sysid
stringlengths 1
6
| title
stringlengths 8
870
| txt
stringlengths 0
257k
|
---|---|---|
301553 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ และมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
บัตรประจำตัวนายทะเบียนให้เป็นไปตามแบบท้ายกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๒
รูปถ่ายที่ติดบัตรประจำตัว ให้เป็นรูปถ่ายครึ่งตัว หน้าตรงขนาด ๒.๕ x ๒.๗
เซนติเมตร แต่งเครื่องแบบปกติ ไม่สวมหมวก
ให้ไว้ ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕
พลตำรวจเอก เภา สารสิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบบัตรประจำตัวนายทะเบียน ท้ายกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ
โดยที่เป็นการสมควรกำหนดแบบบัตรประจำตัวนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ และโดยที่มาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
บัญญัติให้นายทะเบียนต้องแสดงบัตรประจำตัวตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙/ตอนที่ ๙๓/หน้า
๒๒/๑๑ กันยายน ๒๕๓๕ |
318599 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
ฉบับที่
๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ.
๒๕๓๔
-----------------
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๗ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้กำหนดค่าธรรมเนียม ดังต่อไปนี้
(๑)
การขอคัดและรับรองสำเนารายการ
ในทะเบียนบ้านตามมาตรา
๖ ฉบับละ ๕ บาท
(๒)
การขอคัดและรับรองสำเนารายการข้อมูล
ทะเบียนประวัติตามมาตรา
๑๔ (๑) ฉบับละ ๑๐ บาท
(๓)
การแจ้งย้ายตามมาตรา ๓๐ วรรคสอง ฉบับละ
๕ บาท
(๔)
การขอรับสำเนาทะเบียนบ้านตาม
มาตรา
๓๙ วรรคสอง ฉบับละ
๕ บาท
ข้อ
๒
ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมแก่ผู้มีส่วนได้เสียซึ่งขอให้นายทะเบียนคัดและ
รับรองสำเนารายการในทะเบียนบ้านตามมาตรา ๖
เพื่อการดังต่อไปนี้
(๑)
เพื่อใช้เกี่ยวกับการศึกษาทั่วไป
(๒)
เพื่อใช้เกี่ยวกับการเข้ารับราชการทหาร
(๓)
เพื่อใช้เกี่ยวกับการขอรับการสงเคราะห์จากทางราชการ
(๔)
เพื่อใช้เกี่ยวกับการจัดที่ดินเพื่ออยู่อาศัยของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ
หรือรัฐวิสาหกิจ หรือการประกอบอาชีพกสิกรรม
(๕)
เพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
ให้ไว้
ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕
พลตำรวจเอก
เภา สารสิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ:-
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๗ แห่งพระราช
บัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจ
ออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติและยกเว้นค่าธรรมเนียม
จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
[รก.๒๕๓๕/๙๓/๒๐/๑๑ กันยายน ๒๕๓๕] |
301552 | กฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
(พ.ศ.
๒๕๓๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ.
๒๕๓๔
-----------------
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติ
การทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑
ให้คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณี
ีพิเศษเฉพาะเรื่องจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรเกี่ยวกับการแจ้งการเกิด
การแจ้งการตาย
การแจ้งการย้ายที่อยู่
การสำรวจตรวจสอบหรือปรับปรุงการทะเบียนราษฎร การจัดทำทะเบียน
ประวัติ การจัดทำบัตรประจำตัว หรือการอื่นใดอันเกี่ยวกับคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย
ว่าด้วยสัญชาติ
ข้อ
๒ ให้ยกเว้นการปฏิบัติตามข้อ ๑
แก่คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้า
มาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
คนต่างด้าวซึ่งได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง
หากประสงค์จะ
ดำเนินการตามข้อ ๑ อาจขอให้นายทะเบียนดำเนินการได้
ให้ไว้
ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕
พลตำรวจเอก
เภา สารสิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ:-
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕ แห่งพระราช
บัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจ
ออกกฎกระทรวงกำหนดหรือยกเว้นการปฏิบัติเกี่ยวกับการแจ้งการเกิด
การแจ้งการตาย การแจ้ง
การย้ายที่อยู่ การสำรวจตรวจสอบหรือปรับปรุงการทะเบียนราษฎร
การจัดทำทะเบียนประวัติ
การจัดทำบัตรประจำตัวหรือการอื่นใดอันเกี่ยวกับบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วย
สัญชาติได้
จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
[รก.๒๕๓๕/๙๓/๑๘/๑๑ กันยายน ๒๕๓๕] |
314435 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2519) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
ฉบับที่
๗ (พ.ศ. ๒๕๑๙)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ.
๒๔๙๙
--------------------------
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ และมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการ
ทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๔๙๙
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ ดัง
ต่อไปนี้
ให้ยกเลิกความในข้อ
๑ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.
๒๕๐๐) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"ข้อ ๑
ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียขอให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือนายทะเบียนคัด
และรับรองสำเนาทะเบียน ให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับ
(๑)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการศึกษาทั่วไป
(๒)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการเข้ารับราชการทหาร
(๓) สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการขอรับการสงเคราะห์ตามระเบียบสำนัก
นายกรัฐมนตรี
(๔)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการจัดที่ดินเพื่ออยู่อาศัย หรือประกอบ
อาชีพทางกสิกรรม"
ให้ไว้
ณ วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๙
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ
:-
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ
เพื่อยกเว้นค่าธรรมเนียมการ
คัดและรับรองสำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการขอรับการสงเคราะห์ตามระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรี จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
[รก.๒๕๑๙/๔๕/๑พ/๑๑ มีนาคม ๒๕๑๙]
ธิดาวรรณ
/ แก้ไข
๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๕
A+B(C) |
314433 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2515) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
ฉบับที่
๔ (พ.ศ. ๒๕๑๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ.
๒๔๙๙
----------------
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ แห่งพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๔๙๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ในการสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎรตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๑๙๐ ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียน
ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
ประกาศวันสำรวจตรวจสอบให้ราษฎรทราบไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนวัน
สำรวจตรวจสอบ
ข้อ ๒
ในการสำรวจตรวจสอบการทะเบียนราษฎร ให้สำรวจตรวจสอบในเรื่อง
บ้าน ครอบครัว เพศ อายุ ที่เกิด และสัญชาติ ทั้งนี้เฉพาะบ้านที่ไม่มีทะเบียน
ข้อ ๓
นอกเขตเทศบาล ภายในตำบลหนึ่งให้ใช้เขตการปกครองหมู่บ้านเป็น
เขตสำรวจตรวจสอบ
ส่วนในเขตเทศบาลให้เทศบาลแบ่งท้องที่ในเขตเทศบาลออกเป็นเขตสำรวจ
ตรวจสอบโดยอนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด
ก่อนวันสำรวจตรวจสอบไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนาย
ทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ประกาศกำหนดเขตสำรวจตรวจสอบไว้
ณ ที่ว่าการอำเภอ สำนักงาน
เทศบาล และที่ซึ่งเห็นได้ง่ายไม่น้อยกว่าหนึ่งแห่ง
ภายในเขตสำรวจตรวจสอบนั้น โดยเฉพาะในเขต
เทศบาลให้มีแผนที่สังเขปแสดงเขตสำรวจตรวจสอบไว้ด้วย
ข้อ ๔
เมื่อนายทะเบียนหรือบุคคลที่นายทะเบียนมอบหมายได้ทำการสำรวจ
ตรวจสอบทะเบียนราษฎรบ้านใดไว้แล้วให้มอบใบสำคัญตามแบบพิมพ์ตามข้อ
๕ ให้แก่เจ้าบ้านไว้
เป็นหลักฐาน
ข้อ ๕
แบบพิมพ์ต่าง ๆ ในการสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร ให้ผู้อำนวย
การทะเบียนเป็นผู้กำหนด
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
พ่วง สุวรรณรัฐ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ใช้อำนาจของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ
เนื่องจากได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๑๙๐ ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
ให้มีการสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎรทั่วราช
อาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๑๕ ถึงวันที่ ๑๕
กันยายน ๒๕๑๕ เพื่อจัดทำทะเบียนบ้านที่
ไม่เลขหมายประจำบ้านและมิได้จัดทำทะเบียนบ้านไว้ ฉะนั้น
กระทรวงมหาดไทยจึงได้ออกกฎ
กระทรวงขึ้นเพื่อกำหนดแบบสำรวจตรวจสอบ
วิธีการดำเนินการสำรวจตรวจสอบ และเจ้าพนักงาน
ผู้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสำรวจตรวจสอบ
ซึ่งจะต้องปฏิบัติการในระยะเริ่มแรกตามพระราช
บัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
[รก.๒๕๑๕/๑๑๖/๑พ/๓๑ กรกฎาคม ๒๕๑๕]
ฐาปนี/แก้ไข
๑
พฤศจิกายน ๒๕๔๕
B+A(C) |
326877 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2500) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 | กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
ฉบับที่
๓ (พ.ศ. ๒๕๐๐)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ.
๒๔๙๙
-----------------
อาศัยอำนาจตามมาตรา
๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๔๙๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียขอให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือนายทะเบียนคัด
และรับรองสำเนาทะเบียนตามมาตรา ๘
ให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับ
ก.
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการศึกษาทั่วไป
ข.
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการเข้ารับราชการทหาร
ค.
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการสงเคราะห์ผู้มีบุตรมาก
ง.
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการจัดที่ดินเพื่ออยู่อาศัย หรือประกอบอาชีพ
ทางกสิกรรม
ข้อ ๒
หนังสือรับรองคนตายหรือลูกตายในท้องตามมาตรา ๑๗ ให้ทำตามแบบ
ท.ร. ๒๑ ท้ายกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๓
สมุดทะเบียนคนเกิดตามมาตรา ๒๑ ให้มีรายการตามแบบ ท.ร. ๒๒
ท้ายกฎกระทรวงนี้
สมุดทะเบียนคนตายตามมาตรา
๒๑ ให้มีรายการตามแบบ ท.ร. ๒๓ ท้ายกฎ
กระทรวงนี้
ให้ไว้
ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐
นายพลตำรวจเอก ผ. ศรียานนท์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
[ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย]
[รก.๒๕๐๐/๔๙/๒๓พ/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๐๐]
ฐาปนี/แก้ไข
๘
พฤศจิกายน ๒๕๔๕
B+A(C) |
314431 | กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (พ.ศ. 2499) | เนเธกเนเธเธเนเธญเธเธชเธฒเธฃเธเธตเนเธเธธเธเธเนเธญเธเธเธฒเธฃ
The document that you would like to see is not found. |
326516 | กฎกระทรวง (พ.ศ. 2499) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 | เนเธกเนเธเธเนเธญเธเธชเธฒเธฃเธเธตเนเธเธธเธเธเนเธญเธเธเธฒเธฃ
The document that you would like to see is not found. |
824388 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง การยุบ ควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง การยุบ
ควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘/๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้ง ยุบหรือควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ลงวันที่ ๑๘
กันยายน ๒๕๕๒ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศ กำหนดให้ยุบสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลหนองแดง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
ควบรวมกับ สำนักทะเบียนอำเภอแมจริม จังหวัดนาน โดยคำนึงถึงสภาพแห่งความพรอมและความสะดวกในการให้บริการประชาชน รวมตลอดถึงการไมซ้ำซ้อนและการประหยัดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๑
ประกาศ ณ
วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑
รอยตำรวจโท อาทิตย บุญญะโสภัต
ผูอำนวยการทะเบียนกลาง
ชญานิศ/จัดทำ
๒๑ มีนาคม๒๕๖๒
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนที่ ๙๙ ง/หน้า ๑๒/๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ |
824386 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๑
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้ง ยุบหรือควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๒
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดให้เทศบาลตำบลเป็นสำนักทะเบียนท้องถิ่นดังต่อไปนี้
๑. เทศบาลตำบลคำน้ำแซบ อำเภอวารินชำราบ
จังหวัดอุบลราชธานี
๒. เทศบาลตำบลกุดชมภู อำเภอพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี
โดยให้มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตามกฎหมาย
กฎและระเบียบที่เกี่ยวข้องเช่นเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลอื่นที่จัดตั้งไว้แล้วตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ร้อยตำรวจโท
อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ชญานิศ/จัดทำ
๒๑ มีนาคม๒๕๖๒
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนที่ ๙๙ ง/หน้า ๑๑/๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ |
799376 | ประกาศสำนักงานทะเบียนกลาง เรื่อง การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘/๑ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกอบกับประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้ง
ยุบหรือควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ลงวันที่ ๑๘ กันยายน
๒๕๕๒
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดให้เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบลเป็นสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ดังต่อไปนี้
๑.
เทศบาลตำบลห้วยยาง อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ
๒. เทศบาลเมืองปรกฟ้า
อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
๓.
เทศบาลเมืองลาดสวาย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
โดยให้มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ตามกฎหมาย กฎและระเบียบ
ที่เกี่ยวข้องเช่นเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลอื่นที่จัดตั้งไว้แล้วตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปวันวิทย์/จัดทำ
๒๕ เมษายน ๒๕๖๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอน ๒๐ ง/หน้า ๔/๑๕ มีนาคม ๒๕๖๑ |
773405 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
สัญชาติไทย
ไม่ได้สัญชาติไทย
รวมทั้งสิ้น
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๙๒๓,๗๘๖
๓๓,๑๗๓,๑๑๙
๖๕,๐๙๖,๙๐๕
๔๓๔,๐๒๒
๔๐๐,๖๒๓
๘๓๔,๖๔๕
๖๕,๙๓๑,๕๐
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๓๕,๔๓๑
๒,๙๕๖,๖๔๔
๕,๕๙๒,๐๗๕
๕๑,๘๒๒
๔๒,๗๔๙
๙๔,๕๗๑
๕,๖๘๖,๖๔๖
๒
จังหวัดกระบี่
๒๓๐,๖๐๔
๒๓๓,๗๓๗
๔๖๔,๓๔๑
๘๖๗
๗๒๓
๑,๕๙๐
๔๖๕,๙๓๑
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๐๕,๒๘๓
๔๐๔,๓๘๙
๘๐๙,๖๗๒
๓๙,๘๓๐
๓๕,๖๑๐
๗๕,๔๔๐
๘๘๕,๑๑๒
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๙,๑๔๖
๔๙๕,๔๑๙
๙๘๔,๕๖๕
๔๗๑
๑๙๖
๖๖๗
๙๘๕,๒๓๒
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๓๑๓
๓๖๗,๐๕๓
๗๒๘,๓๖๖
๖๐๖
๕๗๐
๑,๑๗๖
๗๒๙,๕๔๒
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๘๗,๒๔๔
๙๑๑,๘๔๒
๑,๗๙๙,๐๘๖
๑,๘๘๙
๗๗๘
๒,๖๖๗
๑,๘๐๑,๗๕๓
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๙,๗๗๕
๒๗๐,๑๗๐
๕๒๙,๙๔๕
๑,๒๗๘
๑,๒๔๓
๒,๕๒๑
๕๓๒,๔๖๖
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๔๓,๕๙๑
๓๕๗,๘๑๗
๗๐๑,๔๐๘
๑,๕๘๘
๑,๔๐๓
๒,๙๙๑
๗๐๔,๓๙๙
๙
จังหวัดชลบุรี
๗๑๗,๖๕๗
๗๔๙,๖๗๙
๑,๔๖๗,๓๓๖
๙,๒๖๑
๖,๔๕๒
๑๕,๗๑๓
๑,๔๘๓,๐๔๙
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๕๘,๙๙๗
๑๗๑,๑๑๙
๓๓๐,๑๑๖
๑๕๗
๑๕๘
๓๑๕
๓๓๐,๔๓๑
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๔,๓๘๐
๕๗๒,๙๔๔
๑,๑๓๗,๓๒๔
๕๙๖
๒๗๙
๘๗๕
๑,๑๓๘,๑๙๙
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๙,๕๕๑
๒๕๔,๐๐๓
๕๐๓,๕๕๔
๒,๐๗๔
๑,๙๗๖
๔,๐๕๐
๕๐๗,๖๐๔
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๗๑,๗๔๑
๕๙๒,๓๙๖
๑,๑๖๔,๑๓๗
๕๕,๐๔๓
๖๓,๓๖๔
๑๑๘,๔๐๗
๑,๒๘๒,๕๔๔
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๗๖,๕๓๘
๘๒๙,๑๘๑
๑,๖๐๕,๗๑๙
๖๖,๕๕๐
๖๓,๔๙๓
๑๓๐,๐๔๓
๑,๗๓๕,๗๖๒
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๑๓,๕๖๖
๓๒๖,๙๔๘
๖๔๐,๕๑๔
๖๔๕
๕๒๕
๑,๑๗๐
๖๔๑,๖๘๔
๑๖
จังหวัดตราด
๑๐๘,๙๙๒
๑๐๙,๙๓๕
๒๑๘,๙๒๗
๕,๑๑๗
๕,๓๙๓
๑๐,๕๑๐
๒๒๙,๔๓๗
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๖,๖๙๑
๒๖๒,๘๘๑
๕๒๙,๕๗๒
๕๓,๖๔๒
๔๘,๗๕๑
๑๐๒,๓๙๓
๖๓๑,๙๖๕
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๗,๓๕๓
๑๓๐,๒๓๘
๒๕๗,๕๙๑
๔๒๐
๓๔๗
๗๖๗
๒๕๘,๓๕๘
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๓๐,๐๗๖
๔๖๗,๓๐๗
๘๙๗,๓๘๓
๔,๐๒๙
๓,๕๙๖
๗,๖๒๕
๙๐๕,๐๐๘
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๗,๑๑๐
๓๕๘,๑๔๘
๗๑๕,๒๕๘
๗๐๙
๙๐๖
๑,๖๑๕
๗๑๖,๘๗๓
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๙๕,๘๒๔
๑,๓๓๒,๐๕๕
๒,๖๒๗,๘๗๙
๒,๐๙๕
๑,๔๖๑
๓,๕๕๖
๒,๖๓๑,๔๓๕
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๖๘,๔๙๐
๗๘๓,๕๐๘
๑,๕๕๑,๙๙๘
๑,๒๘๙
๑,๑๔๕
๒,๔๓๔
๑,๕๕๔,๔๓๒
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๐,๓๐๙
๕๔๔,๓๗๖
๑,๐๖๔,๖๘๕
๑,๐๓๔
๗๓๖
๑,๗๗๐
๑,๐๖๖,๔๕๕
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๖๒,๔๒๕
๖๔๑,๕๒๔
๑,๒๐๓,๙๔๙
๔,๓๕๓
๓,๖๒๒
๗,๙๗๕
๑,๒๑๑,๙๒๔
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๙๐,๑๘๗
๓๙๘,๒๗๗
๗๘๘,๔๖๔
๖๔๕
๕๗๒
๑,๒๑๗
๗๘๙,๖๘๑
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๕๒๓
๒๓๗,๖๑๒
๔๗๘,๑๓๕
๗๖๔
๑,๐๑๗
๑,๗๘๑
๔๗๙,๙๑๖
๒๗
จังหวัดบึงกาฬ
๒๑๒,๑๓๒
๒๐๘,๙๒๑
๔๒๑,๐๕๓
๓๐๐
๒๗๒
๕๗๒
๔๒๑,๖๒๕
๒๘
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๙๐,๔๓๓
๗๙๕,๙๑๐
๑,๕๘๖,๓๔๓
๑,๐๔๙
๕๐๕
๑,๕๕๔
๑,๕๘๗,๘๙๗
๒๙
จังหวัดปทุมธานี
๕๒๓,๙๓๓
๕๘๐,๑๗๒
๑,๑๐๔,๑๐๕
๔,๐๑๒
๓,๒๕๙
๗,๒๗๑
๑,๑๑๑,๓๗๖
๓๐
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๖๐,๖๕๔
๒๖๗,๗๔๙
๕๒๘,๔๐๓
๖,๔๙๕
๔,๖๓๖
๑๑,๑๓๑
๕๓๙,๕๓๔
๓๑
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๙,๖๖๘
๒๔๔,๕๑๐
๔๘๔,๑๗๘
๓๗๖
๒๗๕
๖๕๑
๔๘๔,๘๒๙
๓๒
จังหวัดปัตตานี
๓๔๖,๔๐๑
๓๕๓,๐๙๓
๖๙๙,๔๙๔
๗๔๔
๗๒๓
๑,๔๖๗
๗๐๐,๙๖๑
๓๓
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๘๙,๔๑๖
๔๑๙,๑๔๘
๘๐๘,๕๖๔
๙๔๙
๘๐๗
๑,๗๕๖
๘๑๐,๓๒๐
๓๔
จังหวัดพะเยา
๒๓๓,๒๑๕
๒๔๓,๘๕๘
๔๗๗,๐๗๓
๑,๐๐๖
๑,๑๐๙
๒,๑๑๕
๔๗๙,๑๘๘
๓๕
จังหวัดพังงา
๑๓๐,๖๙๘
๑๓๑,๔๗๕
๒๖๒,๑๗๓
๑,๗๗๗
๑,๖๒๙
๓,๔๐๖
๒๖๕,๕๗๙
๓๖
จังหวัดพัทลุง
๒๕๕,๓๔๙
๒๖๘,๐๕๖
๕๒๓,๔๐๕
๑๘๓
๑๓๕
๓๑๘
๕๒๓,๗๒๓
๓๗
จังหวัดพิจิตร
๒๖๕,๗๑๖
๒๗๗,๒๒๒
๕๔๒,๙๓๘
๓๐๕
๒๓๙
๕๔๔
๕๔๓,๔๘๒
๓๘
จังหวัดพิษณุโลก
๔๒๓,๑๓๘
๔๔๑,๓๓๑
๘๖๔,๔๖๙
๗๗๕
๕๑๕
๑,๒๙๐
๘๖๕,๗๕๙
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
สัญชาติไทย
ไม่ได้สัญชาติไทย
รวมทั้งสิ้น
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
รวม
๓๙
จังหวัดเพชรบุรี
๒๓๐,๖๕๒
๒๔๖,๓๒๘
๔๗๖,๙๘๐
๒,๑๖๙
๑,๕๐๓
๓,๖๗๒
๔๘๐,๖๕๒
๔๐
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๒,๐๓๖
๕๐๑,๒๘๗
๙๙๓,๓๒๓
๑,๑๕๑
๗๔๙
๑,๙๐๐
๙๙๕,๒๒๓
๔๑
จังหวัดแพร่
๒๑๗,๖๗๒
๒๓๑,๖๒๘
๔๔๙,๓๐๐
๒๙๐
๒๒๐
๕๑๐
๔๔๙,๘๑๐
๔๒
จังหวัดภูเก็ต
๑๘๑,๔๓๔
๒๐๓,๓๑๔
๓๘๔,๗๔๘
๕,๑๗๒
๔,๒๔๙
๙,๔๒๑
๓๙๔,๑๖๙
๔๓
จังหวัดมหาสารคาม
๔๗๒,๖๖๕
๔๙๐,๓๒๔
๙๖๒,๙๘๙
๓๐๗
๑๘๘
๔๙๕
๙๖๓,๔๘๔
๔๔
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๔,๓๑๖
๑๗๓,๓๗๗
๓๔๗,๖๙๓
๘๕๖
๙๒๕
๑,๗๘๑
๓๔๙,๔๗๔
๔๕
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๑๘,๔๐๑
๑๑๓,๕๖๕
๒๓๑,๙๖๖
๒๒,๓๑๔
๒๑,๖๐๔
๔๓,๙๑๘
๒๗๕,๘๘๔
๔๖
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๖๑๐
๒๖๘,๙๔๓
๕๓๙,๕๕๓
๑๓๘
๑๒๔
๒๖๒
๕๓๙,๘๑๕
๔๗
จังหวัดยะลา
๒๕๘,๗๓๔
๒๖๒,๑๙๘
๕๒๐,๙๓๒
๗๑๘
๖๒๙
๑,๓๔๗
๕๒๒,๒๗๙
๔๘
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๑,๐๖๗
๖๕๕,๙๙๓
๑,๓๐๗,๐๖๐
๖๑๐
๓๑๒
๙๒๒
๑,๓๐๗,๙๘๒
๔๙
จังหวัดระนอง
๘๘,๘๗๕
๘๗,๐๑๗
๑๗๕,๘๙๒
๖,๗๕๔
๖,๕๐๘
๑๓,๒๖๒
๑๘๙,๑๕๔
๕๐
จังหวัดระยอง
๓๔๑,๒๘๒
๓๕๓,๖๖๑
๖๙๔,๙๔๓
๓,๐๒๘
๒,๒๕๒
๕,๒๘๐
๗๐๐,๒๒๓
๕๑
จังหวัดราชบุรี
๔๑๑,๔๑๐
๔๓๔,๔๗๐
๘๔๕,๘๘๐
๑๒,๘๗๐
๑๑,๐๗๓
๒๓,๙๔๓
๘๖๙,๘๒๓
๕๒
จังหวัดลพบุรี
๓๗๙,๑๖๐
๓๗๗,๑๑๓
๗๕๖,๒๗๓
๕๘๕
๔๖๓
๑,๐๔๘
๗๕๗,๓๒๑
๕๓
จังหวัดลำปาง
๓๖๕,๕๓๖
๓๘๐,๗๖๐
๗๔๖,๒๙๖
๑,๓๒๑
๑,๒๓๓
๒,๕๕๔
๗๔๘,๘๕๐
๕๔
จังหวัดลำพูน
๑๙๕,๒๗๖
๒๐๘,๕๑๗
๔๐๓,๗๙๓
๑,๑๗๒
๑,๐๓๔
๒,๒๐๖
๔๐๕,๙๙๙
๕๕
จังหวัดเลย
๓๒๐,๓๖๒
๓๑๕,๔๘๒
๖๓๕,๘๔๔
๑,๕๒๓
๒,๔๓๔
๓,๙๕๗
๖๓๙,๘๐๑
๕๖
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๓๓,๙๐๔
๗๓๕,๔๐๘
๑,๔๖๙,๓๑๒
๕๕๓
๔๗๖
๑,๐๒๙
๑,๔๗๐,๓๔๑
๕๗
จังหวัดสกลนคร
๕๗๑,๔๗๖
๕๗๓,๖๑๖
๑,๑๔๕,๐๙๒
๔๘๗
๓๗๐
๘๕๗
๑,๑๔๕,๙๔๙
๕๘
จังหวัดสงขลา
๖๘๗,๑๐๙
๗๒๒,๐๕๒
๑,๔๐๙,๑๖๑
๔,๕๐๙
๓,๗๗๐
๘,๒๗๙
๑,๔๑๗,๔๔๐
๕๙
จังหวัดสตูล
๑๕๗,๖๓๙
๑๕๙,๕๑๗
๓๑๗,๑๕๖
๒๕๐
๒๐๖
๔๕๖
๓๑๗,๖๑๒
๖๐
จังหวัดสมุทรปราการ
๖๑๑,๙๕๘
๖๖๖,๖๕๖
๑,๒๗๘,๖๑๔
๗,๙๕๓
๖,๙๘๖
๑๔,๙๓๙
๑,๒๙๓,๕๕๓
๖๑
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๒,๔๑๑
๑๐๐,๑๖๑
๑๙๒,๕๗๒
๗๖๘
๗๒๙
๑,๔๙๗
๑๙๔,๐๖๙
๖๒
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๕๔,๗๖๕
๒๗๔,๙๙๖
๕๒๙,๗๖๑
๑๔,๐๖๗
๑๒,๘๙๑
๒๖,๙๕๘
๕๕๖,๗๑๙
๖๓
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๘,๙๒๔
๒๗๗,๑๑๗
๕๕๖,๐๔๑
๑,๒๒๔
๑,๗๕๒
๒,๙๗๖
๕๕๙,๐๑๗
๖๔
จังหวัดสระบุรี
๓๑๒,๗๔๘
๓๒๑,๑๙๓
๖๓๓,๙๔๑
๓,๒๑๑
๒,๙๑๓
๖,๑๒๔
๖๔๐,๐๖๕
๖๕
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๐,๒๓๑
๑๑๐,๐๘๙
๒๑๐,๓๒๐
๑๔๖
๑๒๒
๒๖๘
๒๑๐,๕๘๘
๖๖
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๑,๙๖๔
๓๐๗,๖๓๙
๕๙๙,๖๐๓
๓๔๑
๒๘๗
๖๒๘
๖๐๐,๒๓๑
๖๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๔๙๕
๔๓๗,๐๒๐
๘๔๖,๕๑๕
๑,๑๒๒
๙๓๐
๒,๐๕๒
๘๔๘,๕๖๗
๖๘
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๕๑๖,๑๐๐
๕๒๙,๗๖๐
๑,๐๔๕,๘๖๐
๒,๗๖๐
๒,๒๙๓
๕,๐๕๓
๑,๐๕๐,๙๑๓
๖๙
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๖,๒๙๓
๖๙๘,๒๐๑
๑,๓๙๔,๔๙๔
๗๒๓
๓๕๐
๑,๐๗๓
๑,๓๙๕,๕๖๗
๗๐
จังหวัดหนองคาย
๒๕๗,๗๑๐
๒๕๘,๔๙๓
๕๑๖,๒๐๓
๑,๙๗๑
๒,๑๘๙
๔,๑๖๐
๕๒๐,๓๖๓
๗๑
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๕,๖๑๔
๒๕๔,๗๑๐
๕๑๐,๓๒๔
๒๙๖
๑๑๔
๔๑๐
๕๑๐,๗๓๔
๗๒
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๕,๒๔๖
๑๔๖,๘๐๙
๒๘๒,๐๕๕
๑๖๗
๑๘๒
๓๔๙
๒๘๒,๔๐๔
๗๓
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๘,๐๔๘
๑๘๘,๓๐๕
๓๗๖,๓๕๓
๓๒๕
๔๔๒
๗๖๗
๓๗๗,๑๒๐
๗๔
จังหวัดอุดรธานี
๗๘๒,๗๑๔
๗๙๐,๖๔๒
๑,๕๗๓,๓๕๖
๓,๕๘๗
๑,๘๔๐
๕,๔๒๗
๑,๕๗๘,๗๘๓
๗๕
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๔,๕๔๐
๒๓๒,๖๔๙
๔๕๗,๑๘๙
๔๐๕
๖๐๓
๑,๐๐๘
๔๕๘,๑๙๗
๗๖
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๙๙๙
๑๖๗,๘๕๕
๓๒๙,๘๕๔
๒๑๐
๒๓๕
๔๔๕
๓๓๐,๒๙๙
๗๗
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๒๙,๘๖๐
๙๒๕,๖๐๗
๑,๘๕๕,๔๖๗
๓,๒๒๔
๔,๒๗๔
๗,๔๙๘
๑,๘๖๒,๙๖๕
จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
ร้อยตำรวจโท
อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ภวรรณตรี/จัดทำ
๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐
ปุณิกา/ตรวจ
๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๙๒ ง/หน้า ๒๖/๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ |
746602 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๘ แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
สัญชาติไทย
ไม่ได้สัญชาติไทย
รวมทั้งสิ้น
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๑,๘๖๕,๑๗๕
๓๓,๐๖๔,๙๑๐
๖๔,๙๓๐,๐๘๕
๔๑๕,๗๑๑
๓๘๓,๓๐๒
๗๙๙,๐๑๓
๖๕,๗๒๙,๐๙๘
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๔๔,๘๐๐
๒,๙๖๐,๘๗๒
๕,๖๐๕,๖๗๒
๕๐,๒๕๑
๔๐,๔๘๖
๙๐,๗๓๗
๕,๖๙๖,๔๐๙
๒
จังหวัดกระบี่
๒๒๙,๑๙๔
๒๓๑,๕๓๐
๔๖๐,๗๒๔
๗๔๗
๖๓๐
๑,๓๗๗
๔๖๒,๑๐๑
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๐๔,๓๗๙
๔๐๓,๒๘๗
๘๐๗,๖๖๖
๓๙,๓๙๓
๓๕,๐๘๗
๗๔,๔๘๐
๘๘๒,๑๔๖
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๙,๖๒๓
๔๙๔,๙๗๑
๙๘๔,๕๙๔
๔๒๓
๑๘๖
๖๐๙
๙๘๕,๒๐๓
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๗๘๕
๓๖๗,๒๘๕
๗๒๙,๐๗๐
๕๕๕
๕๓๓
๑,๐๘๘
๗๓๐,๑๕๘
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๘๖,๖๗๑
๙๐๘,๗๑๕
๑,๗๙๕,๓๘๖
๑,๘๒๘
๘๐๐
๒,๖๒๘
๑,๗๙๘,๐๑๔
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๙,๓๘๙
๒๖๙,๓๒๙
๕๒๘,๗๑๘
๑,๑๖๕
๑,๑๕๔
๒,๓๑๙
๕๓๑,๐๓๗
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๔๒,๓๘๒
๓๕๕,๘๑๕
๖๙๘,๑๙๗
๑,๔๖๔
๑,๒๔๑
๒,๗๐๕
๗๐๐,๙๐๒
๙
จังหวัดชลบุรี
๗๐๔,๔๐๘
๗๓๖,๓๗๕
๑,๔๔๐,๗๘๓
๘,๔๖๗
๕,๗๘๙
๑๔,๒๕๖
๑,๔๕๕,๐๓๙
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๕๙,๗๑๔
๑๗๑,๖๓๕
๓๓๑,๓๔๙
๑๖๒
๑๔๔
๓๐๖
๓๓๑,๖๕๕
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๕,๑๓๔
๕๗๒,๒๙๔
๑,๑๓๗,๔๒๘
๕๕๓
๒๗๑
๘๒๔
๑,๑๓๘,๒๕๒
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๙,๐๗๐
๒๕๓,๑๐๘
๕๐๒,๑๗๘
๑,๘๗๓
๑,๗๗๙
๓,๖๕๒
๕๐๕,๘๓๐
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๗๐,๒๙๘
๕๘๙,๗๕๙
๑,๑๖๐,๐๕๗
๕๔,๘๙๕
๖๒,๙๙๘
๑๑๗,๘๙๓
๑,๒๗๗,๙๕๐
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๗๔,๖๖๐
๘๒๕,๐๑๙
๑,๕๙๙,๖๗๙
๖๕,๗๕๒
๖๒,๘๑๑
๑๒๘,๕๖๓
๑,๗๒๘,๒๔๒
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๑๓,๒๘๐
๓๒๖,๔๑๖
๖๓๙,๖๙๖
๖๑๙
๔๗๘
๑,๐๙๗
๖๔๐,๗๙๓
๑๖
จังหวัดตราด
๑๐๙,๐๗๓
๑๐๙,๘๔๖
๒๑๘,๙๑๙
๕,๑๐๘
๕,๔๐๘
๑๐,๕๑๖
๒๒๙,๔๓๕
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๓,๕๔๕
๒๕๙,๙๙๙
๕๒๓,๕๔๔
๔๙,๖๓๔
๔๕,๒๐๔
๙๔,๘๓๘
๖๑๘,๓๘๒
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๗,๗๖๘
๑๓๐,๑๕๔
๒๕๗,๙๒๒
๓๔๕
๓๑๐
๖๕๕
๒๕๘,๕๗๗
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๒๘,๔๙๓
๔๖๔,๒๖๐
๘๙๒,๗๕๓
๓,๕๐๓
๓,๐๘๖
๖,๕๘๙
๘๙๙,๓๔๒
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๖,๒๘๓
๓๕๗,๔๖๘
๗๑๓,๗๕๑
๗๒๐
๙๒๘
๑,๖๔๘
๗๑๕,๓๙๙
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๙๖,๒๐๓
๑,๓๒๙,๒๙๗
๒,๖๒๕,๕๐๐
๑,๙๖๔
๑,๓๕๔
๓,๓๑๘
๒,๖๒๘,๘๑๘
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๖๗,๖๘๖
๗๘๒,๖๑๒
๑,๕๕๐,๒๙๘
๑,๒๐๑
๑,๐๓๑
๒,๒๓๒
๑,๕๕๒,๕๓๐
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๓,๖๓๓
๕๔๖,๕๔๕
๑,๐๗๐,๑๗๘
๑,๐๔๙
๗๑๕
๑,๗๖๔
๑,๐๗๑,๙๔๒
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๕๕,๑๒๘
๖๓๑,๓๕๘
๑,๑๘๖,๔๘๖
๓,๙๙๑
๓,๒๓๔
๗,๒๒๕
๑,๑๙๓,๗๑๑
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๘๖,๙๕๙
๓๙๔,๘๘๐
๗๘๑,๘๓๙
๖๗๒
๕๗๑
๑,๒๔๓
๗๘๓,๐๘๒
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๕๐๙
๒๓๗,๒๓๒
๔๗๗,๗๔๑
๗๗๓
๑,๐๐๔
๑,๗๗๗
๔๗๙,๕๑๘
๒๗
จังหวัดบึงกาฬ
๒๑๑,๘๓๗
๒๐๘,๒๕๒
๔๒๐,๐๘๙
๒๙๐
๒๖๘
๕๕๘
๔๒๐,๖๔๗
๒๘
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๘๙,๒๕๖
๗๙๓,๘๙๒
๑,๕๘๓,๑๔๘
๑,๐๐๔
๕๐๙
๑,๕๑๓
๑,๕๘๔,๖๖๑
๒๙
จังหวัดปทุมธานี
๕๑๖,๔๙๒
๕๗๑,๕๐๒
๑,๐๘๗,๙๙๔
๓,๔๖๐
๒,๗๙๕
๖,๒๕๕
๑,๐๙๔,๒๔๙
๓๐
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๘,๗๗๐
๒๖๕,๓๖๒
๕๒๔,๑๓๒
๖,๑๓๑
๔,๔๕๖
๑๐,๕๘๗
๕๓๔,๗๑๙
๓๑
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๘,๒๗๘
๒๔๓,๓๑๘
๔๘๑,๕๙๖
๓๔๗
๒๕๒
๕๙๙
๔๘๒,๑๙๕
๓๒
จังหวัดปัตตานี
๓๔๓,๐๕๓
๓๔๙,๕๙๐
๖๙๒,๖๔๓
๗๐๔
๖๗๖
๑,๓๘๐
๖๙๔,๐๒๓
๓๓
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๘๘,๕๓๓
๔๑๘,๑๑๕
๘๐๖,๖๔๘
๙๔๑
๗๗๑
๑,๗๑๒
๘๐๘,๓๖๐
๓๔
จังหวัดพะเยา
๒๓๔,๘๕๓
๒๔๕,๘๔๑
๔๘๐,๖๙๔
๙๓๙
๑,๐๑๒
๑,๙๕๑
๔๘๒,๖๔๕
๓๕
จังหวัดพังงา
๑๓๐,๔๒๔
๑๓๐,๗๔๑
๒๖๑,๑๖๕
๑,๕๑๘
๑,๓๙๑
๒,๙๐๙
๒๖๔,๐๗๔
๓๖
จังหวัดพัทลุง
๒๕๕,๑๙๐
๒๖๗,๒๓๑
๕๒๒,๔๒๑
๑๗๕
๑๒๗
๓๐๒
๕๒๒,๗๒๓
๓๗
จังหวัดพิจิตร
๒๖๗,๐๒๖
๒๗๘,๔๐๒
๕๔๕,๔๒๘
๒๙๒
๒๓๗
๕๒๙
๕๔๕,๙๕๗
๓๘
จังหวัดพิษณุโลก
๔๒๒,๓๓๗
๔๓๙,๗๙๓
๘๖๒,๑๓๐
๗๕๒
๕๒๒
๑,๒๗๔
๘๖๓,๔๐๔
๓๙
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๙,๖๙๓
๒๔๕,๔๖๗
๔๗๕,๑๖๐
๒,๐๕๔
๑,๓๗๕
๓,๔๒๙
๔๗๘,๕๘๙
๔๐
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๓,๓๖๘
๕๐๑,๕๙๒
๙๙๔,๙๖๐
๑,๒๐๗
๘๑๙
๒,๐๒๖
๙๙๖,๙๘๖
๔๑
จังหวัดแพร่
๒๑๙,๐๔๗
๒๓๒,๗๘๕
๔๕๑,๘๓๒
๒๙๕
๒๑๙
๕๑๔
๔๕๒,๓๔๖
๔๒
จังหวัดภูเก็ต
๑๗๘,๕๘๑
๑๙๙,๗๖๑
๓๗๘,๓๔๒
๔,๕๕๑
๓,๗๑๒
๘,๒๖๓
๓๘๖,๖๐๕
๔๓
จังหวัดมหาสารคาม
๔๗๓,๓๔๑
๔๙๐,๗๘๕
๙๖๔,๑๒๖
๒๘๔
๑๘๖
๔๗๐
๙๖๔,๕๙๖
๔๔
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๓,๖๔๗
๑๗๒,๘๙๕
๓๔๖,๕๔๒
๗๔๗
๘๑๒
๑,๕๕๙
๓๔๘,๑๐๑
๔๕
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๑๗,๗๓๗
๑๑๒,๖๘๒
๒๓๐,๔๑๙
๒๒,๐๓๒
๒๑,๓๑๓
๔๓,๓๔๕
๒๗๓,๗๖๔
๔๖
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๙๗๘
๒๖๘,๙๕๓
๕๓๙,๙๓๑
๑๓๑
๑๒๐
๒๕๑
๕๔๐,๑๘๒
๔๗
จังหวัดยะลา
๒๕๖,๓๖๕
๒๖๐,๔๒๐
๕๑๖,๗๘๕
๗๕๙
๕๙๕
๑,๓๕๔
๕๑๘,๑๓๙
๔๘
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๑,๕๘๖
๖๕๕,๗๔๙
๑,๓๐๗,๓๓๕
๕๓๖
๒๙๕
๘๓๑
๑,๓๐๘,๑๖๖
๔๙
จังหวัดระนอง
๘๘,๐๗๘
๘๖,๒๗๑
๑๗๔,๓๔๙
๖,๖๔๘
๖,๕๓๙
๑๓,๑๘๗
๑๘๗,๕๓๖
๕๐
จังหวัดระยอง
๓๓๖,๖๙๐
๓๔๗,๗๑๒
๖๘๔,๔๐๒
๒,๖๔๓
๑,๙๕๔
๔,๕๙๗
๖๘๘,๙๙๙
๕๑
จังหวัดราชบุรี
๔๑๐,๕๙๘
๔๓๓,๗๓๑
๘๔๔,๓๒๙
๑๒,๗๐๐
๑๐,๘๕๔
๒๓,๕๕๔
๘๖๗,๘๘๓
๕๒
จังหวัดลพบุรี
๓๗๙,๙๗๑
๓๗๗,๗๑๕
๗๕๗,๖๘๖
๕๕๒
๔๑๗
๙๖๙
๗๕๘,๖๕๕
๕๓
จังหวัดลำปาง
๓๖๗,๖๗๐
๓๘๒,๐๕๙
๗๔๙,๗๒๙
๑,๓๖๓
๑,๒๖๔
๒,๖๒๗
๗๕๒,๓๕๖
๕๔
จังหวัดลำพูน
๑๙๕,๘๕๙
๒๐๘,๕๓๙
๔๐๔,๓๙๘
๑,๐๔๓
๙๔๔
๑,๙๘๗
๔๐๖,๓๘๕
๕๕
จังหวัดเลย
๓๒๐,๐๘๗
๓๑๔,๗๕๑
๖๓๔,๘๓๘
๑,๕๓๓
๒,๔๔๘
๓,๙๘๑
๖๓๘,๘๑๙
๕๖
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๓๓,๑๑๐
๗๓๔,๖๖๙
๑,๔๖๗,๗๗๙
๕๔๗
๔๗๒
๑,๐๑๙
๑,๔๖๘,๗๙๘
๕๗
จังหวัดสกลนคร
๕๗๐,๓๙๐
๕๗๑,๕๔๖
๑,๑๔๑,๙๓๖
๔๔๓
๓๕๘
๘๐๑
๑,๑๔๒,๗๓๗
๕๘
จังหวัดสงขลา
๖๘๔,๓๒๐
๗๑๘,๖๙๒
๑,๔๐๓,๐๑๒
๔,๑๔๒
๓,๔๒๓
๗,๕๖๕
๑,๔๑๐,๕๗๗
๕๙
จังหวัดสตูล
๑๕๗,๐๓๘
๑๕๘,๔๘๖
๓๑๕,๕๒๔
๒๒๐
๑๗๙
๓๙๙
๓๑๕,๙๒๓
๖๐
จังหวัดสมุทรปราการ
๖๐๖,๗๕๕
๖๕๙,๕๒๔
๑,๒๖๖,๒๗๙
๗,๐๒๓
๖,๐๐๘
๑๓,๐๓๑
๑,๒๗๙,๓๑๐
๖๑
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๒,๗๑๔
๑๐๐,๓๒๕
๑๙๓,๐๓๙
๖๙๑
๖๔๖
๑,๓๓๗
๑๙๔,๓๗๖
๖๒
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๕๒,๐๒๙
๒๗๑,๕๓๖
๕๒๓,๕๖๕
๑๑,๔๐๗
๑๐,๔๘๒
๒๑,๘๘๙
๕๔๕,๔๕๔
๖๓
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๘,๑๙๔
๒๗๕,๘๗๐
๕๕๔,๐๖๔
๑,๑๗๒
๑,๖๘๖
๒,๘๕๘
๕๕๖,๙๒๒
๖๔
จังหวัดสระบุรี
๓๑๑,๙๑๐
๓๑๙,๗๔๕
๖๓๑,๖๕๕
๓,๑๔๗
๒,๘๗๑
๖,๐๑๘
๖๓๗,๖๗๓
๖๕
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๐,๗๑๑
๑๑๐,๔๖๔
๒๑๑,๑๗๕
๑๓๘
๑๑๓
๒๕๑
๒๑๑,๔๒๖
๖๖
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๒,๘๒๖
๓๐๘,๒๙๕
๖๐๑,๑๒๑
๓๓๒
๒๕๙
๕๙๑
๖๐๑,๗๑๒
๖๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๐,๑๙๕
๔๓๗,๕๕๓
๘๔๗,๗๔๘
๑,๑๐๐
๘๕๑
๑,๙๕๑
๘๔๙,๖๙๙
๖๘
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๕๑๔,๘๗๖
๕๒๗,๖๖๙
๑,๐๔๒,๕๔๕
๒,๓๔๑
๑,๘๘๖
๔,๒๒๗
๑,๐๔๖,๗๗๒
๖๙
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๖,๘๓๕
๖๙๗,๑๙๗
๑,๓๙๔,๐๓๒
๖๕๑
๓๔๑
๙๙๒
๑,๓๙๕,๐๒๔
๗๐
จังหวัดหนองคาย
๒๕๗,๕๗๑
๒๕๗,๙๑๗
๕๑๕,๔๘๘
๑,๙๓๕
๒,๑๕๗
๔,๐๙๒
๕๑๙,๕๘๐
๗๑
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๕,๕๙๒
๒๕๔,๑๐๙
๕๐๙,๗๐๑
๒๖๔
๑๐๙
๓๗๓
๕๑๐,๐๗๔
๗๒
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๕,๗๔๗
๑๔๗,๐๙๔
๒๘๒,๘๔๑
๑๖๐
๑๗๒
๓๓๒
๒๘๓,๑๗๓
๗๓
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๗,๗๘๖
๑๘๗,๘๓๔
๓๗๕,๖๒๐
๓๑๘
๔๔๔
๗๖๒
๓๗๖,๓๘๒
๗๔
จังหวัดอุดรธานี
๗๘๑,๙๑๒
๗๘๘,๔๙๕
๑,๕๗๐,๔๐๗
๓,๑๒๙
๑,๖๑๖
๔,๗๔๕
๑,๕๗๕,๑๕๒
๗๕
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๕,๔๐๗
๒๓๓,๓๕๖
๔๕๘,๗๖๓
๓๙๘
๖๐๗
๑,๐๐๕
๔๕๙,๗๖๘
๗๖
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๒,๓๓๖
๑๖๘,๑๐๗
๓๓๐,๔๔๓
๒๒๓
๒๔๐
๔๖๓
๓๓๐,๙๐๖
๗๗
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๒๗,๕๐๙
๙๒๒,๔๖๐
๑,๘๔๙,๙๖๙
๓,๑๙๒
๔,๒๖๘
๗,๔๖๐
๑,๘๕๗,๔๒๙
จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๔
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
ร้อยตำรวจโท
อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ชวัลพร/ปริยานุช/จัดทำ
๓ มีนาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๔๘ ง/หน้า ๒๗/๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ |
744172 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
การจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่น[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๑
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกอบกับ ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้ง
ยุบหรือควบรวมสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ลงวันที่ ๑๘ กันยายน
๒๕๕๒ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดให้เทศบาลเมือง
และเทศบาลตำบลเป็นสำนักทะเบียนท้องถิ่น ดังต่อไปนี้
๑.
เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา
๒.
เทศบาลตำบลกระบี่น้อย
อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่
๓.
เทศบาลตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
โดยให้มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตามกฎหมาย
กฎและระเบียบที่เกี่ยวข้องเช่นเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลอื่นที่จัดตั้งไว้แล้วตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศ ณ วันที่ ๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ร้อยตำรวจโท
อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/จัดทำ
๒๕ มกราคม ๒๕๕๙
วริญา/ตรวจ
๒๘ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนที่ ๖ ง/หน้า ๑๕๙/๒๑ มกราคม ๒๕๕๙ |
723882 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๙๙๙,๐๐๘
๓๓,๑๒๕,๗๐๘
๖๕,๑๒๔,๗๑๖
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๙๕,๕๑๙
๒,๙๙๖,๗๖๕
๕,๖๙๒,๒๘๔
๒
จังหวัดกระบี่
๒๒๗,๔๑๑
๒๒๙,๔๐๐
๔๕๖,๘๑๑
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๕,๑๓๒
๔๒๓,๐๖๖
๘๔๘,๑๙๘
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๙๐,๕๘๔
๔๙๔,๓๒๓
๙๘๔,๙๐๗
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๒,๒๑๗
๓๖๗,๓๐๕
๗๒๙,๕๒๒
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๘๔,๘๒๒
๙๐๕,๒๒๗
๑,๗๙๐,๐๔๙
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๙,๐๔๑
๒๖๘,๓๐๙
๕๒๗,๓๕๐
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๔๐,๙๖๔
๓๕๔,๕๑๔
๖๙๕,๔๗๘
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๙๖,๐๓๘
๗๒๕,๓๘๗
๑,๔๒๑,๔๒๕
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๐,๓๐๓
๑๗๑,๙๘๐
๓๓๒,๒๘๓
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๕,๒๑๒
๕๗๑,๘๓๗
๑,๑๓๗,๐๔๙
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๘,๓๖๗
๒๕๒,๒๐๘
๕๐๐,๕๗๕
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๙๓,๓๙๓
๖๑๔,๓๐๖
๑,๒๐๗,๖๙๙
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๖,๖๒๐
๘๖๑,๖๖๔
๑,๖๗๘,๒๘๔
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๑๒,๘๑๒
๓๒๕,๙๓๔
๖๓๘,๗๔๖
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๒,๐๕๗
๑๑๒,๖๗๓
๒๒๔,๗๓๐
๑๗
จังหวัดตาก
๒๗๒,๒๖๓
๒๖๗,๒๙๐
๕๓๙,๕๕๓
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๗,๕๐๓
๑๒๙,๗๙๗
๒๕๗,๓๐๐
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๒๘,๐๐๖
๔๖๓,๐๖๕
๘๙๑,๐๗๑
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๖,๑๐๖
๓๕๗,๒๓๕
๗๑๓,๓๔๑
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๙๔,๙๘๗
๑,๓๒๕,๕๓๐
๒,๖๒๐,๕๑๗
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๖๖,๗๕๖
๗๘๑,๒๗๒
๑,๕๔๘,๐๒๘
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๕,๑๔๖
๕๔๗,๖๑๐
๑,๐๗๒,๗๕๖
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๔๙,๙๔๑
๖๒๓,๙๒๙
๑,๑๗๓,๘๗๐
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๘๓,๘๕๐
๓๙๐,๙๔๙
๗๗๔,๗๙๙
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๗๘๕
๒๓๗,๔๗๙
๔๗๘,๒๖๔
๒๗
จังหวัดบึงกาฬ
๒๑๑,๐๒๑
๒๐๗,๕๔๕
๔๑๘,๕๖๖
๒๘
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๘๗,๘๕๑
๗๙๑,๓๙๗
๑,๕๗๙,๒๔๘
๒๙
จังหวัดปทุมธานี
๕๑๐,๒๖๑
๕๖๓,๗๙๗
๑,๐๗๔,๐๕๘
๓๐
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๖๐,๕๘๐
๒๖๔,๕๒๗
๕๒๕,๑๐๗
๓๑
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๗,๓๔๕
๒๔๑,๙๖๙
๔๗๙,๓๑๔
๓๒
จังหวัดปัตตานี
๓๓๙,๘๗๒
๓๔๖,๓๑๔
๖๘๖,๑๘๖
๓๓
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๘๗,๕๓๓
๔๑๖,๐๖๖
๘๐๓,๕๙๙
๓๔
จังหวัดพะเยา
๒๓๖,๖๗๑
๒๔๗,๗๘๓
๔๘๔,๔๕๔
๓๕
จังหวัดพังงา
๑๓๐,๕๗๗
๑๓๐,๗๙๓
๒๖๑,๓๗๐
๓๖
จังหวัดพัทลุง
๒๕๔,๓๗๒
๒๖๖,๐๔๗
๕๒๐,๔๑๙
๓๗
จังหวัดพิจิตร
๒๖๘,๑๐๐
๒๗๙,๔๔๓
๕๔๗,๕๔๓
๓๘
จังหวัดพิษณุโลก
๔๒๑,๕๗๒
๔๓๗,๔๑๖
๘๕๘,๙๘๘
๓๙
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๙,๕๑๐
๒๔๔,๖๘๒
๔๗๔,๑๙๒
๔๐
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๔,๒๕๑
๕๐๑,๕๕๖
๙๙๕,๘๐๗
๔๑
จังหวัดแพร่
๒๒๐,๔๓๔
๒๓๓,๖๔๙
๔๕๔,๐๘๓
๔๒
จังหวัดภูเก็ต
๑๗๙,๒๒๑
๑๙๙,๑๔๓
๓๗๘,๓๖๔
๔๓
จังหวัดมหาสารคาม
๔๗๒,๕๑๗
๔๘๘,๐๗๑
๙๖๐,๕๘๘
๔๔
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๓,๔๔๙
๑๗๒,๕๖๗
๓๔๖,๐๑๖
๔๕
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๖,๘๕๕
๑๒๑,๓๒๓
๒๔๘,๑๗๘
๔๖
จังหวัดยโสธร
๒๗๑,๑๖๓
๒๖๙,๐๔๘
๕๔๐,๒๑๑
๔๗
จังหวัดยะลา
๒๕๔,๐๕๖
๒๕๗,๘๕๕
๕๑๑,๙๑๑
๔๘
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๒,๖๑๕
๖๕๕,๗๐๓
๑,๓๐๘,๓๑๘
๔๙
จังหวัดระนอง
๘๙,๖๕๓
๘๗,๔๓๖
๑๗๗,๐๘๙
๕๐
จังหวัดระยอง
๓๓๒,๒๕๓
๓๔๒,๑๔๐
๖๗๔,๓๙๓
๕๑
จังหวัดราชบุรี
๔๑๕,๗๒๕
๔๓๗,๔๙๒
๘๕๓,๒๑๗
๕๒
จังหวัดลพบุรี
๓๘๐,๕๔๐
๓๗๗,๘๖๖
๗๕๘,๔๐๖
๕๓
จังหวัดลำปาง
๓๖๙,๘๑๙
๓๘๓,๑๙๔
๗๕๓,๐๑๓
๕๔
จังหวัดลำพูน
๑๙๖,๗๕๕
๒๐๘,๗๑๓
๔๐๕,๔๖๘
๕๕
จังหวัดเลย
๓๑๙,๙๖๖
๓๑๔,๕๔๗
๖๓๔,๕๑๓
๕๖
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๓๒,๒๘๘
๗๓๒,๙๒๕
๑,๔๖๕,๒๑๓
๕๗
จังหวัดสกลนคร
๕๖๘,๙๕๓
๕๖๙,๖๕๖
๑,๑๓๘,๖๐๙
๕๘
จังหวัดสงขลา
๖๘๔,๒๒๓
๗๑๗,๐๘๐
๑,๔๐๑,๓๐๓
๕๙
จังหวัดสตูล
๑๕๕,๕๗๕
๑๕๗,๐๙๘
๓๑๒,๖๗๓
๖๐
จังหวัดสมุทรปราการ
๖๐๕,๗๐๒
๖๕๕,๘๒๘
๑,๒๖๑,๕๓๐
๖๑
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๓๑๖
๑๐๐,๘๗๓
๑๙๔,๑๘๙
๖๒
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๕๖,๘๘๐
๒๗๕,๐๐๗
๕๓๑,๘๘๗
๖๓
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๗,๔๓๒
๒๗๔,๗๕๕
๕๕๒,๑๘๗
๖๔
จังหวัดสระบุรี
๓๑๓,๒๘๕
๓๒๐,๑๗๕
๖๓๓,๔๖๐
๖๕
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๑,๑๘๑
๑๑๐,๙๗๗
๒๑๒,๑๕๘
๖๖
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๓,๗๘๖
๓๐๘,๖๗๔
๖๐๒,๔๖๐
๖๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๑,๐๘๙
๔๓๗,๙๖๔
๘๔๙,๐๕๓
๖๘
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๕๑๔,๑๖๗
๕๒๖,๐๖๓
๑,๐๔๐,๒๓๐
๖๙
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๕,๖๙๔
๖๙๕,๙๔๒
๑,๓๙๑,๖๓๖
๗๐
จังหวัดหนองคาย
๒๕๘,๖๓๘
๒๕๘,๖๒๒
๕๑๗,๒๖๐
๗๑
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๕,๕๐๘
๒๕๓,๓๕๖
๕๐๘,๘๖๔
๗๒
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๒๐๒
๑๔๗,๓๖๖
๒๘๓,๕๖๘
๗๓
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๗,๗๔๒
๑๘๗,๖๓๘
๓๗๕,๓๘๐
๗๔
จังหวัดอุดรธานี
๗๘๓,๐๓๓
๗๘๗,๒๖๗
๑,๕๗๐,๓๐๐
๗๕
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๖,๒๕๑
๒๓๔,๑๔๙
๔๖๐,๔๐๐
๗๖
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๒,๒๖๔
๑๖๗,๙๑๕
๓๓๐,๑๗๙
๗๗
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๒๕,๔๒๗
๙๑๙,๒๔๒
๑,๘๔๔,๖๖๙
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
กฤษฎา บุญราช
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๕ มีนาคม ๒๕๕๘
กฤษดายุทธ/ผู้ตรวจ
๕ มีนาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๔๙ ง/หน้า ๑๑/๒ มีนาคม ๒๕๕๘ |
702574 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๘๔๕,๙๗๑
๓๒,๙๓๙,๙๓๘
๖๔,๗๘๕,๙๐๙
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๙๔,๙๒๑
๒,๙๙๑,๓๓๑
๕,๖๘๖,๒๕๒
๒
จังหวัดกระบี่
๒๒๔,๖๑๙
๒๒๖,๒๗๑
๔๕๐,๘๙๐
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๒,๔๔๑
๔๒๐,๔๔๑
๘๔๒,๘๘๒
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๙๐,๐๗๔
๔๙๓,๙๕๖
๙๘๔,๐๓๐
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๘๖๗
๓๖๖,๗๖๔
๗๒๘,๖๓๑
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๘๑,๕๙๑
๙๐๐,๐๖๔
๑,๗๘๑,๖๕๕
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๗,๗๘๓
๒๖๖,๔๗๗
๕๒๔,๒๖๐
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๓๘,๑๒๕
๓๕๒,๑๐๑
๖๙๐,๒๒๖
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๘๑,๓๙๙
๗๐๘,๙๕๕
๑,๓๙๐,๓๕๔
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๐,๕๔๒
๑๗๒,๒๒๗
๓๓๒,๗๖๙
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๔,๗๕๐
๕๗๐,๙๗๓
๑,๑๓๕,๗๒๓
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๗,๔๑๙
๒๕๐,๘๗๕
๔๙๘,๒๙๔
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๙๒,๐๓๓
๖๑๒,๖๒๗
๑,๒๐๔,๖๖๐
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๑,๗๕๙
๘๕๕,๑๒๙
๑,๖๖๖,๘๘๘
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๑๑,๖๙๕
๓๒๔,๓๔๘
๖๓๖,๐๔๓
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๑,๗๗๘
๑๑๒,๒๓๒
๒๒๔,๐๑๐
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๘,๗๔๒
๒๖๓,๖๑๑
๕๓๒,๓๕๓
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๖,๘๓๗
๑๒๙,๒๔๘
๒๕๖,๐๘๕
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๒๓,๖๙๕
๔๕๘,๔๘๙
๘๘๒,๑๘๔
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๔,๙๔๗
๓๕๕,๙๑๓
๗๑๐,๘๖๐
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๘๙,๘๖๑
๑,๓๒๐,๓๐๓
๒,๖๑๐,๑๖๔
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๖๓,๘๑๐
๗๗๘,๐๓๓
๑,๕๔๑,๘๔๓
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๕,๓๕๑
๕๔๗,๗๙๑
๑,๐๗๓,๑๔๒
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๔๒,๑๙๖
๖๑๔,๐๗๕
๑,๑๕๖,๒๗๑
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๗๙,๔๖๒
๓๘๖,๖๘๓
๗๖๖,๑๔๕
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๖๕๒
๒๓๗,๒๖๐
๔๗๗,๙๑๒
๒๗
จังหวัดบึงกาฬ
๒๐๙,๘๓๐
๒๐๖,๔๐๖
๔๑๖,๒๓๖
๒๘
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๘๕,๒๑๕
๗๘๘,๒๒๓
๑,๕๗๓,๔๓๘
๒๙
จังหวัดปทุมธานี
๕๐๐,๖๑๐
๕๕๒,๕๔๘
๑,๐๕๓,๑๕๘
๓๐
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๘,๖๙๐
๒๖๑,๕๘๑
๕๒๐,๒๗๑
๓๑
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๕,๙๐๑
๒๔๐,๒๖๖
๔๗๖,๑๖๗
๓๒
จังหวัดปัตตานี
๓๓๕,๖๙๘
๓๔๓,๑๔๐
๖๗๘,๘๓๘
๓๓
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๘๔,๙๑๒
๔๑๓,๐๕๘
๗๙๗,๙๗๐
๓๔
จังหวัดพะเยา
๒๓๗,๙๙๑
๒๔๘,๗๕๓
๔๘๖,๗๔๔
๓๕
จังหวัดพังงา
๑๒๙,๗๙๙
๑๒๙,๖๒๑
๒๕๙,๔๒๐
๓๖
จังหวัดพัทลุง
๒๕๓,๒๖๔
๒๖๔,๗๕๗
๕๑๘,๐๒๑
๓๗
จังหวัดพิจิตร
๒๖๘,๗๘๗
๒๘๐,๐๖๘
๕๔๘,๘๕๕
๓๘
จังหวัดพิษณุโลก
๔๒๐,๗๑๘
๔๓๕,๖๕๘
๘๕๖,๓๗๖
๓๙
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๘,๐๕๔
๒๔๓,๐๓๓
๔๗๑,๐๘๗
๔๐
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๓,๘๕๒
๕๐๐,๕๔๕
๙๙๔,๓๙๗
๔๑
จังหวัดแพร่
๒๒๑,๖๖๐
๒๓๔,๔๑๔
๔๕๖,๐๗๔
๔๒
จังหวัดภูเก็ต
๑๗๔,๘๒๗
๑๙๔,๖๙๕
๓๖๙,๕๒๒
๔๓
จังหวัดมหาสารคาม
๔๗๐,๘๐๘
๔๘๔,๘๓๖
๙๕๕,๖๔๔
๔๔
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๒,๗๔๔
๑๗๑,๕๕๘
๓๔๔,๓๐๒
๔๕
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๖,๑๘๙
๑๒๐,๓๖๐
๒๔๖,๕๔๙
๔๖
จังหวัดยโสธร
๒๗๑,๐๘๒
๒๖๙,๓๐๑
๕๔๐,๓๘๓
๔๗
จังหวัดยะลา
๒๕๑,๐๒๓
๒๕๕,๑๑๕
๕๐๖,๑๓๘
๔๘
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๓,๐๔๙
๖๕๕,๙๐๙
๑,๓๐๘,๙๕๘
๔๙
จังหวัดระนอง
๘๘,๕๙๒
๘๖,๑๘๔
๑๗๔,๗๗๖
๕๐
จังหวัดระยอง
๓๒๕,๖๓๕
๓๓๕,๕๘๕
๖๖๑,๒๒๐
๕๑
จังหวัดราชบุรี
๔๑๔,๕๖๘
๔๓๕,๕๙๔
๘๕๐,๑๖๒
๕๒
จังหวัดลพบุรี
๓๘๐,๓๐๖
๓๗๗,๖๖๔
๗๕๗,๙๗๐
๕๓
จังหวัดลำปาง
๓๗๑,๒๖๙
๓๘๓,๕๙๓
๗๕๔,๘๖๒
๕๔
จังหวัดลำพูน
๑๙๖,๗๔๗
๒๐๘,๕๒๑
๔๐๕,๒๖๘
๕๕
จังหวัดเลย
๓๑๘,๘๒๘
๓๑๓,๓๗๗
๖๓๒,๒๐๕
๕๖
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๓๑,๐๒๙
๗๓๐,๙๙๙
๑,๔๖๒,๐๒๘
๕๗
จังหวัดสกลนคร
๕๖๖,๘๗๕
๕๖๗,๔๔๗
๑,๑๓๔,๓๒๒
๕๘
จังหวัดสงขลา
๖๗๘,๔๕๖
๗๑๑,๔๓๔
๑,๓๘๙,๘๙๐
๕๙
จังหวัดสตูล
๑๕๔,๑๘๔
๑๕๕,๖๐๙
๓๐๙,๗๙๓
๖๐
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๙๖,๗๔๔
๖๔๔,๘๖๖
๑,๒๔๑,๖๑๐
๖๑
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๒๙๕
๑๐๐,๘๒๑
๑๙๔,๑๑๖
๖๒
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๕๑,๐๕๙
๒๖๘,๓๙๘
๕๑๙,๔๕๗
๖๓
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๖,๘๒๕
๒๗๔,๑๑๒
๕๕๐,๙๓๗
๖๔
จังหวัดสระบุรี
๓๑๑,๓๗๔
๓๑๗,๘๔๒
๖๒๙,๒๑๖
๖๕
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๑,๓๘๔
๑๑๑,๓๐๖
๒๑๒,๖๙๐
๖๖
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๓,๙๓๔
๓๐๘,๗๗๙
๖๐๒,๗๑๓
๖๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๐,๗๒๔
๔๓๗,๓๔๒
๘๔๘,๐๖๖
๖๘
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๕๐๙,๙๔๗
๕๒๑,๘๖๕
๑,๐๓๑,๘๑๒
๖๙
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๔,๐๓๔
๖๙๔,๑๖๐
๑,๓๘๘,๑๙๔
๗๐
จังหวัดหนองคาย
๒๕๗,๖๐๓
๒๕๗,๓๔๐
๕๑๔,๙๔๓
๗๑
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๔,๗๖๓
๒๕๒,๓๗๔
๕๐๗,๑๓๗
๗๒
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๒๓๗
๑๔๗,๔๙๕
๒๘๓,๗๓๒
๗๓
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๗,๕๑๙
๑๘๗,๑๗๙
๓๗๔,๖๙๘
๗๔
จังหวัดอุดรธานี
๗๘๐,๔๙๗
๗๘๓,๔๖๗
๑,๕๖๓,๙๖๔
๗๕
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๖,๘๙๗
๒๓๔,๐๙๘
๔๖๐,๙๙๕
๗๖
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๒,๐๑๘
๑๖๗,๕๑๘
๓๒๙,๕๓๖
๗๗
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๒๑,๕๗๖
๙๑๔,๙๔๗
๑,๘๓๖,๕๒๓
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗
ศิริพงษ์
ห่านตระกูล
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๑ มีนาคม ๒๕๕๗
โชติกานต์/ผู้ตรวจ
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๔๑ ง/หน้า ๑๘/๔ มีนาคม ๒๕๕๗ |
665427 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๕๒๙,๑๔๘
๓๒,๕๔๖,๘๘๕
๖๔,๐๗๖,๐๓๓
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๙๒,๙๕๔
๒,๙๘๑,๘๘๙
๕,๖๗๔,๘๔๓
๒
จังหวัดกระบี่
๒๑๘,๗๐๘
๒๑๙,๓๓๑
๔๓๘,๐๓๙
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๑,๗๘๒
๔๑๗,๑๓๒
๘๓๘,๙๑๔
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๙,๐๘๒
๔๙๒,๕๗๓
๙๘๑,๖๕๕
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๐,๙๐๖
๓๖๕,๑๐๓
๗๒๖,๐๐๙
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๗๕,๐๑๓
๘๙๑,๐๕๓
๑,๗๖๖,๐๖๖
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๔,๕๑๖
๒๖๒,๓๓๙
๕๑๖,๘๕๕
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๓๓,๑๕๑
๓๔๖,๒๑๙
๖๗๙,๓๗๐
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๕๖,๕๓๗
๖๘๒,๑๑๙
๑,๓๓๘,๖๕๖
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๐,๘๘๔
๑๗๒,๓๗๒
๓๓๓,๒๕๖
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๐,๖๗๒
๕๖๖,๗๕๑
๑,๑๒๗,๔๒๓
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๔,๕๔๒
๒๔๗,๖๔๐
๔๙๒,๑๘๒
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๘๙,๗๕๙
๖๐๘,๘๙๗
๑,๑๙๘,๖๕๖
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๐๒,๘๒๓
๘๔๓,๓๒๑
๑,๖๔๖,๑๔๔
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๐๗,๔๒๒
๓๑๙,๒๘๖
๖๒๖,๗๐๘
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๘๐๑
๑๑๑,๒๑๒
๒๒๒,๐๑๓
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๙,๓๗๐
๒๖๑,๖๔๘
๕๓๑,๐๑๘
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๕,๖๓๑
๑๒๘,๒๐๐
๒๕๓,๘๓๑
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๑๕,๗๔๕
๔๕๐,๓๑๙
๘๖๖,๐๖๔
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๑,๘๑๙
๓๕๒,๙๔๙
๗๐๔,๗๖๘
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๗๘,๓๒๗
๑,๓๐๖,๙๙๘
๒,๕๘๕,๓๒๕
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๗,๑๕๐
๗๖๘,๙๒๑
๑,๕๒๖,๐๗๑
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๔,๘๐๖
๕๔๖,๘๘๐
๑,๐๗๑,๖๘๖
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๒๗,๒๖๙
๕๙๕,๓๕๘
๑,๑๒๒,๖๒๗
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๗๐,๐๑๙
๓๗๗,๓๕๓
๗๔๗,๓๗๒
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๔๖๕
๒๓๖,๑๔๗
๔๗๖,๖๑๒
๒๗
จังหวัดบึงกาฬ
๒๐๕,๖๔๗
๒๐๑,๙๘๗
๔๐๗,๖๓๔
๒๘
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๗๘,๐๕๙
๗๘๑,๐๒๖
๑,๕๕๙,๐๘๕
๒๙
จังหวัดปทุมธานี
๔๘๐,๔๖๗
๕๓๐,๔๓๑
๑,๐๑๐,๘๙๘
๓๐
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๖,๔๒๙
๒๕๖,๑๓๙
๕๑๒,๕๖๘
๓๑
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๒,๗๘๔
๒๓๖,๘๖๘
๔๖๙,๖๕๒
๓๒
จังหวัดปัตตานี
๓๒๗,๖๓๒
๓๓๕,๘๕๓
๖๖๓,๔๘๕
๓๓
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๘๐,๓๑๐
๔๐๗,๓๔๓
๗๘๗,๖๕๓
๓๔
จังหวัดพะเยา
๒๓๘,๓๔๖
๒๔๘,๑๒๖
๔๘๖,๔๗๒
๓๕
จังหวัดพังงา
๑๒๗,๖๘๒
๑๒๗,๒๔๙
๒๕๔,๙๓๑
๓๖
จังหวัดพัทลุง
๒๕๐,๒๘๐
๒๖๐,๗๘๓
๕๑๑,๐๖๓
๓๗
จังหวัดพิจิตร
๒๖๙,๓๓๘
๒๘๐,๓๕๐
๕๔๙,๖๘๘
๓๘
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๘,๓๒๘
๔๓๓,๐๒๙
๘๕๑,๓๕๗
๓๙
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๕,๘๘๔
๒๔๐,๑๙๕
๔๖๖,๐๗๙
๔๐
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๒,๙๒๒
๔๙๗,๘๘๕
๙๙๐,๘๐๗
๔๑
จังหวัดแพร่
๒๒๓,๔๙๑
๒๓๕,๒๕๙
๔๕๘,๗๕๐
๔๒
จังหวัดภูเก็ต
๑๖๗,๓๗๐
๑๘๖,๔๗๗
๓๕๓,๘๔๗
๔๓
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๕,๗๖๘
๔๗๓,๙๖๘
๙๓๙,๗๓๖
๔๔
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๐,๘๑๔
๑๖๙,๗๖๗
๓๔๐,๕๘๑
๔๕
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๕,๒๔๐
๑๑๘,๘๐๘
๒๔๔,๐๔๘
๔๖
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๓๐๖
๒๖๘,๕๔๗
๕๓๘,๘๕๓
๔๗
จังหวัดยะลา
๒๔๔,๙๐๓
๒๔๘,๘๖๔
๔๙๓,๗๖๗
๔๘
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๑,๐๕๔
๖๕๔,๐๐๔
๑,๓๐๕,๐๕๘
๔๙
จังหวัดระนอง
๙๕,๓๑๗
๘๘,๕๓๒
๑๘๓,๘๔๙
๕๐
จังหวัดระยอง
๓๑๔,๓๙๒
๓๒๓,๓๔๔
๖๓๗,๗๓๖
๕๑
จังหวัดราชบุรี
๔๑๑,๐๖๓
๔๓๑,๖๒๑
๘๔๒,๖๘๔
๕๒
จังหวัดลพบุรี
๓๗๙,๘๐๕
๓๗๖,๓๒๒
๗๕๖,๑๒๗
๕๓
จังหวัดลำปาง
๓๗๓,๑๐๔
๓๘๔,๔๓๐
๗๕๗,๕๓๔
๕๔
จังหวัดลำพูน
๑๙๖,๕๐๙
๒๐๗,๔๔๓
๔๐๓,๙๕๒
๕๕
จังหวัดเลย
๓๑๕,๕๑๖
๓๐๙,๔๐๔
๖๒๔,๙๒๐
๕๖
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๖,๑๗๓
๗๒๖,๐๓๐
๑,๔๕๒,๒๐๓
๕๗
จังหวัดสกลนคร
๕๖๑,๕๖๓
๕๖๑,๗๘๘
๑,๑๒๓,๓๕๑
๕๘
จังหวัดสงขลา
๖๖๗,๒๕๐
๖๙๙,๗๖๐
๑,๓๖๗,๐๑๐
๕๙
จังหวัดสตูล
๑๕๐,๓๑๙
๑๕๑,๑๔๘
๓๐๑,๔๖๗
๖๐
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๗๙,๙๒๗
๖๒๓,๒๙๖
๑,๒๐๓,๒๒๓
๖๑
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๓๐๒
๑๐๐,๗๘๔
๑๙๔,๐๘๖
๖๒
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๔๑,๑๘๓
๒๕๗,๙๑๕
๔๙๙,๐๙๘
๖๓
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๔,๒๘๖
๒๗๑,๓๑๐
๕๔๕,๕๙๖
๖๔
จังหวัดสระบุรี
๓๐๖,๙๘๖
๓๑๓,๔๖๘
๖๒๐,๔๕๔
๖๕
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๑,๙๓๒
๑๑๑,๖๕๕
๒๑๓,๕๘๗
๖๖
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๓,๖๒๔
๓๐๗,๘๘๐
๖๐๑,๕๐๔
๖๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๖๔๑
๔๓๕,๔๑๒
๘๔๕,๐๕๓
๖๘
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๕๐๐,๑๒๑
๕๑๑,๙๔๓
๑,๐๑๒,๐๖๔
๖๙
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๐,๖๔๔
๖๘๙,๗๕๕
๑,๓๘๐,๓๙๙
๗๐
จังหวัดหนองคาย
๒๕๕,๒๕๖
๒๕๔,๖๑๔
๕๐๙,๘๗๐
๗๑
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๒,๔๙๖
๒๕๐,๐๕๕
๕๐๒,๕๕๑
๗๒
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๓๕๔
๑๔๗,๗๐๗
๒๘๔,๐๖๑
๗๓
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๖,๔๗๖
๑๘๕,๗๖๕
๓๗๒,๒๔๑
๗๔
จังหวัดอุดรธานี
๗๗๒,๙๖๐
๗๗๕,๑๔๗
๑,๕๔๘,๑๐๗
๗๕
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๗,๓๐๗
๒๓๓,๗๓๓
๔๖๑,๐๔๐
๗๖
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๓๓๔
๑๖๖,๗๐๐
๓๒๘,๐๓๔
๗๗
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๑๑,๑๐๑
๙๐๔,๙๕๖
๑,๘๑๖,๐๕๗
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
สุกิจ เจริญรัตนกุล
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๕ เมษายน ๒๕๕๕
ชาญ/ผู้ตรวจ
๑๑ เมษายน ๒๕๕๕
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๙/ตอนพิเศษ ๕๙ ง/หน้า ๑๗/๒๙ มีนาคม ๒๕๕๕ |
647711 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรของอำเภอที่รวมจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ และอำเภอที่เหลือของจังหวัดหนองคายภายหลังการตั้งจังหวัดบึงกาฬ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
จำนวนราษฎรของอำเภอที่รวมจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ และอำเภอที่เหลือของ
จังหวัดหนองคายภายหลังการตั้งจังหวัดบึงกาฬ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๓[๑]
ตามที่สำนักทะเบียนกลาง ได้ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ซึ่งประกาศเมื่อวันที่
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ โดยจังหวัดหนองคายมีจำนวนราษฎร ๙๑๒,๙๓๗ คน นั้น
เนื่องจากพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ประกอบกับในปีพุทธศักราช ๒๕๕๔
จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)
พุทธศักราช ๒๕๕๔ มาตรา ๙๔ วรรคสอง
กำหนดเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหนึ่งคนให้คำนวณจากจำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้งเฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยเจ็ดสิบห้าคน
และวรรคสาม กำหนดให้นำจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคนที่คำนวณได้ตามวรรคสองมาเฉลี่ยจำนวนราษฎรในจังหวัดเพื่อคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี
ดังนั้น เพื่อให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประจำปี ๒๕๕๔
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ประกาศจำนวนราษฎรของอำเภอที่รวมจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ
และอำเภอที่เหลือของจังหวัดหนองคายภายหลังการตั้งจังหวัดบึงกาฬตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ จำนวนราษฎรของอำเภอบึงกาฬ
อำเภอเซกา อำเภอโซ่พิสัย อำเภอบุ่งคล้า อำเภอบึงโขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ
และอำเภอศรีวิไล จังหวัดหนองคาย ซึ่งแยกการปกครองออกจากจังหวัดหนองคาย
รวมตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงกาฬ ประกอบด้วยเพศชาย ๒๐๓,๖๗๐ คน เพศหญิง
๑๙๙,๘๗๒ คน รวม ๔๐๓,๕๔๒ คน
ข้อ ๒ จำนวนราษฎรของอำเภอเมืองหนองคาย
อำเภอท่าบ่อ อำเภอโพนพิสัย อำเภอศรีเชียงใหม่ อำเภอสังคม อำเภอสระใคร อำเภอเฝ้าไร่
อำเภอรัตนวาปี และอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย ประกอบด้วยเพศชาย ๒๕๕,๒๒๑ คน เพศหญิง ๒๕๔,๑๗๔ คน รวม ๕๐๙,๓๙๕ คน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
มงคล สุระสัจจะ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๐ เมษายน ๒๕๕๔
ณัฐวดี/ตรวจ
๒๐ เมษายน ๒๕๕๔
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๘/ตอนพิเศษ ๓๘ ง/หน้า ๒๑/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ |
645775 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๔๕๑,๘๐๑
๓๒,๔๒๖,๔๖๖
๖๓,๘๗๘,๒๖๗
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๐๙,๕๖๘
๒,๙๙๑,๘๒๖
๕,๗๐๑,๓๙๔
๒
จังหวัดกระบี่
๒๑๖,๓๙๓
๒๑๖,๓๑๑
๔๓๒,๗๐๔
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๒,๑๖๒
๔๑๗,๖๑๔
๘๓๙,๗๗๖
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๙,๔๓๖
๔๙๓,๑๔๒
๙๘๒,๕๗๘
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๖๗๖
๓๖๕,๔๑๗
๗๒๗,๐๙๓
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๗๖,๒๕๒
๘๙๑,๓๔๙
๑,๗๖๗,๖๐๑
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๓,๖๑๘
๒๖๐,๙๙๘
๕๑๔,๖๑๖
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๓๐,๗๑๖
๓๔๓,๒๑๗
๖๗๓,๙๓๓
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๔๖,๒๖๖
๖๗๐,๐๒๗
๑,๓๑๖,๒๙๓
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๑,๗๑๙
๑๗๓,๒๑๕
๓๓๔,๙๓๔
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๑,๑๔๖
๕๖๖,๒๗๗
๑,๑๒๗,๔๒๓
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๓,๕๙๔
๒๔๖,๓๗๐
๔๘๙,๙๖๔
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๘๙,๘๙๐
๖๐๘,๓๒๘
๑,๑๙๘,๒๑๘
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๐๐,๘๘๓
๘๓๙,๕๙๖
๑,๖๔๐,๔๗๙
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๐๕,๖๗๘
๓๑๖,๙๘๑
๖๒๒,๖๕๙
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๔๒๙
๑๑๐,๔๙๒
๒๒๐,๙๒๑
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๖,๕๖๔
๒๕๙,๑๒๐
๕๒๕,๖๘๔
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๕,๑๑๓
๑๒๗,๖๒๑
๒๕๒,๗๓๔
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๑๓,๐๖๕
๔๔๗,๑๘๑
๘๖๐,๒๔๖
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๑,๐๐๕
๓๕๒,๓๘๗
๗๐๓,๓๙๒
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๗๗,๓๓๓
๑,๓๐๔,๗๕๖
๒,๕๘๒,๐๘๙
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๕,๖๐๑
๗๖๖,๙๖๐
๑,๕๒๒,๕๖๑
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๕,๘๖๑
๕๔๗,๖๓๔
๑,๐๗๓,๔๙๕
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๑๘,๑๖๑
๕๘๓,๕๘๒
๑,๑๐๑,๗๔๓
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๖๔,๘๙๘
๓๗๒,๒๖๔
๗๓๗,๑๖๒
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๒๘๐
๒๓๖,๐๘๓
๔๗๖,๓๖๓
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๗๕,๗๖๖
๗๗๗,๙๙๙
๑,๕๕๓,๗๖๕
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๔๖๙,๐๓๔
๕๑๖,๖๐๙
๙๘๕,๖๔๓
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๕,๕๘๔
๒๕๓,๕๕๐
๕๐๙,๑๓๔
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๓๑,๕๑๓
๒๓๕,๐๕๙
๔๖๖,๕๗๒
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๒๓,๕๗๓
๓๓๑,๖๘๖
๖๕๕,๒๕๙
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๗๗,๘๓๓
๔๐๔,๒๖๓
๗๘๒,๐๙๖
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๓๘,๓๕๘
๒๔๗,๙๔๖
๔๘๖,๓๐๔
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๖,๙๓๙
๑๒๖,๑๗๓
๒๕๓,๑๑๒
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๙,๗๙๑
๒๕๙,๗๔๓
๕๐๙,๕๓๔
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๐,๙๕๒
๒๘๑,๗๓๘
๕๕๒,๖๙๐
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๗,๒๙๓
๔๓๒,๓๙๙
๘๔๙,๖๙๒
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๔,๘๖๐
๒๓๙,๑๗๓
๔๖๔,๐๓๓
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๕,๖๔๙
๕๐๐,๓๘๒
๙๙๖,๐๓๑
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๒๔,๖๔๓
๒๓๖,๑๑๓
๔๖๐,๗๕๖
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๖๓,๖๘๒
๑๘๑,๓๘๕
๓๔๕,๐๖๗
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๖,๕๕๒
๔๗๔,๓๕๙
๙๔๐,๙๑๑
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๗๐,๓๒๗
๑๖๙,๒๔๘
๓๓๙,๕๗๕
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๔,๕๙๔
๑๑๘,๑๔๘
๒๔๒,๗๔๒
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๖๘๒
๒๖๘,๕๗๕
๕๓๙,๒๕๗
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๔๑,๗๖๙
๒๔๕,๖๑๑
๔๘๗,๓๘๐
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๓,๙๐๓
๖๕๕,๘๐๕
๑,๓๐๙,๗๐๘
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๕,๐๙๓
๘๗,๙๘๖
๑๘๓,๐๗๙
๔๙
จังหวัดระยอง
๓๐๙,๐๑๔
๓๑๗,๓๘๘
๖๒๖,๔๐๒
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๙,๕๙๙
๔๒๙,๔๗๖
๘๓๙,๐๗๕
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๙,๓๗๐
๓๗๖,๔๘๔
๗๕๕,๘๕๔
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๗๕,๓๔๒
๓๘๖,๖๐๗
๗๖๑,๙๔๙
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๖,๘๖๘
๒๐๗,๖๙๒
๔๐๔,๕๖๐
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๕,๕๐๒
๓๐๘,๕๖๔
๖๒๔,๐๖๖
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๖,๒๗๒
๗๒๖,๑๙๙
๑,๔๕๒,๔๗๑
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๖๑,๔๗๒
๕๖๑,๔๓๓
๑,๑๒๒,๙๐๕
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๖๒,๔๗๕
๖๙๔,๕๔๘
๑,๓๕๗,๐๒๓
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๔๘,๒๖๙
๑๔๘,๘๙๔
๒๙๗,๑๖๓
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๗๒,๐๗๙
๖๑๓,๑๐๑
๑,๑๘๕,๑๘๐
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๔๐๕
๑๐๐,๖๕๒
๑๙๔,๐๕๗
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๓๗,๙๐๖
๒๕๓,๙๘๑
๔๙๑,๘๘๗
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๓,๗๒๖
๒๗๐,๓๗๔
๕๔๔,๑๐๐
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๕,๔๗๒
๓๑๑,๙๑๒
๖๑๗,๓๘๔
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๒,๖๐๖
๑๑๒,๐๕๕
๒๑๔,๖๖๑
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๓,๙๒๙
๓๐๗,๘๔๙
๖๐๑,๗๗๘
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๐,๕๒๙
๔๓๕,๓๒๑
๘๔๕,๘๕๐
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๙๔,๘๒๕
๕๐๕,๕๕๘
๑,๐๐๐,๓๘๓
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๑,๔๒๕
๖๙๐,๓๓๖
๑,๓๘๑,๗๖๑
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๘,๘๙๑
๔๕๔,๐๔๖
๙๑๒,๙๓๗
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๓,๐๐๓
๒๔๙,๘๖๕
๕๐๒,๘๖๘
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๘๒๕
๑๔๘,๑๔๕
๒๘๔,๙๗๐
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๖,๕๖๗
๑๘๕,๕๗๐
๓๗๒,๑๓๗
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๗๑,๗๗๐
๗๗๓,๐๑๖
๑,๕๔๔,๗๘๖
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๘,๑๘๕
๒๓๔,๔๓๓
๔๖๒,๖๑๘
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๓๗๓
๑๖๖,๕๘๖
๓๒๗,๙๕๙
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๐๙,๔๐๕
๙๐๓,๖๘๓
๑,๘๑๓,๐๘๘
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔
มงคล สุระสัจจะ
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙ มีนาคม ๒๕๕๔
ณัฐวดี/ตรวจ
๙ มีนาคม ๒๕๕๔
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๘/ตอนพิเศษ ๒๓ ง/หน้า ๓๗/๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ |
629906 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๒[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๒๙๓,๐๙๖
๓๒,๒๓๑,๙๖๖
๖๓,๕๒๕,๐๖๒
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๑๓,๕๓๕
๒,๙๘๙,๐๖๐
๕,๗๐๒,๕๙๕
๒
จังหวัดกระบี่
๒๑๓,๔๖๔
๒๑๓,๐๙๒
๔๒๖,๕๕๖
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๑๘,๙๕๕
๔๑๔,๔๖๘
๘๓๓,๔๒๓
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๘,๔๓๓
๔๙๑,๗๒๕
๙๘๐,๑๕๘
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๗๙๒
๓๖๕,๐๕๔
๗๒๖,๘๔๖
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๗๓,๗๓๕
๘๘๘,๕๐๗
๑,๗๖๒,๒๔๒
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๒,๒๒๙
๒๕๙,๐๑๗
๕๑๑,๒๔๖
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๒๘,๓๐๔
๓๔๐,๖๗๙
๖๖๘,๙๘๓
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๓๒,๓๕๖
๖๕๗,๒๓๔
๑,๒๘๙,๕๙๐
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๒,๐๗๗
๑๗๓,๓๔๓
๓๓๕,๔๒๐
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๐,๔๒๒
๕๖๔,๗๔๔
๑,๑๒๕,๑๖๖
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๒,๙๑๕
๒๔๔,๘๒๙
๔๘๗,๗๔๔
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๕๘๘,๘๕๐
๖๐๖,๐๘๓
๑,๑๙๔,๙๓๓
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๙๗,๕๒๑
๘๓๕,๐๒๗
๑,๖๓๒,๕๔๘
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๐๔,๑๕๕
๓๑๔,๕๒๐
๖๑๘,๖๗๕
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๑๑๓
๑๐๙,๘๙๕
๒๒๐,๐๐๘
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๓,๕๕๒
๒๕๖,๑๑๐
๕๑๙,๖๖๒
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๔,๕๔๒
๑๒๗,๑๔๑
๒๕๑,๖๘๓
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๐๙,๓๐๔
๔๔๒,๑๒๒
๘๕๑,๔๒๖
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๔๙,๕๒๓
๓๕๑,๑๖๗
๗๐๐,๖๙๐
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๗๒,๒๖๔
๑,๒๙๙,๐๒๘
๒,๕๗๑,๒๙๒
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๓,๑๙๖
๗๖๓,๓๐๓
๑,๕๑๖,๔๙๙
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๕,๘๘๔
๕๔๖,๙๘๔
๑,๐๗๒,๘๖๘
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๕๐๗,๙๗๒
๕๗๐,๐๙๙
๑,๐๗๘,๐๗๑
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๖๐,๓๖๗
๓๖๗,๗๐๔
๗๒๘,๐๗๑
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๓๙,๙๑๑
๒๓๕,๗๐๓
๔๗๕,๖๑๔
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๗๒,๓๗๗
๗๗๔,๔๐๗
๑,๕๔๖,๗๘๔
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๔๕๕,๕๘๑
๕๐๐,๗๙๕
๙๕๖,๓๗๖
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๓,๑๐๐
๒๕๐,๙๖๓
๕๐๔,๐๖๓
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๙,๑๑๓
๒๓๒,๗๔๑
๔๖๑,๘๕๔
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๙,๕๔๒
๓๒๘,๐๘๒
๖๔๗,๖๒๔
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๗๔,๖๐๕
๔๐๐,๕๕๒
๗๗๕,๑๕๗
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๓๘,๙๖๗
๒๔๘,๑๕๓
๔๘๗,๑๒๐
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๖,๒๗๓
๑๒๕,๓๘๔
๒๕๑,๖๕๗
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๙,๑๗๑
๒๕๘,๖๐๖
๕๐๗,๗๗๗
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๑,๐๗๑
๒๘๒,๑๒๒
๕๕๓,๑๙๓
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๕,๕๙๓
๔๒๙,๙๖๘
๘๔๕,๕๖๑
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๓,๔๖๔
๒๓๗,๗๗๕
๔๖๑,๒๓๙
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๕,๒๖๕
๔๙๙,๘๖๐
๙๙๕,๑๒๕
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๒๕,๕๐๑
๒๓๖,๕๘๙
๔๖๒,๐๙๐
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๕๙,๕๒๖
๑๗๖,๓๘๗
๓๓๕,๙๑๓
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๕,๗๖๓
๔๗๓,๓๒๗
๙๓๙,๐๙๐
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๙,๔๘๗
๑๖๘,๕๖๑
๓๓๘,๐๔๘
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๔,๒๑๑
๑๑๗,๖๓๖
๒๔๑,๘๔๗
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๗๓๔
๒๖๘,๔๐๐
๕๓๙,๑๓๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๓๘,๒๑๕
๒๔๒,๑๑๙
๔๘๐,๓๓๔
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๓,๓๕๓
๖๕๔,๘๐๖
๑,๓๐๘,๑๕๙
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๔,๔๖๖
๘๗,๒๘๘
๑๘๑,๗๕๔
๔๙
จังหวัดระยอง
๓๐๑,๙๘๘
๓๑๐,๑๐๗
๖๑๒,๐๙๕
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๗,๘๕๓
๔๒๗,๓๗๘
๘๓๕,๒๓๑
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๘,๕๓๐
๓๗๕,๙๒๒
๗๕๔,๔๕๒
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๗๖,๘๙๒
๓๘๗,๖๐๖
๗๖๔,๔๙๘
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๒๗๘
๒๐๗,๔๑๕
๔๐๔,๖๙๓
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๔,๐๑๕
๓๐๖,๗๖๕
๖๒๐,๗๘๐
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๒,๗๙๗
๗๒๓,๕๔๘
๑,๔๔๖,๓๔๕
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๙,๑๗๙
๕๕๙,๒๗๐
๑,๑๑๘,๔๔๙
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๕๖,๑๑๓
๖๘๗,๘๔๑
๑,๓๔๓,๙๕๔
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๔๖,๒๙๘
๑๔๖,๘๐๓
๒๙๓,๑๐๑
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๖๒,๙๔๑
๖๐๑,๑๖๔
๑,๑๖๔,๑๐๕
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๒๐๔
๑๐๐,๔๔๓
๑๙๓,๖๔๗
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๓๔,๗๑๔
๒๔๙,๘๙๒
๔๘๔,๖๐๖
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๓,๑๗๓
๒๖๙,๒๗๘
๕๔๒,๔๕๑
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๓,๓๒๔
๓๐๙,๓๘๓
๖๑๒,๗๐๗
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๒,๙๙๓
๑๑๒,๓๐๖
๒๑๕,๒๙๙
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๔,๒๗๖
๓๐๘,๕๓๗
๖๐๒,๘๑๓
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๘๖๓
๔๓๔,๗๒๗
๘๔๔,๕๙๐
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๙๒,๓๖๙
๕๐๑,๘๕๒
๙๙๔,๒๒๑
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๙,๓๐๕
๖๘๘,๕๒๒
๑,๓๗๗,๘๒๗
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๖,๑๓๕
๔๕๑,๑๑๕
๙๐๗,๒๕๐
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๒,๑๑๘
๒๔๘,๗๙๕
๕๐๐,๙๑๓
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๙๖๔
๑๔๗,๘๔๓
๒๘๔,๘๐๗
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๕,๘๙๓
๑๘๔,๙๑๑
๓๗๐,๘๐๔
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๙,๔๔๘
๗๖๙,๔๙๒
๑,๕๓๘,๙๔๐
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๘,๔๑๘
๒๓๔,๕๓๓
๔๖๒,๙๕๑
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๕๖๘
๑๖๖,๓๐๓
๓๒๗,๘๗๑
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๙๐๔,๖๙๘
๘๙๙,๐๕๖
๑,๘๐๓,๗๕๔
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๑๕
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
วงศ์ศักดิ์ สวัสดิ์พาณิชย์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๓
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๓๗ ง/หน้า ๕๗/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๓ |
597834 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๑ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๒๕๕,๘๖๙
๓๒,๑๓๓,๘๖๑
๖๓,๓๘๙,๗๓๐
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๒๒,๓๑๓
๒,๙๘๘,๕๗๐
๕,๗๑๐,๘๘๓
๒
จังหวัดกระบี่
๒๐๙,๘๒๗
๒๐๘,๘๗๘
๔๑๘,๗๐๕
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๓,๙๕๐
๔๑๖,๙๕๕
๘๔๐,๙๐๕
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๘,๒๐๕
๔๙๐,๓๗๘
๙๗๘,๕๘๓
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๕๓๒
๓๖๔,๖๘๑
๗๒๖,๒๑๓
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๗๑,๐๔๗
๘๘๕,๐๕๔
๑,๗๕๖,๑๐๑
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๐,๕๙๙
๒๕๗,๔๒๑
๕๐๘,๐๒๐
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๒๖,๓๖๐
๓๓๘,๔๗๐
๖๖๔,๘๓๐
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๒๑,๐๕๗
๖๔๓,๖๓๐
๑,๒๖๔,๖๘๗
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๒,๓๖๓
๑๗๓,๕๘๙
๓๓๕,๙๕๒
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๙,๒๙๘
๕๖๓,๓๔๙
๑,๑๒๒,๖๔๗
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๑,๘๐๑
๒๔๒,๙๒๑
๔๘๔,๗๒๒
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๐๖,๗๗๕
๖๒๐,๕๔๒
๑,๒๒๗,๓๑๗
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๙,๗๕๐
๘๕๐,๕๖๗
๑,๖๗๐,๓๑๗
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๐๒,๓๔๘
๓๑๒,๕๒๑
๖๑๔,๘๖๙
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๑,๔๖๖
๑๑๐,๓๖๑
๒๒๑,๘๒๗
๑๗
จังหวัดตาก
๒๗๔,๕๔๗
๒๖๓,๗๘๓
๕๓๘,๓๓๐
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๔,๐๑๓
๑๒๖,๗๔๐
๒๕๐,๗๕๓
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๐๖,๔๓๑
๔๓๗,๑๖๘
๘๔๓,๕๙๙
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๔๘,๗๐๑
๓๕๐,๖๖๓
๖๙๙,๓๖๔
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๖๙,๘๘๕
๑,๒๙๕,๒๓๒
๒,๕๖๕,๑๑๗
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๑,๘๒๗
๗๖๑,๓๓๖
๑,๕๑๓,๑๖๓
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๖,๗๐๕
๕๔๗,๕๓๔
๑,๐๗๔,๒๓๙
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๙๖,๙๕๘
๕๕๕,๖๓๔
๑,๐๕๒,๕๙๒
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๕๖,๔๘๑
๓๖๓,๔๔๙
๗๑๙,๙๓๐
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๑๑๓
๒๓๕,๘๗๑
๔๗๕,๙๘๔
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๖๙,๖๗๐
๗๗๑,๙๘๐
๑,๕๔๑,๖๕๐
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๔๔๓,๑๙๑
๔๘๖,๐๕๙
๙๒๙,๒๕๐
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๑,๔๒๘
๒๔๘,๙๕๐
๕๐๐,๓๗๘
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๘,๐๘๓
๒๓๑,๒๙๖
๔๕๙,๓๗๙
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๖,๙๘๖
๓๒๕,๑๘๓
๖๔๒,๑๖๙
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๗๑,๕๕๗
๓๙๗,๕๖๙
๗๖๙,๑๒๖
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๓๙,๖๓๘
๒๔๗,๗๔๘
๔๘๗,๓๘๖
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๕,๔๒๐
๑๒๔,๕๑๓
๒๔๙,๙๓๓
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๗,๙๙๘
๒๕๗,๑๓๑
๕๐๕,๑๒๙
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๑,๕๙๙
๒๘๒,๕๑๓
๕๕๔,๑๑๒
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๕,๑๐๖
๔๒๘,๘๘๙
๘๔๓,๙๙๕
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๒,๔๒๑
๒๓๖,๕๕๔
๔๕๘,๙๗๕
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๕,๙๖๘
๕๐๐,๒๖๓
๙๙๖,๒๓๑
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๒๖,๔๖๖
๒๓๗,๐๑๑
๔๖๓,๔๗๗
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๕๕,๕๕๕
๑๗๑,๔๕๑
๓๒๗,๐๐๖
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๔,๕๗๙
๔๗๒,๒๗๕
๙๓๖,๘๕๔
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๙,๒๖๐
๑๖๘,๒๓๗
๓๓๗,๔๙๗
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๓๐,๕๗๑
๑๒๒,๑๒๑
๒๕๒,๖๙๒
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๘๐๑
๒๖๘,๔๘๓
๕๓๙,๒๘๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๓๖,๑๗๘
๒๓๙,๓๔๙
๔๗๕,๕๒๗
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๒,๘๖๒
๖๕๔,๓๕๐
๑,๓๐๗,๒๑๒
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๕,๓๑๓
๘๗,๔๑๖
๑๘๒,๗๒๙
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๙๕,๔๒๔
๓๐๓,๒๔๐
๕๙๘,๖๖๔
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๙,๑๑๕
๔๒๖,๗๔๖
๘๓๕,๘๖๑
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๘,๔๕๕
๓๗๕,๓๔๖
๗๕๓,๘๐๑
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๗๘,๗๔๔
๓๘๘,๘๗๑
๗๖๗,๖๑๕
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๕๓๗
๒๐๗,๕๘๘
๔๐๕,๑๒๕
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๒,๙๔๒
๓๐๕,๔๘๑
๖๑๘,๔๒๓
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๐,๑๓๘
๗๒๑,๒๗๔
๑,๔๔๑,๔๑๒
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๘,๐๐๗
๕๕๘,๐๒๗
๑,๑๑๖,๐๓๔
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๕๒,๕๒๕
๖๘๓,๒๔๓
๑,๓๓๕,๗๖๘
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๔๓,๘๑๖
๑๔๔,๕๙๓
๒๘๘,๔๐๙
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๕๕,๘๑๑
๕๙๑,๔๑๓
๑,๑๔๗,๒๒๔
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๓๓๑
๑๐๐,๗๒๓
๑๙๔,๐๕๔
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๓๑,๘๐๓
๒๔๖,๓๔๓
๔๗๘,๑๔๖
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๒,๘๗๔
๒๖๘,๕๕๑
๕๔๑,๔๒๕
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๘,๒๖๓
๓๑๓,๓๗๗
๖๒๑,๖๔๐
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๓,๑๑๘
๑๑๒,๔๓๓
๒๑๕,๕๕๑
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๔,๖๕๗
๓๐๙,๑๖๐
๖๐๓,๘๑๗
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๐,๒๐๔
๔๓๔,๒๙๔
๘๔๔,๔๙๘
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๘๗,๔๕๕
๔๙๖,๐๓๑
๙๘๓,๔๘๖
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๘,๑๔๒
๖๘๗,๔๑๘
๑,๓๗๕,๕๖๐
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๖,๐๖๘
๔๕๐,๘๐๙
๙๐๖,๘๗๗
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๑,๔๒๙
๒๔๘,๐๙๑
๔๙๙,๕๒๐
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๗,๐๕๒
๑๔๗,๗๗๙
๒๘๔,๘๓๑
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๕,๑๗๒
๑๘๔,๓๐๔
๓๖๙,๔๗๖
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๘,๑๒๒
๗๖๗,๕๐๗
๑,๕๓๕,๖๒๙
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๙,๒๐๗
๒๓๔,๙๙๘
๔๖๔,๒๐๕
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๕๐๕
๑๖๖,๐๘๑
๓๒๗,๕๘๖
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๙๙,๙๕๑
๘๙๕,๕๐๒
๑,๗๙๕,๔๕๓
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒
วงศ์ศักดิ์ สวัสดิ์พาณิชย์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๑๖ ง/หน้า ๑๕/๓๐ มกราคม ๒๕๕๒ |
717722 | ประกาศสำนักงานกลาง เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการขอหนังสือรับรองการเกิดตามมาตรา 20/1 แห่งพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการขอหนังสือรับรองการเกิด
ตามมาตรา ๒๐/๑
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
โดยที่กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรกำหนดให้กรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้สัญชาติไทยแก่กลุ่มบุคคลใด
หรือให้กลุ่มบุคคลใดแปลงสัญชาติเป็นไทยได้ หรือกรณีมีเหตุจำเป็นอื่น
และบุคคลดังกล่าวมีความจำเป็นต้องมีหนังสือรับรองการเกิด
ให้บุคคลดังกล่าวยื่นคำขอหนังสือรับรองการเกิดตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๑
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๕๖
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดหลักเกณฑ์
เงื่อนไขและวิธีการในการขอหนังสือรับรองการเกิดไว้ ดังต่อไปนี้
๑. บุคคลที่เกิดในราชอาณาจักรไทยแต่ไม่ได้แจ้งการเกิด
หรือแจ้งการเกิดแล้ว
แต่ไม่มีสูติบัตรหรือสูติบัตรชำรุดสูญหายและสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องไม่สามารถคัดสำเนาสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิดได้หากมีความจำเป็นต้องมีหนังสือรับรองการเกิด
ให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ณ สำนักทะเบียนแห่งที่ผู้นั้นเกิด
หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีภูมิลำเนาอยู่ปัจจุบัน พร้อมด้วยรูปถ่ายหน้าตรง
ขนาด ๒ นิ้ว จำนวน ๒ รูป สำเนาทะเบียนบ้านหรือสำเนาทะเบียนประวัติ เช่น ท.ร.๓๘
ท.ร.๓๘/๑ ท.ร.๓๘ ก หรือ ท.ร.๓๘ ข เป็นต้น และหลักฐานที่แสดงว่าเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักรไทย
(ถ้ามี) เช่น หลักฐานการลงบัญชีทหารกองเกิน (การขึ้นทะเบียนทหาร)
ใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว เป็นต้น ทั้งนี้
ถ้าผู้ขอหนังสือรับรองการเกิดเป็นเด็กที่มีอายุไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์
ให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองที่อุปการะเลี้ยงดูเด็กเป็นผู้ยื่นคำขอแทน
๒. เมื่อนายทะเบียนได้รับคำขอหนังสือรับรองการเกิด
พร้อมด้วยหลักฐานจากผู้ยื่นคำขอแล้วให้นายทะเบียนออกใบรับให้แก่ผู้ยื่นคำขอไว้เป็นหลักฐาน
โดยอาจใช้วิธีการคัดสำเนาคำขอดังกล่าวแล้วลงชื่อนายทะเบียนรับรองสำเนาเอกสารเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงการรับเรื่องจากผู้ยื่นคำขอก็ได้
และให้ดำเนินการ ดังนี้
๒.๑
ให้ตรวจสอบหลักฐานการมีชื่อและรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรและสอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริงว่าผู้ยื่นคำขอหนังสือรับรองการเกิดเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้มีชื่อในเอกสารการทะเบียนราษฎรหรือไม่
๒.๒ สอบสวนผู้ยื่นคำขอให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับบิดา มารดา
สัญชาติของบิดา มารดา สถานที่เกิด จำนวนพี่น้องร่วมบิดา มารดา และที่อยู่ปัจจุบัน
แล้วให้ผู้ยื่นคำขอลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในบันทึกการสอบสวนต่อหน้านายทะเบียนที่ทำการสอบสวนและพยานอย่างน้อย
๒ คน
๒.๓ สอบสวนบิดา มารดาผู้ให้กำเนิดหรือผู้ปกครองที่อุปการะเลี้ยงดูของผู้ขอหนังสือรับรองการเกิด
(ถ้ามี) และพยานบุคคลผู้น่าเชื่อถือเพื่อให้การรับรองเรื่องสถานที่เกิด
และประวัติความเป็นมาของบิดาและมารดาผู้ให้กำเนิดของผู้ขอหนังสือรับรองการเกิด
พยานบุคคลผู้น่าเชื่อถือ หมายถึง ผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้วและต้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
มีฐานะมั่นคง เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนในท้องถิ่น
มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งชัดเจน และรู้จักคุ้นเคยกับครอบครัวผู้ยื่นคำขอเป็นอย่างดี
เป็นผู้รู้เห็นการเกิดหรือสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะการเกิดของผู้ขอหนังสือรับรองการเกิด
ถ้าเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการบำนาญต้องดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ
๓ หรือเทียบเท่าระดับ ๓ ขึ้นไป หรือกำนันหรือผู้ใหญ่บ้าน
๒.๔
ในกรณีผู้ขอหนังสือรับรองการเกิดมีถิ่นที่เกิดในเขตพื้นที่สำนักทะเบียนอื่นและผู้ขอไม่อาจนำพยานหลักฐานหรือพยานบุคคลมาให้นายทะเบียนที่รับคำขอสอบสวนได้
ให้นายทะเบียนที่รับคำขอส่งประเด็นไปให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องตรวจสอบและสอบสวนแทน
เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว ให้ส่งหลักฐานและบันทึกการสอบสวนไปยังสำนักทะเบียนที่รับคำขอ
ทั้งนี้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดังกล่าวดำเนินการตรวจสอบหลักฐานและสอบสวนพยานบุคคลให้แล้วเสร็จโดยเร็วภายในระยะเวลาไม่เกินสามสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับเรื่องจากสำนักทะเบียนที่ร้องขอ และหากไม่สามารถดำเนินการได้
ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้แจ้งเหตุที่ไม่อาจดำเนินการนั้นภายในระยะเวลาดังกล่าวด้วย
๒.๕ ให้ผู้ยื่นคำขอหนังสือรับรองการเกิดนำพยานเอกสาร พยานบุคคล
และพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องไปให้นายทะเบียนตรวจสอบและสอบสวนภายในระยะเวลาเก้าสิบวันนับแต่วันที่ยื่นคำขอ
๒.๖ เมื่อผู้ยื่นคำขอหนังสือรับรองการเกิดได้นำพยานเอกสาร
พยานบุคคลและพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องเสนอต่อนายทะเบียนและได้ดำเนินการตาม ๒.๑
ถึง ๒.๔ แล้วให้นายทะเบียนรวบรวมคำขอและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
พร้อมความเห็นเสนอนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นภายในเจ็ดวัน
นับแต่วันที่นายทะเบียนได้รับพยานหลักฐานครบถ้วน
นายทะเบียนผู้ทำการสอบสวนตาม ๒.๒, ๒.๓ และ ๒.๔ หมายถึง
นายทะเบียนอำเภอนายทะเบียนท้องถิ่น
ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอที่นายทะเบียนอำเภอมอบหมาย
และผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่นที่นายทะเบียนท้องถิ่นมอบหมาย
๓. เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบความถูกต้องของพยานเอกสารและความครบถ้วนสมบูรณ์ของประเด็นการสอบสวนพยานบุคคลแล้ว
ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับเรื่องจากนายทะเบียนตาม
๒.๖
๔. กรณีนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาเห็นว่า
พยานหลักฐานของผู้ขอน่าเชื่อได้ว่าเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักรไทย
ให้ออกหนังสือรับรองการเกิดตามแบบ ท.ร.๒๐/๑ ท้ายประกาศนี้ให้แก่ผู้ขอ
หนังสือรับรองการเกิดตามแบบ ท.ร.๒๐/๑ ให้นายทะเบียนจัดทำเป็น ๒ ตอน
มีรายการเหมือนกัน โดยตอนที่ ๑ มอบให้แก่ผู้ขอ ส่วนตอนที่ ๒
ให้เก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียน สามารถตรวจสอบและคัดรับรองสำเนาได้ ทั้งนี้
ให้นายทะเบียนจัดทำทะเบียนคุมการออกหนังสือรับรองการเกิดไว้เป็นหลักฐานและลงรายการให้เป็นปัจจุบันเสมอ
๕. กรณีนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาเห็นว่า
พยานหลักฐานของผู้ขอไม่เพียงพอที่จะยืนยันได้ว่าเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักรไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสั่งไม่อนุญาต
แล้วแจ้งคำสั่งดังกล่าวให้ผู้ขอหนังสือรับรองการเกิดเป็นหนังสือภายในสามวัน
นับแต่วันที่มีคำสั่ง โดยให้ระบุเหตุผลซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วย
ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ข้อกฎหมายที่อ้างอิง ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจของนายทะเบียน
สิทธิในการอุทธรณ์ การยื่นคำอุทธรณ์และระยะเวลาการอุทธรณ์ไว้ในหนังสือดังกล่าวด้วย
การอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นต้องทำเป็นหนังสือ
โดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วย
๖. การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียน พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
วิชัย ศรีขวัญ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. หนังสือรับรองการเกิด (แบบ ท.ร.๒๐/๑)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒ มิถุนายน
๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๐๓ ง/หน้า ๒๓/๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
590693 | ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดทำทะเบียนบ้าน และการจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง การจัดทำทะเบียนบ้าน
และการจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
ตามมาตรา ๓๘
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๓๘ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดประเภทของคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองที่ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนบ้าน
และคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยอื่นที่ให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนประวัติ
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ให้นายทะเบียนอำเภอและนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนบ้านและบันทึกรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) ตามมาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง ได้แก่
(๑)
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยเนื่องจากการสละสัญชาติไทย
การถูกถอนสัญชาติไทยหรือการเสียสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
และยังไม่ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว
(๒)
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
(๓)
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ซึ่งมีเงื่อนไขว่าไม่สามารถส่งกลับประเทศต้นทางได้หรือมีมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้สถานการณ์อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรได้ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
(๔)
บุตรของคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตาม (๑) (๒) หรือ (๓)
ที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทย
ข้อ ๒ คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนประวัติตามมาตรา
๓๘ วรรคสอง ได้แก่
(๑)
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองโดยมีกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดของการผ่อนผันไว้อย่างชัดเจนเป็นเวลาน้อยกว่าห้าปี
หรือไม่มีมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้สถานการณ์อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
รวมถึงบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทย
(๒)
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยกลุ่มอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักร นอกจากกลุ่มบุคคลตามข้อ
๑ และ (๑) ของข้อนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๑๘
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๔ ง/หน้า ๑๖/๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
590691 | ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กตามมาตรา 19/1 แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง
หน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก
ตามมาตรา ๑๙/๑
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดหน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้แจ้งการเกิดให้กับเด็กเร่ร่อนหรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้งซึ่งอยู่ในการอุปการะของหน่วยงาน
ดังต่อไปนี้
ลำดับ
ชื่อหน่วยงาน
จังหวัด/สถานที่ตั้ง
กรุงเทพมหานคร
๑
มูลนิธิสตรีไทยมุสลิม
๑๙๗๘
ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตยานนาวา
๒
สมาคมสงเคราะห์เด็กกำพร้า
แห่งประเทศไทย
๔๓๗
ถนนสุขสวัสดิ์ ๕๒ เขตราษฎร์บูรณะ
๓
สถานสงเคราะห์เซ็นต์หลุยส์
๒๑๕
โรงพยาบาลเซ็นต์หลุยส์ เขตสาทรใต้
๔
บ้านเด็กเมอร์ซี่
มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาบุคคล
๑๐๐/๑๑
ซอยเคหะคลองเตย ๔ ถนนดำรงลัทธพิพัฒน์
แขวงคลองเตย
เขตคลองเตย
๕
มูลนิธิมิตรมวลเด็ก
๒๕ ซอยร่วมฤดี
ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน
๖
มูลนิธิสงเคราะห์เด็กสภากาชาดไทย
๑๘๗๓
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ถนนอังรีดูนัง แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน
๗
มูลนิธิธรรมิกชนเพื่อคนตาบอด
๒๑/๑๓
หมู่บ้านมงคลทรัพย์ ถนนรามอินทรา แขวงท่าแร้ง
เขตบางเขน
๘
มูลนิธิบ้านนกขมิ้น
๘๕/๘๓ หมู่ที่ ๑
แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม
๙
บ้านเด็กหญิงเมอร์ซี่
มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาบุคคล
๓๗๕๗/๑๕
ถนนพระราม ๔ แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
๑๐
มูลนิธิเคโวเคียน
๕๙/๓๓
ซอยท่านหญิงพวงรัตน์ประไพ ถนนสุขุมวิท ๒๖
แขวงคลองเตย
เขตคลองเตย
๑๑
บ้านคุ้มครองเด็ก
๑
มูลนิธิคุ้มครองเด็ก
๘๐/๑ ซอยลาดพร้าว
๑๐๖ ถนนลาดพร้าว แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง
๑๒
สหทัยมูลนิธิ
๘๕๐/๓๓
ซอยปรีดีพนมยงค์ ๓๖ สุขุมวิท ๗๑ เขตวัฒนา
๑๓
มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก
๖๘๔
หมู่บ้านโชคชัยอนันต์ ๓ ซอยพหลโยธิน ๓๕
ถนนพหลโยธิน
แขวงลาดยาว เขตบางเขน
จังหวัดขอนแก่น
๑๔
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านแห่งความ
เมตตา
๒๓๖/๑
ถนนเทพารักษ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
ขอนแก่น
๑๕
สถานสงเคราะห์เด็กผู้พิการ
นักบุญเยราร์ด
๑๖๔/๑๖ หมู่ที่
๑๖ ถนนมะลิวัลย์ ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองขอนแก่น
๑๖
สถานสงเคราะห์เด็กโครงการ
บ้านฉัน
๒๑๗/๑ หมู่ที่ ๒
บ้านหนองคม ถนนมิตรภาพ
ตำบลโนนสมบูรณ์
อำเภอบ้านแฮด
จังหวัดจันทบุรี
๑๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเด็ก
พระคุณ
โรงเรียนวัดสระแก้ว
หมู่ที่ ๓ ถนนท่าใหม่ - พระยาตรัง
ตำบลพลอยแหวน
อำเภอท่าใหม่
จังหวัดชลบุรี
๑๘
สถานสงเคราะห์เด็กพระคริส
เอื้ออารีอนุสรณ์เพ็กหุย
๓๘๘/๘ หมู่ที่ ๑
ถนนสุขาภิบาล ๓ ตำบลคลองกิ่ว
อำเภอบ้านบึง
๑๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเด็กกำพร้า
บ้านลอเรนโซ
๙๘ หมู่ที่ ๖
ตำบลกุฎโอ้ง อำเภอพนัสนิคม
๒๐
สถานสงเคราะห์เด็กเมอร์ซี่
เซ็นเตอร์
๗/๑๑ หมู่ที่ ๑๑
ซอยหนองใหญ่ซอย ๘ ตำบลหนองปรือ
อำเภอบางละมุง
๒๑
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านรักชีวิต
๓๒๖/๖๖ หมู่ที่ ๘
ถนนสุขุมวิท ตำบลนาเกลือ
อำเภอบางละมุง
๒๒
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพระคุณ
๗๗ หมู่ที่ ๒
ถนนชลบุรี - แกลง ตำบลห้างสูง อำเภอ
หนองใหญ่
๒๓
สถานสงเคราะห์เด็กกำพร้าพัทยา
๓๘๔ หมู่ที่ ๖
ถนนสุขุมวิท ตำบลนาเกลือ อำเภอ
บางละมุง
๒๔
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านชื่นชีวิต
ศรีราชา
๓๒๓/๒ หมู่ที่ ๘
ถนนสุรศักดิ์ ๒ ตำบลศรีราชา
อำเภอศรีราชา
๒๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเด็กด้อย
โอกาส พระมหาไถ่
๑๒/๕ หมู่ที่ ๗
ซอยเนินพลับหวาน ตำบลหนองปรือ
อำเภอบางละมุง
จังหวัดเชียงราย
๒๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสันติสุข
คริสเตียน ๒
๑๕๕ หมู่ที่ ๓
ตำบลโยนก อำเภอเชียงแสน
๒๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านชีวิตใหม่
๕๙๑ ถนนเชียงราย
- เทิง ตำบลท่าสาย อำเภอเมือง
เชียงราย
๒๘
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสันติ
เวียงป่าเป้า
๓๔ หมู่ที่ ๖ ซอย
๙ ถนนเชียงราย - เชียงใหม่ ตำบลเวียง
อำเภอเวียงป่าเป้า
๒๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพักเด็ก
ข่าวดี
๓๑/๑ หมู่ที่ ๑๗
ถนนแม่อาย - แม่จัน ตำบลป่าตึง
อำเภอแม่จัน
๓๐
สถานสงเคราะห์เด็กลาหู่ (บ้านร่วมใจ)
๑๗๕ หมู่ที่ ๑
ตำบลดอยฮาง อำเภอเมืองเชียงราย
๓๑
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเด็กร่วมใจ
๙ หมู่ที่ ๑๑
ตำบลเวียง อำเภอเวียงป่าเป้า
๓๒
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพระคุณ
พันธทรสากล
๑๔๕ หมู่ที่ ๖
ตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมืองเชียงราย
๓๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเบธเอล
๒๙๑ หมู่ที่ ๖
ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย
๓๔
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพักเด็กหญิงอิมมานูเอลฯ
เด็กหญิงแม่สาย
๑๓๐ หมู่ที่ ๕
ซอย ๑๐ ถนนพหลโยธิน ตำบลเอียงฟางคำ
อำเภอแม่สาย
๓๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเอเดน
๒๐๐ หมู่ที่ ๑๔
ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย
๓๖
สถานสงเคราะห์เด็กคามิลเลียน
โซเซียลเซ็นเตอร์
เชียงราย
๑๐๑ หมู่ที่ ๘
ซอย ๓ ถนนเชียงราย - แม่สาย ตำบลท่าสุด
อำเภอเมืองเชียงราย
๓๗
สถานสงเคราะห์บ้านสันติสุข
คริสเตียน ๑
๑๙๓ หมู่ที่ ๔
ตำบลนางแล อำเภอเมืองเชียงราย
๓๘
สถานสงเคราะห์บ้านแม่น้ำแห่งชีวิต
๘๙ หมู่ที่ ๖ ซอย
๓ ถนนโป่งพระบาท ตำบลบ้านดู่
อำเภอเมืองเชียงราย
๓๙
สถานสงเคราะห์บ้านชีวิตใหม่
แม่จัน
๑๘๐ หมู่ที่ ๒
ถนนป่าซาง - ดอยแม่สลอง ตำบลป่าซาง
อำเภอแม่จัน
๔๐
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านชีวิตใหม่
แม่สรวย
๑๒๘ หมู่ที่ ๔
ถนนบ้านแม่ยางมินท์เหนือ ตำบลศรีถ้อย
อำเภอแม่สรวย
๔๑
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสดุดี
๒๐๘ หมู่ที่ ๒๑
ถนนเด่นห้า - ดงมะดะ ตำบลป่าอ้อ
ดอนชัย
อำเภอเมืองเชียงราย
๔๒
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพักพิง
๓๔๒ หมู่ที่ ๓
ถนนเชียงราย - เวียงชัย ตำบลรองเวียง
อำเภอเมืองเชียงราย
๔๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสันติสุข
คริสเตียน ๓
๑๑๓ หมู่ที่ ๒๓
ถนนเทิง - เชียงคำ ตำบลเวียง อำเภอเทิง
๔๔
สถานสงเคราะห์เด็กหมู่บ้านเด็ก
โสสะเชียงรายฯ
๒๓๖ หมู่ที่ ๕
ตำบลท่าสุด อำเภอเมืองเชียงราย
๔๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านน้ำใจ
๔๕๐/๑ หมู่ที่ ๑๘
ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย
๔๖
สถานสงเคราะห์เด็กพรประเสริฐ
๑๔๔ หมู่ที่ ๔
ตำบลโป่งผา อำเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงใหม่
๔๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเมตตา
เด็กเชียงดาว
๑๙๔ หมู่ที่ ๘
ตำบลเมืองราย อำเภอเชียงดาว
๔๘
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านมิตราทร
๑๖๗ หมู่ที่ ๘
ถนนเชียงใหม่ - ฝาง ตำบลเชียงดาว
อำเภอเชียงดาว
๔๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านอิ่มใจ
๒๘๕ หมู่ที่ ๒
ตำบลสันผักหวาน อำเภอหางดง
๕๐
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านศิโยน
๒๘๗ หมู่ที่ ๗
ถนนเชียงใหม่ - พร้าว ตำบลหนองหาร
อำเภอสันทราย
๕๑
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์พันธกิจเพื่อชีวิตเด็ก
๓๑๔ หมู่ที่ ๕
บ้านห้วยงูใน ตำบลสันทราย อำเภอฝาง
๕๒
สถานสงเคราะห์เด็กเคอสถาน
มรกต
๖๗ หมู่ที่ ๑๒
ถนนแม่มาลัย - ปาย บ้านส้อง ตำบลสบเปิง
อำเภอแม่แตง
๕๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านฟ้าใส
๑๘๐ หมู่ที่ ๕
ตำบลฮอด อำเภอฮอด
๕๔
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านกิ่งแก้ว
วิบูลสันติ
เชียงใหม่
๗๕ ถนนวัวลาย
ตำบลหางดง อำเภอเมืองเชียงใหม่
๕๕
สถานสงเคราะห์เด็กพันธกิจ
บ้านศิลา
๓๑/๑ หมู่ที่ ๑๖
ตำบลศรีดงเย็น อำเภอไชยปราการ
๕๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสานฝัน
๑๕๑ หมู่ที่ ๒
ถนนบ่อสร้าง ตำบลแม่ตือ อำเภอสารภี
๕๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านอากาเป้
๒๒๔ หมู่ที่ ๑
ซอยบ้านฟ้ามุ่ย ตำบลหนองจ๊อม
อำเภอสันทราย
๕๘
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านอุ่นใจ
๖๓/๔ ซอย ๘
ราษฎร์อุทิศ ตำบลวัดเกตุ อำเภอเมือง
เชียงใหม่
๕๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านชื่นชมยินดี
๑๘/๑๑ หมู่ที่ ๒
ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่
๖๐
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสันติ
๒๙ - ๒๒ หมู่ที่
๒ ซอยศรีสุข ๑ ถนนทุ่ง ตำบลวัดเกตุ
อำเภอเมืองเชียงใหม่
๖๑
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านร่มไทร
๒๓/๑ หมู่ที่ ๔
ถนนค้นคลอง ตำบลน้ำแพร่ อำเภอ
หางดง
๖๒
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านรุ้ง
๑๕๒ หมู่ที่ ๑๒
บ้านดอนตัน ตำบลยุหว่า อำเภอสันป่าตอง
๖๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสานรัก
๙๙/๘๕
ถนนเชียงใหม่ - สะเมิง ตำบลหนองควาย
อำเภอหางดง
จังหวัดนครนายก
๖๔
สถานสงเคราะห์เด็กหญิง
บ้านความหวังเมตตา
๓๐ หมู่ที่ ๓
ตำบลคลองใหญ่ อำเภอองครักษ์
จังหวัดนครปฐม
๖๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านทานตะวัน
๙๕/๒๔ หมู่ที่ ๖
ซอยเกียรติร่วมมิตร ถนนพุทธมณฑล สาย ๔ ตำบลกระทุ่มล้ม อำเภอสามพราน
จังหวัดนครราชสีมา
๖๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านมิตรภาพ
๑๐๑/๑
ตำบลสูงเนิน อำเภอสูงเนิน
จังหวัดนครสวรรค์
๖๗
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิ
แสงสวรรค์สงเคราะห์
๑๐๙๓ หมู่ที่ ๑๐ ถนนพหลโยธิน
ตำบลนครสวรรค์ตก
อำเภอเมืองนครสวรรค์
จังหวัดนนทบุรี
๖๘
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิ
คริสเตียนเพื่อเด็กพิการ
๑๘/๑๐๗๕ หมู่ที่
๕ ซอยวัดกู้ ถนนสุขาประชาสรรค์ ๒
ตำบลบางพูด
อำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนราธิวาส
๖๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสุชาดา
๕๑ ถนนทรายทอง
ตำบลสุไหงโกลก อำเภอสุไหงโก - ลก
จังหวัดพะเยา
๗๐
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์พักพิงใจ
๒๗ หมู่ที่ ๗
ตำบลบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้
๗๑
สถานสงเคราะห์เด็กหญิง
บ้านพระพร
๒๐๖ หมู่ที่ ๑
ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ
๗๒
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์เยาวชน
เพื่อพัฒนาชีวิต
๔๑๒ หมู่ที่ ๘
ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ
๗๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านร่มพระคุณ
๔๕ - ๔๖ หมู่ที่
๑๑ ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ
๗๔
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิพัฒนา
เยาวสตรี
ภาคเหนือ
๑๐๘ หมู่ที่ ๘
ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ
๗๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านร่มเย็น
๖๙/๑ หมู่ที่ ๘
ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ
จังหวัดพิษณุโลก
๗๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านร่มพระคุณ
๓๙/๑ ซอยพระลือ ๓
ถนนพระร่วม ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองพิษณุโลก
จังหวัดเพชรบูรณ์
๗๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพรสวรรค์
๖๒๐ หมู่ที่ ๒
ตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่
๗๘
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเบธเลเฮม
๘๕/๑ หมู่ที่ ๑๓
ถนนพระพุทธบาท ตำบลสะเดียว
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์
๗๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านแห่งความ
เมตตา
๑๓๑ หมู่ที่ ๑๓
ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก
จังหวัดภูเก็ต
๘๐
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเพื่อชีวิต
๑๐/๑๑ หมู่ที่ ๑
ตำบลรัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต
๘๑
สถานสงเคราะห์เด็กชาย
บ้านฟุตบอลเยาวชน
๑๔๒/๔ - ๕
ถนนบ้านเหรียง หมู่ที่ ๓ ตำบลเทพกระษัตรี
อำเภอถลาง
จังหวัดระยอง
๘๒
มูลนิธิคณะนักบุญคามิลโล
สถานสงเคราะห์เด็กเอกชน
คามิลเลียนโซเซียลเซ็นเตอร์ระยอง
๑/๑ ซอยคีรี
ตำบลห้วยโป่ง อำเภอเมืองระยอง
จังหวัดลำพูน
๘๓
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์พันธกิจ
สันติภาพ ลำพูน
๙๔
ถนนรอบเมืองนอก ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๘๔
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์พัฒนา
เครือข่ายเด็กและชุมชน
๗ หมู่ที่ ๒
บ้านแม่คะตวน ตำบลสบเมย อำเภอสบเมย
จังหวัดเลย
๘๕
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์สร้างสรรค์และพัฒนาชีวิตเด็กและเยาวชนบ้านเบธาเนีย
๒๐๖ ซอยเมทาเนีย
ถนนศรีสงคราม อำเภอวังสะพุง
จังหวัดสกลนคร
๘๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านร่มเย็น
วานรนิวาส
๖๖ หมู่ที่ ๓
ตำบลวานรนิวาส อำเภอวานรนิวาส
จังหวัดสงขลา
๘๗
สถานสงเคราะห์เด็กหมู่บ้านเด็ก
โสสะหาดใหญ่
๕๘/๖
ถนนกาญจนวานิชย์ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่
จังหวัดสุพรรณบุรี
๘๘
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิอนุสรณ์
พล.อ.ท.พระยาเฉลิมอากาศ
๔๒๓ หมู่ที่ ๓
ตำบลสามชุก อำเภอสามชุก
จังหวัดสุโขทัย
๘๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านนกขมิ้น
๑๒๕ หมู่ที่ ๕
ตำบลทุ่งเสลี่ยม อำเภอทุ่งเสลี่ยม
จังหวัดสตูล
๙๐
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเอมิเรตส์
๔๓๐ หมู่ที่ ๒
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล
จังหวัดสมุทรปราการ
๙๑
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านตะวันใหม่
๓๙/๑ หมู่ที่ ๕
ตำบลคลองสวน อำเภอบางบ่อ
๙๒
สถานสงเคราะห์เด็กหมู่บ้านเด็ก
โสสะแห่งประเทศไทย
๓๘๓ หมู่ที่ ๒
ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านคุ้มครอง
เด็ก ๒
๒๘ หมู่ที่ ๗
ตำบลสวนหลวง อำเภออัมพวา
๙๔
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านคุ้มครอง
เด็ก ๓
บ้านริมน้ำ
๕๖ หมู่ที่ ๑
ตำบลสวนหลวง อำเภออัมพวา
จังหวัดหนองคาย
๙๕
สถานสงเคราะห์เด็กหมู่บ้านเด็ก
โสสะเฉลิมนารินทร์
หนองคาย
๑๘๕ หมู่ที่ ๓
ถนนมิตรภาพ ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมือง
หนองคาย
๙๖
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิ
หนองคายสายสัมพันธ์
๙๖๕ ถนนประจักษ์
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองคาย
๙๗
สถานสงเคราะห์เด็กมูลนิธิ
มิตรมวลเด็ก
๑๑๕๒
ซอยจิตตะปัญญา ถนนประจักษ์ ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองหนองคาย
จังหวัดหนองบัวลำภู
๙๘
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านคุณแม่
เกเรซา
๑๖๘/๘ - ๑๕
หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง
หนองบัวลำภู
๙๙
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านเอลีชา
๑๖๑ หมู่ที่ ๓
ถนนอุดร - เมืองเลย ตำบลนาคำไฮ
อำเภอเมืองหนองบัวลำภู
จังหวัดอ่างทอง
๑๐๐
สถานสงเคราะห์เด็กวัดสระแก้ว
จิตเมตตาอารี
๑/๑ หมู่ที่ ๓
ตำบลบางเสด็จ อำเภอป่าโมก
๑๐๑
สถานสงเคราะห์เด็กวัดโบสถ์
วรดิตถ์จิตกรุณา
๒๑๐/ค ตำบลป่าโมก
อำเภอป่าโมก
จังหวัดอุดรธานี
๑๐๒
สถานสงเคราะห์เด็กศูนย์เยาวชน
มุสลิม อุดรธานี
๑๗๕ หมู่ที่ ๘ บ้านหนองหมื่นข้าว
ตำบลโนนสูง
อำเภอเมืองอุดรธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
๑๐๓
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพระพร
๑๘๐ หมู่ที่ ๔
ตำบลบุ่งไหม อำเภอวารินชำราบ
๑๐๔
สถานสงเคราะห์เด็กกำพร้าอีสาน
๒๔๘ หมู่ที่ ๒
ถนนแจ้งสนิท ตำบลแจระแม อำเภอเมือง
อุบลราชธานี
๑๐๕
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพักพิง
๒๙๗/๘ หมู่ที่ ๒
ถนนเจตวัน ตำบลเมืองเดช อำเภอ
เดชอุดม
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๐๖
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านพรแดนสรวง
๓๐ หมู่ที่ ๔
ถนนชยางกูร ตำบลโนนหนามแท่ง
อำเภอเมืองอำนาจเจริญ
๑๐๗
สถานสงเคราะห์เด็กบ้านซามูเอล
๑๔๒ หมู่ที่ ๒
ถนนชยางกูร ตำบลโนนหนามแท่ง
อำเภอเมืองอำนาจเจริญ
ประกาศ ณ วันที่ ๑๘
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๔ ง/หน้า ๖/๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
570895 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๐[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตาม
หลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๐๙๕,๙๔๒
๓๑,๙๔๒,๓๐๕
๖๓,๐๓๘,๒๔๗
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๒๗,๕๗๔
๒,๙๘๘,๖๗๔
๕,๗๑๖,๒๔๘
๒
จังหวัดกระบี่
๒๐๖,๐๔๘
๒๐๔,๕๘๖
๔๑๐,๖๓๔
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๑,๗๐๗
๔๑๓,๕๗๕
๘๓๕,๒๘๒
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๗,๕๗๔
๔๘๙,๙๓๔
๙๗๗,๕๐๘
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๕๒๓
๓๖๔,๔๗๑
๗๒๕,๙๙๔
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๙,๓๘๖
๘๘๓,๐๒๘
๑,๗๕๒,๔๑๔
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๘,๘๔๒
๒๕๕,๑๖๑
๕๐๔,๐๐๓
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๒๓,๕๐๐
๓๓๕,๔๖๖
๖๕๘,๙๖๖
๙
จังหวัดชลบุรี
๖๐๗,๐๒๙
๖๒๖,๔๑๗
๑,๒๓๓,๔๔๖
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๒,๙๔๗
๑๗๔,๒๐๐
๓๓๗,๑๔๗
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๗,๗๒๕
๕๖๑,๘๗๒
๑,๑๑๙,๕๙๗
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๔๐,๑๘๖
๒๔๑,๑๑๒
๔๘๑,๒๙๘
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๐๕,๙๖๓
๖๑๙,๐๕๐
๑,๒๒๕,๐๑๓
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๗,๕๒๔
๘๔๖,๘๗๕
๑,๖๖๔,๓๙๙
๑๕
จังหวัดตรัง
๓๐๐,๑๕๔
๓๑๐,๑๗๘
๖๑๐,๓๓๒
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๘๗๖
๑๐๙,๖๖๗
๒๒๐,๕๔๓
๑๗
จังหวัดตาก
๒๗๐,๖๕๗
๒๖๐,๒๗๑
๕๓๐,๙๒๘
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๒,๗๖๕
๑๒๕,๗๓๑
๒๔๘,๔๙๖
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๔๐๑,๒๔๕
๔๒๙,๗๒๕
๘๓๐,๙๗๐
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๔๗,๒๙๔
๓๔๙,๘๑๑
๖๙๗,๑๐๕
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๖๔,๑๑๘
๑,๒๘๘,๗๗๖
๒,๕๕๒,๘๙๔
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๔๙,๐๓๖
๗๕๗,๙๖๑
๑,๕๐๖,๙๙๗
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๖,๔๗๖
๕๔๗,๒๐๗
๑,๐๗๓,๖๘๓
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๘๔,๘๓๘
๕๓๙,๓๕๓
๑,๐๒๔,๑๙๑
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๕๒,๔๐๔
๓๕๙,๑๑๓
๗๑๑,๕๑๗
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๘๐๐
๒๓๖,๕๘๑
๔๗๗,๓๘๑
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๖๖,๘๘๙
๗๖๙,๑๘๑
๑,๕๓๖,๐๗๐
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๔๒๘,๗๙๑
๔๖๘,๐๕๒
๘๙๖,๘๔๓
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๘,๒๙๐
๒๔๖,๒๙๘
๔๙๔,๕๘๘
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๕,๗๘๖
๒๒๙,๒๐๒
๔๕๔,๙๘๘
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๔,๘๓๖
๓๒๒,๙๗๐
๖๓๗,๘๐๖
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๖๗,๖๗๓
๓๙๓,๐๓๙
๗๖๐,๗๑๒
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๓๙,๓๙๓
๒๔๗,๑๘๖
๔๘๖,๕๗๙
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๓,๘๓๗
๑๒๓,๐๕๐
๒๔๖,๘๘๗
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๖,๗๗๗
๒๕๕,๗๘๖
๕๐๒,๕๖๓
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๑,๘๙๖
๒๘๒,๘๔๔
๕๕๔,๗๔๐
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๔,๓๑๑
๔๒๗,๓๗๒
๘๔๑,๖๘๓
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๐,๘๔๗
๒๓๕,๒๑๔
๔๕๖,๐๖๑
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๖,๘๕๘
๕๐๐,๖๗๓
๙๙๗,๕๓๑
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๒๗,๗๗๒
๒๓๘,๑๐๔
๔๖๕,๘๗๖
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๕๐,๔๗๓
๑๖๕,๐๒๕
๓๑๕,๔๙๘
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๓,๙๔๕
๔๗๒,๐๖๐
๙๓๖,๐๐๕
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๘,๕๑๗
๑๖๗,๕๙๐
๓๓๖,๑๐๗
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๓๑,๖๖๗
๑๒๓,๑๓๗
๒๕๔,๘๐๔
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๐,๘๔๐
๒๖๘,๗๐๒
๕๓๙,๕๔๒
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๓๔,๑๖๖
๒๓๖,๕๒๕
๔๗๐,๖๙๑
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๓,๕๙๔
๖๕๔,๙๙๕
๑,๓๐๘,๕๘๙
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๔,๔๓๗
๘๖,๓๕๐
๑๘๐,๗๘๗
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๘๘,๐๙๘
๒๙๕,๓๗๒
๕๘๓,๔๗๐
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๗,๓๓๘
๔๒๔,๑๐๐
๘๓๑,๔๓๘
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๕,๖๗๗
๓๗๔,๑๔๔
๗๔๙,๘๒๑
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๘๐,๓๖๑
๓๙๐,๒๕๒
๗๗๐,๖๑๓
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๗๑๙
๒๐๗,๔๓๘
๔๐๕,๑๕๗
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๑,๕๑๗
๓๐๔,๐๒๑
๖๑๕,๕๓๘
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๑,๐๓๒
๗๒๑,๙๗๙
๑,๔๔๓,๐๑๑
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๖,๐๘๘
๕๕๖,๙๗๖
๑,๑๑๓,๐๖๔
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๔๗,๘๒๐
๖๗๗,๐๙๕
๑,๓๒๔,๙๑๕
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๔๑,๘๗๐
๑๔๒,๖๑๒
๒๘๔,๔๘๒
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๔๗,๓๔๑
๕๗๙,๕๙๙
๑,๑๒๖,๙๔๐
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๕๒๖
๑๐๐,๖๘๖
๑๙๔,๒๑๒
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๒๘,๒๕๔
๒๔๑,๖๘๐
๔๖๙,๙๓๔
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๑,๖๗๐
๒๖๗,๔๖๗
๕๓๙,๑๓๗
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๕,๐๕๖
๓๑๐,๗๐๐
๖๑๕,๗๕๖
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๓,๑๖๖
๑๑๒,๔๘๗
๒๑๕,๖๕๓
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๕,๓๑๗
๓๐๙,๙๘๔
๖๐๕,๓๐๑
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๐๙๖
๔๓๓,๔๘๘
๘๔๒,๕๘๔
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๘๐,๙๕๘
๔๘๙,๔๖๖
๙๗๐,๔๒๔
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๖,๒๔๖
๖๘๖,๔๒๖
๑,๓๗๒,๖๗๒
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๓,๘๖๘
๔๔๘,๗๕๐
๙๐๒,๖๑๘
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๐,๓๘๖
๒๔๗,๒๑๗
๔๙๗,๖๐๓
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๙๖๒
๑๔๗,๔๔๔
๒๘๔,๔๐๖
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๔,๙๑๓
๑๘๔,๐๐๒
๓๖๘,๙๑๕
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๕,๗๒๓
๗๖๔,๙๖๓
๑,๕๓๐,๖๘๖
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๒๙,๖๓๙
๒๓๕,๖๓๘
๔๖๕,๒๗๗
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๑๔๖
๑๖๕,๘๒๙
๓๒๖,๙๗๕
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๙๕,๓๖๙
๘๙๐,๓๔๐
๑,๗๘๕,๗๐๙
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
วิชัย ศรีขวัญ
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๒๕ ง/หน้า ๗/๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
530860 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ
วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
๒๕๔๙ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๐๐๗,๘๕๗
๓๑,๘๒๐,๘๔๙
๖๒,๘๒๘,๗๐๖
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๒๑,๒๗๓
๒,๙๗๔,๖๘๓
๕,๖๙๕,๙๕๖
๒
จังหวัดกระบี่
๒๐๒,๕๐๓
๒๐๐,๘๖๐
๔๐๓,๓๖๓
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๒๑,๑๓๗
๔๑๓,๓๑๐
๘๓๔,๔๔๗
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๖,๓๐๙
๔๘๙,๒๕๓
๙๗๕,๕๖๒
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๒,๔๔๖
๓๖๕,๘๗๔
๗๒๘,๓๒๐
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๘,๗๓๕
๘๘๑,๗๖๕
๑,๗๕๐,๕๐๐
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๘,๓๒๓
๒๕๔,๐๖๖
๕๐๒,๓๘๙
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๒๑,๑๒๔
๓๓๓,๐๘๒
๖๕๔,๒๐๖
๙
จังหวัดชลบุรี
๕๙๗,๐๓๐
๖๑๒,๒๖๐
๑,๒๐๙,๒๙๐
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๔,๐๒๔
๑๗๔,๙๘๒
๓๓๙,๐๐๖
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๗,๔๑๗
๕๖๑,๗๒๙
๑,๑๑๙,๑๔๖
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๓๙,๑๕๐
๒๓๙,๘๑๔
๔๗๘,๙๖๔
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๐๖,๓๙๐
๖๑๙,๓๒๓
๑,๒๒๕,๗๑๓
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๕,๕๒๙
๘๔๒,๗๖๙
๑,๖๕๘,๒๙๘
๑๕
จังหวัดตรัง
๒๙๘,๗๓๑
๓๐๘,๗๑๙
๖๐๗,๔๕๐
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๖๘๘
๑๐๙,๒๖๑
๒๑๙,๙๔๙
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๘,๙๒๕
๒๕๘,๗๕๒
๕๒๗,๖๗๗
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๓,๔๐๗
๑๒๖,๕๙๖
๒๕๐,๐๐๓
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๓๙๗,๕๔๗
๔๒๔,๓๕๘
๘๒๑,๙๐๕
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๔๖,๓๒๑
๓๔๙,๐๓๐
๖๙๕,๓๕๑
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๖๕,๖๒๕
๑,๒๘๙,๙๖๒
๒,๕๕๕,๕๘๗
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๐,๕๑๑
๗๕๙,๙๔๙
๑,๕๑๐,๔๖๐
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๗,๕๘๖
๕๔๘,๔๒๙
๑,๐๗๖,๐๑๕
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๗๓,๗๙๐
๕๒๕,๒๖๗
๙๙๙,๐๕๗
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๔๙,๙๓๕
๓๕๗,๒๓๖
๗๐๗,๑๗๑
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๐,๙๕๔
๒๓๖,๗๐๘
๔๗๗,๖๖๒
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๖๗,๑๓๑
๗๖๙,๕๙๑
๑,๕๓๖,๗๒๒
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๔๑๒,๘๘๒
๔๔๘,๔๕๖
๘๖๑,๓๓๘
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๕๐,๐๑๔
๒๔๔,๔๐๒
๔๙๔,๔๑๖
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๕,๓๗๓
๒๒๘,๔๔๖
๔๕๓,๘๑๙
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๓,๔๙๒
๓๒๒,๒๓๘
๖๓๕,๗๓๐
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๖๕,๑๗๓
๓๘๙,๔๒๒
๗๕๔,๕๙๕
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๓๙,๕๖๙
๒๔๖,๖๕๐
๔๘๖,๒๑๙
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๓,๑๒๘
๑๒๒,๒๖๖
๒๔๕,๓๙๔
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๗,๑๒๖
๒๕๖,๑๙๕
๕๐๓,๓๒๑
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๓,๐๗๑
๒๘๔,๗๖๑
๕๕๗,๘๓๒
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๖,๐๓๓
๔๒๘,๔๗๕
๘๔๔,๕๐๘
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๑,๓๓๕
๒๓๕,๓๔๖
๔๕๖,๖๘๑
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๙,๑๗๒
๕๐๓,๑๔๕
๑,๐๐๒,๓๑๗
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๒๙,๐๔๑
๒๓๙,๓๓๒
๔๖๘,๓๗๓
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๔๔,๓๙๑
๑๕๖,๓๔๖
๓๐๐,๗๓๗
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๔,๗๑๗
๔๗๒,๙๖๙
๙๓๗,๖๘๖
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๘,๑๕๒
๑๖๗,๒๙๕
๓๓๕,๔๔๗
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๓๑,๗๐๔
๑๒๓,๔๗๐
๒๕๕,๑๗๔
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๑,๔๔๘
๒๖๙,๔๔๑
๕๔๐,๘๘๙
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๓๒,๘๒๗
๒๓๕,๔๒๕
๔๖๘,๒๕๒
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๔,๓๘๔
๖๕๕,๖๖๓
๑,๓๑๐,๐๔๗
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๔,๑๓๙
๘๕,๗๑๑
๑๗๙,๘๕๐
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๘๓,๗๐๕
๒๙๐,๐๘๐
๕๗๓,๗๘๕
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๕,๘๕๒
๔๒๓,๐๗๘
๘๒๘,๙๓๐
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๗,๕๖๓
๓๗๕,๒๑๒
๗๕๒,๗๗๕
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๘๒,๑๐๕
๓๙๑,๖๘๕
๗๗๓,๗๙๐
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๙๕๒
๒๐๗,๖๑๒
๔๐๕,๕๖๔
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๐,๔๙๖
๓๐๒,๘๐๗
๖๑๓,๓๐๓
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๒,๗๙๔
๗๒๓,๖๙๐
๑,๔๔๖,๔๘๔
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๓,๘๑๑
๕๕๕,๒๓๕
๑,๑๐๙,๐๔๖
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๔๔,๔๗๓
๖๗๓,๐๒๘
๑,๓๑๗,๕๐๑
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๔๐,๓๓๗
๑๔๑,๒๐๘
๒๘๑,๕๔๕
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๓๘,๖๓๘
๕๖๘,๙๘๘
๑,๑๐๗,๖๒๖
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๘๔๗
๑๐๑,๑๔๓
๑๙๔,๙๙๐
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๒๔,๗๐๖
๒๓๗,๘๐๔
๔๖๒,๕๑๐
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๑,๐๙๗
๒๖๗,๒๔๗
๕๓๘,๓๔๔
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๒,๒๒๗
๓๐๗,๖๒๘
๖๐๙,๘๕๕
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๓,๙๐๒
๑๑๓,๐๖๗
๒๑๖,๙๖๙
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๖,๙๖๙
๓๑๑,๘๕๑
๖๐๘,๘๒๐
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๗๗๗
๔๓๔,๑๒๗
๘๔๓,๙๐๔
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๗๖,๔๓๖
๔๘๔,๒๖๒
๙๖๐,๖๙๘
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๗,๕๔๕
๖๘๗,๗๑๒
๑,๓๗๕,๒๕๗
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๒,๒๕๑
๔๔๗,๓๒๙
๘๙๙,๕๘๐
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๔๙,๙๖๙
๒๔๖,๗๒๓
๔๙๖,๖๙๒
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๖๕๗
๑๔๗,๒๘๖
๒๘๓,๙๔๓
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๔,๘๗๘
๑๘๔,๐๕๖
๓๖๘,๙๓๔
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๔,๕๗๗
๗๖๒,๙๘๕
๑,๕๒๗,๕๖๒
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๓๐,๘๓๘
๒๓๖,๖๔๔
๔๖๗,๔๘๒
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๑,๐๐๐
๑๖๕,๙๘๘
๓๒๖,๙๘๘
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๙๓,๗๔๓
๘๘๙,๒๙๒
๑,๗๘๓,๐๓๕
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๑๕
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ชาญชัย สุนทรมัฏฐ์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนพิเศษ ๒๐ ง/หน้า ๒๐/๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ |
477344 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ
วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
๒๕๔๘ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๐,๘๑๘,๖๒๙
๓๑,๕๙๙,๔๒๕
๖๒,๔๑๘,๐๕๔
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๐๕,๙๕๔
๒,๙๕๒,๙๙๙
๕,๖๕๘,๙๕๓
๒
จังหวัดกระบี่
๑๙๘,๗๑๓
๑๙๖,๙๕๒
๓๙๕,๖๖๕
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๑๖,๔๙๒
๔๐๙,๖๗๗
๘๒๖,๑๖๙
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๕,๓๘๔
๔๘๘,๑๗๒
๙๗๓,๕๕๖
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๒,๒๓๓
๓๖๖,๐๓๒
๗๒๘,๒๖๕
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๘,๐๐๗
๘๗๙,๕๓๕
๑,๗๔๗,๕๔๒
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๖,๔๖๘
๒๕๑,๖๙๑
๔๙๘,๑๕๙
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๑๘,๐๓๗
๓๒๙,๕๗๓
๖๔๗,๖๑๐
๙
จังหวัดชลบุรี
๕๗๗,๘๗๘
๕๙๔,๕๕๔
๑,๑๗๒,๔๓๒
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๖๔,๗๐๓
๑๗๕,๔๒๖
๓๔๐,๑๒๙
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๖,๓๐๙
๕๖๐,๖๒๕
๑,๑๑๖,๙๓๔
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๓๗,๖๘๙
๒๓๘,๐๗๔
๔๗๕,๗๖๓
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๐๖,๖๘๙
๖๑๘,๓๖๙
๑,๒๒๕,๐๕๘
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๘๑๑,๙๙๐
๘๓๘,๐๑๙
๑,๖๕๐,๐๐๙
๑๕
จังหวัดตรัง
๒๙๖,๒๐๖
๓๐๕,๘๓๙
๖๐๒,๐๔๕
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๐,๒๘๑
๑๐๘,๘๕๔
๒๑๙,๑๓๕
๑๗
จังหวัดตาก
๒๖๖,๒๖๒
๒๕๕,๙๓๕
๕๒๒,๑๙๗
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๓,๙๕๔
๑๒๖,๘๒๕
๒๕๐,๗๗๙
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๓๙๑,๕๘๕
๔๑๗,๓๗๖
๘๐๘,๙๖๑
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๔๕,๔๓๔
๓๔๘,๑๖๐
๖๙๓,๕๙๔
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๖๑,๖๖๖
๑,๒๘๕,๐๙๗
๒,๕๔๖,๗๖๓
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๔๗,๖๓๙
๗๕๖,๗๘๑
๑,๕๐๔,๔๒๐
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๘,๖๘๓
๕๔๙,๑๒๕
๑,๐๗๗,๘๐๘
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๖๒,๐๑๐
๕๑๐,๒๗๐
๙๗๒,๒๘๐
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๔๗,๐๘๗
๓๕๓,๔๓๘
๗๐๐,๕๒๕
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๑,๒๗๖
๒๓๖,๘๐๔
๔๗๘,๐๘๐
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๖๔,๔๕๗
๗๖๖,๙๗๓
๑,๕๓๑,๔๓๐
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๓๙๑,๙๐๙
๔๒๓,๔๙๓
๘๑๕,๔๐๒
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๕,๕๗๐
๒๔๑,๒๒๗
๔๘๖,๗๙๗
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๓,๑๔๘
๒๒๖,๔๗๓
๔๔๙,๖๒๑
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๓,๑๓๒
๓๒๑,๒๔๔
๖๓๔,๓๗๖
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๖๑,๙๔๗
๓๘๔,๙๗๒
๗๔๖,๙๑๙
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๔๐,๒๐๓
๒๔๖,๖๘๖
๔๘๖,๘๘๙
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๑,๑๙๙
๑๒๐,๒๔๓
๒๔๑,๔๔๒
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๕,๙๑๗
๒๕๔,๕๘๔
๕๐๐,๕๐๑
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๗๓,๔๙๘
๒๘๕,๒๙๖
๕๕๘,๗๙๔
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๕,๓๐๕
๔๒๕,๖๖๕
๘๔๐,๙๗๐
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๑๙,๘๘๕
๒๓๔,๐๙๗
๔๕๓,๙๘๒
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๙,๐๒๘
๕๐๓,๔๓๑
๑,๐๐๒,๔๕๙
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๓๐,๗๕๔
๒๔๐,๖๙๓
๔๗๑,๔๔๗
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๔๐,๗๐๓
๑๕๑,๕๔๒
๒๙๒,๒๔๕
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๔,๖๐๐
๔๗๒,๒๘๓
๙๓๖,๘๘๓
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๗,๓๔๓
๑๖๖,๗๗๐
๓๓๔,๑๑๓
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๓๐,๙๘๕
๑๒๒,๖๒๔
๒๕๓,๖๐๙
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๑,๕๓๘
๒๖๙,๗๒๖
๕๔๑,๒๖๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๓๑,๐๘๗
๒๓๓,๐๓๔
๔๖๔,๑๒๑
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๔,๕๘๙
๖๕๖,๐๘๓
๑,๓๑๐,๖๗๒
๔๘
จังหวัดระนอง
๙๓,๓๓๕
๘๔,๗๘๗
๑๗๘,๑๒๒
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๗๖,๙๑๘
๒๘๒,๒๑๗
๕๕๙,๑๓๕
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๓,๒๑๘
๔๒๐,๒๗๖
๘๒๓,๔๙๔
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๗๗,๔๓๖
๓๗๔,๕๑๕
๗๕๑,๙๕๑
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๘๓,๙๕๒
๓๙๒,๗๗๔
๗๗๖,๗๒๖
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๕๔๖
๒๐๗,๑๘๑
๔๐๔,๗๒๗
๕๔
จังหวัดเลย
๓๑๐,๑๔๑
๓๐๒,๒๘๑
๖๑๒,๔๒๒
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๑,๒๒๙
๗๒๒,๗๔๖
๑,๔๔๓,๙๗๕
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๑,๒๓๓
๕๕๒,๘๗๓
๑,๑๐๔,๑๐๖
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๓๗,๓๕๕
๖๖๕,๐๖๖
๑,๓๐๒,๔๒๑
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๓๘,๕๑๕
๑๓๙,๓๕๐
๒๗๗,๘๖๕
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๒๓,๒๔๗
๕๕๔,๒๗๖
๑,๐๗๗,๕๒๓
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๓,๘๙๓
๑๐๑,๑๗๕
๑๙๕,๐๖๘
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๑๙,๗๓๑
๒๓๒,๒๘๖
๔๕๒,๐๑๗
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๐,๗๖๘
๒๖๖,๒๐๙
๕๓๖,๙๗๗
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๒๙๘,๔๒๓
๓๐๓,๕๑๕
๖๐๑,๙๓๘
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๔,๔๐๗
๑๑๓,๓๓๗
๒๑๗,๗๔๔
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๗,๖๓๔
๓๑๒,๗๒๗
๖๑๐,๓๖๑
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๙,๓๔๕
๔๓๓,๒๖๘
๘๔๒,๖๑๓
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๗๐,๑๒๖
๔๗๗,๒๒๓
๙๔๗,๓๔๙
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๗,๐๖๓
๖๘๗,๖๓๗
๑,๓๗๔,๗๐๐
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๐,๖๖๑
๔๔๕,๔๓๘
๘๙๖,๐๙๙
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๐,๐๑๙
๒๔๖,๖๓๘
๔๙๖,๖๕๗
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๖๙๙
๑๔๗,๐๗๙
๒๘๓,๗๗๘
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๔,๗๕๑
๑๘๔,๐๔๐
๓๖๘,๗๙๑
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๓,๑๓๐
๗๖๐,๖๗๒
๑,๕๒๓,๘๐๒
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๓๑,๖๙๓
๒๓๗,๖๙๔
๔๖๙,๓๘๗
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๐,๙๔๓
๑๖๕,๗๘๘
๓๒๖,๗๓๑
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๘๙,๗๙๒
๘๘๕,๐๑๖
๑,๗๗๔,๘๐๘
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙
ชาญชัย สุนทรมัฎฐ์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ชัชสรัญ/ผู้จัดทำ
๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๓/ตอนพิเศษ ๑๗ ง/หน้า ๑๗/๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ |
458176 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ
วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
๒๕๔๗ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๐,๖๑๖,๗๙๐
๓๑,๓๕๖,๘๓๑
๖๑,๙๗๓,๖๒๑
๑.
กรุงเทพมหานคร
๒,๖๙๘,๐๕๑
๒,๙๓๖,๐๘๑
๕,๖๓๔,๑๓๒
๒.
จังหวัดกระบี่
๑๙๕,๐๔๑
๑๙๒,๗๑๑
๓๘๗,๗๕๒
๓.
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๐๘,๓๙๑
๔๐๑,๘๗๔
๘๑๐,๒๖๕
๔.
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๔,๒๗๖
๔๘๗,๐๑๗
๙๗๑,๒๙๓
๕.
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๖๑,๐๐๑
๓๖๕,๔๓๕
๗๒๖,๔๓๖
๖.
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๕,๕๕๑
๘๗๖,๑๙๘
๑,๗๔๑,๗๔๙
๗.
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๔,๖๓๑
๒๔๙,๓๗๐
๔๙๔,๐๐๑
๘.
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๑๖,๒๐๙
๓๒๗,๒๒๓
๖๔๓,๔๓๒
๙.
จังหวัดชลบุรี
๕๖๕,๑๘๑
๕๗๗,๘๐๔
๑,๑๔๒,๙๘๕
๑๐.
จังหวัดชัยนาท
๑๖๕,๕๐๔
๑๗๕,๙๘๙
๓๔๑,๔๙๓
๑๑.
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๖,๒๗๕
๕๖๐,๘๔๓
๑,๑๑๗,๑๑๘
๑๒.
จังหวัดชุมพร
๒๓๖,๑๑๕
๒๓๕,๙๕๓
๔๗๒,๐๖๘
๑๓.
จังหวัดเชียงราย
๖๐๒,๔๓๓
๖๑๑,๙๗๒
๑,๒๑๔,๔๐๕
๑๔.
จังหวัดเชียงใหม่
๘๐๓,๓๑๙
๘๒๗,๔๕๐
๑,๖๓๐,๗๖๙
๑๕.
จังหวัดตรัง
๒๙๓,๖๓๐
๓๐๒,๔๕๗
๕๙๖,๐๘๗
๑๖.
จังหวัดตราด
๑๐๙,๗๒๑
๑๐๘,๒๒๙
๒๑๗,๙๕๐
๑๗.
จังหวัดตาก
๒๖๓,๒๙๖
๒๕๒,๕๘๑
๕๑๕,๘๗๗
๑๘.
จังหวัดนครนายก
๑๒๓,๒๗๓
๑๒๕,๓๑๙
๒๔๘,๕๙๒
๑๙.
จังหวัดนครปฐม
๓๘๕,๙๕๒
๔๑๒,๐๖๔
๗๙๘,๐๑๖
๒๐.
จังหวัดนครพนม
๓๔๔,๐๑๖
๓๔๗,๑๔๔
๖๙๑,๑๖๐
๒๑.
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๕๘,๐๘๘
๑,๒๘๑,๒๕๖
๒,๕๓๙,๓๔๔
๒๒.
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๔๕,๗๙๒
๗๕๔,๕๕๑
๑,๕๐๐,๓๔๓
๒๓.
จังหวัดนครสวรรค์
๕๒๘,๔๓๒
๕๔๙,๐๒๖
๑,๐๗๗,๔๕๘
๒๔.
จังหวัดนนทบุรี
๔๔๘,๓๙๙
๔๙๓,๘๙๓
๙๔๒,๒๙๒
๒๕.
จังหวัดนราธิวาส
๓๔๔,๐๔๗
๓๔๙,๗๒๘
๖๙๓,๗๗๕
๒๖.
จังหวัดน่าน
๒๔๑,๑๗๖
๒๓๖,๕๗๘
๔๗๗,๗๕๔
๒๗.
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๖๐,๗๙๔
๗๖๓,๔๖๗
๑,๕๒๔,๒๖๑
๒๘.
จังหวัดปทุมธานี
๓๗๑,๐๒๑
๓๙๘,๙๗๗
๗๖๙,๙๙๘
๒๙.
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๑,๒๘๙
๒๓๘,๓๙๙
๔๗๙,๖๘๘
๓๐.
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๑,๖๕๘
๒๒๔,๒๘๖
๔๔๕,๙๔๔
๓๑.
จังหวัดปัตตานี
๓๑๐,๙๐๓
๓๑๘,๙๕๘
๖๒๙,๘๖๑
๓๒.
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๕๙,๒๑๒
๓๘๑,๑๘๕
๗๔๐,๓๙๗
๓๓.
จังหวัดพะเยา
๒๔๑,๐๕๑
๒๔๗,๒๙๒
๔๘๘,๓๔๓
๓๔.
จังหวัดพังงา
๑๒๐,๒๓๒
๑๑๘,๘๓๒
๒๓๙,๐๖๔
๓๕.
จังหวัดพัทลุง
๒๔๕,๑๔๙
๒๕๓,๑๔๘
๔๙๘,๒๙๗
๓๖.
จังหวัดพิจิตร
๒๗๔,๕๔๑
๒๘๕,๘๘๖
๕๖๐,๔๒๗
๓๗.
จังหวัดพิษณุโลก
๔๑๖,๐๓๖
๔๒๕,๔๘๘
๘๔๑,๕๒๔
๓๘.
จังหวัดเพชรบุรี
๒๑๘,๔๙๘
๒๓๒,๕๓๑
๔๕๑,๐๒๙
๓๙.
จังหวัดเพชรบูรณ์
๔๙๘,๕๘๐
๕๐๒,๖๐๐
๑,๐๐๑,๑๘๐
๔๐.
จังหวัดแพร่
๒๓๑,๘๓๒
๒๔๑,๕๒๙
๔๗๓,๓๖๑
๔๑.
จังหวัดภูเก็ต
๑๓๗,๗๐๐
๑๔๘,๒๐๑
๒๘๕,๙๐๑
๔๒.
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๓,๙๔๔
๔๗๑,๑๐๗
๙๓๕,๐๕๑
๔๓.
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๖,๖๔๙
๑๖๕,๙๑๔
๓๓๒,๕๖๓
๔๔.
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๕,๘๔๕
๑๑๗,๘๙๐
๒๔๓,๗๓๕
๔๕.
จังหวัดยโสธร
๒๗๑,๔๗๓
๒๖๙,๘๔๗
๕๔๑,๓๒๐
๔๖.
จังหวัดยะลา
๒๒๙,๒๒๖
๒๓๐,๖๔๒
๔๕๙,๘๖๘
๔๗.
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๔,๔๖๖
๖๕๕,๗๘๔
๑,๓๑๐,๒๕๐
๔๘.
จังหวัดระนอง
๙๒,๕๐๑
๘๓,๘๗๑
๑๗๖,๓๗๒
๔๙.
จังหวัดระยอง
๒๖๙,๕๔๓
๒๗๔,๓๔๔
๕๔๓,๘๘๗
๕๐.
จังหวัดราชบุรี
๓๙๙,๒๙๔
๔๑๕,๗๘๓
๘๑๕,๐๗๗
๕๑.
จังหวัดลพบุรี
๓๗๖,๖๘๖
๓๗๒,๗๙๘
๗๔๙,๔๘๔
๕๒.
จังหวัดลำปาง
๓๘๕,๒๖๑
๓๙๓,๖๖๕
๗๗๘,๙๒๖
๕๓.
จังหวัดลำพูน
๑๙๗,๗๕๓
๒๐๗,๐๒๗
๔๐๔,๗๘๐
๕๔.
จังหวัดเลย
๓๐๙,๔๓๔
๓๐๑,๐๓๘
๖๑๐,๔๗๒
๕๕.
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๑๙,๑๑๕
๗๒๑,๒๘๙
๑,๔๔๐,๔๐๔
๕๖.
จังหวัดสกลนคร
๕๕๐,๐๐๔
๕๕๑,๖๑๕
๑,๑๐๑,๖๑๙
๕๗.
จังหวัดสงขลา
๖๒๖,๖๔๒
๖๕๔,๘๖๗
๑,๒๘๑,๕๐๙
๕๘.
จังหวัดสตูล
๑๓๖,๔๒๔
๑๓๗,๑๒๒
๒๗๓,๕๔๖
๕๙.
จังหวัดสมุทรปราการ
๕๐๘,๘๕๘
๕๔๐,๕๕๘
๑,๐๔๙,๔๑๖
๖๐.
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๔,๐๖๖
๑๐๑,๑๕๒
๑๙๕,๒๑๘
๖๑.
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๑๕,๕๒๒
๒๒๗,๑๖๕
๔๔๒,๖๘๗
๖๒.
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๐,๕๐๗
๒๖๕,๖๙๗
๕๓๖,๒๐๔
๖๓.
จังหวัดสระบุรี
๒๙๕,๖๒๖
๓๐๐,๒๔๔
๕๙๕,๘๗๐
๖๔.
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๕,๗๐๔
๑๑๔,๔๑๗
๒๒๐,๑๒๑
๖๕.
จังหวัดสุโขทัย
๒๙๘,๑๖๑
๓๑๓,๒๑๘
๖๑๑,๓๗๙
๖๖.
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๐๘,๐๗๗
๔๓๑,๙๗๘
๘๔๐,๐๕๕
๖๗.
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๖๖,๐๑๕
๔๗๒,๒๓๘
๙๓๘,๒๕๓
๖๘.
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๕,๕๒๙
๖๘๕,๙๐๐
๑,๓๗๑,๔๒๙
๖๙.
จังหวัดหนองคาย
๔๕๐,๖๒๗
๔๔๕,๐๙๕
๘๙๕,๗๒๒
๗๐.
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๔๘,๙๔๘
๒๔๕,๖๔๖
๔๙๔,๕๙๔
๗๑.
จังหวัดอ่างทอง
๑๓๖,๔๐๐
๑๔๖,๕๖๗
๒๘๒,๙๖๗
๗๒.
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๔,๑๘๖
๑๘๓,๓๒๘
๓๖๗,๕๑๔
๗๓.
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๑,๑๓๕
๗๕๗,๓๖๗
๑,๕๑๘,๕๐๒
๗๔.
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๓๒,๐๖๔
๒๓๗,๘๘๐
๔๖๙,๙๔๔
๗๕.
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๐,๗๐๓
๑๖๕,๒๙๘
๓๒๖,๐๐๑
๗๖.
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๘๔,๑๐๖
๘๗๘,๙๕๕
๑,๗๖๓,๐๖๑
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
สุจริต ปัจฉิมนันท์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ฐิติพงษ์/ผู้จัดทำ
๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๒๗ ง/หน้า ๑/๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ |
383618 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545
| ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกเป็นกรุงเทพมหานคร
และจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๔๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๕ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๑,๑๓๙,๖๔๗
๓๑,๖๖๐,๒๒๕
๖๒,๗๙๙,๘๗๒
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๙๖,๔๐๙
๒,๙๘๕,๗๕๐
๕,๗๘๒,๑๕๙
๒
จังหวัดกระบี่
๑๙๐,๔๕๑
๑๘๗,๕๐๓
๓๗๗,๙๕๔
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๔๐๕,๗๘๗
๓๙๖,๐๔๙
๘๐๑,๘๓๖
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๙๔,๕๓๗
๔๙๕,๖๗๕
๙๙๐,๒๑๒
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๘๒,๑๘๓
๓๘๕,๙๔๗
๗๖๘,๑๓๐
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๘๑,๔๖๕
๘๘๖,๑๗๘
๑,๗๖๗,๖๔๓
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๕๑,๗๗๑
๒๕๔,๒๔๐
๕๐๖,๐๑๑
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๒๐,๓๖๕
๓๒๙,๓๙๓
๖๔๙,๗๕๘
๙
จังหวัดชลบุรี
๕๖๖,๓๕๐
๕๖๓,๕๓๖
๑,๑๒๙,๘๘๖
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๗๐,๒๖๑
๑๘๐,๒๘๖
๓๕๐,๕๔๗
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๖,๔๘๐
๕๗๐,๐๒๘
๑,๑๓๖,๕๐๘
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๓๗,๘๙๔
๒๓๕,๙๒๔
๔๗๓,๘๑๘
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๓๔,๙๕๙
๖๓๙,๒๕๕
๑,๒๗๔,๒๑๔
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๘๗,๕๙๑
๘๐๘,๒๖๔
๑,๕๙๕,๘๕๕
๑๕
จังหวัดตรัง
๒๙๘,๘๗๙
๓๐๔,๑๙๓
๖๐๓,๐๗๒
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๓,๗๙๔
๑๑๑,๕๐๑
๒๒๕,๒๙๕
๑๗
จังหวัดตาก
๒๕๗,๕๑๔
๒๔๙,๘๕๗
๕๐๗,๓๗๑
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๔,๗๙๐
๑๒๖,๒๗๔
๒๕๑,๐๖๔
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๓๙๐,๓๔๓
๔๑๑,๖๑๓
๘๐๑,๙๕๖
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๖๐,๕๒๕
๓๖๑,๐๑๕
๗๒๑,๕๔๐
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๘๐,๖๗๑
๑,๓๐๐,๕๗๓
๒,๕๘๑,๒๔๔
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๖๔,๖๑๕
๗๖๙,๒๗๙
๑,๕๓๓,๘๙๔
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๕๖,๕๙๘
๕๗๔,๒๔๓
๑,๑๓๐,๘๔๑
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๓๒,๗๑๒
๔๗๒,๔๘๕
๙๐๕,๑๙๗
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๔๗,๘๗๐
๓๕๒,๐๘๑
๖๙๙,๙๕๑
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๖,๕๕๓
๒๔๑,๑๘๙
๔๘๗,๗๔๒
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๗๒,๑๖๘
๗๗๓,๖๑๑
๑,๕๔๕,๗๗๙
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๓๔๔,๑๔๙
๓๖๔,๗๖๐
๗๐๘,๙๐๙
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๘,๕๕๑
๒๓๙,๙๒๖
๔๘๘,๔๗๗
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๗,๐๑๒
๒๒๕,๘๑๐
๔๕๒,๘๒๒
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๑๐,๐๔๓
๓๑๗,๙๑๒
๖๒๗,๙๕๕
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๖๔,๓๘๓
๓๘๓,๘๖๐
๗๔๘,๒๔๓
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๕๑,๔๗๕
๒๕๗,๐๗๙
๕๐๘,๕๕๔
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๒๑,๑๔๗
๑๑๘,๒๕๔
๒๓๙,๔๐๑
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๘,๗๐๒
๒๕๕,๗๕๒
๕๐๔,๔๕๔
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๙๐,๘๑๐
๓๐๑,๑๔๓
๕๙๑,๙๕๓
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๓๐,๐๔๙
๔๓๗,๖๓๖
๘๖๗,๖๘๕
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๔,๙๔๒
๒๓๖,๓๙๗
๔๖๑,๓๓๙
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๕๒๑,๔๒๒
๕๑๙,๓๖๔
๑,๐๔๐,๗๘๖
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๓๘,๖๕๐
๒๔๖,๔๗๑
๔๘๕,๑๒๑
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๓๑,๑๘๗
๑๓๙,๒๕๑
๒๗๐,๔๓๘
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๙,๕๓๑
๔๗๓,๓๗๘
๙๔๒,๙๐๙
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๙,๗๒๗
๑๖๘,๕๔๙
๓๓๘,๒๗๖
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๔,๒๙๕
๑๑๕,๗๑๙
๒๔๐,๐๑๔
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๘,๓๐๐
๒๗๕,๕๖๔
๕๕๓,๘๖๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๒๙,๘๖๒
๒๒๙,๗๙๗
๔๕๙,๖๕๙
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๖๑,๗๑๖
๖๖๑,๑๔๘
๑,๓๒๒,๘๖๔
๔๘
จังหวัดระนอง
๘๓,๘๙๘
๗๙,๒๖๒
๑๖๓,๑๖๐
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๗๒,๘๐๗
๒๗๓,๗๖๓
๕๔๖,๕๗๐
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๘,๒๕๕
๔๒๒,๐๒๐
๘๓๐,๒๗๕
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๘๘,๗๓๗
๓๗๙,๒๔๘
๗๖๗,๙๘๕
๕๒
จังหวัดลำปาง
๓๙๗,๗๖๔
๔๐๓,๐๑๑
๘๐๐,๗๗๕
๕๓
จังหวัดลำพูน
๑๙๙,๕๗๑
๒๐๗,๖๓๑
๔๐๗,๒๐๒
๕๔
จังหวัดเลย
๓๒๒,๖๖๕
๓๑๒,๙๒๒
๖๓๕,๕๘๗
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๙,๑๘๖
๗๒๙,๗๘๓
๑,๔๕๘,๙๖๙
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๕๒,๘๙๙
๕๕๔,๘๕๓
๑,๑๐๗,๗๕๒
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๒๔,๓๖๓
๖๔๖,๗๐๔
๑,๒๗๑,๐๖๗
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๓๕,๕๔๔
๑๓๕,๒๕๘
๒๗๐,๘๐๒
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๔๙๙,๐๑๑
๕๒๘,๗๐๘
๑,๐๒๗,๗๑๙
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๙๙,๔๕๔
๑๐๕,๖๘๑
๒๐๕,๑๓๕
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๑๖,๖๔๖
๒๒๖,๒๖๘
๔๔๒,๙๑๔
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๑,๗๕๑
๒๖๗,๓๕๖
๕๓๙,๑๐๗
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๑๑,๗๖๑
๓๑๐,๒๓๓
๖๒๑,๙๙๔
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๗,๗๗๒
๑๑๕,๕๘๐
๒๒๓,๓๕๒
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๓๐๕,๔๘๘
๓๑๙,๖๑๑
๖๒๕,๐๙๙
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๒๐,๘๐๗
๔๔๒,๔๙๗
๘๖๓,๓๐๔
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๕๘,๗๒๙
๔๖๑,๕๕๔
๙๒๐,๒๘๓
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๗๐๐,๔๑๗
๖๙๘,๙๖๐
๑,๓๙๙,๓๗๗
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๗,๘๗๐
๔๕๑,๖๗๓
๙๐๙,๕๔๓
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๑,๔๗๑
๒๔๗,๐๔๒
๔๙๘,๕๑๓
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๔๐,๕๓๔
๑๔๙,๘๘๙
๒๙๐,๔๒๓
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๕,๘๓๖
๑๘๔,๕๒๔
๓๗๐,๓๖๐
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๗๑,๔๔๑
๗๖๔,๐๓๐
๑,๕๓๕,๔๗๑
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๔๐,๔๘๐
๒๔๔,๕๐๔
๔๘๔,๙๘๔
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๕,๙๙๗
๑๗๐,๑๗๙
๓๓๖,๑๗๖
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๙๙,๐๐๕
๘๙๓,๗๖๙
๑,๗๙๒,๗๗๔
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๑๔
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
สุจริต ปัจฉิมนันท์
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
มณฑาทิพย์/พิมพ์
๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๖
สุมลรัตน์/อรรถชัย
แก้ไข
๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๖
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๐/ตอนพิเศษ ๓๒ ง/หน้า ๔๐/๑๗
มีนาคม ๒๕๔๖ |
324349 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรแยกเป็นกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๒[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรแยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๒ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วประเทศ
๓๐,๖๕๐,๑๗๒
๓๑,๐๑๑,๕๒๙
๖๑,๖๖๑,๗๐๑
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๕๙,๘๗๙
๒,๙๐๒,๖๒๐
๕,๖๖๒,๔๙๙
๒
จังหวัดกระบี่
๑๘๑,๒๑๑
๑๗๗,๑๗๒
๓๕๘,๓๘๓
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๓๕๙,๑๕๔
๓๘๓,๓๐๒
๗๗๘,๔๕๖
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๙๑,๖๔๔
๔๙๒,๔๐๒
๙๘๔,๐๔๖
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๘๑,๐๐๒
๓๘๔,๘๗๔
๗๖๕,๘๗๖
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๗๒,๕๓๔
๘๗๕,๑๙๖
๑,๗๔๗,๗๓๐
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๕,๐๐๒
๒๔๕,๐๓๗
๔๙๐,๐๓๙
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๑๕,๗๔๙
๓๒๑,๙๑๖
๖๓๗,๖๖๕
๙
จังหวัดชลบุรี
๕๓๓,๙๘๑
๕๒๕,๗๗๕
๑,๐๕๙,๗๕๖
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๗๐,๘๕๐
๑๘๐,๗๖๘
๓๕๑,๖๑๘
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๓,๐๖๑
๕๖๔,๔๙๑
๑,๑๒๗,๕๕๒
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๓๐,๖๓๕
๒๒๗,๖๖๒
๔๕๘,๒๙๗
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๓๒,๗๕๓
๖๓๒,๓๓๘
๑,๒๖๕,๐๙๑
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๘๗,๖๐๘
๗๙๙,๘๕๗
๑,๕๘๗,๔๖๕
๑๕
จังหวัดตรัง
๒๙๒,๐๙๒
๒๙๕,๘๓๘
๕๘๗,๙๓๐
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๓,๔๗๔
๑๑๐,๕๘๒
๒๒๔,๐๕๖
๑๗
จังหวัดตาก
๒๔๖,๕๑๗
๒๓๘,๑๖๑
๔๘๔,๖๗๘
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๐,๑๑๐
๑๒๓,๑๒๕
๒๔๓,๒๓๕
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๓๗๘,๐๑๘
๓๙๖,๒๕๘
๗๗๔,๒๗๖
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๕๗,๒๘๑
๓๕๗,๔๙๘
๗๑๔,๗๗๙
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๖๑,๖๒๖
๑,๒๗๙,๐๓๖
๒,๕๕๐,๖๖๒
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๖๐,๓๒๔
๗๖๕,๒๓๓
๑,๕๒๕,๕๕๗
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๕๕,๑๐๗
๕๗๑,๒๐๔
๑,๑๒๖,๓๑๑
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๔๐๔,๑๖๙
๔๓๔,๘๖๐
๘๓๙,๐๒๙
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๓๔,๘๔๕
๓๓๖,๘๐๔
๖๗๑,๖๔๙
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๗,๕๐๔
๒๔๒,๐๐๑
๔๘๙,๕๐๕
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๕๙,๔๘๐
๗๖๐,๙๓๙
๑,๕๒๐,๔๑๙
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๓๑๐,๐๓๓
๓๒๓,๙๖๑
๖๓๓,๙๙๔
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๒,๙๐๒
๒๓๔,๒๘๘
๔๗๗,๑๙๐
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๑,๓๔๗
๒๑๙,๘๑๕
๔๔๑,๑๖๒
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๓๐๐,๐๐๓
๓๐๘,๒๗๓
๖๐๘,๒๗๖
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๕๖,๓๒๘
๓๗๔,๐๖๓
๗๓๐,๓๙๑
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๕๕,๘๘๘
๒๕๙,๒๔๐
๕๑๕,๑๒๘
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๑๗,๙๘๒
๑๑๕,๑๙๗
๒๓๓,๑๗๙
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๗,๗๓๑
๒๕๔,๙๓๑
๕๐๒,๖๖๒
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๙๓,๙๒๓
๓๐๔,๔๘๓
๕๙๘,๔๐๖
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๓๑,๑๐๑
๔๓๗,๐๓๗
๘๖๘,๑๓๘
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๒,๙๗๕
๒๓๓,๒๕๘
๔๕๖,๒๓๓
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๕๒๑,๘๔๖
๕๑๘,๘๘๕
๑,๐๔๐,๗๓๑
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๔๓,๑๑๑
๒๔๙,๔๙๖
๔๙๒,๖๐๗
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๑๘,๖๐๖
๑๒๒,๘๘๓
๒๔๑,๔๘๙
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๗,๘๑๕
๔๗๒,๕๘๗
๙๔๐,๔๐๒
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๗,๒๖๔
๑๖๕,๗๗๑
๓๓๓,๐๓๕
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๐,๔๕๓
๑๑๒,๐๓๐
๒๓๒,๔๘๓
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๘,๖๖๐
๒๗๖,๓๐๔
๕๕๔,๙๖๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๑๙,๑๒๔
๒๑๖,๙๖๘
๔๓๖,๐๙๒
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๖๐,๘๗๓
๖๕๙,๙๕๑
๑,๓๒๐,๘๒๔
๔๘
จังหวัดระนอง
๘๑,๕๐๕
๗๖,๖๘๐
๑๕๘,๑๘๕
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๕๘,๑๐๑
๒๕๕,๘๘๓
๕๑๓,๙๘๔
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๒,๖๒๐
๔๑๕,๑๗๓
๘๑๗,๗๙๓
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๘๖,๒๙๖
๓๗๔,๕๕๘
๗๖๐,๘๕๔
๕๒
จังหวัดลำปาง
๔๐๑,๘๓๖
๔๐๔,๙๒๖
๘๐๖,๗๖๒
๕๓
จังหวัดลำพูน
๒๐๐,๑๗๓
๒๐๖,๙๑๒
๔๐๗,๐๘๕
๕๔
จังหวัดเลย
๓๒๒,๕๑๖
๓๑๑,๓๔๐
๖๓๓,๘๕๖
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๒,๒๑๑
๗๒๓,๑๔๕
๑,๔๔๕,๓๕๖
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๔๗,๒๘๕
๕๔๗,๓๓๐
๑,๐๙๔,๖๑๕
๕๗
จังหวัดสงขลา
๖๐๔,๔๒๕
๖๑๙,๔๐๘
๑,๒๒๓,๘๓๓
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๓๐,๖๖๓
๑๒๙,๔๖๔
๒๖๐,๑๒๗
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๔๗๗,๕๖๕
๔๙๙,๘๒๓
๙๗๗,๓๘๘
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๑๐๐,๐๔๖
๑๐๕,๖๕๐
๒๐๕,๖๙๖
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๐๗,๔๐๙
๒๑๔,๓๒๙
๔๒๑,๗๓๘
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๖๗,๙๖๓
๒๖๓,๑๘๖
๕๓๑,๑๔๙
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๔,๒๒๕
๓๐๒,๘๑๗
๖๐๗,๐๔๒
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๘,๓๖๔
๑๑๕,๗๓๙
๒๒๔,๑๐๓
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๓๐๖,๙๑๒
๓๒๐,๖๗๓
๖๒๗,๕๘๕
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๗,๖๒๒
๔๓๘,๒๐๑
๘๕๕,๘๒๓
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๔๓,๔๑๖
๔๔๓,๕๖๓
๘๘๖,๙๗๙
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๐,๒๖๒
๖๙๐,๙๕๑
๑,๓๘๑,๒๑๓
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๓,๔๘๒
๔๔๖,๐๒๔
๘๙๙,๕๐๖
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๕๐,๐๓๗
๒๔๔,๒๙๐
๔๙๔,๓๒๗
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๔๐,๒๕๐
๑๔๙,๒๗๗
๒๘๙,๕๒๗
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๓,๘๗๒
๑๘๒,๐๗๑
๓๖๕,๙๔๓
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๖๔,๕๙๖
๗๕๖,๐๕๕
๑,๕๒๐,๖๕๑
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๔๐,๘๙๗
๒๔๔,๑๒๘
๔๘๕,๐๒๕
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๓,๘๗๐
๑๖๘,๑๙๓
๓๓๒,๐๖๓
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๘๒,๑๗๘
๘๗๗,๓๗๐
๑,๗๕๙,๕๔๘
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
ปริญญา นาคฉัตรีย์
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปรียนันท์/แก้ไข
๒๙ เมษายน ๒๕๔๕
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๗/ตอนพิเศษ ๒๘ ง/หน้า ๒๖/๒๗ มีนาคม ๒๕๔๓ |
314468 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรแยกเป็นกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2541 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศ จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรแยกเป็นกรุงเทพมหานคร
และจังหวัดต่าง ๆ
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วราชอาณาจักร
๓๐,๕๙๑,๖๐๒
๓๐,๙๗๔,๕๗๖
๖๑,๔๖๖,๑๗๘
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๖๒,๒๕๒
๒,๘๘๕,๕๔๗
๕,๖๔๗,๗๙๙
๒
จังหวัดกระบี่
๑๗๗,๙๘๕
๑๗๓,๕๖๓
๓๕๑,๕๔๘
๓
จังหวัดกาญจนบุรี
๓๙๓,๔๘๑
๓๘๑,๗๑๗
๗๗๕,๑๙๘
๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๙๑,๓๑๔
๔๙๑,๖๓๗
๙๘๒,๙๕๑
๕
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๘๓,๗๖๐
๓๘๖,๙๐๗
๗๗๐,๖๖๗
๖
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๙,๐๐๖
๘๖๙,๕๒๖
๑,๗๓๘,๕๓๒
๗
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๐,๙๘๙
๒๔๐,๐๖๙
๔๘๑,๐๕๘
๘
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๑๕,๕๒๖
๓๒๐,๗๙๗
๖๓๖,๓๒๓
๙
จังหวัดชลบุรี
๕๓๓,๔๓๕
๕๑๙,๙๙๘
๑,๐๕๓,๔๓๓
๑๐
จังหวัดชัยนาท
๑๗๑,๘๒๘
๑๘๑,๙๒๑
๓๕๓,๗๔๙
๑๑
จังหวัดชัยภูมิ
๕๖๑,๘๓๗
๕๖๒,๖๑๐
๑,๑๒๔,๔๔๗
๑๒
จังหวัดชุมพร
๒๒๘,๙๑๘
๒๒๕,๒๕๒
๔๕๔,๑๗๐
๑๓
จังหวัดเชียงราย
๖๓๕,๖๕๔
๖๓๒,๙๑๕
๑,๒๖๘,๕๖๙
๑๔
จังหวัดเชียงใหม่
๗๘๖,๗๓๒
๗๙๕,๔๙๐
๑,๕๘๒,๒๒๒
๑๕
จังหวัดตรัง
๒๙๐,๕๔๖
๒๙๓,๖๐๘
๕๘๔,๑๕๔
๑๖
จังหวัดตราด
๑๑๒,๕๙๔
๑๐๙,๓๑๐
๒๒๑,๙๐๔
๑๗
จังหวัดตาก
๒๔๓,๘๕๒
๒๓๕,๒๕๓
๔๗๙,๑๐๕
๑๘
จังหวัดนครนายก
๑๒๐,๒๗๔
๑๒๓,๐๐๑
๒๔๓,๒๗๕
๑๙
จังหวัดนครปฐม
๓๗๔,๔๐๕
๓๙๑,๐๒๐
๗๖๕,๔๒๕
๒๐
จังหวัดนครพนม
๓๓๕,๓๙๐
๓๕๕,๗๒๖
๗๑๑,๑๑๖
๒๑
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๕๙,๔๒๔
๑,๒๗๔,๘๖๓
๒,๕๓๔,๒๘๗
๒๒
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๗๕๘,๐๖๗
๗๖๒,๙๙๐
๑,๕๒๑,๐๕๗
๒๓
จังหวัดนครสวรรค์
๕๖๑,๑๘๔
๕๗๖,๗๖๑
๑,๑๓๗,๙๔๕
๒๔
จังหวัดนนทบุรี
๓๙๙,๙๔๖
๔๒๖,๕๑๘
๘๒๖,๔๖๔
๒๕
จังหวัดนราธิวาส
๓๓๐,๔๙๔
๓๓๑,๗๔๐
๖๖๒,๒๓๔
๒๖
จังหวัดน่าน
๒๔๗,๐๘๔
๒๔๑,๑๐๘
๔๘๘,๑๙๒
๒๗
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๕๖,๕๗๓
๗๕๗,๓๑๖
๑,๕๑๓,๘๘๙
๒๘
จังหวัดปทุมธานี
๓๐๒,๓๓๑
๓๑๔,๓๐๕
๖๑๖,๖๓๖
๒๙
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๔๐,๙๐๒
๒๓๒,๔๓๓
๔๗๓,๓๓๕
๓๐
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๒,๐๗๓
๒๑๙,๒๗๐
๔๔๑,๓๔๓
๓๑
จังหวัดปัตตานี
๒๙๕,๓๙๘
๓๐๓,๘๒๑
๕๙๙,๒๑๙
๓๒
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๕๖,๖๔๑
๓๗๔,๐๙๙
๗๓๐,๗๔๐
๓๓
จังหวัดพะเยา
๒๕๗,๗๔๗
๒๕๙,๙๘๔
๕๑๗,๗๓๑
๓๔
จังหวัดพังงา
๑๑๗,๓๔๕
๑๑๔,๓๐๔
๒๓๑,๖๔๙
๓๕
จังหวัดพัทลุง
๒๔๗,๗๒๓
๒๕๔,๙๘๖
๕๐๒,๗๐๙
๓๖
จังหวัดพิจิตร
๒๙๖,๗๔๘
๓๐๗,๒๙๑
๖๐๔,๐๓๙
๓๗
จังหวัดพิษณุโลก
๔๓๑,๘๘๓
๔๓๖,๘๐๑
๘๖๘,๖๘๔
๓๘
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๓,๓๖๕
๒๓๓,๑๖๒
๔๕๖,๕๒๗
๓๙
จังหวัดเพชรบูรณ์
๕๒๗,๑๙๖
๕๒๒,๓๒๐
๑,๐๔๙,๕๑๖
๔๐
จังหวัดแพร่
๒๔๕,๑๒๔
๒๕๐,๕๙๘
๔๙๕,๗๒๒
๔๑
จังหวัดภูเก็ต
๑๑๔,๑๑๘
๑๑๗,๐๘๘
๒๓๑,๒๐๖
๔๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๖,๓๗๔
๔๗๐,๑๑๖
๙๓๖,๔๙๐
๔๓
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๕,๙๕๙
๑๖๔,๔๕๔
๓๓๐,๔๑๓
๔๔
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๒๐,๗๐๕
๑๑๒,๒๓๓
๒๓๒,๙๓๘
๔๕
จังหวัดยโสธร
๒๗๘,๑๐๙
๒๗๕,๖๘๕
๕๕๓,๗๙๔
๔๖
จังหวัดยะลา
๒๑๖,๑๖๔
๒๑๓,๓๓๗
๔๒๙,๕๐๑
๔๗
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๖๑,๒๑๑
๖๕๙,๘๒๔
๑,๓๒๑,๐๓๕
๔๘
จังหวัดระนอง
๘๐,๑๘๔
๗๕,๐๒๐
๑๕๕,๒๐๔
๔๙
จังหวัดระยอง
๒๕๙,๕๗๑
๒๕๕,๔๓๗
๕๑๕,๐๐๘
๕๐
จังหวัดราชบุรี
๔๐๓,๗๖๐
๔๑๕,๖๐๐
๘๑๙,๓๖๐
๕๑
จังหวัดลพบุรี
๓๘๔,๙๕๐
๓๗๔,๔๙๖
๗๕๙,๔๔๖
๕๒
จังหวัดลำปาง
๔๐๓,๕๒๖
๔๐๕,๖๕๙
๘๐๙,๑๘๕
๕๓
จังหวัดลำพูน
๒๐๑,๕๙๕
๒๐๗,๔๙๖
๔๐๙,๐๙๑
๕๔
จังหวัดเลย
๓๒๓,๘๑๖
๓๑๒,๐๒๙
๖๓๕,๘๔๕
๕๕
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๒๐,๔๐๖
๗๒๐,๕๔๑
๑,๔๔๐,๙๔๗
๕๖
จังหวัดสกลนคร
๕๔๔,๖๗๔
๕๔๕,๕๑๖
๑,๐๙๐,๑๙๐
๕๗
จังหวัดสงขลา
๕๙๘,๙๖๘
๖๑๑,๙๕๓
๑,๒๑๐,๙๒๑
๕๘
จังหวัดสตูล
๑๒๙,๑๓๖
๑๒๗,๖๖๔
๒๕๖,๘๐๐
๕๙
จังหวัดสมุทรปราการ
๔๗๔,๕๓๗
๔๙๔,๗๘๔
๙๒๙,๓๒๑
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๑๐๑,๗๑๙
๑๐๖,๖๘๙
๒๐๘,๔๐๘
๖๑
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๐๕,๒๑๗
๒๑๑,๑๗๖
๔๑๖,๓๙๓
๖๒
จังหวัดสระแก้ว
๒๗๒,๔๖๒
๒๖๖,๒๓๔
๕๓๘,๖๙๖
๖๓
จังหวัดสระบุรี
๓๐๑,๓๔๓
๓๐๐,๖๘๓
๖๐๒,๐๒๖
๖๔
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๙,๖๒๔
๑๑๖,๔๖๗
๒๒๖,๐๙๑
๖๕
จังหวัดสุโขทัย
๓๐๘,๔๕๗
๓๒๑,๘๓๕
๖๓๐,๒๙๒
๖๖
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๙,๕๗๑
๔๓๙,๑๗๙
๘๕๘,๗๕๐
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๓๘,๙๕๑
๔๓๗,๔๕๖
๘๗๖,๔๐๗
๖๘
จังหวัดสุรินทร์
๖๙๐,๗๔๔
๖๙๑,๕๓๐
๑,๓๘๒,๒๗๔
๖๙
จังหวัดหนองคาย
๔๕๒,๘๑๓
๔๔๔,๘๑๓
๘๙๗,๖๒๖
๗๐
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๔๘,๔๓๖
๒๔๒,๗๘๑
๔๙๑,๒๑๗
๗๑
จังหวัดอ่างทอง
๑๔๐,๘๖๐
๑๔๙,๗๓๕
๒๙๐,๕๙๕
๗๒
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๓,๐๙๖
๑๘๑,๒๒๕
๓๖๔,๓๒๑
๗๓
จังหวัดอุดรธานี
๗๕๘,๖๔๓
๗๔๙,๒๓๙
๑,๕๐๗,๘๘๒
๗๔
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๔๐,๙๙๘
๒๔๓,๗๓๙
๔๘๔,๗๓๗
๗๕
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๓,๕๕๐
๑๖๗,๗๔๕
๓๓๑,๒๙๕
๗๖
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๘๐,๓๒๙
๘๗๔,๕๘๑
๑,๗๕๔,๙๑๐
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒
ประมวล รุจนเสรี
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปรียนันท์/แก้ไข
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๕
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนพิเศษ
๘ ง/หน้า ๖๒/๒๗ มกราคม ๒๕๔๒ |
318600 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกรายจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2540 | ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
เรื่อง
จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกรายจังหวัด
ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
แยกรายจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐ ดังต่อไปนี้
ลำดับ
จังหวัด
จำนวนราษฎร
ชาย
หญิง
รวม
ทั่วราชอาณาจักร
๓๐,๒๙๕,๗๙๗
๓๐,๕๒๐,๔๓๐
๖๐,๘๑๖,๒๒๗
๑
กรุงเทพมหานคร
๒,๗๔๙,๙๔๗
๒,๘๕๔,๘๒๕
๕,๖๐๔,๗๗๒
๒
จังหวัดสมุทรปราการ
๔๖๙,๒๒๕
๔๘๗,๐๔๑
๙๕๖,๒๖๖
๓
จังหวัดนนทบุรี
๓๘๘,๗๑๖
๔๑๒,๐๒๕
๘๐๐,๗๔๑
๔
จังหวัดปทุมธานี
๒๙๑,๓๔๔
๓๐๐,๙๘๔
๕๙๒,๓๒๘
๕
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓๕๑,๙๖๖
๓๖๙,๕๓๐
๗๒๑,๔๙๖
๖
จังหวัดอ่างทอง
๑๔๐,๓๔๕
๑๔๙,๐๕๒
๒๘๙,๓๙๗
๗
จังหวัดลพบุรี
๓๘๔,๕๘๑
๓๗๑,๙๐๓
๗๕๖,๔๘๔
๘
จังหวัดสิงห์บุรี
๑๐๙,๐๔๓
๑๑๖,๐๓๗
๒๒๕,๐๘๐
๙
จังหวัดชัยนาท
๑๗๑,๒๔๑
๑๘๑,๒๙๓
๓๕๒,๕๓๔
๑๐
จังหวัดสระบุรี
๒๙๙,๕๔๓
๒๙๖,๙๙๐
๕๙๖,๕๓๓
๑๑
จังหวัดชลบุรี
๕๒๓,๒๙๕
๕๐๕,๓๓๐
๑,๐๒๘,๖๒๕
๑๒
จังหวัดระยอง
๒๕๔,๗๒๘
๒๔๙,๙๐๓
๕๐๔,๖๓๑
๑๓
จังหวัดจันทบุรี
๒๔๓,๒๖๕
๒๔๐,๙๐๕
๔๘๔,๑๗๐
๑๔
จังหวัดตราด
๑๑๑,๗๘๑
๑๐๘,๒๑๙
๒๒๐,๐๐๐
๑๕
จังหวัดฉะเชิงเทรา
๓๑๑,๑๕๗
๓๑๕,๙๖๒
๖๒๗,๑๑๙
๑๖
จังหวัดปราจีนบุรี
๒๒๐,๔๓๔
๒๑๖,๕๒๒
๔๓๖,๙๕๖
๑๗
จังหวัดนครนายก
๑๑๙,๗๖๘
๑๒๒,๑๗๑
๒๔๑,๙๓๙
๑๘
จังหวัดสระแก้ว
๒๖๓,๘๗๕
๒๕๗,๕๕๗
๕๒๑,๔๓๒
๑๙
จังหวัดนครราชสีมา
๑,๒๔๙,๐๗๗
๑,๒๖๑,๗๖๒
๒,๕๑๐,๘๓๙
๒๐
จังหวัดบุรีรัมย์
๗๔๖,๕๔๑
๗๔๘,๒๙๕
๑,๔๙๔,๘๓๖
๒๑
จังหวัดสุรินทร์
๖๘๒,๘๖๗
๖๘๔,๘๑๘
๑,๓๖๗,๖๘๕
๒๒
จังหวัดศรีสะเกษ
๗๐๙,๙๖๐
๗๑๒,๕๖๗
๑,๔๒๒,๕๒๗
๒๓
จังหวัดอุบลราชธานี
๘๖๗,๓๒๖
๘๖๓,๗๗๙
๑,๗๓๑,๑๐๕
๒๔
จังหวัดยโสธร
๒๗๕,๕๘๔
๒๗๓,๘๘๒
๕๔๙,๔๖๖
๒๕
จังหวัดชัยภูมิ
๕๕๗,๔๒๗
๕๕๘,๐๙๒
๑,๑๑๕,๕๑๙
๒๖
จังหวัดอำนาจเจริญ
๑๘๐,๙๙๘
๑๗๙,๓๔๒
๓๖๐,๓๔๐
๒๗
จังหวัดหนองบัวลำภู
๒๔๕,๕๖๖
๒๔๐,๕๘๗
๔๘๖,๑๕๓
๒๘
จังหวัดขอนแก่น
๘๖๓,๘๑๘
๘๖๒,๗๗๖
๑,๗๒๖,๕๙๔
๒๙
จังหวัดอุดรธานี
๗๕๐,๖๙๕
๗๔๐,๘๖๕
๑,๔๙๑,๕๖๐
๓๐
จังหวัดเลย
๓๒๑,๒๕๐
๓๐๙,๖๒๖
๖๓๐,๘๗๖
๓๑
จังหวัดหนองคาย
๔๔๗,๒๓๕
๔๔๑,๔๖๗
๘๘๘,๗๐๒
๓๒
จังหวัดมหาสารคาม
๔๖๑,๙๑๒
๔๖๕,๘๔๑
๙๒๗,๗๕๓
๓๓
จังหวัดร้อยเอ็ด
๖๕๕,๖๑๙
๖๕๔,๔๗๖
๑,๓๑๐,๐๙๕
๓๔
จังหวัดกาฬสินธุ์
๔๘๗,๑๗๕
๔๘๗,๒๘๕
๙๗๔,๔๖๐
๓๕
จังหวัดสกลนคร
๕๓๗,๔๔๔
๕๓๙,๗๖๔
๑,๐๗๗,๒๐๙
๓๖
จังหวัดนครพนม
๓๕๑,๖๓๕
๓๕๒,๓๐๐
๗๐๓,๙๓๕
๓๗
จังหวัดมุกดาหาร
๑๖๓,๔๓๗
๑๖๒,๗๕๑
๓๒๖,๑๘๘
๓๘
จังหวัดเชียงใหม่
๗๘๔,๗๒๙
๗๘๙,๐๒๘
๑,๕๗๓,๗๕๗
๓๙
จังหวัดลำพูน
๒๐๑,๙๓๑
๒๐๖,๘๗๓
๔๐๘,๘๐๔
๔๐
จังหวัดลำปาง
๔๐๓,๔๐๔
๔๐๓,๙๕๘
๘๐๗,๓๖๒
๔๑
จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๓๙,๓๕๙
๒๔๒,๒๐๔
๔๘๑,๕๖๓
๔๒
จังหวัดแพร่
๒๔๔,๙๐๒
๒๔๙,๗๓๕
๔๙๔,๖๓๗
๔๓
จังหวัดน่าน
๒๔๕,๒๘๖
๒๓๘,๘๓๐
๔๘๔,๑๑๖
๔๔
จังหวัดพะเยา
๒๕๘,๑๗๑
๒๕๙,๔๕๑
๕๑๗,๖๒๒
๔๕
จังหวัดเชียงราย
๖๓๒,๕๗๖
๖๒๘,๕๖๒
๑,๒๖๑,๑๓๘
๔๖
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๑๘,๘๘๔
๑๑๐,๔๐๐
๒๒๙,๒๘๔
๔๗
จังหวัดนครสวรรค์
๕๕๘,๕๐๕
๕๗๓,๓๙๕
๑,๑๓๑,๙๐๐
๔๘
จังหวัดอุทัยธานี
๑๖๒,๕๒๗
๑๖๖,๔๕๑
๓๒๘,๙๗๘
๔๙
จังหวัดกำแพงเพชร
๓๘๑,๒๐๔
๓๘๔,๘๔๔
๗๖๖,๐๔๘
๕๐
จังหวัดตาก
๒๓๙,๙๓๗
๒๓๑,๖๕๙
๔๗๑,๕๙๖
๕๑
จังหวัดสุโขทัย
๓๐๖,๘๖๐
๓๒๐,๒๓๐
๖๒๗,๐๙๐
๕๒
จังหวัดพิษณุโลก
๔๓๐,๙๕๑
๔๓๔,๔๕๗
๘๖๕,๔๐๘
๕๓
จังหวัดพิจิตร
๒๙๕,๑๖๖
๓๐๕,๙๕๑
๖๐๑,๑๑๗
๕๔
จังหวัดเพชรบูรณ์
๕๒๓,๒๔๒
๕๑๗,๖๗๕
๑,๐๔๐,๙๑๗
๕๕
จังหวัดราชบุรี
๔๐๑,๒๙๐
๔๑๒,๐๐๓
๘๑๓,๒๙๓
๕๖
จังหวัดกาญจนบุรี
๓๘๙,๘๕๓
๓๗๖,๔๙๙
๗๖๖,๓๕๒
๕๗
จังหวัดสุพรรณบุรี
๔๑๗,๐๙๓
๔๓๖,๒๒๐
๘๕๓,๓๑๓
๕๘
จังหวัดนครปฐม
๓๗๐,๑๑๐
๓๘๓,๔๘๙
๗๕๓,๕๙๙
๕๙
จังหวัดสมุทรสาคร
๒๐๑,๐๖๘
๒๐๖,๐๗๘
๔๐๗,๑๔๖
๖๐
จังหวัดสมุทรสงคราม
๑๐๑,๓๙๙
๑๐๖,๓๐๘
๒๐๗,๗๐๗
๖๑
จังหวัดเพชรบุรี
๒๒๒,๑๙๔
๒๓๑,๑๙๗
๔๕๓,๓๙๑
๖๒
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๒๓๘,๕๒๙
๒๓๐,๓๕๑
๔๖๘,๘๘๐
๖๓
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๙๕๓,๑๙๕
๗๕๘,๖๖๒
๑,๕๑๑,๘๕๗
๖๔
จังหวัดกระบี่
๑๗๔,๗๐๙
๑๖๙,๙๐๑
๓๔๔,๖๑๐
๖๕
จังหวัดพังงา
๑๑๖,๔๙๓
๑๑๓,๒๑๑
๒๒๙,๗๐๔
๖๖
จังหวัดภูเก็ต
๑๐๙,๗๔๑
๑๑๒,๐๙๔
๒๒๑,๘๓๕
๖๗
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๓๒,๑๒๑
๔๒๙,๑๑๒
๘๖๑,๒๓๓
๖๘
จังหวัดระนอง
๗๘,๕๙๘
๗๓,๒๗๐
๑๕๑,๘๖๘
๖๙
จังหวัดชุมพร
๒๒๕,๙๖๖
๒๒๒,๑๒๑
๔๔๘,๐๘๗
๗๐
จังหวัดสงขลา
๕๘๙,๙๘๓
๖๐๑,๒๕๐
๑,๑๙๑,๒๓๓
๗๑
จังหวัดสตูล
๑๒๗,๓๒๘
๑๒๕,๘๔๙
๒๕๓,๑๗๗
๗๒
จังหวัดตรัง
๒๘๖,๕๑๘
๒๘๙,๕๔๒
๕๗๖,๐๖๐
๗๓
จังหวัดพัทลุง
๒๔๕,๙๑๘
๒๕๒,๘๘๗
๔๙๘,๘๐๕
๗๔
จังหวัดปัตตานี
๒๙๑,๒๗๐
๒๙๙,๔๖๕
๕๙๐,๗๓๕
๗๕
จังหวัดยะลา
๒๑๑,๖๓๕
๒๐๗,๑๕๕
๔๑๘,๗๙๐
๗๖
จังหวัดนราธิวาส
๓๒๓,๓๓๒
๓๒๓,๕๓๙
๖๔๖,๘๗๑
จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
ประมวล รุจนเสรี
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๕/ตอนพิเศษ ๒๓ ง/หน้า ๔/๑๘ มีนาคม ๒๕๔๑ |
535167 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2538 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๓๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ในระเบียบนี้
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายความว่า
ระบบการประมวลผลข้อมูลการทะเบียนราษฎรด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ
๔
สำนักทะเบียนใดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้ใช้ระเบียบนี้
ข้อ
๕
การจัดทำทะเบียนราษฎรในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ดำเนินการด้วยระบบคอมพิวเตอร์
๑.
การออกหลักฐานการแจ้ง
๒.
การจัดทำทะเบียนราษฎร
๓.
การควบคุมทะเบียนราษฎร
๔.
การสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร
ข้อ
๕/๑[๒] การออกหลักฐานการรับแจ้งการเกิด การตาย
การย้ายที่อยู่ หรือการคัดและรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสิบห้านาทีนับแต่เวลาที่ได้รับคำร้อง หากไม่อาจดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่อาจดำเนินการได้
ข้อ
๕/๒[๓]
การกำหนดรหัสประจำตัวและรหัสผ่านของนายทะเบียนและผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)[๔]
ลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร โดยผู้ที่เป็นนายทะเบียนให้ลงทะเบียน ตามแบบ
บท.1 และผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ใช่นายทะเบียนให้ลงทะเบียน ตามแบบ บท.1/1
(๒)
เมื่อนายทะเบียนอนุมัติแล้ว ให้สำนักทะเบียนกำหนดรหัสประจำตัวเป็นเลข ๙ หลัก
หลักที่ ๑, ๒, ๓, ๔
เป็นเลขรหัสประจำสำนักทะเบียน หลักที่ ๕ เป็นเลขกลุ่มตำแหน่งของผู้ปฏิบัติงานและหลักที่
๖, ๗, ๘, ๙
เป็นลำดับการกำหนดรหัสประจำตัวของสำนักทะเบียน
และให้จัดทำบัญชีคุมการกำหนดเลขรหัสประจำตัวไว้เป็นหลักฐาน
(๓)[๕]
ส่งแบบ บท.1 หรือ บท.1/1 แล้วแต่กรณี
ไปยังศูนย์บริหารการทะเบียนภาคสาขาจังหวัดที่สำนักทะเบียนนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่
ภายในเจ็ดวัน เพื่อลงทะเบียนและกำหนดรหัสผ่าน
(๔)
เมื่อได้รับรหัสผ่านแล้ว
ให้เจ้าของรหัสผ่านเปลี่ยนแปลงรหัสผ่านด้วยระบบคอมพิวเตอร์อีกครั้งหนึ่ง
จึงจะใช้รหัสผ่านนั้นปฏิบัติงานได้
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจกำหนดให้ใช้เลขประจำตัวประชาชนและลายพิมพ์นิ้วมือของนายทะเบียนหรือผู้ปฏิบัติงานเป็นรหัสประจำตัวตาม
(๒) และรหัสผ่านตาม (๓) ก็ได้
ในกรณีที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพ้นจากหน้าที่รับผิดชอบ
ให้นายทะเบียนแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทางโทรศัพท์หรือโทรสารเพื่อยกเลิกรหัสผ่านทันที
แล้วให้แจ้งยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๗ วัน
ข้อ
๕/๓[๖]
นายทะเบียนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรทุกคนต้องเก็บรักษารหัสผ่านของตนไว้เป็นความลับ
หากมีการปฏิบัติโดยมิชอบหรือความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นอันเนื่องจากการใช้รหัสผ่าน
เจ้าของรหัสผ่านนั้นต้องรับผิดชอบในทุกกรณี
ในกรณีที่ลืมรหัสผ่าน
ให้เจ้าของรหัสผ่านมีหนังสือแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทราบเมื่อศูนย์บริหารการทะเบียนภาคกำหนดรหัสผ่านใหม่แล้ว
ให้เจ้าของรหัสผ่านนั้นเปลี่ยนแปลงรหัสผ่านด้วยตนเองอีกครั้งหนึ่ง
จึงจะใช้รหัสผ่านนั้นปฏิบัติงานได้
การเปลี่ยนแปลงรหัสผ่าน
ให้เจ้าของรหัสผ่านเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง
ข้อ
๕/๔[๗]
ก่อนเริ่มปฏิบัติงานแต่ละวันในสำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อทำการเปิดระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
ให้เจ้าหน้าที่พิมพ์รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันของวันที่ผ่านมาเสนอให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายตรวจสอบรายละเอียดและความถูกต้องก่อนทุกครั้ง
เมื่อตรวจสอบและเห็นว่าถูกต้อง ให้ผู้ตรวจสอบลงชื่อพร้อมทั้งวันเดือนปี
รับรองการตรวจสอบในรายงานดังกล่าว
แล้วให้เก็บรวบรวมไว้สำหรับใช้ตรวจสอบและเป็นหลักฐานอ้างอิงต่อไป การเก็บรักษารายงานดังกล่าวให้เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงานในแต่ละวัน
ให้เจ้าหน้าที่ทำการสำรองข้อมูลไว้โดยใช้เทปประจำวัน
ยกเว้นวันทำการสุดท้ายของสัปดาห์ให้สำรองข้อมูลทั้งหมดในรอบสัปดาห์
เมื่อได้ตรวจสอบการสำรองข้อมูลว่าเสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
จึงจะทำการปิดระบบคอมพิวเตอร์ได้
ให้ศูนย์บริหารการทะเบียนภาคเก็บรักษาข้อมูลการปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สำนักทะเบียนทุกแห่งในเขตรับผิดชอบได้ปฏิบัติตามระเบียบนี้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานและสามารถตรวจสอบได้
ข้อ
๕/๕[๘] ให้มีชุดคำสั่งในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ดังนี้
(๑)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการเกิด (ท.ร.01, 02, 03)
สำหรับการออกสูติบัตรและจัดทำทะเบียนคนเกิด
(๒)
ชุดคำสั่งบัตรทะเบียนคนเกิด (ท.ร.26) สำหรับการจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิด
(๓)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการตาย (ท.ร.04, 05) สำหรับการออกมรณบัตรและการจัดทำทะเบียนคนตาย
(๔)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.06, 07)
สำหรับการออกหลักฐานการแจ้งการย้ายที่อยู่และการจัดเก็บประวัติการย้ายที่อยู่
(๕)
ชุดคำสั่งการเพิ่มรายการบุคคลหรือบ้านที่ตกหล่น (ท.ร.14)
สำหรับการเพิ่มรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
กรณีที่บุคคลนั้นได้รับการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนไว้ในทะเบียนบ้านอยู่ก่อนแล้ว
หรือการเพิ่มรายการบ้านที่ได้รับการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านอยู่ก่อนแล้ว
(๖)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคลหรือบ้าน (ท.ร.44) สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
จำหน่ายรายการบุคคลหรือบ้านโดยนายทะเบียน
(๗)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคล (ท.ร.97 ข)
สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการบุคคลโดยมีผู้ยื่นคำร้อง
(๘)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.97 ค)
สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบ้านโดยมีผู้ยื่นคำร้อง
(๙)
ชุดคำสั่งการกำหนดเลขประจำตัวประชาชน (ท.ร.98)
สำหรับการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
(๑๐)
ชุดคำสั่งการปลูกสร้างบ้านใหม่หรือบ้านที่ยังไม่มีทะเบียนบ้าน (ท.ร.99)
สำหรับการกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
(๑๑)
ชุดคำสั่งการตรวจสอบและคัดรับรองรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
สำหรับการตรวจสอบและคัดรับรองรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๑๒)
ชุดคำสั่งการแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
สำหรับการแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๑๓)
ชุดคำสั่งอื่นที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดเพิ่มเติม
ข้อ
๕/๖[๙] เมื่อนายอำเภอได้อนุมัติ หรืออนุญาตเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตามที่จะกล่าวต่อไปแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นบันทึกรหัสผ่านของนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
แล้วแต่กรณี เพื่อการเพิ่มชื่อ จำหน่ายชื่อ แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) ดังนี้
(๑)
การพิจารณาอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
กรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดของคนมีสัญชาติไทย
และการพิจารณาเห็นชอบการแจ้งเกิดเกินกำหนดเด็กมีอายุต่ำกว่า ๗
ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
กรณีมีเหตุอันสมควรสงสัยเรื่องสัญชาติของเด็กที่จะแจ้งการเกิด
(๒)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อคนสัญชาติไทยที่ไม่มีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
(๓)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง
(๔)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อเด็กอนาถาซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบุคคล
หน่วยงานเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๕)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลที่ได้มีการลงรายการ ตาย
หรือ จำหน่าย ในทะเบียนบ้าน
ฉบับที่มีเลขประจำตัวประชาชนเพราะแจ้งผิดคนหรือสำคัญผิดในข้อเท็จจริงในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
(๖)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลที่ถูกจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
เนื่องจากมีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านโดยมิชอบหรือโดยทุจริต
หรือเป็นคนสาบสูญตามคำสั่งศาลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๗)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
สำหรับคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และเคยมีชื่อในทะเบียนบ้าน
(๘)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรไทย
โดยได้รับการผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษ หรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
ว่าด้วยคนเข้าเมือง รวมทั้งผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยซึ่งไม่ได้สัญชาติไทย
ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
(๙)
การอนุมัติให้จำหน่ายชื่อบุคคลและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
ซึ่งมีชื่อและรายการในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน
(๑๐)
การอนุญาตให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร จากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
เนื่องจากการได้สัญชาติไทยหรือการคัดลอกรายการผิดพลาดหรือลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง
ข้อ
๖
การจัดทำทะเบียนบ้านสำหรับสำนักทะเบียน
ให้จัดทำไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์และให้จัดเก็บทะเบียนบ้านฉบับเดิมไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ให้นายทะเบียนจัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับใหม่ให้แก่เจ้าบ้าน
พร้อมเรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมคืน
เมื่อจัดทำสำเนาทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
ให้นายทะเบียนลงชื่อ พร้อมวัน เดือน ปีที่จัดทำกำกับไว้ในหน้ารายการเกี่ยวกับบ้าน
และลงชื่อกำกับรายการบุคคลในบ้านทุกคนที่พิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในหน้ารายการบุคคลด้วย
โดยหมายเหตุในช่อง มาจาก ว่า ฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมที่ตรวจแล้วมีรายการถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านฉบับของสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปีและให้ขออนุมัตินายทะเบียนจังหวัด
หรือนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี เพื่อทำลาย[๑๐]
ข้อ
๗
การแก้ไขปรับปรุงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
รวมทั้งสำเนาให้ดำเนินการด้วยวิธีขีดฆ่าข้อความรายการเดิม
แล้วเขียนข้อความใหม่ด้วยหมึกสีแดง พร้อมทั้งลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
ข้อ
๘ การส่งรายงานตามข้อ ๕
ให้สำนักทะเบียนรวบรวมส่งสำนักทะเบียนกลางให้เสร็จสิ้นในแต่ละวันด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ข้อ
๙ เอกสารหลักฐานตามข้อ ๘
เมื่อสำนักทะเบียนจัดส่งรายงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แล้วให้จัดเก็บไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ข้อ
๑๐
ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรตามที่สำนักทะเบียนจัดส่งรายงานตามข้อ
๘
ข้อ
๑๑
เมื่อสำนักทะเบียนได้รับรายงานการปรับปรุงฐานข้อมูลหรือรายงานการทักท้วงจากสำนักทะเบียนกลาง
ให้นายทะเบียนตรวจสอบและหรือปรับปรุงแก้ไข แล้วลงลายมือชื่อรับรองในแบบรายงานและเก็บไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ข้อ
๑๒ เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้อง
หรือคำขอ หรือรับแจ้ง
หากพิจารณาเห็นว่ารายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรหรือหลักฐานของสำนักทะเบียนไม่ตรงกับรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ยึดถือรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์เป็นหลัก
หากผู้ร้องยืนยันว่ารายการในเอกสารทะเบียนราษฎรที่นำมาแสดงถูกต้องโดยมีหลักฐานให้นายทะเบียนดำเนินการแก้ไขหรือปรับปรุงรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับรายการในเอกสารดังกล่าว
โดยไม่ต้องยื่นคำร้องขอแต่อย่างใด
และให้สำเนาเอกสารการแก้ไขเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง
ในการรับแจ้ง
หรือการจัดทำทะเบียน
หากปรากฏว่าไม่พบรายการบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้รับแจ้งและปรับปรุงทะเบียนตามหลักฐานที่ผู้แจ้งแสดง
ข้อ
๑๓ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร
ให้ใช้แบบพิมพ์ตามที่กำหนดท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๓/๑[๑๑]
การคัดรายการเกี่ยวกับการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
การแจ้งการย้ายที่อยู่ การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
หรือการปฏิบัติงานอื่นใดเป็นการเฉพาะของนายทะเบียนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ใช้แบบพิมพ์ตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเกี่ยวกับการนั้น
ข้อ
๑๔
สำเนาทะเบียนบ้านที่ยังไม่ได้จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามระเบียบนี้
ให้คงใช้ได้ต่อไปจนกว่านายทะเบียนจะจัดทำให้ใหม่
ข้อ
๑๕ กรณีที่ข้อมูลรายการของทะเบียนบ้านที่จัดทำไว้ในระบบคอมพิวเตอร์มีรายการไม่ตรงกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการของทะเบียนบ้านที่จัดทำไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียน
โดยไม่ต้องให้ผู้ร้องยื่นคำขอแต่อย่างใด
ข้อ
๑๕/๑[๑๒] ในกรณีที่มีการจัดทำ การแก้ไข เปลี่ยนแปลง
การจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคล
หรือบ้านในเอกสารการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ไม่ถูกต้อง
โดยมีผู้ร้องหรือนายทะเบียนทราบเอง ให้ถือปฏิบัติตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเกี่ยวกับการนั้น
ข้อ
๑๖ ให้นายทะเบียนอำเภอ
และนายทะเบียนท้องถิ่น
ซึ่งได้ปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามระเบียบนี้
จัดทำรายงานตามแบบที่กำหนดท้ายระเบียบนี้ เสนอนายอำเภอตรวจสอบในแต่ละวันทำการ
ทุกวัน และหากนายอำเภอได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่า มีรายการใดที่จัดทำไว้ไม่ถูกต้องให้สั่งแก้ไขทันที
ข้อ
๑๗
ให้ใช้ระเบียบนี้ควบคู่กับระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ
๑๗/๑[๑๓] หากเกิดปัญหา อุปสรรค หรือข้อขัดข้องใด ๆ
ในการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะในส่วนของระบบงานตามระเบียบนี้
ให้บันทึกรายงานสาเหตุของปัญหาให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นทราบ
และให้เป็นหน้าที่ของนายทะเบียนเป็นผู้แจ้งเหตุดังกล่าวให้ประชาชนทราบและแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทราบเพื่อปรับปรุงแก้ไขระบบงานนั้น
ข้อ
๑๘
การจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในส่วนที่อยู่นอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ประกาศ ณ วันที่ ๑๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘
ชูวงศ์ ฉายะบุตร
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.97 ข.)
๒.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อ
ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.98)
๓.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
๔.
มรณบัตร
๕.
สูติบัตร
๖.
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร.14/1)
๗.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้านในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.97 ค.)
๘.
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.13)
๙.
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.14)
๑๐.
คำร้องขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร.96)
๑๑.[๑๔]
แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(สำหรับผู้ทำหน้าที่
นายทะเบียน/ผู้ช่วยนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่/ผู้อนุมัติการดำเนินงานในเรื่องอื่น
ๆ) (บท.1)
๑๒.[๑๕]
แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (สำหรับผู้ทำหน้าที่ในฐานะของ
เจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน) (บท.1/1)
๑๒.[๑๖]
แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร โดยระบบอัตโนมัติจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร.12/1)
๑๓.[๑๗]
คำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร (ท.ร.31)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐[๑๘]
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑
มกราคม ๒๕๔๑ เป็นต้นไป
ข้อ
๓
ระเบียบนี้ให้ใช้เฉพาะกับสำนักทะเบียนต้นทางและปลายทางที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ได้ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
๒๕๓๘ แล้ว
ข้อ
๔
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งตามแบบพิมพ์ใบแจ้งย้ายที่อยู่
เพื่อขอแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้ดำเนินการ ดังนี้
สำนักทะเบียนปลายทาง
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนฉบับเจ้าบ้าน พร้อมคำยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าบ้าน
บัตรประจำตัวของเจ้าบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่ใหม่จากผู้แจ้ง
(๒)
ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้งว่าเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลที่ย้ายที่อยู่หรือไม่
(๓)
เมื่อนายทะเบียนเห็นว่า
ผู้แจ้งเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลที่ย้ายที่อยู่แล้ว
ให้จำหน่ายรายการของผู้ย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนต้นทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(๔)
เพิ่มชื่อผู้ย้ายที่อยู่ลงในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนปลายทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พร้อมทั้งเพิ่มชื่อลงในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน แล้วคืนให้ผู้แจ้งต่อไป
(๕)
เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๖)
ให้สำนักทะเบียนปลายทางแจ้งสำนักทะเบียนต้นทางโดยทางระบบคอมพิวเตอร์
สำนักทะเบียนต้นทาง
เมื่อสำนักทะเบียนต้นทางได้รับทราบการจำหน่ายรายการของผู้ย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้แจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายชื่อต่อไป
ข้อ
๕
ให้สำนักทะเบียนที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
๒๕๓๘ สามารถตรวจสอบชื่อและรายการบุคคลจากฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
เพื่อการปฏิบัติตามระเบียบ ว่าด้วยการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
โดยไม่ต้องส่งเรื่องไปขอตรวจสอบยังสำนักทะเบียนกลางอีก
โดยให้นายทะเบียนจัดทำแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร.๑๔/๒)
แล้วลงลายมือชื่อและวัดเดือนปีกำกับไว้เพื่อเป็นหลักฐานต่อไป
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗[๑๙]
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๙[๒๐]
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕[๒๑]
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๗/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙
[๒] ข้อ ๕/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๓] ข้อ ๕/๒ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๔] ข้อ ๕/๒ (๑) แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
[๕] ข้อ ๕/๒ (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
[๖] ข้อ ๕/๓ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๗] ข้อ ๕/๔ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๘] ข้อ ๕/๕ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๙] ข้อ ๕/๖ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๙
[๑๐] ข้อ ๖ วรรคสี่ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๑] ข้อ ๑๓/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๒] ข้อ ๑๕/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๓] ข้อ ๑๗/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๔] แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(บท.1) แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
[๑๕] แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(บท.1/1) แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
[๑๖] แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร โดยระบบอัตโนมัติจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร.12/1) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๗] คำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร (ท.ร.31)
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า๑๐/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙
[๑๙] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๑๒/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙
[๒๐] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๑๗/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙
[๒๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๗ ง/หน้า ๘/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๖ |
717733 | ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2541 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๔๑[๑]
โดยที่ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
ได้ใช้บังคับมานานแล้วและไม่สอดคล้องกับภาวการณ์ในปัจจุบัน
สมควรปรับปรุงแนวทางปฏิบัติในการจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัวให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๔๑
ข้อ ๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓
ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
(๒) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๘
(๓) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๐
บรรดาระเบียบ และคำสั่งอื่นใด
ในส่วนที่กำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔
ให้อธิบดีกรมการปกครองรักษาการตามระเบียบนี้
และให้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๕
ในระเบียบนี้
ทะเบียนครอบครัว ให้หมายความถึง ทะเบียนสมรส
ทะเบียนการหย่า ทะเบียนรับรองบุตร ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ทะเบียนฐานะของภริยา และทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว
จังหวัด หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานคร ด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัด หมายความรวมถึง ปลัดกรุงเทพมหานคร
ด้วย
สำนักทะเบียนอำเภอ หมายความรวมถึง สำนักทะเบียนกิ่งอำเภอ
และสำนักทะเบียนเขตด้วย
นายทะเบียน หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ
นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกิ่งอำเภอ และนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนเขต
ผู้มีส่วนได้เสีย หมายความว่า
(๑) คู่กรณีที่มีนิติสัมพันธ์กันในทะเบียนครอบครัว
(๒) คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้อนุบาล
ผู้พิทักษ์ บุตรบุญธรรม หรือผู้รับบุตรบุญธรรม ของบุคคลตาม (๑)
(๓)
ผู้ซึ่งนายทะเบียนเห็นว่ามีหรืออาจมีประโยชน์ส่วนได้เสียเกี่ยวกับทะเบียนครอบครัวนั้น
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
การส่งเอกสาร หมายความรวมถึง
การส่งเอกสารทางเครื่องโทรสาร หรือระบบอื่นใด
ให้แก่ผู้รับโดยมีหลักฐานการได้ส่งโดยเครื่องโทรสารหรือระบบนั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายความถึง
ระบบการประมวลผลข้อมูลการทะเบียนครอบครัวด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กรมการปกครองกำหนด
ข้อ ๖
ในการร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก ผู้ร้องจะร้องขอต่อนายทะเบียน ณ สำนักทะเบียนอำเภอแห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้
เว้นแต่การร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อกำนันท้องที่ตามข้อ ๑๗
ข้อ ๗
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก
นายทะเบียนต้องรับจดทะเบียนหรือบันทึกให้
เว้นแต่จะปรากฏว่ามิได้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น
กรณีที่นายทะเบียนไม่สามารถดำเนินการตามความประสงค์ของผู้ร้องได้ให้นายทะเบียนแจ้งให้ผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่สามารถดำเนินการได้
ข้อ ๘
ในการร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก ให้ผู้ร้องยื่นคำร้องตามแบบ คร.๑
และให้นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้
สำหรับบุคคลซึ่งไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมายหรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
รวมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร้อง
ถ้าผู้ร้องเป็นบุคคลต่างด้าวซึ่งไม่สามารถแสดงเอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวตามวรรคหนึ่งได้
ให้นายทะเบียนตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าผู้ร้องเป็นใครและมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายไทยว่าด้วยการนั้นหรือไม่
ข้อ ๙
ถ้าผู้ร้องหรือผู้ให้ความยินยอมหรือพยาน
ไม่อาจลงลายมือชื่อได้บุคคลดังกล่าวจะพิมพ์ลายนิ้วมือแทนการลงลายมือชื่อก็ได้
โดยให้นายทะเบียนเขียนกำกับไว้ว่าเป็นลายพิมพ์นิ้วมือของบุคคลใด
แต่ถ้าไม่สามารถกระทำได้โดยวิธีใดเลย
ให้นายทะเบียนบันทึกเหตุขัดข้องไว้ในช่องลายมือชื่อนั้น
ในกรณีที่ผู้ร้องหรือผู้ให้ความยินยอมหรือพยาน
ประสงค์จะลงลายมือชื่อเป็นภาษาต่างประเทศ
ให้นายทะเบียนสอบถามบุคคลดังกล่าวว่าชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุลนั้น มีสำเนียงไทยว่าอย่างไรแล้วเขียนเป็นภาษาไทยกำกับไว้
ข้อ ๑๐
ถ้าผู้มีอำนาจให้ความยินยอมได้ให้ความยินยอมโดยวิธีการอื่นซึ่งมิใช่การให้ความยินยอมในขณะจดทะเบียน
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนแล้วให้แจ้งผู้มีอำนาจให้ความยินยอมทราบ
ข้อ ๑๑
ในการลงรายการคำนำนาม ชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล
รวมทั้งเลขประจำตัวประชาชนของผู้ร้องในทะเบียนครอบครัว
ให้นายทะเบียนลงรายการตามเอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ร้องนำมาแสดง
ในกรณีที่ผู้ร้องนำเอกสารหรือหลักฐานภาษาต่างประเทศมาแสดงพร้อมคำแปลเป็นภาษาไทยที่รับรองถูกต้อง
ให้นายทะเบียนลงรายการในทะเบียนครอบครัวเป็นภาษาไทย
ข้อ ๑๒
ในการลงรายการเลขทะเบียนในทะเบียนครอบครัว
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขทะเบียนของทะเบียนครอบครัวแต่ละประเภทเป็นสองตอน
ตอนหน้าเป็นเลขลำดับที่ซึ่งได้รับจดทะเบียนในปีหนึ่ง ๆ
เมื่อขึ้นปีใหม่ให้ขึ้นหนึ่งใหม่ส่วนตอนหลังเป็นเลขลำดับที่ซึ่งสำนักทะเบียนอำเภอได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ทั้งหมด
หมวด ๒
การจดทะเบียนสมรส
ข้อ ๑๓
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้องและหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒) ตรวจสอบว่าผู้ร้องทั้งสองฝ่ายมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
ในกรณีที่ผู้ร้องเป็นผู้เยาว์ให้ตรวจสอบหลักฐานของผู้ให้ความยินยอมหรือหลักฐานแสดงความยินยอม
(๓) ลงรายการในทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้ครบถ้วน ในกรณีที่ผู้ร้องทั้งสองฝ่ายประสงค์จะให้บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน
หรือเรื่องอื่น ให้นายทะเบียนบันทึกไว้ในช่องบันทึก
(๔) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนสมรส (คร.๒)
(๕)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนสมรส (คร.๒)
และในใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
(๖) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ
รวมทั้งกล่าวอำนวยพรและแนะนำวิธีปฏิบัติในหน้าที่ระหว่างสามีภริยาตามสมควร
(๗) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๑๔
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในเขตอำนาจของนายทะเบียน
โดยระบุว่าจะให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ใด
หากนายทะเบียนเห็นสมควร ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ ๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส
(คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ก
นำหน้าเลขทะเบียน
(๒) ในกรณีที่มีผู้ขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในวัน
เวลา เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้แยกใช้ทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส
(คร.๓) ต่างหาก โดยกำหนดอักษรหน้าเลขทะเบียนเป็น ข หรือ ค หรือ ง หรือ จ
เพิ่มเติมไปตามลำดับ
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๕
เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกล
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ขออนุมัติต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลโดยระบุวัน
เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ วัน เวลา
และสถานที่ในการรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ
๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้แยกใช้ต่างหากโดยกำหนดอักษร ท นำหน้าเลขทะเบียน
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๖
เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนนอกจากข้อ ๑๔
และข้อ ๑๕ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ขออนุมัติต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายโดยผ่านจังหวัด
เพื่อออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนโดยระบุวัน เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายอนุมัติ
วัน เวลา และสถานที่ในการรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายอนุมัติให้รับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ ๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒)
และใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แยกใช้ต่างหากโดยกำหนดอักษร ร นำหน้าเลขทะเบียน
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๗
ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศว่าท้องที่ใดสามารถรับคำร้องขอจดทะเบียนสมรสของผู้ร้องฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายซึ่งมีถิ่นกำเนิดที่อยู่เดียวกันกับกำนันท้องที่นั้น
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) นำประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดปิดไว้ ณ
สำนักทะเบียนอำเภอและที่ทำการกำนันท้องที่นั้น
(๒)
แจ้งให้กำนันท้องที่ที่มีอำนาจรับคำร้องขอจดทะเบียนสมรสทราบว่าเมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อกำนัน
ให้ผู้ร้องและพยานสองคน ซึ่งพยานคนหนึ่งนั้นต้องเป็นเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
ซึ่งมีตำแหน่งตั้งแต่ชั้นผู้ใหญ่บ้านขึ้นไป
หรือนายตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นร้อยตำรวจตรีขึ้นไป หรือหัวหน้าสถานีตำรวจ
หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือทนายความ ลงลายมือชื่อในคำร้องตามแบบ คร.๑
ต่อหน้ากำนันและเมื่อได้รับคำร้องดังกล่าวแล้ว
ให้กำนันส่งคำร้องไปยังนายทะเบียนเพื่อพิจารณารับจดทะเบียน
(๓) เมื่อได้รับคำร้องจากกำนันแล้ว
ถ้าเห็นว่าการมิได้เป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมายให้ระงับการจดทะเบียนสมรสแล้วแจ้งให้กำนันเพื่อแจ้งให้ผู้ร้องทราบถ้าเห็นว่าถูกต้องให้ดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ
๑๓ (๓) (๕) และ (๗)
โดยระบุชื่อของผู้ร้องและพยานในช่องลายมือชื่อผู้ร้องขอจดทะเบียนและช่องลายมือชื่อพยานในหน้าทะเบียน
และบันทึกในหน้าที่บันทึกให้ชัดเจนว่าผู้ร้องและพยานได้ลงลายมือชื่อต่อหน้ากำนันในวัน
เวลา และสถานที่ใด
(๔) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้กำนันเพื่อนำไปมอบแก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ
ข้อ ๑๘
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสตามมาตรา ๑๔๖๐
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
และหลักฐานการแสดงเจตนาขอทำการสมรส
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๑๓ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗)
โดยบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ชัดเจนว่าผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะสมรสกันต่อหน้าบุคคลใดในวัน
เวลา สถานที่ใด และมีพฤติการณ์พิเศษอย่างไร
แล้วให้ผู้ร้องและนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้
ข้อ ๑๙
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสตามมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานประจำตัวของผู้รับคำร้องตามมาตรา
๑๔ แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘
และชายหญิงที่ยังมีชีวิตอยู่ ถ้าหากมี รวมทั้งสอบสวนบุคคลดังกล่าวให้ทราบถึงวัน
เวลา สถานที่ที่แสดงเจตนา และพฤติการณ์พิเศษนั้น
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๑๓ (๓) (๔) (๕) และ (๗)
สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒)
ให้ระบุในช่องลายมือชื่อผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสฝ่ายที่เสียชีวิตไปแล้วว่าผู้ร้องเสียชีวิตเมื่อวัน
เวลาใด
รวมทั้งบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ชัดเจนว่าชายและหญิงได้ร้องขอจดทะเบียนสมรสด้วยวาจาหรือกริยาต่อบุคคลใดในวัน
เวลา สถานที่ใด และมีพฤติการณ์พิเศษอย่างไร แล้วให้ผู้รับคำร้องตามมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘
และนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๓) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้แก่ชายหรือหญิงฝ่ายที่ยังมีชีวิตอยู่หนึ่งฉบับ และเก็บรักษาใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ฉบับที่เหลือไว้ ถ้าชายและหญิงเสียชีวิตทั้งสองฝ่ายให้เก็บรักษาใบสำคัญการสมรส
(คร.๓) ไว้ เพื่อให้ทายาทของบุคคลดังกล่าวมาขอรับไป
หมวด ๓
การจดทะเบียนหย่า
ข้อ ๒๐
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยความยินยอมต่อนายทะเบียน ณ
สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
หลักฐานการจดทะเบียนสมรสและหนังสือสัญญาหย่า
(๒) ลงรายการในทะเบียนการหย่า (คร.๖) และใบสำคัญการหย่า
(คร.๗) ให้ครบถ้วน
สำหรับในกรณีที่ผู้ร้องทั้งสองฝ่ายประสงค์จะให้บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน
อำนาจการปกครองบุตร หรือเรื่องอื่น ให้นายทะเบียนบันทึกไว้ในช่องบันทึก
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงมือชื่อในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
(๔) เมื่อเห็นว่าถูต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนการหย่า
(คร.๖) และในใบสำคัญการหย่า (คร.๗)
(๕) มอบใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้แก่ผู้ร้องฝ่ายละหนึ่งฉบับ
(๖) ดำเนินการตามข้อ ๓๙ และข้อ ๔๓
ข้อ ๒๑
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยความยินยอมแต่อ้างว่าอีกฝ่ายหนึ่งไม่สามารถมายื่นคำร้อง ณ
สำนักทะเบียนอำเภอแห่งเดียวกันได้ให้นายทะเบียนชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
ก. สำนักทะเบียนแห่งแรก
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
หลักฐานการจดทะเบียนสมรส และหนังสือสัญญาหย่า
(๒)
สอบปากคำผู้ร้องให้ปรากฏว่าเป็นผู้ยื่นคำร้องก่อนและอีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง
ณ สำนักทะเบียนแห่งใด
(๓) ลงรายการของผู้ร้องในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
ซึ่งแยกใช้ต่างหาก ส่วนรายการของฝ่ายที่มิได้มา ให้ลงเฉพาะรายการที่ทราบ
(๔) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อไว้ในทะเบียนการหย่า
(คร.๖) สำหรับช่องลายมือชื่อของผู้ร้องฝ่ายที่มิได้มา ให้ระบุว่าจะลงลายมือชื่อ ณ
สำนักทะเบียนแห่งใด
(๕)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
(๖) ระบุข้อความไว้ที่ตอนบนด้านขวาของหน้าทะเบียนว่า
ต่างสำนักทะเบียน
(๗)
แจ้งให้ผู้ร้องทราบว่าการหย่าดังกล่าวจะมีผลเมื่อคู่หย่าอีกฝ่ายหนึ่งได้ลงลายมือชื่อ
ณ สำนักทะเบียนแห่งที่สองและนายทะเบียนแห่งที่สองได้รับจดทะเบียนการหย่าแล้ว
(๘) ส่งเอกสารสำเนาคำร้อง สำเนาทะเบียนการหย่า
สำเนาหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง สำเนาหลักฐานการจดทะเบียนสมรส
และสำเนาหนังสือสัญญาหย่า
ไปยังสำนักทะเบียนตามที่ผู้ร้องได้แจ้งว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง
ในกรณีที่อีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง ณ สำนักทะเบียนในต่างประเทศ
ให้ส่งเอกสารดังกล่าวไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๙)
เมื่อได้รับแจ้งผลการจดทะเบียนจากสำนักทะเบียนแห่งที่สองแล้วให้แจ้งผู้ร้องมารับใบสำคัญการหย่า
(คร.๗)
สำหรับในกรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนแห่งที่สองว่าคู่หย่าอีกฝ่ายหนึ่งไม่ประสงค์จะจดทะเบียนการหย่าหรือนายทะเบียนมิได้รับคำร้องของบุคคลดังกล่าว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบ
ข. สำนักทะเบียนแห่งที่สอง
(๑) เมื่อได้รับเอกสารจากสำนักทะเบียนแห่งแรกแล้ว
ให้แจ้งฝ่ายที่ยังมิได้ลงลายมือชื่อทราบเพื่อยื่นคำร้องขอจดทะเบียนการหย่า
(๒) ชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนตรวจสอบคำร้อง
หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และให้ผู้ร้องตรวจสอบความถูกต้องของสำเนาหลักฐานการจดทะเบียนสมรสรวมทั้งหนังสือสัญญาหย่าที่ได้รับจากสำนักทะเบียนแห่งแรก
(๓) ลงรายการของผู้ร้องทั้งสองฝ่ายในทะเบียนการหย่า (คร.)
และใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ซึ่งแยกใช้ต่างหาก
(๔) ดำเนินการตาม ก. (๓) (๔) (๕) และ (๖)
รวมทั้งกำหนดเลขทะเบียนตามข้อ ๑๒
(๕) มอบใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้ผู้ร้องหนึ่งฉบับ
(๖) ส่งเอกสารใบสำคัญการหย่า (คร.๗) อีกหนึ่งฉบับ
และสำเนาทะเบียนการหย่าไปยังสำนักทะเบียนแห่งแรก หากสำนักทะเบียนดังกล่าวเป็นสำนักทะเบียนในต่างประเทศให้ส่งเอกสารนั้นไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๗) ดำเนินการตามข้อ ๓๙ และข้อ ๔๓
ในกรณีที่ได้ดำเนินการตาม (๑) แล้ว
ฝ่ายที่ยังมิได้ลงลายมือชื่อไม่ประสงค์จะจดทะเบียนการหย่า
หรือนายทะเบียนมิได้รับคำร้องภายในหกสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนได้แจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบ
ให้แจ้งสำนักทะเบียนแห่งแรกและผู้ร้องทราบเพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ ๒๒
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันถึงที่สุดให้สามีภริยาหย่าขาดจากกัน
และมีคำรับรองถูกต้องมาแสดง ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการของคู่หย่าในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
และใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้ครบถ้วน
(๓) บันทึกข้อความลงในช่องบันทึกของทะเบียนการหย่า (คร.๖)
ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี วันเดือนปีที่พิพากษา
และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๔) ดำเนินการตามข้อ ๒๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖)
สำหรับในกรณีที่ผู้ร้องมายื่นคำร้องเพียงฝ่ายเดียว ให้เก็บรักษาใบสำคัญการหย่า
(คร.๗) ฉบับที่เหลือไว้ แล้วแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งมารับไป
หมวด ๔
การจดทะเบียนรับรองบุตร
ข้อ ๒๓
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
โดยเด็กและมารดาเด็กมาให้ความยินยอมในการจดทะเบียน ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง เด็ก
และมารดาเด็ก
(๒) ลงรายการในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๔
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สำนักทะเบียนอำเภอโดยเด็กหรือมารดาเด็กฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายไม่มาแสดงตนเพื่อให้ความยินยอม
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง และหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
(๒)
สอบปากคำผู้ร้องให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าเด็กหรือมารดาเด็กที่ไม่มาแสดงตนเพื่อให้ความยินยอมว่ามีภูมิลำเนาอยู่ที่ใด
แล้วแจ้งการขอจดทะเบียนรับรองบุตรไปยังเด็กหรือมารดาเด็กนั้นว่าจะให้ความยินยอมหรือไม่
(๓) เมื่อเด็กและมารดาได้ให้ความยินยอมแล้ว
ให้ดำเนินการตามข้อ ๒๓ (๒) (๓) (๔) และ (๕)
สำหรับช่องลายมือชื่อผู้ให้ความยินยอมให้ระบุว่าได้ให้ความยินยอมเป็นหนังสือ
(๔) ถ้าเด็กหรือมารดาเด็ก
ไม่คัดค้านหรือไม่ให้ความยินยอมภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๑๕๔๘
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้แจ้งผู้ร้องทราบ
ข้อ ๒๕
เมื่อมีผู้ขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ
สำนักทะเบียนอำเภอโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันเป็นถึงที่สุดให้บิดาจดทะเบียนรับรองบุตรได้หรือให้บิดารับเด็กเป็นบุตร
และมีคำรับรองถูกต้องแสดง ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้ครบถ้วน
รวมทั้งบันทึกข้อความลงในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่
คดีวันเดือนปีที่พิพากษา และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อไว้ในทะเบียนรับรองบุตร
(คร.๑๑)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๖
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในเขตอำนาจของนายทะเบียน
โดยระบุว่าจะให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนรับรองบุตรในวัน เวลา และสถานที่ใด
หากนายทะเบียนเห็นสมควรให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามข้อ ๒๓ หรือข้อ ๒๔ หรือข้อ ๒๕
แล้วแต่กรณีสำหรับทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ก
นำหน้าเลขทะเบียน
(๒)
ในกรณีที่มีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในวัน
เวลา เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้แยกใช้ทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ต่างหาก
โดยกำหนดอักษรหน้าเลขทะเบียนเป็น ข หรือ ค หรือ ง หรือ จ
เพิ่มเติมไปตามลำดับ
(๓)
บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๒๗ เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปรับจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกล
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ขออนุมัติต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลโดยระบุวัน
เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ วัน เวลา
และสถานที่ในการรับจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตรในวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว
ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนรับรองบุตรตามข้อ ๒๓ หรือข้อ ๒๔ หรือข้อ ๒๕
แล้วแต่กรณี สำหรับทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ท
นำหน้าเลขทะเบียน
(๓)
บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวด ๕
การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ข้อ ๒๘ เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ณ สำนักทะเบียนอำเภอโดยผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง และหลักฐานตามข้อ ๘
ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒)
ตรวจสอบว่าผู้ร้องทั้งสองฝ่ายมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
ในกรณีที่ผู้ร้องมีคู่สมรสซึ่งต้องให้ความยินยอม
ให้ตรวจสอบหลักฐานของบุคคลดังกล่าวด้วย
(๓) ลงรายการในทะเบียนรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๔) ให้ครบถ้วน
(๔) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียน (คร.๑๔)
(๕) เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
(คร.๑๔)
(๖) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๙
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
โดยผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และหนังสือแจ้งการอนุมัติของคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายว่าด้วยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
(๒)
ตรวจสอบว่าผู้ร้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
(๓) ดำเนินการตามข้อ ๒๘ (๓) (๔) (๕) และ (๖)
โดยบันทึกข้อความในช่องบันทึกเกี่ยวกับเลขที่ วันเดือนปี
ของหนังสือแจ้งการอนุมัติของคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมไว้ในช่องบันทึกด้วย
ข้อ ๓๐
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมตามข้อ ๒๘ หรือข้อ ๒๙
แต่นายทะเบียนปฏิเสธไม่รับจดทะเบียนให้
ต่อมาบุคคลดังกล่าวได้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ณ
สำนักทะเบียนอำเภออีกครั้งหนึ่ง
โดยนำสำเนาคำสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ผู้ร้องจดทะเบียนรับบุญบุตรธรรมได้และมีคำรับรองถูกต้องมาแสดง
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำสั่งของศาลและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๒๘ หรือข้อ ๒๙ แล้วแต่กรณี
รวมทั้งบันทึกข้อความลงในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี
วันเดือนปี ที่มีคำสั่ง และสาระสำคัญของคำสั่งศาลนั้น
หมวด ๖
การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
ข้อ ๓๑
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยความตกลงกัน ณ
สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
สำหรับกรณีที่บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะให้ตรวจสอบหลักฐานของผู้ให้ความยินยอมด้วย
(๒) ลงรายการในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลาลายมือชื่อในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๐ และข้อ ๔๓
ข้อ ๓๒
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันถึงที่สุดให้เลิกรับบุตรบุญธรรม
และคำรับรองถูกต้องมาแสดงให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร. ๑๗)
ให้ครบถ้วน
(๓)
บันทึกข้อความลงในช่องบันทึกของทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี วันเดือนปีที่พิพากษา
และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๔) คำเนินการตามข้อ ๓๑ (๓) (๔) และ (๕)
หมวด ๗
การบันทึกฐานะของภริยา
ข้อ ๓๓
นายทะเบียนจะรับบันทึกฐานะของภริยาได้เมื่อชายหญิงได้สมรสกันก่อนวันที่ ๑
ตุลาคม ๒๔๗๘
ข้อ ๓๔
นายทะเบียนสามารถรับบันทึกฐานะของภริยาได้เฉพาะสามีภริยาที่มายื่นคำร้องเท่านั้น
และสามารถบันทึกได้สองชั้น คืน
(๑) ภริยาหลวงหรือเอกภริยา ได้แก่ ภริยาที่ทำการสมรสก่อนภริยาอื่น
หรือภริยาที่สามียกย่องว่าเป็นภริยาหลวง โดยบันทึกได้เพียงคนเดียว
(๒) ภริยาน้อย อนุภริยา หรือภริยาอื่นนอกจากภริยาหลวง
โดยอาจบันทึกได้หลายคน
ข้อ ๓๕
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของสามีและภริยาให้บันทึกฐานะของภริยา
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒) ลงรายการในทะเบียนฐานะของภริยา (คร.๒๐) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะของภริยา
(คร.๒๐)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะของภริยา (คร.๒๐)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
หมวด ๘
การบันทึกฐานะแห่งครอบครัว
ข้อ ๓๖ การใด
ๆ อันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ได้กระทำไว้ ณ
ต่างประเทศตามแบบกฎหมายแห่งประเทศที่ทำขึ้นบัญญัติไว้
ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้นายทะเบียนบันทึกฐานะแห่งครอบครัวนั้นไว้เป็นหลักฐานก็ได้
แต่ในขณะร้องขอ คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายจะต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย
ข้อ ๓๗
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอตามข้อ ๓๖
โดยแสดงหลักฐานอันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัว
พร้อมคำแปลเอกสารดังกล่าวเป็นภาษาไทยซึ่งกระทรวงการต่างประเทศหรือสถานทูตหรือสถานกงสุลของไทย
สถานทูตหรือสถานกงสุลของประเทศนั้นหรือองค์กรที่รัฐบาลประเทศนั้นมอบหมาย
รับรองคำแปลถูกต้องแล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และหลักฐานอันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ประสงค์จะให้บันทึก
(๒) ลงรายการในทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.๒๒) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อในฐานะแห่งครอบครัว
(คร.๒๒)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.๒๒)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
หมวด ๙
การบันทึกเพิ่มเติม
ข้อ ๓๘
เมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายร้องขอบันทึกเพิ่มเติมหรือแก้ไขรายการต่าง
ๆ ในทะเบียน ที่ได้ลงรายการไว้แล้ว
ให้นายทะเบียนบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ร้อง
เรื่องที่ขอให้บันทึก และเอกสารหลักฐาน
แล้วให้ผู้ร้องและนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้โดยไม่ต้องแก้ไขรายการเดิม
ทั้งนี้ การบันทึกเพิ่มเติมที่อาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ห้ามมิให้นายทะเบียนรับบันทึกไว้ เว้นแต่มีคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลตามข้อ ๔๑
ข้อ ๓๙
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนการหย่าแล้ว ให้นายทะเบียนบันทึกในช่องบันทึกของทะเบียนสมรสให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับสำนักทะเบียน
อำเภอ เลขทะเบียนที่ วันเดือนปี ที่จดทะเบียนการหย่า แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับจดทะเบียนการหย่าไว้คนละแห่งกับสำนักทะเบียนอำเภอที่จดทะเบียนสมรส
ให้นายทะเบียนส่งสำเนาทะเบียนการหย่าไปยังสำนักทะเบียนที่รับจดทะเบียนสมรสเพื่อบันทึกไว้ในทะเบียนสมรสเช่นเดียวกัน
ข้อ ๔๐
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมแล้ว ให้นายทะเบียน
บันทึกในช่องบันทึกของทะเบียนรับบุตรบุญธรรมให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับสำนักทะเบียนอำเภอ
เลขทะเบียนที่ วันเดือนปี ที่จดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมไว้คนละแห่งกับสำนักทะเบียนอำเภอที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ให้นายทะเบียนส่งสำเนาทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมไปยังสำนักทะเบียนที่รับจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเพื่อบันทึกไว้ในทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเช่นเดียวกัน
ข้อ ๔๑
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อขอให้บันทึกการหย่าหรือการเลิกรับบุตรบุญธรรมหรือการเพิกถอนทะเบียนใด
โดยมีสำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงที่สุดพร้อมคำรับรองถูกต้องมาแสดง
ให้นายทะเบียนบันทึกข้อความในช่องบันทึกของทะเบียนสมรส ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
หรือทะเบียนนั้น ๆ แล้วแต่กรณี ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี
วันเดือนปี ที่มีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
และสาระสำคัญของคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นแล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับแจ้งจากศาลเกี่ยวกับความเป็นโมฆะของการสมรส
ให้นายทะเบียนบันทึกข้อความในช่องบันทึกของทะเบียนสมรส
โดยถือปฏิบัติตามความในวรรคหนึ่งโดยอนุโลม
หมวด ๑๐
การจัดเก็บและรายงาน
ข้อ ๔๒
เมื่อได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้แล้ว
ให้นายทะเบียนเก็บรักษาทะเบียนไว้เป็นหลักฐานตลอดไปโดยแยกเก็บเป็นแต่ละประเภททะเบียนเรียงลำดับตามเลขที่ทะเบียน
ข้อ ๔๓
เมื่อได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียนหรือบันทึกเพิ่มเติมในทะเบียนทุกครั้ง
ให้นายทะเบียนจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ตามแนวทางที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนด
ให้จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องของการรับจดทะเบียนหรือบันทึกจากระบบคอมพิวเตอร์ภายในวันที่ห้าของเดือน
หากพบข้อบกพร่องให้แจ้งสำนักทะเบียนอำเภอดำเนินการแก้ไข
ข้อ ๔๔
ในกรณีที่สำนักทะเบียนอำเภอยังไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลโดยระบบคอมพิวเตอร์ได้
ให้นายทะเบียนจัดทำสำเนาเอกสารทะเบียนนั้นส่งไปยังจังหวัดภายในวันที่ห้าของเดือนเพื่อดำเนินการตามข้อ
๔๓
เมื่อถึงสิ้นปีปฏิทิน
ให้จังหวัดทำลายสำเนาเอกสารทะเบียนซึ่งได้จัดเก็บข้อมูลดังกล่าวตามวรรคหนึ่งไว้แล้ว
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
ข้อ ๔๕
ให้นายทะเบียนกลางรวบรวมข้อมูลการจดทะเบียนหรือบันทึกที่สำนักทะเบียนอำเภอได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
หมวด ๑๑
การให้บริการข้อมูล
ข้อ ๔๖
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียซึ่งขอดูทะเบียนครอบครัวที่นายทะเบียนได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้โดยไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม
ถ้าผู้ร้องประสงค์จะขอคัดสำเนาและให้นายทะเบียนรับรองสำเนาทะเบียนนั้นให้นายทะเบียนเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
ข้อ ๔๗
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องตามข้อ ๔๖ วรรคหนึ่ง
แต่สำนักทะเบียนอำเภอนั้นมิได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ หรือไม่ทราบแน่ชัดว่าได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
ณ สำนักทะเบียนอำเภอใด
ให้นายทะเบียนสอบถามไปยังสำนักทะเบียนกลางตามแนวทางที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนด
แล้วแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
ข้อ ๔๘
เมื่อนายทะเบียนกลางได้รับคำร้องขอดูหรือขอสำเนารายการในทะเบียนซึ่งนายทะเบียนรับรอง
ให้นายทะเบียนกลางถือปฏิบัติตามข้อ ๔๖ โดยอนุโลม
ข้อ ๔๙ การรับรองรายการจากฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์
ให้นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนดประทับหรือเขียนข้อความในตอนล่างของรายการดังกล่าวว่า
ขอรับรองว่าเป็นรายการจากฐานข้อมูลทะเบียนครอบครัว
แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่รับรองกำกับไว้
หมวด ๑๒
แบบพิมพ์การทะเบียนครอบครัว
ข้อ ๕๐
การจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัวให้ใช้แบบพิมพ์ต่าง ๆ ท้ายระเบียบนี้
ดังนี้
(๑) คร.๑ คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว
(๒) คร.๒ ทะเบียนสมรส
(๓) คร.๓ ใบสำคัญการสมรส
(๔) คร.๖ ทะเบียนการหย่า
(๕) คร.๗ ใบสำคัญการหย่า
(๖) คร.๑๑ ทะเบียนรับรองบุตร
(๗) คร.๑๔ ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
(๘) คร.๑๗ ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
(๙) คร.๒๐ ทะเบียนฐานะของภริยา
(๑๐) คร.๒๒ ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว
(๑๑) คร.๓๑ ใบบันทึกต่อ
ข้อ ๕๑
ในกรณีที่แบบพิมพ์การทะเบียนครอบครัวที่นายทะเบียนยังไม่ได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
หรือได้ลงรายการไว้แล้ว แต่นายทะเบียนยังมิได้ลงลายมือชื่อในทะเบียนนั้น
เกิดการชำรุดเสียหายจนไม่อาจใช้ปฏิบัติงานได้ ให้นายทะเบียนขีดฆ่าแบบพิมพ์นั้นแล้วระบุคำว่า
ยกเลิก แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ข้อ ๕๒
ให้กรมการปกครองกำหนดหมายเลขแบบพิมพ์ใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
และแบบพิมพ์ใบสำคัญการหย่า (คร.๗) แต่ละฉบับไว้ที่ตอนล่างด้านซ้ายของแบบพิมพ์นั้น
ถ้าแบบพิมพ์ดังกล่าวของสำนักทะเบียนอำเภอเกิดการสูญหายให้นายทะเบียนรายงานจังหวัดเพื่อแจ้งให้กรมการปกครองยกเลิกแบบพิมพ์หมายเลขนั้นทันที
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๕๓
ให้ใช้แบบ คร.๒ คร.๖ คร.๑๑ คร.๑๗ คร. ๒๐ คร.๒๒ และคร.๓๑ ท้ายระเบียบนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒
สำหรับการจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียน
ก่อนวันดังกล่าวตามวรรคหนึ่งให้ใช้แบบ คร.๒ คร.๖ คร.๑๑ คร.๑๔ คร.๑๗ คร.๒๐ คร.๒๒
และคร.๓๑ ตามระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
ข้อ ๕๔
ในการกำหนดเลขทะเบียนตามข้อ ๑๒
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขทะเบียนที่ต่อจากทะเบียนครอบครัวซึ่งได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียนไว้ตามระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว
พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๕๕
ในระหว่างที่จังหวัดยังไม่อาจดำเนินการตามข้อ ๔๔
วรรคหนึ่งได้ให้จังหวัดจัดส่งสำเนาเอกสารทะเบียนนั้นไปยังสำนักทะเบียนกลางภายในวันที่ยี่สิบของเดือนเพื่อดำเนินการแทน ทั้งนี้
ให้สำนักทะเบียนกลางถือปฏิบัติในการทำลายเอกสารเช่นเดียวกัน
ข้อ ๕๖
หลักฐานทางทะเบียนครอบครัวที่ได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ก่อนระเบียบนี้ใช้บังคับให้คงใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงหรือเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้
ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว (คร.1)
๒. ทะเบียนสมรส (คร.2)
๓.[๒]
ใบสำคัญการสมรส (คร.3)
๔. ทะเบียนการหย่า (คร.6)
๕.[๓]
ใบสำคัญการหย่า (คร.7)
๖. ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11)
๗. ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม (คร.14)
๘. ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.17)
๙. ทะเบียนฐานะของภริยา (คร.20)
๑๐. ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.22)
๑๑. ใบบันทึกต่อ (คร.31)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔[๔]
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๓ ง/หน้า ๔๒/๑๒ มกราคม ๒๕๔๒
[๒] แบบพิมพ์ คร.๓ ใบสำคัญทะเบียนสมรส แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๓] แบบพิมพ์ คร.๗ ใบสำคัญการหย่าสมรส แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๘/ตอนพิเศษ ๑๓ ง/หน้า ๒๕/๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ |
717735 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางวางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
ตอนที่ ๑
การบังคับใช้และนิยามศัพท์
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๒๒
เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ในระเบียบนี้
นายอำเภอ หมายความรวมถึง ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอและผู้อำนวยการเขตในกรุงเทพมหานคร
บ้านเลขที่ หมายความว่า
เลขประจำบ้านซึ่งนายทะเบียนกำหนดให้บ้านแต่ละหลัง
เด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กอ่อน หมายความว่า
เด็กเกิดใหม่ที่มีอายุไม่เกิน ๒๘ วัน
การแจ้งการเกิดเกินกำหนด หมายความว่า
การแจ้งเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง เมื่อพ้นเวลาที่กฎหมายกำหนด
การแจ้งการตายเกินกำหนด หมายความว่า
การแจ้งตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง เมื่อพ้นเวลาที่กฎหมายกำหนด
การแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง หมายความว่า
การแจ้งย้ายที่อยู่โดยผู้ย้ายที่อยู่ ต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
คนต่างท้องที่ หมายความว่า
คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนอื่น
คนในท้องที่ หมายความว่า
คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแห่งท้องที่นั้น
เพิ่มชื่อ หมายความว่า
การเพิ่มชื่อและรายการของบุคคลในทะเบียนบ้าน หรือทะเบียนบ้านกลาง
บิดา หมายความว่า บิดาตามความเป็นจริง
ผู้แจ้ง หมายความว่า
ผู้มีหน้าที่แจ้งตามที่กฎหมายกำหนดไว้
ข้อ
๔
ห้ามมิให้นายทะเบียนเรียกหลักฐานประกอบการแจ้งนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้และนายทะเบียนอาจจะเรียกหลักฐานน้อยกว่าที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ก็ได้
หากเห็นว่าหลักฐานที่นำมาแสดงเพียงพอแก่การวินิจฉัย
กรณีที่นายทะเบียนหรือนายอำเภอไม่สามารถดำเนินการตามความประสงค์ของผู้แจ้งหรือผู้ร้องได้
ให้แจ้งผู้แจ้งหรือผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่อาจดำเนินการได้
ตอนที่ ๒
เจ้าบ้านและการมอบหมาย
ข้อ
๕ บุคคลที่จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งพิจารณาตามลำดับ ดังนี้
(๑)
ให้พิจารณาจากทะเบียนบ้านว่าได้มีการระบุให้ผู้ใดทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านก่อน
(๒) หากบุคคลตาม (๑) ไม่สามารถปฏิบัติกิจการได้
ให้พิจารณาบุคคลอื่นซึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้าน
ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านแทน
โดยให้บันทึกถ้อยคำให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลบ้านแทน
เจ้าบ้านในขณะนั้น
(๓)
บุคคลซึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้านเป็นผู้เยาว์หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถให้ผู้ปกครองตามที่กฎหมายกำหนดเป็นผู้ทำหน้าที่เจ้าบ้านแทน
เว้นแต่จะพิจารณาเห็นว่าผู้เยาว์หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
สามารถทำหน้าที่ดังกล่าวได้ ก็ให้ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านได้
(๔) บ้านว่างให้บุคคลซึ่งครอบครองบ้านในขณะนั้นไม่ว่าจะครอบครองในฐานะใด
ให้บุคคลดังกล่าวทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
โดยให้ตรวจสอบหรือสอบถามให้ได้ข้อเท็จจริงว่าเป็นผู้มีหน้าที่ครอบครองดูแลบ้านในขณะนั้น
ข้อ
๖
กรณีผู้มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
ซึ่งรายการในช่องสถานภาพมิได้ระบุว่าเป็นเจ้าบ้าน
ประสงค์จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านเพื่อดำเนินการแจ้งตามกฎหมายให้นายทะเบียนดำเนินการ
ดังนี้
(๑) สอบถามถึงสาเหตุหรือเหตุผลความจำเป็นและบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของผู้แจ้ง
(๓) บัตรประจำตัวของผู้แจ้งที่จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
เมื่อได้หลักฐานข้างต้นครบถ้วนแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้ตามที่แจ้งในฐานะเป็นเจ้าบ้าน
ข้อ
๗ กรณีผู้ที่ไม่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านประสงค์จะทำหน้าที่ในฐานะผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกบัตรประจำตัวหรือสำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในฐานะผู้มอบหมาย และให้เจ้าบ้านลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้องในสำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัว
(๒) เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้งในฐานะผู้ได้รับมอบหมาย
(๓) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของบ้านที่ได้รับมอบหมาย
(๔) หนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้าน (ถ้ามี)
การมอบหมายดังกล่าว
ให้นายทะเบียนบันทึกเลขที่หรือหมายเลขบัตรประจำตัวตาม (๑) และ (๒)
ให้ปรากฏในหลักฐานการแจ้ง
ข้อ
๘ การดำเนินการของผู้แจ้งตามข้อ ๖
และข้อ ๗ หากปรากฏภายหลังว่าผู้ที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านได้เจตนาแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ
ให้นายทะเบียนแจ้งความดำเนินคดีอาญากับผู้แจ้งต่อไป
ส่วนที่ ๒
บ้านและบ้านเลขที่
ตอนที่ ๑
บ้านที่ต้องกำหนดบ้านเลขที่
ข้อ
๙ บ้านที่ต้องกำหนดบ้านเลขที่
ต้องเป็นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๐ บ้านหลังหนึ่ง
ให้กำหนดบ้านเลขที่เพียงเลขหมายเดียว
ข้อ
๑๑ บ้านที่ปลูกเป็นตึกแถวหรือห้องแถว
หรืออาคารชุด ให้กำหนดบ้านเลขที่ทุกห้องโดยถือว่าห้องหนึ่ง ๆ เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ
๑๒ บ้านที่ปลูกไว้สำหรับให้เช่าเป็นหลัง
ๆ ให้กำหนดบ้านเลขที่ทุกหลัง แม้จะมีผู้เช่าหรือไม่ก็ตาม
ข้อ
๑๓ เรือ
แพหรือยานพาหนะที่จอดอยู่เป็นประจำและมีผู้อาศัย
ให้กำหนดบ้านเลขที่ไว้เช่นเดียวกันโดยถือว่าเรือ แพ หรือยานพาหนะนั้น ๆ
เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ
๑๔ บ้านซึ่งมีโรงเรือน
หรือสิ่งปลูกสร้างอยู่ในขอบเขตเดียวกัน เช่น วัด กองทหาร โรงเรียน เรือนจำ
สถานีตำรวจ ให้กำหนดบ้านเลขที่แต่ละแห่งเพียงเลขหมายเดียว
แต่ถ้าเจ้าบ้านประสงค์จะกำหนดบ้านเลขที่ขึ้นอีกก็ให้นายทะเบียนกำหนดให้
ตอนที่ ๒
การกำหนดบ้านเลขที่
ข้อ
๑๕ ให้กำหนดบ้านเลขที่ดังต่อไปนี้
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑) ตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย ในเขตเทศบาลทุกแห่งจนครบ
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยเดียวกันมีชื่อเดิมหลายชื่อไม่เหมือนกัน
ให้เลือกใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียว โดยใช้ชื่อที่ประชาชนนิยม
หรือในกรณีที่มีตรอกหรือซอย ๒
สายมาบรรจบกันให้เลือกใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียวโดยถือหลักใช้ชื่อของตรอกหรือซอยที่มีระยะยาวกว่าหรือชื่อที่ประชาชนนิยม
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยดังกล่าวนี้
มีซอยแยกออกไปอีก ให้ใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้น ๆ แต่มีเลขหมายกำกับไว้ เช่น รองเมือง
ซอย ๑ รองเมือง ซอย ๒ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นเรียงเลขลำดับซอยที่ ๑
จากจุดสมมุติว่าด้วยการให้บ้านเลขที่ของตรอกหรือซอยนั้น
(๒) ให้กำหนดบ้านเลขที่เรียงตามลำดับบ้าน โดยแต่ละถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ
หรือลำคลองสายหนึ่ง ๆ ขึ้นลำดับ ๑ ใหม่ จนตลอดสายทุกสาย
(๓) การเรียงบ้านเลขที่ ให้เริ่มต้นจากจุดสมมุติก่อน
เมื่อหันหลังไปทางจุดสมมุติฝั่งขวาของถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ ลำคลอง
ให้กำหนดบ้านเลขที่เป็นเลขคู่เรียงต่อไปตามลำดับ เช่น ๒, ๔ ๖, ๘ ฯลฯ ส่วนฝั่งซ้ายมือให้กำหนดบ้านเลขที่เป็นเลขคี่เรียงกันไปตามลำดับ
เช่น ๑, ๓, ๕, ๗, ๙, ฯลฯ
ในเขตสำนักทะเบียนอำเภอ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑)
ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการกำหนดบ้านเลขที่ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นโดยอนุโลม
(๒) เรียงลำดับบ้านเลขที่เป็นรายหมู่บ้าน
เมื่อขึ้นหมู่บ้านใหม่ให้ขึ้นหมายเลข ๑ เสมอไป
(๓) เริ่มต้นให้บ้านเลขที่ ตั้งแต่ในเขตชุมชนที่หนาแน่นในหมู่บ้านนั้น ๆ
เสียก่อน แล้วจึงกำหนดบ้านเลขที่ที่อยู่ใกล้ถนนสายใหญ่ ๆ หรือริมน้ำเป็นลำดับที่ ๒
จนสุดสายแล้วแยกเป็นสายอื่น ๆ ต่อไปตามความเหมาะสมและสะดวกแก่การค้นหาบ้าน
โดยให้ถือหลักว่าบ้านใกล้เคียงกันควรจะให้บ้านเลขที่ใกล้กัน
ข้อ
๑๖ ถ้าชุมชนใดมีบ้านอยู่เป็นหย่อม ๆ
หรือบ้านที่อยู่ระเกะระกะไม่เป็นระเบียบให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อน
แล้วกำหนดเส้นทางจากจุดสมมุตินั้น และปฏิบัติตามข้อ ๑๕
ข้อ
๑๗
ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดจุดสมมุติขึ้นได้ เช่น
ไม่สามารถกำหนดเขตชุมชนขึ้นได้หรือท้องที่ที่มีบ้านอยู่เป็นหย่อม ๆ ไม่เป็นระเบียบ
ให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อนแล้วให้กำหนดบ้านเลขที่เริ่มต้นจากจุดสมมุตินั้น
ข้อ
๑๘
บริเวณพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายท้องที่
ให้นายทะเบียนแต่ละแห่งที่ท้องที่ติดกันนั้น ทำความตกลงกันว่าถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ
ลำคลองสายใดที่ติดต่อกันระหว่างท้องที่ให้ติดบ้านเลขที่
ฝั่งใดเป็นขวาหรือซ้ายเหมือนกันโดยตลอด
ข้อ
๑๙ เมื่อได้กำหนดให้บ้านเลขที่แล้ว
ต่อมามีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่ระหว่างบ้านหลังใดก็ให้ใช้บ้านเลขที่ที่อยู่ใกล้ชิดนั้นแล้วเพิ่มตัวเลขไว้ท้าย
เช่น ๕/๒, ๕/๓ เป็นบ้านเลขที่ที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือถ้าบ้านใดรื้อถอนไป
และมีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่ ณ ที่เดิม
หรือใกล้ชิดกับบ้านที่รื้อถอนไปก็ให้ใช้บ้านเลขที่ที่รื้อถอนนั้น
ถ้าปลูกสร้างบ้านขึ้นใหม่ต่อจากบ้านที่มีบ้านเลขที่สูงสุดให้กำหนดบ้านเลขที่ที่ปลูกสร้างใหม่เรียงจากเลขหมายสูงสุดนั้นต่อไปตามลำดับ
ข้อ
๒๐ บ้านที่ปลูกสร้างในที่สาธารณะ
หรือโดยบุกรุกป่าสงวน
หรือโดยมิได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือตามกฎหมายอื่น
ให้ถือเป็นบ้านที่จะต้องกำหนดบ้านเลขที่ให้ตามระเบียบนี้ โดยในการจัดทำทะเบียนบ้านให้ระบุคำว่า
ทะเบียนบ้านชั่วคราว ในแบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน
เมื่อได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องแล้วให้ขีดฆ่าคำว่า ทะเบียนบ้านชั่วคราว ออกไป
ตอนที่ ๓
จุดสมมุติในการให้บ้านเลขที่
ข้อ
๒๑ ถนนที่เป็นทางเข้าเขตชุมชน
ให้ถือต้นทางของเขตชุมชนนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๒ ถนนที่ตั้งต้นจากริมฝั่งแม่น้ำ
ริมคลอง หรือชายทะเล ให้ถือจากริมแม่น้ำ ริมคลอง หรือชายทะเลนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๓ ตรอก หรือซอย
ให้ถือถนนใหญ่ซึ่งตรอกหรือซอยนั้นแยกออกมาเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๔ บ้านที่อยู่ริมน้ำไม่มีถนน ตรอก
หรือซอย ให้ถือปากน้ำเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๕ จุดสมมุติอื่น ๆ ที่เหมาะสม เช่น
หมู่บ้านที่มีบ้านระเกะระกะให้จัดทำเส้นทางสมมุติขึ้นเสียก่อน
แล้วจึงกำหนดบ้านเลขที่ให้
ตอนที่ ๔
วิธีติดบ้านเลขที่
ข้อ
๒๖
บ้านทั่วไปให้ติดบ้านเลขที่ที่ประตูบ้านทางเข้า
หรือที่ที่คนภายนอกเห็นได้ง่าย
ข้อ
๒๗ บ้านที่มีรั้วบ้านโดยรอบ
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ที่ประตูรั้วบ้านทางเข้า
ถ้ารั้วบ้านมีประตูทางเข้าหลายทางให้ติดไว้ที่ประตูรั้วซึ่งใช้เข้าออกโดยปกติ
ข้อ
๒๘
บ้านที่อยู่ริมนํ้าและมีศาลาท่าน้ำ
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ที่ศาลาท่าน้ำของบ้านนั้นถ้าบ้านใดไม่มีศาลาท่าน้ำ ให้ติดไว้ที่บ้านซึ่งสามารถมองจากลำน้ำเห็นได้โดยชัดเจน
ข้อ
๒๙
บ้านที่มีรั้วบ้านแต่ไม่มีกรอบประตูรั้วบ้าน
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ตรงเสาประตูรั้วบ้านทางเข้าด้านขวามือ
ให้ตัวเลขสูงกว่าพื้นดินประมาณ ๒ เมตร
ข้อ
๓๐
บ้านที่มีรั้วบ้านและกรอบประตูรั้วบ้าน ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ตรงกลางของขอบประตูรั้วบ้านเบื้องบน
ข้อ
๓๑ บ้านที่มีหลายชั้น
และแยกการปกครองต่างหากจากกัน เช่น ห้องเช่า อาคารชุด
ให้ติดบ้านเลขที่ทุกห้องเรียงตามลำดับจากห้องข้างล่างขึ้นไปหาชั้นบน
ตอนที่ ๕
การแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ข้อ
๓๒
บ้านปลูกสร้างใหม่หรือปลูกสร้างนานแล้ว แต่ยังไม่มีบ้านเลขที่
เมื่อเจ้าบ้านแจ้งขอมีบ้านเลขที่ต่อนายทะเบียน ให้นายทะเบียนถือปฏิบัติ ดังนี้
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๖)
(๒) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๓) ตรวจสอบสภาพความเป็นบ้าน
(๔) กำหนดบ้านเลขที่
(๕) กำหนดเลขรหัสประจำบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๕)
(๖) จัดทำทะเบียนบ้าน
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและมอบให้ผู้แจ้งเป็นหลักฐาน
(๗) รายงานการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๘)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามวรรคสอง (๑) - (๔)
และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๒)
รวบรวมหลักฐานการกำหนดบ้านเลขที่ส่งไปยังนายทะเบียนอำเภอเพื่อดำเนินการตามวรรคสอง
(๕) - (๗)
(๓) ให้นายทะเบียนอำเภอมอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเพื่อมอบให้ผู้แจ้งต่อไป
กรณีผู้แจ้งนำหลักฐานการรับแจ้งมาขอรับสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้นายทะเบียนอำเภอมอบให้ผู้แจ้ง
ข้อ
๓๓
กรณีที่มีการดัดแปลงบ้านหรือกระทำการใด ๆ จนเกิดสภาพเป็นบ้านใหม่โดยแยกออกจากบ้านเดิม
การขอบ้านเลขที่บ้านใหม่ให้ปฏิบัติตามข้อ ๓๒
ข้อ
๓๔ กรณีมีการแจ้งการรื้อบ้าน
ให้นายทะเบียนปฏิบัติ ดังนี้
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๖)
(๒) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๓) ตรวจสอบว่าได้มีการรื้อบ้าน
(๔) ให้นายทะเบียนจำหน่ายทะเบียนบ้าน
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมหมายเหตุการจำหน่ายไว้ แล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๕) ดำเนินการแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
ตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่
(๖) รายงานการจำหน่ายทะเบียนบ้านตามระเบียบในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามวรรคสอง (๑) - (๓)
(๒) รวบรวมหลักฐานส่งไปยังนายทะเบียนอำเภอเพื่อดำเนินการตามวรรคสอง (๔) -
(๖)
กรณีที่มีการดัดแปลงบ้านหรือกระทำการใด
ๆ จนบ้านดังกล่าวไม่มีสภาพบ้านให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการรื้อบ้าน
ข้อ
๓๔/๑[๒]
กรณีสำนักทะเบียนตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากบุคคลใดว่าบ้านที่มีเลขประจำบ้านหลังใดถูกรื้อหรือถูกปล่อยทิ้งร้างจนไม่มีสภาพความเป็นบ้าน
โดยเจ้าบ้านหรือผู้อยู่ในบ้านไม่ได้แจ้งการรื้อบ้านต่อนายทะเบียน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ตรวจสอบว่าได้มีการรื้อบ้าน หรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านแล้ว
(๒)
สอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือซึ่งมีภูมิลำเนาหรืออาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว
(๓)
หากผลการตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงปรากฏว่าบ้านถูกรื้อหรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านมาแล้วเป็นเวลาไม่ถึง
๑๘๐ วัน
ให้นายทะเบียนจัดทำประกาศสำนักทะเบียนแจ้งข้อความให้เจ้าบ้านหรือผู้มีชื่อในทะเบียนบ้านของบ้านดังกล่าวมาติดต่อเพื่อแจ้งย้ายออกและจำหน่ายทะเบียนบ้านภายใน
๓๐ วันนับแต่วันปิดประกาศ โดยให้ระบุวันเดือนปีที่ครบกำหนดไว้ด้วยสำหรับการปิดประกาศ
ให้ปิด ณ สำนักทะเบียน ๑ ฉบับ บริเวณพื้นที่ชุมชน ๑ ฉบับ
และบริเวณที่บ้านหลังดังกล่าวเคยตั้งอยู่หรือตั้งอยู่อีก ๑ ฉบับ
(๔)
เมื่อครบกำหนดเวลา ๓๐
วันตามที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักทะเบียนแล้วไม่มีเจ้าบ้านหรือผู้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านมาติดต่อ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจำหน่ายเลขประจำบ้านและทะเบียนบ้านโดยปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ
๓๔
ยกเว้นการย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านให้แจ้งย้ายไปไว้ในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนโดยปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ
๘๑
(๕)
กรณีผลการตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงปรากฏว่าบ้านถูกรื้อหรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านมาแล้วเป็นเวลาเกินกว่า
๑๘๐ วัน ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเช่นเดียวกับ (๔)
โดยไม่ต้องจัดทำประกาศสำนักทะเบียน
ข้อ
๓๕
กรณีบ้านถูกทำลายจนหมดสภาพความเป็นบ้าน ให้นายทะเบียนปฏิบัติ ดังนี้
กรณีมีการแจ้งให้ปฏิบัติตามข้อ
๓๔
กรณีไม่มีการแจ้งภายใน
๑๕ วันนับแต่บ้านถูกทำลาย ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
บันทึกสาเหตุที่บ้านถูกทำลายในทะเบียนบ้านพร้อมระบุข้อความด้วยหมึกสีแดงไว้ด้านหน้าใต้คำว่าทะเบียนบ้านว่า
ทะเบียนบ้านชั่วคราว โดยให้ถือว่าเป็นทะเบียนบ้าน
(๒) ติดต่อเจ้าบ้านมาดำเนินการแจ้งย้ายที่อยู่โดยเร็ว
(๓) หากเกิน ๑๘๐ วันนับแต่วันที่บ้านถูกทำลาย
ให้ดำเนินการแจ้งการย้ายไม่ทราบที่อยู่ตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๘๑
(๔) ขีดฆ่าคำว่า ทะเบียนบ้านชั่วคราว เมื่อได้มีการปลูกสร้างบ้านใหม่แทนที่บ้านถูกทำลายพร้อมบันทึกการแก้ไขในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๓๖
กรณีที่รายการของบ้านในทะเบียนบ้านผิดไปจากข้อเท็จจริงให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เมื่อเจ้าบ้านมาแจ้ง ให้นายทะเบียนตรวจสอบและแก้ไขให้
(๒) เมื่อนายทะเบียนตรวจพบ ให้แก้ไขในทะเบียนบ้านพร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
ข้อ
๓๗
กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง ให้ถือปฏิบัติดังนี้
การตั้งหมู่บ้านใหม่
(๑) ให้ใช้บ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านที่ได้กำหนดไว้เดิมต่อไป
(๒) ให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการ หมู่ที่
ในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้ตรงกับ หมู่ที่ ที่ได้ประกาศจัดตั้ง
การเปลี่ยนแปลงเขตตำบล
(๑) โอนหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านจากตำบลหนึ่งไปขึ้นการปกครองกับอีกตำบลหนึ่ง
หรือการจัดตั้งตำบลขึ้นใหม่ ให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการ หมู่ที่และตำบลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านเท่านั้น
(๒)
โอนหมู่บ้านเพียงบางส่วนของตำบลหนึ่งไปขึ้นการปกครองกับอีกตำบลหนึ่งให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการที่เปลี่ยนแปลงไปให้ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง
การจัดตั้งสำนักทะเบียนขึ้นใหม่หรือการเปลี่ยนเขตสำนักทะเบียน
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
(๑)
ให้สำนักทะเบียนเดิมจัดทำบัญชีเอกสารมอบทะเบียนบ้านให้สำนักทะเบียนใหม่พร้อมทั้งหลักฐานทะเบียนราษฎรอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๒)
สำนักทะเบียนใหม่แก้ไขรายการของบ้านในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง
การแก้ไขรายการของบ้านในทะเบียนบ้านในกรณีดังกล่าวข้างต้น
ให้นายทะเบียนจัดทำรายงานการแก้ไขตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๙)
ข้อ
๓๘
กรณีที่นายทะเบียนเห็นสมควรที่จะให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ในเขตสำนักทะเบียนทั้งหมดหรือบางส่วน
ก็ให้ดำเนินการได้โดยดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ประกาศให้ราษฎรหรือเจ้าบ้านในเขตที่จะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ให้ทราบก่อนไม่น้อยกว่า
๑๕ วัน
(๒) จัดทำแผนผังของบริเวณที่จะดำเนินการโดยสังเขป
(๓) กำหนดบ้านเลขที่ขึ้นใหม่
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการกำหนดบ้านเลขที่
(๔) แก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ในทะเบียนบ้านและแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้อง
(๕) รายงานการแก้ไขตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๙)
(๖) แจ้งให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ไปรษณีย์
การประปาหรือการไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อเป็นการประสานต่อไป
ข้อ
๓๙ กรณีมีบ้านเลขที่ซ้ำกัน
ให้นายทะเบียนกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่ โดยดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้ตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงว่าบ้านหลังใดได้บ้านเลขที่นั้นมาก่อน ทั้งนี้
ให้ถือว่าบ้านเลขที่ที่กำหนดให้ก่อนเป็นบ้านเลขที่ที่ถูกต้อง
เว้นแต่นายทะเบียนจะเห็นสมควรกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่ก็ให้ดำเนินการได้
(๒) ในการกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่แก่บ้านหลังที่ซ้ำ
ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการขอบ้านเลขที่ใหม่โดยอนุโลม โดยไม่ต้องให้เจ้าบ้านแจ้ง
(๓)
แจ้งเจ้าบ้านทราบและให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้องตรงกัน
(๔) รายงานการกำหนดบ้านเลขที่ตาม (๒) ตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๘)
ส่วนที่ ๓
การจัดทำทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
ทะเบียนบ้าน
ข้อ
๔๐
เมื่อนายทะเบียนกำหนดบ้านเลขที่ให้บ้านหลังใดแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านสำหรับบ้านหลังนั้น
(๒) กำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
(๓)
มอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้แก่เจ้าบ้านพร้อมลงลายมือชื่อผู้มอบและผู้รับมอบไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ
๔๑
กรณีทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนสูญหาย ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) แจ้งความลงบันทึกประจำวันไว้เป็นหลักฐาน
(๒) ขอตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลาง
เมื่อได้รับแจ้งแล้วให้จัดทำทะเบียนบ้านและบันทึกรายการในช่องบันทึกในทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย
พร้อมลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่จัดทำไว้
ข้อ
๔๒
กรณีทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนชำรุดในสาระสำคัญ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำทะเบียนบ้านขึ้นใหม่
โดยลงรายการให้ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านฉบับเดิมที่ชำรุดทุกรายการ
(๒) ให้ลงรายการในช่องบันทึกในทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า แทนฉบับเดิมที่ชำรุด
พร้อมลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่จัดทำไว้
ข้อ
๔๓[๓] กรณีเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายยื่นคำร้องขอรับสำเนาทะเบียนบ้านใหม่เนื่องจากสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมสูญหาย
หรือถูกทำลาย ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย ตามแบบ ท.ร. ๑๕
(๒) จัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านขึ้นใหม่และให้ลงรายการในช่องบันทึกในสำเนาทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย หรือ แทนฉบับเดิมที่ถูกทำลาย
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
กรณีเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายยื่นคำร้องขอรับสำเนาทะเบียนบ้านใหม่
เนื่องจากสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมชำรุดจนใช้การไม่ได้
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่ชำรุด คืนจากผู้ยื่นคำร้อง
(๒)
จัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านขึ้นใหม่และให้ลงรายการในช่องบันทึกในสำเนาทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่ชำรุด
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ
๔๔ ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ใช้ลงรายการของคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวเท่านั้น
ข้อ
๔๕ ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
ใช้ลงรายการของคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ตอนที่ ๒
ทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ
๔๖ ทะเบียนบ้านกลางมิใช่ทะเบียนบ้าน
แต่เป็นทะเบียนที่ใช้สำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้านได้
ให้สำนักทะเบียนทุกแห่งจัดทำทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนไว้
กรณีที่สำนักทะเบียนมีความประสงค์จะจัดทำทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนโดยแยกออกเป็นทะเบียนบ้านกลางของแต่ละตำบลหรือแขวงหรือพื้นที่ที่นายทะเบียนกำหนดให้ขออนุมัติสำนักทะเบียนกลางก่อน
ข้อ
๔๗
ให้กำหนดเลขรหัสประจำบ้านในทะเบียนบ้านกลางแห่งละ ๑ รหัส
ข้อ
๔๘
บุคคลที่มีรายการในทะเบียนบ้านกลางไม่มีสิทธิ์ยื่นคำร้องขอคัด
และให้นายทะเบียนรับรองสำเนารายการเพื่อนำไปอ้างอิงหรือใช้สิทธิต่าง ๆ
เหมือนทะเบียนบ้านได้ เว้นแต่เป็นการคัดและรับรองเพื่อนำไปประกอบหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ
ข้อ
๔๙
แบบพิมพ์ทะเบียนบ้านกลางให้ใช้แบบพิมพ์ดังต่อไปนี้
คนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว
หรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
ให้เขียนหรือประทับคำว่า
ทะเบียนบ้านกลาง
ใต้คำว่าทะเบียนบ้านในแบบพิมพ์ทะเบียนบ้านที่นำมาใช้เป็นทะเบียนบ้านกลาง
ตอนที่ ๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๕๐
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการเกิด ให้แนะนำผู้แจ้งแจ้งชื่อคนเกิดพร้อมกับการแจ้งการเกิด
และพิจารณาด้วยว่าชื่อที่แจ้งนั้นถูกต้องตามหลักการการตั้งชื่อบุคคลหรือไม่
ถ้ายังไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
ข้อ
๕๑ การรับแจ้งการเกิด
กรณีที่ผู้แจ้งไม่มีหลักฐานหรือไม่สามารถแสดงหลักฐานประกอบการแจ้งได้
ให้นายทะเบียนบันทึกถึงสาเหตุหรือความจำเป็นไว้
และอาจสอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อให้ได้รายละเอียดหรือข้อเท็จจริงประกอบการออกสูติบัตรให้มากที่สุด
ข้อ
๕๒
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนมีสัญชาติไทยเกิดในบ้านให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
หรือบัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี) หนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
แล้วตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒) ลงรายการในสูติบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๔) มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) สูติบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๑)
(๖) สูติบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๓)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑)
(๓) รวบรวมหลักฐานส่งให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการต่อไป
(๔) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๖)
ข้อ
๕๓
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนไม่มีสัญชาติไทยเกิดในบ้าน
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๒ วรรคหนึ่ง (๑) - (๖)
เว้นแต่การเพิ่มชื่อคนเกิดให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ของบ้านที่มีคนเกิด
ข้อ
๕๔
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนมีสัญชาติไทยเกิดนอกบ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง บัตรประจำตัวของบิดามารดา (ถ้ามี)
(๒) ลงรายการในสูติบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
(๔) มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) สูติบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๑)
(๖) สูติบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
(๗)
แนะนำให้ผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยต่อไป
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๓)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑)
(๓) รวบรวมหลักฐานส่งให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการต่อไป
(๔) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๗)
ข้อ
๕๕
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนไม่มีสัญชาติไทยเกิดนอกบ้าน
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๔ วรรคหนึ่ง (๑) - (๗) กรณีบิดาหรือมารดามีชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
ให้แนะนำผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยของบิดาหรือมารดา
ข้อ
๕๖
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่ามีคนเกิดในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๒ วรรคหนึ่ง (๑) - (๖)
เว้นแต่การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการดังนี้
คนในท้องที่
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ของบิดา มารดา
หากบิดามารดาไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
คนต่างท้องที่
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๓)
ของสำนักทะเบียน แล้วแต่กรณี
แล้วให้แนะนำผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยต่อไป
ข้อ
๕๖/๑[๔] เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดของเด็กที่เกิดในท้องที่สำนักทะเบียนอื่น
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ บัตรประจำตัวของบิดา
มารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมายของเด็กที่เกิด (ถ้ามี)
หรือบัตรประจำตัวของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากบิดา มารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
(ถ้ามี) สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของเด็กที่เกิด
หนังสือมอบหมาย (ถ้ามี) และหนังสือรับรองการเกิด (ท.ร. ๑/๑)
หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ เช่น ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ
ที่ตรวจพิสูจน์จากหน่วยงานของรัฐ
หรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงความสัมพันธ์การเป็นบิดาหรือมารดาของเด็กที่เกิด
(๒) สอบสวนผู้แจ้ง บิดา มารดา
หรือผู้ปกครองของเด็กที่เกิดให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาเหตุที่ไม่แจ้งการเกิด ณ
สำนักทะเบียนท้องที่ที่เด็กเกิด ประวัติของเด็กที่เกิด และสถานที่อยู่ปัจจุบันของเด็กและบิดา
มารดา หรือผู้ปกครอง
(๓)
เมื่อตรวจสอบพยานหลักฐานแล้วเห็นว่าเด็กที่เกิดเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักร
โดยยังไม่ได้แจ้งการเกิดและมีภูมิลำเนาอาศัยอยู่กับบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
ซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตท้องที่สำนักทะเบียนที่แจ้งเกิด
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกสูติบัตร ท.ร. ๑ หรือ ท.ร. ๓ แล้วแต่กรณี
และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) เพิ่มชื่อเด็กที่เกิดในทะเบียนบ้าน และมอบสูติบัตร ตอนที่ ๑
พร้อมทั้งหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
ข้อ
๕๗[๕] เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดของผู้มีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ บัตรประจำตัวของบิดา มารดา
หรือเจ้าบ้านของบ้านที่มีการเกิด (ถ้ามี)
หรือบัตรประจำตัวของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากบิดา มารดา หรือเจ้าบ้าน (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หนังสือมอบหมาย (ถ้ามี) หนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
(๒)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของคนที่เกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔)
พิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของคนที่เกิดตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็ก ที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
(๕) เมื่อได้รับแจ้งผลการพิจารณาจากนายอำเภอว่าคนที่เกิดนั้นเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักรและเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเปรียบเทียบคดีความผิด
และออกสูติบัตร (ท.ร. ๒) ให้แก่ผู้แจ้ง
(๖) เพิ่มชื่อคนที่เกิดเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้านกลาง
(ท.ร. ๑๔) แล้วแต่กรณี
(๗)
กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าคนที่เกิดไม่ได้เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้รับสัญชาติไทย
หรือไม่อาจพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของบุคคลดังกล่าวได้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่บุคคลนั้นตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ถ้าการแจ้งการเกิดเกินกำหนดตามวรรคหนึ่งเป็นการแจ้งต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่อื่นที่ไม่ใช่ท้องที่ที่เกิด
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้งการเกิด
ได้แก่หนังสือรับรองการเกิด (ท.ร. ๑/๑) หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ เช่น
ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ
ที่ตรวจพิสูจน์จากหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงความสัมพันธ์การเป็นบิดาหรือมารดาของคนที่เกิด
สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อบิดามารดาหรือผู้ปกครองของคนที่เกิดซึ่งต้องเป็นทะเบียนบ้านในเขตท้องที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่แจ้งการเกิด
ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการเกิดหรือการตายต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่อื่น
แล้วดำเนินการตาม (๒) ถึง (๗) รวมทั้งเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
กรณีการดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง
เป็นการแจ้งการเกิดสำหรับเด็กที่มีอายุไม่เกินเจ็ดปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นรับผิดชอบการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กที่เกิดแทนนายอำเภอ
โดยดำเนินการตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง โดยอนุโลม
ข้อ
๕๘
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดสำหรับคนที่ไม่มีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๗ เว้นแต่การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการตาม ข้อ ๕๓
หรือข้อ ๕๕ แล้วแต่กรณี
ข้อ
๕๘ ทวิ[๖] การรับแจ้งการเกิดเกินกำหนดตามข้อ ๕๗
และข้อ ๕๘ ของบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป
ให้นายทะเบียนเรียกรูปถ่ายของบุคคลที่ขอแจ้งการเกิดจากผู้แจ้ง จำนวน ๑ รูป
และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่ขอแจ้งการเกิด ผู้แจ้ง
และพยานบุคคลที่ให้การรับรอง
รวมทั้งให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในแบบ ท.ร. ๒๕
ต่อหน้านายทะเบียน แล้วเสนอนายอำเภอท้องที่พร้อมหลักฐานอื่นเพื่อพิจารณา
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดแล้ว
ให้ส่งแบบ ท.ร. ๒๕ รายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางภายใน ๕ วัน
เพื่อจัดเก็บข้อมูลตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
และเมื่อสำนักทะเบียนได้รับแบบ ท.ร. ๒๕ ดังกล่าวกลับคืนแล้ว ให้ดำเนินการจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัยอย่างเป็นระบบสามารถตรวจสอบหรือค้นหาได้โดยง่าย
ข้อ
๕๙[๗]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในเขตพื้นที่ขอแจ้งการเกิดให้กับเด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กไร้เดียงสาซึ่งถูกทอดทิ้ง
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจบัตรประจำตัวผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านของสถานสงเคราะห์หรือสถานที่ที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นซึ่งรับตัวเด็กที่ขอแจ้งการเกิดไว้
และบันทึกการรับตัวเด็ก
(๒) ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของเด็กที่ขอแจ้งการเกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔)
พิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กที่แจ้งการเกิดตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
(๕)
เมื่อได้รับแจ้งผลการพิจารณาจากนายอำเภอว่าเด็กที่แจ้งการเกิดเป็นผู้ที่เกิด
ในราชอาณาจักรและเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นออกสูติบัตร ท.ร. ๑ หรือ ท.ร. ๒
แล้วแต่กรณี ให้แก่ผู้แจ้ง
แต่ถ้าผลการพิจารณาแจ้งว่าเด็กเกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้รับสัญชาติไทย
ให้ออกสูติบัตร ท.ร. ๓ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๖) เพิ่มชื่อเด็กที่แจ้งการเกิดเข้าในทะเบียนบ้าน ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓
แล้วแต่กรณี ของสถานสงเคราะห์หรือสถานที่ที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นซึ่งรับตัวเด็กที่ขอแจ้งการเกิดไว้
(๗)
กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าเด็กที่แจ้งการเกิดไม่ได้เกิดในราชอาณาจักร
และไม่ได้รับสัญชาติไทย หรือไม่อาจพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กได้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่ผู้แจ้งตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ข้อ
๕๙/๑[๘]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนตามกฎหมายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กตามรายชื่อหน่วยงานที่กระทรวงมหาดไทยประกาศซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ขอแจ้งการเกิดให้กับเด็กเร่ร่อนหรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้งที่อยู่ในความอุปการะหรือการสงเคราะห์
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจบัตรประจำตัวผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านของหน่วยงานที่ให้การอุปการะหรือดูแลช่วยเหลือเด็กที่ขอแจ้งการเกิด
และหลักฐานการรับตัวเด็กไว้ดูแลหรืออุปการะ
(๒)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของเด็กที่ขอแจ้งการเกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔) ดำเนินการตามข้อ ๕๙ (๔) (๕) และ (๖) หรือ (๗) แล้วแต่กรณี
ข้อ
๖๐ การแจ้งเกิดตามข้อ ๕๙
ให้นายทะเบียนลงรายการของเด็กตามข้อเท็จจริงเท่าที่สามารถจะทราบได้
รายการใดไม่ทราบให้ทำเครื่องหมาย ไว้
ข้อ
๖๐/๑[๙] สูติบัตร ตอนที่ ๒
ที่นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้จัดทำขึ้นตามระเบียบนี้
ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหรือข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ให้สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้เป็นทะเบียนคนเกิดของสำนักทะเบียน
ข้อ ๖๐/๒[๑๐] เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดหรือ
รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดของผู้ใดแล้ว ให้ออกบัตรทะเบียนคนเกิดตามแบบ ท.ร. ๒๖
ตอนที่ ๑ มอบให้ผู้แจ้งพร้อมกับสูติบัตร
เพื่อใช้เป็นหลักฐานประจำตัวผู้ที่ได้รับแจ้งการเกิด โดยนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจะต้องจัดทำทะเบียนคุมการออกบัตร
ท.ร. ๒๖ ให้ถูกต้องและให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือรับบัตร ท.ร. ๒๖
ในทะเบียนคุมทุกรายให้ชัดเจน ส่วน ท.ร. ๒๖ ตอนที่ ๒ ให้รายงานไปพร้อมกับสูติบัตร
ตอนที่ ๒
ข้อ ๖๐/๓[๑๑] กรณีบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีความประสงค์จะขอบัตรทะเบียนคนเกิดให้แก่บุตรหรือผู้อยู่ในปกครอง
แล้วแต่กรณี
ที่ได้แจ้งการเกิดและมีชื่อในทะเบียนบ้านก่อนที่จะมีการจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดตามระเบียบนี้
หรือขอมีบัตรทะเบียนคนเกิดใหม่แทนฉบับเดิมที่สูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดในสาระสำคัญ
ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียน ณ
สำนักทะเบียนแห่งที่เด็กมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและเมื่อได้รับคำร้องแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่เด็กมีชื่อและรายการบุคคล
สูติบัตรหรือสำเนาทะเบียนคนเกิดของเด็กที่จะขอบัตร ท.ร. ๒๖
(๒)
กรณีบัตรทะเบียนคนเกิดสูญหายหรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย
และตรวจสอบรายการในทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร. ๒๖ หรือฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๓)
กรณีชำรุดในสาระสำคัญ ให้เรียกบัตร ท.ร. ๒๖ ที่ชำรุดฯ คืนจากผู้แจ้ง
และตรวจสอบรายการในทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร. ๒๖ หรือฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๔)
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นอนุญาต ให้ดำเนินการออกบัตร ท.ร. ๒๖
ให้กับผู้แจ้ง โดยการลงรายการในบัตร ท.ร. ๒๖
ให้คัดลอกหรือพิมพ์ข้อความตามรายการที่ปรากฏในทะเบียนคนเกิด (สูติบัตร ตอนที่
๒) ทั้งนี้ ในกรณีการออกบัตร ท.ร. ๒๖
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดฯ ให้ระบุข้อความว่า ใบแทน ไว้ด้านหน้าของบัตร ท.ร. ๒๖ ด้วย
(๕)
ลงทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร. ๒๖ ตามข้อ ๖๐/๒ และมอบบัตร ท.ร. ๒๖ ให้ผู้แจ้ง
(๖)
ส่ง ท.ร. ๒๖ ตอนที่ ๒ รายงานไปพร้อมกับสูติบัตร ตอนที่ ๒
ข้อ ๖๐/๔[๑๒] การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดตามข้อ ๖๐/๒
และข้อ ๖๐/๓ ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการออกบัตร ท.ร. ๒๖
ให้แก่ผู้ที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุก่อนสิบห้าปีบริบูรณ์เท่านั้น
การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดสำหรับเด็กที่มีอายุไม่เกินหนึ่งปี
ไม่ต้องพิมพ์ลายนิ้วมือเด็กในบัตรและให้นายทะเบียนแจ้งต่อผู้ที่แจ้งการเกิดให้ขอเปลี่ยนบัตรทะเบียนคนเกิดเมื่อเด็กมีอายุครบหนึ่งปีบริบูรณ์
ตอนที่ ๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ
๖๑
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนในท้องที่ตายในบ้าน ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคล (ถ้ามี)
(๒) ลงรายการในมรณบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย
สีแดงไว้หน้ารายการคนตาย
(๔) มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) มรณบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๒)
(๖) มรณบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๘)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๖)
ข้อ
๖๒ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนต่างท้องที่ตายในบ้าน ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามข้อ ๖๑ และให้ระบุในมรณบัตรด้านบนซ้ายว่า คนต่างท้องที่
(๒) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้าน
(๓) เมื่อได้รับตอบรับมรณบัตร ตอนที่ ๒ จากสำนักทะเบียนกลางแล้ว
จึงจะจัดส่งมรณบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
(๔) กรณีไม่ทราบว่าคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนใดให้ส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
เมื่อสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านได้รับมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบรายการคนที่ตายกับทะเบียนบ้าน หากพบว่าการลงรายการในมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องให้ลงรายการเพิ่มเติมหรือแก้ไขให้ถูกต้อง
(๒) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๓) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒
(๒)
(๔) กรณีที่เจ้าบ้านนำมรณบัตร ตอนที่ ๑
มายื่นขอจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการตาม (๑) - (๒) โดยอนุโลม
ข้อ
๖๓
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนตายนอกบ้านให้ดำเนินการตามข้อ ๖๑ หรือข้อ ๖๒ แล้วแต่กรณี
ข้อ
๖๔
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการตายของคนที่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านหรือไม่ทราบภูมิลำเนาในทะเบียนบ้าน
ให้ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
กรณีที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกลาง
ให้จำหน่ายในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
ข้อ
๖๔/๑[๑๓]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการตายของคนที่ตายหรือพบศพในท้องที่สำนักทะเบียนอื่น
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่
บัตรประจำตัวของผู้แจ้งซึ่งได้แก่เจ้าบ้านของบ้านที่มีการตาย
บุคคลที่ไปกับผู้ตายขณะตาย ผู้พบศพ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
บุคคลที่ไปกับผู้ตาย หรือผู้พบศพ (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลของคนตาย (ถ้ามี) หนังสือรับรองการตาย
(ท.ร. ๔/๑)
หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ที่ตรวจพิสูจน์โดยหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงรายการเกี่ยวกับคนตาย
เช่น ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เป็นต้น และพยานหลักฐานอื่น ๆ (ถ้ามี)
เช่น รูปถ่ายงานศพของคนตาย เป็นต้น
(๒) สอบสวนผู้แจ้ง
และพยานบุคคลไม่น้อยกว่าสองคนที่สามารถยืนยันตัวบุคคลของคนตายให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาเหตุที่ไม่แจ้งการตาย
ณ สำนักทะเบียนท้องที่ที่คนตายหรือพบศพ ประวัติและภูมิลำเนาของคนตาย
การจัดการศพและสถานที่จัดการศพ
(๓) เมื่อตรวจสอบพยานหลักฐานแล้วเห็นว่าคนตายโดยยังไม่ได้แจ้งการตายและมีการเคลื่อนย้ายศพเข้ามาอยู่หรือจัดการศพโดยการเผา
ฝัง หรือทำลายในเขตท้องที่สำนักทะเบียนที่แจ้งตาย
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกมรณบัตร ท.ร. ๔ หรือ ท.ร. ๕ แล้วแต่กรณี
และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) กรณีคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนที่แจ้งการตาย
ให้นายทะเบียนจำหน่ายชื่อคนตายในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง และมอบมรณบัตร
ตอนที่ ๑ พร้อมทั้งหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) กรณีคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนอื่น
เมื่อนายทะเบียนมอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้งแล้ว
ให้ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องเพื่อจำหน่ายชื่อคนตายในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ
๖๕
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งว่ามีคนตายและไม่ทราบว่าคนตายเป็นใคร
ให้ออกใบรับแจ้งการตายให้ผู้แจ้งโดยรอการออกมรณบัตรไว้จนกว่าจะทราบว่าผู้ตายเป็นใครจึงจะดำเนินการออกมรณบัตรต่อไป
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตาย
ข้อ
๖๖
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งโดยมีเหตุเชื่อว่ามีการตายแต่ยังไม่พบศพ
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) สอบสวนให้ทราบถึงมูลเหตุที่เชื่อว่าได้มีการตายของบุคคล
(๓) ออกหลักฐานใบรับแจ้งการตายมอบให้ผู้แจ้ง
(๔) กรณีบุคคลดังกล่าวมีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตสำนักทะเบียน ให้หมายเหตุการจำหน่ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านว่า
รับแจ้งการตายไว้ แต่ยังไม่พบศพ
ถ้าต่างสำนักทะเบียนให้แจ้งเป็นหนังสือไปยังสำนักทะเบียนที่บุคคลดังกล่าวมีชื่อในทะเบียนบ้านเพื่อดำเนินการต่อไป
(๕) รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
หากไม่ทราบที่อยู่ให้หมายเหตุในหลักฐานการรายงานด้วย
ข้อ
๖๗ กรณีไม่ทราบท้องที่ที่ตาย
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่พบศพหรือแห่งท้องที่ที่มีมูลเหตุเชื่อว่ามีการตายเป็นผู้รับแจ้งการตาย
ข้อ
๖๘
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งว่ามีคนตายโดยมีเหตุอันควรสงสัยว่าตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ
ให้ออกใบรับแจ้งการตายเป็นหลักฐานให้แก่ผู้แจ้ง
และรีบแจ้งไปยังพนักงานผู้มีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
จนกว่าจะได้รับความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานดังกล่าวจึงจะออกมรณบัตรให้
ข้อ
๖๙
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการตาย
ให้สอบถามรายละเอียดจากผู้แจ้งว่าศพจะเก็บ ฝัง เผา ทำลาย หรือย้ายศพ ณ สถานที่ใด
เมื่อใด แล้วให้ลงรายการในใบรับแจ้งการตายหรือมรณบัตร แล้วแต่กรณี
และให้ใช้เอกสารดังกล่าวเป็นหลักฐานแห่งการอนุญาตในการเก็บ ฝัง เผา ทำลาย
หรือย้ายศพ
หากจะเปลี่ยนแปลงการจัดการศพผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ถ้าศพนั้นอยู่ในท้องที่ใดให้แจ้งขออนุญาตต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่นั้น
โดยให้เรียกมรณบัตรหรือใบรับแจ้งการตายจากผู้แจ้งแล้วบันทึกการอนุญาตไว้
ข้อ
๗๐ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการตายเกินกำหนดให้ดำเนินการดังนี้
กรณีคนในท้องที่
(๑) เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒) เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคล (ถ้ามี)
(๓) สอบสวนผู้แจ้งให้ทราบถึงสาเหตุที่ไม่แจ้งการตายภายในกำหนด
และพยานผู้รู้เห็นการตาย
(๔) ลงรายการในมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน และให้ระบุในมรณบัตรด้านบนซ้ายว่า เกินกำหนด
(๕) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย สีแดง
ไว้หน้ารายการคนตาย
(๖) มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ พร้อมหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๗) มรณบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๒)
(๘) มรณบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีคนต่างท้องที่
(๑) ให้ดำเนินการตามวรรคสอง โดยอนุโลม เว้นแต่การจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้าน
(๒) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านเพื่อจำหน่ายต่อไป
(๓) กรณีไม่ทราบว่าคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนใดให้ส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ
๗๑
การรับแจ้งการตายของบุคคลต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว
หรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองรวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวโดยอนุโลม
ข้อ
๗๑/๑[๑๔] มรณบัตร ตอนที่ ๒
ที่นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้จัดทำขึ้นตามระเบียบนี้
ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหรือข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ให้สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้เป็นทะเบียนคนตายของสำนักทะเบียน
ตอนที่ ๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ
๗๒ ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายออกเฉพาะบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้าน
หรือทะเบียนบ้านกลางเท่านั้น
ข้อ
๗๓
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายเข้าตามหลักฐานการย้ายที่อยู่ที่นายทะเบียนออกให้
ข้อ
๗๔
ห้ามมิให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางสำหรับบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ
๗๕ การรับแจ้งย้ายเข้า
หากรายการที่อยู่ที่แจ้งย้ายเข้าผิดไปจากที่ระบุไว้ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ เช่น
บ้านเลขที่ ถนน หมู่ที่ อำเภอ หรือจังหวัด เป็นต้น
ให้นายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้แจ้งย้ายเข้าไปอยู่ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามความเป็นจริง
โดยให้ขีดฆ่ารายการเดิมที่ต้องแก้ไขแล้วลงรายการที่อยู่ใหม่ด้วยหมึกสีแดงพร้อมทั้งลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
ข้อ
๗๖
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ลงรายการวันเดือนปีเกิดหรือสัญชาติผิดไปจากทะเบียนบ้าน
ให้นายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ยกเลิกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ฉบับดังกล่าวและออกให้ใหม่
ข้อ
๗๗ ในการรับแจ้งย้ายเข้า
หากพบว่ารายการบุคคลในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ผิดพลาด
ให้รับแจ้งย้ายเข้าไว้ก่อนและมีหนังสือตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนต้นทาง
เมื่อได้รับแจ้งแล้วให้แก้ไขในทะเบียนบ้านและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้องต่อไป
โดยไม่ต้องให้ผู้แจ้งยื่นคำร้องขอ
ข้อ
๗๘
คนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแนะนำให้บุคคลดังกล่าวแจ้งย้ายใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวต่อนายทะเบียนคนต่างด้าวท้องที่ด้วย
การย้ายออก
ข้อ
๗๙
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการแจ้งการย้ายออกให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่จะแจ้งย้ายออก
แล้วตรวจสอบรายการบุคคลที่จะแจ้งย้ายออก
(๓) ลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ๓ ตอน
(๔)
จำหน่ายรายการคนย้ายออกในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยประทับ
คำว่า ย้าย สีน้ำเงิน
ไว้หน้ารายการคนย้ายออก
(๕) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
พร้อมหลักฐานการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๖) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๑)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๒) และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๓) - (๖)
ข้อ
๘๐
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับการตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าจากสำนักทะเบียนปลายทางแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบรายการบ้านที่แจ้งย้ายเข้าในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับทะเบียนบ้านในช่องย้ายออกไปที่ให้ถูกต้องตรงกัน
แล้วลงลายมือชื่อพร้อมวันเดือนปีกำกับไว้ในทะเบียนบ้าน
(๒) กรณีการตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ให้แก้ไขรายการย้ายที่อยู่ในทะเบียนบ้านในช่องย้ายออกไปที่ให้ถูกต้องตรงกัน
แล้วลงลายมือชื่อพร้อมวันเดือนปีกำกับไว้ในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๘๑
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการย้ายออกโดยไม่ทราบที่อยู่ของคนที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
สอบสวนผู้แจ้งให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบุคคลดังกล่าวได้ออกจากบ้านไปอยู่ที่อื่นเกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันและไม่ทราบว่าบุคคลดังกล่าวไปอยู่ที่ใด
(๒) ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙ โดยอนุโลม
(๓) เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
(๔) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีคนมีชื่อในทะเบียนบ้านโดยเจ้าบ้านไม่ทราบว่าบุคคลดังกล่าวเป็นใคร
ให้ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๔)
ข้อ
๘๒ กรณีบ้านรื้อถอนตามข้อ ๓๔
การแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนดำเนินการตามข้อ ๗๙
กรณีบ้านถูกทำลายจนหมดสภาพบ้านตามข้อ
๓๕ การแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนดำเนินการตามข้อ ๘๑
ข้อ
๘๓ เมื่อมีการแจ้งการย้ายออกไปแล้ว
ภายหลังบุคคลดังกล่าวได้ขอแจ้งย้ายกลับที่เดิมโดยยังมิได้แจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืนและตรวจสอบความถูกต้องของใบแจ้งการย้ายที่อยู่
(๒) แก้ไขรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในช่องไปอยู่ที่โดยระบุคำว่า กลับที่เดิม
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
ข้อ
๘๔
กรณีที่มีการแจ้งการย้ายออกและแจ้งการย้ายเข้าในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายออกและการแจ้งย้ายเข้า
ยกเว้นการรายงานให้ส่งเฉพาะใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
รายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
ข้อ
๘๕
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลาง ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้ขอแจ้งย้ายเป็นบุคคลคนเดียวกันกับบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลาง
(๒) ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙
กรณีบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลางเป็นผู้เยาว์ให้บิดาหรือมารดาหรือผู้ปกครองเป็นผู้แจ้งการย้ายออก
กรณีบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลางมีเหตุจำเป็นไม่สามารถแจ้งการย้ายออกได้ด้วยตนเองเนื่องจากเป็นคนพิการทางกายจนเดินไม่ได้
หรือเป็นผู้เจ็บป่วยทุพพลภาพ หรือกรณีอื่น
ให้บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากผู้นั้นโดยตรงเป็นผู้แจ้งการย้ายแทน
โดยให้นายทะเบียนเรียกหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
บัตรประจำตัวผู้ที่จะย้ายที่อยู่ (ถ้ามี) หนังสือมอบหมาย ใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบัน
(ถ้ามี)
และบันทึกสอบสวนผู้แจ้งให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ที่จะแจ้งการย้ายออกเป็นบุคคลเดียวกันกับผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง
รวมถึงเหตุผลความจำเป็นที่ผู้นั้นไม่อาจแจ้งการย้ายด้วยตนเอง
แล้วจึงดำเนินการแจ้งย้ายออกตามข้อ ๗๙[๑๕]
ข้อ
๘๖
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ทหารกองประจำการมีชื่อในทะเบียนบ้าน
ได้รับแจ้งจากหน่วยทหารขอแจ้งย้ายที่อยู่ของบุคคลที่เข้ารับราชการเป็นทหารกองประจำการ
ให้แจ้งเจ้าบ้านมาดำเนินการแจ้งการย้ายออกโดยถือปฏิบัติตามข้อ ๗๙
กรณีเจ้าบ้านไม่มาดำเนินการตามวรรคหนึ่ง
ให้แจ้งหน่วยทหารเพื่อให้แจ้งทหารกองประจำการผู้นั้นดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางต่อไป
ข้อ
๘๗[๑๖]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งการย้ายออกของบุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศ
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙ โดยอนุโลม
โดยให้หมายเหตุในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในช่อง ไปอยู่ที่ ว่า
ไปประเทศ........................
(๒)
ให้เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านชั่วคราวของสำนักทะเบียนและบันทึกในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านว่า
ทะเบียนบ้านชั่วคราวลำดับที่...
(๓)
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
(๔)
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ เก็บไว้เป็นหลักฐาน
(๕)
เมื่อสำนักทะเบียนได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
คืนมาจากสำนักทะเบียนกลางแล้วให้เก็บรวมไว้กับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
และตอนที่ ๓
ให้สำนักทะเบียนกลางบันทึกและประมวลผลข้อมูลรายการบุคคลของผู้ที่เดินทางไปอยู่ต่างประเทศจากใบแจ้งย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยให้หมายเหตุไว้ว่าเป็นบุคคลในทะเบียนบ้านชั่วคราว
และเมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ดังกล่าวคืนสำนักทะเบียนเดิม
กรณีบุคคลดังกล่าวเดินทางกลับจากต่างประเทศและแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางกลับจากต่างประเทศของผู้ย้ายที่อยู่
(๒)
ให้ตรวจสอบรายการของผู้ขอแจ้งย้ายจากทะเบียนบ้านชั่วคราวและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอน หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ขีดฆ่าคำว่า ไปประเทศ........................ ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอนแล้วดำเนินการรับแจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้านชั่วคราวไปเข้าทะเบียนบ้านตามที่ผู้แจ้งประสงค์จะขอย้ายเข้า
ตามระเบียบว่าด้วยการย้ายต่อไป
(๓)
ดำเนินการตามข้อ ๘๔ กรณีย้ายเข้าในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน หรือข้อ ๗๙
กรณีย้ายต่างสำนักทะเบียนโดยอนุโลม
ข้อ
๘๘ กรณีที่มีการแจ้งการย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านแล้ว
แต่ผู้ย้ายที่อยู่ถึงแก่ความตายก่อนที่จะนำหลักฐานไปแจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ให้ระงับการรับแจ้งการย้ายเข้า
(๒) ให้สำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้ย้ายที่อยู่ถึงแก่ความตายรับแจ้งการตายตามระเบียบและส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
กรณีที่ไม่ทราบให้จัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลาง
(๓)
ให้สำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่หมายเหตุเพิ่มเติมในทะเบียนบ้านว่า ถึงแก่ความตายก่อนแจ้งย้ายเข้า ตามมรณบัตร
กรณีผู้มีส่วนได้เสียนำมรณบัตร ตอนที่ ๑
มาแสดงเป็นหลักฐานก็ให้ดำเนินการหมายเหตุเช่นเดียวกัน
(๔) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามวรรคหนึ่งมีผู้ย้ายที่อยู่คนอื่นที่มีชีวิตอยู่
ให้นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้าตามระเบียบต่อไป
สำหรับผู้ย้ายที่อยู่ที่ถึงแก่ความตายไปแล้วให้ระงับการแจ้งการย้ายเข้า
โดยให้หมายเหตุในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ว่า บุคคลลำดับที่
ถึงแก่ความตายตามมรณบัตร
เมื่อสำนักทะเบียนต้นทางได้รับตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าแล้ว
ให้หมายเหตุเพิ่มเติมในทะเบียนบ้านเฉพาะผู้ย้ายที่อยู่ที่ถึงแก่ความตายเช่นเดียวกับวรรคหนึ่ง
(๓)
การย้ายเข้า
ข้อ
๘๙ เมื่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งการย้ายเข้าให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่จะแจ้งการย้ายเข้า
แล้วตรวจสอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(๓) รับแจ้งการย้ายเข้า
(๔) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๕) มอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมหลักฐานการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๖) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ ตอบรับไปยังสำนักทะเบียนต้นทางภายใน ๗
วัน
(๗) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๑)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๒)
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๓) - (๗)
ข้อ
๙๐ เมื่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางให้ดำเนินการดังนี้
สำนักทะเบียนปลายทาง
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมคำยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าบ้านพร้อมบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่ใหม่จากผู้แจ้งและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) ลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน และให้หมายเหตุด้านบนขวาว่า แจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง
โดยให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่องผู้แจ้งย้ายออกและช่องผู้แจ้งย้ายเข้าสำหรับช่องเจ้าบ้านผู้ยินยอมให้ย้ายเข้าให้เขียนชื่อ
- สกุล ตัวบรรจงไว้
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) ใบแจ้งย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ส่งไปยังสำนักทะเบียนต้นทางที่ผู้แจ้งย้ายมีชื่ออยู่สำหรับใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ ให้เก็บไว้
(๕) คืนหลักฐานประกอบการแจ้งให้ผู้แจ้ง
(๖)
เมื่อได้รับตอบรับการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางจากสำนักทะเบียนต้นทางแล้ว
ให้นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ มาตรวจสอบ หากผิดพลาดให้แก้ไขให้ถูกต้องตรงกัน
(๗) แจ้งผู้ย้ายที่อยู่ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการเพิ่มชื่อให้ถูกต้องตรงกับทะเบียนบ้านต่อไป
(๘) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
สำนักทะเบียนต้นทาง
(๑) เมื่อได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ให้ตรวจสอบรายการผู้ย้ายที่อยู่กับทะเบียนบ้าน หากไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้ตรงกับทะเบียนบ้าน
(๒) จำหน่ายรายการผู้ย้ายที่อยู่ในทะเบียนบ้าน
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ ส่งไปยังสำนักทะเบียนปลายทาง
(๔) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
(๕) แจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายชื่อต่อไป
ข้อ
๙๑[๑๗]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่า
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ซึ่งออกให้แก่ผู้แจ้งได้สูญหาย ถูกทำลาย
หรือชำรุดในสาระสำคัญตอนใดตอนหนึ่งหรือทั้งหมดก่อนที่จะนำไปแจ้งย้ายเข้าให้นายทะเบียนออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ใหม่
โดยดำเนินการดังนี้
(๑) กรณีสูญหายหรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรสูญหาย หรือถูกทำลาย ตามแบบ ท.ร.
๑๕ และให้ตรวจสอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ว่าได้มีการตอบรับการแจ้งย้ายเข้าหรือไม่ หรือจะตรวจสอบจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรในระบบคอมพิวเตอร์ก็ได้
(๒) กรณีชำรุดในสาระสำคัญ
ให้เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืนจากผู้แจ้งแล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๓) การลงรายการในใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้คัดลอกหรือพิมพ์ข้อความตามรายการที่ปรากฏในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ของฉบับที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดฯ เว้นแต่รายการ เลขที่
ที่และวันเดือนปีที่ออกใบแทน ให้ระบุตามความเป็นจริง
และให้หมายเหตุด้วยตัวหนังสือสีแดงไว้ด้านบนขวาของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ส่วนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ ของฉบับที่สูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดฯ
ให้นายทะเบียนดำเนินการยกเลิกตามข้อ ๑๓๕
(๔) กรณีสำนักทะเบียนตรวจสอบแล้วไม่พบตอนที่ ๒ หรือตอนที่ ๓
ของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ สูญหาย หรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่โดยคัดลอกรายการจากทะเบียนบ้านฉบับที่ปรากฏรายการย้าย
เว้นแต่รายการ เลขที่ ที่และวันเดือนปีที่ออกใบแทน ให้ระบุตามความเป็นจริง สำหรับรายการใดที่ไม่ทราบก็ให้เว้นไว้
และให้หมายเหตุเช่นเดียวกับ (๓) ว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ออกตามหลักฐานทะเบียนบ้าน
ข้อ
๙๒
การแจ้งการย้ายที่อยู่ของคนที่ไม่มีสัญชาติไทยที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองรวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับคนที่มีสัญชาติไทยเว้นแต่ถ้ามีส่วนราชการหรือหน่วยงานควบคุมดูแลอยู่
ต้องได้รับความเห็นชอบจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมดูแลบุคคลดังกล่าวก่อนจึงจะดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่ได้
ส่วนที่ ๔
การควบคุมทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
การเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๙๓
คนสัญชาติไทยไม่มีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙ มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนผู้ร้อง เจ้าบ้าน และบุคคลที่น่าเชื่อถือ และหลักฐานอื่นเพิ่มเติม
(ถ้ามี)
(๒) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๔
คนสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) โดยอาศัยหลักฐานสูติบัตร
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ หรือทะเบียนบ้านแบบเดิมที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน เป็นต้น
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่
ดังนี้
กรณีเพิ่มตามหลักฐานสูติบัตร
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่ออกสูติบัตร
กรณีเพิ่มตามหลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่ประสงค์จะขอเพิ่มชื่อ
กรณีเพิ่มตามหลักฐานทะเบียนบ้าน
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครั้งสุดท้าย
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานเอกสารว่าถูกต้องหรือไม่
กรณีใช้หลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้สอบถามไปยังสำนักทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ดังกล่าวว่าบุคคลขอเพิ่มชื่อเคยมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่แจ้งย้ายออกจริงหรือไม่
(๒)
สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้านให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลในเอกสารที่นำมาแสดง
(๓) เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
(๖) กรณีผู้ร้องไม่มีภูมิลำเนาในเขตสำนักทะเบียนที่ขอเพิ่มชื่อ
ให้นายทะเบียนเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางและหากผู้ร้องมีความประสงค์จะย้ายไปอยู่ที่ใดให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่ต่อไป
ข้อ
๙๕[๑๘]
บุคคลที่อ้างว่ามีสัญชาติไทยซึ่งเดินทางกลับจากต่างประเทศ
โดยใช้หนังสือเดินทางของต่างประเทศ หรือหนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity)
ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทย ไม่ว่าผู้นั้นจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย
มีความประสงค์ จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยไม่มีหลักฐานที่แสดงว่าเป็นผู้มีสัญชาติไทยให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ทำหนังสือส่งตัวผู้ขอเพิ่มชื่อให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นเดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อขอพิสูจน์สัญชาติ
(๒)
หากได้รับแจ้งผลการตรวจพิสูจน์จากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองว่าผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้สอบสวนเจ้าบ้าน
ผู้แจ้งและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อ
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด
ภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยก่อนไปต่างประเทศ การใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง
รวมถึงรายการชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
(๓)
เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๔)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔)
พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ ๙๖[๑๙]
คนสัญชาติไทยที่เกิดในต่างประเทศโดยมีหลักฐานรับรองการเกิด
มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานสูติบัตรที่ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทยหรือเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศที่เด็กเกิดซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและผ่านการรับรองคำแปลถูกต้องโดยกระทรวงการต่างประเทศไทย
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวผู้แจ้ง (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี)
(๒)
กรณีผู้แจ้งแสดงเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศจะต้องมีรายการหรือข้อเท็จจริงแสดงว่าเด็กมีสัญชาติไทย
หรือมีรายการที่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเด็กมีสัญชาติไทย เช่น รายการสัญชาติของมารดา
เป็นต้น
(๓)
สอบสวนเจ้าบ้านหรือผู้แจ้งให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด รวมถึงรายการชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
(๔)
เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้บันทึกการอนุญาตไว้ด้านหลังของสูติบัตรหรือเอกสารรับรองการเกิด แล้วแต่กรณี
และกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔)
พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
.. แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๖/๑[๒๐]
บุคคลสัญชาติไทยที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ
โดยใช้หนังสือเดินทางของต่างประเทศหรือหนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity)
ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทย และมีหลักฐานเอกสารราชการที่ระบุว่าเป็นผู้มีสัญชาติไทย
มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องพร้อมหลักฐานจากผู้ขอเพิ่มชื่อแล้ว ให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ทำเรื่องขอตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่ผู้ขอเพิ่มชื่อนำมาแสดงไปยังส่วนราชการที่ออกเอกสารดังกล่าว
(๒)
กรณีได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่ออกเอกสารว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้อง
ให้สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้แจ้งและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด สัญชาติ
ภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยก่อนไปต่างประเทศ การใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง
รวมถึงรายการของบิดาและมารดา และเมื่อนายทะเบียนอนุญาตแล้ว ให้ดำเนินการตามข้อ ๙๕
(๓) - (๕)
(๓)
กรณีได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่ออกเอกสารว่าเอกสารดังกล่าวไม่ถูกต้องหรือไม่สามารถตรวจสอบได้
ให้นายทะเบียนทำหนังสือส่งตัวผู้ขอเพิ่มชื่อให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเพื่อขอพิสูจน์สัญชาติ
และดำเนินการตามข้อ ๙๕
ข้อ ๙๖/๒[๒๑]
คนสัญชาติไทยที่เกิดในต่างประเทศโดยมีหลักฐานรับรองการเกิด
มีความประสงค์จะขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรโดยมีเหตุจำเป็นที่ไม่อาจเดินทางกลับประเทศไทย
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือผู้ที่ประสงค์ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว
อาจมอบอำนาจให้ญาติพี่น้องยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ครอบครัวหรือญาติพี่น้องของผู้ที่ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรมีภูมิลำเนาอยู่
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานสูติบัตรที่ออกให้โดยสถานทูตหรือสถานกงสุลไทยหรือเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและผ่านการรับรองคำแปลโดยกระทรวงการต่างประเทศไทย
หนังสือมอบอำนาจของบิดา มารดา หรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือผู้ที่ประสงค์ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว
แล้วแต่กรณี บัตรประจำตัวและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ยื่นคำร้อง ภาพถ่ายของบิดา
มารดา หรือผู้ปกครอง (ถ้ามี)
และภาพถ่ายของผู้ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร
(๒)
สอบสวนผู้ยื่นคำร้องให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของผู้ที่จะขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรในเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด สถานที่อยู่อาศัย ชื่อและสัญชาติของบิดามารดา
และความจำเป็นที่ไม่อาจเดินทางกลับประเทศไทย
(๓) เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต
ให้บันทึกการอนุญาตไว้ด้านหลังของสูติบัตรหรือเอกสารรับรองการเกิด แล้วแต่กรณี
และกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๔) เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านชั่วคราว (ท.ร. ๑๔)
สำหรับบุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศของสำนักทะเบียน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...
ลงวันที่....
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๗
บุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง ให้เจ้าบ้านหรือผู้ขอเพิ่มชื่อยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์
ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติพี่น้อง (ถ้ามี)
หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือประกอบการพิจารณา
(๒) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือ
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
การเพิ่มชื่อตามวรรคหนึ่ง
ถ้าบุคคลที่จะขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านมีอายุต่ำกว่า ๗
ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาอนุญาต เว้นแต่จะมีเหตุอันควรสงสัยเรื่องสัญชาติของบุคคลที่จะขอเพิ่มชื่อ
ให้นายทะเบียนรวบรวมหลักฐานเสนอขอความเห็นชอบจากนายอำเภอท้องที่ก่อนพิจารณาอนุญาต[๒๒]
ข้อ
๙๘ บุคคล
หน่วยงานเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐขอเพิ่มชื่อเด็กอนาถา
ซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ให้ผู้อุปการะเลี้ยงดูยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่เด็กอนาถามีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบันเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนผู้อุปการะเลี้ยงดู และเด็กในความอุปการะเพื่อทราบประวัติเบื้องต้นของเด็กในความอุปการะรวมทั้งหลักฐานอื่นเพิ่มเติม
(ถ้ามี)
(๒)
ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าเด็กอนาถามีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านโดยลงรายการตามข้อเท็จจริงเท่าที่ปรากฏทราบได้ในขณะนั้น
รายการใดที่ไม่ทราบให้ทำเครื่องหมาย
ไว้พร้อมหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๙[๒๓] บุคคลที่ได้มีการลงรายการ ตาย หรือ จำหน่าย
ในทะเบียนบ้านฉบับที่มีเลขประจำตัวประชาชนเนื่องจากสาเหตุการแจ้งผิดคนหรือเพราะสำคัญผิดในข้อเท็จจริง
ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายรายการ
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวผู้ร้อง (ถ้ามี)
เอกสารที่ทางราชการออกให้ซึ่งมีรูปถ่ายของผู้ร้อง (ถ้ามี) มรณบัตร (ถ้ามี)
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๒)
สอบสวนผู้ร้อง บุคคลที่แจ้งการตายหรือการจำหน่ายรายการดังกล่าว
และบุคคลที่น่าเชื่อถือ
ให้ได้ข้อเท็จจริงถึงสาเหตุที่มีการแจ้งการตายหรือการจำหน่ายรายการบุคคลของผู้ร้องในทะเบียนบ้าน
หากบุคคลที่แจ้งการตายหรือการจำหน่ายไม่อาจมาให้ถ้อยคำในการสอบสวนได้ไม่ว่าด้วยเหตุอันใด
ก็ให้นายทะเบียนบันทึกไว้
(๓)
ตรวจสอบรายการบุคคลกับฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๔)
รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่เพื่อพิจารณา
(๕)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
กรณีสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านปรากฏรายการบุคคลของผู้ร้อง
ให้ยกเลิกการจำหน่ายรายการบุคคลดังกล่าวโดยประทับหรือเขียนข้อความที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยหมึกสีแดงว่า
ยกเลิกการตาย หรือ ยกเลิกการจำหน่าย แล้วแต่กรณี
ตรงช่องรายการชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔)
และให้คัดลอกรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนของผู้ร้องจากรายการเดิมที่เคยปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องบันทึกแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการว่า บุคคลลำดับที่
ยกเลิกการตายหรือการจำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่...
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้ทั้งในช่องนายทะเบียนและช่องบันทึกแก้ไขฯ
รวมทั้งให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
กรณีสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านไม่ปรากฏรายการบุคคลของผู้ร้อง
ให้คัดลอกรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนจากรายการเดิมที่เคยปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องบันทึกแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการว่า บุคคลลำดับที่..
ยกเลิกการตายหรือการจำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่...
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้ทั้งในช่องนายทะเบียนและช่องบันทึกแก้ไขฯ
รวมทั้งให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
กรณีผู้ร้องมีมรณบัตร
ให้ยกเลิกมรณบัตรฉบับดังกล่าวโดยหมายเหตุว่า ยกเลิกตามคำร้องที่... ลงวันที่... และหากเป็นมรณบัตรที่ออกโดยสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนแจ้งสำนักทะเบียนนั้นเพื่อยกเลิกมรณบัตร ตอนที่ ๒ ด้วย
(๖)
สำหรับสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เมื่อนายอำเภออนุมัติแล้วให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อแก้ไขฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรก่อนเมื่อได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางแล้วจึงดำเนินการตาม
(๕)
ข้อ
๙๙/๑[๒๔] บุคคลที่ถูกจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านเนื่องจากมีชื่อ
และรายการในทะเบียนบ้านโดยมิชอบหรือโดยทุจริต หรือเป็นคนสาบสูญตามคำสั่งศาล
ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกหลักฐานคำสั่งศาลถอนคำสั่งเป็นคนสาบสูญ (กรณีผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นคนสาบสูญ)
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติพี่น้อง (ถ้ามี)
และบุคคลที่น่าเชื่อถือรวมทั้งหลักฐานอื่น (ถ้ามี) เพื่อประกอบการพิจารณา
(๓)
รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอท้องที่
ยกเว้นกรณีการเพิ่มชื่อคนสาบสูญให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาอนุญาต
(๔)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติ หรือนายทะเบียนพิจารณาอนุญาต แล้วแต่กรณี
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติหรืออนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒) หรือข้อ ๑๓๔ (๒๔) แล้วแต่กรณี
(๕)
เพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔)
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่... ลงวันที่...
หรือหนังสือที่... ลงวันที่...
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕) หรือข้อ ๑๓๒ (๗) แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๐๐
คนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้าน
(๒)
ตรวจสอบใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้ร้องว่าได้ต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและรายการย้ายที่อยู่ถูกต้องหรือไม่
หากขาดการต่ออายุหรือรายการที่อยู่ไม่ถูกต้องให้แนะนำผู้ร้องดำเนินการให้ถูกต้องเสียก่อน
(๓) คัดใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวให้ปรากฏรายการในหน้าที่ ๑ ถึงหน้าที่ ๖
หน้ารายการย้ายที่อยู่ หน้ารายการต่ออายุครั้งสุดท้าย หน้ารายการบุตรอายุตํ่ากว่า
๑๒ ปี ที่อยู่ในครอบครัว โดยให้นายทะเบียนคนต่างด้าวแห่งท้องที่รับรองความถูกต้อง
(๔)
ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๕) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๖) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการในทะเบียนบ้านและสำ
เนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๗)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๔)
(๘) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
ข้อ
๑๐๑[๒๕]
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติซึ่งยังไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้ยื่นคำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีภูมิลำเนาอาศัยอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
หรือหนังสือรับรองที่หน่วยงานของรัฐออกให้เพื่อรับรองการได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
(๒)
สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้านให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา
ของผู้ขอเพิ่มชื่อ
(๓)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) แห่งอื่นหรือไม่
(๔) เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาอนุญาตแล้ว
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๕)
เพิ่มชื่อและรายการบุคคลของผู้ร้องในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านตามรายการที่ปรากฏในใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...
ลงวันที่....
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๗)
ข้อ
๑๐๒ คนที่ไม่มีสัญชาติไทย
ต่อมาได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบันเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ
ดังนี้
กรณีผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) และเป็นบุคคลประเภทที่ ๓, ๔ หรือ ๕ และได้รับสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ
(๑) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานเอกสาร
(๒) แก้ไขรายการสัญชาติและเลขประจำตัวประชาชนในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
(๔) กรณีบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลประเภทที่ ๘ ให้แก้ไขรายการสัญชาติตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๑) แล้วรายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) ได้รับสัญชาติไทย โดยการขอคืนหรือขอมีหรือขอถือสัญชาติตามสามี
(๑) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานเอกสาร
(๒) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
หรือทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๓) แล้วแต่กรณี โดยประทับคำว่า จำหน่าย
หน้ารายการและบันทึกในช่องย้ายออกว่าตามคำร้องที่
ลงวันที่
พร้อมกับลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๓) เพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้านกลาง
(ท.ร. ๑๔) และบันทึกในช่องย้ายเข้ามาจากว่า ตามคำร้องที่
ลงวันที่
พร้อมกับลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
กรณีผู้ร้องไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) และได้รับสัญชาติไทย ให้ดำเนินการตามวรรคสาม
(๓) - (๕) โดยอนุโลม
ข้อ
๑๐๓[๒๖]
บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิดโดยมีบิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่ง
หรือบิดาและมารดาเป็นผู้ไม่มีสัญชาติไทย หรือบุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยคำสั่งของรัฐมนตรีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
และบุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยมีคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลถึงที่สุดขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ตรวจสอบพยานหลักฐานที่ผู้ขอเพิ่มชื่อนำมาแสดง
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้าน บิดา มารดา
และบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด ชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
รวมถึงสถานะทางกฎหมายในการอาศัยอยู่ในประเทศไทยของบิดาและมารดา เช่น
ได้รับอนุญาตให้เข้าอยู่ในประเทศไทยเพียงชั่วคราว
หรือโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๓)
ตรวจสอบรายการบุคคลกับฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๔)
เมื่อนายทะเบียนพิจารณาอนุญาต
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔)
พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
..
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๑๐๔
คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ได้เสียสัญชาติไทยหรือสละสัญชาติไทยโดยบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมิอาจพิจารณาสั่งการเป็นอย่างอื่นหรือโดยคำสั่งของศาลถึงที่สุด
หรือถูกเพิกถอนใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพบ
หรือได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยให้ประทับคำว่า จำหน่ายตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
กรณีมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๔)
ก็ให้จำหน่ายแล้วเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๓)
โดยหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า เพิ่มชื่อตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อ
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๓)
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๖)
ข้อ
๑๐๕[๒๗]
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการผ่อนผันให้พักอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
หรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ รวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานทะเบียนประวัติที่ทางราชการสำรวจและจัดทำให้ไว้เป็นหลักฐาน
(ถ้ามี)
(๒)
สอบสวนผู้ร้องให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของผู้ขอเพิ่มชื่อ
โดยเฉพาะประเด็นสถานที่เกิด สัญชาติ
ช่องทางและวันเดือนปีที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร บิดา
มารดาและสัญชาติของบิดามารดา
(๓) สอบสวนเจ้าบ้านให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของผู้ขอเพิ่มชื่อและความยินยอมให้บุคคลดังกล่าวเข้าอยู่อาศัยในบ้าน
(๔)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๕) ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอเพิ่มชื่อว่าเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนบ้านตามมาตรา
๓๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือไม่
(๖) รวบรวมหลักฐานพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอแห่งท้องที่เพื่อพิจารณา
(๗) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๓)
(๘) ดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...ลงวันที่.... แล้วให้นายทะเบียน
ลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๙) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๖)
กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นบุคคลที่ไม่มีคุณสมบัติที่จะเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามมาตรา
๓๘ วรรคหนึ่ง ฯลฯ หรือกรณีผู้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดให้จัดทำทะเบียนประวัติตามมาตรา
๓๘ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่บุคคลนั้นตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ข้อ
๑๐๕ ทวิ[๒๘] การขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามข้อ ๙๓
ถึงข้อ ๑๐๕ ของบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป
ให้นายทะเบียนเรียกรูปถ่ายของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อจากผู้แจ้ง จำนวน ๑ รูป
และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อ ผู้แจ้ง
และพยานบุคคลที่ให้การรับรอง
รวมทั้งให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในแบบ ท.ร. ๒๕
ต่อหน้านายทะเบียน แล้วเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติการเพิ่มชื่อ แล้วแต่กรณี
พร้อมหลักฐานอื่นเพื่อพิจารณา
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแล้ว
ให้จัดเก็บแบบ ท.ร. ๒๕ ไว้เป็นหลักฐานอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบหรือค้นหาได้ง่าย
โดยจะเก็บในรูปแบบของเอกสารหรือไมโครฟิล์มหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นนั้น[๒๙]
ข้อ
๑๐๖ ผู้ได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามกฎกระทรวงซึ่งออกตามความในมาตรา
๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
สอบสวนผู้ร้องให้ทราบถึงเหตุผลความจำเป็นที่ขอเพิ่มชื่อและเรียกหลักฐานแสดงตัวบุคคลของหน่วยงานที่ควบคุมหรือหลักฐานที่รัฐบาลประเทศนั้น
ๆ ออกให้ประกอบการพิจารณา
(๒) ให้นายทะเบียนเพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดให้ข้อ
๑๓๔ (๒๓)
(๔) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๖)
ข้อ
๑๐๗ การขอเพิ่มชื่อตามข้อ ๙๓ ถึงข้อ
๑๐๖
กรณีผู้มีอำนาจอนุมัติหรืออนุญาตพิจารณาแล้วเห็นว่าพยานเอกสารหรือพยานบุคคลไม่น่าเชื่อถือหรือผู้ขอเพิ่มชื่อและรายการในทะเบียนบ้านมีพฤติการณ์ส่อไปในทางไม่สุจริตและสั่งไม่อนุมัติหรือไม่อนุญาตแล้ว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบเป็นลายลักษณ์อักษร
ข้อ
๑๐๘ การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.
๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) นอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ตอนที่ ๒
การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ข้อ
๑๐๙
การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
กรณีที่บุคคลมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านเกินกว่าหนึ่งแห่ง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นปฏิบัติดังนี้
กรณีอยู่ในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกเจ้าบ้านหรือคนที่มีชื่อซ้ำ ให้มายืนยันที่อยู่ที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
(๒)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อาศัยอยู่
และให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า ชื่อซ้ำ ตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) การยื่นคำร้องและการรายงานการจำหน่ายให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๐) และ ๑๓๒ (๔)
กรณีอยู่ต่างสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ถ้าได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนที่บุคคลดังกล่าวมีชื่ออยู่ ให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านที่มีชื่อซ้ำ
พร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
(๒)
ถ้าบุคคลดังกล่าวนำหลักฐานการมีชื่อซ้ำมาแสดงเพื่อขอให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับ (๑)
(๓)
ให้หมายเหตุการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายชื่อซ้ำ ตามหนังสือที่
ลงวันที่
หรือตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔) เมื่อดำเนินการตาม (๑) หรือ (๒) แล้ว
ให้รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลาง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ถ้าอยู่ในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับวรรคสอง
(๒) ถ้าอยู่ต่างสำนักทะเบียน
ให้แจ้งเจ้าบ้านหรือบุคคลที่มีชื่อซ้ำและดำเนินการเช่นเดียวกับวรรคสอง
ข้อ
๑๑๐[๓๐]
เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔
หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใด เป็นการดำเนินการโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ
หรือโดยอำพรางข้อเท็จจริง หรือมีรายการข้อความผิดจากความเป็นจริง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานและสอบสวนพยานบุคคลที่เกี่ยวข้อง
(๒) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอพิจารณา
(๓) เมื่อได้รับแจ้งความเห็นจากนายอำเภอว่ามีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสั่งระงับการเคลื่อนไหวรายการทะเบียนราษฎรของบุคคลนั้นไว้ก่อน
(๔)
แจ้งคำสั่งระงับการเคลื่อนไหวรายการทะเบียนราษฎรให้เจ้าของรายการบุคคลดังกล่าวทราบภายในสามวันนับแต่วันที่มีคำสั่ง
แล้วดำเนินการตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียน
(๕) กรณีนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการตาม (๔)
แล้วมีคำสั่งจำหน่ายรายการทะเบียนหรือสั่งเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้อง
ให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่
ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีตามวรรคหนึ่ง
ถ้านายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานและสอบสวนพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องแล้วปรากฏชัดว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใดมีการกระทำความผิดตามกฎหมาย เช่น
การปลอมหรือใช้เอกสารปลอม เป็นต้น
หรือเป็นการแอบอ้างใช้ชื่อและรายการบุคคลของผู้อื่น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑) จำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการทุจริต
แล้วให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่
ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วลงลายมือชื่อ และวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) ถ้าเป็นกรณีการแอบอ้างใช้ชื่อและรายการบุคคลของผู้อื่น
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงรายการทะเบียนให้แก่เจ้าของรายการบุคคลที่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
(๓)
แจ้งคำสั่งการจำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนให้คู่กรณีทราบตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียน
(๔) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๐/๑[๓๑]
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใดเป็นการดำเนินการโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ
หรือโดยอำพรางข้อเท็จจริง หรือมีรายการข้อความผิดจากความเป็นจริง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ให้จำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการดำเนินการไม่ถูกต้องออกจากทะเบียนบ้านตามรายการที่ได้รับแจ้ง
พร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายรายการให้ถูกต้องตรงกัน
โดยให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในช่องย้ายออกไปที่ ว่า จำหน่ายตามหนังสือที่... ลงวันที่...
แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) แจ้งคำสั่งการจำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนให้คู่กรณีทราบตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริงการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียนโดยอนุโลม
โดยระบุในหนังสือแจ้งคำสั่งให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งต่อผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
(๓) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีบุคคลตามรายการที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางได้แจ้งการย้ายออกไป
มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านในเขตสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นส่งสำเนาหนังสือของสำนักทะเบียนกลางไปยังสำนักทะเบียนที่บุคคลนั้นย้ายเข้าไปอยู่เพื่อดำเนินการตาม
(๑) (๒) และ (๓)
ข้อ
๑๑๑
เมื่อปรากฏแน่ชัดว่าบุคคลในทะเบียนบ้านนั้นได้ตายไปแล้ว
แต่ยังไม่ได้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนพยานผู้ร้อง บุคคลที่น่าเชื่อถือและหลักฐานอื่นเพิ่มเติม (ถ้ามี)
(๒)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๑/๑[๓๒] เมื่อมีคำสั่งศาลให้ผู้ใดเป็นคนสาบสูญ
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องเพื่อจำหน่ายรายการบุคคลตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานคำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญ บัตรประจำตัวเจ้าบ้าน
บัตรหรือสำเนาบัตรประจำตัวของคนสาบสูญ (ถ้ามี) สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้านและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคนสาบสูญ
(๓)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายตามคำร้องที่...ลงวันที่...
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๒
คนสัญชาติไทยหรือคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตายในต่างประเทศและเจ้าบ้านมีความประสงค์จะขอจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานการจดทะเบียนคนตาย (มรณบัตร)
หรือหลักฐานการตายที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศนั้นซึ่งได้แปลและรับรองว่าถูกต้องโดยกระทรวงการต่างประเทศและหลักฐานเกี่ยวกับผู้แจ้ง
(๒) จำหน่ายชื่อและรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย
สีแดงไว้หน้ารายการคนตาย พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๓
การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลกรณีอื่น ๆ
ตามที่สำนักทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะราย
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งแล้วให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า จำหน่ายตามหนังสือที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
ข้อ
๑๑๔
การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ตอนที่ ๓
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๑๕
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(๑)
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรนำเอกสารราชการมาแสดงไม่ว่าเอกสารดังกล่าวจะจัดทำก่อนหรือหลังการจัดทำทะเบียนราษฎร
ให้ผู้ยื่นคำร้องแสดงเอกสารดังกล่าวต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
(๒) ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรไม่มีเอกสารราชการมาแสดง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานแล้วรวบรวมหลักฐานเสนอนายอำเภอพร้อมด้วยความเห็น
เมื่อนายอำเภอพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้นายอำเภอสั่งนายทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
(๓)[๓๓]
(ยกเลิก)
ข้อ
๑๑๕/๑[๓๔]
เมื่อมีผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(๑)
การแก้ไขรายการสัญชาติของเจ้าของประวัติซึ่งปรากฏรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
เนื่องจากการได้สัญชาติไทย หรือการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือการลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพยานเอกสารและสอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริงพร้อมทำความเห็นเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา
และเมื่อนายอำเภอมีคำสั่งอนุญาต
ให้นายทะเบียนแก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
(๒)
การแก้ไขรายการสัญชาติในช่องรายการสัญชาติของบิดาหรือมารดาของเจ้าของประวัติในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
เนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือบิดามารดาได้รับสัญชาติไทยหรือได้แปลงสัญชาติเป็นไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพยานเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมหรือหนังสือสำคัญการแปลงสัญชาติเป็นไทย เป็นต้น
และสอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริง
เมื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ก็ให้แก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
(๓)
การแก้ไขรายการสัญชาติจากสัญชาติไทย หรือจากไม่มีสัญชาติ
หรือจากสัญชาติอื่นเป็นสัญชาติอื่น เนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือการลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริงหรือการเสียสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานและเมื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ก็ให้แก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
กรณีได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางหรือหน่วยงานของรัฐว่าผู้มีสัญชาติไทยผู้ใดเสียสัญชาติไทยตามกฎหมายที่เกี่ยวด้วยสัญชาติ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแก้ไขรายการสัญชาติของบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) และแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขรายการให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
โดยให้หมายเหตุการแก้ไขไว้ในทะเบียนบ้านให้ชัดเจนด้วย
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎรนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ข้อ
๑๑๖ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน
ทะเบียนบ้านกลาง สูติบัตรหรือมรณบัตร
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง
แล้วแต่กรณี
หากปรากฏว่าสูติบัตรหรือมรณบัตรที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นออกโดยสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนแจ้งให้สำนักทะเบียนดังกล่าวทราบเพื่อจะได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
ข้อ
๑๑๗
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนคนเกิดหรือทะเบียนคนตายให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่จัดทำทะเบียนคนเกิดหรือทะเบียนคนตาย
แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๑๘
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ซึ่งนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้ลงรายการไว้ผิดพลาด
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นผู้ลงรายการผิดพลาดสามารถดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมได้
ยกเว้นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการตามข้อ ๗๖
ข้อ
๑๑๙
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางให้จัดทำรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามระเบียบที่กำหนดในข้อ
๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๒๐
เมื่อมีผู้มายื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ ในทะเบียนบ้านขอคัดสำเนาทะเบียนบ้าน
ขอแจ้งการย้ายที่อยู่ หรือกรณีอื่นใดก็ตาม
หากนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจพบว่ามีบุคคลในทะเบียนบ้านที่มีอายุครบ
๑๕ ปีบริบูรณ์
ให้แก้ไขรายการคำนำหน้านามในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
จากเด็กชายหรือเด็กหญิง เป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณี ได้
โดยไม่ต้องรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๑ รายการต่าง ๆ
ที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากนายทะเบียนลงรายการในแบบพิมพ์เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรไว้แล้ว
หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่ จะเป็นเพราะเขียนผิดหรือผิดพลาดเพราะเหตุอื่นใดก็ตาม
จะลบ ขูด หรือทำด้วยประการใด ๆ ให้เลือนหายไปไม่ได้
แต่ให้ใช้วิธีขีดฆ่าคำหรือข้อความเดิมแล้วเขียนคำหรือข้อความที่ถูกต้องแทนด้วยหมึกสีแดง
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนและวันเดือนปีกำกับไว้
ข้อ
๑๒๒
กรณีที่สำนักทะเบียนกลางได้ตรวจพบว่ารายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนผิดพลาดและได้แจ้งให้สำนักทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการแก้ไขแล้วไม่ต้องจัดทำรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๓
กรณีที่สำนักทะเบียนตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่ารายการในทะเบียนบ้านไม่ถูกต้อง
เนื่องจากไม่ตรงกับหลักฐานข้อเท็จจริงตามกฎหมาย
ให้นายทะเบียนแก้ไขให้ถูกต้องแล้วรายงานตามข้อ ๑๓๒ (๔)
ตอนที่ ๔
การขอตรวจ
คัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๒๔[๓๕] ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้นายทะเบียนตรวจ
คัด หรือคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎร
ได้ที่สำนักทะเบียนที่เก็บรักษาเอกสารทะเบียนราษฎรซึ่งเป็นต้นฉบับสำนักทะเบียนกลาง
สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร
หรือสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้ในวันและเวลาราชการ
ข้อ
๑๒๕
ผู้มีส่วนได้เสียตามระเบียบนี้หมายถึง
(๑) เจ้าบ้าน
(๒) ผู้มีชื่อและรายการปรากฏในเอกสารที่จะขอตรวจ หรือคัดและรับรองสำเนา
(๓)
บุคคลหรือนิติบุคคลใดที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเอกสารทะเบียนราษฎรไม่ว่าโดยตรงหรือทางอ้อม
ข้อ
๑๒๖ บุคคลหรือนิติบุคคลตามข้อ ๑๒๕
(๓)
ให้นายทะเบียนเรียกตรวจสอบหลักฐานจากผู้ร้องและพิจารณาความเป็นผู้มีส่วนได้เสียแล้วจึงดำเนินการให้ต่อไป
หากผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยทางอ้อม
ให้สอบสวนบันทึกปากคำเพื่อยืนยันความเป็นผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็นหลักฐานด้วยเพื่อให้เกิดความรับผิดทางอาญาถ้าเป็นผู้ไม่มีส่วนได้เสีย
ข้อ
๑๒๗[๓๖] การตรวจ คัด
หรือคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๒๔
ให้ดำเนินการได้เฉพาะรายการจากเอกสารทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด และทะเบียนคนตาย
ตามที่ปรากฏในเอกสารจากต้นฉบับหรือหลักฐานเอกสารของสำนักทะเบียนเท่านั้น
เว้นแต่การดำเนินการที่สำนักทะเบียนกลาง สำนักทะเบียนจังหวัด
สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร
และสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้ตรวจ คัด
หรือคัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนบ้านทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย
จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔
หรือคัดจากหลักฐานที่สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบอื่น
การรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรที่คัดจากต้นฉบับหรือหลักฐานเอกสารของสำนักทะเบียน
ให้ประทับหรือเขียนข้อความว่า สำเนาถูกต้อง
ส่วนการรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรที่คัดจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
ให้ประทับหรือเขียนข้อความว่า รับรองว่าเป็นรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
และให้นายทะเบียนที่คัดเอกสารนั้นเป็นผู้รับรองโดยให้ลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อ
พร้อมลงวันเดือนปีที่คัดสำเนาไว้ในเอกสารดังกล่าวด้วย
ตอนที่ ๕
การส่งและการรายงาน
ข้อ
๑๒๘
การส่งเอกสารการทะเบียนราษฎรที่กำหนดให้ส่ง
ให้สำนักทะเบียนอำเภอสำนักทะเบียนท้องถิ่น รวบรวมส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัด
และให้สำนักทะเบียนจังหวัด รวบรวมส่งให้สำนักทะเบียนกลางต่อไป
เว้นแต่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานครให้จัดส่งโดยตรงไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๙ ระยะเวลาการจัดส่ง
(๑) สำนักทะเบียนจังหวัด ให้รวบรวมจัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลางทุก ๑ เดือน
โดยให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดก่อนถึงกำหนดส่งสำนักทะเบียนกลาง
๓ วัน
(๒) สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานครให้จัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลางทุกวันศุกร์
เว้นแต่ถ้าตรงกับวันหยุดราชการให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการ
ข้อ
๑๓๐
ช่วงระยะเวลาในการกำหนดส่งของสำนักทะเบียนจังหวัดที่ต้องจัดส่งให้ถึงสำนักทะเบียนกลาง
ให้ถือปฏิบัติตามรหัสของสำนักทะเบียนดังนี้
(๑) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๑ ให้ส่งถึงในวันที่ ๑ ของเดือน
(๒) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๒ ให้ส่งถึงในวันที่ ๒ ของเดือน
(๓) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๓ ให้ส่งถึงในวันที่ ๓ ของเดือน
(๔) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๔ ให้ส่งถึงในวันที่ ๔ ของเดือน
(๕) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๕ ให้ส่งถึงในวันที่ ๕ ของเดือน
(๖) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๖ ให้ส่งถึงในวันที่ ๖ ของเดือน
(๗) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๗ ให้ส่งถึงในวันที่ ๗ ของเดือน
(๘) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๘ ให้ส่งถึงในวันที่ ๘ ของเดือน
(๙) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๙ ให้ส่งถึงในวันที่ ๙ ของเดือน
ในกรณีที่วันกำหนดส่งเป็นวันหยุดราชการ
ให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการ
ข้อ
๑๓๑ วิธีการจัดส่ง
ให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) บรรจุแบบพิมพ์และแบบรายงานที่จะต้องส่งในซองเอกสารตามรูปแบบที่กำหนด
โดยให้แยกแบบพิมพ์และแบบรายงานเป็นแต่ละประเภท
(๒)
นับจำนวนเอกสารในแต่ละซองและลงรายการหน้าซองบรรจุเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วน
(๓) รวบรวมซองเอกสารทั้งหมดส่งสำนักทะเบียนจังหวัด
(๔) สำนักทะเบียนจังหวัดตรวจสอบจำนวนซองเอกสาร
บัญชีนำส่งและหนังสือนำส่งของสำนักทะเบียนและลงชื่อรับไว้ในหนังสือนำส่งทั้งสองตอนแล้วมอบตอนที่
๑ คืนให้สำนักทะเบียนส่วนตอนที่ ๒ เก็บไว้เป็นหลักฐานของสำนักทะเบียนจังหวัด
สำหรับสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตกรุงเทพมหานครให้ดำเนินการตาม
(๑) - (๒) แล้วรวบรวมจัดส่งสำนักทะเบียนกลางต่อไป
ข้อ
๑๓๒
แบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นต้องส่งเมื่อได้ดำเนินการในแต่ละกรณีไปแล้ว
มีดังนี้
(๑) แบบพิมพ์สูติบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๒) แบบพิมพ์มรณบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๓) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ กรณีรับแจ้งการย้ายเข้า
แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ กรณีรับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง
แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ กรณีรับแจ้งการย้ายออก
(๔) แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ ในทะเบียนบ้าน ตามแบบ ท.ร.
๙๗ ก. ตอนที่ ๑
(๕) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ตามแบบ ท.ร. ๙๘ ก.
ตอนที่ ๑
(๖) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ตามแบบ ท.ร. ๙๘ ข.
ตอนที่ ๑
(๗) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ตามแบบ ท.ร. ๙๘ ค.
ตอนที่ ๑
(๘) แบบรายงานให้เลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร. ๙๙ ก.
(๙) แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านตามแบบ ท.ร.
๙๙/๑
ข้อ
๑๓๓
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่สำนักทะเบียนกลางจะจัดส่งคืนสำนักทะเบียนจังหวัด
เพื่อมอบให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานคร เมื่อได้ดำเนินการเสร็จสิ้น มีดังนี้
(๑) แบบพิมพ์สูติบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๒) แบบพิมพ์มรณบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๓) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน แล้วแต่กรณี
ส่วนที่ ๕
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
แบบพิมพ์
ข้อ
๑๓๔
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรให้ใช้แบบพิมพ์ต่าง ๆ ท้ายระเบียบนี้ ดังนี้
(๑) ท.ร. ๑ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและแจ้งการเกิดภายในกำหนด
(๒) ท.ร. ๑/๑ เป็นหนังสือรับรองการเกิด
ใช้สำหรับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
(๓) ท.ร. ๑ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการเกิด
(๓ ทวิ)[๓๗]
ท.ร. ๑/ก เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิดที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๓/๑)[๓๘]
ท.ร. ๑๐๐ เป็นแบบใบรับแจ้งการเกิดสำหรับการแจ้งเกิดเกินกำหนดการแจ้งเกิด
กรณีเด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กไร้เดียงสาซึ่งถูกทอดทิ้ง
และกรณีเด็กเร่ร่อนหรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
(๔) ท.ร. ๒ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและแจ้งการเกิดเกินกำหนด
(๕) ท.ร. ๓ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่ไม่มีสัญชาติไทย
(๖) ท.ร. ๔ เป็นมรณบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
(๗) ท.ร. ๔/๑ เป็นหนังสือรับรองการตาย
ใช้สำหรับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มี ผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
(๘)[๓๙]
ท.ร. ๔ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการตาย
(๘ ทวิ)[๔๐]
ท.ร. ๔/ก เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนคนตายที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๙) ท.ร. ๕ เป็นมรณบัตร
ใช้สำหรับคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๑๐) ท.ร. ๖ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ใช้สำหรับคนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๑๑) ท.ร. ๖ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่
(๑๒) ท.ร. ๗ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่ใช้สำหรับคนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓)
(๑๓) ท.ร. ๘ เป็นบันทึกการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
(๑๔) ท.ร. ๘/๑ เป็นแบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของอำเภอ/ท้องถิ่น)
(๑๕) ท.ร. ๘/๒ เป็นแบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของจังหวัด)
(๑๖) ท.ร. ๙ เป็นใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
(๑๖/๑)[๔๑] ท.ร. ๑๒ เป็นแบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(๑๗) ท.ร. ๑๓ เป็นทะเบียนบ้าน
ใช้สำหรับคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๑๘) ท.ร. ๑๔ เป็นทะเบียนบ้าน
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
(๑๙) ท.ร. ๑๔/๑ เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(๑๙ ทวิ)[๔๒]
ท.ร. ๑๕ เป็นบันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
สูญหายหรือถูกทำลาย
(๑๙ ตรี)[๔๓]
ท.ร. ๒๕ เป็นแบบการขอมีรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับกรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดและการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(๑๙/๓)[๔๔]
ท.ร. ๒๖ เป็นแบบบัตรทะเบียนคนเกิด
(๒๐) ท.ร. ๓๑ เป็นคำร้องทั่วไป
(๒๑) ท.ร. ๙๗ ก. เป็นคำร้องใช้สำหรับแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง
ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลและบ้านในทะเบียนบ้าน
(๒๒) ท.ร. ๙๘ ก. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๒๓) ท.ร. ๙๘ ข. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลต่างด้าวที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
(๒๔) ท.ร. ๙๘ ค. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือได้รับสัญชาติไทย
(๒๕) ท.ร. ๙๙ ก. เป็นแบบการให้เลขรหัสประจำบ้าน
ใช้สำหรับบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือไม่เคยให้เลขรหัสมาก่อน
(๒๖) ท.ร. ๙๙/๑ เป็นแบบรายงาน
ใช้สำหรับกรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านเป็นจำนวนมากกว่า
๑ หลังในคราวเดียวกัน
ข้อ
๑๓๕
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทั้งที่ใช้หรือยังไม่ได้ใช้ปฏิบัติ
เกิดการชำรุดเสียหายจนไม่อาจใช้ปฏิบัติได้
ให้นายทะเบียนยกเลิกใช้แบบพิมพ์ดังกล่าวโดยดำเนินการ ดังนี้
(๑) ให้ทำเครื่องหมายกากบาทและระบุคำว่า ยกเลิก พร้อมสาเหตุการยกเลิกด้วยหมึกสีแดงไว้
(๒) จัดเก็บไว้ในแฟ้มต่างหาก
สำหรับแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่เป็นแบบในการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนเมื่อสำนักทะเบียนยกเลิกแล้ว
ให้รายงานให้สำนักทะเบียนกลางทราบ
โดยระบุชนิดของแบบพิมพ์และเลขประจำตัวประชาชนในแบบพิมพ์ดังกล่าว
พร้อมสำเนาการรายงานให้สำนักทะเบียนจังหวัดทราบด้วย
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทุกประเภท
เมื่อสำนักทะเบียนได้ใช้หรือออกให้ผู้แจ้งผิดประเภท ให้ยกเลิกและออกใหม่ให้ถูกต้องตามชนิดแบบพิมพ์
และดำเนินการเช่นเดียวกับ (๑) - (๒)
ข้อ
๑๓๖
หลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
หรือนายทะเบียนจัดทำขึ้นตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎรก่อนพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ให้คงใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงหรือแสดงเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้
ตอนที่ ๒
การจัดเก็บแบบพิมพ์
ข้อ
๑๓๗ วิธีเก็บทะเบียนบ้าน
ให้ปฏิบัติดังนี้
สำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบลหรือแขวง
(๒) แต่ละตำบลหรือแขวง แยกออกเป็นถนน ตรอก ซอย และจัดลำดับ ถนน ตรอก
ซอยตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอยนั้น ๆ ในกรณีชื่อถนน ตรอก ซอย
เหมือนกัน แต่มีหมายเลขกำกับให้เรียงตามหมายเลขที่กำกับ
(๓) ภายในส่วนของถนน ตรอก ซอย ให้เรียงตามลำดับบ้านเลขที่
(๔) การแยกระหว่างตำบลหรือแขวง ถนน ตรอก ซอย
ให้ใช้แผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงประมาณครึ่งนิ้ว
และเขียนชื่อถนน ตรอก ซอย ไว้ในส่วนที่สูงกว่านั้น
(๕)
ให้มีแผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงกว่าประมาณครึ่งนิ้ว
ยาวหนึ่งในห้าส่วนของความยาวของแผ่นคั่นไว้ระหว่างบ้านเลขที่ทุก ๆ ๑๐๐ เลขหมาย
เช่น ๑ - ๑๐๐, ๑๐๑ - ๒๐๐, ๒๐๑ - ๓๐๐
เป็นต้น
สำนักทะเบียนอำเภอ
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบล หมู่บ้าน
(๒) ในหมู่บ้านหนึ่ง ๆ ให้เรียงลำดับบ้านเลขที่
ถ้าในหมู่บ้านให้บ้านเลขที่เป็นถนน ตรอกซอย ให้แยกภายในหมู่บ้านนั้นออกเป็น ถนน
ตรอก ซอย ตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอยนั้น ๆ
(๓) การแยกระหว่างตำบล หมู่บ้าน ถนน ตรอก ซอย และกลุ่มบ้านเลขที่
ให้ถือปฏิบัติอย่างเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่น โดยอนุโลม
ข้อ
๑๓๘ ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
และทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ให้จัดเก็บรวมกันโดยพิจารณาจากรายการที่อยู่ของบ้าน
ข้อ
๑๓๙ เมื่อนำทะเบียนบ้านออกไปจากที่เพื่อการใดก็ตาม
จะต้องเก็บเข้าที่เดิมทันทีเมื่อเสร็จสิ้น จะนำไปเก็บหรือวางไว้ที่อื่นไม่ได้
ข้อ
๑๔๐ การเก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒
ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทสูติบัตรเป็น ท.ร. ๑ หรือ ท.ร. ๒ หรือ ท.ร. ๓ แล้วแต่กรณี
(๒) สูติบัตรของแต่ละประเภทให้จัดเก็บในแฟ้ม
(๓) ในแฟ้มหนึ่ง ๆ ให้บรรจุสูติบัตรเป็นเล่ม ๆ
จนเต็มขนาดบรรจุของแฟ้มโดยให้บรรจุสูติบัตรตามลำดับเลขประจำตัวประชาชนที่ปรากฏอยู่บนมุมบนขวามือของสูติบัตรแต่ละใบ
(๔) แฟ้มที่จัดเก็บสูติบัตรจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ของปี
เลขประจำตัวเลขที่
ถึงเลขประจำตัวเลขที่
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
ข้อ
๑๔๑ การเก็บมรณบัตร ตอนที่ ๒
ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทมรณบัตรเป็น ท.ร. ๔ หรือ ท.ร. ๕ แล้วแต่กรณี
(๒) มรณบัตรของแต่ละประเภทให้จัดในแฟ้ม
(๓) ในแฟ้มหนึ่ง ๆ ให้บรรจุมรณบัตรรวมกันทุกตำบล
โดยให้บรรจุเรียงตามลำดับวันเดือนปีที่ออกมรณบัตร
(๔) แฟ้มที่จัดเก็บมรณบัตรจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ออกให้ตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
ข้อ
๑๔๒ การเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้แยกประเภทใบแจ้งการย้ายที่อยู่เป็นประเภทและให้แยกจัดเก็บเป็นแต่ละตอน ดังนี้
(๑)
ให้จัดเก็บในแฟ้มโดยบรรจุเรียงตามลำดับวันเดือนปีที่ย้ายเข้าในกรณีรับแจ้งการย้ายเข้าหรือตามลำดับวันเดือนปีที่ย้ายออกในกรณีรับแจ้งการย้ายออก
(๒) แฟ้มที่จัดเก็บจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ย้ายเข้าตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
หรือ แฟ้มที่
ย้ายออกตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
แล้วแต่กรณี
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ตอบรับการรับแจ้งการย้ายเข้าให้ดำเนินการจัดเก็บเช่นเดียวกับ (๑) - (๒)
ข้อ
๑๔๓ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ซึ่งเป็นการแจ้งการย้ายเข้าหรือแจ้งการย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลางหรือการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางหรือใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้แยกเก็บต่างหากจากการย้ายที่อยู่ตามข้อ
๑๔๒
ข้อ
๑๔๔
การจัดเก็บแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรอื่น
ให้จัดเก็บให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและสะดวกต่อการค้นหา
ส่วนที่ ๖
สำนักทะเบียนและนายทะเบียน
ตอนที่ ๑
สำนักทะเบียนสาขา
สำนักทะเบียนเฉพาะกิจ
ข้อ
๑๔๕
ท้องที่ใดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้จัดตั้งให้เป็นสำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจแล้ว
ให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบนี้กำหนดในส่วนนั้น ๆ
ข้อ
๑๔๖
สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจให้กำหนดรหัสประจำสำนักทะเบียนตามที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๔๗
ให้สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจจัดส่งเอกสารและแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่ต้องรายงานให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจอยู่ในเขตความรับผิดชอบตามกำหนดเวลา
เพื่อจะได้รวบรวมรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดไว้ต่อไป
ข้อ
๑๔๘
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทุกประเภทให้สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจเบิกจากสำนักทะเบียนจังหวัดแห่งท้องที่
ตอนที่ ๒
นายทะเบียนสาขา
นายทะเบียนเฉพาะกิจ
ข้อ
๑๔๙ นายทะเบียนสาขาและนายทะเบียนเฉพาะกิจ
ให้มีอำนาจหน้าที่ตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๕๐ การระบุตำแหน่งให้ระบุว่า นายทะเบียนสาขา
(ระบุชื่อสาขา) อำเภอ (เทศบาลหรือเขต)
หรือ นายทะเบียนเฉพาะกิจ (ระบุชื่อที่ดำเนินการ) อำเภอ (เทศบาลหรือเขต)
แล้วแต่กรณี
ส่วนที่ ๗
การจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลาง
ตอนที่ ๑
บททั่วไป
ข้อ
๑๕๑[๔๕]
ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนราษฎรและจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามเอกสารการรายงานของสำนักทะเบียนที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้และเอกสารหลักฐานตามระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลตัวบุคคลที่มีความจำเป็นต่อการดำเนินงานการทะเบียนราษฎร
การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้มีรายการต่าง
ๆ ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
การคัดข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ผู้ขอยื่นคำขอต่อนายทะเบียน
ณ สำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์แห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้
โดยให้นายทะเบียนคัดข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรได้เฉพาะรายการที่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลของสำนักทะเบียนกลางตามแบบ
ท.ร. ๑๒ ท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๕๒
วิธีการจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
(๑) เลขประจำตัวประชาชน มี ๑๓ หลัก แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน
ส่วนที่
๑ มี ๑ หลัก หมายถึง ประเภทบุคคลซึ่งมี ๘ ประเภท
ส่วนที่
๒ มี ๔ หลัก หมายถึง สำนักทะเบียนที่ออกเลขประจำตัวให้กับประชาชน
ส่วนที่
๓ และส่วนที่ ๔ รวมกันมี ๗ หลัก หมายถึง
ลำดับที่ของบุคคลในแต่ละประเภทของแต่ละสำนักทะเบียน
ส่วนที่
๕ มี ๑ หลัก หมายถึงเลขตรวจสอบความถูกต้องของเลขประจำตัวประชาชนทั้งหมด
(๒) ประเภทของบุคคลที่อยู่ในระบบทะเบียนราษฎร แบ่งออกเป็น ๘ ประเภท
ประเภทที่
๑ ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งการเกิดภายในกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด
ประเภทที่
๒ ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งการเกิดเกินกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด
ประเภทที่
๓ ได้แก่
คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวซึ่งมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านก่อนวันที่
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๒๗
ประเภทที่
๔ ได้แก่
คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและได้มีการย้ายเข้าในทะเบียนบ้านขณะยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน
(ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๒๗)
ประเภทที่
๕ ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
ประเภทที่
๖ ได้แก่
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายในลักษณะชั่วคราวและคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ประเภทที่
๗ ได้แก่ บุตรของบุคคลประเภทที่ ๖ ซึ่งเกิดในประเทศไทย
ประเภทที่
๘ ได้แก่ บุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือบุคคลที่ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมาย
ตอนที่ ๒
ทะเบียนบ้าน
ข้อ
๑๕๓ การจัดทำทะเบียนบ้าน
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่อยู่ของบ้านของสำนักทะเบียนกลาง
ให้จัดทำจากแบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมหรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้านหรือทะเบียนบ้าน
ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ที่ตกหล่น
ข้อ
๑๕๔
ให้สำนักทะเบียนกลางจัดพิมพ์ทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แจกจ่ายให้สำนักทะเบียนตามแผนที่กำหนดจนครบทุกสำนักทะเบียน
ตอนที่ ๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๑๕๕
ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนคนเกิดจากสูติบัตร ตอนที่ ๒
ข้อ
๑๕๖ สูติบัตร ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนเกิด
ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๕๗ สูติบัตร ตอนที่ ๒
เมื่อได้จัดทำทะเบียนคนเกิดแล้ว ให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกสูติบัตรเพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ
๑๕๘
ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนคนตายจากมรณบัตร ตอนที่ ๒
ข้อ
๑๕๙ มรณบัตร ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนตาย ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๖๐ มรณบัตร ตอนที่ ๒
เมื่อได้จัดทำทะเบียนคนตายแล้ว
ให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกมรณบัตรเพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ
๑๖๑
เมื่อมีการแจ้งการย้ายออกหรือแจ้งการย้ายเข้าในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วให้สำนักทะเบียนกลางปรับปรุงทะเบียนบ้านให้ตรงกันกับของสำนักทะเบียนตามหลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ข้อ
๑๖๒ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง
ตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๖๓ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เมื่อได้ดำเนินการแล้วให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๖
การเพิ่มชื่อและการจำหน่ายชื่อ
ข้อ
๑๖๔
ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนกลางตามแบบรายงานการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อที่สำนักทะเบียนจัดส่งมา
แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๖๕
แบบรายงานการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อเมื่อดำเนินการแล้ว
ให้สำนักทะเบียนกลางทำลายตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนด
ตอนที่ ๗
การปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
ข้อ
๑๖๖
ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการปรับปรุงรายการในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเป็นปัจจุบันตามหลักฐานที่สำนักทะเบียนจัดส่งมา
หรือตามหลักฐานรายการทะเบียนที่พิมพ์จากคอมพิวเตอร์และได้มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว
ข้อ
๑๖๗ หลักฐานการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเมื่อดำเนินการแล้วให้สำนักทะเบียนกลางทำลายตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนด
ตอนที่ ๘
การส่งและการรายงาน
ข้อ
๑๖๘
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงานที่สำนักทะเบียนกลางส่งคืนให้สำนักทะเบียนตรวจสอบความถูกต้อง
แล้วยืนยันหรือแก้ไขให้ถูกต้องพร้อมทั้งส่งคืนให้สำนักทะเบียนกลางภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับเอกสาร
ข้อ
๑๖๙
การยืนยันหรือแก้ไขความถูกต้องในแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงานตามข้อ
๑๖๘ ให้สำนักทะเบียนดำเนินการตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๗๐ กรณีที่สำนักทะเบียนกลางตรวจสอบและพบความผิดพลาดของรายการบุคคลและรายการบ้านที่สำนักทะเบียนจัดส่งรายงาน
ให้แจ้งสำนักทะเบียนดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ส่วนที่ ๘
การเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๗๑ ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบ ในเขตสำนักทะเบียนอำเภอ หมายถึง
นายทะเบียนอำเภอในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น หมายถึง นายทะเบียนท้องถิ่น
ข้อ
๑๗๒
เมื่อปรากฏว่าผู้ใดกระทำผิดกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ให้มีผู้มีอำนาจเปรียบเทียบทำการเปรียบเทียบโดยมิชักช้า
ข้อ
๑๗๓ ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบบันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหาโดยย่อ
ถ้าผู้ต้องหายินยอมให้เปรียบเทียบก็ให้ทำการเปรียบเทียบได้
แต่ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้แจ้งให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดีต่อไป
คำให้การของผู้กล่าวหา
ผู้ต้องหา และบันทึกการเปรียบเทียบ ให้บันทึกลงในสมุดบันทึกการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ตามแนบท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๗๔ ในการเปรียบเทียบ
ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดเงินค่าปรับที่ผู้ต้องหาจะต้องพึงชำระโดยคำนึงถึงลักษณะความหนักเบาและพฤติการณ์แห่งความผิดตลอดจนฐานะความเป็นอยู่ของผู้ต้องหา
ข้อ
๑๗๕
เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับแล้ว
ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้ผู้ต้องหารับไป
ข้อ
๑๗๖
การรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
ให้สำนักทะเบียนรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง ตามแบบท้ายระเบียบนี้ทุกเดือนในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป
ข้อ
๑๗๗ การรับเงิน เก็บรักษาเงิน
ส่งและถอนเงินค่าเปรียบเทียบ สำหรับกรณีนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบ
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการฝากเงิน การเบิกจ่ายเงิน
การรักษาเงิน และการตรวจเงินของเทศบาล สำหรับกรณีนายทะเบียนอำเภอเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบ
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบการรับจ่าย
การเก็บรักษาและการนำส่งเงินในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอของกระทรวงการคลัง
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
ชูวงศ์ ฉายะบุตร
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
สูติบัตร (ท.ร. ๑ ตอน ๑)
๒.
หนังสือรับรองการเกิด (ท.ร. ๑/๑ ตอนที่ ๑)
๓.
ใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑ ตอนหน้า)
๔.[๔๖]
แบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิด จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร (ท.ร. ๑/ก)
๕.
สูติบัตร แจ้งการเกิดเกินกำหนด (ท.ร. ๒ ตอน ๑)
๖.
สูติบัตร บุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร. ๓ ตอน ๑)
๗.
มรณบัตร (ท.ร. ๔ ตอน ๑)
๘.[๔๗]
หนังสือรับรองการตาย (ท.ร. ๔/๑ ตอนที่ ๑)
๙.[๔๘]
ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. ๔ ตอนหน้า)
๑๐.[๔๙]
แบบรับรองรายการทะเบียนคนตาย จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร (ท.ร. ๔/ก)
๑๑.
มรณบัตร (ท.ร. ๕ ตอน ๑)
๑๒.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖ ตอน ๑)
๑๓.
ใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖ ตอนหน้า)
๑๔.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๗ ตอน ๑)
๑๕.
บันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหา
๑๖.
บันทึกการเปรียบเทียบ
๑๗.
แบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของอำเภอ/เทศบาล) (ท.ร. ๘/๑)
๑๘.
แบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของจังหวัด) (ท.ร. ๘/๒)
๑๙.
ใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร. ๙)
๒๐.[๕๐]
แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร. ๑๒)
๒๑.
ทะเบียนบ้าน
ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร. ๑๓)
๒๒.
ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
๒๓.[๕๑]
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร. ๑๔/๑)
๒๔.[๕๒]
บันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย (ท.ร. ๑๕)
๒๕.[๕๓]
แบบการขอมีรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับกรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดและการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๒๕)
๒๖.[๕๔]
แบบบัตรทะเบียนคนเกิด (ท.ร. ๒๖)
๒๗.
คำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร (ท.ร. ๓๑)
๒๘.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ
หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลและบ้านในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๙๗ ก ตอนที่ ๑)
๒๙.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๕
สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) (ท.ร. ๙๘ ก.ตอน ๑)
๓๐.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๖
สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
(บุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว) (ท.ร. ๙๘
ข.ตอน ๑)
๓๑.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๘
สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (กรณีบุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือได้รับสัญชาติไทย)
(ท.ร. ๙๘ ค.ตอน ๑)
๓๒.
แบบการให้เลขรหัสประจำบ้าน สำหรับบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่
หรือไม่เคยให้เลขรหัสมาก่อน (ท.ร. ๙๙ ก ตอน ๑)
๓๓.
แบบรายงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม รายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านในกรณีที่มีการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม เป็นจำนวนมาก (ท.ร. ๙๙/๑)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒[๕๕]
ข้อ
๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๒ เป็นต้นไป
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔[๕๖]
ข้อ
๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นไป
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕[๕๗]
ข้อ ๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๕ เป็นต้นไป
ยกเว้นการปฏิบัติในเรื่องต่อไปนี้
ให้เป็นไปตามพื้นที่หรือระยะเวลาที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
(๑)
การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิด ตามข้อ ๕
(๒)
การเปลี่ยนแปลงแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. ๔ ตอนหน้า) ตามข้อ ๑๘
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑[๕๘]
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๒] ข้อ ๓๔/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่
๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๓] ข้อ ๔๓
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔] ข้อ ๕๖/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๕] ข้อ ๕๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๖] ข้อ ๕๘ ทวิ
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๗] ข้อ ๕๙
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๑
[๘] ข้อ ๕๙/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๙] ข้อ ๖๐/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๐] ข้อ ๖๐/๒ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๑] ข้อ ๖๐/๓ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๒] ข้อ ๖๐/๔ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๓] ข้อ ๖๔/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๑๔] ข้อ ๗๑/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๕] ข้อ ๘๕ วรรคสาม
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.
๒๕๔๕
[๑๖] ข้อ ๘๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๗] ข้อ ๙๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๑๘] ข้อ ๙๕
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๙] ข้อ ๙๖
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๒๐] ข้อ ๙๖/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๒๑] ข้อ ๙๖/๒ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๒๒] ข้อ ๙๗ วรรคสอง
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.
๒๕๔๕
[๒๓] ข้อ ๙๙
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๒๔] ข้อ ๙๙/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๒๕] ข้อ ๑๐๑
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๑
[๒๖] ข้อ ๑๐๓
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๒๗] ข้อ ๑๐๕
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๑
[๒๘] ข้อ ๑๐๕ ทวิ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๒๙] ข้อ ๑๐๕ ทวิ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๓๐] ข้อ ๑๑๐
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๑
[๓๑] ข้อ ๑๑๐/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
[๓๒] ข้อ ๑๑๑/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๓๓] ข้อ ๑๑๕ (๓)
ยกเลิกโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.
๒๕๔๕
[๓๔] ข้อ ๑๑๕/๑ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๓๕] ข้อ ๑๒๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๓๖] ข้อ ๑๒๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๓๗] ข้อ ๑๓๔ (๓ ทวิ) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๓๘] ข้อ ๑๓๔ (๓/๑)
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.
๒๕๕๑
[๓๙] ข้อ ๑๓๔ (๘)
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๔๐] ข้อ ๑๓๔ (๘ ทวิ) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔๑] ข้อ ๑๓๔ (๑๖/๑) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๔๒] ข้อ ๑๓๔ (๑๙ ทวิ) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔๓] ข้อ ๑๓๔ (๑๙ ตรี) เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔๔] ข้อ ๑๙/๓ เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๔๕] ข้อ ๑๕๑
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕
[๔๖] แบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิด จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔๗] หนังสือรับรองการตาย
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๔๘] ใบรับแจ้งการตาย
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๔๙] แบบรับรองรายการทะเบียนคนตาย จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๕๐] แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
จากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๕๑] แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน
แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๕๒] บันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๕๓]
แบบการขอมีรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับกรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดและการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
[๕๔] แบบบัตรทะเบียนคนเกิด เพิ่มโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๕๕] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๑/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๕๖] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๓/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๕๗] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๘/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๕๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๗๐/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
819197 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร พ.ศ. 2561 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
พ.ศ. ๒๕๖๑
โดยที่พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๒ กำหนดให้สำนักทะเบียนกลางจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรและปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวให้ตรงกับความเป็นจริงอยู่เสมอ
และมาตรา ๑๕ วรรคสอง และวรรคสาม กำหนดให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจอนุญาตให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรได้
ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการเก็บรักษาและควบคุมข้อมูลการทะเบียนราษฎร
การตรวจสอบพิสูจน์ตัวบุคคลและประมวลผลข้อมูลทะเบียนราษฎร
การให้บริการประชาชนในการขอตรวจคัดเอกสารข้อมูล และแก้ไขปรับปรุงข้อมูลทะเบียนราษฎรให้ถูกต้อง
และการอนุญาตให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เพื่อการปฏิบัติหน้าที่
ให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องออกระเบียบเพื่อกำหนดการปฏิบัติที่ว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๒ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๓๒ วรรคสอง แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒[๑] ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในระเบียบนี้
ส่วนราชการ หมายความว่า ส่วนราชการตั้งแต่ระดับกรมหรือเทียบเท่าและหน่วยงานของรัฐอื่นที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามที่กฎหมายกำหนด
ข้อมูลทะเบียนราษฎร หมายความว่า ข้อมูลของบุคคลที่แสดงออกในรูปของเอกสาร ภาพหรือข้อมูลดิจิทัลโดยมีรายการตามที่ปรากฏในทะเบียนบ้าน
เช่น ชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด
เลขประจำตัวประชาชน สัญชาติ สถานะเจ้าบ้าน ชื่อบิดา ชื่อมารดา ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
เป็นต้น ทะเบียนการเกิด ทะเบียนการตาย รวมถึงทะเบียนประวัติของคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร หมายความว่า ข้อมูลของบุคคลที่แสดงออกในรูปของเอกสารภาพหรือข้อมูลดิจิทัลโดยมีรายการตามที่ปรากฏในข้อมูลทะเบียนราษฎรและข้อมูลอื่นที่บ่งบอกถึงสถานภาพและตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของทะเบียนประวัติ
เช่น ภาพใบหน้า ลายพิมพ์นิ้วมือ สถานภาพการสมรส
ชื่อคู่สมรส ชื่อบุตร ชื่อบุตรบุญธรรมหรือผู้รับบุตรบุญธรรม ศาสนา วุฒิการศึกษา
อาชีพภูมิลำเนาตามทะเบียนบ้าน ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอ เป็นต้น
เจ้าของข้อมูล หมายความว่า บุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลทะเบียนราษฎร หรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
ผู้ควบคุมข้อมูล หมายความว่า สำนักทะเบียนกลาง รวมถึง สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร
สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนท้องถิ่น และส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้จัดทำ
เก็บ รวบรวม และใช้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล รวมถึงการใช้ข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรร่วมกับสำนักทะเบียนกลาง
ผู้รับข้อมูล หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากผู้ควบคุมข้อมูล
และนำข้อมูลนั้นไปใช้ประโยชน์
ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง หมายความว่า ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร ฐานข้อมูลทะเบียนครอบครัว ฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล
และฐานข้อมูลทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ หมายความว่า การเชื่อมระบบคอมพิวเตอร์ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐกับสำนักทะเบียนกลางเพื่อใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทะเบียนกลางและฐานข้อมูลประชาชนของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐนั้น
ข้อ ๔ ข้อมูลทะเบียนราษฎร และข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเป็นข้อมูลส่วนบุคคลจะเปิดเผยได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลหรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนเจ้าของข้อมูลหรือเปิดเผยได้ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้เท่านั้น
แต่การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวจะทำให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูลหรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนมิได้
การยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่งจะทำเป็นหนังสือ
หรือเป็นข้อความอยู่ในคำร้องหรือคำขอ หรือแสดงออกในลักษณะอื่นก็ได้ เช่น ยินยอมมอบบัตรประจำตัวประชาชนให้แก่เจ้าพนักงานหรือผู้มีหน้าที่ตามกฎหมายเพื่อนำไปตรวจข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ถือบัตรตามวิธีการที่กรมการปกครองกำหนด
เป็นต้น
ข้อ ๕ บุคคลดังต่อไปนี้ มีสิทธิขอให้เปิดเผยข้อมูลทะเบียนราษฎรโดยการขอตรวจ
คัด หรือคัดและรับรองสำเนาข้อมูลทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบอื่น
(๑) เจ้าของข้อมูลหรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของข้อมูล
(๒) บุคคลอื่นใดที่กล่าวอ้างให้เชื่อได้ว่ามีส่วนได้เสียกับเจ้าของข้อมูลทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
ข้อ ๖ บุคคลดังต่อไปนี้
มีสิทธิขอให้เปิดเผยข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรโดยการขอตรวจ คัด หรือคัดและรับรองสำเนาข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบอื่น
(๑) เจ้าของข้อมูลหรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของข้อมูล
(๒) ผู้แทนโดยชอบธรรม ในกรณีเจ้าของข้อมูลเป็นผู้เยาว์
(๓) ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ตามคำสั่งศาล ในกรณีเจ้าของข้อมูลเป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ทายาทเจ้าของข้อมูล กรณีเจ้าของข้อมูลเสียชีวิตหรือเป็นคนสาบสูญ
(๕) บุคคลอื่นใดที่กล่าวอ้างให้เชื่อได้ว่ามีส่วนได้เสียโดยตรงกับเจ้าของข้อมูล
ข้อ ๗ นอกจากการเปิดเผยข้อมูลต่อบุคคลตามข้อ ๕ และข้อ
๖ แล้ว การเปิดเผยข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร ดังต่อไปนี้ สามารถดำเนินการได้เท่าที่จำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลหรือผู้มีอำนาจกระทำการแทน
(๑) เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของนายทะเบียน
เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน
กฎหมายว่าด้วยชื่อบุคคล กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ และกฎหมายอื่น
(๒) เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกี่ยวกับการให้บริการภาครัฐ
การรักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงของชาติ การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดตามกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
(๓) เพื่อการศึกษา วิจัย หรือเพื่อประโยชน์แก่การสถิติ
การเปิดเผยข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามวรรคหนึ่ง
ถ้าผู้ควบคุมข้อมูลหรือนายทะเบียนผู้มีอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎรเห็นว่าควรขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลให้แจ้งผู้ขอข้อมูลดำเนินการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลก่อนจึงจะเปิดเผยได้
แต่การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการนำข้อมูลไปใช้ในทางธุรกิจหรือในเรื่องอื่นใดที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ราชการหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูล
ข้อ ๘ การขอให้เปิดเผยข้อมูลการทะเบียนราษฎรโดยการขอตรวจ
คัด หรือคัดและรับรองสำเนาข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง
ให้บุคคลตามข้อ ๕ และข้อ ๖ และส่วนราชการตามข้อ ๗ ยื่นคำขอพร้อมด้วยหลักฐานต่อนายทะเบียน
ณ สำนักทะเบียนกลาง สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร สำนักทะเบียนอำเภอ
สำนักทะเบียนท้องถิ่น (เขต เทศบาล และเมืองพัทยา) สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนส่วนแยกในลักษณะของศูนย์บริการอำเภอยิ้ม
หรือหน่วยบริการงานทะเบียนราษฎรที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นแห่งใดก็ได้
นอกจากการยื่นคำขอตามวรรคหนึ่งแล้ว
ผู้ขอเปิดเผยข้อมูลอาจยื่นคำขอผ่านระบบคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และสารสนเทศตามที่สำนักทะเบียนกลางกำหนดก็ได้
ยกเว้นส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามวิธีการที่ส่วนราชการนั้นกำหนด
ข้อ ๙ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง อาจอนุญาตให้ส่วนราชการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ได้โดยส่วนราชการนั้นต้องแจ้งเป็นหนังสือขออนุญาตต่อผู้อำนวยการทะเบียนกลางโดยระบุเหตุผลความจำเป็นที่ต้องการเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูล
ประเภทของข้อมูลที่จะขอเชื่อมโยงและวิธีปกป้องคุ้มครองข้อมูลมิให้ถูกละเมิด และจะใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางได้ต่อเมื่อส่วนราชการนั้นได้มีหนังสือตอบรับการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ ๑๐ ส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
จะต้องรับผิดชอบการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์พร้อมทั้งระบบสื่อสารเพื่อรับหรือส่งข้อมูลที่ตรวจสอบโดยเป็นผู้จัดหาอุปกรณ์พร้อมค่าใช้จ่ายต่าง
ๆ ในการตรวจสอบฐานข้อมูลทะเบียนกลาง และพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้
ข้อ ๑๑ ส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
ต้องอนุญาตให้สำนักทะเบียนกลางพัฒนาโปรแกรมเพื่อตรวจสอบข้อมูลประชาชนจากฐานข้อมูลของส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่กำรบริการภาครัฐ
ข้อ ๑๒ ส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
จะต้องจัดให้มีการลงทะเบียนเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับมอบหมายให้เข้าถึงข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรกับสำนักทะเบียนกลางเพื่อกำหนดรหัสเจ้าหน้าที่และขอบเขตการเข้าถึงข้อมูลตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ ๑๓ การดำเนินการตามข้อ ๙ สำนักทะเบียนกลางจะร่วมมือกับส่วนราชการกำหนดประเภทของข้อมูลที่อนุญาตให้ส่วนราชการใช้ประโยชน์
ระบบการตรวจสอบข้อมูล การวางระบบควบคุมรักษาความลับข้อมูลส่วนบุคคล และกำหนดชั้นความลับของข้อมูลที่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการจะเข้าถึงข้อมูล
ส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
ต้องจัดทำบัญชีควบคุมการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทะเบียนกลางของเจ้าหน้าที่ตามที่สำนักทะเบียนกลางกำหนดเพื่อให้ตรวจสอบได้ว่าใครเข้าไปตรวจหรือเปิดเผยข้อมูลของใคร
เมื่อใด และนำข้อมูลไปใช้เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการนั้นหรือไม่ โดยผู้ควบคุมข้อมูลจะต้องตรวจรายงานการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทะเบียนกลางเป็นประจำทุกวัน
ทั้งนี้ ให้จัดเก็บบัญชีดังกล่าวไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปี
ให้หัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ควบคุม
กำกับ ดูแลการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางให้เป็นไปเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยเคร่งครัดและจะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบหากเกิดความเสียหายอันเกิดจากการปฏิบัติโดยมิชอบของบุคคลตามวรรคหนึ่งตามควรแก่กรณี
ข้อ ๑๔ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดเก็บข้อมูลการเข้าตรวจหรือคัดข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางของเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลาว่าใคร
สังกัดส่วนราชการหรือหน่วยงานใด เข้าไปตรวจหรือเปิดเผยข้อมูลของใครเมื่อใดบ้าง เพื่อเป็นมาตรการคุ้มครองข้อมูลของบุคคลและตรวจสอบลงโทษผู้กระทำละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยให้จัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักทะเบียนกลางเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปี
จึงจะขออนุมัติลบข้อมูลดังกล่าวได้
ข้อ ๑๕ ส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จะต้องใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการตามที่แจ้งในหนังสือขออนุญาตเท่านั้น
และจะต้องไม่ส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูล และห้ามมิให้นำข้อมูลไปใช้เพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจหรือในเรื่องอื่นที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ของส่วนราชการหรือตามวัตถุประสงค์ที่ร้องขอ
ข้อ ๑๖ กรณีบุคคลร้องเรียนขอให้ตรวจสอบการเข้าตรวจและเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลทำให้ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย
ให้ผู้ควบคุมข้อมูลดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบการเข้าตรวจข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางของบุคคลตามข้อร้องเรียนจากระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักทะเบียนกลาง
และสอบสวนให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุผลในการเข้าตรวจข้อมูลดังกล่าว และการเปิดเผยข้อมูลไปให้ผู้ใดหรือหน่วยงานใดบ้าง
(๒) หากผลการตรวจสอบพบว่าเจ้าหน้าที่เปิดเผยข้อมูลโดยมิชอบ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการขอตรวจข้อมูลหรือไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของทางราชการหรือเจ้าของข้อมูลนั้น
ให้ผู้ควบคุมข้อมูลถอดถอนเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ให้เข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลทะเบียนกลางเป็นเวลาสองปีติดต่อกันและแจ้งให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางทราบ
เว้นแต่กรณีมีเหตุจำเป็นจะต้องให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลทะเบียนกลางก่อนเวลาที่กำหนด
ผู้ควบคุมข้อมูลจะต้องแจ้งเหตุจำเป็นไปยังผู้อำนวยการทะเบียนกลาง และต้องมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชาของบุคคลนั้นส่งไปพร้อมด้วย
(๓) กรณีบุคคลร้องเรียนต่อสำนักทะเบียนกลางขอให้ตรวจสอบผู้เข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลให้สำนักทะเบียนกลางตรวจสอบข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์แล้วทำหนังสือแจ้งส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ตรวจพบตาม
(๑) ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลให้สำนักทะเบียนกลางทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง
เพื่อจะได้แจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้ร้องเรียนทราบต่อไป
กรณีบุคคลที่ร้องเรียนเรื่องการถูกเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลทำให้เกิดความเสียหายและเรียกร้องให้รับผิดทางละเมิดหรือฟ้องร้องต่อศาลในทางปกครอง
ทางแพ่งและทางอาญา ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จะต้องสอบสวนข้อเท็จจริงและดำเนินการตามอำนาจหน้าที่
รวมถึงความรับผิดทางละเมิดในทางปกครอง ทางแพ่ง หรือทางอาญาตามผลของคดีทั้งต่อบุคคลภายนอก
และสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง
ข้อ ๑๗ สำนักทะเบียนกลางอาจระงับการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลทะเบียนกลางของส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นการชั่วคราวหรืออาจเปลี่ยนแปลงวิธีการเข้าถึงข้อมูลและการใช้ประโยชน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางได้ตามที่เห็นสมควรโดยจะแจ้งส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้ทราบล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
กรณีส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้องการบอกเลิกการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลทะเบียนกลางจะต้องแจ้งให้สำนักทะเบียนกลางทราบเป็นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนเลิกการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง
และจะต้องยินยอมให้สำนักทะเบียนกลางตรวจสอบข้อมูลของส่วนราชการนั้นกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่าจะมีการกระทำที่เกิดความเสียหายแก่สำนักทะเบียนกลาง
หากส่วนราชการที่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้
และทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรงแก่ราชการหรือบุคคลภายนอก สำนักทะเบียนกลางจะยกเลิกหรือระงับการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง
โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าก็ได้
ข้อ ๑๘ กรณีเจ้าของบัตรยินยอมมอบบัตรประจำตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์
(Smart Card) ให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการเข้าถึงข้อมูลของตนในหน่วยความจำ
(IC CHIP) บนบัตรหรือในฐานข้อมูลทะเบียนกลางโดยผ่านเครื่องอ่านบัตรหรือโดยวิธีอื่นใด
ให้ถือว่าเจ้าของบัตรได้ยินยอมให้เจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้นั้น
ข้อ
๑๙ ในการปฏิบัติงานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลทะเบียนกลางให้นายทะเบียน
พนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชนจะต้องลงทะเบียนเพื่อกำหนดรหัสการใช้งานตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
และจะต้องเก็บรักษารหัสของตนให้เป็นความลับหากมีการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือมีความเสียหายใด
ๆ เกิดขึ้นอันเนื่องจากการใช้รหัสนั้น เจ้าของรหัสต้องรับผิดชอบทุกกรณี
ให้หัวหน้าหน่วยงานที่ปฏิบัติงานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน
อาทิ นายอำเภอ ผู้อำนวยการเขต ควบคุม กำกับ ดูแลการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาให้เป็นไปเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยเคร่งครัดและจะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบหากเกิดความเสียหายอันเกิดจากการปฏิบัติโดยมิชอบของบุคคลตามวรรคหนึ่งตามควรแก่กรณี
ข้อ ๒๐ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดเก็บเอกสารทะเบียนและเอกสารราชการอื่นที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคลที่อยู่ในความรับผิดชอบหรืออยู่ในการเก็บรักษาของสำนักทะเบียนไว้ในฐานข้อมูลทะเบียนกลางให้ครบถ้วน
โดยใช้เลขประจำตัวประชาชนเป็นดัชนีในการจัดเก็บและค้นหาข้อมูลและเพื่อความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลบุคคลที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรและประโยชน์ในการปฏิบัติราชการและการให้บริการของภาครัฐ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจแจ้งส่วนราชการที่มีข้อมูลทั้งที่เป็นเอกสารหรือข้อมูลดิจิทัล
ให้จัดส่งข้อมูลที่มีอยู่ให้สำนักทะเบียนกลาง
ข้อ ๒๑ ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอตามหลักฐานของสำนักทะเบียนอำเภอ
สำนักทะเบียนท้องถิ่นและส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งผ่านการตรวจสอบความถูกต้องโดยเจ้าหน้าที่ของสำนักทะเบียนหรือส่วนราชการนั้น
และสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางอย่างถูกต้อง
เหมาะสม และสอดคล้องกับภารกิจของส่วนราชการ
ข้อ ๒๒ ให้สำนักทะเบียนกลางทำข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ทันสมัย
โดยการแก้ไขเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม จำหน่าย หรือยกเลิก แล้วแต่กรณี สำหรับข้อมูลที่มีลักษณะตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(๑) รายการบุคคลที่มีอายุครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ แต่มีคำนำนามว่าเด็กชายหรือเด็กหญิงให้เปลี่ยนแปลงคำนำนามเป็นนายหรือนางสาว
แล้วแต่กรณี
(๒) รายการบุคคลที่มีคำนำนามไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น ด็อกเตอร์ นักโทษชาย พลทหาร
ท้าว เป็นต้น ให้แก้ไขเป็น นาย นาง หรือนางสาว แล้วแต่กรณี
(๓) รายการบุคคลที่มีคำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญ ให้จำหน่ายรายการบุคคลนั้น
(๔) รายการของคนต่างด้าวที่เดินทางออกจากประเทศไทยโดยไม่ได้แจ้งการขอกลับเข้ามาในประเทศไทย
(Re - entry) ให้จำหน่ายรายการบุคคลนั้น
(๕) บุคคลที่มีเอกสารการทะเบียนราษฎรที่มีเลขประจำตัวประชาชน
๑๓ หลัก แต่ไม่มีรายการบุคคลในฐานข้อมูลฯ ให้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลนั้น
(๖) รายการบุคคลที่อยู่ในทะเบียนบ้านกลางติดต่อกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบปีโดยไม่มีการเคลื่อนไหวทางทะเบียนราษฎร
ให้จำหน่ายรายการบุคคลนั้น
(๗) รายการบุคคลที่แจ้งการย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านเป็นเวลาติดต่อกันเกินกว่าห้าปีโดยไม่ได้ย้ายเข้าทะเบียนบ้านใด
ให้เพิ่มรายการบุคคลนั้นไว้ในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนที่แจ้งย้ายออก และหากรายการบุคคลดังกล่าวอยู่ในทะเบียนบ้านกลางติดต่อกันเป็นเวลาเกินกว่าห้าปีโดยไม่มีการเคลื่อนไหวทางทะเบียน
ให้จำหน่ายรายการบุคคลนั้น
(๘) รายการบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๑๐๐ ปี
โดยไม่มีการเคลื่อนไหวทางทะเบียนและไม่พบรายการทำบัตรประจำตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์
(Smart card) ให้จำหน่ายรายการบุคคลนั้น
(๙) รายการเกี่ยวกับบ้านและเลขที่บ้าน ที่ไม่ถูกต้องหรือไม่มีสภาพเป็นบ้านแล้ว
ให้จำหน่ายเลขที่บ้าน
และเพิ่มรายการบุคคลในทะเบียนบ้านของบ้านเลขที่นั้นไว้ในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนที่บ้านตั้งอยู่
(๑๐) กรณีอื่น ๆ ตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางพิจารณาให้ความเห็นชอบ
เมื่อสำนักทะเบียนกลางได้ทำข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ทันสมัยตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้แจ้งสำนักทะเบียนและบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนดและหากบุคคลดังกล่าวประสงค์จะอุทธรณ์การดำเนินการของสำนักทะเบียนกลาง
ให้ยื่นอุทธรณ์ผ่านนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นที่บุคคลนั้นมีภูมิลำเนาตามทะเบียนบ้าน
ทะเบียนบ้านกลางหรือทะเบียนประวัติ เพื่อส่งคำอุทธรณ์พร้อมหลักฐานให้สำนักทะเบียนกลางพิจารณา
ข้อ ๒๓ เมื่อตรวจพบข้อมูลทะเบียนราษฎรหรือข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรที่จัดทำขึ้นมีความผิดพลาดหรือไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงโดยเกิดจากการสำคัญผิดในข้อเท็จจริง
คัดลอกหรือบันทึกผิด หรือเกิดจากสาเหตุอื่นใดซึ่งไม่ใช่เป็นการทุจริต ให้นายทะเบียนแก้ไขให้ถูกต้องตามวิธีการที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
แต่ถ้าข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่ถูกต้องเกิดจากการกระทำทุจริตให้นายทะเบียนจำหน่ายข้อมูลดังกล่าว
เว้นแต่กรณีมีเหตุจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการและประชาชน ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจกำหนดแนวทางปฏิบัติเป็นอย่างอื่นก็ได้
หรือหากเจ้าของข้อมูลมีความประสงค์จะขอให้จัดทำข้อมูลใหม่ ให้ยื่นคำร้องพร้อมพยานหลักฐานต่อนายทะเบียน
ณ สำนักทะเบียนที่มีภูมิลำเนาหรือที่มีชื่อในเอกสารการทะเบียนราษฎร
นายทะเบียนตามวรรคหนึ่ง
หมายถึง นายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง แล้วแต่กรณี
โดยถ้านายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลางเป็นผู้แก้ไขหรือจำหน่ายข้อมูล
ให้แจ้งนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องทราบด้วย
ข้อ ๒๔ การขอคืนรายการทะเบียนบุคคลที่ถูกจำหน่าย
ให้เป็นหน้าที่ของนายทะเบียนอำเภอและนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี จะต้องตรวจสอบพยานหลักฐานให้แน่ชัดว่ารายการทะเบียนที่ขอคืนเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง
มิใช่เป็นข้อมูลที่เกิดจากการทุจริตประพฤติมิชอบ โดยให้รวบรวมสำเนาคำร้องและพยานหลักฐานเท่าที่จำเป็นส่งให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการเพื่อคืนรายการ
สำนักทะเบียนกลางอาจพิจารณาคืนรายการทะเบียนที่ถูกจำหน่ายตามผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงก็ได้โดยให้แจ้งสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องทราบและตรวจสอบอีกครั้ง
หากพบว่ารายการที่คืนให้นั้นเป็นรายการที่ไม่ถูกต้อง ให้นายทะเบียนดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แล้วแจ้งสำนักทะเบียนกลางทราบ
ข้อ ๒๕ ให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางรักษาการตามระเบียบนี้
และมีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
พัชรภรณ์/ธนบดี/จัดทำ
๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๒๘๓ ง/หน้า ๑/๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ |
816834 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2561 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๖)
พ.ศ. ๒๕๖๑
ด้วยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่
๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐
เห็นชอบมาตรการขับเคลื่อนแนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ
โดยให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐจัดทำฐานข้อมูลเอกสารในความรับผิดชอบและดำเนินการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลทะเบียนกลางของกรมการปกครองเพื่อใช้ในการอำนวยความสะดวกและให้บริการประชาชนโดยยกเลิกสำเนาเอกสารให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ดังนั้น
เพื่อให้การปฏิบัติในการจัดทำทะเบียนราษฎรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่ขอรับบริการ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๒ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒[๑]
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔
ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๔
เมื่อมีผู้แจ้งขอดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องหรือนายทะเบียนเรียกตรวจบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำร้อง
ถ้าผู้ยื่นคำร้องเป็นผู้ได้รับมอบหมายหรือได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของรายการทะเบียนหรือผู้มีหน้าที่แจ้งตามกฎหมาย
ให้เรียกตรวจบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ได้รับมอบหมายหรือได้รับมอบอำนาจ
หนังสือมอบหมายหรือมอบอำนาจและบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบหมายหรือมอบอำนาจซึ่งได้ลงชื่อรับรองสำเนาถูกต้องแล้ว
ส่วนกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องเป็นบุคคลซึ่งไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมายให้เรียกตรวจบัตรประจำตัวอื่นที่ราชการออกให้
หนังสือเดินทาง หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
หรือเอกสารราชการอื่นที่สามารถใช้แสดงตัวบุคคลได้
การตรวจรายการบัตรประจำตัวประชาชน
หรือเอกสารราชการอื่นตามวรรคหนึ่ง ให้ตรวจจากระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงข้อมูลกับฐานข้อมูลทะเบียนกลาง
กรมการปกครอง
หากผลการตรวจไม่พบข้อมูลหรือข้อมูลที่ตรวจพบไม่ตรงกับข้อมูลตามบัตรหรือเอกสารของผู้ยื่นคำร้อง
และนายทะเบียนไม่อาจพิจารณาคุณสมบัติตามกฎหมายของผู้ยื่นคำร้องได้ ให้แจ้งผลการตรวจและคำแนะนำในการดำเนินการให้ผู้ยื่นคำร้องทราบเป็นหนังสือเพื่อให้แก้ไขภายใน
๗ วัน เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ว
ผู้ยื่นคำร้องไม่ได้ดำเนินการตามคำแนะนำของนายทะเบียน
ให้นายทะเบียนจำหน่ายคำร้องนั้น
ข้อ
๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๔/๑
ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๔/๑
การเรียกหลักฐานเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาของนายทะเบียนในการรับแจ้งจดบันทึก
หรือดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ไม่ว่าจะเป็นเอกสารที่เป็นต้นฉบับใบสำคัญ หรือสำเนาเอกสาร ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องหรือนายทะเบียนตรวจสอบเอกสารนั้นจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางในระบบคอมพิวเตอร์
แทนการเรียกหลักฐานเอกสารจากผู้ยื่นคำร้องเว้นแต่กรณีที่จะต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ
หรือจำหน่ายรายการ
หรือบันทึกข้อความเพิ่มเติมในเอกสารที่เป็นต้นฉบับที่อยู่ในความครอบครองของตน
ให้เรียกเอกสารนั้นเพื่อดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือจำหน่ายรายการ
หรือบันทึกข้อความเพิ่มเติมได้
กรณีตามวรรคหนึ่ง
ถ้าตรวจไม่พบข้อมูลหรือหลักฐานเอกสารนั้นจัดทำขึ้นโดยส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่ไม่ได้เชื่อมโยงฐานข้อมูลเอกสารกับฐานข้อมูลทะเบียนกลาง
ให้แจ้งผู้ยื่นคำร้องทราบโดยทันทีแล้วทำหนังสือสอบถามไปที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ออกเอกสารนั้นเพื่อคัดข้อมูลหรือจัดทำสำเนาเอกสารส่งกลับมาให้นายทะเบียนภายใน
๓ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งดังกล่าวโดยไม่ให้เป็นภาระแก่ผู้ยื่นคำร้อง
เว้นแต่ผู้ยื่นคำร้องได้แสดงความประสงค์ที่จะนำหลักฐานเอกสารที่เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องหรือนายทะเบียนขอตรวจหรือคัดสำเนาจากส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐมามอบให้แทนการทำหนังสือแจ้งขอความร่วมมือไปยังส่วนราชการนั้น
ๆ ก็ให้ดำเนินการได้ตามความประสงค์โดยให้เจ้าหน้าที่บันทึกไว้ในคำร้องแล้วให้ผู้ยื่นคำร้องลงชื่อไว้เป็นหลักฐานและเมื่อได้รับหนังสือแจ้งผลการดำเนินการแล้ว
ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องแจ้งผู้ยื่นคำร้องให้มาดำเนินการโดยเร็ว
ข้อ
๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๐๗
ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๐๗ การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามข้อ
๙๓ ข้อ ๙๗ และข้อ ๙๘ ของระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
ตรวจสอบหลักฐานของผู้ร้องเพื่อพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติว่าผู้ร้องเกิดในประเทศไทยหรือไม่
เป็นผู้มีสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติหรือไม่แล้วรวบรวมพยานหลักฐานพร้อมเสนอความเห็นให้นายอำเภอพิจารณาอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
ถ้านายอำเภอพิจารณาเห็นว่าไม่อาจพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของผู้ร้องได้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่ผู้ร้องเช่นเดียวกับข้อ
๕๗
ข้อ
๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๐๗/๑
ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๐๗/๑
ในการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านหรือขอจัดทำทะเบียนประวัติคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยหรือบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
หากนายอำเภอหรือนายทะเบียนผู้มีอำนาจอนุมัติหรืออนุญาตพิจารณาแล้วเห็นว่าพยานหลักฐานของผู้ขอที่เป็นประจักษ์พยานมีไม่เพียงพอ
ให้ใช้พยานแวดล้อมที่มีส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ขอประกอบการพิจารณาได้
กรณีพยานหลักฐานขาดความน่าเชื่อถือหรือมีพิรุธ
หรือผู้ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านหรือขอจัดทำทะเบียนประวัติมีพฤติการณ์ส่อไปในทางไม่สุจริตให้นายอำเภอหรือนายทะเบียนผู้มีอำนาจตามกฎหมายและระเบียบ
สั่งไม่อนุมัติหรือไม่อนุญาตในคำขอแล้วแจ้งคำสั่ง เหตุผลที่ไม่อนุมัติหรือไม่อนุญาต
สิทธิในการอุทธรณ์คำสั่งและระยะเวลาการอุทธรณ์ให้ผู้ขอทราบเป็นหนังสือโดยเร็ว
ข้อ ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของข้อ ๑๒๗
ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
การคัด หรือคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรตามวรรคหนึ่ง
ผู้มีส่วนได้เสียจะขอคัด
หรือคัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนราษฎรเป็นภาษาอังกฤษตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดก็ได้
ข้อ
๘ ให้ยกเลิกแบบพิมพ์ ท.ร.๑/ก
(แบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิดที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร) ท.ร.๔/ก (แบบรับรองรายการทะเบียนคนตายที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร)
และ ท.ร.๑๕ (บันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย)
ตามข้อ ๑๓๔ (๓ ทวิ) (๘ ทวิ) และ (๑๙ ทวิ) ตามลำดับ
ท้ายระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้แบบพิมพ์ ท.ร.๑/ก
ท.ร.๔/ก และ ท.ร.๑๕ ท้ายระเบียบนี้แทน
ข้อ
๙
ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่และนายทะเบียนผู้มีอำนาจลงชื่อในคำร้องและเอกสารการทะเบียนราษฎร
ใช้ตรายางลายมือชื่อประทับในคำร้องและเอกสารการทะเบียนราษฎรแทนการลงลายมือชื่อด้วยตนเองโดยเด็ดขาด
และเมื่อนายทะเบียนผู้มีอำนาจตามกฎหมายลงลายมือชื่อแล้วให้ใส่วงเล็บชื่อตัวและชื่อสกุลด้วยตัวบรรจงไว้ด้วย
และไม่ต้องประทับตราสัญลักษณ์ใด ๆ ในเอกสารการทะเบียนราษฎรทุกประเภท
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ร้อยตำรวจโท
อาทิตย์ บุญญะโสภัต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิด (สูติบัตร) ท.ร. ๑/ก
๒.
แบบรับรองรายการทะเบียนคนตาย (มรณบัตร) ท.ร. ๔/ก
๓.
บันทึกการรับแจ้งเอกสารทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย ท.ร.๑๕
(ดูภาพจากข้อมูลกฎหมาย)
วิวรรธน์/จัดทำ
๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๒๖๑ ง/หน้า ๘/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๑ |
683872 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๕
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๒ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๑ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบสำนักทะเบียนกลางไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๕
ข้อ ๒[๑]
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความตาม
(๑) และ (๓) ของข้อ ๕/๒ ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ซึ่งเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
(๑) ลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร
โดยผู้ที่เป็นนายทะเบียนให้ลงทะเบียน ตามแบบ บท.1
และผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ใช่นายทะเบียนให้ลงทะเบียน ตามแบบ บท.1/1
(๓) ส่งแบบ บท.1 หรือ บท.1/1 แล้วแต่กรณี
ไปยังศูนย์บริหารการทะเบียนภาคสาขาจังหวัดที่สำนักทะเบียนนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่
ภายในเจ็ดวัน เพื่อลงทะเบียนและกำหนดรหัสผ่าน
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความตาม
(๑) ของข้อ ๘ ของระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
(๑) บท.1 และ บท.1/1
เป็นแบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของนายทะเบียนและผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ใช่นายทะเบียนตามลำดับ
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ชวน ศิรินันท์พร
อธิบดีกรมการปกครอง
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (สำหรับ
ผู้ทำหน้าที่ นายทะเบียน/ผู้ช่วยนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่/ผู้อนุมัติการดำเนินงานในเรื่องอื่น
ๆ) (บท.1)
๒. แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (สำหรับ
ผู้ทำหน้าที่ในฐานะของ เจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน) (บท.1/1)
๓. แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖
โชติกานต์/ผู้ตรวจ
๑๘ เมษายน ๒๕๕๖
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๓๗ ง/หน้า ๘/๒๒ มีนาคม ๒๕๕๖ |
593088 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๑
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘/๒ มาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๙/๑ มาตรา ๑๙/๒ และมาตรา ๑๙/๓ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๕๖
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ ๒[๑] ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕๖/๑ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย
การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๕๖/๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดของเด็กที่เกิดในท้องที่สำนักทะเบียนอื่น
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ บัตรประจำตัวของบิดา มารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมายของเด็กที่เกิด
(ถ้ามี) หรือบัตรประจำตัวของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากบิดา
มารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย (ถ้ามี) สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อบิดา
มารดา หรือผู้ปกครองของเด็กที่เกิด หนังสือมอบหมาย (ถ้ามี) และหนังสือรับรองการเกิด
(ท.ร.๑/๑) หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ เช่น ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ
ที่ตรวจพิสูจน์จากหน่วยงานของรัฐ
หรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงความสัมพันธ์การเป็นบิดาหรือมารดาของเด็กที่เกิด
(๒) สอบสวนผู้แจ้ง บิดา มารดา หรือผู้ปกครองของเด็กที่เกิดให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาเหตุที่ไม่แจ้งการเกิด
ณ สำนักทะเบียนท้องที่ที่เด็กเกิด ประวัติของเด็กที่เกิด
และสถานที่อยู่ปัจจุบันของเด็กและบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
(๓)
เมื่อตรวจสอบพยานหลักฐานแล้วเห็นว่าเด็กที่เกิดเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักร
โดยยังไม่ได้แจ้งการเกิดและมีภูมิลำเนาอาศัยอยู่กับบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
ซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตท้องที่สำนักทะเบียนที่แจ้งเกิด
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกสูติบัตร ท.ร.๑ หรือ ท.ร.๓ แล้วแต่กรณี
และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) เพิ่มชื่อเด็กที่เกิดในทะเบียนบ้าน และมอบสูติบัตร ตอนที่ ๑
พร้อมทั้งหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความตามข้อ ๕๗
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๕๗ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดของผู้มีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ บัตรประจำตัวของบิดา มารดา
หรือเจ้าบ้านของบ้านที่มีการเกิด (ถ้ามี)
หรือบัตรประจำตัวของผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากบิดา มารดา หรือเจ้าบ้าน (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หนังสือมอบหมาย (ถ้ามี) หนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
(๒)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของคนที่เกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔) พิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของคนที่เกิดตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็ก ที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
(๕)
เมื่อได้รับแจ้งผลการพิจารณาจากนายอำเภอว่าคนที่เกิดนั้นเป็นผู้ที่เกิดในราชอาณาจักรและเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเปรียบเทียบคดีความผิด
และออกสูติบัตร (ท.ร. ๒) ให้แก่ผู้แจ้ง
(๖) เพิ่มชื่อคนที่เกิดเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้านกลาง
(ท.ร. ๑๔) แล้วแต่กรณี
(๗) กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าคนที่เกิดไม่ได้เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้รับสัญชาติไทย
หรือไม่อาจพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของบุคคลดังกล่าวได้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่บุคคลนั้นตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ถ้าการแจ้งการเกิดเกินกำหนดตามวรรคหนึ่งเป็นการแจ้งต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่อื่นที่ไม่ใช่ท้องที่ที่เกิด
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้งการเกิด ได้แก่หนังสือรับรองการเกิด
(ท.ร. ๑/๑) หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ เช่น ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ
ที่ตรวจพิสูจน์จากหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงความสัมพันธ์การเป็นบิดาหรือมารดาของคนที่เกิด
สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อบิดามารดาหรือผู้ปกครองของคนที่เกิดซึ่งต้องเป็นทะเบียนบ้านในเขตท้องที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่แจ้งการเกิด
ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการเกิดหรือการตายต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่อื่น
แล้วดำเนินการตาม (๒) ถึง (๗) รวมทั้งเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
กรณีการดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง
เป็นการแจ้งการเกิดสำหรับเด็กที่มีอายุไม่เกินเจ็ดปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นรับผิดชอบการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กที่เกิดแทนนายอำเภอ
โดยดำเนินการตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง โดยอนุโลม
ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความตามข้อ ๕๙
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๕๙ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในเขตพื้นที่ขอแจ้งการเกิดให้กับเด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กไร้เดียงสาซึ่งถูกทอดทิ้ง
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจบัตรประจำตัวผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านของสถานสงเคราะห์หรือสถานที่ที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นซึ่งรับตัวเด็กที่ขอแจ้งการเกิดไว้
และบันทึกการรับตัวเด็ก
(๒)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของเด็กที่ขอแจ้งการเกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔)
พิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กที่แจ้งการเกิดตามที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง
เด็กเร่ร่อน หรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
(๕)
เมื่อได้รับแจ้งผลการพิจารณาจากนายอำเภอว่าเด็กที่แจ้งการเกิดเป็นผู้ที่เกิด
ในราชอาณาจักรและเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นออกสูติบัตร ท.ร. ๑ หรือ ท.ร. ๒
แล้วแต่กรณี ให้แก่ผู้แจ้ง
แต่ถ้าผลการพิจารณาแจ้งว่าเด็กเกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้รับสัญชาติไทย
ให้ออกสูติบัตร ท.ร. ๓ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๖) เพิ่มชื่อเด็กที่แจ้งการเกิดเข้าในทะเบียนบ้าน ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓
แล้วแต่กรณี ของสถานสงเคราะห์หรือสถานที่ที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นซึ่งรับตัวเด็กที่ขอแจ้งการเกิดไว้
(๗)
กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าเด็กที่แจ้งการเกิดไม่ได้เกิดในราชอาณาจักร
และไม่ได้รับสัญชาติไทย หรือไม่อาจพิสูจน์สถานะการเกิดและสัญชาติของเด็กได้
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่ผู้แจ้งตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ข้อ ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕๙/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๕๙/๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนตามกฎหมายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กตามรายชื่อหน่วยงานที่กระทรวงมหาดไทยประกาศซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ขอแจ้งการเกิดให้กับเด็กเร่ร่อนหรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้งที่อยู่ในความอุปการะหรือการสงเคราะห์
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจบัตรประจำตัวผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านของหน่วยงานที่ให้การอุปการะหรือดูแลช่วยเหลือเด็กที่ขอแจ้งการเกิด
และหลักฐานการรับตัวเด็กไว้ดูแลหรืออุปการะ
(๒) ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่ามีการแจ้งการเกิดและมีรายการบุคคลของเด็กที่ขอแจ้งการเกิดในทะเบียนบ้านหรือไม่
(๓) ออกใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑๐๐) ให้กับผู้แจ้งการเกิด
(๔) ดำเนินการตามข้อ ๕๙ (๔) (๕) และ (๖) หรือ (๗) แล้วแต่กรณี
ข้อ ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๖๔/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๖๔/๑
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการตายของคนที่ตายหรือพบศพในท้องที่สำนักทะเบียนอื่น
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ บัตรประจำตัวของผู้แจ้งซึ่งได้แก่เจ้าบ้านของบ้านที่มีการตาย
บุคคลที่ไปกับผู้ตายขณะตาย ผู้พบศพ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
บุคคลที่ไปกับผู้ตาย หรือผู้พบศพ (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลของคนตาย (ถ้ามี) หนังสือรับรองการตาย
(ท.ร. ๔/๑) หรือผลการตรวจทางวิทยาศาสตร์ที่ตรวจพิสูจน์โดยหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือซึ่งแสดงรายการเกี่ยวกับคนตาย
เช่น ผลการตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เป็นต้น และพยานหลักฐานอื่น ๆ (ถ้ามี)
เช่น รูปถ่ายงานศพของคนตาย เป็นต้น
(๒) สอบสวนผู้แจ้ง และพยานบุคคลไม่น้อยกว่าสองคนที่สามารถยืนยันตัวบุคคลของคนตายให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสาเหตุที่ไม่แจ้งการตาย
ณ สำนักทะเบียนท้องที่ที่คนตายหรือพบศพ ประวัติและภูมิลำเนาของคนตาย
การจัดการศพและสถานที่จัดการศพ
(๓) เมื่อตรวจสอบพยานหลักฐานแล้วเห็นว่าคนตายโดยยังไม่ได้แจ้งการตายและมีการเคลื่อนย้ายศพเข้ามาอยู่หรือจัดการศพโดยการเผา
ฝัง หรือทำลายในเขตท้องที่สำนักทะเบียนที่แจ้งตาย
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกมรณบัตร ท.ร. ๔ หรือ ท.ร. ๕ แล้วแต่กรณี
และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) กรณีคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนที่แจ้งการตาย
ให้นายทะเบียนจำหน่ายชื่อคนตายในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง และมอบมรณบัตร
ตอนที่ ๑ พร้อมทั้งหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) กรณีคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนอื่น
เมื่อนายทะเบียนมอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้งแล้ว
ให้ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องเพื่อจำหน่ายชื่อคนตายในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๙๖/๒
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๙๖/๒ คนสัญชาติไทยที่เกิดในต่างประเทศโดยมีหลักฐานรับรองการเกิด
มีความประสงค์จะขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรโดยมีเหตุจำเป็นที่ไม่อาจเดินทางกลับประเทศไทย
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือผู้ที่ประสงค์ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว
อาจมอบอำนาจให้ญาติพี่น้องยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ครอบครัวหรือญาติพี่น้องของผู้ที่ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรมีภูมิลำเนาอยู่
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานสูติบัตรที่ออกให้โดยสถานทูตหรือสถานกงสุลไทยหรือเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและผ่านการรับรองคำแปลโดยกระทรวงการต่างประเทศไทย
หนังสือมอบอำนาจของบิดา มารดา หรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือผู้ที่ประสงค์ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว
แล้วแต่กรณี บัตรประจำตัวและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ยื่นคำร้อง ภาพถ่ายของบิดา
มารดา หรือผู้ปกครอง (ถ้ามี)
และภาพถ่ายของผู้ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร
(๒)
สอบสวนผู้ยื่นคำร้องให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของผู้ที่จะขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรในเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด สถานที่อยู่อาศัย ชื่อและสัญชาติของบิดามารดา
และความจำเป็นที่ไม่อาจเดินทางกลับประเทศไทย
(๓) เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต
ให้บันทึกการอนุญาตไว้ด้านหลังของสูติบัตรหรือเอกสารรับรองการเกิด แล้วแต่กรณี
และกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ขอมีรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๔) เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านชั่วคราว (ท.ร. ๑๔)
สำหรับบุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศของสำนักทะเบียน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...
ลงวันที่.... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ ๙ ให้ยกเลิกความตามข้อ ๑๐๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๐๑ คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติซึ่งยังไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้ยื่นคำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีภูมิลำเนาอาศัยอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
หรือหนังสือรับรองที่หน่วยงานของรัฐออกให้เพื่อรับรองการได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
(๒)
สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้านให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา
ของผู้ขอเพิ่มชื่อ
(๓)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) แห่งอื่นหรือไม่
(๔) เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาอนุญาตแล้ว
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๕)
เพิ่มชื่อและรายการบุคคลของผู้ร้องในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านตามรายการที่ปรากฏในใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...
ลงวันที่.... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๗)
ข้อ ๑๐ ให้ยกเลิกความตามข้อ ๑๐๕
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๐๕
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการผ่อนผันให้พักอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
หรือกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
รวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานทะเบียนประวัติที่ทางราชการสำรวจและจัดทำให้ไว้เป็นหลักฐาน
(ถ้ามี)
(๒)
สอบสวนผู้ร้องให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของผู้ขอเพิ่มชื่อ
โดยเฉพาะประเด็นสถานที่เกิด สัญชาติ
ช่องทางและวันเดือนปีที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร บิดา มารดาและสัญชาติของบิดามารดา
(๓) สอบสวนเจ้าบ้านให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของผู้ขอเพิ่มชื่อและความยินยอมให้บุคคลดังกล่าวเข้าอยู่อาศัยในบ้าน
(๔)
ตรวจรายการบุคคลในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรเพื่อตรวจสอบว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๕) ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอเพิ่มชื่อว่าเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนบ้านตามมาตรา
๓๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือไม่
(๖) รวบรวมหลักฐานพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอแห่งท้องที่เพื่อพิจารณา
(๗) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๓)
(๘) ดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจาก ว่า คำร้องที่...ลงวันที่.... แล้วให้นายทะเบียน
ลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๙) รายงานตามข้อ ๑๓๒ (๖)
กรณีนายอำเภอแจ้งผลการพิจารณาว่าผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นบุคคลที่ไม่มีคุณสมบัติที่จะเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามมาตรา
๓๘ วรรคหนึ่ง ฯลฯ หรือกรณีผู้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดให้จัดทำทะเบียนประวัติตามมาตรา
๓๘ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนประวัติสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนให้แก่บุคคลนั้นตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางที่เกี่ยวด้วยการสำรวจและจัดทำทะเบียนสำหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน
ข้อ ๑๑ ให้ยกเลิกความตามวรรคสองของข้อ ๑๐๕ ทวิ
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ซึ่งเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแล้ว
ให้จัดเก็บแบบ ท.ร. ๒๕ ไว้เป็นหลักฐานอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบหรือค้นหาได้ง่าย
โดยจะเก็บในรูปแบบของเอกสารหรือไมโครฟิล์มหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นนั้น
ข้อ ๑๒ ให้ยกเลิกความตามข้อ ๑๑๐
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๑๐ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใด เป็นการดำเนินการโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ
หรือโดยอำพรางข้อเท็จจริง หรือมีรายการข้อความผิดจากความเป็นจริง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานและสอบสวนพยานบุคคลที่เกี่ยวข้อง
(๒) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอพิจารณา
(๓) เมื่อได้รับแจ้งความเห็นจากนายอำเภอว่ามีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสั่งระงับการเคลื่อนไหวรายการทะเบียนราษฎรของบุคคลนั้นไว้ก่อน
(๔) แจ้งคำสั่งระงับการเคลื่อนไหวรายการทะเบียนราษฎรให้เจ้าของรายการบุคคลดังกล่าวทราบภายในสามวันนับแต่วันที่มีคำสั่ง
แล้วดำเนินการตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียน
(๕) กรณีนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการตาม (๔)
แล้วมีคำสั่งจำหน่ายรายการทะเบียนหรือสั่งเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการดำเนินการโดยไม่ถูกต้อง
ให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่
ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีตามวรรคหนึ่ง
ถ้านายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบข้อเท็จจริงจากพยานหลักฐานและสอบสวนพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องแล้วปรากฏชัดว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใดมีการกระทำความผิดตามกฎหมาย เช่น
การปลอมหรือใช้เอกสารปลอม เป็นต้น
หรือเป็นการแอบอ้างใช้ชื่อและรายการบุคคลของผู้อื่น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑) จำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการทุจริต
แล้วให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่
ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วลงลายมือชื่อ และวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) ถ้าเป็นกรณีการแอบอ้างใช้ชื่อและรายการบุคคลของผู้อื่น
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงรายการทะเบียนให้แก่เจ้าของรายการบุคคลที่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
(๓)
แจ้งคำสั่งการจำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนให้คู่กรณีทราบตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียน
(๔) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ ๑๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๑๐/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๑๐/๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางว่าการมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔ หรือ ท.ร. ๑๓) ของบุคคลใดเป็นการดำเนินการโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ
หรือโดยอำพรางข้อเท็จจริง หรือมีรายการข้อความผิดจากความเป็นจริง ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ให้จำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนที่มีการดำเนินการไม่ถูกต้องออกจากทะเบียนบ้านตามรายการที่ได้รับแจ้ง
พร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายรายการให้ถูกต้องตรงกัน
โดยให้หมายเหตุการจำหน่ายรายการบุคคลในช่องย้ายออกไปที่ ว่า จำหน่ายตามหนังสือที่... ลงวันที่... แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๒)
แจ้งคำสั่งการจำหน่ายรายการทะเบียนหรือเพิกถอนหลักฐานทะเบียนให้คู่กรณีทราบตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโต้แย้งหรือชี้แจงข้อเท็จจริงการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียนโดยอนุโลม
โดยระบุในหนังสือแจ้งคำสั่งให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งต่อผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
(๓) รายงานการจำหน่ายตามข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีบุคคลตามรายการที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางได้แจ้งการย้ายออกไป
มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านในเขตสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นส่งสำเนาหนังสือของสำนักทะเบียนกลางไปยังสำนักทะเบียนที่บุคคลนั้นย้ายเข้าไปอยู่เพื่อดำเนินการตาม
(๑) (๒) และ (๓)
ข้อ ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๓/๑) ของข้อ ๑๓๔
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
(๓/๑) ท.ร. ๑๐๐
เป็นแบบใบรับแจ้งการเกิดสำหรับการแจ้งเกิดเกินกำหนดการแจ้งเกิด
กรณีเด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กไร้เดียงสาซึ่งถูกทอดทิ้ง
และกรณีเด็กเร่ร่อนหรือเด็กที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง
ประกาศ ณ วันที่ ๒๓
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
วิชัย ศรีขวัญ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓ ธันวาคม ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๗๐/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
593084 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2545
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑
ธันวาคม ๒๕๔๕ เป็นต้นไป ยกเว้นการปฏิบัติในเรื่องต่อไปนี้
ให้เป็นไปตามพื้นที่หรือระยะเวลาที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
(๑)
การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิด ตามข้อ ๕
(๒)
การเปลี่ยนแปลงแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร.๔ ตอนหน้า) ตามข้อ ๑๘
ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๓๔/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๓๔/๑
กรณีสำนักทะเบียนตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากบุคคลใดว่าบ้านที่มีเลขประจำบ้านหลังใดถูกรื้อหรือถูกปล่อยทิ้งร้างจนไม่มีสภาพความเป็นบ้าน
โดยเจ้าบ้านหรือผู้อยู่ในบ้านไม่ได้แจ้งการรื้อบ้านต่อนายทะเบียน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ตรวจสอบว่าได้มีการรื้อบ้าน หรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านแล้ว
(๒)
สอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือซึ่งมีภูมิลำเนาหรืออาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว
(๓)
หากผลการตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงปรากฏว่าบ้านถูกรื้อหรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านมาแล้วเป็นเวลาไม่ถึง
๑๘๐ วัน ให้นายทะเบียนจัดทำประกาศสำนักทะเบียนแจ้งข้อความให้เจ้าบ้านหรือผู้มีชื่อในทะเบียนบ้านของบ้านดังกล่าวมาติดต่อเพื่อแจ้งย้ายออกและจำหน่ายทะเบียนบ้านภายใน
๓๐ วันนับแต่วันปิดประกาศ
โดยให้ระบุวันเดือนปีที่ครบกำหนดไว้ด้วยสำหรับการปิดประกาศ ให้ปิด ณ สำนักทะเบียน
๑ ฉบับ บริเวณพื้นที่ชุมชน ๑ ฉบับ
และบริเวณที่บ้านหลังดังกล่าวเคยตั้งอยู่หรือตั้งอยู่อีก ๑ ฉบับ
(๔)
เมื่อครบกำหนดเวลา ๓๐
วันตามที่กำหนดไว้ในประกาศของสำนักทะเบียนแล้วไม่มีเจ้าบ้านหรือผู้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านมาติดต่อ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจำหน่ายเลขประจำบ้านและทะเบียนบ้านโดยปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ
๓๔
ยกเว้นการย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านให้แจ้งย้ายไปไว้ในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนโดยปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ
๘๑
(๕)
กรณีผลการตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงปรากฏว่าบ้านถูกรื้อหรือไม่มีสภาพความเป็นบ้านมาแล้วเป็นเวลาเกินกว่า
๑๘๐ วัน ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเช่นเดียวกับ (๔)
โดยไม่ต้องจัดทำประกาศสำนักทะเบียน
ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๕๗
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
การรับแจ้งการเกิดเกินกำหนดตามวรรคหนึ่ง
ถ้าเด็กที่จะแจ้งการเกิดมีอายุต่ำกว่า ๗ ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาอนุญาต
เว้นแต่จะมีเหตุอันควรสงสัยเรื่องสัญชาติของเด็กที่จะแจ้งการเกิด
ให้นายทะเบียนรวบรวมหลักฐานเสนอขอความเห็นชอบจากนายอำเภอท้องที่ก่อนพิจารณาอนุญาต
ข้อ ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๖๐/๑ ข้อ ๖๐/๒
ข้อ ๖๐/๓ และข้อ ๖๐/๔ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๖๐/๑ สูติบัตร ตอนที่ ๒
ที่นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้จัดทำขึ้นตามระเบียบนี้
ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหรือข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ให้สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้เป็นทะเบียนคนเกิดของสำนักทะเบียน
ข้อ ๖๐/๒
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดหรือ
รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดของผู้ใดแล้ว ให้ออกบัตรทะเบียนคนเกิดตามแบบ ท.ร.๒๖ ตอนที่
๑ มอบให้ผู้แจ้งพร้อมกับสูติบัตร
เพื่อใช้เป็นหลักฐานประจำตัวผู้ที่ได้รับแจ้งการเกิด
โดยนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจะต้องจัดทำทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร.๒๖
ให้ถูกต้องและให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือรับบัตร ท.ร.๒๖ ในทะเบียนคุมทุกรายให้ชัดเจน
ส่วน ท.ร.๒๖ ตอนที่ ๒ ให้รายงานไปพร้อมกับสูติบัตร ตอนที่ ๒
ข้อ ๖๐/๓ กรณีบิดา มารดา
หรือผู้ปกครองมีความประสงค์จะขอบัตรทะเบียนคนเกิดให้แก่บุตรหรือผู้อยู่ในปกครอง
แล้วแต่กรณี ที่ได้แจ้งการเกิดและมีชื่อในทะเบียนบ้านก่อนที่จะมีการจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดตามระเบียบนี้
หรือขอมีบัตรทะเบียนคนเกิดใหม่แทนฉบับเดิมที่สูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดในสาระสำคัญ
ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียน ณ
สำนักทะเบียนแห่งที่เด็กมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและเมื่อได้รับคำร้องแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่เด็กมีชื่อและรายการบุคคล สูติบัตรหรือสำเนาทะเบียนคนเกิดของเด็กที่จะขอบัตร
ท.ร.๒๖
(๒)
กรณีบัตรทะเบียนคนเกิดสูญหายหรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย
และตรวจสอบรายการในทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร.๒๖ หรือฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๓)
กรณีชำรุดในสาระสำคัญ ให้เรียกบัตร ท.ร.๒๖ ที่ชำรุดฯ คืนจากผู้แจ้ง และตรวจสอบรายการในทะเบียนคุมการออกบัตร
ท.ร.๒๖ หรือฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๔)
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นอนุญาต ให้ดำเนินการออกบัตร ท.ร.๒๖ ให้กับผู้แจ้ง
โดยการลงรายการในบัตร ท.ร.๒๖
ให้คัดลอกหรือพิมพ์ข้อความตามรายการที่ปรากฏในทะเบียนคนเกิด (สูติบัตร ตอนที่ ๒) ทั้งนี้ ในกรณีการออกบัตร ท.ร.๒๖
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดฯ ให้ระบุข้อความว่า ใบแทน
ไว้ด้านหน้าของบัตร ท.ร.๒๖ ด้วย
(๕)
ลงทะเบียนคุมการออกบัตร ท.ร.๒๖ ตามข้อ ๖๐/๒ และมอบบัตร ท.ร.๒๖ ให้ผู้แจ้ง
(๖)
ส่ง ท.ร.๒๖ ตอนที่ ๒ รายงานไปพร้อมกับสูติบัตร ตอนที่ ๒
ข้อ ๖๐/๔ การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดตามข้อ ๖๐/๒
และข้อ ๖๐/๓ ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการออกบัตร ท.ร.๒๖
ให้แก่ผู้ที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุก่อนสิบห้าปีบริบูรณ์เท่านั้น
การจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิดสำหรับเด็กที่มีอายุไม่เกินหนึ่งปี
ไม่ต้องพิมพ์ลายนิ้วมือเด็กในบัตรและให้นายทะเบียนแจ้งต่อผู้ที่แจ้งการเกิดให้ขอเปลี่ยนบัตรทะเบียนคนเกิดเมื่อเด็กมีอายุครบหนึ่งปีบริบูรณ์
ข้อ ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๗๑/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๗๑/๑ มรณบัตร ตอนที่ ๒
ที่นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้จัดทำขึ้นตามระเบียบนี้
ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหรือข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ให้สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้เป็นทะเบียนคนตายของสำนักทะเบียน
ข้อ ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของข้อ ๘๕
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
กรณีบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลางมีเหตุจำเป็นไม่สามารถแจ้งการย้ายออกได้ด้วยตนเองเนื่องจากเป็นคนพิการทางกายจนเดินไม่ได้
หรือเป็นผู้เจ็บป่วยทุพพลภาพ หรือกรณีอื่น ให้บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากผู้นั้นโดยตรงเป็นผู้แจ้งการย้ายแทน
โดยให้นายทะเบียนเรียกหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
บัตรประจำตัวผู้ที่จะย้ายที่อยู่ (ถ้ามี) หนังสือมอบหมาย ใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบัน
(ถ้ามี)
และบันทึกสอบสวนผู้แจ้งให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ที่จะแจ้งการย้ายออกเป็นบุคคลเดียวกันกับผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง
รวมถึงเหตุผลความจำเป็นที่ผู้นั้นไม่อาจแจ้งการย้ายด้วยตนเอง แล้วจึงดำเนินการแจ้งย้ายออกตามข้อ
๗๙
ข้อ ๘ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙๕ และข้อ ๙๖
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๙๕ บุคคลที่อ้างว่ามีสัญชาติไทยซึ่งเดินทางกลับจากต่างประเทศ
โดยใช้หนังสือเดินทางของต่างประเทศ หรือหนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity) ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทย
ไม่ว่าผู้นั้นจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย มีความประสงค์
จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยไม่มีหลักฐานที่แสดงว่าเป็นผู้มีสัญชาติไทยให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ทำหนังสือส่งตัวผู้ขอเพิ่มชื่อให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นเดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อขอพิสูจน์สัญชาติ
(๒)
หากได้รับแจ้งผลการตรวจพิสูจน์จากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองว่าผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นผู้มีสัญชาติไทย
ให้สอบสวนเจ้าบ้าน
ผู้แจ้งและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อ
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด
ภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยก่อนไปต่างประเทศ การใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง
รวมถึงรายการชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
(๓)
เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๔)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ ๙๖ คนสัญชาติไทยที่เกิดในต่างประเทศโดยมีหลักฐานรับรองการเกิด
มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานสูติบัตรที่ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทยหรือเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศที่เด็กเกิดซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและผ่านการรับรองคำแปลถูกต้องโดยกระทรวงการต่างประเทศไทย
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวผู้แจ้ง (ถ้ามี)
บัตรประจำตัวเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี)
(๒)
กรณีผู้แจ้งแสดงเอกสารรับรองการเกิดที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศจะต้องมีรายการหรือข้อเท็จจริงแสดงว่าเด็กมีสัญชาติไทย
หรือมีรายการที่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเด็กมีสัญชาติไทย เช่น รายการสัญชาติของมารดา
เป็นต้น
(๓)
สอบสวนเจ้าบ้านหรือผู้แจ้งให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด รวมถึงรายการชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
(๔)
เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้บันทึกการอนุญาตไว้ด้านหลังของสูติบัตรหรือเอกสารรับรองการเกิด แล้วแต่กรณี
และกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร.๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
.. แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ ๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๙๖/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๙๖/๑ บุคคลสัญชาติไทยที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ
โดยใช้หนังสือเดินทางของต่างประเทศหรือหนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity) ออกให้โดยสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ไทย
และมีหลักฐานเอกสารราชการที่ระบุว่าเป็นผู้มีสัญชาติไทย มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องพร้อมหลักฐานจากผู้ขอเพิ่มชื่อแล้ว ให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ทำเรื่องขอตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่ผู้ขอเพิ่มชื่อนำมาแสดงไปยังส่วนราชการที่ออกเอกสารดังกล่าว
(๒)
กรณีได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่ออกเอกสารว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้อง
ให้สอบสวนเจ้าบ้าน
ผู้แจ้งและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด สัญชาติ
ภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยก่อนไปต่างประเทศ การใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง
รวมถึงรายการของบิดาและมารดา และเมื่อนายทะเบียนอนุญาตแล้ว ให้ดำเนินการตามข้อ ๙๕
(๓) - (๕)
(๓)
กรณีได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่ออกเอกสารว่าเอกสารดังกล่าวไม่ถูกต้องหรือไม่สามารถตรวจสอบได้
ให้นายทะเบียนทำหนังสือส่งตัวผู้ขอเพิ่มชื่อให้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเพื่อขอพิสูจน์สัญชาติ
และดำเนินการตามข้อ ๙๕
ข้อ ๑๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๙๗
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
การเพิ่มชื่อตามวรรคหนึ่ง
ถ้าบุคคลที่จะขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านมีอายุตํ่ากว่า ๗
ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาอนุญาต
เว้นแต่จะมีเหตุอันควรสงสัยเรื่องสัญชาติของบุคคลที่จะขอเพิ่มชื่อ
ให้นายทะเบียนรวบรวมหลักฐานเสนอขอความเห็นชอบจากนายอำเภอท้องที่ก่อนพิจารณาอนุญาต
ข้อ ๑๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙๙
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๙๙ บุคคลที่ได้มีการลงรายการ ตาย หรือ จำหน่าย ในทะเบียนบ้านฉบับที่มีเลขประจำตัวประชาชนเนื่องจากสาเหตุการแจ้งผิดคนหรือเพราะสำคัญผิดในข้อเท็จจริง
ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายรายการ
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวผู้ร้อง (ถ้ามี)
เอกสารที่ทางราชการออกให้ซึ่งมีรูปถ่ายของผู้ร้อง (ถ้ามี) มรณบัตร (ถ้ามี)
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๒)
สอบสวนผู้ร้อง บุคคลที่แจ้งการตายหรือการจำหน่ายรายการดังกล่าว
และบุคคลที่น่าเชื่อถือ
ให้ได้ข้อเท็จจริงถึงสาเหตุที่มีการแจ้งการตายหรือการจำหน่ายรายการบุคคลของผู้ร้องในทะเบียนบ้าน
หากบุคคลที่แจ้งการตายหรือการจำหน่ายไม่อาจมาให้ถ้อยคำในการสอบสวนได้ไม่ว่าด้วยเหตุอันใด
ก็ให้นายทะเบียนบันทึกไว้
(๓)
ตรวจสอบรายการบุคคลกับฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๔)
รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่เพื่อพิจารณา
(๕)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
กรณีสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านปรากฏรายการบุคคลของผู้ร้อง
ให้ยกเลิกการจำหน่ายรายการบุคคลดังกล่าวโดยประทับหรือเขียนข้อความที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยหมึกสีแดงว่า
ยกเลิกการตาย หรือ ยกเลิกการจำหน่าย แล้วแต่กรณี ตรงช่องรายการชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
และให้คัดลอกรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนของผู้ร้องจากรายการเดิมที่เคยปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องบันทึกแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการว่า บุคคลลำดับที่
ยกเลิกการตายหรือการจำหน่ายตามคำร้องที่...
ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้ทั้งในช่องนายทะเบียนและช่องบันทึกแก้ไขฯ
รวมทั้งให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
กรณีสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านไม่ปรากฏรายการบุคคลของผู้ร้อง
ให้คัดลอกรายการบุคคลและเลขประจำตัวประชาชนจากรายการเดิมที่เคยปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องบันทึกแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการว่า บุคคลลำดับที่..
ยกเลิกการตายหรือการจำหน่ายตามคำร้องที่... ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้ทั้งในช่องนายทะเบียนและช่องบันทึกแก้ไขฯ
รวมทั้งให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
กรณีผู้ร้องมีมรณบัตร
ให้ยกเลิกมรณบัตรฉบับดังกล่าวโดยหมายเหตุว่า ยกเลิกตามคำร้องที่... ลงวันที่... และหากเป็นมรณบัตรที่ออกโดยสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนแจ้งสำนักทะเบียนนั้นเพื่อยกเลิกมรณบัตร ตอนที่ ๒ ด้วย
(๖)
สำหรับสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เมื่อนายอำเภออนุมัติแล้วให้รายงานสำนักทะเบียนกลางเป็นการเฉพาะรายเพื่อแก้ไขฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรก่อนเมื่อได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางแล้วจึงดำเนินการตาม
(๕)
ข้อ ๑๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๙๙/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๙๙/๑ บุคคลที่ถูกจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านเนื่องจากมีชื่อ
และรายการในทะเบียนบ้านโดยมิชอบหรือโดยทุจริต หรือเป็นคนสาบสูญตามคำสั่งศาล
ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกหลักฐานคำสั่งศาลถอนคำสั่งเป็นคนสาบสูญ (กรณีผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นคนสาบสูญ)
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติพี่น้อง (ถ้ามี)
และบุคคลที่น่าเชื่อถือรวมทั้งหลักฐานอื่น (ถ้ามี) เพื่อประกอบการพิจารณา
(๓)
รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอท้องที่
ยกเว้นกรณีการเพิ่มชื่อคนสาบสูญให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาอนุญาต
(๔)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติ หรือนายทะเบียนพิจารณาอนุญาต แล้วแต่กรณี ให้นายทะเบียนกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติหรืออนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒) หรือข้อ ๑๓๔ (๒๔) แล้วแต่กรณี
(๕)
เพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร.๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่... ลงวันที่... หรือหนังสือที่... ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบ ฯ ข้อ ๑๓๒ (๕) หรือข้อ ๑๓๒ (๗) แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๐๓
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๐๓ บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิดโดยมีบิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่ง
หรือบิดาและมารดาเป็นผู้ไม่มีสัญชาติไทย
หรือบุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยคำสั่งของรัฐมนตรีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
และบุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยมีคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลถึงที่สุดขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ตรวจสอบพยานหลักฐานที่ผู้ขอเพิ่มชื่อนำมาแสดง
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้าน บิดา มารดา
และบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อในประเด็นเรื่องชื่อตัว
ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด ชื่อและสัญชาติของบิดาและมารดา
รวมถึงสถานะทางกฎหมายในการอาศัยอยู่ในประเทศไทยของบิดาและมารดา เช่น
ได้รับอนุญาตให้เข้าอยู่ในประเทศไทยเพียงชั่วคราว หรือโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๓)
ตรวจสอบรายการบุคคลกับฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๔)
เมื่อนายทะเบียนพิจารณาอนุญาต
ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕)
เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร. ๑๔) พร้อมทั้งหมายเหตุไว้ในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
.. แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๑๑/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๑๑/๑ เมื่อมีคำสั่งศาลให้ผู้ใดเป็นคนสาบสูญ
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องเพื่อจำหน่ายรายการบุคคลตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกและตรวจสอบหลักฐานคำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญ บัตรประจำตัวเจ้าบ้าน บัตรหรือสำเนาบัตรประจำตัวของคนสาบสูญ
(ถ้ามี) สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้านและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคนสาบสูญ
(๓)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายตามคำร้องที่...ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ ๑๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๑๕ (๓)
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๑๕/๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๑๕/๑ เมื่อมีผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(๑)
การแก้ไขรายการสัญชาติของเจ้าของประวัติซึ่งปรากฏรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
เนื่องจากการได้สัญชาติไทย หรือการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือการลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพยานเอกสารและสอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริงพร้อมทำความเห็นเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา
และเมื่อนายอำเภอมีคำสั่งอนุญาต
ให้นายทะเบียนแก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
(๒)
การแก้ไขรายการสัญชาติในช่องรายการสัญชาติของบิดาหรือมารดาของเจ้าของประวัติในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
เนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือบิดามารดาได้รับสัญชาติไทยหรือได้แปลงสัญชาติเป็นไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพยานเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมหรือหนังสือสำคัญการแปลงสัญชาติเป็นไทย เป็นต้น
และสอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริง
เมื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ก็ให้แก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
(๓)
การแก้ไขรายการสัญชาติจากสัญชาติไทย หรือจากไม่มีสัญชาติ
หรือจากสัญชาติอื่นเป็นสัญชาติอื่น เนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาด
หรือการลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริงหรือการเสียสัญชาติไทย
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานและเมื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ก็ให้แก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรตามคำร้อง
กรณีได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางหรือหน่วยงานของรัฐว่าผู้มีสัญชาติไทยผู้ใดเสียสัญชาติไทยตามกฎหมายที่เกี่ยวด้วยสัญชาติ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแก้ไขรายการสัญชาติของบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
และแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขรายการให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
โดยให้หมายเหตุการแก้ไขไว้ในทะเบียนบ้านให้ชัดเจนด้วย
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎรนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ข้อ ๑๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๕๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๕๑
ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนราษฎรและจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามเอกสารการรายงานของสำนักทะเบียนที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้และเอกสารหลักฐานตามระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลตัวบุคคลที่มีความจำเป็นต่อการดำเนินงานการทะเบียนราษฎร
การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้มีรายการต่าง
ๆ ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
การคัดข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ผู้ขอยื่นคำขอต่อนายทะเบียน
ณ สำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์แห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้
โดยให้นายทะเบียนคัดข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรได้เฉพาะรายการที่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลของสำนักทะเบียนกลางตามแบบ
ท.ร. ๑๒ ท้ายระเบียบนี้
ข้อ ๑๘ ให้ยกเลิกแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. ๔
ตอนหน้า) ตามข้อ ๑๓๔ (๘) ตามแบบท้ายระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้แบบพิมพ์ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. ๔ ตอนหน้า)
ตามแบบท้ายระเบียบนี้แทน
ข้อ ๑๙ ให้เพิ่มแบบพิมพ์ตามท้ายระเบียบนี้เป็นแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๓๔ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังนี้
(๑๖/๑) ท.ร. ๑๒
เป็นแบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(๑๙/๓)
ท.ร. ๒๖ เป็นแบบบัตรทะเบียนคนเกิด
ประกาศ ณ วันที่ ๑๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕
สุจริต ปัจฉิมนันท์
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. 4 ตอนหน้า)
๒.
แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร. ๑๒)
๓.
แบบบัตรทะเบียนคนเกิด (ท.ร. 26)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑]
ราชกิจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๘/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
593077 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๕
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔๓
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๔๓ กรณีเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายยื่นคำร้องขอรับสำเนาทะเบียนบ้านใหม่เนื่องจากสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมสูญหาย
หรือถูกทำลาย ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย ตามแบบ ท.ร. ๑๕
(๒)
จัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านขึ้นใหม่และให้ลงรายการในช่องบันทึกในสำเนาทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย หรือ แทนฉบับเดิมที่ถูกทำลาย
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
กรณีเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายยื่นคำร้องขอรับสำเนาทะเบียนบ้านใหม่
เนื่องจากสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมชำรุดจนใช้การไม่ได้
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่ชำรุด คืนจากผู้ยื่นคำร้อง
(๒) จัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านขึ้นใหม่และให้ลงรายการในช่องบันทึกในสำเนาทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่ชำรุด
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕๘ ทวิ
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๕๘ ทวิ การรับแจ้งการเกิดเกินกำหนดตามข้อ ๕๗ และข้อ ๕๘
ของบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป
ให้นายทะเบียนเรียกรูปถ่ายของบุคคลที่ขอแจ้งการเกิดจากผู้แจ้ง จำนวน ๑ รูป และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่ขอแจ้งการเกิด
ผู้แจ้ง และพยานบุคคลที่ให้การรับรอง รวมทั้งให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในแบบ
ท.ร. ๒๕ ต่อหน้านายทะเบียน แล้วเสนอนายอำเภอท้องที่พร้อมหลักฐานอื่นเพื่อพิจารณา
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดแล้ว
ให้ส่งแบบ ท.ร. ๒๕ รายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางภายใน ๕ วัน
เพื่อจัดเก็บข้อมูลตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
และเมื่อสำนักทะเบียนได้รับแบบ ท.ร. ๒๕ ดังกล่าวกลับคืนแล้ว
ให้ดำเนินการจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัยอย่างเป็นระบบสามารถตรวจสอบหรือค้นหาได้โดยง่าย
ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙๑
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๙๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่า
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ซึ่งออกให้แก่ผู้แจ้งได้สูญหาย ถูกทำลาย
หรือชำรุดในสาระสำคัญตอนใดตอนหนึ่งหรือทั้งหมดก่อนที่จะนำไปแจ้งย้ายเข้าให้นายทะเบียนออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ใหม่
โดยดำเนินการดังนี้
(๑) กรณีสูญหายหรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรสูญหาย หรือถูกทำลาย ตามแบบ ท.ร.
๑๕ และให้ตรวจสอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ว่าได้มีการตอบรับการแจ้งย้ายเข้าหรือไม่ หรือจะตรวจสอบจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรในระบบคอมพิวเตอร์ก็ได้
(๒) กรณีชำรุดในสาระสำคัญ
ให้เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืนจากผู้แจ้งแล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๓) การลงรายการในใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้คัดลอกหรือพิมพ์ข้อความตามรายการที่ปรากฏในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ของฉบับที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดฯ เว้นแต่รายการ เลขที่
ที่และวันเดือนปีที่ออกใบแทน ให้ระบุตามความเป็นจริง
และให้หมายเหตุด้วยตัวหนังสือสีแดงไว้ด้านบนขวาของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ส่วนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๓ ของฉบับที่สูญหาย ถูกทำลายหรือชำรุดฯ ให้นายทะเบียนดำเนินการยกเลิกตามข้อ
๑๓๕
(๔) กรณีสำนักทะเบียนตรวจสอบแล้วไม่พบตอนที่ ๒ หรือตอนที่ ๓
ของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ สูญหาย หรือถูกทำลาย
ให้นายทะเบียนออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่โดยคัดลอกรายการจากทะเบียนบ้านฉบับที่ปรากฏรายการย้าย
เว้นแต่รายการ เลขที่ ที่และวันเดือนปีที่ออกใบแทน ให้ระบุตามความเป็นจริง สำหรับรายการใดที่ไม่ทราบก็ให้เว้นไว้
และให้หมายเหตุเช่นเดียวกับ (๓) ว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ออกตามหลักฐานทะเบียนบ้าน
ข้อ ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๐๕ ทวิ
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ ๑๐๕ ทวิ การขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามข้อ ๙๓ ถึงข้อ ๑๐๕
ของบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป
ให้นายทะเบียนเรียกรูปถ่ายของบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อจากผู้แจ้ง จำนวน ๑ รูป และบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อ
ผู้แจ้ง และพยานบุคคลที่ให้การรับรอง รวมทั้งให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในแบบ
ท.ร. ๒๕ ต่อหน้านายทะเบียน แล้วเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติการเพิ่มชื่อ แล้วแต่กรณี พร้อมหลักฐานอื่นเพื่อพิจารณา
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแล้ว
ให้ส่งแบบ ท.ร. ๒๕ รายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางภายใน ๕ วัน
เพื่อจัดเก็บข้อมูลตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด และเมื่อสำนักทะเบียนได้รับแบบ
ท.ร. ๒๕ ดังกล่าวกลับคืนแล้ว ให้ดำเนินการจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัยอย่างเป็นระบบ
สามารถตรวจสอบหรือค้นหาได้โดยง่าย
ข้อ ๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๒๔
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๒๔ ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้นายทะเบียนตรวจ คัด
หรือคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎร
ได้ที่สำนักทะเบียนที่เก็บรักษาเอกสารทะเบียนราษฎรซึ่งเป็นต้นฉบับสำนักทะเบียนกลาง
สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร
หรือสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้ในวันและเวลาราชการ
ข้อ ๘ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๒๗
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๒๗ การตรวจ คัด หรือคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๒๔ ให้ดำเนินการได้เฉพาะรายการจากเอกสารทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด
และทะเบียนคนตาย ตามที่ปรากฏในเอกสารจากต้นฉบับหรือหลักฐานเอกสารของสำนักทะเบียนเท่านั้น
เว้นแต่การดำเนินการที่สำนักทะเบียนกลาง สำนักทะเบียนจังหวัด
สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร
และสำนักทะเบียนที่จัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้ตรวจ คัด
หรือคัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนบ้านทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย
จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔
หรือคัดจากหลักฐานที่สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบอื่น
การรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรที่คัดจากต้นฉบับหรือหลักฐานเอกสารของสำนักทะเบียน
ให้ประทับหรือเขียนข้อความว่า สำเนาถูกต้อง ส่วนการรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรที่คัดจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
ให้ประทับหรือเขียนข้อความว่า รับรองว่าเป็นรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร และให้นายทะเบียนที่คัดเอกสารนั้นเป็นผู้รับรองโดยให้ลงลายมือชื่อและวงเล็บชื่อ
พร้อมลงวันเดือนปีที่คัดสำเนาไว้ในเอกสารดังกล่าวด้วย
ข้อ ๙ ให้ยกเลิกแบบพิมพ์หนังสือรับรองการตาย
(ท.ร. ๔/๑) ตามข้อ ๑๓๔ (๗) และแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร. ๑๔/๑) ตามข้อ ๑๓๔ (๑๙) ตามแบบท้ายระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้แบบพิมพ์หนังสือรับรองการตาย
(ท.ร. ๔/๑) และแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร. ๑๔/๑) ตามแบบท้ายระเบียบนี้แทน
ข้อ ๑๐ ให้เพิ่มแบบพิมพ์ตามท้ายระเบียบนี้เป็นแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร
ตามข้อ ๑๓๔ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ดังนี้
(๓ ทวิ) ท.ร. ๑/ก
เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิดที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๘ ทวิ) ท.ร. ๔/ก
เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนคนตายที่คัดรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๑๙ ทวิ) ท.ร. ๑๕ เป็นบันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
สูญหายหรือถูกทำลาย
(๑๙ ตรี) ท.ร. ๒๕
เป็นแบบการขอมีรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับกรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดและการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
ประกาศ ณ วันที่ ๑๒
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔
อภัย จันทนจุลกะ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แบบรับรองรายการทะเบียนคนเกิด จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร (ท.ร.1/ก)
๒.
หนังสือรับรองการตาย (ท.ร.4/1 ตอนที่ 1)
๓.
ใบแจ้งการตายสำหรับเจ้าหน้าที่สำนักทะเบียนที่รับแจ้ง
๔.
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร.14/1)
๕.
แบบรับรองรายการทะเบียนคนตาย จากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร (ท.ร.4/ก)
๖.
บันทึกการรับแจ้งเอกสารเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรสูญหายหรือถูกทำลาย (ท.ร.15)
๗.
แบบการขอมีรายการบุคคลในเอกสารการทะเบียนราษฎรสำหรับกรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดและการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. 25)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓ ธันวาคม ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๓/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
593073 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๒[๑]
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐
กรณีผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยู่นอกราชอาณาจักร
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง และมาตรา ๓๔ วรรคท้าย แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
จึงออกระเบียบแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๕
มีนาคม ๒๕๔๒ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘๗
แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘๗ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการย้ายออกของบุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙ โดยอนุโลม
โดยให้หมายเหตุในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในช่อง ไปอยู่ที่ ว่า
ไปประเทศ........................
(๒)
ให้เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านชั่วคราวของสำนักทะเบียนและบันทึกในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านว่า
ทะเบียนบ้านชั่วคราวลำดับที่...
(๓)
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
(๔)
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ เก็บไว้เป็นหลักฐาน
(๕)
เมื่อสำนักทะเบียนได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
คืนมาจากสำนักทะเบียนกลางแล้วให้เก็บรวมไว้กับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
และตอนที่ ๓
ให้สำนักทะเบียนกลางบันทึกและประมวลผลข้อมูลรายการบุคคลของผู้ที่เดินทางไปอยู่ต่างประเทศจากใบแจ้งย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยให้หมายเหตุไว้ว่าเป็นบุคคลในทะเบียนบ้านชั่วคราว
และเมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ดังกล่าวคืนสำนักทะเบียนเดิม
กรณีบุคคลดังกล่าวเดินทางกลับจากต่างประเทศและแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบหลักฐานการเดินทางกลับจากต่างประเทศของผู้ย้ายที่อยู่
(๒)
ให้ตรวจสอบรายการของผู้ขอแจ้งย้ายจากทะเบียนบ้านชั่วคราวและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอน หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ขีดฆ่าคำว่า ไปประเทศ........................ ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอนแล้วดำเนินการรับแจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้านชั่วคราวไปเข้าทะเบียนบ้านตามที่ผู้แจ้งประสงค์จะขอย้ายเข้า
ตามระเบียบว่าด้วยการย้ายต่อไป
(๓)
ดำเนินการตามข้อ ๘๔ กรณีย้ายเข้าในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน หรือข้อ ๗๙ กรณีย้ายต่างสำนักทะเบียนโดยอนุโลม
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒
ประมวล รุจนเสรี
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓ ธันวาคม ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๕๑/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
593041 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางวางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
ตอนที่ ๑
การบังคับใช้และนิยามศัพท์
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๒๒
เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ในระเบียบนี้
นายอำเภอ หมายความรวมถึง ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอและผู้อำนวยการเขตในกรุงเทพมหานคร
บ้านเลขที่ หมายความว่า
เลขประจำบ้านซึ่งนายทะเบียนกำหนดให้บ้านแต่ละหลัง
เด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กอ่อน หมายความว่า
เด็กเกิดใหม่ที่มีอายุไม่เกิน ๒๘ วัน
การแจ้งการเกิดเกินกำหนด หมายความว่า
การแจ้งเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง เมื่อพ้นเวลาที่กฎหมายกำหนด
การแจ้งการตายเกินกำหนด หมายความว่า
การแจ้งตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง เมื่อพ้นเวลาที่กฎหมายกำหนด
การแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง หมายความว่า
การแจ้งย้ายที่อยู่โดยผู้ย้ายที่อยู่ ต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
คนต่างท้องที่ หมายความว่า
คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนอื่น
คนในท้องที่ หมายความว่า
คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแห่งท้องที่นั้น
เพิ่มชื่อ หมายความว่า
การเพิ่มชื่อและรายการของบุคคลในทะเบียนบ้าน หรือทะเบียนบ้านกลาง
บิดา หมายความว่า บิดาตามความเป็นจริง
ผู้แจ้ง หมายความว่า
ผู้มีหน้าที่แจ้งตามที่กฎหมายกำหนดไว้
ข้อ
๔ ห้ามมิให้นายทะเบียนเรียกหลักฐานประกอบการแจ้งนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้และนายทะเบียนอาจจะเรียกหลักฐานน้อยกว่าที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ก็ได้
หากเห็นว่าหลักฐานที่นำมาแสดงเพียงพอแก่การวินิจฉัย
กรณีที่นายทะเบียนหรือนายอำเภอไม่สามารถดำเนินการตามความประสงค์ของผู้แจ้งหรือผู้ร้องได้
ให้แจ้งผู้แจ้งหรือผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่อาจดำเนินการได้
ตอนที่ ๒
เจ้าบ้านและการมอบหมาย
ข้อ
๕ บุคคลที่จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งพิจารณาตามลำดับ ดังนี้
(๑)
ให้พิจารณาจากทะเบียนบ้านว่าได้มีการระบุให้ผู้ใดทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านก่อน
(๒) หากบุคคลตาม (๑) ไม่สามารถปฏิบัติกิจการได้
ให้พิจารณาบุคคลอื่นซึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้าน ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านแทน
โดยให้บันทึกถ้อยคำให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลบ้านแทน
เจ้าบ้านในขณะนั้น
(๓)
บุคคลซึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้านเป็นผู้เยาว์หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถให้ผู้ปกครองตามที่กฎหมายกำหนดเป็นผู้ทำหน้าที่เจ้าบ้านแทน
เว้นแต่จะพิจารณาเห็นว่าผู้เยาว์หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
สามารถทำหน้าที่ดังกล่าวได้ ก็ให้ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านได้
(๔) บ้านว่างให้บุคคลซึ่งครอบครองบ้านในขณะนั้นไม่ว่าจะครอบครองในฐานะใด ให้บุคคลดังกล่าวทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
โดยให้ตรวจสอบหรือสอบถามให้ได้ข้อเท็จจริงว่าเป็นผู้มีหน้าที่ครอบครองดูแลบ้านในขณะนั้น
ข้อ
๖ กรณีผู้มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
ซึ่งรายการในช่องสถานภาพมิได้ระบุว่าเป็นเจ้าบ้าน
ประสงค์จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านเพื่อดำเนินการแจ้งตามกฎหมายให้นายทะเบียนดำเนินการ
ดังนี้
(๑) สอบถามถึงสาเหตุหรือเหตุผลความจำเป็นและบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของผู้แจ้ง
(๓) บัตรประจำตัวของผู้แจ้งที่จะทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้าน
เมื่อได้หลักฐานข้างต้นครบถ้วนแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้ตามที่แจ้งในฐานะเป็นเจ้าบ้าน
ข้อ
๗ กรณีผู้ที่ไม่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านประสงค์จะทำหน้าที่ในฐานะผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑)
เรียกบัตรประจำตัวหรือสำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในฐานะผู้มอบหมาย และให้เจ้าบ้านลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้องในสำเนาภาพถ่ายบัตรประจำตัว
(๒) เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้งในฐานะผู้ได้รับมอบหมาย
(๓) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของบ้านที่ได้รับมอบหมาย
(๔) หนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้าน (ถ้ามี)
การมอบหมายดังกล่าว
ให้นายทะเบียนบันทึกเลขที่หรือหมายเลขบัตรประจำตัวตาม (๑) และ (๒)
ให้ปรากฏในหลักฐานการแจ้ง
ข้อ
๘ การดำเนินการของผู้แจ้งตามข้อ ๖
และข้อ ๗
หากปรากฏภายหลังว่าผู้ที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านได้เจตนาแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ
ให้นายทะเบียนแจ้งความดำเนินคดีอาญากับผู้แจ้งต่อไป
ส่วนที่ ๒
บ้านและบ้านเลขที่
ตอนที่ ๑
บ้านที่ต้องกำหนดบ้านเลขที่
ข้อ
๙ บ้านที่ต้องกำหนดบ้านเลขที่
ต้องเป็นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๐ บ้านหลังหนึ่ง
ให้กำหนดบ้านเลขที่เพียงเลขหมายเดียว
ข้อ
๑๑ บ้านที่ปลูกเป็นตึกแถวหรือห้องแถว
หรืออาคารชุด ให้กำหนดบ้านเลขที่ทุกห้องโดยถือว่าห้องหนึ่ง ๆ เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ
๑๒ บ้านที่ปลูกไว้สำหรับให้เช่าเป็นหลัง
ๆ ให้กำหนดบ้านเลขที่ทุกหลัง แม้จะมีผู้เช่าหรือไม่ก็ตาม
ข้อ
๑๓ เรือ
แพหรือยานพาหนะที่จอดอยู่เป็นประจำและมีผู้อาศัย
ให้กำหนดบ้านเลขที่ไว้เช่นเดียวกันโดยถือว่าเรือ แพ หรือยานพาหนะนั้น ๆ
เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ
๑๔ บ้านซึ่งมีโรงเรือน
หรือสิ่งปลูกสร้างอยู่ในขอบเขตเดียวกัน เช่น วัด กองทหาร โรงเรียน เรือนจำ
สถานีตำรวจ ให้กำหนดบ้านเลขที่แต่ละแห่งเพียงเลขหมายเดียว
แต่ถ้าเจ้าบ้านประสงค์จะกำหนดบ้านเลขที่ขึ้นอีกก็ให้นายทะเบียนกำหนดให้
ตอนที่ ๒
การกำหนดบ้านเลขที่
ข้อ
๑๕ ให้กำหนดบ้านเลขที่ดังต่อไปนี้
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑) ตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย ในเขตเทศบาลทุกแห่งจนครบ
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยเดียวกันมีชื่อเดิมหลายชื่อไม่เหมือนกัน
ให้เลือกใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียว โดยใช้ชื่อที่ประชาชนนิยม
หรือในกรณีที่มีตรอกหรือซอย ๒
สายมาบรรจบกันให้เลือกใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียวโดยถือหลักใช้ชื่อของตรอกหรือซอยที่มีระยะยาวกว่าหรือชื่อที่ประชาชนนิยม
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยดังกล่าวนี้
มีซอยแยกออกไปอีก ให้ใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้น ๆ แต่มีเลขหมายกำกับไว้ เช่น รองเมือง
ซอย ๑ รองเมือง ซอย ๒ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นเรียงเลขลำดับซอยที่ ๑
จากจุดสมมุติว่าด้วยการให้บ้านเลขที่ของตรอกหรือซอยนั้น
(๒) ให้กำหนดบ้านเลขที่เรียงตามลำดับบ้าน โดยแต่ละถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ
หรือลำคลองสายหนึ่ง ๆ ขึ้นลำดับ ๑ ใหม่ จนตลอดสายทุกสาย
(๓) การเรียงบ้านเลขที่ ให้เริ่มต้นจากจุดสมมุติก่อน
เมื่อหันหลังไปทางจุดสมมุติฝั่งขวาของถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ ลำคลอง
ให้กำหนดบ้านเลขที่เป็นเลขคู่เรียงต่อไปตามลำดับ เช่น ๒, ๔ ๖, ๘ ฯลฯ ส่วนฝั่งซ้ายมือให้กำหนดบ้านเลขที่เป็นเลขคี่เรียงกันไปตามลำดับ
เช่น ๑, ๓, ๕, ๗, ๙, ฯลฯ
ในเขตสำนักทะเบียนอำเภอ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑)
ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการกำหนดบ้านเลขที่ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นโดยอนุโลม
(๒) เรียงลำดับบ้านเลขที่เป็นรายหมู่บ้าน
เมื่อขึ้นหมู่บ้านใหม่ให้ขึ้นหมายเลข ๑ เสมอไป
(๓) เริ่มต้นให้บ้านเลขที่ ตั้งแต่ในเขตชุมชนที่หนาแน่นในหมู่บ้านนั้น ๆ
เสียก่อน แล้วจึงกำหนดบ้านเลขที่ที่อยู่ใกล้ถนนสายใหญ่ ๆ หรือริมน้ำเป็นลำดับที่ ๒
จนสุดสายแล้วแยกเป็นสายอื่น ๆ ต่อไปตามความเหมาะสมและสะดวกแก่การค้นหาบ้าน
โดยให้ถือหลักว่าบ้านใกล้เคียงกันควรจะให้บ้านเลขที่ใกล้กัน
ข้อ
๑๖ ถ้าชุมชนใดมีบ้านอยู่เป็นหย่อม ๆ
หรือบ้านที่อยู่ระเกะระกะไม่เป็นระเบียบให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อน
แล้วกำหนดเส้นทางจากจุดสมมุตินั้น และปฏิบัติตามข้อ ๑๕
ข้อ
๑๗ ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดจุดสมมุติขึ้นได้
เช่น ไม่สามารถกำหนดเขตชุมชนขึ้นได้หรือท้องที่ที่มีบ้านอยู่เป็นหย่อม ๆ
ไม่เป็นระเบียบ
ให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อนแล้วให้กำหนดบ้านเลขที่เริ่มต้นจากจุดสมมุตินั้น
ข้อ
๑๘ บริเวณพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายท้องที่
ให้นายทะเบียนแต่ละแห่งที่ท้องที่ติดกันนั้น ทำความตกลงกันว่าถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ
ลำคลองสายใดที่ติดต่อกันระหว่างท้องที่ให้ติดบ้านเลขที่ ฝั่งใดเป็นขวาหรือซ้ายเหมือนกันโดยตลอด
ข้อ
๑๙ เมื่อได้กำหนดให้บ้านเลขที่แล้ว
ต่อมามีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่ระหว่างบ้านหลังใดก็ให้ใช้บ้านเลขที่ที่อยู่ใกล้ชิดนั้นแล้วเพิ่มตัวเลขไว้ท้าย
เช่น ๕/๒, ๕/๓ เป็นบ้านเลขที่ที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือถ้าบ้านใดรื้อถอนไป
และมีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่ ณ ที่เดิม
หรือใกล้ชิดกับบ้านที่รื้อถอนไปก็ให้ใช้บ้านเลขที่ที่รื้อถอนนั้น
ถ้าปลูกสร้างบ้านขึ้นใหม่ต่อจากบ้านที่มีบ้านเลขที่สูงสุดให้กำหนดบ้านเลขที่ที่ปลูกสร้างใหม่เรียงจากเลขหมายสูงสุดนั้นต่อไปตามลำดับ
ข้อ
๒๐ บ้านที่ปลูกสร้างในที่สาธารณะ
หรือโดยบุกรุกป่าสงวน
หรือโดยมิได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือตามกฎหมายอื่น
ให้ถือเป็นบ้านที่จะต้องกำหนดบ้านเลขที่ให้ตามระเบียบนี้
โดยในการจัดทำทะเบียนบ้านให้ระบุคำว่า ทะเบียนบ้านชั่วคราว ในแบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน
เมื่อได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องแล้วให้ขีดฆ่าคำว่า ทะเบียนบ้านชั่วคราว ออกไป
ตอนที่ ๓
จุดสมมุติในการให้บ้านเลขที่
ข้อ
๒๑ ถนนที่เป็นทางเข้าเขตชุมชน
ให้ถือต้นทางของเขตชุมชนนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๒ ถนนที่ตั้งต้นจากริมฝั่งแม่น้ำ
ริมคลอง หรือชายทะเล ให้ถือจากริมแม่น้ำ ริมคลอง หรือชายทะเลนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๓ ตรอก หรือซอย
ให้ถือถนนใหญ่ซึ่งตรอกหรือซอยนั้นแยกออกมาเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๔ บ้านที่อยู่ริมน้ำไม่มีถนน ตรอก
หรือซอย ให้ถือปากน้ำเป็นจุดสมมุติ
ข้อ
๒๕ จุดสมมุติอื่น ๆ ที่เหมาะสม เช่น
หมู่บ้านที่มีบ้านระเกะระกะให้จัดทำเส้นทางสมมุติขึ้นเสียก่อน
แล้วจึงกำหนดบ้านเลขที่ให้
ตอนที่ ๔
วิธีติดบ้านเลขที่
ข้อ
๒๖ บ้านทั่วไปให้ติดบ้านเลขที่ที่ประตูบ้านทางเข้า
หรือที่ที่คนภายนอกเห็นได้ง่าย
ข้อ
๒๗ บ้านที่มีรั้วบ้านโดยรอบ
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ที่ประตูรั้วบ้านทางเข้า
ถ้ารั้วบ้านมีประตูทางเข้าหลายทางให้ติดไว้ที่ประตูรั้วซึ่งใช้เข้าออกโดยปกติ
ข้อ
๒๘ บ้านที่อยู่ริมนํ้าและมีศาลาท่าน้ำ
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ที่ศาลาท่าน้ำของบ้านนั้นถ้าบ้านใดไม่มีศาลาท่าน้ำ ให้ติดไว้ที่บ้านซึ่งสามารถมองจากลำน้ำเห็นได้โดยชัดเจน
ข้อ
๒๙ บ้านที่มีรั้วบ้านแต่ไม่มีกรอบประตูรั้วบ้าน
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ตรงเสาประตูรั้วบ้านทางเข้าด้านขวามือ
ให้ตัวเลขสูงกว่าพื้นดินประมาณ ๒ เมตร
ข้อ
๓๐ บ้านที่มีรั้วบ้านและกรอบประตูรั้วบ้าน
ให้ติดบ้านเลขที่ไว้ตรงกลางของขอบประตูรั้วบ้านเบื้องบน
ข้อ
๓๑ บ้านที่มีหลายชั้น
และแยกการปกครองต่างหากจากกัน เช่น ห้องเช่า อาคารชุด ให้ติดบ้านเลขที่ทุกห้องเรียงตามลำดับจากห้องข้างล่างขึ้นไปหาชั้นบน
ตอนที่ ๕
การแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ข้อ
๓๒ บ้านปลูกสร้างใหม่หรือปลูกสร้างนานแล้ว
แต่ยังไม่มีบ้านเลขที่ เมื่อเจ้าบ้านแจ้งขอมีบ้านเลขที่ต่อนายทะเบียน
ให้นายทะเบียนถือปฏิบัติ ดังนี้
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๖)
(๒) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๓) ตรวจสอบสภาพความเป็นบ้าน
(๔) กำหนดบ้านเลขที่
(๕) กำหนดเลขรหัสประจำบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๕)
(๖) จัดทำทะเบียนบ้าน
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและมอบให้ผู้แจ้งเป็นหลักฐาน
(๗) รายงานการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๘)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามวรรคสอง (๑) - (๔)
และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๒)
รวบรวมหลักฐานการกำหนดบ้านเลขที่ส่งไปยังนายทะเบียนอำเภอเพื่อดำเนินการตามวรรคสอง
(๕) - (๗)
(๓) ให้นายทะเบียนอำเภอมอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเพื่อมอบให้ผู้แจ้งต่อไป
กรณีผู้แจ้งนำหลักฐานการรับแจ้งมาขอรับสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้นายทะเบียนอำเภอมอบให้ผู้แจ้ง
ข้อ
๓๓ กรณีที่มีการดัดแปลงบ้านหรือกระทำการใด ๆ
จนเกิดสภาพเป็นบ้านใหม่โดยแยกออกจากบ้านเดิม
การขอบ้านเลขที่บ้านใหม่ให้ปฏิบัติตามข้อ ๓๒
ข้อ
๓๔ กรณีมีการแจ้งการรื้อบ้าน
ให้นายทะเบียนปฏิบัติ ดังนี้
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๖)
(๒) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๓) ตรวจสอบว่าได้มีการรื้อบ้าน
(๔) ให้นายทะเบียนจำหน่ายทะเบียนบ้าน
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมหมายเหตุการจำหน่ายไว้ แล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๕) ดำเนินการแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
ตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่
(๖) รายงานการจำหน่ายทะเบียนบ้านตามระเบียบในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามวรรคสอง (๑) - (๓)
(๒) รวบรวมหลักฐานส่งไปยังนายทะเบียนอำเภอเพื่อดำเนินการตามวรรคสอง (๔) -
(๖)
กรณีที่มีการดัดแปลงบ้านหรือกระทำการใด
ๆ จนบ้านดังกล่าวไม่มีสภาพบ้านให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการรื้อบ้าน
ข้อ
๓๕ กรณีบ้านถูกทำลายจนหมดสภาพความเป็นบ้าน
ให้นายทะเบียนปฏิบัติ ดังนี้
กรณีมีการแจ้งให้ปฏิบัติตามข้อ
๓๔
กรณีไม่มีการแจ้งภายใน
๑๕ วันนับแต่บ้านถูกทำลาย ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) บันทึกสาเหตุที่บ้านถูกทำลายในทะเบียนบ้านพร้อมระบุข้อความด้วยหมึกสีแดงไว้ด้านหน้าใต้คำว่าทะเบียนบ้านว่า
ทะเบียนบ้านชั่วคราว โดยให้ถือว่าเป็นทะเบียนบ้าน
(๒) ติดต่อเจ้าบ้านมาดำเนินการแจ้งย้ายที่อยู่โดยเร็ว
(๓) หากเกิน ๑๘๐ วันนับแต่วันที่บ้านถูกทำลาย ให้ดำเนินการแจ้งการย้ายไม่ทราบที่อยู่ตามระเบียบที่กำหนดในข้อ
๘๑
(๔) ขีดฆ่าคำว่า ทะเบียนบ้านชั่วคราว เมื่อได้มีการปลูกสร้างบ้านใหม่แทนที่บ้านถูกทำลายพร้อมบันทึกการแก้ไขในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๓๖ กรณีที่รายการของบ้านในทะเบียนบ้านผิดไปจากข้อเท็จจริงให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เมื่อเจ้าบ้านมาแจ้ง ให้นายทะเบียนตรวจสอบและแก้ไขให้
(๒) เมื่อนายทะเบียนตรวจพบ
ให้แก้ไขในทะเบียนบ้านพร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
ข้อ
๓๗ กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
การตั้งหมู่บ้านใหม่
(๑) ให้ใช้บ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านที่ได้กำหนดไว้เดิมต่อไป
(๒) ให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการ หมู่ที่
ในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้ตรงกับ หมู่ที่ ที่ได้ประกาศจัดตั้ง
การเปลี่ยนแปลงเขตตำบล
(๑) โอนหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านจากตำบลหนึ่งไปขึ้นการปกครองกับอีกตำบลหนึ่ง
หรือการจัดตั้งตำบลขึ้นใหม่ ให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการ
หมู่ที่และตำบลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านเท่านั้น
(๒)
โอนหมู่บ้านเพียงบางส่วนของตำบลหนึ่งไปขึ้นการปกครองกับอีกตำบลหนึ่งให้นายทะเบียนแก้ไขเฉพาะรายการที่เปลี่ยนแปลงไปให้ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง
การจัดตั้งสำนักทะเบียนขึ้นใหม่หรือการเปลี่ยนเขตสำนักทะเบียน
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
(๑)
ให้สำนักทะเบียนเดิมจัดทำบัญชีเอกสารมอบทะเบียนบ้านให้สำนักทะเบียนใหม่พร้อมทั้งหลักฐานทะเบียนราษฎรอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๒)
สำนักทะเบียนใหม่แก้ไขรายการของบ้านในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง
การแก้ไขรายการของบ้านในทะเบียนบ้านในกรณีดังกล่าวข้างต้น
ให้นายทะเบียนจัดทำรายงานการแก้ไขตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๙)
ข้อ
๓๘ กรณีที่นายทะเบียนเห็นสมควรที่จะให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ในเขตสำนักทะเบียนทั้งหมดหรือบางส่วน
ก็ให้ดำเนินการได้โดยดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ประกาศให้ราษฎรหรือเจ้าบ้านในเขตที่จะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ให้ทราบก่อนไม่น้อยกว่า
๑๕ วัน
(๒) จัดทำแผนผังของบริเวณที่จะดำเนินการโดยสังเขป
(๓) กำหนดบ้านเลขที่ขึ้นใหม่
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการกำหนดบ้านเลขที่
(๔)
แก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้านเลขที่ในทะเบียนบ้านและแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้อง
(๕) รายงานการแก้ไขตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๙)
(๖) แจ้งให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ไปรษณีย์
การประปาหรือการไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อเป็นการประสานต่อไป
ข้อ
๓๙ กรณีมีบ้านเลขที่ซ้ำกัน
ให้นายทะเบียนกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่ โดยดำเนินการดังนี้
(๑) ให้ตรวจสอบและสอบสวนข้อเท็จจริงว่าบ้านหลังใดได้บ้านเลขที่นั้นมาก่อน ทั้งนี้ ให้ถือว่าบ้านเลขที่ที่กำหนดให้ก่อนเป็นบ้านเลขที่ที่ถูกต้อง
เว้นแต่นายทะเบียนจะเห็นสมควรกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่ก็ให้ดำเนินการได้
(๒) ในการกำหนดบ้านเลขที่ให้ใหม่แก่บ้านหลังที่ซ้ำ
ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการขอบ้านเลขที่ใหม่โดยอนุโลม โดยไม่ต้องให้เจ้าบ้านแจ้ง
(๓)
แจ้งเจ้าบ้านทราบและให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้องตรงกัน
(๔) รายงานการกำหนดบ้านเลขที่ตาม (๒) ตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๘)
ส่วนที่ ๓
การจัดทำทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
ทะเบียนบ้าน
ข้อ
๔๐ เมื่อนายทะเบียนกำหนดบ้านเลขที่ให้บ้านหลังใดแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านสำหรับบ้านหลังนั้น
(๒) กำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
(๓)
มอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้แก่เจ้าบ้านพร้อมลงลายมือชื่อผู้มอบและผู้รับมอบไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ
๔๑ กรณีทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนสูญหาย
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) แจ้งความลงบันทึกประจำวันไว้เป็นหลักฐาน
(๒) ขอตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลาง
เมื่อได้รับแจ้งแล้วให้จัดทำทะเบียนบ้านและบันทึกรายการในช่องบันทึกในทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า
แทนฉบับเดิมที่สูญหาย พร้อมลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่จัดทำไว้
ข้อ
๔๒ กรณีทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนชำรุดในสาระสำคัญ
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำทะเบียนบ้านขึ้นใหม่
โดยลงรายการให้ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านฉบับเดิมที่ชำรุดทุกรายการ
(๒) ให้ลงรายการในช่องบันทึกในทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า แทนฉบับเดิมที่ชำรุด พร้อมลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่จัดทำไว้
ข้อ
๔๓ กรณีสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านสูญหาย
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้เจ้าบ้านแจ้งความลงบันทึกประจำวันและคัดสำเนาเป็นหลักฐานประกอบการแจ้ง
(๒) จัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านขึ้นใหม่
และให้ลงรายการในช่องบันทึกในสำเนาทะเบียนบ้านที่จัดทำขึ้นใหม่ว่า แทนฉบับเดิมที่สูญหาย
(๓)
เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการรับรองสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
หากเป็นกรณีที่สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านชำรุดในสาระสำคัญ
ก็ให้ดำเนินการตาม (๒) - (๓) โดยอนุโลม
ข้อ
๔๔ ทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ใช้ลงรายการของคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวเท่านั้น
ข้อ
๔๕ ทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
ใช้ลงรายการของคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ตอนที่ ๒
ทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ
๔๖ ทะเบียนบ้านกลางมิใช่ทะเบียนบ้าน
แต่เป็นทะเบียนที่ใช้สำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้านได้
ให้สำนักทะเบียนทุกแห่งจัดทำทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนไว้
กรณีที่สำนักทะเบียนมีความประสงค์จะจัดทำทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนโดยแยกออกเป็นทะเบียนบ้านกลางของแต่ละตำบลหรือแขวงหรือพื้นที่ที่นายทะเบียนกำหนดให้ขออนุมัติสำนักทะเบียนกลางก่อน
ข้อ
๔๗ ให้กำหนดเลขรหัสประจำบ้านในทะเบียนบ้านกลางแห่งละ
๑ รหัส
ข้อ
๔๘ บุคคลที่มีรายการในทะเบียนบ้านกลางไม่มีสิทธิ์ยื่นคำร้องขอคัด
และให้นายทะเบียนรับรองสำเนารายการเพื่อนำไปอ้างอิงหรือใช้สิทธิต่าง ๆ
เหมือนทะเบียนบ้านได้
เว้นแต่เป็นการคัดและรับรองเพื่อนำไปประกอบหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ
ข้อ
๔๙ แบบพิมพ์ทะเบียนบ้านกลางให้ใช้แบบพิมพ์ดังต่อไปนี้
คนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว
หรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓)
ให้เขียนหรือประทับคำว่า
ทะเบียนบ้านกลาง ใต้คำว่าทะเบียนบ้านในแบบพิมพ์ทะเบียนบ้านที่นำมาใช้เป็นทะเบียนบ้านกลาง
ตอนที่ ๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๕๐ เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการเกิด
ให้แนะนำผู้แจ้งแจ้งชื่อคนเกิดพร้อมกับการแจ้งการเกิด
และพิจารณาด้วยว่าชื่อที่แจ้งนั้นถูกต้องตามหลักการการตั้งชื่อบุคคลหรือไม่
ถ้ายังไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
ข้อ
๕๑ การรับแจ้งการเกิด
กรณีที่ผู้แจ้งไม่มีหลักฐานหรือไม่สามารถแสดงหลักฐานประกอบการแจ้งได้
ให้นายทะเบียนบันทึกถึงสาเหตุหรือความจำเป็นไว้
และอาจสอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อให้ได้รายละเอียดหรือข้อเท็จจริงประกอบการออกสูติบัตรให้มากที่สุด
ข้อ
๕๒ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนมีสัญชาติไทยเกิดในบ้านให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
หรือบัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี) หนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
แล้วตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒) ลงรายการในสูติบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๔) มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) สูติบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๑)
(๖) สูติบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๓)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑)
(๓) รวบรวมหลักฐานส่งให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการต่อไป
(๔) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๖)
ข้อ
๕๓ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนไม่มีสัญชาติไทยเกิดในบ้าน
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๒ วรรคหนึ่ง (๑) - (๖) เว้นแต่การเพิ่มชื่อคนเกิดให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓) ของบ้านที่มีคนเกิด
ข้อ
๕๔ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนมีสัญชาติไทยเกิดนอกบ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง บัตรประจำตัวของบิดามารดา (ถ้ามี)
(๒) ลงรายการในสูติบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
(๔) มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) สูติบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๑)
(๖) สูติบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
(๗)
แนะนำให้ผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยต่อไป
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๓)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑)
(๓) รวบรวมหลักฐานส่งให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการต่อไป
(๔) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๗)
ข้อ
๕๕ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่าคนไม่มีสัญชาติไทยเกิดนอกบ้าน
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๔ วรรคหนึ่ง (๑) - (๗) กรณีบิดาหรือมารดามีชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
ให้แนะนำผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยของบิดาหรือมารดา
ข้อ
๕๖ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่ามีคนเกิดในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๒ วรรคหนึ่ง (๑) - (๖)
เว้นแต่การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการดังนี้
คนในท้องที่
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓) ของบิดา มารดา
หากบิดามารดาไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
คนต่างท้องที่
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร.๑๔) หรือทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร.๑๓) ของสำนักทะเบียน
แล้วแต่กรณี
แล้วให้แนะนำผู้แจ้งดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่คนเกิดใหม่ไปยังภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยต่อไป
ข้อ
๕๗ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการแจ้งเกิดเกินกำหนดของคนมีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
บัตรประจำตัวบิดา มารดา (ถ้ามี) หนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
(๓) สอบสวนผู้แจ้ง บิดา มารดา ให้ทราบสาเหตุที่ไม่แจ้งการเกิดภายในกำหนด
กรณีบิดาหรือมารดาไม่อาจมาให้ถ้อยคำในการสอบสวนได้ไม่ว่าจะด้วยกรณีใด
ให้นายทะเบียนบันทึกถึงสาเหตุดังกล่าวด้วย
(๔)
รวบรวมหลักฐานและเลขคดีพร้อมด้วยความเห็นของนายทะเบียนเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา
(๕) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการเกิดตามข้อ ๕๒ หรือข้อ ๕๔
แล้วแต่กรณี
ข้อ
๕๘ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการเกิดเกินกำหนดสำหรับคนที่ไม่มีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการตามข้อ ๕๗ เว้นแต่การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการตาม ข้อ ๕๓
หรือข้อ ๕๕ แล้วแต่กรณี
ข้อ
๕๙ เด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กอ่อนซึ่งถูกทอดทิ้ง
เมื่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจได้รับตัวเด็กไว้
ให้บันทึกการรับตัวเด็กตามแบบบันทึกแจ้งความ แล้วแต่กรณี ไว้เป็นหลักฐานแล้วให้ส่งตัวเด็กพร้อมหลักฐานการบันทึกการรับตัวเด็กให้เจ้าหน้าที่ประชาสงเคราะห์แห่งท้องที่
เมื่อเจ้าหน้าที่ประชาสงเคราะห์แห่งท้องที่ได้รับตัวเด็กไว้แล้ว
ให้แจ้งการเกิดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่สถานสงเคราะห์ตั้งอยู่
และให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกบัตรประจำตัวผู้แจ้ง
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของสถานสงเคราะห์และบันทึกการรับตัวเด็ก
(๒)
สอบสวนผู้แจ้งและผู้ปกครองสถานสงเคราะห์ให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กให้มากที่สุด
(๓)
รวบรวมหลักฐานพร้อมด้วยความเห็นของนายทะเบียนเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา
(๔) เมื่อนายอำเภอท้องที่พิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งเกิดตามข้อ ๕๒
ข้อ
๖๐ การแจ้งเกิดตามข้อ ๕๙
ให้นายทะเบียนลงรายการของเด็กตามข้อเท็จจริงเท่าที่สามารถจะทราบได้
รายการใดไม่ทราบให้ทำเครื่องหมาย ไว้
ตอนที่ ๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ
๖๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนในท้องที่ตายในบ้าน ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคล (ถ้ามี)
(๒) ลงรายการในมรณบัตร ทั้ง ๓ ตอน
(๓) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย สีแดงไว้หน้ารายการคนตาย
(๔) มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ และหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๕) มรณบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๒)
(๖) มรณบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๘)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) - (๖)
ข้อ
๖๒ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนต่างท้องที่ตายในบ้าน ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามข้อ ๖๑ และให้ระบุในมรณบัตรด้านบนซ้ายว่า คนต่างท้องที่
(๒) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้าน
(๓) เมื่อได้รับตอบรับมรณบัตร ตอนที่ ๒ จากสำนักทะเบียนกลางแล้ว
จึงจะจัดส่งมรณบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
(๔) กรณีไม่ทราบว่าคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนใดให้ส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
เมื่อสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านได้รับมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบรายการคนที่ตายกับทะเบียนบ้าน หากพบว่าการลงรายการในมรณบัตร ตอนที่
๒ ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องให้ลงรายการเพิ่มเติมหรือแก้ไขให้ถูกต้อง
(๒) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๓) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒
(๒)
(๔) กรณีที่เจ้าบ้านนำมรณบัตร ตอนที่ ๑
มายื่นขอจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านให้ดำเนินการตาม (๑) - (๒) โดยอนุโลม
ข้อ
๖๓ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนตายนอกบ้านให้ดำเนินการตามข้อ ๖๑ หรือข้อ ๖๒ แล้วแต่กรณี
ข้อ
๖๔ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการตายของคนที่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านหรือไม่ทราบภูมิลำเนาในทะเบียนบ้าน
ให้ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
กรณีที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกลาง
ให้จำหน่ายในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
ข้อ
๖๕ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนตายและไม่ทราบว่าคนตายเป็นใคร ให้ออกใบรับแจ้งการตายให้ผู้แจ้งโดยรอการออกมรณบัตรไว้จนกว่าจะทราบว่าผู้ตายเป็นใครจึงจะดำเนินการออกมรณบัตรต่อไป
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตาย
ข้อ
๖๖ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งโดยมีเหตุเชื่อว่ามีการตายแต่ยังไม่พบศพ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) สอบสวนให้ทราบถึงมูลเหตุที่เชื่อว่าได้มีการตายของบุคคล
(๓) ออกหลักฐานใบรับแจ้งการตายมอบให้ผู้แจ้ง
(๔) กรณีบุคคลดังกล่าวมีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตสำนักทะเบียน
ให้หมายเหตุการจำหน่ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านว่า รับแจ้งการตายไว้ แต่ยังไม่พบศพ ถ้าต่างสำนักทะเบียนให้แจ้งเป็นหนังสือไปยังสำนักทะเบียนที่บุคคลดังกล่าวมีชื่อในทะเบียนบ้านเพื่อดำเนินการต่อไป
(๕) รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
หากไม่ทราบที่อยู่ให้หมายเหตุในหลักฐานการรายงานด้วย
ข้อ
๖๗ กรณีไม่ทราบท้องที่ที่ตาย
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่พบศพหรือแห่งท้องที่ที่มีมูลเหตุเชื่อว่ามีการตายเป็นผู้รับแจ้งการตาย
ข้อ
๖๘ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งว่ามีคนตายโดยมีเหตุอันควรสงสัยว่าตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ
ให้ออกใบรับแจ้งการตายเป็นหลักฐานให้แก่ผู้แจ้ง
และรีบแจ้งไปยังพนักงานผู้มีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
จนกว่าจะได้รับความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานดังกล่าวจึงจะออกมรณบัตรให้
ข้อ
๖๙ เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการตาย
ให้สอบถามรายละเอียดจากผู้แจ้งว่าศพจะเก็บ ฝัง เผา ทำลาย หรือย้ายศพ ณ สถานที่ใด
เมื่อใด แล้วให้ลงรายการในใบรับแจ้งการตายหรือมรณบัตร แล้วแต่กรณี
และให้ใช้เอกสารดังกล่าวเป็นหลักฐานแห่งการอนุญาตในการเก็บ ฝัง เผา ทำลาย
หรือย้ายศพ
หากจะเปลี่ยนแปลงการจัดการศพผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ถ้าศพนั้นอยู่ในท้องที่ใดให้แจ้งขออนุญาตต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่นั้น
โดยให้เรียกมรณบัตรหรือใบรับแจ้งการตายจากผู้แจ้งแล้วบันทึกการอนุญาตไว้
ข้อ
๗๐ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการตายเกินกำหนดให้ดำเนินการดังนี้
กรณีคนในท้องที่
(๑) เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒) เรียกและตรวจสอบบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี)
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคล (ถ้ามี)
(๓) สอบสวนผู้แจ้งให้ทราบถึงสาเหตุที่ไม่แจ้งการตายภายในกำหนด
และพยานผู้รู้เห็นการตาย
(๔) ลงรายการในมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน และให้ระบุในมรณบัตรด้านบนซ้ายว่า เกินกำหนด
(๕) จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย สีแดง
ไว้หน้ารายการคนตาย
(๖) มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ พร้อมหลักฐานประกอบการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๗) มรณบัตร ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๒)
(๘) มรณบัตร ตอนที่ ๓ ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่
กรณีคนต่างท้องที่
(๑) ให้ดำเนินการตามวรรคสอง โดยอนุโลม
เว้นแต่การจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้าน
(๒) ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนที่คนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านเพื่อจำหน่ายต่อไป
(๓) กรณีไม่ทราบว่าคนตายมีชื่อในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนใดให้ส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ
๗๑ การรับแจ้งการตายของบุคคลต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว
หรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองรวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวโดยอนุโลม
ตอนที่ ๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ
๗๒ ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายออกเฉพาะบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้าน
หรือทะเบียนบ้านกลางเท่านั้น
ข้อ
๗๓ ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายเข้าตามหลักฐานการย้ายที่อยู่ที่นายทะเบียนออกให้
ข้อ
๗๔ ห้ามมิให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งรับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางสำหรับบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลาง
ข้อ
๗๕ การรับแจ้งย้ายเข้า
หากรายการที่อยู่ที่แจ้งย้ายเข้าผิดไปจากที่ระบุไว้ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ เช่น
บ้านเลขที่ ถนน หมู่ที่ อำเภอ หรือจังหวัด เป็นต้น
ให้นายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้แจ้งย้ายเข้าไปอยู่ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามความเป็นจริง
โดยให้ขีดฆ่ารายการเดิมที่ต้องแก้ไขแล้วลงรายการที่อยู่ใหม่ด้วยหมึกสีแดงพร้อมทั้งลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
ข้อ
๗๖ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ลงรายการวันเดือนปีเกิดหรือสัญชาติผิดไปจากทะเบียนบ้าน
ให้นายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ยกเลิกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ฉบับดังกล่าวและออกให้ใหม่
ข้อ
๗๗ ในการรับแจ้งย้ายเข้า
หากพบว่ารายการบุคคลในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ผิดพลาด ให้รับแจ้งย้ายเข้าไว้ก่อนและมีหนังสือตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนต้นทาง
เมื่อได้รับแจ้งแล้วให้แก้ไขในทะเบียนบ้านและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้องต่อไป
โดยไม่ต้องให้ผู้แจ้งยื่นคำร้องขอ
ข้อ
๗๘ คนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแนะนำให้บุคคลดังกล่าวแจ้งย้ายใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวต่อนายทะเบียนคนต่างด้าวท้องที่ด้วย
การย้ายออก
ข้อ
๗๙ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการแจ้งการย้ายออกให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่จะแจ้งย้ายออก
แล้วตรวจสอบรายการบุคคลที่จะแจ้งย้ายออก
(๓) ลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ๓ ตอน
(๔)
จำหน่ายรายการคนย้ายออกในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยประทับ
คำว่า ย้าย สีน้ำเงิน
ไว้หน้ารายการคนย้ายออก
(๕) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
พร้อมหลักฐานการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๖) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๑)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๒) และมอบหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๓) - (๖)
ข้อ
๘๐ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับการตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าจากสำนักทะเบียนปลายทางแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบรายการบ้านที่แจ้งย้ายเข้าในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับทะเบียนบ้านในช่องย้ายออกไปที่ให้ถูกต้องตรงกัน
แล้วลงลายมือชื่อพร้อมวันเดือนปีกำกับไว้ในทะเบียนบ้าน
(๒) กรณีการตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ให้แก้ไขรายการย้ายที่อยู่ในทะเบียนบ้านในช่องย้ายออกไปที่ให้ถูกต้องตรงกัน
แล้วลงลายมือชื่อพร้อมวันเดือนปีกำกับไว้ในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๘๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งการย้ายออกโดยไม่ทราบที่อยู่ของคนที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
สอบสวนผู้แจ้งให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบุคคลดังกล่าวได้ออกจากบ้านไปอยู่ที่อื่นเกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันและไม่ทราบว่าบุคคลดังกล่าวไปอยู่ที่ใด
(๒) ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙ โดยอนุโลม
(๓) เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
(๔) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีคนมีชื่อในทะเบียนบ้านโดยเจ้าบ้านไม่ทราบว่าบุคคลดังกล่าวเป็นใคร
ให้ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๔)
ข้อ
๘๒ กรณีบ้านรื้อถอนตามข้อ ๓๔
การแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนดำเนินการตามข้อ ๗๙
กรณีบ้านถูกทำลายจนหมดสภาพบ้านตามข้อ
๓๕ การแจ้งย้ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนดำเนินการตามข้อ ๘๑
ข้อ
๘๓ เมื่อมีการแจ้งการย้ายออกไปแล้ว
ภายหลังบุคคลดังกล่าวได้ขอแจ้งย้ายกลับที่เดิมโดยยังมิได้แจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืนและตรวจสอบความถูกต้องของใบแจ้งการย้ายที่อยู่
(๒) แก้ไขรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในช่องไปอยู่ที่โดยระบุคำว่า กลับที่เดิม
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
ข้อ
๘๔ กรณีที่มีการแจ้งการย้ายออกและแจ้งการย้ายเข้าในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายออกและการแจ้งย้ายเข้า
ยกเว้นการรายงานให้ส่งเฉพาะใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
รายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
ข้อ
๘๕ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลาง ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้ขอแจ้งย้ายเป็นบุคคลคนเดียวกันกับบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลาง
(๒) ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙
กรณีบุคคลที่มีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านกลางเป็นผู้เยาว์ให้บิดาหรือมารดาหรือผู้ปกครองเป็นผู้แจ้งการย้ายออก
ข้อ
๘๖ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ทหารกองประจำการมีชื่อในทะเบียนบ้าน
ได้รับแจ้งจากหน่วยทหารขอแจ้งย้ายที่อยู่ของบุคคลที่เข้ารับราชการเป็นทหารกองประจำการ
ให้แจ้งเจ้าบ้านมาดำเนินการแจ้งการย้ายออกโดยถือปฏิบัติตามข้อ ๗๙
กรณีเจ้าบ้านไม่มาดำเนินการตามวรรคหนึ่ง
ให้แจ้งหน่วยทหารเพื่อให้แจ้งทหารกองประจำการผู้นั้นดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางต่อไป
ข้อ
๘๗ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งการย้ายออกของบุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการแจ้งการย้ายออกตามข้อ ๗๙ โดยอนุโลม
โดยให้หมายเหตุในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในช่องย้ายไปที่ว่า ไปประเทศ
(๒)
ให้เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียนและบันทึกในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านว่า
ทะเบียนบ้านกลางลำดับที่
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ เก็บไว้เป็นหลักฐาน
(๔) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีที่บุคคลดังกล่าวเดินทางกลับจากต่างประเทศ
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) ให้ตรวจสอบรายการผู้ขอแจ้งย้ายจากทะเบียนบ้านกลางและใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๒ หรือใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ (ถ้ามี)
(๓)
ดำเนินการรับแจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลางตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายต่อไป
ข้อ
๘๘ กรณีที่มีการแจ้งการย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านแล้ว
แต่ผู้ย้ายที่อยู่ถึงแก่ความตายก่อนที่จะนำหลักฐานไปแจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ให้ระงับการรับแจ้งการย้ายเข้า
(๒)
ให้สำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้ย้ายที่อยู่ถึงแก่ความตายรับแจ้งการตายตามระเบียบและส่งมรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปยังสำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
กรณีที่ไม่ทราบให้จัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลาง
(๓)
ให้สำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่หมายเหตุเพิ่มเติมในทะเบียนบ้านว่า ถึงแก่ความตายก่อนแจ้งย้ายเข้า ตามมรณบัตร
กรณีผู้มีส่วนได้เสียนำมรณบัตร
ตอนที่ ๑ มาแสดงเป็นหลักฐานก็ให้ดำเนินการหมายเหตุเช่นเดียวกัน
(๔) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามวรรคหนึ่งมีผู้ย้ายที่อยู่คนอื่นที่มีชีวิตอยู่
ให้นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้าตามระเบียบต่อไป
สำหรับผู้ย้ายที่อยู่ที่ถึงแก่ความตายไปแล้วให้ระงับการแจ้งการย้ายเข้า
โดยให้หมายเหตุในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ว่า บุคคลลำดับที่
ถึงแก่ความตายตามมรณบัตร
เมื่อสำนักทะเบียนต้นทางได้รับตอบรับการแจ้งการย้ายเข้าแล้ว
ให้หมายเหตุเพิ่มเติมในทะเบียนบ้านเฉพาะผู้ย้ายที่อยู่ที่ถึงแก่ความตายเช่นเดียวกับวรรคหนึ่ง
(๓)
การย้ายเข้า
ข้อ
๘๙ เมื่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งการย้ายเข้าให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่จะแจ้งการย้ายเข้า
แล้วตรวจสอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(๓) รับแจ้งการย้ายเข้า
(๔) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๕) มอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมหลักฐานการแจ้งคืนให้ผู้แจ้ง
(๖) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ ตอบรับไปยังสำนักทะเบียนต้นทางภายใน ๗
วัน
(๗) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๑๑)
(๒) ดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) - (๒)
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๓) - (๗)
ข้อ
๙๐ เมื่อนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนท้องถิ่น ได้รับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางให้ดำเนินการดังนี้
สำนักทะเบียนปลายทาง
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมคำยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าบ้านพร้อมบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่ใหม่จากผู้แจ้งและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง
(๒) ลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน และให้หมายเหตุด้านบนขวาว่า แจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง โดยให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่องผู้แจ้งย้ายออกและช่องผู้แจ้งย้ายเข้าสำหรับช่องเจ้าบ้านผู้ยินยอมให้ย้ายเข้าให้เขียนชื่อ
- สกุล ตัวบรรจงไว้
(๓) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๔) ใบแจ้งย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ส่งไปยังสำนักทะเบียนต้นทางที่ผู้แจ้งย้ายมีชื่ออยู่สำหรับใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ ให้เก็บไว้
(๕) คืนหลักฐานประกอบการแจ้งให้ผู้แจ้ง
(๖) เมื่อได้รับตอบรับการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางจากสำนักทะเบียนต้นทางแล้ว
ให้นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ มาตรวจสอบ หากผิดพลาดให้แก้ไขให้ถูกต้องตรงกัน
(๗)
แจ้งผู้ย้ายที่อยู่ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการเพิ่มชื่อให้ถูกต้องตรงกับทะเบียนบ้านต่อไป
(๘) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
สำนักทะเบียนต้นทาง
(๑) เมื่อได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ให้ตรวจสอบรายการผู้ย้ายที่อยู่กับทะเบียนบ้าน
หากไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้ตรงกับทะเบียนบ้าน
(๒) จำหน่ายรายการผู้ย้ายที่อยู่ในทะเบียนบ้าน
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ ส่งไปยังสำนักทะเบียนปลายทาง
(๔) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๓)
(๕)
แจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายชื่อต่อไป
ข้อ
๙๑ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งว่า
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ซึ่งได้ออกให้แก่ผู้แจ้งได้สูญหาย ถูกทำลาย
หรือชำรุดในสาระสำคัญตอนใดตอนหนึ่งหรือทั้งหมดก่อนที่จะนำไปแจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ใหม่ โดยดำเนินการ ดังนี้
(๑) กรณีสูญหาย ให้ผู้แจ้งดำเนินการแจ้งความและคัดสำเนาแจ้งความประกอบหลักฐานและให้ตรวจสอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๒ ว่าได้มีการตอบรับการแจ้งย้ายเข้าหรือไม่
ถ้าเป็นกรณีชำรุดให้เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืนจากผู้แจ้งแล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๒) การลงรายการในใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ใหม่
เว้นแต่วันเดือนปีที่ย้ายออกให้ระบุให้ตรงกับวันที่ย้ายออกตามความเป็นจริง
โดยให้หมายเหตุว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ข้อ
๙๒ การแจ้งการย้ายที่อยู่ของคนที่ไม่มีสัญชาติไทยที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองรวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับคนที่มีสัญชาติไทยเว้นแต่ถ้ามีส่วนราชการหรือหน่วยงานควบคุมดูแลอยู่
ต้องได้รับความเห็นชอบจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมดูแลบุคคลดังกล่าวก่อนจึงจะดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่ได้
ส่วนที่ ๔
การควบคุมทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
การเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๙๓ คนสัญชาติไทยไม่มีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนผู้ร้อง เจ้าบ้าน และบุคคลที่น่าเชื่อถือ
และหลักฐานอื่นเพิ่มเติม (ถ้ามี)
(๒) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๔ คนสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยอาศัยหลักฐานสูติบัตร ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
หรือทะเบียนบ้านแบบเดิมที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน เป็นต้น ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่
ดังนี้
กรณีเพิ่มตามหลักฐานสูติบัตร
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่ออกสูติบัตร
กรณีเพิ่มตามหลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่ประสงค์จะขอเพิ่มชื่อ
กรณีเพิ่มตามหลักฐานทะเบียนบ้าน
ให้ยื่นคำร้องแห่งท้องที่ที่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครั้งสุดท้าย
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานเอกสารว่าถูกต้องหรือไม่
กรณีใช้หลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้สอบถามไปยังสำนักทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ดังกล่าวว่าบุคคลขอเพิ่มชื่อเคยมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่แจ้งย้ายออกจริงหรือไม่
(๒)
สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้านให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลในเอกสารที่นำมาแสดง
(๓) เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
(๖) กรณีผู้ร้องไม่มีภูมิลำเนาในเขตสำนักทะเบียนที่ขอเพิ่มชื่อ
ให้นายทะเบียนเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลางและหากผู้ร้องมีความประสงค์จะย้ายไปอยู่ที่ใดให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่ต่อไป
ข้อ
๙๕ คนสัญชาติไทยที่เดินทางกลับจากต่างประเทศหรือเกิดในต่างประเทศแล้วเดินทางเข้ามาในประเทศไทย
โดยไม่มีหลักฐานที่แสดงว่าเป็นคนสัญชาติไทยให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาในปัจจุบันเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ส่งตัวผู้ร้องให้ตรวจคนเข้าเมืองแห่งท้องที่ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อขอพิสูจน์สัญชาติ
เมื่อตรวจคนเข้าเมืองดำเนินการตามกฎหมายและระเบียบแล้วหากเชื่อว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทยก็จะมีหนังสือแจ้งให้นายทะเบียนทราบ
(๒) หากได้รับแจ้งจากตรวจคนเข้าเมืองว่าผู้ร้องเป็นคนสัญชาติไทย
ให้สอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้ร้อง
(๓) เมื่อนายทะเบียนอนุญาตแล้ว
ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่... ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๖ คนสัญชาติไทยที่เกิดในต่างประเทศโดยมีหลักฐานมีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้ผู้ร้องยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานการจดทะเบียนคนเกิด (สูติบัตร)
หรือหลักฐานการเกิดที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศนั้น
ซึ่งได้แปลและรับรองว่าถูกต้องโดยกระทรวงการต่างประเทศหนังสือเดินทางเข้าเมืองของคนที่จะขอเพิ่มชื่อ
รวมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวผู้ร้อง
(๒) สอบสวนผู้ร้องให้ได้ข้อเท็จจริงว่า
บุคคลดังกล่าวเกิดในต่างประเทศและมีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(๓) เมื่อนายทะเบียนอนุญาต
ให้บันทึกการอนุญาตไว้ด้านหลังของหลักฐานการจดทะเบียนคนเกิดหรือหลักฐานการเกิด
แล้วให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
.. แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๗ บุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง
ให้เจ้าบ้านหรือผู้ขอเพิ่มชื่อยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์
ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติพี่น้อง (ถ้ามี)
หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือประกอบการพิจารณา
(๒) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือ
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๘ บุคคล
หน่วยงานเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐขอเพิ่มชื่อเด็กอนาถา
ซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ผู้อุปการะเลี้ยงดูยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่เด็กอนาถามีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบันเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนผู้อุปการะเลี้ยงดู
และเด็กในความอุปการะเพื่อทราบประวัติเบื้องต้นของเด็กในความอุปการะรวมทั้งหลักฐานอื่นเพิ่มเติม
(ถ้ามี)
(๒) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าเด็กอนาถามีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านโดยลงรายการตามข้อเท็จจริงเท่าที่ปรากฏทราบได้ในขณะนั้น
รายการใดที่ไม่ทราบให้ทำเครื่องหมาย ไว้พร้อมหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๕) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒)
(๖) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๙๙ บุคคลที่ได้มีการลงรายการ ตาย หรือ จำหน่าย ในทะเบียนบ้านไว้แล้ว
ต่อมาบุคคลนั้นมาขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ตนเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านก่อนถูกจำหน่ายรายการ
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนผู้ร้องและบุคคลที่แจ้งการตายหรือการจำหน่ายของบุคคลดังกล่าว
ประกอบการพิจารณา (ถ้ามี) รวมทั้งหลักฐานอื่น (ถ้ามี)
(๒) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๓) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่...
ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วแต่กรณี แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๒) หรือ ๑๓๔ (๒๔) ในกรณีที่ผู้นั้นเคยมีชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) หรือข้อ
๑๓๔ (๒๓) ในกรณีที่ผู้นั้นเคยมีชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕) หรือ ๑๓๒ (๖) หรือ ๑๓๒ (๗) แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๐๐ คนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนผู้ร้องและเจ้าบ้าน
(๒)
ตรวจสอบใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้ร้องว่าได้ต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและรายการย้ายที่อยู่ถูกต้องหรือไม่
หากขาดการต่ออายุหรือรายการที่อยู่ไม่ถูกต้องให้แนะนำผู้ร้องดำเนินการให้ถูกต้องเสียก่อน
(๓) คัดใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวให้ปรากฏรายการในหน้าที่ ๑ ถึงหน้าที่ ๖ หน้ารายการย้ายที่อยู่
หน้ารายการต่ออายุครั้งสุดท้าย หน้ารายการบุตรอายุตํ่ากว่า ๑๒ ปี
ที่อยู่ในครอบครัว โดยให้นายทะเบียนคนต่างด้าวแห่งท้องที่รับรองความถูกต้อง
(๔) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๕) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๖) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการในทะเบียนบ้านและสำ
เนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
หรือ หนังสือที่
ลงวันที่
แล้วแต่กรณี แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๗)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๔)
(๘) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
ข้อ
๑๐๑ คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานการอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านตามใบสำคัญถิ่นที่อยู่และหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
ใบสำคัญถิ่นที่อยู่เลขที่... โควต้าเข้าเมืองเลขที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๔)
(๔) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
ข้อ
๑๐๒ คนที่ไม่มีสัญชาติไทย
ต่อมาได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบันเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ
ดังนี้
กรณีผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) และเป็นบุคคลประเภทที่ ๓, ๔ หรือ ๕
และได้รับสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ
(๑) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานเอกสาร
(๒) แก้ไขรายการสัญชาติและเลขประจำตัวประชาชนในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
(๔) กรณีบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลประเภทที่ ๘
ให้แก้ไขรายการสัญชาติตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๑)
แล้วรายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓) ได้รับสัญชาติไทย โดยการขอคืนหรือขอมีหรือขอถือสัญชาติตามสามี
(๑) ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานเอกสาร
(๒) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
หรือทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๓) แล้วแต่กรณี โดยประทับคำว่า จำหน่าย หน้ารายการและบันทึกในช่องย้ายออกว่าตามคำร้องที่
ลงวันที่
พร้อมกับลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๓) เพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
หรือทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร.๑๔) และบันทึกในช่องย้ายเข้ามาจากว่า ตามคำร้องที่
ลงวันที่
พร้อมกับลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๔)
(๕) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๗)
กรณีผู้ร้องไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓) และได้รับสัญชาติไทย ให้ดำเนินการตามวรรคสาม
(๓) - (๕) โดยอนุโลม
ข้อ
๑๐๓ คนที่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิด
โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมิอาจพิจารณาสั่งการเป็นอย่างอื่น
หรือโดยคำสั่งของศาลถึงที่สุด ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการตามข้อ ๑๐๒ ยกเว้น การกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้ดำเนินการตามข้อ
๑๓๔ (๒๒) และรายงานตามข้อ ๑๓๒ (๕)
ข้อ
๑๐๔ คนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
ได้เสียสัญชาติไทยหรือสละสัญชาติไทยโดยบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมิอาจพิจารณาสั่งการเป็นอย่างอื่นหรือโดยคำสั่งของศาลถึงที่สุด
หรือถูกเพิกถอนใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจสอบพบ
หรือได้รับแจ้งจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
โดยให้ประทับคำว่า จำหน่ายตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
กรณีมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกลาง (ท.ร. ๑๔) ก็ให้จำหน่ายแล้วเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านกลาง
(ท.ร.๑๓) โดยหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า เพิ่มชื่อตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อ
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๓)
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๖)
ข้อ
๑๐๕ คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรไทย
โดยได้รับการผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษหรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
รวมทั้งผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยซึ่งไม่ได้สัญชาติไทยมีความประสงค์ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
สอบสวนผู้ร้องพร้อมทั้งตรวจสอบหลักฐานที่นำมาแสดงโดยเฉพาะหลักฐานการอนุญาตจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมรับผิดชอบบุคคลดังกล่าว
(๒)
สอบสวนเจ้าบ้านให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความยินยอมให้ผู้ร้องอยู่อาศัย
(๓) ให้ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางว่าผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๔) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๕) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า
คำร้องที่...ลงวันที่.... หรือ
หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วแต่กรณี แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๖)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
ตามแบบพิมพ์ที่กำหนดในข้อ ๑๓๔ (๒๓)
(๗) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๖)
ข้อ
๑๐๖ ผู้ได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามกฎกระทรวงซึ่งออกตามความในมาตรา
๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
สอบสวนผู้ร้องให้ทราบถึงเหตุผลความจำเป็นที่ขอเพิ่มชื่อและเรียกหลักฐานแสดงตัวบุคคลของหน่วยงานที่ควบคุมหรือหลักฐานที่รัฐบาลประเทศนั้น
ๆ ออกให้ประกอบการพิจารณา
(๒) ให้นายทะเบียนเพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่กำหนดให้ข้อ
๑๓๔ (๒๓)
(๔) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๖)
ข้อ
๑๐๗ การขอเพิ่มชื่อตามข้อ ๙๓ ถึงข้อ
๑๐๖
กรณีผู้มีอำนาจอนุมัติหรืออนุญาตพิจารณาแล้วเห็นว่าพยานเอกสารหรือพยานบุคคลไม่น่าเชื่อถือหรือผู้ขอเพิ่มชื่อและรายการในทะเบียนบ้านมีพฤติการณ์ส่อไปในทางไม่สุจริตและสั่งไม่อนุมัติหรือไม่อนุญาตแล้ว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบเป็นลายลักษณ์อักษร
ข้อ
๑๐๘ การเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓) นอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ตอนที่ ๒
การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ข้อ
๑๐๙ การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
กรณีที่บุคคลมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านเกินกว่าหนึ่งแห่ง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นปฏิบัติดังนี้
กรณีอยู่ในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกเจ้าบ้านหรือคนที่มีชื่อซ้ำ
ให้มายืนยันที่อยู่ที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
(๒)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อาศัยอยู่
และให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า ชื่อซ้ำ ตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) การยื่นคำร้องและการรายงานการจำหน่ายให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนดในข้อ
๑๓๔ (๒๐) และ ๑๓๒ (๔)
กรณีอยู่ต่างสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ถ้าได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนที่บุคคลดังกล่าวมีชื่ออยู่
ให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านที่มีชื่อซ้ำ
พร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
(๒) ถ้าบุคคลดังกล่าวนำหลักฐานการมีชื่อซ้ำมาแสดงเพื่อขอให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับ (๑)
(๓)
ให้หมายเหตุการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายชื่อซ้ำ ตามหนังสือที่
ลงวันที่
หรือตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔) เมื่อดำเนินการตาม (๑) หรือ (๒) แล้ว
ให้รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลาง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ถ้าอยู่ในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับวรรคสอง
(๒) ถ้าอยู่ต่างสำนักทะเบียน
ให้แจ้งเจ้าบ้านหรือบุคคลที่มีชื่อซ้ำและดำเนินการเช่นเดียวกับวรรคสอง
ข้อ
๑๑๐ บุคคลมีชื่อในทะเบียนบ้านโดยมิชอบ
กรณีที่บุคคลมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนพยานหลักฐานทั้งพยานบุคคลและพยานเอกสาร (ถ้ามี)
(๒) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๓) เมื่อนายอำเภอได้พิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
และให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่...
ลงวันที่... หรือ หนังสือที่... ลงวันที่... แล้วแต่กรณี แล้วให้ลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๔) รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑) ให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียนบ้านพร้อมทั้งแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
โดยให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า จำหน่ายตามคำร้องที่...
ลงวันที่... แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๒) รายงานการจำหน่ายตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
กรณีที่บุคคลดังกล่าวได้แจ้งการย้ายออกไปมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านในเขตสำนักทะเบียนอื่น
ให้สำเนาภาพถ่ายหนังสือสำนักทะเบียนกลางแจ้งไปยังสำนักทะเบียนดังกล่าวทราบและดำเนินการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
โดยให้ดำเนินการตาม (๑) - (๒) ต่อไป
ข้อ
๑๑๑ เมื่อปรากฏแน่ชัดว่าบุคคลในทะเบียนบ้านนั้นได้ตายไปแล้ว
แต่ยังไม่ได้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) สอบสวนพยานผู้ร้อง บุคคลที่น่าเชื่อถือและหลักฐานอื่นเพิ่มเติม (ถ้ามี)
(๒)
จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านโดยให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า
จำหน่ายตามคำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๒ คนสัญชาติไทยหรือคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตายในต่างประเทศและเจ้าบ้านมีความประสงค์จะขอจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานการจดทะเบียนคนตาย (มรณบัตร)
หรือหลักฐานการตายที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศนั้นซึ่งได้แปลและรับรองว่าถูกต้องโดยกระทรวงการต่างประเทศและหลักฐานเกี่ยวกับผู้แจ้ง
(๒) จำหน่ายชื่อและรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
โดยประทับคำว่า ตาย สีแดงไว้หน้ารายการคนตาย
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า คำร้องที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
(๓) รายงานตามระเบียบที่กำหนดในข้อ ๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๑๓ การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลกรณีอื่น
ๆ ตามที่สำนักทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะราย
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งแล้วให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า จำหน่ายตามหนังสือที่
ลงวันที่
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้
ข้อ
๑๑๔ การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ตอนที่ ๓
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๑๕ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(๑) ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรนำเอกสารราชการมาแสดงไม่ว่าเอกสารดังกล่าวจะจัดทำก่อนหรือหลังการจัดทำทะเบียนราษฎร
ให้ผู้ยื่นคำร้องแสดงเอกสารดังกล่าวต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
(๒)
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรไม่มีเอกสารราชการมาแสดง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานแล้วรวบรวมหลักฐานเสนอนายอำเภอพร้อมด้วยความเห็น
เมื่อนายอำเภอพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้นายอำเภอสั่งนายทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
(๓) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
ในกรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการจากสัญชาติอื่นหรือจากไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทยเนื่องจากเพราะลงรายการผิดพลาดหรือกรณีอื่น
ๆ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานแล้วรวบรวมหลักฐานเสนอนายอำเภอพร้อมด้วยความเห็น
เมื่อนายอำเภอพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้ ให้นายอำเภอสั่งนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
ในกรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการจากสัญชาติไทยหรือจากไม่มีสัญชาติหรือจากสัญชาติอื่นเป็นสัญชาติอื่น
เนื่องจากเพราะลงรายการผิดพลาดหรือกรณีอื่น ๆ ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐาน
และเมื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้ ก็ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้
ข้อ
๑๑๖ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน
ทะเบียนบ้านกลาง สูติบัตรหรือมรณบัตร ให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีชื่อในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลาง
แล้วแต่กรณี
หากปรากฏว่าสูติบัตรหรือมรณบัตรที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นออกโดยสำนักทะเบียนอื่น
ให้นายทะเบียนแจ้งให้สำนักทะเบียนดังกล่าวทราบเพื่อจะได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
ข้อ
๑๑๗ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนคนเกิดหรือทะเบียนคนตายให้ยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ที่กำหนดต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่จัดทำทะเบียนคนเกิดหรือทะเบียนคนตาย
แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๑๘ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ซึ่งนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้ลงรายการไว้ผิดพลาด
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นผู้ลงรายการผิดพลาดสามารถดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมได้
ยกเว้นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการตามข้อ ๗๖
ข้อ
๑๑๙ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนบ้านกลางให้จัดทำรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามระเบียบที่กำหนดในข้อ
๑๓๒ (๔)
ข้อ
๑๒๐ เมื่อมีผู้มายื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง
ๆ ในทะเบียนบ้านขอคัดสำเนาทะเบียนบ้าน ขอแจ้งการย้ายที่อยู่ หรือกรณีอื่นใดก็ตาม
หากนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นตรวจพบว่ามีบุคคลในทะเบียนบ้านที่มีอายุครบ
๑๕ ปีบริบูรณ์
ให้แก้ไขรายการคำนำหน้านามในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
จากเด็กชายหรือเด็กหญิง เป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณี ได้
โดยไม่ต้องรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๑ รายการต่าง ๆ
ที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากนายทะเบียนลงรายการในแบบพิมพ์เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรไว้แล้ว
หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่ จะเป็นเพราะเขียนผิดหรือผิดพลาดเพราะเหตุอื่นใดก็ตาม
จะลบ ขูด หรือทำด้วยประการใด ๆ ให้เลือนหายไปไม่ได้ แต่ให้ใช้วิธีขีดฆ่าคำหรือข้อความเดิมแล้วเขียนคำหรือข้อความที่ถูกต้องแทนด้วยหมึกสีแดง
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนและวันเดือนปีกำกับไว้
ข้อ
๑๒๒ กรณีที่สำนักทะเบียนกลางได้ตรวจพบว่ารายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนผิดพลาดและได้แจ้งให้สำนักทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการแก้ไขแล้วไม่ต้องจัดทำรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๓ กรณีที่สำนักทะเบียนตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่ารายการในทะเบียนบ้านไม่ถูกต้อง
เนื่องจากไม่ตรงกับหลักฐานข้อเท็จจริงตามกฎหมาย ให้นายทะเบียนแก้ไขให้ถูกต้องแล้วรายงานตามข้อ
๑๓๒ (๔)
ตอนที่ ๔
การขอตรวจ
คัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๒๔ ผู้มีส่วนได้เสียจะขอตรวจ
หรือให้นายทะเบียนคัดและรับรองสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎรได้ที่สำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่เก็บรายการทะเบียนราษฎรไว้หรือที่สำนักทะเบียนกลางในวันเวลาราชการ
ข้อ
๑๒๕ ผู้มีส่วนได้เสียตามระเบียบนี้หมายถึง
(๑) เจ้าบ้าน
(๒) ผู้มีชื่อและรายการปรากฏในเอกสารที่จะขอตรวจ หรือคัดและรับรองสำเนา
(๓)
บุคคลหรือนิติบุคคลใดที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเอกสารทะเบียนราษฎรไม่ว่าโดยตรงหรือทางอ้อม
ข้อ
๑๒๖ บุคคลหรือนิติบุคคลตามข้อ ๑๒๕
(๓)
ให้นายทะเบียนเรียกตรวจสอบหลักฐานจากผู้ร้องและพิจารณาความเป็นผู้มีส่วนได้เสียแล้วจึงดำเนินการให้ต่อไป
หากผู้ร้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยทางอ้อม
ให้สอบสวนบันทึกปากคำเพื่อยืนยันความเป็นผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็นหลักฐานด้วยเพื่อให้เกิดความรับผิดทางอาญาถ้าเป็นผู้ไม่มีส่วนได้เสีย
ข้อ
๑๒๗ การดำเนินการตามข้อ ๑๒๔
ให้ดำเนินการได้เฉพาะรายการที่ปรากฏในเอกสารจากต้นฉบับหรือหลักฐานของสำนักทะเบียนเท่านั้น
เว้นแต่ที่สำนักทะเบียนกลางให้เป็นไปตามหลักฐานที่ได้จัดเก็บไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือจากหลักฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรที่จัดสร้างไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ตอนที่ ๕
การส่งและการรายงาน
ข้อ
๑๒๘ การส่งเอกสารการทะเบียนราษฎรที่กำหนดให้ส่ง
ให้สำนักทะเบียนอำเภอสำนักทะเบียนท้องถิ่น รวบรวมส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัด
และให้สำนักทะเบียนจังหวัด รวบรวมส่งให้สำนักทะเบียนกลางต่อไป
เว้นแต่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานครให้จัดส่งโดยตรงไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ข้อ
๑๒๙ ระยะเวลาการจัดส่ง
(๑) สำนักทะเบียนจังหวัด ให้รวบรวมจัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลางทุก ๑ เดือน
โดยให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดก่อนถึงกำหนดส่งสำนักทะเบียนกลาง
๓ วัน
(๒)
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานครให้จัดส่งไปยังสำนักทะเบียนกลางทุกวันศุกร์
เว้นแต่ถ้าตรงกับวันหยุดราชการให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการ
ข้อ
๑๓๐ ช่วงระยะเวลาในการกำหนดส่งของสำนักทะเบียนจังหวัดที่ต้องจัดส่งให้ถึงสำนักทะเบียนกลาง
ให้ถือปฏิบัติตามรหัสของสำนักทะเบียนดังนี้
(๑) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๑ ให้ส่งถึงในวันที่ ๑ ของเดือน
(๒) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๒ ให้ส่งถึงในวันที่ ๒ ของเดือน
(๓) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๓ ให้ส่งถึงในวันที่ ๓ ของเดือน
(๔) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๔ ให้ส่งถึงในวันที่ ๔ ของเดือน
(๕) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๕ ให้ส่งถึงในวันที่ ๕ ของเดือน
(๖) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๖ ให้ส่งถึงในวันที่ ๖ ของเดือน
(๗) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๗ ให้ส่งถึงในวันที่ ๗ ของเดือน
(๘) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๘ ให้ส่งถึงในวันที่ ๘ ของเดือน
(๙) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๙ ให้ส่งถึงในวันที่ ๙ ของเดือน
ในกรณีที่วันกำหนดส่งเป็นวันหยุดราชการ
ให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการ
ข้อ
๑๓๑ วิธีการจัดส่ง
ให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) บรรจุแบบพิมพ์และแบบรายงานที่จะต้องส่งในซองเอกสารตามรูปแบบที่กำหนด
โดยให้แยกแบบพิมพ์และแบบรายงานเป็นแต่ละประเภท
(๒) นับจำนวนเอกสารในแต่ละซองและลงรายการหน้าซองบรรจุเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วน
(๓) รวบรวมซองเอกสารทั้งหมดส่งสำนักทะเบียนจังหวัด
(๔) สำนักทะเบียนจังหวัดตรวจสอบจำนวนซองเอกสาร
บัญชีนำส่งและหนังสือนำส่งของสำนักทะเบียนและลงชื่อรับไว้ในหนังสือนำส่งทั้งสองตอนแล้วมอบตอนที่
๑ คืนให้สำนักทะเบียนส่วนตอนที่ ๒ เก็บไว้เป็นหลักฐานของสำนักทะเบียนจังหวัด
สำหรับสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตกรุงเทพมหานครให้ดำเนินการตาม
(๑) - (๒) แล้วรวบรวมจัดส่งสำนักทะเบียนกลางต่อไป
ข้อ
๑๓๒ แบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นต้องส่งเมื่อได้ดำเนินการในแต่ละกรณีไปแล้ว
มีดังนี้
(๑) แบบพิมพ์สูติบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๒) แบบพิมพ์มรณบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๓) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ กรณีรับแจ้งการย้ายเข้า
แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ กรณีรับแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทาง
แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ กรณีรับแจ้งการย้ายออก
(๔) แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ ในทะเบียนบ้าน ตามแบบ ท.ร.๙๗
ก. ตอนที่ ๑
(๕) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) ตามแบบ ท.ร.๙๘ ก.
ตอนที่ ๑
(๖) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓) ตามแบบ ท.ร.๙๘ ข.
ตอนที่ ๑
(๗) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) ตามแบบ ท.ร.๙๘ ค.
ตอนที่ ๑
(๘) แบบรายงานให้เลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร.๙๙ ก.
(๙) แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านตามแบบ ท.ร.๙๙/๑
ข้อ
๑๓๓ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่สำนักทะเบียนกลางจะจัดส่งคืนสำนักทะเบียนจังหวัด
เพื่อมอบให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตในกรุงเทพมหานคร เมื่อได้ดำเนินการเสร็จสิ้น มีดังนี้
(๑) แบบพิมพ์สูติบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๒) แบบพิมพ์มรณบัตร ตอนที่ ๒ ทุกประเภท
(๓) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน แล้วแต่กรณี
ส่วนที่ ๕
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
แบบพิมพ์
ข้อ
๑๓๔ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรให้ใช้แบบพิมพ์ต่าง
ๆ ท้ายระเบียบนี้ ดังนี้
(๑) ท.ร.๑ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและแจ้งการเกิดภายในกำหนด
(๒) ท.ร.๑/๑ เป็นหนังสือรับรองการเกิด
ใช้สำหรับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
(๓) ท.ร.๑ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการเกิด
(๔) ท.ร.๒ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและแจ้งการเกิดเกินกำหนด
(๕) ท.ร.๓ เป็นสูติบัตร
ใช้สำหรับคนที่ไม่มีสัญชาติไทย
(๖) ท.ร.๔ เป็นมรณบัตร
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
(๗) ท.ร.๔/๑ เป็นหนังสือรับรองการตาย
ใช้สำหรับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มี ผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
(๘) ท.ร.๔ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการตาย
(๙) ท.ร.๕ เป็นมรณบัตร
ใช้สำหรับคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๑๐) ท.ร.๖ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ใช้สำหรับคนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๑๑) ท.ร.๖ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่
(๑๒) ท.ร.๗ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่ใช้สำหรับคนที่มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓)
(๑๓) ท.ร.๘ เป็นบันทึกการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
(๑๔) ท.ร.๘/๑ เป็นแบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของอำเภอ/ท้องถิ่น)
(๑๕) ท.ร.๘/๒ เป็นแบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของจังหวัด)
(๑๖) ท.ร.๙ เป็นใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
(๑๗) ท.ร.๑๓ เป็นทะเบียนบ้าน
ใช้สำหรับคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๑๘) ท.ร.๑๔ เป็นทะเบียนบ้าน
ใช้สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
(๑๙) ท.ร.๑๔/๑ เป็นแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(๒๐) ท.ร.๓๑ เป็นคำร้องทั่วไป
(๒๑) ท.ร.๙๗ ก. เป็นคำร้องใช้สำหรับแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง
ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลและบ้านในทะเบียนบ้าน
(๒๒) ท.ร.๙๘ ก. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๒๓) ท.ร.๙๘ ข. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลต่างด้าวที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
(๒๔) ท.ร.๙๘ ค. เป็นแบบการให้เลขประจำตัวประชาชน
ใช้สำหรับบุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือได้รับสัญชาติไทย
(๒๕) ท.ร.๙๙ ก. เป็นแบบการให้เลขรหัสประจำบ้าน
ใช้สำหรับบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือไม่เคยให้เลขรหัสมาก่อน
(๒๖) ท.ร.๙๙/๑ เป็นแบบรายงาน
ใช้สำหรับกรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านเป็นจำนวนมากกว่า
๑ หลังในคราวเดียวกัน
ข้อ
๑๓๕ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทั้งที่ใช้หรือยังไม่ได้ใช้ปฏิบัติ
เกิดการชำรุดเสียหายจนไม่อาจใช้ปฏิบัติได้
ให้นายทะเบียนยกเลิกใช้แบบพิมพ์ดังกล่าวโดยดำเนินการ ดังนี้
(๑) ให้ทำเครื่องหมายกากบาทและระบุคำว่า ยกเลิก พร้อมสาเหตุการยกเลิกด้วยหมึกสีแดงไว้
(๒) จัดเก็บไว้ในแฟ้มต่างหาก
สำหรับแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่เป็นแบบในการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนเมื่อสำนักทะเบียนยกเลิกแล้ว
ให้รายงานให้สำนักทะเบียนกลางทราบ
โดยระบุชนิดของแบบพิมพ์และเลขประจำตัวประชาชนในแบบพิมพ์ดังกล่าว
พร้อมสำเนาการรายงานให้สำนักทะเบียนจังหวัดทราบด้วย
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทุกประเภท
เมื่อสำนักทะเบียนได้ใช้หรือออกให้ผู้แจ้งผิดประเภท
ให้ยกเลิกและออกใหม่ให้ถูกต้องตามชนิดแบบพิมพ์ และดำเนินการเช่นเดียวกับ (๑) - (๒)
ข้อ
๑๓๖ หลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
หรือนายทะเบียนจัดทำขึ้นตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎรก่อนพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ให้คงใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงหรือแสดงเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้
ตอนที่ ๒
การจัดเก็บแบบพิมพ์
ข้อ
๑๓๗ วิธีเก็บทะเบียนบ้าน
ให้ปฏิบัติดังนี้
สำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบลหรือแขวง
(๒) แต่ละตำบลหรือแขวง แยกออกเป็นถนน ตรอก ซอย และจัดลำดับ ถนน ตรอก
ซอยตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอยนั้น ๆ ในกรณีชื่อถนน ตรอก ซอย
เหมือนกัน แต่มีหมายเลขกำกับให้เรียงตามหมายเลขที่กำกับ
(๓) ภายในส่วนของถนน ตรอก ซอย ให้เรียงตามลำดับบ้านเลขที่
(๔) การแยกระหว่างตำบลหรือแขวง ถนน ตรอก ซอย
ให้ใช้แผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงประมาณครึ่งนิ้ว
และเขียนชื่อถนน ตรอก ซอย ไว้ในส่วนที่สูงกว่านั้น
(๕)
ให้มีแผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงกว่าประมาณครึ่งนิ้ว
ยาวหนึ่งในห้าส่วนของความยาวของแผ่นคั่นไว้ระหว่างบ้านเลขที่ทุก ๆ ๑๐๐ เลขหมาย
เช่น ๑ - ๑๐๐, ๑๐๑ - ๒๐๐, ๒๐๑ - ๓๐๐
เป็นต้น
สำนักทะเบียนอำเภอ
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบล หมู่บ้าน
(๒) ในหมู่บ้านหนึ่ง ๆ ให้เรียงลำดับบ้านเลขที่
ถ้าในหมู่บ้านให้บ้านเลขที่เป็นถนน ตรอกซอย ให้แยกภายในหมู่บ้านนั้นออกเป็น ถนน
ตรอก ซอย ตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอยนั้น ๆ
(๓) การแยกระหว่างตำบล หมู่บ้าน ถนน ตรอก ซอย และกลุ่มบ้านเลขที่
ให้ถือปฏิบัติอย่างเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่น โดยอนุโลม
ข้อ
๑๓๘ ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
และทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ให้จัดเก็บรวมกันโดยพิจารณาจากรายการที่อยู่ของบ้าน
ข้อ
๑๓๙ เมื่อนำทะเบียนบ้านออกไปจากที่เพื่อการใดก็ตาม
จะต้องเก็บเข้าที่เดิมทันทีเมื่อเสร็จสิ้น จะนำไปเก็บหรือวางไว้ที่อื่นไม่ได้
ข้อ
๑๔๐ การเก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒
ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทสูติบัตรเป็น ท.ร. ๑ หรือ ท.ร. ๒ หรือ ท.ร. ๓ แล้วแต่กรณี
(๒) สูติบัตรของแต่ละประเภทให้จัดเก็บในแฟ้ม
(๓) ในแฟ้มหนึ่ง ๆ ให้บรรจุสูติบัตรเป็นเล่ม ๆ
จนเต็มขนาดบรรจุของแฟ้มโดยให้บรรจุสูติบัตรตามลำดับเลขประจำตัวประชาชนที่ปรากฏอยู่บนมุมบนขวามือของสูติบัตรแต่ละใบ
(๔) แฟ้มที่จัดเก็บสูติบัตรจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ของปี
เลขประจำตัวเลขที่
ถึงเลขประจำตัวเลขที่
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
ข้อ
๑๔๑ การเก็บมรณบัตร ตอนที่ ๒
ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทมรณบัตรเป็น ท.ร. ๔ หรือ ท.ร. ๕ แล้วแต่กรณี
(๒) มรณบัตรของแต่ละประเภทให้จัดในแฟ้ม
(๓) ในแฟ้มหนึ่ง ๆ ให้บรรจุมรณบัตรรวมกันทุกตำบล
โดยให้บรรจุเรียงตามลำดับวันเดือนปีที่ออกมรณบัตร
(๔) แฟ้มที่จัดเก็บมรณบัตรจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ออกให้ตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
ข้อ
๑๔๒ การเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้แยกประเภทใบแจ้งการย้ายที่อยู่เป็นประเภทและให้แยกจัดเก็บเป็นแต่ละตอน ดังนี้
(๑) ให้จัดเก็บในแฟ้มโดยบรรจุเรียงตามลำดับวันเดือนปีที่ย้ายเข้าในกรณีรับแจ้งการย้ายเข้าหรือตามลำดับวันเดือนปีที่ย้ายออกในกรณีรับแจ้งการย้ายออก
(๒) แฟ้มที่จัดเก็บจนเต็มแล้ว ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่
ย้ายเข้าตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
หรือ แฟ้มที่
ย้ายออกตั้งแต่วันที่
เดือน
ปี
ถึงวันที่
เดือน
ปี
แล้วแต่กรณี
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
(๓) ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ตอบรับการรับแจ้งการย้ายเข้าให้ดำเนินการจัดเก็บเช่นเดียวกับ (๑) - (๒)
ข้อ
๑๔๓ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ซึ่งเป็นการแจ้งการย้ายเข้าหรือแจ้งการย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลางหรือการแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางหรือใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้แยกเก็บต่างหากจากการย้ายที่อยู่ตามข้อ
๑๔๒
ข้อ
๑๔๔ การจัดเก็บแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรอื่น
ให้จัดเก็บให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและสะดวกต่อการค้นหา
ส่วนที่ ๖
สำนักทะเบียนและนายทะเบียน
ตอนที่ ๑
สำนักทะเบียนสาขา
สำนักทะเบียนเฉพาะกิจ
ข้อ
๑๔๕ ท้องที่ใดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้จัดตั้งให้เป็นสำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจแล้ว
ให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบนี้กำหนดในส่วนนั้น ๆ
ข้อ
๑๔๖ สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจให้กำหนดรหัสประจำสำนักทะเบียนตามที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๔๗ ให้สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจจัดส่งเอกสารและแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่ต้องรายงานให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจอยู่ในเขตความรับผิดชอบตามกำหนดเวลา
เพื่อจะได้รวบรวมรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลางตามระเบียบที่กำหนดไว้ต่อไป
ข้อ
๑๔๘ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรทุกประเภทให้สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจเบิกจากสำนักทะเบียนจังหวัดแห่งท้องที่
ตอนที่ ๒
นายทะเบียนสาขา
นายทะเบียนเฉพาะกิจ
ข้อ
๑๔๙ นายทะเบียนสาขาและนายทะเบียนเฉพาะกิจ
ให้มีอำนาจหน้าที่ตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๕๐ การระบุตำแหน่งให้ระบุว่า นายทะเบียนสาขา
(ระบุชื่อสาขา) อำเภอ (เทศบาลหรือเขต)
หรือ นายทะเบียนเฉพาะกิจ (ระบุชื่อที่ดำเนินการ) อำเภอ (เทศบาลหรือเขต)
แล้วแต่กรณี
ส่วนที่ ๗
การจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนกลาง
ตอนที่ ๑
บททั่วไป
ข้อ
๑๕๑ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามเอกสารการรายงานของสำนักทะเบียนที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ข้อ
๑๕๒ วิธีการจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
(๑) เลขประจำตัวประชาชน มี ๑๓ หลัก แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน
ส่วนที่
๑ มี ๑ หลัก หมายถึง ประเภทบุคคลซึ่งมี ๘ ประเภท
ส่วนที่
๒ มี ๔ หลัก หมายถึง สำนักทะเบียนที่ออกเลขประจำตัวให้กับประชาชน
ส่วนที่
๓ และส่วนที่ ๔ รวมกันมี ๗ หลัก หมายถึง
ลำดับที่ของบุคคลในแต่ละประเภทของแต่ละสำนักทะเบียน
ส่วนที่
๕ มี ๑ หลัก หมายถึงเลขตรวจสอบความถูกต้องของเลขประจำตัวประชาชนทั้งหมด
(๒) ประเภทของบุคคลที่อยู่ในระบบทะเบียนราษฎร แบ่งออกเป็น ๘ ประเภท
ประเภทที่
๑ ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งการเกิดภายในกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด
ประเภทที่
๒ ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งการเกิดเกินกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด
ประเภทที่
๓ ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวซึ่งมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านก่อนวันที่
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๒๗
ประเภทที่
๔ ได้แก่
คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและได้มีการย้ายเข้าในทะเบียนบ้านขณะยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน
(ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๒๗)
ประเภทที่
๕ ได้แก่
คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
ประเภทที่
๖ ได้แก่
คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายในลักษณะชั่วคราวและคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ประเภทที่
๗ ได้แก่ บุตรของบุคคลประเภทที่ ๖ ซึ่งเกิดในประเทศไทย
ประเภทที่
๘ ได้แก่
บุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือบุคคลที่ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมาย
ตอนที่ ๒
ทะเบียนบ้าน
ข้อ
๑๕๓ การจัดทำทะเบียนบ้าน
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่อยู่ของบ้านของสำนักทะเบียนกลาง
ให้จัดทำจากแบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติมหรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้านหรือทะเบียนบ้าน ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ที่ตกหล่น
ข้อ
๑๕๔ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดพิมพ์ทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แจกจ่ายให้สำนักทะเบียนตามแผนที่กำหนดจนครบทุกสำนักทะเบียน
ตอนที่ ๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๑๕๕ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนคนเกิดจากสูติบัตร
ตอนที่ ๒
ข้อ
๑๕๖ สูติบัตร ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนเกิด
ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๕๗ สูติบัตร ตอนที่ ๒
เมื่อได้จัดทำทะเบียนคนเกิดแล้ว
ให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกสูติบัตรเพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ
๑๕๘ ให้สำนักทะเบียนกลางจัดทำทะเบียนคนตายจากมรณบัตร
ตอนที่ ๒
ข้อ
๑๕๙ มรณบัตร ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนตาย
ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๖๐ มรณบัตร ตอนที่ ๒
เมื่อได้จัดทำทะเบียนคนตายแล้ว ให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกมรณบัตรเพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ
๑๖๑ เมื่อมีการแจ้งการย้ายออกหรือแจ้งการย้ายเข้าในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วให้สำนักทะเบียนกลางปรับปรุงทะเบียนบ้านให้ตรงกันกับของสำนักทะเบียนตามหลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ข้อ
๑๖๒ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้ดำเนินการถ่ายภาพไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มหรือระบบภาพถ่ายคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง
ตรวจสอบและคัดรับรองสำเนา
ข้อ
๑๖๓ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เมื่อได้ดำเนินการแล้วให้ส่งคืนสำนักทะเบียนที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เพื่อจัดเก็บตามระเบียบต่อไป
ตอนที่ ๖
การเพิ่มชื่อและการจำหน่ายชื่อ
ข้อ
๑๖๔ ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนกลางตามแบบรายงานการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อที่สำนักทะเบียนจัดส่งมา
แล้วแต่กรณี
ข้อ
๑๖๕ แบบรายงานการเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อเมื่อดำเนินการแล้ว
ให้สำนักทะเบียนกลางทำลายตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนด
ตอนที่ ๗
การปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
ข้อ
๑๖๖ ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการปรับปรุงรายการในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเป็นปัจจุบันตามหลักฐานที่สำนักทะเบียนจัดส่งมา
หรือตามหลักฐานรายการทะเบียนที่พิมพ์จากคอมพิวเตอร์และได้มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว
ข้อ
๑๖๗ หลักฐานการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเมื่อดำเนินการแล้วให้สำนักทะเบียนกลางทำลายตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนด
ตอนที่ ๘
การส่งและการรายงาน
ข้อ
๑๖๘ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงานที่สำนักทะเบียนกลางส่งคืนให้สำนักทะเบียนตรวจสอบความถูกต้อง
แล้วยืนยันหรือแก้ไขให้ถูกต้องพร้อมทั้งส่งคืนให้สำนักทะเบียนกลางภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับเอกสาร
ข้อ
๑๖๙ การยืนยันหรือแก้ไขความถูกต้องในแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงานตามข้อ
๑๖๘ ให้สำนักทะเบียนดำเนินการตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๗๐ กรณีที่สำนักทะเบียนกลางตรวจสอบและพบความผิดพลาดของรายการบุคคลและรายการบ้านที่สำนักทะเบียนจัดส่งรายงาน
ให้แจ้งสำนักทะเบียนดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามวิธีการที่สำนักทะเบียนกลางกำหนด
ส่วนที่ ๘
การเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๑๗๑ ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบ ในเขตสำนักทะเบียนอำเภอ หมายถึง
นายทะเบียนอำเภอในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น หมายถึง นายทะเบียนท้องถิ่น
ข้อ
๑๗๒ เมื่อปรากฏว่าผู้ใดกระทำผิดกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ให้มีผู้มีอำนาจเปรียบเทียบทำการเปรียบเทียบโดยมิชักช้า
ข้อ
๑๗๓ ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบบันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหาโดยย่อ
ถ้าผู้ต้องหายินยอมให้เปรียบเทียบก็ให้ทำการเปรียบเทียบได้
แต่ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้แจ้งให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดีต่อไป
คำให้การของผู้กล่าวหา
ผู้ต้องหา และบันทึกการเปรียบเทียบ
ให้บันทึกลงในสมุดบันทึกการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ตามแนบท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๗๔ ในการเปรียบเทียบ
ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดเงินค่าปรับที่ผู้ต้องหาจะต้องพึงชำระโดยคำนึงถึงลักษณะความหนักเบาและพฤติการณ์แห่งความผิดตลอดจนฐานะความเป็นอยู่ของผู้ต้องหา
ข้อ
๑๗๕ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับแล้ว
ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้ผู้ต้องหารับไป
ข้อ
๑๗๖ การรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
ให้สำนักทะเบียนรายงานไปยังสำนักทะเบียนกลาง
ตามแบบท้ายระเบียบนี้ทุกเดือนในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป
ข้อ
๑๗๗ การรับเงิน เก็บรักษาเงิน
ส่งและถอนเงินค่าเปรียบเทียบ สำหรับกรณีนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบ
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการฝากเงิน การเบิกจ่ายเงิน
การรักษาเงิน และการตรวจเงินของเทศบาล
สำหรับกรณีนายทะเบียนอำเภอเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบ
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบการรับจ่าย
การเก็บรักษาและการนำส่งเงินในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอของกระทรวงการคลัง
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
ชูวงศ์ ฉายะบุตร
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
สูติบัตร (ท.ร.๑ ตอน ๑)
๒.
หนังสือรับรองการเกิด (ท.ร.1/1 ตอนที่ 1)
๓.
ใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร.๑ ตอนหน้า)
๔.
สูติบัตร แจ้งการเกิดเกินกำหนด (ท.ร.๒ ตอน ๑)
๕.
สูติบัตร บุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร.๓ ตอน ๑)
๖.
มรณบัตร (ท.ร.๔ ตอน ๑)
๗.
หนังสือรับรองการตาย (ท.ร.4/1 ตอนที่ 1)
๘.
ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร.๔ ตอนหน้า)
๙.
มรณบัตร (ท.ร.๕ ตอน ๑)
๑๐.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.๖ ตอน ๑)
๑๑.
ใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.๖ ตอนหน้า)
๑๒.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.๗ ตอน ๑)
๑๓.
บันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหา
๑๔.
บันทึกการเปรียบเทียบ
๑๕.
แบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของอำเภอ/เทศบาล) (ท.ร.๘/๑)
๑๖.
แบบรายงานผลคดีเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(แบบรายงานของจังหวัด) (ท.ร.๘/๒)
๑๗.
ใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.๙)
๑๘.
ทะเบียนบ้าน ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร.13)
๑๙.
ทะเบียนบ้าน (ท.ร.14)
๒๐.
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง (ท.ร.14/1)
๒๑.
คำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร (ท.ร.๓๑)
๒๒.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ
หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลและบ้านในทะเบียนบ้าน (ท.ร.97 ก ตอนที่ 1)
๒๓.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๕ สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) (ท.ร.๙๘ ก.ตอน ๑)
๒๔.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๖ สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓) (บุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว) (ท.ร.๙๘
ข.ตอน ๑)
๒๕.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท ๘ สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(กรณีบุคคลต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหรือได้รับสัญชาติไทย)
(ท.ร.๙๘ ค.ตอน ๑)
๒๖.
แบบการให้เลขรหัสประจำบ้าน สำหรับบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่ หรือไม่เคยให้เลขรหัสมาก่อน
(ท.ร.๙๙ ก ตอน ๑)
๒๗.
แบบรายงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม รายการที่อยู่เกี่ยวกับบ้านในกรณีที่มีการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม เป็นจำนวนมาก (ท.ร.99/1)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓ ธันวาคม ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑/๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
590689 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย พ.ศ. 2551
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยที่กระทรวงมหาดไทยได้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดให้คนต่างด้าวปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๔๘
และได้ออกกฎกระทรวงกำหนดให้คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรและกำหนดอัตราค่าธรรมเนียม
พ.ศ. ๒๕๕๑ ขึ้นใช้บังคับแทน
ทำให้ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
พ.ศ. ๒๕๔๗ และระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๔๗ ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับกฎกระทรวงที่ได้ปรับปรุงใหม่
สมควรปรับปรุงระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎกระทรวงดังกล่าว
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๒ และมาตรา ๑๙/๒ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๑
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และ มาตรา ๕๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ
๒[๑]
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิก
(๑)
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย พ.ศ.
๒๕๔๗
(๒)
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๔๗
ข้อ
๔ ในระเบียบนี้
คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย หมายถึง
(๑)
คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและมีใบสำคัญถิ่นที่อยู่หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว
แล้วแต่กรณี
และบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิดตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
(๒)
คนต่างด้าวซึ่งได้รับการผ่อนผันให้พักอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
และบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราชอาณาจักรและไม่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิดตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
บัตร หมายความว่า
บัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
ผู้ถือบัตร หมายความว่า ผู้มีชื่อเป็นเจ้าของบัตร
ข้อ
๕ คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่มีอายุตั้งแต่ห้าปีบริบูรณ์แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
และมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔ หรือ ท.ร.๑๓)
หรือทะเบียนประวัติที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นจัดทำขึ้นตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
ต้องมีบัตรตามระเบียบนี้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่มีอายุครบห้าปีบริบูรณ์
หรือวันที่นายทะเบียนเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔ หรือ ท.ร.๑๓)
ผู้ถือบัตรที่บัตรเดิมหมดอายุ
บัตรหายหรือถูกทำลาย หรือบัตรชำรุด
ต้องมีบัตรใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่บัตรหมดอายุ บัตรหายหรือถูกทำลาย
หรือบัตรชำรุด แล้วแต่กรณี
ผู้ถือบัตรที่แก้ไขรายการชื่อตัว
ชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล หรือวันเดือนปีเกิดในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔ หรือ
ท.ร.๑๓)
ต้องเปลี่ยนบัตรภายในหกสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนได้แก้ไขรายการดังกล่าวในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๖ การขอมีบัตร ขอมีบัตรใหม่ และขอเปลี่ยนบัตรตามข้อ
๕ ให้คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยยื่นคำขอต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ณ
สำนักทะเบียนที่มีระบบการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในท้องที่อำเภอหรือท้องถิ่นที่ผู้นั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนประวัติ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจกำหนดให้สำนักทะเบียนอื่นนอกเหนือจากสำนักทะเบียนตามวรรคหนึ่งจัดทำบัตรให้กับคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยก็ได้
ข้อ
๗ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับคำขอมีบัตรของคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้ขอมีบัตร ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔
หรือ ท.ร.๑๓) หรือสำเนาทะเบียนประวัติ เช่น ท.ร.๓๘/๑ หรือ ท.ร.๓๘ ข เป็นต้น
บัตรเดิม (กรณีบัตรหมดอายุบัตรชำรุด และขอเปลี่ยนบัตร) และเอกสารราชการอื่น
(ถ้ามี) เช่น ใบสำคัญถิ่นที่อยู่ ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หนังสืออนุญาตให้เดินทางออกนอกเขตพื้นที่
เป็นต้น
(๒) ตรวจสอบรายการบุคคลจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
รวมถึงภาพใบหน้าจากรายการประวัติการจัดทำบัตรเดิมในระบบคอมพิวเตอร์
(๓)
กรณีมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับรายการบุคคลของผู้ขอมีบัตรให้สอบสวนเจ้าบ้านหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือ
(๔) เมื่อปรากฏว่าผู้ขอมีบัตรเป็นบุคคลเดียวกับผู้มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนประวัติ
ให้พิมพ์ลายนิ้วมือและถ่ายรูปผู้ขอมีบัตรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(๕)
ตรวจสอบรายการบุคคลและภาพใบหน้าในคำขอมีบัตรที่พิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเทียบกับหลักฐานที่มีอยู่อีกครั้ง
เมื่อเห็นว่ารายการถูกต้องให้ออกใบรับคำขอมีบัตรให้แก่ผู้ขอไว้เป็นหลักฐาน
(๖) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๗) เมื่อได้ดำเนินการออกบัตรเรียบร้อยแล้ว
ให้มอบบัตรให้แก่ผู้ขอมีบัตรโดยเรียกใบรับคำขอมีบัตรคืน
ข้อ
๘ การพิมพ์ลายนิ้วมือผู้ขอมีบัตรให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือขวาและซ้าย
ในกรณีที่ผู้ขอไม่มีนิ้วหัวแม่มือข้างหนึ่งให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือเฉพาะข้างที่เหลืออยู่เพียงนิ้วเดียว
ถ้าไม่มีนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างให้พิมพ์ลายนิ้วมือนิ้วใดนิ้วหนึ่งข้างละหนึ่งนิ้วเริ่มตั้งแต่นิ้วชี้
และหากไม่มีนิ้วมือเหลืออยู่เลยให้ยกเว้นการพิมพ์ลายนิ้วมือ ทั้งนี้
ให้บันทึกเหตุดังกล่าวไว้ในคำขอมีบัตรด้วย
ข้อ
๙ บัตรให้มีอายุใช้ได้สิบปีนับแต่วันออกบัตร
เว้นแต่บัตรที่ยังไม่หมดอายุในวันที่ผู้ถือบัตรมีอายุเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ให้ผู้ถือบัตรใช้บัตรนั้นต่อไปได้ตลอดชีวิต
กรณีผู้ถือบัตรพ้นจากสถานะการเป็นคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามระเบียบนี้
ให้บัตรนั้นหมดอายุในวันที่ผู้ถือบัตรพ้นจากสถานะดังกล่าว
ข้อ
๑๐ ผู้ถือบัตรผู้ใดพ้นจากสถานะการเป็นคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามระเบียบนี้
ให้หมดสิทธิใช้บัตรและต้องส่งบัตรคืนนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น ณ
สำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนประวัติภายในสิบวันนับแต่วันที่พ้นสถานะ
ข้อ
๑๑ แบบ ขนาด ลักษณะของบัตร สี
วัสดุตัวบัตร และวัสดุป้องกันการปลอมแปลงบัตร ให้เป็นไปตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด
ข้อ
๑๒ ให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางเป็นผู้ออกบัตรตามระเบียบนี้
ข้อ
๑๓ บัตรที่ได้จัดทำขึ้นตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย พ.ศ. ๒๕๔๗
และระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๔๗ ก่อนวันที่ระเบียบฉบับนี้ใช้บังคับ ให้คงใช้ได้ต่อไปจนกว่าบัตรจะหมดอายุ
หรือมีบัตรใหม่ หรือเปลี่ยนบัตรตามระเบียบนี้
ข้อ
๑๔ บรรดาประกาศสำนักทะเบียนกลางและหนังสือสั่งการแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยที่มีอยู่ก่อนวันที่ระเบียบฉบับนี้ใช้บังคับ
ให้คงใช้ได้ต่อไป เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๓
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
วิชัย ศรีขวัญ
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๔ ง/หน้า ๒/๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
506690 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2549
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๙
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบเกี่ยวกับการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้อ ๒[๑]
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕/๖ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๕/๖ เมื่อนายอำเภอได้อนุมัติ หรืออนุญาตเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตามที่จะกล่าวต่อไปแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นบันทึกรหัสผ่านของนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
แล้วแต่กรณี เพื่อการเพิ่มชื่อ จำหน่ายชื่อ แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
ดังนี้
(๑)
การพิจารณาอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) กรณีการแจ้งเกิดเกินกำหนดของคนมีสัญชาติไทย
และการพิจารณาเห็นชอบการแจ้งเกิดเกินกำหนดเด็กมีอายุต่ำกว่า ๗ ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นคำร้อง
กรณีมีเหตุอันสมควรสงสัยเรื่องสัญชาติของเด็กที่จะแจ้งการเกิด
(๒)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อคนสัญชาติไทยที่ไม่มีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
(๓)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง
(๔)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อเด็กอนาถาซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบุคคล หน่วยงานเอกชน
หรือหน่วยงานของรัฐในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๕)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลที่ได้มีการลงรายการ ตาย หรือ
จำหน่าย ในทะเบียนบ้าน
ฉบับที่มีเลขประจำตัวประชาชนเพราะแจ้งผิดคนหรือสำคัญผิดในข้อเท็จจริงในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
(๖)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อบุคคลที่ถูกจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน เนื่องจากมีชื่อและรายการในทะเบียนบ้านโดยมิชอบหรือโดยทุจริต
หรือเป็นคนสาบสูญตามคำสั่งศาลในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
(๗)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔) สำหรับคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
และเคยมีชื่อในทะเบียนบ้าน
(๘)
การอนุมัติให้เพิ่มชื่อคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรไทย โดยได้รับการผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษ
หรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมือง รวมทั้งผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยซึ่งไม่ได้สัญชาติไทย
ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
(๙)
การอนุมัติให้จำหน่ายชื่อบุคคลและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ซึ่งมีชื่อและรายการในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน
(๑๐)
การอนุญาตให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงรายการเกี่ยวกับสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร
จากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติเป็นสัญชาติไทย เนื่องจากการได้สัญชาติไทยหรือการคัดลอกรายการผิดพลาดหรือลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑
เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙
ชาญชัย สุนทรมัฏฐ์
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
นันทนา/ผู้จัดทำ
๗ กันยายน ๒๕๔๙
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๑๗/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙ |
506688 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2547
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางออกระเบียบ
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม
๒๕๔๗ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๕/๑ ข้อ
๕/๒ ข้อ ๕/๓ ข้อ ๕/๔ และข้อ ๕/๕ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๕/๑ การออกหลักฐานการรับแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ หรือการคัดและรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสิบห้านาทีนับแต่เวลาที่ได้รับคำร้อง หากไม่อาจดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่อาจดำเนินการได้
ข้อ
๕/๒ การกำหนดรหัสประจำตัวและรหัสผ่านของนายทะเบียนและผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์และปิดรูปถ่ายตามแบบ บท.1
(๒)
เมื่อนายทะเบียนอนุมัติแล้ว ให้สำนักทะเบียนกำหนดรหัสประจำตัวเป็นเลข ๙ หลัก
หลักที่ ๑, ๒, ๓, ๔ เป็นเลขรหัสประจำสำนักทะเบียน
หลักที่ ๕ เป็นเลขกลุ่มตำแหน่งของผู้ปฏิบัติงานและหลักที่ ๖,
๗, ๘, ๙ เป็นลำดับการกำหนดรหัสประจำตัวของสำนักทะเบียน
และให้จัดทำบัญชีคุมการกำหนดเลขรหัสประจำตัวไว้เป็นหลักฐาน
(๓)
ส่งแบบ บท.1 ไปยังศูนย์บริหารการทะเบียนภาคภายใน ๗ วัน เพื่อลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานและกำหนดรหัสผ่าน
(๔)
เมื่อได้รับรหัสผ่านแล้ว ให้เจ้าของรหัสผ่านเปลี่ยนแปลงรหัสผ่านด้วยระบบคอมพิวเตอร์อีกครั้งหนึ่ง
จึงจะใช้รหัสผ่านนั้นปฏิบัติงานได้
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางอาจกำหนดให้ใช้เลขประจำตัวประชาชนและลายพิมพ์นิ้วมือของนายทะเบียนหรือผู้ปฏิบัติงานเป็นรหัสประจำตัวตาม
(๒) และรหัสผ่านตาม (๓) ก็ได้
ในกรณีที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพ้นจากหน้าที่รับผิดชอบ
ให้นายทะเบียนแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทางโทรศัพท์หรือโทรสารเพื่อยกเลิกรหัสผ่านทันที
แล้วให้แจ้งยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๗ วัน
ข้อ
๕/๓ นายทะเบียนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรทุกคนต้องเก็บรักษารหัสผ่านของตนไว้เป็นความลับ
หากมีการปฏิบัติโดยมิชอบหรือความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นอันเนื่องจากการใช้รหัสผ่าน เจ้าของรหัสผ่านนั้นต้องรับผิดชอบในทุกกรณี
ในกรณีที่ลืมรหัสผ่าน
ให้เจ้าของรหัสผ่านมีหนังสือแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทราบเมื่อศูนย์บริหารการทะเบียนภาคกำหนดรหัสผ่านใหม่แล้ว
ให้เจ้าของรหัสผ่านนั้นเปลี่ยนแปลงรหัสผ่านด้วยตนเองอีกครั้งหนึ่ง จึงจะใช้รหัสผ่านนั้นปฏิบัติงานได้
การเปลี่ยนแปลงรหัสผ่าน
ให้เจ้าของรหัสผ่านเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง
ข้อ
๕/๔ ก่อนเริ่มปฏิบัติงานแต่ละวันในสำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่น เมื่อทำการเปิดระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
ให้เจ้าหน้าที่พิมพ์รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันของวันที่ผ่านมาเสนอให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายตรวจสอบรายละเอียดและความถูกต้องก่อนทุกครั้ง เมื่อตรวจสอบและเห็นว่าถูกต้อง
ให้ผู้ตรวจสอบลงชื่อพร้อมทั้งวันเดือนปี รับรองการตรวจสอบในรายงานดังกล่าว แล้วให้เก็บรวบรวมไว้สำหรับใช้ตรวจสอบและเป็นหลักฐานอ้างอิงต่อไป
การเก็บรักษารายงานดังกล่าวให้เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงานในแต่ละวัน
ให้เจ้าหน้าที่ทำการสำรองข้อมูลไว้โดยใช้เทปประจำวัน
ยกเว้นวันทำการสุดท้ายของสัปดาห์ให้สำรองข้อมูลทั้งหมดในรอบสัปดาห์ เมื่อได้ตรวจสอบการสำรองข้อมูลว่าเสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
จึงจะทำการปิดระบบคอมพิวเตอร์ได้
ให้ศูนย์บริหารการทะเบียนภาคเก็บรักษาข้อมูลการปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สำนักทะเบียนทุกแห่งในเขตรับผิดชอบได้ปฏิบัติตามระเบียบนี้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานและสามารถตรวจสอบได้
ข้อ
๕/๕ ให้มีชุดคำสั่งในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ดังนี้
(๑)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการเกิด (ท.ร.01, 02, 03) สำหรับการออกสูติบัตรและจัดทำทะเบียนคนเกิด
(๒)
ชุดคำสั่งบัตรทะเบียนคนเกิด (ท.ร.26) สำหรับการจัดทำบัตรทะเบียนคนเกิด
(๓)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการตาย (ท.ร.04, 05) สำหรับการออกมรณบัตรและการจัดทำทะเบียนคนตาย
(๔)
ชุดคำสั่งการรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.06, 07) สำหรับการออกหลักฐานการแจ้งการย้ายที่อยู่และการจัดเก็บประวัติการย้ายที่อยู่
(๕)
ชุดคำสั่งการเพิ่มรายการบุคคลหรือบ้านที่ตกหล่น (ท.ร.14) สำหรับการเพิ่มรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
กรณีที่บุคคลนั้นได้รับการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนไว้ในทะเบียนบ้านอยู่ก่อนแล้ว หรือการเพิ่มรายการบ้านที่ได้รับการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านอยู่ก่อนแล้ว
(๖)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคลหรือบ้าน (ท.ร.44) สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
จำหน่ายรายการบุคคลหรือบ้านโดยนายทะเบียน
(๗)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคล (ท.ร.97 ข) สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการบุคคลโดยมีผู้ยื่นคำร้อง
(๘)
ชุดคำสั่งการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.97 ค) สำหรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบ้านโดยมีผู้ยื่นคำร้อง
(๙)
ชุดคำสั่งการกำหนดเลขประจำตัวประชาชน (ท.ร.98) สำหรับการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
(๑๐)
ชุดคำสั่งการปลูกสร้างบ้านใหม่หรือบ้านที่ยังไม่มีทะเบียนบ้าน (ท.ร.99) สำหรับการกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
(๑๑)
ชุดคำสั่งการตรวจสอบและคัดรับรองรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร สำหรับการตรวจสอบและคัดรับรองรายการจากฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๑๒)
ชุดคำสั่งการแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร สำหรับการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
(๑๓)
ชุดคำสั่งอื่นที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางประกาศกำหนดเพิ่มเติม
ข้อ
๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่ของข้อ ๖ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมที่ตรวจแล้วมีรายการถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านฉบับของสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปีและให้ขออนุมัตินายทะเบียนจังหวัด
หรือนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี เพื่อทำลาย
ข้อ
๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๓/๑ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๑๓/๑ การคัดรายการเกี่ยวกับการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน การแจ้งการย้ายที่อยู่
การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน หรือการปฏิบัติงานอื่นใดเป็นการเฉพาะของนายทะเบียนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ใช้แบบพิมพ์ตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเกี่ยวกับการนั้น
ข้อ
๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๕/๑ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๑๕/๑ ในกรณีที่มีการจัดทำ การแก้ไข เปลี่ยนแปลง การจำหน่ายรายการเกี่ยวกับบุคคล
หรือบ้านในเอกสารการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ไม่ถูกต้อง โดยมีผู้ร้องหรือนายทะเบียนทราบเอง
ให้ถือปฏิบัติตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเกี่ยวกับการนั้น
ข้อ
๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๑๗/๑ แห่งระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๑๗/๑ หากเกิดปัญหา อุปสรรค หรือข้อขัดข้องใด ๆ ในการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะในส่วนของระบบงานตามระเบียบนี้
ให้บันทึกรายงานสาเหตุของปัญหาให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นทราบ และให้เป็นหน้าที่ของนายทะเบียนเป็นผู้แจ้งเหตุดังกล่าวให้ประชาชนทราบและแจ้งศูนย์บริหารการทะเบียนภาคทราบเพื่อปรับปรุงแก้ไขระบบงานนั้น
ข้อ
๘ ให้เพิ่มแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรท้ายระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ดังนี้
(๑)
บท.1 เป็นแบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(๒)
ท.ร.12/1 เป็นแบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรโดยระบบอัตโนมัติจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
ใช้สำหรับการรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรด้วยเครื่องบริการประชาชนอเนกประสงค์
(๓)
ท.ร.31 เป็นแบบคำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร ใช้สำหรับพิมพ์จากระบบคอมพิวเตอร์เฉพาะรายการที่ผู้ร้องประสงค์จะให้นายทะเบียนดำเนินการเท่านั้น
ประกาศ ณ วันที่ ๔ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๔๗
สุจริต ปัจฉิมนันท์
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แบบลงทะเบียนผู้ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (บท.1)
๒.
แบบรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร โดยระบบอัตโนมัติจากฐานข้อมูลการทะเบียนของสำนักทะเบียนกลาง
(ท.ร.12/1)
๓. แบบคำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร
(ท.ร.31)
นันทนา/ผู้จัดทำ
๗ กันยายน ๒๕๔๙
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๑๒/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙ |
506684 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๐[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลางวางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้
ดังนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม
๒๕๔๑ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ระเบียบนี้ให้ใช้เฉพาะกับสำนักทะเบียนต้นทางและปลายทางที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ได้ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘ แล้ว
ข้อ
๔ เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งตามแบบพิมพ์ใบแจ้งย้ายที่อยู่
เพื่อขอแจ้งการย้ายที่อยู่ปลายทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้ดำเนินการ ดังนี้
สำนักทะเบียนปลายทาง
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนฉบับเจ้าบ้าน พร้อมคำยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวของเจ้าบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่ใหม่จากผู้แจ้ง
(๒)
ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้งว่าเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลที่ย้ายที่อยู่หรือไม่
(๓)
เมื่อนายทะเบียนเห็นว่า ผู้แจ้งเป็นคนเดียวกับบุคคลที่ปรากฏชื่อและรายการบุคคลที่ย้ายที่อยู่แล้ว
ให้จำหน่ายรายการของผู้ย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนต้นทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(๔)
เพิ่มชื่อผู้ย้ายที่อยู่ลงในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนปลายทางด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พร้อมทั้งเพิ่มชื่อลงในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน แล้วคืนให้ผู้แจ้งต่อไป
(๕)
เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๖)
ให้สำนักทะเบียนปลายทางแจ้งสำนักทะเบียนต้นทางโดยทางระบบคอมพิวเตอร์
สำนักทะเบียนต้นทาง
เมื่อสำนักทะเบียนต้นทางได้รับทราบการจำหน่ายรายการของผู้ย้ายที่อยู่ออกจากทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้แจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายชื่อต่อไป
ข้อ
๕ ให้สำนักทะเบียนที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
สามารถตรวจสอบชื่อและรายการบุคคลจากฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
เพื่อการปฏิบัติตามระเบียบ ว่าด้วยการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน โดยไม่ต้องส่งเรื่องไปขอตรวจสอบยังสำนักทะเบียนกลางอีก
โดยให้นายทะเบียนจัดทำแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร. ๑๔/๒)
แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้เพื่อเป็นหลักฐานต่อไป
ประกาศ ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๔๐
ประมวล รุจนเสรี
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
นันทนา/ผู้จัดทำ
๗ กันยายน ๒๕๔๙
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๑๐/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙ |
506682 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2538
| ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๓๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๘ (๑) วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
วางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ
๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ในระเบียบนี้
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายความว่า ระบบการประมวลผลข้อมูลการทะเบียนราษฎรด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ
๔ สำนักทะเบียนใดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ประกาศให้ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ใช้ระเบียบนี้
ข้อ
๕ การจัดทำทะเบียนราษฎรในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ดำเนินการด้วยระบบคอมพิวเตอร์
๑.
การออกหลักฐานการแจ้ง
๒.
การจัดทำทะเบียนราษฎร
๓.
การควบคุมทะเบียนราษฎร
๔.
การสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร
ข้อ
๖ การจัดทำทะเบียนบ้านสำหรับสำนักทะเบียน ให้จัดทำไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์และให้จัดเก็บทะเบียนบ้านฉบับเดิมไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ให้นายทะเบียนจัดทำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับใหม่ให้แก่เจ้าบ้าน
พร้อมเรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิมคืน
เมื่อจัดทำสำเนาทะเบียนบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
ให้นายทะเบียนลงชื่อ พร้อมวัน เดือน ปีที่จัดทำกำกับไว้ในหน้ารายการเกี่ยวกับบ้าน และลงชื่อกำกับรายการบุคคลในบ้านทุกคนที่พิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในหน้ารายการบุคคลด้วย
โดยหมายเหตุในช่อง มาจาก ว่า ฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๗ การแก้ไขปรับปรุงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
รวมทั้งสำเนาให้ดำเนินการด้วยวิธีขีดฆ่าข้อความรายการเดิม แล้วเขียนข้อความใหม่ด้วยหมึกสีแดง
พร้อมทั้งลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
ข้อ
๘ การส่งรายงานตามข้อ ๕ ให้สำนักทะเบียนรวบรวมส่งสำนักทะเบียนกลางให้เสร็จสิ้นในแต่ละวันด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ข้อ
๙ เอกสารหลักฐานตามข้อ ๘ เมื่อสำนักทะเบียนจัดส่งรายงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แล้วให้จัดเก็บไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ข้อ
๑๐ ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรตามที่สำนักทะเบียนจัดส่งรายงานตามข้อ
๘
ข้อ
๑๑ เมื่อสำนักทะเบียนได้รับรายงานการปรับปรุงฐานข้อมูลหรือรายงานการทักท้วงจากสำนักทะเบียนกลาง
ให้นายทะเบียนตรวจสอบและหรือปรับปรุงแก้ไข แล้วลงลายมือชื่อรับรองในแบบรายงานและเก็บไว้เป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง
ข้อ
๑๒ เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้อง หรือคำขอ
หรือรับแจ้ง หากพิจารณาเห็นว่ารายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรหรือหลักฐานของสำนักทะเบียนไม่ตรงกับรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้ยึดถือรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์เป็นหลัก
หากผู้ร้องยืนยันว่ารายการในเอกสารทะเบียนราษฎรที่นำมาแสดงถูกต้องโดยมีหลักฐานให้นายทะเบียนดำเนินการแก้ไขหรือปรับปรุงรายการในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับรายการในเอกสารดังกล่าว
โดยไม่ต้องยื่นคำร้องขอแต่อย่างใด และให้สำเนาเอกสารการแก้ไขเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง
ในการรับแจ้ง
หรือการจัดทำทะเบียน หากปรากฏว่าไม่พบรายการบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้านที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้รับแจ้งและปรับปรุงทะเบียนตามหลักฐานที่ผู้แจ้งแสดง
ข้อ
๑๓ แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร ให้ใช้แบบพิมพ์ตามที่กำหนดท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๔ สำเนาทะเบียนบ้านที่ยังไม่ได้จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามระเบียบนี้
ให้คงใช้ได้ต่อไปจนกว่านายทะเบียนจะจัดทำให้ใหม่
ข้อ
๑๕ กรณีที่ข้อมูลรายการของทะเบียนบ้านที่จัดทำไว้ในระบบคอมพิวเตอร์มีรายการไม่ตรงกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการของทะเบียนบ้านที่จัดทำไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียน
โดยไม่ต้องให้ผู้ร้องยื่นคำขอแต่อย่างใด
ข้อ
๑๖ ให้นายทะเบียนอำเภอ และนายทะเบียนท้องถิ่น
ซึ่งได้ปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามระเบียบนี้ จัดทำรายงานตามแบบที่กำหนดท้ายระเบียบนี้
เสนอนายอำเภอตรวจสอบในแต่ละวันทำการ ทุกวัน และหากนายอำเภอได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่า มีรายการใดที่จัดทำไว้ไม่ถูกต้องให้สั่งแก้ไขทันที
ข้อ
๑๗ ให้ใช้ระเบียบนี้ควบคู่กับระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
ข้อ
๑๘ การจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในส่วนที่อยู่นอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานผู้อำนวยการทะเบียนกลางสั่งการเฉพาะกรณี
ประกาศ ณ วันที่ ๑๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘
ชูวงศ์ ฉายะบุตร
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบุคคลในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.97 ข.)
๒.
แบบการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภท สำหรับบุคคลที่ได้รับการเพิ่มชื่อ
ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.98)
๓.
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
๔.
มรณบัตร
๕.
สูติบัตร
๖.
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลการทะเบียน (ท.ร.14/1)
๗.
แบบคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการต่าง ๆ หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้านในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.97 ค.)
๘.
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.13)
๙.
สำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.14)
๑๐.
คำร้องขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร.96)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
นันทนา/ผู้จัดทำ
๘ กันยายน ๒๕๔๙
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๓/ตอนที่ ๘๔ ง/หน้า ๗/๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๙ |
535188 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 | ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๔
โดยที่กระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๔๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔
ข้อ ๒[๑]
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกแบบพิมพ์ คร.๓
ใบสำคัญการสมรส และ คร.๗ ใบสำคัญการหย่าท้ายระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้แบบพิมพ์ คร.๓ ใบสำคัญการสมรส และ
คร.๗ ใบสำคัญการหย่า ท้ายระเบียบนี้แทน
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๔
บัญญัติ บรรทัดฐาน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ใบสำคัญการสมรส (คร.3)
๒.
ใบสำคัญการหย่า (คร.7)
ปริญสินีย์/ผู้จัดทำ
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๘/ตอนพิเศษ ๑๓ ง/หน้า ๒๕/๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ |
314470 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง พ.ศ. 2543 | ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎร
ให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง
พ.ศ. ๒๕๔๓[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๑) วรรคสอง
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ผู้อำนวยการทะเบียนกลางวางระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูงไว้ดังนี้
ภาค ๑
บททั่วไป
ลักษณะ ๑
การบังคับใช้และนิยามศัพท์
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง
พ.ศ.
๒๕๔๓
ข้อ ๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขา
พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ ๔
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเฉพาะในเขตท้องที่จังหวัดดังต่อไปนี้ คือ ๑)
จังหวัดกาญจนบุรี ๒) กำแพงเพชร ๓) เชียงราย ๔) เชียงใหม่ ๕) ตาก ๖) น่าน ๗)
ประจวบคีรีขันธ์ ๘) พะเยา ๙) พิษณุโลก ๑๐) เพชรบุรี ๑๑) เพชรบูรณ์ ๑๒) แพร่ ๑๓)
แม่ฮ่องสอน ๑๔) ราชบุรี ๑๕) เลย ๑๖) ลำปาง ๑๗) ลำพูน ๑๘) สุโขทัย ๑๙) สุพรรณบุรี
๒๐) อุทัยธานี และจังหวัดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดเพิ่มเติมภายหลัง
ข้อ ๕
ระเบียบนี้ใช้บังคับกับบุคคลบนพื้นที่สูง
ที่มีคุณสมบัติตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
ข้อ ๖
ในระเบียบนี้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น
ชาวไทยภูเขา หมายความว่า
กลุ่มชาติพันธุ์ดั้งดิมที่อาศัยทำกินหรือบรรพชนอาศัยทำกินอยู่บนพื้นที่สูงในราชอาณาจักร
ซึ่งมีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ภาษาและการดำเนินชีวิต ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ประกอบด้วย ๙ ชาติพันธุ์หลักคือ
(๑) กะเหรี่ยง หรือซึ่งอาจเรียกว่า
ปกาเกอะญอ (สกอว์) โพล่ง (โปว์) ตองสู้ (ปะโอ) บะแก (บะเว)
(๒) ม้ง หรือซึ่งอาจเรียกว่า
แม้ว
(๓) เมี่ยน หรือซึ่งอาจเรียกว่า
เย้า, อิ้วเมี่ยน
(๔) อาข่า หรือซึ่งอาจเรียกว่า
อีก้อ
(๕) ลาหู่ หรือซึ่งอาจเรียกว่า
มูเซอ
(๖) ลีซู หรือซึ่งอาจเรียกว่า
ลีซอ
(๗) ลัวะ หรือซึ่งอาจเรียกว่า
ละเวือะ, ละว้า, ถิ่น, มัล, ปรัย
(๘) ขมุ
(๙) มลาบรี หรือซึ่งอาจเรียกว่า
คนตองเหลือง
และกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับชาวไทยภูเขาซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดเพิ่มเติม
พื้นที่สูง หมายความว่า
พื้นที่ที่เป็นอยู่ของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ และชนกลุ่มน้อย หรือเป็นที่ตั้งบ้านเรือนและที่ทำกินที่มีความลาดชั้นโดยเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ
๓๕ หรือมีความสูงกว่าระดับน้ำทะเล ๕๐๐ เมตรขึ้นไป ในจังหวัดต่าง ๆ ๒๐ จังหวัด คือ
จังหวัดกาญจนบุรี กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน ประจวบคีรีขันธ์ พะเยา
พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ราชบุรี เลย ลำปาง ลำพูน สุโขทัย
สุพรรณบุรี อุทัยธานี และจังหวัดที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดเพิ่มเติมภายหลัง
บุคคลบนพื้นที่สูง
หมายความว่า บุคคลซึ่งเป็นชาวไทยภูเขา คนไทยหรือกลุ่มชนอื่น ๆ
ที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูง ซึ่งรัฐบาลไม่ได้มีนโยบายดูแลดำเนินการเป็นการเฉพาะ
และให้หมายความรวมถึงบุคคลบนพื้นที่สูงที่อพยพลงมาอาศัยอยู่บนพื้นราบด้วย
สถานะบุคคล หมายความว่า
สถานภาพตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว
อำเภอ ให้หมายความรวมถึง
กิ่งอำเภอ
นายอำเภอ ให้หมายความรวมถึง
ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
วัน หมายความว่า
วันตามปีปฏิทินราชการ
บิดา หมายความว่า
บิดาตามกฎหมายและบิดาซึ่งมิได้มีการสมรสกับมารดา
ภริยา ให้หมายความรวมถึง
หญิงที่ได้ทำการสมรสตามประเพณีหรือตามข้อเท็จจริงกับชายด้วย
แม้มิได้มีการจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายก็ตาม
สมรส ให้หมายความรวมถึง
การสมรสตามประเพณีซึ่งมิได้มีการจดทะเบียนด้วย
นายทะเบียน
หมายความตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
สำนักทะเบียน
หมายความตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๘ (๔) และ (๕) หรือมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔
องค์กรพัฒนาเอกชน
หมายความว่า องค์กรพัฒนาเอกชนที่มีประวัติและผลงานการทำงานที่บันทึกไว้ชัดเจน
ซึ่งทำงานในเขตชุมชนบนพื้นที่สูง
ข้อความอื่น ๆ ให้นำนิยามศัพท์และข้อความต่าง ๆ
ที่เกี่ยวช้องตามที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕ มาบังคับใช้โดยอนุโลม
ข้อ ๗
ในการระบุชื่อชาติพันธุ์ของชาวไทยภูเขาลงในทะเบียนราษฎรให้นายทะเบียนระบุชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อหลักซึ่งได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
คือ กะเหรี่ยง ม้ง เมี่ยน อาข่า ลาหู่ ลีซู ลัวะ ขมุ มลาบรี
ข้อ ๘
การดำเนินการขอลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรตามกระบวนการที่ระบุไว้ในระเบียบไม่ตัดสิทธิผู้ยื่นคำร้องที่จะฟ้องคดีในทางปกครอง
ข้อ ๙
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้
และให้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ลักษณะ ๒
ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย และการย้ายที่อยู่
ข้อ ๑๐
เมื่อมีการเกิดหรือการตายของบุคคลบนพื้นที่สูง
ให้นายทะเบียนปฏิบัติตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
ตามแต่กรณี
ส่วนการย้ายที่อยู่ของบุคคลบนพื้นที่สูงที่ยังมิได้กำหนดสถานะตามระเบียบนี้ให้เป็นไปตามนโยบายของทางราชการ
ภาค ๒
การลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้าน
ลักษณะ ๓
การยื่นคำร้องและการพิจารณาลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้าน
ข้อ ๑๑
ชาวไทยภูเขาที่จะได้รับการลงรายการสัญชาติไทยโดยเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) จะต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
สำหรับบุคคลบนพื้นที่สูงที่จะไดรับการลงรายการสัญชาติไทยโดยเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
จะต้องเป็นบุคคลที่ทางราชการได้จัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวไว้แล้วและจะต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า บุคคลที่เกิดในราชอาณาจักรระว่างวันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๖ จนถึงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
เป็นบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยเว้นแต่จะพิสูจน์ได้เป็นอย่างอื่น
ความในวรรคสามให้สันนิษฐานจากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ
ที่ออกโดยส่วนราชการ
หรือพยานหลักฐานแวดล้อมกรณีโดยอาศัยการพิสูจน์ทางประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์
หรือชาติพันธุ์วรรณนา เป็นต้น
ข้อ ๑๒
ผู้ยื่นคำร้อง
อาจอ้างเอกสารดังต่อไปนี้เป็นพยานเพื่อใช้พิสูจน์ข้อเท็จจริงอันทำให้ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
(๑) เอกสารที่ได้จากการจัดทำทะเบียนประวัติต่าง ๆ
ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร และตามมติคณะรัฐมนตรี เช่น
๑.๑ เอกสารที่ได้รับจากการสำรวจ ตรวจสอบ
และการจดทะเบียนราษฎรชาวเขา (แบบ ท.ร. ช.ข. ๑) เมื่อระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ๒๕๑๓ หรือ
๑.๒ เอกสารที่ได้รับจากการจัดทำทะเบียนราษฎรตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชนที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ
เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ หรือ
๑.๓
เอกสารที่ได้รับจากการสำรวจข้อมูลประชากรชาวเขาตามโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ
เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๑ (ทะเบียนสำรวจบัญชีบุคคลในบ้าน)
ซึ่งกรมประชาสงเคราะห์และหน่วยงานในสังกัดให้การรับรอง หรือ
๑.๔
เอกสารที่ได้รับจากการจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลบนพื้นที่สูง
ตามโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๓ ระหว่าง พ.ศ.
๒๕๓๓ ๒๕๓๔ หรือ
๑.๕
เอกสารที่ได้รับจากการจัดทำทะเบียนบุคคลตามโครงการจัดทำทะเบียนประวัติชุมชนบนพื้นที่สูง
ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือ
๑.๖ เอกสารที่ได้รับจากการจัดทำทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓)
สำหรับคนที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว
หรือเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เป็นต้น
(๒) เอกสารต่าง ๆ
ที่ทางราชการออกให้เพื่อรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมาย เช่น ใบรับแจ้งการเกิด,
ใบรับรองการเกิด, สูติบัตร เป็นต้น
(๓) เอกสารอื่น ๆ
ที่มีรายละเอียดสามารถเป็นข้อมูลในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันทำให้ได้รับสัญชาติไทยได้
ข้อ ๑๓
บุคคลผู้ยื่นคำร้อง
อาจอ้างบุคคลเป็นพยานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันทำให้ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติได้
เช่น
(๑) ผู้ใหญ่บ้าน, กำนัน หรืออดีตผู้ใหญ่บ้าน กำนัน
ที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในระหว่างที่บุคคลผู้ยื่นคำร้องมีข้อเท็จจริงให้ได้รับสัญขาติไทย
(๒) ผู้นำชุมชน ผู้นำเครือข่ายชุมชน
หรืออดีตคณะกรรมการหมู่บ้านหรือชุมชนที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในระหว่างที่บุคคลผู้ยื่นคำร้องมีข้อเท็จจริงให้ได้รับสัญชาติไทย
(๓) เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่เคยปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่นั้น
ๆ ในระหว่างที่บุคคลผู้ยื่นคำร้องเกิด
(๔) เจ้าหน้าที่ซึ่งทำการศึกษาวิจัยของสถาบันวิจัยชาวเขา
หรือหน่วยงานที่มีผลงานทางวิชาการเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์
ภาษาศาสตร์หรือชาติพันธุ์วรรณนา เป็นต้น
โดยรับรองเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของบุคคลผู้ยื่นคำร้อง
(๕) การรับรองขององค์กรพัฒนาเอกชนที่มีประวัติ และผลงานการทำงานที่บันทึกไว้ชัดเจน
ซึ่งทำงานในเขตชุมชนบนพื้นที่สูง
ข้อ ๑๔
บุคคลผู้ยื่นคำร้อง อาจอ้างวัตถุใด ๆ
เป็นพยานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันทำให้ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติได้
ข้อ ๑๕ บุคคล
ตามข้อ ๑๑ ที่ประสงค์จะขอให้พิจารณาลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
จะต้องยื่นคำร้องตามแบบที่กำหนดไว้ท้ายระเบียบนี้ต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
ให้ผู้ร้องแจ้งชื่อบุคคลในครอบครัวพร้อมรายการบุคคลต่าง ๆ
ตามแบบในคำร้องโดยจะต้องมีหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับแต่ละบุคคลประกอบเรื่องด้วย
ข้อ ๑๖
กรณีที่ชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงเป็นผู้เยาว์
ซึ่งบิดาและมารดาเสียชีวิตแล้ว
หรือไม่ทราบว่ามีชีวิตอยู่หรือไม่และไม่ทราบว่าอยู่ที่ใด
ให้ผู้ปกครองหรือผู้อุปการะเลี้ยงดู ยื่นคำร้องขอลงรายการสัญชาติไทยและเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านแทน
โดยให้ปฏิบัติตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้โดยอนุโลม
ข้อ ๑๗
ชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงซึ่งมีความประสงค์จะยื่นคำร้องขอลงรายการสัญชาติ
ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียน และเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของคำร้องและเอกสารหลักฐานต่าง ๆ
(๒) ตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนอื่น
ที่อยู่ในโครงการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายระบบทะเบียนราษฎรด้วยคอมพิวเตอร์
หรือฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรว่าผู้ร้องและบุคคลที่มีชื่อตามคำร้อง
มีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่
(๓) รวบรวมหลักฐานทั้งหมด
โดยรวบรวมรายชื่อเป็นรายครอบครัวลงในแบบพิมพ์บัญชีการพิจารณาลงรายการสัญชาติไทยตามที่กำหนดท้ายระเบียบนี้พร้อมเสนอความเห็นเป็นหนังสือโดยสรุปข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายต่อนายอำเภอแห่งท้องที่
ภายใน ๓๐ วันทำการ นับแต่วันที่รับเรื่อง
ในกรณีตรวจสอบพบความไม่ถูกต้องสมบูรณ์ของคำร้อง
ให้นายทะเบียนแจ้งให้แก่ผู้ร้องทราบเป็นหนังสือภายใน ๑๕ วัน
นับแต่วันที่ได้รับคำร้อง
เมื่อผู้ยื่นคำร้องได้แก้ไขความไม่ถูกต้องสมบูรณ์ของคำร้องแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการต่อไปตามระเบียบ
ข้อ ๑๘
ในการพิจารณาคำร้องและพยานหลักฐานต่าง ๆ ให้นายทะเบียนปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) พยานเอกสารที่ยื่นมา
ให้นายทะเบียนตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารรวมถึงแก้ไขเพิ่มเติมรายการที่เกิดขึ้น
ในกรณีที่รายการในทะเบียนบุคคลตามเอกสารไม่ถูกต้องตรงกัน
ให้ดำเนินการตรวจสอบโดยสอบถามพยานบุคคลตามข้อ ๑๓
(๒) ในการถามพยานบุคคลตาม (๑) ให้ดำเนินการดังนี้
๒.๑ ให้พยานบุคคลที่มีอายุมากกว่า ๑๘ ปี
สาบานหรือปฏิญาณตามความเชื่อของคนก่อนให้ถ้อยคำ
๒.๒
ให้นายทะเบียนสอบถามถึงข้อมูลให้ได้ความจริงที่ไม่ตรงกับเอกสารเพื่อตรวจสอบความไม่ถูกต้องของเอกสาร
โดยใช้แบบสอบสวน ปค. ๑๔
๒.๓ ให้นายทะเบียนตรวจสอบคำร้อง
สรุปความเห็นเสนอนายอำเภอเพื่อดำเนินการต่อไป
(๓) ในกรณีจำเป็น การสอบถามพยานบุคคลตาม (๒)
ให้มีล่ามอยู่ด้วยในขณะทำการสอบสวนและให้นายทะเบียนจัดให้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรหรือบันทึกเทปเรื่องการให้ปากคำไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ ๑๙
ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำสั่งไม่รับคำร้องโดยไม่แจ้งเหตุ
หรือแจ้งเหตุแต่เหตุแห่งการนั้นผู้ยื่นคำร้องสามารถพิสูจน์ได้เป็นอย่างอื่น
ผู้ยื่นคำร้องมีสิทธิยื่นอุทธรณ์คำสั่งของนายทะเบียนไปยังคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอได้
ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งเป็นหนังสือ
ข้อ ๒๐ ผู้ยื่นคำร้องอาจให้องค์กรพัฒนาเอกชนหรือคณะกรรมการชุมชนเข้าทำการช่วยเหลือดำเนินการเขียน
รวบรวมคำร้องและพยานหลักฐานต่าง ๆ เพื่อยื่นต่อนายทะเบียนได้
ในการตรวจสอบคำร้อง
นายทะเบียนอาจให้องค์กรพัฒนาเอกชนหรือคณะกรรมการชุมชนเข้าร่วมทำการตรวจสอบด้วยได้
โดยการอนุมัติจากนายอำเภอ
ข้อ ๒๑
เมื่อได้รับความเห็นของนายทะเบียน
ให้นายอำเภอแห่งท้องที่มีอำนาจในการพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติให้ลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) แก่ชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงที่ร้องขอ ทั้งนี้ การดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐
วันทำการ
ผลการพิจารณาเป็นประการใด
ให้แจ้งนายทะเบียนทราบเพื่อดำเนินการต่อไป
กรณีที่ตรวจสอบพบความไม่ถูกต้องหรือความไม่สมบูรณ์ของคำร้องหรือเอกสารพยานหลักฐานต่าง
ๆ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขที่กำหนด
ให้นายอำเภอแจ้งให้ผู้ร้องทราบเพื่อแก้ไขให้ถูกต้องหรือจัดส่งเอกสารเพิ่มเติมให้ครบถ้วน
ถ้าเป็นกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการให้แก่ผู้ร้องได้ ให้แจ้งนายทะเบียนทราบภายใน ๑๕
วัน นับแต่วันที่ได้มีการวินิจฉัยสั่งการพร้อมเหตุผล
ข้อ ๒๒
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งผลการพิจารณาแล้ว
ให้แจ้งผู้ยื่นคำร้องทราบเป็นหนังสือภายใน ๕ วัน ในกรณีที่มีคำสั่งไม่อนุมัติให้แจ้งเหตุผลแห่งการนั้นไปยังผู้ยื่นคำร้องด้วย
ข้อ ๒๓
กรณีนายอำเภออนุมัติ ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติ
โดยกำหนดเลขประจำตัวประชาชนเป็นบุคคลประเภท ๘ ตามแบบพิมพ์ ท.ร.๙๘ ค. โดยแบบ ท.ร.๙๘
ค. ให้สำนักทะเบียนขอเบิกจากสำนักทะเบียนกลางโดยตรงเท่านั้น
(๒) เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๔)
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า ชาวเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูง
(...........) ตามคำร้องเลขที่ ............ ลงวันที่ .............................
และนายอำเภออนุมัติ เมื่อวันที่ ........................
แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อ และวันเดือนปีกำกับไว้ หากบุคคลดังกล่าวมีสูติบัตร
ให้หมายเหตุการได้สัญชาติไทยไว้ด้านหลังสูติบัตรด้วย
สำหรับผู้ที่ได้รับการลงรายการสัญชาติที่มีเลขประจำตัวประชาชนเดิม ให้ดำเนินการจำหน่าย
โดยดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๐ วันทำการ
เว้นแต่มีเหตุขัดข้องอันเกิดจากตัวผู้ร้อง
(๓) รายงานหน่วยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๓.๑ รายงานการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้าน โดยส่งแบบพิมพ์
ท.ร.๙๘ ค. ตอนที่ ๒
ให้สำนักทะเบียนกลางทราบภายใน ๑๐ วันทำการ สำหรับ ท.ร.๙๘ ค. ตอนที่ ๑
ให้ดำเนินการตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕
และระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๓๘
๓.๒ สำเนาแบบพิมพ์บัญชีตามข้อ ๑๗.๓ ให้จังหวัด
และสำนักทะเบียนกลางทราบภายใน ๑๐ วันทำการ
๓.๓
แจ้งหน่วยราชการที่มีทะเบียนประวัติของชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงทราบ
เพื่อหมายเหตุการได้สัญชาติไทยในทะเบียนประวัติ
ข้อ ๒๔
กรณีที่นายอำเภอไม่อนุมัติ
ผู้ยื่นคำร้องอาจอุทธรณ์คำสั่งไปยังคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอได้ ภายใน ๑ เดือน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งเป็นหนังสือจากสำนักทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น
ถ้าไม่อุทธรณ์ภายในระยะเวลาที่กำหนดถือว่าสิทธิการอุทธรณ์เป็นอันสิ้นสุด
ข้อ ๒๕
การอุทธรณ์คำสั่งในระดับอำเภอ
ให้ทำเป็นหนังสือตามแบบที่กำหนดไว้ท้ายระเบียบ ยื่นต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ได้ยื่นคำร้องขอลงรายการสัญชาติ
เมื่อได้รับคำร้องอุทธรณ์แล้ว ให้นายทะเบียนตรวจคำร้องอุทธรณ์
และมีคำสั่งรับหรือไม่รับคำร้องอุทธรณ์ภายใน ๗ วัน
ถ้านายทะเบียนปฏิเสธไม่รับ
ให้นายทะเบียนแสดงเหตุที่ไม่รับนั้นไว้ในคำสั่งทุกเรื่องไปและแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคำร้องทราบ
ถ้านายทะเบียนมีคำสั่งรับ
ให้นายทะเบียนส่งคำร้องอุทธรณ์นั้นไปยังคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ ภายใน ๑๐ วัน
ลักษณะ ๔
คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
ข้อ ๒๖
เมื่อมีรับคำร้องอุทธรณ์
ให้นายทะเบียนเสนอต่อนายอำเภอเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ ภายใน ๕ วัน
คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอพิจารณาการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขา
ประกอบด้วย
(๑)
ผู้เชี่ยวชาญที่มาจากฝ่ายผู้ยื่นคำร้อง จำนวน ๑ คน เป็นกรรมการ
(๒)
ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายรัฐที่นายอำเภอแต่งตั้ง จำนวน ๑ คน เป็นกรรมการ
(๓) ปลัดอำเภอ
เป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้กรรมการตามความในวรรคสองมีอำนาจร่วมกันในการเลือกบุคคลหนึ่งบุคคลใดในระหว่างกันให้เป็นประธานคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
ข้อ ๒๗ เลขานุการคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
มีหน้าที่เรียกประชุมคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ ภายใน ๑๕ วัน
นับแต่วันที่ได้รับคำสั่งแต่งตั้ง
ข้อ ๒๘ ให้คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
มีอำนาจวินิจฉัยคำร้องอุทธรณ์และปัญหาข้อโต้แย้งในระดับอำเภอของผู้ยื่นคำร้อง
ในการพิจารณาคำร้อง
ถ้าคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอเห็นว่าพยานหลักฐานต่าง ๆ
ที่ใช้ประกอบการพิจารณามีไม่เพียงพอ
คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอมีอำนาจเรียกบุคคลมาให้การเพิ่มเติมหรือเรียกพยานหลักฐานต่าง
ๆ จากบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตามที่เห็นสมควร
ข้อ ๒๙
เมื่อคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอได้ทำการพิจารณาคำร้อง รวมทั้งพยานหลักฐานต่าง
ๆ เสร็จแล้ว
ให้คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอมีคำวินิจฉัยชี้ขาดประการใดประการหนึ่งดังนี้
(๑) ถ้าคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ เห็นว่า
คำร้องอุทธรณ์นั้นต้องห้ามตามระเบียบหรือกฎหมาย
ก็ให้ยกคำร้องนั้นเสียโดยไม่ต้องวินิจฉัยในประเด็นอุทธรณ์
(๒) ถ้าคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ เห็นว่า
คำสั่งในระดับอำเภอถูกต้องก็ให้มีคำวินิจฉัยยืนตามคำสั่งในระดับอำเภอ
(๓) ถ้าคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ เห็นว่า
คำสั่งในระดับอำเภอไม่ถูกต้องก็ให้มีคำวินิจฉัยกลับคำสั่งในระดับอำเภอเสียและมีคำวินิจฉัยในคำร้องนั้นใหม่
(๔) ถ้าคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ เห็นว่า
คำสั่งในระดับอำเภอถูกแต่บางส่วนและผิดบางส่วน
ก็ให้แก้คำสั่งในระดับอำเภอไปตามนั้นโดยมีคำวินิจฉัยยืนบางส่วน
กลับบางส่วนและมีคำวินิจฉัยใหม่แทนส่วนที่กลับนั้น
โดยให้มติของกรรมการอุทธรณ์อำเภอจำนวนสองในสามเสียงถือเป็นข้อยุติของกระบวนการการพิจารณา
ให้คณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอทำการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน
๓๐ วัน ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น
ให้ขยายระยะเวลาการพิจารณาวินิจฉัยออกไปได้อีกไม่เกิน ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑๕
วัน
ข้อ ๓๐
เมื่อคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอมีคำวินิจฉัยเป็นประการใดให้แจ้งคำวินิจฉัย
พร้อมทั้งความเห็นดังกล่าวเป็นหนังสือไปยังนายอำเภอ
ข้อ ๓๑
นายอำเภอมีหน้าที่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอภายใน ๕
วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยเป็นหนังสือ
เว้นแต่กรณีที่มีการอุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
เมื่อนายอำเภอได้รับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอแล้ว
ให้แจ้งคำวินิจฉัยนั้นแก่นายทะเบียนเพื่อดำเนินการต่อไปโดยให้นำบทบัญญัติในข้อ ๒๒
และ ๒๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๓๒
นายอำเภอหรือผู้ยื่นคำร้องฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสิทธิยื่นอุทธรณ์คำวินิจฉัยเช่นว่านั้นไปยังคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด
การอุทธรณ์ให้ทำเป็นหนังสือตามแบบที่กำหนดไว้ท้ายระเบียบ
ยื่นต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ได้ยื่นคำร้องขอลงรายการสัญชาติ ภายใน ๑ เดือน
นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งเป็นหนังสือจากสำนักทะเบียน
ถ้าไม่อุทธรณ์ในกำหนดระยะเวลา ถือว่าสิทธิการอุทธรณ์เป็นอันสิ้นสุด
ลักษณะ ๕
คณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด
ข้อ ๓๓
ให้มีคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด พิจารณาการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูง
โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง ประกอบด้วย
(๑) ปลัดจังหวัด เป็นประธาน
(๒) นักวิชาการ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เป็นกรรมการจำนวน
๒ คน
(๓) จ่าจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ
(๔) ผู้ช่วยจ่าจังหวัด เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ให้ปลัดจังหวัดมีอำนาจเสนอแต่งตั้งนักวิชาการ
หรือข้าราชการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากสาขาวิชากฎหมาย ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์
ชาติพันธุ์วรรณนา เป็นกรรมการในคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัดตามวรรคต้น
ข้อ ๓๔
เมื่อได้รับคำร้องอุทธรณ์แล้ว
ให้นายทะเบียนส่งคำร้องอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัดภายใน ๕ วัน
ข้อ ๓๕
เลขานุการคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด
มีหน้าที่เรียกประชุมคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด ภายใน ๑๕ วัน
นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์
ข้อ ๓๖
อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด ให้นำบทบัญญัติในลักษณะ ๔
ว่าด้วยคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ มาใช้บังคับด้วย โดยอนุโลม
ข้อ ๓๗
เมื่อคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัดมีคำชี้ขาดอุทธรณ์แล้ว
ให้แจ้งคำชี้ขาดเป็นหนังสือไปยังนายอำเภอ และได้นำบทบัญญัติในข้อ ๓๑
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
คำชี้ชาดของคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด
กรณีถ้าเป็นข้อเท็จจริงถือว่าเป็นที่สุดของกระบวนการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านของชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงตามระเบียบนี้
แต่ถ้าเป็นข้อกฎหมายผู้ร้องหรือนายอำเภอสามารถยื่นอุทธรณ์มายังคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลางได้ตามแบบที่กำหนดท้ายระเบียบนี้ภายใน
๑ เดือนนับแต่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากสำนักทะเบียน
ถ้าไม่อุทธรณ์ภายในกำหนดระยะเวลาถือว่าสิทธิการอุทธรณ์เป็นอันสิ้นสุด
ลักษณะ ๖
คณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลาง
ข้อ ๓๘
ให้มีคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลางพิจารณาการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูง
โดยผู้อำนวยการทะเบียนกลางแต่งตั้ง ประกอบด้วย
(๑) รองผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
(ผู้อำนวยการสำนักบริหารการทะเบียน) เป็นประธาน
(๒) ผู้ช่วยผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
(ผู้อำนวยการส่วนการทะเบียนราษฎร) เป็นกรรมการ
(๓) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เป็นกรรมการ จำนวน ๓ คน
(๔) หัวหน้าฝ่ายทะเบียนชนกลุ่มน้อย ส่วนการทะเบียนราษฎร
เป็นกรรมการและเลขานุการ
(๕) หัวหน้างานกฎหมายและระเบียบชนกลุ่มน้อย
ส่วนการทะเบียนราษฎรเป็นกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ
ให้รองผู้อำนวยการทะเบียนกลางมีอำนาจเสนอผู้อำนวยการทะเบียนกลางแต่งตั้งนักวิชาการ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากสาขาวิชากฎหมาย ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์
ชาติพันธุ์วรรณนา ให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลางตามวรรคต้น
ข้อ ๓๙
เมื่อได้รับคำร้องอุทธรณ์แล้ว
ให้นายทะเบียนส่งคำร้องอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ภายใน ๕ วัน
ข้อ ๔๐
เลขานุการคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลาง มีหน้าที่เรียกประชุมคณะกรรมการอุทธรณ์ภายใน
๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องอุทธรณ์
ข้อ ๔๑
อำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลาง ให้นำบทบัญญัติในลักษณะ
๔ ว่าด้วยคณะกรรมการอุทธรณ์อำเภอ
มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม
ข้อ ๔๒
เมื่อมีคำชี้ขาดอุทธรณ์แล้วให้แจ้งคำชี้ขาดเป็นหนังสือไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งนายอำเภอ
และให้นำบทบัญญัติในข้อ ๓๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
คำชี้ขาดของคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลางถือว่าเป็นที่สุดของกระบวนการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านของชาวไทยภูเขาหรือบุคคลบนพื้นที่สูงตามระเบียบนี้
ลักษณะ
๗ การเพิกถอนทะเบียนรายการสัญชาติ
ข้อ ๔๓
กรณีผู้ที่ได้รับการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบหรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จหรือแสดงหลักฐานอันเป็นเท็จ
หรือมีการรับรองโดยผิดจากความเป็นจริง
ให้นายทะเบียนยื่นเรื่องต่อนายอำเภอเพื่อให้นายอำเภอวินิจฉัยปัญหาและดำเนินการเพิกถอนการลงรายการสัญชาติไทย
โดยจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ภายหลังจากการเพิกถอนตามความในวรรคแรกแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการลงรายการสถานะที่แท้จริงของบุคคลนั้นในทะเบียนราษฎรตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
เมื่อดำเนินการเพิกถอนรายการสัญชาติไทยของบุคคลใดแล้ว
ให้รายงานต่อสำนักทะเบียนกลางพร้อมทั้งสำเนาให้ส่วนการทะเบียนราษฎรทราบด้วย
ข้อ ๔๔ เมื่อบุคคลบนพื้นที่สูงเสียสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิกถอนรายการสัญชาติไทยของบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียน
และให้นำความในวรรคสองและวรรคสามในข้อ ๔๓ มาดำเนินการต่อไปโดยอนุโลม
ภาค ๓
การพิจารณาลงรายการสถานะของบุคคล
ซึ่งได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ข้อ ๔๕
การพิจารณาว่าบุคคลบนพื้นที่สูงผู้ใดเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรให้นายทะเบียนพิจารณาตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองและกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าวรวมทั้งระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๔๖
เมื่อปรากฎว่าบุคคลบนพื้นที่สูงผู้ใดเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลนั้นลงในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔)
เมื่อได้รับคำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านจากบุคคลดังกล่าวโดยให้ปฏิบัติตามวิธีและขั้นตอนซึ่งบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและระเบียบต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๔๗
ในกรณีที่บุคคลบนพื้นที่สูงซึ่งอ้างตนว่าเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
ได้รับการเพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบหรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จหรือแสดงหลักฐานอันเป็นเท็จหรือมีการรับรองโดยผิดจากความเป็นจริง
ให้นายทะเบียนยื่นเรื่องต่อนายอำเภอ
เพื่อให้นายอำเภอวินิจฉัยปัญหาและดำเนินการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๔) ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ภายหลังจากการเพิกถอนตามความในวรรคแรกแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการลงรายการสถานะที่แท้จริงของบุคคลนั้นในทะเบียนราษฎรตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องและให้นำความในวรรคสองและวรรคสามในข้อ
๔๓ มาดำเนินการต่อไปโดยอนุโลม
ข้อ ๔๘
เมื่อบุคคลบนพื้นที่สูงถูกเพิกถอนการอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ให้นายทะเบียนดำเนินการตามข้อ ๔๔ โดยอนุโลม
ภาค ๔
การพิจารณาลงรายการสถานะของบุคคลที่ได้รับอนุญาต
ให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ข้อ ๔๙
การพิจารณาว่าบุคคลบนพื้นที่สูงผู้ใด
เป็นผู้ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ให้นายทะเบียนพิจารณาตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง รวมทั้งระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕๐
การเพิ่มชื่อบุคคลบนพื้นที่สูงซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ลงในทะเบียนบ้าน (ท.ร.๑๓) และการเพิกถอนทะเบียนให้นำบทบัญญัติในข้อ ๔๖ และ ๔๗
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๕๑
เมื่อบุคคลบนพื้นที่สูงถูกเพิกถอนการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้นายทะเบียนดำเนินการตาม
ข้อ ๔๔ โดยอนุโลม
ภาค ๕
การพิจารณาลงรายการสถานะของบุคคลที่ได้รับการผ่อนผัน
ให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ข้อ ๕๒
การพิจารณาว่าบุคคลบนพื้นที่สูงผู้ใด
เป็นผู้ได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี
ซึ่งอาศัยอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวนั้น
ให้นายทะเบียนพิจารณาตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรีและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕๓
บุคคลบนพื้นที่สูงที่ได้รับการผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรี
ซึ่งอาศัยอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
ให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลนั้นลงในทะเบียนบ้าน
(ท.ร.๑๓) เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านจากบุคคลดังกล่าว
โดยให้ปฏิบัติตามวิธีและขั้นตอนซึ่งบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและระเบียบต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕๔
การเพิกถอนทะเบียนของบุคคลบนพื้นที่สูงซึ่งอ้างว่าเป็นบุคคลที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ตามมติคณะรัฐมนตรีซึ่งอาศัยอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองให้นำบทบัญญัติในข้อ
๔๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๕๕
เมื่อมติคณะรัฐมนตรีซึ่งผ่อนผันให้บุคคลบนพื้นที่สูงนั้น ๆ
ให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวได้สิ้นสุด
ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิกถอนสถานะบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียนและให้นำความในวรรคสองและวรรคสามในข้อ
๔๓ มาดำเนินการต่อไปโดยอนุโลม
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๕๖
การบังคับการตามระเบียบฉบับนี้ไม่มีผลให้ความสมบูรณ์ในการลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขาที่ได้ดำเนินการไปแล้วตาม
ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านให้แก่ชาวไทยภูเขา
พ.ศ. ๒๕๓๕ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๙ เสียไป
ข้อ ๕๗
คำร้องขอลงรายการสัญชาติทั้งหลายที่ได้ยื่นไว้แล้วและอยู่ในระหว่างการพิจารณาไม่ว่าในระดับอำเภอหรือจังหวัดก่อนวันใช้ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง
พ.ศ. ๒๕๔๓ ฉบับนี้ ให้ใช้บังคับตามระเบียบใหม่
เว้นแต่คำร้องที่อยู่ในระดับจังหวัดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุมัติการลงรายการสัญชาติของคำร้องนั้น
แต่ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องต้องการอุทธรณ์คำอนุมัติดังกล่าว
ให้นำคำร้องอุทธรณ์นั้นเสนอต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลางโดยตรง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓
ปริญญา นาคฉัตรีย์
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำร้องขอลงรายการในทะเบียนบ้านตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง พ.ศ.
๒๕๔๓
๒.
คำรับรองของพยานบุคคลในการขอลงรายการสถานะตามระเบียบสำนักทะเบียนกลาง
ว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพื้นที่สูง พ.ศ.
๒๕๔๓
๓. แบบพิมพ์ลายพิมพ์นิ้วมือ
๔. คำแนะนำในการพิมพ์ลายนิ้วมือ
๕. แบบคำอุทธรณ์ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์
อำเภอ...............(ของผู้ร้อง)
๖. แบบคำอุทธรณ์ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์
จังหวัด...............(ของผู้ร้อง)
๗. แบบคำอุทธรณ์ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์จังหวัด.(สำหรับนายอำเภอ)
๘. แบบคำอุทธรณ์ยื่นคำคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลาง (ของผู้ร้อง)
๙. แบบคำอุทธรณ์ยื่นต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ส่วนกลาง
สำหรับนายอำเภอ
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ดวงเพ็ญ/พิมพ์
๖ มิถุนายน ๒๕๕๗
ปริญสินีย์/ผู้ตรวจ
๙ มิถุนายน ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๗/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๒๗/๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๓ |
314469 | ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2541 | ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๔๑[๑]
โดยที่ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
ได้ใช้บังคับมานานแล้วและไม่สอดคล้องกับภาวการณ์ในปัจจุบัน
สมควรปรับปรุงแนวทางปฏิบัติในการจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัวให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๔๑
ข้อ ๒
ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓
ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
(๒) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๘
(๓) ระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๐
บรรดาระเบียบ และคำสั่งอื่นใด
ในส่วนที่กำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔
ให้อธิบดีกรมการปกครองรักษาการตามระเบียบนี้
และให้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๕
ในระเบียบนี้
ทะเบียนครอบครัว ให้หมายความถึง ทะเบียนสมรส
ทะเบียนการหย่า ทะเบียนรับรองบุตร ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ทะเบียนฐานะของภริยา และทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว
จังหวัด หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานคร ด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัด หมายความรวมถึง ปลัดกรุงเทพมหานคร
ด้วย
สำนักทะเบียนอำเภอ หมายความรวมถึง สำนักทะเบียนกิ่งอำเภอ
และสำนักทะเบียนเขตด้วย
นายทะเบียน หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ
นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกิ่งอำเภอ และนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนเขต
ผู้มีส่วนได้เสีย หมายความว่า
(๑) คู่กรณีที่มีนิติสัมพันธ์กันในทะเบียนครอบครัว
(๒) คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้อนุบาล
ผู้พิทักษ์ บุตรบุญธรรม หรือผู้รับบุตรบุญธรรม ของบุคคลตาม (๑)
(๓)
ผู้ซึ่งนายทะเบียนเห็นว่ามีหรืออาจมีประโยชน์ส่วนได้เสียเกี่ยวกับทะเบียนครอบครัวนั้น
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
การส่งเอกสาร หมายความรวมถึง
การส่งเอกสารทางเครื่องโทรสาร หรือระบบอื่นใด
ให้แก่ผู้รับโดยมีหลักฐานการได้ส่งโดยเครื่องโทรสารหรือระบบนั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายความถึง
ระบบการประมวลผลข้อมูลการทะเบียนครอบครัวด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กรมการปกครองกำหนด
ข้อ ๖
ในการร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก ผู้ร้องจะร้องขอต่อนายทะเบียน ณ สำนักทะเบียนอำเภอแห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้
เว้นแต่การร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อกำนันท้องที่ตามข้อ ๑๗
ข้อ ๗ เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก
นายทะเบียนต้องรับจดทะเบียนหรือบันทึกให้
เว้นแต่จะปรากฏว่ามิได้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น
กรณีที่นายทะเบียนไม่สามารถดำเนินการตามความประสงค์ของผู้ร้องได้ให้นายทะเบียนแจ้งให้ผู้ร้องทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่สามารถดำเนินการได้
ข้อ ๘
ในการร้องขอจดทะเบียนหรือบันทึก ให้ผู้ร้องยื่นคำร้องตามแบบ คร.๑
และให้นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้
สำหรับบุคคลซึ่งไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมายหรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
รวมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร้อง
ถ้าผู้ร้องเป็นบุคคลต่างด้าวซึ่งไม่สามารถแสดงเอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวตามวรรคหนึ่งได้
ให้นายทะเบียนตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าผู้ร้องเป็นใครและมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายไทยว่าด้วยการนั้นหรือไม่
ข้อ ๙
ถ้าผู้ร้องหรือผู้ให้ความยินยอมหรือพยาน
ไม่อาจลงลายมือชื่อได้บุคคลดังกล่าวจะพิมพ์ลายนิ้วมือแทนการลงลายมือชื่อก็ได้
โดยให้นายทะเบียนเขียนกำกับไว้ว่าเป็นลายพิมพ์นิ้วมือของบุคคลใด
แต่ถ้าไม่สามารถกระทำได้โดยวิธีใดเลย
ให้นายทะเบียนบันทึกเหตุขัดข้องไว้ในช่องลายมือชื่อนั้น
ในกรณีที่ผู้ร้องหรือผู้ให้ความยินยอมหรือพยาน
ประสงค์จะลงลายมือชื่อเป็นภาษาต่างประเทศ
ให้นายทะเบียนสอบถามบุคคลดังกล่าวว่าชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุลนั้น มีสำเนียงไทยว่าอย่างไรแล้วเขียนเป็นภาษาไทยกำกับไว้
ข้อ ๑๐
ถ้าผู้มีอำนาจให้ความยินยอมได้ให้ความยินยอมโดยวิธีการอื่นซึ่งมิใช่การให้ความยินยอมในขณะจดทะเบียน
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนแล้วให้แจ้งผู้มีอำนาจให้ความยินยอมทราบ
ข้อ ๑๑
ในการลงรายการคำนำนาม ชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล
รวมทั้งเลขประจำตัวประชาชนของผู้ร้องในทะเบียนครอบครัว
ให้นายทะเบียนลงรายการตามเอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ร้องนำมาแสดง
ในกรณีที่ผู้ร้องนำเอกสารหรือหลักฐานภาษาต่างประเทศมาแสดงพร้อมคำแปลเป็นภาษาไทยที่รับรองถูกต้อง
ให้นายทะเบียนลงรายการในทะเบียนครอบครัวเป็นภาษาไทย
ข้อ ๑๒
ในการลงรายการเลขทะเบียนในทะเบียนครอบครัว
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขทะเบียนของทะเบียนครอบครัวแต่ละประเภทเป็นสองตอน
ตอนหน้าเป็นเลขลำดับที่ซึ่งได้รับจดทะเบียนในปีหนึ่ง ๆ
เมื่อขึ้นปีใหม่ให้ขึ้นหนึ่งใหม่ส่วนตอนหลังเป็นเลขลำดับที่ซึ่งสำนักทะเบียนอำเภอได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ทั้งหมด
หมวด ๒
การจดทะเบียนสมรส
ข้อ ๑๓
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้องและหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒) ตรวจสอบว่าผู้ร้องทั้งสองฝ่ายมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
ในกรณีที่ผู้ร้องเป็นผู้เยาว์ให้ตรวจสอบหลักฐานของผู้ให้ความยินยอมหรือหลักฐานแสดงความยินยอม
(๓) ลงรายการในทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้ครบถ้วน ในกรณีที่ผู้ร้องทั้งสองฝ่ายประสงค์จะให้บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน
หรือเรื่องอื่น ให้นายทะเบียนบันทึกไว้ในช่องบันทึก
(๔) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนสมรส (คร.๒)
(๕)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนสมรส (คร.๒)
และในใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
(๖) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ
รวมทั้งกล่าวอำนวยพรและแนะนำวิธีปฏิบัติในหน้าที่ระหว่างสามีภริยาตามสมควร
(๗) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๑๔
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในเขตอำนาจของนายทะเบียน
โดยระบุว่าจะให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ใด
หากนายทะเบียนเห็นสมควร ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ ๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส
(คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ก
นำหน้าเลขทะเบียน
(๒) ในกรณีที่มีผู้ขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในวัน
เวลา เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้แยกใช้ทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส
(คร.๓) ต่างหาก โดยกำหนดอักษรหน้าเลขทะเบียนเป็น ข หรือ ค หรือ ง หรือ จ
เพิ่มเติมไปตามลำดับ
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๕
เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกล
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ขออนุมัติต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลโดยระบุวัน
เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ วัน เวลา
และสถานที่ในการรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ
๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒) และใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้แยกใช้ต่างหากโดยกำหนดอักษร ท นำหน้าเลขทะเบียน
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๖
เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนนอกจากข้อ ๑๔
และข้อ ๑๕ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ขออนุมัติต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายโดยผ่านจังหวัด
เพื่อออกไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนโดยระบุวัน เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายอนุมัติ
วัน เวลา และสถานที่ในการรับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสในวัน เวลา และสถานที่ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายอนุมัติให้รับจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ ๑๓ สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒)
และใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แยกใช้ต่างหากโดยกำหนดอักษร ร นำหน้าเลขทะเบียน
(๓) บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนสมรส ณ
สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑๗
ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศว่าท้องที่ใดสามารถรับคำร้องขอจดทะเบียนสมรสของผู้ร้องฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายซึ่งมีถิ่นกำเนิดที่อยู่เดียวกันกับกำนันท้องที่นั้น
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) นำประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดปิดไว้ ณ
สำนักทะเบียนอำเภอและที่ทำการกำนันท้องที่นั้น
(๒)
แจ้งให้กำนันท้องที่ที่มีอำนาจรับคำร้องขอจดทะเบียนสมรสทราบว่าเมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อกำนัน
ให้ผู้ร้องและพยานสองคน ซึ่งพยานคนหนึ่งนั้นต้องเป็นเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
ซึ่งมีตำแหน่งตั้งแต่ชั้นผู้ใหญ่บ้านขึ้นไป
หรือนายตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นร้อยตำรวจตรีขึ้นไป หรือหัวหน้าสถานีตำรวจ
หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาล
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือทนายความ ลงลายมือชื่อในคำร้องตามแบบ คร.๑
ต่อหน้ากำนันและเมื่อได้รับคำร้องดังกล่าวแล้ว
ให้กำนันส่งคำร้องไปยังนายทะเบียนเพื่อพิจารณารับจดทะเบียน
(๓) เมื่อได้รับคำร้องจากกำนันแล้ว
ถ้าเห็นว่าการมิได้เป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมายให้ระงับการจดทะเบียนสมรสแล้วแจ้งให้กำนันเพื่อแจ้งให้ผู้ร้องทราบถ้าเห็นว่าถูกต้องให้ดำเนินการจดทะเบียนสมรสตามข้อ
๑๓ (๓) (๕) และ (๗)
โดยระบุชื่อของผู้ร้องและพยานในช่องลายมือชื่อผู้ร้องขอจดทะเบียนและช่องลายมือชื่อพยานในหน้าทะเบียน
และบันทึกในหน้าที่บันทึกให้ชัดเจนว่าผู้ร้องและพยานได้ลงลายมือชื่อต่อหน้ากำนันในวัน
เวลา และสถานที่ใด
(๔) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้กำนันเพื่อนำไปมอบแก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ
ข้อ ๑๘
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสตามมาตรา ๑๔๖๐
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
และหลักฐานการแสดงเจตนาขอทำการสมรส
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๑๓ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗)
โดยบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ชัดเจนว่าผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะสมรสกันต่อหน้าบุคคลใดในวัน
เวลา สถานที่ใด และมีพฤติการณ์พิเศษอย่างไร
แล้วให้ผู้ร้องและนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้
ข้อ ๑๙
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสตามมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานประจำตัวของผู้รับคำร้องตามมาตรา
๑๔ แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘
และชายหญิงที่ยังมีชีวิตอยู่ ถ้าหากมี รวมทั้งสอบสวนบุคคลดังกล่าวให้ทราบถึงวัน
เวลา สถานที่ที่แสดงเจตนา และพฤติการณ์พิเศษนั้น
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๑๓ (๓) (๔) (๕) และ (๗)
สำหรับทะเบียนสมรส (คร.๒)
ให้ระบุในช่องลายมือชื่อผู้ร้องขอจดทะเบียนสมรสฝ่ายที่เสียชีวิตไปแล้วว่าผู้ร้องเสียชีวิตเมื่อวัน
เวลาใด
รวมทั้งบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ชัดเจนว่าชายและหญิงได้ร้องขอจดทะเบียนสมรสด้วยวาจาหรือกริยาต่อบุคคลใดในวัน
เวลา สถานที่ใด และมีพฤติการณ์พิเศษอย่างไร แล้วให้ผู้รับคำร้องตามมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๗๘
และนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้
(๓) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ให้แก่ชายหรือหญิงฝ่ายที่ยังมีชีวิตอยู่หนึ่งฉบับ และเก็บรักษาใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
ฉบับที่เหลือไว้ ถ้าชายและหญิงเสียชีวิตทั้งสองฝ่ายให้เก็บรักษาใบสำคัญการสมรส
(คร.๓) ไว้ เพื่อให้ทายาทของบุคคลดังกล่าวมาขอรับไป
หมวด ๓
การจดทะเบียนหย่า
ข้อ ๒๐
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยความยินยอมต่อนายทะเบียน ณ
สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
หลักฐานการจดทะเบียนสมรสและหนังสือสัญญาหย่า
(๒) ลงรายการในทะเบียนการหย่า (คร.๖) และใบสำคัญการหย่า
(คร.๗) ให้ครบถ้วน
สำหรับในกรณีที่ผู้ร้องทั้งสองฝ่ายประสงค์จะให้บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน
อำนาจการปกครองบุตร หรือเรื่องอื่น ให้นายทะเบียนบันทึกไว้ในช่องบันทึก
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงมือชื่อในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
(๔) เมื่อเห็นว่าถูต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนการหย่า
(คร.๖) และในใบสำคัญการหย่า (คร.๗)
(๕) มอบใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้แก่ผู้ร้องฝ่ายละหนึ่งฉบับ
(๖) ดำเนินการตามข้อ ๓๙ และข้อ ๔๓
ข้อ ๒๑
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยความยินยอมแต่อ้างว่าอีกฝ่ายหนึ่งไม่สามารถมายื่นคำร้อง
ณ
สำนักทะเบียนอำเภอแห่งเดียวกันได้ให้นายทะเบียนชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
ก. สำนักทะเบียนแห่งแรก
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
หลักฐานการจดทะเบียนสมรส และหนังสือสัญญาหย่า
(๒)
สอบปากคำผู้ร้องให้ปรากฏว่าเป็นผู้ยื่นคำร้องก่อนและอีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง
ณ สำนักทะเบียนแห่งใด
(๓) ลงรายการของผู้ร้องในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
ซึ่งแยกใช้ต่างหาก ส่วนรายการของฝ่ายที่มิได้มา ให้ลงเฉพาะรายการที่ทราบ
(๔) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อไว้ในทะเบียนการหย่า
(คร.๖) สำหรับช่องลายมือชื่อของผู้ร้องฝ่ายที่มิได้มา ให้ระบุว่าจะลงลายมือชื่อ ณ
สำนักทะเบียนแห่งใด
(๕)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
(๖) ระบุข้อความไว้ที่ตอนบนด้านขวาของหน้าทะเบียนว่า
ต่างสำนักทะเบียน
(๗)
แจ้งให้ผู้ร้องทราบว่าการหย่าดังกล่าวจะมีผลเมื่อคู่หย่าอีกฝ่ายหนึ่งได้ลงลายมือชื่อ
ณ สำนักทะเบียนแห่งที่สองและนายทะเบียนแห่งที่สองได้รับจดทะเบียนการหย่าแล้ว
(๘) ส่งเอกสารสำเนาคำร้อง สำเนาทะเบียนการหย่า
สำเนาหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง สำเนาหลักฐานการจดทะเบียนสมรส
และสำเนาหนังสือสัญญาหย่า
ไปยังสำนักทะเบียนตามที่ผู้ร้องได้แจ้งว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง
ในกรณีที่อีกฝ่ายหนึ่งจะไปยื่นคำร้องภายหลัง ณ สำนักทะเบียนในต่างประเทศ
ให้ส่งเอกสารดังกล่าวไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๙)
เมื่อได้รับแจ้งผลการจดทะเบียนจากสำนักทะเบียนแห่งที่สองแล้วให้แจ้งผู้ร้องมารับใบสำคัญการหย่า
(คร.๗)
สำหรับในกรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนแห่งที่สองว่าคู่หย่าอีกฝ่ายหนึ่งไม่ประสงค์จะจดทะเบียนการหย่าหรือนายทะเบียนมิได้รับคำร้องของบุคคลดังกล่าว
ให้แจ้งผู้ร้องทราบ
ข. สำนักทะเบียนแห่งที่สอง
(๑) เมื่อได้รับเอกสารจากสำนักทะเบียนแห่งแรกแล้ว
ให้แจ้งฝ่ายที่ยังมิได้ลงลายมือชื่อทราบเพื่อยื่นคำร้องขอจดทะเบียนการหย่า
(๒) ชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ
หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า ให้นายทะเบียนตรวจสอบคำร้อง
หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และให้ผู้ร้องตรวจสอบความถูกต้องของสำเนาหลักฐานการจดทะเบียนสมรสรวมทั้งหนังสือสัญญาหย่าที่ได้รับจากสำนักทะเบียนแห่งแรก
(๓) ลงรายการของผู้ร้องทั้งสองฝ่ายในทะเบียนการหย่า (คร.)
และใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ซึ่งแยกใช้ต่างหาก
(๔) ดำเนินการตาม ก. (๓) (๔) (๕) และ (๖)
รวมทั้งกำหนดเลขทะเบียนตามข้อ ๑๒
(๕) มอบใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้ผู้ร้องหนึ่งฉบับ
(๖) ส่งเอกสารใบสำคัญการหย่า (คร.๗) อีกหนึ่งฉบับ
และสำเนาทะเบียนการหย่าไปยังสำนักทะเบียนแห่งแรก หากสำนักทะเบียนดังกล่าวเป็นสำนักทะเบียนในต่างประเทศให้ส่งเอกสารนั้นไปยังสำนักทะเบียนกลางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๗) ดำเนินการตามข้อ ๓๙ และข้อ ๔๓
ในกรณีที่ได้ดำเนินการตาม (๑) แล้ว
ฝ่ายที่ยังมิได้ลงลายมือชื่อไม่ประสงค์จะจดทะเบียนการหย่า
หรือนายทะเบียนมิได้รับคำร้องภายในหกสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนได้แจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบ
ให้แจ้งสำนักทะเบียนแห่งแรกและผู้ร้องทราบเพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ ๒๒
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนการหย่าโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันถึงที่สุดให้สามีภริยาหย่าขาดจากกัน
และมีคำรับรองถูกต้องมาแสดง ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการของคู่หย่าในทะเบียนการหย่า (คร.๖)
และใบสำคัญการหย่า (คร.๗) ให้ครบถ้วน
(๓) บันทึกข้อความลงในช่องบันทึกของทะเบียนการหย่า (คร.๖)
ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี วันเดือนปีที่พิพากษา
และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๔) ดำเนินการตามข้อ ๒๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖)
สำหรับในกรณีที่ผู้ร้องมายื่นคำร้องเพียงฝ่ายเดียว ให้เก็บรักษาใบสำคัญการหย่า
(คร.๗) ฉบับที่เหลือไว้ แล้วแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งมารับไป
หมวด ๔
การจดทะเบียนรับรองบุตร
ข้อ ๒๓
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
โดยเด็กและมารดาเด็กมาให้ความยินยอมในการจดทะเบียน ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง เด็ก
และมารดาเด็ก
(๒) ลงรายการในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๔
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สำนักทะเบียนอำเภอโดยเด็กหรือมารดาเด็กฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายไม่มาแสดงตนเพื่อให้ความยินยอม
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง และหลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
(๒)
สอบปากคำผู้ร้องให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าเด็กหรือมารดาเด็กที่ไม่มาแสดงตนเพื่อให้ความยินยอมว่ามีภูมิลำเนาอยู่ที่ใด
แล้วแจ้งการขอจดทะเบียนรับรองบุตรไปยังเด็กหรือมารดาเด็กนั้นว่าจะให้ความยินยอมหรือไม่
(๓) เมื่อเด็กและมารดาได้ให้ความยินยอมแล้ว
ให้ดำเนินการตามข้อ ๒๓ (๒) (๓) (๔) และ (๕)
สำหรับช่องลายมือชื่อผู้ให้ความยินยอมให้ระบุว่าได้ให้ความยินยอมเป็นหนังสือ
(๔) ถ้าเด็กหรือมารดาเด็ก
ไม่คัดค้านหรือไม่ให้ความยินยอมภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๑๕๔๘
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้แจ้งผู้ร้องทราบ
ข้อ ๒๕
เมื่อมีผู้ขอจดทะเบียนรับรองบุตร ณ
สำนักทะเบียนอำเภอโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันเป็นถึงที่สุดให้บิดาจดทะเบียนรับรองบุตรได้หรือให้บิดารับเด็กเป็นบุตร
และมีคำรับรองถูกต้องแสดง ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้ครบถ้วน
รวมทั้งบันทึกข้อความลงในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่
คดีวันเดือนปีที่พิพากษา และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อไว้ในทะเบียนรับรองบุตร
(คร.๑๑)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๖
เมื่อมีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในเขตอำนาจของนายทะเบียน
โดยระบุว่าจะให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนรับรองบุตรในวัน เวลา และสถานที่ใด
หากนายทะเบียนเห็นสมควรให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการตามข้อ ๒๓ หรือข้อ ๒๔ หรือข้อ ๒๕
แล้วแต่กรณีสำหรับทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ก
นำหน้าเลขทะเบียน
(๒)
ในกรณีที่มีผู้ร้องขอให้นายทะเบียนออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในวัน
เวลา เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้แยกใช้ทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ต่างหาก
โดยกำหนดอักษรหน้าเลขทะเบียนเป็น ข หรือ ค หรือ ง หรือ จ
เพิ่มเติมไปตามลำดับ
(๓)
บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๒๗ เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรออกไปรับจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกล
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ขออนุมัติต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อออกไปจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลโดยระบุวัน
เวลา และสถานที่ให้ชัดเจน
(๒) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ วัน เวลา
และสถานที่ในการรับจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลแล้ว
และมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตรในวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว
ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนรับรองบุตรตามข้อ ๒๓ หรือข้อ ๒๔ หรือข้อ ๒๕
แล้วแต่กรณี สำหรับทะเบียนรับรองบุตร (คร.๑๑) ให้แยกใช้ต่างหาก โดยกำหนดอักษร ท
นำหน้าเลขทะเบียน
(๓)
บันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกว่าได้รับจดทะเบียนรับรองบุตร ณ สถานที่ใด
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวด ๕
การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ข้อ ๒๘ เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ณ สำนักทะเบียนอำเภอโดยผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง และหลักฐานตามข้อ ๘
ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒)
ตรวจสอบว่าผู้ร้องทั้งสองฝ่ายมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
ในกรณีที่ผู้ร้องมีคู่สมรสซึ่งต้องให้ความยินยอม
ให้ตรวจสอบหลักฐานของบุคคลดังกล่าวด้วย
(๓) ลงรายการในทะเบียนรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๔) ให้ครบถ้วน
(๔) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียน (คร.๑๔)
(๕) เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
(คร.๑๔)
(๖) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
ข้อ ๒๙
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ณ สำนักทะเบียนอำเภอ
โดยผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และหนังสือแจ้งการอนุมัติของคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายว่าด้วยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
(๒)
ตรวจสอบว่าผู้ร้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายหรือไม่
(๓) ดำเนินการตามข้อ ๒๘ (๓) (๔) (๕) และ (๖)
โดยบันทึกข้อความในช่องบันทึกเกี่ยวกับเลขที่ วันเดือนปี
ของหนังสือแจ้งการอนุมัติของคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมไว้ในช่องบันทึกด้วย
ข้อ ๓๐
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมตามข้อ ๒๘ หรือข้อ ๒๙
แต่นายทะเบียนปฏิเสธไม่รับจดทะเบียนให้
ต่อมาบุคคลดังกล่าวได้ร้องขอจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ณ
สำนักทะเบียนอำเภออีกครั้งหนึ่ง
โดยนำสำเนาคำสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ผู้ร้องจดทะเบียนรับบุญบุตรธรรมได้และมีคำรับรองถูกต้องมาแสดง
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำสั่งของศาลและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ดำเนินการตามข้อ ๒๘ หรือข้อ ๒๙ แล้วแต่กรณี
รวมทั้งบันทึกข้อความลงในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี
วันเดือนปี ที่มีคำสั่ง และสาระสำคัญของคำสั่งศาลนั้น
หมวด ๖
การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
ข้อ ๓๑
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยความตกลงกัน ณ
สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
สำหรับกรณีที่บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะให้ตรวจสอบหลักฐานของผู้ให้ความยินยอมด้วย
(๒) ลงรายการในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้อง ผู้ให้ความยินยอม (ถ้ามี)
และพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลาลายมือชื่อในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๐ และข้อ ๔๓
ข้อ ๓๒
เมื่อมีผู้ร้องขอจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยนำสำเนาคำพิพากษาอันถึงที่สุดให้เลิกรับบุตรบุญธรรม
และคำรับรองถูกต้องมาแสดงให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
สำเนาคำพิพากษาและคำรับรองถูกต้อง
(๒) ลงรายการในทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร. ๑๗)
ให้ครบถ้วน
(๓)
บันทึกข้อความลงในช่องบันทึกของทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.๑๗)
ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี วันเดือนปีที่พิพากษา
และสาระสำคัญของคำพิพากษานั้น
(๔) คำเนินการตามข้อ ๓๑ (๓) (๔) และ (๕)
หมวด ๗
การบันทึกฐานะของภริยา
ข้อ ๓๓
นายทะเบียนจะรับบันทึกฐานะของภริยาได้เมื่อชายหญิงได้สมรสกันก่อนวันที่ ๑
ตุลาคม ๒๔๗๘
ข้อ ๓๔
นายทะเบียนสามารถรับบันทึกฐานะของภริยาได้เฉพาะสามีภริยาที่มายื่นคำร้องเท่านั้น
และสามารถบันทึกได้สองชั้น คืน
(๑) ภริยาหลวงหรือเอกภริยา ได้แก่ ภริยาที่ทำการสมรสก่อนภริยาอื่น
หรือภริยาที่สามียกย่องว่าเป็นภริยาหลวง โดยบันทึกได้เพียงคนเดียว
(๒) ภริยาน้อย อนุภริยา หรือภริยาอื่นนอกจากภริยาหลวง
โดยอาจบันทึกได้หลายคน
ข้อ ๓๕
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของสามีและภริยาให้บันทึกฐานะของภริยา
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้องทั้งสองฝ่าย
(๒) ลงรายการในทะเบียนฐานะของภริยา (คร.๒๐) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะของภริยา
(คร.๒๐)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะของภริยา (คร.๒๐)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
หมวด ๘
การบันทึกฐานะแห่งครอบครัว
ข้อ ๓๖ การใด
ๆ อันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ได้กระทำไว้ ณ
ต่างประเทศตามแบบกฎหมายแห่งประเทศที่ทำขึ้นบัญญัติไว้
ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้นายทะเบียนบันทึกฐานะแห่งครอบครัวนั้นไว้เป็นหลักฐานก็ได้
แต่ในขณะร้องขอ คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายจะต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย
ข้อ ๓๗
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอตามข้อ ๓๖
โดยแสดงหลักฐานอันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัว
พร้อมคำแปลเอกสารดังกล่าวเป็นภาษาไทยซึ่งกระทรวงการต่างประเทศหรือสถานทูตหรือสถานกงสุลของไทย
สถานทูตหรือสถานกงสุลของประเทศนั้นหรือองค์กรที่รัฐบาลประเทศนั้นมอบหมาย
รับรองคำแปลถูกต้องแล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบคำร้อง หลักฐานตามข้อ ๘ ของผู้ร้อง
และหลักฐานอันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ประสงค์จะให้บันทึก
(๒) ลงรายการในทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.๒๒) ให้ครบถ้วน
(๓) ให้ผู้ร้องและพยานลงลายมือชื่อในฐานะแห่งครอบครัว
(คร.๒๒)
(๔)
เมื่อเห็นว่าถูกต้องให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อในทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.๒๒)
(๕) ดำเนินการตามข้อ ๔๓
หมวด ๙
การบันทึกเพิ่มเติม
ข้อ ๓๘
เมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายร้องขอบันทึกเพิ่มเติมหรือแก้ไขรายการต่าง
ๆ ในทะเบียน ที่ได้ลงรายการไว้แล้ว
ให้นายทะเบียนบันทึกเพิ่มเติมในช่องบันทึกให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ร้อง
เรื่องที่ขอให้บันทึก และเอกสารหลักฐาน
แล้วให้ผู้ร้องและนายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้โดยไม่ต้องแก้ไขรายการเดิม
ทั้งนี้ การบันทึกเพิ่มเติมที่อาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ห้ามมิให้นายทะเบียนรับบันทึกไว้ เว้นแต่มีคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลตามข้อ ๔๑
ข้อ ๓๙
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนการหย่าแล้ว ให้นายทะเบียนบันทึกในช่องบันทึกของทะเบียนสมรสให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับสำนักทะเบียน
อำเภอ เลขทะเบียนที่ วันเดือนปี ที่จดทะเบียนการหย่า แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับจดทะเบียนการหย่าไว้คนละแห่งกับสำนักทะเบียนอำเภอที่จดทะเบียนสมรส
ให้นายทะเบียนส่งสำเนาทะเบียนการหย่าไปยังสำนักทะเบียนที่รับจดทะเบียนสมรสเพื่อบันทึกไว้ในทะเบียนสมรสเช่นเดียวกัน
ข้อ ๔๐
เมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมแล้ว ให้นายทะเบียน
บันทึกในช่องบันทึกของทะเบียนรับบุตรบุญธรรมให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับสำนักทะเบียนอำเภอ
เลขทะเบียนที่ วันเดือนปี ที่จดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมไว้คนละแห่งกับสำนักทะเบียนอำเภอที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ให้นายทะเบียนส่งสำเนาทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมไปยังสำนักทะเบียนที่รับจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเพื่อบันทึกไว้ในทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเช่นเดียวกัน
ข้อ ๔๑
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อขอให้บันทึกการหย่าหรือการเลิกรับบุตรบุญธรรมหรือการเพิกถอนทะเบียนใด
โดยมีสำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงที่สุดพร้อมคำรับรองถูกต้องมาแสดง
ให้นายทะเบียนบันทึกข้อความในช่องบันทึกของทะเบียนสมรส ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
หรือทะเบียนนั้น ๆ แล้วแต่กรณี ให้ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับศาล เลขที่คดี
วันเดือนปี ที่มีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
และสาระสำคัญของคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นแล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ได้รับแจ้งจากศาลเกี่ยวกับความเป็นโมฆะของการสมรส
ให้นายทะเบียนบันทึกข้อความในช่องบันทึกของทะเบียนสมรส
โดยถือปฏิบัติตามความในวรรคหนึ่งโดยอนุโลม
หมวด ๑๐
การจัดเก็บและรายงาน
ข้อ ๔๒
เมื่อได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้แล้ว
ให้นายทะเบียนเก็บรักษาทะเบียนไว้เป็นหลักฐานตลอดไปโดยแยกเก็บเป็นแต่ละประเภททะเบียนเรียงลำดับตามเลขที่ทะเบียน
ข้อ ๔๓
เมื่อได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียนหรือบันทึกเพิ่มเติมในทะเบียนทุกครั้ง
ให้นายทะเบียนจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ตามแนวทางที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนด
ให้จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องของการรับจดทะเบียนหรือบันทึกจากระบบคอมพิวเตอร์ภายในวันที่ห้าของเดือน
หากพบข้อบกพร่องให้แจ้งสำนักทะเบียนอำเภอดำเนินการแก้ไข
ข้อ ๔๔
ในกรณีที่สำนักทะเบียนอำเภอยังไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลโดยระบบคอมพิวเตอร์ได้
ให้นายทะเบียนจัดทำสำเนาเอกสารทะเบียนนั้นส่งไปยังจังหวัดภายในวันที่ห้าของเดือนเพื่อดำเนินการตามข้อ
๔๓
เมื่อถึงสิ้นปีปฏิทิน
ให้จังหวัดทำลายสำเนาเอกสารทะเบียนซึ่งได้จัดเก็บข้อมูลดังกล่าวตามวรรคหนึ่งไว้แล้ว
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
ข้อ ๔๕
ให้นายทะเบียนกลางรวบรวมข้อมูลการจดทะเบียนหรือบันทึกที่สำนักทะเบียนอำเภอได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
หมวด ๑๑
การให้บริการข้อมูล
ข้อ ๔๖
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียซึ่งขอดูทะเบียนครอบครัวที่นายทะเบียนได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
ให้นายทะเบียนดำเนินการให้โดยไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม
ถ้าผู้ร้องประสงค์จะขอคัดสำเนาและให้นายทะเบียนรับรองสำเนาทะเบียนนั้นให้นายทะเบียนเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
ข้อ ๔๗
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องตามข้อ ๔๖ วรรคหนึ่ง
แต่สำนักทะเบียนอำเภอนั้นมิได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ หรือไม่ทราบแน่ชัดว่าได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
ณ สำนักทะเบียนอำเภอใด
ให้นายทะเบียนสอบถามไปยังสำนักทะเบียนกลางตามแนวทางที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนด
แล้วแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
ข้อ ๔๘
เมื่อนายทะเบียนกลางได้รับคำร้องขอดูหรือขอสำเนารายการในทะเบียนซึ่งนายทะเบียนรับรอง
ให้นายทะเบียนกลางถือปฏิบัติตามข้อ ๔๖ โดยอนุโลม
ข้อ ๔๙ การรับรองรายการจากฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์
ให้นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามที่อธิบดีกรมการปกครองกำหนดประทับหรือเขียนข้อความในตอนล่างของรายการดังกล่าวว่า
ขอรับรองว่าเป็นรายการจากฐานข้อมูลทะเบียนครอบครัว
แล้วลงลายมือชื่อและวันเดือนปีที่รับรองกำกับไว้
หมวด ๑๒
แบบพิมพ์การทะเบียนครอบครัว
ข้อ ๕๐
การจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัวให้ใช้แบบพิมพ์ต่าง ๆ ท้ายระเบียบนี้
ดังนี้
(๑) คร.๑ คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว
(๒) คร.๒ ทะเบียนสมรส
(๓) คร.๓ ใบสำคัญการสมรส
(๔) คร.๖ ทะเบียนการหย่า
(๕) คร.๗ ใบสำคัญการหย่า
(๖) คร.๑๑ ทะเบียนรับรองบุตร
(๗) คร.๑๔ ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
(๘) คร.๑๗ ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
(๙) คร.๒๐ ทะเบียนฐานะของภริยา
(๑๐) คร.๒๒ ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว
(๑๑) คร.๓๑ ใบบันทึกต่อ
ข้อ ๕๑
ในกรณีที่แบบพิมพ์การทะเบียนครอบครัวที่นายทะเบียนยังไม่ได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้
หรือได้ลงรายการไว้แล้ว แต่นายทะเบียนยังมิได้ลงลายมือชื่อในทะเบียนนั้น
เกิดการชำรุดเสียหายจนไม่อาจใช้ปฏิบัติงานได้ ให้นายทะเบียนขีดฆ่าแบบพิมพ์นั้นแล้วระบุคำว่า
ยกเลิก แล้วลงลายมือชื่อกำกับไว้
ข้อ ๕๒
ให้กรมการปกครองกำหนดหมายเลขแบบพิมพ์ใบสำคัญการสมรส (คร.๓)
และแบบพิมพ์ใบสำคัญการหย่า (คร.๗) แต่ละฉบับไว้ที่ตอนล่างด้านซ้ายของแบบพิมพ์นั้น
ถ้าแบบพิมพ์ดังกล่าวของสำนักทะเบียนอำเภอเกิดการสูญหายให้นายทะเบียนรายงานจังหวัดเพื่อแจ้งให้กรมการปกครองยกเลิกแบบพิมพ์หมายเลขนั้นทันที
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๕๓
ให้ใช้แบบ คร.๒ คร.๖ คร.๑๑ คร.๑๗ คร. ๒๐ คร.๒๒ และคร.๓๑ ท้ายระเบียบนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒
สำหรับการจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียน
ก่อนวันดังกล่าวตามวรรคหนึ่งให้ใช้แบบ คร.๒ คร.๖ คร.๑๑ คร.๑๔ คร.๑๗ คร.๒๐ คร.๒๒
และคร.๓๑ ตามระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว พุทธศักราช ๒๔๘๓
ข้อ ๕๔
ในการกำหนดเลขทะเบียนตามข้อ ๑๒
ให้นายทะเบียนกำหนดเลขทะเบียนที่ต่อจากทะเบียนครอบครัวซึ่งได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกทะเบียนไว้ตามระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว
พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบการจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๕๕
ในระหว่างที่จังหวัดยังไม่อาจดำเนินการตามข้อ ๔๔
วรรคหนึ่งได้ให้จังหวัดจัดส่งสำเนาเอกสารทะเบียนนั้นไปยังสำนักทะเบียนกลางภายในวันที่ยี่สิบของเดือนเพื่อดำเนินการแทน ทั้งนี้
ให้สำนักทะเบียนกลางถือปฏิบัติในการทำลายเอกสารเช่นเดียวกัน
ข้อ ๕๖
หลักฐานทางทะเบียนครอบครัวที่ได้รับจดทะเบียนหรือบันทึกไว้ก่อนระเบียบนี้ใช้บังคับให้คงใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงหรือเพื่อปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้
ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
[เอกสารแนบท้าย]
๑. คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว (คร.1)
๒. ทะเบียนสมรส (คร.2)
๓. ใบสำคัญการสมรส (คร.3)
๔. ทะเบียนการหย่า (คร.6)
๕. ใบสำคัญการหย่า (คร.7)
๖. ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11)
๗. ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม (คร.14)
๘. ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม (คร.17)
๙. ทะเบียนฐานะของภริยา (คร.20)
๑๐. ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.22)
๑๑. ใบบันทึกต่อ (คร.31)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปรียนันท์/พิมพ์
๒๘ มีนาคม ๒๕๔๕
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๓ ง/หน้า ๔๒/๑๒ มกราคม ๒๕๔๒ |
314445 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎรสำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชนแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2532 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
สำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตามโครงการจัดทำ
เลขประจำตัวประชาชนแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๓๒
----------------------
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
สำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๘
เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๓๒ ผู้อำนวยการ
ทะเบียนอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่
๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๕ จึงออก
ระเบียบกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาปฏิบัติราชการสำหรับสำนักทะเบียนในการดำเนินการ
ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการ
ปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
สำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ตามโครงการ
จัดทำเลขประจำตัวประชาชนแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.
๒๕๓๒"
ข้อ ๒
ในระเบียบนี้
"การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน"
หมายความว่า การดำเนินการของสำนัก
ทะเบียนจนแล้วเสร็จ
ตามคำขอที่ประชาชนยื่นตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร กฎ
กระทรวง และระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
เพื่อสำนักทะเบียนกระทำการอันมีผล
ในทางราชการให้ประชาชนผู้ยื่นคำขอปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
"วัน"
หมายความว่า วันตามปีปฏิทิน
"วันทำการ"
หมายความว่า วันทำการตามปกติของทางราชการ
ข้อ ๓
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ มีอำนาจตีความ
และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๔
การปฏิบัติตามขั้นตอนในระเบียบนี้ ให้นายทะเบียนถือปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้แล้วตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายการทะเบียนราษฎร
กฎกระทรวง และ
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรซึ่งได้ออกตามกฎหมายดังกล่าว
เว้นแต่ขั้นตอนที่มิได้
กำหนดการปฏิบัติไว้ในระเบียบนั้น
ก็ให้ถือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดขึ้นแห่งระเบียบนี้ใช้บังคับ
แทน
ข้อ ๕
การนับระยะเวลาการปฏิบัติราชการตามระเบียบนี้ ให้เริ่มนับแต่วันที่
ประชาชนได้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียน เป็นวันเริ่มต้น
ข้อ ๖
ให้นับระยะเวลาการปฏิบัติราชการตามระเบียบนี้ เพื่อการดำเนินงานใน
แต่ละขั้นตอนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหมวด ๒
ข้อ ๗
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำขอแล้วพิจารณาเห็นว่า
(๑) หลักฐานที่ผู้ยื่นคำขอนำมาแสดงไม่ครบถ้วน
หรือไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
ให้แจ้งผู้ยื่นคำขอทราบ เพื่อนำหลักฐานมาให้ครบถ้วนหรือแก้ไขให้ถูกต้องในคราวเดียวกัน
หากผู้ยื่นคำขอไม่อาจดำเนินการให้แล้วเสร็จในคราวเดียวกันได้
ให้นายทะเบียนแจ้งผู้ยื่นคำขอ
ทราบ โดยบันทึกเหตุผลในคำขอ
(๒)
เป็นกรณีที่ยังไม่มีแนวทางปฏิบัติที่แน่ชัด ให้สรุปความเห็นพร้อมหลักฐาน
เสนอให้ผู้มีอำนาจตามลำดับชั้นวินิจฉัยสั่งการต่อไป
(๓)
กรณีจำเป็นอันเนื่องมาจากเหตุสุดวิสัยไม่สามารถดำเนินการได้ ให้นาย
ทะเบียนแจ้งผู้ยื่นคำขอทราบ โดยบันทึกเหตุผลในคำขอ
การปฏิบัติตาม
(๑) หรือ (๒) หรือ (๓) มิให้นับรวมระยะเวลาดังกล่าวเป็นระยะ
เวลาในการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข้อ
๘ กรณีที่ผู้มีอำนาจวินิจฉัยสั่งการตามกฎหมายการทะเบียนราษฎร กฎ
กระทรวง และระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรที่กำหนดไว้
ไม่อนุมัติ หรือสั่งการเป็นอย่าง
อื่น ซึ่งไม่อาจดำเนินการตามที่ร้องขอได้
ให้นายทะเบียนแจ้งผู้ยื่นคำขอทราบเป็นหนังสือ และระบุ
เหตุผลโดยละเอียด
พร้อมทั้งยกเลิกคำขอและคืนหลักฐานประกอบคำขอ
หมวด ๒
ขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน
ของสำนักทะเบียน
ข้อ
๙ ให้นายทะเบียนหรือผู้มีอำนาจวินิจฉัยสั่งการพิจารณาและดำเนินการตาม
คำขอของผู้ยื่นคำขอให้แล้วเสร็จตามตารางขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร
แนบท้ายระเบียบนี้
ข้อ
๑๐ กรณีเป็นการแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน เมื่อมีการ
ออกหลักฐานการรับแจ้งแล้ว
ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน นำเอกสารหลักฐานดัง
กล่าวเสนอนายทะเบียนตำบลภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วันที่ได้รับคำขอ และให้นายทะเบียนตำบล
ดำเนินการตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนดในข้อ ๙
ข้อ
๑๑ ในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรกรณีอื่น ซึ่งมิได้กำหนดขั้นตอนและ
ระยะเวลาไว้ตามข้อ ๙ และข้อ ๑๐
ให้นายทะเบียนพิจารณาดำเนินการตามคำขอให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๑ วันทำการ
ให้ใช้ระเบียบนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒
เอนก สิทธิประศาสน์
ผู้อำนวยการทะเบียน
[ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย]
[รก.๒๕๓๒/๑๖๔/๒๐พ/๒๙ กันยายน ๒๕๓๒]
พุทธชาด/แก้ไข
๑๒/๐๙/๔๕
A+B
( C) |
314443 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร สำหรับนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชน พ.ศ. 2528 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
สำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชน
พ.ศ.
๒๕๒๘
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๕
ผู้อำนวยการทะเบียนจึงวางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎร
สำหรับสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชน
ถือปฏิบัติเป็นกรณีพิเศษ บรรดาระเบียบ
หนังสือสั่งการและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรฉบับใด ข้อใด
มีข้อความขัดแย้งไม่ตรงกับฉบับนี้ ให้ใช้ระเบียบฉบับนี้ บังคับดังต่อไปนี้
ส่วนที่
๑
คำนิยาม
ตอนที่
๑
สำนักทะเบียนราษฎรและนายทะเบียน
ข้อ ๑
นิยามเกี่ยวกับสำนักทะเบียนราษฎรและนายทะเบียน ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) คำว่า สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
หมายความว่า สำนักทะเบียนกลาง
ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
(๒) คำว่า สำนักทะเบียนจังหวัด
หมายความว่า สำนักทะเบียน ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรในเขตแต่ละจังหวัด
(๓) คำว่า สำนักทะเบียนอำเภอ
หมายความว่า สำนักทะเบียน ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรในเขตแต่ละอำเภอหรือกิ่งอำเภอ
(๔) คำว่า สำนักทะเบียนท้องถิ่น
หมายความว่า สำนักทะเบียน
ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรในเขตแต่ละเขตสำหรับกรุงเทพมหานคร เทศบาล
และเมืองพัทยา ตามระเบียบนี้
(๕) คำว่า สำนักทะเบียนสาขา
หมายความว่า สำนักทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น
ที่จัดตั้งขึ้นมากกว่าหนึ่งสำนักทะเบียนในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
(๖) คำว่า สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
หมายความว่า
สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้ดำเนินการถ่ายทะเบียนบ้านเพื่อนำไปบันทึกข้อมูลและจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
(๗) คำว่า ผู้อำนวยการทะเบียน
หมายความว่า ผู้อำนวยการทะเบียน ประจำสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
(๘) คำว่า นายทะเบียนจังหวัด
หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนจังหวัด
(๙) คำว่า นายทะเบียนอำเภอ
หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ
(๑๐) คำว่า นายทะเบียนท้องถิ่น
หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๑๑) คำว่า นายทะเบียนสาขา
หมายความว่า
นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนสาขาเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตามระเบียบนี้
(๑๒) คำว่า นายทะเบียนตำบล
หมายความว่า นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนตำบล
(๑๓) คำว่า นายทะเบียนผู้รับแจ้ง
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น หมายถึง นายทะเบียนท้องถิ่น ในเขตสำนักทะเบียนตำบล
หมายถึงนายทะเบียนตำบล
(๑๔) คำว่า ผู้ช่วยนายทะเบียนประจำตำบลประจำหมู่บ้าน
หมายความว่า ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลซึ่งทำหน้าที่รับแจ้งประจำหมู่บ้าน
(๑๕) คำว่า นายอำเภอ
ตามระเบียนนี้ ให้หมายความรวมถึง หัวหน้าเขต สำหรับเขตในกรุงเทพมหานคร
และปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
ส่วนที่
๑
คำนิยาม
ตอนที่
๒
บ้านและทะเบียนบ้าน
ข้อ ๒
นิยามเกี่ยวกับบ้าน ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) คำว่า เลขหมายประจำบ้าน
หมายความว่า เลขหมายที่นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกให้เพื่อกำกับบ้านแต่ละหลัง
(๒) คำว่า เลขรหัสประจำบ้าน
หมายความว่า
เลขรหัสที่นายทะเบียนได้กำหนดให้สำหรับทะเบียนบ้านจากบัญชีการให้เลขรหัสประจำบ้าน
เพื่อแสดงรายการที่อยู่ของบ้านแต่ละหลัง
(๓) คำว่า จุดสมมติในการให้เลขหมายประจำบ้าน
หมายความว่า
จุดที่สมมติขึ้นเพื่อใช้เป็นจุดหลักหรือจุดเริ่มต้นในการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๔) คำว่า ทะเบียนคนบ้านกลาง
หมายความว่า ทะเบียนที่สำนักทะเบียนจัดทำขึ้นใช้สำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่สามารถจะลงรายการในทะเบียนบ้านแห่งใดได้
เช่น ย้ายไม่ทราบที่อยู่ บ้านรื้อถอนหรือทำลายจนไม่มีสภาพเป็นบ้าน เป็นต้น
(๕) คำว่า บัญชีคนในบ้าน
หมายความว่า บัญชีรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแต่ละบ้าน
ตอนที่
๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ ๓
นิยามเกี่ยวกับทะเบียนคนเกิด ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) หนังสือรับรองการเกิด หมายความว่า
หลักฐานแสดงการเกิดของบุคคลที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
หรือผู้ทำคลอดออกให้เพื่อรับรองว่าได้เป็นผู้ทำคลอดบุคคลดังกล่าว
(๒) คำว่า เกิดในบ้าน
หมายความว่า เกิดในบ้านทั่วๆ ไป ตามความหมายของคำว่า บ้าน
จะเป็นบ้านของผู้ใดก้ได้ไม่จำกัดว่าต้องเป็นบ้านซึ่งมารดาผู้คลอดเด็กมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เช่น เกิดในโรงพยาบาล เป็นต้น
(๓) คำว่า เกิดนอกบ้าน
หมายความว่า
เกิดนอกชายคาบ้านหรือการเกิดในสถานที่ที่มิได้เป็นบ้านตามความหมายของคำว่า บ้าน
เช่น เกิดในศาลาที่พักคนเดินทางหรือโดยสาร เป็นต้น
(๔) คำว่า แจ้งเกิดภายในกำหนด
หมายความว่า การแจ้งเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่เด็กเกิดภายใน ๑๕
วัน นับแต่วันเกิด
(๕) คำว่า แจ้งเกิดเกินกำหนด
หมายความว่า การแจ้งเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่เด็กเกิดภายหลังจาก
๑๕ วัน นับแต่วันเกิด
(๖) คำว่า คนต่างท้องที่เกิดนอกบ้าน
หมายความว่า บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของบสำนักทะเบียนแห่งหนึ่ง
ไปคลอดเด็กนอกบ้านในท้องที่สำนักทะเบียนอีกแห่งหนึ่ง
(๗) คำว่า คนต่างท้องที่เกิดในบ้าน
หมายความว่า บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแห่งหนึ่ง
ไปคลอดเด็กในบ้านในท้องที่สำนักทะเบียนอีกแห่งหนึ่ง
ตอนที่
๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ ๔
นิยามเกี่ยวกับทะเบียนคนตาย ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) คำว่า หนังสือรับรองการตาย
หมายความว่า หลักฐานแสดงการตายของบุคคลที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
หรือผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพออกให้เพื่อรับรองการตายของบุคคลนั้น
(๒) คำว่า ตายในบ้าน
หมายความว่า ตายในบ้านทั่วไปๆ ตามความหมายของคำว่า บ้าน
จะเป็นบ้านของผู้ใดก็ตาม เช่น ตายในโรงพยาบาล เป็นต้น
(๓) คำว่า ตายนอกบ้าน
หมายความว่า ตายนอกชายคาบ้านหรือตายในสถานที่ที่มิได้เป็นบ้านตามความหมายของคำว่า บ้าน
เช่น ตายในศาลาที่พักคนเดินทางหรือโดยสาร เป็นต้น
(๔) คำว่า คนต่างท้องที่ตายนอกบ้าน
หมายความว่า บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของบสำนักทะเบียนแห่งหนึ่ง
ไปตายนอกบ้านในท้องที่สำนักทะเบียนอีกแห่งหนึ่ง
(๕) คำว่า คนต่างท้องที่ตายในบ้าน
หมายความว่า บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแห่งหนึ่ง
ไปตายในบ้านในท้องที่สำนักทะเบียนอีกแห่งหนึ่ง
(๖) คำว่า ตายโดยไม่พบศพ
หมายความว่า มีข้อเท็จจริงเชื่อว่าตาย แต่ไม่พบศพหรือไม่สามารถหาศพมายืนยันการตายได้
(๗) คำว่า แจ้งตายภายในกำหนด
หมายความว่า การแจ้งตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่ตายภายใน ๒๔ ชั่วโมง
นับแต่เวลาตายหรือพบศพ
(๘) คำว่า แจ้งตายเกินกำหนด
หมายความว่า การแจ้งการตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่ตายภายหลังจาก ๒๔
ชั่วโมง นับแต่เวลาตายหรือพบศพ
ตอนที่
๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ ๕
นิยามเกี่ยวกับการย้ายที่อยู่ ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) คำว่า การย้ายโดยไม่ทราบที่อยู่
หมายความว่า
การย้ายบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและบุคคลนั้นไม่ปรากฏที่อยู่หรือไม่สามารถตรวจสอบที่อยู่ที่แน่นอนได้
(๒) คำว่า การแจ้งย้ายที่อยู่ปลายทาง
หมายความว่า การไปยื่นขอแจ้งย้ายเข้าต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
โดยมิได้แจ้งการย้ายออกต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(๓) คำว่า การย้ายที่อยู่สำหรับทหาร
หมายความว่า การย้ายที่อยู่ของบุคคลซึ่งรับราชการ เป็นทหารกองประจำการ
(๔) คำว่า การย้ายที่อยู่ไปและมาจากต่างประเทศ
หมายความว่า การย้ายที่อยู่ไปหรือมาจากต่างประเทศ
รวมถึงการอพยพหรือถูกเนรเทศไปอยู่ต่างประเทศ
(๕) คำว่า ย้ายกลับที่เดิม
หมายความว่า การแจ้งย้ายออกจากที่อยู่แล้วไม่ไปแจ้งย้ายเข้าตามที่ระบุไว้
แต่ขอแจ้งย้ายกลับมาอยู่ที่เดิม
(๖) คำว่า การย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง
หมายถึง การแจ้งย้ายที่อยู่ของบุคคลจากทะเบียนบ้านมาเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
(๗) คำว่า การย้ายออกจากทะเบียนคนบ้านกลาง
หมายถึง การแจ้งย้ายรายการบุคคลจากทะเบียนคนบ้านกลางไปเข้าทะเบียนบ้านที่บุคคลนั้นจะไปอยู่
(๘) คำว่า การย้ายในท้องที่
หมายความว่า
การที่บุคคลย้ายออกและย้ายเข้าในเขตสำนักทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่นหรือสาขาเดียวกัน
ตอนที่
๖
การควบคุมทะเบียนราษฎร
ข้อ ๖
นิยามเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนราษฎร ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
(๑) คำว่า การตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร
หมายความว่า
บุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวซึ่งเกิดก่อนวันที่
๑ มิถุนายน ๒๔๙๙ และไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(๒) คำว่า บุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
หมายถึง
คนต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ผ่านขั้นตอนตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
หรือที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาอยู่เป็นการชั่วคราว
รวมถึงบุตรของบุคคลดังกล่าวซึ่งถูกถอนสัญชาติไทยหรือไม่ได้สัญชาติไทยตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่
๓๓๗ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕
(๓) คำว่า เด็กอนาถา
หมายความว่า เด็กซึ่งเกิดมาโดยบิดามารดาทอดทิ้ง
แต่อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลอุปการะ
รวมถึงบุคคลลักษณะดังกล่าวที่มีอายุบรรลุนิติภาวะแล้ว
ส่วนที่
๒
สำนักทะเบียนราษฎรและนายทะเบียน
ตอนที่
๑
สำนักทะเบียนราษฎร
ข้อ ๗
สำนักทะเบียน มีดังต่อไปนี้
(๑) สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ตั้งอยู่ในกรมการปกครอง มีผู้อำนวยการทะเบียนเป็นนายทะเบียน
และมีรองผู้อำนวยการทะเบียนเป็นผู้ช่วย
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนราษฎรโดยทั่วไปทั่วราชอาณาจักรและวางระเบียบปฏิบัติต่างๆ
เกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
(๒) สำนักทะเบียนจังหวัดตั้งอยู่ ณ
ศาลากลางจังหวัดมีนายทะเบียนจังหวัดเป็นนายทะเบียน
และมีผู้ช่วยนายทะเบียนจังหวัดเป็นผู้ช่วย
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตจังหวัด
(๓) สำนักทะเบียนอำเภอตั้งอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอ
หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอมีนายทะเบียนอำเภอและผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอเป็นผู้ช่วย
มีหน้าที่จัดทำทะเบียนราษฎร
และควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตอำเภอหรือกิ่งอำเภอ
(๔) สำนักทะเบียนตำบลตั้งอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอ
หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอ หรือในสถานที่ที่จังหวัดกำหนด
มีนายทะเบียนตำบลเป็นนายทะเบียน และมีผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลเป็นผู้ช่วย
ทำหน้าที่เป็นนายทะเบียนผู้รับแจ้ง คือรับแจ้งการเกิด รับแจ้งการตาย
รับแจ้งการย้ายที่อยู่ รับแจ้งการสร้างบ้านใหม่ รับแจ้งการรื้อบ้าน
รับแจ้งการกำหนดหมายเลขประจำบ้าน
และให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเป็นนายทะเบียนผู้รับแจ้งประจำหมู่บ้าน
ในกรณีที่ท้องที่อำเภอหรือตำบลใดมีการคมนาคมไม่สะดวก
หรือในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร จังหวัดอาจจัดตั้งสำนักทะเบียนเพิ่มขึ้นอีกก็ได้ โดยรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบก่อน
(๕) สำนักทะเบียนท้องถิ่นตั้งอยู่ ณ
ที่ว่าการเขตในกรุงเทพมหานคร สำนักงานเทศบาล ศาลาว่าการเมืองพัทยา
มีนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นนายทะเบียน
และมีผู้ช่วยนายทะเบียนเป็นผู้ช่วยทำหน้าที่เป็นนายทะเบียนผู้รับแจ้ง คือ
รับแจ้งการเกิด รับแจ้งการตาย รับแจ้งการย้ายที่อยู่ รับแจ้งการสร้างบ้านใหม่
รับแจ้งการรื้อบ้าน รับแจ้งการกำหนดหมายเลขประจำบ้าน
และมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำทะเบียนราษฎร และควบคุมการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร
ในเขตการปกครองท้องถิ่นนั้นๆ
ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควรเพื่อความสะดวกแก่ราษฎรอาจจัดตั้งสำนักทะเบียนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอีกก็ได้
แต่ต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด โดยรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบก่อน
(๖)
สถานกงสุลไทยหรือสถานทูตไทยในต่างประเทศเป็นสำนักทะเบียนทำหน้าที่จัดทำทะเบียนสำหรับผู้มีสัญชาติไทย
ในกรณีคนเกิด คนตาย นอกราชอาณาจักร โดยมีกงสุลไทย หรือข้าราชการสถานทูตไทย
ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศแต่งตั้งเป็นนายทะเบียน
ข้อ ๘
การจัดตั้งสำนักทะเบียนในท้องที่เดียวกันมากกว่าหนึ่งแห่งตามข้อ ๑ (๔)
วรรคสอง และข้อ ๑ (๕) วรรคสอง เมื่อได้รายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบแล้ว
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายกเทศมนตรี แล้วแต่กรณี ประกาศให้ราษฎรทราบ
ตอนที่
๒
การแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียน
ข้อ ๙
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียนและผู้ช่วยนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนจังหวัด
สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนตำบล แล้วสำเนาคำสั่งแต่งตั้งรายงานไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๐
ในเขตกรุงเทพมหานคร
ให้ปลัดกรุงเทพมหานครแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียนท้องถิ่นและผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
ในเขตเทศบาล
ให้นายกเทศมนตรีแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียนท้องถิ่นและผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
ในเขตเมืองพัทยา
ให้นายกเมืองพัทยาแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียนท้องถิ่นและผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อได้มีการแต่งตั้งหรือถอดถอนนายทะเบียนท้องถิ่นหรือผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
ให้รายงานไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด
และให้จังหวัดสำเนาคำสั่งรายงานไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๑
สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนตำบล
และสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้มีนายทะเบียนหนึ่งคนสำหรับผู้ช่วยนายทะเบียนให้แต่งตั้งได้มากกว่าหนึ่งคนตามความเหมาะสมของแต่ละสำนักทะเบียน
ส่วนที่
๓
การจัดทำเลขหมายประจำบ้าน
ตอนที่
๑
บ้านที่ต้องกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๑๒
บ้านหลังหนึ่ง ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเพียงเลขหมายเดียว
ข้อ ๑๓
บ้านที่ปลูกเป็นตึกแถวหรือห้องแถวหรืออาคารชุด
ให้กำหนดหมายเลขประจำบ้านทุกห้อง โดยถือว่าห้องหรืออาคารชุดหนึ่งๆ
เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ ๑๔
บ้านที่ปลูกไว้สำหรับให้เช่าเป็นหลังๆ
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านทุกหลังแม้จะมีผู้เช่าแล้วหรือไม่ก็ตาม
ข้อ ๑๕
เรือหรือแพ ที่จอดอยู่ประจำตามลำน้ำ และมีผู้อาศัยอยู่ประจำ
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านไว้เช่นเดียวกัน
โดยถือว่าเรือลำหนึ่งหรือแพหลังหนึ่งเป็นบ้านๆ หนึ่ง
ข้อ ๑๖
บ้านซึ่งมีโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอยู่ในเขตเดียวกัน เช่น วัด ค่ายทหาร
โรงเรียน เรือนจำ สถานีตำรวจ ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านแต่ละแห่งเพียงหมายเลขเดียว
แต่ถ้าเจ้าบ้านประสงค์จะกำหนดเลขหมายประจำบ้านขึ้นอีก ก็ให้นายทะเบียนกำหนดให้
ข้อ ๑๗
บ้านที่มีบุคคลอาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราวให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเช่นเดียวกัน
หากอาศัยร่วมกันกับบุคคลสัญชาติไทย
หรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเลขเดียวกันกับทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ฉบับสีขาว
และทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ฉบับสีเหลือง
ข้อ ๑๘
เลขหมายประจำบ้าน ขนาดสูง ๒ นิ้วฟุต จะใช้เขียนบนแผ่นโลหะหรือแผ่นไม้ก็ได้
ให้มีขนาดพองามและมองเห็นได้ชัดเจน
ตอนที่
๒
การกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๑๙
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้าน ดังต่อไปนี้
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ตั้งชื่อ ถนน ตรอก ซอย
ในเขตเทศบาลทุกแห่งจนครบและนำแผ่นป้ายบอกชื่อไว้หัวถนน ปลายถนน และตรงมุมแยก
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยเดียวกันมีชื่อเดิมหลายชื่อไม่เหมือนกันให้เลือกใช้ชื่อตรอกหรือซอยนั้นเพียงชื่อเดียว
โดยใช้ชื่อที่ประชาชนนิยม
(๒) ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเรียงตามลำดับบ้าน
โดยแต่ละถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ หรือลำคลองสายหนึ่งๆ ขึ้นลำดับหนึ่งใหม่
จนตลอดสายทุกสาย
(๓) การเรียงเลขหมายประจำบ้าน
ให้เริ่มจากจุดสมมุติก่อน เมื่อหันหลังไปทางจุดสมมุติฝั่งขวาของถนน ตรอก ซอย
แม่น้ำหรือลำคลอง ให้เลขหมายประจำบ้านเป็นเลขคู่เรียงต่อไปตามลำดับ เช่น ๒, ๔, ๖,
๘ ฯลฯ ส่วนฝั่งซ้ายมือให้ติดเลขหมายประจำบ้านเป็นเลขคี่เรียงกันไปตามลำดับ เช่น ๑,
๓, ๕, ๗ ฯลฯ
นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
ถือปฏิบัติเช่นเดียวกันกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้านในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๒) เรียงลำดับเลขหมายประจำบ้านเป็นรายหมู่บ้าน
เมื่อขึ้นหมู่บ้านใหม่ให้ขึ้นหมายเลข ๑ เสมอไป
(๓) เริ่มต้นให้เลขหมายประจำบ้าน
ตั้งแต่ในเขตชุมชฃนุมชนที่หนาแน่นในหมู่บ้านนั้นๆ เสียก่อน
แล้วจึงกำหนดเลขหมายประจำบ้านที่อยู่ใกล้ถนนสายใหญ่ หรือริมน้ำเป็นลำดับที่ ๒
จนสุดสายแล้วแยกเป็นสายอื่นๆ ต่อไป ตามความเหมาะสมและสะดวกแก่การค้นหาบ้าน
โดยให้ถือหลักว่าบ้านที่อยู่ใกล้เคียงกันควรจะให้เลขหมายประจำบ้านใกล้กัน
ข้อ ๒๐
ถ้าชุมนุมชนใดมีบ้านอยู่เป็นหย่อมๆ หรือบ้านที่อยู่ระเกะระกะไม่เป็นระเบียบ
ให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อน แล้วกำหนดเส้นทางจากจุดสมมุตินั้นและปฏิบัติตามข้อ ๑๙
ข้อ ๒๑
ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดจุดเริ่มต้นใดๆ ได้ ให้กำหนดจุดสมมุติขึ้นก่อน
แล้วกำหนดเลขหมายประจำบ้านเริ่มต้นจากจุดสมมุตินั้น
ข้อ ๒๒
บริเวณพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายท้องที่ ให้นายทะเบียนแต่ละท้องที่ติดกันนั้น
ทำความตกลงกันว่า ถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ ลำคลอง
สายใดที่ติดต่อกันระหว่างท้องถิ่นให้ติดหมายเลขประจำบ้านฝั่งใดเป็นฝั่งขวาหรือฝั่งซ้ายเพื่อให้เหมือนกันโดยตลอด
ข้อ ๒๓
เมื่อได้กำหนดเลขหมายประจำบ้านไปแล้ว ต่อมามีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่ระหว่างบ้านหลังใดก็ให้ใช้หมายเลขประจำบ้านของบ้านที่อยู่ใกล้กันแล้วเพิ่มตัวเลขไว้ท้ายเป็นเลขทับไป
เช่น ๕/๒, ๕/๓ เป็นเลขประจำบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่
นายทะเบียนอาจกำหนดเลขหมายประจำบ้านของบ้านหลังเดิมซึ่งถูกรื้อถอนหรือทำลายไป
ให้แก่บ้านซึ่งปลูกสร้างขึ้นใหม่ได้
ข้อ ๒๔
บ้านที่ปลูกสร้างขึ้นโดยมิชอบด้วยกฎหมายและระเบียบแบบแผน เช่น
บ้านที่ปลูกสร้างในที่สาธารณะ ปลูกสร้างโดยบุกรุกป่าสงวน
หรือบ้านที่ปลูกสร้างโดยมิได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้าง
เป็นบ้านชั่วคราวให้ถือเสมือนบ้านที่จะต้องกำหนดเลขหมายประจำบ้านให้ตามระเบียบนี้
ตอนที่
๓
วิธีการกำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน
ข้อ ๒๕
เมื่อมีโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างเกิดขึ้น โดยมีลักษณะเป็น บ้าน
ตามความหมายในมาตรา ๔ (๑) แห่ง พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๕
เจ้าบ้านจะต้องแจ้งการสร้างบ้านใหม่และขอกำหนดเลขหมายประจำบ้านต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้แจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่น
นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นให้แจ้งต่อนายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านก็ได้สุดแล้วแต่ความสะดวก
การแจ้งการสร้างบ้านใหม่และขอให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านให้ถือปฏิบัติ
ดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) ตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้ง
สภาพและลักษณะของบ้านว่า เป็นบ้านตามความหมายที่กำหนดไว้
(๓) ออกหลักฐานการรับแจ้งกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๔) จัดทำทะเบียนและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๕) ให้เลขรหัสประจำบ้าน
(๖) ลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๑)
(๗)
เก็บทะเบียนบ้านและมอบสำเนานทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๘) จัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อสำนักทะเบียนจังหวัดจะได้รวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
๑. ถ้าเป็นการแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) ตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้ง
สภาพและลักษณะของบ้าน ว่าเป็นบ้านตามความหมายที่กำหนดไว้
(๓) ออกหลักฐานการรับแจ้งกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๔) นำหลักฐานและ ท.ร. ๙ เสนอนายทะเบียนอำเภอ
๒ เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับ ท.ร. ๙
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำทะเบียนและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
(๒) ให้เลขรหัสประจำบ้าน
(๓) ลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๑)
(๔)
เก็บทะเบียนบ้านและมอบสำเนานทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๕) จัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลา และวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อสำนักทะเบียนจังหวัดจะได้รวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
๓. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) ตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้ง
สภาพและลักษณะของบ้าน ว่าเป็นบ้านตามความหมายที่กำหนดไว้
(๓) นำ ท.ร. ๙
และหลักฐานประกอบการแจ้งเสนอนายทะเบียนตำบล
(๔)
นายทะเบียนตำบลดำเนินการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน แล้วนำหลักฐานและ ท.ร. ๙
เสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการจัดทำทะเบียนบ้านตาม
ข ๒ (๑) (๕)
ข้อ ๒๖
กรณีที่มีการรื้อบ้าน บ้านถูกทำลาย ให้ถือปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
และตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งและสภาพบ้านว่ามีการรื้อถอนหรือถูกทำลายจนไม่มีสภาพเป็นบ้านจริง
(๓)
จำหน่ายทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน แล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
โดยหมายเหตุว่า แจ้งบ้านรื้อถอนหรือถูกทำลาย ตาม ท.ร. ๙
ลงวันที่.........เดือน...................พ.ศ. ..............
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียน วัน เดือน ปีกำกับ
(๔)
ดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ได้จำหน่ายตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
(๕) ลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๒)
(๖) จัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อสำนักทะเบียนจังหวัดจะได้รวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าเป็นการแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
และตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งและตรวจสอบสภาพบ้านว่ามีการรื้อถอนหรือถูกทำลายจนไม่มีสภาพเป็นบ้านจริง
(๓) นำ ท.ร. ๙
และหลักฐานประกอบการแจ้งเสนอนายทะเบียนอำเภอ
๒
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับ ท.ร. ๙ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) จำหน่ายทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
แล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๒)
ดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ได้จำหน่ายตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
(๓) ลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๒)
(๔) จัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑ ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อสำนักทะเบียนจังหวัดจะได้รวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
๓. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) รับแจ้งตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๙
(๒) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
และตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งและสภาพบ้านว่ามีการรื้อถอนหรือถูกทำลายจนไม่มีสภาพเป็นบ้านจริง
(๓) ส่ง ท.ร. ๙
และหลักฐานประกอบการแจ้งไปให้นายทะเบียนตำบล
(๔)
นายทะเบียนตำบลดำเนินการตรวจสอบและรวบรวมหลักฐานเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตาม ข ๒ (๑)
(๕)
ข้อ ๒๗
ในกรณีที่มีการรื้อบ้าน บ้านถูกทำลาย และไม่ปรากฏเจ้าบ้าน
ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองแห่งท้องที่นั้นเป็นผู้แจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแทนเจ้าบ้านและให้นายทะเบียนถือปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ
๒๖ โดยอนุโลม
ข้อ ๒๘
ในกรณีที่มีการรวมบ้านจากสองหลัง หรือมากกว่าสองหลัง
มาเป็นบ้านหลังเดียวกัน ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการรื้อบ้าน
หรือบ้านถูกทำลายตามข้อ ๒๖ และการแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้านตามข้อ ๓๐ โดยอนุโลม
โดยให้ถือว่าบ้านที่จะนำมารวมนั้นเป็นบ้านที่จะต้องถูกจำหน่าย
และต้องลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๒) ให้ครบทุกหลัง
ส่วนบ้านที่ถูกรวมยังคงใช้เลขรหัสประจำบ้านเลขเดิม
แต่ต้องแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้าน ซึ่งจะต้องลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๓)
เพียงหลังเดียว
ข้อ ๒๙
ในกรณีที่มีการแยกบ้านออกมาใหม่จากบ้านหลังเดิมให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการสร้างบ้านใหม่
และการขอกำหนดเลขหมายประจำบ้านตามข้อ ๒๕ และการแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้านตามข้อ ๓๐
โดยอนุโลม โดยให้ลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๑) และ (๓) ในใบรายงานเดียวกัน
โดยให้ถือว่าบ้านที่จะแยกออกไปตั้งใหม่ทุกหลังเป็นบ้านที่ได้ปลูกสร้างขึ้นใหม่
ซึ่งจะต้องออกทะเบียนบ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้านให้พร้อมทั้งลงรายการในแบบรายงาน
ท.ร. ๙๙ (๑) ส่วนบ้านที่ถูกแยกยังคงใช้เลขรหัสประจำบ้านเลขเดิม
แต่ต้องแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้าน ซึ่งจะต้องลงรายการในแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๓)
เพียงหลังเดียว
ข้อ ๓๐
การแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้านใรทะเบียนบ้าน
เนื่องจากลงรายการไว้ผิดไปจากข้อเท็จจริงเดิม
หรือจำเป็นต้องแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้านให้ตรงกับข้อเท็จจริง
เนื่องจากมีการรวมบ้านตามข้อ ๒๘ หรือแยกบ้านตามข้อ ๒๙
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่นดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงแล้วแต่กรณี
และให้รายงานตามแบบ ท.ร. ๙๙ (๓) แล้วจัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนต่างจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อสำนักทะเบียนจังหวัดจะได้นำส่งไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๓๑ การกำหนดเลขหมายประจำบ้านกรณีเปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
ก. การตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่
(๑)
ให้ถือเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้านที่ได้กำหนดไว้ประจำบ้านแต่ละบ้านของหมู่บ้านเดิมนั้นเป็นเลขหมายประจำของหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นใหม่ต่อไป
โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขแต่ประการใด
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี แก้ไข หมู่ที่
ในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านให้ตรงกับ หมู่ที่...
ที่ได้จัดตั้งขึ้นใหม่ สำหรับหมู่บ้านนั้น เช่น บ้านเลขที่
๔๗๑ หมู่ที่ ๔ ตำบลทับสะแก ได้แยกหมู่ที่ ๔ ออกเป็น ๒ หมู่คือ หมู่ที่ ๔
และหมู่ที่ ๕ และบ้านเลขที่ ๔๗๑ นี้ ไปขึ้นอยู่ในหมู่ที่ ๕
ก็คงแก้เพียงหมู่ที่เป็น บ้านเลขที่ ๔๗๑ หมู่ที่ ๕
ตำบลทับสะแก เป็นต้น
(๓)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
แยกทะเบียนบ้านของหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นใหม่นั้นออกเป็นหมู่บ้านใหม่ของตำบลนั้นๆ
และจัดเก็บทะเบียนบ้านตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
(๔) รายงานการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้านที่จัดตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้นใหม่
ตามแบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน กรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติม เป็นจำนวนมาก (ท.ร. ๙๙/๑) โดยให้จัดส่งแบบรายงาน ท.ร. ๙๙/๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. การเปลี่ยนแปลงเขตตำบล
ถ้าเป็นการโอนหมู่บ้านทั้งหมู่บ้านจากตำบลหนึ่งไปขึ้นกับอีกตำบลหนึ่ง
หรือเป็นการจัดตั้งตำบลขึ้นใหม่
ให้ถือเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้านเดิมทั้งหมด
คงเปลี่ยนแปลงเฉพาะรายการหมู่ที่และตำบลเท่านั้น
และให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการจัดตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่ ตามข้อ ๓๑ ก. โดยอนุโลม
พร้อมทั้งรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๙/๑
ค.
ถ้าเป็นการโอนหมู่บ้านแต่เพียงบางส่วนของตำบลหนึ่งไปขึ้นกับอีกตำบลหนึ่งหรือในตำบลเดียวกันก็ตาม
บ้านอาจจะมีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกัน เช่น บ้านเลขที่ ๔ หมู่ที่ ๒
โอนไปขึ้นอยู่กับหมู่ที่ ๓ กรณีเช่นนี้ บ้านเลขที่ ๔ ในหมู่ที่ ๓ จะมีสองบ้าน
ซึ่งจะต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านเลขที่ ๔ ไม่ให้ซ้ำกัน
ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับกรณีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกันตามข้อ ๓๓ โดยอนุโลม
ง.
ถ้าเป็นการจัดตั้งสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นขึ้นใหม่ให้ปฏิบัติดังนี้
(๑) จัดทำบัญชีรับมอบทะเบียนบ้านจากสำนักทะเบียนเดิม
(๒)
แก้ไขรายการที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบันหรือถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริง
(๓) รายงานการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงรายกทารที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๙/๑
โดยให้จัดส่งแบบรายงานไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๓๒
เมื่อนายทะเบียนเห็นควรเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านในเขตสำนักทะเบียนในบางส่วนหรือจะเปลี่ยนแปลงใหม่ทั้งหมด
เนื่องจากเลขหมายประจำบ้านที่กำหนดไว้ไม่เป็นระเบียบหรือสับสนยากแก่การค้นหาตรวจสอบ
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ประกาศให้ราษฎรหรือเจ้าบ้านในเขตที่มีการปรับปรุงเพื่อเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านให้ทราบอย่างน้อย
๑๕ วัน
(๒) จัดทำแผนที่หรือแผนผังของบริเวณที่เปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านโดยสังเขป
(๓)
สำรวจตรวจสอบบริเวณที่จะกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๔) กำหนดเลขหมายประจำบ้านขึ้นใหม่
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๕)
เมื่อกำหนดเลขหมายประจำบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้วให้แจ้งเจ้าบ้านนำสำเนาทะเบียนบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้อง
(๖)
รายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๙/๑
โดยให้จัดส่งแบบรายงานไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินต่อไป
(๗)
แจ้งให้หน่วยราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น สำนักงานที่ดิน ไปรษณีย์
โทรศัพท์ การประปาหรือการไฟฟ้าเป็นต้น เพื่อเป็นการประสานงานต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ประกาศให้ราษฎรหรือเจ้าบ้านในเขตที่มีการปรับปรุงเพื่อเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านให้ทราบอย่างน้อย
๑๕ วัน
(๒)
จัดทำแผนที่หรือแผนผังของบริเวณที่จะเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้านโดยสังเขป
(๓)
สำรวจตรวจสอบบริเวณที่จะกำหนดเลขหมายประจำบ้านใหม่
(๔) กำหนดเลขหมายประจำบ้านขึ้นใหม่
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
(๕)
เมื่อกำหนดเลขหมายประจำบ้านใหม่เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้แจ้งเจ้าบ้านนำสำเนาทะเบียนบ้านมาแก้ไขให้ถูกต้อง
(๖)
รายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๙/๑
โดยให้จัดส่งแบบรายงานไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินต่อไป
(๗)
แจ้งให้หน่วยราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น สำนักงานที่ดิน ไปรษณีย์
โทรศัพท์ การประปา หรือ การไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อเป็นการประสานงานต่อไป
ข้อ ๓๓
กรณีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกัน ให้นายทะเบียนกำหนดเลขหมายประจำบ้านใหม่
โดยให้ถือปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกันมาดำเนินการสอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบ้านหลังใดให้เลขหมายประจำบ้านก่อน
ทั้งนี้
ให้ถือเลขหมายประจำบ้านของบ้านที่ได้มาก่อนเป็นเลขหมายประจำบ้านที่ถูกต้องของบ้านหลังนั้นเว้นแต่นายทะเบียนจะเห็นสมควรกำหนดเลขหมายประจำบ้านเป็นอย่างอื่นก็ให้ทำได้
(๒) ให้เจ้าบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกับบ้านหลังอื่น
ยื่นคำร้องขอเลขหมายประจำบ้านตามแบบ ท.ร. ๙
(๓) กำหนดเลขหมายประจำบ้านตามระเบียบ
(๔)
ดำเนินการแก้ไขรายการในช่องบ้านเลขที่ในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
แล้วกรอกแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๓)
(๕) รายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑
โดยให้จัดส่งแบบรายงานไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
๑. ถ้าแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกัน
มาดำเนินการสอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบ้านหลังใดได้เลขหมายประจำบ้านก่อน ทั้งนี้
ให้ถือเลขหมายประจำบ้านของบ้านที่ได้มาก่อนเป็นเลขหมายประจำบ้านที่ถูกต้องของบ้านหลังนั้น
เว้นแต่นายทะเบียนจะเห็นสมควรกำหนดเลขหมายประจำบ้านเป็นอย่างอื่นก็ให้ทำได้
(๒)
ให้เจ้าบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้านซ้ำกับบ้านหลังอื่นยื่นคำร้องขอเลขหมายประจำบ้านตามแบบ
ท.ร. ๙
(๓) กำหนดเลขหมายประจำบ้านตามระเบียบ
(๔) นำหลักฐาน ท.ร. ๙ เสนอนายทะเบียนอำเภอ
๒. เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับ ท.ร. ๙
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ดำเนินการแก้ไขรายการในช่องบ้านเลขที่ในทะเบียนบ้าน
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน แล้วกรอกแบบรายงาน ท.ร. ๙๙ (๓)
(๒)
รายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ตั้งหรือที่อยู่ของบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๙
ตอนที่ ๑
โดยให้จัดส่งแบบรายงานไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้
ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
๓. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
เพื่อดำเนินการสอบสวนในเบื้องต้นให้ได้ข้อเท็จจริงว่าบ้านหลังใดได้เลขหมายประจำบ้านก่อน
(๒) ยื่นคำร้องขอเลขหมายประจำบ้านตามแบบ ท.ร. ๙
(๓) ส่ง ท.ร. ๙
และหลักฐานประกอบการแจ้งไปให้นายทะเบียนตำบล
(๔) นายทะเบียนตำบลดำเนินการกำหนดเลขหมายประจำบ้านตามระเบียบ
แล้วรวบรวมหลักฐานเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตาม ข. ๒ (๑)
(๒)
ข้อ ๓๔
ในกรณีจำหน่ายบ้านตามข้อ ๒๖ และข้อ ๒๗ หรือกรณีรวมบ้านตามข้อ ๒๘
ให้ดำเนินการจำหน่ายเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จำหน่ายหรือยุบมารวมกับบ้านใหม่แล้วแต่กรณีทุกครั้งไป
โดยไม่ให้นำกลับมาใช้ใหม่อีก แม้ว่าจะมีการปลูกสร้างบ้านขึ้นใหม่ในบริเวณนั้นก็ตาม
ข้อ ๓๕
การแก้ไขรายการที่อยู่ของบ้านหลังใดหลังหนึ่ง หรือหลายหลังตามข้อ ๓๑, ๓๒
และ ๓๓ ให้ใช้เลขรหัสประจำบ้านเลขเดิม โดยไม่ต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือดำเนินการให้ใหม่
แม้ว่าเลขรหัสประจำบ้านจะไม่ตรงกับรหัสสำนักทะเบียนก็ตาม
ตอนที่
๔
จุดสมมุติในการให้เลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๓๖
ถนนที่เป็นทางเข้าเขตชุมนุมชน ให้ถือต้นทางของเขตชุมนุมชนนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ ๓๗
ถนนที่ตั้งจากริมฝั่งแม่น้ำ ริมคลอง หรือชายทะเล
ให้ถือจากริมฝั่งแม่น้ำริมคลอง หรือชายทะเลนั้นเป็นจุดสมมุติ
ข้อ ๓๘
ตรอกหรือซอยให้ถือถนนใหญ่ซึ่งตรอกหรือซอยนั้นแยกมาเป็นจุดสมมุติ
ข้อ ๓๙
บ้านที่อยู่ริมน้ำที่ไม่มีถนน ตรอก หรือซอย ให้ถือปากน้ำเป็นจุดสมมุติ
ข้อ ๔๐
จุดสมมุติอื่นๆ ที่เหมาะสม เช่น
หมู่บ้านที่มีบ้านระเกะระกะให้จัดทำเส้นทางสมมุติขึ้นเสียก่อน
แล้วจึงกำหนดเลขหมายประจำบ้านให้
ตอนที่
๕
วิธีติดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๔๑
บ้านทั่วไปให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ประตูทางเข้าหรือที่บุคคลภายนอกมองเห็นได้ง่าย
ข้อ ๔๒
บ้านที่มีรั้วบ้านโดยรอบ ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ประตูรั้วบ้านทางเข้า
ถ้ารั้วบ้านมีประตูทางเข้าหลายทางให้ติดไว้ที่ประตูรั้วซึ่งใช้เข้าออกโดยปกติ
ข้อ ๔๓
บ้านที่อยู่ริมแม่น้ำ และมีศาลาท่าน้ำ
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ศาลาท่าน้ำของบ้านนั้น ถ้าบ้านใดไม่มีศาลาท่าน้ำ ให้ติดไว้ที่บ้านซึ่งสามารถมองจากลำน้ำเห็นได้โดยชัดเจน
ข้อ ๔๔
บ้านที่มีรั้วบ้านแต่ไม่มีกรอบประตูรั้วบ้าน
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ตรงเสาประตูรั้วบ้านทางเข้าด้านขวามือ
ข้อ ๔๕
บ้านที่มีรั้วบ้านและกรอบประตูรั้วบ้าน
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ตรงกลางของขอบประตูรั้วบ้านเบื้องบน
ข้อ ๔๖
บ้านที่มีหลายชั้นและแยกการปกครองต่างหากจากกัน เช่น ห้องเช่า หรืออาคารชุด
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านทุกห้องเรียงตามลำดับจากห้องข้างล่างขึ้นไปหาชั้นบน
ส่วนที่
๔
ตอนที่
๕
วิธีติดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๔๗
ให้นายทะเบียนอำเภอและนายทะเบียนท้องถิ่น
จัดทำทะเบียนบ้านพร้อมทั้งกำหนดเลขรหัสประจำบ้านสำหรับทุกบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ ๔๘
ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ฉบับสีขาว
ใช้สำหรับบ้านที่ได้ปลูกสร้างและมีลักษณะเป็นบ้านตามความหมายของระเบียบนี้
และใช้ลงรายการเฉพาะบุคคลที่มีสัญชาติไทยและบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ข้อ ๔๙
ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) สีเหลือง
ใช้สำหรับบ้านที่ได้ปลูกสร้างและมีลักษณะเป็นบ้านตามความหมายของระเบียบนี้
และใช้ลงรายการเฉพาะบุคคลซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
รวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ข้อ ๕๐
เลขรหัสประจำบ้าน ให้กำหนดด้วยเลข ๑๑ หลัก
ตามบัญชีการให้เลขรหัสประจำบ้านที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งให้
การให้เลขรหัสประจำบ้าน
กำหนดให้บ้านละหนึ่งหมายเลขโดยไม่ซ้ำกัน
กรณีบ้านที่ได้กำหนดเลขหมายประจำบ้านแล้ว
แต่ยังไม่มีเลขรหัสประจำบ้าน ให้กำหนดเลขรหัสประจำบ้านให้
ข้อ ๕๑
การจัดทำสำเนาทะเบียนบ้าน ให้เป็นไปตามแบบที่ผู้อำนวยการทะเบียนกำหนด
ตอนที่
๒
ทะเบียนคนบ้านกลาง
ข้อ ๕๒
ทะเบียนคนบ้านกลาง
เป็นทะเบียนที่ใช้สำหรับลงรายการของบุคคลที่ถูกแจ้งย้ายโดยไม่ทราบที่อยู่หรือบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
แต่บ้านได้ถูกจำหน่ายไปแล้วไม่ว่ากรณีใดโดยยังไม่ได้แจ้งย้ายออกไปอยู่ที่อื่น
รวมทั้งบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อหรือเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านทั่วไปได้
ทะเบียนคนบ้านกลาง
ไม่ใช่ทะเบียนบ้านแต่อนุโลมให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้านเป็นทะเบียนคนบ้านกลาง
ให้นายทะเบียนอำเภอและนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนคนบ้านกลาง
สำหรับสำนักทะเบียนแต่ละแห่ง
การจัดทำทะเบียนคนบ้านกลางสำหรับบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน ท.ร. ๑๔
ส่วนบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ให้ใช้แบบพิมพ์ทะเบียนบ้าน ท.ร. ๑๓
ข้อ ๕๓
บุคคลซึ่งมีรายการปรากฎอยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางไม่อาจจะขอคัดและรับรองสำเนารายการเพื่อนำไปอ้างอิงหรือใช้สิทธิในกรณีต่างๆ
เว้นแต่จะดำเนินการแจ้งย้ายเข้าในทะเบียนบ้านที่ตนอาศัยอยู่ในปัจจุบันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ข้อ ๕๔
การเพิ่มหรือจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนคนบ้านกลาง
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายหรือการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านโดยอนุโลม
ตอนที่
๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ ๕๕
การแจ้งการเกิดภายในกำหนดของคนเกิดในท้องที่ซึ่งเกิดในบ้าน ถ้าเป็นการเกิดในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้แจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่น ถ้าเป็นการเกิดนอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ผู้แจ้งการเกิดสามารถเลือกแจ้งได้โดยจะแจ้งต่อนายทะเบียนตำบลโดยตรงหรือจะแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านก็ได้
ทั้งนี้ แล้วแต่ความสะดวกของผู้แจ้งเมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการเกิด
ให้ถือปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวจากผู้แจ้งแล้วตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งหรือเจ้าบ้าน
มารดาและบิดาของเด็กที่แจ้งการเกิด รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ
เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกสูติบัตรให้มากที่สุด เช่น
หนังสือรับรองการเกิด (กรณีที่มารดาของเด็กมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ)
บัตรประจำตัวหรือหนังสือมอบหมายกรณีเจ้าบ้านหรือมารดาเด็ก แล้วแต่กรณี
ไม่ได้มาแจ้งการเกิดด้วยตนเอง เป็นต้น
(๒) กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
และลงลายมือชื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งในหนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
(๓)
เพิ่มรายการคนเกิดพร้อมเลขประจำตัวประชาชนลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๔) มอบสูติบัตรตอนที่ ๑
พร้อมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านคืนให้แก่ผู้แจ้ง
(๕) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๖) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๓
ไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และหากมีหนังสือรับรองการเกิดให้แนบติดกับสูติบัตรตอนที่
๓ ไปด้วย
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวจากผู้แจ้งแล้วตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งหรือเจ้าบ้าน
มารดาและบิดาของเด็กที่แจ้งการเกิด รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกสูติบัตรให้มากที่สุด
เช่น หนังสือรับรองการเกิด (กรณีที่มารดาของเด็กมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ)
บัตรประจำตัวหรือหนังสือมอบหมายกรณีเจ้าบ้านหรือมารดาเด็ก แล้วแต่กรณี
ไม่ได้มาแจ้งการเกิดด้วยตนเอง เป็นต้น
(๒) กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
และลงลายมือชื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งการเกิดในหนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
(๓) มอบสูติบัตรตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๔) นำสูติบัตรตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓
พร้อมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านและหนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี) เสนอนายทะเบียนอำเภอ
๒. เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับสูติบัตรตอนที่ ๒
ตอนที่ ๓ พร้อมทั้งสำเนาทะเบียนบ้าน และหนังสือรับรองการเกิด (ถ้ามี)
แล้วให้ปฏิบัติดังนี้
(๑)
เพิ่มรายการคนเกิดพร้อมเลขประจำตัวประชาชนลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒) คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๓) ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลา
และวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๔) ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๓
ไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหากมีหนังสือรับรองการเกิดให้แนบติดกับสูติบัตรตอนที่
๓ ไปด้วย
๓. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวจากผู้แจ้ง
แล้วตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งหรือเจ้าบ้านมารดาและบิดาของเด็กที่แจ้งการเกิด
รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ เพื่อให้ได้รายการที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกสูติบัตรให้มากที่สุด
เช่น หนังสือรับรองการเกิด (กรณีที่มารดาของเด็กมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ)
บัตรประจำตัว หรือหนังสือมอบหมายกรณีที่เจ้าบ้านหรือมารดาเด็ก แล้วแต่กรณี
ไม่ได้มาแจ้งการเกิดด้วยตัวเอง เป็นต้น แล้วตรวจสอบการตั้งชื่อของเด็กให้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน
(๒) กรอกแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการเกิด ท.ร. ๑ ตอนหน้า
แล้วมอบหลักฐานการแจ้งการเกิดให้แก่ผู้แจ้ง โดยให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่อง ได้รับหลักฐานการรับแจ้งการเกิดแล้ว
ลงชื่อ ... ผู้แจ้ง ด้วย
(๓) ส่งใบรับการแจ้งการเกิด ท.ร. ๑ ตอนหน้า
หนังสือรับรองการเกิด และหลักฐานอื่น (ถ้ามี)
พร้อมด้วยสำเนาทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียนตำบล
(๔) นายทะเบียนตำบลดำเนินการตามข้อ ข. ๑ (๒)
(๔)
(๕) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตามข้อ ข. ๒ (๑)
(๔)
ข้อ ๕๖
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนต่างท้องที่มาเกิดในบ้าน โดยได้มาแจ้งภายในกำหนดเวลา
ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการแจ้งการเกิดตามข้อ ๕๕
และเมื่อมารดาประสงค์จะนำเด็กไปอยู่ที่อื่นให้ดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ข้อ ๕๗
การแจ้งการเกิดภายในกำหนดของคนเกิดในท้องที่
ซึ่งเกิดนอกบ้านให้ปฏิบัติเช่นเดียวกันกับข้อ ๕๕ โดยอนุโลม เว้นแต่การเพิ่มรายการคนเกิดและเลขประจำตัวประชาชนให้ดำเนินการเพิ่มเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง
แล้วดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ข้อ ๕๘
การแจ้งการเกิดภายในกำหนดของคนต่างท้องที่ซึ่งเกิดนอกบ้าน
ให้ปฏิบัติเช่นเกี่ยวกันกับข้อ ๕๕ โดยอนุโลม เว้นแต่การเพิ่มรายการคนเกิดและเลขประจำตัวประชาชนให้ดำเนินการเพิ่มเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง
แล้วให้ดำเนินการแจ้งการย้ายคนเกิดออกจากทะเบียนคนบ้านกลางไปเข้าทะเบียนบ้านที่มารดามีชื่ออยู่
หรือที่ซึ่งเด็กจะต้องไปอาศัยอยู่ ตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่
ข้อ ๕๙
การแจ้งการเกิดของเด็กภายในกำหนดของคนต่างท้องที่ซึ่งมาเกิดในโรงพยาบาล
หรือสถานพยาบาลอื่นใด ให้ถือปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) ให้ผู้ทำคลอดออกหนังสือรับรองการเกิด
โดยให้กรอกรายการให้ครบถ้วนมากที่สุด
(๒) กรณีที่เจ้าบ้านของโรงพยาล
หรือสถานพยาบาลประสงค์ให้ผู้อื่นไปแจ้งการเกิดแทน ให้ลงชื่อในช่อง เจ้าบ้านผู้มอบอำนาจให้ไปแจ้งการเกิด
ในหนังสือรับรองการเกิด
(๓) ให้ผู้รับมอบอำนาจซึ่งได้แก่มารดาของเด็ก
หรือบุคคลอื่น ลงชื่อในช่อง ผู้รับมอบอำนาจในการแจ้งเกิด
(๔) มอบหนังสือรับรองการเกิดตอนที่ ๑
ให้แก่ผู้รับมอบอำนาจตาม (๓) ไปดำเนินการแจ้งเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่โรงพยาบาลตั้งอยู่
(๕)
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเรียกหนังสือรับรองการเกิดและบัตรประจำตัวจากผู้แจ้ง
แล้วตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งหรือเจ้าบ้าน
มารดาและบิดาของเด็กที่แจ้งการเกิดรวมทั้งหลักฐานอื่นๆ เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกสูติบัตรให้มากที่สุด
(๖) แล้วกรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
และลงลายมือชื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งการเกิดในหนังสือรับรองการเกิด
(๗) มอบสูติบัตรตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๘) นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
เพิ่มรายการคนเกิดพร้อมทั้งเลขประจำตัวประชาชนลงในทะเบียนคนบ้านกลาง
(๙)
ดำเนินการแจ้งย้ายคนเกิดออกจากทะเบียนคนบ้านกลางเข้าไปทะเบียนที่มารดามีชื่ออยู่
หรือซึ่งเด็กจะต้องไปอาศัยอยู่แล้วมอบใบแจ้งย้ายตอนที่ ๑ และ ๒ ให้แก่ผู้แจ้ง
โดยปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่
(๑๐) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๑๑) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๓
พร้อมทั้งแนบหนังสือรับรองการเกิดตอนที่ ๑ ไปให้สาธารณสุขจังหวัด
ข้อ ๖๐
การแจ้งการเกิดภายในกำหนดของคนเกิดในท้องที่ซึ่งเกิดในโรงพยาบาล
หรือสถานพยาบาลอื่นใด ให้ถือปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) ดำเนินการตามข้อ ๕๙ (๑)
(๖)
(๒) นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
แล้วแต่กรณี เพิ่มรายการคนเกิดพร้อมเลขประจำตัวประชาชนลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านของมารดา
หรือที่เด็กจะต้องอาศัยอยู่
(๓) มอบสูติบัตรตอนที่ ๑
และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๔) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๕) ส่งสูติบัตรตอนที่ ๓
พร้อมทั้งแนบหนังสือรับรองการเกิดตอนที่ ๑ ไปให้สาธารณสุขจังหวัด
ข้อ ๖๑
คนเกิดใหม่ซึ่งถูกทอดทิ้งไว้
เมื่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจได้รับแจ้งแล้ว
ให้ออกหลักฐานการรับแจ้งของพนักงานฝ่ายปกครอง ของฝ่ายตำรวจ หรือแบบพิมพ์สูติบัตร
ท.ร. ๑ ตอนหน้าแล้วแต่กรณี
แล้วแจ้งไปยังนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่คนเกิดใหม่ถูกทอดทิ้งไว้
และให้นายทะเบียนผู้รับแจ้ง รับแจ้งตามแบบพิมพ์สูติบัตร ท.ร. ๑ ตอนหน้า
ให้หน่วยงานที่รับสงเคราะห์เด็กหรือผู้ที่ได้รับอุปการะเลี้ยงดูเด็กเป็นผู้ขอให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่คนเกิดใหม่ถูกทอดทิ้งไว้ออกสูติบัตรให้
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับคำร้องแล้ว
ให้ส่งเรื่องราวไปยังนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
เพื่อสอบสวนให้ได้ความแน่ชัดเกี่ยวกับรายการของเด็ก เช่น ชื่อตัว ชื่อสกุล
วันเดือนปีเกิด ชื่อบิดามารดา และสัญชาติของบิดามารดา
แล้วนำเสนอนายอำเภอเพื่อพิจารณา เมื่อนายอำเภออนุมัติแล้ว
ให้สั่งนายทะเบียนผู้รับแจ้งออกสูติบัตร
โดยกรอกข้อความในสูติบัตรเท่าที่สามารถจะกรอกได้
รายการใดที่ไม่ทราบให้ทำเครื่องหมาย - ไว้
แล้วดำเนินการตามข้อ ๕๕ โดยอนุโลมโดยให้หมายเหตุในที่ว่างด้านล่างของสูติบัตรทั้ง
๓ ตอนว่า คำร้องที่ หรือหนังสือที่ .... ลงวันที่ ... และ ....
เป็นผู้อุปการะ
เมื่อนายทะเบียนตำบลหรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
ได้ออกสูติบัตรแล้วหากปรากฏว่าหน่วยงานที่รับสงเคราะห์เด็ก หรือผู้ที่ได้รับอุปการะเลี้ยงดูมีบ้านอยู่ในเขตท้องที่
ให้เพิ่มชื่อเด็กเข้ายังทะเบียนบ้านของหน่วยงานหรือบ้านของผู้ที่รับอุปการะนั้น
แต่หากปรากฏว่าหน่วยงานที่รับสงเคราะห์เด็กหรือผู้ที่ได้รับอุปการะเลี้ยงดูไม่ได้อยู่ในท้องที่
ให้นายทะเบียนเพิ่มชื่อเด็กเข้ายังทะเบียนคนบ้านกลาง
และหากหน่วยงานที่รับสงเคราะห์เด็กหรือผู้ที่ได้รับอุปการะเลี้ยงดูเด็กมีความประสงค์ที่จะนำเด็กไปอยู่ที่อื่นก็ให้ดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ข้อ ๖๒
การแจ้งการเกิดเกินกำหนด สำหรับบุคคลสัญชาติไทย
ให้ผู้แจ้งยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่เด็กเกิด แล้วให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒) ดำเนินการสอบสวนพยานบุคคล ได้แก่
พยานแวดล้อมกรณีและประจักษ์พยานอย่างน้อย ๒ คน รวมทั้งพยานเอกสาร (ถ้ามี)
แล้วรวบรวมหลักฐานเรื่องราวพร้อมด้วยความเห็นเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา
(๓)
เมื่อนายอำเภอท้องที่พิจารณาอนุมัติแล้วให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการเกิดตาม
ข้อ ๕๕ ก. (๒) (๖) หรือข้อ ๕๗ แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลรับคำร้องและนำเรื่องราวเสนอนายทะเบียนอำเภอ
และให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการเช่นเดียวกับนายทะเบียนท้องถิ่น
กรณีแจ้งการเกิดเกินกำหนดในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น โดยอนุโลม
ข้อ ๖๓
เมื่อมีการแจ้งการเกิดเกินกำหนดของบุตรบุคคลต่างด้าว
ซึ่งมีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
ปฏิบัติดังนี้
(๑) ให้ผู้แจ้งยื่นคำร้องตามแบบพิมพ์ ท.ร. ๓๑
(๒)
ให้นายทะเบียนเปรียบเทียบคดีความผิดแล้วสอบสวนหลักฐานของผู้ร้องเท่าที่พึงมี
ดังนี้
๑.
หลักฐานที่แสดงว่าบิดาหรือมารดาเป็นบุคคลสัญชาติไทย เช่น ทะเบียนบ้าน ทะเบียนทหาร
สูติบัตร ใบสุทธิประกาศนียบัตร บัตรประจำตัวประชาชน เป็นต้น
๒. หลักฐานที่แสดงว่าบิดาหรือมารดา หรือทั้งสองคน
เป็นบุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น
ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว เป็นต้น
๓. หลักฐานในการพิสูจน์ตัวบุคคลของบุคคลที่เกิดแต่ไม่ได้แจ้งการเกิดภายในกำหนด
เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ทะเบียนนักเรียน เป็นต้น
๔.
รูปถ่ายของบุคคลที่เกิดแต่ไม่ได้แจ้งการเกิดภายในกำหนดขนาด ๓x๒
นิ้ว จำนวน ๒ รูป
๕. รูปถ่ายทั้งครอบครัว จำนวน ๑ รูป
โดยระบุชื่อและความสัมพันธ์กับเด็กทุกคนไว้ด้านหลังรูป
(๓) ให้นายทะเบียนสอบสวนพยานหลักฐานดังต่อไปนี้
เพิ่มเติม
๑.
สาเหตุที่บิดามารดาของเด็กไม่แจ้งการเกิดและความจำเป็นที่มาขอแจ้งการเกิด
๒. ผู้ทำคลอด ผู้รู้เห็นการเกิด
หรือหนังสือรับรองการเกิด
๓. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
(นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น)
๔. ข้าราชการสัญญาบัตรหรือผู้มีฐานะมั่นคง
๕.
ภาพถ่ายสำเนาทะเบียนบ้านที่จะเพิ่มชื่อเด็กเข้าในทะเบียนบ้าน
(๔) เอกสารหลักฐานต่างๆ
หากเป็นสำเนาของหน่วยงานใดให้หน่วยงานนั้นเป็นผู้รับรองสำเนา
(๕)
ให้นายทะเบียนรวบรวมเอกสารและพยานหลักฐานต่างๆ ตาม (๑) (๔)
แล้วเสนอความเห็นผ่านตามลำดับชั้นให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณาต่อไป
(๖) เมื่อกระทรวงมหาดไทยพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการรับแจ้งการเกิดเกินกำหนด
และให้นายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่นแล้วแต่กรณี ดำเนินการตามข้อ ๕๕ ก. (๒)
(๖) หรือข้อ ๕๗ แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม พร้อมทั้งหมายเหตุในแบบพิมพ์สูติบัตร ท.ร. ๒
ตรงที่ว่างด้านล่างทั้ง ๓ ตอนว่า อนุมัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท ....... / ....... ลงวันที่ .......
เช่น อนุมัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๔๐๒/๐๐๑ ลงวันที่ ๑ ก.พ. ๒๕๒๗
(๗) กรณีที่กระทรวงมหาดไทยพิจารณาไม่อนุมัติ ให้นายทะเบียนแจ้งให้ผู้ยื่นคำร้องทราบแล้วเพิ่มชื่อบุคคลที่ขอแจ้งการเกิดภายในกำหนดเวลาดังกล่าวเข้าในทะเบียนคนบ้านกลางของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ข้อ ๖๔
สำหรับการแจ้งการเกิดภายในกำหนดและเกินกำหนดของบุคคลที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ให้ยึดถือแนวทางปฏิบัติตามข้อ ๕๕ ก. (๑) (๖) และข้อ ๖๒
แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม แต่การแจ้งการเกิดนอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้แจ้งโดยตรงต่อนายทะเบียนตำบลเท่านั้น กรณีแจ้งการเกิดเกินกำหนด ให้หมายเหตุในสูติบัตรตอนล่างทั้ง
๓ ตอนว่า ตามคำร้องที่ ......... ลงวันที่ .........
ส่วนการเพิ่มรายการคนเกิดในทะเบียนนั้นให้เพิ่มลงในทะเบียนบ้าน ท.ร. ๑๓
หรือทะเบียนคนบ้านกลาง ท.ร. ๑๓ ในกรณีที่บุคคลนั้นไม่สามารถหาบ้านอยู่อาศัยได้
ข้อ ๖๕
การแจ้งการเกิดของบุคคลสัญชาติไทยในต่างประเทศ
ก. กรณีประเทศที่เด็กเกิด
มีสถานทูตหรือสถานกงสุลไทยให้แจ้งการเกิดที่สถานทูตหรือสถานกงสุลไทย
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกหลักฐานเกี่ยวกับผู้แจ้งและบิดามารดาของเด็ก
(๒) กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๓) สูติบัตรตอน ๑ มอบให้แก่ผู้แจ้ง
(๔) สูติบัตรตอน ๒
ส่งไปยังสำนักงานกลางาทะเบียนราษฎร
(๕) สูติบัตรตอน ๓ เก็บเข้าแฟ้มทะเบียนคนเกิด
ข.
กรณีประเทศที่เด็กเกิดไม่มีสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย
ให้แจ้งการเกิดตามแบบพิมพ์ของประเทศที่เกิด โดยอนุโลม
ข้อ ๖๖
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการเกิด
ให้แนะนำผู้แจ้งตั้งชื่อบุตรเกิดใหม่พร้อมกับการแจ้งการเกิด
และพิจารณาด้วยว่าชื่อที่ขอตั้งนั้นถูกต้องตามหลักเกณฑ์การตั้งชื่อบุคคลหรือไม่
ถ้ายังไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
ข้อ ๖๗
ถ้าบิดาหรือมารดาประสงค์จะเปลี่ยนชื่อบุตรเกิดใหม่ภายในหกเดือน
นับแต่ได้แจ้งชื่อไว้แล้ว ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและสูติบัตรตอนที่ ๑
จากผู้แจ้ง
(๒) พิจารณาชื่อที่ขอเปลี่ยนใหม่นั้นถูกต้องตามหลักเกณฑ์การตั้งขื่อบุคคลหรือไม่
ถ้ายังไม่ถูกต้องก็นำนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
(๓) แก้ชื่อในสูติบัตร ตอนที่ ๑ และทะเบียนคนเกิด
(สูติบัตรตอนที่ ๒)
(๔)
แก้ชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านแล้วลงชื่อและวันเดือนปีกำกับ
พร้อมทั้งหมายเหตุในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านด้วย
(๕) มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑
และสำเนาทะเบียนบ้านแก่ผู้แจ้ง
(๖) รายงานตามแบบ ท.ร. ๙๗ (๒)
และส่งไปให้สำนักทะเบียนจังหวัด เพื่อรวบรวมส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
(๗) กรณีทะเบียนคนเกิดอยู่ต่างสำนักทะเบียน
ให้รายงานไปยังสำนักทะเบียนที่มีทะเบียนคนเกิด เพื่อให้แก้ไขให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
ข้อ ๖๘
แบบพิมพ์ ท.ร. ๑
ให้ใช้เป็นสูติบัตรสำหรับออกให้บุคคลสัญชาติไทยแจ้งการเกิดภายในกำหนด
แบบพิมพ์ ท.ร. ๒ ให้ใช้เป็นสูติบัตรสำหรับออกให้บุคคลสัญชาติไทยแจ้งการเกิดเกินกำหนด
แบบพิมพ์ ท.ร. ๓
ให้ใช้เป็นสูติบัตรสำหรับออกให้บุคคลที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราวแจ้งการเกิดภายในกำหนดหรือเกินกำหนด
ข้อ ๖๙
สูติบัตรตอนที่ ๒ ที่ได้จัดส่งไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการ
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้ดำเนินการเสร็จและได้ส่งกลับคืนให้จังหวัดแล้ว
ให้จังหวัดส่งคืนสำนักทะเบียนเพื่อจัดเก็บเข้าแฟ้มตามระเบียบต่อไป
ตอนที่
๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ ๗๐
การแจ้งการตายภายในกำหนดของคนตายในท้องที่ซึ่งตายในบ้าน ในกรณีในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้แจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่น
ส่วนนอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นอาจเลือกแจ้งต่อนายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านแห่งท้องที่ที่ตายก็ได้
ทั้งนี้ แล้วแต่ความสะดวกของผู้แจ้ง เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้แจ้งการตาย
ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งและตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้ง
เจ้าบ้านและคนตาย รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ
เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกมรณบัตรให้มากที่สุด เช่น
หนังสือมอบหมายกรณีที่เจ้าบ้านไม่ได้มาแจ้งการตายด้วยตนเอง เป็นต้น
(๒) ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
ให้เรียกหนังสือรับรองการตายจากผู้แจ้งด้วย
(๓) กรอกมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๔)
จำหน่ายรายการคนตายออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน โดยประทับเครื่องหมาย ตาย
สีแดงไว้หน้าชื่อ
(๕) มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑
สำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวคืนให้แก่ผู้แจ้ง
(๖) ส่งมรณบัตรตอนที่ ๒ ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๗) ส่งมรณบัตรตอนที่ ๓
ไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หากมีหนังสือรับรองการตายให้แนบติดไปด้วย
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวผู้แจ้งพร้อมกับตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้งหรือเจ้าบ้านและคนตาย
รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ
เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกมรณบัตรให้มากที่สุด เช่น
หนังสือมอบหมายกรณีที่เจ้าบ้านไม่ได้มาแจ้งการตายด้วยตนเอง เป็นต้น
(๒) ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
ให้เรียกหนังสือรับรองการตายจากผู้แจ้งด้วย
(๓) กรอกมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๔) มอบมรณบัตรตอนที่ ๑ให้แก่ผู้แจ้ง
(๕) นำมรณบัตรตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓
หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี) พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านเสนอนายทะเบียนอำเภอ
๒. เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับมรณบัตรตอนที่ ๒
ตอนที่ ๓ และหนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี) พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
จำหน่ายรายการคนตายออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน โดยประทับเครื่องหมาย ตาย
สีแดงไว้หน้าชื่อ แล้วมอบสำเนาทะเบียนบ้านคืนให้แก่ผู้แจ้ง
(๒) ส่งมรณบัตรตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๓) ส่งมรณบัตรตอนที่ ๓
ไปให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หากมีหนังสือรับรองการตายให้แนบติดไปด้วย
๓. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวจากผู้แจ้ง
พร้อมกับตรวจสอบหลักฐานเกี่ยวกับตัวผู้แจ้ง เจ้าบ้าน และคนตาย รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ
เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับออกมรณบัตรให้มากที่สุด
(๒) ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
ให้เรียกหนังสือรับรองการตายจากผู้แจ้งด้วย
(๓)
ดำเนินการรับแจ้งการตายตามแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการตาย ท.ร. ๔ ตอนหน้า
แล้วออกหลักฐานการรับแจ้งการตายให้แก่ผู้แจ้ง
(๔) ส่งใบรับแจ้งการตาย ท.ร. ๔ ตอนหน้า
หนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี) พร้อมด้วยสำเนาทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียนตำบล
(๕) นายทะเบียนตำบลดำเนินการออกมรณบัตร ท.ร. ๔
ตาม ข. ๑ (๓) (๕)
(๖)
นายทะเบียนอำเภอดำเนินการจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน ตาม
ข. ๒ (๑) (๓)
ข้อ ๗๑
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งว่ามีคนตายในท้องที่ซึ่งผู้ตายมีถิ่นที่อยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่รับแจ้ง
แต่ตายนอกบ้านให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตายตามข้อ ๗๐
โดยอนุโลมและเรียกเจ้าบ้านที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาเพื่อจำหน่ายรายการคนตายแล้วคืนให้เจ้าบ้านไป
ข้อ ๗๒
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนตายในท้องที่ซึ่งผู้ตายมิได้มีถิ่นที่อยู่ภายในเขตสำนักทะเบียนที่รับแจ้ง
ให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตาย ตามข้อ ๗๐ โดยอนุโลม
โดยให้ระบุในมรณบัตรทั้ง ๓ ตอนตรงที่ว่างด้านล่างว่า คนต่างท้องที่
แล้วนำสำเนามรณบัตร ตอนที่ ๒
ส่งไปให้สำนักทะเบียนที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน และให้สำนักทะเบียนที่ผู้ตายมีชื่ออยู่
ดำเนินการดังนี้
(๑)
จำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒) ลงรายการในสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒ ให้ครบถ้วน
โดยเฉพาะเลขประจำตัวประชาชนของผู้ตาย
(๓) เมื่อดำเนินการตาม (๑)
(๒) เสร็จแล้ว ให้ส่งสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒ คืนสำนักทะเบียนผู้รับแจ้งภายใน ๑๕ วัน
นับแต่วันที่ได้รับสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒
(๔) หากเวลาผ่านพ้นไปพอสมควร
และสำนักทะเบียนที่คนต่างท้องที่มาตายยังไม่ได้รับสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒
จากสำนักทะเบียนที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านให้ทักท้วงไป หากทักท้วงเกินกว่า
๒ ครั้งแล้วยังไม่ได้รับสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒ อีก ให้รายงาน
สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป
(๕)
เมื่อสำนักทะเบียนที่คนต่างท้องที่มาตายได้รับสำเนามรณบัตรตอนที่ ๒
จากสำนักทะเบียนที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแล้ว
ให้ดำเนินการตรวจสอบแก้ไขกับมรณบัตรตอนที่ ๒ ที่เก็บรักษาไว้
แล้วดำเนินการจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๗๓
เมื่อมีคนต่างท้องที่มาตายโดยทราบว่า ผู้ตาย ชื่ออะไร นามสกุลอะไร และรายละเอียดประกอบส่วนอื่นๆ
แต่ไม่ทราบว่าผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านใด
ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการตาย ตามข้อ ๗๐
หากภายหลังทราบว่าผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านใด ให้ปฏิบัติตามข้อ ๗๒ โดยอนุโลม
ข้อ ๗๔
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งว่ามีบุคคลตายแต่ไม่ทราบรายละเอียดว่าผู้ตายคือใคร
หรือผู้ตายได้ตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ ให้ออกใบรับแจ้งการตาย
ท.ร. ๔ ตอนหน้าให้แก่ผู้แจ้ง
โดยชะลอการออกมรณบัตรไว้ก่อนจนกว่าจะสืบทราบได้ว่าผู้ตายคือใคร
หรือจนกว่าจะได้รับความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๔๙๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิบัติฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ.
๒๕๑๕ มาตรา ๒๐ แล้วแต่กรณี จึงจะดำเนินการออกมรณบัตรให้ต่อไป
ข้อ ๗๕
ในกรณีคนตายนอกบ้าน ถ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจได้รับแจ้งการตายแล้ว
ให้ออกหลักฐานการรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งแล้วให้รีบแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งที่ผู้ตายได้มาตายในเขตท้องที่นั้นและเมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งแล้วให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตายตามข้อ
๗๐ หรือข้อ ๗๒ โดยอนุโลม แล้วแต่กรณี
ข้อ ๗๖
เมื่อมีผู้มาแจ้งการตายโดยยังไม่พบศพ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการดังนี้
(๑) ในกรณีที่ผู้หาย
ได้หายไปในเขตท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและมีข้อเท็จจริงซึ่งเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
หรือพนักงานฝ่ายสอบสวนเชื่อว่าตายแต่ยังไม่พบศพ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกใบรับแจ้งการตาย ท.ร. ๔ ตอนหน้า
ให้แก่ผู้แจ้งไว้เป็นหลักฐานโดยไม่ต้องออกมรณบัตร
แล้วส่งเรื่องราวไปยังนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
เพื่อจำหน่ายรายการในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
โดยให้หมายเหตุในทะเบียนบ้านว่า ได้รับแจ้งจาก
.................................... ว่า นายหรือนาง
.................................... (แล้วแต่กรณี) ถูกฆ่าตาย หรือตกน้ำตาย ฯลฯ
(ตามข้อเท็จจริง) แต่ยังไม่พบศพ ตามใบรับแจ้ง ลงวันที่ .....เดือน
..................... พ.ศ. ....... ลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๒) ในกรณีที่ผู้หายไปมิได้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในท้องที่ที่ได้รับแจ้ง
และปรากฏข้อเท็จจริงจากเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือพนักงานฝ่ายสอบสวน เช่นเกี่ยวกับข้อ
๗๖ (๑) ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกใบรับแจ้งการตาย ท.ร. ๔ ตอนหน้าให้แก่ผู้แจ้ง
แล้วแจ้งไปยังนายทะเบียนท้องที่ผู้หายไปมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน และให้นายทะเบียนแห่งท้องที่ นั้น
หมายเหตุไว้ในทะเบียนบ้านเช่นที่เดียวกับ ข้อ ๗๖ (๑)
(๓) กรณีตาม (๑), (๒)
ให้สำนักทะเบียนรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๘ ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดเพื่อรวบรวมส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๗๗
เมื่อมีผู้แจ้งการตายเกินกำหนด ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอ
ปฏิบัติดังนี้
(๑) เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒) ดำเนินการสอบสวนพยานหลักฐาน
ถ้าพิจารณาเห็นว่าไม่มีการทุจริตแอบแฝง
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกมรณบัตรให้แก่ผู้แจ้ง
โดยให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตาย ตามข้อ ๗๐ หรือข้อ ๗๒
แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
และให้หมายเหตุในมุมบนด้านขวาของมรณบัตรทุกตอนด้วยหมึกสีแดงว่า แจ้งการตายเกินกำหนด
แล้วให้นายทะเบียนลงชื่อ วันเดือนปีกำกับ แล้วจำหน่ายรายการในทะเบียนบ้าน
ข้อ ๗๘
เมื่อได้มีการแจ้งการตายหรือการหายไปของบุคคลและได้ดำเนินการจำหน่ายรายการในทะเบียนบ้าน
โดยได้รายงานตามแบบ ท.ร. ๙๘
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้วต่อมาภายหลังข้อเท็จจริงปรากฏว่าบุคคลนั้นยังไม่ตาย
หรือได้กลับมาแล้วให้ปฏิบัติดังนี้
(๑)
ให้ยื่นคำร้องขอแก้ไขรายการตามระเบียบว่าด้วยการแก้ไขรายการ
(๒)
ให้นายทะเบียนสอบสวนพยานหลักฐานให้ปรากฏข้อเท็จจริงดังกล่าวแล้วรวบรวมพยานหลักฐานนำเสนอนายอำเภอพิจารณา
(๓) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้นายทะเบียนแก้ไขรายการจากที่ได้จำหน่ายว่าตาย หรือหมายเหตุว่าหายไป
ให้ตรงกับข้อเท็จจริง โดยขีดฆ่าคำว่าตายหรือหมายเหตุการหายไป
ลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
แล้วหมายเหตุในช่องบันทึกการแก้ไขรายการด้านหลังของทะเบียนบ้านว่า บุคคลลำดับที่
........ แก้ไขรายการตามคำร้องที่ ........ / .............. ลงวันที่
.............. แล้วลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๔) กรอกรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๘ (๑)
โดยให้ลงรายการในช่องเลขประจำตัวประชาชนปัจจุบัน (ถ้ามี)
และช่องรายการเลขประจำตัวประชาชนที่ให้เปลี่ยนใหม่
เป็นเลขประจำตัวประชาชนเลขเดียวกันทั้งสองรายการเหมือนกัน
แล้วนำส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่ระบุไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๗๙
เมื่อมีผู้มาแจ้งว่ามีคนตายและการตายนั้นไม่มีเหตุอันควรสงสัยว่าตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งถามผู้แจ้งว่าจะเก็บ ฝัง หรือเผาศพ ณ สถานที่ใด เมื่อใด แล้วให้ลงรายการในใบรับแจ้งการตาย
ท.ร. ๔ ตอนหน้า หรือมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน แล้วแต่กรณี
และหลักฐานดังกล่าวให้ใช้เป็นหลักฐานแห่งการอนุญาตในการเก็บ ฝัง หรือเผาศพ
จากนายทะเบียนผู้รับแจ้ง
ข้อ ๘๐
เมื่อจะเคลื่อนย้ายศพที่เก็บหรือฝังผิดไปจากสถานที่ได้แจ้งไว้เดิม ถ้าศพอยู่ในท้องที่ใดให้แจ้งขออนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่นั้น
โดยให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเรียกมรณบัตรจากผู้แจ้งแล้วสลักหลังอนุญาตให้เก็บ ฝัง
จากสถานที่ใดไป ณ สถานที่ใด เมื่อใด ลงชื่อนายทะเบียนแล้วมอบคืนผู้แจ้งไป
ข้อ ๘๑
ในกรณีที่ได้รับอนุญาตให้เก็บศพหรือฝังศพแล้ว ต่อมาเปลี่ยนแปลงการจัดการศพ
ถ้าศพนั้นอยู่ในท้องที่ใดให้แจ้งขออนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่นั้น
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเรียกมรณบัตรจากผู้แจ้งแล้วบันทึกในช่อง การเปลี่ยนแปลงการจัดการศพ
ลงชื่อนายทะเบียนแล้วมอบคืนผู้แจ้งไป
ถ้าเป็นกรณีที่มีข้อความอนุญาตจากนายทะเบียนหลายครั้งในฉบับเดียวกันให้ถือข้อความอนุญาตครั้งหลังสุดเป็นการอนุญาตอันชอบ
ข้อ ๘๒
การแจ้งการตายนอกราชอาณาจักร
ให้กงสุลไทยหรือข้าราชการสถานทูตที่กระทรวงการต่างประเทศแต่งตั้งเป็นนายทะเบียน
มีหน้าที่รับแจ้งการตายของคนสัญชาติไทยหรือคนต่างด้าวซึ่งมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
โดยให้รับแจ้งตามแบบพิมพ์ที่กำหนดและให้ถือปฏิบัติดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้งและหลักฐานของผู้ตาย
รวมทั้งหลักฐานอื่นๆ
เพื่อให้ได้รายการข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์สำหรับการออกมรณบัตรให้มากที่สุด
(๒) กรอกมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๓) มอบมรณบัตรตอนที่ ๑
พร้อมหลักฐานคืนให้แก่ผู้แจ้ง
(๔) เก็บมรณบัตรตอนที่ ๓ เข้าแฟ้มทะเบียนคนตาย
(๕) จัดส่งมรณบัตรตอนที่ ๒
ไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง เพื่อดำเนินการตามระเบียบต่อไป
ข้อ ๘๓
ในกรณีตายในประเทศที่ไม่มีกงสุลหรือสถานทูตไทยประจำอยู่ หลักฐานการตายที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศนั้น
เมื่อได้แปลเป็นภาษาไทยและกระทรวงการต่างประเทศได้รับรองความถูกต้องให้ใช้เป็นหลักฐานแทนมรณบัตรได้
ข้อ ๘๔
เมื่อเจ้าบ้านหรือผู้มีส่วนได้เสีย
นำมรณบัตรหรือหลักฐานแทนมรณบัตรของคนตายนอกราชอาณาจักรมาเพื่อขอจำหน่ายรายการคนตายในทะเบียนบ้าน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑)
จำหน่ายรายการคนตายออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านโดยประทับเครื่องหมาย ตาย
สีแดงไว้หน้าชื่อ
(๒)
หมายเหตุในด้านหลังของมรณบัตรหรือหลักฐานการตายแทนมรณบัตรว่า จำหน่ายคนตายออกจากบ้านเลขที่
................ หมู่ที่ ................ถนน ................ ตำบล
................อำเภอ ................จังหวัด ................
(๓) กรอกรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๘ (๒)
โดยหมายเหตุตรงที่ว่างด้านบนด้วยหมึกสีแดงว่า ตายต่างประเทศ
หากผู้ตายไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ให้เว้นช่องรายการเลขประจำตัวประชาชนไว้
แล้วนำส่งสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๘๕
แบบพิมพ์ ท.ร. ๔ ให้ใช้เป็นมรณบัตร สำหรับออกให้แก่การแจ้งการตายของบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
แบบพิมพ์ ท.ร. ๕ ให้ใช้เป็นมรณบัตร
สำหรับออกให้แก่การแจ้งการตายของบุคคลซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
แบบพิมพ์ ท.ร. ๑๑
ให้ใช้เป็นมรณบัตรสำหรับออกให้แก่การแจ้งการตายของบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวต่างด้าวที่ออกให้โดยสถานทูต
สถานกงสุลไทยกรณีที่ได้ตายนอกราชอาณาจักร
ข้อ ๘๖
เมื่อสำนักทะเบียนได้รับมรณบัตรตอนที่ ๒
คืนจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรแล้ว
ให้เก็บเข้าแฟ้มแยกตามระเบียบและวิธีการที่กำหนด
ตอนที่
๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ ๘๗
ให้นายทะเบียนรับแจ้งการย้ายที่อยู่ได้เฉพาะบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและทะเบียนคนบ้านกลางเท่านั้น
ข้อ ๘๘ การแจ้งการย้ายที่อยู่
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นให้แจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่น
ส่วนในเขตสำนักทะเบียนอำเภอผู้แจ้งอาจเลือกแจ้งต่อนายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านก็ได้
ทั้งนี้ แล้วแต่ความสะดวกของผู้แจ้ง เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ได้รับแจ้ง
ให้ปฏิบัติดังนี้
การแจ้งย้ายออก
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
แล้วกรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้ถูกต้องครบถ้วนตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน ถ้าผู้ย้ายไม่ทราบเลขหมายประจำบ้าน
และเลขรหัสประจำบ้านที่จะไปอยู่ใหม่ให้กรอกแต่ชื่ออำเภอและจังหวัดที่จะย้ายไปอยู่
(๓)
จำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย
ย้าย
สีน้ำเงินหน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๔) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๕) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒
และสำเนาทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้ง
โดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓ ด้านหลัง
(๖) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓ ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลาง ทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๗)
เมื่อได้รับการตอบรับการย้ายออกตามใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
จากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้นายทะเบียนจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
กรณีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทักท้วงกลับมาเนื่องจากรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ไม่สมบูรณ์
หรือไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้สำนักทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันได้รับหนังสือทักท้วง
(๘)
เมื่อได้รับการตอบรับการแจ้งย้ายเข้าตามใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
จากสำนักทะเบียนปลายทาง ให้นายทะเบียนตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
ถ้าเห็นว่าถูกต้องให้ลงชื่อในช่อง ได้รับตอบแล้ว
ในทะเบียนบ้านแล้วจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
หากตรวจสอบแล้วปรากฏว่ารายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน
ให้ทักท้วงกลับไปยังสำนักทะเบียนปลายทาง
เพื่อสอบสวนผู้แจ้งย้ายเข้าและดำเนินการต่อไป
(๙)
ในกรณีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทักท้วงกลับมาเนื่องจากการย้ายเข้าที่สำนักทะเบียนปลายทางครั้งนี้มีรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ (ย้ายเข้า) ไม่สมบูรณ์
หรือมีรายการไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้สำนักทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง
แล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน ๗ วัน
นับแต่วันได้รับหนังสือทักท้วงเพื่อพิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้ดำเนินการดังนี้
๑. ถ้าแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน ในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายออก
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอนให้ถูกต้องครบถ้วน ถ้าผู้ย้ายไม่ทราบเลขหมายประจำบ้าน
และเลขรหัสประจำบ้านที่จะไปอยู่ใหม่ ให้กรอกแต่ชื่ออำเภอและจังหวัดที่จะย้ายไปอยู่
(๓) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้แจกจ่ายให้ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอนด้วยหมึกสีแดง
(๔) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
พร้อมด้วยสำเนาทะเบียนบ้านเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕)
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอนและสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับรายการในทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
โดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน หากปรากฏว่าไม่ถูกต้องตรงกัน
ให้แก้ไขให้ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านแล้วจำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย ย้าย
สีน้ำเงิน หน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๖) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒
และสำเนาทะเบียนบ้าน โดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
ด้านหลัง
(๗) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลา
และวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อจัดนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๘) ดำเนินการตาม ก. (๗) (๙)
๒. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน
ในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้านมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
ดำเนินการรับแจ้งการย้ายที่อยู่ตามแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ ตอนหน้า
แล้วมอบ หลักฐานการรับแจ้งการย้ายที่อยู่
พร้อมกับให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อรับในช่อง ได้รับหลักฐานการรับแจ้งการย้ายที่อยู่แล้ว
ลงชื่อ ................................... ผู้รับแจ้ง
(๓) ส่งใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ ตอนหน้า
พร้อมหลักฐานไปยังนายทะเบียนตำบล
(๔) นายทะเบียนตำบลดำเนินการตาม ข. (๒)
(๔)
(๕) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตาม ข. (๕)
(๘)
การแจ้งย้ายเข้า
ข้อ ๘๙
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านใด ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้าน ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ และ ตอนที่ ๒ บัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน ในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเข้า
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ที่ได้รับมอบหมายด้วย
แต่หากผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
นำทะเบียนบ้านของเจ้าบ้านที่จะแจ้งย้ายเข้ามาตรวจดู
รายการที่อยู่แล้วกรอกรายการเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ย้ายเข้าลงในใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(๓) ถ้าเป็นการย้ายเข้าผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ให้รับแจ้งย้ายเข้าได้
และให้แก้ไขรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้องโดยเฉพาะในช่องเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่
(๔) เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้าน
และสำเนาทะเบียนบ้าน
(๕) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายเข้าในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และ ตอนที่ ๒ ด้วยหมึกสีแดง
(๖) คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๗) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๘) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนต้นทางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๙)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่เสร็จเรียบร้อยและได้จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ กลับคืนมา ให้ดำเนินการตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๑๐)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่
และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ไม่สมบูรณ์
หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมา ให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น
และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล ให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้าน
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒
บัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเข้า
หากเจ้าบ้านมอบให้ผู้อื่นมาแจ้ง และผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่หากผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
ถ้าเป็นการย้ายเข้าผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิมให้รับแจ้งย้ายได้
และแก้ไขรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้อง
โดยเฉพาะในช่องเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่
(๓) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒
พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน เสนอนายทะเบียนอำเภอ
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ตอนที่ ๒ และสำเนาทะเบียนบ้าน ให้ปฏิบัติดังนี้
(๔)
นำทะเบียนบ้านของบ้านที่จะแจ้งย้ายเข้าออกมาตรวจดูรายการที่อยู่แล้วกรอกรายการเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ย้ายเข้าลงในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ และตอนที่ ๒
(๕)
เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๖) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายเข้าในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และ ตอนที่ ๒ ด้วยหมึกสีแดง
(๗) คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๘) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๙) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนต้นทางเพื่อดำเนินการต่อไป
(๑๐) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่เสร็จเรียบร้อยแล้ว
และได้จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ กลับคืนมา
ให้ดำเนินการตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๑๑)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ ไม่สมบูรณ์ หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมา ให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น
และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
๒. ถ้าแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้าน
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒
บัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเข้า
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ที่ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าหากผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
ดำเนินการแจ้งย้ายเข้าตามแบบพิมพ์ใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ ตอนหน้า
แล้วออกหลักฐานการรับแจ้งการย้ายเข้าให้แก่ผู้แจ้ง
(๓) ส่ง ท.ร. ๖ ตอนหน้า พร้อมด้วยใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ และสำเนาทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียนตำบล
(๔)
นายทะเบียนตำบลดำเนินการรับแจ้งการย้ายเข้าตาม ข. (๒) (๓)
(๕)
นายทะเบียนอำเภอดำเนินการเพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้านตาม ข. (๔)
(๑๑)
ข้อ ๙๐
เมื่อมีคนในบ้านออกไปจากบ้านที่ตนมี่ชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกินกว่า ๑๘๐
วันโดยไม่ทราบว่าไปอยู่ ณ ที่ใด
หรือเจ้าบ้านตรวจพบว่ามีบุคคลที่ไม่รู้จักแอบแฝงเข้ามามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านโดยไม่ได้รับความยินยอม
ให้เจ้าบ้านหรือนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
ดำเนินการแจ้งย้ายบุคคลนั้นออกจากทะเบียนบ้านโดยไม่ทราบที่อยู่ โดยให้นายทะเบียนดำเนินการดังต่อไปนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ที่ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
แล้วกรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอนให้ถูกต้องครบถ้วนตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน
โดยในช่อง ไปอยู่ที่
ให้กรอกว่า ย้ายเข้าทะเบียนบ้านคนกลาง
(๓) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ออกทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๔)
จำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย
ย้าย
สีน้ำเงินหน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๕) เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
โดยให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการย้ายเข้า โดยอนุโลม
และให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้าว่ามาจากบ้านเลขที่ใด เมื่อใด
(๖) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไปส่วนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒ และ ตอนที่ ๓ ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๗)
เมื่อได้รับการตอบรับการย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลางตามใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
จากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้ตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียน ถ้าเห็นว่าถูกต้องให้ลงชื่อในช่องได้รับตอบแล้วในทะเบียนบ้าน
ส่วนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๘) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่
และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ไม่สมบูรณ์หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมาให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น
และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอนให้ถูกต้องครบถ้วนตรงกับรายการในสำเนาทะเบียนบ้าน โดยในช่อง ไปอยู่ที่
ให้กรอกว่า ย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง
(๓) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๔) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
พร้อมด้วยสำเนาทะเบียนบ้านเสนอนายทะเบียนอำเภอ
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน และสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๕)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับรายการในทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกันโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
หากปรากฏว่ารายการไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านให้เพิ่มเติมหรือแก้ไขให้ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้าน
แล้วดำเนินการจำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย
ย้าย
สีน้ำเงินหน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๖) เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
โดยให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายเข้า
โดยอนุโลมและให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้าว่ามาจากบ้านเลขที่ใด เมื่อใด
(๗) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไปส่วนในแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒ และตอนที่ ๓ ให้จัดเก็บไว้ในในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๘) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ไม่สมบูรณ์หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมา ให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น
และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข้อ ๙๑
ในกรณีที่บ้านรื้อถอน หรือถูกทำลาย ซึ่งได้จำหน่ายเลขหมายประจำบ้านแล้ว
หากเจ้าบ้านไม่มาขอแจ้งย้ายคนในบ้านออกให้นายทะเบียนดำเนินการแจ้งย้ายโดยไม่ทราบที่อยู่
และเพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
โดยให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการย้ายไม่ทราบที่อยู่ตามข้อ ๙๐ โดยอนุโลม
ในกรณีที่บุคคลได้แจ้งการย้ายออกแล้ว
แต่ไม่สามารถย้ายเข้าบ้านหลังหนึ่งหลังใดได้ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบลแล้วแต่กรณี
รับแจ้งย้ายเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
โดยให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการย้ายไม่ทราบที่อยู่ตามข้อ ๙๐ โดยอนุโลม ทั้งนี้
เพื่อมิให้รายการของบุคคลนั้นตกหล่นจากทะเบียน
ข้อ ๙๒
เมื่อบุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางมาขอแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง
และตรวจสอบความถูกต้องของรายการบุคคลที่ปรากฏอยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางกับหลักฐานบัตรประจำตัว
ถ้าบุคคลที่มีชื่อยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งแทน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายและบัตรประจำตัวของผู้ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มเติมด้วย
(๒)
กรอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๒ ตอนให้ถูกต้องครบถ้วนทุกรายการ
โดยเฉพาะรายรายการเลขประจำตัวตัวประชาชน ถ้าผู้ย้ายไม่ทราบเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จะไปอยู่ให้กรอกแต่ชื่ออำเภอและจังหวัดที่จะย้ายไปอยู่
(๓)
จำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนคนบ้านกลางพร้อมทั้งประทับตรา เครื่องหมาย ย้าย
สีน้ำเงิน หน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๔)
ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๕)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ให้ผู้แจ้ง
โดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับใบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓ ด้านหลัง
(๖) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๗)
ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายออกตามข้อ ๘๘ ก. (๗)-(๙)
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกบัตรประจำตัวของผู้แจ้ง และตรวจสอบความถูกต้องของรายการบุคคลที่ปรากฏอยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางกับหลักฐานบัตรประจำตัว
ถ้าบุคคลที่มีชื่อยู่ในทะเบียนคนบ้านกลางมอบหมายให้บุคคลอื่นมาแจ้งแทน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายและบัตรประจำตัวของผู้ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มเติม
(๒)
กรอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอนให้ถูกต้องครบถ้วน
ถ้าผู้ย้ายไม่ทราบเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จะไปอยู่
ให้กรอกแต่ชื่ออำเภอและจังหวัดที่จะย้ายไปอยู่
(๓)
ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๔)
นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน เสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕)
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้นำทะเบียนคนบ้านกลางออกมาตรวจสอบดูรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับรายการในทะเบียนคนบ้านกลางให้ถูกต้องตรงกันโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชนหากปรากฏว่าไม่ถูกต้องตรงกันหรือรายการไม่ครบถ้วน
ให้แก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนคนบ้านกลาง
แล้วจำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนคนบ้านกลางพร้อมทั้งประทับเครื่องหมาย ย้าย
สีน้ำเงินหน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๖)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ให้แก่ผู้แจ้ง
โดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓ ด้านหลัง
(๗)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๘)
ดำเนินการว่าด้วยการแจ้งย้ายออกตามข้อ ๘๘ ก. (๗)-(๙)
ข้อ ๙๓
เมื่อผู้ใดแจ้งการย้ายที่อยู่ออกไปแล้ว
ต่อมาขอแจ้งย้ายเข้ากลับมาอยู่ที่เดิม โดยยังไม่ได้ไปแจ้งย้ายเข้าอยู่ ณ
ที่แห่งใหม่ ให้นายทะเบียนตำบลหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแก่กรณี
เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ คืนจากผู้ย้าย
แล้วดำเนินการเพิ่มรายการลงในทะเบียนบ้านที่กลับเข้ามาอยู่
เช่นเดียวกับการย้ายเข้ามาอยู่ใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยอนุโลม
โดยให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า ย้ายกลับที่เดิม
และให้ดำเนินการแก้ไขรายการที่อยู่ในช่องไปอยู่ที่ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
และตอนที่ ๒ ว่า ย้ายกลับที่เดิม
แล้วให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายเข้าตามข้อ ๘๙ โดยอนุโลม
ส่วนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ ให้เก็บเข้าแฟ้มไว้ตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
ข้อ ๙๔
ในกรณีผู้ย้ายที่อยู่ไปแจ้งการย้ายเข้าต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
โดยมิได้แจ้งการย้ายออกต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ตนมีชื่อยู่ในทะเบียนบ้าน
(การแจ้งย้ายปลายทาง) ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าเป็นสำนักทะเบียนปลายทาง
(สำนักทะเบียนที่ขอแจ้งย้ายเข้า) ใหันายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าจากผู้แจ้ง
และหนังสือยินยอมของเจ้าบ้านที่จะเข้าไปอยู่ใหม่ บัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน
พร้อมทั้งตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้ย้าย
(๒) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๓) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ให้ครบถ้วนถูกต้อง
โดยเฉพาะรายการเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ขอแจ้งการย้ายเข้า และให้หมายเหตุว่า แจ้งย้ายปลายทาง
แล้วลงรายการรหัสสำนักทะเบียนท้องถิ่นตรงมุมซ้ายมือด้านบนของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอน
(๔) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ไปยังนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เพื่อตรวจสอบและจำหน่ายชื่อบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียนบ้าน
สำหรับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ ๑
ให้ติดไว้กับทะเบียนบ้านเพื่อรอดำเนินการเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านต่อไป
(๕) คืนสำเนาทะเบียนบ้านและหลักฐานให้แก่ผู้แจ้ง
แล้วแนะนำให้ผู้แจ้งคอยการติดต่อจากนายทะเบียนเพื่อนำสำเนาทะเบียนบ้านมาดำเนินการเพิ่มชื่อต่อไป
(๖)
เมื่อสำนักทะเบียนต้นทางได้ดำเนินการและส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
กลับมาให้เรียบร้อยแล้ว ให้แยกเก็บไว้ในแฟ้มระหว่างรอดำเนินการต่างหากแล้วเรียกเจ้าบ้านที่บุคคลย้ายเข้าไปอยู่ใหม่ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาเพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๗)
เมื่อเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
นำสำเนาทะเบียนบ้านมาให้นายทะเบียนเพื่อดำเนินการเพิ่มชื่อบุคคลที่ขอแจ้งย้ายปลายทางเข้าในทะเบียนบ้าน
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังต่อไปนี้
(๘)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน ในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๙) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ที่ได้รับจากสำนักทะเบียนต้นทาง และใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ออกมาตรวจสอบดูรายการแล้วกรอกข้อความในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ให้ครบถ้วนถูกต้องตรงกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการเลขประจำตัวประชาชนและเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ย้ายออก
(๑๐) เพิ่มรายการบุคคลที่ขอแจ้งย้ายปลายทางเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้ถูกต้องครบถ้วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการเลขประจำตัวประชาชน
แล้วประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายเข้าในการแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(๑๑)
มอบสำเนาทะเบียนบ้านคืนให้แก่ผู้แจ้งแล้วเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
และตอนที่ ๒ เข้าแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๑๒) จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๑๓) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่เสร็จเรียบร้อยและได้จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒
กลับคืนมาให้ดำเนินการตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๑๔) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่ได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒ ไม่สมบูรณ์
หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมาให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น
และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
๒. ถ้าเป็นสำนักทะเบียนต้นทาง
(สำนักทะเบียนผู้ที่ย้ายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน) ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เมื่อได้รับหนังสือและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
จากสำนักทะเบียนปลายทาง (ที่บุคคลไปอยู่ใหม่)
ว่ามีบุคคลที่มีชื่อยู่ในทะเบียนบ้านในเขตความรับผิดชอบ
มีความประสงค์จะย้ายไปอยู่ในท้องที่ของสำนักทะเบียนปลายทาง ให้มีหนังสือเรียกเจ้าบ้านที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาขอจำหน่วยชื่อต่อไป
(๒)
เมื่อเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายได้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาแล้ว
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังต่อไปนี้
(๓)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๔)
ให้เจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายลงชื่อตรงช่องผู้แจ้งย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒ และตอนที่ ๓
(๕)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
ให้ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้าน
หากปรากฏว่ารายการไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ให้แก้ไขรายการหรือเพิ่มเติมรายการในทะเบียนบ้าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการเลขประจำตัวประชาชนและรายการเลขรหัสประจำบ้านที่ย้ายออก
(๖) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ด้วยหมึกสีแดง
(๗) คืนสำเนาทะเบียนบ้านและหลักฐานๆ
ให้แก่ผู้แจ้ง แล้วจัดเก็บทะเบียนบ้านตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๘) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ไปให้สำนักทะเบียนปลายทางเพื่อดำเนินการย้ายเข้าต่อไป
(๙) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนิการต่อไป
(๑๐)
เมื่อได้รับการตอบรับการแจ้งย้ายออกตามใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
จากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้นายทะเบียนจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
กรณีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรท้วงกลับมา
เพื่อจากรายการในในทะเบียน ย้ายที่อยู่ไม่สมบูรณ์
หรือไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้สำนักทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลให้ไปสำนักกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วันนับแต่วันได้รับหนังสือทักท้วงเพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
จะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
(๑๑)
ในกรณีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทักท้วงกลับมา
เนื่องจากการย้ายเข้าที่สำนักทะเบียนปลายทางในครั้งนี้มีรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ (ย้ายเข้า) ไม่สมบูรณ์
หรือมีรายการไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้สำนักทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
๑. ถ้าเป็นสำนักทะเบียนปลายทาง
(สำนักทะเบียนที่ขอแจ้งย้ายเข้า) ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าจากผู้แจ้งและหนังสือยินยอมของเจ้าบ้านที่จะเข้าไปอยู่ใหม่
หรือบัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน พร้อมทั้งตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้ย้าย
(๒) กรอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้ครบถ้วนถูกต้องและหมายเหตุว่า แจ้งย้ายปลายทาง)
(๓) นำสำเนาทะเบียนบ้าน
หนังสือยินยอมของเจ้าบ้านหรือบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอน เสนอนายทะเบียนอำเภอ
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับหลักฐานจากนายทะเบียนตำบลแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๕)
นำทะเบียนบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่ออกมาตรวจสอบดูรายการที่อยู่ของบ้านกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง
๓ ตอนให้ถูกต้องครบถ้วนตรงกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่จะย้ายเข้าไปอยู่
(๖)
ลงรายการรหัสสำนักทะเบียนอำเภอตรงมุมซ้ายมือด้านบนของใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอน
(๗) ดำเนินการตาม ก. ๑. (๔)-(๑๔) โดยอนุโลม
๒. ถ้าเป็นสำนักทะเบียนต้นทาง
(สำนักทะเบียนที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน) ให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการตาม ก. ๒
(๑)-(๑๑) โดยอนุโลม
ข้อ ๙๕
ให้สำนักทะเบียนต้นทางดำเนินการตอบรับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ไปยังสำนักทะเบียนปลายทางภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒ และตอนที่ ๓ จากสำนักทะเบียนปลายทาง
ข้อ ๙๖
ให้ยกเว้นการแจ้งการย้ายที่อยู่
ในกรณีแจ้งย้ายปลายทางของบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนคนบ้านกลาง
ข้อ ๙๗
การกรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในกรณีแจ้งย้ายปลายทางให้สำนักทะเบียนปลายทาง
ซึ่งเป็นผู้ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่เป็นผู้กรอกรายการต่างๆ ให้ครบถ้วน
ยกเว้นช่องลงชื่อผู้แจ้งย้ายออก
ช่องลงชื่อผู้รับแจ้งย้ายออกและช่องเลขรหัสประจำบ้านที่ย้ายออก
โดยให้เจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้านของบ้านที่ผู้แจ้งย้ายปลายทางมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเป็นผู้ลงชื่อในช่องผู้แจ้งย้ายออก
และให้นายทะเบียนของสำนักทะเบียนต้นทางเป็นผู้ลงรายการเลขรหัสประจำบ้านที่ย้ายออกพร้อมทั้งลงลายมือชื่อในช่องผู้รับแจ้งย้ายออก
กรณีไม่ทราบหรือไม่อาจกรอกรายการให้ครบถ้วนถูกต้องได้
เช่นรายการเลขประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งย้ายปลายทาง ให้สำนักทะเบียนต้นทางเมื่อรับใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ เป็นผู้กรอกรายการดังกล่าวให้ครบถ้วน
ข้อ ๙๘
กรณีที่มีการแจ้งการย้ายออกแต่ยังมิได้ไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้า
และผู้ย้ายได้ถึงแก่ความตายก่อน ให้ระงับการรับแจ้งย้ายเข้าไว้
โดยให้สำนักทะเบียนท้องที่ที่บุคคลดังกล่าวได้ตายดำเนินการรับแจ้งการตายตามระเบียบ
และให้ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่กลับคืนไปยังสำนักทะเบียนต้นทางที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เพื่อจัดเก็บมันเข้าแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บต่อไป
ข้อ ๙๙
การย้ายที่อยู่สำหรับทหาร ให้ปฏิบัติดังนี้
(๑)
นายทหารหรือทหารประจำการ
ให้ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการแจ้งย้ายที่อยู่เช่นเดียวกันกับบุคคลทั่วไป
(๒)
บุคคลเข้ารับราชการเป็นทหารเกณฑ์ผลัดใดก็ตามให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้านของหน่วยที่ทหารผู้นั้นเข้ามาสังกัด
เป็นผู้แจ้งรายชื่อต่อนายอำเภอแห่งท้องที่ที่ทหารมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เพื่อให้นายอำเภอแจ้งไปยังนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอดำเนินการให้เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายออกตามระเบียบ
(๓)
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอแล้วแต่กรณี
รวบรวมใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ส่งให้นายอำเภอแห่งท้องที่ที่มีการแจ้งการย้ายออกเพื่อส่งต่อไปยังหน่วยทหารที่แจ้งรายชื่อมาเพื่อจะได้นำไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้าตามระเบียบต่อไป
(๔)
ในกรณีที่ทหารกองประจำการถูกปลดปล่อยออกจากกรมหรือกองประจำการ
ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้านของหน่วยทหารที่จะดำเนินการแจ้งการย้ายออกต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่นั้น
และมอบหลักฐานใบแจ้งการแจ้งย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
ให้แก่ทหารที่ปลดกองประจำการ
เพื่อนำไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้ายังท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่ต่อไป
ข้อ ๑๐๐
ในกรณีคนย้ายออกไปอยู่ต่างประเทศ ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้านในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายเอง
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
แล้วกรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้ถูกต้องครบถ้วนตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน
สำหรับช่องไปอยู่ที่ให้กรอกชื่อประเทศที่จะไปอยู่
(๓)
จำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย
ย้าย สีน้ำเงิน
หน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๔) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้งสามตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๕) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
และสำเนาทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้ง
โดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓ ด้านหลัง
(๖) เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
ไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๗) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๘)
เมื่อได้รับการตอบรับการย้ายออกตามใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
จากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้นายทะเบียนจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
กรณีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทักท้วงกลับมา
เนื่องจากรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ไม่สมบูรณ์
หรือไม่ถูกต้องตรงกันกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้สำนักทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง
แล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน ๗ วัน
นับแต่วันได้รับหนังสือทักท้วง
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวของเจ้าบ้าน ในกรณีที่เจ้าบ้านมาแจ้งย้ายออก
หากเจ้าบ้านมอบหมายให้ผู้อื่นมาแจ้งและผู้ที่ได้รับมอบหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้านให้เรียกบัตรประจำตัวของผู้ได้รับมอบหมายด้วย
แต่ถ้าผู้ได้รับมอบหมายไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันกับเจ้าบ้าน
ให้เรียกหนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้านเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น
(๒) กรอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓
ตอนให้ถูกต้องครบถ้วน สำหรับช่วงไปอยู่ที่ให้กรอกชื่อประเทศที่จะไปอยู่
(๓) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออก ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๔) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๕)
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน และสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบดูรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับรายการในทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
โดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
หากปรากฏว่าไม่ถูกต้องตรงกันให้แก้ไขให้ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน
แล้วจำหน่ายรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
พร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย ย้าย
สีน้ำเงิน หน้ารายการบุคคลที่ย้าย
(๖) ดำเนินการตาม ก. (๕)-(๘)
ข้อ ๑๐๑
เมื่อได้รับแจ้งว่าบุคคลย้ายกลับมาจากต่างประเทศให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกหลักฐานหนังสือเดินทาง
บัตรประจำตัวใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และสำเนาทะเบียนบ้านแล้วตรวจสอบรายการต่างๆ
เช่น ชื่อตัว-ชื่อสกุล ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับหลักฐานอื่นๆ เป็นต้น
(๒)
เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน โดยให้ระบุในช่องย้ายมาจาก
เป็นชื่อประเทศที่บุคคลผู้นั้นเดินทางกลับมาตามหลักฐานหนังสือเดินทาง
(๓) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายเข้าในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ ด้วยหมึกสีแดง
(๔) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๕)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่เสร็จเรียกร้อยและได้จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑
กลับคืนมาให้ดำเนินการตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๖) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่
และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ไม่สมบูรณ์
หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมาให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้น และดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
(๗)
กรณีที่ผู้ย้ายเข้ามายังไม่มีเลขประจำตัวประชาชนให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนเป็นบุคคลประเภทที่
๕ จากบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๕
และรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลตามแบบ ท.ร. ๙๘
เพื่อรวบรวมจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัด
ตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งต่อให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกหลักฐานหนังสือเดินทาง บัตรประจำตัว
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และสำเนาทะเบียนบ้าน แล้วตรวจสอบรายการต่างๆ เช่น
ชื่อตัว-ชื่อสกุล ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่กับหลักฐานอื่นๆ เป็นต้น
(๒) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
และหลักฐานดังกล่าวเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๓) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการ
เช่นเดียวกับในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น ก. (๒)-(๗)
ข้อ ๑๐๒
เมื่อได้รับแจ้งหรือทราบว่ามีผู้อพยพไปอยู่ต่างประเทศ
หรือถูกเนรเทศออกนอกราชอาณาจักรให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและตรวจสอบหลักฐาน
ซึ่งแสดงว่าเป็นผู้อพยพหรือถูกเนรเทศไปต่างประเทศ
(๒) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ทั้ง ๓ ตอน
ให้ครบถ้วนถูกต้อง โดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน สำหรับช่องไปอยู่ที่ให้ระบุว่า
อพยพไปประเทศหรือถูกเนรเทศไปประเทศ.................
เมื่อวันที่ ................... แล้วแต่กรณี
(๓)
จำหน่ายรายการคนย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านพร้อมทั้งประทับตราเครื่องหมาย
ย้าย หมึกสีน้ำเงิน
หน้ารายการบุคคลที่ย้าย ส่วนช่องไปอยู่ที่ให้กรอกว่า อพยพไปประเทศหรือถูกเนรเทศไปประเทศ
.......................... เมื่อวันที่ ................
แล้วแต่กรณี
(๔) ประทับตราเครื่องหมาย สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ตรงช่องย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ด้วยหมึกสีแดง
(๕) ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๖) เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่
๒ ไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๗) ดำเนินการว่าด้วยการย้ายออกตามข้อ ๘๘ ก. (๗)
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและตรวจสอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าเป็นผู้อพยพหรือถูกเนรเทศไปต่างประเทศ
(๒) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้ครบถ้วนถูกต้องโดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน สำหรับช่องไปอยู่ที่ให้ระบุว่า
อพยพไปประเทศหรือถูกเนรเทศไปประเทศ.........................
เมื่อวันที่ ......................... แล้วแก่กรณี
(๓) นำใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
พร้อมหลักฐานเสนอนายทะเบียนอำเภอ
(๔) นายทะเบียนอำเภอดำเนินการเช่นเดียวกันกับในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๓)-(๖)
ข้อ ๑๐๓
การแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว รวมทั้งบุตรของบุคคลดังกล่าว
ถ้ามีหน่วยงานหรือส่วนราชการควบคุมดูแลอยู่ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบนี้ว่าด้วยการแจ้งการย้าย
แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ควบคุมดูแลบุคคลดังกล่าวเสียก่อนจึงจะสามารถดำเนินการแจ้งย้ายได้
ข้อ ๑๐๔
กรณีที่ผู้แจ้งการย้ายที่อยู่ทำใบแจ้งการย้ายที่อยู่สูญหาย
หรือชำรุดไม่สามารถอ่านข้อความได้ ให้ผู้แจ้งการย้ายที่อยู่ขอใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ได้ที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้
โดยให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาดำเนินการออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ดังนี้
(๑)
ให้ผู้แจ้งดำเนินการแจ้งความกรณีใบแจ้งการย้ายที่อยู่สูญหายและคัดสำเนาแจ้งความเป็นหลักฐาน
ถ้าเป็นกรณีชำรุด ให้นายทะเบียนเรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ที่ชำรุดเพื่อตรวจสอบ
แล้วแยกเก็บไว้ต่างหาก
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
สอบสวนเรื่องราวบันทึกปากคำผู้ทำให้ใบแจ้งการย้ายที่อยู่สูญหายหรือผู้แจ้งย้ายออกไว้ประกอบหลักฐาน
เมื่อเชื่อถือได้ว่าไม่มีเหตุทุจริตแอบแฝงอยู่
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอแล้วแต่กรณีพิจารณาสั่งการให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้
(๓) การออกใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้ตรวจสอบรายการจากทะเบียนบ้าน
(๔) กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
ให้ครบถ้วนถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้าน โดยเฉพาะรายการเลขประจำตัวประชาชน
และหมายเหตุที่มุมบนด้านซ้ายของใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่ว่า ใบแทนใบแจ้งการย้ายที่อยู่
การกรอกรายการต่างๆ ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้ถือปฏิบัติเสมือนการออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ใหม่
(๕) มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่
๒ ให้ผู้ร้องไปดำเนินการแจ้งย้ายเข้าต่อไป สำหรับตอนที่ ๓
ให้จัดเก็บในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
ข้อ ๑๐๕
เมื่อมีบุคคลมาขอแจ้งการย้ายที่อยู่ในเขตสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
หรือภายในเขตสำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจเดียวกัน
(ย้ายภายในเขตสำนักทะเบียน) ให้ดำเนินการดังนี้
ก.
ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการย้ายออกตามข้อ ๘๘ ก. (๑)-(๔)
(๒) ดำเนินการย้ายเข้าตามข้อ ๘๙ ก. (๑)-(๖)
(๓) จัดเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
และตอนที่ ๓ ไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๔) ส่งเฉพาะใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินต่อไป
(๕)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่เสร็จเรียบร้อยและได้จัดส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑
กลับคืนมาให้ดำเนินการตรวจสอบกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนแล้วดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
(๖)
เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่และได้ตรวจพบว่ารายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ไม่สมบูรณ์
หรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
และได้มีหนังสือทักท้วงกลับมาให้ระงับการแจ้งการย้ายออกของบุคคลนั้นและดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแจ้งผลไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทราบภายใน
๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือทักท้วง
เพื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะได้พิจารณาสั่งการหรือดำเนินการต่อไป
ข. นอกเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑) ดำเนินการย้ายออกตาม ข้อ ๘๘ ข. (๑)-(๕)
(๒) ดำเนินการย้ายเข้าตาม ข้อ ๘๙ ข. (๑)-(๑๑)
ค.
ถ้าเป็นการแจ้งย้ายที่อยู่ภายในเขตสำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจเดียวกันให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับสำนักทะเบียนท้องถิ่นหรือสำนักทะเบียนอำเภอ
แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
ข้อ ๑๐๖
การแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลสัญชาติไทย
และบุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในประเทศโดยชอบด้วยกฎหมาย
มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้วย ให้ใช้แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖
การแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
หรือในลักษณะชั่วคราว ให้ใช้แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๗
ส่วนที่
๕
การความคุมทะเบียนราษฎร
ตอนที่
๑
การขอเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน
ข้อ ๑๐๗
บุคคลสัญชาติไทยที่เกิดก่อนวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๙
และไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๔๙๙ มีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีที่อยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับคำร้องแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
สอบสวนพยานบุคคลผู้มีฐานะมั่นคงและอยู่ในท้องที่ติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า ๕ ปี
หรือข้าราชการสัญญาบัตรอย่างน้อย ๒ ปาก และให้สอบสวนพยานเอกสาร (ถ้ามี) เพิ่มเติม
(๒)
ให้มีหนังสือขอตรวจสอบไปยังนายทะเบียนท้องที่ซึ่งผู้ร้องอ้างว่าเคยมีภูมิลำเนาอยู่
เพื่อตรวจสอบว่าผู้ร้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในท้องที่นั้นหรือไม่
(๓)
ให้มีหนังสือขอตรวจสอบไปยังนายทะเบียนคนต่างด้าวท้องที่
และสำนักกิจการญวนหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ควบคุมคนต่างด้าวอื่นในท้องที่นั้น
(ถ้ามี)
(๔) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็น
เสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่
(๕)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้วให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า คำร้องที่ ...........
ลงวันที่ ......... หรือ หนังสือที่ .........
ลงวันที่ ............ แล้วแต่กรณีและลงวัน เดือน ปี
ที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้า แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๖)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาขนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรส่งมาให้
(๗)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการสวนและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๐๘
บุคคลต่างด้วยที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแต่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) เพราะตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
ประสงค์ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้ขอเพิ่มชื่อทุกรายว่าได้ต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวถูกต้องหรือไม่หากขาดการต่ออายุให้ดำเนินการให้ถูกต้องเสียก่อน
(๒)
ให้คัดใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวให้ปรากฏรายการในหน้าที่ ๑ ถึงหน้าที่ ๖
หน้ารายการย้ายที่อยู่ หน้ารายการต่ออายุครั้งสุดท้าย หน้ารายการบุตรอายุต่ำกว่า
๑๒ ปี ที่อยู่ในครอบครัวโดยให้นายทะเบียนคนต่างด้าวรับรองสำเนาถูกต้อง
(๓) แนบรูปถ่ายปัจจุบันหน้าตรงไม่สวมหมวก
ไม่สวมแว่นตาขนาด ๒×๓ นิ้ว ของคนต่างด้วยที่ขอเพิ่มชื่อจำนวน ๒ รูป
(๔)
ส่งสำเนาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้วยและรูปถ่ายของคนต่างด้วย
ซึ่งร้องขอเพิ่มชื่อให้กองทะเบียนคนต่างด้วยและภาษีอากรกรมตำรวจ
ตรวจสอบความถูกต้องตรงกันกับหลักฐานที่เก็บรักษาไว้
(๕)
เสนอเรื่องราวไปยังกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยความเห็น
(๖) เมื่อได้รับอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยให้ดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
พร้อมกับหมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากว่า ที่
มท........ลว........
และลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๗) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรส่งมาให้
(๘) รายงานการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘ ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๐๙
บุคคลต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องขอต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องทีที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีที่อยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบหลักฐานการอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่และให้ตรวจคนเข้าเมืองท้องที่รับรองว่าหลักฐานดังกล่าวถูกต้อง
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเพิ่มชื่อตามใบสำคัญถิ่นที่อยู่และหมายเหตุในช่องย้ายเข้า
มาจากว่า ใบสำคัญถิ่นที่อยู่เลขที่ ....... โควต้าเข้าเมืองเลขที่
.....
และลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๓)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักทะเบียนราษฎรส่งมาให้
(๔)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๐
บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ให้ดำเนินการดังนี้
ก.
ถ้าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อมีบิดาหรือมารดาสัญชาติไทยหรือบิดาหรือมารดาเป็นบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีที่อยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ตรวจสอบหลักฐานของเจ้าบ้านและบิดามารดา
(๒) เสนอเรื่องไปยังนายอำเภอเพื่อขออนุมัติ
(๓) เพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
และสำนเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจากว่า คำร้องที่
........ ลว ........ หรือ หนังสือที่ .........
ลงวันที่ ......... แล้วแต่กรณี แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๔) กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๖
ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๕)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการกำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข.
กรณีบุคคลขอเพิ่มชื่อบิดาและมารดาเป็นบุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ให้ผ่านการตรวจสอบจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมหรือรับผิดชอบบุคคลนั้นก่อน
เมื่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่บุคคลขอเพิ่มชื่อภูมิลำเนาอยู่ในปัจจุบัน
ได้รับแจ้งจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมหรือรับผิดชอบบุคคลดังกล่าว
ให้เพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านสำหรับบุคคลซึ่งอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร. ๑๓) และสำเนาทะเบียนบ้านดังกล่าว และดำเนินการเช่นเดียวกับบุคคล
ซึ่งบิดาหรือมารดาเป็นบุคคลสัญชาติไทยหรือบิดาหรือมารดาเป็นบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตามข้อ
ก. โดยอนุโลม
ข้อ ๑๑๑
เด็กอนาถาซึ่งอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้เจ้าบ้านยื่นคำร้องขอต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านมีภูมิลำเนาในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สอบสวนพยานเอกสารของผู้ร้องขอและเด็กที่ขอเพิ่มชื่อ
(ถ้ามี)
พร้อมทั้งสอบสวนพยานบุคคลที่มีฐานะมั่นคงและอยู่ในท้องที่ติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า ๕
ปี หรือข้าราชการสัญญาบัตรอย่างน้อย ๒ ปาก
(๒)
รวบรวมหลักฐานทั้งหมดเสนอไปยังนายอำเภอแห่งท้องที่พร้อมด้วยความเห็น
(๓) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุญาตแล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
โดยลงรายการตามข้อเท็จจริงเท่าที่ปรากฏทราบได้ในขณะนั้นรายการใดที่ไม่ให้ทำเครื่องหมาย
ไว้พร้อมกับหมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจากว่า คำร้องที่
....... ลงวันที่ .......... หรือ หนังสือที่
........ ลงวันที่ .......... แล้วแต่กรณี
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๔)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๕) รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๒
เมื่อมีผู้ร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) โดยอาศัยสูติบัตรแบบเก่าเป็นหลักฐานสำคัญ
ให้ยื่นคำร้อง ณ
สำนักทะเบียนในเขตท้องที่ออกสูติบัตรและให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
สวบสวนให้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ร้องขอไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านจริง
และเป็นบุคคลเดียวกันกับผู้ที่มีชื่อและรายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในสูติบัตร
(๒) ตรวจสอบหลักฐานสูติบัตรตอนที่ ๒
ซึ่งเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนว่ามีรายการถูกต้องตรงกัน
(๓) รวบรวมหลักฐานเสนอไปยังนายอำเภอเพื่อพิจารณา
(๔) เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้เพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้า
มาจาก ในทะเบียนบ้าน ว่า ท.ร. ๑๙ ที่
......./.......... ลงวันที่ .............
หรือ หนังสือที่ ............. ลงวันที่ .............
แล้วแต่กรณี พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
กรณีที่ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อไม่มีบ้านอยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่ร้องขอ
ให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนคนบ้านกลางของสำนักทะเบียนและเมื่อผู้ร้องประสงค์จะไปอยู่ที่ใดก็ให้ดำเนินการแจ้งย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
(๕)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งให้
(๖)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านหรือตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๓
เมื่อมีการขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านโดยคนไทยที่ลี้ภัยหรือเดินทางกลับต่างประเทศหรือเกิดในต่างประเทศแล้วเดินทางเข้ามาในประเทศไทยโดยไม่มีหลักฐานที่แสดงว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทยเมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับคำร้อง
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นส่งตัวบุคคลดังกล่าวไปรายงานตัวต่อตรวจคนเข้าเมืองแห่งท้องที่ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยก่อน
เมื่อตรวจคนเข้าเมืองดำเนินการตามกฎหมายและระเบียบแล้ว
หากเชื่อว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทยก็จะมีหนังสือแจ้งให้นายทะเบียนทราบ
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการสวบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมทั้งพยานบุคคลและพยานเอกสาร
(ถ้ามี) แล้วเสนอนายอำเภอเพื่อพิจารณา
(๓) เมื่อนายอำเภอได้อนุมัติแล้ว
ให้เพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) และสำเนาทะเบียน (ท.ร. ๑๔)
โดยให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจากว่า คำร้องที่ ..........
ลงวันที่ ........... หรือ หนังสือที่
............ ลงวันที่ ............. แล้วแก่กรณี
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
และลงชื่อนายทะเบียนกำกับ พร้อมทั้งกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๔) รายงานการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๔
เมื่อมีคนสัญชาติไทยเกิดในต่างประเทศและได้แจ้งการการเกิดต่อสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย
ต่อมาได้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
และมีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
ให้บิดาหรือมารดาหรือเจ้าบ้านที่บุคคลดังกล่าวจะเข้าไปอยู่อาศัย
หรือเจ้าตัวยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่บุคคลนั้นมีที่อยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นได้รับคำร้องแล้ว
ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑)
เรียกหนังสือเดินทางที่ออกให้โดยรัฐบาลไทยของบุคคลดังกล่าวและถ้ามีบัตรประจำตัวประชาชนของบิดา
มารดา หรือของเจ้าบ้าน ก็ให้แนบสำเนาติดไว้ด้วย
(๒)
เรียกสูติบัตรที่สถานทูตหรือสถานกงสุลไทยออกให้พร้อมทั้งสำเนาทะเบียนบ้านที่ต้องการจะเพิ่มชื่อเข้า
(๓)
รวบรวมพยานหลักฐานพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอเพื่อพิจารณา
(๔) เมื่อนายอำเภอได้อนุมัติแล้ว
ให้เพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) และสำเนาทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจากว่า คำร้องที่
............ ลงวันที่ ............... หรือ หนังสือที่
............... ลงวันที่ .............. แล้วแต่กรณี
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องย้ายเข้า มาจาก
และลงชื่อนายทะเบียนกำกับพร้อมทั้งกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๕) รายงานการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘ ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๕
เมื่อมีกรณีที่จะต้องเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้านของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร. ๑๓) เนื่องจากบุคคลนั้นได้ถูกจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
เพราะเหตุที่บุคคลนั้นเข้าเงื่อนไขตามประกาศคณะปฏิบัติฉบับที่ ๓๓๗ ลงวันที่ ๑๓
ธันวาคม ๒๕๑๕
หรือในกรณีอื่นใดก็ตามให้ถือว่าบุคคลนั้นได้เปลี่ยนสถานภาพบุคคลจากสถานภาพที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือสถานภาพบุคคลสัญชาติไทยมาเป็นสถานภาพที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
หรือสถานภาพถูกถอนสัญชาติไทยหรือไม่ได้สัญชาติไทยให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
แล้วแต่กรณีปฏิบัติดังนี้
(๑) จำหน่ายชื่อบุคคลนั้นออกจากทะเบียนบ้าน (ท.ร.
๑๔) แล้วให้เพิ่มรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
ของบ้านที่ได้พักอาศัยอยู่ในปัจจุบัน
หากไม่มีบ้านที่อาศัยอยู่ในปัจจุบันให้ดำเนินการเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
(ท.ร. ๑๓) โดยหมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจาก ว่า จำหน่ายออกจาก
ท.ร. ๑๔ บ้านเลขที่ .......หมู่ที่........ตำบล.........
หรือ คำร้องที่ ........... ลงวันที่............
หรือ หนังสือที่ .......... ลงวันที่ ...........
แล้วแต่กรณี และในช่อง เข้ามาอยู่เมื่อ
ให้ระบุวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อเข้าใน ท.ร. ๑๓ พร้อมทั้งให้นายทะเบียนลงชื่อกำกับไว้ด้วย
(๒)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อเข้าใน ท.ร. ๑๓
ใหม่ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๖
ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๓) กรอกแบบรายงาน ท.ร. ๙๘ ทั้งกรณีที่ ๑
(เพิ่มชื่อ) และกรณีที่ ๒ (จำหน่ายชื่อ)
(๔) รายงานการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนราชการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๖
เมื่อมีกรณีที่จะต้องเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
เนื่องจากบุคคลนั้นได้ถูกจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(ท.ร. ๑๓)
เพราะเหตุที่บุคคลนั้นได้รับอนุมัติเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายจากกระทรวงมหาดไทย
หรือได้รับอนุมัติให้มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ได้รับสัญชาติไทยหรือในกรณีอื่นใดที่ชอบด้วยกฎหมาย
ให้ถือว่าบุคคลนั้นได้เปลี่ยนสถานภาพบุคคลจากสถานภาพที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
หรือสถานภาพถูกถอนสัญชาติไทยหรือไม่ได้สัญชาติไทย
มาเป็นสถานภาพที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือสถานภาพบุคคลสัญชาติไทยให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อจำหน่ายชื่อบุคคลนั้นออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) แล้ว ให้เพิ่มรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ของบ้านที่ได้พักอาศัยอยู่ในปัจจุบัน
หากไม่มีบ้านที่อยู่อาศัยในปัจจุบันให้ดำเนินการเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนคนบ้านกลาง
(ท.ร. ๑๔) โดยหมายเหตุในช่องย้ายเข้า มาจาก ว่า คำร้องที่
.......ลงวันที่ ......... หรือ หนังสือที่
......... ลงวันที่ .......... แล้วแต่กรณี และในช่อง เข้ามาอยู่เมื่อ
ให้ระบุวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อเข้าใน ท.ร. ๑๔
พร้อมทั้งให้นายทะเบียนลงชื่อกำกับไว้ด้วย
(๒)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๕
ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๓) กรอกแบบรายงาน ท.ร. ๙๘ ทั้งกรณีที่ ๑
(เพิ่มชื่อ) และกรณีที่ ๒ (จำหน่ายชื่อ)
(๔)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๗
เมื่อมีผู้ร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
ตามหลักฐานใบแจ้งการย้ายที่อยู่แบบเดิม
ให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นที่ผู้ร้องขอมีความประสงค์จะขอเพิ่มชื่อ
และเมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
ได้รับแจ้งแล้วให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบหลักฐานบัตรประจำตัวเจ้าบ้าน ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อ และหลักฐานอื่น
เช่น หนังสือมอบหมายจากเจ้าบ้าน (ถ้ามี) ตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่
(๒)
สอบถามไปยังสำนักทะเบียนที่ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อได้แจ้งการย้ายออกมาว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อ
เคยมีชื่ออยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่แจ้งย้ายออกจริงหรือไม่
(๓)
เสนอเรื่องราวไปยังนายอำเภอเพื่อพิจารณา
(๔)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว
ให้ส่งเรื่องราวไปยังนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เพื่อดำเนินการรับแจ้งย้ายเข้าบุคคล
(๕)
เพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
โดยดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการแจ้งการย้ายที่อยู่ โดยอนุโลมทั้งนี้
ให้หมายเหตุในช่องย้ายเขา มาจาก ว่า ใบแจ้งย้ายที่ ..........
ลงวันที่ .......... หรือ หนังสือที่ .........
ลงวันที่............
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้ด้วย
(๖)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่ผู้ที่ได้รับการเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งมาให้
(๗)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๑๘
เมื่อมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้บุคคลได้รับสัญชาติไทยและเมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว
ให้ดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามข้อ ๑๑๖ โดยอนุโลม
เว้นแต่ในช่องย้ายเข้ามาจาก ให้ระบุว่า คำพิพากษาคดีหมายเลขแดงที่
....... ลงวันที่ ..........
ข้อ ๑๑๙
เมื่อมีผู้ร้องขอเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยอ้างว่าตนเองหรือบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแบบเดิม เช่น
ทะเบียนบ้านปี ๒๔๙๙ หรือทะเบียนบ้านปี ๒๕๑๕ เป็นต้น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจค้นหลักฐานทะเบียนบ้านฉบับเดิมว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านนั้น
จริงหรือไม่
(๒)
สอบสวนปากคำเจ้าบ้าน
และบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อตลอดจนพยานบุคคลอื่นประกอบให้ได้ความแน่ชัดว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อนั้นเป็นบุคคลคนเดียวกับบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ผู้ร้องขออ้างถึง
(๓) เสนอเรื่องราวไปยังนายอำเภอเพื่อพิจารณา
(๔) เมื่อนายอำเภออนุมัติแล้ว
ให้เพิ่มชื่อบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านโดยให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้า
มาจาก ว่า คำร้องที่ ............ ลงวันที่ .........
หรือ หนังสือที่ ........ ลงวันที่ ............
แล้วแต่กรณี
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่เพิ่มชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายเข้าแล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๕)
กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้แก่บุคคลที่เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๕ ที่สำนักกลางทะเบียนราษฎรจัดส่งให้
(๖)
รายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๒๐
เมื่อมีบุคคลที่เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
โดยการอพยพหรือหลบหนีเข้ามาหรือขอลี้ภัยเข้ามาอยู่ใหม่
และเมื่อหน่วยงานของทางราชการที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินการควบคุมให้อยู่ในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเรียบร้อยแล้ว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่สถานที่นั้นอยู่จัดทำทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓) ให้เลขรหัสประจำบ้าน ให้เลขประจำตัวประชาชน
เพื่อควบคุมรายการทะเบียนประวัติของบุคคลเหล่านั้นไว้ และเมื่อมีการเกิด การตาย
การย้ายที่อยู่ การแก้ไขรายการ การเพิ่มชื่อ จำหน่ายชื่อ การปลูกสร้างบ้านขึ้นใหม่
หรือกรณีอื่นใดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ก็ให้ถือถือปฏิบัติตามระเบียบราษฎรในส่วนต่างๆ โดยอนุโลม
ข้อ ๑๒๑
การเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) และ (ท.ร. ๑๓)
นอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้รายงานสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรสั่งการเฉพาะกรณี
ตอนที่
๒
การจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
ข้อ ๑๒๒
นอกจากที่ได้กำหนดไว้ในข้ออื่นแห่งระเบียบนี้
การจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. กรณีบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกินกว่า
๑ แห่ง และอยู่ในเขตสำนักทะเบียนเดียวกัน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑) เรียกบุคคลที่มีชื่อในทะเบียนบ้านเกินกว่า ๑
แห่ง ให้มายืนยันที่อยู่ที่แน่นอนเพียงแห่งเดียว
หากนายทะเบียนได้มีหนังสือติดต่อบุคคลที่มีชื่อซ้ำมาสอบสวนให้ปากคำข้อเท็จจริง
แต่บุคคลดังกล่าวไม่มาตามที่นายทะเบียนเรียก หลังจากที่ได้มีหนังสือเรียนไปแล้ว ๓
ครั้ง ให้นายทะเบียนดำเนินการจำหน่ายชื่อออกจากในทะเบียนบ้านเช่นเดียวกัน
(๒)
จำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อยู่จริง
และให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า ชื่อซ้ำตามคำร้องที่
........... หรือหนังสือที่ ............. ลงวันที่ .............
แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๓)
รายงานการจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อที่จะได้นำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข. กรณีบุคคลมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกินกว่า ๑
แห่ง และอยู่ต่างสำนักทะเบียนกัน
ให้สำเนาหลักฐานยืนยันการมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตสำนักทะเบียนดังกล่าว
ไปยังสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เพื่อดำเนินการจำหน่ายชื่ออกจากทะเบียนบ้าน และให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับ ข้อ ก.
(๑) (๓)
ค. กรณีสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ตรวจสอบพบว่าบุคคลมีชื่อในทะเบียนบ้านเกินกว่า ๑ แห่ง ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) ให้สำเนาหลักฐานบุคคลที่มีชื่อในทะเบียนบ้านเกินกว่า
๑ แห่ง
แจ้งไปยังสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(๒)
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นได้รับแจ้งจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้ดำเนินการตาม ข้อ ก. (๑) (๓)
(๓) เมื่อสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้รับแจ้งตามรายงาน
ท.ร. ๙๘
แล้วให้ดำเนินการจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
ข้อ ๑๒๓
ในกรณีที่บุคคลมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔)
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน หรือเป็นบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
(๑)
สอบสวนพยานหลักฐานโดยละเอียดแล้วรวบรวมเสนอนายอำเภอ
(๒)
นายอำเภอตรวจสอบหลักฐานแล้วรวบรวมหลักฐานทั้งหมดเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพร้อมด้วยความเห็น
สำหรับสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานครให้นำเสนอปลัดกรุงเทพมหานคร
เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดหรือปลัดกรุงเทพมหานคร
แล้วแต่กรณีได้มีคำสั่งอนุมัติแล้ว
ให้นายอำเภอแจ้งให้นายทะเบียนจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
(๓) เมื่อนายทะเบียนจำหน่ายชื่อบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) แล้วให้เพิ่มชื่อบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓)
และกำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้ใหม่ตามบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่
๖
(๔) รายงานการจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) และรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๓) ตามแบบรายงาน
ท.ร. ๙๘ โดยกรอกข้อความใน ท.ร. ๙๘ ทั้งกรณีที่ ๑ (เพิ่มชื่อ) และกรณีที่ ๒
(จำหน่ายชื่อ)
แล้วส่งไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดเพื่อรวบรวมส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๒๔
ในกรณีที่สำนักงานทะเบียนกลางราษฎรตรวจสอบพบว่าบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนตามข้อ ๑๒๓ ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้สำเนาหลักฐานบุคคลดังกล่าวแจ้งไปยังสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(๒)
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับแจ้งจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้ดำเนินการตาม ข้อ ๑๒๓ (๓)
(๔)
ข้อ ๑๒๕
เมื่อปรากฏแน่ชัดว่าบุคคลในทะเบียนบ้านนั้นได้ตายไปแล้ว แต่ยังไม่ได้จำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้าน
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกเจ้าบ้านให้มายื่นคำร้องขอจำหน่ายชื่อบุคคลที่ตายไปแล้วออกจากทะเบียนบ้าน
กรณีที่นายทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบพลและปรากฏแน่ชัดว่าบุคคลนั้นได้ตายแล้ว
ให้ดำเนินการต่อไปใน (๒)
(๒)
สอบสวนพยานหลักฐานโดยละเอียดแล้วรวบรวมหลักฐานเสนอนายอำเภอพร้อมด้วยความเห็น
(๓)
เมื่อนายอำเภอพิจารณาอนุมัติแล้วให้จำหน่ายชื่อบุคคลดังกล่าวออกจากทะเบียน
โดยให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า คำร้องที่ ........
ลงวันที่ .......... หรือ หนังสือที่
........... ลงวันที่ ........... แล้วแต่กรณี
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่จำหน่ายชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายออก
และลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
(๔)
รายงานการจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อที่จะได้นำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๒๖
การจำหน่ายชื่อกรณีอื่นๆ ตามที่กระทรวงมหาดไทยสั่งการเฉพาะราย
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งแล้ว
ให้จำหน่ายชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่
ว่า หนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ ........ ลงวันที่ ........
พร้อมทั้งลงวันเดือนปีที่จำหน่ายชื่อในช่องวันเดือนปีที่ย้ายออก
และลงชื่อนายทะเบียนกำกับ
แล้วรายงานการจำหน่ายชื่อบุคคลออกจากทะเบียนบ้านตามแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อจะได้นำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๒๗
การจำหน่ายชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน
นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ให้รายงานสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
พิจารณาสั่งการเป็นการเฉพาะกรณี
ตอนที่
๓
การแก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๒๘
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย หรือสูติบัตร และมรณบัตร
ซึ่งได้ลงทะเบียนแล้ว ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(๑)
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนนำเอกสารราชการมาแสดง
ให้ผู้ยื่นคำร้องแสดงเอกสารดังกล่าวต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาเห็นว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนให้
(๒)
ในกรณีที่ผู้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนไม่มีเอกสารราชการมาแสดง
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานแล้วบันทึกเสนอนายอำเภอเพื่อพิจารณาเห็นว่าพยานหลักฐานดังกล่าวเชื่อถือได้
ให้นายอำเภอสั่งนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนให้
(๓) ในกรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อผิดพลาดเล็กน้อย
เช่น เขียนตัวสะกด หรือการันต์เกี่ยวกับชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุลผิด เป็นต้น
เมื่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐานเห็นเป็นที่เชื่อถือได้
ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงทะเบียนให้
(๔) ในกรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสัญชาติจากสัญชาติอื่นเป็นสัญชาติไทยให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นสอบสวนพยานหลักฐาน
แล้วเสนอตามลำดับชั้นเพื่อให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณา
เว้นแต่กรณีการได้สัญชาติไทยตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ไม่อาจพิจารณาสั่งการเป็นอย่างอื่นได้ เช่น การได้รับพระบรมราชานุญาตให้แปลงสัญชาติเป็นไทย
การได้รับอนุญาตให้กลับคืนสัญชาติไทย การถือสัญชาติไทยตามสามี
การที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าบุคคลนั้นมีสัญชาติไทย เป็นต้น
ข้อ ๑๒๙
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน หรือสำเนาทะเบียนบ้านให้นำข้อ ๑๒๘
มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
ข้อ ๑๓๐
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ
ของบุคคลในทะเบียนบ้านสูติบัตร มรณบัตร ในกรณีดังต่อไปนี้ให้รายงานตามแบบ ท.ร. ๙๗
คือ
ก. ในทะเบียนบ้าน
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการคำนำหน้านาม
ชื่อตัว ชื่อสกุล เพศ สถานภาพเจ้าบ้าน วันเดือนปีเกิด สัญชาติ ชื่อมารดา
เลขประจำตัวประชาชนของมารดา สัญชาติของมารดา ชื่อบิดา เลขประจำตัวประชาชนของบิดา
สัญชาติของบิดา และวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
ข. ในสูติบัตร
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการของจังหวัด
อำเภอและตำบลที่เป็นสถานที่เกิด
ค. ใบมรณบัตร
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการของวันเดือนปีที่ตาย
จังหวัด อำเภอ ตำบลที่เป็นสถานที่ตาย และสาเหตุการตาย
การรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๗
ให้สำนักทะเบียนรายงานไปยังสำนักทะเบียนจังหวัด
ตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อรวบรวมนำส่งให้สำนักกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๓๑
เมื่อมีผู้มายื่นคำร้องขอแก้ไขรายการต่างๆ ในทะเบียนบ้าน
ขอคัดสำเนาทะเบียนบ้าน ขอแจ้งการย้ายที่อยู่ หรือกรณีอื่นใดก็ตาม
หากนายทะเบียนตรวจพบว่ามีบุคคลในทะเบียนบ้านที่มีอายุครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์
ให้แก้ไขรายการคำนำหน้านามในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
จากเด็กชายหรือเด็กหญิง เป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณีได้ แล้วรายงานตามแบบ ท.ร.
๙๗
ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อที่จะได้นำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๓๒
รายการต่างๆ ที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากนายทะเบียนกรอกลงในแบบพิมพ์เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรไว้แล้ว
หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่ จะเป็นเพราะเขียนผิดหรือผิดพลาดเพราะเหตุอื่นใดก็ตาม
จะลบ ขูดหรือทำด้วยประการใดๆ ให้เลือนหายไปไม่ได้ แต่ให้ใช้วิธีขีดฆ่าคำหรือข้อความเดิมแล้วเขียนคำหรือข้อความที่ถูกต้องแทนด้วยหมึกสีแดง
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนและวันเดือนปีกำกับ
ข้อ ๑๓๓
ห้ามมิให้นายทะเบียนตำบลแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในสำเนาทะเบียนบ้านที่นายทะเบียนอำเภอได้ลงชื่อไว้แล้ว
ตอนที่
๔
การขอตรวจค้น
คัดและรับรองสำเนาทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๓๔
ผู้มีส่วนได้เสียจะขอตรวจดูทะเบียนราษฎรหรือขอคัดหรือรับรองสำเนารายการได้ที่สำนักทะเบียนอำเภอ
สำนักทะเบียนท้องถิ่น หรือสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้ในระหว่างเวลาราชการ
ข้อ ๑๓๕
เอกสารการทะเบียนราษฎรที่ผู้มีส่วนได้เสียจะขอตรวจดูทะเบียนราษฎร หรือขอคัด
หรือรับรองสำเนารายการ ณ สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่น ได้แก่
(๑) ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) หรือทะเบียนบ้าน (ท.ร.
๑๓)
(๒) สูติบัตร (ท.ร. ๑) หรือสูติบัตร (ท.ร. ๒)
หรือสูติบัตร (ท.ร. ๓)
(๓) มรณบัตร (ท.ร. ๔) หรือมรณบัตร (ท.ร. ๕)
ข้อ ๑๓๖
การยื่นคำร้องเพื่อขอตรวจสอบ คัดหรือรับรองสำเนารายการ ณ
สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือรองผู้อำนวยการทะเบียน
คัดและรับรองสำเนาให้ดังนี้
(๑)
สูติบัตรและมรณบัตรเฉพาะของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการที่ได้เริ่มจัดเก็บไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นนั้นๆ
ได้ถูกกำหนดให้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
(๒) ทะเบียนบ้าน
เฉพาะฉบับที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้ดำเนินการถ่ายสำเนาเพื่อนำมาจัดทำทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
(๓) รายการบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ข้อ ๑๓๗
การขอตรวจดูทะเบียนราษฎรหรือขอคัดหรือรับรองสำเนารายการตามข้อ ๑๓๕
ให้ดำเนินการได้เฉพาะรายการที่ปรากฏในเอกสารจากต้นฉบับหรือหลักฐานของสำนักทะเบียนเท่านั้น
ข้อ ๑๓๘
การคัดหรือรับรองสำเนารายการ ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นหรือสำนักทะเบียนอำเภอ
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
ยื่นคำร้องตามแบบคำร้องที่ใช้ในการทะเบียนราษฎร
(๒)
ตรวจสอบหลักฐานของผู้ร้องขอว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสียจริง
(๓) คัดหรือรับรองสำเนารายการตามหลักฐานที่ปรากฏ
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการรับรองสำเนารายการฉบับละ
๕ บาท
ข. ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ยื่นคำรองตามแบบคำร้องที่ใช้ในการทะเบียนราษฎร
(๒)
ตรวจสอบหลักฐานของผู้ร้องขอว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสียจริง
(๓) สำเนาสูติบัตรหรือมรณบัตร หรือทะเบียนบ้าน
แล้วแต่กรณี ด้วยระบบไมโครฟิล์ม แล้ว
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือรองผู้อำนวยการทะเบียนรับรองสำเนาเอกสารดังกล่าว
(๔) ถ้าเป็นการขอตรวจสอบและให้รับรองรายการบุคคล
ให้ดำเนินการสำเนารายการบุคคลจากทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
แล้วส่งให้ผู้อำนวยการทะเบียน หรือรองผู้อำนวยการทะเบียนรับรองสำเนารายการบุคคล
(๕) เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการรับรองสำเนารายการ
ฉบับละ ๕ บาท
ข้อ ๑๓๙
ในกรณีขอให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นคัดและรับรองสำเนารายการในทะเบียน
เพื่อใช้เป็นหลักฐานดังต่อไปนี้ให้ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียม คือ
(๑) สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการศึกษาทั่วไป
(๒)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการเข้ารับราชการทหาร
(๓)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการสงเคราะห์ผู้มีบุตรมาก
(๔)
สำเนาทะเบียนเพื่อใช้เกี่ยวกับการจัดที่ดินเพื่ออยู่อาศัยหรือประกอบอาชีพกสิกรรม
ตอนที่
๕
การตรวจสอบปรับปรุงทะเบียน
ก.
การตรวจการปฏิบัติงานของสำนักทะเบียน
ข้อ ๑๔๐
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการทะเบียนหรือกรมการปกครอง
ตรวจการปฏิบัติงานของสำนักทะเบียนจังหวัด ทุก ๓ เดือน และในกรณีจำเป็นผู้อำนวยการทะเบียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายอาจตรวจการปฏิบัติงานของสำนักทะเบียนอำเภอ
สำนักทะเบียนท้องถิ่น สำนักทะเบียนสาขา
และสำนักทะเบียนเฉพาะกิจนอกเหนือจากระยะเวลาที่กำหนดไว้ได้
ข้อ ๑๔๑
ให้นายทะเบียนจังหวัดออกไปตรวจสอบการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนอำเภอ
สำนักทะเบียนท้องถิ่น สำนักทะเบียนสาขา และสำนักทะเบียนเฉพาะกิจในเขตจังหวัดทุก ๓
เดือน
ข้อ ๑๔๒
ให้นายทะเบียนอำเภอตรวจสอบการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนตำบล
สำนักทะเบียนสาขา และสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ ภายในเขตอำเภอหรือกิ่งอำเภอ อย่างน้อย ๖
เดือนต่อ ๑ ครั้ง
ข้อ ๑๔๓
ให้นายทะเบียนตำบลตรวจสอบการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในตำบลที่รับผิดชอบทุก
๓ เดือน
ข้อ ๑๔๔
ในการตรวจสอบการปฏิบัติงานแต่ละครั้ง
ให้ผู้ตรวจสอบติดตามข้อบกพร่องและข้อเสนอแนะที่ได้เสนอให้มีการแก้ไขปรับปรุงในครั้งก่อนๆ
ด้วยทุกครั้ง และให้จังหวัดรวบรวมผลการตรวจการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรเฉพาะของนายทะเบียนจังหวัดและนายทะเบียนอำเภอ
ส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนด
ข.
การตรวจสอบปรับปรุงการทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๔๕
ให้สำนักทะเบียนจังหวัด สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนท้องถิ่น
สำนักทะเบียนตำบล สำนักทะเบียนสาขา
และสำนักทะเบียนเฉพาะกิจตรวจสอบปรับปรุงงานการทะเบียนราษฎร
ตามวิธีการและโครงการต่างๆ เช่น โครงการจัดหน่วยบริการอำเภอเคลื่อนที่
โครงการจัดสัปดาห์งานทะเบียนราษฎร
ตลอดจนตรวจสอบปรับปรุงงานการทะเบียนราษฎรตามที่ผู้ตรวจสอบได้แนะนำให้ปฏิบัติ
และการตรวจสอบปรับปรุงตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้สั่งการให้ดำเนินการ
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๔๖
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นหรือสำนักทะเบียนสาขา
หรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ แล้วแต่กรณี ได้รับบัญชีคนในบ้าน ซึ่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดส่งมาให้
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบรายการบ้านและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกับรายการบ้าน
และรายการบุคคลในบัญชีคนในบ้านจนครบทุกบ้าน
และทุกรายบุคคลในเขตความรับผิดชอบของสำนักทะเบียน
(๒) เมื่อพบรายการบ้านและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกับรายการบ้าน
และรายการบุคคลในบัญชีคนในบ้านไม่ถูกต้องตรงกัน
ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแก้ไขเพิ่มเติมรายการให้ถูกต้องตรงกัน
โดยให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ไม่อาจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ให้ยึดถือรายการความถูกต้องในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนเป็นหลัก
(๓)
เมื่อได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรายการในบัญชีคนในบ้านตาม (๒)
ให้ฉีกบัญชีคนในบ้านที่มีการแก้ไขรายการนั้นออก และรายงานส่งสำนักทะเบียนจังหวัด
ตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงาน
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการตรวจสอบแก้ไขต่อไป
ข้อ ๑๔๗
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นหรือสำนักทะเบียนสาขา
หรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ แล้วแต่กรณี ได้รับสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
ที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ แล้วจัดส่งมาให้เพื่อดำเนินการแจกจ่ายให้แก่เจ้าบ้านแต่ละบ้านในเขตความรับผิดชอบของสำนักทะเบียน
ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
นำทะเบียนบ้านออกมาตรวจสอบรายการบ้านและรายการบุคคลในบ้านกับรายการบ้านและรายการบุคคลในบ้านในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
ให้จนครบทุกบ้านและทุกรายการบุคคลในเขตความรับผิดชอบของสำนักทะเบียนก่อนดำเนินการแจกจ่ายให้แก่เจ้าบ้านต่อไป
(๒)
เมื่อพบรายการบ้านและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านตามรายการบ้านและรายการบุคคลในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านไม่ถูกต้องตรงกัน
ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วแก้ไขเพิ่มเติมรายการให้ถูกต้องตรงกันโดยให้นายทะเบียนลงชื่อกำกับไว้
ในกรณีที่ไม่อาจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้
ให้ยึดถือรายการความถูกต้องในทะเบียนบ้านเป็นหลัก
(๓)
เมื่อดำเนินการตรวจสอบรายการบุคคลรายการใดเสร็จแล้ว
ให้นายทะเบียนลงชื่อในช่องทะเบียน (ช่องที่ ๒)
ในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านทุกรายการบุคคลโดยไม่ให้เว้นว่างหรือใช้เครื่องหมายปีกกาโดยเด็ดขาด
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรับรองรายการความถูกต้องที่ได้ตรวจสอบแล้วของแต่ละรายการบุคคล
(๔)
เมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติมรายการบ้านและบุคคลตาม (๒) ให้จัดทำแบบรายงานตามแบบ ท.ร.
๙๗ หรือ ท.ร. ๙๘ หรือ ท.ร. ๙๙ แล้วแต่กรณี ยกเว้นกรณีที่มีการเพิ่มเติมรายการบุคคลตามสูติบัตร
หรือใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ย้ายเข้า) และการจำหน่ายรายการบุคคลตามมรณบัตร
หรือใบแจ้งย้ายที่อยู่ (ย้ายออก) ซึ่งได้มีหลักฐาน สูติบัตร มรณบัตร
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
เป็นหลักฐานสำหรับการเพิ่มเติมหรือจำหน่ายรายการของบุคคลเหล่านั้นอยู่แล้ว
สำหรับแบบรายงาน ท.ร. ๙๗, ท.ร. ๙๘ และ ท.ร. ๙๙
ที่ได้จัดทำรายงานสำหรับการแก้ไขเพิ่มเติมรายการบ้านและรายการบุคคลนั้นๆ ไว้แล้ว
ไม่ต้องจัดทำซ้ำอีกเช่นเดียวกัน
(๕) เมื่อได้จัดทำแบบรายงาน ท.ร. ๙๗, ท.ร. ๙๘ และ
ท.ร. ๙๙ ตาม (๔) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้จัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามระยะเวลาและวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการรายงานเพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขต่อไป
ข้อ ๑๔๘
ในการแจกจ่ายสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่เจ้าบ้าน
ให้เรียกสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านเดิมคืน แล้วมอบสำเนาทะเบียนบ้านฉบับใหม่ให้แก่เจ้าบ้าน
โดยแนะนำให้เจ้าบ้านตรวจสอบดูรายการในสำเนาทะเบียนบ้านว่าถูกต้องตรงกันกับฉบับเดิมหรือไม่
หากรายการถูกต้องตรงกันให้เจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายลงชื่อรับตรงช่องผู้รับสำเนาทะเบียนบ้านในสำเนาทะเบียนบ้านด้านล่างมุมขวามือทุกแผ่น
หากเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายตรวจพบว่ามีรายการไม่ถูกต้องตรงกันให้นายทะเบียนนำทะเบียนบ้านออกมาเพื่อตรวจสอบ
แล้วให้ยึดถือรายการในทะเบียนบ้านเป็นหลัก
หากเจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายเห็นว่ารายการในทะเบียนบ้านไม่ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงให้เจ้าบ้านหรือผู้ได้รับมอบหมายยื่นคำร้องเพื่อดำเนินการขอแก้ไขรายการ
เพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อตามระเบียบในส่วนนั้นๆ
เมื่อมีการแก้ไขรายการในสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านฉบับใหม่ที่จะแจกให้แก่เจ้าบ้านให้ดำเนินการตามข้อ
๑๔๗ (๔) (๕) โดยอนุโลม
ข้อ ๑๔๙
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ แล้วแต่กรณี ได้รับสำเนาทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๓, ๑๔) ฉบับถ่ายเอกสาร สูติบัตร (ท.ร. ๑, ๒, ๓) ตอนที่ ๒ มรณบัตร (ท.ร. ๔,
๕) ตอนที่ ๒ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓
แบบรายงาน ท.ร. ๙๗ ตอนที่ ๑ ท.ร. ๙๘ ตอนที่ ๑ ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑ และท.ร. ๙๙/๑
ที่ส่งกลับมาเนื่องจากมีกรณีทักท้วงจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้นายทะเบียนดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและแก้ไขปรับปรุงรายการให้ถูกต้องโดยให้ดำเนินการดังนี้
(๑) หากทักท้วงเนื่องจากไม่ได้ลงรายการให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วลงรายการให้ถูกต้องครบถ้วนด้วยหมึกสีแดงให้ชัดเจนพร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๒) หากทักท้วงเนื่องจากลงรายการไม่ชัดเจน
ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วลงรายการใหม่ด้วยหมึกสีแดงให้ชัดเจน
พร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๓) หากทักท้วงเนื่องจากลงรายการผิดไปจากต้นฉบับ
เช่น รายการเลขรหัสประจำบ้านและเลขประจำตัวประชาชนเป็นต้น
ให้ตรวจสอบรายการจากต้นฉบับแล้วแก้ไขรายการให้ถูกต้องตรงกับต้นฉบับ
ด้วยหมึกสีแดงพร้อมทั้งลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๔)
หากทักท้วงกลับมาเนื่องจากมีรายการผิดไปจากข้อเท็จจริงให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วดำเนินการแก้ไขหรือเพิ่มเติมตามระเบียบที่เกี่ยวกับส่วนนั้นๆ
ได้เลย โดยให้นายทะเบียนลงชื่อกำกับไว้
(๕)
หากทักท้วงมาโดยสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรระบุให้ดำเนินการแก้ไขหรือเพิ่มเติมหรือจำหน่ายตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนดวิธีมาโดยเฉพาะ
ให้ดำเนินการแก้ไขตามวิธีการที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
แล้วให้นายทะเบียนลงชื่อกำกับไว้พร้อมทั้งหมายเหตุในช่องบันทึกการแก้ไขรายการว่า แก้ไขหรือเพิ่มเติมหรือจำหน่ายรายการ
..... ตามหนังสือที่ ......... ลงวันที่ ......
(๖) เมื่อดำเนินการตาม (๑) หรือ (๒) หรือ (๓)
หรือ (๔) หรือ (๕) แล้วแต่กรณี เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้จัดส่งเอกสารการทะเบียนราษฎรเหล่านั้นให้สำนักทะเบียนจังหวัดภายใน ๗
วันนับแต่วันที่ได้รับเอกสารดังกล่าว
เพื่อนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตรวจสอบความถูกต้องและดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๕๐
เมื่อสำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนท้องถิ่น สำนักทะเบียนสาขา
หรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ ได้รับหนังสือทักท้วงจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๔๙ โดยไม่มีสำเนาเอกสารหรือต้นฉบับส่งมาด้วย ให้นายทะเบียนอำเภอดำเนินการดังนี้
(๑) ค้นหาเอกสารการทะเบียนราษฎรฉบับที่ถูกทักท้วงเพื่อนำออกมาตรวจสอบดูรายการตามที่ทักท้วง
(๒) ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงรายการตามข้อ ๑๔๙ (๑)
(๕) แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
(๓) ดำเนินการจัดส่งเอกสารตามข้อ ๑๔๙ (๖)
โดยอนุโลม
ข้อ ๑๕๑
สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรอาจกำหนดวิธีการตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
เป็นกรณีเฉพาะราขนอกเหนือจากข้อ ๑๔๘ และข้อ ๑๔๙
โดยจะระบุวิธีการแต่ละกรณีไว้ในหนังสือทักท้วงนั้นๆ
ตอนที่
๖
การส่งและการรายงาน
ข้อ ๑๕๒
แบบพิมพ์และรายงานการทะเบียนราษฎรที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้ว
ซึ่งสำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นจะต้องจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดเพื่อดำเนินการนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
มีดังนี้
(๑) แบบพิมพ์สูติบัตร ท.ร. ๑ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดภายในกำหนดเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๕๕, ๕๖, ๕๗, ๕๘,
๕๙, ๖๐ และ ๖๑
(๒) แบบพิมพ์สูติบัตร ท.ร. ๒ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดเกินกำหนดเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๖๒ และ ๖๓
(๓) แบบพิมพ์สูติบัตร ท.ร. ๓ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดสำหรับบุตรของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
เสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๖๔
(๔) แบบพิมพ์มรณบัตร ท.ร. ๔ และ ท.ร. ๕ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการรับแจ้งการตายเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๗๐, ๗๑, ๗๒, ๗๓, ๗๔, ๗๕, ๗๗
และ ๙๘
(๕) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ และ
ท.ร. ๗ ตอนที่ ๑ ที่ออกให้โดยสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
และนำย้ายเข้าในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการเช่นเดียวกัน
ซึ่งได้ดำเนินการแจ้งย้ายเข้าเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๘๙, ๙๐, ๙๑, ๙๓, ๑๐๑, และ ๑๐๕
(๖) แบบพิมพ์ใบแจ้งย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ และ ท.ร. ๗
ตอนที่ ๑ ที่ออกให้โดยสำนักทะเบียนที่ไม่ใช่เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
แต่นำมาแจ้งย้ายเข้าในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ซึ่งได้ดำเนินการแจ้งย้ายเข้าเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๘๙, ๙๐, ๙๑, ๙๓, ๑๐๑ และ ๑๐๕
(๗) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ และ
ท.ร. ๗ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการแจ้งย้ายเข้าปลายทางยังสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการโดยสำนักทะเบียนต้นทางที่ดำเนินการย้ายออกให้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการเช่นเดียวกัน
ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วตามข้อ ๙๔ ก ๑ และ ๙๔ ข ๒
(๘) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ และ
ท.ร. ๗ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้ดำเนินการแจ้งย้ายเข้าปลายทางยังสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
โดยสำนักทะเบียนต้นทางที่ดำเนินการย้ายออกให้
ไม่ได้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๙๔
ก. ๑ และ ๙๔ ข. ๑
(๙) แบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ท.ร. ๖ และ
ท.ร. ๗ ตอนที่ ๓ ซึ่งได้ดำเนินการแจ้งย้ายออกเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๘๘, ๙๒, ๙๔ ก ๒,
๙๔ ข ๒, ๙๙ และ ๑๐๐
(๑๐) แบบรายงานแก้ไขรายการ
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ ของบุคคลตามแบบ ท.ร. ๙๗ ตอนที่ ๑
ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๑๓๐ และ ๑๓๑
(๑๑) แบบรายงานการเพิ่มชื่อ
เปลี่ยนสถานภาพหรือจำหน่ายชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านตามแบบ ท.ร. ๙๘ ตอนที่ ๑
ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ ๗๖, ๗๘, ๘๔, ๑๐๗, ๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐, ๑๑๑, ๑๑๒,
๑๑๓, ๑๑๔, ๑๑๕, ๑๑๖, ๑๑๗, ๑๑๘, ๑๑๙, ๑๒๐, ๑๒๑, ๑๒๒, ๑๒๓, ๑๒๔, ๑๒๕, ๑๒๖, และ ๑๒๗
(๑๒) แบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติมหรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน ตามแบบ ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑ ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
ตามข้อ ๒๕, ๒๖, ๒๗, ๒๘, ๒๙, ๓๐ และ ๓๓
(๑๓) แบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้าน กรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมเป็นจำนวนมากตามแบบ ท.ร. ๙๙/๑ ซึ่งได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ตามข้อ
๓๑ และ ๓๒
(๑๔) แบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตา (๑)
(๑๓) ที่ได้แก้ไขรายการถูกต้องแล้ว ตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทักท้วงมา
(๑๕)
บัญชีคนในบ้านที่ได้แก้ไขรายการให้ถูกต้องแล้ง
การจัดส่งเอกสารตาม (๑), (๒) และ (๓)
ให้รวมจัดส่งในซองเดียวกันและเอกสารตาม (๔)
(๑๓) ให้จัดส่งแยกซองในแต่ละประเภท
โดยให้จัดส่งเฉพาะแบบพิมพ์และแบบรายงานที่จัดทำหรือออกให้ตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ
ถูกกำหนดเป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ส่วนเอกสารตาม (๑๔)
ให้รวมจัดส่งในซองเดียวกันเช่นเดียวกับเอกสารตาม (๑๕)
โดยให้จัดส่งทันที่ที่ดำเนินการเสร็จแยกต่างหากจากเอกสารตาม (๑)
(๑๓)
ข้อ ๑๕๓
ให้สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนท้องถิ่น
จัดส่งแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงานตามข้อ ๑๕๒ ไปยังสำนักทะเบียนจังหวัด
ยกเว้น
สำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานครให้จัดส่งไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรโดยตรง
สำหรับสำนักทะเบียนสาขา หรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ
ให้รวบรวมแล้วทำหนังสือจัดส่งไปให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นซึ่งสำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจตั้งอยู่
ก่อนถึงกำหนดส่งของสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ๒ วัน
ข้อ ๑๕๔
ระยะเวลาการจัดส่งแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรและแบบรายงาน ตามข้อ ๑๕๒
ให้เป็นไปดังนี้
ก. สำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
ให้จัดส่งโดยตรงไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทุกวันศุกร์ ยกเว้น
ถ้าตรงกับวันหยุดราชการให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการ
ข. ให้สำนักทะเบียนจังหวัดทุกจังหวัด
นอกจากกรุงเทพมหานคร จัดส่งไปยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ทุก ๑ เดือน
โดยให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นจัดส่งให้สำนักทะเบียนจังหวัดก่อนถึงกำหนดส่ง
๓ วัน
สำหรับช่วงระยะเวลาในการกำหนดส่งของสำนักทะเบียนจังหวัดแต่ละจังหวัดให้เป็นไปดังนี้
(๑) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๑
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๑ ของเดือน
(๒) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๒
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๒ ของเดือน
(๓) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๓
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๓ ของเดือน
(๔) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๔
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๔ ของเดือน
(๕) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๕
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๕ ของเดือน
(๖) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๖
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๖ ของเดือน
(๗) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๗
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๗ ของเดือน
(๘) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๘
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๘ ของเดือน
(๙) จังหวัดที่มีรหัสขึ้นต้นด้วยเลข ๙
ให้รวบรวมนำส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ในวันที่ ๙ ของเดือน
ในกรณีที่วันที่กำหนดให้นำส่งถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรเป็นวันหยุดให้เลื่อนถัดไปเป็นวันแรกของวันเปิดทำการเป็นวันที่กำหนดให้นำส่งถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๕๕
การรวบรวมนำส่งแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎร ตามข้อ ๑๕๒ (๑)
(๓) ไปให้สำนักทะเบียนจังหวัด
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นนอกเขตกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี
ดำเนินการดังนี้
(๑) บรรจุแบบพิมพ์และแบบรายงานเท่าที่มีอยู่บรรจุลงซองเอกสารตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๒)
นับจำนวนเอกสารในแต่ละซองลงรายการหน้าซองบรรจุเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วนทุกซอง
(๓)
จัดทำหนังสือนำส่งและบัญชีนำส่งเอกสารไปให้สำนักทะเบียนจังหวัดตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๔) บรรจุซองเอกสารที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้วตาม
(๒) ลงในถุงบรรจุซองเอกสารของแต่ละสำนักทะเบียน
ซึ่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้แจกจ่ายมาให้
(๕)
นำถุงบรรจุซองเอกสารที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้วตาม (๔) พร้อมทั้งหนังสือนำส่งตาม (๓)
ส่งให้ถึงจังหวัดก่อนวันกำหนดของจังหวัดในการนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๕๔ อย่างน้อย ๓ วัน
(๖)
เมื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนจังหวัดได้ตรวจสอบจำนวนซองเอกสารบัญชีนำส่งถูกต้องเป็นที่เรียบร้อย
ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนจังหวัดลงชื่อรับไว้ในหนังสือนำส่งทั้งสองตอน
แล้วฉีกตอนที่ ๑ ให้สำนักทะเบียนเพื่อใช้ดำเนินการต่อไป ส่วนตอนที่ ๒
ให้ติดไว้กับเล่มหนังสือนำส่งเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานต่อไป
ข้อ ๑๕๖
การรวบรวมนำส่งแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้วตามข้อ
๑๕๕ ไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้นายทะเบียนจังหวัดยกเว้นกรุงเทพมหานครดำเนินดังนี้
(๑)
เตือนและเร่งรัดให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตความรับผิดชอบทุกสำนักทะเบียน
ดำเนินการจัดส่งให้เป็นไปตามวิธีการและระยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อ ๑๕๕
(๒) รวบรวมหนังสือและบัญชีนำส่งแบบพิมพ์และแบบรายการทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑ ตามข้อ ๑๕๕
เพื่อจัดทำหนังสือและบัญชีนำส่งของสำนักทะเบียนจังหวัดตามรูปแบบที่สำนักกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๓)
รวบรวมถุงบรรจุซองเอกสารของทุกสำนักทะเบียนพร้อมด้วยหนังสือนำส่งของจังหวัด
เพื่อนำส่งให้แก่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรภายในกำหนดเวลาที่ระบุไว้ในข้อ ๑๕๔
(๔)
ในการรวบรวมถุงบรรจุซองเอกสารส่งให้แก่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร (๓)
ให้จังหวัดมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระดับสัญญาบัตรจำนวน ๑ คน
เพื่อรับผิดชอบนำส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรด้วยตนเอง
ข้อ ๑๕๗
การรวบรวมนำส่งแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๓ (๑)
(๓)
ไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้สำนักทะเบียนท้องถิ่นภายในเขตกรุงเทพมหานครดำเนินการดังนี้
(๑)
รวบรวมแบบพิมพ์และแบบรายงานเท่าที่มีอยู่บรรจุลงซองเอกสารตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๒) นับจำนวนเอกสารในแต่ละซอง
แล้วลงรายการหน้าซองบรรจุเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วนทุกซอง
(๓)
จัดทำหนังสือและบัญชีนำส่งเอกสารไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๔) บรรจุซองเอกสารที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้วตาม
(๒) ลงในถุงบรรจุซองเอกสารของแต่ละสำนักทะเบียน
ซึ่งสำนักงานทะเบียนราษฎรได้แจกจ่ายมาให้
(๕)
นำถุงบรรจุซองเอกสารที่ได้ดำเนินการเสร็จแล้วตาม (๔) พร้อมทำหนังสือส่งตาม (๓)
ส่งให้ถึงสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรทุกวันศุกร์
โดยให้สำนักทะเบียนมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระดับสัญญาบัตรจำนวน ๑ คน
เพื่อรับผิดชอบนำส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรด้วยตนเอง
ข้อ ๑๕๘
การรวบรวมจัดส่งแบบพิมพ์และแบบรายงานทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๒ (๑๔)
ไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ดำเนินการดังนี้
(๑)
เมื่อดำเนินการแก้ไขตามหนังสือทักท้วงเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้รวบรวมบรรจุซองเอกสารเดียวกันทุกประเภทแบบพิมพ์และแบบรายงาน
ซึ่งเป็นซองเอกสารตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
(๒)
จัดทำหนังสือนำส่งตามรูปแบบที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนดแล้วบรรจุไว้ในซองเอกสารเดียวกัน
ในกรณีที่มีเอกสารทักท้วงที่ได้แก้ไขรายการเสร็จแล้วเป็นจำนวนมากและจำเป็นต้องบรรจุใส่ซองเอกสารมากกว่าหนึ่งซอง
ให้แยกจัดทำหนังสือส่งกำกับบรรจุไว้ในซองทุกซอง
(๓)
นำซองเอกสารและหนังสือนำส่งที่ได้จัดทำเสร็จแล้ว (๑) และ (๒)
เสนอผ่านสำนักทะเบียนจังหวัด
(๔) เมื่อสำนักทะเบียนจังหวัดได้รับซองเอกสารพร้อมหนังสือนำส่งแล้วให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนจังหวัดตรวจสอบดูจำนวนเอกสารในซอง
แล้วทำหนังสือนำส่งที่บรรจุไว้ในซองเสนอต่อให้นายทะเบียนจังหวัดลงนามในหนังสือ
แล้วจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรโดยทันทีต่อไป
สำหรับสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานครให้นำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรโดยตรง
ข้อ ๑๕๙
การรวบรวมจัดส่งแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๒ (๑๕)
ไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้สำนักงานทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ดำเนินการตามข้อ ๑๕๘ โดยอนุโลม
ข้อ ๑๖๐
เมื่อสำนักทะเบียนจังหวัดยกเว้นกรุงเทพมหานคร
ได้รับแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๒ (๑)
(๑๕) ซึ่งได้จัดส่งหรือรับมาจากสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้ดำเนินการจัดส่งให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
โดยมิชักช้า เพื่อสำนักทะเบียนจะได้ดำเนินการตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
หรือสำนักทะเบียนจัดเก็บไว้ตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ แล้วแต่กรณีต่อไป
ตอนที่
๗
การจัดทำรายงานสถิติการทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๖๑
สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ให้ยกเลิกการจัดทำรายงานปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร
ข้อ ๑๖๒
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนจัดทำรายงานสถิติการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ดังนี้
(๑) จัดทำรายงานสถิติจำนวนราษฎร
(๒) จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับบ้าน
(๓) จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการเกิด
(๔) จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการตาย
(๕) จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการย้ายที่อยู่
(๖) จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการเพิ่มชื่อบุคคล
(๗)
จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการจำหน่ายชื่อบุคคล
(๘)
จัดทำรายงานสถิติเกี่ยวกับการขอแก้ไขรายการบุคคล
รูปแบบและรายละเอียดของรายการสถิติการทะเบียนราษฎรตาม
(๑) (๘) ของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกำหนด
ข้อ ๑๖๓
การจัดทำสถิติการทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๖๒ ให้กำหนดระยะเวลาดำเนินการ ดังนี้
(๑) ประกาศรายงานสถิติประจำเดือน
(๒) ประกาศรายงานสถิติทุก ๓ เดือน
(๓) ประกาศรายงานสถิติทุก ๖ เดือน
กรณีเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการหรือการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร
ผู้อำนวยการทะเบียนอาจประกาศสถิติการทะเบียนราษฎรนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ใน (๑)
(๓) ก็ได้
ข้อ ๑๖๔
ให้ผู้อำนวยการทะเบียน
รวบรวมรายงานยอดจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรที่มีอยู่ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม
ของปีที่ล่วงมาและนำประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
ส่วนที่
๖
การจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ตอนที่
๑
บททั่วไป
ข้อ ๑๖๕
การจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้จัดทำจากเอกสารทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชนในแต่ละประเภทด้วยระบบคอมพิวเตอร์
โดยให้เริ่มทยอยจัดทำเป็นเขตๆ
ตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนดจนครบทุกสำนักทะเบียนทั่วประเทศ
ซึ่งให้รวมถึงสำนักทะเบียนอื่นใดที่จะจัดตั้งขึ้นใหม่ในอนาคตด้วย
ข้อ ๑๖๖
รายการวิธีการจัดทำและควบคุมทะเบียนราษฎรของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ให้เป็นไปตามรายการและวิธีการที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนด
ข้อ ๑๖๗
การกำหนดสำนักทะเบียนอำเภอ ท้องถิ่น สาขา หรือเฉพาะกิจ
เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ ให้กำหนดลำดับการเป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
โดยยึดถือรหัสสำนักทะเบียนจังหวัดจากน้อยไปหามากเป็นสำคัญ
ยกเว้นสำนักทะเบียนแห่งแรกในเขตปฏิบัติการ
ให้กำหนดสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตบางกะปิเป็นสำนักทะเบียนแห่งแรกในเขตปฏิบัติการตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชนและในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดทำและควบคุมทะเบียน
ผู้อำนวยการทะเบียนอาจพิจารณากำหนดเป็นอย่างอื่นได้
ตอนที่
๒
ทะเบียนบ้าน
ข้อ ๑๖๘
การจัดทำทะเบียนบ้านครั้งเริ่มแรก
ให้จัดทำจากสำเนาทะเบียนบ้านฉบับถ่ายสำเนาของแต่ละสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
การจัดทำทะเบียนบ้านเพิ่มเติม จำหน่าย
และแก้ไขปรับปรุงรายการที่อยู่ของบ้าน ให้จัดทำจากแบบรายงานการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน แบบ ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑ ท.ร. ๙๙/๑
และบัญชีคนในบ้านที่ได้ตรวจสอบแก้ไขรายการแล้ว
ข้อ ๑๖๙
เมื่อจัดทำทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการแห่งใดเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้จัดพิมพ์บัญชีคนในบ้านของสำนักทะเบียนนั้นๆ
เพื่อส่งให้สำนักทะเบียนตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนต่อไป
ข้อ ๑๗๐
เมื่อแก้ไขปรับปรุงทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการแต่ละแห่งเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ให้จัดพิมพ์ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและบัตรทะเบียนคนของทุกคนในแต่ละบ้านโดยแยกประเภทของบุคคล
เพื่อส่งให้สำนักทะเบียนนั้นๆ ดำเนินการแจกจ่ายให้แก่เจ้าบ้านแต่ละบ้านต่อไป
ข้อ ๑๗๑
ให้จัดพิมพ์บัญชีคนในบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการที่ได้จัดทำทะเบียนบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ส่งให้สำนักทะเบียนนั้นๆ
ตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนเป็นประจำทุก ๖
เดือน
ตอนที่
๓
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ ๑๗๒
การจัดทำทะเบียนคนเกิดของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการจากสูติบัตร (ท.ร. ๑,
๒ และ ๓) ตอนที่ ๒ โดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ
ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการ
และให้จัดทำเฉพาะสูติบัตรที่ออกให้ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๗๓
เมื่อได้จัดทำทะเบียนคนเกิดของบุคคลรายใดแล้ว
ให้จัดพิมพ์บัตรทะเบียนของบุคคลนั้นๆ โดยแยกประเภทของบุคคล
เพื่อส่งให้สำนักทะเบียนที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแจกจ่ายให้แก่บุคคลนั้นต่อไป
ข้อ ๑๗๔
สูติบัตร (ท.ร. ๑, ๒, ๓) ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนเกิดให้ดำเนินการถ่ายสำเนาไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง
ตรวจสอบ และคัดรับรองสำเนาต่อไป
สูติบัตรเมื่อได้จัดทำทะเบียนคนเกิดเสร็จเรียบร้อยแล้วให้จัดส่งไปเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการที่ออกสูติบัตรตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บสูติบัตร
ตอนที่
๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ ๑๗๕
การจัดทำทะเบียนคนตายของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการจากมรณบัตร (ท.ร. ๔, ๕)
ตอนที่ ๒ โดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ
ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการ
และให้จัดทำเฉพาะมรณบัตรที่ออกให้ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๗๖
มรณบัตร (ท.ร. ๔, ๕) ตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนคนเกิดให้ดำเนินการถ่ายสำเนาไว้ด้วยวระบบไมโครฟิล์มเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง
ตรวจสอบ และคัดรับรองสำเนาต่อไป
มรณบัตรเมื่อได้จัดทำทะเบียนคนตายเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้จัดส่งไปเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการที่ออกมรณบัตรตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บมรณบัตร
ตอนที่
๕
การย้ายที่อยู่
ข้อ ๑๗๗
การจัดทำทะเบียนการย้ายออกของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการให้จัดทำจากใบแจ้งการย้าย
(ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๓ โดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ
ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการและให้จัดทำเฉพาะใบแจ้งย้ายตอนที่ ๓
ที่ออกให้ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๗๘
การจัดทำทะเบียนการย้ายเข้าในกรณีทั่วไปและกรณีย้ายปลายทางของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ให้จัดทำจากใบแจ้งย้าย (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๑ สำหรับการย้ายเข้ากรณีทั่วไป
และจัดทำจากใบแจ้งย้าย (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๒
สำหรับการย้ายเข้าปลายทางโดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการและให้จัดทำเฉพาะใบแจ้งย้ายตอนที่
๑ หรือตอนที่ ๒ แล้วแต่กรณี ที่รับแจ้งเข้าตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๗๙
เมื่อได้จัดทำทะเบียนการย้ายเข้าของบุคคลรายใดแล้วหากปรากฏว่ายังไม่ได้จัดพิมพ์บัตรทะเบียนคนให้แก่บุคคลนั้น
ให้จัดพิมพ์ทะเบียนคนของบุคคลนั้นๆ โดยแยกประเภทของบุคคล
เพื่อส่งให้สำนักทะเบียนที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแจกจ่ายให้แก่บุคคลนั้นต่อไป
ข้อ ๑๘๐
การจัดทำทะเบียนย้ายออกจากใบแจ้งย้ายตอนที่ ๓
หากตรวจพบว่าบุคคลที่แจ้งย้ายออกไม่มีรายการหรือรายการไม่ถูกต้องตรงกันกับทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้สอบสวนแล้วทำหนังสือทักท้วงและส่งใบแจ้งย้ายตอนที่ ๓
กลับไปให้สำนักทะเบียนต้นทางดำเนินการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงต่อไป
ข้อ ๑๘๑
การจัดทำทะเบียนการย้ายเข้าจากใบแจ้งย้ายตอนที่ ๑
หากตรวจสอบพบว่าบุคคลที่แจ้งย้ายเข้าไม่มีรายการหรือรายการไม่ถูกต้องตรงกับทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรให้สอบสวนแล้วทำหนังสือทักท้วงและส่งใบแจ้งย้ายที่อยู่ตอนที่
๑
กลับไปให้สำนักทะเบียนต้นทางดำเนินการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงต่อไป
และให้ทำหนังสือแจ้งไปยังสำนักทะเบียนปลายทาง เพื่อระงับการแจ้งย้ายเข้าไว้ก่อน
ข้อ ๑๘๒
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
ที่นำมาจัดทำทะเบียนการย้ายที่อยู่
ให้ดำเนินการถ่ายสำเนาไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและตรวจสอบต่อไป
ข้อ ๑๘๓
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๑
ที่นำมาจัดทำทะเบียนการย้ายเข้าเมื่อจัดทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้ส่งกลับไปเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนปลายทางที่รับย้ายเข้า
ตามระเบียบการจัดเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ข้อ ๑๘๔
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖, ๗) ตอนที่ ๓ ที่นำมาจัดทำทะเบียนการย้ายออกเมื่อจัดทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้ส่งกลับไปเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนต้นทางที่รับย้ายออก
ตามระเบียบการจัดเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่
๖
การเพิ่มชื่อและจำหน่ายชื่อ
ข้อ ๑๘๕
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการเพิ่มชื่อเข้าทะเบียนบ้าน
หรือจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ตามแบบรายงานการเพิ่มชื่อเปลี่ยนสถานภาพ หรือจำหน่ายชื่อ (ท.ร. ๙๘) ตอนที่ ๑
ที่ส่งมาจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการโดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ
ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการ และให้จัดทำเฉพาะแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
ที่รายงานตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๘๖
เมื่อได้ดำเนินการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ให้จัดพิมพ์บัตรทะเบียนคนของบุคคลนั้นๆ โดยแยกประเภทของบุคคล
เพื่อส่งให้สำนักทะเบียนที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแจกจ่ายให้แก่บุคคลนั้นต่อไป
ข้อ ๑๘๗
แบบรายงานการเพิ่มชื่อ เปลี่ยนสถานภาพ หรือจำหน่ายชื่อ (ท.ร. ๙๘) ตอนที่ ๑
ที่นำมาเพิ่มชื่อหรือจำหน่ายชื่อบุคคลให้ดำเนินการถ่ายสำเนาได้ด้วยไมโครฟิล์ม
เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและตรวจสอบต่อไป
ข้อ ๑๘๘
แบบรายงาน ท.ร. ๙๘ ตอนที่ ๑ เมื่อได้จัดทำเสร็จเรียบร้อยแล้วให้ส่งไปทำลาย
ข้อ ๑๘๙
หากปรากฏว่าบุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรมีอายุเกินกว่า
๗๐ ปีขึ้นไป
ให้จำหน่ายชื่อบุคคลเหล่านั้นออกจากทะเบียนบ้านแล้วจัดทำทะเบียนแยกไว้ต่างหาก
ยกเว้นบุคคลนั้นมีสถานภาพเป็นเจ้าบ้านก็ให้คงชื่อไว้ในทะเบียนบ้านต่อไป
ตอนที่
๗
การแก้ไขรายการ
ข้อ ๑๙๐
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการแก้ไขรายการหรือเพิ่มเติมรายการในทะเบียนราษฎรที่ได้จัดทำไว้แล้ว
ณ สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร ตามแบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ
ของบุคคล (ท.ร. ๙๗) ตอนที่ ๑ ที่ส่งมาจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
โดยให้เริ่มจัดทำตั้งแต่วันที่สำนักทะเบียนนั้นๆ ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการ
และให้จัดทำเฉพาะแบบรายงาน ท.ร. ๙๗ ที่รายงานตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นไป
ข้อ ๑๙๑
แบบรายงานตามแบบ ท.ร. ๙๗ ตอนที่ ๑
ที่นำมาดำเนินการแก้ไขรายการหรือเพิ่มเติมรายการในทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้ดำเนินการถ่ายไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์ม เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิง และตรวจสอบต่อไป
แบบรายงาน ท.ร. ๙๗ ตอนที่ ๑
เมื่อได้จัดทำเสร็จเรียบร้อยแล้วให้ส่งไปทำลาย
ข้อ ๑๙๒
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๕๒ ที่ได้จัดส่งมาจากสำนักทะเบียนอำเภอ และสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตปฏิบัติการ
ก่อนที่จะส่งไปถ่ายไว้ด้วยระบบไมโครฟิล์มและบันทึกข้อมูลรายการในแบบพิมพ์และแบบรายงานดังกล่าวเพื่อจัดทำทะเบียนบ้านตามข้อ
๑๖๘ ๑๙๑ ต่อไป
ข้อ ๑๙๓
ในการตรวจสอบความถูกต้องของแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๙๒
ให้ดำเนินการตรวจสอบ ดังต่อไปนี้
(๑)
ตรวจดูว่าเป็นประเภทแบบพิมพ์และแบบรายงานที่กำหนดให้ส่งตามระเบียบ
(๒) ตรวจดูการลงรายการในแบบพิมพ์และแบบรายงาน
(๓)
ตรวจดูการลงชื่อในช่องนายทะเบียนของนายทะเบียน
(๔) ตรวจดูการลงรหัส รายการข้อมูลต่างๆ
(๕)
ตรวจดูกรณีเอกสารปลอมหรือกรณีที่อาจมีการทุจริตต่างๆ
ข้อ ๑๙๔
เมื่อมีการตรวจสอบเอกสารตามข้อ ๑๙๓ และพบข้อผิดพลาด
ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อพบว่าไม่ใช่แบบพิมพ์หรือแบบรายงานที่กำหนดให้ส่งตามระเบียบ
ให้แยกแบบพิมพ์หรือแบบรายงานนั้นออกไว้ต่างหาก
แล้วจัดส่งคืนสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา
ตามวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการทำลายเอกสาร
(๒) เมื่อพบว่าการลงรายการในแบบพิมพ์และแบบรายงาน
ไม่ชัดเจน ไม่ถูกต้อง
หรือลงรายการไม่ครบถ้วนในสาระสำคัญให้แยกแบบพิมพ์หรือแบบรายงานนั้นออกไว้ต่างหาก
จัดทำหนังสือทักท้วงการส่งแบบพิมพ์หรือแบบรายงานนั้นๆ
กลับไปยังสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา
ตามวิธีการที่กำหนดไว้ในส่วนการส่งและการทำลายเอกสารเพื่อให้สำนักทะเบียนนั้นๆ ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและแก้ไขเพิ่มเติมรายการให้ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงต่อไป
(๓)
เมื่อพบว่ารายการในช่องลงชื่อนายทะเบียนในแบบพิมพ์และแบบรายงานไม่มีการลงลายมือชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
ให้ดำเนินการตาม (๒) โดยอนุโลม
(๔) เมื่อพบว่ามีรายการลงรหัสข้อมูลผิดพลาด ไม่ถูกต้องตรงกับรหัสรายการข้อมูลนั้นๆ
ให้ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามวิธีการที่ผู้อำนวยการทะเบียนกำหนด
(๕)
เมื่อสงสัยว่าแบบพิมพ์หรือแบบรายงานนั้นเป็นเอกสารปลอม
หรือมีประเด็นสำคัญที่ส่อให้เห็นว่าอาจมีการทุจริตเกิดขึ้นให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วทำหนังสือนำส่งให้ผู้ตรวจการทะเบียนตามข้อ
๑๔๐ ดำเนินการต่อไป
เมื่อได้ดำเนินการตาม (๒) และ (๓)
แล้วให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรหมั่นตรวจสอบติดตามผลการดำเนินการของสำนักทะเบียนนั้นๆ
ให้ดำเนินการให้ถูกต้องเรียบร้อย
แล้วส่งแบบพิมพ์หรือแบบรายงานกลับคืนให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรภายในกำหนดเวลาเพื่อดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและดำเนินการต่อไป
ข้อ ๑๙๕
เมื่อได้บันทึกรายการในแบบพิมพ์และแบบรายงานที่ผ่านการตรวจสอบมาแล้วตามข้อ
๑๙๓, ๑๙๔ และ ๑๙๕
ให้จัดพิมพ์รายการเหล่านั้นทุกรายการพร้อมทั้งหมายเหตุกรณีที่อาจมีรายการผิดพลาด
หรือกรณีทุจริตใต้รายการบุคคลหรือบ้านนั้นๆ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อนำมาตรวจสอบความถูกต้องกับรายการในแบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎรอีกครั้งหนึ่ง
ข้อ ๑๙๖
การตรวจสอบรายการตามข้อ ๑๙๕ ให้ดำเนินการตรวจสอบดังนี้
(๑) ดำเนินการตรวจสอบตามข้อ ๑๙๓ (๑)
(๕)
(๒) ตรวจสอบดูข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ
ไปสำหรับรายการบุคคลและแบบรายการบ้าน
ที่มีการหมายเหตุที่อาจมีกรณีทุจริตหรือรายการผิดพลาดในกรณีต่างๆ
(๓) เมื่อตรวจสอบพบข้อผิดพลาดตาม (๑)
ให้ดำเนินการตามข้อ ๑๙๔ (๑) (๕) โดยอนุโลม
(๔) เมื่อตรวจพบข้อผิดพลาดตาม (๒)
ให้ตรวจดูข้อเท็จจริง หากสามารถดำเนินการแก้ไขได้ ก็ให้ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง
และหากจำเป็นต้องแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นให้ถูกต้องตรงกันด้วย
ก็ให้แจ้งสำนักทะเบียนแห่งนั้นๆ ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตรงกัน
หากตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วไม่สามารถแกไขให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงได้
ก็ให้ดำเนินการตามข้อ ๑๙๔ (๒) หรือ (๕) แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
ข้อ ๑๙๗
เมื่อได้ดำเนินการจัดทำทะเบียนบ้านไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์เรียบร้อยแล้วและได้ปรากฏรายงานหรือตรวจสอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์แล้วปรากฏว่ามีรายการบ้านและรายการบุคคลใดบุคคลหนึ่งไม่ถูกต้องหรืออาจมีการทุจริตขึ้นได้
ให้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วดำเนินการตามข้อ ๑๕๔ (๒) หรือ (๕) แล้วแต่กรณี
โดยอนุโลม
ข้อ ๑๙๘
รายละเอียดและวิธีการในการตรวจสอบความถูกต้องของแบบพิมพ์และแบบรายงานตามข้อ
๑๙๓ การดำเนินการเมื่อพบข้อผิดพลาดตามข้อ ๑๙๔ การตรวจสอบรายการตามข้อ ๑๙๖
และการตรวจสอบรายการตามข้อ ๑๙๖ และการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามข้อ ๑๙๗
ให้เป็นไปตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกำหนด
ตอนที่
๙
การส่งและทำลายเอกสาร
ข้อ ๑๙๙
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรที่ได้จัดทำทะเบียนบ้านตามข้อ ๑๖๘
๑๙๘ เสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยไม่มีกรณีที่จะต้องทักท้วงกลับไปยังสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา
ซึ่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจะต้องดำเนินการจัดส่งกลับไปเก็บไว้ตามระเบียบว่าด้วยการจัดเก็บ
ยังสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา ได้แก่
(๑) ท.ร. ๑, ๒, ๓ ตอนที่ ๒
(๒) ท.ร. ๔, ๕ ตอนที่ ๒
(๓) ท.ร. ๖, ๗ ตอนที่ ๑
ซึ่งได้แจ้งย้ายออกจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
(๔) ท.ร. ๖, ๗ ตอนที่ ๑
ซึ่งได้แจ้งย้ายออกจากสำนักทะเบียนที่ไม่ได้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
(๕) ท.ร. ๖, ๗ ตอนที่ ๒
ซึ่งได้แจ้งย้ายปลายทางออกจำสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
(๖) ท.ร. ๖,๗ ตอนที่ ๒ ซึ่งได้แจ้งย้ายปลายทางออกจากสำนักทะเบียน
ที่ไม่ได้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
(๗) ท.ร. ๖, ๗ ตอนที่ ๓
ซึ่งได้แจ้งย้ายออกจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร (๑) (๖)
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการรวบรวมจัดส่งกลับคืนให้สำนักทะเบียนจังหวัด
ยกเว้นกรุงเทพมหานคร
เพื่อนำส่งให้แก่สำนักทะเบียนอำเภอหือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณีต่อไป
โดยให้บรรจุแยกซองเอกสารในแต่ละประเภทแล้วบรรจุลงถุงบรรจุซองเอกสาร
เช่นเดียวกันกับที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นได้จัดส่งมาให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
การจัดส่งแบบพิมพ์ดังกล่าวให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรส่งมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนจังหวัดในขณะที่ได้นำเอกสารมาส่งยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามข้อ
๑๕๖
เพื่อจะได้มีผู้รับผิดชอบนำกลับไปแจกจ่ายส่งต่อให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นต่อไป
สำหรับสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรส่งมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขต
ในขณะที่ได้นำเอกสารมาส่งยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๗
ข้อ ๒๐๐
แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๒ ที่จะต้องส่งกลับสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา
เนื่องจากมีกรณีที่จะต้องทักท้วง ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการ ดังนี้
(๑) ประทับหมายเลขเอกสารที่ต้องทักท้วง
(๒) จัดทำทะเบียนควบคุมเอกสารที่ต้องทักท้วง
(๓)
จัดทำใบทักท้วงตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกำหนดติดไปกับเอกสารทุกใบที่มีการทักท้วง
เพื่อแนะนำวิธีการตรวจสอบข้อเท็จจริงและดำเนินการในแต่ละกรณีเป็นการเฉพาะ
(๔) จัดทำหนังสือนำส่งไปให้สำนักทะเบียนจังหวัด
หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นภายในเขตกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี
(๕) บรรจุเอกสารที่มีใบทักท้วงติดอยู่ทุกใบ
และหนังสือนำส่งลงซองเอกสารแล้วจัดส่งไปให้สำนักทะเบียนจังหวัด
ส่วนสำนักทะเบียนท้องถิ่นในเขตกรุงเทพมหานครให้ส่งมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ในขณะที่ได้นำเอกสารมาส่งยังสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๕๗
(๖) เมื่อสำนักทะเบียนจังหวัดยกเว้นกรุงเทพมหานครได้รับซองเอกสารที่ทักท้วงให้จัดทำทะเบียนควบคุมการทักท้วงแล้วแจกจ่ายต่อไปให้สำนักทะเบียนในเขตความรับผิดชอบ
(๗)
ให้สำนักทะเบียนจังหวัดตรวจสอบดูทะเบียนควบคุมการทักท้วง
แล้วเร่งรัดการดำเนินการของสำนักทะเบียนที่เห็นว่าเวลาดำเนินการล่วงเลยมานานแล้ว
หรือเร่งรัดตามที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้เตือนมา
ข้อ ๒๐๑
แบบรายงานการทะเบียนราษฎรทีได้จัดทำทะเบียนราษฎรตามข้อ ๑๖๘
๑๙๘ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
โดยไม่มีกรณีที่จะต้องทักท้วงกลับไปยังสำนักทะเบียนที่ได้จัดส่งมา
ให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรจัดทำลายโดยเร็ว ตามวิธีการทีผู้อำนวยการทะเบียนกำหนดแบบรายงานการทะเบียนราษฎรดังกล่าว
ได้แก่
(๑) ท.ร. ๙๗ ตอนที่ ๑
(๒) ท.ร. ๙๘ ตอนที่ ๑ และ
(๓) ท.ร. ๙๙ ตอนที่ ๑ ท.ร. ๙๙/๑ ตอนที่ ๑
ส่วนที่
๗
การใช้แบบพิมพ์และการจัดเก็บแบบพิมพ์
ตอนที่
๑
แบบพิมพ์และการใช้แบบพิมพ์
ข้อ ๒๐๒
แบบพิมพ์ที่ใช้ในการทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการมีดังต่อไปนี้
ก. แบบพิมพ์ตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๑๘
ซึ่งได้แก่
ท.ร. ๓๑ เป็นคำร้องที่ใช้ในการทะเบียนราษฎร
ข. แบบพิมพ์ตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๒๖
ซึ่งได้แก่
ท.ร. ๑๔
เป็นทะเบียนบ้านที่ใช้ลงรายการบุคคลในบ้านแต่ละหลังที่มีสัญชาติไทยหรือเป็นบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
ค. แบบพิมพ์ตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๒๖
ข้อ ๑๕ ซึ่งได้แก่
(๑) ท.ร. ๑ เป็นสูติบัตร
ใช้ออกให้สำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่แจ้งเกิดภายในกำหนด
(๒) ท.ร. ๒ เป็นสูติบัตร
ใช้ออกให้สำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่แจ้งเกิดเกินกำหนด
(๓) ท.ร. ๓ เป็นสูติบัตร
ใช้ออกให้สำหรับบุคคลซึ่งเกิดในประเทศไทย
ซึ่งบิดาหรือมารดาเป็นบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(๔) ท.ร. ๔ เป็นมรณบัตร
ใช้ออกให้สำหรับการตายของบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ท.ร. ๑๔
(๕) ท.ร. ๕ เป็นมรณบัตร
ใช้ออกให้สำหรับการตายของบุคคล.ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(๖) ท.ร. ๖ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ใช้ออกให้สำหรับบุคคลสัญชาติไทยและบุคคลต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ท.ร. ๑๔
(๗) ท.ร. ๙ เป็นใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ใช้ออกให้สำหรับการเปลี่ยนแปลงรายการของบ้าน
ง. แบบพิมพ์ตามระเบียนสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๗
ซึ่งได้แก่
(๑) ท.ร. ๑๓
เป็นทะเบียนสำหรับลงรายการบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
(๒) ท.ร. ๑๐ เป็นสูติบัตร
สำหรับการรับแจ้งการเกิดของบุคคลที่เกิดนอกราชอาณาจักรและได้รับสัญชาติไทย
(๓) ท.ร. ๑๑ เป็นมรณบัตร
สำหรับการรับแจ้งการตายของบุคคลสัญชาติไทยหรือบุคคลต่างด้าวซึ่งมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรไทย
ที่ตายนอกราชอาณาจักรไทย
(๔) ท.ร. ๗ เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่
สำหรับการแจ้งการย้ายที่อยู่ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือในลักษณะชั่วคราว
จ. แบบพิมพ์ตามระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึ่งได้แก่
(๑) ท.ร. ๑/๑ เป็นหนังสือรับรองการเกิด
ใช้ออกสำหรับการรับรองการเกิดของบุคคลที่เกิดในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ที่มีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
(๒) ท.ร. ๔/๑ เป็นหนังสือรับรองการตายใช้ออกสำหรับการรับรองการตายของบุคคลที่ตายในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ที่มีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ
ฉ.
แบบพิมพ์หรือบัญชีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรกำหนดขึ้นเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
(๑) ใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑ ตอนหน้า)
(๒) ใบรับแจ้งการตาย (ท.ร. ๔ ตอนหน้า)
(๓) ใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร. ๖ ตอนหน้า)
(๔) บัญชีการให้เลขรหัสประจำบ้าน
เป็นบัญชีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดพิมพ์รายการเลขรหัสประจำบ้านเพื่อจัดส่งให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านให้แก่บ้านทุกบ้านที่ยังไม่มีเลขรหัสประจำบ้านและบ้านที่ได้ปลูกสร้างขึ้นใหม่ทุกหลัง
ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท
คือบัญชีการให้เลขรหัสประจำบ้านแก่บ้านที่มีทะเบียนบ้านแบบ ท.ร. ๑๔
และบัญชีการให้เลขรหัสประจำบ้านแก่บ้านที่มีทะเบียนบ้านแบบ ท.ร. ๑๓
(๕) บัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชน
เป็นบัญชีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดพิมพ์รายการเลขประจำตัวประชาชน
เพื่อจัดส่งให้สำนักทะเบียนอำเภอและสำนักทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการกำหนดเลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลที่ขอเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
หรือมีชื่อยู่ในทะเบียนบ้าน แต่ยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒
ประเภท คือบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๕
และบัญชีการให้เลขประจำตัวประชาชนแก่บุคคลประเภทที่ ๖
(๖) บัญชีคนในบ้าน
เป็นบัญชีที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดพิมพ์รายการบุคคลในบ้านแต่ละบ้าน
ซึ่งได้มีการจัดทำทะเบียนบ้านของสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์เสร็จเรียบร้อยแล้ว
เพื่อจัดส่งไปให้สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องกับทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนนั้นๆ
(๗) บัตรทะเบียนคน
เป็นบัตรที่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรได้จัดพิมพ์รายการบุคคลแต่ละคนที่มีชื่อในทะเบียนบ้านของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
โดยแยกตามประเภทของบุคคล
เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชนแต่ละคนไว้ใช้อ้างอิงเลขประจำตัวประชาชนและรายการของบุคคลแต่ละคนตั้งแต่เกิดไปจนตาย
(๘) แบบรายงาน
ท.ร. ๙๙/๑ เป็นแบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้านในกรณีที่การแก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมเป็นจำนวนมาก
ข้อ ๒๐๓
กำหนดแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรขึ้นใหม่แนบท้ายระเบียบนี้ ดังต่อไปนี้
(๑) ท.ร. ๙๗ เป็นแบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ ของบุคคลในทะเบียนบ้าน สูติบัตรและมรณบัตร
(๒) ท.ร. ๙๘ เป็นแบบรายงานการเพิ่ม/เปลี่ยน
สถานภาพหรือจำหน่ายชื่อบุคคลในทะเบียน
(๓) ท.ร. ๙๙ เป็นแบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติมหรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน
ข้อ ๒๐๔
การยกเลิกจำหน่ายแบบพิมพ์การทะเบียนราษฎร ให้ดำเนินการดังนี้
(๑) สูติบัตรที่ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถใช้ปฏิบัติได้
เช่น เลขประจำตัวไม่ตรงกันทั้ง ๓ คน
กรอกรายการผิดพลาดหรือเลขรหัสของสำนักทะเบียนไม่ตรง
หรือรายการเลขประจำตัวประชาชนไม่ชัดเจน เป็นต้น
ให้จำหน่ายแล้วรวบรวมรายงานไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดเพื่อรวบรวมส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรต่อไป
โดยให้เขียนคำว่า ยกเลิก
สีแดงและทำเครื่องหมายกากบาดในสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
พร้อมทั้งระบุสาเหตุที่ยกเลิกด้วย
(๒)
มรณบัตรที่ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถใช้ปฏิบัติได้ เช่น
กรณีรายการผิดพลาดหรือมรณบัตรไม่ครบ ๓ ตอน เป็นต้น
ให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี จำหน่ายมรณบัตรดังกล่าว
แล้วแยกเก็บในแฟ้มไว้ต่างหาก โดยเขียนคำว่า ยกเลิก
สีแดงทั้ง ๓ ตอน
(๓)
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถใช้ปฏิบัติได้ เช่น กรอกรายการผิดพลาด
หรือใบแจ้งการย้ายที่อยู่ไม่ครบ ๓ ตอน เป็นต้น ให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
จำหน่ายใบแจ้งการย้ายที่อยู่ดังกล่าว แล้วแยกเก็บในแฟ้มไว้ต่างหาก โดยเขียนคำว่า ยกเลิก
สีแดง ทั้ง ๓ ตอน
(๔)
รายการเลขรหัสประจำบ้านในบัญชีให้เลขรหัสประจำบ้าน
หรือรายการเลขประจำตัวประชาชนในบัญชีให้เลขประจำตัวประชาชน มีรายการเลขไม่ชัดเจนหรืออ่านไม่ได้
หรือไม่ถูกต้องครบถ้วนตรงกับข้อเท็จจริง จนไม่สามารถใช้ปฏิบัติงานได้ เช่น
เลขรหัสประจำบ้านไม่ครบ ๑๑ หลัก หรือเลขประจำตัวประชาชนไม่ครบ ๑๓ หลัก
ให้สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
จำหน่ายหมายเลขนั้นแล้วรายงานหมายเลขดังกล่าวไปยังสำนักทะเบียนจังหวัดเพื่อรายงานให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรต่อไป
โดยระบุท้ายเลขรหัสประจำบ้านหรือเลขประจำตัวประชาชนเลขนั้นๆ ว่า ยกเลิก
ด้วยหมึกสีแดง
ตอนที่
๒
การจัดเก็บแบบพิมพ์
ข้อ ๒๐๕
ให้เก็บทะเบียนบ้านไว้ในตู้ที่ทางราชการส่งให้ โดยใช้เก็บรวมกันได้ทั้งทะเบียนบ้านแบบ
ท.ร. ๑๓ และทะเบียนบ้านแบบ ท.ร. ๑๔ ตามสภาพความเป็นจริงของที่ตั้งของบ้าน
ข้อ ๒๐๖
วิธีเก็บทะเบียนบ้าน ให้ปฏิบัติดังนี้
ก. สำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบลหรือแขวง
(๒) แต่ละตำบลหรือแขวงแยกออกเป็นถนน ตรอก ซอย
และจัดลำดับถนน ตรอก ซอย ตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอย นั้นๆ
ในกรณีชื่อถนน ตรอก ซอย เหมือนกันแต่มีเลขหมายกำกับ ให้เรียกตามเลขหมายกำกับ
(๓) ภายในส่วนของถนน ตรอก ซอย
ให้เรียงตามลำดับเลขหมายประจำบ้าน
(๔) การแยกระหว่างตำบลหรือแขวง ถนน ตรอก ซอย
ให้ใช้แผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงประมาณครึ่งนิ้ว
และเขียนชื่อถนน ตรอก ซอย ไว้ในส่วนที่สูงกว่านั้น
(๕)
ให้มีแผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับทะเบียนบ้านแต่มีหัวสูงกว่าประมาณครึ่งนิ้ว
ยาวหนึ่งในห้าส่วนของความยาวของแผ่นคั่นไว้ระหว่างหมายเลขประจำบ้านทุกๆ ๑๐๐
เลขหมาย เช่น ๑ ๑๐๐ , ๑๐๑
๒๐๐, ๒๐๑ ๓๐๐ เป็นต้น
ข. สำนักทะเบียนอำเภอ
(๑) ให้แยกเก็บเป็นรายตำบล หมู่บ้าน
(๒) ให้หมู่บ้านหนึ่งๆ
ให้เรียงลำดับเลขหมายประจำบ้าน ถ้าในหมู่บ้านให้เลขบ้านเป็นถนน ตรอก ซอย
ให้แยกภายในหมู่บ้านนั้นออกเป็นถนน ตรอก ซอยตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก
ซอย นั้นๆ
(๓) การแยกระหว่างตำบล หมู่บ้าน ถนน ตรอก ซอย
และกลุ่มเลขบ้านให้ถือปฏิบัติอย่างเดียวกับข้อ ก. โดยอนุโลม
ข้อ ๒๐๗
เมื่อนำทะเบียนบ้านออกไปจากที่ เพื่อการใดก็ตาม
จะต้องเก็บเข้าที่เดิมทันทีเมื่อเสร็จธุระ จะนำไปเก็บหรือวางไว้ทีอื่นไม่ได้
ข้อ ๒๐๘
การเก็บสูติบัตรตอนที่ ๒ ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทสูติบัตรเป็น ท.ร. ๑ ตอน ๒ หรือ
ท.ร. ๒ ตอน ๒ หรือ ท.ร. ๓ ตอน ๒ แล้วแต่กรณี
(๒)
สูติบัตรของแต่ละประเภทให้เก็บในแฟ้มที่ทางราชการส่งให้
(๓) ในแฟ้มหนึ่งๆ ให้บรรจุสูติบัตรเป็นเล่มๆ
จนเต็มขนาดบรรจุของแฟ้ม
โดยให้บรรจุสูติบัตรตามลำดับเลขประจำตัวประชาชนที่ปรากฏอยู่บนมุมบนขวามือของสูติบัตรแต่ละใบ
โดยให้หมายเลขน้อยอยู่ล่าง
(๔)
เมื่อสิ้นปีปฏิทินและขึ้นปีใหม่ให้ใช้แฟ้มติดต่อกันไป
และให้มีแผ่นกระดาษที่มีสีต่างกันกับสูติบัตรตอนที่ ๒
ในแต่ละประเภทคั่นระหว่างปีเป็นเครื่องสังเกตุไว้ด้วย
(๕)
เมื่อบรรจุจนเต็มแต่ละแฟ้มแล้วให้ใช้แฟ้มใหม่เป็นแฟ้มที่ ๒, ๓ .....ตามลำดับ
(๖)
แฟ้มที่จัดเก็บสูติบัตรจนเต็มแล้วให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่.....
ของปี.....เลขประจำตัวเลขที่........ถึงเลขประจำตัวเลขที่......
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหาและจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๗)
ในการค้นหาให้ค้นหาตามลำดับเลขประจำตัวประชาชน
หากผู้ร้องขอคัดสำเนารายการไม่สามารถจำหรือรู้เลขประจำตัวประชาชนได้
ให้ค้นหาดูรายการเลขประจำตัวประชาชนในทะเบียนบ้านที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่
หากไม่สามารถรู้ได้อีกก็ให้ค้นหาตามปี พ.ศ. ที่เกิด
ข้อ ๒๐๙
การเก็บมรณบัตรตอนที่ ๒ ให้เก็บดังนี้
(๑) แยกประเภทมรณบัตร เป็น ท.ร. ๔ ตอน ๒ หรือ
ท.ร. ๕ ตอน ๒ แล้วแต่กรณี
(๒)
มรณบัตรของแต่ละประเภทให้เก็บในแฟ้มที่ทางราชการส่งให้
(๓) ในแฟ้มหนึ่งๆ
ให้บรรจุมรณบัตรรวมกันทุกตำบลจนเต็มขนาดบรรจุของแฟ้มโดยให้บรรจุตามลำดับวัน เดือน
ปี ที่ออกมรณบัตร โดยให้ วัน เดือน ปี ที่ออกให้ก่อนอยู่หลัง
(๔) เมื่อสิ้นปีปฏิทินและขึ้นปีใหม่
ให้ใช้แฟ้มติดต่อกันไป และให้มีแผ่นกระดาษที่มีสีต่างกันกับมรณบัตรตอนที่ ๒
ในแต่ละประเภทคั่นระหว่างปีเป็นเครื่องสังเกตไว้ด้วย
(๕) เมื่อบรรจุจนเต็มในแต่ละแฟ้มแล้ว
ให้ใช้แฟ้มใหม่เป็นแฟ้มที่ ๒, ๓ ......ตามลำดับ
(๖)
แฟ้มที่จัดเก็บมรณบัตรจนเต็มแล้วให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่......ออกให้ตั้งแต่วันที่.....เดือน..........ปี.........ถึงวันที่.........เดือน........ปี............
แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบเพื่อสะดวกแก่การค้นหา
และจัดส่งสำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๗) ในการค้นหาให้ค้นหาตามลำดับวัน เดือน ปี
ที่ตาย หรือที่ออกมรณบัตรให้ หากผู้ร้องขอคัดสำเนารายการไม่สามารถจำหรือรู้วันเดือนปีที่ตายหรือวันเดือนปีที่ออกมรณบัตรให้ไว้
ให้ค้นหาดูรายการวันเดือนปีที่ออกมรณบัตรได้จากรายการจำหน่ายชื่อบุคคลนั้นกรณี ตาย
ในทะเบียนบ้านที่ผู้ตายมีชื่ออยู่
ข้อ ๒๑๐
มรณบัตรตอนที่ ๒ ซึ่งออกให้โดยสำนักทะเบียนที่ไม่ใช่สำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการและได้จัดส่งมาให้ดำเนินการจำหน่ายชื่อผู้ตายออกจากทะเบียนบ้าน
ให้แยกเก็บไว้อีกแฟ้มหนึ่งต่างหาก
และจะต้องจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรต่อไป
ข้อ ๒๑๑
การเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้แยกประเภทใบแจ้งการย้ายที่อยู่เป็น ท.ร. ๖
หรือ ท.ร. ๗ แล้วแต่กรณี แล้วแยกจัดเก็บเป็นตอนๆ ดังนี้
ก. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ซึ่งแจ้งย้ายออกจากสำนักทะเบียนที่เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
หรือย้ายภายในเขตสำนักทะเบียน หรือย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง ให้จัดเก็บดังนี้
(๑) เก็บในแฟ้มต่างหากที่ทางราชการส่งให้โดยไม่ให้ปนกับใบแจ้งการย้ายประเภทอื่นๆ
(๒)
ในแฟ้มหนึ่งให้บรรจุรวมกันทุกตำบลจนเต็มขนาดบรรจุของแฟ้ม โดยให้บรรจุตามลำดับวัน
เดือน ปี ที่ย้ายเข้าโดยให้วัน เดือน ปี ที่ออกให้ก่อนอยู่ล่าง
(๓)
เมื่อสิ้นปีปฏิทินและขึ้นปีใหม่ให้ใช้แฟ้มติดต่อกันไปและให้มีแผ่นกระดาษที่มีสีต่างกันกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ในแต่ละประเภทคั่นระหว่างปีเป็นเครื่องสังเกตไว้ด้วย
(๔)
เมื่อบรรจุจนเต็มในแต่ละแฟ้มให้ใช้แฟ้มเป็นแฟ้มที่ ๒,๓ ...........ตามลำดับ
(๕) แฟ้มที่จัดเก็บจนเต็มแล้ว
ให้ระบุข้อความที่สันแฟ้มว่า แฟ้มที่...... ย้ายเข้าตั้งแต่วันที่........
เดือน.......... ปี........ ถึงวันที่......... เดือน..............
ปี.............. แล้วจัดเก็บเรียงไว้ให้ปลอดภัยและเป็นระเบียบ
เพื่อสะดวกแก่การค้นหาและจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
(๖) ในการค้นหาให้ค้นหาตามลำดับวันเดือนปีที่ย้ายเข้า
หากผู้ร้องขอคัดสำเนารายการไม่สามารถจำหรือรู้วันเดือนปีที่ย้าย
ให้ค้นดูรายการวันเดือนปีที่ย้ายเข้าในทะเบียบ้านที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่
(๗) การที่จะรู้ได้ว่าใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ได้แจ้งย้ายออกจากสำนักทะเบียนที่เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการหรือไม่
ให้สังเกตดูที่ช่องรายการย้ายออกในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
หากมีเครื่องหมายประทับตราของสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการแสดงก็เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๑ ที่ได้แจ้งย้ายออกมาจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
หากไม่ปรากฏตราประทับดังกล่าวก็ไม่ใช่แจ้งย้ายออกมาจากสำนักทะเบียนที่อยู่ในเขตปฏิบัติการ
ข. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ซึ่งแจ้งย้ายออกมาจากสำนักทะเบียนทีไม่ได้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหากไม่ให้ปนกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ในข้อ ก.
ให้ดำเนินการจัดเก็บตามวิธีการในข้อ ก. โดยอนุโลม
และจะต้องนำส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ค. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑
ซึ่งออกให้เนื่องจากการแจ้งย้ายปลายทาง หรืออพยพไปต่างประเทศ หรือถูกเนรเทศ
ให้ดำเนินการจัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหาก โดยไม่ใช้ปนกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในข้อ
ก. และ ข. โดยให้ดำเนินการจัดเก็บตามวิธีการในข้อ ก. โดยอนุโลม
แต่ไม่ต้องจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการแต่อย่างใด
ง. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ซึ่งแจ้งย้ายปลายทางออกมาจากสำนักทะเบียนที่เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหาก ไม่ให้ปนกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในข้อ ก., ข. และ
ค. โดยให้ดำเนินการจัดเก็บด้วยวิธีการในข้อ ก. โดยอนุโลม
และจำต้องส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
จ. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ซึ่งแจ้งย้ายปลายทางออกมาจากสำนักทะเบียนที่ไม่ได้เป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ
ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหากไม่ให้ปนกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในข้อ ก. ข., ค. และ
ง. โดยให้ดำเนินการจัดเก็บด้วยวิธีการในข้อ ก. โดยอนุโลม
และจะต้องจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป
ฉ. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒ ที่สำนักทะเบียนปลายทางตอบรับกลับมาหรือเป็นกรณีย้ายภายในเขตสำนักทะเบียน
หรือ ย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง หรือย้ายไปต่างประเทศ หรืออพยพไปต่างประเทศ
หรือถูกเนรเทศ ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหากไม่ให้ปนกับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ในข้อ
ก., ข., ค., ง. และ จ. โดยให้ดำเนินการจัดเก็บด้วยวิธีการในข้อ ก. โดยอนุโลม
แต่ไม่ต้องจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการแต่อย่างใด
ซ. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
ที่ไม่ใช่เป็นการออกเนื่องจากการย้ายภายในเขตสำนักทะเบียน
หรือย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง ให้จัดเก็บไว้ในแฟ้มแยกต่างหากไม่ให้ปนกับใบแจ้งย้ายที่อยู่ในข้อ
ก., ข., ค., ง., จ. และ ฉ. โดยดำเนินการจัดเก็บด้วยวิธีในข้อ ก. โดยอนุโลม
แต่ไม่ต้องจัดส่งให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการแต่อย่างใด
ฌ. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ และ
ตอนที่ ๓ ที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในข้อ ก. ซ.
ให้จัดเก็บรวมกันไว้ในแฟ้มเดียวกันต่างหากเป็นกรณีพิเศษ
ข้อ ๒๑๒
การจัดเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตามข้อ ๒๑๑ ให้ระบุส้นแฟ้มว่า จัดเก็บกรณี
ก. หรือ ข. หรือ ค. หรือ ง. หรือ จ. หรือ ฉ. หรือ ช. หรือ ซ. หรือ ฌ. แล้วแต่กรณี
ทั้งนี้ เพื่อสะดวกแก่การจดจำในการจัดแฟ้ม และในการนำออกมาจัดส่งให้แก่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรตามระยะเวลาที่กำหนดของแต่ละสำนักทะเบียน
ซึ่งจะทำให้รู้ได้ทันทีว่าแฟ้ม ก. เป็นแฟ้มที่จัดเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่
๑ กรณีที่ย้ายออกมาจากสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ หรือย้ายภายในเขตสำนักทะเบียน
หรือย้ายเข้าทะเบียนคนบ้านกลาง
และจะต้องจัดส่งให้แก่สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป เหล่านี้เป็นต้น
ข้อ ๒๑๓
การเก็บแบบรายงานการทะเบียนราษฎรตามแบบ ท.ร. ๙๗, ท.ร. ๙๙ ให้เก็บตอนที่ ๑
และตอนที่ ๒ ไว้ในเล่มเป็นเล่มๆ เมื่อถึงกำหนดเวลาจะต้องจัดส่งตอนที่ ๑
ไปให้สำนักงานกลางทะเบียนราษฎรดำเนินการต่อไป ก็ให้ฉีกเฉพาะตอนที่ ๑
ออกมาดำเนินการจัดส่ง ส่วนตอนที่ ๒ ให้คงติดไว้ในเล่มเหมือนเดิม
ตอนที่
๒
คำแนะนำและตัวอย่างการกรอกแบบพิมพ์
ข้อ ๒๑๔
ให้ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีดำหรือสีน้ำเงิน
หรือพิมพ์ดีดกรอกรายการในแบบพิมพ์ที่เรียงซ้อนกันและมีกระดาษคาร์บอนสอด
ถ้าเป็นการกรอกรายการบนแบบพิมพ์แผ่นเดียวจะใช้ปากกาหมึกซึมธรรมดาก็ได้
แต่ต้องเป็นหมึกสีดำหรือสีน้ำเงิน
การหมายเหตุแก้รายการต่างๆ
ให้ใช้ปากกาหมึกซึมหรือปากกาลูกลื่น
ข้อ ๒๑๕
การกรอกข้อความลงในแบบพิมพ์ตามรายการต่างๆ ที่มีความในหัวข้อชัดเจนอยู่แล้วให้กรอกไปตามนั้น
เว้นแต่ที่มีความหมายเป็นอย่างอานได้ให้กรอกตามที่อธิบายไว้ในระเบียบนี้
บรรดารายการที่มี ÿ กำกับไว้ให้ทำเครื่องหมาย
Ö
ลงใน ÿ
ซึ่งตรงกับรายการที่ถูกต้อง
การลงชื่อนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียนนั้น
ให้ลงเล็บชื่อนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียนด้วยตัวบรรจงไว้ใต้ลายมือชื่อ
ข้อ ๒๑๖
วิธีการกรอก ให้ดำเนินการกรอกแบบพิมพ์แต่ละแบบ ดังนี้
(๑) แบบ ท.ร. ๑ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการเกิด
๑. เลขที่
............/....................ให้กรอกเลขที่ของหมู่บ้านซึ่งผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านออกให้ตามลำดับในสมุดรับ
ส่ง ของหมู่บ้าน และให้ทับ / พ.ศ. ที่ออกเลข เช่น
๑/๒๕๒๗ ๒/๒๕๒๗ เป็นต้น กรณีขึ้น พ.ศ. ใหม่ก็ให้เริ่มเลขที่ ๑ ใหม่ เช่น ๑/๒๕๒๘,
๑/๒๕๒๙ เป็นต้น
๒. สถานที่รับแจ้ง ให้กรอกหมู่ที่
และตำบลที่รับแจ้ง เช่น หมู่ที่ ๔ ตำบลแสนตอ
๓. วันที่ เดือน พ.ศ.
ให้กรอกตามวันที่ได้รับแจ้งจริง เช่น วันที่ ๔ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗
๔. ข้าพเจ้า หมายถึงผู้แจ้งการเกิด ให้กรอก
ชื่อสกุล ของผู้แจ้งการเกิดหลังคำว่า ข้าพเจ้า
๕. เลขประจำตัวประชาชน
หมายถึงเลขประจำตัวประชาชนผู้แจ้งการเกิด ถ้าไม่ทราบให้เว้นว่างไว้
๖. อายุ ให้กรอกอายุของผู้แจ้งการเกิด
๗. อยู่บ้านเลขที่ หมู่ที่ ซอย ถนน ตำบล/แขวง
อำเภอ/เขต จังหวัด ให้กรอกที่อยู่ของผู้แจ้งการเกิดที่ปรากฏตามหลักฐานทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔)
๘. ฐานะของผู้แจ้งเกิด
ถ้าเป็นเจ้าบ้านให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่
ÿ
หน้าคำว่าเจ้าบ้าน ถ้ามิใช่เจ้าบ้านก็ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าคำว่า ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้านคือและให้ใส่ชื่อเจ้าบ้านด้วย
๙. ความเกี่ยวพันกับเด็ก ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ
๑๐. หลังข้อความที่ว่า ขอแจ้งการเกิดต่อทะเบียน
ให้กรอกชื่อสำนักทะเบียนตำบล
๑๑. รายการในช่องที่ ๑ เด็กที่เกิดนั้น
ให้กรอกชื่อตัว ชื่อสกุลเด็กที่เกิด พร้อมระบุเพศ สัญชาติ
เกิดเมื่อวันที่ เดือน พ.ศ. และเวลาเกิด เดือนและ พ.ศ. นั้นให้เขียนตัวเต็ม
เช่นมกราคม ๒๕๒๗ เป็นต้น ช่องตรงกับวัน ขึ้น แรม เดือน และปีนั้น
ให้เขียนปีทางจันทรคติ เช่น วันพุธ ขึ้น ๒ ค่ำ เดือนยี่ ปีชวด เป็นต้น
ช่องสถานที่เกิดให้ระบุว่าเกิดในบ้าน หรือนอกบ้าน
กรณีที่เกิดที่สถานพยาบาลหรือสถานีอนามัย
ก็ให้ระบุด้วยและช่องถัดไปก็ให้กรอกบ้านเลขที่ของสถานที่เกิด
เด็กที่เกิดเป็นบุตรคนที่เท่าไรของบิดามารดาก็ให้ระบุในช่อง บุตรจำนวนคนที่
บรรทัดต่อไประบุว่า ผู้ทำคลอดคือใคร เช่น หมอตำแย ผดุงครรภ์ ก็ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าข้อความที่เป็นจริงและช่องสุดท้ายให้กรอกน้ำหนักแรกเกิดของเด็กคิดเป็นกรัม
ถ้าไม่ทราบให้เว้นไว้
๑๒. รายการมารดา ตามช่อง ๒ นั้น ให้กรอกชื่อตัว
ชื่อสกุลก่อนสมรสของมารดาพร้อมเลขประจำตัวประชาชน (ถ้าทราบ) นอกจากนั้นก็ให้ระบุอายุ
สัญชาติ จังหวัด และประเทศที่มารดาเกิด
ช่องต่อมาให้กรอกที่อยู่ของมารดานั้นให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าข้อความที่มีหลักฐานมาแสดงพร้อมทั้งระบุเลขที่ของหลักฐานต่างๆ ด้วย
๑๓. รายการของบิดา ตามช่อง ๓ นั้น ให้ดำเนินการเช่นเดียวกันกับรายการของมารดา
ตามช่อง ๒ แต่ระบุข้อมูลของบิดา
๑๔. หลักฐานการแจ้งการเกิดตามช่อง ๔ นั้น
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่ ÿ
หน้าข้อความที่มีหลักฐานมาแสดงต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งพร้อมทั้งระบุรายละเอียดของหลักฐานด้วย
เช่น บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งเลขที่ ๓ อต. ๕
๐๑๔๖๘๓ หรือ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน เลขที่ ๒๕๘/๓ ตำบลแสนตอ อำเภอน้ำปาด
จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นต้น ถ้าหลักฐานใดไม่มีรายละเอียดก็ไม่ต้องกรอกรายละเอียด
๑๕. รายการ
(ลงชื่อ).......................ผู้แจ้ง ให้ผู้แจ้งการเกิดลงลายมือชื่อพร้อมเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อด้วย
๑๖. รายการ
(ลงชื่อ)..........................นายทะเบียนผู้รับแจ้ง
ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเป็นผู้ลงลายมือชื่อ
พร้อมเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อด้วย ส่วนตำแหน่งนั้นให้กรอกคำว่า
ตำแหน่งผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
๑๗. ช่องได้รับหลักฐานการรับแจ้งการเกิดแล้ว
ให้ผู้แจ้งการเกิดเป็นผู้ลงลายมือชื่อ
๑๘. ช่องหลักฐานการรับแจ้งการเกิดในท่อนล่างสำนักทะเบียน
ให้กรอกชื่อสำนักทะเบียนตำบลและจังหวัด หลังคำว่า ได้รับแจ้งการเกิดของ
ให้กรอกชื่อ ชื่อสกุลของเด็กทีเกิด และหลังคำว่า จาก
ให้กรอกชื่อ ชื่อสกุลของผู้แจ้งการเกิด
ส่วนเลขที่........../.............ลงวันที่.............นั้น
ให้กรอกเลขที่และวันที่ เดือน พ.ศ.
ตามตอนบนของใบแจ้งการเกิดพร้อมทั้งลงชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านในฐานะนายทะเบียนผู้รับแจ้งและเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
ส่วนตำแหน่งนั้นให้ระบุตำแหน่งผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
๑๙. ด้านหลังของใบรับแจ้งการเกิดช่องแรก
เป็นช่องที่ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ (ซึ่งแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ปกครอง)
เป็นผู้กรอกเสนอความเห็นต่อนายทะเบียนตำบล
๒๐. ช่องคำสั่งนายทะเบียน หมายถึง
คำสั่งของนายทะเบียนตำบล
๒๑. ช่องบันทึกการปฏิบัติงาน
ถ้าได้ออกสูติบัตรแล้ว ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่
ÿ
หน้าข้อความว่า ได้ออกสูติบัตรแล้ว
และให้นำเลขประจำตัวประชาชนตามที่ได้ระบุไว้ที่มุมบนด้านขวาของสูติบัตรมากรอกหลังข้อความว่า
เลขประจำตัวประชาชน..........และลงชื่อนายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลซึ่งเป็นผู้ลงลายมือชื่อในสูติบัตรในช่องลงชื่อผู้ปฏิบัติ
กรณีได้เพิ่มชื่อลงในทะเบียนบ้านแล้ว ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าข้อความ ได้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านเลขที่
พร้อมทั้งกรอกเลขที่บ้านลงหลังคำว่าเลขที่บ้านด้วย ส่วนช่องลงชื่อปฏิบัตินั้น
ให้นายทะเบียนอำเภอหรือผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอซึ่งเป็นผู้ลงลายมือชื่อในทะเบียนบ้านเป็นผู้ลงลายมือชื่อ
๒๒. ช่องต่อไปเป็นช่องแสดงหลักฐานว่า
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง (นายทะเบียนตำบล, นายทะเบียนอำเภอ)
ได้ดำเนินการรับแจ้งการเกิดพร้อมออกสูติบัตรและเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนและสำเนาทะเบียนบ้าน
(ฉบับเจ้าบ้าน) แล้ว และได้มอบหลักฐานคืนให้
แก่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
เมื่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านได้รับหลักฐานใดแล้วให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ ÿ
หน้าข้อความที่เป็นจริง พร้อมทั้งกรอกรายละเอียดหลังข้อความนั้นด้วย เช่น
ข้าพเจ้าได้รับ ÿ สูติบัตรของ เด็กชายทูน บุญสา
หรือข้าพเจ้าได้รับ ÿ สำเนาทะเบียนบ้านเลขที่ ๒๕๘/๓ หมู่ที่ ๔
ตำบลแสนตอ อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นต้น เมื่อได้รับหลักฐานครบถ้วนแล้วให้ผู้รับลงลายมือชื่อพร้อมทั้งเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
และลงวันที่ เดือน พ.ศ.
ในวันที่ได้รับหลักฐาน
กรณีผู้รับมิใช่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านก็ให้ลงลายมือชื่อตามความจริงว่าเป็นผู้ใด
๒๓. ข้อความด้านล่าง หน้าหลังของใบรับแจ้งการเกิด
ใช้กรณีผู้แจ้งการเกิดได้รับหลักฐานต่างๆ จากผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
การกรอกให้กรอกเช่นเดียวกับ ข้อ ๒๒ และเมื่อได้รับหลักฐานครบถ้วนแล้ว
ให้ผู้แจ้งการเกิดลงลายมือชื่อพร้อมทั้งเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
และลงวันที่ เดือน พ.ศ. ในวันที่ได้รับหลักฐานผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
(๒) แบบ ท.ร. ๑, ๒, ๓
เป็นสูติบัตรที่ออกให้เป็นหลักฐานการเกิด
๑. การกรอกแบบพิมพ์ให้ใช้ปากกาหมึกสีดำ
หรือสีน้ำเงิน ให้เขียนโดยใช้กระดาษคาร์บอนรองทำเป็นสำเนา
๒. รายการสำนักทะเบียน ให้กรอกชื่อสำนักทะเบียนตำบล
หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น เช่น สำนักทะเบียนตำบลทรายมูล
๓. ๑.๑ ให้กรอกชื่อตัว ชื่อสกุล ของบุคคลที่เกิด
เช่น เด็กชายพินิจ รักไทย
๔. ๑.๒ ให้วงกลมล้อมรอบสี่เหลี่ยม
ตามเพศของบุคคลที่เกิด
๕. ๑.๓ ในแบบ ท.ร. ๑, ๒ ให้กรอกคำว่าไทย และ ท.ร.
๓ ให้กรอกคำว่า ไม่ได้สัญชาติไทย
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมสองช่องนั้นให้เว้นว่างไว้
๖. ๑.๔ ให้กรอกวัน เดือน ปี เวลาเกิด
วันเกิดตามปฏิทินสากล และข้างขึ้น ข้างแรม เดือน ปีนั้น ให้กรอกตามปีทางจันทรคติ
เช่น เกิดเมื่อวันที่ ๑ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗ เวลา ๐๙.๑๕ น. ตรงกับวันอาทิตย์
ขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน เป็นต้น
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมเจ็ดช่องนั้นให้เว้นว่างไว้
๗. ๑.๕ ให้เขียนตามสถานที่เกิดจริง เช่น
เกิดในบ้าน หรือเกิดนอกบ้าน ถ้าเกิดที่สถานพยาบาลให้ระบุชื่อสถานพยาบาลนั้น
และถ้าสถานพยาบาลนั้นมีเลขที่ หมู่ที่ ตรอก ซอย ตำบล อำเภอ จังหวัด ก็ให้กรอกด้วย
แต่ถ้าเกิดที่บ้าน ก็ให้ระบุเลขที่บ้านนั้น เช่น บ้านเลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑
ตำบลทรายมูล อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร ส่วนช่องสี่เหลี่ยมสองช่องนั้น
ให้เว้นว่างไว้
๘. ๑.๖ ให้กรอกว่าเป็นบุตรคนที่เท่าไรของบิดามารดา
๙. ๑.๗ ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าข้อความที่ต้องการ เช่น กรณีคลอดเอง ก็ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าข้อความ คลอดเอง
หรือหมอตำแยเป็นผู้ทำคลอดก็ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าข้อความว่า หมอตำแย
เป็นต้น
๑๐. ๑.๘ ให้กรอกน้ำหนักแรกเกิดของทารก
น้ำหนักคิดเป็นกรัม ถ้าไม่ทราบให้เว้นว่างไว้
๑๑. ๑.๙ ให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านที่เด็กเกิด
ถ้าคลอดที่โรงพยาบาลให้เพิ่มเชื่อเข้าในทะเบียนบ้านของบิดามารดากรณีที่โรงพยาบาลตั้งอยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่บิดามารดามีทะเบียนบ้านถ้าโรงพยาบาลไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตสำนักทะเบียนที่บิดามารดาของเด็กที่เกิดมีทะเบียนบ้านอยู่
ให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนคนบ้านกลางของสำนักทะเบียนที่โรงพยาบาลตั้งอยู่
๑๒. ๑.๑๐ ให้กรอกตัวเลขรหัสประจำบ้าน
ลงในช่องสี่เหลี่ยม ๑๑ ช่อง เป็นเลขรหัส ของบ้านตามข้อ ๑.๙
ถ้าไม่ทราบให้เว้นว่างไว้
๑๓. ๒.๑ ให้กรอกชื่อมารดา
และชื่อสกุลดั้งเดิมก่อนสมรสของมารดา
๑๔. ๒.๒ ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของมารดา
ลงในช่องสี่เหลี่ยมทั้ง ๑๓ ช่อง (ถ้าทราบ)
๑๕. ๒.๓ ให้กรอกอายุของมารดา
๑๖. ๒.๔ ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าข้อความที่ต้องการ เช่น มารดามีสัญชาติไทย ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้า คำว่า ไทย และถ้ามารดามีสัญชาติอื่น
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่วงกลมหน้าคำว่าง อื่นๆ
(ระบุ)
และระบุด้วยว่าสัญชาติอะไรส่วนช่องสี่เหลี่ยมสองช่องให้เว้นว่างไว้
๑๗. ๒.๕ ให้กรอกชื่อจังหวัด
และประเทศที่เกิดของมารดา เช่น จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย เป็นต้น
๑๘. ๒.๖ ให้กรอกที่อยู่
ซึ่งมารดามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เช่น บ้านเลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ ตำบลทรายมูล
อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร ประเทศไทย
๑๙. ๓.๑ ให้กรอกชื่อตัว และชื่อสกุลของบิดา
๒๐. ๓.๒ ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของบิดา
ลงในช่องสี่เหลี่ยมทั้ง ๑๓ ช่อง (ถ้าทราย)
๒๑. ๓.๓ ให้กรอกอายุบิดา
๒๒. ๓.๔ และ ๓.๕ ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับข้อ ๒.๔
และ ๒.๕ แต่ระบุข้อมูลของบิดา
๒๓. ๓.๖ ถ้าบิดาและมารดามีที่อยู่แห่งเดียวกัน
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่วงกลมหน้าคำว่า แห่งเดียวกับมารดา
ถ้าบิดามารดามีที่อยู่คนละแห่ง ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าคำว่า คนละแห่ง
และระบุที่อยู่ของบิดาในช่องถัดไป
๒๔. ๔.๑ ให้กรอกชื่อและชื่อสกุลของผู้แจ้งการเกิด
เช่น นายสยาม รักไทย
๒๕. ๔.๒
ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งการเกิด (ถ้าทราบ)
๒๖. ๔.๓ ให้กรอกอายุของผู้แจ้งการเกิด
๒๗. ๔.๔ ให้กรอกรายการที่อยู่ของผู้แจ้งการเกิด
เช่น บ้านเลขที่ ๑ หมู่ที่ ๑ ตำบลทรายมูล อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร
๒๘. ๔.๕ ให้ระบุความเกี่ยวพันระหว่างผู้แจ้งการเกิดกับเด็กที่เกิดว่าเกี่ยวพันเป็นอะไรกัน
เช่น ถ้าผู้แจ้งการเกิดเป็นบิดา ก็ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่วงกลมหน้าคำว่า บิดา
และถ้าผู้แจ้งการเกิดมิใช่เป็นเจ้าบ้าน บิดา ผู้ทำคลอด ญาติ เจ้าพนักงาน หรือมารดา
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่วงกลมหน้าคำว่า ผู้อื่น
(ระบุ) พร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นผู้ใด
๒๙. ๔.๖ ให้ระบุว่ามีหนังสือรับรองการเกิดหรือไม่
ถ้ามีให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่วงกลมหน้าคำว่า มี
และถ้าไม่มี ให้ทำเครื่องหมาย
ที่วงกลมหน้าคำว่า ไม่มี
๓๐. ๔.๗ ให้ระบุว่ามีใบรับแจ้งการเกิดหรือไม่
กรณีแจ้งการเกิดต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านจะต้องมีใบรับแจ้งการเกิดให้ทำเครื่องหมาย
Ö
ที่วงกลมหน้าคำว่า มี
และกรณีแจ้งการเกิดต่อนายทะเบียนตำบล นายทะเบียนท้องถิ่น
ไม่ต้องมีใบรับแจ้งการเกิด ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่วงกลมหน้าคำว่า
ไม่มี
๓๑. ๔.๘ ให้ลงชื่อผู้แจ้งการเกิด
กรณีแจ้งการเกิดต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลหมู่บ้าน ให้นายทะเบียนตำบลเขียนชื่อตัว
ชื่อสกุล ของผู้แจ้งการเกิดที่ปรากฏตามใบแจ้งการเกิด ท.ร. ๑ ตอนหน้า
๓๒. ช่องลงชื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งการเกิดให้ลงชื่อนายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบล
หรือนายทะเบียนท้องถิ่น หรือผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น เป็นต้น
๓๓. รายการวันที่ เดือน พ.ศ.
ที่รับแจ้งในตอนท้ายของสูติบัตร ให้ลงวันที่ เดือน พ.ศ.
ในวันที่ผู้แจ้งการเกิดแจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบล กรณีแจ้งการเกิดต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้ลงวันที่ เดือน พ.ศ.
ที่ผู้แจ้งการเกิดได้แจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหกช่องตอนท้ายให้เว้นว่างไว้
๓๔.
ช่องสี่เหลี่ยมมุมบนด้านซ้ายสูติบัตรตอนที่ ๒ และ ๓ ให้เว้นว่างไว้
(๓)
แบบ ท.ร. ๔ ตอนหน้า เป็นใบรับแจ้งการตาย
๑. เลขที่ ......./.........
ดำเนินการเช่นเดียวกับการกรอกรายการในใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑ ตอนหน้า)
๒. สถานที่รับแจ้ง .........
ดำเนินการเช่นเดียวกันกับการกรอกรายการในใบรับแจ้งการเกิด (ท.ร. ๑ ตอนหน้า)
๓. ข้าพเจ้า ........ ดำเนินการเช่นเดียวกันกับการกรอกรายการในใบรับแจ้งการเกิด
(ท.ร. ๑ ตอนหน้า)
๔. ช่องที่ ๑ ผู้ตาย
ให้ลงรายละเอียดของผู้ตายเท่าที่สามารถทราบได้ตามความเป็นจริง เช่น ชื่อตัว
ชื่อสกุล เลขประจำตัวประชาชน เพศ สัญชาติ อายุ
๕. ในช่องสถานภาพการสมรส
และผู้รักษาก่อนตาย ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ
๖. อยู่บ้านเลขที่ ..........
ให้ลงรายละเอียดของบ้านที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านนั้น
๗. ตามเมื่อวันที่ และเวลา
ให้ลงเวลาตามความเป็นจริง หรือใกล้เคียง
๘. สาเหตุการตาย
ให้ระบุถึงสาเหตุที่ทำให้ผู้ตาย ตาย
๙. อาชีพ ........ ให้ใส่ตามความเป็นจริง
สถานที่ตาย ........ ให้กรอกชื่อสถานที่ที่ผู้ตายได้ตายหรือพบศพ
๑๐.
พักอยู่สถานที่ตายนานเท่าใด ให้ระบุปี เดือน วัน เท่าที่ทราบ
๑๑. ช่อง ๒ รายการบิดามารดาของผู้ตาย
ให้ลงชื่อตัว ชื่อสกุล และเลขประจำตัวประชาชนของบิดามารดาผู้ตาย (หากทราบ)
๑๒. ช่อง ๓ หลักฐานการแจ้งการตาย
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ แล้วลงรายละเอียดของหลักฐานหลังเอกสารหลักฐานเหล่านั้น
๑๓. ช่อง ๔ ศพ จัดการศพโดย ÿ
เก็บ ÿ
ฝัง ÿ
เผา ÿ
อื่นๆ ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านมีอำนาจในการสั่งการเกี่ยวกับการจัดการศพได้ทันที
เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดการศพ โดยทำเครื่องหมาย Ö
ตรง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการสั่ง โดยให้ระบุสถานที่ที่ดำเนินการเกี่ยวกับศพนั้นด้วย
๑๔.
เมื่อกรอกรายละเอียดข้อความต่างๆ ครบถ้วนแล้ว
ให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อผู้แจ้งในช่องล่างทางด้านซ้ายมือ
และนายทะเบียนผู้รับแจ้งคือ
ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านลงลายมือชื่อในฐานะนายทะเบียนผู้รับแจ้งที่ด้านขวาถัดมา
๑๕.
ในส่วนตอนล่างใต้เส้นไข่ปลา
เป็นหลักฐานการรับแจ้งการตายให้ผู้ช่วยนายทะเบียนประจำหมู่บ้านกรอกรายละเอียดต่างๆ
ให้ตรงกับข้อความในส่วนบน แล้วฉีกท่อนล่างนี้มอบให้แก่ผู้แจ้งเพื่อเป็นหลักฐานในการรับแจ้ง
โดยให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อว่าได้รับหลักฐานส่วนนี้ไปแล้ว
ในช่องข้อความที่ว่าได้รับหลักฐานรับแจ้งการตายแล้วลงชื่อ ......... ผู้แจ้ง
๑๖.
ในส่วนของการเสนอนายทะเบียน ....... เป็นการเสนอนายทะเบียนตำบล ซึ่งผู้เสนอได้แก่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบล
(แต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ปกครอง) ซึ่งจะเสนอไปตามเอกสารหลักฐานต่างๆ
ที่ได้ยื่นมาเป็นหลักฐาน และตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏ
พร้อมทั้งความเห็นในการดำเนินการว่า ควรจะดำเนินการอย่างไร
๑๗.
คำสั่งนายทะเบียน ให้นายทะเบียนตำบล หรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบล
(แต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ปกครอง) เป็นผู้มีอำนาจในการสั่งการตามที่พิจารณาได้
๑๘. บันทึกการปฏิบัติงาน เช่นเดียวกับข้อ ๑๕
ของการแจ้งการเกิด
๑๙. ข้าพเจ้าได้รับ ÿ
มรณบัตร เลขที่
ÿ
สำเนาทะเบียนบ้าน
เลขที่...........
หมายถึงเมื่อได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
นายทะเบียนตำบลจะมอบหลักฐานที่ออกให้แก่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านรับไปดำเนินการมอบให้แก่ผู้แจ้งต่อไป
โดยให้ลงลายมือชื่อว่าได้รับไปแล้วพร้อมลงวันที่ได้รับ
๒๐.
เมื่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านนำเอกสารต่างๆ ที่นายทะเบียนตำบลออกให้และหลักฐานต่างๆ
ที่ได้ยื่นไปคืนแก่ผู้แจ้งให้ผู้แจ้งลงชื่อว่าได้รับเอกสารแล้วส่วนล่างนี้
ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเป็นผู้เก็บรักษาไว้
(๔) แบบ ท.ร. ๔,๕
เป็นมรณบัตรที่ออกให้เป็นหลักฐานการตายหลักฐานการตาย
ก. ให้เขียนชื่อสำนักทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
ที่ออกพิมพ์มรณบัตร (ท.ร.๔)
ข. เลขที่ ..../.....ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
เขียนลำดับที่รับแจ้งการตาย และให้ทับเลข พ.ศ. ไว้ด้วยทุกครั้ง
การเขียนลำดับที่เมื่อขึ้นปีใหม่ คือวันที่ ๑ มกราคม ของทุกปี
ให้ขึ้นต้นเลขลำดับหนึ่งใหม่ของต้นปีจนถึงวันสิ้นปี คือ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
ของปีนั้น เช่น ๑/๒๕๒๗
๑. ผู้ตาย
๑.๑ ให้กรอกชื่อตัว ชื่อสกุลของผู้ตาย
๑.๒ ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของผู้ตาย
(ถ้าทราบ)
๑.๓ ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
ตามเพศของผู้ตาย
๑.๔ ให้กรอกอายุของผู้ตาย
๑.๕ ในกรณีผู้ตายมีสัญชาติไทย ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
หน้าคำว่าไทย และในกรณีที่ผู้ตายมีสัญชาติอื่นให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง —
หน้าคำว่าอื่นๆ ระบุ....พร้อมทั้งระบุสัญชาตินั้นไปด้วย
๑.๖ ให้ระบุอาชีพของผู้ตาย เช่น รับราชการ
รับจ้าง ทำนา ทำสวน เป็นต้น ในกรณีผู้ตายไม่มีอาชีพให้ทำเครื่องหมาย - ลงในช่องดังกล่าว
๑.๗ ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
ที่มีข้อความตรงกับความเป็นจริงของผู้ตาย กรณีไม่ทราบสถานภาพการสมรสให้เว้นว่างไว้
๑.๘ ให้เขียนเลขที่บ้าน หมู่ที่ ซอย ถนน ตำบล
อำเภอที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียน ในกรณีตายนอกบ้านถ้าผู้แจ้งไม่ทราบที่อยู่ของผู้ตาย
ให้เว้นว่างไว้
๒. รายการตาย
๒.๑ ให้ระบุวันที่ เดือน พ.ศ. และเวลาที่ตายของผู้ตาย
สำหรับช่อง ÿ
หกช่องให้เว้นว่างไว้
๒.๒ ผู้รักษาก่อนตาย ถ้าไม่มีให้ทำเครื่องหมาย ÿ
ลงในช่อง O
หน้าคำว่าไม่มี หรือหากมีให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่อง O
หน้าคำว่า มี พร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นใคร โดยทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
แล้วแต่กรณี สำหรับช่องอื่นๆ ให้ระบุผู้รักษาก่อนตายด้วย เช่น Ö
อื่นๆ นายแพทย์
๒.๓ ในกรณีผู้รักษาก่อนตาย
ออกหนังสือรับรองการตาย ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
หน้าคำว่า มี และในกรณีที่ผู้รักษาก่อนตายไม่มี ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
หน้าคำว่า ไม่มี
๒.๔ ถ้าผู้ตายผู้รักษาพยาบาลโดยวิชาชีพให้กรอกรายการสาเหตุที่ตายตามที่ปรากฏในหนังสือรับรองการตาย
หากผู้ตายไม่มีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ ให้ระบุสาเหตุการตาย คือ
โรคหรืออาการเริ่มต้นของโรคที่มีผลให้เกิดการตายโดยตรงหรือบรรดาพฤติการณ์ของบอุบัติเหตุ
หรือเหตุร้ายแรง ซึ่งก่อให้เกิดอาการสาหัสถึงการตาย เช่น ถูกฟันตาย จมน้ำตาย
ยิงตัวตาย ผูกคอตาย กระโดดน้ำตาย ฯลฯ ห้ามมิให้ใช้คำกว้างๆ เช่น โรคไข้ ถูกฆ่าตาย
อุบัติเหตุ เป็นต้น กรณีไม่ทราบสาเหตุการตาย ให้เว้นว่างไว้ สำหรับช่อง ÿ
สามช่องข้างล่างให้เว้นว่างไว้
๓. สถานที่ตาย
๓.๑ ให้ระบุสถานที่ตายของผู้ตายให้ชัดแจ้ง เช่น
โรงพยาบาล โรงเรียน สถานีอนามัย วัด หรือสถานที่พบศพ ในกรณีตายในบ้าน
ให้ลงบ้านเลขที่ หมู่ที่ ซอย ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด ที่ผู้ตาย ตาย สำหรับช่อง ÿ
หกช่องให้เว้นว่างไว้
๓.๒
ให้ระบุระยะเวลาที่ผู้ตายอาศัยอยู่ในสถานที่นั้น
๔. บิดามารดาของผู้ตาย
๔.๑ - ๔.๒ ให้กรอกชื่อ ชื่อสกุล
และเลขประจำตัวประชาชน ของบิดาผู้ตาย(ถ้าทราบ)
๔.๓ - ๔.๔ ให้กรอกชื่อ ชื่อสกุล
และเลขประจำตัวประชาชน ของมารดาผู้ตาย (ถ้าทราบ)
๕. ผู้แจ้งตาย
๕.๑ - ๕.๒ ให้กรอกชื่อตัว ชื่อสกุล
และเลขประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งการตาย
๕.๓ ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
ตามความเกี่ยวพันแต่ละกรณี สำหรับข้อ O
ผู้อื่นให้ระบุด้วยว่าเป็นใคร เช่น ผู้พบศพ เป็นต้น
๕.๔ ให้ลงบ้านเลขที่ หมู่ที่ ซอย ถนน ตำบล อำเภอ
จังหวัด ซึ่งเป็นที่อยู่ตามทะเบียนบ้านของผู้แจ้งการตาย
๖. ศพ
๖.๑ ศพ ให้สอบถามผู้แจ้งว่าจะจัดการศพโดยวิธีใด
แล้วให้ทำเครื่องหมาย O ลงในช่อง ตามแต่กรณีใน
๖.๒ ให้กรอกสถานที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ที่จัดการศพ
๗. ให้ลงวันที่ เดือน พ.ศ.
ที่ได้รับการแจ้งการตาย
๘. ในกรณีที่มีใบรับแจ้งการตาย (ท.ร.๔ ตอนหน้า)
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ลงในช่อง O
หน้าคำ ว่ามี ถ้าหากไม่มี ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่อง O
หน้าคำว่าไม่มี
๙. ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
และระบุด้วยว่าเป็นนายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่นใด
ในกรณีที่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่นทำการแทนนายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
ให้ระบุคำว่า ผู้ช่วย
หน้าคำว่านายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่นไว้ด้วย
๑๐. กรณีแจ้งต่อนายทะเบียนตำบล
ให้ผู้แจ้งการตายลงลายมือด้วยตนเอง พร้อมทั้งเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล
ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
ในกรณีแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านนายทะเบียนตำบลเขียนชื่อตัว
ชื่อสกุล ของผู้แจ้งตามหลักฐานใบรับแจ้งการตาย ท.ร.๔ ประจำตอนหน้า
๑๑.
หากมีการเปลี่ยนแปลงการจัดการศพจากที่ระบุไว้ในข้อ ๖.๑
ให้ระบุการเปลี่ยนแปลงนั้นไว้ด้วยให้ชัดเจน เช่น จากเก็บเป็นเผา เป็นต้น
และให้เขียนเลขที่คำร้องที่ขอเปลี่ยนแปลงการจัดการศพไว้ด้วย
๑๒. ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
ผู้รับแจ้งการเปลี่ยนแปลงลงลายมือชื่อ พร้อมทั้งเขียนชื่อตัวชื่อสกุล
ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ และให้ระบุว่าเป็นนายทะเบียนตำบลใด ในกรณีที่ตัวผู้ช่วยนายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
เป็นนายทะเบียนผู้รับแจ้ง ให้ระบุว่า ผู้ช่วย
หน้าคำว่านายทะเบียนไว้ด้วย
หมายเหตุ
๑.
สำหรับกรณีแจ้งการตายเกินกำหนดให้ดำเนินการตามแบบพิมพ์ มรณบัตร (ท.ร.๔)
และให้ระบุว่า แจ้งการตายเกิดกำหนด
ในด้านหน้าตอนบนขวาของ ท.ร.๔ ทั้ง ๓ ตอน
๒.
กรณีมีการแจ้งการตายบุคคลที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
หรือในลักษณะชั่วคราวตามแบบพิมพ์มรณบัตร (ท.ร.๕)
ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับแบบพิมพ์มรณในบัตร (ท.ร.๔)
(๕) แบบ ท.ร. ๖ ตอนหน้า
เป็นใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่
๑. เลขที่...../.....ให้ลงเลขที่ของใบรับแจ้งที่ได้ออกโดยผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเรียงลำดับกันไปทับปี
พ.ศ. ที่ออกจนหมดปี พ.ศ. เมื่อหมดปี พ.ศ. ให้ขึ้นเลข ๑ และทับปี พ.ศ. ใหม่ เช่น
ฉบับแรกของปี ๒๕๒๗ ให้เขียนว่าเลขที่ ๑/๒๕๒๗ จนหมดปี พ.ศ. ๒๕๒๗ เมื่อขึ้นปี ๒๕๒๘
ฉบับแรกที่ใช้ก็จะเป็นเลขที่ ๑/๒๕๒๘ เป็นต้น
๒. สถานที่รับแจ้ง.....
ให้ลงสถานที่ออกใบรับแจ้งโดยระบุหมู่ที่ และ ตำบลที่ออก เช่น สถานที่รับแจ้ง
หมู่ที่ ๔ ตำบลแสนตอ เป็นต้น
๓. ข้าพเจ้า
เลขประจำตัวประชาชน......ให้ลงชื่อตัวและชื่อสกุลของผู้แจ้งพร้อมเลขประจำตัวประชาชน
(ถ้าทราบ) เช่น ข้าพเจ้านายเหลือง แดงดี เลขประจำตัวประชาชน ๓-๕๓๐๔-๐๐๐๑๖-๘๔-๐
เป็นต้น
๔.
อยู่บ้านเลขที่....ให้ลงที่อยู่ของผู้แจ้งซึ่งปรากฏตามทะเบียนบ้าน
๕. ในฐานะ ÿ
เจ้าบ้าน ÿ
ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้านคือ..... ÿ
อื่นๆ....ให้ทำเครื่องหมาย Ö ลงในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ ในช่อง ÿ ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้านคือ ...
หมายถึงกรณีที่ผู้แจ้งมิใช่เจ้าบ้าน แต่ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
ให้มาแจ้งหลังคำว่า คือ... ให้ใส่ชื่อ และชื่อสกุลของเจ้าบ้าน
๖. ð
ขอแจ้งย้ายที่อยู่บุคคลต่อนายทะเบียน.....ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ð
หน้าข้อความ แล้วระบุตำบลที่ผู้แจ้งมาแจ้ง เช่น
ถ้าผู้แจ้งมาแจ้งการย้ายต่อนายทะเบียนตำบลแสนตอ ก็ให้ใส่คำว่าตำบลแสนตอ หลังคำว่า
นายทะเบียน
๗. ในช่อง ÿ
ย้ายออกโดย ÿ
ย้ายเข้าโดยให้ทำเครื่องหมาย Ö ในช่อง ÿ *
หน้าข้อความจำนวนบุคคล....คน ก็ให้ใส่จำนวนบุคคล....ก็ให้ใส่จำนวนบุคคลที่ย้ายที่ต้องการ
รายการออกจาก ให้กรอกบ้านเลขที่ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ
และเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ย้ายออกตามทะเบียนบ้านส่วนบ้านที่จะย้ายไปอยู่ใหม่ให้กรอกในช่อง
เข้ามา
๘. รายการบุคคลที่ขอแจ้งย้าย ลำดับที่ ๑-๕
ให้ใส่ชื่อตัว ชื่อสกุล พร้อมเลขประจำตัวประชาชน (ถ้าทราบ)
ของผู้แจ้งแจ้งย้ายเรียงลำดับกันลงไป หากกรณีมีผู้แจ้งย้ายมากกว่า ๕ ราย
ให้ใช้ใบใหม่อีกใบ
๙. หลักฐานประกอบการแจ้ง ให้ทำเครื่องหมาย P
ในช่อง *
หน้าข้อความที่ยื่นเป็นหลักฐานแล้วลงรายละเอียดของหลักฐานนั้นหลังข้อความให้ตรงกับช่องด้านหน้า
๑๐. เมื่อกรอกรายละเอียดต่างๆ
ดังกล่าวข้างต้นครบถ้วนเรียบร้อยแล้วให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่องลงชื่อ......ผู้แจ้ง
พร้อมทั้งเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล ตัวบรรจงในวงเล็บ
๑๑. เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว
ให้ลงชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านในฐานะนายทะเบียนผู้รับแจ้ง ที่ช่อง
ลงชื่อ.....นายทะเบียนผู้รับแจ้ง
๑๒. ในส่วนล่างใต้เส้นไข่ปลา คือ
ส่วนของหลักฐานการรับแจ้งการย้ายที่อยู่นั้น
ให้ลงชื่อสำนักทะเบียนตำบลที่รับแจ้งว่า ได้รับแจ้งจากผู้ใด แจ้งอย่างไร
รายละเอียดให้ตรงกับด้านบน
แล้วลงชื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแล้วฉีกท่อนล่างนี้มอบให้แก่ผู้รับแจ้งรับไปด้วย
ให้ผู้แจ้งลงชื่อในช่องได้รับหลักฐานการรับแจ้งย้ายที่อยู่แล้วในตอบบนเหนือเส้นไข่ปลาด้านล่าง
เพื่อเป็นหลักฐานว่าได้มีการรับแจ้งไว้แล้ว
๑๓. ในด้านหลังของแบบ
ในส่วนของการเสนอนายทะเบียน.....นั้น ให้เป็นหน้าที่ของผู้ช่วยนายทะเบียน ตำบล
(แต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ปกครอง) เป็นผู้ดำเนินการเสนอ ก็ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ พร้อมเสนอความเห็นว่าจะดำเนินการประการใด
๑๔ .ช่องคำสั่งนายทะเบียน
ให้นายทะเบียนตำบลสั่งการตามดุลยพินิจแล้วลงนามรับรองในคำสั่งนั้น
๑๕. ในส่วนของการบันทึกการปฏิบัติงานนั้น
จุดประสงค์ก็เพื่อต้องการให้ทราบเจ้าหน้าที่ผู้ใดเป็นผู้ดำเนินการ
โดยให้ทำเครื่องหมาย Ö ในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่ต้องการ แล้วลงรายละเอียดของหลักฐานหลังข้อความที่ได้ทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ð
ไว้และชื่อผู้ปฏิบัติให้ลงนามผู้ปฏิบัติว่ากระทำในฐานะใด แล้วแต่กรณี
และอำนาจที่ตนสามารถดำเนินการ เช่น
การออกใบแจ้งย้ายก็ให้นายทะเบียนตำบลหรือผู้ช่วยเป็นผู้ลงนามในฐานะผู้ปฏิบัติถ้าเป็นการจำหน่ายชื่อออกจาก
ท.ร. ๑๔ ก็ให้เป็นหน้าที่ของนายทะเบียนอำเภอหรือผู้ช่วย เป็นต้น
๑๖. ในช่อง ข้าพเจ้า ÿ สำเนาทะเบียนบ้านเลขที่ฐ.............................
ได้รับ
ð ใบแจ้งย้ายที่อยู่เลขที่....................................
ÿ อื่นๆ
นั้นหมายถึง
เมื่อได้ดำเนินการออกใบแจ้งย้ายออกหรือรับแจ้งย้ายเข้าแล้ว
ก็ให้นายทะเบียนตำบลมอบหลักฐานต่างๆ ของผู้แจ้งคืนให้แก่ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเพื่อนำไปมอบคืนให้แก่ผู้แจ้งต่อไป
โดยให้ผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านลงลายมือชื่อผู้รับพร้อมลงวันที่รับด้วย
๑๗. ในส่วนท้ายสุดนั้น หมายถึง
กรณีที่ผู้แจ้งมารับหลักฐานต่างๆ คืนจากผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
จะบันทึกว่าผู้แจ้งได้รับหลักฐานอะไรคืนไปบ้าง โดยให้ทำเครื่องหมาย Ö
ลงในช่องด้านหน้าข้อความที่ต้องการ แล้วให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อว่าได้รับไปแล้ว
พร้อมลงวัน เดือน พ.ศ. ที่ได้รับไป
(๖) แบบ ท.ร. ๖,๗
เป็นใบแจ้งการย้ายที่อยู่ออกให้เป็นหลักฐานในการแจ้งย้ายที่อยู่ออกให้เป็นหลักฐานในการแจ้งย้ายที่อยู่
๑.
สำนักทะเบียน.... ให้เขียนชื่อสำนักทะเบียนตำบล
หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ที่ เป็นผู้ออกใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ช่องรหัสสำนักใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ช่องรหัสสำนักทะเบียน ที่เป็น สี่ช่องให้เว้นว่างไว้
๒. ที่....ลงวันที่.... ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
เขียนลำดับที่
เดือน...พ.ศ. . และวัน
เดือน ปี ที่รับแจ้ง การย้ายออก ตามสมุดบัญชีควบคุมการย้ายออกของสำนักทะเบียนอำเภอ/ท้องถิ่น
การเขียนลำดับที่ เมื่อขึ้นปีใหม่ คือ วันที่ ๑ มกราคมของทุกปี ให้ขึ้นต้นเลขลำดับหนึ่งใหม่
และต่อไปจนถึงวันสิ้นปี คือ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปีนั้น การวันเขียนเลข ให้ทับเลข
พ.ศ. ไว้ด้วยทุกครั้งเช่น ๑/๒๕๒๗ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๒๗
๓. อำเภอ/เขต.... ให้เขียนชื่อ
อำเภอ/เขต และจังหวัดของสำนัก
จังหวัด.......... ทะเบียนตำบล/ท้องถิ่นที่รับแจ้งการย้าย
๔. ย้ายรวม ÿ
คน ให้เขียนจำนวนคนทั้งหมดที่ย้ายออกจากบ้าน
นั้นๆ
ในคราวเดียวกัน เช่น ย้ายรวมกัน ๓ คน
๖
๐
๕. ชนิดของแบบ
เล่มที่ หมายถึง เล่มที่ใบแจ้งการย้ายที่สำนัก
เล่มที่...... ทะเบียนนั้นได้ใช้ไป
เช่น สำนักทะเบียนได้รับ
เลขที่..... ท.ร.๖
จำนวน ๕ เล่ม ให้สำนักทะเบียนกำหนดหมายเลขของเล่มเรียงลำดับตั้ง ๑ ถึง ๕
และเมื่อได้รับเพิ่มมาอีกก็ให้เรียงลำดับต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่ต้องขึ้นตามปี พ.ศ.
เลขที่ หมายถึงเลขที่ใบย้ายแต่ละชุดใน ๑ เล่ม แต่ละชุดจะมีอยู่ ๓ ตอน
ให้เขียนเลขที่เดียวกันทั้ง ๓ ตอน โดยใช้กระดาษคาร์บอนรองเช่น ชุดแรกเป็นเลขที่ ๑
ชุดที่สอง เป็นเลขที่ ๒ เป็นต้น
๖.
ลำดับ ให้เขียนลำดับที่ของบุคคลที่ย้ายออกพร้อมกัน
จากบ้านเดียวกันลำดับดังกล่าวเป็นเลขลำดับที่ของการย้ายมิใช่ลำดับที่ตามทะเบียนบ้าน
๗. ชื่อตัว
ชื่อสกุล ให้เขียนชื่อตัวผู้ย้าย
เหนือเส้นปรุ เขียนชื่อตัว
สกุลใต้เส้นปรุ
และเลขประจำตัวประชาชนของ ผู้ย้าย
๘.
เพศ ให้ทำเครื่องหมาย
O
ล้อมรอบช่อง ÿ
ตามเพศของผู้ย้าย
๙.
สถานภาพ (เจ้าบ้าน) สภานภาพ
(เจ้าบ้าน) ให้เขียนระบุตามที่ปรากฏในทะเบียนบ้านที่ย้ายออก
ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้
๑๐.
เกิด วัน เดือน พ.ศ. ให้เขียนวันที่
เดือน ปี เกิด ของผู้ย้ายสำหรับช่อง ð
เจ็ดช่องให้เว้นว่างไว้
๑๑.
สัญชาติ ให้เขียนระบุสัญชาติของผู้ย้าย
สำหรับช่อง ÿ
สองช่อง ให้เว้นว่างไว้
๑๒. รายการบิดามารดา ให้เชียนชื่อตัวและสัญชาติของบิดาและมารดา
ผู้ให้กำเนิด ของผู้ย้าย
พร้อมกับเลขประจำตัวประชาชนของบิดาและมารดา (ถ้ามี) สำหรับ ð
ในช่องสัญชาติสองช่อง ให้เว้นว่างไว้
๑๓. ในช่องที่ย้ายออกเมื่อ ให้เขียนเลขรหัสประจำบ้าน เลขที่บ้าน หมู่ที่ ซอย
ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด ของบ้านเดิมที่จะย้ายออกและให้เขียนวันที่ เดือน พ.ศ.
ที่ ผู้ย้ายขอย้ายออกจากบ้านเลขที่ดังกล่าว สำหรับช่อง ÿ
หกช่องท้าย พ.ศ. ให้เว้นว่างไว้
๑๔.
ลงชื่อผู้แจ้งย้ายออก ให้ผู้แจ้งย้ายออก
ลงลายมือชื่อ และต้องเขียนชื่อตัว พร้อมชื่อสกุลด้วยตัวบรรจง
ในวงเล็บใต้ลายมือชื่อด้วย กรณีผู้แจ้งไปแจ้งต่อผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ให้นายทะเบียนเขียนชื่อตัวชื่อสกุลของผู้แจ้งย้าย
ตามหลักฐานใบรับแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท.ร.๖ ตอนหน้า) แทนการลงลายมือชื่อของผู้แจ้ง
๑๕.
ลงชื่อผู้รับแจ้งย้ายออก ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้ง
ลงลายมือชื่อและ
เขียนชื่อตัว-ชื่อสกุล
ตัวบรรจงไว้ใต้ลายมือชื่อ
๑๖.
ช่องไปอยู่ที่ ให้เขียนเลขรหัสประจำบ้าน
และระบุบ้านเลขที่ หมู่ที่ ซอย ถนนตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด
ของบ้านที่ผู้ย้ายเข้าไปอยู่
๑๗.
ช่องย้ายเข้ามาอยู่ ให้เจ้าบ้านผู้ยินยอมให้
ผู้ย้าย ย้ายเข้าไปยู่ในบ้านของตน ลงวันที่ เดือน พ.ศ. ผู้ย้ายได้ย้ายเข้าไปอยู่ตามความเป็นจริง
และลงลายมือชื่อ และต้องเขียนชื่อตัวพร้อมชื่อสกุลด้วยตัวบรรจงในวงเล็บ
ใต้ลายมือชื่อด้วย สำหรับช่อง ÿ ท้าย พ.ศ. ให้เว้นว่างไว้
๑๘.
ช่องนายทะเบียน ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งย้ายเข้า
เขียนชื่อสำนักทะเบียน เขียนลำดับที่ตามสมุดบัญชีควบคุมของของอำเภอ/ท้องถิ่น
และวัน เดือน ปีที่รับแจ้งการย้ายเข้า คือวันที่ ๑ มกราคมของทุกปี ให้ตั้งต้นเลข
ลำดับหนึ่งใหม่และต่อไปจนถึงวันสิ้นปี คือวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปีนั้น
การเขียนเลขให้ทับ พ.ศ. ไว้ด้วยทุกครั้ง เช่น ๓/๒๕๒๗ แล้วให้ลงลายมือชื่อ
และเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อด้วย
(๗) แบบ ท.ร.๙ เป็นใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ท.ร. ๙ เป็นใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ใช้ในกรณีราษฏรมาแจ้งการปลูกบ้านใหม่ ขอกำหนดเลขหมายประจำบ้าน แจ้งการรื้อบ้าน
บ้านถูกทำลาย จำหน่ายบ้านหรือขอเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้าน ไม่ว่ากรณีใดกรณีหนึ่ง
ให้นายทะเบียนตำบลหรือนายทะเบียนท้องถิ่นหรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้าน
ใช้แบบ ท.ร. ๙ ในการรับแจ้ง
วิธีการกรอก ท.ร. ๙
๑. ที่....../.........หมายถึงเลขลำดับที่และปีที่ออกใบรับแจ้ง
ทร.๙ เช่น ๑/๒๕๒๗,๒/๒๕๒๗.....๑/๒๕๒๘,๒/๒๕๒๘
เป็นต้น (หมายเหตุ เลขลำดับที่
ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
หรือผู้ช่วยนายทะเบียนตำบลประจำหมู่บ้านเป็นผู้กำหนดเลขที่ของ ท.ร. ๙)
๒. สถานที่รับแจ้ง หมายถึง
สำนักทะเบียนตำบลหรือท้องถิ่น
๓. วันที่ เดือน พ.ศ. หมายถึง วัน เดือน ปี
ที่รับแจ้งจากราษฎร
๔. ช่องรายการของผู้แจ้ง ให้เขียนชื่อตัว
ชื่อสกุล เลขประจำตัวประชาชน (ถ้าทราบ) และที่อยู่
ซึ่งปรากฏตามหลักฐานในทะเบียนบ้าน และให้ทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ÿ
หน้าข้อความว่าเจ้าบ้าน หรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
และให้เขียนชื่อสำนักทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น ที่ร้องขอเพื่อดำเนินการ พร้อมทั้งทำเครื่องหมาย
Ö
ในช่อง ð
หน้าข้อความที่ต้องการให้นายทะเบียนดำเนินการตามที่ร้องขอ
๕. ที่ตั้งของบ้าน
ให้ลงรายการที่อยู่ของบ้านซึ่งปรากฏในทะเบียนบ้าน ยกเว้นกรณีแจ้งการปลูกบ้านใหม่
ขอกำหนดเลขหมายประจำบ้าน (ยังไม่มีทะเบียนบ้าน)
ในช่องบ้านเลขที่ให้เว้นว่างไว้ในช่องที่อยู่ระหว่างบ้านเลขที่...ให้ระบุว่าด้วยบ้านหลังดังกล่าวตั้งอยู่ระหว่างบ้านเลขที่เท่าไร่
เช่นตั้งอยู่ระหว่างบ้านเลขที่ ๒๘ - ๓๐
และให้ระบุว่าบ้านตั้งอยู่ใกล้เคียงกับสถานที่สำคัญอย่างไรบ้าง เช่น
ใกล้เคียงกับสถานีอนามัยตำบล หรือใกล้เคียงกับที่ทำการสภาตำบลพร้อมทั้งให้ระบุลักษณะของบ้าน
เช่น บ้านไม้ ๒ ชั้น และทำเครื่องหมาย Ö
ในช่อง ÿ
หน้าข้อความที่เป็นจริง เช่น ð ที่ดินเอกชนหรือ ÿ
ไม่ได้อนุญาตเพราะอยู่นอกเขตกฎหมายควบคุม เป็นต้น
๖. หลักฐานประกอบการแล้ว
ให้ลงเลขที่ของบัตรหรือที่ของหนังสือ ซี่งผู้แจ้งนำมายื่นเป็นหลักฐานในการแจ้งแล้วแต่กรณี
เช่น บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าบ้านที่ ๔ อ.ต. ๕ ๐๑๖๔๙๓
พร้อมทั้งให้ทำเครื่องหมาย Ö ในช่อง ð
หน้าข้อความหลักฐานที่ผู้แจ้งนำมาประกอบการแจ้ง
๗. ให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่อง ลงชื่อ......ผู้แจ้ง
๘. ให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น หรือผู้ช่วยนายทะเบียนฯ
แล้วแต่กรณีลงลายมือชื่อในช่อง ลงชื่อ....นายทะเบียนผู้รับแจ้ง
๙. ให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อ
เมื่อได้รับหลักฐานการรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท่อนล่าง) จากนายทะเบียนผู้รับแจ้ง
(ตามข้อ ๑๐)
๑๐. หลักฐานการรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเป็นผู้กรอก
แล้วฉีกท่อนล่างตามรอยปรุมอบให้ผู้แจ้งเก็บไว้เป็นหลักฐาน
๑๑. ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ
(ที่เป็นข้าราชการ)
หรือผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้บันทึกเสนอนายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่น
โดยให้ลงความเห็นในบันทึกเสนอตามหลักฐานที่ปรากฏเพื่อให้นายทะเบียนตำบล/ท้องถิ่นพิจารณาสั่งการต่อไป
๑๒. ในช่อง รายการปฏิบัติ
ให้ระบุว่าได้ดำเนินการอะไรไปบ้าง ส่วนช่อง
ลงชื่อผู้ปฏิบัติ
ให้พิจารณาว่าเป็นอำนาจของนายทะเบียนตำบลหรือนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอเป็นผู้ปฏิบัติก็ให้บุคคลในตำแหน่งนั้น
เป็นผู้ลงชื่อในฐานะผู้ปฏิบัติ
๑๓. กรณีปลูกบ้านใหม่ ขอกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
และขอเปลี่ยนแปลงเลขหมายประจำบ้าน ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนฯ ลงลายมือชื่อในช่อง ได้รับสำเนาทะเบียนบ้าน
เลขที่ ..ลงชื่อ....ผู้รับฯ เพื่อมอบให้แก่ผู้แจ้ง และเรียกหลักฐานการรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
(ตามข้อ ๑๐) แล้วให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อเพื่อเป็นหลักฐาน
ว่าได้รับสำเนาทะเบียนบ้านไปเรียบร้อยแล้ว
(๘) แบบ ท.ร. ๙๙ เป็นแบบรายงานการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือ จำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน
๑. ช่องเลขที่ ...../.......ให้ลงเลขที่ตามลำดับปี พ.ศ.
เมื่อสิ้นปี (๓๑ ธ.ค.) ให้ลำดับใหม่ เช่น เลขที่ ๑/๒๕๒๗ เลขที่ ๒/๒๕๒๗ ฯลฯ
๒. ช่องสำนักทะเบียน .......จังหวัด ... รหัส
ให้กรอก
ให้กรอกชื่อของสำนักทะเบียนและจังหวัด
ส่วนช่องรหัสของสำนักทะเบียนให้เว้นว่างไว้ เช่น สำนักทะเบียนอำเภอบ้านหมี่
จังหวัดลพบุรี รหัส เป็นต้น
P
๑
๓. เพิ่มขึ้นในกรณีปลูกสร้างขึ้นใหม่
หรือยังไม่เคยได้รับเลขรหัสประจำบ้านมาก่อน ให้ใช้เครื่องหมาย ใน ตามที่ต้องการ
แล้วแต่กรณี
๔. เลขรหัสประจำบ้านที่ให้สำหรับบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่
หรือยังไม่เคยได้รับเลขรหัสประจำบ้านมาก่อน
ให้ลงเลขรหัสประจำบ้านที่สำนักทะเบียนออกให้ใหม่ตามบัญชีการให้รหัสประจำบ้าน
๕. บ้านที่ให้เลขที่รหัสประจำบ้านดังกล่าวในข้อ ก. ตั้งอยู่
ณ ให้ลงรายการโดยละเอียด เช่น บ้านเลขที่ ๑๒ หมู่ที่ ๓ ซอยประชาอุทิศ ถนนวจี
ตำบลหล่มสัก อำเภอหล่มสัก ส่วนรหัสตำบล/แขวง ให้เว้นว่างไว้
P
๒
๖. ชื่อสถานที่ ให้ลงชื่อของบ้านนั้นถ้าหากมี เช่น
ชื่อร้านค้า ชื่อสถานที่ทำการสำนักงาน โรงงาน โรงพยาบาล ค่ายทหาร โรงพยาบาลหัวเฉียว
เป็นต้น ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
P
๒
๗. ถูกจำหน่ายในกรณีบ้านร้าง รื้นถอน ถูกทำลาย
หรือในกรณีอื่นๆ ให้ใช้เครื่องหมายใน ที่ต้องการ แล้วแต่กรณี
๘. เลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ถูกจำหน่าย ให้ลงเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ถูกจำหน่าย
P
๓
๙. แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้าน
ให้ใช้เครื่องหมายใน ตามที่ต้องการ
แล้วแต่กรณี
๑๐. บ้านหลังดังกล่าวมีเลขรหัสประจำบ้าน
ให้ลงเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ต้องการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้าน
๑๑. ขอแก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้าน
จาก.....ให้ลงรายการของบ้านตามข้อ ๑๐ ให้ละเอียด เช่น บ้านเลขที่ ๑๑ หมู่ที่ ๑
ซอยหนึ่งฤทัย ถนนตากสิน แขวงบุคคโล เป็นต้น
๑๒. เป็น ให้ลงรายการของบ้านที่ได้รับการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการ เช่น บ้านเลขที่ ๑๑๑ ซอยสองฤทัย ถนนตากสิน
แขวงบุคคโล อำเภอ/เขตธนบุรี ส่วนรหัสตำบล/แขวง
ให้เว้นว่างไว้ก่อน
๑๓. ชื่อสถานที่ ให้ลงชื่อของบ้านนั้นถ้าหากมี
เช่น ชื่อร้านค้า ชื่อสถานที่ทำการสำนักงาน โรงงาน โรงพยาบาล ค่ายทหาร ตัวอย่าง ค่ายกาวิลละ
เป็นต้น ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๑๔. ช่องได้รับอนุมัติตามคำร้องหรือหนังสือที.......ลงวันที่.......เดือน.......พ.ศ..........ให้กรอกที่ของคำร้องหรือที่ของหนังสือ
แล้วแต่กรณี ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยื่น
และลงวันที่...เดือน.....พ.ศ.........ของหนังสือหรือคำร้องที่ยื่น
๑๕. ช่องโดยได้รับอนุมัติเมื่อวันที่......ให้ลงวันที่........เดือน...........พ.ศ.
...ที่ผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ของบ้าน
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๑๖. ช่องลงชื่อผู้เขียน ให้ลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้เขียนแบบ
รายงาน ท.ร.๙๙
๑๗. ช่องลงชื่อผู้ตรวจทาน
ให้ลงลายมือชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ หรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
๑๘. ช่องลงชื่อนายทะเบียน
ให้ลงลายมือชื่อนายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
(๙) แบบ ท.ร.๙๘ เป็นแบบรายงานการเพิ่ม
เปลี่ยนแปลงสถานภาพหรือจำหน่รายชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน
๑. ช่องเลขที่ ...../..........ให้ลงเลขที่ตามลำดับปี
พ.ศ. เมื่อสิ้นปี (๓๑ ธ.ค) ให้ลำดับใหม่ เช่น เลขที่ ๑/๒๕๒๗,เลขที่
๒/๒๕๒๗ ฯลฯ
P
๑
๒. ช่องสำนักทะเบียน...... จังหวัด........รหัส ให้กรอกชื่อของสำนักทะเบียนและจังหวัด
ส่วนช่องรหัสของสำนักทะเบียนให้เว้นว่างไว้ เช่น สำนักทะเบียนอำเภอค่ายบางระจัน
จังหวัดสิงห์บุรี รหัส เป็นต้น
P
๒
๓. บุคคลดังต่อไปนี้ ได้รับอนุมัติให้
(ให้ใช้เครื่องหมาย Ö ใน
หรือ
แล้วแต่กรณี)
๔. เลขประจำตัวประชาชนปัจจุบัน (ถ้ามี)
ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของผู้ต้องการเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
(กรณีถ้ามีเลขฯ) หรือ เปลี่ยนแปลงสถานภาพ เช่น จากบุคคลประเภทที่ ๖,๗
เป็นบุคคลประเภทที่ ๕
๕. เลขรหัสประจำบ้านที่เพิ่มชื่อเข้า
ให้กรอกเลขรหัสประจำบ้านที่ต้องการเพิ่มชื่อเข้าไปอยู่ในทะเบียนบ้าน
๖. ช่องบ้านเลขที่......หมู่ที่.......ตรอก/ซอย.......ถนน
.....ตำบล/แขวง......ให้ลงรายการตามทะเบียนบ้านข้อ ๕ ที่บ้านนั้นๆ ตั้งอยู่ เช่น
บ้านเลขที่ ๑๓/๗ ซอยวิจิตร ถนนตากสิน แขวงบุคคโล เป็นต้น
๗. ช่องรายการบุคคลที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
ชื่อตัว....ชื่อสกุล........ให้กรอกชื่อตัวชื่อสกุลที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อ
๒
๑
๘. ช่องเลขประจำตัวประชาชนที่ให้/เปลี่ยนใหม่
ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนที่กำหนดให้แก่บุคคลที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อ
หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเลขประจำตัวประชาชน แล้วแต่กรณี
๙ เพศเป็น
ชาย
หญิง
ให้ใช้เครื่องหมาย Ö ใน
ให้ตรงตามที่ต้องการเพิ่มเติม
๑๐. สถานภาพเจ้าบ้าน
ให้กรอกสภานภาพที่บุคคลนั้นเป็นตามที่ได้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านเช่น ผู้อาศัย
หรือ เจ้าบ้าน เป็นต้น
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๑๑. ช่องสัญชาติ O ไทย
O
อื่นๆ ระบุ ในกรณีสัญชาติไทยให้ใช้เครื่องหมาย Ö ใน O
ถ้า O
อื่นๆ ระบุ ให้กรอกสัญชาตินั้นๆ ลงไป เช่น
จีน เป็นต้น ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๑๒.
ช่องรายการมารดาบุคคลที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านให้กรอกชื่อมารดา
เช่น นางโฉมงาม เป็นต้น
๑๓. ช่องเลขประจำตัวประชาชนมารดา
(ถ้ามี) ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของมารดา
๑๔.
ช่องสัญชาติไทย O ไทย O อื่นๆ ระบุ
ในกรณีสัญช่าติไทยให้ใช้เครื่องหมาย Ö ใน O ถ้า O อื่นๆ ระบุ ให้กรอกสัญชาตินั้นๆ ลงไป เช่น อินเดีย เป็นต้น ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๑๕. ช่องรายการของบิดาของบุคคลที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการเหมือนข้อ ๑๒ - ๑๔
๑๖.
ช่องผู้ถูกจำหน่ายฃื่อ....นามสกุล.......ให้กรอกชื่อตัว - ชื่อสกุล ของผู้ถูกจำหน่าย
๑๗. ช่องเลขประจำตัวประชาชนผู้ถูกจำหน่าย
ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของผู้ถูกจำหน่าย
๑๘. ช่องบ้านเลขที่.........หมู่ที่.........ตรอก
.....ซอย.......ถนน......ตำบล/แขวง.........ให้ลงรายการที่ตั้งของบ้านของผู้ถูกจำหน่าย
เช่น บ้านเลขที่ ๑๖ หมู่ที่ ๖ ตรอกราษฏร์ร่วมพัฒนา ถนนประชาอุทิศ ตำบลทองพูล
๑๙. ช่องได้รับอนุมัติตามคำร้องหรือหนังสือที่
......ลงวันที่.........เดือน.......พ.ศ.....ให้กรอกที่ของคำร้องหรือที่ของหนังสือแล้วแต่กรณี
ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยื่นและลงวันที่........เดือน.........พ.ศ........ของคำร้องหรือหนังสือที่ยื่น
๒๐. ช่องโดยได้รับอนุมัติให้ลงวันที่.......เดือน
พ.ศ......ที่ผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือเพิ่มเติมรายการ
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาให้เว้นว่างไว้
๒๑. ช่องลงชื่อผู้เขียน
ให้ลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้เขียนแบบรายงาน ท.ร. ๙๘
๒๒. ช่องลงชื่อผู้ตรวจทาน ให้ลงลายมือชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น
แล้วแต่กรณี
๒๓. ช่องลงชื่อนายทะเบียน
ให้ลงลายมือชื่อนายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
(๑๐) แบบ ท.ร. ๙๗
เป็นแบบที่ใช้รายงานเฉพาะการแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ
ของบุคคลในทะเบียนบ้าน สูติบัตร และมรณบัตร เช่น กรณีการขอเปลี่ยนชื่อตามแบบ ช.๓
หรือกรณีการแก้ไขชื่อตัว ชื่อสกุล เป็นต้น
๑. ช่องเลขที่..../.....ให้ลงเลขที่ตามลำดับปี
พ.ศ.เมื่อสิ้นปี (๓๑ ธ.ค.) ให้ขึ้นลำดับใหม่ เลขที่ ๑/๒๕๒๗,เลขที่
๒/๒๕๒๗ ฯลฯ
๒. ช่องสำนักทะเบียน........จังหวัด.........รหัส ..
ให้กรอกชื่อของสำนักทะเบียนและจังหวัด
ส่วนช่องรหัสของสำนักทะเบียนให้เว้นว่างไว้ เช่น สำนักทะเบียนอำเภอหนองไผ่
จังหวัดเพชรบูรณ์ รหัส
เป็นต้น
๓. ช่องชื่อผู้ต้องการแก้ไขรายการ................นามสกุล..............ให้กรอกชื่อตัว
ชื่อสกุล ของผู้ต้องการแก้ไขรายการ
๔. ช่องเลขประจำตัว
ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนของผู้ต้องการแก้ไขรายการให้ครบทั้ง ๑๓ หลัก เช่น
๕-๙๐๑๑-๐๐๐๒๑-๔๐-๘ เป็นต้น
๕. อยู่บ้านเลขที่
ให้ลงเลขหมายประจำบ้านของผู้ต้องการแก้ไขรายการ เช่น บ้านเลขที่ ๑๓/๑ เป็นต้น
๖. หมู่ที่
ให้ลงหมายเลขของหมู่บ้านที่บ้านนั้นตั้งอยู่ เช่น หมู่ที่ ๔ เป็นต้น
๗. ตรอก ซอย ถนน ให้ลงชื่อของ ตรอก ซอย ถนน เช่น
ซอยวิจิตร ถนนตากสินเป็นต้น
๘. ตำบล-แขวง ให้ลงชื่อตำบล หรือแขวง เช่น ตำบลบุคคโล
เป็นต้น
P
๑
๙. ในทะเบียนบ้าน ให้ใช้เครื่องหมาย Ö
ใน ให้ตรงกับกรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมเกี่ยวกับบุคคล
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมหลังเส้นไข่ปลาไม่ต้องกรอกข้อความแต่อย่างใด
P
๒
๑..... คำนำหน้านามเป็น............ให้ลงคำนำหน้าบ้านนามที่ต้องการเปลี่ยน
เช่น ในทะเบียนบ้านเป็น ร.ต.
คำนำหน้านาม เป็นนาย เป็นต้น
๒. ชื่อตัวเป็น...................ให้ลงชื่อตัวที่ต้องการเปลี่ยน
เช่น ในทะเบียนบ้านเป็น สมชาย
ชื่อตัวเป็น ภิญโญ เป็นต้น
๒
๑
๔
P
P
๓
๓.
ขื่อสกุลเป็น..............ให้ลงชื่อตัวที่ต้องการเปลี่ยน เช่น
ในทะเบียนบ้าน เป็น ทองมาก ชื่อสกุลเป็น เปี่ยมสุวรรณ
เป็นต้น
P
๕
๔. เพศเป็น ชาย หญิง
ให้ใช้เครื่องหมายในช่องให้ตรงตามที่ต้องการ
๕. สถานภาพเจ้าบ้านเป็น....... ให้ลงรายการที่ต้องการเปลี่ยน
เช่น จาก ผู้อาศัย เป็น หัวหน้าครอบครัว
เป็นต้น
P
๗
P
๖
๖.
วัน เดือน ปี เกิด
เป็น..............ให้ลงรายการ วัน เดือน ปี เกิดที่ต้องการเปลี่ยน เช่น จาก ๑๙
เม.ย. ๒๙ เป็น ๒๙ เม.ย. ๒๙ เป็นต้น
P
๘
๗. สัญชาติเป็น...........ให้ลงรายการสัญชาติที่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยน
เช่น จากช่องสัญชาติ ลาวเปลี่ยนเป็น ไทย เป็นต้น
๘.
ชื่อมารดาเป็น.........ให้ลงชื่อมารดที่ต้องการเปลี่ยน
เช่น ในทะเบียนบ้าน สุดา เปลี่ยนเป็นดาวเดือน เป็นต้น
๑๐๑๑๐๐๐
P
P
๙
๙. เลขประจำตัวประชาชนของมารดาเป็น
.................ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงแล้ว เช่น
๑-๑๐๐๙-๐๐๑๒๐๐๐-๘ เป็น
P
๑๑๑๑๐๐๐
๑๐.......... สัญชาติมารดาเป็น....ให้ลงรายการสัญชาติของมารดาที่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยน
เช่น จากช่องสัญชาติ อังกฤษ
เป็น ไทยเป็นต้น
๑๑.
ชื่อบิดาเป็น.......ให้ลงชื่อบิดาที่ต้องการเปลี่ยน
เช่น เปลี่ยนจาก ขุนแผน เป็น ธาดา
เป็นต้น
P
๑๓
๑๒
P
๑๒.
เลขประจำตัวประชาชนของบิดาเป็น..........ให้กรอกเลขประจำตัวประชาชนที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงเช่น
เปลี่ยนจาก ๑-๐๐๐๙-๐๐๑๒๐๐๐-๘ เป็น ๑-๐๐๐๘-๐๐๑๒๐๐๐-๘ เป็นต้น
๑๓.
สัญชาติของบิดาเป็น
........ให้ลงรายการสัญชาติของบิดาที่ได้อนุมัติให้เปลี่ยน เช่น เปลี่ยนจาก เนปาล
เป็น ไทยเป็นต้น
๑๔.... .... วัน เดือน ปี ที่ย้ายเข้าเป็น
..........ให้ลงรายการที่แก้ไขแล้ว เช่นแก้ไขจาก ๑๓
ก.พ. ๒๕๒๗เป็น ๑๔ ก.พ.๒๕๒๗
เป็นต้น
ใบสูติบัตร
๑๕. จังหวัด อำเภอ ตำบล
ที่เกิดเป็น........ให้ลงรายการสถานที่เกิดที่แก้ไขถูกต้องแล้ว เช่น เพชรบูรณ์
อำเภอหนองไผ่ ตำบลตองพูล
ใบมรณบัตร
๑๖. วัน เดือน ปี
ที่ตายเป็น............ให้ลง วัน เดือน ปี ที่ตาย ซึ่งแก้ไขถูกต้องแล้ว เช่น ๙
ก.พ. ๒๕๐๐ เป็น ๒๙ ก.พ.๒๕๒๐
เป็นต้น
๑๗.
.จังหวัด อำเภอ ตำบล ที่ตายเป็น ..........ให้ลงรายการสถานที่ตาย
ซึ่งแก้ไขถูกต้องแล้ว เช่น เพชรบูรณ์ หนองไผ่ ห้วยโป่งเป็น
เพชรบูรณ์ เมือง น้ำร้อน
เป็นต้น
๑๘.
สาเหตุการตายเป็น....ให้ลงรายการที่สาเหตุการตายที่แก้ไขถูกต้องแล้ว
๑๙.
ช่องได้รับอนุมัติตามคำร้องที่หรือหนังสือที่.......ลงวันที่
...........เดือน......พ.ศ. .....ให้กรอกที่ของคำร้องหรือที่ของหนังสือแล้วแต่กรณี
ที่ใช้เป็นหลักฐานในการยื่นและลงวันที่.......เดือน........พ.ศ. .....ของคำร้องหนังสือที่ยื่น
๒๐. ช่องโดยได้รับอนุมัติเมื่อวันที่.......ให้ลงวันที่.....เดือน.....พ.ศ......ที่ผู้มีอำนาจได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติมรายการ
๒๑. ช่องลงชื่อผู้เขียน
ให้ลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้เขียนแบบรายงาน ท.ร. ๙๗
๒๒. ช่องลงชื่อผู้ตรวจทาน
ให้ลงลายมือชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอหรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
๒๓. ช่องลงชื่อนายทะเบียน
ให้ลงลายมือชื่อผู้ช่วยนายทะเบียนหรือท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
(๑๑) แบบ ท.ร. ๑๓,๑๔
เป็นทะเบียนบ้านที่ใช้ลงรายการบุคคลในแต่ละบ้าน
๑. เลขรหัสประจำบ้าน ให้ลงเลขรหัสประจำบ้านของบ้านหลังนั้นๆ
ตามหลักการว่าด้วยการให้เลขประจำบ้าน
ซึ่งบ้านหลังหนึ่งมีเลขรหัสประจำบ้านเพียงเลขเดียว แม้จะมีทะเบียนบ้านมากกว่า ๑
แผ่น ก็ตาม การลงเลขรหัสประจำบ้าน ให้เขียนเป็นเลขอารบิคทั้ง ๑๑ หลัก
๒. แผนที่ บ้านหนึ่งมีทะเบียนบ้านแผ่นเดียวให้ลงว่าแผ่นที่
๑ แต่ถ้ามีจำนวนคนในบ้านมากและใช้ทะเบียนบ้านหลายแผ่น ให้เขียนลำดับแผ่นที่ทุกแผ่น
เช่น แผ่นที่ ๑ แผ่นที่ ๒ ตลอดไป เป็นต้น
๓. บ้านเลขที่ ให้ลงหมายเลขประจำบ้านของหลังนั้นๆ
เช่น บ้านเลขที่ ๙๔ เป็นต้น
๔. หมู่ที่ ให้ลงหมายเลขของหมู่บ้านนั้นๆ เช่น
หมู่ที่ ๑ หรือ หมู่ที่ ๒เป็นต้น
๕. ตำบล อำเภอ จังหวัด ให้ลงชื่อของตำบลหรือแขวง
อำเภอหรือเขต หรือเทศบาลหรือกิ่งอำเภอและจังหวัดที่บ้านหลังนั้นๆ ตั้งอยู่ เช่น
แขวงมหานาคเขตดุสิต กรุงเทพฯ เป็นต้น
๖. ชื่อสถานที่ ให้ลงชื่อของบ้านนั้นถ้าหากมีชื่อ
เช่น ร้านค้า ชื่อสถานที่ ชื่อโรงพยาบาล เป็นต้น
๗. ชื่อหมู่บ้าน ให้ลงชื่อหมู่บ้าน เช่น
บ้านหนองหอย บ้านระกำ บ้านกองทุนที่ดินไทย เป็นต้น
๘. ตรอก ซอย ถนน ให้ลงชื่อของตรอก ซอย ถนน
ที่บ้านหลังนั้น ตั้งอยู่ หากมี เช่น ซอย ๔๖ ถนนรามคำแหง เป็นต้น
๙. ลำดับ ให้ลงลำดับที่ของบุคคลที่อาศัยอยู่ในบ้านให้เขียนตั้งแต่ลำดับ๑,๒,๓.ฯลฯ
ไปตามลำดับของคนในบ้าน
๑๐. เลขประจำตัวประชาชน ให้เขียนเลขประจำตัวประชาชนของบุคคลนั้นๆ
ลงในช่องสี่เหลี่ยมตามหลักเกณฑ์ว่าด้วยการให้เลขประจำตัวประชาชน โดยให้เขียนเป็นเลขอารบิค
ทั้ง ๑๓ หลัก
๑๑. ชื่อตัว ให้เขียนให้ชัดเจนในช่องบนเส้นไข่ปลาถ้ามีบรรดาศักดิ์
ก็ให้เขียนชื่อบรรดาศักดิ์ และเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล เช่น ร.ต. ..ร.ท.หรือคำนำหน้า
เช่น นาย,นาง,ด.ช. ด.ญ ไว้หน้าชื่อด้วย
๑
๒
๑๒. ชื่อสกุล
ให้เขียนนามสกุลให้ชัดเจนช่องล่างเส้นไข่ปลา
๑
๑๓. เพศ
ให้เขียนเครื่องหมายวงกลม ล้อมรอบสี่เหลี่ยม
๒
ของเพศที่ถูกต้อง เช่น
ถ้าเป็นเพศชาย ให้วงกลมล้อมรอบสี่เหลี่ยม หมายเลข ๑ และถ้าเป็นเพศหญิงให้วงกลมล้อมรอบสี่เหลี่ยมหมายเลข
๒ เป็นต้น
๑๔. สถานภาพ
(เจ้าบ้าน) ให้เขียนคำว่า เจ้าบ้าน เฉพาะรายการของบุคคลที่เป็นเจ้าบ้านส่วนราชการของบุคคลอื่นๆ
ที่ไม่ได้เป็นเจ้าบ้านให้เว้นว่างไว้
๑๕. เกิดวันที่
เดือน พ.ศ. ให้เขียนตามแบบสุริยคติ เช่น ๔ ต.ค. ๒๕๙๖
๑๖. สัญชาติ
ให้เขียนสัญชาติของบุคคลนั้นตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ เช่น ไทย หรือ จีน เป็นต้น
๑๗. รายการ มารดา
บิดา ผู้ให้กำเนิด
๑๗.๑ รายการมารดา
๑๗.๑.๑ เลขประจำตัวประชาชน (ถ้ามีหรือทราบ)
ให้เขียนเลขประจำตัวประชาชนของมารดาของบุคคลนั้นๆ ลงไปในช่องสี่เหลี่ยม ตามหลักเกณฑ์ว่าด้วยการให้เลขประจำตัวประชาชนและให้เขียนเป็นเลขอารบิค
ทั้ง ๑๓ หลัก
๑๗.๑.๒ ชื่อ ให้เขียนเฉพาะชื่อของมารดาของบุคคลนั้นลงไปในช่องมารดาให้ชัดเจน
๑๗.๑.๓ สัญชาติ
ให้เขียนเฉพาะสัญชาติของมารดา เช่น ไทย หรือ จีน เป็นต้น
๑๗.๒ รายการบิดา
๑๗.๒.๑ เลขประจำตัวประชาชน
(ถ้ามีหรือทราบ) ให้เขียนเลขประจำตัวประชาชนของบิดาของบุคคลนั้น
ลงไปในช่องสี่เหลี่ยม ตามหลักเกณฑ์ว่าด้วยการให้เลขหมายประจำตัวประชาชนและให้เขียนเป็นเลขอารบิค
ทั้ง ๑๓ หลัก
๑๗.๒.๒ ชื่อ
ให้เขียนเฉพาะชื่อของบิดาของบุคคลนั้นลงไปในช่องบิดาให้ชัดเจน
๑๗.๒.๓ สัญชาติ
ให้เขียนเฉพาะสัญชาติของบิดา เช่น ไทย หรือจีน เป็นต้น
๑๘. ช่องย้ายเข้ามาจาก ให้ลงรายการย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านนี้จาก
อำเภอ จังหวัดใด เช่น อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
และต่อไปให้เขียนบ้านเลขที่และตำบลโดยย่อ เข่น ย้ายมาจากบ้านเลขที่ ๑๒ ตำบลในเมือง
ให้เขียนคำว่า ๑๒ ต. ในเมือง ในกรณีเพิ่มเด็กเกิดใหม่ ให้กรอกคำว่า ท.ร.๑ หรือ
ท.ร.๒ หรือ ท.ร.๓ แล้วแต่กรณี
๑๙. เข้ามาอยู่เมื่อ ให้ลงรายการ วัน เดือน ปี
ที่ย้ายเข้ามาอยู่ หรือ วัน เดือน ปี ที่เพิ่มขื่อเข้าในทะเบียนบ้านตามสูติบัตร
หรือ วัน เดือน ปี ที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบี่ยนบ้าน แล้วแต่กรณี
๒๐. ลงชื่อ*** หมายถึงการลงลายมือชื่อของผู้ปฏิบัติงานซึ่งมี
๒ ช่องในกรณีลงชื่อที่ ๑ หมายถึงการลงชื่อของผู้เขียนรายการ ในกรณีลงชื่อช่อง ๒
หมายถึง การลงชื่อนายทะเบียนหรือผู้มีอำนาจทำการแทนนายทะเบียน
๒๑. ย้ายออก**
๒๑.๑ ไปที่ หมายถึงได้ย้ายออกไปจากบ้านนี้ไปอยู่
ณ ที่ใด และเมื่อใด ให้เขียนโดยย่อเช่น เดียวกับการย้ายเข้ามาเช่น
๒๑.๒ ย้ายออกเมื่อ ให้เขียน วัน เดือน ปี
ที่ย้ายออก หรือตาย หรือถูก จำหน่าย แล้วแต่กรณี
๒๑.๓ ลงชื่อนายทะเบียน หมายถึง
การลงลายมือชื่อของนายทะเบียน หรือ ผู้มีอำนาจทำการแทนนายทะเบียน
เมื่อได้ดำเนินการตาม ข้อ ๒๑.๑ หรือ ๒๑.๒ แล้วแต่กรณี เป็นที่ถูกต้องแล้วที่
๒๑.๔ ได้รับตอบแล้ว ให้ลงชื่อนายทะเบียนหรือผู้มีอำนาจทำการแทน
และวัน เดือน ปี ที่
ได้รับตอบจากสำนักทะเบียนอื่นว่าบุคคลที่ย้ายที่ออกไปนั้นได้ย้ายเข้าเป็นที่ถูกต้องสมบูรณ์แล้ว
๒๒. บันทึกการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ เพิ่มชื่อ
จำหน่ายชื่อหรือกรณีอื่นๆ กรณีมีการแก้ไขรายการ เช่น มีการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล
ให้หมายเหตุย่อๆ ไว้ด้วยหมึกสีแดง แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
คำแนะนำการกรอกแบบพิมพ์หนังสือรับรองการเกิด
ท.ร. ๑/๑
๑. สถานที่ออกหนังสือรับรอง
ก. ชื่อสถานพยาบาล
ให้กรอกชื่อสถานพยาบาลที่ออกหนังสือรับรองการเกิด เช่น โรงพยาบาลมิชชั่น เป็นต้น
ข. บ้านเลขที่ ถนน/หมู่ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ให้กรอกที่อยู่ของสถานพยาบาลในกรณีที่สถานพยาบาลนั้นมีทะเบียนบ้าน
๒.
ที่..../....ให้กรอกที่ของหนังสือรับรองการเกิดเรียงลำดับกันไป ทับ/พ.ศ.
ที่ออกจนหมดปีพ.ศ. เมื่อหมดปี พ.ศ. ให้ขึ้นเลข ๑ และทับปี พ.ศ. ใหม่ เช่น ฉบับแรกของปี
๒๕๒๗ ให้ เขียนว่าเลขที่ ๑/๒๕๒๗,๒/๒๕๒๗ เป็นต้น
กรณีขึ้น พ.ศ. ใหม่ก็ให้เริ่มเลขที่ ๑ ใหม่เช่น
๑/๒๕๒๘,๑/๒๕๒๙ เป็นต้น
๓. วันที่ เดือน
พ.ศ. ให้กรอกวันที่ออกหนังสือรับรองการเกิด เช่น วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๗
๔.
รายการเด็กที่เกิดตามช่องที่ ๑
๔.๑ ชื่อตัว
ชื่อสกุล ให้กรอกชื่อตัวชื่อสกุลของเด็กที่เกิด ส่วน ช่องเลขประจำตัวประชาชน*-****-*****-**-*
ให้เว้นช่องไว้สำหรับนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบลเป็นผู้กรอก
๔.๒ เพศ ชาย หญิง ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่ หน้า ข้อความที่ต้องการ
๔.๓ สัญชาติ ไทย
อื่นๆ (ระบุ)..ให้ทำเครื่องหมาย Ö
ที่
หน้าข้อความที่ต้องการหรือระบุสัญชาติอื่น แล้วแต่กรณี เช่น อื่นๆ (ระบุ)...จีน...ส่วนช่องสี่เหลี่ยมให้เว้นช่องว่างไว้
๔.๔ เกิดเมื่อวันที่ เดือน พ.ศ. ให้กรอก วัน
เดือน พ.ศ. ของเด็กที่เกิดโดยให้เขียนตัวเต็ม เช่น ๒๘ มกราคม ๒๕๒๗ เป็นต้น
๔.๕ ณ สถานพยาบาลให้กรอกชื่อสถานพยาบาลที่เด็กเกิด เช่น
โรงพยาบาลมิชชัน เป็นต้น
๔.๖ เวลา น. ตรงกับวัน ขึ้น...ค่ำ Ö
แรม ค่ำ เดือน ปี ให้เขียนตัวเต็มตรงตามข้อเท็จจริงและให้ทำเครื่องหมาย Ö
หน้าข้อความที่ต้องการ และให้เขียนปีทางจันทรคติ เช่น เวลาวันพุธ ๓ ค่ำ เดือนยี่
ปีชวด เป็นต้น
๔.๗ ชื่อสถานที่ที่เกิด บ้านเลขที่ หมู่ที่ ซอย
ถนน ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด ให้กรอกชื่อและที่อยู่ของสถานพยาบาลที่เด็กเกิด
เช่น โรงพยาบาลภูมิพล ๑๓ ถนนพหลโยธิน แขวงไสไหม เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เป็นต้น
ส่วนช่องสี่เหลี่ยม
ให้เว้นว่างไว้
๕. รายการสถานภาพของครอบครัว ตามช่องที่ ๒
๕.๑ รายการชื่อตัว-ชื่อสกุล ของบิดามารดา
ให้กรอกชื่อตัว-ชื่อสกุล ของบิดาและมารดาของเด็กที่เกิดพร้อมเลขประจำตัวประชาชน
(ถ้าทราบ)
๕.๒ รายการบุตร ให้กรอกลำดับของบุตรว่าที่เป็นบุตรลำดับที่เท่าไรของบิดามารดา
ส่วนช่องสี่เหลี่ยมให้เว้นว่างไว้ และให้กรอกจำนวนบุตรทั้งหมดในครอบครัว
โดยแยกระบุตามข้อเท็จจริง เช่น จำนวนบุตรทั้งหมดมี ๘ คน ยังมีชีวิตอยู่ ๕ คน
คลอดแล้วตาย ๒ คน ตายในครรภ์ ๑ คน ส่วนช่องให้เว้นว่างไว้
๖. รายการผู้ทำคลอด ตามช่องที่ ๓ เป็นหมอตำแย
ผดุงครรภ์ ก็ให้ทำเครื่องหมาย ( ) ที่ใต้ข้อความที่เป็นจริง ถ้านอกเหนือจากนั้นให้ระบุในช่องอื่นๆ
ระบุ.....และให้กรอกชื่อตัว - ชื่อสกุลของผู้ทำคลอดนั้นๆ
ตลอดจนที่อยู่ของผู้ทำคลอด
๗. รายเด็กที่เกิด ตามช่อง ๔ ให้ทำเครื่องหมาย ( )
ที่ ใต้ข้อความและหน้าข้อความที่เป็นจริง
หรือระบุข้อความตามข้อเท็จจริงถ้าไม่ทราบให้เว้นว่างไว้ ส่วนช่องสี่เหลี่ยม
ที่ไม่มีข้อความ กำกับให้เว้นว่างไว้
๘. รายการเจ็บป่วยของมารดา ตามช่องที่ ๕
ให้ทำเครื่องหมาย ( ) ที่หน้าข้อความที่เป็นจริง หรือระบุข้อความตามข้อเท็จจริงส่วนช่องสี่เหลี่ยมที่ไม่มีข้อความกำกับให้เว้นว่างไว้
๙. ให้ผู้ทำคลอด ผู้ออกหนังสือรับรองการเกิด
เจ้าบ้านผู้มอบอำนาจให้ไปแจ้งการเกิด (เจ้าบ้านของสถานพยาบาลนั้น)
ผู้รับมอบอำนาจให้ไปดำเนินการแจ้งการเกิด (มารดาของเด็ก) ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งเขียนขื่อตัว
ชื่อสกุลตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลงลายมือชื่อ
๑๐. ช่องนายทะเบียนผู้รับแจ้งการเกิดให้เว้นว่างไว้
๑๑. ช่องสี่เหลี่ยม ใต้ข้อความ เลขที่ จังหวัด
วัน เดือน ปี เลขควบคุม ให้เว้นว่างไว้
คำแนะนำการกรอกแบบพิมพ์หนังสือรับรองการตาย ท.ร.
๔/๑ ตอนที่ ๑
๑. สถานที่ออกหนังสือรับรอง
ก. ชื่อสถานพยาบาล
ให้กรอกชื่อสถานพยาบาลที่ออกหนังสือรับรองการตาย เช่น โรงพยาบาลศิริราช เป็นต้น
ข. บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด
ให้กรอกที่อยู่ของสถานพยาบาลในกรณีที่สถานพยาบาลนั้นมีทะเบียนบ้าน
๒. ที่..../.....ให้กรอกที่ของหนังสือรับรองการตายเรียงลำดับกันไป/พ.ศ.
ที่ออกจนหมดปี พ.ศ. ให้ขึ้นเลข ๑ และทับปี พ.ศ. ใหม่ เช่น ฉบับแรกของปี ๒๕๒๗
ให้เขียนคำว่า เลขที่ ๑/๒๕๒๗ เป็นต้น กรณีขึ้น พ.ศ. ใหม่ ก็ให้เริ่มเลขที่ ๑ ใหม่
เช่น ๑/๒๕๒๘,๑/๒๕๒๙ เป็นต้น
๓. วัน เดือน
พ.ศ. ให้กรอกวันที่ออกหนังสือรับรองการตาย
๔. รายการผู้ตาย
ตามช่องที่ ๑
๔.๑ ให้กรอก ชื่อตัว ชื่อสกุล ของผู้ตาย
ส่วนเลขประจำตัวประชาชนให้เว้นว่างไว้ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบลเป็นผู้กรอก
๔.๒ เพศ ชาย หญิง ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่ หน้า ข้อความที่ต้องการ
๔.๓ อายุ
ให้กรอกอายุของผู้ตาย ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
๔.๔ สัญชาติ
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่ หน้าข้อความที่ต้องการ
หรือระบุสัญชาติอื่น แล้วแต่กรณี เช่น
อื่น (ระบุ)...จีน... ส่วนช่องสี่เหลี่ยม
ให้เว้นว่างไว้
๔.๕ อาชีพ
ให้กรอกอาชีพของผู้ตาย
๔.๖ สถานภาพการสมรส
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่
หน้าข้อความที่ต้องการ
P
๔.๗ การศึกษา
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่ หน้าข้อความที่ต้องการ
ถ้าทำเครื่องหมาย เ เขียนให้ระบุชั้นสุดท้ายที่จบการศึกษาด้วย
ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ที่ไม่มีข้อความกำกับให้เว้นช่องว่างไว้
๔.๘ ศาสนา
ให้กรอกศาสนาที่ผู้ตายนับถือ ถ้าไม่ทราบให้เว้นว่างไว้ ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
๔.๙ ตายเมื่อ
ให้เขียนตัวเต็ม เช่น วันที่ ๑๔ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๗ ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
๔.๑๐
ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน ให้กรอกที่อยู่ของผู้ตายที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เช่น ๑๕
หมู่ ๔ ตำบลกองทูล อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์
๔.๑๑ สถานที่เกิด
บ้านเลขที่ หมู่ที่ ให้กรอกรายละเอียดใต้ข้อความนั้นๆ เช่น โรงพยาบาลเมโย
ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
P
P
๕. รายการสถานที่ตาย
ตามช่องที่ ๒ ให้ทำเครื่องหมาย Pที่ * หน้าข้อความที่ต้องการ เช่น ในสถานพยาบาล
คือ โรงพยาบาลศิริราช หรือ นอกสถานพยาบาล
คือ ๑๓ หมู่ ๑ ถนนรานนก แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
๖.
รายการบิดามารดาของผู้ตาย ตามช่องที่ ๓ ให้กรอก ชื่อตัว - ชื่อสกุล
ของบิดามารดาพร้อมเลขประจำตัวประชาชน (ถ้าทราบ)
นอกจากนั้นในช่องสัญชาติของบิดามารดา ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่
หน้าข้อความทีต้องการ
ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
และในช่องอาชีพให้กรอกอาชีพของบิดามารดา (ถ้าทราบ) ส่วนช่องสี่เหลี่ยม ให้เว้นว่างไว้
๗.
รายการสาเหตุการตายตามช่องที่ ๔ ให้กรอกสาเหตุการตายของผู้ตาย แล้วแต่กรณี
๘.
รายการผ่าตัดตรวจศพตามช่องที่ ๕ ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่ หน้า
ข้อความที่ต้องการ และกรอกรายละเอียด แล้วแต่กรณี
๙.
รายการผู้รับรองการตาย ตามช่องที่ ๖ ให้กรอกชื่อตัว ชื่อสกุลพร้อมเลขประจำตัวประชาชนของผู้รับรองการตาย
ที่อยู่ของผู้รับรองการตายตามทะเบียนบ้านที่ผู้รับรองการตายมีชื่ออยู่
ส่วนช่องเป็น หมอตำแย แพทย์แผนโบราณ
ให้ทำเครื่องหมาย Ö ที่
หน้าข้อความที่ต้องการ
๑๐.
ให้ผู้รับรองการตายลงลายมือชื่อ พร้อมทั้งเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
คำแนะนำการกรอกแบบรายงานการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมรายการที่มีอยู่เกี่ยวกับบ้านในกรณีมีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่ม
เป็นจำนวนมาก แบบ ท.ร. ๙๙/๑
๑.
เลขที่......../........ให้กรอกเลขที่ของแบบ ท.ร./๙
เรียงลำดับกันไปทับ /ปี พ.ศ.เมื่อหมดปี
พ.ศ. ให้ขึ้นเลข ๑ และทับปีใหม่ เช่น ๑/๒๕๒๗ เลขที่ ๒/๒๕๒๗ เลขที่ ๑/๒๕๒๘ เป็นต้น
๒. ช่องแผนที่......ในจำนวน......แผ่น
ให้กรอกลำดับแผนที่ของ แบบ ท.ร. ๙๙/๑ และจำนวนแผ่นทั้งหมดที่ส่งในคราวเดียวกัน
เช่น แผ่นที่ ๔ ในจำนวน ๑๒ แผ่น เป็นต้น
๓. ช่องสำนักทะเบียน......จังหวัด.......รหัสสำนักทะเบียน
ให้กรอกชื่อของสำนักทะเบียนและจังหวัด
ส่วนช่องรหัสสำนักทะเบียนให้เว้นว่างไว้ เช่น สำนักทะเบียนอำเภอ ค่ายบางระจัน
จังหวัดสิงห์บุรี รหัส เป็นต้น
๔. ช่องลำดับที่ ให้กรอกลำดับที่ของบ้าน
๕. ช่องเลขรหัสประจำบ้านของบ้านที่ต้องการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ ให้กรอกเลขรหัสประจำบ้าน
ให้ตรงกับราการเลขรหัสประจำบ้านเดิมด้วยตัวเลขอารบิค ๑๑ หลัก
๖. ช่องรายการที่อยู่เดิมให้กรอกรายการที่อยู่เดิมที่บ้านหลังนั้นตั้งอยู่
เช่น ๑๑ ซอยประชาอุทิศ ถนนวจี หมู่ที่ ๓ หรือถนนวจี หมู่ที่ ๓ ตำบลหล่มสัก
ในกรณีที่บ้านมีรายการ ตรอก/ซอย หรือถนน หรือตำบลเดียวกันให้ใช้เครื่องหมาย
ได้ ส่วนช่องรหัส ตำบล
ให้เว้นว่างไว้
๗. ช่องรายการที่อยู่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมใหม่ให้กรอกรายการที่อยู่ที่ได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมใหม่
เช่น ๔ ซอยประชาอุทิศ ถนนวจี หมู่ที่ ๕ ตำบลสักหลง และดำเนินการเช่นเดียวกับข้อ ๖
๘. ช่องแก้ไข เปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมรายการที่อยู่ตามคำร้องหรือหนังสือหรือประกาศของ.......ลงวันที่.......เดือน.......พ.ศ.......ให้กรอกรายการตามข้อเท็จจริงเช่น
ประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๑ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นต้น
๙. ช่องโดยได้รับอนุมัติหรือมีผลบังคับใช้ วันที่
......เดือน......พ.ศ......ให้กรอกรายละเอียดที่ปรากฏ แล้วแต่กรณี เช่น
มีผลใช้บังคับ วันที่ ๑ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๗
เป็นต้น
๑๐. ให้ผู้เขียน ผู้ตรวจสอบ นายทะเบียน ลงลายมือชื่อ
พร้อมทั้งเขียนชื่อตัว ชื่อสกุล ด้วยตัวบรรจงในวงเล็บใต้ลายมือชื่อ
๑๑. ช่องสี่เหลี่ยม
-
-
หลังคำว่านายทะเบียนให้เว้นว่างไว้
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๒๑๗ ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๒๘
ให้ใช้บังคับเฉพาะสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการตามโครงการจัดทำเลขประจำตัวประชาชน
ข้อ ๒๑๘ สำนักทะเบียนที่ถูกกำหนดให้เป็นเขตปฏิบัติการและดำเนินการถ่ายสำเนาทะเบียนบ้านโดยสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ให้ถือเป็นสำนักทะเบียนในเขตปฏิบัติการ นับตั้งแต่วันเริ่มต้นถ่ายสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๒๘
เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๗
เจนวิทย์
สิทธิดำรง
ผู้อำนวยการทะเบียน
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการต่างๆ
ของบุคคลในทะเบียนบ้าน สูติบัตร และมรณบัตร (ท.ร. ๙๗)
๒. แบบรายงานการเพิ่ม/เปลี่ยนสถานะภาพหรือ
จำหน่ายชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๙๘)
๓. แบบรายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติม หรือจำหน่ายเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร. ๙๙)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย) |
321795 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2520 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๐
-----------
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๑๖
ผู้อำนวยการทะเบียน อาศัย
อำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๔๙๙ ซึ่งแก้ไข
เพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑
ตุลาคม ๒๕๑๕ จึงได้แก้ไข
เพิ่มเติมไว้ ดังต่อไปนี้
ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงแบบพิมพ์ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
(ท.ร. ๑๗) ตามระเบียบ
สำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๑๖
ข้อ ๙๓ (๔)
โดยให้ใช้แบบพิมพ์ที่ได้กำหนดขึ้นใหม่ตามระเบียบนี้แทน
[ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย]
ให้ใช้ระเบียบนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๒๐ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๐
จรินทร์ กาญจโนมัย
ผู้อำนวยการทะเบียน |
321690 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2515 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง
ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๑๕
-----------
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๔๙๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม
๒๕๑๕
ผู้อำนวยการทะเบียนวางระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎรไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ ๑
การจัดทำเลขหมายประจำบ้าน
ตอนที่ ๑
บ้านที่ต้องกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ
๑ คำว่า "บ้าน"
หมายความว่า โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างสำหรับใช้เป็นที่อยู่
ประจำซึ่งมีเจ้าบ้านครอบครอง และให้หมายความรวมตลอดถึง เรือ
แพ ซึ่งจอดเป็นประจำและ
ใช้เป็นที่อยู่ประจำ โรงพยาบาล โรงแรม เรือนจำ
หรือสถานที่อย่างอื่นซึ่งอาจใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วย
แต่ถ้าบ้านนั้น ๆ ไม่ใช่เป็นที่อยู่อาศัยเป็นประจำ เช่น
โรงนา เรือเร่ขายของ ไม่นับว่าเป็นบ้าน และ
ไม่ต้องกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
คำว่า
"เจ้าบ้าน" หมายความว่า ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครองบ้าน ในฐานะเป็น
เจ้าของ ผู้เช่า หรือในฐานะอื่นใดก็ตาม
ในกรณีที่ไม่ปรากฏเจ้าบ้าน
หรือเจ้าบ้านไม่อยู่ ตาย สูญหายหรือไม่สามารถปฏิบัติ
หน้าที่ได้ให้ถือว่าผู้ดูแล
หรือผู้อยู่ในบ้านขณะนั้นเป็นเจ้าบ้าน
ข้อ
๒ เลขหมายประจำบ้าน ให้ใช้เลขไทยขนาดสูง
๒ นิ้วฟุต ตัวเลขสีขาวจะใช้เขียน
บนแผ่นโลหะหรือแผ่นไม้ก็ได้ให้มีขนาดพองาม
และควรทาพื้นด้วยสีน้ำเงิน หรือสีดำสำหรับบ้าน
ชั่วคราว ตาม ข้อ ๑๓ ให้ใช้เลขไทยสีแดง ขนาดสูง ๒ นิ้วฟุต
พื้นสีขาว
ข้อ
๓ บ้านหลังหนึ่ง
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเพียงเลขหมายเดียว
ข้อ
๔ บ้านที่ปลูกเป็นตึกแถวหรือห้องแถว
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านทุกห้อง
โดยถือว่าห้องหนึ่ง ๆ เป็นบ้านหลังหนึ่ง
ข้อ
๕
บ้านที่ปลูกไว้สำหรับให้เช่าเป็นหลัง ๆ ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านทุกหลัง
แม้จะมีผู้มาเช่าแล้วหรือไม่ก็ตาม
ข้อ
๖ เรือหรือแพ ที่จอดอยู่ประจำตามลำน้ำ
และมีผู้อยู่อาศัยให้กำหนดเลขหมาย
ประจำบ้านไว้เช่นเดียวกัน โดยถือว่าเรือลำหนึ่ง
หรือแพหลังหนึ่งเป็นบ้าน ๆ หนึ่ง
ข้อ
๗ บ้านซึ่งมีโรงเรือน
หรือสิ่งปลูกสร้างอยู่ในขอบเขตเดียวกัน เช่น วัด กองทหาร
โรงเรียน เรือนจำ สถานีตำรวจ ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านแต่ละแห่งเพียงเลขหมายเดียวแต่ถ้า
เจ้าบ้านประสงค์จะกำหนดเลขหมายประจำบ้านขึ้นอีกก็ให้นายทะเบียนกำหนดให้
ตอนที่ ๒
การกำหนดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ
๘
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านดังต่อไปนี้
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย ในเขตเทศบาลทุกแห่งจนครบและทำแผ่นป้ายบอกชื่อ
ไว้หัวถนน ปลายถนน และตรงมุมแยก
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยเดียวกันมีชื่อเดิมหลายชื่อไม่เหมือนกัน
ให้เลือกใช้ชื่อตรอก
หรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียว โดยใช้ชื่อที่ประชาชนนิยม
หรือในกรณีที่มีตรอกหรือซอย ๒ สายมาบรรจบ
กัน ให้เลือกใช้ชื่อตรอก
หรือซอยนั้นแต่ชื่อเดียวโดยถือหลักใช้ชื่อของตรอกหรือซอยที่มีระยะยาวกว่า
หรือชื่อที่ประชาชนนิยม
ในกรณีที่ตรอกหรือซอยดังกล่าวนี้
มีซอยแยกออกไปอีกให้ใช้ชื่อตรอกหรือซอย
นั้น ๆ แต่มีเลขหมายกำกับไว้ เช่น รองเมือง ซอย ๑, รองเมือง
ซอย ๒ ตามลำดับ โดยเริ่มต้น
เรียงเลขลำดับ ซอยที่ ๑
จากจุดสมมติว่าด้วยการให้เลขหมายประจำบ้านของตรอกหรือซอยนั้น
(๒)
ให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านเรียงตามลำดับบ้าน โดยแต่ละถนน ตรอก ซอย
แม่น้ำ หรือลำคลองสายหนึ่ง ๆ ขึ้นลำดับ ๑ ใหม่
จนตลอดสายทุกสาย
(๓)
การเรียงเลขหมายประจำบ้าน ให้เริ่มต้นจากจุดสมมติก่อน เมื่อหันหลังไปทาง
จุดสมมติฝั่งขวาของถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ ลำคลอง
ให้เลขหมายประจำบ้านเป็นเลขคู่เรียงต่อไป
ตามลำดับ เช่น ๒, ๔, ๖, ๘ ฯลฯ
ส่วนฝั่งซ้ายมือให้ติดเลขหมายประจำบ้านเป็นเลขคี่เรียงกันไปตาม
ลำดับ เช่น ๑, ๓, ๕, ๗, ๙ ฯลฯ
นอกเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ในเขตเทศบาล
โดยอนุโลม
(๒)
เรียงลำดับเลขหมายประจำบ้านเป็นรายหมู่บ้าน เมื่อขึ้นหมู่บ้านใหม่ ให้ขึ้น
หมายเลข ๑ เสมอไป
(๓)
เริ่มต้นให้เลขหมายประจำบ้าน ตั้งแต่ในเขตชุมนุมชนที่หนาแน่นในหมู่บ้าน
นั้น ๆ เสียก่อน
แล้วจึงกำหนดเลขหมายประจำบ้านที่อยู่ใกล้ถนนสายใหญ่ ๆ หรือริมน้ำเป็นลำดับ
ที่ ๒ จนสุดสายแล้วแยกเป็นสายอื่น ๆ
ต่อไปตามความเหมาะสมและสะดวกแก่การค้นห้าบ้าน โดย
ให้ถือหลักว่าบ้านใกล้เคียงกันควรจะให้เลขหมายประจำบ้านใกล้กัน
ข้อ
๙ ถ้าชุมนุมชนใดมีบ้านอยู่เป็นหย่อม
ๆ หรือบ้านที่อยู่ระเกะระกะไม่เป็น
ระเบียบ ให้กำหนดจุดสมมติขึ้นก่อน
แล้วกำหนดเส้นทางจากจุดสมมตินั้น และปฏิบัติตาม ข้อ ๘
ข้อ
๑๐
ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดจุดสมมติขึ้นได้ เช่นไม่สามารถกำหนดเขต
ชุมนุมชนขึ้นได้ หรือท้องที่ที่มีบ้านอยู่เป็นหย่อม ๆ
ไม่เป็นระเบียบ ให้กำหนดจุดสมมติขึ้นก่อน แล้ว
กำหนดให้เลขหมายประจำบ้านเริ่มต้นจากจุดสมมตินั้น
ข้อ
๑๑
บริเวณพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกันหลายท้องที่ให้นายทะเบียนแต่ละแห่ง
ที่ท้องที่ติดกันนั้นทำความตกลงกันว่า ถนน ตรอก ซอย แม่น้ำ
ลำคลอง สายใดที่ติดต่อกันระหว่าง
ท้องที่
ให้ติดเลขหมายบ้านฝั่งใดเป็นฝั่งขวาหรือซ้ายเหมือนกันโดยตลอด
ข้อ
๑๒
เมื่อได้กำหนดให้เลขหมายประจำบ้านแล้ว ต่อมามีบ้านปลูกสร้างขึ้นใหม่
ระหว่างบ้านหลังใด ก็ให้ใช้เลขหมายประจำบ้านที่อยู่ใกล้ชิดนั้นแล้วเพิ่มตัวเลขไว้ท้าย
เช่น ๕/๒,
๕/๓, เป็นเลขหมายประจำบ้านที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่
หรือถ้าบ้านใดรื้อถอนไป และมีบ้านปลูกสร้าง
ขึ้นใหม่ ณ ที่เดิมหรือใกล้ชิดกับบ้านที่รื้อถอนไป
ก็ให้ใช้เลขหมายประจำบ้านที่รื้อถอนนั้นถ้าปลูกสร้าง
บ้านขึ้นใหม่ต่อจากบ้านที่มีเลขหมายประจำบ้านสูงสุดให้กำหนดเลขหมายประจำบ้านที่ปลูกสร้างใหม่
เรียงจากเลขหมายสูงสุดนั้นต่อไปตามลำดับ
ข้อ
๑๓
บ้านที่ปลูกสร้างขึ้นโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน เช่น บ้าน
ที่ปลูกสร้างในที่สาธารณะ ปลูกสร้างโดยบุกรุกป่าสงวน
หรือบ้านที่ปลูกสร้างโดยมิได้รับอนุญาตตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้าง เป็นบ้านชั่วคราว
ให้ถือเสมือนบ้านที่จะต้องกำหนดเลขหมาย
ประจำบ้านให้ตามระเบียบนี้
ตอนที่ ๓
จุดสมมติในการให้เลขหมายประจำบ้าน
ข้อ
๑๔ ถนนที่เป็นทางเข้าเขตชุมนุมชน
ให้ถือต้นทางของเขตชุมนุมชน ให้ถือ
ต้นทางของเขตชุมนุมชนเป็นจุดสมมติ
ข้อ
๑๕ ถนนที่ตั้งจากริมฝั่งแม่น้ำ
ริมคลอง หรือชายทะเลให้ถือจากริมฝั่งแม่น้ำ
ริมคลอง หรือชายทะเลนั้นเป็นจุดสมมติ
ข้อ
๑๖ ตรอก หรือซอย
ให้ถือถนนใหญ่ซึ่งตรอกหรือซอยนั้นแยกออกมาเป็น
จุดสมมติ
ข้อ
๑๗ บ้านที่อยู่ริมน้ำที่ไม่มีถนน
ตรอก หรือซอย ให้ถือปากน้ำเป็นจุดสมมติ
ข้อ
๑๘ จุดสมมติอื่น ๆ ที่เหมาะสม เช่น
หมู่บ้านที่มีบ้านระเกะระกะ ให้จัดทำ
เส้นทางสมมติขึ้นเสียก่อน แล้วจึงกำหนดเลขหมายประจำบ้านให้
ตอนที่ ๔
วิธีติดเลขหมายประจำบ้าน
ข้อ
๑๙
บ้านทั่วไปให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ประตูบ้านทางเข้า หรือที่ที่คน
ภายนอกแลเห็นได้ง่าย
ข้อ
๒๐ บ้านที่มีรั้วบ้านโดยรอบ
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ประตูรั้วบ้านทางเข้า
ถ้ารั้วบ้านมีประตูทางเข้าหลายทางให้ติดไว้ที่ประตูรั้วซึ่งใช้เข้าออกโดยปกติ
ข้อ
๒๑ บ้านที่อยู่ริมน้ำ
และมีศาลาท่าน้ำ ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้ที่ศาลาท่าน้ำ
ของบ้านนั้น
ถ้าบ้านใดไม่มีศาลาท่าน้ำให้ติดไว้ที่บ้านซึ่งสามารถมองจากลำน้ำเห็นได้โดยชัดเจน
ข้อ
๒๒
บ้านที่มีรั้วบ้านแต่ไม่มีกรอบประตูรั้วบ้าน ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้
ตรงเสาประตูรั้วบ้านทางเข้าด้านขวามือ
ให้ตัวเลขสูงกว่าพื้นดินประมาณ ๒ เมตร
ข้อ
๒๓
บ้านที่มีรั้วบ้านและกรอบประตูรั้วบ้าน ให้ติดเลขหมายประจำบ้านไว้
ตรงกลางของขอบประตูรั้วบ้านเบื้องบน
ข้อ
๒๔ บ้านที่มีหลายชั้น
และแยกการปกครองต่างหากจากกัน เช่น ห้องเช่า
ให้ติดเลขหมายประจำบ้านทุกห้องเรียงตามลำดับจากห้องข้างล่างขึ้นไปหาชั้นบน
ส่วนที่ ๒
สำนักทะเบียนราษฎรและนายทะเบียน
ตอนที่ ๑
สำนักทะเบียนราษฎร
ข้อ
๒๕
การตั้งสำนักทะเบียนให้ดำเนินการตามระเบียบการจัดทำทะเบียนราษฎร
ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๙๙
ตอนที่ ๒
นายทะเบียน
ข้อ
๒๖
การแต่งตั้งและถอดถอนนายทะเบียนให้ดำเนินการตามระเบียบการจัดทำ
ทะเบียนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๔๙๙
ส่วนที่ ๓
การจัดทำทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
ทะเบียนบ้าน
ข้อ
๒๗
ให้นายทะเบียนอำเภอและนายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำทะเบียนบ้านทุกบ้าน
ที่มีเลขหมายประจำบ้าน ดังนี้
(๑)
บ้านที่ปลูกสร้างโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ ให้ใช้ทะเบียนบ้าน
(ท.ร. ๑๔) ฉบับสีขาว
(๒)
บ้านที่ปลูกสร้างโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบ เช่น บ้านที่ปลูกสร้าง
ในที่สาธารณะ ป่าสงวน หรือปลูกสร้าง
โดยมิได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ
ก่อสร้าง ให้ใช้ทะเบียนบ้าน (ท.ร. ๑๔) ฉบับสีฟ้า
บ้านที่ปลูกสร้างโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบ
เมื่อได้ดำเนินการให้ชอบด้วย
กฎหมายหรือระเบียบแล้ว ให้จัดทำทะเบียนบ้านสีขาวแทน
โดยการคัดรายการเฉพาะบุคคลที่ยังอยู่
ในบ้านนั้น
และให้แยกทะเบียนบ้านฉบับสีฟ้าออกไว้ต่างหากและหมายเหตุด้วยว่า
"ใช้ทะเบียนบ้าน
ฉบับสีขาวแทนเมื่อ..."
ตอนที่ ๒
ทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๒๘ คำว่า "เกิดในบ้าน"
หมายถึงการเกิดในบ้านทั่ว ๆ ไป ตามความหมาย
ของคำว่า "บ้าน" จะเป็นบ้านของผู้ใดก็ได้
ไม่จำกัดว่าต้องเป็นบ้านซึ่งมารดาผู้คลอดเด็กมีชื่ออยู่
ในทะเบียนบ้าน
คำว่า
"เกิดนอกบ้าน" หมายถึง การเกิดนอกชายคาบ้านหรือการเกิดในที่ซึ่งมิได้
เป็นบ้านตามความหมายของคำว่า "บ้าน" เช่น
เกิดในศาลาที่พักคนเดินทาง เกิดในรถหรือเรือ
โดยสาร หรือบนทางสาธารณะ เป็นต้น
คำว่า
"คนต่างท้องที่เกิดนอกบ้าน" หมายถึงคนที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ของสำนัก
ทะเบียนแห่งหนึ่ง
ข้อ
๒๙ เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่า
มีคนเกิดในท้องที่ไม่ว่าจะเป็นการเกิดในบ้าน
หรือเกิดนอกบ้าน ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งและตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒)
กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๓)
เพิ่มรายการคนเกิดลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๔)
มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ และคืนสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้จ้าง
(๕)
จัดทำทะเบียนคน
(๖)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังแพทย์เทศบาล
(๗)
เก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒ เข้าแฟ้มทะเบียนคนเกิด
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๒)
มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๓)
เพิ่มรายการคนเกิดลงในสำเนาทะเบียนบ้านแล้วลงชื่อนายทะเบียนตำบล
ในฐานะผู้รับรองรายการ
(๔)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ พร้อมกับสำเนาทะเบียนบ้านที่มีคนเกิด
ไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับสูติบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ พร้อมกับสำเนา
ทะเบียนบ้านให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เพิ่มรายการคนเกิดลงในทะเบียนบ้านและตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านให้
ถูกต้องตรงกัน แล้วลงชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒)
คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้นายทะเบียนตำบล
(๓)
จัดทำทะเบียนคน
(๔)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังนายแพทย์ใหญ่จังหวัด
(๕)
เก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒ เข้าแฟ้มทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๓๐
ในกรณีคนต่างท้องที่มาเกิดนอกบ้านให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๒)
มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๓)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังแพทย์เทศบาล
(๔)
คัดและรับรองสำเนาสูติบัตร ตอนที่ ๒ แล้วส่งไปยังนายทะเบียนท้องถิ่นหรือ
นายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่มารดามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
(๕)
เก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒ เข้าแฟ้มทะเบียนคนเกิด
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการ ดังนี้
(๑)
กรอกสูติบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๒)
มอบสูติบัตร ตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๓)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับสูติบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ แล้วให้ดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
คัดและรับรองสำเนาสูติบัตร ตอนที่ ๒ แล้วส่งไปยังนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือนายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่มารดามีชื่ออยู่เพื่อเพิ่มรายการคนเกิดในทะเบียนบ้านและจัดทำ
ทะเบียนคน
(๒)
ส่งสูติบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังนายแพทย์ใหญ่จังหวัด
(๓)
เก็บสูติบัตร ตอนที่ ๒ เข้าแฟ้มทะเบียนคนเกิด
ข้อ
๓๑
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนต่างท้องที่มาเกิดในบ้าน ให้ถือปฏิบัติ
เช่นเดียวกับการแจ้งเกิดในบ้านตามข้อ ๒๙
และเมื่อมารดาประสงค์จะนำเด็กไปอยู่ที่อื่น ให้ดำเนิน
การย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ข้อ
๓๒
คนเกิดใหม่ซึ่งถูกทิ้งไว้และมีชีวิตอยู่ เมื่อพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ
ได้รับแจ้งแล้ว ให้ออกใบรับแจ้ง (ท.ร. ๑๘) ให้ไป
แล้วรายงานไปยังนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่คนเกิด
ถูกทิ้งไว้เพื่อออกสูติบัตรให้
โดยให้นายทะเบียนกรอกข้อความในสูติบัตรเท่าที่สามารถจะกรอกได้แล้ว
ดำเนินการตามข้อ ๒๙ หรือ ๓๐ แล้วแต่กรณีโดยอนุโลม
ข้อ
๓๓ การแจ้งการเกิดของบุตรเกินกำหนด
สำหรับบุคคลสัญชาติไทย ให้ผู้แจ้ง
ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่บุตรเกิดแล้วให้ปฏิบัติ
ดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
เปรียบเทียบคดีความผิด
(๒)
ดำเนินการสอบสวนพยานหลักฐานแล้วเสนอเรื่องราวไปยังนายอำเภอพร้อม
ด้วยความเห็น
(๓)
เมื่อนายอำเภอได้พิจารณาสั่งอนุญาตแล้ว ให้นายอำเภอแจ้งให้นายทะเบียน
ท้องถิ่นดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการเกิด
แต่ให้หมายเหตุในสูติบัตรทุกตอนว่า "แจ้ง
เกิดเกินกำหนด"
ข.
นอกเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนตำบลรับคำร้องแล้วส่งเรื่องราวไปยังนายทะเบียนอำเภอและให้
นายทะเบียนอำเภอดำเนินการเช่นเดียวกับนายทะเบียนท้องถิ่นกรณีแจ้งการเกิดเกินกำหนดในเขต
เทศบาล
ข้อ
๓๔
เมื่อมีคนต่างด้าวแจ้งการเกิดของบุตรเกินกำหนดให้นายทะเบียนดำเนินการ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๔๙๙ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐
ข้อ
๓๕
ในกรณีที่ผู้ร้องขอแจ้งการเกิดของบุตรเกินกำหนดไม่มีหลักฐานพอจะ
เชื่อถือได้ให้ยกคำร้องเสียแล้วแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
ตอนที่ ๓
การแจ้งชื่อบุตรเกิดใหม่
ข้อ
๓๖
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งการเกิด
ให้แนะนำผู้แจ้งตั้งชื่อบุตรเกิด
ใหม่พร้อมกับการแจ้งเกิด และพิจารณาด้วยว่า
ชื่อที่ขอตั้งนั้นถูกต้องตามหลักการตั้งชื่อบุคคลหรือไม่
ถ้ายังไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
ข้อ
๓๗ ถ้าบิดาหรือมารดาประสงค์จะเปลี่ยนชื่อบุตรเกิดใหม่ภายในหกเดือนนับแต่
ได้แจ้งชื่อไว้แล้ว ให้นายทะเบียนดำเนินการ ดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านและสูติบัตรตอนที่ ๑ จากผู้แจ้ง
(๒)
พิจารณาชื่อที่ของเปลี่ยนใหม่นั้นถูกต้องตามหลักการตั้งชื่อบุคคลหรือไม่ ถ้ายัง
ไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่ให้ถูกต้อง
(๓)
แก้ชื่อในสูติบัตร ตอนที่ ๑ และทะเบียนคนเกิด
(๔)
แก้ชื่อในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน แล้วลงชื่อ และวัน เดือน ปี กำกับ
(๕)
คืนสูติบัตร ตอนที่ ๑ และสำเนาทะเบียนบ้านแก่ผู้แจ้ง
(๖)
แก้ชื่อในบัตรทะเบียนคน แล้วลงชื่อและวัน เดือน ปี กำกับ
ข.
นอกเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
เรียกสูติบัตร ตอนที่ ๑ จากผู้แจ้ง
(๒)
พิจารณาชื่อที่ขอเปลี่ยนใหม่นั้น ถูกต้องตามหลักการตั้งชื่อบุคคลหรือไม่ ถ้า
ยังไม่ถูกต้องก็แนะนำให้ตั้งชื่อเสียใหม่
(๓)
แก้ชื่อในสูติบัตร ตอนที่ ๑ แล้วคืนให้แก่ผู้แจ้ง
(๔)
รายงานการเปลี่ยนชื่อตัวไปยังนายทะเบียนอำเภอ ตามแบบ ท.ร. ๒๔ พร้อมกับ
ส่งสำเนาทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียนอำเภอเพื่อแก้ทะเบียนคนเกิด
ทะเบียนบ้านและทะเบียนคน
ตอนที่ ๔
ทะเบียนคนตาย
ข้อ
๓๘ เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่า
มีคนตายในท้องที่ซึ่งผู้ตายตายในบ้านที่ตน
มีชื่ออยู่ในทะเบียน ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนจากผู้แจ้งมาตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒)
ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพให้เรียกหนังสือรับรองการตายจากผู้ทำการ
รักษาพยาบาลโดยอาชีพนั้น
(๓)
กรอกมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๔)
จำหน่ายคนตายออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านโดยประทับเครื่อง
หมาย "ตาย" สีแดงไว้หน้าชื่อ
(๕)
มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ พร้อมคืนสำเนาทะเบียนบ้านให้แก่ผู้แจ้ง
(๖)
จำหน่ายทะเบียนคน โดยประทับเครื่องหมาย "ตาย" สีแดง แล้วแยกไว้ต่างหาก
(๗)
ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังแพทย์เทศบาล
(๘)
เก็บมรณบัตร ตอนที่ ๒ และหนังสือรับรองคนตาย (ถ้ามี) เข้าแฟ้มทะเบียน
คนตาย
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพให้เรียกหนังสือรับรองการตายจากผู้ทำ
การรักษาพยาบาลโดยอาชีพนั้น
(๒)
กรอกมรณบัตรทั้ง ๓ ตอน
(๓)
มอบมรณบัตร ตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๔)
ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ และหนังสือรับรองการตายพร้อมกับสำเนา
ทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับมรณบัตร ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ และหนังสือ
รับรองการตาย พร้อมกับสำเนาทะเบียนบ้านให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายคนตายออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านโดยประทับเครื่อง
หมาย "ตาย" สีแดง ไว้หน้าชื่อ
(๒)
คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้นายทะเบียนตำบล
(๓)
จำหน่ายทะเบียนคน โดยประทับเครื่องหมาย "ตาย" สีแดงแล้วแยกเก็บไว้
ต่างหาก
(๔)
ส่งมรณบัตร ตอนที่ ๓ ไปยังนายแพทย์ใหญ่จังหวัด
(๕)
เก็บมรณบัตร ตอนที่ ๒ และหนังสือรับรองการตาย (ถ้ามี) เข้าแฟ้มทะเบียน
คนตาย
ข้อ
๓๙
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนตายในท้องที่ซึ่งผู้ตายมีถิ่นที่อยู่ภายในเขต
สำนักทะเบียนผู้รับแจ้ง
แต่ตายนอกบ้านที่ตนมีชื่อในทะเบียนบ้าน ให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วย
การรับแจ้งการตายแต่ให้แจ้งไปยังเจ้าบ้านที่ผู้ตายมีชื่อในทะเบียนบ้าน
ให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมา
แก้รายการแล้วคืนให้เจ้าบ้านไป
ข้อ
๔๐
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนตายในท้องที่ซึ่งผู้ตายมิได้มีถิ่นที่อยู่ภายใน
เขตสำนักทะเบียนผู้รับแจ้ง
ให้ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการรับแจ้งการตาย แต่ให้แจ้งไปยัง
นายทะเบียนที่ผู้ตายมีถิ่นที่อยู่ พร้อมกับส่งสำเนามรณบัตร
ตอนที่ ๒ ไปให้ เพื่อดำเนินการแก้รายการ
ในทะเบียนบ้าน และจำหน่ายทะเบียนคน
ข้อ
๔๑ ในกรณีคนตายนอกบ้าน
ถ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจได้รับแจ้งการ
ตายแล้วให้ออกใบรับแจ้งให้แก้ผู้แจ้งและรีบแจ้งต่อไปยังนายทะเบียนที่ผู้ตายได้มาตายในเขตท้องที่
นั้น และเมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งแล้ว
ให้ดำเนินการต่อไปว่าด้วยการออกมรณบัตร แก้ทะเบียนบ้าน
สำเนาทะเบียนบ้านและทะเบียนคน ถ้าเป็นคนต่างท้องที่
เมื่อนายทะเบียนได้ออกมรณบัตรให้ไปแล้ว
ให้แจ้งไปยังนายทะเบียนที่ผู้ตายมีถิ่นที่อยู่เพื่อดำเนินการต่อไป
ข้อ
๔๒
เมื่อมีผู้มาแจ้งการตายโดยยังไม่พบศพให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๑)
ในกรณีที่ผู้หายไปได้หายไปในเขตต้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เมื่อ
เจ้าบ้านหรือผู้แทนมาแจ้งกับนายทะเบียนว่ามีคนหายไป
และมีข้อเท็จจริงซึ่งเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
หรือพนักงานสอบสวนเชื่อว่าตายแต่ยังไม่พบศพให้นายทะเบียนออกใบรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไว้เป็น
หลักฐาน โดยไม่ต้องออกมรณบัตร
และให้หมายเหตุไว้ในทะเบียนบ้านในรายการของผู้ที่หายไปว่า
"ได้รับแจ้งจาก....ว่า ตกน้ำตาย ถูกฆ่าตาย ฯลฯ
(แล้วแต่กรณี) แต่ยังไม่พบศพ ตามใบรับแจ้งลง
วันที่...เดือน.....พ.ศ......" ลงชื่อนายทะเบียน
(๒)
ในกรณีที่ผู้หายไปมิได้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในท้องที่ที่นายทะเบียนได้
รับแจ้งเมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งและปรากฏข้อเท็จจริงจากเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือพนักงาน
สอบสวนเช่นเดียวกับ ข้อ (๑)
แล้วให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกใบรับแจ้งให้แก่ผู้แจ้งไปแล้วแจ้ง
ไปยังนายทะเบียนท้องที่ที่ผู้หายไปมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
และให้นายทะเบียนนั้น ๆ หมายเหตุไว้
ในทะเบียนบ้านในรายการของผู้ที่หายไป เช่นเดียวกับ ข้อ (๑)
เมื่อนายทะเบียนได้ดำเนินการตาม
ข้อ (๑) หรือ ข้อ (๒) แล้วแต่กรณี ให้หมายเหตุ
ไว้ในทะเบียนคน
มีข้อความอย่างเดียวกับที่ได้หมายเหตุไว้ในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๔๓
เมื่อมีผู้แจ้งการตายเกินกำหนดเวลา ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือ
นายทะเบียนอำเภอดำเนินคดีแก้ผู้แจ้งแล้วดำเนินการสอบสวน
ถ้าพิจารณาเห็นว่าไม่มีการทุจริต
แอบแฝงอยู่ก็ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออกมรณบัตรให้กับผู้แจ้งไปได้โดยหมายเหตุในมรณบัตร
ทุกตอนว่า "ได้รับแจ้งตายเกินกำหนดเวลา"
แล้วให้นายทะเบียนลงชื่อและวัน เดือน ปี กำกับ แล้ว
แก้รายการในทะเบียนบ้านและจำหน่ายทะเบียนคน
ตอนที่ ๕
ลูกตายในท้อง
ข้อ
๔๔ ลูกตายในท้องที่อยู่ในครรภ์มารดา
ตั้งแต่ ๒๘ สัปดาห์ขึ้นไป ไม่ถือว่า
เป็นคนเกิดคนตาย ให้ออกบัตรลูกตายในท้อง
และไม่ต้องเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน กับไม่ต้องจัดทำ
ทะเบียนคนแต่อย่างใด
ข้อ
๔๕
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งดำเนินการ ดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ถ้ามีผู้ทำคลอดโดยอาชีพ ให้เรียกหนังสือรับรองลูกตายในท้องจากผู้ทำคลอด
โดยอาชีพนั้น
(๒)
กรอกบัตรลูกตายในท้องทั้ง ๒ ตอน
(๓)
มอบบัตรลูกตายในท้อง ตอนที่ ๑ ให้แก่ผู้แจ้ง
(๔)
ส่งบัตรลูกตายในท้อง ตอนที่ ๒ ไปยังแพทย์เทศบาล
(๕)
เก็บหนังสือรับรองลูกตายในท้อง (ถ้ามี) เข้าแฟ้มลูกตายในท้อง
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ถ้ามีผู้ทำคลอดโดยอาชีพ ให้เรียกหนังสือรับรองลูกตายในท้องจากผู้ทำคลอด
โดยอาชีพนั้น
(๒)
กรอกบัตรลูกตายในท้องทั้ง ๒ ตอน
(๓)
มอบบัตรลูกตายในท้อง ตอนที่ ๑ ให้ผู้แจ้ง
(๔)
ส่งบัตรลูกตายในท้อง ตอนที่ ๒ และหนังสือรับรองลูกตายในท้อง (ถ้ามี) ไปยัง
นายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับบัตรลูกตายในท้องตอนที่ ๒ และหนังสือรับรอง
ลูกตายในท้อง (ถ้ามี) ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
ส่งบัตรลูกตายในท้องตอนที่ ๒ ไปยังนายแพทย์ใหญ่จังหวัด
(๒)
เก็บหนังสือรับรองลูกตายในท้อง (ถ้ามี) เข้าแฟ้มลูกตายในท้อง
ข้อ
๔๖ ในกรณีที่พนักงานฝ่ายปกครอง
หรือตำรวจได้รับแจ้งว่ามีลูกตายในท้อง
นอกบ้าน ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจออกใบรับแจ้งให้ แล้วรีบแจ้งไปยังนายทะเบียนที่มี
ลูกตายในท้องเพื่อดำเนินการต่อไป
ตอนที่ ๖
การ
เก็บ ฝัง เผา และการย้ายศพ
ข้อ
๔๗ เมื่อมีผู้มาแจ้งว่ามีคนตาย
ลูกตายในท้อง และการตายนั้นไม่มีเหตุอันควร
สงสัยว่าตายโดยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ
ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งสอบถาม
ผู้แจ้งว่าจะเก็บ ฝัง หรือเผาศพ ณ สถานที่ใด เมื่อใด
แล้วกรอกลงในมรณบัตร
ข้อ
๔๘ เมื่อทำการย้ายศพที่เก็บหรือฝัง
ซึ่งผิดไปจากสถานที่ที่ได้แจ้งไว้เดิม
ถ้าศพอยู่ในท้องที่ใดให้แจ้งขออนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่นั้น
และให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งเรียก
มรณบัตรจากผู้แจ้งแล้วสลักหลังอนุญาต ให้เก็บ ฝัง
จากสถานที่ใดไป ณ สถานที่ใด เมื่อใด ลงชื่อ
นายทะเบียนแล้วมอบให้แก่ผู้แจ้งไป
ถ้ามรณบัตรสูญหายก็ให้นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้
ข้อ
๔๙
ในกรณีทีได้รับอนุญาตให้เก็บศพหรือฝังศพแล้วต่อมาจะทำการเผาศพ
ถ้าศพนั้นอยู่ในท้องที่ใด
ให้ขออนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่นั้น ให้นายทะเบียนผู้รับแจ้งออก
ใบอนุญาตเผาให้โดยระบุว่าอนุญาตให้เผาศพผู้ใด เมื่อใด ณ
สถานที่ใด ลงวัน เดือน ปี ที่อนุญาตแล้ว
มอบให้ผู้แจ้ง
ข้อ
๕๐
ถ้าเป็นกรณีที่มีข้อความอนุญาตจากนายทะเบียนหลายครั้ง ในฉบับเดียวกัน
ให้ถือข้อความอนุญาตครั้งหลังที่สุดเป็นการอนุญาตอันชอบ
ตอนที่ ๗
การย้ายที่อยู่
ข้อ
๕๑
ให้นายทะเบียนรับแจ้งการย้ายที่อยู่ได้เฉพาะบุคคลที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
เท่านั้น
ข้อ
๕๒ เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่า
มีคนย้ายที่อยู่ออกไปจากบ้านใดให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งมาตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน ถ้าผู้ย้ายไม่ทราบเลขหมายประจำบ้าน
ที่จะไปอยู่ ให้กรอกแต่ชื่ออำเภอ และจังหวัดที่ย้ายไปอยู่
(๓)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๔)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนคน
(๕)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ กับบัตรทะเบียนคนและสำเนา
ทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้งโดยให้ผู้แจ้งลงชื่อรับในใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๓
ในกรณีย้ายข้ามตำบลในท้องที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเดียวกัน
ไม่ต้องมอบบัตร
ทะเบียนคน
แต่ให้ย้ายบัตรทะเบียนคนจากตำบลเดิมไปไว้ในตำบลใหม่
(๖)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
(๗)
เมื่อได้รับการตอบรับการย้ายเข้าจากนายทะเบียนปลายทางให้ตรวจสอบกับ
ทะเบียนบ้าน ถ้าเห็นถูกต้องให้ลงชื่อในช่องได้รับตอบแล้ว
ถ้าผู้ย้ายที่อยู่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ให้
แจ้งนายทะเบียนปลายทางผู้รับแจ้งย้ายเข้าทราบเพื่อดำเนินคดีแก่ผู้แจ้ง
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านที่มีผู้ย้ายออก
(๒)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน
(๓)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ให้ผู้แจ้งโดยให้ผู้แจ้งลงชื่อ
รับไว้ในตอนที่ ๓ และถ้าผู้ย้ายประสงค์จะรับทะเบียนคนไปด้วย
ให้ไปขอรับที่สำนักทะเบียนอำเภอ
(๔)
กรอกรายการย้ายในสำเนาทะเบียนบ้าน แล้วลงชื่อนายทะเบียนตำบลในฐานะ
ผู้รับรองรายการ
(๕)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ พร้อมกับสำเนาทะเบียนบ้านไปยังนายทะเบียน
อำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ และสำเนาทะเบียน
บ้าน ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนบ้าน
(๒)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านกับทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
(๓)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนคน
(๔)
ส่งทะเบียนคนไปยังสำนักทะเบียนท้องถิ่น หรือสำนักทะเบียนอำเภอปลายทาง
ถ้าผู้ย้ายที่อยู่มาขอรับทะเบียนคน
ให้แสดงใบแจ้งการย้ายที่อยู่แล้วจึงมอบทะเบียนคนให้ไป โดย
ให้ลงชื่อรับไว้เป็นหลักฐานในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
(๕)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๓
(๖)
เมื่อได้รับการตอบรับการย้ายเข้าจากนายทะเบียนปลายทางให้ตรวจสอบกับ
ทะเบียนบ้าน ถ้าเห็นถูกต้องให้ลงชื่อในช่องได้รับตอบแล้ว
ถ้าผู้ย้ายที่อยู่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ให้
แจ้งนายทะเบียนปลายทางผู้รับแจ้งย้ายเข้าทราบ
เพื่อดำเนินคดีแก่ผู้แจ้ง
ข้อ
๕๓
ในกรณีที่นายทะเบียนผู้รับแจ้งการย้ายออก ได้รับการตอบรับการย้ายเข้า
จากนายทะเบียนปลายทางผิดไปจากที่ผู้ย้ายที่อยู่แจ้งไว้เดิม
ให้นายทะเบียนท้องที่ที่รับแจ้งการย้าย
ออกดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ถ้ายังไม่ได้ส่งบัตรทะเบียนคน ให้แก้รายการทะเบียนคนก่อนแล้วจึงส่งไป
ตามนั้น
(๒)
ถ้าส่งไปแล้วให้แจ้งนายทะเบียนปลายทางเดิม ส่งต่อไปยังนายทะเบียน
ปลายทางแห่งใหม่
(๓)
แก้รายการที่อยู่ในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
ข้อ
๕๔ เมื่อผู้ใดแจ้งการย้ายที่อยู่ออกจากบ้านไปแล้วภายหลังขอแจ้งย้ายเข้าบ้าน
เดิมให้นายทะเบียนเรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่คืน
แล้วเพิ่มรายการลงในทะเบียนบ้านเช่นเดียวกับ
การย้ายเข้า แต่ให้หมายเหตุในช่องย้ายเข้ามาจากอำเภอว่า
"ย้ายเข้ามาอยู่ที่เดิม" ถ้าได้ส่งบัตร
ทะเบียนคนไปแล้วให้แจ้งนายทะเบียนปลายทางส่งบัตรทะเบียนคนคืน
ข้อ
๕๕
เมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งว่ามีคนย้ายเข้ามาอยู่จากบ้านใด ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้าน ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ และ
บัตรทะเบียนคน (ถ้ามี) จากผู้แจ้ง
(๒)
ถ้าเป็นการย้ายเข้าผิดจากที่แจ้งไว้เดิม ให้รับแจ้งย้ายเข้าได้ และให้แก้รายการ
ในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้อง
(๓)
เพิ่มรายการในทะเบียนบ้าน สำเนาทะเบียนบ้าน และบัตรทะเบียนคน (ถ้ามี)
(๔)
คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้ง
(๕)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ (ใช้เป็นใบตอบรับ) ไปยังนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือนายทะเบียนอำเภอที่ผู้นั้นย้ายออก
(๖)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ และบัตรทะเบียนคน (ถ้ามี)
จากผู้แจ้ง
(๒)
ถ้าเป็นการย้ายเข้าผิดจากที่ได้แจ้งไว้เดิม ให้รับแจ้งย้ายเข้าได้ และให้แก้รายการ
ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ถูกต้อง
(๓)
เพิ่มรายการในสำเนาทะเบียนบ้านและลงชื่อนายทะเบียนตำบลในฐานะผู้รับรอง
รายการ
(๔)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ และบัตรทะเบียนคน (ถ้ามี)
พร้อมกันสำเนาทะเบียนบ้าน ไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
บัตรทะเบียนคน (ถ้ามี)
และสำเนาทะเบียนบ้านให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เพิ่มรายการในทะเบียนบ้าน และบัตรทะเบียนคน (ถ้ามี)
(๒)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านกับทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
(๓)
คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้นายทะเบียนตำบล
(๔)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ (ใช้เป็นใบตอบรับ) ไปยังนายทะเบียนที่
ย้ายออก
(๕)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ข้อ
๕๖ ในกรณีผู้ย้ายที่อยู่ไปแจ้งการย้ายเข้าต่อนายทะเบียนแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
โดยมิได้แจ้งการย้ายออกต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียน
ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้ผู้ย้ายยื่นคำร้องขอแจ้งย้ายเข้าและเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๒)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งมาตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๓)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน และหมายเหตุด้วยว่า "แจ้งย้าย
ปลายทาง" แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับไว้
(๔)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ไปยังนายทะเบียนท้องถิ่นหรือ
นายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่ผู้ย้ายมีชื่อในทะเบียนบ้าน
เพื่อตรวจสอบและจำหน่ายทะเบียนบ้าน
แล้วส่งตอนที่ ๒ คืนไปยังนายทะเบียนที่รับแจ้งย้ายเข้า
ในกรณีที่ปรากฏว่า
ผู้ย้ายได้ย้ายที่อยู่ไปอยู่ในท้องที่สำนักทะเบียนอื่นผิดไปจากที่
แจ้งไว้กับนายทะเบียนผู้รับแจ้งย้ายเข้า
ให้นายทะเบียนส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ปลายทาง) ตอนที่ ๒
และตอนที่ ๓
ต่อไปยังสำนักทะเบียนนั้นโดยไม่ต้องส่งย้อนกลับไปยังสำนักทะเบียนผู้รับการแจ้ง
ย้ายเข้า
(๕)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ ติดไว้กับทะเบียนบ้าน
(๖)
เมื่อได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
ให้เจ้าบ้านที่ผู้ย้ายเข้าไปอยู่ใหม่นำสำเนา
ทะเบียนบ้านมาเพิ่มรายการคนย้ายเข้า
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้ผู้ย้ายยื่นคำร้องขอแจ้งย้ายเข้า
(๒)
เรียกหนังสือยินยอมจากเจ้าบ้านที่เข้าไปอยู่
(๓)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอนและหมายเหตุด้วยว่าแจ้งย้ายปลายทาง
(๔)
มอบคำร้อง หนังสือยินยอมของเจ้าบ้านและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ทั้ง ๓ ตอน
ให้แก่ผู้แจ้งนำไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับคำร้อง หนังสือยินยอมของเจ้าบ้าน ใบแจ้งการย้าย
ที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน จากผู้แจ้งให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑)
ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๒)
ดำเนินการเช่นเดียวกับในเขตเทศบาลโดยอนุโลม
ตอนที่ ๘
การย้ายที่อยู่สำหรับทหาร
ข้อ
๕๗ การย้ายที่อยู่สำหรับทหาร
ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑)
นายทหาร หรือทหารประจำการ ปฏิบัติตามกฎหมายเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป
(๒)
บุคคลเข้ารับราชการเป็นทหารกองประจำการผลัดใดก็ตาม ให้เป็นหน้าที่ของ
เจ้าบ้านของหน่วยที่ทหารผู้นั้นเข้ามาสังกัด
แจ้งรายชื่อต่อนายอำเภอท้องที่ที่ทหารมีชื่อในทะเบียน
เพื่อให้นายอำเภอแจ้งไปยังนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบลดำเนินการให้เจ้าบ้านมาแจ้ง
ย้ายออกแล้วให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนตำบลรวบรวมใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ตอนที่ ๑
และตอนที่ ๒ ส่งให้นายอำเภอท้องที่ที่มีการแจ้งย้ายออก
เพื่อส่งต่อไปยังหน่วยทหารที่แจ้งมา ดำเนิน
การแจ้งย้ายเข้า
(๓)
ในกรณีที่ทหารกองประจำการถูกปลดปล่อยออกจากกรม กองประจำการ
เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้านของหน่วยทหารแจ้งการย้ายออกต่อนายทะเบียน
และมอบหลักฐานการแจ้งย้าย
ให้แก่ทหารผู้นั้นไป
ไปแจ้งการย้ายเข้าในท้องที่ที่ไปอยู่ใหม่
ตอนที่ ๙
การย้ายที่อยู่
ไป และมา จากต่างประเทศ
ข้อ
๕๘
ในกรณีที่มีคนย้ายออกไปอยู่ต่างประเทศ ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งมาตรวจสอบกับทะเบียนบ้านให้ตรงกัน
(๒)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน สำหรับช่องไปอยู่ที่ ให้กรอกชื่อประเทศ
ที่ไปอยู่
(๓)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน
(๔)
กรอกรายการย้ายในบัตรทะเบียนคน
(๕)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ให้ผู้แจ้ง
(๖)
เก็บใจแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ และบัตรทะเบียนคน
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านของผู้แจ้ง
(๒)
กรอกใบแจ้งการย้ายที่อยู่ทั้ง ๓ ตอน สำหรับช่องไปอยู่ที่ ให้กรอกชื่อประเทศ
ที่ไปอยู่
(๓)
มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ ให้ผู้แจ้ง
(๔)
กรอกรายการย้ายในสำเนาทะเบียนบ้าน แล้วลงชื่อนายทะเบียนตำบลในฐานะ
ผู้รับรองรายการ
(๕)
ส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน ไปยังนายทะเบียน
อำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ พร้อมสำเนาทะเบียน
บ้านให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑)
กรอกรายการย้ายในทะเบียนบ้าน
(๒)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านกับทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
(๓)
กรอกรายการย้ายในบัตรทะเบียนคน
(๔)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓ และบัตรทะเบียนคน
ข้อ
๕๙ เมื่อมีการแจ้งว่าบุคคลย้ายเข้ามาจากต่างประเทศให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกหลักฐานหนังสือเดินทางและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(ถ้ามี) และสำเนาทะเบียนบ้าน
(๒)
เพิ่มรายการคนย้ายเข้าในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน ช่องย้ายมาจาก
กรอก ชื่อประเทศที่ย้ายมาจาก
(๓)
คืนสำเนาทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้ง
(๔)
ถ้าเป็นบุคคลที่ไม่เคยอยู่ในประเทศไทยมาก่อนให้จัดทำทะเบียนคน
(๕)
ถ้าผู้ย้ายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านอื่นให้แจ้ง หรือส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่
๒
(ถ้ามี) ไปยังสำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้ย้ายเข้ามีชื่อในทะเบียน
หรือได้แจ้งย้ายออกไว้เพื่อตรวจสอบ
และส่งบัตรทะเบียนคนให้
(๖)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ (ถ้ามี)
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกหลักฐานหนังสือเดินทางและใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(ถ้ามี) จากผู้แจ้ง
(๒)
เพิ่มรายการย้ายเข้าในสำเนาทะเบียนบ้านและลงชื่อนายทะเบียนตำบลในฐานะ
ผู้รับรองรายการโดยไม่ต้องลงชื่อนายทะเบียน
(๓)
ส่งหลักฐานการเข้าประเทศ และใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒
(ถ้ามี) พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน ไปยังนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับหลักฐานการเข้าประเทศ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอน
ที่ ๑ และตอนที่ ๒ (ถ้ามี) พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
กรอกรายการย้ายเข้าในทะเบียนบ้าน
(๒)
ตรวจสอบสำเนาทะเบียนบ้านกับทะเบียนบ้านให้ถูกต้องตรงกัน
(๓)
ถ้าผู้ย้ายมีชื่อยู่ในทะเบียนบ้านอื่นให้แจ้งหรือส่งใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ ๒
(ถ้ามี)
ไปยังสำนักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้ย้ายเข้าได้มีชื่อในทะเบียนหรือแจ้งย้ายออกไว้เพื่อตรวจสอบ
และส่งบัตรทะเบียนคนให้
(๔)
ถ้าเป็นบุคคลที่ไม่เคยอยู่ในประเทศไทยมาก่อน ให้จัดทำบัตรทะเบียนคน
(๕)
เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑ (ถ้ามี)
ตอนที่ ๑๐
การไปจากที่อยู่ชั่วคราว
ข้อ
๖๐
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับแจ้งว่าจะมีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราวให้ปฏิบัติ
ดังนี้
(๑)
เรียกสำเนาทะเบียนบ้านจากผู้แจ้งมาตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน
(๒)
กรอกรายการในใบที่อยู่ชั่วคราว
(๓)
มอบใบที่อยู่ชั่วคราวและคืนสำเนาทะเบียนบ้านให้ผู้แจ้ง
(๔)
ลงบัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราว
ข้อ
๖๑
ในกรณีที่ผู้ไปจากที่อยู่ชั่วคราวแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวต่อนายทะเบียน
ผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่ไปอยู่ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
ในเขตเทศบาล
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นดำเนินการดังนี้
(๑)
กรอกรายการในใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทาง (ท.ร. ๒๙)
ทั้ง ๓ ตอน
(๒)
เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๓)
ส่งใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทาง ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ไปยัง
นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่ผู้ไปจากที่อยู่ชั่วคราวมีชื่อในทะเบียนเพื่อ
ตรวจสอบและลงบัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราว
(๔)
เมื่อได้รับแจ้งจากนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอที่ผู้ไปจากที่อยู่
ชั่วคราวมีชื่อในทะเบียน
ก็ให้ลงบัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราวและออกใบที่อยู่ชั่วคราวให้แก่ผู้แจ้ง
ข.
นอกเขตเทศบาล
๑.
ให้นายทะเบียนตำบลดำเนินการดังนี้
(๑)
ให้ผู้แจ้งยื่นคำร้องขอไปจากที่อยู่ชั่วคราว
(๒)
กรอกรายการในใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทางทั้ง ๓ ตอน
(๓)
มอบใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทางทั้ง ๓ ตอน ให้ผู้แจ้งนำไปยื่น
ต่อนายทะเบียนอำเภอ
๒.
เมื่อนายทะเบียนอำเภอได้รับใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทางทั้ง ๓ ตอน
ให้ดำเนินการดังนี้
(๑)
เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ๕ บาท
(๒)
ส่งใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ไปยังนายทะเบียน
ท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอ
ที่ผู้ไปจากที่อยู่ชั่วคราวมีชื่อในทะเบียน เพื่อตรวจสอบและลงบัญชีคน
ไปจากที่อยู่ชั่วคราว
(๓)
เมื่อได้รับแจ้งจากนายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอที่ผู้ไปจากที่อยู่
ชั่วคราวมีชื่อในทะเบียน
ก็ให้สั่งนายทะเบียนตำบลดำเนินการลงบัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราวและออก
ใบที่อยู่ชั่วคราวให้แก่ผู้แจ้ง
ข้อ
๖๒
ในกรณีที่แจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทางถ้าปรากฏว่าผู้ไปจากที่อยู่
ชั่วคราวไม่มีชื่อในทะเบียนที่อ้าง
ให้นายทะเบียนงดการออกใบที่อยู่ชั่วคราวและดำเนินคดีแก่ผู้แจ้ง
ข้อ
๖๓
เมื่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งได้รับใบที่อยู่ชั่วคราวคืนจากผู้ไปจากที่อยู่ชั่วคราว
ให้หมายเหตุไว้ในบัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราว
ข้อ
๖๔ เมื่อนายทะเบียนตรวจพบว่า
ผู้ไปจากที่อยู่ชั่วคราวคนใด ออกจากบ้านที่ตน
มีชื่ออยู่ในทะเบียนครบกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันออกใบที่อยู่ชั่วคราว
ถ้าผู้นั้นยังไม่กลับไปอยู่บ้านที่ตน
มีชื่ออยู่ในทะเบียนให้แจ้งเจ้าบ้านมาดำเนินการแจ้งการย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ส่วนที่ ๔
การควบคุมทะเบียนราษฎร
ตอนที่ ๑
การขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
ข้อ
๖๕ คนสัญชาติไทยที่เกิดก่อนวันที่ ๑
มิถุนายน ๒๔๙๙ และไม่มีชื่อในทะเบียน
บ้าน เพราะตกการสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
ประสงค์จะขอเพิ่มชื่อในทะเบียน
บ้านให้ยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือนายทะเบียนอำเภอแห่งท้องที่ที่ตนมีที่อยู่ในปัจจุบัน
เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องแล้ว
ให้ดำเนินการดังนี้
๑.
ดำเนินการสอบสวนพยานหลักฐาน แล้วเสนอเรื่องราวไปยังนายอำเภอพร้อมด้วย
ความเห็น
๒.
เมื่อนายอำเภอพิจารณาสั่งอนุญาตแล้ว ให้นายอำเภอแจ้งนายทะเบียนเพิ่มชื่อ
ในทะเบียนบ้าน และหมายเหตุด้วยว่า "ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อโดยหนังสืออำเภอที่
....... ลงวันที่
........" ลงชื่อนายทะเบียนกำกับ แล้วจัดทำทะเบียนคน
ข้อ
๖๖
เมื่อมีคนต่างด้าวขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านเพราะตกสำรวจตรวจสอบ
ทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙ ให้นายทะเบียนท้องถิ่น
หรือนายทะเบียนอำเภอ ดำเนินการดังนี้
(๑)
ตรวจสอบใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของผู้ขอทุกรายว่าได้ต่ออายุใบสำคัญ
ประจำตัวคนต่างด้าวถูกต้องหรือไม่
หากยังขาดการต่ออายุก็ให้ชี้แจงให้ดำเนินการเสียให้ถูกต้องก่อน
เมื่อต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้ว
ให้บันทึกการตรวจสอบติดสำนวนไว้เป็นหลักฐาน
(๒)
ให้คัดใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวโดยนายทะเบียนคนต่างด้าวรับรองว่า
ถูกต้องตรงกันด้วย
(๓)
ให้ส่งรูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวกขนาด ๒x๓" ของคนต่างด้าวผู้ร้องขอเพิ่มชื่อ
จำนวน ๒ ภาพ
(๔)
ให้กรมตำรวจยืนยันว่า คนต่างด้าวซึ่งร้องขอเพิ่มชื่อได้เข้าเมืองมาโดยชอบ
หรือไม่
(๕)
เสนอเรื่องราวไปยังกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยความเห็น
(๖)
เมื่อได้รับอนุญาตจากระทรวงมหาดไทยให้ดำเนินการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
และจัดทำทะเบียนคน
ข้อ
๖๗
เมื่อมีผู้อุปการะเลี้ยงดูเด็กอนาถา ขอเพิ่มชื่อเด็กในทะเบียนบ้านให้
นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอดำเนินการสอบสวนเรื่องราวโดยละเอียดแล้วเสนอ
นายอำเภอพิจารณาพร้อมด้วยความเห็น
และเมื่อได้รับอนุญาตให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านแล้ว ให้
นายทะเบียนเพิ่มชื่อและลงรายการตามข้อเท็จจริงเท่าที่ปรากฏและทราบได้ในขณะนั้น
และหมายเหตุ
ว่า "นาย โรงพยาบาล หรือมูลนิธิ ฯลฯ....รับเข้าไว้โดยไม่สามารถส่งหลักฐานการย้ายออกได้"
ลงชื่อ
นายทะเบียนกำกับไว้แล้วจัดทำทะเบียนคน
หากต่อมาภายหลังทราบว่า เด็กนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียน
บ้านที่ใด ให้นายทะเบียนดำเนินการแจ้งย้ายที่อยู่ตามระเบียบ
ข้อ
๖๘
ในกรณีที่ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน ไม่มีหลักฐานพอที่จะเชื่อถือได้
ให้ยกคำร้องเสียแล้วแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
ตอนที่ ๒
การขอแก้รายการ
ข้อ
๖๙ การขอแก้ไขรายการในทะเบียนบ้าน
ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย
ทะเบียนคน หรือสูติบัตร และมรณบัตร ซึ่งได้ลงทะเบียนแล้ว
และบัตรลูกตายในท้องให้ดำเนินการ
ตามกฎกระทรวงฉบับที่.. (พ.ศ.....)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๔๙๙ แก้ไขเพิ่มเติม โดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่
๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๕
ข้อ
๗๐ รายการต่าง ๆ
ที่นายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจาก
นายทะเบียนกรอกลงในแบบพิมพ์เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรไว้แล้วนั้น
หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
ใหม่จะเป็นเพราะเขียนผิด หรือผิดพลาดเพราะเหตุอื่นก็ตาม
จะลบขูดหรือทำด้วยประการใด ๆ
ให้เลือนหายไปไม่ได้ แต่ให้ใช้วิธีขีดฆ่าคำหรือความเดิม
และเขียนคำหรือความที่ถูกต้องแทนพร้อม
ลงชื่อนายทะเบียนอำเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วแต่กรณี
ข้อ
๗๑
ห้ามมิให้นายทะเบียนตำบลแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในสำเนาทะเบียน
บ้าน ที่นายทะเบียนได้ลงชื่อไว้แล้ว
ตอนที่ ๓
การขอตรวจค้น คัด และรับรองสำเนาทะเบียนราษฎร
ข้อ
๗๒ ผู้มีส่วนได้เสียจะขอตรวจดูทะเบียนราษฎรหรือขอคัดสำเนารายการได้ที่
สำนักทะเบียนในระหว่างเวลาทำงานโดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด
ให้เจ้าหน้าที่ ณ สำนัก
ทะเบียนนั้น ๆ อำนวยความสะดวกให้
ข้อ
๗๓
ผู้ใดประสงค์จะให้ผู้อำนวยการทะเบียน นายทะเบียนท้องถิ่น หรือ
นายทะเบียนอำเภอ คัดและรับรองสำเนาทะเบียน
ให้ผู้อำนวยการทะเบียนหรือนายทะเบียนดำเนินการ
ให้โดยเรียกค่าธรรมเนียม ฉบับละ ๕ บาท
ข้อ
๗๔ การคัดสำเนาหลักฐานต่าง ๆ
เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรตาม ข้อ ๗๒ และ
ข้อ ๗๓
ให้คัดจากต้นฉบับที่นายทะเบียนเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่น สำนักทะเบียนอำเภอ
หรือสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร เท่านั้น
ตอนที่ ๔
การควบคุมการทะเบียนราษฎร
ข้อ
๗๕ ให้ผู้อำนวยการทะเบียน
รองผู้อำนวยการทะเบียน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
จากผู้อำนวยการทะเบียน
มีอำนาจหน้าที่ตรวจระเบียบและการปฏิบัติงานในหน้าที่เกี่ยวกับการ
ทะเบียนราษฎร ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร
ข้อ
๗๖
ให้นายทะเบียนจังหวัดตรวจการปฏิบัติงานในหน้าที่ เกี่ยวกับการทะเบียน
ราษฎร ณ สำนักทะเบียนต่าง ๆ ในท้องที่อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
แล้วรายงานให้สำนักงานกลาง
ทะเบียนราษฎรทราบ
ข้อ
๗๗ ให้นายทะเบียนอำเภอตรวจการปฏิบัติงานในหน้าที่เกี่ยวกับการทะเบียน
ราษฎร ณ สำนักทะเบียนตำบลในเขตท้องที่ อย่างน้อยปีละ ๑
ครั้ง แล้วรายงานให้นายทะเบียน
จังหวัดทราบ
ข้อ
๗๘
ให้สำนักทะเบียนทุกแห่งมีสมุดรับ-ส่ง ในการดำเนินการติดต่อโต้ตอบ
เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรไว้ โดยเฉพาะต่างหากจากหนังสือราชการอื่น
เพื่อประโยชน์ในการ
ตรวจสอบทะเบียน เช่น การรับคำร้อง การออกใบรับแจ้ง
การแจ้งการย้ายที่อยู่ การรายงานการ
โต้ตอบระหว่างสำนักทะเบียนเป็นต้น
ส่วนที่ ๕
การประกาศจำนวนราษฎร
ข้อ
๗๙ ให้นายทะเบียนจังหวัด นายทะเบียนอำเภอ
นายทะเบียนตำบล และ
นายทะเบียนท้องถิ่น
จัดทำรายงานการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร ตามแบบที่กรมการปกครอง
กำหนดเป็นประจำทุกเดือน ดังนี้
(๑)
ให้นายทะเบียนตำบลทำรายงานตามแบบ ๔ ส่งนายทะเบียนอำเภอ ๑ ชุด
เก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนตำบล ๑ ชุด
(๒)
ให้นายทะเบียนอำเภอจัดทำรายงาตามแบบ ๓ ส่งนายทะเบียนจังหวัด ๑ ชุด
เก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนอำเภอ ๑ ชุด
(๓)
ให้นายทะเบียนท้องถิ่นจัดทำรายงานปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร ตามแบบ ๒
ส่งนายทะเบียนจังหวัด ๑ ชุด
เก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่น ๑ ชุด
(๔)
ให้นายทะเบียนจังหวัดจัดทำรายงานสถิติการทะเบียนราษฎรตามแบบ ที่
กรมการปกครองกำหนด ส่งผู้อำนวยการทะเบียน ๑ ชุด
เก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียน ๑ ชุด
ข้อ
๘๐ ให้ผู้อำนวยการทะเบียน
รวบรวมรายงานยอดจำนวนราษฎรทั่ว
ราชอาณาจักรที่มีอยู่ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปีที่ล่วงมาและนำประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
ประกาศยอดจำนวนราษฎรตามความในวรรคแรก
ให้แสดงยอดรวมชายหญิง
ยอมรวมชาย ยอดรวมหญิง
ทั่วราชอาณาจักรและเป็นรายจังหวัดทุกจังหวัด
ส่วนที่ ๖
การเก็บทะเบียนและเอกสารอื่น
ๆ
ตอนที่ ๑
ทะเบียนที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติจัดทำ
ข้อ
๘๑ บัตรทะเบียนบ้านซึ่งเก็บรักษาไว้
ณ สำนักงานทะเบียนอำเภอ หรือ
สำนักทะเบียนท้องถิ่นหากบ้านใดปฏิบัติการเกี่ยวกับทะเบียบยังไม่เรียบร้อย
เช่น มีคนย้ายออกไป
และยังไม่ได้ตอบจากสำนักทะเบียนย้ายเข้า แจ้งย้ายเข้าโดยมิได้แจ้งย้ายออก
และยังไม่ได้รับตอบ
ยืนยันให้ติดหลักฐานที่เกี่ยวข้องกันไว้กับบัตรทะเบียนบ้านนั้น
เป็นเครื่องสังเกต
ข้อ
๘๒
บัตรทะเบียนคนสำหรับบุคคลที่ขอแจ้งย้ายออกไปต่างประเทศ บัตร
ทะเบียนคนที่สำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น
ได้รับจากสำนักทะเบียนแห่งอื่น
โดยยังไม่ได้รับหลักฐานการแจ้งย้ายเข้า
ให้ติดหลักฐานที่เกี่ยวข้องกันไว้กับบัตรทะเบียนคนนั้น
เป็นเครื่องหมายไว้บนบัตรทะเบียนคนนั้นเป็นเครื่องสังเกต
ตอนที่ ๒
การเก็บทะเบียนและเอกสารอื่น
ๆ
ข้อ
๘๓ ให้เก็บบัตรทะเบียนบ้านและบัตรทะเบียนคนไว้ในตู้ที่ทางราชการส่งให้
ข้อ
๘๔ วิธีเก็บบัตรทะเบียนบ้าน
ให้ปฏิบัติดังนี้
ก.
สำนักทะเบียนท้องถิ่น
(๑)
เทศบาลหนึ่งหรือแขวงหนึ่ง แยกเก็บเป็นรายตำบล
(๒)
แต่ละตำบลแยกออกเป็นถนน ตรอก ซอย และจัดลำดับถนน ตรอก ซอย
ตามลำดับอักษรตัวหน้าของชื่อถนน ตรอก ซอยนั้น ๆ
ในกรณีชื่อถนน ตรอก ซอยเหมือนกัน แต่
มีเลขหมายกำกับ ให้เรียงตามเลขหมายกำกับ
(๓)
ภายในส่วนของถนน ตรอก ซอย ให้เรียงตามลำดับเลขหมายประจำบ้าน
(๔)
การแยกระหว่างตำบล ถนน ตรอก ซอย ให้ใช้แผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับ
บัตรทะเบียนบ้าน แต่มีหัวสูงกว่าประมาณครึ่งนิ้ว
และเขียนชื่อถนน ตรอก ซอย ไว้ที่ส่วนที่สูงกว่านั้น
(๕)
ให้มีแผ่นวัสดุแข็งขนาดเดียวกับบัตรทะเบียนบ้าน แต่มีหัวสูงกว่าประมาณ
ครึ่งนิ้ว
ยาวหนึ่งในห้าส่วนของความยาวของแผ่นคั่นไว้ระหว่างหมายเลขประจำบ้านทุก ๆ ๑๐๐
เลขหมาย เช่น ๑-๑๐๐, ๑๐๑-๒๐๐, ๒๐๑-๓๐๐ เป็นต้น
ข.
สำนักทะเบียนอำเภอ
(๑)
สำนักทะเบียนอำเภอให้แยกเก็บเป็นรายตำบล หมู่บ้าน
(๒)
ในหมู่บ้านหนึ่ง ๆ ให้เรียงลำดับเลขหมายประจำบ้าน ถ้าในหมู่บ้านเป็น
ถนน ตรอก ซอย ให้แยกภายในหมู่บ้านนั้นออกเป็นถนน ตรอก ซอย
ตามลำดับอักษร ตัวหน้า
ของชื่อถนน ตรอก ซอย นั้น ๆ
(๓)
การแยกระหว่างตำบล หมู่บ้าน ถนน ตรอก ซอย และกลุ่มเลขบ้านให้ถือ
ปฏิบัติอย่างเดียวกับในเขตเทศบาล โดยอนุโลม
ค.
สำนักทะเบียนตำบล
(๑)
ให้เก็บแยกเป็นหมู่บ้านและถ้าหมู่บ้านใดมีการให้เลขหมายประจำบ้านเป็น
ถนน ตรอก ซอย ให้แยกถนน ตรอก ซอย ในหมู่บ้านนั้นด้วย
(๒)
ในหมู่บ้านหนึ่ง ๆ หรือ ถนน ตรอก ซอย สายหนึ่งให้เรียงลำดับเลขหมาย
ประจำบ้าน
(๓)
ถ้าจะใช้แผ่นวัสดุคั่นหมู่บ้าน ถนน ตรอก ซอย และกลุ่มเลขหมายประจำ
บ้านด้วยก็ได้โดยอนุโลมตามที่ปฏิบัติในสำนักทะเบียนท้องถิ่น
หรือสำนักทะเบียนอำเภอ
ข้อ
๘๕
เมื่อนำบัตรทะเบียนบ้านออกไปจากที่ เพื่อการใดก็ตามจะต้องเก็บเข้าที่
เดิมทันทีเมื่อเสร็จธุระ จะนำไปเก็บหรือวางไว้ที่อื่นไม่ได้
ข้อ
๘๖
ให้นายทะเบียนทำบัญชีเลขหมายประจำบ้านและชื่อเจ้าบ้านไว้เป็นหลักฐาน
และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะต้องแก้ไขให้ตรงกัน
ข้อ
๘๗ วิธีเก็บบัตรทะเบียนคน
ให้ปฏิบัติดังนี้
(๑)
แยกเก็บเป็นประเภทผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง
(๒)
ในแต่ละประเภทแยกเป็นตำบล
(๓)
ในตำบลหนึ่งเก็บตามลำดับอักษรพยางค์แรก ชื่อสกุล ชื่อสกุลที่เป็นแซ่ให้
นับตัวอักษรคำถัดไป
ข้อ
๘๘ การเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่
ให้เก็บดังนี้
(๑)
แยกประเภทของแฟ้มดังนี้
แฟ้มตอนที่ ๑ แฟ้มสำหรับเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
แฟ้มตอนที่
๒ แฟ้มสำหรับเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๒
แฟ้มตอนที่
๓ แฟ้มสำหรับเก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๓
แฟ้มสำหรับเก็บใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทาง
ทั้ง ๓ ตอน
(๒)
เก็บเป็นรายตำบล
(๓)
ในตำบลหนึ่งแยกเป็นรายหมู่บ้าน
ข้อ
๘๙ ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ ๑
ตอนที่ ๒ และตอนที่ ๓ ที่ยังดำเนินการ
ไม่แล้วเสร็จให้แยกเก็บไว้ในแฟ้มต่างหาก
ข้อ
๙๐ การเก็บสูติบัตรตอนที่ ๒ ให้เก็บดังนี้
(๑)
เก็บในแฟ้มที่ทางราชการส่งให้
(๒)
ให้ใช้แฟ้มละ ๑ ตำบล บรรจุสูติบัตร ตามลำดับ โดยให้ฉบับหลังสุดอยู่บน
(๓)
ในแฟ้มหนึ่ง ๆ นั้นให้บรรจุสูติบัตรจนเต็มตามขนาดบรรจุของแฟ้ม แม้จะ
สิ้นปีปฏิทินและขึ้นปีใหม่ก็ให้ใช้ติดต่อกันไป
แต่ให้มีแผ่นกระดาษคั่นระหว่างปีเป็นเครื่องหมาย
สังเกตไว้ด้วย
เมื่อใช้หมดแฟ้มหนึ่งแล้ว
ให้ใช้แฟ้มใหม่เป็นแฟ้มที่ ๒,๓ .... ตามลำดับของ
ตำบลเดียวกัน
(๔)
สำเนาสูติบัตร ตอนที่ ๒ ซึ่งได้รับจากสำนักทะเบียนอื่น กรณี "คนต่างท้องที่
เกิดนอกบ้าน" ให้แยกเก็บไว้อีกแฟ้มหนึ่ง แต่เก็บรวมกันทุกตำบลตามลำดับ
ข้อ
๙๑ การเก็บมรณบัตร ตอนที่ ๒
ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการเก็บสูติบัตร
ตอนที่ ๒ โดยอนุโลม
ข้อ
๙๒ เมื่อมีการตั้งสำนักทะเบียนใหม่
หรือเปลี่ยนแปลงเขตอำเภอ ตำบล หมู่
บ้าน ให้นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายทะเบียนอำเภอ
หรือนายทะเบียนตำบลที่เกี่ยวข้อง ส่งมอบ
ทะเบียนบ้าน สำเนาทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย
บัตรทะเบียนคน และบัญชีคน
ไปจากที่อยู่ชั่วคราวโดยทำบัญชีการส่งมอบไว้เป็นหลักฐาน
ส่วนที่ ๗
แบบพิมพ์และการออกแบบพิมพ์
ตอนที่ ๑
แบบพิมพ์ที่ใช้
ข้อ
๙๓ แบบพิมพ์ที่ใช้ในการทะเบียนราษฎร
ให้ใช้แบบพิมพ์ต่าง ๆ ดังนี้
(๑)
ท.ร. ๑๔ เป็น บัตรทะเบียนบ้าน
(๒)
ท.ร. ๑๕ เป็น บัตรทะเบียนคนไทย
(๓)
ท.ร. ๑๖ เป็น บัตรทะเบียนคนต่างด้าว
(๔)
ท.ร. ๑๗ เป็น ใบแจ้งการย้ายที่อยู่
(๕)
ท.ร. ๑๘ เป็น ใบรับแจ้ง
(๖)
ท.ร. ๑๙ เป็น สูติบัตร
(๗)
ท.ร. ๒๐ เป็น มรณบัตร
(๘)
ท.ร. ๒๑ เป็น ใบรับรองเหตุการตาย
(๙)
ท.ร. ๒๔ เป็น รายงานการตั้งชื่อตัวเด็ก
(๑๐)
ท.ร. ๒๕ เป็น บัตรลูกตายในท้อง
(๑๑)
ท.ร. ๒๖ เป็น ใบที่อยู่ชั่วคราว
(๑๒)
ท.ร. ๒๗ เป็น บัญชีคนอยู่ในบ้านชั่วคราว
(๑๓)
ท.ร. ๒๘ เป็น บัญชีคนไปจากที่อยู่ชั่วคราว
(๑๔)
ท.ร. ๒๙ เป็น ใบแจ้งการไปจากที่อยู่ชั่วคราวปลายทาง
(๑๕)
ท.ร. ๓๐ เป็น บัตรแจ้งให้เจ้าบ้านแจ้งการย้าย
ตอนที่ ๒
การกรอกแบบพิมพ์
ข้อ
๙๔ ให้ใช้ปากกาลูกลื่น
หมึกสีดำหรือสีน้ำเงิน หรือพิมพ์ดีดกรอกรายการใน
แบบพิมพ์ที่เรียงซ้อนกันและมีกระดาษคาร์บอนสอด
ถ้าเป็นการกรอกรายการบนแบบพิมพ์แผ่น
เดียวจะให้ปากกาหมึกซึมธรรมดาก็ได้
แต่ต้องเป็นหมึกสีดำหรือสีน้ำเงิน
การหมายเหตุแก้รายการต่าง
ๆ ให้ใช้ปากกาหมึกซึมหรือปากลูกลื่น
ข้อ
๙๕ การกรอกข้อความลงในแบบพิมพ์ตามรายการต่าง
ๆ ที่มีความในหัวข้อ
ชัดเจนอยู่แล้วให้กรอกไปตามนั้น
เว้นแต่ที่มีความหมายเป็นอย่างอื่นได้ ให้กรอกตามที่อธิบายไว้
ในระเบียบนี้
บรรดารายการที่มี
( กำกับไว้ให้ทำเครื่องหมาย ' ลงใน ( ซึ่งตรงกับราย
การที่ถูกต้อง
การลงชื่อนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียนนั้น
ให้วงเล็บชื่อทะเบียน หรือผู้ช่วย
นายทะเบียนด้วยตัวบรรจงไว้ใต้ลายมือชื่อ
๑.
ท.ร. ๑๔ มีขนาด ๑๙ x ๓๐ ซ.ม. พิมพ์ข้อความ ๒ หน้า แผ่นหนึ่งเขียนราย
การบุคคลได้ ๑๖ คน
แผ่นที่
บ้านหนึ่งมีทะเบียนบ้านแผ่นเดียว ให้ลงว่า แผ่นที่ ๑ แต่ถ้ามีจำนวนคนใน
บ้านมาก และให้ทะเบียนบ้านหลายแผ่นก็ให้เขียนเรียงลำดับแผ่นที่
๑ แผ่นที่ ๒ แผ่นที่ ๓ เป็นต้น
รวมแล้วมีจำนวนแผ่นเท่าใด ให้กรอกลงช่องในจำนวนแผ่น
ชื่อสถานที่
ให้ลงชื่อของบ้านนั้น ถ้าหากมี เช่นชื่อร้านค้า ชื่อสถานที่ทำการ
สำนักงาน เป็นต้น
ชื่อหมู่บ้าน
ให้ลงชื่อหมู่บ้าน เช่น บ้านหนองหอย บ้านบางระกำ เป็นต้น
ครอบครัวที่
ถ้าบ้านใดมีหลายครอบครัว ให้ลงเป็นรายครอบครัวไป เมื่อขึ้น
ครอบครัวใหม่ให้ใช้เลขเรียงกันต่อไปเช่น ครอบครัวที่ ๑
ครอบครัวที่ ๒
ชื่อตัว
ชื่อสกุล ให้เขียนให้ชัดเจน ถ้ามีบรรดาศักดิ์ก็ให้เขียนชื่อบรรดาศักดิ์ ถ้ามียศ
ให้เขียนไว้หน้าชื่อตัวด้วย
บุคคลที่
ให้เขียนตั้งแต่บุคคลที่ ๑, ๒, ๓, ... ฯลฯ ไปตามลำดับของคนในบ้านใด
ไปจนหมดทุกคนในบ้าน
ความเกี่ยวพันกับหัวหน้าครอบครัว
ให้ลงฐานะของคนในครอบครัวนั้น ว่ามี
ความเกี่ยวพันอย่างใดกับหัวหน้าครอบครัว เช่น ภรรยา บุตร
คนใช้ เป็นต้น
วัน
เดือน ปีเกิด ให้ใช้เขียนตามแบบสุริยคติ เช่น ๒๐ เม.ย. ๙๙ หรือ ๒๘ ก.พ.
๑๔ เป็นต้น ถ้าในทะเบียนบ้านเดิมลงไว้เป็นจันทรคติ
ก็ให้คัดลอกลงเป็นทางจันทรคติ และถ้า
เทียบเป็นแบบสุริยคติได้ ก็ให้เทียบแล้วลงไว้คู่กัน
สัญชาติ
ให้เขียนสัญชาติของบุคคลนั้นตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
สัญชาติของมารดาบิดา
ให้เขียนสัญชาติของมารดาบิดาตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ
ย้ายเข้า
หมายความถึงได้ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านนี้จากอำเภอใด จังหวัดใด เช่น
อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
และต่อไปให้เขียนบ้านเลขที่และตำบลโดยย่อ เช่น ย้ายมาจากบ้านเลขที่
๑๒ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ให้เขียนคำว่า ๑๒ ต. ในเมือง และย้ายเข้ามา
อยู่เมื่อ ให้เขียนโดยย่อเช่นย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านนี้
เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ให้เขียนว่า ๒๐
มี.ค. ๑๔ แล้วลงชื่อนายทะเบียนในช่องลงชื่อนายทะเบียน
ถ้านายทะเบียนไม่สามารถลงชื่อได้ให้ผู้ช่วย
นายทะเบียนลงชื่อแทน และให้เขียนไว้ใต้ชื่อว่า
"แทน"
ในกรณีเพิ่มเด็กเกิดใหม่ลงในทะเบียนบ้าน
ให้กรอกเลขที่สูติบัตรลงในช่องอำเภอ
และกรอก วัน เดือน ปี
ที่แจ้งลงในช่องมาอยู่เมื่อและให้นายทะเบียนลงนามในช่องลงชื่อนายทะเบียน
ย้ายออก
หมายความถึงได้ย้ายออกไปจากบ้านนี้ไปอยู่ ณ ที่ใด และเมื่อใด ให้เขียน
โดยย่อเช่นเดียวกับการย้ายเข้ามาแล้วลงชื่อนายทะเบียนในช่องลงชื่อนายทะเบียน
ถ้านายทะเบียน
ไม่สามารถลงชื่อได
ให้ผู้ช่วยนายทะเบียนลงชื่อแทนและเขียนไว้ใต้ชื่อว่า "แทน"
ได้รับตอบแล้ว
ให้ลงชื่อนายทะเบียนและ วัน เดือน ปี ที่ได้รับตอบจากสำนัก
ทะเบียนอื่นว่าบุคคลที่ย้ายออกไปนั้นได้ย้ายเข้าแล้ว
การบันทึกแก้ไขรายการในทะเบียนบ้าน
การแก้ไขรายการ
เช่น มีการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล ให้หมายเหตุย่อ ๆ ไว้ด้วย
สีแดง แล้วลงชื่อนายทะเบียนกำกับ โดยไม่ต้องเขียนข้อความว่า
"แก่ตาม" หรือ "แก้ตามหนังสือ"
เช่น การแก้ชื่อสกุลเพราะการสมรส
ก็เขียนไว้ในบรรทัดเดียวกันว่า "อ.ลาดยาว คร.๒
ที่ ๑๕/๑๒๕๐/๒๕๑๕"
หรือการแก้รายการตามหนังสือของจังหวัดที่สั่งให้แก้ ลงย่อว่า
"ที่ นว. ๑๙/๑๘๓๐ ลว. ๑ ธ.ค. ๑๕" หรือการแก้ตามหลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว
ชื่อสกุล ลงย่อ
"ช.........ที่...../......."
การหมายเหตุนั้นให้หมายเหตุไว้ในบรรทัดเดียวกับรายการที่แก้
การหมายเหตุ
นอกบรรทัดให้ใช้เฉพาะในกรณีจำเป็นไม่มีที่จะหมายเหตุเท่านั้น
๒.
ท.ร. ๑๕ บัตรทะเบียนคนไทย เป็นบัตรสีขาว ขนาด ๑๒.๕ x ๒๐ ซ.ม. ใช้
กรอกข้อความทั้ง ๒ หน้า
ลำดับอักษรชื่อสกุล
ให้กรอกอักษรคำแรกของชื่อสกุล เช่น สุ โพ เพียร สำหรับ
ชื่อสกุลที่ขึ้นต้นด้วยแซ่
ให้ใช้คำถัดไปจากคำว่าแซ่เป็นคำแรก
การตัดรหัสบัตร
ให้ใช้กรรไกรตัดรหัสบัตรตอนล่างตรงกับ ปี พ.ศ. ที่ผู้มีบัตร
เกิดตามวิธีการดังนี้
ก.
คนเกิดปี พ.ศ. ๒๔๙๐ และก่อนหน้านั้นให้ตัดเป็นคนเกิดปี ๒๔๙๐ ทั้งหมด
ข.
การเกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา ให้ตัดบัตรตามช่องดังนี้
(๑)
ช่องด้านซ้ายตัดปี พ.ศ. เต็มสิบของแต่ละ พ.ศ. คือ ๒๔๙๐, ๒๕๐๐,
๒๕๑๐ ฯลฯ เศษของสิบ เช่น พ.ศ. ๒๔๙๓, ๒๔๙๔, ๒๕๐๑
ตัดเศษของสิบให้ตัดตรงช่องเศษนั้น ๆ
ทางด้านขวา คือ ๓, ๔, ๑ เป็นต้น
(๒)
สำหรับคนเกิดในปี พ.ศ. เต็มสิบ ไม่มีเศษของสิบ เช่น ๒๔๙๐, ๒๕๐๐, ๒๕๑๐
คือปีที่ลงท้ายด้วยศูนย์ (๐) ให้ตัดบัตรทางขวามือช่องศูนย์
(๐) ด้วย
ที่อยู่ปัจจุบัน
ลงรายการที่อยู่ตามที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านขณะที่ทำบัตรทะเบียนคน
รายการย้ายที่อยู่
ก.
ย้ายออก ลงวันที่ เดือน ปี ที่ย้ายออกจากบ้าน และลงชื่อนายทะเบียนท้องถิ่น
หรือนายทะเบียนอำเภอ
[ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย]
[รก.๒๕๑๖/๗/พ๑/๑๙ มกราคม ๒๕๑๖] |
309176 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ว่าด้วยการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2515 | ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
ระเบียบสำนักงานกลางทะเบียนราษฎร
กรมการปกครอง
ว่าด้วยการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับ
การทะเบียนราษฎร พ.ศ.
๒๕๑๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕
แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๙
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๓๔ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๕
ผู้อำนวยการทะเบียนออกระเบียบว่าด้วยการเปรียบเทียบคดีความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎรไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบ นอกเขตเทศบาล หมายถึง นายทะเบียนอำเภอ ในเขตเทศบาล
หมายถึง นายทะเบียนท้องถิ่น
ข้อ ๒
เมื่อปรากฏว่าผู้ใดกระทำผิดตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบทำการเปรียบเทียบโดยมิชักช้า
ข้อ ๓
ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบบันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหาโดยย่อ
ถ้าผู้ต้องหายินยอมก็ให้ทำการเปรียบเทียบไปได้
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมให้แจ้งให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดีต่อไป
คำให้การของผู้กล่าวหา ผู้ต้องหา และบันทึกการเปรียบเทียบ
ให้บันทึกลงในสมุดบันทึกการเปรียบเทียบคดีความผิดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร
ตามตัวอย่างท้ายระเบียบนี้
ข้อ ๔
ในการเปรียบเทียบ ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดเงินค่าปรับที่ผู้ต้องหาจะต้องพึงชำระ
โดยคำนึงถึงลักษณะความหนักเบา และพฤติการณ์แห่งความผิดตลอดจนฐานะความเป็นอยู่ของผู้ต้องหา
ข้อ ๕
เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับแล้ว ให้ผู้มีอำนาจเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้ผู้ต้องหารับไป
ข้อ ๖
การรับเงิน เก็บรักษาเงิน ส่งและถอนเงินค่าเปรียบเทียบ สำหรับกรณีนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการฝากเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรักษาเงิน และการตรวจเงินเทศบาล
สำหรับกรณีนายทะเบียนอำเภอเป็นผู้ทำการเปรียบเทียบ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบการรับ
จ่าย การเก็บรักษา และการนำส่ง ในหน้าที่ของอำเภอ และกิ่งอำเภอ พ.ศ. ๒๕๑๕
ของกระทรวงการคลัง
ให้ใช้ระเบียบนี้ ตั้งแต่วันที่ ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๖
เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
เที่ยง เฉลิมช่วง
ผู้อำนวยการทะเบียน
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
บันทึกคำให้การของผู้กล่าวหาและผู้ต้องหา (ด้านหน้า)
๒. บันทึกการเปรียบเทียบ (ด้านหลัง)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริญสินีย์/ปรับปรุง
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๘๙/ตอนที่ ๑๙๑/ฉบับพิเศษ หน้า ๖/๑๕ ธันวาคม ๒๕๑๕ |
831564 | พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550 (ฉบับ Update ล่าสุด) | พระราชบัญญัติ
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช
ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่
๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒
ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒[๑]
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑)
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
(๒)
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๓๐
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
ทางพิเศษ หมายความว่า ทางหรือถนนซึ่งจัดสร้างขึ้น
หรือได้รับโอนหรือได้รับมอบไม่ว่าจะจัดสร้างขึ้นในระดับพื้นดิน
เหนือหรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้ำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรเป็นพิเศษ
และให้หมายความรวมถึงสะพาน อุโมงค์ เรือสำหรับขนส่งรถข้ามฟาก
ท่าเรือสำหรับขึ้นลงรถ ทางเท้า ที่จอดรถ เขตทาง ไหล่ทาง เขื่อนกั้นน้ำ
ท่อหรือทางระบายน้ำ กำแพงกันดิน รั้วเขต หลักระยะ สัญญาณจราจร เครื่องหมายจราจร
อาคาร หรือสิ่งอื่นใดที่จัดไว้ในเขตทางเพื่ออำนวยความสะดวก หรือเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับงานทางพิเศษ
รถ หมายความว่า ยานพาหนะทางบกทุกชนิด เว้นแต่รถไฟและรถราง
ผู้ครอบครอง หมายความว่า
ผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
คณะกรรมการ หมายความว่า
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ผู้ว่าการ หมายความว่า
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พนักงาน หมายความว่า
พนักงานของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ลูกจ้าง หมายความว่า
ลูกจ้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า
พนักงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
รัฐมนตรี หมายความว่า
รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงและประกาศนั้น
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
การจัดตั้ง ทุน
และทุนสำรอง
มาตรา ๖ ให้จัดตั้งการทางพิเศษขึ้นเรียกว่า การทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรียกโดยย่อว่า กทพ.
และให้ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า EXPRESSWAY AUTHORITY OF THAILAND เรียกโดยย่อว่า EXAT และให้มีตราเครื่องหมายของ กทพ.
รูปลักษณะของตราเครื่องหมายตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๗
ห้ามมิให้บุคคลใดใช้ชื่อที่มีอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศซึ่งแปลหรืออ่านว่า
ทางพิเศษ หรือ ทางด่วน ประกอบในดวงตรา ป้ายชื่อ จดหมาย
ใบแจ้งความหรือเอกสารอย่างอื่นเกี่ยวกับธุรกิจอันอาจทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นกิจการของ
กทพ. เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
มาตรา ๘ ให้ กทพ. เป็นนิติบุคคล
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑)
สร้างหรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีใด ๆ ตลอดจนบำรุงและรักษาทางพิเศษ
(๒)
ดำเนินงานหรือธุรกิจเกี่ยวกับทางพิเศษ และธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับทางพิเศษ หรือที่เป็นประโยชน์แก่
กทพ.
มาตรา ๙ ให้ กทพ. มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานคร
หรือจังหวัดอื่นตามความเหมาะสม และจะตั้งสำนักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ
ที่อื่นใดก็ได้
แต่การตั้งสำนักงานสาขาภายนอกราชอาณาจักรต้องได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีก่อน
มาตรา ๑๐ ให้ กทพ. มีอำนาจหน้าที่กระทำกิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา
๘ และอำนาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง
(๑)
ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ
(๒)
ก่อตั้งสิทธิหรือกระทำนิติกรรมใด ๆ ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
(๓)
เรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษ หรือค่าบริการอื่น ตลอดจนค่าธรรมเนียมการใช้ทรัพย์สิน
การให้บริการและการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๔)
กำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้และการรักษาทางพิเศษตลอดจนการใช้และการรักษาทรัพย์สิน
การให้บริการ และการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๕)
กู้หรือยืมเงินภายในและภายนอกราชอาณาจักร
(๖)
ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ กทพ.
(๗)
จัดตั้งหรือถือหุ้นในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๘)
ลงทุนหรือเข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๙)
ให้สัมปทานในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ ต่ออายุสัมปทาน โอนสัมปทาน
หรือเพิกถอนสัมปทาน
(๑๐)
ว่าจ้างหรือมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดประกอบกิจการส่วนหนึ่งส่วนใดของ กทพ.
แต่ถ้ากิจการนั้นมีรัฐวิสาหกิจใดมีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ และคณะกรรมการเห็นว่ารัฐวิสาหกิจนั้นสามารถจะดำเนินการให้บังเกิดผลและมีประสิทธิภาพได้
ให้ กทพ. ว่าจ้างหรือมอบให้รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ประกอบกิจการก่อนผู้อื่น
(๑๑)
ทำการค้าและให้บริการต่าง ๆ เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องใช้เกี่ยวกับทางพิเศษ
(๑๒)
ให้เช่าหรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ กทพ. ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ กทพ.
โดยคำนึงถึงประโยชน์สาธารณะควบคู่ไปด้วย
(๑๓)
วางแผน สำรวจ และออกแบบเกี่ยวกับการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
(๑๔)
กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของ
กทพ.
มาตรา ๑๑ ทุนของ กทพ. ประกอบด้วย
(๑)
เงินและทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา ๖๔
(๒)
เงินที่รัฐบาลจัดสรรเพิ่มเติมให้เป็นคราว ๆ เพื่อดำเนินงานหรือขยายกิจการ
(๓)
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
(๔)
เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่รับโอนจากทางราชการ องค์การของรัฐ
หรือที่ได้รับจากรัฐบาลต่างประเทศ หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
เมื่อได้หักหนี้สินออกแล้ว
มาตรา ๑๒ เงินสำรองของ กทพ.
ให้ประกอบด้วยเงินสำรองธรรมดาซึ่งตั้งไว้เผื่อขาด เงินสำรองเพื่อขยายกิจการ
เงินสำรองเพื่อการไถ่ถอนหนี้ และเงินสำรองอื่น ๆ
ตามความประสงค์แต่ละอย่างโดยเฉพาะ
ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
เงินสำรองจะนำออกใช้ได้ก็แต่โดยมติของคณะกรรมการ
มาตรา ๑๓ ทรัพย์สินของ กทพ.
ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
หมวด ๒
คณะกรรมการและผู้ว่าการ
มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย ประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงคมนาคม
ผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินสี่คน เป็นกรรมการ
และผู้ว่าการเป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๑๕ ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
และผู้ว่าการ ต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการบริหาร วิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ การผังเมือง เศรษฐศาสตร์ การคลัง หรือนิติศาสตร์
มาตรา ๑๖ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจแล้วยังต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑)
เป็นพนักงานหรือลูกจ้าง
(๒)
เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๓)
เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับ กทพ. หรือในกิจการที่กระทำให้แก่ กทพ.
หรือในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและมีลักษณะเป็นการแข่งขันกับกิจการของ กทพ.
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม
เว้นแต่เป็นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อการลงทุนโดยสุจริตในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่กระทำการอันมีส่วนได้เสียเช่นว่านั้นก่อนวันที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการหรือกรรมการ
หรือเป็นผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่
กทพ. เป็นผู้ถือหุ้น หรือในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีสัญญาร่วมงานหรือสัญญาสัมปทานกับ
กทพ.
มาตรา ๑๗
ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสามปี
ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระหรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง
ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน
หรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
เมื่อครบกำหนดตามวาระดังกล่าวในวรรคหนึ่ง
หากยังมิได้มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการขึ้นใหม่
ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่าประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๗
ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑)
ตาย
(๒)
ลาออก
(๓)
คณะรัฐมนตรีให้ออก
(๔)
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕)
ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖
มาตรา ๑๙
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่วางนโยบายและควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ
กทพ. กำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษโดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และอำนาจหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึงการออกข้อบังคับในเรื่องดังต่อไปนี้
(๑)
การปฏิบัติการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐
(๒)
การประชุมและการดำเนินกิจการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
(๓)
การบริหารและการควบคุมทางการเงิน
(๔)
การจัดแบ่งส่วนงานและวิธีปฏิบัติงาน
(๕)
การปฏิบัติงานของผู้ว่าการ และการมอบให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้ว่าการ
(๖)
การจ่ายค่าพาหนะ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าล่วงเวลา เบี้ยประชุม
ค่าตอบแทนและการจ่ายเงินอื่น ๆ
(๗)
การบริหารงานบุคคล การบรรจุ แต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือค่าจ้าง
การออกจากตำแหน่ง ถอดถอน วินัย การลงโทษพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจนการกำหนดเงินเดือนและเงินอื่น
(๘)
กองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงาน ลูกจ้างและครอบครัว
โดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
(๙)
การร้องทุกข์และการอุทธรณ์การลงโทษของพนักงานและลูกจ้าง
(๑๐)
เครื่องแบบพนักงานและลูกจ้าง
(๑๑) การรักษาความปลอดภัยในการใช้และรักษาทรัพย์สินของ กทพ.
(๑๒)
การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในทางพิเศษ
(๑๓)
การจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อบังคับใดที่มีข้อความจำกัดอำนาจของผู้ว่าการในการทำนิติกรรมไว้ประการใด
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
มาตรา ๒๐ เพื่อประโยชน์แห่งกิจการของ กทพ.
ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดของ
กทพ. และกำหนดค่าตอบแทนอนุกรรมการตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
และกำหนดค่าตอบแทนที่ปรึกษา โดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
มาตรา ๒๑
ให้คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการ
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๒๒ ผู้ว่าการนอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจแล้ว
ยังต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖ (๓)
มาตรา ๒๓
ผู้ว่าการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละไม่เกินสี่ปี
เมื่อครบกำหนดเวลาตามสัญญาจ้างแล้วและผู้ว่าการมีอายุไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์
ผู้ว่าการสามารถเข้ารับการคัดเลือกได้อีกแต่กระทำได้อีกเพียงคราวเดียว
มาตรา ๒๔ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๓
ผู้ว่าการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑)
ตาย
(๒)
ลาออก
(๓)
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๒
(๔)
ขาดการประชุมคณะกรรมการเกินสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(๕)
สัญญาจ้างสิ้นสุด
(๖)
ถูกเลิกสัญญาจ้าง
มาตรา ๒๕ ผู้ว่าการมีหน้าที่บริหารกิจการของ กทพ.
ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและนโยบายที่คณะกรรมการกำหนด
และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง
ผู้ว่าการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของ
กทพ.
มาตรา ๒๖ ผู้ว่าการมีอำนาจ
(๑)
บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย
พนักงานและลูกจ้าง
ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตำแหน่งตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
แต่ถ้าเป็นพนักงานหรือลูกจ้างตั้งแต่ตำแหน่งที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้อำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน
(๒)
วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ของ กทพ.
และกำหนดเงื่อนไขในการทำงานของพนักงานและลูกจ้างโดยไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๒๗ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก
ให้ผู้ว่าการเป็นผู้แทนของ กทพ. และเพื่อการนี้ผู้ว่าการจะมอบอำนาจให้ตัวแทนหรือบุคคลใดกระทำกิจการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ ทั้งนี้
ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
นิติกรรมที่ผู้ว่าการกระทำโดยฝ่าฝืนข้อบังคับตามมาตรา
๑๙ วรรคสอง ย่อมไม่ผูกพัน กทพ. เว้นแต่คณะกรรมการจะให้สัตยาบัน
มาตรา ๒๘[๒] ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง
ให้รองผู้ว่าการผู้มีอาวุโสสูงสุดตามลำดับเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ให้ผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่งมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
มาตรา ๒๙
ประธานกรรมการและกรรมการย่อมได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๐ ประธานกรรมการ กรรมการ พนักงาน และลูกจ้าง
อาจได้รับโบนัสตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ว่าการ พนักงาน และบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายตามมาตรา
๔๑ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๓
การสร้าง
การบำรุงรักษาและการดำเนินงานทางพิเศษ
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
การบำรุงรักษาทางพิเศษและการป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
ให้ กทพ.
มีอำนาจที่จะใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ในความครอบครองของบุคคลใด ๆ
ซึ่งมิใช่โรงเรือนที่คนอยู่อาศัยหรือใช้ประกอบธุรกิจเป็นการชั่วคราว
โดยกำหนดเงินค่าตอบแทนให้ตามสมควรภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้
(๑)
การใช้สอยหรือเข้าครอบครองนั้นเป็นการจำเป็นสำหรับการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
การบำรุงรักษาทางพิเศษ หรือการป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
(๒)
กทพ. มีหนังสือแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ทราบถึงกำหนดเวลาและกิจกรรมที่จะต้องกระทำ
รวมทั้งเหตุผลความจำเป็นที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้นั้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนการเข้าใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น
และให้ประกาศให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทราบ
โดยอย่างน้อยให้ทำสำเนาหนังสือดังกล่าวปิดไว้ ณ ที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่
และ ณ สำนักงานเขต หรือที่ว่าการอำเภอ
หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอแห่งท้องที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ ทั้งนี้
ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้รับแจ้งเมื่อพ้นระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศสำเนาหนังสือ
เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นอาจยื่นคำร้องแสดงเหตุที่ไม่สมควรทำเช่นนั้นไปยังคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
(๓) หากการใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์มีความจำเป็นที่จะต้องรื้อถอนหรือทำลายสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งมิใช่โรงเรือนที่คนอยู่อาศัย
หรือตัดฟันต้นไม้ ให้ กทพ. มีอำนาจรื้อถอนหรือทำลายสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว
หรือตัดฟันต้นไม้ได้เท่าที่จำเป็น
ในการปฏิบัติตามมาตรานี้ ให้พนักงานและลูกจ้างแสดงบัตรประจำตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ในกรณีที่การปฏิบัติตามมาตรานี้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองหรือผู้ทรงสิทธิอื่นในอสังหาริมทรัพย์
เนื่องจากการกระทำของพนักงานและลูกจ้าง บุคคลนั้นย่อมเรียกค่าเสียหายจาก กทพ. ได้
มาตรา ๓๓ ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เพื่อป้องกันอันตรายหรือแก้ไขความเสียหายที่ร้ายแรงภายในทางพิเศษ
ให้พนักงานหรือผู้ซึ่งปฏิบัติงานร่วมกับพนักงานมีอำนาจเข้าไปในที่ดิน
หรือสถานที่ของบุคคลใดในเวลาใดก็ได้ แต่ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอยู่ ณ
ที่นั้นด้วย ก็ให้พนักงานแจ้งเหตุจำเป็นให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทราบก่อน
และให้นำมาตรา ๓๒ วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๔
เมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างหรือขยายทางพิเศษ
ถ้ามิได้ตกลงในเรื่องการโอนไว้เป็นอย่างอื่น ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
การโอนอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาตามวรรคหนึ่งโดยมิได้มีการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ให้ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียม
การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ต้องระบุวัตถุประสงค์แห่งการได้มาและกำหนดระยะเวลาการเข้าใช้อสังหาริมทรัพย์ไว้ให้ชัดเจน
ถ้ามิได้ใช้เพื่อการนั้นภายในระยะเวลาที่กำหนดดังกล่าวต้องคืนให้เจ้าของเดิมหรือทายาท ทั้งนี้
การคืนอสังหาริมทรัพย์ให้เจ้าของเดิมหรือทายาทและการเรียกคืนค่าทดแทนที่ชดใช้ไป
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๓๕ ในกรณีที่ กทพ. สร้างหรือขยายทางพิเศษผ่านแดนแห่งกรรมสิทธิ์บน
เหนือ หรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้ำของบุคคลใดโดยไม่จำเป็นต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์
ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น
ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน
มาตรา ๓๖ ในกรณีที่ กทพ. ได้จัดทำทางหรือถนนเพื่อเชื่อมระหว่างทางพิเศษกับทางสาธารณะอื่น
ผู้ใดจะสร้างทางหรือถนนหรือสิ่งอื่นใดเพื่อเชื่อมต่อกับทางหรือถนนนั้นหรือลอดหรือข้ามทางหรือถนนนั้น
ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
การอนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ กทพ. กำหนด และเมื่อมีความจำเป็นแห่งกิจการทางพิเศษ กทพ.
จะเพิกถอนเสียก็ได้
ทาง
ถนน หรือสิ่งอื่นใดที่สร้างขึ้นโดยฝ่าฝืนวรรคหนึ่ง ให้ กทพ.
มีหนังสือแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองดำเนินการรื้อถอนทาง ถนน
หรือสิ่งอื่นใดดังกล่าวภายในเวลาที่กำหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าหกสิบวันนับแต่วันที่ได้ส่งหนังสือแจ้ง
ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนด ให้ กทพ.
มีอำนาจดำเนินการเช่นว่านั้นได้เอง โดยให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองซึ่งทาง ถนน
หรือสิ่งอื่นใดนั้นเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย
ในกรณีที่
กทพ. ไม่สามารถส่งหนังสือแจ้งให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองตามวรรคสามได้ ให้ กทพ.
ประกาศให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทราบโดยอย่างน้อยให้ทำเป็นหนังสือปิดไว้
ณ ที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ และ ณ สถานที่ตามมาตรา ๓๒ (๒)
โดยระบุกำหนดเวลาที่ กทพ. จะเข้าดำเนินการตามวรรคสาม ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดสิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศแจ้งความ
เมื่อ
กทพ. ได้ปฏิบัติตามวรรคสี่แล้ว
ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองได้รับหนังสือแจ้งนั้นแล้ว
ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
ให้ กทพ. มีอำนาจปิดกั้นทาง ถนน หรือสิ่งอื่นใดนั้นได้
และเมื่อหมดความจำเป็นเร่งด่วนดังกล่าวแล้ว ให้ กทพ. ดำเนินการตามวรรคสาม วรรคสี่
และวรรคห้า
มาตรา ๓๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๖ ห้ามมิให้ผู้ใดสร้างโรงเรือนหรือสิ่งอื่นใดหรือปลูกต้นไม้หรือพืชผลอย่างใด
ๆ ในทางพิเศษ หรือเพื่อเชื่อมต่อกับทางพิเศษ
เว้นแต่กรณีหน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการอันเป็นสาธารณูปโภคมีความจำเป็นต้องปักเสาพาดสาย
หรือวางท่อในเขตทางพิเศษ หรือเพื่อข้ามหรือลอดทางพิเศษ
ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำความตกลงกับ กทพ. ก่อนและถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ในเหตุลักษณะของงานหรือในเรื่องค่าเช่า
ให้เสนอรัฐมนตรีเป็นผู้วินิจฉัย คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ในกรณีที่การดำเนินกิจการอันเป็นสาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่ง
ได้กระทำโดยเอกชนที่ได้รับสัมปทาน กทพ.
อาจเรียกเก็บค่าตอบแทนในการใช้พื้นที่ดังกล่าวได้
โรงเรือนหรือสิ่งอื่นใดที่สร้างขึ้น
หรือต้นไม้หรือพืชผลที่ปลูกขึ้นโดยฝ่าฝืนวรรคหนึ่ง ให้ กทพ.
มีอำนาจรื้อถอนหรือทำลายตามควรแต่กรณี
ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๓๖ วรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้า และวรรคหก
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๘ ภายในระยะทางห้าสิบเมตรจากเขตทางพิเศษ
ห้ามมิให้ผู้ใดสร้าง ดัดแปลง
ติดหรือตั้งป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่ทางพิเศษ
หรือการจราจรในเขตทางพิเศษตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
การขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ กทพ. กำหนดและให้นำมาตรา ๓๗ วรรคสาม
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๙ ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนด
(๑)
ทางพิเศษสายใดตลอดทั้งสายหรือบางส่วนที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๒)
อัตราค่าผ่านทางพิเศษตาม (๑) ตามที่คณะกรรมการกำหนด
(๓)
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษตาม (๑)
มาตรา ๔๐ บุคคลใดใช้รถในทางพิเศษ
บุคคลนั้นต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามมาตรา ๓๙ (๒) ตามวิธีการที่ กทพ. กำหนด
มาตรา ๔๑ ให้พนักงานซึ่งผู้ว่าการแต่งตั้งหรือบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
มีอำนาจดังต่อไปนี้
(๑)
เรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษตามมาตรา ๓๙ (๒)
(๒)
สั่งให้บุคคลใดที่ผ่านหรือจะผ่านทางพิเศษหยุดและตรวจสอบเพื่อประโยชน์ในการเรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
(๓)
แจ้งให้บุคคลใด ๆ มาชี้แจงหรือแสดงหลักฐานเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงไม่เสียค่าผ่านทางพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔๒
ให้นำกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบกมาใช้บังคับแก่การจราจรในทางพิเศษโดยอนุโลม
และในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อรักษาความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกเป็นพิเศษแก่การจราจรในทางพิเศษ
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการจราจรในทางพิเศษได้
มาตรา ๔๓
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบกเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ในทางพิเศษ
ยกเว้นอำนาจเปรียบเทียบ
หมวด ๔
การร้องทุกข์และการสงเคราะห์
มาตรา ๔๔
ให้พนักงานและลูกจ้างมีสิทธิร้องทุกข์ได้ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๕ ให้ กทพ.
จัดให้มีกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่น เพื่อสวัสดิการของพนักงาน
ลูกจ้าง และครอบครัว ในกรณีพ้นจากตำแหน่ง ประสบอุบัติเหตุ เจ็บป่วย ตาย
หรือกรณีอื่นอันควรแก่การสงเคราะห์
ทั้งนี้ ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
การจัดให้มีกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นตามวรรคหนึ่ง
การกำหนดหลักเกณฑ์การออกเงินสมทบให้กองทุนสงเคราะห์
การกำหนดประเภทของผู้ที่พึงได้รับการสงเคราะห์และหลักเกณฑ์การสงเคราะห์
ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะห์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
หมวด ๕
การเงิน
การบัญชี และการตรวจสอบ
มาตรา ๔๖ ให้ กทพ. จัดทำงบประมาณประจำปี
โดยแยกเป็นงบลงทุน และงบทำการ
สำหรับงบลงทุนให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ
ส่วนงบทำการให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา ๔๗ รายได้ที่ กทพ.
ได้รับจากการดำเนินการในปีหนึ่ง ๆ ให้ตกเป็นของ กทพ.
สำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และเมื่อได้หักรายจ่ายสำหรับการดำเนินงาน
ค่าภาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม รวมตลอดถึงค่าบำรุงรักษา ค่าเสื่อมราคา
เงินสำรองตามมาตรา ๑๒ และเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นตามมาตรา ๔๕
และเงินลงทุนตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว
เหลือเท่าใดให้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐ
ในกรณีที่รายได้ไม่เพียงพอสำหรับกรณีตามวรรคหนึ่ง
นอกจากเงินสำรองตามมาตรา ๑๒ และ กทพ. ไม่สามารถหาเงินที่อื่นได้
รัฐพึงจ่ายเงินให้แก่ กทพ. เท่าจำนวนที่จำเป็นต่อการดำเนินงานของ กทพ.
มาตรา ๔๘ ให้ กทพ. เปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารตามที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๙ ให้ กทพ. วางและรักษาไว้ซึ่งระบบการบัญชีที่เหมาะสมแก่กิจการสาธารณูปโภค
แยกตามประเภทงานส่วนที่สำคัญ มีการลงรายการรับและจ่ายเงิน
สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงกิจการที่เป็นอยู่ตามจริงและตามที่ควรตามประเภทงาน
พร้อมด้วยข้อความอันเป็นที่มาของรายการดังกล่าว และให้มีการตรวจสอบบัญชีภายในเป็นประจำ
มาตรา ๕๐ ให้ กทพ. จัดทำงบดุล
บัญชีทำการและบัญชีกำไรขาดทุนส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
มาตรา ๕๑ ทุกปีให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชี
และทำการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินของ กทพ. ให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับงบการเงินนั้น
มาตรา ๕๒
ผู้สอบบัญชีมีอำนาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของ กทพ.
เพื่อการนี้ ให้มีอำนาจสอบถามประธานกรรมการ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง
และผู้อื่นซึ่งเป็นตัวแทนของ กทพ.
มาตรา ๕๓ ให้ผู้สอบบัญชีทำรายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
และให้ กทพ. โฆษณารายงานประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้ว แสดงงบดุล
บัญชีทำการและบัญชีกำไรขาดทุนที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้วภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้อง
หมวด ๖
การกำกับและควบคุม
มาตรา ๕๔
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่กำกับโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ กทพ. เพื่อการนี้จะสั่งให้
กทพ. ชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น
ทำรายงานหรือยับยั้งการกระทำที่ขัดต่อนโยบายของรัฐบาลหรือมติของคณะรัฐมนตรี
ตลอดจนมีอำนาจที่จะสั่งให้ปฏิบัติการตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติของคณะรัฐมนตรี
และสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดำเนินกิจการของ กทพ. ได้
มาตรา ๕๕ ให้ กทพ. ทำรายงานปีละครั้งเสนอรัฐมนตรี
รายงานนี้ให้กล่าวถึงผลงานในปีที่ล่วงมาแล้ว
และคำชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการ โครงการและแผนงานที่จะทำในภายหลัง
มาตรา ๕๖ ในกรณีที่ กทพ. จะต้องเสนอเรื่องใด ๆ
ไปยังคณะรัฐมนตรี ให้ กทพ. นำเรื่องเสนอรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๕๗ กทพ.
ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อนจึงจะดำเนินกิจการ ดังต่อไปนี้
(๑)
สร้างหรือขยายทางพิเศษ
(๒)
กู้หรือยืมเงินเกินหนึ่งร้อยล้านบาท
(๓)
ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ กทพ.
(๔)
จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาเกินสิบล้านบาท
(๕)
ให้เช่าหรือให้สิทธิใด ๆ ในอสังหาริมทรัพย์ที่มีมูลค่าเกินหนึ่งร้อยล้านบาทหรือที่มีกำหนดเวลาการให้เช่าหรือให้สิทธิใด
ๆ เกินห้าปี เว้นแต่การให้เช่าหรือให้สิทธินั้นเป็นการให้แก่หน่วยงานของรัฐ
(๖)
ให้สัมปทานในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ ต่ออายุสัมปทาน
โอนสัมปทานหรือเพิกถอนสัมปทาน
(๗)
จัดตั้งบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด
(๘)
เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นหรือถือหุ้นในบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด
หมวด ๗
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๕๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่
มาตรา ๕๙ ผู้ใดขัดขวางการกระทำของ กทพ.
พนักงานหรือลูกจ้าง ซึ่งกระทำการตามมาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓ หรือฝ่าฝืนมาตรา ๓๖
มาตรา ๓๗ หรือมาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๐ ผู้ใดกระทำการใด ๆ ให้ทางพิเศษอยู่ในลักษณะอันน่าเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่การจราจร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี
หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๑ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย
ทำให้เสื่อมค่าหรือไร้ประโยชน์ซึ่งทางพิเศษอันอาจเป็นอันตรายแก่รถ
หรือบุคคลซึ่งใช้ทางหรือใช้บริการดังกล่าว ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี
หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๒
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานซึ่งผู้ว่าการแต่งตั้งหรือบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายซึ่งสั่งตามมาตรา
๔๑ (๒) หรือ (๓) หรือผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๓
ผู้ใดหลีกเลี่ยงไม่เสียค่าผ่านทางพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๖๔ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้
และความรับผิด ตลอดจนงบประมาณของ กทพ. ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐
ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ไปเป็นของ กทพ. ตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
มาตรา ๖๕ ให้ผู้ว่าการ รองผู้ว่าการ พนักงาน
และลูกจ้างของ กทพ. ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นผู้ว่าการ
รองผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างของ กทพ. แล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัตินี้
โดยให้ได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง รวมทั้งสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ เท่าที่เคยได้รับอยู่เดิม
และให้นับเวลาการทำงานของบุคคลดังกล่าวใน กทพ. ต่อเนื่องกันด้วย
สำหรับผู้ว่าการให้ถือว่าเป็นวาระการดำรงตำแหน่งวาระแรกตามพระราชบัญญัตินี้
ความในวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับกับผู้ว่าการ ซึ่ง กทพ.
ดำเนินการจ้างตามสัญญาจ้างด้วย
มาตรา ๖๖ ให้ประธานกรรมการและกรรมการ กทพ.
ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการของ กทพ. แล้วแต่กรณี
ตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไปตามวาระที่เหลืออยู่ และให้ถือว่าวาระดังกล่าวเป็นวาระการดำรงตำแหน่งวาระแรกตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖๗
ให้บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง หรือประกาศใด ๆ ของ กทพ. ที่ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะได้มีข้อบังคับ ระเบียบ
คำสั่ง หรือประกาศของ กทพ. ที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๖๘ ให้บรรดาพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนและประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วนที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
คงใช้บังคับได้ตามอายุของพระราชกฤษฎีกานั้น
ในกรณีที่มีการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางพิเศษที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และยังไม่เสร็จสิ้น
ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ต่อไป
มาตรา ๖๙
ให้ผู้ที่ใช้ชื่อที่มีอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศ ซึ่งแปลหรืออ่านว่า ทางพิเศษ หรือ ทางด่วน
ประกอบในดวงตรา ป้ายชื่อ จดหมาย ใบแจ้งความ
หรือเอกสารอย่างอื่นเกี่ยวกับธุรกิจอยู่แล้วอันอาจทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นกิจการของ
กทพ. ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
มาดำเนินการขออนุญาตใช้ชื่อดังกล่าวภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
มาตรา ๗๐
ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่ฝ่าฝืนมาตรา
๓๘ มาดำเนินการขออนุญาตจาก กทพ.
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ ถ้า กทพ.
มีคำสั่งไม่อนุญาต ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายดำเนินการรื้อถอนภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคำสั่งไม่อนุญาตหรือตามระยะเวลาที่
กทพ. กำหนด
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก
สุรยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
โดยที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งเป็นกฎหมายจัดตั้งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน
ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน
ซึ่งทำให้การปฏิบัติงานของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยไม่คล่องตัวเท่าที่ควร
สมควรปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยให้สามารถดำเนินกิจการในอันที่จะให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรได้มากยิ่งขึ้น
ตลอดจนกำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ทางพิเศษ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ. ๒๕๖๒[๓]
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
หมายเหตุ
:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
เนื่องจากปัจจุบันกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจหลายฉบับได้กำหนดให้ผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจเป็นกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจโดยตำแหน่ง
และกำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน
หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ ในกรณีที่ตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจนั้นว่างลง
หรือในกรณีที่ผู้บริหารนั้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยจำกัดอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ทำหน้าที่แทนผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจดังกล่าวมิให้มีอำนาจหน้าที่ในฐานะกรรมการ
ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อองค์ประกอบและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ
เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว สมควรแก้ไขกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจให้ผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน
หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
รวมถึงอำนาจหน้าที่ของผู้บริหารในฐานะกรรมการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ
เพื่อให้คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
นุสรา/ตรวจ
๒๐ เมษายน ๒๕๖๒
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๔ ก/หน้า ๙/๘ มกราคม ๒๕๕๑
[๒] มาตรา
๒๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ. ๒๕๖๒
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๐ ก/หน้า ๒๙/๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ |
831431 | พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทนหรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 | พระราชบัญญัติ
แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่
ของผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน
หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ. ๒๕๖๒
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่รัฐสภา
ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ. ๒๕๖๒
มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตราแห่งพระราชบัญญัติจำนวนเก้าฉบับ
ดังต่อไปนี้ และให้ใช้ความตามที่ปรากฏในบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้แทนตามลำดับ
(๑)
มาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. ๒๕๐๑
(๒)
มาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๒
(๓) มาตรา ๒๔
แห่งพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๑๑
(๔)
มาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๑๗
(๕) มาตรา ๓๑
แห่งพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒
(๖) มาตรา ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๐
(๗) มาตรา ๒๗
แห่งพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓
(๘)
มาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
(๙)
มาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้รับสนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
บัญชีท้ายพระราชบัญญัติ
แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ทำการแทน
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ผู้รักษาการแทน
หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
พ.ศ.
๒๕๖๒
๑.
พระราชบัญญัติการไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. ๒๕๐๑
มาตรา ๓๒
เมื่อผู้ว่าการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งขึ้นเป็นผู้ทำการแทนผู้ว่าการชั่วคราว
และให้นำมาตรา ๒๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ผู้ทำการแทนผู้ว่าการมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
๒.
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๐๓
มาตรา ๓๒ เมื่อผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือเมื่อตำแหน่งผู้ว่าการว่างลงและยังมิได้แต่งตั้งผู้ว่าการ
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนผู้ว่าการ และให้นำมาตรา
๒๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ผู้รักษาการแทนผู้ว่าการมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ว่าการ
๓.
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๑๑
มาตรา ๒๔ เมื่อผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือเมื่อตำแหน่งผู้ว่าการว่างลงในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งผู้ว่าการ
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนผู้ว่าการ หรือรักษาการในตำแหน่งผู้ว่าการ
แล้วแต่กรณี และให้นำมาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ผู้ทำการแทนผู้ว่าการหรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้ว่าการมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
๔.
พระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๑๗
มาตรา ๒๐ เมื่อผู้อำนวยการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือเมื่อตำแหน่งผู้อำนวยการว่างลงและยังมิได้แต่งตั้งผู้อำนวยการ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนผู้อำนวยการ
หรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ แล้วแต่กรณี และให้นำมาตรา ๑๕
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ผู้ทำการแทนผู้อำนวยการหรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้อำนวยการ
๕.
พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา
๓๑
เมื่อผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือเมื่อตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการหรือพนักงานเป็นผู้ทำการแทนผู้ว่าการหรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้ว่าการ
แล้วแต่กรณี และให้นำมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ผู้ทำการแทนผู้ว่าการหรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้ว่าการมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
๖.
พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๒๙
ให้รองผู้ว่าการมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างทุกตำแหน่งรองจากผู้ว่าการ
และมีอำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการของ ททท. ตามที่ผู้ว่าการมอบหมาย
ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองผู้ว่าการเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน หากมีรองผู้ว่าการมากว่าหนึ่งคน
ให้ผู้ว่าการกำหนดผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนตามลำดับไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่ตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง
ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งรองผู้ว่าการผู้หนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนผู้ว่าการ
ในกรณีที่ผู้ว่าการและรองผู้ว่าการไม่อยู่
หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือตำแหน่งผู้ว่าการและรองผู้ว่าการว่างลง ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการหรือพนักงาน ททท.
ผู้หนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนผู้ว่าการ
ในการปฏิบัติหน้าที่ของรองผู้ว่าการตามวรรคสอง
หรือผู้รักษาการแทนผู้ว่าการตามวรรคสาม
ให้รองผู้ว่าการหรือผู้รักษาการแทนผู้ว่าการมีอำนาจและหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ว่าการ
๗.
พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓
มาตรา ๒๗ ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง
ให้รองผู้ว่าการผู้มีอาวุโสสูงสุดตามลำดับเป็นผู้รักษาการแทน
ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้แต่งตั้งกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทน
ให้ผู้รักษาการแทนมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
๘.
พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒๘
ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง
ให้รองผู้ว่าการผู้มีอาวุโสสูงสุดตามลำดับเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ให้ผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่งมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
๙.
พระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๒๖
ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือเมื่อตำแหน่งผู้ว่าการว่างลงและยังมิได้แต่งตั้งผู้ว่าการ
ให้รองผู้ว่าการรักษาการแทนผู้ว่าการ
ถ้าไม่มีรองผู้ว่าการหรือรองผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนผู้ว่าการ
ในการปฏิบัติหน้าที่ของรองผู้ว่าการหรือผู้รักษาการแทนผู้ว่าการตามวรรคหนึ่ง
ให้รองผู้ว่าการหรือผู้รักษาการแทนผู้ว่าการมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ว่าการ
หมายเหตุ
:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปัจจุบันกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจหลายฉบับได้กำหนดให้ผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจเป็นกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจโดยตำแหน่ง
และกำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
ในกรณีที่ตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจนั้นว่างลง
หรือในกรณีที่ผู้บริหารนั้นไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยจำกัดอำนาจหน้าที่ของบุคคลที่ทำหน้าที่แทนผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจดังกล่าวมิให้มีอำนาจหน้าที่ในฐานะกรรมการ
ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อองค์ประกอบและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สมควรแก้ไขกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจให้ผู้ทำการแทน ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้รักษาการแทน หรือผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ
รวมถึงอำนาจหน้าที่ของผู้บริหารในฐานะกรรมการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ
เพื่อให้คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ปุณิกา/ภรัณภรณ์/จัดทำ
๑๘ เมษายน ๒๕๖๒
นุสรา/ตรวจ
๑๙ เมษายน ๒๕๖๒
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๐ ก/หน้า ๒๙/๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ |
569536 | พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550
| พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๐
เป็นปีที่ ๖๒
ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑)
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
(๒)
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๓๐
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
ทางพิเศษ หมายความว่า ทางหรือถนนซึ่งจัดสร้างขึ้น
หรือได้รับโอนหรือได้รับมอบไม่ว่าจะจัดสร้างขึ้นในระดับพื้นดิน
เหนือหรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้ำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรเป็นพิเศษ
และให้หมายความรวมถึงสะพาน อุโมงค์ เรือสำหรับขนส่งรถข้ามฟาก
ท่าเรือสำหรับขึ้นลงรถ ทางเท้า ที่จอดรถ เขตทาง ไหล่ทาง เขื่อนกั้นน้ำ
ท่อหรือทางระบายน้ำ กำแพงกันดิน รั้วเขต หลักระยะ สัญญาณจราจร เครื่องหมายจราจร
อาคาร หรือสิ่งอื่นใดที่จัดไว้ในเขตทางเพื่ออำนวยความสะดวก
หรือเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับงานทางพิเศษ
รถ หมายความว่า ยานพาหนะทางบกทุกชนิด เว้นแต่รถไฟและรถราง
ผู้ครอบครอง หมายความว่า
ผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
คณะกรรมการ หมายความว่า
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ผู้ว่าการ หมายความว่า
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พนักงาน หมายความว่า
พนักงานของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ลูกจ้าง หมายความว่า
ลูกจ้างของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า
พนักงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
รัฐมนตรี หมายความว่า
รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงและประกาศนั้น
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
การจัดตั้ง ทุน และทุนสำรอง
มาตรา ๖ ให้จัดตั้งการทางพิเศษขึ้นเรียกว่า
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรียกโดยย่อว่า กทพ. และให้ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า EXPRESSWAY AUTHORITY OF THAILAND เรียกโดยย่อว่า EXAT และให้มีตราเครื่องหมายของ กทพ.
รูปลักษณะของตราเครื่องหมายตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๗ ห้ามมิให้บุคคลใดใช้ชื่อที่มีอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศซึ่งแปลหรืออ่านว่า
ทางพิเศษ หรือ ทางด่วน ประกอบในดวงตรา ป้ายชื่อ จดหมาย
ใบแจ้งความหรือเอกสารอย่างอื่นเกี่ยวกับธุรกิจอันอาจทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นกิจการของ
กทพ. เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
มาตรา ๘ ให้
กทพ. เป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑)
สร้างหรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีใด ๆ ตลอดจนบำรุงและรักษาทางพิเศษ
(๒)
ดำเนินงานหรือธุรกิจเกี่ยวกับทางพิเศษ และธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับทางพิเศษ หรือที่เป็นประโยชน์แก่
กทพ.
มาตรา ๙ ให้
กทพ. มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดอื่นตามความเหมาะสม
และจะตั้งสำนักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่อื่นใดก็ได้
แต่การตั้งสำนักงานสาขาภายนอกราชอาณาจักรต้องได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีก่อน
มาตรา ๑๐ ให้ กทพ.
มีอำนาจหน้าที่กระทำกิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๘ และอำนาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง
(๑)
ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ
(๒)
ก่อตั้งสิทธิหรือกระทำนิติกรรมใด ๆ ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
(๓)
เรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษ หรือค่าบริการอื่น ตลอดจนค่าธรรมเนียมการใช้ทรัพย์สิน การให้บริการและการอำนวยความสะดวกต่าง
ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๔)
กำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้และการรักษาทางพิเศษตลอดจนการใช้และการรักษาทรัพย์สิน
การให้บริการ และการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๕)
กู้หรือยืมเงินภายในและภายนอกราชอาณาจักร
(๖)
ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ กทพ.
(๗)
จัดตั้งหรือถือหุ้นในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๘)
ลงทุนหรือเข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๙)
ให้สัมปทานในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ ต่ออายุสัมปทาน โอนสัมปทาน หรือเพิกถอนสัมปทาน
(๑๐)
ว่าจ้างหรือมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดประกอบกิจการส่วนหนึ่งส่วนใดของ กทพ. แต่ถ้ากิจการนั้นมีรัฐวิสาหกิจใดมีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ
และคณะกรรมการเห็นว่ารัฐวิสาหกิจนั้นสามารถจะดำเนินการให้บังเกิดผลและมีประสิทธิภาพได้
ให้ กทพ. ว่าจ้างหรือมอบให้รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ประกอบกิจการก่อนผู้อื่น
(๑๑)
ทำการค้าและให้บริการต่าง ๆ เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องใช้เกี่ยวกับทางพิเศษ
(๑๒)
ให้เช่าหรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ กทพ. ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ กทพ. โดยคำนึงถึงประโยชน์สาธารณะควบคู่ไปด้วย
(๑๓)
วางแผน สำรวจ และออกแบบเกี่ยวกับการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
(๑๔)
กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของ
กทพ.
มาตรา ๑๑ ทุนของ กทพ. ประกอบด้วย
(๑)
เงินและทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา ๖๔
(๒)
เงินที่รัฐบาลจัดสรรเพิ่มเติมให้เป็นคราว ๆ เพื่อดำเนินงานหรือขยายกิจการ
(๓)
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
(๔)
เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่รับโอนจากทางราชการ องค์การของรัฐ
หรือที่ได้รับจากรัฐบาลต่างประเทศ หรือจากองค์การระหว่างประเทศ
เมื่อได้หักหนี้สินออกแล้ว
มาตรา ๑๒ เงินสำรองของ กทพ.
ให้ประกอบด้วยเงินสำรองธรรมดาซึ่งตั้งไว้เผื่อขาด เงินสำรองเพื่อขยายกิจการ
เงินสำรองเพื่อการไถ่ถอนหนี้ และเงินสำรองอื่น ๆ ตามความประสงค์แต่ละอย่างโดยเฉพาะ
ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
เงินสำรองจะนำออกใช้ได้ก็แต่โดยมติของคณะกรรมการ
มาตรา ๑๓ ทรัพย์สินของ กทพ.
ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
หมวด ๒
คณะกรรมการและผู้ว่าการ
มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย ประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงคมนาคม
ผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินสี่คน เป็นกรรมการ
และผู้ว่าการเป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๑๕ ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ว่าการ
ต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการบริหาร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ การผังเมือง เศรษฐศาสตร์ การคลัง หรือนิติศาสตร์
มาตรา ๑๖ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจแล้วยังต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑)
เป็นพนักงานหรือลูกจ้าง
(๒)
เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๓)
เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับ กทพ. หรือในกิจการที่กระทำให้แก่ กทพ.
หรือในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและมีลักษณะเป็นการแข่งขันกับกิจการของ กทพ.
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม
เว้นแต่เป็นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อการลงทุนโดยสุจริตในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่กระทำการอันมีส่วนได้เสียเช่นว่านั้นก่อนวันที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการหรือกรรมการ
หรือเป็นผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่
กทพ. เป็นผู้ถือหุ้น หรือในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่มีสัญญาร่วมงานหรือสัญญาสัมปทานกับ
กทพ.
มาตรา ๑๗ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสามปี
ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระหรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง
ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน
หรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
เมื่อครบกำหนดตามวาระดังกล่าวในวรรคหนึ่ง
หากยังมิได้มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการขึ้นใหม่
ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่าประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๗
ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑)
ตาย
(๒)
ลาออก
(๓)
คณะรัฐมนตรีให้ออก
(๔)
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕)
ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่วางนโยบายและควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ
กทพ. กำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษโดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี
และอำนาจหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึงการออกข้อบังคับในเรื่องดังต่อไปนี้
(๑)
การปฏิบัติการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐
(๒)
การประชุมและการดำเนินกิจการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
(๓)
การบริหารและการควบคุมทางการเงิน
(๔)
การจัดแบ่งส่วนงานและวิธีปฏิบัติงาน
(๕)
การปฏิบัติงานของผู้ว่าการ และการมอบให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้ว่าการ
(๖)
การจ่ายค่าพาหนะ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าล่วงเวลา เบี้ยประชุม
ค่าตอบแทนและการจ่ายเงินอื่น ๆ
(๗)
การบริหารงานบุคคล การบรรจุ แต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือค่าจ้าง การออกจากตำแหน่ง
ถอดถอน วินัย การลงโทษพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจนการกำหนดเงินเดือนและเงินอื่น
(๘)
กองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงาน ลูกจ้างและครอบครัว
โดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
(๙)
การร้องทุกข์และการอุทธรณ์การลงโทษของพนักงานและลูกจ้าง
(๑๐)
เครื่องแบบพนักงานและลูกจ้าง
(๑๑) การรักษาความปลอดภัยในการใช้และรักษาทรัพย์สินของ กทพ.
(๑๒)
การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในทางพิเศษ
(๑๓)
การจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อบังคับใดที่มีข้อความจำกัดอำนาจของผู้ว่าการในการทำนิติกรรมไว้ประการใด
เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
มาตรา ๒๐ เพื่อประโยชน์แห่งกิจการของ กทพ.
ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดของ
กทพ. และกำหนดค่าตอบแทนอนุกรรมการตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
และกำหนดค่าตอบแทนที่ปรึกษา โดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการ
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๒๒ ผู้ว่าการนอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจแล้ว
ยังต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖ (๓)
มาตรา ๒๓
ผู้ว่าการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละไม่เกินสี่ปี
เมื่อครบกำหนดเวลาตามสัญญาจ้างแล้วและผู้ว่าการมีอายุไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์
ผู้ว่าการสามารถเข้ารับการคัดเลือกได้อีกแต่กระทำได้อีกเพียงคราวเดียว
มาตรา ๒๔ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๓
ผู้ว่าการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑)
ตาย
(๒)
ลาออก
(๓)
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๒
(๔)
ขาดการประชุมคณะกรรมการเกินสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(๕)
สัญญาจ้างสิ้นสุด
(๖)
ถูกเลิกสัญญาจ้าง
มาตรา ๒๕ ผู้ว่าการมีหน้าที่บริหารกิจการของ กทพ.
ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและนโยบายที่คณะกรรมการกำหนด
และมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง
ผู้ว่าการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของ
กทพ.
มาตรา ๒๖ ผู้ว่าการมีอำนาจ
(๑)
บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย
พนักงานและลูกจ้าง
ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตำแหน่งตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด แต่ถ้าเป็นพนักงานหรือลูกจ้างตั้งแต่ตำแหน่งที่ปรึกษา
ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้อำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน
(๒)
วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ของ กทพ.
และกำหนดเงื่อนไขในการทำงานของพนักงานและลูกจ้างโดยไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๒๗ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก
ให้ผู้ว่าการเป็นผู้แทนของ กทพ. และเพื่อการนี้ผู้ว่าการจะมอบอำนาจให้ตัวแทนหรือบุคคลใดกระทำกิจการเฉพาะอย่างแทนก็ได้
ทั้งนี้
ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
นิติกรรมที่ผู้ว่าการกระทำโดยฝ่าฝืนข้อบังคับตามมาตรา
๑๙ วรรคสอง ย่อมไม่ผูกพัน กทพ. เว้นแต่คณะกรรมการจะให้สัตยาบัน
มาตรา ๒๘ ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือตำแหน่งผู้ว่าการว่างลง ให้รองผู้ว่าการผู้มีอาวุโสสูงสุดตามลำดับเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง
ให้ผู้ทำการแทนหรือรักษาการในตำแหน่งมีอำนาจหน้าที่อย่างเดียวกับผู้ว่าการ
เว้นแต่อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าการในฐานะกรรมการ
มาตรา ๒๙ ประธานกรรมการและกรรมการย่อมได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๐ ประธานกรรมการ กรรมการ พนักงาน และลูกจ้าง
อาจได้รับโบนัสตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ว่าการ พนักงาน และบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายตามมาตรา
๔๑ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๓
การสร้าง
การบำรุงรักษาและการดำเนินงานทางพิเศษ
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
การบำรุงรักษาทางพิเศษและการป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
ให้ กทพ.
มีอำนาจที่จะใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ในความครอบครองของบุคคลใด ๆ
ซึ่งมิใช่โรงเรือนที่คนอยู่อาศัยหรือใช้ประกอบธุรกิจเป็นการชั่วคราว
โดยกำหนดเงินค่าตอบแทนให้ตามสมควรภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้
(๑)
การใช้สอยหรือเข้าครอบครองนั้นเป็นการจำเป็นสำหรับการสร้างหรือขยายทางพิเศษ การบำรุงรักษาทางพิเศษ
หรือการป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
(๒)
กทพ. มีหนังสือแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ทราบถึงกำหนดเวลาและกิจกรรมที่จะต้องกระทำ
รวมทั้งเหตุผลความจำเป็นที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้นั้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนการเข้าใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น
และให้ประกาศให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทราบ
โดยอย่างน้อยให้ทำสำเนาหนังสือดังกล่าวปิดไว้ ณ ที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่
และ ณ สำนักงานเขต หรือที่ว่าการอำเภอ
หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอแห่งท้องที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ ทั้งนี้
ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้รับแจ้งเมื่อพ้นระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศสำเนาหนังสือ
เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นอาจยื่นคำร้องแสดงเหตุที่ไม่สมควรทำเช่นนั้นไปยังคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
(๓)
หากการใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์มีความจำเป็นที่จะต้องรื้อถอนหรือทำลายสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งมิใช่โรงเรือนที่คนอยู่อาศัย
หรือตัดฟันต้นไม้ ให้ กทพ. มีอำนาจรื้อถอนหรือทำลายสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว
หรือตัดฟันต้นไม้ได้เท่าที่จำเป็น
ในการปฏิบัติตามมาตรานี้
ให้พนักงานและลูกจ้างแสดงบัตรประจำตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ในกรณีที่การปฏิบัติตามมาตรานี้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองหรือผู้ทรงสิทธิอื่นในอสังหาริมทรัพย์
เนื่องจากการกระทำของพนักงานและลูกจ้าง บุคคลนั้นย่อมเรียกค่าเสียหายจาก กทพ. ได้
มาตรา ๓๓ ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน
เพื่อป้องกันอันตรายหรือแก้ไขความเสียหายที่ร้ายแรงภายในทางพิเศษ
ให้พนักงานหรือผู้ซึ่งปฏิบัติงานร่วมกับพนักงานมีอำนาจเข้าไปในที่ดิน
หรือสถานที่ของบุคคลใดในเวลาใดก็ได้ แต่ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอยู่ ณ
ที่นั้นด้วย ก็ให้พนักงานแจ้งเหตุจำเป็นให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทราบก่อน
และให้นำมาตรา ๓๒ วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๔ เมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างหรือขยายทางพิเศษ
ถ้ามิได้ตกลงในเรื่องการโอนไว้เป็นอย่างอื่น ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
การโอนอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาตามวรรคหนึ่งโดยมิได้มีการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ให้ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียม
การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ต้องระบุวัตถุประสงค์แห่งการได้มาและกำหนดระยะเวลาการเข้าใช้อสังหาริมทรัพย์ไว้ให้ชัดเจน
ถ้ามิได้ใช้เพื่อการนั้นภายในระยะเวลาที่กำหนดดังกล่าวต้องคืนให้เจ้าของเดิมหรือทายาท
ทั้งนี้
การคืนอสังหาริมทรัพย์ให้เจ้าของเดิมหรือทายาทและการเรียกคืนค่าทดแทนที่ชดใช้ไป
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๓๕ ในกรณีที่ กทพ. สร้างหรือขยายทางพิเศษผ่านแดนแห่งกรรมสิทธิ์บน
เหนือ หรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้ำของบุคคลใดโดยไม่จำเป็นต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์
ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน
มาตรา ๓๖ ในกรณีที่ กทพ.
ได้จัดทำทางหรือถนนเพื่อเชื่อมระหว่างทางพิเศษกับทางสาธารณะอื่น
ผู้ใดจะสร้างทางหรือถนนหรือสิ่งอื่นใดเพื่อเชื่อมต่อกับทางหรือถนนนั้นหรือลอดหรือข้ามทางหรือถนนนั้น
ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
การอนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ กทพ. กำหนด และเมื่อมีความจำเป็นแห่งกิจการทางพิเศษ กทพ.
จะเพิกถอนเสียก็ได้
ทาง
ถนน หรือสิ่งอื่นใดที่สร้างขึ้นโดยฝ่าฝืนวรรคหนึ่ง ให้ กทพ.
มีหนังสือแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองดำเนินการรื้อถอนทาง ถนน
หรือสิ่งอื่นใดดังกล่าวภายในเวลาที่กำหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าหกสิบวันนับแต่วันที่ได้ส่งหนังสือแจ้ง
ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนด ให้ กทพ.
มีอำนาจดำเนินการเช่นว่านั้นได้เอง โดยให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองซึ่งทาง ถนน
หรือสิ่งอื่นใดนั้นเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย
ในกรณีที่
กทพ. ไม่สามารถส่งหนังสือแจ้งให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองตามวรรคสามได้ ให้ กทพ.
ประกาศให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทราบโดยอย่างน้อยให้ทำเป็นหนังสือปิดไว้
ณ ที่ที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ และ ณ สถานที่ตามมาตรา ๓๒ (๒)
โดยระบุกำหนดเวลาที่ กทพ. จะเข้าดำเนินการตามวรรคสาม
ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดสิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศแจ้งความ
เมื่อ
กทพ. ได้ปฏิบัติตามวรรคสี่แล้ว
ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองได้รับหนังสือแจ้งนั้นแล้ว
ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทางพิเศษ
ให้ กทพ. มีอำนาจปิดกั้นทาง ถนน หรือสิ่งอื่นใดนั้นได้
และเมื่อหมดความจำเป็นเร่งด่วนดังกล่าวแล้ว ให้ กทพ. ดำเนินการตามวรรคสาม วรรคสี่
และวรรคห้า
มาตรา ๓๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๖
ห้ามมิให้ผู้ใดสร้างโรงเรือนหรือสิ่งอื่นใดหรือปลูกต้นไม้หรือพืชผลอย่างใด ๆ
ในทางพิเศษ หรือเพื่อเชื่อมต่อกับทางพิเศษ
เว้นแต่กรณีหน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินกิจการอันเป็นสาธารณูปโภคมีความจำเป็นต้องปักเสาพาดสาย
หรือวางท่อในเขตทางพิเศษ หรือเพื่อข้ามหรือลอดทางพิเศษ
ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำความตกลงกับ กทพ.
ก่อนและถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ในเหตุลักษณะของงานหรือในเรื่องค่าเช่า
ให้เสนอรัฐมนตรีเป็นผู้วินิจฉัย คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ในกรณีที่การดำเนินกิจการอันเป็นสาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่ง
ได้กระทำโดยเอกชนที่ได้รับสัมปทาน กทพ.
อาจเรียกเก็บค่าตอบแทนในการใช้พื้นที่ดังกล่าวได้
โรงเรือนหรือสิ่งอื่นใดที่สร้างขึ้น
หรือต้นไม้หรือพืชผลที่ปลูกขึ้นโดยฝ่าฝืนวรรคหนึ่ง ให้ กทพ.
มีอำนาจรื้อถอนหรือทำลายตามควรแต่กรณี ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๓๖ วรรคสาม วรรคสี่
วรรคห้า และวรรคหก มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๘ ภายในระยะทางห้าสิบเมตรจากเขตทางพิเศษ
ห้ามมิให้ผู้ใดสร้าง ดัดแปลง ติดหรือตั้งป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่ทางพิเศษ
หรือการจราจรในเขตทางพิเศษตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก กทพ.
การขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ กทพ. กำหนดและให้นำมาตรา ๓๗ วรรคสาม
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๓๙ ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนด
(๑)
ทางพิเศษสายใดตลอดทั้งสายหรือบางส่วนที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๒)
อัตราค่าผ่านทางพิเศษตาม (๑) ตามที่คณะกรรมการกำหนด
(๓)
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษตาม (๑)
มาตรา ๔๐ บุคคลใดใช้รถในทางพิเศษ
บุคคลนั้นต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามมาตรา ๓๙ (๒) ตามวิธีการที่ กทพ. กำหนด
มาตรา ๔๑ ให้พนักงานซึ่งผู้ว่าการแต่งตั้งหรือบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
มีอำนาจดังต่อไปนี้
(๑)
เรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษตามมาตรา ๓๙ (๒)
(๒)
สั่งให้บุคคลใดที่ผ่านหรือจะผ่านทางพิเศษหยุดและตรวจสอบเพื่อประโยชน์ในการเรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
(๓)
แจ้งให้บุคคลใด ๆ
มาชี้แจงหรือแสดงหลักฐานเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงไม่เสียค่าผ่านทางพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔๒ ให้นำกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบกมาใช้บังคับแก่การจราจรในทางพิเศษโดยอนุโลม
และในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อรักษาความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกเป็นพิเศษแก่การจราจรในทางพิเศษ
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการจราจรในทางพิเศษได้
มาตรา ๔๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบกเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ในทางพิเศษ
ยกเว้นอำนาจเปรียบเทียบ
หมวด ๔
การร้องทุกข์และการสงเคราะห์
มาตรา ๔๔ ให้พนักงานและลูกจ้างมีสิทธิร้องทุกข์ได้ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๕ ให้ กทพ.
จัดให้มีกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่น เพื่อสวัสดิการของพนักงาน ลูกจ้าง
และครอบครัว ในกรณีพ้นจากตำแหน่ง ประสบอุบัติเหตุ เจ็บป่วย ตาย หรือกรณีอื่นอันควรแก่การสงเคราะห์
ทั้งนี้
ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
การจัดให้มีกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นตามวรรคหนึ่ง
การกำหนดหลักเกณฑ์การออกเงินสมทบให้กองทุนสงเคราะห์
การกำหนดประเภทของผู้ที่พึงได้รับการสงเคราะห์และหลักเกณฑ์การสงเคราะห์
ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะห์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกำหนด
หมวด ๕
การเงิน การบัญชี
และการตรวจสอบ
มาตรา ๔๖ ให้ กทพ. จัดทำงบประมาณประจำปี
โดยแยกเป็นงบลงทุน และงบทำการ สำหรับงบลงทุนให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ
ส่วนงบทำการให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา ๔๗ รายได้ที่ กทพ.
ได้รับจากการดำเนินการในปีหนึ่ง ๆ ให้ตกเป็นของ กทพ. สำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
และเมื่อได้หักรายจ่ายสำหรับการดำเนินงาน ค่าภาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม
รวมตลอดถึงค่าบำรุงรักษา ค่าเสื่อมราคา เงินสำรองตามมาตรา ๑๒
และเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นตามมาตรา ๔๕
และเงินลงทุนตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว
เหลือเท่าใดให้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐ
ในกรณีที่รายได้ไม่เพียงพอสำหรับกรณีตามวรรคหนึ่ง
นอกจากเงินสำรองตามมาตรา ๑๒ และ กทพ. ไม่สามารถหาเงินที่อื่นได้
รัฐพึงจ่ายเงินให้แก่ กทพ. เท่าจำนวนที่จำเป็นต่อการดำเนินงานของ กทพ.
มาตรา ๔๘ ให้ กทพ. เปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารตามที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๙ ให้ กทพ.
วางและรักษาไว้ซึ่งระบบการบัญชีที่เหมาะสมแก่กิจการสาธารณูปโภค
แยกตามประเภทงานส่วนที่สำคัญ มีการลงรายการรับและจ่ายเงิน
สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงกิจการที่เป็นอยู่ตามจริงและตามที่ควรตามประเภทงาน พร้อมด้วยข้อความอันเป็นที่มาของรายการดังกล่าว
และให้มีการตรวจสอบบัญชีภายในเป็นประจำ
มาตรา ๕๐ ให้ กทพ. จัดทำงบดุล
บัญชีทำการและบัญชีกำไรขาดทุนส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
มาตรา ๕๑ ทุกปีให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชี
และทำการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินของ กทพ.
ให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับงบการเงินนั้น
มาตรา ๕๒
ผู้สอบบัญชีมีอำนาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของ กทพ. เพื่อการนี้
ให้มีอำนาจสอบถามประธานกรรมการ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง และผู้อื่นซึ่งเป็นตัวแทนของ
กทพ.
มาตรา ๕๓ ให้ผู้สอบบัญชีทำรายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
และให้ กทพ. โฆษณารายงานประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้ว แสดงงบดุล
บัญชีทำการและบัญชีกำไรขาดทุนที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้วภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้อง
หมวด ๖
การกำกับและควบคุม
มาตรา ๕๔ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่กำกับโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ
กทพ. เพื่อการนี้จะสั่งให้ กทพ. ชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น
ทำรายงานหรือยับยั้งการกระทำที่ขัดต่อนโยบายของรัฐบาลหรือมติของคณะรัฐมนตรี
ตลอดจนมีอำนาจที่จะสั่งให้ปฏิบัติการตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติของคณะรัฐมนตรี
และสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดำเนินกิจการของ กทพ. ได้
มาตรา ๕๕ ให้ กทพ. ทำรายงานปีละครั้งเสนอรัฐมนตรี
รายงานนี้ให้กล่าวถึงผลงานในปีที่ล่วงมาแล้ว และคำชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการ
โครงการและแผนงานที่จะทำในภายหลัง
มาตรา ๕๖ ในกรณีที่ กทพ. จะต้องเสนอเรื่องใด ๆ
ไปยังคณะรัฐมนตรี ให้ กทพ. นำเรื่องเสนอรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๕๗ กทพ.
ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อนจึงจะดำเนินกิจการ ดังต่อไปนี้
(๑)
สร้างหรือขยายทางพิเศษ
(๒)
กู้หรือยืมเงินเกินหนึ่งร้อยล้านบาท
(๓)
ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ กทพ.
(๔)
จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาเกินสิบล้านบาท
(๕)
ให้เช่าหรือให้สิทธิใด ๆ ในอสังหาริมทรัพย์ที่มีมูลค่าเกินหนึ่งร้อยล้านบาทหรือที่มีกำหนดเวลาการให้เช่าหรือให้สิทธิใด
ๆ เกินห้าปี เว้นแต่การให้เช่าหรือให้สิทธินั้นเป็นการให้แก่หน่วยงานของรัฐ
(๖)
ให้สัมปทานในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ ต่ออายุสัมปทาน
โอนสัมปทานหรือเพิกถอนสัมปทาน
(๗)
จัดตั้งบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด
(๘)
เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นหรือถือหุ้นในบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด
หมวด ๗
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๕๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่
มาตรา ๕๙ ผู้ใดขัดขวางการกระทำของ กทพ.
พนักงานหรือลูกจ้าง ซึ่งกระทำการตามมาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓ หรือฝ่าฝืนมาตรา ๓๖
มาตรา ๓๗ หรือมาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๐ ผู้ใดกระทำการใด ๆ
ให้ทางพิเศษอยู่ในลักษณะอันน่าเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่การจราจร
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๑ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย
ทำให้เสื่อมค่าหรือไร้ประโยชน์ซึ่งทางพิเศษอันอาจเป็นอันตรายแก่รถ
หรือบุคคลซึ่งใช้ทางหรือใช้บริการดังกล่าว ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี
หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๒ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานซึ่งผู้ว่าการแต่งตั้งหรือบุคคลซึ่งผู้ว่าการมอบหมายซึ่งสั่งตามมาตรา
๔๑ (๒) หรือ (๓) หรือผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖๓ ผู้ใดหลีกเลี่ยงไม่เสียค่าผ่านทางพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๖๔ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้
และความรับผิด ตลอดจนงบประมาณของ กทพ. ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐
ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ไปเป็นของ กทพ. ตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
มาตรา ๖๕ ให้ผู้ว่าการ รองผู้ว่าการ พนักงาน และลูกจ้างของ
กทพ. ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นผู้ว่าการ รองผู้ว่าการ
พนักงาน และลูกจ้างของ กทพ. แล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัตินี้
โดยให้ได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง รวมทั้งสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ เท่าที่เคยได้รับอยู่เดิม
และให้นับเวลาการทำงานของบุคคลดังกล่าวใน กทพ. ต่อเนื่องกันด้วย
สำหรับผู้ว่าการให้ถือว่าเป็นวาระการดำรงตำแหน่งวาระแรกตามพระราชบัญญัตินี้
ความในวรรคหนึ่ง
ให้ใช้บังคับกับผู้ว่าการ ซึ่ง กทพ. ดำเนินการจ้างตามสัญญาจ้างด้วย
มาตรา ๖๖ ให้ประธานกรรมการและกรรมการ กทพ.
ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการของ กทพ. แล้วแต่กรณี
ตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไปตามวาระที่เหลืออยู่
และให้ถือว่าวาระดังกล่าวเป็นวาระการดำรงตำแหน่งวาระแรกตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖๗ ให้บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง
หรือประกาศใด ๆ ของ กทพ. ที่ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะได้มีข้อบังคับ ระเบียบ
คำสั่ง หรือประกาศของ กทพ. ที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๖๘ ให้บรรดาพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนและประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนดให้การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เป็นกรณีที่มีความจำเป็นโดยเร่งด่วนที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
คงใช้บังคับได้ตามอายุของพระราชกฤษฎีกานั้น
ในกรณีที่มีการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางพิเศษที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และยังไม่เสร็จสิ้น
ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ต่อไป
มาตรา ๖๙ ให้ผู้ที่ใช้ชื่อที่มีอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศ
ซึ่งแปลหรืออ่านว่า ทางพิเศษ หรือ ทางด่วน ประกอบในดวงตรา ป้ายชื่อ จดหมาย ใบแจ้งความ
หรือเอกสารอย่างอื่นเกี่ยวกับธุรกิจอยู่แล้วอันอาจทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นกิจการของ
กทพ. ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ มาดำเนินการขออนุญาตใช้ชื่อดังกล่าวภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
มาตรา ๗๐ ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่ฝ่าฝืนมาตรา
๓๘ มาดำเนินการขออนุญาตจาก กทพ.
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ ถ้า กทพ.
มีคำสั่งไม่อนุญาต
ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายดำเนินการรื้อถอนภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคำสั่งไม่อนุญาตหรือตามระยะเวลาที่
กทพ. กำหนด
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ :-
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่
๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ซึ่งเป็นกฎหมายจัดตั้งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน
ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน
ซึ่งทำให้การปฏิบัติงานของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยไม่คล่องตัวเท่าที่ควร
สมควรปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยให้สามารถดำเนินกิจการในอันที่จะให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรได้มากยิ่งขึ้น
ตลอดจนกำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ทางพิเศษ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
กมลฤทัย/ปรับปรุง
๒๑ มีนาคม ๒๕๕๖
สุพิชชา/ตรวจ
๓ เมษายน ๒๕๕๖
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๔ ก/หน้า ๙/๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
809223 | พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 | พระราชกฤษฎีกา
กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๖๑
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร
ให้ไว้ ณ วันที่
๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
เป็นปีที่ ๓
ในรัชกาลปัจจุบัน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร
เพื่อสร้างทางพิเศษสายพระราม ๓ - ดาวคะนอง วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗๕
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กับมาตรา ๕ วรรคสาม
และมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกอบกับมาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา
๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า
พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรา ๒[๑] พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา
๓ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับได้มีกำหนดสี่ปี
มาตรา ๔ ที่ดินที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสร้างทางพิเศษสายพระราม
๓ - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก
มาตรา ๕ ให้ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๖ เขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
อยู่ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร มีส่วนแคบที่สุดห้าร้อยเมตร
และส่วนกว้างที่สุดห้าร้อยเจ็ดสิบเมตร ทั้งนี้
ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา
๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้รับสนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
แผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
หมายเหตุ
:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ
เนื่องจากมีความจำเป็นต้องสร้างทางพิเศษสายพระราม ๓ - ดาวคะนอง -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร
เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค
สมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว
เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจและเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอน จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
วิวรรธน์/จัดทำ
๑
สิงหาคม ๒๕๖๑
นุสรา/ตรวจ
๑๙
ตุลาคม ๒๕๖๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนที่ ๕๓ ก/หน้า ๕๕/๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑ |
662927 | พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 | พระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกา
กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่อำเภอบางกรวย
จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา
เขตตลิ่งชัน
เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ
และเขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๕๕
ภูมิพลอดุลยเดช
ป.ร.
ให้ไว้ ณ
วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕
เป็นปีที่ ๖๗
ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด
เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เพื่อสร้างทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘๗
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับมาตรา ๕ วรรคสาม และมาตรา ๖
แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๓๔
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่อำเภอบางกรวย
จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ
และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๕
มาตรา ๒[๑] พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับได้มีกำหนดสี่ปี
มาตรา ๔ ที่ดินที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสร้างทางพิเศษศรีรัช
- วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๕ ให้ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๖ เขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
อยู่ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด
เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีส่วนแคบที่สุดสองร้อยเมตร
และส่วนกว้างที่สุดสามพันเมตร ทั้งนี้
ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ยิ่งลักษณ์
ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย
เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๕
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
หมายเหตุ
:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ
เนื่องจากมีความจำเป็นต้องก่อสร้างทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด
เขตบางกอกน้อย เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค
ในการนี้ สมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว
เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจและเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอน
จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๖ กุมภาพันธ์
๒๕๕๕
ณัฐพร/ผู้ตรวจ
๑๖ กุมภาพันธ์
๒๕๕๕
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๙/ตอนที่ ๑๖ ก/หน้า ๔/๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ |
660369 | พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่เขตราชเทวี และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 | พระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกา
กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราชเทวี
และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๕๔[๑]
ภูมิพลอดุลยเดช
ป.ร.
ให้ไว้ ณ
วันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
เป็นปีที่ ๖๖
ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราชเทวี และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เพื่อสร้างทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ
- บางโคล่
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
กับมาตรา ๕ วรรคสาม และมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
พ.ศ. ๒๕๓๐
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับมาตรา ๓๔
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา
๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๒
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า
พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่เขตราชเทวี
และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นต้นไป
มาตรา ๓ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับได้มีกำหนดสี่ปี
มาตรา ๔ ที่ดินที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสร้างทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ
- บางโคล่
มาตรา ๕ ให้ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๖ เขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกานี้
อยู่ในท้องที่เขตราชเทวี และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
มีส่วนแคบที่สุดสามร้อยห้าสิบเมตร และส่วนกว้างที่สุดหกร้อยเมตร ทั้งนี้
ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา ๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ยิ่งลักษณ์
ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราชเทวี และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
หมายเหตุ
:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ
เนื่องจากการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ทำการสำรวจเขตที่ดินเพื่อเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน
ในท้องที่เขตราชเทวีและเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๐
เพื่อสร้างทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
ยังไม่แล้วเสร็จสมควรกำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่เขตราชเทวี
และเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจและเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอน
จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙ มกราคม ๒๕๕๕
ณัฐพร/ผู้ตรวจ
๙ มกราคม ๒๕๕๕
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๘/ตอนที่ ๙๖ ก/หน้า ๑๓/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ |
587383 | กฎกระทรวงกำหนดตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551
| กฎกระทรวง
กฎกระทรวง
กำหนดตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีลักษณะเป็นเส้นโค้งสองเส้นเปรียบดุจเส้นทางพิเศษสีน้ำเงินซ้อนอยู่บนเส้นทางธรรมดาสีแดง
ทอดยาวออกไปข้างหน้า
ซึ่งหมายถึงองค์กรที่ให้บริการทางพิเศษแก่ประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
โดยด้านขวามีอักษรว่า EXAT และด้านล่างมีอักษรว่า การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ตามแบบท้ายกฎกระทรวงนี้
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
สันติ พร้อมพัฒน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑.
ตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ท้ายกฎกระทรวงกำหนดตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๑
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
หมายเหตุ :-
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๖
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
บัญญัติให้รูปลักษณะของตราเครื่องหมายของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
ปริยานุช/จัดทำ
๑๗ กันยายน ๒๕๕๑
โชติกานต์/ปรับปรุง
๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๙๙ ก/หน้า ๒๐/๑๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
727744 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙
ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒] ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๑ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙[๙]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๐]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๑]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๒]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑[๑๓]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
เป็นต้นไป
พิมพ์มาดา/เพิ่มเติม
๑๒ มิถุนายน
๒๕๖๑
นุสรา/ตรวจ
๑๓ มิถุนายน
๒๕๖๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒]
ข้อ
๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๙] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง/หน้า ๕/๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
[๑๐] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๙/๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐
[๑๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๓/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐
[๑๒] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๓๐๕ ง/หน้า ๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐
[๑๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๗๑ ง/หน้า ๗/๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑ |
734373 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ในคราวประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ได้พิจารณาตามเงื่อนไขของสัญญาร่วมลงทุนระหว่างการทางพิเศษแห่งประเทศไทยกับบริษัทคู่สัญญา
ประกอบกับความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดแล้ว
จึงกำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ
สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
ดังต่อไปนี้
(๑)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่)
ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษรัชดาภิเษก ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สาม
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษคลองประปา ๒ ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๑
(๒)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่) ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษแจ้งวัฒนะ
ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษรัชดาภิเษก
(๓)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๓
สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษทั้งตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
และบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ (ขาออก)
หรือตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ และบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
(ขาเข้า)
(๔)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๔ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายพญาไท
- ศรีนครินทร์) ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๓
ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษศรีนครินทร์ และตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระราม ๙ - ๑
(ศรีรัช) ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษศรีนครินทร์ และตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระราม
๙ - ๑ (ศรีรัช) ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๔
ข้อ
๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษยมราช ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษหัวลำโพง
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสะพานสว่าง ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอุรุพงษ์
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุรวงศ์ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจันทน์ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสาทร
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สี่ ๑ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สี่ ๒
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุขุมวิท และด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษเพชรบุรี ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐
นาฬิกา ถึงเวลา ๒๓.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๕๐
๗๕
๑๑๐
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๑๕
๒๐
๓๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๓
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
(ก) ขาออกนอกเมือง
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๑) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๒) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
โดยมีส่วนลด ๕ บาท
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๓)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่ใช้ ๒ บัญชี
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑.
๒.
๓.
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อแต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๕๐
๗๕
๑๑๐
๑๐
๑๕
๓๐
๖๐
๙๐
๑๔๐
(ข) ขาเข้าเมือง
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๑) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๒) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
โดยมีส่วนลด ๕ บาท
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๓)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่ใช้ ๒ บัญชี
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑.
๒.
๓.
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อแต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๑๕
๒๐
๓๕
๔๕
๗๐
๑๐๕
๖๐
๙๐
๑๔๐
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๔
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๒๕
๕๕
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๘[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๕๘[๔]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ปุณิกา/ผู้จัดทำ
ปัญญา/ตรวจ
๔ กันยายน ๒๕๕๘
ปริญสินีย์/เพิ่มเติม
ปัญญา/ตรวจ
๗ มกราคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๗/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง/หน้า ๒๑/๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๒๐ ง/หน้า ๑๐/๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
809856 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษพ.ศ. 2559 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่
๒๔ มกราคม ๒๕๕๔ เห็นชอบในหลักการโครงการทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้วยวิธีการเพิ่มบทบาทภาคเอกชน (Public Private Partnerships : PPPs) ตามขั้นตอนของพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในรูปแบบ Build - Transfer - Operate และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๕
เห็นชอบในหลักการร่างสัญญาสัมปทานการลงทุนออกแบบก่อสร้าง บริหารจัดการ
ให้บริการและบำรุงรักษาโครงการทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ที่สำนักงานอัยการสูงสุดได้ตรวจพิจารณาและพิมพ์ยกร่างขึ้นใหม่ และผนวกแนบท้ายสัญญา
รวมทั้งข้อสังเกต ๙ ข้อ ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ และให้กระทรวงคมนาคม
(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย) รับไปประสานงานกับสำนักงานอัยการสูงสุด
เพื่อดำเนินการแก้ไขร่างสัญญาดังกล่าวให้เป็นไปตามข้อสังเกต ๙
ข้อของสำนักงานอัยการสูงสุดอย่างเคร่งครัด
โดยให้คำนึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะ
แล้วดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป
และรายงานผลให้คณะรัฐมนตรีทราบด้วย
ซึ่งคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๖ ได้มีมติรับทราบแล้ว
ซึ่งต่อมาคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๙
เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ได้พิจารณาตามเงื่อนไขของสัญญาสัมปทานการลงทุน
ออกแบบก่อสร้างบริหารจัดการ ให้บริการและบำรุงรักษาโครงการทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครระหว่างบริษัทคู่สัญญาและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยแล้วจึงกำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ ๒[๑] ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๔ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
ข้อ
๗ ผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ที่จะเข้าใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) และทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง -
ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ณ
สถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษบางซื่อ ๒
ตามอัตราที่ประกาศกระทรวงคมนาคมกำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๘[๒] ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
รถยนต์ส่วนบุคคล และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
๒
รถบรรทุกตู้ รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก
ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
๓
รถบรรทุกขนาดกลาง ๒ เพลา (เกิน ๔
ล้อขึ้นไป)
๔
รถบรรทุกขนาดใหญ่ ๓ เพลา
๕
รถประจำทางขนาดกลาง ๒ เพลา
๖
รถประจำทางขนาดใหญ่ ๓เพลา
๗
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
๒
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
๓
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
๔
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
๕
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
๖
รถดับเพลิง และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
๗
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
๘
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
๙
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
รถที่มีล้อไม่เกิน ๔ ล้อ
๕๐
๒
รถที่มีล้อเกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน
๑๐ ล้อ
๘๐
๓
รถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
๑๑๕
หมายเหตุ ผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ที่ประสงค์จะเข้าใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ บางโคล่ และสายพญาไท ศรีนครินทร์) และทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง
ท่าเรือ สายบางนา ท่าเรือ และสายดาวคะนอง
ท่าเรือ) ให้ชำระค่าผ่านทางพิเศษที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษบางซื่อ
๒ ตามอัตราที่ประกาศกระทรวงคมนาคมกำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๖๐[๓]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ปวันวิทย์/เพิ่มเติม
๘
พฤศจิกายน ๒๕๖๐
นุสรา/ตรวจ
๑
ธันวาคม ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๓ ง/หน้า ๒/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๙
[๒] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๖๐
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๕/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ |
857163 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2561 (ฉบับ Update ล่าสุด) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่าง
ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม
กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสีย
ค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และ
อัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๔ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อ ๔ ให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๖ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๗ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
ข้อ
๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๒
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑
ไพรินทร์ ชูโชติถาวร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๖๑
๒. บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม
กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๖๑ (ทิศทางสุขสวัสดิ์ บางพลี)
๔. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ (ทิศทางบางพลี สุขสวัสดิ์)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี
- สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี
- สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ปวันวิทย์/จัดทำ
๑ ตุลาคม
๒๕๖๑
พัชรภรณ์/เพิ่มเติม
๒๐
มกราคม ๒๕๖๓
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๒๐๘ ง/หน้า ๔/๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๓๒๖ ง/หน้า ๖๐/๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ |
823552 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวน
อุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.
๒๕๖๑[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๕/๒๕๖๑
เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕
และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี
- สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ
๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๒
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ไพรินทร์
ชูโชติถาวร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
พัชรภรณ์/จัดทำ
๒๕ มีนาคม ๒๕๖๒
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๓๒๖ ง/หน้า ๖๐/๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ |
811799 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2561 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่าง
ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม
กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสีย
ค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และ
อัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรมกับทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๔ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อ ๔ ให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๖ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๗ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ณ สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑
ไพรินทร์ ชูโชติถาวร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๖๑
๒. บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์) และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม
กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๖๑ (ทิศทางสุขสวัสดิ์ บางพลี)
๔. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี สุขสวัสดิ์)
และทางพิเศษสายเชื่อมระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ (ทิศทางบางพลี สุขสวัสดิ์)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปวันวิทย์/จัดทำ
๑ ตุลาคม
๒๕๖๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๒๐๘ ง/หน้า ๔/๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ |
811797 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2561 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี -
สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้น
ค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๑ เมื่อวันที่
๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษ
สายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๖ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ ๗ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑
ไพรินทร์ ชูโชติถาวร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
[เอกสารแนบท้าย]
๑. บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑
(ทิศทางขาออกนอกเมือง)
๔. บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ (ทิศทางขาเข้าเมือง)
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปวันวิทย์/จัดทำ
๑ ตุลาคม
๒๕๖๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๒๐๘ ง/หน้า ๒/๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ |
810363 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
โครงสร้างและการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน
และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๖๑[๑]
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ
ที่จะให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่าง ๆ
ของหน่วยงานของรัฐ เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นหรือรักษาสิทธิต่าง ๆ
อันเป็นการเสริมสร้างความโปร่งใสในการบริหารงานของหน่วยงานตามหลักธรรมาภิบาลให้มากยิ่งขึ้น
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
ประกอบกับมาตรา ๗ (๑) (๒) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยจึงออกประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง
โครงสร้างการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ให้ยกเลิกประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง โครงสร้างและการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่ วิธีการดำเนินงาน
และสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕
ฉบับลงวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
ข้อ
๒ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเรียกโดยย่อว่า กทพ. ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า EXPRESSWAY AUTHORITY OF THAILAND เรียกโดยย่อว่า EXAT มีวัตถุประสงค์ตามที่พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติไว้ดังนี้
๒.๑
สร้างหรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีใด ๆ ตลอดจนบำรุงและรักษาทางพิเศษ
๒.๒
ดำเนินงานหรือธุรกิจเกี่ยวกับทางพิเศษและธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับทางพิเศษหรือที่เป็นประโยชน์แก่
กทพ.
โดยมีอำนาจหน้าที่กระทำกิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้นและอำนาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง
(๑)
ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ
(๒)
ก่อตั้งสิทธิหรือกระทำนิติกรรมใด ๆ ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
(๓) เรียกเก็บค่าผ่านทางพิเศษ หรือค่าบริการอื่น
ตลอดจนค่าธรรมเนียมการใช้ทรัพย์สิน การให้บริการและการอำนวยความสะดวกต่าง
ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๔)
กำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้และการรักษาทางพิเศษ ตลอดจนการใช้และการรักษาทรัพย์สิน
การให้บริการ และการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในเขตทางพิเศษ
(๕)
กู้หรือยืมเงินภายในและภายนอกราชอาณาจักร
(๖)
ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของ กทพ.
(๗) จัดตั้งหรือถือหุ้นในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๘) ลงทุนหรือเข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ
กทพ.
(๙) ให้สัมปทานในการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
ต่ออายุสัมปทาน โอนสัมปทาน หรือเพิกถอนสัมปทาน
(๑๐) ว่าจ้างหรือมอบให้บุคคลใดประกอบกิจการส่วนหนึ่งส่วนใดของ
กทพ. แต่ถ้ากิจการนั้นมีรัฐวิสาหกิจใดมีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ
และคณะกรรมการเห็นว่า รัฐวิสาหกิจนั้นสามารถจะดำเนินการให้บังเกิดผลและมีประสิทธิภาพได้
ให้ กทพ. ว่าจ้างหรือมอบให้รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ประกอบกิจการก่อนผู้อื่น
(๑๑) ทำการค้าและให้บริการต่าง ๆ
เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องใช้เกี่ยวกับทางพิเศษ
(๑๒) ให้เช่าหรือพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ กทพ.
ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ กทพ. โดยคำนึงถึงประโยชน์สาธารณะควบคู่ไปด้วย
(๑๓) วางแผน สำรวจ
และออกแบบเกี่ยวกับการสร้างหรือขยายทางพิเศษ
(๑๔) กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของ
กทพ.
ข้อ
๓ กทพ.
มีโครงสร้างและการจัดแบ่งส่วนงานภายใน ดังต่อไปนี้
๓.๑
สายงานขึ้นตรงต่อผู้ว่าการ
สำนักผู้ว่าการ ประกอบด้วย ๔ กอง
- กองกลางและการประชุม
- กองประชาสัมพันธ์
- กองกำกับดูแลกิจการที่ดี
- กองพัฒนาธุรกิจและการตลาด
๓.๒
สายงานขึ้นตรงต่อผู้ว่าการและคณะกรรมการตรวจสอบ
สำนักตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย ๒
กอง
- กองตรวจสอบภายใน ๑
- กองตรวจสอบภายใน ๒
๓.๓
สายงานรองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
๓.๓.๑ ฝ่ายบริหารทั่วไป ประกอบด้วย ๕ กอง
- กองบริหารทรัพยากรบุคคล
- กองสวัสดิการและพนักงานสัมพันธ์
- กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- กองจัดซื้อจัดจ้าง
- กองพัฒนาองค์กร
๓.๓.๒ ฝ่ายการเงินและบัญชี ประกอบด้วย ๕ กอง
- กองการเงิน
- กองบัญชี
- กองงบประมาณ
- กองตรวจสอบรายได้
- กองบริหารการเงินและกองทุน
๓.๔
สายงานรองผู้ว่าการฝ่ายกลยุทธ์และแผนงาน
๓.๔.๑ ฝ่ายนโยบายและแผน ประกอบด้วย ๓ กอง
- กองวางแผนและวิเคราะห์โครงการ
- กองประเมินผล
- กองจัดการสิ่งแวดล้อม
๓.๔.๒ ฝ่ายสารสนเทศ ประกอบด้วย ๒ กอง
- กองระบบงานคอมพิวเตอร์
- กองปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
๓.๔.๓ กองวิจัยและพัฒนา
๓.๕
สายงานรองผู้ว่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน
๓.๕.๑ ฝ่ายกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประกอบด้วย ๓ กอง
- กองจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน
- กองพัฒนาเขตทางและรักษาเขตทาง
๑
- กองพัฒนาเขตทางและรักษาเขตทาง
๒
๓.๕.๒ ฝ่ายกฎหมาย ประกอบด้วย ๒ กอง
- กองคดี
- กองนิติการ
๓.๖
สายงานรองผู้ว่าการฝ่ายก่อสร้างและบำรุงรักษา
๓.๖.๑ ฝ่ายก่อสร้างทางพิเศษ ประกอบด้วย ๔ กอง
- กองวิศวกรรมทางพิเศษ ๑
- กองวิศวกรรมทางพิเศษ ๒
- กองออกแบบและก่อสร้าง
- กองบริหารงานกลาง
๓.๖.๒ ฝ่ายบำรุงรักษา ประกอบด้วย ๔ กอง
- กองบำรุงรักษาทาง
- กองบำรุงรักษาอาคารและความสะอาด
- กองบำรุงรักษาอุปกรณ์
- กองไฟฟ้า เครื่องกลและยานพาหนะ
๓.๗
สายงานรองผู้ว่าการฝ่ายปฏิบัติการ
๓.๗.๑ ฝ่ายควบคุมการจราจร
ประกอบด้วย ๓ กอง
- กองจัดการจราจร
- กองกู้ภัย
- กองสื่อสารและปฏิบัติการพิเศษ
๓.๗.๒ ฝ่ายจัดเก็บค่าผ่านทาง
ประกอบด้วย ๕ กอง
- กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๑
- กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๒
- กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๓
- กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๔
-
กองบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
๓.๗.๓ กองวางแผนปฏิบัติการ
๓.๘
สายงานขึ้นตรงต่อผู้ช่วยผู้ว่าการ
- กองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน
ข้อ
๔ หน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญของส่วนงาน
กทพ. มีดังต่อไปนี้
๔.๑
สำนักผู้ว่าการ ประกอบด้วย
๔.๑.๑ กองกลางและการประชุม
มีหน้าที่ความรับผิดชอบงานสารบรรณของ กทพ. งานศูนย์เอกสาร งานประชุมของคณะกรรมการ
กทพ. คณะกรรมการบริหารของ กทพ. ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับฝ่ายขึ้นไป
และการประชุมอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
๔.๑.๒ กองประชาสัมพันธ์
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านงานประชาสัมพันธ์ งานสัมพันธ์
งานผลิตสื่อและให้บริการโสตทัศนูปกรณ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ดำเนินการผลิต ปรับปรุง
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์ กทพ. และระบบเครือข่ายอินทราเน็ตของ กทพ.
ให้บริการข้อมูลข่าวสารของ กทพ. โดยดำเนินงานศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ทางพิเศษ (EXAT Call Center) รับเรื่องร้องเรียนและข้อเสนอแนะบริการผู้ใช้ทางพิเศษและประชาชนในเชิงรุกทางโทรศัพท์หมายเลข
๑๕๔๓ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
๔.๑.๓ กองกำกับดูแลกิจการที่ดี
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินงานศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. (EXAT Public Information Center) จัดข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้และประสานงานให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐ พร้อมกับทำหน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ
กทพ.
จัดทำแผนแม่บทเชิงกลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและแผนปฏิบัติการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ
กทพ. ดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบกำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี
๔.๑.๔ กองพัฒนาธุรกิจและการตลาด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบงานเกี่ยวกับการศึกษาความเหมาะสม
การจัดให้มีและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพย์สินอื่น ๆ ของ กทพ. การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับ
กทพ. รวมทั้งการบริหารจัดการงานการตลาดเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการทางพิเศษมากขึ้น
๔.๒
สำนักตรวจสอบภายใน ประกอบด้วย
๔.๒.๑ กองตรวจสอบภายใน ๑
มีหน้าที่ความรับผิดชอบวางแผนการตรวจสอบและดำเนินการตรวจสอบการปฏิบัติงานตลอดจนให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภายใน
กทพ. เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและแผนงาน
และสนับสนุนให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการสามารถควบคุมกำกับการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ และประหยัด สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน
และการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งปฏิบัติงานในคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) เพื่อตรวจสอบการบริหารงานและการจัดการของ
กทพ.
๔.๒.๒ กองตรวจสอบภายใน ๒ มีหน้าที่ความรับผิดชอบเช่นเดียวกับกองตรวจสอบภายใน ๑
๔.๓
ฝ่ายบริหารทั่วไป ประกอบด้วย
๔.๓.๑ กองบริหารทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
ทั้งงานวางแผนและจัดอัตรากำลังให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ กทพ. การสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง
งานประเมินผลบุคลากร และงานข้อมูลระบบงานบุคคล
๔.๓.๒ กองสวัสดิการและพนักงานสัมพันธ์
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการ สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ
งานบริหารสิทธิประโยชน์ของพนักงาน ลูกจ้างและครอบครัว กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนสวัสดิการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
งานพนักงานสัมพันธ์ รวมทั้งงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
๔.๓.๓ กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การบริหารจัดการความรู้ การจัดทำและเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
การรวบรวมองค์ความรู้และผลักดันกระบวนการเรียนรู้ระดับองค์กร
รวมทั้งงานที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย
๔.๓.๔ กองจัดซื้อจัดจ้าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง บริหารงานพัสดุ
และงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
๔.๓.๕ กองพัฒนาองค์กร
มีหน้าที่ความรับผิดชอบวิเคราะห์ข้อมูลด้านการจัดการและให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บริหารและคณะอนุกรรมการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพทางการจัดการขององค์กร
ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารจัดการระบบงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
โดยวิเคราะห์
รวบรวมปัญหาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาปรับปรุงและบริหารจัดการระบบงานขององค์กร
รับผิดชอบเกี่ยวกับการนำระบบการบริหารจัดการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์และระบบประเมินคุณภาพของรัฐวิสาหกิจมาใช้ในองค์กร
๔.๔
ฝ่ายการเงินและบัญชี ประกอบด้วย
๔.๔.๑ กองการเงิน
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านการเงิน
ด้านการตรวจจ่ายและรับผิดชอบงานศูนย์บริการที่เดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service Center) รวมทั้งดำเนินการบริหารงานศูนย์หักบัญชี (Clearing House) ในการจัดเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (Electronic Toll Collection : ETC)
๔.๔.๒ กองบัญชี
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการจัดทำ วิเคราะห์
และประมวลผลข้อมูลตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป จัดทำรายงานเสนอต่อผู้บริหาร
๔.๔.๓ กองงบประมาณ
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านงานงบประมาณทำการ งบประมาณลงทุน งบประมาณแผ่นดิน
รวมทั้งการบริหารและการรายงานผลการดำเนินงาน
๔.๔.๔ กองตรวจสอบรายได้
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการตรวจสอบรายได้ค่าผ่านทางพิเศษ
และเสนอแนะเพื่อควบคุมการเก็บรายได้ของระบบทางพิเศษ รวมทั้งตรวจสอบรายได้อื่น ๆ
นอกจากค่าผ่านทางพิเศษ
๔.๔.๕ กองบริหารการเงินและการลงทุน
มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารจัดการด้านการเงินโดยจัดทำแผนและการดำเนินการตามแผนทางการเงิน
และบริหารการดำเนินการตามสัญญาโอนและรับโอนสิทธิในรายได้ค่าผ่านทาง (Revenue Transfer Agreement : RTA) ของการระดมทุนผ่านกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทย
(Thailand Future Fund : TFF)
๔.๕
ฝ่ายนโยบายและแผน ประกอบด้วย
๔.๕.๑
กองวางแผนและวิเคราะห์โครงการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการวางแผน ศึกษา
วิเคราะห์ความเหมาะสมทั้งทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจและการเงิน
เพื่อให้ได้ระบบทางพิเศษที่มีประสิทธิภาพ
๔.๕.๒ กองประเมินผล
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการติดตามโครงการที่นำไปปฏิบัติ รวบรวมสถิติ
วิเคราะห์ และประเมินผลงานในการดำเนินงานของ กทพ.
จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานของ กทพ. เพื่อใช้สำหรับให้บริการช่วยงานด้านบริหารและด้านโครงการ
๔.๕.๓ กองจัดการสิ่งแวดล้อม
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการวางแผน ศึกษา
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษ
กำหนดแผนงานและดำเนินการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางพิเศษที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กทพ. รวมทั้งประสานงานกับส่วนงานต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการดำเนินโครงการของ
กทพ.
๔.๖
ฝ่ายสารสนเทศ ประกอบด้วย
๔.๖.๑ กองระบบงานคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบงานคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
ตรวจสอบประเมินผลระบบงานที่ออกแบบ และปรับปรุงระบบงานให้เหมาะสมตามเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ฝึกอบรมและให้คำแนะนำในการใช้ระบบงานต่าง ๆ ที่พัฒนาเสร็จแล้วแก่ผู้ใช้ระบบงาน
จัดการและบำรุงรักษาฐานข้อมูลรวม พร้อมทั้งการจัดทำแผนงานหลักด้านระบบสารสนเทศ
๔.๖.๒ กองปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายสื่อสาร ข้อมูล
การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย
ให้บริการประมวลผลข้อมูล ควบคุมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ควบคุมการทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำสำรองข้อมูลทั้งระบบ จัดฝึกอบรมความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ ควบคุม
ดูแลระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตในการให้บริการข้อมูลกับหน่วยงานต่าง ๆ
ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและปรับปรุงแผนงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ได้แก่ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนความมั่นคงปลอดภัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
และจัดทำนโยบายความมั่นคงปลอดภัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
และปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย
๔.๗
กองวิจัยและพัฒนา
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับงานและการศึกษา
ค้นคว้าวิจัยและพัฒนา การตรวจสอบ ทดสอบ ควบคุมคุณภาพของระบบทางพิเศษ ได้แก่
การพัฒนามาตรฐานระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ ระบบการขนส่งและจราจรอัจฉริยะ
ข้อกำหนดเกี่ยวกับงานระบบทางพิเศษ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากทางพิเศษ
ระบบควบคุมคุณภาพของทางพิเศษ และตรวจสอบปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
รวมทั้งปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๔.๘
ฝ่ายกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประกอบด้วย
๔.๘.๑ กองจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับงานจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน เพื่อก่อสร้างทางพิเศษ
๔.๘.๒ กองพัฒนาเขตทางและรักษาเขตทาง ๑ มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับงานพัฒนาพื้นที่ในเขตทางพิเศษศรีรัช
ช่วงบางโคล่ - แจ้งวัฒนะ ช่วงพญาไท ศรีนครินทร์ และทางพิเศษอุดรรัถยา (บางปะอิน
- ปากเกร็ด) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดแก่ กทพ.
ในการให้เช่าและใช้พื้นที่ ตลอดจนดำเนินการเกี่ยวกับงานดูแล รักษา
และป้องกันการบุกรุกเขตทางพิเศษ รวมตลอดถึงทางพิเศษที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย
๔.๘.๓ กองพัฒนาเขตทางและรักษาเขตทาง ๒
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับงานพัฒนาพื้นที่ในเขตทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ทางพิเศษฉลองรัช และทางพิเศษบูรพาวิถี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดแก่
กทพ. ในการให้เช่าและใช้พื้นที่ ตลอดจนดำเนินการเกี่ยวกับงานดูแลรักษาและป้องกัน
การบุกรุกเขตทางพิเศษ รวมตลอดถึงทางพิเศษที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย
๔.๙
ฝ่ายกฎหมาย ประกอบด้วย
๔.๙.๑ กองคดี
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านคดีที่ กทพ. เป็นคู่ความหรือผู้เสียหาย
การวางทรัพย์ และการบังคับคดี
๔.๙.๒
กองนิติการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านสัญญา ด้านนิติการ ด้านวินัยของพนักงาน
รวมทั้งความรับผิดทางละเมิดของพนักงาน การระงับข้อพิพาทตามสัญญาต่าง ๆ งานอุทธรณ์และระเบียบข้อบังคับ
รวมทั้งปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.๑๐
ฝ่ายก่อสร้างทางพิเศษ ประกอบด้วย
๔.๑๐.๑ กองวิศวกรรมทางพิเศษ ๑
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินงานด้านการออกแบบรายละเอียดและควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านเทคนิคและสัญญา
ตลอดจนประสานงานสาธารณูปโภคและงานจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน และจัดทำทางเข้า - ทางออก
ในระหว่างการก่อสร้าง รวมทั้งแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชน
๔.๑๐.๒ กองวิศวกรรมทางพิเศษ ๒
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเช่นเดียวกับกองวิศวกรรมทางพิเศษ ๑
๔.๑๐.๓ กองออกแบบและก่อสร้าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับงานออกแบบและควบคุมการก่อสร้างทั้งทางด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมอาคารต่าง
ๆ และงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมตามอาคารต่าง ๆ รวมทั้งในเขตทางพิเศษทั้งหมด
๔.๑๐.๔ กองบริหารงานกลาง
มีหน้าที่ความรับผิดชอบบริหารงานโครงการด้านเอกสารและการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ
ควบคุมงานก่อสร้าง และงานรื้อย้ายสาธารณูปโภค
รวมทั้งการประสานงานแก้ไขความเดือดร้อนอันเนื่องมาจากการก่อสร้าง ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการโครงการอาวุโส
ประสานงานเรื่องการจัดทำงบประมาณ แผนบริหารความเสี่ยง
งานประชาสัมพันธ์โครงการ และมาตรการควบคุมภายในของฝ่ายก่อสร้างทางพิเศษ
๔.๑๑
ฝ่ายบำรุงรักษา ประกอบด้วย
๔.๑๑.๑ กองบำรุงรักษาทาง
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการวางแผน ตรวจสอบบำรุงรักษา และซ่อมแซมทางพิเศษ
สะพาน และไหล่ทาง
๔.๑๑.๒
กองบำรุงรักษาอาคารและความสะอาด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการด้านการดูแลบำรุงรักษาและซ่อมแซมอาคารสถานที่
เรื่องความสะอาด การรักษาความปลอดภัย บำรุงรักษาต้นไม้และสนามหญ้าในเขตทางพิเศษ
บริเวณอาคารต่าง ๆ และไหล่ทาง
๔.๑๑.๓ กองบำรุงรักษาอุปกรณ์
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการวางแผน ตรวจสอบ บำรุงรักษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบทางพิเศษทั้งหมด
ได้แก่ อุปกรณ์เก็บค่าผ่านทางพิเศษ อุปกรณ์ควบคุมการจราจร และอุปกรณ์เครือข่าย
รวมทั้งงานซ่อมบำรุงอุปกรณ์เก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติ (ETC)
๔.๑๑.๔ กองไฟฟ้า
เครื่องกลและยานพาหนะ มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินงานบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าในทางพิเศษ
ในอาคารและด่านฯ รวมทั้งเครื่องกลและยานพาหนะ
๔.๑๒
ฝ่ายควบคุมการจราจร ประกอบด้วย
๔.๑๒.๑ กองจัดการจราจร
มีหน้าที่ความรับผิดชอบอำนวยการความสะดวกปลอดภัยอันเกี่ยวกับการจราจรบนทางพิเศษ
ตรวจสอบ ควบคุมการใช้ทางพิเศษให้ถูกต้องตามกฎหมายควบคุมน้ำหนักรถบรรทุก
และประสานงานกับตำรวจทางด่วน และบริษัทที่ร่วมทุนกับ กทพ.
รวมทั้งปรับปรุงและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษ
๔.๑๒.๒
กองกู้ภัย มีหน้าที่ความรับผิดชอบจัดบริการด้านการกู้ภัยบนทางพิเศษ การควบคุมความปลอดภัยบนทางพิเศษ
ให้ความช่วยเหลือผู้ใช้บริการทางพิเศษ บริการลากหรือยกรถเสียและรถเกิดอุบัติเหตุลงจากทางพิเศษ
รวมทั้งปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษ
๔.๑๒.๓
กองสื่อสารและปฏิบัติการพิเศษ มีหน้าที่ความรับผิดชอบจัดบริการด้านการสื่อสารจราจร
ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานบนทางพิเศษ ควบคุมการดำเนินงานสื่อสารของศูนย์ควบคุมระบบทางพิเศษต่าง ๆ รวมทั้งการระงับเหตุ
ควบคุม ประเมินและบริหารช่วยเหลืออุบัติเหตุ เหตุฉุกเฉินร้ายแรงที่เกิดจากสารเคมีและวัตถุอันตรายต่าง
ๆ งานเฝ้าระวังตรวจตรา ดูแลรักษาและป้องกันการโจรกรรมทรัพย์สินของ กทพ.
ในทางพิเศษทุกสายทาง รวมทั้งปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษ
๔.๑๓
ฝ่ายจัดเก็บค่าผ่านทาง ประกอบด้วย
๔.๑๓.๑ กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๑
มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการกำกับดูแลและควบคุมการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
และดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษในทางพิเศษเฉลิมมหานคร
รวมทั้งปรับปรุง แก้ไข เพื่อลดผลกระทบกับประชาชนอันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษ
๔.๑๓.๒ กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๒
มีหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
และดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษในทางพิเศษศรีรัชและทางพิเศษอุดรรัถยา
รวมทั้งปรับปรุง แก้ไข เพื่อลดผลกระทบกับประชาชน อันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษ
๔.๑๓.๓ กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๓
มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการกำกับดูแลควบคุมการเก็บค่าผ่านทางพิเศษและดำเนินงานต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษระบบปิด (รับบัตร IC Card ที่ด่านฯ ทางเข้า และคืนบัตร IC Card ให้พนักงานที่ด่านฯ
ทางออกเพื่อคำนวณอัตราค่าผ่านทางพิเศษตามระยะทางที่ใช้จริง) รวมทั้งปรับปรุง แก้ไข
เพื่อลดผลกระทบกับประชาชนอันเกิดจาการให้บริการทางพิเศษ ในทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางพิเศษฉลองรัช
๔.๑๓.๔ กองจัดเก็บค่าผ่านทาง ๔
มีหน้าที่ความรับผิดชอบรับผิดชอบในการกำกับดูแล
ควบคุมการเก็บค่าผ่านทางพิเศษและดำเนินงานต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษระบบปิด (รับบัตร IC Card ที่ด่านฯ ทางเข้า และคืนบัตร IC Card ให้พนักงานที่ด่านฯ ทางออก
เพื่อคำนวณอัตราค่าผ่านทางตามระยะทางที่ใช้จริง) รวมทั้งปรับปรุง แก้ไข
เพื่อลดผลกระทบกับประชาชน อันเกิดจากการให้บริการทางพิเศษในทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี-สุขสวัสดิ์)
๔.๑๓.๕ กองบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหารและพัฒนางานระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษอัตโนมัติและการให้บริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
การจัดหาระบบและบริการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
พร้อมทั้งประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก กทพ.
๔.๑๔
กองวางแผนปฏิบัติการ
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินงานด้านศึกษา
วิเคราะห์ พัฒนา วางแผน และเสนอแนวทางการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานของระบบงานทางพิเศษ
ได้แก่ ระบบเก็บค่าผ่านทางพิเศษ และระบบความปลอดภัยและการจราจร
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงานตรวจสอบรับเรื่องร้องเรียนและพิจารณาแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความเดือดร้อนของประชาชน
อันเกิดจากโครงการระบบทางพิเศษภายหลังเปิดให้บริการและปฏิบัติงานอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
๔.๑๕
กองบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน
มีหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการดำเนินงานของ
กทพ. และความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอกองค์กรเพื่อจัดลำดับความสำคัญ
และเสนอแนะแนวทางป้องกัน ปรับปรุง แก้ไข
กำหนดแผนและมาตรการลดหรือกระจายความเสี่ยงกำกับดูแลและติดตามศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการดำเนินงานและจัดระบบควบคุมภายใน
รวมทั้งเป็นหน่วยงานกลางประสานงานด้านการควบคุมภายใน
ข้อ
๕ สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของ
กทพ. คือ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. อยู่ในสังกัดแผนกวิเคราะห์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
กองกำกับดูแลกิจการที่ดี สำนักผู้ว่าการ
ซึ่งเป็นสถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสารทั่วไปและคำแนะนำในการติดต่อกับ กทพ.
ให้บริการข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความรับผิดชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลข่าวสารตามมาตรา
๙ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
ตั้งอยู่ที่อาคารศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ กทพ. หน้าอาคาร ๑ กทพ. สำนักงานใหญ่ เลขที่
๒๓๘๐ ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๗๙-๕๓๘๐-๙ ต่อ ๒๒๔๔ และดูรายละเอียดได้ที่ http://www.exat.co.th
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
สุทธิศักดิ์
วรรธนวินิจ
รองผู้ว่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน
รักษาการในตำแหน่ง
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปุณิกา/จัดทำ
๗
มกราคม ๒๕๖๒
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๑๘๗ ง/หน้า ๒๕/๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ |
802899 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง กำหนดสถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี และทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
กำหนดสถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยในคราวประชุมครั้งที่
๓/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๑ ได้มีมติรับทราบรายงานผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการเร่งรัดและกำกับดูแลโครงการทางพิเศษที่จะดำเนินการในอนาคต
เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดบริเวณด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษวงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว) ทางออกทางพิเศษบูรพาวิถี ตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเสนอ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทยนี้เรียกว่า
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง
กำหนดสถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี และทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์)
ข้อ
๒ ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทยนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถีที่จะเข้าใช้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
และค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) ณ สถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) ตามอัตราที่ประกาศกระทรวงคมนาคมกำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
สุทธิศักดิ์
วรรธนวินิจ
รองผู้ว่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน
รักษาการในตำแหน่ง
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
วิวรรธน์/จัดทำ
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑
นุสรา/ตรวจ
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง/หน้า ๓๔/๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ |
800249 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2561
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก(บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่
๓/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๑
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕
และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๔ ธันวาคมพ.ศ. ๒๕๖๐
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ
๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๑ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ไพรินทร์
ชูโชติถาวร
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
พิมพ์มาดา/จัดทำ
๑๙
เมษายน ๒๕๖๑
นุสรา/ตรวจ
๑๗
เมษายน ๒๕๖๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนพิเศษ ๗๑ ง/หน้า ๗/๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑ |
843844 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 12/12/2560) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒] ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๑
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙[๙]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๐]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๑]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๒]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นต้นไป
พัชรภรณ์/เพิ่มเติม
๒๒ กุมภาพันธ์
๒๕๖๑
นุสรา/ตรวจ
๗ พฤศจิกายน
๒๕๖๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐
[๓]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๙] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง/หน้า ๕/๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
[๑๐]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๙/๒๔
มีนาคม ๒๕๖๐
[๑๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๓/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐
[๑๒] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๓๐๕ ง/หน้า ๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ |
819018 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 18/10/2560) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙
ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙[๙]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๐]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๑]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ปุณิกา/เพิ่มเติม
๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๐ มกราคม ๒๕๖๐
วริญา/เพิ่มเติม
๒๕ เมษายน ๒๕๖๐
ปริญสินีย์/ตรวจ
๒๔
เมษายน ๒๕๖๐
ปวันวิทย์/เพิ่มเติม
๘ พฤศจิกายน
๒๕๖๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ
๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๙] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง/หน้า ๕/๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
[๑๐] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๙/๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐
[๑๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๓/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ |
809851 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 24/03/2560) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙
ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒] ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
(ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐
ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙[๙]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๐]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ปุณิกา/เพิ่มเติม
๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๐ มกราคม ๒๕๖๐
วริญา/เพิ่มเติม
๒๕ เมษายน ๒๕๖๐
ปริญสินีย์/ตรวจ
๒๔
เมษายน ๒๕๖๐
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๙] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง/หน้า ๕/๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
[๑๐] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๙/๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐ |
792908 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2560
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิ
เชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้น
ค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุม
ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน
๒๕๖๐ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๑
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
พัชรภรณ์/อัญชลี/จัดทำ
๑๖
ธันวาคม ๒๕๖๐
นุสรา/ตรวจ
๓๐
ธันวาคม ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๓๐๕ ง/หน้า ๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ |
788550 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช
- วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๙
นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยในคราวประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๐ เมื่อวันที่
๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๙
ลงวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปวันวิทย์/อัญชลี/จัดทำ
๓๐
ตุลาคม ๒๕๖๐
นุสรา/ตรวจ
๑
กันยายน ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๕/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ |
788548 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๐
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปวันวิทย์/อัญชลี/จัดทำ
๓๐
ตุลาคม ๒๕๖๐
นุสรา/ตรวจ
๑
กันยายน ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๕๗ ง/หน้า ๓/๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๐ |
787006 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2560 ครั้งที่ 1
| ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ (๖) ประกอบกับมาตรา ๕๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
จึงขอประกาศให้ทราบว่า
ข้อ
๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะทำการกู้เงิน
โดยวิธีการออกพันธบัตร
ข้อ
๒ พันธบัตรนี้มีชื่อเรียกว่า พันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๑
ข้อ
๓ พันธบัตรนี้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ำประกันต้นเงินและดอกเบี้ย
ข้อ
๔ พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดระบุชื่อผู้ถือ
ข้อ
๕ พันธบัตรนี้มีมูลค่าที่ออกจำนวนรวม
๕,๗๐๐,๐๐๐,๐๐๐.- บาท (ห้าพันเจ็ดร้อยล้านบาทถ้วน) แบ่งออกเป็น ๕,๗๐๐,๐๐๐ หน่วย
(ห้าล้านเจ็ดแสน) หน่วย โดยมีมูลค่าหน่วยละ ๑,๐๐๐.- บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน)
ข้อ
๖ พันธบัตรนี้มีกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรเมื่อครบ
๕ ปี นับแต่วันที่ออกพันธบัตร โดยเป็นการไถ่ถอนครั้งเดียว เต็มตามจำนวนที่ออก
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
ข้อ
๗ วันออกพันธบัตร คือ วันที่ ๒๗
กันยายน ๒๕๖๐
ข้อ
๘ วันครบกำหนดไถ่ถอนพันธบัตร คือ
วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๕ หากวันดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ ให้เลื่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนเป็นวันเปิดทำการถัดไปของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
และวันเปิดทำการถัดไปของธนาคารพาณิชย์
ข้อ
๙ พันธบัตรนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๑.๘๓
ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตร โดยเริ่มคำนวณจากวันออกพันธบัตรถึงวันก่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรการคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี
๓๖๕ วัน และนับวันตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
ข้อ
๑๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะชำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามกำหนดเวลาดังนี้
๑๐.๑
ดอกเบี้ยงวดแรก ในวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๑
๑๐.๒
ดอกเบี้ยงวดต่อไปชำระทุก ๆ ๖ เดือน ในวันที่ ๒๗ กันยายน และ ๒๗ มีนาคม
๑๐.๓
ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตร ณ วันครบกำหนดไถ่ถอนพันธบัตร
๑๐.๔
ถ้าวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยดังที่ระบุใน ๑๐.๑ ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไปของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
และวันเปิดทำการถัดไปของธนาคารพาณิชย์
ข้อ
๑๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมายให้
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดการจัดจำหน่ายพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๑
จำนวน ๕,๗๐๐,๐๐๐,๐๐๐.- บาท
ข้อ
๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทยรับผิดชอบในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตร
และการจัดการอื่น ๆ ที่จำเป็นเพื่อผลประโยชน์ในการนี้
ข้อ
๑๓ รายละเอียด ขั้นตอน วิธีการ
และกำหนดการเปิดให้จองซื้อพันธบัตรตลอดจนขั้นตอนวิธีการจัดสรรและวิธีการชำระเงินคืนแก่ผู้จองซื้อพันธบัตรในกรณีที่ไม่ได้รับสิทธิในการจัดสรรให้จองซื้อพันธบัตร
หรือได้รับจัดสรรในการจองซื้อพันธบัตรไม่เต็มตามความประสงค์จะประกาศในหนังสือชี้ชวนซื้อพันธบัตร
ข้อ
๑๔ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
จะต้องนำพันธบัตรไปจดทะเบียนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินของพันธบัตรนี้ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ
๑๕ กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรนี้ให้ถือตามการจดทะเบียนที่นายทะเบียนเป็นสำคัญ
ข้อ
๑๖ พันธบัตรนี้ไม่สมบูรณ์
เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตร
ข้อ
๑๗ ในกรณีที่พันธบัตรชำรุด สูญหาย
หรือถูกทำลายด้วยประการใด ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกพันธบัตรให้ใหม่
เมื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรได้ปฏิบัติตามระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ข้อ
๑๘ การดำเนินการตามข้อ ๑๔
และ/หรือข้อ ๑๗ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
เพื่อการนั้นด้วย
ข้อ
๑๙ พันธบัตรนี้จำหน่ายแก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ในประเทศไทย
ประกาศ ณ วันที่ ๒๑
กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
ประสิทธิ์ เดชศิริ
รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
ปฏิบัติการแทน
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ภวรรณตรี/จัดทำ
๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๐
ปุณิกา/ตรวจ
๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๒๓๗ ง/หน้า ๓/๒๖ กันยายน ๒๕๖๐ |
772931 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิ
เชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๙)
พ.ศ.
๒๕๖๐[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๖๐
เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
วริญา/ภวรรณตรี/จัดทำ
๙ มีนาคม ๒๕๖๐
ปริญสินีย์/ตรวจ
๒๔ เมษายน ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๔/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๙/๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐ |
776888 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 15/12/2559) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙
ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒] ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙[๙]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ปุณิกา/เพิ่มเติม
๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๑๐ มกราคม ๒๕๖๐
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙
[๙] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง/หน้า ๕/๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ |
767454 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 31/03/2559) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ
๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๙
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๗) พ.ศ. ๒๕๕๙[๘]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
นุสรา/ปรับปรุง
๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
ชวัลพร/เพิ่มเติม
๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘
[๘] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
763951 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๙
เมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๐
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๗
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปุณิกา/ปริยานุช/จัดทำ
๑๙ ธันวาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๓๐ มกราคม ๒๕๖๐ |
756506 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่
๒๔ มกราคม ๒๕๕๔ เห็นชอบในหลักการโครงการทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้วยวิธีการเพิ่มบทบาทภาคเอกชน (Public Private Partnerships : PPPs) ตามขั้นตอนของพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในรูปแบบ Build - Transfer - Operate และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๕
เห็นชอบในหลักการร่างสัญญาสัมปทานการลงทุนออกแบบก่อสร้าง บริหารจัดการ
ให้บริการและบำรุงรักษาโครงการทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ที่สำนักงานอัยการสูงสุดได้ตรวจพิจารณาและพิมพ์ยกร่างขึ้นใหม่ และผนวกแนบท้ายสัญญา
รวมทั้งข้อสังเกต ๙ ข้อ ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ และให้กระทรวงคมนาคม
(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย) รับไปประสานงานกับสำนักงานอัยการสูงสุด
เพื่อดำเนินการแก้ไขร่างสัญญาดังกล่าวให้เป็นไปตามข้อสังเกต ๙
ข้อของสำนักงานอัยการสูงสุดอย่างเคร่งครัด
โดยให้คำนึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะ
แล้วดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป
และรายงานผลให้คณะรัฐมนตรีทราบด้วย
ซึ่งคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๖ ได้มีมติรับทราบแล้ว
ซึ่งต่อมาคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๙
เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ได้พิจารณาตามเงื่อนไขของสัญญาสัมปทานการลงทุน
ออกแบบก่อสร้างบริหารจัดการ ให้บริการและบำรุงรักษาโครงการทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครระหว่างบริษัทคู่สัญญาและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยแล้วจึงกำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ ๒[๑] ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๔ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
ข้อ
๗ ผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ที่จะเข้าใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) และทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง -
ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ณ
สถานที่จัดเก็บค่าผ่านทางพิเศษที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษบางซื่อ ๒
ตามอัตราที่ประกาศกระทรวงคมนาคมกำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ณ สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๕
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
รถยนต์ส่วนบุคคล และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒เพลา
(ไม่เกิน ๔ ล้อ)
๒
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน
๔ ล้อ)
๓
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
๔
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
๕
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
๖
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓เพลา
๗
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
๒
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
๓
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
๔
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
๕
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
๖
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
๗
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
๘
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
๙
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษศรีรัช - วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย
หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
๕๐
๒
รถที่มีล้อเกิน
๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
๘๐
๓
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๑๑๕
หมายเหตุ ผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ที่ประสงค์จะเข้าใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ
บางโคล่ และสายพญาไท ศรีนครินทร์) และทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง
ท่าเรือ สายบางนา ท่าเรือ และสายดาวคะนอง
ท่าเรือ) ให้ชำระค่าผ่านทางพิเศษที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษบางซื่อ
๒ ตามอัตราที่ประกาศกระทรวงคมนาคมกำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
วริญา/ปริยานุช/จัดทำ
๒๓ สิงหาคม
๒๕๕๙
นุสรา/ตรวจ
๒๒ พฤศจิกายน
๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๑๘๓ ง/หน้า ๒/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ |
748465 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2559
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๕๙[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๙ เมื่อวันที่
๙ มีนาคม ๒๕๕๙ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๗) พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๙
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/จัดทำ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
ชวัลพร/ตรวจ
๔ เมษายน ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๑๖/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ |
752110 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 16/12/2558) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ ๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๙
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๕๘[๖]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๖) พ.ศ. ๒๕๕๘[๗]
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
นุสรา/ปรับปรุง
๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗
[๖] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
[๗] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๓๑ ง/หน้า ๒๒/๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
743606 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 13/08/2558)
| ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ในคราวประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
ได้พิจารณาตามเงื่อนไขของสัญญาร่วมลงทุนระหว่างการทางพิเศษแห่งประเทศไทยกับบริษัทคู่สัญญา
ประกอบกับความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดแล้ว
จึงกำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ
สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖ ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗ ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม
ดังต่อไปนี้
(๑)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่)
ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษรัชดาภิเษก ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สาม
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษคลองประปา ๒ ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๑
(๒)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่) ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษแจ้งวัฒนะ
ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษรัชดาภิเษก
(๓)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๓
สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษทั้งตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
และบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ (ขาออก)
หรือตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒ และบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
(ขาเข้า)
(๔)
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๔ สำหรับผู้ใช้ทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายพญาไท
- ศรีนครินทร์) ตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๓
ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษศรีนครินทร์ และตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระราม ๙ - ๑
(ศรีรัช) ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษศรีนครินทร์ และตอนด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระราม
๙ - ๑ (ศรีรัช) ถึงด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอโศก ๔
ข้อ
๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดินแดง และด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดินแดง ๑
ตั้งแต่เวลา ๑๒.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๓.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๕๐
๗๕
๑๑๐
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๑๕
๒๐
๓๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๓
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
(ก) ขาออกนอกเมือง
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๑) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๒) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
โดยมีส่วนลด ๕ บาท
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๓)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่ใช้ ๒ บัญชี
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑.
๒.
๓.
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อแต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๕๐
๗๕
๑๑๐
๑๐
๑๕
๓๐
๖๐
๙๐
๑๔๐
(ข) ขาเข้าเมือง
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
(๑) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๒
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๒) ค่าผ่านทางพิเศษตามบัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๑
โดยมีส่วนลด ๕ บาท
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
(๓)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่ใช้ ๒ บัญชี
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑.
๒.
๓.
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อแต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๑๕
๒๐
๓๕
๔๕
๗๐
๑๐๕
๖๐
๙๐
๑๔๐
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษหมายเลข ๔
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง-ท่าเรือ
สายบางนา-ท่าเรือ และสายดาวคะนอง-ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ และสายพญาไท-ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษ
ครั้งหนึ่ง บาท/คัน
๑
๒
๓
รถที่มีล้อไม่เกิน
๔ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน ๔
ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
รถที่มีล้อเกิน
๑๐ ล้อ
๒๕
๕๕
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๘[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ปุณิกา/ผู้จัดทำ
ปัญญา/ตรวจ
๔ กันยายน ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๗/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘
แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่
และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง/หน้า ๒๑/๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ |
741218 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสีย หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง -
ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสีย หรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๘[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ
และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท
- ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
กำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษ ของทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ
สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา -
ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ -
บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ
๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง -
ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษยมราช ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษหัวลำโพง
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสะพานสว่าง ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษอุรุพงษ์
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุรวงศ์ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจันทน์ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสาทร
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สี่ ๑ ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษพระรามที่สี่ ๒
ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุขุมวิท และด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษเพชรบุรี ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐
นาฬิกา ถึงเวลา ๒๓.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/จัดทำ
๒๔ ธันวาคม
๒๕๕๘
ปริญสินีย์/ตรวจ
๒๔ ธันวาคม
๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๓๒๐ ง/หน้า ๑๐/๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ |
733218 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์) เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง
- ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
มีมติเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ กำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ)
และทางพิเศษศรีรัช (ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
(ทางพิเศษสายดินแดง - ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ
๘ แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางพิเศษสายดินแดง
- ท่าเรือ สายบางนา - ท่าเรือ และสายดาวคะนอง - ท่าเรือ) และทางพิเศษศรีรัช
(ทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ - บางโคล่ และสายพญาไท - ศรีนครินทร์)
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดินแดง และด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดินแดง ๑
ตั้งแต่เวลา ๑๒.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๓.๐๐ นาฬิกา ของวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๙ สิงหาคม
๒๕๕๘
ปุณิกา/ผู้ตรวจ
๔ กันยายน ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง/หน้า ๒๑/๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ |
725214 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๔) พ.ศ. ๒๕๕๗ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่
๑/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ
๘ แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ประกาศ ณ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ.
๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๘
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘
ปริญสินีย์/ผู้ตรวจ
๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๒/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒๔/๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘ |
745639 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2556 (ฉบับ Update ณ วันที่ 19/12/2557) | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือ
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ด้วยคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี ตามมาตรา ๑๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔
บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกประกาศไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ
๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๒
ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นต้นไป
ข้อ
๓ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕
และประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ
๔ ให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๕
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๖
ให้รถตามบัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมนี้
เป็นรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ข้อ
๗
ค่าผ่านทางพิเศษไม่เกินอัตราค่าผ่านทางพิเศษท้ายประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้
ข้อ ๘[๒]
ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๘
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๒
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
บัญชีประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
รถยนต์ส่วนบุคคล
และรถยนต์สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔
ล้อ)
รถบรรทุกตู้
รถบรรทุกเล็ก รถประจำทางเล็ก ขนาด ๒ เพลา (ไม่เกิน ๔ ล้อ)
รถบรรทุกขนาดกลาง
๒ เพลา (เกิน ๔ ล้อขึ้นไป)
รถบรรทุกขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถประจำทางขนาดกลาง
๒ เพลา
รถประจำทางขนาดใหญ่
๓ เพลา
รถเทรลเล่อร์และรถขนาดใหญ่พิเศษ
๓ เพลาขึ้นไป
บัญชีประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
ท้ายประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖
ลำดับที่
ประเภทของรถที่ได้รับการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินของพระมหากษัตริย์
หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
รถในขบวนเสด็จพระราชดำเนินหรือขบวนเสด็จของพระบรมราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าขึ้นไป
รถในขบวนเสด็จของพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
รถในขบวนเสด็จของสมเด็จพระสังฆราช
รถของผู้ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
รถดับเพลิง
และรถพยาบาลที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบหรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรน
เฉพาะในขณะปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น
รถของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้ในการปฏิบัติงานในทางพิเศษ
รถของกระทรวงกลาโหมที่ใช้ทำการเคลื่อนย้ายกำลังทหารหรือยุทโธปกรณ์
รถอื่นที่มีบัตรยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีทิศทางขาออกนอกเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
บางนา
กม.๖
(ขาออก)
บางแก้ว
บางนา
กม.
บางนา
กม.
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๔๐
๔๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๘๕
๙๕
๑๒๐
๑๔๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
๑๓๐
๑๔๕
๑๘๐
๒๑๕
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางพลี
๑
สุวรรณภูมิ
๑
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางปะกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๔๐
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๘๐
๑๐๐
๑๒๕
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๒๐
๑๕๕
๑๙๐
บางพลี
๒
สุวรรณภูมิ
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๒๕
๓๕
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๐
๕๕
๗๐
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๕
๑๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาออกนอกเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อเกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
สุวรรณภูมิ
๒
เมืองใหม่บางพลี
บางเสาธง
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๕
๓๐
๔๕
๕๕
๕๐
๕๐
๕๕
๖๕
๙๐
๑๑๕
๗๕
๗๕
๘๕
๑๐๐
๑๓๕
๑๗๐
บางบ่อ
บางพลีน้อย
บางสมัคร
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๒๐
๓๕
๕๐
๕๐
๕๐
๗๐
๗๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
บางวัว
บางประกง
๑
ชลบุรี
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางประกง
๒
ชลบุรี
๒๐
๕๐
๗๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ชลบุรี
บางประกง
๒
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๓๕
๕๕
๕๕
๖๐
๗๐
๕๐
๕๐
๗๐
๑๑๕
๑๑๕
๑๒๕
๑๔๕
๗๕
๗๕
๑๐๕
๑๗๐
๑๗๕
๑๙๐
๒๑๕
บางประกง
๑
บางวัว
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๔๕
๔๕
๕๐
๖๐
๕๐
๕๐
๙๐
๙๐
๑๐๐
๑๒๐
๗๕
๗๕
๑๓๕
๑๓๕
๑๕๕
๑๘๐
บางสมัคร
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๓๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕๐
๖๕
๗๐
๘๐
๙๕
๗๕
๑๐๐
๑๐๕
๑๒๐
๑๔๕
บางพลีน้อย
บางบ่อ
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา
กม.๖
(ขาเข้า)
๒๐
๒๕
๒๕
๓๕
๔๐
๕๐
๕๕
๕๕
๗๐
๘๕
๗๕
๘๕
๘๕
๑๐๕
๑๓๐
บางเสาธง
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๓๐
๕๐
๕๐
๕๐
๖๐
๗๕
๗๕
๗๕
๙๕
บัญชีอัตราค่าผ่านทางพิเศษสำหรับผู้ใช้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ทิศทางขาเข้าเมือง (ต่อ)
ขึ้นที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ลงที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษ
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
ไม่เกิน ๔ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๔ ล้อ แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
ค่าผ่านทางพิเศษสำหรับรถที่มีล้อ
เกิน ๑๐ ล้อ
(บาท/คัน)
เมืองใหม่บางพลี
สุวรรณภูมิ
๒
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
๗๕
สุวรรณภูมิ
๑
บางพลี
๒
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
๗๕
บางพลี
๑
วงแหวนรอบนอก
(บางแก้ว)
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๒๐
๕๐
๕๐
๗๕
๗๕
บางนา
กม. ๙-๓
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
บางแก้ว
บางนา กม.๖ (ขาเข้า)
๒๐
๕๐
๗๕
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖[๓]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้ สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗[๔]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗[๕]
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖
โชติกานต์/ผู้ตรวจ
๖ กันยายน ๒๕๕๖
นุสรา/เพิ่มเติม
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๑๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
[๒] ข้อ ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๗
[๓] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖
[๔] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗
[๕] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ |
719468 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2557 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๕๗[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษและอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่
๖/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๗
พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ.
๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี
- สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๔) พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๘
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๕ มกราคม ๒๕๕๘
นุสรา/ตรวจ
๑๙ พฤษภาคม
๒๕๕๘
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง/หน้า ๑๑/๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ |
714615 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 6 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗
ครั้งที่ ๖[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ (๖) ประกอบกับมาตรา ๕๗ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
และโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๗
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยจึงขอประกาศให้ทราบว่า
ข้อ ๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะทำการกู้เงินเพื่อการบริหารและจัดการหนี้
โดยวิธีการออกจำหน่ายพันธบัตร
ข้อ ๒ พันธบัตรนี้มีชื่อเรียกว่า พันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๖
ข้อ ๓ พันธบัตรนี้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ำประกันต้นเงินและดอกเบี้ย
ข้อ ๔ พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดระบุชื่อผู้ถือ
ข้อ ๕ พันธบัตรนี้มีมูลค่าที่ออกรวม ๙๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (เก้าร้อยล้านบาทถ้วน) แบ่งออกเป็น ๙๐๐,๐๐๐ หน่วย (เก้าแสนหน่วย) มูลค่าหน่วยละ ๑,๐๐๐ บาท
(หนึ่งพันบาทถ้วน) ซึ่งจำหน่ายให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลทั่วไป
โดยไม่จำกัดประเภทบุคคลและสัญชาติ
ข้อ ๖ พันธบัตรนี้มีกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรเมื่อครบ
๓ ปี โดยเป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก และไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
ข้อ ๗ วันออกจำหน่ายพันธบัตร
คือ วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๗
ข้อ ๘ วันไถ่ถอนพันธบัตร คือ วันที่ ๑๘ กันยายน
๒๕๖๐ หากวันดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์
ให้เลื่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนเป็นวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๙ พันธบัตรมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๒.๘๓ ต่อปี
คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรโดยเริ่มคำนวณจากวันออกพันธบัตรถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรการคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี
๓๖๕ วัน และนับวันตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของ ๑ สตางค์ให้ปัดทิ้ง
ข้อ ๑๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะชำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามกำหนดเวลา
ดังนี้
๑๐.๑ ดอกเบี้ยงวดแรก ชำระในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๘
๑๐.๒ ดอกเบี้ยงวดต่อไปชำระทุก ๆ ๖ เดือน ทุก ๆ วันที่ ๑๘ กันยายน และ
๑๘ มีนาคม
๑๐.๓ ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตร ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตร
๑๐.๔ ถ้าวันถึงกำหนดชำระดอกเบี้ยดังที่ระบุใน ๑๐.๑ ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๑๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมายให้ บมจ.
ธนาคารกสิกรไทย เป็นผู้จัดการจัดจำหน่ายและประกันการจำหน่ายพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๖ โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่รับผิดชอบในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรและการจัดการอื่น
ๆ ที่จำเป็นเพื่อผลประโยชน์ในการนี้
ข้อ ๑๓ รายละเอียด
ขั้นตอน วิธีการ
และกำหนดการเปิดให้จองซื้อพันธบัตรตลอดจนขั้นตอนวิธีการจัดสรรและวิธีการชำระเงินคืนแก่ผู้จองซื้อพันธบัตรในกรณีที่ไม่ได้รับสิทธิในการจัดสรรให้จองซื้อพันธบัตร
หรือได้รับจัดสรรในการจองซื้อพันธบัตรไม่เต็มตามความประสงค์จะประกาศในหนังสือชี้ชวนซื้อพันธบัตร
ข้อ ๑๔ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
จะต้องนำพันธบัตรไปจดทะเบียนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรนี้ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๕ กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรนี้ให้ถือตามการจดทะเบียนที่นายทะเบียนเป็นสำคัญ
ข้อ ๑๖ พันธบัตรนี้ไม่สมบูรณ์
เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรฉบับนี้แล้ว
ข้อ ๑๗ ในกรณีที่พันธบัตรชำรุด สูญหาย
หรือถูกทำลายด้วยประการใด ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกพันธบัตรให้ใหม่
เมื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรได้ปฏิบัติตามระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ข้อ ๑๘ การดำเนินการตามข้อ
๑๔ และ/หรือข้อ ๑๗ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
เพื่อการนั้นด้วย
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ณรงค์ เขียดเดช
รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
ปฏิบัติการแทน
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙ ตุลาคม ๒๕๕๗
กฤษดายุทธ/ผู้ตรวจ
๙ ตุลาคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๐๐ ง/หน้า ๒๐/๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ |
710352 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 5 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗
ครั้งที่ ๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ (๖) ประกอบกับมาตรา ๕๗ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
และโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๗
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยจึงขอประกาศให้ทราบว่า
ข้อ ๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะทำการกู้เงินเพื่อการบริหารและจัดการหนี้โดยวิธีการออกจำหน่ายพันธบัตร
ข้อ ๒ พันธบัตรนี้มีชื่อเรียกว่า
พันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๕
ข้อ ๓ พันธบัตรนี้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ำประกันต้นเงินและดอกเบี้ย
ข้อ ๔ พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดระบุชื่อผู้ถือ
ข้อ ๕ พันธบัตรนี้มีมูลค่าที่ออกรวม ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
(หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) แบ่งออกเป็น ๑,๐๐๐,๐๐๐ หน่วย (หนึ่งล้านหน่วย) มูลค่า หน่วยละ ๑,๐๐๐ บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) ซึ่งจำหน่ายให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลทั่วไป
โดยไม่จำกัดประเภทบุคคลและสัญชาติ
ข้อ ๖ พันธบัตรนี้มีกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรเมื่อครบ
๗ ปี โดยเป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก และไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
ข้อ ๗ วันออกจำหน่ายพันธบัตร
คือ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗
ข้อ ๘ วันไถ่ถอนพันธบัตร
คือ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔
หากวันดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์
ให้เลื่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนเป็นวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๙ พันธบัตรมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๓.๕๔ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตร โดยเริ่มคำนวณจากวันออกพันธบัตรถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตร
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน
และนับวันตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของ ๑ สตางค์ให้ปัดทิ้ง
ข้อ ๑๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะชำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามกำหนดเวลา
ดังนี้
๑๐.๑ ดอกเบี้ยงวดแรก ชำระในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
๑๐.๒ ดอกเบี้ยงวดต่อไปชำระทุก ๆ ๖ เดือน ทุก ๆ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม และ
๒๙ พฤศจิกายน
๑๐.๓ ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตร ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตร
๑๐.๔ ถ้าวันถึงกำหนดชำระดอกเบี้ยดังที่ระบุใน ๑๐.๑ ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๑๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมายให้
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดการจัดจำหน่ายและประกันการจำหน่ายพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ.
๒๕๕๗ ครั้งที่ ๕
โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่รับผิดชอบในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรและการจัดการอื่น
ๆ ที่จำเป็นเพื่อผลประโยชน์ในการนี้
ข้อ ๑๓ รายละเอียด
ขั้นตอน วิธีการ และกำหนดการเปิดให้จองซื้อพันธบัตร ตลอดจนขั้นตอน
วิธีการจัดสรรและวิธีการชำระเงินคืนแก่ผู้จองซื้อพันธบัตรในกรณีที่ไม่ได้รับสิทธิในการจัดสรรให้จองซื้อพันธบัตร
หรือได้รับจัดสรรในการจองซื้อพันธบัตรไม่เต็มตามความประสงค์จะประกาศในหนังสือชี้ชวนซื้อพันธบัตร
ข้อ ๑๔ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
จะต้องนำพันธบัตรไปจดทะเบียนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรนี้
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๕ กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรนี้ให้ถือตามการจดทะเบียนที่นายทะเบียนเป็นสำคัญ
ข้อ ๑๖ พันธบัตรนี้ไม่สมบูรณ์
เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรฉบับนี้แล้ว
ข้อ ๑๗ ในกรณีที่พันธบัตรชำรุด สูญหาย หรือถูกทำลายด้วยประการใด
ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกพันธบัตรให้ใหม่
เมื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรได้ปฏิบัติตามระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ข้อ ๑๘ การดำเนินการตามข้อ
๑๔ และ/หรือข้อ ๑๗ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
เพื่อการนั้นด้วย
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
ปัญญา ไชยานนท์
ผู้อำนวยการฝ่ายการเงินและบัญชี
ทำการแทน
รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
ปฏิบัติการแทน
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๑ มิถุนายน
๒๕๕๗
นุสรา/ผู้ตรวจ
๓๐ กรกฎาคม
๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง/หน้า ๕๓/๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ |
705944 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 4 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๗
ครั้งที่ ๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ (๖) ประกอบกับมาตรา ๕๗ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
และโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการประชุม เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๗
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยจึงขอประกาศให้ทราบว่า
ข้อ ๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะทำการกู้เงินเพื่อการบริหารและจัดการหนี้โดยวิธีการออกจำหน่ายพันธบัตร
ข้อ ๒ พันธบัตรนี้มีชื่อเรียกว่า
พันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๔
ข้อ ๓ พันธบัตรนี้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ำประกันต้นเงินและดอกเบี้ย
ข้อ ๔ พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดระบุชื่อผู้ถือ
ข้อ ๕ พันธบัตรนี้มีมูลค่าที่ออกรวม ๗๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (เจ็ดร้อยล้านบาทถ้วน) แบ่งออกเป็น ๗๐๐,๐๐๐ หน่วย (เจ็ดแสนหน่วย) มูลค่าหน่วยละ ๑,๐๐๐ บาท
(หนึ่งพันบาทถ้วน) ซึ่งจำหน่ายให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลทั่วไป
โดยไม่จำกัดประเภทบุคคลและสัญชาติ
ข้อ ๖ พันธบัตรนี้มีกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรเมื่อครบ
๓ ปี โดยเป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก และไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
ข้อ ๗ วันออกจำหน่ายพันธบัตร
คือ วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗
ข้อ ๘ วันไถ่ถอนพันธบัตร
คือ วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐
หากวันดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์
ให้เลื่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนเป็นวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๙ พันธบัตรมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๒.๗๐ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตร โดยเริ่มคำนวณจากวันออกพันธบัตรถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรการคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี
๓๖๕ วัน และนับวันตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของ ๑ สตางค์ให้ปัดทิ้ง
ข้อ ๑๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะชำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามกำหนดเวลาดังนี้
๑๐.๑ ดอกเบี้ยงวดแรก ชำระในวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๗
๑๐.๒ ดอกเบี้ยงวดต่อไปชำระทุก ๆ ๖ เดือน ทุก ๆ วันที่ ๓๐ เมษายน และ ๓๐
ตุลาคม
๑๐.๓ ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตร ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตร
๑๐.๔ ถ้าวันถึงกำหนดชำระดอกเบี้ยดังที่ระบุใน ๑๐.๑ ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๑๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมายให้
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดการจัดจำหน่ายและประกันการจำหน่ายพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ.
๒๕๕๗ ครั้งที่ ๔
โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่รับผิดชอบในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรและการจัดการอื่น
ๆ ที่จำเป็นเพื่อผลประโยชน์ในการนี้
ข้อ ๑๓ รายละเอียด
ขั้นตอน วิธีการ
และกำหนดการเปิดให้จองซื้อพันธบัตรตลอดจนขั้นตอนวิธีการจัดสรรและวิธีการชำระเงินคืนแก่ผู้จองซื้อพันธบัตรในกรณีที่ไม่ได้รับสิทธิในการจัดสรรให้จองซื้อพันธบัตร
หรือได้รับจัดสรรในการจองซื้อพันธบัตรไม่เต็มตามความประสงค์จะประกาศในหนังสือชี้ชวนซื้อพันธบัตร
ข้อ ๑๔ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
จะต้องนำพันธบัตรไปจดทะเบียนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรนี้การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๕ กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรนี้ให้ถือตามการจดทะเบียนที่นายทะเบียนเป็นสำคัญ
ข้อ ๑๖ พันธบัตรนี้ไม่สมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรฉบับนี้แล้ว
ข้อ ๑๗ ในกรณีที่พันธบัตรชำรุด สูญหาย
หรือถูกทำลายด้วยประการใด ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกพันธบัตรให้ใหม่ เมื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรได้ปฏิบัติตามระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ข้อ ๑๘ การดำเนินการตามข้อ ๑๔ และ/หรือข้อ ๑๗
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เพื่อการนั้นด้วย
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ณรงค์ เขียดเดช
รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
ปฏิบัติการแทน
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖ พฤษภาคม
๒๕๕๗
จุฑามาศ/ผู้ตรวจ
๓ มิถุนายน
๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๗๗ ง/หน้า ๒๒/๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ |
704505 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 3 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การออกพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๗
ครั้งที่ ๓[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ (๖) ประกอบกับมาตรา ๕๗ (๓)
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
และโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๗
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยจึงขอประกาศให้ทราบว่า
ข้อ ๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะทำการกู้เงินเพื่อการบริหารและจัดการหนี้
โดยวิธีการออกจำหน่ายพันธบัตร
ข้อ ๒ พันธบัตรนี้มีชื่อเรียกว่า
พันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๓
ข้อ ๓ พันธบัตรนี้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ำประกันต้นเงินและดอกเบี้ย
ข้อ ๔ พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดระบุชื่อผู้ถือ
ข้อ ๕ พันธบัตรนี้มีมูลค่าที่ออกรวม ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
(หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) แบ่งออกเป็น ๑,๐๐๐,๐๐๐ หน่วย (หนึ่งล้านหน่วย) มูลค่าหน่วยละ ๑,๐๐๐ บาท
(หนึ่งพันบาทถ้วน) ซึ่งจำหน่ายให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลทั่วไป
โดยไม่จำกัดประเภทบุคคลและสัญชาติ
ข้อ ๖ พันธบัตรนี้มีกำหนดไถ่ถอนพันธบัตรเมื่อครบ
๓ ปี โดยเป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก และไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
ข้อ ๗ วันออกจำหน่ายพันธบัตร
คือ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๗
ข้อ ๘ วันไถ่ถอนพันธบัตร คือ วันที่ ๓ เมษายน
๒๕๖๐ หากวันดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์
ให้เลื่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนเป็นวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๙ พันธบัตรมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๒.๘๔ ต่อปี
คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรโดยเริ่มคำนวณจากวันออกพันธบัตรถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรการคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี
๓๖๕ วัน และนับวันตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง เศษของ ๑ สตางค์ให้ปัดทิ้ง
ข้อ ๑๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะชำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามกำหนดเวลาดังนี้
๑๐.๑ ดอกเบี้ยงวดแรก ชำระในวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๗
๑๐.๒ ดอกเบี้ยงวดต่อไปชำระทุก ๆ ๖ เดือน ทุก ๆ วันที่ ๓ เมษายน และ ๓
ตุลาคม
๑๐.๓ ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตร ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตร
๑๐.๔ ถ้าวันถึงกำหนดชำระดอกเบี้ยดังที่ระบุใน ๑๐.๑ และ ๑๐.๒
ตรงกับวันหยุดทำการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
หรือวันหยุดทำการของธนาคารพาณิชย์ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ข้อ ๑๑ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมายให้
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดการจัดจำหน่ายและประกันการจำหน่ายพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๓
โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทยทำหน้าที่รับผิดชอบในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรและการจัดการอื่น
ๆ ที่จำเป็นเพื่อผลประโยชน์ในการนี้
ข้อ ๑๓ รายละเอียด
ขั้นตอน วิธีการ
และกำหนดการเปิดให้จองซื้อพันธบัตรตลอดจนขั้นตอนวิธีการจัดสรรและวิธีการชำระเงินคืนแก่ผู้จองซื้อพันธบัตรในกรณีที่ไม่ได้รับสิทธิในการจัดสรรให้จองซื้อพันธบัตร
หรือได้รับจัดสรรในการจองซื้อพันธบัตรไม่เต็มตามความประสงค์จะประกาศในหนังสือชี้ชวนซื้อพันธบัตร
ข้อ ๑๔ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
จะต้องนำพันธบัตรไปจดทะเบียนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรนี้การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตร
หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้ถือปฏิบัติตามระเบียบและพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๑๕ กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรนี้ให้ถือตามการจดทะเบียนที่นายทะเบียนเป็นสำคัญ
ข้อ ๑๖ พันธบัตรนี้ไม่สมบูรณ์
เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรฉบับนี้แล้ว
ข้อ ๑๗ ในกรณีที่พันธบัตรชำรุด สูญหาย
หรือถูกทำลายด้วยประการใด ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกพันธบัตรให้ใหม่
เมื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรได้ปฏิบัติตามระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ข้อ ๑๘ การดำเนินการตามข้อ ๑๔ และ/หรือข้อ ๑๗
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เพื่อการนั้นด้วย
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ณรงค์ เขียดเดช
รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร
ปฏิบัติการแทน
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๗ เมษายน ๒๕๕๗
กฤษดายุทธ/ผู้ตรวจ
๑๗ เมษายน ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๖๒ ง/หน้า ๓๔/๑๑ เมษายน ๒๕๕๗ |
704164 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2557 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภท
ของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๗[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น
คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๗
เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๗ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ.
๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา
- ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถีและทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘
แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์)
กับทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๗
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๘ เมษายน ๒๕๕๗
จุฑามาศ/ผู้ตรวจ
๑๑ เมษายน ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๕๘ ง/หน้า ๒๓/๔ เมษายน ๒๕๕๗ |
700470 | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย | ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เรื่อง
การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้อง
ของข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย[๑]
ตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้ออกประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา
หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง
การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกาศ ณ วันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ นั้น
บัดนี้ ได้มีประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง
โครงสร้างและการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่
วิธีการดำเนินงานและสถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ลงวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับประกาศ
โครงสร้างดังกล่าว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๕
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
จึงยกเลิกประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา
หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ฉบับลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
และออกประกาศการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขอสำเนา
หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑. ค่าธรรมเนียมการทำสำเนาโดยการถ่ายเอกสาร
การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะเรียกเก็บในอัตราดังต่อไปนี้
(๑) ขนาดกระดาษ
เอ ๔ หน้าละ
๑ บาท
(๒) ขนาดกระดาษ
เอฟ ๑๔ หน้าละ
๑ บาท
(๓) ขนาดกระดาษ
บี ๔ หน้าละ
๒ บาท
(๔) ขนาดกระดาษ
เอ ๓ หน้าละ
๓ บาท
(๕)
ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๒ หน้าละ
๘ บาท
(๖)
ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๑ หน้าละ
๑๕ บาท
(๗)
ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๐ หน้าละ
๓๐ บาท
๒. ค่าธรรมเนียมการให้คำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสาร
การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจะเรียกเก็บในอัตราคำรับรองละ ๕ บาท
๓. ในกรณีที่ผู้ขอสำเนาหรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องเป็นผู้มีรายได้น้อยให้หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร
หรือหน่วยงานในสังกัดที่ครอบครองหรือควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสาร
เป็นหน่วยงานในการพิจารณายกเว้นค่าธรรมเนียม
หรือลดอัตราค่าธรรมเนียมให้ตามควรแก่กรณีได้
ผู้ใดประสงค์จะขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้อง
สามารถยื่นความจำนงได้ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (จตุจักร)
หรือยื่นโดยตรงต่อหน่วยงานในสังกัดที่ครอบครองหรือควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕
อัยยณัฐ
ถินอภัย
ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๗ มกราคม ๒๕๕๗
โชติกานต์/ผู้ตรวจ
๗ มกราคม ๒๕๕๗
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง/หน้า ๘๘/๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ |
699619 | ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษ สายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 | ประกาศกระทรวงคมนาคม
ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง
กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้
สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี -
สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภท
ของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ
และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๖[๑]
ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ นั้น คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้มีมติ ในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๖
เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ พิจารณากำหนดอัตราค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพาวิถี
(ทางพิเศษสายบางนา - ชลบุรี)
ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี
ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๙
แห่งพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๓๔ บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า
ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษ สายบางนา
- ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๕๖
ข้อ ๒ ประกาศกระทรวงคมนาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ
๘ แห่งประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง กำหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางพิเศษสายบางนา -
ชลบุรี) ทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี และทางเชื่อมต่อทางพิเศษกาญจนาภิเษก
(บางพลี - สุขสวัสดิ์) กับทางพิเศษบูรพาวิถี เป็นทางต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ
ประเภทของรถที่ต้องเสียหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ.
๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๘ ผู้ใช้รถบนทางพิเศษต้องเสียค่าผ่านทางพิเศษตามอัตราที่ประกาศ
ยกเว้นตั้งแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๐.๐๑ นาฬิกา ถึงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๗
เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ณ
สถานที่จัดเก็บตามที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกำหนด
ประกาศ
ณ วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พลเอก
พฤณท์ สุวรรณทัต
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๖ ธันวาคม
๒๕๕๖
จุฑามาศ/ผู้ตรวจ
๒๗ ธันวาคม
๒๕๕๖
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๐/ตอนพิเศษ ๑๘๐ ง/หน้า ๑๑/๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ |
Subsets and Splits
No community queries yet
The top public SQL queries from the community will appear here once available.