sysid
stringlengths 1
6
| title
stringlengths 8
870
| txt
stringlengths 0
257k
|
---|---|---|
591313 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๙[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
ครั้งที่ ๑ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ วงเงิน ๙,๙๒๕
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
อายุ ๑๐.๓๑ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๕๒,๖๓๒
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๙.๔๘ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม บริษัทหลักทรัพย์ และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึง
วันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๗ กันยายน ๒๕๕๑
๙,๙๒๕
๔.๓๘๔๖
๑๐,๕๐๐,๔๘๖,๑๗๒.๖๕
๕๖๗,๑๒๔,๖๕๗.๙๐
๘,๓๖๑,๕๑๔.๗๕
หมายเหตุ :- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
วิสุทธิ์
ศรีสุพรรณ
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๖ ง/หน้า ๑๓/๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
591311 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 8
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๘[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
ครั้งที่ ๑ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ วงเงิน ๑๒,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
อายุ ๕.๖๗ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๙๙,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๔.๕๘ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่
สหกรณ์ออมทรัพย์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำกัด
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒ ดำเนินการในวันที่
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึง
วันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๒,๐๐๐
๔.๕๒๔๕
๑๒,๐๗๙,๒๓๖,๗๕๖.๙๐
-๑๓๗,๓๓๘,๖๔๓.๑๐
๒๑๖,๕๗๕,๔๐๐.๐๐
หมายเหตุ :- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
วิสุทธิ์
ศรีสุพรรณ
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๖ ง/หน้า ๑๑/๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ |
590050 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙[๑]
โดยที่พันธบัตรรัฐบาลที่ออกตามประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๙ วงเงิน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป
เล่ม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๑ จำหน่ายได้จริงจำนวน ๙,๙๒๕,๐๐๐,๐๐๐
บาท (เก้าพันเก้าร้อยยี่สิบห้าล้านบาทถ้วน)
กระทรวงการคลังจึงขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ จากจำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) เป็นจำนวน ๙,๙๒๕,๐๐๐,๐๐๐
บาท (เก้าพันเก้าร้อยยี่สิบห้าล้านบาทถ้วน)
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๔
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๗๐ ง/หน้า ๑๗/๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
589790 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนสิงหาคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๔๘,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน
๔๗,๔๕๒,๘๕๑,๘๘๓.๔๗
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๕๔๗,๑๔๘,๑๑๖.๕๓
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
45/28/51
๒,๐๐๐
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๓
กันยายน ๒๕๕๑
๒๘
๕,๒๓๓,๓๙๓.๑๖
L45/91/51
๕,๐๐๐
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๕
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๙๑
๔๓,๑๕๘,๖๕๗.๐๒
L45/182/51
๕,๐๐๐
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๔
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
๑๘๒
๘๖,๔๐๗,๖๔๒.๑๒
46/28/51
๒,๐๐๐
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๐
กันยายน ๒๕๕๑
๒๘
๕,๑๗๘,๔๔๗.๔๕
L46/91/51
๕,๐๐๐
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๒
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๙๑
๔๒,๘๗๕,๓๘๔.๙๔
L46/182/51
๕,๐๐๐
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
๑๘๒
๘๖,๓๑๙,๔๐๑.๘๐
47/28/51
๒,๐๐๐
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๗
กันยายน ๒๕๕๑
๒๘
๕,๒๒๑,๑๐๖.๘๘
L47/91/51
๕,๐๐๐
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๙
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๙๑
๔๓,๑๖๖,๐๑๑.๖๖
L47/182/51
๕,๐๐๐
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
๑๘๒
๘๖,๙๗๓,๔๓๕.๐๙
48/28/51
๒,๐๐๐
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๔
กันยายน ๒๕๕๑
๒๘
๕,๖๗๓,๘๓๕.๒๗
L48/91/51
๕,๐๐๐
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๖
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๙๑
๔๕,๘๘๕,๒๔๐.๗๒
L48/182/51
๕,๐๐๐
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
๑๘๒
๙๑,๐๕๕,๕๖๐.๔๒
รวม
๔๘,๐๐๐
๕๔๗,๑๔๘,๑๑๖.๕๓
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่ง ๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท
ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลังโดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒๑,๐๐๐ ล้านบาท
ทำให้มียอดตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน
๑๖๘,๐๐๐ ล้านบาท อย่างไรก็ดี ในเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลไปแล้ว จำนวน ๒๑,๐๐๐
ล้านบาท ทำให้ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม ๒๕๕๑
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๘
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๘ ง/หน้า ๔๔/๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
589135 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 6) วันที่ 26 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล
โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๗๒๕
ต่อปีซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๒๖ มีนาคม และวันที่ ๒๖ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๑.๐๑ ต่อปี และในวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) เป็นร้อยละ ๓.๐๗ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖)
จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๗ ต่อปีเป็นร้อยละ ๓.๕๑ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๒๖
กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๕
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๕ ง/หน้า ๑๕/๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
588815 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 11
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า
พันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑
อายุ ๓ ปี จำนวน ๖๓๕,๖๔๐,๐๐๐ บาท (หกร้อยสามสิบห้าล้านหกแสนสี่หมื่นบาทถ้วน)
๒.
พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ ๑๐,๐๐๐
บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐ บาท
วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้ว
แต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่น
ๆ ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือ วันที่ ๑๕-๒๖
สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วย บุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๕๗๘
ราย จำนวนเงิน ๖๓๑,๘๔๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิ จำนวน ๘
ราย จำนวนเงิน ๓,๘๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
สิงหาคม ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๖๐
ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้นให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือ
ในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ และวันที่ ๑๕ สิงหาคม ของทุกปีเป็นจำนวนเงินงวดละเท่า ๆ
กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้
ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่น ๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่น ๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒ ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
สถิตย์
ลิ่มพงศ์พันธุ์
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายได้
รักษาราชการแทน
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง/หน้า ๑๖/๖ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
588813 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๔ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขาย และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ จำนวน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๕๒,๗๐๗
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่น ๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑) ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล
ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๙ (LB183B)
อายุคงเหลือ ๙.๔๘ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี
จำนวน ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท
๑๗
ก.ย. ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๑๙
ก.ย. ๒๕๕๑
๑๓
ก.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๑
หมายเหตุ :- เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๕๒,๗๐๗
ล้านบาท
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
(วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๒
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ วันที่
๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑) ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร
ทั้งนี้ วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง/หน้า ๙/๖ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
588811 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 8
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๔ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขาย และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ จำนวน ๑๒,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นสองพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๙๙,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่น ๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง) และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล
ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๘ (LB133A)
อายุคงเหลือ ๔.๕๘ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี
จำนวน ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท
๑๓
ส.ค. ๒๕๕๑
๑๒,๐๐๐
๑๕
ส.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๖
หมายเหตุ :- เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๙๙,๐๐๐
ล้านบาท
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง/หน้า ๓/๖ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
588809 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินระยะสั้นเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 2
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกู้เงินระยะสั้นเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๒[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
๓ แห่ง เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลจำนวน ๒๒,๐๐๐
ล้านบาท ที่ครบกำหนดในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขสำคัญสรุปได้ ดังนี้
๑. วงเงินกู้จำนวน ๒๒,๐๐๐ ล้านบาท
โดยเบิกเงินกู้ทั้งจำนวน ในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตามรายละเอียด ดังนี้
ลำดับที่
สถาบันการเงิน
อัตราดอกเบี้ย
(ร้อยละต่อปี)
วงเงิน
(ล้านบาท)
๑
ธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน)
๓.๕๐
๓,๐๐๐
๒
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
๓.๕๔
๓,๐๐๐
๓
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
๓.๕๘
๓,๐๐๐
๔
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
๓.๖๒
๓,๕๐๐
๕
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
๓.๖๖
๓,๕๐๐
รวม
๑๖,๐๐๐
๖
ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน)
๓.๖๕
๕,๐๐๐
๗
ธนาคารออมสิน
๓.๖๘
๑,๐๐๐
รวมทั้งสิ้น
๒๒,๐๐๐
๒. ระยะเวลาในการชำระคืนต้นเงินไม่เกิน ๓ เดือน
โดยจะนำเงินที่ได้จากการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ และครั้งที่ ๙ มาทยอยชำระคืนภายในวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
ประกาศ
ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง/หน้า ๑/๖ ตุลาคม ๒๕๕๑ |
588325 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๑๕,๐๐๐
ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน ๑๔,๘๕๙,๘๔๓,๕๙๒.๔๐
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๑๔๐,๑๕๖,๔๐๗.๖๐
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
40/28/51
๑,๐๐๐
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๘
๒,๔๐๗,๔๓๗.๓๙
L40/91/51
๑,๐๐๐
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑
ตุลาคม ๒๕๕๑
๙๑
๗,๙๔๕,๔๔๗.๙๐
L40/184/51
๑,๐๐๐
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒
มกราคม ๒๕๕๑
๑๘๔
๑๗,๐๙๒,๑๗๖.๒๐
41/28/51
๑,๐๐๐
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๘
๒,๔๓๖,๐๓๑.๗๖
L41/91/51
๑,๐๐๐
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๘
ตุลาคม ๒๕๕๑
๙๑
๘,๑๒๔,๗๖๗.๓๐
L41/182/51
๑,๐๐๐
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๗
มกราคม ๒๕๕๒
๑๘๒
๑๖,๗๑๙,๐๐๙.๕๕
42/28/51
๑,๐๐๐
๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๘
๒,๕๐๒,๘๘๐.๒๗
L42/91/51
๑,๐๐๐
๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๕
ตุลาคม ๒๕๕๑
๙๑
๘,๓๘๐,๙๔๖.๙๐
L42/182/51
๑,๐๐๐
๒๓
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๔
มกราคม ๒๕๕๒
๑๘๒
๑๗,๓๓๓,๒๙๘.๓๔
43/28/51
๑,๐๐๐
๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๘
๒,๖๑๑,๙๒๗.๐๗
L43/91/51
๑,๐๐๐
๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๒
ตุลาคม ๒๕๕๑
๙๑
๘,๗๕๑,๔๗๓.๑๖
L43/182/51
๑,๐๐๐
๒๓
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๑
มกราคม ๒๕๕๒
๑๘๒
๑๗,๕๓๖,๖๓๘.๑๑
44/28/51
๑,๐๐๐
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๘
๒,๖๐๘,๓๐๒.๒๒
L44/91/51
๑,๐๐๐
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
๙๑
๘,๖๐๑,๕๓๖.๐๕
L44/182/51
๑,๐๐๐
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๘
มกราคม ๒๕๕๒
๑๘๒
๑๗,๑๐๔,๕๓๕.๓๘
รวม
๑๕,๐๐๐
๑๔๐,๑๕๖,๔๐๗.๖๐
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่ง ๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลังโดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒๑,๐๐๐ ล้านบาท
ทำให้มียอดตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน
๑๖๘,๐๐๐ ล้านบาท อย่างไรก็ดี ในเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑ กระทรวงการคลังได้ดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลไปแล้วจำนวน
๑๖,๐๐๐ ล้านบาท และในเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑
ได้ดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มเติมอีกจำนวน ๕,๐๐๐
ล้านบาท ทำให้ ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒
ตุลาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕๘ ง/หน้า ๗/๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ |
587843 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 3) วันที่ 15 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓)
วันที่
๑๕ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ลงวันที่
๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๕ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๙ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๑๕ มีนาคม และวันที่ ๑๕
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๑.๐๐ ต่อปี และในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑
ได้มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) เป็นร้อยละ ๓.๐๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๕
ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๕๐ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕๕ ง/หน้า ๔/๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ |
587841 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 3) วันที่ 15 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓)
วันที่
๑๕ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๑๒
มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๕ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๘ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๑๕ มีนาคม และวันที่ ๑๕
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๙ ต่อปี และในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑
ได้มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) เป็นร้อยละ ๓.๐๔ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๔
ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๔๙ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕๕ ง/หน้า ๓/๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ |
587839 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 7
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๗[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗
เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ วงเงิน ๕,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
อายุ ๑๐.๓๑ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๔๒,๗๐๗
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๙.๖๔ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑
๕,๐๐๐
๕.๔๐๔๐
๔,๙๘๘,๙๘๕,๗๗๓.๑๐
-๑๐๕,๐๘๙,๕๗๖.๙๐
๙๔,๐๗๕,๓๕๐.๐๐
หมายเหตุ :-
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕๕ ง/หน้า ๑/๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ |
587550 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 (ครั้งที่ 4) วันที่ 10 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
(ครั้งที่
๔) วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วย กระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล
โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๔) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ อายุ ๓.๕ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๓ ต่อปี
ซึ่งตาม ข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่
๑๐ มีนาคม และวันที่ ๑๐ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่งบวกร้อยละ ๐.๙๗ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๔) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๓ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๔๗ ต่อปี
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๕๓ ง/หน้า ๓/๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ |
587238 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกันยายน
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
และกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กระทรวงการคลังจะออกจำ
หน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒ ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓ ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔ ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑ มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลัง หากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕ ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖ กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗ ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังจะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘ เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๗ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙ ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐ ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒ ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึง
เจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓ กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔ กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกันยายน พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๑
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง/หน้า ๑/๘ กันยายน ๒๕๕๑ |
587072 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนสิงหาคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
และกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลังหากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง) และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า
๑๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังจะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๗ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๒๒/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587069 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 11
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ วงเงิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB 283
A) อายุ ๒๐.๓๐ ปี
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๓,๙๕๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๙.๖๓ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๖๗
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลมี
ดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๕.๗๔๒๒
๖,๐๗๘,๙๙๒,๓๓๖.๗๐
-๕๒,๔๒๗,๔๐๓.๓๐
๑๓๑,๔๑๙,๗๔๐.๐๐
หมายเหตุ : วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๒๐/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587067 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 10
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๐[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ อายุ ๓ ปี จำนวน ๘๐๘,๖๗๐,๐๐๐
บาท (แปดร้อยแปดล้านหกแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละ หนึ่งหมื่นบาท
โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ ๑๐,๐๐๐ บาท
และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐ บาท
วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อ ประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้ว
แต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นๆ
ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้
คือ วันที่ ๒๑-๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วย บุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๘๗๖
ราย จำนวนเงิน ๘๐๖,๑๗๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๕
ราย จำนวนเงิน ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้
ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้
มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐ ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือ
ในวันที่ ๑๕ มกราคม และวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ของทุกปี เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ
กันตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้
ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒ ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๕/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587065 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 (ครั้งที่ 3) วันที่ 3 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ
ยูเอฟเจ
จำกัด สาขากรุงเทพฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๓)
วันที่
๓ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๓) จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ
จำกัด สาขากรุงเทพ ฯ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ อายุ ๓.๕ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๓.๐๓ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในวันที่ ๓ มีนาคม และวันที่ ๓
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๗ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว
มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๓)
จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๓ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๔๗ ต่อปี
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๔/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587063 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 2) วันที่ 8 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล
โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๔ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๑ ต่อปี ซึ่งตาม
ข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๘ มีนาคม
และวันที่ ๘ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา
เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) ๕
แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๘ ต่อปี และวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑
ได้มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) เป็นร้อยละ ๒.๙๓ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน)ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๒.๙๓
ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๓๘ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๓/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587061 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 (ครั้งที่ 3) วันที่ 3 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๓) วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
(ครั้งที่ ๓) จากธนาคารออมสินลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ อายุ ๓.๕ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๔ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๓ มีนาคม และวันที่ ๓ กันยายน
ของทุกปี โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖
เดือนประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๘ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสินในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
(ครั้งที่ ๓) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๔ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๔๘ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๒/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587059 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 2) วันที่ 8 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๒) จากธนาคารออมสิน ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๔ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๔๙ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔
วรรคสองกระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๘ มีนาคม
และวันที่ ๘ กันยายนของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๖ ต่อปีและวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑ ได้มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) เป็นร้อยละ ๒.๙๑ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๒) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๒.๙๑ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๓๖ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๑/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
587057 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 1) วันที่ 1 กันยายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๑) วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๑) ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๐
ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๑ มีนาคม และวันที่ ๑ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๐ ต่อปี และในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑
ได้มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๑) เป็นร้อยละ ๒.๘๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสินในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๑) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๒.๘๕ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๓๐ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๘
กันยายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๔๘ ง/หน้า ๑๐/๖ กันยายน ๒๕๕๑ |
586620 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 (ครั้งที่ 1) วันที่ 4 สิงหาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๑) วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๑) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๓๑
มกราคม ๒๕๕๑ อายุ ๒ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๔๕ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ และวันที่
๔ สิงหาคม ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา
เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) ๔
แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๘๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๑ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ (ครั้งที่ ๑) เป็นร้อยละ ๓.๔๘๕ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๑
เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง/หน้า ๑๑/๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
586616 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 11
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะพ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคา ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘
เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
(หกพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB283A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๓,๙๕๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑
เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒) ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น. ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
๑ วันทำการและ Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกันโดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๑
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๑ (LB283A)
อายุคงเหลือ
๑๙.๖๓ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗
ต่อปี
จำนวน
๖,๐๐๐
ล้านบาท
๓๐ ก.ค. ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๑
ส.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๗๑
หมายเหตุ :-
เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๓ ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๓,๙๕๐ ล้านบาท
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒
กันยายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง/หน้า ๔/๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
586335 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน
๑๑,๘๙๕,๓๙๐,๖๐๑.๒๘
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๑๐๔,๖๐๙,๓๙๘.๗๒
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
36/28/51
L36/91/51
L36/182/51
37/28/51
L37/91/51
L37/183/51
38/28/51
L38/91/51
L38/182/51
39/28/51
L39/91/51
L39/182/51
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๑,๐๐๐
๔ มิถุนายน ๒๕๕๑
๔ มิถุนายน ๒๕๕๑
๔ มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๓
กันยายน ๒๕๕๑
๓
ธันวาคม ๒๕๕๑
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๐
กันยายน ๒๕๕๑
๑๑
ธันวาคม ๒๕๕๑
๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๗
กันยายน ๒๕๕๑
๑๗
ธันวาคม ๒๕๕๑
๒๓
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๔
กันยายน ๒๕๕๑
๒๔
ธันวาคม ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๓
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒,๓๖๔,๖๘๓.๒๗
๗,๖๘๘,๖๓๙.๙๒
๑๕,๖๒๐,๙๘๕.๒๗
๒,๓๘๘,๓๘๑.๗๓
๗,๗๒๗,๒๘๙.๑๖
๑๖,๒๑๔,๗๗๑.๓๓
๒,๔๐๔,๙๖๓.๘๕
๗,๗๔๓,๖๗๗.๒๒
๑๖,๑๒๕,๖๗๒.๑๑
๒,๔๐๐,๘๐๓.๑๑
๗,๗๗๕,๔๘๖.๘๕
๑๖,๑๕๔,๐๔๔.๙๐
รวม
๑๒,๐๐๐
๑๐๔,๖๐๙,๓๙๘.๗๒
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่ง ๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน
๘๐,๐๐๐ ล้านบาท
ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลังโดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒๑,๐๐๐ ล้านบาท
ทำให้มียอดตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน
๑๖๘,๐๐๐ ล้านบาท อย่างไรก็ดี ในเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลจำนวน ๑๖,๐๐๐
ล้านบาท ทำให้ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - เงินสดจ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๕๒,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง/หน้า ๑๔/๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
586271 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 7
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๔ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๗ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนด ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ จำนวน ๕,๐๐๐
ล้านบาท (ห้าพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B) ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น
๔๒,๗๐๗ ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่น ๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๗ (LB183B)
อายุคงเหลือ
๙.๖๔ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕
ต่อปี
จำนวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
๒๓
ก.ค. ๒๕๕๑
๕,๐๐๐
๒๕
ก.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๑
หมายเหตุ
:- เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๔๒,๗๐๗
ล้านบาท
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๕,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๕
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๔๐ ง/หน้า ๒๗/๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
586269 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤษภาคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๓๒,๐๐๐ ล้านบาท
ได้รับเงิน จำนวน ๓๑,๗๐๒,๙๐๘,๙๒๕.๙๖
บาท โดยมีส่วนลด จำนวน ๒๙๗,๐๙๑,๐๗๔.๐๔
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
32/28/51
L32/91/51
L32/182/51
33/28/51
L33/91/51
L33/182/51
34/28/51
L34/91/51
L34/182/51
35/28/51
L35/91/51
L35/182/51
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๒
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๕
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๒
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๙
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๖
พฤศจิกายน ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๔,๖๗๐,๐๕๕.๘๘
๒๒,๖๔๐,๑๗๐.๔๔
๔๖,๒๙๕,๙๓๓.๑๗
๔,๖๘๓,๖๔๗.๐๗
๒๒,๔๗๘,๐๘๗.๘๖
๔๖,๒๙๘,๖๘๘.๑๐
๔,๖๘๖,๐๒๕.๔๗
๒๒,๔๙๖,๙๗๒.๕๕
๔๖,๙๐๗,๔๔๖.๓๖
๔,๗๔๕,๙๘๗.๗๑
๒๒,๙๗๗,๕๘๗.๗๓
๔๘,๒๑๐,๔๗๑.๗๐
รวม
๓๒,๐๐๐
๒๙๗,๐๙๑,๐๗๔.๐๔
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่ง ๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงิน ตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ-จ่ายของรัฐบาล
จำนวน ๑๔๗,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาล
จำนวน ๘๐,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลัง
โดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒๑,๐๐๐
ล้านบาท จะทำให้ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑
มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้ จำนวน ๑๖๘,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิ้น
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๙๗ ง/หน้า ๑/๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
585911 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 6
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖
เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ วงเงิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A)
อายุ ๑๕.๒๒ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๔,๐๕๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๔.๗๒ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ สำนักงานประกันสังคม
และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๕ มิถุนายน
๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๖.๔๒๙๒
๕,๕๖๘,๔๒๓,๑๑๖.๓๕
-๕๒๗,๔๑๒,๔๘๓.๖๕
๙๕,๘๓๕,๖๐๐.๐๐
หมายเหตุ
:- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ
๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๙
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๓๘ ง/หน้า ๑๓/๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
585907 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 5
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕
เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ วงเงิน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
อายุ ๕.๖๗ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๘๗,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๔.๗๓ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๕.๕๓๕๔
๙,๕๘๓,๙๘๑,๐๒๙.๒๐
-๕๓๑,๒๙๒,๙๗๐.๘๐
๑๑๕,๒๗๔,๐๐๐.๐๐
หมายเหตุ
:- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๙
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๓๘ ง/หน้า ๑๑/๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
585905 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า
พันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙
อายุ ๓ ปี จำนวน ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา
๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่น
ๆ ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๑๖ - ๑๗
มิถุนายน ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๑๓๗
ราย จำนวนเงิน ๔๙๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๓
ราย จำนวนเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
มิถุนายน ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๙๐
ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ที่ได้จดทะเบียนไว้ หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น
ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือในวันที่ ๑๕ มิถุนายน และวันที่ ๑๕ ธันวาคม ของทุกปี
เป็นจำนวนเงินงวดละเท่า ๆ กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำ นวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้ การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖.
กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้
และจัดการอื่น ๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๙
สิงหาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๓๘ ง/หน้า ๖/๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ |
585077 | ประกาศคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ เรื่อง หลักเกณฑ์และกรอบวงเงินการค้ำประกันและการให้กู้ต่อแก่รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐ
| ประกาศคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ประกาศคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
เรื่อง
หลักเกณฑ์และกรอบวงเงินการค้ำประกันและการให้กู้ต่อ
แก่รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐ[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๒๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในประกาศนี้
หนี้ของรัฐวิสาหกิจ หมายความว่า
หนี้เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หรือการออกตราสารหนี้ระยะสั้นเพื่อกู้ยืมเงิน
หนี้ระยะยาว โดยรวมถึงหนี้ระยะยาวที่ครบกำหนดชำระคืนภายในระยะเวลาหนึ่งปีด้วย
แต่ไม่รวมถึงหนี้ระยะสั้นประเภทเจ้าหนี้การค้า และหนี้หมุนเวียนอื่น ๆ
หนี้ของสถาบันการเงินภาครัฐ หมายความว่า
หนี้เงินกู้ระยะสั้นที่กู้ยืมจากสถาบันการเงินหรือธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือการออกตราสารหนี้ระยะสั้นเพื่อกู้ยืมเงิน หนี้ระยะยาว โดยรวมถึงหนี้ระยะยาวที่ครบกำหนดชำระคืนภายในระยะเวลาหนึ่งปีด้วย
แต่ไม่รวมถึงหนี้จากการรับฝากเงินจากประชาชน หนี้ระยะสั้นประเภทเจ้าหนี้การค้า
และหนี้หมุนเวียนอื่น ๆ
เงินกองทุน หมายความว่า ทุนที่เรียกชำระแล้ว
ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น ทุนสำรอง เงินที่ได้รับจากการออกใบสำคัญแสดงสิทธิเพื่อซื้อหุ้น
เงินสำรองที่ได้จากกำไรสุทธิ กำไรสุทธิคงเหลือจากการจัดสรรแล้ว และเงินสำรองจากการตีราคาสินทรัพย์
และในกรณีของสถาบันการเงินภาครัฐ
ให้รวมถึงเงินที่ได้รับจากการออกตราสารแสดงสิทธิในหนี้ระยะยาวเกินห้าปี
ที่มีสิทธิด้อยกว่าเจ้าหนี้สามัญด้วย
ข้อ ๒ กระทรวงการคลังจะค้ำประกันหรือให้กู้ต่อแก่รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐรายใดได้ไม่เกินจำนวนเงินซึ่งรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจหรือหนี้ของสถาบันการเงินภาครัฐ
แล้วแต่กรณี ในขณะที่ก่อหนี้ผูกพัน ดังต่อไปนี้
(๑)
กรณีรัฐวิสาหกิจที่มีสถานะเป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด
ไม่เกินสามเท่าของเงินกองทุนของรัฐวิสาหกิจนั้น
(๒)
กรณีสถาบันการเงินภาครัฐ ไม่เกินหกเท่าของเงินกองทุนของสถาบันการเงินภาครัฐนั้น
ข้อ ๓ ในกรณีที่กระทรวงการคลังจะค้ำประกันหรือให้กู้ต่อแก่รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐรายใด
เกินกว่าจำนวนเงินที่กำหนดไว้ในข้อ ๒
ให้กระทรวงการคลังขออนุมัติจากคณะกรรมการเป็นรายกรณี
โดยจะต้องแสดงเหตุผลและความจำเป็นในการค้ำประกันหรือให้กู้ต่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการด้วย
ข้อ ๔ ในการค้ำประกันหรือการให้กู้ต่อแก่องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล
กิจการของรัฐซึ่งมีกฎหมายจัดตั้ง
หรือหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของคณะกรรมการจะพิจารณากรอบวงเงินตามความจำเป็นและเหมาะสม
ทั้งนี้
โดยคำนึงถึงแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ
เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง
ให้กระทรวงการคลังเสนอความเห็นเกี่ยวกับกรอบวงเงินการค้ำประกันหรือการให้กู้ต่อที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการด้วย
ประกาศ ณ วันที่ ๗
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ
วัชศักดิ์/จัดทำ
๔ สิงหาคม ๒๕๕๑
ศิรวัชร์/ปรับปรุง
๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๙
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๒๕ ง/หน้า ๑/๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
584412 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุนบริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่น ๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลัง หากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังจะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๗ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๘
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง/หน้า ๑๙/๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
584410 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ให้กับธนาคารออมสิน วันที่ 27 มิถุนายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้กับธนาคารออมสิน
วันที่
๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การกู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ให้กับธนาคารออมสินลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๑๑
ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน และวันที่ ๒๗ ธันวาคมของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๑.๐๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ให้กับธนาคารออมสินจากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๑๑ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๕๕ ต่อปี
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๘
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง/หน้า ๑๘/๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
584408 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) วันที่ 27 มิถุนายน 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
วันที่
๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การกู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๕ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน และวันที่
๒๗ ธันวาคม ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่งบวกร้อยละ ๐.๙๙ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๕ ต่อปี
เป็นร้อยละ ๓.๔๙ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๘
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง/หน้า ๑๗/๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583816 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 8
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า
พันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘
อายุ ๓ ปี จำนวน ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้ว แต่กระทำในระหว่างระยะเวลา
๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นๆ
ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๑๕ - ๑๖
พฤษภาคม ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๒๔๒
ราย จำนวนเงิน ๔๙๗,๒๐๐,๐๐๐ บาท มูลนิธิ จำนวน ๕ ราย จำนวนเงิน
๒,๓๐๐,๐๐๐ บาท
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จำนวน ๑ ราย จำนวนเงิน
๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
พฤษภาคม ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๐๐
ปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด
คือในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม และวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ
กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖.
กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑ ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง/หน้า ๖/๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583573 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรเงินเยนชนิดจัดจำหน่ายทั่วไป ในตลาดทุนญี่ปุ่น รุ่นที่ 22 23 และ 24
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรเงินเยนชนิดจัดจำหน่ายทั่วไป
ในตลาดทุนญี่ปุ่น
รุ่นที่ ๒๒ ๒๓ และ ๒๔[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรเงินเยนชนิดจัดจำหน่ายทั่วไปในตลาดทุนญี่ปุ่น
จำนวน ๓ รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ ๒๒ วงเงิน ๒๕,๐๐๐ ล้านเยน รุ่นที่
๒๓ วงเงิน ๒๐,๐๐๐ ล้านเยน และรุ่นที่ ๒๔ วงเงิน ๑๐,๐๐๐
ล้านเยน คิดเป็นวงเงินรวม ๕๕,๐๐๐ ล้านเยน หรือเทียบเท่า ๑๗,๓๒๗,๗๕๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสามร้อยยี่สิบเจ็ดล้านเจ็ดแสนห้าหมื่นบาทถ้วน)
และได้ลงนามในความตกลงที่เกี่ยวกับการออกพันธบัตรดังกล่าวรวม ๖ ฉบับ เมื่อวันที่
๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ดังนี้
๑.๑ ความตกลงว่าด้วยการจัดจำหน่ายพันธบัตร (Subscription
Agreement) จำนวน ๓ ฉบับกับ Daiwa Securities
SMBC Co., Ltd.
ในฐานะหัวหน้าคณะผู้จัดการจัดจำหน่ายพันธบัตร (Lead Manager)
๑.๒ ความตกลงว่าด้วยการเป็นตัวแทนรับจ่ายเงิน (Fiscal
Agency Agreement) จำนวน ๓ ฉบับ กับ Sumitomo
Mitsui Banking Corporation
(SMBC) ในฐานะตัวแทนรับจ่ายเงิน (Fiscal Agent)
โดยมีเงื่อนไขสำคัญสรุปได้ ดังนี้
(๑) เป็นพันธบัตรเงินเยนชนิดผู้ถือ
มีราคาที่ตราไว้ฉบับละ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน
(๒) กำหนดอัตราดอกเบี้ยคงที่ พันธบัตรรุ่นที่ ๒๒
ร้อยละ ๑.๐๗ ต่อปี พันธบัตรรุ่นที่ ๒๓ ร้อยละ ๑.๒๗ ต่อปี และพันธบัตรรุ่นที่ ๒๔
ร้อยละ ๑.๔๕ ต่อปี โดยเริ่มนับตั้งแต่วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ชำระดอกเบี้ยทุก ๖ เดือน ในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน และ ๒๐ พฤษภาคมของทุกปี
เริ่มชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
(๓) กำหนดการไถ่ถอน พันธบัตรรุ่นที่ ๒๒ มีอายุ ๓
ปี พันธบัตรรุ่นที่ ๒๓ มีอายุ ๕ ปี และพันธบัตรรุ่นที่ ๒๔ มีอายุ ๗ ปี
โดยจะไถ่ถอนเงินต้นครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม
๒๕๕๖ และวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตามลำดับ
(๔)
เงินต้นและดอกเบี้ยที่ชำระตามพันธบัตรนี้ให้ชำระเป็นเงินเยน
(๕)
เงินต้นและดอกเบี้ยที่จ่ายให้แก่ผู้ถือพันธบัตรปลอดภาระภาษีอากรใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าในปัจจุบันหรืออนาคต
และหากมีการเรียกเก็บภาษีที่กล่าว ราชอาณาจักรไทยจะเป็นผู้รับภาระแทน
(๖)
สิทธิการเรียกร้องให้ชำระเงินตามพันธบัตรนี้จะสิ้นสุดลงเมื่อพ้นกำหนด ๑๐ ปี นับจากวันครบกำหนดไถ่ถอนในกรณีการไถ่ถอนต้นเงิน
และพ้นกำหนด ๕ ปี นับจากวันครบกำหนดในกรณีการจ่ายดอกเบี้ย
(๗)
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการออกและจัดจำหน่ายพันธบัตร ดังนี้
๗.๑
ค่าธรรมเนียมการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๒๐ ของวงเงินพันธบัตรรุ่นที่ ๒๒
คิดเป็นเงินจำนวน ๕๐ ล้านเยน ร้อยละ ๐.๒๕ ของวงเงินพันธบัตรรุ่นที่ ๒๓ คิดเป็นเงินจำนวน
๕๐ ล้านเยน ร้อยละ ๐.๓๐ ของวงเงินพันธบัตรรุ่นที่ ๒๔ คิดเป็นเงินจำนวน ๓๐ ล้านเยน
๗.๒ ค่าธรรมเนียมตัวแทนรับจ่ายเงิน ๓ ล้านเยน
๗.๓ ค่าธรรมเนียมในการจดบันทึกพันธบัตร ๔๘๐,๗๙๕
เยน สำหรับพันธบัตรรุ่นที่ ๒๒ ๔๓๐,๙๒๐ เยน
สำหรับพันธบัตรรุ่นที่ ๒๓ และ ๓๓๑,๑๗๐ เยน
สำหรับพันธบัตรรุ่นที่ ๒๔
๗.๔ ค่าธรรมเนียมจัดการบัญชี ร้อยละ ๐.๐๐๐๗๕
ของวงเงินดอกเบี้ยที่จ่ายทุกงวด ๖ เดือนและของวงเงินต้นในวันครบกำหนดไถ่ถอน
๗.๕ ค่าธรรมเนียมวิเคราะห์เครดิต
เป็นไปตามสัญญาระหว่างกระทรวงการคลังกับสถาบันจัดระดับเครดิตแต่ละแห่ง โดยบริษัท Standard
& Poors และ FitchRatings
คิดรวมเหมาจ่ายในค่าธรรมเนียมรายปี สำหรับบริษัท Moodys Investors
Service คิดค่าธรรมเนียมรายปีบวกด้วยค่าจัดระดับเครดิตสำหรับเงินกู้ในรูปพันธบัตรระยะยาวในอัตราครั้งละ
๔๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐ
๗.๖ ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลใน Annual
Securities Report ให้เป็นไปตามที่ที่ปรึกษากฎหมายญี่ปุ่นเรียกเก็บในแต่ละครั้ง
(๘)
ให้ใช้กฎหมายญี่ปุ่นเป็นกฎหมายบังคับในกรณีที่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นเนื่องจากการกู้เงินรายนี้
(๙) สิทธิและข้อผูกพันต่าง ๆ
ภายใต้การกู้เงินรายนี้จะเท่าเทียมกับสิทธิและข้อผูกพันภายใต้เงื่อนไขเงินกู้ต่างประเทศอื่นใดที่ผู้กู้ได้กระทำไว้แล้ว
และที่จะกระทำต่อไปในอนาคต
๒. กระทรวงการคลังได้รับเงินจากการออกพันธบัตรเงินเยน
รุ่นที่ ๒๒ ๒๓ และ ๒๔ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นเงินรวม ๕๔,๘๖๕,๗๕๗,๑๑๕
เยน และได้นำเงินที่ได้จากการออกพันธบัตรไปชำระคืนเงินกู้ Euro
Commercial Paper
ซึ่งใช้เป็น
Bridge Financing
ในการ Refinance เงินกู้ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น
โดยการดำเนินการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ
๒๕๕๑ ซึ่งสามารถประหยัดภาระดอกเบี้ยได้เป็นเงินประมาณ ๑,๕๔๘.๗๔
ล้านบาท สำหรับระยะเงินกู้คงเหลือเฉลี่ย ๖.๓๘ ปี
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๔
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๖ ง/หน้า ๑/๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583476 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 10
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๐ วงเงิน ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
อายุ ๑๐.๓๑ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๓๗,๗๐๗
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๙.๘๕ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน
บริษัทหลักทรัพย์ และสำนักงานประกันสังคม
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๑,๐๐๐
๔.๗๐๕๘
๑๑,๔๔๕,๓๑๒,๗๘๖.๕๐
๓๕๗,๒๗๕,๑๖๖.๕๐
๘๘,๐๓๗,๖๒๐.๐๐
หมายเหตุ :- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการ
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
สุภา
ปิยะจิตติ
รองปลัดกระทรวงฯ
ปฏิบัติราชการแทน
ปลัดกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๒ ง/หน้า ๘/๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583472 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๙ วงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุ ๒๙.๙๐ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๘๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ธนาคารพาณิชย์ สำนักงานประกันสังคม
และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑ และ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๓ เมษายน ๒๕๕๑
๒,๕๐๐
๕.๕๓๒๓
๒,๔๘๘,๕๕๔,๔๒๖.๐๐
-๑๑,๔๔๕,๕๗๔.๐๐
-
๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
๒,๕๐๐
๖.๔๖๗๖
๒,๒๐๓,๔๖๐,๘๕๑.๙๙
-๓๑๗,๖๓๕,๐๔๘.๑๐
๒๑,๐๙๕,๙๐๐.๐๐
หมายเหตุ :- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๒ ง/หน้า ๖/๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583426 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 6
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๔ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๖ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคาตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๖,๐๐๐
ล้านบาท (หกพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A) ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น
๒๔,๐๕๐ ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่น ๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒) จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่
มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์
วรรณคดี การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกันโดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๖ (LB233A) อายุคงเหลือ ๑๔.๗๒ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐ ต่อปีจำนวน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
๒๕
มิ.ย. ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๒๗
มิ.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๖
หมายเหตุ :-
เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๔ ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๔,๐๕๐ ล้านบาท
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
คือ วันที่ ๑๓ มีนาคมและ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๔ ง/หน้า ๒๖/๘ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583418 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 5
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๔ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๓
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎกระทรวง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน
และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๕๐
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๕ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กระทรวงการคลังจะดำเนินการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาล
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ จำนวน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๘๗,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
ข้อ ๒ พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓ กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔ การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑) ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกันโดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕ กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖ ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อที่ได้รับการจัดสรรจะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗ เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙ ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐ ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑ ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล
ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓ ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔ กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕ กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๕ (LB133A)
อายุคงเหลือ
๔.๗๓ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕
ต่อปี
จำนวน
๑๐,๐๐๐
ล้านบาท
๑๘
มิ.ย. ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๒๐
มิ.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๖
หมายเหตุ
:- เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาล
รุ่นนี้เป็น ๘๗,๐๐๐
ล้านบาท
ข้อ ๑๖ พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
(วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘ กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑) ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร
ทั้งนี้ วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๑๔ ง/หน้า ๒๐/๘ กรกฎาคม ๒๕๕๑ |
583129 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนเมษายน พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนเมษายน พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนเมษายน
พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๕๓,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน ๕๒,๕๐๓,๐๔๙,๐๒๔.๓๕
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๔๙๖,๙๕๐,๙๗๕.๖๕
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
27/28/51
L27/91/51
L27/182/51
28/28/51
L28/91/51
L28/182/51
29/28/51
L29/91/51
L29/182/51
30/28/51
L30/91/51
L30/182/51
31/28/51
L31/91/51
L31/182/51
๒,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๒,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒
เมษายน ๒๕๕๑
๒
เมษายน ๒๕๕๑
๒
เมษายน ๒๕๕๑
๙
เมษายน ๒๕๕๑
๙
เมษายน ๒๕๕๑
๙
เมษายน ๒๕๕๑
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๓๐
เมษายน ๒๕๕๑
๓๐
เมษายน ๒๕๕๑
๓๐
เมษายน ๒๕๕๑
๓๐
เมษายน ๒๕๕๑
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑
ตุลาคม ๒๕๕๑
๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๘
ตุลาคม ๒๕๕๑
๑๔
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๕
ตุลาคม ๒๕๕๑
๒๑
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๓
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๒
ตุลาคม ๒๕๕๑
๒๘
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๙
ตุลาคม ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๔,๕๕๐,๕๘๔.๖๕
๓๕,๓๐๓,๒๘๕.๙๑
๗๑,๓๗๑,๐๐๘.๙๕
๔,๕๗๑,๘๕๙.๓๖
๓๕,๗๑๗,๐๑๕.๓๓
๗๒,๗๔๑,๗๐๔.๙๙
๔,๕๖๑,๖๒๖.๘๐
๒๘,๕๖๐,๙๒๓.๑๓
๕๘,๒๐๕,๗๔๑.๗๑
๔,๕๒๙,๑๗๒.๐๘
๒๙,๔๖๕,๒๗๐.๘๐
๕๙,๕๖๖,๕๙๖.๔๘
๔,๕๔๗,๘๒๐.๓๐
๒๒,๔๓๕,๖๔๗.๕๔
๖๐,๘๒๒,๗๑๗.๖๒
รวม
๕๓,๐๐๐
๔๙๖,๙๕๐,๙๗๕.๖๕
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ
จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒ เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลังโดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒๑,๐๐๐ ล้านบาท จะทำให้ ณ สิ้นเดือนเมษายน
๒๕๕๑ มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้จำนวน ๑๖๘,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๖ ง/หน้า ๑๓/๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
583127 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 7
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า
พันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗
อายุ ๓ ปี จำนวน ๓๙๓,๔๕๐,๐๐๐ บาท (สามร้อยเก้าสิบสามล้านสี่แสนห้าหมื่นบาทถ้วน)
๒.
พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา
๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นๆ
ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๑๖ - ๒๕
เมษายน ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๐๔๕
ราย จำนวนเงิน ๓๙๐,๖๕๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๖
ราย จำนวนเงิน ๒,๘๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
เมษายน ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๗๐
ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด
คือในวันที่ ๑๕ เมษายน และวันที่ ๑๕ ตุลาคม ของทุกปี เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้ การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้
และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๖ ง/หน้า ๘/๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582818 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 5) วันที่ 23 พฤษภาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๕) วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๕) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๐ อายุ ๖ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๖๙ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๒๓ พฤษภาคมและวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๔ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๐
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๕) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๖๙ ต่อปี
เป็นร้อยละ ๓.๐๐ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๕) เป็นร้อยละ ๓.๐๐ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๒๒/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582810 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 4) วันที่ 16 พฤษภาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๔) จากธนาคารออมสิน ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ อายุ ๖ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๖๘ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม และวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๓ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๖๘ ต่อปี เป็นร้อยละ
๒.๙๙ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) เป็นร้อยละ ๒.๙๙ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๒๑/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582806 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพ ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 4) วันที่ 16 พฤษภาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด
สาขากรุงเทพ
ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล
โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ
ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ อายุ ๖ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๓.๖๔ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม และวันที่ ๑๖
พฤศจิกายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๙ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ
จำกัด สาขากรุงเทพฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๓.๖๔ ต่อปี เป็นร้อยละ ๒.๙๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารแห่งโตเกียว
มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๔)
เป็นร้อยละ ๒.๙๕ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๓ ง/หน้า ๒๐/๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582793 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมิถุนายน
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลัง หากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังจะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๗ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลังประจำเดือนมิถุนายน
พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๗
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๔ ง/หน้า ๒/๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582729 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 8
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ วงเงิน ๖,๐๕๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A) อายุ
๑๕.๒๒ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๘,๐๕๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๔.๘๙ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไปโดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๖,๐๕๐
๕.๑๗๓๖
๖,๒๙๐,๗๐๕,๕๔๑.๘๐
๒๐๑,๕๐๔,๘๖๙.๓๐
๓๙,๒๐๐,๖๗๒.๕๐
หมายเหตุ :-
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
สุภา
ปิยะจิตติ
รองปลัดกระทรวงฯ
ปฏิบัติราชการแทน
ปลัดกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๐ ง/หน้า ๑๖/๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
582727 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 7
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ วงเงิน ๑๕,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
อายุ ๕.๖๗ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๗๗,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๔.๙๐ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไปโดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร บริษัทหลักทรัพย์และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๑๕,๐๐๐
๓.๘๕๗๒
๑๕,๓๒๐,๘๓๓,๔๓๒.๘๕
๒๕๗,๙๕๖,๗๓๒.๘๕
๖๒,๘๗๖,๗๐๐.๐๐
หมายเหตุ :- วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
สุภา ปิยะจิตติ
รองปลัดกระทรวงฯ
ปฏิบัติราชการแทน
ปลัดกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๐๐ ง/หน้า ๑๔/๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
581103 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษ
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์พิเศษ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ อายุ ๒ ปี จำนวน ๑๒,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นสองพันล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท และไม่จำกัดวงเงินซื้อขั้นสูง โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง
ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิ์ซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย สภากาชาดไทย มูลนิธิ
สมาคม สหกรณ์ วัด สถานศึกษาของรัฐ โรงพยาบาลของรัฐ
และนิติบุคคลอื่นใดที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร
๒.๒ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่า หรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต
ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน
ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า
และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นๆ ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๒ - ๙
เมษายน ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์เป็นบุคคลธรรมดา จำนวน ๗,๔๗๘
ราย จำนวนเงิน ๑๒,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้
ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๓
๕. พันธบัตรรุ่นนี้
มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๖๐ ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ได้จดทะเบียนไว้ หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น
ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือในวันที่ ๒ เมษายน และวันที่ ๒ ตุลาคม ของทุกปี
เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ กันตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
และธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้
และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๐๕ ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้
(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒ ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๙
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๙๒ ง/หน้า ๒/๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ |
580925 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินในรูป Euro Commercial Paper (ECP)
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกู้เงินในรูป Euro Commercial Paper
(ECP) [๑]
ตามที่กระทรวงการคลังได้จัดตั้ง Euro
Commercial Paper หรือ ECP
Programme วงเงิน ๒,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐ
ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการจัดจำหน่าย (Dealer Agreement)
ความตกลงว่าด้วยการเป็นตัวแทนรับจ่ายเงิน (Agency Agreement)
เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๒ และหนังสือการขยาย วงเงินกู้ภายใต้ ECP
Programme (Notification Letter
for an Increase
in the Programme
Amount) ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ โดยกำหนดให้นำมาใช้เป็น Bridge
Financing สำหรับการทำ Refinance เงินกู้ต่างประเทศของภาครัฐบาล
และ/หรือสำหรับการลงทุนในโครงการลงทุนเพื่อการพัฒนาของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจต่างๆ
นั้น
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังได้ทำความตกลงกู้เงินภายใต้ ECP Programme
วงเงินรวม ๕๕,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน ซึ่งเทียบเท่า ๑๗,๓๒๗,๗๕๐,๐๐๐
บาท (คำนวณตามอัตราแลกเปลี่ยน ๑๐๐ เยน เท่ากับ ๓๑.๕๐๕ บาท ณ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑)
เพื่อใช้เป็น Bridge Financing
ในการทำ Refinance เงินกู้ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น
(JBIC) ซึ่งได้ทำการเบิกจ่ายเงินกู้ ECP เมื่อวันที่
๓ เมษายน ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดของวงเงิน อัตราดอกเบี้ย และระยะเวลาต่างๆ ดังนี้
๑.๑ วงเงิน ๖,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน กำหนดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๐.๗๙๑๘๗๕ ต่อปี (เทียบเท่าอัตรา LIBOR
๑.๕ เดือน บวกด้วยส่วนต่างร้อยละ ๐.๐๐ ต่อปี) อายุ ๔๗ วัน (ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑) และได้รับเงินสุทธิจำนวน ๕,๙๙๓,๘๘๘,๑๘๔
เยน
๑.๒ วงเงิน ๑๕,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน กำหนดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๐.๘๘๑๘๗๕ ต่อปี (เทียบเท่าอัตรา LIBOR
๑.๕ เดือน บวกด้วยส่วนต่างร้อยละ ๐.๐๙ ต่อปี) อายุ ๔๗ วัน (ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑) และได้รับเงินสุทธิจำนวน ๑๔,๙๘๒,๙๘๕,๘๔๕
เยน
๑.๓ วงเงิน ๒๕,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน กำหนดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๐.๙๒๑๘๗๕ ต่อปี (เทียบเท่าอัตรา LIBOR
๑.๕ เดือน บวกด้วยส่วนต่างร้อยละ ๐.๑๓ ต่อปี) อายุ ๔๗ วัน (ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑) และได้รับเงินสุทธิจำนวน ๒๔,๙๗๐,๓๕๘,๓๘๙
เยน
๑.๔ วงเงิน ๙,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน กำหนดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๐.๙๔๑๘๗๕ ต่อปี (เทียบเท่าอัตรา LIBOR
๑.๕ เดือน บวกด้วยส่วนต่างร้อยละ ๐.๑๕ ต่อปี) อายุ ๔๗ วัน (ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑) และได้รับเงินสุทธิจำนวน ๘,๙๘๙,๐๙๗,๗๙๔
เยน โดยได้รับเงินสุทธิรวมจากการออกตราสาร ECP เท่ากับ
๕๔,๙๓๖,๓๓๐,๒๑๒
เยน
๒. กระทรวงการคลังได้ขอให้ Citibank
N.A. ซึ่งเป็นธนาคารตัวแทนรับจ่ายเงิน
โอนเงินที่ได้รับสุทธิจากการออกตราสารจำนวนรวม ๕๔,๙๓๖,๓๓๐,๒๑๒
เยน ตามนัยข้อ ๑ เข้าบัญชี ODAJBIC ที่ The
Bank of Tokyo-Mitsubishi
UFJ,Ltd., Head Office,
Japan บัญชีเลขที่ ๐๒๐๗๗๘๗ เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑ เวลา
๑๒.๐๐ น. (เวลาท้องถิ่น กรุงโตเกียว) เพื่อชำระคืนต้นเงินกู้ JBIC
พร้อมทั้งได้ใช้งบชำระหนี้ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๑ สมทบการชำระคืนอีกจำนวนรวม ๔๑๔,๔๐๕,๖๘๗
เยน แบ่งเป็น
(๑) สมทบการชำระคืนต้นเงินกู้ JBIC
จำนวน ๕,๙๙๖,๐๗๘ เยน
(๒) ชำระค่าดอกเบี้ยเงินกู้ JBIC
จำนวน ๓๔๔,๗๓๙,๘๒๑ เยน และ
(๓)
สมทบเงินต้นส่วนขาดซึ่งเกิดจากการหักดอกเบี้ยเงินกู้ ECP จำนวน
๖๓,๖๖๙,๗๘๘ เยน
๓. กระทรวงการคลังได้ใช้เงินกู้ ECP
ตามนัยข้อ ๑ และงบชำระหนี้ฯ ตามนัยข้อ ๒ ไปชำระคืนเงินกู้ JBIC
ก่อนครบกำหนด จำนวน ๑๑ สัญญา ได้แก่ สัญญาเลขที่ TXV-10 TXV-11
TXV-4 TXX-2 TXX-3 TXX-4
TXX-5 TXXI-5 TXXI-8 TXXII-4
และ TXXII-5 เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑
๔. การดำเนินการตามนัยข้อ ๑ - ๓
เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการตามแผนการบริหารหนี้ต่างประเทศภาครัฐปีงบประมาณ ๒๕๕๑
โดยมีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนเงินกู้และภาระหนี้ต่างประเทศซึ่งผลการบริหารหนี้โดยใช้เงินกู้
ECP วงเงิน ๕๕,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เยน สำหรับระยะเวลาระหว่างวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑
และการใช้งบชำระหนี้ฯ สมทบการชำระคืนต้นเงินกู้ JBIC ส่วนที่ขาดจำนวน
๕,๙๙๖,๐๗๘ เยน
ทำให้กระทรวงการคลังสามารถลดภาระหนี้สาธารณะได้รวมทั้งสิ้น ๔๒,๓๙๘,๙๐๙
บาท แบ่งเป็น
๔.๑ ภาระดอกเบี้ยที่ประหยัดได้จากการใช้เงินกู้ ECP
คิดเป็นจำนวน ๔๐,๑๘๔,๔๓๕ บาท
๔.๒ หนี้คงค้างที่ลดลงเท่ากับวงเงินงบชำระหนี้ฯ
คิดเป็นจำนวน ๑,๘๘๙,๐๖๔ บาท
๔.๓ ภาระดอกเบี้ยในอนาคตที่ลดได้ คิดเป็นจำนวน
๓๒๕,๔๑๐ บาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๖
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๓๕/๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580851 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง รายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 และรายการการกู้เงิน และค้ำประกัน ระหว่างเดือนตุลาคม 2550 ถึงเดือนมีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
รายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑ และรายการการกู้เงิน
และค้ำประกัน
ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
มาตรา ๑๖ วรรค ๒ กำหนดให้กระทรวงการคลังสรุปรายงานสถานะหนี้สาธารณะและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ภายใน ๖๐ วัน หลังจากสิ้นเดือนมีนาคมและเดือนกันยายนของทุกปี
โดยรายงานดังกล่าวต้องแสดงหนี้สาธารณะที่เกิดจากการกู้เงินและค้ำประกัน ณ
สิ้นเดือนดังกล่าว
รวมทั้งรายการการกู้เงินและค้ำประกันที่เกิดขึ้นใหม่ในช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม
และเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน ตามลำดับ
กระทรวงการคลังขอรายงานสถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่
๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑ และรายการการกู้เงินและค้ำประกัน ซึ่งรวมทั้งการปรับโครงสร้างหนี้
ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ ดังนี้
๑. รายงานสถานะหนี้สาธารณะ
ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑
๑.๑ หนี้สาธารณะคงค้างของประเทศ ณ วันที่ ๓๑
มีนาคม ๒๕๕๑ มีจำนวนทั้งสิ้น ๓,๓๗๔,๙๖๖.๐๘
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๘๕ ของ GDP ประกอบด้วย
หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง ๒,๑๔๐,๕๐๒.๕๓
ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน ๙๕๑,๕๒๕.๙๖
ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินซึ่งรัฐบาลค้ำประกัน ๙๕,๕๙๖.๓๗
ล้านบาท หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ๑๖๖,๓๗๑.๗๙
ล้านบาท และหนี้องค์การของรัฐอื่น ๒๐,๙๖๙.๔๓ ล้านบาท
หนี้สาธารณะจำนวนดังกล่าวจำแนกตามอายุของหนี้เป็นหนี้ระยะยาว
๓,๑๗๖,๔๐๙.๖๙ ล้านบาท
และหนี้ระยะสั้น ๑๙๘,๕๕๖.๓๙ ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ ๙๔.๑๒
และร้อยละ ๕.๘๘ และจำแนกตามแหล่งที่มาเป็นหนี้ต่างประเทศ ๔๐๕,๗๔๔.๖๘
ล้านบาท และหนี้ในประเทศ ๒,๙๖๙,๒๒๑.๔๐
ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๒ และร้อยละ ๘๗.๙๘ ตามลำดับ ดังปรากฏตามตารางที่ ๑
ตารางที่
๑ หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑
หน่วย
: ล้านบาท
รายการ
๓๑
มี.ค. ๕๑
%
GDP
๑.
หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง
๑.๑ หนี้ต่างประเทศ
๑.๒ หนี้ในประเทศ
๒,๑๔๐,๕๐๒.๕๓
๘๙,๘๓๘.๐๖
๒,๐๕๐,๖๖๔.๔๗
๒๓.๓๗
๒.
หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน
๒.๑ หนี้ที่รัฐบาลค้ำประกัน
- หนี้ต่างประเทศ
- หนี้ในประเทศ
๒.๒ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน
- หนี้ต่างประเทศ
- หนี้ในประเทศ
๙๕๑,๕๒๕.๙๖
๕๕๙,๒๗๐.๑๙
๑๗๔,๘๔๒.๙๘
๓๘๔,๔๒๗.๒๑
๓๙๒,๒๕๕.๗๗
๑๓๑,๘๖๔.๓๔
๒๖๐,๓๙๑.๔๓
๑๐.๓๙
๓.
หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน
(รัฐบาลค้ำประกัน)
๓.๑ หนี้ต่างประเทศ
๓.๒ หนี้ในประเทศ
๙๕,๕๙๖.๓๗
๙,๑๙๙.๓๐
๘๖,๓๙๗.๐๗
๑.๐๔
๔.
หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ
๔.๑ หนี้ที่รัฐบาลค้ำประกัน
๔.๒ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน
๑๖๖,๓๗๑.๗๙
๗๓,๗๙๔.๖๐
๙๒,๕๗๗.๑๙
๑.๘๒
๕.
หนี้องค์การของรัฐอื่น
๕.๑ หนี้ที่รัฐบาลค้ำประกัน
๕.๒ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน
๒๐,๙๖๙.๔๓
๑๒,๑๖๙.๔๓
๘,๘๐๐.๐๐
๐.๒๓
๖.
รวม ๑ ถึง ๕
๓,๓๗๔,๙๖๖.๐๘
๓๖.๘๕
หมายเหตุ : ๑. ประมาณการ GDP ปี ๒๕๕๑ เท่ากับ ๙,๑๕๘,๓๐๐ พันล้านบาท (สศช. ณ
วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑)
๒.
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ยังไม่รวมหนี้ของ SPV จำนวน ๒๓,๙๙๙.๙๐ ล้านบาท
ที่รัฐบาลมีภาระผูกพันต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าพื้นที่อาคาร สัญญาบริการ
สัญญาบริการจัดหาเฟอร์นิเจอร์
และสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องของโครงการศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร ถนนแจ้งวัฒนะ
ซึ่งตามระบบ GFS นับเป็นหนี้สาธารณะ
๒. รายการการกู้เงินและค้ำประกัน
ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๑
คณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะได้จัดทำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๑ เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินการบริหารและจัดการหนี้สาธารณะ
ประจำปีงบประมาณ ประกอบด้วย ๖ แผนงานย่อย และได้ปรับปรุงแผนฯ
ในช่วงระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ จำนวน ๒ ครั้ง
เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงินกู้และบริหารหนี้
โดยวงเงินรวมหลังจากการปรับปรุงแผนฯ ครั้งที่ ๒ เท่ากับ ๑,๐๓๖,๖๕๗.๘๘
ล้านบาท ซึ่ง ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังและรัฐวิสาหกิจได้ดำเนินการกู้เงินและบริหารหนี้ตามแผนฯ
ดังกล่าวไปแล้วเป็นวงเงินทั้งสิ้น ๕๑๗,๗๔๖.๒๔ ล้านบาท
ดังปรากฏตามตารางที่ ๒
ตารางที่
๒ การกู้เงินและการบริหารหนี้ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๑
หน่วย
: ล้านบาท
รายการ
แผน
ผลการดำเนินการ
๑.
การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐบาล
๔๖๕,๙๙๕.๐๐
๒๗๘,๖๖๙.๗๓
๒.
การบริหารและจัดการเงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้ FIDF
๒๕,๐๐๐.๐๐
๑๐,๐๐๐.๐๐
๓.
การบริหารเงินกู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสถาบันการเงิน
ไม่มี
-
๔.
การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ
๔๒๓,๙๘๓.๐๓
๒๐๑,๖๘๕.๓๒
๕.
การกู้เงินตามแผนการก่อหนี้จากต่างประเทศ
๒๓,๓๑๙.๓๖
๒๑,๖๗๖.๗๙
๖.
การบริหารหนี้ต่างประเทศ
๙๘,๓๖๐.๔๙
๕,๗๑๔.๔๐
รวม
๑,๐๓๖,๖๕๗.๘๘
๕๑๗,๗๔๖.๒๔
โดยมีสาระสำคัญ
ดังนี้
๒.๑ การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐบาล
๒.๑.๑
กระทรวงการคลังดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณจำนวน ๙๑,๗๑๙.๗๓
ล้านบาท ด้วยวิธีการดังนี้
(๑) ออกพันธบัตรรัฐบาล จำนวน ๖ รุ่น วงเงินรวม ๔๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) ออกพันธบัตรออมทรัพย์ จำนวน ๖ รุ่น วงเงินรวม
๒,๗๖๙.๗๓ ล้านบาท
(๓) ออกตั๋วสัญญาใช้เงินกับธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) ธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
และธนาคารออมสิน วงเงินรวม ๒๕,๙๕๐ ล้านบาท
(๔) ออกตั๋วเงินคลัง วงเงินรวม ๑๗,๐๐๐
ล้านบาท
๒.๑.๒ กระทรวงการคลังดำเนินการ Roll-over ตั๋วเงินคลังเพื่อบริหารดุลเงินสดวงเงิน
๘๐,๐๐๐ ล้านบาท และ Roll-over ตั๋วเงินคลังเพื่อชดเชยการขาดดุลซึ่งสะสมมาในช่วงปี
๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ อีกจำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท ทำให้ ณ
สิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ มีตั๋วเงินคลังเพื่อการดังกล่าวหมุนเวียนในตลาด จำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท
๒.๑.๓ กระทรวงการคลังดำเนินการ Roll-over
ตั๋วสัญญาใช้เงินที่ครบกำหนดชำระวงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) วงเงิน ๒,๕๐๐
ล้านบาท และธนาคารออมสินวงเงิน ๒,๕๐๐ ล้านบาท นอกจากนี้ยังได้ Roll-over
พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนดชำระวงเงิน ๓๔,๙๕๐ ล้านบาท
โดยการกู้เงินระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ๕ แห่ง เพื่อชำระหนี้ในวันครบกำหนด
และทยอยออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้จำนวน ๔ รุ่น
เพื่อนำเงินที่ได้ไปชำระคืนหนี้เงินกู้ระยะสั้นจนครบจำนวน
๒.๒
การบริหารและจัดการเงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้ FIDF 1
กระทรวงการคลังดำเนินการ Roll-over
ตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ที่ครบกำหนดชำระจำนวน ๒ รุ่น วงเงินรุ่นละ
๕,๐๐๐ ล้านบาท โดยกู้เงินระยะสั้นจากธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) วงเงิน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
และยืมเงินจากบัญชีเงินฝากจากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้จำนวน ๔,๐๐๐
ล้านบาท รวม ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท เพื่อนำไปชำระคืนหนี้ในวันครบกำหนด
และทยอยออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน ๒ รุ่น วงเงินรุ่นละ ๕,๐๐๐
ล้านบาท
เพื่อนำเงินที่ได้ไปชำระคืนหนี้เงินกู้ระยะสั้นและเงินที่ยืมมาจากบัญชีเงินฝากจากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้
๒.๓ การบริหารเงินกู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสถาบันการเงิน
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๑ ไม่มีพันธบัตรครบกำหนดไถ่ถอน
๒.๔
การบริหารและจัดการเงินกู้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ
รัฐวิสาหกิจได้ดำ
เนินการกู้เงินและบริหารในประเทศ จำนวนทั้งสิ้น ๒๐๑,๖๘๕.๓๒
ล้านบาท เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๑๕๐,๕๘๕.๓๒
ล้านบาทและไม่ค้ำประกัน จำนวน ๕๑,๑๐๐.๐๐ ล้านบาท
สามารถแบ่งตามประเภทของการกู้เงิน ได้ดังนี้
๒.๔.๑ เงินกู้ในประเทศทดแทนเงินกู้จากต่างประเทศ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร
วงเงิน ๑๐๐.๐๐ ล้านบาทกระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน
เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า ระยะที่ ๖ ส่วนที่ ๒
๒.๔.๒
เงินกู้เงินบาทสมทบโครงการเงินกู้จากต่างประเทศ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร
วงเงิน ๒๒๐.๐๐ ล้านบาทกระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า
ระยะที่ ๖ ส่วนที่ ๑ และระยะที่ ๗ ส่วนที่ ๒
๒.๔.๓ เงินกู้เพื่อลงทุน
รัฐวิสาหกิจ ๔ แห่ง ได้กู้เงินเพื่อลงทุน
วงเงินรวม ๓๖,๖๖๗.๒๘
ล้านบาทเป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๓๕,๔๘๗.๒๘
ล้านบาท และไม่ค้ำประกัน จำนวน๑,๑๘๐.๐๐ ล้านบาท ได้แก่
(๑) การเคหะแห่งชาติ ได้กู้เงินจากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) วงเงินรวม ๑๑,๕๐๐.๐๐
ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกันเพื่อดำเนินโครงการบ้านเอื้ออาทรระยะที่ ๔
และระยะที่ ๕
(๒) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้กู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ร่วมกับการออกพันธบัตร
วงเงินรวม ๓,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท
กระทรวงการคลังค้ำประกันเพื่อดำเนินโครงการทางพิเศษรามอินทรา -
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ จำนวน ๑,๕๐๐.๐๐ ล้านบาท โครงการทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์
จำนวน ๑,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท และโครงการทางยกระดับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมิเชื่อมทางพิเศษบูรพาวิถี
จำนวน ๕๐๐ ล้านบาท
(๓) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร วงเงิน ๑,๑๘๐.๐๐ ล้านบาท
กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า ระยะที่
๗ ส่วนที่ ๑ จำนวน ๓๐๐ ล้านบาท โครงการก่อสร้างและปรับปรุงเสริมระบบจำหน่าย ระยะที่
๖ จำนวน ๑๓๐ ล้านบาท โครงการติดตั้งศูนย์สั่งจ่ายไฟ ระยะที่ ๒ จำนวน ๒๐๐
ล้านบาทโครงการพัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า ระยะที่ ๘ ส่วนที่ ๑ จำนวน ๒๐๐
ล้านบาท โครงการเพิ่มความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า ระยะที่ ๒ จำนวน ๓๐๐ ล้านบาท
และโครงการขยายเขตติดตั้งระบบไฟฟ้าให้เกาะต่างๆ จำนวน ๕๐ ล้านบาท
(๔) การรถไฟแห่งประเทศไทย
ได้กู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารนครหลวงไทย
จำกัด (มหาชน) ร่วมกับการออกพันธบัตร วงเงินรวม ๒๐,๙๘๗.๒๘
ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน เพื่อดำเนินโครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
๒.๔.๔
เงินกู้เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนและอื่นๆ
รัฐวิสาหกิจ ๒ แห่ง
ได้กู้เงินเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนและอื่นๆ วงเงิน รวม ๔,๑๑๕.๙๔
ล้านบาท เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกันทั้งสิ้น ได้แก่
(๑) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ได้กู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) วงเงิน ๓,๑๑๕.๙๔
ล้านบาท เพื่อใช้ในการชำระหนี้ค่าน้ำมัน ค่าเหมาซ่อม และค่าดอกเบี้ยค้างจ่าย
(๒) ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร วงเงิน ๑,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท
เพื่อนำไปใช้ในการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร
๒.๔.๕ เงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ในประเทศ
(๑) รัฐวิสาหกิจ ๕ แห่ง ได้กู้เงินเพื่อ Roll-over
หนี้ที่ครบกำหนดชำระคืนวงเงินรวม ๓๑,๗๘๗.๕๐ ล้านบาท
เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๒๕,๑๘๗.๕๐
ล้านบาทและไม่ค้ำประกัน จำนวน ๖,๖๐๐ ล้านบาท ได้แก่
๑) การเคหะแห่งชาติ ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร
๘ รุ่น วงเงินรวม ๙,๓๐๐.๐๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน
๒) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร ๕ รุ่นและกู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
วงเงินรวม ๖,๒๐๐.๐๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน
๓) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร ๓ รุ่นและกู้เงินจากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
วงเงินรวม ๓,๖๘๗.๕๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน
๔) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ได้กู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน และ FRN (Floating
Rate Note) วงเงินรวม ๖,๖๐๐.๐๐
ล้านบาทกระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน
๕) ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร ๖ รุ่นวงเงินรวม ๖,๐๐๐.๐๐
ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน
การ Roll-over ของรัฐวิสาหกิจทั้ง
๕ แห่ง จำนวน ๓๑,๗๘๗.๕๐ ล้านบาท นี้เป็นการ Roll
over ภายใต้วงเงินที่ครบกำหนด ๓๖,๘๘๙.๕๐
ล้านบาท โดยรัฐวิสาหกิจชำระคืนหนี้ส่วนที่ไม่ได้ Roll-over จำนวน
๕,๑๐๒.๐๐ ล้านบาท
(๒) รัฐวิสาหกิจ ๒ แห่ง ได้กู้เงินเพื่อ Refinance
วงเงินรวม ๑๒๘,๗๙๔.๖๐ ล้านบาท
เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๘๕,๗๙๔.๖๐
ล้านบาท และไม่ค้ำประกันจำนวน ๔๓,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท ได้แก่
๑)
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร ๕ รุ่น
วงเงินรวม ๑๑๖,๗๙๔.๖๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน ๗๓,๗๙๔.๖๐
ล้านบาท และกระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน ๔๓,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท
๒) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้กู้เงินโดยการออกพันธบัตร ๑๒ รุ่น และกู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
วงเงินรวม ๑๒,๐๐๐.๐๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน
๒.๕ การกู้เงินตามแผนการก่อหนี้จากต่างประเทศ
รัฐวิสาหกิจ ๒ แห่ง ได้กู้เงินจากต่างประเทศ
วงเงินรวม ๖๗๘.๕๖ ล้านเหรียญสหรัฐหรือเทียบเท่า ๒๑,๖๗๖.๗๙
ล้านบาท เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๖๒๘.๕๖ ล้านเหรียญสหรัฐ
หรือเทียบเท่า ๑๙,๘๗๖.๗๙ ล้านบาท และไม่ค้ำประกัน จำนวน ๕๐.๐๐
ล้านเหรียญสหรัฐหรือเทียบเท่า ๑,๘๐๐.๐๐ ล้านบาท ได้แก่
(๑) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ลงนามในสัญญาเงินกู้กับ
JBIC วงเงิน ๖๒๘.๕๖ ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า ๑๙,๘๗๖.๗๙
ล้านบาท กระทรวงการคลังค้ำประกัน เพื่อดำเนินโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง บางใหญ่ -
ราษฎร์บูรณะ ช่วงบางใหญ่ บางซื่อ
(๒) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยได้กู้เงินโดยการออก
FRN วงเงิน ๕๐.๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า ๑,๘๐๐.๐๐
ล้านบาท กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกันเพื่อดำเนินโครงการระบบการชำระเงินแบบทวิภาคี
โครงการสนับสนุนการขายสินค้าเกษตร
โครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนเพื่อเตรียมการส่งออกเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ
โครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประเทศเพื่อนบ้านและประเทศเป้าหมาย
โครงการสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศและการส่งออกสินค้าทุนและบริการ
และโครงการสนับสนุนกิจการพาณิชย์นาวี
๒.๖ การบริหารหนี้ต่างประเทศ
กระทรวงการคลังและรัฐวิสาหกิจได้ดำเนินการบริหารหนี้ต่างประเทศ
วงเงินรวม ๕,๗๑๔.๔๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๒.๖.๑ กระทรวงการคลังได้ดำเนินการทำ Cross
Currency Swap กับธนาคาร Calyon
เพื่อแปลงหนี้เงินกู้ JBIC จากหนี้สกุลเงินเยนที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่
เป็นหนี้สกุลเงินบาทที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว วงเงิน ๕,๐๓๐.๗๔
ล้านบาท
๒.๖.๒ รัฐวิสาหกิจ ๒ แห่ง ได้ดำเนินการ Prepayment
เพื่อชำระคืนหนี้ก่อนครบกำหนด วงเงินรวม ๖๘๓.๖๖ ล้านบาท ได้แก่
(๑) การไฟฟ้านครหลวง ชำระหนี้คืนเงินกู้ธนาคาร Nordic
Investment Bank ก่อนครบกำหนด วงเงิน ๒๓๐.๐๓
ล้านบาท
(๒) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ชำระหนี้คืนเงินกู้ธนาคาร Nordic Investment
Bank ก่อนครบกำหนด วงเงิน ๔๕๓.๖๓ ล้านบาท
การดำเนินการดังกล่าวสามารถลดยอดหนี้คงค้างได้
๖๘๓.๖๖ ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยได้ ๑๑๒.๐๐ ล้านบาท
๓. การกู้เงินและบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบเพดานเงินกู้ของแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
๓.๑ การกู้เงินและบริหารหนี้ของบริษัทมหาชนจำกัด
ที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ
รัฐวิสาหกิจ ๓ แห่ง ได้กู้เงินและบริหารหนี้รวม
๒๐,๓๓๕.๓๓ ล้านบาท ได้แก่
๓.๑.๑ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
ได้กู้เงินและบริหารหนี้รวม ๑๑,๓๒๐.๓๓ ล้านบาท
กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกันทั้งสิ้น แบ่งเป็น
(๑) การกู้เงินจากธนาคาร HSH Nordbank
จำนวน ๓,๘๒๐.๓๓ ล้านบาท เพื่อนำไปชำระค่าเครื่องบินโบอิ้ง B๗๗๗-๒๐๐
ER ลำที่ ๖
(๒) การ Roll-over หนี้เงินกู้
ECP ที่ครบกำหนดชำระโดยการออกหุ้นกู้ในประเทศ วงเงิน ๗,๕๐๐.๐๐
ล้านบาท จากหนี้ที่ครบกำหนดชำระทั้งหมด ๑๒,๔๐๔.๙๑ ล้านบาท โดยบริษัทใช้รายได้ชำระคืนหนี้
จำนวน ๔,๙๐๔.๙๑ ล้านบาท
๓.๑.๒ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ได้ออกหุ้นกู้ในประเทศ วงเงิน ๘,๐๐๐ ล้านบาท กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน
๓.๑.๓ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ได้ดำเนินการ Prepayment
เพื่อชำระคืนหนี้เงินกู้ JBIC ก่อนครบกำหนด วงเงิน ๑,๐๑๕.๐๐
ล้านบาท
๓.๒ การกู้เงินระยะสั้นเพื่อเสริมสภาพคล่อง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้กู้เงินระยะสั้นในรูป Credit
Line จากธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน ๓,๐๐๐
ล้านบาท กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน
๓.๓
การบริหารหนี้เงินกู้เพื่อดำเนินงานตามโครงการเฉพาะกิจตามนโยบายของรัฐบาล
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกรได้ขยายระยะเวลาการชำระหนี้เงินกู้กับธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) จากวันที่ครบกำหนดเมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ไปถึงวันที่ ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๑ วงเงิน ๔,๖๑๔.๕๗ ล้านบาท
โดยเงินกู้ดังกล่าวเป็นเงินกู้ตามโครงการรับซื้อลำไยเพื่อแปรรูปและการตลาดลำไยอบแห้ง
ปี ๒๕๔๗
๓.๔
การชำระหนี้เงินกู้ผ่อนปรนจากธนาคารแห่งประเทศไทย
๓.๔.๑
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยชำระคืนหนี้ตามโครงการสนับสนุนทางการเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการใน
๖ จังหวัดภาคใต้ ที่ประสบธรณีพิบัติภัยที่ครบกำหนดเมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
วงเงิน ๑,๐๐๐ ล้านบาท โดยใช้เงินรายได้
๓.๔.๒
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยชำระคืนหนี้ตามโครงการสนับสนุนทางการเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการใน
๖ จังหวัดภาคใต้ ที่ประสบธรณีพิบัติภัยที่ครบกำหนดเมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
วงเงิน ๒๐๐ ล้านบาท โดยใช้เงินรายได้
๔. สรุปผลการดำเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๑
๔.๑ จากผลการดำเนินงานที่กล่าวมาแล้ว
ในช่วงระยะเวลา ๖ เดือนแรกของปีงบประมาณ ๒๕๕๑ (ตุลาคม ๒๕๕๐ - มีนาคม ๒๕๕๑)
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการบริหารและจัดการหนี้สาธารณะตามกรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๑ เป็นจำนวนทั้งสิ้น ๕๑๗,๗๔๖.๒๔
ล้านบาท โดยมีความก้าวหน้าไปแล้วคิดเป็นร้อยละ ๔๙.๙๔ ของแผนฯ
๔.๒ ผลการกู้เงินและบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบเพดานเงินกู้ของแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๑ รัฐวิสาหกิจได้กู้เงินและบริหารหนี้รวมทั้งสิ้น ๒๗,๙๔๙.๙๐
ล้านบาท
๔.๓ จากการดำเนินการตามข้อ ๔.๑ และ ๔.๒
กระทรวงการคลังและรัฐวิสาหกิจได้กู้เงินและบริหารหนี้รวมทั้งสิ้น ๕๔๕,๖๙๖.๑๔
ล้านบาท แบ่งเป็นการกู้เงินใหม่ จำนวน ๑๖๙,๓๒๐.๐๗ ล้านบาท
และการบริหารหนี้ จำนวน ๓๗๖,๓๗๖.๐๗ ล้านบาท
หน่วย
: ล้านบาท
หน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน
การกู้ใหม่
การบริหารหนี้
รวม
- รัฐบาล
๙๑,๗๑๙.๗๓
๒๐๑,๙๘๐.๗๔
๒๙๓,๗๐๐.๔๗
- รัฐวิสาหกิจ
๗๗,๖๐๐.๓๔
๑๗๔,๓๙๕.๓๓
๒๕๑,๙๙๕.๖๗
รวม
๑๖๙,๓๒๐.๐๗
๓๗๖,๓๗๖.๐๗
๕๔๕,๖๙๖.๑๔
ทั้งนี้
การกู้เงินและบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจจำนวน ๒๕๑,๙๙๕.๖๗
ล้านบาท แบ่งเป็นหนี้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน จำนวน ๑๗๕,๐๗๖.๖๘
ล้านบาท และไม่ค้ำประกัน จำนวน ๗๖,๙๑๘.๙๙ ล้านบาท
ผลของการบริหารหนี้ที่ได้ดำเนินการทั้งในส่วนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจวงเงินรวมกันทั้งสิ้น
๓๗๖,๓๗๖.๐๗ ล้านบาท นั้น สามารถลดยอดหนี้สาธารณะคงค้างได้ ๑๒,๙๐๕.๕๗
ล้านบาท และลดภาระดอกเบี้ยได้ ๒๕๘.๐๐ ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
หมายเหตุ :- FIDF หมายถึง กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
FIDF1 หมายถึง พันธบัตรที่ออกภายใต้พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งรวมทั้งเงินกู้หรือตราสารหนี้ระยะสั้นที่มีอายุไม่เกิน ๑ ปี
FIDF3 หมายถึง พันธบัตรที่ออกภายใต้พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
ระยะที่สอง พ.ศ. ๒๕๔๕
Prepayment หมายถึง การชำระหนี้คืนก่อนครบกำหนดชำระ
Refinance หมายถึง การกู้เงินจากแหล่งใหม่เพื่อนำไปใช้คืนแหล่งเงินกู้เดิม
ซึ่งเป็นการลดต้นทุนการกู้เงิน หรือขยายระยะเงินกู้
Repayment หมายถึง การชำระหนี้คืนตามกำหนดชำระ
Roll-over หมายถึง การกู้เงินใหม่เพื่อนำไปชำระเงินกู้ที่ครบกำหนดชำระ
เพื่อให้เงินกู้ดังกล่าวมีระยะเงินกู้สอดคล้องกับระยะคืนทุน
JBIC หมายถึง Japan
Bank for International
Cooperation
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๙ ง/หน้า ๒๖/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580843 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 10
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๐[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคา ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำ
เนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ จำนวน ๑๑,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๓๗,๗๐๗
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น. ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
๑ วันทำการและ Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๐
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล
ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑๐
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑๐ (LB183B)
อายุคงเหลือ
๙.๘๕ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕
ต่อปี
จำนวน ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท
๗
พ.ค. ๒๕๕๑
๑๑,๐๐๐
๙
พ.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๑
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
(วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วันแล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวดคือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๙ ง/หน้า ๑๙/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580837 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 9
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๙[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคา ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ จำนวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
(ห้าพันล้านบาทถ้วน)
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙
เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑) จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒) ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น. ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
๑ วันทำการและ Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๙
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๙
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๙ (LB383A)
อายุ
๒๙.๙๐ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐
ต่อปี
จำนวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
๒๓
เม.ย. ๒๕๕๑
๑๘
มิ.ย. ๒๕๕๑
๒,๕๐๐
๒,๕๐๐
๒๕
เม.ย. ๒๕๕๑
๒๐
มิ.ย. ๒๕๕๑
๒๕
เม.ย. ๒๕๕๑
๒๕
เม.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๘๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๘๑
หมายเหตุ
: อัตราดอกเบี้ยจะประกาศในวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันที่ ๒๕ เมษายน
๒๕๕๑ ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน
แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริงเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๘๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๙ ง/หน้า ๑๓/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580831 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 8
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๘[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคา ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ จำนวน ๖,๐๕๐ ล้านบาท
(หกพันห้าสิบล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๘,๐๕๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง) และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล
ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๘
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล
ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๘
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๘ (LB233A)
อายุคงเหลือ
๑๔.๘๙ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐
ต่อปี
จำนวน ๖,๐๕๐ ล้านบาท
๒๓
เม.ย. ๒๕๕๑
๖,๐๕๐
๒๕
เม.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๖๖
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐ ต่อปี
คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
(วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวดคือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๕๐ ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๙ ง/หน้า ๗/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580827 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 7
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๗[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคา ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ จำนวน ๑๕,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นห้าพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๗๗,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น. ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
๑ วันทำการและ Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๗
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒) ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล
ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๗
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๗ (LB133A)
อายุคงเหลือ
๔.๙๐ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕
ต่อปี
จำนวน ๑๕,๐๐๐ ล้านบาท
๑๖
เม.ย. ๒๕๕๑
๑๕,๐๐๐
๑๘
เม.ย. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๖
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวดคือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการจำหน่ายตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๕,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid : CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid : NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๓
มิถุนายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๙ ง/หน้า ๑/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580518 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 4
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ครั้งที่
๕ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ วงเงิน ๕,๙๕๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re
- open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB283A) อายุ ๒๐.๓๐ ปี
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๗,๙๕๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๙.๙๗ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๖๗
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๕,๙๕๐
๕.๑๙๗๙
๖,๓๐๘,๗๗๒,๗๐๐.๖๐
๓๔๔,๙๐๘,๓๖๗.๖๐
๑๓,๘๖๔,๓๓๓.๐๐
หมายเหตุ
: วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๑๘/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580516 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 3
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ครั้งที่
๕ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ วงเงิน ๙,๗๐๗ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re
- open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B) อายุ ๑๐.๓๑ ปี
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๖,๗๐๗
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๙.๙๘ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้งในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๙,๗๐๗
๔.๔๙๗๒
๑๐,๒๐๑,๕๗๕,๔๒๑.๗๒
๔๘๓,๖๗๑,๖๔๕.๖๙
๑๐,๙๐๓,๗๗๖.๐๓
หมายเหตุ :
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๑๖/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580514 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 2
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ครั้งที่
๕ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ วงเงิน ๖,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re
- open) พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A) อายุ ๑๕.๒๒ ปี
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๒,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๕.๐๔ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๕.๐๑๔๗
๖,๓๖๑,๙๐๑,๓๔๙.๙๐
๓๐๔,๙๔๒,๔๔๙.๙๐
๕๖,๙๕๘,๙๐๐.๐๐
หมายเหตุ :
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๑๔/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580512 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 1
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ครั้งที่
๕ ที่ครบกำหนดในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ วงเงิน ๑๓,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re
- open) พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A) อายุ ๕.๖๗ ปี
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๖๒,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๕.๐๖ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ สำนักงานประกันสังคม และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๙
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๓,๐๐๐
๓.๕๘๙๕
๑๓,๖๓๙,๔๗๘,๘๗๑.๗๐
๓๙๔,๒๕๙,๗๔๑.๗๐
๒๔๕,๒๑๙,๑๓๐.๐๐
หมายเหตุ
: วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๑๒/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580510 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนพฤษภาคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนพฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลังหากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗ ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังจะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๗ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๘/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
580508 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 6
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ อายุ ๓ ปี จำนวน ๒๒๘,๑๕๐,๐๐๐
บาท (สองร้อยยี่สิบแปดล้านหนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต
ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน
ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นๆ
ได้
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้
คือวันที่ ๑๗ - ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน
๕๘๖ ราย จำนวนเงิน ๒๒๖,๑๕๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิ จำนวน ๔
ราย จำนวนเงิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้
ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้
มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๔๕ ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด
คือในวันที่ ๑๕ มีนาคม และวันที่ ๑๕ กันยายน ของทุกปี เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ
กันตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้ การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒ ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๘๖ ง/หน้า ๓/๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ |
576590 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๕๖,
๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน ๕๕,๕๒๒,๙๗๘,๗๐๘.๓๓
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๔๗๗,๐๒๑,๒๙๑.๖๗
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
๒๓/๒๘/๕๑
L๒๓/๙๑/๕๑
L๒๓/๑๘๒/๕๑
๒๔/๒๘/๕๑
L๒๔/๙๑/๕๑
L๒๔/๑๘๒/๕๑
๒๕/๒๘/๕๑
L๒๕/๙๑/๕๑
L๒๕/๑๘๒/๕๑
๒๖/๒๘/๕๑
L๒๖/๙๑/๕๑
L๒๖/๑๘๒/๕๑
๓,๐๐๐
๖,๐๐๐
๕,๐๐๐
๓,๐๐๐
๖,๐๐๐
๕,๐๐๐
๓,๐๐๐
๖,๐๐๐
๕,๐๐๐
๓,๐๐๐
๖,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕
มีนาคม ๒๕๕๑
๕
มีนาคม ๒๕๕๑
๕
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๒
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๒
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๒
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๒
เมษายน ๒๕๕๑
๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
๓
กันยายน ๒๕๕๑
๙
เมษายน ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๐
กันยายน ๒๕๕๑
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๗
กันยายน ๒๕๕๑
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๔
กันยายน ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๖,๘๗๙,๔๗๕.๕๑
๔๓,๕๕๑,๓๒๐.๔๘
๗๐,๔๑๙,๑๘๒.๘๓
๖,๗๙๑,๘๙๖.๒๗
๔๒,๔๒๘,๒๓๓.๖๔
๖๙,๘๙๔,๓๔๒.๑๙
๖,๘๕๑,๑๙๐.๘๓
๔๒,๑๙๔,๕๔๐.๘๐
๖๙,๑๑๑,๓๐๖.๐๒
๖,๘๕๖,๔๙๐.๙๐
๔๒,๒๐๒,๕๓๓.๔๑
๖๙,๘๔๐,๗๗๘.๗๙
รวม
๕๖,๐๐๐
๔๗๗,๐๒๑,๒๙๑.๖๗
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ - จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท
ซึ่งเมื่อรวมกับการออกตั๋วเงินคลังโดยใช้วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๑๗,๐๐๐ ล้านบาท จะทำให้ ณ สิ้นเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้จำนวน
๑๖๔,๐๐๐ ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๘
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๖ ง/หน้า ๔/๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ |
576470 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 3
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓[๑]
โดยที่พันธบัตรรัฐบาลที่ออกตามประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๓ วงเงิน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๓๕ ง ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
จำหน่ายได้จริงจำนวน ๙,๗๐๗,๐๐๐,๐๐๐
บาท (เก้าพันเจ็ดร้อยเจ็ดล้านบาทถ้วน)
กระทรวงการคลังจึงขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ปรับลดวงเงินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ จากจำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) เป็นจำนวน ๙,๗๐๗,๐๐๐,๐๐๐
บาท (เก้าพันเจ็ดร้อยเจ็ดล้านบาทถ้วน)
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๒ ง/หน้า ๘/๑๘ เมษายน ๒๕๕๑ |
576458 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 (ครั้งที่ 3) และ (ครั้งที่ 4) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๓) และ (ครั้งที่ ๔)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
ด้วยประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การกู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๓)
และ (ครั้งที่ ๔) ลงวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๔ วรรค ๒ กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในวันที่ ๑๗ เมษายน ของทุกปีโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๓) และ (ครั้งที่ ๔) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
ลงวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๗๐ ต่อปี เป็นร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปีตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงิน
เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕
ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๓) และ (ครั้งที่ ๔) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ลงวันที่
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๓๐ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๒ ง/หน้า ๗/๑๘ เมษายน ๒๕๕๑ |
576446 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 (ครั้งที่ 1) และ (ครั้งที่ 2) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๑) และ (ครั้งที่ ๒)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
ด้วยประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การกู้เงินจากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๑)
และ (ครั้งที่ ๒) ลงวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๔ วรรค ๒ กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในวันที่ ๙ เมษายน ของทุกปีโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๑) และ (ครั้งที่ ๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
ลงวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๗๐ ต่อปี เป็นร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปีตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๐ เป็นต้นไป
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยตั๋วสัญญาใช้เงิน
เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕
ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ครั้งที่ ๑) และ (ครั้งที่ ๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ลงวันที่
๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕ ต่อปี เป็นร้อยละ ๓.๓๐ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๒ ง/หน้า ๖/๑๘ เมษายน ๒๕๕๑ |
576428 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล โดยตั๋วสัญญาใช้เงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล โดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล
ในไตรมาสที่ ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน จำนวน ๒๕,๙๕๐
ล้านบาท ดังนี้
๑. วันที่
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท ให้กับธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
(๑) ชำระคืนต้นเงินกู้ภายใน ๒ ปี นับแต่วันที่ ๔
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
(๒) ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก
๖ เดือน โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๘๕ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
มีอัตราร้อยละ ๓.๐๔๕ ต่อปี
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้น ในวันที่ ๔
กุมภาพันธ์ และวันที่ ๔ สิงหาคม ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ และวันที่ ๔ สิงหาคม ของทุกปี
โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๑
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยและวันไถ่ถอนต้นเงินตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
๒. วันที่
๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
จำนวน ๙,๐๐๐ ล้านบาท ให้กับธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
(๑) ชำระคืนต้นเงินกู้ภายใน ๒ ปี นับแต่วันที่ ๑๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
(๒) ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก
๖ เดือน โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๗ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์
๒๕๕๑ มีอัตราร้อยละ ๓.๐๓ ต่อปี
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้น ในวันที่ ๑๘
กุมภาพันธ์ และวันที่ ๑๘ สิงหาคม ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ และวันที่ ๑๘ สิงหาคม ของทุกปี
โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๑
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ย และวันไถ่ถอนต้นเงินตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
๓. วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๖,๐๐๐
ล้านบาท ให้กับ
๓.๑ ธนาคารแห่งโตเกียว - มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด
สาขากรุงเทพฯ จำนวนเงิน ๓,๐๐๐ ล้านบาท
โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
(๑) ชำระคืนต้นเงินกู้ภายใน ๓.๕ ปี นับแต่วันที่ ๓
มีนาคม ๒๕๕๑
โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
(๒) ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก
๖ เดือน โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๗ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๑ มีอัตราร้อยละ
๓.๐๓ ต่อปี
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้นในวันที่ ๓
มีนาคม และวันที่ ๓ กันยายน ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๓ มีนาคม และวันที่ ๓ กันยายน ของทุกปี โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่
๓ กันยายน ๒๕๕๑
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ย และวันไถ่ถอนต้นเงินตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
๓.๒ ธนาคารออมสิน จำนวนเงิน ๓,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
(๑) ชำระคืนต้นเงินกู้ภายใน ๓.๕ ปี นับแต่วันที่ ๓
มีนาคม ๒๕๕๑ โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
(๒)
ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก ๖ เดือน
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๘ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๑
มีอัตราร้อยละ ๓.๐๔ ต่อปี กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้น
ในวันที่ ๓ มีนาคม และวันที่ ๓ กันยายน ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๓ มีนาคม และวันที่ ๓ กันยายน ของทุกปี โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่
๓ กันยายน ๒๕๕๑ สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ย
และวันไถ่ถอนต้นเงินตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
๔. วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑
กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๔,๙๕๐
ล้านบาท ให้กับธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
(๑) ชำระคืนต้นเงินกู้ภายใน ๓.๕ ปี นับแต่วันที่
๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑
โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
(๒)
ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก ๖ เดือน
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๗ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑
มีอัตราร้อยละ ๓.๐๓ ต่อปี
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้น ในวันที่ ๑๐
มีนาคม และวันที่ ๑๐ กันยายน ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๑๐ มีนาคม และวันที่ ๑๐ กันยายน ของทุกปี
โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๑
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ย
และวันไถ่ถอนต้นเงินตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๒ ง/หน้า ๑/๑๘ เมษายน ๒๕๕๑ |
575890 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 5
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ อายุ ๓ ปี จำนวน ๒๖๙,๗๓๐,๐๐๐
บาท (สองร้อยหกสิบเก้าล้านเจ็ดแสนสามหมื่นบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต
ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน
ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันในการกู้เงินจากธนาคาร
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๑๕ -
๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๖๗๓ ราย
จำนวนเงิน ๒๖๗,๐๓๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิ จำนวน ๖
ราย จำนวนเงิน ๒,๗๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้
ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้
มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๔๐ ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ที่ได้จดทะเบียนไว้
หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด
คือในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ และวันที่ ๑๕ สิงหาคม ของทุกปี เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ
กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้ การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่น ๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒ ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๙
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๗ ง/หน้า ๑/๓ เมษายน ๒๕๕๑ |
575647 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 6) วันที่ 26 มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๑๘
กันยายน ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๓.๐๗๒๕ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๒๖ มีนาคม และวันที่ ๒๖
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่งบวกร้อยละ ๑.๐๑ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลังลงวันที่
๑๘ กันยายน ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๖) เป็นร้อยละ ๓.๐๗ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๗
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๗๑ ง/หน้า ๖/๑๑ เมษายน ๒๕๕๑ |
575317 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๐ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลังประจำเดือนเมษายน
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลัง หากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้เสนอประมูลตั๋วเงินคลังได้จะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๕ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนเมษายน พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล (โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา
(Competitive Bid : CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๓
เมษายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๕ ง/หน้า ๒/๑ เมษายน ๒๕๕๑ |
575099 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 3) วันที่ ๑๕ มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ลงวันที่
๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๕ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๙ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๑๕ มีนาคม และวันที่ ๑๕
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา
เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) ๕
แห่ง บวกร้อยละ ๑.๐๐ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๐
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๙ ต่อปี เป็นร้อยละ
๓.๐๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว
จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) เป็นร้อยละ ๓.๐๕ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๓ ง/หน้า ๘/๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ |
575097 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 3) วันที่ ๑๕ มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๓) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๕ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๘ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๑๕ มีนาคม และวันที่ ๑๕ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา
เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) ๕
แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๙ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๐
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๓๘ ต่อปี เป็นร้อยละ
๓.๐๔ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๓) เป็นร้อยละ ๓.๐๔ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑
เมษายน ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๓ ง/หน้า ๗/๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ |
575095 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๔๐,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน
๓๙,๖๓๒,๘๐๕,๔๘๓.๑๐
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๓๖๗,๑๙๔,๕๑๖.๙๐
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
๙/๒๘/๕๑
L๑๙/๙๑/๕๑
L๑๙/๑๘๒/๕๑
๒๐/๒๘/๕๑
L๒๐/๙๑/๕๑
L๒๐/๑๘๒/๕๑
๒๑/๒๘/๕๑
L๒๑/๙๑/๕๑
L๒๑/๑๘๒/๕๑
๒๒/๒๘/๕๑
L๒๒/๙๑/๕๑
L๒๒/๑๘๒/๕๑
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐
๔,๐๐๐
๔,๐๐๐
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๕
มีนาคม ๒๕๕๑
๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๖
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๒
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๔
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๓
สิงหาคม ๒๕๕๑
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๑
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๐
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๘
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๗
สิงหาคม ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๔,๗๑๖,๖๙๙.๘๖
๓๐,๐๖๖,๓๘๕.๐๔
๕๘,๙๕๓,๗๓๓.๒๐
๔,๖๒๒,๗๑๕.๑๖
๒๙,๔๕๓,๒๕๑.๔๗
๕๗,๙๗๘,๑๔๙.๙๐
๔,๕๔๓,๒๙๙.๕๖
๒๘,๙๓๐,๓๕๖.๗๗
๕๗,๒๓๔,๓๗๘.๕๒
๔,๕๗๗,๓๘๐.๓๒
๒๙,๐๙๑,๘๕๗.๓๐
๕๗,๐๒๖,๓๐๙.๘๐
รวม
๔๐,๐๐๐
๓๖๗,๑๙๔,๕๑๖.๙๐
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลังร้อยละ
๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ
- จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐ ล้านบาท
ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมา ในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐
ล้านบาท และส่วนที่ ๒ เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาล จำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่ง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้จำนวน ๑๔๐,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑
เมษายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๓ ง/หน้า ๕/๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ |
575091 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๐ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงิน ตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลัง หากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้เสนอประมูลตั๋วเงินคลังได้จะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๕ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551
๒.
แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล (โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive
Bid: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑
เมษายน ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๖๓ ง/หน้า ๑/๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ |
573796 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 2) วันที่ 8 มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๒) จากธนาคารออมสิน ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๔ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๔๙ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ในวันที่ ๘ มีนาคม และวันที่ ๘
กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๖ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๐ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๔๙ ต่อปี
เป็นร้อยละ ๒.๙๑ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) เป็นร้อยละ ๒.๙๑ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม
๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕
มีนาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕๗ ง/หน้า ๒/๒๐ มีนาคม ๒๕๕๑ |
573794 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 2) วันที่ 8 มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๒) จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ อายุ ๔ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๑ ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๘ มีนาคม และวันที่ ๘ กันยายน ของทุกปี โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ
๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๘ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๐
ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๑ ต่อปี เป็นร้อยละ ๒.๙๓ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๒) เป็นร้อยละ ๒.๙๓ ต่อปี ทั้งนี้
ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป[๑]
ประกาศ
ณ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๕
มีนาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๕๗ ง/หน้า ๓/๒๐ มีนาคม ๒๕๕๑ |
573097 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 (ครั้งที่ 1) วันที่ 1 มีนาคม 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๑) วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑[๑]
ด้วยกระทรวงการคลังได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลโดยตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ครั้งที่ ๑) ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ อายุ ๓ ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๐
ต่อปี ซึ่งตามข้อ ๔ วรรคสอง กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ในวันที่ ๑ มีนาคม และวันที่ ๑ กันยายน ของทุกปี
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดา เฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๕ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๘๐ ต่อปี ซึ่งในวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๐ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๑) จากอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๕๐ ต่อปี
เป็นร้อยละ ๒.๘๕ ต่อปี
เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ ดังกล่าว จึงกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ จากธนาคารออมสิน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ครั้งที่ ๑) เป็นร้อยละ ๒.๘๕ ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่
๑ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๔
มีนาคม ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๔๙ ง/หน้า ๑๔/๖ มีนาคม ๒๕๕๑ |
573091 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 4
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า
พันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔
อายุ ๓ ปี จำนวน ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้ว
แต่กระทำในระหว่างระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันในการกู้เงินจากธนาคาร
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือวันที่ ๑๕ - ๑๖
มกราคม ๒๕๕๑ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๑๕๘
ราย จำนวนเงิน ๔๙๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๖
ราย จำนวนเงิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
มกราคม ๒๕๕๔
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๑๐
ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ที่ได้จดทะเบียนไว้ หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น
ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือในวันที่ ๑๕ มกราคม และวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ของทุกปี
เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ กันตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอน หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖.
กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้ โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๔
มีนาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๔๙ ง/หน้า ๙/๖ มีนาคม ๒๕๕๑ |
572580 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนมกราคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร บริษัทหลักทรัพย์
และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ วงเงิน ๗๐,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน
๖๙,๓๗๑,๓๒๗,๙๔๒.๔๘
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๖๒๘,๖๗๒,๐๕๗.๕๒
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
14/28/51
L14/91/51
L14/182/51
15/28/51
L15/91/51
L15/182/51
16/28/51
L16/91/51
L16/182/51
17/28/51
L17/91/51
L17/182/51
18/28/51
L18/91/51
L18/182/51
๔,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๔,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๔,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๔,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๔,๐๐๐
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
๒
มกราคม ๒๕๕๑
๒
มกราคม ๒๕๕๑
๒
มกราคม ๒๕๕๑
๙
มกราคม ๒๕๕๑
๙
มกราคม ๒๕๕๑
๙
มกราคม ๒๕๕๑
๑๖
มกราคม ๒๕๕๑
๑๖
มกราคม ๒๕๕๑
๑๖
มกราคม ๒๕๕๑
๒๓
มกราคม ๒๕๕๑
๒๓
มกราคม ๒๕๕๑
๒๓
มกราคม ๒๕๕๑
๓๐
มกราคม ๒๕๕๑
๓๐
มกราคม ๒๕๕๑
๓๐
มกราคม ๒๕๕๑
๓๐
มกราคม ๒๕๕๑
๒
เมษายน ๒๕๕๑
๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๙
เมษายน ๒๕๕๑
๙
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๖
เมษายน ๒๕๕๑
๑๖
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๓
เมษายน ๒๕๕๑
๒๓
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๓๐
เมษายน ๒๕๕๑
๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๙,๕๐๖,๕๑๙.๒๐
๓๙,๐๘๘,๖๒๖.๖๘
๘๑,๐๑๓,๕๙๓.๘๖
๙,๕๕๑,๗๕๕.๕๘
๓๘,๙๗๓,๕๓๙.๒๔
๘๐,๖๘๓,๑๔๙.๓๔
๙,๓๕๘,๓๐๓.๔๘
๓๘,๐๕๔,๑๓๒.๗๓
๗๗,๕๐๓,๓๒๗.๑๖
๙,๓๗๕,๘๙๑.๓๙
๓๗,๙๘๙,๘๕๕.๖๘
๗๗,๐๐๗,๒๔๘.๙๐
๙,๓๔๙,๙๖๑.๖๑
๓๗,๖๒๐,๗๙๙.๐๐
๗๓,๕๙๕,๓๕๓.๖๗
รวม
๗๐,๐๐๐
๖๒๘,๖๗๒,๐๕๗.๕๒
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ-จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่ง ณ สิ้นเดือนมกราคม ๒๕๕๑ มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้ จำนวน
๑๔๐,๐๐๐ ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๔
มีนาคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๔๒ ง/หน้า ๑๖/๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572362 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 6
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ วงเงิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB283A)
อายุ ๒๐.๓๐ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๒,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๒๐.๑๕ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๖๗
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์
และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๒๓
มกราคม ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๔.๙๔๑๐
๖,๖๐๖,๑๐๖,๙๘๒.๐๕
๕๕๓,๙๑๑,๙๐๒.๐๕
๕๒,๑๙๕,๐๘๐.๐๐
หมายเหตุ : วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตร
รัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๖ ง/หน้า ๔/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572360 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 5
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ วงเงิน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
อายุ ๑๐.๓๑ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๗,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๑๐.๑๖ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๖
มกราคม ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๔.๕๑๘๒
๑๐,๕๖๘,๔๔๐,๐๕๔.๐๐
๔๘๙,๘๐๙,๙๕๔.๐๐
๗๘,๖๓๐,๑๐๐.๐๐
หมายเหตุ : วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ
วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตร
รัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระ และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๖ ง/หน้า ๒/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572221 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 4
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคาตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนดในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ จำนวน ๕,๙๕๐
ล้านบาท (ห้าพันเก้าร้อยห้าสิบล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB283A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๗,๙๕๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒ พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓ กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑) จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคล
เพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา
สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔ การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน
โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า ๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕ กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖ ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗ เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙ ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐ ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑ ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒ การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓ ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔ กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕ กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๔ (LB283A)
อายุคงเหลือ
๑๙.๙๗ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗
ต่อปี
จำนวน
๕,๙๕๐
ล้านบาท
๒๖
มี.ค. ๒๕๕๑
๕,๙๕๐
๒๘
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๗๑
ข้อ ๑๖ พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
(วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘ กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๕,๙๕๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำ
หนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๒๙/๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572219 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 3
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๓[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคาตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อ โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนดในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ จำนวน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๒๗,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑) จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล
การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน
โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า ๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้ กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๓ (LB183B)
อายุคงเหลือ
๙.๙๘ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕
ต่อปี
จำนวน
๑๐,๐๐๐
ล้านบาท
๑๙
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๒๑
มี.ค. ๒๕๕๑
๑๓
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๑
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๒๓/๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572215 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 2
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๒[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคาตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และวิธีการเสนอซื้อโดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนดในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ จำนวน ๖,๐๐๐
ล้านบาท (หกพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ (LB233A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๒,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑) จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์ นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล
การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน
โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า ๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ
กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้ กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๒ (LB233A)
อายุคงเหลือ
๑๕.๐๔ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐
ต่อปี
จำนวน
๖,๐๐๐
ล้านบาท
๒๗
ก.พ. ๒๕๕๑
๖,๐๐๐
๒๙
ก.พ. ๒๕๕๑
๒๘
ธ.ค. ๒๕๕๐
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๖
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันที่ ๒๘ ธันวาคม
๒๕๕๐ ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน
แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริงเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
คือ วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้ จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำ
หนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๑๗/๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572211 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 1
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๔ และมาตรา
๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(โดยใช้สูตรการคำนวณราคาตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว. (ว)
๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง
ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกำหนดในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ จำนวน ๑๓,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นสามพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๖๒,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการ และ
Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้
โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อ กรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑ (LB133A)
อายุคงเหลือ
๕.๐๖ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕
ต่อปี
จำนวน
๑๓,๐๐๐
ล้านบาท
๑๙
ก.พ. ๒๕๕๑
๑๓,๐๐๐
๒๒
ก.พ. ๒๕๕๑
๑๓
ก.ย. ๒๕๕๐
๑๓
มี.ค. ๒๕๕๖
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล
โดยเริ่มคำนวณจากวันชำระดอกเบี้ยครั้งล่าสุด (วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐) ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
คือวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๓,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำ
หนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๑๑/๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
572207 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกู้เงินระยะสั้นเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 1
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การกู้เงินระยะสั้นเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
๕ แห่ง เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลจำนวน ๓๔,๙๕๐
ล้านบาท ที่ครบกำหนดในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขสำคัญสรุปได้ ดังนี้
๑. วงเงินกู้จำนวน ๓๔,๙๕๐
ล้านบาท โดยเบิกเงินกู้ทั้งจำนวน ในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ตามรายละเอียด
ดังนี้
ลำดับที่
สถาบันการเงิน
อัตราดอกเบี้ย
(ร้อยละต่อปี)
วงเงิน
(ล้านบาท)
๑
ธนาคารแห่งโตเกียว
- มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
๓.๑๐
๓,๐๐๐
๒
ธนาคารแห่งโตเกียว
- มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
๓.๑๒๕
๓,๐๐๐
๓
ธนาคารแห่งโตเกียว
- มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
๓.๑๕
๓,๐๐๐
๔
ธนาคารแห่งโตเกียว
- มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด สาขากรุงเทพฯ
๓.๒๐
๓,๐๐๐
๕
ธนาคารออมสิน
๓.๒๐
๓,๐๐๐
๖
ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน)
๓.๒๒
๓,๐๐๐
๗
ธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน)
๓.๒๔
๕,๐๐๐
๘
ธนาคารออมสิน
๓.๒๕
๓,๐๐๐
๙
ธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน)
๓.๒๕
๕,๐๐๐
๑๐
ธนาคารกสิกรไทย
จำกัด (มหาชน)
๓.๒๕๙
๓,๐๐๐
๑๑
ธนาคารกสิกรไทย
จำกัด (มหาชน)
๓.๒๗๙
๙๕๐
รวม
๓๔,๙๕๐
๒. ระยะเวลาในการชำระคืนต้นเงินไม่เกิน ๒ เดือน
โดยจะนำเงินที่ได้จากการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓ และครั้งที่ ๔ มาทยอยชำระคืนภายในวันที่ ๑๑
เมษายน ๒๕๕๑
ประกาศ
ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๕ ง/หน้า ๙/๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
571479 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออก การซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
(ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลังหากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนประมูลและต้องเสนอว่า จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้เสนอประมูลตั๋วเงินคลังได้จะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๕ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๑๙
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๓๔ ง/หน้า ๑/๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
571104 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖ และมาตรา ๒๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
เพื่อนำมาใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินที่ครบกำหนดในไตรมาสที่ ๑
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๒,๕๐๐ ล้านบาท
ให้กับธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
๑.๑ ชำระเงินคืนต้นเงินกู้ภายใน ๓ ปี
นับแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
๑.๒
ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก ๖ เดือน
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย
๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) ๔ แห่ง บวกร้อยละ ๐.๙๙ ต่อปี
โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด ๖ เดือน
โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ มีอัตราร้อยละ
๓.๐๕ ต่อปี กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้น
ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน และวันที่ ๒๗ ธันวาคม ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
๑.๓ การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน และวันที่ ๒๗ ธันวาคม ของทุกปี
โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
๒.
กระทรวงการคลังได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
จำนวน ๒,๕๐๐ ล้านบาท ให้กับธนาคารออมสิน
โดยมีเงื่อนไขและรายละเอียด คือ
๒.๑ ชำระเงินคืนต้นเงินกู้ภายใน ๓ ปี
นับแต่วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐
โดยจะชำระคืนต้นเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนก่อนกำหนดก็ได้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
๒.๒
ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้มีอัตราดอกเบี้ยซึ่งตกลงให้เปลี่ยนแปลงได้ทุก ๖ เดือน
โดยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยอัตราต่ำสุดของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ๖ เดือน
ประเภทบุคคลธรรมดาเฉลี่ย ๗ วัน ของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR)
๔ แห่ง บวกร้อยละ ๑.๐๕ ต่อปี โดยปรับอัตราดอกเบี้ย FDR ทุกงวด
๖ เดือน โดยดอกเบี้ยงวดแรกของตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้ในวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐
มีอัตราร้อยละ ๓.๑๑ ต่อปี
กระทรวงการคลังจะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑ์การคำนวณข้างต้นในวันที่ ๒๗
มิถุนายน และวันที่ ๒๗ ธันวาคม ของทุกปี โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
๒.๓ การชำระดอกเบี้ยแบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน และวันที่ ๒๗ ธันวาคม ของทุกปี
โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๑
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๒๖ ง/หน้า ๓/๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
571099 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนธันวาคม
พ.ศ.
๒๕๕๐[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและบริษัทหลักทรัพย์
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ วงเงิน ๒๘,๐๐๐ ล้านบาท ได้รับเงินจำนวน
๒๗,๗๖๑,๕๖๙,๑๑๔.๙๙
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๒๓๘,๔๓๐,๘๘๕.๐๑
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
10/27/51
L10/90/51
L10/181/51
11/28/51
L11/91/51
L11/182/51
12/28/51
L12/91/51
L12/182/51
13/28/51
L13/91/51
L13/182/51
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๓,๐๐๐
๒,๐๐๐
๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๒
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๒
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๒
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒
มกราคม ๒๕๕๑
๕
มีนาคม ๒๕๕๑
๔
มิถุนายน ๒๕๕๑
๙
มกราคม ๒๕๕๑
๑๒
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๑
๑๖
มกราคม ๒๕๕๑
๑๙
มีนาคม ๒๕๕๑
๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๓
มกราคม ๒๕๕๑
๒๖
มีนาคม ๒๕๕๑
๒๕
มิถุนายน ๒๕๕๑
๒๗
๙๐
๑๘๑
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๔,๔๗๒,๗๑๔.๗๒
๒๓,๐๐๐,๖๙๔.๘๔
๓๑,๙๒๐,๑๖๔.๖๕
๔,๕๙๗,๖๖๙.๓๘
๒๓,๑๗๘,๓๖๒.๗๕
๓๒,๒๗๑,๖๖๓.๐๓
๔,๕๓๗,๑๙๐.๓๙
๒๒,๘๙๔,๐๖๓.๘๔
๓๑,๙๔๒,๓๘๒.๗๓
๔,๖๗๖,๙๔๖.๑๖
๒๒,๙๗๐,๐๙๕.๙๘
๓๑,๙๖๘,๙๓๖.๕๔
รวม
๒๘,๐๐๐
๒๓๘,๔๓๐,๘๘๕.๐๑
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ
- จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น
๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาท และ ส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่ง ณ สิ้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๐
มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้จำนวน ๑๑๔,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๒๖ ง/หน้า ๑/๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
571031 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 3 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ อายุ ๓ ปี จำนวน ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิ สภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา
๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันในการกู้เงินจากธนาคาร
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้ คือ วันที่ ๑๗ - ๑๘
ธันวาคม ๒๕๕๐ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๒๔๘
ราย จำนวนเงิน ๔๙๖,๕๐๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๗
ราย จำนวนเงิน ๓,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
ธันวาคม ๒๕๕๓
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๔๐
ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ที่ได้จดทะเบียนไว้ หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้น
ให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด คือ ในวันที่ ๑๕ มิถุนายน และวันที่ ๑๕ ธันวาคม ของทุกปี
เป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ กันตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่ ยกเว้นงวดแรก
และงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอนหากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้
การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖.
กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้ โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙.
กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๒๔ ง/หน้า ๙/๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ |
570273 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 4 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ วงเงิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุ ๑๕.๒๒ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๕๐
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้งในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
และสำนักงานประกันสังคม
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ
๒ ดำเนินการในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๐ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงินจำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
๒๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๖,๐๐๐
๕.๔๖๐๖
๖,๐๒๔,๗๒๔,๗๖๗.๕๐
๒๔,๗๒๔,๗๖๗.๕๐
หมายเหตุ :
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๒๒/๒๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
570267 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 1 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเงื่อนไขและสาระสำคัญ ดังนี้
๑. กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ วงเงิน ๒๒,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้เป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครั้งที่ ๘ (LB133A)
อายุ ๕.๖๗ ปี ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๔๙,๐๐๐
ล้านบาท
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุคงเหลือ ๕.๔๐ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไปโดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๓ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๔.๒๕
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้งในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และสำนักงานประกันสังคม
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐ และ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๐
โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑
ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ย
งวดล่าสุดจนถึงวันที่จำหน่าย
(บาท)
๑๗
ตุลาคม ๒๕๕๐
๑๑,๐๐๐
๔.๓๕๕๓
๑๐,๙๙๑,๓๖๓,๐๔๔.๑๐
-๕๔,๗๔๖,๕๓๕.๙๐
๔๖,๑๐๙,๕๘๐.๐๐
๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๑,๐๐๐
๔.๘๓๘๒
๑๐,๘๓๑,๐๕๓,๕๒๔.๖๐
-๒๙๕,๗๔๗,๘๗๕.๔๐
๑๒๖,๘๐๑,๔๐๐.๐๐
หมายเหตุ :
วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
๔. กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๒๐/๒๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
570265 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 6
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออกการซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
(หกพันล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open) พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ (LB283A) ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น
๑๒,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง) และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล
ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกันโดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๖
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด
เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการประมูลพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๖
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๖ (LB283A)
อายุคงเหลือ
๒๐.๑๕ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗
ต่อปี
จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
๒๓
ม.ค. ๕๑
๖,๐๐๐
๒๕
ม.ค. ๕๑
๓๐
พ.ย. ๒๕๕๐
๑๓
มี.ค. ๒๕๗๑
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๖๗ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๕๐ ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
คือ วันที่ ๑๓ มีนาคมและ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไปโดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๑๓/๒๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
570261 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 5 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออกการซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ จำนวน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ (Re-open)
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ (LB183B)
ทำให้วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นนี้เป็น ๑๗,๐๐๐
ล้านบาท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๑
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ
ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง) และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล
ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น.
ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน ๑ วันทำการและ Primary
Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ต่ำกว่า
๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย
จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้ว ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๕
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสาร
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการประมูลพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๕
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๕ (LB183B)
อายุคงเหลือ
๑๐.๑๖ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕
ต่อปี
จำนวน ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท
๑๖
ม.ค. ๒๕๕๑
๑๐,๐๐๐
๑๘
ม.ค. ๒๕๕๑
๒๓
พ.ย. ๒๕๕๐
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๑
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน
๒๕๕๐ ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน
การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี ๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริง
เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด
คือ วันที่ ๑๓ มีนาคมและ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล ณ
วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไปโดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๑๐,๐๐๐
ล้านบาท
(๒) กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓) ในกรณีที่การดำเนินการจำ
หน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๗/๒๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
570257 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 4
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออกการซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ โดยการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (โดยใช้สูตรการคำนวณราคา
ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ ธปท.นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง มาตรฐานเสนอซื้อขาย
และคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง) และวิธีการเสนอซื้อ
โดยมอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลัง ตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
(หกพันล้านบาทถ้วน)
ข้อ ๒
พันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔
เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย
หน่วยละหนึ่งพันบาท
ข้อ ๓
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อ
โดยมีวิธีการ ดังนี้
(๑)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม
สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒)
จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อให้แก่ มูลนิธิ สหกรณ์
นิติบุคคลเพื่อการสาธารณกุศล การศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ วรรณคดี
การศึกษา สาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์มาแบ่งปันกัน
กองทุนที่เป็นนิติบุคคลที่ใช้ผลประโยชน์จากต้นเงิน
และผู้มีสิทธิประมูลในตลาดแรกที่ได้แจ้งความประสงค์ในการเสนอซื้อ
ข้อ ๔
การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องดำเนินการ ดังนี้
(๑)
ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่าจะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด
ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูล ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ล้านบาท
และไม่มีเศษของหลักล้าน
โดยวงเงินรวมที่เสนอประมูลต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
(๒) ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอซื้อ
ต้องเสนอซื้อผ่านสถาบันการเงินที่ได้รับการแต่งตั้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นไพรมารีดีลเลอร์
(Primary Dealers) สำหรับการทำธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรประเภท
Outright กับธนาคารแห่งประเทศไทย (Outright PD)
ภายในเวลา ๑๒.๐๐ น. ก่อนวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
๑ วันทำการ และ Primary Dealers ต้องนำข้อมูลเสนอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย
ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ภายในเวลา ๑๔.๐๐ น. ของวันเดียวกัน
โดยระบุราคาตราที่เสนอซื้อไม่ตํ่ากว่า ๔ ล้านบาท และไม่เกิน ๔๐
ล้านบาทและไม่มีเศษของหลักล้าน
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อพันธบัตรรัฐบาลจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนหรือเสนอซื้อไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๕
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ดังนี้
(๑) ในการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้าน หากมีเศษเหลือจากการจัดสรร กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้กับผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
(๒) ในการเสนอซื้อ
กระทรวงการคลังจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้เสนอซื้อไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
ในอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนที่มีผู้ประมูลได้ตามวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนในการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่นเดียวกัน
ในกรณีที่มีผู้เสนอซื้อเกินร้อยละ ๒๐ ของวงเงินจำหน่ายแต่ละรุ่น
กระทรวงการคลังจะดำเนินการจัดสรรตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอซื้อกรณีที่มีผู้เสนอซื้อไม่ถึงร้อยละ
๒๐ ของวงเงินจำหน่าย จะนำวงเงินส่วนที่เหลือไปรวมกับวงเงินที่จำหน่ายโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ข้อ ๖
ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ ได้ จะต้องชำระราคาภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
สำหรับผู้เสนอซื้อ
จะต้องโอนเงินผ่านระบบบาทเนตหรือหักเงินจากบัญชีเงินฝากให้กับไพรมารีดีลเลอร์ (Primary
Dealers) ที่เสนอซื้อแทน
ภายในวันทำการที่หนึ่งถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยไพรมารีดีลเลอร์ (Primary Dealers)
ต้องรับผิดชอบชำระราคาค่าพันธบัตรที่เสนอซื้อภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.
ของวันทำการที่สองถัดจากวันจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๗
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้ชำระราคาตามข้อ
๖ แล้วให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๔
เข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์หรือออกเป็นใบตราสารหนี้
ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๘
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลไม่ชำระราคาค่าพันธบัตรรัฐบาลภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลหรือเสนอซื้อของผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๙
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๐
ให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากพันธบัตรรัฐบาลประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๑๑
ให้กำหนดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย ดังต่อไปนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรรัฐบาล
(๒)
ค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรรัฐบาล ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑ ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้
ดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ข้อ ๑๒
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำพันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
ให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๓
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากพันธบัตรรัฐบาล
ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด
ข้อ ๑๔
กรณีที่มีการออกพันธบัตรรัฐบาล
มิให้ถือว่าพันธบัตรรัฐบาลฉบับใดสมบูรณ์เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งขึ้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรรัฐบาลฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๕
กระทรวงการคลังได้กำหนดแผนการประมูลพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตารางการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๔
รุ่นพันธบัตร
วันที่จำหน่าย
วงเงิน
จำหน่าย
(ล้านบาท)
วันที่ชำระเงิน
วันเริ่มคำนวณ
ดอกเบี้ย
วันครบกำหนด
ไถ่ถอน
พันธบัตรรัฐบาล
ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่
๔ (LB233A)
อายุคงเหลือ
๑๕.๒๒ ปี
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐
ต่อปี
จำนวน ๖,๐๐๐ ล้านบาท
๒๖
ธ.ค. ๒๕๕๐
๖,๐๐๐
๒๘
ธ.ค. ๒๕๕๐
๒๘
ธ.ค. ๒๕๕๐
๑๓
มี.ค. ๒๕๖๖
หมายเหตุ :
อัตราดอกเบี้ยจะประกาศในวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๐
ข้อ ๑๖
พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๕๐ ต่อปี คำนวณจากมูลค่าของพันธบัตรรัฐบาล โดยเริ่มคำนวณจากวันที่ ๒๘ ธันวาคม
๒๕๕๐ ถึงวันก่อนวันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาลหนึ่งวัน การคำนวณดอกเบี้ยใช้หลักเกณฑ์หนึ่งปีมี
๓๖๕ วัน แล้วนับตามจำนวนวันที่เกิดขึ้นจริงเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
ชำระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑
โดยตลอดเวลาที่พันธบัตรรัฐบาลยังมีอายุอยู่ให้แบ่งชำระดอกเบี้ยปีละสองงวด คือ
วันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายนของทุกปี สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
ณ วันไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ข้อ ๑๗
พันธบัตรรัฐบาลนี้มีกำหนดไถ่ถอนคืนในวันที่
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจำนวนที่ออก
และจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป
โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
ข้อ ๑๘
กระทรวงการคลังขอสงวนสิทธิ์ ดังนี้
(๑)
ปรับเปลี่ยนการประมูลตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร ทั้งนี้
วงเงินรวมของพันธบัตรรัฐบาลที่ประมูลทุกงวดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๖,๐๐๐
ล้านบาท
(๒)
กระทรวงการคลังจะไม่รับการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนของผู้เสนอประมูลหรือการเสนอซื้อของผู้เสนอซื้อรายใดก็ได้
และจะจัดสรรพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ผู้เสนอประมูลหรือผู้เสนอซื้อรายใดเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
ตามแต่จะเห็นสมควร
(๓)
ในกรณีที่การดำเนินการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กำหนดกระทรวงการคลังจะดำเนินการตามความเหมาะสม
ประกาศ
ณ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
๒. แบบเสนอซื้อตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-competitive Bid
: NCB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๙ ง/หน้า ๑/๒๘ มกราคม ๒๕๕๑ |
570223 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 2
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
๑. กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
โดยวิธีการออกพันธบัตรเงินกู้ประเภทที่เรียกว่า พันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ อายุ ๓ ปี จำนวน ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐
บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน)
๒. พันธบัตรนี้เป็นพันธบัตรชนิดออกในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร
และจดทะเบียนตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งหมื่นบาท โดยวงเงินซื้อขั้นต่ำ
๑๐,๐๐๐ บาท และซื้อเพิ่มเป็นจำนวนเท่าของ ๑๐,๐๐๐
บาท วงเงินซื้อสูงสุดไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการจำหน่ายและการถือครอง ดังนี้
๒.๑ ผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วย
บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิสภากาชาดไทย
และสมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒.๒
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนดสามารถกระทำได้โดยไม่จำกัดประเภทบุคคล
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ยกเว้นผู้ที่ต้องการโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกันหรือโอนทางมรดก
หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการหย่าหรือล้มละลาย หรือการชำระบัญชี
และกรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์นั้นเสียชีวิต ให้กระทำได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้วแต่กระทำในระหว่างระยะเวลา
๓๐ วัน ก่อนถึงวันกำหนดชำระคืนต้นเงินมิได้
๒.๓
ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถใช้พันธบัตรรัฐบาลประเภทนี้
เป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล
หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันในการกู้เงินจากธนาคาร
การโอนกรรมสิทธิ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย
การโอนกรรมสิทธิ์จะสมบูรณ์
เมื่อพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายได้แต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรนั้นแล้ว
๓. วันจำหน่ายพันธบัตรรุ่นนี้
คือวันที่ ๑๕-๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยผู้ถือกรรมสิทธิ์ประกอบด้วยบุคคลธรรมดา จำนวน ๑,๑๖๘
ราย จำนวนเงิน ๔๙๖,๕๐๐,๐๐๐ บาท และมูลนิธิจำนวน ๗
ราย จำนวนเงิน ๓,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔. พันธบัตรรุ่นนี้ ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ ๑๕
พฤศจิกายน ๒๕๕๓
๕. พันธบัตรรุ่นนี้ มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๔.๒๕ ต่อปี
การชำระดอกเบี้ยให้ชำระแก่ผู้มีนามในพันธบัตรออมทรัพย์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ที่ได้จดทะเบียนไว้ หรือตามคำร้องขอของผู้มีนามในพันธบัตรฉบับนั้นให้แบ่งชำระเงินเป็นสองงวด
คือในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม และวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ของทุกปีเป็นจำนวนเงินงวดละเท่าๆ
กัน ตลอดเวลาที่พันธบัตรยังมีอายุอยู่
ยกเว้นงวดแรกและงวดที่สองจะคำนวณดอกเบี้ยตามจำนวนวันที่ถือครองพันธบัตร
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรในวันที่ไถ่ถอน
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการ
หรือวันหยุดทำการของธนาคารแห่งประเทศไทย ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันเปิดทำการถัดไป
และให้ถือว่าหนึ่งปีมีสามร้อยหกสิบห้าวัน ทั้งนี้ การคำนวณดอกเบี้ยหากมีเศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง
การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด
จะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรในทะเบียน ณ
เวลาที่เริ่มต้นทำการในวันแรกแห่งระยะเวลา ๓๐ วัน ก่อนถึงกำหนดชำระดอกเบี้ย
๖. กระทรวงการคลังจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรนี้ไว้ก็ได้
โดยพันธบัตรที่กระทรวงการคลังรับโอนกรรมสิทธิ์ตามข้อนี้ให้ถือว่าเป็นพันธบัตรที่ชำระต้นเงินกู้คืนแล้ว
ตั้งแต่วันรับโอนกรรมสิทธิ์
๗. การชำระต้นเงินกู้ตามพันธบัตรประเภทนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตร
๘. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
เป็นผู้จัดจำหน่ายพันธบัตรประเภทนี้ และจัดการอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๙. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) ดังนี้
๙.๑
ค่าธรรมเนียมในการจัดจำหน่ายพันธบัตรในอัตราร้อยละ ๐.๐๑
ของมูลค่าพันธบัตรที่จำหน่ายได้ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เพิ่มเติม
๙.๒ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ตามที่จ่ายจริง
ไม่เกินวงเงินที่กระทรวงการคลังกำหนด
๑๐. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียน
และตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรประเภทนี้และจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
๑๑. กำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ดังนี้
๑๑.๑
ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
๑๑.๒
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์แบบพิมพ์พันธบัตรตามที่จ่ายจริง
๑๒. ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๑.๑
ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๑ ครั้งที่ ๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๑๑.๑ ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินเกี่ยวกับพันธบัตรในอัตราร้อยละ
๐.๑ ของดอกเบี้ยที่ชำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน ทั้งนี้
ให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ประกาศ
ณ วันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘ ง/หน้า ๒๓/๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ |
570221 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ.
๒๕๕๐[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘
กระทรวงการคลังขอประกาศผลการกู้เงินด้วยวิธีการออกตั๋วเงินคลัง ประจำเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังได้ออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการประมูลอัตราผลตอบแทนซึ่งผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลัง
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรบริษัทหลักทรัพย์
และสำนักงานประกันสังคม
ข้อ ๒
ผลการประมูลตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ วงเงิน ๒๔,๐๐๐
ล้านบาทได้รับเงินจำนวน ๒๓,๗๙๔,๔๘๓,๔๖๒.๓๐
บาท โดยมีส่วนลดจำนวน ๒๐๕,๕๑๖,๕๓๗.๗๐
บาท
งวดที่
จำนวนเงิน
(ล้านบาท)
วันที่ลง
ในตั๋วเงินคลัง
วันที่ครบกำหนด
อายุ
(วัน)
ส่วนลด
(บาท)
๖/๒๙/๕๑
L๖/๙๑/๕๑
L๖/๑๘๒/๕๑
๗/๒๘/๕๑
L๗/๙๑/๕๑
L๗/๑๘๒/๕๑
๘/๒๘/๕๑
L๘/๙๑/๕๑
L๘/๑๘๒/๕๑
๙/๒๘/๕๑
L๙/๙๑/๕๑
L๙/๑๘๒/๕๑
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๒,๐๐๐
๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๑๔
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๑๔
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๑๔
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๑
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๑
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๑
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๗
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๒
ธันวาคม ๒๕๕๐
๑๓
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๑๔
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๑
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๖
ธันวาคม ๒๕๕๐
๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๒๘
พฤษภาคม ๒๕๕๑
๒๙
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๒๘
๙๑
๑๘๒
๔,๘๘๐,๖๑๘.๐๕
๑๕,๑๐๒,๓๐๖.๙๑
๓๑,๗๐๒,๕๗๕.๙๐
๔,๗๒๓,๒๗๓.๕๕
๑๕,๐๕๙,๐๖๗.๐๗
๓๑,๑๒๑,๒๓๐.๖๑
๔,๗๕๙,๕๖๖.๗๐
๑๕,๐๕๖,๑๖๙.๒๔
๓๑,๑๗๙,๒๗๙.๗๕
๔,๗๕๑,๑๗๑.๖๗
๑๕,๒๑๘,๔๐๗.๘๙
๓๑,๙๖๒,๘๗๐.๓๖
รวม
๒๔,๐๐๐
๒๐๕,๕๑๖,๕๓๗.๗๐
ข้อ ๓
ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดค่าธรรมเนียมในการจัดการเกี่ยวกับตั๋วเงินคลัง
ร้อยละ ๐.๐๑ ของจำนวนตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๔
ในการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังของกระทรวงการคลัง
เป็นการกู้เงินในรูปเงินทุนหมุนเวียน
เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอกับการใช้จ่ายของรัฐบาล
โดยการกู้เงินในขณะหนึ่งๆ จะต้องไม่เกินวงเงินที่กำหนด
เว้นแต่จะมีการลดวงเงินหรือเพิ่มวงเงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีวงเงินตั๋วเงินคลังเพื่อใช้ในการบริหารเงินสดรับ
- จ่ายของรัฐบาลจำนวน ๑๔๗,๐๐๐
ล้านบาทซึ่งวงเงินดังกล่าวแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑
เป็นวงเงินที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ จำนวน ๖๗,๐๐๐ ล้านบาทและส่วนที่ ๒
เป็นวงเงินที่ได้ขออนุมัติเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙
เพื่อนำมาใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาลจำนวน ๘๐,๐๐๐
ล้านบาท ซึ่ง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๐
มียอดตั๋วเงินคลังหมุนเวียนในตลาดตราสารหนี้จำนวน ๑๑๔,๐๐๐
ล้านบาท
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
วัชศักดิ์/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑] ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๘ ง/หน้า ๒๑/๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ |
570207 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
การจำหน่ายตั๋วเงินคลังในเดือนมกราคม
พ.ศ.
๒๕๕๑[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการออกการซื้อขาย การโอน และการใช้ตราสารหนี้เป็นหลักประกัน
พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังตามวงเงินและรายละเอียดในตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน (ตามหนังสือเวียนธนาคารแห่งประเทศไทย
ที่ ธปท. นว.(ว) ๑๐๘๖/๒๕๓๘ เรื่อง
มาตรฐานเสนอซื้อขายและคำนวณราคาสำหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาลในตลาดรอง)
และได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดการแทนกระทรวงการคลังตามข้อกำหนด
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑
กระทรวงการคลังจะออกจำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่
ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม
บริษัทประกันภัย บริษัทประกันชีวิต และสถาบันอื่นๆ
ที่มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๒
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินตั๋วเงินคลังและจัดการอื่นๆ
ที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการนี้
ตามระเบียบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๓
ให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้รับฝากตั๋วเงินคลังประเภทไร้ใบตราสาร
ข้อ ๔
ตั๋วเงินคลังตามข้อ ๑
มีราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท โดยมีดอกเบี้ยเป็นส่วนลด
และใช้เงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อครบกำหนดอายุนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินคลังหากวันครบกำหนดอายุตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการออกใบตั๋วเงินคลัง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องส่งคืนใบตั๋วเงินคลัง
ถึงธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนวันครบกำหนดอายุไถ่ถอนอย่างน้อย ๑ วัน
และธนาคารแห่งประเทศไทยจะใช้เงินให้เมื่อได้รับใบตั๋วเงินคลังแล้ว
ข้อ ๕
ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ต้องส่งข้อมูลทางระบบการประมูลตราสารหนี้โดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย ภายในเวลา
๙.๓๐ น. ของวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลังโดยวิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
โดยระบุราคาตรารวมที่เสนอประมูลและต้องเสนอว่า
จะประมูลในอัตราผลตอบแทนร้อยละเท่าใด ไม่เกิน ๓ อัตรา (ทศนิยมไม่เกิน ๔ ตำแหน่ง)
และในการเสนอประมูลแต่ละอัตราต้องระบุราคาตราที่เสนอประมูลไม่ต่ำกว่า ๑๐ ล้านบาท และไม่มีเศษของหลักล้านโดยวงเงินรวมที่เสนอประมูล
ต้องไม่เกินวงเงินจำหน่ายตามประกาศกระทรวงการคลัง
กรณีระบบสำหรับการประมูลขัดข้อง
ให้ผู้ประสงค์จะซื้อตั๋วเงินคลังจะต้องเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามแบบและวิธีการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๖
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยต่ำสุดก่อน
แล้วจึงจัดสรรให้แก่ผู้เสนอประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่อร้อยสูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงิน
และจะแจ้งผลการจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลทราบในวันจำหน่ายตั๋วเงินคลัง
ในกรณีที่มีผู้เสนอประมูลเสนออัตราผลตอบแทนเท่ากันหลายราย
และจำนวนที่เสนอประมูลของผู้เสนอประมูลในกลุ่มนั้นรวมกันแล้วเกินวงเงินที่กำหนดไว้
กระทรวงการคลังจะจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลในกลุ่มดังกล่าวตามสัดส่วนจำนวนที่เสนอประมูล
โดยไม่มีเศษของหลักล้านหากมีเศษเหลือจากการจัดสรร
กระทรวงการคลังจะจัดสรรให้ผู้เสนอประมูลที่ได้เสนอประมูลก่อนในกลุ่มนั้น
ข้อ ๗
ผู้เสนอประมูลตั๋วเงินคลังได้จะต้องชำระราคาภายในเวลา
๑๐.๐๐ น. ของวันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายตั๋วเงินคลัง
โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข้อ ๘
เมื่อผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้ชำระราคาตามข้อ
๕ แล้วให้ธนาคารแห่งประเทศไทยนำฝากตั๋วเงินคลังเข้าบัญชีผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังที่บริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือออกเป็นใบตราสาร ทั้งนี้
เป็นไปตามที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังได้แจ้งความประสงค์ไว้
ข้อ ๙
ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังไม่ชำระราคาค่าตั๋วเงินคลังภายในวันและเวลาที่กำหนด
ให้ถือว่าผู้ได้รับการจัดสรรตั๋วเงินคลังผิดนัดชำระหนี้
กระทรวงการคลังอาจพิจารณาระงับสิทธิการทำธุรกรรมประมูลของผู้เสนอประมูลรายนั้นเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
ข้อ ๑๐
ค่าธรรมเนียมจัดการตั๋วเงินคลังอัตราร้อยละ
๐.๐๑ ของวงเงินตั๋วเงินคลังที่จำหน่ายได้
ข้อ ๑๑
การโอนกรรมสิทธิ์หรือการจำนำตั๋วเงินคลังให้ถือปฏิบัติตามกฎกระทรวงและหรือพิธีปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือบริษัท
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๒
ถ้าผู้ฝากซึ่งหมายถึงเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือผู้รับจำนำมีความประสงค์จะขอถอนคืนการฝากตั๋วเงินคลัง
ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยพิจารณาดำเนินการตามพิธีปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด
ข้อ ๑๓
กรณีที่มีการออกตั๋วเงินคลัง
มิให้ถือว่าตั๋วเงินคลังฉบับใดสมบูรณ์
เว้นแต่เจ้าหน้าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแต่งตั้งขึ้น
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินคลังฉบับนั้นแล้ว
ข้อ ๑๔
กระทรวงการคลังสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนการจำหน่าย
และจะไม่พิจารณาจัดสรรตั๋วเงินคลังให้แก่ผู้เสนอประมูลรายใด หรือทุกราย
สำหรับจำนวนที่เสนอประมูลทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
ประกาศ
ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
พงษ์ภาณุ
เศวตรุนทร์
ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[เอกสารแนบท้าย]
๑. ตารางกำหนดการจำหน่ายตั๋วเงินคลังประจำเดือนมกราคม
พ.ศ. 2551
๒. แบบเสนอประมูลตราสารหนี้รัฐบาล
(โดยวิธีประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid
: CB))
(ดูข้อมูลจากภาพกฎหมาย)
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๖
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๑๖ ง/หน้า ๑/๒๓ มกราคม ๒๕๕๑ |
569632 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 3
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๓ วงเงิน ๖,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุ ๒๐.๓๐ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๗๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๖๗
ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๓ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงินจำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๖,๐๐๐
๕.๗๘๐๘
๕,๙๒๑,๗๗๙,๙๖๑.๑๐
-๗๘,๒๒๐,๐๓๘.๙๐
หมายเหตุ
: วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐ
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๒
มกราคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๔ ง/หน้า ๑๔/๗ มกราคม ๒๕๕๑ |
569630 | ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ครั้งที่ 2
| ประกาศกระทรวงการคลัง
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง
ผลการออกพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒[๑]
เพื่ออนุวัติตามความในมาตรา ๑๖
แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงการคลังขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ เพื่อนำมาชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.
กระทรวงการคลังได้ดำเนินการออกจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่
๒ วงเงิน ๗,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑.๑ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอายุ ๑๐.๓๑ ปี
โดยจะไถ่ถอนครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และไม่มีการไถ่ถอนก่อนครบกำหนด
หากวันไถ่ถอนตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนวันไถ่ถอนเป็นวันทำการถัดไป โดยการชำระคืนต้นเงินกู้ตามพันธบัตรรัฐบาลนี้
จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับคืนพันธบัตรรัฐบาล
๑.๒ พันธบัตรรัฐบาลนี้มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๕.๑๒๕ ต่อปี ชำระปีละ ๒ ครั้ง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม และ ๑๓ กันยายน ของทุกปี
สำหรับดอกเบี้ยงวดสุดท้ายจะชำระพร้อมกับต้นเงินของพันธบัตรรัฐบาล
หากวันครบกำหนดชำระดอกเบี้ยตรงกับวันหยุดราชการหรือวันหยุดธนาคารแห่งประเทศไทย
ก็ให้เลื่อนไปชำระในวันทำการถัดไป
๒. วิธีการจัดจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล มีดังนี้
๒.๑ วิธีการเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน
ซึ่งผู้ที่ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์
สำนักงานประกันสังคม และบริษัทประกันชีวิต
๒.๒ วิธีการเสนอซื้อ
ไม่มีผู้ได้รับการจัดสรรพันธบัตรรัฐบาล
๓. การจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลตามนัยข้อ ๒
ดำเนินการในวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยมีรายละเอียดผลการจำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครั้งที่ ๒ ดังนี้
วันที่จำหน่าย
วงเงินจำหน่าย
(ล้านบาท)
อัตราผลตอบแทน
เฉลี่ย
(ร้อยละต่อปี)
จำนวนเงิน
ที่จำหน่ายได้
(บาท)
ส่วนเพิ่ม/
ส่วนลด
(บาท)
๒๑
พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๗,๐๐๐
๕.๓๒๖๗
๖,๘๘๙,๗๒๗,๓๐๐.๙๐
-๑๑๐,๒๗๒,๖๙๙.๑๐
หมายเหตุ
: วันที่ลงในพันธบัตรรัฐบาล คือ วันทำการที่สองถัดจากวันที่จำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเงินจากการจำหน่ายพันธบัตรรัฐ
๔.
กระทรวงการคลังได้แต่งตั้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดจำหน่าย
นายทะเบียนและตัวแทนรับจ่ายเงินที่ได้จากการออกพันธบัตร
โดยกำหนดค่าธรรมเนียมในการจัดการในอัตราไม่เกินร้อยละ ๐.๑
ของราคาพันธบัตรรัฐบาลที่จำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ชำระ
และต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ชำระคืน
ประกาศ
ณ วันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
อุทิศ
ธรรมวาทิน
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน
ปริยานุช/ผู้จัดทำ
๒๒
มกราคม ๒๕๕๑
[๑]
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนพิเศษ ๔ ง/หน้า ๑๒/๗ มกราคม ๒๕๕๑ |
Subsets and Splits
No community queries yet
The top public SQL queries from the community will appear here once available.