sysid
stringlengths 1
6
| title
stringlengths 8
870
| txt
stringlengths 0
257k
|
---|---|---|
758325 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘๑ (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ ๒ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
และเจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไปที่ใช้เครื่องมือทำการประมงประเภทอวนลาก อวนล้อมจับ และอวนครอบปลากะตัก
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องดำเนินการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงทุกครั้ง
ด้วยวิธีการดังนี้
(๑)
แจ้งโดยตรงหรือโดยทางโทรสาร ตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ไปยังศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามรายชื่อแนบท้ายประกาศนี้
(๒)
การแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง ให้แจ้งภายในระยะเวลาสิบสองชั่วโมง แต่ไม่น้อยกว่าสี่ชั่วโมงก่อนการนำเรือเข้าหรือออกจากท่าเทียบเรือประมง
แล้วแต่กรณี
ในการแจ้งการออกท่าเทียบเรือประมงต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
กรณีที่เป็นเรือประมงที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงต้องจัดส่งสำเนาแผนการขนถ่ายสัตว์น้ำหรือสำเนาแผนการจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่บนเรือประมงไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของการลงแรงประมงต่อปีทุกครั้ง
ตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๓ ในกรณีที่เป็นการเข้าเทียบท่าเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงส่งมอบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
สำเนาบันทึกการทำการประมง
(๒)
บัญชีรายชื่อและหนังสือคนประจำเรือ สำหรับคนประจำเรือซึ่งมีสัญชาติไทย
(๓)
บัญชีรายชื่อและใบอนุญาตให้ทำงานตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าวสำหรับคนประจำเรือซึ่งมิได้มีสัญชาติไทย
(๔)
สำเนาเอกสารการจัดเวลาพักของคนประจำเรือ
ข้อ
๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งประจำอยู่ที่ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
รวบรวมสำเนาเอกสารหลักฐานตามข้อ ๒ และข้อ ๓
และรายงานผลการตรวจสอบต่อกรมประมงทุกสามสิบวัน
ข้อ
๕[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบฟอร์มการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง
(สำหรับเรือประมงไทย)
๒. ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
๓. แผนการขนถ่ายสัตว์น้ำ
๔. แผนการจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่บนเรือประมงไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของการลงแรงประมงต่อปี
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ชวัลพร/ปริยานุช/จัดทำ
๒๐ กันยายน
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑ ธันวาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๐๙ ง/หน้า ๒๗/๑๙ กันยายน ๒๕๕๙ |
758251 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖
วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp. เป็นกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดอุตรดิตถ์
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๐๘ ง/หน้า ๘/๑๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
758247 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาส เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาส
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาส
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖
วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมง
ประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) และมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาสออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดนราธิวาส
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สิทธิชัย ศักดา
ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาส
ปริยานุช/จัดทำ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๐๘ ง/หน้า ๗/๑๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757905 | ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การออกหนังสือคนประจำเรือตามกฎหมายว่าด้วยการประมง พ.ศ. 2559 | ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง
การออกหนังสือคนประจำเรือตามกฎหมายว่าด้วยการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๙
เพื่อประโยชน์ในการอำนวยความสะดวกในการออกหนังสือคนประจำเรืออาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๓ วรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑[๑]
ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๒ ในประกาศนี้
ศูนย์ หมายความว่า
ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามกฎหมายว่าด้วยการประมงและให้หมายความรวมถึงกรมประมง
ที่ทำการสำนักงานประมงจังหวัด
ที่ทำการสำนักงานประมงอำเภอหรือสถานที่อื่นที่อธิบดีประกาศกำหนด
เรือประมง หมายความว่า
เรือประมงที่มีขนาดตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๘๑
ข้อ
๓
เจ้าของเรือผู้ใดประสงค์จะให้ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีทำงานในเรือประมงต้องจัดให้ผู้นั้นยื่นคำขอรับหนังสือคนประจำเรือต่อกรมเจ้าท่าตามระเบียบกรมเจ้าท่า
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการออกหนังสือคนประจำเรือประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ในกรณีที่เจ้าของเรือผู้ใดมีคนประจำเรือซึ่งมีสัญชาติไทยทำงานอยู่ในเรือประมงอยู่ก่อนแล้วและผู้นั้นยังไม่มีหนังสือคนประจำเรือให้ดำเนินการตามวรรคหนึ่งสำหรับคนประจำเรือนั้น
ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ในกรณีที่กรมเจ้าท่าไม่สามารถออกหนังสือคนประจำเรือให้แก่ผู้ยื่นคำขอได้ในวันที่ยื่นคำขอให้ออกใบรับคำขอตามแบบแนบท้ายประกาศนี้เพื่อใช้แทนหนังสือคนประจำเรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้
โดยผู้ยื่นคำขอจะต้องนำใบรับคำขอมาคืนเจ้าหน้าที่ในวันที่มารับหนังสือคนประจำเรือ
ข้อ
๔
เจ้าของเรือผู้ใดประสงค์จะให้คนต่างด้าวซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีทำงานในเรือประมงต้องจัดให้ผู้นั้นยื่นคำขอรับหนังสือคนประจำเรือตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ต่อกรมประมง
ณ ศูนย์พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
สำเนาใบอนุญาตให้ทำงานตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าว
(๒)
สำเนาใบอนุญาตทำการประมงของเจ้าของเรือ
(๓)
สำเนาหนังสือสัญญาจ้างให้ทำงานในเรือประมง
ในกรณีที่เจ้าของเรือผู้ใดมีคนประจำเรือซึ่งเป็นคนต่างด้าวทำงานอยู่ในเรือประมงอยู่ก่อนแล้ว
และผู้นั้นยังไม่มีหนังสือคนประจำเรือให้ดำเนินการตามวรรคหนึ่งสำหรับคนประจำเรือนั้น
ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ
๕
ในกรณีที่คนต่างด้าวมีเอกสารและหลักฐานตามที่กำหนดในข้อ ๔ ถูกต้องและครบถ้วน
ให้อธิบดีจัดทำทะเบียนประวัติและออกหนังสือคนประจำเรือให้แก่คนต่างด้าวนั้น
ในกรณีที่กรมประมงไม่สามารถออกหนังสือคนประจำเรือให้แก่ผู้ยื่นคำขอได้ในวันที่ยื่นคำขอให้ออกใบรับคำขอตามแบบแนบท้ายประกาศนี้เพื่อใช้แทนหนังสือคนประจำเรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้โดยผู้ยื่นคำขอจะต้องนำใบรับคำขอมาคืนเจ้าหน้าที่ในวันที่มารับหนังสือคนประจำเรือ
ข้อ
๖ การจัดทำทะเบียนประวัติตามข้อ ๕
วรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องมีรายละเอียดชื่อตัว ชื่อสกุล อายุ
ตำแหน่งในเรือประมงของผู้ยื่นคำขอ หมายเลขทะเบียนเรือประมง และเครื่องหมายประจำเรือประมง
ข้อ
๗
ในกรณีที่คนต่างด้าวประสงค์จะทำงานในเรือประมงลำอื่น
ให้คนต่างด้าวหรือเจ้าของเรือลำใหม่ยื่นคำขอแก้ไขรายการในหนังสือคนประจำเรือตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของเรือต้องแนบสำเนาหนังสืออนุญาตให้เปลี่ยนหรือเพิ่มนายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าวด้วย
ให้เจ้าหน้าที่บันทึกการเปลี่ยนแปลงเรือประมงหรือเจ้าของเรือไว้ในหนังสือคนประจำเรือและในทะเบียนประวัติ
ข้อ
๘
ในกรณีหนังสือคนประจำเรือสูญหายหรือเสียหาย
ให้คนต่างด้าวหรือเจ้าของเรือยื่นขอรับใบแทนหนังสือคนประจำเรือที่สูญหายหรือเสียหาย
ณ ศูนย์ ตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
โดยยื่นหนังสือคนประจำเรือที่เสียหายหรือหลักฐานการแจ้งความในกรณีสูญหายต่ออธิบดี
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ใบอนุญาตสูญหายหรือเสียหาย
ในการออกใบแทนหนังสือคนประจำเรือให้ใช้แบบหนังสือคนประจำเรือเดิม
โดยระบุคำว่า ใบแทน ไว้ที่กึ่งกลางด้านหน้าของหนังสือคนประจำเรือ
ข้อ
๙
ผู้ยื่นคำขอหนังสือคนประจำเรือตามข้อ ๓ และข้อ ๔
ต้องชำระค่าใช้จ่ายในการจัดทำหนังสือคนประจำเรือตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
ให้ผู้ยื่นคำขอหนังสือคนประจำเรือภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับได้รับยกเว้นค่าใช้จ่ายในการจัดทำหนังสือคนประจำเรือ
ประกาศ ณ วันที่ ๑๓
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอหนังสือคนประจำเรือ
๒.
เอกสารแนบท้ายคำขอรับหนังสือคนประจำเรือ
๓. ใบรับคำขอ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๑๕ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๐๖ ง/หน้า ๒/๑๔ กันยายน ๒๕๕๙ |
757640 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยอง เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยอง
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยอง
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax
spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๙ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยองออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดระยอง
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax
spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สมศักดิ์ สุวรรณสุจริต
ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยอง
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๗/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757638 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดยโสธร เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดยโสธร
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดยโสธร
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดยโสธรออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดยโสธร
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๖
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
บุญธรรม เลิศสุขีเกษม
ผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดยโสธร
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๖/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757636 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ประยูร รัตนเสนีย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๕/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757633 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
จังหวัดหนองบัวลำภู
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
จังหวัดหนองบัวลำภูออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดหนองบัวลำภู
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พศิน โกมลวิชญ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวลำภู
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
จังหวัดหนองบัวลำภู
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๔/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757631 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์ เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้ พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงจระเข้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดนครสวรรค์
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงจระเข้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ธนาคม จงจิระ
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๓/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757629 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์ เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดนครสวรรค์
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ธนาคม จงจิระ
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครสวรรค์
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๒/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
757627 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครราชสีมา เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครราชสีมา
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครราชสีมา
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครราชสีมาออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดนครราชสีมา
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๙
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิเชียร จันทรโณทัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครราชสีมา
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ กันยายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง/หน้า ๓๑/๖ กันยายน ๒๕๕๙ |
756945 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้ พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์ให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม พ.ศ.
๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงจระเข้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชรออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดกำแพงเพชร
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภทการเพาะเลี้ยงจระเข้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ธานี ธัญญาโภชน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๙ สิงหาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๕ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง/หน้า ๑๑/๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756943 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์ให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชรออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดกำแพงเพชร
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ธานี ธัญญาโภชน์
ผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกำแพงเพชร
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๙ สิงหาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๕ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง/หน้า ๑๐/๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756577 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา
ของคณะกรรมการเปรียบเทียบ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗๐
วรรคสองและวรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ
และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ
และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันที่ ๘
มกราคม ๒๕๕๙
ข้อ
๔ ในประกาศนี้
ความผิด หมายความว่า ความผิดตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้ต้องหา หมายความว่า
บุคคลผู้ถูกหาว่าได้กระทำความผิดตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า
ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
คณะกรรมการเปรียบเทียบ หมายความว่า
คณะกรรมการเปรียบเทียบตามมาตรา ๑๗๐ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๑
คณะกรรมการเปรียบเทียบ
ข้อ
๕ ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตกรุงเทพมหานครหนึ่งคณะ
และในส่วนภูมิภาคอีกจังหวัดละหนึ่งคณะ
ข้อ ๖ ในเขตกรุงเทพมหานครให้ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
กรมประมง เป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเปรียบเทียบ
และให้กองกฎหมาย กรมประมง เป็นหน่วยงานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบ
ในส่วนภูมิภาคให้ประมงจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเปรียบเทียบและให้กลุ่มบริหารจัดการด้านการประมง
สำนักงานประมงจังหวัด เป็นหน่วยงานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ
ให้ฝ่ายเลขานุการมีหน้าที่ในการรับเรื่องราวจากพนักงานเจ้าหน้าที่และจัดส่งให้คณะกรรมการเปรียบเทียบ
ติดตามและแจ้งผลการพิจารณาดำเนินการของคณะกรรมการเปรียบเทียบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดต่อไป
หมวด ๒
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ
ข้อ
๗ บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง
หรือเชื่อว่าได้เกิดในกรุงเทพมหานครหรือนอกราชอาณาจักรไทย
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตกรุงเทพมหานครทำการเปรียบเทียบที่กรมประมงและให้ผู้ต้องหาชำระค่าปรับที่กรมประมง
บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง
หรือเชื่อว่าได้เกิดในส่วนภูมิภาค ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในส่วนภูมิภาคทำการเปรียบเทียบที่สำนักงานประมงจังหวัดท้องที่เกิดเหตุ
และให้ผู้ต้องหาชำระค่าปรับที่สำนักงานประมงจังหวัดนั้น
ในกรณีบรรดาความผิดกระทำในท้องที่ใดในหลายท้องที่หรือความผิดส่วนหนึ่งกระทำท้องที่หนึ่งแต่อีกส่วนหนึ่งกระทำในอีกท้องที่หนึ่ง
หรือเป็นความผิดต่อเนื่อง และกระทำต่อเนื่องกันในหลายท้องที่ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในท้องที่หนึ่งท้องที่ใดที่เกี่ยวข้องมีอำนาจทำการเปรียบเทียบ
ในกรณีมีปัญหาไม่แน่ว่าจะทำการเปรียบเทียบที่ใด
ให้อธิบดีกรมประมงเป็นผู้มีอำนาจชี้ขาดโดยคำชี้ขาดของอธิบดีกรมประมงให้เป็นที่สุด
ข้อ
๘ เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้รับเรื่องขอให้พิจารณาเปรียบเทียบจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว
ให้ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบนัดประชุมคณะกรรมการเปรียบเทียบโดยเร็วและให้คณะกรรมการเปรียบเทียบพิจารณาเปรียบเทียบให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า
ข้อ
๙ การพิจารณาเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบพิจารณาจากพยานหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
รายงานการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่
(๒)
บันทึกการจับ (ถ้ามี)
(๓)
บันทึกคำให้การของผู้ต้องหา (ถ้ามี)
(๔)
พยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ในการพิจารณาเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบมีอำนาจแสวงหาข้อเท็จจริงเรียกพยานบุคคลหรือพยานเอกสารจากบุคคลใด
ๆ เท่าที่จำเป็นมาประกอบการพิจารณา โดยอาจเรียกผู้ต้องหามาชี้แจงประเด็นต่าง ๆ
ก็ได้
ข้อ
๑๐ ภายใต้บังคับแห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๖๒ วรรคสาม และมาตรา ๑๖๗ หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับที่ผู้ต้องหาจะพึงชำระดังนี้
(๑)
การกระทำความผิดที่มิได้กำหนดโทษตามขนาดของเรือ
และไม่มีการกำหนดอัตราโทษขั้นต่ำไว้ หากเป็นการกระทำความผิดครั้งแรก
ให้ปรับในอัตราหนึ่งในสี่ของอัตราโทษที่กำหนดไว้ หากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สอง
ให้ปรับในอัตราโทษกึ่งหนึ่งของอัตราโทษที่กำหนดไว้
หากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สาม
ให้ปรับในอัตราโทษสามในสี่ของอัตราโทษที่กำหนดไว้ และหากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สี่ขึ้นไป
ให้ปรับในอัตราโทษสูงสุดของอัตราโทษที่กำหนดไว้
(๒)
การกระทำความผิดที่มิได้กำหนดโทษตามขนาดของเรือ และมีการกำหนดอัตราโทษขั้นต่ำไว้ หากเป็นการกระทำความผิดในครั้งแรก
ให้ปรับในอัตราโทษขั้นต่ำสุด หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น
ๆ แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า หากเป็นการกระทำความผิดซ้ำให้ปรับในอัตราโทษขั้นสูงสุด
หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
(๓)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษตามขนาดของเรือ ให้ปรับในอัตราโทษที่กำหนดไว้โดยพิจารณาจากขนาดของเรือ
หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
(๔)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษปรับโดยให้คิดจากมูลค่าสัตว์น้ำ
ให้ปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
(๕)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษปรับอัตราเดียว
ให้ปรับในอัตราโทษที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
ข้อ
๑๑ มูลค่าราคาสัตว์น้ำตามข้อ ๑๐
ให้คิดในวันที่พบการกระทำความผิด
โดยให้เป็นไปตามราคาที่องค์การสะพานปลาประกาศกำหนด
หรือราคาซื้อขายที่พาณิชย์จังหวัดประกาศสำหรับสัตว์น้ำจืด ในกรณีสัตว์น้ำประเภทใดไม่มีการประกาศราคาการซื้อขาย
ให้เป็นไปตามราคาที่อธิบดีกรมประมงประกาศกำหนดโดยคำนึงถึงราคาตลาด
ข้อ
๑๒ เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้พิจารณาเปรียบเทียบเสร็จแล้ว
ให้มีหนังสือแจ้งจำนวนค่าปรับที่จะพึงชำระให้ผู้ต้องหาทราบ
และให้ผู้ต้องหานำเงินค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบมาชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบ
ในกรณีที่ผู้ต้องหาเป็นเจ้าของเรือประมงหรือเป็นผู้ได้รับผลตอบแทนจากการกระทำความผิด
ให้แจ้งไปด้วยว่าหากผู้ต้องหายินยอมชำระค่าปรับตามที่มีการเปรียบเทียบแล้ว
ผู้ต้องหาต้องยินยอมยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการด้วย
ในกรณีที่ผู้ต้องหายินยอมชำระค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบและยินยอมยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการตามวรรคหนึ่ง
เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับภายในระยะเวลาที่กำหนดและยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการแล้ว
ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ข้อ
๑๓ ในกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ
หรือไม่ยินยอมยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการ
หรือไม่ชำระค่าปรับภายในระยะเวลาที่กำหนดตามข้อ ๑๒
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบแจ้งพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีต่อไป
ข้อ
๑๔ ในการเปรียบเทียบตามข้อ ๑๒ และข้อ
๑๓ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบจัดทำบันทึกการเปรียบเทียบไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ
๑๕ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบบันทึกข้อมูลประวัติผู้ต้องหาแนบสำนวนคดี
และให้เก็บสำนวนคดีที่ได้ทำการเปรียบเทียบไว้เป็นหลักฐานตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
ข้อ
๑๖ เอกสารและหลักฐานตามข้อ ๙ ข้อ ๑๒
ข้อ ๑๔ เอกสารข้อมูลประวัติผู้ต้องหาตามข้อ ๑๕
หรือเอกสารและหลักฐานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีกรมประมงประกาศกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ สิงหาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๓ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๔ ง/หน้า ๒/๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756575 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๑ วรรคสี่
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ทะเลชายฝั่งตามแผนที่แสดงแนวเขต
หมายเลข ๑ - ๒๒ แนบท้ายประกาศนี้ เป็นเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี
นราธิวาส ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล ตามลำดับ
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๘
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการ
(หมายเลข ๑) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๒. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา
(หมายเลข ๒) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๓. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
(หมายเลข ๓) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๔. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระยอง
(หมายเลข ๔) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๕. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดจันทบุรี
(หมายเลข ๕) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๖. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดตราด
(หมายเลข ๖) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๗. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรสาคร
(หมายเลข ๗) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๘. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรสงคราม
(หมายเลข ๘) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๙. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบุรี
(หมายเลข ๙) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๐. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
(หมายเลข ๑๐) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๑. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชุมพร
(หมายเลข ๑๑) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๒. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(หมายเลข ๑๒) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๓. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
(หมายเลข ๑๓) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๔. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสงขลา
(หมายเลข ๑๔) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๕. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดปัตตานี
(หมายเลข ๑๕) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๖. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนราธิวาส
(หมายเลข ๑๖) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๗. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดระนอง
(หมายเลข ๑๗) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๑๘. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดพังงา
(หมายเลข ๑๘) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๙
๑๙. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดภูเก็ต
(หมายเลข ๑๙) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๒๐. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดกระบี่
(หมายเลข ๒๐) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๒๑. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดตรัง
(หมายเลข ๒๑) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง พ.ศ.
๒๕๕๙
๒๒. แผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสตูล
(หมายเลข ๒๒) ท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดในเขตทะเลชายฝั่ง
พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ สิงหาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๓ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๔ ง/หน้า ๑/๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756571 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการ เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการ
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดสมุทรปราการ
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พินิจ หาญพาณิชย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสมุทรปราการ
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๘/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756569 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559
| ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าว
บัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอนจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พิพัฒน์ เอกภาพันธ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๗/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756565 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชังเป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
นอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้วออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้พื้นที่หนองทุ่งทะเล เขตท้องที่หมู่ที่
๒ ตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ตามแผนที่แนบท้ายประกาศนี้
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ภัครธรณ์ เทียนไชย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แผนที่ท้ายประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๖/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756563 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้ พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงจระเข้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้วออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดสระแก้ว
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงจระเข้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ภัครธรณ์ เทียนไชย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756561 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้วออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดสระแก้ว
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ภัครธรณ์ เทียนไชย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดสระแก้ว
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๔/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลเป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายกออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้พื้นที่ดังต่อไปนี้
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล
(๑)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๘ หมู่ที่ ๑๑
ตำบลทรายมูล เขตท้องที่ตำบลบางลูกเสือ เขตท้องที่ตำบลบางสมบูรณ์ เขตท้องที่หมู่ที่
๓ หมู่ที่ ๕ หมู่ที่ ๖ หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๘ หมู่ที่ ๙ หมู่ที่ ๑๐ หมู่ที่ ๑๑
หมู่ที่ ๑๒ ตำบลพระอาจารย์ เขตท้องที่หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๕ หมู่ที่ ๖
หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๘ หมู่ที่ ๙ หมู่ที่ ๑๑ ตำบลศีรษะกระบือ และเขตท้องที่หมู่ที่ ๓
ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
(๒)
เขตท้องที่ตำบลศรีจุฬา เขตท้องที่หมู่ที่ ๑๒
ตำบลดงละคร และเขตท้องที่หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนยอ อำเภอเมืองนครนายก
จังหวัดนครนายก
(๓)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๔ หมู่ที่ ๕ หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๘
ตำบลท่าเรือ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สุจินต์ ไชยชุมศักดิ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๓/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756557 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้ พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท การเพาะเลี้ยงจระเข้
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงจระเข้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายกออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้พื้นที่ดังต่อไปนี้
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท
การเพาะเลี้ยงจระเข้
(๑)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๔ ตำบลดงละคร และเขตท้องที่หมู่ที่ ๑๓ ตำบลเขาพระ
อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
(๒)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๙ ตำบลเขาเพิ่ม เขตท้องที่หมู่ที่ ๗ ตำบลบ้านพร้าว
และเขตท้องที่หมู่ที่ ๗ ตำบลป่าขะ อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก
(๓)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๕ ตำบลบางปลากด และเขตท้องที่หมู่ที่ ๕ ตำบลบางลูกเสือ
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
(๔)
เขตท้องที่หมู่ที่ ๖ ตำบลโคกกรวด และเขตท้องที่หมู่ที่ ๕ ตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สุจินต์ ไชยชุมศักดิ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดนครนายก
ปริยานุช/จัดทำ
๒๒ สิงหาคม
๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๒/๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
756169 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดลำปาง เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดลำปาง
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดลำปาง
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่งและมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗ แห่งพระราชกำหนดดังกล่าว บัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดเป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดลำปางออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดลำปาง
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
สามารถ ลอยฟ้า
ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดลำปาง
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๗ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๗๕ ง/หน้า ๑๘/๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
755742 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเลย เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเลย
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเลย
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเลย
ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดเลย
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๗
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิโรจน์ จิวะรังสรรค์
ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเลย
ปริยานุช/จัดทำ
๑๘ สิงหาคม
๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๒๓ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๗๒ ง/หน้า ๒๐/๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
755740 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp. พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
เรื่อง
กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
พ.ศ. ๒๕๕๙ ออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ กำหนดให้การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp. เป็นกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
และความในมาตรา ๗๗
แห่งพระราชกำหนดดังกล่าวบัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมนอกเขตพื้นที่ที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เขตท้องที่จังหวัดเพชรบูรณ์
เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp.
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
บัณฑิตย์ เทวีทิวารักษ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๘ สิงหาคม
๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๒๓ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๗๒ ง/หน้า ๑๙/๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
755395 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดตาก เรื่อง กำหนดเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมประเภท การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชอเมริกัน Procambarus clarkii หรือ Cherax spp พ.ศ. 2559 | |
755306 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดระยะเวลาการส่งมอบ และการทำลายสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดระยะเวลาการส่งมอบ และการทำลายสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
ที่ห้ามมีไว้ในครอบครอง
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศ เรื่อง
กำหนดระยะเวลาการส่งมอบและการทำลายสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครอง
พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยกำหนดให้ผู้มีไว้ในครอบครองสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครองตามที่กำหนดในกฎกระทรวงให้ส่งมอบสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครองนั้น
ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ประกาศมีผลใช้บังคับ นั้น
เนื่องจากระยะเวลาในการส่งมอบสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำจะสิ้นสุดในวันที่
๒๗ กรกฎาคม
๒๕๕๙ โดยมีผู้ที่ยังไม่ทราบการกำหนดห้ามการครอบครองอีกจำนวนมาก
เห็นควรมีการขยายระยะเวลาในการส่งมอบสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำออกไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖๔ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ขยายระยะเวลาการส่งมอบสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครองตามกฎกระทรวงกำหนดสัตว์น้ำที่ห้ามมีไว้ในครอบครอง
พ.ศ. ๒๕๕๙ ไปจนถึงวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๑
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๑ สิงหาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๘ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๖๗ ง/หน้า ๖/๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ |
753546 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๙ เนื่องจากกรมประมงได้ออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์โดยจัดสรรให้สอดคล้องกับขีดความสามารถในการทำการประมงและปริมาณผลผลิตสูงสุดของสัตว์น้ำที่สามารถทำการประมงอย่างยั่งยืนและไม่มีปริมาณผลผลิตสูงสุดของสัตว์น้ำคงเหลือเพียงพอที่จะออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ได้
นั้น
บัดนี้
ได้รับรายงานจากกรมประมงว่ามีความคลาดเคลื่อนในระบบการออกใบอนุญาตทำการประมงผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ผู้ขอรับใบอนุญาตบางรายไม่ได้รับใบอนุญาตหรือได้รับใบอนุญาตไม่ตรงกับความประสงค์ที่ได้ยื่นคำขอไว้
จำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒ ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์สำหรับกรณีการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากความคลาดเคลื่อนในระบบการออกใบอนุญาตทำการประมงผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งกรณีอื่นอันมิได้มีสาเหตุจากความบกพร่องหรือความผิดพลาดของผู้ยื่นคำขอ
ทั้งนี้ ให้นำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ความเห็นชอบเป็นรายกรณีไป
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิศนี/ปริยานุช/จัดทำ
๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๕ สิงหาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง/หน้า ๘/๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ |
751719 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยอ่างเก็บน้ำคลองหลวง
รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีพื้นที่มากกว่า ๒๐,๐๐๐ ไร่ ได้เริ่มเก็บกักน้ำ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นแหล่งน้ำที่มีความสำคัญทางด้านการเกษตรและแหล่งทำการประมงน้ำจืด
ปัจจุบันพบว่ามีชาวประมงอพยพจากนอกเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรีและประชาชนในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
ทำการประมงจำนวนมากทั่วบริเวณพื้นที่แหล่งน้ำ
ทั้งบริเวณพื้นที่หน้าเขื่อนและพื้นที่ทั่วไปทำให้สัตว์น้ำที่อาศัยอยู่บริเวณหน้าเขื่อน
ที่มีสภาพพื้นที่มีความเหมาะสมเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยแหล่งผสมพันธุ์วางไข่
และเลี้ยงตัวในวัยอ่อนถูกรุกราน
สัตว์น้ำถูกจับไปใช้อย่างไม่คุ้มค่าขาดความเหมาะสมเป็นการทำลายวงจรชีวิตสัตว์น้ำอย่างร้ายแรง
หากปล่อยให้ทำการประมงในลักษณะดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อผลผลิตสัตว์น้ำในอ่างเก็บน้ำคลองหลวง
รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริอย่างรุนแรง
เป็นเหตุฉุกเฉินมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องป้องกัน ยับยั้ง มิให้มีการทำการประมงเกินกำลังการผลิต ดังนั้น เพื่อให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ
ทรัพยากรสัตว์น้ำได้รับการดูแลรักษาและนำไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมจึงเห็นควรวางมาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีคุณค่า
ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) และวรรคสอง และมาตรา ๕๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กำหนดเขตพื้นที่ที่จับสัตว์น้ำอ่างเก็บน้ำคลองหลวง
รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ภายในบริเวณพื้นที่ตามจุดพิกัดที่ปรากฏในแผนที่แสดงแนวเขตท้ายประกาศฉบับนี้เป็นเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ
ข้อ
๒ ห้ามมิให้ผู้ใดจับสัตว์น้ำในเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ
อ่างเก็บน้ำคลองหลวงรัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริตามข้อ ๑ โดยเด็ดขาด
เว้นแต่เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์ในทางวิชาการหรือเพื่อการบำรุงรักษาพันธุ์สัตว์น้ำ
และได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมาย
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
คมสัน เอกชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แผนที่ท้ายประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๖ มิถุนายน
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๔ กรกฎาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๒๘ ง/หน้า ๒๒/๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ |
751717 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี เรื่อง กำหนดเครื่องมือทำการประมง วิธีการทำการประมง พื้นที่ทำการประมง และเงื่อนไขอื่นที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
ประกาศคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
เรื่อง
กำหนดเครื่องมือทำการประมง วิธีการทำการประมง พื้นที่ทำการประมง และเงื่อนไขอื่น
ที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยอ่างเก็บน้ำคลองหลวง
รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีพื้นที่มากกว่า ๒๐,๐๐๐ ไร่ ได้เริ่มเก็บกักน้ำ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นแหล่งน้ำที่มีความสำคัญทางด้านการเกษตรและแหล่งทำการประมงน้ำจืด
ปัจจุบันพบว่ามีชาวประมงอพยพจากนอกเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรีจำนวนมากมาทำการจับสัตว์น้ำโดยใช้เครื่องมือข่ายหรืออวนที่ขนาดช่องตาขนาดเล็กไม่จำกัดความยาวและใช้เครื่องมือประมงทุกชนิดประกอบเรือยนต์
ทำการประมง จับสัตว์น้ำได้ครั้งละมาก ๆ และมีขนาดเล็กยังไม่ถึงวัยเจริญพันธุ์
ลักษณะการทำการประมงขาดความเป็นระเบียบ
และเมื่อเวลาทำการประมงผ่านไปช่วงหนึ่งทรัพยากรประมงลดลงอย่างรวดเร็ว
กลุ่มชาวประมงจะเคลื่อนย้ายไปทำการประมงในแหล่งน้ำที่เปิดใหม่หากปล่อยให้ทำการประมงในลักษณะดังกล่าว
จะเป็นการทำลายทรัพยากรสัตว์น้ำและมีผลกระทบต่อสัตว์น้ำอย่างรุนแรง
เป็นเหตุฉุกเฉิน มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องป้องกัน ยับยั้ง มิให้มีการทำการประมงเกินกำลังการผลิต ดังนั้น เพื่อให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ
ทรัพยากรสัตว์น้ำได้รับการดูแลรักษาและนำไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม
จึงเห็นควรวางมาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีคุณค่าให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนต่อไป
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๘ วรรคหนึ่ง (๓) และวรรคสอง และมาตรา ๗๑ วรรคหนึ่ง (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องมือทำการประมงประเภทเครื่องมือข่ายหรืออวนที่มีขนาดช่องตาเล็กกว่า ๗ เซนติเมตร
ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำอ่างเก็บน้ำคลองหลวง รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ข้อ
๒ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องมือทำการประมงประเภทเครื่องมือข่ายหรืออวนทำการประมงต่อครั้ง
ต่อเรือประมง ๑ ลำ มีความยาวมากกว่า ๕๐๐ เมตร
ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำอ่างเก็บน้ำคลองหลวง รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ข้อ
๓ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องมือทำการประมงทุกชนิดประกอบเรือยนต์ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำในอ่างเก็บน้ำคลองหลวง
รัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ข้อ
๔ ประกาศฉบับนี้มิให้ใช้บังคับแก่การกระทำเพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัยหรือการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำซึ่งกระทำโดยทางราชการและได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมาย
ข้อ
๕[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
คมสัน เอกชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
ประธานคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดชลบุรี
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๖ มิถุนายน
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๔ กรกฎาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๒๘ ง/หน้า ๒๐/๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ |
751339 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑
ของประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
ให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมตามมาตรา ๗๖
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ กรณีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล
ต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำให้แก่ผู้ซื้อตามแบบและรายการแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
(การเพาะเลี้ยง) (ฉบับที่ ๑ ให้ผู้ซื้อ)
๒.
หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (การเพาะเลี้ยง) (ฉบับที่ ๒ ส่งให้กรมประมง)
๓. หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (การเพาะเลี้ยง) (ฉบับที่
๓ ผู้ขายเก็บ)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๓๐ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๓๐ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๒๓ ง/หน้า ๑๖/๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750995 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม (กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช
Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๗๘ (๑) และ (๗) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑ วรรคหนึ่ง
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
ให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp.) อยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ
ต้องแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดแต่ละจังหวัดประกาศกำหนดพื้นที่ให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ตามคำขอแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
แนบท้ายประกาศนี้
กรณีเป็นผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.)
ภายหลังจากวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ต้องแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนจะดำเนินกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ตามคำขอแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓ (๑) และ (๓)
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๙
และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
(๑) กรณีการเลี้ยงในบ่อดิน บ่อปูแผ่นพลาสติก
หรือนาข้าว ต้องดำเนินการจัดทำที่กั้นบริเวณขอบบ่อโดยรอบ
โดยจัดวางเป็นแนวเอียงเข้าหาบ่อ และมีความสูงตามแนวดิ่งไม่น้อยกว่า ๔๐ เซนติเมตร เพื่อป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
(๓) กรณีการเลี้ยงในภาชนะที่ใช้เลี้ยงอื่น ๆ เช่น ตู้กระจก
กล่อง ลังพลาสติก กาละมัง ถัง เป็นต้น ต้องมีที่ปิดมิดชิดสามารถป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกแบบแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมและหนังสือรับรองการแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
แนบท้ายประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkia หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๙
และให้ใช้คำขอแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมและหนังสือรับรองการแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมแนบท้ายประกาศนี้แทน
ข้อ
๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๓
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.)
๒. หนังสือรับรองการแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช
Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๖ ง/หน้า ๑๐/๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750975 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมง พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘๑ (๔) แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ ในประกาศนี้
เครื่องหมายประจำเรือประมง หมายความว่า
เครื่องหมายประจำเรือประมงที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
หรือใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
หรือเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ที่มีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไป
ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมง หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
หรือเจ้าของเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ข้อ
๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่กำหนดเครื่องหมายประจำเรือประมง
เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ ผู้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
หรือเจ้าของเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
นำเครื่องหมายดังกล่าวไปจัดทำให้ปรากฏเห็นที่เรือลำที่ได้รับใบอนุญาตหรือจดทะเบียน
ด้วยการเขียนหรือพ่นสีตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในประกาศฉบับนี้
ข้อ
๔ เครื่องหมายประจำเรือประมงมีลักษณะเป็นเครื่องหมายที่ประกอบด้วยตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และตัวเลขอารบิคเขียนเรียงกันจากซ้ายไปขวา
โดยแบ่งเป็นเครื่องหมายย่อย เพื่อใช้แทนความหมายต่าง ๆ ดังนี้
(๑)
เครื่องหมายที่หนึ่งเป็นตัวอักษรหรือชุดตัวอักษรใช้แทนพื้นที่ที่ทำการประมงหรือพื้นที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเก็บรักษาสัตว์น้ำดังนี้
(ก) น่านน้ำไทยฝั่งอ่าวไทย ให้ใช้ตัวอักษร T
(ข) น่านน้ำไทยฝั่งอันดามัน ให้ใช้ตัวอักษร A
(ค) ทะเลนอกน่านน้ำไทย ให้ใช้ตัวอักษร H
ในกรณีที่ได้รับทั้งใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์และใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทยให้ระบุชุดตัวอักษรที่ใช้แทนพื้นที่ในการทำการประมงให้ครบทุกพื้นที่
เรียงลำดับตัวอักษร คือ อักษร H อักษร T และอักษร A ตามลำดับ
(๒)
เครื่องหมายที่สองเป็นตัวอักษรใช้แทนขนาดของเรือดังนี้
(ก)
ขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไปแต่ไม่ถึงยี่สิบตันกรอส ให้ใช้ตัวอักษร S
(ข)
ขนาดตั้งแต่ยี่สิบตันกรอสขึ้นไปแต่ไม่ถึงหกสิบตันกรอส ให้ใช้ตัวอักษร M
(ค) ขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสขึ้นไป ให้ใช้ตัวอักษร
L
แต่ไม่ถึงหนึ่งร้อยห้าสิบตันกรอส
(ง) ขนาดตั้งแต่หนึ่งร้อยห้าสิบตันกรอสขึ้นไป ให้ใช้ตัวอักษร
X
(๓)
เครื่องหมายที่สามเป็นตัวเลขหรือชุดตัวเลขแสดงลำดับที่ของใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์และใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทยตามขนาดของเรือแต่ละกลุ่มตาม
(๒)
(๔)
เครื่องหมายที่สี่เป็นตัวอักษรหรือชุดตัวอักษรใช้แทนประเภทเครื่องมือทำการประมงและกิจกรรมสนับสนุนการทำการประมง
(ถ้ามี) ดังนี้
(ก) ประเภทเครื่องมืออวนลาก ให้ใช้ตัวอักษร
A
(ข) ประเภทเครื่องมืออวนล้อมจับ ให้ใช้ตัวอักษร
B
(ค) ประเภทเครื่องมือคราด ให้ใช้ตัวอักษร
C
(ง) ประเภทเครื่องมืออวนช้อน อวนยก ให้ใช้ตัวอักษร
D
(จ) ประเภทเครื่องมืออวนครอบ ให้ใช้ตัวอักษร
E
(ฉ) ประเภทเครื่องมืออวนติดตา ให้ใช้ตัวอักษร
F
(ช) ประเภทเครื่องมืออวนรุนเคย ให้ใช้ตัวอักษร
G
(ซ) ประเภทเครื่องมือลอบ ให้ใช้ตัวอักษร
H
(ฌ) ประเภทเบ็ด ให้ใช้ตัวอักษร
J
(ฎ) ประเภทเครื่องมืออื่น ๆ ให้ใช้ตัวอักษร
K
(ฏ) ประเภทเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็น ให้ใช้ตัวอักษร
R
เรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
(ฐ) ประเภทเรือปั่นไฟ ให้ใช้ตัวอักษร
M
(ฑ) ประเภทเรือสนับสนุนอื่น ๆ ให้ใช้ตัวอักษร
N
ในกรณีที่เรือประมงได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงหลายประเภท
ให้ระบุชุดตัวอักษรแสดงเครื่องมือทำการประมงให้ครบทุกประเภท
และตามด้วยตัวอักษรแสดงกิจกรรมสนับสนุนการทำการประมง (ถ้ามี) ให้ครบทุกประเภท
ข้อ
๕ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงดังนี้
(๑)
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมง ใช้เครื่องหมายประจำเรือประมงตามข้อ ๔ ที่ได้รับจากพนักงานเจ้าหน้าที่
ไปเขียนหรือพ่นด้วยสีให้ปรากฏเครื่องหมายดังกล่าวที่เรือลำที่ได้รับใบอนุญาตมองเห็นได้อย่างชัดเจน
(๒)
แบบของตัวอักษรและตัวเลขให้เป็นไปตามแบบในบัญชีที่ ๑ แนบท้ายประกาศฉบับนี้
(๓)
ขนาดของตัวอักษรและตัวเลขให้ใช้ตามขนาดของเรือ ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ตามรายละเอียดในบัญชีที่ ๒
แนบท้ายประกาศฉบับนี้
(๔)
การใช้สีเพื่อใช้เขียนหรือพ่นเป็นเครื่องหมายประจำเรือประมง
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงแต่ละลำเลือกใช้สีได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
(ก)
ตัวอักษรและตัวเลขสีขาว บนพื้นสีดำหรือน้ำเงินเข้ม
(ข)
ตัวอักษรและตัวเลขสีดำหรือน้ำเงินเข้ม บนพื้นสีขาว
สีพื้นให้อยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบตัวอักษรและตัวเลข
(๕)
กำหนดตำแหน่งการเขียนเครื่องหมายประจำเรือประมง โดยให้เขียนที่หัวเรือภายนอกทั้งสองด้าน
ต่อท้ายจากเลขทะเบียนเรือหรือชื่อเรือของกรมเจ้าท่า
ข้อ
๖ ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
ทำการประมงหรือขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลในเขตของรัฐชายฝั่ง
หรือในเขตที่อยู่ในความควบคุมดูแลขององค์การระหว่างประเทศ นอกจากต้องจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงตามข้อ
๔ และข้อ ๕ แล้ว
ผู้รับใบอนุญาตจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงของรัฐชายฝั่งหรือองค์การระหว่างประเทศนั้นด้วย
ข้อ
๗ ให้นำเครื่องหมาย QR Code ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ออกให้ติดไว้ภายในห้องควบคุมเรือบริเวณที่สังเกตได้ชัดเจน
ข้อ
๘ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงดำเนินการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงให้เสร็จสิ้นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเครื่องหมายประจำเรือประมง
สำหรับผู้ได้รับเครื่องหมายประจำเรือประมงรอบใบอนุญาตทำการประมงในรอบ ๑ เมษายน
๒๕๕๙ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ให้จัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐
วัน นับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ
๙[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๓
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีที่ ๑ แบบของตัวอักษรและตัวเลข
๒. บัญชีที่ ๒ ขนาดของตัวอักษรและตัวเลข
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๓ ง/หน้า ๒/๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750686 | ประกาศกรมประมง เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการทำการประมงพื้นบ้าน พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการในการทำการประมงพื้นบ้าน
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๓ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมง ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้านปฏิบัติตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการทำการประมงอย่างเคร่งครัด
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร
พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๖/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750684 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๑ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้บรรดามาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำที่รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดโดยอนุมัติรัฐมนตรีได้ประกาศกำหนดตามมาตรา
๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ อยู่ในวันก่อนวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
เป็นมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำตามมาตรา ๗๑ (๑)
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๒
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๕/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750682 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้บรรดาที่รักษาพืชพันธุ์ที่รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดได้ประกาศกำหนดตามกฎหมายว่าด้วยการประมงอยู่ในวันก่อนวันที่
๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เป็นเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำตามมาตรา ๕๖
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๒
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๔/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750680 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดขนาดเรือประมงที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ที่ต้องถูกควบคุมและเฝ้าระวัง พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดขนาดเรือประมงที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ที่ต้องถูกควบคุมและเฝ้าระวัง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง กำหนดขนาดเรือประมงที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ที่ต้องถูกควบคุมและเฝ้าระวัง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องดำเนินการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาให้ระบบดังกล่าวสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๓ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องดำเนินการจัดทำสมุดบันทึกการทำการประมง ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยประเภทและปริมาณของสัตว์น้ำที่จับได้
จุดจอดเรือ การขนถ่ายสัตว์น้ำ การขาย
หรือการเททิ้งสัตว์น้ำซึ่งต้องรับรองความถูกต้องโดยผู้ควบคุมเรือ
และต้องส่งรายงานให้กรมประมงทราบ ตามระยะเวลาและโดยวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๔ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไป
โดยใช้เครื่องมือทำการประมงประเภทอวนลาก อวนล้อมจับ และอวนครอบปลากะตัก
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ต้องดำเนินการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง ณ
ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
และในกรณีเข้าเทียบท่าเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ต้องส่งมอบสำเนาบันทึกการทำการประมง และเอกสารหลักฐานอื่นตามที่อธิบดีประกาศกำหนด
ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
โดยใช้เครื่องมือทำการประมงประเภทอื่นนอกเหนือจากวรรคหนึ่ง
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องดำเนินการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง ณ
ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
และในกรณีเข้าเทียบท่าเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ต้องส่งมอบสำเนาบันทึกการทำการประมง และเอกสารหลักฐานอื่นตามที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๕ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องดำเนินการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๖ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์
ต้องดำเนินการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๗[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๒/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750678 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการประมงพาณิชย์ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำและการเก็บรักษาสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการประมงพาณิชย์ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสุขอนามัย
ในการดูแลรักษาสัตว์น้ำและการเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๙ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ผู้ประกอบกิจการการประมงพาณิชย์โดยใช้เรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสขึ้นไปต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำและเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
ข้อ
๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีตามพันธกรณีต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำและการเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๑/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750676 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการขึ้นไปบนเรือประมงไร้สัญชาติหรือเรือประมงที่พบว่ากำลังทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ที่ทำการประมงอยู่นอกน่านน้ำไทย พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการขึ้นไปบนเรือประมงไร้สัญชาติ
หรือเรือประมงที่พบว่ากำลังทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ที่ทำการประมงอยู่นอกน่านน้ำไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐๔ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการขึ้นไปบนเรือประมงไร้สัญชาติ
หรือเรือประมงที่พบว่ากำลังทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ทำการประมงอยู่นอกน่านน้ำไทยดังนี้
ข้อ
๑ พนักงานเจ้าหน้าที่จะขึ้นไปบนเรือประมงไร้สัญชาติ
หรือเรือประมงที่พบว่ากำลังทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
บรรดาที่ทำการประมงอยู่นอกน่านน้ำไทย เพื่อตรวจสอบการทำการประมงได้
เฉพาะกรณีที่ได้รับการร้องขอจากเจ้าหน้าที่หรือรัฐบาลของประเทศที่มีอำนาจหรือองค์การระหว่างประเทศที่มีอำนาจควบคุมดูแลการทำการประมงในเขตนั้นเท่านั้น
ข้อ
๒ การขึ้นไปบนเรือประมงตามข้อ ๑
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องยึดแนวปฏิบัติของนานาประเทศและเป็นที่ยอมรับขององค์การสหประชาชาติ
โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรา ๑๐๕ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยอนุโลม
ข้อ
๓ ประกาศฉบับนี้ให้มีผลใช้บังคับเมื่อประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีของความตกลงเพื่ออนุวัติการให้เป็นไปตามข้อตกลงแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
วันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๘๒ เกี่ยวกับการอนุรักษ์และการจัดการมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่ระหว่างเขตทางทะเลและมวลปลาที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ
(Agreement for the Implementation of the Provisions of the United Nations Convention on the Law of the Sea of 10 December 1982 Relating to the Conservation and Management of Straddling Fish Stocks and Highly Migratory Fish Stocks)
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๑ ง/หน้า ๑๐/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750632 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดรายชื่อวัตถุอันตรายที่ห้ามปล่อย เท ทิ้ง ระบาย หรือทำให้วัตถุอันตรายลงสู่ที่จับสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดรายชื่อวัตถุอันตรายที่ห้ามปล่อย เท ทิ้ง ระบาย
หรือทำให้วัตถุอันตรายลงสู่ที่จับสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕๘ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง ระบุชื่อวัตถุเป็นวัตถุมีพิษตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ ลงวันที่
๒๐ มกราคม ๒๕๓๒
ข้อ
๒ ให้วัตถุอันตรายที่ระบุชื่อในบัญชีท้ายประกาศนี้
เป็นวัตถุอันตรายที่ห้ามปล่อย เท ทิ้ง ระบาย หรือทำให้วัตถุอันตรายนั้นลงสู่ที่จับสัตว์น้ำ
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีวัตถุอันตรายที่ห้ามปล่อย
เท ทิ้ง ระบาย หรือทำให้ลงสู่ที่จับสัตว์น้ำ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๑๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๑๐ ง/หน้า ๑๓/๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750454 | ประกาศกรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ และหลักเกณฑ์ในการออกหนังสือรับรอง พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ และหลักเกณฑ์ในการออกหนังสือรับรอง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๘ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ในประกาศนี้
มาตรฐานด้านสุขอนามัย หมายความว่า
มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำที่กรมประมงกำหนดแนบท้ายประกาศนี้
เรือขนถ่ายสัตว์น้ำ หมายความว่า
เรือที่ใช้เพื่อขนถ่ายหรือขนส่งสัตว์น้ำเป็นการเฉพาะ ทั้งนี้
ไม่หมายความรวมถึงเรือบรรทุกตู้สินค้า
หนังสือรับรอง หมายความว่า หนังสือที่กรมประมงออกให้เพื่อรับรองว่าเรือขนถ่ายสัตว์น้ำลำนั้นมีมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำตามที่กรมประมงกำหนด
ผู้มีอำนาจลงนาม หมายความว่า
ผู้อำนวยการกองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมงหรือผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำในพื้นที่รับผิดชอบ
ผู้ตรวจสอบประเมิน หมายความว่า
นักวิชาการผลิตภัณฑ์อาหาร นักวิชาการประมง เจ้าพนักงานประมง
สังกัดกองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมง
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สมุทรสาคร
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สงขลา
หรือสถาบันหรือบุคคลอื่นใดซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบประเมิน
ข้อ
๒ ผู้ใดประสงค์จะขอรับหนังสือรับรอง
ให้ยื่นคำขอตามแบบท้ายประกาศนี้ พร้อมกับแนบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
๒.๑
กรณีเป็นบุคคลธรรมดา
(๑)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
(๒)
สำเนาทะเบียนบ้าน
๒.๒
กรณีเป็นนิติบุคคล
(๑)
สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนซึ่งมีอายุไม่เกิน ๙๐ วัน
นับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง
(๒)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการผู้จัดการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
หรือของหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นใดของนิติบุคคลนั้น แล้วแต่กรณี
๒.๓
สำเนาใบทะเบียนเรือไทย และสำเนาใบอนุญาตใช้เรือ
๒.๔
กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นมายื่นคำขอหรือดำเนินการแทนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลให้แนบหนังสือมอบอำนาจมาพร้อมกับคำขอ
และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
๒.๕
แผนที่แสดงท่าขึ้นสัตว์น้ำของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
ข้อ
๓ ผู้ยื่นคำขอตามประกาศนี้ต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
๓.๑
ต้องเป็นเจ้าของเรือไทย หรือผู้รับมอบอำนาจ
๓.๒
ในกรณีผู้ยื่นคำขอเคยถูกเพิกถอนหนังสือรับรองตามข้อ ๑๒
จะยื่นคำขอหนังสือรับรองได้อีกเมื่อได้ปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๔ สถานที่ในการยื่นคำขอ
๔.๑
ในกรณีที่เรือขนถ่ายสัตว์น้ำมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
สมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี และประจวบคีรีขันธ์
ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สมุทรสาคร
๔.๒
ในกรณีที่เรือขนถ่ายสัตว์น้ำมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ได้แก่
จังหวัดชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช
ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สุราษฎร์ธานี
๔.๓
ในกรณีที่เรือขนถ่ายสัตว์น้ำมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่
จังหวัดพัทลุง สงขลา ตรัง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สงขลา
๔.๔
ในกรณีที่เรือขนถ่ายสัตว์น้ำมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ท้องที่กรุงเทพมหานครหรือจังหวัดอื่น
นอกจาก ๔.๑ - ๔.๓ ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ กองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมง
กรมประมง
ข้อ
๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอแล้ว
ให้ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของคำขอและเอกสารหลักฐานตามคำขอนั้น
และให้ดำเนินการดังนี้
๕.๑
หากเห็นว่าไม่ถูกต้องครบถ้วน
ให้คืนคำขอกับเอกสารหลักฐานและแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบภายใน ๒ วันทำการ
นับแต่วันรับคำขอ เพื่อทำการแก้ไขให้ถูกต้องและยื่นใหม่ต่อไป โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
๕.๒
หากเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งกำหนดวันนัดตรวจเรือให้แก่ผู้ยื่นคำขอทราบภายใน
๒ วันทำการ
นับแต่วันที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอถูกต้องครบถ้วนแล้วและให้แจ้งไปยังผู้ตรวจสอบประเมิน
เพื่อให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินเรือขนถ่ายสัตว์น้ำนั้น
ข้อ
๖ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
ตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ ตามกำหนดวันและเวลาที่นัดหมาย
ข้อ
๗ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินสรุปผลการตรวจประเมินและจัดทำรายงานผลการตรวจประเมินพร้อมทั้งเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อพิจารณาภายใน
๓๐ วันทำการ นับแต่วันตรวจประเมินแล้วเสร็จ
กรณีผลการประเมินไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบถึงข้อบกพร่อง เพื่อให้แก้ไขภายใน ๕
วันทำการ นับแต่วันพิจารณาแล้วเสร็จ
และนัดตรวจใหม่ภายในระยะเวลาที่ผู้ตรวจสอบประเมินกำหนด
โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กรณีผลการประเมินเป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินจัดทำหนังสือรับรองตามท้ายประกาศนี้ เสนอผู้มีอำนาจลงนาม
เพื่อลงนามในหนังสือรับรอง
หนังสือรับรองที่ออกให้ตามประกาศนี้ให้มีอายุ
๒ ปี นับแต่วันออกหนังสือรับรอง
ข้อ
๘ กรมประมงอาจกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ใด
เพื่อติดไว้ที่เรือขนถ่ายสัตว์น้ำที่ได้รับการรับรองนั้น
ข้อ
๙ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินเรือขนถ่ายสัตว์น้ำที่ได้รับการรับรองอย่างน้อยปีละ
๑ ครั้ง
เพื่อให้มั่นใจว่าเรือขนถ่ายสัตว์น้ำยังคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานแนบท้ายประกาศนี้
กรณีที่ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินสถานประกอบการในปีที่หนังสือรับรองหมดอายุและผลการประเมินผ่านมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเสนอผู้มีอำนาจลงนามต่ออายุหนังสือรับรองให้ใหม่โดยนับอายุของหนังสือรับรองต่อจากวันที่หมดอายุ
ทั้งนี้
ให้ถือว่าหนังสือรับรองฉบับเดิมยังคงมีผลใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะได้รับหนังสือรับรองฉบับใหม่
หรือได้รับแจ้งว่าไม่ต่ออายุให้
ให้นำความในข้อ
๖ ๗ และ ๘ มาใช้บังคับกับการต่ออายุหนังสือรับรองโดยอนุโลม
เว้นแต่กรมประมงเห็นควรยกเว้นวิธีการหรือหลักเกณฑ์ในข้อใดเพื่อความสะดวกในการต่ออายุหนังสือรับรอง
ข้อ
๑๐ ผู้ได้รับหนังสือรับรองต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
๑๐.๑
ดูแลรักษาเรือขนถ่ายสัตว์น้ำให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
๑๐.๒
ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าไปในเรือขนถ่ายสัตว์น้ำที่ได้รับหนังสือรับรองในระหว่างเวลาทำการของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
เพื่อทำการตรวจประเมินเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานของการรับรองตามประกาศนี้
๑๐.๓
อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่ผู้ตรวจสอบประเมิน
ในการติดตามตรวจสอบตามระยะเวลาที่กำหนด
๑๐.๔
ให้ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับเรือขนถ่ายสัตว์น้ำที่ได้รับหนังสือรับรองเมื่อผู้ตรวจสอบประเมินร้องขอ
๑๐.๕
ปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ตรวจสอบประเมิน
ข้อ
๑๑ เมื่อผู้ตรวจสอบประเมินตรวจพบว่าผู้ได้รับหนังสือรับรองมิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
ให้มีหนังสือแจ้งเตือนผู้นั้นให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
โดยอาจกำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงแก้ไขตามที่เห็นสมควรก็ได้
กรณีผู้ได้รับหนังสือรับรองไม่ปรับปรุงแก้ไข
หรือปรับปรุงไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งพักใช้หนังสือรับรองเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า
๓๐ วัน โดยให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๒ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งเพิกถอนหนังสือรับรองในกรณี
ดังต่อไปนี้
๑๒.๑
ผู้ได้รับหนังสือรับรองเคยถูกพักใช้หนังสือรับรองมาแล้ว ๑ ครั้ง และยังตรวจพบว่ามิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
๑๒.๒
เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจพบภายหลังว่าเอกสารหลักฐานซึ่งผู้ได้รับหนังสือรับรองนำมายื่นตามประกาศนี้เป็นเอกสารปลอม
ทั้งนี้
ให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. มาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
๒. แบบคำขอหนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
๓. หนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๘/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750452 | ประกาศกรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขาย สัตว์น้ำ และหลักเกณฑ์ในการออกหนังสือรับรอง พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา
หรือตลาดกลางซื้อขาย
สัตว์น้ำ และหลักเกณฑ์ในการออกหนังสือรับรอง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๘ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมง ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ในประกาศนี้
มาตรฐานด้านสุขอนามัย หมายความว่า
มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมงสะพานปลา กิจการแพปลา
หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำที่กรมประมงกำหนดแนบท้ายประกาศนี้
ท่าเทียบเรือประมง หมายความว่า
สถานที่ซึ่งจัดขึ้นสำหรับใช้จอดหรือเทียบเรือประมงเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือใช้ในการนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นจากเรือประมง
สะพานปลา หมายความว่า
สะพานปลาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบกิจการแพปลา
กิจการแพปลา หมายความว่า
กิจการแพปลาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบกิจการแพปลา และให้หมายความรวมถึงผู้ประกอบกิจกรรมคัดแยก
ซื้อขายสัตว์น้ำในลักษณะขายส่งด้วยวิธีประมูลหรือต่อรองราคา
โดยอาจมีการดำเนินกิจกรรมอื่น ๆ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น
การเก็บรักษาหรือการขนส่งสัตว์น้ำด้วยก็ได้
ตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ หมายความว่า
สถานที่ที่จัดให้มีการซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำเป็นหลัก ในลักษณะขายส่งด้วยวิธีประมูลหรือต่อรองราคา
สถานประกอบการ หมายความว่า ท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ
หนังสือรับรอง หมายความว่า
หนังสือที่กรมประมงออกให้เพื่อรับรองว่าสถานประกอบการนั้นมีมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำตามที่กรมประมงกำหนด
ผู้มีอำนาจลงนาม หมายความว่า
ผู้อำนวยการกองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมงหรือผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำในพื้นที่รับผิดชอบ
ผู้ตรวจสอบประเมิน หมายความว่า
นักวิชาการผลิตภัณฑ์อาหาร นักวิชาการประมง เจ้าพนักงานประมง
สังกัดกองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมง
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สมุทรสาคร
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สงขลา หรือสถาบัน หรือบุคคลอื่นใดซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบประเมิน
ข้อ
๒ ผู้ใดประสงค์จะขอรับหนังสือรับรอง
ให้ยื่นคำขอตามแบบท้ายประกาศนี้ พร้อมกับแนบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
๒.๑
กรณีเป็นบุคคลธรรมดา
(๑)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
(๒)
สำเนาทะเบียนบ้าน
๒.๒
กรณีเป็นนิติบุคคล
(๑)
สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนซึ่งมีอายุไม่เกิน ๙๐ วัน
นับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง
(๒)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการผู้จัดการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
หรือของหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นใดของนิติบุคคลนั้น แล้วแต่กรณี
๒.๓
กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นมายื่นคำขอหรือดำเนินการแทนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลให้แนบหนังสือมอบอำนาจมาพร้อมกับคำขอ
และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
๒.๔
แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ
ข้อ
๓ ผู้ยื่นคำขอตามประกาศนี้ต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
๓.๑
ต้องเป็นเจ้าของสถานประกอบการ หรือผู้รับมอบอำนาจ
๓.๒
ในกรณีผู้ยื่นคำขอเคยถูกเพิกถอนหนังสือรับรองตามข้อ ๑๑ จะยื่นคำขอหนังสือรับรองได้อีกเมื่อได้ปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๔ สถานที่ในการยื่นคำขอ
๔.๑
ในกรณีที่สถานประกอบการอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี
เพชรบุรี กาญจนบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัย และตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สมุทรสาคร
๔.๒
ในกรณีที่สถานประกอบการอยู่ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง
พังงา กระบี่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช
ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สุราษฎร์ธานี
๔.๓
ในกรณีที่สถานประกอบการอยู่ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพัทลุง สงขลา
ตรัง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สงขลา
๔.๔
ในกรณีสถานประกอบการอยู่ท้องที่กรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดอื่นนอกจากข้อ ๔.๑ ๔.๒
และ ๔.๓ ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ กองตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมงกรมประมง
ข้อ
๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอแล้ว
ให้ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของคำขอและเอกสารหลักฐานตามคำขอนั้น
และให้ดำเนินการดังนี้
๕.๑
หากเห็นว่าไม่ถูกต้องครบถ้วน
ให้คืนคำขอกับเอกสารหลักฐานและแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบภายใน ๒ วันทำการ
นับแต่วันรับคำขอ เพื่อทำการแก้ไขให้ถูกต้องและยื่นใหม่ต่อไปโดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
๕.๒
หากเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนแล้ว
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งกำหนดวันนัดตรวจสถานประกอบการให้แก่ผู้ยื่นคำขอทราบ
ภายใน ๒ วันทำการ นับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับคำขอถูกต้องครบถ้วนแล้ว
และให้แจ้งไปยังผู้ตรวจสอบประเมิน
เพื่อให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินสถานประกอบการนั้น
ข้อ
๖ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินสถานประกอบการให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำตามกำหนดวันและเวลานัดหมาย
ข้อ
๗ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินสรุปผลการตรวจประเมินและจัดทำรายงานผลการตรวจประเมินพร้อมทั้งเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อพิจารณาภายใน
๓๐ วันทำการ นับแต่วันตรวจประเมินแล้วเสร็จ
กรณีผลการประเมินไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบถึงข้อบกพร่อง เพื่อให้แก้ไข ภายใน ๕
วันทำการ
นับแต่วันพิจารณาแล้วเสร็จและนัดตรวจใหม่ภายในระยะเวลาที่ผู้ตรวจสอบประเมินกำหนด
โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กรณีผลการประเมินเป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินจัดทำหนังสือรับรองตามแบบท้ายประกาศนี้ เสนอผู้มีอำนาจลงนาม
เพื่อลงนามในหนังสือรับรอง
หนังสือรับรองที่ออกให้ตามประกาศนี้ให้มีอายุ
๒ ปี นับแต่วันออกหนังสือรับรอง
ข้อ
๘ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินสถานประกอบการที่ได้รับการรับรองอย่างน้อยปีละ
๑ ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าสถานประกอบการยังคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานแนบท้ายประกาศนี้
กรณีที่ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินสถานประกอบการในปีที่หนังสือรับรองหมดอายุและผลการประเมินผ่านมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมิน เสนอผู้มีอำนาจลงนามต่ออายุหนังสือรับรองให้ใหม่โดยนับอายุของหนังสือรับรองต่อจากวันที่หมดอายุ
ทั้งนี้
ให้ถือว่าหนังสือรับรองฉบับเดิมยังคงมีผลใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะได้รับหนังสือรับรองฉบับใหม่
หรือได้รับแจ้งว่าไม่ต่ออายุให้
ให้นำความในข้อ ๖ และ ๗
มาใช้บังคับกับการต่ออายุหนังสือรับรองโดยอนุโลม เว้นแต่กรมประมงเห็นควรยกเว้นวิธีการหรือหลักเกณฑ์ในข้อใดเพื่อความสะดวกในการต่ออายุหนังสือรับรอง
ข้อ
๙ ผู้ได้รับหนังสือรับรองต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
๙.๑
ดูแลรักษาสถานประกอบการให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา
กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
๙.๒
ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าไปสถานประกอบการที่ได้รับหนังสือรับรองในระหว่างเวลาทำการของสถานประกอบการ
เพื่อทำการตรวจประเมินสถานประกอบการ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานของการรับรองตามประกาศนี้
๙.๓
อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่ผู้ตรวจสอบประเมิน
ในการติดตามตรวจสอบตามระยะเวลาที่กำหนด
๙.๔
ให้ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับเรือประมง ท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา
หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำที่ได้รับหนังสือรับรองเมื่อผู้ตรวจสอบประเมินร้องขอ
๙.๕
ปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ตรวจสอบประเมิน
ข้อ
๑๐ เมื่อผู้ตรวจสอบประเมินตรวจพบว่าผู้ได้รับหนังสือรับรองมิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำแนบท้ายประกาศนี้
ให้มีหนังสือแจ้งเตือนผู้นั้นให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง โดยอาจกำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงแก้ไขตามที่เห็นสมควรก็ได้
กรณีผู้ได้รับหนังสือรับรองไม่ปรับปรุงแก้ไข
หรือปรับปรุงไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งพักใช้หนังสือรับรองเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า
๓๐ วัน โดยให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๑ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งเพิกถอนหนังสือรับรองในกรณี
ดังต่อไปนี้
๑๑.๑
ผู้ได้รับหนังสือรับรองเคยถูกพักใช้หนังสือรับรองมาแล้ว ๑ ครั้ง และยังตรวจพบว่ามิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ
๑๑.๒
เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจพบภายหลังว่าเอกสารหลักฐานซึ่งผู้ได้รับหนังสือรับรองนำมายื่นตามประกาศนี้เป็นเอกสารปลอม
ทั้งนี้
ให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ
๒. แบบคำขอหนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง
สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ
๓.
หนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา
หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๔/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750450 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดประเภทของเรือประมง พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดประเภทของเรือประมง พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ (ฉบับที่
๓)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๗ วรรคสี่ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศกำหนดประเภทของเรือประมง
พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ภายในระยะเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ห้ามมิให้เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่ทำการประมงในทะเลชายฝั่งและทะเลนอกชายฝั่งขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลไม่ว่าจะเป็นการขนถ่ายจากเรือประมงไปยังเรือประมง
หรือเป็นการขนถ่ายจากเรือประมงไปยังเรือประเภทอื่น เว้นแต่เป็นการขนถ่ายสัตว์น้ำไปยังเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำตามกฎกระทรวงการขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๓/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750448 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมตามมาตรา
๗๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำให้แก่ผู้ซื้อตามแบบและรายการแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
(การเพาะเลี้ยง) Aquatic Animal Purchasing Document (Aquaculture) : APD
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๒/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750446 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมง
ของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๘ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔ วรรคสอง
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ให้ผู้ควบคุมเรือหรือเจ้าของเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำบันทึกตำแหน่งเรือตามแบบใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้องแนบท้ายประกาศนี้ทุกสองชั่วโมง
และให้มีการดำเนินการแก้ไขให้กลับมาใช้การได้โดยเร็ว
หากไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ ให้นำเรือกลับเข้าเทียบท่าทันที
และให้ส่งใบรายงานดังกล่าวต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกเมื่อเรือเข้าเทียบท่าแล้ว
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๑/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750444 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการขออนุญาต การอนุญาต และการรายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลของเรือประมง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการขออนุญาต การอนุญาต และการรายงาน
การขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลของเรือประมง
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๗ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๒
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการขออนุญาต การอนุญาต
และการรายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลของเรือประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ก่อนดำเนินการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลนอกน่านน้ำไทย ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือที่ทำการประมงแจ้งขออนุญาตขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
พร้อมแจ้งชื่อเรือขนถ่ายสัตว์น้ำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลไม่น้อยกว่าสี่สิบแปดชั่วโมง
โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร วิทยุสื่อสาร หรือช่องทางอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม
๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๑๐/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750442 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรายการ วิธีการในการบันทึกข้อมูล และระยะเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเรือประมงที่เข้าใช้บริการจอดเรือ หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมงของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง กำหนดรายการ
วิธีการในการบันทึกข้อมูล และระยะเวลาการเก็บบันทึกข้อมูล
เกี่ยวกับเรือประมงที่เข้าใช้บริการจอดเรือ
หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรายการ วิธีการในการบันทึกข้อมูล
และระยะเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเรือประมงที่เข้าใช้บริการจอดเรือ หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมงของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๒ การเก็บบันทึกตามข้อ ๑
ต้องเก็บบันทึกไว้ไม่น้อยกว่า ๓ ปี เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา
ข้อ
๒[๑] ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๙/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750440 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรูปแบบสมุดบันทึกการทำการประมง ระยะเวลาและวิธีการส่งรายงานสมุดบันทึกการทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดรูปแบบสมุดบันทึกการทำการประมง ระยะเวลาและวิธีการส่งรายงาน
สมุดบันทึกการทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๒) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๑
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรูปแบบสมุดบันทึกการทำการประมง
ระยะเวลาและวิธีการส่งรายงานสมุดบันทึกการทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทยจัดทำสมุดบันทึกการทำการประมงตามรูปแบบท้ายประกาศนี้
และส่งรายงานสมุดบันทึกการทำการประมงที่ได้บันทึกไว้ ทุก ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้แจ้งออกท่าเทียบเรือประมง
โดยอาจจัดส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E - mail) หรือทางโทรสารก็ได้
โดยให้เก็บสำเนาไว้ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบด้วย
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๘/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750438 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมง
ของเรือประมงพาณิชย์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔ วรรคสอง
ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ให้ผู้ควบคุมเรือหรือเจ้าของเรือบันทึกตำแหน่งเรือตามแบบใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้องแนบท้ายประกาศนี้ทุกสองชั่วโมง
และให้มีการดำเนินการแก้ไขให้กลับมาใช้การได้โดยเร็ว หากไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้
ให้นำเรือกลับเข้าเทียบท่าทันที และให้ส่งใบรายงานดังกล่าวต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกเมื่อเรือเข้าเทียบท่าแล้ว
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๗/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750436 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
ให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว
พ.ศ. ๒๕๕๙
โดยที่มาตรา
๓๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ บัญญัติให้ผู้ที่จะทำการประมงพาณิชย์ ต้องได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี
และการออกใบอนุญาตจะต้องสอดคล้องกับขีดความสามารถในการทำการประมงและปริมาณผลผลิตสูงสุดของสัตว์น้ำที่สามารถทำการประมงอย่างยั่งยืน
ซึ่งกรมประมงได้ดำเนินการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
โดยกำหนดห้วงเวลาในการยื่นคำขอตั้งแต่วันที่ ๑ - ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ และได้ออกใบอนุญาตทำการประมงโดยจัดสรรให้สอดคล้องกับขีดความสามารถในการทำการประมงและปริมาณผลผลิตสูงสุดของสัตว์น้ำที่สามารถทำการประมงอย่างยั่งยืนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ขณะนี้ไม่มีปริมาณผลิตผลสูงสุดของสัตว์น้ำคงเหลือเพียงพอที่จะออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์อีกต่อไปได้
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงออกประกาศให้งดการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ไว้เป็นการชั่วคราว
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑
ทั้งนี้
ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[๑]
ประกาศ ณ วันที่ ๓
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๖/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750434 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดให้เรือประมงที่ใช้เครื่องยนต์มีกำลังแรงม้าถึงขนาดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดเป็นประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดให้เรือประมงที่ใช้เครื่องยนต์มีกำลังแรงม้าถึงขนาดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
เป็นประมงพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในบทนิยามคำว่า ประมงพาณิชย์ ในมาตรา ๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เรือประมงที่ใช้เครื่องยนต์มีขนาดกำลังแรงม้าตั้งแต่
๒๘๐ แรงม้าขึ้นไปทำการประมงเป็นประมงพาณิชย์
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๓ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๗ ง/หน้า ๕/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750428 | ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ที่ 2/2559 เรื่อง ยกเลิกประกาศและคำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย บางฉบับ | ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
ที่ ๒/๒๕๕๙
เรื่อง
ยกเลิกประกาศและคำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย บางฉบับ
ตามที่ได้มีการออกประกาศและคำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมายเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ต่าง
ๆ เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๐/๒๕๕๘ เรื่อง
การแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม ลงวันที่ ๒๙
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๔/๒๕๕๘ เรื่อง
การแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม เพิ่มเติม
ลงวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่
๔๒/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
เพิ่มเติมครั้งที่ ๒ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ นั้น
บัดนี้
ได้มีการตราพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในการควบคุมเฝ้าระวัง สืบค้น
และตรวจสอบการทำการประมงให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย และให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
รวมทั้งได้มีการออกกฎหมายลำดับรองเพื่อบังคับให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในพระราชกำหนดดังกล่าวแล้ว
ดังนั้น
เพื่อมิให้การใช้บังคับกฎหมายมีความซ้ำซ้อนกัน
ผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
ดังต่อไปนี้
(๑) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๖/๒๕๕๘ เรื่อง
หลักเกณฑ์ วิธีการรวบรวม และจัดส่งรายงานการเข้า - ออกเรือ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๕๕๘
(๒) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๘ เรื่อง
บัญชีรายชื่อเรือประมงต่างประเทศ เรือบรรทุกสินค้าประมงห้องเย็น
ที่ห้ามเข้ามาเทียบท่าในราชอาณาจักร ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๑๕/๒๕๕๘ เรื่อง
กำหนดเงื่อนไขในการห้ามมิให้บุคคลใดใช้หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้ซึ่งเครื่องมือทำการประมงบางชนิดทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำในเวลาที่กำหนด
(เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
(๔) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๑๖/๒๕๕๘ เรื่อง
กำหนดท่าเรือ หรือแพปลา ให้เรือประมง เรือบรรทุกสินค้าประมงห้องเย็นตลอดจนยานพาหนะทางน้ำทุกชนิดทุกขนาดที่ใช้ทำการประมงขนถ่ายหรือเก็บรักษาสัตว์น้ำที่ได้จากยานพาหนะทางน้ำทุกชนิดทุกขนาดที่ใช้ทำการประมงออกนอกน่านน้ำไทยหรือเดินทางมาจากน่านน้ำต่างประเทศหรือทะเลหลวงเข้ามาในราชอาณาจักร
ออกจากท่าเรือ หรือเข้าจอดเรือ ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(๕) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๑๗/๒๕๕๘ เรื่อง
กำหนดเงื่อนไขในการห้ามมิให้บุคคลใดใช้หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้ซึ่งเครื่องมือทำการประมงบางชนิดทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำในเวลาที่กำหนด
(เพิ่มเติม) ลงวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘
(๖) ประกาศศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ฉบับที่ ๑๙/๒๕๕๘ เรื่อง
กำหนดเงื่อนไขในการห้ามมิให้บุคคลใดใช้หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้ซึ่งเครื่องมือทำการประมงบางชนิดทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำในเวลาที่กำหนด
(เพิ่มเติมครั้งที่ ๒) ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ ให้ยกเลิกคำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
ดังต่อไปนี้
(๑) คำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ที่ ๑/๒๕๕๘ เรื่อง
การออกอาชญาบัตรหรือใบอนุญาตทำการประมงใหม่ให้แก่เรือประมงอวนรุนเดิมที่ถูกยกเลิก ลงวันที่
๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(๒) คำสั่งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย ที่ ๑/๒๕๕๙
เรื่อง
การโอนหรือเปลี่ยนแปลงชื่อผู้รับใบอนุญาตในอาชญาบัตรหรือใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงในทะเล
ลงวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
ทั้งนี้
ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[๑]
ประกาศ ณ วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเรือเอก ณะ อารีนิจ
ผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
ปริยานุช/จัดทำ
๑๒ พฤษภาคม
๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๑๙ พฤษภาคม
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๕ ง/หน้า ๑๘/๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750312 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพันธุ์ไม้น้ำให้เป็นสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดพันธุ์ไม้น้ำให้เป็นสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในบทนิยามคำว่า
สัตว์น้ำ ในมาตรา ๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ กำหนดให้พันธุ์ไม้น้ำและซากหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพันธุ์ไม้น้ำตามบัญชีรายชื่อท้ายประกาศนี้เป็นสัตว์น้ำ
ตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บัญชีแนบท้าย
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพันธุ์ไม้น้ำให้เป็นสัตว์น้ำ พ.ศ.
๒๕๕๙
ลำดับ
ชื่อไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์
๑
หญ้าคาทะเล
Enhalus acoroides
๒
หญ้าชะเงาเต่า
Thalassia hemprichii
๓
หญ้าเงาแคระ
Halophila beccarii
๔
หญ้าเงาใส
Halophila decipiens
๕
หญ้าเงาใบเล็ก
Halophila minor
๖
หญ้าเงาหรือหญ้าอำพัน
Halophila ovalis
๗
หญ้ากุยช่ายเข็ม
Halodule pinifolia
๘
หญ้ากุยช่ายทะเล
Halodule uninervis
๙
หญ้าชะเงาใบฟันเลื่อย
Cymodocea serrulata
๑๐
หญ้าชะเงาใบมน
Cymodocea rotundata
๑๑
หญ้าต้นหอมทะเล
Syringodium isoetifolium
๑๒
หญ้าตะกานน้ำเค็ม
Ruppia maritime
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ชวัลพร/ปริยานุช/จัดทำ
๑๑ พฤษภาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๖ มิถุนายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑/๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
750125 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม (กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช
Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๗๘ (๑) และ (๗) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศกำหนดให้ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช (Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ภายในเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดประกาศกำหนดให้เป็นเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
ตามมาตรา ๗๗ ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องแจ้งการประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ตามแบบแจ้งข้อมูลแนบท้ายประกาศนี้ ดังต่อไปนี้
๑.๑
กรณีการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งที่สำนักงานประมงพื้นที่กรุงเทพมหานคร
กรมประมง
๑.๒
กรณีการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) เขตจังหวัดอื่น
ให้แจ้งที่สำนักงานประมงจังหวัดหรือที่ว่าการอำเภอหรือสำนักงานประมงอำเภอแห่งท้องที่ที่สถานประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตั้งอยู่
โดยให้แนบเอกสารหลักฐานดังนี้
(๑)
กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ให้แนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒)
กรณีเป็นนิติบุคคลให้แนบ
(ก)
สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลและ
(ข)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท หรือของหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นใดของนิติบุคคลนั้น
แล้วแต่กรณี
(๓)
กรณีที่ผู้ประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุมตาม (๑) หรือ (๒)
มิได้เป็นผู้มาแจ้งการประกอบกิจการด้วยตนเอง
ให้แนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำขอและหนังสือมอบอำนาจให้เป็นผู้แจ้งด้วย
ข้อ
๒ เมื่อได้รับแจ้งตามข้อ ๑
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหนังสือรับรองการแจ้งตามแบบหนังสือรับรองการแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ให้กับผู้แจ้ง
ข้อ
๓ ผู้ประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.) ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดอื่น
ๆ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมดังนี้
(๑)
กรณีการเลี้ยงในบ่อดิน บ่อปูแผ่นพลาสติก
หรือนาข้าว ต้องดำเนินการจัดทำที่กั้นบริเวณขอบบ่อโดยรอบ
ความสูงไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร
เพื่อป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
(๒)
กรณีการเลี้ยงในบ่อคอนกรีต ต้องมีผนังบ่อสูงเหนือระดับเก็บกักน้ำไม่น้อยกว่า ๓๐
เซนติเมตร เพื่อป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
(๓)
กรณีการเลี้ยงในภาชนะที่ใช้เลี้ยงอื่น ๆ
ได้แก่ กระชัง ตู้กระจก กล่อง ลังพลาสติก กาละมัง ถัง เป็นต้น
ต้องมีที่ปิดมิดชิดสามารถป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
(๔)
ทางระบายน้ำออกจากที่เพาะเลี้ยงต้องมีระบบป้องกันการหลุดรอดของกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชไม่ให้ออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
(๕)
ห้ามนำกุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิชไปเลี้ยงหรือปล่อยในแหล่งน้ำสาธารณะ
ข้อ
๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
อดิศร พร้อมเทพ
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม (กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.)
๒. หนังสือรับรองการแจ้งการประกอบกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม
(กุ้งก้ามแดงหรือกุ้งเครย์ฟิช
Procambarus clarkii หรือ Cherax spp.)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ชวัลพร/ปริยานุช/จัดทำ
๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๖ มิถุนายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๙๙ ง/หน้า ๓/๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ |
748694 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดสถานที่ยื่นคำขอรับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดสถานที่ยื่นคำขอรับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๒ วรรคสอง (๒) ของกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้ทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา
๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกรมประมง
เรื่อง กำหนดสถานที่ยื่นคำขอรับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ ๒ การยื่นคำขอรับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
ให้ยื่น ณ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ เมษายน ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒ มิถุนายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๘๐ ง/หน้า ๑๒/๕ เมษายน ๒๕๕๙ |
748692 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดประเภทของเรือประมง พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดประเภทของเรือประมง พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘๗ วรรคสี่
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศกำหนดประเภทของเรือประมง
พื้นที่ และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ขยายระยะเวลาการห้ามมิให้เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือประมงไทยที่ทำการประมงในทะเลนอกน่านน้ำไทยทำการขนถ่ายสัตว์นํ้าในทะเล
ตามความในข้อ ๑ ของประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดประเภทของเรือประมง พื้นที่
และระยะเวลาที่ห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ พ.ศ. ๒๕๕๘
ต่อจากวันที่สิ้นสุดระยะเวลากำหนดห้ามทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลนอกน่านน้ำไทยตามประกาศดังกล่าวออกไปอีกเป็นระยะเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ เมษายน ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒ มิถุนายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๘๐ ง/หน้า ๑๑/๕ เมษายน ๒๕๕๙ |
748435 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดเครื่องมือทำการประมงโดยไม่ใช้เรือประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาต พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดประเภทและขนาดเครื่องมือทำการประมงโดยไม่ใช้เรือประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาต
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เครื่องมือต่อไปนี้ทุกขนาดเป็นเครื่องมือทำการประมงโดยไม่ใช้เรือประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมง
(๑)
ประเภทเครื่องมือโป๊ะ
(๒)
บาม
(๓)
ยอขันช่อ
(๔)
ช้อนปีก ยอปีก
(๕)
ไซนั่งหรือลอบกุ้ง
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๖
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๕๑/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
748433 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดมาตรฐานการปนเปื้อนของสารพิษหรือสิ่งอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์หรือต่อสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดมาตรฐานการปนเปื้อนของสารพิษหรือสิ่งอื่นใดที่อาจเป็นอันตราย
ต่อมนุษย์หรือต่อสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐๐ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ มาตรฐานการปนเปื้อนของสารพิษหรือสิ่งอื่นใดในที่จับสัตว์น้ำต้องไม่เกินค่าความเข้มข้นตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๖
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีมาตรฐานการปนเปื้อนของสารพิษหรือสิ่งอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์หรือต่อสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำสำหรับแหล่งน้ำทะเล
๒. บัญชีมาตรฐานการปนเปื้อนของสารพิษหรือสิ่งอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์หรือต่อสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำสำหรับแหล่งน้ำจืด
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๕๐/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
748427 | ประกาศกรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจและออกหนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
และหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขในการตรวจและออกหนังสือรับรองมาตรฐาน
ด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๘ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ในประกาศนี้
มาตรฐานด้านสุขอนามัย หมายความว่า
มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมงที่กรมประมงกำหนดแนบท้ายประกาศนี้
หนังสือรับรอง หมายความว่า
หนังสือที่กรมประมงออกให้เพื่อรับรองว่า เรือประมงลำนั้นมีมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมงตามที่กรมประมงกำหนด
ผู้มีอำนาจลงนาม หมายความว่า
ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล ประมงจังหวัด ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล
หรือหัวหน้าสถานีประมงทะเล ภายในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ
ผู้ตรวจสอบประเมิน หมายความว่า นักวิชาการประมง
และเจ้าพนักงานประมง สังกัดกองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล สำนักงานประมงจังหวัด
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล หรือสถานีประมงทะเล ซึ่งผ่านการอบรมทางด้านมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมงแล้ว
ข้อ
๒ ผู้ใดประสงค์จะขอรับหนังสือรับรอง
ให้ยื่นคำขอตามแบบ สร.๑ ท้ายประกาศนี้ พร้อมกับแนบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
๒.๑
กรณีเป็นบุคคลธรรมดา
(๑)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
(๒)
สำเนาทะเบียนบ้าน
๒.๒
กรณีเป็นนิติบุคคล
(๑)
สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนซึ่งมีอายุไม่เกิน ๙๐ วัน
นับแต่วันที่ออกหนังสือรับรอง
(๒)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
หรือของหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นใดของนิติบุคคลนั้น แล้วแต่กรณี
๒.๓
สำเนาใบทะเบียนเรือไทยและสำเนาใบอนุญาตใช้เรือ
๒.๔
กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นมายื่นคำขอหรือดำเนินการแทนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ให้แนบหนังสือมอบอำนาจมาพร้อมกับคำขอ
และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
ข้อ
๓ ผู้ยื่นคำขอตามประกาศนี้ต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
๓.๑
ต้องเป็นเจ้าของเรือประมงไทย หรือผู้รับมอบอำนาจ
๓.๒
ในกรณีผู้ยื่นคำขอเคยถูกเพิกถอนหนังสือรับรองตามข้อ ๑๓
จะยื่นคำขอหนังสือรับรองได้อีกเมื่อได้ปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๔ สถานที่ในการยื่นคำขอ
๔.๑
ในกรณีที่เรือประมงมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ณ กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง
๔.๒
ในกรณีเรือประมงมีท่าเทียบเรือประจำอยู่ท้องที่จังหวัดอื่น
ให้ยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล
หรือสถานีประมงทะเล
หรือสำนักงานประมงจังหวัดในท้องที่ที่เรือประมงนั้นเทียบท่าอยู่ในเขตความรับผิดชอบ
ข้อ
๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับคำขอแล้ว
ให้ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของคำขอและเอกสารหลักฐานตามคำขอนั้น
และให้ดำเนินการดังนี้
๕.๑
หากเห็นว่าไม่ถูกต้องครบถ้วน ให้คืนคำขอกับเอกสารหลักฐาน และแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบภายใน
๒ วันทำการ นับแต่วันรับคำขอ เพื่อทำการแก้ไขให้ถูกต้องและยื่นใหม่ต่อไป โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
๕.๒
หากเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนแล้ว
ให้เจ้าหน้าที่แจ้งกำหนดวันนัดตรวจเรือให้แก่ผู้ยื่นคำขอทราบ ภายใน ๒ วันทำการ
นับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับคำขอถูกต้องครบถ้วนแล้ว
และให้แจ้งไปยังผู้ตรวจสอบประเมิน
เพื่อให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินเรือประมงนั้น
ข้อ
๖ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าตรวจประเมินเรือประมงให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง ตามกำหนดวันและเวลานัดหมายที่ได้รับแจ้งตามข้อ
๕.๒
ข้อ
๗ ผู้ตรวจสอบประเมินอาจแจ้งผู้ยื่นคำขอทราบถึงข้อบกพร่องประการใดของเรือประมงที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง เพื่อทำการแก้ไขหรือปรับปรุง
และนัดตรวจใหม่ได้ในเวลาอันสมควร
ข้อ
๘ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินสรุปผลการตรวจประเมินตามแบบ
สร.๒ ท้ายประกาศนี้ และจัดทำรายงานผลการตรวจประเมิน
พร้อมทั้งเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อพิจารณาภายใน ๕ วันทำการ
นับแต่วันตรวจประเมินแล้วเสร็จ
กรณีผลการประเมินเป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินจัดทำหนังสือรับรองตามแบบ สร.๓ ท้ายประกาศนี้
เสนอผู้มีอำนาจลงนามเพื่อลงนามหนังสือรับรอง
กรณีผลการประเมินไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานให้ผู้มีอำนาจลงนามมีหนังสือแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบ
พร้อมแสดงเหตุผลภายใน ๕ วันทำการ นับแต่วันพิจารณาแล้วเสร็จ โดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙
หนังสือรับรองที่ออกให้ตามประกาศนี้ให้มีอายุ
๒ ปี นับแต่วันออกหนังสือรับรอง
ข้อ
๙ กรมประมงอาจกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ใด
เพื่อติดไว้ที่เรือประมงที่ได้รับการรับรองนั้น
ข้อ
๑๐ ผู้รับหนังสือรับรองที่ประสงค์จะต่ออายุหนังสือรับรอง
ให้ยื่นคำขอพร้อมแนบสำเนาหนังสือรับรองฉบับเดิมก่อนวันหมดอายุไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน
เมื่อได้ยื่นคำขอต่ออายุภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่งแล้ว
ให้ถือว่าการรับรองมีผลใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะได้รับแจ้งว่าไม่ต่ออายุให้
ให้นำความในข้อ
๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ มาใช้บังคับกับการต่ออายุหนังสือรับรองโดยอนุโลม เว้นแต่กรมประมงเห็นควรยกเว้นวิธีการหรือหลักเกณฑ์ในข้อใดเพื่อความสะดวกในการต่ออายุหนังสือรับรอง
ข้อ
๑๑ ผู้ได้รับหนังสือรับรองต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
๑๑.๑
ดูแลรักษาเรือประมงให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
แนบท้ายประกาศนี้
๑๑.๒
ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบประเมินเข้าไปในเรือประมงที่ได้รับหนังสือรับรองในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อทำการตรวจประเมินเรือประมง
เพื่อรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานของการรับรองตามประกาศนี้
๑๑.๓
อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่ผู้ตรวจสอบประเมิน
ในการติดตามตรวจสอบตามระยะเวลาที่กำหนด
๑๑.๔
ให้ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับเรือประมงที่ได้รับหนังสือรับรองเมื่อผู้ตรวจสอบประเมินร้องขอ
๑๑.๕
ปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ตรวจสอบประเมิน
ข้อ
๑๒ เมื่อผู้ตรวจสอบประเมินตรวจพบว่าผู้ได้รับหนังสือรับรองมิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง แนบท้ายประกาศนี้ ให้มีหนังสือแจ้งเตือนผู้นั้นให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
โดยอาจกำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงแก้ไขตามที่เห็นสมควรก็ได้
กรณีผู้ได้รับหนังสือรับรองไม่ปรับปรุงแก้ไข
หรือปรับปรุงไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งพักใช้หนังสือรับรองเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า
๓๐ วัน โดยให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๓ ให้ผู้ตรวจสอบประเมินรายงานต่อผู้มีอำนาจลงนามเพื่อสั่งเพิกถอนหนังสือรับรองในกรณีดังต่อไปนี้
๑๓.๑
ผู้ได้รับหนังสือรับรองเคยถูกพักใช้หนังสือรับรองมาแล้ว ๑ ครั้ง และยังตรวจพบว่ามิได้ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
๑๓.๒
เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจพบภายหลังว่าเอกสารหลักฐานซึ่งผู้ได้รับหนังสือรับรองนำมายื่นตามประกาศนี้เป็นเอกสารปลอม
ทั้งนี้
ให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ
๑๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๖
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบคำขอหนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง (แบบ สร.๑)
๒.
แบบฟอร์มรายการตรวจประเมินสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง (แบบ สร.๒)
๓.
มาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง
๔.
หนังสือรับรองมาตรฐานด้านสุขอนามัยในการดูแลรักษาสัตว์น้ำ
และการเก็บรักษาสัตว์น้ำในเรือประมง (Certificate of Sanitary Fishing Vessel) (แบบ สร.๓)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๔๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
748423 | ประกาศกรมประมง เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการแต่งตั้ง การปฏิบัติหน้าที่ และบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขในการแต่งตั้ง การปฏิบัติหน้าที่
และบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐๖ วรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกรมประมง
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการแต่งตั้ง การปฏิบัติหน้าที่
และบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒ ในประกาศนี้
ผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า
ผู้ซึ่งอธิบดีกรมประมงแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศนี้
ให้มีชื่อย่อว่า ชปพ. ประมง
สำนักงานประมงจังหวัด หมายความรวมถึง
สำนักงานประมงพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ประมงจังหวัด หมายความรวมถึง ประมงพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ข้อ
๓ ผู้ที่ประสงค์จะสมัครเป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้ยื่นใบสมัครตามแบบท้ายประกาศนี้ด้วยตนเอง ณ
สำนักงานประมงจังหวัดหรือสำนักงานประมงอำเภอ
ในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นที่ตนเป็นสมาชิก
ข้อ
๔ ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑)
มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์นับถึงวันสมัคร
(๒)
เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ
(๓)
มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง
(๔)
เป็นสมาชิกขององค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นในเขตพื้นที่จังหวัด
และมีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดนั้น
(๕)
เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ได้รับการยกย่อง
หรือเป็นที่นับถือของสมาชิกองค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นนั้น
(๖)
สมัครใจและมีความตั้งใจที่จะมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่และช่วยเหลือการพัฒนาด้านการประมงในท้องถิ่น
และมีเวลาให้กับการปฏิบัติหน้าที่
(๗)
ไม่เป็นผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทำความผิดอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา
๑๑๔ ยังไม่ถึงห้าปีนับแต่วันที่มีคำพิพากษาถึงที่สุด
(๘)
ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างการถูกพักใช้ใบอนุญาตทำการประมง
(๙)
ไม่เป็นผู้ที่อธิบดีกรมประมงมีคำสั่งตามมาตรา ๑๑๓ (๑) หรือ (๕)
และยังไม่พ้นสองปีนับแต่วันได้รับคำสั่ง
(๑๐)
ไม่เป็นผู้ที่อธิบดีกรมประมงมีคำสั่งตามมาตรา ๑๑๓ (๒)
และยังไม่พ้นระยะเวลาการสั่งห้าม
(๑๑)
ไม่เป็นผู้เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตทำการประมงยังไม่พ้นห้าปีนับถึงวันยื่นคำขอรับใบอนุญาต
(๑๒)
ไม่เป็นผู้เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตทำการประมงมาแล้วสองครั้งภายในห้าปี
ผู้สมัครต้องรับรองตนเองว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน
และได้รับการรับรองจากองค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นที่ตนเป็นสมาชิกด้วย
ข้อ
๕ การยื่นใบสมัครตามข้อ ๓
ให้แนบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒)
รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกกับแว่นตาดำ และไม่ใส่ผ้าคลุมหน้า
เว้นแต่ผู้ซึ่งมีความจำเป็นตามนิกายของศาสนาหรือลัทธินิยมในทางศาสนา แต่จะต้องเปิดให้เห็นใบหน้า
หน้าผาก คิ้ว ตา จมูก ปาก และคาง เป็นรูปถ่ายขนาดหนึ่งนิ้ว
ถ่ายไว้ไม่เกินหกเดือนนับถึงวันยื่นใบสมัคร จำนวนสองรูป
(๓)
หนังสือรับรองการเป็นสมาชิกจากองค์กรชุมชนประมงท้องถิ่น
ข้อ
๖ ให้สำนักงานประมงจังหวัดตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
และคุณสมบัติของผู้สมัคร เมื่อพิจารณาเห็นว่าผู้สมัครมีคุณสมบัติครบถ้วน
ก็ให้ดำเนินการรับสมัครไว้
และแจ้งให้ผู้สมัครมาเข้ารับการฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามหลักสูตรที่กรมประมงกำหนดต่อไป
ข้อ
๗ ให้สำนักงานประมงจังหวัดร่วมกับกองบริหารจัดการด้านการประมง
จัดฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามหลักสูตรที่กรมประมงกำหนด
ข้อ
๘ ให้สำนักงานประมงจังหวัดรายงานผลการฝึกอบรม
พร้อมรายชื่อผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมซึ่งได้รับประกาศนียบัตรรับรองตามแบบท้ายประกาศนี้
เพื่อเสนออธิบดีกรมประมงอนุมัติแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ข้อ
๙ เมื่ออธิบดีกรมประมงได้อนุมัติแต่งตั้งบุคคลให้เป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามข้อ
๘ แล้ว
ให้สำนักงานประมงจังหวัดจัดทำบัตรประจำตัวของบุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามแบบท้ายประกาศนี้
โดยให้ประมงจังหวัดเป็นผู้ลงนามบัตรประจำตัวดังกล่าวและให้สำนักงานประมงจังหวัดจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ของจังหวัดไว้ด้วย
บัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งออกให้ตามวรรคหนึ่ง
ให้มีอายุสี่ปีนับแต่วันออกบัตร
การต่ออายุบัตรประจำตัวให้ยื่นคำขอตามแบบท้ายประกาศนี้ก่อนบัตรหมดอายุไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
กรณีบัตรชำรุดเสียหาย
หรือสูญหาย ให้ยื่นคำขอมีบัตรใหม่ ณ
สำนักงานประมงจังหวัดในเขตพื้นที่ตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๑๐ รูปแบบ และขนาดบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้มีรายละเอียดดังนี้
(๑)
มีสีขาว ขนาดกว้างห้าจุดห้าเซนติเมตร ยาวแปดจุดห้าเซนติเมตร
และด้านหน้าบัตรให้มีชื่อตัวและชื่อสกุล รูปถ่าย
และที่อยู่ตามทะเบียนบ้านในขณะที่ยื่นคำขอ
(๒)
เลขประจำตัวประชาชน
(๓)
มีเลขประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่จำนวนเจ็ดหลัก ประกอบด้วย
รหัสจังหวัดจำนวนสองหลัก
เลขท้ายของปีพุทธศักราชที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่จำนวนสองหลัก
และลำดับผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ของจังหวัดนั้นจำนวนสามหลัก
(๔)
ลายมือชื่อและตำแหน่งของผู้ออกบัตร
(๕)
ด้านหลังบัตรให้มีตราสัญลักษณ์ผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่อยู่ตรงกลางด้านบน
มีข้อความ บัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ อยู่ตรงกลาง และมีข้อความ วันออกบัตร วันบัตรหมดอายุ อยู่ด้านล่าง
รูปถ่ายตาม
(๑) ต้องเป็นรูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกหรือแว่นตาดำ และไม่ใส่ผ้าคลุมหน้า เว้นแต่ผู้ซึ่งมีความจำเป็นตามนิกายของศาสนาหรือลัทธินิยมในทางศาสนา
แต่จะต้องเปิดให้เห็นใบหน้า หน้าผาก คิ้ว ตา จมูก ปาก และคาง
เป็นรูปถ่ายขนาดหนึ่งนิ้ว ถ่ายไว้ไม่เกินหกเดือน และให้มีการประทับตรากรมประมงไว้
ข้อ
๑๑ การปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
(๑)
ต้องปฏิบัติหน้าที่ภายใต้การควบคุม กำกับ ดูแล ของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจเฉพาะในเรื่องนั้นตามที่กำหนดไว้ในพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
(๒)
ต้องนำบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งกรมประมงออกให้ติดตัวไปด้วยขณะออกปฏิบัติหน้าที่และนำออกแสดงต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง
(๓)
ให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะในเขตพื้นที่จังหวัดซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นที่ตนมีชื่อเป็นสมาชิก
เว้นแต่ในกรณีจำเป็นอย่างอื่นให้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตพื้นที่อื่นได้ตามการร้องขอของพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นครั้งคราวไป
(๔)
ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และรักษาความลับของทางราชการ
ข้อ
๑๒ ให้ผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่พ้นจากการเป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ด้วยเหตุดังต่อไปนี้
(๑)
ตาย
(๒)
ลาออก โดยได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมประมง
(๓)
เป็นผู้ขาดคุณสมบัติตามข้อ ๔ (๓) (๔) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) หรือ (๑๒)
(๔)
มีคำสั่งให้พ้นจากการเป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วยเหตุที่กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยการประมง
กระทำการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ ๑๑ (๑) และ (๔) หรือกระทำการอื่นใดที่ไม่เหมาะสมหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
กรณีการสั่งให้พ้นจากการเป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ด้วยเหตุตาม (๓) และ (๔) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งควบคุม กำกับ ดูแล
การปฏิบัติงาน จัดทำรายงานข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ของผู้นั้นต่อสำนักงานประมงจังหวัดเพื่อเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมประมง
เมื่อผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ถูกสั่งให้พ้นจากหน้าที่แล้ว
ให้คัดชื่อออกจากทะเบียน
และให้เรียกบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่คืน โดยให้สำนักงานประมงจังหวัดแจ้งให้องค์กรชุมชนประมงท้องถิ่นที่ผู้นั้นเป็นสมาชิกทราบด้วย
ข้อ
๑๓ การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศนี้
ย่อมได้รับความคุ้มครองและได้รับสิทธิประโยชน์ตามระเบียบข้อบังคับของทางราชการ
ข้อ
๑๔ เครื่องแบบหรือตราสัญลักษณ์
สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานของผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนด
ข้อ
๑๕ ให้กองบริหารจัดการด้านการประมงเป็นหน่วยงานกลางในการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศนี้
และดำเนินการเพื่อจัดให้มีเครื่องแบบหรือตราสัญลักษณ์สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานของผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามความเหมาะสม
ข้อ
๑๖[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๖
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ใบสมัครผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
๒. แบบประกาศนียบัตร
๓.
แบบบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
๔.
คำขอมีบัตรประจำตัวผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๔๒/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
747532 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย
ที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกบัญชีรายชื่อท่าเทียบเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย
แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้บัญชีแนบท้ายประกาศฉบับนี้แทน
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๗
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีรายชื่อท่าเทียบเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย
แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖๔ ง/หน้า ๑๖/๑๖ มีนาคม ๒๕๕๙ |
746762 | ประกาศกรมประมง เรื่อง แบบคำขอจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ ใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
แบบคำขอจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑๓
ของกฎกระทรวงการขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ คำขอจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอจดทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
๒. ใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
๓. คำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๕๕ ง/หน้า ๑๔/๔ มีนาคม ๒๕๕๙ |
746756 | ประกาศกรมประมง เรื่อง แบบคำขอจดทะเบียนท่าเทียบเรือประมงใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
แบบคำขอจดทะเบียนท่าเทียบเรือประมง ใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑๑ ของกฎกระทรวงการขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนท่าเทียบเรือประมง พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งออกตามความในมาตรา
๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ คำขอจดทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
ใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
และคำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอจดทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
๒. ใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
๓. คำขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการในใบทะเบียนท่าเทียบเรือประมง
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๕๕ ง/หน้า ๑๓/๔ มีนาคม ๒๕๕๙ |
746750 | ประกาศกรมประมง เรื่อง แบบคำขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต คำขอต่ออายุใบอนุญาต คำขอรับใบแทนใบอนุญาต และคำขอเปลี่ยนแปลงเครื่องมือที่ได้รับอนุญาตให้ทำการประมง เพิ่มเครื่องมือที่จะใช้ทำการประมง หรือเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ที่ประสงค์จะทำการประมงนอกน่านน้ำไทย พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง แบบคำขอรับใบอนุญาต
ใบอนุญาต คำขอต่ออายุใบอนุญาต คำขอรับใบแทนใบอนุญาต
และคำขอเปลี่ยนแปลงเครื่องมือที่ได้รับอนุญาตให้ทำการประมง
เพิ่มเครื่องมือที่จะใช้ทำการประมง
หรือเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ที่ประสงค์จะทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑๔ ของกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้ทำการประมงนอกน่านน้ำไทย พ.ศ. ๒๕๕๙
ซึ่งออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ คำขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต
คำขอต่ออายุใบอนุญาต
คำขอรับใบแทนใบอนุญาตและคำขอเปลี่ยนแปลงเครื่องมือที่ได้รับอนุญาตให้ทำการประมง
เพิ่มเครื่องมือที่จะใช้ทำการประมงหรือเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ที่ประสงค์จะทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอรับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
๒. ใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
๓. Permit for Oversea Fishing
๔. คำขอต่ออายุใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
๕. คำขอใบแทนใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
๖. คำขอเปลี่ยนแปลงเครื่องมือที่ได้รับอนุญาตให้ทำการประมง
เพิ่มเครื่องมือที่ใช้ทำการประมงหรือเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ที่ประสงค์จะทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๕๕ ง/หน้า ๑๒/๔ มีนาคม ๒๕๕๙ |
746742 | ประกาศกรมประมง เรื่อง แบบคำขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต คำขอโอนใบอนุญาต และคำขอรับใบแทนใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2559
| ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง แบบคำขอรับใบอนุญาต
ใบอนุญาต คำขอโอนใบอนุญาต และคำขอรับใบแทนใบอนุญาต
ทำการประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในข้อ
๑๒ ของกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตให้ทำการประมงพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๕๙
ซึ่งออกตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ คำขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต
คำขอโอนใบอนุญาต และคำขอรับใบแทนใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๖
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขอรับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
๒. ใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
๓. คำขอโอนใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
๔. คำขอรับใบแทนใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๗ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๕๕ ง/หน้า ๑๑/๔ มีนาคม ๒๕๕๙ |
745921 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดห้วงเวลาที่จะให้ผู้ประสงค์ทำการประมงพาณิชย์มายื่นคำขอรับใบอนุญาต พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดห้วงเวลาที่จะให้ผู้ประสงค์ทำการประมงพาณิชย์มายื่นคำขอรับใบอนุญาต
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยมาตรา
๓๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
กำหนดให้การออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ต้องสอดคล้องกับขีดความสามารถในการทำการประมงและปริมาณสูงสุดของสัตว์น้ำที่สามารถทำการประมงอย่างยั่งยืนที่กำหนดในแผนบริหารจัดการประมง
เพื่อให้การออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์สอดคล้องกับหลักการดังกล่าว
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ กำหนดห้วงเวลาที่ให้ผู้ที่จะประสงค์ทำการประมงพาณิชย์
มายื่นคำขอรับใบอนุญาตตั้งแต่วันที่ ๑ - ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ ณ สถานที่ ดังต่อไปนี้
(๑)
กรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานประมงพื้นที่กรุงเทพมหานคร กรมประมง
(๒)
จังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ
ที่ว่าการอำเภอหรือสำนักงานประมงอำเภอแห่งท้องที่ที่มีอาณาเขตติดทะเล
ข้อ
๒ เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบในการยื่นคำขอ
ได้แก่
(๑)
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ พร้อมบัตรตัวจริงมาแสดง
(๒)
สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
แสดงวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการประมง (กรณีที่เป็นนิติบุคคล)
(๓)
สำเนาใบทะเบียนเรือไทยและสำเนาใบอนุญาตใช้เรือ พร้อมตัวจริงมาแสดง
(๔)
หนังสือมอบอำนาจ พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (กรณีที่มีการมอบอำนาจ)
(๕)
สำเนาใบอนุญาตทำการประมงในปีการประมงที่ผ่านมา
(๖)
ใบรายงานการติดตั้งอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือประมง
(๗)
รูปถ่ายปัจจุบันหรือภาพถ่ายดิจิตอลของเรือและเครื่องมือทำการประมง จำนวน ๔ รูป ดังนี้
๗.๑
ภาพหัวเรือที่เห็นทะเบียนเรือชัดเจน จำนวน ๑ รูป
๗.๒
ภาพถ่ายเรือเต็มลำด้านซ้ายและด้านขวาที่เห็นชัดเจน ด้านละ ๑ รูป
๗.๓ ภาพถ่ายเครื่องมือทำการประมงที่จะขออนุญาตบนเรือประมง
จำนวน ๑ รูป
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๒๙ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔๖ ง/หน้า ๑๕/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
745919 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืด
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืด
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๒๙ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔๖ ง/หน้า ๑๔/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
745917 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับ
ใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๒๙ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔๖ ง/หน้า ๑๓/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
745911 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดเครื่องมือทำการประมง วิธีการทำการประมง และพื้นที่ทำการประมงที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดเครื่องมือทำการประมง วิธีการทำการประมง และพื้นที่ทำการประมง
ที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๑ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องมือทำการประมงดังต่อไปนี้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำเขตทะเลชายฝั่ง
(๑)
อวนลากทุกชนิดที่ใช้ประกอบเรือยนต์
(๒)
อวนล้อมจับที่มีสายมานทุกชนิด
(๓)
อวนติดตาที่มีความลึกมากกว่า ๓๐๐ ช่องตา
(๔)
ลอบปูพับได้ที่มีขนาดช่องตาอวนโดยรอบเล็กกว่า ๒.๕ นิ้ว
(๕) ลอบหมึกสายที่ใช้ทำการประมงต่อครั้งต่อเรือประมง ๑ ลำ
มากกว่า ๒,๐๐๐ ลูก
(๖)
อวนครอบ อวนช้อนหรืออวนยกหมึก ที่ใช้ประกอบเครื่องปั่นไฟ
(๗)
อวนครอบ อวนช้อนหรืออวนยกปลากะตัก ที่ใช้ประกอบเครื่องปั่นไฟ
(๘)
คราดหอยลายที่ใช้ประกอบเรือยนต์
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๒
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
กัญฑรัตน์/ตรวจ
๒๙ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔๖ ง/หน้า ๙/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
744626 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง รายชื่อเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
รายชื่อเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยได้รับรายงานจากกรมประมงว่ามีเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งนี้
เนื่องจากเป็นเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ในทะเลนอกน่านน้ำไทย
จำนวน ๖ ลำ
ที่เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงดังกล่าวฝ่าฝืนไม่นำเรือประมงกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงภายในสามสิบวัน
และไม่แจ้งศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมประมงกำหนด อันเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนประกาศกรมประมง
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ออกตามความในมาตรา ๘๑ (๕) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ.
๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๑๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เรือประมงตามรายชื่อท้ายประกาศนี้เป็นเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ กำหนดระยะเวลาห้ามใช้เรือประมงตามข้อ ๑
ทำการประมงเป็นเวลาสองปีนับแต่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. รายชื่อเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/จัดทำ
๔ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
ปุณิกา/ตรวจ
๔ กุมภาพันธ์
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙ ง/หน้า ๓/๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
743507 | ประกาศกรมประมง เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการฝึกอบรม และการขึ้นทะเบียนเป็นผู้สังเกตการณ์ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติ
หลักเกณฑ์ วิธีการฝึกอบรม และการขึ้นทะเบียนเป็นผู้สังเกตการณ์
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕๐ วรรคสองและวรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
กรมประมง มีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการจัดให้มีการฝึกอบรมผู้สังเกตการณ์
กำกับดูแล
และควบคุมมาตรฐานการฝึกอบรมและการปฏิบัติหน้าที่ประสานและจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมง
รวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ เพื่อวัตถุประสงค์ในด้านวิทยาศาสตร์
การบริหารจัดการ
และการติดตามการปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรการอนุรักษ์และบริหารจัดการ
ข้อ
๒ คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าฝึกอบรม
(๑)
สำเร็จการศึกษาด้านการประมง ชีววิทยาทางทะเล วิทยาศาสตร์ทางทะเล
หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในทะเล
หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องที่เป็นประโยชน์ไม่น้อยกว่าหกเดือน
(๒)
เพศชาย
(๓)
ว่ายน้ำได้
(๔)
เป็นผู้ที่มีสภาพร่างกายและจิตใจที่เหมาะสม
พร้อมใบรับรองการตรวจสุขภาพตามแบบที่กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง กำหนด
(๕)
สามารถปฏิบัติหน้าที่บนเรือประมงด้วยตนเองได้เป็นเวลานาน
(๖)
มีทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ สถิติเบื้องต้น และการใช้คอมพิวเตอร์
(๗)
มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาต่างประเทศอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่
(๘)
จะต้องไม่ใช่บุคคลที่มีหน้าที่อื่นใดในเรือประมง หรือเกี่ยวข้องกับกิจการด้านธุรกิจการประมง
ซึ่งส่งผลต่อจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สังเกตการณ์
(๙)
ยินยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาประกัน หรือสัญญาชดใช้เงินคืน ที่กรมประมงกำหนด
ทั้งนี้
ขั้นตอนการประกาศรับสมัคร
และการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการฝึกอบรมให้เป็นไปตามประกาศและเงื่อนไข
ของกองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง
ข้อ
๓ หลักเกณฑ์และวิธีการฝึกอบรม
หลักสูตรการฝึกอบรมและหลักเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สังเกตการณ์ให้เป็นไปตามบัญชี
๑ แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๔ คุณสมบัติของผู้สังเกตการณ์
(๑)
สำเร็จหลักสูตรการฝึกอบรมและผ่านเกณฑ์ประเมินความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ
๓
(๒)
มีประสบการณ์ในการติดตามการทำการประมงและการขนถ่ายสัตว์น้ำ ตามเกณฑ์การประเมินของกองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
กรมประมง
(๓)
ต้องปฏิบัติตามอำนาจ หน้าที่ สิทธิ และจรรยาบรรณของผู้สังเกตการณ์ตามบัญชี ๒
แนบท้ายประกาศนี้
(๔)
ต้องไม่ปฏิบัติหน้าที่อื่นบนเรือนอกเหนือจากการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้สังเกตการณ์และสามารถอุทิศเวลาให้กับการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่
(๕) ยินยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาประกัน
หรือสัญญาชดใช้เงินคืน ที่กรมประมงกำหนด
ข้อ
๕ การขึ้นทะเบียนผู้สังเกตการณ์
(๑)
ให้อธิบดีกรมประมงประกาศการขึ้นทะเบียนและออกบัตรประจำตัวสำหรับผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้สังเกตการณ์ตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
(๒)
บัตรประจำตัวผู้สังเกตการณ์ ให้มีอายุสามปีนับแต่วันออกบัตร
(๓)
ให้กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง จัดการฝึกอบรมทบทวนความรู้
และประเมินความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ให้แก่ผู้สังเกตการณ์เป็นประจำ
ก่อนการต่ออายุบัตรประจำตัว
(๔)
ให้อธิบดีกรมประมงพิจารณาต่ออายุบัตรประจำตัว โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติหน้าที่
(๕)
ในกรณีที่ผู้สังเกตการณ์ไม่ปฏิบัติตามอำนาจ หน้าที่ สิทธิ
และจรรยาบรรณของผู้สังเกตการณ์ตามบัญชีท้ายประกาศ ๒
ให้อธิบดีเพิกถอนการขึ้นทะเบียน
ข้อ
๖
ให้ผู้ได้รับการฝึกอบรมก่อนที่ประกาศฉบับนี้จะมีผลใช้บังคับเป็นผู้มีสิทธิในการขึ้นทะเบียนและแต่งตั้งเป็นผู้สังเกตการณ์
ตามประกาศฉบับนี้ด้วย
ข้อ
๗[๑]
ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หลักสูตรการฝึกอบรมและหลักเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สังเกตการณ์
๒. บัตรประจำตัวผู้สังเกตการณ์ กรมประมง
ประเทศไทย
๓. อำนาจ หน้าที่
สิทธิ และจรรยาบรรณ สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สังเกตการณ์
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๑๒/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743505 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมง สำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตให้ทำการประมงนอกน่านน้ำไทย พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์การจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมง
สำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตให้ทำการประมงนอกน่านน้ำไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อเป็นการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์และบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำและประโยชน์ในการจัดให้มีแหล่งข้อมูลทางด้านการประมงที่ถูกต้อง
น่าเชื่อถือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการจับ
หรือข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมง ในการติดตาม
ควบคุม และเฝ้าระวัง การปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และบริหารจัดการแหล่งทรัพยากรสัตว์น้ำ
และการป้องกัน ขัดขวาง และขจัดการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงกำหนดให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทยต้องมีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมงเพื่อทำหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๐ และมาตรา ๕๑ (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑
ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงนอกน่านน้ำไทยที่ไปทำการประมงในทะเลที่อยู่ในเขตของรัฐชายฝั่ง
หรือในทะเลหลวงนอกเขตพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์การระหว่างประเทศ ซึ่งมิได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์การจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมง
ต้องจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(๑)
ประเภทของเรือที่ต้องจัดให้มีผู้สังเกตการณ์
(ก)
ให้เรือประมงที่ไปทำการประมงในเขตทะเลนอกน่านน้ำไทยต้องจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมงเพื่อเก็บข้อมูลตามที่กรมประมงกำหนดซึ่งอย่างน้อยต้องไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของปริมาณการลงแรงประมงทั้งหมด
โดยให้เริ่มดำเนินการภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ
(ข)
เรือประมงที่มีการขนถ่ายสัตว์น้ำ
ในเขตทะเลนอกน่านน้ำไทยต้องจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมงขณะที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ
(๒)
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สังเกตการณ์
(ก)
ก่อนเริ่มปฏิบัติหน้าที่ ให้แสดงบัตรประจำตัวผู้สังเกตการณ์
(ข)
จัดส่งรายงานผลการเดินทางประจำเที่ยวเรือ ให้กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง
ภายในยี่สิบวันนับแต่เมื่อเรือประมงเทียบท่าหรือผู้สังเกตการณ์ขึ้นฝั่ง
(ค)
ให้จัดทำรายงานอื่นนอกจากรายงานตาม (ข) ส่งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง
๑) รายงานตามแบบการตรวจสอบความปลอดภัยของเรือ
ก่อนปฏิบัติหน้าที่บนเรือประมง
๒) รายงานการรับมอบหมายงานภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เมื่อผู้สังเกตการณ์ลงเรือประมง
๓)
รายงานสถานภาพและการปฏิบัติหน้าที่ทุกห้าวัน ตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(ง)
การจัดส่งรายงานตาม (ค) ให้จัดส่งโดยใช้วิธีการทางโทรสาร โทรคมนาคม
วิทยุสื่อสารเครื่องมือสื่อสารบนเรือ หรือช่องทางอื่น ตามความเหมาะสม
(จ)
ให้ผู้สังเกตการณ์นำแบบการเก็บรวบรวมข้อมูลมาสอบทานเบื้องต้นกับพนักงานเจ้าหน้าที่กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
กรมประมง ภายในห้าวันนับแต่เมื่อเรือประมงเทียบท่าหรือผู้สังเกตการณ์ขึ้นฝั่ง
และนำแบบที่ผ่านการสอบทานไปจัดทำรายงานและส่งมาพร้อมกับรายงานตาม (ข)
(๓)
หลักเกณฑ์ในการสังเกตการณ์การทำการประมง
(ก)
เก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับปฏิบัติการประมง
และเทคโนโลยีด้านเครื่องมือทำการประมงตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(ข)
เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทำการประมง และผลจับสัตว์น้ำตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(ค)
ติดตามและทำบันทึกการปฏิบัติตามกฎหมายตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(๔)
หลักเกณฑ์ในการสังเกตการณ์การขนถ่ายสัตว์น้ำ
(ก)
การสังเกตการณ์เรือประมงที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำให้เป็นไปตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(ข)
การสังเกตการณ์เรือขนถ่ายสัตว์น้ำให้บันทึกตามแบบที่กรมประมงกำหนด
(ค)
ลงนามร่วมในใบรายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำ
ข้อ
๒
ค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ประจำอยู่ในเรือประมง
วิธีการจ่ายเงิน และการชำระเงินล่วงหน้า
ให้เป็นไปตามสัญญาจัดให้มีผู้สังเกตการณ์ตามแบบที่กรมประมงกำหนด
ข้อ
๓ ให้กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
กรมประมง มีหน้าที่ในการกำกับดูแลมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ประสาน จัดให้มี
และจัดทำสัญญาจัดให้มีผู้สังเกตการณ์
ข้อ
๔[๑]
ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. Pre-Sea Safety Checklist
๒. Observers Deployment Report
๓. Observer Five-Day Status Report Format
๔. Form Gen-1: Indian Ocean Tuna Commission Vessel and Trip Information
๕. Form LL-2: Pelagic Longline Gear and Operation Information
๖. Form LL-4: Fishing Event Longline
๗. Form Gen-5: Fishing/Supply Vessel Sightings
๘. Form Gen-6: Transhipment
๙. OBSERVERTRIPREPORT
๑๐. แบบฟอร์ม 1-แผนการขนถ่ายสัตว์น้ำ
๑๑. แบบฟอร์ม 2-คำขอผู้สังเกตการณ์ประมง
๑๒. สมุดปูมผู้สังเกตการณ์ประมง
๑๓. แบบฟอร์ม T2: แบบฟอร์มการปฏิบัติการ
๑๔. แบบฟอร์ม T3: รายการตรวจสอบก่อนการปฏิบัติการในทะเล
๑๕. แบบฟอร์ม T4: แบบฟอร์มรายละเอียดการขนถ่าย
๑๖. T4 (iv) แบบฟอร์มการบันทึกการขนถ่าย
๑๗. Pre-Sea Safety Inspection Checklist
๑๘. แบบฟอร์ม A: ข้อมูลเรือประมงและผู้สังเกตการณ์
๑๙. แบบฟอร์ม B คือ ข้อมูลเครื่องมือทำประมง
๒๐. แบบฟอร์ม D: ข้อมูลการขนถ่ายสัตว์น้ำ
๒๑. Sampling Form (length frequency)
๒๒. Sampling Form (Biological Data)
๒๓. Sampling Form (Biological Data)
๒๔. สัญญาจัดให้มีผู้สังเกตการณ์
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๑๐/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743503 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดชนิดสัตว์น้ำที่ห้ามนำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดชนิดสัตว์น้ำที่ห้ามนำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร
พ.ศ. ๒๕๕๙
เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองพันธุ์สัตว์น้ำที่หายาก
หรือป้องกันอันตรายจากโรคระบาดสัตว์น้ำ จึงสมควรกำหนดชนิดสัตว์น้ำบางชนิดที่ห้ามนำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร
เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมาย
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๖๕ วรรคแรก แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้า ส่งออก
หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์น้ำที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประกาศนี้
เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมประมงมอบหมาย
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดชนิดสัตว์น้ำที่ห้ามนำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๙/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743500 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับรูปแบบของอวน ขนาดของเรือ วิธีที่ใช้ บริเวณพื้นที่ และระยะเวลาในการทำการประมง ที่ผู้ทำการประมงด้วยเครื่องมืออวนรุนเคยที่ใช้ประกอบเรือยนต์ทำการประมงต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับรูปแบบของอวน ขนาดของเรือ วิธีที่ใช้ บริเวณพื้นที่
และระยะเวลาในการทำการประมง
ที่ผู้ทำการประมงด้วยเครื่องมืออวนรุนเคย
ที่ใช้ประกอบเรือยนต์ทำการประมงต้องปฏิบัติ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๖๘ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศกำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับรูปแบบของอวน
ขนาดของเรือ วิธีที่ใช้ บริเวณพื้นที่ และระยะเวลาในการทำการประมง
ที่ผู้ทำการประมงด้วยเครื่องมืออวนรุนเคยที่ใช้ประกอบเรือยนต์ทำการประมงต้องปฏิบัติ
ดังนี้
ข้อ
๑ เครื่องมืออวนรุนเคย
ประกอบเรือยนต์ที่ใช้ทำการประมงได้จะต้องเป็นเครื่องมืออวนที่มีลักษณะคล้ายถุง
ถุงอวนจะต้องทำด้วยเนื้ออวนชนิดโพลีเอทีลีน (Poly ethylene, PE) สีฟ้า ตาสี่เหลี่ยม แบบไม่มีปม ขนาดช่องตาอวน ๒ x ๒
มิลลิเมตร เชือกคร่าวล่างปากอวนอาจมีตาปะทังหรือไม่มีก็ได้ และต้องไม่ติดโซ่
การทำการประมงให้ใช้วิธีการนำถุงอวนประกอบคันรุน
ปากอวนมีลักษณะเป็นคันช้อนกางออกเป็นรูปคล้ายสามเหลี่ยม
ติดตั้งอยู่ด้านหน้าเรือยนต์ แล้วใช้เรือยนต์ผลักดันเครื่องมืออวนรุนเคยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
ข้อ
๒ กำหนดขนาดเรือยนต์ พื้นที่
และระยะเวลา ในการใช้เครื่องมืออวนรุนเคยประกอบเรือยนต์ทำการประมง ดังนี้
๒.๑
กำหนดระยะเวลาที่ให้ทำการประมงอวนรุนเคย ดังนี้
(๑)
บริเวณอ่าวไทยตอนบน ตั้งแต่จังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ
ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ถึงจังหวัดตราด ให้ทำการประมงอวนรุนเคย ระหว่างวันที่
๑ พฤษภาคม ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของทุกปี
(๒)
บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี ถึงจังหวัดนราธิวาส ให้ทำการประมงอวนรุนเคย ระหว่างวันที่
๑ ตุลาคม ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ของทุกปี
(๓) บริเวณฝั่งอันดามัน ให้ทำการประมงอวนรุนเคย
ระหว่างวันที่ ๑ สิงหาคม ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ของทุกปี
๒.๒
กรณีเรือยนต์ที่ใช้ประกอบเครื่องมืออวนรุนเคย
มีขนาดต่ำกว่าสิบตันกรอสต้องทำการประมงในระยะห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่าหนึ่งจุดห้าไมล์ทะเล
๒.๓
กรณีเรือยนต์ที่ใช้ประกอบเครื่องมืออวนรุนเคย มีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอสขึ้นไป ต้องทำการประมงนอกเขตทะเลชายฝั่ง
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๗/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743498 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา
ของคณะกรรมการเปรียบเทียบ
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๗๐ วรรคสองและวรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง กำหนดคณะกรรมการเปรียบเทียบ
และหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ในประกาศนี้
ความผิด หมายความว่า ความผิดตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้ต้องหา หมายความว่า
บุคคลผู้ถูกหาว่าได้กระทำความผิดตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า
ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
คณะกรรมการเปรียบเทียบ หมายความว่า
คณะกรรมการเปรียบเทียบตามมาตรา ๑๗๐ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๑
คณะกรรมการเปรียบเทียบ
ข้อ
๔ ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตกรุงเทพมหานครหนึ่งคณะ
และในส่วนภูมิภาคอีกจังหวัดละหนึ่งคณะ
ข้อ
๕ ในเขตกรุงเทพมหานครให้ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
กรมประมง เป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเปรียบเทียบ และให้กองกฎหมาย
กรมประมง เป็นหน่วยงานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบ
ในส่วนภูมิภาคให้ประมงจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเปรียบเทียบและให้กลุ่มบริหารจัดการด้านการประมง
สำนักงานประมงจังหวัด
เป็นหน่วยงานฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ
ให้ฝ่ายเลขานุการมีหน้าที่ในการรับเรื่องราวจากพนักงานเจ้าหน้าที่และจัดส่งให้คณะกรรมการเปรียบเทียบ
ติดตามและแจ้งผลการพิจารณาดำเนินการของคณะกรรมการเปรียบเทียบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดต่อไป
หมวด ๒
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของคณะกรรมการเปรียบเทียบ
ข้อ
๖ บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง
หรือเชื่อว่าได้เกิดในกรุงเทพมหานคร หรือนอกราชอาณาจักรไทย
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในเขตกรุงเทพมหานครทำการเปรียบเทียบที่กรมประมง
และให้ผู้ต้องหาชำระค่าปรับที่กรมประมง
บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง
หรือเชื่อว่าได้เกิดในส่วนภูมิภาค ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในส่วนภูมิภาคทำการเปรียบเทียบที่สำนักงานประมงจังหวัดท้องที่เกิดเหตุ
และให้ผู้ต้องหาชำระค่าปรับที่สำนักงานประมงจังหวัดนั้น
ในกรณีบรรดาความผิดกระทำในท้องที่ใดในหลายท้องที่หรือความผิดส่วนหนึ่งกระทำท้องที่หนึ่งแต่อีกส่วนหนึ่งกระทำในอีกท้องที่หนึ่ง
หรือเป็นความผิดต่อเนื่อง และกระทำต่อเนื่องกันในหลายท้องที่ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบในท้องที่หนึ่งท้องที่ใดที่เกี่ยวข้องมีอำนาจทำการเปรียบเทียบ
ในกรณีมีปัญหาไม่แน่ว่าจะทำการเปรียบเทียบที่ใด
ให้อธิบดีกรมประมงเป็นผู้มีอำนาจชี้ขาดโดยคำชี้ขาดของอธิบดีกรมประมงให้เป็นที่สุด
ข้อ
๗ เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้รับเรื่องขอให้พิจารณาเปรียบเทียบจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว
ให้พิจารณาเปรียบเทียบให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า
ข้อ
๘ การพิจารณาเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบพิจารณาจากพยานหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
รายงานการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่
(๒)
บันทึกการจับ (ถ้ามี)
(๓)
บันทึกคำให้การของผู้ต้องหา
(๔)
พยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ
๙ ภายใต้บังคับแห่งพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๖๒ วรรคสาม และมาตรา ๑๖๗ หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับที่ผู้ต้องหาจะพึงชำระ ดังนี้
(๑)
การกระทำความผิดที่มิได้กำหนดโทษตามขนาดของเรือ
และไม่มีการกำหนดอัตราโทษขั้นต่ำไว้ หากเป็นการกระทำความผิดครั้งแรก
ให้ปรับในอัตราหนึ่งในสี่ของอัตราโทษที่กำหนดไว้
หากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สอง
ให้ปรับในอัตราโทษกึ่งหนึ่งของอัตราโทษที่กำหนดไว้
หากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สาม ให้ปรับในอัตราโทษสามในสี่ของอัตราโทษที่กำหนดไว้
และหากเป็นการกระทำความผิดครั้งที่สี่ขึ้นไป
ให้ปรับในอัตราโทษสูงสุดของอัตราโทษที่กำหนดไว้
(๒)
การกระทำความผิดที่มิได้กำหนดโทษตามขนาดของเรือ และมีการกำหนดอัตราโทษขั้นต่ำไว้ หากเป็นการกระทำความผิดในครั้งแรก
ให้ปรับในอัตราโทษขั้นต่ำสุด
หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า หากเป็นการกระทำความผิดซ้ำให้ปรับในอัตราโทษขั้นสูงสุด
หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
(๓)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษตามขนาดของเรือ
หากเป็นการกระทำความผิดให้ปรับในอัตราโทษที่กำหนดไว้ โดยพิจารณาจากขนาดของเรือ
หรือปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
(๔)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษปรับโดยให้คิดจากมูลค่าสัตว์น้ำ
ให้ปรับในอัตราจำนวนเท่าของมูลค่าของสัตว์น้ำที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
(๕)
การกระทำความผิดที่มีการกำหนดโทษปรับอัตราเดียว
ให้ปรับในอัตราโทษที่กำหนดไว้ในมาตรานั้น ๆ
ข้อ
๑๐ มูลค่าราคาสัตว์น้ำตามข้อ ๙
ให้คิดในวันที่พบการกระทำความผิด
โดยให้เป็นไปตามราคาที่องค์การสะพานปลาประกาศกำหนด
หรือราคาซื้อขายที่พาณิชย์จังหวัดประกาศสำหรับสัตว์น้ำจืด
ในกรณีสัตว์น้ำประเภทใดไม่มีการประกาศราคาการซื้อขาย
ให้เป็นไปตามราคาที่อธิบดีกรมประมงประกาศกำหนดโดยคำนึงถึงราคาตลาด
ข้อ
๑๑ ในการพิจารณาเปรียบเทียบ
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบมีอำนาจแสวงหาข้อเท็จจริง
เรียกพยานบุคคลหรือพยานเอกสารจากบุคคลใด ๆ เท่าที่จำเป็นมาประกอบการพิจารณา
ข้อ
๑๒ เมื่อพิจารณาเสร็จแล้ว
ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบแจ้งจำนวนค่าปรับที่จะพึงชำระให้ผู้ต้องหาทราบ
หากผู้ต้องหายินยอมชำระค่าปรับตามที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดและยินยอมยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการ
ให้แจ้งให้ผู้ต้องหานำเงินค่าปรับมาชำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบ
เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับและยกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว
ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ข้อ
๑๓ ในกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ
หรือไม่ยินยอมยกสัตว์น้ำ หรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ถูกยึดไว้ให้แก่ทางราชการ
หรือไม่ชำระค่าปรับภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบส่งเรื่องให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีต่อไป
ข้อ
๑๔ ในการเปรียบเทียบตามข้อ ๑๒ และข้อ
๑๓ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบจัดทำบันทึกการเปรียบเทียบไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ
๑๕ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบบันทึกข้อมูลประวัติผู้ต้องหาแนบสำนวนคดี
และให้เก็บสำนวนคดีที่ได้ทำการเปรียบเทียบไว้เป็นหลักฐานตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
ข้อ
๑๖ เอกสารและหลักฐานตามข้อ ๘ ข้อ ๑๔
หรือเอกสารและหลักฐานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการตามประกาศนี้
ให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีกรมประมงกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๓/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743496 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดแนวปฏิบัติในการนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำสำหรับเรือประมงที่ทำการประมงพื้นบ้านโดยรัฐเจ้าของธงที่มีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดแนวปฏิบัติในการนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำสำหรับเรือประมง
ที่ทำการประมงพื้นบ้านโดยรัฐเจ้าของธงที่มีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๗ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เรือประมงที่ทำการประมงพื้นบ้านซึ่งมีขนาดต่ำกว่าสิบตันกรอส
โดยรัฐเจ้าของธงที่มีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรไทย
ซึ่งทำการประมงในทะเลที่อยู่ในเขตของราชอาณาจักรกัมพูชา สหพันธรัฐมาเลเซีย และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
ที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักรไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา
๙๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ ในการนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักรตามข้อ
๑ ให้เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือยื่นคำขออนุญาตพร้อมด้วยเอกสารดังต่อไปนี้
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านตรวจสัตว์น้ำ
(๑)
ใบจดทะเบียนเรือหรือใบอนุญาตทำการประมง หรือ
(๒)
เอกสารที่รัฐเจ้าของธงรับรองว่าสัตว์น้ำนั้นมิได้มาจากการทำการประมงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขออนุญาตนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำสำหรับเรือประมงที่ทำการประมงพื้นบ้านโดยรัฐเจ้าของธงที่มีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรไทย
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๒/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743494 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2559 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย
ที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
พ.ศ. ๒๕๕๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๕ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ผู้ประสงค์จะนำเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
ต้องแจ้งข้อมูลล่วงหน้าตามแบบคำร้องขอนำเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่าตามที่กำหนดไว้ท้ายประกาศฉบับนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่น้อยกว่าสี่สิบแปดชั่วโมง
ก่อนเวลาที่เรือประมงจะเดินทางถึงท่าเทียบเรือ
ข้อ
๒ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ควบคุมเรือทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงหลังจากที่ได้รับแจ้งการขอเข้าเทียบท่า
ข้อ
๓ ให้เรือประมงที่ได้รับอนุญาตเข้าเทียบท่า
จอดเรือ ณ ท่าเทียบเรือตามที่กำหนดตามรายชื่อท่าเทียบเรือแนบท้ายประกาศฉบับนี้
ข้อ
๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ADVANCE REQUEST FOR PORT ENTRY แบบคำร้องขอนำเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่า
๒. บัญชีรายชื่อท่าเทียบเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย
แนบท้ายประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและกำหนดท่าเทียบเรือ ของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่ประสงค์จะนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเข้ามาในราชอาณาจักร
พ.ศ. ๒๕๕๙
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
กัญฑรัตน์/ปริยานุช/จัดทำ
๑๓ มกราคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๗ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖ ง/หน้า ๑/๑๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
743410 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศ ดังนี้
ข้อ
๑ กำหนดขนาดหรือลักษณะของเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตทำการประมงพื้นบ้าน
ดังนี้
(๑)
อวนติดตาที่มีความยาวตั้งแต่ ๔๐๐ เมตร ขึ้นไป
(๒)
อวนช้อน อวนยก หรืออวนครอบ
(๓)
ลอบทุกชนิด
(๔)
เบ็ดราวยาวตั้งแต่ ๕๐๐ เมตร ขึ้นไป
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๖ มกราคม ๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๒๖ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔ ง/หน้า ๑๖/๘ มกราคม ๒๕๕๙ |
743406 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืด พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืด
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศ ดังนี้
ข้อ
๑ กำหนดเครื่องมือทำการประมงที่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงน้ำจืดดังนี้
(๑)
อวนติดตาหรือข่ายที่มีความยาวตั้งแต่ ๑๐๐ เมตรขึ้นไป
(๒)
ช้อนสนั่นหรือช้อนหางเหยี่ยวมีเครื่องยก
(๓)
เบ็ดราวยาวตั้งแต่ ๑๐๐ เมตรขึ้นไป
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๖ มกราคม ๒๕๕๙
วิศนี/ตรวจ
๒๖ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔ ง/หน้า ๑๕/๘ มกราคม ๒๕๕๙ |
743104 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง
ของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๘ (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
โดยใช้เรือขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ต้องแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงทุกครั้งด้วยวิธีการแจ้งโดยตรงหรือโดยทางโทรสาร
ตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้ ไปยังศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามรายชื่อแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ การแจ้งออกจากท่าเทียบเรือ
ให้แจ้งภายในระยะเวลาสิบสองชั่วโมง
แต่ไม่น้อยกว่าสี่ชั่วโมงก่อนการนำเรือเข้าออกจากท่าเทียบเรือ
การแจ้งเข้าท่าเทียบเรือ
ให้แจ้งภายในระยะเวลา ๔ ชั่วโมงก่อนนำเรือเข้าท่าเทียบเรือ
ข้อ
๓[๑] ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง
(สำหรับเรือประมงไทย)
๒. รายชื่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๘/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743102 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดระยะเวลาและวิธีการรายงานหนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ ของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดระยะเวลาและวิธีการรายงานหนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ
ของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๘ (๒) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ผู้นำเรือประมงขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไปที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำออกไปทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ
ต้องจัดทำหนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ ซึ่งรับรองความถูกต้องโดยผู้ควบคุมเรือ
ตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ ให้ผู้ควบคุมเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำจัดส่งหนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกทันทีที่เทียบท่า
เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของสัตว์น้ำหน้าท่า
และให้เจ้าของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำส่งสำเนาหนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ
ให้กรมประมงโดยทางโทรสาร หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ภายหลังการขนถ่ายสัตว์น้ำเรียบร้อยแล้วภายใน ๓ วัน
ข้อ
๓[๑] ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หนังสือกำกับการขนถ่ายสัตว์นํ้า (Marine Catch Transshipping Document: MCTD)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๗/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743100 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมง
ของเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๘ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ประกอบการเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำที่ออกไปทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ
โดยใช้เรือขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไปติดตั้งระบบติดตามเรือประมงตามมาตรฐานสมรรถนะของอุปกรณ์และข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมงสำหรับเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
ที่แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ เมื่อมีการติดตั้งระบบติดตามเรือในเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำลำใดแล้ว
ให้เจ้าของหรือผู้ประกอบการเรือประมงแจ้งข้อมูล รหัสกล่องหรือรหัสอุปกรณ์ ชื่อ
หรือหมายเลขทะเบียนเรือ ภาพถ่ายเรือ
ตามแบบใบรายงานการติดตั้งอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือประมงแนบท้ายประกาศนี้
ต่อศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังและคาดการณ์สถานการณ์ด้านการประมง กรมประมง
ภายในเจ็ดวันหลังจากดำเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ
ข้อ
๓ ให้ผู้ควบคุมเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำที่ติดตั้งระบบติดตามเรือประมงเรียบร้อยแล้ว
ต้องส่งข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมง
ทุกหนึ่งชั่วโมง หลังจากการรายงานออกจากท่าเทียบเรือจนถึงกลับเข้าท่าเทียบเรือ
ข้อ
๔ ในกรณีระบบติดตามเรือขัดข้อง
ให้ผู้ควบคุมเรือที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำแจ้งเหตุขัดข้องผ่านระบบสื่อสารทางวิทยุระบบ
HF/SFB (USB) ช่องหลักความถี่ 8228.0 KHz ช่องรองความถี่ 6290.0 KHz หรือระบบ CB ช่องหลักความถี่ 11 C ช่อง รองความถี่ 12 C ต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกทันทีที่ตรวจพบว่าเครื่องขัดข้อง
ให้ผู้ควบคุมเรือหรือเจ้าของเรือที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำบันทึกตำแหน่งเรือตามแบบใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้องแนบท้ายประกาศนี้
ทุกสองชั่วโมงจนกว่าเรือจะเข้าเทียบท่า
และส่งใบรายงานดังกล่าวต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกเมื่อเรือเข้าเทียบท่าแล้ว
ข้อ
๕[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. มาตรฐานสมรรถนะของอุปกรณ์และข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมงที่ได้จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำ
๒. ใบรายงานการติดตั้งอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือ
๓. ใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้อง
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๖/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743098 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดแบบและรายการหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ ระยะเวลาและวิธีการในการส่งสำเนาหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดแบบและรายการหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ ระยะเวลาและวิธีการ
ในการส่งสำเนาหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๖ วรรคสาม แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของท่าเทียบเรือหรือผู้ประกอบกิจการแพปลาจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำตามแบบท้ายประกาศนี้
และกรอกรายการในหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำให้ถูกต้องครบถ้วน
ข้อ
๒ ให้เจ้าของท่าเทียบเรือหรือผู้ประกอบกิจการแพปลาส่งสำเนาหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำให้สำนักงานประมงอำเภอท้องที่ภายใน
๗ วัน นับจากมีการซื้อขายสัตว์น้ำที่ท่าเทียบเรือหรือแพปลา
ข้อ
๓[๑] ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (Marine Catch Purchasing Document: MCPD)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๕/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743096 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดวิธีการในการรวบรวมและจัดส่งรายงานการเข้าออกเรือประมงพาณิชย์ไปที่ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก ของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดวิธีการในการรวบรวมและจัดส่งรายงานการเข้าออกเรือประมงพาณิชย์
ไปที่ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
ของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๕ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศกำหนดให้เจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลาทำการรวบรวมข้อมูลรายงานการเข้าออกเรือประมงพาณิชย์ที่มีขนาดตั้งแต่
๓๐ ตันกรอสขึ้นไป ที่เข้าออกท่าเทียบเรือประมงหรือแพปลาของตน
โดยดำเนินการเก็บรวบรวมสำเนาเอกสารสำหรับการแจ้งเข้าออกท่าเทียบเรือจากเจ้าของเรือ
ผู้ควบคุมเรือ หรือผู้รับมอบอำนาจ
ของเรือที่มาแจ้งเข้าออกจากท่าเทียบเรือทุกลำไว้เป็นหลักฐาน
และส่งให้ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกทุกวันที่ ๑๕ ของเดือน
ทั้งนี้
ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[๑]
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๔/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743094 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรายการ วิธีการในการบันทึกข้อมูล และระยะเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเรือประมงที่เข้าใช้บริการจอดเรือ หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมงของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง กำหนดรายการ
วิธีการในการบันทึกข้อมูล และระยะเวลาการเก็บบันทึกข้อมูล
เกี่ยวกับเรือประมงที่เข้าใช้บริการจอดเรือ
หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ของเจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลา
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของท่าเทียบเรือประมงหรือผู้ประกอบกิจการแพปลาบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเรือประมงทุกลำที่เข้ามาใช้บริการจอดเรือ
ขนถ่ายสัตว์น้ำ นำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมงตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ การเก็บบันทึกตามข้อ ๒
ต้องเก็บไว้ไม่น้อยกว่า ๑ ปี เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา
ข้อ
๓[๑] ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บันทึกข้อมูลเรือประมงที่เข้ามาใช้บริการจอดเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
นำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๓/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743090 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการขออนุญาต การอนุญาต และการรายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลของเรือประมง พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาในการขออนุญาต การอนุญาต และการรายงาน
การขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลของเรือประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๗ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ การขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเล
จะทำได้เฉพาะกรณีการขนถ่ายไปยังเรือประมงที่ได้จดทะเบียนให้เป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเก็บรักษาสัตว์น้ำแล้วเท่านั้น
ข้อ
๒ ก่อนดำเนินการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเล
ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือที่ทำการประมงแจ้งขออนุญาตขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
พร้อมแจ้งชื่อเรือขนถ่ายสัตว์น้ำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง
โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร วิทยุสื่อสาร หรือช่องทางอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
ข้อ
๓ การขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลจะกระทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ตามข้อ
๒ แล้วเท่านั้น เมื่อดำเนินการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลเสร็จสิ้นแล้ว
ให้รายงานชนิดและน้ำหนักของสัตว์น้ำที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
และให้ยื่นรายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลซึ่งรับรองความถูกต้องโดยผู้ควบคุมเรือตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ณ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกเมื่อเข้าเทียบท่า
ข้อ
๔ การอนุญาตให้ขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลตามข้อ ๒
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑)
เรือที่จะทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลต้องเป็นเรือประมงที่จดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำหรือเรือเก็บรักษาสัตว์น้ำกับกรมประมง
หรือปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของรัฐชายฝั่งหรือองค์การระหว่างประเทศ แล้วแต่กรณี
(๒)
เรือที่จะทำการขนถ่ายสัตว์น้ำในทะเลต้องไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่มีการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
และรายชื่อเรือประมงที่ถูกใช้ทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๙๔ และมาตรา
๑๑๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๕ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาและแจ้งผลการอนุญาตภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับจากได้รับแจ้ง
ทั้งนี้
สามารถแจ้งผลการอนุญาตทางวิทยุสื่อสาร หรือช่องทางอื่น ๆ
ข้อ
๖[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. รายงานการขนถ่ายสัตว์น้ำ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๒/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743088 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นเอกสารและหลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก ก่อนนำเรือประมงพาณิชย์ออกจากท่าเทียบเรือประมง พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นเอกสารและหลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ณ
ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก ก่อนนำเรือประมงพาณิชย์ออกจากท่าเทียบเรือประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ก่อนนำเรือประมงพาณิชย์ตามมาตรา ๘๑
ออกจากท่าเทียบเรือประมง
เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือต้องนำเอกสารและหลักฐานดังต่อไปนี้
แสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามลักษณะและประเภทของเรือประมง
(๑)
ทะเบียนเรือไทย
(๒)
ใบอนุญาตใช้เรือ
(๓)
ใบประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือ
(๔)
ใบประกาศนียบัตรช่างเครื่องยนต์เรือ
(๕)
ใบอนุญาตให้ทำการประมง
(๖)
บัตรประชาชนผู้ควบคุมเรือ
(๗)
บัตรประชาชนช่างเครื่องยนต์เรือ หรือบัตรประจำตัวคนไม่มีสัญชาติไทย
(๘)
บัญชีรายชื่อและหนังสือคนประจำเรือ
(๙)
ในกรณีคนประจำเรือไม่มีสัญชาติไทยต้องได้รับใบอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและใบอนุญาตให้ทำงานตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าว
(๑๐)
หลักฐานการติดตั้งเครื่องติดตามเรือ (VMS)
(๑๑)
หลักฐานการตรวจอุปกรณ์ความปลอดภัย
(๑๒)
หลักฐานการตรวจสุขอนามัยและสวัสดิภาพในการทำงานของคนประจำเรือ
ข้อ
๒ ให้ผู้ประกอบการประมงนำเอกสารและหลักฐานตามข้อ
๑ แสดงต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
ก่อนนำเรือออกจากท่าตั้งแต่สิบสองชั่วโมง
และไม่น้อยกว่าสี่ชั่วโมงก่อนออกทำการประมง
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๒๑/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743084 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๔) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ที่ใช้เรือขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไปดำเนินการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงตามที่กำหนดดังนี้
(๑)
เครื่องหมายประจำเรือประมงประกอบด้วยตัวอักษรโรมันและตัวเลข
มีขนาดไม่น้อยกว่าสิบเซนติเมตรไม่เป็นสีเดียวกันหรือใกล้เคียงกับสีพื้น
เขียนที่หัวเรือภายนอกทั้งสองด้าน ต่อท้ายจากเลขทะเบียนเรือของกรมเจ้าท่า
(๒)
ตัวอักษรตัวแรกให้ใช้แทนพื้นที่ที่ทำการประมงหรือพื้นที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำดังนี้
(๒.๑)
กรณีเรือประมงที่ทำการประมง
(ก) พื้นที่ทำการประมงในฝั่งอ่าวไทย ให้ใช้ตัวอักษร
T
(ข) พื้นที่ทำการประมงในฝั่งอันดามัน ให้ใช้ตัวอักษร
A
(ค) พื้นที่ทำการประมงในทะเลหลวง ให้ใช้ตัวอักษร
H
(ง) พื้นที่ทำการประมงในรัฐชายฝั่ง ให้ใช้ตัวอักษร
F
(๒.๒) กรณีเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
(ก) พื้นที่ขนถ่ายสัตว์น้ำในฝั่งอ่าวไทย ให้ใช้ตัวอักษร
T
(ข) พื้นที่ขนถ่ายสัตว์น้ำในฝั่งอันดามัน ให้ใช้ตัวอักษร
A
(ค)
พื้นที่ขนถ่ายสัตว์น้ำในเขตทะเลชายฝั่งตามกฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือให้ใช้ตัวอักษร
R
(ง)
พื้นที่ขนถ่ายสัตว์น้ำในเขตทะเลนอกน่านน้ำไทยตามกฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ
ให้ใช้ตัวอักษร U
ในกรณีเรือประมงที่ทำการประมงจดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
ให้ระบุตัวอักษรที่ใช้แทนพื้นที่ทำการประมงเป็นอักษรตัวแรก
ตามด้วยตัวอักษรที่ใช้แทนพื้นที่ทำการขนถ่ายสัตว์น้ำ
(๓)
ตัวอักษรแสดงขนาดของเรือให้ต่อท้ายตัวอักษรตาม (๒) ดังนี้
(ก) ขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสแต่ไม่เกินหกสิบตันกรอส
ให้ใช้ตัวอักษร M
(ข) ขนาดตั้งแต่หกสิบตันกรอสขึ้นไป ให้ใช้ตัวอักษร
L
(๔)
ตัวเลขแสดงประเภทเครื่องมือประมงให้ต่อท้ายตัวอักษรตาม (๓) ดังนี้
(ก) ประเภทเครื่องมืออวนลาก ให้ใช้รหัส
๐๑
(ข) ประเภทเครื่องมืออวนล้อมจับ ให้ใช้รหัส
๐๒
(ค) ประเภทเครื่องมือคราด ให้ใช้รหัส
๐๔
(ง) ประเภทเครื่องมืออวนช้อน อวนยก ให้ใช้รหัส
๐๕
(จ) ประเภทเครื่องมืออวนครอบ ให้ใช้รหัส
๐๖
(ฉ) ประเภทเครื่องมืออวนติดตา ให้ใช้รหัส
๐๗
(ช) ประเภทเครื่องมืออวนรุนเคย ให้ใช้รหัส
๐๘
(ซ) ประเภทเครื่องมือลอบ ให้ใช้รหัส
๐๙
(ฌ) ประเภทเบ็ด ให้ใช้รหัส
๑๒
(ฎ) ประเภทเครื่องมืออื่น ๆ ให้ใช้รหัส
๑๓
(ฏ) ประเภทเรือขนถ่าย ให้ใช้รหัส
๘๐
(ฐ) ประเภทเรือปั่นไฟ ให้ใช้รหัส
๙๐
(ฑ) ประเภทเรือสนับสนุนอื่น ๆ ให้ใช้รหัส
๙๑
ในกรณีที่เรือประมงได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงหลายประเภท
ให้ระบุตัวเลขแสดงประเภทเครื่องมือทำการประมงให้ครบทุกประเภท
ข้อ
๒ ให้นำเครื่องหมาย QR Code ที่กรมประมงออกให้ติดไว้ภายในห้องควบคุมเรือบริเวณที่สังเกตได้ชัดเจน
ข้อ
๓ ให้ดำเนินการจัดทำเครื่องหมายประจำเรือให้เสร็จสิ้นภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงหรือได้รับการจดทะเบียนเป็นเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ
ข้อ
๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๑๙/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743082 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดรูปแบบสมุดบันทึกการทำการประมง ระยะเวลาและวิธีการส่งรายงานสมุดบันทึกการทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดรูปแบบสมุดบันทึกการทำการประมง ระยะเวลาและวิธีการส่งรายงาน
สมุดบันทึกการทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๒) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ที่ใช้เรือขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไปจัดทำสมุดบันทึกการทำการประมงตามรูปแบบท้ายประกาศนี้
และส่งรายงานสมุดบันทึกการทำการประมงที่ได้บันทึกสำหรับเที่ยวนั้นให้แก่กรมประมงทุกครั้งที่นำเรือเข้าเทียบท่า
โดยยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ควบคุมแจ้งเรือเข้าออกโดยทันทีที่เรือเข้าเทียบท่า
และเก็บสำเนาไว้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบด้วย
ข้อ
๒ การดำเนินการตามข้อ ๑
ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์อาจให้ผู้ควบคุมเรือเป็นผู้ดำเนินการแทนก็ได้
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บันทึกการทำการประมง
อวนลาก-อวนรุนเคย (แบบ บทป.1)
๒. บันทึกการทำการประมง อวนล้อมจับ (แบบ
บทป.2)
๓. บันทึกการทำการประมง อวนลอย (แบบ
บทป.3)
๔. บันทึกการทำการประมง อวนช้อน/ยก-ครอบ
(แบบ บทป.4)
๕. บันทึกการทำการประมง ลอบ (แบบ บทป.5)
๖. บันทึกการทำการประมง
เครื่องมือทำการประมงอื่น ๆ (แบบ บทป.6)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๑๘/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743080 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการติดตั้งระบบติดตามเรือประมง
และดูแลรักษาระบบติดตามเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๑) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์ที่ใช้เรือขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไปติดตั้งระบบติดตามเรือประมงตามมาตรฐานสมรรถนะของอุปกรณ์และข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมงสำหรับเรือประมงพาณิชย์
ที่แนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ เมื่อมีการติดตั้งระบบติดตามเรือในเรือประมงลำใดแล้ว
ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์แจ้งข้อมูล รหัสกล่อง หรือรหัสอุปกรณ์ ชื่อ
หรือหมายเลขทะเบียนเรือ
ภาพถ่ายเรือตามแบบใบรายงานการติดตั้งอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือประมงแนบท้ายประกาศนี้
ต่อศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังและคาดการณ์สถานการณ์ด้านการประมง กรมประมง
ภายในเจ็ดวัน หลังจากดำเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ
ข้อ
๓ ให้ผู้ควบคุมเรือประมงที่ติดตั้งระบบติดตามเรือประมงเรียบร้อยแล้ว
ต้องส่งข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมง
ทุกหนึ่งชั่วโมง หลังจากการรายงานออกจากท่าเทียบเรือจนถึงกลับเข้าท่าเทียบเรือ
ข้อ
๔ ในกรณีระบบติดตามเรือขัดข้อง
ให้ผู้ควบคุมเรือแจ้งเหตุขัดข้องผ่านระบบสื่อสารทางวิทยุระบบ HF/SFB (USB) ช่องหลักความถี่ 8228.0 KHz ช่องรองความถี่ 6290.0 KHz หรือระบบ CB ช่องหลักความถี่ 11 C ช่องรองความถี่ 12 C ต่อศูนย์ควบคุมแจ้งเรือเข้าออกทันทีที่ตรวจพบว่าเครื่องขัดข้อง
ให้ผู้ควบคุมเรือหรือเจ้าของเรือบันทึกตำแหน่งเรือตามแบบใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้องแนบท้ายประกาศนี้
ทุกสองชั่วโมงจนกว่าเรือจะเข้าเทียบท่า และส่งใบรายงานดังกล่าวต่อศูนย์ควบคุมแจ้งเรือเข้าออกเมื่อเรือเข้าเทียบท่าแล้ว
ข้อ
๕[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. มาตรฐานสมรรถนะของอุปกรณ์และข้อกำหนดเชิงหน้าที่ของระบบติดตามเรือประมง
๒. ใบรายงานการติดตั้งอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือ
๓. ใบรายงานตำแหน่งเรือกรณีระบบติดตามเรือขัดข้อง
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๑๗/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743078 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตนำเข้า
สัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๒ วรรคสี่ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ผู้ใดประสงค์จะขอใบอนุญาตนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
ให้ยื่นคำขออนุญาตพร้อมด้วยเอกสารหลักฐานตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ณ สถานที่ ดังต่อไปนี้
(๑)
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ กองบริหารจัดการด้านการประมง กรมประมง หรือด่านตรวจสัตว์น้ำในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(๒)
ในพื้นที่จังหวัดอื่น นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ
(ก)
ด่านตรวจสัตว์น้ำในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(ข)
สำนักงานประมงจังหวัด ในกรณีไม่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของด่านตรวจสัตว์น้ำ
(๓)
สถานที่และวิธีการอื่นตามที่อธิบดีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข้อ
๒ ในการพิจารณาอนุญาตให้นำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(๑)
ในกรณีที่ไม่มีเอกสารหรือหลักฐานตามที่กำหนดไว้ในแบบคำขออนุญาต
ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่อนุญาตให้นำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
(๒)
ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานตามที่กำหนดไว้ในแบบคำขออนุญาตแล้วเห็นว่าไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคำขออนุญาตดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องหรือครบถ้วนก่อนดำเนินการออกใบอนุญาต
(๓)
ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานตามที่กำหนดไว้ในแบบคำขออนุญาตแล้วเห็นว่าถูกต้องและครบถ้วน
ให้ดำเนินการออกใบอนุญาตนำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำตามแบบแนบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำขออนุญาตให้นำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
(Application from for Aquatic Animal or Aquatic Animal Product Import Permit)
๒. ใบอนุญาตให้นำเข้าสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
(Aquatic Animal or Aquatic Animal Product Import Permit)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๑๖/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743076 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้นของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้น
ของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำ
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๐ (๕) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ในประกาศนี้
รุ่นวัตถุดิบ หมายความว่า
สัตว์น้ำชนิดเดียวกันที่มาจากเรือประมงในช่วงเวลาทำการประมงและแหล่งทำการประมงเดียวกัน
ข้อ
๒ ให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำที่อยู่ในบัญชีรายชื่อที่กรมประมงรับรองซึ่งใช้วัตถุดิบสัตว์น้ำจับจากธรรมชาติ
ยกเว้นสัตว์น้ำจืด หอยฝาเดียว และหอยสองฝา
ในการผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำต้องจัดทำคู่มือเพื่อแสดงระบบการจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้นครอบคลุมตั้งแต่แหล่งที่มาของวัตถุดิบสัตว์น้ำ
การขนส่ง การจัดเก็บ กระบวนการผลิต และการส่งออกให้กรมประมงเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ในกรณีที่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำเปลี่ยนแปลงระบบการจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้นต้องส่งคู่มือที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในการจัดทำระบบจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้นให้กรมประมงเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ
๓ รายละเอียดในคู่มือเพื่อแสดงระบบการจัดทำหลักฐานเพื่อการสืบค้นอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑)
การคัดเลือกวัตถุดิบสัตว์น้ำ
ต้องแสดงวิธีการคัดเลือกแหล่งที่มาของวัตถุดิบสัตว์น้ำ และวิธีการตรวจสอบวัตถุดิบสัตว์น้ำว่าได้มาจากการทำการประมงโดยชอบด้วยกฎหมาย
(๒)
การขนถ่ายวัตถุดิบสัตว์น้ำเข้าสู่โรงงาน ต้องแสดงวิธีการขนถ่าย
และการแยกรุ่นวัตถุดิบสัตว์น้ำ
(๓)
การรับและคัดแยกวัตถุดิบสัตว์น้ำ ต้องตรวจสอบชนิด น้ำหนัก
และกำหนดรหัสบ่งชี้ที่มีรายละเอียดเชื่อมโยงถึงรุ่นวัตถุดิบสัตว์น้ำ
(๔)
การจัดเก็บวัตถุดิบสัตว์น้ำ ต้องแสดงระบบการจัดเก็บวัตถุดิบสัตว์น้ำ และมีรหัสบ่งชี้
กรณีใช้ห้องเย็นภายนอกโรงงานในการจัดเก็บวัตถุดิบสัตว์น้ำ
ห้องเย็นดังกล่าวต้องอยู่ในบัญชีรับรองของกรมประมง
และมีเอกสารยืนยันการรับฝากวัตถุดิบสัตว์น้ำที่เชื่อมโยงถึงชนิดและน้ำหนักวัตถุดิบสัตว์น้ำทั้งหมดของโรงงานที่นำไปฝากเก็บ
(๕)
ระบบเบิกจ่ายวัตถุดิบสัตว์น้ำ
ต้องแสดงถึงชนิดและน้ำหนักสัตว์น้ำที่นำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
(๖)
วิธีการตรวจสอบหลักฐานเพื่อการสืบค้น ต้องบ่งชี้
หรือแสดงความเชื่อมโยงสอดคล้องกันของเอกสารหรือบันทึกการผลิตต่าง ๆ
ครอบคลุมตั้งแต่การรับวัตถุดิบสัตว์น้ำจนถึงการส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
(๗)
วิธีการแสดงความเชื่อมโยงของน้ำหนักวัตถุดิบสัตว์น้ำกับน้ำหนักสัตว์น้ำในผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
ข้อ
๔ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำตามข้อ
๒ ต้องจัดทำสรุปข้อมูลชนิดและน้ำหนักวัตถุดิบสัตว์น้ำที่รับเข้า
และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ส่งออกแยกตามชนิดสัตว์น้ำที่ใช้
ข้อ
๕ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำหรือแปรรูปสัตว์น้ำตามข้อ
๒
ต้องจัดเก็บหลักฐานและเอกสารหรือบันทึกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบหลักฐานเพื่อการสืบค้น
เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามปี และไม่น้อยกว่าอายุของผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
ข้อ
๖[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๒ ง/หน้า ๑๔/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743028 | ประกาศกรมประมง เรื่อง รายชื่อเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่มีการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
รายชื่อเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่มีการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๙๔ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เรือประมงตามบัญชีรายชื่อแนบท้ายประกาศนี้เป็นเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่มีการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีรายชื่อเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่มีการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๒๑/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743024 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๕) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ในทะเลนอกชายฝั่ง
ต้องนำเรือกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงทุกสามสิบวันนับแต่วันที่มีการแจ้งออกต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
ข้อ
๒ ในการนำเรือกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงตามข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงแจ้งศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๒๐/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743022 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ ต้องแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงทุกครั้ง
ด้วยวิธีการดังนี้
(๑)
แจ้งโดยตรงหรือโดยทางโทรสาร ตามแบบที่กำหนดท้ายประกาศนี้
ไปยังศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามรายชื่อแนบท้ายประกาศนี้
(๒)
การแจ้งเข้าออกจากท่าเทียบเรือ ให้แจ้งภายในระยะเวลาสิบสองชั่วโมง
แต่ไม่น้อยกว่าสี่ชั่วโมงก่อนการนำเรือเข้าออกจากท่าเทียบเรือ แล้วแต่กรณี
ข้อ
๒ ในกรณีที่เป็นการเข้าเทียบท่าเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ
หรือนำสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือส่งมอบสำเนาบันทึกการทำการประมง
และเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้
(๑)
บัญชีรายชื่อและหนังสือคนประจำเรือ สำหรับคนประจำเรือซึ่งมีสัญชาติไทย
(๒)
บัญชีรายชื่อและใบอนุญาตให้ทำงานตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าวสำหรับคนประจำเรือซึ่งมิได้มีสัญชาติไทย
(๓)
สำเนาเอกสารการจัดเวลาพักของคนประจำเรือ
ข้อ
๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งประจำอยู่ที่ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
รวบรวมเอกสารหลักฐานตามข้อ ๑ และข้อ ๒
และรายงานผลการตรวจสอบต่อกรมประมงทุกสามสิบวัน
ข้อ
๔[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมง
(สำหรับเรือประมงไทย)
๒. บันทึกการฝากคนประจำเรือ
๓. รายชื่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๑๙/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743018 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดขนาดช่องตาอวนก้นถุงของเครื่องมืออวนลากที่ให้ใช้ทำการประมง พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดขนาดช่องตาอวนก้นถุงของเครื่องมืออวนลากที่ให้ใช้ทำการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๖๗ (๓) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ เครื่องมืออวนลากที่ใช้หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้ทำการประมงต้องมีขนาดช่องตาอวนก้นถุง
ตั้งแต่ ๔ เซนติเมตรขึ้นไป
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๑๘/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743008 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐๘ วรรคสอง แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมประมง
ให้เป็นไปตามแบบท้ายประกาศนี้
ข้อ
๒ รูปถ่ายที่ติดบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้ใช้รูปถ่ายที่ถ่ายไม่เกินหกเดือนก่อนวันขอมีบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
ขนาด ๒.๕ x ๓.๒๕ เซนติเมตร ครึ่งตัว หน้าตรง แต่งเครื่องแบบราชการ ไม่สวมหมวกและแว่นตาสีเข้ม
ข้อ
๓ ผู้มีอำนาจออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
(๑)
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นผู้ออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้แก่อธิบดีกรมประมง
(๒)
อธิบดีกรมประมง
เป็นผู้ออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้แก่ผู้ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมประมง
ข้อ
๔ กรณีข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอื่นของรัฐที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
ให้ใช้บัตรข้าราชการหรือบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐของหน่วยงานต้นสังกัดประกอบกับคำสั่งแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่
เป็นบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประกาศนี้แทน
ข้อ
๕ บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามข้อ
๑ ให้ใช้ได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในบัตรแต่ต้องไม่เกินห้าปีนับแต่วันออกบัตร
ข้อ
๖ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมประมง
พ้นจากการเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่เนื่องจากพ้นจากตำแหน่งหรือสังกัด
ให้ส่งคืนบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่แก่กรมประมง
นับแต่วันที่พ้นจากการเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่
ข้อ
๗[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชกำหนดการประมง
พ.ศ. ๒๕๕๘
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๕/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743004 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดขนาดเรือประมงที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ที่ต้องถูกควบคุมและเฝ้าระวัง พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดขนาดเรือประมงที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ที่ต้องถูกควบคุมและเฝ้าระวัง
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ต้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑)
ติดตั้งระบบติดตามเรือประมง และดูแลรักษาให้ระบบดังกล่าวสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
(๒)
จัดทำสมุดบันทึกการทำการประมง
ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยประเภทและปริมาณของสัตว์น้ำที่จับได้ จุดจอดเรือ
การขนถ่ายสัตว์น้ำ การขาย หรือการเททิ้งสัตว์น้ำ
ซึ่งต้องรับรองความถูกต้องโดยผู้ควบคุมเรือ
และต้องส่งรายงานให้กรมประมงทราบตามระยะเวลาและโดยวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
(๓)
แจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงทุกครั้ง ณ
ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
และในกรณีเข้าเทียบท่าเพื่อขนถ่ายสัตว์น้ำ หรือนำสัตว์น้ำ หรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำขึ้นท่าเทียบเรือประมง
ต้องส่งมอบสำเนาบันทึกการทำการประมง และเอกสารหลักฐานอื่นตามที่อธิบดีประกาศกำหนด
(๔)
จัดทำเครื่องหมายประจำเรือประมงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
(๕)
กลับเข้าท่าเทียบเรือประมงตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่อธิบดีประกาศกำหนด
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๔/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743002 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดจังหวัดที่ให้มีคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง
กำหนดจังหวัดที่ให้มีคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
พ.ศ. ๒๕๕๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๖ แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้จังหวัดตามบัญชีรายชื่อท้ายประกาศนี้
เป็นจังหวัดที่ให้มีคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
ข้อ
๒[๑] ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีรายชื่อจังหวัดที่ให้มีคณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๕๐ ง/หน้า ๓/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
742980 | ประกาศกรมประมง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 | ประกาศกรมประมง
ประกาศกรมประมง
เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘
ด้วยปัจจุบันมีเรือประมงไทยที่ออกไปทำการประมงพาณิชย์ในเขตทะเลนอกน่านน้ำไทยโดยไม่ได้ผ่านการตรวจสอบในเรื่องเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนเรือ
ใบอนุญาตใช้เรือ ใบอนุญาตให้ทำการประมงจำนวน รายชื่อและหนังสือคนประจำเรือ
หลักฐานเกี่ยวกับการจัดระบบความปลอดภัย สุขอนามัย และสวัสดิภาพในการทำงานของคนประจำเรือ
และออกไปทำการประมงโดยไม่กลับเข้าท่าเทียบเรือประมงเป็นเวลานาน
การกระทำในลักษณะดังกล่าว มีความเสี่ยงต่อการจ้างแรงงานโดยฝ่าฝืนกฎหมาย รวมถึงเสี่ยงต่อการทำการประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘๑ (๕) แห่งพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมประมงออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาการกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์ไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ในทะเลนอกน่านน้ำไทยในขณะที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ
นำเรือประมงกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงภายในสามสิบวัน
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับเจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงที่มีขนาดตั้งแต่สามสิบตันกรอสขึ้นไป
ซึ่งออกไปทำการประมงพาณิชย์ในทะเลนอกน่านน้ำไทยก่อนวันที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับที่ได้แจ้งการออกจากท่าเทียบเรือประมงต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกไว้ไม่เกินระยะเวลาสามร้อยหกสิบห้าวันนับแต่วันแจ้ง
ข้อ
๒ ในการนำเรือประมงกลับเข้าท่าเทียบเรือประมงตามข้อ
๑ ให้เจ้าของหรือผู้ควบคุมเรือประมงแจ้งศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก
โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในประกาศกรมประมง เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการแจ้งการเข้าออกท่าเทียบเรือประมงของเรือประมงพาณิชย์
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๓[๑] ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
วิมล จันทรโรทัย
อธิบดีกรมประมง
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๗ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๔๗ ง/หน้า ๑๘/๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
Subsets and Splits