sysid
stringlengths 1
6
| title
stringlengths 8
870
| txt
stringlengths 0
257k
|
---|---|---|
549641 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ 8525 เกาะสมุย - อุทยานแห่งชาติเขาสก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ฉบับที่
๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ ๘๕๒๕ เกาะสมุย อุทยานแห่งชาติเขาสก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ ๘๕๒๕ เกาะสมุย - อุทยานแห่งชาติเขาสก โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๕๒๕ เกาะสมุย - อุทยานแห่งชาติเขาสก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอเกาะสมุย
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๖๙ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๗๔ ถึงท่าเทียบเรือท้องยาง
(อำเภอเกาะสมุย) ลงเรือข้ามฟาก ถึงท่าเรือดอนสัก แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๔๒ ถึงสามแยกบ้านในแยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑ ผ่านอำเภอกาญจนดิษฐ์ ถึงแยกบางกุ้ง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑ (เลี่ยงเมือง) ถึงแยกท่ากูบ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๗ ถึงสามแยกกองบิน แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี
สหกรณ์สุราษฎร์ธานี ถึงแยก กม. ๑๘ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑
ผ่านทางแยกเข้าอำเภอคีรีรัฐนิคม อำเภอบ้านตาขุน อำเภอพนม ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอุทยานแห่งชาติเขาสก
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
นิวัตน์
สวัสดิ์แก้ว
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๙๙/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549542 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ฉบับที่ 54 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ 8499 ตลาดเกษตร 1 - ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ฉบับที่
๕๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ ๘๔๙๙ ตลาดเกษตร ๑ ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สายที่ ๘๔๙๙ ตลาดเกษตร ๑ - ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๙๙ ตลาดเกษตร ๑ - ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดเกษตร
๑ ไปตามถนนตลาดใหม่ผ่านโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา ถึงแยกวัดโพธิ์ ตรงไปตามถนนศรีวิชัย ผ่านโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีถึงแยกท่ากูบ
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๗ ผ่านบ้านคลองน้อย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑ ถึงแยกท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี แยกขวาไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
นิวัตน์
สวัสดิ์แก้ว
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๙๘/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549534 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดลพบุรี ฉบับที่ 56 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 1 และหมวด 4 จังหวัดลพบุรี
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลพบุรี
ฉบับที่
๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๑ และหมวด ๔ จังหวัดลพบุรี[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลพบุรีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลพบุรี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุม ครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ และหมวด ๔ จังหวัดลพบุรี จำนวน ๑๔ เส้นทาง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
หมวด
๑ สายที่ ๑๘ ลพบุรี - ปศุสัตว์จังหวัดลพบุรี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณที่ทำการสหกรณ์จังหวัดลพบุรี
ไปตามถนนราชดำเนิน แยกซ้ายไปตามถนนสรศักดิ์ แยกซ้ายไปตามถนนประตูชัย แยกซ้ายไปตามถนนโกษาปานแยกขวาไปตามถนนรามเดโช
แยกซ้ายไปตามถนนซอยพญาอนุชิต แยกขวาไปตามถนนสีหราชเดโชชัยผ่านสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดลพบุรี
แยกขวาไปตามถนนนเรศวรมหาราช ถึงสะพาน ๓๓ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๙๖ ถึงโรงพยาบาลเบญจรมย์
แล้วกลับตามเส้นทางเดิม ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๙๖ แยกขวาไปตามถนนนารายณ์มหาราช
แยกขวาไปตามถนนสราญรมย์แยกซ้ายไปตามถนนพระโหราธิบดี แยกขวาไปตามถนนพระศรีมโหสถ แยกซ้ายไปตามถนนสีดาแยกซ้ายไปตามถนนพระปิยะ
แยกขวาไปตามถนนซอยเทพสตรี ๒ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณที่ทำการปศุสัตว์จังหวัดลพบุรี
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๓ ท่าวุ้ง - บางมะยม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอท่าวุ้ง
ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลขลบ. ๕๐๐๖ ผ่านบ้านท้ายลาด ตำบลบางลี่ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านบางมะยม
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๔ ลพบุรี - วัดสนามไชย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
ไปตามถนนพระราม ผ่านวัดพรหมมาสตร์วัดมะปรางหวาน วัดเทพกุญชรวราราม วัดอัมพวัน วัดสิงห์ทอง
วัดทองแท่ง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณวัดสนามไชย
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๕ ลำนารายณ์ - กม. ๑๒๐
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๑ ผ่านโรงเรียนนิคมลำนารายณ์ วัดตะเคียนคู่ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้าน
กม. ๑๒๐
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๖ ลพบุรี - บ้านกุ่ม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
ไปตามถนนคันคลองส่งน้ำชลประทาน ๑ ขวา ๒๑ ขวา ผ่านวัดสำราญ วัดบัว ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ลบ. ๕๐๒๑ผ่านวัดกระเจียว ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกุ่ม
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๗ ท่าขุนนาง - บ้านดงจำปา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
ไปตามถนนราชดำเนินแยกซ้ายไปตามถนนหน้าศาลพระกาฬ แยกขวาไปตามถนนนารายณ์มหาราช ผ่านวงเวียนศรีสุริโยทัยวงเวียนเทพสตรี
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ ผ่านบ้านหัวช้าง สี่แยกนิคมสร้างตนเองวัดใหม่จำปาทอง
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านดงจำปา
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๘ พัฒนานิคม - บ้านเขาขวาง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอพัฒนานิคม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๑๗ถึงซอย ๒๔ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ลบ. ๒๐๐๗
ผ่านบ้านเมืองเก่าโคกบ้าน บ้านโคกสลุงบ้านเขาเตียน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเขาขวาง
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๖๙ บ้านหมี่ - บ้านสระกระเบื้อง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบ้านหมี่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๕ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๙๖ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ลบ. ๔๐๓๗ ผ่านบ้านโคกสุข แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ลบ. ๕๐๖๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสระกระเบื้อง
ช่วงบ้านหมี่ - บ้านเขาสาริกา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบ้านหมี่ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๕
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๙๖ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ลบ. ๔๐๓๗ ถึงทางแยกบ้านเขาสาริกา
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ลบ. ๔๐๖๐ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเขาสาริกา
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๐ บ้านหมี่ - บ้านหนองโพธิ์
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบ้านหมี่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๕ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๙๖ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๓๕๔ ผ่านบ้านหนองกระเบียน ถึงทางแยกบ้านหนองโพธิ์ แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่นไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองโพธิ์
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๑ ท่าขุนนาง - บ้านสะพานอิฐ
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
ไปตามถนนพระรามแยกขวาไปตามถนนวิชาเยนทร์ แยกซ้ายไปตามถนนสุรสงคราม ผ่านสี่แยกท่าโพธิ์
ตรงไปตามถนนบ้านป้อมผ่านวัดป่าธรรมโสภณ วัดตองปุ แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านท่ากระยาง
โรงเรียนสาริมานอุปถัมภ์ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสะพานอิฐ
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสะพานอิฐ
ไปตามทางหลวงท้องถิ่นผ่านโรงเรียนสาริมานอุปถัมภ์ บ้านท่ากระยาง วัดตองปุ แยกขวาไปตามถนนบ้านป้อม
ผ่านวัดป่าธรรมโสภณถึงสี่แยกท่าโพธิ์ แยกซ้ายไปตามถนนปรางค์สามยอด แยกขวาไปตามถนนวิชาเยนทร์
แยกซ้ายไปตามถนนสุรสงคราม แยกขวาไปตามถนนราชดำเนิน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๒ ลำนารายณ์ - บ้านซับนารี
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๑ ผ่านบ้านหนองผักชี บ้านเขาหน้าตัด แยกขวาไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านโกรกรกฟ้า
ศูนย์ฝึกยุทธวิธีกองทัพบก แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านซับนารี
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๓ ลพบุรี - วัดพยัคฆาราม - ท่าวุ้ง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑ ผ่านโรงเรียนบ้านสามเรือน วัดสิงห์ทอง ถึงทางแยกเข้าวัดสนามไชย
แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ถึงวัดสนามไชย แยกขวาไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านคลองโพธิ์
บ้านปากคลองวัดพยัคฆาราม ไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านตะขบ วัดท่าราบ วัดภิญโญ ถึงโรงเรียนท่าวุ้งวิทยาคารแยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๑๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอท่าวุ้ง
ช่วงลพบุรี - บ้านลาดสาลี่
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑
ผ่านโรงเรียนบ้านสามเรือน วัดสิงห์ทอง ถึงทางแยกเข้าวัดสนามไชยแยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น
ถึงวัดสนามไชย แยกขวาไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านคลองโพธิ์บ้านปากคลอง ถึงวัดพยัคฆาราม
แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านลาดสาลี่
ช่วงลพบุรี - วัดสิงห์ทอง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนาง ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑
ผ่านโรงเรียนบ้านสามเรือน วัดโพธิ์ระหัต แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่นไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดสิงห์ทอง
ช่วงลพบุรี - โรงเรียนบ้านดอนทอง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าขุนนางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๑
ถึงโพตลาดแก้ว แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านวัดสนามไชยแยกขวาไปตามทางหลวงท้องถิ่น
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณโรงเรียนบ้านดอนทอง
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๔ โคกสำโรง - ลำนารายณ์
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโคกสำโรง ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๐๕ ผ่านบ้านเพนียด ถึงบ้านวังเพลิง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๒๖ ผ่านบ้านเกาะรี
บ้านห้วยเขว้า ถึงบ้านสระโบสถ์ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๒๑ ผ่านบ้านวังแขม
บ้านดงหลุ่ม บ้านซับตะกั่ว บ้านโป่งสามหัว บ้านใหม่สามัคคี แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์
ช่วงโคกสำโรง - สระโบสถ์
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโคกสำโรง ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๕ ผ่านบ้านเพนียด
ถึงบ้านวังเพลิง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๒๖ ผ่านบ้านเกาะรี บ้านห้วยเขว้า
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสระโบสถ์
ช่วงโคกสำโรง - ทุ่งท่าช้าง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโคกสำโรง ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๕ ผ่านบ้านเพนียด
ถึงบ้านวังเพลิง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๒๖ ผ่านบ้านเกาะรี บ้านห้วยเขว้า
ถึงบ้านสระโบสถ์ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ลบ. ๔๐๐๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านทุ่งท่าช้าง
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๗๕ ลำนารายณ์ - บ้านทุ่งดินแดง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓
ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ ผ่านบ้านหัวลำ ไปถึงทางแยกเข้าบ้านทุ่งดินแดง แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านทุ่งดินแดง
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านซับเค้าแมว เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร ถึงทางแยกเข้าบ้านซับเค้าแมว แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านซับเค้าแมว
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านหนองกระสังข์
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร ถึงทางแยกเข้าบ้านหนองกระสังข์
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองกระสังข์
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านวังอ่าง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ ถึงทางแยกเข้าบ้านวังอ่าง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านวังอ่าง
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านเขาตะแคง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ ถึงทางแยกเข้าบ้านเขาตะแคง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเขาตะแคง
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านทรัพย์ยาง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ ถึงทางแยกเข้าบ้านทรัพย์ยาง
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านทรัพย์ยาง
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านเขาใหญ่
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ ถึงบ้านหัวลำ
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเขาใหญ่
ช่วงลำนารายณ์ - บ้านเขาโป่งสวอง เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารลำนารายณ์
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๘๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๗๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๔๓ ผ่านวัดคลองไทร วัดลำพญาไม้ บ้านหัวลำ ถึงทางแยกเข้าบ้านเขาโป่งสวอง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเขาโป่งสวอง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุวัฒน์
ตันติพัฒน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลพบุรี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๕
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๙๒/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549526 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดยะลา ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยะลา
ฉบับที่
๑๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยะลาได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยะลา ในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางในการประชุมครั้งที่
๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงได้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดยะลา จำนวน ๒ เส้นทาง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
หมวด
๔ สายที่ ๘๔๙๗ ยะลา - บ้านพรุ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๘๒ ถึงสามแยกบ้านโต๊ะปาเก๊ะ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๗๑ ผ่านบ้านวังพญา บ้านซาเมาะ - บ้านท่าธง ถึงบ้านซาเมาะ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท
ผ่านบ้านกาบู ผ่านอำเภอรามันไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๙๒ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านพรุ
ช่วงยะลา - บ้านแบหอ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๘๒ ถึงสามแยกบ้านโต๊ะปาเก๊ะ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๗๑ ผ่านบ้านไม้แก่น ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๖๗ ผ่านบ้านตาเนาะมือเราะ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแบหอ
ช่วงยะลา - บ้านท่าธง เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๘๒ ถึงสามแยกบ้านโต๊ะปาเก๊ะ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๗๑ ผ่านบ้านวังพญา ไปตามทางหลวงชนบท (อบจ. ๖๒๐๕) ผ่านบ้านซาเมาะ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านท่าธง
หมวด
๔ สายที่ ๘๔๙๘ ยะลา - ยะหา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐ไปถึงอำเภอบันนังสตา แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๗๗ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอยะหา
ช่วงยะลา - บ้านสะเอะ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐ ถึงทางแยกกรงปินัง แยกขวาไปตามถนนกรงปินัง - สะเอะ
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสะเอะ
ช่วงยะลา - บ้านหาดทราย เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐ ไปถึงแยกตะปิงติงงี แยกซ้ายไปตามถนนตะปิงติงงี
บ้านซากอไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหาดทราย
ช่วงยะลา - เขื่อนบางลาง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดยะลา ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐
ถึงอำเภอบันนังสตา กม. ที่ ๔๖ แยกซ้ายไปตามถนนศรีบางลางไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเขื่อนบางลาง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ธีระ
มินทราศักดิ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยะลา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๕
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๙๐/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549522 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดยะลา ฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยะลา
ฉบับที่
๑๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยะลาได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยะลา ในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางในการประชุมครั้งที่
๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงได้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดยะลา จำนวน ๒ เส้นทาง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่
๑ ชุมชนบ้านกุนุงจนอง - หมู่บ้านแกรนด์วิลล่า
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางชุมชนบ้านกุนุงจนอง
ไปตามถนนกุนุงจนองผ่านโรงเรียนคอยรียะห์วิทยา ตรงไปตามถนนกุนุงจนอง แยกขวาไปตามถนนสุขยางค์
ผ่านที่ว่าการอำเภอเบตงแยกซ้ายไปตามถนนกาแป๊ะกอตอนอก ผ่านชุมชนบ้านจาเราะกางอ โรงเรียนดรุณวิทยา
ถึงชุมชนบ้านกาแป๊ะกอตอนอก แยกซ้ายไปตามถนนกาแป๊ะกอตอ ถึงศูนย์การกีฬากาญจนาภิเษก ไปตามถนนธรรมวิถี
แยกขวาไปตามถนนฉายาชวลิต แยกขวาลอดอุโมงค์เบตงมงคลฤทธิ์ ไปตามถนนมงคลประจักษ์ไปสิ้นสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหมู่บ้านแกรนด์วิลล่า
ช่วงชุมชนบ้านกุนุงจนอง - โรงเรียนเบตงวีระราษฎร์ประสาน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางชุมชนบ้านกุนุงจนอง ไปตามถนนกุนุงจนอง ผ่านโรงเรียนคอยรียะห์วิทยา
แยกซ้ายไปตามถนนประชาธิปัตย์ ไปสิ้นสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหน้าโรงเรียนเบตงวีระราษฎร์ประสาน
สายที่
๒ วงกลมโรงพยาบาลเบตง - ตลาดสดเทศบาลเบตง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณโรงพยาบาลเบตง
ตรงไปตามถนนรัตนกิจถึงแยกหอนาฬิกา ตรงไปตามถนนสุขยางค์ ถึงเทศบาลตำบลเบตง แยกขวาไปตามถนนรัตนเสถียรผ่านถนนสฤษดิ์เดช
แยกซ้ายไปตามถนนจันทรโรทัย ผ่านตลาดสดเทศบาลเบตง แยกขวาไปตามถนนจิรจินดาแยกซ้ายไปตามถนนสุขยางค์
ถึงกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๔๕ แล้ววกกลับเส้นทางเดิมตรงไปตามถนนสุขยางค์ แยกซ้ายไปตามถนนตัณฑ์วีระ
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณโรงพยาบาลเบตง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ธีระ
มินทราศักดิ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยะลา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๕
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๘๘/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549518 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ฉบับที่
๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอนได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กเดิมที่จะยกเลิกต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในการประชุมครั้งที่
๓/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน ๖ เส้นทางโดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่
๒๔๕๐ ชื่อเส้นทาง แม่ฮ่องสอน - ปาย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ ผ่านทางแยกบ้านปางหมู วนอุทยานแห่งชาติถ้ำปลา บ้านห้วยผา
ทางแยกบ้านนาปลาจาดบ้านแม่สุยะ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปาย
ช่วงแม่ฮ่องสอน - บ้านปางหมู
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๙๕ ถึงทางแยกบ้านปางหมู แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่นไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านปางหมู
ช่วงแม่ฮ่องสอน - บ้านในสอย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๙๕ ผ่านทางแยกบ้านปางหมู ถึงทางแยกบ้านในสอย แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านในสอย
ช่วงแม่ฮ่องสอน - บ้านห้วยขาน เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๙๕ ผ่านทางแยกบ้านปางหมู ทางแยกบ้านในสอย ถึงทางแยกบ้านหมอกจำแป่ แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านห้วยขาน
สายที่
๒๔๕๑ ชื่อเส้นทาง แม่ฮ่องสอน - ขุนยวม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘ ผ่านบ้านป่าปุ๊ บ้านผาบ่อง บ้านห้วยโป่งกาน ทางแยกบ้านกลาง
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอขุมยวม
ช่วงแม่ฮ่องสอน - บ้านห้วยเดื่อ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๘ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒๕๐ ผ่านบ้านไม้แงะแยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านห้วยเดื่อ
ช่วงแม่ฮ่องสอน - บ้านกลาง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๘ ผ่านบ้านป่าปุ๊ บ้านผาบ่อง บ้านห้วยโป่งกาน แยกขวาไปตามถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนหมายเลข
มส. ๔๐๐๑ ผ่านบ้านไม้ซางหนามเหนือบ้านไม้ซางหนามใต้ บ้านป่าลาน บ้านทุ่งมะกอก บ้านไม้ฮุง
บ้านแก่นฟ้า ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกลาง
สายที่
๒๔๕๒ ชื่อเส้นทาง แม่สะเรียง - ขุนยวม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่สะเรียง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘ ผ่านบ้านแพะ บ้านแม่เตี๋ย บ้านท่าผาปุ้ม บ้านทุ่งรวงทอง
อำเภอแม่ลาน้อย บ้านแม่ลาหลวง บ้านหนองแห้ง บ้านท่าหินส้ม บ้านหางปอน บ้านเมืองปอน
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอขุมยวม
ช่วงแม่สะเรียง - บ้านกองก๋อย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่สะเรียงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘
ผ่านบ้านแม่เหาะ ถึงบ้านห้วยกุ้ง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข มส. ๓๐๐๕ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกองก๋อย
ช่วงแม่สะเรียง - บ้านแม่คะตวน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่สะเรียงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๕
ผ่านบ้านทุ่งพร้าว บ้านไร่ บ้านหนองผักหนาม บ้านหนองแม่ละ บ้านผาผ่า บ้านแม่เกาะ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
มส. ๓๐๐๔ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่คะตวน
ช่วงแม่สะเรียง - บ้านแม่สามแลบ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่สะเรียงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๙๔
ผ่านบ้านน้ำดิบ บ้านห้วยวอก บ้านทุ่งแพม บ้านห้วยทราย บ้านหนองกระต่าย บ้านห้วยโผ บ้านห้วยกองก้าด
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่สามแลบ
ช่วงแม่สะเรียง - บ้านแม่สุ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่สะเรียง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘ ผ่านบ้านแม่เตี๋ย บ้านท่าผาปุ้ม อำเภอแม่ลาน้อย ถึงทางแยกบ้านแม่สุแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
มส. ๓๐๐๘ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่สุ
สายที่
๒๔๕๓ ชื่อเส้นทาง แม่ลาน้อย - บ้านละอูบ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่ลาน้อย
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒๖๖ ผ่านบ้านป่าหมาก
บ้านห้วยหมากหนุน บ้านแม่สะกั๊วะ บ้านแม่งะ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านละอูบ
ช่วงแม่ลาน้อย - บ้านแม่โถกลาง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่ลาน้อยไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘
ผ่านบ้านแม่ลาหลวง แยกขวาไปตามถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนหมายเลข มส. ๔๐๐๙
ผ่านบ้านห้วยไม้ซาง บ้านแม่โถใต้ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่โถกลาง
สายที่
๒๔๕๔ ชื่อเส้นทาง ขุนยวม - บ้านหนองแห้ง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอขุนยวม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘ ผ่านบ้านเมืองปอน บ้านหางปอน บ้านท่าหินส้ม ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองแห้ง
ช่วงขุนยวม - บ้านแม่สะเป่เหนือ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอแม่ขุนยวมไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข มส. ๓๐๐๗ ผ่านบ้านแม่สะเป่ใต้ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่สะเป่เหนือ
ช่วงขุนยวม - บ้านหัวปอน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอขุนยวม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๘
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒๖๓ ผ่านบ้านพัฒนาปูกู บ้านใหม่พัฒนา บ้านนางิ้ว
บ้านแม่ยวมหลวง บ้านคำสุข แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข มส. ๔๐๐๒ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหัวปอน
ช่วงขุนยวม - บ้านนาหัวแหลม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอขุนยวมไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข มส. ๓๐๐๗
ผ่านบ้านต่อแพ บ้านประตูเมือง บ้านสวนอ้อย บ้านห้วยนา บ้านแม่เงา ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาหัวแหลม
สายที่
๒๔๕๕ ชื่อเส้นทาง ปาย - บ้านหมอแปง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปาย ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๙๕ ผ่านบ้านแม่นาเติงนอก ถึงบ้านแม่นาเติงใน แยกซ้ายไปตามถนนองค์การบริหารส่วนตำบลแม่นาเติงหมายเลข
มส. ๓๐๘๔ ผ่านบ้านม่วงสร้อย ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหมอแปง
ช่วงปาย - บ้านเมืองแปง เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปาย
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ ผ่านบ้านตีนธาตุ บ้านท่าปาย บ้านแม่ปิง แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๒๖๕ ผ่านเหมืองแร่ฟลูออไรด์ แยกขวาไปตามถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนหมายเลข
มส. ๔๐๑๓ ผ่านบ้านสบสา บ้านใหม่ดอนตัน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเมืองแปง
ช่วงปาย - บ้านทุ่งยาวใต้
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปาย ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ แยกซ้ายไปตามถนนองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งยาวหมายเลข
มส. ๔๐๘๐ ผ่านบ้านกุงแกง บ้านทุ่งโป่ง บ้านทุ่งยาวเหนือ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านทุ่งยาวใต้
ช่วงปาย - บ้านตาลเจ็ดต้น เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปาย
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ ถึงบ้านห้วยปู แยกขวาไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านศรีดอนชัยไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านตาลเจ็ดต้น
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
ดิเรก
ก้อนกลีบ
ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๕
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๖ ง/หน้า ๑๘๔/๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549445 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง การจัดตั้งสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสมุทรสาคร
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
การจัดตั้งสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสมุทรสาคร[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑๕ วรรคห้า
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมจัดตั้งสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสมุทรสาครในที่ดินตามโฉนดเลขที่
๙๕๑๗๖ ตำบลท่าจีน อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เนื้อที่ ๗ ไร่ โดยมีแนวเขตตามแผนที่แนบท้ายประกาศนี้
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐
สรรเสริญ
วงศ์ชะอุ่ม
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ผังสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสมุทรสาคร
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๖๒ ง/หน้า ๒/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549438 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง การจัดให้มีสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดน่าน
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
การจัดให้มีสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดน่าน[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑๕ วรรคห้า
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมจัดให้มีสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดน่าน
ในบริเวณที่ดินตามโฉนดเลขที่ ๔๐๕๔, ๔๐๕๕, ๔๐๕๖,
๔๐๕๗, ๔๓๙๓ และ ๔๙๗๔ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
เนื้อที่ ๖ - ๑ - ๒๒ ไร่ โดยมีแนวเขตตามแผนที่แนบท้ายประกาศนี้
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
สรรเสริญ
วงศ์ชะอุ่ม
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ผังสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดน่าน
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๖๒ ง/หน้า ๑/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
549431 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1802 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด 2 สายที่ 9905 กรุงเทพฯ (จตุจักร) - เมืองพัทยา (ข) ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงกรุงเทพฯ (จตุจักร) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ - เมืองพัทยา เพิ่มขึ้นอีก 1 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๘๐๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๒ สายที่ ๙๙๐๕ กรุงเทพฯ (จตุจักร) - เมืองพัทยา (ข)
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยก
ช่วงกรุงเทพฯ
(จตุจักร) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ - เมืองพัทยา
เพิ่มขึ้นอีก
๑ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๕๙๕ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๒ สายที่ ๙๙๐๕ กรุงเทพฯ (หมอชิต)
- เมืองพัทยา (ข) เป็น กรุงเทพฯ (จตุจักร) - เมืองพัทยา (ข)
และให้มีเส้นทางการเดินรถให้บริการถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๒ สายที่ ๙๙๐๕ กรุงเทพฯ (จตุจักร)
- เมืองพัทยา (ข) ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงกรุงเทพฯ (จตุจักร) -
สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ - เมืองพัทยา โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่ ๙๙๐๕ กรุงเทพฯ (จตุจักร) - เมืองพัทยา (ข)
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร
(จตุจักร) ขึ้นทางด่วน (ทางพิเศษศรีรัช) ที่ด่านบางซื่อ (ถนนกำแพงเพชร ๒)
ลงทางด่วนตรงไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗ ถึง กม.ที่ ๑๒.๗
แยกขวาไปตามทางเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
แล้วกลับตามเส้นทางเดิม แยกขวาไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗ ถึงทางต่างระดับบางพระ
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๗ (ตอนชลบุรี - พัทยา) ถึงแหลมฉบัง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเมืองพัทยา (หาดจอมเทียน)
ช่วงกรุงเทพฯ
(จตุจักร) - สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ - เมืองพัทยา
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ขึ้นทางด่วน (ทางพิเศษศรีรัช)
ที่ด่านบางซื่อ (ถนนกำแพงเพชร ๒)
ลงทางด่วนตรงไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗ ถึง กม. ที่
๑๒.๗ แยกขวาไปตามทางเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
แล้วกลับตามเส้นทางเดิม แยกขวาไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗
แยกขวาไปตามถนนเครือสหพัฒน์ แยกซ้ายไปตามถนนแหลมทอง แยกซ้ายไปตามถนนเมืองใหม่ ๑
ถึงแยกวัดบ้านนา แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเมืองพัทยา (หาดจอมเทียน)
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
มิถุนายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๔ ง/หน้า ๑๖๔/๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
548687 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1801 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) แก้ไขรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 3 สายที่ 196 แพร่ - อำเภอปง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๘๐๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) แก้ไขรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๓ สายที่ ๑๙๖ แพร่ - อำเภอปง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๗๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๔) ประกาศ ณ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๓๔ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๓ สายที่ ๑๙๖ แพร่ - อำเภอปง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางเห็นสมควรให้ปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงในปัจจุบัน
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางที่ได้รับอนุมัติในหลักการไว้แล้วในการประชุมครั้งที่
๑๕/๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) แก้ไขรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๓ สายที่ ๑๙๖ แพร่ - อำเภอปง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่ ๑๙๖ แพร่ - อำเภอปง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดแพร่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๑ ถึงบ้านปากทาง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๓ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๕๔ ผ่านอำเภอสอง
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๒๐ ผ่านตำบลสระเอียบ ถึงอำเภอเชียงม่วน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๑ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปง
ช่วงแพร่
- บ้านนาหลวง เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดแพร่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๐๑ ถึงบ้านปากทาง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๑๐๓ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๕๔ ผ่านอำเภอสอง บ้านป่าแดง
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๒๐ ผ่านบ้านดอนแก้ว (ตำบลสระเอียบ) บ้านดอนชัย
บ้านแม่เต้น แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ๔๐๒๐ ผ่านบ้านนาฝาย ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาหลวง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
โสรศ/ผู้จัดทำ
๒๕
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๔๒ ง/หน้า ๑๘๓/๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543988 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 90 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๙๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๒๑ บางเลน - วัดมะเกลือ
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๕ เมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๕
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๗
วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๑๔ บางเลน - วัดมะเกลือ
และให้มีเส้นทางแยกช่วงบางเลน - สถานีอนามัยสว่างอารมย์ และช่วงบางเลน -
ตลาดห้วยพลู โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๑๔ บางเลน - วัดมะเกลือ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดบางเลน
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๖ แยกขวาไปตามถนนลำพญา แยกขวาไปบ้านบ่อทราย
ผ่านวัดเวฬุวนาราม ตลาดลำพญาวัดนราภิรมย์ สามแยกคลองเจ้า ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดมะเกลือ
ช่วงบางเลน
- สถานีอนามัยสว่างอารมย์
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดบางเลนแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๔๖ แยกขวาไปตามถนนลำพญา แยกขวาไปบ้านบ่อทรายผ่านวัดเวฬุวนาราม
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านวัดพระอมรพิสัย ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางสถานีอนามัยสว่างอารมย์
ช่วงบางเลน
- ตลาดห้วยพลู
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดบางเลนแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๔๖ แยกขวาไปตามถนนลำพญา แยกขวาไปบ้านบ่อทรายผ่านวัดเวฬุวนาราม ตลาดลำพญา
วัดนราภิรมย์ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ผ่านวัดพุทธรรมรังษีไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดห้วยพลู
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๙/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543981 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 89 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๒๔ ตลาดอำเภอสามพราน -
บ้านบางประแดง และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๕ ตลาดอำเภอสามพราน - บ้านบางประแดง
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๘๕ ตลาดอำเภอสามพราน - บ้านบางประแดง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอสามพราน
ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นฐ. ๑๐๓๔ ผ่านวัดบางช้างเหนือ วัดบางช้างใต้
โรงเรียนบางม่วง แยกซ้ายไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านบางประแดง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๘/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543967 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 88 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๑๖ นครปฐม - ห้วยพลู
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๔ นครปฐม - ห้วยพลู โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่ ๘๔๘๔ นครปฐม - ห้วยพลู
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณถนนพญาพาน
ไปตามถนนพญาพานแยกขวาไปตามถนนทหารบก ตรงไปตามถนนหน้าพระ แยกซ้ายไปตามถนนเทศา
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) แยกซ้ายไปตามถนน อบจ. นฐ. ๐๐๔๕
(สายบ้านหลังวัดศรีษะทอง - บ้านทุ่งแหลมบัว) ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นฐ. ๑๐๑๒
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๓๓ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นฐ. ๒๐๓๓
ผ่านบ้านกกตาล งิ้วราย วัดสำโรง บางกะอุ่น คลองมอญ ดอนแฝก แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๒๓๓ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดห้วยพลู
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๗/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543957 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 87 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๑๕ นครปฐม - บางแขม -
วัดดอนเสาเกียด และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๓ นครปฐม - บางแขม - วัดดอนเสาเกียด
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๘๓ นครปฐม - บางแขม - วัดดอนเสาเกียด
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณถนนหลังพระ
แยกขวาไปตามถนนพญากงแยกขวาไปตามถนนหน้าพระ แยกขวาไปตามถนนขวาพระ
ตรงไปตามถนนราชวิถี แยกซ้ายไปตามถนนยิงเป้า ถึงสี่แยกหนองขาหยั่ง
ตรงไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นฐ. ๔๐๒๑ (ถนนยิงเป้าใต้) ผ่านโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
บ้านหนองขาหยั่ง บ้านทุ่งต้นไทร วัดดอนเสาเกียด บ้านหัวบ้าน บ้านบางแขม
บ้านหัวไผ่แหลม บ้านคันไผ่ บ้านวังเย็น บ้านบางทองหลาง วัดบางแขม บ้านศรีษะคู้ บ้านหัวไผ่
วัดลาดปลาเค้า แยกขวาไปตามถนนเพชรเกษม แยกซ้ายไปตามถนนเพชรเกษมสายใน (ถนนทรงพล)
ถึงสามแยกมาลัยแมน ตรงไปตามถนนทรงพล ถนนราชวิถี
แยกซ้ายไปตามถนนหลังพระไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณถนนหลังพระ
(วนซ้าย - วนขวา)
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๖/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543947 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 86 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๑๓ นครปฐม - พะเนียงแตก - มาบแค
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๒ นครปฐม - พะเนียงแตก - มาบแค
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๘๒ นครปฐม - พะเนียงแตก - มาบแค
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดนครปฐม
แยกซ้ายไปตามถนนทหารบกแยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๓๖ (ถนนเศรษฐวิถี)
แยกขวาไปตามถนนพะเนียงแตกวนซ้าย แยกขวาผ่านบ้านอุทัย แยกขวาไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณโรงเรียนมาบแค
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๕/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543937 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 85 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควร กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๑๐ วัดธรรมศาลา - ตลาดนครปฐม
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๑ วัดธรรมศาลา - ตลาดนครปฐม
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๘๑ วัดธรรมศาลา - ตลาดนครปฐม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตำบลธรรมศาลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
โรงพยาบาลนครปฐมจนถึงแยกโพธิ์ทอง แยกซ้ายไปตามถนนรอบองค์พระปฐมเจดีย์
สุดถนนแยกขวาไปตามถนนพญากงไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดนครปฐม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๔/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543906 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 84 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก สายที่ ๗๒๐๐๙ นครปฐม -
สำนักงานขนส่งจังหวัดนครปฐม และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม
ในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๘๐ นครปฐม - สำนักงานขนส่งจังหวัดนครปฐม
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๘๐ นครปฐม - สำนักงานขนส่งจังหวัดนครปฐม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดนครปฐม
ไปตามถนนซ้ายพระแยกซ้ายไปตามถนนหลังพระ แยกขวาไปตามถนนราชวิถี ถึงสามแยกมาลัยแมน
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๑ (ถนนมาลัยแมน) ผ่านมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสำนักงานขนส่งจังหวัดนครปฐม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๓/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543896 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 83 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๓ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควร กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๐๕ บางเลน - วัดบางน้อยใน
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๗๙ บางเลน - วัดบางน้อยใน
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๔๗๙ บางเลน - วัดบางน้อยใน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบางเลน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๕๑ (ถนนสายบางเลน - บางน้อยใน) ผ่านแยกศิลามูล
บ้านบางหลวง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดบางน้อยใน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๒/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543877 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 82 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก สายที่ ๗๒๐๐๔ บางเลน - วัดบางภาษี
และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙
วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๔๗๘ บางเลน - วัดบางภาษี โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่ ๘๔๗๘ บางเลน - วัดบางภาษี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบางเลน
ไปตามถนนสายบางหลวง - บางระกำ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๖
(ถนนสายบางเลน - ลาดหลุมแก้ว) แยกขวาไปตามถนนสายบางเลน - วัดบางภาษี
ผ่านวัดเกษมสุริยัมนาจ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณวัดบางภาษี
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๙๑/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543868 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 81 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กสายที่ ๗๒๐๒๙ สถานีรถไฟงิ้วราย -
ปากซอยดาวทอง และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๒๐/๒๕๔๙ วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดนครปฐม สายที่
๘๕๐๐ สถานีรถไฟงิ้วราย - หมู่บ้านพฤกษา ๔ (ซอย ๕๑) - ตลาดศาลายา
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่ ๘๕๐๐ สถานีรถไฟงิ้วราย - หมู่บ้านพฤกษา ๔ (ซอย
๕๑) - ตลาดศาลายา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสถานีรถไฟงิ้วราย
ไปตามทางหลวงชนบทแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทสายนครชัยศรี - ศาลายา
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ถึงบ้านลานตากฟ้าแยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ถึงหมู่บ้านพฤกษา
๔ แยกขวาไปตามทางสาธารณประโยชน์ในหมู่บ้านข้ามสะพาน แยกขวาไปถึงซอย ๕๑
กลับตามเส้นทางเดิมออกจากหมู่บ้าน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทถึงปากซอยดาวทอง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท
สายบ้านศาลายา - วัดมะเกลือ ผ่านสนามกอล์ฟรอยัลเจมส์ ถึงปากซอยศาลายา ๕/๘
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลศาลายาถึงกิโลเมตรที่ ๒.๙
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ถึงสะพานกรมทางหลวงชนบท พ.ศ. ๒๕๔๖ แยกซ้ายข้ามสะพานไปตามทางหลวงชนบท
(เส้นทางลัดพุทธมณฑลสาย ๕) ผ่านโรงพยาบาลศาลายาแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นฐ
๔๐๐๖ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดศาลายา
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๘๙/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543858 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 80 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดนครปฐม สายที่ 8335 บ้านคลองยม - สามพราน เป็น บ้านคลองยม - ปากซอยเพชรเกษม 130 - ตลาดหมู่บ้านสามพราน
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๘๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๓๓๕ บ้านคลองยม - สามพราน
เป็น
บ้านคลองยม - ปากซอยเพชรเกษม ๑๓๐ - ตลาดหมู่บ้านสามพราน[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
กำหนดเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๓๓๕ บ้านคลองยม - สามพรานขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๔/๒๕๔๘ วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๘
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
จึงให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๓๓๕ บ้านคลองยม - สามพราน เป็น บ้านคลองยม - ปากซอยเพชรเกษม
๑๓๐ - ตลาดหมู่บ้านสามพราน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้ คือ
สายที่ ๘๓๓๕ บ้านคลองยม - ปากซอยเพชรเกษม ๑๓๐ -
ตลาดหมู่บ้านสามพราน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๖ ผ่านบ้านคลองบางเตย บ้านคลองบางกระทึก วัดดอนหวาย
วัดท่าพูด แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท (ถนนประชาร่วมใจ)
ผ่านคลองรัดตะเข้ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขากระทุ่มแบน ๒ ถึงปากซอยเพชรเกษม ๑๓๐
(ซอยอัครภัทร) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔
ไปกลับรถใต้สะพานอ้อมน้อยผ่านวัดอ้อมน้อย ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดหมู่บ้านสามพราน
ช่วงบ้านคลองยม
- สามพราน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยมไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๖
ผ่านบ้านคลองบางเตย บ้านคลองบางกระทึก วัดดอนหวาย วัดท่าพูด วัดไร่ขิง
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านโรงเรียน
ภปร.ราชวิทยาลัยแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๘
ผ่านโรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพราน แยกขวาไปตามถนนสุขาภิบาล ๑ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอสามพราน
ช่วงบ้านคลองยม
- วัดไร่ขิง - ตลาดหมู่บ้านสามพราน เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๖ ผ่านบ้านคลองบางเตย บ้านคลองบางกระทึก วัดดอนหวาย
วัดท่าพูด วัดไร่ขิง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔
ผ่านสวนสามพรานโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดหมู่บ้านสามพราน
ช่วงบ้านคลองยม
- ถ.พุทธมณฑลสาย ๗ - สามพราน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยม แยกขวาไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข
๓๓๘ ข้ามสะพานแม่น้ำนครชัยศรีแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๕
(ถนนพุทธมณฑลสาย ๗) แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านโรงเรียน
ภปร.ราชวิทยาลัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๘
ผ่านโรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพราน แยกขวาไปตามถนนสุขาภิบาล ๑ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอสามพราน
ช่วงบ้านคลองยม
- วัดทรงคนอง - สามพราน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยม แยกขวาไปตามทางหลวงพิเศษหมายเลข
๓๓๘ ข้ามสะพานแม่น้ำนครชัยศรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๕
(ถนนพุทธมณฑลสาย ๗) แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทผ่านวัดทรงคนอง บ้านท่าตลาด
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๕ (ถนนพุทธมณฑล สาย ๗)
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านโรงเรียน ภปร.ราชวิทยาลัย
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๘ ผ่านโรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพราน
แยกขวาไปตามถนนสุขาภิบาล ๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอสามพราน
ช่วงบ้านคลองยม
- ซ.สุขาภิบาลอ้อมใหญ่ ๘ - ปากซอยพงษ์ศิริชัย ๓ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองยม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๖ ผ่านบ้านคลองบางเตยบ้านคลองบางกระทึก วัดดอนหวาย
วัดท่าพูด แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท (ถนนประชาร่วมใจ) ถึงคลองรัดตะเข้
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท (ถนนสุขาภิบาลอ้อมใหญ่ ๘) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔ ผ่านตลาดหมู่บ้านสามพราน ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณปากซอยพงษ์ศิริชัย ๓
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๘๖/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543852 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ฉบับที่ 79 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดนครปฐม สายที่ 8268 กิ่ง อ.พุทธมณฑล (บ้านศาลายา) - บ้านห้วยพลู เป็น ตลาดศาลายา - หมู่บ้านพฤกษา 4 (ซอย 51) - บ้านห้วยพลู
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่
๗๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๒๖๘ กิ่ง อ.พุทธมณฑล (บ้านศาลายา) - บ้านห้วยพลู
เป็น
ตลาดศาลายา - หมู่บ้านพฤกษา ๔ (ซอย ๕๑) - บ้านห้วยพลู[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม
ฉบับที่ ๖๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙) ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙
กำหนดเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๒๖๘ กิ่ง อ.พุทธมณฑล (บ้านศาลายา)
- บ้านห้วยพลู ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐมได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครปฐม ในการประชุม ครั้งที่
๑/๒๕๔๙ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
จึงให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดนครปฐม สายที่ ๘๒๖๘ กิ่ง อ.พุทธมณฑล (บ้านศาลายา) - บ้านห้วยพลู เป็น
ตลาดศาลายา - หมู่บ้านพฤกษา ๔ (ซอย ๕๑) - บ้านห้วยพลู
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้ คือ
สายที่ ๘๒๖๘ ตลาดศาลายา - หมู่บ้านพฤกษา ๔ (ซอย ๕๑) -
บ้านห้วยพลู
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดศาลายา
ไปตามทางหลวงชนบทสายบ้านศาลายา - วัดมะเกลือ ถึงปากซอยดาวทอง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านแยกโรงเรียนบ้านคลองโยง ถึงหมู่บ้านพฤกษา ๔
แยกซ้ายไปตามทางสาธารณประโยชน์ในหมู่บ้านข้ามสะพาน แยกขวาไปถึงซอย ๕๑
กลับตามเส้นทางเดิมออกจากหมู่บ้าน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ถึงบ้านลานตากฟ้าแยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านคลองบางกระจัน
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๓๓ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านห้วยพลู
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ปรีชา
บุตรศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครปฐม
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๘๔/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543850 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพัทลุง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2550) เรื่อง การกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดพัทลุง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพัทลุง
ฉบับที่
๕๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
การกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดพัทลุง[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพัทลุงได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
เพื่อทดแทนรถขนาดเล็กที่จะยกเลิกต่อไป โดยเส้นทางที่กำหนดยังคงมีรายละเอียดตามแนวเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กเดิม
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพัทลุง ในการประชุม ครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙
จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดพัทลุง จำนวน
๑๑ เส้นทาง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้ คือ
สายที่ ๘๕๒๖ ควนขนุน - บ้านตะแพน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอควนขนุน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๘๗ ถึงสี่แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๖๔ ผ่านจุดจอดหลักกิโลเมตรที่ ๗ หลักกิโลเมตรที่
๑๒ อำเภอศรีบรรพต บ้านเขาปู่ แยกซ้ายผ่านบ้านไสประดู่ บ้านท่ายูง ไปจนสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านตะแพน
สายที่ ๘๕๒๗ แม่ขรี - กงหรา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่ขรี
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๑ ผ่านที่ว่าการอำเภอตะโหมด ถึงสามแยกกิโลเมตรที่ ๔
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๑ ผ่านบ้านควนอินนอโม ถึงบ้านโล๊ะจังกระ
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๒ ผ่านอบต.คลองเฉลิม บ้านพูด บ้านนาบอน
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกงหรา
ช่วงแม่ขรี
- โล๊ะจังกระ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่ขรี ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๑
ผ่านที่ว่าการอำเภอตะโหมด ถึงสามแยกกิโลเมตรที่ ๔ ตรงไปตามถนนทางหลวงชนบท
ผ่านบ้านปลักปอม บ้านทุ่งโพธิ์ บ้านตะโหมด แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๒
ผ่านบ้านหัวช้าง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโล๊ะจังกระ
ช่วงแม่ขรี
- โล๊ะบ้า
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านแม่ขรี ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๑
ผ่านที่ว่าการอำเภอตะโหมด ถึงสามแยกกิโลเมตรที่ ๔
ตรงไปตามทางหลวงชนบทถึงบ้านปลักปอม แยกซ้ายผ่านบ้านคลองใหญ่ ถึงสามแยกบ้านควน
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๒๒ ผ่านบ้านท่าเชียดเหนือ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโล๊ะบ้า
สายที่ ๘๕๒๘ พัทลุง - กงหรา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านบ้านท่าแค บ้านปลวกร้อน ถึงบ้านนาโหนด
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๑๐๐๒ ผ่านบ้านศาลาเม็ง บ้านคู ถึงสามแยกบ้านคู
ตรงไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๑๐๒๑ ผ่านบ้านป่าแก่ บ้านนาทุ่งโพธิ์ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกงหรา
สายที่ ๘๕๒๙ ปากพะยูน - โคกทราย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปากพะยูน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๔๙ ถึงทางแยกบ้านหารเทา
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๘๘ ผ่านบ้านหารเทา แยกซ้ายไปตามถนน อบจ. หมายเลข
พท. ๑๔๒ - ๔๗ - ๐๐๐๑ (บ้านหารเทา - บ้านโคกทราย) ผ่านบ้านไทรพอน วัดควนเผยอ
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสถานีรถไฟบ้านโคกทราย
สายที่ ๘๕๓๐ พัทลุง - พญาโฮ้ง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ไปตามถนนราเมศวร์ ถึงสามแยกท่ามิหรำ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔
ถึงสามแยกโคกกอก แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านบ้านท่าแค
ถึงบ้านปวกร้อน แยกขวาไปตามถนน อบจ. หมายเลข พท. ๒๐๔๐ (บ้านปลวกร้อน
- บ้านสมหวัง) ผ่านบ้านทุ่งเลียง บ้านห้วยไทร ถึงสามแยกบ้านห้วยไม้ไผ่
แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านพังกิ่ง ถึงบ้านชะรัด แยกขวาไปตามถนน อบจ.
หมายเลข พท. ๑๔๒ - ๔๖ - ๐๐๐๙ (บ้านชะรัด - บ้านไร่เหนือ) ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านพญาโฮ้ง
สายที่ ๘๕๓๑ พัทลุง - อำเภอปากพะยูน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๔๗ (ถนนอภัยบริรักษ์) ผ่านบ้านควนมะพร้าว
ถึงบ้านแร่ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๕๐ ผ่านบ้านสวน ถึงบ้านควนกุฏ
แยกซ้ายไปปากหวะ ตรงไปตามทางหลวงชนบท พท. ๔๐๐๔ (บ้านปากหวะ - บ้านบางขวน)
ผ่านบ้านคลองขุด บ้านแหลมดิน บ้านสระทัง บ้านแหลมจองถนน บ้านปากพล บ้านหาดไข่เต่า
บ้านบางขวน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๔๐๐๔ (บ้านบางขวน - ฝาละมี)
ผ่านบ้านแหลมไก่ผู้ บ้านปากเครียว ถึงบ้านฝาละมี
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๔๙ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปากพะยูน
สายที่ ๘๕๓๒ พัทลุง - บ้านปากเหมือง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านสามแยกท่ามิหรำ ถึงสี่แยกเอเชีย
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านบ้านทุ่งข่า บ้านทุ่งขึงหนัง บ้านไสยวน
ถึงสี่แยกโพธิ์ทอง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๖๔ ผ่านอำเภอศรีบรรพต
บ้านเขาปู่ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๖๓ ผ่านบ้านควนลม บ้านทุ่งยูง
บ้านเพรียะ เขื่อนโครงการพระราชดำริ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านปากเหมือง
สายที่ ๘๕๓๓ พัทลุง - บ้านต้นโดน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ไปตามถนนราเมศวร์ แยกซ้ายไปตามถนนพิเศษกิจ ตรงไปตามทางหลวงชนบท ผ่านวัดตำนาน
วัดทุ่งลาน ถึงบ้านไสนายขัน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๑๐๑๑ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านต้นโดน
ช่วงพัทลุง
- ต้นมะละกอ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง ไปตามถนนราเมศวร์
แยกซ้ายไปตามถนนพิเศษกิจ ตรงไปตามทางหลวงชนบท ผ่านวัดตำนาน
วัดทุ่งลานถึงบ้านไสนายขัน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๑๐๑๑ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านต้นมะละกอ
สายที่ ๘๕๓๔ พัทลุง - อำเภอกงหรา
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดพัทลุง
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านบ้านหัวยาง บ้านนาท่อม ถึงสามแยกท่านช่วย
แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านบ้านร่มเมือง บ้านห้วยไม้ไผ่ อบต.สมหวัง
บ้านควนขี้แรด บ้านชะรัด บ้านคู บ้านป่าแก่ บ้านนาทุ่งโพธิ์ ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกงหรา
สายที่ ๘๕๓๕ ควนขนุน - บ้านชุมพล
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอควนขนุน
ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๔๑๘๗ ถึงสี่แยกโพธิ์ทอง
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านบ้านหลาตำเสา บ้านตลิ่งชัน บ้านป่าพะยอม
บ้านโคกกอ แยกซ้ายไปตามถนนนิคมสร้างตนเอง ผ่านบ้านห้วยกรวด ถึงสามแยก บ้านม้านั่ง
แยกขวาผ่านบ้านลานข่อย ถึงสามแยกบ้านลานข่อย แยกซ้ายไปจนสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านชุมพล
สายที่ ๘๕๓๖ ปากพะยูน - บ้านเกาะโคบ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปากพะยูน
ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๘๑ ถึงทางแยก แยกซ้ายข้ามสะพานข้ามแม่น้ำปากพะยูน
ถึงทางแยก แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข พท. ๔๐๒๖ ผ่านบ้านเกาะหมาก
บ้านปากบางนาคราช บ้านเกาะเสือ บ้านแหลมกรวด ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเกาะโคบ
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
สมศักดิ์
ตะเภาน้อย
รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ปฏิบัติราชการแทน
ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพัทลุง
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๘๐/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
543845 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ฉบับที่ 22 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สายที่ 8254 เป็น ปราณบุรี - บ้านคุ้งโตนด
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ฉบับที่
๒๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สายที่ ๘๒๕๔ เป็น ปราณบุรี - บ้านคุ้งโตนด[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๓๖
ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สายที่ ๘๒๕๔ ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๐
จึงให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สายที่ ๘๒๕๔ เป็น ปราณบุรี - บ้านคุ้งโตนด
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้ คือ
สายที่ ๘๒๕๔ ปราณบุรี - บ้านคุ้งโตนด
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปราณบุรี
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ แยกขวาไปตามถนนสายฝั่งท่า
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๑๖๘ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ปข. ๑๐๒๐
แยกซ้ายไปตามถนนเข้าศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๔ ประจวบคีรีขันธ์
ถึงศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๔ ประจวบคีรีขันธ์
แล้วกลับตามเส้นทางเดิมแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ปข. ๑๐๒๐
แยกซ้ายไปตามถนนเข้าบ้านบางปู ถึงบ้านบางปูแล้วกลับตามเส้นทางเดิม
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ปข. ๑๐๒๐ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคุ้งโตนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ประสงค์
พิทูรกิจจา
ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๗
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๘ ง/หน้า ๑๗๙/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ |
542884 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดอุดรธานี ฉบับที่ 123 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดอุดรธานี สายที่ 1371 อุดรธานี-บ้านคำบอน เป็นอุดรธานี-บ้านโนนม่วงหวาน โดยให้มีการปรับปรุงเส้นทางแยกช่วง จำนวน 6 ช่วง ยกเลิกเส้นทางแยกช่วง จำนวน 7 ช่วง และปรับปรุงให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก 2 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
ฉบับที่
๑๒๓ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดอุดรธานี สายที่ ๑๓๗๑ อุดรธานี-บ้านคำบอน เป็น
อุดรธานี-บ้านโนนม่วงหวาน
โดยให้มีการปรับปรุงเส้นทางแยกช่วง จำนวน ๖ ช่วง
ยกเลิกเส้นทางแยกช่วง
จำนวน ๗ ช่วง และปรับปรุงให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
เพิ่มอีก
๒ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานี
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๓ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดอุดรธานี สายที่ ๑๓๗๑ อุดรธานี-บ้านคำบอน
ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานีได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนทางบกส่งประจำจังหวัดอุดรธานี ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดอุดรธานี สายที่ ๑๓๗๑
อุดรธานี-บ้านคำบอน เป็น อุดรธานี-บ้านโนนม่วงหวาน และปรับปรุงเส้นทางแยกช่วง จำนวน
๖ ช่วง ยกเลิกเส้นทางแยกช่วง จำนวน ๗ ช่วง และปรับปรุงให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก
๒ ช่วง ดังรายละเอียดต่อไปนี้
๑. ปรับปรุงเส้นทางแยกช่วง จำนวน ๖ ช่วง คือ
- ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองไผ่ เป็น
ช่วงอุดรธานี-กิ่งอำเภอประจักษ์ศิลปาคม
- ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองลุมพุก เป็น ช่วงอุดรธานี-บ้านโนนทรายฟอง
- ช่วงอุดรธานี-บ้านดงบาก เป็น ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองไผ่
- ช่วงอุดรธานี-บ้านจีต เป็น ช่วงอุดรธานี-กิ่งอำเภอกู่แก้ว
- ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองตาไก้ เป็น ช่วงอุดรธานี-บ้านนาปู
- ช่วงอุดรธานี-บ้านกุดค้า เป็น ช่วงอุดรธานี-บ้านก่อสำราญ
๒. ยกเลิกเส้นทางแยกช่วง จำนวน ๗ ช่วง คือ
- ช่วงอุดรธานี-บ้านแดง
- ช่วงอุดรธานี-บ้านโคกสง่านาดี
- ช่วงอุดรธานี-บ้านดอนบาก
- ช่วงอุดรธานี-บ้านยาง
- ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองหิน
- ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองตูม
- ช่วงอุดรธานี-บ้านอีเลี่ยน
๓. ปรับปรุงให้มีเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก ๒ ช่วง คือ
- ช่วงอุดรธานี-บ้านค้อใหญ่
- ช่วงอุดรธานี-ไชยวาน-บ้านหนองหลัก
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๓๗๑ อุดรธานี-บ้านโนนม่วงหวาน
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่
๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง อำเภอหนองหาน
บ้านหนองเม็ก ถึงบ้านหนองบ่อแยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๓๙ ผ่านบ้านต้อง บ้านหนองสระปลา
ถึงบ้านไชยวานแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๓๐๑๐ ผ่านบ้านเพียปู่ บ้านคำเลาะ
บ้านคำบอน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโนนม่วงหวาน
ช่วงอุดรธานี-กิ่งอำเภอประจักษ์ศิลปาคม
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่
๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ถึงบ้านโก่ย แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท หมายเลข อด.
๑๑๕๙ ผ่านบ้านหนองไผ่ บ้านหนองหว้า บ้านหนองนาเจริญ บ้านโนนทรายฟองบ้านเชียงกลม บ้านหนองลุมพุก
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางกิ่งอำเภอประจักษ์ศิลปาคม
ช่วงอุดรธานี-บ้านโนนทรายฟอง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย ถึงบ้านนิคมหนองตาล แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
อด. ๒๐๑๒ ผ่านบ้านทุ่งยั้ง ถึงบ้านโคกพัฒนา แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทผ่านบ้านดอนยางเดี่ยว
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโนนทรายฟอง
ช่วงอุดรธานี-บ้านผักตบ เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี
(แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง
ถึงบ้านป่าก้าวแยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๒๐๐๗ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านผักตบ
ช่วงอุดรธานี-บ้านหนองไผ่
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง ถึงทางแยกไปบ้านโนนสวรรค์
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อบจ. อด. ๓๑๓๙ ผ่านบ้านโนนสวรรค์ถึงบ้านดงบาก แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองไผ่
ช่วงอุดรธานี-บ้านถ่อนนาเพลิน
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าวถึงอำเภอหนองหาน
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๔๐๑๙ ผ่านบ้านสะแบง บ้านบ่อปัทม์ บ้านนาทราย ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านถ่อนนาเพลิน
ช่วงอุดรธานี-บ้านค้อใหญ่
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าวถึงอำเภอหนองหาน
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๕๐ ผ่านบ้านหนองสะหนายบ้านหนองบัวแดง บ้านพังงู
ถึงบ้านไพจาน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านดอนแคนไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านค้อใหญ่
ช่วงอุดรธานี-บ้านคอนสาย
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าวถึงอำเภอหนองหาน
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๕๐ ผ่านบ้านหนองสะหนาย บ้านหนองบัวแดง บ้านพังงู
บ้านไพจาน ถึงทางแยกไปบ้านคอนสาย แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคอนสาย
ช่วงอุดรธานี-กิ่งอำเภอกู่แก้ว
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าวถึงอำเภอหนองหาน
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๕๐ ผ่านบ้านหนองสะหนาย บ้านหนองบัวแดง บ้านพังงู
บ้านไพจาน ถึงทางแยกไปกิ่งอำเภอกู่แก้ว แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยธ. อด. ๒๐๕๒
ผ่านบ้านดอนสวรรค์ ถึงบ้านจีต แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยธ. อด. ๒๑๑๔ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางกิ่งอำเภอกู่แก้ว
ช่วงอุดรธานี-บ้านนาปู เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี
(แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง
บ้านป่าก้าว อำเภอหนองหาน ถึงบ้านโคกสูง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๒๐๑๗ ผ่านบ้านหนองตาไก้
บ้านต้ายสวรรค์ บ้านเม็กใหญ่ ถึงบ้านดงเรือง แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านหัวหนองยาง
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาปู
ช่วงอุดรธานี-บ้านก่อสำราญ
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าวอำเภอหนองหาน
บ้านโคกสูง บ้านหนองเม็ก ถึงทางแยกไปบ้านนาปูลู แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๒๕ ผ่านบ้านปูลู ถึงบ้านเชียง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๖๐๓๐ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านก่อสำราญ
ช่วงอุดรธานี-ไชยวาน-บ้านหนองหลัก
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่
๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง
บ้านป่าก้าว อำเภอหนองหาน บ้านโคกสูง บ้านหนองเม็ก ถึงบ้านหนองบ่อ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๓๙ ผ่านบ้านต้อง บ้านหนองสระปลา บ้านหนองเขื่อน บ้านไชยวาน อำเภอไชยวาน ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองหลัก
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
จารึก
ปริญญาพล
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๗/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542882 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดปทุมธานี ฉบับที่ 40 (พ.ศ. 2550) เรื่อง การปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด 4 จังหวัดปทุมธานี สายที่ 2256 รังสิต-ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง-หมู่บ้านมาลีรมย์ 5 ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงรังสิต-หมู่บ้านพรธิสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดปทุมธานี
ฉบับที่
๔๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
การปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดปทุมธานี สายที่ ๑๑๕๖ รังสิต-ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง-หมู่บ้านมาลีรมย์
๕
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงรังสิต-หมู่บ้านพรธิสาร
๘[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดปทุมธานี
ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๒ กำหนดเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดปทุมธานี สายที่ ๑๑๕๖ รังสิต-ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดปทุมธานีได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดปทุมธานี ในการประชุม
ครั้งที่ ๕/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดปทุมธานี สายที่ ๑๑๕๖ รังสิต-ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง-หมู่บ้านมาลีรมย์
๕ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงรังสิต-หมู่บ้านพรธิสาร ๘
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้ คือ
สายที่
๑๑๕๖ รังสิต-ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง-หมู่บ้านมาลีรมย์ ๕
เที่ยวไป เริ่มต้นจากรังสิต
ไปตามถนนพหลโยธิน แยกซ้ายขึ้นสะพานต่างระดับรังสิต ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕
(ถนนรังสิต-นครนายก) ผ่านคลองหนึ่ง คลองสอง คลองสามคลองสี่ คลองห้า แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
(ถนนเลียบคลองหก) ผ่านศาลจังหวัดธัญบุรี ด้านหลังสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วัดหว่านบุญ
ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง โรงเรียนอุดมพัฒนา บริษัท สยามโปรเทคอินดัสตรี จำกัด ทางแยกเชื่อมถนนคลองห้า
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณหมู่บ้านมาลีรมย์ ๕
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากหมู่บ้านมาลีรมย์
๕ ไปตามทางหลวงชนบท (ถนนเลียบคลองหก) ผ่านทางแยกเชื่อมถนนคลองห้า บริษัท สยามโปรเทคอินดัสตรี
จำกัด โรงเรียนอุดมพัฒนา ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง ผ่านหลังสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ศาลจังหวัดธัญบุรี
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕ (ถนนรังสิต-นครนายก) แล้วไปตามเส้นทางเดิม ลอดใต้สะพานต่างระดับรังสิตแยกขวาไปตามถนนพหลโยธิน
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางรังสิต
ช่วงรังสิต-หมู่บ้านพรธิสาร ๘
เที่ยวไป เริ่มต้นจากรังสิต
ไปตามถนนพหลโยธิน แยกซ้ายขึ้นสะพานต่างระดับรังสิตไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕
(ถนนรังสิต-นครนายก) ผ่านคลองหนึ่ง คลองสอง คลองสาม คลองสี่ คลองห้า แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
(ถนนเลียบคลองหก) ผ่านศาลจังหวัดธัญบุรี ด้านหลังสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล แยกขวาข้ามคลองหก
ผ่านตลาดสด หมู่บ้านพรธิสาร ๓ หมู่บ้านพรธิสาร ๔ แยกซ้ายไปตามถนนธัญบุรี-คลองหลวง ไปสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านพรธิสาร
๘
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากหมู่บ้านพรธิสาร
๘ ไปตามถนนธัญบุรี-คลองหลวง แยกขวาไปตามถนนหมู่บ้านพรธิสาร แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
(ถนนเลียบคลองหก) ผ่านด้านหลังสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ศาลจังหวัดธัญบุรี แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๐๕ (ถนนรังสิต-นครนายก) แล้วไปตามเส้นทางเดิม ลอดใต้สะพานต่างระดับรังสิต แยกขวาไปตามถนนพหลโยธินไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางรังสิต
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เมฆินทร์
เมธาวิกูล
ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดปทุมธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๕/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542877 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดลำพูน ฉบับที่ 38 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่
๓๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็กจังหวัดลำพูน
สายที่ ๕๕๐๐๘ ลำพูน-บ้านท้องฝาย ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูนได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ชิดพงษ์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๔/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542875 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดลำพูน ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่
๓๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๗) ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๒๗ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็กจังหวัดลำพูน
สายที่ ๕๕๐๐๗ ลำพูน-บ้านห้วยไซ และประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๗ ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
จังหวัดลำพูน สายที่ ๕๕๐๐๗ ลำพูน-บ้านห้วยไซ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงลำพูน-มะเขือแจ้-บ้านห้วยไซ
นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูนได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ชิดพงษ์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๓/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542873 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดลำพูน ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่
๓๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๒๓ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็กจังหวัดลำพูน
สายที่ ๕๕๐๐๕ ลำพูน-โรงเรียนบ้านอุโมงค์, ลำพูน-บ้านป่าเห็ว-ริมปิง-ลำพูน
ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูนได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ชิดพงษ์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๒/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542871 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดลำพูน ฉบับที่ 35 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่
๓๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๒๒ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็กจังหวัดลำพูน
สายที่ ๕๕๐๐๔ ลำพูน-วัดหมูเปิ้ง และประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
จังหวัดลำพูน สายที่ ๕๕๐๐๔ ลำพูน-วัดหมูเปิ้งเป็น ลำพูน-บ้านแม่เมย นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูนได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดลำพูน ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ชิดพงษ์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดลำพูน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๑/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542869 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดยโสธร ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยโสธร
ฉบับที่
๑๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยโสธร
ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๒๓ และฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ลงวันที่
๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๔ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จังหวัดยโสธร สายที่ ๓๑๐๐๑,
๓๑๐๐๓, ๓๑๐๐๔ และ ๓๑๐๐๕ ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยโสธรได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งประจำจังหวัดยโสธร ในการประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วีระวิทย์
วิวัฒนวานิช
ผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยโสธร
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๒๐๐/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542867 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดอุดรธานี ฉบับที่ 125 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
ฉบับที่
๑๒๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดอุดรธานี สายที่ ๔๖๒๑ อุดรธานี - ทุ่งฝน - บ้านกุดค้า โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
คือ
สายที่
๔๖๒๑ อุดรธานี - ทุ่งฝน - บ้านกุดค้า
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่
๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าว
อำเภอหนองหาน บ้านโคกสูง ถึงบ้านหนองเม็ก แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๙๖ ผ่านบ้านหนองแป้น
บ้านคำตานา ถึงบ้านทุ่งใหญ่ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๑๘ ถึงอำเภอทุ่งฝนแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
อด. ๒๐๐๓ ผ่านบ้านท่าช่วง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกุดค้า
ช่วงอุดรธานี - บ้านบุญมี
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าว
อำเภอหนองหาน บ้านโคกสูง ถึงบ้านหนองเม็ก แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๙๖
ผ่านบ้านหนองแป้น บ้านคำตานา บ้านทุ่งใหญ่ ถึงบ้านช้างน้อย แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
อด. ๒๐๓๑ ผ่านบ้านศรีสว่าง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านบุญมี
ช่วงอุดรธานี - บ้านนาทม
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าว อำเภอหนองหาน บ้านโคกสูง
บ้านหนองเม็ก แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๙๖ ผ่านบ้านหนองแป้น บ้านคำตานา
บ้านทุ่งใหญ่ บ้านช้างน้อย ถึงบ้านโพธิ์ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๓๑๗๒ ผ่านบ้านนาชุมแสง
ถึงบ้านโนนสมบูรณ์ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาทม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
จารึก
ปริญญาพล
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๙๘/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542865 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดอุดรธานี ฉบับที่ 124 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
ฉบับที่
๑๒๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุดรธานี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดอุดรธานี สายที่ ๔๖๒๐ อุดรธานี - หนองหาน - พิบูลย์รักษ์ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
คือ
สายที่
๔๖๒๐ อุดรธานี - หนองหาน - พิบูลย์รักษ์
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่
๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง บ้านป่าก้าว
ถึงอำเภอหนองหานแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๑๒ ผ่านบ้านดอนกลอย บ้านนายม ถึงบ้านดงยางแยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
อด. ๔๐๐๘ ผ่านบ้านแดง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอพิบูลย์รักษ์
ช่วงอุดรธานี - บ้านนาอุดม
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย ถึงบ้านนิคมหนองตาล แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
อด. ๒๐๓๘ ผ่านบ้านดงคำ บ้านโคกสง่านาดี ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาอุดม
ช่วงอุดรธานี - บ้านนางิ้ว
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒ ผ่านบ้านโก่ย ถึงบ้านนิคมหนองตาล ถึงบ้านหนองกุงแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านดอนบาก
บ้านศาลา ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนางิ้ว
ช่วงอุดรธานี - บ้านดอนหายโศก
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี (แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง ถึงบ้านป่าก้าว แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ยธ. อด. ๒๐๔๓ ถึงบ้านกั้ง แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านดอนหายโศก
ช่วงอุดรธานี - บ้านยาง เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุดรธานี
(แห่งที่ ๑) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านโก่ย บ้านนิคมหนองตาล บ้านหนองกุง
ถึงแยกไปบ้านม่วงแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านม่วง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านยาง
ช่วงหนองหาน - บ้านโนนลือชัย - พิบูลย์รักษ์
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอหนองหาน ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๓๑๒
ถึงบ้านโคกก่อง แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อด. ๓๐๖๒ ผ่านบ้านวังฮาง บ้านนาเยีย
บ้านไชยวานพัฒนา บ้านโนนลือชัย ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอพิบูลย์รักษ์
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
จารึก
ปริญญาพล
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุดรธานี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๙๖/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542851 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉบับที่ 79 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ฉบับที่
๗๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางรถโดยสารประจำทาง
หมวด ๑ และหมวด ๔ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จำนวน
๓ เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสายที่ ๑๕๐๐๗ ไม้ตรา - อำเภอลาดบัวหลวง เส้นทางสายที่ ๑๕๐๑๐
วงกลมสถานีรถไฟบางปะอิน - ทางแยกไปศูนย์ศิลปาชีพบางไทร และสายที่ ๑๕๐๑๒ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดไก่เตี้ย พฤฒาราม ที่จะยกเลิกต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙จึงให้กำหนดเส้นทางรถโดยสารประจำทาง
หมวด ๑ และหมวด ๔ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจำนวน ๓ เส้นทาง โดยมีรายละเอียดเส้นทางดังนี้
หมวด
๑ อำเภอบางปะอิน สายที่ ๑
วงกลมสถานีรถไฟบางปะอิน
- ทางแยกไปศูนย์ศิลปาชีพบางไทร
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางสถานีรถไฟบางปะอิน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕๗ ผ่านโรงเรียนบางปะอิน วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร
โรงเรียนชุมชนวัดกำแพง พระราชวังบางปะอิน โรงเรียนบางปะอิน (ราชานุเคราะห์ ๑) ที่ว่าการอำเภอบางปะอินโรงเรียนปราสาททอง
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๘ ถึงทางแยกไปศูนย์ศิลปาชีพบางไทร แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๔๗๗ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางสถานีรถไฟบางปะอิน
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๕๖ ไม้ตรา - อำเภอลาดบัวหลวง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตำบลไม้ตรา
ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข อย. ๔๐๐๖ ผ่านมัสยิดอะห์มดีอะฮ์ วัดโพธิ์ประสิทธิ์ ตลาดเงาะ
ซอยสุเหล่าแดง ตลาดบัวแดง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสี่แยกลาดบัวหลวง
หมวด
๔ สายที่ ๒๔๕๗ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา - วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ไปตามถนนโรจนะ แยกขวาไปตามถนนคลองมะขามเรียง แยกขวาไปตามถนนนเรศวร ผ่านตลาดเจ้าพรหม
แยกซ้ายไปตามถนนอู่ทองผ่านตลาดหัวรอ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๖๓ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๔๖๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๒ ผ่านวัดขุนพรหมบ้านคลองตะเคียน มัสยิดตะเกี่ยโยคิน
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดไก่เตี้ยพฤฒาราม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เชิดพันธ์
ณ สงขลา
ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๙๔/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542840 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดนนทบุรี ฉบับที่ 65 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนนทบุรี
ฉบับที่
๖๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนนทบุรีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนนทบุรี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนนทบุรี สายที่ ๖๐๕๔วงกลมวัดส้มเกลี้ยง - วัดพระเงิน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๖๐๕๔ วงกลมวัดส้มเกลี้ยง - วัดพระเงิน
เที่ยววนขวา เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางปากทางถนนอัจฉริยะพัฒนาไปตามถนนอัจฉริยะพัฒนา
ผ่านวัดส้มเกลี้ยง วัดแพรก ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๓๐๑๔
แยกขวาไปตามถนนบางกรวย - จงถนอม แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๓๐๘๕
แยกขวาไปตามถนนบางม่วง - บางคูลัด ผ่านวัดพระเงิน แยกซ้ายไปตามถนนกาญจนาภิเษก กลับรถไปตามถนนกาญจนาภิเษก
ผ่านห้างโลตัสบางใหญ่ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางปากทางถนนอัจฉริยะพัฒนา
เที่ยววนซ้าย เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางปากทางถนนอัจฉริยะพัฒนาไปตามถนนกาญจนาภิเษก
ผ่านห้างโลตัสบางใหญ่ แยกซ้ายไปตามถนนบางม่วง - บางคูลัด ผ่านวัดพระเงิน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
นบ. ๓๐๘๕ แยกซ้ายไปตามถนนบางกรวย - จงถนอม แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๓๐๑๔
ไปตามถนนอัจฉริยะพัฒนา ผ่านวัดแพรก วัดส้มเกลี้ยง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางปากทางถนนอัจฉริยะพัฒนา
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เชิดวิทย์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนนทบุรี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๙๒/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542829 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดนนทบุรี ฉบับที่ 64 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนนทบุรี
ฉบับที่
๖๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนนทบุรีได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนนทบุรี ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนนทบุรี สายที่ ๖๐๕๓ บางใหญ่ - วัดเต็มรักสามัคคี โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๖๐๕๓ บางใหญ่ - วัดเต็มรักสามัคคี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบางใหญ่
ไปตามถนนกาญจนาภิเษกแยกไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๒๐๓๑ ผ่านสถานีอนามัยเสาธงหิน หมู่บ้านชิชากร
หมู่บ้านอริสรา ๔ หมู่บ้านพฤกษา ๑๘ สถานีอนามัยหนองกางเขน องค์การบริหารตำบลบางแม่นางแยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
นบ. ๓๐๐๙ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านหนองกางเขน หมู่บ้านปีกไม้ หมู่บ้านดงไม้งาม
แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๓๐๘๖ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นบ. ๓๐๘๗ ผ่านหมู่บ้านพฤกษา
๑๔ แยกซ้ายไปตามถนนบางไผ่ - หนองเพรางาย ผ่านหมู่บ้านพฤกษา ๓ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
นบ. ๔๐๒๑ ผ่านโรงเรียนเต็มรัก สถานีอนามัยเต็มรัก ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดเต็มรักสามัคคี
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เชิดวิทย์
ฤทธิประศาสน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนนทบุรี
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๙๑/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542811 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดหนองคาย ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดหนองคาย
ฉบับที่
๑๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดหนองคายได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดหนองคาย ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙
จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดหนองคาย
สายที่ ๔๖๔๙, ๔๖๕๐, ๔๖๕๑ และ ๔๖๕๒ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๔๖๔๙ ชื่อเส้นทาง ตลาดชัยพร - บ้านเหล่า
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดชัยพร
ไปตามถนนหน้าตลาดชัยพร แยกขวาไปตามถนนมีชัย แยกซ้ายไปตามซอยหัวโพน แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์แยกขวาไปตามถนนกรกรรณอุทิศ
ถึงห้าแยกเนินพะเนาว์ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๒
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข นค. ๓๐๑๒ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเหล่า
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านเหล่า
ไปตามเส้นทางเดิม ถึงแยกซอยพระเสริม แยกซ้ายไปตามซอยพระเสริม ผ่านสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดหนองคาย
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๒ แยกขวาไปตามซอยวรรณอุทิศ แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์แล้วไปตามเส้นทางเดิม
ถึงแยกถนนมีชัย แยกซ้ายไปตามถนนมีชัย แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๑ แยกขวาไปตามถนนแก้ววรวุฒิ
แยกขวาไปตามถนนหน้าตลาดชัยพร ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดชัยพร
สายที่
๔๖๕๐ ชื่อเส้นทาง ตลาดชัยพร - บ้านนาฮี
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดชัยพร
ไปตามถนนหน้าตลาดชัยพร แยกขวาไปตามถนนมีชัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๑
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ ผ่านบ้านคำแค
บ้านคำโป้งเป้ง ถึงบ้านหนองสองห้อง แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นค. ๑๐๑๗
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาฮี
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาฮี
ไปตามเส้นทางเดิม ถึงแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๑๒ แยกซ้ายไปตามซอยวรรณอุทิศ แยกขวาไปตามถนนประจักษ์ แยกขวาไปตามซอยพระเสริม ผ่านสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดหนองคาย
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๒ แล้วไปตามเส้นทางเดิม แยกซ้ายไปตามถนนท่าด่าน
แยกซ้ายไปตามถนนแก้ววรวุฒิ แยกซ้ายไปตามถนนหน้าตลาดชัยพร ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดชัยพร
สายที่
๔๖๕๑ ชื่อเส้นทาง ท่าบ่อ - บ้านโพธิ์ตาก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอท่าบ่อ
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๒๐ ผ่านบ้านดอนขม บ้านเทวี ถึงบ้านว่าน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
นค. ๓๐๑๕ ผ่านบ้านผำไผ่ บ้านธาตุกลางน้อย บ้านโคกคอน บ้านโพนพระ บ้านนาข่าพฤษาหาร บ้านส้มโฮง
บ้านโพนคาล บ้านกวด บ้านโคกสว่าง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโพธิ์ตาก
สายที่
๔๖๕๒ ชื่อเส้นทาง ศรีเชียงใหม่ - บ้านโพธิ์ตาก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอศรีเชียงใหม่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๑ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๖๖ ผ่านบ้านโนนสง่า
บ้านทุ่งเมฆ บ้านดอนก่อ บ้านโนนสวรรค์ บ้านหนองปลาปาก บ้านจำปาทอง บ้านนาโพธิ์ บ้านเชียง
บ้านไร่ บ้านดอนไผ่ บ้านโพนทอง บ้านศรีวิไล ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโพธิ์ตาก
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
สุพจน์
เลาวัณย์ศิริ
ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดหนองคาย
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๑๘๙/หน้า ๑๘๙/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542804 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดยโสธร ฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยโสธร
ฉบับที่
๑๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยโสธรได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดยโสธร ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดยโสธร สายที่ ๔๖๗๙, ๔๖๘๐ ๔๖๘๑ และ ๔๖๘๒ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๔๖๗๙ กุดชุม - บ้านหนองแก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๖๙ ผ่านบ้านน้อย ถึงบ้านเอราวัณ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ยส. ๔๐๑๑ ผ่านบ้านหนองบอน บ้านคำกลาง บ้านหนองเมืองกลาง บ้านท่าสยาม ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองแก
ช่วงกุดชุม - บ้านหนองเรือ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๖๙
ผ่านบ้านน้อย ถึงบ้านเอราวัณ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยส. ๔๐๑๑ แยกซ้ายไปตามถนนพัฒนาชุมชน
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองเรือ
สายที่
๔๖๘๐ กุดชุม - บ้านโนนประทาย
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๖๙ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยส. ๔๐๑๓ ผ่านบ้านเหล่าตำแย
บ้านกุดไกรสร บ้านจวงเจริญ บ้านเที่ยงนาเวียง บ้านคำน้ำสร้าง บ้านคำผักกูด บ้านโนนดินแดง
บ้านหนองแหน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโนนประทาย
ช่วงกุดชุม - บ้านคำผักหนาม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๖๙
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยส. ๔๐๑๓ ผ่านบ้านเหล่าตำแย บ้านกุดไกรสร บ้านจวงเจริญ
บ้านเที่ยงนาเวียง บ้านคำผักกูด ไปตามถนนองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแหน ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคำผักหนาม
สายที่
๔๖๘๑ กุดชุม - บ้านสร้างแต้
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม
ไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านโคกสูง บ้านหนองไผ่ บ้านหนองหมี บ้านคำบอน บ้านคำไหล บ้านแดง
บ้านหนองแซง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านสร้างแต้
สายที่
๔๖๘๒ กุดชุม - ป่าติ้ว
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอกุดชุม
ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยส. ๓๐๑๗ ผ่านบ้านนาสะแบง บ้านดอนจันทร์แดง บ้านผักกะย่า บ้านโนนยาง
บ้านหัววัว บ้านคำเอ็นอ้า บ้านหนองเหี้ย บ้านหนองแข้ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทาง
อำเภอป่าติ้ว
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วีระวิทย์
วิวัฒนวานิช
ผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดยโสธร
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๘๗/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542794 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1800 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 3 สายที่ 221 มัญจาคีรี - ภูเขียว โดยให้ยกเลิกรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงมัญจาคีรี - บ้านเพชร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๘๐๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๓ สายที่ ๕๕๑ มัญจาคีรี - ภูเขียว
โดยให้ยกเลิกรายละเอียดเส้นทางแยก
ช่วงมัญจาคีรี
บ้านเพชร[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๔๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๐) ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๓๐ กำหนด (ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๓ สายที่ ๕๕๑ มัญจาคีรี - ภูเขียว ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง ๓ ช่วง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๓ สายที่ ๕๕๑ มัญจาคีรี - ภูเขียว โดยให้ยกเลิกรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงมัญจาคีรี
- บ้านเพชร โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๕๕๑ มัญจาคีรี - ภูเขียว
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอมัญจาคีรี
ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก. ๓๐๑๐ ผ่านบ้านบัว บ้านนาข่า บ้านเหล่าใหญ่ บ้านหนองบัวเย็น
บ้านหนองสองห้อง บ้านช่องฝางไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านหนองดินดำ บ้านโนนทัน บ้านหนองสังข์
บ้านหนองปลามัน บ้านป่าชาด บ้านหนองศาลา บ้านโนนตุ่น แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ร.พ.ช. ชย. ๓๑๑๔ ผ่านบ้านดอนจำปา บ้านโนนทอง บ้านหนองบัวแดง ถึงบ้านบัวพักเกวียน แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๐๑ ผ่านบ้านหนองแวง บ้านห้วยพลวง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอภูเขียว
ช่วงมัญจาคีรี - บ้านหินแตก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอมัญจาคีรีไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก. ๓๐๑๐
ผ่านบ้านบัว บ้านนาข่า แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทผ่านบ้านโนนพันชาติ บ้านหนองไม้ตาย บ้านหนองหญ้าข้าวนก
บ้านก้านเหลือง บ้านหนองบัวน้อยไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหินแตก
ช่วงมัญจาคีรี - บ้านหวายหลึม
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอมัญจาคีรีไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ขก. ๓๐๑๐
ผ่านบ้านบัว บ้านนาข่า ถึงแยกบ้านหวายหลึม แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหวายหลึม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๘๕/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542784 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1799 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1124 ตลาดบางแค - โรงเรียนศึกษานารี 2 ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น 2 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๒๔ ตลาดบางแค - โรงเรียนศึกษานารี ๒
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
๒ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๗๒๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๒๔ บางแค - ถนนสายที่ ๔ - บางบอนเป็น ตลาดบางแค - โรงเรียนศึกษานารี
๒ และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงตลาดบางแค - พุทธมณฑลสาย ๔ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๒๔ ตลาดบางแค - โรงเรียนศึกษานารี ๒ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
๒ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๑๒๔ ตลาดบางแค - โรงเรียนศึกษานารี ๒
เริ่มต้นจากตลาดบางแค ไปตามถนนเพชรเกษม แยกซ้ายไปตามถนนมาเจริญ
ผ่านทางเข้าตลาดหนองแขม ไปตามถนนบางบอน ๕ แยกขวาไปตามถนนเอกชัย จนสุดเส้นทางที่โรงเรียนศึกษานารี
๒
ช่วงตลาดบางแค - ถนนพุทธมณฑลสาย ๔
เริ่มต้นจากตลาดบางแค ไปตามถนนเพชรเกษมจนสุดเส้นทางที่บริเวณปากทางถนนพุทธมณฑลสาย ๔
ช่วงตลาดบางแค - วัดศรีนวลธรรมวิมล - โรงเรียนศึกษานารี
๒ เริ่มต้นจากตลาดบางแคไปตามถนนเพชรเกษม แยกซ้ายไปตามถนนมาเจริญ
แยกขวาไปตามถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งใต้แยกซ้ายไปตามถนนหนองแขม - วัดศรีนวลธรรมวิมล
แยกซ้ายไปตามถนนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๑ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข สค. ๔๐๐๙ แยกขวาไปตามซอยโรงเรียนนวลนรดิศ
แยกขวาไปตามถนนบางบอน ๕ แยกขวาไปตามถนนเอกชัย จนสุดเส้นทางที่โรงเรียนศึกษานารี ๒
ช่วงตลาดบางแค - วัดใหม่หนองพะอง
เริ่มต้นจากตลาดบางแค ไปตามถนนเพชรเกษมแยกซ้ายไปตามถนนมาเจริญ แยกขวาไปตามถนนสวนหลวงร่วมใจ
ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือจนสุดเส้นทางที่วัดใหม่หนองพะอง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๘๓/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
542782 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1798 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 1 ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง สายที่ 183 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - พุทธมณฑลสาย 2 - อ้อมน้อย เป็น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ถนนพุทธมณฑลสาย 2 - อ้อมใหญ่
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง
สายที่
๑๘๓ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - พุทธมณฑลสาย ๒ - อ้อมน้อย
เป็น
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ถนนพุทธมณฑลสาย ๒ อ้อมใหญ่[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๔๕๗ (พ.ศ. ๒๕๔๗) ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๗ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง สายที่ ๑๘๓ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร
(จตุจักร) - พุทธมณฑลสาย ๒ - อ้อมน้อย เป็น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - พุทธมณฑลสาย ๒
- อ้อมน้อย นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง สายที่ ๑๘๓ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- พุทธมณฑลสาย ๒ - อ้อมน้อย เป็น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ถนนพุทธมณฑลสาย ๒
อ้อมใหญ่โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๘๓ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ถนนพุทธมณฑลสาย ๒ - อ้อมใหญ่
จากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิไปอ้อมใหญ่
เริ่มต้นจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ไปตามถนนพญาไทแยกซ้ายไปตามถนนศรีอยุธยา แยกขวาไปตามถนนราชปรารภ
ถึงแยกราชประสงค์ แยกขวาไปตามถนนพระราม ๑ แยกขวาไปตามถนนบรรทัดทอง แยกซ้ายไปตามถนนเพชรบุรี
ถึงแยกยมราช แยกซ้ายไปตามถนนหลานหลวง ข้ามสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ไปตามถนนราชดำเนินกลาง
ข้ามสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ไปตามถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี แยกซ้ายไปตามถนนพุทธมณฑลสาย
๒ แยกขวาไปตามถนนเพชรเกษม จนสุดเส้นทางที่อ้อมใหญ่
จากอ้อมใหญ่ไปอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
เริ่มต้นจากอ้อมใหญ่ ไปตามถนนเพชรเกษม แล้วไปตามเส้นทางเดิม ถึงแยกประตูน้ำ ไปตามถนนราชปรารภ
แยกซ้ายไปตามถนนราชวิถี จนสุดเส้นทางที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๖ ง/หน้า ๑๘๑/๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ |
541993 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ฉบับที่ 218 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดนครราชสีมา สายที่ 4129 นครราชสีมา - มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่
๒๑๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทาง
ด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครราชสีมา สายที่ ๔๑๒๙ นครราชสีมา -
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่ ๒๐๘ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดนครราชสีมา
สายที่ ๔๑๒๙ นครราชสีมา - มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนด
(ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
อาศัย อำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง)
รายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ สายที่ ๔๑๒๙ นครราชสีมา
- มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงนครราชสีมา
- สนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง ๓๓๓ ปี นครราชสีมา ดังต่อไปนี้ คือ
สายที่
๔๑๒๙ นครราชสีมา - มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดนครราชสีมา
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครราชสีมา
แห่งที่ ๑ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) ถึงแยกปักธงชัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๐๔ แยกซ้ายไปตามซอยร่วมมิตร ถึงโรงเรียนรัตโนภาส แล้วย้อนกลับตามเส้นทางเดิม แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๓๑๐ ผ่านสวนสัตว์นครราชสีมา บ้านหนองเสาเดียว วิทยาลัยเทคนิคสุรนารีไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดนครราชสีมา
ช่วงนครราชสีมา - สนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง ๓๓๓
ปี นครราชสีมา เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครราชสีมา
แห่งที่ ๑ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) ถึงแยกปักธงชัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๐๔ แยกขวาไปตามถนนทางเข้าสนามกีฬาไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง
๓๓๓ ปี นครราชสีมา
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สมบูรณ์
งามลักษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๙๘/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541978 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ฉบับที่ 217 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 1 จังหวัดนครราชสีมา สายที่ 14 เทคโนโลยีราชมงคล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่
๒๑๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทาง
ด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา สายที่ ๑๔ เทคโนโลยีราชมงคล -
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่ ๑๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ กำหนดเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา สายที่ ๑๔ เทคโนโลยีราชมงคล -
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนด
(ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ สายที่ ๑๔ เทคโนโลยีราชมงคล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเทคโนโลยีราชมงคล
- สนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง ๓๓๓ ปี นครราชสีมา ดังต่อไปนี้ คือ
สายที่
๑๔ เทคโนโลยีราชมงคล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเทคโนโลยีราชมงคล
ไปตามถนนสุรนารายณ์ แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์ แยกขวาไปตามถนนจอมพลแยกซ้ายไปตามถนนชุมพล
แยกขวาไปตามถนนมหาดไทย แยกขวาไปตามถนนราชดำเนิน แยกซ้ายไปตามถนนสุรนารี แยกซ้ายไปตามถนนโยธา
แยกขวาไปตามถนนโพธิ์กลาง ผ่านห้าแยกโพธิ์กลางไปตามถนนมุขมนตรี ถึงสามแยกวัดใหม่อัมพวัน
แยกซ้ายไปตามถนนสืบศิริ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๓๐ ถึงแยกปักธงชัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๐๔ ถึงทางแยกเข้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี แยกขวาไปตามถนนมหาวิทยาลัย ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีไปตามถนนมหาวิทยาลัย
แล้วไปตามเส้นทางเดิม ผ่านห้าแยกโพธิ์กลาง ไปตามถนนโพธิ์กลางแยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนิน
แยกขวาอ้อมเข้าถนนชุมพล แยกซ้ายไปตามถนนจอมพล แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์ แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ
แยกซ้ายไปตามถนนสุรนารายณ์ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเทคโนโลยีราชมงคล
ช่วงเทคโนโลยีราชมงคล
- สนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง ๓๓๓ ปี นครราชสีมา
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเทคโนโลยีราชมงคล
ไปตามถนนสุรนารายณ์ แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์ แยกขวาไปตามถนนจอมพลแยกซ้ายไปตามถนนชุมพล
แยกขวาไปตามถนนมหาดไทย แยกขวาไปตามถนนราชดำเนิน แยกซ้ายไปตามถนนสุรนารี แยกซ้ายไปตามถนนโยธา
แยกขวาไปตามถนนโพธิ์กลาง ผ่านห้าแยกโพธิ์กลางไปตามถนนมุขมนตรี ถึงสามแยกวัดใหม่อัมพวัน
แยกซ้ายไปตามถนนสืบศิริ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๑๓๐ ถึงแยกปักธงชัย แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๐๔ แยกขวาไปตามถนนทางเข้าสนามกีฬา ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง
๓๓๓ ปี นครราชสีมา
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสนามกีฬาเมืองหลักเฉลิมฉลอง
๓๓๓ ปี นครราชสีมา ไปตามถนนทางเข้าสนามกีฬา แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๔
แล้วไปตามเส้นทางเดิม ผ่านห้าแยกโพธิ์กลาง ไปตามถนนโพธิ์กลาง แยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนินแยกขวาอ้อมเข้าถนนชุมพล
แยกซ้ายไปตามถนนจอมพล แยกซ้ายไปตามถนนประจักษ์ แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนสุรนารายณ์
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเทคโนโลยีราชมงคล
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สมบูรณ์
งามลักษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๙๖/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541955 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ฉบับที่ 216 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทาง ด้วยรถโดยสาร หมวด 1 จังหวัดนครราชสีมา สายที่ 20 สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 1 - บ้านหนองบัวศาลา เป็น ตลาดสุรนคร - บ้านหนองบัวศาลา
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่
๒๑๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทาง
ด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา สายที่ ๒๐ สถานีขนส่งผู้โดยสาร
จังหวัดนครราชสีมา
แห่งที่ ๑ - บ้านหนองบัวศาลา
เป็น
ตลาดสุรนคร บ้านหนองบัวศาลา[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่ ๒๐๑ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๘ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา
สายที่ ๒๐ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ ๑ - บ้านหนองบัวศาลา นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนด
(ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ สายที่ ๒๐ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ ๑ - บ้านหนองบัวศาลา
เป็นตลาดสุรนคร - บ้านหนองบัวศาลา และช่วงนครราชสีมา - บ้านหนองนกยูง เป็น ตลาดสุรนคร
- บ้านหนองนกยูง และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงตลาดสุรนคร - หมู่บ้านสวัสดิการทหาร
- บ้านหนองพลวงมะนาว ดังต่อไปนี้ คือ
สายที่
๒๐ ตลาดสุรนคร - บ้านหนองบัวศาลา
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔
แยกขวาไปตามถนนชุมพล แยกขวาไปตามถนนมหาดไทย แยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนิน แยกซ้ายไปตามถนนจิระ
ไปตามถนนมาตุคาม แยกขวาไปตามถนนไชยณรงค์ ถึงทางแยกไปบ้านหนองปรือ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
ร.พ.ช. นม. ๒๒๙๖ ผ่านบ้านหนองปรือ บ้านบึงแสนสุข ถึงบ้านหนองไผ่ แยกซ้ายไปตามถนนกองทัพภาคที่
๒ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ยธ. นม. ๒๐๕๔ ผ่านบ้านหนองพลวงมะนาว บ้านหนองพลวงน้อย
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองบัวศาลา
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองบัวศาลา
ไปตามเส้นทางเดิมถึงแยกถนนมหาดไทย ตรงไปตามถนนราชดำเนิน ไปตามถนนประปา ผ่านโรงพยาบาลมหาราชไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ช่วงตลาดสุรนคร บ้านหนองนกยูง
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔
แยกขวาไปตามถนนชุมพล แยกขวาไปตามถนนมหาดไทย แยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนิน แยกขวาไปตามถนนซอยโรงต้มสุรากรมสรรพสามิต
แยกซ้ายไปตามถนนริมบุ่ง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองนกยูง
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองนกยูง
ไปตามเส้นทางเดิมถึงแยกถนนมหาดไทย ตรงไปตามถนนราชดำเนิน ไปตามถนนประปา ผ่านโรงพยาบาลมหาราชไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ช่วงตลาดสุรนคร - หมู่บ้านสวัสดิการทหาร - บ้านหนองพลวงมะนาว
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔
แยกขวาไปตามถนนชุมพล แยกขวาไปตามถนนมหาดไทย แยกซ้ายไปตามถนนจิระ ไปตามถนนมาตุคามแยกขวาไปตามถนนไชยณรงค์
ถึงทางแยกไปบ้านหนองปรือ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ร.พ.ช. นม. ๒๒๙๖ ผ่านบ้านหนองปรือ
บ้านบึงแสนสุข ถึงทางแยกไปหมู่บ้านประวรรณดา ๒แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านหมู่บ้านประวรรณดา
๒ หมู่บ้านสวัสดิการทหาร ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองพลวงมะนาว
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านหนองพลวงมะนาว
ไปตามเส้นทางเดิม ถึงแยกถนนมหาดไทย ตรงไปตามถนนราชดำเนิน ไปตามถนนประปา ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสุรนคร
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สมบูรณ์
งามลักษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๙๓/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541944 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ฉบับที่ 215 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 1 จังหวัดนครราชสีมา สายที่ 5 เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - โรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่
๒๑๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทาง
ด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา สายที่ ๕ เขตอุตสาหกรรมสุรนารี -
โรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่ ๙๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๕ กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๑ จังหวัดนครราชสีมา
สายที่ ๕ เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - โรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนด
(ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๗ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๘จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) รายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ สายที่ ๕ เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - โรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงหมู่บ้านรุ่งอรุณวิลล์
- มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ดังต่อไปนี้ คือ
สายที่
๕ เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - โรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหน้าเขตอุตสาหกรรมสุรนารี
(กม. ๗) ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔ แยกซ้ายไปตามถนนราชนิกูล แยกขวาไปตามถนนไชยณรงค์แยกซ้ายไปตามถนนสรรพสิทธิ์
แยกขวาไปตามถนนวัชรสฤษดิ์ ตรงไปตามถนนจักรี แยกซ้ายไปตามถนนอัษฎางค์ แยกขวาไปตามถนนราชดำเนิน
แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนช้างเผือก แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางโรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมา
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางโรงเรียนสารพัดช่างนครราชสีมาไปตามทางหลวงชนบท
แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนช้างเผือก แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนชุมพล
แยกซ้ายไปตามถนนอัษฎางค์ แล้วไปตามเส้นทางเดิมไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหน้าเขตอุตสาหกรรมสุรนารี
ช่วงหมู่บ้านรุ่งอรุณวิลล์ - มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
เที่ยวไป เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหมู่บ้านรุ่งอรุณวิลล์
ไปตามถนนในหมู่บ้าน แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒๔ แยกซ้ายไปตามถนนราชนิกูล
แยกขวาไปตามถนนไชยณรงค์ แยกซ้ายไปตามถนนสรรพสิทธิ์ แยกขวาไปตามถนนวัชรสฤษดิ์ ตรงไปตามถนนจักรี
แยกซ้ายไปตามถนนอัษฎางค์ แยกขวาไปตามถนนราชดำเนิน แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพแยกซ้ายไปตามถนนช้างเผือก
แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
เที่ยวกลับ เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
ไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนช้างเผือก แยกขวาไปตามถนนมิตรภาพ แยกซ้ายไปตามถนนชุมพลแยกซ้ายไปตามถนนอัษฎางค์
แล้วไปตามเส้นทางเดิม ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางหมู่บ้านรุ่งอรุณวิลล์
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สมบูรณ์
งามลักษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๙๑/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541936 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมา ฉบับที่ 219 (พ.ศ. 2550) เรื่อง การกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ฉบับที่
๒๑๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
การกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกในการเดินทางแก่ประชาชน
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครราชสีมาในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๐จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครราชสีมาสายที่ ๔๖๘๓ ปากช่อง - บ้านป่าไผ่ โดยให้มีรายละเอียดเส้นทางดังนี้
สายที่
๔๖๘๓ ปากช่อง - บ้านป่าไผ่
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอปากช่อง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนนมิตรภาพ) แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒๔๗ ผ่านบ้านซับม่วง บ้านไร่ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านป่าไผ่
ประกาศ
ณ วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
สมบูรณ์
งามลักษณ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครราชสีมา
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๙๐/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541927 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครพนมฉบับที่ 32 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครพนม
ฉบับที่
๓๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครพนมได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็กที่ยกเลิก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครพนม ในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครพนม สายที่ ๔๖๕๓ นครพนม - บ้านโชคอำนวย โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๔๖๕๓ นครพนม - บ้านโชคอำนวย
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ บ้านหัวโพน บ้านฐานบิน บ้านนาโพธิ์ บ้านวังตามัว ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโชคอำนวย
ช่วงนครพนม - บ้านรามราช
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ
บ้านหัวโพน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นพ. ๒๐๑๙ ผ่านบ้านนามูลฮิ้น ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านรามราช
ช่วงนครพนม - บ้านโคกก่อง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ
บ้านหัวโพน แยกซ้ายไปตามถนนองค์การบริหารส่วนตำบลโคกก่อง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโคกก่อง
ช่วงนครพนม - บ้านโพนทา เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ บ้านหัวโพน บ้านฐานบิน แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
นพ. ๒๐๑๐ ผ่านบ้านผึ้ง บ้านวังกระแสร์ บ้านโพนสว่าง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านโพนทา
ช่วงนครพนม - บ้านดงสว่าง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ
บ้านหัวโพน บ้านฐานบิน ถึงบ้านนามน แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท ยธ. นพ. หมายเลข ๒๑๑๕ ไปสุดเส้นทาง
ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านดงสว่าง
ช่วงนครพนม - บ้านนาโป่ง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครพนม ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๒ ผ่านบ้านหนองญาติ
บ้านหัวโพน บ้านฐานบิน บ้านนามน ถึงทางแยกเข้าบ้านไทยสามัคคี แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านนาโป่ง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
บุญสนอง
บุญมี
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครพนม
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๘๘/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541918 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1797 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1014 สุขุมวิท - ประเวศ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงสุขุมวิท - ซอยเฉลิมพระเกียรติ 28 - นิรันดร์เรสซิเดนซ์ เพิ่มขึ้นอีก 1 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๔ สุขุมวิท - ประเวศ
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงสุขุมวิท
- ซอยเฉลิมพระเกียรติ ๒๘ - นิรันดร์เรสซิเดนซ์
เพิ่มขึ้นอีก
๑ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๕๕๒ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๔ สุขุมวิท - ประเวศ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก
๒ ช่วง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๔ สุขุมวิท - ประเวศ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงสุขุมวิท
- ซอยเฉลิมพระเกียรติ ๒๘ - นิรันดร์เรสซิเดนซ์ เพิ่มขึ้นอีก ๑ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๐๑๔ สุขุมวิท - ประเวศ
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท)
ไปตามซอยอุดมสุขถนนเฉลิมพระเกียรติ ร. ๙ ผ่านสวนหลวง ร. ๙ ไปตามถนนสุขาภิบาล ๑ ผ่านสำนักงานเขตประเวศจนสุดเส้นทางที่ถนนอ่อนนุช
ช่วงสุขุมวิท - ซอยที่ดินจัดสรรยาสูบ
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท) ไปตามซอยอุดมสุข แยกขวาไปตามซอยที่ดินจัดสรรยาสูบ
จนสุดเส้นทางที่ปลายซอยที่ดินจัดสรรยาสูบ
ช่วงสุขุมวิท - ซอยประวิทย์
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท) ไปตามซอยอุดมสุข แยกซ้ายไปตามซอยประวิทย์
จนสุดเส้นทางที่ปลายซอยประวิทย์
ช่วงสุขุมวิท - ซอยเปรมฤทัย
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท)ไปตามซอยอุดมสุข ผ่านแยกศรีอุดม
ไปตามถนนเฉลิมพระเกียรติ ร. ๙ แยกขวาไปตามซอยเปรมฤทัยจนสุดเส้นทางที่ปลายซอยเปรมฤทัย
ช่วงสุขุมวิท - โรงเรียนคลองปักหลัก
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท) ไปตามซอยอุดมสุข ถนนเฉลิมพระเกียรติ
ร. ๙ ผ่านสวนหลวง ร. ๙ แยกขวาไปตามซอยเฉลิมพระเกียรติ ร. ๙ ที่ ๓๐ จนสุดเส้นทางที่โรงเรียนคลองปักหลัก
ช่วงโรงเรียนคลองปักหลัก - ห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์
เริ่มต้นจากโรงเรียนคลองปักหลักไปตามซอยเฉลิมพระเกียรติ ร. ๙ ที่ ๓๐ แยกซ้ายไปตามถนนเฉลิมพระเกียรติ
ร. ๙ ถึงแยกศรีอุดมแยกขวาไปตามถนนศรีนครินทร์ จนสุดเส้นทางที่ห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์
ช่วงสุขุมวิท - ซอยเฉลิมพระเกียรติ ๒๘ - นิรันดร์เรสซิเดนซ์
เริ่มต้นจากปากซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓ ด้านถนนสุขุมวิท)
ไปตามซอยอุดมสุข ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร. ๙ ถึงสวนหลวง ร. ๙
แยกขวาไปตามซอยเฉลิมพระเกียรติ ๒๘ จนสุดเส้นทางที่นิรันดร์เรสซิเดนซ์
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๘๖/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541907 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1796 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1058 สถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกถนนติวานนท์ สำหรับช่วงสถานีรถไฟดอนเมือง - ถนนประชาอุทิศ - สี่แยกประชาอุทิศ เป็น วงกลมสถานีรถไฟดอนเมือง - ถนนประชาอุทิศ (วนขวา) และสายที่ 1091 หมู่บ้านเวียงเทพ - หมู่บ้านประชาสามัคคี ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงวงกลมหมู่บ้านเวียงเทพ - ถนนสรงประภา - ถนนประชาอุทิศ (วนซ้าย)
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๕๘ สถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกถนนติวานนท์
สำหรับช่วงสถานีรถไฟดอนเมือง
- ถนนประชาอุทิศ - สี่แยกประชาอุทิศ
เป็น
วงกลมสถานีรถไฟดอนเมือง - ถนนประชาอุทิศ (วนขวา)
และสายที่
๑๐๙๑ หมู่บ้านเวียงเทพ - หมู่บ้านประชาสามัคคี
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงวงกลมหมู่บ้านเวียงเทพ
-
ถนนสรงประภา
- ถนนประชาอุทิศ (วนซ้าย)[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๙๖๒ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๓๘ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง สายที่ ๑๐๕๘
สถานีรถไฟดอนเมือง - วัดนาวง เป็น สถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกถนนติวานนท์ และปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
จำนวน ๒ ช่วง และฉบับที่ ๘๙๓ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๙๑ หมู่บ้านเวียงเทพ - หมู่บ้านประชาสามัคคี นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๕๘ สถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกถนนติวานนท์ สำหรับช่วงสถานีรถไฟดอนเมือง
- ถนนประชาอุทิศ - สี่แยกประชาอุทิศ เป็น วงกลมสถานีรถไฟดอนเมือง - ถนนประชาอุทิศ
(วนขวา) และสายที่ ๑๐๙๑ หมู่บ้านเวียงเทพ - หมู่บ้านประชาสามัคคี ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงวงกลมหมู่บ้านเวียงเทพ
- ถนนสรงประภา - ถนนประชาอุทิศ (วนซ้าย) โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๐๕๘ สถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกถนนติวานนท์
เริ่มต้นจากสถานีรถไฟดอนเมือง ไปตามถนนเชิดวุฒากาศ
ถึงวัดดอนเมือง แยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา ผ่านกองพันทหารสื่อสาร ถึงทางแยกวัดสีกัน ตรงไปตามถนนศรีสมาน
ผ่านสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ (นนทบุรี) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ (หอวังนนทบุรี) จนสุดเส้นทางที่บริเวณทางแยกถนนติวานนท์
ช่วงสถานีรถไฟดอนเมือง - ทางแยกเข้าหมู่บ้านเมืองเอก
เริ่มต้นจากสถานีรถไฟดอนเมืองไปตามถนนเชิดวุฒากาศ ถึงวัดดอนเมือง แยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา
ผ่านกองพันทหารสื่อสารแยกขวาไปตามถนนนาวง - ประชาพัฒนา ผ่านวัดนาวง จนสุดเส้นทางที่ทางแยกเข้าหมู่บ้านเมืองเอก
ช่วงวัดดอนเมือง - เคหะแจ้งวัฒนะ
เริ่มต้นจากวัดดอนเมือง ไปตามถนนเชิดวุฒากาศแยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา ถึงทางแยกวัดสีกัน
แยกซ้ายไปตามถนนเวฬุวนาราม ผ่านวัดเวฬุวนาราม (วัดไผ่เขียว)
ไปตามถนนแจ้งวัฒนะ ๑๔ จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านเคหะแจ้งวัฒนะ
ช่วงวัดดอนเมือง - ตลาดหมู่บ้านโกสุม
เริ่มต้นจากวัดดอนเมือง ไปตามถนนเชิดวุฒากาศแยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา ถึงทางแยกวัดสีกัน
แยกซ้ายไปตามถนนเวฬุวนาราม ผ่านวัดเวฬุวนารามแยกซ้ายไปตามซอยโกสุมสามัคคี จนสุดเส้นทางที่ตลาดหมู่บ้านโกสุม
ช่วงวงกลมสถานีรถไฟดอนเมือง - ถนนประชาอุทิศ (วนขวา)
เริ่มต้นจากสถานีรถไฟดอนเมืองไปตามถนนเชิดวุฒากาศ แยกขวาไปตามถนนกองทัพอากาศ ผ่านโรงเรียนบริบูรณ์ศิลป์
โรงเรียนดอนเมืองจตุรจินดา แยกขวาไปตามถนนช่างอากาศอุทิศ ถึงสี่แยกประชาอุทิศ แยกขวาไปตามถนนประชาอุทิศ
ผ่านโรงเรียนประชาอุทิศ แยกขวาไปตามถนนสรงประภา ผ่านโรงเรียนมารีสวรรค์โรงเรียนสีกัน
ถึงวัดดอนเมือง แยกซ้ายไปตามถนนเชิดวุฒากาศ กลับรถไปตามถนนกำแพงเพชร ๖กลับรถไปตามถนนเชิดวุฒากาศ
จนสุดเส้นทางที่สถานีรถไฟดอนเมือง
ช่วงสถานีรถไฟดอนเมือง - หมู่บ้านปิ่นเจริญ
เริ่มต้นจากสถานีรถไฟดอนเมือง ไปตามถนนเชิดวุฒากาศ ถึงวัดดอนเมือง แยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา
แยกขวาไปตามถนนสรณคมน์จนสุดเส้นทางที่หมู่บ้านปิ่นเจริญ
สายที่
๑๐๙๑ หมู่บ้านเวียงเทพ - หมู่บ้านประชาสามัคคี
เริ่มต้นจากบริเวณหมู่บ้านเวียงเทพ ไปตามถนนโกสุมรวมใจ
แยกขวาไปตามถนนช่างอากาศอุทิศแยกซ้ายไปตามถนนเชิดวุฒากาศ จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านประชาสามัคคี
ช่วงวงกลมหมู่บ้านเวียงเทพ - ถนนสรงประภา - ถนนประชาอุทิศ
(วนซ้าย) เริ่มต้นจากบริเวณหมู่บ้านเวียงเทพ ไปตามถนนโกสุมรวมใจ
แยกขวาไปตามถนนช่างอากาศอุทิศ แยกซ้ายไปตามถนนกองทัพอากาศ ผ่านโรงเรียนดอนเมืองจตุรจินดา
โรงเรียนบริบูรณ์ศิลป์ แยกซ้ายไปตามถนนเชิดวุฒากาศ ถึงวัดดอนเมือง แยกซ้ายไปตามถนนสรงประภา
ผ่านโรงเรียนสีกัน โรงเรียนมารีสวรรค์แยกซ้ายไปตามถนนประชาอุทิศ ผ่านโรงเรียนประชาอุทิศ
ถึงสี่แยกประชาอุทิศ ไปตามถนนโกสุมรวมใจจนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านเวียงเทพ
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๘๓/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541896 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1795 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1060 รามอินทรา - วัดหนองใหญ่ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น 2 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๖๐ รามอินทรา - วัดหนองใหญ่
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
๒ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๒๔๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๓ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๖๐ รามอินทรา - ชุมชนรัชดาออเงินเป็น รามอินทรา
- วัดหนองใหญ่ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๖๐ รามอินทรา - วัดหนองใหญ่ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
๒ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๐๖๐ รามอินทรา - วัดหนองใหญ่
เริ่มต้นจากตลาดมงคลชัย (ซอยรามอินทรา ๓๙) ไปตามถนนสุขาภิบาล
๕ ผ่านวัดอยู่ดีบำรุงธรรม (วัดออเงิน) การเคหะชุมชนออเงิน
หมู่บ้านธารารมณ์ บ้านแมกไม้ จนสุดเส้นทางที่วัดหนองใหญ่ (บรรจบถนนสายไหม)
ช่วงรามอินทรา - เคหะชุมชนพรพระร่วงประสิทธิ์
เริ่มต้นจากตลาดมงคลชัย (ซอยรามอินทรา ๓๙) ไปตามถนนสุขาภิบาล ๕ แยกขวาไปตามซอยวัดพรพระร่วงประสิทธิ์
จนสุดเส้นทางที่เคหะชุมชนพรพระร่วงประสิทธิ์
ช่วงรามอินทรา - ถนนจตุโชติ - วัดหนองใหญ่
เริ่มต้นจากตลาดมงคลชัย (ซอยรามอินทรา ๓๙) ไปตามถนนสุขาภิบาล ๕ แยกขวาไปตามถนนจตุโชติ
แยกซ้ายไปตามถนนพระยาสุเรนทร์ แยกซ้ายไปตามถนนวัดหนองใหญ่ จนสุดเส้นทางที่วัดหนองใหญ่
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๘๑/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541884 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1794 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1119 มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - คลอง 14 เป็น มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - สี่แยกบ้านหัววน และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก 3 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๑๙ มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - คลอง ๑๔
เป็น
มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - สี่แยกบ้านหัววน และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก
๓ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๗๐๐ (พ.ศ. ๒๕๓๓) ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๓ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๑๙ มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - หนองจอก, ลำหิน
เป็น มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - คลอง ๑๔ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทาง
ดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๑๙ มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - คลอง ๑๔ เป็น มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ
- สี่แยกบ้านหัววน และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก ๓ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๑๑๙ มีนบุรี - คู้ฝั่งเหนือ - สี่แยกบ้านหัววน
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจ แยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า
แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์ แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือตรงไปตามถนนมิตรไมตรี
ถึงเขตหนองจอก ไปตามถนนผดุงพันธ์ ผ่านโรงเรียนสุเหร่าใหม่ ถึงบ้านคลอง ๑๔ ไปตามถนนศาลาแดง
๑๒ ผ่านโรงเรียนวัดไผ่ดำวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก วัดไผ่ดำไปตามถนนเทศบาล ๔ จนสุดเส้นทางที่สี่แยกบ้านหัววน
ช่วงมีนบุรี - บ้านลำหิน - วัดทำเลทอง
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจ แยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือ จนถึงทางแยกบ้านตลาดคู้
แยกซ้ายไปตามถนนคู้ - คลองสิบผ่านบ้านลำหิน โรงเรียนอิสลามบูรณศาสตร์ วัดสีชมพู แยกขวาไปตามถนนคลองสิบสองล่าง
- คลองหกวา จนสุดเส้นทางที่วัดทำเลทอง
ช่วงมีนบุรี - บ้านลำหิน - วัดศรีสุขสถาพร
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจแยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือ จนถึงทางแยกบ้านตลาดคู้
แยกซ้ายไปตามถนนคู้ - คลองสิบถึงบ้านลำหิน แยกซ้ายไปตามถนนคลองเก้า ผ่านวัดสามง่าม
บ้านลำบ่อยาว โรงเรียนสุเหร่าคลองเก้าจนสุดเส้นทางที่วัดศรีสุขสถาพร
ช่วงมีนบุรี - คลอง ๑๓ - ถนนลำลูกกา
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจแยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือ ตรงไปตามถนนมิตรไมตรี
ถึงตลาดหนองจอก ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข ปท. ๔๐๑๖ จนสุดเส้นทางที่ถนนลำลูกกา
ช่วงมีนบุรี - คลอง ๑๔ - ตลาดสิบหก
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจแยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือ ตรงไปตามถนนมิตรไมตรี
ถึงเขตหนองจอก ไปตามถนนผดุงพันธ์ ผ่านโรงเรียนสุเหร่าใหม่ ถึงบ้านคลอง ๑๔ ไปตามถนนศาลาแดง
๑๒ แยกซ้ายไปตามถนนศาลาแดง ๑๒ ซอย ๔ ไปตามถนนเลียบคลอง ๑๔ (ฝั่งตะวันออก) แยกขวาไปตามถนนเลียบคลองหกวา
ถนนเทศบาลสาย ๑ จนสุดเส้นทางที่ตลาดสิบหก
ช่วงมีนบุรี - คลอง ๑๕ - ตลาดสิบหก
เริ่มต้นจากตลาดมีนบุรี ไปตามถนนสีหบุรานุกิจแยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกซ้ายไปตามถนนนิมิตรใหม่ แยกขวาไปตามถนนประชาร่วมใจ ผ่านคู้ฝั่งเหนือ ตรงไปตามถนนมิตรไมตรี
ถึงเขตหนองจอก ไปตามถนนผดุงพันธ์ ผ่านโรงเรียนสุเหร่าใหม่ ถึงบ้านคลอง ๑๔ ไปตามถนนศาลาแดง
๑๒ แยกซ้ายไปตามถนนศาลาแดง ๑๒ ซอย ๒ ไปตามถนนเลียบคลอง ๑๕ (ฝั่งตะวันตก) แยกขวาไปตามถนนเลียบคลองหกวา
ถนนเทศบาลสาย ๑ จนสุดเส้นทางที่ตลาดสิบหก
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๗๙/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541868 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1793 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1013 พระโขนง - ลาดกระบัง โดยให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก 3 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๓ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๓ พระโขนง - ลาดกระบัง
โดยให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก
๓ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๓๘๔ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๖ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๓ พระโขนง - ลาดกระบัง ให้มีเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก
๑ ช่วง และปรับปรุงเส้นทางช่วงพระโขนง - ซอยสามพี่น้อง (หมู่บ้านพัฒนพล) เป็น พระโขนง
- ซอยสามพี่น้อง - ห้างเสรีเซ็นเตอร์ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๑๓ พระโขนง - ลาดกระบัง โดยให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก
๓ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๐๑๓ พระโขนง - ลาดกระบัง
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗)
ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ เขตประเวศ ถนนลาดกระบัง
จนสุดเส้นทางที่ลาดกระบัง
ช่วงพระโขนง - ซอยหมู่บ้านมิตรภาพ
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ ซอยสามพี่น้อง ถึงทางแยกเข้าหมู่บ้านมิตรภาพ แยกขวาไปตามถนนเข้าหมู่บ้านมิตรภาพ
จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านมิตรภาพ
ช่วงพระโขนง - ซอยสามพี่น้อง - ห้างเสรีเซ็นเตอร์
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ ถึงซอยสามพี่น้องแยกขวาไปตามซอยสามพี่น้อง ผ่านหมู่บ้านพัฒนพล
ตรงไปตามถนนไทยอาคาร แยกซ้ายไปตามซอยสุขุมวิท ๑๐๑/๑ (ซอยวชิรธรรมสาธิต) ถึงทางแยกเข้าหมู่บ้านยูทานตะวัน
แยกขวาไปตามซอยประวิทย์และเพื่อน แยกซ้ายไปตามซอยอุดมสุข (สุขุมวิท ๑๐๓) แยกซ้ายไปตามถนนศรีนครินทร์
จนสุดเส้นทางที่ห้างเสรีเซ็นเตอร์
ช่วงพระโขนง - ซอยสะและน้อย
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ ซอยสามพี่น้อง ซอยหมู่บ้านมิตรภาพถึงซอยสะและน้อย แยกขวาไปตามซอยสะและน้อย
จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านมารวมครอง
ช่วงพระโขนง - ห้างเสรีเซ็นเตอร์
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ ซอยสามพี่น้อง ซอยหมู่บ้านมิตรภาพ ถึงสี่แยกศรีนุช แยกขวาไปตามถนนศรีนครินทร์
จนสุดเส้นทางที่ห้างเสรีเซ็นเตอร์
ช่วงพระโขนง - โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า - สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิท ไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ผ่านวัดมหาบุศย์ เขตประเวศ แยกซ้ายไปตามถนนร่มเกล้า แยกขวาไปตามถนนเข้าโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้าผ่านโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า
แยกขวาไปตามถนนเข้าสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง จนสุดเส้นทางที่บริเวณสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง
ช่วงลาดกระบัง - ห้างเสรีเซ็นเตอร์
เริ่มต้นจากบริเวณลาดกระบัง ไปตามถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ผ่านทางแยกถนนร่มเกล้า เขตประเวศ
ถึงสี่แยกศรีนุช แยกซ้ายไปตามถนนศรีนครินทร์ จนสุดเส้นทางที่บริเวณห้างเสรีเซ็นเตอร์
ช่วงพระโขนง - หมู่บ้านเสรี
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิทผ่านวัดมหาบุศย์ ถึงซอยอ่อนนุช
๗๐ แยกขวาไปตามถนนเข้าหมู่บ้านเสรี จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านเสรี
ช่วงห้างเสรีเซ็นเตอร์ - สำนักงานขนส่งเขตพื้นที่
๔ เริ่มต้นจากห้างเสรีเซ็นเตอร์ ไปตามถนนศรีนครินทร์ แยกขวาไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ตรงไปตามถนนลาดกระบัง ถนนหลวงแพ่งแยกซ้ายไปตามถนนร่วมพัฒนา จนสุดเส้นทางที่บริเวณสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่
๔
ช่วงพระโขนง - ห้างจัสโก้
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ด้านถนนสุขุมวิทไปตามถนนอ่อนนุช
(สุขุมวิท ๗๗) ๗๐ แยกซ้ายไปตามถนนพัฒนาการ จนสุดเส้นทางที่บริเวณห้างจัสโก้
ช่วงลาดกระบัง - ห้างจัสโก้
เริ่มต้นจากบริเวณลาดกระบัง ไปตามถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท ๗๗) ผ่านทางแยกถนนร่มเกล้า เขตประเวศ
แยกขวาไปตามถนนพัฒนาการ จนสุดเส้นทางที่บริเวณห้างจัสโก้
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๗๖/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541857 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1792 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1255 ซอยราษฎร์อุทิศ 1 - ตลาดปีนัง ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงซอยราษฎร์อุทิศ 1 - ถนนรัชดาภิเษก - ตลาดปีนัง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๕ ซอยราษฎร์อุทิศ ๑ - ตลาดปีนัง
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงซอยราษฎร์อุทิศ
๑ - ถนนรัชดาภิเษก ตลาดปีนัง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๘๓๘ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๓๖ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๕ ซอยราษฎร์อุทิศ ๑ - ตลาดปีนัง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๕ ซอยราษฎร์อุทิศ ๑ - ตลาดปีนัง ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงซอยราษฎร์อุทิศ
๑ - ถนนรัชดาภิเษก - ตลาดปีนัง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๒๕๕ ซอยราษฎร์อุทิศ ๑ - ตลาดปีนัง
เริ่มต้นจากปากซอยราษฎร์อุทิศ ๑ (ด้านถนนพระราม ๓)
ไปตามซอยราษฎร์อุทิศ ๑ แยกขวาไปตามซอยวัดไผ่เงิน แยกซ้ายไปตามซอยวัดไผ่เงิน ๔๕ ซอยสาธุประดิษฐ์
๒๐ แยกขวาไปตามถนนสาธุประดิษฐ์ แยกซ้ายไปตามซอยทวีวัฒนา แยกซ้ายไปตามถนนนราธิวาสราชนครินทร์
กลับรถไปตามเส้นทางเดิม แยกซ้ายไปตามถนนจันทน์เก่า ซอยอมร แยกขวาไปตามซอยโพธิ์เจริญ
แยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๓ จนสุดเส้นทางที่ตลาดปีนัง
ช่วงซอยราษฎร์อุทิศ ๑ - ถนนรัชดาภิเษก - ตลาดปีนัง
เริ่มต้นจากปากซอยราษฎร์อุทิศ ๑ (ด้านถนนพระราม ๓) ไปตามซอยราษฎร์อุทิศ
๑ แยกซ้ายไปตามซอยวัดไผ่เงิน แยกขวาไปตามซอยวัดไผ่เงิน ๓๓ แยกขวาไปตามซอยสาธุประดิษฐ์
๖ แยกซ้ายไปตามซอยสาธุประดิษฐ์ ๑๒ แยกขวาไปตามถนนสาธุประดิษฐ์ แยกซ้ายไปตามถนนรัชดาภิเษก
ถนนพระราม ๓ จนสุดเส้นทางที่ตลาดปีนัง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๗๕/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541847 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1791 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1476 บางแค - มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น จำนวน 2 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๔๗๖ บางแค - มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)
และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
จำนวน
๒ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๙๕๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทางต่อเนื่อง สายที่ ๑๔๗๖ บางแค -
มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๔๗๖ บางแค - มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้น
จำนวน ๒ ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๔๗๖ บางแค - มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)
เริ่มต้นจากตลาดบางแค ไปตามถนนเพชรเกษม แยกขวาไปตามถนนกาญจนาภิเษก
แยกซ้ายไปตามถนนทวีวัฒนา - กาญจนาภิเษก ผ่านหมู่บ้านสินพัฒนาธานี สนามกีฬาโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนินโรงเรียนคลองทวีวัฒนา
วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ไปตามถนนสุภาพบุรุษ แยกขวาไปตามถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ผ่านพุทธมณฑล
จนสุดเส้นทางที่มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)
ช่วงบางแค - ถนนพุทธมณฑลสาย ๒-มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)
เริ่มต้นจากตลาดบางแคไปตามถนนเพชรเกษม แยกขวาไปตามถนนกาญจนาภิเษก ผ่านเนติบัณฑิตยสภา
แยกซ้ายไปตามถนนบรมราชชนนี แยกซ้ายไปตามถนนพุทธมณฑลสาย ๒ แยกขวาไปตามถนนทวีวัฒนา -
กาญจนาภิเษกผ่านหมู่บ้านสินพัฒนาธานี สนามกีฬาโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนิน โรงเรียนคลองทวีวัฒนา
วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ไปตามถนนสุภาพบุรุษ แยกขวาไปตามถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ผ่านพุทธมณฑลจนสุดเส้นทางที่มหาวิทยาลัยมหิดล
(ศาลายา)
ช่วงบางแค - ถนนกาญจนาภิเษก - ถนนพุทธมณฑลสาย ๑
เริ่มต้นจากตลาดบางแค ไปตามถนนเพชรเกษม แยกขวาไปตามถนนกาญจนาภิเษก ผ่านเนติบัณฑิตยสภา
แยกขวาไปตามถนนบรมราชชนนีจนสุดเส้นทางที่บริเวณถนนพุทธมณฑลสาย ๑
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๗๓/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541835 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1790 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1105 วงกลมสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ ๔ - ตลาดหนองจอก เป็น ตลาดหนองจอก - ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - แยกถนนหลวงแพ่ง และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง จำนวน 3 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๙๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๐๕ วงกลมสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ ๔ - ตลาดหนองจอก
เป็น
ตลาดหนองจอก - ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - แยกถนนหลวงแพ่ง
และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วง
จำนวน
๓ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๓๘๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๖ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๐๕ วงกลมสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ ๔ -
ตลาดหนองจอก ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มขึ้นอีก ๑ ช่วง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๑๐๕ วงกลมสำนักงานเขตพื้นที่ ๔ - ตลาดหนองจอก เป็นตลาดหนองจอก
- ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - แยกถนนหลวงแพ่ง และให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงจำนวน ๓ ช่วง
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๑๐๕ ตลาดหนองจอก - ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - แยกถนนหลวงแพ่ง
เริ่มต้นจากตลาดหนองจอก ไปตามถนนบุรีภิรมย์ แยกซ้ายไปตามถนนเชื่อมสัมพันธ์
แยกซ้ายไปตามถนนสุวินทวงศ์ แยกขวาไปตามถนนร่วมพัฒนา ผ่านวัดใหม่กระทุ่มล้ม โรงเรียนวัดขุมทองสถานีรถไฟหลวงแพ่ง
โรงเรียนวัดราชโกษา จนสุดเส้นทางที่ถนนหลวงแพ่ง
ช่วงตลาดหนองจอก - ถนนอยู่วิทยา - สี่แยกหนองจอก
เริ่มต้นจากตลาดหนองจอก ไปตามถนนบุรีภิรมย์ แยกขวาไปตามถนนสังฆสันติสุข แยกขวาไปตามถนนอยู่วิทยา
แยกขวาไปตามถนนสุวินทวงศ์จนสุดเส้นทางที่บริเวณสี่แยกหนองจอก
ช่วงตลาดหนองจอก - ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - วัดลำต้อยติ่ง
เริ่มต้นจากตลาดหนองจอก ไปตามถนนบุรีภิรมย์ แยกซ้ายไปตามถนนเชื่อมสัมพันธ์ แยกซ้ายไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกขวาไปตามถนนร่วมพัฒนา แยกซ้ายไปตามถนนทางเข้าสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่ ๔ ถึงสำนักงานขนส่งเขตพื้นที่
๔ กลับรถไปตามเส้นทางเดิม แยกซ้ายไปตามถนนร่วมพัฒนา ผ่านวัดใหม่กระทุ่มล้ม แยกซ้ายไปตามถนนวิบูลย์สาธุกิจจนสุดเส้นทางที่วัดลำต้อยติ่ง
ช่วงตลาดหนองจอก - ถนนเชื่อมสัมพันธ์ - การเคหะฉลองกรุง
เริ่มต้นจากตลาดหนองจอก ไปตามถนนบุรีภิรมย์ แยกซ้ายไปตามถนนเชื่อมสัมพันธ์ แยกซ้ายไปตามถนนสุวินทวงศ์
แยกขวาไปตามถนนร่วมพัฒนา แยกขวาไปตามซอยสมานพัฒนา จนสุดเส้นทางที่การเคหะฉลองกรุง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๗๑/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541826 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1789 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1318 วงกลมสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม - เคหะชุมชนบางขุนเทียน ช่วงห้างสรรพสินค้าโลตัส - คลองนา เป็น ห้างสรรพสินค้าโลตัส - อาคารสงเคราะห์กรุงเทพมหานคร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๓๑๘ วงกลมสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม -
เคหะชุมชนบางขุนเทียน
ช่วงห้างสรรพสินค้าโลตัส - คลองนา
เป็น
ห้างสรรพสินค้าโลตัส อาคารสงเคราะห์กรุงเทพมหานคร[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๒๖๕ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๔ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๓๑๘ วงกลมสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม -
เคหะชุมชนบางขุนเทียน ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงห้างสรรพสินค้าโลตัส - คลองนา เพิ่มขึ้นอีก
๑ ช่วง นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๓๑๘ วงกลมสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม เคหะชุมชนบางขุนเทียนช่วงห้างสรรพสินค้าโลตัส
- คลองนา เป็น ห้างสรรพสินค้าโลตัส อาคารสงเคราะห์กรุงเทพมหานครโดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๓๑๘ วงกลมสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม - เคหะชุมชนบางขุนเทียน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม
ไปตามถนนท่าข้ามแยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๒ ผ่านห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สำนักงานเขตบางขุนเทียน
ห้างสรรพสินค้าโลตัสแยกซ้ายไปตามซอยร่วมใจ แยกซ้ายไปตามถนนบางขุนเทียน แยกขวาไปตามซอยเทียนทะเล
๗ จนสุดเส้นทางที่สถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน
ช่วงท่าข้าม - ชุมชนทรัพย์นุกูล
เริ่มต้นจากปากทางถนนท่าข้าม ไปตามถนนท่าข้าม ผ่านห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม
แยกซ้ายไปตามซอยเทียนทะเล ๗ แยกขวาไปตามถนนอนามัยงามเจริญ แยกซ้ายไปตามซอยอนามัยงามเจริญ
๓๓ จนสุดเส้นทางที่ชุมชนทรัพย์นุกูล
ช่วงห้างสรรพสินค้าโลตัส - อาคารสงเคราะห์กรุงเทพมหานคร
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถบริเวณห้างสรรพสินค้าโลตัส สาขาพระราม ๒ ไปตามซอยร่วมใจ แยกซ้ายไปตามถนนบางขุนเทียนแยกขวาไปตามซอยเทียนทะเล
๗ ผ่านสถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม แยกขวาไปตามซอยอนามัยงามเจริญถึงคลองนา ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข
สป. ๓๐๐๑ ผ่านวัดคลองสวน วัดคลองมอญ จนสุดเส้นทางที่อาคารสงเคราะห์กรุงเทพมหานคร
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๙/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541818 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1788 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1270 ตลาดหัวตะเข้ - คลองกาหลง เป็น ตลาดหัวตะเข้ - บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บางบ่อ)
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๗๐ ตลาดหัวตะเข้ - คลองกาหลง
เป็น
ตลาดหัวตะเข้ - บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บางบ่อ)[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๕๕๙ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๘ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๗๐ ตลาดหัวตะเข้ - คลองทับยาว เป็นตลาดหัวตะเข้ - คลองกาหลง
นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๗๐ ตลาดหัวตะเข้ - คลองกาหลง เป็น ตลาดหัวตะเข้ - บริษัท
คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บางบ่อ) โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๒๗๐ ตลาดหัวตะเข้ - บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บางบ่อ)
เริ่มต้นจากตลาดหัวตะเข้ ไปตามถนนลาดกระบัง ถนนหลวงแพ่ง
ทางหลวงชนบทหมายเลข ฉช. ๓๐๐๑ ไปสุดเส้นทางที่ บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล
จำกัด (บางบ่อ)
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๘/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541803 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1787 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1251 ตลาดคลองเตย - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ (ถนนพระราม 3) เป็น ตลาดคลองเตย - ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๑ ตลาดคลองเตย - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
สำนักงานใหญ่
(ถนนพระราม ๓) เป็น ตลาดคลองเตย ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๒๘๓ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๔ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๑ ตลาดคลองเตย ตลาดนนทรี
เป็น ตลาดคลองเตย - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ (ถนนพระราม ๓) นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๒๕๑ ตลาดคลองเตย - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่
(ถนนพระราม ๓) เป็น ตลาดคลองเตย - ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๒๕๑ ตลาดคลองเตย - ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดคลองเตย
(ด้านถนนรัชดาภิเษก) แยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๔ แยกซ้ายไปตามถนนสุนทรโกษา ผ่านห้าแยก
ณ ระนอง แยกขวาไปตามถนนพระราม ๓ ผ่านวัดช่องลม ตลาดนนทรี สำนักงานเขตยานนาวา โรงเรียนวัดช่องลม
วัดคลองภูมิ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ แยกซ้ายไปตามถนนสาธุประดิษฐ์ จนสุดเส้นทางที่ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๗/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541795 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1786 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1059 รามอินทรา - หทัยราษฎร์ เป็น รามอินทรา - นิมิตรใหม่
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๕๙ รามอินทรา - หทัยราษฎร์
เป็น
รามอินทรา นิมิตรใหม่[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่ ๑๒๔๔ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๓ กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ ในเขตกรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๕๙ รามอินทรา - วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
เป็น รามอินทรา - หทัยราษฎร์ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารหมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๐๕๙ รามอินทรา - หทัยราษฎร์ เป็น รามอินทรา
นิมิตรใหม่โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๐๕๙ รามอินทรา - นิมิตรใหม่
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางถนนคู้บอน (กม. ๘) ไปตามถนนคู้บอน
ผ่านสถานีตำรวจนครบาลคันนายาว วัดคู้บอน สำนักงานเขตคลองสามวา แยกขวาไปตามถนนหทัยราษฎร์
แยกซ้ายไปตามถนนหทัยมิตร จนสุดเส้นทางที่ถนนนิมิตรใหม่
ช่วงรามอินทรา - หมู่บ้านวิลล่ารามอินทรา
เริ่มต้นจากบริเวณปากทางคู้บอน (กม. ๘) ไปตามถนนคู้บอน แยกซ้ายไปตามถนนสยามธรณี ผ่านหมู่บ้านเรือนแก้ว
หมู่บ้านบดินรักษา ๓ หมู่บ้านเพชรไพลินหมู่บ้านปรางค์ทอง จนสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านวิลล่ารามอินทรา
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๖/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541784 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1785 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1539 แยกถนนตก - ตลาดคลองเตย
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๙ แยกถนนตก ตลาดคลองเตย[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๙ แยกถนนตก - ตลาดคลองเตย โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๙ แยกถนนตก - ตลาดคลองเตย
เริ่มต้นจากบริเวณแยกถนนตก ไปตามถนนพระราม ๓ แยกซ้ายไปตามถนนเจริญราษฎร์แยกขวาไปตามถนนจันทน์
แยกซ้ายไปตามถนนนางลิ้นจี่ แยกขวาไปตามถนนเย็นอากาศ แยกขวาไปตามซอยศรีบำเพ็ญ แยกขวาไปตามถนนเชื้อเพลิง
(ใต้สะพานต่างระดับข้ามทางรถไฟ) แยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๓ แยกขวาไปตามถนนสุนทรโกษา แยกซ้ายไปตามถนนเกษมราษฎร์
แยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๔ แยกซ้ายไปตามถนนรัชดาภิเษก ไปสุดเส้นทางที่บริเวณตลาดคลองเตย
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๕/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541776 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1784 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1538 ปากซอยเสรีไทย 43 - หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๘ ปากซอยเสรีไทย ๔๓ หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๘ ปากซอยเสรีไทย ๔๓ - หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๘ ปากซอยเสรีไทย ๔๓ - หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม
เริ่มต้นจากบริเวณปากซอยเสรีไทย ๔๓ ไปตามถนนซอยเสรีไทย
๔๓ ผ่านสำนักงานเขตบึงกุ่มไปสุดเส้นทางที่หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๔/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541767 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1783 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1537 ถนนกาญจนาภิเษก - ซอยบ้านนายเหรียญ
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๓ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๗ ถนนกาญจนาภิเษก ซอยบ้านนายเหรียญ[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๗ ถนนกาญจนาภิเษก - ซอยบ้านนายเหรียญ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๗ ถนนกาญจนาภิเษก - ซอยบ้านนายเหรียญ
เริ่มต้นจากถนนบางบอน ๒ (ด้านถนนกาญจนาภิเษก) ไปตามถนนบางบอน
๒ ไปตามซอยร่มไทรแยกซ้ายไปตามถนนบางบอน ๓ แยกขวาไปตามซอยบ้านนายเหรียญ จนสุดเส้นทางที่ถนนบางบอน
๔
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๓/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541757 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1782 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1536 หมู่บ้านเอื้ออาทรหัวหมาก - หมู่บ้านสวนสน
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๖ หมู่บ้านเอื้ออาทรหัวหมาก หมู่บ้านสวนสน[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๖ หมู่บ้านเอื้ออาทรหัวหมาก - หมู่บ้านสวนสน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๖ หมู่บ้านเอื้ออาทรหัวหมาก - หมู่บ้านสวนสน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถบริเวณหมู่บ้านเอื้ออาทรหัวหมาก
ไปตามซอยรามคำแหง ๖๐ ไปสุดเส้นทางที่บริเวณหมู่บ้านสวนสน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๒/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541749 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1781 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1535 ถนนพระราม 2 - วัดบัวผัน
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๕ ถนนพระราม ๒ วัดบัวผัน[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๕ ถนนพระราม ๒ - วัดบัวผัน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๕ ถนนพระราม ๒ - วัดบัวผัน
เริ่มต้นจากถนนพระราม ๒ ไปตามถนนท่าข้าม แยกซ้ายไปตามซอยวัดท่าข้าม
แยกขวาไปตามถนนอนามัยงามเจริญ แยกซ้ายไปตามซอยอนามัยงามเจริญ ๓๑ ซอยสมานมิตรพัฒนา จนสุดเส้นทางที่วัดบัวผัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๑/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
541726 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ 1780 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 กรุงเทพมหานคร สายที่ 1534 วงกลมวัดกก - ซอยพระราม 2 ที่ 30
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ฉบับที่
๑๗๘๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๔ วงกลมวัดกก - ซอยพระราม ๒ ที่ ๓๐[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ กรุงเทพมหานคร สายที่ ๑๕๓๔ วงกลมวัดกก - ซอยพระราม ๒ ที่ ๓๐ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่
๑๕๓๔ วงกลมวัดกก - ซอยพระราม ๒ ที่ ๓๐
เริ่มต้นจากวัดกก ไปตามซอยวัดกก แยกขวาไปตามซอยพระราม
๒ ที่ ๔๔ แยกซ้ายไปตามถนนพระราม ๒ แยกซ้ายไปตามซอยพระราม ๒ ที่ ๓๐ ผ่านวัดกำแพง ไปตามซอยพระราม
๒ ที่ ๔๔ จนสุดเส้นทางที่วัดกก
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
สุรชัย
ธารสิทธิ์พงษ์
รองปลัดกระทรวงคมนาคม
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๔
พฤษภาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๔ ง/หน้า ๑๖๐/๑๙ เมษายน ๒๕๕๐ |
538403 | ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ด้านข้างของตัวถังรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ
| ประกาศกรมการขนส่งทางบก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ด้านข้างของตัวถังรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ
ตามที่กรมการขนส่งทางบกได้ออกประกาศ
เรื่อง
ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ด้านข้างของตัวถังรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ไว้แล้ว นั้น
โดยที่ปัจจุบัน
ผู้อำนวยการทางหลวงพิเศษ ผู้อำนวยการทางหลวงแผ่นดินและผู้อำนวยการทางหลวงสัมปทาน
ได้ออกประกาศ เรื่อง ห้ามใช้ยานพาหนะที่มีน้ำหนัก น้ำหนักบรรทุก
หรือน้ำหนักลงเพลาเกินกว่าที่ได้กำหนด หรือโดยที่ยานพาหนะนั้นอาจทำให้ทางหลวงเสียหาย
เดินบนทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงสัมปทาน ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๔๘ ขึ้นใหม่ ฉะนั้น
เพื่อให้ประกาศกำหนดของกรมการขนส่งทางบกสอดคล้องกับประกาศดังกล่าว
และเพื่อประโยชน์ในการควบคุมความปลอดภัยของรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑๕ (๒) (ฉ) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๔)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ กรมการขนส่งทางบกออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ให้ยกเลิกประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
ตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ด้านข้างของตัวถังรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ประกาศนี้แทน
ข้อ ๒
ให้เจ้าของรถหรือผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของลักษณะ
๕ (รถบรรทุกเฉพาะกิจ) ที่มีน้ำหนักเกินพิกัดตามประกาศผู้อำนวยการทางหลวงพิเศษ
ผู้อำนวยการทางหลวงแผ่นดินและผู้อำนวยการทางหลวงสัมปทาน เรื่อง
ห้ามใช้ยานพาหนะที่มีน้ำหนัก น้ำหนักบรรทุก หรือน้ำหนักลงเพลาเกินกว่าที่ได้กำหนด
หรือโดยที่ยานพาหนะนั้นอาจทำให้ทางหลวงเสียหาย เดินบนทางหลวงพิเศษ
ทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงสัมปทาน ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
จัดทำเครื่องหมายรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากพื้นสีเหลือง
ตรงกลางมีอักษรภาษาไทยสีดำข้อความว่า รถเฉพาะกิจต้องได้รับอนุญาตก่อนใช้ทางสาธารณะ โดยขนาดของตัวอักษรมีความสูงไม่น้อยกว่า ๕ เซนติเมตร
ติดไว้ที่ตัวถังด้านนอกข้างซ้ายรถและอยู่ในตำแหน่งที่มีความสูงจากผิวทางไม่น้อยกว่า
๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๒๐๐ เซนติเมตร และสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน
ข้อ ๓[๑]
ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๓
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ศิลปชัย จารุเกษมรัตนะ
อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
โสรศ/ผู้จัดทำ
๒๓ เมษายน ๒๕๕๐
โชติกานต์/ปรับปรุง
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๔๖ ง/หน้า ๑๕/๑๒ เมษายน ๒๕๕๐ |
535474 | ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก พ.ศ. 2549
| ประกาศกรมการขนส่งทางบก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก
พ.ศ. ๒๕๔๙[๑]
ตามที่กรมการขนส่งทางบกได้มีประกาศกำหนดแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็กไว้จำนวนหลายฉบับแล้ว
นั้น
โดยที่ปัจจุบันรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารต้องใช้แบบและการจัดวางที่นั่งให้เป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ
ซึ่งไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการขนส่งและประชาชนผู้ใช้บริการที่ต้องการให้รถคันเดียวกันมีแบบและการจัดวางที่นั่งได้หลายรูปแบบเพื่อความสะดวกในการใช้บริการ
ดังนั้น
เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการขนส่งใช้รถอย่างคุ้มค่าและสามารถอำนวยประโยชน์ให้แก่ประชาชนมากยิ่งขึ้น
จึงเห็นสมควรปรับปรุงประกาศดังกล่าวเพื่อกำหนดแบบที่นั่งเพิ่มขึ้น
รวมทั้งกำหนดให้ภายในรถคันเดียวสามารถมีแบบและจัดวางที่นั่งหลายรูปแบบได้
ประกอบกับข้อกำหนดเกี่ยวกับแบบและการจัดวางที่นั่งได้มีแก้ไขเพิ่มเติมหรือกำหนดขึ้นใหม่มาเป็นจำนวนหลายฉบับ
สมควรยกเลิกประกาศฉบับเดิมทั้งหมดและนำมารวบรวมเป็นฉบับเดียวกัน
เพื่อให้เกิดความสะดวกในการตรวจสอบและอ้างอิงในภายหลัง อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๑ (๒) (ฎ) ของกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
กรมการขนส่งทางบกจึงออกประกาศกำหนดแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็กไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ให้ยกเลิก
(๑) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก
ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๗
(๒) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก
ลงวันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙
(๓) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก
(ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
(๔) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารมาตรฐาน ๑ (ข)
ชนิดพิเศษไม่เกิน ๓๒ ที่นั่ง ลงวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
(๕) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารมาตรฐาน ๔ (ข)
ชนิดที่นั่งพิเศษ ลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ข้อ ๒
ในประกาศนี้
ระยะห่างระหว่างที่นั่ง หมายความว่า ระยะจากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าหรือสิ่งกีดขวางถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไปในกรณีที่นั่งหันไปในแนวทางเดียวกัน
หรือระยะระหว่างด้านหน้าพนักพิงหรือที่พิงหลังของที่นั่งที่หันหน้าเข้าหากันในกรณีเป็นที่นั่งหันหน้าเข้าหากันโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน
๕ เซนติเมตร
ข้อ ๓
แบบที่นั่งผู้โดยสารมี ๖ แบบ ดังนี้
(๑) ที่นั่งเดี่ยว ก
(ก) เบาะนั่งมีความยาวไม่น้อยกว่า ๕๕ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร
พนักพิงหลังต้องมีเบาะรองรับศีรษะและมีความสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๓๕ องศาจากแนวราบ
(ข) มีที่พักเท้าและที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่ง
(ค) มีเข็มขัดนิรภัยทุกที่นั่ง รวมที่นั่งผู้ขับรถ
(๒) ที่นั่งเดี่ยว ข
(ก) เบาะนั่งมีความยาวไม่น้อยกว่า ๔๐ เซนติเมตร และไม่เกิน ๕๕ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร
พนักพิงหลังต้องมีเบาะรองรับศีรษะและมีความสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๓๕ องศาจากแนวราบ
(ข) มีที่พักเท้าและที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่ง
เว้นแต่กรณีที่นั่งติดกันให้สามารถใช้ที่วางแขนร่วมกันได้
(ค) มีเข็มขัดนิรภัยทุกที่นั่งรวมที่นั่งผู้ขับรถ
(๓) ที่นั่งเดี่ยว ค
(ก) เบาะนั่งมีความยาวไม่น้อยกว่า ๔๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร พนักพิงหลังสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า
๕๐ เซนติเมตร ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
(ข) มีที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่ง เว้นแต่กรณีที่นั่งติดกันให้สามารถใช้ที่วางแขนร่วมกันได้
(๔) ที่นั่งคู่
(ก) เบาะนั่งมีความยาวไม่น้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตร และไม่เกิน ๙๐ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร
พนักพิงหลังต้องแยกเป็นอิสระและสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
(ข)
มีที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่งหรือมีเฉพาะข้างที่อยู่ชิดทางเดินและข้างที่อยู่ชิดตัวถังด้านข้างของรถก็ได้
(๕) ที่นั่ง ๓ ที่นั่ง
(ก) เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า ๑๒๐ เซนติเมตร และไม่เกิน ๑๒๕
เซนติเมตร ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร
พนักพิงหลังต้องแยกเป็นอิสระและสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
(ข) มีที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่งหรือมีเฉพาะข้างที่อยู่ชิดทางเดินและข้างที่อยู่ชิดตัวถังด้านข้างของรถก็ได้
(๖) ที่นั่งแถวยาวเกินกว่า ๓ ที่นั่ง
(ก) จำนวนที่นั่งให้ถือเกณฑ์ความยาว ๔๐ เซนติเมตร ต่อหนึ่งที่นั่ง
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร พนักพิงหลังต้องแยกเป็นอิสระและสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า
๕๐ เซนติเมตร ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลัง ๙๕ องศา
และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ไม่น้อยกว่า ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
(ข)
มีที่วางแขนทั้งสองข้างทุกที่นั่งหรือมีเฉพาะข้างที่อยู่ชิดทางเดินและข้างที่อยู่ชิดตัวถังด้านข้างของรถก็ได้
แบบที่นั่งตามวรรคหนึ่ง
จะมีอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยหรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายอื่นใดแก่ผู้โดยสารด้วยก็ได้
ข้อ ๔
การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารมี ๓ แบบ
โดยจัดวางเฉลี่ยให้เต็มพื้นที่บรรทุกของรถ ดังนี้
(๑) แบบ ก คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารตามความกว้างของรถ
(๒) แบบ ข คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารตามความยาวของรถ
โดยให้ด้านหลังที่นั่งชิดด้านข้างของรถ
(๓) แบบ ค คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารแบบ ก และแบบ ข ผสมกัน
ข้อ ๕
รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารให้มีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสาร ดังนี้
(๑) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (ก) และมาตรฐาน ๔ (ก)
(ก) แบบที่นั่ง ให้เป็นแบบที่นั่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๑)
(ข) การจัดวางที่นั่ง
ให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกันตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑)
โดยให้จัดวางแถวละไม่เกิน ๓ ที่นั่ง และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถมีความกว้างไม่น้อยกว่า
๓๐ เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนติเมตร
(๒) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (ข) และมาตรฐาน ๔ (ข)
(ก) แบบที่นั่ง ให้เป็นแบบที่นั่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๓) หรือข้อ ๓ (๔)
(ข) การจัดวางที่นั่ง
ให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกันตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑)
โดยให้จัดวางที่ด้านซ้ายและด้านขวาของรถด้านละไม่เกิน ๒ ที่นั่ง
และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร
(๓) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (ข) ชนิดที่นั่งพิเศษ
และมาตรฐาน ๔ (ข) ชนิดที่นั่งพิเศษ
(ก) แบบที่นั่ง ให้เป็นแบบที่นั่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๒)
(ข) การจัดวางที่นั่ง
ให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกันตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑) โดยให้จัดวางที่ด้านซ้ายและด้านขวาของรถด้านละไม่เกิน
๒ ที่นั่ง และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๕
เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนติเมตร
(๔) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (มาตรฐาน ๑ (ก) และมาตรฐาน ๑
(ข)) และมาตรฐาน ๔ (มาตรฐาน ๔ (ก) และมาตรฐาน ๔ (ข))
หากจะให้มีแบบที่นั่งจัดวางผสมกันหลายแบบในรถคันเดียวกัน
แบบและการจัดวางที่นั่งต้องเป็น ดังนี้
(๔.๑) แบบที่นั่ง ให้เป็นแบบที่นั่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ (๑) (๒) (๓) และ
(๔)
(๔.๒) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกันตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ
๔ (๑) โดยให้มีการวางที่นั่งเป็นกลุ่มตามแบบที่นั่งผสมกัน ดังนี้
(ก) แบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๑) ให้จัดวางร่วมกับแบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๒)
แถวละไม่เกิน ๓ ที่นั่ง และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ
มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๙๐
เซนติเมตร
(ข) แบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๑) หรือข้อ ๓ (๒)
ให้จัดวางร่วมกับแบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๓) หรือข้อ ๓ (๔) ในกรณีเป็นแบบที่นั่งตามข้อ
๓ (๑) ให้จัดวางแถวละไม่เกิน ๓ ที่นั่ง เว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ
มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๙๐
เซนติเมตร และกรณีเป็นแบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๒) (๓) และ (๔)
ให้จัดวางที่ด้านซ้ายและด้านขวาของรถด้านละไม่เกิน ๒ ที่นั่ง
และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งของแบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๒) ต้องไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนติเมตร
และแบบที่นั่งตามข้อ ๓ (๓) หรือข้อ ๓ (๔) ต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร
การจัดวางที่นั่งที่แตกต่างกันต่อเนื่องกัน
ต้องเว้นระยะห่างระหว่างที่นั่งให้เป็นไปตามเกณฑ์ของแบบที่นั่งที่มีระยะห่างระหว่างที่นั่งมากกว่า
(๕) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๒ (ก) มาตรฐาน ๒ (ข) มาตรฐาน ๒
(ค) มาตรฐาน ๒ (ง) มาตรฐาน ๔ (ค) มาตรฐาน ๔ (ง) มาตรฐาน ๕ (ก) และมาตรฐาน ๖ (ก)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง
ให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกันตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑)
และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างพอสมควร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง
ในเส้นทางหมวด ๑ และเส้นทางหมวด ๔
การจัดวางที่นั่งจะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ ก็ได้
ที่นั่งจะมีที่วางแขน หรือมีพนักพิงหลังที่ปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
และในกรณีที่พนักพิงหลังปรับเอนไม่ได้ ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๗๐
เซนติเมตร
(๖) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๒ (จ)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
โดยพนักพิงหลังจะมีความสูงพอสมควรหรือแยกเป็นอิสระจากกันหรือปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
และจะมีที่วางแขนหรือไม่ก็ได้
สำหรับกรณีที่นั่งที่จัดวางล้ำเข้าไปในช่องทางเดินต้องเป็นที่นั่งแบบพับได้
ซึ่งมีขนาดความยาวของเบาะนั่งและความสูงของพนักพิงหลังที่เหมาะสม
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑)
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกันระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า
๖๗ เซนติเมตร เว้นแต่กรณีเป็นที่นั่งปรับเอนได้
ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร
และกรณีที่เป็นที่นั่งหันหน้าเข้าหากัน ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๑๓๕
เซนติเมตร
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร
มาตรฐาน ๒ (จ) (รถตู้โดยสาร) ที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง
ในเส้นทางหมวด ๑
ในกรณีที่มีการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารไว้เป็นสี่ตอนตามความกว้างของรถ
โดยที่นั่งหันไปในทางเดียวกัน เฉพาะที่นั่งตอนที่สามนับจากด้านหน้าของรถให้มีการประทับเครื่องหมายรับรอง
(Seal) ด้วยลวดและตะกั่ว ณ
บริเวณขาที่นั่งผู้โดยสารตรึงกับพื้นรถโดยให้เครื่องหมายรับรองอยู่ใต้ท้องรถ
เว้นแต่มีเหตุจำเป็นไม่สามารถประทับเครื่องหมายบริเวณดังกล่าวได้ให้ประทับเครื่องหมายที่ขาที่นั่งผู้โดยสารตรึงกับพื้นรถด้านในห้องโดยสาร
หรือที่ส่วนอื่นของที่นั่งตรึงกับตัวถังรถก็ได้
(๗) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๓ (ก) มาตรฐาน ๓ (ข) มาตรฐาน ๓
(ค) มาตรฐาน ๓ (ง) มาตรฐาน ๔ (จ) มาตรฐาน ๔ (ฉ) มาตรฐาน ๕ (ข) และมาตรฐาน ๖ (ข)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
โดยจะมีที่วางแขนหรือมีพนักพิงหลังแยกเป็นอิสระจากกันหรือปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางตามแบบที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ (๑)
โดยให้จัดวางที่นั่งหันไปในทางเดียวกัน และเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ
มีความกว้างพอสมควร ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง
ในเส้นทางหมวด ๑ และเส้นทางหมวด ๔
การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารจะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ ก็ได้ โดยพนักพิงหลังหรือที่พิงหลังของที่นั่งที่วางตามแนวยาวของรถจะมีความสูงตามความเหมาะสมก็ได้
และในสภาพปกติจะเอนหรือไม่ก็ได้
(๘) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๓ (จ) มาตรฐาน ๓ (ฉ)
และรถขนาดเล็ก
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
โดยพนักพิงหลังจะมีความสูงพอสมควรหรือแยกเป็นอิสระจากกันหรือปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
และจะมีที่วางแขนหรือไม่ก็ได้
สำหรับกรณีที่นั่งที่จัดวางล้ำเข้าไปในช่องทางเดินต้องเป็นที่นั่งแบบพับได้
ซึ่งมีขนาดความยาวของเบาะนั่งและความสูงของพนักพิงหลังที่เหมาะสม
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกัน
ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๖๗ เซนติเมตร
และกรณีที่เป็นที่นั่งหันหน้าเข้าหากัน ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๑๓๕
เซนติเมตร
ข้อ ๖
รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารประเภทการขนส่งส่วนบุคคล
แบบและการจัดวางที่นั่งจะเป็นไปดังนี้ ก็ได้
(๑) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
โดยพนักพิงหลังจะมีความสูงพอสมควรหรือแยกเป็นอิสระจากกันหรือปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
และจะมีที่วางแขนหรือไม่ก็ได้ สำหรับกรณีที่นั่งที่จัดวางล้ำเข้าไปในช่องทางเดินต้องเป็นที่นั่งแบบพับได้
ซึ่งมีขนาดความยาวของเบาะนั่งและความสูงของพนักพิงหลังที่เหมาะสม
และในกรณีที่นั่งหรือพนักพิงไม่มีเบาะจะต้องมีลักษณะเรียบร้อย
ไม่มีส่วนแหลมหรือคมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้โดยสาร
(๒) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกัน
ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๖๐ เซนติเมตร
และกรณีที่นั่งหันหน้าเข้าหากัน ระยะห่างระหว่างที่นั่งต้องไม่น้อยกว่า ๑๒๐
เซนติเมตร
ข้อ ๗
รถที่จะจัดให้มีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารแตกต่างไปจากที่กำหนดไว้ในประกาศนี้
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งหรือเจ้าของรถยื่นรายละเอียดเกี่ยวกับแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารให้กรมการขนส่งทางบกพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน
ข้อ ๘
บรรดารถที่มีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารซึ่งได้จดทะเบียนไว้แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ
หรือมีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารซึ่งกรมการขนส่งทางบกได้ให้ความเห็นชอบไว้แล้ว
ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะมีการเปลี่ยนตัวถังหรือมีการปรับปรุงแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารใหม่
ทั้งนี้
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
ปิยะพันธ์ จัมปาสุต
อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๐ เมษายน ๒๕๕๐
โชติกานต์/ปรับปรุง
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๔๒ ง/หน้า ๓๔/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535470 | ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารมาตรฐาน 1 (ข) ชนิดพิเศษไม่เกิน 32 ที่นั่ง
| ประกาศกรมการขนส่งทางบก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร
มาตรฐาน ๑ (ข)
ชนิดพิเศษไม่เกิน ๓๒ ที่นั่ง[๑]
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑ (๒) (ฎ) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในมาตรา ๗๑ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
กรมการขนส่งทางบกกำหนดแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารมาตรฐาน
๑ (ข) ชนิดพิเศษไม่เกิน ๓๒ ที่นั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
แบบที่นั่งผู้โดยสารเป็นที่นั่งเดี่ยว มีความสูงพอสมควร
เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า ๔๐ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องติดตรึงไว้อย่างมั่นคงแข็งแรง และให้มีลักษณะดังนี้
(๑) เบาะนั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควรและมีที่วางแขนทั้ง ๒ ข้าง
ทุกที่นั่ง
(๒) พนักพิงหลังต้องมีเบาะรองรับศีรษะหนาพอสมควร
สูงจากเบาะที่นั่งไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลังเป็นมุมประมาณ ๙๕ องศาจากแนวราบ และสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ถึง
๑๓๕ องศาจากแนวราบ
(๓) มีเข็มขัดนิรภัยแบบ ๒ จุดทุกที่นั่ง รวมที่นั่งผู้ขับรถด้วย
ข้อ ๒
การจัดวางที่นั่งให้จัดวางที่นั่งตามความกว้างของรถ โดยเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวตัวรถกว้างไม่น้อยกว่า
๒๕ เซนติเมตร ที่นั่งต้องติดตรึงแน่นกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง โดยให้จัดวางที่นั่งได้แถวละไม่เกิน
๔ ที่นั่ง และให้มีระยะห่างระหว่างที่นั่งเมื่อวัดในระดับเหนือเบาะที่นั่งไม่เกิน
๕ เซนติเมตร จากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไปต้องไม่น้อยกว่า
๙๐ เซนติเมตร
ตัวอย่างการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารให้เป็นไปตามแบบที่แนบท้ายประกาศนี้
ทั้งนี้
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พงศกร เลาหวิเชียร
อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ตัวอย่างการจัดวางที่นั่งผู้โดยสาร รถโดยสารมาตรฐาน 1 (ข) ชนิดไม่เกิน 32 ที่นั่ง
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๐ เมษายน ๒๕๕๐
โชติกานต์/ปรับปรุง
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๔๒ ง/หน้า ๓๓/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535462 | ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก
| ประกาศกรมการขนส่งทางบก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่กรมการขนส่งทางบกประกาศเรื่องแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร
ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๓๗ ไว้แล้ว นั้น
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประกาศดังกล่าวให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๑ (๒) (ฎ) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๔)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ กรมการขนส่งทางบก
กำหนดแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ให้ยกเลิกความในวรรคสุดท้ายใน (ข) ของข้อ ๔ (๓) แห่งประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก ลงวันที่
๑๘ เมษายน ๒๕๓๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๒ (ข) มาตรฐาน ๒ (ง)
และรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง ในเส้นทางหมวด ๑
ที่นั่งจะมีที่วางแขนหรือมีพนักพิงหลังที่ปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
ในกรณีที่พนักพิงหลังปรับเอนไม่ได้ระยะห่างระหว่างที่นั่ง
โดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร จากด้านหลังพนักพิงของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
ข้อ ๒
ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙
ประดัง ปรีชญางกูร
อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๐ เมษายน ๒๕๕๐
โชติกานต์/ปรับปรุง
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๔๒ ง/หน้า ๓๒/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535448 | ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร และรถขนาดเล็ก
| ประกาศกรมการขนส่งทางบก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง
แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร
และรถขนาดเล็ก[๑]
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑ (๒) (ฎ) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๒๔)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ กรมการขนส่งทางบกกำหนดแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็กไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ให้ยกเลิก
(๑) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถ
ที่ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
(๒) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถ
ที่ในการขนส่งผู้โดยสารและรถขนาดเล็ก ลงวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
(๓) ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารของรถ
ที่ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ ชนิดไม่เกิน ๒๔ ที่นั่ง ลงวันที่ ๑๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๓๑ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งในส่วนอื่นที่กำหนดไว้แล้วในประกาศนี้
หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศนี้แทน
ข้อ ๒
แบบที่นั่งผู้โดยสารมี ๔ แบบ ดังนี้
(๑) ที่นั่งเดี่ยว มีความสูงพอสมควร เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า ๔๐
เซนติเมตรและไม่เกิน ๕๐ เซนติเมตร เว้นแต่รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑
(ก) และมาตรฐาน ๔ (ก) เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า ๕๕ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควร ติดตรึงไว้อย่างมั่นคงแข็งแรง
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลังเป็นมุมประมาณ ๙๕ องศาจากแนวราบ
(๒) ที่นั่งคู่ มีความสูงพอสมควร เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า ๘๐
เซนติเมตร และไม่เกิน ๙๐ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควรติดตรึงไว้อย่างมั่นคงแข็งแรง ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลังเป็นมุมประมาณ
๙๕ องศาจากแนวราบ
(๓) ที่นั่ง ๓ ที่นั่ง มีความสูงพอสมควร เบาะนั่งต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า
๑๒๐ เซนติเมตร และไม่เกิน ๑๒๕ เซนติเมตร
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควรติดตรึงไว้อย่างมั่นคงแข็งแรง
ในสภาพปกติพนักพิงหลังต้องเอนไปข้างหลังเป็นมุมประมาณ ๙๕ องศาจากแนวราบ
(๔) ที่นั่งแถวยาวเกินกว่า ๓ ที่นั่ง มีความสูงพอสมควร
จำนวนที่นั่งให้ถือเกณฑ์ความยาว ๔๐ เซนติเมตรต่อหนึ่งที่นั่ง
ที่นั่งและพนักพิงหลังต้องมีเบาะหนาพอสมควรติดตรึงไว้อย่างมั่นคงแข็งแรง
ข้อ ๓
การจัดวางที่นั่งผู้โดยสาร มี ๓ แบบ โดยต้องจัดวางเฉลี่ยให้เต็มพื้นที่บรรทุกของรถ
ดังนี้
(๑) แบบ ก คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารตามความกว้างของรถ
(๒) แบบ ข คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารตามความยาวของรถ
โดยให้ด้านหลังที่นั่งชิดด้านข้างของรถ
(๓) แบบ ค คือ การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารแบบ ก และแบบ ข ผสมกัน
การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารให้เป็นไปตามแบบตัวอย่างที่แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ ๔
รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารให้มีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสาร ดังนี้
(๑) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (ก) และมาตรฐาน ๔ (ก)
(ก) แบบที่นั่ง ต้องเป็นที่นั่งเดี่ยวแบบพิเศษและมีลักษณะ ดังนี้
(๑) พนักพิงหลังสามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ถึง ๑๓๕ องศา จากแนวราบ
และมีเบาะรองรับศีรษะหนาพอสมควร สูงจากเบาะที่นั่งไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
(๒) มีที่พักเท้าและมีที่วางแขนทั้ง ๒ ข้าง ทุกที่นั่ง
(๓) มีเข็มขัดนิรภัยแบบ ๒ จุด ทุกที่นั่งรวมที่นั่งคนขับด้วย
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางที่นั่งตามแบบ ก
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร
ที่นั่งต้องติดตรึงแน่นกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง ให้จัดวางที่นั่งแถวละ ๓
ที่นั่ง และมีระยะห่างระหว่างที่นั่งโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕
เซนติเมตร
จากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไปต้องไม่น้อยกว่า
๙๐ เซนติเมตร
(๒) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๑ (ข) และมาตรฐาน ๔ (ข)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นที่นั่งเดี่ยวหรือที่นั่งคู่ก็ได้ แต่พนักพิงหลังต้องแยกเป็นอิสระจากกันและมีความสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า
๕๐ เซนติเมตร สามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ถึง ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
และมีที่วางแขนทั้งสองข้าง ในกรณีที่นั่งแบบที่นั่งคู่
จะจัดให้มีที่วางแขนเฉพาะข้างที่อยู่ชิดทางเดิน และข้างที่อยู่ชิดตัวถังด้านข้างของรถก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางที่นั่งตามแบบ ก
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๕ เซนติเมตร
ที่นั่งต้องติดตรึงแน่นกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรงและมีระยะห่างระหว่างที่นั่งโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน
๕ เซนติเมตร
จากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร
(๓) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๒ (ก) มาตรฐาน ๒ (ข) และมาตรฐาน ๒
(ค) มาตรฐาน ๒ (ง) มาตรฐาน ๔ (ค) มาตรฐาน ๔ (ง) มาตรฐาน ๕
(ก) และมาตรฐาน ๖ (ก)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๒ ก็ได้
แต่พนักพิงหลังต้องแยกเป็นอิสระจากกัน มีความสูงจากเบาะนั่งไม่น้อยกว่า ๕๐
เซนติเมตร สามารถปรับเอนไปข้างหลังได้ถึง ๑๒๕ องศาจากแนวราบ
และมีที่วางแขนทั้งสองข้าง ในกรณีเป็นที่นั่งแบบที่นั่งคู่ หรือที่นั่ง ๓ ที่นั่ง
หรือที่นั่งแถวยาวเกินกว่า ๓ ที่นั่ง
จะจัดให้มีที่วางแขนเฉพาะข้างที่อยู่ชิดช่องทางเดินและข้างที่อยู่ชิดตัวถังด้านข้างของรถก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางตามแบบ ก
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถ มีความกว้างพอสมควร ที่นั่งต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง
และมีระยะห่างระหว่างที่นั่งโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
จากด้านหลังพนักพิงของที่นั่งด้านหน้า
หรือสิ่งกีดขวางอื่นใดถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป ต้องไม่น้อยกว่า ๗๕
เซนติเมตร
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง
ในเส้นทางหมวด ๑ ที่นั่งจะมีที่วางแขน หรือมีพนักพิงหลังที่ปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
ในกรณีที่พนักพิงหลังปรับเอนไม่ได้ ระยะห่างระหว่างที่นั่งโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน
๕ เซนติเมตร จากด้านหลังพนักพิงของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
(๔) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๒ (จ)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๒ ก็ได้
พนักพิงหลังหรือที่พิงหลังมีความสูงพอสมควร และจะปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางตามแบบ ก
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร
ที่นั่งต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง
ในกรณีที่มีการจัดวางที่นั่งล้ำเข้าไปในช่องทางเดินที่นั่งนั้นต้องเป็นแบบพับได้
ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกันโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งจากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๖๗ เซนติเมตร
เว้นแต่กรณีเป็นที่นั่งปรับเอนได้ระยะห่างระหว่างที่นั่งจากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๗๕ เซนติเมตร กรณีที่เป็นที่นั่งหันหน้าเข้าหากัน
โดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕
เซนติเมตรระยะห่างระหว่างด้านหน้าพนักพิงหรือที่พิงหลังของที่นั่งที่หันหน้าเข้าหากัน
ต้องไม่น้อยกว่า ๑๓๕ เซนติเมตร
(๕) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๓ (ก) มาตรฐาน ๓ (ข) มาตรฐาน ๓
(ค) มาตรฐาน ๓ (ง) มาตรฐาน ๔ (จ) มาตรฐาน ๔ (ฉ) มาตรฐาน ๕ (ข) และมาตรฐาน ๖ (ข)
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๒ ก็ได้
พนักพิงหลังหรือที่พิงหลังมีความสูงไม่น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตรจากเบาะนั่ง และปรับเอนได้หรือไม่ก็ได้
(ข) การจัดวางที่นั่ง ให้จัดวางตามแบบ ก
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินตามความยาวของตัวรถมีความกว้างพอสมควร
ที่นั่งต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง และมีระยะห่างระหว่างที่นั่ง
โดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร จากด้านหลังพนักพิงของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารในประเภทการขนส่งประจำทาง
ในเส้นทางหมวด ๑ และเส้นทางหมวด ๔
การจัดวางที่นั่งผู้โดยสารจะเป็นแบบหนึ่งแบบใดตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓
ก็ได้โดยให้พนักพิงหลังหรือที่พิงหลังของที่นั่งวางตามแนวยาวของรถ
มีความสูงตามความเหมาะสมได้
(๖) รถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ๓ (จ) มาตรฐาน ๓ (ฉ)
และรถขนาดเล็ก
(ก) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งในข้อ ๒ ก็ได้
พนักพิงหลังหรือที่พิงหลังต้องมีความสูงพอสมควร
(ข) การจัดวางที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งในข้อ ๓ ก็ได้
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร
ที่นั่งต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง ในกรณีที่มีการจัดวางที่นั่งล้ำเข้าไปในช่องทางเดิน
ที่นั่งนั้นต้องเป็นแบบพับได้ ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกัน
โดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งจากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไปต้องไม่น้อยกว่า
๖๗ เซนติเมตร และกรณีที่เป็นที่นั่งหันหน้าเข้าหากันโดยวัดในระดับเหนือเบาะนั่งไม่เกิน
๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างด้านหน้าพนักพิงหรือที่พิงหลังของที่นั่งที่หันหน้าเข้าหากันต้องไม่น้อยกว่า
๑๓๕ เซนติเมตร
ข้อ ๕
สำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารประเภทการขนส่งส่วนบุคคล แบบและการจัดวางที่นั่งจะเป็นไปดังนี้
ก็ได้
(๑) แบบที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๒ ก็ได้
ถ้าที่นั่งหรือพนักพิงไม่มีเบาะจะต้องมีลักษณะเรียบร้อย
ไม่มีส่วนแหลมหรือคมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง
(๒) การจัดวางที่นั่ง จะเป็นแบบใดแบบหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓ ก็ได้
โดยเว้นให้มีช่องทางเดินมีความกว้างพอสมควร
ในกรณีที่มีการจัดวางที่นั่งล้ำหรือกีดขวางในช่องทางเดินที่นั่งนั้นต้องเป็นแบบพับได้
ที่นั่งต้องติดตรึงกับตัวรถอย่างมั่นคงแข็งแรง
ในกรณีที่นั่งหันไปในทางเดียวกันโดยวัดในระดับเหนือเบาะที่นั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างที่นั่งจากด้านหลังพนักพิงหลังของที่นั่งด้านหน้าถึงด้านหน้าพนักพิงหลังของที่นั่งถัดไป
ต้องไม่น้อยกว่า ๖๐ เซนติเมตร
และกรณีที่นั่งหันหน้าเข้าหากันโดยวัดในระดับเหนือเบาะที่นั่งไม่เกิน ๕ เซนติเมตร
ระยะห่างระหว่างด้านหน้าพนักพิงหรือที่พิงหลังของที่นั่งที่หันหน้าเข้าหากัน
ต้องไม่น้อยกว่า ๑๒๐ เซนติเมตร
ข้อ ๖
บรรดารถที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ
ถ้ามีแบบและการจัดวางที่นั่งถูกต้องตามข้อกำหนดนายทะเบียน
หรือประกาศกรมการขนส่งทางบก หรือระเบียบกรมการขนส่งทางบกที่ใช้บังคับในขณะนั้น
หรือที่กรมการขนส่งทางบกให้ความเห็นชอบไว้แล้ว
ให้ถือว่าเป็นแบบและการจัดวางที่นั่งตามประกาศนี้
และให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะมีการเปลี่ยนตัวถังหรือมีการปรับปรุงแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารใหม่
ข้อ ๗
รถที่จะจัดให้มีแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารแตกต่างไปจากที่กำหนดไว้ในประกาศนี้
ให้ผู้ได้รับอนุญาตประกอบการขนส่งหรือเจ้าของรถ
ยื่นรายละเอียดเกี่ยวกับแบบและการจัดวางที่นั่งผู้โดยสารให้กรมการขนส่งทางบกได้พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน
ทั้งนี้
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๘
เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๗
พงศกร เลาหวิเชียร
รองอธิบดี
รักษาราชการแทน
อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ตัวอย่างการจัดวางที่นั่งผู้โดยสาร แบบ ก แบบ ข และแบบ ค
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๐ เมษายน ๒๕๕๐
โชติกานต์/ปรับปรุง
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๔๒ ง/หน้า ๒๗/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535413 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดราชบุรี ฉบับที่ 59 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
ฉบับที่
๕๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี
ฉบับที่ ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๒๙ ปรับปรุงเส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
จังหวัดราชบุรี สายที่ ๗๓๐๐๑ ไปรษณีย์ - ศาลากลางจังหวัด-วัดโรงช้าง (วงกลม)
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรีได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
และนายทะเบียนประจำจังหวัดราชบุรี ได้พิจารณาออกใบอนุญาตประกอบการขนส่งในเส้นทางหมวด
๑ ที่กำหนดขึ้นทดแทนแล้ว เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๐
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี
ในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วงศ์ศักดิ์
สวัสดิ์พาณิชย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๖๐/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535411 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดราชบุรี ฉบับที่ 58 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
ฉบับที่
๕๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี
ดังนี้
๑. ฉบับที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม
๒๕๒๙ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จังหวัดราชบุรี สายที่ ๗๓๐๐๓
สถานีรถไฟราชบุรี-สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๔ จังหวัดราชบุรี
๒. ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐) ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม
๒๕๓๐ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จังหวัดราชบุรี สายที่ ๗๓๐๐๘
หอนาฬิกา-วัดดอนแจง
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรีได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
และนายทะเบียนประจำจังหวัดราชบุรี ได้พิจารณาออกใบอนุญาตประกอบการขนส่งในเส้นทางหมวด
๑ ที่กำหนดขึ้นทดแทนแล้ว เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วงศ์ศักดิ์
สวัสดิ์พาณิชย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๙/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535409 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดราชบุรี ฉบับที่ 57 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
ฉบับที่
๕๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี
ดังนี้
๑. ฉบับที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม
๒๕๒๙ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จังหวัดราชบุรี สายที่ ๗๓๐๐๔
สะพานธนะรัชต์ - ตลาดเจ็ดเสมียน
๒. ฉบับที่ ๓๘ (พ.ศ. ๒๕๓๔) ลงวันที่ ๑๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก จังหวัดราชบุรี สายที่
๗๓๐๑๑ สวนผึ้ง บ้านห้วยม่วง
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรีได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดราชบุรี ในการประชุม ครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วงศ์ศักดิ์
สวัสดิ์พาณิชย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดราชบุรี
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๘/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535407 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดอุทัยธานี ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุทัยธานี
ฉบับที่
๒๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุทัยธานีกำหนดเส้นทาง
สำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๒๓
สายที่ ๖๘๐๐๒ อุทัยธานี - ท่าน้ำมโนรมย์
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่ประชาชน นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุทัยธานีได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางดังกล่าว ข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
เนื่องจากได้พิจารณากำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้นทดแทนแล้ว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดอุทัยธานี ในการประชุม ครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๙
จึงให้ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็กดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ ๒๑ ธันวาคม
๒๕๔๙ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
อุดม
พัวสกุล
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดอุทัยธานี
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๗/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535399 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่อง ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด
ฉบับที่
๒๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
ยกเลิกเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดร้อยเอ็ด
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ลงวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๓๒ กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งโดยสารรถขนาดเล็ก
จังหวัดร้อยเอ็ด สายที่ ๔๘๐๐๔ ร้อยเอ็ด - โพธิ์ชัย - บ้านภูเขาทอง ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดร้อยเอ็ดได้พิจารณาแล้ว
เห็นว่าเส้นทางสายดังกล่าวข้างต้นหมดความจำเป็นสำหรับการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดร้อยเอ็ด
ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๙
จึงให้ยกเลิกเส้นทางดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
พินิจ
พิชยกัลป์
ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๖/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535393 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉบับที่ 78 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ฉบับที่
๗๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร[๑]
ด้วย
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้พิจารณาเห็นสมควร ให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางรถโดยสารประจำทาง หมวด ๔
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สายที่ ๒๕๒๕ สวนอุตสาหกรรมโรจนะ - วัดกลางเกาะระกำ โดยมีรายละเอียดเส้นทางดังนี้
สายที่ ๒๕๒๕ สวนอุตสาหกรรมโรจนะ - วัดกลางเกาะระกำ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙ (ถนนโรจนะ) แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕๖
ผ่านโรงเรียนปัณณวิทย์อนามัยคลองคุ้งลาน แยกขวาไปตามถนนองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน
ผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชันอนามัยตลิ่งชัน
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๕๖ ถึงสี่แยกบ้านตลิ่งชัน
แยกขวาไปตามถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา - บ้านคุ้งลาน
ผ่านโรงเรียนวัดสามเรือน บ้านขอมไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางวัดกลางเกาะระกำ
ประกาศ
ณ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
เชิดพันธ์
ณ สงขลา
ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๕/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535391 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 79 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางรถโดยสารประจำทาง หมวด 4 สายที่ 8351 เชียรใหญ่ - สามแยกบางบูชาเป็น นครศรีธรรมราช - สามแยกบางบูชา - เชียรใหญ่
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางรถโดยสารประจำทาง
หมวด
๔ สายที่ ๘๓๕๑ เชียรใหญ่ - สามแยกบางบูชา
เป็น
นครศรีธรรมราช - สามแยกบางบูชา เชียรใหญ่[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่ ๓๐ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วย รถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สายที่ ๘๓๕๑ เชียรใหญ่ - สามแยกบางบูชา ขึ้น นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๕ เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๔๕
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้ปรับปรุงเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๓๕๑ เชียรใหญ่ - สามแยกบางบูชา เป็น นครศรีธรรมราช
- สามแยกบางบูชา เชียรใหญ่ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังต่อไปนี้
คือ
สายที่ ๘๓๕๑ นครศรีธรรมราช - สามแยกบางบูชา - เชียรใหญ่
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามถนนกะโรม แยกซ้ายไปตามถนนยมราช แยกขวาไปตามถนนกาชาด ตรงไปตามถนนบ่ออ่าง
แยกขวาไปตามถนนพัฒนาการคูขวาง แยกซ้ายไปตามถนนวัดโบสถ์ ตรงไปตามทางหลวงชนบท (ยธ.
หมายเลข นศ. ๒๐๗๐) แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท (ถนนบ้านคันธง)
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๓ แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท (ยธ. หมายเลข นศ.
๒๐๔๕) ผ่านบ้านท่าสะท้อน บ้านบางคล้า แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ผ่านบ้านบ่อจิก
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๓ ถึงสามแยกบางบูชา แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท
(ร.พ.ช. หมายเลข นศ. ๓๐๒๓) ผ่านบ้านบางบูชา บ้านหัวป่าขลู แยกขวาไปตามทางหลวงชนบท
(ร.พ.ช. หมายเลข นศ. ๔๐๕๗) แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท (ร.พ.ช.
หมายเลข นศ. ๓๐๒๙) ผ่านบ้านเชียรเขา ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอเชียรใหญ่
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
โสรศ/ผู้จัดทำ
๑๐
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๓๐ ง/หน้า ๑๕๓/๕ เมษายน ๒๕๕๐ |
535026 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดสมุทรปราการ ฉบับที่ 106 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ 1140 สำโรง - ปากน้ำ - คลองด่าน
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก 2 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่
๑๐๖ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๑๔๐ สำโรง - ปากน้ำ -
คลองด่าน
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก
๒ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่ ๑๐๓ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๙ เรื่อง กำหนด
(ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียด เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๑๔๐ สำโรง - ปากน้ำ - คลองด่าน
ให้มีเส้นทางแยกช่วงปากน้ำ-ตำหรุ และปรับปรุงเส้นทางแยกช่วงคลองด่าน - เคหะชุมชนบางพลี
(โครงการ ๒) เป็น คลองด่าน - เคหะชุมชนบางพลี (โครงการ ๒) โรงพยาบาลบางนา
๒ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๑๔๐ สำโรง - ปากน้ำ - คลองด่าน ให้มีเส้นทางแยกช่วงเพิ่มอีก
๒ ช่วง คือ ช่วงปากน้ำ- มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (วิทยาเขตสมุทรปราการ)
และช่วงมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (วิทยาเขตสมุทรปราการ) - คลองด่าน
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง ดังต่อไปนี้
สายที่ ๑๑๔๐ สำโรง - ปากน้ำ - คลองด่าน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดสำโรงเหนือ
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓ (ถนนสุขุมวิท) ผ่านทางแยกไปท่าน้ำพระประแดง
ที่ว่าการอำเภอเมืองบางเมฆขาวบ้านคอต่อ บ้านคลองตำหรุ บ้านคลองตาเจี่ย
บ้านคลองบางปูเก่า ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองด่าน
ช่วงคลองด่าน-เคหะชุมชนบางพลี
(โครงการ ๒) - โรงพยาบาลบางนา ๒
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองด่าน ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓
(ถนนสุขุมวิท) แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข สป ๑๐๐๖ (ถนนลาดหวาย)
ผ่านเคหะชุมชนบางพลี โครงการ ๒ ผ่านแยกถนนเทพารักษ์ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณโรงพยาบาลบางนา
๒
ช่วงพระประแดง-ปากน้ำ-บ้านคลองตำหรุ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณท่าน้ำพระประแดง
ไปตามถนนปู่เจ้าสมิงพราย แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓ (ถนนสุขุมวิท)
ผ่านที่ว่าการอำเภอเมืองบางเมฆขาว บ้านคอต่อ
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองตำหรุ
ช่วงปากน้ำ-เทศบาลบางปู
๕๙ (วิทยุการบิน) เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถบริเวณปากน้ำ (ด้านถนนสุขุมวิท)
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓ (ถนนสุขุมวิท) แยกซ้ายไปตามซอยเทศบาลบางปู ๕๙
(วิทยุการบิน) แยกซ้ายไปตามซอยเทศบาลบางปู ๕๙/๕
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณด้านหลัง บริษัท ยัวซ่าแบตเตอรี่
จำกัด
ช่วงปากน้ำ-ตำหรุ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดปากน้ำ ไปทางวงเวียนท้ายบ้าน
ผ่านถนนสายลวด แยกขวาไปตามถนนสุขุมวิท ผ่านบางเมฆขาว บ้านคอต่อ ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองตำหรุ
ช่วงปากน้ำ-มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
(วิทยาเขตสมุทรปราการ)
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณปากน้ำ ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓
(ถนนสุขุมวิท) ผ่านบางเมฆขาว บ้านคอต่อ บ้านคลองตำหรุ ศาลจังหวัดสมุทรปราการ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย แยกซ้ายไปตามซอยเทศบาลบางปู ๑๑๙
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
(วิทยาเขตสมุทรปราการ)
ช่วงมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
(วิทยาเขตสมุทรปราการ) - คลองด่าน เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
(วิทยาเขตสมุทรปราการ) ไปตามซอยเทศบาลบางปู ๑๑๙ แยกซ้ายไปตามถนนสุขุมวิท
ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองด่าน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อนุวัฒน์
เมธีวิบูลวุฒิ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๘ ง/หน้า ๒๒๓/๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ |
535022 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดสมุทรปราการ ฉบับที่ 105 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ 1197 บางพลี - ถนนอ่อนนุช - ตลาดหัวตะเข้ ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงอำเภอบางพลี - โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เพิ่มอีก 1 ช่วง
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่
๑๐๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๑๙๗ บางพลี - ถนนอ่อนนุช -
ตลาดหัวตะเข้
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงอำเภอบางพลี
- โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
เพิ่มอีก
๑ ช่วง[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่ ๙๘ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ เรื่อง กำหนด
(ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียด เส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด
๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๑๙๗ บางพลี - ถนนอ่อนนุช - ตลาดหัวตะเข้ นั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการได้พิจารณาเห็นสมควรให้กำหนด
(ปรับปรุง) เส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๙
เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดสมุทรปราการ
สายที่ ๑๑๙๗ บางพลี - ถนนอ่อนนุช - ตลาดหัวตะเข้
ให้มีรายละเอียดเส้นทางแยกช่วงอำเภอบางพลี - โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เพิ่มอีก ๑
ช่วง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง ดังต่อไปนี้
สายที่ ๑๑๙๗ ชื่อเส้นทาง บางพลี - ถนนอ่อนนุช -
ตลาดหัวตะเข้
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบางพลี
ไปตามถนนสุขาภิบาล ๒ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๕๖ (ถนนกิ่งแก้ว)
ผ่านศูนย์อุตสาหกรรมบางพลี สำนักงานเขตบางพลี การไฟฟ้านครหลวง โรงงานแป้งหมอเปาโล
วัดกิ่งแก้ว หมู่บ้านจามจุรี แยกขวาไปตามถนนอ่อนนุช ไปตามถนนลาดกระบัง
ผ่านทางแยกถนนร่มเกล้า
สถานีตำรวจนครบาลลาดกระบังไปสุดเส้นทางที่บริเวณตลาดหัวตะเข้
ช่วงอำเภอบางพลี
- โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทาง อำเภอบางพลี ไปตามถนนสุขาภิบาล ๒
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๒๕๖ (ถนนกิ่งแก้ว)
ผ่านโรงเรียนเตรียมปริญญานุสรณ์ แยกซ้ายไปตามถนนบางนา - ตราด
ผ่านถนนวงแหวนตะวันออก ไปสุดเส้นทางที่บริเวณโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อนุวัฒน์
เมธีวิบูลวุฒิ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๘ ง/หน้า ๒๒๑/๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ |
535018 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ประจำจังหวัดสมุทรปราการ ฉบับที่ 104 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด 4 จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ 1221 ถนนบางนา - ตราด (กม. ที่ 26) - โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เป็น โรงพยาบาลบางบ่อ - โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่
๑๐๔ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
เรื่อง
กำหนด (ปรับปรุง) เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด
๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่ ๑๒๒๑ ถนนบางนา - ตราด (กม.
ที่ ๒๖) -
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เป็น
โรงพยาบาลบางบ่อ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ[๑]
ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ฉบับที่ ๗๖ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔ เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดสมุทรปราการ สายที่
๑๒๒๑ ถนนบางนา - ตราด (กม. ที่ ๒๖) - โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ขึ้นนั้น
คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการได้พิจารณาเห็นสมควรให้ปรับปรุงรายละเอียดเส้นทางดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดสมุทรปราการ ในการประชุมครั้งที่
๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙
และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ในการประชุมครั้งที่
๑๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๔๙ จึงให้กำหนด (ปรับปรุง)
เส้นทางและรายละเอียดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๔ จังหวัดสมุทรปราการ
สายที่ ๑๒๒๑ ถนนบางนา - ตราด (กม. ที่ ๒๖) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ให้มีรายละเอียดเส้นทางเป็น โรงพยาบาลบางบ่อ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทาง
ดังต่อไปนี้
สายที่ ๑๒๒๑ โรงพยาบาลบางบ่อ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณตลาดสดท่าน้ำบางบ่อ
(ตรงข้ามโรงพยาบาลบางบ่อ) ไปตามถนนเทพารักษ์ แยกซ้ายไปตามถนนรัตนราช
ผ่านโรงเรียนชุมชนบางบ่อ ที่ว่าการอำเภอบางบ่อ ที่ทำการไปรษณีย์บางบ่อ
ถึงถนนบางนา-ตราด (กม. ๒๖) แยกซ้ายไปตามถนนบางนา-ตราด กลับรถที่สะพานกลับรถ (กม.
๒๔) (เที่ยวกลับใช้สะพานกลับรถ กม. ๒๘) แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท (ร.พ.ช. หมายเลข
๓๑๐๒ บางเสาธง-บางเซา) ผ่านสำนักงานที่ดิน จังหวัดสมุทรปราการ สาขาบางพลี
วัดศิริเสาธง สถานีตำรวจภูธรกิ่งอำเภอบางเสาธง ถึงซอย ๓ แยกซ้ายไปตามซอย ๓
ถึงที่ว่าการกิ่งอำเภอบางเสาธง แล้วกลับตามเส้นทางเดิม แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
(ร.พ.ช. หมายเลข ๓๑๐๒ บางเสาธง-บางเซา) ถึงบ้านบางเซา ไปตามทางหลวงชนบท (ถนนองค์การบริหารส่วนตำบลบางบ่อ)
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อนุวัฒน์
เมธีวิบูลวุฒิ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดสมุทรปราการ
โสรศ/ผู้จัดทำ
๔
เมษายน ๒๕๕๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๘ ง/หน้า ๒๑๙/๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533787 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 78 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๘ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๕๒๔ นครศรีธรรมราช-บ้านชุมขลิง-มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่
๘๕๒๔ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-บ้านชุมขลิง-มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๖ ผ่านแยกเบญจมราชูทิศ บ้านยวนแหล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
อำเภอพรหมคีรีแยกในเขียว บ้านดอนคา ถึงสามแยกชุมขลิง แยกขวาไปตามถนนชนบท ผ่านโรงเรียนบ้านชุมขลิงวัดพระเกียบประชาบำรุง
บ้านทุ่งชน ถึงวัดสโมสร (วัดด่าน) แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองดิน
(มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๙/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533781 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 77 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๗ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๕ หัวถนน-สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครศรีธรรมราช
โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้ คือ
สายที่
๘๔๗๕ ชื่อเส้นทาง หัวถนน-สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครศรีธรรมราช
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณแยกหัวถนน
ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๔๐๑๓ ถึงแยกถนนพัฒนาการคูขวาง แยกซ้ายไปตามถนนพัฒนาการคูขวาง
ผ่านหมู่บ้านการเคหะถึงแยกท่าโพธิ์ แยกซ้ายไปตามถนนท่าโพธิ์ ถึงถนนราชดำเนิน แยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนิน
แยกขวาไปตามถนนเทวราช แยกซ้ายไปตามถนนยมราช ถึงแยกสุเหร่า แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๑๕ (ถนนกะโรม) ผ่านตลาดหัวอิฐ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๘/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533777 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 76 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๔ ทุ่งสง-บางขัน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๗๔ ชื่อเส้นทาง ทุ่งสง-บางขัน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอทุ่งสง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ถึงแยกบ้านหนองหว้า ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๑๐
ถึงแยกโคกบก แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๑๖ ผ่านบ้านทุ่งส้าน บ้านทุ่งควาย
บ้านนาพรุ ถึงแยกสวนป่า แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๕๑ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอบางขัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๗/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533773 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 75 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๕ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๓ ทุ่งสง-นาบอน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๗๓ ชื่อเส้นทาง ทุ่งสง-นาบอน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอทุ่งสง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านแยกบ้านหนองหว้า บ้านวัดจอด ถึงแยกบ้านควนไม้แดง
แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๑๑ ผ่านบ้านนาป่า แยกคลองจัง ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอนาบอน
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๖/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533769 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 74 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๒นครศรีธรรมราช-บ้านกุมแป โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๗๒ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-บ้านกุมแป
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณแยกหัวถนน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๓ แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นศ ๒๐๑๒ (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑ (กม. ที่ ๓๐ + ๘๑๕) - บ้านไสม่วง) ผ่านบ้านช้างซ้าย บ้านวังวัว วัดไสเลียบ ถึงบ้านสาคูผ่านวัดไสมะนาว
โรงเรียนบ้านห้วยยูง บ้านใสถั่ว แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นศ ๓๐๑๑ (แยกทางหลวงหมายเลข
๔๐๓ (กม. ที่ ๑๘ + ๗๕๐) - บ้านทางพูน) ผ่านบ้านถนนคด บ้านในกลอง บ้านไร่ลุ่ม บ้านปลายสระ
บ้านทุ่งค้อ ถึงสี่แยกควนพัง แยกซ้ายไปตามทางหลวงท้องถิ่น ผ่านโรงเรียนวัดสุวรรณโฆษิต
บ้านพรุดินสอ โรงเรียนตระพังพิทยาคม ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกุมแป
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๕/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533767 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 73 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๓ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๑ ทุ่งสง-ชะอวด โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๗๑ ชื่อเส้นทาง ทุ่งสง-ชะอวด
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอทุ่งสง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๓ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านบ้านช่องเขา
บ้านโคกยาง ถึงแยกสวนผัก แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ผ่านวัดควนเกย บ้านสำนักขัน
บ้านวังฆ้อง บ้านสามตำบลถึงแยกชะอวด แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๘ ผ่านบ้านในหาน
บ้านลำปะ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอชะอวด
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๔/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533765 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 72 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๗๐ นครศรีธรรมราช-บ้านนา-พรหมคีรี โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๗๐ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-บ้านนา-พรหมคีรี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามถนนกะโรมถึงแยกเบญจมราชูทิศ แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐๓ ผ่านโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราชถึงแยกบ้านน้ำแคบ
แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข นศ. ๓๐๕๐ ผ่านบ้านหนองบัว บ้านนา บ้านท่าข้ามบน บ้านนอกท่า
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอพรหมคีรี
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๓/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533763 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 71 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๑ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๙ พิปูน-คลองจันดี โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๙ ชื่อเส้นทาง พิปูน-คลองจันดี
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอพิปูน
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๙๔ ผ่านบ้านมังคลาราม วัดยางค้อย สามแยกบ้านร่มยูง โรงเรียนวัดป่าพาด
วัดมะปรางงาม วัดนาเหนือแยกนาสาร แยกคลองจันดี ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคลองจันดี
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๒/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533761 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 70 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๗๐ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๘ นครศรีธรรมราช-แยกหัวถนน โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๘ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-แยกหัวถนน
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามถนนกะโรม ถึงแยกเบญจมราชูทิศ แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐๓ ผ่านวัดพระเพรง
ถึงทางแยกเข้าศูนย์ราชการนาสาร แยกขวาไปตามถนนศูนย์ราชการนาสาร ถึงสำนักงานชลประทาน
เขต ๑๑ แล้วกลับตามเส้นทางเดิม แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐๓ ถึงแยกนาพรุ
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๓ ผ่านบ้านมะม่วงตลอด ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณแยกหัวถนน
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๑/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533759 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 69 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๙ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๗ หัวไทร-ควนชะลิก โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๗ ชื่อเส้นทาง หัวไทร-ควนชะลิก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางอำเภอหัวไทร
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๘ ผ่านบ้านโคกกุล ถึงบ้านดอนแค แยกซ้ายไปตามทางหลวงชนบท
ผ่านบ้านเกาะสำโรง บ้านหัวคลอง บ้านโคกสูง บ้านหัวสะพาน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านควนชะลิก
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๕๐/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533755 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 68 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๘ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบกพ.ศ.
๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๖เชียรใหญ่-ชะอวด โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๖ ชื่อเส้นทาง เชียรใหญ่-ชะอวด
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอเชียรใหญ่
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๙๔ ผ่านบ้านบางเหลง แยกบ่อล้อ ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๕๑ ผ่านโรงเรียนบ้านทุ่งขวัญแก้ว บ้านทับแขก บ้านกุมแป ถึงแยกบ้านควนเงิน แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๖๕ ผ่านบ้านทุ่งค่าย ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอชะอวด
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๙/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533749 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 67 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๗ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๕ ทุ่งสง-กรุงหยัน-ทุ่งใหญ่ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๕ ชื่อเส้นทาง ทุ่งสง-กรุงหยัน-ทุ่งใหญ่
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอทุ่งสง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ จนถึงสามแยกบ้านหนองหว้า ตรงไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๑๐ ผ่านตลาดโคกบก บ้านหน้าเขา สามแยกไปบ้านมาบชิง โรงเรียนบ้านสามัคคี ตลาดกรุงหยัน
วัดประดู่หอม หมวดการทางทุ่งใหญ่ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดทุ่งใหญ่
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๘/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533745 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๔ นครศรีธรรมราช-คีรีวง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๔ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-คีรีวง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๖ ผ่านบ้านทวดทอง บ้านยวนแหล ถึงสามแยกบ้านตาล เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๑๕ ผ่านบ้านวังก้อง บ้านท่าใหญ่ ถึงบ้านศาลาสังกะสี แยกขวาไปตามทางหลวงชนบทผ่านวัดโคก
ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านคีรีวง
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๗/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533743 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 65 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๕ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่๘๔๖๓ ท่าศาลา-โรงเหล็ก โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๓ ชื่อเส้นทาง ท่าศาลา-โรงเหล็ก
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าศาลา
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๔๐ ผ่านหน้าวัดตก คลองนอน คลองหรอ ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดโรงเหล็ก
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๖/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533741 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 64 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราชสายที่ ๘๔๖๒ สิชล-เขาใหญ่ โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๒ ชื่อเส้นทาง สิชล-เขาใหญ่
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดสิชล ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๐๑ ถึงสี่แยกจอมพิบูลย์ แยกขวาไปทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๐๕ ผ่านตลาดอาทิตย์ ตลาดเสาร์ผ่านทางเข้าตลาดจันทร์
บ้านยาน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางเขาใหญ่
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๕/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533739 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 63 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๓ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๑ นครศรีธรรมราช-ปากลง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๑ ชื่อเส้นทาง นครศรีธรรมราช-ปากลง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๖ ผ่านสี่แยกเบญจมราชูทิศ บ้านยวนแหล สามแยกบ้านตาล
สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช อำเภอพรหมคีรี บ้านพรหมโลก สามแยกคีรี สี่แยกดอนคา บ้านในตูล
จนถึงสามแยกนาเหรง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๔๐ ถึงสามแยกโรงเหล็ก แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๔๑๘๖ ผ่านบ้านเขาเหล็ก บ้านหวายช่อ บ้านนบและสามแยกห้วยพาน ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านปากลง
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๔/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533737 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 62 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๖๐ ปากพนัง-หัวไทร โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๖๐ ชื่อเส้นทาง ปากพนัง-หัวไทร
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดปากพนัง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๓ ผ่านบ้านหัวถนนชายทะเล หัวคลองบางวัม ชลประทาน บ้านหน้าโกฏ
เกาะฝ้าย บ้านสายหนาม เกาะเพชร บ้านหน้าสตน เกาะยาว บ้านหน้าศาล ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอหัวไทร
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๓/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533735 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๑ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๕๙ ทุ่งสง-กะปาง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๕๙ ชื่อเส้นทาง ทุ่งสง-กะปาง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดอำเภอทุ่งสง
ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๓ ผ่านบ้านห้วยขัน ที่วัง บ้านก้างปลา บ้านคลองโสม ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านกะปาง
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๒/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533733 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช ฉบับที่ 60 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๖๐ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๘๔๕๘ ท่าวัง-ปากนคร โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๘๔๕๘ ชื่อเส้นทาง ท่าวัง-ปากนคร
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบริเวณสี่แยกท่าวัง
ไปตามถนนสายท่าวัง-ปากนครผ่านวัดท่านคร วัดนางพญา บ้านคลองขุด ไปสุดเส้นทางที่สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางบ้านปากนคร
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๔๑/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
533731 | ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชฉบับที่ 59 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก
| ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
ฉบับที่
๕๙ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
เรื่อง
กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
ที่ทดแทนเส้นทางการขนส่งโดยรถขนาดเล็ก[๑]
ด้วย คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชได้พิจารณาเห็นสมควรกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสารขึ้น
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนต่อไป
ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ จึงให้กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร
หมวด ๑ จังหวัดนครศรีธรรมราช สายที่ ๖ ท่าแพ-สนามหน้าเมือง โดยให้ใช้รายละเอียดเส้นทางดังนี้
คือ
สายที่
๖ ชื่อเส้นทาง ท่าแพ-สนามหน้าเมือง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางตลาดท่าแพ ไปตามถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข๔๐๑
แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๑๒ (ถนนอ้อมค่ายวชิราวุธ) แยกขวาไปตามถนนมณีวัตร
แยกซ้ายไปตามถนนราชดำเนิน ผ่านหน้าสนามกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช ไปตามถนนหรือซอยต่างๆ
สองข้างทางถนนราชดำเนิน ถนนราษฎร์บำรุง ถนนยมราช และถนนศรีปราชญ์ดังนี้ (ถนนมะขามชุม
ถนนตากสิน ถนนท่าโพธิ์ ถนนเทวราช ถนนวัดคิด ถนนชมภูพล ถนนเนรมิต ถนนบูรณาราม ถนนบ่ออ่าง
ถนนพระเงิน ถนนเพนียด ถนนลูกเสือ และถนนประตูขาว) ไปสุดเส้นทาง ณ
สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางสนามหน้าเมือง
ช่วงค่ายวชิราวุธ-สนามหน้าเมือง
เริ่มต้นจากสถานที่จอดรถโดยสารประจำทางค่ายวชิราวุธ (ประตูด้านทิศเหนือ) ไปตามถนนค่ายวชิราวุธ
ถนนราชดำเนิน ผ่านหน้าสนามกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราชไปตามถนนหรือซอยต่างๆ สองข้างทางถนนราชดำเนิน
ถนนราษฎร์บำรุง ถนนยมราช และถนนศรีปราชญ์ ดังนี้ (ถนนมะขามชุม ถนนตากสิน ถนนท่าโพธิ์
ถนนเทวราช ถนนวัดคิด ถนนชมภูพล ถนนเนรมิต ถนนบูรณาราม ถนนบ่ออ่าง ถนนพระเงิน ถนนเพนียด
ถนนลูกเสือ และถนนประตูขาว) ไปสุดเส้นทาง ณ สถานที่จอดรถโดยสารประจำทางสนามหน้าเมือง
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
วิชม
ทองสงค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก
ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
มีนาคม ๒๕๕๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๒๖ ง/หน้า ๑๓๙/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๐ |
Subsets and Splits
No saved queries yet
Save your SQL queries to embed, download, and access them later. Queries will appear here once saved.