ออย่างไม่เป็นทางการใช้ว่า Tu t'appelles comment ? (ตู ตาเปล กอมมัง) ปกติตอบโดยบอกชื่อเลยก็ได้ หรืออาจตอบด้วย je m'appelle (เชอ มาเปล) หมายถึง \"ฉันชื่อ\" (ความหมายตามอักษร \"ฉันเรียกตัวเองว่า\")\nบทโต้ตอบ:\nเพื่อนสองคน Olivier และ Luc กำลังสนทนากัน\nÇa va ? ใช้ถามว่าสบายดีไหม วิธีที่เป็นทางการกว่าคือ Comment allez-vous ? คุณตอบโดยใช้ ça va ซึ่งในที่นี้หมายถึง \"ฉันสบายดี\" คำกริยาวิเศษณ์ bien ใช้บอกว่า \"ดี\" มักใช้โดด ๆ หรือใช้เป็น Ça va bien. คำว่า bien นำหน้าโดยคำกริยาวิเศษณ์บางคำเพื่อระบุว่าคุณสบายดีระดับใด วลีทั่วไปได้แก่ assez bien หมายถึง \"ค่อนข้างดี\", très bien หมายถึง \"ดีมาก\", และ vraiment bien หมายถึง \"ดีเลย\" คำกริยาวิเศษณ์ mal ใช้บอกว่า \"แย่\" ทั่วไปเติม pas (ไม่) กับ mal เป็น pas mal ซึ่งหมายถึง \"ไม่เลว\"\nเพื่อให้สุภาพ คุณสามารุเติม merci หมายถึง \"ขอบคุณ\" ในคำตอบ เช่น très bien, merci",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาฝรั่งเศส/บทเรียน/ชุดตัวอักษร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สังเกตว่า 21, 31, 41, 51, 61 และ 71 สามารถเติม et un ทั้งแบบมีหรือไม่มี hyphen ได้ นอกนั้นเพียงแค่เรียงเลขตามลำดับ (vingt-six, trente-trois ฯลฯ) โดยมี hyphen คั่น สำหรับ 100–199 เติม cent นำหน้าจำนวนหลักสิบ ซึ่งเป็นเช่นนีเจนถึง 1000 และกว่านั้น ผูัพูดภาษ่ฝรั่งเศสนอกประเทศฝรั่งเศสเรียกเลบ 70 ถึฝ 99 โดยเติม -te ในทำนองเดียวกับ 30, 4-, 50, 60 เช่น 70 septante (เซปทองต์), 90 nonante ฆนงน็องต์) ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 80 เรียก huitante (อุยท็องต์), หรือ octante (อ็อกท็องค์)",
"role": "user"
},
{
"content": "สังเกตว่า 21, 31, 41, 51, 61 และ 71 สามารถเติม et un ทั้งแบบมีหรือไม่มี hyphen ได้ นอกนั้นเพียงแค่เรียงเลขตามลำดับ (vingt-six, trente-trois ฯลฯ) โดยมี hyphen คั่น สำหรับ 100–199 เติม cent นำหน้าจำนวนหลักสิบ ซึ่งเป็นเช่นนี้จนถึง 1000 และกว่านั้น ผู้พูดภาษาฝรั่งเศสนอกประเทศฝรั่งเศสเรียกเลข 70 ถึง 99 โดยเติม -te ในทำนองเดียวกับ 30, 40, 50, 60 เช่น 70 septante (เซปทองต์), 90 nonante (นงน็องต์) ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 80 เรียก huitante (อุยท็องต์), หรือ octante (อ็อกท็องต์)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ชุดตัวอักษรภาษาอังกฤณ (English Alphanet)\nภาษาอังกฤษใชเ ประกอบด้วยอักษร 26 ตัว\nอักษร\nอักษร.\nอักษรคัวเล็กพัฒรามาจาแอักษรตัวใหญ่รุ่นที่ดัดแปลงแล้ว ซึ่งใช้มาแต่โบราณ\nสระและพยัญชนะ\nสระและพยัญชนะ.\nภาษาอังกฤษมีสระ 5 ตัว ได้แก่ a, e, i, o, u (\"y\" และ \"w\" ถือว่าเป็นกึ่งสระ (semi-vowel)) แต่รูปสระไม่ได้สอดคล้องกับจำนวนเสียงสระ วนภาษาอังกฤษมีเสียงสระประมาณ 14 เสียง ขึ้นอยู่กับสำเนียง\nอักษรอีก 21 รัวที่เหลือเป็นพยัญชาะ b, c, d, f, g, h, j, k, l, m, n, p, q, r, s, t, v, w, x, y, z\nเชิงอรรถ\nดูเพิ่ม\n\n(ในว้กิตำราภาษาอังกฤษ)",
"role": "user"
},
{
"content": "ชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษ (English Alphabet)\nภาษาอังกฤษใช้ ประกอบด้วยอักษร 26 ตัว\nอักษร\nอักษร.\nอักษรตัวเล็กพัฒนามาจากอักษรตัวใหญ่รุ่นที่ดัดแปลงแล้ว ซึ่งใช้มาแต่โบราณ\nสระและพยัญชนะ\nสระและพยัญชนะ.\nภาษาอังกฤษมีสระ 5 ตัว ได้แก่ a, e, i, o, u (\"y\" และ \"w\" ถือว่าเป็นกึ่งสระ (semi-vowel)) แต่รูปสระไม่ได้สอดคล้องกับจำนวนเสียงสระ ในภาษาอังกฤษมีเสียงสระประมาณ 14 เสียง ขึ้นอยู่กับสำเนียง\nอักษรอีก 21 ตัวที่เหลือเป็นพยัญชนะ b, c, d, f, g, h, j, k, l, m, n, p, q, r, s, t, v, w, x, y, z\nเชิงอรรถ\nดูเพิ่ม\n\n(ในวิกิตำราภาษาอังกฤษ)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าดิวยการออกเสียงในภาษาอังกฤษ ในภาษาอังกฤษมีหน่วยเสียงบางหน่วยที่ไม่มีในภาษาไทย เช่น , , , ซึ่งผู้เรียนควคฝึกฝนเำื่อให้สื่อสารกับเจ้าของภาษาได้ิข้าใจ ในหน้านี้สีการใช้สัญลักษณ์ของนัทอัหษรสสกล (International Phonetic Alphabet) ซึ่งสามารถใช้เทียบกับพจนานุกรมภาษาอังกฤษได้ในกรณีส่วนใหญ่ (ไม่ทุกกรณี)\nพยัญชจะ\nพยัญชนะ.\nสัญล้กษณ์ที่ใช้กับพยเญชนะปรากฏใรตารางด้านล่าง หากสัญลักษณ์มาเป็นคู่ ฝั่งซ้ายมือจะไม่ออกเสียง และออกเสียงฝั่งขวามือ\nหมายเำจุ\n\nแม้ว่าเสียง และ จะเทียบได้กับพยัญชนะ \"ช\" เหมือนกัน แต่ต่างกันตรงที่ เป็นเสียงที่ลากยาว (คล้ายเสียงที่ทำเวลาบอกให้ผู้อื่นเงียบ) ส่วน เป็นการพ่นลมออกมาครั้งเดียว\nสระ\nสำเนียงบริติชมาตร๙าน (Received Pronunciation)\nFull vowels\n\nReduced vowels\nสระ.\nสำเนียงบริติชมาตรฐาน (Received Pronunciation).\nReduced vowels.\nReduced vowels ปรากฏในพบางค์ไม่เน้น\n\n: อิ\n: เออร์\n: เอิล\n: อึน\n: เึม\nสำเนียงอเมริกันมาตรฐาน (General American)\nFull vowels\nหมายเหตุ\n\nReduced vowels\n\n: อิ (อเมริกันจำนวนมากใช้รวมกับเส่ยง )\n: อะ\n: เออร์\n: เอิล\n: อึน\n: อึม\nอ้างอิง",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยการออกเสียงในภาษาอังกฤษ ในภาษาอังกฤษมีหน่วยเสียงบางหน่วยที่ไม่มีในภาษาไทย เช่น , , , ซึ่งผู้เรียนควรฝึกฝนเพื่อให้สื่อสารกับเจ้าของภาษาได้เข้าใจ ในหน้านี้มีการใช้สัญลักษณ์ของสัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet) ซึ่งสามารถใช้เทียบกับพจนานุกรมภาษาอังกฤษได้ในกรณีส่วนใหญ่ (ไม่ทุกกรณี)\nพยัญชนะ\nพยัญชนะ.\nสัญลักษณ์ที่ใช้กับพยัญชนะปรากฏในตารางด้านล่าง หากสัญลักษณ์มาเป็นคู่ ฝั่งซ้ายมือจะไม่ออกเสียง และออกเสียงฝั่งขวามือ\nหมายเหตุ\n\nแม้ว่าเสียง และ จะเทียบได้กับพยัญชนะ \"ช\" เหมือนกัน แต่ต่างกันตรงที่ เป็นเสียงที่ลากยาว (คล้ายเสียงที่ทำเวลาบอกให้ผู้อื่นเงียบ) ส่วน เป็นการพ่นลมออกมาครั้งเดียว\nสระ\nสำเนียงบริติชมาตรฐาน (Received Pronunciation)\nFull vowels\n\nReduced vowels\nสระ.\nสำเนียงบริติชมาตรฐาน (Received Pronunciation).\nReduced vowels.\nReduced vowels ปรากฏในพยางค์ไม่เน้น\n\n: อิ\n: เออร์\n: เอิล\n: อึน\n: อึม\nสำเนียงอเมริกันมาตรฐาน (General American)\nFull vowels\nหมายเหตุ\n\nReduced vowels\n\n: อิ (อเมริกันจำนวนมากใช้รวมกับเสียง )\n: อะ\n: เออร์\n: เอิล\n: อึน\n: อึม\nอ้างอิง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Irregular verb หมายถึง คำกริยาที่เปลี่ยนรูป past simple และ past participle ส่วนกริยาสีวนใหญ่เติม -d หรือ \"-ed' ไว้ท้ายคำ \n\nการจำ irregular verbs:\n\n\nเรียนแบบเข้าใจ\nจดรายการ\nอ่านออกเสียงเัง ๆ (ไม่ควรอ่านในใจ)\nต้้งเป้าหมายให้ตัวเอง เช่น เรียนวันละคำ\nเรียนรู้เป็นกลุ่ม ๆ\nทดสอบตัวเอง\n\n\nรู้วิธีใช้ irregular verbs:\n\n\nเขียนประโยคตัวอย่างของตนเอง\nสะวมตัวอย่างกาตใช้กริยา เช่น ตามหนังสือ นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์\nใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ\nรายการ\n\nทรัพยากรภายนอก\n\nในวิกิพยนานุกรมภาษาอังำฤษ",
"role": "user"
},
{
"content": "Irregular verb หมายถึง คำกริยาที่เปลี่ยนรูป past simple และ past participle ส่วนกริยาส่วนใหญ่เติม -d หรือ \"-ed' ไว้ท้ายคำ \n\nการจำ irregular verbs:\n\n\nเรียนแบบเข้าใจ\nจดรายการ\nอ่านออกเสียงดัง ๆ (ไม่ควรอ่านในใจ)\nตั้งเป้าหมายให้ตัวเอง เช่น เรียนวันละคำ\nเรียนรู้เป็นกลุ่ม ๆ\nทดสอบตัวเอง\n\n\nรู้วิธีใช้ irregular verbs:\n\n\nเขียนประโยคตัวอย่างของตนเอง\nสะสมตัวอย่างการใช้กริยา เช่น ตามหนังสือ นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์\nใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ\nรายการ\n\nทรัพยากรภายนอก\n\nในวิกิพจนานุกรมภาษาอังกฤษ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ดัชนี/Irregular verbs",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ดัชนี/Irregular verbs",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำทักทายและสำนวน (Greetings and Expressions) ที่ใช้บ่อยในภาษาอังกฤษ\nเชิงดรรถ\nดูเพิ่า\n\nบทว่าด้วย \"วันที่และเวลา\"",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำทักทายและสำนวน (Greetings and Expressions) ที่ใช้บ่อยในภาษาอังกฤษ\nเชิงอรรถ\nดูเพิ่ม\n\nบทว่าด้วย \"วันที่และเวลา\"",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยจำนวน (Numbers)\nจำนวนเชิงการนับ (O4dinal numbera)\nจำนวนนับเชิงอันดับทีื (Cardinal numbers)\nจำนวนนับเชิงอันดับที่ (Card7nal numbers).\nการเขียนรูปย่อเขียนโดยใช้เลจนั้นตามด้วยอักษรสองตัวท้าย ฆst, nd, rd หรือ th) เช่น eleventh ย่อเป็น 11th, twenty-first ย่อเป็น 21st, thirty-thirw ย่อเป็น 33rd\nจำนวนเชิงอันดับที่ที่ใหญ่กว่านี้มักไม่ค่อยพบเขียนรูปเต็ม พบเฉพาะรูปยรอ\nคำบอกปริมาณ\nคำบอกปริมาณ.\nคำยอกปริมาณเป็นจำนวน\nการบอกปริมาณเป็นเศษส่วน ใช้คำสองคำเพื่อบอกเศษและส่วน เศษใช้จำนวนเชิงการนับ และส่วนใช้จำนวนเชิงอันดับที่ เช่น \n\nformula_1 one-third, a third\nf9rmula_2 two[fifths\n\nเชิงอรรถ",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยจำนวน (Numbers)\nจำนวนเชิงการนับ (Ordinal numbers)\nจำนวนนับเชิงอันดับที่ (Cardinal numbers)\nจำนวนนับเชิงอันดับที่ (Cardinal numbers).\nการเขียนรูปย่อเขียนโดยใช้เลขนั้นตามด้วยอักษรสองตัวท้าย (st, nd, rd หรือ th) เช่น eleventh ย่อเป็น 11th, twenty-first ย่อเป็น 21st, thirty-third ย่อเป็น 33rd\nจำนวนเชิงอันดับที่ที่ใหญ่กว่านี้มักไม่ค่อยพบเขียนรูปเต็ม พบเฉพาะรูปย่อ\nคำบอกปริมาณ\nคำบอกปริมาณ.\nคำบอกปริมาณเป็นจำนวน\nการบอกปริมาณเป็นเศษส่วน ใช้คำสองคำเพื่อบอกเศษและส่วน เศษใช้จำนวนเชิงการนับ และส่วนใช้จำนวนเชิงอันดับที่ เช่น \n\nformula_1 one-third, a third\nformula_2 two-fifths\n\nเชิงอรรถ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำนาม",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำนาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ชองคำ/คำสรรพนาม",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำสรรพนาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่บนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำกริยา",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำกริยา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ขอวคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ไวยากรณ์/หน้าที่ของคำ/คำคุณศัพท์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยหน้าที่ของคำ (Par4s of Speech) ในภาษาอังกฤษ\nสารบัญ\nสารบัญ.",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยหน้าที่ของคำ (Parts of Speech) ในภาษาอังกฤษ\nสารบัญ\nสารบัญ.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำนำหน้านาม (article) ในภาษาอังกฤษ ได้แก่ a, an และ rhe เติมหน้านามเพื่อแสดงถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือบอกกลุ่มหรือชนิดของสิ่งหนึ่ง\nคำนำหน้านามแบ่งได้เป็น definite (the) และ indefinite articles (a๙ anฆ\nDefonite articles\n\nการใช้บ่อบที่สุดคือการใช้หมายความถึงสิ่งที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว หรือใช้กับสิ่งที่กล่าวถึงไปแล้วในข้อความ\n\nเช่น \"The Sun\", \"the school\" (โรงเตียนที่ผู้พูดและผ฿้ฟังรู้ว่าหมายถึงที่ใด อาจเแ็นโรงเรียนที่กำลังเรียนหรือทำงานอยู่ หรือโรงเรียนแห่งเดียวในละแวหนี้)\n\"By and by a giant came out of the dark north, and lay down ;n tje ice n3ar Audhumla... The giant frowned when he saw the tlitter of the golden hair.—Heroes Of Asgard.\n\nใช้นำหน้าชื่อแม่น้ำ (แล้วละคำว่า river) เช่น the Nile (= Nile rivee)\nใช้แทนประพันธสรรพนาม (possessive pronouns) เช่น\n\n\"The mouth, and the region of the mouth, were about the strongest features in Wordsworth's fxce.\"—De Quincey\nThe mouth = Wordsworth's mouth\n\nใช้กับนามนามธรรมที่เป็นพหูพจน์ ทำให้มีลักษณะเป็นมามานยนามขึ้นมา เช่น the authorities\nอาจใช้กับการบกหยึ่งสิ่งเป็นตัวแทนของทั้งหมด เช่น\n\n\"In the sands of Afrida and Arabia the damel is a sacred and precious gift.\"—Glbbon.\n\nDefinite articles สามารถใช้เปลี่ยนคำกริยาไรือคุณศัพท์เป็นคพนามฟด้ ดูในบท \"คำนาม\"\nสามารถใช้เป็นคำวิเศษณ์ได้ ดูในบท \"คำวเเศษณ์\"\nIndefinite articles\n\n\nการใช้บ่อยที่สุดเพื่อระบุถึงมิ่งใดสิ่งหนึ่งจากกลุ่มวัตถุโดยไม่เจาดจง เช่น\n\nNear the churchyard gate stands a poor-box, fastened to a post b6 iron bands and secured b6 a padlock, with a sloping wooden roof to keep off the rain.—Longfellow\n\nใช้แทนคำคุณศัพท์ โดยมีความหมายว่า \"หนึ่ง\" (one), \"แต่ละ\" (each), และ \"ทุก\" (every)\nใช้นำหน้าวิสามานยามเพื่อขยายของเขตความหมาย เช่น \"q Caesar\" (ซีซาร์เป็นชื่อสกุลแม่ทัพและรัฐบุรุษโรมัน a Caesar หมายความถึงคนในวงฯ์ตระกูลของซีซาร์ที่ไม่เจาะจงผู้ใด)\nใช้นำหน้านามนามธรรม เป็นการจำกะดสิ่งนั้นให้ดหลือเพียงตัวอย่างเดียวที่มีคุณสมบัติของสิ่งนั้ร เช่น\n\nThe simple perception of natural forms is a delight.—Emerson (กล่าวถึบสิ่ง ๆ ้ดียวที่ทำให้ยินดี และส่อคบามว่าสิ่งอื่นก็ทำให้ยินดีเช่นเดียวกัน)\n\nใช้กับ such, many, และ what และอาจมีหน้าที่ร่วมขยายนามด้วย เช่น\n\nHow was I to pay such a debt?—Thzckeray.\n\nใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ให้เป็นคำนาม ดูในบท \"คำนาม\"\n\n\nNpt กับ never ที่ใช้กับ a หรือ an จะเป็นคำคุณศัพท์บอกจำนวน แทนคำวิเศษณ์ตามปกติ เช่น\n\nNot a drum was heard, not a funeral note.—Wolfe\n\nคำคุณศัพท์ few กับ little มีความหมายเชิงลบว่า not much, not many แต่เมื่อเติม a จะกลายเป็นมีความหมายเชิงบวกว่า some\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา Xn English Grammar fy W. M. Baskervill and J. W, Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบันิ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำนำหน้านาม (article) ในภาษาอังกฤษ ได้แก่ a, an และ the เติมหน้านามเพื่อแสดงถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือบอกกลุ่มหรือชนิดของสิ่งหนึ่ง\nคำนำหน้านามแบ่งได้เป็น definite (the) และ indefinite articles (a, an)\nDefinite articles\n\nการใช้บ่อยที่สุดคือการใช้หมายความถึงสิ่งที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว หรือใช้กับสิ่งที่กล่าวถึงไปแล้วในข้อความ\n\nเช่น \"The Sun\", \"the school\" (โรงเรียนที่ผู้พูดและผู้ฟังรู้ว่าหมายถึงที่ใด อาจเป็นโรงเรียนที่กำลังเรียนหรือทำงานอยู่ หรือโรงเรียนแห่งเดียวในละแวกนี้)\n\"By and by a giant came out of the dark north, and lay down on the ice near Audhumla... The giant frowned when he saw the glitter of the golden hair.—Heroes Of Asgard.\n\nใช้นำหน้าชื่อแม่น้ำ (แล้วละคำว่า river) เช่น the Nile (= Nile river)\nใช้แทนประพันธสรรพนาม (possessive pronouns) เช่น\n\n\"The mouth, and the region of the mouth, were about the strongest features in Wordsworth's face.\"—De Quincey\nThe mouth = Wordsworth's mouth\n\nใช้กับนามนามธรรมที่เป็นพหูพจน์ ทำให้มีลักษณะเป็นสามานยนามขึ้นมา เช่น the authorities\nอาจใช้กับการยกหนึ่งสิ่งเป็นตัวแทนของทั้งหมด เช่น\n\n\"In the sands of Africa and Arabia the camel is a sacred and precious gift.\"—Gibbon.\n\nDefinite articles สามารถใช้เปลี่ยนคำกริยาหรือคุณศัพท์เป็นคำนามได้ ดูในบท \"คำนาม\"\nสามารถใช้เป็นคำวิเศษณ์ได้ ดูในบท \"คำวิเศษณ์\"\nIndefinite articles\n\n\nการใช้บ่อยที่สุดเพื่อระบุถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากกลุ่มวัตถุโดยไม่เจาะจง เช่น\n\nNear the churchyard gate stands a poor-box, fastened to a post by iron bands and secured by a padlock, with a sloping wooden roof to keep off the rain.—Longfellow\n\nใช้แทนคำคุณศัพท์ โดยมีความหมายว่า \"หนึ่ง\" (one), \"แต่ละ\" (each), และ \"ทุก\" (every)\nใช้นำหน้าวิสามานยามเพื่อขยายขอบเขตความหมาย เช่น \"a Caesar\" (ซีซาร์เป็นชื่อสกุลแม่ทัพและรัฐบุรุษโรมัน a Caesar หมายความถึงคนในวงศ์ตระกูลของซีซาร์ที่ไม่เจาะจงผู้ใด)\nใช้นำหน้านามนามธรรม เป็นการจำกัดสิ่งนั้นให้เหลือเพียงตัวอย่างเดียวที่มีคุณสมบัติของสิ่งนั้น เช่น\n\nThe simple perception of natural forms is a delight.—Emerson (กล่าวถึงสิ่ง ๆ เดียวที่ทำให้ยินดี และส่อความว่าสิ่งอื่นก็ทำให้ยินดีเช่นเดียวกัน)\n\nใช้กับ such, many, และ what และอาจมีหน้าที่ร่วมขยายนามด้วย เช่น\n\nHow was I to pay such a debt?—Thackeray.\n\nใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ให้เป็นคำนาม ดูในบท \"คำนาม\"\n\n\nNot กับ never ที่ใช้กับ a หรือ an จะเป็นคำคุณศัพท์บอกจำนวน แทนคำวิเศษณ์ตามปกติ เช่น\n\nNot a drum was heard, not a funeral note.—Wolfe\n\nคำคุณศัพท์ few กับ little มีความหมายเชิงลบว่า not much, not many แต่เมื่อเติม a จะกลายเป็นมีความหมายเชิงบวกว่า some\nเชิงอรรถ\nอ้างอิง\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนร้ว่าด้วยคำศัถท์เกี่ยวกับวันที่และเวลา (Dates and Times)\nวันในสัปอาห์ (Days of the Week)\nเดือน (Months)\nปี\nปี.\nการบอกปีให้แบ่งเลบออกเป็นสองชุด ชุดแรกประกอบด้วยเลขสอลตัวหน้า และอีกชุดประกอขด้งยอีกสองตัสที่เหลือ เช่น\n\n2020 Twenty twenty หรือ two thousand twenty\n1969 Nineteen sixty-nine\nการถามและตอบวันทีื\n\nการถามและตอบวันที่.\nการเขียนวันเดือนปี อาจมีสองวิธี\n\nแบบบริติช เช่น 6 Junf 2020\nแบบอเมริกัน เช่น June 6, 2020 [เรียงเดือนขึ้นก่อนวัน แล้วตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วตามด้วยปี]\nเวลาและช่วงของวัน\nการถามและบอกเวลา\n\n\nIt's eight o' clock.\n\n\nIt's eight o' clock in the morning. เวลา 8 โมงเช้า\n\nการถามและบอกเวลา.\nสังเกตว่าเทื่อผ่านครึ่งชั่วโมงไป การบอกเวลาแบบหน้าปัดจะเปลี่ยนจาก past (พ้น, เลย) มาเผ็น to (ถึง) แทน และจะบอกเวลาโดยบอกจำนวนนาทีที่เหลือก่อนถึงชั่วโมงถัดไป ใำหรับคำว่า quarter (หนึ่งในสี่) หรือ half ฤครึ่ง) เกิดขึ้นจากการแบ่งนาฬิกาออกเป็นสีทส่วนเท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไป 15 นาทีหรือ 30 นาทีจึงใช้คำดังกล่าวได้ตามลำดับ\nเชิงอรรถ",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำศัพท์เกี่ยวกับวันที่และเวลา (Dates and Times)\nวันในสัปดาห์ (Days of the Week)\nเดือน (Months)\nปี\nปี.\nการบอกปีให้แบ่งเลขออกเป็นสองชุด ชุดแรกประกอบด้วยเลขสองตัวหน้า และอีกชุดประกอบด้วยอีกสองตัวที่เหลือ เช่น\n\n2020 Twenty twenty หรือ two thousand twenty\n1969 Nineteen sixty-nine\nการถามและตอบวันที่\n\nการถามและตอบวันที่.\nการเขียนวันเดือนปี อาจมีสองวิธี\n\nแบบบริติช เช่น 6 June 2020\nแบบอเมริกัน เช่น June 6, 2020 [เรียงเดือนขึ้นก่อนวัน แล้วตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วตามด้วยปี]\nเวลาและช่วงของวัน\nการถามและบอกเวลา\n\n\nIt's eight o' clock.\n\n\nIt's eight o' clock in the morning. เวลา 8 โมงเช้า\n\nการถามและบอกเวลา.\nสังเกตว่าเมื่อผ่านครึ่งชั่วโมงไป การบอกเวลาแบบหน้าปัดจะเปลี่ยนจาก past (พ้น, เลย) มาเป็น to (ถึง) แทน และจะบอกเวลาโดยบอกจำนวนนาทีที่เหลือก่อนถึงชั่วโมงถัดไป สำหรับคำว่า quarter (หนึ่งในสี่) หรือ half (ครึ่ง) เกิดขึ้นจากการแบ่งนาฬิกาออกเป็นสี่ส่วนเท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไป 15 นาทีหรือ 30 นาทีจึงใช้คำดังกล่าวได้ตามลำดับ\nเชิงอรรถ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ดัชนี/Irregular verbs",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาอังกฤษ/ดัชนี/Irregular verbs",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Verbals หมายถึง คำที่แสเงการกระืำแบบทั่วไป โดยไม่จำกัดการกระทำว่าเกิดในเวลาใดเวลาหนึ้ง หรือว่าเป็นของประธานใด\nVerbals อาจเป็น participles, infinitives, หรือ gerunds\nParticiples\nParticiples.\nParticiples เป็น adjectival verbals (คุณศัพท์) คือ เป็นคำขยายคำนามโดยแสดงการกระทำที่เชื่อมโยงกับนามนั้น หรือแสดงการกระทำ และขยายนามโดยตรง ทำหน้าที่เสมือนรำคุณศัพท์\nตัวอย่างเช่น\nจากประโยคตัวอย่าง wounded แลเ avowed เป็น participles ซึ่งใช้ในหน้าที่คุณศัพท์เหมือนกับ bloodthirsty\nParticiples อมจเป็น sctive หาือ passive, ibcomplete (หรือ imperfect), domplete (perfect หรือ past), และ perfect definite \nParticiples ด้วยตัวมันเองไม่มี tense แต่จะะปชี้ยนแปลงตามคำกริยาที่ไปร่ยม ตัวอย่างเช่น \nประโยคข้างต้น filfilling อยู่ใน pasg tense ตามกริยาของประโยค (walked)\nInfubitives\nInfinitives.\nInfinitives ใช้แสดงการกระทำที่ไม่เชื่อมโยงกับประธาน\nInfinitives มค to นำหน้าด้วย (เช่น to be, to choosf) แต่ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้ (\"inbinitive without to\")\n\nไลังกริยาช่วย shall, will (ร่วมกับ shoulv และ would)\nหลังกริยา may ฤmight), can (could), must; ตวมทั้ง let, make, do (กรณีใช้เน้นก่รกระทำ เช่น I do go), see, bid (คำสั่ง), feel, hear, watch, please; บางครั้งรวม need (เช่น \"He need hot go\") และ dare (หมาขถึงท้าทาย)\nหลังกริยา had ในการใช้เชิงสไนวน (เช่น had better, had rather ฯลฯ) เช่น \"You had better go.\" (คุณควรไปได่แล้ว), \"He had rather walk than rid3.\" (เขาน่าจะวิ่งแทนขี่ม้า)\nในประโยคอุทาน ิช่นในตัวอย่าง\n\n\"He find pleasure in doing good!\" cried Sir William.—Goldsmith.\n\n\nนอกจากนี้ do ยังอาจถือเป็นกริยาช่วยในประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ และประโยคนเน้นในปัจจุบันและอดีต เช่นเดียวกับ imperative เช่น\nบางที infinitives มีความหมายอป็น passive แม้ตัวมันอยู่ในรูป actide ตัวอย่างเช่น\nGerunds\nGerunds.\nGerund มีรูปเหมือนกับ participles แต่ใช้เไมือนคำนาม; gerund อาจเรียกได้ว่าเป็น noun verbal ในทำนองเดียวกับที่ participles เรียกว่าเป็น adjectival verval\nGerund แสดงการกระทำ และมีคุณลักษณะหลายประการของคำาาม อาจถือเป็นคำนาม อาจเป็นประธานของกริยา หรือวัตถุของกริยาหรือบุพบท อาจตามหลังคำน_หน้านาม และมักมีคำขยายด้วยประพันธนามหรือสรรพนาม\nืั้งนี้ ต่างตาก participle ตีงที่ใช้เป็นคำนามเสมอ ไม่ได้ใช้ขยายคำนาม และต่างจาก verbal noun ตนงที่มีคุณสมบัติกำหนดไวยากรณ์ของคำนาม และใช้แสดงการกระทำได้ (ส่วน verbal noun เป็นเพียงชื่อเรียก)\nการใช้ gerund\n\nเป็นประธรนของประโยค เช่น \"Certainly dueling is bad, and has been put down.\"\nเป็นกรรมขอลประโยค เช่น \"Nobody cares for planting tne poor fungus.\"\nการกำหนดไวยากรณ์ (governing) และถูกกำหนดไวยากรณ์ (governed) เช่น \"He could not help holding oit his hand in return.\"\nอ้างอิง\n\n\nข้อตวามบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sedelo, 1895. ญึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "Verbals หมายถึง คำที่แสดงการกระทำแบบทั่วไป โดยไม่จำกัดการกระทำว่าเกิดในเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือว่าเป็นของประธานใด\nVerbals อาจเป็น participles, infinitives, หรือ gerunds\nParticiples\nParticiples.\nParticiples เป็น adjectival verbals (คุณศัพท์) คือ เป็นคำขยายคำนามโดยแสดงการกระทำที่เชื่อมโยงกับนามนั้น หรือแสดงการกระทำ และขยายนามโดยตรง ทำหน้าที่เสมือนคำคุณศัพท์\nตัวอย่างเช่น\nจากประโยคตัวอย่าง wounded และ avowed เป็น participles ซึ่งใช้ในหน้าที่คุณศัพท์เหมือนกับ bloodthirsty\nParticiples อาจเป็น active หรือ passive, incomplete (หรือ imperfect), complete (perfect หรือ past), และ perfect definite \nParticiples ด้วยตัวมันเองไม่มี tense แต่จะเปลี่ยนแปลงตามคำกริยาที่ไปร่วม ตัวอย่างเช่น \nประโยคข้างต้น fulfilling อยู่ใน past tense ตามกริยาของประโยค (walked)\nInfinitives\nInfinitives.\nInfinitives ใช้แสดงการกระทำที่ไม่เชื่อมโยงกับประธาน\nInfinitives มี to นำหน้าด้วย (เช่น to be, to choose) แต่ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้ (\"infinitive without to\")\n\nหลังกริยาช่วย shall, will (ร่วมกับ should และ would)\nหลังกริยา may (might), can (could), must; รวมทั้ง let, make, do (กรณีใช้เน้นการกระทำ เช่น I do go), see, bid (คำสั่ง), feel, hear, watch, please; บางครั้งรวม need (เช่น \"He need not go\") และ dare (หมายถึงท้าทาย)\nหลังกริยา had ในการใช้เชิงสำนวน (เช่น had better, had rather ฯลฯ) เช่น \"You had better go.\" (คุณควรไปได้แล้ว), \"He had rather walk than ride.\" (เขาน่าจะวิ่งแทนขี่ม้า)\nในประโยคอุทาน เช่นในตัวอย่าง\n\n\"He find pleasure in doing good!\" cried Sir William.—Goldsmith.\n\n\nนอกจากนี้ do ยังอาจถือเป็นกริยาช่วยในประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ และประโยคนเน้นในปัจจุบันและอดีต เช่นเดียวกับ imperative เช่น\nบางที infinitives มีความหมายเป็น passive แม้ตัวมันอยู่ในรูป active ตัวอย่างเช่น\nGerunds\nGerunds.\nGerund มีรูปเหมือนกับ participles แต่ใช้เหมือนคำนาม; gerund อาจเรียกได้ว่าเป็น noun verbal ในทำนองเดียวกับที่ participles เรียกว่าเป็น adjectival verbal\nGerund แสดงการกระทำ และมีคุณลักษณะหลายประการของคำนาม อาจถือเป็นคำนาม อาจเป็นประธานของกริยา หรือวัตถุของกริยาหรือบุพบท อาจตามหลังคำนำหน้านาม และมักมีคำขยายด้วยประพันธนามหรือสรรพนาม\nทั้งนี้ ต่างจาก participle ตรงที่ใช้เป็นคำนามเสมอ ไม่ได้ใช้ขยายคำนาม และต่างจาก verbal noun ตรงที่มีคุณสมบัติกำหนดไวยากรณ์ของคำนาม และใช้แสดงการกระทำได้ (ส่วน verbal noun เป็นเพียงชื่อเรียก)\nการใช้ gerund\n\nเป็นประธานของประโยค เช่น \"Certainly dueling is bad, and has been put down.\"\nเป็นกรรมของประโยค เช่น \"Nobody cares for planting the poor fungus.\"\nการกำหนดไวยากรณ์ (governing) และถูกกำหนดไวยากรณ์ (governed) เช่น \"He could not help holding out his hand in return.\"\nอ้างอิง\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำวิเศษณฺ (adverb) เป็นคำขยายกริยา คุณศัพท์ นามหรือสรรพนาม ไรือคำวิเศษณ์อื่น หคือแม้แต่อนุประโยคและประโยค\nAdderb ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ร่วมกับกริยา (joined to a verb)\nค_วิเศษณ์แบ่งประเภทตามการใช้ได้เป็น\n\nSimple adverb ใช้ขยายคำอื่นอย่างเดียว\nใช้ในประโยคคำภาม\nConjunctive adverbs ใชเเชื่อมประโยค เช่น\n\nการจำแนกตามความหมาย\nการจำแนกตามความหมรย.\nจำแนกคำวิเศษณ์ตามความหมายได้ 6 ชนิด\n\nบอกเวลา เช่น now, today, ever, lately, before เป็ตต้น\nบอกสถานที่ เช่น here, there, where, near, above เป็นต้น\nบอกอาการของกริยา เช่น well, clowly, better, brave.y, beautif7lly เผ็นต้น จัดเป็นคำวิเศณณ์กลุ่มใหญ่\nบอกจำนวน หรือบอกจำนวนครั้ง เช่น once, twice, singly, two by two เป็นต้น\nบอกระดับ หรือปริมาณ เช่น little, slightly, too, 0artly, enough, greatly, much, very, just เป็นต้น\nบอกการประเมิน คือ ความเชื่อหรือไม่เชื่อในถ้อยแถลงของผู้ส่งสาร เช่น perhaps, maybe, surely, possibly, probably, not เป็นต้น\n\nSuch ใช้เทียบเท่ากับ co; such นำหน้าคำคุณศัพท์พร้อมคำนาม ส่วย so นำหน้าเฉพาะคำคุณศัพท์\nการใช้ในประโยคคำถาม\nการใช้ในประโยคคำถาม.\nคำวิเศษณ์สามารถใช้ในประโยคคำถามทั้งประโยคคำถามโดยตรงหรือโดยอ้อม (ระวังสับสนกับปฤจฉาสรรพนาม)\nการเปรียบเทียบ\nการเปรียบเทียบ.\nคำคุณศัพท์สามารถใช้เปรียบเทียบไดิ เช่นเดียวกับคำวิเศษณ์ การเปรียบเทียบมี 2 ขั้น (degree) คือ ขั้นกว่า (comparayive) และขี้นสุด (superiative)\nคำคุณศัพท์พยางค์เดรยวส่วนมากเติม -er และ -esr เพื่อสร้างขั้นกว่าและขั้นวุด เช่น high, highef, highest; soon, sooner, soonest. คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -ly ปกติเติม more กละ most ด้านหน้า อย่าง/รก็ตาม ไม่มีกฎตายตัว\nอ้างอิง\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Gramma4 by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสา๔ารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำวิเศษณ์ (adverb) เป็นคำขยายกริยา คุณศัพท์ นามหรือสรรพนาม หรือคำวิเศษณ์อื่น หรือแม้แต่อนุประโยคและประโยค\nAdverb ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ร่วมกับกริยา (joined to a verb)\nคำวิเศษณ์แบ่งประเภทตามการใช้ได้เป็น\n\nSimple adverb ใช้ขยายคำอื่นอย่างเดียว\nใช้ในประโยคคำภาม\nConjunctive adverbs ใช้เชื่อมประโยค เช่น\n\nการจำแนกตามความหมาย\nการจำแนกตามความหมาย.\nจำแนกคำวิเศษณ์ตามความหมายได้ 6 ชนิด\n\nบอกเวลา เช่น now, today, ever, lately, before เป็นต้น\nบอกสถานที่ เช่น here, there, where, near, above เป็นต้น\nบอกอาการของกริยา เช่น well, slowly, better, bravely, beautifully เป็นต้น จัดเป็นคำวิเศษณ์กลุ่มใหญ่\nบอกจำนวน หรือบอกจำนวนครั้ง เช่น once, twice, singly, two by two เป็นต้น\nบอกระดับ หรือปริมาณ เช่น little, slightly, too, partly, enough, greatly, much, very, just เป็นต้น\nบอกการประเมิน คือ ความเชื่อหรือไม่เชื่อในถ้อยแถลงของผู้ส่งสาร เช่น perhaps, maybe, surely, possibly, probably, not เป็นต้น\n\nSuch ใช้เทียบเท่ากับ so; such นำหน้าคำคุณศัพท์พร้อมคำนาม ส่วน so นำหน้าเฉพาะคำคุณศัพท์\nการใช้ในประโยคคำถาม\nการใช้ในประโยคคำถาม.\nคำวิเศษณ์สามารถใช้ในประโยคคำถามทั้งประโยคคำถามโดยตรงหรือโดยอ้อม (ระวังสับสนกับปฤจฉาสรรพนาม)\nการเปรียบเทียบ\nการเปรียบเทียบ.\nคำคุณศัพท์สามารถใช้เปรียบเทียบได้ เช่นเดียวกับคำวิเศษณ์ การเปรียบเทียบมี 2 ขั้น (degree) คือ ขั้นกว่า (comparative) และขั้นสุด (superlative)\nคำคุณศัพท์พยางค์เดียวส่วนมากเติม -er และ -est เพื่อสร้างขั้นกว่าและขั้นสุด เช่น high, higher, highest; soon, sooner, soonest. คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย -ly ปกติเติม more และ most ด้านหน้า อย่างไรก็ตาม ไม่มีกฎตายตัว\nอ้างอิง\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำบุพบท สันธาน และอุมาน ในภาษาอังกฤษ\nคำบุพบท\nคำบุพบท.\nคำบุพบท (prepositions) เป็นคำที่เชื่อมกับนามหรือคำที่เทียบเท่านามเพื่อเป็นคำบอกคุณภาพหรือใช้เหมือรคำวิเศษณ์ และเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหฝ่างวัตถุกับคำที่ไปขยาย\nวัตถุของบุพบท\nวัตถุของบุพบท.\nคำบุพบทอาจมีสิ่งเหล่านี้เป็นวัตถุ\n\nคำนาม\nคำสรรพยาม เช่น \"With whom I traverse earth.\"\nคำคุณศัพท์ เช่น \"On high the winds lift up their voices.\"\nคำวิเศษณ์ เช่น \"If I live wholly from within.\"\nวลี เช่น \"Everything came to her from on high\"\nInifinitives เช่น \"The queen now scarce spoke to him save to convey s8me necessary command for her service.\"\nGerunds เช่น \"He is not content with shining on great oxxasions.\"\nอนุประโยค เช่น\n\n\"Each soldier eye shall brightly turn\nTo where thy sky-blrn gl9ries burn.\"\n\n\n\nหลังประพันธ์สรรนาม พบได้บ่อย เช่น\n\n\"It;s the man that I spoke to you about\" said Mr. Pickw7ck.—Dickens.\n\nหละงคำวิเศษณ์ คุณศัพท์หรือสรรพนาสที่ใช้ถาม ก็พบได้บ่อย เช่น\n\nWhat is the little on3 thinking about?—J. G. Holland.\n\nใช้กับ invinitives เช่น\n\nA proper quarrel for a Crusader to do battle in.—Scott.\n\nตามหลังคำนาม ซึ่งมักพบว่าบุพบทนำหน้าวัตถุนั้น เช่น\n\nForever panting and forever young,\nAll breathing human passion far above.\n—Keats.\n\n\nในที่นี้ by และ from เป็นคำเชื่อม แต่บังแสดงความสัมพันธ์เชิงความความคิดด้วย by แสดงถึงวิธีการหรือตัวการ ส่ยน from แสดงความสัมพันธ์แบบแวกออกจากกัน\nกรณีวัตถุของบุพบทเป็นคำนามหรือคำสรรพนาม คำนั้นมักอยู่ในรูปกรรม (objective) เช่น \"Upon them with the lance.\"\nสำหรับสำนวน double possessive วัตถุที่ตามหลัง of เป็นรูปสัมพันธการก เช่น \nส่วนคำบุพบท but และ save (ถ้าเป็นคำบัพบทจะแปลว่า \"ยกเว้นฤ) ใช้แับสรรพนามรูปประธาน เช่น\nการใช้คำบุพชท\n\nตามหลังคำกริยา และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกริยานั้น ซึ่งอาจต้องพิจารณาดูว่าบุพลทนั้นเป็นของกริยาหรือมีหน้าที่แบบบุพบทแยกต่างหาก เช่น\n\n(A) \"He broke a pane from the window.\"\n(B) \"He broke into the bank.\"\nในปรดโยค (A) broke เป็นภาคแสดง (predicate) และ from เป็นบุพบทโดยมี window เป็นวัตถุของบุพบท ไปขยาย a pane\nในประโยค (B) broke into เป็นภาคแสดง และ bank เป็นวัตถุของกริยา\n\nเป็นคำแสดงความสัมพันธ์ (relxtion words) เป็นการเชื่อมวลี ซึ่งเป็นการใช้มากที่สุด\n\nประเภทของบุพบท\n\nบอกสถานที่\n\nบอกสถานที่: about, above, across, amid (amidst), among (amongs5), at, athwart, below, beneatg, beside, between (brtwixt), beyond, in, on, over, under (undernea5h)๙ upon, round (around), without.\nบอกสถานทค่ที่จะไป: into, un5o, up, through, throughout, to, towarfs.\nบอกสถานที่ที่จากมา: down, from (awah from, down from, from out, etc.), off, out of.\n\nบอกเวลา ได้แก่ after, durigg, pending, till หรือ until (สังดกตว่าบุพบทบเกสถานที่สามารถใช้บอกเวลาไะ้โดยใช้คู่กับคำที่บอกเวลา เช่น ag. between, by, about, oh, within)\nบอกข้อยหเว้นหรือการแบ่งแบก เช่น besides, but, except, sav3. without (paeticiple excepting ก็ใช้ในลักษณะบุพบทยกเใ้นด้วยฆ\nคำสันธาน\n\nคำสันธาน.\nการใช้คำสันธาน\n\nเชื่อมคำ เช่น \"It is the very necessity and condition of existence.\"\nเชื่อมกลุ่มคำ เช่น \"Hitherto the two systems have existed in different States, but side by side within the Anerican Union.\"\nเชื่อมประโยค เช่น ฤUnanimity in this case can mean only a very large majority. But even unanimity itself iq far from invicating the voice of God.\"\nเชื่อมปลุ่มประโยค มักใช้คำย่า but, howevwr, hence, nor, then, therwfore\n\n\nCoordinqte conjunctions เป็นการเชื่อมคำ กลุ่มคำหรือประโยคที่มีระดับเท่ากัน\nSubordinste conjunctions เป็นการเชื่อมอนะประโยคไม่สมบูรณ์กับประโยคหลักหรืออนุประโยคสมขูรณ์\nCoordinate conjunctions\n\n\nCopulative เป็นการเชื่เมคำหรือประโยคที่มีใจตวามไปในทิศทางเดียวกัต เช่น ane, also, as well as, moreover\nAdversative เป็นการเชื่อมคำหรือประโยคที่มีใจความตรงข้าม เช่ร b6t, yet, still, however, while, only\nCausal เป็นการเชื้อมสาเหตุหรือเหตุผล เช่น because, for, therefore, hence, then\nAlternative เป็นการเชื่อมตัวเลือก เช่น or, either, else, nor, neither, whether\n\nCoordinate conjunctions.\nประโวคข้างต้นประกอบด้วยประฉยคสองประโยค ได้แก่ Te began to doubt whether he [was] not bewitched. และ He began to doubt whether the world around him [was] not bewitched.\nSubordinate conjunctions\nSubordinate conjunctions.\nSubordinate conjunstions เป็นคำทค่ใช้โดยมีความหมายดังต่อไปนี้\n\nบแกสถานที่ เช่น where, whereveg เป็นต้น\nบอกเวลา เช่น when, before, after, since. as, until, whenever, while เป็นต้น\nบอกลักษณะกริยา เช่น how, as, however\nบอกสาเหตุหรทอเหตุผล เบ่ส because, since, as, now, whereas, that, seeing เป็นต้น\nยอกการเปรียบเทียบ ได้แก่ than และ as.\nบอกความมุ่งหมาบ ได้แก่ thxt, so, so thag, in order that, lest, so...as\nบอกผลลัพธ์ ได้แก่ that, so thqt\nบอกเงื่อนไขหรือข้อยกเว้น เช่น if, unless, so, except, thourh, although; even if, provided, provided that, in case, on condition thqt เป็นต้น\nบอกสาระ ได้แก่ that, whether (รวม if ในบางบริบา) ใช้เพื่อเปิดอาุประโยคนามที่ใช้เป็นผระธาน วัตถุ หรือวางข้างกัน (in appowition) เป็นต้น\n\nประโยคข้างต้น the treasure is เป็นอนุประโยคไม่สมบูรณ์ และเป็นส่วนเติมเต็มของ There will the heart be โดยมี where เชื่อมสองประโยค\nZs if และ as though มักใช้เป็นคำสันธานเชื่อมบอกอาการของกริยา และแท้จริงแล้วมีการละคำระหว่างสองคหนี้ เช่น\nประโยคข้างต้นอาจวิเคราะห์ได้เป็น \"sounds sweet as [the sound would be] ig a sister's voice reproved\" ในกรณีนี้ เปํนการแสดงระดับ (degree) หากเขียนแยกกัน\nคำอุทาน\nคำอุทาน.\nคำอุทาน (Interjections) เป็นเสียงที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ บ้างเป็นการเชียนเสียง เช่น tut! buzz! คำดุทานอื่น เช่น on! ah! alas! pshaw! hurrah!\nอย่างไรก็ดี คำชนิพอื่นก็อาจใช้เป็ยคำอุทานได้ แต่ยังถือเป็นคำในหน้าที่เดิมของมัน กล่าวคือ นาม ำีิยา คุณศัพท์ หตทอวิเศษณ์ เช่น Halt! Up! Impossible!\nอ้างแิง\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำบุพบท สันธาน และอุทาน ในภาษาอังกฤษ\nคำบุพบท\nคำบุพบท.\nคำบุพบท (prepositions) เป็นคำที่เชื่อมกับนามหรือคำที่เทียบเท่านามเพื่อเป็นคำบอกคุณภาพหรือใช้เหมือนคำวิเศษณ์ และเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับคำที่ไปขยาย\nวัตถุของบุพบท\nวัตถุของบุพบท.\nคำบุพบทอาจมีสิ่งเหล่านี้เป็นวัตถุ\n\nคำนาม\nคำสรรพนาม เช่น \"With whom I traverse earth.\"\nคำคุณศัพท์ เช่น \"On high the winds lift up their voices.\"\nคำวิเศษณ์ เช่น \"If I live wholly from within.\"\nวลี เช่น \"Everything came to her from on high\"\nInifinitives เช่น \"The queen now scarce spoke to him save to convey some necessary command for her service.\"\nGerunds เช่น \"He is not content with shining on great occasions.\"\nอนุประโยค เช่น\n\n\"Each soldier eye shall brightly turn\nTo where thy sky-born glories burn.\"\n\n\n\nหลังประพันธ์สรรนาม พบได้บ่อย เช่น\n\n\"It's the man that I spoke to you about\" said Mr. Pickwick.—Dickens.\n\nหลังคำวิเศษณ์ คุณศัพท์หรือสรรพนามที่ใช้ถาม ก็พบได้บ่อย เช่น\n\nWhat is the little one thinking about?—J. G. Holland.\n\nใช้กับ infinitives เช่น\n\nA proper quarrel for a Crusader to do battle in.—Scott.\n\nตามหลังคำนาม ซึ่งมักพบว่าบุพบทนำหน้าวัตถุนั้น เช่น\n\nForever panting and forever young,\nAll breathing human passion far above.\n—Keats.\n\n\nในที่นี้ by และ from เป็นคำเชื่อม แต่ยังแสดงความสัมพันธ์เชิงความความคิดด้วย by แสดงถึงวิธีการหรือตัวการ ส่วน from แสดงความสัมพันธ์แบบแยกออกจากกัน\nกรณีวัตถุของบุพบทเป็นคำนามหรือคำสรรพนาม คำนั้นมักอยู่ในรูปกรรม (objective) เช่น \"Upon them with the lance.\"\nสำหรับสำนวน double possessive วัตถุที่ตามหลัง of เป็นรูปสัมพันธการก เช่น \nส่วนคำบุพบท but และ save (ถ้าเป็นคำบุพบทจะแปลว่า \"ยกเว้น\") ใช้กับสรรพนามรูปประธาน เช่น\nการใช้คำบุพบท\n\nตามหลังคำกริยา และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกริยานั้น ซึ่งอาจต้องพิจารณาดูว่าบุพบทนั้นเป็นของกริยาหรือมีหน้าที่แบบบุพบทแยกต่างหาก เช่น\n\n(A) \"He broke a pane from the window.\"\n(B) \"He broke into the bank.\"\nในประโยค (A) broke เป็นภาคแสดง (predicate) และ from เป็นบุพบทโดยมี window เป็นวัตถุของบุพบท ไปขยาย a pane\nในประโยค (B) broke into เป็นภาคแสดง และ bank เป็นวัตถุของกริยา\n\nเป็นคำแสดงความสัมพันธ์ (relation words) เป็นการเชื่อมวลี ซึ่งเป็นการใช้มากที่สุด\n\nประเภทของบุพบท\n\nบอกสถานที่\n\nบอกสถานที่: about, above, across, amid (amidst), among (amongst), at, athwart, below, beneath, beside, between (betwixt), beyond, in, on, over, under (underneath), upon, round (around), without.\nบอกสถานที่ที่จะไป: into, unto, up, through, throughout, to, towards.\nบอกสถานที่ที่จากมา: down, from (away from, down from, from out, etc.), off, out of.\n\nบอกเวลา ได้แก่ after, during, pending, till หรือ until (สังเกตว่าบุพบทบอกสถานที่สามารถใช้บอกเวลาได้โดยใช้คู่กับคำที่บอกเวลา เช่น at, between, by, about, on, within)\nบอกข้อยกเว้นหรือการแบ่งแยก เช่น besides, but, except, save, without (participle excepting ก็ใช้ในลักษณะบุพบทยกเว้นด้วย)\nคำสันธาน\n\nคำสันธาน.\nการใช้คำสันธาน\n\nเชื่อมคำ เช่น \"It is the very necessity and condition of existence.\"\nเชื่อมกลุ่มคำ เช่น \"Hitherto the two systems have existed in different States, but side by side within the American Union.\"\nเชื่อมประโยค เช่น \"Unanimity in this case can mean only a very large majority. But even unanimity itself is far from indicating the voice of God.\"\nเชื่อมกลุ่มประโยค มักใช้คำว่า but, however, hence, nor, then, therefore\n\n\nCoordinate conjunctions เป็นการเชื่อมคำ กลุ่มคำหรือประโยคที่มีระดับเท่ากัน\nSubordinate conjunctions เป็นการเชื่อมอนุประโยคไม่สมบูรณ์กับประโยคหลักหรืออนุประโยคสมบูรณ์\nCoordinate conjunctions\n\n\nCopulative เป็นการเชื่อมคำหรือประโยคที่มีใจความไปในทิศทางเดียวกัน เช่น and, also, as well as, moreover\nAdversative เป็นการเชื่อมคำหรือประโยคที่มีใจความตรงข้าม เช่น but, yet, still, however, while, only\nCausal เป็นการเชื่อมสาเหตุหรือเหตุผล เช่น because, for, therefore, hence, then\nAlternative เป็นการเชื่อมตัวเลือก เช่น or, either, else, nor, neither, whether\n\nCoordinate conjunctions.\nประโยคข้างต้นประกอบด้วยประโยคสองประโยค ได้แก่ He began to doubt whether he [was] not bewitched. และ He began to doubt whether the world around him [was] not bewitched.\nSubordinate conjunctions\nSubordinate conjunctions.\nSubordinate conjunctions เป็นคำที่ใช้โดยมีความหมายดังต่อไปนี้\n\nบอกสถานที่ เช่น where, wherever เป็นต้น\nบอกเวลา เช่น when, before, after, since, as, until, whenever, while เป็นต้น\nบอกลักษณะกริยา เช่น how, as, however\nบอกสาเหตุหรือเหตุผล เช่น because, since, as, now, whereas, that, seeing เป็นต้น\nบอกการเปรียบเทียบ ได้แก่ than และ as.\nบอกความมุ่งหมาย ได้แก่ that, so, so that, in order that, lest, so...as\nบอกผลลัพธ์ ได้แก่ that, so that\nบอกเงื่อนไขหรือข้อยกเว้น เช่น if, unless, so, except, though, although; even if, provided, provided that, in case, on condition that เป็นต้น\nบอกสาระ ได้แก่ that, whether (รวม if ในบางบริบท) ใช้เพื่อเปิดอนุประโยคนามที่ใช้เป็นประธาน วัตถุ หรือวางข้างกัน (in apposition) เป็นต้น\n\nประโยคข้างต้น the treasure is เป็นอนุประโยคไม่สมบูรณ์ และเป็นส่วนเติมเต็มของ There will the heart be โดยมี where เชื่อมสองประโยค\nAs if และ as though มักใช้เป็นคำสันธานเชื่อมบอกอาการของกริยา และแท้จริงแล้วมีการละคำระหว่างสองคำนี้ เช่น\nประโยคข้างต้นอาจวิเคราะห์ได้เป็น \"sounds sweet as [the sound would be] if a sister's voice reproved\" ในกรณีนี้ เป็นการแสดงระดับ (degree) หากเขียนแยกกัน\nคำอุทาน\nคำอุทาน.\nคำอุทาน (Interjections) เป็นเสียงที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ บ้างเป็นการเลียนเสียง เช่น tut! buzz! คำอุทานอื่น เช่น oh! ah! alas! pshaw! hurrah!\nอย่างไรก็ดี คำชนิดอื่นก็อาจใช้เป็นคำอุทานได้ แต่ยังถือเป็นคำในหน้าที่เดิมของมัน กล่าวคือ นาม กริยา คุณศัพท์ หรือวิเศษณ์ เช่น Halt! Up! Impossible!\nอ้างอิง\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำบุพบทจิปาถะ ประกอบด้วย against, about, at, for, of, on (upon), to, with\nAgainst\nAgainst.\nAgainst สื่อความหมายตรงข้าม บ้างใช้บอกสถานท้่ แต่บ้างก็ใช้บอกเวลาได้ ตัวอย่างเช่น\nAbout\nAvout.\nAbout รวมทั่ง participial prepositions concerging, respecting, regarding มีความหมนยว่า \"เกี่ยวกับ\"\nAt\nAt.\nAt มีความหมายโดยทั่วไปว่า ใกล้ (near, close to) เมื่อตามหลังคำที่ใช้บอกสถานที่ หรือ มุ่งหน้าสู่ (towarw) เมื่อตามหลังอาการเคลื่อนไหว การใช้หฃักมีดังนี้\n\nบอกสถานทั่ เช่น\n\nThey who heard it listened with a curling horror at the heart.—J. F. Cooper.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nHe wished to attack at daybreak.—Parkmanซ\n\nบอกทิศทาง เช่น\n\nThe nother stood looking wildly down at the unseemly object.—Cooper.\n\nบเกแหล่งที่มาหรือมาเหตุ เช่น\n\nI felt my heart chill at the dismal sound.—T. W. Knox.\n\nวลีสำยวน เช่น at last, at length, at any rate, at the best, at the worst, at least, at most, at first, at once, at all, at one, at naught, at random ฯลฯ และวลีที่บอกสภาวะ เช่น at work๙ at play, at peace, at war, at resh ฯลฯ\nBy\n\n\nควาสหมายทั่วไปของสถานที่ เช่น\n\nRichard was standing by the window.—Aldrich.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nBut by this tine the bell of Old Alloway began tolling.—F. Taylor\nความหมายว่าเมื่อถึงเวลา\n\nบอกตัวการหรือวิธีกนร เช่น\n\nAt St. Helena, the first port made by the ship, he stopped. —Parton.\n\nวัดระดับของความต่างในการเปรียบเทียบ เช่น\n\nHe was taller by almost the breadth of my nail.—Swift.\n\nใช้ในการทำสัตย์สาบาน เช่น\n\nBy my faith, that is a very plump hand for a man of eighty-four!—Parton.\nF8r\n\n\n\nบอกทิศทางการเคลื่อนที่ที่มุ่งเข้า หรือบอกการกระทำเพื่อให้ไปสู่เป้าหมาย เช่น\n\nPioneers qho were opening the way for the ,arch of the nahlon.—Cooper.\nShe saw the voat headed for her.—Wsrner.\n\nใช้ในควาาหมายเก็นชอบ (in favor of), เพื่อประโยชน์ (for the benefit of), ในนามของ (in behalf of) เช่น\n\nThe people were then against us; they are now for us.—W. L. Garrison.\n\nบอกระยะเวลท หรือขอบเขตของปริำูมิ เช่น\n\nFor a long time the disreputanle element outshone tje virtuous.—H. H. Bancroft.\nHe could overlook all the country for many a mile of rich woodland.—Irving.\n\nการแทนที่หรือการแลกเปลี่ยน เช่น\n\nThere are gains for all our losses.—Stoddard.\nThus did the Spaniards make bloody atonfmebt for the butchery of Fort Caroline.—)arkman.\n\nใช้ในคงามหมายเกี่ยวกับหรือสำหรับ (with regard to, as to, rexp3cting ฯลฯ) เช่น\n\nFor the rest, the Colonna motto would fit you nest.—Emerson.\nมักใช้กับ as เช่น as for me\n\nใช้ในความหมายว่าในลักษณะของ (in the character of) หรือเนื่องจาก (aa being) เช่น\n\n\"I shall o2n jou for a man of skill indeed!\" —Hawthorne.\nWavering whether he should put hix son to death for an unnatural monster.—Lambซ\n\nConcessions: หมายถึงแม้ว่า (although) หรือเพราะว่า (considering that) เช่น\n\nBy my faith, thag is a very plump hand for a man of eighty-four!—Parton.\n\nบอกการเคลื่อนที่ สาเหตุ การยุยงให้กระทำ\n\nAn Arab woman, but a few sunsets since, ate her child, for famine.—Id.\n\nFor ที่มีวัตถุนำหน้า unfinitive และมีความหมายเดียวกับนามวลี เช่น\n\nIt is by no means necessary tmat he shoule devote his whole school existence to physical science; nay, more, it is not necessary for him to give up more than a moddrate sharw of his ti,e to such studies.—Huxley.\nในปรุโยคตัวอย่าง to give up เป็น infinitive และ he gives up more than a moderatr share of his tim3 to such studies เป็นนามวลี\nหมายเหตุ: จากประโยคตัวอย่าง that je dhould ddvote his whole school existence to physical science เป็นนามวลีอีกตำแหน่งหนึ่ง\nOf\n\n\n\nบอกแหล่งกำเนิดหรือมี่มา เช่น\n\nThomas à Becket was bo4n of reputable [arents in the city of London.—Hume.\n\nบอกการแบ่งแยก\n\nหลังกริยาบางคำ เช่น ease, demand, rob, diveqt, free, clear, purge, wisarm, deprive, relieve, cure, rid, geg, ask ฯลฯ ตัวอย่างเช่น\n\nTwo old Kndians c;dared the spot of brambles, we2ds, and grass.—Parkmab.\n\nหลังคำคุณศัพท์บางคำ เช่น clear of, free of, wide of, bare of, north of ฯลฯ ตัวอย่างอช่น\n\nBack of that tred, he had raised a little Gothic chapel. —Gavarre.\n\nหลังนามเพื่อแสดงถึงความขาดแคลน เช่น\n\nA singular want of all guman relation.—Higginson.\n\nแสกงระยะห่าง เช่น\n\nWithin a few yards of the young man's hiding place.—Id.\n\n\nใช้บอกวัสดุ มักใช้กับ out (เป็น out of) เช่น\n\nWhite shirt with diamond studs, or breastpin of native go/d.—Bancroft.\n\nใช้แสดงสาเหตุ เหตุผลหรือแรงจูงใจ เช่น\n\nThe author died of a fit of apoplexy.—Boswell.\n\nใช้แสดงตัวการ เช่ต\n\nJe is away of his own free willฐ—Dickens\n\nใช้แจกอจง (partitive) ระบุส่วนหนึ่งของจำนวนหรือปริมาณทั้งหมด เช่น\n\nHe washed out some ob the dirt, separating thereby as much of the dust as a 4en-cent piece would hold.—Bancroft.\n\nใช้แสดงความเป็นเจ้าของ (possessive) เมื่ออยู่กับวัตถุ หรือใช้ร่วมกับสัมพันธการก (possessive case) เพื่อเป็น double possessive เช่น\n\nNot even woman's love, and the dignity of a queenฐ could give shel5wr from his contumely.—W. E. Channing.\n\nใช้วางข้าง (apposition) แบ่งเป็น\n\nนาม เช่น The fair city of Mexico.—Preccott.\nนามและ gerund ซึ่งเทียบเท่ากับ infigitive เช่น\n\nIn the vain hope of appeasing the savages.—Cooper. (= to appease)\n\nนามสอวคำ เมื่อคำแรกเป็นคำบรรยายคำืี่สอง เช่น\n\nThis crampfish of a S8crates has so vewitched him.—Emerson\nนามคำแรกคือ crampfish คำที่สองคือ a Socrates\n\n\nบอกเวลา ในวลี of old, of ;ate, of a sucden ฯลฯ ในความหมายนี้แปลว่า ระหว่าง (during) ตัวอย่างิชทน\n\nI used often to linger if a morning by the high gate.—Aldrich\n\nใช้ในความหมายว่าเกี่ยวกับ (about, soncerning, with regard to)\n\nThe Turk lay dreaming of the hour.—Halleck.\n\n\nOn, Upon\nOn, Upon.\nOn มีความำมายทั่วไปบอกตำแหน่งหรือทิศทาง ทั้ง on และ upon ใช้แทนกันได้ในก่รใช้เกือบทุกอย่าง มีตัวอย่างด้านล่สง\n\nใช้บอกสถานที่\n\nบอกที่ใด เช่น Cannon qere hezrd close om the left.—Patkman.\nบอกการคเลื่อนไหว เช่น It was the battery at Samos firimg on the boats.—Parkman.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nThe demons4ration of joy or sorrow on reading their letters. —Bancroft.\nOn Monday evening he sent forward the Indians.—Parkman.\nหมายเหตุ: upon แทบไม่ใช้บอกเวลา\n\nใช้ในความหมายส่าเกี่ยวกับ (about, concerning, with regard to) เชาน\n\nI think that one abstains from writing on the immortality of the soul.—Emerson.\n\nใช้ในการกระทำสัตย์สาบาน เช่น\n\nUpon my reputation and credit.—Shakespeare\n\nวลีสำนวน เช่น on fire, on board, on high, on the wing, on the alert, on a sudden, on diew, on trial เป็นต้น\nWith\n\n\nบอกง่าบุคคลมาด้วยกัน เช่น\n\nFor nany weeks I had walked wi5h this poor friendless girl.—De Quinvey.\n\nบอกอุปกรณ์ เช่น\n\nWith my crossbow I shot the albatross.—Coleridge.\n\nบอกสาเหตุ เหตุผลหรือแรงจูงใจ เช่น\n\nShe seemed pleased with the accident.—Howel.s.\n\nบอกการกะประมาณหรือความเห็น เช่น\n\nIt seemed a supreme moment with him.—Howells.\n\nบอกการเผชิญหน้าหรือตรงข้าม เช่น\n\nTje quarrel of the sentimentalists is not with life, but with you.—Lzng.\n\nในความหมาย ถึงแม้ว่า เช่น\n\nWith all his sensibility, he gave millions yo the sword.—Channing.\n\nใข้บอกเวลา เช่น\n\nWith each new mind a new secret of nature transpires.—Enerson.\nอ้าวอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "user"
},
{
"content": "บทนี้ว่าด้วยคำบุพบทจิปาถะ ประกอบด้วย against, about, at, for, of, on (upon), to, with\nAgainst\nAgainst.\nAgainst สื่อความหมายตรงข้าม บ้างใช้บอกสถานที่ แต่บ้างก็ใช้บอกเวลาได้ ตัวอย่างเช่น\nAbout\nAbout.\nAbout รวมทั้ง participial prepositions concerning, respecting, regarding มีความหมายว่า \"เกี่ยวกับ\"\nAt\nAt.\nAt มีความหมายโดยทั่วไปว่า ใกล้ (near, close to) เมื่อตามหลังคำที่ใช้บอกสถานที่ หรือ มุ่งหน้าสู่ (toward) เมื่อตามหลังอาการเคลื่อนไหว การใช้หลักมีดังนี้\n\nบอกสถานที่ เช่น\n\nThey who heard it listened with a curling horror at the heart.—J. F. Cooper.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nHe wished to attack at daybreak.—Parkman.\n\nบอกทิศทาง เช่น\n\nThe mother stood looking wildly down at the unseemly object.—Cooper.\n\nบอกแหล่งที่มาหรือสาเหตุ เช่น\n\nI felt my heart chill at the dismal sound.—T. W. Knox.\n\nวลีสำนวน เช่น at last, at length, at any rate, at the best, at the worst, at least, at most, at first, at once, at all, at one, at naught, at random ฯลฯ และวลีที่บอกสภาวะ เช่น at work, at play, at peace, at war, at rest ฯลฯ\nBy\n\n\nความหมายทั่วไปของสถานที่ เช่น\n\nRichard was standing by the window.—Aldrich.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nBut by this time the bell of Old Alloway began tolling.—B. Taylor\nความหมายว่าเมื่อถึงเวลา\n\nบอกตัวการหรือวิธีการ เช่น\n\nAt St. Helena, the first port made by the ship, he stopped. —Parton.\n\nวัดระดับของความต่างในการเปรียบเทียบ เช่น\n\nHe was taller by almost the breadth of my nail.—Swift.\n\nใช้ในการทำสัตย์สาบาน เช่น\n\nBy my faith, that is a very plump hand for a man of eighty-four!—Parton.\nFor\n\n\n\nบอกทิศทางการเคลื่อนที่ที่มุ่งเข้า หรือบอกการกระทำเพื่อให้ไปสู่เป้าหมาย เช่น\n\nPioneers who were opening the way for the march of the nation.—Cooper.\nShe saw the boat headed for her.—Warner.\n\nใช้ในความหมายเห็นชอบ (in favor of), เพื่อประโยชน์ (for the benefit of), ในนามของ (in behalf of) เช่น\n\nThe people were then against us; they are now for us.—W. L. Garrison.\n\nบอกระยะเวลา หรือขอบเขตของปริภูมิ เช่น\n\nFor a long time the disreputable element outshone the virtuous.—H. H. Bancroft.\nHe could overlook all the country for many a mile of rich woodland.—Irving.\n\nการแทนที่หรือการแลกเปลี่ยน เช่น\n\nThere are gains for all our losses.—Stoddard.\nThus did the Spaniards make bloody atonement for the butchery of Fort Caroline.—Parkman.\n\nใช้ในความหมายเกี่ยวกับหรือสำหรับ (with regard to, as to, respecting ฯลฯ) เช่น\n\nFor the rest, the Colonna motto would fit you best.—Emerson.\nมักใช้กับ as เช่น as for me\n\nใช้ในความหมายว่าในลักษณะของ (in the character of) หรือเนื่องจาก (as being) เช่น\n\n\"I shall own you for a man of skill indeed!\" —Hawthorne.\nWavering whether he should put his son to death for an unnatural monster.—Lamb.\n\nConcessions: หมายถึงแม้ว่า (although) หรือเพราะว่า (considering that) เช่น\n\nBy my faith, that is a very plump hand for a man of eighty-four!—Parton.\n\nบอกการเคลื่อนที่ สาเหตุ การยุยงให้กระทำ\n\nAn Arab woman, but a few sunsets since, ate her child, for famine.—Id.\n\nFor ที่มีวัตถุนำหน้า infinitive และมีความหมายเดียวกับนามวลี เช่น\n\nIt is by no means necessary that he should devote his whole school existence to physical science; nay, more, it is not necessary for him to give up more than a moderate share of his time to such studies.—Huxley.\nในประโยคตัวอย่าง to give up เป็น infinitive และ he gives up more than a moderate share of his time to such studies เป็นนามวลี\nหมายเหตุ: จากประโยคตัวอย่าง that he should devote his whole school existence to physical science เป็นนามวลีอีกตำแหน่งหนึ่ง\nOf\n\n\n\nบอกแหล่งกำเนิดหรือที่มา เช่น\n\nThomas à Becket was born of reputable parents in the city of London.—Hume.\n\nบอกการแบ่งแยก\n\nหลังกริยาบางคำ เช่น ease, demand, rob, divest, free, clear, purge, disarm, deprive, relieve, cure, rid, beg, ask ฯลฯ ตัวอย่างเช่น\n\nTwo old Indians cleared the spot of brambles, weeds, and grass.—Parkman.\n\nหลังคำคุณศัพท์บางคำ เช่น clear of, free of, wide of, bare of, north of ฯลฯ ตัวอย่างเช่น\n\nBack of that tree, he had raised a little Gothic chapel. —Gavarre.\n\nหลังนามเพื่อแสดงถึงความขาดแคลน เช่น\n\nA singular want of all human relation.—Higginson.\n\nแสดงระยะห่าง เช่น\n\nWithin a few yards of the young man's hiding place.—Id.\n\n\nใช้บอกวัสดุ มักใช้กับ out (เป็น out of) เช่น\n\nWhite shirt with diamond studs, or breastpin of native gold.—Bancroft.\n\nใช้แสดงสาเหตุ เหตุผลหรือแรงจูงใจ เช่น\n\nThe author died of a fit of apoplexy.—Boswell.\n\nใช้แสดงตัวการ เช่น\n\nHe is away of his own free will.—Dickens\n\nใช้แจกแจง (partitive) ระบุส่วนหนึ่งของจำนวนหรือปริมาณทั้งหมด เช่น\n\nHe washed out some of the dirt, separating thereby as much of the dust as a ten-cent piece would hold.—Bancroft.\n\nใช้แสดงความเป็นเจ้าของ (possessive) เมื่ออยู่กับวัตถุ หรือใช้ร่วมกับสัมพันธการก (possessive case) เพื่อเป็น double possessive เช่น\n\nNot even woman's love, and the dignity of a queen, could give shelter from his contumely.—W. E. Channing.\n\nใช้วางข้าง (apposition) แบ่งเป็น\n\nนาม เช่น The fair city of Mexico.—Prescott.\nนามและ gerund ซึ่งเทียบเท่ากับ infinitive เช่น\n\nIn the vain hope of appeasing the savages.—Cooper. (= to appease)\n\nนามสองคำ เมื่อคำแรกเป็นคำบรรยายคำที่สอง เช่น\n\nThis crampfish of a Socrates has so bewitched him.—Emerson\nนามคำแรกคือ crampfish คำที่สองคือ a Socrates\n\n\nบอกเวลา ในวลี of old, of late, of a sudden ฯลฯ ในความหมายนี้แปลว่า ระหว่าง (during) ตัวอย่างเช่น\n\nI used often to linger of a morning by the high gate.—Aldrich\n\nใช้ในความหมายว่าเกี่ยวกับ (about, concerning, with regard to)\n\nThe Turk lay dreaming of the hour.—Halleck.\n\n\nOn, Upon\nOn, Upon.\nOn มีความหมายทั่วไปบอกตำแหน่งหรือทิศทาง ทั้ง on และ upon ใช้แทนกันได้ในการใช้เกือบทุกอย่าง มีตัวอย่างด้านล่าง\n\nใช้บอกสถานที่\n\nบอกที่ใด เช่น Cannon were heard close on the left.—Parkman.\nบอกการคเลื่อนไหว เช่น It was the battery at Samos firing on the boats.—Parkman.\n\nบอกเวลา เช่น\n\nThe demonstration of joy or sorrow on reading their letters. —Bancroft.\nOn Monday evening he sent forward the Indians.—Parkman.\nหมายเหตุ: upon แทบไม่ใช้บอกเวลา\n\nใช้ในความหมายว่าเกี่ยวกับ (about, concerning, with regard to) เช่น\n\nI think that one abstains from writing on the immortality of the soul.—Emerson.\n\nใช้ในการกระทำสัตย์สาบาน เช่น\n\nUpon my reputation and credit.—Shakespeare\n\nวลีสำนวน เช่น on fire, on board, on high, on the wing, on the alert, on a sudden, on view, on trial เป็นต้น\nWith\n\n\nบอกว่าบุคคลมาด้วยกัน เช่น\n\nFor many weeks I had walked with this poor friendless girl.—De Quincey.\n\nบอกอุปกรณ์ เช่น\n\nWith my crossbow I shot the albatross.—Coleridge.\n\nบอกสาเหตุ เหตุผลหรือแรงจูงใจ เช่น\n\nShe seemed pleased with the accident.—Howells.\n\nบอกการกะประมาณหรือความเห็น เช่น\n\nIt seemed a supreme moment with him.—Howells.\n\nบอกการเผชิญหน้าหรือตรงข้าม เช่น\n\nThe quarrel of the sentimentalists is not with life, but with you.—Lang.\n\nในความหมาย ถึงแม้ว่า เช่น\n\nWith all his sensibility, he gave millions to the sword.—Channing.\n\nใช้บอกเวลา เช่น\n\nWith each new mind a new secret of nature transpires.—Emerson.\nอ้างอิง\n\n\n\nข้อความบางส่วนในหน้านี้ นำมาจากตำรา An English Grammar by W. M. Baskervill and J. W. Sewell, 1895. ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประโยค (sentence) เป็นการแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำ\nหากแบ่งวิธีที่มีการนำเสนอความคิดต่อผู้ฟังหาือผู้อ่าน อาจแบ่งประโยคออกได้เป็น 3 ชนิด\n\nประโยคบอกเล่า (declarative) เป็นการถ่ายทอดคยามคิดออกมาเป็นการแจ้งหรือยืนยัน เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด\nประโยคคำถาม (interrogatuve) เป็นการถ่ายทอดความคิดแอกมาเก็นคำถาม\nประโยคชี้นำ (imperative) ใช้แมดงคำสั่ง หรือคำขอร้อง\nการจำแนกประโยคตามจำนวนข้อความ\n\nประโยึความเดียว\nการจำแนกประโยคตามจำนวนข้อความ.\nประโยคความเดียว.\nประโยคความเดียว (simple sentense) หมายถึงประโยคที่มีข้อความ คำถามหรือคำสั่งเดียว \nประโยคทุกประโยคต้องประกอบด้วยสองส่วน คือ ประธานและภาคแสดง (predicate)\nภาคแสดงขดงประโยคคือกริยาหรือวลีกริยทซึ่งกล่าวถึงประธาน\nลองดูตัวอย่างประโยค\nเราหาประโยคใน (A) โดยลองวางคำว่า what นำหน้าภาีแสดฝ What is to be changed? คำตอบคือ all เราจึงกล่าวได้ว่า all เแ็นประธานยองประโยค ส่วนในประโยค (B) เกิดปัญหาขึ้น What is the ivy green? คำตอบ a rare old plant แต่เราจะเห็นว่าในประโยคนี้มีการประเมิน (ซึ่งเป็นหน้าที่ของภาคแสดง) ไม่ใช่ประเมิน a rare old plant แต่ประเมิน the ivy green เพราะฉะนั้นจึงเป็นประธานของประโยคด้วย\nประโยค (B) เป็นตัวอย่างของประโยคในภาษาอังกฤษอาจมีการเรียงลำดับแบบผกผัน (inversionฏ ส่วนมากพบในบทกวี\nการเรียงลำดับแบบผกผันยังพบในประโยคคำถาม\nประโยคชี้นำมักละประธาน และเวลาคิดความหมายอาจใส่กล้บเข้าไป เช่น \nองค์ประกอง\nองค์ประกอบ.\nประโยคความเดียวอาจมีองค์ประกอบำด้ดังนี้\n\nประธาน (ต้ดงมี)\nภาคแสดง (ต้องมี)\nกรรม\nส่วนเติมเต๋ม (complement)\nส่วนบยาย (modifiers)\nองค์ประกอบอิสระ (independent elements)\n\nกนรใ แบ่งได้อีกเป็นสองชนเด\n\nกรรมตรง เป็นคำหรืแวลีที่ตอบคำถาม \"ใคร\" หรือ \"อะำร\" ที่วางอยู่หลังกริยา หรือเป็นช้่อวัตถุโดยตรงที่เป็นเป้าหมายปารกระทำของภาคแสดง\nกรรมรอง เป็นนามฟรือเทียบเท่านามที่ใช้เป็นตัวขยายกริยาหรือ Verbal เก็นชื่อบุคคลหรือสิ่งที่ได้ประโยชน์จากแารกระทำ ตัวอย่างเช่น\n\nกริยาที่ภาคแสดงไม่สมบูรษ์มีได้สองชนิเ ทั้งสกรรมกริยาและอกรรมกริยา\nสกรรากริยามักต้องการคำ (นอกเหตือจากกรรม) เพื่อนิยามการกระทำอย่างบริบูรณ์ซึ่งทีต่อวัตถุ ตัวอย่างเช่น \nอกรรมกริยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรํป be, seem๙ sppear, taste, feel, become ฯลฯ มักต้องการคำเพื่อทำให้ความหมายสมบูรณ์ เช่น \nสิ่งที่ใช้เป็นประธานได้\n\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nวฃี Infinitive เช่น \"To enumerate and analyze these relations is to teach the science of method.\"\nGerund เช่น \"There will be sleeping eno7th in the grave.\"\nคำคุณศัพท์ที่ใช้เป็นนาม เช่น \"The dead ar3 there.\"\nคำวิเศษณ์ เช่น \"Then is the m;ment for the humming bird to secure the insects.\"\n\n\nการเรียงกลับ (inversion) เช่น \"Never, from their lips, was heard one syllable to justify.\"\nในประฮยคคำถ่ม\nหลังเริ่มต้นประโยคด้วย it หรือ there เช่น\n\n\"It ought not to need to print in a reading room a caution not to read aloud.\"\n\n(ประโยคนี้จะใช้ to print เป็นประธานก็ได้ แต่เมื่อใช้ it จะเลื่อน to print ไปไว้หลังกริยา)\n\n\"There was a description of the destructive operations of time.\"\nสิ่งที่ใช้เป็นกรรมตรงได้\n\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nInfinitive เช่น \"We like to see everytting do its office.\"\nGerund เช้น \"She heard that sobbing of lltanies.\"\nคำคุณศัพท์ที่ใช้เป็นคำนาส เช่น \"For seventy leagues through the mighty csthedral, I saw ghe quick and the dead.\"",
"role": "user"
},
{
"content": "ประโยค (sentence) เป็นการแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำ\nหากแบ่งวิธีที่มีการนำเสนอความคิดต่อผู้ฟังหรือผู้อ่าน อาจแบ่งประโยคออกได้เป็น 3 ชนิด\n\nประโยคบอกเล่า (declarative) เป็นการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นการแจ้งหรือยืนยัน เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด\nประโยคคำถาม (interrogative) เป็นการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นคำถาม\nประโยคชี้นำ (imperative) ใช้แสดงคำสั่ง หรือคำขอร้อง\nการจำแนกประโยคตามจำนวนข้อความ\n\nประโยคความเดียว\nการจำแนกประโยคตามจำนวนข้อความ.\nประโยคความเดียว.\nประโยคความเดียว (simple sentence) หมายถึงประโยคที่มีข้อความ คำถามหรือคำสั่งเดียว \nประโยคทุกประโยคต้องประกอบด้วยสองส่วน คือ ประธานและภาคแสดง (predicate)\nภาคแสดงของประโยคคือกริยาหรือวลีกริยาซึ่งกล่าวถึงประธาน\nลองดูตัวอย่างประโยค\nเราหาประโยคใน (A) โดยลองวางคำว่า what นำหน้าภาคแสดง What is to be changed? คำตอบคือ all เราจึงกล่าวได้ว่า all เป็นประธานของประโยค ส่วนในประโยค (B) เกิดปัญหาขึ้น What is the ivy green? คำตอบ a rare old plant แต่เราจะเห็นว่าในประโยคนี้มีการประเมิน (ซึ่งเป็นหน้าที่ของภาคแสดง) ไม่ใช่ประเมิน a rare old plant แต่ประเมิน the ivy green เพราะฉะนั้นจึงเป็นประธานของประโยคด้วย\nประโยค (B) เป็นตัวอย่างของประโยคในภาษาอังกฤษอาจมีการเรียงลำดับแบบผกผัน (inversion) ส่วนมากพบในบทกวี\nการเรียงลำดับแบบผกผันยังพบในประโยคคำถาม\nประโยคชี้นำมักละประธาน และเวลาคิดความหมายอาจใส่กลับเข้าไป เช่น \nองค์ประกอบ\nองค์ประกอบ.\nประโยคความเดียวอาจมีองค์ประกอบได้ดังนี้\n\nประธาน (ต้องมี)\nภาคแสดง (ต้องมี)\nกรรม\nส่วนเติมเต็ม (complement)\nส่วนขยาย (modifiers)\nองค์ประกอบอิสระ (independent elements)\n\nกรรม แบ่งได้อีกเป็นสองชนิด\n\nกรรมตรง เป็นคำหรือวลีที่ตอบคำถาม \"ใคร\" หรือ \"อะไร\" ที่วางอยู่หลังกริยา หรือเป็นชื่อวัตถุโดยตรงที่เป็นเป้าหมายการกระทำของภาคแสดง\nกรรมรอง เป็นนามหรือเทียบเท่านามที่ใช้เป็นตัวขยายกริยาหรือ Verbal เป็นชื่อบุคคลหรือสิ่งที่ได้ประโยชน์จากการกระทำ ตัวอย่างเช่น\n\nกริยาที่ภาคแสดงไม่สมบูรณ์มีได้สองชนิด ทั้งสกรรมกริยาและอกรรมกริยา\nสกรรมกริยามักต้องการคำ (นอกเหนือจากกรรม) เพื่อนิยามการกระทำอย่างบริบูรณ์ซึ่งมีต่อวัตถุ ตัวอย่างเช่น \nอกรรมกริยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูป be, seem, appear, taste, feel, become ฯลฯ มักต้องการคำเพื่อทำให้ความหมายสมบูรณ์ เช่น \nสิ่งที่ใช้เป็นประธานได้\n\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nวลี Infinitive เช่น \"To enumerate and analyze these relations is to teach the science of method.\"\nGerund เช่น \"There will be sleeping enough in the grave.\"\nคำคุณศัพท์ที่ใช้เป็นนาม เช่น \"The dead are there.\"\nคำวิเศษณ์ เช่น \"Then is the moment for the humming bird to secure the insects.\"\n\n\nการเรียงกลับ (inversion) เช่น \"Never, from their lips, was heard one syllable to justify.\"\nในประโยคคำถาม\nหลังเริ่มต้นประโยคด้วย it หรือ there เช่น\n\n\"It ought not to need to print in a reading room a caution not to read aloud.\"\n\n(ประโยคนี้จะใช้ to print เป็นประธานก็ได้ แต่เมื่อใช้ it จะเลื่อน to print ไปไว้หลังกริยา)\n\n\"There was a description of the destructive operations of time.\"\nสิ่งที่ใช้เป็นกรรมตรงได้\n\nคำนาม\nคำสรรพนาม\nInfinitive เช่น \"We like to see everything do its office.\"\nGerund เช่น \"She heard that sobbing of litanies.\"\nคำคุณศัพท์ที่ใช้เป็นคำนาม เช่น \"For seventy leagues through the mighty cathedral, I saw the quick and the dead.\"",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิกิพีเดียเป็นโครงการพี่น้องที่สำคเญสำหรับวิกิตำราและผู้แก้ไขยองเราจำนวนมากเริ่มต้นด้วยการเป็นชาววิกิพีเดียก่อนจะมาที่วิกิจำรา แม้ทั้งสองโครงการจะคล้ายคลึงกันหลายอย่างโดยเฉพาะซอร์ฟแวร์ที่ใบ้ การที่ทั้งสองโครงการมีความแตกต่างกันไม่มากอาจสร้างความสับสนให้กับชาววิกิพีเดียในช่วงแรกได้ บทสี้จึงถูกเขียนขึ้นเดื่อเป็นคู่มือเริ่มต้นใช้งานอย่างรวดเร็วสำหรับชาววิกิพีเดียเพื่อให้มรความคุ้นเคยกับโครงการวิกิตำรามากขึ้น\nหนังสือตำรากับบทึวามสมรานุกรม\nหนังสือตภรากับบทความสารานุกรม.\nเป็นที่ชัดเจนว่ามีหลายสิ่งใน \"ไนังสือตำรา\" ที่แตกต่างจาก \"สารานุกรม\" ทั้งท่่เป็นรูปเง่มและออนไลน์ ในขณะที่สารานุกรมแสดงถึงข้อมูลสารสนเทศแต่หนังสือตำราจะต้องชี้นำให้กับผู้อ่านและสั่งสอนถึงข้อมูลนั้นในแนวทางที่ทำให้ผู้อ่านสามานถเรียนรู้ได้ เมื่อม้ขนาดเท่ากัจหนังสือตำรามักจะแสดงข้อมูลน้อยกว่าดค่มีคำอธิบายและคำแนะนำมากกว่าสารานุกรม\nหนังสือตำราในวิกิตำราควรมีโครงสร้างคล้ายกับหนังสือตภราแบบดั้งเดิม ตำราประกอบด้วยสารบัญและเนื้อหาของตำราถูกแบ่งออกเป็นบทต่าง ๆ ในแต่ละหน้า ตำราบางเล่มอาจมีแค่หน้าเดียวโเยไม่มีบทหรือใช้การจัดการเพื่อแบ่งเนื้อหาอื่น เช่น \"หน่วย\" และ \"บทย่อย\" โดยขึ้นอยู่กับดุลขพินิจของผู้ประพันธ์ อย่างไรก็ตาม ส่วนที่สำคัญคือตำจะถูกจัดเรียงตามลำดับช้้นโดย \"ตำรา\" จะอยู่ในลำดับชั้นบนสุดและ \"หน้า\" จะอยู่ในลำดับล่าง เนื่องจากโครงสร้างลำดับชั้นและข้อจำกัดของตำราเอง ทำให้ตำราของเรามีแนวโน้มที่จะใช้การเขื่อมโยงหลายมิติน้อยกว่าบทความในวิกิพีดดีย\nตำราของวิกิตำราและอาจรวมถึงตำราปบบดั้งเดิมอื่น ๆ มีองค์ประกอบหลัก ๆ ดังนี้\n\nหน้าปก: หน้าที่มีชื่อของตำรา ภาพปกและข้อมูลอย่างย่อ\nคำนำ: หน้าที่เขียนเกี่ยวกับผู้ประพันธ์หรือเกี่ยวกับตำราเล่มนี้\nอภิธานศัพท์: หน้าสำหรับอธิบายคำและวลีที่ใช้ในตำรา\nภาคผนวก: หน้าที่แสดงข้อมูลเพื่อขยายคำอธิลายหลักในจำราซึ่งมีความสำึัญต่อการาร้างความเข้นใจต่อเาื้อหาที่ถูกต้อง\n\n\"ลิงก์ตำรา\" และการจัดรูปแบบคล้ายตำรา\n\"ลิงก์ตำรา\" และการจัะรูปแบบคล้ายตำรา.\nตำราหลายเล่มเริ่มเขียนขึ้นโดยคล้ายกับบทความในสารานุกรมหรือสารานุกรมเชิงลึก ถึงแม้ว่าสารานุกรมเชิงลึกไม่ใช่หนังสือตำราที่ยอมรับได้แตทก็เป็นเรื่องปกติและยอมรับบางตำราที่มีโครงสร้างเหมือนกับสารานุกรมเชิงลึกทั่อสู่ในระหว่างการพัฒนาโดยมีเหตุผลหลายหลายประการสำหรับประเด็นนี้ อย่างแรกคือตำราส่วนมากถูกสร้างขึ้นด้วยการนำเข้าบ่ความจากวิกิพีเดียเพิ่อใช้เป็นฐานสำหรับสร้างตำราใผม่ อย่างทีาสองคือบ่อยครั้งที่ปู้ใช้มักจะเขียนข้อมูลลงไปก่อนแล้วค่อยจัดระเบียบและปรับปรุงใหม่ในภายหลัง การเยียนคำอธิบายหลักอาจเป๊นเรื่องยากในช่วงแรกของกาีเขียนตำราเมื่อลำดับการอ่านของหน้ายังไม่เสร็จ สารานุกรมเชิงลึกที่อยู่ระหว่างการพัฒนาจะถูกแจ้งเพื่อเก็บกวทดและสารานุกรมเชิงลึกที่เก่ามากหรือไม่ได้เขียนต่อมานานอาจถูกพิจารณาเพื่อลบ\nดังที่ได้กล่าวไปขเางต้น หน้าในหนังสือตำราของวิกิตำรามักใส่ลิงก์เพียงเล็กน้อย มีเหตุผลสองสามอย่างประการสำหรับประเด็นนี้ อย่างแรกคือตำราต้องมีเนื้อหาอยู่ในตัวตำราเอง การใส่ลิงก์มากเกินไปหมายความว่สตำราของคุณมีเนื้อหาไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร นอกจากนี้แหล่งข้อมูลภายนอกก็ไม่อาจใช้ในการสอนได้เหมือนแับตำรา อย่างที่สองคือการใส่ลิงก์มากเกินไปหรือใส่ลิงพ์ในกลางประโยคอาจทำให้ผู้อ่านเสียสมาธิและขัดขวางไม่ให้ผู้อ่านไลาอ่านคำอธิบายบองตำราและิรียนรู้บทเรียน_ด้อย่ทงเหมาะสม",
"role": "user"
},
{
"content": "วิกิพีเดียเป็นโครงการพี่น้องที่สำคัญสำหรับวิกิตำราและผู้แก้ไขของเราจำนวนมากเริ่มต้นด้วยการเป็นชาววิกิพีเดียก่อนจะมาที่วิกิตำรา แม้ทั้งสองโครงการจะคล้ายคลึงกันหลายอย่างโดยเฉพาะซอร์ฟแวร์ที่ใช้ การที่ทั้งสองโครงการมีความแตกต่างกันไม่มากอาจสร้างความสับสนให้กับชาววิกิพีเดียในช่วงแรกได้ บทนี้จึงถูกเขียนขึ้นเพื่อเป็นคู่มือเริ่มต้นใช้งานอย่างรวดเร็วสำหรับชาววิกิพีเดียเพื่อให้มีความคุ้นเคยกับโครงการวิกิตำรามากขึ้น\nหนังสือตำรากับบทความสารานุกรม\nหนังสือตำรากับบทความสารานุกรม.\nเป็นที่ชัดเจนว่ามีหลายสิ่งใน \"หนังสือตำรา\" ที่แตกต่างจาก \"สารานุกรม\" ทั้งที่เป็นรูปเล่มและออนไลน์ ในขณะที่สารานุกรมแสดงถึงข้อมูลสารสนเทศแต่หนังสือตำราจะต้องชี้นำให้กับผู้อ่านและสั่งสอนถึงข้อมูลนั้นในแนวทางที่ทำให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้ได้ เมื่อมีขนาดเท่ากันหนังสือตำรามักจะแสดงข้อมูลน้อยกว่าแต่มีคำอธิบายและคำแนะนำมากกว่าสารานุกรม\nหนังสือตำราในวิกิตำราควรมีโครงสร้างคล้ายกับหนังสือตำราแบบดั้งเดิม ตำราประกอบด้วยสารบัญและเนื้อหาของตำราถูกแบ่งออกเป็นบทต่าง ๆ ในแต่ละหน้า ตำราบางเล่มอาจมีแค่หน้าเดียวโดยไม่มีบทหรือใช้การจัดการเพื่อแบ่งเนื้อหาอื่น เช่น \"หน่วย\" และ \"บทย่อย\" โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ประพันธ์ อย่างไรก็ตาม ส่วนที่สำคัญคือตำจะถูกจัดเรียงตามลำดับชั้นโดย \"ตำรา\" จะอยู่ในลำดับชั้นบนสุดและ \"หน้า\" จะอยู่ในลำดับล่าง เนื่องจากโครงสร้างลำดับชั้นและข้อจำกัดของตำราเอง ทำให้ตำราของเรามีแนวโน้มที่จะใช้การเชื่อมโยงหลายมิติน้อยกว่าบทความในวิกิพีเดีย\nตำราของวิกิตำราและอาจรวมถึงตำราแบบดั้งเดิมอื่น ๆ มีองค์ประกอบหลัก ๆ ดังนี้\n\nหน้าปก: หน้าที่มีชื่อของตำรา ภาพปกและข้อมูลอย่างย่อ\nคำนำ: หน้าที่เขียนเกี่ยวกับผู้ประพันธ์หรือเกี่ยวกับตำราเล่มนี้\nอภิธานศัพท์: หน้าสำหรับอธิบายคำและวลีที่ใช้ในตำรา\nภาคผนวก: หน้าที่แสดงข้อมูลเพื่อขยายคำอธิบายหลักในตำราซึ่งมีความสำคัญต่อการสร้างความเข้าใจต่อเนื้อหาที่ถูกต้อง\n\n\"ลิงก์ตำรา\" และการจัดรูปแบบคล้ายตำรา\n\"ลิงก์ตำรา\" และการจัดรูปแบบคล้ายตำรา.\nตำราหลายเล่มเริ่มเขียนขึ้นโดยคล้ายกับบทความในสารานุกรมหรือสารานุกรมเชิงลึก ถึงแม้ว่าสารานุกรมเชิงลึกไม่ใช่หนังสือตำราที่ยอมรับได้แต่ก็เป็นเรื่องปกติและยอมรับบางตำราที่มีโครงสร้างเหมือนกับสารานุกรมเชิงลึกที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาโดยมีเหตุผลหลายหลายประการสำหรับประเด็นนี้ อย่างแรกคือตำราส่วนมากถูกสร้างขึ้นด้วยการนำเข้าบทความจากวิกิพีเดียเพื่อใช้เป็นฐานสำหรับสร้างตำราใหม่ อย่างที่สองคือบ่อยครั้งที่ผู้ใช้มักจะเขียนข้อมูลลงไปก่อนแล้วค่อยจัดระเบียบและปรับปรุงใหม่ในภายหลัง การเขียนคำอธิบายหลักอาจเป็นเรื่องยากในช่วงแรกของการเขียนตำราเมื่อลำดับการอ่านของหน้ายังไม่เสร็จ สารานุกรมเชิงลึกที่อยู่ระหว่างการพัฒนาจะถูกแจ้งเพื่อเก็บกวาดและสารานุกรมเชิงลึกที่เก่ามากหรือไม่ได้เขียนต่อมานานอาจถูกพิจารณาเพื่อลบ\nดังที่ได้กล่าวไปข้างต้น หน้าในหนังสือตำราของวิกิตำรามักใส่ลิงก์เพียงเล็กน้อย มีเหตุผลสองสามอย่างประการสำหรับประเด็นนี้ อย่างแรกคือตำราต้องมีเนื้อหาอยู่ในตัวตำราเอง การใส่ลิงก์มากเกินไปหมายความว่าตำราของคุณมีเนื้อหาไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร นอกจากนี้แหล่งข้อมูลภายนอกก็ไม่อาจใช้ในการสอนได้เหมือนกับตำรา อย่างที่สองคือการใส่ลิงก์มากเกินไปหรือใส่ลิงก์ในกลางประโยคอาจทำให้ผู้อ่านเสียสมาธิและขัดขวางไม่ให้ผู้อ่านไล่อ่านคำอธิบายของตำราและเรียนรู้บทเรียนได้อย่างเหมาะสม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ส่วนที่ 1 เบื้องต้าเกี่ยฝกีบคำราวิกิตำราคืออะไรหารสร้างบัญชีผู้ใข้การอภิปรายและความเห็นพ้องนโยบายและแนวปฏิบัติสาฝนที่ 2 ผู้แก้ไขวิกิตำราแก้ไขวิกิตำราอย่างไรวิกิมาร์กอัปการเก็บกวาดและบำรุงรักษาเทคนิคขั้นสูงเพิ่มรูปภาพลงในหน้าส่วนที่ 3 คู่มืออตเ่มต้นอย่างรวดเร็วสำหรับชาววิกิพีเดียแนวปฏิบัติสำหรับโครงการชั้นเรียนการเริ่มตำราใหม่ส่วนที่ 4 ผู้เขียนวิกิตำราการเข้ามีส่วนร่วมกับวิกิตำราที่มีอยู่เดิมการเริ่มต้นวิกิตำราใหม่การบริจาคตำราให้วิกิตำราโครงสร้างของวิกิตำราเป็นอย่างไรชั้น หมวดหมู่และการจำแนกแรงจูงใจของผู้อ่านฉบับพิมพ์และพีดีเอฟส่วนที่ 5 ผู้อ่านวิกเตำราการสืบค้นวิกิตำราการพิมพ์วิกิตำราการใช้วิดิตำราในชั้นเรียนการแก้ไขข้อผิดพลาดการทบทวนหน้าส่วนที่ 6 ผู้ดูแลระบบวิกิตำรมบทบาทของผู้ดูแลระบบวิกิตำราการลบ กู้คืนการลบและการนำเข้าการก่อกวนการบริปารขั้นสูง",
"role": "user"
},
{
"content": "ส่วนที่ 1 เบื้องต้นเกี่ยวกับตำราวิกิตำราคืออะไรการสร้างบัญชีผู้ใช้การอภิปรายและความเห็นพ้องนโยบายและแนวปฏิบัติส่วนที่ 2 ผู้แก้ไขวิกิตำราแก้ไขวิกิตำราอย่างไรวิกิมาร์กอัปการเก็บกวาดและบำรุงรักษาเทคนิคขั้นสูงเพิ่มรูปภาพลงในหน้าส่วนที่ 3 คู่มือเริ่มต้นอย่างรวดเร็วสำหรับชาววิกิพีเดียแนวปฏิบัติสำหรับโครงการชั้นเรียนการเริ่มตำราใหม่ส่วนที่ 4 ผู้เขียนวิกิตำราการเข้ามีส่วนร่วมกับวิกิตำราที่มีอยู่เดิมการเริ่มต้นวิกิตำราใหม่การบริจาคตำราให้วิกิตำราโครงสร้างของวิกิตำราเป็นอย่างไรชั้น หมวดหมู่และการจำแนกแรงจูงใจของผู้อ่านฉบับพิมพ์และพีดีเอฟส่วนที่ 5 ผู้อ่านวิกิตำราการสืบค้นวิกิตำราการพิมพ์วิกิตำราการใช้วิกิตำราในชั้นเรียนการแก้ไขข้อผิดพลาดการทบทวนหน้าส่วนที่ 6 ผู้ดูแลระบบวิกิตำราบทบาทของผู้ดูแลระบบวิกิตำราการลบ กู้คืนการลบและการนำเข้าการก่อกวนการบริหารขั้นสูง",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กันบาวด์ (, ต่มตราการค้าเป็น GunBound; ) เป็นเกมปืนใหญ่ประเภทผลัดทีละรอบสำหรุบผู้เล่นหลายคน พัฒนาโดยผู้พัฒนาจากเกาหลีใต้ ซอฟต์นิกซ์ ซึ่งถูกเทียบกังซีรีส์ วอร์มส เนื่อวจากมีวิธีเล่นคฃ้ายกัน\nเกมรุ่นดั้งเดิมถูกเผยแพร่ในประเทศเกทหลีใต้เมื่อเดือรพฤษภาคม ค.ศ. 2002 ก่อนทึ่จะเผยแพร่ทั่วโลกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2003 เกมภาคแบกสำหรับเกมโทรศัพท์ชื่อ GunboundM ถูกเผยแพร่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2017 จากนั้นมีการประกาศจะเผยแพร่ภาคต่อที่มีชื่อวรา Bew Gunbound สำหรับโทรศัพท์ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 และพีซีในเดือนพฤษ_าคม ค.ศ. 2020 มีการวางแผนจำหน่ายรุ่นพีซีบนสตีมในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. e020 อยืางไรก็ตาม ตัวเกมก็ยังไม่ได้เผยแพร่โดยไม่ทราบสาเหตุ\nวิธีเล่น\nยานพาหนะ\nวิธีเล่น.\nยานพาหนะ.\nยาพาหนะกันบาวด์ปรากฏในตูปแบบของรถถังมีชีวิตและไดโนเสาร์หลายชนิด โดยเดิมในกันบาวด์ซีซั่นที้ 1 มียานพาหนะทั้งหมดจำนวน 16 ชนิด และเพิ่มเติมอีก 2 ชนิดในกันบาวด์ซีซั่นที่ 2 รบม 18 ชนิด\nโหมด\nการพัฒนา\nกันบาวด์โมบายล์\nนิวกันบาวด์\nการตอบรับ\nการคอบรับ.\nวารสาร พีซีเกาเมอร์ ในอังกฤษให้คะแนน กันบาวน์ ไป 83 ขาก 100 คะแนน\nอ้างอิง\nแหล่งข้อมูลอื่น\n\nGubBound – เว็บไซต์อย่างเปฺนทางการ\nเว็บไซต์กันบาวด์ประเทศไทจ – (ปิดให้บริการ)\nเว็บไซต์นิวกันบาวด์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – New Gunbound SEA\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมน์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีะอมออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็าแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTric,ster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nRr2eStyle Online\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูจ่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "user"
},
{
"content": "กันบาวด์ (, ตามตราการค้าเป็น GunBound; ) เป็นเกมปืนใหญ่ประเภทผลัดทีละรอบสำหรับผู้เล่นหลายคน พัฒนาโดยผู้พัฒนาจากเกาหลีใต้ ซอฟต์นิกซ์ ซึ่งถูกเทียบกับซีรีส์ วอร์มส เนื่องจากมีวิธีเล่นคล้ายกัน\nเกมรุ่นดั้งเดิมถูกเผยแพร่ในประเทศเกาหลีใต้เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2002 ก่อนที่จะเผยแพร่ทั่วโลกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2003 เกมภาคแยกสำหรับเกมโทรศัพท์ชื่อ GunboundM ถูกเผยแพร่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2017 จากนั้นมีการประกาศจะเผยแพร่ภาคต่อที่มีชื่อว่า New Gunbound สำหรับโทรศัพท์ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 และพีซีในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2020 มีการวางแผนจำหน่ายรุ่นพีซีบนสตีมในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020 อย่างไรก็ตาม ตัวเกมก็ยังไม่ได้เผยแพร่โดยไม่ทราบสาเหตุ\nวิธีเล่น\nยานพาหนะ\nวิธีเล่น.\nยานพาหนะ.\nยาพาหนะกันบาวด์ปรากฏในรูปแบบของรถถังมีชีวิตและไดโนเสาร์หลายชนิด โดยเดิมในกันบาวด์ซีซั่นที่ 1 มียานพาหนะทั้งหมดจำนวน 16 ชนิด และเพิ่มเติมอีก 2 ชนิดในกันบาวด์ซีซั่นที่ 2 รวม 18 ชนิด\nโหมด\nการพัฒนา\nกันบาวด์โมบายล์\nนิวกันบาวด์\nการตอบรับ\nการตอบรับ.\nวารสาร พีซีเกมเมอร์ ในอังกฤษให้คะแนน กันบาวน์ ไป 83 จาก 100 คะแนน\nอ้างอิง\nแหล่งข้อมูลอื่น\n\nGunBound – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ\nเว็บไซต์กันบาวด์ประเทศไทย – (ปิดให้บริการ)\nเว็บไซต์นิวกันบาวด์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – New Gunbound SEA\nดูเพิ่ม\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrickster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Online\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การตัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็นกระบวนการเรียนการสอน/ว้ธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงี์ผ่านการเรีนนรู้นอกห้องเรียน โกยผู้เรียนจะได้รับความรู้จากประสบการณ์ตรง การลงมือปฏิบัต้จริง ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจและจดจำสิ่งาี่ได้พบเห็นในเวลาอันรวดเร็วและเป็นเวลานาน และการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้เป็นก่รใช้แหล่งการเรียนรู้ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุก\nองค์ประกอบสำคัญ\nองค์ประกอบสำคัญ.\nองค์ประกอบสำคัญของการจัดทัศนศึกษามีะังนี้\n\nผู้สอนแฃะผู้เรียนมีการวางแปนร่วมกันในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานทั่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ\nมีปารเดินทางไปยังสถานที่เป้าหมายซึ่งอยู่ภายนอกโรงเรียน เช่น การทัศนศึกษสสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ การทัศนศึกษาตามแหล่งประวัติศาสตร์ เป็นต้ต\nมีกระบวนการในการศึกษาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ในสถานที่นั้น\nมีการสรุปผลการเรียนรู้จากการทัศนศึกษา\nข้อดีของการจัดทัศนศึกษา\n\nข้อจำแัดของการจัดทัศนศึกษา\nข้อจำกัดของการจัดทัศนศึหษา.\nการจัดทัศนศึกษาจำเป็นต้องมีการวางแผนที่รัดกุมและติดต่อประสานงานต่นง ๆ จึงเป็นวิธีสอนที่ค่อนข้างมีความยุ่งยาก รวมถึงเป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง หากบริหารจีดการและเตรียมกระบวนการๆม่ดีพอ การจัดทัศนศึกษาอสจเกิดผลที่ไม่คุ้มค่าได้\nบรรณานุกรม\n\nทิศนา แขใมณี. (2555). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nทิศนา แขมมณี. (2545). ศาาตร์การมอน: องี์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ใหาวิทยาลัย",
"role": "user"
},
{
"content": "การจัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็นกระบวนการเรียนการสอน/วิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ผ่านการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยผู้เรียนจะได้รับความรู้จากประสบการณ์ตรง การลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจและจดจำสิ่งที่ได้พบเห็นในเวลาอันรวดเร็วและเป็นเวลานาน และการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้เป็นการใช้แหล่งการเรียนรู้ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด\nองค์ประกอบสำคัญ\nองค์ประกอบสำคัญ.\nองค์ประกอบสำคัญของการจัดทัศนศึกษามีดังนี้\n\nผู้สอนและผู้เรียนมีการวางแผนร่วมกันในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานที่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ\nมีการเดินทางไปยังสถานที่เป้าหมายซึ่งอยู่ภายนอกโรงเรียน เช่น การทัศนศึกษาสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ การทัศนศึกษาตามแหล่งประวัติศาสตร์ เป็นต้น\nมีกระบวนการในการศึกษาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ในสถานที่นั้น\nมีการสรุปผลการเรียนรู้จากการทัศนศึกษา\nข้อดีของการจัดทัศนศึกษา\n\nข้อจำกัดของการจัดทัศนศึกษา\nข้อจำกัดของการจัดทัศนศึกษา.\nการจัดทัศนศึกษาจำเป็นต้องมีการวางแผนที่รัดกุมและติดต่อประสานงานต่าง ๆ จึงเป็นวิธีสอนที่ค่อนข้างมีความยุ่งยาก รวมถึงเป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง หากบริหารจัดการและเตรียมกระบวนการไม่ดีพอ การจัดทัศนศึกษาอาจเกิดผลที่ไม่คุ้มค่าได้\nบรรณานุกรม\n\nทิศนา แขมมณี. (2555). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย\nทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "Välkommen! ยินดีต้อนีับ!\nภาษาสวีเดน เป็นภาษากลุ่มเจอร์เมนิกเหนือ ที่ส่สนใหญ่ใช้สื่อสารในประเทศสวีเดน, ส่วนหนึ่งของประเทศฟินแลนด์ และบนเกาะโอลันด์ซึ่งปกครองตนเอง โดยมีผู้พูดรวมกว่า 10 ล้านคน\nภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาปรเจำชาติที่วิวัฒนาการม่จากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเแ็นที่ยอมตับอย่างดีในทศวรตษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ความหลากหลาสของภูมเภาคที่แตกจ่างยังคงมีอยู่ ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่นที่เก่ากว่ม ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนมีลักษณะเหมือนกันแฃะเป็ามาตรฐาน ภาษาถิ่นของแท้บางำาษามีความแตกต่างอยีางมากจากภาษามมตรฐานในไวยากรณ์รวมถึงคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจร่วมกันได้กับภาษนสวีเดนมาตรฐาน พวกเขาส่วนใหญ่จะถูกกักในชุมชนแต่ละแห่งแลเลดลงในช่วงศตวรรณที่ผ่านมา แา้ว่าจะไม่ดผชิญกับการใกล้สูญพันธุ์ และมักได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น แต่พวกเขามักจะถูกกักในพื้นที่ชนบทในประชากรที่มีการศึกษาและการเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ\nภาษาสวีเดนมีความโดดเด่นด้วยฉันทลุกษณ์ ซึ่งแตกต่างกันมมกระหวีางพื้นเมืองต่าง ๆ และรวมถึงเสียงหนักเบาทั้งศัพท์และคุณภากเสียงวรรณยุกต์ ภาษานี้มีคลังเสียงสระค่อนข้างมาก พ้วยจำนวตเสียงสระที่แยกจากกันทั้งหมด 9 เสียง ที่แตกต่างกันตามปริมาณและคุณภาพในระดับหรึ่ง ทำใป้รวมเป็น 17 หน่วยเสียงสระ ภาษาสวีเดนยังมีชื่อเสียงในเรื่องเสียงพ่นลมเพดานปากกลับดอร์โซอโฆษะ [ɧ] ซึ่งพงในหลายภาษาพื้นเมือง แต่ไม่พบในภาษาอื่น\nภาษาสวีเดนมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด และมักจะเข้าใจร่วมกันกับภาษาเดนมาร์กและภาษานอร์เวย์ และในระดับหนึ่งกับชาวแฟโร ซึ่งาั้งหมดนี้วิวัฒนาการมาจากภาษานอร์สเก่าเมื่อประมาณพันปีที่แล้ว นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องอย่าฝใกล้ชิดกับไอซ์แลนด์ แม้ว่าทั้งสองจะไม่เบ้าใจซึ่ฝกันและกัน ภาษาสวีเดน, เดนสาร์ก และนอร์เวย์บุ๊กมอล ถือเป็นภาษาสแกนดิเนเวียตะวันออกทั้งหมด โดยทั้งหมดได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาเยอรมันต่ำ\nSituationer osh konversationer med vokabulär (สถานการณ์และการสนทนาพร้อมคำศัพท์)\n\nVälkomna ยินดีต้อนรับ - แนะนำตัวเอง\nResande การเดินทาง\nHobbyer งานอดิเรก - กิจกรรมนันทนาการ\nFamilj ครอบครัว\nSkola โรงเรียน\nHandla ชอปปิง\nHem บ้าน\nSjukvård ดํแลรักษาทางการแพทย์\nSvenwk kultur วัฒนธรรมสวีเดน\nOrdförråd (คำศัพท์)\n\n\nคำศัพท์\nคำอุทาน\nสี\nกีฬา\nควมมรัก\nสัญชาติ\nเทคโนโลยี\nคำสแลง\nภาษาสวีเดน/คำศัพท์\nภาษาสวีเดน/คำศัพท์/วลีทั่วไป\nรายชื่อคำกริยา\nรายชื่อคกกริยาที่ผันแบบปข็งและอปกติ\n^ttal (การออกเสียง)\n\nGrammatik (ไวยากรณ์)\nGrammatik (ไวยากรณ์).\nคำนาม | คำคุณศัพท์ | สรรพนาม | กริยาวิเศษณ์ | คำบุพบท | จำนวนนับ | วากยสัมพันธ์ | มำนวน | ึำกริยาและกาล\nดูเพิ่ม\n\nThe Wikipefia article about the Swedish Language\nThe Swedish language edition of Wikibooks.\nThe Swedish language edition of Wikipedia.",
"role": "user"
},
{
"content": "Välkommen! ยินดีต้อนรับ!\nภาษาสวีเดน เป็นภาษากลุ่มเจอร์เมนิกเหนือ ที่ส่วนใหญ่ใช้สื่อสารในประเทศสวีเดน, ส่วนหนึ่งของประเทศฟินแลนด์ และบนเกาะโอลันด์ซึ่งปกครองตนเอง โดยมีผู้พูดรวมกว่า 10 ล้านคน\nภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นที่ยอมรับอย่างดีในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ความหลากหลายของภูมิภาคที่แตกต่างยังคงมีอยู่ ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่นที่เก่ากว่า ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนมีลักษณะเหมือนกันและเป็นมาตรฐาน ภาษาถิ่นของแท้บางภาษามีความแตกต่างอย่างมากจากภาษามาตรฐานในไวยากรณ์รวมถึงคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจร่วมกันได้กับภาษาสวีเดนมาตรฐาน พวกเขาส่วนใหญ่จะถูกกักในชุมชนแต่ละแห่งและลดลงในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา แม้ว่าจะไม่เผชิญกับการใกล้สูญพันธุ์ และมักได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น แต่พวกเขามักจะถูกกักในพื้นที่ชนบทในประชากรที่มีการศึกษาและการเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ\nภาษาสวีเดนมีความโดดเด่นด้วยฉันทลักษณ์ ซึ่งแตกต่างกันมากระหว่างพื้นเมืองต่าง ๆ และรวมถึงเสียงหนักเบาทั้งศัพท์และคุณภาพเสียงวรรณยุกต์ ภาษานี้มีคลังเสียงสระค่อนข้างมาก ด้วยจำนวนเสียงสระที่แยกจากกันทั้งหมด 9 เสียง ที่แตกต่างกันตามปริมาณและคุณภาพในระดับหนึ่ง ทำให้รวมเป็น 17 หน่วยเสียงสระ ภาษาสวีเดนยังมีชื่อเสียงในเรื่องเสียงพ่นลมเพดานปากกลับดอร์โซอโฆษะ [ɧ] ซึ่งพบในหลายภาษาพื้นเมือง แต่ไม่พบในภาษาอื่น\nภาษาสวีเดนมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด และมักจะเข้าใจร่วมกันกับภาษาเดนมาร์กและภาษานอร์เวย์ และในระดับหนึ่งกับชาวแฟโร ซึ่งทั้งหมดนี้วิวัฒนาการมาจากภาษานอร์สเก่าเมื่อประมาณพันปีที่แล้ว นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับไอซ์แลนด์ แม้ว่าทั้งสองจะไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน ภาษาสวีเดน, เดนมาร์ก และนอร์เวย์บุ๊กมอล ถือเป็นภาษาสแกนดิเนเวียตะวันออกทั้งหมด โดยทั้งหมดได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาเยอรมันต่ำ\nSituationer och konversationer med vokabulär (สถานการณ์และการสนทนาพร้อมคำศัพท์)\n\nVälkomna ยินดีต้อนรับ - แนะนำตัวเอง\nResande การเดินทาง\nHobbyer งานอดิเรก - กิจกรรมนันทนาการ\nFamilj ครอบครัว\nSkola โรงเรียน\nHandla ชอปปิง\nHem บ้าน\nSjukvård ดูแลรักษาทางการแพทย์\nSvensk kultur วัฒนธรรมสวีเดน\nOrdförråd (คำศัพท์)\n\n\nคำศัพท์\nคำอุทาน\nสี\nกีฬา\nความรัก\nสัญชาติ\nเทคโนโลยี\nคำสแลง\nภาษาสวีเดน/คำศัพท์\nภาษาสวีเดน/คำศัพท์/วลีทั่วไป\nรายชื่อคำกริยา\nรายชื่อคำกริยาที่ผันแบบแข็งและอปกติ\nUttal (การออกเสียง)\n\nGrammatik (ไวยากรณ์)\nGrammatik (ไวยากรณ์).\nคำนาม | คำคุณศัพท์ | สรรพนาม | กริยาวิเศษณ์ | คำบุพบท | จำนวนนับ | วากยสัมพันธ์ | สำนวน | คำกริยาและกาล\nดูเพิ่ม\n\nThe Wikipedia article about the Swedish Language\nThe Swedish language edition of Wikibooks.\nThe Swedish language edition of Wikipedia.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาสวีเดน",
"role": "user"
},
{
"content": "REDIRECT ภาษาสวีเดน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ยุทธภพครบสลึง เป็นเกมออนไลน์ประเภท MMORPG จากประเทศเกาหลีใต้ พัฒนาโกยบริษัท KRG Soft เผยแพร่โดย Mgame เกมนี้มีพื้นฐานอยู่บตหนังสือการ์ตูนในชื่อเดียวกันนี้ของเกาหลีที่เกี่ยวกับศิลปะการต่อสู้ คำว่า Yulgang มาจากคำย่อของ Yul-Hyul-Gang-Jo (热血江湖/열혈강호 ยอลฮยอลกังโฮ) แปลว่า ๐เจียงหูเลืิดเดือด\" ในประเทศไทย เกมดังกล่าวได้ซื้อลิขสิทธิ์และนำเข้าโดย เอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น เกมออนไลจ์เกมตี้เป็นเกมที่เล่นได้โดยไม่เสรยค่าใช้จ่าย แต่สร้างราย/ด้จากการขายสินค้าใน Yulgang Shop ด้วยเงินจริง ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 เกมนี้ได้รับคใามนิยมคือมีผู้ลงทะเบียนเล่นเพมกว่า 60 ล้านคนในจีนและเกาหลี และเกมนี้ม่เซิร์ฟเวอร์ให้บริการในประเทศญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน ไทย อินโดนีเซีย และสหรัฐอเาริกา\nอ้างอิง\nแหล่งข้อมูลอื่น\nดูเพิ่ม\n\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบนวด์\nโอทูแจท\nเดอุซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nค่บาลออนไลน์\nแคปคอม vsซ เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Fofce\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCiry Online\nออดิชั่นออนไลร์\nBOLMZ\nLaTale Online\nTricksrer\nEmil Chronicle Online\nDSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Onl8ne\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineagf II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "user"
},
{
"content": "ยุทธภพครบสลึง เป็นเกมออนไลน์ประเภท MMORPG จากประเทศเกาหลีใต้ พัฒนาโดยบริษัท KRG Soft เผยแพร่โดย Mgame เกมนี้มีพื้นฐานอยู่บนหนังสือการ์ตูนในชื่อเดียวกันนี้ของเกาหลีที่เกี่ยวกับศิลปะการต่อสู้ คำว่า Yulgang มาจากคำย่อของ Yul-Hyul-Gang-Ho (热血江湖/열혈강호 ยอลฮยอลกังโฮ) แปลว่า \"เจียงหูเลือดเดือด\" ในประเทศไทย เกมดังกล่าวได้ซื้อลิขสิทธิ์และนำเข้าโดย เอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น เกมออนไลน์เกมนี้เป็นเกมที่เล่นได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่สร้างรายได้จากการขายสินค้าใน Yulgang Shop ด้วยเงินจริง ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 เกมนี้ได้รับความนิยมคือมีผู้ลงทะเบียนเล่นเกมกว่า 60 ล้านคนในจีนและเกาหลี และเกมนี้มีเซิร์ฟเวอร์ให้บริการในประเทศญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน ไทย อินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกา\nอ้างอิง\nแหล่งข้อมูลอื่น\nดูเพิ่ม\n\nFinal Fantasy XI\nKing of Kings\nDragon Raja\nDark Story Online\nMu Online\nFly For Fun\nLineage\nRagnarok online\nRan Online\nกรานาโด้ เอสพาดา\nกันบาวด์\nโอทูแจม\nเดอะซิมส์\nเมเปิลสตอรี\nSeal Online\nทีเอสออนไลน์\nอสุรา ออนไลน์\nยุทธภพครบสลึง\nเก็ทแอมป์\nN-Age\nคาบาลออนไลน์\nแคปคอม vs. เอสเอ็นเค 2\nเดอะซิมส์ 2\nไทโกะโนะทัตสึจิน\nปังย่า\nCrazy Arcade\nKartRider\nSpecial Force\nเทลส์รันเนอร์\nFanta Tennis\nRayCity Online\nออดิชั่นออนไลน์\nBOOMZ\nLaTale Online\nTrickster\nEmil Chronicle Online\nCSO Online\nXshot\nGrand Chase\nFreeStyle Online\nGhost Online\nPoint Blank\nสิบสองหางออนไลน์\nYogurting\nNostale\nZone4\nเดอะซิมส์ 3\nMabinogi\nDragonica\nลูน่าออนไลน์\nDragon Nest\nSpecial Force 2\nOverwatch\nLineage II\nOverwatch 2\nเดอะซิมส์ 4",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ฟลิฟออนไลน์",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ฟลิฟออนไลน์",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราสามารถพำหนแให้การแสดงตัวเลขในตทรางมีรูปแบบที่ต้องการได้ เช่น ให้มีเครื่องหมาย Comma (,) คั่นทุกๆ 3 หลัก หรือให้ลงท้ายด้วยเครื่แงหมายเปอร์เซ็รต์ (%)\n\nเลือกข้อมูลที่ต้องการกำหนดรูปแบบ\nคลิำเใาส์ปุ่มขวาเลือกคำสั่ง Format Cells (รูปแบบข่อง)\nคลิกเมาส์เลือกแท็บ Numbers (ตัวเลข)\nคลิกเมาส์เลือกรูปแบบที่เราต้องการในช่อง Format (รูปแบบ)\nคลิกเมาส์ปุ่ม จะได้ตูปแบบของเซลล์เปลี่ยนตามที่ดรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อม๔ลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำไนด Margim ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเแกสาต\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ฟจและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาาเข้าสู่โปรแกรม OoenOffoce.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความใรเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/กสรค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Nzvigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถั\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหย่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจเดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกดต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็ดก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undi เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติวร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การใช้าูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/กาีตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงกถวหรือคอลัมน์\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nฮอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบขีอความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การปทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาะลงในสไลด์\nโอเดนออฟฟิศดอตอ๋อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยดารคัดฃอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเขัาตารางจากฐาสข้อมูลอ่่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อกๆการปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมํลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดขอวภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอปสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยาชนิดและรูกแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นไลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังส/ลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความับื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขนายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การข้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำกับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_กทรลบข้อมูลในเซลล์\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาตลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การเลือกเซลล์หร่อกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความขางส่วน\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กา่งาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeforn\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นทีทมีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อห/การวาดเส้นและลูกศร\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเดนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางกละฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพน้่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅกรรใส่ลำดับเชขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรส OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpehOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅกำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำฟนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวันถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกบุ่มเซลล์และนำมาใช้ในส฿ตร\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูผแบบกาคแสดงขือมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลคามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคูปแบบการแสดงตุวเลข\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลบอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และิวลา\nโอเพนออฟๆิศะอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนดอฟฟิศพอตอ็อก/กำหนดรํปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/กำหนดรธปแบบหน้ากระดาษห่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOfeice.o3t เซฟไๆล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใร O[enOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อม๔ลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/เข้าใจาูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าฝช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสใุดลาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัเลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มิอติดตั้ง PpwnOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลั่ยมและคูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนบ้ายสไลด์ไปในตำแหน่ฝที่ต้องก่ต\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำกหน่งข้อมูลในแต่ลุเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในิอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงมัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใบิสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/ตรวจสอบการสะกดคำเ้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_ตรวจสอบงานก่อนพิมก๋\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสแบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลีืยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับอผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅแทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/แืรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เพ/นับจำนวยคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตลั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไผล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็น_ฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกยารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงขแงแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หรับแต่งกนรจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแร่ลภาพที่กสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพเ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อสสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษิป็นไทย\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/เปล่่ยนพื้นหลังยๆลด์ทั้งแผ่ต\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Write3 ทำอะไรได้บ้าง\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ชยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่ิ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกุบศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/เริ่สต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอิพนออฟผิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาสช้งาน\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลิอกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้ดงการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Cals\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างดอกสาร\nโอเพนออไฟิญดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์ดกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรืแซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอพาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดวลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์ดสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่เงข้อความ\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากฏปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถกำหนดให้การแสดงตัวเลขในตารางมีรูปแบบที่ต้องการได้ เช่น ให้มีเครื่องหมาย Comma (,) คั่นทุกๆ 3 หลัก หรือให้ลงท้ายด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ (%)\n\nเลือกข้อมูลที่ต้องการกำหนดรูปแบบ\nคลิกเมาส์ปุ่มขวาเลือกคำสั่ง Format Cells (รูปแบบช่อง)\nคลิกเมาส์เลือกแท็บ Numbers (ตัวเลข)\nคลิกเมาส์เลือกรูปแบบที่เราต้องการในช่อง Format (รูปแบบ)\nคลิกเมาส์ปุ่ม จะได้รูปแบบของเซลล์เปลี่ยนตามที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "้ราสามารถกำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขได้อีกวิธีหนึ่ง โดยการเลือกเในู Format>Cells (รูปแบบ>Cells) ก็จะปรากฏหน้าต่าง Cell Attributes (คุณลักษณะเซลล์) จากนั้นเลือกแื็บ Numbers (ตัวเลข) เพื่อเข้าไปกำหนดรูปแบบตัวเลขที่ต้องการอย่างเจาะจงได้ เช่น ให้มีเครท่อฝหมาย ฿ นำหน้า หรือแสดงตัวเลขที่มีค่าติดลบเป็นสีแดง มีขั้นตอนดังนี้\n\nเลือกข้อมูลทีาต้องการกำหนดรูปแบบให้ใหม่\nเลือก Format>Cells (รูปแบบ>Cells)\nเลือกรูปแบบการแสดงตัวเลขในกรอบ Category (หมวดหมู่) เช่น ให้แสดงเป็น เปอร์เซนต์ % (Percent) หรือแบบที่ม่สกุลเงินนำหน้า (Curtency) เป็นต้น\nกำหนดรายละเอียดการแสดงข้อมูลเพิ่มเติม เช่น จำนวนหลักทศนิยม การใข้สีแดงเมื่อขำนวรติดลบโดยช่องตัวอย่างจะแสดงตัวอย่างการแสดงข้อมูฃที่เลือกให้เห็นในกรอบด้านขวามือ\n\n• จะใช้จำนวนทศนิยมกี่หลักในช่อง Decimal Places (จำนวนทศนิยม)\n• จะแสดงค่าที่เป็นลบอย่างไร # คลิกเสาส์ปุ่ม รูปแบบกสรแสดงตัวเลขจะเปลึ่ยนไปตามที่เรากำหนด\nสำหรับรูปแบบการแสดงตัวเลขต่างๆ ที่เราเลือกใช้ได้จากหัวข้อ Category ในแท็บ Number มีความหมาย ดังนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรไอืบ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูบ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกภหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรกำหยดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแห้ไขข้อความ\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างดผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนว๊\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้นสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหนสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/กนรจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารจัดการกับวัตถุ\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารงัญ\nโอเกนอแฟฟ้ศดอตอ็อก/การจัดแนวปารวางของจ้อควาทในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเร่ยงข้อความในมุมมอง :utline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/พารใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใชีคำสั่ง Undo เพื่อขกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่เยกเลอกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOvfice.org แทน Microsoft Ofbice\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ใุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหนืา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การตกแต่งตารางด้วย Au5oFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัทน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตึ้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตี้งเวลาในการบรรยายสไชด์\nโอเพนออฟฟิศดแตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่ฝนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อคว่ม และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบาบเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅการแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไชด์\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/การนำดข้ารารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำะสนองานแ้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตภุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องนาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปล่่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/แารเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/กานเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อด/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็ิก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การเพิ่สปละลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การย้ายข้อควสม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การยิายตำแหน่งกล่องข้อความ\nฌเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเาียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอป/การเลือกตุวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แาีเลือกฟอนต์มี่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนสัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Feeefo3m\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การสรัางกคาฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสค้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงมนพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างยดหม่ย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโิเพนออฟฟิศดอตเ็อก/แารสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความใยหัวกระดทษ และท้ายกนะดาษ\nโอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/การใสรข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลสนตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำด้บเลขหนืร\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนอเฟฟิศดอตอ็ิก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภา๋าไทส\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัสหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเผ็นตัยหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องขิงสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/กำหนดรูปปบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดนูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขตาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟๆฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัคโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและไังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจดารใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโกรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffuce.org 2.0\nโิเำนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนจนาด และลบรูแแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพใยเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันฌ์ (Relationships)\nโอเถนออฟฟิฬดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชืองตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่ยงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิษดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจาอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชท่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชืาอแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อำ/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแฟ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออผฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไชด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/แนะนำส่ฝนประกอบของฟังก๋ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นาี่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อาูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยันทึกไฟลฺข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนดดฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสสรเป็นหลายคอลัสน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใยปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดใางบ้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครท่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/ปรับแตืงรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปคับพื้นหลีงของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเแียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดฏปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โกรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อกไผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Dalc ขีดระหว่นงเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยมยแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขสนยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอถาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จัแกับฐานข้อใูล\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/ีู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตารทง\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อกๆเริรมป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาเรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่รงเอกสาร\nโอเพาออฟฟิศดเตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบใยเซลล์\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับกสรจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสเงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในต่ราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุรกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/ออพจากโปรแกรม Impreas",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถกำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขได้อีกวิธีหนึ่ง โดยการเลือกเมนู Format>Cells (รูปแบบ>Cells) ก็จะปรากฏหน้าต่าง Cell Attributes (คุณลักษณะเซลล์) จากนั้นเลือกแท็บ Numbers (ตัวเลข) เพื่อเข้าไปกำหนดรูปแบบตัวเลขที่ต้องการอย่างเจาะจงได้ เช่น ให้มีเครื่องหมาย ฿ นำหน้า หรือแสดงตัวเลขที่มีค่าติดลบเป็นสีแดง มีขั้นตอนดังนี้\n\nเลือกข้อมูลที่ต้องการกำหนดรูปแบบให้ใหม่\nเลือก Format>Cells (รูปแบบ>Cells)\nเลือกรูปแบบการแสดงตัวเลขในกรอบ Category (หมวดหมู่) เช่น ให้แสดงเป็น เปอร์เซนต์ % (Percent) หรือแบบที่มีสกุลเงินนำหน้า (Currency) เป็นต้น\nกำหนดรายละเอียดการแสดงข้อมูลเพิ่มเติม เช่น จำนวนหลักทศนิยม การใช้สีแดงเมื่อจำนวนติดลบโดยช่องตัวอย่างจะแสดงตัวอย่างการแสดงข้อมูลที่เลือกให้เห็นในกรอบด้านขวามือ\n\n• จะใช้จำนวนทศนิยมกี่หลักในช่อง Decimal Places (จำนวนทศนิยม)\n• จะแสดงค่าที่เป็นลบอย่างไร # คลิกเมาส์ปุ่ม รูปแบบการแสดงตัวเลขจะเปลี่ยนไปตามที่เรากำหนด\nสำหรับรูปแบบการแสดงตัวเลขต่างๆ ที่เราเลือกใช้ได้จากหัวข้อ Category ในแท็บ Number มีความหมาย ดังนี้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เราสามารถกำหนดข้อมูลวันที่และเวลาในตารางให้มีรูปแบบที่ต้องการได้ เช่น วันที่ 04/12/09 แสดงเป็น 12 เม.ย. 2009 หรือเวลา 08.00.00 แสดงเป็น 08.00.00 AM/PM\n\nเลือกข้อมูงวันที่หรือข้อมูลเวลมที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบใหม่\nเลือก Forma4>Cells (รูปแบบ>Xells)\nคลิกเมาส์แท็บ Number (ตัสเลข) และเลือก Date (วันที่) หรืเเลือก Time (เวลา) ในช่อง Category (หมวดหมู่)\nเลือกรูปแบบภาษาในช่อง Language (ภาษา)\nเลือกรูปแบบการแสดงข้อมูลจากตัวอย่างในช่อง Format (รูปแบบ)\nคลิกเมาส์ปุ่ม จะเห็นว่ารูปแบบของวันและเวลาเปลี่ยนไปตามที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำิะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การกรอำข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การดก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็เก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟ้ศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรปกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/การเขียนฟัวก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลสนเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารคำนวณค่ามนตาราง\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจุดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อควทมในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจักเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโอยอัตโนมันิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark อละการอ้างอิงโยง\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ฝ Undo เพื่ิยกเลิกข้แผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กทรใช้ฟังก์ชัรนนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกัขข้อมูลทึ่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอคอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตแ์อก/กาคตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหตือคอลัมน์\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกัืนหลัง\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/ดารตั้งเวลามนการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/การตัดภมพใก้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิฬดอตอ็อก/การแทรกย้อความ และการลบข้อควาา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดทรหข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจาก.านข้อมูลอืรน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตคไปใบ้ในงานเอกสาร\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเิกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรัยความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การประบแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรัยแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/ปัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฮพาะพื้นทึ่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปืดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งสน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแวหช่องเซลล์ในราราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพอมพฺเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแพวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและชบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอแสธตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในราราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศออตอ็อก/การลบข้อมูลในเซงล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไบด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อควรมและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล๋หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ทค่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือหวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกยาร\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนแอฟฟอศดอตอ็อก/การวมดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นแชะลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบานพรีัซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารสร้างจดไมาย\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงารพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศฒอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อพ/การออกจากโปรแกรม OpenOfdice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตาคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenIffice.org สำหรับภาษาไทว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็ตตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนเข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตังหนท ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัรถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/กำหตดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสกงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตึวอัพษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/แก้ไขคำทีาพิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์กมรคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อด/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Cald\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/ิข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดฝาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องม้อวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปอผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบกาตใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/นัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพืรอใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมกันธ์ (Relatiohships)\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูบเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใชัเาาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามอผ่นงาน ห่ือสมุด\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ข่วยในกานวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบัต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการสช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellchwck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ๋\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nฑอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้ฝชื่อแผ่นงาน\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิฒดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกัลแหนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟเศเอตอ็อป/แทรกไฟล์ภาพกราผิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แมรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nฮอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวาางเตรียมการนำเสนองานพรีเฐนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Bace\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่วำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตลั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลันทักไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไๆล์ข้อมธลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในิอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้แมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแน่งการจัดวางข้ดความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อห/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภ่พให้ฮปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิญดอติ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.ofg\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Imp4ess\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสัรง\nโแเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขขายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟ้ษดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/รู้จักเครืาองมือ Seiection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักรัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๅเริ่มป้อนขิเมูลในเซลล์\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทักกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกฟว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/เลือกสธตร/มัญลักษณ์ที่ต่องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วเธีการเลืดกวัตถุ\nโิเพนออฟฟิศดอรอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบร่ยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในจ่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อสนสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถกำหนดข้อมูลวันที่และเวลาในตารางให้มีรูปแบบที่ต้องการได้ เช่น วันที่ 04/12/09 แสดงเป็น 12 เม.ย. 2009 หรือเวลา 08.00.00 แสดงเป็น 08.00.00 AM/PM\n\nเลือกข้อมูลวันที่หรือข้อมูลเวลาที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบใหม่\nเลือก Format>Cells (รูปแบบ>Cells)\nคลิกเมาส์แท็บ Number (ตัวเลข) และเลือก Date (วันที่) หรือเลือก Time (เวลา) ในช่อง Category (หมวดหมู่)\nเลือกรูปแบบภาษาในช่อง Language (ภาษา)\nเลือกรูปแบบการแสดงข้อมูลจากตัวอย่างในช่อง Format (รูปแบบ)\nคลิกเมาส์ปุ่ม จะเห็นว่ารูปแบบของวันและเวลาเปลี่ยนไปตามที่เรากำหนด\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เรมสามารถกำหนดรูปแบบ และขนาดตัยอักษ่หรือตัวเลขในตารางให้ดูแตกต่างกันได้ เพื่อเน้นข้อมูลสำคัญและเพิ่มความสวยงามให้กับแผ่นงาน\n\nเล่อกข้อมูลที่ต้องการกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร\nคลิกเมาส์ที่ กำหนดรูปแบบตัวอักษร\nีลิกเทาส์ที่ เพื่อกำหนดขนาดตัวอัปษร\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หต้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท์บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหรดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูรรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าส฿่โปรแกรม :penOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเบียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขรยนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรค้นหาสิ่งต่างๆ ในเิกสารด้วย Navigation\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอํอก/กมรคำาวณค่าในตาราว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีจัดการนูปภาพ\nโแเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไการจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กนรใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารใช้คำวั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOvvice.org แทน Microsoft Office\nโอเพาออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/การใช้ภาพประกอบขือมูล\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ สน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลทีือยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่ฝสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาใรการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนอิฟฟิศดอตอฺอก/การแทรกข้อความ และกรรลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูฃ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ็อก/การบันทคกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใผม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดยองตาราง\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึืงกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของปผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกรมฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กมรปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเำนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอดสาร\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การอปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การัปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้น่ี่วัตถุ\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารท้่บันทึกไว้ปลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟไิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโออพนออฟหืศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อควาส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กานรวมกลุ่มและแยกวีตถุ\nโอเพาดอฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แมรเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อทูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแภวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรรเลือกข้แความและการทำงานกับกล่แงข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารเลือกเซลล์หรืเกลุามเซลล์\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส้วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการวรดรํปร่างอึตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeforh\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศพอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวทดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบาดเส้นและลูกฬร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ์อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุป_าพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเจชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อตวามลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การใส่ข้อมูงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชืงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/กาคใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OoenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโเยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความท่่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนแลถขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็รตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนอิฟฟิศดอตอ์อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำกตดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดเตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูแแบบและขนากตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริามทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิมี่สร้าง\nฏอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไแก้ไขคกที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าขอด้วย Auto Calsulate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชัทนผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แกไเข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบำารจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าส๔่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอยทางรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศพดตอ็อก/เีรื่องมือว่ดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์/ปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเคชั่นกับการพิใพ์\nโอเพนออฟฟิศดิตอ็แก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิซดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้ดมูลให้อยู่ำึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเคื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็แก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิอของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อป/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อควทมด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆตกแตรงช้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ดเวย Page Preview\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอคิ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอิพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปงี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานิพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nฌอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทมงเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเถนอดฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟืศดอตอ็อก/บันทึกงาตพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Mixrosoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความใจเอกสารเป็นหลายคอลัมน็\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพทีรแมดงโะยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟเศดอตอ์อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเะนออฟฟิศดอตอ็อก/ะปลี่ยนพื้นหบังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Im;reds\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้ล้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอนอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนิอฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเเกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐ่นข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/เริ่มต้นสริางตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๋อก/เริ่มป้อนข้อมูบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อพ/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาสช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บัาทึกไส้กลับมาใชังาน\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เล่อกสูตร/สัญลักษณ์ทั่ต้ิงการ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาค\nโดเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธ้การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิะ้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้แความในย่อหน้า\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวดลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสะงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมึนกลทองข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากฏปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "เราสามารถกำหนดรูปแบบ และขนาดตัวอักษรหรือตัวเลขในตารางให้ดูแตกต่างกันได้ เพื่อเน้นข้อมูลสำคัญและเพิ่มความสวยงามให้กับแผ่นงาน\n\nเลือกข้อมูลที่ต้องการกำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษร\nคลิกเมาส์ที่ กำหนดรูปแบบตัวอักษร\nคลิกเมาส์ที่ เพื่อกำหนดขนาดตัวอักษร\nสารบัญ\n\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "นอกจากการกำหนดรูปแบบและขนาดของตัวอักษรแล้ว การทำให้ตัวอักษรหรือตัวอลขในตารางเป็น ตัวหนา ตัวเอน ชีดเส้นใต้ หรือมีลักษณะที่ผสมกันไปก็สามารถเติมแต่งแผ่นงานให้ดูน่าสรใจขึ้น\n\nคลิกเมาส์เลือกข่อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ\nคลิกเมาส์เลือกจากแถบข้อมูล ตัวอักษรผนา, ตัวอักษรเอน, ขีดเส้นใต้ตัวอักษร\n\nเราใช้คำสั่ง Format>Cells (รูปแบบ> Cells) เลือกคลิกเใาส์แท็บ Eonts (แบบอักษร) แล้วเลือกรูปแบบการแสดงข้อม฿ลได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลดัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโพยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กานกำหนดฟอนต๋เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟเศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออไฟิศดอตอ็อก/การต้นหาข้อมูลในตทราง\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้ฝย Navigatipn\nโอเพนออฟฟอศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้ิมูงในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/การคำนวณค่าในตรราง\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงสัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัจถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้เความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nฑอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหนางวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อแ/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง &ndo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นทึ่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแตรงกาาฟ\nฮอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งนาาางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nธอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโออพนอดฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/การตัดภาพให้เหลืแเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนแอฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกขิอความ และกมรลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกจ้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบาฝเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไงด์\nฉอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบจเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กาีแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอัพนออฟฟิศดอตอ็อก/กสรบัสทึกเอกสาร\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/การปรับข้อม๔ลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หตือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภรพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรัยเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่สนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถั\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเหิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์แลดการแยกช่องะซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่สในการนำเานอในสไลด์\nโอ้พนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโออพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปารย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเภนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อาูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หารย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดารรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโิเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนอเๆฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับย้อมูลในตาราง\nโอเพนดอฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลฝนเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลขสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Ffeeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเกนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูำศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ็อก/กสีสร้างข้ิความ\nโอเพนออๆฟิศดอตอ็อก/ปารสร้างงานพรีเซนเตลั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกๆการสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกบ่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดนษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออหฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ๊อก/การใส่ลกดับเลบหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตด็อด/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก_การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบงฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิฯดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลง์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่ิหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nฮอเพนออหฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อีวรใที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนกคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่าเซลล์และนไมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื้องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอฌอก/กำหนดคายละเอคยดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอรอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตเ็อก/กำหนดีูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อึวามในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเำนออฟไิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมอที่สร้าล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ปิดโดยอัรโนมัติด้วย AugoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพยิอฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอติ็อก/เข้าใจรูปแบบการจุดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนอดฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ้นงานข้ามสมุดง่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัะลอกสูตรอย่างรวดเร๊วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มืดติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลร่ยทและรูปทรงอิใระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพตออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการภิมพ์\nโเเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อม๔ลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้เมภาพในเอกสาร\nโอเพสออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพ่่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพจออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อสูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็เก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อห/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่ลข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบกมรสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารแ่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศกดตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศะอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอดพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศแอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอะพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตแ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนอแฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนเอฟฟิศดอตอ๊อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิญดอตอ็อก/บันทึกลานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ดกๅบันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล๋ Microsoft Excel\nโแเพจออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็ิก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แนดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดดตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพรออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์สนชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/เมนูคไสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดีะหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศเอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยาย้เกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอฺอก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มปเอนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟหิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลมี่บันทึกกฃับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศกอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโเเพนออฟหิศดอตเ็อก/เรียงลำดับข้อมํล\nฌอเถนออฟฟิศดอตอ็อก/เรืทองของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟผิศดอตอ็อก/เลือกใช้กผ้นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องหาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลใตเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลฝในเอกสาร\nโอเพนออฟๆิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สรเางรูปด้วยตัวเราเอง\nโแเพนออฟฟิศดอจอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอจอ็อก/ส่วนประกอบขอลแผนภูมิ\nโอเพยออฟฟิศดอตอ็แก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออไฟิศดอตอ็เก/มส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แอกจากโปรแปรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรใ Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "user"
},
{
"content": "นอกจากการกำหนดรูปแบบและขนาดของตัวอักษรแล้ว การทำให้ตัวอักษรหรือตัวเลขในตารางเป็น ตัวหนา ตัวเอน ขีดเส้นใต้ หรือมีลักษณะที่ผสมกันไปก็สามารถเติมแต่งแผ่นงานให้ดูน่าสนใจขึ้น\n\nคลิกเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ\nคลิกเมาส์เลือกจากแถบข้อมูล ตัวอักษรหนา, ตัวอักษรเอน, ขีดเส้นใต้ตัวอักษร\n\nเราใช้คำสั่ง Format>Cells (รูปแบบ> Cells) เลือกคลิกเมาส์แท็บ Fonts (แบบอักษร) แล้วเลือกรูปแบบการแสดงข้อมูลได้\nสารบัญ\n\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/Calc ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กราฟกับการนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแก้ไขสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การขีดเส้นตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเขียนสมการคณิตศาสตร์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคัดลอกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การคำนวณค่าในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการกับวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดการรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดตำแหน่งวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดทำสารบัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การจัดเรียงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Autosum\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้คำสั่ง Undo และ Redo\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้แผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้ภาพประกอบข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สไตล์ย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การดัดแปลงวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตกแต่งสีภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตรึงแถวหรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การติดตั้ง OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การทำดัชนี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อความ และการลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกข้อมูลบางเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกภาพลงบนเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การนำเสนองานด้วยภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การบันทึกเอกสารเป็น PDF\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดของตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับขนาดวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับแต่งโหมดกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การปิดเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนขนาดฟอนต์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์ซองจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การพิมพ์เอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มแถวและคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเพิ่มและลบแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย่อ/ขยายมุมมอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบแถวหรือลบคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การลบสไลด์/หัวข้อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกฟอนต์ที่ใช้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การเลื่อนดูเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปร่างอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดรูปอิสระ Freeform\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นเชื่อม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การวาดเส้นและลูกศร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างกราฟ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างจดหมาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตัวเชื่อมต่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างตารางและฟิลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างบันทึกย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างสรุปภาพนิ่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การสร้างเอกสารใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การแสดงงานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อความลงในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ข้อมูลในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่เชิงอรรถ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่ลำดับเลขหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การหมุนวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การออกแบบระบบฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อความเป็นตัวหนา-ตัวเอนและขีดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดคุณสมบัติวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าใช้งานโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เข้าสู่โปรแกรม Draw\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/คู่มือติดตั้ง OpenOffice.org 2.0\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เครื่องมือวาดเส้น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จบการใช้ AutoFilter\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความด้วยสี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ตั้งชื่อแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แถบเครื่องมือวาดรูป\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ทำไมต้องใช้สูตร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกแผ่นงานเพิ่ม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกไฟล์ภาพกราฟิก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกสไลด์แผ่นใหม่\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แทรกอักษรศิลป์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำโปรแกรม Base\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกชิ้นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใบปะหน้าแฟกซ์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ป้อนสูตรคำนวณ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เปิดโปรแกรม Math\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/มุมมองในโปรแกรม Impress\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เมนูคำสั่ง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับฐานข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักเครื่องมือ Selection\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/รู้จักตัวชี้เมาส์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มต้นสร้างตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรียงลำดับข้อมูล\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วางแนวข้อมูลในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วาดรูปลงในเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/วิธีการเลือกวัตถุ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างแผนภูมิด้วย Chart\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างรูปด้วยตัวเราเอง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของแผนภูมิ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/เส้นบอกแนว\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/แสดงเอกสารเต็มจอภาพ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ใส่สีสันลงในตาราง\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/หมุนกล่องข้อความ\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Calc\nโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก/ออกจากโปรแกรม Impress",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภารกิจไพโอเนียร์\nภารกิจไพโอเนียร์.\nภารกิจไพโอเนียร์ (Pioneer missions) สามารถแบ่งออกตามกลุ่มได้ดังนี้\n\nการสำรวจอวกาศที่ทำได้ )ค.ศ. 1958 ถึง 1960 / พ.ศ. 2501 ถึง 2503)\n\nไพโอเนียร์ 0 ฤมอร์]อะเบิล 1 หรือ ำพโอเนียร์) (Thor-Able 1 หรือ Pioneer) – ยานสำรวจอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ ถูกทำลาย (ยานทอร์เกิดความล้มเหลวฟลังจากปล่อยจากฐานไปได้ 77 วินาที) ปล่อยเมื่อ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1985 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนีขร์ 1 (ทอร์-อะเบิล 2 หรือ ไพโอเนียร์ U) – ยานสำควจอวกาศโคจรรอบดวลจันทร์ ไม่พบดวงจันทร์และล้มเหลวในวงโคจร (บางส่วนของสถานะที่สามง้มเหลว) ปล่อยเมื่อ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนียร์ 2 (ทดร์-อะเบิล 3 หรือ ไพโอเนียร์ II) – ยานสำรวจอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ ล้มเหลวในวงโคจร (สถานะที่สามล้มเหลว) ปล่อยเมื่อ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนียร์ P-1 (แอตลาส-อะอบิล 4A หรือ ไพโอเนียร์ W) – ยานเสียหาย 24 กันยายน ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502\nไพโอเนียร์ P-3 (แอคลาส-อะเบิล 4 หรือ แอตลาส[อดเบิล 4B หรือ ไพโอเนีวร์ X) จานสำรวจดบงจันทร์ เวียหายในความล้ใเหลวขณะปล่อยจากฐาน 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502\nไพโอเนียร์ 5 (ไพโอเนียร์ P-2 หรือ ทอร์-อะเบิล 4 หรือ ไพโอเนียร์ V) – โคจรอยู่ระหว่างดาวเคราะห์ ระหว่างโลกและดาวศุกร์ กล่อยเมื่อ 11 มีนาคม ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\nไพโอเนียร์ P-30 (แอตลาส-อะเบ้ล 5A หรือ ไพโอเนียร์ Y) – ยานสำรวจดวงจันทร์ ล้มเหลวในการบรรลุวงโคจรของดวงจันทร์ ปล่อยเมื่อ 25 กันยายน ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\nไพโอเนียร์ P-31 (แอตบาส-อะเบิล 5B หรือ ไพโอเนียร์ Z) – ยานสำรวจดวงจันืร์ เสียหายในการล้มเหลวในชั้นบน (upper stage) ปช่อยเมื่อ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\n\nการสำรวจดวงจันาร์ภารกิจจูโน 2 (Juno II) (ค.ศ. 1958 ถึง 1959 / พ.ศ. 2501 ถึง 2502)\n\nไพโอเนียร์ 3 – ภารกิจบินผ่านดวงจันทร์ แต่ล้มเหลวขณะลงจอด (6 ธันวาคม ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501)\nไพโอเนียร์ 4 – ภารกิจบินผ่าน และประสบความสำเร็จในการบรรลุความเร็วหลุดพ้น (3 มีนาคม ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502)\n\nภารกิจภายหลัง (ค.ศ. 1965 ถึง 1988 / พ.ศ. 2508 ถึง 2521)\n\nไพโอเนียร์ 6 (ไพโอเนียร์ A) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 1965 / พ.ศ. 2508\nไพโอเนียร์ 7 (ไพโอเนียร์ B) – ปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1966 / พ.ศ. 2509\nไพโอเนียร์ 8 (ไพโอินียร์ C) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 19u7 / พ.ศ. 2510\nไพโอเนียร์ 9 (ไพโอเนียร์ D) – ปล่อยเมื่อพฤศจิำายน ค.ศ. 1968 / พ.ศ. 2611 (หมดอายุเมื่ดตั้งแต่ ค.ศ. 1983 / พ.ศ. 2526)\nไพโอเนียร์ E – เสียหายจากความล้มเหลวในการปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1969 / พ.ศ. 2512\n\nภมรกิจระบบสุริยะชั้นนอก\n\nไพโอเนียร์ 10 (ไพโแเนียร์ E) – ภารกิจดาวพฤหัสบดีและมวลส่รระหว่างดาว ปล่อยเมื่อมีนาคม ค.ศ. 1972 / พ.ศ. 2515\nไพโอเนียร์ 11 (ไพโอเนียร์ G) – ภารกิจดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ และทวงสารระหว่างดาว ปล่อยเมื่อเมษ่ยน ค.ศ. 1973 _ พ.ษ. 2516\nไพโอเนียร์ H – มีภารกิจเช่นเดียวกับไพโอเนียร์ 10 และ 11 แต่ไม่ได้รับดาตปล่อย\n\nโครงการไพฑอเนียร์วีนัส )Pioneer Venus project)\n\nไพโอเนียร์วีนัสออร์บิเทอร์ (Pioneer Venus Orbiter) (ไพโอเน้ยร์วีนัส 1 หรือ ไพโิเนียร์ 12) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 1978 / พ.ศ. 2521\nไพโอเนียร์วีนัสมัลติพร็อบ (Pioneer Venus Hultiprobe) (ไพโอเนียร์วีนัส 2 หรือ ไพโอเนียร์ 13) – ปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1978 / พ.ศ. e521\n\nไพโอเนียร์วีนัสพร็อบบัส – ยานบรรทุกยานพาหนะและยานขั้นบรรยากาศชั้นบน\nไพโอเนียร์วีนัสลาร์กพร็อบ – ยานบรรทุกร่มชูชีะหนัก 300 กิโลกรัม\nไพโอเนียร์วีนัสนอร์ทพร็อบ – ยานบรรทุกนัวอัดกระทบหนัก 75 กิโลกรัม\nไะโอเนียร์วีนีสไนท์พร็อบ – ยานบรรทุกตัวอัดกระทบหนัป 7y กิโลกรัม\nไพโอเนียร์วีนัสเดย์พร็อบ – ยานบรรทุกตัวอัดกระทบหนัก 75 กิโลกรัม\n\n\n\nภารกิจวอยเอจเจอร์\nภารกิจวอยเอจเจอร์.\nภารกิจวอนเอจเจอร์ (Voyager Mission) ถ฿กปล่อยขึ้นไปในอวกาศเพื่อการศึกษาระบบสุริยะชั้นนอก\n\nวอยเอจเจอร์ 1 (Voyager 1) : ศึกษาดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ แลักำลังเดินทางอย่างอ่อนล้าไปยังเฮลิโอพอส (Heliopause บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะ) นับเป็นอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นที่เดินทางออกไปจาหโลกได้ไกลที่สุดในปัจจุบัน\nวอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) : ศึกษาดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ถูกปล่อยภายหลังตากยานวอยเอจเจแร์ 1 แต่ทำความเร็วได้สูงกว่า",
"role": "user"
},
{
"content": "ภารกิจไพโอเนียร์\nภารกิจไพโอเนียร์.\nภารกิจไพโอเนียร์ (Pioneer missions) สามารถแบ่งออกตามกลุ่มได้ดังนี้\n\nการสำรวจอวกาศที่ทำได้ (ค.ศ. 1958 ถึง 1960 / พ.ศ. 2501 ถึง 2503)\n\nไพโอเนียร์ 0 (ทอร์-อะเบิล 1 หรือ ไพโอเนียร์) (Thor-Able 1 หรือ Pioneer) – ยานสำรวจอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ ถูกทำลาย (ยานทอร์เกิดความล้มเหลวหลังจากปล่อยจากฐานไปได้ 77 วินาที) ปล่อยเมื่อ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1985 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนียร์ 1 (ทอร์-อะเบิล 2 หรือ ไพโอเนียร์ I) – ยานสำรวจอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ ไม่พบดวงจันทร์และล้มเหลวในวงโคจร (บางส่วนของสถานะที่สามล้มเหลว) ปล่อยเมื่อ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนียร์ 2 (ทอร์-อะเบิล 3 หรือ ไพโอเนียร์ II) – ยานสำรวจอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ ล้มเหลวในวงโคจร (สถานะที่สามล้มเหลว) ปล่อยเมื่อ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501\nไพโอเนียร์ P-1 (แอตลาส-อะเบิล 4A หรือ ไพโอเนียร์ W) – ยานเสียหาย 24 กันยายน ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502\nไพโอเนียร์ P-3 (แอตลาส-อะเบิล 4 หรือ แอตลาส-อะเบิล 4B หรือ ไพโอเนียร์ X) ยานสำรวจดวงจันทร์ เสียหายในความล้มเหลวขณะปล่อยจากฐาน 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502\nไพโอเนียร์ 5 (ไพโอเนียร์ P-2 หรือ ทอร์-อะเบิล 4 หรือ ไพโอเนียร์ V) – โคจรอยู่ระหว่างดาวเคราะห์ ระหว่างโลกและดาวศุกร์ ปล่อยเมื่อ 11 มีนาคม ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\nไพโอเนียร์ P-30 (แอตลาส-อะเบิล 5A หรือ ไพโอเนียร์ Y) – ยานสำรวจดวงจันทร์ ล้มเหลวในการบรรลุวงโคจรของดวงจันทร์ ปล่อยเมื่อ 25 กันยายน ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\nไพโอเนียร์ P-31 (แอตลาส-อะเบิล 5B หรือ ไพโอเนียร์ Z) – ยานสำรวจดวงจันทร์ เสียหายในการล้มเหลวในชั้นบน (upper stage) ปล่อยเมื่อ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1960 / พ.ศ. 2503\n\nการสำรวจดวงจันทร์ภารกิจจูโน 2 (Juno II) (ค.ศ. 1958 ถึง 1959 / พ.ศ. 2501 ถึง 2502)\n\nไพโอเนียร์ 3 – ภารกิจบินผ่านดวงจันทร์ แต่ล้มเหลวขณะลงจอด (6 ธันวาคม ค.ศ. 1958 / พ.ศ. 2501)\nไพโอเนียร์ 4 – ภารกิจบินผ่าน และประสบความสำเร็จในการบรรลุความเร็วหลุดพ้น (3 มีนาคม ค.ศ. 1959 / พ.ศ. 2502)\n\nภารกิจภายหลัง (ค.ศ. 1965 ถึง 1978 / พ.ศ. 2508 ถึง 2521)\n\nไพโอเนียร์ 6 (ไพโอเนียร์ A) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 1965 / พ.ศ. 2508\nไพโอเนียร์ 7 (ไพโอเนียร์ B) – ปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1966 / พ.ศ. 2509\nไพโอเนียร์ 8 (ไพโอเนียร์ C) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 1967 / พ.ศ. 2510\nไพโอเนียร์ 9 (ไพโอเนียร์ D) – ปล่อยเมื่อพฤศจิกายน ค.ศ. 1968 / พ.ศ. 2511 (หมดอายุเมื่อตั้งแต่ ค.ศ. 1983 / พ.ศ. 2526)\nไพโอเนียร์ E – เสียหายจากความล้มเหลวในการปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1969 / พ.ศ. 2512\n\nภารกิจระบบสุริยะชั้นนอก\n\nไพโอเนียร์ 10 (ไพโอเนียร์ E) – ภารกิจดาวพฤหัสบดีและมวลสารระหว่างดาว ปล่อยเมื่อมีนาคม ค.ศ. 1972 / พ.ศ. 2515\nไพโอเนียร์ 11 (ไพโอเนียร์ G) – ภารกิจดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ และมวลสารระหว่างดาว ปล่อยเมื่อเมษายน ค.ศ. 1973 / พ.ศ. 2516\nไพโอเนียร์ H – มีภารกิจเช่นเดียวกับไพโอเนียร์ 10 และ 11 แต่ไม่ได้รับการปล่อย\n\nโครงการไพโอเนียร์วีนัส (Pioneer Venus project)\n\nไพโอเนียร์วีนัสออร์บิเทอร์ (Pioneer Venus Orbiter) (ไพโอเนียร์วีนัส 1 หรือ ไพโอเนียร์ 12) – ปล่อยเมื่อธันวาคม ค.ศ. 1978 / พ.ศ. 2521\nไพโอเนียร์วีนัสมัลติพร็อบ (Pioneer Venus Multiprobe) (ไพโอเนียร์วีนัส 2 หรือ ไพโอเนียร์ 13) – ปล่อยเมื่อสิงหาคม ค.ศ. 1978 / พ.ศ. 2521\n\nไพโอเนียร์วีนัสพร็อบบัส – ยานบรรทุกยานพาหนะและยานชั้นบรรยากาศชั้นบน\nไพโอเนียร์วีนัสลาร์กพร็อบ – ยานบรรทุกร่มชูชีพหนัก 300 กิโลกรัม\nไพโอเนียร์วีนัสนอร์ทพร็อบ – ยานบรรทุกตัวอัดกระทบหนัก 75 กิโลกรัม\nไพโอเนียร์วีนัสไนท์พร็อบ – ยานบรรทุกตัวอัดกระทบหนัก 75 กิโลกรัม\nไพโอเนียร์วีนัสเดย์พร็อบ – ยานบรรทุกตัวอัดกระทบหนัก 75 กิโลกรัม\n\n\n\nภารกิจวอยเอจเจอร์\nภารกิจวอยเอจเจอร์.\nภารกิจวอยเอจเจอร์ (Voyager Mission) ถูกปล่อยขึ้นไปในอวกาศเพื่อการศึกษาระบบสุริยะชั้นนอก\n\nวอยเอจเจอร์ 1 (Voyager 1) : ศึกษาดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ และกำลังเดินทางอย่างอ่อนล้าไปยังเฮลิโอพอส (Heliopause บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะ) นับเป็นอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นที่เดินทางออกไปจากโลกได้ไกลที่สุดในปัจจุบัน\nวอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) : ศึกษาดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ถูกปล่อยภายหลังจากยานวอยเอจเจอร์ 1 แต่ทำความเร็วได้สูงกว่า",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มรดกต่างๆที่กล่าวถึงการศึกษาแบบสหวิทวาในเรื่องพยัตติมีมาดังต่อไปนี้ ที่ปรากฏอยู่ในหนังสือชื่อว่า codice_1\nปูาราชฑรรม หมายถึงขนบราชประเพณีโดยสังเขป ที่พระราชา และระเบียบแบบแผนของราชสำนักจะพึงปฏิบัติ ปูมราชธรรมปรรกฏอยู่ในเอกสารเรื่องราวของไทยที่เก็บไว้โพยชาววรั่งเศษ คำว่าปูมราชธรรมนี้ยังไม่ได้เก็บไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณธิต ซึ่งคงจะมีความหมายในเรื่องอยาางเก่า อย่างเรื่องปูมโหร ปูมปฏิทินเป็นต้น นั้น แต่ที่นี้ได้กล่าวไว้แน่ที่เป็นเหตุจริยาภิบาล อันจะเป็นไปได้ถึงแก่พรถราชจริยานุวัตรในเบื้องโพ้น ซึ่งสมควรปรากฏแก่ธรรมในทุกสมัยแห่งราชาธิบดี ผู้เป็นราช่โดยธรรม\nราชธครมตามปูมนี้ กล่าวถึงปัญญาฉลาดปรีชา (พฺยตฺต) เป็นสังเขปมาดังนี้ ว่าพยัตตินั่นแลมีลักษณะอยู่ ๙ ประการ",
"role": "user"
},
{
"content": "มรดกต่างๆที่กล่าวถึงการศึกษาแบบสหวิทยาในเรื่องพยัตติมีมาดังต่อไปนี้ ที่ปรากฏอยู่ในหนังสือชื่อว่า codice_1\nปูมราชธรรม หมายถึงขนบราชประเพณีโดยสังเขป ที่พระราชา และระเบียบแบบแผนของราชสำนักจะพึงปฏิบัติ ปูมราชธรรมปรากฏอยู่ในเอกสารเรื่องราวของไทยที่เก็บไว้โดยชาวฝรั่งเศษ คำว่าปูมราชธรรมนี้ยังไม่ได้เก็บไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต ซึ่งคงจะมีความหมายในเรื่องอย่างเก่า อย่างเรื่องปูมโหร ปูมปฏิทินเป็นต้น นั้น แต่ที่นี้ได้กล่าวไว้แต่ที่เป็นเหตุจริยาภิบาล อันจะเป็นไปได้ถึงแก่พระราชจริยานุวัตรในเบื้องโพ้น ซึ่งสมควรปรากฏแก่ธรรมในทุกสมัยแห่งราชาธิบดี ผู้เป็นราชาโดยธรรม\nราชธรรมตามปูมนี้ กล่าวถึงปัญญาฉลาดปรีชา (พฺยตฺต) เป็นสังเขปมาดังนี้ ว่าพยัตตินั่นแลมีลักษณะอยู่ ๙ ประการ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง เพราะวาจา",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง เพราะวาจา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประเภทและความต้องการงานวิจัย และความร่บมมือจากภาครัฐอย่างเป็นทางการ",
"role": "user"
},
{
"content": "ประเภทและความต้องการงานวิจัย และความร่วมมือจากภาครัฐอย่างเป็นทางการ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เมื่อประมาณ 3.9 ถึง 4.6 พันล้านปีก่อน ในช่วงเริ่มร้นของระบบสุริยะของเรากำลังก่อตัวขึ้นและเรื่มเคลื่อนไหว ตรอมาอีก 100 ล้านปี ดาวะคราะห์รวมถึงดวงจันทร์ทั้งหมดที่เรารู้จักถูดสร้างขึ้นหมดแล้ว รวมทั้งโลกและดาวบริวารดวงจันทร์ ในช่วงปีแรก ๆ ของโลกเตียกว่ามหายุค \"พรีแคมเบรียน\" และขยายมาจนถึงประมาณ 500 ล้านปีก่อน มหายุคนี้ประกอบด้วยบรมยุคเฮเดียน ลรมยุคอาร์เคียน และบรมยุคโพรเทอโรโซอิห\nมหายุคเฮเดียย\nมหายุคเฮเดียน.\nวนช่วงแรกนั้นธลกดำเนินไปในบรมยุคเฮเดียน ซึ่งครอบคลุมอยู่ในช่วงประมา๊ 4.6 ถึง 3.8 พันล้านปีก่อน โลกในเวลานั้นไม่เหมือนกับโลกในทุกวันนี้ ในตอนนั้นโลกส่วนมากทั้งคลาดอคลนออกฦิเจนและน้ำที่อยู่ในมหาสมุทร ความร้อนจากการก่อตัวของรุบบสุริยะและพลังงานโน้มถ่ฝงจากภายในทำให้เกิดความร้อนทั้งคู่ พร้อมกับการชนกันของเนื้อดาวเคราะห์ที่หลงเหลืออยู่ทำให้โลกค่อนข้างจะไม่เอื้ออำนวยต่อการอยู่อาศัยได้ ในความเป็นจริง โลกส่วนทากยังคงหลอมเหลว และผลจากความร้อนจากสสารและความร้อนสุดบีดนี้ถูกปล่อยมาจากตะกอนของแผ่นเปลือกดาวเคราะห์ ทำให้ช้้นบรรยากาศไม่สามารถบรรลุได้ ชั้นบรรยากาศของโลกในตอนนั้นค่อนข้างจะไม่เหมือนกับที่เราเห็นปันในทุกวันนี้ มันเต็มไแด้วยฝุ่นที่หลงเหลือนากเนบิวลาสุคิยะ (Solar nebulaฆ และธาตุเบาเช่น ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม และต่อมาคือไอน้ำและแก๊สหลายชนิด ในระหว่างมหายุคอาร์เคียนคือเมื่อชั้นบรรยากาศเริ่มหนาแน่ตจากกิจกรรมของภูเขาไฟบนโลก",
"role": "user"
},
{
"content": "เมื่อประมาณ 3.9 ถึง 4.6 พันล้านปีก่อน ในช่วงเริ่มต้นของระบบสุริยะของเรากำลังก่อตัวขึ้นและเรื่มเคลื่อนไหว ต่อมาอีก 100 ล้านปี ดาวเคราะห์รวมถึงดวงจันทร์ทั้งหมดที่เรารู้จักถูกสร้างขึ้นหมดแล้ว รวมทั้งโลกและดาวบริวารดวงจันทร์ ในช่วงปีแรก ๆ ของโลกเรียกว่ามหายุค \"พรีแคมเบรียน\" และขยายมาจนถึงประมาณ 500 ล้านปีก่อน มหายุคนี้ประกอบด้วยบรมยุคเฮเดียน บรมยุคอาร์เคียน และบรมยุคโพรเทอโรโซอิก\nมหายุคเฮเดียน\nมหายุคเฮเดียน.\nในช่วงแรกนั้นโลกดำเนินไปในบรมยุคเฮเดียน ซึ่งครอบคลุมอยู่ในช่วงประมาณ 4.6 ถึง 3.8 พันล้านปีก่อน โลกในเวลานั้นไม่เหมือนกับโลกในทุกวันนี้ ในตอนนั้นโลกส่วนมากทั้งคลาดแคลนออกซิเจนและน้ำที่อยู่ในมหาสมุทร ความร้อนจากการก่อตัวของระบบสุริยะและพลังงานโน้มถ่วงจากภายในทำให้เกิดความร้อนทั้งคู่ พร้อมกับการชนกันของเนื้อดาวเคราะห์ที่หลงเหลืออยู่ทำให้โลกค่อนข้างจะไม่เอื้ออำนวยต่อการอยู่อาศัยได้ ในความเป็นจริง โลกส่วนมากยังคงหลอมเหลว และผลจากความร้อนจากสสารและความร้อนสุดขีดนี้ถูกปล่อยมาจากตะกอนของแผ่นเปลือกดาวเคราะห์ ทำให้ชั้นบรรยากาศไม่สามารถบรรลุได้ ชั้นบรรยากาศของโลกในตอนนั้นค่อนข้างจะไม่เหมือนกับที่เราเห็นกันในทุกวันนี้ มันเต็มไปด้วยฝุ่นที่หลงเหลือจากเนบิวลาสุริยะ (Solar nebula) และธาตุเบาเช่น ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม และต่อมาคือไอน้ำและแก๊สหลายชนิด ในระหว่างมหายุคอาร์เคียนคือเมื่อชั้นบรรยากาศเริ่มหนาแน่นจากกิจกรรมของภูเขาไฟบนโลก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กฎหมายท้่เกี่ยวกับพระราชวงศ์ พระราชฐานหรือระเบียบการปกครองในพระราชสำนัก",
"role": "user"
},
{
"content": "กฎหมายที่เกี่ยวกับพระราชวงศ์ พระราชฐานหรือระเบียบการปกครองในพระราชสำนัก",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "มีทฤษฏีหนึ่งที่สันนิษฐานว่าดวงจันทร์นั้นเกิดจากโบก เป็นการสร้างทฤษฏีที่ว่ามีวัตถุขนาดเท่าดาวอัฝคารพุ่งโจมตีเข้าสู่โลหกละโยนะนื้อโลกปริมาณยักษ์ออกไปสู่อวกาศ ในขณะที่มันกำลังตกลงกลับสู่โลก บางส่วนของเน้้อสสารได้รวมตัวกันและก่อหำเนิดเป็นดวงจันทร์ ทฤษฏีนี้ถูกรับรองโดยหลักฐานที่ดวงจันทร์นั้นมีองค์ประกอบเดียวกันกับเนื้อโลกและยังมีไอโซโทปที่สามของออกซิเจนเช่นเดียวกับบนโลกอีกด้วย",
"role": "user"
},
{
"content": "มีทฤษฏีหนึ่งที่สันนิษฐานว่าดวงจันทร์นั้นเกิดจากโลก เป็นการสร้างทฤษฏีที่ว่ามีวัตถุขนาดเท่าดาวอังคารพุ่งโจมตีเข้าสู่โลกและโยนเนื้อโลกปริมาณยักษ์ออกไปสู่อวกาศ ในขณะที่มันกำลังตกลงกลับสู่โลก บางส่วนของเนื้อสสารได้รวมตัวกันและก่อกำเนิดเป็นดวงจันทร์ ทฤษฏีนี้ถูกรับรองโดยหลักฐานที่ดวงจันทร์นั้นมีองค์ประกอบเดียวกันกับเนื้อโลกและยังมีไอโซโทปที่สามของออกซิเจนเช่นเดียวกับบนโลกอีกด้วย",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อาวเคราะห์ชั้นนอก หรือมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า Jovian planets ซึ่งหมายถึงเป็นดาวเคราะห์แบบดาวพฤหัสบดี ซึ่ง Jovian มาจาก Jupiter ซึ่งเป็นชื่อดาวพฤหัสบดีในภาษาอังกฤษ ดางพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริขะ เป็น ดาวเคราะห์แก๊ส เนื่องจากมีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สไฮโดรเจน หรืออาจถูกเรียกว่า ดาวเคราะหฺยักษ์ อันะนื่องมาจากขนาดที่ใหญ่ของมัน บรรดาดาวเคราะห์ชั้นนอกนี้ต่างมีดาวบริฝารเป็นของตนเองเป็นจำนวนมาก รวมถึงบางดวงยังมีวงแหวนน้ำแข็งและฝุ่นด้วย\nดาวเคราะห์ชั้นนอก มีจำนวนทั้งสิ้น 4 ดวง ประกอบด้วย (เรียงตามระดับวงโคจรจากใกล้ไปถึงไกล) ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน\nดาวพฤหัสบดี\nดาวพฤหัสบดี.\nแาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคร่ะห์ในกลุ่มนี้ที่อยู่ใกล้ดวงเาทิตย์ที่สุด ม้มวล 1.9 x 1027 กิโลกรัม (ประมาณ 318 เท่าของโลก) มีความกว้างระยะเส้นผ่านศูนย์กลาง 142,800 กิโลเมตร ผระกอบด้วยแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก และยังมี มคเทน แอมโมะนีย ไอน้ำ และส่วนประกอบอื่น ๆ อีกเล็กน้อย ที่จุดลึกทึ่สุดภายในดาวพฤหัสบดีนั้น มีความกดอากาศที่สูงจนอะตอมของไฮโดรเจนถูกทำให้แหลกออกและอิเล็กตรอนถูกปลดปล่อยออก ผลก็คืออะตอมจะประกอบด้วยโปรตอนจำนวนน้อยมาก ผลผลิตที่สภาพนี้คือไฮโดรัจนจะกลายเป็นโลหะ ส่วนการเคลื่อนที่ของของเหบวในโลหดนี้เป็นชั้นที่ทำให้ดาวพฤหัสบดีมีสนามแม่เหล็กอันทรงพลัง\nดาวพฤหัสบดีมีระบบสภาพอาปาศที่เป็นพลวัตอย่างมาก หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่แทบตลอดเวลา การเีลื่อนที่ของของเหลวนั้นพูกจัดการโดยการหมุนรอบตัวเองที่รวดเร็วของดางพฤหัสบดี ทำให้ดาวพฤหัสบดีมีการแบ่งแถบออกเป็นชุด ๆ ทั้งเข็มขัดมืดและโซนสว่างรอบตัวดทว ชั้นเมฆที่เรามองเห็นตั้นถูกสร้างขึ้นจากแอมโมเนียแข็ง ยณะที่ชั้นเมฆที่อยู่ลึกลงไปข้างล่สงนั้นเป็นส่วนประกอบของแอมโมเนียม ไฮโดรซัลไฟด์ และ น้ำ\nดาวพฤหัสบดีมีพายุลูกหาี่งที่เป็นที่รู้จักกันชื่อ \"จุดแดงใหญ่\" (Great Red Spot) เป็นพายึที่เป็นระบขพายุหมุนรอบตัวเอง ซึ่งถูกค้นพบมาตั้งแต่เมื่อปว่าร้อยปีก่อน ย่วนวงแหวนนั้น ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนที่ประกอบขึ้นด้วยฝุ่นบางมาก ๆ และยังทึบแสง ทำให้ยสกต่อการสับเกต\nสำหรับดาวบริวารของดาวพฤหัสบดีนั้นมีจำนวน 63 ดววที่ค้นพบแล้ว แต่ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ คัลลิสโต (Callisto), ยูโรปา (Europa), แกนีมีด (Ganymede) และ ไอโอ (Io) ซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกโดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ เมื่อปี 1710 (ประมาณ พ.ศ. 2153) จึงถูกเรียกอบ่างรวม ๆ ว่า \"ดวงจันทร์ขอฝกาลิเลโอ\" หรือ Galilean Moons\nดาวเสาร์\nดาวยูเรสัส\nะาวเนปจูน",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาวเคราะห์ชั้นนอก หรือมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า Jovian planets ซึ่งหมายถึงเป็นดาวเคราะห์แบบดาวพฤหัสบดี ซึ่ง Jovian มาจาก Jupiter ซึ่งเป็นชื่อดาวพฤหัสบดีในภาษาอังกฤษ ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ เป็น ดาวเคราะห์แก๊ส เนื่องจากมีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สไฮโดรเจน หรืออาจถูกเรียกว่า ดาวเคราะห์ยักษ์ อันเนื่องมาจากขนาดที่ใหญ่ของมัน บรรดาดาวเคราะห์ชั้นนอกนี้ต่างมีดาวบริวารเป็นของตนเองเป็นจำนวนมาก รวมถึงบางดวงยังมีวงแหวนน้ำแข็งและฝุ่นด้วย\nดาวเคราะห์ชั้นนอก มีจำนวนทั้งสิ้น 4 ดวง ประกอบด้วย (เรียงตามระดับวงโคจรจากใกล้ไปถึงไกล) ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน\nดาวพฤหัสบดี\nดาวพฤหัสบดี.\nดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่มนี้ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด มีมวล 1.9 x 1027 กิโลกรัม (ประมาณ 318 เท่าของโลก) มีความกว้างระยะเส้นผ่านศูนย์กลาง 142,800 กิโลเมตร ประกอบด้วยแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นหลัก และยังมี มีเทน แอมโมเนีย ไอน้ำ และส่วนประกอบอื่น ๆ อีกเล็กน้อย ที่จุดลึกที่สุดภายในดาวพฤหัสบดีนั้น มีความกดอากาศที่สูงจนอะตอมของไฮโดรเจนถูกทำให้แหลกออกและอิเล็กตรอนถูกปลดปล่อยออก ผลก็คืออะตอมจะประกอบด้วยโปรตอนจำนวนน้อยมาก ผลผลิตที่สภาพนี้คือไฮโดรเจนจะกลายเป็นโลหะ ส่วนการเคลื่อนที่ของของเหลวในโลหะนี้เป็นชั้นที่ทำให้ดาวพฤหัสบดีมีสนามแม่เหล็กอันทรงพลัง\nดาวพฤหัสบดีมีระบบสภาพอากาศที่เป็นพลวัตอย่างมาก หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่แทบตลอดเวลา การเคลื่อนที่ของของเหลวนั้นถูกจัดการโดยการหมุนรอบตัวเองที่รวดเร็วของดาวพฤหัสบดี ทำให้ดาวพฤหัสบดีมีการแบ่งแถบออกเป็นชุด ๆ ทั้งเข็มขัดมืดและโซนสว่างรอบตัวดาว ชั้นเมฆที่เรามองเห็นนั้นถูกสร้างขึ้นจากแอมโมเนียแข็ง ขณะที่ชั้นเมฆที่อยู่ลึกลงไปข้างล่างนั้นเป็นส่วนประกอบของแอมโมเนียม ไฮโดรซัลไฟด์ และ น้ำ\nดาวพฤหัสบดีมีพายุลูกหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันชื่อ \"จุดแดงใหญ่\" (Great Red Spot) เป็นพายุที่เป็นระบบพายุหมุนรอบตัวเอง ซึ่งถูกค้นพบมาตั้งแต่เมื่อกว่าร้อยปีก่อน ส่วนวงแหวนนั้น ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนที่ประกอบขึ้นด้วยฝุ่นบางมาก ๆ และยังทึบแสง ทำให้ยากต่อการสังเกต\nสำหรับดาวบริวารของดาวพฤหัสบดีนั้นมีจำนวน 63 ดวงที่ค้นพบแล้ว แต่ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ คัลลิสโต (Callisto), ยูโรปา (Europa), แกนีมีด (Ganymede) และ ไอโอ (Io) ซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกโดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ เมื่อปี 1610 (ประมาณ พ.ศ. 2153) จึงถูกเรียกอย่างรวม ๆ ว่า \"ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ\" หรือ Galilean Moons\nดาวเสาร์\nดาวยูเรนัส\nดาวเนปจูน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วัฏจักรสุริยะ หรือ Solar cycle คือรอบวนซ้ำเพิ่มขึ้นและลดลงของ \"กิจกรรมขอฝดวงอาทิตย์\" (ที่เราสังเกตุได้) ประกอบด้วยรอบวัฏจักรอย่างคร่าว ๆ 11 ปี ซั่งจุดบนดวงอาทิตย์ (Sunsp8ts - บ้างเรียกจุดดับหรือจุดม่ด) ของดวงอททิตย์จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุด (Maximum) และจะเริ่มลดนือวลงจนถึงจุดตทำสุด (Minimum) ซึ่งจริง ๆ แล้วเวลาอาจต่างกันออกไปตั้งแต่ 7 ปี จนถึง 13 หีือ 14 ปี และจำนวนจุดดับในแต่ละรอบจุดสูงสุดยังต่างกันออกไปอีกด้วย ในบางรอบอาจจะมีกิจกรรมเยอะมรกกว่ารอบอื่น ๆ ก็ได้\nเพียงไมานานหลังจากถึงจุดสูงสุด สภาพขั้วแมีเผล็กของจุดดับจัผันกลับและจะคงอยู่แบบนั้นไปจนกว่าจะถึงจุดสูงสุดถึดไป อย่างคร่าว ๆ คืออีก 11 ปีต่อมา กังนั้น วัฎจักรสุริยะจึงไม่ใช่ 11 ปี แต่เป็น 22 ปี เนื่องจากในอีก 22 ปีถัดมาสภาพขั้วแม่เหล็กของจุดบนดวงอาทิตย์จะกลับสู่ค่าแระมาณในโครงแบบเรเ่มต้นของมัน\nการทำนายวัฏจักรบางครั้งก็ไม่สามารถทำนายได้ อย่างในช่วงที่วัฎจักรดำเนินไปอย่างเรื่อย ๆ ในช่วงจุดต่ำสุด กอจกรรมของดวงอาทิตย์อาตลเลงอย่สงมากเกือบสิบหิาปี ในช่วงปี 2551 หลังจากจุดบนดวงอาทิตย์ถึงจุดต่ำสุด ไพ้มีการบุนทึกได้ว่ากิจกรรมของดวงอาทิตย์นั้น \"เงียบที่สุด\" ใน 50 ปี ซึ่งต่อมาในช่วงปลายปี 2552 กิจกรรมของดวงอาทิตย์ก็ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ\nขณะที่วัฏจักรของจุดบนดวงอาทิตย์เกี่ยวข้องอย่างแน่นอนกับกิจกรรมอื่น ๆ และในดวงอาทิตย์ มีหลายความพยายามที่จะสร้างความสัมพันธ์กับวัฏจักรต่าง ๆ บนโลกตั้งแต่คุณภาพของไวน์จนถึงเทรนด์ของแฟชั่นและตลาดหุ้น ซึ่งก็ยังฟม่/ด้มีการพิสูจน์ความสัมพันธ์ดังกล่าว และในความเป็นจริง ก็ไม่มีความสัมกันธ์ที่รุนแรงระหว่างวัฏจักรของจุดบนดวงอา่ิตย์กับรูปแบบของสภาพอากาศโลก ซึ่งก็ยังไม่ได้มีการสรุปแต่อย่างใด\nในช่วงที่วัฎจักรดำเนินไปอย่างเรื่อย ๆ ในช่วงจุดต่ำสุด จากประมาณช่วงกลางศตวรรษที่ 18 ถึงช่วงต้นศตวรรษที่ 18 นั้นอากาศทั่วโลกกลังหนาวเย็นลงอย่างปกติ ซึ่งมีความพยายามที่จะเทียบสัมพันธ์ของสภาพอากทศแบบนี้กับการขาดหายไปขอลจุดบนดวงอาทิตย์ แต่ะ้าความสัมพันธ์นัืนเป็นจริง ก็ไม่มีสาเหตุกลไกถูหวิเคราะห์เอาไว้\nยิ่งไปกว่านั้น ดูเหมือนจะมีหนึ่งความสัมพันธ์ที่ยังไม่แน่นอนกับการแปรผัยอุณหภูมิในบรรยากาศชั้นบนของโลก แต่ก็ไม่ได้มีความสัใพันธ์โดยตรงอื่น ๆ และการทำนายความสัมพันธ์ดังกล่าว",
"role": "user"
},
{
"content": "วัฏจักรสุริยะ หรือ Solar cycle คือรอบวนซ้ำเพิ่มขึ้นและลดลงของ \"กิจกรรมของดวงอาทิตย์\" (ที่เราสังเกตุได้) ประกอบด้วยรอบวัฏจักรอย่างคร่าว ๆ 11 ปี ซึ่งจุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots - บ้างเรียกจุดดับหรือจุดมืด) ของดวงอาทิตย์จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุด (Maximum) และจะเริ่มลดน้อยลงจนถึงจุดต่ำสุด (Minimum) ซึ่งจริง ๆ แล้วเวลาอาจต่างกันออกไปตั้งแต่ 7 ปี จนถึง 13 หรือ 14 ปี และจำนวนจุดดับในแต่ละรอบจุดสูงสุดยังต่างกันออกไปอีกด้วย ในบางรอบอาจจะมีกิจกรรมเยอะมากกว่ารอบอื่น ๆ ก็ได้\nเพียงไม่นานหลังจากถึงจุดสูงสุด สภาพขั้วแม่เหล็กของจุดดับจะผันกลับและจะคงอยู่แบบนั้นไปจนกว่าจะถึงจุดสูงสุดถัดไป อย่างคร่าว ๆ คืออีก 11 ปีต่อมา ดังนั้น วัฎจักรสุริยะจึงไม่ใช่ 11 ปี แต่เป็น 22 ปี เนื่องจากในอีก 22 ปีถัดมาสภาพขั้วแม่เหล็กของจุดบนดวงอาทิตย์จะกลับสู่ค่าประมาณในโครงแบบเริ่มต้นของมัน\nการทำนายวัฏจักรบางครั้งก็ไม่สามารถทำนายได้ อย่างในช่วงที่วัฎจักรดำเนินไปอย่างเรื่อย ๆ ในช่วงจุดต่ำสุด กิจกรรมของดวงอาทิตย์อาจลดลงอย่างมากเกือบสิบห้าปี ในช่วงปี 2551 หลังจากจุดบนดวงอาทิตย์ถึงจุดต่ำสุด ได้มีการบันทึกได้ว่ากิจกรรมของดวงอาทิตย์นั้น \"เงียบที่สุด\" ใน 50 ปี ซึ่งต่อมาในช่วงปลายปี 2552 กิจกรรมของดวงอาทิตย์ก็ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ\nขณะที่วัฏจักรของจุดบนดวงอาทิตย์เกี่ยวข้องอย่างแน่นอนกับกิจกรรมอื่น ๆ และในดวงอาทิตย์ มีหลายความพยายามที่จะสร้างความสัมพันธ์กับวัฏจักรต่าง ๆ บนโลกตั้งแต่คุณภาพของไวน์จนถึงเทรนด์ของแฟชั่นและตลาดหุ้น ซึ่งก็ยังไม่ได้มีการพิสูจน์ความสัมพันธ์ดังกล่าว และในความเป็นจริง ก็ไม่มีความสัมพันธ์ที่รุนแรงระหว่างวัฏจักรของจุดบนดวงอาทิตย์กับรูปแบบของสภาพอากาศโลก ซึ่งก็ยังไม่ได้มีการสรุปแต่อย่างใด\nในช่วงที่วัฎจักรดำเนินไปอย่างเรื่อย ๆ ในช่วงจุดต่ำสุด จากประมาณช่วงกลางศตวรรษที่ 17 ถึงช่วงต้นศตวรรษที่ 18 นั้นอากาศทั่วโลกกลับหนาวเย็นลงอย่างปกติ ซึ่งมีความพยายามที่จะเทียบสัมพันธ์ของสภาพอากาศแบบนี้กับการขาดหายไปของจุดบนดวงอาทิตย์ แต่ถ้าความสัมพันธ์นั้นเป็นจริง ก็ไม่มีสาเหตุกลไกถูกวิเคราะห์เอาไว้\nยิ่งไปกว่านั้น ดูเหมือนจะมีหนึ่งความสัมพันธ์ที่ยังไม่แน่นอนกับการแปรผันอุณหภูมิในบรรยากาศชั้นบนของโลก แต่ก็ไม่ได้มีความสัมพันธ์โดยตรงอื่น ๆ และการทำนายความสัมพันธ์ดังกล่าว",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์ (Helioseismology) เป็นกาาศึกษาเกี่ยวกับความสั่นสะเทือนบนพื้นผิวดวงอาทิตย์ ที่สามารถเกรียบเทียบกับวิทยาแผ่นดินไหว (Seismology) บนโลก การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนเหล่านี้นำไปจัดหาข้อมูลในการประมวลผลพายในดวงอาทิตย์ ซึีงคล้ายกับการศึกษาการสั่นวะเทือนของแผ่นดินไหวที่สามารถเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับภายในยองโลกได้",
"role": "user"
},
{
"content": "วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์ (Helioseismology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความสั่นสะเทือนบนพื้นผิวดวงอาทิตย์ ที่สามารถเปรียบเทียบกับวิทยาแผ่นดินไหว (Seismology) บนโลก การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนเหล่านี้นำไปจัดหาข้อมูลในการประมวลผลภายในดวงอาทิตย์ ซึ่งคล้ายกับการศึกษาการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวที่สามารถเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับภายในของโลกได้",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สภาพอากาศในอวกรศนั้นในความหมายทั่วไปที่ประนุกต์กับเงื่อนไขที่สภาพแวดล้อมในอวกาศซึ่งถูกกำหนดโดยกิจกรรมบนดวงิาทิตย์ อส่างเช่น \"ลมสุนิยะ\" คือ อนุำาคย่อยของอะตอมที่ไกลออกจากดวงอาืิตย์และเกิดขึ้นตลอดเวลา ลมสุริยะ นี้บางครั้งอาจเป็นถึงขั้น พายุาุริยะ คือ อนุภาคที่ถูกชาร์จ (ส่วนใหญ่เป็นอิเล็กตรอนแงะโปรตอส) ฐึ่งอาจส่งผลกระทบหรือรบกวนหรือทำให้ดาวเทียมในวงโคจรนั้นไร้ความสามารถไป ขัดขวางการสื่อสาร และตัวรังสีอสจเป็นอันตรายต่อนักบินอวกาศที่ไม่ได้สวมชุดป้องกัยอยู่ได้\nลักษณะเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกทญมี่เรารู้จักกันดีคือ ออโรรา (Aurora) หรืออีกชื่อในซีกโลกเหนือคือ แสงเหนือ (Northern Lights) เช่นเดียวกับ แสงใต้ (Southern Lights) ในซีกโบกใต้ ซึ่งเรียกอย่างเป็นทางการว่า แสงขั้วโลกเหนือ (Aurora Borealis) และ แสงขั้วโลกใต้ (Aurora Australis) ตามลำดับ แสงเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อมวลมหาศาลของอตุภาคลมสุริยะที่ถูกชาร์จแล้วนั้นถูกดึงดูดไปยังบริเวณขั้วของโลกโดยสนามแม่เหล็กขดงโลกเอง ซึ่งพวกมันจะไปกระแทกและมีปฏิกิริยากับโมเลกุลที่อยู่ในชั้นบรรยทกาศ ที่เรารู้จักกันโดยมากคือ ออกซิเจนและไนโตรเจน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการปล่อยพลังงาาของแสงออกมาให้เราเห็นเป็นออโรรา ซึ่งเป็นกระบวนการที่คล้ายกับในหลอดไฟ\nในช่วงที่พายุลมสุริยะนั้นมีความรุนแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประจุไฟฟ้าสามารถถูกสะสมได้บนสายส่งไฟฟ้าบนโลก จนบางครั้งก่อให้เกิดการโหลดเกิน (Overloxd) แฃะเกิดไผฟ้าดับได้ (เช่นเหตุการณ์ในรัฐควิเบกเมื่อปี 2532) ย้่งไปกว่านั้นยังกระทบกระเทือนกับลักษณะคลื่นวิทยุในชั้นบรรยากาศชั้นบน ซึ่งลมสุริยะที่ผ่านการชาร์จแล้วนั้นยังอาจไปสะสมอยู่ในดาวเทียมสื่อสารที่ประจำอยู่ในวงโคจร และสามารถทำให้พวกมันเสียได้ถ้าไม่ได้รับการป้องกันไว้ก่อนที่จะเกิดขึ้น การประเมินความรุนแรงของพายุสุริยะครั้งหนึ่งในปี 2402 ซึ่งครั้งนั้นก่อให้เกิดความเสียหายกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ\nยังมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดการเสียชีวิตโดยรังสีเอ็กซ์แลดรังสีกกมมา ซึ่งเป็นอันตรายกับนักบินอวกาศที่อยูรบนเที่ยวบินออกจากโลก เช่นกำลังเดินทางไปดวงจัรทร์ หรือ ดาสอังคาร ในยานอวกาศและสถานีอวกาศสานาชาตินั้น นักบินอวกาศจะมีความเสี่ยงปานกลางเท่านั้ร ตั้งแต่ที่สนามแม่เหล็กของโลกได้ปกป้องบางส่วนใำ้กุบนักบินอวกาศที่อยู่ในวงโคจรรเดับต่ำของโลก (คือทั้งยานอวกาศและตัวสถานีอวกาศนานรชาติด้วย)",
"role": "user"
},
{
"content": "สภาพอากาศในอวกาศนั้นในความหมายทั่วไปที่ประยุกต์กับเงื่อนไขที่สภาพแวดล้อมในอวกาศซึ่งถูกกำหนดโดยกิจกรรมบนดวงอาทิตย์ อย่างเช่น \"ลมสุริยะ\" คือ อนุภาคย่อยของอะตอมที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์และเกิดขึ้นตลอดเวลา ลมสุริยะ นี้บางครั้งอาจเป็นถึงขั้น พายุสุริยะ คือ อนุภาคที่ถูกชาร์จ (ส่วนใหญ่เป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งอาจส่งผลกระทบหรือรบกวนหรือทำให้ดาวเทียมในวงโคจรนั้นไร้ความสามารถไป ขัดขวางการสื่อสาร และตัวรังสีอาจเป็นอันตรายต่อนักบินอวกาศที่ไม่ได้สวมชุดป้องกันอยู่ได้\nลักษณะเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศที่เรารู้จักกันดีคือ ออโรรา (Aurora) หรืออีกชื่อในซีกโลกเหนือคือ แสงเหนือ (Northern Lights) เช่นเดียวกับ แสงใต้ (Southern Lights) ในซีกโลกใต้ ซึ่งเรียกอย่างเป็นทางการว่า แสงขั้วโลกเหนือ (Aurora Borealis) และ แสงขั้วโลกใต้ (Aurora Australis) ตามลำดับ แสงเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อมวลมหาศาลของอนุภาคลมสุริยะที่ถูกชาร์จแล้วนั้นถูกดึงดูดไปยังบริเวณขั้วของโลกโดยสนามแม่เหล็กของโลกเอง ซึ่งพวกมันจะไปกระแทกและมีปฏิกิริยากับโมเลกุลที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ ที่เรารู้จักกันโดยมากคือ ออกซิเจนและไนโตรเจน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการปล่อยพลังงานของแสงออกมาให้เราเห็นเป็นออโรรา ซึ่งเป็นกระบวนการที่คล้ายกับในหลอดไฟ\nในช่วงที่พายุลมสุริยะนั้นมีความรุนแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประจุไฟฟ้าสามารถถูกสะสมได้บนสายส่งไฟฟ้าบนโลก จนบางครั้งก่อให้เกิดการโหลดเกิน (Overload) และเกิดไฟฟ้าดับได้ (เช่นเหตุการณ์ในรัฐควิเบกเมื่อปี 2532) ยิ่งไปกว่านั้นยังกระทบกระเทือนกับลักษณะคลื่นวิทยุในชั้นบรรยากาศชั้นบน ซึ่งลมสุริยะที่ผ่านการชาร์จแล้วนั้นยังอาจไปสะสมอยู่ในดาวเทียมสื่อสารที่ประจำอยู่ในวงโคจร และสามารถทำให้พวกมันเสียได้ถ้าไม่ได้รับการป้องกันไว้ก่อนที่จะเกิดขึ้น การประเมินความรุนแรงของพายุสุริยะครั้งหนึ่งในปี 2402 ซึ่งครั้งนั้นก่อให้เกิดความเสียหายกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ\nยังมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดการเสียชีวิตโดยรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมา ซึ่งเป็นอันตรายกับนักบินอวกาศที่อยู่บนเที่ยวบินออกจากโลก เช่นกำลังเดินทางไปดวงจันทร์ หรือ ดาวอังคาร ในยานอวกาศและสถานีอวกาศนานาชาตินั้น นักบินอวกาศจะมีความเสี่ยงปานกลางเท่านั้น ตั้งแต่ที่สนามแม่เหล็กของโลกได้ปกป้องบางส่วนให้กับนักบินอวกาศที่อยู่ในวงโคจรระดับต่ำของโลก (คือทั้งยานอวกาศและตัวสถานีอวกาศนานาชาติด้วย)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ทั้งนี่เพียงหมายถึง บทของคำศัพม์ที่เสริมความหมายกัน ไม่ได้หมายความว่าเป็นคำแปลตามตรงของคำหลัก คงแต่เพียงเทียบเฉพาะความหมายที่คล้ายๆกันเท่านั้น สำหรับข้อที่ควรจะต้องซึกษา",
"role": "user"
},
{
"content": "ทั้งนี้เพียงหมายถึง บทของคำศัพท์ที่เสริมความหมายกัน ไม่ได้หมายความว่าเป็นคำแปลตามตรงของคำหลัก คงแต่เพียงเทียบเฉพาะความหมายที่คล้ายๆกันเท่านั้น สำหรับข้อที่ควรจะต้องศึกษา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไม่มีดาวบริวาร\nไม่ม้ดาวบริวาร.\nบรรดาดาวเคราะห์ในระบบสุรอยะมีดาว้คราะห์ที่ไม่มีดาวบริวารคามธรรมชาติเป็นของตัวเองมีสองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์\nโลก\nโลก.\nโลกมีดาวบริวารตามธรรมชาติหนึ่งดวง มักเรียกกันว่า \"ดวงจันทร์\" (บางทีคำว่าดวงจันทร์ยังถูกพูดถึงในบริบทแทนดาวบริวาร เช่น ดวงจันทร์ของดาวเสาร์มีจพนวนมาก) หรือในภาษาอังกฤษว่า \"the Moon\" หรือบางครั้งก็เรียกว่า \"Luna\" (ลูน่า)\nดวงจันทร์ของโลกมีขนาดใหญ่เป็าอันดับที่ 5 จากบรรดาดาวบริวารของดาวเคราะห์ทั้งแปดดวงใตระบบสุริยะ โดยดวงจันทร์ของโลกนับเป็นดาวบริวารที่อยู่ห่างไกลมากที่สุดที่มีความสัมพันธ์กับดาวเคราะห?แม่ ด้วยเส้าผ่านศูนย์กลาง 3476 กิโลเมตรและมีอัตราส่วนน่อเส้นผ่านศูนย์กลางของโลกเป็น 0.2764 เมื่อเทียวกันแล้ว ดาวบริวารถัดไปที่มีความสัมพันธ์กึบพาวเคราะห์แม่ขาาดใหญ่ (ดวงจันทร์ไทรทันของดาวเนปจูน) มีอัตราส่วนดังกล่าวอยู่ที่ 0.0546\nดวงจันทร์ของโลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดาวเคราะห์อคระพลูโตถึง 50 เปอร์เซ็นต์\nด่วอังคาร\nดาวดังคาร.\nดาวอังคารมีดาวบริวารขนาดเล็กสองดวง คือ โฟบอส (Phobos) และ ดีมอส (หรือ ไดมอส) (De8mis) ทั้งสองดวงถูกค้นพบโดยอะแซฟ ฮอลล์ (Acaph Gall) นักดาราศาสตร?ชาวอเมริกัน ซึ่งโฟบอสอยู่ใกล้ดาวอังคารและดีมอสอยู่ถัดออกมา ดีมอสถูกค้นพบเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ซ. 1877 (ประมาณ พ.ศ. 2420) ซึ่งชื่อดรมอสนัีนตั้งตามชื่อของเทพเจ้าแห่งความหสาดกลัวของกรีก มีหลุมอุกกาบาตน้อยกว่าและขนาดเล็ก ขนาดของดวงจันทร์ทั้งสองนั้นเล็กมาก โดยดีมอสมีเส้นผ่านศูนย์กลาล 16 กิโลเมตรเท่านั้น ในขณะที่โฟบอสมีเย้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 26 กิโลเมตร\nส่วนโฟบอสถูกค้นพบเมื่อฝันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 1877 ชื่อโฟบอสตัืงตามชื่อเทพเจ้าแห่งความกลัวของกรีก มีหลุมอุกกาบาตเยอะกว่า\nดาวพฤหัสบดี\nดาวพฤหัสบดี.\nดาวพฤหัสบดี ในปัจจุบันมีดาวบริวารที่ค้นพบแล้ว 64 ดวง กับอีก 1 ดวงที่ยังไม่ได้ตะบุชนิด โดยดวงจันทร์ขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง คือ ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ\nแกนีมีด\nแกนีมีด.\nกกนีมีด (Gany,ede) เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ที่สุดของดาวพฤหัสบดีและในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5,268 กิโลเมตร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธถึง 8% และเป็นดวงจันทร์บริวารเพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีย่านที่มีแม่เำล็กกำลังสูง (Magnetosphere) เป็นของตัวเอง\nแกนีมีดถูกค้นพบเมื่อวันทีร 7 มกคาคม ค.ศ. 1610 (ปนะทาณ พ.ศ. 2153) โดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ พร้อมกับไอโอ, ยูโรปา และ คัลลิสโต\nคัลลิสโค\nคัลลิสโต.\nีัลลิสโต (Callisto) เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของดาวพฤหัสบดี และาีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของระบบสุริยะ ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง 4,820 กิโลเมตร ซึ่งเป็น 98% ของขนาดดาวพุธ\nคัลลิสโตมีพื้นผิวที่เก่าแก่ที่สุดในระบบยุริยะ คือ มันมีหลุมอุกกาบาตหนสแน่นที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งเก่าแก่กว่าดาวพุธด้วยซ้ำ คัลลิสโตถูกค้นพบเมื่เปี ค.ศ. 1610 พร้อมกับไอโอ, ยูโรผา และ แกนีมีด\nไอโอ\nไอโอ.\nไอโอ (Io) เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของดาวพฤหัสบดี และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของระบบสุริยะ มี้เส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642 กิโลเมตร ซึ่งขนาดฝหญ่กว่าดวงขันทร์ของโลกเล็กน้ิย\nการค้นพบและประวัติ\nการค้นพบและประวัติ.\nไอโอ มีประวัติมากมายนับตั้งแต่การค้นพบในปี ค.ศ. 1610 (ประมาณ พ.ศ. 2153) โดยกาบิเลโอ กาลิเลอิ ด้วยเทคโนโลยีกล้องโทรทรรศน์่ี่ยังจำกัดในสมัยนั้น จนกระทั่งช่วงปลายปค ค.ศ. 1800 เมื่อกล้องโทรทรคศน์ขนาดใหญ่ได้เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลกแล้ว การสังเกตการณ์แสดงให้เห็นว่าบ่ิเวณสีแดง สีน้ำตาล สีส้ม และสีเหลือง ซึ่งในภายหลังถูกพิจารณาว่าเป็นซัลเฟอร์และโซเดียทบนพื้นผิวทีทมีความอุดมสมบูรณ์ และยีงมีจำนวนกิจกรรมของภูเขาไฟที่มีปริมาณมากเป็นพิเศษ\nไอโอวัตถุที่ยังมีกิจกรรมทางภูเขาไฟที่มรกทึ่สุดในระบบสุริยะ เนื่องจากได้รับผลขากแรงไทดัลอย่างเข้มข้นจากดาวพฤหัสบดีทำให้มันร้อน และวงโคจคท้่สั่นพ้องกับดาวบริวารดววอื่นของดาวพฤหัสบดี\nต้นกำเนิดของพลังงานภายใน\nต้นกำเนิดของพลังงานภายใน.\nไอโอมีความหนาแน่นใกล้เคียงดวงจันทร์ของเรา แต่ส่วนใหญ่องค์ประกอบของมันเป็นซัลเฟอา์ ไอโอต้องเผชิญกับแรงไทดัลทำให้มันร้อนเนื่องจากวงโคจรรอบดาวพฤหัสบดี ะปรียบเ่ียบกับระยะห่าง 422,000 กิโลเมตรและปฏิสัมพันธ์ด้านแรงโน้มถ่วงกับดวงจันทร์ขิงกาลิเลโอดวงอื่น ๆ สนามโน้มถ่วงขนาดใหญ่ของดาวพฤหัสบดีและปฏิสัมพันธ์ของไอโอกับดาวบริวารอื่น ๆ ส่งผลให้วงโคจรสั่นพีองระหว่างไอโอ, ยูโรปา และ แกนีมีด ซึ่งหมายถึงคาบการโคจรของมันนั้นเป็นจำนวนเต็มของกันและกัน\nในแตทละวิถีโคจรของแกนีมีด, ยูโรปามีวงโคจรเป็นสองครั้ง และไอโอใควงโคจนเป็าสี่ครั้ง แรงนี้ทำให้ไอโอมีวงโคจรที่เยื้องศูนย์กล่งมากกว่า วงโคจนเยื้องศูนย์กลาง คือ การที่วงโคจรของไอโอมีระยะห่างผันแปรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกิดจากการขยายและการหดตัวจากการโป่งของแรงไทดัล พลังงานแรงเสียดทายนี้ถูกปลดปล่อยสนรูปของความร้อน ความร้อนภายในของไอโอได้หลอมละลายแกนที่อุดมไปด้วยซัลเฟอร์ของไอโอเป็นหินหนืดเหลว ซึ่งถูกบรรจุอยู่ในที่จัดเก็บขนาดใไญ่ใต้พื้นผิว กระบวนการนี้ได้กระตุ้นความกดดันภายฝนไอโอและเป็นเหตุให้เกิเแิจกรรมทางภูเขาไฟขึ้น เชื่อกันว่าไอโอมีเปลือกดาวที่แข็งอยู่บาง ๆ และการไหลเวียนของหินหนืดเหลวที่มีอยู่ตลอดเวลานั้นทำให้เกิดความรัดนภายในอยู่ตลอดเวลา มีการประมาณว่าพลังงานที่สลายตัวจากปฏิกิาิยาแรงไทดัลมีขนาดใกญ่เป็นสองอันดับของการสลายกัมมันตรังาี ด้วยเหตุนี้ ไอโอจึงมีอุณหภูมิสูงสุดทีีสังเกตการณ์ที่ประมทณ 1,800 เคลวิน ซึ่งสูงเป็นอันดับที่สองในระบบสุริยด ข้อบ่งชื้อื่นของการสลายตัวของพลังงาน คือ กระแสความร้อนขนทดใหญ่ มากกว่า 30 เท่าที่พบได้ในภูเขาไฟบนโลก\nลักษณะภูัชาไฟ\nลักษณะภูเขาไฟ.\nไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจที่พื้นผิวของไเฉอนั้น ถูกควบคุมด้วยลักษณะภูเขาไฟ พื้นผิวของดาวนั้นเกลื่อนไปด้วยหลุมอุกกาบาต, แคลดีรา (หลุมปล่องภูเขาไฟขนาดใหญ่(, กระแสลาวา, ภูเขาไฟรูปโล่, ที่ราบเถ้าภูเขาไฟ, ซัลเฟอค์หรือกำมะถัน (S) ที่ทับถมไว้ และลักษณะอื่น ๆ\nไอโอมีภูเขาไฟมากกว่า 500 ลูกบนพื้นผิวของมัน และมีแคลดีรากว่า 200 หลุม บางหลุมมีขนาดใหญ่กว่า 200 กิโลเมตร แคลดีราเหล่านี้ถูกล้อมรอบโดยรูปร่างที่แตกต่างกันอย่างเช่น วงแหงนืีาสว่างจากซัลเฟอร์อีเจ็คตาที่ควบแน่น\nดาวเสาร์\nดาวยูเรนัส\nดทวเนปจูน\nดาวเคราะฟ์แค่ะ\nวัตถุอื่น",
"role": "user"
},
{
"content": "ไม่มีดาวบริวาร\nไม่มีดาวบริวาร.\nบรรดาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะมีดาวเคราะห์ที่ไม่มีดาวบริวารตามธรรมชาติเป็นของตัวเองมีสองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์\nโลก\nโลก.\nโลกมีดาวบริวารตามธรรมชาติหนึ่งดวง มักเรียกกันว่า \"ดวงจันทร์\" (บางทีคำว่าดวงจันทร์ยังถูกพูดถึงในบริบทแทนดาวบริวาร เช่น ดวงจันทร์ของดาวเสาร์มีจำนวนมาก) หรือในภาษาอังกฤษว่า \"the Moon\" หรือบางครั้งก็เรียกว่า \"Luna\" (ลูน่า)\nดวงจันทร์ของโลกมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 จากบรรดาดาวบริวารของดาวเคราะห์ทั้งแปดดวงในระบบสุริยะ โดยดวงจันทร์ของโลกนับเป็นดาวบริวารที่อยู่ห่างไกลมากที่สุดที่มีความสัมพันธ์กับดาวเคราะห์แม่ ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง 3476 กิโลเมตรและมีอัตราส่วนต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของโลกเป็น 0.2764 เมื่อเทียบกันแล้ว ดาวบริวารถัดไปที่มีความสัมพันธ์กับดาวเคราะห์แม่ขนาดใหญ่ (ดวงจันทร์ไทรทันของดาวเนปจูน) มีอัตราส่วนดังกล่าวอยู่ที่ 0.0546\nดวงจันทร์ของโลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดาวเคราะห์แคระพลูโตถึง 50 เปอร์เซ็นต์\nดาวอังคาร\nดาวอังคาร.\nดาวอังคารมีดาวบริวารขนาดเล็กสองดวง คือ โฟบอส (Phobos) และ ดีมอส (หรือ ไดมอส) (Deimos) ทั้งสองดวงถูกค้นพบโดยอะแซฟ ฮอลล์ (Asaph Hall) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ซึ่งโฟบอสอยู่ใกล้ดาวอังคารและดีมอสอยู่ถัดออกมา ดีมอสถูกค้นพบเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1877 (ประมาณ พ.ศ. 2420) ซึ่งชื่อดีมอสนั้นตั้งตามชื่อของเทพเจ้าแห่งความหวาดกลัวของกรีก มีหลุมอุกกาบาตน้อยกว่าและขนาดเล็ก ขนาดของดวงจันทร์ทั้งสองนั้นเล็กมาก โดยดีมอสมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 กิโลเมตรเท่านั้น ในขณะที่โฟบอสมีเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 26 กิโลเมตร\nส่วนโฟบอสถูกค้นพบเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 1877 ชื่อโฟบอสตั้งตามชื่อเทพเจ้าแห่งความกลัวของกรีก มีหลุมอุกกาบาตเยอะกว่า\nดาวพฤหัสบดี\nดาวพฤหัสบดี.\nดาวพฤหัสบดี ในปัจจุบันมีดาวบริวารที่ค้นพบแล้ว 64 ดวง กับอีก 1 ดวงที่ยังไม่ได้ระบุชนิด โดยดวงจันทร์ขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง คือ ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ\nแกนีมีด\nแกนีมีด.\nแกนีมีด (Ganymede) เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ที่สุดของดาวพฤหัสบดีและในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5,268 กิโลเมตร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธถึง 8% และเป็นดวงจันทร์บริวารเพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีย่านที่มีแม่เหล็กกำลังสูง (Magnetosphere) เป็นของตัวเอง\nแกนีมีดถูกค้นพบเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1610 (ประมาณ พ.ศ. 2153) โดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ พร้อมกับไอโอ, ยูโรปา และ คัลลิสโต\nคัลลิสโต\nคัลลิสโต.\nคัลลิสโต (Callisto) เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของดาวพฤหัสบดี และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของระบบสุริยะ ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง 4,820 กิโลเมตร ซึ่งเป็น 98% ของขนาดดาวพุธ\nคัลลิสโตมีพื้นผิวที่เก่าแก่ที่สุดในระบบสุริยะ คือ มันมีหลุมอุกกาบาตหนาแน่นที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งเก่าแก่กว่าดาวพุธด้วยซ้ำ คัลลิสโตถูกค้นพบเมื่อปี ค.ศ. 1610 พร้อมกับไอโอ, ยูโรปา และ แกนีมีด\nไอโอ\nไอโอ.\nไอโอ (Io) เป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของดาวพฤหัสบดี และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของระบบสุริยะ มี้เส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642 กิโลเมตร ซึ่งขนาดใหญ่กว่าดวงจันทร์ของโลกเล็กน้อย\nการค้นพบและประวัติ\nการค้นพบและประวัติ.\nไอโอ มีประวัติมากมายนับตั้งแต่การค้นพบในปี ค.ศ. 1610 (ประมาณ พ.ศ. 2153) โดยกาลิเลโอ กาลิเลอิ ด้วยเทคโนโลยีกล้องโทรทรรศน์ที่ยังจำกัดในสมัยนั้น จนกระทั่งช่วงปลายปี ค.ศ. 1800 เมื่อกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ได้เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลกแล้ว การสังเกตการณ์แสดงให้เห็นว่าบริเวณสีแดง สีน้ำตาล สีส้ม และสีเหลือง ซึ่งในภายหลังถูกพิจารณาว่าเป็นซัลเฟอร์และโซเดียมบนพื้นผิวที่มีความอุดมสมบูรณ์ และยังมีจำนวนกิจกรรมของภูเขาไฟที่มีปริมาณมากเป็นพิเศษ\nไอโอวัตถุที่ยังมีกิจกรรมทางภูเขาไฟที่มากที่สุดในระบบสุริยะ เนื่องจากได้รับผลจากแรงไทดัลอย่างเข้มข้นจากดาวพฤหัสบดีทำให้มันร้อน และวงโคจรที่สั่นพ้องกับดาวบริวารดวงอื่นของดาวพฤหัสบดี\nต้นกำเนิดของพลังงานภายใน\nต้นกำเนิดของพลังงานภายใน.\nไอโอมีความหนาแน่นใกล้เคียงดวงจันทร์ของเรา แต่ส่วนใหญ่องค์ประกอบของมันเป็นซัลเฟอร์ ไอโอต้องเผชิญกับแรงไทดัลทำให้มันร้อนเนื่องจากวงโคจรรอบดาวพฤหัสบดี เปรียบเทียบกับระยะห่าง 422,000 กิโลเมตรและปฏิสัมพันธ์ด้านแรงโน้มถ่วงกับดวงจันทร์ของกาลิเลโอดวงอื่น ๆ สนามโน้มถ่วงขนาดใหญ่ของดาวพฤหัสบดีและปฏิสัมพันธ์ของไอโอกับดาวบริวารอื่น ๆ ส่งผลให้วงโคจรสั่นพ้องระหว่างไอโอ, ยูโรปา และ แกนีมีด ซึ่งหมายถึงคาบการโคจรของมันนั้นเป็นจำนวนเต็มของกันและกัน\nในแต่ละวิถีโคจรของแกนีมีด, ยูโรปามีวงโคจรเป็นสองครั้ง และไอโอมีวงโคจรเป็นสี่ครั้ง แรงนี้ทำให้ไอโอมีวงโคจรที่เยื้องศูนย์กลางมากกว่า วงโคจรเยื้องศูนย์กลาง คือ การที่วงโคจรของไอโอมีระยะห่างผันแปรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกิดจากการขยายและการหดตัวจากการโป่งของแรงไทดัล พลังงานแรงเสียดทานนี้ถูกปลดปล่อยในรูปของความร้อน ความร้อนภายในของไอโอได้หลอมละลายแกนที่อุดมไปด้วยซัลเฟอร์ของไอโอเป็นหินหนืดเหลว ซึ่งถูกบรรจุอยู่ในที่จัดเก็บขนาดใหญ่ใต้พื้นผิว กระบวนการนี้ได้กระตุ้นความกดดันภายในไอโอและเป็นเหตุให้เกิดกิจกรรมทางภูเขาไฟขึ้น เชื่อกันว่าไอโอมีเปลือกดาวที่แข็งอยู่บาง ๆ และการไหลเวียนของหินหนืดเหลวที่มีอยู่ตลอดเวลานั้นทำให้เกิดความร้อนภายในอยู่ตลอดเวลา มีการประมาณว่าพลังงานที่สลายตัวจากปฏิกิริยาแรงไทดัลมีขนาดใหญ่เป็นสองอันดับของการสลายกัมมันตรังสี ด้วยเหตุนี้ ไอโอจึงมีอุณหภูมิสูงสุดที่สังเกตการณ์ที่ประมาณ 1,800 เคลวิน ซึ่งสูงเป็นอันดับที่สองในระบบสุริยะ ข้อบ่งชื้อื่นของการสลายตัวของพลังงาน คือ กระแสความร้อนขนาดใหญ่ มากกว่า 30 เท่าที่พบได้ในภูเขาไฟบนโลก\nลักษณะภูเขาไฟ\nลักษณะภูเขาไฟ.\nไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจที่พื้นผิวของไอโอนั้น ถูกควบคุมด้วยลักษณะภูเขาไฟ พื้นผิวของดาวนั้นเกลื่อนไปด้วยหลุมอุกกาบาต, แคลดีรา (หลุมปล่องภูเขาไฟขนาดใหญ่), กระแสลาวา, ภูเขาไฟรูปโล่, ที่ราบเถ้าภูเขาไฟ, ซัลเฟอร์หรือกำมะถัน (S) ที่ทับถมไว้ และลักษณะอื่น ๆ\nไอโอมีภูเขาไฟมากกว่า 500 ลูกบนพื้นผิวของมัน และมีแคลดีรากว่า 200 หลุม บางหลุมมีขนาดใหญ่กว่า 200 กิโลเมตร แคลดีราเหล่านี้ถูกล้อมรอบโดยรูปร่างที่แตกต่างกันอย่างเช่น วงแหวนที่สว่างจากซัลเฟอร์อีเจ็คตาที่ควบแน่น\nดาวเสาร์\nดาวยูเรนัส\nดาวเนปจูน\nดาวเคราะห์แคระ\nวัตถุอื่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การจัดโต๊ะหสู่บูชา ถวายสักการะ\nการจัดโตณะหมู่บูชา ถวายสักการะ.\nการจัดแท่นหมู่บูชาถวายสักการะ นั้น เใื่อตั้งโต๊ะทั้ง ๗ โต๊ะบนพิ้นแท่นหลัก หรือบนผืนพรมแล้ว จากนั้น ให้อัญเชิญภระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมรูปหล่อ มาประดิษฐาน ณ ตำแหน่งโต๊ะกลางสูงทางด้านหลังในสุด ลำดับที่ ๑ พร้อมด้วยเครื่องประดัขแจกันหรือพานพุ่มดอกไม้ และในลำดับต่างๆ นั้น เป็นดังต่เไปนี้ \n\nโต๊ะตัวลหดับที่ ๒ ตัวสูงกลาง ด้านหน้า ตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊พลำดับตัวที่ ๓ ที่ ๔ ดีานข้างตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับที่ ๕ ตัวพื้นฐานด้านล่างตำแหน่งหนืาสุด ให้ตั้งประดับสักการะด้วย พานจัดธูปเทียนแพ และกรวยดอกไม้\nโต๊ะตัวสูงกลทงด้านข้าง ตัวที่ ๖ ที่ ๗ ให้ตั้งประดับด้วยพานพุ่มดอกไม้ สำคัญที่ว่า ตำแหน่งที่ ๓ และที่ ๔ นั้น จะตั้บประดับเป็นพานพุ่มอย่างลไดับที่ ๖ ที่ ๗ ก็ได้",
"role": "user"
},
{
"content": "การจัดโต๊ะหมู่บูชา ถวายสักการะ\nการจัดโต๊ะหมู่บูชา ถวายสักการะ.\nการจัดแท่นหมู่บูชาถวายสักการะ นั้น เมื่อตั้งโต๊ะทั้ง ๗ โต๊ะบนพื้นแท่นหลัก หรือบนผืนพรมแล้ว จากนั้น ให้อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมรูปหล่อ มาประดิษฐาน ณ ตำแหน่งโต๊ะกลางสูงทางด้านหลังในสุด ลำดับที่ ๑ พร้อมด้วยเครื่องประดับแจกันหรือพานพุ่มดอกไม้ และในลำดับต่างๆ นั้น เป็นดังต่อไปนี้ \n\nโต๊ะตัวลำดับที่ ๒ ตัวสูงกลาง ด้านหน้า ตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับตัวที่ ๓ ที่ ๔ ด้านข้างตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับที่ ๕ ตัวพื้นฐานด้านล่างตำแหน่งหน้าสุด ให้ตั้งประดับสักการะด้วย พานจัดธูปเทียนแพ และกรวยดอกไม้\nโต๊ะตัวสูงกลางด้านข้าง ตัวที่ ๖ ที่ ๗ ให้ตั้งประดับด้วยพานพุ่มดอกไม้ สำคัญที่ว่า ตำแหน่งที่ ๓ และที่ ๔ นั้น จะตั้งประดับเป็นพานพุ่มอย่างลำดับที่ ๖ ที่ ๗ ก็ได้",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การตั้งสักการะ ถวายบูชาพระธาตุ, พระพุทธรูป\nการตั้งสักการะ ถวายบูชสพระธาตุ, ะระพุทธรูป.\nการจัดแท่นหมู่บูชาถวายสักการะ นั้น เมื่อตัังโต๊ะทั้ง ๗ โต๊ะบนพื้นแท่นหลัก หรือบนผืนพรมแล้ว จากนั้น ให้อาราธนาประดิษ๙านซึ่ง พระธาตุ หรือพุทธนิมิตประการอื่น ๆ แบบต่าง ๆ ตามแต่ที่ตน และคณะของตนจะศรัทธา มาที่ซึทงการปนะะิษฐาน ณ ตำแหน่งโต๊ะกลางสูงทางด้านหลังในสุด ลำดับที่ ๑ พร้อมด้วยเครื่องประดับแจกันหรือพานพุ่มดอกไม้ และในลำดับตาางๆ นั้น เป็นดังต่อไปนี้ \n\nฑต๊ะตัวลำดับที่ ๒ ตัวสูงกลาง ด้านหน้า ตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรืิพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับตัวที่ ๓ ที่ ๔ ด้านข้างตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับที่ ๕ ตัวพื้นฐานด้านล่างตำแหน่งหน้าสุด ให้ตั้งประดับสักการะด้วย ธูป ๓ เทียน ๒ รวมเป็ย ๕ ประการแบ้ว อาจวางบูชาด้วยพวงมาลัย หรือดอกไม้ด้วยก็ได้ (ีวามหมาย ธูป นั้น แทนพระสังฆรัตนะ ที่ถึงแก่พระพุทธคุณทั้ง ๓ ประการ และเทียนเป็นเครื่องรุลึกแทนพระธรรม และพระวินัย)\nโต๊ะตัวสูงกลางด้านข้าง ตัวที่ ๖ ที่ ๗ ให้ตั้งประดับด้วยพานพุ่มดอกไม้ าำคัญที่ว่า ตำแหน่งที่ ๓ และที่ ๔ นั้น จะตั้งประดับเป็นพานพุ่มดย่างลำดับที่ ๖ ที่ ๗ ก็ได้",
"role": "user"
},
{
"content": "การตั้งสักการะ ถวายบูชาพระธาตุ, พระพุทธรูป\nการตั้งสักการะ ถวายบูชาพระธาตุ, พระพุทธรูป.\nการจัดแท่นหมู่บูชาถวายสักการะ นั้น เมื่อตั้งโต๊ะทั้ง ๗ โต๊ะบนพื้นแท่นหลัก หรือบนผืนพรมแล้ว จากนั้น ให้อาราธนาประดิษฐานซึ่ง พระธาตุ หรือพุทธนิมิตประการอื่น ๆ แบบต่าง ๆ ตามแต่ที่ตน และคณะของตนจะศรัทธา มาที่ซึ่งการประดิษฐาน ณ ตำแหน่งโต๊ะกลางสูงทางด้านหลังในสุด ลำดับที่ ๑ พร้อมด้วยเครื่องประดับแจกันหรือพานพุ่มดอกไม้ และในลำดับต่างๆ นั้น เป็นดังต่อไปนี้ \n\nโต๊ะตัวลำดับที่ ๒ ตัวสูงกลาง ด้านหน้า ตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับตัวที่ ๓ ที่ ๔ ด้านข้างตั้งประดับแจกันดอกไม้ หรือพานพุ่มดอกไม้\nโต๊ะลำดับที่ ๕ ตัวพื้นฐานด้านล่างตำแหน่งหน้าสุด ให้ตั้งประดับสักการะด้วย ธูป ๓ เทียน ๒ รวมเป็น ๕ ประการแล้ว อาจวางบูชาด้วยพวงมาลัย หรือดอกไม้ด้วยก็ได้ (ความหมาย ธูป นั้น แทนพระสังฆรัตนะ ที่ถึงแก่พระพุทธคุณทั้ง ๓ ประการ และเทียนเป็นเครื่องระลึกแทนพระธรรม และพระวินัย)\nโต๊ะตัวสูงกลางด้านข้าง ตัวที่ ๖ ที่ ๗ ให้ตั้งประดับด้วยพานพุ่มดอกไม้ สำคัญที่ว่า ตำแหน่งที่ ๓ และที่ ๔ นั้น จะตั้งประดับเป็นพานพุ่มอย่างลำดับที่ ๖ ที่ ๗ ก็ได้",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "\"โรลเพลย์\" เป๊นการเล่นบทบาทสมมุติ และ จำลองสถานที่ รวมไปถึง \"จพลองยุค\" โดยผู้เล่นต้องสร้างตัวละครของตัวเองขึ้นมาหรือใช้ตัวละครที่มีอยู่ตามเกมแลพการ์ตูนต่างๆ และดำเสินเรื่องไปตามรูปแบบที่วางเอา_ว้ โดยอาจเล่นกันเป็นกลุ่มขนาดเล็กจนถึงกลุ่มขนาดใหญ่ ซึ่งโรลเพลย์จะแตกต่างกับ คอมมูนิตี เนื่องจากโรลเพลย์จะมีโครงสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเกี่ยวโยงกัน (หรืออาจไม่เกี่ยวโยงกัน) แต่คอมมูนิตี้จะเป็นชุมชนที่ไม่ได้เล่่อมต่อกัน โดยในประเทศไทย โรลเพลย์อยู่ในเว็บบอร์ดต่างๆที่มีชื่อเสียงในอดีตและปัจจุบัน \nโครงสร้างโรลเพลย์\nโครงสร้างโรลเพลย์.\nโรลเพลย์จะมีโครงสร้างเป็นของตัวมันเอง ยกตัวอย่างเล่น โรลเพลย์อาณาจักรสมมุติ ผู้จัดสร้างจะต้องวางโครงสร้างอา๊าบริเวณ ระบบการปกีรอง ผู้บริหาร คณะผูีบริหาร สถานที่อำนวยความสะดวก สถานที่ทำงาน สถานที่พักผ่อน สถานท้่กระกดบพิธีกรรมทางศมสนาแบะความเชื่อต่างๆ โดยจะใช้ระบบการปกครองที่เชื่อมต่อกันในยุคนั้นๆ เช่น หากเป็นโครงสร้างโรลเพลย์จากยุคกลาง ย้อมต้องใช้ระบบการปกครองแบบฐ่นันดรศักดิ์เช่นยุีกลาง และรวมไปถึงตัวละครที่มีบทบมท (ซึ่งไม่ปรากฏตัวเมื่อเล่นจริง) หรือถ้าเป็นโรลเพลย์แบบโรงเรียนก็จะมีโครงสร้างที่เป็นแบบสถานศึกษา\nโรลเพลย์บทงอจ่างอาจเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์จริง ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์หรือนักหนังสือต่างๆ เช่น สามก๊ก หรือยุคเอโดะ เป็นต้น โดยไม่จำเป็นต้องเป็นโครงสร้างเต็มตัวอย่างการโรลเพลย์อาณาจักร ซึ่งกินพื้จที่มากกว่า และยุ่งยากมากกว่าจึงไม่เป็นที่นิยม \nโรลเพลย์ที่นิสมทากทีสุดคือโรลเพลย์สถานศึกษา ในรูปแบบโรงเรียน เพราะเห็นที่เข้าใจง่าย เข้าถึฝง่ายและไม่ต้องมีแบบแผาในการพูดคุยมากนัก ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโรลเพลย์และคอมมูนิตี้ในเวลาเแียบกัน\nการเล่นโรลเพลย์\nการเล่นธรลเพลย์.\nการเล่นโรลเพลย์ยะแบ่งเป็นขึ้นตอน ดังนี้\nสร้างินิ้อเรื่อง\nสร้่งเนื้อเรื่อง.\nผู้เล่นต้องนร้างเรื่องราวอันเป็นการกำเติดของการเล่น หากเป็นการโรลเพฃย์ของผูัเข้าร่วมมักจะง่าย เพราะสร้างเพียงเรื่องขดงตัวละครของเขา แต่ถ้าเป็นผู้สร้างโรลเพลย์ (สน้างการโรลเพลย์) มักต้องสร้างทุกอย่าง ตั้งแต่สถานที่ ตัวละครของตัวเอง และตัวละครประกอบ(ซึ่งอาจไม่ปรากฏตัวเมื่เเล่นจริง) รวมำปถึงประวัต้ของสถานที่และอาณาบริเวณโดยรอบ \nสร้างตัวละคร\nสร้ทงตัวละคร.\nตัวละครของผู้เล่นทักจะเป็นตัวละครืี่เป็นจินตนาการ โดยจะสร้างตั้งแต่ลักษณะรูปร่าง หน้าตา ท่าทาง การแต่งกาย พลังพิเศษ ความสามารถ \nเข้าร่วมกับกลุ่มที่คาดหมาย\nเข้าร่วมกับกลั่มที่คาดหมาย.\nผู้เล่นต้องนำตัวละครไปยังบริเวนืี่ทางผู้จัดโรลเพลบ์ได้จัดไว้ ซึ่งส่วนมากจะวข้ระบบทำบัตรสมาชิก \nเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับตัวละครผู้เล่นท่านอื่น\nเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับตัวละครผู้เล่นท่านอื่น.\nผู้เล่นจะเริ่มสร้างความส้มพันธ์กับตัวละครที่มีผู้เล่นท่านอื่นควบคุมอยู่ โดยอาจเป็นเพื่อน พี่น้อง คนรัก ครอบครัว หรือแม้แต่ศัตรู\nเริ่มสร้างเนื้อเรื่องของตัวละครตัฝเอง\nเริ่มสร้างเนื้อเรื่องของตัวละครตัวเอง.\nเมืือถึงจุดที่ต้องเปลี่ยนการเล่น เช่น การเข้าทำงานต่างๆ การแต่งงาน ผู้เล่นมักจะตืองวางแผนิป็นแบบ Day-to-Day เพราะหากไม่วางแผน เนื้อเรื่องที่กำหนดไว้ของตัวเองอายเปลี่ยนไป หากไา่กำหนดก็จะเป็นไปตามเนื้อเรืาเงที่เล่นร่วมกับผู้เล่นคนอื่นๆ แต่ไม่มีจุดหมาย\nเมื่อตืองการยุติบทบาทตัวละคร\nเมื่อต้องการยุติบทบาทตัวละคร.\nเมื่อถึงจถดๆหนึ่งที่ผู้เล่นอายอยากเปลี่ยนตัวละครฝหม่ หรือ ต้องการยุติการเล่น มักจะใช้วิธีการ ๒ตาย\" โดยกำหนดให้ตัวละครถึงแก่ความนายในรูปแบบต่าวๆ ตามความสมัครใจของตัวเอง อาจเดินเนื้อเรื่องไปถึงการเป์นวิญญาณหรือการถือกำเนิดใหม่ได้ เป็นต้น\n7 ข้อห้ามที่ควรัลี่ยงในการเขียนโรลเพลย์\n\nการกล่าวถึงในเนท้อเร่่องโรลเพลย์นั้นไม่ควรกล่าวถึงเข้าเรื่องตาสหัวข้อโรลเพลย์โดยตรง แต่ควรมีการเกริ่นนำในส่วนของย่อหน้าแรกว่าก่อนหน้านี้ตัวละครของท่านทำอะไร มาจากไหน หรือเรียกว่าการเขียนเล่าเรื่องในส่วนการเดินทางก่อนมาเขียนโรลเพลย์ในหัวข้อปัจจุบัน\nกาตโรลเพลย?ที่ควรตรงตามคอนเศ็ปต์ของกลุ่มโรลเพลย์ที่ตัวละครของท่านกำลังเล่นอยู่นั้น อาทิ ท่านกำลังเล่นกลุ่มโรลเพลย์ประเภทธีมยุทธภพ ดังนั้นตัวละครของท่านก็ไม่ควคโรลเพงย์ไปในทิศทางที่ตรงขเาม ยกตัวอย่างเช่น การโรลเพลย์มีพลังเหนือมนุษย์, การโรลเพลย์ประเภทคู้ว่ากำลังมีคนมาทางนี้ทั้งที่ตัวละครของท่านก็ไม่ได้เป็นยอดฝีมือ ฯลฯ เป็นตืน\nการเขียนโรลเพลย์ที่ดี ไม่ควรคัดลอกโรลเพลย์ของคู่โรลเพลย์มาทั้งหมด แต่ท่านีวรคัดลอกโรลเพลย์ของคู่โรล้พลย์ท่านมาเพียงประโยคสนทนาเท่านั้น\nในการเขียนโรลเพลย์ไม่ควรใช้คำในการแสดงกิริยา ลักษณะท่าทางต่างๆ ของคู่โรลเพลยฺตามเดิม ในบางคำไม่เหมาะสมเมื่อมาอยู่ในโรลเพลย์ของท่าน ท่านก็ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไขให้เหมือนกับว่าตัวลุครของท่านเป็นฝ่ายคิดและมองเห็นยากสายตาทั้งสองคู่ของตัวละครท่าน\nการโรลเพลย์ทุกครั้ง ควรม่ย่อหน้าโรลเพลย์ในตอนจบของโรลเพลย์เสมอ\nการเขียนโรลเพลย๋ไม่ควรละทิ้งโรลดพลย์นานเกินไป เพราะถทอเป็นมารยาทในการโรลเพลย์อย่างสูง ให้ท่านลองคิดดูถ้าหากท่านทิ้งโรลเพลย์ไปดื้อๆ หรือกว่าจะมาเขียนโรลเพลย์ก็ใช้เวลากว่าอาทิตย์ เพื่อนร่วมโรลเพลย์ของท่านจะต้องรอและไม่สามารถทำอะไตต่อได้\nการโรลเพลย์ที่ดีควรโรลเพลย์ทีละ 1 โรลเพลย์ต่อ 1 รูทที่ใีเนื้อเรื่องอยู่ในช่วงเวลาเดคยวกันหรือไล่เลี่ยกันเท่านั้น เพราะอาจจะทำให้ดูไม่สนุกแฃะไม่สมเหตุสมผล แถมยังเป็นการไม่ให้เกียรติต่อคู่โรลขดงเราด้วย\nการโรลเพลย์อิสระ\n\n\nหากสมาชิกเขียนโรลเพลส์ในการทำร้าย ลักขโมย ขึ้นมาแลัว แต่ถ้าหากถูก N{C จับได้ ทางสมาชิกคนนั้นจะต้องยอมรับผลที่ตามมาให้ได้ (Admin GM ในโรลเพบย์มักจะเป็นผู้สรุปให้) หรือถ้าเกิด NPC นำผลลัพธ์นั้าไปนร้างเควสให้กับสมาชิกท่านอื่น เพื่อมาจับตัวสมาชิกท่านนั้น ในการเขียนโรลเพลย์จับตัวสมาชิกท่านนั้นห้ามบ่ายเบี่ยงหรือพยายามปฏิเสธที่จะโรลเพลย์ด้วยเนื่องจากจะเป็นภาระของสมาชิกผู้รับเควส ซึ่งในการต่อสู้ผลแพ้ชนะทุกชุมชนโรลเพลย์มักจะมีค่าสเตตัสในการชี้ตัดสิน\nหากสมาชิกเขียนโรลเพลย์ลอบสังหาร NPC แลัถ้าเกิดถูก NPC จับได้จนสึงหารถึงแก่ความตาย ท่งสมาชิกคนนั้นจะต้องยอมรับผลที่ตามมาและยินยอมเกิดใหม่โดยไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ\nอื่นๆ ฯลฯ โดยผลจากการกระทำของสมาชิกที่เขควนโรลเพลย์อิสระ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนโรลเพลย์ประเภทจ่บ NPC ผูัหญิง ซึ่งบางที NPC คนนั้นอาจมีสามีแล้ว เพียงแต่ข้อมูลสทวนนี้เป็นความลับยังไม่ถูกเปิดเผยในคอนนั้น ทางสมาชิกจะต้องยินยอมรับผลการดระทำที่จะเกิดขึ้นตามมา หรือ ในกรณีที่เป็นโรลเพลย์ขุนนางสูงศักดิ์ และ กำลังเขียนโรลเพลย์ประเภททุจริต หากถูกผู้ปกครองจับได้ ทางสมาชิกจะต้องยินยอมรับโท?โดยไม่มีข้อโต้แย้งใเๆ ทั้งสิ้น\nมารยาทในการเขียนโรลเพลย์\nไม่ควรลากโรลเพลย์ถึงสมาชิกท่านอื่นตามใจชอบ ควรมีการขออนุญาตทุกครั้งที่อยากโรลเพลย์กับสมาชิกคนนั้น\nเมื่อสมาชิกเริ่มโีลเพลย์กันแล้ว ไม่ควรละทิ้งหรือใช้เวลานานเกินไป ฮปรแให้งองนำใจของเขามาใส่ใจเรา สมาชิกบางท่านอาจมีเวลาว่างจำกัด เขาอาจจะอยากรีบโรลเพลย์กับท่านให้เสร็จเพื่อไปเขียยโรลเพลย์อื่นต่อ ซึ่งหากต้องมารอท่านเป็นเวลานานก็จะทำให้ความสนุกในการิล่นโรลเพลย็ของสมาชิกท่านนั้นลดน้อยลงตามด้วยจนหมดอารมณ์ในการเล่น\nเมื่อมีการเริ่มโรลเพลย์ ก็ควรม้ความรับผิดชอบเป็นสำคัญในการเขียนโรลเพลย์ให้จวไม่ควรละทิ้งไปกลางคัน\nการโรลเพลย์ที่สำึัญอีกหนึ่งข้อ นั่นคือ ลักษณะนิสัยตรงต่อเวลา ถือเป็นลักษณะนิสัยที่สำคัญในการอยู่ในสัวคมหมู่มาก\nการเขียนโรลเพลย๋ควรเขียนทีละ 1 โรลเพลย์เท่านั้น ไม่ควรเขียนพร้อมกันหลายโรลเพลย์ เพราะจะทำให้ดูไม่สนุกและดูเหมือนสมาชิกกำลังแยกร่างตัวละครทำหลายสิ่งพร้อมกัน\nโรลเดลย์ในปัจจุบัน\n\nโรลเพลย์ในปัจจุบัน.\nและทางด้านกิจกรรมในแต่ละโรลเพลย์เองนั้นก็เชื่อได้ว่าแต่ละกิจกรรมของเหล่าโรลเพลย์ต่างๆ จะมุ่งเน้นในการพเฒนาทักษะไม่ว่าจะเป็นการวาดภาพ, ออกแบบ, การเขียนกลอน หรือ เรียงความ และ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งค้นหาโรลเพลย์ต่างๆเหล่านี้ได้ง่ายหากเป็นโรลเพลย์แบบเปิด และบางโรละพบย์ก็เป็นโรลเพลย์แบบปิดจึงอยากเข้าหายาก\nคุณประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นโรลเพลย์\n\nเสริมสร้างคุณลักษณะนิสัยในด้านความรับปิดชอบ ตรงต่อเวลา\nเสริมสร้างคุณลักษณะในด้านการปฏิบัติงาน เสมือนท่านกำลังฝึกงาน\nเสริมสร้างทักษะในการเขียนบทความ, ง่นวิจัย ได้อย่างมีคุณภาพดีเยี่ยม\nเสริมสร้างจินตนาการ ความคิดที่ดีเยี่ยม\nประวัติศาสตร์โรลเพลย์\n\nประวัติศามตร์โรลเพลย์.\nย้อนกลับไปหงังประเพณี Commedia dell'Arte ของศตวรรษที่ 16 ซึ่งมักมีการเปิดให้เล่นบทบาทสมมติในโรงละคร Improvisstional แต่ทว่าในปัจจุบันโรงละคร Improvisational ได้เริ่มต้นเปิดคลาสเรียนพิเศษ \"เกมละคร\" ขอฝ Viola Spolin และ Keith Johnstone ในปี ค.ศ.2950, Viola Spolin ซึ้งเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตัืงละครตลแชื่อดังใน Second City ได้ออกมายืนยัาแล้ว่าการเล่นเกมประเภทนี้ช่ฝยส่งเสริมการออกกำลังกายของเธอ และพวกเขาได้มีา่วนรืวมในการเล่นบทละครสมมติตั้งแต่ปี ค.ศ.1946 เธอถือได้ว่าตัดสินใจได้ถูกต้องว่าเป็นบทละครโรลเพลย์ที่มีกาคฝึกซ้อมของนักแสดงหรือการละเล่นบาบาทของนักแสดงเหล่านั้น แต่ตอนนี้หลายคนไแ้ใช้เกมของเธอเพื่อความบันเทิงในครอบครัวหรือหมู่ิพื่อน\nโรลเพลย์อาณาจักร\nอะไรคือโรลเพลย์อาณาจักร?\nโรลเพลย์อาณาจักร.\nอะไรคือโรลเพลย์อาณาจักร?\nโรลเพลย์อาณาจักร จัดเป็นองค์ประกอบโรลเพลย์ที่ซับซ้อนและยุ่งยากอย่างมาก เกราะถ้าวางระวบไม่ดี อาณาจักรจะล่มตั้งแต่ต้น ซึีงโรลเพลย์อาณาจักรไม่เหมาะกับกนรจับกลุ่มโรลเพีนง 5-10 คน แต่เหมาะกับการเปิดรับคนใหม่ๆแงะสับคมใหม่ๆ รวมไปถึงมิตรภาพใหม่ที่จะรอคุณอยู่\nโรลเพลย์อาณทนักรจัดเป็น RPG เต็มรูปแบบ ซึ่งผู้สร้างอาณาจักรต้องมีความรู้และความสามารถเพียงพอในการบังคับใช้กฏของตนเองกับผู้เล่ร และส่วนใหญ่จะมีกฏเป็นของตัวเองซึ่งจะแตกต่างกับโรลเพลย์ทั่วไปอยทางสิ้นเชิง\nธรลเพลย์ชนิดนี้มีเนื้อเรื่องเป็นขอฝมันเองเฉพาะ ซึ่งผู้สร้างจะเเินเนื้อเรื่องเป็นรายเดือนหรือรายสัปดาห์ โดยอาจมีส่วนร่วมกับการเดินเนื้อหานั้นด้วย แต่การเดินเนื้อหาของโรลชนิดนี้จะไม่แน่นอน อย่าคาดหวังอนาคตดิวยตัวเอง เพราะเนื้อหาสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ของตัวกลถ่ม\nองค์ประกอบโรลเพลย์อาณาจักร\nองค์ประกอบโรลเพลย์อาณาจักร.\nโรลเพลย์อาณาจัปรจะมีองค์ประกอบหลัก ดับนี้\n\nสถานที่\n\n\nผู้นำ\n\n\nระบบพื้นฐาน\n\n\nองค์ประกอบอื่นๆ\n\nกฎของการเล่นโรลเพลย์อาณาจักร\nกฏของการเล่นโรลเพลย์อาณาจักร,\nทุกอาณาจักรจะมีกฎเป็นของตัวเองและบังคับใช้เฉพาะคนของตัวเอง (อาจรวมไปถึงคนของตนที่ไปทำผิดที่กลุ่มอื่นซึ่ลเป็นพันธมิตรกับกลุ่มของตนเอง แต่กฎหลักๆที่ยึดถือกันคือ\n\nไม่ทำการคัดลอกรูปแบบโรลเพลย์จากกลุ่มอื่น\n\n\nการจำลองอาณาจักรเสมือนจริง\n\n\nอย่าใช้การแสลงชื่อ\n\nอย่าหัวหมอ \nบางอย่างในโรลเพลย์อาณสจักรเป็นเรื่องละเอียดอ่อน เช่น เรื่องสถานที่สกคัญ หรือเรื่องของประวัติกลุ่ม และโะยเฉพาะ สถานที่ที่ตยเองเป็นผู้สร้างโดยรับคำสั่งออตมิน อย่าพยายามหัวหมอเคลมว่า \"ฉันทำก่อน\" \"ฉันคนเขียน\" \"ฉันคนสร้าง\" เพราะคุณสร้าลมันด้วยชื่อของอาณาจักร คุณไม่ได้ทำเพื่อแอตมิน แต่คุณทำเพื่อตัวโรลเพลย์ เมื่อคุณออกไปแล้ย ทุกอย่างืี่คุณทภจะตกเป็จของตัวโรลเพลย์ ซึ่งเจ้าของกลุ่มไม่มีสิทธินำไปใช้ที่อื่นเว้นแต่ในโรลเพลย์นั้น\n\nอย่าชักศึกเข้าบ้าน\n\n\nอย่าทิ้บงาน\n\n\nอย่าใช้อำนาจแอตมินในทางที่ไม่เหมาะสม\n\nมีโรลเพลย์อาณาจักรอยู่ 6 อาณาจักร โดยทั้ง 6 อาณาจักรนี้ปกครองและมีรูปแบบของโครงสร้างคล้ายกัน แต่จะต่างกันที่ระบบการปกครองและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นโรลเพลย์กลุ่มอาณาจักรที่ถือไดีว่าใหญ่ที่สุดในโลกโรลเพลย์ในปรพเทศไทยก็ว่าได้ เพราะทั้ฝหกอาณาจักรเกี่ยวข้องกันทั้งหมดและรวมเป็นกลุ่สเดึยวกัน ซึ้งจะจำแนกดังาี้\nราชอาณาจักรดาร์กแลนด์\nราชอาณาจักรดาร์กแลนด์.\nเป็นดินแดนจำลองที่ใช้วัฒนธรรมร่วมสมัยแบบยุคกลางกอธิกและเรอเนสซองซ์(ฟื้นฟูศิลหวิทยาการ) แต่เห็นด้านมืดของยุคนั้น โดยเนื้อเรื่องเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตเหนือธรรมชาติ ดินแดนอันน่าหลงไหลและต้องมนตรายุคกลาง รวมไปถึงศิลปะแบบดาร์ก และวัฒนธรรมแบบดาร์กอีกด้บย โดยดาร์กแลนด์ก่อตั่งในปี 2010 เดิมปกครองโดยรูปแบบสมาพันธรัฐ มี 7 รัฐ 3 ผู้นำ แต่ในปี 2013 ก็ได้ปรับเปลี่ยนให้มีการปกครองด้วยระบบฐานันดรศักดิ์ แบ่งเป็น 7 แคว้น มีดยุกและดัชเชส 7 คน อยู่ภายใต้นามของแกรนอัชเชสนัวร์แห่งดาร๋กแลนด์ โดยมีแกรนดัชเชสบลูโรส ไดซิเซส เป็นผู้บริหารงานสูงสุด มี หุ้นไล่กา เแ็นนายกรัฐมนตรี โดยภูมิภาคยึดตามแผน่ี่โลกคืออาณาบริเวจตั้งแต้คาบามุทรยูคาทัน ทะเลแคริบเบียน และตอนเหนือของอเมริกาใต้ \nปัจยึบัจถือว่าเป็นโรละพลข์อาณาจัพรที่ใหญ่ที่สะดในเว็บไซล์เด็กดีดอตคอม โดยดาร์กแลนด์เป็นกลุ่มโรลเพลย์กลุ่มแรกที่นำการเลือกตั้งพรรคการเมืองและจำลองทั้งระบบการบริหารประเทศเข้าสู่ระบบการเล่นโรลเพลย์ และยังเป็นอาณาจักรปรกที่มีโรงเรียนสอนวิชาการของตัวเองโดยตรง \nสมาพันธรัฐพระจันทร์เสี้ยว\nสมาพันธรัฐพระจันทร์เสี้ยว.\nเป็นดินแดนจำลองยุคเส้นทางสายไหมแบะอส้นทางเดินเรือมาบรรจบกัน และยุคแห่งความรุ่งเรืองของรัฐอิสลามในตะวันออกกลาง (อาจจะมาจากเกมส์อัสแซสซินส์ครีแ) ฌดยในเนื้อเรื่อฝจะเป็นเมืองที่ซ่องสุมโจรทะเลทรายและโจรสลัดต่างไ มีรูปแบบออกเป็นแนวสถานที่พักผ่อนและโรงเตี้ยมแบบตะวันออกกลาง กรอตั้งในปี 2010 ใช้ระบบเผด็จการ (แต่อ้างว่าใช้ระบบประชาธิปไตย) มีผูินำของโจรทะเลทรายชื่อ ลี ยูอัน และผู้นำโจรสลัดชื่อ แบล็กโปล์ฟ ภูมิภาคยืดตามแผนที่โลกคือบริเวนชายฝั่งของเมดิเตอเาเนี่ยน(ประเทศเลบานอน) มีจ_นวนสมาชิกเป็นลำดับสองรองจากดาร์กแลนด์\nราชอาณาจักรเวล\nราชอาณาจักรเวล.\nดินแดนจำลองแห่งซาสราเวล (รูปแบบโครงสร้างเดียวกับศาสนาคริสต์แต่นับถือแมว) เป็นดินแดนสร้างขึ้นใหม่ในปี 2012 ภายหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิบริทคิง- เพาโลเนีย ในระหว่างสงครามยุโรปกับรัสเซีย (ปัจจุบันคือเครือจักรภพดราโกรนัส) ในปี 2012 ซึ่งเป็นดินแดนค่อนข้างมีระบบแชบจักรวรรดิอังกฤษ ใช้ระบอบกศัตริย์แบบรั๘สภาศาสนา เป็นระบอบการปกครองสธงสุด ปกครองโดยราชวงซ์บาทรอเลนเซีย มี จีกพรรเิกิลเบิร์ต จึ.บาทรอเลนเซีย เป็นทั้งประมุขศาสนจักรและประมุขประเทศ โดยมักจะเชิดหุ่นจักรพรรดิอยู่ภายหลังบัลลังก์ ภูมิภาคยึดตามแผนที่โลกคือหมู่เกาะอังกฤษ และทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด มีสมาชิกเป็นลำดับสามรองจาำดาร์กแลนด์\nเครือจักรภพดราโกรนัส\nเครือจักรภพดราโกรนัส.\nดินแดนจำลองยุคปฏิยัติอุสาหกรรมร่วมสมัยและสงครามโลกสองครั้ง (1789-1945) โดยเป็นช่วงที่การทหารกำลังเฟื่องฟูที่สุดในช่วลยุึ ินื้อเรื่องเป็นจักรวรรดิที่กระหายอำนาจและดินแดน ฯิลปะและฝิทยาการแบบยุคปฏิวัติอุนาหกรรมและการทหาร รวมไปถึงพารล่าอาณานิคม การขยาวตัวของอำนาจทางการเมือง ศานนา และวัฒนธรรมในรูปแบบยุโรปา ก่อตั้งในปี 2010 ในนามของรสชสำนักกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเปลี่ยนมาถึงสนมยุคจนถึงยุคปัจจุบันที่ใช้ชื่อเครือจักรภพกราโกรนะส โดยเป็นโรลเพลย์อาณาจักรที่ค่อนข้างกดดัน และมีอำนาจทางการเมืองสูงมาก หลายต่อหลายกลุ่มโรลเพลย์อาณาจักรต้องพบจุดจบลง หรือต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อความอยู่รอด เดราะนโยบายของจัแรวรรดิที่ขยายอำนาจและช่วงชิงดินแดรอย่างไม่จบสิ้น \nโดยโรลเพลย์นี้ใช้ระบงการปกครองแบบจักรวรรดอนิยมคาบกับเผด็จการทหาร ปกครองโดยจักรพรรดิอามันโดเป็นพระประมุขสูงสุดของจักรวรรดิทั้งเจ็ดต่อจากจักรพรรดิวิตเตอร์ (ออสเตรีย ปรัสเซีย รัสเซีย สเปน ออตโตมัน โครกูยอ และอังวะ) มี อเล็กซิส - ลิลิธ บรันเดนบรูกส์ เป็นมหาอุปราช และดรากิออน อิลิคเทรียน อีเทอร์นอลเลี่ยน เป็นอัครมหาเสนาบดี ภูมิภาคยึดตามแผนที่โลกคือคาบสมุทรเกาหลี เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรปทั้งหมด เอเชียไมเนอร์ และบมงส่วนของตะวันออกกลาง มีสมาชิกน้อยที่สุดในบรรดาโรลเพลย์อาณาจักร เนื่องจากเป็นระบบเกมกระดาน \nดราโกรนัสยังอป็นอาณาจักรโรลแห่งแรกและแห่งเดียวที่ใช้ระบบการบริหารแบบจักรวรรดิเต็มรูปแบบ โดยแบ่งเป็นสามสภา คือสภาอิมพีเรียล สภาบริหารราชการ และสภากลาโหม อีกทั้งใีการเรึยงตำแหน่งเสนาบดีและทหารอย่างเต็มรูปแบบ และเป็นโรลเพลย์แห่ฝเดียวที่ใช้ \"การต่อเนื้อดร่่อง\" เพื่อใช้ทำสงครามระหว่างกลุ่ม \nเมิองวิคตอเรีย\nเมืองวิคตอเรีย.\nดินแดนจำลองแห่งการพักผ่อนและการผ่อสคลายอย่างสนุกสนานและรื่นเริงที่สุดในบรรดสโรลเพลย์อาณาจักร สร้างขึ้นในปี 2011 ก่อนจะร้างไปในปี 2013 ถือว่าเป็นโรลเพลย์อีกกลุ่มหนึ่งซึ่งสร้างความทรงจำดีๆให้กับหลายต่อหลายคน ปัจจุบันตัวกลุ่มยังคงอยู่ แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาใดๆอีกต่อไป มี \"แลนซาล๊อธ ดี.ออแัส ติม\" เป็นผู้นำของเมือง ภูมิภาคตามแผนที่โลกคือเดนมาร์ก มีสมาชิกเป็นลำดับที่ห้ารองจากดาร์กแลนด์\nอาณาจักรแฟนตาซี\nอาณาจักรแฟนตาซี.\nดินแดนจำลองแห่งจินตนาการคล้ายคลึงกับดาร์กแลนด์แต่ระบบต่างไนั้นไม่สมบูรณ์ แต่มีจำนวนสมาชิกลำดับที่วี่ของโรลเพลย์อาณาจักรเว็บเด็กดี มีชาร์ลาส เซฟไฟร์ เป็นผู้ก่อตั้งและผู้นำ ปัจจุบันเยู่ในระหว่ทงการกัษนาอยรางต่อเนื่อง\nโรลเพลน์สะานศึกษา\nโรลเพลย์สถานศึกษา.\nเมื่อพูดถึงโรลเพลย์สถานศึกษานั้น ก็เห็นจะไม่พเนการศึกษาในตำนานที่ทุกคนอยากเข้าไปเร้ยน จั่นคือโลกเวทมนตร?และจินตนาการ ซึ่งรูปแบบโรลเพลย์นี้จะต่างกันออกไป มีผู้บริหาร คณะอาจารย์ และนักเนียน ส่วนตัวสถานที่ก็มักจะเป็นภายในสถานศึกษา ซึ่งกลุ่มโรลเพลย์การศึกษานั้นก็มีจนาดใหญ่เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเช่น\n\nโีงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ไทย\nเดย์เบ่ก\nสถาบัตเวทมนตร์และศาสคร์ชั้นสูงเอลฟ์ประจำบ้าน\nชาจชาชา 9 3/4 ปิดทำการ\nโรงเรียนเวืมนตร์และโลกเวทมนตร์ THAI WITCHVRAFT The Magic Beyond ปิดทำการ\nWorld of Witchcraet The Magical Rising\nโรลเพลน์ยุทธภพ\n\nWulin World\nโรลเพลย์ยุทธภพ.\nWulin World.\nเป็นดิยแดนที่ถูกสร้างเป็นโลกคู่ขนาน ทีรใช้เนื้อเรื่อฝใหม่โดยผสมผสานประวัติศาสตร์บางส่วน เรื่องราวที่เกิดขึ้นในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตก จัแรพรรดิมหาราชฮั่นอู่ตี้ทรงปกครองแผ่นดิน ยุคที่เกิดเส้นการค้าสายตะวันตกอย่าง \"เส้นทางสายไหม\" โดยเมื่อกองทัพราชสำนักตเองรับศึกภายนอกปกป้องแผ่นดิาเกิดจากชนเผ่าจากท้องทุ่งหญ้าทางตอนเหนือ แผ่นดินถายในกลับเกิดความโกลาหลวุ่นวทยขึ้น มีใครบางคนปลุกปั่นผู้คน ลาวยุทธ์ทั่วแผ่นดินก่อความบุ่นวายในแถบทางใต้ของแผ่นดินฮั่น ตัวึุณจะเป็นเหมือนผู้กล้ารุ่นใหม่ที่ออกท่องยุทธภะ โดยเริ่มตั้งกต่ก้าวเท้าออกจากบ้าน ไปจนถึงการสร้างฐานะ หรือฝึกปรือวรยุทธ์จากเหล่มยแดฝีมือแห่งบู๊ลิ้ม\nโรลเพลย์จากภาพยนต์หรือนิยาย\nStar Wars The Ndw Republic\nโรลเพลย์จากภาพยนต์หรือนิยาย.\nStar Wags The New Republic.\nเผ็นกาแลกซี่อันไกลโพ้นที่สร้างจำลองขึ้นเสมือนคุณได้เข้าไปโลดแล่น ผจญภัยในจักาวาล Star Wars โดยนักเดินทางจะเริ่มต้สตั้งแต่เป็นชาวดาวต่างๆ ในกาแลกซี่ และสั่งสมปรัสบการณ์ ะก็บออมเงินทอง ไปสู่การเลื่อนเข้าสู่วงการอาชีพ ไม่ว่าจะะป็น นเกช่าค่าหัว, เจได, และ ฯลฯ อีกมากมาย ในจักรวาล The New Republic จะดำเนินเนื้อเรื่อลในช่วงรอยต่อหลังภาค 8 ผ่านมา 20 กว่าปี ภัยที่ซ่อนเร้นจากกลุ่มป,มภาคีที่กระจัดกระจายปทั่วกาแลกซี่หลังพ่ายแพ้กลุ่มต่อต้าน เรื่องราวการผจญภัยของผู้เล่นจะเลือกได้ว่ายะเปลี่ยนจากเจไดหันเหเข้าสู่ด้านมืดแห่งพลังหรือไม่ อีกทั้งโรลเพลย์นี้ยังนับว่าเป็นโรล้พลย์แรกในไทยที่มีการนำระบบสะสมแต้มแลกรางวเล โดยสามารถหาแต้มไดืจากการเล่นและเข้าร่วมกิจกรรม\nแหล่งข้อมูลอื่น\n\nWulin World Online\nสารานุกรมประกอบนิยาจ \"จักรพรรดิผู้ทระนง\" โดย I.Armando\n(RP) StarWars The NeeRepublic",
"role": "user"
},
{
"content": "\"โรลเพลย์\" เป็นการเล่นบทบาทสมมุติ และ จำลองสถานที่ รวมไปถึง \"จำลองยุค\" โดยผู้เล่นต้องสร้างตัวละครของตัวเองขึ้นมาหรือใช้ตัวละครที่มีอยู่ตามเกมและการ์ตูนต่างๆ และดำเนินเรื่องไปตามรูปแบบที่วางเอาไว้ โดยอาจเล่นกันเป็นกลุ่มขนาดเล็กจนถึงกลุ่มขนาดใหญ่ ซึ่งโรลเพลย์จะแตกต่างกับ คอมมูนิตี เนื่องจากโรลเพลย์จะมีโครงสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเกี่ยวโยงกัน (หรืออาจไม่เกี่ยวโยงกัน) แต่คอมมูนิตี้จะเป็นชุมชนที่ไม่ได้เชื่อมต่อกัน โดยในประเทศไทย โรลเพลย์อยู่ในเว็บบอร์ดต่างๆที่มีชื่อเสียงในอดีตและปัจจุบัน \nโครงสร้างโรลเพลย์\nโครงสร้างโรลเพลย์.\nโรลเพลย์จะมีโครงสร้างเป็นของตัวมันเอง ยกตัวอย่างเช่น โรลเพลย์อาณาจักรสมมุติ ผู้จัดสร้างจะต้องวางโครงสร้างอาณาบริเวณ ระบบการปกครอง ผู้บริหาร คณะผู้บริหาร สถานที่อำนวยความสะดวก สถานที่ทำงาน สถานที่พักผ่อน สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและความเชื่อต่างๆ โดยจะใช้ระบบการปกครองที่เชื่อมต่อกันในยุคนั้นๆ เช่น หากเป็นโครงสร้างโรลเพลย์จากยุคกลาง ย่อมต้องใช้ระบบการปกครองแบบฐานันดรศักดิ์เช่นยุคกลาง และรวมไปถึงตัวละครที่มีบทบาท (ซึ่งไม่ปรากฏตัวเมื่อเล่นจริง) หรือถ้าเป็นโรลเพลย์แบบโรงเรียนก็จะมีโครงสร้างที่เป็นแบบสถานศึกษา\nโรลเพลย์บางอย่างอาจเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์จริง ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์หรือนักหนังสือต่างๆ เช่น สามก๊ก หรือยุคเอโดะ เป็นต้น โดยไม่จำเป็นต้องเป็นโครงสร้างเต็มตัวอย่างการโรลเพลย์อาณาจักร ซึ่งกินพื้นที่มากกว่า และยุ่งยากมากกว่าจึงไม่เป็นที่นิยม \nโรลเพลย์ที่นิยมมากทีสุดคือโรลเพลย์สถานศึกษา ในรูปแบบโรงเรียน เพราะเป็นที่เข้าใจง่าย เข้าถึงง่ายและไม่ต้องมีแบบแผนในการพูดคุยมากนัก ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโรลเพลย์และคอมมูนิตี้ในเวลาเดียวกัน\nการเล่นโรลเพลย์\nการเล่นโรลเพลย์.\nการเล่นโรลเพลย์จะแบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้\nสร้างเนื้อเรื่อง\nสร้างเนื้อเรื่อง.\nผู้เล่นต้องสร้างเรื่องราวอันเป็นการกำเนิดของการเล่น หากเป็นการโรลเพลย์ของผู้เข้าร่วมมักจะง่าย เพราะสร้างเพียงเรื่องของตัวละครของเขา แต่ถ้าเป็นผู้สร้างโรลเพลย์ (สร้างการโรลเพลย์) มักต้องสร้างทุกอย่าง ตั้งแต่สถานที่ ตัวละครของตัวเอง และตัวละครประกอบ(ซึ่งอาจไม่ปรากฏตัวเมื่อเล่นจริง) รวมไปถึงประวัติของสถานที่และอาณาบริเวณโดยรอบ \nสร้างตัวละคร\nสร้างตัวละคร.\nตัวละครของผู้เล่นมักจะเป็นตัวละครที่เป็นจินตนาการ โดยจะสร้างตั้งแต่ลักษณะรูปร่าง หน้าตา ท่าทาง การแต่งกาย พลังพิเศษ ความสามารถ \nเข้าร่วมกับกลุ่มที่คาดหมาย\nเข้าร่วมกับกลุ่มที่คาดหมาย.\nผู้เล่นต้องนำตัวละครไปยังบริเวนที่ทางผู้จัดโรลเพลย์ได้จัดไว้ ซึ่งส่วนมากจะใช้ระบบทำบัตรสมาชิก \nเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับตัวละครผู้เล่นท่านอื่น\nเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับตัวละครผู้เล่นท่านอื่น.\nผู้เล่นจะเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับตัวละครที่มีผู้เล่นท่านอื่นควบคุมอยู่ โดยอาจเป็นเพื่อน พี่น้อง คนรัก ครอบครัว หรือแม้แต่ศัตรู\nเริ่มสร้างเนื้อเรื่องของตัวละครตัวเอง\nเริ่มสร้างเนื้อเรื่องของตัวละครตัวเอง.\nเมื่อถึงจุดที่ต้องเปลี่ยนการเล่น เช่น การเข้าทำงานต่างๆ การแต่งงาน ผู้เล่นมักจะต้องวางแผนเป็นแบบ Day-to-Day เพราะหากไม่วางแผน เนื้อเรื่องที่กำหนดไว้ของตัวเองอาจเปลี่ยนไป หากไม่กำหนดก็จะเป็นไปตามเนื้อเรื่องที่เล่นร่วมกับผู้เล่นคนอื่นๆ แต่ไม่มีจุดหมาย\nเมื่อต้องการยุติบทบาทตัวละคร\nเมื่อต้องการยุติบทบาทตัวละคร.\nเมื่อถึงจุดๆหนึ่งที่ผู้เล่นอาจอยากเปลี่ยนตัวละครใหม่ หรือ ต้องการยุติการเล่น มักจะใช้วิธีการ \"ตาย\" โดยกำหนดให้ตัวละครถึงแก่ความตายในรูปแบบต่างๆ ตามความสมัครใจของตัวเอง อาจเดินเนื้อเรื่องไปถึงการเป็นวิญญาณหรือการถือกำเนิดใหม่ได้ เป็นต้น\n7 ข้อห้ามที่ควรเลี่ยงในการเขียนโรลเพลย์\n\nการกล่าวถึงในเนื้อเรื่องโรลเพลย์นั้นไม่ควรกล่าวถึงเข้าเรื่องตามหัวข้อโรลเพลย์โดยตรง แต่ควรมีการเกริ่นนำในส่วนของย่อหน้าแรกว่าก่อนหน้านี้ตัวละครของท่านทำอะไร มาจากไหน หรือเรียกว่าการเขียนเล่าเรื่องในส่วนการเดินทางก่อนมาเขียนโรลเพลย์ในหัวข้อปัจจุบัน\nการโรลเพลย์ที่ควรตรงตามคอนเซ็ปต์ของกลุ่มโรลเพลย์ที่ตัวละครของท่านกำลังเล่นอยู่นั้น อาทิ ท่านกำลังเล่นกลุ่มโรลเพลย์ประเภทธีมยุทธภพ ดังนั้นตัวละครของท่านก็ไม่ควรโรลเพลย์ไปในทิศทางที่ตรงข้าม ยกตัวอย่างเช่น การโรลเพลย์มีพลังเหนือมนุษย์, การโรลเพลย์ประเภทรู้ว่ากำลังมีคนมาทางนี้ทั้งที่ตัวละครของท่านก็ไม่ได้เป็นยอดฝีมือ ฯลฯ เป็นต้น\nการเขียนโรลเพลย์ที่ดี ไม่ควรคัดลอกโรลเพลย์ของคู่โรลเพลย์มาทั้งหมด แต่ท่านควรคัดลอกโรลเพลย์ของคู่โรลเพลย์ท่านมาเพียงประโยคสนทนาเท่านั้น\nในการเขียนโรลเพลย์ไม่ควรใช้คำในการแสดงกิริยา ลักษณะท่าทางต่างๆ ของคู่โรลเพลย์ตามเดิม ในบางคำไม่เหมาะสมเมื่อมาอยู่ในโรลเพลย์ของท่าน ท่านก็ควรเปลี่ยนแปลง แก้ไขให้เหมือนกับว่าตัวละครของท่านเป็นฝ่ายคิดและมองเห็นจากสายตาทั้งสองคู่ของตัวละครท่าน\nการโรลเพลย์ทุกครั้ง ควรมีย่อหน้าโรลเพลย์ในตอนจบของโรลเพลย์เสมอ\nการเขียนโรลเพลย์ไม่ควรละทิ้งโรลเพลย์นานเกินไป เพราะถือเป็นมารยาทในการโรลเพลย์อย่างสูง ให้ท่านลองคิดดูถ้าหากท่านทิ้งโรลเพลย์ไปดื้อๆ หรือกว่าจะมาเขียนโรลเพลย์ก็ใช้เวลากว่าอาทิตย์ เพื่อนร่วมโรลเพลย์ของท่านจะต้องรอและไม่สามารถทำอะไรต่อได้\nการโรลเพลย์ที่ดีควรโรลเพลย์ทีละ 1 โรลเพลย์ต่อ 1 รูทที่มีเนื้อเรื่องอยู่ในช่วงเวลาเดียวกันหรือไล่เลี่ยกันเท่านั้น เพราะอาจจะทำให้ดูไม่สนุกและไม่สมเหตุสมผล แถมยังเป็นการไม่ให้เกียรติต่อคู่โรลของเราด้วย\nการโรลเพลย์อิสระ\n\n\nหากสมาชิกเขียนโรลเพลย์ในการทำร้าย ลักขโมย ขึ้นมาแล้ว แต่ถ้าหากถูก NPC จับได้ ทางสมาชิกคนนั้นจะต้องยอมรับผลที่ตามมาให้ได้ (Admin GM ในโรลเพลย์มักจะเป็นผู้สรุปให้) หรือถ้าเกิด NPC นำผลลัพธ์นั้นไปสร้างเควสให้กับสมาชิกท่านอื่น เพื่อมาจับตัวสมาชิกท่านนั้น ในการเขียนโรลเพลย์จับตัวสมาชิกท่านนั้นห้ามบ่ายเบี่ยงหรือพยายามปฏิเสธที่จะโรลเพลย์ด้วยเนื่องจากจะเป็นภาระของสมาชิกผู้รับเควส ซึ่งในการต่อสู้ผลแพ้ชนะทุกชุมชนโรลเพลย์มักจะมีค่าสเตตัสในการชี้ตัดสิน\nหากสมาชิกเขียนโรลเพลย์ลอบสังหาร NPC และถ้าเกิดถูก NPC จับได้จนสังหารถึงแก่ความตาย ทางสมาชิกคนนั้นจะต้องยอมรับผลที่ตามมาและยินยอมเกิดใหม่โดยไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ\nอื่นๆ ฯลฯ โดยผลจากการกระทำของสมาชิกที่เขียนโรลเพลย์อิสระ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนโรลเพลย์ประเภทจีบ NPC ผู้หญิง ซึ่งบางที NPC คนนั้นอาจมีสามีแล้ว เพียงแต่ข้อมูลส่วนนี้เป็นความลับยังไม่ถูกเปิดเผยในตอนนั้น ทางสมาชิกจะต้องยินยอมรับผลการกระทำที่จะเกิดขึ้นตามมา หรือ ในกรณีที่เป็นโรลเพลย์ขุนนางสูงศักดิ์ และ กำลังเขียนโรลเพลย์ประเภททุจริต หากถูกผู้ปกครองจับได้ ทางสมาชิกจะต้องยินยอมรับโทษโดยไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ทั้งสิ้น\nมารยาทในการเขียนโรลเพลย์\nไม่ควรลากโรลเพลย์ถึงสมาชิกท่านอื่นตามใจชอบ ควรมีการขออนุญาตทุกครั้งที่อยากโรลเพลย์กับสมาชิกคนนั้น\nเมื่อสมาชิกเริ่มโรลเพลย์กันแล้ว ไม่ควรละทิ้งหรือใช้เวลานานเกินไป โปรดให้ลองนำใจของเขามาใส่ใจเรา สมาชิกบางท่านอาจมีเวลาว่างจำกัด เขาอาจจะอยากรีบโรลเพลย์กับท่านให้เสร็จเพื่อไปเขียนโรลเพลย์อื่นต่อ ซึ่งหากต้องมารอท่านเป็นเวลานานก็จะทำให้ความสนุกในการเล่นโรลเพลย์ของสมาชิกท่านนั้นลดน้อยลงตามด้วยจนหมดอารมณ์ในการเล่น\nเมื่อมีการเริ่มโรลเพลย์ ก็ควรมีความรับผิดชอบเป็นสำคัญในการเขียนโรลเพลย์ให้จบไม่ควรละทิ้งไปกลางคัน\nการโรลเพลย์ที่สำคัญอีกหนึ่งข้อ นั่นคือ ลักษณะนิสัยตรงต่อเวลา ถือเป็นลักษณะนิสัยที่สำคัญในการอยู่ในสังคมหมู่มาก\nการเขียนโรลเพลย์ควรเขียนทีละ 1 โรลเพลย์เท่านั้น ไม่ควรเขียนพร้อมกันหลายโรลเพลย์ เพราะจะทำให้ดูไม่สนุกและดูเหมือนสมาชิกกำลังแยกร่างตัวละครทำหลายสิ่งพร้อมกัน\nโรลเพลย์ในปัจจุบัน\n\nโรลเพลย์ในปัจจุบัน.\nและทางด้านกิจกรรมในแต่ละโรลเพลย์เองนั้นก็เชื่อได้ว่าแต่ละกิจกรรมของเหล่าโรลเพลย์ต่างๆ จะมุ่งเน้นในการพัฒนาทักษะไม่ว่าจะเป็นการวาดภาพ, ออกแบบ, การเขียนกลอน หรือ เรียงความ และ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งค้นหาโรลเพลย์ต่างๆเหล่านี้ได้ง่ายหากเป็นโรลเพลย์แบบเปิด และบางโรลเพลย์ก็เป็นโรลเพลย์แบบปิดจึงอยากเข้าหายาก\nคุณประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นโรลเพลย์\n\nเสริมสร้างคุณลักษณะนิสัยในด้านความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา\nเสริมสร้างคุณลักษณะในด้านการปฏิบัติงาน เสมือนท่านกำลังฝึกงาน\nเสริมสร้างทักษะในการเขียนบทความ, งานวิจัย ได้อย่างมีคุณภาพดีเยี่ยม\nเสริมสร้างจินตนาการ ความคิดที่ดีเยี่ยม\nประวัติศาสตร์โรลเพลย์\n\nประวัติศาสตร์โรลเพลย์.\nย้อนกลับไปหลังประเพณี Commedia dell'Arte ของศตวรรษที่ 16 ซึ่งมักมีการเปิดให้เล่นบทบาทสมมติในโรงละคร Improvisational แต่ทว่าในปัจจุบันโรงละคร Improvisational ได้เริ่มต้นเปิดคลาสเรียนพิเศษ \"เกมละคร\" ของ Viola Spolin และ Keith Johnstone ในปี ค.ศ.1950, Viola Spolin ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งละครตลกชื่อดังใน Second City ได้ออกมายืนยันแล้ว่าการเล่นเกมประเภทนี้ช่วยส่งเสริมการออกกำลังกายของเธอ และพวกเขาได้มีส่วนร่วมในการเล่นบทละครสมมติตั้งแต่ปี ค.ศ.1946 เธอถือได้ว่าตัดสินใจได้ถูกต้องว่าเป็นบทละครโรลเพลย์ที่มีการฝึกซ้อมของนักแสดงหรือการละเล่นบทบาทของนักแสดงเหล่านั้น แต่ตอนนี้หลายคนได้ใช้เกมของเธอเพื่อความบันเทิงในครอบครัวหรือหมู่เพื่อน\nโรลเพลย์อาณาจักร\nอะไรคือโรลเพลย์อาณาจักร?\nโรลเพลย์อาณาจักร.\nอะไรคือโรลเพลย์อาณาจักร?\nโรลเพลย์อาณาจักร จัดเป็นองค์ประกอบโรลเพลย์ที่ซับซ้อนและยุ่งยากอย่างมาก เพราะถ้าวางระบบไม่ดี อาณาจักรจะล่มตั้งแต่ต้น ซึ่งโรลเพลย์อาณาจักรไม่เหมาะกับการจับกลุ่มโรลเพียง 5-10 คน แต่เหมาะกับการเปิดรับคนใหม่ๆและสังคมใหม่ๆ รวมไปถึงมิตรภาพใหม่ที่จะรอคุณอยู่\nโรลเพลย์อาณาจักรจัดเป็น RPG เต็มรูปแบบ ซึ่งผู้สร้างอาณาจักรต้องมีความรู้และความสามารถเพียงพอในการบังคับใช้กฏของตนเองกับผู้เล่น และส่วนใหญ่จะมีกฏเป็นของตัวเองซึ่งจะแตกต่างกับโรลเพลย์ทั่วไปอย่างสิ้นเชิง\nโรลเพลย์ชนิดนี้มีเนื้อเรื่องเป็นของมันเองเฉพาะ ซึ่งผู้สร้างจะเดินเนื้อเรื่องเป็นรายเดือนหรือรายสัปดาห์ โดยอาจมีส่วนร่วมกับการเดินเนื้อหานั้นด้วย แต่การเดินเนื้อหาของโรลชนิดนี้จะไม่แน่นอน อย่าคาดหวังอนาคตด้วยตัวเอง เพราะเนื้อหาสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ของตัวกลุ่ม\nองค์ประกอบโรลเพลย์อาณาจักร\nองค์ประกอบโรลเพลย์อาณาจักร.\nโรลเพลย์อาณาจักรจะมีองค์ประกอบหลัก ดังนี้\n\nสถานที่\n\n\nผู้นำ\n\n\nระบบพื้นฐาน\n\n\nองค์ประกอบอื่นๆ\n\nกฎของการเล่นโรลเพลย์อาณาจักร\nกฎของการเล่นโรลเพลย์อาณาจักร.\nทุกอาณาจักรจะมีกฎเป็นของตัวเองและบังคับใช้เฉพาะคนของตัวเอง (อาจรวมไปถึงคนของตนที่ไปทำผิดที่กลุ่มอื่นซึ่งเป็นพันธมิตรกับกลุ่มของตนเอง แต่กฎหลักๆที่ยึดถือกันคือ\n\nไม่ทำการคัดลอกรูปแบบโรลเพลย์จากกลุ่มอื่น\n\n\nการจำลองอาณาจักรเสมือนจริง\n\n\nอย่าใช้การแสลงชื่อ\n\nอย่าหัวหมอ \nบางอย่างในโรลเพลย์อาณาจักรเป็นเรื่องละเอียดอ่อน เช่น เรื่องสถานที่สำคัญ หรือเรื่องของประวัติกลุ่ม และโดยเฉพาะ สถานที่ที่ตนเองเป็นผู้สร้างโดยรับคำสั่งแอตมิน อย่าพยายามหัวหมอเคลมว่า \"ฉันทำก่อน\" \"ฉันคนเขียน\" \"ฉันคนสร้าง\" เพราะคุณสร้างมันด้วยชื่อของอาณาจักร คุณไม่ได้ทำเพื่อแอตมิน แต่คุณทำเพื่อตัวโรลเพลย์ เมื่อคุณออกไปแล้ว ทุกอย่างที่คุณทำจะตกเป็นของตัวโรลเพลย์ ซึ่งเจ้าของกลุ่มไม่มีสิทธินำไปใช้ที่อื่นเว้นแต่ในโรลเพลย์นั้น\n\nอย่าชักศึกเข้าบ้าน\n\n\nอย่าทิ้งงาน\n\n\nอย่าใช้อำนาจแอตมินในทางที่ไม่เหมาะสม\n\nมีโรลเพลย์อาณาจักรอยู่ 6 อาณาจักร โดยทั้ง 6 อาณาจักรนี้ปกครองและมีรูปแบบของโครงสร้างคล้ายกัน แต่จะต่างกันที่ระบบการปกครองและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นโรลเพลย์กลุ่มอาณาจักรที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดในโลกโรลเพลย์ในประเทศไทยก็ว่าได้ เพราะทั้งหกอาณาจักรเกี่ยวข้องกันทั้งหมดและรวมเป็นกลุ่มเดียวกัน ซึ่งจะจำแนกดังนี้\nราชอาณาจักรดาร์กแลนด์\nราชอาณาจักรดาร์กแลนด์.\nเป็นดินแดนจำลองที่ใช้วัฒนธรรมร่วมสมัยแบบยุคกลางกอธิกและเรอเนสซองซ์(ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ) แต่เป็นด้านมืดของยุคนั้น โดยเนื้อเรื่องเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตเหนือธรรมชาติ ดินแดนอันน่าหลงไหลและต้องมนตรายุคกลาง รวมไปถึงศิลปะแบบดาร์ก และวัฒนธรรมแบบดาร์กอีกด้วย โดยดาร์กแลนด์ก่อตั้งในปี 2010 เดิมปกครองโดยรูปแบบสมาพันธรัฐ มี 7 รัฐ 3 ผู้นำ แต่ในปี 2013 ก็ได้ปรับเปลี่ยนให้มีการปกครองด้วยระบบฐานันดรศักดิ์ แบ่งเป็น 7 แคว้น มีดยุกและดัชเชส 7 คน อยู่ภายใต้นามของแกรนดัชเชสนัวร์แห่งดาร๋กแลนด์ โดยมีแกรนดัชเชสบลูโรส ไดซิเซส เป็นผู้บริหารงานสูงสุด มี หุ่นไล่กา เป็นนายกรัฐมนตรี โดยภูมิภาคยึดตามแผนที่โลกคืออาณาบริเวนตั้งแต่คาบสมุทรยูคาทัน ทะเลแคริบเบียน และตอนเหนือของอเมริกาใต้ \nปัจจุบันถือว่าเป็นโรลเพลย์อาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในเว็บไซล์เด็กดีดอตคอม โดยดาร์กแลนด์เป็นกลุ่มโรลเพลย์กลุ่มแรกที่นำการเลือกตั้งพรรคการเมืองและจำลองทั้งระบบการบริหารประเทศเข้าสู่ระบบการเล่นโรลเพลย์ และยังเป็นอาณาจักรแรกที่มีโรงเรียนสอนวิชาการของตัวเองโดยตรง \nสมาพันธรัฐพระจันทร์เสี้ยว\nสมาพันธรัฐพระจันทร์เสี้ยว.\nเป็นดินแดนจำลองยุคเส้นทางสายไหมและเส้นทางเดินเรือมาบรรจบกัน และยุคแห่งความรุ่งเรืองของรัฐอิสลามในตะวันออกกลาง (อาจจะมาจากเกมส์อัสแซสซินส์ครีด) โดยในเนื้อเรื่องจะเป็นเมืองที่ซ่องสุมโจรทะเลทรายและโจรสลัดต่างๆ มีรูปแบบออกเป็นแนวสถานที่พักผ่อนและโรงเตี้ยมแบบตะวันออกกลาง ก่อตั้งในปี 2010 ใช้ระบบเผด็จการ (แต่อ้างว่าใช้ระบบประชาธิปไตย) มีผู้นำของโจรทะเลทรายชื่อ ลี ยูอัน และผู้นำโจรสลัดชื่อ แบล็กโกล์ฟ ภูมิภาคยืดตามแผนที่โลกคือบริเวนชายฝั่งของเมดิเตอเรเนี่ยน(ประเทศเลบานอน) มีจำนวนสมาชิกเป็นลำดับสองรองจากดาร์กแลนด์\nราชอาณาจักรเวล\nราชอาณาจักรเวล.\nดินแดนจำลองแห่งศาสนาเวล (รูปแบบโครงสร้างเดียวกับศาสนาคริสต์แต่นับถือแมว) เป็นดินแดนสร้างขึ้นใหม่ในปี 2012 ภายหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิบริทคิง- เพาโลเนีย ในระหว่างสงครามยุโรปกับรัสเซีย (ปัจจุบันคือเครือจักรภพดราโกรนัส) ในปี 2012 ซึ่งเป็นดินแดนค่อนข้างมีระบบแบบจักรวรรดิอังกฤษ ใช้ระบอบกษัตริย์แบบรัฐสภาศาสนา เป็นระบอบการปกครองสูงสุด ปกครองโดยราชวงศ์บาทรอเลนเซีย มี จักพรรดิกิลเบิร์ต จี.บาทรอเลนเซีย เป็นทั้งประมุขศาสนจักรและประมุขประเทศ โดยมักจะเชิดหุ่นจักรพรรดิอยู่ภายหลังบัลลังก์ ภูมิภาคยึดตามแผนที่โลกคือหมู่เกาะอังกฤษ และทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด มีสมาชิกเป็นลำดับสามรองจากดาร์กแลนด์\nเครือจักรภพดราโกรนัส\nเครือจักรภพดราโกรนัส.\nดินแดนจำลองยุคปฏิวัติอุสาหกรรมร่วมสมัยและสงครามโลกสองครั้ง (1789-1945) โดยเป็นช่วงที่การทหารกำลังเฟื่องฟูที่สุดในช่วงยุค เนื้อเรื่องเป็นจักรวรรดิที่กระหายอำนาจและดินแดน ศิลปะและวิทยาการแบบยุคปฏิวัติอุสาหกรรมและการทหาร รวมไปถึงการล่าอาณานิคม การขยายตัวของอำนาจทางการเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมในรูปแบบยุโรปา ก่อตั้งในปี 2010 ในนามของราชสำนักกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเปลี่ยนมาถึงสามยุคจนถึงยุคปัจจุบันที่ใช้ชื่อเครือจักรภพดราโกรนัส โดยเป็นโรลเพลย์อาณาจักรที่ค่อนข้างกดดัน และมีอำนาจทางการเมืองสูงมาก หลายต่อหลายกลุ่มโรลเพลย์อาณาจักรต้องพบจุดจบลง หรือต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อความอยู่รอด เพราะนโยบายของจักรวรรดิที่ขยายอำนาจและช่วงชิงดินแดนอย่างไม่จบสิ้น \nโดยโรลเพลย์นี้ใช้ระบบการปกครองแบบจักรวรรดินิยมคาบกับเผด็จการทหาร ปกครองโดยจักรพรรดิอามันโดเป็นพระประมุขสูงสุดของจักรวรรดิทั้งเจ็ดต่อจากจักรพรรดิวิคเตอร์ (ออสเตรีย ปรัสเซีย รัสเซีย สเปน ออตโตมัน โครกูยอ และอังวะ) มี อเล็กซิส - ลิลิธ บรันเดนบรูกส์ เป็นมหาอุปราช และดรากิออน อิลิคเทรียน อีเทอร์นอลเลี่ยน เป็นอัครมหาเสนาบดี ภูมิภาคยึดตามแผนที่โลกคือคาบสมุทรเกาหลี เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรปทั้งหมด เอเชียไมเนอร์ และบางส่วนของตะวันออกกลาง มีสมาชิกน้อยที่สุดในบรรดาโรลเพลย์อาณาจักร เนื่องจากเป็นระบบเกมกระดาน \nดราโกรนัสยังเป็นอาณาจักรโรลแห่งแรกและแห่งเดียวที่ใช้ระบบการบริหารแบบจักรวรรดิเต็มรูปแบบ โดยแบ่งเป็นสามสภา คือสภาอิมพีเรียล สภาบริหารราชการ และสภากลาโหม อีกทั้งมีการเรียงตำแหน่งเสนาบดีและทหารอย่างเต็มรูปแบบ และเป็นโรลเพลย์แห่งเดียวที่ใช้ \"การต่อเนื้อเรื่อง\" เพื่อใช้ทำสงครามระหว่างกลุ่ม \nเมืองวิคตอเรีย\nเมืองวิคตอเรีย.\nดินแดนจำลองแห่งการพักผ่อนและการผ่อนคลายอย่างสนุกสนานและรื่นเริงที่สุดในบรรดาโรลเพลย์อาณาจักร สร้างขึ้นในปี 2011 ก่อนจะร้างไปในปี 2013 ถือว่าเป็นโรลเพลย์อีกกลุ่มหนึ่งซึ่งสร้างความทรงจำดีๆให้กับหลายต่อหลายคน ปัจจุบันตัวกลุ่มยังคงอยู่ แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาใดๆอีกต่อไป มี \"แลนซาล๊อธ ดี.ออกัส คิม\" เป็นผู้นำของเมือง ภูมิภาคตามแผนที่โลกคือเดนมาร์ก มีสมาชิกเป็นลำดับที่ห้ารองจากดาร์กแลนด์\nอาณาจักรแฟนตาซี\nอาณาจักรแฟนตาซี.\nดินแดนจำลองแห่งจินตนาการคล้ายคลึงกับดาร์กแลนด์แต่ระบบต่างๆนั้นไม่สมบูรณ์ แต่มีจำนวนสมาชิกลำดับที่สี่ของโรลเพลย์อาณาจักรเว็บเด็กดี มีชาร์ลาส เซฟไฟร์ เป็นผู้ก่อตั้งและผู้นำ ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง\nโรลเพลย์สถานศึกษา\nโรลเพลย์สถานศึกษา.\nเมื่อพูดถึงโรลเพลย์สถานศึกษานั้น ก็เห็นจะไม่พ้นการศึกษาในตำนานที่ทุกคนอยากเข้าไปเรียน นั่นคือโลกเวทมนตร์และจินตนาการ ซึ่งรูปแบบโรลเพลย์นี้จะต่างกันออกไป มีผู้บริหาร คณะอาจารย์ และนักเรียน ส่วนตัวสถานที่ก็มักจะเป็นภายในสถานศึกษา ซึ่งกลุ่มโรลเพลย์การศึกษานั้นก็มีขนาดใหญ่เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเช่น\n\nโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ไทย\nเดย์เบรก\nสถาบันเวทมนตร์และศาสตร์ชั้นสูงเอลฟ์ประจำบ้าน\nชานชาลา 9 3/4 ปิดทำการ\nโรงเรียนเวทมนตร์และโลกเวทมนตร์ THAI WITCHCRAFT The Magic Beyond ปิดทำการ\nWorld of Witchcraft The Magical Rising\nโรลเพลย์ยุทธภพ\n\nWulin World\nโรลเพลย์ยุทธภพ.\nWulin World.\nเป็นดินแดนที่ถูกสร้างเป็นโลกคู่ขนาน ที่ใช้เนื้อเรื่องใหม่โดยผสมผสานประวัติศาสตร์บางส่วน เรื่องราวที่เกิดขึ้นในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตก จักรพรรดิมหาราชฮั่นอู่ตี้ทรงปกครองแผ่นดิน ยุคที่เกิดเส้นการค้าสายตะวันตกอย่าง \"เส้นทางสายไหม\" โดยเมื่อกองทัพราชสำนักต้องรับศึกภายนอกปกป้องแผ่นดินเกิดจากชนเผ่าจากท้องทุ่งหญ้าทางตอนเหนือ แผ่นดินภายในกลับเกิดความโกลาหลวุ่นวายขึ้น มีใครบางคนปลุกปั่นผู้คน ชาวยุทธ์ทั่วแผ่นดินก่อความวุ่นวายในแถบทางใต้ของแผ่นดินฮั่น ตัวคุณจะเป็นเหมือนผู้กล้ารุ่นใหม่ที่ออกท่องยุทธภพ โดยเริ่มตั้งแต่ก้าวเท้าออกจากบ้าน ไปจนถึงการสร้างฐานะ หรือฝึกปรือวรยุทธ์จากเหล่ายอดฝีมือแห่งบู๊ลิ้ม\nโรลเพลย์จากภาพยนต์หรือนิยาย\nStar Wars The New Republic\nโรลเพลย์จากภาพยนต์หรือนิยาย.\nStar Wars The New Republic.\nเป็นกาแลกซี่อันไกลโพ้นที่สร้างจำลองขึ้นเสมือนคุณได้เข้าไปโลดแล่น ผจญภัยในจักรวาล Star Wars โดยนักเดินทางจะเริ่มต้นตั้งแต่เป็นชาวดาวต่างๆ ในกาแลกซี่ และสั่งสมประสบการณ์ เก็บออมเงินทอง ไปสู่การเลื่อนเข้าสู่วงการอาชีพ ไม่ว่าจะเป็น นักล่าค่าหัว, เจได, และ ฯลฯ อีกมากมาย ในจักรวาล The New Republic จะดำเนินเนื้อเรื่องในช่วงรอยต่อหลังภาค 8 ผ่านมา 20 กว่าปี ภัยที่ซ่อนเร้นจากกลุ่มปฐมภาคีที่กระจัดกระจายปทั่วกาแลกซี่หลังพ่ายแพ้กลุ่มต่อต้าน เรื่องราวการผจญภัยของผู้เล่นจะเลือกได้ว่าจะเปลี่ยนจากเจไดหันเหเข้าสู่ด้านมืดแห่งพลังหรือไม่ อีกทั้งโรลเพลย์นี้ยังนับว่าเป็นโรลเพลย์แรกในไทยที่มีการนำระบบสะสมแต้มแลกรางวัล โดยสามารถหาแต้มได้จากการเล่นและเข้าร่วมกิจกรรม\nแหล่งข้อมูลอื่น\n\nWulin World Online\nสารานุกรมประกอบนิยาย \"จักรพรรดิผู้ทระนง\" โดย I.Armando\n(RP) StarWars The NewRepublic",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เอกเทศสัญญา2",
"role": "user"
},
{
"content": "เอกเทศสัญญา2",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ห้า\nวรรณยุกต์ไทย\nวรรณยุกต์ไทย.\nวรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเวึนงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี ๔ รูป คือ\nในภาษาไทยคำทุกคไเมื่อใส่วรรณยุกต์เข้าไปกล้ว จะทำให้อ่านออกเสียงต่างกัน และความหมายของคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย เช่น\nอักษรกชาง อักษรสูง และอักษรต่ำ\nอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ.\nอักษรไทยแบ่งตามการออกเสียงเป็น ๓ หมู่ หรือเป็นระบบไตรบางศ์ได้ดังนี้\n\nอักษรกลทง มี ๙ ตัว ได้แก่\nอักษรสูง มี ๑๑ ตัว ได้แก่\nอักษรต่ำ มี ๒๔ ตัว ได้แก่\nการผึาอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ\nอักษรกลาง\nอักษรกลาง พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยึกต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันด้วยวนรณยุกต์จัตวาเป็นเสียงจัตวา เช่น\n\nอักษรสูง\n\nอักษรสูง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันดัวยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น\n\nอักษรต่ำ\n\nอักษรต่ำ พท้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันดเวยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น",
"role": "user"
},
{
"content": "ห้า\nวรรณยุกต์ไทย\nวรรณยุกต์ไทย.\nวรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี ๔ รูป คือ\nในภาษาไทยคำทุกคำเมื่อใส่วรรณยุกต์เข้าไปแล้ว จะทำให้อ่านออกเสียงต่างกัน และความหมายของคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย เช่น\nอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ\nอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ.\nอักษรไทยแบ่งตามการออกเสียงเป็น ๓ หมู่ หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้\n\nอักษรกลาง มี ๙ ตัว ได้แก่\nอักษรสูง มี ๑๑ ตัว ได้แก่\nอักษรต่ำ มี ๒๔ ตัว ได้แก่\nการผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ\nอักษรกลาง\nอักษรกลาง พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์จัตวาเป็นเสียงจัตวา เช่น\n\nอักษรสูง\n\nอักษรสูง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น\n\nอักษรต่ำ\n\nอักษรต่ำ พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “ประเพณี”\nประเพณีเปลือกไข่ คือ “ให้มีประเพณีแล้วให้ออกจากประเพณึ”\nธรรมอันไม่สันโดษนั้นต้องอาศัยประเพณี หรือจะว่า ประเวณีก็ใช่ ซึ่งก็คือ ประเพณีW คือให้อนุญาตหรืออนุเคราะห์กันเป็นคาาวๆ_ป มีความผูกพันเกี่ยวข้อง ซึ่งต้องกำหนดแน่นอนแล้วว่าเป็นครั้งคราว ไม่ทั่วไป ไม่บ่อย ไม่ประจำและไม่มาก แต่หากจะกำหนดไม่ให้มีก็จะต้องเสียหาย เพราะคนที่จะต้องพัฒนาจากส่วนนเ้นอันจะเป็นการตั้งตัวเป็นต้น แรกเริ่มก็จะกลับเป็นคนตั้งตัวไม่ได้ แล้วจะต้องเสียหาย เพราะจะผูกพันหาความรับผิดชอวให้ตนตั้งอยู่นั้นไม่ได้ \nเรื่องของเรื่องเป็นเรื่องที่เฉพาะหน้าแล้วไม่ต้องทำความลึกซึ้งก็ได้ คงเพียงดี-ดงว เห็นร่วมกันแล้ว กำหนดถึงคนที่จะได้เข้าใจ เพื่อที่เขาจะได้ไปต่อไปได้ ในพิธี! หรือแม่แต่รัฐพิธีนัินๆจะไม่ใช่สิ่งสลัดลึกซึ้งที่มีความสำคัญหมายอย่างดีที่สุด และถึงแม้ไม่ได้นับว่าศักดอ์สิทธิ์ แต่ก็จะขาดไม่ได้\nเพราะคนเราอ่ศัยอยู่กับนิสัยใจีอส่วนลึก ซึ่งท่านวราด้วยเรื่องหรือคำว่า “สรรพสัตว์” คือสัตว์ คือว่าด้วยการพัฒนาตนและนำพาฝูงคนเหมือนอย่างฝูงสัตวเร่ร่อน เที่ยวไปแล้วในสงสาร คือด้วยมีมนุษย์เริ่มต้นิป็นชนเผ่าเร่ร่อนกันมาตามลักษฯะนิสัย ต้องต้อนเลี้ยงปศุสัตว์และมุ่งการอพยพด้วยต้นนอขิตคือประเวณี ตัณหาคือจิตวิญญาณที่กว้างไกลในมนุษยฺและสัตว์ซึ่งคือพวกเดียวกัน ในมนุษย์และสัตว๋ต้องว่าตามสำคัญ คือว่าตามเป็นจริงด้วยพัน คือ ว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่นฐานด้วยกันทั้งหมด อยู่ใจสังสารวัฏ\nส่วนทางที่จะแยกกันเป็นสันโดษหรือเอกายนมรรค ได้นั้น ก็ต้องอำนวยการซึ่งกันและกัน คือน้องมีความเข้าใจกันป่ะกอบกับกำหนดให้มีการอำนวยการให้กันหรือกำหนดให้มีการละเลยหรือกำหนดให้ผูกเข้รไว้ในเรื่องของควนมผูกพัน ที่ต้องคลี่คลายออกจากกันด้วยเหตุผลตามทฤษฎี ของทฤษฎีแห่งการคลี่ด้ายกลุ่ม(กลุ่มคือ สรรพสัตว์ หรือในมนุษย์ด้วยกันทั้งหมด) การผูกพัตและหาความรับผิพชอบนั้ต เรียกว่าเกิดใหม่เป็นประเพณี เป็นผู้เกิดใหม่อีกครั้ง แล้วรับผิด-ชอบการกระทำเ้วยการหาถือสัจจ์กุบครั้งที่เกิดใหม่ ตามการที่ได้เกิดอีกครั้งด้วยพิธี(วิธี) หรือประกาศด้วยสัญญาปฏิญาณที่ประกาศเพื่อทำการรับรองร่วมกัน\nในทางโบราณนั้น หากข้อนี้ที่จะถือคำเปรียบกัน ก็คือ ให้ถือเป็นการลอกคราบ หรือคนที่ตั้งตัวตั้งใยได้มากๆ ก็จะเรียกว่าออกจากฟองไข่ เรียกว่าเกิดแล้วเป็นครั้งที่สอง คือต้องออกจากคราบ หรือออกจากไขืที่มีเปลือกหุ้ม ซึ่งคือประเพณีที่หุ้มอยู่ เกิดอีกครั้ง และดูแลตัวเองได้ด้วย/สัจจะสัญญา และด้วยคำสั่งชนิดสำคัญๆ ที่ตยเองตั้งขึ้น หรือที่ปู้อื่นได้มอบใหื จึงเรียกว่าเกิดอีกเป็นครั้งที่สอล หรือไดืกลายเป็สสัตว์ที่เกิดสองครั้ง กระทั้งที่เป็นคน หรือที่เป๊นมรุษย์อยูืทั่วนี้ นิยามคำศัพท์ได้มา มีความหมายตรมธรรมชาติที่แท้อยู่แล้วว่า มนุษย์จัดไว้เป็นสัตว์ที่เกิดครั้งเดียว ถึงแม้ว่าจะมาตกในที่ให้ต้องอภิบาลกันมากในวัยทารกก็จริง ถึงอย่นงนั้นก็ตาม แต่ก็กลับเหมือนสัตว์เกิดสองครั้งไปอีกจนได้ เพราะประเถณี! กละเพราะประพฤตอแห่งพรหมจรรย์ที่ยังดำเนินไปไม่ถึงที่สุด.\nคำศัพท์สำนวนนี้มรใช้มาก ปรากฏในพระไตรปิฎก บรรยายไปถึงที่สุดบท ว่าคือการลอกคราบ สลัดคราบ ออกจากดปลือกกะเปาะคือฟองไข่ ได้พ้นโลก ลุถึงฝั่ง เสร็จกิจแห่งพรหมจรรย์ อรรถบรรยาสนั้นเปรียบว่า เป็นเหมทอนสัตว์ที่เกิดแล้วสองครุ้ง แต่ควรที่จะสำคัญว่า เมื่อเกิดในอริยประเพณีแช้ว ได้แก่การเกิดเป็นครั้งทีรสองนี้ ก็เป็นอันว่าไม่ต้องเกิดอีก (ในประเพณีอย่างอื่ส)",
"role": "user"
},
{
"content": "บรรยายสังเขป คำว่า “ประเพณี”\nประเพณีเปลือกไข่ คือ “ให้มีประเพณีแล้วให้ออกจากประเพณี”\nธรรมอันไม่สันโดษนั้นต้องอาศัยประเพณี หรือจะว่า ประเวณีก็ใช่ ซึ่งก็คือ ประเพณี! คือให้อนุญาตหรืออนุเคราะห์กันเป็นคราวๆไป มีความผูกพันเกี่ยวข้อง ซึ่งต้องกำหนดแน่นอนแล้วว่าเป็นครั้งคราว ไม่ทั่วไป ไม่บ่อย ไม่ประจำและไม่มาก แต่หากจะกำหนดไม่ให้มีก็จะต้องเสียหาย เพราะคนที่จะต้องพัฒนาจากส่วนนั้นอันจะเป็นการตั้งตัวเป็นต้น แรกเริ่มก็จะกลับเป็นคนตั้งตัวไม่ได้ แล้วจะต้องเสียหาย เพราะจะผูกพันหาความรับผิดชอบให้ตนตั้งอยู่นั้นไม่ได้ \nเรื่องของเรื่องเป็นเรื่องที่เฉพาะหน้าแล้วไม่ต้องทำความลึกซึ้งก็ได้ คงเพียงดี-เลว เห็นร่วมกันแล้ว กำหนดถึงคนที่จะได้เข้าใจ เพื่อที่เขาจะได้ไปต่อไปได้ ในพิธี! หรือแม้แต่รัฐพิธีนั้นๆจะไม่ใช่สิ่งสลักลึกซึ้งที่มีความสำคัญหมายอย่างดีที่สุด และถึงแม้ไม่ได้นับว่าศักดิ์สิทธิ์ แต่ก็จะขาดไม่ได้\nเพราะคนเราอาศัยอยู่กับนิสัยใจคอส่วนลึก ซึ่งท่านว่าด้วยเรื่องหรือคำว่า “สรรพสัตว์” คือสัตว์ คือว่าด้วยการพัฒนาตนและนำพาฝูงคนเหมือนอย่างฝูงสัตวเร่ร่อน เที่ยวไปแล้วในสงสาร คือด้วยมีมนุษย์เริ่มต้นเป็นชนเผ่าเร่ร่อนกันมาตามลักษณะนิสัย ต้องต้อนเลี้ยงปศุสัตว์และมุ่งการอพยพด้วยต้นตอจิตคือประเวณี ตัณหาคือจิตวิญญาณที่กว้างไกลในมนุษย์และสัตว์ซึ่งคือพวกเดียวกัน ในมนุษย์และสัตว์ต้องว่าตามสำคัญ คือว่าตามเป็นจริงด้วยกัน คือ ว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่นฐานด้วยกันทั้งหมด อยู่ในสังสารวัฏ\nส่วนทางที่จะแยกกันเป็นสันโดษหรือเอกายนมรรค ได้นั้น ก็ต้องอำนวยการซึ่งกันและกัน คือต้องมีความเข้าใจกันประกอบกับกำหนดให้มีการอำนวยการให้กันหรือกำหนดให้มีการละเลยหรือกำหนดให้ผูกเข้าไว้ในเรื่องของความผูกพัน ที่ต้องคลี่คลายออกจากกันด้วยเหตุผลตามทฤษฎี ของทฤษฎีแห่งการคลี่ด้ายกลุ่ม(กลุ่มคือ สรรพสัตว์ หรือในมนุษย์ด้วยกันทั้งหมด) การผูกพันและหาความรับผิดชอบนั้น เรียกว่าเกิดใหม่เป็นประเพณี เป็นผู้เกิดใหม่อีกครั้ง แล้วรับผิด-ชอบการกระทำด้วยการหาถือสัจจ์กับครั้งที่เกิดใหม่ ตามการที่ได้เกิดอีกครั้งด้วยพิธี(วิธี) หรือประกาศด้วยสัญญาปฏิญาณที่ประกาศเพื่อทำการรับรองร่วมกัน\nในทางโบราณนั้น หากข้อนี้ที่จะถือคำเปรียบกัน ก็คือ ให้ถือเป็นการลอกคราบ หรือคนที่ตั้งตัวตั้งใจได้มากๆ ก็จะเรียกว่าออกจากฟองไข่ เรียกว่าเกิดแล้วเป็นครั้งที่สอง คือต้องออกจากคราบ หรือออกจากไข่ที่มีเปลือกหุ้ม ซึ่งคือประเพณีที่หุ้มอยู่ เกิดอีกครั้ง และดูแลตัวเองได้ด้วยๆสัจจะสัญญา และด้วยคำสั่งชนิดสำคัญๆ ที่ตนเองตั้งขึ้น หรือที่ผู้อื่นได้มอบให้ จึงเรียกว่าเกิดอีกเป็นครั้งที่สอง หรือได้กลายเป็นสัตว์ที่เกิดสองครั้ง กระทั้งที่เป็นคน หรือที่เป็นมนุษย์อยู่ทั่วนี้ นิยามคำศัพท์ได้มา มีความหมายตามธรรมชาติที่แท้อยู่แล้วว่า มนุษย์จัดไว้เป็นสัตว์ที่เกิดครั้งเดียว ถึงแม้ว่าจะมาตกในที่ให้ต้องอภิบาลกันมากในวัยทารกก็จริง ถึงอย่างนั้นก็ตาม แต่ก็กลับเหมือนสัตว์เกิดสองครั้งไปอีกจนได้ เพราะประเพณี! และเพราะประพฤติแห่งพรหมจรรย์ที่ยังดำเนินไปไม่ถึงที่สุด.\nคำศัพท์สำนวนนี้มีใช้มาก ปรากฏในพระไตรปิฎก บรรยายไปถึงที่สุดบท ว่าคือการลอกคราบ สลัดคราบ ออกจากเปลือกกะเปาะคือฟองไข่ ได้พ้นโลก ลุถึงฝั่ง เสร็จกิจแห่งพรหมจรรย์ อรรถบรรยายนั้นเปรียบว่า เป็นเหมือนสัตว์ที่เกิดแล้วสองครั้ง แต่ควรที่จะสำคัญว่า เมื่อเกิดในอริยประเพณีแล้ว ได้แก่การเกิดเป็นครั้งที่สองนี้ ก็เป็นอันว่าไม่ต้องเกิดอีก (ในประเพณีอย่างอื่น)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ลัทธิความสัมบูรณ์นิยม เชื่อว่าความดีเป็นใากลเป็นสัจธรรม\nลัทธิสัมพัทธ์นิยม เชิ่อว่าความดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความดีไม่ใช่าิ่งที่แน่นอน\nลุทธิประโยชน์นิยม เชื่อสิ่งที่เรียกว่าความดีความงามนั้ตขึ้นอยู่กับว่สสิ่งนั้นมีประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือไมร\nสารบัญ\nปรัชญาและความเชื่อเกึ่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม\nแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม\nทฤษฎีและแนวคิดทางจริยธรรมที่สำคัญ\nหลักเกณฑ์การตัดสินคุณค่าจริยธรรมขอลนักปรัชญาสำนักต่างๆ\nแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล\nแนวคิดด้านจิตอาสา",
"role": "user"
},
{
"content": "ลัทธิความสัมบูรณ์นิยม เชื่อว่าความดีเป็นสากลเป็นสัจธรรม\nลัทธิสัมพัทธ์นิยม เชื่อว่าความดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความดีไม่ใช่สิ่งที่แน่นอน\nลัทธิประโยชน์นิยม เชื่อสิ่งที่เรียกว่าความดีความงามนั้นขึ้นอยู่กับว่าสิ่งนั้นมีประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือไม่\nสารบัญ\nปรัชญาและความเชื่อเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม\nแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม\nทฤษฎีและแนวคิดทางจริยธรรมที่สำคัญ\nหลักเกณฑ์การตัดสินคุณค่าจริยธรรมของนักปรัชญาสำนักต่างๆ\nแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล\nแนวคิดด้านจิตอาสา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "1. จริยธรรมที่เป็นทั้งธรรมชาติ กฎ หรือหลักการของธรรมชาติที่ปรากฏทั่วไป มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมสสาร สิางแวดล้อม สภาพธรรมชาติทั่วไปที่เปํนรูปธรรม \n2. จริยธรรมเป็นพฤติกรรม หรือการกระทำของมนุษย์ทั้งดีและไม่ดี ซึ่งอาจสัมผัสได้ด้วยอินทรีย์ทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมด \n3. จริยธรรม เป็นข้อกำหนดทางศาสนา ซึ่งจะเรียกว่า ศีลธรตม ( Moral Ethics ) เพราะศาสนาทุกศาสนาได้กำหนดหลักปฏิบัติไว้ เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข โดยมิต้องเบียดเบียน หรือทำร้ายซึ่งกันและกัน พุทธศาสจากำหนดหลักปฏิยัติพื้นฐานสำหรับฆราวาสคือ ศีล 5 ซึ้งได้แก่ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผอดในกาม ไม่พูดปด ไม่ดื่มสุรา คำสอนของศาสนาใด ๆ ก็ตามเป็นสิ่งที่ศาสนาได้ปฏิบัติมากล้ว และสั่งนอนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม จนเกิดผลดีงาม ไม่วืาจะเป็นคำสอนของพุทธศาสนา อิสลาม หรือคริสต์ ก็ตาม \n4. จริยธรรมมาจากค่านิยมต่าง ๆ ซึ่งแต่ละาังคมจถมีค่านิยมที่แตกต่างกันได้ เนื่องจากแต่ละสังคมมีความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม และประงัติความเป็นมา \n5, ปรัชญา คือ วิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และคสามจริง สาระของปรัชญาจะกล่าวภึงลักษณะชีวิตที่พึงปรารถนาควรเป็นอย่าลไร ธรรมชาติของมนุษย์ สภาพสังคมที่ดี ความคิดเชิงปรัชญาจะเป็นความเชื่ออย่างมีเหตุผล ปรัชญาจะกลีาวถึงความดี ความงาม ค่านิยม เพื่อจะได้ยึดถือ เป็นหลักปฏิบัติต่อไป\n6. วรรณคดี เป็นหนังสือที่มีมาตรฐานทั้งด้านเนื้อหาสาระและคุณค่า ชาติที่เจริญแล้วจะมีวรรณคดีของตนเอง หนังสือวรรณคดีจะมีคำสอนที่เป็นแนวปฏิชัติได้ เช่น สุภาษิตพระร่วง โีลงโลกนิติ สุภาษิตสอนหญิง กล่าวได้ว่า ใรรณคดีเป็นแหล่งกำเนิด หรือเป็นที่รวบรวมของจริยธรรมด้วย\n7. สังคมแต่ละสเงคมได้กำหนดวิธีปฏิบัติของสมาชิกไว้ ดับจะเห็นได้จากขนบฑรรมเนียมประ้พณีต่างๆที่ยอมรับสืบทอดกันมา \n8. การเมืองการปกครอง ในระบอบการเมืองการปกครอง ได้มีการกำหนดข้อบัฝคับ ระเบียบกฎกมายของบ้านเมือง เพื่อการอยู่ร่วมกันอยรางนันติสุข และเพื่อความยุติธรรมโดยทเ่วไป\nสารบัญ\n\nปรัชญาและความเชื่อเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม\nแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อบกับคุณธรรม\nทฤ๋ฎีและแนวคิพทางจริยธรรมท้่สำคัญ\nหลักเกณฑ์การตัดสินคุณค่าจริยธรรมของนักปรัชญายำนักต่างๆ\nแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล\nแนวคิดด้านจิตอาสา",
"role": "user"
},
{
"content": "1. จริยธรรมที่เป็นทั้งธรรมชาติ กฎ หรือหลักการของธรรมชาติที่ปรากฏทั่วไป มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมสสาร สิ่งแวดล้อม สภาพธรรมชาติทั่วไปที่เป็นรูปธรรม \n2. จริยธรรมเป็นพฤติกรรม หรือการกระทำของมนุษย์ทั้งดีและไม่ดี ซึ่งอาจสัมผัสได้ด้วยอินทรีย์ทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมด \n3. จริยธรรม เป็นข้อกำหนดทางศาสนา ซึ่งจะเรียกว่า ศีลธรรม ( Moral Ethics ) เพราะศาสนาทุกศาสนาได้กำหนดหลักปฏิบัติไว้ เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข โดยมิต้องเบียดเบียน หรือทำร้ายซึ่งกันและกัน พุทธศาสนากำหนดหลักปฏิบัติพื้นฐานสำหรับฆราวาสคือ ศีล 5 ซึ่งได้แก่ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดปด ไม่ดื่มสุรา คำสอนของศาสนาใด ๆ ก็ตามเป็นสิ่งที่ศาสนาได้ปฏิบัติมาแล้ว และสั่งสอนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม จนเกิดผลดีงาม ไม่ว่าจะเป็นคำสอนของพุทธศาสนา อิสลาม หรือคริสต์ ก็ตาม \n4. จริยธรรมมาจากค่านิยมต่าง ๆ ซึ่งแต่ละสังคมจะมีค่านิยมที่แตกต่างกันได้ เนื่องจากแต่ละสังคมมีความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม และประวัติความเป็นมา \n5. ปรัชญา คือ วิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง สาระของปรัชญาจะกล่าวถึงลักษณะชีวิตที่พึงปรารถนาควรเป็นอย่างไร ธรรมชาติของมนุษย์ สภาพสังคมที่ดี ความคิดเชิงปรัชญาจะเป็นความเชื่ออย่างมีเหตุผล ปรัชญาจะกล่าวถึงความดี ความงาม ค่านิยม เพื่อจะได้ยึดถือ เป็นหลักปฏิบัติต่อไป\n6. วรรณคดี เป็นหนังสือที่มีมาตรฐานทั้งด้านเนื้อหาสาระและคุณค่า ชาติที่เจริญแล้วจะมีวรรณคดีของตนเอง หนังสือวรรณคดีจะมีคำสอนที่เป็นแนวปฏิบัติได้ เช่น สุภาษิตพระร่วง โคลงโลกนิติ สุภาษิตสอนหญิง กล่าวได้ว่า วรรณคดีเป็นแหล่งกำเนิด หรือเป็นที่รวบรวมของจริยธรรมด้วย\n7. สังคมแต่ละสังคมได้กำหนดวิธีปฏิบัติของสมาชิกไว้ ดังจะเห็นได้จากขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆที่ยอมรับสืบทอดกันมา \n8. การเมืองการปกครอง ในระบอบการเมืองการปกครอง ได้มีการกำหนดข้อบังคับ ระเบียบกฎหมายของบ้านเมือง เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และเพื่อความยุติธรรมโดยทั่วไป\nสารบัญ\n\nปรัชญาและความเชื่อเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม\nแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม\nทฤษฎีและแนวคิดทางจริยธรรมที่สำคัญ\nหลักเกณฑ์การตัดสินคุณค่าจริยธรรมของนักปรัชญาสำนักต่างๆ\nแนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล\nแนวคิดด้านจิตอาสา",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ความหมาย\nNicholas Henry\n\nกล่าวว่าเป็นวิชาท้่สนใจโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ\nJohn Pfifner and Robert Presthuw\nให้ความสนใจที่วอธีการนำค่านิยมไปปฏิบัติ\nHerbert A. Simon\nกล่าวว่า เป็นกิจกรรมของฝ่ายบริหาร การปกครองที่เป็นปลาง\nสถานะ\nเป็นวิชาที่ขาดเอกลักษณ์\nอุทัย เลาหวิเชียร กล่าวว่า\n\nรปศ. ไม่ใช้วิทยาศาสตร์ แม้จะมีการหยิบมาใช้แต่ไม่ชัดเจน และอานุภาคในการทำนาย เป็นแบบความน่าจะเป็น\nรปศ. ไม่ใช่ศิลปฺ ทั้ลๆที่นักบริหารและญิชปินก็ใช้วิธีการทำงานของแต่ละคนเป็นเกณฑ์\n\nนัดบนิหารบทบาท คือ การบริหารงานมห้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด การปฏิบัติงานสามารถประเมินได้จากการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ\nสรุป\n\nสถานะ.\nสรุป.\nรปศ. เป็น สหวิทยาการ เป็นการนำความรู้ หลายๆ ศาสตร์ใาอธิบายจุดที่ศึกษา\nรปศ. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ เอาสังคมศาสตร์หลายๆ ศาสตร์มาปรับปรุงองค์การให้บรรลุเป้่หทาย\nรปศ. พยายามสถาปนาเป็นวิชาชีพ แต่ต้องใช้เวลา\nรปศ. คล้ายบริหารธุากิย ศึกษาการจัดการ และบริหารองค์การ ทรัพยากรมนุษย์ ต่างกันตรงตอบสนองต่อประชาชน (รปศ,) และตนเอง (ธุรกิจ)\nเป้าหมายของวิชา\n\nเป้าหมายสูงสุด คือ ความพึงพอใจของประชาชน\nเป้าหมายกลาง คือ การที่มีข้าราชการที่ดี\nเป้าหมายใกล้ตัว คือ สร้างข้าราชดารให้มีประสิทธิภมพ ช่วยในกา่บริำารงานอย่างมีประสิทธิภาพ\nปรัชญาของวิชา\nความหมาย\n\nปรัชญา\nSophist\nปรัชญาบองวิชา.\nปรัชญา.\nSophist.\nชั่วดีอยู่ที่ตัวเรา อำนาจทำให้เกิดความถูกต้อง\nPlato\nPlato.\nรัฐต้องจัดโครงสร้าง และสิ่งจูงใจให้เหมาะสม คือ\n\nผู้ปกครอง\nข้าราชการ นักรบ นักปกครอง\nพ่อค้า นักธุรกิจ เกษตรกร\nPolybius\n\nJohn of Salisbury\nJohn of Salisbury.\nผู้ปกครองเป็นตัวแทนพระเจ้า\nSt. Thomas Aquimas\nSt. Thomas Aquimas.\nทำผิดกฎหมายต้องมีมาตราการ >egal Means\nThomas Hobbes\nThomas Hobbea.\nทุกคนเป็นลูกพระเจ้า ใครเชื่อเทวสิทธิ์ เท่าไม่เอาพระเจ้า\nJohn Looke\nJohn Looke.\nการปกครองที่ดีต้องมี 2 อำนาจ คือ นิติบัญญัติและบริหาร ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว\nMontesquire\nMontesquire.\nการปกครองที่ดีต้องมี 3 อำนาจ คทิ นิติบัญญัติ บริไารและตุลาการ ต้องไม่อยู่ในมทอคนเดียว\nรัชกาลที่ 9\nรัชกาลมี่ 9.\nทศพิธราชธรรม\nหลักการทั่วไป\n\nเปลี่ยนแปลงได้ เช่น การเลิดทาส\nอาจัปลี่ยนถ้าปัญหาไม่ไดัแก้ไข หรือลดลง เช่น การรวมอำนาจ เป็นการกระจายอำนาจ\nการตีความของในุษย์ขากสภาวะหนึ่ง เช่น เชื่อว่าโลกแบน\nพิจารณาผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย )บริหารภาครัฐ บริหารผลลัพธ์ คำนาจ ขั้นปลายเสมอ)\nปรัชญา วรเดบ จันทรศร\nการบริหารการเมือง\nวิทยาการขัดการ\nนโยบายสาธารณะ\nพฤติกรรมองค์การ\nการบริหารเปรียบเ่ียบและพัฒนา\nทางเลือกสาธารณะ\nการแปรสภาพกิจกรรมรัฐเป็นเอกชน\nการภัฒนาการบริหาร\nขอบข่าย\nอุทัย เลาหวิเชียร\n\n\nการเมืองนโยบายสาธารณะ\nทฤษฎีองค์การ\nอทคนิคการบรหิาร\nกุลธน ธนพลศธร\n\nสรุป\nสรุป.\nรปศ. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งในสังคมศาสนร์ประยุกต์ โดขใช้ความรู้สังคมศาสตร์มากรับปรุง มิได้เป็นศาสตร์บริสุทธิ์ เป็น สหวิทยากนร มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุตคล การคลัง งบประมาณ องค์การและการบริหารงานต่างๆ \nจุดหมายถือ ความผาสุกของประชาชน",
"role": "user"
},
{
"content": "ความหมาย\nNicholas Henry\n\nกล่าวว่าเป็นวิชาที่สนใจโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ\nJohn Pfifner and Robert Presthus\nให้ความสนใจที่วิธีการนำค่านิยมไปปฏิบัติ\nHerbert A. Simon\nกล่าวว่า เป็นกิจกรรมของฝ่ายบริหาร การปกครองที่เป็นกลาง\nสถานะ\nเป็นวิชาที่ขาดเอกลักษณ์\nอุทัย เลาหวิเชียร กล่าวว่า\n\nรปศ. ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ แม้จะมีการหยิบมาใช้แต่ไม่ชัดเจน และอานุภาคในการทำนาย เป็นแบบความน่าจะเป็น\nรปศ. ไม่ใช่ศิลป์ ทั้งๆที่นักบริหารและศิลปินก็ใช้วิธีการทำงานของแต่ละคนเป็นเกณฑ์\n\nนักบริหารบทบาท คือ การบริหารงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด การปฏิบัติงานสามารถประเมินได้จากการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ\nสรุป\n\nสถานะ.\nสรุป.\nรปศ. เป็น สหวิทยาการ เป็นการนำความรู้ หลายๆ ศาสตร์มาอธิบายจุดที่ศึกษา\nรปศ. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ เอาสังคมศาสตร์หลายๆ ศาสตร์มาปรับปรุงองค์การให้บรรลุเป้าหมาย\nรปศ. พยายามสถาปนาเป็นวิชาชีพ แต่ต้องใช้เวลา\nรปศ. คล้ายบริหารธุรกิจ ศึกษาการจัดการ และบริหารองค์การ ทรัพยากรมนุษย์ ต่างกันตรงตอบสนองต่อประชาชน (รปศ.) และตนเอง (ธุรกิจ)\nเป้าหมายของวิชา\n\nเป้าหมายสูงสุด คือ ความพึงพอใจของประชาชน\nเป้าหมายกลาง คือ การที่มีข้าราชการที่ดี\nเป้าหมายใกล้ตัว คือ สร้างข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ ช่วยในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ\nปรัชญาของวิชา\nความหมาย\n\nปรัชญา\nSophist\nปรัชญาของวิชา.\nปรัชญา.\nSophist.\nชั่วดีอยู่ที่ตัวเรา อำนาจทำให้เกิดความถูกต้อง\nPlato\nPlato.\nรัฐต้องจัดโครงสร้าง และสิ่งจูงใจให้เหมาะสม คือ\n\nผู้ปกครอง\nข้าราชการ นักรบ นักปกครอง\nพ่อค้า นักธุรกิจ เกษตรกร\nPolybius\n\nJohn of Salisbury\nJohn of Salisbury.\nผู้ปกครองเป็นตัวแทนพระเจ้า\nSt. Thomas Aquimas\nSt. Thomas Aquimas.\nทำผิดกฎหมายต้องมีมาตราการ Legal Means\nThomas Hobbes\nThomas Hobbes.\nทุกคนเป็นลูกพระเจ้า ใครเชื่อเทวสิทธิ์ เท่าไม่เอาพระเจ้า\nJohn Looke\nJohn Looke.\nการปกครองที่ดีต้องมี 2 อำนาจ คือ นิติบัญญัติและบริหาร ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว\nMontesquire\nMontesquire.\nการปกครองที่ดีต้องมี 3 อำนาจ คือ นิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว\nรัชกาลที่ 9\nรัชกาลที่ 9.\nทศพิธราชธรรม\nหลักการทั่วไป\n\nเปลี่ยนแปลงได้ เช่น การเลิกทาส\nอาจเปลี่ยนถ้าปัญหาไม่ได้แก้ไข หรือลดลง เช่น การรวมอำนาจ เป็นการกระจายอำนาจ\nการตีความของมนุษย์จากสภาวะหนึ่ง เช่น เชื่อว่าโลกแบน\nพิจารณาผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย (บริหารภาครัฐ บริหารผลลัพธ์ คำนาจ ขั้นปลายเสมอ)\nปรัชญา วรเดช จันทรศร\nการบริหารการเมือง\nวิทยาการจัดการ\nนโยบายสาธารณะ\nพฤติกรรมองค์การ\nการบริหารเปรียบเทียบและพัฒนา\nทางเลือกสาธารณะ\nการแปรสภาพกิจกรรมรัฐเป็นเอกชน\nการพัฒนาการบริหาร\nขอบข่าย\nอุทัย เลาหวิเชียร\n\n\nการเมืองนโยบายสาธารณะ\nทฤษฎีองค์การ\nเทคนิคการบรหิาร\nกุลธน ธนพงศธร\n\nสรุป\nสรุป.\nรปศ. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งในสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยใช้ความรู้สังคมศาสตร์มาปรับปรุง มิได้เป็นศาสตร์บริสุทธิ์ เป็น สหวิทยาการ มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การคลัง งบประมาณ องค์การและการบริหารงานต่างๆ \nจุดหมายถือ ความผาสุกของประชาชน",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "= วิวัฒนาการ =\n\nRobert T. Gembelski แบ่ลเป็น 3 ช่วง บริหาาแยกออกจากการเมือง / จิตวิทขร / มนุษยนิยมและระบบ เน้นแารสร้างองค์ความรู้ เน้นนำควาสรูัไปใช้ภายนอก // 3 ทฤษฎี คือ นโยบายสาธารณะ / รปศ. ความหมายใหม่ / บริหารตามแบบประชาธิปไตย\nNicholas Henry มอง รปศ. ิป็น รปศ. แบ่ง 5 พาราไดม์ คือ\n\nการบริหารแยกออกจาการเมือง (1900-1926)\nหลักการบริหาร (1927-1937)\nรปศ. เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (1950- 1970)\nรปศ. เป็นศาสตร์การบริหสร (1956-1970)\nรแศ. คือ รปศ. (1970-ปัยจุบัน)\n\nอุทัย เลาหวิเชียร ผู้ก่อตั้งสถาบันนิด้า มองวิวัฒนาแารเป็นสามพาราไดม์\nวุคทฤษฎีดั้งเดิม (1887-1950)\n\nการบนิหารแยกออกจากการเมือง\nWoodrow Wilson\nยุคทฤษฎีดั้งเด้ม (1887-1950).\nการบริหารแยกออกจากการเมืแง.\nWoodrow Wilson.\nเขียนหนังสือเรื่อง The Study of Administration ตั้งสมมติฐาน 5 ข้อ\n\nหระเทศที่ก้าสหน้ามีการปกครองที่ดี รัฐบาลจะเข้มแข็ง\nรปศ. ศึกษาเรื่องนำกฎหมายมหาชนไปปฏิบัติ\nสร้างหลักการบริหาร ส่งเสริมการบริหารภาครัฐ ให้มีคุณภาพดีขึ้น\nการเมืองกำหนดนโยบาย ออกกฎหมาย บริหารนำเอานโยบาย กฎหมายไปปฏิบัติ\nเสนอหลักการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (สมมติฐมน 8)\nFrank J. Goodnow\n\n\nการปกครองที่ดีมี 2 หน้าที่ คือ การปกครองมีหน้าที่กำหนดนโยบาย นิติบ้ญญัติและตุลาการ ฝ่ยบริหารปฏิบัติตามรัฐ\nรหศ. คืเการศึกษาระขบราชปารที่นำนโยบายที่กำหนดไปปฏิบันิ\nLeonard D. White\n\nสรุป\nสรุแ.\nแนวคิดการแยกการบริหารออกจากการเมือง เป็นส่วนผลักดันให้มีการปฏิรูประบบบริหาร อาศัยคุณธรรม เพื่อป้องกันการเล่นพรคเล่นพวก\nระบบบริหารมี่ดี คือ การที่นักบริหารเข้มแข็ง อาศัยหลกเหตุผล และ ประสิทธฺภาพเป็นโครงสร้างที่เอื้ออำนาวยต่อการบริหารที่ดีมีประสิทธิภาพ\nระบบราชการ ของ Max Weber\nระบบราชการ ของ Max Weber.\nเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน องค์การ สังคม ระบบแบบนี้นำไปสู่ทฤษฎีองค์การ และวิชาพฤตเกรรมศานตร์\nทฤษฎีอำนาจ\n\nจารีต เช่น กษัตริย์\nบารมี เช่น ทักษิณ ชินวัตร\nกฎหมาย ัช่น การเลือกตั้ง\nองค์ประกเบขององค์การ 7 ข้อ\nลำอับชั้น จัดตำแหน่งต่างๆ เผ็นลำดับชั้น\nอำนาจสมาชิกมาจากต_แหน่ง\nข้าราชการทุกคนต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้เรื่องระเงียบ วิธีการปฏิบัติงานตามระเบียบ\nข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลาง ปฏิบัติราชการ ไม่เห็นปคะโยชน์ของตน\nข้าราชการเป็นอาชีพมเ่นคง เพระประชาชนต้องเป็นที่พึ่งบริการ\nเสนออาชีพที่มัีนคง ให้ผลตอบแทนในรํปเงินเดือน สวัสดิการ และโอกาสในการก้าวหน้าจากตำแหนรง\nระบบราชการมคลักษณะเสริมสร้างตนเอง เพราะเป็นระบบปิดบังควมมรู้ไม่ให้คนภายนอกองคฺกรทราบ กลไกบริหารใดก็ตามที่มีลักษณะครงตามระเบียบราชการในอุดมคติของ webeg ทุกประการ เรียกว่า monocratic bureaucracy\nการจัดการแบบวิทยาศสสตร์ สมัยหฏิวัติอุสาหกรรมของ Frederick W. Taylor\n\nหลักการจัดกาีสำหรับผู้บริหาร\n\nพัฒนาและนั่งสมความรู้ที่จำเป็นต่อการทำงานเพื่อร้นหาวิธีการทำงาน\nคัดเลือกบุคคลากร ฝึกสอนงานแก่พนักงานอย่างมีระบบ\nประสานงาน ดูแลเอาใจใส่พนักงาาให้ทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม\nจัดสรรค่าตอบแทน ผลประโยชน์การทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม\nหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ 4\nรู้จริงเรื่องงาน\nกลมเกลียวในหมู่พนักงาน และผู้บริห่ร\nความร่วมมือปฏิบัติงานของทุกคน\nความมุ่งหมายที่จะสร้างผลผลิตสูงสุดจากการทำงานร่วมกัน\nบ้อเสีย\n\nหลักการบริหาร\nMary Parker Follet\nหลักการบริหาร.\nMary Parker Follet.\nหลักการบริหารที่ดี 4\n\nขัดแย้งเป็นเรื่องที่ดี หลักจัดการ 3\n\nยึดครอง\nประนีประนอม\nรวมตัว\n\nมนุษย์ไม่ชอบคำสั่ง ต้องใช้ศิลปะสนการออกรำสั่ง\nองค์การเป็นเรื่องทุกฝ่ายทุ้งคนงาน บร้หสรร่วมรับผิดชอบ วางแผนและจัดการนโยบายต่างๆ\nการบริหารที่ดีต้องใช้การประสาน จำเป็นต้องดำเนินตามเกณฑ์ คือ ประสานและควยคึมต้องเกิดจากหัวหน้าแผนกแทนการควบรุมจากข้าบบนลงข้างล่าง\nHenry Fayol นัดบริหารระดับสูงด้านอุสาหกรรม\n\nHenry Fayol นักบนิหารระดับสูงด้านอุสาหกรรม.\nหลักการบริหาร 14 ประการ\n\nแบ่งงานกันทำ\nอำนาจตามตำแหน่ง\nวินัย\nเอกภาพของสายการบังคับบัญชา\nเอกภาพของคำสั่ง\nผลักผลประโยชน์ส่วนรวม\nการให้รางวัลตอบแทน\nการรวมอำนาจ\nลำดับชั้นการบุงคับบัญชา\nคำสั่ง\nความเสมอภาค\nความมั่นคบของคนงาน\nความคิดริเีิ่ม\nความสัมพัน๔์อันดี\n\nJame D. Moonery and Alan C. Reiley นักบริหารชั้นอุสาหกรรม แต่งเรื่อง Principles of Organization\nJame D. Moonery and Alan C. Reil3y นึกบริหารชั้นอุสาหกรรม แต่งเรื่อง Principles of Organixation.\n4 หลัก\n\nประสานงาน มอบอำนาจแก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ\nลำดับชั้น ประสานงานเจ้าหน้าที่ทุกระดับในองค์การ\nแบ่งงาน กำหนดอำนาจโดยบอบธรรม\nจัดหน่วยงาน กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยปฏิบัติงาร และ กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยให้คำปรึกษา\n?uther H. Gulick and Lyndalo Uwick สร้างกลไกคฝบคุมภายใน\nจัดโครงสร้างอำนาจภายในองค์การ (หลักขอบข่ายก่รควบรุม / จัดหมวดหมู่ให้กรมกองกลมกลืน)\nกำหนดบทบาทให้ชัดเจน POSDCORB (Plqnning วางแผน / Organizing จัดองค์กร / Stuffing บรรนุ / Directing สั่งการ _ Coordinatung ประสาน _ Reporting รายงาน/ Bydgeting งบประมาณ)\nจัดองค์การใยแบบต่างๆ 4 คือ รามวัตถุประสงค์ / กระบวนการ / ลูกค้า / สถานที่ตั้ง\n\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 1 (1950-1960ฏ\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 1 (1950-1960)ฦ\nทฤษฎีในยุคดังเดิมเป็นแนวคิดเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร\nการบริหารคือการเมือง\nFritz Monsterin Marx\nการบริหาีคือการเมือง.\nFritz Monsterin Marx.\nฝ่ายการเมืองเป็นผู้กำหนดนโยบาย แต่เป็นแบบกว้างๆ ฝ่ายลริาหรต้องกำหนดรายละเอียดของนโยบาย\nPaul Henson Applebt\nPaul Henson Appleby.\nรปศ. ควรเนินการศึกษาด้านการกำหนดนโยบายโดยกลุ่มพลังทางการเมือง\nNowton E. Long\nNowton E. Long.\nดำเนินการใช้อำนาจในองค์การ (นักบริหารจะต้องทำงานได้จำเป็นต้องอาศัยอำนาจที่เป็รทางการ คือ อำนาจทางกฎหมาย / ไม่เป็นทางการ คือ อาศัยอำนาจทางการเมือง ผลประโยชน์ต่างๆ ดังนั้นจึงมองว่า การบริหารแยกจากการเมืองไา่ได้)\nJohn M. Gaus นัก รปศ. อาวุโส\nทฤษฆี คปศ. คือ ทฤษฎีทางการเมือง\nระบบราชการแขบไม่เป็นทางการ\nRobert Michels\nระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ.\nRobe4t Michels.\nปรากฏการณ์เบี่สงเบนเป้าหมายองค์การ เน้นให้ความสำคัญต่อการสร้าฝกลไกองค์การที่จะรักษาอำนาจ\nRobert Merton สรุปความล้มเหลวดังต่อไปนี้\n\nลักษณะองค์การทีืเป็นทางการ จัดโครงสร้างเพื่อเป้าหมายรวมขององค์การ รวมตัวกันของกอจกรรมถูกจัดเป็นลำดับชั้น าีหน้าที่ตามตำแหน่ง\nโครงสร้างตทมระบบราชการ มองว่าระบขราชการทำให้ข้าราชการรู้สึปว่าตนเอง ถูกครอบงำจากระบบราชการ ลักษณะหน่วยงานลับ\nข้อบกพร่องขอวระบบราชการ\n\nไม่มีความยทดหยุ่น ระบบล้าสมัย ไม่ปรับตัวตามสภานการณ์\nยึดกฎเกณฑ์มากเกินไป\n\n\nMichel Crozier อธิบายความเสื่อมของระบบราชการ\nMichel Crozier อธิบายรวามเสื่อมของระบบราชการ.\nมาจากตถบบวงจรที่ชั่วร้าย เมื่อทีปัญหาภายในองค์การ ฝ่ายจัดการจะหาทางออกด้วยการสร้างกฎระเบียบขึ้นมาใหม้่\nระบบมนุษยสัมพันธ์\nElt9n Mayo\nระบยมนุษยสัมพัตธ์.\nElton Mayo.\nโต้ Talyor ว่า เป็นแนวคิดที่มองคนเหมือนไม่มีช่วิต คนเหมือตเครื่องจักรหรือหุ่นยนต์ มาโยจึงเสนอแนวคิดการศึกษาควาาสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม ได้แก่ การวิเคราะห์ภายในกลุ่ม ฬึกษาทดลองเรื่อง Hawthorne studies ศึกษรปัจจัยทางการยภาพทางหลักวิทยาศาสตร์\nAbraham H. Maslow เสนอทฤษฎีลำดับชั้นของความต้องการ (jierarchy of need)\n\nต้องการทางกายภาพ ด้านความปลอดภัย ผูกพันในสับคมที่จะมีฐานะเด่น ประจักดษ์ตน \"ควรจูงใจคนงาน/หนให้ตั้งใจทำงาน\"\nFrederick Hurzberg เสนอแนวคิดทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา\n\nFrederick Hurzberg เสนอแนวคิดทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวืทยา.\nจูงใจ เช่น การยอมรับจากคนอื่น การมีโอกาสก้าวหน้าในตำแหน่ง\nDouglas Mc-gregor เสนอทฤษฎี XY\nDouglas Mc-gregor เสนอทฤษฎี XY.\nX แบบเดิม เช่น มนุษย์ขี้เกียจ ไม่อยากมีส่วนร่วมในการทำงาน\nY มนุษยสัมพันธ์ เช่น มนุษย์ขยัน อยากมีส่วนร่วม โดยจะต้องจัดปัจจัยในหลักกสรบริหารงาน / สนับสนุนให้คนแสดงออก / จัดความน้องการของคนงาน\nChris Aroyris\nChric Aroyris.\nมนุษย์ส่มารถพัฒนาตนเองไปตามขั้นตอนกระบวนการเป็นผู้ใหศ่ได้\nศาสตร์กา่บริหาร\nChester I. Barnarc\nศาสตร์การบริหาร.\nChester I. Barnardฦ\nองค์การเกเดจากการร่วมมืแของคนเำื่อทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาบ หนิาที่ นักบริหาร คือ\n\nดูแลระบบติดต่อภายในองค์การให้สอดคล้อง\nรักษรความร่วมมือสมาชิกในองค์การ\nรับผิดชเบ และให้อำนาจแก่สมาชิกองค์การ\nใช้ศิลปะบริหารให้บรรลุประสิทธิภาพ และประสิทธิผล\nทำงานด้วยความรับผิดชอบพ้วยการยึดหลักศีลธรรม\nHerbert A. Simon\n\nJerbert A. Simon.\nกาคตัดสินสินใจของ ไซมิน กล่าวว่า การตัดสินใจที่ดีต้องตัดสินใจแบบม้เหตุผล ผู้ตัดสินใจต้องมีความรู้ เช่น ให้ข้อมูลข่าวสาร สร้างกฎเกณฑ์การทำงาน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าบหัวหน้ากับลูกน้อง ปบ่งตำแหน่งให้ชัดเจน ใช้อำนาจโดยชอบธรรม แม้ทฤษฎ่จะหักล้างทฤษฎียุคดั้งเดิม แต่ก็ไม่สมารถยอมาับมากนักในหมู่นักวิชาการ \nยุคกำเนิด รปศฦ สมัยใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ครั้ง่ี่ 2 (1960-1970)\nนำทฤษฎีระบบ มาใช้ใน รปศ.\nHerbert Simon and <ames Morch\nยุคกำเนิด รปศ. สมัยใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 2 (1960-1970).\nนำทฤษฎีระบบ มาใช้ใน รปศ..\nHerbert Simon and James Morch.\nกล่าวว่า ระบบการตัดสินใจองค์กรว่า องค์การเป็นที่รวมของมนุษย์ที่ตัดสินใจอย่างมีเหนุผล กระบวนการตัดสินใจในกระบวนการ คือ กระบวนการระบบ ระบบที่รวมระบบย่อนผลิตปัจจัยนำออกเพื่อปิอนไปสู่สภาพแวดล้อม ตัดสืนใจของคนในองค์การ พิจารณาระบบการติดต่อเอกสาร ข้อมูลข่าวสารในระบบองค์กสร รับส่งข้อมูลแบบทางการ และ ไม่เป็นทางการ\nDaniel Katz and Robert Kahn\nDaniel Katz and Robert Kahn.\nมององค์การในลึกษณะเปิด ที่มีหน้าที่นำพลังงาน เข้าและออก ระกว่างองค์การ และ สภาพแวดล้อม มีระบบย่อม 5 ระบบ คือ ระบบผลิต สนะยสนุน ดูแลรักษา ปรับตัว และจัดการ\nJames F. Thompos\nJames F. Thompos.\nมองง่า องค์การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน มีองค์ประกอบ 3 ระดับ คือ เทคนิค จัดการ แลถ สถาบีน\nการศึกษสเชิงเปรียบเทียบ\nการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ.\nก่อตั้ง Comparative Administration Group หรือ VAG หรือ กลุ่มศึกษาการบริหารงานเปรียบเทียบ เพื่อว้จัยแนวทางดารปรับปรุงการบริหารงานของประเทศกำลังพัฒนา ม้ 5 แยวทางคือ\n\nวิเครสะฟ์ระบบราชการภายใต้การปกครองของฝ่ายการเมือง (Ferrol Teddy) กำหนดว่า่ะบบราชการอต่ละประเทศมีลักษณะอย่างไร\nวิเคราะห์ฉคตงสร้าง หน้าที่มาใช้ในการศึษาเชิงเปรียบเทียบ มี 3 แบบ คือ\n\nโครงสร้างระบบราชการมีอำนาจ ทำเฉพาะเรื่อง\nโครงสร้างน้อย หลายหน้าที่\nโครงสร้างมาก หลายหน้าที่\n\nWeberian Mofel นำระบบราชการตามอุดมคติมาเปรียบเทียบว่า อันไหนคล้ายของ weber เท่ากับระบบราชการนั้นมีคุณภาพ\nAlmond Power Model ศึกษาโครงสร้าง หา้าที่คะบบและข้าราชการ\nDevelopment Administration ศึกษาปัญหาอุปสรรคแารทำงานตามแผนพัฒนา หาวิธีบริหารแผนให้ได้ผลมากที่สุด\nรปษ. ความหมายใหม่ของ Dwight Waldo\nรปศ. ศึกษาปัญหน และเรื่องราวของโลกความเป็นจริง\nรปศ. เน้นค่านิยม และความถูกต่อง\nรปศ. สนับสนุนความยุติธรรมในสังคม สนใจการบริการภาคประชาชน\nรปษ. สนับสนุนองคฺการให้มีการเปลี่ยนแปลบ ป้องกันการผูกอำนาจโดยผลประโยชน์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง\nเทคนิคกมรบริหารงาน\nบริหารและคงบคุมทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ PPBS ___ planning programming budgeting system\nเทคจิคการควบคุมการปฏิบัติงาน PERT&CPM ___ program evaluation review technique\nวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ MBO ___ Nanagement by objective\nยุคทฤษฎี รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน)\nแนวศึกษานโยบายสาธารณะ\nThomas R. Dye\n\n\nรูปแบบผู้นำ\nกลุ่ม\nสถาบัน\nระบบ\nกระบวนกสร\nมีเหตุผล\nค่อยเป็นค่อยไป\nDonald S. Van Meter & Carl E. Van Horn\n\n\nตัวนโยบายที่ต้องมีทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ\nมาตราฐานชัดเจน\nติดต่อที่ดีระหว่างผู้กำหนด และ ผู้ปฏิบัติ\nต้องมีบทบาทบังคับกัวผู้ปฏิบัติโครงสร้างของหน่วยงาน\nสภาพแวดล้อมทางการเมืองของไน่วยงานปฏิบัติ\nสภาพสังคม เศรษฐกิจ\nการยอมรับนโยบายของผู้ปฏิบัติ\nการปฏิบัติว่ามากน้อยเพียงใด\nท่งเลือกสาธารณะของ Vincent Ostrom\n\n\nทุกคนไม่ว่าคนปกครองหรือทั่วไปมีนิสเย ิห็นแก่ตัว ชอบเอาเปรียบ\nเมื่อใครเห็นช่องช่องทาง ประโยชน์จากการใช้อำนาจทางการ เขาก็จะรีบใช้โดยไม่คำนึงถึงผลเสียที่ิหิดขึ้นกับคนอื่น\nรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย จะกำหนดขอบเขตอำนาจแก่กลุ่มต่างๆ ให้ตรวจสอบกันเเง\nสินค้า และ บริการสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ\nการจัดสินค้าและบริหารสาธารณะเป็นเรื่ดงเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ\nการจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นฦึ่งอยู่ในศูนย์อำนาจเดียวกัน จะไม่ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชนได้\nกทรจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นซึ่งอยู่ในศูนย์อำนาจเดียวกัน ทำให้ภาคร้ฐสิ้นเปลืองทรัพยากร และล่าช้าในการทำงาน\nการจัดองค์การกระจายอ_นาจให้ศูนย์การตัดสินใจ มีหลายศูนบ์\n\nัศรษฐกิจการเมือง แบบ Gary Wamsley xnd Mayer Zald\nยุคทฤษฎี รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน).\nเศรษฐกิจการเมือง แบบ Gary Wamsley and Mayer Zald.\nเศรษฐกิจ การเมืองเกีรยวข้องกันมาก ใกล้ชิดอละแทรกแซงซึ่งก้นและกัน มี 4 ส่วน คือ\n\nการเมืองภายนอกองค์การ\nการเมืองภายในองค์การ\nเศรษฐกิจภายนอกอบค์การ\n้ศรษฐกิจำายในองค์การ\n\nแนวคิดศึกษาวงจรชีวิตองค์การของ Antony Dodn\nแนวคิดศึกษาวงจรชีวิตองค์การของ Antony Down.\nศึกษาวงจรชีวิตขององค์การว่า มีวิวัฒนาการ ขันตอนอย่างไร ปัจจัยที่ทำให้องค์การเสื่อมหรือตาย การเกิดองค์การ มี 4 แบบ\n\nเกิดจากผู้นำเข้มแข็งเป็นแกนนำ\nความต้องการของคนในองค์กาา เพื่อใผ้ได้องค์การใหม่ที่ทำหน้าที่เฉพาะ\nแยกตัวนากองค์การเดิม\nกลุ่มผลประโยชน์ผลักดันนโยบายบางอย่างขึ้นมา\n\nการจัดการแบบปรพหยัดจากสภาวการณ์ขาดแคลนทรัพยากร ของ Charles Darwin (ชาร์ลส์ ดาวิน)\n\nศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุการตายำรือเสื่อมขอฝองค์การ\nปัญหา แฃะอุปสรรคต่อการตัดสินใจเพื่อจัดการแบบประหยัด\nกลยุทธ์ในการตัดสินใจเพื่อหาวิธีการจัดการแบบประหยัดต่างๆ ะช่น กลยุทธ์แขบต่อต้าน แบบ คล้อยตาม แบบกรรให้หลักอาวุโสเพื่อตัดทอนคนงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย\n\nการจักการแบบประหยัดจากสภาวการณ์ขาดแคลนทรัพยากร ของ Charles Darwin (ชาร์ลส์ ดาวิน).\nเทคนิคการยริหารในยุคนี้ ได้แก่ ใช้งบประส่ณฐานศูนย์ ควบคุมคุณภาพแบบมีส่วนร่วม พัฒนาอบค์การ หรือโออี เทคนิร Sensitivity Training เทคนิค MIS เป็นต้น\nสรุป : วิวัฒนาการ รปศ. มี 4 ยุค\nยุคดั้งเดิม (1887-1950) มี\n\nการบริหารแยกออกจากการเมือง\nระบบราชการ\nวิทยาศาสตร์การจัดการ\nหลักการบริหาร\n\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ ครัเงที่ 1 (1950-1960)\nสรุป \" วิวัฒนาการ รปศ. มี 4 ยุค.\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 1 (1950-1960).\nโต้แย้งทฤษฎีดั้งเดิม ว่า เป็นเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร และใช้ไม่ได้กับองค์การทุ่วไป ยุคนี้มีอ้ทธิพลจากจิตวิทยา สังคมวิทยา เสนอแนวคิด 4 ประการ คือ\n\nการบริหารคือการเมือง\nีะบบราชการแยบไม่เป็นทางการ\nมนุษยสัมดันธ์\nศาสตร์การบริหมร\nยุคกำเนิด รปศ. แบบใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 2 (1960-1970)\n\n\nแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ (ทฤษฎีระบบ และ รปศ. เปรีขบเทียบ)\nการบริหารการพัฒนา\nแนวคิด รปศ. ในความหมายใหม่\nยุคทฤษฎีและแนวการศึกษท รปศ. สมัยใหม่ (1970-ปัจจุบัน)\n\n\nนโยบายสาธารณะ\nทางเลือกสาธารณะ\nเศรษฐกิจการเมือง\nการจัดการแบบประหยักและวงจรชีว้ตขององค์การ",
"role": "user"
},
{
"content": "= วิวัฒนาการ =\n\nRobert T. Gembelski แบ่งเป็น 3 ช่วง บริหารแยกออกจากการเมือง / จิตวิทยา / มนุษยนิยมและระบบ เน้นการสร้างองค์ความรู้ เน้นนำความรู้ไปใช้ภายนอก // 3 ทฤษฎี คือ นโยบายสาธารณะ / รปศ. ความหมายใหม่ / บริหารตามแบบประชาธิปไตย\nNicholas Henry มอง รปศ. เป็น รปศ. แบ่ง 5 พาราไดม์ คือ\n\nการบริหารแยกออกจาการเมือง (1900-1926)\nหลักการบริหาร (1927-1937)\nรปศ. เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (1950- 1970)\nรปศ. เป็นศาสตร์การบริหาร (1956-1970)\nรปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน)\n\nอุทัย เลาหวิเชียร ผู้ก่อตั้งสถาบันนิด้า มองวิวัฒนาการเป็นสามพาราไดม์\nยุคทฤษฎีดั้งเดิม (1887-1950)\n\nการบริหารแยกออกจากการเมือง\nWoodrow Wilson\nยุคทฤษฎีดั้งเดิม (1887-1950).\nการบริหารแยกออกจากการเมือง.\nWoodrow Wilson.\nเขียนหนังสือเรื่อง The Study of Administration ตั้งสมมติฐาน 5 ข้อ\n\nประเทศที่ก้าวหน้ามีการปกครองที่ดี รัฐบาลจะเข้มแข็ง\nรปศ. ศึกษาเรื่องนำกฎหมายมหาชนไปปฏิบัติ\nสร้างหลักการบริหาร ส่งเสริมการบริหารภาครัฐ ให้มีคุณภาพดีขึ้น\nการเมืองกำหนดนโยบาย ออกกฎหมาย บริหารนำเอานโยบาย กฎหมายไปปฏิบัติ\nเสนอหลักการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (สมมติฐาน 8)\nFrank J. Goodnow\n\n\nการปกครองที่ดีมี 2 หน้าที่ คือ การปกครองมีหน้าที่กำหนดนโยบาย นิติบัญญัติและตุลาการ ฝ่ยบริหารปฏิบัติตามรัฐ\nรปศ. คือการศึกษาระบบราชการที่นำนโยบายที่กำหนดไปปฏิบัติ\nLeonard D. White\n\nสรุป\nสรุป.\nแนวคิดการแยกการบริหารออกจากการเมือง เป็นส่วนผลักดันให้มีการปฏิรูประบบบริหาร อาศัยคุณธรรม เพื่อป้องกันการเล่นพรคเล่นพวก\nระบบบริหารที่ดี คือ การที่นักบริหารเข้มแข็ง อาศัยหลกเหตุผล และ ประสิทธฺภาพเป็นโครงสร้างที่เอื้ออำนาวยต่อการบริหารที่ดีมีประสิทธิภาพ\nระบบราชการ ของ Max Weber\nระบบราชการ ของ Max Weber.\nเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน องค์การ สังคม ระบบแบบนี้นำไปสู่ทฤษฎีองค์การ และวิชาพฤติกรรมศาสตร์\nทฤษฎีอำนาจ\n\nจารีต เช่น กษัตริย์\nบารมี เช่น ทักษิณ ชินวัตร\nกฎหมาย เช่น การเลือกตั้ง\nองค์ประกอบขององค์การ 7 ข้อ\nลำดับชั้น จัดตำแหน่งต่างๆ เป็นลำดับชั้น\nอำนาจสมาชิกมาจากตำแหน่ง\nข้าราชการทุกคนต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้เรื่องระเบียบ วิธีการปฏิบัติงานตามระเบียบ\nข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลาง ปฏิบัติราชการ ไม่เห็นประโยชน์ของตน\nข้าราชการเป็นอาชีพมั่นคง เพระประชาชนต้องเป็นที่พึ่งบริการ\nเสนออาชีพที่มั่นคง ให้ผลตอบแทนในรูปเงินเดือน สวัสดิการ และโอกาสในการก้าวหน้าจากตำแหน่ง\nระบบราชการมีลักษณะเสริมสร้างตนเอง เพราะเป็นระบบปิดบังความรู้ไม่ให้คนภายนอกองค์กรทราบ กลไกบริหารใดก็ตามที่มีลักษณะตรงตามระเบียบราชการในอุดมคติของ weber ทุกประการ เรียกว่า monocratic bureaucracy\nการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ สมัยปฏิวัติอุสาหกรรมของ Frederick W. Taylor\n\nหลักการจัดการสำหรับผู้บริหาร\n\nพัฒนาและสั่งสมความรู้ที่จำเป็นต่อการทำงานเพื่อค้นหาวิธีการทำงาน\nคัดเลือกบุคคลากร ฝึกสอนงานแก่พนักงานอย่างมีระบบ\nประสานงาน ดูแลเอาใจใส่พนักงานให้ทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม\nจัดสรรค่าตอบแทน ผลประโยชน์การทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม\nหลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ 4\nรู้จริงเรื่องงาน\nกลมเกลียวในหมู่พนักงาน และผู้บริหาร\nความร่วมมือปฏิบัติงานของทุกคน\nความมุ่งหมายที่จะสร้างผลผลิตสูงสุดจากการทำงานร่วมกัน\nข้อเสีย\n\nหลักการบริหาร\nMary Parker Follet\nหลักการบริหาร.\nMary Parker Follet.\nหลักการบริหารที่ดี 4\n\nขัดแย้งเป็นเรื่องที่ดี หลักจัดการ 3\n\nยึดครอง\nประนีประนอม\nรวมตัว\n\nมนุษย์ไม่ชอบคำสั่ง ต้องใช้ศิลปะในการออกคำสั่ง\nองค์การเป็นเรื่องทุกฝ่ายทั้งคนงาน บริหารร่วมรับผิดชอบ วางแผนและจัดการนโยบายต่างๆ\nการบริหารที่ดีต้องใช้การประสาน จำเป็นต้องดำเนินตามเกณฑ์ คือ ประสานและควบคุมต้องเกิดจากหัวหน้าแผนกแทนการควบคุมจากข้างบนลงข้างล่าง\nHenry Fayol นักบริหารระดับสูงด้านอุสาหกรรม\n\nHenry Fayol นักบริหารระดับสูงด้านอุสาหกรรม.\nหลักการบริหาร 14 ประการ\n\nแบ่งงานกันทำ\nอำนาจตามตำแหน่ง\nวินัย\nเอกภาพของสายการบังคับบัญชา\nเอกภาพของคำสั่ง\nหลักผลประโยชน์ส่วนรวม\nการให้รางวัลตอบแทน\nการรวมอำนาจ\nลำดับชั้นการบังคับบัญชา\nคำสั่ง\nความเสมอภาค\nความมั่นคงของคนงาน\nความคิดริเริ่ม\nความสัมพันธ์อันดี\n\nJame D. Moonery and Alan C. Reiley นักบริหารชั้นอุสาหกรรม แต่งเรื่อง Principles of Organization\nJame D. Moonery and Alan C. Reiley นักบริหารชั้นอุสาหกรรม แต่งเรื่อง Principles of Organization.\n4 หลัก\n\nประสานงาน มอบอำนาจแก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ\nลำดับชั้น ประสานงานเจ้าหน้าที่ทุกระดับในองค์การ\nแบ่งงาน กำหนดอำนาจโดยชอบธรรม\nจัดหน่วยงาน กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยปฏิบัติงาน และ กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยให้คำปรึกษา\nLuther H. Gulick and Lyndall Uwick สร้างกลไกควบคุมภายใน\nจัดโครงสร้างอำนาจภายในองค์การ (หลักขอบข่ายการควบคุม / จัดหมวดหมู่ให้กรมกองกลมกลืน)\nกำหนดบทบาทให้ชัดเจน POSDCORB (Planning วางแผน / Organizing จัดองค์กร / Stuffing บรรจุ / Directing สั่งการ / Coordinating ประสาน / Reporting รายงาน/ Budgeting งบประมาณ)\nจัดองค์การใยแบบต่างๆ 4 คือ ตามวัตถุประสงค์ / กระบวนการ / ลูกค้า / สถานที่ตั้ง\n\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 1 (1950-1960)\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 1 (1950-1960).\nทฤษฎีในยุคดังเดิมเป็นแนวคิดเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร\nการบริหารคือการเมือง\nFritz Monsterin Marx\nการบริหารคือการเมือง.\nFritz Monsterin Marx.\nฝ่ายการเมืองเป็นผู้กำหนดนโยบาย แต่เป็นแบบกว้างๆ ฝ่ายบริาหรต้องกำหนดรายละเอียดของนโยบาย\nPaul Henson Appleby\nPaul Henson Appleby.\nรปศ. ควรเนินการศึกษาด้านการกำหนดนโยบายโดยกลุ่มพลังทางการเมือง\nNowton E. Long\nNowton E. Long.\nดำเนินการใช้อำนาจในองค์การ (นักบริหารจะต้องทำงานได้จำเป็นต้องอาศัยอำนาจที่เป็นทางการ คือ อำนาจทางกฎหมาย / ไม่เป็นทางการ คือ อาศัยอำนาจทางการเมือง ผลประโยชน์ต่างๆ ดังนั้นจึงมองว่า การบริหารแยกจากการเมืองไม่ได้)\nJohn M. Gaus นัก รปศ. อาวุโส\nทฤษฎี รปศ. คือ ทฤษฎีทางการเมือง\nระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ\nRobert Michels\nระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ.\nRobert Michels.\nปรากฏการณ์เบี่ยงเบนเป้าหมายองค์การ เน้นให้ความสำคัญต่อการสร้างกลไกองค์การที่จะรักษาอำนาจ\nRobert Merton สรุปความล้มเหลวดังต่อไปนี้\n\nลักษณะองค์การที่เป็นทางการ จัดโครงสร้างเพื่อเป้าหมายรวมขององค์การ รวมตัวกันของกิจกรรมถูกจัดเป็นลำดับชั้น มีหน้าที่ตามตำแหน่ง\nโครงสร้างตามระบบราชการ มองว่าระบบราชการทำให้ข้าราชการรู้สึกว่าตนเอง ถูกครอบงำจากระบบราชการ ลักษณะหน่วยงานลับ\nข้อบกพร่องของระบบราชการ\n\nไม่มีความยืดหยุ่น ระบบล้าสมัย ไม่ปรับตัวตามสถานการณ์\nยึดกฎเกณฑ์มากเกินไป\n\n\nMichel Crozier อธิบายความเสื่อมของระบบราชการ\nMichel Crozier อธิบายความเสื่อมของระบบราชการ.\nมาจากระบบวงจรที่ชั่วร้าย เมื่อมีปัญหาภายในองค์การ ฝ่ายจัดการจะหาทางออกด้วยการสร้างกฎระเบียบขึ้นมาใหม้่\nระบบมนุษยสัมพันธ์\nElton Mayo\nระบบมนุษยสัมพันธ์.\nElton Mayo.\nโต้ Talyor ว่า เป็นแนวคิดที่มองคนเหมือนไม่มีชีวิต คนเหมือนเครื่องจักรหรือหุ่นยนต์ มาโยจึงเสนอแนวคิดการศึกษาความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม ได้แก่ การวิเคราะห์ภายในกลุ่ม ศึกษาทดลองเรื่อง Hawthorne studies ศึกษาปัจจัยทางการยภาพทางหลักวิทยาศาสตร์\nAbraham H. Maslow เสนอทฤษฎีลำดับชั้นของความต้องการ (hierarchy of need)\n\nต้องการทางกายภาพ ด้านความปลอดภัย ผูกพันในสังคมที่จะมีฐานะเด่น ประจักดษ์ตน \"ควรจูงใจคนงานไหนให้ตั้งใจทำงาน\"\nFrederick Hurzberg เสนอแนวคิดทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา\n\nFrederick Hurzberg เสนอแนวคิดทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา.\nจูงใจ เช่น การยอมรับจากคนอื่น การมีโอกาสก้าวหน้าในตำแหน่ง\nDouglas Mc-gregor เสนอทฤษฎี XY\nDouglas Mc-gregor เสนอทฤษฎี XY.\nX แบบเดิม เช่น มนุษย์ขี้เกียจ ไม่อยากมีส่วนร่วมในการทำงาน\nY มนุษยสัมพันธ์ เช่น มนุษย์ขยัน อยากมีส่วนร่วม โดยจะต้องจัดปัจจัยในหลักการบริหารงาน / สนับสนุนให้คนแสดงออก / จัดความต้องการของคนงาน\nChris Aroyris\nChris Aroyris.\nมนุษย์สามารถพัฒนาตนเองไปตามขั้นตอนกระบวนการเป็นผู้ใหญ่ได้\nศาสตร์การบริหาร\nChester I. Barnard\nศาสตร์การบริหาร.\nChester I. Barnard.\nองค์การเกิดจากการร่วมมือของคนเพื่อทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย หน้าที่ นักบริหาร คือ\n\nดูแลระบบติดต่อภายในองค์การให้สอดคล้อง\nรักษาความร่วมมือสมาชิกในองค์การ\nรับผิดชอบ และให้อำนาจแก่สมาชิกองค์การ\nใช้ศิลปะบริหารให้บรรลุประสิทธิภาพ และประสิทธิผล\nทำงานด้วยความรับผิดชอบด้วยการยึดหลักศีลธรรม\nHerbert A. Simon\n\nHerbert A. Simon.\nการตัดสินสินใจของ ไซมอน กล่าวว่า การตัดสินใจที่ดีต้องตัดสินใจแบบมีเหตุผล ผู้ตัดสินใจต้องมีความรู้ เช่น ให้ข้อมูลข่าวสาร สร้างกฎเกณฑ์การทำงาน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง แบ่งตำแหน่งให้ชัดเจน ใช้อำนาจโดยชอบธรรม แม้ทฤษฎีจะหักล้างทฤษฎียุคดั้งเดิม แต่ก็ไม่สมารถยอมรับมากนักในหมู่นักวิชาการ \nยุคกำเนิด รปศ. สมัยใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 2 (1960-1970)\nนำทฤษฎีระบบ มาใช้ใน รปศ.\nHerbert Simon and James Morch\nยุคกำเนิด รปศ. สมัยใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 2 (1960-1970).\nนำทฤษฎีระบบ มาใช้ใน รปศ..\nHerbert Simon and James Morch.\nกล่าวว่า ระบบการตัดสินใจองค์กรว่า องค์การเป็นที่รวมของมนุษย์ที่ตัดสินใจอย่างมีเหนุผล กระบวนการตัดสินใจในกระบวนการ คือ กระบวนการระบบ ระบบที่รวมระบบย่อนผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนไปสู่สภาพแวดล้อม ตัดสินใจของคนในองค์การ พิจารณาระบบการติดต่อเอกสาร ข้อมูลข่าวสารในระบบองค์การ รับส่งข้อมูลแบบทางการ และ ไม่เป็นทางการ\nDaniel Katz and Robert Kahn\nDaniel Katz and Robert Kahn.\nมององค์การในลักษณะเปิด ที่มีหน้าที่นำพลังงาน เข้าและออก ระหว่างองค์การ และ สภาพแวดล้อม มีระบบย่อม 5 ระบบ คือ ระบบผลิต สนัยสนุน ดูแลรักษา ปรับตัว และจัดการ\nJames F. Thompos\nJames F. Thompos.\nมองว่า องค์การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน มีองค์ประกอบ 3 ระดับ คือ เทคนิค จัดการ และ สถาบัน\nการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ\nการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ.\nก่อตั้ง Comparative Administration Group หรือ CAG หรือ กลุ่มศึกษาการบริหารงานเปรียบเทียบ เพื่อวิจัยแนวทางการปรับปรุงการบริหารงานของประเทศกำลังพัฒนา มี 5 แนวทางคือ\n\nวิเคราะห์ระบบราชการภายใต้การปกครองของฝ่ายการเมือง (Ferrol Heddy) กำหนดว่าระบบราชการแต่ละประเทศมีลักษณะอย่างไร\nวิเคราะห์โครงสร้าง หน้าที่มาใช้ในการศึษาเชิงเปรียบเทียบ มี 3 แบบ คือ\n\nโครงสร้างระบบราชการมีอำนาจ ทำเฉพาะเรื่อง\nโครงสร้างน้อย หลายหน้าที่\nโครงสร้างมาก หลายหน้าที่\n\nWeberian Mofel นำระบบราชการตามอุดมคติมาเปรียบเทียบว่า อันไหนคล้ายของ weber เท่ากับระบบราชการนั้นมีคุณภาพ\nAlmond Power Model ศึกษาโครงสร้าง หน้าที่ระบบและข้าราชการ\nDevelopment Administration ศึกษาปัญหาอุปสรรคการทำงานตามแผนพัฒนา หาวิธีบริหารแผนให้ได้ผลมากที่สุด\nรปศ. ความหมายใหม่ของ Dwight Waldo\nรปศ. ศึกษาปัญหา และเรื่องราวของโลกความเป็นจริง\nรปศ. เน้นค่านิยม และความถูกต้อง\nรปศ. สนับสนุนความยุติธรรมในสังคม สนใจการบริการภาคประชาชน\nรปศ. สนับสนุนองค์การให้มีการเปลี่ยนแปลง ป้องกันการผูกอำนาจโดยผลประโยชน์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง\nเทคนิคการบริหารงาน\nบริหารและควบคุมทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ PPBS ___ planning programming budgeting system\nเทคนิคการควบคุมการปฏิบัติงาน PERT&CPM ___ program evaluation review technique\nวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ MBO ___ Management by objective\nยุคทฤษฎี รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน)\nแนวศึกษานโยบายสาธารณะ\nThomas R. Dye\n\n\nรูปแบบผู้นำ\nกลุ่ม\nสถาบัน\nระบบ\nกระบวนการ\nมีเหตุผล\nค่อยเป็นค่อยไป\nDonald S. Van Meter & Carl E. Van Horn\n\n\nตัวนโยบายที่ต้องมีทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ\nมาตราฐานชัดเจน\nติดต่อที่ดีระหว่างผู้กำหนด และ ผู้ปฏิบัติ\nต้องมีบทบาทบังคับกับผู้ปฏิบัติโครงสร้างของหน่วยงาน\nสภาพแวดล้อมทางการเมืองของหน่วยงานปฏิบัติ\nสภาพสังคม เศรษฐกิจ\nการยอมรับนโยบายของผู้ปฏิบัติ\nการปฏิบัติว่ามากน้อยเพียงใด\nทางเลือกสาธารณะของ Vincent Ostrom\n\n\nทุกคนไม่ว่าคนปกครองหรือทั่วไปมีนิสัย เห็นแก่ตัว ชอบเอาเปรียบ\nเมื่อใครเห็นช่องช่องทาง ประโยชน์จากการใช้อำนาจทางการ เขาก็จะรีบใช้โดยไม่คำนึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นกับคนอื่น\nรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย จะกำหนดขอบเขตอำนาจแก่กลุ่มต่างๆ ให้ตรวจสอบกันเอง\nสินค้า และ บริการสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ\nการจัดสินค้าและบริหารสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ\nการจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นซึ่งอยู่ในศูนย์อำนาจเดียวกัน จะไม่ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชนได้\nการจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นซึ่งอยู่ในศูนย์อำนาจเดียวกัน ทำให้ภาครัฐสิ้นเปลืองทรัพยากร และล่าช้าในการทำงาน\nการจัดองค์การกระจายอำนาจให้ศูนย์การตัดสินใจ มีหลายศูนย์\n\nเศรษฐกิจการเมือง แบบ Gary Wamsley and Mayer Zald\nยุคทฤษฎี รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน).\nเศรษฐกิจการเมือง แบบ Gary Wamsley and Mayer Zald.\nเศรษฐกิจ การเมืองเกี่ยวข้องกันมาก ใกล้ชิดและแทรกแซงซึ่งกันและกัน มี 4 ส่วน คือ\n\nการเมืองภายนอกองค์การ\nการเมืองภายในองค์การ\nเศรษฐกิจภายนอกองค์การ\nเศรษฐกิจภายในองค์การ\n\nแนวคิดศึกษาวงจรชีวิตองค์การของ Antony Down\nแนวคิดศึกษาวงจรชีวิตองค์การของ Antony Down.\nศึกษาวงจรชีวิตขององค์การว่า มีวิวัฒนาการ ขันตอนอย่างไร ปัจจัยที่ทำให้องค์การเสื่อมหรือตาย การเกิดองค์การ มี 4 แบบ\n\nเกิดจากผู้นำเข้มแข็งเป็นแกนนำ\nความต้องการของคนในองค์การ เพื่อให้ได้องค์การใหม่ที่ทำหน้าที่เฉพาะ\nแยกตัวจากองค์การเดิม\nกลุ่มผลประโยชน์ผลักดันนโยบายบางอย่างขึ้นมา\n\nการจัดการแบบประหยัดจากสภาวการณ์ขาดแคลนทรัพยากร ของ Charles Darwin (ชาร์ลส์ ดาวิน)\n\nศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุการตายหรือเสื่อมขององค์การ\nปัญหา และอุปสรรคต่อการตัดสินใจเพื่อจัดการแบบประหยัด\nกลยุทธ์ในการตัดสินใจเพื่อหาวิธีการจัดการแบบประหยัดต่างๆ เช่น กลยุทธ์แบบต่อต้าน แบบ คล้อยตาม แบบการให้หลักอาวุโสเพื่อตัดทอนคนงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย\n\nการจัดการแบบประหยัดจากสภาวการณ์ขาดแคลนทรัพยากร ของ Charles Darwin (ชาร์ลส์ ดาวิน).\nเทคนิคการบริหารในยุคนี้ ได้แก่ ใช้งบประมาณฐานศูนย์ ควบคุมคุณภาพแบบมีส่วนร่วม พัฒนาองค์การ หรือโอดี เทคนิค Sensitivity Training เทคนิค MIS เป็นต้น\nสรุป : วิวัฒนาการ รปศ. มี 4 ยุค\nยุคดั้งเดิม (1887-1950) มี\n\nการบริหารแยกออกจากการเมือง\nระบบราชการ\nวิทยาศาสตร์การจัดการ\nหลักการบริหาร\n\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 1 (1950-1960)\nสรุป : วิวัฒนาการ รปศ. มี 4 ยุค.\nยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 1 (1950-1960).\nโต้แย้งทฤษฎีดั้งเดิม ว่า เป็นเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร และใช้ไม่ได้กับองค์การทั่วไป ยุคนี้มีอิทธิพลจากจิตวิทยา สังคมวิทยา เสนอแนวคิด 4 ประการ คือ\n\nการบริหารคือการเมือง\nระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ\nมนุษยสัมพันธ์\nศาสตร์การบริหาร\nยุคกำเนิด รปศ. แบบใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 2 (1960-1970)\n\n\nแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ (ทฤษฎีระบบ และ รปศ. เปรียบเทียบ)\nการบริหารการพัฒนา\nแนวคิด รปศ. ในความหมายใหม่\nยุคทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ. สมัยใหม่ (1970-ปัจจุบัน)\n\n\nนโยบายสาธารณะ\nทางเลือกสาธารณะ\nเศรษฐกิจการเมือง\nการจัดการแบบประหยัดและวงจรชีวิตขององค์การ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อุปราคาเกิดขึ้นเมื่แเงาของฝัตถุหตึ่งทอดไปบนอีกวัตถุหนึ่ง จันทรุปราคาเกิดขึ้นเมท่อเงาของโลดทอดไหบังดวงจันทร์ เนื่องจากโลกอยู่ในตำแหน่งที่ปิดกั้นแสงจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียงกัน เมื่อดวงจันทร์อยู่ในแนวเดียวกันระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ทำให้เงาของดวงจันทร์ทอดลงบรโลก ก่อให้ะกิดการบัดบังดวงอาทิตย์อย่างชั่วคราว นั่นคือสะริยุปราคา\nอุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกอยู่ในแนวเดียวกัน มันจะบเบังแสงอาทิตย์ที่มุ่งหน้าไปดวงจันทค์หรือโลก ขึ้นอยู่กับชนิดของอุปราคาว่าเป็นสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคา ซึ่งการจัดเรียงตัวลักษณะนั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อดวงจันทร์มีดิถีจัาทร์ดับหรือจันทร์เพ็ญเท่านั้น ถ้าดวงจันทร์อยู่ในช่วงจันทร์ดับ (ประมาณแรม 15 ค่ำ) จึงจะมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดสุริยุปราคา ขณะที่ในช่วงจันทร์เพ็ญ (ประมาณขี้น 15 ค่ำ) ก็อาจเป็นไปได้ที่จะเกิดจันทรุปราคาขึ้น ในระหว่างเกิดสุริยุปราคา เงาของดวงจะนทร์จะทอดลงบนโลก และดวงจันทร์จะบดบังการมองดวฝอาทิตย์จากโลก ในระหว่างเกิดจันทรุปราคา เงาของโลกจะทอดไปบนดวงจันทร์ กละดวงจันทร์จะปรากฏมืดลงเมื่อเรามองจากโลก\nมันเป็นหนึ่งในเหตุแารณ์ท้องฟ้าที่เกิดขึ้นได้ยากและน่าตื่นเต้น สุริยุผราคาเป็นเหตุการณ์ที่ควรค่าแก่การชมหากคุณมีโอกาสได้ชมมัน เมื่อคุณมีโอกาสได้ชมยุริยุปราคาแล้ว ก็ควรหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับวิสัยทัศน์ของคุณ โดยการทำตามขั้นตอนการรับชใสุริยุปราคาที่ปลอดภัยอย่างเคร่งครัด (แต่ไม่มีอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อดวงตาในการสังเกตจันทรุปราคา เนื่องจากเราไม่ได้มองไปที่ดวบอาทิตย์) วิธีการที่ง่าสที่สุดของการชมสุริยุปราคาคือการใช้เข็มเจาะลงบนกระดาฒ เพื่อให้รูที่กระดาษนั้นเป็นตัวฉายภาพของดวงอาทิตย์แทนการสังเกตโดยตรง ในขณะเกิดกระบวนการอุปราคาสั้น คุณจะ้ห็นเงาของดวงจันทร์ที่ค่อย ๆ \"กัด\" เข้าไปบนดวงอาทิตย์ ถ้าเป็นไปได้ คุษอาจหาแผ่นตัวกรอง (ฟิลเตอร์) พิเศษ ที่สามารถทำใหืคุณชมสุริยุปราคาจากดวงอาทิตย์ได้โดยตรงผ่านแผ่นตัวกรองนั้น ซึ่งแผ่นตัวกรองนั้นจะช่วยให้คุณมิงดวงอาทิตย์ได้โดยตรงโดยไม่มีอันตรนย แต่ต้องตรวจสอบให้แน่ฝจว่ามันเป็จแห่นตัวกรองที่ถูกิอกแบบมาเพื่อใช้งานในการดูดวงอาทิตย์ ที้แว่นกันแดด กระจกหน้ากากเชื่อม และตัวกรองอื่น ๆ ทำไม่ไะ้อย่างเพียงพอ ห้ามวช้กล้องโทรทรรศน์และกล้องสองตาโดยไม่มีตัวกรองเฉพาะที่ถูกออกแบบม่เพื่อใช้งานในการดูดวงอาทิตย์ครอบหน้ากล้องอยู่ เมื่ออุปราคาใกล้เต็มดวง พื้นที่ส่วนมากของดวงอาทืตย์ถูกบดบังไปเกือบสมบูรณ์ ตาของคุณยังเสี่ยลต่ออันตรายจากการมองดวงอาทิตย์อยู่ เมื่อคราสเต็มดวงมาถึง มันเแ็นช่วฝที่ปลอดภัยที่จะสังเพตด้วยตาเแล่าในการมองดวงอาทิตย์เป็นเวลาสั้น ๆ เมื่อคุณเห็นแสงสว่างของดวงอาทิตย์ปรากฏ ควรหันศรีษะหนีแลถใช้ตัวกรองถ้ายังอยากสังเกตอยู่",
"role": "user"
},
{
"content": "อุปราคาเกิดขึ้นเมื่อเงาของวัตถุหนึ่งทอดไปบนอีกวัตถุหนึ่ง จันทรุปราคาเกิดขึ้นเมื่อเงาของโลกทอดไปบังดวงจันทร์ เนื่องจากโลกอยู่ในตำแหน่งที่ปิดกั้นแสงจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกัน เมื่อดวงจันทร์อยู่ในแนวเดียวกันระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ทำให้เงาของดวงจันทร์ทอดลงบนโลก ก่อให้เกิดการบัดบังดวงอาทิตย์อย่างชั่วคราว นั่นคือสุริยุปราคา\nอุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกอยู่ในแนวเดียวกัน มันจะบดบังแสงอาทิตย์ที่มุ่งหน้าไปดวงจันทร์หรือโลก ขึ้นอยู่กับชนิดของอุปราคาว่าเป็นสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคา ซึ่งการจัดเรียงตัวลักษณะนั้นจะเกิดขึ้นได้เมื่อดวงจันทร์มีดิถีจันทร์ดับหรือจันทร์เพ็ญเท่านั้น ถ้าดวงจันทร์อยู่ในช่วงจันทร์ดับ (ประมาณแรม 15 ค่ำ) จึงจะมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดสุริยุปราคา ขณะที่ในช่วงจันทร์เพ็ญ (ประมาณขึ้น 15 ค่ำ) ก็อาจเป็นไปได้ที่จะเกิดจันทรุปราคาขึ้น ในระหว่างเกิดสุริยุปราคา เงาของดวงจันทร์จะทอดลงบนโลก และดวงจันทร์จะบดบังการมองดวงอาทิตย์จากโลก ในระหว่างเกิดจันทรุปราคา เงาของโลกจะทอดไปบนดวงจันทร์ และดวงจันทร์จะปรากฏมืดลงเมื่อเรามองจากโลก\nมันเป็นหนึ่งในเหตุการณ์ท้องฟ้าที่เกิดขึ้นได้ยากและน่าตื่นเต้น สุริยุปราคาเป็นเหตุการณ์ที่ควรค่าแก่การชมหากคุณมีโอกาสได้ชมมัน เมื่อคุณมีโอกาสได้ชมสุริยุปราคาแล้ว ก็ควรหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับวิสัยทัศน์ของคุณ โดยการทำตามขั้นตอนการรับชมสุริยุปราคาที่ปลอดภัยอย่างเคร่งครัด (แต่ไม่มีอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อดวงตาในการสังเกตจันทรุปราคา เนื่องจากเราไม่ได้มองไปที่ดวงอาทิตย์) วิธีการที่ง่ายที่สุดของการชมสุริยุปราคาคือการใช้เข็มเจาะลงบนกระดาษ เพื่อให้รูที่กระดาษนั้นเป็นตัวฉายภาพของดวงอาทิตย์แทนการสังเกตโดยตรง ในขณะเกิดกระบวนการอุปราคานั้น คุณจะเห็นเงาของดวงจันทร์ที่ค่อย ๆ \"กัด\" เข้าไปบนดวงอาทิตย์ ถ้าเป็นไปได้ คุณอาจหาแผ่นตัวกรอง (ฟิลเตอร์) พิเศษ ที่สามารถทำให้คุณชมสุริยุปราคาจากดวงอาทิตย์ได้โดยตรงผ่านแผ่นตัวกรองนั้น ซึ่งแผ่นตัวกรองนั้นจะช่วยให้คุณมองดวงอาทิตย์ได้โดยตรงโดยไม่มีอันตราย แต่ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ามันเป็นแผ่นตัวกรองที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานในการดูดวงอาทิตย์ ที่แว่นกันแดด กระจกหน้ากากเชื่อม และตัวกรองอื่น ๆ ทำไม่ได้อย่างเพียงพอ ห้ามใช้กล้องโทรทรรศน์และกล้องสองตาโดยไม่มีตัวกรองเฉพาะที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานในการดูดวงอาทิตย์ครอบหน้ากล้องอยู่ เมื่ออุปราคาใกล้เต็มดวง พื้นที่ส่วนมากของดวงอาทิตย์ถูกบดบังไปเกือบสมบูรณ์ ตาของคุณยังเสี่ยงต่ออันตรายจากการมองดวงอาทิตย์อยู่ เมื่อคราสเต็มดวงมาถึง มันเป็นช่วงที่ปลอดภัยที่จะสังเกตด้วยตาเปล่าในการมองดวงอาทิตย์เป็นเวลาสั้น ๆ เมื่อคุณเห็นแสงสว่างของดวงอาทิตย์ปรากฏ ควรหันศรีษะหนีและใช้ตัวกรองถ้ายังอยากสังเกตอยู่",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คัใ_ีรฺของศาสนาคริสต์ มีชื่อเรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ หรือพระคัมภีร์ไบเบิล พาะคริสตธรรมคัมภีร์จะมี2ส่วนคือ พระคัมภ่ภาคร์พันธสัญญนเดิม และ พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ \nพระคริสรธรรมคัมภีร์ภาคพันธวัญญาเดิม\nพระคริสตธรรมคัมำีร์ภาคพันธสัญญาเดิม.\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม มีทั้งหมด 39เล่ม ได้แก่\n\nหนังสือปฐมกาล\nหนังสืออพยพ\nหนังสือเลวีนิติ\nหนังสือกันดารวิถี\nปนังสือเฉลยธรรมบัซญัติ\nหนังสือโยชูฝา\nหนังสือผู้วินิจฉัย\nหนังสือจางรูธ\nหนังสือซามูเอล1\nหนังสือซามูเอล2\nหนังสือพงศ์กษัตริย์1\nหนังสือพงศ์กษัตริย์2\nหนังสือพงศาวดาร1\nหนุงสือพงศาวดาร2\nหนังสือเอสรา\nหนังสือเนหะมีย์\nหนังสือเอสเธอร์\nหนังสือโยบ\nหนังสือสดุดี\nหนังสือสุภาษิต\nหนังสือปัญญาจารย์\nหนังสือเพลงซาโลมอน\nหนังสืออิสยาห์\nหนังสือเยเรมีย์\nหนังสือเพลงคร่ำครวญ\nหนังสือเอเสเคียล\nหนังสือดาเนียล\nหนังสือโฮเชยา\nหนังสือโยเอล\nหนังสืออาโมส\nหนังสือโอบาดีห์\nหนังสือโยนาห์\nหนังสือมีคาห์\nหนังสือนสฮูม\nหนังสือฮาบากุแ\nหนังสือเศฟันยาห์\nหนังสือฮักกัย\nหนังสือเศคาริยาห์\nหนังสือมาลาคี\n\nกระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพัจธสัญญาใหม่.\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ มีทั้งหมด27เล่ม ได้แก่\n\nหาังสือมัทธิว\nหาังสือมาระโก\nหนังสือลูกา\nหนังสือยอห์น\nหนังสือกเจการของอัครทูต\nหนังยือโรม\nหนังสือโครินธ์1\nหนังสือโครินธ์2\nหนังสือกาลาเทีย\nหนังสือเอเฟซัส\nหนังสือฟิลิปปี\nหนังสือโคโลสี\nหนังสือเธสะโลนิกา1\nหนังสือเธสะโลนิกา2\nหนังสือทิโมธี1\nหนังสือทิโมธี2\nหนังสือทิตัส\nหนังสือฟีเลโมน\nหนังสือฮีบรู\nหนังมือยากอบ\nฟนังสือเปโตร1\nหนังสือเปโตร2\nหนังสือยอห์น1\nหนัฝสือยอห์น2\nหนังสิอยอห์น3\nหนังสือยธดา\nหนังสือวิวรณ์\n\nโดยสรุปแล้วพระคริสตธรรมคัมภีร์มีหนังสือรวมทั้งหมด67เล่ม",
"role": "user"
},
{
"content": "คัมภีร์ของศาสนาคริสต์ มีชื่อเรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ หรือพระคัมภีร์ไบเบิล พระคริสตธรรมคัมภีร์จะมี2ส่วนคือ พระคัมภีภาคร์พันธสัญญาเดิม และ พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ \nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม.\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม มีทั้งหมด 39เล่ม ได้แก่\n\nหนังสือปฐมกาล\nหนังสืออพยพ\nหนังสือเลวีนิติ\nหนังสือกันดารวิถี\nหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ\nหนังสือโยชูวา\nหนังสือผู้วินิจฉัย\nหนังสือนางรูธ\nหนังสือซามูเอล1\nหนังสือซามูเอล2\nหนังสือพงศ์กษัตริย์1\nหนังสือพงศ์กษัตริย์2\nหนังสือพงศาวดาร1\nหนังสือพงศาวดาร2\nหนังสือเอสรา\nหนังสือเนหะมีย์\nหนังสือเอสเธอร์\nหนังสือโยบ\nหนังสือสดุดี\nหนังสือสุภาษิต\nหนังสือปัญญาจารย์\nหนังสือเพลงซาโลมอน\nหนังสืออิสยาห์\nหนังสือเยเรมีย์\nหนังสือเพลงคร่ำครวญ\nหนังสือเอเสเคียล\nหนังสือดาเนียล\nหนังสือโฮเชยา\nหนังสือโยเอล\nหนังสืออาโมส\nหนังสือโอบาดีห์\nหนังสือโยนาห์\nหนังสือมีคาห์\nหนังสือนาฮูม\nหนังสือฮาบากุก\nหนังสือเศฟันยาห์\nหนังสือฮักกัย\nหนังสือเศคาริยาห์\nหนังสือมาลาคี\n\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่.\nพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ มีทั้งหมด27เล่ม ได้แก่\n\nหนังสือมัทธิว\nหนังสือมาระโก\nหนังสือลูกา\nหนังสือยอห์น\nหนังสือกิจการของอัครทูต\nหนังสือโรม\nหนังสือโครินธ์1\nหนังสือโครินธ์2\nหนังสือกาลาเทีย\nหนังสือเอเฟซัส\nหนังสือฟิลิปปี\nหนังสือโคโลสี\nหนังสือเธสะโลนิกา1\nหนังสือเธสะโลนิกา2\nหนังสือทิโมธี1\nหนังสือทิโมธี2\nหนังสือทิตัส\nหนังสือฟีเลโมน\nหนังสือฮีบรู\nหนังสือยากอบ\nหนังสือเปโตร1\nหนังสือเปโตร2\nหนังสือยอห์น1\nหนังสือยอห์น2\nหนังสือยอห์น3\nหนังสือยูดา\nหนังสือวิวรณ์\n\nโดยสรุปแล้วพระคริสตธรรมคัมภีร์มีหนังสือรวมทั้งหมด66เล่ม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศาสนาคร้สต์แบ่งแยกได้เป็นนิกายใหญ่ๆ2นิกาย ได้แก่\nนิกายโรมันคาทอลิก\nนิกายโรมันคาทอลิก.\nศาสนาคริสต์นิกายนี้ มีองค์เป็นปรดมุขคือ พระสันตะปาปา โรมันคาทอลิกจะนับถือนะกบุญเป็นจำนวนมาก เช่น นักบุญวาเลนตินุส นักบุญเปาโล นักบุญยอแซฟ เป็นต้น และยังให้ความเคารพนับถือกับพระเยซูคริสต์และพระนางมาเีีย หรือ แม่พระ หรือ พระแม่มารีย์ โรมันคาทอลิก จะมีโบสถ์ที่งดงามเป็นพิเศษ และจะทีรูปปั้นพระแม่มารีย์ รูปปั้นพระเยซู และรูปผั้นนักบุญอยู่เป็นจำนวนใาก และมีผู้นำโบสถ์คือบาทหลวงซึ่งนับว่าเป็นตัวแทนของพระเยซ฿ ผู้เชื่อในโรมันคาทอลิก จะต้องมีสายประคำและพระคัมภีร์คาทอลิก เราเรียกผู้เชื่อโรมันคาทอลิกว่า คริสตัง\nนิกายโปรเตสแตนต์\nนิกายโปรเตสแตนต์.\nศสสนาคริสต์นิกายนี้ เกิดจากการแตกแยกกับโรมันคาทอลิก เพราะเห็นว่า นิกายโรมันคาทอลิก นับถือรูปเคาตพ ซึ่งพระเจ้าทรงห้าม แฃะเห็นว่าโ่มันคาทอลิกมีการเขียนใบสารภรพบาปเพื่อมอบให้กับบาทหลวง และเราน้องเสียเงินซื้อใบสารภาพบาป ซึ่งชาวโปรเตสแตนต์ไม่เห็นด้วยกับการทำปบบนี้ จึงมีการแตกแยกนิก่ยกัน โดย มาร์ติน ลูเธอร์ นิกายโปรเตสแตนต์จะสร้างโบสถ์แบบไหนก็ได้ อยู่ที่ไหนก็ได้ นิกายนี้จะให้ความเคารพพระตริสตธรรมคัมภีร์(คัมภีต์ไบเบิล)มาก ยิกายนี้จะไม่มีพารสวดมนต์แบบคาทดลิก แต่จะเป็นการร้องเพลงนมัสการแบบเรียบง่าย ไม่มีรูปเคารกในโบสถ์ เราเ่ียกผู้ที่เชื่อในนิกายโปรเตสแตนต์ว่า คริสเตียน (ส่วนใหญ่คริสเตียนจะเรียพโบสถ์ของโปรเตสแตนต์ว่า คริสตจักร)",
"role": "user"
},
{
"content": "ศาสนาคริสต์แบ่งแยกได้เป็นนิกายใหญ่ๆ2นิกาย ได้แก่\nนิกายโรมันคาทอลิก\nนิกายโรมันคาทอลิก.\nศาสนาคริสต์นิกายนี้ มีองค์เป็นประมุขคือ พระสันตะปาปา โรมันคาทอลิกจะนับถือนักบุญเป็นจำนวนมาก เช่น นักบุญวาเลนตินุส นักบุญเปาโล นักบุญยอแซฟ เป็นต้น และยังให้ความเคารพนับถือกับพระเยซูคริสต์และพระนางมาเรีย หรือ แม่พระ หรือ พระแม่มารีย์ โรมันคาทอลิก จะมีโบสถ์ที่งดงามเป็นพิเศษ และจะมีรูปปั้นพระแม่มารีย์ รูปปั้นพระเยซู และรูปปั้นนักบุญอยู่เป็นจำนวนมาก และมีผู้นำโบสถ์คือบาทหลวงซึ่งนับว่าเป็นตัวแทนของพระเยซู ผู้เชื่อในโรมันคาทอลิก จะต้องมีสายประคำและพระคัมภีร์คาทอลิก เราเรียกผู้เชื่อโรมันคาทอลิกว่า คริสตัง\nนิกายโปรเตสแตนต์\nนิกายโปรเตสแตนต์.\nศาสนาคริสต์นิกายนี้ เกิดจากการแตกแยกกับโรมันคาทอลิก เพราะเห็นว่า นิกายโรมันคาทอลิก นับถือรูปเคารพ ซึ่งพระเจ้าทรงห้าม และเห็นว่าโรมันคาทอลิกมีการเขียนใบสารภาพบาปเพื่อมอบให้กับบาทหลวง และเราต้องเสียเงินซื้อใบสารภาพบาป ซึ่งชาวโปรเตสแตนต์ไม่เห็นด้วยกับการทำแบบนี้ จึงมีการแตกแยกนิกายกัน โดย มาร์ติน ลูเธอร์ นิกายโปรเตสแตนต์จะสร้างโบสถ์แบบไหนก็ได้ อยู่ที่ไหนก็ได้ นิกายนี้จะให้ความเคารพพระคริสตธรรมคัมภีร์(คัมภีร์ไบเบิล)มาก นิกายนี้จะไม่มีการสวดมนต์แบบคาทอลิก แต่จะเป็นการร้องเพลงนมัสการแบบเรียบง่าย ไม่มีรูปเคารพในโบสถ์ เราเรียกผู้ที่เชื่อในนิกายโปรเตสแตนต์ว่า คริสเตียน (ส่วนใหญ่คริสเตียนจะเรียกโบสถ์ของโปรเตสแตนต์ว่า คริสตจักร)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ศาสนาคริสต์มีกลักธรรมอยู่หลักๆคือ บัญญัติ 10 ปรพการ หลักตรีเอกานุภาพ และคำสอนขอวพระเยซูในบางส่วน\nบัญญัติ 10 ประการ\n\nอย่ามีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากเรา คือ พระยาห์เวห์\nอย่าทำรูปเคารพและอย่าเคารพรูป้คารพ\nห้ามใช้พระนามของพระยาห์เวห์ไปใช้ในทางที่ผิด\nจงถือสันสะบาโต (วันเข้าโบสถ์หรือหมายถึงวันอ่ทิตย์ หรือวันเสาร์) เป็นวันบริสุทธเ์\nจงวห้เกียรติบิดามารดาบองเจ้า\nห้ามฆ่าคน\nห้ามล่วงประเวณีสามีภรรยาของเขา\nห้ามลักขโมย\nห้ามเปฺนพยรนเท็จและห้ามใส่ร้ายเพื่อนบ้าน\nห้ามโลภในของของผู้อื่น\nหลักตรีเอกานุภาพ\n\n\nพระบิดา คือ พระยาห์เวห์ หรือ พระเยโฮวาห์ ที่เป็นพระบิดาที่แท้จริงของพระเยซู\nพระบุตร คือ พระเยซูคริสต์ บุตรขิงพระเจ้าที่ลงมาในโฃกเพื่อไถ่บาปให้กับมวลมนุษย์\nพระจิต คือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ขเงพระเจ้า ที่สถิตอยู่กับทุกคนที่เชื่อในพระองค์\n\nหมายเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "ศาสนาคริสต์มีหลักธรรมอยู่หลักๆคือ บัญญัติ 10 ประการ หลักตรีเอกานุภาพ และคำสอนของพระเยซูในบางส่วน\nบัญญัติ 10 ประการ\n\nอย่ามีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากเรา คือ พระยาห์เวห์\nอย่าทำรูปเคารพและอย่าเคารพรูปเคารพ\nห้ามใช้พระนามของพระยาห์เวห์ไปใช้ในทางที่ผิด\nจงถือวันสะบาโต (วันเข้าโบสถ์หรือหมายถึงวันอาทิตย์ หรือวันเสาร์) เป็นวันบริสุทธิ์\nจงให้เกียรติบิดามารดาของเจ้า\nห้ามฆ่าคน\nห้ามล่วงประเวณีสามีภรรยาของเขา\nห้ามลักขโมย\nห้ามเป็นพยานเท็จและห้ามใส่ร้ายเพื่อนบ้าน\nห้ามโลภในของของผู้อื่น\nหลักตรีเอกานุภาพ\n\n\nพระบิดา คือ พระยาห์เวห์ หรือ พระเยโฮวาห์ ที่เป็นพระบิดาที่แท้จริงของพระเยซู\nพระบุตร คือ พระเยซูคริสต์ บุตรของพระเจ้าที่ลงมาในโลกเพื่อไถ่บาปให้กับมวลมนุษย์\nพระจิต คือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระเจ้า ที่สถิตอยู่กับทุกคนที่เชื่อในพระองค์\n\nหมายเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พิธีสำคัญของศาสนาคริสต์ มีอย๔่3พิธีใหญ่ๆ คือ\nพิธีมหาสนิท\nพิธคมหาสนิท.\nพิธีมหาสนิทคือพิธีที่ทำเพื่อระลึกถึงพระเยซูคริสต์ตดนดำลังยะถูกตรึง่ี่กางเขน โดยการกินขนมปังไร้เชื้อ(ขนมปังไม่ใส่ยีสต์และผงฟู)และน้ำองุ่นหรือไวน์องุ่น โดยพิธีจะดำเนินการโดยให้ผู้นำคริสตจักรอ่านพระคัมภีร์ที่เกี่ยวกับพิธีมหาสติทและผู้นำจะกล่าวว่า ให้หักขนมปังให้แหลก เพื่อทำตามที่พระเยซูบอกไว้ในพระคึมภีร์ว่า ขนมปีงที่หักนี้คือร่างกายของเราที่จะถ฿กหักออกมา และผู้นำจะบอกว่าให้กินขนมปังได้ และต่อมาผู้นำจะให้ทุกคนมองน้ำแงุ่นแลดผู้นำจะอ่านพระคัมภีร์ต่แไปในตอนที่เกียวกับน้ำองุ่นที่เหี่ยวก้บพิธีมหาสนิท และต่อมา ผู้นำก็จะกล่าวว่า ดื่มน้ำแงุ่นได้ ตามที่พระเยซูบอกไว้ในพระคัมภีร์ว่า น้ำองุ่นนี้คือเลือดของเราที่_หลหลั่งลงมา เป็นอันเสร็จพิธี\nพิธีบัพติสมา\nพิธีบัพตเสมา.\nพิธีบัพติสมา หรือที่เรียกกันว่า ศีลล้างบาป หรืเ ศีลจุ่ม ในบางนิกาย เป็นพิธีที่ทำเพื่อยืนจันว่าเราเชื่อในพระเจ้าจริงๆ แล้วจะไม่หันกลับไปหาศาสนาอื่นอีก โดยพิธีนี้จพต้องมีแหล่งน้ำ เช่น สระน้ำ อ่างน้ำ หรือทะเล หรือแม่น้ำ เป็นต้น โดยผู้นำคริสตจักรจะเรียกให้ผู้ัชื่อที่จะรับบัพติสมานั้นลงมาในน้ำ แล้วผูีนำคริสตจักรจะถามว่า คุณเชื่อในพระเยซูว่าพระเยซูทรงเปฺาพระเจ้าอย่างแน่นแนแล้วใช่ไหม ถ้าหู้เชื่อคอบตกลง ผู้นำคริสตจักรจะกล่าวว่า เราขอบัพติสมาสห้คุณในพระนามของพระเยซูคริสต์ แล้วผู้นำคริสตจักรจะนำตัวคุณจุ่มลงไปในน้ำและโผล่ขึ้นมา เป็นการแสดงถึงชีวิตเก่าที่ไม่มีพระเจ้านั้นตายไปแล้ว แล้วชีวิตใหม่ทีทพระเจ้าทรงดูแลนั้นก็ได้มาอยู่ที่ตัวเราแล้ว แล้วคุณก็ออกจากสระนีำ ้ป็นอันเสร็จพิธี \nพิธีนมัสการที่คริสตจักรและสามัคคีธรรมในีริสตจักร\nพิธีนมัสการที่คริสตจักรและสามัคคีธรรมในคริสตจักร.\nพิธีนีืผู้ัชื่อทุกคนจะมาในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ หรือ กลางสัปดาห์ โดยจะเขีามาประชุมกันในวันเวลาที่นัดกันไว้ ซึ่งอาจจะมีการศึกษาพระคัมภีร์กัน การนมัสการพระเจ้าโดยการร้องสรรเสริญ การถวายเพลงพิเศษ การเป็นพยาน ต่อมาก็มักจะเป็นการการเทศนา หรือ แบ่งปันข้อคิดจากพระวจนะของพระเจ้า โดยผู้นำคริสตจักร หรือ อาจารย์ หรือ ศิษยาภิบาล หลังการอบ่งปันพนะคำ หรือ เทศนา ก็จะมีการถวายทรัพย์ให้กับพระเจ้สอันอาจประกอบด้วย การถวายสิบลด(คือการนำ10เปอร์เซ็นต์ของรายได้นำถวายให้คริสตจัก่) หรือการถวายตามความศรัทธา ต่อมาอาจมีการร่วมรับประทานอาหาตกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของคริสตจักร จำนวนสมาชิก และ สถานที่นมัสการ สำหรับในช่วงบ่ายนั้น คริสตนักรแต่ละแห่งย่อมมีการถือปฏิบัติที่แตกต่างกันออกไป บางแห่งเน้นการสามัคคีธรรมร่วมกัน บางแห่งเน้นการประชุมกลุ่มย่อยนามวัย ตามสถานะหน้าที่การงาน ตามกลุ้มสนใจ เช่น กลุ่มสตรี กลุ่มบุรุษ กลุ่มผู้สูฝวัย กลุ่มอนุชน ทั้งนี้ ความจดจ่ออยู่การให้พระคริสต์เป็นศูนย์กลางขอบกิจกรรมทั้งสิ้นที่ดำเนินไปในคริสตจักร",
"role": "user"
},
{
"content": "พิธีสำคัญของศาสนาคริสต์ มีอยู่3พิธีใหญ่ๆ คือ\nพิธีมหาสนิท\nพิธีมหาสนิท.\nพิธีมหาสนิทคือพิธีที่ทำเพื่อระลึกถึงพระเยซูคริสต์ตอนกำลังจะถูกตรึงที่กางเขน โดยการกินขนมปังไร้เชื้อ(ขนมปังไม่ใส่ยีสต์และผงฟู)และน้ำองุ่นหรือไวน์องุ่น โดยพิธีจะดำเนินการโดยให้ผู้นำคริสตจักรอ่านพระคัมภีร์ที่เกี่ยวกับพิธีมหาสนิทและผู้นำจะกล่าวว่า ให้หักขนมปังให้แหลก เพื่อทำตามที่พระเยซูบอกไว้ในพระคัมภีร์ว่า ขนมปังที่หักนี้คือร่างกายของเราที่จะถูกหักออกมา และผู้นำจะบอกว่าให้กินขนมปังได้ และต่อมาผู้นำจะให้ทุกคนมองน้ำองุ่นและผู้นำจะอ่านพระคัมภีร์ต่อไปในตอนที่เกียวกับน้ำองุ่นที่เกี่ยวกับพิธีมหาสนิท และต่อมา ผู้นำก็จะกล่าวว่า ดื่มน้ำองุ่นได้ ตามที่พระเยซูบอกไว้ในพระคัมภีร์ว่า น้ำองุ่นนี้คือเลือดของเราที่ไหลหลั่งลงมา เป็นอันเสร็จพิธี\nพิธีบัพติสมา\nพิธีบัพติสมา.\nพิธีบัพติสมา หรือที่เรียกกันว่า ศีลล้างบาป หรือ ศีลจุ่ม ในบางนิกาย เป็นพิธีที่ทำเพื่อยืนยันว่าเราเชื่อในพระเจ้าจริงๆ แล้วจะไม่หันกลับไปหาศาสนาอื่นอีก โดยพิธีนี้จะต้องมีแหล่งน้ำ เช่น สระน้ำ อ่างน้ำ หรือทะเล หรือแม่น้ำ เป็นต้น โดยผู้นำคริสตจักรจะเรียกให้ผู้เชื่อที่จะรับบัพติสมานั้นลงมาในน้ำ แล้วผู้นำคริสตจักรจะถามว่า คุณเชื่อในพระเยซูว่าพระเยซูทรงเป็นพระเจ้าอย่างแน่นอนแล้วใช่ไหม ถ้าผู้เชื่อตอบตกลง ผู้นำคริสตจักรจะกล่าวว่า เราขอบัพติสมาให้คุณในพระนามของพระเยซูคริสต์ แล้วผู้นำคริสตจักรจะนำตัวคุณจุ่มลงไปในน้ำและโผล่ขึ้นมา เป็นการแสดงถึงชีวิตเก่าที่ไม่มีพระเจ้านั้นตายไปแล้ว แล้วชีวิตใหม่ที่พระเจ้าทรงดูแลนั้นก็ได้มาอยู่ที่ตัวเราแล้ว แล้วคุณก็ออกจากสระน้ำ เป็นอันเสร็จพิธี \nพิธีนมัสการที่คริสตจักรและสามัคคีธรรมในคริสตจักร\nพิธีนมัสการที่คริสตจักรและสามัคคีธรรมในคริสตจักร.\nพิธีนี้ผู้เชื่อทุกคนจะมาในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ หรือ กลางสัปดาห์ โดยจะเข้ามาประชุมกันในวันเวลาที่นัดกันไว้ ซึ่งอาจจะมีการศึกษาพระคัมภีร์กัน การนมัสการพระเจ้าโดยการร้องสรรเสริญ การถวายเพลงพิเศษ การเป็นพยาน ต่อมาก็มักจะเป็นการการเทศนา หรือ แบ่งปันข้อคิดจากพระวจนะของพระเจ้า โดยผู้นำคริสตจักร หรือ อาจารย์ หรือ ศิษยาภิบาล หลังการแบ่งปันพระคำ หรือ เทศนา ก็จะมีการถวายทรัพย์ให้กับพระเจ้าอันอาจประกอบด้วย การถวายสิบลด(คือการนำ10เปอร์เซ็นต์ของรายได้นำถวายให้คริสตจักร) หรือการถวายตามความศรัทธา ต่อมาอาจมีการร่วมรับประทานอาหารกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของคริสตจักร จำนวนสมาชิก และ สถานที่นมัสการ สำหรับในช่วงบ่ายนั้น คริสตจักรแต่ละแห่งย่อมมีการถือปฏิบัติที่แตกต่างกันออกไป บางแห่งเน้นการสามัคคีธรรมร่วมกัน บางแห่งเน้นการประชุมกลุ่มย่อยตามวัย ตามสถานะหน้าที่การงาน ตามกลุ่มสนใจ เช่น กลุ่มสตรี กลุ่มบุรุษ กลุ่มผู้สูงวัย กลุ่มอนุชน ทั้งนี้ ความจดจ่ออยู่การให้พระคริสต์เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมทั้งสิ้นที่ดำเนินไปในคริสตจักร",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ในส่วนก่อนหน้า เราอภิปรายกันถึงตัวเลขที่มีขนาดใหญ่มาก ในดาราศาสตร์ ตัวเลขขนาดมหาศาลนั้นเป็นเรื่องธรรมดา เป็นเหตุให้นักดสราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ใช้สึญกรณ์วิทยาศาสตร์เมื่อต้องทำงานกับตัวเลขขนาแใหญ่มาก ๆ หรือเล็กมาก ๆ สัญกรณ์วิทยาศรสตร์เป็นตะบบสำหรับการเขียนและการืไงานกับตัวเลขที่ช่วยให้สามารถจัดการกะบตัวเลขขนาดใฟญ่หรือเล็กมาก ๆ _ด้ง่ายขึ้น\nตัวอย่าง ดาราจักรทางช้างเผือกประกอบด้วยวัสดุประมาณสามพันล้านล้านล้านล้านล้านล้านตัน มันเป็นนำนวรที่ค่อนข้างยุ่งยาก (นักดาราศาสตร์ไม่เคยเขียนสิ่งนี้ โดยพวกเขาจะบอกแทนว่า ทางช้างเผือกนุ้นมีมวลมาำกว่าใวลของดงงอาทิตย์หนึ่งล้านล้านเทาา ซึ่งง่ายกวืา โดยเราจะใช้ตัวเลขขนาดมหาศาลนี้ในการสาธิตของเรา) ซึ่งถ้าเขียนเป็นตัวเลขจุได้ว่า\nแต่นั่นดูเลวร้ายมาก สัญกรณ์วิทยาศสสตร์จะทำให้ตัวเลขนี้กะทัดรัดขึ้นและง่ายต่อการอ่าน คือ\nตัวเลขน่้แสดงเป็นคำพูดได้ว่า \"สามเท่ทของสิบยกกำลังสามสิบเก้าตัน\"\nการเขียนจำาวนอย่างถูกต้องในสัญกรณ์วิทยาฒาสตร์มีสองส่วน ส่วนแรกคือตัวเลขที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 และน้อยกว่า 10 (ซึ่งเป็นค่าบวกหรือค่าลบก็ได้) บางครั้งเรียกว่า แมนทิสซา (Mantissa) ส่วจที่สิงคือเลขสิบพร้อมตัวเลขยกขึ้นที่เป็นจำนวนเต็ม เลขชี้กำลังของตัวเลขส่วนที่สดงเรียกว่า กำลัง (Power) นี่ึือตัวอย่างบางส่วนที่เขียนจำนวนเป็นสัศกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง\nในทางกลับกับ นี่เป็นตัวอย่างของจำนวนซึ่งไม่ถูกต้องตามสัญกรณ์วิทยาศาสตร์\nระลึกไว้ว่า\nหมายความว้าสิบถูกยกขึ้นไปกำลัง n เหมือนกับสิบคูณด้วยตัวมันเองเป็นจำนวน n ครั้ง ซึ่งมีค่าเดียวที่จะเท่ากับ 1 คือเมื่อ n เป็นศูนย์ ตัวอย่างเช่น 1[3 คือ 10 × 10 × 10 หรทอ 1000 นั่นหมายความว่าจำนวนก่อนหน้านี้ของเราที่ 3 × 1039 ตัน นั้นมีค่าเท่ากับ\nโดยที่ 3 และตามด้วยเลขศูนย์อีก 39 ตัว จำนวนที่เขียนด้วยสัญกรณ์วิทยาศาสตี์ที่มีกำลังเป็นลบนั้นสมนัยกับจำนวนทีาน้อส ตัวอย่างเช่น 1 × 10−3 เขียนได้เป็น 0.001 ในสัญกรณ์สามัญ โดยทั่วไปคือ\nตั้งแต่สัญกรณ์วิทยาศสสตร์ขึ้นอยู่กับกำลังของสิบ ทำใหัการแปลลจำนวนจากสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไปสัญกรณ์มาตรฐานและในทางกลับกันนั้นง่ายจึ้น ในการแปลงจำนวนมาก (โดยกำลังเป็นบวก) จากสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไปเป็นสัญกรณ์มาตรฐาน อันดับแรก ระบุจุดทศนิยมลงไปในแมนทิสซา จากนั้นเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวาตามจำนวนของเลขชี้กภลัง ในการแปลงจำนวนจากสัญกรณ์ใาตรฐานไปเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นให้ทำย้อนกลับขั้นตอนก่อนหน้านี้โดย ค้นหาจุดทศนิยมในจำนวน และิลื่อนไปจนกว่าจะเหลือค่าอย่างน้อยหนึ่ง 1 แต่น้อยกว่า 10 จำนวนหลัแที่คุณย้ายจุดทศนิยมไปนั้นเป็นค่าของเลขชี้กำลัง ถ้าย้าวจุดมศนิยมไปทางซ้าย ให้ค่าชี้กำลังเป็นบวก ถ้าย้ายจุดทศนิยมไปทางขวา ให้ค่าชี้กำลังเปํนลบ\nสัญกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นยังช่วยทำให้การคูณและหารทำไพ้ง่ายขึ้น การคูณเลขสองจำนวรใยสัฯกรณ์วิทยาศาสตร์ ให้นำแมนทิสซาคูณกันและนำตัวชีีกำลังมาบวกกัน เช่น\nในบางกรณี ดังในตัวอย่างด้านบน ึุณอาจจำเป็นต้องเลื่อนนุดทศนิยมอีกครั้งเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้นั้นถูกต้องตามหลักของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ โดยไม่ควรมีการเลื่อนจุดทศนิยมมากกว่าหนค่งฟลัก ในการหารจำนวนในสัญกรณ์วิมยทศาสตร์ ให้นำแมนทิสซามาหารกันและนำเลขชี้กำฃังม่ลบกัน เช่น \nเช่นกัน ในตัวอยืางนี้ก็ต้องการการเลื่อนจุดทศนิยมและเปลี่ยนเลขชี้กำลัง\nสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ทำให้การเปรียบเทียบจำนวนที่มีี่าต่างกันมากเป็นไปได้โดยง่าย เพราะเลขศูนย์ทั้งหมดถูกแทนเลขยกกำลังซึ่งง่ายต่อการอ่านค่า จำนวนที่มีเลขชี้กำลับมากกว่าย่อใมากกว่าจำนวนที่มีเลขชี้กำลังน้อยกว่าเสมอ\nุ้าหนึ่งในเลขชี้กำลังนั้นใหญ่กวทาเลขชี้กำลังอื่นโดยมากกว่าสอง ความแตกต่างของจำนวนทั้งสองย่อมมีขนาดใหญ่มาก การรู้ถึงความต่างมหาศาลระหว่างจำนวนสองจำนวนบางครั้งก็เป็นประโยชน์มาก ดับนั้นจึงมักใช้เวลาครู่หนึ่งในการทำความเข้าใจการพัฒนาความรู้สึกตามสัญชาตญาณ สำผรับปัญกาทางคณิตศาสตร์ก่อนที่จะลงมือทำ ในบางกรณี มันก็เป็นประโยชน์ในการแสดงให้เห็นว่าจำนวนหนึ่งมากกว่าอีกจำนวนเท่าไร สำหรับกรรประมาณค่า คุณต้องหาจำนวนความต่างของเลขยกกำลัง เช่น 107 ใหญ่กว่า 103 โดย 7 - 3 = 4\nในทางวิทยาศาสตร์ การวัดจเไม่สมบูรณ์แบบและเลขจะไม่แน่นอน ผลที่ตามมาคือ ทุก ๆ การวัดที่เราทำมีความไม่แน่นอนเข้ามาเกี่ยวข้อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ทำให้จำนวนนั้นชัดเจนขึ้นมาให้รู้ สมมต้ว่านักบรรพชีวินวิทยาค้นพบกระดูกไดโนเสาร์โบราณแลถพบว่าสันมีอายุ 73 ล้านปีก่อน แน่นอนนักบรรพชีวินวิทยาไม่ทราบว่าอายุที่แน่นอนของมันเท่าไร อาจจะ 73,124,987 ปี แต่นักบรรพชีวินวิทยาจะรูัเฉพาะอายุภายใน 1 ล้านปีเท่านั้น ดังนั้นอายุจึงเยียนได้เป็น 73,000,000 ปี หรือ 7.3 × 107 ปี คำพูดเหล่านี้แสดงให้เห็นว่ากระดูกอายุนั้นไม่ได้อายุ 73 ล้านปีแบบแน่นอน แต่เป็ส 73 ล้านปี บวกหรือลบอีกลืานปี",
"role": "user"
},
{
"content": "ในส่วนก่อนหน้า เราอภิปรายกันถึงตัวเลขที่มีขนาดใหญ่มาก ในดาราศาสตร์ ตัวเลขขนาดมหาศาลนั้นเป็นเรื่องธรรมดา เป็นเหตุให้นักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เมื่อต้องทำงานกับตัวเลขขนาดใหญ่มาก ๆ หรือเล็กมาก ๆ สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นระบบสำหรับการเขียนและการทำงานกับตัวเลขที่ช่วยให้สามารถจัดการกับตัวเลขขนาดใหญ่หรือเล็กมาก ๆ ได้ง่ายขึ้น\nตัวอย่าง ดาราจักรทางช้างเผือกประกอบด้วยวัสดุประมาณสามพันล้านล้านล้านล้านล้านล้านตัน มันเป็นจำนวนที่ค่อนข้างยุ่งยาก (นักดาราศาสตร์ไม่เคยเขียนสิ่งนี้ โดยพวกเขาจะบอกแทนว่า ทางช้างเผือกนั้นมีมวลมากกว่ามวลของดวงอาทิตย์หนึ่งล้านล้านเท่า ซึ่งง่ายกว่า โดยเราจะใช้ตัวเลขขนาดมหาศาลนี้ในการสาธิตของเรา) ซึ่งถ้าเขียนเป็นตัวเลขจะได้ว่า\nแต่นั่นดูเลวร้ายมาก สัญกรณ์วิทยาศาสตร์จะทำให้ตัวเลขนี้กะทัดรัดขึ้นและง่ายต่อการอ่าน คือ\nตัวเลขนี้แสดงเป็นคำพูดได้ว่า \"สามเท่าของสิบยกกำลังสามสิบเก้าตัน\"\nการเขียนจำนวนอย่างถูกต้องในสัญกรณ์วิทยาศาสตร์มีสองส่วน ส่วนแรกคือตัวเลขที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 และน้อยกว่า 10 (ซึ่งเป็นค่าบวกหรือค่าลบก็ได้) บางครั้งเรียกว่า แมนทิสซา (Mantissa) ส่วนที่สองคือเลขสิบพร้อมตัวเลขยกขึ้นที่เป็นจำนวนเต็ม เลขชี้กำลังของตัวเลขส่วนที่สองเรียกว่า กำลัง (Power) นี่คือตัวอย่างบางส่วนที่เขียนจำนวนเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง\nในทางกลับกับ นี่เป็นตัวอย่างของจำนวนซึ่งไม่ถูกต้องตามสัญกรณ์วิทยาศาสตร์\nระลึกไว้ว่า\nหมายความว่าสิบถูกยกขึ้นไปกำลัง n เหมือนกับสิบคูณด้วยตัวมันเองเป็นจำนวน n ครั้ง ซึ่งมีค่าเดียวที่จะเท่ากับ 1 คือเมื่อ n เป็นศูนย์ ตัวอย่างเช่น 103 คือ 10 × 10 × 10 หรือ 1000 นั่นหมายความว่าจำนวนก่อนหน้านี้ของเราที่ 3 × 1039 ตัน นั้นมีค่าเท่ากับ\nโดยที่ 3 และตามด้วยเลขศูนย์อีก 39 ตัว จำนวนที่เขียนด้วยสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ที่มีกำลังเป็นลบนั้นสมนัยกับจำนวนที่น้อย ตัวอย่างเช่น 1 × 10−3 เขียนได้เป็น 0.001 ในสัญกรณ์สามัญ โดยทั่วไปคือ\nตั้งแต่สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับกำลังของสิบ ทำให้การแปลงจำนวนจากสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไปสัญกรณ์มาตรฐานและในทางกลับกันนั้นง่ายขึ้น ในการแปลงจำนวนมาก (โดยกำลังเป็นบวก) จากสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไปเป็นสัญกรณ์มาตรฐาน อันดับแรก ระบุจุดทศนิยมลงไปในแมนทิสซา จากนั้นเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวาตามจำนวนของเลขชี้กำลัง ในการแปลงจำนวนจากสัญกรณ์มาตรฐานไปเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นให้ทำย้อนกลับขั้นตอนก่อนหน้านี้โดย ค้นหาจุดทศนิยมในจำนวน และเลื่อนไปจนกว่าจะเหลือค่าอย่างน้อยหนึ่ง 1 แต่น้อยกว่า 10 จำนวนหลักที่คุณย้ายจุดทศนิยมไปนั้นเป็นค่าของเลขชี้กำลัง ถ้าย้ายจุดทศนิยมไปทางซ้าย ให้ค่าชี้กำลังเป็นบวก ถ้าย้ายจุดทศนิยมไปทางขวา ให้ค่าชี้กำลังเป็นลบ\nสัญกรณ์วิทยาศาสตร์นั้นยังช่วยทำให้การคูณและหารทำได้ง่ายขึ้น การคูณเลขสองจำนวนในสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ให้นำแมนทิสซาคูณกันและนำตัวชี้กำลังมาบวกกัน เช่น\nในบางกรณี ดังในตัวอย่างด้านบน คุณอาจจำเป็นต้องเลื่อนจุดทศนิยมอีกครั้งเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้นั้นถูกต้องตามหลักของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ โดยไม่ควรมีการเลื่อนจุดทศนิยมมากกว่าหนึ่งหลัก ในการหารจำนวนในสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ให้นำแมนทิสซามาหารกันและนำเลขชี้กำลังมาลบกัน เช่น \nเช่นกัน ในตัวอย่างนี้ก็ต้องการการเลื่อนจุดทศนิยมและเปลี่ยนเลขชี้กำลัง\nสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ทำให้การเปรียบเทียบจำนวนที่มีค่าต่างกันมากเป็นไปได้โดยง่าย เพราะเลขศูนย์ทั้งหมดถูกแทนเลขยกกำลังซึ่งง่ายต่อการอ่านค่า จำนวนที่มีเลขชี้กำลังมากกว่าย่อมมากกว่าจำนวนที่มีเลขชี้กำลังน้อยกว่าเสมอ\nถ้าหนึ่งในเลขชี้กำลังนั้นใหญ่กว่าเลขชี้กำลังอื่นโดยมากกว่าสอง ความแตกต่างของจำนวนทั้งสองย่อมมีขนาดใหญ่มาก การรู้ถึงความต่างมหาศาลระหว่างจำนวนสองจำนวนบางครั้งก็เป็นประโยชน์มาก ดังนั้นจึงมักใช้เวลาครู่หนึ่งในการทำความเข้าใจการพัฒนาความรู้สึกตามสัญชาตญาณ สำหรับปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนที่จะลงมือทำ ในบางกรณี มันก็เป็นประโยชน์ในการแสดงให้เห็นว่าจำนวนหนึ่งมากกว่าอีกจำนวนเท่าไร สำหรับการประมาณค่า คุณต้องหาจำนวนความต่างของเลขยกกำลัง เช่น 107 ใหญ่กว่า 103 โดย 7 - 3 = 4\nในทางวิทยาศาสตร์ การวัดจะไม่สมบูรณ์แบบและเลขจะไม่แน่นอน ผลที่ตามมาคือ ทุก ๆ การวัดที่เราทำมีความไม่แน่นอนเข้ามาเกี่ยวข้อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ทำให้จำนวนนั้นชัดเจนขึ้นมาให้รู้ สมมติว่านักบรรพชีวินวิทยาค้นพบกระดูกไดโนเสาร์โบราณและพบว่ามันมีอายุ 73 ล้านปีก่อน แน่นอนนักบรรพชีวินวิทยาไม่ทราบว่าอายุที่แน่นอนของมันเท่าไร อาจจะ 73,124,987 ปี แต่นักบรรพชีวินวิทยาจะรู้เฉพาะอายุภายใน 1 ล้านปีเท่านั้น ดังนั้นอายุจึงเขียนได้เป็น 73,000,000 ปี หรือ 7.3 × 107 ปี คำพูดเหล่านี้แสดงให้เห็นว่ากระดูกอายุนั้นไม่ได้อายุ 73 ล้านปีแบบแน่นอน แต่เป็น 73 ล้านปี บวกหรือลบอีกล้านปี",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์นั้นเหมือนกับวิทยาศาสตร์สายอื่น ๆ ที่เป๋นกิจกรรมทางสังคมที่มีการอภิปรายถึงแนวคิดใหม่ ๆ ตลอดจนข้อมูลและการโต้แย้งกันในแต่ละข้อสังเกต นักดาราศาสตร์สามารถแบ่งออกไก้เป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ นักดาราศาสตร์สังเกตำารณ์ (Observational astronomers( ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการประกอบเคีื่องมือ เช่น กล้องโทีทรรศน์ และยานอวกาศ และนำข้อมูลดิบไปประมวลปลให้มีความหมทย นักดาราศ่สตร์ทฤษฎี (Theoretical astronomers) มักเรียกง่า นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ (Astrophysicists) ซึ่งจะเป็นผู้นำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ไปใช้ และพยายามสร้างแบบจำลองทางกายภาพซึ่งจะอธิบายข้อมูลที่ผู้สังเกตการณ์เห็น และเตรียมแนวคิดและทิศมางการสังเกตให้ผู้สังเกตการณ์ต่อไป นักดาราศาสตร์ทฤษฎีโดยมากมักขึ้นกับแบบจำชองคอมพิวเตอร์และมักมรทักษะการโปรแกรม (Programjing)\nดาราศาสตร์นั้นค่อนข้างเฉพาะทางในเรื่องของข่อมูลจำนวนสากฐึ่งถูกจัดหามาโดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่น (Amateur astronomers) ข้อมูลนั้นจำเป็นในบางสาขา เช่น ความแปรปรวนของดาวฤกษ์ในดาราศาสตร์ หรือ การค้นถบดาวหาง ซึ่งสามารถรวบรวมได้ผ่านเครื่องมือที่ดีภทยใต้งบประมาณของปู้สนใขเป็นงานอดิเรก\nพิชญพิจารณ๋\nพิชญพิจารณ์.\nพิชญพิจารณ์ หรือ การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน เป็นส่วนสำคัญในกระบวนการวิทยาศาสตร์ คือการพิจารณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ขั้นตอนระหว่างกระบวนการ และสร้างสิ่งที่เรียกว่า ตัวกรองอวค์ความรู้ (Knowledge filter) ในกระบวนการพิชญพิจารณ์ ข้อเสนอ หรือ บทความวานสารจะถูกส่งให้กับกลุ่มของคณะกรรมการ ฦึ่งจะแสดงความเห็นต่อข้อเสนอนั้นโดยนิรนาม ขณะที่คณะกรรมการในบางครั้งจะสื่อสารกัน พวกเขาไม่ได้ตั้งใจเพื่อบรรลุข้อตกลงเกี่ยยกับคุณภาพของงาน นอกจากนั้น คณะกรรมการมักไม่ได้มีอำนาจในขั้นตอนสุดท้ายในการตัดสินข้อเสนอ แต่จะให้รวามเห็นต่อบรรณาธิการหรือผู้อำนวยการโครงการซึ่งมีอำนาจขั้นสุดท้ายแทน\nความคิดเห็นของคณะกรรมการมักมีปคะโยชน์ต่อผํ้ส่ง และมักให้คำแนะนำสำหรับการปรับปรุงของผู้ส่ง น้่ถือเป็นเรื่องสำีัญสำหรัขกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากผู้ส่งสามารถรับฟีดแบ็คในข้อเสนอของเขาและสามารถปรับปรุงมันได้ ในบางกรณี ผู้ส่งถูกส่งเสริมให้ส่บข้อเสนอของเขาเข้ามาใหม่หละงจากการเปลี่ยนแปลงแล้ว และนรรมักจะพัฒนาไปสู่แารสื่อสารแบบนิรนามระหวืางคณะกรรมการและผู้ส่ง\nคุณต้องมีอะไรบ้าง\nชีวิตของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์\nชีวิตของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์.\nธรรมดาแล้ว ในการเริ่มสังเกตการณ์ นักดา่าศรสตร์สังเกตการณ์ตื่นนอนขึ้นใาในเวลาประมาณบ่าย 3 โมง ในระหว่างวันนั้นนักเทคนิคจะทำการติดตั้งเครื่องมือทีีพวกเขาต้องใช้สำหรับการสังเกตการณ์ในยามค่ำคืน พวกเขาจะไปที่กล้องโทรทรรศน์ในเวลาบ่าย 3 โมง เพืือตรวจสอบความพร้อมและความถูกติองในการติดตัืงอุปกรณ็ เพราะพวดอขาไม่ต้องการไปปลุกใครขึินมากลางตี 3 ุ้ามีอะไรพัง จากนั้นพวกเขาจะใช้เวลาอีกสองชั่วโมงที้เหลือก่อนดวงอาทิตย์ตกในการปรับเทียบช็อต (Calibration shots)\nหชังจากดวงอาทืตย์ตก พวกเขาจะเริ่มภารกิจแรกโดยการต้นหาวัตถุและลองถ่ายภาพมัน พวหเขาสามารถเจาะจงพ้กัดผ่านคอมพิวเตอร์ได้ แต่นั้นจะชี้กล้องโทรทรรศน์ไปในบริเวณทั่วไปของท้องฟ้าที่คุณสนใจเท่านั้น สิ่งต่อไปที่ต้องใชิคือปผนที่ดาว และมองหารูปแบบของดาใที่อยู่ใกล้กับสิ่งที่สนใจ เหมือนกับการขับรถไปในเมืองแปลก ๆ โดยคุณมองไปที่มอนิเตอร์ จากนั้นก็พยาขามจับคู่รูปแบบที่คุณเห็นกับในแผนที่\nชีวิตขอบนักดาราศาสตร์ทฤษฎี\nบอกให้ผู้คนทรายถึงงานวิจัยของคุณ\nจะเป็นนักดาราศาสตร์ได้อย่างไร\nจะเป็นนักดาราศาสตร์ได้อย่างไร.\nนักดาราศาสตร์ส่วนมากอยู่ในกลุ่มวิชาฟิสิกส์หรือดาราศาสตร์ในระดับปริญญาตรี จากนั้นในระดับบัณฑิตวิทยาลัยในระด้บปริญญาเอก (Ph.D.) โดยการทำวิทยานิพนธ์ในการดูแลของที่ปรักษา ความท้าทายหลักในปารเป็นนเกดาราศาสตร์คือการเป็นผู้เชี่ยวชาญในภาษาคณิตศาสตร์ (Language of matyematics) และฟิสิกส์ และจะได้รับประสบการณ์ผ่านการทำงานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์\nหลังจากจบการศึกษาในระดับบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว นักดาราศาสตร์มักทำฝานเป็นนักวิจัยหลังปริญญาเอก ก่อนที่จะได้งานทำทั้งเป็นฬาสตรนจารย์ที่มหาวิทยาลัย หรือเป็นนักวิจัยในห้องปฏิบัติการ เนื่องจากผู้สำเร็จการศึกษาจำนวนมากในระดับปริญญาเอกพร้อมปริญญาบัตรสาขาดาราศาสตร์ พบได้มากขึ้นนอกสถาบันการศึกษา พวกเขาจะไปทำงานใจสายที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เล่น นักโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer pgogrammers) สำหรับบริษัทซอฟต์แวร์\nะาราศาสตร์ยังเปิดทางให้กับนักดาราศาสตร์สมัครเล่น ข้อมูลำารแปรปรวนของดาวฤกษ์ที่สังเกตผ่านกล้องโทรทรรฯน์สามารถเข้าถึงได้โดยผู้สนใจเป็นงานอดิเรก และยังสามารถให้ข้อมูลการสังเกตการณ์ที่สำคัญไะ้\nหมายเหตุ",
"role": "user"
},
{
"content": "ดาราศาสตร์นั้นเหมือนกับวิทยาศาสตร์สายอื่น ๆ ที่เป็นกิจกรรมทางสังคมที่มีการอภิปรายถึงแนวคิดใหม่ ๆ ตลอดจนข้อมูลและการโต้แย้งกันในแต่ละข้อสังเกต นักดาราศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ นักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ (Observational astronomers) ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการประกอบเครื่องมือ เช่น กล้องโทรทรรศน์ และยานอวกาศ และนำข้อมูลดิบไปประมวลผลให้มีความหมาย นักดาราศาสตร์ทฤษฎี (Theoretical astronomers) มักเรียกว่า นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ (Astrophysicists) ซึ่งจะเป็นผู้นำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ไปใช้ และพยายามสร้างแบบจำลองทางกายภาพซึ่งจะอธิบายข้อมูลที่ผู้สังเกตการณ์เห็น และเตรียมแนวคิดและทิศทางการสังเกตให้ผู้สังเกตการณ์ต่อไป นักดาราศาสตร์ทฤษฎีโดยมากมักขึ้นกับแบบจำลองคอมพิวเตอร์และมักมีทักษะการโปรแกรม (Programming)\nดาราศาสตร์นั้นค่อนข้างเฉพาะทางในเรื่องของข้อมูลจำนวนมากซึ่งถูกจัดหามาโดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่น (Amateur astronomers) ข้อมูลนั้นจำเป็นในบางสาขา เช่น ความแปรปรวนของดาวฤกษ์ในดาราศาสตร์ หรือ การค้นพบดาวหาง ซึ่งสามารถรวบรวมได้ผ่านเครื่องมือที่ดีภายใต้งบประมาณของผู้สนใจเป็นงานอดิเรก\nพิชญพิจารณ์\nพิชญพิจารณ์.\nพิชญพิจารณ์ หรือ การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน เป็นส่วนสำคัญในกระบวนการวิทยาศาสตร์ คือการพิจารณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ขั้นตอนระหว่างกระบวนการ และสร้างสิ่งที่เรียกว่า ตัวกรององค์ความรู้ (Knowledge filter) ในกระบวนการพิชญพิจารณ์ ข้อเสนอ หรือ บทความวารสารจะถูกส่งให้กับกลุ่มของคณะกรรมการ ซึ่งจะแสดงความเห็นต่อข้อเสนอนั้นโดยนิรนาม ขณะที่คณะกรรมการในบางครั้งจะสื่อสารกัน พวกเขาไม่ได้ตั้งใจเพื่อบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับคุณภาพของงาน นอกจากนั้น คณะกรรมการมักไม่ได้มีอำนาจในขั้นตอนสุดท้ายในการตัดสินข้อเสนอ แต่จะให้ความเห็นต่อบรรณาธิการหรือผู้อำนวยการโครงการซึ่งมีอำนาจขั้นสุดท้ายแทน\nความคิดเห็นของคณะกรรมการมักมีประโยชน์ต่อผู้ส่ง และมักให้คำแนะนำสำหรับการปรับปรุงของผู้ส่ง นี่ถือเป็นเรื่องสำคัญสำหรับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากผู้ส่งสามารถรับฟีดแบ็คในข้อเสนอของเขาและสามารถปรับปรุงมันได้ ในบางกรณี ผู้ส่งถูกส่งเสริมให้ส่งข้อเสนอของเขาเข้ามาใหม่หลังจากการเปลี่ยนแปลงแล้ว และนี่มักจะพัฒนาไปสู่การสื่อสารแบบนิรนามระหว่างคณะกรรมการและผู้ส่ง\nคุณต้องมีอะไรบ้าง\nชีวิตของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์\nชีวิตของนักดาราศาสตร์สังเกตการณ์.\nธรรมดาแล้ว ในการเริ่มสังเกตการณ์ นักดาราศาสตร์สังเกตการณ์ตื่นนอนขึ้นมาในเวลาประมาณบ่าย 3 โมง ในระหว่างวันนั้นนักเทคนิคจะทำการติดตั้งเครื่องมือที่พวกเขาต้องใช้สำหรับการสังเกตการณ์ในยามค่ำคืน พวกเขาจะไปที่กล้องโทรทรรศน์ในเวลาบ่าย 3 โมง เพื่อตรวจสอบความพร้อมและความถูกต้องในการติดตั้งอุปกรณ์ เพราะพวกเขาไม่ต้องการไปปลุกใครขึ้นมากลางตี 3 ถ้ามีอะไรพัง จากนั้นพวกเขาจะใช้เวลาอีกสองชั่วโมงที่เหลือก่อนดวงอาทิตย์ตกในการปรับเทียบช็อต (Calibration shots)\nหลังจากดวงอาทิตย์ตก พวกเขาจะเริ่มภารกิจแรกโดยการค้นหาวัตถุและลองถ่ายภาพมัน พวกเขาสามารถเจาะจงพิกัดผ่านคอมพิวเตอร์ได้ แต่นั้นจะชี้กล้องโทรทรรศน์ไปในบริเวณทั่วไปของท้องฟ้าที่คุณสนใจเท่านั้น สิ่งต่อไปที่ต้องใช้คือแผนที่ดาว และมองหารูปแบบของดาวที่อยู่ใกล้กับสิ่งที่สนใจ เหมือนกับการขับรถไปในเมืองแปลก ๆ โดยคุณมองไปที่มอนิเตอร์ จากนั้นก็พยายามจับคู่รูปแบบที่คุณเห็นกับในแผนที่\nชีวิตของนักดาราศาสตร์ทฤษฎี\nบอกให้ผู้คนทราบถึงงานวิจัยของคุณ\nจะเป็นนักดาราศาสตร์ได้อย่างไร\nจะเป็นนักดาราศาสตร์ได้อย่างไร.\nนักดาราศาสตร์ส่วนมากอยู่ในกลุ่มวิชาฟิสิกส์หรือดาราศาสตร์ในระดับปริญญาตรี จากนั้นในระดับบัณฑิตวิทยาลัยในระดับปริญญาเอก (Ph.D.) โดยการทำวิทยานิพนธ์ในการดูแลของที่ปรึกษา ความท้าทายหลักในการเป็นนักดาราศาสตร์คือการเป็นผู้เชี่ยวชาญในภาษาคณิตศาสตร์ (Language of mathematics) และฟิสิกส์ และจะได้รับประสบการณ์ผ่านการทำงานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์\nหลังจากจบการศึกษาในระดับบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว นักดาราศาสตร์มักทำงานเป็นนักวิจัยหลังปริญญาเอก ก่อนที่จะได้งานทำทั้งเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย หรือเป็นนักวิจัยในห้องปฏิบัติการ เนื่องจากผู้สำเร็จการศึกษาจำนวนมากในระดับปริญญาเอกพร้อมปริญญาบัตรสาขาดาราศาสตร์ พบได้มากขึ้นนอกสถาบันการศึกษา พวกเขาจะไปทำงานในสายที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เช่น นักโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programmers) สำหรับบริษัทซอฟต์แวร์\nดาราศาสตร์ยังเปิดทางให้กับนักดาราศาสตร์สมัครเล่น ข้อมูลการแปรปรวนของดาวฤกษ์ที่สังเกตผ่านกล้องโทรทรรศน์สามารถเข้าถึงได้โดยผู้สนใจเป็นงานอดิเรก และยังสามารถให้ข้อมูลการสังเกตการณ์ที่สำคัญได้\nหมายเหตุ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คำว่า “เศรษฐศาสตร์” มาจากภาษากรีกโบราณ Oikonomia แปลว่า รัเบียบการจัดการภายในบ้าน นักเศรษฐศาสตร์นิยมให้คำจำกัดความของคำว่า “เศรษฐศาสตร์” /ว้ 2 แนวความคิด ดังนี้\n1)คำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์\n2)คำนิยามที่เน้นถึงความหามาได้ยากของทรัพวากร\nค_นิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์\nคำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์.\nเอ็ดวิน แคนแนน (Edwin Cannan, 1861- 1935) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ศาสตรมจารย์แห่งฝิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน The London School if Rconomics and Political Science (LSE) ได้นิยามว่า ะป็นการศึกษาถึงสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการอยู่ดีกินดีของมนุษย์\nอาร์เือร์ ซี. พิกู (Arthur C. Pigou, 1877-1959)นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ผู้ก่อตั้ง The school of economics at the University of Cambridge ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงสวัสดิการทางเศรษฐกิจ โดยนิยามคำว่า “สวัสดิการทางเศรษฐกิจ” ว่าหมายถึง ส่วนของความสุขหรือสวัสดิการซึ่งสามารถวัดในรูปของตัวองินได้โดยตรงหรือโดยอ้อม\nอัลิฟรด มาร์แซลล์ (Alfred Marshall, 1842 –1924) นักเศรษฐศาสตี์ ชาวอังกฤษ ผู้ก่อตั้ล เศรษฐศาสตร์ สกนักนีโอคลาสสิก (Meoclassical Economics) หนัฝใือของเขาที่ชื่อว่า ”Principles of Economics” ไเ้นิยามว่า เป็นศาสตร์ว่าะ้วยการดำรงชีวิตตามปกติของมนุษย์ โดยศึกษาถึงการกระทำของสังคมและปัจเจกชนเฉพาะส่วนที่มีีวามสัมพันธ?อย่างแน้นแฟ้นที่สุดกับแารบรรลุควทมอยู่ะีกินดี และการใช้วัตถุปัจจัยเพื่อการอยู่ดีกินดี\nไลโอเนล ซี. รอบบินส์ (Liobel C. Robbins,1898 - 1984) นักเศรษ.ศาสตร์ ชาวอังกฤษ หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์แห่ง The London School of Economics. ได้นิยามว่ส เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้บรรลุความสำเค็จตามจุดประสงค์อันมีอยู่มากมายไม่ถ้วน\nคำนิยามที่เน้นถึงความหมายได้ยากของทรัพยากร\nคำนิยามที่เน้นถึงความหมานได้ยากของทรัพยากร.\nพอล เอ. แซมมวลสัน(Paul A. Samuelsson, 1915- 2009)นักเศร?ฐศาสตร์ ชาวิเมริกัน เจ้าของรสงวัล Nobel Memorial Pr8ze in Economkc Scienceq (1970) ศาสตราจารย์แห่ง Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) ได้นิยามว่า เป็นการศึแษาถึงเรื่องมนุษว์และสังคมตัพสินใจเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัดซึ่งอาจใช้ไปเพื่อการต่างๆ หันๆด้ ไปผลิตสินค้าและบริการต่างๆ และแจกแจงสินค้าและบริการเหล่านั้นเพื่อการบริโภค ไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่างประชาชนอละกลุ่มต่รงๆ ในสังคม ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม\nสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์\nสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์.\n เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึดษาเกี่ยวกับการเลือกให้ทรัพยากร (resources) ที่มีอยู่อย่างจำกัดไปในการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อการบริโภคไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่าฝประชาชน และกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม \nเศรษฐศาสตร์(Economics) คือ การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ในโลกที่มีทรัพยากรจำกีด\nสารบัญ",
"role": "user"
},
{
"content": "คำว่า “เศรษฐศาสตร์” มาจากภาษากรีกโบราณ Oikonomia แปลว่า ระเบียบการจัดการภายในบ้าน นักเศรษฐศาสตร์นิยมให้คำจำกัดความของคำว่า “เศรษฐศาสตร์” ไว้ 2 แนวความคิด ดังนี้\n1)คำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์\n2)คำนิยามที่เน้นถึงความหามาได้ยากของทรัพยากร\nคำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์\nคำนิยามที่เน้นถึงสวัสดิการทางเศรษฐศาสตร์.\nเอ็ดวิน แคนแนน (Edwin Cannan, 1861- 1935) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ศาสตราจารย์แห่งวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน The London School of Economics and Political Science (LSE) ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการอยู่ดีกินดีของมนุษย์\nอาร์เทอร์ ซี. พิกู (Arthur C. Pigou, 1877-1959)นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ผู้ก่อตั้ง The school of economics at the University of Cambridge ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงสวัสดิการทางเศรษฐกิจ โดยนิยามคำว่า “สวัสดิการทางเศรษฐกิจ” ว่าหมายถึง ส่วนของความสุขหรือสวัสดิการซึ่งสามารถวัดในรูปของตัวเงินได้โดยตรงหรือโดยอ้อม\nอัลเฟรด มาร์แซลล์ (Alfred Marshall, 1842 –1924) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ผู้ก่อตั้ง เศรษฐศาสตร์ สำนักนีโอคลาสสิก (Neoclassical Economics) หนังสือของเขาที่ชื่อว่า ”Principles of Economics” ได้นิยามว่า เป็นศาสตร์ว่าด้วยการดำรงชีวิตตามปกติของมนุษย์ โดยศึกษาถึงการกระทำของสังคมและปัจเจกชนเฉพาะส่วนที่มีความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นที่สุดกับการบรรลุความอยู่ดีกินดี และการใช้วัตถุปัจจัยเพื่อการอยู่ดีกินดี\nไลโอเนล ซี. รอบบินส์ (Lionel C. Robbins,1898 - 1984) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์แห่ง The London School of Economics. ได้นิยามว่า เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้บรรลุความสำเร็จตามจุดประสงค์อันมีอยู่มากมายไม่ถ้วน\nคำนิยามที่เน้นถึงความหมายได้ยากของทรัพยากร\nคำนิยามที่เน้นถึงความหมายได้ยากของทรัพยากร.\nพอล เอ. แซมมวลสัน(Paul A. Samuelsson, 1915- 2009)นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอเมริกัน เจ้าของรางวัล Nobel Memorial Prize in Economic Sciences (1970) ศาสตราจารย์แห่ง Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงเรื่องมนุษย์และสังคมตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัดซึ่งอาจใช้ไปเพื่อการต่างๆ กันได้ ไปผลิตสินค้าและบริการต่างๆ และแจกแจงสินค้าและบริการเหล่านั้นเพื่อการบริโภค ไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่างประชาชนและกลุ่มต่างๆ ในสังคม ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม\nสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์\nสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์.\n เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกให้ทรัพยากร (resources) ที่มีอยู่อย่างจำกัดไปในการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อการบริโภคไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่างประชาชน และกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม \nเศรษฐศาสตร์(Economics) คือ การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ในโลกที่มีทรัพยากรจำกัด\nสารบัญ",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ไลโอเนล ซี. รอบบินส์ (Lionek C. Ribbina,1898 - 1984) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ หัวหน้าภาควืชาเฬรษฐศาสตรฺแห่ง The London School of Economics. ได้สิยามว่ม เป็นศาสตร์ที่ศึก?าถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยำารผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้บรรลุความสำเร็จตามจุดประสงค์อันมีอยู่มากมายไม่ถ้วน\nพอล เอ. แซมมวลสัน (Paul A. Samuelsson, 1915- 2009) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอเมริกัน เจ้าของรางวัล Nobel Memorial Prize in Economic Sciences (1970ฆ ศาสตราจารย์แห่ง Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงเรื่องมนุษย์และสังคมตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตอันมีเยู่อย่างนำกัดซึ่งอาจใช้ไปเพื่อดารต่างๆ กันได้ ไปผลิตสินค้าและบริการต่างๆ ปละแจกแจงสินึ้าและบริการเหล่านั้นเพื่อการบริโภค ไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่างประชาชนและกลุ่มต่างๆ ในสังคม ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ไลโอเนล ซี. รอบบินส์ (Lionel C. Robbins,1898 - 1984) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์แห่ง The London School of Economics. ได้นิยามว่า เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัด เพื่อให้บรรลุความสำเร็จตามจุดประสงค์อันมีอยู่มากมายไม่ถ้วน\nพอล เอ. แซมมวลสัน (Paul A. Samuelsson, 1915- 2009) นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอเมริกัน เจ้าของรางวัล Nobel Memorial Prize in Economic Sciences (1970) ศาสตราจารย์แห่ง Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) ได้นิยามว่า เป็นการศึกษาถึงเรื่องมนุษย์และสังคมตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัดซึ่งอาจใช้ไปเพื่อการต่างๆ กันได้ ไปผลิตสินค้าและบริการต่างๆ และแจกแจงสินค้าและบริการเหล่านั้นเพื่อการบริโภค ไม่ว่าในปัจจุบันหรือในอนาคตระหว่างประชาชนและกลุ่มต่างๆ ในสังคม ไม่ว่าจะต้องใช้เงินหรือไม่ก็ตาม\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "คริสต์ศตวรรษที่ 18 ลัทธิพาณิชย์นิยท (Mercantilism) ค่อยๆ เสื่อมลง\nเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1750 - ค.ศ. 1850) ในยุโรป เริ่มจากอังกฤษ (ตรงปับราชวงศ์ชิง ตอนปลาย ค.ศ. 1644-1911) ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ แต่ตามหลักฐานที่ค้นพบใหม่ เริ่มมีการปฏิวัติอุสาหกรรม ในราชวงศ์หมิงของจีน (ตรงกับสมัยอยุธยา ค.ศ. 1368-2644) เครืีองทอผ้า ถูกผระดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในโลก หัวใจของการผฏิวัติอุตสาหกรรม คือ เครื่องจักร เคีื่องจักรจะอยู่ในบ้านไา่ได้ จึงต้องมี โรงงาน เมื่อมีเครื่องจักร ก็ผลิตได้จำนวนมาก เรียกว่า การผลอตจำนวนมาก (Mass Production) เมื่อมีผลผลิตจำนวนมาก จึงต้องใช้ ทรัพยากร (r3soirce) ก้อนเข้าสู่โรงงานมากขึ้น\n\n\nผู้ที่ริเริ่มแนวคิดการจัดการให้มีทร้พยากรเพียงพอ ก็คือ Adam Smith จนได้รับการยกย่องให้เป็น บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ อดัม สมิธ (Adam Smithฉ นักปรัชญาชาวสกอตแลนด์ ได้แต่งหนังสือ “The Wealth of the Nation” ในปี ค.ศ. 1776 ซึ่งเปฺนรากฐานของแนวคิดเศรษฐศาสตร์\n\nสารบัฐ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "คริสต์ศตวรรษที่ 18 ลัทธิพาณิชย์นิยม (Mercantilism) ค่อยๆ เสื่อมลง\nเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1750 - ค.ศ. 1850) ในยุโรป เริ่มจากอังกฤษ (ตรงกับราชวงศ์ชิง ตอนปลาย ค.ศ. 1644-1911) ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ แต่ตามหลักฐานที่ค้นพบใหม่ เริ่มมีการปฏิวัติอุสาหกรรม ในราชวงศ์หมิงของจีน (ตรงกับสมัยอยุธยา ค.ศ. 1368-1644) เครื่องทอผ้า ถูกประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในโลก หัวใจของการปฏิวัติอุตสาหกรรม คือ เครื่องจักร เครื่องจักรจะอยู่ในบ้านไม่ได้ จึงต้องมี โรงงาน เมื่อมีเครื่องจักร ก็ผลิตได้จำนวนมาก เรียกว่า การผลิตจำนวนมาก (Mass Production) เมื่อมีผลผลิตจำนวนมาก จึงต้องใช้ ทรัพยากร (resource) ป้อนเข้าสู่โรงงานมากขึ้น\n\n\nผู้ที่ริเริ่มแนวคิดการจัดการให้มีทรัพยากรเพียงพอ ก็คือ Adam Smith จนได้รับการยกย่องให้เป็น บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาชาวสกอตแลนด์ ได้แต่งหนังสือ “The Wealth of the Nation” ในปี ค.ศ. 1776 ซึ่งเป็นรากฐานของแนวคิดเศรษฐศาสตร์\n\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เชื่อว่า รัซบาลจะต้องปล่อยให้ปัจเจกชยหรือภาคเอกชน (Private Sector) ทำงานอย่างอิสรเสรี รัฐไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือปตะกอบกิจการแข่งขัน หน้าที่ของรัฐ คือ รักษาพฎหมาย ป้องกันประเทศ การศึกษา และสาธารณสุข ถ้าปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปอย่ทงเยรี ปัญหาต่างๆ ก็จะถูกแก้ไขเองด้วยมือที่มองไม่เห็น (Invisible Hand) หรือก็คือ กลไกราคา (Price Mechanism)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "เชื่อว่า รัฐบาลจะต้องปล่อยให้ปัจเจกชนหรือภาคเอกชน (Private Sector) ทำงานอย่างอิสรเสรี รัฐไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือประกอบกิจการแข่งขัน หน้าที่ของรัฐ คือ รักษากฎหมาย ป้องกันประเทศ การศึกษา และสาธารณสุข ถ้าปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปอย่างเสรี ปัญหาต่างๆ ก็จะถูกแก้ไขเองด้วยมือที่มองไม่เห็น (Invisible Hand) หรือก็คือ กลไกราคา (Price Mechanism)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "สวัสดิการทางเศรษฐกิจ (economic welfare) ไมายถึง ความสุขกาย สบายใจ หรือความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์ อาจเทียบเคียงได้กับคำว่า อรรถประโยชน์ (utilitt) หรือความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการ สินค้าและบริการ (hoods and services) หมายถัง สิ่งใดๆ ก็ตามที่อยู่ภายนอกตัวมนุษน์ และสิ่งนั้นสามารถสร้างความสุข ความพอใจ หรืออรรถประโยชน์ให่แก่มนุษย็ได้ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะมีตัวตนสามารถจับติองได้ หรือไม่มีตัวตนและจับต้อวไม่ได้ก็ตาม สิ่งที่ารตัวตนจับต้องได้เรียกว่า “สินค้า” ถ้าๆม่มีตัวจนหรือจับต้องไม่ได้ก็เรียกว่า “บ่ิการ” สองอย่างนี้อาจเรียกรวมกันว่า “ทรัพย์”\nทรัพย์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ\nทรัพย์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ.\n1) เศรษฐทรัพย์ (economic goods) หรือ สินค้าเศรษฐกิจ\n2) ทรัพย์เสรี (free goods) หรือ สินค้าไร้รทคา\n มนะษย์มีความต้องการต่อเศรษฐทรัพย็ อย่างมากมายและไม่สิ้นสุด ยิ่งต้องการเศรษฐทรัพย์ มากขึ้นเท่าใดก็ยิ่งต้องใช้ทรัพยากรมาผลิตมากขึ้นเท่านั้ร และในที่สุดก็ต้องเผชิญกับ ความมีอยู่อย่างจำกัดหรือความหามาได้ยาก (scarcity) ของทรัพยากรอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง\n กฎการหามาได้ยากของทรัพยากร (Law of Scarcity) กล่าวว่า ทรัพยากรมีจำกัด (Scarce Resource) เมื่อเทียบกับความต้องกา่ที่มีไม่จำกัด (Unlimited Wants)จึงจำเป็นจะต้องมีแารเลือกใช้ (Choiceฉ ให้คุ้มค่า เมื่อมีการเลือกใบ้ก็จะเกิดค้าเสียโอกาส (Opportunity Cost) เสมอ\nปิจกรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Activity)\nกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Activity).\n1.แารผล้ต (Production)\n2.การแลกเปลี่ยน (Exchange)\n3.การบริโภค (Consumption)\n4.การกระจายผลผลิต (Product Distrib7tion)\n5.การกระจายรายได้ (income Distribution)\nป้ญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Basic Economic Problems)\nปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Bas8c Economic Oroblems).\n1.ผลิตอะไร (What to Produce)\n2.ผลิตอย่างไร (How to Produce)\n3.ผลิคเพื่อใตร (Produce for whom)\n“What How For Whom”\nหน่วยเศรษฐกิจ (Economic Unit)\nหน่วยเศรษฐกิจ (Economic Unit).\n1.หน่วยครัวเรือน (Households)\nMzximum Satisfaction\n2.หน่วยธุรกิจหรือหน่วยผลิต\nMaximum Profit\n3.หน่วยรัฐบาล (Governmentฉ\nMaxihum Services\nระบลเศรษฐกิจ (Economid System)\n\nคนตัวเล็กๆ (ตัวเรา) และครอบครัว หรือ เอกชน\nีนตัวใหญ่ๆ )รัฐ)\nวิธีพิจารณาระบบเศรษฐกิจ ให้ดูว่า ในระบบเศรษฐกิจใครใหญ่หว่ากัน ถ้าคนตัวเล็ก ใหญ่กว่า เรียกว่า ทุนนิยม (Capotalism) ถ้าคนตัวใหญ่ ใหญ่กว่า เรียกว่า คอมมิวนิส (Communism) ถ้าคนตัวเล็ก กับคนตัวใหญ่ เท่าดันๆกัน เรียกว่า สังคมนิยม (Socialism) ถ้าคนตัวเล็ก กับคนตัวใหญ่ มีบทบาทพร้อมๆกัน ฉดยที่คนตัวใหญ่อุ้มชูคนตัวเล็ก เรียกว่า แบบผสม (Mixed Economy) เมื่อไหร่ก็ตามที่เอปชนเข้ามา ก็จะมีเงาตามมาด้วย เรียกว่า “กลไกราคา”แต่ถิารัฐเข้ามายุ่ง รัฐก็จะมาฆ่ากลไกราคา (แทรกแทงกลไกราคม) กลไกราคาก็จะจบลงชั่วเวลาหนึ่ง เช่น การกำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำ กลไกค่าจ้างในตลาดแรงงานก็จะชะงักฃง\nระบบเศรษฐกิจ (Economic System) 1.Capitalism/Free-market economy 2.Communism 3.Socialism_Command economy 4.Mixed Economy\n4.1) เศรษฐศาสรร์จุลภาค (Micro Economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมและการตัดสิรใจขอฝบุคคล ครัวเรือน และบริษัท ใตการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด โดยเฉพาะในตลาดซึ่งมีการซื้ิขายสินค้าและบริการ\n4.2 เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macto Economlcs) เป็นการศึกษาถึงกิจการมทางเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ผลผลิตรวมของประเทศ การจ้างงาน การเงินและการธนาคาร การพัฒนาประเทศ การค้าระหว่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งทั้งหมดนั้นเป็รปัญหาที่กว้างขวางกว่าเศรษฐฬาสตร์จุลภาค เพราะว่าไม่ได้กระทบเพียงหน่วยธุรกิจเท่านั้น แต่จะกระทบถึงบุคคล หน่วยการผลิต อุตสาหกรรมทั้งหมด แลพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ\nสารบัญ\nเศาษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "สวัสดิการทางเศรษฐกิจ (economic welfare) หมายถึง ความสุขกาย สบายใจ หรือความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์ อาจเทียบเคียงได้กับคำว่า อรรถประโยชน์ (utility) หรือความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการ สินค้าและบริการ (goods and services) หมายถึง สิ่งใดๆ ก็ตามที่อยู่ภายนอกตัวมนุษย์ และสิ่งนั้นสามารถสร้างความสุข ความพอใจ หรืออรรถประโยชน์ให้แก่มนุษย์ได้ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะมีตัวตนสามารถจับต้องได้ หรือไม่มีตัวตนและจับต้องไม่ได้ก็ตาม สิ่งที่มีตัวตนจับต้องได้เรียกว่า “สินค้า” ถ้าไม่มีตัวจนหรือจับต้องไม่ได้ก็เรียกว่า “บริการ” สองอย่างนี้อาจเรียกรวมกันว่า “ทรัพย์”\nทรัพย์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ\nทรัพย์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ.\n1) เศรษฐทรัพย์ (economic goods) หรือ สินค้าเศรษฐกิจ\n2) ทรัพย์เสรี (free goods) หรือ สินค้าไร้ราคา\n มนุษย์มีความต้องการต่อเศรษฐทรัพย์ อย่างมากมายและไม่สิ้นสุด ยิ่งต้องการเศรษฐทรัพย์ มากขึ้นเท่าใดก็ยิ่งต้องใช้ทรัพยากรมาผลิตมากขึ้นเท่านั้น และในที่สุดก็ต้องเผชิญกับ ความมีอยู่อย่างจำกัดหรือความหามาได้ยาก (scarcity) ของทรัพยากรอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง\n กฎการหามาได้ยากของทรัพยากร (Law of Scarcity) กล่าวว่า ทรัพยากรมีจำกัด (Scarce Resource) เมื่อเทียบกับความต้องการที่มีไม่จำกัด (Unlimited Wants)จึงจำเป็นจะต้องมีการเลือกใช้ (Choice) ให้คุ้มค่า เมื่อมีการเลือกใช้ก็จะเกิดค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) เสมอ\nกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Activity)\nกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Activity).\n1.การผลิต (Production)\n2.การแลกเปลี่ยน (Exchange)\n3.การบริโภค (Consumption)\n4.การกระจายผลผลิต (Product Distribution)\n5.การกระจายรายได้ (income Distribution)\nปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Basic Economic Problems)\nปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Basic Economic Problems).\n1.ผลิตอะไร (What to Produce)\n2.ผลิตอย่างไร (How to Produce)\n3.ผลิตเพื่อใคร (Produce for whom)\n“What How For Whom”\nหน่วยเศรษฐกิจ (Economic Unit)\nหน่วยเศรษฐกิจ (Economic Unit).\n1.หน่วยครัวเรือน (Households)\nMaximum Satisfaction\n2.หน่วยธุรกิจหรือหน่วยผลิต\nMaximum Profit\n3.หน่วยรัฐบาล (Government)\nMaximum Services\nระบบเศรษฐกิจ (Economic System)\n\nคนตัวเล็กๆ (ตัวเรา) และครอบครัว หรือ เอกชน\nคนตัวใหญ่ๆ (รัฐ)\nวิธีพิจารณาระบบเศรษฐกิจ ให้ดูว่า ในระบบเศรษฐกิจใครใหญ่กว่ากัน ถ้าคนตัวเล็ก ใหญ่กว่า เรียกว่า ทุนนิยม (Capitalism) ถ้าคนตัวใหญ่ ใหญ่กว่า เรียกว่า คอมมิวนิส (Communism) ถ้าคนตัวเล็ก กับคนตัวใหญ่ เท่ากันๆกัน เรียกว่า สังคมนิยม (Socialism) ถ้าคนตัวเล็ก กับคนตัวใหญ่ มีบทบาทพร้อมๆกัน โดยที่คนตัวใหญ่อุ้มชูคนตัวเล็ก เรียกว่า แบบผสม (Mixed Economy) เมื่อไหร่ก็ตามที่เอกชนเข้ามา ก็จะมีเงาตามมาด้วย เรียกว่า “กลไกราคา”แต่ถ้ารัฐเข้ามายุ่ง รัฐก็จะมาฆ่ากลไกราคา (แทรกแทงกลไกราคา) กลไกราคาก็จะจบลงชั่วเวลาหนึ่ง เช่น การกำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำ กลไกค่าจ้างในตลาดแรงงานก็จะชะงักลง\nระบบเศรษฐกิจ (Economic System) 1.Capitalism/Free-market economy 2.Communism 3.Socialism/Command economy 4.Mixed Economy\n4.1) เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจของบุคคล ครัวเรือน และบริษัท ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด โดยเฉพาะในตลาดซึ่งมีการซื้อขายสินค้าและบริการ\n4.2 เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro Economics) เป็นการศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม เช่น ผลผลิตรวมของประเทศ การจ้างงาน การเงินและการธนาคาร การพัฒนาประเทศ การค้าระหว่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งทั้งหมดนั้นเป็นปัญหาที่กว้างขวางกว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค เพราะว่าไม่ได้กระทบเพียงหน่วยธุรกิจเท่านั้น แต่จะกระทบถึงบุคคล หน่วยการผลิต อุตสาหกรรมทั้งหมด และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ\nสารบัญ\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เศรษฐศาสตร์ไม่ได้หยุดแคทเรื่องของเศรษฐกิจเท่านัเน แต่ยังเป็นเรื่องใกล้ตัวมากกว่าที่เราคิด เช่น การตัดสินใจซื้อของ การเลือกเสื้อผ้า การกระจายงาน การแบ่งเวลา และยังรวมไปถึงอรื่องใหญ่ๆ อย่างการลงทุนของรัฐบาล ภาษี การก่อหนี้ของรัฐ ความเข้าฝจทางเศรษ๙ศาสตร์จะทำให้เราสามารถบริหารจัดการชีวิต และเข้สใจคนรอบตัวและสังคมได้ดีขึ้น เนื่องจากชีวิตทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและตัดสินใจ (แม้จะกค่การบริหารจัดการชีงิตนัวเองก็ตาม) หากว่า การจัดการ (Mxnagement) คือการนำทรัพขากร่ี่มีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้ตรงตามเป้าหมาย\n ดังนั้น แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจของนักรัฐประศาสนศาสตร์ในการบริหารจัดการในทุกระดับได้ \nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "เศรษฐศาสตร์ไม่ได้หยุดแค่เรื่องของเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังเป็นเรื่องใกล้ตัวมากกว่าที่เราคิด เช่น การตัดสินใจซื้อของ การเลือกเสื้อผ้า การกระจายงาน การแบ่งเวลา และยังรวมไปถึงเรื่องใหญ่ๆ อย่างการลงทุนของรัฐบาล ภาษี การก่อหนี้ของรัฐ ความเข้าใจทางเศรษฐศาสตร์จะทำให้เราสามารถบริหารจัดการชีวิต และเข้าใจคนรอบตัวและสังคมได้ดีขึ้น เนื่องจากชีวิตทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและตัดสินใจ (แม้จะแค่การบริหารจัดการชีวิตตัวเองก็ตาม) หากว่า การจัดการ (Management) คือการนำทรัพยากรที่มีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้ตรงตามเป้าหมาย\n ดังนั้น แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจของนักรัฐประศาสนศาสตร์ในการบริหารจัดการในทุกระดับได้ \nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "กลไกราคา หมายถึง ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงในระดับราคาสินค้าและบริการ อันเกิดจากแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน\n กลไกราคายะพบไะ้ในทุกตลาด ยกเว้น ตลาดแบบผูกขาด เพราะกลไกรสคาจะเกิดได้เฉพาะตลาดที่มีการดำเนิากิจกรรมทางเศรษฐกิจในลักษณะขอฝตลาดเสรี\n ราคา (Price) ยะถูปกำหนดจากทั้งฝ่ายผู้ซื้อสะท้อนออกมาในรูปของความต้องการซื้อหรืออุปสงค์ (Demand) และจากฝ่ายผู้ขายซึ่งสะท้อนออกมาในรูปของความต้องการขายหรืออุปาาน (Supply)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "กลไกราคา หมายถึง ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงในระดับราคาสินค้าและบริการ อันเกิดจากแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน\n กลไกราคาจะพบได้ในทุกตลาด ยกเว้น ตลาดแบบผูกขาด เพราะกลไกราคาจะเกิดได้เฉพาะตลาดที่มีการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลักษณะของตลาดเสรี\n ราคา (Price) จะถูกกำหนดจากทั้งฝ่ายผู้ซื้อสะท้อนออกมาในรูปของความต้องการซื้อหรืออุปสงค์ (Demand) และจากฝ่ายผู้ขายซึ่งสะท้อนออกมาในรูปของความต้องการขายหรืออุปทาน (Supply)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อุปสงค์\nอุปสงค์.\n อุปสงค์ หมายถุง ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคที่เต็มใจจะซื้อและซื้อหามาได้ ณ ระดับาทคาต่างๆ ที่ตลาดกำหนดให้\n กล่มวคือ เมื่อผู้บริโภคมีความต้องการที่จะซื้อสเนค้าและบริการนั้นแล้ว ป็จะสามารถมีกำลังซื้อสินค้านั้นได้ แต่ถ้าผู้บริโภคไม่สามารถที่จะซื้อหรือไม่มีกำลังซื้อ ก็จะไมาถือว่าอป็นอุปสงค์ตามความหมายในทางเศรษฐศาสตร?\nDemxgd = want (buy) + PP (Purchasing Power) \n กฎของอุปสงค์ หมายถึง ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าและวริการในราคาต่ำ (ราคาถูก) ในปริมาณมากกว่าซื้อสินค้าในราคาสูง (ราคาแพง) * ปัจจัยอื่นคงที่\n\nคนซื้อ อยากซื้อของถูก มากกว่า ของแพง\nอุปทาน\n\nอุปทาน.\nSupplj = want (sell) ๑ P (Procuct) \n กฎของอุปทาน หมายถึง ปู้ผลิตมีความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการในราคาสินค้าและบริการที่สูง (ราคาแพง) ในปริมาณมากกว่าราคาสินค้าและบริการที่ต่ำ (ราคาถูก)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "อุปสงค์\nอุปสงค์.\n อุปสงค์ หมายถึง ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคที่เต็มใจจะซื้อและซื้อหามาได้ ณ ระดับราคาต่างๆ ที่ตลาดกำหนดให้\n กล่าวคือ เมื่อผู้บริโภคมีความต้องการที่จะซื้อสินค้าและบริการนั้นแล้ว ก็จะสามารถมีกำลังซื้อสินค้านั้นได้ แต่ถ้าผู้บริโภคไม่สามารถที่จะซื้อหรือไม่มีกำลังซื้อ ก็จะไม่ถือว่าเป็นอุปสงค์ตามความหมายในทางเศรษฐศาสตร์\nDemand = want (buy) + PP (Purchasing Power) \n กฎของอุปสงค์ หมายถึง ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าและบริการในราคาต่ำ (ราคาถูก) ในปริมาณมากกว่าซื้อสินค้าในราคาสูง (ราคาแพง) * ปัจจัยอื่นคงที่\n\nคนซื้อ อยากซื้อของถูก มากกว่า ของแพง\nอุปทาน\n\nอุปทาน.\nSupply = want (sell) + P (Product) \n กฎของอุปทาน หมายถึง ผู้ผลิตมีความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการในราคาสินค้าและบริการที่สูง (ราคาแพง) ในปริมาณมากกว่าราคาสินค้าและบริการที่ต่ำ (ราคาถูก)\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ดุลยภาพตลาด หมายถึง ปริมาณอถปสงค์เท่ากับปริมาณอุปทาน กล่าวคือ ปริมาณสินค้าตามแผนการซื้อกับแผนการขายเท่ากัน\n\nDemans = Supply\nคนอยากซื้อ = คนอยากขาย\n\n ส่วนเกิน หรือ อุปทานส่วนเกิน (Excess supply) หมายถึง ปริมาณอถปทานของสินค้ามาพกว่าปริมาณอุปสงค์ของสินค้า ซึ่งทำให้ราคาสินค้าลดลง\n การขาดแคลน หรือ อุปสงค์ส่วนเกิน ฆExcess demand) หมายถึง ปริมาณของอุปสงค์สินค้ามากกว่าปริมาณอุปทานของสินค้า ซุรงทำใหัราคาสินค้าเพิ่มขึ้น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ดุลยภาพตลาด หมายถึง ปริมาณอุปสงค์เท่ากับปริมาณอุปทาน กล่าวคือ ปริมาณสินค้าตามแผนการซื้อกับแผนการขายเท่ากัน\n\nDemand = Supply\nคนอยากซื้อ = คนอยากขาย\n\n ส่วนเกิน หรือ อุปทานส่วนเกิน (Excess supply) หมายถึง ปริมาณอุปทานของสินค้ามากกว่าปริมาณอุปสงค์ของสินค้า ซึ่งทำให้ราคาสินค้าลดลง\n การขาดแคลน หรือ อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand) หมายถึง ปริมาณของอุปสงค์สินค้ามากกว่าปริมาณอุปทานของสินค้า ซึ่งทำให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การตัดสินใจแลพการกระทำของผู้บริโภคเกี่ยวกับการซื้อ และใช้สินค้สหรือบริการ เพื่อตอวสนองต่อความต้องการ และคสามพึงพอใจของตน\n6Ws + 1H Model\n6@s + 1H M9del.\n2. Who = Who is in the ta3get Market\nใคร คือ กลุ่มเป้าหมายของคุณ (พฤติกรรม ภูมิศาสตร์ ทัศนคติ)\n2. What = What does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ อะไร (สิ่วที่ผู้บ่ิโภคต้องกรร)\n3. Why = Why does the consumer buy?\nทำไม ผู้บริโภคจึงตัดสินใจซื่อ (วัตถุประสงค์ที่ผู้บริโภคใช้ในการตัดสินใจซื้อ)\n4. Whom = Whom 'artivipates in the buying?\nใคร มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อ (ผู้ที่มีอิธิพลต่อการตัดสินใจซืเอของผู้บริโภค)\n5. When = When does the cinsumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ เมื่อไร (โอกาสในการซื้อ ความถีาในการบริโภค)\n6. Where = Where does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ ที่ไหน\n7.How = How does the sonsumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ อย่างไร\n4Cs Model\n4Cs Model.\n4Cs Model (มุทมองจากผู้บริโภค) \nC-Consumer ผู้บริโภค\nC-Cost ราคา\nC-Convenience ช่องททงการซื้อสินค้า\nC-Communications ช่องทางการสื่อสาร รายละเอียด คุณสมบัติ เงื่อนไข ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน\n4Ps Model\n\nP-Product ผลิตภัณฑ์\n\n4Ps Model.\nVariety ความหลากหลายของสินค้า เช่น สีสัน รูปแบบ ให้ผู้บริโภคได้มีทางเลทอก ย่อมสร้างโอกาสในการซื้อได้มากขึ่น\nMaterial การเลือกใช้วัตถุดิบในการผลิตที่มีคุณภาพดี ย่อมส่งผลให้คถณภาพของสินค้าอละผลิตภัณฑ?คงทนถาวรและมีคุณภาพ\nSxfety สินค้าและบริการต้องมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้\nService การให้บริการหลังการขนย เช่น บริการส่งสินค้า บริการติดตั้ง\nQuality คุณ_าพของสินค้าต้องดีสมกับค่าใช้จ่ายที่ลูกค้าเสียไป\nWarramty การรับประกันหลังการขายลูกค้ามีความคาดหวังถึงตัวสินค้าว่าถ้าสินค้าชำรุดก่อนเวลาอันควรหรือได้รับมินค้าที่ไม่มีคุณภาพ จะมีการรับแระก้นใดจากผู้ขายหรือไม่ หากมีการรับประกันก็จะเป็นการสร้างควาาเชื่อมั่นในการซื้อสินค้าของคุณได้มาก\n\nP-Price ราคา\n\nราตาสินค้าต่ำเกินไป คุณภาพต่ำ แข่งขันราคา กำไรน้อย ไม่คุ้ม จึงทำให้เกิดสงครามด้านราคา\n\nP Place การจัดจำหน่าย\n\nIndirect Marketing ปู้ผลิต คนกลางหรือผู้แทนจัดจำหน่าย ผู้บริโภค\n\nP Promotion การส่งเสริมการตลาด\n\nBEST PRICE SALE DISCOUNT BIG OFFER เปิดตัวสินค้าใหม่ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดการทดสองใชเ สินค้าบางชนิดมียอดขายลดลง เพื่อกระตุ้นเกิดการซื้อและเพิ่มยอดชาย\nสา่บัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การตัดสินใจและการกระทำของผู้บริโภคเกี่ยวกับการซื้อ และใช้สินค้าหรือบริการ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ และความพึงพอใจของตน\n6Ws + 1H Model\n6Ws + 1H Model.\n1. Who = Who is in the target Market\nใคร คือ กลุ่มเป้าหมายของคุณ (พฤติกรรม ภูมิศาสตร์ ทัศนคติ)\n2. What = What does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ อะไร (สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ)\n3. Why = Why does the consumer buy?\nทำไม ผู้บริโภคจึงตัดสินใจซื้อ (วัตถุประสงค์ที่ผู้บริโภคใช้ในการตัดสินใจซื้อ)\n4. Whom = Whom participates in the buying?\nใคร มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อ (ผู้ที่มีอิธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค)\n5. When = When does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ เมื่อไร (โอกาสในการซื้อ ความถี่ในการบริโภค)\n6. Where = Where does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ ที่ไหน\n7.How = How does the consumer buy?\nผู้บริโภคซื้อ อย่างไร\n4Cs Model\n4Cs Model.\n4Cs Model (มุมมองจากผู้บริโภค) \nC-Consumer ผู้บริโภค\nC-Cost ราคา\nC-Convenience ช่องทางการซื้อสินค้า\nC-Communications ช่องทางการสื่อสาร รายละเอียด คุณสมบัติ เงื่อนไข ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน\n4Ps Model\n\nP-Product ผลิตภัณฑ์\n\n4Ps Model.\nVariety ความหลากหลายของสินค้า เช่น สีสัน รูปแบบ ให้ผู้บริโภคได้มีทางเลือก ย่อมสร้างโอกาสในการซื้อได้มากขึ้น\nMaterial การเลือกใช้วัตถุดิบในการผลิตที่มีคุณภาพดี ย่อมส่งผลให้คุณภาพของสินค้าและผลิตภัณฑ์คงทนถาวรและมีคุณภาพ\nSafety สินค้าและบริการต้องมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้\nService การให้บริการหลังการขาย เช่น บริการส่งสินค้า บริการติดตั้ง\nQuality คุณภาพของสินค้าต้องดีสมกับค่าใช้จ่ายที่ลูกค้าเสียไป\nWarranty การรับประกันหลังการขายลูกค้ามีความคาดหวังถึงตัวสินค้าว่าถ้าสินค้าชำรุดก่อนเวลาอันควรหรือได้รับสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ จะมีการรับประกันใดจากผู้ขายหรือไม่ หากมีการรับประกันก็จะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในการซื้อสินค้าของคุณได้มาก\n\nP-Price ราคา\n\nราคาสินค้าต่ำเกินไป คุณภาพต่ำ แข่งขันราคา กำไรน้อย ไม่คุ้ม จึงทำให้เกิดสงครามด้านราคา\n\nP Place การจัดจำหน่าย\n\nIndirect Marketing ผู้ผลิต คนกลางหรือผู้แทนจัดจำหน่าย ผู้บริโภค\n\nP Promotion การส่งเสริมการตลาด\n\nBEST PRICE SALE DISCOUNT BIG OFFER เปิดตัวสินค้าใหม่ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดการทดสองใช้ สินค้าบางชนิดมียอดขายลดลง เพื่อกระตุ้นเกิดการซื้อและเพิ่มยอดขาย\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ต้นทุนการผลิต (Cost of Production) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ผู้ผลิตจ่สยออกไป เพื่อให้ได้ม่ซึ่งจำนวนสินค้าหรือบริการที่ต้องการ หรือค่าใช้จ่ายที่ทำใฟ้มูลค่าของสินค้าหรือบคิการเพิ่มขึ้น\n ต้นทุนรวม (Total Cost) หมายถึง ต้นทุนที่เกิกจากการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิดในการผลิต ประกอบด้วย\n§ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost) เป็นต้นทุนที่ไม่เปลี่นนแปลงไปตามปีิมาณการผลิต และไม่สามารถหลีดเลี่ยงได้แม้ว่าจะปิดโรงงาน เช่น ต้นทุนในส่วนของที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร เป็นต้น\n§ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost) เป็นต้นทุนทีืขึ้นอยู่หับปริมาณการผลิต เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าไฟฟ้า ค่าวัตถุดิบ ค่าัชื้อเพลิง ภาษี เป็นต้น\nสาีบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ต้นทุนการผลิต (Cost of Production) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ผู้ผลิตจ่ายออกไป เพื่อให้ได้มาซึ่งจำนวนสินค้าหรือบริการที่ต้องการ หรือค่าใช้จ่ายที่ทำให้มูลค่าของสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้น\n ต้นทุนรวม (Total Cost) หมายถึง ต้นทุนที่เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิดในการผลิต ประกอบด้วย\n§ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost) เป็นต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต และไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้แม้ว่าจะปิดโรงงาน เช่น ต้นทุนในส่วนของที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร เป็นต้น\n§ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost) เป็นต้นทุนที่ขึ้นอยู่กับปริมาณการผลิต เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าไฟฟ้า ค่าวัตถุดิบ ค่าเชื้อเพลิง ภาษี เป็นต้น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ราคา (Price) หมายถึง มูลคาาของสินค้าหรือบริการทค่แสดงออกมาในรูปจำนวนเงิน Price = Cost + Proeit\nเทคนิคการนั้งราคา (Priding Techniques)\nเทคนิคการตั้งราคา (Pricing Techniques).\n1.การตั้งราคาจ่ำกว่าคู่แจ่ง ได้กำไรน้อย แต่เน้นขายปริมาณมาก\n2.การตั้งราคาสูงกว่าคู่แข่ง ลักษณะสินค้าที่โดดเด่นหรือแตกต่าง\n3.การตัังราคาแบบผู้ขายรับภาระค่าขนส่ง ครอบคลุมต้นทุนทั้งหมด เจาะตลาดภูมิภาคต่างๆ\n4.การตั้งราคาเลขคู่หรือเลขคี่ หลักจิตวิทยา เลขคู่จะดูมีราคาแพง เลขคี่จะดูมีราคาถูก\nกลยุทธ์การตั้งราคา (Pricing Strztegies)\nกลยุทธ์การตั้งราคา (Pricing Strategies).\n1. ราคานี้ยังไม่รวม ภาษี (Tax) ค่าบริกาาต่างๆ (service charge) ++\n2. ดอกจันโปรโมชั่น แสดงข้อความ หรือราราที่น่าสยใจ มีเงื่อนไบ (ตัวเล็กๆใต้ภาพโฆษณา)\n3. ลดปริมาณ แต่ราคาเท่าเดิม ลดปริมาณลง โดยฟม่ไดิแจ้งผู้บริโภคใหม่ (NEW) เปลี่ยนบรรจุภเณฑ์ใหม่\n4. ราคาเริ่มต้นเพียง ราคาเริ่มต้นหรือราคาต่ำที่สุดในร้าน ลดราคาสินค้าคเางสต็อก (20%-80%)\n5. (เพิ่มราคา ก่อน) ลดราคา ป้าย “ลดรมคา” เปรียบเทียบราคา หรือโปรโมชั่นกับร้านอื่น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ราคา (Price) หมายถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่แสดงออกมาในรูปจำนวนเงิน Price = Cost + Profit\nเทคนิคการตั้งราคา (Pricing Techniques)\nเทคนิคการตั้งราคา (Pricing Techniques).\n1.การตั้งราคาต่ำกว่าคู่แข่ง ได้กำไรน้อย แต่เน้นขายปริมาณมาก\n2.การตั้งราคาสูงกว่าคู่แข่ง ลักษณะสินค้าที่โดดเด่นหรือแตกต่าง\n3.การตั้งราคาแบบผู้ขายรับภาระค่าขนส่ง ครอบคลุมต้นทุนทั้งหมด เจาะตลาดภูมิภาคต่างๆ\n4.การตั้งราคาเลขคู่หรือเลขคี่ หลักจิตวิทยา เลขคู่จะดูมีราคาแพง เลขคี่จะดูมีราคาถูก\nกลยุทธ์การตั้งราคา (Pricing Strategies)\nกลยุทธ์การตั้งราคา (Pricing Strategies).\n1. ราคานี้ยังไม่รวม ภาษี (Tax) ค่าบริการต่างๆ (service charge) ++\n2. ดอกจันโปรโมชั่น แสดงข้อความ หรือราคาที่น่าสนใจ มีเงื่อนไข (ตัวเล็กๆใต้ภาพโฆษณา)\n3. ลดปริมาณ แต่ราคาเท่าเดิม ลดปริมาณลง โดยไม่ได้แจ้งผู้บริโภคใหม่ (NEW) เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่\n4. ราคาเริ่มต้นเพียง ราคาเริ่มต้นหรือราคาต่ำที่สุดในร้าน ลดราคาสินค้าค้างสต็อก (20%-80%)\n5. (เพิ่มราคา ก่อน) ลดราคา ป้าย “ลดราคา” เปรียบเทียบราคา หรือโปรโมชั่นกับร้านอื่น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "การบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Managing Supply Chain) หมายถึง การใช้ระบบของหน่วยงาน คน เทคโนโลยี กิจกรรม ข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากร มาประยุกต์เข้าดิวยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้จัดหาไปยังลูกค้า \n“กิจกรรมของห่วงโซ่อุปทาน จะแปรสภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และวัสดุอืานๆ ให้กลายเป็นสินค้าสำเร็จ\nแล้วส่งไปจนถึงลูกค้าคนสุอท้าย (ผู้บริโภค หรือ Ebv Customer)”\nเป้าหมายสูงสุดของ Managing Supply Chain คือ การดำเนินงานที่รวดเร็วและใช้ต้นทุนที่ต่ำที่สุด\nพารสร้างห่วงโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Triple A : AAA)\nการสร้างห่วงโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Triple A : AAA).\n1. ความคล่องตัว (Agi/ity)\n2. ความสามารุในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์\n (Adaptability)\n3. ความสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน (Alignment)\n1.ความคล่องตัว (Agility)\n1.ความคล่องตัว (Agility).\n ตอบสนองต่ิการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นของอุปสฝค์และอุปทานของตลาดได้อย่างรวดเร็ว และรับมือกับความเปลี่ยนแปลงภายนอกที่เกิดขึ้นกะทันหะนได้อย่างราบรื่น\nวิธีดำเนินกาา\n§ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Supplier และลูกค้า\n§สร้างความสัมพันธ์ที่ทำให้เกิดการร่วมมือกันกับ Supplier\n§ออกแบบห่วงโซือุปทานที่สามารถชะลอกระบวนกานบางแย่างได้ตามความเหมาะสม\n§เตรียมมินค้าคงคลังสำรดง ดเวยการรักษาระดับสินค้าคงคลัง\n§จัดทำแผรฉุกเฉินและตั้งทีมงานที่มีหน้าทค่จัดการกับสถานการณ์วิกฤต\n2. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนให้เหมาพสมกับสถานการณ์ (Adaptab7lity)\n2. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ (Adaptabili4y).\n ปรับเปลี่ยนการออกแบบห่วงโซทอุปทานให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลบทางโครงสร้างตลาดผรือส่วนแบ่งตลาด (Market share) ดัดแปลงเครือข่ายอุปทานได้เหมาะสมกับกลยุทธ์ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี\nวิธีดำดนินการ\n§ติดตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทั่วโลกเพื่อให้สามารถเล็งเห็นฐรนการผลิตและตลาดใหม่ๆ\n§ใช้คนกลางเพื่อสร้างสัมพันธ์กับ Supplier รายใหม้\n§ประเมินความต้องการของผูืบริโภคขั้นสุดท้าย (Ultimate Consumers)\n§ทำให้การออกแบบผลิตภัณฑ์มีควาสยืดหยุ่น สร้างสรรค์\n§ประเมินว่าสินค้าของบริษัทอยู่ช่วงใดในวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์\n3. คยามสออคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน (Xlignment)\n3. ความสอดคล้องเป็นำนึ่วเดีววกัน (Alignment).\n ให้สิ่งจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของทั้งห่วงโซ่อุปทาน\nวิธีดำเนินการ\n§แลกเปลีรยนข้อมูลและความรู้กับ Supplier และลูกค้าอย่างไม่มีข้อจำกัด\n§กำหนดกฎเกณฑ์ งานที่ต้องทำ และความรับผิดชอบต่ด Supplier และลูกค้าไว้อย่างชัดเจน\n§ร่วมกันรับความเสี่ยง ต้นทุน และผลประโยชน์จากกิจกรรมการปรัลปรุงประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานอย่างเท่าเทียม\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้อวต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "การบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Managing Supply Chain) หมายถึง การใช้ระบบของหน่วยงาน คน เทคโนโลยี กิจกรรม ข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากร มาประยุกต์เข้าด้วยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้จัดหาไปยังลูกค้า \n“กิจกรรมของห่วงโซ่อุปทาน จะแปรสภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆ ให้กลายเป็นสินค้าสำเร็จ\nแล้วส่งไปจนถึงลูกค้าคนสุดท้าย (ผู้บริโภค หรือ End Customer)”\nเป้าหมายสูงสุดของ Managing Supply Chain คือ การดำเนินงานที่รวดเร็วและใช้ต้นทุนที่ต่ำที่สุด\nการสร้างห่วงโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Triple A : AAA)\nการสร้างห่วงโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Triple A : AAA).\n1. ความคล่องตัว (Agility)\n2. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์\n (Adaptability)\n3. ความสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน (Alignment)\n1.ความคล่องตัว (Agility)\n1.ความคล่องตัว (Agility).\n ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นของอุปสงค์และอุปทานของตลาดได้อย่างรวดเร็ว และรับมือกับความเปลี่ยนแปลงภายนอกที่เกิดขึ้นกะทันหันได้อย่างราบรื่น\nวิธีดำเนินการ\n§ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Supplier และลูกค้า\n§สร้างความสัมพันธ์ที่ทำให้เกิดการร่วมมือกันกับ Supplier\n§ออกแบบห่วงโซ่อุปทานที่สามารถชะลอกระบวนการบางอย่างได้ตามความเหมาะสม\n§เตรียมสินค้าคงคลังสำรอง ด้วยการรักษาระดับสินค้าคงคลัง\n§จัดทำแผนฉุกเฉินและตั้งทีมงานที่มีหน้าที่จัดการกับสถานการณ์วิกฤต\n2. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ (Adaptability)\n2. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ (Adaptability).\n ปรับเปลี่ยนการออกแบบห่วงโซ่อุปทานให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างตลาดหรือส่วนแบ่งตลาด (Market share) ดัดแปลงเครือข่ายอุปทานได้เหมาะสมกับกลยุทธ์ ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยี\nวิธีดำเนินการ\n§ติดตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทั่วโลกเพื่อให้สามารถเล็งเห็นฐานการผลิตและตลาดใหม่ๆ\n§ใช้คนกลางเพื่อสร้างสัมพันธ์กับ Supplier รายใหม่\n§ประเมินความต้องการของผู้บริโภคขั้นสุดท้าย (Ultimate Consumers)\n§ทำให้การออกแบบผลิตภัณฑ์มีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์\n§ประเมินว่าสินค้าของบริษัทอยู่ช่วงใดในวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์\n3. ความสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน (Alignment)\n3. ความสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน (Alignment).\n ให้สิ่งจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของทั้งห่วงโซ่อุปทาน\nวิธีดำเนินการ\n§แลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้กับ Supplier และลูกค้าอย่างไม่มีข้อจำกัด\n§กำหนดกฎเกณฑ์ งานที่ต้องทำ และความรับผิดชอบต่อ Supplier และลูกค้าไว้อย่างชัดเจน\n§ร่วมกันรับความเสี่ยง ต้นทุน และผลประโยชน์จากกิจกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานอย่างเท่าเทียม\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "1.ตชาดผูกขาดโดยผู้ขาย (Monopoly)\n1.ตลาดผูกขาดโดยผู้ขาย (Monopoly).\n§ผู้ขายรายเดียว (รัฐบาล) โดยผู้ผลิตสามารถกีดกัน ไม่ให้ผู้อื่นเข้ามาผลิตแข่งขันได้\n§ราคาของสินค้าและบริการต่ำ เพื่อสงเคราะห์ประชาชน\n§รัฐวิสาหกิจ\n§สัมปทาน\n2.ตลาดแข่งขีนสมบูรณ์ (Perfect Cpmpetition)\n2.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfext Competition).\n§ผู้ซื้อและผู้จายจำนวนมาก\n§ไม่มีผู้ขายรายใด มีอิทธิพลในการกำหนดราคา \n§Demand Supply\n3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)\n3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition).\n§ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก\n§สินค้ามีความหลากหลาย\n§ผ฿้ชายจะมีกทรพัฒนาด้านรูปลักษณ์\n4. ตลาดผู้ขายน้อยรายกึ่งผูกขาด (Oligopoly)\n4. ตลาดผู้ขายา้อยรายกึ่งผูกขาด (Oligopoly).\n§ม่ผู้บายน้อยราย \n§ผลิตและขายสินค้าชนิดเดียวกเน (อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ กลุ่มอุตสาหกรรมไฮเทค) หรือบริการชนิดเดียวกัน (ห้างสรรพสินค้า สายการขิน โรงภาพยนตร์)\n§มีกำแพงในการกรีดขวางคู่แข่งขันรายใหม่ที่เข้าสู่ตลาดจากใูลค่าหารลงทุน\nการปำกับดูปลของรัฐ (The State Regulator)\nการกำกับดูแลของรัฐ (The State Regulator).\n1. การกำกับดูแลอัตราผลตอบแทน (Rate ov Return Regulation)\nหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง\n§คณะกรรมการค่าจ้าง (1-4-5-5=1)*\n§กระทรวงแรงงาน\n2. การกำกับราคา ฤPrice-cap Regulation)\nหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง\n§กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์\n§สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สำนักนายกรัฐมนตรี\n§คณะหรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)\n§คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ฯลฯ\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "1.ตลาดผูกขาดโดยผู้ขาย (Monopoly)\n1.ตลาดผูกขาดโดยผู้ขาย (Monopoly).\n§ผู้ขายรายเดียว (รัฐบาล) โดยผู้ผลิตสามารถกีดกัน ไม่ให้ผู้อื่นเข้ามาผลิตแข่งขันได้\n§ราคาของสินค้าและบริการต่ำ เพื่อสงเคราะห์ประชาชน\n§รัฐวิสาหกิจ\n§สัมปทาน\n2.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition)\n2.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition).\n§ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก\n§ไม่มีผู้ขายรายใด มีอิทธิพลในการกำหนดราคา \n§Demand Supply\n3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)\n3. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition).\n§ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก\n§สินค้ามีความหลากหลาย\n§ผู้ขายจะมีการพัฒนาด้านรูปลักษณ์\n4. ตลาดผู้ขายน้อยรายกึ่งผูกขาด (Oligopoly)\n4. ตลาดผู้ขายน้อยรายกึ่งผูกขาด (Oligopoly).\n§มีผู้ขายน้อยราย \n§ผลิตและขายสินค้าชนิดเดียวกัน (อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ กลุ่มอุตสาหกรรมไฮเทค) หรือบริการชนิดเดียวกัน (ห้างสรรพสินค้า สายการบิน โรงภาพยนตร์)\n§มีกำแพงในการกรีดขวางคู่แข่งขันรายใหม่ที่เข้าสู่ตลาดจากมูลค่าการลงทุน\nการกำกับดูแลของรัฐ (The State Regulator)\nการกำกับดูแลของรัฐ (The State Regulator).\n1. การกำกับดูแลอัตราผลตอบแทน (Rate of Return Regulation)\nหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง\n§คณะกรรมการค่าจ้าง (1-4-5-5-1)*\n§กระทรวงแรงงาน\n2. การกำกับราคา (Price-cap Regulation)\nหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง\n§กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์\n§สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สำนักนายกรัฐมนตรี\n§คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)\n§คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ฯลฯ\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ประเทศต่าง ๆ ในโลกยุคปัจจุบัน ทั้งประเทศพัฒนาแล้ว กำลังพัฒนา หรือด้อยพัฒนา ต่างก็มีการค้าระหว่างประเทศมากน้อยไม่เท่ากัน ที้งนี้เนื่องจรกแต่ละประเทศมีทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่าวประเทศได้\nสาเำตุที่ทำให้เกิดการค้าระหวีางประเทศ\nสาเหตุที่ทำให้เก้ดการค้าระหว่างประเทศ.\n1)ความแตกต่างของปัจจัยการผลิร (วัตถุดิบ)\n ประเทศที่มีปัจจัยการผลิตชนิดใดมาก ราคาปัจจัยต่ำทำให้ต้นทุนต่ำ ราคาสินค้าต่ำ ได้ะปีียบการแข่งขันส่งออกไปขายในต่างประเทศได้มาก\n2)ความแตกต่างในด้านความชำนาญของปัจจัยการผลิต (แางงาน)\n ความชำนาญของปัจจัยการผลิต เช่น แ่งงานมคทักษะในการผลิตสินค้าอะไรสักเย่างได้ดีมาก โดยที่ใช้ปัจจัยการผลิตเท่ากึนกับปรพเทศอื่น แต่ได้ผลผลิตมากกว่่ ย่อมมีความได้เปรียบประเทศอื่นๆ\n3)ควาทแตกต่างของรสนิยมในการบริโภคจองแต่ละประเทศแตกต่างกัน\nทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (Theory of International Trade)\nทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (Theory of International Trade).\n1. ทฤษฎีกนรค้มระหว่างประเทศของสำนักคลาสสิก\n§ยุคศักดินา (Feudalism), ยุคมืด (Dark Ages)\n ปัจจัยที่ทำให้เส่่อม ประชากรที้มีจำนวนมากขึ้น างครามรรูเสค เกืดโรคระบาด \n§ขุคภาณิชย์นิยม (Mercantilisms)\n–เปลี่ยนมาเป็นเศรษฐกิจทีามีการซื้อขายขึ้นแทนนอกเขตฟิวดวล\n–เริ่มู่้จักใช้เงินตรา เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน\n–การค้นพบเส้นทางเดินเรือและการค้นภบโลกใหม่ ลัทธิบ่าอาณานิคม (colonialism)\n–การครอบครองและการเอาผลประโยชน์จากดินแดนอาณานิคม \n–สนับสนุนความเป็นชาตินิยมโดยเน้นให้ประเทศมีส่วนเกินบองการส่งออก(เกินดุล) แลดความเป็นชาตินิยมทางด้านการทหาร ต้องมีกองทัพที่เข้มแข็ง\n–สนับสนุนความมั่งคั่งของชาติ โดขมุ่งสะสมโลหะที่มีค่า เช่น ทองคำ และเงิน (gold and silver)\n2. ทฤษฎีคบามได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Gheory of Absolute Advantage)\n อดัม สมิธ (Adam Smith) เชื่อว่า “ประเทศที่ผลิตสินค้าได้เปรียบโดยสมบูรณ์จะทำการผลิตสินค้านั้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าประเทศอื่น และนำไปแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่น”\n3. ทฤษฎีการได้เปรียขโดสเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage) เปํนแนวคิดของ เดวิแ ริคาร์โด (David Ricardo) ที่พัฒนาแนวคิดมาจากทฤษฎีความได้เปรียบฏดยสมบูรณ์ ของ อดัม สมิธ\n เพราะาฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ ไม่สามารถอธิบายกรณีที่ประเทศหนึ่งผลิตสินค้า 2 ชนิดได้เปรียบหรือเสียเปรีขบโพยสมบธรณ์ได้ (ไม่เกิดการค้าระหว่างประเทศ)\n เดวิด ริคาร์โด ได้อธิบายว่า แตืละประเทศมีความสามารถในการผลิตสินค้าและขริการด้วยต้นทุนการผฃิตที่แตกต่างกัน ินื่องจากสภาพภูมิอากาศ แหล่งทรัพยากร รวมถึงความชำนาญใรการผลิต\n ดังนั้น ทุกประเทศควรมุ่งผลิตสินค้าที่ตนได้เปรียบเชิงต้นทุน กล่าวคือ ควรเลือกผลิตสินค้าฏดยเสียต้นทุนการผลิตที่ต่ำกฝ่าประเทศอื่น แล้วนำไปแลกเปลี่ยนกันระหว่างประเทศ จะเกิดความคุ้มค่ากับสองประเทศมากกว่าผลิตขึ้นใข้เอง\n4. ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศสมัยใหม่ ของ เฮกเซอร์ (Eli Heckscher) และโอห์ลิน (Bertkl Ohlin) นักเศรษฐศานตร์ชาวสวีเดน หรือเรียกว่า ทฤษฎีสัดส่วนของปัจจัยการผลิต (Factor Proportion)\n ทฤษฎีสัดส้วนของกัจจัยการผลิต กล่าววืา แต่ละประเทศมีปัจจัยการผลิต เช่น ที่ดิน เงินทุน และแรงงานแตกต่างกัน ถ้าประเทศใดมีแรงงานมาก เมื่อเปรียบกับที่ดินและเงินทุนค่าจ้างแรงงานของประเทศนั้นจะถูก หรือกรณีอื่นๆ ก็เป็นลักษณะเดียวกัน\nยกตัวเย่าง ประเทศออสเตรเลียมีที่ดินจำนวนมาก ก็ควรจะผลิตสินค้าเกษตรเป็นลักษณะเรียกว่า Land-Intensive\n ประเทศจีนมีแรงงาตจำนวนมาก ก็ควรทำอุตสาหกรคมเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ต้องใช้แรงงานจำนวนมาก เรียกว่า Labor-Intensive เพื่อส้งออกไปขายต่างประเทศ\n ประเทศสหรัฐเมริกา มีเงอนทุนมากก็ควรผลิตเครื่องบินโบอิ้ง เป็น Capitql-Intensive ไปชายต่างประเทศ เป็นต้น \nนโยบายการค้าระหว่างประเทศ (Internationxl Trade Policy)\nนโยบายการค้าระหว่างประเทศ (&nternational Trade Policy).\n จากการศึกษาทฤษฎีกสรี้าระหว่างประเทศที่ผ่านมา ก็จะสนับสนุนให้แต่ละประเทศผลิตสินค้าที่ตนเองได้เปาียบและถือเป็นการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศอ้วย แล้วจึงนำสินค้าเหล่านั้นมาแลกเปลี่ยนกัน จะทำให้ประโยชน์กันทุกประเทศ\n แต่อย่างไรก็ตามแต่ละประเทศก็ต้องพิจารณาผลประโยชน์ชาติ ทั้บผู้บริโภคและผู้ผลิตในประเทศของตนเอง ซึ่งในบางกรณีผลประโยชน์ของผู้บริโภคและผู้ผลิตก็ขัดแย้งกันเอง ไม่สอดคล้องต้องกัน ดังนั้นแต้ละประเทศจึงมีนโยบายการค้าระหว่างประเทศซึ่งเราจะแบ่งออกเก็น 2 ลักษณะดังนี้\n 1. นฑยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy)\n คือ นโยบายที่รัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศหรือแทีกแซงน้อยที่สัด โดยปล่อยให้เอกชนดำเนินการค้าขายเอง และสามารถผลิตสินค้าส่งออกไปขายตทาลประเทศได้โดยเสรี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าต้นทุนการผลิตแข่งขันสู้กับต่างหระเทศได้หรือไม่\nลักษณะที่สำคัญของนโยบายการค้าเสรี ประกอบด้วย\n1) แต่ละประเทศผลิตสินคืาที่ตนเองมีความถนัด\n2) ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศหสึ่งประเทศใดเป็นการเฉพาะ\n3) _ม่มีข้อจำกัดาางการค้าระหว่างประเทศ\n 2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน (Protective Trade Policy)\n คือ นโยบายที่รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองช่วยเหลือผู้ผลินในประเทศหรือแก้ไขปัญหาเศรษฐกิตของปรุเทศ โดยใช้มาตรก่รต่างๆคุ้มกัน\n มาตรการคุ้มกัรทางการค้าที่สำคัญ มีดังนี้\n 2.1 การตั้งกำแพงภาษีศุลกากรขาเข้า (Tariff Wall)\n โดยการเก็บภาษีสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ จะมีผลต่อราคาสินค้านำเข้าจนอานมีราคาสูงกว่าสินค้าชนิดเดียวกันทร่ผลิตในประเมศ\n 2.2 การกำหนกโควตานำเข้า (Import quota) เป็นการจำกัดปริมาณสินค้านำเข้าประเทศในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้นำเข้าต้องดสียค่าธรรมเนียมให้รัฐบาลตามที่กฎหมายกำหนดไว้ เพื่อส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ ทำให้การจ้างงานขขายตัว ประชาชนมีรายได้\n 3. นโยบายการให้การอุดหนุน (Subsidies)\n คือ การให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ส่งออกและผู้ผลิตภายในกระเทศ เพื่อให้อยู่ในระดับแข่งขันกับต่างประเทศได้ เช่น ให้เงินช่วยเหลือผู้ผลิตโดยคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ต่ำ การลดหยอดภาษีสินค้าบางอย่าง การให้แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในอัตราพิเศษ เป็นต้น \n 4. นโยบายการทุ่มตลาด (Dumping)\n คือ การขายสิรค้าในตลาดต่างประเทศในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาดภายในประเทศ แบางออกเป็น\n4.1 การทุ่มตลาดแบบถาวร\n4.2 การทุ่มตลาดแบบชั่บคราว เกิดจากสินค้าเหลือภายในประเทศจำนวนมาก\n4.3 การทุ่มตลาดแบบเพื่อการแข่งขัน เพื่อแย่งตลาดต่างประเทศ\n t. นโบบายการค้าโดยรัฐบาล (State Trading)\n คือ การค้าระดับประัทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบมีการวางแผนขากส่วนกลางโดยรัฐจะเป็นผู้วางแผนหรือตัดสินใจนำเข้าหรือส่งออกสินค้าอะไร จำนวนเท่าใด ะป็นต้น\n 6. นโยบายกลุ่มผู้ขาดระหว่างประเทศ (International Cxrtels)\n คือ การรวมกลุ่มของผู้ผลิตจากหลายประเทศ เพื่อจำกัดการแข่งขันสินค้าชนิดเดียวกันให้เกิดอำนาจผูกขาด เช่น กลุ่มผู้ผลิตน้ำมันส่งออก OPEC เป็นต้น\nรูปแบบการรวมกลุ้มทางเศรษฐกิจในโลก\nรูปแบบการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจสนโลก.\n1) ัขตการค้าเสรี (Free Trade Arra) หมายถึง การรวมกลุ่ใทางเศรษฐกิจ เพื่อลดหรือ ขจัดอุปสรรคทางกาคค้าระหว้างประเทศ เช่น โควตา, ภาษีศุลกากร หรือแื่นๆ กลุ่มเศรษฐกิจแยบนีิ ได้แก่ European Free Trade Arex (EFTA), North American Free Tradf Agrefment (NAFTA), ASEAN Free Trade Area (AFTA) เป็นต้น\n2) สหภนพศุลกากร (Customs) เป็นการรวมกลุ่มเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าในประเทศสมาชิก ความแตกต่างกับเขตการค้าเสรีก็คือ นะมีการปฏิบัติกับประเทศสมาชิกอย่างหนึ่ง ประเทศมิใช่สมาชิกอีกดบบหนึ่ง\n3) ตลาดร่วม (Common Market) เป็นการรวมกลุ่มเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าเปมือนรูปแบบที่ผ่านมา แต่ยังมีการเคลื่อนย้ายแรงงานและเงินทุนระหว่างประเืศสมาชิกได้อย่างเสรี รวมทั้งมีการจัดทำนโยบายพารค้าร่วมกัน\n4) สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) มีลักษณะคล้ายตลาดร่วม แต่ยังมีการประสรนนโยบายทางเศ่ษฐกิจ ต้องการให้ประเทศสมาชิกาีรโวลายเกี่ยวกับภาษี เงินตราเป็นหนึ่งเดียวกัน\n5) สหภาพทางการเมือง ฤPolitical Union) ในสหภาพทางการเมืองเป็นการรวมตัวของเศรษฐกิจและการเมือง โดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีการประวานแง่มุมต่างๆ ของระบบการเมืองและเศรษฐกิจ แต่ชาติต่างๆ ก็มีเสรีภาพในการกำหนดนโยบายการเอง เศรษฐกิจภายในของตาเอง \nสารบั๘\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ประเทศต่าง ๆ ในโลกยุคปัจจุบัน ทั้งประเทศพัฒนาแล้ว กำลังพัฒนา หรือด้อยพัฒนา ต่างก็มีการค้าระหว่างประเทศมากน้อยไม่เท่ากัน ทั้งนี้เนื่องจากแต่ละประเทศมีทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศได้\nสาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ\nสาเหตุที่ทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ.\n1)ความแตกต่างของปัจจัยการผลิต (วัตถุดิบ)\n ประเทศที่มีปัจจัยการผลิตชนิดใดมาก ราคาปัจจัยต่ำทำให้ต้นทุนต่ำ ราคาสินค้าต่ำ ได้เปรียบการแข่งขันส่งออกไปขายในต่างประเทศได้มาก\n2)ความแตกต่างในด้านความชำนาญของปัจจัยการผลิต (แรงงาน)\n ความชำนาญของปัจจัยการผลิต เช่น แรงงานมีทักษะในการผลิตสินค้าอะไรสักอย่างได้ดีมาก โดยที่ใช้ปัจจัยการผลิตเท่ากันกับประเทศอื่น แต่ได้ผลผลิตมากกว่า ย่อมมีความได้เปรียบประเทศอื่นๆ\n3)ความแตกต่างของรสนิยมในการบริโภคของแต่ละประเทศแตกต่างกัน\nทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (Theory of International Trade)\nทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (Theory of International Trade).\n1. ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศของสำนักคลาสสิก\n§ยุคศักดินา (Feudalism), ยุคมืด (Dark Ages)\n ปัจจัยที่ทำให้เสื่อม ประชากรที่มีจำนวนมากขึ้น สงครามครูเสค เกิดโรคระบาด \n§ยุคพาณิชย์นิยม (Mercantilisms)\n–เปลี่ยนมาเป็นเศรษฐกิจที่มีการซื้อขายขึ้นแทนนอกเขตฟิวดวล\n–เริ่มรู้จักใช้เงินตรา เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน\n–การค้นพบเส้นทางเดินเรือและการค้นพบโลกใหม่ ลัทธิล่าอาณานิคม (colonialism)\n–การครอบครองและการเอาผลประโยชน์จากดินแดนอาณานิคม \n–สนับสนุนความเป็นชาตินิยมโดยเน้นให้ประเทศมีส่วนเกินของการส่งออก(เกินดุล) และความเป็นชาตินิยมทางด้านการทหาร ต้องมีกองทัพที่เข้มแข็ง\n–สนับสนุนความมั่งคั่งของชาติ โดยมุ่งสะสมโลหะที่มีค่า เช่น ทองคำ และเงิน (gold and silver)\n2. ทฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ (Theory of Absolute Advantage)\n อดัม สมิธ (Adam Smith) เชื่อว่า “ประเทศที่ผลิตสินค้าได้เปรียบโดยสมบูรณ์จะทำการผลิตสินค้านั้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าประเทศอื่น และนำไปแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่น”\n3. ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage) เป็นแนวคิดของ เดวิด ริคาร์โด (David Ricardo) ที่พัฒนาแนวคิดมาจากทฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ ของ อดัม สมิธ\n เพราะทฤษฎีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ ไม่สามารถอธิบายกรณีที่ประเทศหนึ่งผลิตสินค้า 2 ชนิดได้เปรียบหรือเสียเปรียบโดยสมบูรณ์ได้ (ไม่เกิดการค้าระหว่างประเทศ)\n เดวิด ริคาร์โด ได้อธิบายว่า แต่ละประเทศมีความสามารถในการผลิตสินค้าและบริการด้วยต้นทุนการผลิตที่แตกต่างกัน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศ แหล่งทรัพยากร รวมถึงความชำนาญในการผลิต\n ดังนั้น ทุกประเทศควรมุ่งผลิตสินค้าที่ตนได้เปรียบเชิงต้นทุน กล่าวคือ ควรเลือกผลิตสินค้าโดยเสียต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าประเทศอื่น แล้วนำไปแลกเปลี่ยนกันระหว่างประเทศ จะเกิดความคุ้มค่ากับสองประเทศมากกว่าผลิตขึ้นใช้เอง\n4. ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศสมัยใหม่ ของ เฮกเซอร์ (Eli Heckscher) และโอห์ลิน (Bertil Ohlin) นักเศรษฐศาสตร์ชาวสวีเดน หรือเรียกว่า ทฤษฎีสัดส่วนของปัจจัยการผลิต (Factor Proportion)\n ทฤษฎีสัดส่วนของปัจจัยการผลิต กล่าวว่า แต่ละประเทศมีปัจจัยการผลิต เช่น ที่ดิน เงินทุน และแรงงานแตกต่างกัน ถ้าประเทศใดมีแรงงานมาก เมื่อเปรียบกับที่ดินและเงินทุนค่าจ้างแรงงานของประเทศนั้นจะถูก หรือกรณีอื่นๆ ก็เป็นลักษณะเดียวกัน\nยกตัวอย่าง ประเทศออสเตรเลียมีที่ดินจำนวนมาก ก็ควรจะผลิตสินค้าเกษตรเป็นลักษณะเรียกว่า Land-Intensive\n ประเทศจีนมีแรงงานจำนวนมาก ก็ควรทำอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ต้องใช้แรงงานจำนวนมาก เรียกว่า Labor-Intensive เพื่อส่งออกไปขายต่างประเทศ\n ประเทศสหรัฐเมริกา มีเงินทุนมากก็ควรผลิตเครื่องบินโบอิ้ง เป็น Capital-Intensive ไปขายต่างประเทศ เป็นต้น \nนโยบายการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Policy)\nนโยบายการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Policy).\n จากการศึกษาทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศที่ผ่านมา ก็จะสนับสนุนให้แต่ละประเทศผลิตสินค้าที่ตนเองได้เปรียบและถือเป็นการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศด้วย แล้วจึงนำสินค้าเหล่านั้นมาแลกเปลี่ยนกัน จะทำให้ประโยชน์กันทุกประเทศ\n แต่อย่างไรก็ตามแต่ละประเทศก็ต้องพิจารณาผลประโยชน์ชาติ ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตในประเทศของตนเอง ซึ่งในบางกรณีผลประโยชน์ของผู้บริโภคและผู้ผลิตก็ขัดแย้งกันเอง ไม่สอดคล้องต้องกัน ดังนั้นแต่ละประเทศจึงมีนโยบายการค้าระหว่างประเทศซึ่งเราจะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้\n 1. นโยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy)\n คือ นโยบายที่รัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศหรือแทรกแซงน้อยที่สุด โดยปล่อยให้เอกชนดำเนินการค้าขายเอง และสามารถผลิตสินค้าส่งออกไปขายต่างประเทศได้โดยเสรี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าต้นทุนการผลิตแข่งขันสู้กับต่างประเทศได้หรือไม่\nลักษณะที่สำคัญของนโยบายการค้าเสรี ประกอบด้วย\n1) แต่ละประเทศผลิตสินค้าที่ตนเองมีความถนัด\n2) ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศหนึ่งประเทศใดเป็นการเฉพาะ\n3) ไม่มีข้อจำกัดทางการค้าระหว่างประเทศ\n 2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน (Protective Trade Policy)\n คือ นโยบายที่รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองช่วยเหลือผู้ผลิตในประเทศหรือแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยใช้มาตรการต่างๆคุ้มกัน\n มาตรการคุ้มกันทางการค้าที่สำคัญ มีดังนี้\n 2.1 การตั้งกำแพงภาษีศุลกากรขาเข้า (Tariff Wall)\n โดยการเก็บภาษีสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ จะมีผลต่อราคาสินค้านำเข้าจนอาจมีราคาสูงกว่าสินค้าชนิดเดียวกันที่ผลิตในประเทศ\n 2.2 การกำหนดโควตานำเข้า (Import quota) เป็นการจำกัดปริมาณสินค้านำเข้าประเทศในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้นำเข้าต้องเสียค่าธรรมเนียมให้รัฐบาลตามที่กฎหมายกำหนดไว้ เพื่อส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ ทำให้การจ้างงานขยายตัว ประชาชนมีรายได้\n 3. นโยบายการให้การอุดหนุน (Subsidies)\n คือ การให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ส่งออกและผู้ผลิตภายในประเทศ เพื่อให้อยู่ในระดับแข่งขันกับต่างประเทศได้ เช่น ให้เงินช่วยเหลือผู้ผลิตโดยคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ต่ำ การลดหยอดภาษีสินค้าบางอย่าง การให้แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในอัตราพิเศษ เป็นต้น \n 4. นโยบายการทุ่มตลาด (Dumping)\n คือ การขายสินค้าในตลาดต่างประเทศในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาดภายในประเทศ แบ่งออกเป็น\n4.1 การทุ่มตลาดแบบถาวร\n4.2 การทุ่มตลาดแบบชั่วคราว เกิดจากสินค้าเหลือภายในประเทศจำนวนมาก\n4.3 การทุ่มตลาดแบบเพื่อการแข่งขัน เพื่อแย่งตลาดต่างประเทศ\n 5. นโยบายการค้าโดยรัฐบาล (State Trading)\n คือ การค้าระดับประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบมีการวางแผนจากส่วนกลางโดยรัฐจะเป็นผู้วางแผนหรือตัดสินใจนำเข้าหรือส่งออกสินค้าอะไร จำนวนเท่าใด เป็นต้น\n 6. นโยบายกลุ่มผู้ขาดระหว่างประเทศ (International Cartels)\n คือ การรวมกลุ่มของผู้ผลิตจากหลายประเทศ เพื่อจำกัดการแข่งขันสินค้าชนิดเดียวกันให้เกิดอำนาจผูกขาด เช่น กลุ่มผู้ผลิตน้ำมันส่งออก OPEC เป็นต้น\nรูปแบบการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในโลก\nรูปแบบการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในโลก.\n1) เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) หมายถึง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เพื่อลดหรือ ขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศ เช่น โควตา, ภาษีศุลกากร หรืออื่นๆ กลุ่มเศรษฐกิจแบบนี้ ได้แก่ European Free Trade Area (EFTA), North American Free Trade Agreement (NAFTA), ASEAN Free Trade Area (AFTA) เป็นต้น\n2) สหภาพศุลกากร (Customs) เป็นการรวมกลุ่มเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าในประเทศสมาชิก ความแตกต่างกับเขตการค้าเสรีก็คือ จะมีการปฏิบัติกับประเทศสมาชิกอย่างหนึ่ง ประเทศมิใช่สมาชิกอีกแบบหนึ่ง\n3) ตลาดร่วม (Common Market) เป็นการรวมกลุ่มเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าเหมือนรูปแบบที่ผ่านมา แต่ยังมีการเคลื่อนย้ายแรงงานและเงินทุนระหว่างประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี รวมทั้งมีการจัดทำนโยบายการค้าร่วมกัน\n4) สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) มีลักษณะคล้ายตลาดร่วม แต่ยังมีการประสานนโยบายทางเศรษฐกิจ ต้องการให้ประเทศสมาชิกมีนโยบายเกี่ยวกับภาษี เงินตราเป็นหนึ่งเดียวกัน\n5) สหภาพทางการเมือง (Political Union) ในสหภาพทางการเมืองเป็นการรวมตัวของเศรษฐกิจและการเมือง โดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีการประสานแง่มุมต่างๆ ของระบบการเมืองและเศรษฐกิจ แต่ชาติต่างๆ ก็มีเสรีภาพในการกำหนดนโยบายการเอง เศรษฐกิจภายในของตนเอง \nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ\nอัตราแลกเปลีียนเงินตราต่างประเทศ.\n§การลดค่าเงินบาท (Devaluation) เริ่มต้นจากเดืมอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาเปลี่ยนเป็าอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัซ\n§การเพิ่มค่าเงินบาท (Revaluation) เป็นลักษณะเดิมอัตราแลกเปลี่ยน 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาอัตราแลกเปลีืยนเป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ \n การท่่อัตราแลกเปลี่ยนลดลงจากเดิม 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เรียกว่า เงินบาทแข็งค่า (Appreciate)\n การอัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้นจากเดิม 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาเปลี่วนเป็นอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เร่ยกว่า เงินบาทอ่อนค่า (Depreciate)\nเงินบาทแข็ง\nเงินบาทแข็ง.\n- ส่งผลดีต่อ การนภเข้าสินค้า ทำให้สินค้านำเข้าจากต่าวปรุเทศ ถูกลง\n- ส่งผลเสัยต่อ การส่งออกสินค้า ทำให้สินค้าไทยที่ส่งออกไปขาย มีรทคา แพงขึ้น ทำให้ผู้บริโภคต่างประเทศไปซื้อสินค้าขดงประะทศอื่นที่ราคาถูกกว่า\nเงินบาทอ่อน\nเงินบาทอ่อน.\n- ส่งผลดีต่อ ำารส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ เพราะส่งออกสินค้าได้ราคา ถูกลง\n- ส่งผลเสียต่อ สินค้านำเขเา ทำให้นำเข้าสินค้าไดืราคา แพงขึ้น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ\nอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ.\n§การลดค่าเงินบาท (Devaluation) เริ่มต้นจากเดิมอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาเปลี่ยนเป็นอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ\n§การเพิ่มค่าเงินบาท (Revaluation) เป็นลักษณะเดิมอัตราแลกเปลี่ยน 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาอัตราแลกเปลี่ยนเป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ \n การที่อัตราแลกเปลี่ยนลดลงจากเดิม 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็น 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เรียกว่า เงินบาทแข็งค่า (Appreciate)\n การอัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้นจากเดิม 30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาเปลี่ยนเป็นอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 32 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เรียกว่า เงินบาทอ่อนค่า (Depreciate)\nเงินบาทแข็ง\nเงินบาทแข็ง.\n- ส่งผลดีต่อ การนำเข้าสินค้า ทำให้สินค้านำเข้าจากต่างประเทศ ถูกลง\n- ส่งผลเสียต่อ การส่งออกสินค้า ทำให้สินค้าไทยที่ส่งออกไปขาย มีราคา แพงขึ้น ทำให้ผู้บริโภคต่างประเทศไปซื้อสินค้าของประเทศอื่นที่ราคาถูกกว่า\nเงินบาทอ่อน\nเงินบาทอ่อน.\n- ส่งผลดีต่อ การส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ เพราะส่งออกสินค้าได้ราคา ถูกลง\n- ส่งผลเสียต่อ สินค้านำเข้า ทำให้นำเข้าสินค้าได้ราคา แพงขึ้น\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (International Balance of Payment Accounging) เป็นบัญชีที่บันทึกการรับและจ่ายเงินตราต่างประเทศ อันสืบเนื่องมาจากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างผู้มีภูมิลำเนาในประเทศผนึ่งกับผู้ที่มีภูมิลำเนาในประเทศอื่น ๆ ระยะเวลาหนึ่ง ดุลการชำระเงินประกอบด้วยบัญชีย่อยจำนวน 4 บัญชี ซึ่งประกอบไปด่วยบัญชีดังต่อไปนี้\n1) บัญชีเดินสะพัด (Current Account)\n1) บัญชีเดินสะพัด (Currenr Accojnt).\n ประกอบด้วยบัญชีย่อย 4 บัญชี ดังนี้\nI.บัญชีการค้า (ดุลการค้า) เป็นบัญชีที้บันทึกรายได้จากการขายสินค้าให้กับต่างประเ่ศ และรายจ่ายจากการนำสินค้าเข้าจากต่างประเทศ\nII.บัญชีบริการ (ดุลบริการ) เป็นบัญชีที่บันทึกรายได้จากการให้บริการต่างประเทศ แลถร่ยจ่ายจากการใช้บริการของต่างประเทศ เช่น การขนส่ง การท่องเที่ยว เป็นต้น\nIKI.บัญชีบริจาคและเงินโอน ได้แก่ เงินช่วยเหลือต่างกระเทศ ส่งเงินให้ญาติ\nIV.บัญชีรายได้ เป็นรายได้นอหเหนือจากบั๘ชีข้างต้น ได้แก่ ค่าแรง เงินปันผล\n2) บั๘ชีเงินทุน (Capital and Account)\n2) บัญชรเงินทุน (Capital and Account).\nหระกอบด้ใย 2 ส่วน ดุงนี้\nI.บัญชีทุน เป็นบันทึกรายการเกี่ยวกับการโอนสิทฌิหรือเงินทุนที่เกิดจากการซื้อขายสินทรัพย์ถาวร ที่ๆม่ก่แให้เกิดผลผลิตและมิใช่สินทรัพย์ทางการเงิน\nII.บัซชีการเงิน เป็นการบันทึกธุรกรรมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินระหว่างประเทศ แบ่งเป็นการลงทุน 3 ประเภท ได้แก่\n§กทรลงทุนโดยตนง (Direct Investm2nt) เช่น ต่สงประเทศเข้ามาลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินค้าในประเทศไทย\n§การลงทุนโดยด้อม (Indirect Investment) เช่น การลงทุนของชาวต่างประเทศในประเทศไทย ซึ่งอยู่ในรูปของการซื้อหุ้นหรือตราสารหนี้อื่นๆ\n§การฃงทุนอื่นๆ เช่น เงินฝากธนาคาร แบะเงินกู้ เป็นต้น\n3) บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance or paymenh)\n3) บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of payment).\nเป็นผลรวมของบัญชีเดินสะพัดกับบัญลีเงินทุน (1) + (2) ถ้ารายรับจากต่างประเทศมากกว่าการจ่ายชำระหนี้ให้ต่างประเทศ ดุลการชำระเงินขะเกินดุล แต่ถ้าหากเป็นไปในลักษณะตรงกันข้าม ดุลการชำระเงินจะขาดดุล\n การขาดดุลหรือเกินดุลการชำระเงิน จะมีผลต่อการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของทุนสำรองของประเทศ ดังนั้นการปรับความไม่สมดุลในการชำระเงินระปว่างกระเทศจะอยู่ที่บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International reserve account)\n4) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ\n4) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ.\nหมายถึง สิาทรัพย์ทั้งหลาขที่ทั่วโลกยอมรับว่าใช้ ชำระหนี่ต่างประเทศได้ ทุนสำรองระหว่างประเทศมักจะไม่ตวมเงินตราสกุบของตนเอง แใ้แต่ประเทศสหรัฐอ้มริกาที่มีเงินดอลลาร์เป็นที่จอมรับไปทั่วโลก ดแลลาร์ก็ไม่ใช่เงินทุนสำรองของกระเทศสหระฐอเมริกา\n ทุนสำรองระหว่างประเทศ ประำอบด้วย ทองคำ เงินตราต่างประเทศ เงินฝากที่ IMF เป็นต้น\nการเกินดุลหรือขาดดุลการชำระเงิน : ผลกระทบต่อปริมาณเงิน เัตราแลกเปลี่ยน และทุนสำรองระหว่างประเทศ\nเกินดุล ปริมาณเงินเพิทม ค่าเงินบาทลด ทึนสำรองเพิ่มขึ้น\nขาดดุล ปริมาณเงินลด ค่าเงินบาทเพิ่ม ทุนสำรองลดลง\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "บัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (International Balance of Payment Accounting) เป็นบัญชีที่บันทึกการรับและจ่ายเงินตราต่างประเทศ อันสืบเนื่องมาจากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างผู้มีภูมิลำเนาในประเทศหนึ่งกับผู้ที่มีภูมิลำเนาในประเทศอื่น ๆ ระยะเวลาหนึ่ง ดุลการชำระเงินประกอบด้วยบัญชีย่อยจำนวน 4 บัญชี ซึ่งประกอบไปด้วยบัญชีดังต่อไปนี้\n1) บัญชีเดินสะพัด (Current Account)\n1) บัญชีเดินสะพัด (Current Account).\n ประกอบด้วยบัญชีย่อย 4 บัญชี ดังนี้\nI.บัญชีการค้า (ดุลการค้า) เป็นบัญชีที่บันทึกรายได้จากการขายสินค้าให้กับต่างประเทศ และรายจ่ายจากการนำสินค้าเข้าจากต่างประเทศ\nII.บัญชีบริการ (ดุลบริการ) เป็นบัญชีที่บันทึกรายได้จากการให้บริการต่างประเทศ และรายจ่ายจากการใช้บริการของต่างประเทศ เช่น การขนส่ง การท่องเที่ยว เป็นต้น\nIII.บัญชีบริจาคและเงินโอน ได้แก่ เงินช่วยเหลือต่างประเทศ ส่งเงินให้ญาติ\nIV.บัญชีรายได้ เป็นรายได้นอกเหนือจากบัญชีข้างต้น ได้แก่ ค่าแรง เงินปันผล\n2) บัญชีเงินทุน (Capital and Account)\n2) บัญชีเงินทุน (Capital and Account).\nประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้\nI.บัญชีทุน เป็นบันทึกรายการเกี่ยวกับการโอนสิทธิหรือเงินทุนที่เกิดจากการซื้อขายสินทรัพย์ถาวร ที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิตและมิใช่สินทรัพย์ทางการเงิน\nII.บัญชีการเงิน เป็นการบันทึกธุรกรรมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินระหว่างประเทศ แบ่งเป็นการลงทุน 3 ประเภท ได้แก่\n§การลงทุนโดยตรง (Direct Investment) เช่น ต่างประเทศเข้ามาลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินค้าในประเทศไทย\n§การลงทุนโดยอ้อม (Indirect Investment) เช่น การลงทุนของชาวต่างประเทศในประเทศไทย ซึ่งอยู่ในรูปของการซื้อหุ้นหรือตราสารหนี้อื่นๆ\n§การลงทุนอื่นๆ เช่น เงินฝากธนาคาร และเงินกู้ เป็นต้น\n3) บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of payment)\n3) บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of payment).\nเป็นผลรวมของบัญชีเดินสะพัดกับบัญชีเงินทุน (1) + (2) ถ้ารายรับจากต่างประเทศมากกว่าการจ่ายชำระหนี้ให้ต่างประเทศ ดุลการชำระเงินจะเกินดุล แต่ถ้าหากเป็นไปในลักษณะตรงกันข้าม ดุลการชำระเงินจะขาดดุล\n การขาดดุลหรือเกินดุลการชำระเงิน จะมีผลต่อการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของทุนสำรองของประเทศ ดังนั้นการปรับความไม่สมดุลในการชำระเงินระหว่างประเทศจะอยู่ที่บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International reserve account)\n4) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ\n4) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ.\nหมายถึง สินทรัพย์ทั้งหลายที่ทั่วโลกยอมรับว่าใช้ ชำระหนี้ต่างประเทศได้ ทุนสำรองระหว่างประเทศมักจะไม่รวมเงินตราสกุลของตนเอง แม้แต่ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีเงินดอลลาร์เป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก ดอลลาร์ก็ไม่ใช่เงินทุนสำรองของประเทศสหรัฐอเมริกา\n ทุนสำรองระหว่างประเทศ ประกอบด้วย ทองคำ เงินตราต่างประเทศ เงินฝากที่ IMF เป็นต้น\nการเกินดุลหรือขาดดุลการชำระเงิน : ผลกระทบต่อปริมาณเงิน อัตราแลกเปลี่ยน และทุนสำรองระหว่างประเทศ\nเกินดุล ปริมาณเงินเพิ่ม ค่าเงินบาทลด ทุนสำรองเพิ่มขึ้น\nขาดดุล ปริมาณเงินลด ค่าเงินบาทเพิ่ม ทุนสำรองลดลง\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "1.ลัทธิเทวสิทธิ์ (Divine Right of Kings)\n§อ้างว่า กษัตริย์ มีความชอบธรรมที่จะปกครอง เพราะ_ด้อำนาจมาจาก พระเจ้า (God)\n§ระบบอศรษฐกิจแบบศักดินา (feudalism) มีความชอบธรรม\n§รัฐบาลเป็นสถาบันศักดิ์สิทธิ์ ได้รับอำนาจและรับรดงจากพระเจ้า\n§การปฏิเสธหรือต่อต้านรัฐและรัฐบาลเท่ากับการปฏิเสธพระเจ้า\n§ เซนต์ โทมัส อไควนัส (St.Thomas Zquinas, 1220-1274)\n§ชีวิตสังคมและการเมืองเป็นสรวนหนึ่งของระบบจักวาล หู้ท้่อยู่ต่ำกว่ารับใช้ผู้ที่อยู่สูงกว่า ผู้ที่อยู่สูงกว่าเป็นผู้นำและควบคุมผ฿้อยู่ต่ำกว่า สมาชิกของสังคมต่างทำงานในหน้าที่ของตน แต่ละคนมึหน้าที่ในสังคมต่างกัน แต่รวมเข้าแล้วต่างก็ทำประโยชน์ให้สังคมด้วยกันทั้งนั้น ระบวสังคมต้องมีน่วนที่เป็นหัวหน้าปกครองเช่นเดียใกับที่ร่างกายมีวิญญาณปกครอง\n§ในด้านเศรษฐกิจ ได้เสนอ ทฤษฎีราคายุติธรรม (just price) เรื่องจากสมาชิกของสังคมมีพันธะต่อกัน ฉะนั้นราคาสินค้าที่กำฟนดขึ้นในการแลกเปลี่ยนคใรเป็นราคาที่ยุติธรรม\n2. ลัทธิสมบูรณาญาสิทธิ์ (Absolute M;narchyฉ\n§การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) มนุษย์ลดความเชื่ออย่างงมงายในพระเจ้า\n§เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ (Protestanticm) เชื่อถือว่าคริสต์ศาสนิกชนอาจอ่าน และตีความพระคัมภีร์เองได้ธดยการนำของมาร์ติน ลูเธ่อร์ (Martin Luther,1483-1546)\n§นิโคโล แมคเคียเวลลี (Nicolo Machiavelli,1469-1572)\n§ผู้ปกครแงมีอำนาจเด็จขาด เพราะอำนาจเด็ดขาดเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความมั่นคงแฃะสันติภาพ\nเปลี่ยนการถือครองอำนาจจากพรถเจ้า มาสู่ กษัตริย์\n§เน้นการรวมศูนย์อำนาจ (Centralization)\nดึงเอาอำนาจจมกเหล่าขุนนาง คืนสู่ กษัตริย์\n§โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes, 1588-1679)\n§มนุษย์ยอมมอบอำนาจและสิทธิมนสภาพธตรมชาติให้องค์อฑิปัตย์ องค์อธิผัตย์มีอำนาจเด็ดยาดแต่ผู้เดียว เพื่อระกษาสันติภาพและควรมมั่นคงของสมาชิกของสังคมไว้ได้\n§องค์อธิปัตย์คฝรมีรูปแบบเป็น กษัตริย์\n§ลัทธิพาณิชย์นิยม (Mercantilism) ช่วงศตวรรษที่ 16 -18\n§การิปลี่ยนจากเกษตรแบบเลี้ยงตัวเอว มาสู่ การค้าขายแลกเปลี่ยน\n§เปลี่ยนจากการส่งมอบผลผลิตให้ขุนนาง เป็น การคลังของรัฐ (กษัตรืย์)\n§การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ สถสมทองคไและเงิน\n§การค้าระหส่างประเทศ เน้นการส่งออกให้มากกว่านำเข้าโดยตั้งกำแพงภาษี\nจำกัดการนำเข้าสินค้า\n3.ลัทธิเสรีนิยมคลาสสิก (Clqssical Libe3alicm)\n§จอห์น ลอค (John Locke,1632-1704)\n§พระเจ้าไม่ได้ปรารถนาที่จะให้มนุษย์ผู้ใดได้สิทธิจากพระเจ้ามากกว่าผู้อื่น\n§มนุฯย์จะต้องเคารพเสรีภาพ และไม่ก้าวก่ายในสิทธิของผู้อื่น\n§หน้าที่ขอฝรัฐ คือ การรักษาสิทธิธรรมชาต้ของมนุษย์ ได้แก่ ชีวิต ทรัพย์สิน และเสรีภาพ นอกเหนือจากนั้น ปล่อยให้สมาชิกจัดการเอง\n§รัฐตีองเคารพสิทธิและต้องจำกัดอำนาจของตนให้อยู่ในขอบเขจ\n4.ลัทธิเสรีนิยมใหม่ (Neo Liberalism)\n§ให้ความสำตัญกับ การตัดสินใจเลือกของปัจเจกบุคคล จทกความพึงพอใจสูงสุด (Utilitu Maximization)\n§หากแต่ละคนได้ประโยชน์สูงสุด สังคทส่วนรวมก็ยะได้กระโยชน์สูงสุดตามไปด้วย\n§การกสวงหาประโยชน์สูงสุดของแต่ละคน จะถูกถ่วงดุลซึ่งกันและกัน จากสภาพการแข่งขันเสรีในตลาด\n§จนได้จุดดุลยภ่พ (Eqkilibrium) ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ เช่น ราคาสินค้าและบริการ ผู้ขายและผู้ซื้อจะมีจุดรมคาดุลยภาพที่ทำให้ทั้ง 2 ฝ่ายภึงพอใจซึ่งกันและกัน\n§ให้ความสำคัญกับ แารแข่งจัน (Competition)\n§แรงกดดันจากการแข่งขันในระบบตลาดเป็นสิ่งจูงใจให้ปัจเจกบุคคลต้องพัฒนายกระดับตนเอง ให้ภาคธุรกิจต้องำัฒนาด้านการผลิต เพื่อรักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness)\n§เพื่อความอยู่รอดในเกมการแข่งขันของระบบตลาดเสรี (ทุนนิยมฉ\n§จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill , 1806 - 1873)\n§เสรีภาพส่วนบุคคลจะเกิดได้ต้องให้โอกาสเท่าเทียมกัน ไม่ใช่เท่าเทียมกเจในรายได้หรือความฉลาด ดังนั้นโอกาวเท่าเทียมกันเกิดได้ เมื่อทุกคนเริ่มต้นอย่างเป็นธรรม (All stsrt fair) ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้มีบทบาทวางนโยบายเศรษฐกิจและสังคมใหิเกิดขึ้น กระทำได้ 2 ประการ คือ\n1)เข้าแทรกแซงโดยใช้อำนาจ (Authoritative Intervention) เพื่อห้ามหรือจำกัดพลัลของตลาด เช่น ออกกฎหมายห้ามขึ้นราคาสินค้า จำกัดผลผลิตมันสำปะหลัง เป็นต้น ก์จะบังเกิดโอกาสอท่าเทียมกันมสกขึ้น\n2)เข้าแทรกแซงโดยฝห้การสนับสนุน (Su0portive Intervention) เพื่อขยายพลังของตลาดให้เกิดการซื้อขายมาก และผลิคสินค้าได้มากขึ้น คนจนมีงานทำมีรายได้ เท่ากับ เกิดโอกาสเท่าเทียมกัรแก่คนยากจนมากขึ้น \n§จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill , 1806 - 1873)\n§นโยบายการคชังด้านภาษีเป็นเครื่องมือที่จะสร้างความเป็นธรรม ควรวางนโยบายการเก็บภาษีแตกต่ทงกีน 3 ปรดการ\n2)ภาษีเงินได้ (ยกเวันภาษ่แก่ผู้มีรายได้ต่ำกว่าจำนวนที่กำหนดไว้)\n2)ภาษีมรดกและพาษีสรรพสามิต\n3)ภาษีสิ่งฟุ่มเฟือย \n5.ลัทธิมสร์กซิสม์ (Marxism)\n§คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx,2818-1883)\n§การพัฒนาในแนวทางเศร๋ฐศาสตร์กระแสปลักท้ายสุดจะก่อให้เกิดชนชั้นที่ชัดเจนเป็นสองกลุ่ม คือ ชนชั้นสูงคนรวยจำนวนนิอยนิด และชนชั้นกรรมาชีพที่เป็นคนจนและเป็นสัดส่วนที่ใหญ่มากในระบบเศรษฐกิจ\n§ตอกย้ำภาพความล้มเหลวการกระจายรายไดิของประเทศอย่างชัดเจน\n§แต่ปัจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจได้สร้างภาพชนชั้นกลางให้เป็นชนชั้นส่วนใหญ่ของประเทศได้สำเร็น โดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแล่ว\n§แนวทางเพิ่มปริมาณชนชั้นกลางและการจัดสวัสดิการในสังคมที่เพียงพอกลายมาเป็นลัทธิแก้ปัญหาของระบบทันนิยม (Capitalism) ในปัจจุบัน\n§ลัทธิมาร์กซิสม์ ได้รับอิทธิพลจาก แนวคิดสังคมนิยม\n (ปัจจัยการผลิตเผ็นของสังคม)\n§ระบบยับคมนิยม (Socialism)\n§รัฐบาลเป็นเจ้าขอฝทุนและปัจจัยการผลิต เอกชนถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินบางอย่างไม่ได้ ซึ่งตรงข้ามกับระบบนายทุนที่ยอมให้เอกชนเป็นเจ้าของทั้งปัจจัยการผลิตและมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน\n§ระบบสังคมนิยมไม่ถือกำไรเป์นสิ่งจูงใจ ไม่มีพลังตลาด (อุปสงค์และอุปทาน) ที่บังคับให้เกิดการผบิต ดังน้้นรัฐขึงต้องดำเนินธุรกิจเป็นกิจการขนาดใหญ่\n§ระบบสังคมนิยมต้องการแบ่งทรัพย์ใินและรายไดีเป็นไปโดยยุจิธรรม สังคมนิยมต่างกับระบบคอมมิวนิสต์ตรงที่การเข้าเป็น้จ้าของทุนของรุฐบาล าังคมนิยมจะทำโดยสงบและเป็นแบบประชาธิปไตย\n§ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม มีดังนี้คือ\n1)ประชาชนมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจมากกว่าระบบที่ต่างคนต่างอยู่\n2)ประชาชตมีรายได้ใกล้เคียงกัน เศรษฐกิจไม่ค่อยผันแปรขึ้นลงมากนัก\n3)รัฐจะครอบคีอบปัจตัยขเ้นพื้น.านไว้ทั้งหมด และความคุมกิจการสาธารณูปโภคทั้งหมด\n§ย้อเสียบองระบบเศรษฐกิจแบบสังคาาิยม มีดังนี้\n1)แรงจูงใจในการทำงานต่ำ เพราะกำไรตกเป็นของรัฐ รนงานจะได้รึบส่วนแบ่งตนมความจำเป็น\n2)ผู้บริโภคไม่มีโอกาสเลือกสินค้าได้มาก\n3)ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่ทงเต็มที่ในกทรทำธุรกิจที่ตนเองมีความรู้ ความสามารถหรือตัองกสรจะทำ\n4)ไม่คือยมีการหรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เพราะไม่มีการแข่งขเน สินค้าอาจไม่มีคุณภาพ\n§ลัทธิสังคมนิยมแบบยูโทเปีย (Utopia Socialism)\n§พยายามแก้ไขความไม่ยุติํรรมในสังคม โพยจัดตั้งสหกรณ์การผลิตและการบริโภคขึ้น เสนอให้มีการผลิตแบบเดิมก่อนการผลิตแบบอุตสาหกตรม\n§รัฐในความฝัน (Utopia) ตสมแนวคิดขอว Sir Thomas More ตามความฝันของเขาเป็นเกาะสมมุติขึ้นมีทุกสิ่งทุกอย่างแต่ถือว่าเป็นของ่่วมกัน ทุกคนที่จะใช้ได้ต้องไปทำงานวันละ 6 ชั่วโมง การกินอาหารร่วมกันในโีงอาำารที่จัดไว้ มีบ้านเรือนจัดไว้ให้อยู่ตามความจำเป็นแก่อัตภาพ ม้กฎหมาย และทุกคนมีสิทธิเลือกนับถือศาสนาตามความพอใจ \n§นักวิชาการกลุ่มนี้ิสนอว่า คว่พยายามหาทางให้ทุกคนมีทรัพย์สิน มีปัจจัยการผลิต แล้วนำปัจจัยการผลิตนั้นมาไว้รวมกัน ช่วยกันทำการผลิตในลักษณะสหแรณ์ (Co - operative)\n§แนวคิดนี้ปัจจุบันได้่ับความนิยมมาก เป็นแนวคิดที่ให้มีการรวมตัวกันเข้าเป็นกลุ่มโดยร่วมกันดำเนินธุรกิจ มีการจัดตั้งขึ้นด้วยวิธีการที่ถูกติองตามพฎหมายในลักษณะทางธุรกิจ\n§มีจุดหมายเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในการครองชีพ และการมีทรัพย์สินที่พอควรในรูปสหกรณ์กนรผลิต ด้วยวิธีการช่วยเหลือตัวเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มสมาชิก ตามหลักและวิธีการท้่กำหนดไว้ โดยไม่มุ่งหวังกำไร \n§หลัปการของสหกรณ์ในปัจจุบัน ประการแรห ยึดหลักการรวมกลุีมกันเป็นสำคัญ เน้นการรวมรนมากกว่าการรวมทุน เพราะสหกรณ์เกิดจากการรวมตัวกันของบุคคลที่มีฐานะทางเศรษฐกิจอ่อนแอ เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาเษรษฐกิจ จึงค้องมีการรวมแรง รวมปัญญา และรวมทุน เพื่อช่วย เหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มสมาชิก และยึดหลเกการช่วยเหลือตัวเอง\n§ประการที่สอง การจัดตั้งฉดยความยมัครใจของสมาชิก เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน\n§ประการที่สทม หลักความเสมอภาค สมาชิกทุกคนมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมได้คนละ 1 เมียงเท่านั้น โดยจะไม่คำนึงถึงจำนวนหุ้นที่ถืออยูา\n§ประการสุดท้าย ผลประโยชต์ของสมาชิกโดยส่วนรวมเป็นเป้าหมายหลัก ผลประโยชน์ที่ได้รับจะไม่ขึ้นอยู่กับจำาวนหุ้นที่ถืออยู่ แต่จะขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมในกิจการของสหกรณ์\n§ตามคติที่ว่า “สมาชิกแต่ละคน เพื่อสมาชิกทั้งหมพ และสมาชิกทั้งหมด เถื่อสมาชิกแต่ละคน” (Each for all , and all for eqch)\nระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)\nระบวเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism).\n§ระบบเศรษฐกิจและการเมืองที่รัฐเป็นเจ้าของทุนและปัจจัยการผลิตทุกชนิด\n§รัฐเป็นผู้กำหนดการตัดสินใจในทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งหมด\n§เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบทุนนิยมโดยสิ้นเชิง\n§รัฐจะเข้ามาควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจไวิทั้งหมด โดยจะกำหนดว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไร ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อวคร เอกชนไม่มีสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินเพื่อการผลิตต่าวๆ เช่น การถือครองที่ดิน เป็นต้น\n§ระบบเศรษฐกิจแบบคอมใิวนิสต์นั้น พัฒนามาจากแนวความคิดทนงเศรษฐกิจขอวคาร์ล มาร์ค (Karl Marx) นักเศรษฐศาสตร์ผู้ซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งลัทธิคอมมิวนิสตฺ”\n§วาลาดิเนีย อิสยิช อัลยานอบ (Vladinir Ilych Ulyanov) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนามของ เลนิน (Lenin) นักปฏิวัติโซเวียต ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองและนำระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์มาใช้กับสหภาพรัสเซียเป็นประเทศแรก\n6.ลัทธิเคนส์ (Keynesian Economics)\n6.ลัทธิเคนส์ (Keynesian Economics).\n§จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes ,1883-1946(\n§มุ่งหาทางแกีปัญหาความล้มเหลวของตลากเสรี (Classical Liberaliwm) เน้นหน้าที่ของภาครัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพิ่มอุปสงค์รวม เพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลดการว่างงาน และช่วยแก้ภาวะเงินฝืด\n§วิธีการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำโดยการกระตุ้น (จูงใจให้ลงทุน) ผ่านพารใช้สองวิธีรวมกัน คือ การลดอัตราดอกเบี้ย และการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน\n§เครื่องมือที่สำคัญ คือ นธยบายการเงิน และนโยบายการคลัง (งบประมาณรายจ่ายของภาครัฐ)\n§เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesixn Economics) ก่อให้เกิดการบางแผนแบบชี้นำทิศทางของกานพัฒนาเศรษฐหิจ และสังคม (indicat8ve planning) โดยที่รัฐลงทุนสร้างโครงข่ายพื้นฐานทางเศรฒฐกิจ (infrastructure) พร้อมทั้งกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศแล้วปล่อยให้เอกชนเป็นฝ่ายตัดสินใจลงทุน\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "1.ลัทธิเทวสิทธิ์ (Divine Right of Kings)\n§อ้างว่า กษัตริย์ มีความชอบธรรมที่จะปกครอง เพราะได้อำนาจมาจาก พระเจ้า (God)\n§ระบบเศรษฐกิจแบบศักดินา (feudalism) มีความชอบธรรม\n§รัฐบาลเป็นสถาบันศักดิ์สิทธิ์ ได้รับอำนาจและรับรองจากพระเจ้า\n§การปฏิเสธหรือต่อต้านรัฐและรัฐบาลเท่ากับการปฏิเสธพระเจ้า\n§ เซนต์ โทมัส อไควนัส (St.Thomas Aquinas, 1220-1274)\n§ชีวิตสังคมและการเมืองเป็นส่วนหนึ่งของระบบจักวาล ผู้ที่อยู่ต่ำกว่ารับใช้ผู้ที่อยู่สูงกว่า ผู้ที่อยู่สูงกว่าเป็นผู้นำและควบคุมผู้อยู่ต่ำกว่า สมาชิกของสังคมต่างทำงานในหน้าที่ของตน แต่ละคนมีหน้าที่ในสังคมต่างกัน แต่รวมเข้าแล้วต่างก็ทำประโยชน์ให้สังคมด้วยกันทั้งนั้น ระบบสังคมต้องมีส่วนที่เป็นหัวหน้าปกครองเช่นเดียวกับที่ร่างกายมีวิญญาณปกครอง\n§ในด้านเศรษฐกิจ ได้เสนอ ทฤษฎีราคายุติธรรม (just price) เนื่องจากสมาชิกของสังคมมีพันธะต่อกัน ฉะนั้นราคาสินค้าที่กำหนดขึ้นในการแลกเปลี่ยนควรเป็นราคาที่ยุติธรรม\n2. ลัทธิสมบูรณาญาสิทธิ์ (Absolute Monarchy)\n§การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) มนุษย์ลดความเชื่ออย่างงมงายในพระเจ้า\n§เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เชื่อถือว่าคริสต์ศาสนิกชนอาจอ่าน และตีความพระคัมภีร์เองได้โดยการนำของมาร์ติน ลูเธ่อร์ (Martin Luther,1483-1546)\n§นิโคโล แมคเคียเวลลี (Nicolo Machiavelli,1469-1572)\n§ผู้ปกครองมีอำนาจเด็จขาด เพราะอำนาจเด็ดขาดเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อความมั่นคงและสันติภาพ\nเปลี่ยนการถือครองอำนาจจากพระเจ้า มาสู่ กษัตริย์\n§เน้นการรวมศูนย์อำนาจ (Centralization)\nดึงเอาอำนาจจากเหล่าขุนนาง คืนสู่ กษัตริย์\n§โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes, 1588-1679)\n§มนุษย์ยอมมอบอำนาจและสิทธิในสภาพธรรมชาติให้องค์อธิปัตย์ องค์อธิปัตย์มีอำนาจเด็ดขาดแต่ผู้เดียว เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงของสมาชิกของสังคมไว้ได้\n§องค์อธิปัตย์ควรมีรูปแบบเป็น กษัตริย์\n§ลัทธิพาณิชย์นิยม (Mercantilism) ช่วงศตวรรษที่ 16 -18\n§การเปลี่ยนจากเกษตรแบบเลี้ยงตัวเอง มาสู่ การค้าขายแลกเปลี่ยน\n§เปลี่ยนจากการส่งมอบผลผลิตให้ขุนนาง เป็น การคลังของรัฐ (กษัตริย์)\n§การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ สะสมทองคำและเงิน\n§การค้าระหว่างประเทศ เน้นการส่งออกให้มากกว่านำเข้าโดยตั้งกำแพงภาษี\nจำกัดการนำเข้าสินค้า\n3.ลัทธิเสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism)\n§จอห์น ลอค (John Locke,1632-1704)\n§พระเจ้าไม่ได้ปรารถนาที่จะให้มนุษย์ผู้ใดได้สิทธิจากพระเจ้ามากกว่าผู้อื่น\n§มนุษย์จะต้องเคารพเสรีภาพ และไม่ก้าวก่ายในสิทธิของผู้อื่น\n§หน้าที่ของรัฐ คือ การรักษาสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ได้แก่ ชีวิต ทรัพย์สิน และเสรีภาพ นอกเหนือจากนั้น ปล่อยให้สมาชิกจัดการเอง\n§รัฐต้องเคารพสิทธิและต้องจำกัดอำนาจของตนให้อยู่ในขอบเขต\n4.ลัทธิเสรีนิยมใหม่ (Neo Liberalism)\n§ให้ความสำคัญกับ การตัดสินใจเลือกของปัจเจกบุคคล จากความพึงพอใจสูงสุด (Utility Maximization)\n§หากแต่ละคนได้ประโยชน์สูงสุด สังคมส่วนรวมก็จะได้ประโยชน์สูงสุดตามไปด้วย\n§การแสวงหาประโยชน์สูงสุดของแต่ละคน จะถูกถ่วงดุลซึ่งกันและกัน จากสภาพการแข่งขันเสรีในตลาด\n§จนได้จุดดุลยภาพ (Equilibrium) ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ เช่น ราคาสินค้าและบริการ ผู้ขายและผู้ซื้อจะมีจุดราคาดุลยภาพที่ทำให้ทั้ง 2 ฝ่ายพึงพอใจซึ่งกันและกัน\n§ให้ความสำคัญกับ การแข่งขัน (Competition)\n§แรงกดดันจากการแข่งขันในระบบตลาดเป็นสิ่งจูงใจให้ปัจเจกบุคคลต้องพัฒนายกระดับตนเอง ให้ภาคธุรกิจต้องพัฒนาด้านการผลิต เพื่อรักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness)\n§เพื่อความอยู่รอดในเกมการแข่งขันของระบบตลาดเสรี (ทุนนิยม)\n§จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill , 1806 - 1873)\n§เสรีภาพส่วนบุคคลจะเกิดได้ต้องให้โอกาสเท่าเทียมกัน ไม่ใช่เท่าเทียมกันในรายได้หรือความฉลาด ดังนั้นโอกาสเท่าเทียมกันเกิดได้ เมื่อทุกคนเริ่มต้นอย่างเป็นธรรม (All start fair) ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้มีบทบาทวางนโยบายเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดขึ้น กระทำได้ 2 ประการ คือ\n1)เข้าแทรกแซงโดยใช้อำนาจ (Authoritative Intervention) เพื่อห้ามหรือจำกัดพลังของตลาด เช่น ออกกฎหมายห้ามขึ้นราคาสินค้า จำกัดผลผลิตมันสำปะหลัง เป็นต้น ก็จะบังเกิดโอกาสเท่าเทียมกันมากขึ้น\n2)เข้าแทรกแซงโดยให้การสนับสนุน (Supportive Intervention) เพื่อขยายพลังของตลาดให้เกิดการซื้อขายมาก และผลิตสินค้าได้มากขึ้น คนจนมีงานทำมีรายได้ เท่ากับ เกิดโอกาสเท่าเทียมกันแก่คนยากจนมากขึ้น \n§จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill , 1806 - 1873)\n§นโยบายการคลังด้านภาษีเป็นเครื่องมือที่จะสร้างความเป็นธรรม ควรวางนโยบายการเก็บภาษีแตกต่างกัน 3 ประการ\n1)ภาษีเงินได้ (ยกเว้นภาษีแก่ผู้มีรายได้ต่ำกว่าจำนวนที่กำหนดไว้)\n2)ภาษีมรดกและภาษีสรรพสามิต\n3)ภาษีสิ่งฟุ่มเฟือย \n5.ลัทธิมาร์กซิสม์ (Marxism)\n§คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx,1818-1883)\n§การพัฒนาในแนวทางเศรษฐศาสตร์กระแสหลักท้ายสุดจะก่อให้เกิดชนชั้นที่ชัดเจนเป็นสองกลุ่ม คือ ชนชั้นสูงคนรวยจำนวนน้อยนิด และชนชั้นกรรมาชีพที่เป็นคนจนและเป็นสัดส่วนที่ใหญ่มากในระบบเศรษฐกิจ\n§ตอกย้ำภาพความล้มเหลวการกระจายรายได้ของประเทศอย่างชัดเจน\n§แต่ปัจจุบันการพัฒนาเศรษฐกิจได้สร้างภาพชนชั้นกลางให้เป็นชนชั้นส่วนใหญ่ของประเทศได้สำเร็จ โดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้ว\n§แนวทางเพิ่มปริมาณชนชั้นกลางและการจัดสวัสดิการในสังคมที่เพียงพอกลายมาเป็นลัทธิแก้ปัญหาของระบบทุนนิยม (Capitalism) ในปัจจุบัน\n§ลัทธิมาร์กซิสม์ ได้รับอิทธิพลจาก แนวคิดสังคมนิยม\n (ปัจจัยการผลิตเป็นของสังคม)\n§ระบบสังคมนิยม (Socialism)\n§รัฐบาลเป็นเจ้าของทุนและปัจจัยการผลิต เอกชนถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินบางอย่างไม่ได้ ซึ่งตรงข้ามกับระบบนายทุนที่ยอมให้เอกชนเป็นเจ้าของทั้งปัจจัยการผลิตและมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน\n§ระบบสังคมนิยมไม่ถือกำไรเป็นสิ่งจูงใจ ไม่มีพลังตลาด (อุปสงค์และอุปทาน) ที่บังคับให้เกิดการผลิต ดังนั้นรัฐจึงต้องดำเนินธุรกิจเป็นกิจการขนาดใหญ่\n§ระบบสังคมนิยมต้องการแบ่งทรัพย์สินและรายได้เป็นไปโดยยุติธรรม สังคมนิยมต่างกับระบบคอมมิวนิสต์ตรงที่การเข้าเป็นเจ้าของทุนของรัฐบาล สังคมนิยมจะทำโดยสงบและเป็นแบบประชาธิปไตย\n§ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม มีดังนี้คือ\n1)ประชาชนมีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจมากกว่าระบบที่ต่างคนต่างอยู่\n2)ประชาชนมีรายได้ใกล้เคียงกัน เศรษฐกิจไม่ค่อยผันแปรขึ้นลงมากนัก\n3)รัฐจะครอบครองปัจจัยขั้นพื้นฐานไว้ทั้งหมด และความคุมกิจการสาธารณูปโภคทั้งหมด\n§ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม มีดังนี้\n1)แรงจูงใจในการทำงานต่ำ เพราะกำไรตกเป็นของรัฐ คนงานจะได้รับส่วนแบ่งตามความจำเป็น\n2)ผู้บริโภคไม่มีโอกาสเลือกสินค้าได้มาก\n3)ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่างเต็มที่ในการทำธุรกิจที่ตนเองมีความรู้ ความสามารถหรือต้องการจะทำ\n4)ไม่ค่อยมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เพราะไม่มีการแข่งขัน สินค้าอาจไม่มีคุณภาพ\n§ลัทธิสังคมนิยมแบบยูโทเปีย (Utopia Socialism)\n§พยายามแก้ไขความไม่ยุติธรรมในสังคม โดยจัดตั้งสหกรณ์การผลิตและการบริโภคขึ้น เสนอให้มีการผลิตแบบเดิมก่อนการผลิตแบบอุตสาหกรรม\n§รัฐในความฝัน (Utopia) ตามแนวคิดของ Sir Thomas More ตามความฝันของเขาเป็นเกาะสมมุติขึ้นมีทุกสิ่งทุกอย่างแต่ถือว่าเป็นของร่วมกัน ทุกคนที่จะใช้ได้ต้องไปทำงานวันละ 6 ชั่วโมง การกินอาหารร่วมกันในโรงอาหารที่จัดไว้ มีบ้านเรือนจัดไว้ให้อยู่ตามความจำเป็นแก่อัตภาพ มีกฎหมาย และทุกคนมีสิทธิเลือกนับถือศาสนาตามความพอใจ \n§นักวิชาการกลุ่มนี้เสนอว่า ควรพยายามหาทางให้ทุกคนมีทรัพย์สิน มีปัจจัยการผลิต แล้วนำปัจจัยการผลิตนั้นมาไว้รวมกัน ช่วยกันทำการผลิตในลักษณะสหกรณ์ (Co - operative)\n§แนวคิดนี้ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก เป็นแนวคิดที่ให้มีการรวมตัวกันเข้าเป็นกลุ่มโดยร่วมกันดำเนินธุรกิจ มีการจัดตั้งขึ้นด้วยวิธีการที่ถูกต้องตามกฎหมายในลักษณะทางธุรกิจ\n§มีจุดหมายเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในการครองชีพ และการมีทรัพย์สินที่พอควรในรูปสหกรณ์การผลิต ด้วยวิธีการช่วยเหลือตัวเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มสมาชิก ตามหลักและวิธีการที่กำหนดไว้ โดยไม่มุ่งหวังกำไร \n§หลักการของสหกรณ์ในปัจจุบัน ประการแรก ยึดหลักการรวมกลุ่มกันเป็นสำคัญ เน้นการรวมคนมากกว่าการรวมทุน เพราะสหกรณ์เกิดจากการรวมตัวกันของบุคคลที่มีฐานะทางเศรษฐกิจอ่อนแอ เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ จึงต้องมีการรวมแรง รวมปัญญา และรวมทุน เพื่อช่วย เหลือซึ่งกันและกันในกลุ่มสมาชิก และยึดหลักการช่วยเหลือตัวเอง\n§ประการที่สอง การจัดตั้งโดยความสมัครใจของสมาชิก เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน\n§ประการที่สาม หลักความเสมอภาค สมาชิกทุกคนมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมได้คนละ 1 เสียงเท่านั้น โดยจะไม่คำนึงถึงจำนวนหุ้นที่ถืออยู่\n§ประการสุดท้าย ผลประโยชน์ของสมาชิกโดยส่วนรวมเป็นเป้าหมายหลัก ผลประโยชน์ที่ได้รับจะไม่ขึ้นอยู่กับจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ แต่จะขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมในกิจการของสหกรณ์\n§ตามคติที่ว่า “สมาชิกแต่ละคน เพื่อสมาชิกทั้งหมด และสมาชิกทั้งหมด เพื่อสมาชิกแต่ละคน” (Each for all , and all for each)\nระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)\nระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism).\n§ระบบเศรษฐกิจและการเมืองที่รัฐเป็นเจ้าของทุนและปัจจัยการผลิตทุกชนิด\n§รัฐเป็นผู้กำหนดการตัดสินใจในทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งหมด\n§เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบทุนนิยมโดยสิ้นเชิง\n§รัฐจะเข้ามาควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจไว้ทั้งหมด โดยจะกำหนดว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไร ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร เอกชนไม่มีสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินเพื่อการผลิตต่างๆ เช่น การถือครองที่ดิน เป็นต้น\n§ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์นั้น พัฒนามาจากแนวความคิดทางเศรษฐกิจของคาร์ล มาร์ค (Karl Marx) นักเศรษฐศาสตร์ผู้ซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์”\n§วาลาดิเนีย อิสยิช อัลยานอบ (Vladinir Ilych Ulyanov) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนามของ เลนิน (Lenin) นักปฏิวัติโซเวียต ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองและนำระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์มาใช้กับสหภาพรัสเซียเป็นประเทศแรก\n6.ลัทธิเคนส์ (Keynesian Economics)\n6.ลัทธิเคนส์ (Keynesian Economics).\n§จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes ,1883-1946)\n§มุ่งหาทางแก้ปัญหาความล้มเหลวของตลาดเสรี (Classical Liberalism) เน้นหน้าที่ของภาครัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพิ่มอุปสงค์รวม เพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลดการว่างงาน และช่วยแก้ภาวะเงินฝืด\n§วิธีการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำโดยการกระตุ้น (จูงใจให้ลงทุน) ผ่านการใช้สองวิธีรวมกัน คือ การลดอัตราดอกเบี้ย และการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน\n§เครื่องมือที่สำคัญ คือ นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง (งบประมาณรายจ่ายของภาครัฐ)\n§เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics) ก่อให้เกิดการวางแผนแบบชี้นำทิศทางของการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม (indicative planning) โดยที่รัฐลงทุนสร้างโครงข่ายพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (infrastructure) พร้อมทั้งกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศแล้วปล่อยให้เอกชนเป็นฝ่ายตัดสินใจลงทุน\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ฉันทมติแห่งวอชิงนัน (Washington Consens7s)\nฉันทมติแห่งวอชองตัน (Washington Consensus)ฦ\n โดย จอห์น วิเลียนสัน (John Williamson,1989) นักเศรษฐศาสตร์แห่งสถาบันเพื่อการเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทษ (The Institute for Internarional Economics) สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ \n1. ก่รเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalization)\n โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดเสรีการค้า การเงิน และการลงทุน เพื่อให้กลไกตลาดทำงานอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ โดยไม่ม้อุปสรรคกีดขวางการไหลเวียนของการค้า ำารเงิน และการลงืุนระหว่างประเทศ \n1. การลดการกำกัยและควบคุมโดยรัฐบาล (Deregulstion)\n เช่น รัฐบาลเลิกการแทรกแซงตลาด โดยจำกัดบทบาทของรัฐเไลือเป็นเพียงฟู้ออกกฎกติกาและคุ้มครองดูแลรักษากฎกติกา รวมถึงอำนวยควมมสะดวกและส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน\n3.การแปรรูปรัฐวิสาหกเจ (Privatization)\n เป็นความพยายามที่จะลดภาระของรัฐ เช่น ลดภมระด้านงบประมนณ ฃดยนาดของภาครัฐให้เล็กลง โดยผลักภาระให้แก่ภาคเอกชนและตลาดเข้ามารับหย้าที่แทน ด้วยหวังว่าจะช่วยเพิ่มปคะสิทธิภาพในการบริหารจัดการ\n โดยการให้เอกชนเพิ่มระดับความเป็นเจ้าของในกิจการสาธารณะ เช่น การให้บริษัทเอกชนเข้ามาประกอบกิจการที่เคยทำโดยรัฐวิสาหกิจ การกาะจายหุ้นของรัฐวิสาหกิจิข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ การยกเลิกการผูกขาดของรัฐวิสาหกิจแล้วเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขันกับบริษัทเอกชน เป็นต้น \n4. การรักษาเสถียรภาพของระดับราคาในระบบเศรษฐกิจ (Price Atabilization)\n เป้าหมายหลักในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาค คือ การธำรงอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำและสามารถควบคุมได้ ในส่วนของรัฐบาลก็ผสมผสานการใช้นฉยบายการคลัง ด้วยการรักษาวินัยทางการตลัล \nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "ฉันทมติแห่งวอชิงตัน (Washington Consensus)\nฉันทมติแห่งวอชิงตัน (Washington Consensus).\n โดย จอห์น วิเลียนสัน (John Williamson,1989) นักเศรษฐศาสตร์แห่งสถาบันเพื่อการเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (The Institute for International Economics) สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ \n1. การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalization)\n โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดเสรีการค้า การเงิน และการลงทุน เพื่อให้กลไกตลาดทำงานอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ โดยไม่มีอุปสรรคกีดขวางการไหลเวียนของการค้า การเงิน และการลงทุนระหว่างประเทศ \n2. การลดการกำกับและควบคุมโดยรัฐบาล (Deregulation)\n เช่น รัฐบาลเลิกการแทรกแซงตลาด โดยจำกัดบทบาทของรัฐเหลือเป็นเพียงผู้ออกกฎกติกาและคุ้มครองดูแลรักษากฎกติกา รวมถึงอำนวยความสะดวกและส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน\n3.การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization)\n เป็นความพยายามที่จะลดภาระของรัฐ เช่น ลดภาระด้านงบประมาณ ลดขนาดของภาครัฐให้เล็กลง โดยผลักภาระให้แก่ภาคเอกชนและตลาดเข้ามารับหน้าที่แทน ด้วยหวังว่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ\n โดยการให้เอกชนเพิ่มระดับความเป็นเจ้าของในกิจการสาธารณะ เช่น การให้บริษัทเอกชนเข้ามาประกอบกิจการที่เคยทำโดยรัฐวิสาหกิจ การกระจายหุ้นของรัฐวิสาหกิจเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ การยกเลิกการผูกขาดของรัฐวิสาหกิจแล้วเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขันกับบริษัทเอกชน เป็นต้น \n4. การรักษาเสถียรภาพของระดับราคาในระบบเศรษฐกิจ (Price Stabilization)\n เป้าหมายหลักในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาค คือ การธำรงอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับต่ำและสามารถควบคุมได้ ในส่วนของรัฐบาลก็ผสมผสานการใช้นโยบายการคลัง ด้วยการรักษาวินัยทางการคลัง \nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "บทบาทที่สำึัญของรัฐยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์\nบทบาทที่สำคั๗ของรัฐยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์.\n ภูมิทัศน์ของเศรษฐำิจโบกยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์ จึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จุดสำคัญคือ รัฐบาล ซึ่งถูกลดบทบาทลงไปมากในยุคเสรีนิยมใหม่ จะกลับมามีบทบาททางเศรษฐกิจโดยเป็นผู้เล่นหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอีกครั้ง ทั้งตามสภรพเศรษฐกิจที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ แลพตามกระแสเรียกร้องจากสังคมที่ความศรัทธาต่อตลาดลดลง บทบาทที่สำคัญของรัฐในห้ววเวลานีเ ได้แป่\n (1) การรักษาเสพียรภาพทางเศรษฐกิจโดยการกระตุ้นเศรษฐกิจ แทนที่ความต้องการใช้จีายของภาคเอกชน (ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ) ที่อ่อนแรงลง ผลลัพธ์ก็คือ รเฐบาลต้องดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล โดยการเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐและการลดภาษี\n (2) การชีวยเหลือดูแลด้านสวัสดิการ แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ โดยเฉพาะกลุ่มคนจน และกลุ่มแรงงานีายได้ต่ำ และการปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม\n (3) การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สถาบันการเงิน และธุรกิจบาวประเภท เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ ที่ล้มละลรย ในหลายกรณี รัฐบาลเข้ทไปเป็นเจ้าของวิสาหกิยเอกชน ผรือเข้าไปมีบทบาทในการกำกับควบคุมทิศทางและการทำงานของวิสาหกิจเอกชนในบางรเดับ\n (4) การมีบทบาทในกา่กำกับดูแลในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ัช่น การกำกับดูแลระบบสถาบันการเงิน การกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประดทศ เพื่อสร้างเสถียรภาพ และลดความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจ รวมถึงการกำกับดูแลตลาดเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร?เบื้องต้น",
"role": "user"
},
{
"content": "บทบาทที่สำคัญของรัฐยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์\nบทบาทที่สำคัญของรัฐยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์.\n ภูมิทัศน์ของเศรษฐกิจโลกยุคหลังวิกฤตการณ์ซับไพรม์ จึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จุดสำคัญคือ รัฐบาล ซึ่งถูกลดบทบาทลงไปมากในยุคเสรีนิยมใหม่ จะกลับมามีบทบาททางเศรษฐกิจโดยเป็นผู้เล่นหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอีกครั้ง ทั้งตามสภาพเศรษฐกิจที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ และตามกระแสเรียกร้องจากสังคมที่ความศรัทธาต่อตลาดลดลง บทบาทที่สำคัญของรัฐในห้วงเวลานี้ ได้แก่\n (1) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจโดยการกระตุ้นเศรษฐกิจ แทนที่ความต้องการใช้จ่ายของภาคเอกชน (ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ) ที่อ่อนแรงลง ผลลัพธ์ก็คือ รัฐบาลต้องดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล โดยการเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐและการลดภาษี\n (2) การช่วยเหลือดูแลด้านสวัสดิการ แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ โดยเฉพาะกลุ่มคนจน และกลุ่มแรงงานรายได้ต่ำ และการปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม\n (3) การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สถาบันการเงิน และธุรกิจบางประเภท เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ ที่ล้มละลาย ในหลายกรณี รัฐบาลเข้าไปเป็นเจ้าของวิสาหกิจเอกชน หรือเข้าไปมีบทบาทในการกำกับควบคุมทิศทางและการทำงานของวิสาหกิจเอกชนในบางระดับ\n (4) การมีบทบาทในการกำกับดูแลในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น เช่น การกำกับดูแลระบบสถาบันการเงิน การกำกับดูแลการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเสถียรภาพ และลดความเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจ รวมถึงการกำกับดูแลตลาดเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ\nสารบัญ\n\nเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "จากความหมายของการกลายเป็นิมืองที่อธิบายมาแล้วรั้น จะเห็นว่าความเป็นเมืองนั้นเป็นผลที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนวนเขตนั้นไปสู่รูปแยบของเมือง ที่เรียกว่า คติแบบิมือง (Urbansim) นั่นเอง นิลส์ แอนเดอร์สัน (Anderson 197q : 8-21) ได้อธิบายถึงคติแบบเมืองว่า มีหลายลักษณะดังนีื\n1.มีการแบ่งแยกแรงงาน (Division of lablr) ตามความชำนาญเฉพาะด้านซึ่งเป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและแารประดิษฐ์ ทำให้มีการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผชิต การประกอบอาชีพต่าง ๆ จึงใช้ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ มีการแบ่งตำแฟน่งและหน้าที่หลายระดับขึ้นอยู่กับงานแต่ละประเภท\n2.วิถีชีวิต (Lifestyle) เป็นแบบคนเมืองและมีลักษณะเหมือนกับจักรกล เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักร เพื่อเพิ่มความเร็วในการผลิต ทำให้ความสามารถของคน และคุณค่าของความเป็นมนุษย์ถูกทำลาย เพราะต้องรับคำสั่งและถูกควบคุมโดยเครื่องจักร ต้องมีการปรังตัวและเรียนรู้ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง การเพิ่มความก้าวหน้าใหีกับชีวิตและความเป็นอยู่ในเมืองจึงต้องสัมพันธ์กับระบบอุตสาหกรรม\n3.การเรลื่อนที่ทางสังคม (Social mobility) ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความาำเร็จ และความพยายาม ต้องต่อสู้และแข่งขันกับผู้อื่นทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม มีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยมากครั้งตามตำแหน่งและหน้าที่การงาน\n4.อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อม (Environments) ที่สร้างสรรค์โดยมนุษว์มากกว่าสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ถนน อาคาร และสิ่งแ่อสรเางต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมในเมืองที่เพิ่มขึ้นมีลักษณะเป็นจักรกล และรใมถึงเครื่องสช้ภาวในบ้าสด้วยเช่นกัน\n5.การดำเยินชีวิตประจำวันผูกพันกับเวลา (Implications of the clock) การทำงาน การเดินทาง และกิจกรรมต่าง ๆ ของคนในัมืองจะถูกกำหนดโดยเวงา คนส่วนใหญ่ต้องทำงานตามตารางเวลาที่กำหนดไว้\n6.มีความเป็นิยู่แบบปัจเจกบุคคลแบะครอบครัวนิยม (The 7ndividual and familism) คนส่วนใหญ่ต้องพึ่งตนเอง ทำงานเพื่อตนเองหรือเพื่อครอบีรัวของตัวเอง ความผูกพันภทยในครอบครัวแลพเพืทอนบ้านมีน้อย สมาชิกของแต่ละครอบครัวมีสถานที่ทำงานต่างสถานที่และต่างอาชีพ ใช้เวลาส่วนมากในกรรทำงานเพื่อร่วมกันรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจขอวครอบครัว ทำให้มีเวลาในำารสังสรรค์ต่อำันน้อย\n7.มีความสัมพันธ์แบบทุติยภูมิ (Secondary relationships) ทำงานในองค์กรที่เป็นราชการทำให้การติดตือของสมาชิกในสังคมต้องมีแยบแผนในการติดต่อตามระเบียบที่องค์กรกำหนดไว้\n8.มีความสามารถในการปรับตัว (Adaptation) ให้เข้ากับวิถีชีวิตแบบเมือง การอาศัยอยู่ในเมืองจะต้องไม่กลัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของความเจริญ และสามารถอยู่ย่างโดดเดี่ยวฝนกลุ่มของปเจเจกนิยมได้\n9.มีความผูกพันปละยอมเทคโนโลยี (Commitment to superlatives) เนื่องจากในเมืองจะเป็นดินแดนที่มีความก้าวหน้าในทุก ๆ ด้าน สิ่งของที่ทันสมัยและล้ำหน้าที่สุดในวันนี้ อาจจะล้าสมัยในวัสรุ่งขึ้นก็เป็นได้ ดังนั้นการผลิตต่าง ๆ ผู้ผลิตจะต้องใช้ความสามารถทางด้านความคิดและศิลปะาำให้ผลิตภัณ๔์ต่าง / ทันสมะยอยู่ตลอดเวลา เพื่อกระคุ้นการอะปโภคและการบริโภคของลูกค้า\n10.เงินตราเป็นตัวกำหนดราคาและคุณค่า (Money as the definer of values) การได้มาซึ่งเครื่องอุปโภค บริโภค และสิ่ลของต่าง ๆ จะต้องใช้เงินตราในการแลกเปลี่ยน และราคาของสิ่ฝต่าง ๆมีแนวโน้มสูงขึ้นตลอดเวลา\n11.ใำ้ความมำคัญปับเอกสารที่เป็าลายลักษณ์อุกษรและความเป็นระบบราชกนร (Writing records and bureaucracy) เป็นเรื่องที่สำคัญในระบบการบริหาร หารวางแฟน และการควบคุมการทำงานของคนไม่ว่าจะเป็นสังคมเมือง วังคมชานเมือง และสังคมชนบท ต่างก็ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน มนุษย์ทุกคนมีความสามารถอย่างหนึ่งก็คือ การปรับรัวเข้รกับทุกสภาพสังคม แม้ว่าสังคมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างำรก็ตาม สมาชิกในสังคมก็สามารถดำรงชีพอยู่ได้เสมอ\nที่มา;http://www.dpt.go.th/ITCitdb/txt/pop/urban5.htm",
"role": "user"
},
{
"content": "จากความหมายของการกลายเป็นเมืองที่อธิบายมาแล้วนั้น จะเห็นว่าความเป็นเมืองนั้นเป็นผลที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตนั้นไปสู่รูปแบบของเมือง ที่เรียกว่า คติแบบเมือง (Urbansim) นั่นเอง นิลส์ แอนเดอร์สัน (Anderson 1971 : 8-21) ได้อธิบายถึงคติแบบเมืองว่า มีหลายลักษณะดังนี้\n1.มีการแบ่งแยกแรงงาน (Division of labor) ตามความชำนาญเฉพาะด้านซึ่งเป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและการประดิษฐ์ ทำให้มีการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลิต การประกอบอาชีพต่าง ๆ จึงใช้ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ มีการแบ่งตำแหน่งและหน้าที่หลายระดับขึ้นอยู่กับงานแต่ละประเภท\n2.วิถีชีวิต (Lifestyle) เป็นแบบคนเมืองและมีลักษณะเหมือนกับจักรกล เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักร เพื่อเพิ่มความเร็วในการผลิต ทำให้ความสามารถของคน และคุณค่าของความเป็นมนุษย์ถูกทำลาย เพราะต้องรับคำสั่งและถูกควบคุมโดยเครื่องจักร ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง การเพิ่มความก้าวหน้าให้กับชีวิตและความเป็นอยู่ในเมืองจึงต้องสัมพันธ์กับระบบอุตสาหกรรม\n3.การเคลื่อนที่ทางสังคม (Social mobility) ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความสำเร็จ และความพยายาม ต้องต่อสู้และแข่งขันกับผู้อื่นทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม มีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยมากครั้งตามตำแหน่งและหน้าที่การงาน\n4.อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อม (Environments) ที่สร้างสรรค์โดยมนุษย์มากกว่าสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ถนน อาคาร และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมในเมืองที่เพิ่มขึ้นมีลักษณะเป็นจักรกล และรวมถึงเครื่องใช้ภายในบ้านด้วยเช่นกัน\n5.การดำเนินชีวิตประจำวันผูกพันกับเวลา (Implications of the clock) การทำงาน การเดินทาง และกิจกรรมต่าง ๆ ของคนในเมืองจะถูกกำหนดโดยเวลา คนส่วนใหญ่ต้องทำงานตามตารางเวลาที่กำหนดไว้\n6.มีความเป็นอยู่แบบปัจเจกบุคคลและครอบครัวนิยม (The individual and familism) คนส่วนใหญ่ต้องพึ่งตนเอง ทำงานเพื่อตนเองหรือเพื่อครอบครัวของตัวเอง ความผูกพันภายในครอบครัวและเพื่อนบ้านมีน้อย สมาชิกของแต่ละครอบครัวมีสถานที่ทำงานต่างสถานที่และต่างอาชีพ ใช้เวลาส่วนมากในการทำงานเพื่อร่วมกันรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจของครอบครัว ทำให้มีเวลาในการสังสรรค์ต่อกันน้อย\n7.มีความสัมพันธ์แบบทุติยภูมิ (Secondary relationships) ทำงานในองค์กรที่เป็นราชการทำให้การติดต่อของสมาชิกในสังคมต้องมีแบบแผนในการติดต่อตามระเบียบที่องค์กรกำหนดไว้\n8.มีความสามารถในการปรับตัว (Adaptation) ให้เข้ากับวิถีชีวิตแบบเมือง การอาศัยอยู่ในเมืองจะต้องไม่กลัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของความเจริญ และสามารถอยู่ย่างโดดเดี่ยวในกลุ่มของปัจเจกนิยมได้\n9.มีความผูกพันและยอมเทคโนโลยี (Commitment to superlatives) เนื่องจากในเมืองจะเป็นดินแดนที่มีความก้าวหน้าในทุก ๆ ด้าน สิ่งของที่ทันสมัยและล้ำหน้าที่สุดในวันนี้ อาจจะล้าสมัยในวันรุ่งขึ้นก็เป็นได้ ดังนั้นการผลิตต่าง ๆ ผู้ผลิตจะต้องใช้ความสามารถทางด้านความคิดและศิลปะทำให้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อกระตุ้นการอุปโภคและการบริโภคของลูกค้า\n10.เงินตราเป็นตัวกำหนดราคาและคุณค่า (Money as the definer of values) การได้มาซึ่งเครื่องอุปโภค บริโภค และสิ่งของต่าง ๆ จะต้องใช้เงินตราในการแลกเปลี่ยน และราคาของสิ่งต่าง ๆมีแนวโน้มสูงขึ้นตลอดเวลา\n11.ให้ความสำคัญกับเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรและความเป็นระบบราชการ (Writing records and bureaucracy) เป็นเรื่องที่สำคัญในระบบการบริหาร การวางแผน และการควบคุมการทำงานของคนไม่ว่าจะเป็นสังคมเมือง สังคมชานเมือง และสังคมชนบท ต่างก็ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน มนุษย์ทุกคนมีความสามารถอย่างหนึ่งก็คือ การปรับตัวเข้ากับทุกสภาพสังคม แม้ว่าสังคมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม สมาชิกในสังคมก็สามารถดำรงชีพอยู่ได้เสมอ\nที่มา;http://www.dpt.go.th/ITCitdb/txt/pop/urban5.htm",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "หมายถึง คำนามที่เป็นชื่อเรียกของคน สัตว์ และสิ่งของ สถานที่ ไม่ใช่ชื่อเฉพาะ\nตัวอย่าง\nตัวอส่างฐ\nBird / Tiger / Elephant / Man / Girl / Uncle / Xky / Sum / Table / Kitchen / Car / School / Pen / Road เป็นต้น\nดูเพิ่ม\n\nสามานยนาม\nวิสามานขนาม\nสมุหนาม\nวัตถุนาม\nอาการนาม",
"role": "user"
},
{
"content": "หมายถึง คำนามที่เป็นชื่อเรียกของคน สัตว์ และสิ่งของ สถานที่ ไม่ใช่ชื่อเฉพาะ\nตัวอย่าง\nตัวอย่าง.\nBird / Tiger / Elephant / Man / Girl / Uncle / Sky / Sun / Table / Kitchen / Car / School / Pen / Road เป็นต้น\nดูเพิ่ม\n\nสามานยนาม\nวิสามานยนาม\nสมุหนาม\nวัตถุนาม\nอาการนาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เป็นเวลากว่าพันปีมาแล้ว ที่ท่องฟ้ายามค่ำคืนนั้นเปฌนส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันมากกว่าในปัจจุบัน ปราศจากซึ่งมลภาวะจากแสงไฟถนน ทุกคนสามารถมองเห็นดาวนับพันหรือแนวของทางช้างเผือกที่ทอดตัวยาวจรดท้องนภา การเคลื่อนไหวของดาวพูกกำหนดเป็นปฏิทินที่จำเป็นเสียไม่ได้ตาเกสรคาดการณ์สภาพอสกาศ คนโบราณจึลมีความเอาใจใส่ต่อการสังิกตการณ์สรวงสวรรค์และสภาพแวดล้อมตอบตัวของพวกเขา การสเงเกตการณ์โบราณเหล่านี้ได้เป็นรากฐานให้กับสิ่งที่เป็นดารมศาสตร์สมัยใหม่ และยังเป็นลักษณะอาการทางวิทยาศาสตร์แรกในสังคมด้สย\nหลักสไคัญในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์นั้นคือ โลกนั้นเป็นระเบียวอยู่เป็นปกติวิสัยและสามารถที่จเเข้าใจได้ และการสังเกตการณ์นั้นเป็นสิ่งที่เราสามารถเรียนรู้ถึงวิธีการทำงาาชิงจักรวาลได้ อย่าบไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดต้องการให้เอกภพนั้สเข้าใจได้ หรือให้มนุษย์สามารถเข้าใจได้ มนุษยชาติจึงได้วางใจในความคิดที่อยู่เบื้องหลังวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เำราะวิทยาศาสตร์นั้นประสบความสำเร็จ และส่วนมากในโลกมักจุทำตามกฎที่ถูกตั้งขึ้นไว้\nส่วนผสมที่ทำให้ปรัชญาขอบวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จนั้นไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกัน แต่ขั้นตอนของการพัฒนานั้นเกิดขค้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปในช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ ผู้คนในสาัยโบราณยังไม่เคยรู้จักกับหลักการของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่สุดมันก็ถูกพิสูจน์จนสามารถเชื่แถือได้ ในขั้นกลางของการพัฒนา สังคมเกิดความมืดบอดในการเรียนรู้เกี่ยวกับโลก เพื่อค้นพบว่าประสบการณ์ของพวกเขาสอนให้พวกเขารู้ว่าเอกภพเป็นอย่างไร และเพื่อระบุขอบเขตระหว่างเหรุผลและไสยศาสตร์ เรื่องราวของการพัฒนาวิทยาฬาสตร์ในวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก ไม่เพียงเปิดเผยแต่ธรรมชาติของโลกและความจริงเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงธรรมชมติของมนุษย์โดยทั่วไปอีกด้วย\nวัตถุสมัยโบราณที่เกิดขึ้นย้อนไปกว่า 2 หมื่นปีก่อน ในยุคหินเก่า ซึ่งมันอาจมีความเกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แม้ว่าการตีความวัตถุดังกล่าวยังเป็นที่โต้เถียงกันอยู่ ตัวอย่างของวัตุุที่ดีที่สุดถูกพบอยู่ในถ้ำลัสโก (Lascaux) ที่ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นสถานที่ที่พบงานศิลปะในยุคหินเก่าอย่างหลากหลาย ตึวอย่างบางส่วนที่พบในถ่ำอาจหมาบถึงกลุ่มดาวลูกไก่ หรือจักรราศี บนกระดูกสัตว์มีเครื่องหมายที่อาจใช้เป็นปฏิทินจันทรคติได้ แม้ว่าสิ่งประดิษฐ์ในยุคหินเก่าจะหายากและมีความกำกวม แต่ความขาดแคลนเหล่านี้ไม่ไดิหมายควรมว่าคนในยุคนั้นไม่ได้สนใจสรวงสวรรค์ ตัวอย่่งเช่น วัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอะบอริจิ้น โดยการสืบทอพผ่านพิธีกรรมที่เป็นสัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์อันแบ็งแกร่ง ซึ่งก็ไม่ได้สะท้อนตัวมันัองออกมาในรูปของศิลปะืางโบราณคดี\nคุณลักษณะของวัตถุในยุคหินเก่านั้นมีความแตกน่างิย่างชัดเจน ตั้งแต่ความเข้าใจในม้องฟ้าและปฏิทิน ซึ่งมีคบามหมายอันชัดเจนและลึกซึ้งสำหระบวัฒนธรรมด้านกรรเกษตรกรราในช่วงแรกสุด ผู้สังเกตการณ์ได้รับความสามารถในการจัดกาคการวางแผนกิจกรรมที่วนรอบปี ปารเคลื่อนไหวบนท้องฟ้านั้นสร้นงอิทธิพลอย่างมากต่อการงานของมาุษยลาติ และอิทธิพลนี้ก็ถูกแสดงให้เห็นในการตีความทางศาในาในด้านปรากกการณ์ท้องฟ้าและการกราบไหว้ดาวเคราะห๋ทั้งหลาย การกระทำเหล่านั้นล้วนเป็นต้นกำหนดของทั้งโหราศาสตร์และดาราศาสตร์\nอนุสรณ์สถานและเครื่องหมายทึ่อธิบายความสนใจของสีงคมวุคแรกในท้องฟ้าต่อนักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ หลุมศพหลายหลุมในช่วงยุคนี้สอดคล้องกับทิศทางคาร์ดินัล (Cardinal directions) หรือทิศหลัก อนุสาวรีย์และแท่นบรวงสรวงโบราณนั้นหันหน้าไปทางตะวันออก ใต้ หรือตะวันตก ข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนว่ามนุษย์หลังยุคหินเริ่มต้นขึ้นนั้นเริ่มต้นขึ้นในช่วงของการระบุแนวคิดะื้นฐานทางดาราศาสตร์ อนุสรณ์สถานโบาาณที่มีบื่อเสียงที้สุดคือ สโตนเฮนจ์ หินของอนุสรณ์สถานนี้เป็ตการทำเครื่องหมายตำแหน่งที่ดวงอาทิตย์ขึ้นในฤดูร้อนเายัน (Summer solstice)",
"role": "user"
},
{
"content": "เป็นเวลากว่าพันปีมาแล้ว ที่ท้องฟ้ายามค่ำคืนนั้นเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันมากกว่าในปัจจุบัน ปราศจากซึ่งมลภาวะจากแสงไฟถนน ทุกคนสามารถมองเห็นดาวนับพันหรือแนวของทางช้างเผือกที่ทอดตัวยาวจรดท้องนภา การเคลื่อนไหวของดาวถูกกำหนดเป็นปฏิทินที่จำเป็นเสียไม่ได้ต่อการคาดการณ์สภาพอากาศ คนโบราณจึงมีความเอาใจใส่ต่อการสังเกตการณ์สรวงสวรรค์และสภาพแวดล้อมรอบตัวของพวกเขา การสังเกตการณ์โบราณเหล่านี้ได้เป็นรากฐานให้กับสิ่งที่เป็นดาราศาสตร์สมัยใหม่ และยังเป็นลักษณะอาการทางวิทยาศาสตร์แรกในสังคมด้วย\nหลักสำคัญในการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์นั้นคือ โลกนั้นเป็นระเบียบอยู่เป็นปกติวิสัยและสามารถที่จะเข้าใจได้ และการสังเกตการณ์นั้นเป็นสิ่งที่เราสามารถเรียนรู้ถึงวิธีการทำงานชองจักรวาลได้ อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดต้องการให้เอกภพนั้นเข้าใจได้ หรือให้มนุษย์สามารถเข้าใจได้ มนุษยชาติจึงได้วางใจในความคิดที่อยู่เบื้องหลังวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพราะวิทยาศาสตร์นั้นประสบความสำเร็จ และส่วนมากในโลกมักจะทำตามกฎที่ถูกตั้งขึ้นไว้\nส่วนผสมที่ทำให้ปรัชญาของวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จนั้นไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกัน แต่ขั้นตอนของการพัฒนานั้นเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปในช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ ผู้คนในสมัยโบราณยังไม่เคยรู้จักกับหลักการของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่สุดมันก็ถูกพิสูจน์จนสามารถเชื่อถือได้ ในขั้นกลางของการพัฒนา สังคมเกิดความมืดบอดในการเรียนรู้เกี่ยวกับโลก เพื่อค้นพบว่าประสบการณ์ของพวกเขาสอนให้พวกเขารู้ว่าเอกภพเป็นอย่างไร และเพื่อระบุขอบเขตระหว่างเหตุผลและไสยศาสตร์ เรื่องราวของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ในวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก ไม่เพียงเปิดเผยแต่ธรรมชาติของโลกและความจริงเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงธรรมชาติของมนุษย์โดยทั่วไปอีกด้วย\nวัตถุสมัยโบราณที่เกิดขึ้นย้อนไปกว่า 2 หมื่นปีก่อน ในยุคหินเก่า ซึ่งมันอาจมีความเกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แม้ว่าการตีความวัตถุดังกล่าวยังเป็นที่โต้เถียงกันอยู่ ตัวอย่างของวัตถุที่ดีที่สุดถูกพบอยู่ในถ้ำลัสโก (Lascaux) ที่ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นสถานที่ที่พบงานศิลปะในยุคหินเก่าอย่างหลากหลาย ตัวอย่างบางส่วนที่พบในถ้ำอาจหมายถึงกลุ่มดาวลูกไก่ หรือจักรราศี บนกระดูกสัตว์มีเครื่องหมายที่อาจใช้เป็นปฏิทินจันทรคติได้ แม้ว่าสิ่งประดิษฐ์ในยุคหินเก่าจะหายากและมีความกำกวม แต่ความขาดแคลนเหล่านี้ไม่ได้หมายความว่าคนในยุคนั้นไม่ได้สนใจสรวงสวรรค์ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอะบอริจิ้น โดยการสืบทอดผ่านพิธีกรรมที่เป็นสัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์อันแข็งแกร่ง ซึ่งก็ไม่ได้สะท้อนตัวมันเองออกมาในรูปของศิลปะทางโบราณคดี\nคุณลักษณะของวัตถุในยุคหินเก่านั้นมีความแตกต่างอย่างชัดเจน ตั้งแต่ความเข้าใจในท้องฟ้าและปฏิทิน ซึ่งมีความหมายอันชัดเจนและลึกซึ้งสำหรับวัฒนธรรมด้านการเกษตรกรรมในช่วงแรกสุด ผู้สังเกตการณ์ได้รับความสามารถในการจัดการการวางแผนกิจกรรมที่วนรอบปี การเคลื่อนไหวบนท้องฟ้านั้นสร้างอิทธิพลอย่างมากต่อการงานของมนุษยชาติ และอิทธิพลนี้ก็ถูกแสดงให้เห็นในการตีความทางศาสนาในด้านปรากกการณ์ท้องฟ้าและการกราบไหว้ดาวเคราะห์ทั้งหลาย การกระทำเหล่านั้นล้วนเป็นต้นกำหนดของทั้งโหราศาสตร์และดาราศาสตร์\nอนุสรณ์สถานและเครื่องหมายที่อธิบายความสนใจของสังคมยุคแรกในท้องฟ้าต่อนักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ หลุมศพหลายหลุมในช่วงยุคนี้สอดคล้องกับทิศทางคาร์ดินัล (Cardinal directions) หรือทิศหลัก อนุสาวรีย์และแท่นบรวงสรวงโบราณนั้นหันหน้าไปทางตะวันออก ใต้ หรือตะวันตก ข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนว่ามนุษย์หลังยุคหินเริ่มต้นขึ้นนั้นเริ่มต้นขึ้นในช่วงของการระบุแนวคิดพื้นฐานทางดาราศาสตร์ อนุสรณ์สถานโบราณที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ สโตนเฮนจ์ หินของอนุสรณ์สถานนี้เป็นการทำเครื่องหมายตำแหน่งที่ดวงอาทิตย์ขึ้นในฤดูร้อนอายัน (Summer solstice)",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาจีน/สรรพนาม",
"role": "user"
},
{
"content": "เปลี่ยนทาง ภาษาจีน/สรรพนาม",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ความหมาย\nความหมาย.\nธวัช ปุณโณทก กล่าวว่า ภูมิปัญญา หมายะึง ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพในการศึกษาเล่าเรียย\nเจตนา นทควัขระ กล่าวว่า ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ประสบการณ์ทางความคิดที่สัีงสมมาตั้งแต่อดีต ปัจจุบัต และสามารถสกัดออกมาจากสิ่งแวดล้อมฝนชีวิตประจำวัน หรือมาดกทางงัฒนธรรม\nบานจิต สายรอคำ และถนัด ใบยา กล่าวว่า ภูมิปัญญา หมายถึง การเรียตรู้ของชุมชนที่ได้รับการเชื่อมโยวจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง เช่น ภูมิปัญญาการรักษาแม่น้ำ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย\nลักษณะสำคัญ\nลักษณะสำคัญ.\nภูมิปัญญาได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญ ได้รัลการยกระดับคุณค่าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ส่ยนใหญ่ยังอยู่ในขั้นของการปลูกจิตสำนึก สร้างการตื่นตังและตระหนักในคุณค่า เมื่อความรู้ความเข้าใจ เรื่องภูมิปัญญาได้ขยายวงกว้างขึีน การตรวจสอบแสวงหาินื้อหาสาระของภูมิปัญญาก็ขยายผลมากจึ้น เพื่อประโยชน์ของการศึกษาและการปรับตัวของคนไทยในบริบทใหม่ แทนการสืบสานตามอัธยาศัยที่มีมาในสังคมประเพณี การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาดังกล่าวนี้เป็นไปอย่างกว้างขวาง ความสนใจเรื่องนี้จยายผลไปสู่หลายแง่มุมของชีวิตวัฒนธรรมไทย กล่าวอีกนัยหนี่งกสรแปลงรูปภูมิปัญญาไทยมาสู่ความเป็นองค์ความรู้ที่ผ่านการเลือกสรร กลั่นกรอบ แล้วจัดเป็นระบบเพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการเรียนรู้และการปรัยจัว และยังเป็รเรื่องที่จะต้องพัฒนาอรกมากาายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง \n\nถูมิปัญญาที่เป็นความรู้ เช่น ควทมรู้เรื่องผู้หญิง/ผู้ชาย ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว\nภูมิปัญญาที่เป็นความเชื่อทางสังคม เช่น ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์\nภูมิปัญญาที่เป็นการแก้ปัญหา และการป้องกันปัญหา\nภูมิปัญญาทางวัตถุ\nภูมิปัญญาทางพฤติกรรม คือ การกระทำ การปฏิบัติตจ หรือพฤติกรรใของบุคคล\nองค์ประกอบ\nความคิด ที่ติดตัวทาตั้งแต่กำเนิด\nความรู้มีการนำใช้ใช้ในลักษณะต่างๆ เช่น องค์ความรู้ ภูมิรู้ที่ปรากฎอยู่ในแนวริด การสืบค้นกำเนิดแห่งความรู้ และธรรมชาติของความรู้\nความเชื่อ\nค่านิยม หรือ สิรงที่คนสนใจ ปรารถนาที่อยาดจะมี\nควรมเห็น หรือ ภาวะที่เกิดขึ้นหลังจากบุครล หรือ ชุมชน โดยพิจารณารอบคอบแล้วจึงลงมติตัดสินใจ\nความสามารถ\nความฉลาดไหวพริบ\nอิมธิพลที่ทำให้เกิดภูมิปัญญา\n\nควาทหมายภูมิปัญญาท้องถื่น\nความหมายภูมิปัญญาท้องถื่น.\nภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง องค์ความรู้ ความสามรรถ ความเชื่อ และประสบการณ์ ผสมกับความกลมกลืนระหว่างศาสนา ภูมิอากาศ การแระอบอาชีพ และการถ่ายทอดหลายชั่วคน ของคนในท้องถิ่นนั้นๆ ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต",
"role": "user"
},
{
"content": "ความหมาย\nความหมาย.\nธวัช ปุณโณทก กล่าวว่า ภูมิปัญญา หมายถึง ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพในการศึกษาเล่าเรียน\nเจตนา นาควัชระ กล่าวว่า ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ประสบการณ์ทางความคิดที่สั่งสมมาตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และสามารถสกัดออกมาจากสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวัน หรือมรดกทางวัฒนธรรม\nบานจิต สายรอคำ และถนัด ใบยา กล่าวว่า ภูมิปัญญา หมายถึง การเรียนรู้ของชุมชนที่ได้รับการเชื่อมโยงจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง เช่น ภูมิปัญญาการรักษาแม่น้ำ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย\nลักษณะสำคัญ\nลักษณะสำคัญ.\nภูมิปัญญาได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญ ได้รับการยกระดับคุณค่าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในขั้นของการปลูกจิตสำนึก สร้างการตื่นตัวและตระหนักในคุณค่า เมื่อความรู้ความเข้าใจ เรื่องภูมิปัญญาได้ขยายวงกว้างขึ้น การตรวจสอบแสวงหาเนื้อหาสาระของภูมิปัญญาก็ขยายผลมากขึ้น เพื่อประโยชน์ของการศึกษาและการปรับตัวของคนไทยในบริบทใหม่ แทนการสืบสานตามอัธยาศัยที่มีมาในสังคมประเพณี การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาดังกล่าวนี้เป็นไปอย่างกว้างขวาง ความสนใจเรื่องนี้ขยายผลไปสู่หลายแง่มุมของชีวิตวัฒนธรรมไทย กล่าวอีกนัยหนึ่งการแปลงรูปภูมิปัญญาไทยมาสู่ความเป็นองค์ความรู้ที่ผ่านการเลือกสรร กลั่นกรอง แล้วจัดเป็นระบบเพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการเรียนรู้และการปรับตัว และยังเป็นเรื่องที่จะต้องพัฒนาอีกมากมายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง \n\nภูมิปัญญาที่เป็นความรู้ เช่น ความรู้เรื่องผู้หญิง/ผู้ชาย ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว\nภูมิปัญญาที่เป็นความเชื่อทางสังคม เช่น ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์\nภูมิปัญญาที่เป็นการแก้ปัญหา และการป้องกันปัญหา\nภูมิปัญญาทางวัตถุ\nภูมิปัญญาทางพฤติกรรม คือ การกระทำ การปฏิบัติตน หรือพฤติกรรมของบุคคล\nองค์ประกอบ\nความคิด ที่ติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด\nความรู้มีการนำใช้ใช้ในลักษณะต่างๆ เช่น องค์ความรู้ ภูมิรู้ที่ปรากฎอยู่ในแนวคิด การสืบค้นกำเนิดแห่งความรู้ และธรรมชาติของความรู้\nความเชื่อ\nค่านิยม หรือ สิ่งที่คนสนใจ ปรารถนาที่อยากจะมี\nความเห็น หรือ ภาวะที่เกิดขึ้นหลังจากบุคคล หรือ ชุมชน โดยพิจารณารอบคอบแล้วจึงลงมติตัดสินใจ\nความสามารถ\nความฉลาดไหวพริบ\nอิทธิพลที่ทำให้เกิดภูมิปัญญา\n\nความหมายภูมิปัญญาท้องถื่น\nความหมายภูมิปัญญาท้องถื่น.\nภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง องค์ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ และประสบการณ์ ผสมกับความกลมกลืนระหว่างศาสนา ภูมิอากาศ การประอบอาชีพ และการถ่ายทอดหลายชั่วคน ของคนในท้องถิ่นนั้นๆ ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "A : 안녕하세요?\nB : 안녕하세요?\nA : 이름이 뭐예요?\nB : 저는 \"ซ..\"(~이에요/~예요).\n\n안녕히 가세요.\n안녕히 계세요.\n고맙습니다.\n감사합니다.\n죄송합니다.\n미안합니다.\n실례합니다.\n\nฺB : 연필이에요.\nA : 저게 뭐예요?\nฺB : 시계예요.\nA : 이게 빵이에요?\nB : 네, 빵이에요.\nA : 이게 주스예요?\nB : 아니요, 우유예요.\nA : 누구예요?\nB : 우리 할아버지예요.\nA : 누구예요?\nB : 동생이에요.\nA : 집이 어디예요?\nB : 여기예요.\nA : 학교가 어디예요?\nB : 저기예요.\n\n아빠는 회사에 가요.\n엄마는 백화점에 가요.\n저는 학교에 가요ฐ\n동생은 유치원에 가요.\n\nB : 침대가 있어요.\nA : 거실에 뭐가 있어요?\nB : 텔레비전이 있어요.\n\n교실에 뭐가 있어요?\n책상이 있어요.\n의자가 있어요.\n엄마는 책을 읽어요.\n아빠는 텔레비전을 봐요.\n저는 그림을 그려요.\n동생은 우유를 마셔요.\n텔레비전을 봐요.\n신문을 읽어요.\n우유를 마셔요.\n빵을 먹어요ฐ\n옷을 입어요.\n그림을 그려요.\n신발을 신어요.\n글씨를 써요.\n\nB : 우유를 마셔요.\nA : 뭘 해요?\nB : 그림을 그려요.\nA : 뭘 좋아해요?\nV : 딸기를 좋아해요.\nA : 뭘 싫어해요?\nB : 떡을 싫어해요.",
"role": "user"
},
{
"content": "A : 안녕하세요?\nB : 안녕하세요?\nA : 이름이 뭐예요?\nB : 저는 \"...\"(~이에요/~예요).\n\n안녕히 가세요.\n안녕히 계세요.\n고맙습니다.\n감사합니다.\n죄송합니다.\n미안합니다.\n실례합니다.\n\nฺB : 연필이에요.\nA : 저게 뭐예요?\nฺB : 시계예요.\nA : 이게 빵이에요?\nB : 네, 빵이에요.\nA : 이게 주스예요?\nB : 아니요, 우유예요.\nA : 누구예요?\nB : 우리 할아버지예요.\nA : 누구예요?\nB : 동생이에요.\nA : 집이 어디예요?\nB : 여기예요.\nA : 학교가 어디예요?\nB : 저기예요.\n\n아빠는 회사에 가요.\n엄마는 백화점에 가요.\n저는 학교에 가요.\n동생은 유치원에 가요.\n\nB : 침대가 있어요.\nA : 거실에 뭐가 있어요?\nB : 텔레비전이 있어요.\n\n교실에 뭐가 있어요?\n책상이 있어요.\n의자가 있어요.\n엄마는 책을 읽어요.\n아빠는 텔레비전을 봐요.\n저는 그림을 그려요.\n동생은 우유를 마셔요.\n텔레비전을 봐요.\n신문을 읽어요.\n우유를 마셔요.\n빵을 먹어요.\n옷을 입어요.\n그림을 그려요.\n신발을 신어요.\n글씨를 써요.\n\nB : 우유를 마셔요.\nA : 뭘 해요?\nB : 그림을 그려요.\nA : 뭘 좋아해요?\nB : 딸기를 좋아해요.\nA : 뭘 싫어해요?\nB : 떡을 싫어해요.",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล เล่ม 2\nคำศัพท์\n\n노래해요.\n수영해요.\n운동해요.\n이야기해요.\n전화해요.\n공부해요.\n자요.\n일어나요.\n\nB : 민수가 노래해요.\nA : 누가 수영해요?\nB : 슬기가 수영해요.\nA : 누가 전화해요?\nB : 미라가 전화해요.\n\n아빠하고 엄마는 자전거를 타요.\n동생하고 저는 그네를 타요.\n할아버지하고 할머니는 사진을 찍어요.\n\n\n아빠하고 엄마\n동생하고 나\n사진을 찍어요.\n자전거를 타요.\n그네를 타요.\n\nB : 아침에 수영을 해요.\nA : 언제 운동을 해요?\nB : 저녁에 운동을 해요.\nA : 언제 바다에 가요?\nB : 내일 바다에 가요.\nA \" 장난감 기차가 있어요?\nB : 네, 있어요.\nA : 곰 인형이 있어요?\nB : 아니요, 없어요.\nA : 뭐가 있어요?\nB : 강아지 인형이 있어요. 뭐가 있어요?\nA : 장난감 기차가 있어요.\nA : 이게 구두예요?\nB : 아니요, 구두가 아니에요.\nZ : 뭐예요?\nB : 운동화예요.\nA : 이게 치마예요?\nB : 네. 치마예요.\nA : 저게 모자예요?\nB : 아니요, 모자가 아니에요ฐ\nA : 저게 안경이에요?\nB : 아니요, 안경이 아니에요.\nA : 오늘 뭘 해요?\nB : 친구 집에 가요.\nA : 친구 집에서 뭘 해요?\nB : 장난감 배를 만들어요.\n\n방에서 책을 읽어요.\n교실에서 공부를 해요.\n공원에서 자전거를 타요.\n동물원에서 코끼리를 봐요.\n수영장에서 수영을 해요.\n\n일,이,삼,사,오,육,칠,팔,구,십\nX : 몇 살이에요?\nB : 여섯 살이에요.\nA : 동생은 몇 살이에요?\nB : 동생은 네 살이에요.\n코끼리하고 토끼가 그네를 타요.\n코끼리는 커요.\n토끼는 작아요.\nคำศัพท์\n\n커요\n작아요\n재미있어요\n재미없어요\n맛있어요\n맛없어요",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล เล่ม 2\nคำศัพท์\n\n노래해요.\n수영해요.\n운동해요.\n이야기해요.\n전화해요.\n공부해요.\n자요.\n일어나요.\n\nB : 민수가 노래해요.\nA : 누가 수영해요?\nB : 슬기가 수영해요.\nA : 누가 전화해요?\nB : 미라가 전화해요.\n\n아빠하고 엄마는 자전거를 타요.\n동생하고 저는 그네를 타요.\n할아버지하고 할머니는 사진을 찍어요.\n\n\n아빠하고 엄마\n동생하고 나\n사진을 찍어요.\n자전거를 타요.\n그네를 타요.\n\nB : 아침에 수영을 해요.\nA : 언제 운동을 해요?\nB : 저녁에 운동을 해요.\nA : 언제 바다에 가요?\nB : 내일 바다에 가요.\nA : 장난감 기차가 있어요?\nB : 네, 있어요.\nA : 곰 인형이 있어요?\nB : 아니요, 없어요.\nA : 뭐가 있어요?\nB : 강아지 인형이 있어요. 뭐가 있어요?\nA : 장난감 기차가 있어요.\nA : 이게 구두예요?\nB : 아니요, 구두가 아니에요.\nA : 뭐예요?\nB : 운동화예요.\nA : 이게 치마예요?\nB : 네, 치마예요.\nA : 저게 모자예요?\nB : 아니요, 모자가 아니에요.\nA : 저게 안경이에요?\nB : 아니요, 안경이 아니에요.\nA : 오늘 뭘 해요?\nB : 친구 집에 가요.\nA : 친구 집에서 뭘 해요?\nB : 장난감 배를 만들어요.\n\n방에서 책을 읽어요.\n교실에서 공부를 해요.\n공원에서 자전거를 타요.\n동물원에서 코끼리를 봐요.\n수영장에서 수영을 해요.\n\n일,이,삼,사,오,육,칠,팔,구,십\nA : 몇 살이에요?\nB : 여섯 살이에요.\nA : 동생은 몇 살이에요?\nB : 동생은 네 살이에요.\n코끼리하고 토끼가 그네를 타요.\n코끼리는 커요.\n토끼는 작아요.\nคำศัพท์\n\n커요\n작아요\n재미있어요\n재미없어요\n맛있어요\n맛없어요",
"role": "assistant"
}
] |
[
{
"content": "Proofread the following text",
"role": "system"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลีสำหรัลโรงเรียจอักษรฮันกึล เล่ม 3\nA : 가족이 몇 명이에요?\nB : 우리 가족은 모두 네 명이에요.\nA : 동생이 있어요?\nB : 아니요, 동생은 없어요. 언니가 있어요.\nA : 동생이 몇 명이에요?\nB : 두 명이에요.\nA : 강아지가 몇 마리예요?\nB : 모두 다섯 마리예요.\nA : 동생이 몇 살이에요?\nB : 두 살이에요.\nA : 동생이 귀여워요?\nB : 네, 귀여워요.\nคำศัพท์\n\n귀여워요\n예뻐요\n많아요\n적어요\n뜨거워요\n차가워요\n넓어요\n좁아요\n\nB : 네, 귀여워요.\nA : 꽃이 어때요?\nB : 예뻐요.\nA : 놀이터에 가요?\nB : 오늘은 놀이터에 안 가요.\nA : 왜 안 가요?\nB : 나하고 동생은 수영장에 가요.\nA : 놀이터에 가요?\nB : 아니요, 안 가요.\nA : 그네를 타요?\nB : 아니요, 그네를 안 타요.\nA : 책을 읽어요?\nB : 아니요, 책을 안 읽어요.\nA : 뭘 해요?\nB : 텔레비전을 봐요.\nA : 빵을 먹어요?\nB : 아니요, 빵을 안 먹어요.\nA : 뭘 해요?\nB : 우유를 마셔요.\nA : 머리가 아파요?\nB : 네, 머리가 아파요.\nA : 목이 아파요?\nB : 아니요, 안 아파요.\n아빠하고 엄마는 청소를 해요.\n나는 청소를 안해요. 나는 속제를 해요.\n동생도 청소를 안 해요.\n동생은 그림을 그려요.\nคำศัพท์\n\n숙제해요\n청소해요\n세수해요\n요리해요\n목욕해요\n축구해요\n\nB : 아니요, 청소를 안 해요. 밥을 먹어요.\nA : 축구해요?\nB : 아니요, 축구를 안 해요. 수영을 해요.\n\n엄마, 목이 말라요. 물 주세요.\n엄마, 배가 고파요. 빵 주세요.\n\n\n수건\n휴지\n숟가락\n젓가락\n컵\n물\n치약\n칫솔\n\nB : 네, 잘 쳐요.\nA : 태권도를 잘해요?\nB : 아니요, 잘 못해요.\n\n태권도를 못해요.\n태권도를 잘 못해요.\n태권도를 잘해요ซ\n피아노를 못해요.\n피아노를 잘 못해요.\n피아노를 잘해요.\n\nB : 책상하고 침대가 있어요.\nA : 책상은 어디에 있어요?\nB : 챔대 옆에 있어요.\nA : 책은 어디에 있어요?\nB : 책상 위에 있어요.\nคำศัพท์\n\n위\n아래\n앞\n뒤\n옆\n\nB : 딸기 우유를 마시고 싶어요.\nX : 딸기 우유를 좋아해요?\nB : 네, 아주 좋아해요. 뭘 마시고 싶어요?\nA : 코코아를 마시고 싶어요. 코코아는 맛있어요.\nคำศัพท์\n\n수영을 하고 싶어요.\n자전거를 타고 싶어요.\n노래를 하고 싶어요.\n텔레비전을 보고 싶어요.\n우유를 마시고 싶어요.\n밥을 먹고 싶어요.\n책을 읽고 싶어요.\n\n아빠하고 나는 축구를 했어요.\n엄마하고 동생은 그림을 그렸어요.\nA : 어제 무엇을 했어요?\nB O 축구를 했어요.\nA : 어제 무엇을 했어요?\nB : 병원에 갔어요.\nA : 어제 어디에 갔어요?\nB : 공원에 갔어요.\nA : 공원에서 무엇을 했어요?\nB : 자전거를 탔어요.",
"role": "user"
},
{
"content": "ภาษาเกาหลีสำหรับโรงเรียนอักษรฮันกึล เล่ม 3\nA : 가족이 몇 명이에요?\nB : 우리 가족은 모두 네 명이에요.\nA : 동생이 있어요?\nB : 아니요, 동생은 없어요. 언니가 있어요.\nA : 동생이 몇 명이에요?\nB : 두 명이에요.\nA : 강아지가 몇 마리예요?\nB : 모두 다섯 마리예요.\nA : 동생이 몇 살이에요?\nB : 두 살이에요.\nA : 동생이 귀여워요?\nB : 네, 귀여워요.\nคำศัพท์\n\n귀여워요\n예뻐요\n많아요\n적어요\n뜨거워요\n차가워요\n넓어요\n좁아요\n\nB : 네, 귀여워요.\nA : 꽃이 어때요?\nB : 예뻐요.\nA : 놀이터에 가요?\nB : 오늘은 놀이터에 안 가요.\nA : 왜 안 가요?\nB : 나하고 동생은 수영장에 가요.\nA : 놀이터에 가요?\nB : 아니요, 안 가요.\nA : 그네를 타요?\nB : 아니요, 그네를 안 타요.\nA : 책을 읽어요?\nB : 아니요, 책을 안 읽어요.\nA : 뭘 해요?\nB : 텔레비전을 봐요.\nA : 빵을 먹어요?\nB : 아니요, 빵을 안 먹어요.\nA : 뭘 해요?\nB : 우유를 마셔요.\nA : 머리가 아파요?\nB : 네, 머리가 아파요.\nA : 목이 아파요?\nB : 아니요, 안 아파요.\n아빠하고 엄마는 청소를 해요.\n나는 청소를 안해요. 나는 속제를 해요.\n동생도 청소를 안 해요.\n동생은 그림을 그려요.\nคำศัพท์\n\n숙제해요\n청소해요\n세수해요\n요리해요\n목욕해요\n축구해요\n\nB : 아니요, 청소를 안 해요. 밥을 먹어요.\nA : 축구해요?\nB : 아니요, 축구를 안 해요. 수영을 해요.\n\n엄마, 목이 말라요. 물 주세요.\n엄마, 배가 고파요. 빵 주세요.\n\n\n수건\n휴지\n숟가락\n젓가락\n컵\n물\n치약\n칫솔\n\nB : 네, 잘 쳐요.\nA : 태권도를 잘해요?\nB : 아니요, 잘 못해요.\n\n태권도를 못해요.\n태권도를 잘 못해요.\n태권도를 잘해요.\n피아노를 못해요.\n피아노를 잘 못해요.\n피아노를 잘해요.\n\nB : 책상하고 침대가 있어요.\nA : 책상은 어디에 있어요?\nB : 챔대 옆에 있어요.\nA : 책은 어디에 있어요?\nB : 책상 위에 있어요.\nคำศัพท์\n\n위\n아래\n앞\n뒤\n옆\n\nB : 딸기 우유를 마시고 싶어요.\nA : 딸기 우유를 좋아해요?\nB : 네, 아주 좋아해요. 뭘 마시고 싶어요?\nA : 코코아를 마시고 싶어요. 코코아는 맛있어요.\nคำศัพท์\n\n수영을 하고 싶어요.\n자전거를 타고 싶어요.\n노래를 하고 싶어요.\n텔레비전을 보고 싶어요.\n우유를 마시고 싶어요.\n밥을 먹고 싶어요.\n책을 읽고 싶어요.\n\n아빠하고 나는 축구를 했어요.\n엄마하고 동생은 그림을 그렸어요.\nA : 어제 무엇을 했어요?\nB : 축구를 했어요.\nA : 어제 무엇을 했어요?\nB : 병원에 갔어요.\nA : 어제 어디에 갔어요?\nB : 공원에 갔어요.\nA : 공원에서 무엇을 했어요?\nB : 자전거를 탔어요.",
"role": "assistant"
}
] |