query_id
stringlengths 1
4
| query
stringlengths 11
185
| positive_passages
listlengths 1
9
| negative_passages
listlengths 1
30
|
---|---|---|---|
1498 | แพริโดเลีย มาจากคำในภาษาอะไร? | [
{
"docid": "472991#1",
"text": "คำว่า Pareidolia มาจากคำในภาษากรีกว่า \"para-\" (παρά, แปลว่า \"ข้าง ๆ, ไปเป็นหน้ากระดาน, แทนที่\") ซึ่งในที่นี้หมายถึงอะไรที่บกพร่อง ผิดพลาด หรือเกิดขึ้นแทนที่\nและคำนามว่า \"eidōlon\" (εἴδωλον แปลว่า \"ภาพ, รูปร่าง, สัณฐาน\") ซึ่งมีความหมายเป็นส่วนย่อยของคำว่า \"eidos\".\nแพไรโดเลียเป็นประเภทหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบในข้อมูลที่ไม่มีแบบแผน",
"title": "แพริโดเลีย"
}
] | [
{
"docid": "472991#0",
"text": "แพริโดเลีย หรือ แพไรโดเลีย\n(, , ) เป็นปรากฏการณ์ทางจิต\nที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สิ่งเร้าเช่นภาพหรือเสียงที่ไม่ชัดเจนและไม่มีรูปแบบ (คือบังเอิญ สุ่ม) ว่ามีความหมายมีความสำคัญ เป็นการรับรู้แบบหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบหรือความสัมพันธ์กันในข้อมูลสุ่มที่ไม่มีความหมาย\nตัวอย่างที่สามัญอย่างหนึ่งคือการเห็นรูปสัตว์หรือใบหน้าในก้อนเมฆ\nชายบนดวงจันทร์ กระต่ายบนดวงจันทร์ และการได้ยินข้อความที่ซ่อนไว้บนแผ่นเสียงไวนิลที่เล่นย้อนทาง",
"title": "แพริโดเลีย"
},
{
"docid": "472991#3",
"text": "มีรายงานมากมายเกี่ยวกับการเห็นภาพและรูปร่างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนา\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งใบหน้าของบุคคลสำคัญ ที่ปรากฏขึ้นในสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ\nและรายงานมากมายเป็นการเห็นภาพของพระเยซู \nแม่พรหมจรรย์มารีย์ \nคำเขียนว่าอัลลอฮ์ \nหรือปรากฏการณ์ทางศาสนาอื่น ๆ\nยกตัวอย่างเช่น ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 ในประเทศสิงคโปร์ มีแคลลัสบนต้นไม้ต้นหนึ่งที่ปรากฏรูปร่างเหมือนกับลิง\nเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีผลให้ผู้ที่ศรัทธาเดินทางมาบูชาเจ้าแห่งลิง (โดยถือเอาเป็นหนุมานหรือเห้งเจีย)",
"title": "แพริโดเลีย"
},
{
"docid": "33547#2",
"text": "แต่รากคำดั้งเดิมยิ่งกว่านั้นน่าจะมาจากคำในภาษาตระกูล โปรโต-อินโด-ยูโรเปียน คือ \"*albh-\" ซึ่งมีความหมายว่า \"ขาว\" อันเป็นรากเดียวกันกับคำในภาษาละติน \"albus\" ที่แปลว่า \"ขาว\" อย่างไรก็ดีมีอีกทฤษฎีหนึ่งเสนอว่า คำนี้น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับ \"Rbhus\" นายช่างนักพยากรณ์ในตำนานเก่าแก่ของอินเดีย (ดู พจนานุกรมของออกซฟอร์ด) แนวคิดนี้ดูหนักแน่นกว่ารากคำในภาษาละตินมาก",
"title": "เอลฟ์"
},
{
"docid": "73220#15",
"text": "ดังได้กล่าวไว้ในตอนต้นแล้วว่า คำแรกของมหากาพย์ \"อีเลียด\" คือ μῆνιν (mēnin) ซึ่งหมายถึง \"พิโรธ\" อันเป็นการประกาศถึงหลักการของงานประพันธ์ชิ้นนั้นที่โฮเมอร์ตั้งใจสื่อออกมา นั่นคือความกริ้วโกรธาของอคิลลีส อารมณ์ของอคิลลีสเป็นตัวดำเนินเรื่องทั้งหมด นับแต่ความพ่ายแพ้ของทัพกรีก การเสียชีวิตของปโตรกลัส จนถึงการสังหารเฮกเตอร์ และนำไปสู่การล่มสลายของทรอย ซึ่งแม้จะมิได้กล่าวถึงโดยตรงใน \"อีเลียด\" แต่ได้มีการชี้นัยยะให้ทราบอย่างชัดเจนหลายครั้ง ความพิโรธของอคิลลีสปรากฏครั้งแรกในหนังสือเล่มที่ 1 เมื่ออักกะเมมนอนหมิ่นเกียรติไครสิส เจ้าพิธีศาลอพอลโลของเมืองทรอย โดยชิงตัวนางไครเซอีสบุตรีของเขามา และไม่ยอมคืนให้แม้จะเสนอ \"ของขวัญมากมายเกินคณานับ\" ไครสีสจึงอธิษฐานต่อเทพอพอลโล ทำให้ทรงบันดาลฝนธนูมากมายตกใส่กองทัพกรีกเป็นเวลาเก้าวัน อคิลลีสกล่าวหาว่าอักกะเมมนอนเป็น \"ผู้ละโมบที่สุดในหมู่มนุษย์\" อักกะเมมนอนยอมคืนนางไครเซอีส แต่ให้แลกกับนางไบรเซอีส ทาสสาวผู้เป็นที่รักของอคิลลีสมาแทน",
"title": "อีเลียด"
},
{
"docid": "14673#23",
"text": "กึ่งโลหะป็นคำที่มาจากภาษาลาติน และภาษากรีก (คล้ายคลึงอยู่ในลักษณะที่ปรากฏ) แม้ว่าบางส่วนของสิ่งเหล่านี้จะมีความหมายอื่นๆที่ไม่จำเป็นต้องที่จะต้องใช่แทนกันได้ องค์ประกอบแอมโฟเทอริก เส้นแบ่ง ได้แก่ กึ่งโลหะ ธาตุกึ่งกลาง ใกล้โลหะ สารกึ่งตัวนำ กึ่งโลหะ และโลหะย่อย องค์ประกอบแอมโฟเทอริก บางครั้งใช้กันในวงกว้างมากขึ้นจะรวมถึงโลหะ การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการเกาะตัวของ oxyanions เช่น โครเมียมและแมงกานีส กึ่งโลหะถูกนำมาใช้ในสาขาวิชาฟิสิกส์เพื่ออ้างอิงถึงสารประกอบ เช่นก๊าซโครเนียม หรือโลหะผสมที่สามารถทำหน้าที่เป็นตัวนำและฉนวนที่เป็นเมตาโลหะ บางครั้งใช้แทนในการอ้างอิงโลหะบางชนิด (Be,สังกะสี,แคดเมียม,ปรอทในTL,β-SN,Pb) ตั้งอยู่ทางด้านซ้ายของกึ่งโลหะในตารางธาตุมาตรฐานทั้งหมดนี้โลหะเป็นแม่เหล็กซะส่วนใหญ่ และมีแนวโน้มที่จะมีโครงสร้างผลึกบิดเบี้ยวค่าการนำไฟฟ้าที่ปลายล่างของตัวที่เป็นโลหะและสารประกอบออกไซค์ กึ่งโลหะบางครั้งหลวมหรือมีความบ่งบอกโลหะด้วยอักขระโลหะที่ไม่สมบูรณ์ในโครงสร้างผลึกการนำไฟฟ้าหรือโครงสร้างทางอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างเช่น แกลเลียม อิตเทอร์เบียม มิสมัท และเนปทูเนียม\nชื่อขององค์ประกอบแอมโฟเทอริก และสารกึ่งตัวนำที่มีปัญหาเป็นองค์ประกอบบางอย่างที่เรียกว่า กึ่งโลหะ จะไม่แสดงพฤติกรรมที่ทำเครื่องหมาย ตัวอย่างเช่น บิสมัทหรือ พอโลเนียม ในรูปแบบที่มีเสถียรภาพมากที่สุด",
"title": "ธาตุกึ่งโลหะ"
},
{
"docid": "472991#15",
"text": "แพริโดเลียอาจมีความสัมพันธ์กับโรคย้ำคิดย้ำทำ (obsessive-compulsive disorder) ซึ่งพบในกรณีหนึ่งในคนไข้หญิง",
"title": "แพริโดเลีย"
},
{
"docid": "132307#27",
"text": "มีคำศัพท์ใหม่หลายคำที่เกิดมาจาก \"เดอะซิมป์สันส์\" และได้รับคำนิยมจนเป็นภาษาพูด มาร์ก ลิเบอร์แมน นักภาษาศาสตร์ ให้ความเห็นว่า \"เดอะซิมป์สัน เข้ามาแทนที่เชคสเปียร์และไบเบิล ในฐานะแหล่งข้อมูลใหญ่ของสำนวน วลีติดปาก และต่าง ๆ นานา รวมถึงคำอุปมา\" วลีติดปากที่ดังที่สุดคือ เสียงรำคาญของโฮเมอร์ที่ว่า \"D'oh!\" ซึ่งมีคนใช้อย่างแพร่หลายจนได้รับการบรรจุในพจนานุกรมภาษาอังกฤษฉบับออกซฟอร์ด แต่สะกดแบบไม่มีเครื่องหมายวรรคตอน (Doh) แดน แคสเทลลาเนตาพูดว่า เขายืมประโยคดังกล่าวมาจาก เจมส์ ฟินเลย์สัน นักแสดงในคณะตลกลอเรลแอนด์ฮาร์ดี ที่ชอบออกเสียงคำพูดต่าง ๆ ยาน ๆ และโทนเสียงสะอื้น ผู้กำกับ เดอะซิมป์สันส์ บอกให้แคสเทลลาเนตา ทำเสียงให้สั้นลง และก็เป็นคำอุทานที่รู้จักดีในรายการทีวีซีรีส์ต่าง ๆ คำนี้ยังใช้ในรายการซีรีส์โทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร รายการ \"ด็อกเตอร์ฮู\" อีกด้วย",
"title": "เดอะซิมป์สันส์"
},
{
"docid": "472991#14",
"text": "เมื่อรวมกับปรากฏการณ์ Apophenia (คือการระบุรูปแบบในข้อมูลที่ไม่มีรูปแบบ) และ hierophany (การปรากฏประจักษ์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์)\nปรากฏการณ์แพริโดเลียอาจจะช่วยสังคมมนุษย์ในยุคต้น ๆ จัดระเบียบให้กับธรรมชาติที่สับสนและทำให้เข้าใจเหตุการณ์ต่าง ๆ ในโลกได้",
"title": "แพริโดเลีย"
},
{
"docid": "472991#7",
"text": "การทดสอบ Rorschach inkblot test เป็นเทคนิคที่ใช้ แพริโดเลีย เพื่อที่จะเข้าใจสภาพจิตใจของบุคคล \nการทดสอบนี้เป็นการให้แสดงออกซึ่งบุคคลิกภาพ (projective test)\nโดยให้ผู้รับการทดสอบบอกความคิดหรือความรู้สึกของตน\nเกี่ยวกับภาพจุดหมึกที่ไม่ปรากฏว่าเป็นอะไรอย่างชัดเจน\nการแสดงออกเช่นนี้เป็นปรากฏการณ์แพริโดเลียแบบตามสั่ง\nเพราะว่า รูปต่าง ๆ เหล่านี้จริง ๆ แล้วออกแบบโดยเฉพาะเพื่อไม่ให้เหมือนกับอะไร ๆ",
"title": "แพริโดเลีย"
}
] |
1502 | บาดาลใจ ถูกเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อใด? | [
{
"docid": "628267#0",
"text": "บาดาลใจ เป็นบทประพันธ์ของ กฤษณา อโศกสิน โดยถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบละครโทรทัศน์ ในปี พ.ศ. 2525 นำแสดงโดย นาท ภูวนัย และ ปวีณา ปิจเปี่ยมกิจ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ต่อมาได้ถูกสร้างครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2536 นำแสดงโดย ยุรนันท์ ภมรมนตรี และ ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี และได้ถูกนำมาสร้างอีกครั้งในปี พ.ศ. 2551 นำแสดงโดย อธิชาติ ชุมนานนท์ และ ราศรี บาเล็นซิเอก้า ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 [1]",
"title": "บาดาลใจ"
}
] | [
{
"docid": "961081#5",
"text": "หลังจากหลวงปู่มรณภาพแล้วคณะสงฆ์และคณะศรัทธาวัดบึงทองหลางได้เสนอให้หลวงพ่อโต ดำรงตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดบึงทองหลาง เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2501 รักษาการเจ้าอาวาสอยู่เป็นเวลา 9 ปี จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดบึงทองหลาง เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2510 ท่านได้ร่วมมือกับคณะสงฆ์และชาวบ้านช่วยกันพัฒนาวัด และจัดสร้างถาวรวัตถุ โดยมีผู้มีจิตศรัทธาร่วมเป็นเจ้าภาพสร้างกุฏิ ศาลา อุโบสถวิหาร ห้องสุขา ขุดคลอง สร้างสะพาน สร้างหอระฆัง สร้างเมรุเผาศพ สร้างกำแพงวัด สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ขุดบ่อน้ำบาดาล สร้างสุสานบรรจุศพ รวมเป็นเงินงบประมาณค่าก่อสร้างทั้งสิ้นหลายสิบล้านบาท งานพิเศษที่พระครูพิศาลวิริยคุณ (สิงห์โต ติสฺโส) ทำ เช่นการสงเคราะห์ฌาปนกิจศพผู้มีรายได้น้อยฐานะยากจน โดยท่านจะบริจาคโลงศพให้รายละ 1 โลง พร้อมเงิน 1,000 บาท พร้อมทั้งมีอาหารเลี้ยงแขกที่มาในงานอาทิเช่นข้าวต้ม กระเพาะปลา ปลาท่องโก๋ พร้อมทั้งกาแฟเสร็จ และขนาดว่าเสียชีวิตที่ใดไม่มีพาหนะจะนำศพมาวัด ทางวัดจะจัดรถไปรับศพถึงที่ และทำการฌาปนกิจศพโดยไม่คิดมูลค่า และค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น โดยถือว่าเป็นบุญกุศลแก่ประชาชนผู้ยากจนมาตั้งแต่ พ.ศ. 2516 เป็นต้นมา จนสำนักเลขาธิการวัฒนธรรมแห่งชาติ จัดพิมพ์เผยแพร่การจัดงานศพแบบประหยัด เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้ทราบและเป็นแบบอย่างแก่วัดอื่น ๆ ต่อไปตั้งแต่วันที่๒๓ สิงหาคม พ.ศ. 2525 รวมทั้งได้รับการยกย่องให้เป็น “วัดพัฒนาตัวอย่าง” ใน พ.ศ. 2543 อีกด้วย",
"title": "พระครูพิศาลวิริยคุณ (สิงห์โต ติสฺโส)"
},
{
"docid": "275868#1",
"text": "อาจารย์นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นผู้หนึ่งที่ได้เล่าเรียนวิชานี้ มาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก และเป็นผู้ที่รักใคร่ในศิลปะวิชานี้อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อท่านได้แลเห็นต่างชาติภูมิใจในศิลปะประจำชาติของเขา เช่น ชาติเยอรมันและญี่ปุ่น ยกย่องวิชาฟันดาบและยูโดของเขาว่าดีเยี่ยมที่สุด และอนุรักษ์ เผยแพร่ให้เป็นที่ประจักษ์แก่โลกมากเพียงใด ยิ่งทำให้ท่านบูชาวิชากระบี่กระบองของไทยไว้เหนือสิ่งอื่นใดมากขึ้นเพียงนั้น ในโอกาสที่ท่านเป็นอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนพลศึกษากลาง ท่านได้ลองเริ่มสั่งสอนนักเรียนพลศึกษากลางขึ้นเป็นครั้งแรก",
"title": "นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา"
},
{
"docid": "11790#12",
"text": "ไฮเดินเห็นว่าผลงานเพลงที่เขาแต่งขึ้นถูกนำไปเผยแพร่และขายในร้านดนตรีท้องถิ่นอีกด้วย แต่เขาก็ไม่ได้รู้สึกกังวลใจใด ๆ",
"title": "โยเซ็ฟ ไฮเดิน"
},
{
"docid": "901245#2",
"text": "ครั้นวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2017 อะลิสซา มิลาโน นักแสดงหญิง เชิญชวนให้เผยแพร่วลีดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์ให้เกิดความตระหนักรู้ จะได้แสดงให้เห็นขอบเขตและความแพร่หลายของปัญหาทางเพศ เธอทวีตว่า \"ถ้าผู้หญิงทั้งหลายที่ถูกคุกคามหรือประทุษร้ายทางเพศขึ้นสเตตัสว่า 'ฉันด้วย' อาจทำให้ผู้คนรับรู้ว่าปัญหามันหนักหนาสาหัสเพียงใด\" (\"If all the women who have been sexually harassed or assaulted wrote 'Me too.' as a status, we might give people a sense of the magnitude of the problem.\") ภายหลังมิลาโนแถลงว่า วลีนี้เอามาจากเบิร์ก และระบุว่า เรื่องราวของเบิร์กนั้น \"อบอุ่นหัวใจและสร้างแรงบันดาลใจ\"",
"title": "มีทู"
},
{
"docid": "134767#1",
"text": "แต่เดิมอำเภอชัยบาดาล มีฐานะเป็นเมืองชั้นโทชื่อ เมืองไชยบาดาล ขึ้นอยู่ในความปกครองของเมืองนครราชสีมา ที่ทำการตั้งอยู่ที่บ้านบัวชุม ตำบลบัวชุม ในปี พ.ศ. 2457 ทางราชการได้ลดฐานะเป็น อำเภอไชยบาดาล โอนการปกครองไปขึ้นอยู่กับเมืองเพชรบูรณ์จนถึงปี พ.ศ. 2461 ได้โอนอำนาจไชยบาดาลไปขึ้นอยู่กับจังหวัดสระบุรี และย้ายที่ว่าการอำเภอไปอยู่บ้านไชยบาดาล ตำบลไชยบาดาล ต่อมาทางราชการได้สั่งโอนอำเภอไชยบาดาลไปขึ้นอยู่กับการปกครองของจังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 ส่วนตัวสะกดชื่อนั้นได้เปลี่ยนจากคำว่า \"ไชยบาดาล\" เป็น \"ชัยบาดาล\" เมื่อปี พ.ศ. 2514 ครั้นปี พ.ศ. 2521 ได้รับเรื่องราวจากกรมทางหลวงแผ่นดิน ขอให้รื้อที่ว่าการอำเภอหลังนี้เพื่อตัดถนนผ่านตัวอาคารที่ว่าการอำเภอ และได้รับอนุมัติให้รื้อถอนได้เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2521 จึงได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาอยู่ที่อยู่ปัจจุบันนี้",
"title": "อำเภอชัยบาดาล"
},
{
"docid": "628267#9",
"text": "ปุริมานตกใจเมื่อรู้ว่าว่าจะต้องแต่งงานกับสักการ แต่ว่าเธอก็ตกลงเพราะว่าเธอรักสักการอยู่แล้ว เมื่อวันแต่งงานมาถึง สักการที่รู้ความจริงว่าตนเองจะต้องแต่งงานกับปุริมานก็โวยวายใหญ่ เพราะว่าไม่ต้องการที่จะถูกจับคลุมถุงชน ชุลีจึงต้องแกล้งป่วยหนัก และขอร้องให้สักการแต่งงาน สักการจึงยอมเข้าพิธีแต่งงานในที่สุด",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#23",
"text": "ที่ริมทะเลหัวหิน ปุริมานกับสักการมาฮันนีมูนกันอีกครั้ง สักการขอโทษที่เคยทำให้ปุริมานต้องเสียใจและขอบคุณที่เธอทำให้เขาได้รู้จักกับแสงสว่างอีกครั้งหลังจากที่ต้องจมอยู่กับบาดาลใจที่เศร้าโศกมานานแสนนาน",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#17",
"text": "เมื่อสักการกลับมาถึงบ้านและรู้ว่าปุริมานหนีไปแล้วจึงคิดจะขึ้นไปตามปุริมานที่เชียงใหม่ แต่รังสิตาก็ห้ามไว้ไม่ให้สักการไปตามปุริมานกลับมาและใช้โอกาสที่ปริมานไม่อยู่พยายามยั่วสักการ แต่ว่าสักการก็ห้ามใจของตัวเองได้ ทำให้รังสิตาไม่พอใจ จึงแกล้งพูดว่าสักการว่าสักการลืมพี่สาวของตนเองไปแล้ว สักการจึงปฏิเสธแต่ว่ารังสิตาไม่เชื่อ เธอจึงท้าให้สักการหย่ากับปุริมาน เพื่อให้วิญญาณพี่สาวของตนเองสบายใจ สักการจึงต้องรับปากรังสิตาอย่างจำใจ เขาจึงขึ้นมาเชียงใหม่เพื่อมาขอหย่ากับปุริมาน",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "145192#5",
"text": "ในปี 2551 เฉิน กวานซี มีข่าวภาพหลุดของตัวเองและดาราหญิงของฮ่องกงอีก 3 ราย ออกมาทางอินเทอร์เน็ต โดยออกมาเปิดใจต่อสาธารณชนครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ผ่านทางเว็บบล็อกของเขา โดยไม่มีการยืนยันหรือปฏิเสธจากเจ้าตัวว่าภาพดังกล่าวเป็นของจริงหรือตัดต่อ แต่ขอร้องให้ผู้ใดก็ตามที่มีภาพเหล่านั้น หยุดการเผยแพร่และทำลายมันเสีย จนกระทั่งวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 หลังจากหายหน้าที่ต่างประเทศอยู่นานนับเดือน โดยเขายอมรับเป็นครั้งแรกว่าภาพทั้งหมดเป็นฝีมือของเขาเอง แต่ไม่มีเจตนาจะให้ภาพทั้งหมดเผยแพร่ต่อทางสาธารณชนแต่อย่างใด และยังได้ขอขมาต่อสาวๆ ทุกคนที่ต้องมารับกรรมจากการกระทำอันรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเขาในครั้งนี้ และประกาศว่าจะออกไปจากวงการบันเทิงของฮ่องกงตั้งแต่บัดนี้",
"title": "เฉิน กวานซี"
},
{
"docid": "8331#1",
"text": "เซอร์เบอรัสเป็นลูกของอีคิดนา ครึ่งสตรีครึ่งอสรพิษ กับไทฟอน สัตว์ประหลาดยักษ์ซึ่งแม้แต่เทพเจ้ากรีกยังขยาด พี่น้องมีเลอร์เนียนไฮดรา, ออร์ธรัส (Orthrus) หมานรกสองหัว และคิเมียรา สัตว์ประหลาดสามหัว การพรรณนาสามัญของเซอร์เบอรัสในเทพปกรณัมและศิลปะกรีก คือ มีสามหัว ในงานส่วนใหญ่ สามหัวนั้นมองและเป็นเครื่องหมายของอดีต ปัจจุบันและอนาคต ขณะที่แหล่งอื่นแนะว่า หัวทั้งสามเป็นสัญลักษณ์ของการเกิด เยาว์วัยและชราวัย กล่าวกันว่า หัวของเซอร์เบอรัสมีความอยากอาหารเฉพาะเนื้อมีชีวิต ฉะนั้นจึงให้วิญญาณผู้วายชนม์เข้าโลกบาดาลได้อย่างเสรี แต่ไม่อนุญาตให้ผู้ใดออก เซอร์เบอรัสเป็นหมาเฝ้าที่ซื่อสัตย์ของเฮดีส และเฝ้าประตูเข้าออกโลกบาดาล",
"title": "เซอร์เบอรัส"
},
{
"docid": "628267#11",
"text": "หลังจากแต่งงานแล้ว สักการและปุริมานก็ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านย่านชานเมืองด้วยกัน โดยทั้งสองคนนอนแยกห้องกัน ทำให้ปุริมานรู้สึกสับสนว่าเธอตัดสินใจถูกหรือผิดที่ตัดสินใจแต่งงานกับสักการ เพราะว่าสักการไม่ยอมรับปุริมานเลย แต่ถึงอย่างไรก็ตามในเมื่อปุริมานได้ตัดสินใจไปแล้ว เธอก็จะไม่ถอยและจะพยายามดึงสักการขึ้นมาจากบาดาลของความเศร้าให้ได้ ปุริมานทำหน้าที่ดูแลสักการให้ดีที่สุด โดยที่เธอพยายามทำให้บ้านของสักการมีชีวิตชีวาด้วยการปลูกต้นไม้และรดน้ำต้นดอกแก้วที่เธอเคยปลูกไว้ และถึงแม้ว่าวันๆ สักการจะเอาแต่นั่งมองรูปของอดีตคู่หมั้น ปุริมานก็พยายามเก็บความน้อยใจไว้ และไม่โกรธสักการ เธอพยายามทุกทุกวิธีให้สักการอารมณ์ดีขึ้น จนบางครั้งสักการรู้สึกรำคาญปุริมานมาก",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#2",
"text": "พฤติกรรมของสักการที่นั่งดูรูปของรังสิยาทั้งวันทั้งคืนจนร่างกายซูบผอมลง และการที่สักการรู้สึกเบื่อหน่ายในชีวิตเพราะต้องการจะอยู่อย่างสงบจึงขอแยกบ้านออกไปอยู่ที่บ้านย่านชานเมืองตามลำพัง โดยเอานายเพิ่ม คนรับใช้ชายไปอยู่เป็นเพื่อนเท่านั้น สร้างความทุกข์ใจให้กับ ดำรง ชุลี พ่อ แม่ของเขา และ อาฬวี น้องสาวของเขาเป็นอย่างมาก ทุกคนในครอบครัวของเขาจึงพยายามพาผู้หญิงสาวสวยมาให้สักการรู้จัก โดยหวังว่าสักการจะลืมรังสิยาได้ แต่ว่าสักการไม่เคยสนใจผู้หญิงที่สมาชิกในครอบครัวพามาแนะนำให้รู้จักเลย",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#26",
"text": "หมวดหมู่:งานเขียนของกฤษณา อโศกสิน หมวดหมู่:นวนิยายไทย หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ช่อง 3",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#24",
"text": "เพลง บาดาลใจ ขับร้องโดย ยุรนันท์ ภมรมนตรี , ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "9164#1",
"text": "ศาลจังหวัด หมายถึงศาลประเภทหนึ่งเท่านั้น มิได้หมายความตามภูมิศาสตร์ที่ตั้ง เช่น ศาลจังหวัดชัยบาดาล ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอชัยบาดาล มีเขตอำนาจศาลตามที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นกำหนดขึ้น โดยไม่ได้กำหนดให้อำเภอชัยบาดาลมีฐานะเป็นจังหวัดแต่อย่างใด",
"title": "ศาลจังหวัด"
},
{
"docid": "628267#6",
"text": "เมื่อปุริมานฟื้นขึ้นมาก็พบว่าสักการกำลังนั่งดูรูปของรังสิยาอยู่ เธอจึงไม่อยากรบกวนเขา ปุริมานจึงไปทำกับข้าวให้เขาเพื่อขอบคุณที่สักการช่วยเหลือปุริมานไว้ ปุริมานสังเกตว่าบ้านของสักการขาดชีวิตชีวา ดังนั้นเมื่อถึงวันตอนเช้าของวันรุ่งขึ้น ปุริมานจึงนำต้นดอกแก้วมาปลูกที่บ้านของสักการ แต่กลับทำให้สักการไม่พอใจที่ปุริมานทำตาใจตนเอง ถึงแม้ว่าปุริมานจะพยายามพูดให้สักการเห็นถึงข้อดีของการมีต้นไม้อยู่ในบ้านว่าจะทำให้บ้านของสักการดูมีชีวิตชีวาขึ้นแล้วก็ตาม สักการก็ไม่ฟังและยังไล่ปุริมานให้กลับบ้านไป",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#4",
"text": "จากเหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้ปริมตัดสินใจลงมากรุงเทพกับปุริมานเพื่อมาเยี่ยมชุลี และมาดูงานที่บริษัทส่งออกลำไยกระป๋อง เมื่อปริมและปุริมานมาถึงกรุงเทพและได้พบกับชุลีแล้ว ชุลีแปลกใจเป็นอย่างมากเมื่อพบว่าปุริมาน โตเป็นสาวสวย และด้วยความสดใสน่ารักของปุริมาน ทำให้ชุลีและอาฬวีรักและเอ็นดูปุริมานมาก จึงตัดสินใจพาสองแม่ลูกไปพักผ่อนที่บ้าน แล้วโทรบอกให้สักการกลับมาที่บ้านเพื่อมาหาปริม สักการยอมมาเพราะไม่อยากให้ใครไปที่บ้านย่านชานเมืองของเขา เมื่อสักการมาถึงบ้านจึงได้เจอแต่ปริมเท่านั้น สักการพูดคุยกับปริมสักพักก็ขอตัวกลับบ้าน",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "955614#1",
"text": "สมาคมน้ำบาดาลไทย ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางจากปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยถ้ำหลวง โดยได้รับการเผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดียหลายแห่ง",
"title": "สมาคมน้ำบาดาลไทย"
},
{
"docid": "100727#1",
"text": "ก่อนที่สหบดีพรหมสร้างกรุงพิชัยลงกา แต่เดิมเกาะทวีปรังกา (ลังกา) นั้นปกครองโดยท้าวสหมลิวัน และธาดาพรหม อสูรเกิดบางหมางกับพระนารายณ์ และ พระนารายณ์เห็นว่าอสูรเหล่านี้ต่อไปจะเป็นภัยแก่โลกจึงยกทัพมาปราบเสีย สหมลิวันพลาดพลั้งมิอาจเอาชนะพระนายรายณ์ได้จึงจำใจทิ้งเมืองบนเกาะทวีปรังกา (ลังกา)นั้นแล้วหลบหนีไปยังบาดาล แล้วตั้งอาณาจักรขึ้นใหม่และเป็นปฐมวงศ์อสูรแห่งเมืองบาดาล ส่วนเกาะทวีปรังกา (ลังกา)นั้นก็ร้างไปไม่มีผู้ใดปกครอง จนสหบดีพรหม สร้างกรุงพิชัยลงกาตั้งให้ธาดาพรหมเป็นกษัตริย์ครองกรุงลงกานามว่า จตุรพักตร์ เป็นปฐมกษัตริย์เชื้อสาย อสุรพรหมพงศ์ ต้นตระกูลของทศกัณฐ์\nท้าวสหมลิวัณโยกย้ายเหล่าอสูรหลบหนีไปยังเมืองบาดาล ซึ่งเดิมเป็นที่อยู่ของพวกนาค ถูกรุกรานโดยเหล่าอสูรก็ไม่พอใจ พญากาลนาคราช (บิดาของนางนาคที่เล่นชู้กับงูดิน ในกำเนิดนางมณโฑ) จึงยกทัพของเหล่านาคไปยุงกรุงสหมลิวัน และทำศึกจนฝ่ายอสูรเพลี่ยงพล้ำเกือบปราชัย ท้าวสหมลิวันเจ้าแห่งอสูรจึงขอส่งขอความช่วยเหลือจากท้าวลัสเตียน เจ้าเมืองลงกา และท้าวลัสเตียน เจ้าเมืองลงกาได้ยกทัพอสูรมาช่วยและได้รับชัยชนะ\nและสามารถจับพญากาลนาคได้ แต่ไว้ชีวิต พญากาลนาคจึงถวายราชธิดานาคของตนให้แก่ท้าวลัสเตียนเป็นบรรรณาการแต่ ท้าวลัสเตียนทรงพระชราภาพมากแล้ว มเหสีและสนมก็มีอยู่จำนวนมาก จึงมอบให้เป็นชายาของทศกัณฐ์ ให้เป็นพระมเหสีสูงศักดิ์ กว่านางสนมทั้งปวงของทศกัณฐ์ ก่อนที่จะสละราชสมบัติ โดยแต่งตั้งทศกัณฐ์ ครองเมืองลงกา ต่อมา และมีนางอัคคีเป็นอัครมเหสีสูงศักดิ์กว่านางสนมทั้งแปดหมื่นสี่พันตนของทศกัณฐ์ หลังจากทศกัณฐ์ชลอเขาไกรลาสให้ตั้งตรงได้และได้รับพระราชทานนางมณโฑจากองค์พระอิศวรมา ทศกัณฐ์จึงสถาปนานางมณโฑให้เป็นพระอัครมเหสีเอกแทนเพราะได้รับพระราชทานนางมณโฑจากองค์พระอิศวรซึ่งเป็นองค์เทวะผู้เป็นใหญ่ และเป็นนางพระกำนัลเก่าพระอุมาเทวี พระชายาของพระอิศวร ดังปารากฏในภาพ\nจิตรกรรมมหากาพย์รามเกียรติ์ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หลายตอน ซึ่งนางกาลอัคคี(ทรงมงกุฏยอดนางนาค)จะประทับถัดมาจากนางมณโฑเป็นองค์ที่สองเสมอ.",
"title": "นางกาลอัคคีนาคราช"
},
{
"docid": "628267#1",
"text": "สักการ ธนศักดิ์ ชายหนุ่มทายาทเจ้าของโรงแรมชื่อดัง อยู่ในความทุกข์เมื่อ รังสิยา คู่หมั้นของเขาต้องมาเสียชีวิตลงด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ในต่างประเทศ นับจากวันนั้นสักการก็ปล่อยให้ความทุกข์ทำลายเขาให้กลายเป็นผู้ชายที่ไร้หัวใจ",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "220584#7",
"text": "วัฏจักรน้ำ (English: Hydrologic cycle) กล่าวถึงการเคลื่อนที่อย่างคงที่ของน้ำทั้งเหนือและใต้ผิวโลก วัฎจักรของน้ำเริ่มจากการระเหยน้ำจากพืช ดินชื้น และทะเล ความชื้นจากการระเหยนี้จะคืนกลับสู่ผิวดิน โดยการกลั่นตัว การกลั่นตัวเกิดได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฝน หิมะ และลูกเห็บ แต่ในแง่น้ำบาดาลจะพิจารณาแต่ฝนเท่านั้น เมื่อฝนตกลงมาสู่ผิวดิน น้ำฝนจะซึมลง (infiltration) ใต้ดิน โดยค่า infiltration จะมีค่ากว้างมากขึ้นกับการใช้งานพื้นที่ ความชื้นของดิน และระยะเวลาที่ได้รับน้ำ เมื่อใดก็ตามที่ฝน (precipitation) ตกในปริมาณที่มากจะเกิดการซึมลง (infiltration) สู่ใต้ดินเพิ่มขึ้น น้ำที่ซึมลงจะไปแทนที่ความชื้นในดิน และค่อยไหลเข้าสู่โซน intermediate และเข้าสู่โซนน้ำอิ่มตัว (saturated zone) น้ำในโซนที่อิ่มตัวจะซึมในลงในแนวดิ่งและแนวราบเป็น discharge ออกจากชั้นน้ำบาดาลเช่น น้ำพุบนภูเขา หรือ น้ำซึมในลำธาร จากนั้นก็จะระเหยกลับเข้าสู่วัฏจักรอีกครั้ง น้ำที่เติมในแม่น้ำ ทั้งจากการไหลบนผิวดินและจาก discharge ของน้ำบาดาลจะไหลลงทะเลทั้งหมดและระเหยกลับเข้าสู่กระบวนการอีกครั้ง",
"title": "น้ำบาดาล"
},
{
"docid": "5079#27",
"text": "ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของประตูเมืองกาญจนบุรี ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีลักษณะเป็นอาคารทรงไทยจตุรมุข ตัวอาคารภายในเปิดโล่ง ภายในประดิษฐานเสาหลักเมืองเป็นเสาไม้หัวเม็ด สูง 1 เมตร ลงรักปิดทอง สร้างขึ้นในสมัยพระยาประสิทธิสงคราม หรือท่านรามภักดี ศรีวิเศษ ชาวกาญจนบุรีเรียกท่านว่า “เจ้าเมืองตาแดง” เป็นเจ้าเมืองคนที่สองในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้ทำนุบำรุงเมืองหลายอย่าง เช่น สร้างกำแพงเมือง ขุดคูเมือง ป้องปราการ ประตูเมืองและศาลหลักเมือง อีกทั้งยังได้สร้างศิลาจารึกประวัติการสร้างเมืองกาญจนบุรี ซึ่งยังคงมีอยู่ ณ ศาลหลักเมืองในปัจจุบัน ใช้อักษรภาษาไทยบันทึกเรื่องราวการสร้างเมืองกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2374 ศาลหลักเมืองกาญจนบุรี เป็นสถานที่เคารพสักการะบูชาของชาวเมืองกาญจนบุรีตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเทศบาลเมืองกาญจนบุรีได้จัดงานสมโภชศาลหลักเมืองขึ้นในวันขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปีเป็นเวลา 11 วัน 11 คืน\nสำหรับประเพณีลอยเรือสะเดาะเคราะห์ชาวไทยรามัญอำเภอสังขละบุรี ถือเป็นงานประเพณีที่เป็นการสืบสานวัฒนธรรมเก่าแก่มายาวนาน และเป็นประเพณีตามความเชื่อของคนไทยเชื้อสายมอญ ที่ถือเป็นจุดรวมแห่งความมีศรัทธาต่อหลวงพ่ออุตตมะ ที่วัดวังก์วิเวการาม กำหนดจัด 3 วัน ในวันขึ้น 14-15 ค่ำ และแรม 1 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการบูชาเทวดาที่อยู่ในน้ำ ในป่า และบนบก อีกทั้งเพื่อสืบสานประเพณีดั้งเดิมของกลุ่มชน ตลอดทั้งเป็นการเผยแพร่ประเพณีลอยเรือสะเดาะเคราะห์ให้แก่ชุมชน ประชาชน และนักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้สำหรับความเป็นมาของประเพณีรดน้ำต้นโพธิ์ เกิดขึ้นในสมัยใดของเมืองมอญนั้นไม่ทราบแน่ชัด ส่วนในชุมชนคนมอญวัดวังก์วิเวการาม เมื่อครั้งยังตั้งชุมชนอยู่ที่อำเภอสังขละบุรีเก่า ก่อนจะถูกน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนวชิราลงกรณ (บริเวณที่เป็น “เมืองบาดาล” ในปัจจุบัน) ยังไม่มีประเพณีนี้เกิดขึ้น เพราะไม่มีต้นโพธิ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 เมื่อครั้งที่หลวงพ่ออุตตมะเดินทางไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ เพื่อนำมาประดิษฐานไว้บนยอดเจดีย์พุทธคยา หลวงพ่ออุตตมะได้อัญเชิญต้นหน่อพระศรีมหาโพธิ์ ที่ได้รับพระราชทานมาจากสมเด็จพระสังฆราชแห่งประเทศศรีลังกา มาพร้อมกันด้วย\nเมื่อวันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2530 สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จมาทรงปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์นี้ไว้ ที่บริเวณลานเจดีย์พุทธคยา ของวัดวังก์วิเวการาม ตั้งแต่นั้นมา หลวงพ่ออุตตมะจึงได้รื้อฟื้นให้มีประเพณีรดน้ำต้นโพธิ์ขึ้น เหมือนที่เมืองมอญบ้านเกิดของท่าน ในทุกวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปี โดยในช่วงเย็นถึงค่ำ ชาวมอญจะพร้อมใจกันนำน้ำอบ น้ำหอม น้ำสะอาดลอยด้วยดอกไม้ มาร่วมกันรดน้ำต้นพระศรีมหาโพธิ์ผ่านรางกระบอกไม้ไผ่ จนได้กลายมาเป็น “ประเพณีรดน้ำต้นโพธิ์” ของชุมชนมอญสังขละบุรี",
"title": "จังหวัดกาญจนบุรี"
},
{
"docid": "56171#3",
"text": "เมื่อทศกัณฐ์ได้มาเชิญให้ไมยราพไปช่วยรบ แม้นางจันทรประภาศรีพระมารดาจะห้ามปรามไว้ ไมยราพก็ไม่เชื่อฟัง และได้ไปสะกดทัพ และลักพาพระรามไปซ่อนไว้ที่เมืองบาดาล โดยใส่กรงเหล็กขังไว้ที่ดงตาลเพื่อรอต้มให้ตายพร้อมกับไวยวิกหลานชาย บุตรของนางพิรากวนที่ไมยราพกล่าวหาว่าเป็นกบฏ หนุมานจึงตามไปช่วยและได้พบกับมัจฉานุ ทั้งสองเกิดต่อสู้กันโดยไม่รู้ว่าเป็นพ่อลูก แต่ก็ทำอะไรกันไม่ได้จึงสอบถามความเป็นมาซึ่งกันและกัน ครั้นสอบถามและพิสูจน์กันด้วยลักษณะและการหาวเป็นดาวเป็นเดือนของหนุมาน มัจฉานุจึงยอมเชื่อ หนุมานจะให้มัจฉานุบอกที่ซ่อนพระราม แต่มัจฉานุยังกตัญญูต่อไมยราพ ก็ไม่ยอมบอกตามตรง แต่บอกใบ้ว่ามาทางใดก็ให้ไปทางนั้น หนุมานจึงมุดลงไปในสายบัวเหมือนกับที่ลงมาครั้งแรก และที่สุดหนุมานก็ฆ่าไมยราพตาย ไวยวิกบุตรของนางพิรากวนจึงได้เป็นกษัตริย์แห่งกรุงบาดาลองค์ที่ 4",
"title": "ไมยราพ"
},
{
"docid": "393115#20",
"text": "เดือนพฤษภาคม 2554 จินตนัดดาออกซิงเกิลแรกของตน ชื่อเพลง \"โพสต์การ์ด\" (Postcard) หมายถึง ไปรษณียบัตร และมีเนื้อหาว่า ในวันแดดล่มลมตก ผู้ร้องนั่งเขียนความในใจลงในไปรษณียบัตรใบหนึ่ง เพียงแต่ไม่ทราบว่าคนที่ควรรับนั้นอยู่ที่ใด เพลงนี้ จินตนัดดาร่วมเขียนเนื้อร้องและทำนองด้วย ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 มิวสิกวิดีโอเพลง \"โพสต์คาร์ด\" ซึ่งถ่ายทำที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดสมุทรปราการ ได้รับการเผยแพร่ครั้งแรก และเพลงดังกล่าวก็รวมไว้ในอัลบัมรวมเพลงใหม่ของค่าย ที่มีชื่อยาวว่า \"Believe Compilation 03 Sing It by Wall's Cornetto โคนดนตรี\" ด้วย",
"title": "แป้งโกะ"
},
{
"docid": "322755#2",
"text": "ราศรีเริ่มก้าวสู่วงการบันเทิงด้วยแสดงภาพยนตร์โฆษณาให้กับเครื่องสำอางพอนด์ส และเข้าเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 3 มีผลงานละครเรื่องแรกคือ \"กุหลาบตัดเพชร\" และมีผลงานที่ทำให้เป็นที่รู้จักคือ \"คุณยายสายเดี่ยว\" และ \"บาดาลใจ\"",
"title": "ราศรี บาเล็นซิเอก้า จิราธิวัฒน์"
},
{
"docid": "141425#33",
"text": "ไม่ว่าสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารจะเป็นรูปแบบใด ความประสงค์ของการสร้างอาสนวิหารคือเป็นที่สร้างความประทับใจ ความตื่นตาตื่นใจให้แก่ผู้เห็น และทำให้ผู้เห็นรู้สึกเกรงขาม เป็นที่ทำให้เกิดแรงบันดาลใจแก่ผู้ศรัทธา และเป็นที่เผยแพร่คำสอนของคริสต์ศาสนา ความประสงค์อันหลังนี้เป็นความประสงค์สำคัญที่สุดของคริสต์ศาสนสถาน ไม่ว่าจะเป็นอาสนวิหารหรือวัดประจำท้องถิ่น",
"title": "สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก"
},
{
"docid": "628267#5",
"text": "ส่วนปุริมานหนีออกมาจากบ้านเพื่อนำของฝากไปให้นิตยาเพื่อนร่วมชั้นที่สนิทกันโดยบอกผลคนรับใช้ในบ้านของชุลีเอาไว้ แต่ว่าด้วยความที่ปุริมานไม่เคยไปบ้านของนิตยา มาก่อนจึงทำให้ปุริมานหลงทางเดินเข้าไปในซอยเปลี่ยว แล้วพบกัยชายวัยรุ่นที่พยายามจะปล้ำเธอ แต่ว่าโชคดีที่สักการขับรถผ่านมาเห็นพอดีเพราะว่าบ้านของเขาอยู่ในซอยนั้น สักการจึงลงไปช่วยเหลือปุริมานได้ทันเวลา ทำให้ปุริมานหลงรักสักการขึ้นมาทันที เพราะว่าสักการเป็นผู้ช่วยชีวิตเธอไว้ หลังจากนั้นปุริมานก็สลบไป สักการจึงจำใจพาปุริมานกลับไปที่บ้านพักของเขา",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "628267#25",
"text": "เพลง โอ้ใจเอ๋ย ขับร้องโดย พิจิกา จิตตะปุตตะ หรือ (ลูกหว้า ดูบาดู) เพลง เหงา ขับร้องโดย อรรถพล ประกอบของ",
"title": "บาดาลใจ"
},
{
"docid": "474756#7",
"text": "อุทกวิทยา การทำลายป่ามีผลต่อวัฏจักรของน้ำ ต้นไม้สกัดน้ำบาดาลผ่านทางรากและปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ เมื่อใดที่พื้นที่ป่าบางส่วนถูกทำลาย ต้นไม้จะไม่คายน้ำอีกต่อไป มีผลทำให้สภาพอากาศแห้งมากขึ้น การทำลายป่าลดปริมาณของน้ำในดินและน้ำบาดาล เช่นเดียวกับความชื้นในชั้นบรรยากาศ การทำลายป่าลดการเกาะตัวของดิน ทำให้เกิดผลที่ตามมาคือหน้าดินพังทลาย น้ำท่วม และดินถล่ม ผืนป่าช่วยเพิ่มพูนการดูดซึมน้ำในชั้นหินอุ้มน้ำในบางพื้นที่ พื้นที่ป่าที่มีขนาดเล็กลงมีความสามารถน้อยลงในการดักจับ ดูดซับ และปลดปล่อยปริมาณน้ำฝน แทนที่สกัดกั้นปริมาณน้ำฝนซึ่งจะซึมผ่านไปยังระบบน้ำบาดาล พื้นที่ป่าที่ถูกทำลายจะเป็นตัวการให้เกิดน้ำผิวดิน ซึ่งจะเคลื่อนที่ได้ไวกว่าการไหลของน้ำบาดาล การเคลื่อนที่ที่เร็วกว่าของน้ำผิวดินอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและเกิดน้ำท่วมเฉพาะพื้นที่รุนแรงกว่าที่เกิดกับพื้นที่ที่มีผืนป่าปกคลุม",
"title": "การทำลายป่า"
}
] |
2271 | โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีกี่ชนิด? | [
{
"docid": "20739#3",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มี 2 ชนิด คือ",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
}
] | [
{
"docid": "20739#48",
"text": "สิ่งกีดขวางที่สำคัญที่สุดในการป้องกันการปลดปล่อยกัมมันตภาพรังสีในกรณีที่มีการโจมตีด้วยอากาศยานที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์คืออาคารเก็บกักและโล่ขีปนาวุธของมัน. ประธาน NRC ปัจจุบันเดล ไคลน์ ได้กล่าวว่า \"โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะมีโครงสร้างที่แข็งแกร่งโดยธรรมชาติ จากการศึกษาของเราแสดงให้เห็นการป้องกันที่เพียงพอในการโจมตีสมมุติโดยเครื่องบิน. NRC ยังได้ดำเนินการหลายอย่างที่จำเป็นเพื่อให้ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีความสามารถในการจัดการกับไฟไหม้หรือระเบิดขนาดใหญ่--ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเกิดขึ้นจากอะไร\"[35].",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#41",
"text": "สหรัฐอเมริกาผลิตพลังงานนิวเคลียร์มากที่สุดด้วยพลังงานนิวเคลียร์สูงถึง 19%[90] ของกระแสไฟฟ้าที่ใช้. ในขณะที่ฝรั่งเศสผลิตเป็นเปอร์เซ็นต์สูงสุดของพลังงานไฟฟ้าจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ถึง 80% ณ ปี 2006[91]. ในสหภาพยุโรปโดยรวม, พลังงานนิวเคลียร์ผลิตได้ 30% ของไฟฟ้า[92]. นโยบายพลังงานนิวเคลียร์มีความแตกต่างในระหว่างประเทศของสหภาพยุโรป และบางส่วนเช่น ออสเตรีย, เอสโตเนีย, ไอร์แลนด์ และอิตาลี ไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ใช้งานอยู่. ในการเปรียบเทียบ ฝรั่งเศสมีโรงไฟฟ้าประเภทนี้จำนวนมาก, ที่มี 16 สถานีที่มีเครื่องปฏิกรมากกว่าหนึ่งเครื่องในการใช้งานในปัจจุบัน",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#1",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าชนิด Baseload คือผลิตพลังงานคงที่ โดยไม่ขึ้นกับกำลังงานที่ต้องการใช้จริง เนื่องจากต้นทุนเชื้อเพลิงมีราคาถูกเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายอื่นๆในการผลิต [1](ในขณะที่โรงไฟฟ้าที่ใช้การต้มน้ำด้วยแหล่งพลังงานอื่น สามารถลดการจ่ายไฟลงครึ่งหนึ่งได้เวลากลางคืนเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิง) กำลังไฟที่หน่วยผลิตจ่ายได้นั้นอาจมีตั้งแต่ 40 เมกะวัตต์ จนถึงเกือบ 2000 เมกะวัตต์ ในปัจจุบันหน่วยผลิตที่สร้างกันมีขอบเขตอยู่ที่ 600-1200 เมกะวัตต์",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "726765#5",
"text": "ความคิดเห็นอิสระไม่ค่อยแสดงให้เห็นว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีความจำเป็นต้องมีราคาแพงมาก แต่กลุ่มต่อต้านนิวเคลียร์ทำการผลิตรายงานบ่อยที่บอกว่าค่าใช้จ่ายของการใช้พลังงานนิวเคลียร์จะสูงอย่างจำกัด แม้จะมีความจริงที่ว่าค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์ในฝรั่งเศสจะเป็นประมาณครึ่งหนึ่งของที่ใช้ในประเทศเยอรมนีและเดนมาร์ก ในออนตาริโอ ไฟฟ้าจากพลังน้ำ () และจากนิวเคลียร์มีค่าใช้จ่ายทิ้งห่างในการผลิตที่ถูกที่สุดที่ 4.3c/kWh และ 5.9c/kWh ตามลำดับในขณะที่ค่าใช้จ่ายพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาสูงถึง 50.4c/kWh ค่าใช้จ่ายของพลังงานนิวเคลียร์ยังต้องมีการเปรียบเทียบกับของทางเลือก ถ้ามันพิสูจน์ว่ามันเป็นไปได้ที่จะย้ายไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอน ชุมชนจะต้องตอบสนองต่อค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแหล่งพลังงาน หลายประเทศรวมทั้งรัสเซีย, เกาหลีใต้, อินเดีย, และจีนได้ทำอย่างต่อเนื่องที่จะไล่ตามการสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ ทั่วโลก ณ เดือนมกราคมปี 2015 มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 71 โรงอยู่ระหว่างการก่อสร้างใน 15 ประเทศ อ้างอิงตาม IAEA จีนมี 25 เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ระหว่างการก่อสร้างและมีแผนที่จะสร้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม อ้างอิงถึงหน่วยวิจัยของรัฐบาล จีนต้องไม่สร้าง \"เครื่องปฏิกรณ์พลังงานนิวเคลียร์มากเกินไปอย่างเร็วเกินไป\" เพื่อหลีกเลี่ยงการขาดแคลนเชื้อเพลิง อีกทั้งอุปกรณ์และคนงานโรงงานที่มีคุณภาพ",
"title": "เศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่"
},
{
"docid": "368028#56",
"text": "หน่วยที่ 1 มีใบอนุญาตถูกแขวนชั่วคราวหลังจากดังต่อไปนี้เหตุการณ์เกิดขึ้นที่หน่วยที่ 2 แม้ว่าประชาชนในสามมณฑลรอบโรงไฟฟ้าได้โหวตด้วยเสียง 3:1 ให้ปลดระวางหน่วยที่ 1 อย่างถาวรก็ตาม มันก็ยังได้รับอนุญาตให้ดำเนินการต่อในปี 1985 บรรษัทสาธารณูปโภคทั่วไปที่เป็นเจ้าของโรงไฟฟ้าได้ก่อตั้งบรรษัทสาธารณูปโภคนิวเคลียร์ทั่วไปคอร์ปอเรชั่น (GPUN) ให้เป็นบริษัทย่อยแห่งใหม่ที่จะเป็นเจ้าของและดำเนินการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของบริษัท รวมทั้งที่เกาะทรีไมล์ โรงไฟฟ้าเคยถูกดำเนินการก่อนหน้านี้โดยบริษัทเมโทรโพลิตันเอดิสัน (Met-ED) ซึ่งเป็นหนึ่งใน บริษัทที่ดำเนินงานยูทิลิตี้ในภูมิภาคของ GPU ในปี 1996 บริษัทสาธารณูปโภคทั่วไปเปลี่ยนชื่อให้สั้นลงเป็น GPU อินค์ เกาาะทรีไมล์หน่วยที่ 1 ถูกขายให้กับบริษัทพลังงาน AmerGen ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างบริษัทไฟฟ้าฟิลาเดลเฟีย (PECO) และบริษัทพลังงานอังกฤษในปี 1998 ในปี 2000 PECO ได้ควบรวมกับ Unicom คอร์ปอเรชั่น ตั้งขึ้นเป็นบริษัท Exelon คอร์ปอเรชั่น ซึ่งซี้อกรรมสิทธิ์มาจากหุ้นของบริษัทพลังงานอังกฤษของ AmerGen ในปี 2003 วันนี้ AmerGen LLC เป็นบริษัทย่อยที่ถือหุ้นเต็มของ Exelon Generation และเป็นเจ้าของ TMI หน่วยที่ 1 และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Oyster Creek และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์คลินตัน ทั้งสามหน่วยนี้รวมกับหน่วยนิวเคลียร์อื่น ๆ ของ Exelon ถูกดำเนินการโดย Exelon นิวเคลียร์อินค์ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ Exelon ",
"title": "อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์"
},
{
"docid": "20739#63",
"text": "ฝ่ายเสนอยืนยันว่าพลังงานนิวเคลียร์เป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนซึ่งช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสามารถเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานถ้าการใช้ของมันสามารถทดแทน การพึ่งพาการนำเข้าเชื้อเพลิงได้[63]. ฝ่ายเสนอให้แนวคิดเพิ่มเติมว่าพลังงานนิวเคลียร์แทบจะไม่ได้ผลิตมลพิษทางอากาศ, ในทางตรงกันข้ามกับทางเลือกที่ใช้งานอยู่ของเชื้อเพลิงฟอสซิลชั้นนำ. ฝ่ายเสนอยังเชื่อว่าพลังงานนิวเคลียร์เป็นแนงทางที่เป็นไปได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้นเพื่อที่จะบรรลุความเป็นอิสระด้านพลังงานสำหรับประเทศตะวันตกส่วนใหญ่. พวกเขาเน้นว่ามีความเสี่ยงทั้งหลายในการจัดเก็บขยะเป็นเรื่องเล็กน้อยและสามารถลดความเสี่ยงลงต่อไปได้อีกโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดในเครื่องปฏิกรณ์รุ่นใหม่และความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในโลกตะวันตกได้รับการบันทึกว่าได้ผลเป็นเลิศเมื่อเทียบกับโรงไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ ที่สำคัญ[64].",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#13",
"text": "ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ วงจรความเย็นและตัวหน่วงปฏิกิริยาจะใช้แตกต่างกัน",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#87",
"text": "การขยายตัวของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 โรงในสหรัฐ, Plant Vogtle และ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ V. C. Summer, ที่ตั้งอยู่ในรัฐจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนาตามลำดับ, มีกำหนดจะแล้วเสร็จในระหว่างปี 2016 และ 2019. ใหม่เครื่องปฏิกรณ์ 2 เครื่องใหม่ของ Plant Vogtle และเครื่องปฏิกรณ์สองเครื่องใหม่ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Virgil C. Summer, เป็นตัวแทนโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ที่เกาะทรีไมล์ในปี 1979.",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#88",
"text": "คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ได้บรรจุในแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กำหนดให้มีโรงไฟฟ้าในปี พ.ศ. 2563-2564 รวมกำลังผลิต 4,000 เมกะวัตต์ หรือจะเท่ากับปริมาณโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4 โรงนั้น ระยะเวลาการก่อสร้างต่อโรงอยู่ที่ประมาณ 6-7 ปี [98]",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#16",
"text": "ต่อมาในปี 1954 ลูอิส สเตราส์ ประธานของคณะกรรมาธิการพลังงานปรมาณูสหรัฐอเมริกาในขณะนั้น (AEC สหรัฐอเมริกา, บรรพบุรุษของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานสหรัฐอเมริกาและกรมพลังงานสหรัฐ), พูดถึงไฟฟ้าในอนาคตว่าเป็นของ \"ราคาถูกเกินกว่าที่จะคิดมิเตอร์\"[42]. สเตราส์อาจจะหมายถึงไฮโดรเจนฟิวชั่น[43], ซึ่งในเวลานั้นกำลังได้รับการพัฒนาอย่างลับๆโดยเป็นส่วนหนึ่งของ'โครงการเชอร์วู้ด', แต่คำพูดของสเตราส์ได้รับการตีความว่าเป็นสัญญาอันหนึ่งของพลังงานราคาถูกมากจากนิวเคลียร์ฟิชชัน. ตัว AEC ของสหรัฐเองได้ออกคำเบิกความที่ไกลความจริงมากขึ้นเกี่ยวกับนิวเคลียร์ฟิชชันต่อสภาคองเกรสสหรัฐเพียงไม่กี่เดือนก่อนหน้านั้น, ที่คาดว่า \"ค่าใช้จ่ายสามารถทำให้ลดลงไป ... [ที่] ... ประมาณว่าเท่ากับค่าใช้จ่ายของการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งเดิม .. \"[44]. ความผิดหวังที่สำคัญจะพัฒนาต่อไปในภายหลังเมื่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่ไม่ได้ให้พลังงานที่ \"ถูกเกินกว่าที่จะคิดมิเตอร์\".",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#86",
"text": "ในปี 2025, ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งหมด 29 โรง, อินโดนีเซียจะมี 4 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์, มาเลเซีย 4, ประเทศไทย 5, และเวียดนาม 16 จากที่ไม่มีอะไรเลยในปี 2011[97].",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "726765#7",
"text": "\"กฎของหัวแม่มือปกติสำหรับพลังงานนิวเคลียร์ก็คือว่าประมาณสองในสามของค่าใช้จ่ายในการผลิตจะเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ ตัวหลักเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับดอกเบี้ยเงินกู้และการจ่ายคืนส่วนทุน ... \" \nค่าใช้จ่ายส่วนทุน () หมายถึงการสร้างและการจัดหาเงินทุนของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มีมูลค่าเป็นเปอร์เซนต์ขนาดใหญ่ของค่ากระแสไฟฟ้า ในปี 2014 'การบริหารงานสารสนเทศด้านการพลังงานของสหรัฐ'คาดว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่ที่จะออนไลน์ในปี 2019 ค่าใช้จ่ายส่วนทุนจะมีส่วนถึง 74% ของค่ากระแสไฟฟ้าที่ปรับระดับแล้ว ( ซึ่งสูงกว่าของโรงไฟฟ้าพลังงานฟอสซิล (63% สำหรับถ่านหิน และ 22% สำหรับก๊าซธรรมชาติ) แต่ต่ำกว่าของแหล่งเชื้อเพลิงที่ไม่ใช่ฟอสซิลอื่น ๆ บางชนิด (80% สำหรับลม และ 88% สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์)",
"title": "เศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่"
},
{
"docid": "6388#124",
"text": "ในเดือนมีนาคม 2011 เหตุฉุกเฉินนิวเคลียร์ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิม่า I และการปิดสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆในโรงงานนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นทำให้เกิดคำถามในหมู่นักวิจารณ์บางคนเกี่ยวกับอนาคตของการฟื้นฟู[226][227][228][229][230]. Platts ได้รายงานว่า \"วิกฤตที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Fukushima ของญี่ปุ่นได้ย้ำเตือนประเทศชั้นนำต่างๆที่ใช้พลังงานให้ตรวจสอบความปลอดภัยของเครื่องปฏิกรณ์ที่มีอยู่ของพวกเขาและตั้งข้อสงสัยกับความเร็วและขนาดของแผนการขยายทั่วโลก\"[231]. ในปี 2011 ซีเมนส์เดินออกจากภาคพลังงานนิวเคลียร์ตามหลังภัยพิบัติที่ Fukushima และการเปลี่ยนแปลงที่สืบเนื่องของนโยบายพลังงานของเยอรมันและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงการใช้พลังงานของรัฐบาลเยอรมันที่วางแผนจะใช้เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน[232]. จีน, เยอรมัน, สวิตเซอร์แลนด์, อิสราเอล, มาเลเซีย, ไทย, สหราชอาณาจักร, อิตาลี[233] และฟิลิปปินส์ ได้ทบทวนโครงการนิวเคลียร์ของพวกเขา. อินโดนีเซียและเวียดนามยังคงวางแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์[234][235][236][237]. ประเทศต่างๆเช่นออสเตรเลีย, ออสเตรีย, เดนมาร์ก, กรีซ, ไอร์แลนด์, ลัตเวีย, Liechtenstein, ลักเซมเบิร์ก, โปรตุเกส, อิสราเอล, มาเลเซีย, นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ยังคงคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์. หลังการเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟูกูชิม่า I, สำนักงานพลังงานระหว่างประเทศได้ลดลงครึ่งหนึ่งของประมาณการเพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์ที่สร้างในปี 2035[238].",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "20739#80",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะถูกใช้เป็นประจำในโหมด'ตามโหลด'ในขนาดที่ใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส, แม้ว่า \"มันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่านี่ไม่ใช่สถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์\"[87]. หน่วย A ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Biblis ของเยอรมันถูกออกแบบมาเพื่อให้มี-และลดการส่งออกพลังงานที่ 15% ต่อนาทีระหว่าง 40 และ 100% ของพลังงานโดยประมาณของมัน[88]. เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดปกติมีความสามารถแบบ'ตามโหลด', ดำเนินการโดยการเปลี่ยนแปลงการไหลของน้ำหมุนเวียน.",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#131",
"text": "มีอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นกับการผลิตของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เมื่อมีบริษัทเพียงไม่กี่แห่งทั่วโลกที่มีความสามารถในการปลอมแปลงภาชนะความดันเครื่องปฏิกรณ์ชิ้นเดียว[258] ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ทั่วไปมากที่สุด. บริษัทยูทิลิตี้ทั่วโลกกำลังส่งคำสั่งซื้อล่วงหน้าสำหรับความจำเป็นที่ต้องใช้จริงสำหรับภาชนะเหล่านี้. ผู้ผลิตอื่นๆกำลังตรวจสอบตัวเลือกต่างๆรวมทั้งการทำชิ้นส่วนด้วยตัวเองหรือหาวิธีที่จะทำชิ้นส่วนที่คล้ายกันโดยใช้วิธีการอื่น[259].",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "393864#2",
"text": "โครงการก่อสร้างดังกล่าวถูกมองว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะทั้งในแง่ของเทคโนโลยีที่ใช้ สิ่งแวดล้อมทางการเมือง และสภาพภูมิอากาศทางกายภาพที่ท้าทาย โรงไฟฟ้าดังกล่าวถูกมองว่าเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์พลเรือนแห่งแรกในตะวันออกกลาง แม้อิสราเอลจะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาหลายทศวรรษแล้วก็ตาม",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์บูเชห์"
},
{
"docid": "20739#22",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่วนใหญ่ต้องการแหล่งจ่ายไฟที่มีหม้อแปลงไฟฟ้าบริการจากสถานีจ่ายด้านนอกที่แตกต่างกันสองแห่งและอยู่ภายในพื้นที่ที่เป็น switchyard ของโรงงานที่อยู่ห่างกันพอสมควรและสามารถรับกระแสไฟฟ้าจากสายส่งหลายสาย นอกจากนี้ในบางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันสามารถให้กำลังไฟกับโหลดบ้านของโรงงานในขณะที่โรงงานต่ออยู่กับหม้อแปลงบริการของสถานีซึ่งต่อพ่วงไฟฟ้ามาจากบัสบาร์เอาต์พุตของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าก่อนที่จะถึง step-up transformer (โรงงานเหล่านี้ยังมีหม้อแปลงไฟฟ้าบริการของสถานีที่รับพลังงานนอกสถานที่โดยตรงจาก switchyard) แม้จะมีความซ้ำซ้อนของแหล่งพลังงานสองแหล่ง การสูญเสียพลังงานนอกสถานที่โดยรวมยังคงเป็นไปได้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีการติดตั้งระบบไฟฉุกเฉินเพื่อรักษาความปลอดภัยในกรณีที่มีการปิดหน่วยและการขาดหายของพลังงานนอกสถานที่ แบตเตอรี่ให้พลังงานสำรองกับเครื่องมือและระบบการควบคุมและวาล์วทั้งหลาย เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลฉุกเฉินให้ไฟ AC โดยตรงในการชาร์จแบตเตอรี่และเพื่อให้กำลังไฟกับระบบที่ต้องใช้ไฟ AC เช่นมอเตอร์ที่ขับเคลื่อนปั๊ม เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลฉุกเฉินไม่ได้กำลังไฟให้กับทุกระบบในโรงงาน เฉพาะระบบที่จำเป็นต้องปิดเครื่องปฏิกรณ์ลงอย่างปลอดภัย เอาความร้อนจากการสลายตัวของเครื่องปฏิกรณ์ออก ระบายความร้อนที่แกนในกรณีฉุกเฉิน, และในโรงงานบางชนิดใช้สำหรับระบายความร้อนในบ่อเชื้อเพลิงใช้แล้ว (English: spent fuel pool) ปั๊มผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่เช่นปั๊มจ่ายน้ำหลัก คอนเดนเสท น้ำหมุนเวียน และ (ในเครื่องปฏิกรณ์น้ำแรงดันสูง) ปั๊มตัวหล่อเย็นของเตาปฏิกรณ์ไม่ได้รับการสำรองจากเครื่องยนต์ดีเซล",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "726765#16",
"text": "โดยทั่วไปโรงไฟฟ้าถ่านหินและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีชนิดเดียวกันของค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (การดำเนินงานและการบำรุงรักษาบวกค่าเชื้อเพลิง) อย่างไรก็ตาม นิวเคลียร์มีค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงที่ต่ำกว่า แต่มีค่าใช้จ่ายด้านการดำเนินงานและค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาที่สูงกว่า",
"title": "เศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่"
},
{
"docid": "20739#26",
"text": "เศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่เป็นเรื่องความขัดแย้ง, และการลงทุนหลายพันล้านดอลลาร์นั่งอยู่บนทางเลือกของแหล่งพลังงาน. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มักจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง, แต่ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงโดยตรงต่ำ, กับค่าใช้จ่ายของการสกัดเชื้อเพลิง, กระบวนการ, การใช้งานและค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาเชื้อเพลิงใช้แล้ว. ดังนั้น การเปรียบเทียบกับวิธีการผลิตไฟฟ้าอื่นๆจะขึ้นอยู่กับสมมติฐานเกี่ยวกับระยะเวลาการก่อสร้างและการจัดหาเงินลงทุนสำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์. การประมาณการค่าใช้จ่ายจะต้องนำค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนและการเก็บรักษากากนิวเคลียร์หรือค่าใช้จ่ายโรงงานรีไซเคิลเข้ามาคิดด้วยถ้าสร้างในสหรัฐอเมริกาเนื่องจาก'พระราชบัญญัติด้านราคา Anderson'. กับความคาดหวังว่าทั้งหมดของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว/\"กากนิวเคลียร์\"อาจมีศักยภาพในการนำกลับมาใช้ใหม่โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์ในอนาคต,เครื่องปฏิกรณ์ generation IV, ที่กำลังออกแบบมาเพื่อปิดวัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ได้อย่างสมบูรณ์.",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "2797#20",
"text": "แนวโน้มลักษณะประชากรและการเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมที่มีมากขึ้นส่งผลให้ความต้องการกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 8% ต่อปี เป้าหมายของรัฐบาลที่จะผลิตกระแสไฟฟ้าให้ได้วันละ 53,000 เมกะวัตต์ ภายใน พ.ศ. 2553 โดยการสร้างโรงไฟฟ้าพลังแก๊สและเพิ่มกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานน้ำและพลังงานนิวเคลียร์ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์บูเชห์ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกในอิหร่านที่บูเชห์ เริ่มผลิตกระแสไฟฟ้าเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2554",
"title": "ประเทศอิหร่าน"
},
{
"docid": "7953#5",
"text": "จากการศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและราคาของกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ของกองพลังปรมาณู ฝ่ายวิศวกรรมพลังความร้อน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยปรับตัวแปรต่างๆ ให้มีลักษณะเฉพาะเป็นของประเทศไทย โดยโรงไฟฟ้าต้นแบบทั้งถ่านหิน และนิวเคลียร์ มีขนาด 1,200 เมกกะวัตต์ พบว่า ต้นทุนการก่อสร้างของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะสูงกว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินในขั้นต้น แต่ต้นทุนการใช้เชื้อเพลิงจะต่ำกว่ามากในช่วงของการผลิต ซึ่งมีผลทำให้ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต่ำกว่าและเมื่อเปรียบเทียบกับโรงไฟฟ้าชนิดอื่นแล้วจะพบว่า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีข้อได้เปรียบหลายประการ คือ ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ามีราคาถูก ต้นทุนผลิตไฟฟ้ามีเสถียรภาพสูง เสริมความมั่นคงด้านการผลิตไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี และสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในปริมาณที่มากกว่า",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย"
},
{
"docid": "20739#0",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแบบหนึ่งที่ใช้แหล่งพลังงานความร้อนจากเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการผลิตไอน้ำแรงดันสูงจ่ายให้กับกังหันไอน้ำ กังหันไอน้ำจะไปหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าออกมา โดยเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ในการผลิตพลังงานนิวเคลียร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบวิจัย (English: Research Reactor) ที่ใช้ประโยชน์จากนิวตรอนฟลักซ์ในการวิจัย และระบายความร้อนที่เกิดขึ้นออกสู่ชั้นบรรยากาศ และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลัง (English: Power Reactor) ที่ใช้พลังความร้อนที่เกิดขึ้นเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์กำลัง มีขนาดใหญ่โตกว่าเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยเป็นอย่างมาก",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "365546#0",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะแห่งที่สอง () เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ 1.5 ล้านตารางเมตร ในเมืองมาราฮะและโทมิโอกะในเขตฟูตาบะ จังหวัดฟูกูชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่งไปทางใต้ 11.5 กิโลเมตร บริหารจัดการโดยบริษัทผลิตไฟฟ้าโตเกียว",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่สอง"
},
{
"docid": "20739#6",
"text": "ไฟฟ้าถูกสร้างขึ้นโดยเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เป็นครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน 1948 ด้วย'เครื่องปฏิกรณ์แกรไฟท์ X-10' ใน Oak Ridge รัฐเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกาและเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เครื่องแรกที่จะให้กำลังไฟกับหลอดไฟดวงหนึ่ง[4][5][6]. การทดลองครั้งที่สองมีขนาดใหญ่กว่าเกิดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม 1951 ที่สถานีทดลอง EBR-I ใกล้ Arco, รัฐไอดาโฮสหรัฐอเมริกา และเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 1954 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของโลกที่ผลิตไฟฟ้าสำหรับกริด (ไฟฟ้า) เริ่มดำเนินการที่เมือง Obninsk สหภาพโซเวียต[7]. สถานีไฟฟ้าเต็มรูปแบบแห่งแรกของโลกคือที่คาลเดอฮอลล์ในอังกฤษเปิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 1956[8].",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์"
},
{
"docid": "7953#4",
"text": "ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) ได้มีการระบุไว้ในแผนพัฒนาพลังงานฯว่า \"…ให้มีการพิจารณาศึกษาความเหมาะสมในการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าทั้งทางเศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี และความปลอดภัย…\" ดังนั้น จังมีการพิจารณาที่จะนำโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาใช้ในประเทศไทย โดยพิจารณาจากความจำเป็น 2 ประการ คือ\nดังนั้น จากเหตุผลที่กล่าวมา ประกอบกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จำเป็นต้องใช้เวลาดำเนินการล่วงหน้าเป็นเวลานานประมาณ 12 ปี จึงจะสามารถก่อสร้างเสร็จเดินเครื่องจ่ายไฟฟ้าให้ทันความต้องการได้ ในปัจจุบันจึงได้มีการพิจารณาที่จะนำโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาใช้ภายในประเทศเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง และเพื่อให้เกิดความมั่นใจและภาคภูมิใจยิ่งขึ้นว่า หากเลือกโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านพลังงานของชาติจะเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง จึงควรที่จะได้พิจารณาถึงปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมด้วย",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย"
},
{
"docid": "527101#0",
"text": "ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ยองเบียน เป็นสิ่งก่อสร้างทางนิวเคลียร์หลักของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แรก ๆ ของประเทศ ตั้งอยู่ในอำเภอนย็อนบย็อน จังหวัดพย็องอันเหนือ ห่างจากกรุงเปียงยางไปทางเหนือราว 90 กิโลเมตร ศูนย์ดังกล่าวผลิตวัสดุฟิสไซล์สำหรับการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือในปี 2549 และ 2552 นับแต่นั้น ศูนย์ดังกล่าวกำลังพัฒนาเทคโนโลยีโรงไฟฟ้าเตาปฏิกรณ์น้ำมวลเบาในท้องถิ่น ล่าสุด ในเดือนมีนาคม 2556 รัฐบาลเกาหลีเหนือประกาศจะเริ่มปฏิบัติการที่ยองเบียนอีกครั้ง แถลงการณ์ดังกล่าวมีขึ้นไม่กี่วันหลังรัฐบาลประกาศ \"สถานะสงคราม\" ต่อประเทศเกาหลีใต้",
"title": "ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ยองเบียน"
},
{
"docid": "726765#9",
"text": "การเปิดเสรีตลาดไฟฟ้าเมื่อเร็ว ๆ นี้ในหลายประเทศได้ทำให้เศรษฐศาสตร์ของการผลิตพลังงานจากนิวเคลียร์มีความน่าสนใจน้อยลง และไม่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่ถูกสร้างขึ้นในตลาดไฟฟ้าเสรี ก่อนหน้านี้ผู้ให้บริการที่ผูกขาดสามารถรับประกันความต้องการพลังงานส่งออกจากโรงไฟฟ้าเป็นทศวรรษจนถึงในอนาคต บริษัทผู้ผลิตภาคเอกชนในขณะนี้ต้องยอมรับสัญญาการส่งออกที่สั้นลงและยอมรับความเสี่ยงของการแข่งขันที่มีต้นทุนต่ำกว่าในอนาคต ดังนั้นพวกเขาต้องการผลตอบแทนในระยะเวลาการลงทุนที่สั้นลง แบบนี้เป็นที่โปรดปรานของโรงไฟฟ้าชนิดที่มีค่าใช้จ่ายส่วนทุนที่ต่ำกว่าแม้ว่าค่าใช้จ่ายของเชื้อเพลิงที่เกี่ยวข้องจะสูงขึ้น ความยากลำบากต่อไปก็คือว่าเนื่องจากต้นทุนจม () (ต้นทุนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้)ที่มีขนาดใหญ่จมอยู่ และรายได้ในอนาคตที่ไม่อาจคาดการณ์ได้จากการเปิดเสรีตลาดไฟฟ้า เงินทุนภาคเอกชนไม่น่าจะมีใช้ในเงื่อนไขที่น่าพอใจซึ่งมีความสำคัญเป็นการเฉพาะสำหรับนิวเคลียร์เนื่องจากนิวเคลียร์เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้เงินทุนมาก ฉันทามติในภาคส่วนอุตสาหกรรมก็คืออัตราคิดลดที่ 5% มีความเหมาะสมสำหรับโรงไฟฟ้าที่ดำเนินงานในสภาพแวดล้อมของสาธารณูปโภคที่มีการควบคุมในที่ซึ่งรายได้มีการรับประกันโดยตลาดในอาณัติ และอัตราคิดลดที่ 10% มีความเหมาะสมสำหรับสภาพแวดล้อมของโรงไฟฟ้าที่มีการแข่งขันและไม่มีการควบคุมหรือแบบการค้า อย่างไรก็ตามการศึกษาอย่างอิสระของเอ็มไอที (ปี 2003) ซึ่งใช้รูปแบบทางการเงินที่แยกแยะทุนของผู้ถือหุ้นและตราสารหนี้อย่างซับซ้อนจะมีอัตราคิดลดเฉลี่ยที่สูงกว่า 11.5%",
"title": "เศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่"
},
{
"docid": "364138#0",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง () เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งตั้งอยู่ในตำบลโอกูมะ อำเภอฟูตาบะ จังหวัดฟูกูชิมะ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีเครื่องปฏิกรณ์สำหรับผลิตไฟฟ้าหกหน่วย รวมกำลัง 4.7 กิกะวัตต์ โรงไฟฟ้าแห่งนี้เป็นหนึ่งใน 15 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกซึ่งได้รับการก่อสร้างและบริหารจัดการทั้งหมดโดยบริษัทพลังงานไฟฟ้าโตเกียว (TEPCO) ",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"
},
{
"docid": "393864#0",
"text": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์บูเชห์ () เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศอิหร่าน ตั้งอยู่ห่างจากนครบูเชห์ (Bushehr) ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 17 กิโลเมตร บริเวณริมอ่าวเปอร์เซีย โรงไฟฟ้าดังกล่าวตั้งอยู่ที่รอยต่อของแผ่นธรณีภาคสามแผ่น",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์บูเชห์"
}
] |
1947 | การทำดาบเกิดขึ้นในยุคใด? | [
{
"docid": "512418#1",
"text": "ยุคโลหะเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000 - 6,000 ปีก่อนพุทธศักราช แต่หลักฐานทางประวัติศาสตร์เท่าที่พบในขณะนี้ ยังไม่สามารถนำมายืนยันแน่ชัดว่ายุคโลหะเริ่มที่ใด แต่สันนิษฐานว่า ยุคโลหะเริ่มในเอเชียตอนกลาง บริเวณประเทศอียิปต์ มนุษย์ได้เริ่มเรียนรู้เรื่องของโลหะวิทยาเกี่ยวกับการถลุง, การหล่อ และการขึ้นรูปโลหะ โดยส่วนมากจะเป็น ทองแดง ต่อมาประมาณ 3,500 ปีก่อนพุทธศักราช มนุษย์หันมาใช้สำริด โดยใช้ทำอาวุธ, เสื้อเกราะ, ภาชนะต่าง ๆ, ของใช้ และเครื่องประดับ แม้ในยุคต่อมาได้มีการใช้เหล็กเป็นโลหะหลักก็ตาม แต่สำริดยังเป็นโลหะที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมจนถึงปัจจุบัน และต่อมาประมาณ 900 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวฮิตไทต์ ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีอำนาจในเอเชียไมเนอร์ บริเวณตอนใต้ของทะเลดำ ได้พบวิธีถลุงเหล็กจากแร่เหล็ก หลังจากนั้นความรู้เกี่ยวกับการถลุงเหล็กได้กระจายไป ยังประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป จนเกิดอุตสาหกรรมการถลุงเหล็กขึ้น เนื่องจากเหล็กมีคุณสมบัติหลายอย่างดีกว่าสำริด เช่น แข็งกว่า ใช้ทำอาวุธทุกชนิดที่มีอำนาจการทำลายเหนือกว่า มนุษยจึงหันมาใช้เหล็กทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื่องมือในงานช่าง และที่นิยมมากที่สุดคือ ใช้ทำอาวุธ เช่น ดาบ หอก อุตสาหกรรมเหล็กได้พัฒนาไปถึงการทำเหล็กกล้า ซึ่งมีคุณสมบัติดีกว่าเหล็กธรรมดา เพราะนอกจากจะแข็งและเหนียวกว่าแล้ว ยังสามารถเพิ่มความแข็งโดยการอบชุบได้ดี",
"title": "ยุคโลหะ"
},
{
"docid": "512418#0",
"text": "ยุคโลหะ () เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยยุคโลหะ แบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อยคือ ยุคทองแดงปนหิน ยุคสำริด และยุคเหล็ก",
"title": "ยุคโลหะ"
}
] | [
{
"docid": "64626#2",
"text": "เนื้อเรื่อของเกมเกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน (ไม่มีการระบุว่าเกิดขึ้นในปีใด แต่คาดว่าน่าจะเกิดในปีเดียวกับที่เกมออก คือ ค.ศ. 2008) เอ็ดเวิร์ด คาร์นบี้ ตื่นขึ้นมาโดมีกลุ่มคนในชุดดำต้องการสังหารเขา ขณะที่เขากำลังถูกพาตัวไปสังหาร เกิดสิ่งเหนือธรรมชาติขึ้น รอยแยกมีชีวิตไล่เข่นฆ่าผู้คน เอ็ดเวิร์ดสามารถหนีจากกลุ่มคนชุดดำได้ แต่เขากลับลืมเรื่องราวทั้งหมดของตัวเขาไป เขาได้พบกับ ซาร่าห์ ฟลอเรส นักค้าศิลปะ เป็นหนึ่งในผู้รอดชีวิตที่ได้เดินทางร่วมกันเอ็ดเวิร์ด และ ธีโอฟิล แพดดิงตัน ชายผู้กุมความลับของเอ็ดเวิร์ดไว้ ซึ่งเขาได้บอกว่า หัวหน้าของกลุ่มคนชุดำที่ชื่อ โครว์ลี่ย์ เป็นต้นเหตุของเหตุการณ์ทั้งหมด เพราะเขาได้ปลดปล่อย ลูซิเฟอร์ ให้ออกมาจากสร้อยหินซึ่งเป็นศิลานักปราชญ์ ซึ่งเป็นที่กักขังของลูซิเฟอร์หลังจากที่เขาถูกขับไล่ออกจากสวรรค์ เอ็ดเวิร์ดจึงต้องค้นหา \"เส้นทางแห่งแสง\" เพื่อหยุดยั้งการคืนชีพอย่างสมบูรณ์ของลูซิเฟอร์",
"title": "อะโลนอินเดอะดาร์ก (2008)"
},
{
"docid": "722402#0",
"text": "บรมยุคเฮเดียน () เป็นบรมยุคแรกที่เกิดขึ้นบนโลกต่อจากการกำเนิดโลกและระบบสุริยะ อยู่ระหว่าง 4,600 ล้านปีมาแล้วถึง 4,000 ล้านปีมาแล้ว ในยุคนี้ไม่มีสิ่งมีชีวิตใด ๆ ช่วงต้นยุคเป็นดาวหินหลอมเหลว และช่วงที่เปลือกนอกเริ่มจะแข็งตัว ดาวเคราะห์ขนาดดาวอังคารชื่อ \"ทีอา\" (Theia) ชนโลก ทำให้เกิดเป็นดวงจันทร์ และยังไม่มีออกซิเจน",
"title": "บรมยุคเฮเดียน"
},
{
"docid": "62246#4",
"text": "ในยุคคามากูระ (Kamakura Period) ราวปี พ.ศ. 1735-1879 จักรพรรดิสั่งให้ช่างตีดาบศึกษาวิธีการตีเหล็กจากยุคโบราณ ยุคนี้ถือเป็นจุดเริ่มยุคทองของดาบซามูไร มีการพัฒนาดาบให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีการเพิ่มวิธีการผสมเหล็กสองชนิดเข้าด้วยกัน เหล็กที่มีความแข็งจะมีปริมาณคาร์บอนสูงใช้ทำเป็นตัวดาบ และเหล็กอ่อนที่มีปริมาณคาร์บอนต่ำใช้ทำเป็นไส้ดาบเพื่อให้ยืดหยุ่น จากเหล็กสองชนิดที่ถูกนำมาพับและตีมากกว่าสิบชั้น ทำให้เกิดชั้นเล็กๆ เป็นทวีคูณเป็นหมื่นชั้น ช่างตีดาบจะพับเหล็กแข็งให้เป็นรูปตัวยู และนำเหล็กอ่อนมาวางไว้ตรงกลางเพื่อเป็นไส้ใน แล้วนำไปหลอมและตีรวมกันให้แผ่ออกเป็นใบดาบ จากนั้นนำไปหลอมในอุณหภูมิที่เหมาะสมซึ่งมากกว่า 700 องศาเซลเซียส แล้วจึงนำมาแช่น้ำเย็น การแช่น้ำต้องระมัดระวังมาก หากแช่ไม่ดี ดาบจะโค้งเสียรูป เหล็กที่มีความแข็งต่างกันเมื่อทำให้เย็นทันทีจะหดตัวต่างกัน ถือเป็นเคล็ดลับที่ทำให้ใบดาบโค้งได้รูปตามธรรมชาติ ดาบสามารถฟันคอขาดได้ในครั้งเดียว บาดแผลที่ได้รับจากดาบจะเจ็บปวดมาก ซามูไรยังต้องเรียนรู้การใช้ดาบอย่างช่ำชองว่องไวและคล่องแคล่ว ให้เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย จากความสามารถนี้เองทำให้ซามูไรเพียงคนเดียวสามารถสังหารศัตรูที่รายล้อมตนกว่าสิบคนได้ภายในชั่วพริบตาด้วยดาบเพียงเล่มเดียว แต่ประเพณีการต่อสู้ของชนชั้นซามูไรคือการต่อสู้ \"ตัวต่อตัวอย่างมีมารยาทด้วยดาบ\" ผู้แพ้ที่ยังมีชีวิตอยู่คือผู้ที่ไร้เกียรติ ซามูไรจึงไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้ การฆ่าตัวตายอย่างสมเกียรติด้วยการทำ \"เซ็ปปูกุ\" คือเกียรติยศของซามูไร",
"title": "คาตานะ"
},
{
"docid": "623603#3",
"text": "ด้วยเครือข่ายความปลอดภัยความเสี่ยงของการล้มปิดแทรมโพลีนจะลดลงโดยใช้ผ้าใบอาจเป็นอันตรายและในคลับจัดและโรงยิมมักจะมีความปลอดภัยปลายดาดฟ้าขนาดใหญ่ที่มีแผ่นโฟมที่ปลายแต่ละด้านและสังเกตการณ์อยู่ข้างเตียงผ้าใบที่จะพยายามที่จะทำลายการล่มสลายของนักกีฬาที่สูญเสียการควบคุมและน้ำตกใด ๆ ส่วนใหญ่ของการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับเอกชนแทรมโพลีนบ้าน ใหญ่ปิดผ้าใบจะส่งผลให้ในฤดูใบไม้ร่วง 3-4 เมตร (10-13 ฟุต) จากจุดสูงสุดของการตีกลับลงไปที่พื้นหรือตกเข้าไปในน้ำพุระงับและกรอบ มีการเพิ่มขึ้นในจำนวนของ trampolines บ้านในปีที่ผ่านมาและเพิ่มขึ้นสอดคล้องกันในจำนวนของการบาดเจ็บรายงานที่นำบางองค์กรทางการแพทย์เพื่อแสดงให้เห็นว่าพวกเขาถูกห้ามเจ้าหน้าที่แนะนำให้เพียงคนเดียวที่ควรจะเป็น ได้รับอนุญาตให้ข้ามไปในเวลาที่จะหลีกเลี่ยงการชนและผู้คนที่ถูกยิงในทิศทางที่ไม่คาดคิดหรือสูงกว่าที่พวกเขาคาดหวัง ในความเป็นจริงเป็นหนึ่งในแหล่งที่พบมากที่สุดของการบาดเจ็บคือเมื่อมีผู้ใช้หลายใหญ่ในแทรมโพลีนในครั้งเดียว บ่อยกว่าไม่สถานการณ์เช่นนี้จะนำไปสู่ผู้ใช้เข้าไปใหญ่อีกคนหนึ่งและจึงกลายเป็นที่ได้รับบาดเจ็บ หลายคนกระดูกหักเป็นผลจากการเชื่อมโยงไปถึงแปลกหลังจากเคาะเป็นผู้ใช้คนอื่น อีกประการหนึ่งในแหล่งที่พบมากที่สุดของการบาดเจ็บที่ร้ายแรงเป็นความพยายามที่จะดำเนินการตีลังกาโดยไม่ต้องฝึกอบรมที่เหมาะสม ในบางกรณีคนลงจอดบนคอหรือหัวของพวกเขาซึ่งอาจทำให้เกิดอัมพาตหรือเสียชีวิตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่มีชื่อเสียงในปี 1960 เสาลิ่วอัมพาตแชมป์ไบรอันสเติร์นจากคอลง อันตรายจะลดลงโดยการฝังผ้าใบเพื่อให้นอนอยู่ใกล้กับพื้นผิวโดยรอบเพื่อลดระยะทางที่ลดลงและช่องว่างภายในที่บริเวณโดยรอบ แผ่นในช่วงฤดูใบไม้ผลิและกรอบลดความรุนแรงของการบาดเจ็บส่งผลกระทบต่อ การรักษาน้ำพุครอบคลุมยังช่วยลดความเสี่ยงของแขนตกระหว่างช่องว่างในน้ำพุและส่วนที่เหลือของร่างกายลดลงออกจากผ้าใบ\nชุดที่มีอยู่สำหรับแทรมโพลีนบ้านที่ให้การรักษาสุทธิรอบผ้าใบและป้องกันผู้ใช้จากใหญ่เหนือขอบ American Academy of Pediatrics ระบุว่าไม่มีหลักฐานทางระบาดวิทยาว่าสิ่งเหล่านี้ปรับปรุงความปลอดภัยตาข่ายจะป้องกันไม่ให้จัมเปอร์ล้มปิดผ้าใบลงบนพื้นดินน้ำตกเหล่านี้จะไม่ได้เป็นแหล่งที่พบมากที่สุดของการบาดเจ็บและผู้ใช้หลายคนใหญ่ในตาข่าย ผ้าใบยังคงสามารถได้รับบาดเจ็บ นี้จะมีประโยชน์ขนาดใหญ่เพื่อการปกป้องแทรมโพลีนเดี่ยวตราบเท่าที่พวกเขาหลีกเลี่ยงการตกอยู่บนศีรษะ / คอของพวกเขา\nมีการฝึกอบรมในโรงยิมอาจเป็นประโยชน์ในการแจ้งเตือนคนที่จะอันตรายไปได้และให้เทคนิคในการหลีกเลี่ยงการตกไม่ดี\nพื้นที่เชิงพาณิชย์ครอบครัวที่มุ่งเน้นในอเมริกาเหนือเช่นห้างสรรพสินค้า carnivals, และอื่น ๆ มักจะมีการปิด trampolines พอง (CITS) เป็นสถานที่สำหรับเด็ก เหล่านี้มีเครือข่ายความปลอดภัยที่ด้านข้างเพื่อป้องกันการบาดเจ็บ",
"title": "แทรมโพลีน"
},
{
"docid": "185715#3",
"text": "เหตุการณ์เกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เทียน (ทัชชกร ยีรัมย์) บุรุษผู้ถือกำเนิดมาพร้อมกับคำทำนายที่ว่า \"จะเติบโตกาย ใต้วังวนแห่งคมดาบและกลิ่นคาวเลือด\" เข่าเป็นหอก ศอกเป็นดาบ ทุกส่วนของร่างกายใช้เป็นสรรพาวุธสยบคู่ต่อสู้ให้พ่ายแพ้ไร้ข้อต่อรอง โดยการสอนของ \"เชอนัง\" (สรพงษ์ ชาตรี) หัวหน้ากองโจรผาปีกครุฑผู้ยิ่งใหญ่ที่ช่วยเทียนไว้จากตลาดการค้าทาส และสอนทุกศาสตร์ให้โดยหวังให้สืบทอดตำแหน่งหัวหน้ากองโจรต่อไป แต่สิ่งเดียวที่เทียนต้องการ คือการเปิดสังเวียนเลือดล้างเลือด ล้างแค้นให้ผู้เป็นพ่อ (สันติสุข พรหมศิริ) ที่ต้องตายอย่างทุกข์ทรมาณโดยฝีมือพระยาราชเสนา (ศรัณยู วงษ์กระจ่าง)ตารางสาขารางวัลที่ได้เข้าชิงรางวัล สีเขียวคือได้รับรางวัล สีแดงคือได้รับการเสนอชื่อแต่พลาดรางวัลไป",
"title": "องค์บาก 2"
},
{
"docid": "291058#14",
"text": "ปัจจัยอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ประชากรยุบตัวลงมากคือการระบาดของโรค ฝีดาษไม่ได้เข้ามาเผยแพร่ในยุโรปตะวันตกจนกระทั่งราว ค.ศ. 581 เมื่อนักบุญเกรกัวร์แห่งตูร์บรรยายลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นลักษณะเดียวกับผู้ป่วยด้วยฝีดาษ โรคระบาดที่เข้ามาเป็นระลอกๆ จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้จำนวนประชากรในชนบทลดจำนวนลงไปเป็นอันมาก แต่ก็ไม่มีรายละเอียดเท่าใดนักเพราะรายละเอียดส่วนใหญ่ที่เกี่ยวกับโรคระบาดสูญหายไปหมด แต่ประมาณกันว่าโรคระบาดจัสติเนียนคร่าชีวิตคนไปราว 100 ล้านคนทั่วโลก นักประวัติศาสตร์บางคนเช่นโจไซยาห์ ซี. รัสเซลล์ (ค.ศ. 1958) ตั้งข้อเสนอว่ายุโรปทั้งหมดสูญเสียประชากรไปราว 50 ถึง 60% ระหว่างปี ค.ศ. 541 ถึงปี ค.ศ. 700 หลังจากปี ค.ศ. 750 โรคระบาดใหญ่ก็มิได้เกิดขึ้นในยุโรปอีกจนกระทั่งมาถึงการระบาดของกาฬโรคครั้งใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 14",
"title": "ต้นสมัยกลาง"
},
{
"docid": "6636#41",
"text": "แบบจำลองด้านจักรวาลวิทยาในปัจจุบันที่ใช้อธิบายเอกภพในยุคเริ่มต้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีบิกแบง เชื่อว่าประมาณ 300,000 ปีหลังจากเหตุการณ์นั้น อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียมได้เริ่มก่อตัว เป็นเหตุการณ์ที่เรียกว่า recombination ไฮโดรเจนเกือบทั้งหมดมีสภาวะเป็นกลาง (ไม่มีประจุ) และดูดซับแสงไว้ ยังไม่มีดาวฤกษ์ใด ๆ ก่อตัวขึ้น ผลจากเหตุการณ์นั้นเกิดเป็นยุคที่เรียกว่า \"ยุคมืด\" (Dark Ages) ผลจากการผันผวนของความหนาแน่น (หรือความไม่แน่นอนทางแอนไอโซทรอปี) ภายในสสารยุคเริ่มต้นทำให้เกิดโครงสร้างขนาดใหญ่ขึ้นในเอกภพ มวลของสสารแบริออนเริ่มควบแน่นภายในสสารมืดที่มีอุณหภูมิต่ำ การรวมตัวของโครงสร้างในยุคเริ่มต้นนี้น่าจะทำให้เกิดเป็นดาราจักรดังที่เราเห็นในปัจจุบัน",
"title": "ดาราจักร"
},
{
"docid": "62246#16",
"text": "ดาบทหารในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีชื่อเรียกว่า \"กุนโต\" (軍刀, Guntō; มีความหมายว่า \"ดาบกองทัพ\" หรือ \"ดาบทหาร\") เป็นดาบที่ถูกผลิตขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2411 และสิ้นสุดการผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2488 ซึ่งถือว่าเป็นยุคใหม่ เป็นดาบที่ทำเพื่อการสงคราม ผลิตจำนวนมาก ยังคงความคมกริบ แต่ไม่ประณีต และไม่มีขั้นตอนการทำอย่างประเพณีโบราณ ดาบรุ่นนี้ตกค้างอยู่ในแถบอินโดจีนจำนวนมากหลังจากสงครามสิ้นสุด ซึ่งอาจจะพบได้ในประเทศพม่าและประเทศไทย ถูกฝังดินอยู่กลางป่าหรือในถ้ำตามเส้นทางเดินทัพของทหารญี่ปุ่น",
"title": "คาตานะ"
},
{
"docid": "41295#1",
"text": "เมื่อการต่อสู้ในสงครามดาบศักดิ์สิทธิ์ที่เกิดขึ้นมาหลายครั้งหลายคราตั้งแต่ในยุคอดีตได้จบสิ้นลง เหล่านักรบผู้กล้าและวิญญาณในสังกัดของตนก็จะเข้าจำศีลเพื่อพักผ่อน และจะตื่นขึ้นมาต่อสู้กันอีกรั้งในอีกหลายร้อยปีให้หลัง เพื่อชิงตำแหน่งผู้พิชิต ที่มีความเชื่อกันว่า ผู้พิชิต จะเป็นผู้สร้างเมืองในอุดมคติสำหรับทุกคน",
"title": "มฤตยูเหนือนรก"
}
] |
1811 | การทารุณเด็กทางเพศต่อเด็กผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราวกี่เปอร์เซ็นต์? | [
{
"docid": "405824#4",
"text": "ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย[17] ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น \"เพื่อน\"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า[18] ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง[18][19][20](โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ[21] แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว[22][23] และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก[22][24][25]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
}
] | [
{
"docid": "405824#10",
"text": "งานศึกษาหลายงานพบว่า 51%-79% ของเด็กเหยื่อมีอาการทางจิต[47][56][57][58][59] อาการมีโอกาสรุนแรงเพิ่มขึ้นถ้าผู้กระทำเป็นญาติ ถ้ามีการร่วมเพศหรือความพยายามที่จะร่วมเพศ หรือถ้ามีการขู่หรือใช้กำลัง[60] ระดับความรุนแรงของอาการอาจมีอิทธิพลจากองค์ต่าง ๆ เช่น ความลึกในการล่วงล้ำ ระยะเวลาและความถี่ของทารุณกรรม และการใช้กำลัง[15][28][61][62] รอยด่างทางสังคมอาจเพิ่มปัญหาทางใจต่อเด็ก[62][63] แต่ผลเสียหายมีโอกาสน้อยลงสำหรับเด็กที่ได้รับการสนับสนุนทางครอบครัวที่ดี[64][65]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "339055#10",
"text": "งานศึกษาโดยกรมตำรวจปี 2550 ในประเทศไอร์แลนด์แสดงภาพที่ร้ายแรงที่สุดจากตัวอย่างกว่า 100 คดีที่เกี่ยวข้องกับภาพอนาจารเด็ก\nภาพร้ายแรงที่สุด 44% เป็นรูปเปลือยหรือออกท่าเร้าอารมณ์, 7% แสดงกิจกรรมทางเพศระหว่างเด็ก,\n7% แสดงกิจกรรมทางเพศที่ไม่มีการล่วงล้ำระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่,\n37% แสดงกิจกรรมทางเพศที่มีการล่วงล้ำระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่, 5% เป็นภาพแบบซาดิสม์หรือเกี่ยวข้องกับสัตว์\nเหยื่อคนหนึ่งชื่อว่า มาชา แอลเล็นถูกรับเป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากสหภาพโซเวียตโดยชายชาวอเมริกันผู้ทารุณเธอทางเพศเป็นเวลา 5 ปีแล้วโพ้สต์ภาพของเธอทางอินเทอร์เน็ต\nเธอได้ให้การต่อหน้ารัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกาว่า เธอปวดร้าวมากแค่ไหนต่อภาพทารุณกรรมของเธอที่ยังถูกเผยแพร่สืบ ๆ ไป โดยเธอมีจุดประสงค์เพื่อแสดงตัวอย่างจริงของเหยื่อทางสถิติที่แม้น่าเศร้า แต่อาจจะดูเป็นเรื่องทางนามธรรมและไร้ตัวตน และเพื่อที่จะช่วยผ่านกฎหมายที่ใช้ชื่อของเธอ\n\"กฎหมายของมาชา\" ซึ่งรวมอยู่ในกฎหมาย (Adam Walsh Child Protection and Safety Act) ปี 2549 มีมาตราที่ให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 หรือมากกว่านั้นสามารถฟ้องคดีแพ่ง ต่อบุคคลที่ดาวน์โหลดภาพลามกอนาจารที่ถ่ายเมื่อยังเป็นเด็กของตน\nแต่ว่า \"ดาวน์โหลด\" ในที่นี้รวมเอาการดูที่ไม่ได้ดาวน์โหลดมาที่คอมฯ อย่างตั้งใจ และได้มีการดำเนินคดีอย่างสำเร็จผลโดยใช้ข้อมูลที่ยังหลงเหลือบนคอมของผู้ทำผิด",
"title": "สื่อลามกอนาจารเด็ก"
},
{
"docid": "405824#48",
"text": "อัตราการทำผิดซ้ำของผู้ทำผิดทางเพศ ต่ำกว่าประชากรผู้กระทำผิดทั่วไป[147] โดยมีค่าประเมินอัตราต่าง ๆ กัน งานวิจัยหนึ่งพบว่า ผู้ทำผิด 42% ทำผิดซ้ำหลังจากปล่อยตัวแล้วเป็นอาชญากรรมทางเพศ อาชญากรรมรุนแรง หรือทั้งสองอย่าง ความเสี่ยงการทำผิดอีกสูงสุดในช่วง 6 ปีแรกหลังจากปล่อยตัว แต่ก็ดำรงเป็นอัตราสำคัญแม้ 10-31 ปีให้หลัง โดยมี 23% ทำผิดอีกในช่วงเวลานั้น[148] งานวิจัยในรัฐแคลิฟอร์เนียในปี 1965 พบการทำผิดอีกที่อัตรา 18.2% สำหรับเหยื่อเพศตรงกันข้าม และ 34.5% สำหรับเหยื่อเพศเดียวกันหลังจากการปล่อยตัว 5 ปี[149]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764178#47",
"text": "ความโน้มเอียงในการต่อต้านสังคมโดยทั่วไป การมีอารมณ์ทางเพศสูง และการเมาสุรา[99] เนื่องจากการทารุณเด็กทางเพศไม่ใช่เป็นตัวบ่งชี้อัตโนมัติว่าผู้กระทำผิดเป็นผู้ใคร่เด็ก จึงสามารถแยกผู้ทำผิดได้เป็น 2 ประเภท คือ ผู้ใคร่เด็กและที่ไม่ใช่[100] (หรือชอบเด็กหรือทำตามสถานการณ์[8]) อัตราประเมินของโรคใคร่เด็กในผู้ทำร้ายเด็กทางเพศที่จับได้อยู่ระหว่างประมาณ 25-50%[101] งานศึกษาปี 2006 พบว่า ผู้ทำร้ายเด็กทางเพศที่เป็นตัวอย่างงาน มีผู้ใคร่เด็กในอัตรา 35%[102] แต่ว่าผู้ทำผิดฐานร่วมประเวณีกับญาติสนิทที่เป็นผู้ใคร่เด็กด้วย ดูเหมือนจะไม่สามัญ[103] โดยเฉพาะพ่อหรือพ่อเลี้ยงที่ทำผิด[104] ในงานศึกษาในสหรัฐกับชายผู้กระทำผิดทางเพศ 2,429 คนที่จัดว่าเป็นผู้ใคร่เด็ก มีเพียง 7% ที่แจ้งว่าจำกัดเฉพาะต่อเด็กเท่านั้น ซึ่งแสดงว่า ผู้ทารุณเด็กทางเพศจำนวนมากหรือโดยมากจะตกอยู่ในแบบที่ไม่จำกัดเฉพาะเด็ก[9]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "405824#18",
"text": "งานวิจัยแสดงว่า ความเครียดแบบบาดเจ็บ (traumatic stress) รวมทั้งความเครียดจากถูกทารุณกรรมทางเพศ มีผลเป็นความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ในการทำงานและพัฒนาการของสมอง[79][80] งานศึกษาหลายงานเสนอว่า ทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กแบบรุนแรง อาจมีผลเสียหายต่อพัฒนาการทางสมอง งานวิจัยในปี ค.ศ. 1998 พบว่า \"เด็กที่ถูกทารุณกรรมมีสัญญาณแบบ coherence ในสมองซีกซ้ายที่สูงกว่า และมีอสมมาตรที่กลับข้าง คือ สัญญาณ coherence ในสมองซีกซ้ายสูงกว่าในสมองซีกขวาอย่างสำคัญ\"[81] งานวิจัยปี ค.ศ. 2002 พบคลื่น NMR ที่ผิดปกติ (มีช่วงเวลา transverse relaxation ที่ผิดปกติ) ในเขต cerebellar vermis ของผู้ใหญ่ผู้ถูกทารุณกรรมในวัยเด็ก[82] งานวิจัยปี ค.ศ. 1993 ของ Teicher et al พบโอกาสสูงขึ้นของ \"อาการคล้ายลมชักในสมองกลีบขมับ\" ของเหยื่อ และความสัมพันธ์กับขนาดคอร์ปัส คาโลซัมที่ลดลง[83] งานวิจัยอื่น ๆ พบความสัมพันธ์กับปริมาตรฮิปโปแคมปัสข้างซ้ายที่ลดลง[84] ส่วนงานในปี 1993 อีกงานหนึ่งพบความผิดปกติทางสรีรวิทยาไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น[85]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764158#24",
"text": "นักมานุษยวิทยาคนหนึ่งกล่าวว่า สังคมโดยมากมีความเห็นเชิงลบเกี่ยวกับการค้าประเวณีเด็ก ส่วนหนึ่งเพราะมองว่าเด็กถูกทอดทิ้งหรือขายโดยผู้ปกครองและครอบครัว\nองค์การแรงงานระหว่างประเทศรวมการค้าประเวณีเด็กในรายการ \"รูปแบบแรงงานเด็กที่แย่ที่สุด\"\nงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กในปี 1996 เรียกการค้าประเวณีเด็กว่า \"อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ\" \"การทรมาน\" และ \"การเป็นทาส\"\nผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์รัฐบาลกลางสหรัฐผู้เชี่ยวชาญเรื่องการฉวยประโยชน์จากเด็กและการค้ามนุษย์ พร้อมกับผู้ร่วมเขียนที่เป็นศาสตราจารย์ทางกฎหมายกล่าวว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องสะเทือนอารมณ์ที่มีมุมมองหลายด้านเกี่ยวกับการป้องกัน คือ\nนักข่าวสืบสวนคนหนึ่งกล่าวว่า การเหมารวมเรื่องการค้าประเวณีเด็กดำเนินมาเรื่อย ๆ จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1990\nจนกระทั่งเมื่อเกิดองค์กรต่อต้านขึ้นองค์กรแรก และเมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจเริ่มทำการเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิด\nนักอาชญาวิทยาคนหนึ่งกล่าวว่า ความเป็นห่วงเรื่องโรคใคร่เด็กและการทารุณเด็กทางเพศ และทัศนคติเกี่ยวกับเยาวชนที่เปลี่ยนไป ทำให้ประชาชนเห็นความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างการค้าประเวณีของผู้ใหญ่กับของเด็ก\nคือ แม้ว่าประชาชนจะไม่ชอบใจการค้าประเวณีของผู้ใหญ่ แต่เห็นการค้าของเด็กว่ารับไม่ได้\nนอกจากนั้นแล้ว เด็กยังมองว่าเป็นผู้ \"ไร้เดียงสา\" หรือ \"บริสุทธิ์\" และการถูกค้าประเวณีจึงเทียมเท่ากับถูกจับเป็นทาส\nโดยทัศนคติที่เปลี่ยนไปเช่นนี้ ประชาชนจึงเริ่มเห็นเด็กในการค้าเพศว่าเป็นเหยื่อแทนที่จะเป็นผู้กระทำผิด\nเป็นผู้ควรที่จะฟื้นฟูสภาพแทนที่จะลงโทษ",
"title": "การค้าประเวณีเด็ก"
},
{
"docid": "405824#6",
"text": "การทารุณเด็กทางเพศสามารถมีผลทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งโรคจิตต่าง ๆ ต่อ ๆ มาในชีวิต[15][28] อาการและผลรวมทั้งภาวะซึมเศร้ารุนแรง[10][29][30] ความวิตกกังวล[11] ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorders)[31] การมีความเคารพตน (self-esteem) ต่ำ[31] การเกิดโรคกายเหตุจิต (somatization)[30] ความผิดปกติในการนอน (sleep disturbances)[32][33] โรคดิสโซสิเอทีฟ (Dissociative identity disorder), และโรควิตกกังวล รวมทั้งความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD)[12][34] แม้ว่าเด็กอาจจะแสดงพฤติกรรมย้อนวัยเช่น การดูดนิ้วหัวแม่มือ และการถ่ายรดที่นอน แต่อาการที่ชัดเจนที่สุดของการถูกทารุณกรรมทางเพศก็คือ การเล่นเลียนแบบทางเพศ และการมีความรู้ความสนใจทางเพศที่ไม่สมควรต่อวัย[35][36] เด็กอาจจะไม่สนใจไปโรงเรียนหรือเล่นกับเพื่อน[35] และมีปัญหาด้านการเรียนการประพฤติหลายอย่างรวมทั้งการกระทำทารุณโหดร้ายต่อสัตว์[37][38][39][40] การมีสมาธิสั้น (ADHD) ความผิดปกติทางความประพฤติ (conduct disorder) และความผิดปกติแบบท้าทายชอบทำตรงกันข้าม (oppositional defiant disorder)[31] ในช่วงวัยรุ่น อาจจะเกิดตั้งครรภ์และพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยง[41] เหยื่อทารุณกรรมแจ้งการทำร้ายตนเองเกือบถึง 4 เท่าของปกติ[42]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#36",
"text": "การถูกทารุณกรรมทางเพศ สัมพันธ์กับปัญหาพฤติกรรมที่ยังไม่นับว่าเป็นอาการ (sub-clinical) เช่น ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่ออีกในวัยรุ่น ความต้องการทางเพศที่กลับไปกลับมาระหว่างมากกับไม่มี และความคิดบิดเบือนกี่ยวกับทารุณกรรมทางเพศ (เช่น เป็นเรื่องสามัญและเกิดกับทุกคน) เมื่อมาหาหมอครั้งแรก คนไข้อาจจะตระหนักถึงเหตุการณ์ทารุณกรรม แต่ประเมินเหตุการณ์อย่างบิดเบือน เช่นเชื่อว่า เป็นเรื่องไม่แปลกอะไร บ่อยครั้ง เหยื่อจะไม่เชื่อมการถูกทารุณกรรมกับโรคที่เป็นอยู่ปัจจุบัน",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#46",
"text": "ในการบังคับใช้กฎหมายในสหรัฐอเมริกา คำว่า คนใคร่เด็ก (pedophile) บางครั้งใช้กับจำเลยหรือผู้กระทำผิดในเรื่องการละเมิดทางเพศต่อ \"เด็ก\" โดยใช้คำนิยามว่า \"เด็ก\" ตามนิยมของสังคม ซึ่งรวมทั้งเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์และวัยรุ่นอายุอ่อนกว่าอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ (บ่อยครั้ง 18 ปี)[21] แต่ว่า ผู้ละเมิดทางเพศต่อ \"เด็ก\" ทั้งหมดไม่ใช่คนใคร่เด็ก และคนใคร่เด็กทุกคน ก็ไม่ใช่ว่าต้องทารุณเด็กทางเพศ[22][24][25] เพราะเหตุเหล่านี้ นักวิชาการจึงแนะนำไม่ให้เรียกผู้ละเมิดทางเพศต่อเด็กทั้งหมดว่าเป็น \"pedophile\" อันเป็นคำที่ไม่ตรง[139][140]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764140#3",
"text": "CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ",
"title": "การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก"
},
{
"docid": "405824#68",
"text": "การแจ้งทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กชายโดยผู้ทำผิดทั้งชายและหญิงเชื่อว่า ต่ำจากความจริงโดยสำคัญ เนื่องจากปัญหาการเหมารวมเรื่องเหยื่อทางพศ การปฏิเสธความจริงของสังคม การลดความสำคัญของเหยื่อผู้ชาย และงานวิจัยในเรื่องนี้ที่มีน้อย[202] การตกเป็นเหยื่อของแม่หรือญาติผู้หญิงเป็นเรื่องที่ศึกษากันน้อยและมีการแจ้งน้อย แต่ว่า ทารุณกรรมของเด็กหญิงโดยแม่ ญาติหรือคนอื่นที่เป็นหญิง ก็ยังเริ่มจะมีการวิจัยและรายงานแม้ว่าทารุณกรรมของหญิงต่อเด็กหญิงจะเป็นเรื่องต้องห้ามทางสังคม ในงานศึกษาที่ถามนักเรียนเรื่องการละเมิดทางเพศ นักเรียนรายงานผู้ทำผิดเพศหญิงในระดับที่สูงกว่าการรายงานของผู้ใหญ่[203] มีการอ้างว่ารายงานที่ต่ำกว่าความจริงเช่นนี้ มีเหตุมาจากการปฏิเสธทางสังคมว่ามีทารุณกรรมทางเพศที่ทำโดยหญิง[204] เพราะว่า \"ผู้ชายถูกเลี้ยงให้เชื่อว่าตนควรจะรู้สึกภาคภูมิใจหรือชอบใจความสนใจทางเพศจากผู้หญิง\"[128] นักข่าวในเรื่องสิทธิสตรีผู้มีชื่อเสียงคนหนึ่งกล่าวว่า การแจ้งต่ำกว่าความจริง มีส่วนจากการที่ผู้คนรวมทั้งลูกขุน ไม่สามารถมองผู้ชายว่าเป็น \"เหยื่อจริง ๆ\"[205]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "770239#11",
"text": "\"การเตรียมเด็กในพื้นที่ (localised grooming)\" เป็นรูปแบบหนึ่งของการฉวยประโยชน์ทางเพศ โดยสื่อมวลชนเรียกว่า \"การเตรียมเด็กในถนน (on street grooming)\" ที่ผู้ทำผิดจะตระเตรียมเด็กแล้วฉวยประโยชน์ทางเพศ โดยที่ในเบื้องต้น (ผู้ทำผิดและเด็ก) ได้พบกันในสถานที่นอกบ้าน\nซึ่งมักจะเป็นที่สาธารณะ เช่นในสวนสาธารณะ ในโรงหนัง ในถนน หรือว่าในบ้านของเพื่อน\nบ่อยครั้งผู้ทำผิดหลายคนจะทำงานร่วมกัน โดยสร้างความสัมพันธ์กับเด็กหรือกับเด็กหลายคนก่อนที่จะฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็ก\nเหยื่อของการตระเตรียมเด็กเช่นนี้อาจจะเชื่อว่าคนทำผิดเป็นแฟนที่มีอายุมากกว่า\nและเหยื่ออาจจะแนะนำให้กลุ่มผู้ทำผิดรู้จักกับเพื่อน ซึ่งอาจจะถูกฉวยประโยชน์ทางเพศในที่สุดเหมือนกัน\nการทำผิดอาจจะเกิดขึ้นในหลายที่หลายสถานในพื้นที่ และหลายครั้งหลายคราว\nหน่วย CEOP ใช้คำว่า \"Localised grooming\" ในการขอข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่บริการอื่น ๆ เพื่อกำหนดข้อมูลที่เราอยากจะได้",
"title": "การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#44",
"text": "ผู้ทำผิดอาจใช้ความคิดแบบบิดเบือนซึ่งอำนวยให้ทำผิดได้ เช่น ลดความสำคัญของทารุณกรรม (เช่นบอกว่า เป็นเรื่องเล็ก) โทษเหยื่อ หรือแก้ตัว[136]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#38",
"text": "ผู้กระทำผิดเป็นชายมากกว่าเป็นหญิง แม้ว่าอัตราส่วนจะต่าง ๆ กันในงานศึกษาต่าง ๆ เปอร์เซนต์ของผู้กระทำผิดหญิงจากผู้กระทำผิดทั้งหมดที่มาถึงกระบวนการยุติธรรมอยู่ที่ระหว่าง 1.2-8%[127] ส่วนงานศึกษาเกี่ยวกับการกระทำผิดทางเพศของผู้ให้การศึกษาในโรงเรียนสหรัฐ แสดงผลต่าง ๆ กันที่อัตรา 4%-43% ว่าเป็นหญิงกระทำความผิด โดยที่เหลือเป็นชาย[128] ส่วนงานวิจัยปี 1993 พบว่า ในตัวอย่าง 4,402 ของผู้ถูกศาลตัดสินเป็นผู้กระทำผิดทางเพศต่อเด็ก 0.4% เป็นหญิง[129] ส่วนอีกงานศึกษาหนึ่งที่ไม่ได้จำกัดแต่คนที่มาหาหมอ (nonclinical) พบว่า ในตัวอย่างบุคคลที่ถูกทารุณกรรม ประมาณ 1/3 เกิดจากผู้กระทำผิดหญิง[130]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#60",
"text": "เด็กทั้งหมดในโลก 19% อยู่ในประเทศอินเดีย[171][172] เป็นอัตราประชากร 42% ของอินเดีย[173] ในปี ค.ศ. 2007 กระทรวงพัฒนาหญิงและเด็กตีพิมพ์บทความ \"Study on Child Abuse: India 2007 (งานศึกษาเรื่องทารุณกรรมต่อเด็กในอินเดียปี 2007)\" ซึ่งสุ่มตัวอย่างเด็ก 12,447 คน เยาวชน 2,324 คน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ 2,449 คนในรัฐ 13 รัฐ แล้วตรวจสอบรูปแบบต่าง ๆ ของทารุณกรรมต่อเด็กรวมทั้ง ทารุณกรรมทางกาย ทารุณกรรมทางเพศ ทารุณกรรมทางจิต และการละเลยไม่ใส่ใจเด็กหญิง ในกลุ่ม 5 กลุ่ม คือ เด็กในครอบครัว เด็กในโรงเรียน เด็กในที่ทำงาน เด็กตามถนน และเด็กในสถาบันต่าง ๆ สาระหลักที่พบรวมทั้ง[171] เด็ก 53.22% รายงานทารุณกรรมทางเพศ และในบรรดาเด็กเหล่านั้น 52.94% เป็นชาย และ 47.06% เป็นหญิง รัฐอานธรประเทศ อัสสัม พิหาร และเมืองเดลี รายงานเปอร์เซนต์ทารุณกรรมทางเพศสูงสุดในทั้งเด็กชายเด็กหญิง และมีการทำร้ายทางเพศ (sexual assault) ในระดับสูงสุด 21.90% ของเด็กที่ตอบงานสำรวจประสบกับทารุณกรรมแบบรุนแรง 5.69% ถูกทำร้ายทางเพศ (sexual assault) และ 50.76% รายงานทารุณกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ เด็กตามถนน ในที่ทำงาน และที่ดูแลโดยสถาบัน รายงานการถูกทำร้ายทางเพศ (sexual assault) ในระดับสูงสุด งานวิจัยแสดงว่า คนทำร้าย 50% เป็นคนรู้จัก หรืออยู่ในสถานะที่ควรจะเชื่อใจได้หรือที่รับผิดชอบเด็ก และเด็กส่วนมากไม่ได้รายงานเรื่องที่เกิดขึ้นกับใครอื่น เกี่ยวกับกฎหมายทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กโดยเฉพาะที่ปฏิบัติต่อเด็กแยกจากผู้ใหญ่ในกรณีกระทำผิดทางเพศ แม้ว่าจะไม่มีกฎหมายเช่นนี้เป็นเวลานาน แต่ต่อมารัฐสภาอินเดียก็ได้ผ่าน \"กฎหมายการป้องกันเด็กจากการกระทำผิดทางเพศ\" ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2012 ซึ่งมีผลต่อมาวันที่ 14 พฤศจิกายน 2012[174]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764126#1",
"text": "ตามการศึกษาเรื่องเหตุ เด็กเล็ก ๆ ก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ปกติจะไม่รู้เรื่องกิจกรรมทางเพศโดยเฉพาะ ๆ ถ้าไม่มีเหตุภายนอก\nและดังนั้น เด็กที่ริเริ่มหรือชักชวนให้เด็กอื่นทำกิจกรรมทางเพศ\nบ่อยครั้งเคยได้ตกเป็นเหยื่อของผู้ใหญ่\nหรือของเด็กอีกคนหนึ่งที่ก็เคยได้ตกเป็นเหยื่อมาก่อนเช่นกัน\nเด็กเกินกว่าครึ่งเป็นเหยื่อของผู้กระทำผิดมากกว่าหนึ่ง\nในบางกรณี เด็กผู้กระทำผิดอาจจะประสบกับสื่อลามกหรือเห็นกิจกรรมทางเพศของผู้ใหญ่บ่อย ๆ ตั้งแต่อายุน้อย ๆ ที่ปัจจุบันนี่อาจพิจารณาว่า เป็นรูปแบบของการทารุณเด็กทางเพศอย่างหนึ่ง",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศโดยเด็ก"
},
{
"docid": "764178#2",
"text": "ส่วนโดยนิยมของชาวตะวันตก คำว่า pedophilia มักจะใช้กับความสนใจทางเพศต่อ \"เด็ก\" ทุกอย่าง หรือการทารุณเด็กทางเพศ[5][6] การใช้คำเช่นนี้เป็นการผสมความรู้สึกทางเพศต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับการทารุณเด็กทางเพศ และไม่แยกแยะระหว่างความรู้สึกต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับเด็กวัยหลังจากนั้นที่ยังเรียกว่าเด็กตามกฎหมาย[7][8] นักวิจัยแนะนำไม่ให้ใช้คำอย่างไม่แม่นยำเช่นนี้ เพราะแม้ว่าคนที่ทารุณเด็กทางเพศบางครั้งอาจจะมีความผิดปกตินี้[6][9] แต่ผู้ทารุณเด็กทางเพศอาจจะไม่ใช่คนใคร่เด็ก นอกจากจะมีความสนใจทางเพศ<i data-parsoid='{\"dsr\":[4960,4991,2,2]}'>เป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ</i>ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์[7][10][11] และวรรณกรรมวิชาการก็แสดงว่า มีคนใคร่เด็กที่ไม่ทำร้ายเด็กทางเพศ[5][12][13]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "764178#53",
"text": "เขากล่าวถึงกรณีใคร่เด็กหลายกรณีในหญิงผู้ใหญ่ (โดยได้ข้อมูลจาก น.พ.อีกท่านหนึ่ง) และพิจารณาการทารุณเด็กชายโดยชายรักร่วมเพศว่าเกิดน้อยมาก[110] แล้วกล่าวเรื่องนี้ให้ชัดเจนขึ้นว่า ชายผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติทางการแพทย์หรือทางประสาทแล้วทารุณเด็กชาย จะไม่ใช่คนใคร่เด็กจริง ๆ และตามสังเกตการณ์ของเขา เหยื่อของชายเช่นนี้มักจะมีอายุมากกว่าและถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์แล้ว เขายังลงในรายการ pseudopaedophilia (โรคใคร่เด็กเทียม) ที่เป็นอาการซึ่งสัมพันธ์กันที่ \"บุคคลได้สูญเสียอารมณ์ทางเพศต่อผู้ใหญ่ผ่านการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง แล้วจึงหันไปหาเด็กเพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน\" และอ้างว่า สภาวะเช่นนี้มีมากกว่า[110]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "405824#37",
"text": "ผู้กระทำผิดมีโอกาสที่จะเป็นญาติหรือคนรู้จักกับเหยื่อ สูงกว่าจะเป็นคนแปลกหน้า[124] งานศึกษาระหว่างปี 2006-2007 ในรัฐไอดาโฮ เกี่ยวกับกรณี 430 กรณีพบว่า เด็กผู้กระทำผิดรู้จักกับเหยื่อ (เป็นคนรู้จัก 46% เป็นญาติ 36%)[125][126]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#23",
"text": "ความแพร่หลายของการทารุณเด็กทางเพศโดยผู้ปกครองยากที่จะประเมินเพราะการเก็บความลับและการรักษาความเป็นส่วนตัว โดยมีคนประเมินว่า คนอเมริกัน 20 ล้านคนเป็นเหยื่อของทารุณกรรมรูปแบบนี้ในวัยเด็ก[91]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "770239#12",
"text": "แม้ว่าแนวคิดเรื่องการเตรียมเด็ก (แม้ว่าจะไม่ได้ใช้คำเช่นนี้) ในสหราชอาณาจักรจะมีตั้งแต่ในกฎหมายข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อปราบปรามการค้าทาสขาว (International Agreement for the suppression of the White Slave Traffic) ในปี พ.ศ. 2453 แต่ก็ยังไม่ได้บัญญัติคำนี้จนกระทั่งราวปี 2533\nมีภาพยนตร์สารคดีถ่ายทอดทางทีวีในเดือนสิงหาคม 2546 ที่รายงานรายละเอียดของการสืบสวนของตำรวจและหน่วยบริการทางสังคมอื่น ๆ เรื่องเยาวชนเอเชียมุสลิมชาย ผู้ได้ตั้งเป้าหาเหยื่อที่มีอายุต่ำกว่าอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้เพื่อเซ็กซ์ เพื่อขายยา และเพื่อให้ค้าประเวณี\nในคดีตระเตรียมเด็กในปี 2553 (Rotherham child sexual exploitation scandal) มีชายมุสลิมเชื้อสายชาวปากีสถาน 5 คนที่ถูกตัดสินจำคุกฐานทารุณเด็กทางเพศผ่านการตระเตรียมเด็กในถนน โดยเด็กเหยื่อมีอายุน้อยที่สุด 12 ขวบ ส่วนในปี 2555 แก๊งค้าเด็ก 10 คน เป็นชายเชื้อสายชาวปากีสถานโดยมาก ถูกตัดสินจำคุกฐานทารุณเด็กทางเพศแบบต่าง ๆ โดยเจ้าหน้าที่นับเด็กที่เป็นเหยื่อได้ถึง 47 คน และมีรายงานว่าแก๊งได้ชักชวนเด็กที่มีอายุน้อยที่สุด 13 ปี",
"title": "การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ"
},
{
"docid": "764178#49",
"text": "ตามนักวิชาการบางท่าน[107] มีความแตกต่างระหว่างลักษณะของผู้ทำร้ายเด็กที่ใคร่เด็ก และผู้ทำร้ายเด็กอื่น ๆ ค่อนข้างมาก คือ ผู้ทำร้ายเด็กอื่น ๆ มักจะทำผิดเมื่อเครียด ทำผิดเมื่ออายุมากกว่า และมีเหยื่อบ่อยครั้งเป็นสมาชิกครอบครัวโดยมีจำนวนน้อยกว่า ในขณะที่ผู้ทำร้ายเด็กผู้ใคร่เด็กมักจะทำผิดเริ่มตั้งแต่อายุน้อย มีเหยื่อเป็นจำนวนมากกว่าและบ่อยครั้งไม่ใช่สมาชิกครอบครัว มีแรงจูงใจจากภายในที่จะทำผิด (ไม่ใช่เป็นเพราะสถานการณ์) และมีค่านิยมและความเชื่อที่สนับสนุนการใช้ชีวิตแบบกระทำผิด งานศึกษาหนึ่งพบว่า ผู้ทำร้ายเด็กที่ใคร่เด็กมีเหยื่อมัธยฐานที่ 1.3 คน สำหรับผู้ที่มีเหยื่อเป็นหญิง และ 4.4 คนสำหรับผู้ที่มีเหยื่อเป็นชาย[101] แต่ว่า ผู้ทำร้ายเด็กทุกคน ไม่ว่าจะใคร่เด็กหรือไม่ ใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อที่จะเข้าถึงเด็กเพื่อเพศสัมพันธ์ บางคนปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อให้ร่วมมือ (child grooming) โดยให้ความสนใจและของขวัญ บางคนขู่ขวัญ บางคนใช้เหล้า ยาเสพติด หรือกำลังทางกาย[108]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "764126#0",
"text": "การทารุณเด็กทางเพศโดยเด็ก () หรือ ทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กโดยเด็ก เป็นรูปแบบหนึ่งของการทารุณเด็กทางเพศที่เด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ถูกทารุณทางเพศโดยเด็กหรือเด็กวัยรุ่นอื่น ๆ ที่ผู้ใหญ่ไม่มีส่วนร่วม\nมีนิยามว่าเป็นกิจกรรมทางเพศระหว่างเด็ก ที่เกิดขึ้นโดย \"ไม่ยินยอม ไม่เท่าเทียม หรือโดยบีบบังคับ\"\nซึ่งรวมทั้งสถานการณ์ที่เด็กคนหนึ่งใช้กำลังกาย คำข่มขู่ การหลอกลวง หรือกลอุบายทางจิตวิทยา เพื่อให้เหยื่อร่วมมือ\nเป็นกิจกรรมที่ต่างจากการเล่นทางเพศ ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องเพศ และการสำรวจทางเพศของเด็กปกติ (เช่น เล่นเป็นหมอ)\nเพราะว่าเป็นการจงใจเพื่อกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ รวมถึงการให้ถึงความเสียวสุดยอด\nในหลายกรณี เด็กผู้ริเริ่มจะฉวยประโยชน์อาศัยความไร้เดียงสาของเด็กอีกคนหนึ่งที่เป็นเหยื่อ ผู้ไม่รู้ว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้น\nเป็นเรื่องที่สามารถทำโดยพี่น้องของเหยื่อ โดยเป็นทารุณกรรมระหว่างพี่น้อง (intersibling abuse)",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศโดยเด็ก"
},
{
"docid": "405824#43",
"text": "ไม่มีองค์ประกอบที่เป็นเหตุที่สรุปชัดเจนแล้ว[134] ประสบการณ์ถูกทารุณกรรมเมื่อเป็นเด็กก่อนหน้านี้สันนิษฐานว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงใหญ่ แต่งานวิจัยต่อมาไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์โดยเหตุผล เพราะว่า เด็กที่ถูกทารุณกรรมโดยมากไม่ได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่กระทำความผิด และผู้ใหญ่ผู้กระทำความผิดโดยมากก็ไม่ได้แจ้งว่าถูกทารุณกรรมตอนเป็นเด็ก ดังนั้น สำนักงานตรวจสอบรัฐบาลของสหรัฐ (Government Accountability Office) สรุปว่า \"วัฏจักรของทารุณกรรมทางเพศยังไม่มีหลักฐาน\" ก่อนปี 1996 มีความเชื่อในทฤษฎีว่า มีวัฏจักรของทารุณกรรม เพราะว่า งานวิจัยโดยมากในตอนนั้นเป็นแบบสำรวจย้อนหลัง คือ เป็นการถามผู้กระทำผิดว่า ได้ประสบเหตุการณ์ทารุณกรรมในอดีตหรือไม่ ถึงกระนั้น งานวิจัยแบบนั้นโดยมากก็ยังพบว่า ผู้ใหญ่ผู้ทำผิดตอบว่า \"ไม่\" ถึงแม้งานวิจัยจะแสดงความต่าง ๆ กันว่ามีผู้ทำผิดที่ถูกทารุณกรรมเท่าไร คือตั้งแต่ 0-79% ต่อมางานแบบตามแผน (prospective longitudinal strudy) ที่ศึกษาเด็กที่มีประวัติบันทึกว่าถูกทารุณกรรมสัมพันธ์กับอัตราที่โตเป็นผู้ใหญ่กระทำความผิด แสดงว่า ทฤษฎีวัฏจักรทารุณกรรม ไม่ใช่เป็นคำตอบที่ถูกต้องว่า ทำไมจึงมีการประทุษร้ายเด็ก[135]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "405824#40",
"text": "งานวิจัยต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 และ 1980 เริ่มจัดประเภทผู้ทำผิดโดยแรงจูงใจและลักษณะ งานปี 1978 จัดผู้ทำผิดออกเป็นสองพวก คือ \"fixated\" (คงสภาพ) และ \"regressed\" (กลับไปกลับมา)[132] fixated คือผู้ทำผิดชอบใจแต่เด็กโดยหลัก เปรียบเทียบกับ regressed ที่ปกติมีความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ และบางครั้งแต่งงานด้วยซ้ำ งานนี้แสดงด้วยว่า รสนิยมทางเพศของผู้ใหญ่ไม่เกี่ยวกับเพศของเหยื่อที่เป็นเป้าหมาย คือ ชายที่ทารุณกรรมเด็กชายบ่อยครั้งมีความสัมพันธ์กับหญิงผู้ใหญ่[132]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764178#30",
"text": "มีบทอภิธานหลายศัพท์ที่ใช้เพื่อแยกแยก \"คนใคร่เด็กจริง ๆ\" จากผู้กระทำผิดที่ไม่ใช่คนใคร่เด็กหรือไม่จำกัดเฉพาะเด็ก หรือเพื่อแยกแยะประเภทของผู้กระทำผิดแบบต่อเนื่อง โดยแยกตามกำลังและความจำกัดเฉพาะของความสนใจใคร่เด็ก และตามแรงจูงใจในการทำผิด (ดู ผู้กระทำความผิดทางเพศต่อเด็ก) เช่น คนใคร่เด็กแบบจำกัดเฉพาะบางครั้งเรียกว่า \"คนใคร่เด็กจริง ๆ\" คือสนใจแต่เด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์เท่านั้น โดยที่ไม่มีความสนใจทางเพศกับผู้ใหญ่ และจะสามารถมีอารมณ์เพศก็ต่อเมื่อจินตนาการหรืออยู่กับเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์หรือทั้งสอง[16] และเช่นผู้กระทำผิดที่ไม่จำกัดเพาะ บางทีเรียกว่า คนใคร่เด็กแบบไม่จำกัดเฉพาะ และบางครั้งเรียกว่าผู้กระทำผิดที่ไม่ใช่คนใคร่เด็ก แต่ว่าสองคำนี้บางครั้งก็ไม่ใช้เป็นไวพจน์ของกันและกัน (คือใช้ในความหมายที่ไม่เหมือนกัน) ผู้ทำผิดที่ไม่จำกัดเฉพาะ มีความรู้สึกทางเพศต่อทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และสามารถเกิดอารมณ์ทางเพศเพราะเหตุจากเด็กหรือผู้ใหญ่ แต่ว่าอาจจะชอบใจเด็กหรือผู้ใหญ่ทางเพศเป็นพิเศษ และถ้าชอบใจเด็กทางเพศมากกว่า (คือเป็นหลัก) ผู้กระทำผิดเช่นนี้ก็พิจารณาว่าเป็นคนใคร่เด็กเหมือนกับผู้ทำผิดที่จำกัดเฉพาะ[4][16]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "405824#21",
"text": "การสมสู่ร่วมสายโลหิตระหว่างเด็กหรือวัยรุ่น กับผู้หใญ่ที่เป็นญาติ เป็นรูปแบบทารุณกรรมต่อเด็กทางเพศที่แพร่หลายที่สุด ซึ่งมีโอกาสสูงมากที่จะทำให้เด็กเสียหาย[16] ในภาษาอังกฤษเรียกได้ด้วยว่า child incestuous abuse (การทารุณเด็กทางเพศโดยญาติสายโลหิต)[88] นักวิจัยท่านหนึ่งกล่าวว่า ผู้กระทำผิดทั่วไปต่อเด็ก 70% เป็นคนในครอบครัวที่ใกล้ชิด หรือเป็นคนที่สนิทกับคนในครอบครัวมาก[89] ในขณะที่นักวิจัยอีกท่านหนึ่งกล่าวว่า ผู้กระทำผิด 30% เป็นญาติของเหยื่อ 60% เป็นคนรู้จักกับคนในครอบครัว เช่น เพื่อนบ้าน พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนของคนในบ้าน และ 10% เป็นคนแปลกหน้า[18] การทารุณเด็กทางเพศที่ผู้กระทำเป็นญาติ จะเป็นโดยสายเลือดหรือโดยการแต่งงานก็ดี เป็นรูปแบบการสมสู่ร่วมสายโลหิตที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า \"intrafamilial child sexual abuse\" (การทารุณเด็กทางเพศโดยคนในครอบครัว)[90]",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศ"
},
{
"docid": "764178#56",
"text": "Pedophilia ไม่ใช่คำที่ใช้ในกฎหมาย[9] และการมีความสนใจทางเพศต่อเด็กอย่างเดียวก็ไม่ได้ผิดกฎหมาย[6] ในวงการบังคับใช้กฎหมาย คำว่า pedophile ใช้อย่างกว้าง ๆ รวมเอาบุคคลที่ทำผิดทางเพศต่อเหยื่อที่มีวัยต่ำกว่าอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ (บ่อยครั้งที่ 17 ปี) ซึ่งรวมอาชญากรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งการทารุณเด็กทางเพศ การข่มขืนโดยกฎหมาย (เช่นมีเพศสัมพันธ์กับเด็กต่ำกว่าอายุแม้ยินยอม) การทำผิดที่เกี่ยวข้องกับสื่อลามกอนาจารเด็ก การปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม (child grooming) การให้ความสนใจแบบไม่ต้องการจนเป็นการก่อกวน (stalking) และการแสดงลามกอนาจาร หน่วยหนึ่งของกองบัญชาการสืบสวนการทารุณเด็ก (Child Abuse Investigation Command) ของสหราชอาณาจักรที่รู้จักกันว่า \"หน่วยคนใคร่เด็ก\" มีความชำนาญพิเศษในการสืบสวนและบังคับใช้กฎหมายออนไลน์[117] หนังสือนิติเวชศาสตร์บางเล่มยังใช้คำนี้หมายถึงผู้ทำผิดที่ตั้งเป้าหมายที่เหยื่อเด็ก แม้ว่าเด็กอาจจะไม่ใช่ความสนใจทางเพศหลักของผู้ทำผิด[118] แต่ว่า เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสอบสวนกลางสหรัฐ แยกแยะระหว่างคนใคร่เด็กและผู้ทำร้ายเด็กทางเพศ[119]",
"title": "โรคใคร่เด็ก"
},
{
"docid": "764126#4",
"text": "เด็กที่ถูกทารุณโดยเด็กอื่น รวมทั้งพี่น้องของตน มีปัญหาเดียวกับเด็กที่ถูกทารุณโดยผู้ใหญ่รวมทั้งโรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า การใช้สิ่งเสพติด การฆ่าตัวตาย ความผิดปกติในการรับประทาน ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติในการนอน และความไม่เชื่อใจเพื่อนในเรื่องความสัมพันธ์\nเหยื่อบ่อยครั้งคิดว่าเรื่องนี้ปกติ รวมทั้งคิดว่าตนเป็นผู้ริเริ่ม หรือว่า ตนได้กระทำการอย่างพร้อมใจ",
"title": "การทารุณเด็กทางเพศโดยเด็ก"
}
] |
1624 | พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่เท่าไหร่ของไทย? | [
{
"docid": "4253#20",
"text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ทรงเดินทางไปถึงทวีปยุโรป การเสด็จฯ เยือนครั้งประวัติศาสตร์ในปี 2440 ถือเป็นทั้งเรื่องใหญ่และใหม่มากในสมัยนั้น",
"title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "4253#0",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระองค์ที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสวยราชสมบัติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2411 เสด็จสวรรคต เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ด้วยโรคพระวักกะ",
"title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
}
] | [
{
"docid": "4253#24",
"text": "หากไม่นับรวมรัชกาลที่ 1-4 แล้ว ถือว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ โดยเป็นสมเด็จพระบรมชนกนาถของพระมหากษัตริย์ไทย 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราชของพระมหากษัตริย์ไทยอีก 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รวมถึงยังเป็นสมเด็จพระบรมปัยกาธิราชของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร",
"title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "9091#0",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากสมเด็จพระเชษฐาธิราช สูงศักดิ์กว่า \"วังหน้า\" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช) พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษา",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "16485#18",
"text": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2411 และสืบราชบัลลังก์ต่อโดยเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ วัย 15 ชันษา เป็นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์สยามพระองค์แรกที่ทรงได้รับการศึกษาอย่างตะวันตกมาอย่างสมบูรณ์ ในตอนแรก รัชสมัยของพระองค์ถูกครอบงำโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ซึ่งมีแนวคิดอนุรักษนิยม แต่เมื่อพระองค์มีพระชนมายุครบ 20 พรรษา พระองค์ก็ทรงเข้าปกครองโดยตรง พระองค์ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และสภาที่ปรึกษาในพระองค์ ระบบศาลและสำนักงบประมาณอย่างเป็นทางการ พระองค์ทรงประกาศว่า ความเป็นทาสจะค่อย ๆ ถูกเลิกไปและจำกัดพันธะหนี้สิน\nช่วงแรก เจ้านายและผู้มีแนวคิดอนุรักษนิยมพระองค์อื่นสามารถขัดขวางวาระการปฏิรูปของพระมหากษัตริย์ได้ แต่เมื่อเจ้านายรุ่นเก่าถูกแทนที่ด้วยเจ้านายรุ่นใหม่และได้รับการศึกษาแบบตะวันตก การขัดขวางก็จางลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างพันธมิตรอันทรงพลังในพระอนุชา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ ซึ่งพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (กระทรวงการคลังปัจจุบัน) พระองค์แรก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ผู้ทรงจัดระเบียบรัฐบาลภายในและการศึกษา และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เป็นราชเลขานุการฝ่ายต่างประเทศกว่า 38 ปี เมื่อ พ.ศ. 2430 กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการเสด็จเยือนยุโรปเพื่อทรงศึกษาระบบรัฐบาล ในการถวายความเห็น พระมหากษัตริย์ทรงจัดตั้งการปกครองแบบรัฐสภา สำนักงานตรวจสอบบัญชีและกระทรวงธรรมการ (ดูแลการศึกษา) สถานะกึ่งปกครองตนเองของเชียงใหม่สิ้นสุดลง และกองทัพถูกจัดระเบียบใหม่และทำให้ทันสมัย\nพ.ศ. 2436 เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสในอินโดจีนใช้ข้อพิพาทพรมแดนเล็กน้อยเพื่อปลุกปั่นวิกฤตการณ์ เรือปืนฝรั่งเศสปรากฏขึ้นที่กรุงเทพมหานคร และเรียกร้องให้โอนดินแดนลาวที่อยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขออังกฤษ แต่นายกรัฐมนตรีอังกฤษกราบทูลพระองค์ให้ระงับด้วยเงื่อนไขใดก็ตามที่พระองค์จะทรงได้รับ และพระองค์ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องยอมทำตาม ท่าทีเดียวของอังกฤษคือ ความตกลงกับฝรั่งเศสรับประกันบูรณภาพของสยามส่วนที่เหลือ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน สยามยอมยกการอ้างสิทธิ์เหนือรัฐฉานทางตะวันออกเฉียงเหนือของพม่าแก่อังกฤษ",
"title": "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)"
},
{
"docid": "6387#2",
"text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดสะพานเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 ซึ่งในปีนี้พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษาเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบรมอัยกาธิราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชพิธีพระชนมายุมงคลเสมอรัชกาลที่ 2 และฉลองวัดอรุณราชวรารามด้วย และเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีช้างเผือกในแผ่นดินถึง 4 เชือก จึงพระราชทานนามว่า สะพานเฉลิมหล้า ซึ่งมาจากพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และหัวเสาของสะพานออกแบบเป็นหัวช้างเผือก 4 หัว",
"title": "สะพานเฉลิมหล้า 56"
},
{
"docid": "4249#0",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า \"เจ้าฟ้ามงกุฎ\" เสด็จพระราชสมภพ ณ พระราชวังเดิม เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 43 และเป็นลำดับที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยกับสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี",
"title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "111850#1",
"text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ์ เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสัมฤทธิ์ เมื่อวันอังคาร ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 10 ปีกุน ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคมพ.ศ. 2370 พระนามเดิม พระองค์เจ้าชมพูนุท พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯสถาปนาเป็น\"กรมหมื่นเจริญผลพูลสวัสดิ์\" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ทรงกำกับมหาดเล็ก ช่างกระดาษ ช่างเขียนผู้หญิง และคลังพิมานอากาศ แล้วทรงเลื่อนเป็น\"กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์\"",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ์"
},
{
"docid": "4281#0",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 76 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระองค์ที่ 9 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 รวมดำรงสิริราชสมบัติ 9 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 สิริพระชนมพรรษา 47 พรรษา",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "120752#1",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 4 ในพระบรมราชจักรีวงศ์ พระองค์ทรงสถาปนา สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลรับพระบวรราชโองการ มีพระเกียรติยศเสมอด้วยพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 2 พระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้น พระองค์จึงมีพระราชดำริให้ปรับปรุงพระบวรราชวังครั้งใหญ่เพื่อให้สมพระเกียรติยศในฐานะที่เป็นสถานที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "พระที่นั่งคชกรรมประเวศ"
}
] |
3868 | คาบสมุทรอิตาลี หมายถึงอะไร? | [
{
"docid": "70066#0",
"text": "คาบสมุทรอิตาลี หรือ คาบสมุทรแอเพนไนน์ (Italian: Penisola italiana, Penisola appenninica) เป็นคาบสมุทรที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาแอลป์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเอเดรียติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลไอโอเนียน และทางทิศตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียนและทะเลลิกูเรียน คาบสมุทรนี้มีรูปร่างคล้ายรองเท้าบูท โดยบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมีเทือกเขาแอเพนไนน์เป็นแกนกลาง บริเวณตอนเหนือมีที่ราบลุ่มแม่น้ำโปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์กับเทือกเขาแอเพนไนน์นั้น เป็นที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม และเป็นที่ตั้งเมืองสำคัญของประเทศอิตาลี เช่น มิลาน ตูริน เวนิส โบโลญญา ปาร์มา เวโรนา",
"title": "คาบสมุทรอิตาลี"
}
] | [
{
"docid": "68417#0",
"text": "คาบสมุทร หมายถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีน้ำล้อมรอบทั้ง 3 ด้าน ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งทะเลหรือมหาสมุทรยกตัวอย่างเช่นคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรมลายูพื้นที่ ๆ มีน้ำล้อมรอบทั้ง 3 ด้านในบางครั้งก็ไม่ได้เรียกว่าคาบสมุทรเช่นหัวแหลมผาชัน สันดอนจะงอยหรือแหลม",
"title": "คาบสมุทร"
},
{
"docid": "9941#0",
"text": "อิตาลี (English: Italy; Italian: Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (English: Italian Republic; Italian: Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8",
"title": "ประเทศอิตาลี"
},
{
"docid": "258407#1",
"text": "สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโป ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งบริเวณคาบสมุทรอิตาลีทางตอนเหนือจะติดกับเทือกเขาแอลป์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลแอเดรียติกและทิศตะวันตกติดกับทะเลเมดิเตอเรเนียน โดยแม่น้ำโปเป็นแม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในอิตาลีและมีต้นกำเนิดจากเทือก เขาแอลป์ไหลเข้าสู่ประเทศอิตาลีทางทิศเหนือและไหลออกสู่ทะเลแอเดรียติกทาง ทิศตะวันออก",
"title": "แม่น้ำโป"
},
{
"docid": "135239#0",
"text": "คาร์โบนารี หรือคาร์โบนีเรีย (Carboneria) เป็นชื่อสมาคมลับของชาวอิตาลีซึ่งยึดหลักอุดมการณ์เสรีนิยมสนับสนุนระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐและเน้นความรักชาติ สมาคมนี้เริ่มต้นจากขบวนการต่อต้านการปกครองฝรั่งเศสในรัฐเนเปิลส์ระหว่างสงครามนโปเลียน (Napoleonic Wars ค.ศ.1803-1815) และต่อมาดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเพื่อต่อต้านระบบอนุรักษนิยมตลอดจนอำนาจและอิทธิพลของจักรวรรดิออสเตรียในคาบสมุทรอิตาลี เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายในการรวมชาติ\nคาร์โบนารีเป็นคำในภาษาอิตาลีแปลว่าคนเผาถ่าน โดยสมาคมได้จัดการชุมนุมครั้งแรกขึ้นทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลีประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต่อมาก็ขยายบทบาทไปทางตอนเหนือสู่แคว้นมาร์เชส (Marches) และโรมัญญา (Romagna) ใน ค.ศ.1814 ผู้ที่จะเข้าเป็นสมาชิกจะต้องผ่านพิธีกรรมและมีการใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่สลับซับซ้อน ตลอดจนใช้คำพูดที่เป็นรหัสในการติดต่อสื่อสารกัน สมาชิกส่วนใหญ่มาจากชนชั้นขุนนาง ข้าราชการ และเจ้าของที่ดินรายย่อย หลัง ค.ศ.1815 สมาคมฯขยายตัวอย่างรวดเร็ว เพราะกลุ่มชนชั้นกลางที่ได้รับผลประโยชน์ทางการค้าและอิทธิพลทางการเมืองระหว่างที่อยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศสไม่พอใจกับสภาพทางการเมือง\nที่เป็นผลจากข้อตกลงของการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) โดยเฉพาะหลักการการชดใช้แก่ผู้ชนะ (Compensation for the Victors) และหลักการการสืบสันตติวงศ์ (Legitimacy)",
"title": "สมาคมคาร์โบนารี"
},
{
"docid": "269239#0",
"text": "พระมหากษัตริย์อิตาลี (, , ) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครองคาบสมุทรอิตาลีมาตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึง สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 ในปี ค.ศ. 1870 แม้ว่าจะมีกษัตริย์บางพระองค์ก่อนหน้านั้นที่ทรงอ้าง",
"title": "พระมหากษัตริย์อิตาลี"
},
{
"docid": "262993#0",
"text": "ชาวอิตาลี (, ) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ที่มีวัฒนธรรม และ การสืบเชื้อสายร่วมกัน และพูดภาษาอิตาลีเป็นภาษาแม่ ภายในอิตาลีการเป็นชาวอิตาลีคือการถือสัญชาติอิตาลีไม่ว่าจะสืบเชื้อสายมาจากผู้ใดหรือมาจากประเทศใด ซึ่งแตกต่างจากผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอิตาลี และทางประวัติศาสตร์จากผู้มีเชื้อสายอิตาลีที่ไม่ได้อยู่ในดินแดนที่เป็นของอิตาลีบนคาบสมุทรอิตาลี",
"title": "ชาวอิตาลี"
},
{
"docid": "70066#1",
"text": "คาบสมุทรอิตาลีมีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 290 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ มีพื้นที่ประมาณ 260,000 ตารางกิโลเมตร (ไม่นับรวมพื้นที่เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย) เป็นคาบสมุทรที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจาก คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรไอบีเรีย และคาบสมุทรบอลข่าน ตามลำดับ เมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรอิตาลีเรียงตามลำดับ 4 อันดับแรกได้แก่ โรม มิลาน เนเปิลส์ และตูริน ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรอิตาลีเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ที่นิยมปลูกคือ มะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก และองุ่นเพื่อใช้ทำไวน์ เมืองท่าที่สำคัญบนคาบสมุทรอิตาลีได้แก่ เจนัว เวนิส และเนเปิลส์",
"title": "คาบสมุทรอิตาลี"
},
{
"docid": "46997#0",
"text": "ยุโรปใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งมีดินแดนติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอยู่ในคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทรคือ คาบสมุทรไอบีเรีย คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน อยู่ในละติจูดที่ 35 องศาเหนือถึง 47 องศาเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 1,316,290 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเชื้อสายเมดิเตอร์เรเนียน",
"title": "ยุโรปใต้"
},
{
"docid": "848030#0",
"text": "อิสเตรีย (; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: \"Istra\"; Istriot: \"Eîstria\"; เยอรมัน: \"Istrien\") หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ \"Histria\" เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.",
"title": "อิสเตรีย"
},
{
"docid": "192924#0",
"text": "คัมปาเนีย () เป็นแคว้นทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี มีประชากรราว 5.8 ล้านคน มากเป็นอันดับสองของประเทศ มีพื้นที่ 13,590 ตารางกิโลเมตร จัดเป็นแคว้นที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในอิตาลี พื้นที่ของแคว้นตั้งอยู่บนคาบสมุทรอิตาลี ทางทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมีหมู่เกาะเฟลเกรเอและกาปรีเป็นส่วนหนึ่งของเขตการปกครองของแคว้นด้วย เมืองหลักของแคว้นคือเนเปิลส์ (นาโปลี) ",
"title": "แคว้นคัมปาเนีย"
},
{
"docid": "70066#3",
"text": "อิตาลี หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์อิตาลี หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป",
"title": "คาบสมุทรอิตาลี"
},
{
"docid": "9941#8",
"text": "คาบสมุทรอิตาลีมีมนุษย์อาศัยตั้งแต่ยุคหินเก่า ดินแดนลุ่มแม่น้ำไทเบอร์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีแอนเดอร์ทัลตั้งแต่เมื่อประมาณ 5 หมื่นปีที่แล้ว และด้วยอิตาลีนั้นตั้งอยู่บนคาบสมุทรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งมีอารยธรรมโบราณกล่าวคือ อารยธรรมมิโนอันและไมซีเนียน อารยธรรมที่เกี่ยวพันกับอารยธรรมกรีกโบราณ อิตาลีเป็นประเทศที่มีอารยธรรมมาช้านานและแผ่ขยายดินแดนอื่น ๆ ในทวีปยุโรป",
"title": "ประเทศอิตาลี"
},
{
"docid": "294608#0",
"text": "เทพปกรณัมโรมัน หรือ เทพปกรณัมละติน () หมายถึงความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลาติอุมและเมืองสำคัญๆ ในคาบสมุทรอิตาลีของโรมันโบราณ ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจากเทพปกรณัมกรีก อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับเทพปกรณัมกรีกในสมัยต่อมา",
"title": "เทพปกรณัมโรมัน"
},
{
"docid": "858129#4",
"text": "นั้นทำให้ยุโรปถูกเรียกว่าคาบสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและมีสแกนดิเนเวียทางเหนือของยุโรปเป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับสองซึ่งถูกแบ่งด้วยทะเลบอลติกและทวีปยุโรปยังมีคาบสมุทรเล็กๆอีกสามแห่งคือคาบสมุทรอิตาลี, คาบสมุทรไอบีเรียและคาบสมุทรบอลข่านซึ่งจะอยู่ทางใต้ของทวีป",
"title": "ภูมิศาสตร์ยุโรป"
},
{
"docid": "192295#9",
"text": "การสถาปนาราชอาณาจักรอิตาลีเป็นผลมาจากความพยายามแสวงหาจุดร่วมระหว่างนักชาตินิยมอิตาลีกับผู้สนับสนุนระบอบราชาธิปไตยซึ่งภักดีต่อราชวงศ์ซาวอย เพื่อก่อตั้งสหราชอาณาจักรปกครองดินแดนคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมด",
"title": "ราชอาณาจักรอิตาลี"
},
{
"docid": "858129#5",
"text": "คาบสมุทรบอลข่านนั้นถูกแยกออกมาจากทวีปเอเชียโดยทะเลดำและทะเลอีเจียน ส่วนคาบสมุทรอิตาลีถูกแยกจากคาบสมุทรบอลข่านด้วยทะเลเอเดรียติกและคาบสมุทรไอบีเรียถูกแยกจากคาบสมุทรอิตาลีด้วยทะเลเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนนั้นยังเป็นทะเลที่แยกยุโรปกับแอฟริกาออกจากกันอีกด้วย",
"title": "ภูมิศาสตร์ยุโรป"
},
{
"docid": "249838#2",
"text": "ยุโรปอยู่ทางตอนเหนือที่รวมทั้งคาบสมุทรใหญ่สามคาบที่รวมทั้งคาบสมุทรไอบีเรีย, คาบสมุทรอิตาลี และ คาบสมุทรบอลข่าน โดยมีแนวเทือกเขาเป็นที่กั้นเขตแดนทางตอนเหนือที่รวมทั้งเทือกเขาพิเรนีสที่แยกสเปนจากฝรั่งเศส, เทือกเขาแอลป์ที่แยกอิตาลีจากยุโรปกลาง, เทือกเขาไดนาริคแอลป์ตามแนวตะวันออกของทะเลเอเดรียติค และเทือกเขาบอลข่าน กับ เทือกเขาราดาพี (Rhodope Mountains) ของคาบสมุทรบอลข่านที่แยกทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจากบริเวณแบบภาคพื้นทวีปของยุโรปกลางและยุโรปตะวันตก",
"title": "บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน"
},
{
"docid": "9941#10",
"text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช พวกอีทรัสคันได้มีอำนาจปกครองดินแดนตั้งแต่บริเวณชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอิตาลีตั้งแต่หุบเขาโป จนถึงบริเวณเมืองนาโปลี และดินแดนรอบ ๆ กรุงโรม ขณะเดียวกันชนเผ่าอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีก็รวมตัวกันจัดตั้งเป็นนครรัฐขึ้น เพื่อต่อต้านการขยายตัวและอำนาจของพวกอีทรัสคันและกรีก ชนเผ่าที่สำคัญในการต่อต้านอำนาจเหล่านี้ได้แก่พวกละติน หรือโรมัน ซึ่งเมื่อถึง 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกละตินก็ได้มีอำนาจเหนือดินแดนอิตาลี เกาะซาร์ดิเนียและซิซิลี ทั้งหมดแล้ว",
"title": "ประเทศอิตาลี"
},
{
"docid": "287103#1",
"text": "ภายในห้าสิบปีหลังจากที่นอร์มันได้รับชัยชนะ ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวนอร์มันก็ตามมาตั้งเมืองตั้งกลุ่มการปกครองขึ้นทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี",
"title": "ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้"
},
{
"docid": "287103#0",
"text": "ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้ () การพิชิตอิตาลีตอนใต้ของนอร์มันเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ที่เป็นการต่อสู้ที่เกิดขึ้นหลายครั้งโดยผู้เข้าร่วมหลายฝ่าย ที่ต่างก็ได้ดินแตนมาเป็นของตน จนกระทั่งต่อมาเท่านั้นบริเวณนี้จึงได้รวมตัวกันเป็นราชอาณาจักรซิซิลีที่ไม่แต่จะประกอบด้วยเกาะซิซิลีแต่รวมทั้งดินแดนหนึ่งในสามของทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (ยกเว้นเบเนเวนโตที่ยึดได้สองครั้ง) และกลุ่มเกาะมอลตา และบางส่วนของแอฟริกาเหนือ",
"title": "ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้"
},
{
"docid": "192920#0",
"text": "เนเปิลส์ (), นาโปลี () หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: ) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์",
"title": "เนเปิลส์"
},
{
"docid": "4496#64",
"text": "นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoleon Bonaparte) เป็นชาวเกาะคอร์ซิกา มาเป็นทหารในฝรั่งเศส แต่งงานกับโจเซฟีน เดอ โบอาร์เนส์ (Josephine de Beauharnais) แม่หม้ายลูกติดสอง นโปเลียนนำทัพเข้าบุกอิตาลีเพื่อต้านทานทัพที่จะมาบุกทางอิตาลี จนยึดคาบสมุทรอิตาลีได้ ตั้งรัฐบริวารมากมาย เช่น สาธารณรัฐซิสอัลไพน์ (Cisalpine) สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐพาร์เธโนเปีย (Parthenopian Republic) จนในค.ศ. 1797 ออสเตรียทำสนธิสัญญาคัมโป-ฟอร์มิโอ (Campo-Formio) ยอมยกเบลเยียมและอิตาลีให้ฝรั่งเศส ",
"title": "ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส"
},
{
"docid": "263541#0",
"text": "ทะเลเอเดรียติก () เป็นทะเลที่แยกคาบสมุทรอิตาลีจากคาบสมุทรบอลข่าน และเทือกเขาแอเพนไนน์จากเทือกเขาดินาริกแอลป์และเทือกเขาที่ติดกัน ทะเลเอเดรียติกเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางด้านตะวันตกของฝั่งทะเลคืออิตาลีขณะที่ฝั่งตะวันออกเป็นประเทศโครเอเชีย, มอนเตเนโกร, แอลเบเนีย, สโลวีเนีย และ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา",
"title": "ทะเลเอเดรียติก"
},
{
"docid": "192295#0",
"text": "ราชอาณาจักรอิตาลี (Italian: Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ",
"title": "ราชอาณาจักรอิตาลี"
},
{
"docid": "255820#0",
"text": "พรอว็องส์ () โดยทั่วไปแล้วหมายถึงบริเวณที่ประกอบไปด้วยจังหวัดวาร์, โวกลูซ และบุช-ดูว์-โรน รวมทั้งบางส่วนของอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์และอาลป์-มารีตีม ซึ่งเป็นบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสบนฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนติดกับประเทศอิตาลี เดิมพรอว็องส์เป็นจังหวัดโรมันนอกคาบสมุทรอิตาลี",
"title": "พรอว็องส์"
},
{
"docid": "269239#2",
"text": "แต่การยึดอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็เป็นไปเพียงระยะเวลาอันสั้น ในปี ค.ศ. 568 ชนลอมบาร์ดก็เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลี และก่อตั้งราชอาณาจักรอนารยชนเพื่อเป็นการต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ราชอาณาจักรส่วนใหญ่อยู่ในอิตาลีโดยเฉพาะในลอมบาร์เดีย ยกเว้นอาณาจักรบริวารราเวนนา (Exarchate of Ravenna) และอาณาจักรดยุคต่างๆ ที่รวมทั้งโรม, เวเนเชีย, เนเปิลส์ และทางตอนใต้ ระหว่างสองศตวรรษต่อมาลอมบาร์ดและไบแซนไทน์ก็ต่อสู้แย่งอำนาจกันในคาบสมุทรอิตาลี",
"title": "พระมหากษัตริย์อิตาลี"
},
{
"docid": "70066#2",
"text": "ประเทศอิตาลี ประเทศซานมารีโน นครรัฐวาติกัน",
"title": "คาบสมุทรอิตาลี"
},
{
"docid": "192295#44",
"text": "ด้วยการสนับสนุนการทวงคืนพื้นที่จากออสเตรีย-ฮังการีอย่างเหนียวแน่นจากกลุ่มชาตินิยม อิตาลีจึงเริ่มเจรจากับกลุ่มไตรภาคีจนการเจรจาสำเร็จลุล่วงในเดือนเมษายน ค.ศ. 1915 เมื่อสนธิสัญญาลอนดอน ได้ถูกลงนามกับรัฐบาลอิตาลี สนธิสัญญานี้รับรองสิทธิ์ของอิตาลีในการเรียกคืนดินแดนที่มีชาวอิตาลีอาศัยอยู่จากออสเตรีย-ฮังการีตามความต้องการ แม้แต่ดินแดนบนคาบสมุทรบอลข่านหรือดินแดนอาณานิคมของเยอรมันในแอฟริกา ข้อเสนอนี้ได้เติมเต็มความปรารถนาของนักชาตินิยมและนักจักรวรรดินิยมในอิตาลี รัฐบาลอิตาลีจึงได้เข้าร่วมกลุ่มไตรภาคีและสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีอย่างเต็มตัว",
"title": "ราชอาณาจักรอิตาลี"
},
{
"docid": "9941#6",
"text": "ประเทศอิตาลีมีลักษณะอากาศหลากหลายแบบ และอาจมีความแตกต่างจากภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนตามลักษณะพื้นที่ตั้ง พื้นที่ส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของประเทศ เช่นเมืองตูริน มิลาน และโบโลญญา มีลักษณะแบบอากาศภาคพื้นทวีปที่ค่อนข้างร้อนชึ้น (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน: Cfa) พื้นที่ชายฝั่งติดกับทะเลของแคว้นลิกูเรียและส่วนใหญ่ของคาบสมุทรที่อยู่ใต้ลงไปจากฟลอเรนซ์เป็นภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน: Csa) คือมีอากาศอบอุ่นตลอดทั้งปี โดยมีลมจากแอฟริกาพัดเอาความร้อนและความชี้นเข้ามา[1] พื้นที่ชายฝั่งของคาบสมุทรอิตาลีสามารถมีความแตกต่างกันได้มากจากระดับความสูงของภูเขาและหุบเขา โดยเฉพาะเมื่อถึงฤดูหนาวในที่สูงก็จะมีอากาศหนาว ชื้น และมักจะมีหิมะตก ภูมิภาคริมทะเลมีอากาศไม่รุนแรงในฤดูหนาว อากาศอุ่นและมักจะแห้งในฤดูร้อน และพื้นที่ต่ำกลางหุบเขามีอากาศค่อนข้างร้อนในฤดูร้อน",
"title": "ประเทศอิตาลี"
}
] |
2944 | ซิงเกิลแรกของ เอมี เจด ไวน์เฮาส์ คืออะไร? | [
{
"docid": "130676#1",
"text": "อัลบั้มชุดแรกของเธอออกในปี 2003 ชื่อชุด \"Frank\" ได้ถูกเสนอชื่อรางวัลเมอร์คิวรีไพรซ์ และเธอได้รับรางวัลไอวอร์ โนเวลโล ในปี 2004 สำหรับซิงเกิลเปิดตัวของเธอ \"Stronger than Me\" และอีกครั้งหนึ่งในเดือน พฤษภาคม 2007 กับซิงเกิลแรกจากอัลบั้มในปี 2006 \"Back to Black\" ในเพลง \"Rehab\" และต่อมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ยังได้รับรางวัลบริทอวอร์ด สาขาศิลปินหญิงที่ดีที่สุดของเกาะอังกฤษ นอกจากนั้นยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ปี 2007 อีกด้วย",
"title": "เอมี ไวน์เฮาส์"
}
] | [
{
"docid": "130676#8",
"text": "อัลบั้มชุดแรกของเธอคือ \"Frank\" วางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2003 อัลบั้มชุดนี้ควบคุมดูแลโดย ซะลาม เรมิ เพลงส่วนใหญ่จะออกแนวแจ๊ส นอกจากนี้ยังมีเพลงที่เธอนำมาร้องใหม่ 2 เพลง เอมีมีส่วนร่วมในการแต่งเพลงทุกเพลงในอัลบั้มนี้ เธอได้รับบทวิจารณ์ในแง่ดีอย่างล้นหลาม พร้อมทั้งได้รับคำชมเชยมากมายว่า เนื้อเพลงเยี่ยมและน่าจับตามอง และได้มีการเทียบเคียงเสียงร้องของเธอกับ ซาราห์ วอห์น มาซี เกรย์ และนักร้องชื่อดังคนอื่นๆอีกด้วย",
"title": "เอมี ไวน์เฮาส์"
},
{
"docid": "130676#0",
"text": "เอมี เจด ไวน์เฮาส์ (, เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1983 - เสียชีวิต 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) นักร้องแนวโซลชาวอังกฤษ และนักแต่งเพลงแจ๊ส",
"title": "เอมี ไวน์เฮาส์"
},
{
"docid": "130676#13",
"text": "ปัจจุบันมีซิงเกิลหลายตัวจากอัลบั้ม \"Back to Black\" โดยซิงเกิลแรกของอัลบั้มนี้คือ \"Rehab\" โปรดิวซ์โดย มาร์ก รอนสัน และได้ออกอากาศในวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ซิงเกิลนี้ติดอันดับสูงสุดอันดับ 7 ของ ยูเค ซิงเกิลส ท็อป 75 และได้รับไอวอร์ โนเวลโล อวอร์ด สาขาเพลงร่วมสมัยยอดเยี่ยมอีกด้วย หลังจากที่เอมีได้ร้องเพลง \"Rehab\" ที่งานเอ็มทีวี มูวี่ อวอร์ดส ประจำปีค.ศ. 2007 ซิงเกิล \"Rehab\" ก็ติดอันดับสูงสุดอันดับ 9 ของ บิลบอร์ด ฮอท 100 ในสัปดาห์ที่ 26 ของปีค.ศ. 2007 (สัปดาห์ของวันที่ 21 มิถุนายน) อย่างรวดเร็ว นิตยสารไทม์ให้ \"Rehab\" เป็นอันดับ 1 ใน \"1 ใน 10 เพลงยอดเยี่ยมประจำปีค.ศ. 2007\" นักเขียนคอลัมน์ จอช ทีแรนจีล ได้ยกย่องเอมีเกี่ยวกับความมั่นใจในตัวเองของเธอและให้ความคิดเห็นว่า \"จากลักษณะพูดพล่ามที่ติดตลกและยั่วยวน จนอาจถึงขั้นสติแตกนี่เองที่เป็นเสน่ห์ในแบบฉบับของหล่อนที่ยากเกินห้ามใจ และเมื่อได้ผสานกับฝีมือการสร้างชั้นยอดของ มาร์ก รอนสัน ที่ผลิตแต่ผลงานเพลงโซลขั้นเทพมาตลอดสี่ทศวรรษ เชื่อได้เลยว่าคุณจะไม่ผิดหวังที่ได้บทเพลงที่ดีที่สุดของปีค.ศ. 2007 จากเขาและเธอคนนี้\"\nซิงเกิลที่สองของอัลบั้ม \"Back to Black\" คือ \"You Know I'm No Good\" วางจำหน่ายในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 2007 ในซิงเกิลนี้ประกอบด้วยรีมิกซ์ที่ให้เสียงร้องจังหวะแร็พโดย โกสต์เฟซ คิลลาห์ ซิงเกิล \"You Know I'm No Good\" ติดอันดับ 18 ของ ยูเค ซิงเกิล ชาร์ท ต่อมาซิงเกิล \"Back to Black\" ซึ่งมีชื่อเดียวกันกับอัลบั้มก็ได้วางจำหน่ายที่สหรัฐอเมริกาในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2007 และที่สหราชอาณาจักรในวันที่ 30 เมษายน ปีเดียวกัน ซิงเกิล \"Back to Black\" ติดอันดับสูงสุดอันดับที่ 25 และในวันที่ 5 เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007 อัลบั้ม \"Back to Black\" แบบพิเศษก็ได้วางจำหน่ายในสหราชอาณาจักร ในอัลบั้มนี้จะมีแผ่นซีดีเพิ่มอีกหนึ่งแผ่นซึ่งประกอบไปด้วย บี-ซายด์ส (B-sides) เพลงที่หาฟังยาก เพลงที่ร้องสด และอื่นๆ เช่นเพลง \"Valerie\" ซึ่งดีวีดีการแสดงของเอมี \"I Told You I Was Trouble: Live in London\" ก็ได้วางจำหน่ายในสหราชอาณาจักรในวันเดียวกันนั้นด้วย ส่วนในสหรัฐอเมริกาวางจำหน่ายวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 ดีวีดีนี้ประกอบด้วยบันทึกการแสดงสดของเธอที่แชพเพิร์ดส บุช เอ็มไพร์ ณ กรุงลอนดอน และสารคดีความยาว 50 นาทีเกี่ยวกับการเข้าสู่วงการของเธอย้อนไป 4 ปี ในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซิงเกิล \"Love Is a Losing Game\" ซึ่งเป็นซิงเกิลตัวสุดท้ายของอัลบั้ม \"Back to Black\" ก็ได้วางจำหน่ายที่สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา",
"title": "เอมี ไวน์เฮาส์"
},
{
"docid": "743025#1",
"text": "ใน ค.ศ. 2011 มารูนไฟฟ์ออกจำหน่ายสตูดิโออัลบั้มที่สาม \"แฮนส์ออลโอเวอร์\" ซ้ำ ซิงเกิลแรกจากการออกซ้ำครั้งนี้คือ \"มูฟส์ไลก์แจกเกอร์\" ร้องรับเชิญโดยนักร้องอเมริกัน คริสตินา อากีเลรา และประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ ขึ้นอันดับหนึ่งในชาร์ตเพลง 18 ประเทศรวมถึง\"บิลบอร์ด\"ฮอต 100 ในกลางปี ค.ศ. 2011 วงเริ่มทำสตูดิโออัลบั้มที่สี่ สมาชิกคนหนึ่งในวงมารูนไฟฟ์ เจมส์ วาเลนไทน์ กล่าวกับ\"บิลบอร์ด\"และเผยแผนในการออกสตูดิโออัลบั้มที่สี่ในต้นปี ค.ศ. 2012 ในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2012 วงนำวิดีโอขึ้นยูทูบ แสดงให้เห็นสมาชิกวงกำลังอัดเสียงในสตูดิโอ ในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 อัลบั้มออกจำหน่ายภายใต้ชื่อ \"โอเวอร์เอกซ์โพสด์\"",
"title": "เดอะแมนฮูเนเวอร์ลายด์"
},
{
"docid": "212336#5",
"text": "เดสทินีส์ไชลด์มีซิงเกิลแรกคือเพลง \"คิลลิงไทม์\" ซึ่งเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง \"เม็นอินแบล็ค\" ไม่นานก็ได้ออกอัลบั้มชุดแรกโดยใช้ชื่อเหมือนชื่อวงคือ \"เดสทินีส์ไชลด์\" ในปี 1998 ซิงเกิลแรกเพลง \"โน,โน,โน\" ได้รับ 3 รางวัลจากเวทีงานประกาศผลรางวัลโซลเทรนมิวสิกอวอร์ดส อัลบั้มนี้ยังไม่ค่อยประสบความสำเร็จนัก จนมาถึงอัลบั้ม \"เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์\" ในปี 1999 อัลบั้มชุดที่ 2 ที่ประสบความสำเร็จด้วยยอดขายกว่า 13 ล้านชุดทั่วโลก ซิงเกิลที่ออกมาล้วนเป็นที่นิยมเช่นเพลง \"บิลส์, บิลส์, บิลส์\" ซิงเกิลอันดับ 1 เพลงแรก และเพลง \"จัมพิน', จัมพิน'\" รวมถึงเพลงที่กลายเป็นสัญลักษณ์ของวงจนถึงปัจจุบันนี้อย่างเพลง \"เซย์มายเนม\" ซึ่งในปีนั้นคว้ารางวัลแกรมมีมาถึง 2 รางวัล จากอัลบั้มนี้ทำให้พวกเธอเป็นที่จับตามองของสื่อและผู้คนมากมาย ในฐานะกลุ่มศิลปินหญิงหน้าใหม่ในยุคนั้น",
"title": "เดสทินีส์ไชลด์"
},
{
"docid": "832181#1",
"text": "ซิงเกิลแรกของวง \"ไอวิชไอนิว\" เผยแพร่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2012 กับค่ายกู๊ดเบต ปีต่อมาวงเซ็นสัญญากับค่ายคิตซูเนและออกซิงเกิล \"แทร็ปส์\" ในปี ค.ศ. 2014 วงเซ็นสัญญากับค่ายโพลีดอร์และออกซิงเกิล \"เทกเชลเตอร์\" ซึ่งขึ้นถึงอันดับที่ 1 ของชาร์ตซิงเกิลเพลงอิเล็กทรอนิกส์ของสหราชอาณาจักร ต่อมาวงออกซิงเกิล \"ดีไซร์\" ซึ่งขึ้นถึงอันดับที่ 22 ของชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร",
"title": "เยียส์แอนด์เยียส์"
},
{
"docid": "302216#2",
"text": "เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 จากยอดดาวน์โลหที่มากมาย ทำให้ \"อันเดอร์เพรสเชอร์ (ไอซ์ไอซ์เบบี้)\" เข้าชาร์ตไอริชซิงเกิลส์ชาร์ตที่อันดับ 1 ถือเป็นอันดับ 1 ซิงเกิลแรกของเจดเวิร์ด",
"title": "อันเดอร์เพรสเชอร์ (ไอซ์ไอซ์เบบี้)"
},
{
"docid": "582491#0",
"text": "นาวแอนด์ออลเวส์: ทเวนตี้เยียส์ออฟดรีมมิง () คือ อัลบั้มรวมเพลงชุดที่ 2 ของ แกเบรียล นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ผ่านสังกัด Island Records ซึ่งนับเป็นเวลา 20 ปีพอดีตั้งแต่ที่เธอได้ออกซิงเกิลแรก \"Dreams\" หลังจากที่แกเบรียลได้พักงานเพลงมาสักพัก และตัดสินใจที่จะลาออกจากวงการ เธอได้กลับมาทำงานเพลงอีกครั้งในอัลบั้มนี้ ร่วมกับทีมโปรดิวเซอร์ใหม่ๆหลายคน เช่น Jake Isaac, Sonny J. Mason, Naughty Boy, Syience รวมทั้ง J. Hirst and J. Dunne และนักแต่งเพลงอย่าง Emeli Sandé",
"title": "นาวแอนด์ออลเวส์: ทเวนตี้เยียส์ออฟดรีมมิง"
},
{
"docid": "265921#0",
"text": "รักคืออะไร เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 6 ของวงดิ อินโนเซ็นท์ออกวางแผงครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2527ซึ่งในอัลบั้มนี้ได้ต้อนรับ 2 สมาชิกใหม่ของวงคือไก่ เกียรติศักดิ์ ยันตะระประกรณ์ ในตำแหน่งมือกลองที่เข้ามาแทนโหนก เกรียงศักดิ์ที่ได้ลาออกไปและไชยรัตน์ ปฏิมาปกรณ์ จากวงฟอร์เอฟเวอร์ ในตำแหน่งมือคีย์บอร์ดและมือกีตาร์ซึ่งก่อนหน้านั้นไชยรัตน์ได้เข้ามาเป็นนักดนตรีรับเชิญระหว่างออกทัวร์คอนเสิร์ตและแสดงทางโทรทัศน์ในอัลบั้ม เพียงกระซิบ และอัลบั้ม อยู่หอ ก่อนจะเข้ามาเป็นสมาชิกหลักของวงในอัลบั้มชุดนี้",
"title": "รักคืออะไร"
}
] |
1878 | พลาสติกชีวภาพสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันใช่หรือไม่? | [
{
"docid": "474094#7",
"text": "ในปี 1973 ได้พิสูจน์ครั้งแรกทว่าโพลีเอสเตอร์สามารถย่อยสลายเมื่อกำจัดทางชีวภาพ เช่นดิน\nผลคือโพลีเอสเตอร์ทนน้ำและสามารถละลายและขึ้นรูปเป็นแผ่น ขวดและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ทำให้พลาสติกบางชนิดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายทางชีวภาพ ต่อมา Polyhydroxylalkanoates (PHAs) ถูกผลิตได้โดยตรงจากทรัพยากรทดแทนโดยจุลินทรีย์ ประมาณ 95% ของเซลล์และแบคทีเรียสามารถจัดการทางพันธุกรรม องค์ประกอบและย่อยสลายทางชีวภาพของ PHAs สามารถควบคุมโดยการผสมกับโพลิเมอร์ธรรมชาติอื่น ๆ\nในช่วงปี 1980 บริษัท ไอซีไอ Zenecca เชิงพาณิชย์เกี่ยวกับ PHAs ภายใต้ Biopol ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ขวดแชมพูและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์อื่นๆการตอบสนองต่อผู้บริโภคเป็นเรื่องผิดปกติ ผู้บริโภคก็เต็มใจที่จะจ่ายมากขึ้นสำหรับสินค้านี้เพราะเป็นธรรมชาติและย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน",
"title": "การย่อยสลายทางชีวภาพ"
}
] | [
{
"docid": "293951#1",
"text": "พลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้\nอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่เริ่มต้นจากน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ ไปสู่กระบวนการผลิตสังเคราะห์เป็นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง และพัฒนาไปสู่วัสดุพอลิเมอร์ เส้นใย หรือพลาสติกชนิดต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มานานกว่าร้อยปี\nตลอดศตวรรษที่าผ่านมา มนุษย์ได้พบถึงข้อจำกัดด้านปริมาณของวัตถุดิบน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งประมาณการได้ว่าจะต้องหมดไปในที่สุด นอกจากนี้ในกระบวนผลิตผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีโดยเฉพาะการเผาไหม้ยังก่อให้เกิดการสะสมของมลภาวะ ซึ่งได้ขยายไปในวงกว้างต่อระบบนิเวศน์ของโลก ทำให้การคิดค้นและพัฒนากระบวนการใหม่ รวมถึงการสร้างนวัตกรรมเพื่อผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมีอย่างครบวงจรภายในเวลาอันรวดเร็ว เป็นสิ่งหนึ่งที่ทุกประเทศจำเป็นต้องพัฒนา ทั้งนี้นอกจากจะหมายถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีของประเทศของตนแล้ว ยังหมายถึงการเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการแข่งขันอันจะเชื่อมโยงไปสู่ความเป็นผู้นำด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศอีกด้วย\nพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ (biodegradable plastic) จึงเป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาวัสดุสำหรับการใช้งานเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และกระบวนการกำจัด ปัจจุบันพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่งจากนักวิทยาศาสตร์ ตลอดจนนักอุตสาหกรรมชั้นแนวหน้าทั่วโลก โดยพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ นั้นผลิตมาจากวัตถุดิบที่สามารถผลิตทดแทนขึ้นใหม่ได้ในธรรมชาติ (renewable resource) ใช้พลังงานในกระบวนการผลิตต่ำ และสามารถย่อยสลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ได้ด้วยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ ภายหลังจากการใช้งาน โดยพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้นั้นจะมีคุณสมบัติในการใช้งานได้เทียบเท่าพลาสติกจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแบบดั้งเดิม (Commodity Plastics) และสามารถทดแทนการใช้งานที่มีอยู่ได้\nเมื่อพิจารณาประเทศหรือกลุ่มประเทศธุรกิจหลักแล้ว จะเห็นได้ว่าการตื่นตัวด้านพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพชีวภาพทั้งด้านนโยบาย การวิจัยและพัฒนา อุตสาหกรรม และการสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อเร่งรัดให้เกิดการทดแทนพลาสติกทั่วไปนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีขั้นตอนที่เป็นชี้ทิศทางอย่างชัดเจน อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำด้านวิทยาการและเทคโนโลยีด้านต่างๆ ได้ก้าวเป็นผู้นำการผลิตพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ โดยเริ่มตั้งแต่การประสบความสำเร็จในการผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ในระดับอุตสาหกรรม เช่น บริษัท CargillDow หรือ Natureworks ได้ใช้ข้าวโพดเป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตกรดแลคติกและพอลีแลคติคแอซิด (Polylactic Acid หรือ PLA) ในขณะที่บริษัท Metabolix Inc. เป็นผู้นำด้านการผลิตพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ชนิดพอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)\nนอกจากนี้ ในระดับนโยบาย ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งเป้าหมายที่จะให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์จากชีวมวล (biomass) จากปริมาณ 5% ในปี 2002 เพิ่มเป็น 12 % ในปี 2010 และ 20% ในปี 2030 กลุ่มประเทศสหภาพยุโรปได้ออกมาตรการให้รถยนต์ในกลุ่มประเทศยุโรปต้องประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สามารถใช้ซ้ำ (reuse) หรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recovery) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 โดยน้ำหนักภายในวันที่ 1 มกราคม 2549 ทั้งนี้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพเป็นแนวทางหนึ่งซึ่งสอดรับกับนโยบายดังกล่าว\nจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้นของ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สามารถสรุปได้ว่าวัสดุชีวภาพซึ่งมีโอกาสพัฒนาเป็นธุรกิจนวัตกรรมในเชิงรุก เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบทางการเกษตรของประเทศมี 3 ชนิด",
"title": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ"
},
{
"docid": "597704#8",
"text": "\"กระบวนการเปลี่ยนแปลงข้ามระบบประสาท\"ก็สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยในบุคคลที่หูหนวกก่อนที่จะรู้ภาษา\nงานวิจัยที่ใช้เทคนิค fMRI พบว่า คนหูหนวกใช้ทั้งคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ (primary auditory cortex) ทั้งคอร์เทกซ์สายตาเมื่อกำลังดูคนใช้ภาษามือ \nคือ ถึงแม้ว่า คอร์เทกซ์การได้ยินจะไม่ได้รับข้อมูลอะไร ๆ จากหู คนหูหนวกก็ยังใช้ส่วนบางส่วนในคอร์เทกซ์การได้ยินเพื่อแปลผลข้อมูลทางตา \nสมรรถภาพของการรับรู้ความรู้สึกพื้นฐานต่าง ๆ เช่นการแยกแยกความสว่าง ความไวต่อความเปรียบต่างทางตา (visual contrast sensitivity) ระยะเวลาต่ำที่สุดที่แยกแยะได้ การรับรู้ระยะเวลา และการเคลื่อนไหวต่ำสุดที่ให้รู้ทิศทางได้ ไม่ปรากฏว่าเปลี่ยนไปเพราะการสูญเสียความรู้สึกเช่นการได้ยิน\nแต่ว่า การแปลผลในระดับที่สูงขึ้นไปอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อทดแทนความรู้สึกที่เสียไป ในกรณีของการสูญเสียการได้ยิน การทดแทนปรากฏที่การแปลผลของลานสายตารอบข้าง (periphery) และความสามารถในการตรวจจับความเคลื่อนไหวในลานสายตารอบข้าง",
"title": "สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท"
},
{
"docid": "474094#9",
"text": "เทคโนโลยีการย่อยสลายทางชีวภาพ Oxo นำมาพัฒนาในการผลิตพลาสติกย่อยสลายทางชีวภาพ โดยการคิดผลิตภัณฑ์โมเลกุลขนาดใหญ่พอลิเมอร์ของพลาสติก ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจนในอากาศ ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ จากหนึ่งสัปดาห์เป็นหนึ่งปีสองปี ต่อไปเรื่อยๆ กระบวนการเสียภาพทางเคมีเกิดปฏิกิริยาโมเลกุลขนาดใหญ่พอลิเมอร์ของพลาสติก ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นโดยปราศจากการเติมตัวเสียสภาพแต่ก็มีอัตราที่ช้ามาก คือเหตุผลของพลาสติกเมื่อทิ้งไว้ในสิ่งแวดล้อมเป็นเวลานานด้วยปฏิกิริยานี้ จะกระตุ้นและเร่งกระบวนการย่อยสลายทางชีวภาพ",
"title": "การย่อยสลายทางชีวภาพ"
},
{
"docid": "293951#4",
"text": "โดยการย่อยสลายของ PHA จะเป็นกระบวนการเดียวกับ PLA ที่ต้องพึ่งพา กระบวนการหมักปุ๋ยแบบอุตสาหกรรม (Industrial compost facility)\n3) โพรเพนไดออล Propanediol (PDO)\nสำหรับผลิตเส้นใยชีวภาพสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ (Bio-Fiber : SoronaTM) PDO เป็นสารเคมีตั้งต้น (monomer) อีกชนิดหนึ่งซึ่งผลิตขึ้นโดยอาศัยแป้งจากทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นใหม่ได้ เช่น ข้าวโพด และมันสำปะหลัง ซึ่งกระบวนการผลิตจะคล้ายกับการผลิต PLA โดยเริ่มจากการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล และทำการใช้สารเร่งปฏิกิริยาชนิดชีวภาพ (biocatalyst) เพื่อเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็น PDO ซึ่งสามารถนำไปเป็นสารตั้งต้นในการผลิตเส้นใยชีวภาพที่เรียกว่า SoronaTM ซึ่งเป็นชื่อทางการค้าของบริษัท ดูปองท์ สหรัฐอเมริกา โดยเส้นใย SoronaTM นี้มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดี มีความอ่อนนุ่ม แห้งได้เร็ว และสามารถย้อมติดสีได้ดี หากแต่ในปัจจุบันด้วยคุณสมบัติทางโมเลกุลของพอลิเมอร์ที่มีขนาดใหญ่จึงทำให้เส้นใย SoronaTM ไม่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ อย่างไรก็ตามเส้นใย SoronaTM เป็นวัสดุชนิดใหม่ที่เกิดจากการใช้วัตถุดิบธรรมชาติที่สามารถเกิดทดแทนได้อีกชนิดหนึ่ง\nสำหรับประเทศไทย ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ด้านชีวมวล (biomass) และมีวัตถุดิบที่มีศักยภาพในการพัฒนาสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ ได้แก่ มันสำปะหลัง และอ้อย ทั้งนี้ในปัจจุบันประเทศไทยผลิตหัวมันสดเป็นอันดับ 3 ของโลก และส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก โดยในปี 2548 มีพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังกว่า 6.6 ล้านไร่ และมีการผลิตหัวมันสดได้กว่า 20 ล้านตันต่อปี นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีอุตสาหกรรมรองรับในการพัฒนาพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ โดยมุ่งเป้าไปที่อุตสาหกรรมพลาสติก โดยผลิตภัณฑ์พลาสติกที่สำคัญของประเทศไทย ได้แก่ ถุง กระสอบพลาสติก และแผ่นฟิล์ม ซึ่งมีมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมเป็นมูลค่ากว่า 200,000 ล้านบาท\nจากการตระหนักถึงประเด็นปัญหาและโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ในประเทศไทย คณะอนุกรรมการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ จึงเห็นชอบที่จะให้การพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ รวมทั้งพลังงานทดแทนจากวัสดุชีวมวลบรรจุอยู่ในแผนปฏิบัติการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเพื่ออนาคต (New Wave Industries) โดยเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 คณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าว ได้มอบหมายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรม และสำนักงานส่งเสริมการลงทุนเป็นผู้จัดทำแผนดังกล่าว ต่อมาคณะทำงานการจัดทำแผนปฏิบัติการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมเพื่ออนาคต ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีมติจากการประชุม ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2549 เห็นชอบให้สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดทำแผนปฏิบัติการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเพื่ออนาคตในสาขาพลาสติกชีวภาพดังกล่าว\nสำหรับประเทศไทยด้วยการริเริ่มของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทเป็นแกนกลางในการประสานงานและเชื่อมโยงองค์กรต่างๆ ทั้งด้านวิชาการ เทคโนโลยี การผลิต การเงิน การลงทุน และการจัดการ โดยอาศัยกลไกการบริหารจัดการองค์ความรู้และการสนับสนุนทั้งด้านวิชาการและการเงิน โดยมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้ตระหนักความสำคัญของพลาสติกชีวภาพในอุตสาหกรรมพลาสติกไทย และได้ริเริ่มพัฒนาโครงการนวัตกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพชนิดย่อยสลายได้ในประเทศไทยขึ้น เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมผลิตพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ ซึ่งสอดรับกับแผนปฏิบัติการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเพื่ออนาคต (New Wave Industries) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบัน",
"title": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ"
},
{
"docid": "597704#12",
"text": "คนหูหนวกบ่อยครั้งใช้ภาษามือในการสื่อสาร\nแต่ว่า ภาษามือโดยลำพังไม่ปรากฏว่าเปลี่ยนการจัดระเบียบในสมองอย่างสำคัญ\nและจริง ๆ แล้ว ข้อมูลจากการสร้างภาพสมอง (neuroimaging) และจากสรีรวิทยาไฟฟ้า ที่ศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของวิถีประสาทที่เกี่ยวกับการเห็น, และจากงานวิจัยที่ระงับระบบความรู้สึกในสัตว์ทดลอง แสดงว่าสมรรถภาพที่ดีขึ้นในการประมวลผลเกี่ยวกับความใส่ใจรอบ ๆ ลานสายตาที่พบในคนหูหนวก ไม่ปรากฏในคนหูดีที่มีพ่อแม่หูหนวกและใช้ภาษามือเป็นภาษาแรก\nเช่น งานวิจัยปี ค.ศ. 2001 ที่ใช้ fMRI เปรียบเทียบคนหูหนวก คนหูดี และคนหูดีที่ใช้ภาษามือได้ตั้งแต่เยาว์วัย พบว่า คนหูดีทั้งสองพวกมีการทำงานเกี่ยวกับลานสายตารอบนอกเหมือนกัน ซึ่งต่างจากคนหูหนวก\nและความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของการแปลผลเกี่ยวกับความใส่ใจในลานสายตารอบนอกที่พบในคนหูหนวกไม่ปรากฏในคนใช้ภาษามือที่สามารถได้ยิน ดังนั้น เป็นไปได้น้อยที่การใช้ภาษามือจะเป็นเหตุของความแตกต่างทางประสาทเกี่ยวกับการใส่ใจทางตา",
"title": "สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท"
},
{
"docid": "3103#21",
"text": "เทคโนโลยีชีวภาพมีส่วนร่วมในการค้นพบและการผลิตของยาโมเลกุลขนาดเล็กแบบดั้งเดิมเช่นเดียวกับยาที่เป็นผลิตภัณฑ์ของเทคโนโลยีชีวภาพ - ชีวเภสัช (). เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่สามารถนำมาใช้ในการผลิตยาที่มีอยู่ค่อนข้างง่ายและราคาถูก. ผลิตภัณฑ์ดัดแปลงพันธุกรรมตัวแรกถูกออกแบบมาเพื่อรักษาโรคของมนุษย์. เพื่อยกหนึ่งตัวอย่าง, ในปี 1978 Genentech ได้พัฒนาอินซูลิน humanized สังเคราะห์โดยการเชื่อมยีนของมันกับเวกเตอร์พลาสมิด () ที่ถูกใส่เข้าไปในแบคทีเรีย \"Escherichia coli\". อินซูลิน, ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการรักษาโรคเบาหวาน, ได้รับการสกัดก่อนหน้านี้จากตับอ่อนของสัตว์ในโรงฆ่าสัตว์ (วัวและ/หรือหมู). แบคทีเรียดัดแปลงพันธุกรรมที่เกิดขึ้นจะช่วยในการผลิตปริมาณมหาศาลของอินซูลินสังเคราะห์เพื่อมนุษย์ที่ค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างต่ำ. เทคโนโลยีชีวภาพนอกจากนี้ยังช่วยในการรักษาที่เกิดขึ้นใหม่เช่นการรักษาด้วยยีน (). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพกับวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (เช่นผ่านทางโครงการจีโนมมนุษย์) ยังได้ปรับปรุงอย่างมากในความเข้าใจของเราเกี่ยวกับชีววิทยาและเนื่องจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของเราเกี่ยวกับชีววิทยาปกติและของโรคได้เพิ่มขึ้น, ความสามารถของเราในการพัฒนายาใหม่ในการรักษาโรคที่รักษาไม่หายไปก่อนหน้านี้ได้เพิ่มขึ้นเช่นกัน",
"title": "เทคโนโลยีชีวภาพ"
},
{
"docid": "474094#5",
"text": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ( หรือ Compostable plastic) มักเรียกว่า พลาสติกชีวภาพ\nพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ จะถูกแตกสลายเป็นเศษเล็กๆ จากการกระทำของน้ำ แสงแดด(ถ้ามี) และออกซิเจน ต่อมาเศษเล็กๆเหล่านั้นจะเป็นอาหารของเชื้อแบคทีเรีย พลาสติกดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นโพลีเอสเทอร์ (Polyester)เนื่องจากพันธะของเอสเทอร์ มีความไวต่อการถูกทำลายด้วยน้ำ บางตัวอย่างของโพลีทรีไฮดรอกซิลบิวไทเรด (Poly-3-hydroxybutyratepoly-3-hydroxybutyrate) ในธรรมชาติ มาทดแทนกรดโพลีแลกติก (Polylactic acid) และโพลีคาร์โพรแลกโตน (polycaprolactone)สังเคราะห์ และอื่นๆ เช่น เซลลูโลสอะชีเตด และเซลลูลอยด์หรือเซลลูโลสไนเทรด",
"title": "การย่อยสลายทางชีวภาพ"
},
{
"docid": "3103#14",
"text": "เทคโนโลยีชีวภาพมีการประยุกต์ใช้งานในสี่พื้นที่อุตสาหกรรมที่สำคัญ, ได้แก่การดูแลสุขภาพ (การแพทย์), การผลิตพืชและการเกษตร, การใช้พืชและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่อาหาร (เช่นพลาสติกย่อยสลายแบบชีวภาพ, น้ำมันพืช, เชื้อเพลิงชีวภาพ), และการใช้งานด้านสิ่งแวดล้อม.",
"title": "เทคโนโลยีชีวภาพ"
},
{
"docid": "293951#0",
"text": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ( หรือ Compostable plastic) มักเรียกว่า พลาสติกชีวภาพ เป็นพลาสติกที่ถูกออกแบบมาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีภายใต้สภาวะแวดล้อมที่กำหนดไว้โดยเฉพาะ จึงทำให้สมบัติต่างๆ ของพลาสติกลดลงภายในช่วงเวลาหนึ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีดังกล่าวต้องเกิดจากการทำงานของจุลินทรีย์ในธรรมชาติเท่านั้น สามารถวัดได้โดยวิธีการทดสอบมาตรฐาน ซึ่งวัดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือก๊าซมีเทนที่เกิดขึ้น",
"title": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ"
}
] |
3139 | ใครเป็นคนตั้งชื่อว่าดาวแคระขาว? | [
{
"docid": "70244#9",
"text": "ครั้นถึงปี ค.ศ. 1917 เอเดรียน แวน แมเนนได้ค้นพบดาวแวนแมเนน ซึ่งเป็นดาวแคระขาวเดี่ยว ดาวแคระขาวทั้งสามดวงที่ได้รับการค้นพบเป็นครั้งแรกนี้ เรียกชื่อกันต่อมาว่าเป็น \"ดาวแคระขาวดั้งเดิม (classical white dwarfs) \" ในเวลาต่อมามีการค้นพบดาวสีขาวจางแสงหลายดวงที่มีการเคลื่อนที่เฉพาะสูง บ่งชี้ว่ามันน่าจะเป็นดาวฤกษ์ใกล้โลกที่มีความส่องสว่างน้อย หรืออีกนัยหนึ่งคือเป็นดาวแคระขาวนั่นเอง วิลเลม ลุยเทน เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า \"ดาวแคระขาว (White dwarf) \" ในขณะที่เขากำลังพิจารณาชนิดสเปกตรัมของดาวในปี 1922 และอาเทอร์ สแตนลีย์ เอ็ดดิงตัน ได้นำมาใช้อย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ดี แม้จะมีข้อสมมุติฐานเช่นนี้อยู่ แต่กว่าจะสามารถพิสูจน์ยืนยันบรรดาดาวแคระขาวที่ค้นพบในยุคแรกซึ่งไม่ใช่ \"ดาวแคระขาวดั้งเดิม\" ก็ต้องล่วงไปจนถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 เมื่อดาวแคระขาว 18 ดวงถูกสำรวจในปี 1939 ลุยเทนและนักดาราศาสตร์คนอื่นพยายามจากหาดาวแคระขาวต่อไปในทศวรรษ 1940 ในปี 1950 ดาวแคระขาวมากกว่าร้อยดวงเป็นที่รู้จักและปี 1999 ดาวแคระขาวมากกว่า 2,000 ดวงเป็นที่รู้จัก ตั้งแต่นั้นมา Sloan Digital Sky Survey ก็ค้นพบมากกว่า 9,000 ดวง ส่วนใหญ่เป็นดาวใหม่",
"title": "ดาวแคระขาว"
},
{
"docid": "70244#1",
"text": "ดาวแคระขาวที่รู้จักในบริเวณใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์มีประมาณคร่าว ๆ 6% ของดาวที่รู้จักในบริเวณใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์ ในปี ค.ศ. 1910 เฮนรี นอร์ริส รัสเซลล์ เอ็ดเวิร์ด ชาลส์ พิกเคอริง และ วิลเลียมมินา เฟลมมิง ได้ค้นพบดาวแคระขาวเป็นครั้งแรกเนื่องจากเป็นวัตถุที่จางอย่างผิดปกติ ส่วนชื่อ \"ดาวแคระขาว\" ตั้งโดย วิลเลม ลุยเทน ในปี ค.ศ. 1922",
"title": "ดาวแคระขาว"
}
] | [
{
"docid": "441802#1",
"text": "ละอองดาว-สกาวเดือนเป็นขื่อที่ครูสุรพล สมบัติเจริญเป็นผู้ตั้งให้เพื่อนใช้ในการแสดงเท่านั้น ชื่อ นามสกุล จริงคือ จำปี – จำปา โสธรบุญ เป็นคนบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา พ่อแม่เป็นชาวนา มีลูกถึง 15 คน และมีแฝดคู่เดียว สองพี่น้องฝาแฝดเรียนหนังสือแค่ชั้น ป.4 ที่โรงเรียนวัดบางสาย อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา เวลาเรียนอยู่ห้องเดียวกัน นั่งโต๊ะเก้าอี้ติดกัน และไม่เคยห่างกันเลย พวกเธอชอบร้องเพลงเป็นชีวิตจิตใจ เป็นนักร้องรุ่นจิ๋วประจำโรงเรียน และได้ตระเวนประกวดร้องเพลงตามงานวัดต่าง ๆ จนเป็นที่เลื่องลือไปทั้งจังหวัด งานประกวดที่มีสองพี่น้องฝาแฝดคู่นี้เข้าร่วมจะมีคนตามแห่ไปดูไปเชียร์เต็มที่ เพราะตัวเล็ก ๆ หน้าตาเหมือนกัน และเสียงดีมากทั้งคู่ สองพี่น้องได้รางวัลจากการประกวด กรรมการต้องยกธงขาวยอมแพ้ความเก่ง และขอร้องไม่ให้เข้าประกวดเพราะจะไม่คนกล้าเข้าแข่งด้วย ทั้งคู่จึงต้องร้องเพลงโชว์แทน และก็ได้รางวัลมากมายทุกเวที\nต่อมา พ่อและพี่ชายชื่อบุญทิ้ง โสธรบุญ เห็นแววน้องสาว จึงพาไปฝากกับครูสุรพล สมบัติเจริญ จนครูรับไว้เป็นลูกสาวบุญธรรมทั้งคู่ ทั้งยังรักเมตตาไว้ใจให้อยู่ในบ้านอีกต่างหาก ครูสุรพลฝึกให้ละอองดาว-สกาวเดือน ร้องเพลงจนเก่ง นำขึ้นเวทีร้องเพลงและเล่นละครเพลงได้จนกลายเป็นแม่เหล็กประจำวงหลังจากที่ผ่องศรี วรนุช ลาออกจากวงไปแล้ว ทั้งคู่จึงเหมือนกับแก้วตาดวงใจที่ครูได้กลับคืนมา ครูจึงแต่งเพลงป้อนให้ร้องอัดแผ่นเสียงจนโด่งดังมาก",
"title": "ละอองดาว สกาวเดือน"
},
{
"docid": "124287#3",
"text": "อาวเลสร้างคนแคระขึ้นในยุคที่เมลคอร์กำลังเรืองอำนาจสร้างความวุ่นวายอยู่บนพิภพ ดังนั้นพระองค์จึงสร้างให้คนแคระมีความทรหดอดทน ไม่ตกอยู่ในอำนาจชั่วร้ายโดยง่าย พวกคนแคระนับถือเทพอาวเลเป็นบิดาของตน และเชื่อกันว่า หลังจากสิ้นชีวิตไปแล้ว พวกเขาจะได้ไปอยู่ในท้องพระโรงของเทพอาวเล เพื่อคอยรับใช้พระองค์และร่วมในการรบครั้งสุดท้ายของอาร์ดา",
"title": "คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)"
},
{
"docid": "291429#16",
"text": "แต่ต่อมา นักวิทยาศาสตร์พบว่ามีมหานวดาราประเภท 1เอ บางดวงมีความสว่างมากผิดปกติ ซึ่งน่าจะเป็นไปได้ว่าดาวแคระขาวก่อนเกิดมหานวดารามีมวลสูงกว่าขีดจำกัดจันทรสิกขา โดยนักวิทยาศาสตร์พบมหานวดาราแบบนี้มาแล้ว 4 ดวงนับตั้งแต่ พ.ศ. 2546 และได้ให้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า \"ซูเปอร์จันทรา\" ริชาร์ด สเกลโซ จากมหาวิทยาลัยเยล ได้ระบุถึงมวลดาวแคระขาวที่เป็นต้นกำเนิดมหานวดารา SN 2007if ว่ามีมวล 2.1 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ และยังค้นพบด้วยว่าความสว่างนั้นมาจากชั้นแก๊สที่สาดออกมาก่อนและหลังการระเบิดด้วย",
"title": "มหานวดาราประเภท 1เอ"
},
{
"docid": "28284#1",
"text": "หลวงปู่ขาว อนาลโย นามเดิมชื่อ ขาว โคระถา เกิดวันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2431 ปีชวด ที่บ้านบ่อชะเนง ตำบลหนองแก้ว อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบันขึ้นกับตำบลหนองแก้ว อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ) บิดาชื่อ พั่ว โคระถา มารดาชื่อ รอด โคระถา มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 7 คน ท่านเป็นคนที่ 4 ทำอาชีพหลักของครอบครัว คือ ทำนาและค้าขาย ต่อมาท่านได้สมรสกับนางมี โคระถา เมื่อ พ.ศ. 2452 ขณะอายุได้ 20 ปี มีบุตรด้วยกัน 3 คน ใช้ชีวิตคู่ได้ 11 ปี จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา นอกจากหลวงปู่ขาวแล้วยังมีผลผลิตทางธรรมจากบ้านบ่อชะเนงและเป็นญาติกับหลวงปู่ขาว อีก ๒ รูป คือ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร กรุงเทพมหานคร และพระราชปรีชาญาณมุนี (หลอม มหาวิริโย ป.ธ.๗) เจ้าอาวาสวัดบ่อชะเนง และเจ้าคณะจังหวัดอำนาจเจริญ (รูปปัจจุบัน)",
"title": "หลวงปู่ขาว อนาลโย"
},
{
"docid": "124287#4",
"text": "เหล่าคนแคระที่เทพอาวเลสร้างขึ้นเป็นครั้งแรก มีจำนวนเจ็ดคน เรียกชื่อรวมกันในยุคต่อมาว่า บิดาของคนแคระ ในจำนวนนี้ ดูรินผู้อมตะ (Durin the Deathless) เป็นคนแคระที่มีอาวุโสสูงสุด ดูรินเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งอาณาจักรคนแคระแห่งแรกบนโลก ที่คาซัดดูม มหานครใต้ขุนเขาฮิธายเกลียร์ เขาเป็นต้นตระกูลของคนแคระสายวงศ์ \"ลองเบียร์ด (Longbeard) \"",
"title": "คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)"
},
{
"docid": "76985#0",
"text": "ครูบาเจ้าอภิชัย (ขาวปี) เดิมชื่อ \"จำปี\" เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2443 เป็นบุตรของพ่อเม่า และแม่จันตา ท่านกำพร้าบิดาตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ต่อมาเมื่ออายุได้ 16 ปี มารดาได้นำไปฝากให้เป็นศิษย์ของครูบาเจ้าศรีวิชัย ณ วัดบ้านปาง ท่านจึงได้เริ่มเรียนหนังสือ โดยท่านเป็นผู้มีนิสัยขยัน เล่าเรียนอย่างจริงจัง อ่อนโยน ว่านอนสอนง่าย นอบน้อม ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัยจึงมักใช้เวลาที่ท่านรับใช้ใกล้ชิดอบรมกล่อมเกลา ถ่ายทอดความรู้ให้ด้วยความเมตตา จนท่านครูบาอภิชัยมีความรู้เป็นลำดับ สามารถอ่านออกเขียนได้ และมีทักษะในการสวดมนต์ได้ดี",
"title": "ครูบาอภิชัย (ขาวปี)"
},
{
"docid": "47225#1",
"text": "เขาค้อมีชื่อจริงว่า วิโรจน์ แสนคำ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่บ้านเฉลียงลับ ตำบลนาป่า อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเขาค้อคลอดทีหลังเขาทราย แต่ความเชื่อของคนต่างจังหวัด แฝดที่คลอดทีหลังจะถือเป็นพี่ \nเพราะเชื่อว่าพี่จะดันให้น้องคลอดออกมาก่อน เขาค้อ จึงถือเป็นพี่ของเขาทรายไปด้วยความเชื่อนี้",
"title": "เขาค้อ แกแล็คซี่"
},
{
"docid": "124287#0",
"text": "คนแคระ ในจินตนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างเล็กเตี้ย แต่ล่ำสันแข็งแรง ทรหดอดทน มีหนวดเครายาวเฟิ้ม เป็นชนเผ่าที่ชำนาญในการช่างมากที่สุด พวกเขาเป็นมิตรอย่างมากกับพวกฮอบบิท พวกคนแคระเรียกตัวเองว่า คาซัด อันเป็นชื่อที่เทพอาวเลตั้งให้กับพวกเขา แต่พวกเอลฟ์เรียกพวกเขาว่า เนากริม ซึ่งมีความหมายว่า ชนผู้ไม่เติบโตอีกต่อไป",
"title": "คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)"
},
{
"docid": "70244#0",
"text": "ดาวแคระขาว () หรือบางครั้งเรียกว่า ดาวแคระเสื่อม (Degenerate dwarf) เป็นดาวขนาดเล็กที่ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยอิเล็กตรอนที่เป็นสสารเสื่อม เนื่องจากดาวแคระขาวที่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์จะมีปริมาตรใกล้เคียงกับโลก ทำให้มันมีความหนาแน่นสูงและมีกำลังส่องสว่างน้อยมาจากความร้อนที่สะสมไว้",
"title": "ดาวแคระขาว"
}
] |
3283 | เวย์น ธีโบด์ มีลูกหรือไม่? | [
{
"docid": "576515#2",
"text": "อย่างไรก็ตามอาชีพนักวาดการ์ตูนและนักออกแบบกราฟิกก็ต้องถูกขัดจังหวะโดยการผันตนเองไปรับใช้ชาติในสงครามโลกครั้งที่สอง (World War II) ในกองทัพทหารอากาศ แต่ด้วยทักษะด้านศิลปะทำให้เขาไม่ต้องเข้าร่วมรบใดๆ ระหว่างช่วงสงครามธีโบด์ได้แต่งงานกับแพทริเชีย เพทเทอร์สัน (Patricia Petterson) และมีลูกด้วยกันถึงสองคนคือ ทวิงกา ธีโบด์ (Twinka Thiebaud) และ มัลลารี แอน ธีโบด์ (Mallary Ann Thiebaud) ในปี ค.ศ. 1945 และ 1951[3] ตามลำดับ",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
}
] | [
{
"docid": "185563#12",
"text": "ขณะที่เวย์นจัดงานฉลองวันเกิดของเขาที่คฤหาสน์เวย์น เขาได้เผชิญหน้ากับดูคาร์ดและกลุ่มนินจาจากสหพันธ์แห่งเงา ดูคาร์ดได้เปิดเผยว่าตัวเขาเองคือราส์ อัลกูล ส่วนคนที่เวย์นฆ่านั้นเป็นตัวปลอม ราส์ได้กล่าวถึงแผนการที่จะล้างเมืองกอตแทมให้ปลอดจากมลทินและความฉ้อฉล ด้วยการแพร่สารพิษของเครนลงสู่ระบบประปาของเมือง และทำให้มันละเหยเป็นไอด้วยเครื่องยิงคลื่นไมโครเวฟที่ขโมยมาจากเวย์นเอนเตอร์ไพรซส์ เมื่อได้ยินดังนั้น เวย์นจึงล่อให้แขกในงานทั้งหมดออกไปจากคฤหาสน์โดยการทำทีว่าเมาและกล่าวคำไม่สุภาพ หลังจากนั้น เขาจึงต่อสู้กับราส์ในขณะที่คฤหาสน์ถูกวางเพลิงโดยกลุ่มสหพันธ์แห่งเงา เวย์นเสียท่าแก่ราส์และคฤหาสน์ก็เริ่มพังทลาย แต่ด้วยความช่วยเหลือของอัลเฟรดทำให้เขารอดชีวิตมาได้",
"title": "แบทแมน บีกินส์"
},
{
"docid": "576515#17",
"text": "หมวดหมู่:ศิลปินชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ศิลปะป็อปอาร์ต",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#4",
"text": "ธีโบด์ใช้เวลาทั้งหมดในช่วงทศวรรษที่ 50 ด้วยการเป็นครูสอนศิลปะที่วิทยาลัยแซคราเมนโตจูเนียร์ (Sacramento Junior College) (ปัจจุบันคือ Sacramento City College) และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาศิลปะ ในปี ค.ศ. 1954-1956 และ ปี ค.ศ. 1958-1960 อย่างไรก็ตามในช่วงปี ค.ศ. 1956-1957 ธีโบด์ได้ใช้ช่วงปีนี้ไปกับการหยุดพักผ่อนในนิวยอร์ก (New York) และได้ทำความรู้จักกับศิลปินชั้นแนวหน้าของอเมริกาในยุคนั้นไม่ว่าจะเป็น ศิลปินลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบนามธรรม (Abstract Expressionism) วิลเลม เดอ คูนนิ่ง (Willem De Kooning) และ โรเบิร์ต เราส์เชนเบิร์ก (Robert Rauschenberg) กับแจสเปอร์ จอนส์ (Jesper Johns) ศิลปินในกระแสความเคลื่อนไหวป็อปอาร์ต (Pop Art) ซึ่งศิลปินเหล่านี้ก็เป็นตัวแปรที่สำคัญที่ส่งอิทธิพลให้กับธีโบด์เป็นอย่างมาก[5] จากความประทับใจในผลงานของศิลปินเหล่านั้น ธีโบด์ได้เริ่มหันมาวาดภาพบนผืนผ้าใบขนาดเล็กเกี่ยวกับภาพอาหารหรือขนาดต่างๆ ด้วยสีสันที่สดใสพร้อมกับการลงสีอย่างพิถีพิถัน ฉูดฉาด และให้ลักษณะเงาที่สมจริงจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นพาย ขนมเค้ก ลูกกวาด หรือไอศกรีมโคน ซึ่งงานเหล่านี้ก็มักจะถูกจัดวางอยู่ตามหน้าต่างร้านค้าต่างๆ ในขณะภาพหุ่นนิ่ง (Still Life) ธรรมดาทั่วไปมักจะถูกลงสีในขณะที่เฝ้าสังเกตสิ่งเหล่านั้น ธีโบด์กลับวาดภาพอาหารทั้งหมดจากความทรงจำและจินตนาการของเขาเอง",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "20584#8",
"text": "บัลเธียร์ เดิมชื่อว่า ฟามรัน มิด บูนันซา (Ffamran Mid Bunansa) ลูกชายของดอกเตอร์ซิด \" (Cidolfus Demen Bunansa) \" เขาเติบโตขึ้นมาภายใต้การปกครองของพ่อ ที่ลุ่มหลงในความลึกลับของเนธิไซต์ดอกเตอร์ซิดพยายามที่จะให้เขาได้เป็นจัดจ์ เมจิสเตอร์ (Imperial Judge) แต่เขาปฏิเสธ และเลือกที่จะมีอิสรภาพมากกว่า จึงตัดพ่อตัดลูกกับดอกเตอร์ซิด และได้มาเป็นสลัดอากาศที่มีชื่อเสียงภายใต้ชื่อใหม่ว่า บัลเธียร์ ซึ่งค่าหัวของบัลเธียร์ เป็นที่เชื้อเชิญให้เหล่านักล่าค่าหัว คอยตามรังควาน หนึ่งในนั้น คือ บากัมนัน \" (Ba'Gamnan) \" นักล่าค่าหัวที่มีชื่อเสียงด้านความโหดร้าย และวิปริต แต่มีฝีมือสูง บัลเธียร์พยายามไม่ยุ่งเกี่ยวกับเนธิไซต์เพื่อจะได้ไม่เป็นเหมือนพ่อ แต่ว่าภายหลังแล้วก็ต้องมาพัวพันจนได้ เมื่อรู้ว่าก็อดเดสเมจิกไซต์ที่ตนพยายามขโมย ที่จริงแล้วคือ ดัสก์ชาร์ด \" (Dusk Shard) \" หนึ่งในเนธิไซต์ที่ทรงพลังที่สุดในอิวาลิซ ที่ดอกเตอร์ซิดต้องการ ถึงขนาดร่วมมือกับเวย์น โซลิดอร์ เพื่อรุกรานดัลมัสก้า เพียงแค่ต้องการครอบครองเนธิไซต์เท่านั้น \nฟราน (フラン ; Fran) เป็นนักรบเผ่าเวียร่า \" (viera) \" ไม่ทราบอายุที่แน่ชัด แต่ว่าอายุขัยของเผ่าเวียร่า สูงกว่ามนุษย์หลายเท่า อีกทั้งเวียร่ายังมีสัมผัสที่ว่องไวกับมิสต์ (Mist) ซึ่งมิสต์คือพลังงานที่ออกมาจากเมจิกไซต์ทุกชนิด รวมไปถึงเนธิไซต์ด้วย เวียร่าสามารถพูดคุย กับต้นไม้ได้ และรู้ความหมายของสายลม และเสียงกระซิบของป่า เฟรนเกิดที่หมู่บ้าน อิรัป \" (Eruyt Village) \" เป็นหมู่บ้านลึกลับที่หลบซ่อนจากสายตามนุษย์ มีเพียงเวียร่าเท่านั้นที่รู้วิธีเข้า เธอต้องการอิสรภาพ จึงละทิ้งกฎแห่งป่า ออกมาที่อิวาลิซเมื่อ 50 ปีที่แล้ว และภายหลังได้พบกับบัลเธียร์ และกลายเป็นคู่หูกัน หลังจากที่เธอถูกขับออกจากป่าเป็นเวลานาน ทำให้เธอไม่สามารถรับฟังเสียงของต้นไม้ได้อีกต่อไป สำหรับเวียร่าแล้ว เป็นความสูญเสียที่ยิ่งใหญ่มากนัก เธอเองยังคงกลัวว่าป่าจะเกลียดเธอ ที่เธอทอดทิ้งป่ามา แต่เธอเองก็ไม่มีวันเข้าใจเสียงของป่าได้อีกเป็นครั้งที่สอง \nลาร์ซา เฟอร์รินัส โซลิดอร์ (ラーサー・ファルナス・ソリドール ; Larsa Ferrinas Solidor) ลูกชายคนที่ 4 ของจักรพรรดิกรามิส \" (Emperor Gramis) \" เป็นน้องชายของ เวย์น โซลิดอร์ \" (Vayne Solidor) \" ลาร์ซานับถือพ่อของเขาที่ทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย และนับถือเวย์น ผู้เป็นพี่ชายมาก ลาร์ซาอายุเพียง 12 ปี และถูกเลี้ยงดูให้ห่างจากเรื่องราวของสงคราม ลาร์ซาได้รับความเชื่อถือจากสภาสูงของจักรวรรดิอาร์เคเดีย มากกว่าเวย์น โซลิดอร์ สภาสูงจะให้ลาร์ซาเป็นจักรพรรดิคนต่อไป เพราะคิดว่าจะสามารถควบคุมลาร์ซาได้ง่ายกว่า อีกทั้งสภาสูงยังหวาดกลัวเวย์น โซลิดอร์ ที่เชี่ยวชาญการบัญชาการรบ และน่ากลัวกว่าลาร์ซา ถึงแม้ว่าลาร์ซาจะอายุยังน้อย แต่มีภาวะผู้นำสูง สามารถหาทางแก้ปัญหาการปกครองที่ยากลำบากได้ ลาซาร์ตัดสินใจเข้าร่วมเดินทางกับเลดี้แอช (อาเช่) เพื่อหาหนทางยับยั้งสงคราม และอยู่ร่วมกันอย่างสันติ\nเวย์น คารูดัส โซลิดอร์ (ヴェイン・カルダス・ソリドール ; Vayne Carudas Solidor) ลูกชายคนที่ 3 ของจักรพรรดิกรามิส เป็นพี่ชายของลาร์ซา เฟรินัส โซลิดอร์ อายุ 27 ปี เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นหนึ่งในสมาชิกของ เฮาส์โซลิดอร์ \" (House Solidor) \" ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีอำนาจปกครองจักรวรรดิอาร์เคเดีย เฮาส์โซลิดอร์ปกครองจักรวรรดิอาร์เคเดียมา 4 รุ่นแล้ว เวย์น โซลิดอร์ มีฐานะเทียบเท่ากับเจ้าชาย แต่เวย์นไม่เคยสนใจที่จะให้ใครมาเคารพเขาในฐานะนั้น แต่จะให้ยอมสยบในอำนาจที่แท้จริงมากกว่า เวย์นร่วมมือกับดอกเตอร์ซิด ในการวิจัยทางทหารที่เป็นความลับ แม้แต่สภาสูงยังรู้น้อยมากเกี่ยวกับสิ่งที่เวย์นทำ เวย์นเป็นอีกคนที่สามารถพูดคุย และมองเห็นเวแนท \" (Venat) \" เวแนทกับออคคิวเรียเป็นเหมือนเทพ ที่คอยควบคุมประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติบนอิวาลิซ เพียงแต่เวแนททรยศออคคิวเรีย ซึ่งเวแนทได้เลือกให้เวย์นเป็นจอมจักรพรรดิ แต่ออคคิวเรียเลือกให้เลดี้แอชเป็นจอมกษัตริย์ เวย์นได้ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับเนธิไซต์จากเวแนท ให้ดอกเตอร์ซิดพัฒนาเป็น แมนูแฟกเท็ด เนธิไซต์ \" (manufacted Nethicite) \" ซึ่งเป็นอาวุธที่ทรงพลังใกล้เคียงกับเนธิไซต์ของออคคิวเรีย เพียงแต่มนุษย์สามารถสังเคราะห์ได้เอง และควบคุมได้ ซึ่งเวย์นได้ใช้เป็นอาวุธหลัก ในการรุกรานอาณาจักรอื่นๆ\nมาร์ควิส เฮลิม ออนดอร์ ที่ 4 (ハルム・オンドール4世 ; Marquis Halim Ondore IV) เป็นนายกรัฐมนตรีของนครลอยฟ้าบูเจอร์บา \" (Bhujerba) \" อยู่ในตระกูลขุนนางชั้นสูงที่ปกครองบูเจอร์บามาหลายรุ่น มีศักดิ์เป็นอาของเลดี้แอช เป็นคนที่ให้พรในงานอภิเษกสมรสระหว่างเลดี้แอชกับลอร์ดราสเลอร์ และยังเป็นคนทำพิธีไว้อาลัยในงานศพ ของลอร์ดราสเลอร์เช่นกัน มีข่าวลือว่าออนดอร์ให้การสนับสนุนกองกำลังต่อต้าน แต่ออนดอร์ ก็ยอมอ่อนข้อ ให้กับจักรวรรดิอาร์เคเดีย เพราะต้องการรักษาความสงบ และคงไว้ซึ่งความเป็นกลาง ข่าวการตายของบาช ฟอน รอนเซนเบิร์ก เป็นเพียงแค่เครื่องมือของเวย์น โซลิดอร์ เพื่อใช้ให้ออนดอร์เป็นหุ่นเชิดเท่านั้น ซึ่งภายหลังเหตุการณ์กองเรือที่ 8 ลีไวอาทัน ของจักรวรรดิอาร์เคเดียถูกทำลาย จากแรงระเบิดของดอว์นชาร์ด \" (Dawn Shard) \" ออนดอร์ก็เริ่มจะแสดงจุดยืนที่แน่นอนในการต่อต้านจักรวรรดิอาร์เคเดีย โดยเริ่มจากการยกเลิกการขายเมจิกไซต์ให้กับจักรวรรดิอาร์เคเดีย พร้อมทั้งปิดเหมืองลูซู \" (Lhusu Mines) \" หนึ่งในเหมืองที่มีเมจิกไซต์คุณภาพสูงที่สุดบนอิวาลิซ ทั้งยังรวมมือกับจักรวรรดิโรซาร์เรียน \" (Rozarrian Empire) \" ในการสนับสนุนกองกำลังต่อต้าน และออนดอร์ยังทำหน้าที่เป็นผู้บรรยายเนื้อเรื่องระหว่างการดำเนินเรื่องในแต่ละช่วงอีกด้วย\nราสเลอร์ เฮออส นาบราเดีย (ラスラ・ヘイオス・ナブラディア ; Rasler Heios Nabradia) เป็นเจ้าชายแห่งราชวงศ์นาบราเดีย และเป็นสามีของเลดี้แอช เจ้าหญิงแห่งอาณาจักรดัลมัสก้า หลังจากที่ลอร์ดราสเลอร์อภิเษกสมรสได้ไม่นาน ดัลมัสก้าก็ถูกรุกรานโดยจักรวรรดิอาร์เคเดีย ลอร์ดราสเลอร์อาสาไปป้องกันป้อมปราการนัลบินา ซึ่งเป็นป้อมสำคัญ ภายหลังจากที่ทราบข่าวร้ายจากกัปตันบาช วอน รอนเซนเบิร์กว่า เมืองนาบุดิส บ้านเกิดของลอร์ดราสเลอร์ และเป็นเมืองหน้าด่านก่อนที่จะถึงดัลมัสก้าพินาศแล้ว จากการรบที่ป้อมปราการนัลบินา ลอร์ดราสเลอร์ถูกยิงเข้าที่จุดสำคัญ เป็นเหตุให้สิ้นพระชมน์ในเวลาต่อมา ซึ่งในระหว่างการดำเนินเรื่อง จะปรากฏตัวมาให้เลดี้แอชเห็นในรูปวิญญาณบ่อยครั้ง ซึ่งบางครั้ง วานก็มองเห็นเหมือนกัน แต่ที่จริงแล้วเป็นเพียงภาพลวงตาที่ออคคิวเรียสร้างขึ้น เพื่อชี้นำเลดี้แอชให้ทำตามที่พวกออคคิวเรียต้องการ\nอัลซิด มาร์เกรซ (アルシド・マルガラス ; Al-Cid Margrace) สมาชิกของเฮาส์มาร์เกรซ กลุ่มผู้ที่ปกครองจักรวรรดิโรซาร์เรียน อัลซิดได้ร่วมมือกับลาร์ซา ที่จะยับยั้งสงคราม แต่ว่าการตายของจักรพรรดิกรามิส ทำให้ความหวังยิ่งริบหรี่ลง อัลซิดมีความสามารถในการหาข่าวสูง ซึ่งเขาจะมีผู้ช่วยเป็นผู้หญิง คอยติดตามข้างกายอยู่เสมอ อัลซิดเรียกพวกผู้ช่วยที่พึ่งพาได้นี้ว่า นกน้อย \" (birds) \" หลังจากที่อัลซิด รู้ว่าไม่มีทางยับยั้งสงครามได้ เขาจึงได้ให้สัญญากับเลดี้แอช ว่าจะชะลอแผนการโจมตีของจักรวรรดิโรซาร์เรียนให้นานที่สุด เพื่อยืดเวลาให้เลดี้แอช พร้อมทั้งบอกกับเลดี้แอชว่าหากผ่านพ้นจากสถานการณ์เลวร้ายนี้ไปได้ อัลซิดจะขอเชิญเลดี้แอช ไปเยี่ยมชมที่จักรวรรดิโรซาร์เรียนอย่างเป็นทางการ\nกรามิส กานา โซลิดอร์ (グラミス・ガンナ・ソリドール ; Gramis Gana Solidor) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 ของ จักรวรรดิอาร์เคเดีย และเป็นพ่อของเวย์น กับ ลาร์ซา โซลิดอร์ สุขภาพร่างกายของเขาเริ่มย่ำแย่ อันเนื่องมาจากการตรากตรำงานหนัก สภาสูงจึงเสนอให้ลาร์ซาเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งจักพรรดิ ซึ่งจักรพรรดิกรามิสก็ไม่ได้คัดค้านแต่อย่างใด จักรพรรดิกรามิสเป็นคนสั่งให้เวย์น สังหารลูกชายคนโต 2 คนซึ่งเป็นพี่ชายของเวย์นในอดีต เหตุการณ์นี้ยังคงทำให้จักรพรรดิกรามิสเสียใจอยู่ และทำให้เวย์นโหดร้ายมากขึ้น เนื่องจากว่าจักรพรรดิกรามิสไม่ยอมสละอำนาจ ในที่สุดเขาก็ถูกเวย์นลอบสังหาร โดยเวย์นจัดฉากให้คนลงมือ คือหนึ่งในสภาสูง แล้วทำการลิดรอนอำนาจจากสภาสูงอีกที แล้วแต่งตั้งตัวเองเป็นจอมเผด็จการ เนื่องจากเวย์นเชี่ยวชาญการรบ การยึดอำนาจของเวย์น จึงไม่ได้ทำให้ประชาชนเกลียดชังเขาเลย\nเร็กส์ (レックス ; Reks) เป็นพี่ชายของวาน เข้าร่วมในภารกิจช่วยเหลือพระราชารามินัส จากการถูกจักรวรรดิอาร์เคเดียบังคับให้ยอมแพ้ จากการพบกับบาชและวอสเลอร์โดยบังเอิญ ในขณะที่เร็กส์ต่อสู้ป้องกันป้อมปราการนัลบินาอย่างสุดความสามารถ แต่ว่าเมื่อเร็กส์ไปถึง ก็พบว่าพระราชารามินัสสิ้นพระชนม์แล้ว ทั้งยังถูกบาชทำร้ายจนบาดเจ็บสาหัส เร็กส์จึงเป็นพยานปากสำคัญ ในการยืนยันว่าบาชลอบสังหารพระราชารามินัส ภายหลังได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล แต่ก็เสียชีวิตก่อนที่วานจะมาเยี่ยม\nวอสเลอร์ ยอร์ก อซีลาส (ウォースラ・ヨーク・アズラス ; Vossler York Azelas) เป็นหัวหน้าอัศวินแห่งอาณาจักรดัลมัสก้า และเป็นคู่หูที่รบเคียงบ่าเคียงไหล่กับ กัปตันบาช ฟอน รอนเซนเบิร์ก ภายหลังจากที่อาณาจักรดัลมัสก้าพ่ายแพ้ วอสเลอร์เป็นคนอารักขาเลดี้แอช และพาไปหลบซ่อนตัวในที่ปลอดภัย ทั้งยังรวบรวมเหล่าผู้ที่จงรักภักดีต่อพระราชารามินัสและเลดี้แอช มาตั้งเป็นกองกำลังต่อต้าน วอสเลอร์มีทักษะการรบที่สูง ผ่านความเป็นความตายมากับบาชนับครั้งไม่ถ้วน ถือว่าเป็นคนสำคัญคนหนึ่งในกองกำลังต่อต้าน และจะคอยวางแผนการที่สำคัญ รวมทั้งฝึกฝนกำลังคน วอสเลอร์จะพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อกอบกู้อาณาจักรดัลมัสก้ากลับคืนมาให้ได้\nไฟนอลแฟนตาซี XII ดำเนินเรื่องอยู่บนโลกเสมือนจริงชื่อว่า อิวาลิซ \" (Ivalice) \" โดยเริ่มต้นที่อาณาจักรดัลมัสก้า ในเมืองหลวงที่ชื่อ ราบานัสต้า กำลังมีงานเฉลิมฉลองการอภิเษกสมรส ระหว่างเลดี้แอช เจ้าหญิงแห่งอาณาจักร ดัลมัสก้า กับเจ้าชายราสเลอร์ แห่งอาณาจักรนาบราเดีย ซึ่งภายหลังงานอภิเษกไม่นาน อาณาจักรดัลมัสก้าก็ถูกรุกรานโดยจักรวรรดิอาร์เคเดีย ทำให้เกิดสงครามขึ้น อาณาจักรนาบราเดียกับอาณาจักรดัลมัสก้า ร่วมเป็นพันธมิตร กันต่อต้านการรุกรานของจักรวรรดิอาร์เคเดีย ในระหว่างการรบเจ้าชายราสเลอร์เสียชีวิต เป็นผลให้พระราชารามินัสแห่งอาณาจักรดัลมัสก้า ถูกบังคับให้เซ็นสัญญายอมแพ้ และมีแผนการที่จะสังหารพระองค์ทิ้งหลังจากสละอำนาจ เหล่าอัศวินของอาณาจักรดัลมัสก้า พยายามสุดชีวิตที่จะขัดขวางแผนการนี้ กัปตันบาช หัวหน้ากองทัพอัศวินแห่ง อาณาจักรดัลมัสก้า เป็นผู้ลงมือสังหารพระราชารามินัส โดยมี เร็กส์ ทหารหนุ่มวัย 17 ปีที่พยายามขัดขวางแผนการลอบสังหาร เป็นพยานในที่เกิดเหตุ เป็นผลให้ มาร์ควิส ออนดอร์ ประกาศให้กัปตันบาช ฟอน รอนเซนเบิร์ก ต้องโทษกบฏ พร้อมทั้งประกาศข่าวว่า เลดี้แอช ตรอมใจตาย อันเนื่องมาจากสูญเสียบิดา สามี และอาณาจักรในเวลาเดียวกัน \n2 ปีให้หลัง วาน น้องชายของเร็กส์ ได้วางแผนที่จะเข้าไปขโมยของ ในท้องพระคลังของปราสาทดัลมัสก้า ในงานต้อนรับการมาเยือนของ เวย์น โซลิดอร์ บุตรชายคนโตของจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิอาร์เคเดีย แต่แผนการของ วานถูกคัดค้านอย่างหนักจาก เพเนโล่ เพื่อนสาวคนสนิทที่โตมาด้วยกัน ในระหว่างที่วานลอบเข้าไปในท้องพระคลังได้สำเร็จ จากการช่วยเหลือของ ผู้เฒ่าดาร์ลัน \" (Old Dalan) \" วานได้พบกับบัลเธียร์ และ แฟรน ที่หมายตาเมจิกไซต์ ซึ่งวานขโมยมาได้เหมือนกัน ระหว่างนั้นเหล่ากองกำลังต่อต้านได้เปิอฉากโจมตี เพื่อลอบสังหาร เวย์น โซลิดอร์ แต่กลับถูกซ้อนแผน โดยเวย์น โซลิดอร์ใช้ตัวเองเป็นเหยื่อล่อ แล้วให้กองเรือเหาะอิฟรีท เตรียมซุ่มโจมตีพวกกองกำลังต่อต้าน ในระหว่างการหลบหนีทั้ง 3 คนได้ตกลงไปในท่อระบายน้ำใต้ดินของราบานัสต้า และได้พบกับ อเมเลีย หัวหน้าของกองกำลังต่อต้าน ทั้งหมดจึงตัดสินใจร่วมกันหลบหนี อย่างไรก็ตามกองทหารอาร์เคเดียก็จับกุมได้ทั้งหมด โดยวาน บัลเธียร์ และแฟรน ถูกส่งตัวไปที่นัลบิน่าดันเจี้ยน ในขณะที่ อเมเลีย ถูกแยกตัวไปที่อื่น ทั้ง 3 คนได้หลบหนีออกจากนันบินาดันเจี้ยน และได้พบกับ กัปตันบาช ฟอน รอนเซนเบิร์ก ที่ขอให้ช่วย พร้อมทั้งอธิบายว่าเขาถูกใส่ความโดยน้องชายฝาแฝด แกบรานธ์ และที่เขาไม่ถูกประหารชีวิต ก็เพื่อจะแบล็กเมล์ ออนดอร์ ให้เงียบไว้ ซึ่งตอนแรกวานไม่เชื่อ เพราะว่าเร็กส์ พี่ชายของตนเห็นเหตุการณ์ทั้งหมด แต่ภายหลังวานก็เข้าใจ ",
"title": "ไฟนอลแฟนตาซี XII"
},
{
"docid": "576515#14",
"text": "กล่าวโดยสรุปได้ว่างานที่ธีโบด์สร้างขึ้นมานั้นไม่ได้เป็นเพียงความต้องการหรือความปรารถนาในอาหารดังที่เห็นในภาพ หากแต่เป็นความทรงจำที่ได้พบเห็นครั้งยังเป็นเด็กตามฝาผนัง กำแพงหรือหน้าต่างในร้านค้า ร้านอาหาร หรือโรงภาพยนตร์ แต่สิ่งที่ธีโบด์ต้องการจะสื่อถึงไม่ได้มีเพียงภาพอาหารหรือภาพภูมิทัศน์เพียงอย่างเดียว ในปัจจุบัน ธีโบด์ยังคงวาดภาพในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสิ่งของในชีวิตประจำวันที่เราสามารถพบเห็นได้บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็น เครื่องสำอางหรือรองเท้า ที่ถูกวาดออกมาเป็นจำนวนมากเพื่อล้อไปกับบริบททางสังคมแบบอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อีกทั้งการลงสีที่หลากหลายกับแสงที่สว่างเพื่อที่จะเน้นถึงสิ่งที่เขาต้องการเน้นย้ำ เช่นคน สถานที่หรือสิ่งของ และต้องการที่จะสะท้อนให้เห็นถึงมุมมองในอดีตของวัฒนธรรมป็อป และฉากหรือภูมิทัศน์ของอเมริกาที่ผู้ชมสามารถบ่งบอกถึงสถานที่ได้อย่างง่ายดาย",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "746574#1",
"text": "เอเดลสตีนเกิดที่บอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ เป็นลูกสาวของบอนนี และแอลวิน เอเดลสตีน พ่อของเธอเป็นกุมารแพทย์ที่โรงพยาบาลชิลตันเมมโมเรียล แม่ของเธอเป็นนักสังคมสงเคราะห์ปลดเกษียณแล้ว ครอบครัวของเธอเป็นชาวยิว เธอเติบโตที่เวย์น รัฐนิวเจอร์ซีย์ เป็นลูกสาวคนเล็กในบรรดาพี่น้องสามคน เธอเข้าเรียนโรงเรียนเวย์นแวลลีย์ไฮสกูล จบการศึกษาเมื่อ ค.ศ. 1984",
"title": "ลีซา เอเดลสตีน"
},
{
"docid": "659532#12",
"text": "ในระดับทีมชาติ จากการเล่นที่ร้อนแรงในฤดูกาล 2014–15 ทำให้ แฮร์รี เคน ถูกเรียกตัวติดทีมชาติชุดใหญ่ครั้งแรก ในรายการคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ในนัดที่อังกฤษพบกับ ลิทัวเนีย และ อิตาลี ในปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 2015 และยิงได้ทันทีในนัดแรกที่ได้ลงพบกับลิทัวเนีย โดยเคนเป็นตัวสำรองถูกเปลี่ยนไปแทนเวย์น รูนีย์ และยิงได้ภายในนาทีเดียวที่ถูกเปลี่ยนลงไป ในนาทีที่ 71 จากการโหม่ง จากลูกส่งให้ของราฮีม สเตอร์ลิง เป็นลูกที่ 4 ผลการแข่งขันอังกฤษเอาชนะไปได้ 4-0 ประตู",
"title": "แฮร์รี เคน"
},
{
"docid": "439386#1",
"text": "ในนัดเปิดฤดูกาล 2015–16 ทอตนัมฮอตสเปอร์ พบกับ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่สนามโอลด์แทรฟฟอร์ด วอค์กเกอร์เป็นผู้สกัดลูกบอลเข้าประตูตัวเองในนาทีที่ 22 หลังจากพยายามเข้าสกัดลูกยิงของเวย์น รูนีย์ แต่ทว่าลูกกลับผิดพลาดเข้าประตูไป ทำให้ทอตนัมฮอตสเปอร์เป็นฝ่ายแพ้ไป 0-1 ประตู",
"title": "ไคล์ วอล์กเกอร์"
},
{
"docid": "576515#15",
"text": "1957 Antique Coin Machine 1961 Pies, Pies, Pies 1962 Around the Cake 1962 Bakery Counter 1963 Cakes 1963 Girl with Ice Cream Cone 1963 Three Machines 1964 Three Strawberry shakes 1964 Man Sitting - Back View 1965 Stick Candy 1966 Powder With Puff 1967-68 Coloma Ridge 1967-87 Sandwich Plate 1970 Large Sucker 1970 Seven Suckers 1971 Millefeuilles 1975 Shoe Rows 1977 24th Street Intersection 1979 Four Cakes 1981 Candy Apple 1981 Hill Street (Day City) 1987 Two Paint Cans 1993 Apartment View 1996 Farm Channel 1999 Reservoir 2002 Jolly Cones (Ice Cream Cones) 2005 Donuts and Cupcakes 2006 Seven Dogs 2010 Google - 12th Birthday Cake",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "436138#1",
"text": "เวย์น พาร์ เริ่มฝึกเทควันโดเมื่อมีอายุได้ 11 ปี เมื่อพาร์เติบโตขึ้น ครอบครัวของเขาได้ย้ายไปเป็นจำนวนมาก และแม่ของเขาช่วยให้เขาได้พบกับโรงยิมใหม่ทุกครั้งที่ทำการย้ายเพื่อให้ลูกชายของเธอได้รับการฝึกฝน เมื่อเขามีอายุสิบหกปี ครอบครัวของเขาก็ได้ย้ายกลับคืนสู่รัฐควีนส์แลนด์ และพาร์ก็ได้เริ่มฝึกฝนกับแบลร์ มัวร์ ซึ่งมัวร์เป็นหนึ่งในโปรโมเตอร์ชั้นนำของควีนส์แลนด์ด้านมวยไทย",
"title": "จอห์น เวย์น พาร์"
},
{
"docid": "576515#6",
"text": "ในปี ค.ศ. 1958 ธีโบด์ได้อย่าร้างกับภรรยาของเขา และลูกสาวของเขา ทวิงกา ก็ได้กลายมาเป็นนางแบบให้แก่ศิลปินชื่อดัง นักเขียนและจิตรกร กระนั้นธีโบด์ก็ได้แต่งงานอีกครั้งหนึ่งกับผู้ผลิตภาพยนตร์สาว เบ็ตตี้ จีน แครร์ (Betty Jean Carr) และรับลูกชายของเธอ แมธทิว (Matthew) มาเลี้ยงซึ่งในภายหลังก็ได้กลายมาเป็นศิลปินเช่นเดียวกัน ต่อมาทั้งสองก็ได้มีลูกอีกหนึ่งคนคือ พอล ธีโบด์ (Paul Thiebaud) นักซื้อขายงานศิลปะ และผู้ดูแลหอศิลป์",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "529348#11",
"text": "อานัวอีเป็นครึ่งซามัวและครึ่งอิตาลี เป็นลูกชายของซิกา และน้องชายของโรซี(แมต อานัวอี)เป็นนักมวยปล้ำมืออาชีพ ในฐานะที่เป็นสมาชิกของครอบครัวอานัวอี เขาเป็นลูกพี่ลูกน้องกับนักมวยปล้ำมืออาชีพ ดเวย์น \"เดอะร็อก\" จอห์นสัน, โยโกะซูนา, ริกิชิ, อูมากา และดิอูโซส์",
"title": "โรแมน เรนส์"
},
{
"docid": "576515#11",
"text": "ธีโบด์เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากงานจิตรกรรมที่โด่งดังและสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในร้านอาหาร เนื่องจากงานของเขามักจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวอาหาร หรือของหวานเป็นจำนวนมาก อย่างเช่นขนมเค้ก ขนมอบ พายต่างๆ รวมถึงไอศกรีมโคน ผลงานของเขาได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ที่เขาประสบมาครั้งยังเป็นเด็ก เริ่มจากชีวิตวัยเด็กขณะที่เขาอาศัยอยู่ที่ลอง บีช เขาทำงานอยู่ร้านขายไอศกรีมฮอตดอกที่มีชื่อว่า Mile High and Red Hot ด้วยเหตุผลนี้เองจึงทำงานส่วนใหญ่ของเขามักจะเล่าเรื่องราวหรือพรรณนาถึงสิ่งเหล่านี้อยู่เสมอ[8] ขณะที่ธีโบด์อายุ 16 ปี เขาได้เข้าทำงานให้กับเดอะดิสนีย์ สตูดิโอในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนในฐานะนักวาดการ์ตูนหรือวาดภาพประกอบ เมื่อเขาโตขึ้นก็ได้กลายเป็นศิลปินที่วาดภาพเกี่ยวกับการค้า ออกแบบภาพประกอบสำหรับสื่อโฆษณาต่างๆ จนกระทั่งเขาหันมาสนใจในงานวิจิตรศิลป์และได้ผันตัวกลายมาเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานลงบนผืนผ้าใบ",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#8",
"text": "ในช่วงทศวรรษที่ 70 เขาหันกลับมาสานต่อการสร้างงานจากการเฝ้าสังเกตสิ่งของในชีวิตประจำวันเช่นเดิม ไม่ว่าจะเป็นรองเท้าหรือเครื่องสำอาง โดยงานจิตรกรรมส่วนใหญ่ของเขามักจะเป็นภาพภูมิทัศน์ของซานฟรานซิสโก เป็นเวลาตลอด 20 ปีที่เขาได้สร้างงานเหล่านี้ด้วยรายละเอียดที่สมจริงเพื่อค้นหาความสวยงามในความทรงจำของฉากที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกวัน",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "290812#0",
"text": "ดเวย์น จอห์นสัน (Dwayne Johnson) มีชื่อจริงว่า ดเวย์น ดักลาส จอห์นสัน (Dwayne Douglas Johnson) เกิดเมื่อวันที่ 3พฤษภาคม ค.ศ. 1972 นักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงลูกครึ่งแคนาดา-อเมริกัน และมีเชื้อสายซามัว เป็นนักมวยปล้ำของWWE ในชื่อที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เดอะร็อก (The Rock) ซึ่งบางครั้งก็เรียกกันว่า ดเวย์น \"เดอะร็อก\" จอห์นสัน (Dwayne \"The Rock\" Johnson) หรือฉายาคือหินเดินได้",
"title": "ดเวย์น จอห์นสัน"
},
{
"docid": "576515#1",
"text": "เวย์น ธีโบด์ (Wayne Thiebaud) เกิดที่เมืองเมซา รัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920 ช่วงอายุหกปีครอบครัวของเขาต้องย้ายไปอยู่ที่ลองบีช รัฐแคลิฟอร์เนีย ทำให้ช่วงชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่ของธีโบด์จะอาศัยอยู่ที่ทางตอนใต้ของแคลิฟอร์เนีย ถึงแม้ว่ารากฐานครอบครัวจะอยู่ทางฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ก็ตาม นอกจากนี้ธีโบด์ยังได้ใช้เวลาหลายปีอาศัยที่ฟาร์มปศุสัตว์ของคุณลุงในยูทาห์ (Utah) อีกด้วย จนกระทั่งช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนหนึ่งในช่วงมัธยมศึกษาตอนปลาย เขาได้เข้าทำงานกับเดอะวอลต์ดิสนีย์สตูดิโอ (the Walt Disney Studios) เป็นช่วงเวลาสั้นๆในปี ค.ศ. 1936-1937[2] ในฐานะผู้วาดตัวการ์ตูนให้แลดูมีชีวิตชีวา กระนั้นช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนถัดมาในปี ค.ศ. 1938 ธีโบด์ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนแฟรงค์วิกกินส์เทรด (Frank Wiggins Trade School) ในลอสแอนเจลิส (Los Angelis) เพื่อเรียนรู้การวาดภาพตามที่เขาได้ตั้งใจเอาไว้และเริ่มที่จะเรียนรู้การวาดภาพที่เกี่ยวกับการค้า",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#16",
"text": "Susan Goldman Rubin. (2007). Delicious: The Art and Life of Wayne Thiebaud.",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#10",
"text": "ในปี 2010 ชื่อของเขาก็ถูกบันทึกลงในหอเกียรติยศแคลิฟอร์เนีย (The California Hall of Fame) ที่พิพิธภัณฑ์แคลิฟอร์เนีย (The California Museum) อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน ธีโบด์ได้เกษียณจากงานสอนศิลปะเป็นที่เรียบร้อยแล้ว หลายทศวรรษที่เขาได้อุทิศไปแก่การสอนได้กลายเป็นอิทธิพลหลักที่สำคัญแก่ศิลปินและศิลปะอเมริกา นักเรียนจำนวนมากของเขาได้เรียนรู้ถึงความแตกต่างในฐานะศิลปินและอาชีพศิลปิน ในช่วงอายุ 90 ปีของธีโบด์ เขายังคงวาดภาพต่างๆ อยู่ ผลงานขนาดใหญ่ที่แสนล้ำค่าของเขายังคงสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมทั่วไปอยู่เสมอในมุมมองที่มีเอกลักษณ์ของความสวยงามและมนต์เสน่ห์ของสิ่งของในชีวิตประจำวัน",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#13",
"text": "นอกจากนี้หลังจากที่เขาย้ายกลับไปที่แคลิฟอร์เนียในช่วงต้นทศวรรษที่ 60 ธีโบด์ก็เริ่มหันมาสร้างผลงานในประเด็นอื่น ซึ่งคือภาพภูมิทัศน์ของชนบทในแซคราเมนโตก่อนที่จะย้ายไปอยู่ที่ซานฟรานซิสโกและสร้างสรรค์ชุดภาพภูมิทัศน์ของตัวเมืองซานฟราสซิสโกออกมาเป็นจำนวนมากในปี ค.ศ. 1972 โดยใช้ฉากภูมิประเทศที่โดดเด่นของเบย์ แอเรีย (the Bay Area) เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างงาน[11] ไม่ว่าจะเป็นฉากเมือง อาคาร สิ่งก่อสร้างและถนนหนทาง เช่นภาพ Sunset Streets (1985) และ Flatland River (1997) จะเห็นได้ว่าภาพจะมีลักษณะเกินจริง นอกจากนี้เขายังได้วาดภาพตัวละครการ์ตูนที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปเช่น มิกกี้ เมาส์ (Mickey Mouse) อีกด้วย",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "709858#2",
"text": "เรย์มอนด์ \"เรย์\" เกนส์ (ดเวย์น จอห์นสัน) เป็นกัปตันจากหน่วยช่วยชีวิตทางอากาศของแผนกดับเพลิง กำลังอยู่ในช่วงหย่าร้างกับเอ็มมา (คาร์ลา กูจิโน) และวางแผนเดินทางไปซานฟรานซิสโกกับเบลก (อเล็กซานดรา แดดดาริโอ) ลูกสาวของเขา",
"title": "ซานแอนเดรส มหาวินาศแผ่นดินแยก"
},
{
"docid": "576515#0",
"text": "เวย์น ธีโบด์ (อังกฤษ: Wayne Thiebaud)เกิดในเมืองเมซา รัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920[1] และเป็นที่รู้จักกันในนามของศิลปินที่สร้างสรรค์งานจิตรกรรมในหัวข้อของสิ่งของในชีวิตประจำวัน หรือของกิน ไม่ว่าจะเป็นขนมเค้ก ขนมอบ พาย ไอศกรีมโคน เครื่องสำอางหรือรองเท้า แม้ว่างานส่วนใหญ่ของเขาจะถูกสร้างขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 50-60 ธีโบด์ก็ถูกนับว่าเป็นจิตรกรชาวอเมริกันที่อยู่ในกระแสความเคลื่อนไหวป็อปอาร์ต (อังกฤษ:Pop Art)งานของเขามักจะใช้สีสันที่ฉูดฉาดและเกินจริง และมีการใช้เงาที่มีลักษณะพิเศษเพื่อนำเสนอผลงาน",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#5",
"text": "หลังจากที่เขากลับมาที่แคลิฟอร์เนีย ในช่วงทศวรรษที่ 50 ไม่มีหอศิลป์ใดเลยในแซคราเมนโตที่เขาจะสามารถจัดแสดงผลงานของตนเองได้ ธีโบด์จึงทำการจัดแสดงผลงานของเขาในทุกๆ ที่ที่เขาสามารถจะวางผลงานไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นในร้าค้า ร้านอาหาร หรือแม้แต่ในโรงภาพยนตร์ จนกระทั่งเขาพบหอศิลป์ในแซคราเมนโตซึ่งปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในนาม อาร์ตติส คอนเท็มโพรารี่ แกเลอรี่ (Artists Contemporary Gallery) และ พอนด์ ฟาร์ม (Pond Farm)",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#3",
"text": "หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง ธีโบด์หันกลับมายึดอาชีพเดิมและทำงานออกแบบให้กับบริษัทยาเร็กซอลล์ (Rexall Drugstore) ในลอสแอนเจลิส จนทำให้พบกับโรเบิร์ต มัลลารี (Robert Mallary) เพื่อนร่วมงาน ด้วยเหตุนี้ทำให้ธีโบด์เริ่มหันมาศึกษาวิจิตรศิลป์ (Fine Art) และเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ตนเอง จนกระทั่งปี ค.ศ. 1949-1950 ธีโบด์เข้าศึกษาที่วิทยาลัยรัฐแซน โฮเซ่ (San Jose State College) (ปัจจุบันคือ San Jose State University) และย้ายไปที่วิทยาลัยรัฐแคลิฟอร์เนีย (California State College) (ปัจจุบันคือ California State University) ในปี ค.ศ. 1950-1953 จนจบระดับปริญญาโทและปริญญาเอก[4]",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#12",
"text": "ลักษณะในชิ้นงานของธีโบด์มักจะสร้างโครงร่างของวัตถุที่มีลักษณะชัดเจนจนทำให้นึกถึงภาพการ์ตูน เขามักจะใช้สีสันที่สดใสและรุนแรงตัดกับฉากหลังที่มีสีอ่อนกว่าเพื่อบรรยายถึงตัววัตถุหลักภายในภาพให้ชัดเจน อีกทั้งยังใช้การแสดงเงาในลักษณะพิเศษของการโฆษณาที่มีความเข้มสมจริง ซึ่งลักษณะเงาเช่นนี้ชี้ให้เห็นว่าธีโบด์ได้ให้ความสำคัญในเรื่องของแสงเป็นอย่างมากดังที่เห็นในตัวอย่าง Candy Counter (1969) จะเห็นได้ว่างานในช่วงแรกของธีโบด์นี้มีลักษณะการใช้เส้นสีสร้างให้เกิดเส้นในลักษณะแนวนอน ซึ่งเส้นเหล่านี้ไม่ได้มีความหมายใดเลย มันอาจจะเป็นเพียงเส้นขอบของโต๊ะก็ได้ แต่ในความจริงมันเป็นเพียงการใช้สีเพื่อสร้างความสนุกให้กับภาพ และหากสังเกตใกล้ๆ จะพบว่าโครงสร้างของภาพหรือสิ่งของนั้นไม่ปกติแต่มีการลงสีที่เหมาะสมแทน[9] ในช่วงทศวรรษที่ 50 เขาได้เห็นงานศิลปะลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบนามธรรมจากศิลปินชื่อดังอย่าง วิลเลม เดอ คูนนิ่ง และ โรเบิร์ต เราส์เชนเบิร์ก จนทำให้เขาหันมาสร้างสรรค์ผลงานลงบนผืนผ้าใบขนาดเล็กในหัวข้อเดิมที่เกี่ยวกับอาหารต่างๆ อย่างไรก็ตามตัวธีโบด์เองไม่ได้นำกรอบความคิดของศิลปะในกระแสความเคลื่อนไหวป็อปอาร์ตมาใช้สักเท่าไหร่นัก โดยส่วนใหญ่แล้วงานของเขามักจะกล่าวถึงการล้อเลียน เสียดสีหรือวิพากษ์วิจารณ์วิธีทางด้านพาณิชย์และสังคมการบริโภคเสียมากกว่า ธีโบด์ต้องการที่จะอธิบายตัวตนของเขาว่าเป็นจิตรกรหัวโบราณที่สนใจในงานเพื่อการโฆษณา การ์ตูน หรือภาพประกอบการค้า นอกจากนี้เขายังแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของตัวเขาท่ามกลางความร่วมสมัยผ่านฝีมือที่มีความพิถีพิถันและการตอกย้ำถึงอุดมการณ์ของตนเองโดยไม่สนใจกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกของศิลปะ[10]",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "576515#7",
"text": "จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1961 หลายสิ่งกลับเปลี่ยนแปลงไป เขาได้พบกับ อัลลัน สโตน นักซื้อขายงานศิลปะในนิวยอร์ก และภายหลังก็ได้กลายมาเป็นตัวแทนที่ผูกขาดในการซื้อขายงานศิลปะของธีโบด์ ยิ่งไปกว่านั้นทั้งสองก็กลายเป็นเพื่อนที่สนิทสนมกันอีกด้วย ในปี ค.ศ. 1962 เขาก็ได้จัดแสดงผลงานเป็นครั้งแรกใน อัลลัน สโตน แกเลอรี่ (Allan Stone Gallery) ซึ่งภายในงานผลงานของเขาก็ถูกจัดแสดงรวมไว้กับงานของรอย ลิคเท็นสไตล์ (Roy Lichtenstein), จิม ไดน์ (Jim Dine) และแอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) ทำให้ธีโบด์นั้นขึ้นมาเป็นที่รู้จักในแวดวงศิลปะ[6] และเวลาถัดมาในปีเดียวกัน ซิดนีย์ แจนิส แกเลอรี่ (Sidney Janis Gallery) ก็ได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานในชื่อ International Exhibition of the New Realists ซึ่งเช่นเดียวกันผลงานของธีโบด์ก็ถูกนำไปรวมกับผลงานของวอร์ฮอล ลิคเท็นสไตล์และ เจมส์ โรเซ็นควิสท์ (James Rosenquist) ซึ่งนิทรรศการจัดแสดงผลงานครั้งนี้ก็ทำให้ศิลปะในกระแสความเคลื่อนไหวป็อปอาร์ต กลายเป็นสิ่งที่โดดเด่นขึ้นมาในช่วงทรรศวรรษที่ 60 กลางทศวรรษที่ 60 ธีโบด์เริ่มหันมาลงมือสร้างงานภาพพิมพ์อย่างจริงจังเช่นเดียวเดียวกับงานจิตรกรรมในครั้งอดีต",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "205632#0",
"text": "ดเวย์น ไมเคิล คาร์เตอร์ จูเนียร์ () หรือเป็นที่รู้จักในนาม ลิล เวย์น () เป็นแร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน ซึ่งปัจจุบันก็ได้รวมกลุ่มอีกครั้งกับวงแร็ปที่ชื่อ ฮ็อตบอยส์ เขาอยู่สังกัดแคชมันนี ตั้งแต่ยังวัยรุ่น ทำงานกับ บี.จี. ในอัลบั้ม \"True Story\" ลิล เวย์นในฐานะสมาชิกวงฮ็อตบอยส์ออกผลงานในปี 1997 กับอัลบั้มแรกคือ \"Get It How U Live\" และผลงานชุด \"Tha Block is Hot\" ถือเป็นผลงานเดี่ยวชุดแรกของเขาที่ออกในปี 1999 อัลบั้มนี้ติดท็อปเท็นในบิลบอร์ด 200 และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม จากนิตยสาร \"The Source\" ในปีนั้นเอง ต่อมาเขาได้ร่วมงานกับแร็ปเปอร์อื่น ๆ ในซิงเกิลอย่าง \"Bling Bling\" กับ B.G. และ \"#1 Stunna\" กับ the Big Tymers ในปี 2000 และ ลิล เวย์น เป็นผู้ก็ตั้ง Young Money Entertainment",
"title": "ลิล เวย์น"
},
{
"docid": "472819#3",
"text": "ในการแข่งขันกับเชลซีในเดือนถัดมามิลเนอร์ยิงอีกครั้งกับสัมผัสแรกคล่องแคล่วของลูกและการซ้อมรบในการสั่งซื้อเพื่อหลีกเลี่ยงการต่อสู้จากเชลซีพิทักษ์ Marcel Desailly ที่ได้รับรางวัลสรรเสริญอย่างกว้างขวางจากการแสดงความเห็น ซ้อมรบสร้างลานพื้นที่สำหรับเขาที่จะส่งมอบลูกยิงจากระยะ 18 หลา (16 ม.) ผู้สื่อข่าวได้รับความประทับใจจากผลการดำเนินงานโดยรวมของเขาในเกมนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งความปรารถนาของเขามีความเชื่อมั่นและความสามารถด้วยเท้าทั้งสอง เชลซีจัดการเคลาดิโอรานิเอรี่ตั้งข้อสังเกตหลังจบเกมว่ามิลเนอร์ได้ดำเนินการเช่นเดียวกับผู้เล่นที่มีประสบการณ์มากขึ้น ผลการดำเนินงานได้รับแจ้งการเปรียบเทียบกับประเทศอังกฤษนานาชาติไมเคิลโอเว่นและเวย์นรูนีย์ซึ่งได้มาถึงฟุตบอลมีชื่อเสียงในฐานะวัยรุ่น",
"title": "เจมส์ มิลเนอร์"
},
{
"docid": "576515#9",
"text": "จนมาถึงช่วงทศวรรษที่ 80 เป็นต้นมา ธีโบด์ได้รับเกียรติยศและชื่อเสียงจากผลงานของตนเองเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งรางวัล National Medal of Arts ที่ให้สำหรับศิลปินที่โดดเด่นในสหรัฐอเมริกา โดยประธานาธิบดีวิลเลียม เจฟเฟอร์สัน คลินตัน (William J. Clinton) หรือที่รู้จักกันในนาม บิล คลินตัน (Bill Clinton) ในปี ค.ศ. 1994[7] และในปี ค.ศ. 2001 ก็ได้มีนิทรรศการรำลึกถึงผลงานของธีโบด์ที่พิพิธภัณฑ์วิทนีย์ (Whitney Museum) ในนิวยอร์กเพื่อสรรเสริญผลงานของเขา หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 2006 เพื่อนสนิทและตัวแทนผู้ซื้อขายผลงานศิลปะของธีโบด์ อัลลัน สโตนก็ได้เสียชีวิตลง และตำแหน่งตัวแทนผู้ซื้อขายผลงานศิลปะของเขาก็กลายมาเป็นของพอล ลูกชายของเขาจนกระทั่งพอลเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 2009",
"title": "เวย์น ธีโบด์"
},
{
"docid": "701684#6",
"text": "แม้เขาจะได้ลงสนามอย่างไม่ต่อเนื่อง แต่เขาก็ยังสามารถออกเริ่มต้น 27 นัด ในทุก ๆ รายการการแข่งขัน บวกกับตัวสำรองอีก 14 เกม เขายิงไป 5 ประตู รวมทั้งหนึ่งในเกมที่ทำผลงานได้ดีที่สุดของฤดูกาล ซึ่งบุกเอาชนะเอฟเวอร์ตันเมื่อเดือนตุลาคม นอกจากการยิงประตูที่สองให้กับทัพปีศาจแดง ณ สนามกูดิสันพาร์กแล้วเขายังผ่านบอลให้เวย์น รูนีย์ยิงลูกที่สาม และได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมในนัดดังกล่าว",
"title": "อันเดร์ เอร์เรรา"
}
] |
1693 | สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีชื่อเดิมว่าอย่างไร? | [
{
"docid": "34071#4",
"text": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ชื่อเดิมคือ \"กรมพระคลังข้างที่\" มีฐานะเป็นกรมอิสระ ในสังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2433",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
}
] | [
{
"docid": "34071#5",
"text": "ทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ กล่าวโดยสรุปคือ พระราชทรัพย์ของราชวงศ์จักรีที่แยกต่างหากจากทรัพย์สินของราชการ เช่น เงินสะสมจากการแต่งสำเภาค้าขายต่างประเทศในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือที่เรียกว่า \"เงินถุงแดง\" ซึ่งตกทอดถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนำไปใช้จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามแก่ประเทศฝรั่งเศส หลังวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 หรือบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด ซึ่งก่อตั้งโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#8",
"text": "ต่อมาในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๗๑/๒๕๖๑ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. ... ซึ่งเป็นการยกเลิกกฎหมายฉบับเดิมเข้ามาเป็นเรื่องด่วนซึ่งไม่ปรากฏในวาระการประชุมต่อที่ประชุมสภาโดยสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานคือให้มีการเปลี่ยนชื่อสำนักงานจาก สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็น สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา ๗ ซึ่งที่ประชุมมีมติในวาระที่ ๑ ชั้นรับหลักการด้วยคะแนน เห็นด้วย ๑๙๔ เสียง ไม่เห็นด้วย ไม่มี งดออกเสียง ๓ เสียง จากนั้นที่ประชุมได้ประชุมกรรมาธิการเต็มสภาตามข้อเสนอของนาย สมชาย แสวงการ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและเลขานุการ วิป สนช. ซึ่งที่ประชุมมีมติในวาระที่ ๒ และ ๓ ด้วยคะแนน เห็นด้วย ๑๙๙ เสียง ไม่เห็นด้วย ไม่มี งดออกเสียง ๓ เสียง ให้ประกาศใช้ ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. ... เป็นกฎหมายซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะได้ส่งร่างกฎหมายฉบับนี้กลับไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าเพื่อให้ทรงลงพระปรมาภิไธยและลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ต่อไป",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#19",
"text": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีทรัพย์สินในความดูแล เป็นที่ดินกว่า 54 ตารางกิโลเมตรในกรุงเทพมหานคร และ 160 ตารางกิโลเมตรในจังหวัดอื่น โดยทำสัญญาให้เช่าแก่หน่วยงานราชการ องค์กรธุรกิจ และบุคคลทั่วไป ปัจจุบันมีอสังหาริมทรัพย์อยู่ในความดูแลประมาณ 37,000 สัญญา ในจำนวนนี้มีการจัดประโยชน์หลายรูปแบบ ทั้งเพื่ออยู่อาศัยหาประโยชน์พอยังชีพ ใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และใช้เป็นที่ตั้งของหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและสมาคม องค์กรที่ไม่ได้แสวงหาประโยชน์ในเชิงธุรกิจ แยกเป็นที่ดินในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 25,000 สัญญา และในส่วนภูมิภาค อาทิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร จังหวัดลำปาง จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสงขลา จังหวัดนครปฐม จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดชลบุรี รวมประมาณ 12,000 สัญญา",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#30",
"text": "ในปี 2553 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ระบุในรายงานประจำปี 2553 ปฏิเสธข่าวของนิตยสารฟอบส์ที่ลงว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ที่รวยที่สุดในโลก โดยอธิบายว่า ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นทรัพย์สินของรัฐและของแผ่นดิน ซึ่งมีรัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบ โดยสำนักงานฯ เป็นผู้ดูแลทรัพย์สินของแผ่นดิน มีนโยบายดำเนินงานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมโดยตลอด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สำนักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.) นำที่ดินราวกึ่งหนึ่งที่มอบให้สำนักงานฯ ดูแลตั้งแต่ปี 2479 (44,000 กว่าไร่) จัดสรรให้ประชาชน ส่วนที่ดินที่เหลือก็ไม่ได้ใช้แสวงประโยชน์อย่างเอกชน แต่บริหารจัดการโดยมีนโยบายการพัฒนาระยะยาวเพื่อประโยชน์สังคมเป็นหลัก",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#6",
"text": "ต่อมา หลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 กรมพระคลังข้างที่ถูกลดบทบาทมาเป็น \"สำนักงานพระคลังข้างที่\" อยู่ภายใต้การดูแลของนายกรัฐมนตรีโดยตรง ต่อมามีการแยกบัญชี \"ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์\" ออกจาก \"ทรัพย์สินส่วนพระองค์\" และมีการตั้งสำนักงานทรัพย์สินฯ ขึ้นมาดูแลทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีสถานะเป็นกรม สังกัดกระทรวงการคลัง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นประธานที่ปรึกษา",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#29",
"text": "จากการแถลงข่าวประจำปี พ.ศ. 2548 ของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ โดยจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานฯ แจ้งว่าในปี พ.ศ. 2547 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีรายได้ประมาณ 5 พันล้านบาท โดยประมาณร้อยละ 90 เป็นรายได้จากเงินปันผลของหุ้นที่ลงทุนใน บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย์ และ บมจ.เทเวศประกันภัย ที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 8 หรือประมาณ 400 ล้านบาท เป็นรายได้จากค่าเช่าที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#3",
"text": "เดือนมกราคม พ.ศ. 2544 คณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นว่า สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์เป็นหน่วยงานอิสระภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการทรัพยสินส่วนพระมหากษัตริย์ และมิใช่หน่วยงานภาครัฐที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือกำกับดูแลของรัฐบาล ต่อมาในเดือนเมษายน คณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเพิ่มเติมว่า สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีสถานะเป็นพิเศษ ไม่อยู่ในกำกับของคณะรัฐมนตรีหรือกระทรวง ทบวง กรมใด และการที่สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาจะเข้าไปตรวจสอบกิจการของสำนักงานทรัพย์สินฯ นั้น จะต้องคำนึงถึงสถานะพิเศษของสำนักงานทรัพย์สินฯ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการดำเนินการต่าง ๆ ที่เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยหรือที่ต้องได้รับพระบรมราชานุญาตนั้น ไม่พึงดำเนินการสอบสวนให้เป็นที่กระทบกระเทือนต่อพระราชอำนาจ",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#22",
"text": "อนึ่ง ก่อนพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2561 จะมีผลบังคับใช้ ทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ได้รับการยกเว้นภาษีอากร เช่นเดียวกับทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479 ในขณะที่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ ไม่ได้รับการยกเว้นภาษีอากร",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
},
{
"docid": "34071#11",
"text": "พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2561 กำหนดให้สำนักงานทรัพย์สินฯ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า \"คณะกรรมการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์\" ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการอื่นซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัย และในจำนวนนี้จะได้ทรงแต่งตั้งกรรมการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์คนหนึ่งเป็นผู้อำนวยการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ทำหน้าที่กรรมการและเลขานุการ",
"title": "สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์"
}
] |
3081 | จิตวิเคราะห์คืออะไร? | [
{
"docid": "646007#0",
"text": "จิตวิเคราะห์ () เป็นชุดทฤษฎีและเทคนิคจิตวิทยาและจิตบำบัดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเดิมแพทย์ชาวออสเตรีย ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ทำให้แพร่หลายและบางส่วนกำเนิดจากงานด้านการรักษาของโยเซฟ บรอแยร์ (Josef Breuer) และอื่น ๆ นับแต่นั้น จิตวิเคราะห์ได้ขยายและมีการทบทวน ปฏิรูปและพัฒนาในทิศทางต่าง ๆ เดิมโดยผู้ร่วมงานและศิษย์ของฟรอยด์ เช่น อัลเฟรด อัดแลร์และคาร์ล กุสทัฟ ยุงผู้พัฒนาความคิดของตนเองเป็นเอกเทศจากฟรอยด์ นักจิตวิทยาฟรอยด์ใหม่ (neo-Freudian) สมัยหลังมีเอริช ฟรอมม์, คาเริน ฮอร์ไน, แฮร์รี สแทก ซัลลิแวนและฌัค ลาคา (Jacques Lacan)",
"title": "จิตวิเคราะห์"
},
{
"docid": "242400#70",
"text": "จิตวิเคราะห์เป็นสำนักจิตวิทยาที่ตั้งขึ้นโดยจิตแพทย์ซิกมุนด์ ฟรอยด์\nซึ่งเน้นการแก้ความขัดแย้งใต้จิตสำนึก\nมีการใช้เทคนิคจิตวิเคราะห์เพื่อบำบัดคนไข้ที่มีโรคซึมเศร้า\nวิธีแบบผสมผสาน (eclectic) แบบหนึ่งที่เรียกว่า psychodynamic psychotherapy มีมูลฐานบางส่วนจากจิตวิเคราะห์โดยเน้นเรื่องความสัมพันธ์ในสังคมและระหว่างบุคคลมากขึ้น\nในงานวิเคราะห์อภิมานเกี่ยวกับการทดลองที่มีกลุ่มควบคุม 3 งานที่ใช้ Short Psychodynamic Supportive Psychotherapy วิธีนี้พบว่ามีผลเท่ากับใช้ยาในโรคซึมเศร้าระดับอ่อนจนถึงปานกลาง",
"title": "โรคซึมเศร้า"
}
] | [
{
"docid": "710179#0",
"text": "จิตไร้สำนึก () ประกอบด้วยกระบวนการในจิตซึ่งเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติและไม่สามารถพินิจภายในได้ มีกระบวนการคิด ความจำ อารมณ์และแรงจูงใจ แม้กระบวนการเหล่านี้มีอยู่ใต้ผิวของความตระหนักพิชาน (conscious) แต่มีทฤษฎีว่า จิตไร้สำนึกส่งอิทธิพลต่อพฤติกรรม คำนี้บัญญัติโดย ฟรีดริช เชลลิง นักปรัชญาจินตนิยมชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 และภายหลังเซมาเอล เทย์เลอร์ โคละริดจ์ กวีและผู้เขียนงานประพันธ์ นำเข้ามาในภาษาอังกฤษ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ นักประสาทวิทยาและนักจิตวิเคราะห์ชาวออสเตรียพัฒนาและเผยแพร่มโนทัศน์ดังกล่าว หลักฐานเชิงประจักษ์แนะว่า ปรากฏการณ์ไร้สำนึกมีความรู้สึกที่ถูกกดเก็บ ทักษะอัตโนมัติ สัญชานใต้ระดับ (subliminal perception) ความคิด นิสัยและปฏิกิริยาอัตโนมัติ และอาจยังมีปม (complex) ความกลัวและความปรารถนาที่ซ่อนอยู่ ในทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เข้าใจว่ากระบวนการไร้สำนึกแสดงออกในฝันในรูปสัญลักษณ์ เช่นเดียวกับการพลั้งปาก (slips of the tongue) และมุกตลก ฉะนั้น จึงมองได้ว่าจิตไร้สำนึกเป็นบ่อเกิดของฝันและความคิดอัตโนมัติ (ที่ปรากฏโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน) คลังความจำที่ถูกลืม (ซึ่งยังอาจเข้าถึงพิชานในภายหลัง) และที่ตั้งของความรู้โดยปริยาย (implicit knowledge, หมายถึง สิ่งที่สิ่งที่เรียนรู้มาอย่างดีจนทำได้โดยไม่ต้องคิด)",
"title": "จิตไร้สำนึก"
},
{
"docid": "646007#4",
"text": "จิตวิเคราะห์ได้รับการวิจารณ์จากแหล่งที่มากว้างขวาง นักวิจารณ์จิตวิเคราะห์สำคัญคนหนึ่งว่า จิตวิเคราะห์เป็นวิทยาศาสตร์เทียม กระนั้น จิตวิเคราะห์มีอิทธิพลแข็งแรงในสาขาจิตเวชศาสตร์ และในบางส่วนของสาขาอื่น",
"title": "จิตวิเคราะห์"
},
{
"docid": "3875#42",
"text": "พลังงานความร้อนทำให้โมเลกุลบางส่วนที่ขอบนอกของบรรยากาศมีความเร็วเพิ่มสูงขึ้นจนถึงจุดหนึ่งที่สามารถหลุดพ้นออกจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดการเสียบรรยากาศออกสู่อวกาศอย่างช้า ๆ แต่สม่ำเสมอ เพราะไฮโดรเจนที่ไม่ได้ถูกยึดเหนี่ยวมีมวลโมเลกุลต่ำจึงสามารถขึ้นถึงความเร็วหลุดพ้นได้ง่ายกว่าและรั่วไหลออกสู่อวกาศภายนอกในอัตราที่สูงกว่าก๊าซอื่น การรั่วของไฮโดรเจนสู่อวกาศได้ช่วยสนับสนุนให้บรรยากาศโลกตลอดจนพื้นผิวเกิดการเปลี่ยนผันจากภาวะรีดิวซ์ในช่วงต้นมาเป็นภาวะออกซิไดซ์อย่างเช่นในปัจจุบัน การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นแหล่งช่วยป้อนออกซิเจนอิสระ แต่ด้วยการเสียไปซึ่งสารรีดิวซ์ดังเช่นไฮโดรเจนนี้เองจึงเชื่อกันว่าเป็นภาวะเริ่มต้นที่จำเป็นต่อการเพิ่มพูนขึ้นของออกซิเจนอย่างกว้างขวางในบรรยากาศ การที่ไฮโดรเจนสามารถหนีออกไปจากบรรยากาศได้จึงอาจส่งอิทธิพลต่อธรรมชาติของชึวิตที่พัฒนาขึ้นบนโลก ในบรรยากาศที่มีออกซิเจนเป็นจำนวนมากในปัจจุบันนั้น ไฮโดรเจนส่วนใหญ่ถูกเปลี่ยนเป็นน้ำก่อนมีโอกาสหนีออกไป แต่การเสียไฮโดรเจนส่วนใหญ่นั้นมาจากการสลายของมีเทนในบรรยากาศชั้นบน",
"title": "โลก (ดาวเคราะห์)"
},
{
"docid": "344437#26",
"text": "เชื่อกันว่า สมองของบุคคลสามารถเปลี่ยนไปได้ตลอดอาศัยประสบการณ์ชีวิต\nซึ่งเป็นสภาพที่เรียกว่า neuroplasticity (สภาพพลาสติกของระบบประสาท)\nแต่ว่าก็มีนักจิตวิทยาคู่หนึ่งที่ศึกษาว่า อารมณ์อะไรสามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์\nแล้วพบว่า ความรู้สึกว่าเป็นอยู่ดีโดยระยะยาวขึ้นอยู่กับพันธุกรรมถึง 80%\nซึ่งหมายความว่า ครอบครัวของเราสำคัญต่อชีวิตทางอารมณ์ของเราเมื่อเป็นผู้ใหญ่ เพราะว่า เราได้สืบทอดพันธุกรรมที่เป็นตัวกำหนดการตอบสนองทางอารมณ์ขั้นพื้นฐานต่อโลกภายนอก\nดังนั้น กรรมพันธุ์จึงสำคัญต่อคุณภาพชีวิตทางอารมณ์ระยะยาวของเรา มากกว่าพฤติกรรมที่เรียนรู้หรือคุณภาพของสิ่งแวดล้อมในวัยเด็กต้น ๆ อย่างน้อยก็โดยตามแบบจำลองทางสังคม-เศรษฐกิจที่ใช้ในปัจจุบัน\nแต่ว่า 20% ที่เหลือ ก็ยังสามารถปรับเปลี่ยนได้โดยใช้ความคิดและพฤติกรรมที่เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ควรประมาท",
"title": "จิตวิทยาเชิงบวก"
},
{
"docid": "344437#107",
"text": "แต่ว่า เพราะสถานการณ์เป็นเรื่องท้าท้าย บ่อยครั้งจะมีทั้งความตื่นเต้นและความเครียด แต่นี่พิจารณาว่า เป็นความเครียดที่ดี\nโดยเชื่อว่า เป็นความเครียดที่มีผลลบน้อยกว่าความเครียดแบบเรื้อรัง แม้ว่า วิถีทางกายภาพเกี่ยวกับความเครียดทั้งสองแบบจะเป็นระบบเดียวกัน\nและทั้งสองล้วนสามารถทำให้เกิดความเหนื่อยอ่อน แต่ว่า ความแตกต่างทางกายภาพ และประโยชน์ที่ได้ทางใจของความเครียดที่ดี อาจจะทำให้เกิดผลดีโดยรวมมากกว่าความเหนื่อยอ่อนที่เกินขึ้น",
"title": "จิตวิทยาเชิงบวก"
},
{
"docid": "237190#18",
"text": "การสงเคราะห์ด้านสาธารณสุขนั้นเป็นสิ่งที่ท่านเอาใจใส่มาโดยตลอด โดยท่านสอนเสมอว่า \"มนุษย์เราไม่ว่าจะยากดีมีจนล้วนเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตายด้วยกัน ดังนั้นท่านจึงไม่ให้ประมาทกัน ควรช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพราะหากมนุษย์ไม่ช่วยสงเคราะห์มนุษย์ด้วยกันแล้วใครจะช่วย เรื่องความเจ็บป่วยนั้น เจ็บไปแค่หนึ่งแต่ครอบครัวก็ป่วยด้วยความห่วงใยอีกเท่าไหร่ ดังนั้น จึงควรเห็นใจกัน\" ท่านมักออกเยี่ยมโรงพยาบาลต่าง ๆ เป็นประจำ พร้อมนำข้าวสารอาหารแห้ง เครื่องใช้ต่าง ๆ ไปมอบให้เสมอ โดยเฉพาะโรงพยาบาลที่อยู่ในถิ่นทุรกันดารท่านจะให้ความช่วยเหลือทุกด้านทั้งอาหารการกินและเครื่องมือแพทย์ ส่วนโรงพยาบาลที่อยู่บริเวณอู่ข้าวอู่น้ำท่านจะช่วยเหลือทางด้านเครื่องมือแพทย์ไป ก่อนสงเคราะห์ด้านปัจจัย ท่านจะพิจารณาถึงความจำเป็นของเครื่องมือ รวมถึงกิริยามารยาทของหมอพยาบาลในการปฏิบัติต่อผู้ป่วยว่าเป็นอย่างไร จะสามารถนำเครื่องมือที่ท่านมอบให้ไปใช้เพื่อประโยชน์แก่ผู้ป่วยได้จริงหรือไม่ และเมื่อมีโอกาสอันควร ท่านจะแสดงธรรมเตือนหมอพยาบาลและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลอยู่เสมอ",
"title": "พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)"
},
{
"docid": "840937#2",
"text": "ภาวะเบื่ออาหารเหตุกิจกรรม (Activity anorexia, AA) เป็นภาวะที่หนูเริ่มออกกำลังกายอย่างเกินควรในขณะที่ลดอาหารไปพร้อม ๆ กัน คล้ายกับโรคเบื่ออาหารเหตุจิตใจ (anorexia nervosa) หรือโรคออกกำลังกายเกินควร (hypergymnasia) ในมนุษย์\nเมื่อมีทั้งอาหารและล้อวิ่ง หนูมักจะทำกิจวัตรที่สมดุลระหว่างการออกกำลังกายกับการกิน ทำให้เป็นหนูที่สุขภาพดี\nแต่ว่า ถ้าจำกัดอาหารเป็นเวลาแต่ไม่จำกัดล้อวิ่ง หนูจะเริ่มออกกำลังกายเพิ่มขึ้นและกินน้อยลง ทำให้ลดน้ำหนักและในที่สุดก็จะตาย",
"title": "จิตพยาธิวิทยาสัตว์"
},
{
"docid": "344437#66",
"text": "แต่ว่า มีนักวิชาการจำนวนมากที่ไม่เห็นด้วยว่า ประโยชน์ที่พบเป็นผลจากความเชื่อทางศาสนา และบางท่านคิดว่าไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนเลยว่าความเชื่อมีประโยชน์อะไร\nยกตัวอย่างเช่น ผลทางสุขภาพของผู้มีอายุที่ได้จากการไปโบสถ์ความจริงอาจจะเป็นเพียงเพราะตนสามารถไปโบสถ์ได้ เพราะว่า คนที่สุขภาพไม่ดีไม่สามารถออกไปนอกบ้านได้\nงานวิเคราะห์อภิมานพบว่า งานวิจัยที่อ้างว่ามีประโยชน์ที่ได้จากความเชื่อในศาสนาบ่อยครั้งไม่ได้แสดงข้อมูลที่ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ โดยมีปัญหาต่าง ๆ เช่น ความเอนเอียงเนื่องจากการรายงานผลด้วยตนเอง (self-report bias) การใช้กลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่สมควร และการมีกฎเกณฑ์ที่ไม่เป็นกลาง\nและก็มีการศึกษาอื่นที่คัดค้านการสวดมนต์เพื่อประโยชน์ทางสุขภาพแก่คนอื่น\nโดยแสดงว่า เมื่อใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างเคร่งครัด (เช่น โดยจัดคนไข้เข้ากลุ่มโดยสุ่ม และป้องกันไม่ให้คนไข้รู้ว่ามีคนสวดมนต์ให้ตนหรือไม่) หลักฐานก็จะแสดงว่าไม่มีผลอะไร",
"title": "จิตวิทยาเชิงบวก"
}
] |
3050 | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์หมายถึงอะไร? | [
{
"docid": "3145#0",
"text": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ () เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
}
] | [
{
"docid": "495382#0",
"text": "ไมโครซอฟท์สโตร์ (เดิมชื่อ \"วินโดวส์สโตร์\") เป็นแพลตฟอร์มจัดจำหน่ายระบบดิจิตอลในไมโครซอฟท์ ของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 8 วินโดวส์ 8.1และวินโดวส์ 10 แพลตฟอร์มยังสามารถใช้งานเพื่อให้รายการสำหรับการใช้งานเดสก์ท็อปรับรองการทำงานบนวินโดวส์ 8 และ วินโดวส์ 10 แต่ยังเป็นแพลตฟอร์มจำหน่ายหลักรูปแบบใหม่ของแอพเรียกว่า \"วินโดวส์สโตร์แอพ\" โดยมีทั้งโปรแกรมประยุกต์ฟรีและจ่ายเงินสามารถจำหน่ายผ่านทางวินโดวส์สโตร์ ด้วยแอปพลิเคชันจ่ายหลากหลายในค่าใช้จ่ายจาก 1.49 ดอลล่าร์สหรัฐจนถึง 999.99 ดอลล่าร์สหรัฐ",
"title": "ไมโครซอฟท์สโตร์"
},
{
"docid": "223940#0",
"text": "ไมโครซอฟท์ พาวเวอร์พอยต์ เป็นโปรแกรมนำเสนอในชุดโปรแกรมไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ ผลิตโดยบริษัทไมโครซอฟท์ พาวเวอร์พอยต์ทำงานบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์และบนแมคโอเอสโดยรุ่นปัจจุบันคือไมโครซอฟท์ พาวเวอร์พอยต์ 2013 บนไมโครซอฟท์ วินโดวส์และ ไมโครซอฟท์ พาวเวอร์พอยต์ 2011 บนแมคโอเอส",
"title": "ไมโครซอฟท์ พาวเวอร์พอยต์"
},
{
"docid": "4697#26",
"text": "เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อไมโครซอฟท์เป็นอย่างมาก ซึ่งได้รับการผลิตในหลายเวอร์ชัน เช่น วินโดวส์ 3.11 วินโดวส์ 95 วินโดวส์ 98 วินโดวส์มี วินโดวส์ 2000 วินโดวส์เอกซ์พี วินโดวส์วิสตา และ วินโดวส์เซเว่น โดยเกือบทั้งหมดมาจาก IBM compatible แต่มีซอฟต์แวร์เสริมที่เข้ามาคือ Windows preinstalled โดยในปัจจุบันเดสก์ทอปส่วนใหญ่หันมาใช้วินโดวส์วิสตา ส่วนในการให้บริการแบบออนไลน์นั้น ประกอบก้วย เอ็มเอสเอ็น เอ็มเอสเอ็นบีซี และนิตยสารออนไลน์ของไมโครซอฟท์ (Slate แต่ถูกซื้อกิจการโดยวอชิงตันโพสต์ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004) และในปลายปี ค.ศ. 1997 ไมโครซอฟท์ได้ซื้อกิจการของเอ็มเอสเอ็น ซึ่งเป็นผู้ให้บริการเว็บเมลที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุด และได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"เอ็มเอสเอ็น ฮอตเมล\" ในปี ค.ศ. 1999 ไมโครซอฟท์ได้แนะนำเอ็มเอสเอ็น โดยใช้เมลเซิร์ฟเวอร์เพิ่อแข่งขันกับเอโอแอล ต่อมาเมื่อไมโครซอฟท์ได้ออกระบบปฏิบัติการวินโดวส์วิสตา เอ็มเอสเอ็นก็ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นวินโดวส์ไลฟ์ เมสเซนเจอร์",
"title": "ไมโครซอฟท์"
},
{
"docid": "3145#12",
"text": "สีแดง คือ ล้าสมัย , สีเหลือง คือ ล้าสมัยแต่ยังคงสนับสนุนอยู่ , สีเขียว คือ เวอร์ชันปัจจุบัน\nเนื่องจากหลายปีที่ผ่านมา ไมโครซอฟท์ ได้ทำวินโดวส์ออกมาหลายเวอรชั่น ไม่ว่าจะเป็น วินโดส์ 98 , วินโดส์ xp , วินโดว์ 7 หรือ วินโดวส์ 10 ในวินโดวส์บางเวอร์ชั่นจะมีจุดผิดผลาดอยู่ในตัววินโดวส์ ซึ่งจะเห็นได้ชัดในช่วงรอยต่อของเวอรชั่น ซึ่งก็เป็นเรืื่องจริงที่วินโดวส์ออกมา ดี และ แย่ สลับกัน ดังนี้ > วินโดวส์ 3.1 ดี , วินโดวส์ 95 แย่ , วินโดส์ 98 ดี , วินโดวส์ ME แย่ , วินโดวส์ XP ดี , วินโดวส์ Vista แย่ , วินโดวส์ 7 ดี , วินโดวส์ 8 แย่ , วินโดวส์ 10 ดี\nพ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) - วินโดวส์แนชวิลล์ (เลขรุ่น: 4.10.999) ออกรุ่นสำหรับทดสอบ แต่ไม่ได้วางจำหน่ายจริง ควรจะเป็นรุ่นถัดจากวินโดวส์ 95Windows Polaris ( Windows 10 Polaris ) : หลังจากที่ไมโครซอฟท์ประกาศว่า Windows 10 จะเป็นรุ่นสุดท้ายของวินโดวส์ หลังจากนั้น จะเป็นการอัปเดตแทน เช่น 10 > 10.1 >10.2 เป็นต้น แต่ล่าสุดไมโครซอฟท์กำลังซุ่มทำวินโดวส์รุ่นใหม่ โดยที่จะลบโค้ดโปรแกรมเก่าดั้งเดิมออกทั้งหมด เพื่อให้วินโดวส์ตัวใหม่นี้ไม่มีขนาดใหญ่เกินไป และ ประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีข้อมูลอย่างเป็นทางการจาก Microsoft เพราะเนื่องจาก วินโดวส์ Polaris ยังไม่สามารถแทน วินโดวส์ 10 เดิมได้ทั้งหมด กลุ่มผู้ใช้ระดับ Power User ก้ยังต้องการใช้โปรแกรมเก่าๆอยู่ วินโดวส์ Polsris จึงยังไม่สามารถใช้แทนวินโดวส์ 10 ได้ แต่ในอนาคต วินโดวส์ Polaris จะเป็นระบบปฏิบัติการที่มาแทน วินโดวส์ 10 อย่างแน่นอนในอนาคต",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "3145#7",
"text": "วินโดวส์ วิสต้า หรือ วินโดวส์ เอ็นที 6.0 ได้รับลิขสิทธิ์ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 แต่เริ่มขายผู้ใช้จริง 30 มกราคม พ.ศ. 2550 ในช่วงของวิสตา วินโดวส์ สำหรับผู้ใช้ขั้นสูงและองค์กรธุรกิจ คือ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008, วินโดวส์ โฮม เซิร์ฟเวอร์ วิสตามีความสามารถสูงกว่าเอกซ์พีหลายประการ เช่น ในการตัดต่อ การพัฒนาแอปพลิเคชัน, การแสดงผลกราฟิก ที่สามารถแสดงผลแบบโปร่งแสง สามารถมองฉากหลังของหน้าต่างที่กำลังเปิดอยู่ได้ ในมุมมองแบบโปร่งแสง ในพื้นที่ที่เหมาะสม เช่น บาร์ด้านบนสุดของโปรแกรม, ความสามารถในการค้นหา, การพิมพ์ ฯลฯ แต่ทว่า วิสตา ไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ควร สาเหตุหลักๆ ที่เป็นที่วิจารณ์ คือ ความต้องการขึ้นต่ำของระบบ ที่สูงกว่าวินโดวส์เอกซ์พีหลายเท่าตัว ดังตัวอย่างเปรียบเทียบในตาราง\nคอมพิวเตอร์ทั่วไปในช่วงนั้น มีความสามารถไม่ถึง หรือ ถึง แต่เกินความต้องการมาเพียงเล็กน้อย ทำให้วิสตาเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่มาก ทำให้เครื่องทำงานไม่มีประสิทธิภาพ หรือช้า อีกทั้งยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่าซอร์ซโค้ดไม่มีคุณภาพ ผู้ใช้ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะที่ไม่ได้ใช้คุณสมบัติพิเศษที่เพิ่มมาของวิสตา จึงยังคงใช้เอกซ์พี วิสตาจึงไม่ประสบความสำเร็จมากนัก หยุดการสนับสนุนอย่างเป็นทางการในวันที่ 11 เมษายน 2560",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "4697#10",
"text": "วินโดวส์ 3.0 ได้สร้างกำไรมากมายให้กับไมโครซอฟท์ และทำให้บริษัทตัดสินใจปรับปรุงรูปแบบของโอเอสทูให้มาเป็นวินโดวส์หลังจากนั้น มีผู้นิยมใช้ระบบปฏิบัติการโอเอสทูและวินโดวส์กันมากขึ้น ทำให้ไมโครซอฟท์ต้องรีบเพิ่มการผลิตและปรับปรุงระบบปฏิบัติการของตน",
"title": "ไมโครซอฟท์"
},
{
"docid": "72423#0",
"text": "วินโดวส์ไลฟ์ () คือชื่อเรียกกลุ่มผลิตภัณฑ์ด้านบริการที่พัฒนาโดยไมโครซอฟท์ ซึ่งบางส่วนนั้นยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา และมีบางส่วนที่ได้เปลี่ยนชื่อจากเอ็มเอสเอ็นเดิม เพื่อเป็นการรวมเซอร์วิสเข้าด้วยกัน โดยไมโครซอฟท์หวังว่าจะช่วยในการแข่งขันกับคู่แข่งอย่างกูเกิลได้ดีขึ้น โดยผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ในวินโดวส์ไลฟ์นั้น จะเข้าถึงผ่านเว็บเบราว์เซอร์ และข้อมูลมักจะเก็บอยู่ด้านเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งปัจจุบันนี้ได้มี วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส วินโดวส์ไลฟ์ ฮอตเมล หรือวินโดวส์ไลฟ์ เมสเซนเจอร์ เป็นต้นที่ได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อวินโดวส์ไลฟ์ โดยส่วนใหญ่นั้นยังอยู่ในระยะพัฒนา แต่ปัจจุบันมีทั้งหมด 12 เซอร์วิสแล้วที่ได้ออกจากระยะพัฒนาแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นส่วนให้บริการของเอ็มเอสเอ็น ที่ได้ถูกแทนที่ด้วยส่วนบริการของวินโดวส์ไลฟ์แทน",
"title": "วินโดวส์ไลฟ์"
},
{
"docid": "3145#11",
"text": "เป็นวินโดวส์รุ่นสืบทอดต่อจาก Windows 10 โดยที่จะลบโค้ดโปรแกรมโบราณในตัววินโดวส์ออก เพื่อให้ตัววินโดวส์ไม่ใหญ่เกินไป และ ประมวลผลได้ดียิ่งขึ้น แต่ยังไม่มีการยืนยันอย่างเป็นทางการจาก Microsoft",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "953135#31",
"text": "วินโดวส์ มี () หรือวินโดวส์ 4.9 (ไม่เอ็นที) เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 98 และเป็นรุ่นสุดท้ายที่ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที รุ่นสุดท้ายที่ทำงานได้ทั้งระบบ 16 และ 32 บิต (เวลาผ่านไป โปรแกรมรุ่นใหม่ ที่เป็นโปรแกรมพื้นฐานสำหรับผู้ใช้ตามบ้าน เริ่มเปลี่ยนจาก 16 เป็น 32 บิต และโปรแกรมชั้นสูง เริ่มเปลี่ยนจาก 32 เป็น 64 บิต) เปิดตัว 14 กันยายน พ.ศ. 2543 วินโดวส์มี ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที จึงยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ ซึ่งวินโดวส์ 95 และ 98 แม้จะรวมดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ แต่ยังเปิดให้เข้าถึงดอสได้ แต่วินโดวส์ มี ได้ปิดการเข้าถึงดอสในวินโดวส์ เพื่อให้การบูตเครื่องทำได้เร็ว แต่ทำให้โปรแกรมเฉพาะบางโปรแกรมที่ต้องอาศัยการเข้าถึงดอส ไม่สามารถทำงานได้ในวินโดวส์มี โดยเฉพาะโปรแกรมบริหารจัดการดิสก์",
"title": "ประวัติของไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "3145#4",
"text": "วินโดวส์ 95 หรือ วินโดวส์ 4.0 (ไม่เอ็นที) เปิดตัว 24 สิงหาคม พ.ศ. 2538 เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 3.1 เป็นวินโดวส์รุ่นแรกที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป ที่ได้รวมเอาดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ (ยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ แต่ไม่ใช่ระบบปฏิบัติการแยก) สามารถทำงานได้ทั้งสถานะ 16 และ 32 บิต มีการใช้สตาร์ทเมนู (ปุ่มสตาร์ทที่มุมซ้ายล่าง) และทาสก์บาร์ (แท่งด้านล่างหน้าจอ แสดงโปรแกรมที่ใช้ และเบ็ดเตล็ดอื่นๆ) เป็นครั้งแรก ซึ่งทั้งสอง จนถึงวินโดวส์รุ่นล่าสุด ก็ยังใช้คอนเซปต์เดียวกับวินโดวส์ 95 เพียงแต่ปรับปรุงรูปลักษณ์ภายนอกให้ทันสมัยขึ้นเท่านั้น ด้วยความสามารถต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดสำหรับผู้ใช้ทั่วไป วินโดวส์ 95 ประสบความสำเร็จอย่างสูง ยอดการใช้วินโดวส์ 95 สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ของวินโดวส์ วินโดวส์ 95 ตามมาด้วย วินโดวส์ 98 หรือ วินโดวส์ 4.1 (ไม่เอ็นที) เปิดตัวเมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 และ วินโดวส์ 98 Second Edition รุ่นปรับปรุง เริ่มจำหน่ายเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2542 \nวินโดวส์ มี (อังกฤษ: Windows Me) หรือวินโดวส์ 4.9 (ไม่เอ็นที) เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 98 และเป็นรุ่นสุดท้ายที่ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที รุ่นสุดท้ายที่ทำงานได้ทั้งระบบ 16 และ 32 บิต (เวลาผ่านไป โปรแกรมรุ่นใหม่ ที่เป็นโปรแกรมพื้นฐานสำหรับผู้ใช้ตามบ้าน เริ่มเปลี่ยนจาก 16 เป็น 32 บิต และโปรแกรมชั้นสูง เริ่มเปลี่ยนจาก 32 เป็น 64 บิต) เปิดตัว 14 กันยายน พ.ศ. 2543 วินโดวส์มี ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที จึงยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ ซึ่งวินโดวส์ 95 และ 98 แม้จะรวมดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ แต่ยังเปิดให้เข้าถึงดอสได้ แต่วินโดวส์ มี ได้ปิดการเข้าถึงดอสในวินโดวส์ เพื่อให้การบูตเครื่องทำได้เร็ว แต่ทำให้โปรแกรมเฉพาะบางโปรแกรมที่ต้องอาศัยการเข้าถึงดอส ไม่สามารถทำงานได้ในวินโดวส์มี โดยเฉพาะโปรแกรมบริหารจัดการดิสก์วินโดวส์ มี ได้รับคำวิจารณ์อย่างมากในเรื่องความไม่เสถียรและปัญหามากมายภายในระบบ นิตยสารพีซีเวิลด์จึงจัดว่า Windows ME เป็นหนึ่งในระบบปฏิบัติการที่แย่ที่สุดที่ Microsoft เคยออกมาและเป็นผลิตภัณฑ์ที่เลวร้ายที่สุดอันดับ 4 ของผลิตภัณฑ์เทคโนโลยี ณ เวลานั้น",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "3145#1",
"text": "วินโดวส์ 1.0 เป็นสภาวะการทำงานรุ่นแรกของวินโดวส์ เปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 มีสภาวะการทำงานแบบ 16 บิต ที่เรียกว่า สภาวะการทำงาน (Operating Environments) เพราะ วินโดวส์ 1.0 ยังไม่มีความสามารถทำงานได้ด้วยตัวเอง จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการเฉพาะแยกต่างหาก (ระบบปฏิบัติการดังกล่าวคือ ดอส) ซึ่งวินโดวส์จะทำหน้าที่เพียงการติดต่อกับผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ป้อนคำสั่งใดๆ วินโดวส์จะไปเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ จากดอส เมื่อได้ผลการทำงานออกมา วินโดวส์จะแสดงผลออกมายังผู้ใช้อีกทีหนึ่ง วิสามารถเรียกได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ แต่เป็นตัวแสดงผลส่วนหน้าของดอส ที่จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายกว่าการติดต่อกับดอสโดยตรง และตั้งแต่รุ่นแรก วินโดวส์เป็นคู่แข่งกับ แมคอินทอช ผลิตภัณฑ์ลักษณะคล้ายกันจากบริษัท แอปเปิลคอมพิวเตอร์ แต่ในช่วงแรก ภาพการแข่งขันยังไม่ชัดเจนนัก วินโดวส์ 1.0",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "3145#6",
"text": "วินโดวส์ เอกซ์พี หรือ วินโดวส์ เอ็นที 5.1 และ เอ็นที 5.2 เปิดตัว 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็นวินโดวส์เอ็นทีรุ่นแรก ที่พัฒนาขึ้นโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป พัฒนาขึ้นจาก วินโดวส์ เนปจูน ถูกยุบรวมกับวินโดวส์ Whistler ส่วนวินโดวส์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อผู้ใช้ขั้นสูงและธุรกิจ จะมีแยกต่างหากอีก 2 ตัว ที่ใช้เลข เอ็นที 5.1 และ 5.2 คือ วินโดวส์ ฟันเดเมนทัลส์ ฟอร์ เลกาซี พีซีส์ และ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 ตามลำดับ โดยคำว่า เอกซ์พี มาจากคำว่า Experience แปลว่า ประสบการณ์ ซึ่งเป็นวินโดวส์ที่ประสบความสำเร็จค่อนข้างสูง แม้จะเปิดตัวมาแล้วถึง 9 ปี แต่จากข้อมูลในเดือนกันยายน 2553 พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ยังใช้วินโดวส์เอกซ์พีมากถึงร้อยละ 60 ของผู้ใช้ทั้งหมด ในขณะที่วินโดวส์รุ่นอื่นๆ ทั้งหมดรวมกัน มีส่วนแบ่งร้อยละ 31 และระบบปฏิบัติการอื่นที่ไม่ใช่วินโดวส์ ประมาณร้อยละ 9 วินโดวส์ เอกซ์พี มีการออกรุ่นปรับปรุงตามหลังมาอีกพอสมควร ซึ่งผู้ใช้สามารถตรวจสอบรุ่นของซอฟต์แวร์ได้เอง โดยกด Start แล้วเลือก Run แล้วพิมพ์ sysdm.cpl หรือ winmsd.exe แล้วกด Run จะขึ้นหน้าต่างข้อมูลให้ผู้ใช้รับทราบ รุ่นปรับปรุงที่ออกมา จะปรากฏคำว่า Service Pack วินโดวส์ เอกซ์พี หยุดการสนับสนุนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
},
{
"docid": "3145#9",
"text": "วินโดวส์ 8 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นต่อไปในตระกูลวินโดวส์ เปิดตัวเมื่อ 22 ตุลาคม 2553 ผ่านทางบล็อกภาษาดัชต์ของไมโครซอฟท์เอง วินโดวส์ 8 มีคุณสมบัติเพิ่มเติมมากมายหลายอย่าง เช่น ไลฟ์ ไทลส์ ช่วยให้เข้าข้อมูลพื้นฐานได้ง่ายขึ้น, วินโดวส์ เอกซ์พลอเรอร์ ที่ใช้การจัดข้อมูลแบบริบบอนแทนแบบเดิม เป็นต้น ปัจจุบันวินโดวส์ 8 ได้เปิดวางขายเป็นที่เรียบร้อยในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2555 Windows 8 ได้สิ้นสุดการสนับสนุนจาก Microsoft เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 18 ตุลาคม 2013 ทาง Microsoft ออกชุดอัปเดตระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ที่ชื่อ Windows 8.1 สนับสนุนการใช้ Skype แอพ Mail XBox Video Office Bing Food and Drink Xbox Music Internet Explorer 11 (IE11) และมีการนำปุ่ม Start กลับมาอีกครั้งหลังตัดไปในวินโดวส์ 8",
"title": "ไมโครซอฟท์ วินโดวส์"
}
] |
429 | อณูชีววิทยา หมายถึงอะไร? | [
{
"docid": "5185#0",
"text": "อณูชีววิทยา หรือ ชีววิทยาระดับโมเลกุล (English: molecular biology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง และการทำงานของหน่วยพันธุกรรม ในระดับโมเลกุล เป็นสาขาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างชีววิทยาและเคมี โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยามุ่งเน้นศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆภายในเซลล์ ซึ่งรวมถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสังเคราะห์ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ และ โปรตีน และรวมถึงว่าขบวนการเหล่านี้ถูกควบคุมอย่างไร",
"title": "อณูชีววิทยา"
}
] | [
{
"docid": "762638#7",
"text": "ห้องปฏิบัติการเคมี\nห้องปฏิบัติการอณูชีววิทยาและชีววิทยา\nโดยปกติเครื่องมือในห้องปฏิบัติการจะถูกใช้สำหรับทำการทดลอง ไม่ก็ทำการวัดเพื่อเก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใหญ่และละเอียดกว่าถูกเรียกว่า ทั้งเครื่องมือในห้องปฏิบัติการและเครื่องมือวิทยาศาสตร์นั้นถูกออกแบบและเผยแพร่ผ่านหลักการมากขึ้น",
"title": "ห้องปฏิบัติการ"
},
{
"docid": "378613#0",
"text": "สาขาวิชาพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยายุคใหม่กำหนดใช้คำว่า จีโนม () หมายถึง ข้อมูลทางพันธุกรรมทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ โดยอาจอยู่ในรูปของดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอ (ในกรณีของไวรัสหลายชนิด) ก็ได้ โดยนับรวมทั้งส่วนที่เป็นยีนและส่วนที่ไม่มีการถอดรหัสด้วย",
"title": "จีโนม"
},
{
"docid": "378278#3",
"text": "พรีออนเป็นโปรตีนที่สามารถจำลองตัวเองได้ เป็นตัวการก่อโรค CJD โรควัวบ้า และโรคคูรู ปัจจุบันพบว่าการจำลองตัวเองของพรีออนก็อยู่ภายใต้กฎการคัดเลือกโดยธรรมชาติเช่นเดียวกับกรดนิวคลีอิก การจำลองตัวเองของพรีออนเป็นตัวอย่างที่ขัดกับความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา",
"title": "ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา"
},
{
"docid": "378278#0",
"text": "ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา หรือ หลักเกณฑ์กลางสำหรับชีววิทยาโมเลกุล () นั้นมีการพูดถึงครั้งแรกโดย ฟรานซิส คริก ใน ค.ศ. 1958 และมีกล่าวซ้ำในบทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1970 ว่า\n\"ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยาคือรายละเอียดโดยละเอียดขั้นต่อขั้นของการส่งต่อข้อมูล โดยระบุชัดเจนว่าข้อมูลไม่อาจถูกส่งย้อนจากโปรตีนกลับไปเป็นโปรตีนหรือกรดนิวคลิอิกได้\"",
"title": "ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา"
},
{
"docid": "5185#2",
"text": "ชีวเคมี เป็นการศึกษาสารเคมีและปฏิกิริยาเคมีที่จำเป็นในสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ เป็นการศึกษาการถ่ายทอดและผลของความแตกต่างของพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต อณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์",
"title": "อณูชีววิทยา"
},
{
"docid": "755703#1",
"text": "ในปี ค.ศ. 1945 เคนดรูว์ร่วมงานกับมักซ์ เพอรุตซ์ นักอณูชีววิทยาที่ห้องปฏิบัติการคาเวนดิชในเคมบริดจ์และเริ่มศึกษาเฮโมโกลบินในแกะ ต่อมาในปี ค.ศ. 1962 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับเพอรุตซ์ จากผลงานการศึกษาโครงสร้างของโปรตีนด้วยการฉายรังสีเอกซ์ หลังจากนั้นเคนดรูว์ได้ร่วมก่อตั้งองค์การอณูชีววิทยายุโรป (European Molecular Biology Organization) และวารสารอณูชีววิทยา (Journal of Molecular Biology) ในช่วงบั้นปลายชีวิต เขาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยเซนต์จอห์นของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และเสียชีวิตที่เมืองเคมบริดจ์ในปี ค.ศ. 1997",
"title": "จอห์น เคนดรูว์"
},
{
"docid": "729#3",
"text": "การศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับอะตอมและโมเลกุล จัดอยู่ในสาขาวิชาอณูชีววิทยา ชีวเคมี และอณูพันธุศาสตร์ การศึกษาในระดับเซลล์ จัดอยู่ในสาขาวิชาเซลล์วิทยา และในระดับเนื้อเยื่อ จัดอยู่ในสาขาวิชาสรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และมิญชวิทยา สาขาวิชาคัพภวิทยาเป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "5184#2",
"text": "Bioinformatics เป็นคำย่อจากคำเต็มว่า \"Molecular Bioinformatics\" ซึ่งหมายถึงสหการของ อณูชีววิทยา (Molecular Biology) กับ สารสนเทศศาสตร์ (Informatics), ในวงวิชาการไทยมักเรียกชื่อทับศัพท์ว่า \"ไบโออินฟอร์เมติกส์\".",
"title": "ชีวสารสนเทศศาสตร์"
},
{
"docid": "5185#1",
"text": "นักวิจัยทางด้านอณูชีววิทยาใช้ความรู้และเทคนิคจากหลายสาขาในงานวิจัย เช่น ชีวเคมี พันธุศาสตร์ ชีววิทยาเชิงฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์ รวมกันเพื่อสร้างองค์ความรู้ในอณูชีววิทยา",
"title": "อณูชีววิทยา"
},
{
"docid": "152372#15",
"text": "การวิจัยทางกายวิภาคในช่วงร้อยปีที่ผ่านมามีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพราะการเจริญของเทคโนโลยี และความเข้าใจในวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ เช่น ชีววิวัฒนาการ (evolutionary biology) และอณูชีววิทยา (molecular biology) ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจอวัยวะและโครงสร้างของมนุษย์มากขึ้น ความเข้าใจในวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ (endocrinology) ทำให้สามารถอธิบายหน้าที่ของต่อมต่างๆ ที่ในอดีตไม่เคยได้รับการอธิบาย อุปกรณ์ทางการแพทย์เช่น การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) หรือการตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ศึกษาอวัยวะของคนที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือเสียชีวิตไปแล้ว ความก้าวหน้าทางกายวิภาคศาสตร์ในปัจจุบันมุ่งไปที่การเจริญเติบโต วิวัฒนาการ และหน้าที่ของโครงสร้างทางกายวิภาค เนื่องจากความรู้ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (macroscopic anatomy) ได้ถูกรวบรวมอย่างเป็นระบบแล้ว สาขาย่อยของกายวิภาคศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ (non-human anatomy) ก็มีความสำคัญในปัจจุบัน เพราะนักกายวิภาคสมัยใหม่กำลังพยายามทำความเข้าใจหลักการพื้นฐานของการจัดระบบของกายวิภาคศาสตร์โดยผ่านเทคนิคสมัยใหม่ตั้งแต่การใช้ finite element analysis ไปจนถึงอณูชีววิทยา",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "824425#4",
"text": "\"สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์\" จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแหล่งผลิต วิจัย พัฒนาและเป็นหน่วยงานกลางทางวิชาการด้านอณูวิทยาพันธุศาสตร์ และพันธุศาสตร์ ",
"title": "สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล"
},
{
"docid": "729#19",
"text": "สาขาวิชาหลักใหญ่ที่เกี่ยวกับอนุกรมวิธานมี 2 สาขา คือ พฤกษศาสตร์ และสัตววิทยา พฤกษศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวพืช มีเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และวิวัฒนาการของพืช ส่วนสัตววิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ รวมทั้งลักษณะทางสรีรวิทยาของสัตว์ซึ่งอยู่ในสาขากายวิภาคศาสตร์และคัพภวิทยา กลไกทางพันธุศาสตร์และการเจริญของพืชและสัตว์จะศึกษาในสาขาอณูชีววิทยา อณูพันธุศาสตร์ และชีววิทยาของการเจริญ",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "824425#1",
"text": "สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการควบรวมของหน่วยงานทั้ง 2 หน่วยงาน คือ \"สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี\" และ \"สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์\" ",
"title": "สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล"
},
{
"docid": "4218#23",
"text": "หลักฐานทางอณูชีววิทยา ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์มีตัวอย่างสำคัญ ๆ ดังต่อไปนี้",
"title": "วิวัฒนาการของมนุษย์"
},
{
"docid": "371286#0",
"text": "Caenorhabditis elegans เป็นหนอนนีมาโทดาที่โปร่งใส มีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร \"C. elegans\" อาศัยอยู่ในดินในเขตอบอุ่น และเริ่มถูกใช้ในงานวิจัยทางด้านอณูชีววิทยาและชีววิทยาการเจริญ มาตั้งแต่ ปีค.ศ. 1974 โดย Sydney Brenner และก็ถูกใช้เป็นแบบจำลองสิ่งมีชีวิตเรื่อยมาตั้งแต่นั้น",
"title": "Caenorhabditis elegans"
},
{
"docid": "729#12",
"text": "ชีววิทยาเป็นสาขาวิชาที่ใหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่นเซลล์ ยีน เป็นต้น กลุ่มที่สองศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย กลุ่มที่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "10649#111",
"text": "ความเข้าใจที่ดีขึ้นของอณูชีววิทยาและชีววิทยาของเซลล์ที่ได้จากการวิจัยโรคมะเร็งได้นำไปสู่การรักษาใหม่จำนวนมากสำหรับโรคมะเร็งนับแต่ประธานาธิบดีนิกสันแห่งสหรัฐประกาศ \"สงครามกับมะเร็ง\" ในปี 1971 ตั้งแต่นั้นมาสหรัฐได้ใช้เงินกว่า $2 แสนล้านในการวิจัยโรคมะเร็ง รวมทั้งทรัพยากรจากภาครัฐและเอกชนและมูลนิธิ[161] ในช่วงเวลานั้น สหรัฐได้เห็นอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลดลงร้อยละห้า (ปรับตามขนาดและอายุของประชากร) ระหว่างปี 1950 และปี 2005[162]",
"title": "มะเร็ง"
},
{
"docid": "605006#3",
"text": "ลักษณะที่มองเห็นเป็นผลในที่สุดของกระบวนการทางโมเลกุลและชีวเคมี\nในกรณีโดยมาก ข้อมูลจะเริ่มจากดีเอ็นเอที่ถ่ายไปยังอาร์เอ็นเอแล้วแปลงเป็นโปรตีน (ซึ่งในที่สุดก็มีผลต่อโครงสร้างและการทำงานของสิ่งมีชีวิต)\nดังที่กล่าวโดยนักชีววิทยาชาวอังกฤษผู้ได้ร่วมค้นพบดีเอ็นเอ ดร. ฟรานซิส คริกว่า นี่เป็นหลักศูนย์กลาง (central dogma) ของอณูชีววิทยา",
"title": "ลักษณะปรากฏ"
},
{
"docid": "19383#82",
"text": "ส่วนคณะอาจารย์ชีววิทยาได้รับรางวัลโนเบลสาขาแพทย์ศาสตร์ 6 รางวัล สำหรับงานในสาขาพันธุศาสตร์ วิทยาภูมิคุ้มกัน วิทยามะเร็ง และอณูชีววิทยา ศ.อีริก แลนด์เดอร์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในโครงการจีโนมมนุษย์",
"title": "สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์"
},
{
"docid": "5185#4",
"text": "ขั้นตอนของ PCR นี้ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักๆ คือ",
"title": "อณูชีววิทยา"
},
{
"docid": "85391#1",
"text": "ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ\nศาสตราจารย์ ดร.วรชาติ สิรวราภรณ์ มีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จำนวนกว่า 50 เรื่อง เป็นผลงานวิจัยเกี่ยวกับชีวเคมีและอณูชีววิทยาของเชื้อมาลาเรีย วัณโรค และโรคเรื้อน มีบทความงานวิจัยที่ได้เผยแพร่ในการประชุมสัมมนาวิชาการต่างๆ จำนวน 8 เรื่อง และผลงานวิชาการในลักษณะสื่อการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 เรื่อง เกี่ยวกับชีวสารสนเทศศาสตร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลทางอณูชีววิทยา วิศวกรรมโปรตีน (Protein Engineering) การวิเคราะห์ข้อมูลโปรตีนผ่านทางคอมพิวเตอร์ และการหาลำดับเบสในดีเอ็นเอ (DNA sequencing) เป็นต้น",
"title": "วรชาติ สิรวราภรณ์"
},
{
"docid": "53095#53",
"text": "หมวดหมู่:วิศวกรรมชีวภาพ หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ หมวดหมู่:วิศวกรรมศาสตร์ หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:อณูชีววิทยา",
"title": "พันธุวิศวกรรม"
},
{
"docid": "136012#1",
"text": "ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเซลล์และการทำงานของเซลล์เป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ชีวภาพทุกสาขา ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเซลล์แต่ละชนิดมีความสำคัญในด้านชีววิทยาของเซลล์และอณูชีววิทยา การศึกษาชีววิทยาเซลล์นั้นมีความเกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์, ชีวเคมี, อณูชีววิทยา และชีววิทยาของการเจริญ",
"title": "ชีววิทยาของเซลล์"
},
{
"docid": "88046#1",
"text": "งานของฟรานซิส คริกในช่วงหลังจนถึงปี พ.ศ. 2520 ที่หอทดลองอณูชีววิทยา “เอ็มอาร์ซี” หรือ “สภาวิจัยทางการแพทย์” (MRC-Medical Research Council) ไม่ได้รับการยอมรับเป็นทางการมากนัก ในช่วงท้ายในชีวิตงาน คริกได้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมธีวิจัย “เจ ดับบลิว คีกเคเฟอร์” ที่ “สถาบันซอล์คชีววิทยาศึกษา” ที่เมืองลาโฮลา รัฐแคลิฟอร์เนีย และได้ดำรงตำแหน่งนี้จนสิ้นชีวิตเมื่ออายุได้ 88 ปี",
"title": "ฟรานซิส คริก"
},
{
"docid": "729#13",
"text": "อณูชีววิทยาเป็นสาขาหนึ่งในชีววิทยา ซึ่งศึกษาในระดับโมเลกุล สาขานี้มีความสอดคล้องกับสาขาอื่น ๆ ในชีววิทยา โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยาเป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในเซลล์ ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การสังเคราะห์โปรตีน และการควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "824425#5",
"text": "ต่อมา \"สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี\" และ \"สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์\" ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องการจัดตั้งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นผลจากการปรับโครงสร้างของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย เป็น \"สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล\" ",
"title": "สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล"
},
{
"docid": "4218#95",
"text": "โดยหลักฐานทางอณูชีววิทยา",
"title": "วิวัฒนาการของมนุษย์"
},
{
"docid": "153979#1",
"text": "ในทางกลับกัน การศึกษาหน้าที่การทำงานและบทบาทของยีนเดี่ยวหนึ่งยีน ซึ่งเป็นการวิจัยทางชีววิทยาและทางการแพทย์ในปัจจุบันที่ทำกันโดยทั่วไปในทุกวันนี้ และการมุ่งเน้นไปเฉพาะด้านอณูชีววิทยา (molecular biology) ไม่ใช่ความหมายของจีโนมิกส์ แต่จีโนมิกส์มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ วิถี และหน้าที่เพื่อจะทำความเข้าใจผล ตำแหน่ง และการตอบสนองต่อเครือข่ายในจีโนมทั้งหมด",
"title": "จีโนมิกส์"
},
{
"docid": "729#25",
"text": "กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นการศึกษาโครงสร้างและการจัดเรียงตัวของร่างกายมนุษย์ สาขาวิชาหลักของกายวิภาคศาสตร์ได้แก่ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จุลกายวิภาคศาสตร์ หรือมิญชวิทยา หรือวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับจุลภาคซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาโครงสร้างและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยา (Physiology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านกลศาสตร์ ด้านกายภาพ และด้านชีวเคมี แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย คือ สรีรวิทยาของพืช และสรีรวิทยาของสัตว์ * อณูชีววิทยา (Molecular biology) หรือ ชีววิทยาโมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่าง ๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เป็น โปรตีน พันธุศาสตร์ (Genetics) คือ สาขาแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity) , และวิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง เซลล์พันธุศาสตร์ (Cytogenetics) ศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตำแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยา (Ecology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม คัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination) ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) หรือ วิทยาเซลล์ (cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์ มหพยาธิวิทยา (Gross pathology) หมายถึงลักษณะแสดงในระดับมหัพภาค (หรือระดับตาเปล่า) ของโรคที่เกิดในอวัยวะ, เนื้อเยื่อ และช่องตัว ศัพท์ดังกล่าวใช้กันทั่วไปในวิชาพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology) เพื่อหมายถึงการตรวจเพื่อวินิจฉัยหาข้อมูลในชิ้นเนื้อตัวอย่างหรือการชันสูตรพลิกศพ (autopsy)",
"title": "ชีววิทยา"
}
] |
2967 | ลิโอเนล อันเดรส เมสซิ กูซิตินิ เกิดเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "217858#6",
"text": "เมสซิเกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1987 ที่โรงพยาบาลอิตาเลียโนการิบัลดิ ในเมืองโรซาริโอ รัฐซานตาเฟ เป็นบุตรของฆอร์เฆ เมสซิ (เกิดปี ค.ศ. 1958) เป็นคนงานโรงงาน และเซเลีย มาริอา กูซิตินิ คนทำความสะอาดนอกเวลา ครอบครัวทางฝั่งพ่อมาจากเมืองในประเทศอิตาลี คือเมืองอังโกนา โดยบรรพบุรุษของเขา อันเจโล เมสซิ อพยพมาอยู่อาร์เจนตินา ในปี ค.ศ. 1883 เขามีพี่ชาย 2 คนชื่อโรดรีโกและมาเตียส และมีน้องสาวชื่อ มารีอา ซอล",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#0",
"text": "ลิโอเนล อันเดรส เมสซิ กูซิตินิ (, ; เกิด 24 มิถุนายน ค.ศ. 1987) เป็นนักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองหน้าให้กับบาร์เซโลนา และทีมชาติอาร์เจนตินา เขายังถือสัญชาติสเปนอีกด้วย ซึ่งทำให้เขาถือว่าเป็นนักฟุตบอลยุโรป เขาเป็นหนึ่งในผู้เล่นที่ดีที่สุดในรุ่นของเขา และมักถูกกล่าวถึงว่าเป็นผู้เล่นร่วมสมัยที่ดีที่สุดในโลก",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
}
] | [
{
"docid": "146787#0",
"text": "ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ (; ) (1 มกราคม ค.ศ. 1449 – 9 เมษายน ค.ศ. 1492) เป็นรัฐบุรุษคนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญในทางการปกครอง นอกจากนั้นลอเรนโซ เดอ เมดิชิยังเป็นเป็นนักการทูต, ผู้อุปถัมภ์ผู้มีปัญญา, ศิลปิน, และกวี ลอเรนโซ เดอ เมดิชิมีชีวิตอยู่ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของสมัยเรอเนซองส์ หลังจากลอเรนโซ เดอ เมดิชิเสียชีวิตยุคทองของเรอเนซองส์ก็สิ้นสุดลง ความสัมพันธ์ที่เปราะบางระหว่างแคว้นต่างๆของอิตาลีที่ลอเรนโซพยายามยึดไว้ก็แตกหักลง เพียงสองปีหลังจากลอเรนโซเสียชีวิตฝรั่งเศสก็รุกรานอิตาลีระหว่างปี ค.ศ. 1494-1498 ซึ่งเป็นการเริ่มสมัยการยึดครองของคาบสมุทรอิตาลีโดยชาวต่างประเทศเป็นเวลาทั้งสิ้นเกือบ 400 ปี",
"title": "โลเรนโซ เด เมดีชี"
},
{
"docid": "217858#41",
"text": "เมสซิมีส่วนต่อการเสริมกำลังในระหว่างที่อันเดรส อินิเอสตา บาดเจ็บ และในการแข่งขันกับสโมสรฟุตบอลเชลซี ในแชมเปียนส์ลีกในรอบรองชนะเลิศ เขาเลี้ยงบอลและแอสซิสต์ให้อันเดรส อินิเอสตา ยิงประตูชัยให้บาร์เซโลน่า ทำให้บาร์เซโลนาผ่านเข้ารอบไปเจอกับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ในรอบชิงชนะเลิศ เขายังได้รับถ้วยรางวัลโกปาเดลเรย์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ยิง 1 ประตูและช่วยส่งลูกยิงประตูอีก 2 ลูก ในชัยชนะ 4–1 เหนือแอทเลติกบิลบาโอ เขาช่วยทีมเป็นผู้ชนะในครั้งที่ 2 ในลาลิกา",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#130",
"text": "วันที่ 27 พฤศจิกายน 2016 ในเกมลีกนัดเยือน เรอัล โซเซียดัด เมสซิยิงได้ 1 ประตู ทำให้เขาเป็นนักฟุตบอลคนแรกในลาลิกาสเปนที่ทำประตูได้ครบ 200 นัดในลีก วันที่ 6 ธันวาคม 2016 เมสซิลงแข่งขันเกมยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก กับ โบรุสเซียเมินเชนกลัดบัค ซึ่งเป็นการแข่งขันอย่างเป็นทางการนัดที่ 549 ของเขาในสีเสื้ออาซุลกรานา ทำให้เขาขึ้นมาครองอันดับ 4 นักเตะที่ลงสนามในเกมเป็นทางการให้บาร์เซโลนามากที่สุด ร่วมกับ มิเกลลี โดยใน 10 อันดับแรก มีเพียงเขา และอันเดรส อินิเอสตา (603 นัด อยู่ในอันดับ 2)เท่านั้น ที่ยังคงค้าแข้งให้บาร์เซโลนาอยู่",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#170",
"text": "ในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก ปี 2012 แมตช์ที่อาร์เจนตินาคว้าชัยเหนือเอกวาดอร์ 4 ประตูต่อ 0 เมสซิได้ยืนยันข่าวลือการตั้งท้องของแฟนสาว โดยการฉลองประตูของเขาด้วยการยัดลูกบอลใส่เสื้อบริเวณหน้าท้อง และในวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 โรกูโซได้ให้กำเนิดบุตรชายคนแรกของพวกเขา คือ เตียโก เมสซิ โดยในวันนั้นเมสซิได้รับอนญาตให้งดซ้อม และอยู่เฝ้าแฟนสาวจนกระทั่งคลอดลูกชาย โดยเมสซิได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า วันนั้นเขาร้องไห้เพราะ เตียโกเป็นเด็กคลอดยาก เขารู้สึกว่ามันใช้เวลานานมาก กลัวและกังวลไปหมดจนกระทั่งลูกคลอดออกมาอย่างปลอดภัย เขาได้ให้สัมภาษณ์อีกว่า \"วันนี้ฉันเป็นผู้ชายที่มีความสุขที่สุดในโลก ลูกชายของฉันถือกำเนิดแล้ว ขอบคุณพระเจ้าสำหรับของขวัญชิ้นนี้ ขอบคุณครอบครัวของฉันสำหรับกำลังใจและการสนับสนุนของพวกเขา รักพวกคุณทุกคน\"",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#190",
"text": "เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2010 เมสซิได้รับเป็นทูตสันถวไมตรีจากยูนิเซฟ โดยจุดประสงค์การทำงานของเขาเพื่อสนับสนุนสิทธิของเด็ก เมสซิทำภารกิจแรกในฐานะทูตยูนิเซฟใน 4 เดือนถัดมา เขาเดินทางไปยังเฮติ เพื่อสร้างความตระหนักในชะตากรรมของเด็กในประเทศที่เพิ่งเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เมสซิยังมีส่วนร่วมในแคมเปญที่ยูนิเซฟจัดทำขึ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อการป้องกันการเกิดเอชไอวี, เพื่อการศึกษา และเพื่อโอกาสทางสังคมของเด็กพิการ",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "314396#0",
"text": "เมลิสซา เชสซิงตัน ลีโอ () หรือเป็นที่รู้จักในอีกชื่อว่า มาร์กาเรต เมย์ ที่ 2 () หรือ มาร์กาเรต เมย์ () เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1960 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็น่ที่รู้จักในบทเคย์ ฮาวเวิร์ด ในซีรีส์ทางโทรทัศน์เรื่อง \"\" ตั้งแต่ปี 1993–1997 เธอยังแสดงในซีรีส์เรื่อง \"All My Children\" และ \"The Young Riders\" ผลงานแสดงภาพยนตร์ที่เธอแสดงอย่างเช่น \"A Time of Destiny\", \"Last Summer in the Hamptons\", \"21 Grams\", \"Confess\", และ \"The Three Burials of Melquiades Estrada\"",
"title": "เมลิสซา ลีโอ"
},
{
"docid": "217858#141",
"text": "วันที่ 27 พฤษภาคม 2017 สนามกีฬาบิเซนเต กัลเดรอนของอัตเลติโกมาดริด ได้ถูกยืมมาใช้ในการแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศถ้วยโกปาเดลเรย์ ระหว่างบาร์เซโลนา และเดปอร์ตีโบอาลาเบส โดยเมสซิทำประตูแรกให้บาร์เซโลนาขึ้นนำ และแอสซิสต์สุดสวยโดยลากหลบ 4 กองหลัง แล้วส่งให้ปาโก้ อัลกาแซร์ ยิงประตูตอกฝาโลง ทำให้บาร์เซโลนาเอาชนะเดปอร์ตีโบอาลาเบส ไปได้ 3-1 คว้ารางวัลชนะเลิศรายการนี้ไปครองอย่างสวยงาม โดยแชมป์รายการนี้ เป็นแชมป์ที่ 30 ของเมสซิกับบาร์เซโลนา ถือเป็นนักฟุตบอลที่ได้แชมป์กับบาร์เซโลนามากที่สุด ซึ่งสถิตินี้เมสซิถือครองร่วมกับอันเดรส อินิเอสตา",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#174",
"text": "ในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2017 เมสซิได้ฤกษ์จูงแฟนสาว อันโตเนลา โรกูโซ เข้าพิธีแต่งงาน ณ เมืองโรซาริโอ บ้านเกิดของทั้งคู่ หลังคบกันฉันคนรักมาได้เกือบ 10 ปี โดยงานแต่งงานจัดขึ้นอย่างสุดหรูที่ โรงแรมพูลแมนซิตี้เซ็นเตอร์ โรซาริโอ มีแขกได้รับเชิญเพียง 260 คน แต่แขกจำนวนมากล้วนเป็นบุคคลมีชื่อเสียงทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ การรักษาความปลอดภัยจึงเป็นไปอย่างเข้มงวด โดยใช้เจ้าหน้าที่กว่า 300 นาย ทั้งตำรวจพื้นที่และเจ้าหน้าที่บริษัทรักษาความปลอดภัยเอกชน 2 บริษัท เมสซิจองห้องพักทั้งหมด รวมถึงบริการต่าง ๆ ทั้งหมดของโรงแรมให้แก่แขกผู้มางาน จึงสามารถปิดพื้นที่บริเวณโรงแรมทั้งหมด ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้ามาภายในบริเวณโรงแรมได้ ในส่วนของสื่อมวลชนจำนวนกว่า 150 คนนั้น มีพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ให้โดยเฉพาะ พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อที่ไปทำข่าวต้องลงทะเบียนสังกัดและได้รับอนุญาตให้ทำข่าวบริเวณพรมแดงหน้าประตูโรงแรมเท่านั้น",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#158",
"text": "อาการบาดเจ็บของเมสซิทำให้เขาไม่ได้ลงใน 2 เดือนท้ายสุดของฤดูกาล 2005–06 ซึ่งทำให้เขาไม่ได้ลงเล่นในฟุตบอลโลก 2006 นัก แต่อย่างไรก็ตามเมสซิก็ยังได้รับเลือกให้ลงเล่นในชุดทีมชาติอาร์เจนตินาเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 เขายังลงเล่นในนัดชิงชนะเลิศให้กับอาร์เจนตินาชุดอายุไม่เกิน 20 ปี อยู่ 15 นาทีและนัดกระชับมิตรที่เจอกับแองโกลา ตั้งแต่นาทีที่ 64 เขานั่งอยู่บนม้านั่งสำรองในนัดที่อาร์เจนตินาชนะต่อโกตดิวัวร์ ในนัดถัดมาที่เจอกับเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เมสซิถือเป็นนักฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาที่อายุน้อยที่สุดที่ลงแข่งในฟุตบอลโลกเมื่อเขาออกมาแทนมักซี โรดรีเกซในนาทีที่ 74 เขาช่วงส่งประตูยิงให้กับเอร์นัน เกรสโปในไม่กี่นาทีหลังจากที่เขาลงสนามและยังช่วยยิงประตูในชัยชนะ 6–0 ทำให้เขาเป็นนักฟุตบอลที่อายุน้อยที่สุดในฟุตบอลโลก 2006 ที่ยิงประตูได้และเป็นนักฟุตบอลอายุน้อยที่สุดอันดับ 6 ที่ยิงประตูได้ในประวัติศาสตร์ฟุตบอลโลก",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
},
{
"docid": "217858#5",
"text": "เมสซินำทีมชาติอาร์เจนตินา ชุดเยาวชน U20 ชนะเลิศถ้วยฟุตบอลเยาวชนโลก หรือการแข่งขันยูทแชมเปียนชิป ปี 2005 โดยเป็นผู้ทำประตูสูงสุด กับ 6 ประตู รวมถึง 2 ประตูในนัดชิงชนะเลิศ และได้รับรางวัลโกลเดนบอลหรือผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำรายการแข่งขัน หลังจากนั้นไม่นานเขาก็เป็นส่วนหนึ่งในทีมชุดใหญ่ฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา และในปี ค.ศ. 2006 เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาที่อายุน้อยที่สุดที่เล่นในฟุตบอลโลก และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศไปในโคปาอเมริกาในปี ถัดมา และในปี ค.ศ. 2008 ที่ปักกิ่งเขาได้รับเหรียญทองในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ในนามของฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา ในปี 2014 เมสซินำทีมชาติอาร์เจนตินาเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศฟุตบอลโลกกับทีมชาติเยอรมัน แต่แพ้ไป 1 ประตูต่อ 0 ในช่วงต่อเวลาอย่างน่าเสียดาย ได้เพียงแค่ตำแหน่งรองชนะเลิศ และในปี 2015 เขาก็พาทีมชาติอาร์เจนตินาเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศโคปาอเมริกา กับทีมชาติชิลี แต่เสมอกันทั้งในเวลาและช่วงต่อเวลา และที่สุดก็ต้องแพ้ดวลจุดโทษไปอย่างน่าเสียดายอีกเช่นกัน ซึ่งทั้ง 2 รายการหลังนี้เมสซิได้รับรางวัลโกลเดนบอลและผู้เล่นทรงคุณค่าของรายการแข่งขัน",
"title": "ลิโอเนล เมสซิ"
}
] |
1549 | ลัทธิทำลายรูปเคารพ ตรงข้ามกับลัทธิอะไร? | [
{
"docid": "145140#0",
"text": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ () เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ \"ลัทธิบูชารูปเคารพ\" (Iconodule)",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#4",
"text": "ความหมายตรงกันข้ามของผู้ทำลายรูปเคารพ คือ ผู้ที่มีความเชื่อในการนับถือบูชาและสักการะรูปเคารพที่เรียกว่า “นักบูชารูปเคารพ” \"Idolators\" ในสมัยไบเซนไทน์เมื่อกล่าวถึง \"ลัทธิบูชารูปเคารพ\" ก็จะใช้คำว่า \"Iconodules\" หรือ \"Iconophiles\"",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "321994#1",
"text": "“Iconoclasm” เป็นภาษากรีกที่แปลว่า “การทำลายรูปลักษณ์” เป็นการทำลายรูปสัญลักษณ์ทางศาสนาหรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ หรือ อนุสาวรีย์อย่างจงใจภายในวัฒนธรรมในสังคมของผู้ทำลายเอง ทั้งนี้เนื่องมาจากวัตถุประสงค์ที่มีแรงจูงใจทางการเมืองหรือทางศาสนา ผู้ที่ร่วมการทำลายสัญลักษณ์ทางวัตถุหรือผู้ที่สนับสนุน ลัทธินิยม ในการทำลายสัญลักษณ์ทางวัตถุเรียกกันว่า “นักทำลายรูปสัญลักษณ์” หรือ “นักทำลายรูปเคารพ” (Iconoclasts) ซึ่งความหมายแปลงมาใช้กับผู้ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อความเชื่อหรือการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ความหมายตรงกันข้ามของผู้ทำลายรูปเคารพ คือ ผู้ที่มีความเชื่อในการนับถือบูชาและสักการะรูปสัญลักษณ์หรือสัญลักษณ์ทางศาสนาที่เรียกว่า “นักบูชารูปเคารพ” หรือ “นักบูชารูปสัญลักษณ์” หรือ \"Idolators\" ในสมัยไบเซนไทน์เมื่อกล่าวถึง \"ลัทธิบูชารูปสัญลักษณ์\" หรือ \"ลัทธิบูชารูปเคารพ\" ก็จะใช้คำว่า \"Iconodules\" หรือ \"Iconophiles\"",
"title": "การทำลายรูปเคารพสมัยไบแซนไทน์"
}
] | [
{
"docid": "145140#8",
"text": "เหตุผลของการทำลายรูปเคารพมักจะมาจากหลักฐานข้อเขียนของ “นักบูชารูปเคารพ” เป็นส่วนใหญ่ ฉะนั้นการที่จะเข้าใจในเหตุผลของลัทธิทำลายรูปเคารพเราต้องเข้าใจว่า:\nผู้ที่คัดค้านกับลัทธิทำลายรูปเคารพทางเทววิทยาคือนักบุญจอห์นแห่งดามัสกัส (John of Damascus) ผู้อาศัยในบริเวณที่ปกครองโดยมุสลิมและผู้เป็นที่ปรึกษาของเคาะลีฟะฮ์แห่งดามัสกัส นักบุญจอห์นแห่งดามัสกัสอยู่ใกลจากไบแซนไทน์พอที่จะพ้นจากการถูกลงโทษของผู้สนับสนุนลัทธิทำลายรูปเคารพ อีกผู้หนึ่งคือนักบุญทีโอดอร์สตูไดท์ (Theodore the Studite) ผู้เป็นนักพรตอยู่ที่อารามสตูดิโอสที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล นักบุญจอห์นประกาศว่าท่านไม่ได้บูชารูปเคารพแต่บูชาผู้สร้างรูปเคารพ ขณะเดียวกันท่านก็กล่าวว่าท่านบูชาสิ่งที่ราวกับได้มาจากอำนาจของพระเจ้า ซึ่งก็รวมถึงหมึกที่พระวรสารใช้เขียนและภาพเขียน ไม้ของกางเขน และพระมังสะและพระโลหิตของพระเยซู",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#5",
"text": "ผลที่เราเห็นจากลัทธิทำลายรูปเคารพก็จะมักจะเป็นรูปปั้นเพราะศิลปะรูปแบบอื่นคงถูกทำลายไปหมด รูปปั้นเหล่านี้ส่วนหัวจะหักไปหมด เช่น ตามอนุสาวรีย์ของโรมัน หรืออนุสาวรีย์หน้าโบสถ์และรูปปั้นหรืออนุสรณ์ผู้ตายภายในโบสถ์โดยเฉพาะที่เป็นรูปปั้นเล็ก ๆ ถ้าเป็นหัวรูปปั้นใหญ่ที่ค่อนข้างทำลายยาก นักทำลายรูปเคารพก็มักจะทุบจนหักบิ่นความขัดแย้งกันในเรื่องความเชื่อในการทำลายรูปเคารพไม่จำกัดเฉพาะในกลุ่มนักบวช หรือเป็นความแตกแยกทางปรัชญาทางเทววิทยาเท่านั้น บางครั้งความขัดแย้งก็อาจจะเป็นผลมาจากความกลัวการรุกรานทางทหารโดยผู้นับถือศาสนาอิสลาม เป็นที่เชื่อกันว่าการทำลายรูปเคารพได้รับการสนับสนุนบางส่วนจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ตะวันออกและผู้ลี้ภัยที่มาจากบริเวณที่ถูกยึดครองโดยผู้นับถือศาสนาอิสลาม นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลบางส่วนจากกองกำลังบัลคานซึ่งไม่นิยมในการบูชา “รูปเคารพ” เท่าใดนัก อิทธิพลที่ว่านี้อาจจะมีบทบาทสำคัญต่อสถาบันการปกครองในการเริ่มและการลงเอยของลัทธิการทำลายรูปเคารพ",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#1",
"text": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ แตกต่างจากการทำลายโดยวัฒนธรรมจากภายนอกหรือจากการสงคราม เช่น การรุกรานของประเทศสเปนที่มีผลต่อการทำลายศิลปะและสิ่งก่อสร้างท้องถิ่นในอเมริกาใต้ และมิได้หมายถึงการทำลายสัญลักษณ์ทางวัตถุของประมุขที่เพิ่งเสียชีวิตไปหรือถูกโค่นอำนาจไป เช่น ประเพณีที่ทำกันเมื่อพระเจ้าแผ่นดินสวรรคตในสมัยอียิปต์โบราณ หรือในจักรวรรดิโรมัน",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#19",
"text": "ไม่ใช่ชาวโปรเตสแตนต์ทุกคนจะเห็นด้วยกับลัทธิทำลายรูปเคารพของศาสนาหรือการใช้รูปเคารพในการสักการบูชา มาร์ติน ลูเทอร์ผู้เป็นผู้นำในการแยกตัวจากนิกายโรมันคาทอลิกเองกล่าวว่าผู้นับถือศาสนาคริสต์ควรจะมีเสรีภาพในการบูชารูปทางศาสนาใด ๆ ก็ได้ตราบที่ไม่เป็นการบูชารูปแทนพระเป็นเจ้า แต่ฮุลดริช ซวิงลีผู้พยายามอนุรักษ์คำสอนของพระเจ้าเป็นปฏิปักษ์ต่อรูปสัญลักษณ์ทุกชนิด มาร์ติน ลูเทอร์ผู้ต้องการอนุรักษ์คำสอนเช่นกันเห็นว่างานศิลปะทุกอย่างเป็นงานที่ทำเพื่อพระวรสาร มาร์ติน ลูเทอร์นอกจากจะไม่เห็นด้วยกับการทำลายศิลปะเช่นที่ผู้มีความคิดเห็นรุนแรงต้องการจะทำแล้วยังสนับสนุนการสร้างศิลปะเพื่อศาสนาด้วย โดยเฉพาะดนตรีซึ่งลูเทอร์เห็นว่าเป็นที่สร้างขึ้นเพื่อพระเจ้าและประทานให้โดยพระเจ้า ลูเทอร์ยกตัวอย่างจากภาพของพระเจ้า ทูตสวรรค์ มนุษย์ และสัตว์ในคัมภีร์ไบเบิล โดยเฉพาะงานของนักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร หรือหนังสือโมเสส และหนังสือโยชูวา และยังเสนอให้มีภาพเขียนเหล่านี้บนผนังโบสถ์เช่นเดียวกับคัมภีร์เพื่อเป็นความเพิ่มความเข้าใจในศาสนามากขึ้น",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#3",
"text": "การทำลายรูปเคารพอาจจะทำโดยผู้ที่นับถือศาสนาต่างกันแต่ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากความแตกต่างกันทางปรัชญาทางศาสนาระหว่างลัทธิย่อยภายในศาสนาเดียวกัน ยกเว้นการแตกแยกระหว่างจักรวรรดิไบแซนไทน์สองจักรวรรดิระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 และ 9 ซึ่งมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งในความเชื่อเรื่องการบูชารูปเคารพ อันเป็นสาเหตุหลักแทนที่จะเป็นสาเหตุที่เป็นผลมาจากความขัดแย้งอื่น ในศาสนาคริสต์การทำลายรูปเคารพมักจะมีผลมาจากการตีความหมายของบัญญัติ 10 ประการซึ่งห้ามการบูชา “รูปเคารพ”",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#9",
"text": "การตอบโต้ของลัทธิบูชารูปเคารพต่อลัทธิทำลายรูปเคารพคือ:\nสิ่งสำคัญที่ควรกล่าวเกี่ยวกับประวัติศาสนาอิสลามคือการนำ “เทวรูป” ออกจากมัสยิดฮะรอมซึ่งเป็นที่ตั้งของกะอฺบะหฺสำหรับผู้นับถือศาสนาอิสลามถือว่าเป็นเหตุการณ์สัญลักษณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
},
{
"docid": "145140#2",
"text": "ผู้ที่มีส่วนร่วมหรือสนับสนุนลัทธิทำลายรูปเคารพเรียกว่า “นักทำลายรูปเคารพ” (Iconoclasts) ซึ่งความหมายแปลงมาเป็นผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับความเชื่อหรือการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป",
"title": "ลัทธิทำลายรูปเคารพ"
}
] |
310 | ใครเป็นผู้นำทัพฝ่ายพม่า ในสงครามอะแซหวุ่นกี้? | [
{
"docid": "780264#0",
"text": "สงครามอะแซหวุ่นกี้ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรธนบุรีและพม่าครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2318 - กันยายน พ.ศ. 2319 โดยทางฝั่งพม่ามี อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพใหญ่วัย 72 ปีเป็นผู้นำทัพ ส่วนทางฝั่งกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงนำทัพด้วยพระองค์เอง [1]",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
}
] | [
{
"docid": "43492#10",
"text": "การรบครั้งนี้ทำให้ต้าชิงต้องสูญเสียฟู่เหิง กับอาหลีกุ่นแม่ทัพใหญ่และรองแม่ทัพด้วยไข้มาเลเรีย หลังจากนั้น 20 ปี เมื่อพระเจ้ามังระสิ้นไปแล้วราชวงค์คองบองและจีนก็ได้ฟื้นความสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่ในยุคของพระเจ้าปดุงหลังพระองค์ทรงพ่ายแพ้ต่อกรุงรัตนโกสินทร์ถึง2ครั้ง โดยพม่ายอมส่งบรรณาการให้แก่อาณาจักรต้าชิง แลกกับการที่จีนยอมรับราชวงค์คองบองของพม่าพระเจ้ามังระทราบว่าขณะนี้ทางอยุธยากำลังเกิดการเปลี่ยนแปลง ราชธานีแห่งใหม่ได้ถือกำเนิดขึ้นนั้นคือกรุงธนบุรี แต่ในช่วงเวลานี้ภัยคุกคามจากต้าชิงสำคัญกว่ามาก เพราะหากพลาดพลั้งนั้นหมายถึงการล่มสลายของอาณาจักรคองบองที่พระองค์เพียรสร้างขึ้น ดั่งเช่นอาณาจักรพุกามที่ถูกกองทัพมองโกลทำลายล้างในอดีต หลังจากจบศึกกับต้าชิง พระองค์ประเมินแล้วว่าอาณาจักรของพระองค์บอบช่ำเกินกว่าจะทำศึกต่อไปได้อีก พระองค์จึงทรงให้ไพร่พลได้พักฟื้นถึง 5 ปี ในระหว่างพักพื้นนั้นก็ได้มีการตระเตรียมเสบียงอาหารเอาไว้ เพื่อใช้สำหรับทำศึกกับอาณาจักรที่พึ่งก่อตั้งอย่างกรุงธนบุรี หลังเตรียมการเป็นอย่างดีในปี พ.ศ. 2318 พระเจ้ามังระได้ให้อะแซหวุ่นกี้เป็นแม่ทัพใหญ่ลงมาทำศึกด้วยตนเอง อะแซหวุ่นกี้ได้นำทัพ 35,000 นาย พิชิตหัวเมืองต่างๆมาได้ตลอดทางรวมแล้วมีกำลังพลมากกว่า 50,000 นาย จนสามารถตีเมืองพิษณุโลกแตกและเตรียมรวมทัพมุ่งสู่กรุงธนบุรี อีกเส้นพระองค์ได้ให้เนเมียวสีหบดีเป็นแม่ทัพไปปราบปรามหัวเมืองทางเหนือจนสามารถยึดเชียงใหม่ได้เตรียมนำกองทัพลงไปสมทบกับอะแซหวุ่นกี้ที่เป็นแม่ทัพใหญ่อีกทางหนึ่ง ส่วนทัพทางใต้ก็สามารถตีเมืองกุย เมืองปราณได้สำเร็จพร้อมนำทัพบุกเข้ากรุงธนบุรีอีกทางหนึ่ง แต่แล้วในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2319 ราชสำนักอังวะได้แจ้งข่าวมาถึงอะแซหวุ่นกี้ ว่าพระเจ้ามังระได้เสด็จสวรรคตแล้ว พระเจ้าจิงกูจากษัตริย์องค์ใหม่จึงมีบัญชาให้อะแซหวุ่นกี้ยกทัพกลับกรุงอังวะในทันที ",
"title": "พระเจ้ามังระ"
},
{
"docid": "179615#32",
"text": "พ.ศ. 2318 แม่ทัพอะแซหวุ่นกี้ของพม่ายกทัพมาตีหัวเมืองเหนือ เป็นสงครามอะแซหวุ่นกี้ที่มีขนาดใหญ่มาก อะแซหวุ่นกี้เป็นผู้เชี่ยวชาญศึก ส่วนฝ่ายไทยนั้นมีเจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) และเจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช (บุญมา) ในการครั้งนี้พม่ายกพลมา 30,000 คนเข้าล้อมเมืองพิษณุโลกอีก 5,000 คนล้อมเมืองสุโขทัย ส่วนเมืองพิษณุโลกมีพลประมาณ 10,000 คน สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงยกทัพไปช่วย ต่อมาอะแซหวุ่นกี้ยกทัพกลับไปเอง เนื่องจากพระเจ้ามังระสวรรคต กองทัพพม่าส่วนที่ตามไปไม่ทันจึงถูกจับ[47]",
"title": "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"
},
{
"docid": "115376#0",
"text": "มะฮาตีฮะตูระ (แปลงเป็นไทย มหาสีหสุระ, Burmese: မဟာသီဟသူရ, ; ราวพุทธศักราช 2263-2325) เอกสารไทยเรียก อะแซหวุ่นกี้ เป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพม่าช่วง พ.ศ. 2311–2319 กล่าวได้ว่า เขาคือนักยุทธศาสตร์ทางทหารที่ปราดเปรื่องที่สุดคนหนึ่ง มีชื่อในประวัติศาสตร์พม่าว่า เป็นผู้พิชิตสงครามจีน–พม่าช่วง พ.ศ. 2308–2312 เขาก้าวขึ้นเป็นขุนศึกชั้นนำในรัชกาลของพระเจ้าอาลองบูรา (อลองพญา) คราวที่พระองค์ทำสงครามผนวกดินแดนพม่าช่วง พ.ศ. 2295–2300 ภายหลัง เขาได้บัญชากองทัพพม่าในกรุงศรีอยุธยา ล้านนา หลวงพระบาง และมณีปุระ",
"title": "อะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "888566#2",
"text": "โดยเฉพาะการบุกครั้งที่3ของจีนนั้นสร้างความลำบากให้แก่กองทัพพม่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากหมิงรุ่ยเป็นผู้เจนจบในพิชัยสงครามเขาเคลื่อนกองทัพอย่างระมัดระวังตลอดการทำศึก นั้นทำให้แม้แต่อะแซหวุ่นกี้เองก็ยากที่จะใช้กลอุบายเอาชนะเขาได้ ในขณะนั้นเองพระเจ้ามังระได้ตัดสินใจ ส่งกองกำลังพิเศษของพระองค์ออกไปทัพหนึ่ง นำโดยเนเมียวสีหตู, เต็งจามินกองมีจุดประสงค์เพื่อทำสงครามกองโจรกับหมิงรุ่ย ซึ่งทั้ง2 ก็สามารถทำผลงานได้อย่างน่าทึ่ง แม้เขาจะมีกองทัพไม่ถึง1พันนาย แต่ก็สามารถปั่นป่วนกองทัพนับหมื่นของหมิ่งรุ่ยจนไม่สามารถเคลื่อนที่ได้สะดวก อีกทั้งยังสามารถตัดกำลังบำรุงของฝ่ายจีนที่ส่งมากจากแสนหวีได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนกองทัพของหมิงรุ่ยที่บุกลึกเข้ามาเริ่มอดอาหาร นั้นทำให้ผลของสงครามเริ่มเปลี่ยนไป ชื่อเสียงของเนเมียวสีหตู, เตงจามินกอง และพระเจ้ามังระที่พลิกสถานการณ์ให้ฝ่ายอังวะในครั้งนั้นจึงเป็นที่เลื่องลือขึ้นมา ก่อนที่อะแซหวุ่นกี้และพระเจ้ามังระจะรวมกำลังกันเผด็จศึกต้าชิงได้อย่างเด็ดขาดในยุทธการเมเมียว",
"title": "เนเมียวสีหตู"
},
{
"docid": "938315#1",
"text": "ในการบุกครั้งที่3ของจีนนั้นสร้างความลำบากให้แก่กองทัพพม่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากหมิงรุ่ยเป็นผู้เจนจบในพิชัยสงครามเขาเคลื่อนกองทัพอย่างระมัดระวังตลอดการทำศึก นั้นทำให้แม้แต่อะแซหวุ่นกี้เองก็ยากที่จะใช้กลอุบายเอาชนะเขาได้ ในขณะนั้นเองพระเจ้ามังระได้ตัดสินใจส่งกองกำลังพิเศษของพระองค์ออกไปทัพหนึ่ง นำโดยเตนจามินคองมีจุดประสงค์เพื่อทำสงครามกองโจรกับหมิงรุ่ย ซึ่งเตนจามินคองก็สามารถทำผลงานได้อย่างน่าทึ่ง แม้เขาจะมีกองทัพไม่ถึงหนึ่งพันนาย แต่ก็สามารถปั่นป่วนกองทัพนับหมื่นของหมิ่งรุ่ยจนไม่สามารถเคลื่อนที่ได้สะดวก อีกทั้งยังสามารถตัดกำลังบำรุงของฝ่ายจีนที่ส่งมากจากแสนหวีได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนกองทัพของหมิงรุ่ยที่บุกลึกเข้ามาเริ่มอดอาหาร นั้นทำให้ผลของสงครามเริ่มเปลี่ยนไป ชื่อเสียงของเตนจามินคองและพระเจ้ามังระที่พลิกสถานการณ์ให้ฝ่ายอังวะในครั้งนั้น จึงเป็นที่เลื่องลือขึ้นมา สุดท้ายอะแซหวุ่นกี้ที่เตรียมกองทัพไว้อยู่แล้วจึงได้ช่องนำกองกำลังที่ซุ่มไว้เข้ายึดแสนหวีคืนได้ และยกทัพลงมาช่วยพระเจ้ามังระตีกระหนาบหมิงรุ่ยจนเอาชนะไปได้ในยุทธการเมเมียว",
"title": "เตนจามินคอง"
},
{
"docid": "61381#9",
"text": "พระพุทธชินราชเป็นพระพุทธรูปสำคัญที่ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกของหมู่พระวิหารและระเบียงคต ทำให้เมื่อมีการศึกสงครามโดยเฉพาะในศึกอะแซหวุ่นกี้ พ.ศ. 2318 เมื่ออะแซหวุ่นกี้และทัพพม่าสามารถตีเมืองพิษณุโลกได้ จึงเผาทำลายพระราชวังจันทน์กับพระวิหารประธานด้านตะวันออกที่ประดิษฐานพระอัฏฐารสเท่านั้น พระพุทธชินราชและพระวิหารที่ประดิษฐานไม่ได้โดนเผาทำลายไปด้วย",
"title": "พระพุทธชินราช"
},
{
"docid": "115376#12",
"text": "เมื่อพระเจ้าจิงกูจามีตำแหน่งที่มั่นคงแล้ว ได้ทำสิ่งที่ทำให้แม่ทัพนายกองแห่งราชวงค์คองบองตกใจเป็นอย่างยิ่ง คือพระองค์ได้ทำการถอดยศอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระบิดาของพระองค์ลง และเนรเทศไปอยู่เมืองสะกายทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกทัพกลับมาปกป้องตำแหน่ง และรักษาอำนาจในการปกครองสูงสุดให้แก่พระองค์จนมีความมั่นคง เหตุก็อาจเนื่องมาจากทรงระแวงอะแซหวุ่นกี้ที่มีอำนาจ และบารมีทางการทหารมากเกินไป หรืออีกนัยหนึ่งคือต้องการแสดงพระราชอำนาจให้ผู้คนทั้งแผ่นดินเห็นว่า ใครคือผู้กุมอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน",
"title": "อะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "780264#8",
"text": "แม้อะแซหวุ่นกี้จะสามารถพิชิตเมืองพิษณุโลกได้ แต่ก็ชื่นชมแม่ทัพศัตรูเป็นอย่างมากที่สามารถมองแผนการของเขาออกแทบทุกอย่าง ตามบันทึกในพงศาวดารฝ่ายไทย (ฝ่ายเดียว) เล่าว่าโดยก่อนหน้านั้นฝั่งสยามและฝั่งพม่าได้หยุดพักรบ และอะแซหวุ่นกี้ได้ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี พร้อมกับทำนายว่าในภายภาคหน้าจะได้เป็นกษัตริย์โดยมีเนื้อหาดังนี้ “อะแซหวุ่นกี้ให้ล่ามถามเจ้าพระยาจักรีว่าอายุเท่าใด เจ้าพระยาจักรีให้บอกไปว่าอายุได้ 30 เศษ แล้วจึงให้ถามอายุอะแซหวุ่นกี้บ้าง บอกมาว่าอายุได้ 72 ปี อะแซหวุ่นกี้พิจารณาดูรูปลักษณะเจ้าพระยาจักรีแล้วสรรเสริญว่า ท่านนี้รูปก็งาม ฝีมือก็เข้มแข็ง อาจสู้รบเราผู้เป็นผู้เฒ่าได้ จงอุตส่าห์รักษาตัวไว้ ภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์เป็นแท้” แล้วให้เอาเครื่องม้าทองสำรับ 1 กับสักหลาดพับ 1 ดินสอแก้ว 2 ก้อน น้ำมันดิน 2 หม้อมาให้เจ้าพระยาจักรี ๆ ก็ให้ของตอบแทนตามสมควร",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "780264#7",
"text": "อะแซหวุ่นกี้ล้อมเมืองพิษณุโลกอยู่ 4 เดือน สุดท้ายสามารถตัดขาดกำลังบำรุงของกรุงธนบุรีได้อย่างเด็ดขาด ทำให้ภายในเมืองพิษณุโลกขาดแคลนเสบียงอาหาร เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์เห็นแล้วว่าไม่อาจต้านศึกนี้ได้อีกต่อไป จึงนำกำลังทหารและผู้คนตีฝ่าวงล้อมไปตั้งมั่นที่บ้านมุงดอนชมพู แขวงเมืองเพชรบูรณ์ ทำให้อะแซหวุ่นกี้สามารถนำกองทัพบุกเข้าไปในเมืองพิษณุโลกได้สำเร็จ แต่ก็ขาดแคลนเสบียงอาหารเช่นเดียวกัน เนื่องจากเจ้าพระยาทั้งสองก็หาทางตัดเสบียงของกองทัพพม่ามาโดยตลอด แต่เนื่องจากเส้นทางลำเลียงเสบียงทางด่านแม่ละเมา ตาก สุโขทัยยังอยู่ในการดูแลของพม่า ทำให้อะแซหวุ่นกี้ยังสามารถทำศึกได้ต่อไปได้ แต่ก็ต้องเสียเวลาจัดเตรียมเสบียงอาหารอยู่หลายวัน ก่อนมุ่งสู่กรุงธนบุรีต่อไป [5]",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "780264#13",
"text": "ต่อมาในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2319 ทางกรุงอังวะ ได้มีข่าวแจ้งมายังอะแซหวุ่นกี้ว่าพระเจ้ามังระได้เสด็จสวรรคตแล้ว พระเจ้าจิงกูจา กษัตริย์พระองค์ใหม่จึงมีบัญชาให้อะแซหวุ่นกี้ยกทัพกลับกรุงอังวะ ทางด้านอะแซหวุ่นกี้เมื่อทราบข่าวก็ตกใจเป็นอย่างยิ่ง โดยจะเห็นได้จากครั้งนั้นอะแซหวุ่นกี้มีคำสั่งให้ม้าเร็ว 3 หน่วย วิ่งไปบอกกองทัพทั้ง 3 สายที่ไหล่บ่าสู่กรุงธนุบุรีว่าให้รีบถอนกำลังทั้งหมดกลับมาทันที แต่ม้าเร็วแจ้งทันแค่ 2 กองทัพ อีกหนึ่งกองทัพไปไกลแล้ว อะแซหวุ่นกี้จึงมีคำสั่งให้ประหารม้าเร็วหน่วยนั้นเสีย จากนั้นเร่งกองทัพทั้งกลางวันกลางคืนกลับสู่กรุงอังวะ ทิ้งกองทัพอีก 1 กองที่เหลือไว้ในกรุงธุนบุรีโดยไม่รอ ทำให้กองทัพที่ตกค้างอยู่ถูกกองทัพสยามตีแตกพ่ายไป",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "382172#5",
"text": "ในขณะที่เนเมียวสีหบดีกำลังทำสงครามอยู่กับอยุธยาอยู่นั้น กองทัพต้าชิงของจักรพรรดิเฉียนหลงได้เห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะที่จะเข้าทำลายกรุงอังวะ เนื่องจากมีปัญหาข้อพิพาทแถวชายแดนมานาน ในระยะแรกของการบุกครั้งที่1 และ2 พระเจ้ามังระยังให้เนเมียวสีหบดีทำสงครามในอยุธยาต่อไป โดยสงครามกับจีนพระองค์จะทรงจัดการเอง ต่อมาภายหลัง ในการบุกครั้งที่3กองทัพต้าชิงส่งทัพใหญ่มา เนเมียวสีหบดีที่พิชิตอยุธยาลงได้แล้วเร่งเดินทางกลับมาช่วยกรุงอังวะรับศึกต้าชิงทันที แต่ยังไม่ทันกลับมาถึงอะแซหวุ่นกี้ก็สามารถพิชิตกองทัพต้าชิงได้แล้ว ส่วนในการบุกครั้งที่4ของต้าชิง เนเมียวสีหบดีได้เดินทางกลับมาถึงกรุงอังวะ โดยมีส่วนสำคัญในการช่วยอะแซหวุ่นกี้ตีกระหนาบต้าชิงจนจะได้ชัยชนะอยู่แล้ว แต่แม่ทัพใหญ่อะแซหวุ่นกี้ก็ได้ตัดสินใจจบสงครามที่ไม่มีประโยชน์ครั้งนี้ลง ด้วยการเจรจาสงบศึกได้ลงนามในสนธิสัญญากองตนในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2312 อันเป็นการยุติสงครามจีน-พม่าลง",
"title": "เนเมียวสีหบดี"
},
{
"docid": "5419#17",
"text": "กองทัพพม่าพยายามเข้าตีค่ายไทยหลายครั้ง แต่เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ได้ช่วยป้องกันเมืองเป็นสามารถ ทั้งที่ทหารน้อยกว่าแต่ไม่สามารถชนะกันได้ อะแซหวุ่นกี้ถึงกับกล่าวยกย่องแม่ทัพฝ่ายไทย เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงทราบข่าวอะแซหวุ่นกี้ยกกองทัพใหญ่มาตีหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทย จึงทรงยกทัพใหญ่ขึ้นไปช่วยทันที ฝ่ายอะแซหวุ่นกี้ทราบข่าวว่ากองทัพไทยมาตั้งค่ายเพื่อช่วยเหลือเมืองพิษณุโลก จึงแบ่งกำลังพลไปตั้งมั่นที่วัดจุฬามณีฝั่งตะวันตก อะแซหวุ่นกี้เห็นว่าถ้าชักช้าไม่ทันการณ์จึงสั่งให้ทัพพม่าที่กรุงสุโขทัยไปตีเมืองกำแพงเพชร ส่วนกองทัพเมืองกำแพงเพชรไปตีเมืองนครสวรรค์ และสั่งให้กองทัพพม่าอีกกองทัพหนึ่งยกไปตีกรุงธนบุรี การวางแผนของอะแซหวุ่นกี้เช่นนี้ เป็นการตัดกำลังฝ่ายไทยไม่ให้ช่วยเมืองพิษณุโลกและต้องการให้กองทัพไทยระส่ำระสาย",
"title": "จังหวัดพิษณุโลก"
},
{
"docid": "780264#2",
"text": "แผนการขั้นต่อไปของอะแซหวุ่นกี้คือส่งเนเมียวสีหบดี แม่ทัพใหญ่ฝ่ายเหนือเมื่อคราวมาตี กรุงศรีอยุธยา ซึ่งได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็น โปสุพลา และโปมะยุง่วน นำทัพจากเมืองเชียงแสนยกมาตีเมืองเชียงใหม่ ทางด้านพระเจ้ากรุงธนบุรีเมื่อทราบข่าวจึงได้ส่งเจ้าพระยาจักรี รวมถึงเจ้าพระยาสุรสีห์ที่ยกกองทัพจากหัวเมืองเหนือขึ้นไปช่วยเชียงใหม่ก่อนแล้ว ครั้นไปถึงกองทัพพม่ากลับไม่สู้ โดยแสร้งตั้งทัพดูเชิง พอทัพไทยจะสู้ก็ถอย ทำอย่างนี้อยู่หลายครั้งจากนั้นจึงถอนกำลังกลับไปยังเมืองเชียงแสน เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์จึงเตรียมทัพเพื่อหมายจะพิชิตเมืองเชียงแสน ในระหว่างที่กำลังเตรียมทัพมุ่งไปยึดเชียงแสนนั้นเองสงครามตีเมืองพิษณุโลกก็เกิดขึ้นพร้อมๆกัน โดยอะแซหวุ่นกี้นำทัพใหญ่ 30,000 นายเข้าทางด่านแม่ละเมาไปเมืองตาก มุ่งต่อไปยังเมืองสุโขทัยแล้วให้กองทัพหน้าลงมาตั้งที่บ้านกงธานี ส่วนทัพหลวงตั้งพักที่เมืองสุโขทัย เมื่อเจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ทราบข่าว ก็รู้ในทันทีว่าเป็นแผนของอะแซหวุ่นกี้ที่ดึงกองทัพของฝ่ายกรุงธนบุรีเอาไว้แถวเชียงใหม่ แล้วมุ่งไปยึดเมืองพิษณุโลกในขณะที่การป้องกันอ่อนแอที่สุด เจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ จึงเร่งนำกองทัพที่จะไปตีเชียงแสน มุ่งหน้าสู่พิษณุโลกในทันที เพราะหากเสียเมืองพิษณุโลกอันเป็นหัวเมืองใหญ่แห่งสุดท้ายไปนั้น กองทัพมหาศาลของพม่าจะไหล่บ่าลงมาได้พร้อมๆกัน ซึ่งกรุงธนบุรีไม่มีกำแพงเมืองและปราการธรรมชาติที่เหมาะแก่การตั้งรับเท่ากรุงศรีอยุธยา [1][2]",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "115376#11",
"text": "ยังไม่ทันที่จะได้รบตัดสินแพ้ชนะกัน อะแซหวุ่นกี้ต้องยกทัพกลับอังวะอย่างกะทันหัน เมื่อทางกรุงอังวะแจ้งข่าวพระเจ้ามังระสวรรคต อะแซหวุ่นกี้จึงต้องนำทัพกลับไปปกป้องพระเจ้าจิงกูจาราชบุตรพระเจ้ามังระ เพื่อป้องกันเหตุความวุ่นวายที่อาจจะมีเนื่องจากอยู่ในช่วงผลัดแผ่นดิน ซึ่งเหล่าบรรดาขุนนางและเสนาอำมาตย์ต่างแตกออกเป็นพวกๆ ให้การสนับสนุนเชื้อพระวงศ์คนละพระองค์ ส่วนอะแซหวุ่นกี้ต้องกลับไปปกป้องราชบุตรของพระเจ้ามังระที่พระองค์ฝากฝังไว้ ครั้งนั้นอะแซหวุ่นกี้มีคำสั่งให้ม้าเร็ว3หน่วย วิ่งไปบอกกองทัพทั้ง3สายที่ไหล่บ่าสู่กรุงธนุบุรีว่าให้รีบถอนกำลังทั้งหมดกลับมาทันที แต่ม้าเร็วแจ้งทันแค่2กองทัพ อีกหนึ่งกองทัพไปไกลแล้ว อะแซหวุ่นกี้จึงมีคำสั่งให้ประหารม้าเร็วหน่วยนั้นเสีย จากนั้นเร่งกองทัพทั้งกลางวันกลางคืนกลับสู่กรุงอังวะ ทิ้งกองทัพอีก1กองที่เหลือไว้ในกรุงธุนบุรีโดยไม่รอ",
"title": "อะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "780264#1",
"text": "สงครามครั้งนี้เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันเริ่มจากสงครามบางแก้ว ที่เมืองราชบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2317 หลังจากที่ทัพของ พระเจ้ากรุงธนบุรี นำทัพ 15,000 นายไปป้องกันกองทัพพม่าด้วยพระองค์เอง ทรงสามารถล้อมทัพของงุยอคงหวุ่น หรือฉับกุงโบ่ หนึ่งในแม่ทัพที่เคยมาตี กรุงศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2310 ไว้ได้นานถึง 47 วันก่อนที่งุยอคงหวุ่นจะยอมแพ้ทำให้ทางฝั่งกรุงธนบุรีสามารถจับเชลยได้มากตามที่ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ได้บันทึกเอาไว้ว่าทางกรุงธนบุรีได้เชลยมากถึง 1,328 คนจากทหารทั้งหมด 3,000 คน ทางด้านอะแซ่หวุ่นกี้ที่อยู่ เมืองเมาะตะมะ เมื่อทราบข่าวว่าทัพหน้าที่ส่งไปพ่ายแพ้ก็มิได้ส่งกองทัพลงไปช่วย เนื่องจากเห็นว่าจะทำให้สูญเสียกำลังไพร่พลไปมากกว่านี้ โดยกองทัพนี้เป็นกองทัพที่อะแซหวุ่นกี้แบ่งมาเพื่อกวาดต้อนผู้คนเสบียง รวมไปถึงหยั่งเชิงดูการป้องกันของฝ่ายกรุงธนบุรีในเส้นทางนี้ และสร้างความสับสนในเส้นทางการบุก ส่วนอะแซหวุ่นกี้นำทัพใหญ่ 30,000 นายยังรั้งรออยู่ไม่มีความเคลื่อนไหว",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "780264#3",
"text": "ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2318 พระเจ้ามังระ ได้มีบัญชาให้อะแซหวุ่นกี้เป็นแม่ทัพใหญ่ยกลงมาตีกรุงธนบุรี ซึ่งทางอะแซ่หวุ่นกี้ได้ใช้เส้นทางด้านด่านแม่ละเมา แขวงเมืองตาก ซึ่งเป็นเส้นทางเดียวกับที่ พระเจ้าบุเรงนอง เคยใช้เข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา ถึง 2 ครั้งเข้าตีกรุงธนบุรีโดยมี เนเมียวสีหบดี แม่ทัพใหญ่ที่เคยเข้าตีกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี พ.ศ. 2310 เป็นรองแม่ทัพซึ่งอะแซหวุ่นกี้ได้ให้เนเมียวสีหบดีคุมกองทัพอีกด้านอยู่แถวเมืองเชียงแสน โดยมีจุดประสงค์เพื่อเบี่ยงเบนกองทัพของเจ้าพระยาจักรี แต่เจ้าพระยาจักรีทราบในทันทีว่าเป็นแผนลวงจึงนำทัพกลับมาป้องกันเมืองพิษณุโลกในทันที ส่วนกองทัพของอะแซหวุ่นกี้พยายามบุกเข้ายึด เมืองพิษณุโลกเพื่อใช้เป็นฐานที่มั่น แต่เจ้าพระยาจักรีซึ่งต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช เจ้าเมืองพิษณุโลกที่ต่อมาคือ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เร่งนำกองทัพลงมาป้องกันเมืองพิษณุโลกได้ทันเวลา . [3]",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "115376#7",
"text": "ศึกกรุงธนบุรีครั้งนี้อะแซหวุ่นกี้วัย 72 ปีได้เดินทางมาถึงเมืองพิษณุโลกแล้ว แต่ไม่อาจเอาชัยได้โดยง่ายนักเนื่องจากในขณะนั้นพระเจ้าตากสิน ได้ส่งพระยาจักรี และพระยาสุรสีห์มาป้องกันเมืองพิษณุโลกอันเป็นหัวเมืองใหญ่ด่านสุดท้ายเอาไว้ ซึ่งการต่อสู้ก็เป็นไปอย่างดุเดือดแม้พระยาจักรีจะทรงใช้การแบ่งกำลังทหารแต่งเป็นกองโจรคอยดักซุ่มตัดเสบียงอาหารเป็นที่ได้ผลในช่วงแรก แต่ด้วยประสบการณ์ของแม่ทัพเฒ่าผู้นี้ก็ทำให้สามารถรับมือได้ทุกครั้ง เมื่อการรบไม่อาจหักเอาได้ด้วยกำลังอะแซหวุ่นกี้ก็ได้ใช้แผนเมื่อครั้งสยบกองทัพต้าชิงนั้นคือหลีกเลี่ยงการปะทะกับกองทัพที่แข็งแกร่ง ทำเพียงตรึงเอาไว้ และหาทางตัดเสบียงอาหาร กล่าวคือเมื่อเจอกองทัพของพระยาจักรี ก็ไม่ส่งทัพใหญ่เข้าปะทะด้วยตรงๆ แต่ให้ทหารเข้าปะทะเพื่อตรึงไว้เท่านั้น จากนั้นก็แต่งกองโจรคอยดักปล้นเสบียงอาหารและตัดกำลังเสริมที่จะเข้ามาช่วยพิษณุโลก สุดท้ายการรบระหว่างอะแซหวุ่นกี้ กับพระยาจักรีก็จบลง แอแซหุว่นกี้สามารถเข้ายึดพิษณุโลกได้แต่ก็ไม่สามารถรุกต่อได้ในทันที ต้องเสียเวลาหาเสบียงอาหารอยู่หลายวัน เนื่องจากเจ้าพระยาจักรีได้แต่งทัพซุ่มมาตัดเสบียงแม่ทัพเฒ่าผู้นี้เอาไว้ตลอดการศึก นับเป็นการสู้รบที่อะแซหวุ่นกี้ทั้งแปลกใจและชื่นชมแม่ทัพศัตรูผู้นี้มาก เมื่อพิชิตเมืองพิษณุโลกอันเป็นหัวใจหลักในแผนป้องกันของกรุงธนบุรีได้แล้ว อะแซหวุ่นกี้จึงได้แบ่งกองทัพออกเป็น3สายกวาดต้อนผู้คนและเสบียงไหล่บ่าลงมาพร้อมๆกัน ส่วนอะแซหวุ่นกี้เป็นทัพหลวงคอยหนุนทัพต่างๆอีกที ในขณะนี้กองทัพทุกสายพร้อมแล้วที่จะมาบรรจบที่กรุงธนบุรี อีกทางด้านหนึ่งพระเจ้ามังระ ก็ส่งเนเมียวสีหบดียกทัพเข้ายึดหัวเมืองทางเหนือได้ราบคาบ ส่วนทัพทางใต้ก็สามารถยึดเมืองกุย เมืองปราณเอาไว้ได้แล้วเช่นกัน ทั้ง2ทัพเตรียมมุ่งสู่กรุงธนบุรีอีกทางหนึ่ง ขณะนั้นสถานการของกรุงธนบุรีวิกฤตมากเนื่องจากหัวเมืองใหญ่เมืองสุดท้ายอย่างพิษณุโลกแตกแล้ว ทั้งทัพใหญ่ของเนเมียวสีหบดีอีกสายก็ตีเชียงใหม่แตกแล้ว อีกทั้งทัพทางใต้ก็ตีมาถึงเมืองเพรชบุรีแล้วเช่นกัน และกำลังจะไหลบ่าลงมารวมกับทัพของอะแซหวุ่นกี้อีก แต่แล้วเหตุการณ์เหนือความคาดหมายก็เกิดขึ้นเมื่อมีข่าวด่วนจากรุงอังวะใจความว่า พระเจ้ามังระเสด็จสวรรคตแล้ว",
"title": "อะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "428265#3",
"text": "สงครามสิ้นสุดลงด้วยการเจรจาและบรรลุสนธิสัญญากองตน โดยยึดเอาแนวเขตพรมแดนเดิม โดยทั้งสองฝ่ายต่างอ้างชัยชนะในสงครามครั้งนี้ และสงครามครั้งนี้ยังทำให้พระเกียรติยศของพระเจ้ามังระเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด หลังจากก่อนหน้านี้กองทัพของพระองค์ก็สามารถพิชิตอยุธยาได้ในเวลาไล่เลี่ยกัน รวมถึงอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพฝ่ายพม่าเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมา ก่อนที่จะมีบทบาทสำคัญต่อมาอีกหลายครั้งในภายหลังทั้งทางด้านการเมืองและการศึกสงคราม",
"title": "สงครามจีน–พม่า"
},
{
"docid": "43492#7",
"text": "สงครามจีน-พม่า เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2308 มีเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างพม่ากับจีนในเรื่องหัวเมืองไทใหญ่ ซึ่งกองทัพพม่าได้ยกเข้าดินแดนไทใหญ่และรุกคืบไปเรื่อยๆ ทำให้พวกเจ้าฟ้าไทใหญ่ได้ไปขอความช่วยเหลือจากจีน แต่จีนก็ยังไม่ส่งกำลังมาช่วยโดยรอเวลาที่เหมาะสมอยู่และเวลานั้นก็มาถึงเมื่อจีนเห็นพม่ากำลังทำศึกติดพันอยู่กับอยุธยา จึงเห็นว่าเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกำราบพม่าลง แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นไปดังนั้นเมื่อกองทัพของพม่าที่นำโดย อะแซหวุ่นกี้, เนเมียวสีหตู, บาลามินดิน และเนเมียวสีหบดีที่กลับมาช่วยในภายหลังนั้นกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะต่อกองทัพต้าชิงอันเกรียงไกร ทำให้แม่ทัพของราชวงค์ชิงอย่าง หลิวเจ้าแม่ทัพกองธงเขียว(บุกครั้งที่1) หยางอิงจวี่แห่งกองธงเขียว(บุกครั้งที่2) รวมถึงพระนัดดาหมิงรุ่ยแห่งกองธงเหลือง(ขึ้นตรงต่อฮ่องเต้) ขุนพลเอกแห่งราชวงค์ชิงผู้พิชิตมองโกลและเติร์ก (บุกครั้งที่ 3) ต้องฆ่าตัวตายหนีความอัปยศ",
"title": "พระเจ้ามังระ"
},
{
"docid": "110970#2",
"text": "เมื่อบิดาเสียชีวิต พระยาอภัยรณฤทธิ์ (หมัด) ได้เลื่อนขึ้นเป็นพระยายมราช และมีส่วนร่วมในราชการสงครามอีกหลายครั้ง เช่น รบกับอะแซหวุ่นกี้ที่เมืองพิษณุโลกเมื่อ พ.ศ. 2318 โดยท่านเป็นผู้คุมทัพหลวงตามขึ้นไปหลังจากเจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) ยกไปตั้งรับที่พิษณุโลก ทัพของท่านถูกพม่าโอบเข้าด้านหลังตีค่ายแตก แต่ท่านชิงค่ายคืนได้ เมื่อเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ตีหักออกจากเมืองพิษณุโลกไปตั้งมั่นที่เพชรบูรณ์ ประกอบกับอะแซหวุ่นกี้ยกทัพกลับเพราะปัญหาภายในอังวะ พระยายมราชเป็นผู้คุมทัพไปตามทัพพม่าถึงด่านแม่ละเมา ยิงทหารพม่าล้มตายและจับเป็นเชลยได้มาก",
"title": "พระยายมราช (หมัด)"
},
{
"docid": "43492#8",
"text": "หลังทรงทราบข่าวความพ่ายแพ้ของหมิงรุ่ย จักรพรรดิเฉียนหลงทรงตกพระทัยและกริ้วยิ่งนัก จึงทรงมีรับสั่งเรียกตัวองค์มนตรีฟู่เหิงซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงของหมิงรุ่ย นักการทหารผู้ยิ่งใหญ่แห่งต้าชิงกลับมารับตำแหน่ง พร้อมด้วยแม่ทัพแมนจูอีกหลายนายเช่น เสนาบดีกรมกลาโหมอากุ้ย, แม่ทัพใหญ่อาหลีกุ่น, รวมทั้งเอ้อหนิงสมุหเทศาภิบาลมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ให้มารวมตัวกันเพื่อเตรียมบุกพม่าเป็นครั้งที่สี่ นับเป็นการรวมตัวกันของเสนาบดีระดับสูงครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในยุคของพระองค์ โดยอาศัยกำลังทั้งจากทัพแปดกองธงและกองธงเขียว การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือด โดยฝ่ายจีนพยายามอย่างมากในการเข้ายึดเมืองกองตนอันเป็นจุดยุทธศาสตร์แต่บาลามินดินก็ยังสามารถต้านเอาไว้ได้อย่างน่าประหลาดใจ ส่วนอีกด้านหนึ่งกองทัพจีนก็รุกคืบได้ช้ามาก เนื่องจากอะแซหวุ่นกี้ได้ส่งเนเมียวสีหตูคอยทำสงครามจรยุทธปั่นป่วนแนวหลังของต้าชิงเอาไว้ ทำให้ต้าชิงต้องพะวงหลังตลอดการศึก ถึงอย่างนั้นอะแซหวุ่นกี้เองก็มีกำลังไม่มากพอที่จะเอาชนะต้าชิงได้ในตอนนี้ ",
"title": "พระเจ้ามังระ"
},
{
"docid": "780264#4",
"text": "ในการรบป้องกันเมืองพิษณุโลกในครั้งนี้ เป็นการต่อสู้แถวค่ายรอบเมืองเสียเป็นส่วนใหญ่ มีการโอบล้อมและต่างฝ่ายต่างหาทางตัดเสบียงกันเป็นหลัก ทางฝ่ายเจ้าพระยาจักรีที่แม้จะมีทหารน้อยกว่าแต่ก็สามารถต่อสู้กับแม่ทัพเฒ่าอย่างอะแซหวุ่นกี้ได้อย่างสูสี แต่ด้วยประสบการณ์ของแม่ทัพอะแซหวุ่นกี้จึงเปลี่ยนแผนการรบ กล่าวคือเมื่อการรบไม่อาจหักเอาได้ด้วยกำลังอะแซหวุ่นกี้ก็ได้ใช้แผนเมื่อครั้งสยบกองทัพต้าชิง นั้นคือหลีกเลี่ยงการปะทะกับกองทัพที่แข็งแกร่ง ทำเพียงตรึงเอาไว้และหาทางตัดเสบียงอาหาร กล่าวคือเมื่อเจอกองทัพของเจ้าพระยาจักรี ก็ไม่ส่งทัพใหญ่เข้าปะทะด้วยตรงๆ แต่ให้ทหารเข้าปะทะเพื่อตรึงไว้เท่านั้น จากนั้นก็แต่งทัพย่อยคอยดักปล้นเสบียงอาหารและตัดกำลังเสริมที่จะเข้ามาช่วยพิษณุโลก ซึ่งในขณะนั้นพระเจ้ากรุงธนบุรีเมื่อทรงทราบว่าเจ้าพระยาทั้งสองถูกกองทัพพม่าล้อมเอาไว้ จึงทรงคุมกองทัพหนุนขึ้นไปช่วยแต่ก็ถูกตีสกัดเอาไว้หลายครั้ง ถึงอย่างนั้นกองทัพพม่าก็ไม่อาจเอาชนะกองทัพหนุนของพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ ทำให้อะแซหวุ่นกี้ถูกตรึงไว้แถวพิษณุโลก",
"title": "สงครามอะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "951722#2",
"text": "\"ข้าพระองค์เป็นทหาร หลักการใช้ทหารที่ข้าพระองค์ยึดถือมาตลอดก็คือ เมื่อเป็นฝ่ายรุกจงบุกตะลุยอย่างแหลมคมและหนักแน่นปานขุนเขา ยามนำทัพ แม่ทัพจงควบม้านำหน้าทหารสู่สมรภูมิ\" นี่คือหนึ่งในคำพูดที่ฟู่เหิงแห่งตระกูลฟู่ฉ่าได้กล่าวเอาไว้ เขาคือยอดนักการทหารที่ดีที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้น โดยครั้งนี้ฟู่เหิงเป็นผู้คุมกำลังผสมอันเกรียงไกรของต้าชิงที่ประกอบด้วยทัพแปดกองธง, ทัพฮั่นกองธงเขียว, ทัพไทใหญ่ และทัพเรือฮกเกี้ยน โดยเขาเป็นผู้นำทัพทางบกเข้าโจมตีอาณาจักรอังวะของพม่าอย่างดุเดือด ผสานกับอากุ้ยที่นำทัพเรือ แต่ในครั้งนี้ต้าชิงเองก็ต้องมาเจอกับยอดนักการทหารของพม่าซึ่งสามารถต้านทานกองทัพต้าชิงเอาไว้ได้ในทุกสมรภูมิ อีกทั้งยังใช้ทั้งธรรมชาติและชัยภูมิได้อย่างสมบูรณ์แบบจนสุดท้ายกองทัพต้าชิงต้องตกอยู่ภายใต้วงล้อมของพม่า แต่ถึงอย่างนั้นฟู่เหิงก็ไม่ได้หวาดหวั่นและยังคงนำทหารไปเผชิญหน้ากับกองทัพอังวะอย่างองอาจเพื่อไม่ให้ทหารที่เหลือเสียขวัญไปมากกว่านี้ สมเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่แห่งต้าชิงแม้รู้ว่าครั้งนี้อาจต้องตายก็ตามที แต่จนแล้วจนรอดอะแซหวุ่นกี้ก็ไม่ได้สั่งทหารเข้าโจมตีทำแต่เพียงล้อมเอาไว้ อีกด้านหนึ่งอากุ้ยก็สามารถโน้มน้าวแม่ทัพต้าชิงทั้งหลายให้เห็นด้วยกับการเจรจาเนื่องจากเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับทั้งสองฝ่าย เพราะต่างฝ่ายก็สูญเสียมามากเกินพอแล้ว สุดท้ายก็มีการลงนามในสนธิสัญญากองตน เป็นการปิดฉากสงครามจีน-พม่าลงในวันที่ ลงในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2312 ",
"title": "ฟู่เหิง"
},
{
"docid": "115376#8",
"text": "ตามบันทึกในพงศาวดารฝ่ายไทย (ฝ่ายเดียว) เล่าว่า อะแซหวุ่นกี้วัย 72 ปี ชืนชมเจ้าพระยาจักรีท่านนี้มากที่สามารถมองแผนการของเขาออก และต่อสู้ได้อย่างกล้าหาญจนเป็นที่น่าเกรงขามของกองทัพพม่า จึงได้เกิดการพักรบหนึ่งวันเพื่อดูตัว เมื่อได้พบอะแซหวุ่นกี้ก็ยิ่งแปลกใจขึ้นไปอีก เพราะแม่ทัพที่ต่อสู้กับเขาอย่างสูสียังเป็นเพียงแม่ทัพหนุ่ม จึงได้สรรเสริญเจ้าพระยาจักรีว่าภายหน้าจะได้เป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งต่อมาเจ้าพระยาจักรีก็คือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือรัชกาลที่ 1 และเนินดินที่อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี อยู่ที่หน้าสำนักงานเทศบาลเมืองพิษณุโลกในปัจจุบัน (ปัจจุบันราชการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 1 บนเนินนี้)[7][8]",
"title": "อะแซหวุ่นกี้"
},
{
"docid": "22895#3",
"text": "เป็นการรบกับพม่าที่ค่ายโพธิ์สามต้น ก่อนหน้าที่จะสถาปนากรุงธนบุรี ไทยชนะ\nเป็นการรบพม่ากันที่บางกุ้ง เขตแดนระหว่างเมืองสมุทรสงครามกับราชบุรี ไทยสามารถขับพม่าออกไปได้\nรบกับพม่าครั้งพม่าตีเมืองสวรรคโลก ไทยสามารถตีแตกไปได้\nเป็นการรบกับพม่าเมื่อฝ่ายไทยยกไปตีนครเชียงใหม่ครั้งแรก แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากขาดเสบียง\nรพกับพม่าเมื่อพม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัยครั้งแรก โปสุพลา แม่ทัพยกทัพไปช่วยเมืองเวียงจันทน์รบกับหลวงพระบาง ขากลับแวะตีเมืองพิชัย แต่ไม่สำเร็จ ไทยชนะ\nพม่ายกมาตีเมืองพิชัย ครั้งที่ 2 แต่พม่าตีไม่สำเร็จ พระยาพิชัย ได้วีรกรรม พระยาพิชัยดาบหัก\nรบกับพม่าเมื่อไทยยกไปตีเมืองเชียงใหม่ครั้งที่ 2 ผลปรากฏว่า กองทัพไทยชนะ ยึดนครเชียงใหม่กลับจากพม่าได้ เพราะชาวล้านนาออกมาสวามิภักดิ์กับไทย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงแต่งตั้งให้ พระยาจ่าบ้าน เป็น พระยาวิเชียรปราการ ปกครองนครเชียงใหม่ พระยากาวิละ ซึ่งเป็นต้นราชวงศ์กาวิละ ปกครองนครลำปาง และ พระยาลำพูน เป็น พระยาวัยวงศา ปกครองเมืองลำพูน การครั้งนี้จึงได้ เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน และ น่าน กลับมาเป็นของไทย\nเป็นการรบกับพม่าที่บางแก้ว ราชบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินตรัสว่า ในขณะเดินทัพ อย่าให้ผู้ใดแวะบ้านเรือนเด็ดขาด แต่ พระยาโยธา ขัดรับสั่งแวะเข้าบ้าน เมื่อพระองค์ทรงทราบ พระองค์พิโรธ ทรงตัดศีรษะพระยาโยธาด้วยพระหัตถ์พระองค์เอง และนำศีรษะไปประจารที่ป้อมวิชัยประสิทธิ์ พม่าสู้ไม่ได้แตกทัพไป\nเป็นการรบกับพม่า เมื่อครั้งอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองเหนือ เป็นสงครามที่ใหญ่มาก อะแซหวุ่นกี้เป็นผู้นำที่เชี่ยวชาญศึก มีอัธยาศัยสุภาพ ส่วนทางด้านฝ่ายไทยนั้น มี เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) และ เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช (บุญมา) ในการครั้งนี้พม่ายกพลมา 30,000 คน เข้าล้อมเมืองพิษณุโลก อีก 5,000 คน ล้อมเมืองสุโขทัย ส่วนเมืองพิษณุโลกมีพลประมาณ 10,000 คน เท่านี้น สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงยกทัพไปช่วย และในที่สุดอะแซหวุ่นกี้ต้องยกทัพกลับ เนื่องจากพระเจ้าแผ่นดินพม่าสวรรคต กองทัพพม่าส่วนที่ตามไปไม่ทันจึงถูกกองทัพทหารจับ\nเป็นการรบกับพม่าที่เชียงใหม่ พระเจ้าจิงกูจาโปรดให้เกณฑ์ทัพพม่ามอญ 6,000 คน ยกมาตีเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2319 พระยาวิเชียรปราการได้พิจารณาแลเห็นว่า นครเชียงใหม่ไม่มีพลมากมายขนาดที่จะว่าป้องกันเมืองได้ จึงให้ประชาชนพลเรือนอพยพลงมาอยู่ที่เมืองสวรรคโลก สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงโปรดเกล้า ให้พระยาสุรสีห์คุมกองทัพเมืองเหนือขึ้นไปสมทบกองกำลังพระยากาวิละ เจ้าเมืองนครลำปาง ยกไปตีเมืองเชียงใหม่คืนสำเร็จ และทรงให้นครเชียงใหม่เป็นเมืองร้างถึง 15 ปี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้ฟื้นฟูใหม่",
"title": "ความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี"
},
{
"docid": "888637#1",
"text": "อะแซหวุ่นกี้ได้พิจารณาถึงผลได้ผลเสียของสงครามที่ยาวนานครั้งนี้อย่างถูกต้อง เพราะถึงแม้ในการบุกของกองทัพต้าชิงครั้งที่ 4 จะถูกกองทัพพม่าตีกระหนาบเอาไว้แล้ว แต่หากทำลายกองทัพนี้ไปจักรพรรดิเฉียนหลงก็คงจะส่งกองทัพใหญ่มาอีกแน่ ถ้ายังเป็นอย่างนี้ต่อไปด้วยอัตตราส่วนของจำนวนประชากรที่ต้องสูญเสียเมื่อเทียบกันแล้ว พม่าไม่อาจเทียบกับอาณาจักรต้าชิงได้เลย ดังนั้นการเจรจาสงบศึกจึงเกิดขึ้นที่เมืองกองตน ในวันที่ 13 ธันวาคม 2312 และเซ็นสัญญาสงบศึกในวันที่ 22 ธันวาคม 2312 โดยเป็นการตัดสินใจโดยพลการของอะแซหวุ่นกี้ กับฟู่เหิงแม่ทัพใหญ่แห่งต้าชิง แม้จะยังไม่ได้รับพระราชานุญาติจากพระเจ้ามังระ และจักรพรรดิเฉียนหลงก็ตาม",
"title": "สนธิสัญญากองตน"
},
{
"docid": "22895#1",
"text": "ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุงธนบุรี จะปรากฏในรูปของความขัดแย้ง การทำสงคราม โดยไทยเป็นฝ่ายตั้งรับการรุกรานของพม่า หลังจากได้รับเอกราช ต้องทำสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง ส่วนใหญ่พม่าเป็นฝ่ายปราชัย\nครั้งสำคัญที่สุด คือ ศึกอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองเหนือ พ.ศ. 2318 ครั้งนั้นเจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) และเจ้าพระยาสุรสีห์ สองพี่น้องได้ร่วมกันป้องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุดความสามารถ แต่พม่ามีกำลังไพร่พลเหนือกว่าจึงตีหักเอาเมืองได้",
"title": "ความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี"
},
{
"docid": "71704#3",
"text": "ถึงแม้อาณาจักรอยุธยาจะถูกทำลายแต่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาใหม่ที่กรุงธนบุรี พระเจ้ามังระจึงทรงส่งแม่ทัพคนใหม่มา คือ อะแซหวุ่นกี้ นำทัพใหญ่เข้ามาปราบปรามฝ่ายธนบุรีในปี พ.ศ. 2318 อะแซหวุ่นกี้สามารถตีหัวเมืองพิษณุโลกแตกและกำลังจะยกทัพตามลงมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ก็ต้องยกทัพกลับเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้ามังระในปี พ.ศ. 2319 จากนั้นก็เกิดการแย่งชิงราชสมบัติราว 4–5 ปี ก่อนที่จะกลับมามีความมั่นคงขึ้นอีกครั้งในรัชสมัยของพระเจ้าปดุง พระองค์ทรงยกทัพเข้าตีดินแดนยะไข่ได้สำเร็จ ซึ่งไม่เคยมีกษัตริย์พม่าพระองค์ใดทำได้มาก่อน ทำให้พระองค์เกิดความฮึกเหิม ยกกองทัพใหญ่มา 9 ทัพ 5 เส้นทาง ที่เรียกว่า สงครามเก้าทัพ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ",
"title": "ราชวงศ์โกนบอง"
},
{
"docid": "5419#16",
"text": "พ.ศ. 2318 อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพพม่าผู้ชำนาญการรบ ได้วางแผนยกทัพมาตีหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทย ตีได้เมืองตาก เมืองสวรรคโลก บ้านกงธานี และมาพักกองทัพอยู่ที่กรุงสุโขทัย ขณะนั้นเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์กำลังยกกองทัพขึ้นไปตีเชียงแสน เมื่อทราบข่าวข้าศึก จึงรีบยกทัพกลับมารับทัพพม่าที่เมืองพิษณุโลก ก่อนที่อะแซหวุ่นกี้ยกทัพมาตั้งค่ายล้อมเมืองพิษณุโลก",
"title": "จังหวัดพิษณุโลก"
}
] |
874 | สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ครองเมืองใด ? | [
{
"docid": "42761#0",
"text": "สมเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2301-2310",
"title": "สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์"
}
] | [
{
"docid": "380833#0",
"text": "ขุนรองปลัดชู เป็นผู้นำในคณะกรมการเมืองวิเศษไชยชาญ (ปัจจุบันคืออำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง) มีชีวิตในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย รัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ซึ่งได้รวบรวมไพร่พลเข้าเป็นกองอาสาสมัคร 400 คน สังกัดกองอาทมาต เพื่อเข้าร่วมทัพกรุงศรีอยุธยาต่อต้านการบุกครองของกองทัพพม่าในสงครามพระเจ้าอลองพญา",
"title": "ขุนรองปลัดชู"
},
{
"docid": "2358#15",
"text": "ช่วง 50 ปีสุดท้ายของราชอาณาจักรมีการสู้รบอันนองเลือดระหว่างเจ้านาย โดยมีพระราชบัลลังก์เป็นเป้าหมายหลัก เกิดการกวาดล้างข้าราชสำนักและแม่ทัพนายกองที่มีความสามารถตามมา สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้าย บังคับให้สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร พระอนุชา ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ขณะนั้น สละราชสมบัติและขึ้นครองราชย์แทน",
"title": "อาณาจักรอยุธยา"
},
{
"docid": "453163#6",
"text": "เจ้าพระยาพิษณุโลก ได้รับพระราชทานเครื่องยศดังนี้เมื่อ พ.ศ. 2302 ในสมัยที่สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (เจ้าฟ้าดอกเดื่อ) ได้เพียง 1 ปี เกิดสงครามพระเจ้าอลองพญาอันเนื่องมาจากความขัดแย้งทางทหารระหว่างราชวงศ์คองบองของพม่ากับอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง สงครามเริ่มต้นขึ้นราวเดือนธันวาคม ฝ่ายพม่าหมายจะยกทัพมารุกรานอาณาจักรอยุธยา และนำไปสู่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2310",
"title": "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"
},
{
"docid": "42753#9",
"text": "ในปี พ.ศ. 2297 พระเจ้าอลองพญาสามารถปราบปรามเมืองพม่าและเมืองมอญได้สำเร็จ พระองค์จึงให้เตรียมกองทัพเพื่อยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2302 จนเมื่อพม่ายกทัพเข้ามาใกล้พระนคร บรรดาขุนนางราษฎรทั้งหลายจึงพากันไปกราบทูลวิงวอนสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรให้ลาพระผนวชออกมาเพื่อช่วยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศป้องกันพระนครศรีอยุธยา โดยสัญญาว่าหากรบพม่าชนะจะให้พระเจ้าอุทุมพรกลับมาเป็นกษัตริย์[21] โดยการปรับปรุงการตั้งรับข้าศึกจนพม่าไม่สามารถตีกรุงศรีอยุธยาได้ ต้องยอมเลิกทัพกลับไป เพราะพระเจ้าอลองพญาทรงประชวรแล้วสวรรคตระหว่างทาง[22] ในตอนแรกไทยไม่รู้ว่าพระเจ้าอลองพญาทรงประชวร และคิดว่าอาจเป็นกลอุบายเลิกทัพ ครั้นรู้ว่าเลิกทัพกลับไปแน่ พระเจ้าอุทุมพรจึงมีรับสั่งให้พระยายมราชกับพระยาสีหราชเดโชยกทัพไปติดตามพม่า ตามไปถึงเมืองตากก็ไม่ทันข้าศึก จึงเห็นว่าไม่เป็นประโยชน์อันใดก็เลิกตาม[23]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร"
},
{
"docid": "417266#1",
"text": "พระยาเพชรบุรี (พระยาสุรินทฦๅไชย ตามมีในพระไอยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง ระบุตำแหน่ง เจ้าเมืองเพชรบุรี ความตอนหนึ่งว่า ออกญาศรีสุรินทฦๅไชย อภัยพิริยบรากรมพาหะ ออกญาเพชรบุรี เมืองตรี นา 10000 ขึ้นประแดงจุลาเทพซ้าย ว่าราชการต่างพระเนตรพระกัณฑ์เมืองเพชรบุรี) เป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ เลื่องลือว่าอยู่ยงคงกระพัน มาปรากฏชื่อในพระราชพงศาวดารฯ เมื่อรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าเอกทัศ) หน้า 247- 248 ความว่า เจ้าพระยาอภัยราชา จึงปรึกษาด้วย พระยายมราช พระยาเพชรบุรี และหมื่นทิพเสนาว่า สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) ก็ตรัสมอบราชสมบัติแก่ พระเจ้าอยู่หัวซึ่งผนวช (พระเจ้าอุทุมพร) ทั้งยังตรัสทำนายไว้ว่า ถ้าจะให้พระองค์นี้ (พระเจ้าเอกทัศ) ครองราชย์สมบัติ บ้านเมืองก็จะพิบัติฉิบหาย ควรจะคิดกำจัดพระองค์นี้ (พระเจ้าเอกทัศ) เสียจากเศวตฉัตร แล้วไปเชิญเสด็จ พระเจ้าอยู่หัวซึ่งผนวชนั้น ให้ลาผนวชออกมาเสวยราชสมบัติดังเก่า บ้านเมืองจึงจะเป็นสุข ครั้นเพลาค่ำ จึงพากันไป ณ วัดกระโจม เข้าเฝ้า กรมหมื่นเทพพิพิธ อันเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ แล้วกราบทูลปรึกษาตามคดีซึ่งคิดกันนั้น กรมหมื่นเทพพิพิธ ก็เห็นชอบด้วย ครั้นค่ำอีกวันหนึ่ง กรมหมื่นเทพพิพิธกับขุนนางทั้งสี่ก็พากันไปเฝ้าพระเจ้าอยู่หัว (พระเจ้าอุทุมพร) ซึ่งผนวช ณ วัดประดู่ แล้วกราบทูลความซึ่งคิดกันนั้น ครั้นทรงทราบจึงตรัสว่า “รูป เป็นสมณะ จะคิดอ่านการแผ่นดินด้วยนั้นไม่ควร ท่านทั้งปวงเห็นควรประการใดก็ตามจะคิดกันเถิด” กรมหมื่นเทพพิพิธ กับขุนนางทั้งสี่ก็เข้าใจว่าทรงยอมแล้วก็ทูลลากลับออกมา ครั้นรุ่งขึ้นเช้า พระเจ้าอุทุมพร จึงเสด็จเข้ามาในพระราชวัง เข้าเฝ้าพระเชษฐาธิราช (พระเจ้าเอกทัศ) ถวายพระพรแถลงรหัสเหตุนั้นให้ทราบสิ้นทุกประการ พระเจ้าเอกทัศ จึงมีพระราชโองการฯให้เจ้ากรม ปลัดกรม พระตำรวจทั้งแปดกรมไปกุมตัวเหล่ากบฏ พระยาเพชรบุรีรู้ข่าวจึงพาทหารร่วมใจ 500 ไปเชิญเสด็จกรมหมื่นเทพพิพิธ หนีออกจากพระนคร แต่ก็มาถูกจับ พระยาเพชรบุรีจึงต้องพระราชอาญาเฆี่ยนแล้วจำไว้ ต่อมาเมื่อพม่ายกทัพเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาครั้งแรก พระเจ้าเอกทัศ เกรงจะเกิดจลาจลขึ้น ด้วยไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเห็นว่าพระองค์ไร้ฝีมือในการบัญชาการศึก และข้าราชการทั้งนั้นก็ไม่เป็นใจจะทำการรบพุ่ง จึงมีรับสั่งให้ไปเชิญสมเด็จพระอนุชา (พระเจ้าอุทุมพร สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4) ลาผนวช แล้วมอบราชสมบัติให้ เมื่อพระเจ้าอุทุมพรได้ราชสมบัติแล้ว จึงมีรับสั่งให้ปล่อยตัว เจ้าพระยาอภัยราชา พระยายมราช และ พระยาเพชรบุรี ออกมารับราชการดังเก่า เมื่อพม่าถอยทัพกลับไป พระเจ้าอุทุมพร กลับถวายราชสมบัติคืนแก่ พระเจ้าเอกทัศ ต่อมาพงศาวดารระบุว่า มอญเมืองเมาะตะมะ จำนวน 3,000 คน ที่อพยพเข้ามาเมื่อในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ก่อการกบฏขึ้น มี พระยาเกียรติ พระยาราม เป็นตัวหัวหน้า นำสมัครพรรคพวกไปชุมนุมกันอยู่ที่เขานางบวช แล้วรวมกำลังกันยกเข้าปล้นเมืองนครนายก ในกรุงฯได้รับใบบอกเข้ามาจึงให้ พระยาสีหราชเดโชชัย เป็นแม่ทัพ คุมพล 2,000 ยกไปปราบ พวกมอญตั้งต่อสู้อยู่ที่ เหล่าตะกดแร่ ตีทัพ พระยาสีหราชเดโชชัย แตกพ่าย ในกรุงฯจึงแต่งทัพไปใหม่ให้ พระยายมราช เป็นทัพหลวงคุมพล 2,000 พระยาเพชรบุรี เป็นทัพหน้าคุมพล 1,000 ไปปราบจนพวกมอญราบคาบจับตัว พระยาเกียรติ พระยาราม กับพวกได้แล้วให้ประหาร ต่อมาเมื่อพม่ายกทัพเข้าตีกรุงศรีอยุธยาครั้งหลัง พงศาวดารมีรายการปรากฏว่า ครั้นจุลศักราช 1126 พระเจ้าอังวะมีราชสาสน์มาจะให้ส่งเจ้าเมืองทวาย ถ้าไม่ส่งจะยกทัพมารบ พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาไม่ยอมส่งให้ แล้วจึงให้ตระเตรียมเครื่องศัสตราวุธไว้ป้องกันพระนครโดยแข็งแรง ให้เกณฑ์ข้าทหารออกไปรักษาด่านโดยกวดขัน แล้วให้ พระยาเพชรบุรี เป็นแม่ทัพใหญ่คุมทัพ 11 กอง ในกอง 1 มีทหารพร้อมเครื่องศัสตราวุธ 1000 คน มีช้างคลุมเกราะเหล็ก 10 ช้าง ช้างตัว 1 มีปืนใหญ่ชนิดเล็ก 2 บอก มีควานหัว 1 กลาง 3 ท้าย 1 มีทหารถือทวนตามหลังช้างอีกช้างละ 100 คน ให้พระหมื่นศรีคุมกอง 1 พระหมื่นเสมอใจกอง 1 พระหมื่นไวยกอง 1 พระอินทรอภัยกอง 1 พระสิวภัฎรกอง 1 พระมหาเสนากอง 1 พระพิไชยกอง 1 หลวงหรไทยกอง 1 หลวงศรีวรข่านกอง 1 ยกออกไปตั้งรับทัพพม่าทางเมืองสวรรคโลก ตั้งอยู่มิช้าทัพพม่าก็ยกลงมาแต่เมืองเชียงใหม่ ได้รบขับเคี่ยวกันอยู่ 13 วันจึงมีทองตราให้หากองทัพกลับมาช่วยรักษากรุงฯ พระยาเพชรบุรี จำต้องสั่งให้ล่าทัพ ถอยกลับเข้ากรุงฯตามรับสั่ง ต่อมาเมื่อกองทัพพม่ายกเข้ามาบรรจบกันบริเวณชานกรุงศรีอยุธยา ในกรุงฯได้ข่าวเข้ามาว่าพม่ายกทัพเรือหนีทางปืนขึ้นมาจากบางไทร ค่ายวัดโปรดสัตว์ และจากค่ายขนอนหลวง ทำนองจะมาตรวจเตรียมการล้อมกรุงฯข้างด้านตะวันออก พระเจ้าเอกทัศ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดฯให้ พระยาเพชรบุรี เป็นแม่ทัพ คุมเรือรบ 10 กอง ในกอง 1 มีเรือรบ 20 ลำ เรือลำ 1 มีปืนใหญ่ตั้งหัวเรือ 1 ปืนขานกยาง 2 และปืนรายแคมพร้อมทหาร 50 คน ให้ ขุนสุรินทรสงคราม คุมกอง 1 ขุนอนุรักษ์มนตรีกอง 1 หลวงหรไทยกอง 1 หลวงศรีวรข่านกอง 1 พระพิไชยกอง 1 พระยาจุฬากอง 1 พระยากาญจนบุรีกอง 1 ยกออกไปตั้งรับทัพเรือพม่าที่ขึ้นมาจากบางไทร ค่ายวัดโปรดสัตว์ โดยไปตั้งทัพรับอยู่ที่ วัดพิชัย แล้วให้ พระยาวชิรปราการ (พระเจ้ากรุงธนบุรี) คุมอีกทัพหนึ่งไปตั้งหนุนอยู่ที่ วัดป่าแก้ว (เรียกเป็นสามัญว่า วัดใหญ่) อันไม่ห่างจากวัดพิชัยมากนัก คอยช่วยตีสกัดกองทัพพม่าที่จะยกเข้ามาจากขนอนหลวงมิให้ขึ้นลงหากันได้ ครั้นทัพพม่าทั้งสองยกมา พระยาเพชรบุรีจึงมีบัญชาให้ไพร่พลออกระดมตีทัพเรือพม่าตามรับสั่ง ได้รบกับทัพพม่าที่ริมวัดสังฆาวาศ พม่ามีไพร่พลมากกว่าก็ล้อมเอาทัพพระยาเพชรบุรีไว้ ทัพเรือไทยแลพม่าเข้ารบกันเป็นสามารถ ได้ต่อสู่กันถึงระยะประชิดติดพันโกลาหนอลหม่านไปทั่ว ไพร่พลฝ่ายไทยแม้จะน้อยตัวกว่าแต่ก็รบอย่างกล้าหาญ รวมใจกันเข้าไล่รุกคลุกคลี ยิงปืนหัวเรือแลปืนรายแคม ต้องเรือรบแลไพร่พลพม่าแตกจมล้มตายลงเป็นอันมาก ฝ่ายไทยเห็นเป็นทีจึงโหมทัพเข้าระดมตีตัดกลางทัพพม่าจนเสียกระบวนจวนจะแตกพ่าย แต่ด้วยพระยาเพชรบุรีเป็นแม่ทัพผู้กล้าหาญ เอาตนเองออกหน้านำทหารเข้าต่อตีกับเหล่าพม่าข้าศึก จึงต้องระเบิดเพลิงไพร่พลบาดเจ็บโดดหนีลงน้ำ ตัวพระยาเพชรบุรีหาเป็นอย่างใดไม่ เป็นแต่ถูกพม่าจับกุมคุมตัวไว้ พม่าคิดการกำจัดพระยาเพชรบุรี แต่พระยาเพชรบุรีมีวิชาอยู่ยงคงกระพันฟันแทงไม่เข้า พม่าจึงให้เอาไม้หลาวเสียบแทงทางทวารหนักจนสิ้นชีวิตในที่สุด เมื่อ เดือน 12 ปีจอ พุทธศักราช 2309 ส่วนพระยาวชิรปราการ (พระเจ้ากรุงธนบุรี) หาให้ทหารเข้าหนุนช่วยไม่ ด้วยเห็นว่าเหลือกำลังนัก เป็นแต่สั่งให้ถอยทัพ แล้วมาตั้งรอรับศึกอยู่ในค่ายของพระยาเพชรบุรีที่วัดพิชัย จึงเป็นเหตุให้ต้องพระไอยการกบฏศึก แล้วเลยถึงขัดพระบรมราชโองการฯให้หาตัวไปชำระคดี ครั้นถึงเดือนยี่จึงนำทหารร่วมใจในบังคับกองหนึ่ง (ประมาณ 1,000 เศษ ทั้งมีบุตรของพระยาเพชรบุรีคือ หลวงพิไชยราชา ตามไปในกองทัพด้วย และ หลวงพิไชยราชา ต่อมาได้กลายเป็นแม่ทัพสำคัญของพระเจ้าตาก ได้รับการพระราชทานยศขึ้นเป็น เจ้าพระยาพิไชยราชา รามราชแสนญาธิบดีศรีสัชนาไลย อภัยพิริยบรากรมพาหุ เจ้าเมืองสวรรคโลก) ตีฝ่ากองทัพพม่าหนีพระราชอาญาออกไปทางทิศตะวันออก",
"title": "พระยาเพชรบุรี (เรือง)"
},
{
"docid": "312305#7",
"text": "เจ้าเมืองกำแพงเพชรถึงแก่กรรม สมเด็จพระเจ้าเอกทัศโปรดเรียกพระยาตากไปรับตำแหน่งเจ้าเมืองกำแพงเพชรอยู่ในขณะที่กำลังติดพันศึกกับกองทัพพม่า ทำให้พระยาตากไม่ได้ขึ้นไปปกครองกำแพงเพชร ส่วนสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ วินิจฉัยว่า ได้มีการเรียกตัวพระยาตากลงมาป้องกันพระนคร ปรากฏฝีมือเข้มแข็ง จึงได้รับแต่งตั้งให้ปกครองเมืองกำแพงเพชร",
"title": "พระราชประวัติก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในอภินิหารบรรพบุรุษ"
},
{
"docid": "22602#9",
"text": "ชุมนุมเจ้าพิมายนั้น มี กรมหมื่นเทพพิพิธ เป็นเจ้าเมือง กรมหมื่นเทพพิพิธ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยพระเจ้าเอกทัศ แต่ต่อมาได้มีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีไทย กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนในเมืองนครราชสีมาให้สมัครเป็นพรรคพวกของตน และในที่สุดก็ยึดเมืองนครราชสีมาได้",
"title": "สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "224477#24",
"text": "เกิดขึ้นในปลายรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศซึ่งราชการบ้านเมืองในกรุงศรีอยุธยาอ่อนแอลง เนื่องจากการแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างพระเจ้าเอกทัศกับสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร และมีการสงครามระหว่างพม่าเข้ามาติดพันอีกด้วย ความระส่ำระสายในแผ่นดินจึงเกิดไปทั่ว ตามจดหมายเหตุชาวฝรั่งเศสชื่อ มองซิเออร์ บรีโกต์เขียนถึงผู้อำนวยการคณะต่างประเทศของฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2305 ความตอนหนึ่งว่า",
"title": "ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต"
},
{
"docid": "5380#12",
"text": "ในปี พ.ศ. 2127 หลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพได้ไม่นาน พม่าก็ได้ยกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง ครั้งนี้พม่ายกกองทัพมาสองทาง คือ ทางเหนือมีพระเจ้าเชียงใหม่เป็นแม่ทัพ และทางตะวันตกมีพระยาพะสิมเป็นแม่ทัพ แต่ทัพของพระยาพะสิมถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาตีแตกไปก่อน โดยที่พระเจ้าเชียงใหม่ยังไม่ทราบ เมื่อกองทัพพระเจ้าเชียงใหม่ยกมาถึงเมืองชัยนาท ก็ให้แต่งทัพหน้ามาตั้งที่บางพุทรา ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ภายหลังคือ ตัวจังหวัดสิงห์บุรี)\nพ.ศ. 2308 สมัยพระเจ้าเอกทัศ ในขณะที่พม่าตั้งค่ายล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่ ชาวบ้านบางระจันได้รวมตัวกันต่อสู้กับพม่าที่บ้านบางระจัน เมืองสิงห์บุรี ซึ่งมีผู้นำสำคัญของชาวบ้านและปรากฏชื่อ คือ",
"title": "จังหวัดสิงห์บุรี"
},
{
"docid": "42753#28",
"text": "ในทัศนะของสุเนตร ชุตินธรานนท์ มีความเห็นว่า ในประวัติศาสตร์ช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา เรื่องราวที่ถูกบันทึก ผลิตซ้ำ และเล่าผ่านบทบาทและความสำคัญของผู้นำยุคเสียกรุงและกู้กรุง ไม่ว่าจะเป็นสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ สมเด็จพระเจ้าตากสิน และพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หากแต่หนึ่งในรัฐบุรุษสำคัญของยุคผลัดเปลี่ยนแผ่นดินซึ่งมีบทบาทสำคัญไม่รองราชาผู้ปราชัย กล่าวกันว่า \"พระเจ้าอุทุมพรทรงได้เป็นวีรบุรุษที่ถูกลืม หากแต่พระองค์ไม่ได้รับความสนใจเพียงพอจากนักวิชาการช่วงหลังที่ตัดสินความสำคัญของผู้ครองแผ่นดินยุคเปลี่ยนผ่าน ผ่านผลแพ้ชนะของสงครามรบพม่าในปี พ.ศ. 2309–2310 เมื่อนำการปราชัยของกรุงศรีอยุธยามาเป็นตัวตั้ง ความสำคัญของพระเจ้าอุทุมพรก็ถูกลดทอนลงด้วยพระองค์ถูกตัดสินว่าไม่เป็นผู้เห็นแก่ประโยชน์ของชาติบ้านเมือง เพราะมิยอมลาพระผนวชออกมารบป้องกันพระนคร จนดูประหนึ่งว่าการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งนั้นส่วนหนึ่งเป็นผลจากการที่กรุงปราศจากพระเจ้าอุทุมพรมาช่วยบัญชาการรบ\"[60]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร"
},
{
"docid": "42753#8",
"text": "หลังจากเจ้าฟ้าอุทุมพรเสด็จพระราชดำเนินออกไปทรงผนวชแล้ว เหล่าขุนนางผู้ใหญ่บางคน อย่างเช่น เจ้าพระยาอภัยราชา และพระยาเพชรบุรีไม่เห็นด้วย ถ้าปล่อยให้พระเจ้าเอกทัศบริหารบ้านเมือง จะเป็นภัยนำประเทศชาติสู่ความฉิบหาย[19] จึงไปทูลกรมหมื่นเทพพิพิธให้ไปกราบทูลว่า จะถอดสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระที่นั่งสิริยาศน์อมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศออกจากราชสมบัติแล้วขอให้เจ้าฟ้าอุทุมพรซึ่งลาพระผนวชออกมารับราชสมบัติใหม่ เมื่อได้ทราบความนี้ เจ้าฟ้าอุทุมพรจึงเสด็จไปในพระราชวังแล้วนำความกราบทูลพระเชษฐา ด้วยเกรงว่าเมื่อทำการสำเร็จแล้วผู้ก่อการอาจจับทั้งพระเชษฐาและพระองค์สำเร็จโทษ ขึ้นครองราชย์เสียเอง จากนั้นเสด็จกลับไปยังวัดประดู่ทรงธรรม ต่อมากรมหมื่นเทพพิพิธและเหล่าขุนนางเหล่านั้นถูกลงโทษ[20]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร"
},
{
"docid": "42753#12",
"text": "เมื่อกองทัพของกรุงศรีอยุธยาที่สมเด็จพระเจ้าเอกทัศโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับศึก พ่ายแพ้ถอยทัพกลับมายังกรุงศรีอยุธยา กองทัพพม่าก็ยกทัพเข้าประชิดพระนคร เวลานั้นสมเด็จพระเจ้าเอกทัศจึงพระราชตรัสให้นิมนต์พระราชาคณะจากวัดต่าง ๆ นอกพระนครให้เข้ามาอยู่ในพระนครศรีอยุธยา รวมถึงเจ้าฟ้าอุทุมพรซึ่งทรงพระผนวช จึงได้เสด็จฯ เข้ามาประทับ ณ วัดราชประดิษฐาน ขุนนางและราษฎรจึงชวนกันไปกราบทูลให้ลาพระผนวชมาช่วยรบพม่า แต่เจ้าฟ้าอุทุมพรทรงไม่ยอมลาพระผนวชในครั้งนี้ แม้ราษฎรจะเขียนหนังสือใส่บาตรจนเต็มตอนออกบิณฑบาตรก็ไม่ยอม[26]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร"
},
{
"docid": "235557#4",
"text": "แสน สนิทสนมกับมหาดเล็กรุ่นพี่ 3 คน คุณใหญ่กับคุณเล็กเป็นพี่น้องกัน ส่วนคุณกลางเป็นเพื่อนร่วมสาบาน วันหนึ่งคุณใหญ่เข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กของเจ้าฟ้าอุทุมพร จึงพาแสนเข้าถวายตัวด้วย ต่อมามีพิธีอุปราชาภิเษกเจ้าฟ้าอุทุมพรเป็นพระมหาอุปราชพระองค์ใหม่และมีการแห่ทำให้แสนได้พบกับเรณูนวลซึ่งเธอถวายตัวเป็นข้าหลวงตำหนักพระอัครมเหสี(พระองค์แมงเม่า) ต่อมาคุณใหญ่กินตำแหน่งยกกระบัตรเมืองราชพรี คุณกลางได้เป็นพระยาตาก คุณเล็กเป็นนายสุจินดา และแสนได้เป็นมหาดเล็กหุ้มแพร ภายในวังเจ้าฟ้าเอกทัศ พระเชษฐาของเจ้าฟ้าอุทุมพร ไม่พอใจที่ไม่ได้เป็นพระมหาอุปราชแต่ถูกบังคับให้บวช หลังจากนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสิ้นพระชนม์ เจ้าฟ้าอุทุมพร ถูกบีบให้ถวายราชบัลลังก์ใหม่แก่เจ้าฟ้าเอกทัศ หลังจากนั้นท่านทรงออกบวช ต่อมาแสนเข้าถวายตัวต่อพระเจ้าเอกทัศ จมื่นไวยฯ ขุนนางผู้ซื่อตรงได้ทูลขอแสนเป็นผู้ติดต่อข้อราชการ แสนจึงฝากตัวเป็นศิษย์ ด้านความสัมพันธ์ของแสนกับเรณูนวลก้าวหน้า ทั้งสองต่างมีใจให้กันโดยมีการแลกแหวนพร้อมคำมั่นสัญญาข่าวข้าศึกบุกเข้าถึงสุพรรณแพร่กระจาย ชาวเมืองต่างพากันเขียนฎีกาให้ขุนหลวงหาวัดสึกออกมาสู้ศึก ในขณะที่พระเจ้าเอกทัศโดนยุยงว่าขุนหลวงหาวัดสึกออกมาชิงราชบังลังก์ ขุนหลวงหาวัดสึกแล้วได้เรียกแสนกับคุณเล็กเข้าเฝ้า กองทัพไทยออกรบแต่มีกำลังน้อยกว่าแต่รบสุดชีวิต หลังจากศึกสงบขุนหลวงหาวัดกลับไปบวชดังเดิม แสนจึงบวชเพื่อให้พ่อแม่ หลังจากสึกแสนคิดสู่ขอเรณูนวล แต่ยังไม่มีช่องทางประกอบกับต้องออกรบอยู่เนืองๆ คุณเล็กขึ้นเหนือไปร่วมรบกับพ่อของเรณูนวล พระยาตากได้มอบหมายให้รับศึกด้านเมืองพริบพรีโดยแสนไปกับทัพด้วย จนกระทั่งปี 2310 กรุงศรีอยุธยาก็ถูกตีแตก คนไทยแตกออกเป็นหมู่เป็นก๊ก รวมทั้งพระเจ้าตากยึดเมืองระยองเป็นที่มั่นมีแสนคอยติดตาม ต่อมาพระเจ้าตากได้ตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี คุณใหญ่ได้เลื่อนเป็นพระราชรินทร์ คุณเล็กเป็นพระมหามนตรี แสนยังเป็นออกหลวงต่างใจ แสนอยากไปหาเรณูนวลแต่ยังไม่สบโอกาส พระเจ้าตากยกพลอยแหวนลูกสาวเจ้าเมืองจันทบูรให้แต่เขาไม่อาจทรยศคนรักได้ ต่อมากองทัพของกรุงธนยกลงใต้ พระเจ้ากรุงธนเสด็จทางน้ำกับแสนสามารถตีนครศรีธรรมราชได้สำเร็จ แสนอยู่ทางใต้รบทัพจับศึกจนจัดการทางใต้ราบคาบ แสนตระเวนอยู่ตามหัวเมือง จนกระทั่งได้ข่าวจากเมืองหลวงเกี่ยวกับพระเจ้ากรุงธนทรงพระสติผันแปรจนเจ้าพระยาสองพี่น้องต้องกลับมาจัดการกับพระองค์ หลังจากนั้นข้าศึกมาประชิดเมืองอีก แสนต้องออกรบอีกครั้งจนกระทั่งได้เจอเรณูนวลช่วยกันรบแบบกองโจรจนสามารถตีข้าศึกแตกกระเจิง ศึกครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้ายหลังจากนั้นบ้านเมืองสยามเข้าสู่ความสงบสุขไร้ศึกจากข้าศึกมารบกวนอีกเลยตลอดรัชกาล ",
"title": "ฟ้าใหม่"
},
{
"docid": "44328#8",
"text": "สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรซึ่งตัดสินพระทัยปลีกพระองค์ไปผนวชนั้น เสด็จกลับมาราชาภิเษกอีกหนเพื่อบัญชาการรบตามคำกราบบังคมทูลเชิญของพระเจ้าเอกทัศ แต่เมื่อบ้านเมืองคืนสู่ความสงบ พระเจ้าเอกทัศก็ทรงแสดงพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์อีก สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรจึงตัดสินพระทัยผนวชไม่สึกอีกเลย แม้ในระหว่างการทัพคราวต่อมา จะมีราษฎรและข้าราชการทั้งหลายถวายฎีกาให้พระองค์ลาผนวชมาป้องกันบ้านเมืองก็ตาม เพราะเหตุที่ผนวชถึงสองครั้งนี้ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรจึงทรงได้รับสมัญญาว่า \"ขุนหลวงหาวัด\"",
"title": "การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "288334#10",
"text": "การศึกษาประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ยังยอมรับว่า สาเหตุที่นำไปสู่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองเป็นผลมาจากความอ่อนแอภายในของอาณาจักร ซึ่งกล่าวถึงลักษณะอันไม่ดีของพระเจ้าเอกทัศ ในทำนองที่ว่า รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงตกต่ำที่สุดในทางการเมืองและการทหาร",
"title": "ข้อวินิจฉัยการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ"
},
{
"docid": "44328#56",
"text": "จากมุมมองเดียวกัน ในสงครามสยาม-ฝรั่งเศส ร.ศ. 112 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตรอมพระทัยจนประชวรหนัก เพราะทรงเห็นว่าพระองค์ไม่สามารถปกป้องแผ่นดินสยามจากฝรั่งเศสได้ และทรงเกรงว่าจะถูกติฉินนินทาสืบไป ดุจดั่งพระเจ้าอุทุมพรและพระเจ้าเอกทัศที่ไม่คิดป้องกันจึงเสียเมืองและเป็นที่ครหาไม่หยุดหย่อน โดยทรงพระราชนิพนธ์ว่า[10]",
"title": "การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "43483#1",
"text": "ค่ายบางกุ้งตั้งอยู่ ตำบลบางกุ้ง อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ริมฝั่งแม่น้ำแม่กลองฝั่งตะวันตก อยู่ห่างจากตัวจังหวัดสมุทรสงครามประมาณ 10 กิโลเมตร อยู่บริเวณวัดบางกุ้ง มีเนื้อที่ประมาณ 100 ไร่เศษ (ปัจจุบันวัดบางกุ้งมีเนื้อที่ประมาณ 19 ไร่ 42 ตารางวา)เดิมค่ายบางกุ้งเป็นค่ายทหารเรือในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ สมัยนั้น พระเจ้ามังระ กษัตริย์พม่า ให้เกณฑ์กองทัพเข้ารุกรานอาณาจักรอยุธยาทั้ง 2 ทาง ให้มังมหานรธาเป็นแม่ทัพยกเข้าตีทางทิศใต้ ยกเข้าตีเมืองมะริด เมืองตะนาวศรี เมืองหุยตองจา เมืองชุมพร เมืองกาญจนบุรี เมืองราชบุรี เพชรบุรี แล้วจึงยกกลับไปตั้งกองทัพต่อเรืออยู่ที่ดงรังหนองขาว เมืองกาญจนบุรี พระเจ้าเอกทัศทรงทราบข่าว โปรดให้เกณฑ์กองทัพออกต่อสู้ โดยกองทัพบกไปตั้งค่ายรับข้าศึกที่ตำบลตำหรุ เมืองราชบุรีแห่งหนึ่ง ให้กองทัพเรือยกมาตั้งค่ายอยู่ที่ตำบลบางกุ้ง เมืองสมุทรสงครามแห่งหนึ่ง ให้พระยารัตนาธิเบศยกมาตั้งค่ายอยู่ที่เมืองธนบุรีอีกแห่งหนึ่ง",
"title": "ค่ายบางกุ้ง"
},
{
"docid": "453163#7",
"text": "เมื่อ พ.ศ. 2304 ภายหลังจากที่ “เนเมียวสีหบดี” เสร็จสิ้นจากการไปตีหัวเมืองมอญแล้ว “มังลอก” พระโอรสองค์ใหญ่ของพระเจ้าอลองพญา จัดทัพมาตีเชียงใหม่ โดยมี “อภัยคามณี” เป็นแม่ทัพ และ “มังละศิริ” เป็นปลัดทัพพร้อมด้วยพลจำนวน 7,500 นาย พระเจ้าจันทร์ เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ทรงแต่งหนักสือมาถวายพระเจ้าเอกทัศพร้อมด้วยเครื่องราชบรรณาการ มีพระประสงค์ให้เชียงใหม่เป็นเมืองออกของอยุธยา และขอกำลังทหารไปรักษาเมืองใหม่ พระเจ้าเอกทัศจึงตรัสสั่งให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เกณฑ์ทัพพลหัวเมืองเหนือจำนวน 5,000 นาย ยกไปช่วยเมืองเชียงใหม่ แต่ก่อนที่ทัพเจ้าพระยาพิษณุโลกจะไปถึงนั้น ฝ่ายพม่าก็ล้อมเมืองเชียงใหม่ แต่ฝ่ายเชียงใหม่มีกำลังไม่แข็งกล้านักจึงเสียเมืองให้แก่ฝ่ายพม่าไป โดยมี “เนเมียวสีหบดี” อยู่รักษาเมืองเชียงใหม่",
"title": "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"
},
{
"docid": "6839#20",
"text": "อีกครั้งของวีรกรรมของนับรบแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ คือ ขุนรองปลัดชูกับกองอาทมาต คือเมื่อปี พ.ศ. 2302 ตรงกับรัชกาลของสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ขึ้นครองราชสมบัติกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา ในครั้งนั้น พระเจ้าอลองพญาครองราชสมบัติกรุงอังวะรัตนสิงห์ ปกครองพม่ารามัญทั้งปวง พระองค์ให้เกณฑ์ไพร่พล 8000 ให้มังฆ้องนรธาเป็นนายทัพยกมา ตีเมืองทวาย มะริด และตะนาวศรี พระเจ้าเอกทัศทรงเกณฑ์พล 5000 แบ่งเป็นสองทัพ โดยให้พระราชรองเมืองว่าที่ออกญายมราชคุมทัพใหญ่พล 3000 แลให้ออกญารัตนาธิเบศร์คุมทัพหนุนพล 2000 ในครั้งนั้นมีครูฝึกเพลงอาวุธอยู่ในเมืองวิเศษไชยชาญอยู่ผู้หนึ่ง ชื่อ ครูดาบชู ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศให้เป็นปลัดเมือง กรมการเมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้านจึงเรียนว่าขุนรองปลัดชู นำกองอาทมาต 400 มาอาสาศึก แลได้ติดตามไปกับกองทัพออกญารัตนาธิเบศร์ เมื่อเดินทางข้ามพ้นเขาบรรทัดก็ได้ทราบว่า เมืองมะริดและตะนาวศรีเสียแก่ข้าศึกแล้ว จึงตั้งทัพรออยู่เฉย ๆ โดยทัพพระราชรองเมืองตั้งอยู่ที่แก่งตุ่มตอนปลายแม่น้ำตะนาวศรี ส่วนออกญารัตนาธิเบศร์ตั้งทัพอยู่ที่เมืองกุยบุรี แต่ให้กองอาทมาตมาขัดตาทัพรอที่อ่าวหว้าขาว",
"title": "จังหวัดอ่างทอง"
},
{
"docid": "453163#8",
"text": "เมื่อ พ.ศ. 2309 “เนเมียวสีหบดี” ซึ่งอยู่รักษาเมืองเชียงใหม่กับ “มังมหานรธา” ซึ่งอยู่รักษาเมืองที่ทวายได้รับหนังสือจากพระเจ้ามังระภายหลังจากที่เสด็จไปประทับกรุงอังวะ เมืองหลวงของพม่าว่าให้ยกทัพไปตีกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ก็เป็นพระประสงค์ของพระเจ้าอลองพญาที่ตรัสสั่งไว้ก่อนสิ้นพระชนม์ว่าให้ตีอยุธยาให้ได้ ทั้งสองจึงต่างเกณฑ์พลยกทัพเข้าปล้นเมืองต่าง ๆ อีกฝ่ายหนึ่งบุกปล้นตั้งแต่เมืองนครสวรรค์ลงมาถึงเมืองอินทรเมืองพรหม (จังหวัดสิงห์บุรี) อีกฝ่ายหนึ่งก็ปล้นอยู่แถวเมืองสุพรรณบุรี เมืองราชบุรี และเพชรบุรี แล้วจึงมารวมทัพกัน โดยหวังทำลายกำลังฝ่ายอยุธยาตั้งแต่ชั้นนอก พระเจ้าเอกทัศจึงตรัสให้เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เกณฑ์ทัพหัวเมืองเหนือไปขับไล่ และให้ทัพในกรุงยกทัพไปไล่พม่าทั้งด้านเมืองนครสวรรค์และเมืองราชบุรีด้วย โดยทัพด้านเหนือให้พระยาธิเบศร์บริวัตรเป็นแม่ทัพ ทัพใต้ให้พระสุนทรสงครามเป็นแม่ทัพ ต่อมาพระเจ้าเอกทัศทรงทราบความว่าพม่าตามตีมาจนถึงธนบุรีก็ตกพระทัยเกรงว่าพม่าจะล่วงจู่โจมเข้าถึงพระนคร จึงให้พระยารัตนาธิเบศร์คุมกองทัพซึ่งเกณฑ์มาจากนครราชสีมาลงมารักษาธนบุรีอีกทัพหนึ่งให้พระยายมราชคุมกองทัพอีกกองหนึ่งลงมารักษานนทบุรีคอยสกัดพม่าเอาไว้ ส่วนทัพของเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ขับไล่พม่าจนมาสิ้นสุดที่พระนครศรีอยุธยา ณ วัดภูเขาทอง ตามพระประสงค์ของพระเจ้าเอกทัศ แต่เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) ถือโอกาสให้เจ้าพระยาพลเทพกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระบรมราชานุญาตพระเจ้าเอกทัศแทนตนเพื่อขอไปปลงศพมารดาโดยให้หลวงโกษา (ยัง) และหลวงเทพเสนาคุมทัพ ต่อมาเนเมียวสีหบดีรวบรวมพลจากล้านนา และล้านช้างราว 40,000 นาย จึงยกทัพจากเชียงใหม่แบ่งมาทางตาก และทางสวรรคโลก ตีหัวเมืองเหนือเรื่อยลงมา ฝ่ายเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองเหนือเห็นข้าศึกพม่ามามากมายจึงหลบหนีเข้าป่า พม่าก็ได้หัวเมืองเรื่อยมาตั้งแต่พิชัย สวรรคโลก มาตั้งอยู่ที่สุโขทัย เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) กับเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองเหนือจึงรวบรวมพลไปรบกับพม่าที่สุโขทัย และเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) มักถือดาบพระแสงราชศัสตราหรือพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ที่ได้รับพระราชทานจากพระเจ้าเอกทัศตลอดเวลาขณะไปราชการศึกหัวเมืองเหนือ",
"title": "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"
},
{
"docid": "44328#5",
"text": "นับตั้งแต่ พ.ศ. 2301 สืบมา อันเป็นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศนั้น ได้มีหลักฐานบรรยายสภาพบ้านเมืองในช่วงเวลานั้นอยู่หลายมุมมอง หลักฐานฝ่ายไทยสมัยหลังส่วนใหญ่อธิบายไว้ทำนองว่า ในรัชกาลนี้ ข้าราชการระส่ำระสาย บางคนลาออกจากราชการ และมีบาทหลวงฝรั่งเศสเขียนจดหมายเหตุว่า ในยามนั้น \"...บ้านเมืองแปรปรวน เพราะฝ่ายใน [พระราชชายา] ได้มีอำนาจเท่ากับพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีความผิดฐานกบฏ ฆ่าคนตาย เอาไฟเผาบ้านเรือน จะต้องได้รับโทษถึงประหารชีวิต แต่ความโลภของฝ่ายในให้เปลี่ยนเป็นริบทรัพย์สิน ริบได้ก็ตกเป็นของฝ่ายในทั้งสิ้น พวกข้าราชการเห็นความโลภของฝ่ายใน ก็แสวงหาผลประโยชน์กับผู้ต้องหาคดีให้ได้มากที่สุดที่จะหาได้ จะได้แบ่งเอาบ้าง ความเดือดร้อนลำเค็ญก็ยิ่งทับถมราษฎรมากขึ้น...\"[11] เป็นต้น ขณะที่หลักฐานอีกฝ่ายหนึ่งมีว่าไว้ถึงพระราชกิจของพระเจ้าเอกทัศที่ถูกมองข้าม[12] และมิได้มองว่า พระเจ้าเอกทัศทรงมีความประพฤติย่ำแย่เช่นนั้นเลย แต่ว่า พระองค์ \"ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา บ้านเมืองสงบ การค้าขายเจริญ ทรงบริจาคทรัพย์ให้แก่คนยากจนจำนวนมาก\"[13] เป็นต้น",
"title": "การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "13027#0",
"text": "พระแสงขรรค์ชัยศรี เป็นพระแสงศาสตราวุธประจำองค์พระมหากษัตริย์ และเป็นหนึ่งในห้าของเบญจราชกกุธภัณฑ์ พระขรรค์หมายถึง พระสติปัญญาความรอบรู้ในการปกครองบ้านเมือง พระแสงองค์นี้มีประวัติอันเก่าแก่ พระแสงขรรค์ชัยศรี เป็นราชสมบัติจากเขมรเมืองพระนครตั้งแต่ยุคนครวัดถึงยุคนครธม มีหลักฐานสำคัญอยู่ในหลักศิลาจารึก วัดศรีชุม อาณาสุโขทัย ว่าพระเจ้าแผ่นดินเขมรนครธมสมัยนั้น พระราชทาน \"พระขรรค์ชัยศรี\" ให้พ่อขุนผาเมืองแห่งกรุงศรีสัชนาลัยสุโขทัย พร้อมด้วยธิดานามว่าสุขรมหาเทวี ให้เป็นชายา พระแสงขรรค์ชัยศรีจึงตกเป็นพระราชสมบัติของพ่อขุนผาเมืองนี้เอง เป็นพยานสำคัญแสดงว่าพ่อขุนผาเมืองก็คือพระเจ้าอู่ทองที่ครองกรุงศรีอโยธยาศรีรามเทพนคร (หรือต่อมาเป็นกรุงศรีอยุธยา) เพราะมีในพงศาวดารเหนือยืนยันสอดรับ ว่าท้าวอู่ทองเสด็จลงมาจากเมืองสวรรคโลก (ศรีสัชนาลัยสุโขทัย) แล้วสถาปนากรุงศรีอยุธยา โดยพระแสงขรรค์ชัยศรีก็เป็นสมบัติกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมา สุดท้ายจวบจนสมัยพระเจ้าเอกทัศ เบญจราชกกุธภัณฑ์ก็ได้หายสาปสูญไป รวมทั้งพระแสงขรรค์ชัยศรีซึ่งท้ายสุดไปตกจมอยู่ในทะเลสาบเขมร (Tonle sap) ที่เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ ชาวประมงได้ทอดแหแล้วเห็นพระขรรค์องค์นี้ ชาวประมงผู้นั้นจึงนำมาถวายเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน) เจ้าเมืองเสียมราฐ และเจ้าเมืองเสียมราฐได้นำทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ",
"title": "พระแสงขรรค์ชัยศรี"
},
{
"docid": "54622#8",
"text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชวินิจฉัยในพระราชพิธีสิบสองเดือนว่า เป็นเพราะเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศสวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ก็เรียกขุนหลวงบรมโกศ จนผลัดแผ่นดินมาพระเจ้าเอกทัศ ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง จนมาสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ จึงเรียกติดปากไป คิดว่าเป็นชื่อจริงๆ",
"title": "สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ"
},
{
"docid": "85430#2",
"text": "ในปี พ.ศ. 2309 รัชสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ขณะที่กรุงศรีอยุธยาถูกกองทัพพม่าล้อมอยู่นั้น กรมหมื่นเทพพิพิธซึ่งเป็นพระเจ้าลูกยาเธอองค์หนึ่งในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แต่ถูกเนรเทศไปลังกา ได้กลับมาเกลี้ยกล่อมรวบรวมชายฉกรรจ์ทางหัวเมืองภาคตะวันออก ได้แก่ เมืองจันทบูร เมืองระยอง เมืองบางละมุง เมืองชลบุรี และเมืองปราจีนบุรี เข้าร่วมกองทัพอ้างว่าจะยกไปช่วยกรุงศรีอยุธยารบพม่า ในครั้งนั้นชาวชลบุรีได้ให้การสนับสนุนเข้าร่วมในกองทัพเป็นจำนวนมาก จนกระทั่งเมืองชลบุรีแทบจะกลายเป็นเมืองร้าง เมื่อกรมหมื่นเทพพิพิธยกไพร่พลไปตั้งมั่นที่ปราจีนบุรีแล้ว จึงมีหนังสือกราบบังคมทูลพระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์ ขออาสาช่วยป้องกันพระนคร แต่พระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์ทรงพระราชดำริว่า กรมหมื่นเทพพิพิธเป็นคนมักใหญ่ใฝ่สูงจนถูกเนรเทศมาแล้วครั้งหนึ่ง การที่มาเรียกระดมผู้คนเข้าเป็นกองทัพโดยพลการครั้งนี้ก็เป็นการทำผิดกฎมณเทียรบาล จึงโปรดเกล้าฯ ให้ยกกองทัพจากกรุงศรีอยุธยาไปปราบกรมหมื่นเทพพิพิธจนบอบช้ำ จากนั้นพม่ายังได้ส่งกองทัพออกไปโจมตีกองทัพกรมหมื่นเทพพิพิธจนแตกกระจายไปอีก จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าข้าศึก เมื่อ พ.ศ. 2310 ชาวชลบุรี ได้ให้ความร่วมมือกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในการกอบกู้อิสรภาพอย่างใกล้ชิด จนสามารถกอบกู้เอกราชกลับคืนมา",
"title": "เทศบาลเมืองชลบุรี"
},
{
"docid": "44328#4",
"text": "คราวต้องเวนราชสมบัติ สมเด็จพระเจ้าบรมโกศไม่โปรดกรมขุนอนุรักษ์มนตรี[10] จึงทรงข้ามไปพระราชทานพระราชบัลลังก์ให้พระราชโอรสองค์ที่ 3 คือ เจ้าฟ้าอุทุมพร ผู้มีพระปรีชาสามารถมากกว่า แทน[10] ครั้นสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เจ้าฟ้าอุทุมพรก็ราชาภิเษกเป็นสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร เสวยราชย์ได้ไม่ถึง 3 เดือน กรมขุนอนุรักษ์มนตรีก็ตั้งพระองค์เองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์อีกพระองค์หนึ่ง เป็นเหตุให้กรมหมื่นจิตรสุนทร, กรมหมื่นสุนทรเทพ และกรมหมื่นเสพภักดี พระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระชนก ซึ่งมักเรียกรวมกันว่า \"เจ้าสามกรม\" ทรงไม่พอพระทัยเป็นอันมาก และคิดกบฏ แต่ทรงถูกเจ้าฟ้าเอกทัศจับได้ ก่อนถูกประหารชีวิตทั้งสามพระองค์ ส่วนสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรนั้นทรงตัดสินพระทัยเลี่ยงไปผนวชเสียด้วยเหตุผลส่วนพระองค์ กรมขุนอนุรักษ์มนตรีจึงได้ราชสมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ[10]",
"title": "การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "42761#4",
"text": "ในระหว่างที่พระองค์ครองราชย์ พม่าได้ยกกองทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2303 พระเจ้าเอกทัศได้ทรงขอให้พระเจ้าอุทุมพรลาผนวชมาช่วยบัญชาการรบ พระเจ้าอลองพญา พระมหากษัตริย์พม่า ที่ยกทัพมา แต่สวรรคตเสียก่อน",
"title": "สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์"
},
{
"docid": "43526#12",
"text": "ภายหลังพระวินัยธร องอาจอาริโยพบหนังสือ “กฎแห่งกรรม” ของท.เลียงพิบูลย์ เข้าโดยบังเอิญพบเห็นเรื่องราวขององค์หญิงมณฑาทิพย์ (จันทร์เจ้า) ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2291 เช่นเดียวกับที่เคยนิมิตเห็นน่าจะเป็นองค์เดียวกัน มีเนื้อหาดังนี้ “องค์หญิงมณฑาทิพย์ (จันทร์เจ้า) ประสูติเมื่อปลายกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2291 เป็นช่วงคาบเกี่ยวระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) กับสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ องค์หญิงเป็นพระธิดาของกรมหลวงบวรวังในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ บ้านเมืองมีเหตุเดือดร้อนมีการฉ้อราษฎร์บังหลวงผู้ใดประจบสอพลอผู้นั้นจะได้เป็นใหญ่ทั้งที่ไร้ความสามารถ ผู้ครองแผ่นดินได้แต่ลุ่มหลงและเสพสุขในกามา หากใครมีบุตรีต้องนำตัวมาถวายใครขัดขืนจะถูกประหารชีวิต เหลืออยู่ก็แต่กรมหลวงบวรวังในที่ท่านไม่ทรงยอมข้องเกี่ยวกับการเมืองแต่อย่างใด ไม่คบค้าสมาคมกับใคร",
"title": "วัดบางกุ้ง"
},
{
"docid": "179615#18",
"text": "ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์และการเมืองเป็นสำคัญ[44] ทำให้เจ้าตากมา \"ยับยั้ง\" อยู่ ณ เมืองธนบุรี ซึ่งมีลักษณะเป็นราชธานีไม่ถาวร[45] ก่อนหน้านั้น เมืองธนบุรีถูกทิ้งร้าง มีต้นไม้ขึ้นและซากศพทิ้งอย่างเกลื่อนกลาด ทำให้ต้องมีการเกณฑ์แรงงานจัดการพื้นที่ขึ้นมาใหม่[46] เจ้าตากยังมีรับสั่งให้คนไปอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ในสมัยตอนปลายอยุธยาจากเมืองลพบุรีมายังเมืองธนบุรี และได้ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าเอกทัศตามโบราณราชประเพณี[47][48]",
"title": "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"
},
{
"docid": "179615#10",
"text": "สำหรับการรับราชการเป็นเจ้าเมืองตากนั้น พระราชพงศาวดารฉบับหนึ่งกล่าวทำนองว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงวิ่งเต้นให้ได้รับตำแหน่งเจ้าเมืองตากโดยติดต่อผ่านทางมหาดเล็กถึงพระยาจักรี สมเด็จพระเจ้าเอกทัศทรงทราบว่าเจ้าเมืองตากคนก่อนป่วยเสียชีวิต จึงให้พระยาจักรีหาผู้มีสติปัญญาพอจะรับตำแหน่งแทน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงได้เป็นเจ้าเมืองตาก[22] ส่วนพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงวินิจฉัยว่า พระองค์ทรงเคยเป็นหลวงยกกระบัตรเมืองตากก่อนทรงได้รับการเลื่อนตำแหน่ง[23] เมื่อ พ.ศ. 2307 เกิดเหตุการณ์พม่ายกกองทัพมายึดหัวเมืองแถบภาคใต้ของไทยปัจจุบันโดยมีมังมหานรธาเป็นแม่ทัพ ปรากฏว่าพม่ายึดได้โดยง่าย จึงยึดเรื่อยมาจนถึงเมืองเพชรบุรี ทางกรุงศรีอยุธยาได้ส่งกองทัพซึ่งมีพระยาโกษาธิบดีกับพระยาตากเป็นแม่ทัพไปรักษาเมืองเพชรบุรีไว้ จนกองทัพพม่าแตกถอยไปทางด่านสิงขร",
"title": "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"
}
] |
1276 | ใครเป็นผู้จัดตั้ง กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 ? | [
{
"docid": "295810#4",
"text": "เนื่องจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความพร้อมด้านบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการจัดการแข่งขันกีฬาและได้รับเชิญให้เป็นกรรมการกีฬาระดับชาติและนานาชาติหลายครั้ง และมีความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพในด้านต่าง ๆ ทั้งสนามการแข่งขัน ด้านการแพทย์ การคมนาคม การบริการ อาหาร สิ่งอำนวยความสะดวกรอบมหาวิทยาลัย สถานที่พักสำหรับเจ้าหน้าที่และนักกีฬา[3] ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โดยมี รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ประธานคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยเป็นประธานในที่ประชุม มีมติให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 โดยไม่มีมหาวิทยาลัยอื่นเสนอตัวเป็นเจ้าภาพแข่งขัน[4] การรับเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันในครั้งนี้นับเป็นครั้งที่ 4 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเคยรับเป็นเจ้าภาพมาก่อนแล้วในกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2518), ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2527) และครั้งที่ 21 (พ.ศ. 2537)",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
}
] | [
{
"docid": "295810#20",
"text": "พิธีปิดจามจุรีเกมส์จัดขึ้นในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554 ณ สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยมีพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นประธาน โดยเริ่มด้วยโหมโรงพิธีปิดการแข่งขันโดยวง CU Band ทำการบรรเลงเพลงเพื่อนำนักกีฬาทั้ง 25 ชนิดกีฬาเข้าสู่สนาม [23][24]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#1",
"text": "การแข่งขันฯ ใช้สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นสนามหลักในการจัดพิธีเปิด - ปิด ตลอดจนการทำการแข่งขันกรีฑาประเภทลู่และลาน ในส่วนกีฬาในร่ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดสร้างอาคารศูนย์กีฬาและนันทนาการขึ้นใหม่ เพื่อรองรับการแข่งขันดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีการใช้สนามกีฬาอื่นๆ ในบริเวณกรุงเทพมหานคร ตลอดจนจังหวัดนครนายกสำหรับการแข่งขันกอล์ฟ โดยมีการจัดการบริการขนส่งนักกีฬาระหว่างสนาม",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#32",
"text": "หมวดหมู่:กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#25",
"text": "สนามกีฬาหลักในการแข่งขันครั้งนี้คือสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสนามกีฬามาตรฐานมีความจุผู้ชมกว่า 25,000 คน มหาวิทยาลัยได้เริ่มดำเนินการปรับปรุงสนามดังกล่าวรองรับการแข่งขันกีฬาครั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553 สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสามารถทำการแข่งขันกีฬาในประเภทฟุตบอลและกรีฑาทั้งประเภทลู่และลาน สนามหญ้าเป็นหญ้าสังเคราะห์ระดับมาตรฐานที่สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) รับรองเป็นแห่งแรกในประเทศไทย และลู่วิ่งยางสังเคราะห์ จำนวน 8 ลู่ ซึ่งได้รับรองจากสหพันธ์กรีฑานานาชาติ (IAAF) ในส่วนของการแข่งขันกีฬาในร่มจะดำเนินการแข่งขัน ณ ศูนย์กีฬาและนันทนาการเป็นหลัก นอกจากการปรับปรุงสนามกีฬาของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการแข่งขันกีฬาดังกล่าว มหาวิทยาลัยยังมีความมุ่งหวังต่อการบริการด้านกีฬาแก่ประชาชนและนิสิตเพิ่มเติมอีกด้วย",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#12",
"text": "การคมนาคมภายในมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดระบบการเดินรถภายในมหาวิทยาลัยเพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักกีฬาและผู้เข้าร่วมแข่งขันที่จะรับส่งเข้าสู่พื้นที่แข่งขันกีฬากับสถานีรถและป้ายรถประจำทางต่างๆ นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังได้ปรับปรุงอาคารสถานที่จอดรถอีกหลายแห่งในมหาวิทยาลัยเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางมาด้วยรถส่วนบุคคล",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#15",
"text": "สำหรับคำขวัญประจำการแข่งขันในครั้งนี้ คือ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ คือ น้ำใจนักกีฬา (SPORTSMANSHIP IS THE GREATEST VICTORY) ผลงานของสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[18]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#5",
"text": "การประชาสัมพันธ์งานแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 นั้น คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์สื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CICC) และสำนักงานสารนิเทศ ทั้ง 3 หน่วยงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบหมายให้เป็นคณะกรรมการดำเงินงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ร่วมกัน",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#29",
"text": "หลังการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 เสร็จสิ้นลงแล้ว คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้คัดเลือกและมอบรางวัลนักกีฬาดีเด่นและทีมกีฬาดีเด่น ดังนี้[31][32]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#14",
"text": "ตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ ออกแบบโดยปิติ ประวิชไพบูลย์ นิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับแรงบันดาลใจมาจากดอกจามจุรีซึ่งเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย โดยนำแฉกรัศมีของพระเกี้ยวมาเรียงเป็นดอกจามจุรี 3 ดอกในแนวตั้งจากใหญ่ขึ้นไปเล็กมีลักษณะคล้ายกับพระเกี้ยวอันสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย และยังสามารถอ่านได้เป็นตัวเลข 38 อันเป็นครั้งของการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ โดยเลือกใช้สีชมพูอันเป็นสีประจำมหาวิทยาลัยไล่เฉดสีจากอ่อนขึ้นไปเข้มสื่อความหมายถึงความรุ่งเรืองของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่พร้อมจะต้อนรับนักกีฬาทุกสถาบันในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย และดอกจามจุรีทั้ง 3 ยังสื่อถึงการรู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย ซึ่งเป็นคุณสมบัติของน้ำใจนักกีฬาด้วย[18] นอกจากนี้ บริเวณปลายดอกบนสุด จะแทรกด้วย สีฟ้า เขียว เหลือง แดง และชมพู โดยมีความหมายรวมกันเป็นคำว่า SPORT ซึ่งมีความหมายดังนี้ S</u>uccess (ความสำเร็จ) แทนด้วย สีเขียว, P</u>eace (ความสันติ) แทนด้วย สีฟ้า, O</u>riginal (ความเป็นต้นแบบ) แทนด้วย สีเหลือง, R</u>elationship (ความสัมพันธ์) แทนด้วย สีชมพู และ T</u>eamwork (การทำงานเป็นหมู่คณะ) แทนด้วย สีแดง[19]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#24",
"text": "นอกจากการใช้สนามกีฬาภายในบริเวณมหาวิทยาลัยแล้วนั้น การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 ยังได้ทำการแข่งขันบริเวณสนามในพื้นที่ของกรุงเทพมหานครอื่นๆ อาทิ สนามนิมิบุตร สนามกีฬาของการกีฬาแห่งประเทศไทย สนามกีฬาโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนามกีฬาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และในพื้นที่จังหวัดนครนายก คือสนามกอล์ฟวอเตอร์มิลล์อีกด้วย[29]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "782653#1",
"text": "การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยกีฬาแห่งประเทศไทย เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกีฬาสุพรรณบุรีเป็นแห่งแรก เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2533 โดยเปิดทำการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2534 จนถึงปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยกีฬาในสังกัดสถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จำนวน 11 แห่ง เพราะเล็งเห็นความสำคัญการพัฒนากีฬา เพื่อความเป็นเลิศของชาติ และพัฒนาคุณภาพของประชาชนในชาติว่าส่งผลให้เยาวชนมีคุณภาพ ทั้งทางด้านสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และรัฐบาลหวังว่าโรงเรียนกีฬาจะเป็นแหล่งผลิตและส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เอเชี่ยนเกมส์ และซีเกมส์ ",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยกีฬาแห่งประเทศไทย"
},
{
"docid": "295810#2",
"text": "งานการประชาสัมพันธ์การแข่งขัน ได้จัดทำผ่านโปสเตอร์และสื่อมวลชนหลายแขนง นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้นิสิตของมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมโดยการจัดประกวดสัญลักษณ์ โปสเตอร์ สัญลักษณ์นำโชค และเพลงประจำการแข่งขัน โดยสัญลักษณ์เป็นรูปดอกจามจุรี 3 ดอกเรียงในแนวตั้งมีลักษณะคล้ายกับพระเกี้ยวและสามารถอ่านได้เป็นตัวเลข 38 ส่วนคำขวัญประจำการแข่งขันในครั้งนี้ คือ \"ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ คือ น้ำใจนักกีฬา\" และสัญลักษณ์นำโชค ได้แก่ กระรอก 2 ตัว คือ น้องน้ำใจและน้องไมตรี",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#9",
"text": "ในการแข่งขันในครั้งนี้ทางเจ้าภาพตั้งงบประมาณไว้ราว 60 ล้านบาท โดยมีผู้ให้การสนับสนุนการแข่งขันในครั้งนี้เป็นอย่างดีจากภาครัฐ เช่น สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และภาคเอกชน ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ บริษัท โรงงานฟุตบอลล์ไทย สปอร์ตติ้งกู๊ดส์ จำกัด เป็นต้น โดยได้รับการสนับสนุนเป็นเงินสดกว่า 35 ล้านบาท[11][12][13]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#16",
"text": "สัญลักษณ์นำโชคในการแข่งขันจามจุรีเกมส์ ได้แก่ กระรอก สองตัว ชื่อ น้องน้ำใจ (ตัวเมีย) และน้องไมตรี (ตัวผู้) ออกแบบโดยณัฐกรณ์ ไทยรัตนสุวรรณ นิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีที่มาเนื่องจากกระรอกเป็นสัตว์ที่สามารถพบเห็นทั่วไปในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก ฉลาดเฉลียว และมีลักษณะของความคล่องแคล่วปราดเปรียว ซึ่งทำให้สามารถสื่อได้ถึงการพัฒนาและเกิดความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีลักษณะของความเป็นนักกีฬาผู้มากด้วยความสามารถ มีความมุ่งมั่น และเต็มไปด้วยน้ำใจของนักกีฬา เปรียบเสมือนตัวแทนของนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันที่เข้าร่วมในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้[18]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "292739#1",
"text": "การแข่งขันครั้งนี้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โดยมีศาสตราจารย์ปัจจัย บุนนาค เป็นประธาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรินทร์ ธานีรัตน์ เป็นเลขาธิการ และผู้แทนจากสถาบันสมาชิกเป็นกรรมการ นอกจากนี้ ยังจัดตั้งคณะกรรมการร่างข้อบังคับคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 ขึ้น",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2"
},
{
"docid": "295810#21",
"text": "หลังจากประธานในพิธีกล่าวปิดการแข่งขันแล้ว จะมีพิธีดับไฟกระถางคบเพลิง ตามด้วยการเชิญธง ก.ก.ม.ท. ธงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และธงจามจุรีเกมส์ลงจากยอดเสา และพิธีมอบธง ก.ก.ม.ท. ให้แก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ซึ่งเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 หลังจากนั้น ขบวนพาเหรดนักกีฬาเคลื่อนออกจากสนาม และเป็นการแสดงจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งจัดขึ้น 2 ชุด ได้แก่ การแสดงจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) ชุด Hello Thailand, การแสดงจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชุด Power of Wave เมื่อเสร็จสิ้นการแสดงแล้ว นักกีฬาร่วมกันร้องเพลง สามัคคีชุมนุม นับเป็นการเสร็จสิ้นพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38[24]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#23",
"text": "การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 ได้กำหนดให้ใช้สนามกีฬาทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใช้งบประมาณกว่า 395 ล้านบาทในการก่อสร้างอาคารศูนย์กีฬาและนันทนาการ[28] เพื่อเป็นสนามกีฬาหลักในการแข่งขันกีฬาในร่มและว่ายน้ำ และปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดจนอัฒจรรย์ของสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อเป็นสถานที่ใช้ในพิธีเปิดและปิดของการแข่งขัน และยังมีการใช้สถานที่ของมหาวิทยาลัยอีกหลายแห่งเป็นสถานที่แข่งขัน อาทิ ศาลาพระเกี้ยวในการแข่งขันลีลาศ สนามหน้าพระบรมรูปสองรัชกาลในการแข่งขันรักบี้",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#31",
"text": "นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยสยามได้รับถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รางวัลชนะเลิศเหรียญรวม (ชาย) เหรียญรวม (หญิง) กรีฑาอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยไปด้วย[33]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#6",
"text": "สำหรับการประชาสัมพันธ์จามจุรีเกมส์เพื่อให้เป็นที่รู้จักของประชาชนโดยทั่วไป เริ่มตั้งแต่การแถลงข่าวเปิดตัวกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 โดยได้เชิญสื่อจากทุกสำนักมาในงานเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานไปทั่วประเทศ[5] การประชาสัมพันธ์การแข่งขันในครั้งนี้ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อหลากหลายรูปแบบทั้งทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เอกสารแผ่นพับ เป็นต้น โดยทางทีมประชาสัมพันธ์ได้เดินทางเข้าพบสื่อมวลชนสำนักต่าง ๆ เพื่อขอความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์การแข่งขัน[6][7] และมีการเปิด \"ศูนย์ประสานงานสื่อมวลชน\" เพื่อการรับรองสื่อมวลชนที่มารายงานข่าวการแข่งขัน[8] รวมทั้ง การส่งโปสเตอร์ไปยังมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การแข่งขันในครั้งนี้",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#17",
"text": "พิธีเปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ จัดขึ้นในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2554 ณ สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธี โดยเริ่มต้นด้วยขบวนพาเหรดของนักกีฬาจาก 117 สถาบันเข้าสู่สนาม ตามด้วยขบวนพาเหรดเชิญธงกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ธงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และธงจามจุรีเกมส์เข้าสู่สนาม จากนั้น ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานคณะกรรมการจัดการแข่งขันกราบบังคมทูลรายงาน",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#3",
"text": "ผลการแข่งขันปรากฏว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองตำแหน่งเจ้าเหรียญทองในการแข่งขันครั้งนี้ เป็นสมัยที่ 3 ติดต่อกัน[2] และมหาวิทยาลัยสยามได้รับถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รางวัลชนะเลิศเหรียญรวม (ชาย) เหรียญรวม (หญิง) สำหรับกรีฑาอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยไปด้วย",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "292739#3",
"text": "พ.ศ. 2517 องค์การส่งเสริมกีฬามหาวิทยาลัยได้จัดตั้ง คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 และใช้ชื่อย่อว่า ก.ก.ม.ท. (THE UNIVERSITY SPORTS BOARD OF THAILAND หรือ U.S.B.T.) โดยให้อยู่ภายใต้การส่งเสริมของรัฐบาลและขึ้นตรงต่อองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2"
},
{
"docid": "295810#27",
"text": "สรุปเหรียญการแข่งขัน[30] ได้แก่",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "484536#1",
"text": "เริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์ เป็นศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รุ่นที่ 32 และยังเป็นตัวแทนทีมชาติไทยร่วมกับเรืออากาศเอกสุทธิพงษ์ สันติเทวกุล ในการเข้าแข่งขันฟันดาบสากลในเอเชียนเกมส์ 1974 โดยเริงยศมีตำแหน่งเป็นประธานชมรมฟันดาบพระเกี้ยวในขณะนั้น นอกจากนี้ เขายังมีบทบาทในฐานะเป็นผู้ถ่ายทอดศิลปะการซ่อมดาบเอเป้ รวมถึงเทคนิคการเดินสายไฟฟ้าที่ดาบ และแม้กระทั่งการดัดมุมดาบ การตัดหางใบดาบ ตลอดจนทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการกีฬาฟันดาบสากลในกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38",
"title": "เริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์"
},
{
"docid": "295810#18",
"text": "หลังจากองค์ประธานมีพระราชดำรัสเปิดการแข่งขันแล้ว พิธีเชิญธงกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ธงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และธงจามจุรีเกมส์ ขึ้นสู่ยอดเสาจึงเริ่มขึ้น ตามมาด้วยพิธีจุดกระถางคบเพลิง ซึ่งเจ้าภาพจัดให้นักกีฬาที่เป็นศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันวิ่งคบเพลิงคู่กันเรียงตามยุค จำนวน 18 คน คือ รศ.จันทร์ ผ่องศรี, รศ.นพ.พินิจ ทวีสิน, รศ.มล.ปาณสาร หัสดินทร, ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง, ธนากร ศรีชาพันธุ์, นราธร ศรีชาพันธุ์, ลดาวัลย์ มูลศาสตร์สาธร, สมพล คูเกษมกิจ, ศรสวรรค์ (ภู่วิจิตร) มีชัย, ธีรัช โพธิ์พานิช, ร.อ.ดำรงศักดิ์ วงศ์ทิม, สิทธิชัย สุวรประทีป, สัพพัญญู อวิหิงสานนท์, ชนาภา ซ้อนขำ, พิสิษฐ์ พูดฉลาด, ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย และสุดท้ายปานวาด จิตไพโรจน์ นักกีฬาว่ายน้ำทีมชาติไทย เป็นผู้จุดคบเพลิง[20] หลังจากนั้น จึงเป็นพิธีกล่าวคำปฏิญาณตนของนักกีฬาและผู้ตัดสิน โดยรดมยศ มาตเจือ เป็นตัวแทนนักกีฬากล่าวคำปฏิญาณตนและวิจิตร เกตุแก้วเป็นตัวแทนผู้ตัดสินกล่าวคำปฏิญาณตน[21]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "295810#0",
"text": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยใช้สถานที่ทำการแข่งขันทั้งภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์กีฬาภายนอก มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมแข่งขันทั้งสิ้น 117[1] สถาบันใน 25 ชนิดกีฬา การแข่งขันครั้งนี้นับเป็นครั้งที่สี่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน และเป็นเจ้าภาพครั้งแรกนับแต่ พ.ศ. 2537 (จามจุรีเกมส์ 21)",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "52669#21",
"text": "2530 รางวัลดาวซัลโว ฟุตบอลเขตการศึกษาแห่งประเทศไทย 2542 รางวัลดาวซัลโว ซีเกมส์ครั้งที่ 20 ประเทศบรูไน 2543 เกียรติประวัติ ผู้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมไทย “คนต้นแบบ” โดยสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ 2543 รางวัลนักฟุตบอลทรงคุณค่า ไทเกอร์คัพครั้งที่ 3 ประเทศไทย 2543 รางวัลนักกีฬายอดเยี่ยม อีเอสพีเอ็น 2543 รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยม อีเอสพีเอ็น 2544 รางวัลดาราเอเชีย 2544 รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยม คมชัดลึกอวอร์ด ครั้งที่ 1 2544 รางวัลนักฟุตบอลดีเด่น ซันโย 2546 รางวัลนักกีฬาต่างชาติยอดเยี่ยม ประเทศเวียดนาม 2547 รางวัลนักกีฬาต่างชาติยอดเยี่ยม ประเทศเวียดนาม 2548 เข็มเกียรติยศ ผู้ทำคุณประโยชน์แก่ฟุตบอลเวียดนาม จากรัฐมนตรีกีฬาประเทศเวียดนาม 2547-ปัจจุบัน ผู้ให้การสนับสนุนกิจการ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2550 โล่ประกาศเกียรติคุณ ชมรมเชียร์ไทย 2551 รางวัลสุดยอดคนต้นแบบ เมืองขอนแก่น 2557 รางวัลผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม สยามกีฬาอวอร์ดส์ ครั้งที่ 8 [36][37][38] 2557 รางวัลผู้ฝึกสอนนักกีฬาสมัครเล่นดีเด่น วันกีฬาแห่งชาติ[39] 2557 รางวัลผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม สยามโกลเดนอวอร์ดส์ 2558 ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง[40] 2558 รางวัลผู้ฝึกสอนนักกีฬาสมัครเล่นดีเด่น วันกีฬาแห่งชาติ 2558 บุคคลแห่งปี สำนักข่าวเนชั่น[41] 2559 Fever Awards 2016 รางวัลนักกีฬาฟีเวอร์ปี 2016",
"title": "เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง"
},
{
"docid": "295810#22",
"text": "สถาบันการศึกษาที่ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 มีจำนวนทั้งสิ้น 117 สถาบัน มีนักกีฬาและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกว่า 16,149 คน (ถ้านับนักกีฬาตั้งแต่รอบคัดเลือกจะมีจำนวนประมาณ 17,000 คน[25]) คณะกรรมการฝ่ายจัดการแข่งขันกว่า 1,500 คน กรรมการผู้ตัดสินกว่า 800 คน อาสาสมัครกว่า 1,800 คน สื่อมวลชนกว่า 300 คน รวมผู้เข้าร่วมการแข่งขันกว่า 20,549 คน[26] รายชื่อสถาบันที่เข้าร่วมการแข่งขัน มีดังนี้[27]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "73261#12",
"text": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย โดยเริ่มต้นจัดการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 8 มหาวิทยาลัย มีการจัดการแข่งขันมาแล้วรวม 37 ครั้ง โดยปัจจุบันในครั้งที่ 38 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน",
"title": "กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย"
}
] |
343 | อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ เกิดที่จังหวัดใด ? | [
{
"docid": "293816#1",
"text": "คาลเดอร์ผู้เกิดที่ลอว์ตันในรัฐเพนซิลเวเนียในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่22 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 มาจากครอบครัวที่เป็นศิลปิน อเล็กซานเดอร์ สเตอร์ลิง คาลเดอร์ บิดาของคาลเดอร์เป็นประติมากรผู้มีชื่อเสียงผู้สร้างงานประติมากรรมสำหรับติดตั้งในที่สาธารณะหลายชิ้นส่วนใหญ่ในฟิลาเดลเฟีย ส่วนปู่ประติมากร อเล็กซานเดอร์ มิลน์ คาลเดอร์ เกิดที่สกอตแลนด์และอพยพมาฟิลาเดลเฟียในปี ค.ศ. 1868 งานที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดเป็นประติมากรรมขนาดใหญ่ของวิลเลียม เพนน์บนหอตึกเทศบาลเมืองฟิลาเดลเฟีย นาเนตต์ เลเดอเรอร์ คาลเดอร์มารดาของคาลเดอร์เป็นจิตรกรภาพเหมือนอาชีพผู้ได้รับการศึกษาจากสถาบันฌูเลียนและซอร์บอร์นในกรุงปารีสราวระหว่างปี ค.ศ. 1888 ถึงปี ค.ศ. 1893 ต่อมานาเนตต์ย้ายไปอยู่ที่ฟิลาเดลเฟียเมื่อไปพบกับอเล็กซานเดอร์ สเตอร์ลิง คาลเดอร์ขณะที่กำลังศึกษาอยู่ที่สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟิลาเดลเฟีย บิดามารดาของคาลเดอร์สมรสกันเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1895 พี่สาวคนโตมาร์กาเร็ต หรือ เพ็กกี้ คาลเดอร์เกิดในปี ค.ศ. 1896 ต่อมาเมื่อสมรสก็เปลี่ยนชื่อเป็น มาร์กาเร็ต คาลเดอร์ เฮย์ส และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ศิลปะมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบิร์กลีย์",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
}
] | [
{
"docid": "293816#0",
"text": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ หรือ แซนดี้ คาลเดอร์ () (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นประติมากรของขบวนการลัทธิเหนือจริงคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาลเดอร์มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ริเริ่มการสร้าง “ประติมากรรมจลดุล” (mobile sculpture) นอกจากประติมากรรมจลดุลแล้วคาลเดอร์ก็ยังสร้างงานที่เป็น “ประติมากรรมศักยดุล” หรือ “ประติมากรรมสถิต” (stabile), จิตรกรรม, ภาพพิมพ์หิน, ของเล่น, พรมทอแขวนผนัง และ เครื่องประดับด้วย",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#4",
"text": "จากแอริโซนาครอบครัวคาลเดอร์ย้ายไปอยู่ที่แพซาดีนาในรัฐแคลิฟอร์เนีย ห้องใต้หลังคาของบ้านกลายเป็นห้องทำงานประติมากรรมห้องแรกของคาลเดอร์ เมื่อได้รับเครื่องมือชุดแรก คาลเดอร์ใช้เศษลวดทองแดงที่พบตามถนนและลูกปัดจากตุ๊กตาของพี่สาวในการทำเครื่องประดับ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1907 มารดาก็นำคาลเดอร์ไปชมเทศกาลพาเหรดดอกไม้ประจำปีแห่งแพซาดีนา (Tournament of Roses Parade) ที่คาลเดอร์ได้ดูการแข่งรถม้าสี่ตัว เหตุการณ์ดังว่าต่อมากลายมาเป็นผลงานละครสัตว์ของคาลเดอร์",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#18",
"text": "ในปี ค.ศ. 1929 คาลเดอร์ก็มีงานแสดงประติมากรรมลวดโดยลำพังของตนเองในปารีสที่ห้องแสดงภาพบิลลิเอต์ จิตรกร ฌูลส์ ปาส์แซง เพื่อนของคาลเดอร์จากคาเฟส์ มงต์ปาร์นาส เป็นผู้เขียนบทนำให้",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#23",
"text": "คาลเดอร์และลุยซาย้ายกลับสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1933 เพื่อมาตั้งหลักแหล่งมีครอบครัวในฟาร์มเฮาส์ที่ซื้อไว้ที่ร็อกซเบอร์รี, คอนเนตทิคัต (บุตรีคนแรกแซนดราเกิดในปี ค.ศ. 1935 และลูกสามคนที่สองแมรีในปี ค.ศ. 1939) คาลเดอร์ยังคงทำการแสดง “Cirque Calder” และเริ่มทำงานร่วมกับมาร์ธา แกรมในการออกแบบฉากบัลเลต์และสร้างเวทีเคลื่อนที่สำหรับการแสดง “Socrate” โดยเอริค ซาตีในปี ค.ศ. 1936.",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "140191#1",
"text": "อเล็กซานเดอร์ ไซม่อน เรนเดลล์ เกิดที่ประเทศอินโดนีเซีย เป็นบุตรของนายเบนจามิน และนางดวงสมร เรนเดลล์ มีพี่ชาย 1 คน และพี่สาว 1 คน ชื่อไซม่อน และโบนิต้า โดยอเล็กซ์เกิดที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากบิดาเป็นเชฟอยู่ที่นั่น จนเมื่ออายุ 4 ขวบ จึงได้ย้ายมาอยู่ประเทศไทยถาวร เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 4 ปี ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนบางกอกพัฒนา ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ภาคภาษาอังกฤษ)และกำลังศึกษาต่อ",
"title": "อเล็กซานเดอร์ เรนเดลล์"
},
{
"docid": "293816#10",
"text": "คาลเดอร์เข้าเล่นในทีมฟุตบอลในปีแรกที่เป็นนักศึกษาและทำการฝึกกับทีมไปจนตลอดสี่ปี แต่ไม่ได้ลงเล่นแข่งขัน นอกจากฟุตบอลแล้วคาลเดอร์ก็ยังเล่นลาครอสที่ดูจะมีความสำเร็จมากกว่า และเป็นสมาชิกของสมาคมภราดรภาพเดลทา เทา เดลทา คาลเดอร์มีความสามารถในวิชาคณิตศาสตร์",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#8",
"text": "ในปี ค.ศ. 1912 สเตอร์ลิง คาลเดอร์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าผู้ทำการแทนของแผนกประติมากรรมของการแสดงนิทรรศการนานาชาติปานามาแปซิฟิกในซานฟรานซิสโก คาลเดอร์เริ่มแสดงงานประติมากรรมในนิทรรศการที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1915 ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในระดับไฮสกูลระหว่างปี ค.ศ. 1912 ถึงปี ค.ศ. 1915 ครอบครัวคาลเดอร์ก็ย้ายไปมาระหว่างนิวยอร์กกับแคลิฟอร์เนีย ในบ้านที่อยู่ใหม่แต่ละที่บิดามารดาก็จะยกห้องใต้หลังคาไว้ให้เป็นห้องทำงานของคาลเดอร์ ในตอนปลายของสมัยเด็กคาลเดอร์พักอยู่กับเพื่อนในแคลิฟอร์เนียขณะที่บิดามารดาย้ายกลับไปนิวยอร์ก เพื่อจะได้เรียนจบได้ที่โรงเรียนมัธยมโลเวลล์ในซานฟรานซิสโก คาลเดอร์จบการศึกษาในปี ค.ศ. 1915",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#14",
"text": "เมื่อ “เอช. เอฟ. อเล็กซานเดอร์” จอดที่ท่าซานฟรานซิสโกคาลเดอร์ก็จะเดินทางขึ้นไปอเบอร์ดีนที่รัฐวอชิงตันไปเยึ่ยมพี่สาวกับพี่เขยเค็นเนธ เฮย์ส คาลเดอร์สมัครงานเป็นผู้คุมเวลาที่ค่ายโค่นไม้ ภูมิทัศน์ป่าเขาเป็นแรงบันดาลใจให้แก่คาลเดอร์เขียนจดหมายไปถึงบ้านไปขอสีและแปรง ไม่นานหลังจากนั้นคาลเดอร์ก็ตัดสินใจย้ายกลับไปนิวยอร์กเพื่อไปพยายามสร้างตัวเป็นศิลปิน",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
},
{
"docid": "293816#29",
"text": "คาลเดอร์สร้างประติมากรรมศักยดุลและประติมากรรมจลดุลส่วนใหญ่ในโรงงานบีมองต์ตูร์ในฝรั่งเศส รวมทั้ง “L'Homme” ที่ทำด้วยเหล็กกล้าไร้สนิมสูง 24 เมตรที่บริษัทนิคเคิลอินเตอร์แนชันนัล (Inco) ของแคนาดาจ้างให้ทำสำหรับงานนิทรรศการสากลแห่งมอนทรีออลในปี ค.ศ. 1967 งานขั้นสุดท้ายสร้างจากหุ่น จำลองที่สร้างโดยคาลเดอร์โดยแผนกค้นคว้าทดลองที่ออกแบบให้ได้ตามสัดส่วน โดยมีคาลเดอร์เป็นผู้ควบคุมดูแลกระบวนการหล่อทั้งหมด และถ้าจำเป็นคาลเดอร์ก็จะแก้งานไปด้วย ประติมากรรมศักยดุลทั้งหมดสร้างด้วยเหล็กกล้าคาร์บอนและทาสีส่วนใหญ่เป็นสีดำนอกจากตรงที่เป็นตัวแบบที่เป็นเหล็กกล้าไร้สนิมบริสุทธิ์ จลดุลทำด้วยอะลูมิเนียมและทำด้วยดิวราลูมิน",
"title": "อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์"
}
] |
1647 | เรดโปเกมอนและกรีนโปเกมอนเป็นวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทพัฒนาโดยบริษัทอะไร? | [
{
"docid": "747944#0",
"text": "โปเกมอนภาคเรด และ โปเกมอนภาคบลู () เดิมจำหน่ายในญี่ปุ่นในชื่อ พ็อกเก็ตมอนสเตอส์: เรดและกรีน เป็นวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทพัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีกและจำหน่ายโดยนินเท็นโดสำหรับเครื่องเล่นเกมบอย เกมโปเกมอนภาคนี้เป็นเกมแรกของวิดีโอเกมชุดโปเกมอน ออกจำหน่ายครั้งแรกใน ค.ศ. 1996 ในชื่อภาค\"เรด\"และ\"กรีน\" สำหรับภาค\"บลู\" () ออกจำหน่ายภายหลังในปีเดียวกันเป็นรุ่นพิเศษ ต่อมาเกมจำหน่ายชื่อภาค\"เรด\"และ\"บลู\"ในอเมริกาเหนือ ยุโรป และออสเตรเลียภายในเวลา 3 ปี \"โปเกมอนภาคเยลโลว์\" ภาคพิเศษ ออกจำหน่ายราว ๆ ปีต่อมา ภาค\"เรด\"และ\"กรีน\"ถูกนำมาทำใหม่สำหรับเครื่องเล่นเกมบอยอัดวานซ์ในชื่อ\"โปเกมอนภาคไฟร์เรด\"และ\"ลีฟกรีน\" จำหน่ายใน ค.ศ. 2004",
"title": "โปเกมอน เรดและบลู"
},
{
"docid": "747944#28",
"text": "โปเกมอน ภาคไฟร์เรด และโปเกมอนภาคลีฟกรีน () เป็นเกมภาคปรับปรุงวิดีโอเกมโปเกมอนภาค\"เรด\"และ\"กรีน\"ที่เป็นต้นฉบับ ตัวเกมถูกพัฒนาโดยเกมฟรีกและจัดจำหน่ายโดยนินเท็นโด สำหรับลงเครื่องเกมบอยอัดวานซ์ และมีอุปกรณ์เสริมคือตัวปรับไร้สายสำหรับเกมบอยอัดวานซ์ ซึ่งเดิมแถมมาพร้อมกับเกม อย่างไรก็ตามเนื่องจากลูกเล่นใหม่ที่เพิ่มเข้ามาใน\"ไฟร์เรด\"และ\"ลีฟกรีน\" (เช่นการเปลี่ยนแปลงค่าสถิติท่าพิเศษ (Special) แยกเป็นโจมตีท่าพิเศษ (Special Attack) และป้องกันท่าพิเศษ (Special Defense) ) การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่เข้ากับภาคที่เก่ากว่า ไฟร์เรดและลีฟกรีนวางจำหน่ายญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 2004 และออกจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปในวันที่ 9 กันยายน และ 1 ตุลาคม ตามลำดับ หลังวางจำหน่ายได้เกือบสองปี นินเท็นโดนำเกมภาคนี้มาตีตลาดใหม่ในชื่อ \"เพลเยอส์ชอยส์\"",
"title": "โปเกมอน เรดและบลู"
},
{
"docid": "748951#0",
"text": "โปเกมอนภาคไฟร์เรด และโปเกมอนภาคลีฟกรีน () เป็นเกมภาคทำใหม่จากวิดีโอเกม\"โปเกมอนภาคเรด\"และ\"บลู\"ที่วางจำหน่ายใน ค.ศ. 1996 เกมภาคใหม่นี้พัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด สำหรับเครื่องเล่นเกมบอยแอ็ดวานซ์ และสามารถใช้กับอุปกรณ์เกมบอยแอ็ดวานซ์ไวร์เลสอะแด็ปเตอร์ ซึ่งมีพ่วงมากับเกม ภาค\"ไฟร์เรด\"และ\"ลีฟกรีน\"จำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นในเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 และจำหน่ายในอเมริกาเหนือและยุโรปในเดือนกันยายนและตุลาคม ตามลำดับ นินเท็นโดทำการตลาดเกมนี้โดยติดป้ายเกมให้เป็นเพลเยอส์ชอยส์",
"title": "โปเกมอน ไฟร์เรดและลีฟกรีน"
}
] | [
{
"docid": "768368#0",
"text": "โปเกมอนภาคเอกซ์ และโปเกมอนภาควาย () เป็นวิดีโอเกมสวมบทบาทพัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด สำหรับเครื่องเล่นนินเท็นโด 3ดีเอส เกมเป็นเกมลำดับแรกในเจนเนอเรชันที่หกของเกมชุด\"โปเกมอน\" เกมประกาศเปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 2013 โดยซะโตะรุ อิวะตะ ผ่านรายการนินเท็นโดไดเรกต์ ทั้งภาค\"เอกซ์\"และ\"วาย\"ออกจำหน่ายทั่วโลกในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2013 ทำให้เป็นเกมแรกที่นินเท็นโดวางจำหน่ายพร้อมกันทั่วโลกในทุกภูมิภาค",
"title": "โปเกมอน เอกซ์และวาย"
},
{
"docid": "748117#0",
"text": "โปเกมอนภาคโกลด์ และ ภาคซิลเวอร์ () เป็นเกมโปเกมอนเกมที่สองในวิดีโอเกมชุดโปเกมอนพัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด สำหรับเครื่องเล่นเกมบอย ต่อมาเกมได้ปรับปรุงและทำการตลาดสำหรับเครื่องเล่นเกมบอยคัลเลอร์ ออกจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1999 ออสเตรเลียและอเมริกาเหนือใน ค.ศ. 2000 และยุโรปใน ค.ศ. 2001 \"โปเกมอนภาคคริสตัล\" เกมภาคพิเศษ ออกจำหน่ายสำหรับเครื่องเล่นเกมบอยคัลเลอร์ราว ๆ หนึ่งปีหลังของแต่ละภูมิภาค ใน ค.ศ. 2009 นินเท็นโดนำภาค\"โกลด์\"และ\"ซิลเวอร์\"มาทำใหม่สำหรับเครื่องนินเท็นโด ดีเอส ในชื่อ \"โปเกมอนภาคฮาร์ตโกลด์\"และ\"โซลซิลเวอร์\"",
"title": "โปเกมอน โกลด์และซิลเวอร์"
},
{
"docid": "750481#0",
"text": "โปเกมอนภาคไดมอนด์ และภาคเพิร์ล () เป็นเกมสวมบทบาทพัฒนาโดยเกมฟรีกและจำหน่ายโดยนินเท็นโด สำหรับเครื่องเล่นนินเท็นโด ดีเอส เมื่อรวมกับเกมภาคทำใหม่ โปเกมอนแพลทินัม เกมโปเกมอนสามภาคนี้เป็นเกมที่ห้าและเป็นเจเนอเรชันที่สี่ของเกมชุด\"โปเกมอน\" เกมออกจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2006 ต่อมาจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย และยุโรปตลอดปี ค.ศ. 2007",
"title": "โปเกมอน ไดมอนด์และเพิร์ล"
},
{
"docid": "805803#2",
"text": "โปเกมอน โก เป็นวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทความเป็นจริงเสริมหลายผู้เล่นของซีรีส์\"โปเกมอน\" ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยไนแอนติก ที่ได้รับการเปิดตัวในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 สำหรับอุปกรณ์มือถือในระบบไอโอเอสและแอนดรอยด์ เพียงแค่หนึ่งสัปดาห์หลังจากการเปิดตัวของเกมนี้ ก็ได้สร้างความนิยมเป็นอย่างมาก และมีมูลค่าทางการตลาดที่เพิ่มขึ้นให้แก่บริษัทนินเทนโดซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นเดอะโปเกมอนคอมพานีจำนวน 32 เปอร์เซ็นต์ ร่วม 8 พันล้านดอลลาร์",
"title": "โปเกมาเนีย"
},
{
"docid": "811638#0",
"text": "โปเกมอน ภาคเยลโลว์: สเปเชียล พิกะจู เอดิชั่น เป็นที่รู้จักกันในชื่อโปเกมอน ภาคเยลโลว์ เป็นวิดีโอเกมเล่นตามบทบาทในปี1998 ที่พัฒนาโดยเกมฟรีก และเผยแพร่โดยนินเท็นโด สำหรับเกมบอยที่เป็นเครื่องเล่นเกมพกพาในเครื่องเล่นวิดีโอเกม ซึ่งเป็นภาคปรับปรุงของโปเกมอน ภาคเรดและภาคบลู พร้อมกับได้วางจำหน่ายโปเกมอน ภาคเยลโลว์: สเปเชียล พิกะจู เอดิชั่นพร้อมกับเครื่องเล่นเกมบอยคัลเลอร์พร้อมๆกัน",
"title": "โปเกมอน เยลโลว์"
},
{
"docid": "987381#0",
"text": "โปเกมอน เล็ตส์โกพิคาชู! และ โปเกมอน เล็ตส์โกอีวุย! (; ) เป็นเกมภาคทำใหม่จากวิดีโอเกมโปเกมอนเยลโลว์ที่วางจำหน่ายใน ค.ศ. 1998 เกมภาคใหม่นี้พัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด ออกจำหน่ายนินเท็นโดสวิตช์ทั่วโลกในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ภาพนี้มีการเพิ่มตัวละครใหม่อีวุย และ สามารถเชื่อมต่อกับเกมโปเกมอน โก",
"title": "โปเกมอน เล็ตส์โกพิคาชู! และเล็ตส์โกอีวุย!"
},
{
"docid": "748215#0",
"text": "โปเกมอนภาครูบีและโปเกมอนภาคแซฟไฟร์ () เป็นเกมลำดับที่สามในวิดีโอเกมชุด\"โปเกมอน\" พัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโดสำหรับเครื่องเล่นเกมบอยแอดวานซ์ เกมออกจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นในปลายปี ค.ศ. 2002 และต่างประเทศใน ค.ศ. 2003 โปเกมอนภาค\"เอเมอรัลด์\" เป็นเกมภาคพิเศษ ออกจำหน่ายใน 2 ปีหลังของแต่ละภูมิภาค เกมโปเกมอนสามเกมนี้ (โปเกมอนภาค\"รูบี\" \"แซฟไฟร์\" และ\"เอเมอรัลด์\") เป็นเกมโปเกมอนเจนเนอเรชันที่สาม หรือเรียกว่า \"แอดวานซ์เจนเนอเรชัน\" (advanced generation) โปเกมอนภาคทำใหม่ ชื่อภาค\"โอเมการูบี\"และ\"อัลฟาแซฟไฟร์\" ออกจำหน่ายสำหรับเครื่องนินเท็นโด 3ดีเอส ทั่วโลกในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014 หลังจำหน่ายภาค\"รูบี\"และ\"แซฟไฟร์\" 2 ปีพอดี ยกเว้นในยุโรป ที่ออกจำหน่ายวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014",
"title": "โปเกมอน รูบีและแซฟไฟร์"
}
] |
3278 | บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร ออกอากาศตอนสุดท้ายเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "168195#0",
"text": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร (ญี่ปุ่น: 1リットルの涙; โรมะจิ: Ichi Rittoru no Namida, อิชิ ริตโตะรุ โนะ นะมิดะ; แปล: น้ำตาหนึ่งลิตร) เป็นละครโทรทัศน์สัญชาติญี่ปุ่นที่สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลใจจากบันทึกประจำวันชื่อ อิชิริตโตะรุโนะนะมิดะ ของอะยะ คิโต (ญี่ปุ่น: 木藤亜也; โรมะจิ: Aya Kitō) (19 กรกฎาคม 2505—23 เมษายน 2531) ผู้ป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลังและต้องเผชิญชีวิตกระทั่งตายก่อนวัยอันควร",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
}
] | [
{
"docid": "168195#12",
"text": "ฟูจิทีวีได้ทำรายการตอนพิเศษเป็นเรื่องราวหลังจากที่อะยะเสียชีวิตไปแล้ว น้องสาวของอะยะได้เป็นพยาบาล ส่วนฮะรุโตะได้เป็นหมอที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่อายะเคยรักษาตัวอยู่ ฮะรุโตะต้องพบกับคนไข้ที่เป็นเด็กสาวที่ดื้อดึงไม่ร่วมมือในการรักษา จนในที่สุดฮารุโตะต้องนำเธอขึ้นไปบนดาดฟ้าโรงพยาบาลและเล่าเรื่องราวของอายะให้ฟัง รายการตอนพิเศษนี้เป็นการเล่าเรื่องราวย้อนในตอนที่ผ่านๆ มาและแสดงให้เห็นว่าการต่อสู้ของอายะเป็นแบบอย่างให้กับคนอื่นๆ ได้อย่างไร",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#24",
"text": "หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์ฟูจิ หมวดหมู่:ละครแนวชีวิต หมวดหมู่:ละครแนวชีวประวัติ หมวดหมู่:ละครที่สร้างจากหนังสือ หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ช่องทีวีไทย",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#18",
"text": "วันแพร่ภาพ: 4 กรกฎาคม—20 ตุลาคม 2550 เวลาแพร่ภาพ: วันเสาร์ เวลา 18:00—19:00 นาฬิกา สถานีโทรทัศน์: เอททีวี (8TV)",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#15",
"text": "วันแพร่ภาพ: 15 ตุลาคม—30 ตุลาคม 2549",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#5",
"text": "หลังจากนั้นเมื่อเธอทราบความจริงเกี่ยวกับโรคร้ายและอาการของโรคได้ปรากฏเด่นชัดขึ้น ความรักครั้งแรกกับรุ่นพี่ ยุจิ คะวะโมะโตะ (Yuji Kawamoto) ในโรงเรียนก็ค่อยๆ สิ้นสุดลง เพราะรุ่นพี่หลีกเลี่ยงที่จะคบกับเธอที่ต้องเข้าออกโรงพยาบาลเป็นประจำ ในทางตรงข้ามฮะรุโตะที่เคยเป็นคนเฉยเมยไม่ไม่ใส่ใจใครก็กลับมาเอาใจใส่เธอมากขึ้น ครั้งหนึ่งรุ่นพี่คนนี้ทอดทิ้งให้อะยะต้องรอท่ามกลางสายฝนที่สวนสัตว์แต่ฮะรุโตะก็รู้ว่ารุ่นพี่จะไม่มาจึงได้ไปพาอะยะกลับโรงพยาบาล จากนั้นความสัมพันธ์ของทั้งสองก็แนบแน่นขึ้นเป็นลำดับ",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#1",
"text": "ละครเรื่องนี้สร้างขึ้นจากชีวิตจริงของเด็กสาวชาวญี่ปุ่นวัยสิบห้าปีชื่ออะยะ คิโต ซึ่งป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง ซึ่งเป็นโรคที่ไร้หนทางเยียวยา กระทั่งตายเมื่อวัยยี่สิบห้า บทละครอ้างอิงบันทึกประจำวันที่อะยะเขียนขึ้นกระทั่งไม่สามารถจับปากกาอีกต่อไปได้",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#2",
"text": "ละครเริ่มต้นจากสมัยที่อะยะกำลังจะสอบเข้าโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่ง เธอนั่งหลับบนรถจนเลยโรงเรียนไปเกือบจะเข้าสอบไม่ทัน อะยะต้องวิ่งสุดชีวิตเพื่อไปเข้าสอบให้ทันและระหว่างนั้นได้ไปพบกับฮะรุโตะ (Haruto Aso) ซึ่งกำลังคิดจะไม่เข้าสอบอยู่พอดี แต่ด้วยความสงสารอะยะจึงต้องถีบจักรยานไปส่งเธอที่สนามสอบท่ามกลางฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก ผลปรากฏว่าในที่สุดทั้งสองคนจึงได้เข้าสอบและผ่านเข้าไปเรียนในชั้นเรียนเดียวกัน เนื่องจากทั้งสองเป็นนักเรียนหญิงและนักเรียนชายที่เป็นชื่อแรกของห้องเรียน ทั้งสองจึงถูกคุณครูเลือกให้เป็นตัวแทนของชั้นเรียนในการประสานงานกิจกรรมของห้อง",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#3",
"text": "ความผิดปกติค่อยๆ เกิดขึ้นกับอะยะทีละเล็กทีละน้อยมีแต่มารดาของอะยะซึ่งมีอาชีพในการให้คำปรึกษาสุขภาพเท่านั้นที่สังเกตรับรู้ได้ แม่ของอะยะเป็นคนที่ละเอียดรอบคอบและเอาใจใส่ครอบครัว เธอพบว่าหลายครั้งที่อายะล้มนั้นจะไม่เอามือยันพื้นเหมือนคนทั่วไป ตลอดจนการหยิบจับสิ่งของก็ไม่ถนัดนัก เคยคีบอาหารหล่นอยู่บ่อยๆ และรินเหล้าหกใส่คุณพ่อในวันสำคัญ จนกระทั่งวันหนึ่งอะยะล้มลงอย่างแรงขณะวิ่งไปโรงเรียนยามเช้า คางแตกเพราะกระแทกถนน มารดาของอะยะจึงรุดพาตัวไปโรงพยาบาลและถือโอกาสนี้ในการตรวจหาสาเหตุที่เกิดขึ้น",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168173#0",
"text": "อิชิริตโตะรุโนะนะมิดะ (; โรมะจิ: Ichi Rittoru no Namida; แปล: น้ำตาหนึ่งลิตร; “บันทึกแห่งน้ำตา” ก็เรียก) เป็นบันทึกประจำวันของอะยะ คิโต (; โรมะจิ: Aya Kitō) (19 กรกฎาคม 2505—23 เมษายน 2531) ว่าด้วยประสบการณ์การป่วยเป็นโรคสไปโนเซระเบลลาร์อาแท็กเซียของผู้เขียน โดยมารดาของอะยะและแพทย์่ผู้รักษาร่วมเขียนในตอนสุดท้ายด้วยหลังจากอะยะไม่สามารถเขียนหนังสือได้เองแล้ว บันทึกดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์หลังจากที่ผู้เขียนเสียชีวิตไปแล้ว ด้วยแรงบันดาลใจจากหนังสือดังกล่าวได้มีการนำเรื่องไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ในญี่ปุ่น ซึ่งต่อมาได้แพร่ภาพในหลายประเทศทั่วโลก หลักการออกอากาศดังกล่าวหนังสือจึงได้รับความสนใจอีกครั้งหนึ่งและได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ รวมทั้งภาษาไทยด้วย",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร (หนังสือ)"
},
{
"docid": "168173#3",
"text": "ละครโทรทัศน์ของญี่ปุ่นชื่อ “อิชิริตโตะรุโนะนะมิดะ” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ฟูจิใน พ.ศ. 2548 โดยสร้างขึ้นจากบันทึกดังกล่าวของอะยะ ตัวละครหลักได้แก่ อะยะ อิเกะอุชิ (Aya Ikeuchi) แสดงโดยเอะริกะ ซะวะจิริ (Erika Sawajiri) ซึ่งเป็นเด็กหญิงที่ป่วยเป็นโรคสไปโนเซระเบลลาร์อาแท็กเซียและถึงแก่ความตายเช่นเดียวกับอะยะ คิโต",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร (หนังสือ)"
},
{
"docid": "185166#0",
"text": "เอริกะ ซาวาจิริ () หรือ นักร้องในนามแฝงที่ชื่อว่า ERIKA เป็นนักแสดง นางแบบ และนักร้องชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2529 ที่เมืองเนริมะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เธอเริ่มต้นอาชีพนักร้องภายใต้นาม Kaoru Amane จากการแสดงละครเรื่องไทโยโนะอุตะ ส่วนงานเพลงเธอได้ใช้ชื่อว่า ERIKA ภายใต้สังกัดโซนี่ มิวสิก ประเทศญี่ปุ่น โดยเธอโด่งดังจากการแสดงละครเรื่องบันทึกน้ำตา 1 ลิตร ทางช่องทีบีเอส",
"title": "เอริกะ ซาวาจิริ"
},
{
"docid": "168195#16",
"text": "วันแพร่ภาพ: 4 พฤษภาคม—18 พฤษภาคม 2550",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#23",
"text": "โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง อิชิริตโตะรุโนะนะมิดะ (น้ำตาหนึ่งลิตร)",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#8",
"text": "การป่วยของอะยะส่งผลกระทบต่อคนรอบข้างทุกคน และสะท้อนให้เห็นถึงความรักความเอาใจใส่ที่ครอบครัวมีให้กับเธอ ครั้งถึงแม่ของอะยะถึงกับกล่าวว่า \"แม่ขอโทษที่เป็นโรคนี้แทนหนูไม่ได้\" และน้องสาวของเธอที่เคยอิจฉาริษยาอายะมาโดยตลอดก็กลับตัวกลับใจตั้งใจเรียนเพื่อสอบเข้าโรงเรียนเดียวกับอะยะให้ได้ เพื่อสานฝันที่อะยะไม่อาจเดินทางไปจนสุดทาง น้องชายคนเดียวของอะยะก็ต้องกล้าหาญที่จะไม่ยอมให้ใครมาดูถูกดูแคลนพี่สาวตัวเองและภูมิใจในพี่อะยะที่แม้จะป่วยพิกลพิการแต่ก็ฝึกสอนเขาเล่นฟุตบอลจนได้รับคัดเลือกให้ไปเล่นยิงประตูได้",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "667107#3",
"text": "เพลง น้ำตาสุดท้าย ติดอันดับสูงสุดที่ 1 จากการจัดอันดับของซี้ดเอฟเอ็ม ในชาร์ตของ ซี้ดเอฟเอ็ม ชาร์ตท็อป 20 ประจำวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2556 และติดอันดับสูงสุดที่ 6 จากการจัดอันดับของ95.5 เอฟเอ็ม เวอร์จิ้นฮิตซ์ ในชาร์ตของ 95.5 เอฟเอ็ม เวอร์จิ้นฮิตซ์ ชาร์ตท็อป 40 ประจำวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 โดยวัดจากการออกอากาศของคลื่นวิทยุในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนาน 40 สถานี",
"title": "น้ำตาสุดท้าย"
},
{
"docid": "168195#10",
"text": "เวลาที่ล่วงเลยไปค่อยๆ นำเอาความสามารถที่อะยะเคยมีไปทีละน้อย จากที่เคยเดินได้ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริงและโลกแห่งความฝัน ก็กลายเป็นต้องอยู่ในรถเข็นและในที่สุดแม้กระทั่งในความฝันอะยะก็เห็นตัวเองต้องนั่งอยู่ในรถเข็นเช่นกัน ด้วยโรคที่รุมเร้าทำให้เธอพูดได้ไม่ชัดเจนและไม่จบประโยค แต่คนที่ตั้งใจฟังอย่างฮะรุโตะก็เข้าใจเธอได้เสมอ เธอให้กำลังใจตัวเองว่าจะไม่พูดถึงสิ่งที่เคยทำได้ แต่จะพูดถึงที่ทำได้ในวันนี้ จนกระทั่งในปั้นปลายชีวิตของเธอ อะยะสื่อสารกับคนรอบข้างโดยการใช้นิ้วที่สั้นไหวชี้ตัวอักษรบนกระดานตัวอักษร แต่เธอก็ไม่เคยย่อท้อที่จะทำในสิ่งที่เธอยังทำได้อยู่",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#20",
"text": "วันแพร่ภาพ: 25 พฤษภาคม 2552-19 มิถุนายน 2552 เวลาแพร่ภาพ: วันจันทร์—วันศุกร์ เวลา 10:15—10:45 นาฬิกา",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "627955#0",
"text": "บันทึกกรรม เป็นละครชุดจบในตอนสะท้อนสังคมในรูปแบบการถ่ายทำแบบภาพยนตร์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ออกอากาศเทปแรกวันที่ 7 พฤศจิกายน 2552–27 มกราคม 2559 ทุกวันเสาร์ เวลา 16.15 - 17.00 น. , 14.45 - 15.30 น. ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557 เป็นต้นไปทางสถานีได้ปรับเปลี่ยนวัน-เวลาออกอากาศใหม่ ทุกวันพุธ เวลา 23.15 - 00.15 น. โดยออกอากาศสัปดาห์เว้นสัปดาห์สลับกับรักจัดเต็ม และตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ทางสถานีได้จัดผังรายการใหม่โดยให้ออกอากาศทุกคืนวันพุธ เวลา 23.20 น. เป็นต้นไป ออกอากาศหลังจบรายการ ข่าว 3 มิติ และล่าสุดกับชื่อใหม่ว่า เรื่องดีดี โดย บันทึกกรรม ออกอากาศ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.30 - 10.30 น. สร้างโดย บริษัท มายน์แอทเวิร์คส์ จำกัด โดยออกอากาศตอนสุดท้ายของ เรื่องดีดี โดย บันทึกกรรม ไปเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2559",
"title": "บันทึกกรรม"
},
{
"docid": "168195#19",
"text": "วันแพร่ภาพ: 5 พฤษภาคม 2551-9 มิถุนายน 2551 เวลาแพร่ภาพ: วันจันทร์—วันอังคาร เวลา 20:30—21:30 นาฬิกา สถานีโทรทัศน์: ทีวีไทย",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#9",
"text": "ฮารุโตะเป็นคนรักธรรมชาติและชอบเลี้ยงสัตว์ อะยะชอบให้เขาเล่าเรื่องสัตว์ต่างๆ ให้ฟังอยู่เสมอ จนวันหนึ่งอารุโตะพาอะยะไปเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ อะยะชอบปลาโลมานั้นสื่อสารกันได้ระยะใกล้โดยมิต้องใช้สุ้มเสียง ฮะรุโตะจึงซื้อที่ห้อยโทรศัพท์มือถือรูปปลาโลมาให้เป็นของขวัญ อะยะและฮะรุโตะจึงมีที่ห้อยโทรศัพท์รูปปลาโลมานี้เป็นเครื่องสื่อใจถึงกัน",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#11",
"text": "ด้วยเหตุที่ทราบว่าคงไม่อาจใช้ชีวิตอย่างคนทั่วไป ไม่มีอนาคตและไม่อาจแต่งงานได้ วันหนึ่งหลังจากที่กลับจากงานแต่งงานของคุณครูโรงเรียนผู้ทุพพลภาพ อะยะจึงคืนของขวัญที่ฮะรุโตะมอบให้ ตอนจบของเรื่อง อะยะเสียชีวิตลงโดยสงบ เรื่องราวของเธอเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้ป่วยจำนวนมากมีกำลังใจในการต่อสู้ชีวิตต่อไป",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#6",
"text": "อะยะได้เรียนรู้ว่าฮะรุโตะไม่ใช้คนเย็นชาอย่างไม่มีเหตุผล แต่เป็นเพราะพี่ชายของเขาได้เสียชีวิตไปอย่างกะทันหันทำให้เขาหมดอาลัยตายอยากกับชีวิตและเคยคุยกับอะยะว่ามนุษย์นี่เห็นแก่ตัวที่อยากจะมีชีวิตอยู่ไปไม่รู้จักจบสิ้นในขณะที่พืชและสัตว์ดูเหมือนจะมีช่วงชีวิตของมัน ครั้งหนึ่งอะยะถึงกับถามฮะรุโตะว่าชีวิตใครจะเป็นจะตายมันไม่สำคัญกับเขาเลยหรือ ฮะรุโตะในตอนนั้นก็ตอบว่าไม่ แต่ต่อมาฮะรุโตะจึงได้เรียนรู้ความหมายของการดำรงอยู่นี้จากอะยะและตั้งใจเล่าเรียนเพื่อเป็นแพทย์ในอนาคต นับแต่ได้มาพบกับอะยะ ฮะรุโตะได้เปลี่ยนแปลงตนเองจากหน้ามือเป็นหลังมือ ตั้งใจค้นคว้าตำราการแพทย์เจริญรอยตามบิดาที่เป็นอาจารย์แพทย์ประจำมหาวิทยาลัยโจนัน",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#17",
"text": "วันแพร่ภาพ: 2 กรกฎาคม—18 กรกฎาคม 2550",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#4",
"text": "งานชิ้นแรกที่อะยะและฮะรุโตะได้รับมอบหมายนั้นก็คือการประกวดร้องเพลงประสานเสียง ฮารุโตะแรกเริ่มนั้นมีท่าทีเย็นชาและไม่สุงสิงกับผู้คนจึงไม่ร่วมมือกับอะยะเท่าที่ควร อะยะต้องรับบทผู้อำนวยเพลงถือไม้บาตองกำกับการร้องประสานเสียงของชั้นเรียน ระหว่างที่การฝึกซ้อมดำเนินไป อะยะก็ต้องเข้ารับการตรวจที่โรงพยาบาลประกอบกันไป บางครั้งในการฝึกซ้อมอาการของโรคได้กำเริบขึ้นมาจนผิดสังเกตจนอายะพลั้งทำโน้ตเพลงหล่นกระจัดกระจายทั่วพื้นห้อง แต่ก็ไม่มีใครทราบว่าเกิดอะไรขึ้น วันสุดท้ายก่อนการแสดงนั้นพ่อแม่ของอะยะไปที่โรงพยาบาลและรับทราบแล้วว่าอะยะป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลังซึ่งเป็นโรคที่ไม่อาจรักษาให้หายได้ แต่อะยะยังไม่รู้ความจริงดังกล่าวนี้และยังขึ้นอำนวยเพลงอย่างเต็มภาคภูมิอย่างคนปกติเป็นครั้งสุดท้าย",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#7",
"text": "แม้ว่าอาการของอะยะจะยิ่งทรุดลงแต่ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองก็ยิ่งแนบแน่นขึ้น จนกระทั่งวันหนึ่งอะยะก็ไม่สามารถอยู่ที่โรงเรียนของคนปกติได้อีกต่อไปเธอต้องตัดสินใจย้ายไปเรียนที่โรงเรียนของผู้ทุพพลภาพ การตัดสินใจที่จะต้องจากโรงเรียนเดิมของเธอไปยังโรงเรียนแห่งใหม่นี้เธอกล่าวว่า \"ต้องเสียน้ำตาถึงหนึ่งลิตร ถึงจะตัดสินใจได้\"",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168195#21",
"text": "เพลงประกอบละครทั้งหมดประพันธ์ขึ้นโดยซุซุมุ อุเอะดะ (Susumu Ueda) รายชื่อเพลงอย่างเป็นทางการตามที่วางจำหน่ายเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2548 มีดังต่อไปนี้ตามลำดับ",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
},
{
"docid": "168173#1",
"text": "อะยะ คิโตป่วยเป็นสไปโนเซระเบลลาร์อาแท็กเซียเมื่ออายุได้สิบห้าปี โรคดังกล่าวกระทำให้บุคคลสูญเสียความสามารถในการควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายตนเองโดยช้า ๆ แต่ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลมิได้สูญเสียไปด้วย อะยะทราบข่าวร้ายนี้หลังจากที่ตนเสียความสามารถดังกล่าวไปมากแล้ว อย่างไรก็ดี ปัจจุบันยังไม่มีหนทางเยียวยาโรค",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร (หนังสือ)"
},
{
"docid": "168173#2",
"text": "แม้จะได้รับความช่วยเหลือจากครอบครัวโดยกรรมวิธีทางแพทย์ตลอดจนกรรมวิธีอื่น ๆ แต่ท้ายที่สุด อะยะก็จำนนต่อโรคดังกล่าวและถึงแก่ความตายเมื่ออายุได้ยี่สิบห้าปี",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร (หนังสือ)"
},
{
"docid": "168195#14",
"text": "วันแพร่ภาพ: 11 ตุลาคม—20 ตุลาคม 2548 สถานีโทรทัศน์: ฟูจิทีวี",
"title": "บันทึกน้ำตาหนึ่งลิตร"
}
] |
3396 | กลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ คืออะไร? | [
{
"docid": "18296#0",
"text": "อะมิโนไกลโคไซด์ (อังกฤษ:Aminoglycosides) เป็นกลุ่มของยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียยากลุ่มนี้ได้แก่กลไกการออกฤทธิ์ของอะมิโนไกลโคไซด์คือการไปเชื่อมต่อกับไรโบโซม (ribosome) 30เอส ของแบคทีเรียทำให้เกิดความผิดพลาดในการอ่านรหัส ที-อาร์เอ็นเอ (t-RNA) และแบคทีเรียไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนเพื่อการเจริญเติบโตได้",
"title": "อะมิโนไกลโคไซด์"
}
] | [
{
"docid": "911835#2",
"text": "เป็นที่ทราบกันดีว่ายากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งอาร์บีกาซินก็เป็นหนึ่งในยากลุ่มนี้ จะออกฤทธิ์โดยจับกับหน่วยย่อย 30 เอสบนไรโบโซมของแบคทีเรีย ทำให้ขึ้นตอนการแปลรหัสพันธุกรรมของทีอาร์เอ็นเอนั้นเกิดความผิดพลาด ทำให้แบคทีเรียนั้นๆไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตได้ ส่งผลให้เซลล์แบคทีเรียนั้นตายไปในที่สุด ทั้งนี้ เนื่องจากการขนส่งกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์เข้าสู่เซลล์ของเชื้อแบคทีเรียนั้นจำเป็นต้องมีการใช้พลังงาน ซึ่งแบคทีเรียกลุ่มที่ไม่ต้องการออกซิเจนนั้นมีพลังงานไม่มากพอที่จะใช้ในกระบวนการนี้ ทำให้กลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์มีผลต้านเชื้อแบคทีเรียกลุ่มนี้ได้น้อย",
"title": "อาร์บีกาซิน"
},
{
"docid": "26357#9",
"text": "อะมิกาซินมีอาการไม่พึงประสงค์ที่คล้ายคลึงกันกับยาอื่นในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญและมีความรุนแรงมากจนต้องได้รับการเฝ้าระวังและติดตามการเกิดอาการดังกล่าวอย่างใกล้ชิดคือ การเกิดพิษต่อไต และการเกิดพิษต่อหู ซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรงจนทำให้หูหนวกถาวรได้ โดยอาการไม่พึงประสงค์ดังข้างต้นมีอุบัติการณ์การเกิดประมาณร้อยละ 1–10% ของผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาใดๆในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ทั้งหมด โดยกลไกการเกิดคาดว่าเป็นผลมาจากการที่มียาดังกล่าวสะสมในไตและหูชั้นในมากเกินไป จนทำให้เกิดพยาธิสภาพในอวัยวะดังกล่าว",
"title": "อะมิกาซิน"
},
{
"docid": "313736#0",
"text": "ไกลโคสะมิโนไกลแคน () หรือ มิวโคโพลีแซ็กคาไรด์ () เป็นโพลีแซ็กคาไรด์สายยาวไม่แตกแขนงซึ่งประกอบด้วยหน่วยไดแซ็กคาไรด์ซ้ำๆ หลายหน่วย ซึ่งหน่วยที่ซ้ำประกอบจากน้ำตาลเฮกโซส (หรือน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม) หรือกรดเฮกซูโรนิก เชื่อมกับเฮกโซซามีน (น้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอมที่มีส่วนประกอบของไนโตรเจน)",
"title": "ไกลโคสะมิโนไกลแคน"
},
{
"docid": "300908#0",
"text": "คาร์ดิแอกไกลโคไซด์ () เป็นสารในกลุ่มสเตอรอยด์ไกลโคไซด์จากธรรมชาติ มักพบในเมตาบอลึซึมขั้นที่สองของพืชหรือเป็นสารอินทรีย์ทุติยภูมิ โครงสร้างโดยทั่วไปประกอบด้วยสองส่วน คือส่วนอะไกลโคนที่มีคาร์บอนเป็นองคร์ประกอบทั้ง 23 อะตอมที่เรียกว่าคาร์ดีโนไลด์ (Cardinolide) และ 24 อะตอม เรียกว่าบูฟาดีอีโนไลด์ (Bufanolide) และส่วนน้ำตาลที่มีตำแหน่งพันธะและโครงสร้างแตกต่างกันไปในหลายรูปแบบ",
"title": "คาร์ดิแอกไกลโคไซด์"
},
{
"docid": "26349#3",
"text": "โทบรามัยซินมีอาการไม่พึงประสงค์ที่คล้ายคลึงกับยาอื่นในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ได้แก่ การเกิดพิษต่อหู ซึ่งจะทำให้เกิดพยาธิสภาพในส่วนคอเคลีย และนำไปสู่การสูญเสียการได้ยินได้ในที่สุด หรือในบางรายอาจเกิดการสูญเสียการทำงานของระบบเวสติบูล จนทำให้สูญเสียสมดุลการทรงตัว อย่างไรก็ตาม อาการไม่พึงประสงค์ดังข้างต้นอาจเกิดทั้งสองอย่างร่วมกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความไวต่อยาของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตาม การเกิดพิษต่อหูจากกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์นั้นนสามารถกลับเป็นปกติได้หลังจากการหยุดใช้ยา",
"title": "โทบรามัยซิน"
},
{
"docid": "26355#0",
"text": "นีโอมัยซิน () เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีจำหน่ายในท้องตลาดในหลายรูปแบบเภสัชภัณฑ์ เช่น ครีม, ขี้ผึ้ง, และยาหยอดยา นีโอมัยซินถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1949 ในห้องปฏิบัติการของเซลมัน แวกส์มัน โดยถูกจัดให้เป็นยาปฏิชีวนะที่อยู่ในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งมีโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นน้ำตาลอะมิโน (Amino sugars) อย่างน้อย 2 โมเลกุลเชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์ (glycosidic bond)\nโดยส่วนใหญ่แล้วนีโอมัยซินจะถูกนำมาใช้ในรูปแบบยาใช้ภายนอก เช่น นีโอสปอริน อย่างไรก็ตาม ยานี้สามารถบริหารยาโดยการรับประทานได้ แต่จำเป็นต้องใช้ร่วมกับยาปฏิชีวนะอื่น นีโอมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะที่ไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร และถูกนำมาใช้เพื่อเป็นการป้องกันโรคสมองจากตับ (hepatic encephalopathy) และภาวะสารไขมันสูงในเลือด (hypercholesterolemia) เนื่องจากการที่นีโอมัยซินออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหาร จะส่งผลให้ระดับแอมโมเนียในร่างกายต่ำลง จึงช่วยป้องกันการเกิดโรคสมองจากตับได้ โดยเฉพาะการให้ยาก่อนการผ่าตัดอวัยวะทางเดินอาหาร นอกจากนี้แล้ว นีโอมัยซินยังออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อสเตรปโตมัยซิน ซึ่งเป็นยาหลักอีกชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรักษาวัณโรค และเคยมีการใช้นีโอมัยซินในการรักษาภาวะที่เชื้อแบคทีเรียในลำไส้เล็กมีการเจริญเติบโตมากเกินไป (small intestinal bacterial overgrowth) ทั้งนี้ นีโอมัยซินไม่มีในรูปแบบยาที่ใช้สำหรับการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ เนื่องจากตัวยามีพิษต่อไตสูงเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีการผสมนีโอมัยซินปริมาณเล็กน้อยในวัคซีนชนิดฉีดบางชนิด เพื่อจุดประสงค์ในการเป็นสารกันเสีย โดยขนาดยาที่ผู้ฉีดวัคซีนจะได้รับในกรณีนี้อยู่ที่ประมาณ 25 \"μ\"g ต่อการฉีดวัคซีนนั้นหนึ่งครั้ง",
"title": "นีโอมัยซิน"
},
{
"docid": "300908#3",
"text": "คาร์ดิแอกไกลโคไซด์มีลักษณะโครงสร้างโดยทั่วไปเหมือนไกลโคไซด์ทั่วไป นั่นคือมีส่วนอะไกลโคนและน้ำตาล แต่เนื่องจากคาร์ดิแอกไกลโคไซด์เป็นสารจำพวกสเตอรอยด์ไกลโคไซด์ประเภทหนึ่ง จึงมีเสตียรอยด์นิวเคลียส (steroid nucleus) เป็นอีกหนึ่งแกนกลางและมีส่วนของแลกโตนริงที่ไม่อิ่มตัว (unsaturated lactone ring) ต่อกับคาร์บอนตำแหน่ง 17 ของเสตียรอยด์นิวเคลียส และมีน้ำตาลอาจอยู่ในรูปของ Normal sugars พวกกลูโคสและ deoxy-sugar เช่นดิจิทูโซส (Digitoxose) ต่อในตำแหน่งต่างๆ",
"title": "คาร์ดิแอกไกลโคไซด์"
},
{
"docid": "911835#3",
"text": "ยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ อย่างอาร์บีกาซินนั้น จะออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการการสังเคราะห์โปรตีนแบบไม่ผันกลับในเชื้อแบคทีเรียที่มีความไวต่อนี้ โดยยาจะเข้าจับกับหน่วยย่อย 30 เอสบนไรโบโซมของแบคทีเรีย โดยในกรณีของอาร์บีการ์ซินนั้นจะเข้าจับกับนิวคลีโอไทด์ 4 ตัวบนหน่วยย่อย 16 เอส ของไรโบมโซมและหมู่อะมิโนของโปรตีน S12 ซึ่งการเข้าจับนี้จะรบกวนกระบวนการการแปลรหัสพันธุกรรมในส่วนนิวคลีโอไทด์ลำดับที่ 1400 บนหน่วยย่อย 16 เอสของหน่วยย่อย 30 เอสบนไรโบโซม ซึ่งส่วนนี้เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการจับเบสคู่สมของทีอาร์เอ็นเอ ผลจากการเข้าจับนี้จะทำให้เอ็มอาร์เอ็นเอการแปลรหัสพันธุกรรมผิดพลาด ส่งผลให้การเรียงลำดับกรดออะโมนิในสายพอลิเปปไทด์ผิดเพี้ยนไป นำไปสู่การได้โปรตีนที่ไม่สามารถทำงานได้หรือเป็นพิษ จนทำให้โพลีไรโบโซม แยกตัวออกจากกันเป็นหน่วยย่อยของไรโบโซมที่ไม่สามารถทำงานได้",
"title": "อาร์บีกาซิน"
},
{
"docid": "911705#6",
"text": "เนื่องจากพาโรโมมัยซินจัดเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ จึงมีอาการข้างเคียงที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ สมาชิกในยากลุ่มนี้ก่อให้เกิดพิษต่อไตและต่อหู โดยอาการข้างเคียงดังกล่าวจะพบมากขึ้นเมื่อมีการใช้ยาร่วมที่มีทำให้เกิดพิษต่อไตและหูเช่นกัน เช่น การใช้พาโรโมมัยซินร่วมกับฟอสคาร์เนท จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษต่อไตมากขึ้น เป็นต้น นอกจากนี้ การใช้พาโรโมมัยซินร่วมกับโคลิสติน สามารถทำให้เกิดการกดการหายใจ (respiratory depression) และนำไปสู่อันตรายแก่ชีวิตได้ หากมีความจำเป็นต้องใช้ยานี้ร่วมกัน ต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษและควรติดตามการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้การใช้พาโรโมมัยซินชนิดฉีดร่วมกับวัคซีนอหิวาตกโรค สามารถเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะภูมิไวเกินได้ ในกรณีที่ใช้ยานี้ร่วมกับยาขับปัสสาวะที่มีฤทธิ์แรงอาจส่งผลต่อการได้ยินได้ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาทั้งสองนี้ร่วมกัน รวมไปถึงการใช้พาโรโมมัยซินร่วมกับยาซักซินิลโคลีน (Succinylcholine) อาจทำให้เกิดอันตรายที่รุนแรงกับระบบกล้ามเนื้อและประสาทได้ จึงไม่ควรรใช้ยาเหล่านี้ร่วมกัน",
"title": "พาโรโมมัยซิน"
}
] |
3421 | พระราชพิธีสิบสองเดือน เนื้อหาในพระราชนิพนธ์เล่มนี้ว่าด้วยพระราชพิธีต่าง ๆ ที่จัดขึ้นทั้งในสมัยโบราณใช่หรือไม่? | [
{
"docid": "10761#2",
"text": "เนื้อหาในพระราชนิพนธ์เล่มนี้ว่าด้วยพระราชพิธีต่าง ๆ ที่จัดขึ้นทั้งในสมัยโบราณ และในสมัยที่ทรงแต่ง รวมหลายสิบพระราชพิธีด้วยกัน ทรงเล่าถึงพระราชพิธีต่าง ๆ ด้วยสำนวนภาษาที่ไม่เคร่งครัดอย่างตำรา ในสมัยใหม่อาจเรียกได้ว่าสารคดี",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "10761#1",
"text": "พระราชพิธีสิบสองเดือนเป็น[l[ความเรียง] อธิบายถึงพระราชพิธีต่าง ๆ ที่ทำเป็นประจำในแต่ละเดือน โดยทรงค้นคว้าและแต่งขึ้นทีละเรื่อง จนได้พระราชพิธีทั้งหมด 11 เดือน ขาดแต่เดือน 11 (ทรงเริ่มต้นที่เดือน 12 ก่อน) เนื่องจากติดพระราชธุระจนไม่ได้แต่งต่อจวบสิ้นรัชสมัย\nYo yo yo",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "10761#3",
"text": "พระราชพิธีสิบสองเดือนเป็นหนังสือที่อ่านได้ไม่ยาก มีรายละเอียดของพระราชพิธีในส่วนต่าง ๆ อย่างครบถ้วน นอกจากทรงเล่าถึงพระราชพิธีตามตำรับโบราณแล้ว ยังทรงมีพระราชวินิจฉัยในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างแยบยล",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
}
] | [
{
"docid": "10761#4",
"text": "พระราชนิพนธ์เล่มนี้นับเป็นแบบอย่างทั้งการเขียนความเรียง และตำราอ้างอิงที่สำคัญเกี่ยวกับพระราชพิธีของไทย ครั้นเมื่อ สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งวรรณคดีสโมสรขึ้น พระราชนิพนธ์ พระราชพิธีสิบสองเดือน ก็ได้รับการยกย่อง ว่าเป็น \"ยอดของความเรียงอธิบาย\" นอกจากนี้ยังได้รับการจัดเป็นหนึ่งใน หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "936#108",
"text": "สมัยกรุงศรีอยุธยา พระราชวังจัดประเพณีหลวงทุกเดือน เรียก \"พระราชพิธีสิบสองเดือน\" เช่น พิธีจรดพระราชนังคัล (พิธีแรกนา), พิธีจองเปรียงลดชุดลอยโคม วันสงกรานต์ เป็นต้น พระราชพิธีสิบสองเดือนมีการรับศาสนาฮินดูเข้ามาผสมผสาน ส่วนประเพณีราษฎร์มีเกือบตลอดปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก \"ฮีตสิบสอง\" นอกจากนี้ ยังมีประเพณีขอฝนต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีพิรุณศาสตร์ขอฝน พิธีแห่นางแมว พิธีจุดบั้งไฟ เป็นต้น ประเพณีหลวงส่วนใหญ่ยกเลิกไปแล้ว ประเพณีราษฎร์ที่ยังคงปฏิบัติสืบเนื่องมาอยู่ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ เป็นต้น",
"title": "ประเทศไทย"
},
{
"docid": "10761#0",
"text": "พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เพื่อพิมพ์แจกสมาชิกหนังสือวชิรญาณ ของหอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อ พ.ศ. 2431 ซึ่งในเวลานั้นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงได้รับเลือกเป็นสภานายกประจำปี พระราชนิพนธ์เล่มนี้นับเป็นวรรณคดีชิ้นเอกเล่มหนึ่งของไทย",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "10761#6",
"text": "การพระราชพิธีกะติเกยา ตามคำพระมหาราชครู(พระมหาราชครูคนชื่ออาจ) ได้กล่าวว่าการพระราชพิธีนี้แต่ก่อนได้เคยทำในเดือนอ้าย แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้เลื่อนลงมาในเดือนสิบสอง การซึ่งจะกำหนดทำพระราชพิธีเมื่อใดนั้น เป็นพนักงานของโหรต้องเขียนฎีกาถวาย ในฎีกานั้นว่าโหรมีชื่อได้คำนวณพระฤกษ์พิธีกะติเกยากำหนดวันนั้นๆ พระมหาราชครูพิธีจะทำการราชพิธีเช่นนั้นๆ ลงท้ายว่าจะมีคำทำนาย แต่ไม่ปรากฏว่าได้รับคำทำนายขึ้นมากราบเพ็ดกราบทูลอันใดต่อไปอีก ชะรอยจะเป็นด้วยทำนายดีทุกปีจนทรงจำได้ แล้วรับสั่งห้ามเสีย ไม่ให้ต้องกราบทูลแต่ครั้งใดมาไม่ทราบเลย การซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้เลื่อนพิธีมาทำในเดือนสิบสองนั้น คือกำหนดเมื่อพระจันทร์เสวยฤกษ์กัตติกาเต็มบริบูรณ์เวลาไร เวลานั้นเป็นกำหนดพระราชพิธี การซึ่งถวายกำหนดเช่นนี้ก็แปลมาจากชื่อพิธีนั้นเอง การที่พระมหาราชครูพิธีว่าเมื่อก่อนทำเดือนอ้ายนั้น เป็นการเลื่อนลงมาเสียดอก แต่เดิมมาทำเดือนสิบสอง ครั้งเมื่อพิธีตรียัมพวายเลื่อนไปทำเดือนยี่แล้ว การพิธีนี้จึงเลื่อนตามลงไปเดือนอ้าย เพราะพระราชพิธีนี้เป็นพิธีตามเพลิงคอยรับพระเป็นเจ้าจะเสด็จลงมา ดูเป็นพิธีนำหน้าพิธีตรียัมพวาย ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้กลับขึ้นไปทำเดือนสิบสองนั้น ก็เพราะจะให้ถูกกับชื่อพิธีดังที่ว่ามาแล้ว พระราชพิธีนี้คงตกอยู่ในระหว่างกลางเดือนสิบสอง เคลื่อนไปข้างหน้าบ้างข้างหลังบ้างเล็กน้อย คงจะเกี่ยวกับพระราชพิธีจองเปรียงอยู่เสมอ การทำที่นั้น คือปลูกเกยขึ้นที่หน้าเทวสถานสามเกย สถานพระอิศวรเกย ๑ สถานมหาวิฆเนศวรเกย ๑ สถานพระนาราณ์เกย ๑ เกยสูง๔ศอกนั้น ที่ข้างเกยเอามูลโคกับดินผสมกันก่อเป็นเขาสูงศอกหนึ่งทั้ง ๔ ทิศ เรียกว่าบัพพโต แล้วเอาหม้อใหม่ ๓ ใบ ถักเชือกรอบนอกเรียกว่าบาตรแก้ว มีหลอดเหล็กวิลาศร้อยไส้ด้ายดิบเก้าเส้น แล้วมีถุงข้าวเปลือกถั่วงาทิ้งลงไว้ในหม้อนั้นทั้ง ๓ หม้อ แล้วเอาไม้ยาว ๔ ศอก เรียกว่าไม้เทพทัณฑ์ ปลายพันผ้าสำหรับชุบน้ำมันจุดไฟ ครั้งเวลาค่ำพระมหาราชครูพิธีบูชาไม้เทพทัณฑ์และบาตรแก้ว แล้วอ่านตำหรับจุดไฟในบาตรแก้ว แล้วรดน้ำสังข์จุณเจิมไม้นั้น ครั้งจบพิธีแล้วจึงได้นำบาตรแก้วและไม้เทพทัณฑ์ออกไปที่หน้าเทวสถาน เอาบาตรแก้วตั้งบนหลักริเกย เอาปลายไม้เทพทัณฑ์ที่หุ้มผ้าชุบน้ำมันจุดไฟ พุ่งไปที่บัพพโตทั้ง ๔ ทิศ เป็นการเสียงทาย ทิศบูรพาสมมติว่เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทิศทักษิณสมมติว่าเป็นสมณพราหมณ์ ทิศประจิมว่าเป็นอำมาตย์มนตรี ทิศอุดรว่าเป็นราชฎร พุ่งเกยที่หนึ่งแล้วเกยที่สองที่สามต่อไป จนครบทั้งสามเกยเป็นไม้สิบสองอัน แล้วตามเพลิงในบาตรแก้วไว้อีกสามคืน สมมติว่าตามเพลิงคอยรับพระเป็นเจ้าเสด็จงมาเยี่ยมโลก เมื่อพุ่งไม้แล้วกลับเข้าไปสวดบูชาข้าวตอก บูชาบาตรแก้วที่จุดไฟไว้หน้าเทวสถานทั้ง ๓ สถาน ต่อไปนั้นอีกสองวันก็ไม่เป็นพิธีอันใด วันที่สามนำบาตรแก้วเข้าไปในเทวสถานรดน้ำสังข์ดับเพลิง เป็นเสด็จพระราชพิธี",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "10761#5",
"text": "ส่วนการพระราชพิธี ซึ้งได้ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันนี้นับว่าเป็นพระราชพิธีพราหมณ์ มิได้เกี่ยวข้องด้วยพระพุทธศาสนาสืบมา กำหนดที่ยกโคมนั้นตามประเพณีโบราณว่า ถ้าปีใดมีอธิกมาสให้ยกโคมตั้งแต่วันขึ้นค่ำหนึ่งไป จนวันแรมสองค่ำเป็นวันลดโคม ถ้าปีใดไม่มีอธิกมาสให้ยกโคมขึ้นสิบสี่ค่ำ เดือนอ้ายขึ้นค่ำหนึ่ง เป็นวันลดโคม อีกนันหนึ่งว่ากำหนดตามโหราศาสตร์ว่าพระอาทิตย์ถึงราศีพิจิก พระจันทร์อยู่ราศีพฤษภเมื่อใด เมื่อนั้นเปนกำหนดที่จะยกโคม อีกนัยหนึ่งกำหนดดวงดาวกัตติกาคือดาวลูกไก่ ถ้าเห็นดาวลูกไก่นั้น ตั้งแต่ค่ำจนรุ่งเมื่อใด เป็นเวลายกโคม การที่ยกโคมนั้นตามคำโบราณกล่าวว่ายกขึ้นเพื่อบูชาพระเจ้าทั้งสาม คือพระอิศวร พระนารายณ์ พระพรหม การซึ่งว่าบูชาพระเจ้าทั้งสามนี้เป็นต้นตำราแท้ในเวลาถือไสยศาสตร์ แต่ครั้งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงนับถือพระพุทธศาสนา ก็กล่าวว่าบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในดาวดึงส์พิภพ และบูชาพระพุทธบาท ซึ่งปรากฏอยู่ ณ หาดทรายเรียกว่านะมะทานที เป็นฝูงนาคทั้งปวงสักการบูชาอยู่ แต่ถึงว่าโคมไฟที่อ้าวว่าบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธบาทดังนี้แล้ว ก็ยังเป็นพิธีของพราหม์พวกเดียว คือตั้งแต่พระราชพิธี พราหมณ์ก็เข้าพิธีในพระบรใมหาราชวังและเวลาเช้าถวายน้ำพระมหาสังข์ตลอดจนวันลดโคม เทียนซึ่งจะจุดโคมนั้นก็หาเปรียง คือ ไขข้อพระโคซึ่งพราหมณ์นำมาถวายทรงทา การบูชากันด้วยน้ำมันไขข้อนี้ก็เป็นลัทธิพราหมณ์แท้ เป็นธรรมเนียมสืบมา จนแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริว่าการพระราชพิธี ทั้งปวงควรจะให้เนื่องด้วยพระพุทธศาสนาทุกๆพระราชพิธี จึงโปรดให้มีการสวดมนต์เย็น ฉันเช้าก่อนเวลาที่ยกเสาโคม พระสงฆ์ที่สวดมนต์นั้น พระราชาคณะไทย ๑ พระครูปริตรไทย ๔ พราะราชาคณะรามัญ ๑ พระครูปริตรรามัญ ๔ รวมเป็น ๑๐ รูป เวลาทรงศีลแล้ว ก่อนสวดมนต์ มีอาลักษณ์อ่านคำประกาศแสดงเรื่องพระราชพิธี และพระราชดำริซึ่งทรงจัดเพิ่มเติม และพระราชทานแผ่พระราชกุศลแก่เทพยาดาทั้งปวง แล้วพระสงฆ์จึงได้สวดมนต์ต่อไป เวลาเช้าพระฤกษ์ทรงรดน้ำสังข์และเจิมเสาโคมชัยแล้วจึงได้ยก พระสงฆ์สวดชยันโตในเวลายกเสานั้นด้วย ครั้งพระสงฆ์ฉันแล้วถวายไทยทาน ขวดน้ำมัน,ไส้ตะเกียง,โคม ให้ต้องเรื่องกันกับพระราชพิธีการสวดมนต์เลี้ยงพระยกโคมนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จออกไม่ใครจะขาด เสาโคมชัยประเทียบนั้นตั้งอยู่หน้าพระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์แต่เดิมมา มีโคมชัยสามต้น โคมประเทียบสามต้น เสาใช้ไม้แก่นยาว ๑๑ วา เสาโคชันที่ยอดเสามีฉัตรผ้าขาว โครงไม้ไผ่ ๙ ชั้น โคมประเทียบ ๗ ชั้น เสาตระเกียบทาปูนขาวตลอด มีหงส์ลูกพรวนติดชักขึ้นไปให้มีเสียงดัง ตัวโคมโครงไม้ไผ่หุ้มผ้าขาว โคมบริวารเสาไม้ไผ่๑๐๐ ต้น ฉัตรยอด ๓ ชั้นทำด้วยกระดาษ ปลายฉัตรเป็นธง ตัวโครงไม้ไผ่ปิดกระดาษ โคมชัยโคมประเทียบเป็นพนักงานสี่ตำรวจ โคมบริวารเป็นพนักงานตำรวจนอกตำรวจสนม รอบพระราชวังมีโคมเสาไม้ไผ่ ตัวโคมข้างในสานเป็นชะลอม ปิดกระดาษเป็นรูปกระบอกตรงๆ เป็นกรมล้อมพระราชวังทำ ปักตามใบเสมากำแพงมีจำนวนโคม ๒๐๐ ครั้งเมื่อแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีเติมขึ้นพระที่นั่งอนันตสมาคม(พระที่นั่งอนันตสมาคมในพระราชนิพนธ์นี้หมายว่าองค์แรก สร้างเมื่อในรัชการที่๔ อยู่หลังพระที่นั่งสุทไธสวรรค์ เดี๋ยวนี้รื้อเสียแล้ว) โคมชัย ๒ต้น โคมบริวาร ๑๐ต้น แต่ใช้โคมแก้วกระจก สีเขียว,สีแดง,สีน้ำเงิน,สีเหลือง,สีขาว, อย่างละคู่ การพระราชพิธียกเสาโคมชัยนี้เมื่อเวลาเสด็จประทับอยู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ก็ทำที่พระที่นั่งอาภรณ์พิโทกข์ เมื่อเวลาเสด็จไปประทับอยู่ในพระที่นั่งฝ่ายบูรพทิศ ก็ทำที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์บ้าง ด้วยมีเสาโคมชัยขึ้นในที่นั้น และเสด็จประพาสตามหัวเมืองมีพระราชวังแห่งใด ก็โปรดให้ยกเสาโคมชัยสำหรับพระราชวังนั้น คือที่วังจันทรเกษม วังนารายณ์ราชนิเวศน์ และพระนครคิรี และที่วังปฐมเจดีย์ทุกแห่งเทียนซึ่งสำหรับจุดโคมชัยคืนละ ๒๔ เล่ม (หรือมีเสาชัยทางพระที่นั่งอนันตสมาคมก็เป็น ๓๒ เล่ม) ฟั่นที่ห้องมนัสการเล่มยาวๆพอจุดได้ ๓ ชั่วโมง ยังเหลือเศษในสวดมนต์ยกโคมชัย เจ้าพนักงานนำเทียนนี้ไปเข้าพิธีด้วย แล้วจึงเก็บไว้ถวายวันละ ๒๔ เล่มหรือครบสำรับหนึ่ง เวลาพรบเสด็จพระราชดำเนินออกประทับที่เสาโคมชัย มหาดเล็กนำพานเทียน ๒๔ เล่มกับเทียนชนวนซึ่งเสียบอยู่กับเชิงเล่ม ๑ วางในพานเล่ม๑ ขึ้นถวายพระมหาราชครูพิธีจึงนำตรับเปรีบยขึ้นถวาย บ่ายพระพักตร์สู่ทิศศรีของวันนั้น แล้วทรงเจิมทั้งมัดนั้นด้วยเปรียงเป็นรูปอุณาโลม ด้วยคาถา “อรหํ สัมมา สัมพุทโธ” แล้วจึงทรงหาเปรียงทั่วทุกเล่มเทียน ชักเทียนออกจากมัด ๖ เล่ม พระมหาราชครูจึงจุดเทียนชนวนซึ่งมีมาแต่โรงพิธี จากโคมซึ่งตามเพลิงพิธีนั้นมาถวาย ทรงเทียนชนวนซึ่งเสียบมากับเชิงจุดเพลิงจากเทียนชนวนพราหมณ์แล้วทรงบริกรรมคาถา “ทิวา ตปติ อาทิจโจ” จนถึง “มังคลัตถํ ปสิทธิยา” แล้วจึงจุดเทียน ๖ เล่มนั้น เมื่อติดทั่วกันแล้วทรงอธิษฐานด้วยคาถา “อรหํ สัมมาสัมพุธโธ” จนตลอดแล้วจึงได้พระราชทานเทียนเล่ม ๑ ให้กรมพระตำรวจรับไปปักในโคมชัยต้นที่หนึ่ง ที่เหลือนั้นอีก ๔ เล่ม พระราชทานพระเจ้าลูกเธอไปทรงจุดโคมชัยโคมประเทียบ ในเวลาเมื่อทรงชักสายในโคมชัย เจ้าพนักงานโคมแตรสังข์ฆ้องชัยพิณพาทย์จนสิ้นเวลาที่ยกโคม ทีแต่ยามแรกยามเดียว เมื่อยกโคมเสร็จแล้วจึงพระราชทานเทียนสำหรับโคมชัยโคมประเทียบที่ยังเหลืออยู่อีก ๑๘ เล่ม สำหรับเปลี่ยนอีก ๓ ยาม และเทียนชนวนที่เสียบอยู่บนเชิง ให้กรมพระตำรวจรับไปจุดโคมบริวาร เทียนชนวนซึ่งเหลืออยู่อีกเล่มหนึ่งนั้น พระราชทานพระมหาราชครูพิธีสำหรับจะได้นำมาเป็นชนวนจุดเพลิงถวายในคืนหลังๆต่อไป\n การจุดโคมชัยนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จออกทรงจุดเองไม่ใคร่จะขาด แต่ครั้งเมื่อมีเสาโคมทางหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคมขึ้น ไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงยกโคมทางพระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์นี้ โปรดให้พระเจ้าลูกเธอเสด็จมาทรงยกโคมที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคมเอง ตลอกจนโคมบริวารทั้ง ๑๒ ต้นโดยมาก แต่การซึ่งยกโคมนี้ได้ความว่า เมื่อในแผ่นดินสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เวลายกโคมยามแรกเป็นเวลาที่เข้าพระบรรทม ไม่ได้เสด็จออกทรงยกโคมเลย ต่อคราวที่ ๒ เวลาเสด็จออกทรงธรรม มหาดเล็กจึงได้นำเทียนถวายทรงจุดพระราชทานให้ กรมพระตำรวจออกเปลี่ยน แต่ในแผ่นดินปัจจุบันนี้(ร.๕)เสด็จออกบ้าง ไม่ออกบ้าง ถ้าไม่เสด็จออก พราหมณ์ต้องส่งเปรียงและเพลิงเข้าไปข้างใน ทรงจุดพระราชทานพระเจ้าลูกเธอออกมายกโคม เหมือนในแผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในเวลาที่ไม่ได้เสด็จออกนั้นและมีเสาโคมในพระบรมมหาราชวังปักประจำทุกตำหนักเจ้านาย ถ้าเป็นตำหนักเจ้าฟ้าใช้เสาไม้แก่ทาขาว ฉัตรผ้าขาว ๕ ชั้น โคมโครงไม้ไฝ่หุ้มผ้าขาวอย่างเดียวกันกับโคมประเทียบมีครบทุกพระองค์ ถ้าเป็นตำหนักพระองค์เจ้าหรือเรือนข้างในใช้เสาไม้ไผ่ โคมโครงไม้ไผ่ปิดกระดาษอย่างโคมบริวารมีทั่วทุกตำหนัก แต่โคมทั้งปวงใช้ตระเกียงด้วยถ้วยแก้วหรือชามทั้งสิ้น เหมือนโคมบริวารข้างนอก ตามวังเจ้านายซึ่งอยู่นอกพระบรมมหาราชวัง ตั้งแต่พระราชวังบวรฯ เป็นต้นลงไปมีเสาโคม แต่ในพระราชวังบวรฯเท่านั้น มีโคมชัย,โคมประเทียบ,โคมบริวาร คล้านในพระบรมมหาราชวัง วังเจ้าฟ้ามีเสาโคมเหมือนโคมชัยแต่ใช้ฉัตร ๕ ชั้น เจ้านายนอกนั้นตามแต่เจ้าของจะทำ",
"title": "พระราชพิธีสิบสองเดือน"
},
{
"docid": "20838#84",
"text": "พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลในวันวิสาขบูชานี้มีปรากฏในพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วย โดยได้ทรงกล่าวถึงการพระราชพิธีในเดือนหก คือพระราชพิธีบำเพ็ญกุศลในวันวิสาขบูชาไว้ เรียกว่า \"พิธีไพศาขย์ จรดพระราชนังคัล\" (คือในเดือน 6 มีพระราชพิธีสำคัญสองพระราชพิธีคือ \"พระราชพิธีวิสาขบูชา\" (ในหนังสือพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือนใช้ศัพท์สันสกฤต) และ\"พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ\") ปัจจุบันนี้โดยปกติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลฯ และบางครั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทน โดยสถานที่ประกอบพระราชพิธีหลักจะจัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สำนักพระราชวังจะออกหมายกำหนดการประกาศการพระราชพิธีนี้ให้ทราบทั่วไปเป็นประจำทุกปี ในอดีตจะใช้ชื่อเรียกการพระราชพิธีในราชกิจจานุเบกษาแตกต่างกัน บางครั้งจะใช้ชื่อ \" การพระราชกุศลวิสาขบูชา และกาลานุกาล\" หรือ \" การพระราชกุศลกาลานุกาลวิสาขบูชา\" หรือแม้ \"วิสาขบูชา\" ส่วนในรัชกาลปัจจุบัน สำนักพระราชวังจะใช้ชื่อเรียกหมายกำหนดการที่ชัดเจน เช่น \"หมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา พุทธศักราช 2551",
"title": "วันวิสาขบูชา"
},
{
"docid": "12095#25",
"text": "รายละเอียดการประกอบพระราชพิธีนี้ในพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชาธิบายเกี่ยวกับการพระราชพิธีในเดือนสาม คือพระราชพิธีบำเพ็ญกุศลในวันมาฆบูชาไว้ มีใจความว่า",
"title": "วันมาฆบูชา"
}
] |
1877 | เกรทโอลด์วันซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่าอะไร? | [
{
"docid": "172960#0",
"text": "เกรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ แม้เกรทโอลด์วันที่มีชื่อเสียงที่สุดจะมาจากผลงานของเลิฟคราฟท์เอง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวละครจากงานเขียนของนักประพันธ์คนอื่น",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
}
] | [
{
"docid": "172960#22",
"text": "ดูบทความหลักที่ ทซาธอกกวา",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#60",
"text": "en:Great Old One",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#54",
"text": "External link in |chapter= (help)CS1 maint: extra text: editors list (link) CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#55",
"text": "CS1 maint: extra text: editors list (link) CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#33",
"text": "(English: Y'golonac) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น Cold Print ซึ่งประพันธ์โดยแรมซีย์ แคมเบลในปี พ.ศ. 2514 ยิโกลูนัคเป็นเทพแห่งความวิปริตและลามก ถูกกักขังไว้หลังกำแพงอิฐในซากโบราณสถานลึกลับ แต่สามารถเรียกมาได้โดยการอ่านชื่อของยิโกลูนัคที่เขียนไว้ในคัมภีร์ Revelations of Glaaki บางครั้งยิโกลูนัคจะสิงร่างของมนุษย์และปรากฏตัวเป็นชายร่างอ้วนไม่มีหัวและมีปากอยู่ที่ฝ่ามือทั้งสองข้าง ยิโกลูนัคเป็นหนึ่งในเกรทโอลด์วันไม่กี่ตนที่สามารถสื่อสารด้วยภาษามนุษย์ได้ ยิโกลูนัคจะตามหามนุษย์ที่ชมชอบเรื่องวิปริตลามกเพื่อให้เป็นบริวาร ผู้ที่เรียกยิโกลูนัคมาอาจจะได้รับข้อเสนอให้เป็นนักบวชของยิโกลูนัคหรือถูกกินเป็นอาหาร",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#3",
"text": "เกรทโอลด์วันเป็นสิ่งโบราณจากต่างดาวซึ่งมีอำนาจมหาศาลและส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่โต มีร่างกายเป็นสสารซึ่งไม่เข้ากับความเข้าใจของมนุษย์เพราะมาจากมิติเวลาที่แตกต่างกัน เกรทโอลด์วันได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งมนุษย์โลกและเหล่าอมนุษย์",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "214146#0",
"text": "ฮัสเทอร์ (Hastur) หรือฮัสทูลหรือฮัสโทล เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในเรื่องชุดตำนานคธูลู มีฉายาว่า \"ผู้มิอาจเอ่ยนาม\" (the Unspeakable และ Him Who Is Not to be Named)",
"title": "ฮัสเทอร์"
},
{
"docid": "172960#52",
"text": "CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#48",
"text": "(English: Atlach-Nacha) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Seven Geases ซึ่งประพันธ์โดยคลาก แอชตัน สมิทในปีพ.ศ. 2477 บางครั้งก็เรียกว่า แอทลัค นาคา",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#45",
"text": "ในงานประพันธ์ของไบรอัน ลัมลีย์ อิธาควาเป็นผู้ปกครองของโบเรีย ดินแดนแห่งน้ำแข็งและมักเดินทางมายังโลกเพื่อจับตัวมนุษย์ไปเป็นสาวก อิธาควาพยายามมีลูกกับมนุษย์เพื่อให้ได้ทายาทซึ่งมีอำนาจมากกว่าตนเองที่ถูกเอลเดอร์ก็อดสะกดไว้และช่วยปลดปล่อยเกรทโอลด์วันตนอื่นๆ แต่ทายาททั้งหมดของอิธาควานั้นเมื่อโตขึ้นมาแล้วก็ล้วนแต่ต่อต้านอิธาควาทั้งสิ้น",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#14",
"text": "(English: Cthugha) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The House on Curwen Street ซึ่งประพันธ์โดยออกัสต์ เดอเลธในปี พ.ศ. 2487 มีลักษณะเป็นลูกไฟขนาดใหญ่ คธุกกาถูกขังไว้ในดาวฟอมัลโฮต์(Fomalhaut) ในกลุ่มดาวปลาใต้ ใน The Dweller in Darkness ซึ่งเป็นเรื่องสั้นอีกเรื่องของเดอเลธที่แต่งในปีเดียวกัน ตัวเอกของเรื่องได้พยายามเรียกคธุกกามาเพื่อขับไล่ร่างอวตารของไนอาลาโธเทป คธุกกามีบริวารเป็นดวงไฟขนาดเล็กซึ่งเรียกว่า แวมไพร์เพลิง",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#26",
"text": "(English: Bokrug) ปรากฏตัวในเรื่องสั้น The Doom That Came to Sarnath ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ (พ.ศ. 2463) มีรุปร่างคล้ายกิ้งก่าขนาดยักษ์ เป็นเทพที่สิ่งมีชีวิตรูปร่างคล้ายสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่เรียกว่า ธุมฮา แห่งอิบ ในดินแดนแห่งมนาร์ นับถือ บอครุกนั้นหลับอยู่ในทะเลสาบซึ่งกั้นระหว่างอิบและเมืองซานาธ ในวันครบรอบหนึ่งพันปีหลังจากที่อิบถูกมนุษย์ในซานาธทำลาย บอครุกก็ได้ขึ้นมาจากทะเลสาบและเรียกภูติผีของธุมฮาขึ้นมาทำลายซานาธก่อนจะหายตัวไป",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#27",
"text": "(English: Baoht Z'uqqa-Mogg) ปรากฏตัวครั้งแรกในเกมเล่นตามบทบาท Call of Cthulhuของบริษัทเคโอเซียม เป็นเกรทโอลด์วันที่อยู่บนดาวแชกไก มีรูปร่างเหมือนแมงป่องขนาดยักษ์ ส่วนหัวมีดวงตาและหนวดประสาทจำนวนมาก มีกรามเหมือนมดซึ่งชุ่มไปด้วยพิษ และมีปีกขนาดใหญ่ ฝูงแมลงมีพิษมักอยู่ใกล้กับบาออท ซัคคามอกก์",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#5",
"text": "เกรทโอลด์วันถูกเนรเทศโดยเหล่าเอลเดอร์ก็อดเนื่องจากกระทำผิดบางอย่าง เกรทโอลด์วันเข้าสู่สภาวะจำศีลเนื่องจากสภาวะบางอย่างในจักรวาล[2] และรอคอยเวลาที่เหมาะสมเพื่อจะตื่นขึ้นมาอีกครั้ง[3]",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#1",
"text": "โดยรวมแล้ว เกรทโอลด์วัน (ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า โอลด์วัน[1] โดยนักประพันธ์) มีอำนาจที่ด้อยกว่าเอาเตอร์ก็อด แต่ก็ได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษย์",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#58",
"text": "Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)CS1 maint: extra text: editors list (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#4",
"text": "เกรทโอลด์วันทั้งหมดอยู่กักขังไว้ในอาณาเขตต่างๆกัน ตั้งแต่ใต้มหาสมุทธ ใต้พื้นโลก ไปจนถึงดวงดาวอันไกลโพ้น ซึ่งมีทฤษฎีอธิบายเรื่องนี้ไว้สองแนว คือ",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "124206#0",
"text": "คธูลู (Cthulhu) , คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น \"เสียงเรียกของคธูลู\" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว",
"title": "คธูลู"
},
{
"docid": "172960#57",
"text": "CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#56",
"text": "CS1 maint: extra text: editors list (link) CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#51",
"text": "CS1 maint: extra text (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#24",
"text": "ชื่อของเกรทโอลด์วันทั้งสองนั้นคล้ายกับ นุตและเกบ ในตำนานของไอยคุปต์",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#21",
"text": "(English: Cynothoglys) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Prodigy of Dreams ซึ่งประพันธ์โดยโธมัส ลิกอทติ มีฉายาว่าเทพสัปเหร่อ ปรากฏตัวเป็นสิ่งไร้รูปร่างที่มีแขนข้างเดียว ซึ่งไซโนโธกลีสจะใช้จับผู้ที่เรียกมันมาและทำให้ตายโดยไร้ความเจ็บปวด",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#25",
"text": "(English: Nyogtha) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Salem Horror ของเฮนรี คัทเนอร์ (พ.ศ. 2480) มีลักษณะเป็นเงามืดที่ไม่มีรูปร่างแน่ชัด",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#7",
"text": "กลาคิจะหาสาวกของตนโดยการใช้เงี่ยงเสียบสังหารมนุษย์และฉีดสารเคมีซึ่งทำให้ฟื้นขึ้นมาเป็นทาสผีดิบ กลาคิเป็นเกรทโอลด์วันซึ่งทรงความรู้โดยเฉพาะเรื่องราวเกี่ยวกับเกรทโอลด์วันตนอื่นๆ ลัทธิของกลาคิมีคัมภีร์สำคัญคือ The Revelations of Glaaki ซึ่งสาวกผีดิบได้เขียนในขณะที่กลาคิหลับไหลและไม่ถูกควบคุม",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#53",
"text": "CS1 maint: extra text: editors list (link)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "172960#59",
"text": "Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
},
{
"docid": "177512#1",
"text": "ในงานประพันธ์หลังจากสมัยของเลิฟคราฟท์ เอลเดอร์ก็อดเป็นกลุ่มเทพที่ต่อสู้กับเอาเตอร์ก็อดและเกรทโอลด์วันซึ่งมาจากต่างดาว แนวคิดซึ่งเป็นการต่อสู้ระหว่างความดีและความชั่วร้ายนี้ไม่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในหมู่ผู้ที่ชื่นชอบงานประพันธ์ของเลิฟคราฟท์ แต่แท้จริงแล้วเอลเดอร์ก็อดไม่ได้สนใจในความดีหรือความชั่วเลย เพียงแต่ความนึกคิดของเอลเดอร์ก็อดมักใกล้เคียงกับมนุษย์มากกว่าและเกลียดชังเกรทโอลด์วันเท่านั้น",
"title": "เอลเดอร์ก็อด"
},
{
"docid": "172960#17",
"text": "(English: Zhar and Lloigar) ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Lair of the Star-Spawn (พ.ศ. 2475) ซึ่งเป็นผลงานประพันธ์ร่วมกันของออกัสต์ เดอเลธและมาร์ค สคอเรอร์ เป็นเกรทโอลด์วันที่มาจากดาวอาร์คตุรุส ถูกขังไว้ใต้นครอลาโอซาร์ในที่ราบแห่งสุงในประเทศพม่า เกรทโอลด์วันทั้งสองนั้นมีร่างกายที่เชื่อมต่อกัน ทั้งคู่เป็นเป็นกลุ่มขนาดใหญ่โตของหนวดระยางจำนวนมากแต่ลอยกอร์จะมีปีกอยู่ด้วย ทั้งสองเป็นเทพที่ มนุษย์โจโจ บูชา ชาร์นั้นสามารถสร้างกายทิพย์ได้เมื่อสาวกสวดมนต์เรียก ส่วนลอยกอร์นั้นจะสร้างกายทิพย์ได้เมื่อดาวอาร์คตุรุสอยู่บนท้องฟ้า ชาร์นั้นมีโทรจิตสำหรับสื่อสารกับเหล่าสาวก ส่วนลอยกอร์มีพลังในการควบคุมลมซึ่งใช้จับเหยื่อ",
"title": "เกรทโอลด์วัน"
}
] |
1507 | มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ เกิดเมื่อปีค.ศ.ใด? | [
{
"docid": "466962#1",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ เกิดเมื่อปีค.ศ. 1147 ที่เมืองอะสึดะ (熱田) แคว้นโอะวะริ (尾張) ใกล้กับเมืองนะโงะยะ จังหวัดไอจิในปัจจุบัน โยะริโตะโมะเกิดในตระกูลเซวะเง็นจิ (清和源氏) หรือตระกูลคะวะชิเง็นจิ (河内源氏) ซึ่งเป็นตระกูลซะมุไรที่มีชื่อเสียงและผลงานอย่างมากในสมัยเฮอัง โยะริโตะโมะเป็นบุตรชายคนที่สามของมินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (源義朝) ซึ่งเป็น\"โทเรียว\" หรือประมุขแห่งตระกูลเซวะเง็นจิ ซึ่งเกิดกับนางยุระ-โงเซ็ง (由良御前) ภรรยาเอกของโยะชิโตะโมะ ซึ่งเป็นบุตรสาวของฟุจิวะระ โนะ ซุเอะโนะริ (藤原季範) นางยุระเป็นนางสนองพระโอษฐ์ในองค์หญิงมุเนะโกะ พระธิดาในจักรพรรดิโทะบะ โยะริโตะโมะเมื่อแรกเกิดได้รับชื่อว่า โอะนิมุชะ (鬼武者) มีพี่ชายต่างมารดาจำนวนสองคนได้แก่ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิฮิระ (源義平) และ มินะโมะโตะ โนะ โทะโมะนะงะ (源朝長) มีน้องชายต่างมารดาอีกหกคน ที่เหลือรอดเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ได้แก่ มินะโมะโตะ โนะ โนะริโยะริ (源範頼) และมินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ (源義経) และมีน้องสาวมารดาเดียวกันคือ นางโบมง-ฮิเมะ (坊門姫) เมื่อเติบโตขึ้นโอะนิมุชะจึงเข้าพิธี\"เง็มปุกุ\"ได้รับชื่อว่า โยะริโตะโมะ",
"title": "มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ"
}
] | [
{
"docid": "15894#1",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ เกิดเมื่อค.ศ. 1159 ที่นครเฮอังเกียว (เมืองเคียวโตะในปัจจุบัน) เกิดในตระกูลเซวะเง็นจิ (清和源氏) เป็นบุตรชายคนที่เก้าของ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (源義朝) ซึ่งเป็น\"โทเรียว\" (棟梁) หรือประมุขตระกูลเซวะเง็นจิ เกิดกับนางโทะกิวะ-โงเซ็ง (常盤御前) ซึ่งเป็นภรรยาน้อยของโยะชิโตะโมะ เมื่อแรกเกิดโยะชิสึเนะมีชื่อว่า อุชิวะกะ-มะรุ (牛若丸) มีพี่ชายมารดาเดียวกันอยู่สองคนคือ อิมะวะกะ-มะรุ (今若丸) ต่อมาคือ พระภิกษุอะโนะ เซ็งโจ (阿野全成) และโอะสึวะกะ-มะรุ (乙若丸) ต่อมาคือพระภิกษุกิเอ็ง (義円)",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ"
},
{
"docid": "15894#0",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ (みなもとの よしつね \"Minamoto no Yoshitsune\" หรือ 源義経 \"Minamoto Yoshitsune\" ค.ศ. 1159 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1189) หรือ โยะชิสึเนะแห่งมินะโมะโตะ ผู้พันของกลุ่มนักรบมินะโมะโตะในญี่ปุ่น ในช่วงระหว่างปลายยุคเฮอังถึงต้นยุคคะมะกุระ เขาเป็นหนึ่งในตำนานของผู้กล้าของญี่ปุ่น ซึ่งมักจะมีการกล่าวถึงในทางวรรณกรรม และทางภาพยนตร์",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ"
},
{
"docid": "15894#2",
"text": "ในค.ศ. 1160 เมื่ออุชิวะกะอายุยังไม่ทันถึงขวบปี ได้เกิดกบฏเฮจิขึ้นระหว่างตระกูลมินะโมะโตะนำโดย มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ ผู้เป็นบิดา กับตระกูลเฮชิ (平氏) นำโดย ไทระ โนะ คิโยะโมะริ (平清盛) ผลปรากฏว่าตระกูลมิโนะโมะโตะพ่ายแพ้ โยะชิโตะโมะถูกสังหารในป่าขณะหลบหนี พี่ชายต่างมารดาและสมาชิกตระกูลมินะโมะโตะที่เหลือต่างถูกกวาดล้างและประหารชีวิตไปจนหมดสิ้น เหลือเพียงมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (源頼朝) ซึ่งถูกเนรเทศไปยังแคว้นอิซุทางตะวันออก นางโทะกิวะได้พาบุตรชายทั้งสามที่ยังเล็กหลบหนีซ่อนตัวในป่า จนกระทั่งคิโยะโมะริได้จับมารดาของนางโทะกิวะเป็นตัวประกัน นางโทะกิวะจึงยอมมอบตัวแต่คิโยะโมะริ ซึ่งคิโยะโมะริได้ไว้ชีวิตบุตรชายทั้งสามของนาง โดยมีเงื่อนไขว่านางโทะกิวะจะต้องเข้ามาเป็นภรรยาน้อยของคิโยะโมะริ และบุตรชายทั้งสามจะต้องไปอยู่วัดบวชเป็นพระภิกษุไปตลอดชีพ",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ"
},
{
"docid": "864307#0",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ ทะเมะโยะชิ ( ; 1639 – 17 สิงหาคม 1699) ผู้นำตระกูลซะมุไรอย่าง ตระกูลมินะโมะโตะ ในช่วงสงคราม กบฏปีโฮเง็ง เป็นหลานชายของ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิอิเอะ และเป็นบิดาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ รวมถึง มินะโมะโตะ โนะ ทะเมะโตะโมะ โดยทะเมะโยะชิเป็นที่รู้จักในนาม มุสึ ชิโร (\"Mutsu Shirō\")",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ ทะเมะโยะชิ"
},
{
"docid": "581836#0",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ () (1123-11 กุมภาพันธ์ 1160) เป็นซะมุไรคนสำคัญในช่วงปลายยุค เฮอัง และเป็นบิดาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ"
},
{
"docid": "581836#1",
"text": "ปี ค.ศ. 1156 เกิดความขัดแย้งกันขึ้นในราชสำนักระหว่างอดีต จักรพรรดิซุโตะกุ และ จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ พระราชอนุชาทำให้ ตระกูลไทระ และ ตระกูลมินะโมะโตะ แตกเป็น 2 ฝ่ายคือ มินะโมะโตะ โนะ ทะเมะโยะชิ ผู้นำตระกูลและเป็นบิดาของโยะชิโตะโมะและ ไทระ โนะ ทะดะมะซะ อาของคิยะโมะริสนับสนุนอดีตจักรพรรดิโซะโตะกุส่วนโยะชิโตะโมะและ ไทระ โนะ คิโยะโมะริ ผู้นำตระกูลไทระสนับสนุนจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะซึ่งผลสุดท้ายแล้วฝ่ายสนับสนุนจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะได้ชัยชนะทำให้โยะชิโตะโมะต้องประหารทะเมะโยะชิส่วนคิโยะโมะริต้องประหารทะดะมะซะตามพระราชโองการขององค์จักรพรรดิหลังเสร็จศึกโยะชิโตะโมะกลับได้รับการปูนบำเหน็จให้เป็นแค่เจ้าเมืองชายแดนเล็กๆขณะที่คิโยะโมะริกลับได้เป็นถึงขุนนางใหญ่ในราชสำนักทำให้โยะชิโตะโมะไม่พอใจและกลายเป็นชนวนให้เกิด กบฏปีเฮจิ ขึ้นในเวลาต่อมา",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ"
},
{
"docid": "15894#4",
"text": "โยะชิสึเนะอาศัยอยู่ที่เมืองฮิระอิซุมิจนกระทั่งในค.ศ. 1180 โยะชิซึเนะได้ทราบข่าวว่าพี่ชายต่างมารดาของตนคือ มินะโมะโนะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้ทำการต่อต้านการปกครองของตระกูลไทระโดยมีฐานที่มั่นอยู่ที่เมืองคะมะกุระ จังหวัดคะนะงะวะในปัจจุบัน โยะชิซึเนะจึงเดินทางจากเมืองฮิระอิซุมิพร้อมกับเบ็งเกมาพบกับโยะริโตะโมะที่แม่น้ำคิเซะ ใกล้กับเมืองชิซุโอกะในปัจจุบัน โยะริโตะโมะจึงรับโยะชิสึเนะเข้ามาเป็นหนึ่งในขุนพลตระกูลมินะโมะโตะในการทำสงครามกับตระกูลไทระซึ่งมีผู้นำคือไทระ โนะ มุเนะโมะริ (平宗盛)",
"title": "มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ"
},
{
"docid": "466962#0",
"text": "มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも \"Minamoto no Yoritomo\" หรือ 源 頼朝 \"Minamoto Yoritomo\") หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1192 - 1199",
"title": "มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ"
},
{
"docid": "864151#0",
"text": "โฮโจ มะซะโกะ ( ; 1699 – 16 สิงหาคม 1768) มิได คนแรกอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเป็นภริยาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ปฐมโชกุนแห่ง รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็นมารดาของโชกุนคนที่ 2 และคนที่ 3 คือ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ และ มินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะ",
"title": "โฮโจ มาซาโกะ"
}
] |
318 | สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย สมรสกับใคร ? | [
{
"docid": "64083#1",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี พ.ศ. 2380-2444 (ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5) พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 ณ พระราชวังเค็นซิงตัน กรุงลอนดอน โดยเป็นพระธิดาในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรเธิร์น พระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร กับ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ พระองค์ได้เสวยราชสมบัติสืบต่อจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 พระบรมราชปิตุลา ในปี พ.ศ. 2380 ขณะมีพระชนมพรรษา 18 พรรษา ต่อมาได้ราชาภิเษกสมรสกับ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (ฟรันซ์ ออกุสต์ คาร์ล อัลเบิร์ต เอมานูเอล; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2362 - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2404) ซึ่งต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าชายพระราชสวามี (Prince Consort) พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระมารดา ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2383 ณ พระราชวังเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน และประสูติพระราชโอรสและธิดาทั้งสิ้น 9 พระองค์ในระหว่างปี พ.ศ. 2383-2400 ชีวิตสมรสที่แสนสุขมีอันต้องสิ้นสุดลงในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2404 เมื่อเจ้าชายอัลเบิร์ต พระสวามีสิ้นพระชนม์ลงด้วยโรคไข้รากสาดน้อย หรือไทฟอยด์ (และอาจเป็นโรคมะเร็งในกระเพาะอาหารร่วมด้วย) เมื่อพระชนมายุ 42 พรรษา ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ไปจนตลอดพระชนม์ชีพ ด้วยความโทมนัสและสูญเสียที่ยากจะหาสิ่งใดมาทดแทนได้ พระองค์จึงทรงจมอยู่กับความเศร้าโศกและฉลองพระองค์ไว้ทุกสีดำตลอดรัชกาล อีกทั้งยังทรงหลีกเลี่ยงการปรากฏพระองค์ในที่สาธารณะและแทบจะไม่เสด็จฯ มาประกอบพระราชกรณียกิจที่กรุงลอนดอนเป็นเวลาหลายปี แต่ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ประทับอยู่ที่พระราชวังวินด์เซอร์ ซึ่งเป็นสถานที่แห่งความทรงจำของพระองค์กับพระสวามี จนเป็นที่มาของพระราชสมัญญา แม่ม่ายแห่งวินด์เซอร์ (Widow of Windsor)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
}
] | [
{
"docid": "64083#46",
"text": "สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของสวีเดนและเสวยราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระราชนัดดาในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ต และสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟ พระองค์ทรงเป็นพระโอรสพระองค์เล็กและพระองค์เดียวในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเติน เจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ต (พระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) และสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟ อภิเษกสมรสเมื่อในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 กับ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (เสวยราชย์ พ.ศ. 2490-2515) และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (เสวยราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2515) เคานต์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อตแห่งวิสบอร์ก (31 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) พระโอรสพระองค์เล็กในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ต และสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟ เป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่สิ้นพระชนม์เป็นพระองค์สุดท้าย",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#41",
"text": "เจ้าหญิงเฮเลนา (เฮเลนา ออกัสตา วิกตอเรีย) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี ประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2389 และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2466 พระองค์ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2409 ณ โบสถ์หลวง พระราชวังวินด์เซอร์ กับ เจ้าชายคริสเตียนแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-ออกุสเท็นบูร์ก (ฟรีดริช คริสเตียน คาร์ล ออกุสต์; 22 มกราคม พ.ศ. 2374 - 28 ตุลาคม พ.ศ. 2460 พระโอรสในเจ้าชายคริสเตียน ดยุกแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-ออกุสเท็นบูร์ก) มีพระโอรส 2 พระองค์และพระธิดา 2 พระองค์ซึ่งเจริญพระชนม์เป็นผู้ใหญ่ และมีพระโอรสอีก 2 พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อแรกประสูติ เจ้าหญิงเฮเลนาและเจ้าชายคริสเตียนไม่มีพระราชนัดดาที่ถูกต้องตามกฎหมาย แต่มีพระนัดดานอกสมรสจำนวนหนึ่งคน ซึ่งเสียชีวิตโดยไม่มีทายาทสืบสกุล เช่นเดียวกับพระบรมวงศานุวงศ์อังกฤษพระองค์อื่นๆ ที่มีพระอิสริยยศของเยอรมัน (เช่น เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก) เจ้าหญิงเฮเลนา เจ้าชายคริสเตียน และพระธิดาสองพระองค์ได้สละพระอิสริยยศแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ในปี พ.ศ. 2460 เมือจักรวรรดิอังกฤษและเยอรมันเป็นปฏิปักษ์กันในสงครามโลกครั้งที่ 1",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#5",
"text": "เจ้าชายอัลเบิร์ต (สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2404) ทรงพระชนม์ชีพจนได้เห็นพระธิดาพระองค์เดียว (เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี) จากบรรดาพระธิดาทั้งหมดอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2401 และพระนัดดาสองพระองค์ประสูติ (เจ้าชายวิลเฮล์ม ในปี พ.ศ. 2402 และเจ้าหญิงชาร์ล็อต พระขนิษฐาในปี พ.ศ. 2403) ในขณะที่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียมีพระชนม์ชีพยืนยาวจนได้เห็นการประสูติไม่เพียงแค่พระราชนัดดาทั้งหมด แต่ยังรวมถึงพระราชปนัดดาส่วนใหญ่จากทั้งหมด 88 พระองค์ด้วย (จำนวนสามใน 56 พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อแรกประสูติ และหนึ่งในพระราชปนัดดาจำนวน 29 พระองค์เป็นลูกนอกสมรส)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#47",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอาร์เธอร์ → เจ้าหญิงมาร์กาเร็ต → เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ → พระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอาร์เธอร์ → เจ้าหญิงมาร์กาเร็ต → เจ้าหญิงอิงกริด → พระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอาร์เธอร์ → เจ้าหญิงมาร์กาเร็ต → เคานต์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "773677#0",
"text": "จอมพลเรือ หลุยส์ อเล็กซานเดอร์ เมานต์แบ็ตเทน มาควิสแห่งมิลฟอร์ดเฮเวน () หรือพระนามเดิมคือ เจ้าชายหลุยส์ อเล็กซานเดอร์ แห่งบัทเทนแบร์ก เป็นทหารเรือชาวอังกฤษและเจ้าชายเยอรมันสัญชาติอังกฤษ พระองค์เสกสมรสกับเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย",
"title": "เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก"
},
{
"docid": "64083#28",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 → เจ้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ → พระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 → พระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#55",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าหญิงเบียทริซ → พระราชินีวิกตอเรีย ยูจีเนียแห่งสเปน → เคานต์แห่งบาร์เซโลนา → พระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#3",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียมีพระราชนัดดาทั้งสิ้น 42 พระองค์ (เป็นชายจำนวน 20 พระองค์ และเป็นหญิงจำนวน 22 พระองค์) จากพระราชโอรสและธิดาแปดพระองค์ โดยจำนวนสองพระองค์ (พระโอรสพระองค์เล็กในเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และในเจ้าหญิงเฮเลนา) สิ้นพระชนม์ในขณะอยู่ในพระครรภ์ ส่วนอีกสองพระองค์ (เจ้าชายจอห์นแห่งเวลส์ และ เจ้าชายฮาราลด์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-ออกัสเต็นบูร์ก) สิ้นพระชนม์ตั้งแต่เมื่อแรกประสูติ ทั้งนี้พระราชนัดดาพระองค์แรกคือ สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (พระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2402) พระโอรสพระองค์แรกในเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระราชินีนาถวิกตอเรีย ส่วนพระราชนัดดาพระองค์สุดท้ายคือ เจ้าชายมอริสแห่งบัทเทนแบร์ก (ประสูติเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2434) พระโอรสพระองค์เล็กในเจ้าหญิงเบียทริซ พระราชธิดาพระองค์เล็กและสิ้นพระชนม์ชีพเป็นพระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระราชนัดดาที่สิ้นพระชนม์เป็นพระองค์สุดท้ายคือ เจ้าหญิงอลิซ เคานเตสแห่งแอธโลน (พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิซแห่งอัลบานี ประสูติเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 พระธิดาในเจ้าชายเลโอโพลด์ ดยุกแห่งอัลบานี) ซึ่งสิ้นพระชนม์ด้วยโรคชรา (97 พรรษา) ในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2524 เป็นเวลาเกือบแปดสิบปีหลังจากการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระอัยยิกา",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#58",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าชายอัลเบิร์ตมีพระราชโอรสและพระราชธิดาทั้งสิ้น 9 พระองค์ ซึ่งล้วนแล้วแต่อภิเษกสมรสกับพระราชวงศ์ต่างๆ ในทวีปยุโรป และมีพระโอรสและธิดา มีเพียงเจ้าหญิงหลุยส์ ดัชเชสแห่งอาร์ไจล์ที่ไม่ได้อภิเษกสมรสกับเชื้อพระวงศ์ และไม่มีพระโอรสพระธิดา สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าชายอัลเบิร์ตมีพระราชนัดดาทั้งสิ้น 42 พระองค์ ซึ่งบางพระองค์ก็ได้เสวยราชสมบัติเป็นพระประมุขหรือเป็นพระมเหสีในราชวงศ์ต่างๆ ของทวีปยุโรป ได้แก่ สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) พระโอรสในเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (3 มิถุนายน พ.ศ. 2408 - 20 มกราคม พ.ศ. 2479) พระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 สมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 สมเด็จพระราชินีโซฟีแห่งกรีซ (14 มิถุนายน พ.ศ. 2413 - 13 มกราคม พ.ศ. 2475) พระธิดาในเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) พระธิดาในเจ้าหญิงอลิซ สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย (29 ตุลาคม พ.ศ. 2418 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2481) พระธิดาในเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินบะระ สมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ยูจีเนียแห่งสเปน (24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) พระธิดาในเจ้าหญิงเบียทริซ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าชายอัลเบิร์ตมีพระราชปนัดดาทั้งสิ้น 88 พระองค์ ซึ่งบางพระองค์ได้เสวยราชสมบัติเป็นพระประมุขหรือเป็นพระมเหสีในราชวงศ์ต่างๆ ของทวีปยุโรป ได้แก่ สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2433 - 1 เมษายน พ.ศ. 2490) พระโอรสในเจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งกรีซ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2436 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2463) พระโอรสในเจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย (15 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 4 เมษายน พ.ศ. 2496) พระโอรสในเจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร (23 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) พระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร (14 ธันวาคม พ.ศ. 2438 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495) พระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 5 สมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ (14 ธันวาคม พ.ศ. 2444 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในเจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 - 17 มกราคม พ.ศ. 2534) พระโอรสในเจ้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธแห่งกรีซ (11 ตุลาคม พ.ศ. 2437 – 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499) พระธิดาในเจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ สมเด็จพระราชินีมาเรียแห่งยูโกสลาเวีย (8 มกราคม พ.ศ. 2443 - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2504) พระธิดาในเจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) พระธิดาในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งคอนน็อต พระประมุขหรือพระมเหสีในราชวงศ์ต่างๆ ของทวีปยุโรปทั้งที่ยังทรงครองราชสมบัติและมิได้ทรงอยู่ในราชสมบัติ ล้วนทรงสืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร (21 เมษายน พ.ศ. 2469) และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480) สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (16 เมษายน พ.ศ. 2483) สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน (30 เมษายน พ.ศ. 2489) สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน (5 มกราคม พ.ศ. 2481) (สละราชสมบัติ) และ สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ (2 มิถุนายน พ.ศ. 2483) และ สมเด็จพระราชินีแอนน์-มารีแห่งกรีซ (30 สิงหาคม พ.ศ. 2489) สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (25 ตุลาคม พ.ศ. 2464 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2560) สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน (30 มกราคม พ.ศ. 2511) ในสายลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และอีกจำนวนเกือบ 530 คนแรก ล้วนสืบสายพระโลหิตมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่มีพระชนมายุยืนยาวตั้งแต่ 90 พรรษาขึ้นไป มีดังนี้",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#9",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าชายอัลเบิร์ตมีพระอัยกาพระองค์เดียวกันคือ เจ้าชายฟรานซิส ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ ซึ่งเป็นพระบิดาในเจ้าชายแอร์นส์ที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (พระบิดาในเจ้าชายอัลเบิร์ต) และเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (พระมารดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และพระขนิษฐาในเจ้าชายแอร์นส์ที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#15",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี → สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 → พระเจ้าจอร์จที่ 5 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าหญิงอลิซ → สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#50",
"text": "เจ้าหญิงอลิซแห่งอัลบานี พระธิดาในเจ้าชายเลโอโพลด์ (และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) อภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2447 กับ เจ้าชายอเล็กซานเดอร์แห่งเท็ค พระอนุชาในสมเด็จพระราชินีแมรี่ และดำรงพระอิสริยยศเป็น เคานเตสแห่งแอธโลน เมื่อพระสวามีทรงได้รับการสถาปนาเป็นเอิร์ลแห่งแอธโลนในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2460 พระองค์เป็นพระราชนัดดาที่ดำรงพระชนม์ชีพเป็นพระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (97 พรรษา) นอกจากนี้เจ้าหญิงยังทรงเป็นพาหะของโรคฮีโมฟิเลีย ซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากพระบิดาและส่งผ่านไปยังพระโอรสสองพระองค์",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#6",
"text": "เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ไม่เพียงเป็นพระชนนีในพระราชนัดดาพระองค์แรกของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียคือ สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี เท่านั้น แต่ยังเป็นพระอัยยิกา (ยาย) ในพระราชปนัดดาพระองค์แรกด้วยคือ เจ้าหญิงฟีโอดอราแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2422 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2488) พระธิดาองค์เดียวในเจ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (พระราชนัดดา (หญิง) พระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) และในพระราชปนัดดาหญิงพระองค์สุดท้ายที่สิ้นพระชนม์คือ เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) พระธิดาพระองค์สุดท้ายในเจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (ต่อมาคือ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) พระขนิษฐาในเจ้าหญิงชาร์ล็อต หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ในปี พ.ศ. 2550 ขณะมีพระชันษา 94 ปี พระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียซึ่งยังทรงพระชนม์เป็นพระองค์สุดท้ายคือ เคานต์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อตแห่งวิสบอร์ก (พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าชายคาร์ล โยฮันแห่งสวีเดน ดยุกแห่งดาลาร์นา; 31 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์สุดท้ายในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งคอนน็อต พระธิดาในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อต พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทั้งนี้เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ขณะมีพระชันษา 95 ปี สายพระโลหิตรุ่นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ซึ่งเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2422 (ปีประสูติของเจ้าหญิงฟีโอดอราแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน) จึงได้สิ้นสุดลงตามไปด้วย",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#39",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอัลเฟรด → พระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย → สมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 → พระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอัลเฟรด → พระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย → พระราชินีเอลิซาเบธแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอัลเฟรด → พระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย → พระราชินีมารีแห่งยูโกสลาเวีย → พระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "86294#0",
"text": "เจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; \"พระนามเต็ม\" วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้วย",
"title": "วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน"
},
{
"docid": "710474#36",
"text": "การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ได้ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงไร้พระราชนัดดาที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยพระโอรสองค์เล็กสุดที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่นั้นมีพระชนมายุมากกว่า 40 พรรษาแล้ว หนังสือพิมพ์ได้ปลุกเร้าให้พระโอรสของพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ทรงเสกสมรสให้รีบเสกสมรส ดังเช่นกรณี พระโอรสองค์ที่สี่ของพระมหากษัตริย์คือ เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรเธิร์น ทรงประทับอยู่ที่บรัสเซลส์ ซึ่งพระองค์ทรงประทับอยู่กับจูลี เดอ แซงต์-ลอว์แรงต์ พระสนม เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดทรงรีบเร่งปลดพระสนมและทรงสู่ขอเสกสมรสกับพระเชษฐภคินีในเจ้าชายเลโอโปลด์ คือ วิกตอเรีย เจ้าหญิงม่ายแห่งไลนิงเง็น พระธิดาของทั้งสองพระองค์คือ เจ้าหญิงอเล็กซานดรินา วิกตอเรียแห่งเคนต์ ทรงได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักรในที่สุด (ปีค.ศ. 1837) หลังจากนั้นเจ้าชายเลโอโปลด์ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ทรงเป็นที่ปรึกษาทางไกลแก่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระนัดดา และทรงรับประกันความปลอดภัยให้พระนางอภิเษกสมรสกับ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและก็อตธา พระนัดดาอีกองค์ของพระองค์",
"title": "เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์"
},
{
"docid": "64083#32",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าหญิงอลิซ → สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา (เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#7",
"text": "ก่อนการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในปี พ.ศ. 2444 มีพระราชโอรสและธิดาจำนวนสามพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ไปแล้ว (เจ้าหญิงอลิซ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2421, เจ้าชายเลโอโพลด์ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2427 และเจ้าชายอัลเฟรด ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2443) และตามมาด้วยการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2444 นอกจากการสิ้นพระชนม์ขณะยังทรงพระเยาว์ของพระราชนัดดาจำนวนสี่พระองค์ สมเด็จพะราชินีนาถวิกตอเรียดำรงพระชนม์ยืนยาวกว่าพระราชนัดดาหลายพระองค์ ได้แก่",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#34",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าหญิงอลิซ → เจ้าชายแอร์นส์ ลุดวิก แกรนด์ดยุกแห่งเฮสส์และไรน์ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → เจ้าชายอัลเฟรด → เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตา",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#0",
"text": "พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "721573#0",
"text": "พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย () จัดขึ้นในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2430 เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในวาระที่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียครองสิริราชสมบัติครบปีที่ห้าสิบ ซึ่งได้มีการทูลเชิญพระมหากษัตริย์และเจ้าชายจากประเทศต่าง ๆ ในยุโรปจำนวน 50 พระองค์ เสด็จ ฯ มาร่วมเฉลิมฉลองในครั้งนี้ด้วย ",
"title": "พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#38",
"text": "สมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย พระราชโอรสองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์และสมเด็จพระราชินีมารี (และพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) เป็นพระราชชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (ลื่อในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งโรมาเนีย พระราชธิดาพระองค์ที่สอง (และพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) อภิเษกสมรสระหว่างปี พ.ศ. 2465 - 2478 กับ สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ (ครองราชย์ พ.ศ. 2465-2466 และ พ.ศ. 2478-2490) พระโอรสในเจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พระธิดาในเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี) เจ้าหญิงมารีแห่งโรมาเนีย พระราชธิดาพระองค์ที่สาม (พระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) อภิเษกสมรสวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2465 กับ สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย (เสวยราชย์ พ.ศ. 2464-2478) และพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย (ครองราชย์ พ.ศ. 2478-2488 และเป็นลื่อในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#54",
"text": "เจ้าหญิงเบียทริซ (เบียทริซ แมรี่ วิกตอเรีย ฟีโอดอรา) พระราชธิดาพระองค์ที่ห้าและองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี ประสูติเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2400 และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2487 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ณ โบสถ์เซนต์มิลเดร็ด เมืองวิปปิงแฮม ใกล้ตำหนักออสบอร์น เกาะไว้ท์ กับ เจ้าชายเฮนรีแห่งบัทเทนแบร์ก (เฮนรี มอริส; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 20 มกราคม พ.ศ. 2439 พระโอรสในเจ้าชายอเล็กซานเดอร์แห่งเฮสส์และไรน์) มีพระโอรส 3 พระองค์ พระธิดา 1 พระองค์ (สมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ยูจีเนียแห่งสเปน) พระภาคิไนย 5 พระองค์ (พระองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ในพระครรภ์) และพระภาติกา 3 พระองค์ ในฐานะพระราชนัดดาผ่านทางเจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสแห่งสเปน จึงเป็นพระราชปนัดดาในเจ้าหญิงเบียทริซ และลื่อในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียอีกด้วย",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#11",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (ซึ่งเสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380 และเข้าพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2381) ทรงราชาภิเษกสมรสกับเจ้าชายอัลเบิร์ต เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2383 ณ โบสถ์หลวง พระราชวังเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน (เจ้าชายอัลเบิร์ตได้สิ้นพระชนม์เป็นเวลาสิบสี่ปีครึ่งก่อนที่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแห่งอินเดีย ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2419)",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "64083#26",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย → พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 → พระเจ้าจอร์จที่ 5 → พระเจ้าจอร์จที่ 6 → สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2",
"title": "ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "231756#1",
"text": "“มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย” เป็นมงกุฏที่สร้างขึ้นตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ในปีค.ศ. 1870 และเป็นมงกุฎที่มีความสำคัญต่อพระองค์มากที่สุด เมื่อเสด็จสวรรคตก็มิใช่มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดหรือมงกุฎอิมพีเรียลสเตท ที่เป็นมงกุฏที่ได้วางบนหีบพระบรมศพแต่เป็น “มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิคตอเรีย” ของพระองค์เอง",
"title": "มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย"
},
{
"docid": "32264#19",
"text": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงอยู่ในราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ แม้บางคนจะให้ราชสกุล d'Este หรือ Welf กับพระองค์ แต่ก็มิทรงจำเป็นต้องใช้ราชสกุลเหล่านี้ (เชื้อสายพระองค์อื่นในราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ได้ใช้ราชสกุลฮันโนเฟอร์ในประเทศอังกฤษ) ส่วนพระราชสวามีของพระองค์ทรงอยู่ในราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาและหลังจากการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ราชวงศ์นี้ได้ครองราชสมบัติอังกฤษด้วยตัวบุคคลคือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชโอรสและรัชทายาทในราชบัลลังก์ ตามธรรมเนียมปฏิบัติของพวกผู้ดีและเชื้อพระวงศ์ ภรรยาจะไม่ได้รับการเป็นสมาชิกในบ้านของสามี แต่ยังคงเป็นของบ้านตนเองอยู่ ดังนั้นสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียจึงมิได้ทรงอยู่ในราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา ในฐานะทรงเป็นสตรีสมรสแล้ว นักวงศ์วานวิทยาได้กำหนดราชสกุลของพระองค์เป็น ฟอน เว็ตติน (von Wettin) ซึ่งอิงหลักฐานจากสำนักงานตราประจำราชตระกูลแห่งอังกฤษ (College of Arms) ดังนั้นบางครั้งพระองค์ทรงเป็นรู้จักว่า อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย ฟอน เว็ตติน ราชสกุลเดิม ฮันโนเฟอร์",
"title": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร"
},
{
"docid": "32264#57",
"text": "510 บุคคลแรกในรายชื่อของสายลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษในปัจจุบันสืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระเป็นพระอัยยิกาเมื่อพระชนมพรรษา 39 พรรษา และพระปัยยิกาเมื่อพระชนมพรรษา 59 พรรษา พระองค์ทรงดำรงพระชนม์ชีพยาวนานกว่าพระราชโอรสและธิดาสามในเก้าพระองค์ ในอีกเจ็ดเดือนจะเป็นพระองค์ที่สี่ (คือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี พระราชธิดาองค์โต ซึ่งสิ้นพระชนม์ด้วยมะเร็งในกระดูกสันหลังเมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1901 สิริพระชนมายุ 60 พรรษา) พระองค์ทรงดำรงพระชนม์ชีพยาวนานกว่าพระราชนัดดาสิบเอ็ดในสี่สิบสองพระองค์ พระองค์ทรงดำรงพระชนม์ชีพยาวนานกว่าพระราชปนัดดาสามในแปดสิบแปดพระองค์ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2552 มีพระราชปนัดดาซึ่งยังทรงพระชนม์ชีพพระองค์สุดท้ายของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย คือ เคานต์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1916 ขณะนี้มีพระชนมายุ 93 พรรษา) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเป็นพระราชินีนาถแห่งแคนาดาพระองค์แรกโดยทางพฤตินัย ดินแดนในปกครองแห่งแคนาดา (The Dominion of Canada) ได้สถาปนาขึ้นมาในช่วงรัชกาลของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทำให้เป็นพระประมุขแห่งแคนาดาพระองค์แรก สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเป็นพระราชินีนาถแห่งออสเตรเลียพระองค์แรกในทางพฤตินัยจากการรวมตัวเป็นสหพันธรัฐเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1901 จนกระทั่งถึงการเสด็จสวรรคตของพระองค์ในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1901 การกระทำสิ่งแรกหลังจากเสวยราชสมบัติแล้วคือ การย้ายพระแท่นบรรทมออกจากห้องของพระชนนี ในทุกวันเป็นเวลาสี่สิบปีหลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าชายพระราชสวามี สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงรับสั่งให้วางฉลองพระองค์ต่าง ๆ ของเจ้าชายใหม่ทุกครั้งบนพระแท่นบรรทมในห้องชุดของพระองค์ที่ปราสาทวินด์เซอร์ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเริ่มประเพณีการสวมชุดสีขาวของเจ้าสาวในวันแต่งงาน ก่อนหน้าการอภิเษกสมรสของพระองค์ เจ้าสาวจะใส่ชุดที่สวยที่สุดโดยไม่มีสีที่เฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษ ในปี ค.ศ. 1860 พระองค์เป็นพระประมุขอังกฤษพระองค์แรกที่ทรงฉายพระรูป โดยช่างภาพคือ โจเบซ เอ็ดวิน มายาล พระองค์ทรงแซงหน้าพระเจ้าจอร์จที่ 3 พระอัยกาธิราชในฐานะที่เป็นพระประมุขอังกฤษซึ่งมีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดเมื่อมีพระชนมพรรษา 81 พรรษา 240 วันเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1901 เพียงสามวันก่อนการเสด็จสวรรคต พระองค์ทรงดำรงพระชนม์ชีพสามในสี่ส่วนเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดของประมุขอังกฤษพระองค์ใด ๆ นับแต่การคืนสู่ระบอบกษัตริย์ในปี ค.ศ. 1560 เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีทรงนำต้นคริสต์มาสเข้ายังราชสำนักและก็ไม่ช้าได้กลายเป็นต้นแบบนำไปใช้แก่พสกนิกรของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงถนัดพระหัตถ์ซ้ายและทรงได้ถ่ายทอดพันธุกรรมการถนัดมือซ้ายไปสู่พระราชสันตติวงศ์อีกหลายพระองค์ ซึ่งรวมไปถึงเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ พระมหากษัตริย์ในอนาคตอีกด้วย",
"title": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร"
},
{
"docid": "45565#0",
"text": "เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (; ; \"พระนามเต็ม\" วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 — ) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ ",
"title": "เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน"
},
{
"docid": "174123#1",
"text": "เจ้าชายอัลเฟรด ประสูติที่ปราสาทวินด์เซอร์,เมืองเบอร์กไชร์ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2387 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระราชโอรสพระองค์ที่สองและพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบิร์ต แห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา เป็นพระอนุชาใน เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี , สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 และ เจ้าหญิงอลิซ",
"title": "เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา"
}
] |
1261 | โทรศัพท์รุ่นแรกเกิดขึ้นเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "24448#2",
"text": "โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน พ.ศ. 2516 โดย มาร์ติน คูเปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลา เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม[1] ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 ที่มีจำนวน 12.4 ล้านคน[2] มาเป็น 4,600 ล้านคน[3]",
"title": "โทรศัพท์เคลื่อนที่"
}
] | [
{
"docid": "467206#0",
"text": "ฟีเจอร์โฟน (feature phone) หรือโทรศัพท์มือถือระดับกลาง เป็นโทรศัพท์มือถือที่ในขณะเวลาหนึ่งผู้ผลิตไม่ถือว่ามันเป็นสมาร์ตโฟน\nอย่างไรก็ตามมันมีความสามารถเพิ่มเติมหลายอย่างที่มากกว่าโทรศัพท์มือถือรุ่นมาตรฐาน\nกลุ่มเป้าหมายของโทรศัพท์ชนิดนี้คือลูกค้าที่ต้องการโทรศัพท์ความสามารถบางอย่างของสมาร์ตโฟน ในราคาที่ถูกลงมา",
"title": "ฟีเจอร์โฟน"
},
{
"docid": "286764#0",
"text": "แบล็คเบอร์รี่ (BlackBerry) เป็นสมาร์ตโฟนและโทรศัพท์มือถือโดยบริษัทแบล็คเบอร์รี่จำกัด (BlackBerry Limited) หรือเดิมคือบริษัทรีเสิร์ชอินโมชั่น (Reserch in Motion Limited - RIM) จากประเทศแคนาดา แบล็คเบอร์รี่เครื่องแรกเริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2542 โดยมีลักษณะเป็นเพจเจอร์สองทาง แบล็คเบอร์รี่รุ่นล่าสุดคือ แซด 30, แซด 10, คิว 10 และ คิว 5 มีลักษณะส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แตกต่างกันไปในแต่ละรุ่น โดยส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ที่โด่งดังและเป็นที่นิยมที่สุดของแบล็คเบอร์รี่คือแป้นพิมพ์คิวเวอตี้ ขณะที่แบล็คเบอร์รี่รุ่นใหม่จะใช้ส่วนประสานงานผู้ใช้แบบหน้าจอสัมผัสและคีย์บอร์เสมือนดังเช่น ไอโฟน",
"title": "แบล็คเบอร์รี (โทรศัพท์มือถือ)"
},
{
"docid": "48617#1",
"text": "ผลิตภัณฑ์ส่วนมากของโมโตโรลาเกี่ยวข้องกับวิทยุ เช่น วิทยุสื่อสารแบบ Walkie-Talkie, อุปกรณ์สื่อสารทางการทหาร, โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์เครือข่ายของโทรศัพท์มือถือ โมโตโรลายังเข้มแข็งในธุรกิจเซมิคอนดักเตอร์ เช่น แผงวงจรรวม (Integrated Circuit) และเป็นผู้ผลิตไมโครโพรเซสเซอร์รายใหญ่สำหรับคอมพิวเตอร์ในตระกูล Commodore Amiga และแมคอินทอชตั้งแต่รุ่นแรก - รุ่นที่ขายในปี 1994 นอกจากนี้ยังมีธุรกิจโมเด็ม, อุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม และเคเบิลทีวี",
"title": "โมโตโรลา"
},
{
"docid": "718495#18",
"text": "กระนั้น ก็ยังถูกมองว่ายังขาดความคงเส้นคงวา ในการก้าวขึ้นมารับช่วงต่อจาก บุญศักดิ์ ในฐานะนักแบดมินตันชายเดี่ยวเบอร์หนึ่งของไทย“สอง เป็นนักแบดมินตันที่มีฝีมือดี แต่ผลงานที่ผ่านมายังไม่คงเส้นคงวา ทำให้ไม่เป็นที่สนใจเท่าไหร่ แต่ระยะหลังมานี้ สอง พัฒนาฝีมือขึ้น โอกาสที่จะก้าวเป็นมือหนึ่งของประเทศไทยก็ไม่น่าจะยาก หากยังคงการเล่นที่ยอดเยี่ยมอย่างนี้ต่อไป” คือความเห็นของ บุญศักดิ์ ถึงรุ่นน้องรายนี้ เมื่อหลายปีก่อน",
"title": "ทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข"
},
{
"docid": "60610#3",
"text": "จากผู้ใช้รุ่นนี้มีความสามารถในการติดตั้งโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์ของพวกเขา. โทรศัพท์คนแรกที่มาพร้อมกับ S60 UI & Symbian OS 6.1 เป็นโนเกีย 7650; มันเป็นโทรศัพท์ 2.5G แรกและมีกล้อง & เซ็นเซอร์วัดแสง.",
"title": "ซิมเบียน"
},
{
"docid": "266789#4",
"text": "คืนหนึ่งลี่ตื่นขึ้นมากลางดึกและแอบขึ้นไปกินเบียร์บนดาดฟ้า ลี่บังเอิญพบกับเพื่อนร่วมกัน ซึ่งแนะนำให้เธอรู้จักลุง หลังจากนั้นลี่ก็ได้พบกับลุงอีกครั้งบนสถานีรถไฟฟ้า ครั้งนี้ลี่ทำแว่นตาเรย์แบนของลุงหล่นไปจนพัง ลี่ได้ปรึกษารุ่นน้องแถวบ้านที่ชื่อ เพลิน (อังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา) โดยแนะนำให้เขียนเบอร์โทรศัพท์ให้ ลี่จึงได้ซื้อแว่นตาและได้เขียนเบอร์โทรศัพท์ไว้บนกล่องและหาโอกาสให้แว่นตาใหม่ แต่ลุงก็ไม่โทรมาหา ลี่และเพลินมาดักรอที่ร้านวิดีโอที่คาดว่าลุงจะมา จนได้เจอลุงอีกครั้ง แต่เพลินสามารถหาวิธีเอาเบอร์โทรศัพท์ของลุงมาได้แต่ไม่ให้ลี่ ในเวลาต่อมาเพลินได้มาเป็นพนักงานร้านวิดีโอที่ลุงเช่า ลี่แก้เผ็ดเพลินโดยใช้โทรศัพท์ของเพลินส่งข้อความไปหากิ๊กของเพลินให้มาพบกันทั้ง 3 คน จนเกิดทะเลาะวิวาทกัน ลุงได้เข้ามาในร้านพอดีและถือแล็ปท็อปมาด้วยก็เกิดทำตกลงพื้น",
"title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ"
},
{
"docid": "123967#0",
"text": "โนเกีย 3310 () เป็นโทรศัพท์มือถือในระบบเครือข่ายย่านความถี่คู่(dual band) GSM900/1800 เปิดตัวเป็นครั้งแรกในไตรมาสที่สี่ของพ.ศ. 2543 โดยมาแทนที่โนเกีย 3210 ที่เป็นที่นิยมมาก่อนหน้านั้น โดยโทรศัพท์รุ่นนี้ประสบความสำเร็จในเรื่องของยอดขายเป็นอันมาก เป็นโทรศัพท์รุ่นที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดรุ่นหนึ่งด้วยยอดขาย 126 ล้านเครื่องทั่วโลก รุ่นข้างเคียงอื่นๆ ที่ออกตามแบบ 3310 ประกอบไปด้วย โนเกีย 3315, 3320, 3330, 3350, 3360, 3390 และ 3395 ",
"title": "โนเกีย 3310"
},
{
"docid": "392019#6",
"text": "นอกจากนี้ ทรูมูฟ เอช ยังมีอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ รุ่น Go Live สมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ รุ่น Go Live ทรู บียอนด์ (TRUE BEYOND) และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (แอร์การ์ด) ทั้งในระบบ 3G และ 4G LTE รวมถึงโทรศัพท์มือถือของผู้ผลิตต่างๆ เข้ามาจำหน่ายอีกด้วย",
"title": "ทรูมูฟ เอช"
},
{
"docid": "896624#2",
"text": "ซิมการ์ดมีได้หลายขนาด โดยขนาดที่ใหญ่ที่สุดมีขนาดเท่าบัตรประจำตัวฝังด้วยแผงวงจรรวม ขนาดที่เล็กลงมา (กำหนดโดย มินิ ไมโคร และนาโน) ใช้ในโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นที่ใหม่กว่าขึ้นตามลำดับ ปัจจุบันซิมการ์ดนิยมทำไว้บนบัตรขนาดเท่าบัตรประจำตัวแต่มีรอยปรุให้สามารถแยกออกเป็นบัตรขนาดเล็กลงเพื่อสอดลงในตัวเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ นอกจากนี้โทรศัพท์เคลื่อนที่บางรุ่นยังมีซิมการ์ดบาง ๆ ฝังไว้กับแผงวงจรพิมพ์ ตารางต่อไปนี้เป็นขนาดของซิมการ์ดที่มีใช้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อักษรย่อ FF คือ form factor หรือตัวประกอบระบุการย่อส่วน ยิ่งมีค่ามาก ขนาดก็เล็กลง",
"title": "ซิมการ์ด"
},
{
"docid": "640930#17",
"text": "ไอแพดรุ่นแรกมาพร้อมกับหน่วยความจำ 16GB 32GB และ 64GB สามารถเชื่อมต่อได้สองรูปแบบคือ วายฟายอย่างเดียว หรือวายฟายและสัญญาณโทรศัพท์มือถือ (WiFi + Cellular)[1] โดยในไอแพดรุ่นแรกในรูปแบบวายฟายและสัญญาณโทรศัพท์มือถือจะรองรับมาตรฐานจีเอสเอ็ม/ยูเอ็มทีเอส และไม่รองรับซีดีเอ็มเอ แต่รองรับเอจีพีเอสได้เหมือนกับรุ่นต่อ ๆ มา[1]",
"title": "ไอแพด (รุ่นที่ 1)"
},
{
"docid": "60610#12",
"text": "โนเกียโทรศัพท์แรกของ N - series N90 จะขึ้นอยู่กับรุ่น 8.1. S60 2ครั้ง Edition FP2 และ FP3 ได้ขึ้นอยู่กับรุ่น 8.0 & 8.1.\nSymbian OS 9.1 ออกวางจำหน่ายได้ในช่วงต้น 2005 แต่รุ่น 9.0 ไม่ได้มีไว้สำหรับประชาชนทั่วไป.",
"title": "ซิมเบียน"
},
{
"docid": "771378#13",
"text": "เอสจะหาทางทำให้พี่แบลล์กลับมารักเขาอีกครั้งได้หรือไม่ และทั้งสองจะสามารถลงตัวกันได้จริงๆเมื่อไหร่?",
"title": "รุ่นพี่ Secret Love"
},
{
"docid": "478165#2",
"text": "เนื่องจากมีความต้องการทางการตลาดสูงและปัญหาเครื่องรุ่นสีน้ำเงิน[16] ทำให้เกิดการขาดตลาดโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามในวงการเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ได้แสดงความคิดเห็นอย่างหลายหลายว่า มันคือ \"นักฆ่าไอโฟน\"[17] ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2555 เทคเรดาร์จัดอันดับให้ เอส 3 เป็นโทรศัพท์มือถือที่ดีที่สุดจาก 20 อันดับ[18] ขณะเดียวกัน นิตยสารสตัฟฟ์ ได้จัดให้เอส 3 เป็นอันดับ 1 จาก 10 อันดับสมาร์ตโฟนที่ดีที่สุดในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555[19] อีกทั้งยังได้รางวัล \"โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุโรปแห่งปี 2012-13\" (European Mobile Phone of 2012–13) จากสมาคมภาพและเสียงแห่งยุโรป[20] และได้รางวัล \"โทรศัพท์แห่งปี\" ประจำปี 2555 จากนิตยสาร<i data-parsoid='{\"dsr\":[11775,11782,2,2]}'>ที3[21]",
"title": "ซัมซุง กาแลคซีเอส 3"
},
{
"docid": "19071#9",
"text": "โดยในยุคแรกนั้นจะเป็น NMT Mobile Phone Standard (Nordic Mobile Telephony) หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่อนาล็อกรุ่นแรกนั่นเอง และได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเผยโทรศัพท์ NMT รุ่นแรกในปี 1987 โดยมีสโลแกน \"Connecting People\" กับแนวคิดที่ต้องการเปิดอิสระและความต่อเนื่องในการติดต่อสื่อสาร จนกระทั่งกลายมาเป็นคำที่อยู่ในใจของผู้รักโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบันกันถ้วนหน้า",
"title": "โนเกีย"
},
{
"docid": "673358#2",
"text": "เมื่อถึงจุดๆหนึ่ง ที่ความรู้สึกของใครซักคน (หรืออาจจะทั้งคู่) ก้าวข้ามนิยามคำว่าเพื่อนไปมากกว่านั้นเมื่อไหร่ ก็มักจะมีสัญญาณ (Sign) อะไรบางอย่างที่เกิดขึ้น อาทิเช่น คิดถึงอยากบอกให้รู้ (แต่ไม่กล้าบอก) สบตามองหน้ากันแล้วหวั่นไหว หัวใจเต้นด้วยจังหวะที่ไม่เหมือนเดิม อ่อนไหว อยากเทคแคร์เอาใจใส่ อาการเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อไหร่ ขอให้รู้ไว้เถอะว่า หัวใจได้ยึดอำนาจการปกครองสมองไปเรียบร้อย (รักประหาร) ",
"title": "สัญญาณ (เพลงเจ็ตเซ็ตเตอร์)"
},
{
"docid": "123967#7",
"text": "โนเกีย 3330 เป็นรุ่นที่เหมือนกับ 3310 แต่มีการเพิ่มความสามารถในการใช้ WAP ผ่านทางเทคโนโลยี SMS เพิ่มภาพถนอมหน้าจอแบบเคลื่อนไหว มีเกมเพิ่มหนึ่งเกมคือ Bumper (เกมพินบอลล์) และเก็บสมุดโทรศัพท์ไว้ในหน่วยความจำของเครื่อง (100 รายการ) ซึ่งรุ่นก่อนหน้านี้จะเก็บลงซิมการ์ดเพียงอย่างเดียว โทรศัพท์รุ่นนี้มีความสามารถในการดาวน์โหลดเกมผ่าน WAP (เช่นด่านต่างๆ ของ Snake II หรือ Space Impact เป็นต้น) แต่ความสามารถในการเชื่อมต่อกับ WAP โดยไม่ใช้ GPRS นั้นไม่เป็นที่นิยมและไม่สามารถตีตลาดรุ่น 3310 ในภูมิภาคยุโรปได้",
"title": "โนเกีย 3310"
},
{
"docid": "896624#3",
"text": "ซิมการ์ดแรกสุดทีมีใช้นั้น มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิต สำหรับใช้ติดตั้งกับโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นเก่าที่มีขนาดใหญ่เทอะทะ ในเวลาต่อมาเมื่อโทรศัพท์เคลื่อนที่มีขนาดเล็กลง จึงมีการย่อส่วนซิมการ์ดลงเป็นซิมการ์ดขนาดมินิ",
"title": "ซิมการ์ด"
},
{
"docid": "335033#9",
"text": "นอกจากนี้ ผู้บัญชาการ ปดส. แถลงว่า ไม่เชื่อว่าผู้มามอบตัวทั้งสามเป็นผู้กระทำความผิดจริง และเชื่อว่าเป็นการจัดฉากอย่างแน่นอน เนื่องจาก 1) ผู้แอบอ้างเป็นผู้กระทำความผิดให้การไม่สอดคล้องกัน 2) และให้การในทางให้ร้ายตนเอง ซึ่งผิดกับวิสัยของผู้ต้องหาทั่วไป ครั้นถามถึงพยานหลักฐานก็ไม่สามารถยืนยันหรือนำมาแสดงได้ 3) ขณะสอบปากคำนายธิติ พูนนิติพร เจ้าของโรงแรมที่เกิดเหตุ ถึงความเกี่ยวพันกับนายธีระชัย แต่ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์จากผู้หญิงคนหนึ่งเรียกให้ไปคุยนอกห้องประมาณห้านาที เสร็จแล้วกลับมาพบพนักงานสอบสวนอ้างว่าเครียดและมีอาการป่วย ไม่ขอให้การต่อ 4) เมื่อวันที่ 22 กันยายน ซึ่งเป็นวันที่บริษัทอาร์เอสฯ เข้าแจ้งความ นายวิชาญ ปะกิระนันท์ พ่อครัวของโรงแรม ได้ถูกอุ้มตัวไปจากโรงแรม และภรรยาไม่ทราบว่าหายไปไหน จนบ่ายวันที่ 24 กันยายน ภรรยาจึงเข้าแจ้งความที่สถานที่ตำรวจภูธรเมืองขอนแก่น เป็นข้อสงสัยว่าหากจะเข้ามอบตัวหรือไปหามูลนิธิปวีณาฯ นายวิชาญก็ควรบอกภรรยาเสียก่อน แต่ภรรยากลับพบเองในโทรทัศน์ว่าสามีไปมอบตัว 5) ขณะเกิดเหตุนายธีระชัยใช้โทรศัพท์มือถือโนเกีย รุ่นเอ็น72 ราคาประมาณหนึ่งหมื่นห้าพันบาท แต่ขณะนี้กลับใช้โทรศัพท์มือถือ ยี่ห้อโนเกีย รุ่น 3310 หรือ 3315 ซึ่งมีราคาห้าร้อยถึงหนึ่งพันบาท โดยอ้างว่าของเดิมนั้นทำหายไปแล้ว 6) ผู้ความรู้ทางเทคนิคให้การว่าโทรศัพท์โนเกีย รุ่นเอ็น72 ไม่น่าจะมีความละเอียดพอที่จะใช้บันทึกวีดิทัศน์จนออกมาคมชัดดังกรณีนี้ได้ อนึ่ง ยังกล่าวอีกว่า",
"title": "กรณีการเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพโฟร์-มดขณะอาบน้ำ"
},
{
"docid": "254546#0",
"text": "เอ็นเกจ () เป็นชื่อของโทรศัพท์มือถือรุ่นหนึ่งในอดีต หรือชื่อของบริการเกมในโทรศัพท์มือถือในปัจจุบันของบริษัทโนเกีย ซึ่งสำหรับตัวเครื่องในยุคเริ่มต้นนั้นได้เริ่มมีการจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยได้ออกวางจำหน่ายเพื่อให้แตกต่างจากเกมบอยแอดวานซ์ของบริษัทนินเทนโดในด้านของการที่เป็นเครื่องเล่นเกมบนโทรศัพท์มือถืออย่างเต็มรูปแบบ แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งนั้นเนื่องมาจากปุ่มต่างๆที่อยู่บนเครื่องนั้นถูกมองว่าเหมาะสมกับการโทรศัพท์มากกว่าการเล่นเกม และอีกประการหนึ่งก็คือตัวเครื่องในรุ่นแรกนั้นถูกมองว่ามีลักษณะคล้ายกับอาหารของชาวเม็กซิกันที่มีชื่อว่า\"ทาโก้\"",
"title": "เอ็นเกจ"
},
{
"docid": "473902#1",
"text": "บริษัทนี้เดิมเป็นแผนกหนึ่งในบริษัทโมโตโรลา ใช้ชื่อว่า Mobile Devices เป็นผู้นำตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบแอนะล็อก โดยเป็นผู้บุกเบิกโทรศัพท์แบบฝาพับ รุ่นสตาร์แท็กในช่วงกลางทศวรรษ 1990 แต่กลับไม่สามารถก้าวทันคู่แข่งคือ โนเกียและซัมซุง ในการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอลและสมาร์ทโฟน ทำให้มียอดขายตกต่ำและประสบภาวะขาดทุนอย่างต่อเนื่องในช่วงปลายทศวรรษ 2000",
"title": "โมโตโรลาโมบิลิตี"
},
{
"docid": "699999#1",
"text": "ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ป้ายชื่อของตู้โทรศัพท์ถูกประดับตกแต่งด้วยมงกุฎทิวดอร์ (Tudor Crown) ที่ยื่นออกมา อันเป็นตัวแทนของรัฐบาลอังกฤษ ตู้โทรศัพท์แดงถูกใช้บ่อยครั้งในฐานะตัวแทนของวัฒนธรรมอังกฤษทั่วโลก แม้ว่าจะหยุดการผลิตไปแล้วด้วยการแทนที่ของตู้โทรศัพท์รุ่น KX ใน ค.ศ. 1985 แต่ตู้โทรศัพท์แดงจำนวนมากยังคงอยู่",
"title": "ตู้โทรศัพท์แดง"
},
{
"docid": "182737#2",
"text": "มีคำบอกใบ้เมื่อต้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 ว่า \"เรซิเดนต์อีวิล 4\" อยู่ในช่วงพัฒนา ขณะที่เกมทั้งหมด 4 รุ่นที่นำเสนอถูกยกเลิกไป แรกเริ่มพัฒนาให้กับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 ของโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ความพยายามครั้งแรกกำกับโดยฮิเดกิ คามิยะ หลังจากโปรดิวเซอร์ชื่อชินจิ มิคามิ ขอให้เขาสร้างงานชิ้นใหม่ในเกมชุด\"เรซิเดนต์อีวิล\" แม้กระนั้น เกิดตัดสินใจเริ่มพัฒนาใหม่อีกครั้ง เกมตั้งใจจะให้เป็นรุ่นเฉพาะของเครื่องเกมคิวบ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของแคปคอมไฟฟ์ แต่รุ่นเพลย์สเตชัน 2 ถูกประกาศออกมาก่อนรุ่นเกมคิวบ์ หลังจากนั้น\"เรซิเดนต์อีวิล 4\" ออกจำหน่ายสำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ วี เพลย์สเตชัน 3 เอกซ์บอกซ์ 360 และรุ่นสำหรับไอโอเอส โทรศัพท์มือถือมากมาย และซีโบ ในปี พ.ศ. 2556 \"เรซิเดนต์อีวิล 4\" ออกรุ่นสำหรับแอนดรอยด์ (เฉพาะซัมซุง ผ่านซัมซุงแอปส์) เกมรุ่นดังกล่าวมีอยู่ในเพลย์สโตร์ในญี่ปุ่นระยะหนึ่ง เรซิเดนต์อีวิล 4 ได้รับคำสรรเสริญจากทั่วโลก นักวิจารณ์ถือว่าเกมเป็นคู่แข่งอันดับต้น ๆ ในฐานะเกมแห่งปี พ.ศ. 2548 และถือว่าเป็นเกมที่ทำข้ามแพลตฟอร์มที่ประสบความสำเร็จ และถือว่ามีอิทธิพลต่อเกมประเภทเกมยิงมุมมองบุคคลที่สามอย่างมาก",
"title": "เรซิเดนต์อีวิล 4"
},
{
"docid": "665760#3",
"text": "เพลงที่สองของ สรวง สันติ ที่ตามออกมาเมื่อไม่กี่วันก็คือเพลง \"รักเมียเสียเพื่อน\" ซึ่งเชื่อว่าเป็นเพลงที่ดีอีกเพลงหนึ่ง แต่ไปๆมาเขาก็กลับไม่เกิดในฐานะนักร้องอีกนั่นแหละ เขาได้ร้อง แต่ไม่ค่อยมีผลงานสักเท่าไหร่ แต่กลับดังในฐานะนักแต่งเพลงมากกว่า โดยมีผลงานเพลงทั้งร้องเองและแต่งให้นักร้องอื่นร้องมากมาย เช่นแฟนใครแฟนมัน ,ไม่ใกล้ไม่ไกล ,มันบ่แน่หรอกนาย ที่เขาร้องเอง กับ สุขีเถิดที่รัก ที่แต่งให้พนม นพพร ร้อง เขาอยู่กับวง “จุฬารัตน์” 6 ปี อยู่จนวงจุฬารัตน์ยุบวง ก็เลยออกมาตั้งวงเอง ชื่อวงเดอะบัฟฟาโล่ และมีชื่อเสียงในการนำดนตรีไซคีเดลิคและฮาร์ดร็อคไปใส่ในเพลงลูกทุ่งมาตั้งแต่ทศวรรษ 1970 แต่แม้จะร้องเพลงร็อค เขาก็ยังไม่ดัง แต่กลับดังเรื่องการเป็นร็อคเกอร์ คือเป็นนักดนตรีร็อคของไทยรุ่นแรก ๆ ที่เผาเสื้อ เผากีตาร์ เผากลอง ฟาดกีตาร์กับเวที เล่นจริง เผาจริง ฟาดจริง",
"title": "สรวง สันติ"
},
{
"docid": "306461#1",
"text": "โดย เอกซ์6 จะมาแทนที่ โนเกีย 5800 อีกทั้งโนเกียยังชูความเป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ทางด้านเสียงเพลง และโทรศัพท์จอสัมผัสรุ่นนี้เป็นโทรศัพท์ระดับสูง ที่ทัดเทียมกับ โนเกีย เอ็น97",
"title": "โนเกีย เอกซ์6"
},
{
"docid": "169175#1",
"text": "โทโมยะ เคยแอบชอบเพื่อนของ อะโออิ มาก่อน จึงขอร้องให้เธอช่วยไปขอเบอร์โทรศัพท์มาให้ แต่ก็ไม่ได้เบอร์มา เพราะเพื่อนของเธอไม่ชอบ ต่อมา โทโมยะ จึงกลายเป็นเพื่อนกับ อะโออิ และมาช่วยเธอทำหนังที่เธอเรียนอยู่ และเมื่อเธอเรียนจบ เธอก็ได้ทำงานในกองถ่าย แต่ว่าก็ได้มีรุ่นพี่มาแนะนำให้เธอไปเรียนต่อ และให้ โทโมยะ เข้ามาทำงานแทน แต่ว่าเมื่อเธอขึ้นเครื่องบินไป เพื่อที่จะเรียนต่อ ก็มีอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น.",
"title": "กว่าจะรู้ว่ารัก(เพื่อน)"
},
{
"docid": "123967#3",
"text": "นอกจากจะมีฟังก์ชันทั่วไปที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านทางโทรศัพท์แล้ว ยังมีเครื่องมืออื่นๆ ในโนเกีย 3310 อีกด้วยเช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกาจับเวลา และนาฬิกาปลุก โทรศัพท์รุ่นนี้มีเกมทั้งหมด 4 เกม ได้แก่ Snake II (เกมงู) Pairs II (เกมจับคู่) Space Impact (เกมตะลุยอวกาศ) และ Bantumi (มันกาล่าหรือหมากหลุม) โทรศัพท์รุ่นนี้เป็นรุ่นที่นิยมใช้ส่ง SMS เนื่องจากสามารถส่งข้อความด้วยความยาวเป็นสองเท่าของ SMS มาตรฐาน ซึ่งจะตัดแบ่งข้อความส่งออกไปเป็นสองครั้ง และสามารถสั่งโทรออกด้วยเสียงไปยังหมายเลขที่ได้ตั้งไว้ แล้วความคงทนมีมากกว่าโทรศัพท์รุ่นใหม่ๆ อีกด้วย",
"title": "โนเกีย 3310"
},
{
"docid": "391196#35",
"text": "การถ่ายภาพในสัปดาห์นี้ สาวๆจะต้องถ่ายทอด กีฬาโอลิมปิกในสมัยโบราณ ให้ออกมาเป็นแฟชั่นชั้นสูง โดยสาวๆแต่ละคนได้ชนิดกีฬาที่แตกต่างกันดังนี้\nในห้องตัดสิน ภาพของ แอลลิสัน ได้รับการตอบรับที่ดี แต่ถูกตำหนิว่า ใช้เวลานานมากเกินไป กว่าจะถ่ายภาพออกมาได้ดี ลิซ่า ถูกวิจารณ์ว่า ภาพของเธอดูมีพลังงานที่ดี แต่ การแสดงออกยังไม่ค่อยดีเท่าไหร่ แองเจลี ต้องตกเป็นสองคนสุดท้ายร่วม กับ โดมินิค เนื่องจาก โดมินิค ถ่ายภาพในครั้งนี้ออกมาได้แย่ และบุคลิกของเธอ ยังดูไม่โดดเด่นเพียงพอ กับ แองเจลี ที่คณะกรรมการ ไม่แน่ใจว่าเธอ จะทนต่อภายใต้แรงกดดัน ของในวงการนี้ได้หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ภาพที่แข็งแกร่ง กับ บุคลิกที่โดดเด่น ได้ช่วยเธอไว้ ทำให้ โดมินิค เป็นผู้ที่ต้องถูกคัดออกเป็นตอนที่รวบรวมบทสรุป ภาพที่ไม่เคยเห็นมาก่อน จากทั้งสิบตอนแรกของฤดูกาล ได้แก่ การโต้เถียงกันระหว่าง บีอังก้าและแองเจลี เกี่ยวกับเรื่องรายชื่อการใช้โทรศัพท์ภายในบ้าน ซึ่งต่อมา พวกเธอก็สามารถทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, สาวๆตั้งคำถามเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในแบบสาวประเภทสองของ ไอซิส, บีอังก้าและคามิลล์ ทะเลาะกันในเรื่องของการใช้โทรศัพท์, แอลลิสันและอเล็กซานเดรีย ได้พูดคุยกันเกี่ยวกับเรื่องของพวกเธอสมัยก่อนที่เคยเป็น คนดีมาก กับ คนที่ดูแข็งกร้าวแต่อ่อนไหวง่าย, บรีตำหนิบีอังก้าว่าไม่ช่วยทำความสะอาดภายในบ้านพัก, แองเจลี หลงไหลกับก้นที่สวยงามของ คิม คาร์เดเชียน, การแสดงตลกไปมาภายในบ้านพักของลิซ่า, การไปเที่ยววันแรกของการเดินทางไปถึงเกาะ ซันโดรีนี ในประเทศกรีซ, สาวๆได้ฉลองวันเกิดครบรอบ 22ปีให้กับลอร่า, การนวดผ่อนคลายแบบกรีกของแองเจลี และลอร่า(เป็นส่วนหนึ่งของการชนะการแข่งขันชิงรางวัลของลอร่า ในตอนที่10)",
"title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17"
},
{
"docid": "646200#2",
"text": "มีข่าวลือหลายเรื่องเกี่ยวกับ iPhone รุ่นต่อไป ศูนย์กลางอยู่ที่ขนาดของอุปกรณ์; โดยที่ส่วนใหญ่ของ iPhone ทุกรุ่นใช้จอแสดงผลขนาด 3.5 นิ้วซึ่งมีขนาดเล็กกว่าหน้าจอที่ใช้โดยโทรศัพท์ที่เป็นเรือธงของคู่แข่ง การเปลี่ยนแปลงครั้งสุดท้ายเรื่องขนาดสำหรับชุดของ iPhone มาพร้อมกับ iPhone 5 (ต่อด้วย iPhone 5C และ iPhone 5S) ซึ่งแสดงผลด้วยจอขนาดที่ใหญ่กว่า แต่มีความกว้างเช่นเดียวกับรุ่นก่อนที่ 4 นิ้ว หลังจากที่สูญเสียส่วนแบ่งการตลาดมาร์ทโฟนของแอปเปิ้ลให้กับหลายบริษัทที่ผลิตโทรศัพท์ด้วยการแสดงผลด้วยขนาดที่ใหญ่กว่าในช่วงต้นมกราคม 2014 ได้มีการชี้ให้เห็นว่าแอปเปิ้ลกำลังเตรียมที่จะเปิดตัว iPhone รุ่นใหม่ที่มีจอแสดงผลขนาดใหญ่กว่าเป็นขนาด 4.7 นิ้วและ 5.5 นิ้ว[15][16][17]",
"title": "ไอโฟน 6"
},
{
"docid": "848293#0",
"text": "ก่อนที่จะมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการ ก็มีข่าวลือต่าง ๆ ในโลกออนไลน์จาก \"SamMobile\" ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 โดนเนื้อข่าวรายงานว่าซัมซุง กาแลคซีเอส 8 จะไม่มีช่องหูฟัง 3.5 มิลลิเมตรอีกต่อไปแล้ว แต่หลังจากนั้น ข่าวลือก็ไม่เป็นความจริง ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 สำนักข่าว \"เดอะการ์เดียน\" รายงานว่า ส่วนของหน้าจอทั้งสองขนาดนั้นจะมีขอบจากฝั่งไปอีกฝั่งที่บางมากและมีระบบสแกนม่านตาเพิ่มเข้ามา นอกจากนี้ \"เดอะการ์เดียน\" ยังยืนยันว่าโทรศัพท์รุ่นนี้จะมาพร้อมความจำ 64 จิกะไบต์และรองรับไมโครเอสดีการ์ด ส่วนพอร์ทการชาร์จใช้ USB-C และผู้ช่วยอัจฉริยะที่ชื่อว่า \"Bixby\" ไม่นานหลังจากนั้น สำนักข่าว \"เวนเจอร์บีท\" ได้เผยโฉมโทรศัพท์รุ่นนี้ออกมา โดยพบว่าปุ่มควบคุมด้านล่างได้นำออกไป แทนที่ด้วยระบบสัมผัสบนหน้าจอ ส่วนระบบสแกนรอยนิ้วมือได้ย้ายไปอยู่ด้านหลังของตัวเครื่อง ในกลางเดือนมีนาคม \"อีแวน แบลส\" ได้ทวีตในทวิตเตอร์เกี่ยวกับสีของรุ่นนี้",
"title": "ซัมซุง กาแลคซีเอส 8"
},
{
"docid": "441180#5",
"text": "เกิดการปรับปรุงสำคัญของคุณภาพการโทรศัพท์ภาพในการให้บริการสำหรับคนหูหนวกในสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ. 2546 เมื่อ Sorenson Media Inc. (ภายหลังคือ formerly Sorenson Vision Inc.) โดยบริษัทซอฟต์แวร์เข้ารหัสและบีบอัดวิดีโอได้พัฒนา VP-100 รุ่นใช้งานคนเดียวสำหรับชุมชนคนหูหนวกโดยเฉพาะ มันถูกออกแบบมาเพื่อส่งออกวิดีโอผ่านโทรทัศน์ของผู้ใช้เพื่อลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อกิจการ ซึ่งกลายเป็นที่นิยมอย่างรวดเร็ว จากการอำนวยความสะดวกทางการศึกษาสำหรับคนหูหนวก",
"title": "การโทรศัพท์ภาพ"
}
] |
946 | ใครเป็นผู้ปราบวิญญาณของแม่นากพระโขนง ? | [
{
"docid": "59063#6",
"text": "จนกระทั่งตายายคู่หนึ่งที่ไม่รู้เรื่องเพิ่งย้ายมาอยู่ใหม่ เก็บหม้อที่ถ่วงนางนากได้ขณะทอดแหจับปลา นางนากจึงถูกปลดปล่อยออกมาอีกครั้ง แต่สุดท้ายก็ถูกสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) สยบลงได้ กะโหลกศีรษะส่วนหน้าผากของนางนากถูกเคาะออกมาทำหัวปั้นเหน่ง เพื่อเป็นการสะกดวิญญาณ และนำนางนากสู่สุคติ หลังจากนั้น ปั้นเหน่งชิ้นนั้นก็ตกทอดไปยังเจ้าของอื่น ๆ อีกหลายมือ ตำนานรักของนางนาก นับเป็นตำนานรักอีกเรื่องหนึ่งที่ประทับใจผู้ฟังอย่างไม่รู้จบ กับความรักที่มั่นคงของนางนากที่มีต่อสามี ที่แม้แต่ความตายก็มิอาจพรากหัวใจรักของนางไปได้[2]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
}
] | [
{
"docid": "480554#0",
"text": "พี่มาก..พระโขนง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2556 แนวโรแมนติก สยองขวัญ และตลก ซึ่งดัดแปลงจากเรื่องแม่นากพระโขนง ผีพื้นบ้านไทย กำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกุล ผู้มีชื่อเสียงจากผลงาน สี่แพร่ง ตอน คนกลาง, ห้าแพร่ง ตอน คนกอง และ กวน มึน โฮ กับทั้งนำแสดงโดย มาริโอ้ เมาเร่อ เป็นพี่มาก กับดาวิกา โฮร์เน่ เป็นแม่นาก พร้อมด้วย ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์, พงศธร จงวิลาส, อัฒรุต คงราศรี และกันตพัฒน์ สีดา ซึ่งเคยร่วมแสดงใน สี่แพร่ง และ ห้าแพร่ง มาแล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้เริ่มฉายตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556 ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จทั้งรายได้ เป็นภาพยนตร์ที่ทำเงินสูงสุดในประเทศไทย และเป็นภาพยนตร์ทำรายได้มากที่สุดของจีทีเอช แทนที่ ATM เออรัก เออเร่อ (2555) ที่ทำสถิติเดิมไว้",
"title": "พี่มาก..พระโขนง"
},
{
"docid": "59063#18",
"text": "อีนากพระโขนง - ละครร้องของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ จัดแสดงเมื่อปี พ.ศ. 2455 ที่โรงละครปรีดาลัย แม่นาคพระโขนง เดอะมิวสิคัล - จัดแสดงเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม -26 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ นำแสดงโดย นัท มีเรีย, อาณัตพล ศิริชุมแสง นางนาก เดอะมิวเซียม - จัดแสดงเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ที่มะขามป้อม สตูดิโอ แม่นาค เดอะมิวสิคัล - จัดแสดงเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ เอ็มเธียเตอร์ นำแสดงโดย ธีรนัยน์ ณ หนองคาย, วรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#7",
"text": "เอนก นาวิกมูล ผู้ศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ไทยได้ค้นคว้าเอกสารร่วมสมัยเกี่ยวกับเรื่องแม่นากพระโขนงนี้ พบว่า จากหนังสือพิมพ์สยามประเภทฉบับวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2442 ของ ก.ศ.ร. กุหลาบ น่าจะมาจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 3 ของ อำแดงนาก ลูกสาวกำนันตำบลพระโขนงชื่อ ขุนศรี ที่ตายลงขณะยังตั้งท้อง และทางฝ่ายลูก ๆ ของอำแดงนากก็เกรงว่าบิดาของตน (สามีแม่นาก) จะไปแต่งงานมีภรรยาใหม่ และต้องถูกแบ่งทรัพย์สิน จึงรวมตัวกันแสร้งทำเป็นผีหลอกผู้คนที่ผ่านไปมาด้วยการขว้างหินใส่เรือผู้ที่สัญจรไปมาในเวลากลางคืนบ้าง หรือทำวิธีต่าง ๆ นานา เพื่อให้คนเชื่อว่าผีของมารดาตนเองเฮี้ยน และพบว่าสามีของอำแดงนาก ไม่ใช่ชื่อ มาก แต่มีชื่อว่า นายชุ่ม ทศกัณฐ์ (เพราะเป็นนักแสดงในบท ทศกัณฐ์[1]) และพบว่า คำว่า แม่นาก เขียนด้วยตัวสะกด ก ไก่ (ไม่ใช่ ค ควาย)[1] แต่การที่สามีแม่นากได้ชื่อเป็น มาก เกิดขึ้นครั้งแรกจากบทประพันธ์เรื่อง \"อีนากพระโขนง\" ซึ่งเป็นบทละครร้อง ในปี พ.ศ. 2454 โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์[1]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#15",
"text": "นางนาคพระโขนง - พ.ศ. 2479 (ไม่มีข้อมูลนักแสดงนำ, กำกับโดย หม่อมราชวงศ์อนุศักดิ์ หัสดินทร์[1]) ลูกนางนาค/ลูกนางนาคพระโขนง - พ.ศ. 2493 (ไม่มีข้อมูลนักแสดงนำ) นางนาคพระโขนง - พ.ศ. 2495 (ไม่มีข้อมูลนักแสดงนำ) นางนาคพระโขนง - พ.ศ. 2498 (ไม่มีข้อมูลนักแสดงนำ) แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2502 นำแสดงโดย สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์, ปรียา รุ่งเรือง แม่นาคคืนชีพ - พ.ศ. 2503 นำแสดงโดย อดุลย์ ดุลยรัตน์, วิไลวรรณ วัฒนพาณิช วิญญาณรักแม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2505 นำแสดงโดย สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์, ปรียา รุ่งเรือง แม่นาคคนองรัก - พ.ศ. 2511 นำแสดงโดย ปรียา รุ่งเรือง, ชุมพร เทพพิทักษ์, ฤทธิ์ ลือชา แม่นาคพระนคร- พ.ศ. 2513 นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา, อรัญญา นามวงศ์ แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2516 นำแสดงโดย ยอดชาย เมฆสุวรรณ, สุภัค ลิขิตกุล แม่นาคอาละวาด - พ.ศ. 2516 นำแสดงโดย ยอดชาย เมฆสุวรรณ, สุภัค ลิขิตกุล แม่นาคอเมริกา - พ.ศ. 2518 นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, เปียทิพย์ คุ้มวงศ์ แม่นาคบุกโตเกียว - พ.ศ. 2519 นำแสดงโดย อุเทน บุญยงค์, ภาวนา ชนะจิต, อรสา พรหมประทาน แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2521 นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, ปรียา รุ่งเรือง, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ นางนาค ภาคพิสดาร - พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย โน้ต เชิญยิ้ม, สีดา พัวพิมล แม่นาค 30 - พ.ศ. 2530 นำแสดงโดย โน้ต เชิญยิ้ม, สีดา สุทธิรักษ์, ยอด นครนายก, ท้วม ทรนง, เด๋อ ดอกสะเดา, เหี่ยวฟ้า แม่นาคคืนชีพ - พ.ศ. 2533 นำแสดงโดย ลิขิต เอกมงคล, ชุดาภา จันทร์เขตต์ แม่นาคเจอผีปอบ- พ.ศ. 2535 นำแสดงโดย ตรีรัก รักการดี, ณัฐนี สิทธิสมาน แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2537 นำแสดงโดย ดาริน กรสกุล, รอน บรรจงสร้าง นางนาก - พ.ศ. 2542 นำแสดงโดย ทราย เจริญปุระ, วินัย ไกรบุตร นาค (ภาพยนตร์แอนิเมชัน) - พ.ศ. 2551 ให้เสียงโดย ศศิกานต์ อภิชาตวรศิลป์, หม่ำ จ๊กมก, นุ้ย เชิญยิ้ม แม่นาค 3D (ภาพยนตร์ 3 มิติ) - พ.ศ. 2555 นำแสดงโดย บงกช คงมาลัย, รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง พี่มาก..พระโขนง - พ.ศ. 2556 นำแสดงโดย ดาวิกา โฮร์เน่, มาริโอ้ เมาเร่อ ม.6/5 ปากหมาท้าแม่นาค - พ.ศ. 2557 นำแสดงโดย วนิดา เติมธนาภรณ์",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#17",
"text": "นางนาคพระโขนง - โดย หม่อมหลวงเปลื้อง อิศรางกูร ณ อยุธยาและคุณครูละม่อม อิศรางกูร ณ อยุธยา แม่นาคพระโขนง - โดย คณะเกศทิพย์ (จำนวน 20 ตอน) วิญญาณรักของแม่นาค - โดย คณะแก้วฟ้า แม่นาคพระโขนง - โดย คณะกันตนา นางนาก - โดย คณะ ๒๑๓ การละคร แม่นาคพระโขนง - โดย คณะรังสิมันต์ แม่นาคพระโขนง - โดย คณะเสนีย์ บุษปะเกศ แม่นาค - โดย คณะมิตรมงคล แม่นาคพระโขนง - โดย คณะผาสุกวัฒนารมย์ แม่นาคพระโขนง - โดย คณะนีลิกานนท์",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "480554#15",
"text": "ในด้านเสียงวิจารณ์ อำนาจ เกิดเทพจากผู้จัดการออนไลน์ กล่าวว่า หากนำโจทย์ที่ตั้งไว้ว่าจะทำหนังเรื่องนี้โดยใช้ \"ตลก\" นำหน้านั้นถือเป็นอะไรที่น่าสนใจไม่น้อย[32] นันทขว้าง สิรสุนทร มองเห็นจุดแข็งของ พี่มาก..พระโขนง มาจากผู้กำกับที่เป็นคนกำหนดทิศทางของหนัง ทั้งบท การแสดง การคัดเลือกนักแสดง การออกแบบการผลิต ฯลฯ ทำให้เข้าใจคนดูหนังยุคนี้อย่างลึก ซึ่งทำให้การวางจังหวะของหนัง การวางมุกต่าง ๆ น่าจะโดนใจคนดู[33] อภินันท์ บุญเรืองพะเนา มองว่าสิ่งที่ยอดเยี่ยมของภาพยนตร์ที่บอกเล่าเรื่องราวของตำนานแม่นาก พระโขนง เรื่องนี้คือการกล้าที่จะริเริ่มอะไรใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนมุมมองจากตัวนากมาเป็นมาก ซึ่งผู้สร้างก็กล้าฉีกขนบตั้งแต่การตั้งชื่อเรื่องเลยทีเดียว[28] อัญชลี ชัยวรพร กล่าวว่า พี่มาก..พระโขนง น่าจะอยู่ในลักษณะของการเขียนใหม่ขยายและเน้นจุดเก่าบางเรื่อง พร้อมทั้งเสนอมุมมองพี่มากในตอนจบ [34]",
"title": "พี่มาก..พระโขนง"
},
{
"docid": "257985#3",
"text": "บทละคร \"แม่นาค เดอะ มิวสิคัล\" เขียนขึ้นจากการตั้งคำถามว่าแม่นาคเป็นใครมาจากไหน ทำไมจึงมาอยู่ที่พระโขนง เพราะอะไรแม่นาคจึงขึ้นชื่อว่าดุร้ายเกินผีตายทั้งกลมตนอื่นๆในยุคนั้น ทำไมแม่นาคจึงรักพ่อมากมากจนไม่อาจตัดใจทิ้งพ่อมากไปได้ และเพราะอะไรวิญญาณแม่นาคจึงจากไปในที่สุด หลังจากนั้น ดารกาจึงได้เริ่มค้นคว้าหาข้อมูลของสมัยต้นรัตนโกสินทร์ และกำหนดให้เรื่องของแม่นาคเกิดขึ้นในสังคมปิดที่ตีกรอบภาระและหน้าที่ของผู้หญิงไว้ตายตัวจนซ่อนความรุนแรงของอารมณ์ที่พร้อมจะระเบิดขึ้นตลอดเวลา หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือสังคมที่สถานะภาพของผู้หญิงต่ำต้อยยิ่งกว่าผงธุลีดิน โดยเฉพาะในสังคมชนบทที่ให้ความสำคัญกับแรงงานมากที่สุด ผู้หญิงที่ทำงานไม่ได้มีค่าน้อยกว่าควาย และเมื่อหลวงเกณฑ์แรงงานผู้ชายไปทำงานปีละหลายเดือน ภาระหนักอึ้งทั้งหมดจึงตกอยู่กับผู้หญิงเท่านั้น",
"title": "แม่นาค เดอะมิวสิคัล"
},
{
"docid": "59063#19",
"text": "สยามประเภท - พ.ศ. 2442 โดย ก.ศ.ร. กุหลาบ นากพระโขนงที่สอง - พ.ศ. 2467 โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (หนึ่งในตอนของนิทานทองอิน) ดาม นางนากฉบับบางกอกการเมือง - พ.ศ. 2470 โดย ขุนชาญคดี กลอนแปดแม่นาคพระโขนง - หนังสือพิมพ์สยามราษฎร์ ปี พ.ศ. 2475 โดย ประภาศรี ผีอีนากพระโขนง - นิยาย ปี พ.ศ. 2481 นางนาคพระโขนง - นิยายตลกชุด สามเกลอ ปี พ.ศ. 2495 โดย ป. อินทรปาลิต แม่นากพระโขนง - นิยายภาพ พ.ศ. 2503 โดย ประพัฒน์ ตรีณรงค์ นิยายเรื่องแม่นาคพระโขนง - (ไม่มีข้อมูลผู้แต่งและปีพิมพ์) การ์ตูน แม่นาคพระโขนง - (ไม่มีข้อมูลผู้แต่งและปีพิมพ์) เปิดตำนานแม่นากพระโขนง - พ.ศ. 2543 โดย เอนก นาวิกมูล",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "94269#2",
"text": "\"นางนาก\" เป็นภาพยนตร์เรื่องที่สองในการกำกับของ นนทรีย์ นิมิบุตร ที่ประสบความสำเร็จมาแล้วอย่างงดงามจาก \"2499 อันธพาลครองเมือง\" เมื่อ 2 ปีก่อน (พ.ศ. 2540) ซึ่งในเรื่องนี้ก็ประสบความสำเร็จเช่นกัน โดยที่เนื้อเรื่องก็คือเนื้อเรื่องของแม่นาคพระโขนงที่คนไทยรู้จักกันดีอยู่แล้ว แต่ทว่า ครั้งนี้ ได้เปลี่ยนรายละเอียดต่าง ๆ ที่เคยคุ้นเคยให้สมจริงมากที่สุด เช่น เรียกชื่อแม่นาคว่า นางนาก, มีเหตุการณ์สุริยคราสเป็นฉากเปิดเรื่อง หรือ ให้นางนากยืนกลับหัวบนขื่อ ตามความเชื่อที่เล่ากันมา เป็นต้น",
"title": "นางนาก"
},
{
"docid": "133645#16",
"text": "ในปี พ.ศ. 2556 มาริโอ้มีผลงานแสดงภาพยนตร์กับจีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือจีทีเอช เรื่อง \"พี่มาก..พระโขนง\" ซึ่งดัดแปลงจากเรื่องแม่นากพระโขนง ผีพื้นบ้านไทย กำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกุล ผู้มีชื่อเสียงจากผลงาน \"สี่แพร่ง\" ตอน คนกลาง, \"ห้าแพร่ง\" ตอน คนกอง และ \"กวน มึน โฮ\" ซึ่งมาริโอ้ได้รับบทเป็นพี่มากหรือพี่มาร์ค แสดงคู่กับดาวิกา โฮร์เน่ รับบทเป็นแม่นาก พร้อมด้วย ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์, พงศธร จงวิลาส, อัฒรุต คงราศรี และกันตพัฒน์ สีดา ซึ่งเคยร่วมแสดงใน \"สี่แพร่ง\" และ \"ห้าแพร่ง\" มาแล้ว ตัวละครพี่มาก บรรจงเลือกมาริโอ้เพราะเคยได้ร่วมงานโฆษณาด้วยกันมาก่อน และเห็นว่ามาริโอ้เล่นได้หลากหลาย และเห็นว่าคนส่วนใหญ่เมื่อคิดถึงพี่มาก จะนึกถึงผู้ชายหน้าไทย ๆ หากเป็นมาริโอ้ คงแปลกดี และเมื่ออยู่กับตัวละคร 4 คนข้างต้นคงสนุกดี ",
"title": "มาริโอ้ เมาเร่อ"
},
{
"docid": "94269#0",
"text": "นางนาก เป็นภาพยนตร์ไทยที่มีเค้าโครงเรื่องจากแม่นาคพระโขนง เป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในด้านรายได้และรางวัลในรัชกาลที่ 4 เกิดสุริยคราสขึ้น ผู้คนแตกตื่น เหมือนกับเป็นเหตุบอกลางร้าย มาก (วินัย ไกรบุตร) ถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารรบที่ชายแดน ปล่อยให้เมียสาวที่กำลังท้องแก่ชื่อ นาก (อินทิรา เจริญปุระ) อยู่เพียงคนเดียว นากต้องลำบากตรากตรำทำนาอยู่คนเดียวทั้ง ๆ ที่ท้องแก่ใกล้คลอด เมื่อเจ็บท้องใกล้คลอด มีลางร้ายนกแสกบินผ่านหลังคาบ้าน นากเสียชีวิตพร้อมลูกขณะคลอด แต่วิญญาณของนางยังคงไม่ไปไหน วนเวียนอยู่บริเวณบ้านและรอคอยการกลับมาของผัวรัก และเมื่อมากกลับมา ผู้คนพยายามบอกมากเกี่ยวกับเรื่องนากที่ตายไปแล้ว มากไม่เชื่อ นากเองก็อาละวาดหักคอผู้คนที่พยามยามบอกเรื่องนี้แก่มาก ",
"title": "นางนาก"
},
{
"docid": "59063#16",
"text": "แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2522 ออกอากาศทาง ช่อง 7 นำแสดงโดย ปริศนา วงศ์ศิริ, ชานนท์ มณีฉาย แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2532 ออกอากาศทาง ช่อง 3 นำแสดงโดย ตรีรัก รักการดี, เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์, สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต แม่นาคพระโขนง - พ.ศ. 2537 ออกอากาศทาง ช่อง 5 นำแสดงโดย ลีลาวดี วัชโรบล, วรุฒ วรธรรม แม่นาคพระนคร - พ.ศ. 2539 ออกอากาศทาง ช่อง 7 นำแสดงโดย กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ, นุติ เขมะโยธิน แม่นาค - พ.ศ. 2542 ออกอากาศทาง ช่อง 7 นำแสดงโดย พัชราภา ไชยเชื้อ, พีท ทองเจือ แม่นากพระโขนง - พ.ศ. 2543 ออกอากาศทาง ช่อง 3 นำแสดงโดย กุลณัฐ ปรียะวัฒน์, ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ แม่นาคพระโขนง รักนี้นิรันดร - พ.ศ. 2556 ออกอากาศทาง ช่อง 9 และออกอากาศซ้ำในปี 2558 ทาง ไบรท์ทีวี นำแสดงโดย อมราพร พร้อมลาภ, กวี วงศ์จันทรา แม่นาก - พ.ศ. 2559 ออกอากาศทางช่อง ช่อง 8 นำแสดงโดย สุธีวัน ทวีสิน, มาร์ติน มิดาล",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#9",
"text": "เรื่องราวของแม่นากพระโขนงปรากฏอยู่ทั่วไปตามความเชื่อของคนไทยร่วมสมัยและตราบจนปัจจุบัน เช่น เชื่อว่าชื่อสี่แยกมหานาค ที่เขตดุสิตในปัจจุบัน มาจากการที่แม่นากอาละวาดขยายตัวให้ใหญ่ และล้นเกล้ารัชกาลที่ 4 ก็ยังเคยเสด็จทอดพระเนตรด้วย[2] หรือ เชื่อว่าพระรูปที่มาปราบแม่นากได้นั้นคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เป็นต้น อีกทั้งยังเชื่อว่าท่านเป็นคนเจาะกะโหลกที่หน้าผากของแม่นากทำเป็นปั้นเหน่ง เพื่อสะกดวิญญาณแม่นาก และได้สร้างห้องเพื่อเก็บปั้นเหน่งชิ้นนี้ไว้ต่างหาก หรือหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ก็ยังได้เขียนบันทึกเอาไว้ว่า เมื่อ พ.ศ. 2468 ซึ่งเป็นสมัยที่ท่านยังเป็นเด็ก ท่านเคยเห็นเรือนของแม่นากด้วย เป็นเรือนลักษณะเหมือนเรือนไทยภาคกลางทั่วไปอยู่ติดริมคลองพระโขนง มีเสาเรือนสูง มีห้องครัวอยู่ด้านหลัง ซึ่งปัจจุบันนี้ได้ถูกรื้อถอนไปแล้ว [2] และยังเคยขึ้นไปบนศาลาการเปรียญของวัดมหาบุศย์ด้วย ในขณะนั้นศาลาการเปรียญหลังใหม่ บนฝ้าเพดานมีรอยเท้าเปื้อนโคลนคล้ายรอยเท้าคนเหยียบย่ำไปมาหลายรอย สมภารบอกว่าเป็นรอยเท้าของแม่นาก[4]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#2",
"text": "เวลาผ่านไป ท้องของนางนากก็ยิ่งโตขึ้นเรื่อยๆ จนครบกำหนดคลอด หมอตำแยก็มาทำคลอดให้ ทว่าลูกของนางนากไม่ยอมกลับหัว จึงไม่สามารถคลอดออกมาตามธรรมชาติ ยังผลให้นางนากเจ็บปวดเป็นยิ่งนัก และในที่สุดนางนากก็ทานความเจ็บปวดไว้ไม่ไหว สิ้นใจไปพร้อมกับลูกในท้อง กลายเป็นผีตายทั้งกลม",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#10",
"text": "ถึงอย่างไร ความเชื่อเรื่องแม่นากพระโขนง ก็ยังปรากฏอยู่ในความเชื่อของคนไทย ณ วัดมหาบุศย์ ภายในซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง ปัจจุบันนี้ มีศาลแม่นากตั้งอยู่ ซึ่งเป็นที่สักการบูชาอย่างมากของบุคคลในและนอกพื้นที่ โดยบุคคลเหล่านี้จะเรียกแม่นากด้วยความเคารพว่า \"ย่านาก\" บ้างก็เชื่อว่าร่างของแม่นากถูกฝังอยู่ระหว่างต้นตะเคียนคู่ภายในศาล[5] โดยมีผู้มาบนบานขอในสิ่งที่ตนต้องการเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะเรื่องความรัก [5]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#1",
"text": "มีสามีภรรยาหนุ่มสาวคู่หนึ่ง อาศัยอยู่ด้วยกันที่ย่านพระโขนง สามีชื่อนายมาก ส่วนภรรยาชื่อนางนาก ทั้งสองใช้ชีวิตคู่ร่วมกันจนนางนากตั้งครรภ์อ่อน ๆ นายมากก็มีหมายเรียกให้ไปเป็นทหารประจำการที่บางกอก นางนากจึงต้องอยู่ตามลำพัง",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#3",
"text": "หลังจากนั้น ศพของนางนากได้ถูกนำไปฝังไว้ยังป่าช้าท้ายวัดมหาบุศย์ ส่วนนายมากเมื่อปลดประจำการก็กลับจากบางกอกมายังพระโขนงโดยที่ยังไม่ทราบความว่าเมียของตัวได้หาชีวิตไม่แล้ว นายมากกลับมาถึงในเวลาเข้าไต้เข้าไฟพอดี จึงไม่ได้พบชาวบ้านเลย เนื่องจากบริเวณบ้านของนางนาก หลังจากที่นางนากตายไปก็ไม่มีใครกล้าเข้าใกล้เพราะกลัวผีนางนากซึ่งต่างก็เชื่อกันว่าวิญญาณของผีตายทั้งกลมนั้นเฮี้ยน และมีความดุร้ายเป็นยิ่งนัก",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#4",
"text": "ครั้นเมื่อนายมากกลับมาอยู่ที่บ้าน ผีนางนากก็คอยพยายามรั้งนายมากให้อยู่ที่บ้านตลอดเวลา ไม่ให้ออกไปพบใคร เพราะเกรงว่านายมากจะรู้ความจริงจากชาวบ้าน นายมากก็เชื่อเมีย เพราะรักเมีย ไม่ว่าใครที่มาพบเจอนายมากจะบอกนายมากอย่างไร นายมากก็ไม่เชื่อว่าเมียตัวเองตายไปแล้ว จนวันหนึ่งขณะที่นางนากตำน้ำพริกอยู่บนบ้าน นางนากทำมะนาวตกลงไปใต้ถุนบ้าน ด้วยความรีบร้อน นางจึงเอื้อมมือยาวลงมาจากร่องบนพื้นเรือนเพื่อเก็บมะนาวที่อยู่ใต้ถุนบ้าน นายมากขณะนั้น บังเอิญผ่านมาเห็นพอดี จึงปักใจเชื่ออย่างเต็มร้อย ว่าเมียตัวเองเป็นผีตามที่ชาวบ้านว่ากัน",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#0",
"text": "แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย[1]) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#14",
"text": "ในทางบันเทิง เรื่องราวของแม่นากพระโขนงได้ถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และภาพยนตร์หลายครั้ง โดยเรื่องราวของแม่นากพระโขนงได้นำมาสร้างภาพยนตร์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2470 โดยหม่อมราชวงศ์อนุศักดิ์ หัสดินทร์ แต่พอสร้างแล้วฉายจนฟิล์มเปื่อย ฟิล์มก็หล่นหายสาบสูญไปอย่างน่าเสียดาย[9] อีกทั้งยังสร้างเป็นละครหรือภาพยนตร์ตลกล้อเลียนก็เคยมาแล้ว เช่น ละครเวทีโอเปร่าอำนวยการแสดงโดย สมเถา สุจริตกุล ในปี พ.ศ. 2545[10]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#12",
"text": "และสิ่งที่เชื่อว่าเป็นปั้นเหน่งที่ทำจากหน้าผากกะโหลกแม่นาก ปัจจุบันถูกครอบครองโดยนักสะสมพระเครื่องผู้หนึ่ง[7]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "480554#17",
"text": "แม่นากพระโขนง นางนาก",
"title": "พี่มาก..พระโขนง"
},
{
"docid": "59063#8",
"text": "และ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เคยทรงครอบครองกระดูกหน้าผากของแม่นากนี้ด้วยเช่นกัน โดยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้นำมาถวาย[3]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "514983#3",
"text": "ในวัฒนธรรมร่วมสมัยต่าง ๆ มีผีไทยได้ปรากฏตามสื่อเป็นจำนวนมาก แม่นากพระโขนง ซึ่งเป็นเรื่องเล่าของผีตายทั้งกลมที่เชื่อกันว่าเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในต้นยุครัตนโกสินทร์ นับว่าเป็นผีไทยที่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง มีศาลบูชา อยู่ที่วัดมหาบุศย์ เขตสวนหลวง ในปัจจุบัน แม่นากพระโขนง ได้ถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์, ละครเวที ภาพยนตร์ แม้กระทั่งการ์ตูน หรืออะนิเมะชั่นต่าง ๆ มากมาย ตั้งแต่ยุคภาพยนตร์เงียบ ในปี พ.ศ. 2479 ทั้งให้ความรู้สึกน่ากลัว หรือแม้กระทั่งขบขันหรือล้อเลียน หรือ กระสือ ผีผู้หญิงที่ถอดหัวเหลือแต่ไส้กับอวัยวะต่าง ๆ เรืองแสงได้ ล่องลอยหาของสดของคาว และมูตรคูถต่าง ๆ ในเวลากลางคืน กินเป็นอาหาร ก็เป็นผีอีกประเภทหนึ่งเช่นกันที่มักถูกถ่ายออดออกมาในสื่อประเภทนี้ ร่วมกับผีปอบ ที่ \"บ้านผีปอบ\" กลายเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีจำนวนภาคต่อมากที่สุด (จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2556-14 ภาค)",
"title": "ผีในวัฒนธรรมไทย"
},
{
"docid": "257985#4",
"text": "อนึ่ง ในการสร้างละคร \"แม่นาค เดอะมิวสิคัล\" ทางผู้สร้างได้ขออนุญาตไปยังมูลนิธินราธิปประพันธ์พงศ์-วรวรรณ และได้รับความกรุณาจากทางมูลนิธิอนุญาตให้ใช้การอ้างอิงบางฉากและชื่อตัวละคร \"มาก\" จากบทละครร้อง \"อีนากพระโขนง\" แล้ว",
"title": "แม่นาค เดอะมิวสิคัล"
},
{
"docid": "59063#11",
"text": "และเชื่อว่ายังมีผู้สืบเชื้อสายจากแม่นากมาจนถึงปัจจุบัน หนึ่งในนั้น คือ พีท ทองเจือ ดารานักแสดงชื่อดัง[6]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#5",
"text": "นายมากวางแผนหลบหนีผีนางนาก โดยการแอบเจาะตุ่มใส่น้ำให้รั่วแล้วเอาดินอุดไว้ ตกกลางคืนทำทีเป็นไปปลดทุกข์เบา แล้วแกะดินที่อุดตุ่มไว้ให้น้ำไหลออกเหมือนคนปลดทุกข์เบา จากนั้นจึงแอบหนีไป นางนากเมื่อเห็นผิดสังเกตจึงออกมาดู ทำให้รู้ว่าตัวเองโดนหลอก จึงตามนายมากไปทันที นายมากเมื่อเห็นผีนางนากตามมาจึงหนีเข้าไปหลบอยู่ในดงหนาด นางนากไม่สามารถทำอะไรได้เพราะผีกลัวใบหนาด นายมากหนีไปพึ่งพระที่วัด นางนากไม่ลดละพยายาม ด้วยความที่เจ็บใจชาวบ้านที่คอยยุแยงตะแคงรั่วผัวตัวเองอีกประการหนึ่ง ทำให้นางนากออกอาละวาดหลอกหลอนชาวบ้านจนหวาดกลัวกันไปทั้งบาง ซึ่งความเฮี้ยนของนางนาก ส่วนหนึ่งเกิดจากการที่ถูกฝังไว้ระหว่างต้นตะเคียนคู่นั่นเอง ในที่สุด นางนากก็ถูกหมอผีฝีมือดีจับใส่หม้อถ่วงน้ำ จึงสงบไปได้พักใหญ่",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#20",
"text": "แม่นาค (ละครโทรทัศน์)",
"title": "แม่นากพระโขนง"
},
{
"docid": "59063#13",
"text": "เรื่องราวของแม่นากพระโขนงได้กลายเป็นบทประพันธ์ในรูปแบบการแสดงเป็นครั้งแรก เป็นบทละครร้องในปี พ.ศ. 2454 ในชื่อ \"อีนากพระโขนง\" โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ แสดงที่โรงละครปรีดาลัย (โรงเรียนตะละภัฏศึกษาในปัจจุบัน) ได้รับความนิยมอย่างมากจนต้องเปิดการแสดงติดต่อกันถึง 24 คืน[8]",
"title": "แม่นากพระโขนง"
}
] |
3398 | เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เกิดเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "18064#4",
"text": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 เวลา 12 นาฬิกา 52 นาที ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร ภายในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี โดยประสูติก่อนการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพียงวันเดียว นอกจากนี้ เมื่อนับพระญาติทางฝ่ายพระมารดานั้น พระองค์นับเป็นพระญาติชั้นที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ อดีตพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชา และเป็นพระญาติชั้นที่ 4 กับพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหมุนี[3][4]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
}
] | [
{
"docid": "384639#37",
"text": "ดูบทความหลักที่ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยขึ้นจัดเพื่อแสดงความจงรักภักดีและความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยกำหนดวันพระราชพิธีระหว่างวันที่ 8-12 เมษายน พ.ศ. 2555 โดยกำหนดการพระราชพิธีสำคัญ ได้แก่ การบำเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุ ในวันที่ 8 เมษายน พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพในวันที่ 9 เมษายน พระราชพิธีเก็บพระอัฐิ ในวันที่ 10 เมษายน การบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระอัฐิ ในวันที่ 11 เมษายน การเชิญพระอัฐิขึ้นประดิษฐานที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และการเชิญพระผอบพระสรีรางคารไปบรรจุยังวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ในวันที่ 12 เมษายน",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#4",
"text": "สำนักพระราชวัง มีประกาศเรื่อง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ความว่า",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#4",
"text": "สำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง เปิดเผยหนังสือลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2554 เรื่องการก่อสร้างพระเมรุและกำหนดวันพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ความว่า",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#37",
"text": "ขบวนเชิญพระโกศพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ไปประดิษฐาน ณ พระวิมานวังรื่นฤดี ประกอบด้วย รถจักรยานยนต์นำขบวน จากกองสันดิบาล ตำรวจนครบาล รถยนต์พระที่นั่งเชิญพระโกศพระอัฐิ เป็นรถยนต์คาร์ดิลแลคสีขาว ซึ่งเป็นรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์ขององค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ปักธงราชวงศ์ใหญ่ฝ่ายใน และรถยนต์ข้าราชบริพารจากกองราชพาหนะ สำนักพระราชวัง ขบวนเคลื่นออกจากท้องสนามหลวงไปตามถนนราชดำเนินเลี้ยวเข้าสู่ถนนนครสวรรค์ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร ไปลงถนนสุขุมวิท เลี้ยวเข้าถนนสุขุมวิท 38 ถึงยังวังรื่นฤดี มีข้าหลวงฝ่ายในของวังรื่นฤดีเฝ้ารับพระอัฐิ จากนั้นนางสุรัสวดี กุวานนท์ แม็คซี่ เชิญพระโกศพระอัฐิไปยังท้องพระโรงวังรื่นฤดี เชิญขึ้นบนพระตำหนัก เข้าสู่ห้องนมัสการประดิษฐานบนพระวิมาน นางสุรัสวดี กุวานนท์ แม็คซี่ จุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูป และจุดธูปเทียนบูชาพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอัฐิพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นอันเสร็จพิธี",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#53",
"text": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชูปโภคสำหรับสมเด็จเจ้าฟ้า ซึ่งสร้างขึ้นมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีรายการดังต่อไปนี้[53]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#66",
"text": "เป็นหนังสือเฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเรียบเรียงโดยคุณหญิงวนิตา ดิถียนต์ และ ดร.ชัชพล ไชยพร สำนักนายกรัฐมนตรีให้จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา จำนวน 711 หน้า โดยผู้เรียบเรียงได้มอบลิขสิทธิ์ให้แก่มูลนิธิเพชรรัตน-สุวัทนา",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#58",
"text": "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชดำริให้ไปจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นการถาวรขึ้นที่พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม แทนการจัดนิทรรศการชั่วคราวที่พระเมรุอย่างในอดีต ซึ่งจำเป็นต้องรื้อถอนไป ถ้านำงบประมาณส่วนนี้ไปจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติเป็นการถาวรภายในพระราชวังสนามจันทร์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีทรงร่วมกันบูรณะก็จะเป็นประโยชน์ยั่งยืนกว่า ทั้งนี้จะได้เป็นการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทั้งสามพระองค์ด้วย โดยจัดแสดงภายในพระที่นั่งพิมานปฐม พระที่นั่งอภิรมย์ฤดี และพระที่นั่งวัชรีรมยา โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน กล่าวคือ",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#53",
"text": "อักษร พ. และ ร. ลงยาสีชมพู หมายถึงวันอังคารอันเป็นวันประสูติของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และเป็นพระกุลทายาทแห่งจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้เสด็จพระราชสมภพในวันอังคารดุจเดียวกัน",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#56",
"text": "กรมศิลปากรจัดทำ 3 บทเพลงถวายอาลัยสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นเพลงชุด “เพชรรัตนาลัย” โดยนำคำประพันธ์มาบรรจุลงในทำนองเพลงไทยเดิม ประกอบด้วย เพลงเพชร-ใบไม้ร่วง-พสุธากันแสง บันทึกลงแผ่นซีดีวันที่ 29 มีนาคม มีการแถลงข่าวภาพรวมภารกิจงานของกรมศิลปากร ในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ อย่างเป็นทางการ และจะมีการมอบซีดีให้สื่อมวลชนและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่สู่สาธารณชนทางสื่อต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เสียงตามสายในแหล่งชุมชน ตลอดจนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และเนื้อเพลงฯ ทางสื่อสิ่งพิมพ์ ก่อนช่วงพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ขณะเดียวกันทางกระทรวงวัฒนธรรมได้นำบทเพลง ลงเว็บไซต์ของกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อให้ประชาชนสามารถดาวน์โหลดได้ เนื่องจากซีดีที่จัดทำไว้มีจำนวนจำกัด ทั้งนี้ เพื่อเป็นสื่อกลางให้พสกนิกรชาวไทย ได้ร่วมกับรัฐบาล ในการถวายพระเกียรติ และสำนึกในพระกรุณาธิคุณ ตลอดจนถวายความอาลัยแด่ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#69",
"text": "เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ฉลองพระชนมายุ 80 พรรษา เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 มีลักษณะดังนี้[70] ด้านหน้า กลางเหรียญมีพระรูปสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงฉลองพระองค์ชุดไทย ทรงสายสะพายและสายสร้อยเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ พระอังสาเบื้องซ้ายประดับเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1, เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1, และเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 ภายในวงขอบเหรียญเบื้องบนมีข้อความว่า \"สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี\" ด้านหลัง กลางเหรียญมีอักษรพระนามย่อ \"พ.ร.\" ภายใต้มงกุฎขัตติยราชนารี และมีพระวชิระ ดอกบัว และดารารัศมีประดับอยู่โดยรอบ ภายในวงขอบเหรียญเบื้องบนมีข้อความว่า \"พระชนมายุ ๘๐ พรรษา ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๘\" เบื้องล่างมีข้อความบอกราคาและ \"ประเทศไทย\" ตามลำดับ เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ฉลองพระชนมายุ 84 พรรษา เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีลักษณะดังนี้[71] ด้านหน้า กลางเหรียญมีพระรูปสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงฉลองพระองค์ชุดไทย ทรงสายสะพายและสายสร้อยเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ พระอังสาเบื้องซ้ายประดับเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1, เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1, และเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 ภายในวงขอบเหรียญเบื้องบนมีข้อความว่า \"สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี\" ด้านหลัง กลางเหรียญมีอักษรพระนามย่อ \"พ.ร.\" ภายใต้มงกุฎขัตติยราชนารี ล้อมด้วยลายไทยประดิษฐ์ ภายในวงขอบเหรียญเบื้องบนมีข้อความว่า \"พระชนมายุ ๘๔ พรรษา ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒\" เบื้องล่างมีข้อความว่า \"ประเทศไทย\" โดยมีจุดกลมคั่นระหว่างข้อความเบื้องบนกับเบื้องล่าง เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2555 มีลักษณะดังนี้ ด้านหน้า กลางเหรียญมีพระรูปสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงฉลองพระองค์ชุดไทย ทรงสายสะพายและสายสร้อยเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ พระอังสาเบื้องซ้ายประดับเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1, เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 1, และเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 ภายในวงขอบเหรียญเบื้องล่างมีข้อความว่า \"สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี\" ด้านหลัง กลางเหรียญเป็นรูปพระเมรุมาจัดวาง เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ หลังรูปพระเมรุมีรูปแสงพระอาทิตย์แผ่รัศมีผ่าน ปุยเมฆ สื่อความหมายว่าแสงสุดท้ายและเป็นการน้อมส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#9",
"text": "พระนามของสมเด็จเจ้าฟ้าพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 นั้นได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2468[9] และมีคำนำพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ภาติกา หมายถึง หลานสาวที่เป็นลูกสาวของพี่ชาย) โดยก่อนหน้านี้มีการสมโภชได้มีการคิดพระนามไว้ 3 พระนาม ได้แก่ 1. สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชอรสา สิริโสภาพัณณวดี 2. สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนจุฬิน สิริโสภิณพัณณวดี 3. สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี[10] ท้ายที่สุด พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเลือกพระนามสุดท้ายพระราชทาน[8] โดยพระนาม แปลว่า เจ้าฟ้าพระราชธิดาผู้มีพระชาติกำเนิดเป็นศรีดั่งดวงแก้ว เป็นพัชรแห่งมหาวชิราวุธ มีพระฉวีพรรณสิริโฉมงามพร้อม[11]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#70",
"text": "บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัดออกตราไปรษณียากรที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ดังต่อไปนี้",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#83",
"text": "อาริยา สินธุ, สกุลไทย ชัชพล ไชยพร, พระผู้ทรงเป็น “เพชรรัตน” แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระราชสุดาได้ จากฟ้ามาแทน โดย ชัชพล ไชยพร พระประวัติ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ข่าวการสิ้นพระชนม์, INN News.",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#28",
"text": "ในการประโคมงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี กรมศิลปากรได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมในการประโคมย่ำยามด้วย ดังนั้น จึงมี 2 หน่วยงานเข้าร่วมประโคม คือ",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#80",
"text": "ทุนจุฬาเพชรรัตน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทุนเพชรรัตน มหาวิทยาลัยศิลปากร ทุนเพชรรัตน สำนักงานบรรเทาทุกข์ สภากาชาดไทย ทุนเพชรรัตนการุญ ศิริราชมูลนิธิ ทุนเพชรรัตนการุณ กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 15 ทุนเพชรรัตนอุปถัมภ์ โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ทุนสมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทุนสมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ สำนักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย ทุนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ นิธิวัดราชบพิธ ทุนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ กองทุนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สำนักเรียนวัดโมลีโลกยาราม ทุนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนราชินี ทุนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โสสะมูลนิธิแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#68",
"text": "กรมธนารักษ์ออกเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ดังต่อไปนี้",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#47",
"text": "หมายกำหนดการ พระราชพิธีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พุทธศักราช ๒๕๕๕",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#2",
"text": "ทั้งนี้คณะกรรมการอำนวยการจัดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ปฏิบัติงานไปพลางก่อน เนื่องจากจะมีการเปลี่ยนรัฐบาลชุดใหม่",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#3",
"text": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน[1][2]",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#51",
"text": "สมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (30 ธันวาคม พ.ศ. 2468 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478) สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#49",
"text": "หมวดหมู่:สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี หมวดหมู่:การสิ้นพระชนม์ในพระบรมวงศานุวงศ์ไทย",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#3",
"text": "ต่อมาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มีผลให้คำสั้งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 130/2554 เมื่อวันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 สิ้นสุดลง เพื่อให้การดำเนินการจัดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นไปโดยเรียบร้อยสมพระเกียรติ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11(6) แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2539 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มีคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ประกอบด้วย พระบรมวงศานุวงศ์(หม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคล) ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ประธานรัฐสภา ประธานศาลฎีกา ประธานวุฒิสภา และองคมนตรี(นายพลากร สุวรรณรัฐ) เป็นคณะที่ปรึกษา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นกรรมการและเลขานุการ มีหัวหน้าหน่วยงานและผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "574091#52",
"text": "สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดทำเข็มที่ระลึก สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เพื่อให้ประชาชนร่วมกับรัฐบาลน้อมเกล้าฯ แสดงความจงรักภักดี และนำรายได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมทบมูลนิธิเพชรรัตน - สุวัทนา ซึ่งมี อักษรพระนาม พ.ร. ภายใต้พระชฎามหากฐินรัชกาลที่ 6 และอุณาโลมเลียนลักษณะเลข 6 ทำด้วยโลหะชุบทอง หมายถึง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงพระอิสริยยศสมเด็จเจ้าฟ้าพระราชธิดาในรัชกาลที่ 6 มีพระขัตติยชาติอันประเสริฐดั่งทองนพคุณ",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#45",
"text": "วันที่ 4 เมษายน 2555 มีการพระราชทานเพลิงพระบุพโพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ซึ่งเป็นพระราชพิธีโบราณที่จัดขึ้นสืบต่อกันมาในการพระราชทานเพลิงพระศพเจ้านาย ในช่วงเช้าของวันเดียวกันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พลเรือเอกหม่อมเจ้าปุสาน สวัสดิวัตน์ เสด็จแทนพระองค์ ไปในการพระราชทานเพลิงพระบุพโพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "384639#13",
"text": "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล พระราชทานพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ดังนี้",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#65",
"text": "จัดงานพระราชพิธีฉลองพระชนมายุ 84 พรรษา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี จัดพิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์จำนวน 285 รูป ถวายเป็นพระกุศล โดยในกรุงเทพมหานครจัด ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สำหรับจังหวัดอื่นๆ นั้น ขอเชิญชวนประชาชนร่วมทำบุญตักบาตรตามความเหมาะสมต่อไป กิจกรรมการบริจาคโลหิตถวายเป็นพระกุศล จัดทำสารคดีพระประวัติ พระกรณียกิจ และพระเกียรติคุณ เผยแพร่ทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย จัดทำหนังสือเรื่อง \"ดวงแก้วแห่งพระมงกุฎเกล้า\" ฉบับพ็อคเก็ตบุ๊ค จัดทำหนังสือจดหมายเหตุการจัดงานฉลองพระชนมายุ 84 พรรษา สมเด็จพระเจ้า ภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี กรมธนารักษ์จัดทำเหรียญที่ระลึก บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด จัดทำดวงตราไปรษณียากรที่ระลึก พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ออกแบบภาพวัว เพื่อจัดทำเสื้อจำหน่ายให้แก่มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ จัดทำนาฬิกาที่ระลึกจำหน่าย",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "393672#3",
"text": "ท่านผู้หญิงศรีนาถ สุริยะ เป็นทั้งคุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และพระอาจารย์ในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ซึ่งทรงไว้วางพระทัยมาก ท่านผู้หญิงเคยตามเสด็จ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ประพาสสหรัฐอเมริกา",
"title": "ศรีนาถ สุริยะ"
},
{
"docid": "574091#42",
"text": "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปทรงบรรจุพระสรีรางคาร สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ณ เสาวภาประดิษฐาน สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม",
"title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#64",
"text": "โดยใช้ชื่อการจัดงานเป็นภาษาไทยว่า \"งานฉลองพระชนมายุ 84 พรรษา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี\" สำหรับชื่องานภาษาอังกฤษ คือ \"The Celebrations of the 84th Birthday Anniversary of Her Royal Highness Princess Bejaratana\" นอกจากนี้ยังมีการจัดพระราชพิธี รัฐพิธี และกิจกรรม ดังนี้",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "18064#56",
"text": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยเรียงลำดับตามปีที่ได้รับพระราชทาน ดังนี้",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
}
] |
2068 | ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เกิดเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "19590#2",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2494[2] เวลา 23.28 น. ณ โรงพยาบาลมองชัวซีส์ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์และได้เสด็จนิวัตพระนคร แล้วประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต และเมื่อถึงงานพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่แล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระอิสริยยศเมื่อประสูติ คือ \"สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี\" โดยพระนามของพระองค์มาจากพระนามและนามของพระประยูรญาติหลายพระองค์ อันได้แก่",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
}
] | [
{
"docid": "19590#27",
"text": "เมื่อ พ.ศ. 2551 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้ทรงถ่ายภาพยนตร์เรื่อง หนึ่งใจเดียวกัน เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกในพระองค์ จากบทพระนิพนธ์ เรื่องสั้นที่...ฉันคิด ทำรายได้ 50 ล้านบาท[17] ต่อมา ยังทรงแสดงในภาพยนตร์เรื่อง มายเบสต์บอดีการ์ด และ พระนางจามเทวี[18] ภาพยนตร์ทั้งสามได้เข้าฉายในงานเทศกาลหนังเมืองคานส์ โดยเสด็จมาทรงร่วมในพิธีเมื่อ พ.ศ. 2551, 2552 และ 2553",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "181557#8",
"text": "ทูบีนัมเบอร์วันซึ่งเป็นเพลงประจำโครงการทูบีนัมเบอร์วัน ทรงขับโดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และซึ่งเป็นเพลงแรกประจำโครงการและได้มีเพลงใหม่ออกมาซึ่งก็คือเพลง เก่งและดี TO BE NUMBER ONE ทรงขับร้องโดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ซึ่งเป็นเพลงหลักของโครงการอีกเพลงหนึ่ง",
"title": "ทูบีนัมเบอร์วัน"
},
{
"docid": "19590#20",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มีพระปรีชาในกีฬาเรือใบ และเคยทรงลงแข่งกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อแปรพระราชฐานยังพระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ ทรงเคยเข้าร่วมการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค ในฐานะนักกีฬาทีมชาติ ที่งานกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 และทรงทำคะแนนรวมได้เป็นที่ 1 เสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ทรงร่วมการแข่งขันเช่นกัน จึงได้รับพระราชทานเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ร่วมกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช[16]",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#44",
"text": "พงศาวลีของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 16. (=18) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว8. (=24) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว17. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี4. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก18. (=16) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว9. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า19. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา2. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช20. ชุ่ม ชูกระมล10. ชู ชูกระมล21.5. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี22.11. คำ ชูกระมล23. ผา1. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี24. (=8) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว12. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ25. เจ้าจอมมารดาอ่วม6. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ26. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ13. หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร27. หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา3. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ28. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์14. เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)29. หม่อมเขียน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา7. หม่อมหลวงบัว กิติยากร30.15. ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)31.",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#0",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "667063#1",
"text": "โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม เดิมชื่อว่า โรงเรียนปรกแก้ววิทยา ตั้งอยู่ที่ ๓๒ หมู่ ๔ ตำบลบางแก้ว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๒๐ \nเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับพระกรุณาธิคุณทรงพระราชทานพระอนุญาตชื่อสถานที่อันเนื่องพระนามเป็นโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม จากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยเป็นโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในพระชันษาครบ ๖๐ พรรษา",
"title": "โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม ในพระอุปถัมภ์ ฯ"
},
{
"docid": "19590#25",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จมาทรงถ่ายรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับพระองค์เป็นประจำ ตามคำกราบทูลเชิญคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อออกเผยแพร่ทางโทรทัศน์ โดยเฉพาะรายการที่พระองค์ทรงออกรายการทางโทรทัศน์อยู่เป็นประจำเป็นรายการที่มีความรู้และสาระต่าง ๆ ที่ประชาชนได้รับชมอยู่จนถึงปัจจุบัน มีทั้งหมด 2 รายการ มีดังนี้",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#40",
"text": "วัดศรีอุบลรัตนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อาคารปฏิบัติธรรม อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี วัดพรหมมหาจุฬามณี พรหมรังษี ตำบลดอนยออำเภอเมือง จังหวัดนครนายก อาคารปฏิบัติธรรม อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี วัดป่าท่าพง จังหวัดสระบุรี",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "175119#0",
"text": "มูลนิธิคุณพุ่ม ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ด้วยพระอัจฉริยภาพจากการทรงงานพัฒนาสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ของพสกนิกรชาวไทยตามรอยเบื้อง พระยุคลบาท ควบคู่ไปกับพระปรีชาสามารถ และความเข้าใจในฐานะพระมารดาที่ดูแลเอาใจใส่ และพัฒนาการเรียนรู้ของ พระโอรสของอย่างใกล้ชิด ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ผู้พระราชทานกำเนิดมูลนิธิคุณพุ่ม ทรงเล็ง เห็นว่า บุคคลที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ หรือบุคคลออทิสติก ยังไม่ได้รับโอกาสในด้านต่างๆอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม อีกทั้งยังทรงห่วงใยเด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส และยากไร้ทางสังคม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนทรัพย์ ส่วนพระองค์ เป็นเงินทุนแรกเริ่มสำหรับจดทะเบียน ก่อตั้งเป็นมูลนิธิคุณพุ่ม ทะเบียนเลขที่ กท 1410 เมื่อวันที 14 มกราคม 2548 เพื่อเป็นอนุสรณ์รำลึกถึงคุณพุ่ม พระโอรสในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยทรงดำรง ตำแหน่งองค์ประธานกรรมการมูลนิธิ และได้รับการรับรอง เป็นองค์การกุศลสาธารณประโยชน์ ลำดับที่ 573 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548",
"title": "มูลนิธิคุณพุ่ม"
},
{
"docid": "19590#6",
"text": "เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์[1] เพื่อทรงอภิเษกสมรสกับปีเตอร์ แลด เจนเซน ชาวอเมริกัน ในพระบรมหาราชวังตามราชประเพณี และเสด็จประทับอยู่สหรัฐอเมริกา ทั้งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น จูลี เจนเซน (English: Julie Jensen)[5][6][7][8] ทั้งสองมีโอรส-ธิดา 3 คน ทั้งหมดเกิดในสหรัฐอเมริกา ได้แก่",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "278135#4",
"text": "ปี พ.ศ. 2555 ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานในพระราชดำริของ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ภายในกิจการพระราชดำริ \"มูลนิธิ มิราเคิล ออฟไลฟ์ (Miracle of Life)\" โดยมีความเป็นมา กล่าวคือ อันเนื่องมาจากพระอัจฉริยะภาพที่ทรงเล็งเห็นถึงปัญหาทางด้านคุณภาพชีวิตของเด็กเยาวชนและประชาชนในประเทศไทย โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่มีศักยภาพแต่ขาดแคลนโอกาสในด้านต่างๆ ที่จะพัฒนาความสามารถเหล่านั้นให้สูงขึ้นและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับสังคมไทย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จึงทรงมีพระดำริถึงการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ให้กับเยาวชนและประชาชนให้ได้รับโอกาสในการดำรงชีวิต ได้มีพื้นที่ในการแสดงออกตามความสามารถและตามความสนใจได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้มีศักยภาพที่สูงขึ้น โดยจัดให้มีการรวมกลุ่มเพื่อทำประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม โดยคุณเอกชัยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการด้านการทำนุบำรุงวัฒนธรรมชาติ",
"title": "เอกชัย ศรีวิชัย"
},
{
"docid": "19590#18",
"text": "ต่อมา รัฐบาลสหรัฐแม็กซิโกได้กราบทูลเชิญทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อทรงเป็นองค์ประธานในงานประชุมเยาวชนโลก (World Youth Conference) ประจำปี 2553 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศเม็กซิโก โดยเม็กซิโกให้ความสนใจโครงการทูบีนัมเบอร์วันและให้การยกย่องว่า เป็นต้นแบบในการป้องกันเยาวชนติดยาเสพติดเป็นผลสำเร็จ และต่างชื่นชมในความเป็นผู้นำที่สร้างสรรค์ของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "181173#11",
"text": "ปัจจุบัน ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้าและใช้เป็นกองงานในพระองค์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี",
"title": "สวนศิวาลัย"
},
{
"docid": "19590#11",
"text": "เมื่อทรงหย่ากับปีเตอร์ แลด เจนเซน เมื่อ พ.ศ. 2541 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จนิวัตประเทศไทยและประทับอยู่เป็นการถาวรเมื่อ พ.ศ. 2544",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#43",
"text": "อาคารอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ อาคารอุบลรัตนราชกัญญา โรงพยาบาลสวนปรุง",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#42",
"text": "ตลาดท่าปลาเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น อาคารแสดงพันธุ์ปลาลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จังหวัดสุพรรณบุรี อาคารพิพิธภัณฑ์ศรีอุบลรัตนาราม วัดศรีอุบลรัตนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อาคารแสดงสินค้าโอท็อป ศูนย์การประชุม และแสดงสินค้านานาชาติอุบลรัตนราชกัญญา จังหวัดสุราษฎร์ธานี",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#36",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงได้รับรางวัลดังต่อไปนี้",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "45112#4",
"text": "ปัจจุบันเป็นเขตพระราชฐานส่วนพระองค์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ใช้เป็นที่ประทับเป็นการถาวรหลังจากนิวัตประเทศไทย ควบคู่กับ พระตำหนักพลอยปทุม จ.ปทุมธานี โดยด้านหลังของพระที่นั่งองค์นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้าง อาคารรับรองด้านหลัง A และ B ใช้เป็นที่พักรับรองผู้ติดตามพระราชอาคันตุกะชั้นประมุขและพระราชวงศ์ชั้นสูง ปัจจุบัน ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้า และใช้เป็นกองงานในพระองค์ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ",
"title": "พระที่นั่งบรมพิมาน"
},
{
"docid": "281416#3",
"text": "วันที่ 12 มิถุนายน 2561 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จมาเป็นองค์ประธานในการเปิดโครงการทูบีนัมเบอร์วัน (TO BE NUMBER ONE) ณ โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี นับเป็นความภาคภูมิใจของบุคลากรทางการศึกษาตลอดจนนักเรียนทุกคนที่ได้มีโอกาสรับเสด็จ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ในครั้งนั้น",
"title": "โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี"
},
{
"docid": "19590#9",
"text": "เมื่อทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประทับอยู่ประเทศสหรัฐอเมริกานั้น บางปีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จมาเยี่ยมบ้าง และพระองค์เสด็จนิวัตประเทศไทยเพื่อทรงเยี่ยมพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทั้งได้ทรงร่วมงานพระราชพิธีต่าง ๆ พร้อมด้วยพระโอรสและพระธิดาดังนี้",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "876028#0",
"text": "Together วันที่รัก ภาพยนตร์สร้างสรรค์จาก บ.โอเรียลทัล อายส์ ภาพยนตร์ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี นำแสดงโดย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ร่วมด้วย สหรัถ สังคปรีชา , กฤษณ เศรษฐธำรงค์ , ปิยธิดา วรมุสิก , นพชัย ชัยนาม , ทองภูมิ สิริพิพัฒน์, โสภิตสุดา อิทธิเมธินทร์ ฯลฯ และขอแนะนำนักแสดง กันต์ชนุตม์ เก่งการค้า (กันต์) , และ นภัสสร เอี่ยมเจริญ (ครีม) กำกับภาพยนตร์โดย “ยู - ษรัณยู จิราลักษณ์”",
"title": "Together วันที่รัก"
},
{
"docid": "19590#21",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์แรกซึ่งทรงเป็นดาราและทรงเล่นละครด้วยพระองค์เอง",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "667063#0",
"text": "โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม () เป็นหนึ่งใน ๒๐ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ในพระอุปถัมภ์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เนื่องในวโรกาสพระชันษาครบ ๖๐ พรรษา และเป็นหนึ่งใน ๕ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ เครือ โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย ทั้ง ๕ เขต",
"title": "โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครปฐม ในพระอุปถัมภ์ ฯ"
},
{
"docid": "19590#31",
"text": "สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (5 เมษายน พ.ศ. 2494 – 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2515) ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เจนเสน / จูลี เจนเซน[8][19] (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2541) ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน)",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#22",
"text": "เมื่อปี พ.ศ. 2546 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้ทรงละครสองเรื่องแรก คือ กษัตริยา และ มหาราชกู้แผ่นดิน ตามคำกราบทูลเชิญของบริษัทกันตนา ละครทั้งสองออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 19:30 นาฬิกา",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "19590#13",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจด้านการช่วยเหลือราษฎรใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข โดยทรงตั้งมูลนิธิชีวิตสดใสเป็นองค์การสาธารณกุศล",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
},
{
"docid": "4219#7",
"text": "จุฑาวัชร วิวัชรวงศ์ (พระราชโอรสองค์ใหญ่) วัชรเรศร วิวัชรวงศ์ (พระราชโอรสองค์ที่สอง) จักรีวัชร วิวัชรวงศ์ (พระราชโอรสองค์ที่สาม) วัชรวีร์ วิวัชรวงศ์ (พระราชโอรสองค์ที่สี่) คุณพลอยไพลิน มหิดล เจนเซน และเดวิด วีลเลอร์ (พระธิดาคนโตในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีและสามี) แม็กซิมัส วีลเลอร์ (พระนัดดาในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี) ลีโอนาร์โด วีลเลอร์ (พระนัดดาในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี) คุณสิริกิติยา เจนเซน (พระธิดาคนเล็กในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี) ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย และสินธู ศรสงคราม (พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสามี) ร้อยเอก จิทัศ และเจสสิกา ศรสงคราม (พระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และภรรยา) สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (อดีตหม่อมในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร) ปีเตอร์ เจนเซน (อดีตพระสวามีในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี) นาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน (อดีตพระสวามีในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี) พลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (อดีตพระมเหสีในรัชกาลปัจจุบัน)",
"title": "ราชวงศ์จักรี"
},
{
"docid": "181173#0",
"text": "สวนศิวาลัย หรือ สวนขวา เป็นสวนภายในพระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของพระอภิเนาว์นิเวศน์อันเป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชมณเฑียรดังกล่าวได้ชำรุดทรุดโทรมจำต้องรื้อถอนไปเกือบหมดสิ้น คงแก่อาคารสำคัญ เช่น พระพุทธรัตนสถาน พระที่นั่งมหิศรปราสาท และได้สร้างพระที่นั่งเพิ่มอีก 2 องค์ คือ พระที่นั่งบรมพิมาน และพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท และปรับเป็นสวน\nปัจจุบัน เป็นเขตพระราชฐานส่วนพระองค์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยมีพระที่นั่งบรมพิมานเป็นที่ประทับเป็นการถาวรหลังจากทรงนิวัติประเทศไทย และอาคารรับรองด้านหลัง A และ B ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้า และใช้เป็นกองงานในพระองค์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี",
"title": "สวนศิวาลัย"
},
{
"docid": "19590#29",
"text": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีผลงานเพลงหลายผลงานในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เช่น เพลงประจำโครงการทูบีนัมเบอร์วัน เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง หนึ่งใจ...เดียวกัน เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง มาย เบส บอดี้การ์ด เพลง \"ทางของฉัน\" และเพลง \"ผู้ชายคนนั้น\" นอกจากนี้ ยังทรงได้รับเชิญเข้าร่วมร้องเพลง \"ขวานไทยใจหนึ่งเดียว\" เมื่อปี 2547 ด้วย",
"title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี"
}
] |
4086 | จังหวัดพิษณุโลก มีกี่อำเภอ? | [
{
"docid": "5419#0",
"text": "จังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี พ.ศ. 2558 จำนวน 863,404 คน มีพื้นที่ 10,815.854 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 9 อำเภอ มีเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นเขตเมืองศูนย์กลางของจังหวัดและเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงไชยบุรี ประเทศลาวทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด",
"title": "จังหวัดพิษณุโลก"
}
] | [
{
"docid": "5419#23",
"text": "จังหวัดพิษณุโลกมีที่ตั้งทางอุตุนิยมวิทยาในภาคเหนือตอนล่าง สำหรับเกณฑ์การแบ่งภาคอย่างเป็นทางการของราชบัณฑิตยสภาอยู่ในเขตภาคกลาง โดยอยู่ทางตอนบนของภาค ห่างจากกรุงเทพมหานคร 368 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 10,815 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,759,909 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ทางตอนเหนือและตอนกลางเป็นเขตเทือกเขาสูงและที่ราบสูง โดยมีเขตภูเขาสูงด้านตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งอยู่ในเขตอำเภอวังทอง อำเภอวัดโบสถ์ อำเภอเนินมะปราง อำเภอนครไทย และอำเภอชาติตระการ พื้นที่ตอนกลางมาทางใต้เป็นที่ราบ และตอนใต้เป็นที่ราบลุ่ม โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้ำน่านและแม่น้ำยม ซึ่งเป็นแหล่งการเกษตรที่สำคัญที่สุดของจังหวัดพิษณุโลก อยู่ในเขตอำเภอบางระกำ อำเภอเมืองพิษณุโลก อำเภอพรหมพิราม อำเภอเนินมะปราง และบางส่วนของอำเภอวังทอง",
"title": "จังหวัดพิษณุโลก"
}
] |
2191 | ความตลกขบขัน มีผลทางอารมณ์ใช่หรือไม่ ? | [
{
"docid": "837362#0",
"text": "ความตลกขบขัน[1] (English: humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว่า",
"title": "ความตลกขบขัน"
}
] | [
{
"docid": "44485#2",
"text": "รูปแบบลักษณะตัวภาพในจิตรกรรมไทยซึ่งจิตรกรไทยได้สร้างสรรค์ออกแบบไว้เป็นรูปแบบอุดมคติที่แสดงออกทางความคิดให้สัมพันธ์กับเนื้อเรื่องและความสำคัญ ของภาพ เช่น รูปเทวดา นางฟ้า กษัตริย์ นางพญา นางรำ จะมีลักษณะเด่นงามสง่าด้วยลีลาอันชดช้อย แสดงอารมณ์ความรู้สึกปีติยินดี หรือเศร้าโศกเสียใจด้วยอากัปกิริยาท่าทาง ถ้าเป็นรูปยักษ์ มาร ก็แสดงออกด้วยท่าทางที่บึกบึน แข็งขัน ส่วนพวกวานรแสดงความลิงโลด คล่องแคล่วว่องไวด้วยลีลาท่วงท่าและหน้าตา สำหรับพวกชาวบ้านธรรมดาสามัญก็จะเน้นความตลกขบขัน สนุกสนานร่าเริงหรือเศร้าเสียใจออกทางใบหน้า ส่วนช้างม้าเหล่าสัตว์ทั้งหลายก็มีรูปแบบแสดงชีวิตเป็นธรรมชาติ ซึ่งจิตรกรไทยได้พยายามศึกษา ถ่ายทอดอารมณ์ สอดแทรกความรู้สึกในรูปแบบได้อย่างลึกซึ้ง เหมาะสม และสวยงาม ",
"title": "จิตรกรรมไทย"
},
{
"docid": "837362#33",
"text": "งานศึกษาปี 2537 (ทำโดย Karen Zwyer, Barbara Velker, และ Willibald Ruch) ที่ตรวจสอบผลบวกทางสรีรภาพของมุกตลก คือว่าตรวจดูความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์ขำกับความอดทนต่อความไม่สบายกายโดยเฉพาะ โดยเปิดคลิปวิดีโอตลกสั้น ๆ ให้ผู้ร่วมการทดลองดูแล้วให้จุ่มมือลงในน้ำเย็น (Cold pressor test) เพื่อระบุลักษณะของความขำขันที่อาจช่วยเพิ่มความอดทนต่อความไม่สบายกาย งานศึกษาแบ่งกลุ่มผู้ร่วมการทดลองหญิง 56 คน ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มร่าเริง (cheerfulness) กลุ่มตื่นเต้นดีใจ (exhilaration) และกลุ่มสร้างความขำ (humour production) แต่ละกลุ่มยังแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม คือ บุคลิกร่าเริง (high Trait-Cheerfulness) และบุคลิกเคร่งขรึม (high Trait-Seriousness) ซึ่งวัดด้วยแบบวัด State-Trait-Cheerfulness-Inventory แล้วบอกกลุ่ม 3 กลุ่มแต่ละกลุ่มดังต่อไปนี้ กลุ่มร่าเริงบอกให้ตื่นตัวชอบใจในคลิปวิดีโอโดยไม่ถึงกับหัวเราะหรือยิ้ม กลุ่มตื่นเต้นดีใจให้หัวเราะและยิ้มเกินความรู้สึกที่มีจริง ๆ ของตน และกลุ่มสร้างความขำให้พูดอะไร ๆ ขำ ๆ เกี่ยวกับคลิปวิดีโอเมื่อกำลังชม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ร่วมการทดลองคิดว่าคลิปวิดีโอน่าขำจริง ๆ และวิดีโอมีผลตามที่ต้องการ จึงได้สำรวจผู้ร่วมการทดลองในเรื่องนั้นโดยได้คะแนนมัชฌิม 3.64 จาก 5 การทดสอบโดยจุ่มมือในน้ำเย็นแสดงว่า ผู้ร่วมการทดลองทั้ง 3 กลุ่มมีขีดที่เริ่มรู้สึกไม่สบายที่สูงกว่า และอดทนต่อความรู้สึกไม่สบายได้นานกว่า เทียบกับก่อนดูคลิปวิดีโอ โดยผลไม่ต่างกันระหว่างกลุ่มทั้ง 3[32] อารมณ์ขำยังมีโอกาสสัมพันธ์กับระบบภูมิคุ้มกันที่ดีอีกด้วย เช่น SIgA เป็นสารภูมิต้านทาน (antibody) ที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อ โดยใช้วิธีที่คล้ายกับการทดลองก่อน ผู้ร่วมการทดลองชมคลิปวิดีโอสั้น ๆ ที่ตลกแล้ววัดระดับ SIgA ซึ่งปรากฏกว่าเพิ่มขึ้นอย่างสำคัญ[33]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#41",
"text": "อารมณ์ขันเป็นลักษณะนิสัย (character trait) พื้นฐานอย่างหนึ่งที่สัมพันธ์กับอารมณ์เชิงบวกในทฤษฎีพัฒนาการรู้คิด broaden-and-build ที่แนะให้มีพฤติกรรมและความคิดรูปแบบใหม่ ๆ ซึ่งในระยะเวลายาวจะพัฒนาเป็นทักษะความสามารถและทรัพยากรในชีวิต งานศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งที่ทดสอบสมมติฐาน undoing ของ นพ. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ และลูกสาวของเขา[39]:313 แสดงผลบวกของอารมณ์ขันโดยปรากฏเป็นลักษณะนิสัยเช่น ความช่างสนุก (amusement) และความช่างเล่น (playfulness)",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#1",
"text": "มีทฤษฎีหลายอย่างว่า อะไรคือความตลกขบขันและหน้าที่ทางสังคมของมันคืออะไร ทฤษฎีที่แพร่หลายมองความตลกขบขันในแนวจิตวิทยา โดยมากมองพฤติกรรมที่เกิดจากความขำขันว่าเป็นเรื่องดีมากต่อสุขภาพ หรือมองในแนวจิตวิญญาณ ซึ่งอาจจะมองความตลกขบขันว่าเป็น \"ของขวัญจากพระเจ้า\" หรือมองความตลกขบขันว่าเป็นเรื่องอธิบายไม่ได้ เหมือนกับประสบการณ์ทางจิตวิญญาณบางอย่าง[2]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "340504#1",
"text": "ในปีพ.ศ. 2543 (เริ่มซีซั่นที่ 1) เป็นการรวบรวมเรื่องราวบอกเล่า คดีต่างๆจากเจ้าพนักงานและเรื่องสั้นเป็นจริง เน้นความตลกขบขัน โดยหลักจากนั้นก็จะมีละครสั้นจากคำบอกเล่าแสดงให้เข้าใจโดยง่าย ภายหลัง ในช่วงหลังของซีซั่นที่ 3 เป็นต้นไปได้เพิ่มเจ้าของเรื่องเป็นเจ้าหน้าที่พนักงานของรัฐเข้ามาด้วย \nต่อมาในปี พ.ศ. 2555 (ในซีซั่นที่ 13) เริ่มมีการบันทึกภาพข่าวและภาพจากโทรศัพท์มือถือและภาพบันทึกการจับกุมของนักข่าวและกล้องหน้ารถ เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน (ก่อนเล่าเรื่องผู้พากย์จะพูดว่า เรื่องนี้เป็นภาพจริง ไม่ได้ถ่ายทำ และคนที่เห็นในภาพก็เป็นคนจริงๆ ไม่ใช่ตัวแสดง และตอนจบเรื่องรวมทั้งเรื่องต่อไปในหมวดภาพจริง คนจริง ผู้พากย์ก็พูดว่า ขอย้ำอีกที เรื่องนี้เป็นภาพจริง ไม่ได้ถ่ายทำ และคนที่เห็นในภาพก็เป็นคนจริงๆ ไม่ใช่ตัวแสดง)",
"title": "คดีเด็ด"
},
{
"docid": "837362#44",
"text": "อารมณ์เชิงบวกช่วยลดการยึดติดกับอารมณ์เชิงลบในความคิด การลดความยึดติดจะช่วยลดการตอบสนองฝ่ายเดียวหรืออย่างเดียวที่บุคคลมักจะมีเมื่ออารมณ์ไม่ดี ในฐานะที่การไม่ยึดติดช่วยรับมือกับความเครียด มันก็สนับสนุนทฤษฎี broaden and build ด้วยว่า อารมณ์เชิงบวกช่วยเพิ่มทางเลือกในการตอบสนองทางการรู้คิดและช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางสังคม",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "43986#7",
"text": "เลนนอนนับถือนิกายแองกลิคันและเข้าศึกษาที่โดฟเดลไพรแมรีสกูล[18] หลังจากผ่านการทดสอบอีเลเวนพลัส เขาเข้าศึกษาที่โรงเรียนควอรีแบงก์ไฮสกูล ตั้งแต่เดือนกันยายนปี 1952 ถึง 1957 และฮาร์วีย์พูดถึงเขาว่า \"เด็กหนุ่มร่าเริง เรียบง่าย อารมณ์ดี ไม่ทุกข์ไม่ร้อน\"[19] เขามักวาดการ์ตูนขบขันลงนิตยสารที่โรงเรียนพิมพ์เองชื่อ เดอะเดลีฮาวล์[20] แต่แม้ว่าเขามีพรสวรรค์ด้านศิลปะ แต่ผลการเรียนของเขากลับออกมาเลวร้าย: \"อยู่บนถนนสู่ความล้มเหลว สิ้นหวัง มากกว่าเป็นตัวตลกในห้องเรียน เสียเวลาของนักเรียนคนอื่น ๆ\"[21]",
"title": "จอห์น เลนนอน"
},
{
"docid": "523079#6",
"text": "เพื่อนร่วมคณะของเอวา เล่นกีต้าร์ หรือพวกเครื่องสาย นิคเป็นคนเท่ห์ มีสไตล์เป็นของตัวเอง ขี้เล่น ชอบอำ อารมณ์ดี เป็นที่รักของเพื่อนๆ แต่ภายใต้อารมณ์ขบขัน นิคจะเป็นผู้ชายที่โรแมนติก เอาใจใส่คนรอบข้าง รักเพื่อน และนิคแอบเก็บความรู้สึกที่มีต่อเอวาเพราะเจียมตัวว่ามาจากครอบครัวฐานะยากจน เป็นผู้ชายที่มีแต่ตัว ไม่อยากให้คนที่รักต้องลำบาก ถือคติว่า “ตลกมักเป็นได้แค่เพื่อนของนางเอก”",
"title": "ตะวันฉายในม่านเมฆ"
},
{
"docid": "837362#20",
"text": "มุกตลกจีนปัจจุบันได้รับอิทธิพลไม่ใช่จากวัฒนธรรมดั้งเดิมเท่านั้น แต่ยังได้จากชาวต่างชาติ ผ่านวรรณกรรม ภาพยนตร์ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต[16] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ \"humor\" เป็นคำจีน ก็กลายเป็นศัพท์ใหม่สำหรับความหมายนี้ ทำให้เกิดแฟชั่นสมัยนิยมในวรรณกรรมตลก และข้อขัดแย้งที่เผ็ดร้อนว่า รูปแบบตลกเช่นไรเหมาะกับประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่จน อ่อนแอ ที่อยู่ใต้การปกครองของประเทศอื่นเป็นบางส่วน[17][18] แม้ว่าจะมีสุขนาฏกรรมที่อนุญาตในสมัยของนายเหมา เจ๋อตง แต่เรื่องขำขันในหลาย ๆ เรื่องก็ยังเป็นของต้องห้าม[19] แต่ว่า การผ่อนคลายนโยบายทางสังคมในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980, การค้าขายที่มีผลต่อวัฒนธรรมในช่วงทศวรรษ 1990, และการเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต ช่วยให้เกิดรูปแบบตลกใหม่ ๆ ในประเทศจีนในทศวรรษหลัง ๆ แม้ว่ารัฐยังตรวจพิจารณาสื่ออย่างเข้มงวด[20]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#42",
"text": "งานศึกษาอีกหลายงานแสดงว่า อารมณ์เชิงบวกสามารถทำให้คืนสภาพสู่ความสงบอัตโนวัติ (autonomic quiescence) หลังจากเผชิญกับเหตุการณ์เชิงลบ ยกตัวอย่างอย่างเช่น งานศึกษางานหนึ่งพบว่า บุคคลที่ยิ้มโดยใช้ทั้งกล้ามเนื้อที่มุมปากและมุมตา (Duchenne smile) เมื่อเกิดตื่นตัวในเชิงลบเพราะเหตุการณ์ที่น่าเศร้าหรือเป็นปัญหา จะฟื้นสภาพจากอารมณ์เชิงลบ 20% เร็วกว่าบุคคลที่ไม่ยิ้ม[39]:314",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#39",
"text": "ความตลกขบขันมีหลักฐานว่าช่วยให้ฟื้นสภาพจากความทุกข์และช่วยแก้อารมณ์เชิงลบ งานวิจัยปี 2552 พบว่ามันช่วยให้สนใจไปในเรื่องอื่นสำหรับบุคคลที่กำลังเป็นทุกข์[38]:574-578 มีการให้ผู้ร่วมการทดลองดูรูปและประโยคเชิงลบต่าง ๆ หลายอย่าง แล้วพบว่า การบำบัดด้วยความตลก (humorous therapy) ช่วยลดอารมณ์เชิงลบที่เกิดหลังจากดูรูปและประโยคเชิงลบ นอกจากนั้นแล้ว การบำบัดด้วยความตลกยังมีประสิทธิภาพในการลดอารมณ์เชิงลบ เมื่ออารมณ์แรงขึ้น[38]:575-576",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "47276#2",
"text": "ซิตคอมเป็นละครแนวสุขนาฏกรรม เลือกที่จะมองชีวิตมนุษย์ในแง่ขบขัน ล้อเลียน เอามาทำเป็นเรื่องตลกให้คนดูหัวเราะ โดยผูกเรื่อง สร้างสถานการณ์ให้เกิดอารมณ์ขันสนุกสนาน องค์ประกอบของละครซิตคอม มีรายละเอียดดังนี้ ด้านเนื้อหา หลากหลาย มีความสัมพันธ์หลายกลุ่ม หลายบุคคล, รูปแบบการนำเสนอ ไม่สมจริง แต่เนื้อหามาจากความจริง, จังหวะและการดำเนินเรื่องรวดเร็ว จบตามเวลา, มีพื้นฐานทางอารมณ์, ความสัมพันธ์ของตัวละครตามสูตรแน่นอน, ตัวละครมีลักษณะเหมือนจริง และ การแบ่งแยกวงในและวงนอกคือระหว่างนักแสดงประจำกับดารารับเชิญ",
"title": "ซิตคอม"
},
{
"docid": "837362#25",
"text": "งานศึกษาปี 2541 แสดงว่า อารมณ์ขำที่สัมพันธ์กับรูปงามเป็นปัจจัยสำคัญสองอย่างเพื่อดำรงความสัมพันธ์ให้คงยืน[21] แต่ว่า หญิงจะสนใจความรูปงามน้อยกว่าชายเมื่อออกเดต มีความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง และมีเพศสัมพันธ์[21] หญิงยังเห็นชายที่มีอารมณ์ขำว่าน่าสนใจกว่าคนที่ไม่มีสำหรับความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งหรือเมื่อแต่งงาน แต่ก็ต่อเมื่อชายมีรูปงาม[21] นอกจากนั้นแล้ว คนยังมองคนมีอารมณ์ขำว่าร่าเริงกว่าแต่ฉลาดน้อยกว่า อารมณ์ขำแบบถ่อมตัวเองมีหลักฐานว่าเพิ่มความน่าต้องการสำหรับคนมีรูปงามอื่น ๆ เพื่อความสัมพันธ์แบบผูกขาด[21]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#31",
"text": "ในงานศึกษาเกี่ยวกับอารมณ์ขันกับความเป็นสุขทางจิตใจ งานวิจัยได้สรุปว่า อารมณ์ขันที่เป็นการปรับตัวดีในระดับสูง (คือแบบอำนวยความสัมพันธ์หรือเสริมตนเอง) สัมพันธ์กับความภูมิใจในตน อารมณ์เชิงบวก สมรรถภาพในบุคคล การควบคุมความวิตกกังวล และปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่ดีกว่า[31] ซึ่งล้วนแต่เป็นส่วนของความรู้สึกเป็นสุขที่ดี นอกจากนั้นแล้ว สไตล์ตลกที่เป็นการปรับตัวที่ดีอาจช่วยรักษาความรู้สึกเป็นสุขแม้เมื่อมีปัญหาทางจิตใจ[28] เปรียบเทียบกันแล้ว สไตล์ตลกแบบปรับตัวผิด (คือก้าวร้าวหรือหักล้างตัวเอง) สัมพันธ์กับความรู้สึกเป็นสุขทางจิตใจที่แย่กว่า[31] โดยเฉพาะก็คือมีระดับความวิตกกังวลและความซึมเศร้ามากกว่า และดังนั้น มุกตลกอาจมีผลลบต่อความเป็นสุขทางจิตใจ ทางมุกนั้นมีลักษณะเชิงลบ[31]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#37",
"text": "งานปี 2552 ตรวจสอบว่า การหัวเราะสามารถสื่ออารมณ์ต่าง ๆ ให้ผู้ฟังรับทราบได้หรือไม่ พวกเขาได้จ้างนักแสดงให้หัวเราะอัดเสียงโดยใช้อารมณ์ 4 อย่างที่ทำให้เกิดเอง โดยนักแสดงจะสนใจแต่อารมณ์ของตนอย่างเดียว ไม่สนใจว่าจะต้องแสดงออกอย่างไร แล้วพบว่า ในงานทดลองแรก ผู้ร่วมการทดลองสามารถระบุอารมณ์ที่ถูกต้องจากเสียงหัวเราะที่อัตรา 44% โดยความเบิกบานใจ (joy) ที่ 44% จั๊กจี้ (tickle) ที่ 45% ตลกเพราะคนอื่นลำบาก (schadenfreude) ที่ 37% และคำพูดเสียดสี (taunt) ที่ 50%[37]:399 งานทดลองที่สองตรวจสอบการระบุมิติต่าง ๆ (ความตื่นตัว, dominance, receiver valence, sender valence) ของเสียงหัวเราะเดียวกัน แล้วพบว่า ผู้ร่วมการทดลองระบุมิติ 4 อย่างของเสียงหัวเราะ 4 อย่าง ในระดับต่าง ๆ กัน ซึ่งแสดงว่าผู้ฟังสามารถกำหนดความแตกต่างของการหัวเราะได้แม้จะไม่ได้รับอิทธิพลจากการเลือกประเภทเสียงหัวเราะจาก 4 อย่างที่กำหนดล่วงหน้า[37]:401-402",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#24",
"text": "นักศึกษามหาวิทยาลัยชาย 90% และหญิง 81% รายงานว่าเมื่อหาคู่ ความมีอารมณ์ขำเป็นคุณสมบัติสำคัญอย่างหนึ่ง[23] ความมีอารมณ์ขำและความซื่อสัตย์จัดเป็นคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดในคู่รัก[24] มีหลักฐานว่า ความมีอารมณ์ขำจะปรากฏยิ่งขึ้นและสำคัญมากขึ้น เมื่อความใกล้ชิดแบบโรแมนติดเพิ่มมากขึ้น[25]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "475514#1",
"text": "กลุ่มพันธมิตรก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2538 โดย ปริภัณฑ์ วัชรานนท์ แต่ชื่อพันธมิตรเริ่มคิดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ในขณะที่เขาทำงานพากย์ที่ช่อง 3 อยู่ พร้อมหานักพากย์จากที่อื่นมาร่วมด้วย มีความหมายคือ \"เราจะไม่เป็นศัตรูกับใคร\" เริ่มมีผลงานสร้างชื่อคือ ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า (The Storm Riders) ผลงานสร้างชื่อต่อมา เช่น นักเตะเสี้ยวลิ้มยี่ และ คนเล็กหมัดเทวดา พันธมิตรเป็นที่รู้จักในการพากย์ภาพยนตร์ตลก โดยนำมุกจากกระแสดังจากต่าง ๆ และเหตุการณ์ปัจจุบัน มาใช้ในบทพากย์ ในช่วงแรกเคยนำภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ตลกมาใส่มุกตลกด้วย ตัวอย่างเรื่อง เกมนรก โรงเรียนพันธุ์โหด ซึ่งเป็นภาพยนตร์ระทึกขวัญ ฉายเมื่อ พ.ศ. 2543 แต่ช่วงหลังไม่ใส่มุกตลกแก่ภาพยนตร์ที่ไม่ใช่แนวตลกอีกต่อไป ซีรีส์และภาพยนตร์ดรามาจะเน้นการพากย์ที่จริงจังมากขึ้น แสดงอารมณ์ของตัวละครเป็นหลัก",
"title": "ทีมพากย์พันธมิตร"
},
{
"docid": "837362#5",
"text": "ในประสบการณ์มนุษย์ ความตลกขบขันเป็นสิ่งที่มีทั่วไป เป็นธรรมชาติ และมีความหมาย และดังนั้น จึงมีความสำคัญสำหรับองค์กรต่าง ๆ เช่นในที่ทำงาน[9]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#51",
"text": "Farce (ละครตลก) ซึ่งเป็นการแสดงตลกโดยใช้สถานการณ์ที่ทำเกินจริง ฟู่ฟ่า และดังนั้น จึงไม่สมจริง อติพจน์ เป็นโวหารภาพพจน์อย่างหนึ่งที่กล่าวเกินจริงเพื่อสร้างอารมณ์ความรู้สึก พบบ่อยในงานวรรณกรรมและงานศิลป์หลายรูปแบบ อุปลักษณ์ เป็นการแสดงภาพพจน์ของสิ่งหนึ่ง เพื่อให้เข้าใจถึงอีกสิ่งหนึ่ง เป็นการวาดภาพทางภาษาซึ่งเปรียบเทียบของสองสิ่งหรือแนวคิดสองอย่าง Pun เป็นการเล่นคำเพื่อสื่อความหมายหลายอย่าง Reframing เป็นการเปลี่ยน/แนะแนวคิดและมโนคติว่า บุคคล กลุ่ม หรือสังคม จัดระเบียบ รับรู้ และสื่อสารเกี่ยวกับความจริงอย่างไร Comic timing เป็นการใช้จังหวะ ความเร็ว และการพักเพื่อเพิ่มความตลก",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#38",
"text": "งานศึกษานี้แสดงว่า การหัวเราะสามารถสัมพันธ์กับทั้งอารมณ์เชิงบวก (ความเบิกบานใจและความจั๊กจี้) และอารมณ์เชิงลบ (ตลกเพราะคนอื่นลำบากและคำพูดเสียดสี) โดยมีระดับความตื่นตัวในระดับต่าง ๆ จึงนำมาสู่ประเด็นว่าความตลกขบขันมีนิยามว่าอย่างไรกันแน่ ซึ่งก็คือเป็นกระบวนการทางการรู้คิดที่ประกอบด้วยการหัวเราะ และดังนั้น ความตลกขบขันจะรวมทั้งอารมณ์ทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่าง ๆ แต่ว่า ถ้าจะจำกัดความตลกขบขันว่าเป็นแค่อารมณ์เชิงบวกและสิ่งที่ให้ผลบวกเท่านั้น ก็จะจำเป็นที่จะต้องจำแนกจากการหัวเราะ และความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลก็ควรจะให้นิยามด้วย",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#2",
"text": "ทฤษฎีทางจิตวิทยา คือ benign-violation theory (ไม่เป็นไร-มีการล่วงละเมิด) อธิบายความตลกขบขันว่า \"ความตลกขบขันจะเกิดขึ้นเมื่อมีอะไรดูผิดปกติ น่ากังวล หรืออันตราย แต่ก็ยังโอเค ยอมรับได้ และปลอดภัยไปด้วยพร้อม ๆ กัน\"[3] อารมณ์ขันสามารถช่วยให้เริ่มคุยกับคนอื่นโดยกำจัดความรู้สึกเคอะเขิน ไม่สบาย หรือกระวนกระวายที่มาจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ส่วนคนอื่น ๆ เชื่อว่า \"การใช้ความตลกขบขันที่สมควรสามารถช่วยอำนวยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม\"[4]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "12012#9",
"text": "\"Il Trittico\" ได้ถูกประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918)เป็นอุปรากรสามองค์จบ ที่ถูกเรียงร้อยเข้าด้วยกันแบบ กร็องด์ กินโยล (ละครหุ่นใหญ่) ปารีส โดยมี \"Il Tabarro\" เป็นเรื่องราวสยองขวัญ \"Suor Angelica\" เป็นโศกนาฏกรรมสะเทือนอารมณ์ และ \"Gianni Schicchi\" เป็นละครตลกขบขัน ในสามเรื่องนี้ \"Gianni Schicchi\" ได้รับความนิยมมากที่สุด ในขณะที่ \"Il Tabarro\" ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าด้อยกว่า",
"title": "จาโกโม ปุชชีนี"
},
{
"docid": "837362#3",
"text": "บางคนยืนยันว่า ความตลกขบขันไม่สามารถและไม่ควรจะอธิบาย นักเขียนนายอี.บี. ไวท์ ได้กล่าวไว้ว่า \"ความตลกขบขันสามารถผ่าดูได้เหมือนผ่ากบ แต่มันก็จะตาย และเครื่องในของมันจะไม่น่าชมนอกจากสำหรับพวกนักวิทยาศาสตร์เท่านั้น\"[5] แต่ว่าโดยคัดค้านข้ออ้างนี้ ก็มีบุคคลหรือกลุ่มชนผู้ไม่ชอบการ์ตูนน่ารังเกียจ ที่ชวนให้พิจารณาความตลกขบขันหรือความไร้ความตลกของมัน กระบวนการผ่าดูความตลกขบขันเช่นนี้ไม่ได้กำจัดอารมณ์ขำแต่แนะให้ใส่ใจในเรื่องการเมือง และว่ามันอาจไม่ตลกสำหรับทุกกลุ่มชน[6]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "935463#0",
"text": "ข่าวหลอก หรือ ข่าวปลอมเป็นหนังสือพิมพ์เหลือง (yellow journalism) หรือการโฆษณาชวนเชื่อซึ่งประกอบด้วยสารสนเทศผิดหรือเรื่องหลอกลวงอย่างจงใจ ไม่ว่าจะเผยแพร่ผ่านสื่อข่าวตีพิมพ์ การแพร่สัญญาณตามปกติ หรือสื่อสังคมออนไลน์ ข่าวหลอกมักถูกเขียนและพิมพ์เผยแพร่ โดยมีความประสงค์เพื่อชักนำบุคคลในทางที่ผิด เพื่อสร้างความเสียหายต่อหน่วยงาน นิติบุคคลหรือบุคคล และ/หรือ เพื่อให้ได้ผลประโยชน์ทางการเงินหรือเพื่อชักจูงการเมือง ผู้สร้างข่าวหลอกมักใช้ข้อความพาดหัวในลักษณะเร้าอารมณ์ หลอกลวงหรือกุขึ้นทั้งหมดเพื่อเพิ่มยอดผู้อ่าน การแบ่งปันออนไลน์และรายได้จากคลิกอินเทอร์เน็ต ซึ่งในกรณีหลัง คล้ายกับพาดหัว \"คลิกเบต\" ออนไลน์เร้าอารมณ์และอาศัยรายได้จากการโฆษณาจากกิจกรรมนี้ โดยไม่สนใจว่าเรื่องที่พิมพ์นั้นจะถูกต้องหรือไม่ นอกจากเหตุผลทางเศรษฐกิจแล้ว การสร้างและเผยแพร่ข่าวหลอกอาจมีการปฏิบัติการอย่างเป็นระบบเพื่อหวังผลทางการเมือง และใช้เทคนิคบิดเบือนหรือการชักจูงทางจิตวิทยา เช่น การ \"แกสไลท์\" หรือการสร้างทฤษฎีสมคบคิด เพื่อให้ผู้บริโภคสารสนเทศเกิดความสับสน หรือตั้งคำถามกับข้อเท็จจริงหรือข้อมูลหลักฐานที่มีอยู่.ข่าวหลอกที่จงใจชักจูงในทางที่ผิด (manipulative) และหลอกลวงแตกต่างจากการเสียดสีหรือการล้อชัดเจน ซึ่งตั้งใจสร้างความตลกขบขันไม่ใช่ชักจูงผู้ชมให้เข้าใจผิด ",
"title": "ข่าวหลอก"
},
{
"docid": "837362#36",
"text": "ประเด็นหลักอย่างหนึ่งของงานวิจัยและทฤษฎีความตลกขบขันทางจิตวิทยา ก็เพื่อค้นหาและทำให้ชัดเจนเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างความตลกกับการหัวเราะ สิ่งที่พบหลักโดยหลักฐานอย่างหนึ่งก็คือ การหัวเราะและความตลกขบขันไม่จำเป็นต้องสัมพันธ์กันแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แม้ว่าทฤษฎีก่อน ๆ จะสมมุติความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งทั้งสองจนกระทั่งกับเหมือนเป็นสิ่งเดียวกัน นักวิชาการทางจิตวิทยาก็ได้แยกศึกษาโดยหลักวิทยาศาสตร์และโดยหลักฐานถึงความสัมพันธ์ที่อาจจะมี ผลติดตาม และความสำคัญของมัน",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#7",
"text": "อารมณ์ขันในที่ทำงานยังสามารถลดความเครียดและใช้เป็นกลยุทธ์รับมือความเครียด[9] จริง ๆ แล้วที่นักวิชาการมีมติร่วมกันมากที่สุดถึงประโยชน์ของอารมณ์ขันก็คือผลต่อความอยู่เป็นสุข (well being) โดยใช้มุกตลกเป็นกลยุทธ์รับมือความเครียดในชีวิตประจำวัน อุปสรรค และความยากลำบากต่าง ๆ[9] การแชร์เรื่องตลกกับผู้ร่วมงานอาจช่วยให้อารมณ์ดีขึ้น ทำให้มีความสุข ซึ่งช่วยให้รู้สึกว่าสามารถรับมือกับสถานการณ์ได้ดีขึ้น[9] ความสนุกและความเพลิดเพลินเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ในชีวิต และการที่ผู้ร่วมงานหัวเราะในช่วงการทำงานไม่ว่าจะโดยการพูดเย้าแหย่หรือวิธีการอื่น ๆ จะช่วยเสริมความกลมกลืนสามัคคีและความเป็นกลุ่มก้อน[9]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#8",
"text": "มุกตลกยังสามารถใช้ลดความรู้สึกไม่ดีเกี่ยวกับงานที่ต้องทำและช่วยลดการใช้ถ้อยคำหยาบคาย หรือกลยุทธ์การรับมืออื่น ๆ ที่อาจรับไม่ได้ทางสังคม[9] ความตลกขบขันไม่เพียงแค่ช่วยลดอารมณ์เชิงลบ แต่ยังสามารถใช้เป็นวิธีการระบายประสบการณ์ที่ทำให้เจ็บใจ โดยพูดแบบเบา ๆ กว่า ซึ่งในที่สุดช่วยลดความวิตกกังวลและช่วยให้อารมณ์สุข เป็นบวก เกิดขึ้นได้บ่อยกว่า[9]",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#16",
"text": "ในละครสันสกฤตโบราณ นาฏยศาสตร์ ภารตะมุนีได้นิยามความตลกขบขัน (hāsyam) ว่าเป็นรสหนึ่งในเก้ารส (nava rasas) ซึ่งเป็นการตอบสนองทางอารมณ์โดยกระตุ้นให้ผู้ชมมีสภาวะเลียนอารมณ์ของผู้แสดง \"รส\" แต่ละรสจะสัมพันธ์กับ \"ภาวะ\" ที่แสดง",
"title": "ความตลกขบขัน"
},
{
"docid": "837362#4",
"text": "นักปรัชญาชาวเยอรมันอาเทอร์ โชเพนเฮาเออร์ บ่นถึงการใช้คำว่า \"humour\" (ซึ่งเป็นคำที่ยืมใช้ในภาษาเยอรมันจากอังกฤษ) เพื่อหมายถึงสุขนาฏกรรม (comedy) อะไรก็ได้ แม้คำภาษาอังกฤษว่า humour และ comic จะใช้ด้วยกันเมื่อกล่าวถึงเรื่องตลก แต่ว่าก็มีบางคนที่แยก humour ว่าเป็นการตอบสนอง เปรียบเทียบกับ comic ซึ่งเป็นสิ่งเร้าให้ตอบสนอง นอกจากนั้นแล้ว คำว่า humour ยังเชื่อว่ารวมทั้งความน่าหัวเราะและไหวพริบของบุคคล ชาวฝรั่งเศสล่าช้าในการรับคำว่า humour ที่หมายถึงเรื่องตลกมาใช้ คือในภาษาฝรั่งเศส ยังมีทั้งคำว่า humeur และ humour โดยคำแรกหมายถึงอารมณ์หรือหมายถึงแนวคิดล้าสมัยเกี่ยวกับพื้นอารมณ์แต่กำเนิด 4 อย่าง (temperaments) สุขนาฏกรรมที่ไม่ใช่เป็นแบบเสียดสี (non-satirical) สามารถเรียกอย่างเฉพาะเจาะจงในภาษาอังกฤษว่า droll humour หรือ recreational drollery[7][8]",
"title": "ความตลกขบขัน"
}
] |
1740 | เอ็มบีเคเอนเตอร์เทนเมนต์ ก่อตั้งเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "591223#0",
"text": "เอ็มบีเคเอนเตอร์เทนเมนต์ (MBK Entertainment) (ภาษาเกาหลี: MBK 엔터테인먼트) ก่อตั้งเมื่อปีค.ศ.2007 โดย คิม กวางซู เป็นบริษัทเพลงในเครือ CJ E&M Music and Live ชื่อเดิม คือ คอร์คอนเทนส์มีเดีย (Core Contents Media) มีศิลปินในสังกัดที่เป็นที่รู้จัก เช่น แชนนอน, HIGH BROW, ไดอา ซน โฮ-จุน และ ฮา ซอก-จิน อีกทั้งยังเป็นที่รู้จักในฐานะบริษัทผู้ผลิตศิลปินชื่อดังในวงการเพลงเกาหลีใต้อย่าง เช่น ที-อารา ดาวีชี โคเอ็ดสคูล SG Wannabe (เอสจีวอนนาบี), Seeya (ซียา), เป็นต้น",
"title": "เอ็มบีเคเอนเตอร์เทนเมนต์"
}
] | [
{
"docid": "314845#0",
"text": "ทีเอ็มเอสเอ็นเตอร์เทนเมนต์ () หรือในชื่อเดิม โตเกียวมูฟวี่ชินชะ () เป็นสตูดิโอแอนิเมชันในประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2489 ปัจจุบันเป็นบริษัทลูกของกลุ่มเซก้าแซมมีโฮลดิงส์ (Sega Sammy Holdings) ทีเอ็มเอสเอ็นเตอร์เทนเมนต์เป็นหนึ่งในสตูดิโออนิเมะที่เก่าแก่ที่สุดและมีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งไม่เพียงแต่ผลิตอนิเมะในประเทศ แต่ยังผลิตอนิเมะเพื่อฉายในต่างประเทศเช่นสหรัฐอเมริกา อิตาลีและฝรั่งเศสอีกด้วย สตูดิโอดังกล่าวใช้ชื่อทีเอ็มเอสเอ็นเตอร์เทนเมนต์เป็นชื่อบริษัท แต่ใช้ชื่อเรียกสตูดิโอว่า \"โตเกียวมูฟวี่\" () ทีเอ็มเอสเป็นเจ้าของบริษัทย่อยเทเลคอมแอนิเมชันฟิล์ม (Telecom Animation Film) ซึ่งมักร่วมผลิตอนิเมะกับทีเอ็มเอส",
"title": "ทีเอ็มเอสเอ็นเตอร์เทนเมนต์"
},
{
"docid": "630031#2",
"text": "เจ้าของดั้งเดิมของ เอ็นบีเอ็น, เดอะ นิวคาสเซิล บรอดแคสติ่ง แอนด์ เทเลวิชั่น คอร์ปเปอร์เรชั่น (เอ็นบีทีซี) ถูกก่อตั้งในเดือนพฤษภาคมปี 1958 เพื่อเริ่มต้นการเตรียมการสำหรับการจัดสรรใบอนุญาตโทรทัศน์ที่จะเกิดขึ้น. ผู้ถือหุ้นหลักใน เอ็นบีทีซี คือ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแคสติ่ง (เป็นเจ้าของโดย ครอบครัวเล็ม, เจ้าของสถานีวิทยุ 2เคโอ), บริษัท แอร์เซล บรอดแคสติ่ง (เจ้าของสถานีวิทยุท้องถิ่น 2เอชดี), และ เดอะ \"นิวคาสเซิล มอร์นิ่ง เฮอร์ราด แอนด์ ไมเนอร์ แอดโวเคด\" (ที่ถูกซื้อโดย จอห์นเวลล์ แอนด์ ซัน จำกัด). ให้สอดคล้องกับกฎระเบียบของ คณะกรรมการควบคุมบีบีซีของออสเตรเลีย, อย่างน้อย 50% ของ บริษัท จะต้องเป็นเจ้าของท้องถิ่น. 750,000 หุ้นที่ได้รับการทำใช้ได้โดย เดอะ เอ็นบีทีซี (10 เพนนีเทียบเท่ากับ 1 ดอลล่าร์ออสเตรเลลีย). ประมาณ 2,000 คนซื้อหุ้น.",
"title": "เอ็นบีเอ็น เทเลวิชั่น"
},
{
"docid": "686477#1",
"text": "บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นในชื่อ บริษัท เวิลด์มีเดียซัพพลายส์ จำกัด เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2541 พร้อมทั้งเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น โดย\"บริษัท บีอีซีเวิลด์ จำกัด (มหาชน)\" เข้าร่วมทุนกับไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ นักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายเมียนมาร์ ซึ่งกิจการตั้งต้นของบีอีซี-เทโรฯ คือผลิตรายการโทรทัศน์ สำหรับแพร่ภาพทางไทยทีวีสีช่อง 3, จัดหาการแสดง/คอนเสิร์ตมาแสดงในประเทศไทย, จัดกิจกรรมต่างๆ, ผลิตภาพยนตร์, ให้บริการผ่านสื่อช่องทางต่างๆ และร่วมทุนกับบริษัทอื่น เพื่อประกอบกิจการบันเทิงหลายประเภท โดยปัจจุบันบีอีซีเวิลด์ ถือหุ้นใหญ่ในบีอีซี-เทโรฯ ที่ร้อยละ 59.99",
"title": "บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์"
},
{
"docid": "15635#2",
"text": "\"บริษัท มาบุญครองอบพืชและไซโล จำกัด\" จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 มีที่มาจากชื่อบิดา (มา) และมารดา (บุญครอง) ของศิริชัย บูลกุล ผู้ก่อตั้งบริษัทฯ โดยในระยะเริ่มแรก ประกอบกิจการโรงสีข้าว และจำหน่ายข้าวสารบรรจุถุง เครื่องหมายการค้า\"มาบุญครอง\" (ต่อมาโอนกิจการไปให้บริษัทลูกคือ บมจ.ปทุมไรซมิลแอนด์แกรนารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อนุมัติให้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี พ.ศ. 2521",
"title": "เอ็มบีเคเซ็นเตอร์"
},
{
"docid": "42150#3",
"text": "แอมเวย์ คอร์ปอเรชั่น ก่อตั้งใน พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) จากผู้ก่อตั้งสองคน คือ เจย์ แวน แอนเดล และ ริช เดอโวส โดยเริ่มต้นธุรกิจจากห้องใต้ดินที่บ้านของทั้งสองที่เมืองเอด้า รัฐมิชิแกน ปัจจุบันได้ขยายสำนักงานใหญ่ที่เมืองเอด้า มีอาคารมากกว่า 80 หลัง พื้นที่ใช้สอยมากกว่า 4 ล้านตารางฟุต มีความยาวมากกว่า 1 ไมล์ (1.6 กม.) และมีเนื้อที่มากกว่า 255 เอเคอร์ (104 เฮคตาร์) รวมเนื้อที่ถึง 200,000 ตารางเมตร ประกอบด้วยอาคารสำนักงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนา โรงงานผลิต และคลังสินค้าที่ทันสมัย",
"title": "แอมเวย์"
},
{
"docid": "636782#1",
"text": "บริษัทก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2493 จากการรับเย็บลูกฟุตบอลของนายกมล โชคไพบูลย์กิจ จากนั้นในปี พ.ศ. 2495 จึงก่อตั้งโรงงานขึ้นที่ลาดกระบัง และในปี พ.ศ. 2505 ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ เอฟบีทีจึงได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนการแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรก และจากนั้นเอฟบีทีจึงมีบทบาทและขยายกิจการขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงในปี พ.ศ. 2541 ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 13 ที่กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ เอฟบีทีเป็นผู้ได้ลิขสิทธิ์ให้ใช้ตราสัญลักษณ์และเป็นผู้สนับสนุนการแข่งขันอย่างเป็นทางการ",
"title": "เอฟบีที (บริษัท)"
},
{
"docid": "15635#4",
"text": "จากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร พร้อมทั้งชื่อใหม่เป็น\"บริษัท เอ็มบีเค พรอพเพอร์ตีส์ แอนด์ ดีเวลอปเมนต์ จำกัด\" ซึ่งเข้าจดทะเบียนแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2537 เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2539 โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า MBK-PD และเริ่มซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทฯ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน ปีเดียวกัน",
"title": "เอ็มบีเคเซ็นเตอร์"
},
{
"docid": "270308#0",
"text": "บริษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพอเมริกัน (; ชื่อย่อ : เอบีซี; ABC) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ ในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2486 โดยมีที่มาจากเครือข่ายบลูเนตเวิร์ก (Blue Network) ของเอ็นบีซี เอบีซีเป็นกิจการของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ และเป็นองค์กรในสายงานโทรทัศน์ดิสนีย์-เอบีซี ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2491 มีสำนักงานใหญ่อยู่บริเวณอัปเปอร์เวสต์ไซด์ (Upper West Side) ของแมนแฮตตัน ในเมืองนิวยอร์กซิตี ขณะที่สำนักงานด้านรายการของสถานีฯ อยู่ที่เมืองเบอร์แบงก์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีพื้นที่ติดกับสตูดิโอของวอลต์ดิสนีย์ และสำนักงานใหญ่ของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ นอกจากนี้ยังมีสตูดิโออีกแห่ง ณ อาคาร 1500 Broadway ในไทม์สแควร์ในชื่อ Times Square Studios สำหรับออกอากาศรายการข่าวและวาไรตี้ยามเช้า Good Morning America และรายการในการเคาท์ดาวน์สู่ปีใหม่ชื่อดัง Dick Clark's New Year's Rockin' Eve with Ryan Secreat",
"title": "บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน"
},
{
"docid": "235489#0",
"text": "ซีไอเอ็มบี (CIMB) เป็นหนึ่งในกิจการบริหารการเงินโดยเฉพาะที่ใหญ่ที่สุด เป็นอันดับ 2 ของประเทศมาเลเซีย โดยมี บริษัท บูมิปุตรา - คอมเมช โฮลดิ้ง จำกัด กิจการที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2517 ที่ นครหลวงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย โดยซีเอ็มไอบี ถือว่าเป็นกลุ่มสายงานการเงิน ประเภทยูนิเวอร์แซล (Universal) ที่ครบครันที่สุดในมาเลเซีย มีกิจการที่ครอบคลุมในต่างประเทศ และประเทศไทย อีกด้วย",
"title": "ซีไอเอ็มบี"
}
] |
2048 | เหตุการณ์ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เป็นเหตุการณ์ชุมนุมที่สถานที่ใด? | [
{
"docid": "193802#0",
"text": "เหตุการณ์ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เป็นเหตุการณ์ที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยปิดล้อมอาคารรัฐสภาในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เพื่อกดดันไม่ให้คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อที่ประชุมรัฐสภา โดยอ้างว่ารัฐบาลขาดความชอบธรรมที่จะเข้ามาบริหารประเทศ และไม่ต้องการให้แก้ไขรัฐธรรมนูญจนเกิดเหตุการณ์วุ่นวายในวันที่ 7 ตุลาคม",
"title": "การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551"
}
] | [
{
"docid": "116070#0",
"text": "เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ เกิดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยแกนนำกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (นปก.) 15 คน และกลุ่มผู้ชุมนุม จำนวน 20,000 คน เคลื่อนขบวนจากท้องสนามหลวง ไปปิดล้อมบริเวณหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ บ้านพักรับรองสำหรับผู้บัญชาการระดับสูงของกองทัพบกไทย ซึ่ง พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ใช้พักอาศัยในกรุงเทพมหานคร เพื่อกดดันให้ลาออกจากตำแหน่งประธานองคมนตรี เนื่องจากกลุ่มผู้ชุมนุมเชื่อว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการรัฐประหารในประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549",
"title": "เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550"
},
{
"docid": "432116#0",
"text": "\"วันสังหารหมู่ 228\" มีชนวนมาจากความไม่พอใจของประชาชนชาวไต้หวันที่มีต่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการค้าของเถื่อนของสำนักงานผู้ค้าผูกขาด และเจ้าหน้าที่ตำรวจ โดยเหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 (1947)\nขณะที่เจ้าหน้าที่ของสำนักงานดังกล่าวพร้อมด้วยตำรวจเข้าจับกุมแม่ค้าแผงลอยบุหรี่รายหนึ่งในคดีค้าบุหรี่เถื่อน ได้ทำร้ายร่างกายแม่ค้า และประชาชนที่มามุงดูในเหตุการณ์ถึงแก่ชีวิต จนทำให้ชาวไต้หวันไม่พอใจรวมตัวกันบุกสถานีตำรวจเรียกร้องให้ทางการนำคนผิดมาลงโทษ แต่กลับไม่ได้รับการตอบรับแต่อย่างใด\nฝูงชนที่โกรธแค้นบุกเผาสำนักงานผู้ค้าผูกขาดในวันรุ่งขึ้น (28 กุมภาพันธ์) และในบ่ายวันนั้นประชาชนได้เคลื่อนตัวไปที่สำนักงานเขต เพื่อร้องเรียนขอความเป็นธรรมจากทางการ แต่ทว่าทหารรักษาความปลอดภัยได้ยิงปืนใส่ผู้ชุมนุมทำให้มีผู้เสียชีวิตมากมาย\nการเสียชีวิตของประชาชนผู้บริสุทธิ์สร้างความแค้นเคืองเป็นทวีคูณต่อรัฐบาลก๊กมินตั๋ง จนทำให้ประชาชนทั่วเกาะพากันประท้วงรัฐบาล นัดหยุดงาน หยุดเรียน เป็นผลให้เฉินอี้ผู้ว่าการเขตบริหารเกาะไต้หวันในขณะนั้นจำต้องประกาศกฎอัยการศึก\nผลของเหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้พลเมืองผู้บริสุทธิบนเกาะไต้หวัน ถูกสังหารไปมากมาย (ระหว่าง10,000-20,000 คน)",
"title": "เหตุการณ์ 228"
},
{
"docid": "323601#0",
"text": "การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งรัฐบาลได้ส่งกำลังทหารพร้อมอาวุธสงคราม และรถหุ้มเกราะ เข้าปิดล้อมพื้นที่การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) บริเวณแยกราชประสงค์ ระหว่างการชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ยุบสภาและจัดการเลือกตั้งใหม่ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม ทั้งสิ้น 59 ศพ ในบรรดาผู้เสียชีวิตมีชาวต่างประเทศรวมอยู่สองศพและเจ้าหน้าที่กู้ชีพอีกสองศพ ได้รับบาดเจ็บ 480 คน และจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน กลุ่มผู้ชุมนุมยังสูญหายอีกกว่า 51 คน หลังแกนนำผู้ชุมนุมเข้ามอบตัวกับตำรวจเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ได้เกิดเหตุเผาอาคารหลายแห่งทั่วประเทศ รวมทั้ง เซ็นทรัลเวิลด์ สื่อต่างประเทศบางแห่ง ขนานนามการสลายการชุมนุมดังกล่าวว่า \"สมรภูมิกรุงเทพมหานคร\" สื่อไทยบางแห่ง ขนานนามเหตุการณ์ดังกล่าวว่า \"พฤษภาอำมหิต\"",
"title": "การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "116070#6",
"text": "พนักงานสอบสวนมีความเห็นสมควรสั่งฟ้องแกนนำ นปช.10 คน ในข้อหามั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ใช้กำลังประทุษร้าย หรือกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดให้เกิดการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง เมื่อเจ้าพนักงานสั่งให้เลิกแล้วไม่เลิก และร่วมกันเดินแถว เดินเป็นขบวนใดๆ ในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจราจรโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร และร่วมกันกระทำการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียงโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานประกอบด้วย",
"title": "เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550"
},
{
"docid": "116070#3",
"text": "เมื่อไม่สามารถต้านทานกำลังของเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ระดมกันมาได้ แกนนำจึงพากลุ่มผู้ชุมนุมถอยออกจากหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ เพื่อกลับไปยังท้องสนามหลวงตามเดิม ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ ทำให้มีผู้บาดเจ็บ ทั้งในส่วนของผู้ชุมนุม และเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงแม้จะไม่มีผู้สูญเสียชีวิตหรืออวัยวะจากการสลายการชุมนุม แต่เหตุการณ์ดังกล่าว ก็ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินต่างๆ ในบริเวณโดยรอบที่ชุมนุม อาทิ ป้อมยามตำรวจ, ร้านค้าสมาคมแม่บ้านทหารบก และมูลนิธิพระดาบส ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ด้านนาย ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แถลงว่ามีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด 41 ราย ในจำนวนนี้ถึงขั้นนอนโรงพยาบาล 2 ราย",
"title": "เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550"
},
{
"docid": "256165#0",
"text": "การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยในวันที่ 24 พฤศจิกายน กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้บุกเข้ายึดท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้สำเร็จ ทำให้ในวันที่ 27 พฤศจิกายน นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี ต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในทั้งสองพื้นที่ โดยมี พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็น ผู้กำกับการปฏิบัติงานของหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง พลตำรวจโท ฉลอง สนใจ ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง แต่ก็มิได้มีการดำเนินการตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินแต่อย่างใด และกลุ่มพันธมิตรฯก็ได้ประกาศยุติการชุมนุมไปในที่สุดในวันที่ 3 ธันวาคม หลังจากที่นายสมชายพ้นจากตำแหน่งไปเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม",
"title": "การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551"
},
{
"docid": "311468#81",
"text": "การชุมนุมของกลุ่มนปช.ในครั้งนี้ แตกต่างจากเหตุการณ์ 14 ตุลา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 กล่าวคือผู้ชุมนุมมีการขู่ที่จะทำลายสถานที่สำคัญของประเทศ เผาทำลายสถานที่ภายในประเทศ นอกจากนั้นปรากฏข้อเท็จจริงว่ากลุ่มผู้ชุมนุมทุบรถที่ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ สุเทพ เทือกสุบรรณ นั่งอยู่โดยหวังฆ่าบุคคลทั้งสอง จนทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มสนับสนุนประชาธิปไตยที่ไม่สนับสนุนให้ผู้ชุมนุมใช้ความรุนแรงต่อรัฐบาล กับ กลุ่มที่มีความเห็นว่ารัฐบาลไม่ว่าอย่างไรก็ตามก็ไม่ควรให้ผู้ชุมนุมซึ่งเป็นคนไทยด้วยกันบาดเจ็บหรือเสียชีวิตคนเดือนตุลามีความเห็นแตกต่างทางการเมืองเนื่องจากมีความเชื่อที่แตกต่างกัน",
"title": "การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "49846#46",
"text": "วันที่ 13 เมษายน ทหารในเครื่องแบบเต็มชุด เข้าสลายการชุมนุมที่แยกดินแดง ใกล้กับอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้บาดเจ็บราว 70 คน ส่วนทางกลุ่มผู้ชุมนุมกล่าวบนเวทีว่า มีผู้เสียชีวิต 1 คน จากกระสุนปืนของทหาร แต่ฝ่ายกองทัพออกมาปฏิเสธ ในวันเดียวกัน รัฐบาลอภิสิทธิ์ยังออกคำสั่งปิด ช่องโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีประชาธิปไตย ของฝ่ายผู้ชุมนุมลง รวมถึงวิทยุชุมชนบางแห่ง เนื่องจากเชื่อว่าสนับสนุนกลุ่มผู้ชุมนุม เหตุปะทะกันยังคงมีขึ้น ในหลายจุดของกรุงเทพมหานคร ระหว่างนั้นมีการออกหมายจับ พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ และแกนนำ นปช.อีก 13 คน ในเวลาดึกของคืนดังกล่าว มีชาวบ้านชุมชนนางเลิ้งจำนวนหนึ่ง เข้าปะทะกับกลุ่มผู้ชุมนุม จนมีผู้เสียชีวิต 2 คน ช่วงกลางดึก รัฐบาลอภิสิทธิ์จัดตั้งกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.) ขึ้นโดยให้ พลเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ เป็นผู้อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน และให้ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นที่ปรึกษาผู้อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน\nในวันที่ 14 เมษายน แกนนำนปช. หลายคนยอมมอบตัว การชุมนุมจึงสงบลง แม้ว่าผู้ชุมนุมบางส่วนจะยังคงชุมนุมกันต่อไป สถานการณ์ฉุกเฉินมีผลจนถึงวันที่ 24 เมษายน นายกรัฐมนตรีจึงประกาศยกเลิก สำหรับตัวเลขผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บ รัฐบาลระบุว่ามีผู้ได้รับบาดเจ็บประมาณ 120 คน ระหว่างการชุมนุม ในเวลาต่อมา ได้พบศพ นปช. 2 คน ลอยตามแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งทางตำรวจสรุปว่าเป็นการฆาตกรรมด้วยชนวนเหตุทางการเมือง กลุ่มนปช. กล่าวอ้างว่ามีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 6 คน แต่ศพได้ถูกฝ่ายทหารเอาไปซ่อน แต่ทางกองทัพปฏิเสธ",
"title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553"
},
{
"docid": "116070#1",
"text": "ระหว่างเส้นทางการเคลื่อนขบวน มีเจ้าหน้าที่ตำรวจตั้งด่านสกัดในหลายจุด โดยใช้แผงเหล็กวางกั้น และจอดรถบรรทุกของกรุงเทพมหานครขวางถนน แต่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ฝ่าผ่านไปได้ เมื่อขบวนเคลื่อนไปถึงหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ แกนนำ นปก.ใช้เครื่องขยายเสียงขนาดใหญ่บนรถบรรทุก ปราศรัยโจมตีผู้เกี่ยวข้องกับการทำรัฐประหารทั้งหมด ในขณะที่ผู้ชุมนุมกำลังอยู่ระหว่างพักรับประทานอาหาร เจ้าหน้าที่ตำรวจพยายามฝ่าฝูงชนเข้าไปจับตัวแกนนำ แต่ไม่สำเร็จ และถูกกลุ่มผู้ชุมนุมผลักดัน จนต้องล่าถอยออกไป",
"title": "เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550"
}
] |
3430 | บริษัทที่ผลิตโทรศัพท์มือถือเครื่องแรกคืออะไร? | [
{
"docid": "24448#2",
"text": "โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน พ.ศ. 2516 โดย มาร์ติน คูเปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลา เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 ที่มีจำนวน 12.4 ล้านคน มาเป็น 4,600 ล้านคน",
"title": "โทรศัพท์เคลื่อนที่"
}
] | [
{
"docid": "617855#0",
"text": "ไมโครซอฟท์ โมบาย () เป็นบริษัทโทรคมนาคมรายใหญ่ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองเอสโป ประเทศฟินแลนด์ ปัจจุบันเป็นผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกโดยเกิดจากการที่เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศเข้าซื้อกิจการด้านโทรศัพท์ของโนเกียทั้งหมด ในราคา 7.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาในวันที่ 25 เมษายน 2557 ไมโครซอฟท์ได้เปลี่ยนชื่อโนเกียเป็นไมโครซอฟท์ โมบาย ซึ่งจะเป็นในฐานะบริษัทลูก",
"title": "ไมโครซอฟท์ โมบาย"
},
{
"docid": "286764#2",
"text": "ในปีพ.ศ.2554 แบล็คเบอร์รี่ กินส่วนแบ่งตลาด โทรศัพท์มือถือ ทั่วโลกได้ 3% กลายเป็นผู้ผลิตโทรศัพท์มือถืออันดับ 6 ของโลก ระบบอินเทอร์เน็ตของแบล็คเบอร์รี่เปิดให้บริการใน 91 ประเทศ ภายใต้ผู้ให้บริการเครือข่ายกว่า 500 ราย ในเดือนกันยายน พ.ศ.2555 มีผู้ใช้แบล็คเบอร์รี่ถึง 80 ล้านเครื่องทั่วโลก ในปีพ.ศ.2554 ผู้คนกลุ่มประเทศแคริบเบียนและละตินอเมริกาใช้แบล็คเบอร์รี่มากที่สุด คิดเป็น 45% ของจำนวนเครื่องแบล็คเบอร์รี่ทั่วโลก",
"title": "แบล็คเบอร์รี (โทรศัพท์มือถือ)"
},
{
"docid": "17806#19",
"text": "เมื่อ พ.ศ. 2546 มีหลายบริษัทเริ่มให้บริการคาราโอเกะผ่านโทรศัพท์มือถือ และยังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทว่าไม่สามารถคาดหมายได้ชัดว่าจะเติบโตไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามผู้ให้บริการคาราโอเกะผ่านโทรศัพท์มือถือบางราย เช่น Karaokini ได้เริ่มประสบความสำเร็จในเชิงพานิชย์บ้างแล้ว บริการคาราโอเกะผ่านมือถือมักจะใช้ ภาษาจาวา ซึ่งทำงานด้วยไฟล์ข้อความ บรรจุเป็นคำ และไฟล์ midi พร้อมเสียงดนตรี www.web2txt.co.uk เป็นบริษัทแรกที่เสนอคาราโอเกะผ่านมือถือ ในรูปแบบ 3GP ซึ่งให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่า (ในประเทศไทยเคยมีให้บริการร้องคาราโอเกะบนมือถือผ่านเครื่อข่ายระบบฮัทช์)",
"title": "คาราโอเกะ"
},
{
"docid": "132471#26",
"text": "บริษัทเอ็นทีทีโดโคโม (NTT DoCoMo) ได้พัฒนาให้เล่นได้บนโทรศัพท์มือถือซึ่งใช้บริการอิสระในการเข้าถึงสื่อประสมบนโทรศัพท์มือถือ (Freedom of Mobile Multimedia Access) หรือโฟมา (FOMA) แล้วส่งให้บริษัทโพรโตไทป์จัดจำหน่ายผ่านบริษัทวิชวลอาตส์มอตโต (Visual Art's Motto) ในเครือบริษัทวิชวลอาตส์ ตั้งแต่ปลายปี 2550 ครั้นแล้ว จึงจำหน่ายฉบับเล่นบนโทรศัพท์มือถือระบบซอฟต์แบงก์ 3จี (SoftBank 3G) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2551 และฉบับเล่นกับเครื่องเพลย์สเตชันแบบพกพา ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2551 ซึ่งเพิ่มส่วนเสริมจากฉบับ \"แคลนนาดฟูลวอยซ์\" เข้าไปด้วย ทั้งนี้ ฉบับที่ใช้เล่นกับเครื่องเพลย์สเตชันแบบพกพาและเอกซ์บอกซ์ 360 ฉบับจำกัดนั้น แถมซีดีละครสั้นห้าเรื่องไม่ต่อเนื่องกัน โดยซีดีละครที่มาในฉบับเล่นกับเครื่องเพลย์สเตชันแบบพกพานั้นแตกต่างจากที่มาในฉบับเล่นกับเอกซ์บอกซ์ 360",
"title": "แคลนนาด (วิชวลโนเวล)"
},
{
"docid": "416330#13",
"text": "ต่อมา ทีโอทีจับมือกับผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือใหม่ 5 ราย (MVNO) ได้แก่\nเปิดให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 บนคลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิร์ต โดยความร่วมมือระหว่างเอไอเอสและทีโอที แต่แท้จริงแล้ว บริการดังกล่าวคือการนำเอาคลื่นความถี่ 1900 เมกะเฮิร์ตที่ทีโอทีมีอยู่จากกิจการไทยโมบาย มาพัฒนาแล้วให้รันเสมือนบนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตแทน ซึ่งผู้ให้บริการทั้งหมด 5 รายนี้ จะเข้ามาใช้คลื่นความถี่ของทีโอทีร่วมกันในลักษณะผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือที่ไม่มีโครงข่ายเป็นของตนเอง หรือ MVNO",
"title": "3 จีในประเทศไทย"
},
{
"docid": "286764#0",
"text": "แบล็คเบอร์รี่ (BlackBerry) เป็นสมาร์ตโฟนและโทรศัพท์มือถือโดยบริษัทแบล็คเบอร์รี่จำกัด (BlackBerry Limited) หรือเดิมคือบริษัทรีเสิร์ชอินโมชั่น (Reserch in Motion Limited - RIM) จากประเทศแคนาดา แบล็คเบอร์รี่เครื่องแรกเริ่มผลิตในปี พ.ศ. 2542 โดยมีลักษณะเป็นเพจเจอร์สองทาง แบล็คเบอร์รี่รุ่นล่าสุดคือ แซด 30, แซด 10, คิว 10 และ คิว 5 มีลักษณะส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แตกต่างกันไปในแต่ละรุ่น โดยส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ที่โด่งดังและเป็นที่นิยมที่สุดของแบล็คเบอร์รี่คือแป้นพิมพ์คิวเวอตี้ ขณะที่แบล็คเบอร์รี่รุ่นใหม่จะใช้ส่วนประสานงานผู้ใช้แบบหน้าจอสัมผัสและคีย์บอร์เสมือนดังเช่น ไอโฟน",
"title": "แบล็คเบอร์รี (โทรศัพท์มือถือ)"
},
{
"docid": "412858#27",
"text": "อย่างไรก็ตาม ในปีที่สิบนับจากการตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกจากผู้ประดิษฐ์อุปกรณ์ [[Wibree]] จากบริษัทโนเกียในปี 2001 ก็ยังไม่มีการดำเนินการสร้างระบบบนชิปหรือบนโพรโทคอลในผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล พีดีเอ โทรศัพท์มือถือหรือผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ใดๆ ไม่ว่าจะเปิดเผยหรือไม่ก็ตาม การประกาศทั้งหมดที่เห็นก็ยังคงมีเพียงแค่ประกาศจาก Bluetooth SIG และไม่มีความคืบหน้าอื่นใดหลังจาก 27 ม.ค. 2010 ยกเว้นเพียงกรณี Velo-odometer แบบไร้สาย ซึ่งอาจจะไม่เป็นที่ยอมรับว่าเป็น \"การประยุกต์ใช้ที่น่าทึ่ง\" ร่วมกับโทรศัพท์มือถือ",
"title": "บลูทูธพลังงานต่ำ"
},
{
"docid": "254546#0",
"text": "เอ็นเกจ () เป็นชื่อของโทรศัพท์มือถือรุ่นหนึ่งในอดีต หรือชื่อของบริการเกมในโทรศัพท์มือถือในปัจจุบันของบริษัทโนเกีย ซึ่งสำหรับตัวเครื่องในยุคเริ่มต้นนั้นได้เริ่มมีการจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยได้ออกวางจำหน่ายเพื่อให้แตกต่างจากเกมบอยแอดวานซ์ของบริษัทนินเทนโดในด้านของการที่เป็นเครื่องเล่นเกมบนโทรศัพท์มือถืออย่างเต็มรูปแบบ แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งนั้นเนื่องมาจากปุ่มต่างๆที่อยู่บนเครื่องนั้นถูกมองว่าเหมาะสมกับการโทรศัพท์มากกว่าการเล่นเกม และอีกประการหนึ่งก็คือตัวเครื่องในรุ่นแรกนั้นถูกมองว่ามีลักษณะคล้ายกับอาหารของชาวเม็กซิกันที่มีชื่อว่า\"ทาโก้\"",
"title": "เอ็นเกจ"
},
{
"docid": "41403#0",
"text": "แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส () หรือเรียกโดยย่อว่า เอไอเอส เป็นบริษัทมหาชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศตามจำนวนผู้ใช้งาน มีสถานะเป็นบริษัทลูกของอินทัช โฮลดิ้งส์ โดยเอไอเอสถือเป็นบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงเป็นอันดับสองในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองจากปตท.",
"title": "แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส"
},
{
"docid": "420073#0",
"text": "ไคเอ็นไต () เป็นบริษัทเดินเรือและพาณิชย์นาวีแห่งแรกของประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1865 ที่ นะงะซะกิ โดย ซะกะโมะโตะ เรียวมะ โดยพัฒนามาจาก กลุ่มการค้าคะเมะยะมะ (亀山社中 - คะเมะยะมะชาชู) ซึ่งมีจุดประสงค์ทางการเมืองแอบแฝงคือการโค่นล้มระบอบโชกุน นอกจากไคเอ็นไตจะทำการค้าและเดินเรือแล้ว ก็ยังมีบทบาททางการเมืองอยู่เช่นเดิม ซึ่งแหล่งเงินทุนของบริษัทก็ได้มาจากแคว้นซะสึมะ แคว้นโทะซะ รวมทั้งกลุ่มนักธุรกิจและเศรษฐีในนะงะซะกิ",
"title": "ไคเอ็นไต"
}
] |
2671 | นิสสัน มาร์ช รุ่นแรก เริ่มผลิตครั้งแรกเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "308468#4",
"text": "ในที่สุด นิสสัน มาร์ช รุ่นแรก ก็ได้เปิดตัวขึ้นในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2525 เป็นครั้งแรก",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
}
] | [
{
"docid": "308468#11",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 4 ใช้รหัสการพัฒนาว่า W02A ภายหลังได้ใช้รหัสตัวถังเป็น K13 เปิดตัวครั้งแรกใน พ.ศ. 2552 และเริ่มผลิตในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 รวมถึงประเทศไทยด้วย หลังจากผลิตนิสสัน มาร์ชรุ่นที่ 1 ในประเทศไทยแล้วล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงเมื่อกว่า 20 ปีก่อน นิสสันก็ตัดสินใจผลิตนิสสัน มาร์ชในประเทศไทยอีกครั้ง โดยใช้ชื่อในการโฆษณาว่า \"นิสสัน อีโคคาร์\" (Nissan Ecocar) ซึ่งจะใช้เครื่องยนต์ 1200 ซีซี 3 สูบ ซึ่งสามารถประหยัดน้ำมันได้ไม่แพ้รุ่นก่อนๆ โดยนิสสัน มาร์ช รุ่นใหม่นี้ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้อกำหนดรถประหยัดพลังงานสากล (อีโคคาร์) ซึ่งมีข้อกำหนดดังนี้",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#5",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 1 ใช้รหัสตัวถังว่า K10 ในการเปิดตัวได้มีการนำ Masahiko Kondou นักแข่งรถ Formula Nippon และเป็น Idol ยอดนิยมของวัยรุ่นญี่ปุ่นในช่วงนั้นมาเป็นพรีเซนเตอร์ ส่วนเครื่องยนต์ที่ใช้ เครื่องยนต์ตัวแรกและดั้งเดิมของมาร์ช K10 คือเครื่องยนต์คาร์บูเรเตอร์ MA10S 4สูบ SOHC 8 วาล์ว 987 ซีซี ในการขับขี่บนท้องถนนจริง พบว่า นิสสัน มาร์ช รุ่นแรก มีอัตราการใช้น้ำมันประหยัดมาก คือ 21 กิโลเมตร/ลิตร และจากการทดสอบพบว่า หากขับขี่ด้วยความเร็วคงที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมงแล้ว จะสามารถประหยัดน้ำมันได้ถึง 32.5 กิโลเมตรต่อลิตร ซึ่งในภาพรวมนิสสัน มาร์ช รุ่นแรก ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม อีกทั้งมีการคิดค้นรุ่นพิเศษลิมิเต็ดเอดิชันออกมาอีกหลายรุ่น จึงได้รับการตอบรับอย่างดี และเป็นรถเล็กรุ่นแรก ที่ติดตั้ง TurboChager และหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ ในปี 2528 และ Nissan March Super Turbo(รวมเทคโนโลยี่ Supercharger และ TurboCharger ไว้ในเครี่อง MA10ET ตัวเดียว )ในปี 2532 และสามารถทำยอดขายได้ครบ 1 ล้านคันในเวลาเพียง 6 ปีหลังจากเริ่มผลิต และมียอดขาย K10 รวมทั้งสิ้นประมาณ 1.6 ล้านคัน",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#15",
"text": "ซึ่งการเปิดตัวครั้งนี้น่าจะทำให้นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 5 กลับมามีชีวิตชีวาได้อีกครั้งหลังจากที่ชาวยุโรปมองว่านิสสัน มาร์ช รุ่นก่อนนั้นค่อนข้างจืดชืดเมื่อเทียบกันรุ่นก่อน (K12) ที่มีการออกแบบที่ดีกว่า รวมไปถึงคุณภาพที่ต่ำกว่าความคาดหวัง ทั้งหมดนี้จึงทำให้นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 5 จำเป็นต้องดูดีขึ้นขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงจึงเริ่มขึ้นด้วยรถต้นแบบ Nissan Sway Concept",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#1",
"text": "ในช่วง พ.ศ. 2516 ลากยาวไปจนถึงช่วง พ.ศ. 2523 ได้เกิดวิกฤติน้ำมันแพงขึ้นรอบหนึ่ง (ไม่ใช่รอบที่แพงอยู่ในปัจจุบันนี้) ผู้ที่ต้องการซื้อรถหลายคนจึงหันไปให้ความสนใจกับรถขนาดเล็ก ประหยัดน้ำมัน ซึ่งในขณะนั้น นิสสันได้ผลิตรถยนต์ Hatchback ขนาดเล็กมากและประหยัดน้ำมันอยู่แล้วรุ่นหนึ่ง ชื่อว่า นิสสัน เชอร์รี (Nissan Cherry) แต่ทว่า นิสสัน เชอร์รี กลับทำยอดขายได้ไม่ดีนักด้วยเหตุผลหลายประการ ทางนิสสันจึงเห็นว่า น่าจะทำรถ Hatchback ขนาดเล็กมากขึ้นมาใหม่รุ่นหนึ่งที่ต้องมีรูปทรงทันสมัย ดึงดูดใจคนรุ่นใหม่(ในช่วงนั้น) บำรุงรักษาง่าย ขับขี่ง่าย ราคาไม่แพง และประหยัดน้ำมัน",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#9",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 3 ใช้รหัสตัวถังว่า K12 พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของรูปแบบ B-Platform เปิดตัวใน พ.ศ. 2544 เริ่มการผลิตกันอย่างจริงจังใน พ.ศ. 2545 ตัวถังใหม่มีความโค้งมนมากขึ้น สูงขึ้น และกว้างขึ้น ซึ่งสือมวลชน รวมถึงสถาบันการออกแบบชั้นนำหลายแห่ง ก็ต่างออกมายอมรับว่างานชิ้นนี้มีดีไซน์แตกต่าง ดูเป็นเอกลักษณ์ ด้วยการเน้นการเพิ่มพื้นที่ในห้องโดยสาร การใช้ไฟหน้ารูปทรงแบบดวงตาการ์ตูนบักส์ บันนี รูปทรงรถแบบลู่ลมช่วยลดแรงต้านลมระหว่างการวิ่ง (ค่า Cd.=0.32) เสาหลังคาหลังถูกลดความยาวลงเพื่อลดจุดบอดของสายตาขณะถอยจอด และมาพร้อมกับเทคโนโลยีใหม่ คือ Keyless Ignition คือจะมีรีโมทกุญแจไว้ให้เจ้าของรถ เมื่อเจ้าของรถพกรีโมทกุญแจเข้ามาในรถ จะสามารถกดปุ่มสตาร์ทรถได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้กุญแจ (เหมือน โตโยต้า ยาริส ในปัจจุบัน)",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "507941#1",
"text": "รุ่นที่ 1 ผลิตระหว่างปี พ.ศ. 2540-2547 แต่ในประเทศไทย ผลิตระหว่างปี พ.ศ. 2541-2550 ใช้รหัสว่า D22 โดยมีเครื่องยนต์ 6 ขนาด คือ 2.4 ,2.5 ,2.7 ,3.0 ,3.2 และ 3.3 ลิตร โดยในประเทศไทยมีจำหน่ายเฉพาะรุ่น 2.7 และ 3.0 ลิตรเท่านั้น และมีเกียร์ 3 แบบคือ เกียร์ธรรมดา 4 สปีด ,เกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด โดยในประเทศไทย รุ่นก่อนไมเนอร์เชนจ์มีชื่อว่า นิสสัน บิ๊กเอ็ม ฟรอนเทียร์ หลังจากไมเนอร์เชนจ์แล้วจึงได้ใช้ชื่อ นิสสัน ฟรอนเทียร์",
"title": "นิสสัน นาวารา"
},
{
"docid": "308468#13",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 5 ใช้รหัสว่า K14 ได้เปิดตัวครั้งแรกในโลกที่ปารีส มอเตอร์โชว์ ปี พ.ศ. 2559 โดยมีการออกแบบภายนอกใหม่ทั้งหมด และใช้แพลทฟอร์ม CMF-B ส่วนสีภายนอกมีให้เลือกมากถึง 10 สี โดยการวางจำหน่ายเริ่มที่ยุโรปในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "529081#3",
"text": "นิสสัน เอ็กซ์เทรล รุ่นที่ 2 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2550 ถูกสร้างขึ้นบนตัวถัง C-Platform ร่วมกับ Nissan LaFesta Nissan Qashqai และ Nissan Rogue เผยโฉมครั้งแรกในงานเจนีวา มอเตอร์โชว์ ปี 2007 ก่อนจะออกสู่ตลาดญี่ปุ่นเพียงหลังจากนั้นไม่กี่เดือน และยังคงประสบความสำเร็จในตลาดโลกเช่นเดิม เพราะนิสสันได้ผลิตและส่งมอบเอ็กซ์เทรลแล้วถึง 140,000 คัน เฉพาะในญี่ปุ่นมียอดขายกว่า 27,000 คัน และครองตำแหน่ง SUV ขายดีในญี่ปุ่นแล้ว 2 ปีติดต่อกัน รุ่นนี้มีเครื่องยนต์เบนซิน 2.0 และ 2.5 ลิตร และเครื่องยนต์ดีเซล 2.0 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 6 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 6 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ CVT",
"title": "นิสสัน เอ็กซ์เทรล"
},
{
"docid": "304339#0",
"text": "นิสสัน เทียน่า เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลางของบริษัทนิสสัน เริ่มมีการผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2546 โดยมีชื่ออื่นในการส่งออกเช่น นิสสัน แม็กซิมา และ นิสสัน เซฟิโร่ (เป็นการยืมชื่อมาใช้ เซฟิโร่ตัวจริงเลิกผลิตไปแล้ว เทียน่า เป็นรุ่นต่อของเซฟิโร่ ส่วนแม็กซิมา เป็นรถนิสสันอีกรุ่นหนึ่ง ขายในสหรัฐอเมริกา) ในบางประเทศ นอกจากนี้ เทียน่ายังมีการใช้รูปแบบเดียวกับ นิสสัน อัลติม่า วางขายในทวีปอเมริกาเหนือและญี่ปุ่น",
"title": "นิสสัน เทียน่า"
},
{
"docid": "529081#1",
"text": "นิสสัน เอ็กซ์เทรล รุ่นที่ 1 เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2544 ถูกสร้างขึ้นบนตัวถัง FF-MS Platform ร่วมกับ Nissan Primera P12 Nissan Sunny Neo และ Nissan Almera เครื่องยนต์จะเป็นเครื่องยนต์เบนซิน 2.0 และ 2.5 ลิตร และยังมีเทอร์โบในรุ่น 2.0 ลิตรเฉพาะที่ญี่ปุ่นเท่านั้น และเครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร ระบบเกียร์เป็นเกียร์ธรรมดา 5 และ 6 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด เป็นรถที่ประสบความสำเร็จในแทบทุกประเทศที่เข้าไปเปิดตัว ยกเว้นประเทศไทย",
"title": "นิสสัน เอ็กซ์เทรล"
},
{
"docid": "308468#16",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 5 เปิดตัวในประเทศอินโดนีเซียและประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2561 สำหรับตลาดรถญี่ปุ่น จะมีการนำเข้าจากประเทศไทย และไม่มีจำหน่ายในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#12",
"text": "รถที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอีโคคาร์ ในประเทศไทย จะได้รับผลประโยชน์ในการลดภาษีสรรพสามิตเหลือร้อยละ 17 (รถเก๋งที่ไม่ผ่านเกณฑ์อีโคคาร์ ต้องจ่ายภาษีร้อยละ 30-50) และในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2556 นิสสัน มาร์ช ก็ได้มีการไมเนอร์เชนจ์ขึ้น โดยปรับโฉมให้ดูสปอร์ตขึ้น โดนเปลี่ยนรูปแบบกระจังหน้าใหม่ ไฟหน้าใหม่ ไฟท้ายแบบ LED",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#7",
"text": "นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 2 ใช้รหัสตัวถังว่า K11 ในการออกแบบได้ใช้โปรแกรม CAD มาช่วยในการสร้าง และออกแบบให้มีรูปทรงโค้งมน กลมกลึง ดูเป็นมิตรกว่ารุ่นเดิมมาก นอกจากนี้ยังได้เปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์แบบ CG10DE 4สูบ DOHC 16 วาล์ว 987 ซีซี เป็นเครื่องรุ่นมาตรฐาน มีระบบเกียร์ธรรมดา 5 สปีด กับเกียร์อัตโนมัติ CVT และได้สร้างสถิติอย่างน่าชื่นชม โดยได้รับรางวัลรถยนต์ยอดเยี่ยมแห่งปีของญี่ปุ่น (Car of the Year Japan) ประจำปี 1992 และเป็นรถรุ่นแรกของญี่ปุ่นที่คว้ารางวัลรถยนต์ยอดเยี่ยมแห่งปีของยุโรป (European Car of the Year) ประจำปี 1993 ซึ่งในรายการทีวีซีรีส์ญี่ปุ่นเรื่อง แชมป์เฉือนแชมป์ ตอน World Records ที่ออกอากาศในประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2552 ในการแข่งขันดริฟท์จอดรถ ก็ใช้รถ นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 2 ในการแข่งขัน",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
},
{
"docid": "308468#8",
"text": "อย่างไรก็ตาม นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 2 ยังมีความปลอดภัยไม่มากเท่าที่ควร จากการทดสอบขององค์การทดสอบความปลอดภัยของยานยนต์ Euro NCAP ได้ประเมินว่า นิสสัน มาร์ช รุ่นที่ 2 มีความปลอดภัยเพียงระดับ 2 ดาว จาก 5 ดาว",
"title": "นิสสัน มาร์ช"
}
] |
2095 | เรื่องราวของมหาภารตะ มีที่มาจากประเทศอะไร? | [
{
"docid": "31531#0",
"text": "มหาภารตะ ( \"มหาภารต\") บางครั้งเรียกสั้น ๆ ว่า ภารตะ เป็นหนึ่งในสอง ของ มหากาพย์ ที่ยิ่งใหญ่ของ อินเดีย (มหากาพย์อีกเรื่องคือ รามายณะ) ประพันธ์เป็นโศลกภาษาสันสกฤต มหากาพย์เรื่องนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ \"อิติหาส\" (แปลตามศัพท์ว่า \"ประวัติศาสตร์\") และเป็นส่วนหนึ่งทึ่สำคัญยิ่งของ เทพปกรณัมในศาสนาฮินดู",
"title": "มหาภารตะ"
}
] | [
{
"docid": "31531#2",
"text": "มหาภารตะ เป็นเรื่องราวความขัดแย้งของพี่น้องสองตระกูล ระหว่าง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึ่งทั้งสองตระกูลต่างก็สืบเชื้อสายมาจากท้าวภรต แห่ง กรุงหัสตินาปุระ จนบานปลายไปสู่มหาสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร ซึ่งมีพันธมิตรของแต่ละฝ่ายเข้าร่วมรบด้วยเป็นจำนวนมาก กล่าวกันว่านี่คือการต่อสู้ระหว่าง ฝ่ายธรรมะและฝ่ายอธรรม ความดีและความชั่ว ซึ่งในที่สุดแล้ว ฝ่ายปาณฑพก็เป็นผู้ชนะในสงครามครั้งนี้",
"title": "มหาภารตะ"
},
{
"docid": "964903#0",
"text": "มหาภารตะ () เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันที่กล่าวถึงสงครามมหาภารตะ ระหว่างราชวงศ์เการพ กับราชวงศ์ปาณฑพ กำกับโดย อมาน ข่าน มีเค้าโครงเรื่องมาจาก วรรณกรรมภาษาสันสกฤตเรื่อง มหาภารตะ ให้เสียงพากย์โดยนักแสดงชั้นนำของอินเดียมากมาย อาทิ อมิตาภ พัจจัน, อชัย เทวคัน, วิทยา พาลัน, ซันนี่ ดอล, อนิล คาปัวร์, แจ็กกี ชรอฟฟ์, มาโนช บัจพายี, ธิบดี พาวัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกจำหน่ายในช่วงเทศกาลคริสมาสต์ ตรงกับวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2013 ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือว่าลงทุนสร้างสูงที่สุดในวงการภาพยนตร์แอนิเมชันของประเทศอินเดีย",
"title": "มหาภารตะ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2556)"
},
{
"docid": "964903#1",
"text": "มหาภารตะ กล่าวถึงสงครามระหว่าง ตระกูลปาณฑพ ซึ่งประกอบไปด้วยพี่น้อง 5 คน พร้อมด้วยพระนางเทราปตี ชายาของพี่น้องทั้งห้า และตระกูลเการพ ซึ่งมีพี่น้องร้อยคน สงครามครั้งยิ่งใหญ่นี้เกิดขึ้นจากความละโมบของกษัตริย์ตระกูลเการพ ที่คิดจะยึดครองดินแดนไว้แต่เพียงฝ่ายเดียว จึงออกอุบายหลอก ยุธิษฐิระ พี่ใหญ่แห่งตระกูลปาณฑพ ผู้ซึ่งหลงใหลในการพนัน ด้วยเกมทอยลูกเต๋าจนเสียพนันทรัพย์สมบัติและดินแดนทั้งหมดที่มีอยู่ รวมถึงการถูกเนรเทศให้ไปอาศัยอยู่ในป่าห่างไกลจากบ้านเกิดเมืองนอนเป็นเวลา 30 ปี โดยตระกูลเการพสัญญาว่าจะคืนดินแดนให้เมื่อครบกำหนด แต่เมื่อถึงเวลา 13 ปีทางตระกูลเการพกลับผิดสัญญา จึงทำให้เกิดสงครามครั้งยิ่งใหญ่ระหว่างฝ่ายธรรมะกับฝ่ายอธรรม และเมื่อสงครามสิ้นสุดลง เส้นแบ่งระหว่างความดีกับความชั่วกลับเลือนหายไป คนดีก็ไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง ส่วนคนชั่วก็ไม่ได้ชั่วไปหมดทุกอย่าง เป็นเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? พบกับคำตอบได้ในละครเรื่อง \"มหาภารตะ\"",
"title": "มหาภารตะ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2556)"
},
{
"docid": "867575#1",
"text": "มหาภารตะ กล่าวถึงสงครามระหว่าง ตระกูลปาณฑพ ซึ่งประกอบไปด้วยพี่น้อง 5 คน พร้อมด้วยพระนางเทราปตี ชายาของพี่น้องทั้งห้า และตระกูลเการพ ซึ่งมีพี่น้องร้อยคน สงครามครั้งยิ่งใหญ่นี้เกิดขึ้นจากความละโมบของกษัตริย์ตระกูลเการพ ที่คิดจะยึดครองดินแดนไว้แต่เพียงฝ่ายเดียว จึงออกอุบายหลอก ยุธิษฐิระ พี่ใหญ่แห่งตระกูลปาณฑพ ผู้ซึ่งหลงใหลในการพนัน ด้วยเกมทอยลูกเต๋าจนเสียพนันทรัพย์สมบัติและดินแดนทั้งหมดที่มีอยู่ รวมถึงการถูกเนรเทศให้ไปอาศัยอยู่ในป่าห่างไกลจากบ้านเกิดเมืองนอนเป็นเวลา 30 ปี โดยตระกูลเการพสัญญาว่าจะคืนดินแดนให้เมื่อครบกำหนด แต่เมื่อถึงเวลา 13 ปีทางตระกูลเการพกลับผิดสัญญา จึงทำให้เกิดสงครามครั้งยิ่งใหญ่ระหว่างฝ่ายธรรมะกับฝ่ายอธรรม และเมื่อสงครามสิ้นสุดลง เส้นแบ่งระหว่างความดีกับความชั่วกลับเลือนหายไป คนดีก็ไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง ส่วนคนชั่วก็ไม่ได้ชั่วไปหมดทุกอย่าง เป็นเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? พบกับคำตอบได้ในละครเรื่อง \"มหาภารตะ\"",
"title": "มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)"
},
{
"docid": "867575#0",
"text": "มหาภารตะ () เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามมหาภารตะ ระหว่างราชวงศ์เการพ กับราชวงศ์ปาณฑพ ละครเรื่องสร้างขึ้นโดยรีเมคจากละครเรื่อง มหาภารตะ ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2531 นำแสดงโดย ซอรับห์ ราจ เจน, ชาเฮียร์ ชีคห์, พูจา ชาร์มา, อฮัม ชาร์มา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5เป็นตอนแรกในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558",
"title": "มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556)"
},
{
"docid": "344389#0",
"text": "มหาภารตะ (เทวนาครี:महाभारत (टीवी धारावाहिक) อังกฤษ: Mahabharat) เป็นละครอินเดียที่เคยมาฉายที่ ช่อง 3 เมื่อปี พ.ศ. 2533 เป็นการเล่าของมหาภารตะ ทั้งแต่ต้นเรื่อง จนถึงจบเรื่อง และ กล่าวถึง ภควัทคีตา ที่ พระกฤษณะ แสดงให้กับ อรชุน ให้ สนามรบ ตอน สงครามทุ่งกุรุเกษตร ละครอินเดียนี้ นำแสดงโดย นิทิช ภารทวาช",
"title": "มหาภารตะ (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2531)"
},
{
"docid": "333713#6",
"text": "ในนิยาย เรื่องเกิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษเมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 24 แต่ในอะมิเมะ เรื่องดำเนินไปในปี 2553 ณ นครโคะงะเน ตะวันตกของกรุงโตเกียว ครั้งนั้น เด็กชายวัยสิบสี่ชื่อ โช เดินทางจากกรุงโตเกียวมายังบ้านที่มารดาเคยอาศัยเมื่อเด็ก เพื่อใช้ชีวิตอยู่กับซะดะโกะ ยาย (น้องสาวของยาย) ระหว่างเตรียมตัวผ่าตัดอันเนื่องมาจากโรคหัวใจที่เป็นมาแต่กำเนิด เมื่อถึงและลงจากรถ โชเห็นแมวตัวหนึ่งกำลังจู่หาบางสิ่งในพุ่มไม้ แล้วแมวก็ผละไปเมื่อกาตัวหนึ่งทำร้ายมัน โชจึงเดินเข้าไปชมดูว่าแมวคุ้ยหาสิ่งอันใดกัน และเห็นเด็กหญิงตัวจิ๋วคนหนึ่ง คือ อาร์เรียตตี อายุสิบสี่ปี อาร์เรียตตีนั้นอาศัยอยู่ใต้พื้นเรือนของซะดะโกะพร้อมพ็อด บิดา และโฮมิลี มารดา",
"title": "อาริเอตี้ มหัศจรรย์ความลับคนตัวจิ๋ว"
},
{
"docid": "801289#0",
"text": "อาทิบรรพ คือ เรื่องราวบทแรกของมหาภารตะ จากทั้งหมด 25 ตอน โดยเรื่องราวของมหาภารตะเริ่มต้นจากการเปิดตำนานเล่าเรื่องโดยเริ่มต้นจากการลำดับวงศ์กษ้ตริย์แห่งราชวงศ์กุรุ ตำนานเริ่มจากพระราชาชื่อ ท้าวศานตนุแห่งราชวงศ์กุรุเป็นสำคัญ แต่เมื่อเล่าไปก็จะย้อนถึงจำนานกษัตริย์ในราชวงศ์กุรุถอยหลังขึ้นไปโดยละเอียด และพิสดารมากขึ้นตามการเสริมแต่งในเวลาต่อมา\nท้าวศานตนุแต่งงานกับพระแม่คงคามีลูกชายด้วยกันคนเดียวชื่อ ภีษมะ ต่อมาท้าวศานตนุแต่งงานใหม่กับลูกสาวชาวประมงชื่อ สัตยวดี มีลูกชายด้วยกันสองคนคือ จิตรางคทะ กับ วิจิตรวีรยะ ลูกชายของท้าวศานตนุที่เกิดจากนางสัตยวดี ต่อมาตายไปโดยไม่มีลูกสืบวงศ์ต่อทั้งคู่ ในขณะที่ภีษมะเองก็ถือคำสัตย์สาบานจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้หญิง ทำให้พระนางสัตยวดีต้องไปขอร้องให้ฤษีวยาสซึ่งเป็นลูกนอกสมรสเกิดกับฤาษีปราศร ตั้งแต่ยังไม่ได้กับท้าวศานตนุ ซึ่งบวชเป็นฤาษีให้มาช่วยเป็นต้นเชื้อเพื่อมิให้สิ้นราชวงศ์ ฤาษีวยาสซึ่งมีรูปร่างหน้าตาน่าเกลียดและสกปรกรกรุงรังยอมตกลงมามีความสัมพันธ์กับเมียหม้ายของวิจิตรวีรยะทั้งสองคน คนแรกตอนมีความสัมพันธ์กันนั้นนอนหลับตาด้วยความขยะแขยงลูกที่ออกมาจึงตาบอดและมีชื่อว่า ธฤตราษฎร์ ส่วนคนที่สองตอนมีความสัมพันธ์กัน แม้ไม่ได้หลับตาแต่ก็กลัวจนเนื้อตัวซีดขาวไปหมด ลูกที่ออกมาจึงไม่แข็งแรงและมีเนื้อตัวซีดขาวตามไปด้วย เด็กคนนี้มีชื่อว่า ปาณฑุ พระนางสัตยวดียังให้วยาสมีความสัมพันธ์กับคนรับใช้ในราชสำนัก แบบเผื่อเหลือเผื่อขาดเอาไว้อีกคน สำหรับรายนี้ซึ่งมีความสัมพันธ์กันปกติและไม่ได้รังเกียจอะไรลูกที่ออกมาจึงเป็นปกติมีชื่อว่า วิฑูร เมื่อลูกชายสามคนของวยาสโตขึ้นตามลำดับ ภีษมะซึ่งทำหน้าที่อภิบาลร่วมกับพระนางสัตยวดีได้จัดการให้หลานชายทั้งสามคนแต่งงาน เจ้าชายคนที่ตาบอดแต่งงานกับเจ้าหญิงคานธารีและมีลูกด้วยกัน 100 คน ลูกชายคนโตชื่อ ทุรโยธน์ ส่วนเจ้าชายที่เนื้อตัวซีดนั้นมีเมียสองคน เมียคนแรกชื่อ กุนตี ซึ่งก่อนจะมาแต่งงานก็มีลูกนอกสมรสเหมือนกันชื่อว่า กรรณะ มาก่อนแล้วเมื่อมาแต่งงานกับเจ้าชายปาณฑุมีลูกด้วยกันสามคน คือ ยุธิษฐิระ ภีมะ และอรชุน ส่วนเมียคนที่สองชื่อ มัทรี นั้นมีลูกแฝดชื่อ นกุล กับ สหเทพ เรื่องลูกชายทั้งห้าของเจ้าชายปาณฑุกับเจ้าหญิงกุนตีและเจ้าหญิงมัทรีนั้น ในภายหลังก็มีการแต่งเรื่องเสริมให้ดูศักดิ์สิทธิ์พิสดารขึ้นไปอีก โดยให้เป็นลูกของเทพเจ้าห้าองค์คือ ยุธิษฐิระเป็นลูกที่เกิดจากธรรมเทพ ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม ภีษมะเป็นลูกที่เกิดจากเทพวายุ อรชุนเป็นลูกที่เกิดจากพระอินทร์ ส่วนนกุลกับสหเทพนั้นเกิดจากเทพแฝดคือ เทพอัศวิน เจ้าชายปาณฑุขึ้นครองราชย์เป็นพระราชาแคว้นกุรุเมื่อถึงวัยอันควร หลังจากที่ท้าวภีษมะและพระนางสัตยวดีทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการมาระยะหนึ่ง เจ้าชายปาณฑุขึ้นครองราชย์เพราะพี่ชายคือเจ้าชายธฤตราษฎร์ตาบอด แต่พระชนมายุไม่ยืนสิ้นพระชนม์ไปก่อนเลาอันควร ทำให้ราชสมบัติตกเป็นของพี่ชายคือเจ้าชายธฤตราษฎร์ไปโดยปริยาย และมีข้อตกลงเป็นนัยว่าจะส่งมอบราชสมบัติให้กับลูกของท้าวปาณฑุกลับคืนไปเมื่อถึงเวลาอันควร ด้วยเหตุนี้ลูกทั้งห้าของพระราชาปาณฑุและลูกทั้งร้อยของพระราชาธฤตราษฎร์จึงได้รับการเลี้ยงดูภายในราชสำนักกรุงหัสตินาปุระแบบโตมาด้วยกัน แต่น่าเสียดายว่าได้เกิดความบาดหมางระหว่างลูกพี่ลูกน้องตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งน่าจะเป็นเพราะเรื่องอนาคตว่าฝ่ายใดคือลูกของท้าวปาณฑุหรือว่าลูกของท้าวธฤตราษฎร์จะได้ขึ้นมาเป็นกษัตริย์เป็นสำคัญ\nในการอบรมเจ้าชายทั้ง 105 คน นั้นทั้งหมดตกอยู่ภายใต้การอำนวยของท้าวภีษมะที่เป็นปู่โดยมีอาจารย์สองคนทำหน้าที่เป็นผู้สอนศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆให้ นั่นก็คือ กฤปาจารย์ และ โทรณาจารย์ ในการนี้ยังมีเด็กชายอีกสองคนที่มิใช่ลูกหลานกษัตริย์โดยตรงเข้าร่วมเรียนด้วย คนแรกคือ อัศวถามา ซึ่งเป็นลูกชายของโทรณาจารย์ ส่วนอีกคนคือ กรรณะ ซึ่งเป็นลูกนอกสมรสของพระนางกุนตี ในตอนเด็กกรรณะเป็นที่รังเกียจของลูกชายทั้งห้าของท้าวปาณฑุ ในขณะที่ลูกชายทั้งร้อยของท้าวธฤตราษฎร์รักใคร่ชอบพอกับกรรณะเป็นอันมาก ด้วยเหตุที่เป็นลูกของท้าวธฤตราษฎร์พระราชาแห่งแคว้นกุรุ เด็กทั้งร้อยคนจึงได้รับการขนานนามว่า เการพ ส่วนลูกชายของท้าวปาณฑุได้รับการขนานนามว่าพวก ปาณฑพ\nในเวลาต่อมาเมื่อท้าวธฤตราษฎร์พระชนมายุมากขึ้น ก็แต่งตั้งให้ยุธิษฐิระพี่ชายคนโตของพวกปาณฑพขึ้นครองราชย์เป็นพระราชาแห่งแคว้นกุรุตามสิทธิในการขึ้นครองราชย์ แต่เดิมของท้าวปาณฑุ ผลจากการนี้ทำให้พวกปาณฑพยิ่งได้รับการยกย่องนับถือและมีอำนาจมากขึ้น การวางแผนเพื่อจะทำลายล้างพวกปาณฑพ โดยทุรโยธน์พี่ชายคนโตของพวกเการพเป็นต้นคิดก็เกิดขึ้นโดยมีน้องชายคนสำคัญคือ ทุหศาสัน และลุงของพี่น้องเการพคือ ท้าวศุกุนิพี่ชายของพระนางคานธารี ซึ่งเป็นมีเล่ห์เหลี่ยมร้ายกาจและเป็นจอมวางแผนให้ รวมทั้งยังมีกรรณะเป็นคนให้การสนับสนุนเป็นสำคัญรวมอยู่ด้วย\n\\แผนการสังหารพวกพี่น้องปาณฑพถูกวางเอาไว้อย่างแยบยล ด้วยการให้มีการสร้างบ้านรับรองที่ทำด้วยขี้ผึ้งติดไฟง่ายรอท่าไว้ และหลังจากนั้นก็ไปเชื้อเชิญให้เจ้าชายปาณฑพทั้งห้าพร้อมกับพระนางกุนตีไปพักผ่อน เมื่อพวกปาณฑพเข้าไปพักก็ตัดการวางเพลิงเพื่อหวังให้ไฟคลอกตายทั้งเป็น เผอิญว่าวิฑูรเป็นผู้เป็นอาทราบข่าวแผนการลอบสังหารนี้ก่อน จึงได้แจ้งเตือนล่วงหน้าทำให้พวกปาณฑพหนีตายรอดชีวิตไปได้อย่างหวุดหวิด ทั้งหมดหลบหนีไปทางใต้ดินที่ขุดเอาไว้และไปอาศัยอยู่ในป่า พวกเจ้าชายฝ่ายเการพต่างก็คิดว่าแผนการทั้งหมดลุล่วงไปด้วยดีถึงขนาดจัดให้มีการทำพิธีพระศพให้ ส่วนพวกปาณฑพที่ไปอยู่ในป่าก็ถูกพวกรากษสที่อาศัยอยู่ในป่าโดยการนำของ หิฑิมพะมุ่งหมายจะสังหาร แต่ว่าภีมะสามารถเอาชนะพวกรากษสและฆ่าหิฑิมพะผู้เป็นหัวหน้าได้และยังแต่งงานกับน้องของหัวหน้ารากษสที่เผอิญมาชอบพอกัน และในภายหลังมีลูกชายด้วยกันหนึ่งคนชื่อว่า ฆโตฏกจะ ทางด้านท้าวทรุบทซึ่งเป็นพระราชาแคว้นปัญจาละ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยทำศึกแพ้อรชุนเพื่อแก้แค้นให้โทรณาจารย์ที่เคยเป็นสหายกันสมัยเรียนหนังสือ แต่กลับคำไม่ยอมให้ความช่วยเหลือเมื่อโทรณาจารย์เดินทางไปขอความช่วยเหลือ หลังจากเลิกรากันไปแล้ว มาบัดนี้ท้าวทรุบทได้จัดพิธีสยุมพรให้กับลูกสาวคือเจ้าหญิงเทราปที สำหรับพิธีสยุมพรนั้นเป็นการแต่งงานตามประเพณีเดิมของอินเดียโบราณ ที่เปิดโอกาสให้เจ้าสาวสามารถเลือกว่าที่เจ้าบ่าวที่ได้รับการเชื้อเชิญมาให้เลือกได้ พวกเจ้าชายปาณฑพซึ่งได้รับการแนะนำจากพราหมณ์ให้เดินทางไปยังเมืองหลวงขแงแคว้นปัญจาละ เพื่อร่วมพิธีสยุมพรครั้งนี้ด้วยเพียงแต่ไปในคราบของพราหมณ์\nณ ที่นั้นบรรดาเจ้าชายเการพและเจ้าชายจากแว่นแคว้นอื่นๆ ก็มารวมตัวกันเพื่อให้เจ้าหญิงเทราปทีเลือกคู่รวมอยู่ด้วย เมื่อถึงเวลาเจ้าชายธฤตทยุมน์ ซึ่งเป็นพี่ชายของเจ้าหญิงเทราปทีก็ประกาศต่อที่ประชุมว่า ถ้าหากเจ้าชายคนไหนสามารถใช้คันธนูขนาดใหญ่ของท้าวทรุบทผู้บิดายิงลูกศรไปยังเป้าหมายที่วางเอาไว้ได้อย่างแม่นยำ ก็จะได้เจ้าหญิงเทราปทีไปครอง ปรากฎว่าบรรดาเจ้าชายหลายต่อหลายคนได้พยายามยกคันธนูและยิงลูกศรไปยังเป้าหมายที่จัดเตรียมเอาไว้ แต่ปรากฏว่าไม่สำเร็จแม้แต่คนเดียว จนกระทั่งเหลือกรรณะเป็นคนสุดท้ายที่จะออกมาแสดงฝีมือให้เห็น แต่ก่อนที่กรรณะจะแสดงฝีมือให้ปรากฏ ทางเจ้าหญิงเทราปที ซึ่งรู้ว่ากรรณะคงสามารถทำได้เป็นแน่ ก็ประกาศว่าจะไม่ยอมรับลูกของสารถีมาเป็นสามี เรื่องนี้มีคำอธิบายแทรกเพิ่มเติมว่าเมื่อพระนางกุนตีทอดทิ้งกรรณะตั้งแต่ยังเด็ก ปรากฏว่าสองสามีภรรยา คือ อธิรัฐ ซึ่งเป็นสารถีคนสนิทของท้าวธฤตราษฎร์และนางราธา ซึ่งเป็นเมียและไม่มีลูกด้วยกันได้เก็บกรรณะไปเลี้ยงเป็นบุตรของตน ทำให้กรรณะมีวรรณะที่ต่ำต้อยเป็นพวกในวรรณะศูทร ทำให้เจ้าหญิงเทราปทีใช้เป็นข้ออ้างเรื่องวรรณะต่ำต้อยกว่า เมื่อกรรณะได้รับการปฏิเสธและบรรดาเจ้าชายจากแว่นแคว้นต่างๆ ไม่มีใครสามารถทำได้ตามที่เจ้าชายธฤตทยุมน์ประกาศ คราวนี้ก็มาถึงกลุ่มของพวกพราหมณ์ที่เข้ามาร่วมในพีธีสยุมพรปรากฎว่าในกลุ่มของพราหมณ์นั้นมีชายหนุ่มคนหนึ่งลุกขึ้นมาจากแถว ผู้แต่งตัวเป็นพาหมณ์คนนั้นก็คือ อรชุน และเป็นไปตามที่คาดหมายคืออรชุนสามารถแสดงฝีมือยิงธนูได้ตรงเป้าหมายตามกติกา เจ้าหญิงเทราปทีก็เข้ามาสวมพวงมาลัยคล้องคอให้อันเป็นการยอมรับและการตัดสินใจเลือกสามีของนางเป็นที่สุด ทำให้บรรดาเจ้าชายที่ยังอยู่ในมณฑลพิธีต่างก็ไม่พอใจและพยายามจะรุมสังหารท้าวทรุบทที่เรียกมาทำให้ขายหน้า แต่ว่าภีมะและอรชุนได้เข้ามาช่วยท้าวทรุบท หลังจากนั้นเจ้าชายปาณฑพทั้งห้าพร้อมกับเจ้าหญิงเทราปทีก็เดินทางกลับไปยังบ้านพัก ซึ่งที่นั่นพระนางกุนตีได้ขอให้เจ้าหญิงเทราปทีรับเป็นภรรยาของเจ้าชายปาณฑพทั้งห้าในเวลาเดียวกันโดยมีกฤษณะและพี่ชายคือ พลราม ที่ทราบข่าวจึงมาร่วมแสดงความยินดีด้วย แต่ผลจากากรนี้ทำให้การซ่อนตัวของเจ้าชายปาณฑพทั้งห้าไม่เป็นความลับอีกต่อไป ท้าวธฤตราษฎร์พระราชาแห่งแค้วนกุรุที่เป็นลุงจึงได้เชื้อเชิญให้เดินทางกลับไปยังกรุงหัสตินาปุระ พร้อมกันนั้นก็แบ่งอาณาจักรแคว้นกุรุให้พวกปาณฑพไปครองครึ่งหนึ่ง พวกปาณฑพก็เลยไปตั้งถิ่นฐานสร้างเมืองหลวงใหม่ที่กรุงอินทรปรัสถ์ริมแม่น้ำยมุนา ซึ่งก็เป็นบริเวณเดียวกับกรุงนิวเดลฮีของอินเดียในปัจจุบันนั่นเอง ในการใช้ชีวิตร่วมกันอันแปลกประหลาดระหว่างเจ้าหญิงเทราปที กับสามีเจ้าชายปาณฑพทั้ง 5 คนนั้น เพื่อมิให้มีข้อขัดแย้งและเกิดความกินแหนงแคลงใจกัน ได้มีข้อตกลงในหมู่เจ้าชายปาณฑพทั้งห้าคนว่า ในเวลาที่เจ้าหญิงเทราปทีอยู่อสงต่อสองกับสามีคนใดคนหนึ่ง อีกสี่คนที่เหลือจะต้องไม่ไปรบกวน แต่แล้วอยู่มาวันหนึ่งอรชุนซึ่งต้องการจะเข้าไปเอาอาวุธคู่มือเพื่อไปช่วยผู้ได้รับความเดือดร้อนที่มาขอความช่วยเหลือ เกิดลืมข้อตกลงบุกเข้าไปในห้องพักซึ่งเจ้าหญิงเทราปทีอยู่กับเจ้าชายยุธิษฐิระสองต่อสองโดยไม่ตั้งใจ แต่ก็เป็นเหตุให้ถูกลงโทษโดยต้องลี้ภัยไปอยู่ที่อื่น และกลายเป็นการเดินทางผจญภัยของอรชุน ในการนี้อรชุนเดินทางไปยังแคว้นทวารกาเพื่อพบกับ กฤษณะ ผู้เป็นสหายและยังเป็นลูกพี่ลูกน้องกันด้วยและเกิดไปตกหลุมรัก เจ้าหญิงสุพัตรา ซึ่งเป็นน้องสาวของกฤษณะ อรชุนพาเจ้าหญิงสุพัตราหนีไปอยู่ร่วมกันและต่อมาให้กำเนิดลูกชายนหนึ่งคือเจ้าชาย อภิมันยุ และยิ่งทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกฤษณะกับอรชุนแน่นแฟ้นมากขึ้นไปอีก",
"title": "อาทิบรรพ"
},
{
"docid": "27551#0",
"text": "ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง () เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ. 1830 ถึง พ.ศ. 1964 รายละเอียดภายในตัวพงศาวดารประกอบด้วยเรื่องราวของความขัดแย้งภายในราชสำนัก การกบฏ เรื่องราวทางการทูต การสงคราม เป็นต้น เนื้อหาประมาณกึ่งหนึ่งของเรื่องอุทิศพื้นที่ให้กับรัชกาลของพระเจ้าราชาธิราช โดยลงลึกในรายละเอียดของ สงครามสี่สิบปี ระหว่างอาณาจักรหงสาวดีของมอญ กับอาณาจักรอังวะของพม่า ภายใต้การนำของพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง และอุปราชมังกะยอชวา",
"title": "ราชาธิราช"
}
] |
2477 | กฎหมายไทยมีกี่ลำดับ? | [
{
"docid": "263937#3",
"text": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมายในระบบกฎหมายไทย แบ่งอย่างละเอียดเป็น 7 ชั้น ได้แก่",
"title": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย"
}
] | [
{
"docid": "581944#8",
"text": "ในสมัยโบราณกฎศาสนาห้ามการค้าประเวณี ในขณะที่ต่อมาได้มีกฎหมายสมัยใหม่ในการห้ามและป้องปรามการค้าประเวณีมาเป็นลำดับ",
"title": "การค้าประเวณีในประเทศไทย"
},
{
"docid": "181149#43",
"text": "เฉพาะในด้านการตรากฎหมายนั้น ให้พิจารณาตามแผนการปฏิบัติงานประจำปี โดยองค์การและบุคคลผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมายจะได้ค้นคว้าข้อมูลประกอบพร้อมกับจัดทำร่างกฎหมายเสนอต่อสภาแห่งชาติ ซึ่งรัฐบาลจะเป็นผู้รวบรวมความเห็นเสนอ (ปกติร่างกฎหมายที่จะผ่านที่ประชุมสภาแห่งชาติชุดนั้น จะต้องเสนอความเห็นผ่านที่ประชุมปฐมฤกษ์ของสภาแห่งชาติชุดนั้นก่อนเท่านั้น ดังนั้น ขั้นรับร่างกฎหมายตามกระบวนการพิจารณากฎหมายไทย จึงอาจนับว่าเริ่มมีขึ้นตั้งแต่การประชุมปฐมฤกษ์ของสภาแห่งชาติชุดนั้น)\nลำดับขั้นหรือศักดิ์ของกฎหมายของ สปป.ลาว นั้น ประกอบด้วย ดังนี้ ",
"title": "สภาแห่งชาติลาว"
},
{
"docid": "263937#1",
"text": "กฎหมายไทยได้นำเอาหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ อาทิ พระราชบัญญัติจะขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีศักดิ์สูงกว่า ไม่ได้ หรือ พระราชบัญญัติจะต้องไม่มีเนื้อหาขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เป็นต้น ดังที่ มาตรา 6 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 บัญญัติว่า รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้",
"title": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย"
},
{
"docid": "720648#15",
"text": "อย่างไรก็ตาม ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ได้มีการรณรงค์ผลักดันร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ \"ร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต\" เพื่อเปิดทางให้คู่ครองเพศเดียวกันทำการสมรสกันอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งถ้าหากมีการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ จะทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียที่มีการรับรองสถานะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพศเดียวกัน",
"title": "สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย"
},
{
"docid": "263937#6",
"text": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมายในระบบกฎหมายฝรั่งเศส มี 6 ชั้น ได้แก่",
"title": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย"
},
{
"docid": "274826#4",
"text": "ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลโดยการให้สัตยาบันแล้วเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 นับเป็นประเทศที่ 162 ของสมาชิกสหประชาชาติ โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้",
"title": "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล"
},
{
"docid": "27916#9",
"text": "เป็นผู้พิพากษาศาลแพ่ง ผู้ช่วยกรรมการศาลฎีกาและ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ตามลำดับ ช่วงหลังของการรับราชการ ได้ย้ายไปกระทรวงการต่างประเทศ และไดัรับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเข้าสู่ประเทศไทย ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้ประกาศนโยบายเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับรัฐบาลในประเทศไทย จึงถูกตัดสัญชาติไทยจากรัฐบาล และได้รวบรวมคนไทยในต่างประเทศ จัดตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นเพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ โดยปฏิบัติการติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น และเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้งเคยสอนวิชากฎหมายในคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วย รับราชการถวายและเล่นดนตรีร่วมกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำทุกวันศุกร์ ในวงลายคราม เป็นหัวหน้าทีมทนายความในคดีปราสาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2505 กับกัมพูชา ในศาลโลก",
"title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช"
},
{
"docid": "451791#5",
"text": "พออายุได้ 20 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งตัวไปเรียนกฎหมายที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เรียนกฎหมายโรมัน กฎหมายอังกฤษ กฎหมายระหว่างประเทศ ฯลฯ และฝึกหัดว่าความ จนจบเป็นเนติบัณฑิตในปี พ.ศ. 2431 นับเป็นคนไทยคนแรกที่ไปเรียนกฎหมายสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตอังกฤษ จากสำนักมิดเดิลเทมเปิล (Middle Temple) แห่งกรุงลอนดอน ได้รับพระราชทานเงินรางวัลเรียนดีชั้นที่ 1 จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเงิน 50 ปอนด์ และได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา หลังจากนั้นจึงได้เริ่มรับราชการที่กรมท่า (กระทรวงการต่างประเทศในปัจจุบัน) เป็นแห่งแรก และมีความเจริญก้าวหน้าในทางราชการมาตามลำดับ",
"title": "ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)"
},
{
"docid": "336182#12",
"text": "เมื่อสอบผ่านหรือได้รับประกาศนียบัตรรับรองการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นแล้ว จะมีสิทธิการใช้งานความถี่ที่กำหนดให้ใช้เฉพาะนักวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งมีหลายย่านความถี่ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) และใช้กำลังส่งได้สูงสุดตามที่กฎหมายกำหนดแต่ละลำดับชั้นของใบอนุญาต สำหรับประเทศไทยตาม สิทธิต่างๆ เป็นดังตาราง",
"title": "วิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย"
},
{
"docid": "47480#27",
"text": "“ขี้นร้าน” ได้กี่เม็ดเป็นแต้มของคนนั้น ถ้าขึ้นร้านเม็ดหล่นหมด ใช้หลังมือ รับไม่ได้ ถือว่า “ตาย” ไม่ได้แต้ม คนอื่นเล่นต่อไป ถ้าใครตายหมากไหนก็เริ่มต้นหมากนั้น ส่วนมาก กำหนดแต้ม 50-100 แต้ม เมื่อแต้มใกล้จะครบ เวลาขึ้นร้านต้องคอยระวังไม่ให้เกินแต้มที่กำหนด ถ้าเกิน ไปเท่าไร หมายถึงว่าต้องเริ่มต้นใหม่โดยได้แต้มที่เกินไปนั้น วิธีเล่นหมากเก็บนี้มีพลิกแพลงหลายอย่าง เช่น โยนลูกนำขึ้นเก็บทีละเม็ด เมื่อเก็บได้เม็ดหนึ่งก็โยน ขึ้นพร้อมกับลูกนำ 2 – 3 – 4 เม็ด ตามลำดับ หมาก 2 – 3 -4 ก็เล่นเหมือนกัน โยนขึ้นทั้งหมด เรียกว่า “หมากพวง” ถ้าโยนลูกนำขึ้นเล่นหมาก 1- 2 -3 -4 แต่พลิกข้างมือขึ้นรับลูกนำให้เข้าในมือระหว่างนิ้ว โป้งและนิ้วชี้ โดยทำเป็นรูปวงกลมเตรียมไว้เรียก “หมากจุ๊บ” ถ้าใช้มือซ้ายป้อง และเขี่ยหมากให้เข้าใน มือนั้นทีละลูกในหมาก 1 -2 -3 และ 4 ตามลำดับ เรียกว่า “อีกาเข้ารัง” ถ้าเขี่ยไม่เข้าจะตาย ถ้าใช้นิ้ว กลางกับนิ้วหัวแม่มือยันพื้น นิ้วอื่นปล่อยทำเป็นรูปซุ้มประตู เขี่ยหมากออกเรียกว่า “อีกาออกรัง” ถ้าใช้ นิ้วกลางกับนิ้วหัวแม่มือ ขดเป็นวงกลม นิ้วชี้ชั้ตรงนิ้ว นอกนั้นยันพื้นเป็นรูปรูปู เรียกว่า “รูปู” เมื่อจบ เกมการเล่นแล้วจะมีการกำทาย ผู้ชนะจะทายผู้แพ้ ว่ามีกี่เม็ด ถ้าทายผิดจะต้องถูกเขกเข่า กี่ทีตามที่ตนเอง ทายจนเหลือเม็ดสุดท้าย คนทายจะถือเม็ดไว้ในมือ แล้ววนพร้อมกับร้องเพลงประกอบ เมื่อร้องจบเอา มือหนึ่งกำไว้ งอข้อศอกขึ้นต้องบนมือที่กำอีกข้างหนึ่ง",
"title": "การละเล่นเด็กไทย"
},
{
"docid": "9169#7",
"text": "กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญมีมานานแล้วในต่างประเทศ โดยเฉพาะภาคพื้นยุโรป ซึ่งกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญของไทยมีครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ซึ่งให้มีพ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญรวม 8 ฉบับ ซึ่งปัญหาเรื่องลำดับศักดิ์ของพ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญยังเป็นที่ถกเถียงกันเรื่อยมา เพราะหากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ในทางกฎหมายนั้นเมื่อรัฐธรรมนูญถูกยกเลิกก็ย่อมทำให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ถูกยกเลิกด้วย แต่ปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่คลี่คลายแม้ในช่วงรัฐประหารที่ผ่านมา",
"title": "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "346424#10",
"text": "เมื่อเล็งเห็นว่า การร่างประมวลกฎหมายดังตั้งความประสงค์ไว้นี้ จักต้องใช้ระยะเวลาอันยาวนาน เพื่อจัดการกับสถานการณ์ระหว่างนั้น รัฐบาลสยามก็ตรากฎหมายเป็นเรื่อง ๆ เพื่อใช้แทนกฎหมายตราสามดวงในส่วนที่ไม่เหมาะสม จนกว่างานจัดทำประมวลกฎหมายจะแล้วสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับกฎหมายวิธีสบัญญัติ ในกฎหมายตราสามดวงนั้น ได้ถูกแทนที่โดย พระราชบัญญัติลักษณะพยาน รัตนโกสินทรศก 113, พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ไปพลางก่อน รัตนโกสินทร์ศก 115, พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง รัตนโกสินทรศก 115 และ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2477 ตามลำดับ[8]",
"title": "ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "372834#4",
"text": "สังคมไทยในอดีตเป็นแบบ \"ผัวเดียวหลายเมีย\" หมายความว่า ชายมีสถานะเหนือหญิงในทุกด้าน[7] ในสมัยสุโขทัย ตำหนิชายที่มีชู้กับภรรยาคนอื่น แต่ไม่ห้ามชายมีภรรยาหลายคน ต่อมา ในสมัยอยุธยา กฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. 1904 ยังได้แบ่งภรรยาออกเป็น 3 ประเภท และชายจะมีภรรยากี่คนก็ได้ ทั้งยังมีภาษิตที่ว่า \"ผู้หญิงเป็นควาย ผู้ชายเป็นคน\"[9] ซึ่งต่อมารัชกาลที่ 4ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่าไม่ยุติธรรม ให้ยกเสีย เนื่องจากกรณีถวายฎีกาของอำแดงเหมือน จนกระทั่ง พ.ศ. 2478 จึงมีกฎหมายให้ชายมีภรรยาได้เพียงคนเดียว[7]",
"title": "สตรีในประเทศไทย"
},
{
"docid": "253633#3",
"text": "อนึ่ง ตำราศัพทวิทยาทางกฎหมาย () จะต่างจากพจนานุกรมกฎหมายซึ่งมีการเรียงคำศัพท์และให้คำอธิบายศัพท์ตามลำดับอักษร ตรงที่ตำราศัพทวิทยาจะลำดับศัพท์ตามหมวดหมู่หรือหัวเรื่องเป็นต้น ซึ่งผู้สนใจในคำศัพท์กฎหมายในหมวดหมู่หนึ่ง ๆ มักเปิดตำราศัพทวิทยาทางกฎหมายมากกว่าพจนานุกรมกฎหมาย",
"title": "พจนานุกรมกฎหมาย"
},
{
"docid": "34416#13",
"text": "\"มาตรา 11 เจ้านายผู้เป็นเชื้อพระบรมราชวงศ์ ถ้าแม้ว่า เป็นผู้มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งกล่าวไว้ข้างล่างนี้ไซร้ ท่านว่า ให้ยกเว้นเสียจากลำดับสืบราชสันตติวงศ์ ลักษณะที่กล่าวนี้คือ... (๔) มีพระชายาเป็นนางต่างด้าว กล่าวคือ นางที่มีสัญชาติเดิมเป็นชาวประเทศอื่น นอกจากชาวไทยโดยแท้\" ผนวกกับ \"มาตรา 12 ท่านพระองค์ใด ตกอยู่ในเกณฑ์มีลักษณะบกพร่องดังกล่าวมาแล้วในมาตรา 11 แห่ง กฎมณเฑียรบาลนี้ไซร้ ท่านว่า \"พระโอรสอีกทั้งบรรดาเชื้อสายโดยตรงของท่านพระองค์นั้น ก็ให้ยกเสียจากลำดับสืบราชสันตติวงศ์ด้วยทั้งสิ้น\" ซึ่งได้แก่ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เองและลูกหลาน แต่ทั้งนี้พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์อธิบายไว้ใน \"เกิดวังปารุสก์\" ว่า \"ข้าพเจ้ามิได้เคยนึกว่า ตนถูกตัดจากสิทธิอะไรเลย ข้าพเจ้าไม่เคยนึกและบัดนี้ก็มิได้นึกว่า ข้าพเจ้ามีสิทธิอย่างใดเกินกว่าที่คนไทยทุก ๆ คนย่อมมีอยู่ตามกฎหมาย\"",
"title": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์"
},
{
"docid": "159041#1",
"text": "ในทางปฏิบัติ สังคมโรมันเป็นแบบลำดับชั้น[1][2] วิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโรมันได้รับอิทธิพลอย่างมากจากการต่อสู้ระหว่างชนชั้นสูงผู้ถือครองที่ดินของโรม (พวกคณะพรรค) ผู้ซึ่งมีบรรพบุรุษย้อนไปตั้งแต่ประวัติศาสตร์ยุคต้นของอาณาจักรโรมัน กับชนชั้นไพร่ฟ้าประชาชน (พวกสามัญ) ที่มีจำนวนมากกว่ามาก เมื่อเวลาผ่านไป กฎหมายซึ่งให้สิทธิ์ขาดตำแหน่งสูงสุดของโรมแก่พวกคณะพรรคถูกยกเลิกหรือหย่อนลง ทำให้พวกสามัญเริ่มเข้ามาเรียกร้องสิทธิในอำนาจ บรรดาผู้นำของกรุงโรมได้พัฒนาประเพณีและศีลธรรมแข็งซึ่งต้องการบริการส่วนรวมและการอุปถัมภ์ในยามสันติและสงคราม หมายความว่า ความสำเร็จทางทหารและการเมืองเชื่อมโยงกันอย่างแยกไม่ได้ ระหว่างสองศตวรรษแรก สาธารณรัฐโรมันได้ขยายตัวผ่านการพิชิตและพันธมิตรร่วมกัน จากอิตาลีตอนกลางเป็นทั้งคาบสมุทรอิตาลี เมื่อถึงศตวรรษต่อมา รวมถึงแอฟริกาเหนือ คาบสมุทรไอบีเรีย กรีซ และพื้นที่ซึ่งปัจจุบันเป็นฝรั่งเศสตอนใต้ อีกสองศตวรรษจากนั้น ใกล้ปลายศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล รวมถึงฝรั่งเศสปัจจุบันที่เหลือ และพื้นที่อีกมากในทางตะวันออก ถึงขณะนี้ แม้จะมีข้อจำกัดตามประเพณีและกฎหมายของสาธารณรัฐต่อการได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองอย่างถาวรของบุคคล การเมืองโรมันถูกครอบงำโดยผู้นำโรมันไม่กี่คน พันธมิตรที่อึดอัดระหว่างพวกเขาถูกคั่นด้วยสงครามกลางเมืองเป็นระยะ",
"title": "สาธารณรัฐโรมัน"
},
{
"docid": "232467#0",
"text": "ประเทศสยามเริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 7 โดยแก้ไขกฎหมายลักษณะอาญาให้ \"การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น\" เป็นความผิด ปัญหาภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ค่อยรุนแรงขึ้นเป็นลำดับและหมดไปแล้วในปัจจุบัน หลังการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ใน พ.ศ. 2543",
"title": "คอมมิวนิสต์ในประเทศไทย"
},
{
"docid": "45961#5",
"text": "กฎหมายกำหนดประเภทและลำดับทายาท วิธีแบ่งมรดกไว้ชัดเจน แล้วยังเปิดโอกาสให้แสดงเจตนาที่แตกต่างจากกฎหมายได้ด้วย ทั้งนี้เพื่อมิให้เกิดความวุ่นวายในสังคมและสร้างระบบครอบครัวให้มีระเบียบมากขึ้น นอกจากนั้นยังกำหนดว่าผู้ใดไม่มีทายาทรับสืบทอดมรดกตามกฎหมาย ให้ทรัพย์สินของเขาตกแก่แผ่นดินด้วย จึงไม่มีวันที่ทรัพย์มรดกจะขาดผู้สืบทอดได้เลย ทายาทโดยธรรมลำดับต้นจะตัดสิทธิ์การสืบทอดมรดกของทายาทลำดับถัดไปเสมอ หากทายาทลำดับใดกำจัดผู้อยู่ลำดับต้นด้วยความละโมบ กฎหมายจะตัดสิทธิ์ของพวกเขาทันที ทุกคนจึงควรพึงพอใจต่อสถานภาพของตนและเคารพเจตนาของคนตายให้มาก ส่วนเจ้าของทรัพย์สินต้องการแบ่งสัดส่วนมรดกแตกต่างจากกฎหมาย ควรทำพินัยกรรมอย่างถูกต้องและชัดเจน เพื่อป้องกันมิให้ทายาทขัดแย้งและระแวงใจต่อกันว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ จึงควรศึกษารูปแบบและวิธีทำพินัยกรรม จากนั้นเลือกทำอย่างเหมาะสมกับตน โดยเฉพาะควรเปลี่ยนแนวคิดเรื่องเตรียมเจตนาก่อนตายใหม่ว่า มิใช่การแช่งตัวเองให้อายุสั้นตามที่คนโบราณเชื่อถือกันมา เนื่องเพราะเจ้ามรดกย่อมรู้จักทายาทของตนเป็นอย่างดี จึงคาดหวังได้ว่าทรัพย์สินแต่ละชิ้นควรอยู่กับผู้ใดจึงสร้างประโยชน์สูงสุด หรือรักษามันไว้ได้ตามวัตถุประสงค์ของเจ้ามรดก ความรักชอบทายาทย่อมมีไม่เท่ากัน พินัยกรรมถือเป็นการแสดงความปรารถนาสุดท้ายของคนตายและช่วยจัดระเบียบทรัพย์สินสิทธิ์ต่าง ๆ ด้วยตัวเอง ส่วนวิธีจัดแบ่งมรดกของกฎหมายยึดถือลำดับทายาทเป็นหลักใหญ่โดยไม่คำนึงถึงความสามารถหรือข้อดี ข้อด้อยของทายาท ซึ่งย่อมมีผลต่อมรดกที่รับทอดไปอย่างมาก มันอาจเป็นการทำลายสมาชิกครอบครัวที่ยังมีชีวิตอยู่หากมรดกตกแก่ทายาทที่ไม่ใช่คนดีก็ได้ ดังนั้น การแสดงเจตนาเกี่ยวกับทรัพย์สินล่วงหน้าของเจ้ามรดกโดยทำพินัยกรรมไว้น่าจะเป็นการดูแลหรือรับผิดชอบต่อครอบครัวครั้งสุดท้ายของเจ้ามรดกเพื่อมิให้ต้องมีห่วงกังวลทิ้งไว้บนsekai อีก",
"title": "ทายาทแห่งกองมรดก"
},
{
"docid": "69653#0",
"text": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย</b>เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560",
"title": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย"
},
{
"docid": "263937#9",
"text": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส",
"title": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย"
},
{
"docid": "263937#0",
"text": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย เป็นแนวความคิดทางกฎหมายของฝรั่งเศส ซึ่งกำหนดลำดับชั้นระหว่างกฎหมายประเภทต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้มีอำนาจในการตรากฎหมายที่มีศักดิ์ด้อยกว่าต้องเคารพและไม่สามารถตรากฎหมายที่ละเมิดกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าได้",
"title": "ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย"
},
{
"docid": "344877#5",
"text": "สำหรับในประเทศไทย ลิงเสนเดิมพบได้ทุกภูมิภาค แต่ปัจจุบันมีสถานะในธรรมชาติที่ลดลงเป็นจำนวนมาก จนเหลือเพียงไม่กี่ฝูงเท่านั้น อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง, อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง, อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง, อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง เป็นต้น มีสถานะทางกฎหมายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535",
"title": "ลิงเสน"
},
{
"docid": "11548#3",
"text": "สำหรับสัญญาครีเอฟทีฟคอมมอนส์ในภาษาไทย จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือของ สำนักกฎหมายธรรมนิติ สถาบัน ChangeFusion และสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรองรับตามหลักเกณฑ์ครีเอทีฟคอมมอนส์ รุ่น 3.0 และปรับให้เข้ากับกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย จึงสามารถใช้บังคับได้ตามกฎหมายไทย ประกาศเปิดตัวเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นลำดับที่ 51 ของโลก",
"title": "ครีเอทีฟคอมมอนส์"
},
{
"docid": "26552#0",
"text": "พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง พ.ศ. 1998 เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตริย์ผู้ครองกรุงศรีอยุธยา เป็นกฎหมายที่กำหนดตำแหน่งศักดินา บรรดาศักดิ์ ลำดับชั้น โครงสร้างส่วนราชการในระบบราชการ สมัยโบราณ เทียบได้กับ กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ในปัจจุบัน แต่ในกฎหมายนี้ได้กำหนด ฐานันดรศักดิ์ประชาชนตั้งแต่ พระมหาอุปราชลงมาจนถึงพลเมืองขั้นต่ำสุดคือทาส พระไอยการนี้ กำหนดให้ประชาชนทุกคนมีศักดินาสูงต่ำ ตามคำสำคัญในโครงสร้างสังคม โดยศักดินานี้ กำหนดเป็นไร่ (หน่วยวัดพื้นที่ของไทยสมัยโบราณเท่ากับ 1,600 ตารางเมตร)",
"title": "พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง"
},
{
"docid": "224170#39",
"text": "กฎหมายไทย โดย ป.พ.พ. ม.174 ให้อำนาจแก่ศาลเป็นพิเศษ ที่จะสามารถวินิจฉัยให้ถือเอานิติกรรมอันหนึ่งแทนนิติกรรมที่คู่กรณีทำไว้ หรือให้ถือเอาเจตนาอีกอย่างแทนที่คู่กรณีแสดงไว้[22] เช่น นาย ก ทำหนังสือยกที่ดินให้นาย ข ผู้เป็นหลาน โดยเขียนด้วยลายมือตนเองทั้งฉบับ ระบุให้โอนสิทธิในที่ดินนับแต่วันเขียนหนังสือนั้น และตลอดเมื่อนาย ก สิ้นลมไปแล้วก็มิให้ใครมาเรียกร้องแบ่งมรดกไปจากนาย ข ด้วย, แล้วก็มอบหนังสือนี้พร้อมที่ดินให้นาย ข ปกครอง, ต่อมาไม่กี่เดือนนาย ก ก็ตายลง, นาย ค ซึ่งเป็นผู้รับมรดกของนาย ก มาฟ้องเรียกร้องเอาที่ดินคืนจากนาย ข โดยอ้างว่านิติกรรมมอบที่ดินดังกล่าวไม่สมบูรณ์ เพราะไม่ได้มีการจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ขณะที่กฎหมายกำหนดให้ทำ พินัยกรรมจึงต้องเป็นโมฆะ, ศาลก็อาจวินิจฉัยว่า แม้นิติกรรมการมอบที่ดินให้ระหว่างมีชีวิตจะกลายเป็นโมฆะ แต่มีการทำเป็นหนังสือเขียนด้วยลายมือทั้งฉบับ ทำให้สมบูรณ์ในฐานเป็นพินัยกรรมที่เขียนเองทั้งฉบับได้",
"title": "โมฆะ"
},
{
"docid": "35499#2",
"text": "ปัจจุบัน ต้นไม้มีความสำคัญต่อเมืองมากขึ้นเป็นลำดับ มีการรณรงค์การสร้าง \"ป่าไม้ในเมือง\" (urban forestry) เพื่อลดปัญหามลพิษ ดังนั้น ต่างประเทศจึงออกกฎหมายส่งเสริมให้มีการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้อย่างจริงจัง เพราะกฎหมายที่ดีและทันสมัยจะทำให้การพัฒนาบ้านเมืองรุดหน้าอย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับธรรมชาติ",
"title": "กฎหมายเกี่ยวกับต้นไม้ใหญ่ในเมืองในประเทศไทย"
},
{
"docid": "133073#6",
"text": "ในปี พ.ศ. 2505 คุณหญิงกนิษฐารับตำแหน่ง นายกสมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมาย อีกตำแหน่งหนึ่งควบคู่กับตำแหน่ง เลขาธิการสมาคมไทยอเมริกัน มีภารกิจหลัก คือการระดมนักกฎหมายสตรี มาให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมาย ให้ประชาชนฟรีทุกวันเสาร์ โดยขอยืมใช้สถานที่ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นที่มาของ การได้รับรู้ปัญหาสตรีอย่างลึกซึ้งและรอบด้าน ได้เห็นถึงการเลือกปฏิบัติ ต่อสตรี และความเหลื่อมล้ำระหว่างเพศ อันนำไปสู่ การลิดรอนสิทธิส่วนบุคคล เอารัดเอาเปรียบผู้หญิงและเด็ก เช่น ล่อลวง ข่มขืน ล่วงละเมิดทางเพศ บังคับให้ค้าประเวณี เกิดปัญหาท้องเมื่อไม่พร้อม บ้างก็ถูกทารุณกรรม ทอดทิ้ง ติดเชื้อ HIV/AIDS จากบุคคลในครอบครัว ทำให้คุณหญิงกนิษฐาตัดสินใจเริ่มงานส่งเสริมสถานภาพสตรี ด้านกฎหมาย ด้านสังคมสงเคราะห์ และด้านศาสนา ตามลำดับ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการทำงานรณรงค์เพื่อสิทธิสตรี แม่ชีในพุทธศาสนา และเยาวชน อย่างต่อเนื่องถึง 50 ปีในเวลาต่อมา",
"title": "กนิษฐา วิเชียรเจริญ"
},
{
"docid": "819557#13",
"text": "คัตถูกกฎหมายในอินโดนีเซีย\nคัตผิดกฎหมายในมาเลเซีย\nคัตผิดกฎหมายในฟิลิปปินส์ \nคัตผิดกฎหมายในซาอุดิอาระเบีย\nคัตถูกกฎหมายในไทย แต่สารออกฤทธิ์สองชนิดคือคาทิโนนและแคทีนเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภท 1 และประเภท 2 ตามลำดับ \nคัตผิดกฎหมายในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์",
"title": "คัต"
},
{
"docid": "1924#28",
"text": "ปัจจุบัน มีแรงงานไทยในมาเลเซียประมาณ 210,000 คน โดยเป็นแรงงานถูกกฎหมายประมาณ 6,600 คน ทั้งนี้ ในปี 2553 มีแรงงานต่างชาติที่ทำงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายในมาเลเซียจำนวน 458,698 คน โดยแรงงานจากอินโดนีเซียจัดเป็นลำดับหนึ่ง ร้อยละ 55.81 และแรงงานไทยจัดอยู่ในลำดับ 9 ร้อยละ 1.45 มาเลเซียมีความต้องการแรงงานไทยสาขาก่อสร้าง งานนวดแผนไทย งานบริการ การเกษตรชายแดน อุตสาหกรรมและงานแม่บ้าน ทั้งนี้ รัฐบาลมาเลเซียไม่มีการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำขึ้นบังคับใช้ ค่าจ้างขึ้นอยู่กับการตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ไทยกับมาเลเซียมีความร่วมมือด้านแรงงานในกรอบคณะทำงานร่วมด้านความร่วมมือแรงงานภายใต้คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคี (JC) ไทย-มาเลเซีย",
"title": "ประเทศมาเลเซีย"
}
] |
2728 | การแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกเกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศใด? | [
{
"docid": "1915#0",
"text": "ไข้หวัดนก ( หรือชื่อสามัญ bird flu) เป็นโรคที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ชื่อ H5N1 ซึ่งพบได้ในสัตว์ปีก ค้นพบครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอิตาลี เรียกกันว่าไข้หวัดสเปน โรคนี้ระบาดอย่างหนักทั่วโลก\nไข้วก ไข้หวัดนก เอาอีก\nเริ่มระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2460-2461(ค.ศ.1918-1920) เรียกว่า \"ไข้หวัดใหญ่สเปน\" (Spanish Flu) \nเริ่มแพร่ระบาดจากฝั่งอาร์กติก และข้ามมาสู่ฝั่งแปซิฟิกภายในระยะเวลา2เดือน มีการประมาณผู้เสียชีวิตทั่วโลกประมาณ 50-100 ล้านคน\nหรือเท่ากับคนจำนวน1ใน3ของประชากรของทวีปยุโรป",
"title": "ไข้หวัดนก"
}
] | [
{
"docid": "1915#3",
"text": "ต่อมาเกิดการระบาดขึ้นอีกโดยเริ่มต้นที่ฮ่องกงในปี พ.ศ. 2540 ในครั้งนั้นมีผู้ติดเชื้อ 18 คน เสียชีวิตไป 6 คน และเมือง Chaohu ในประเทศจีน เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547 และล่าสุดพบนกกระยางป่วยที่พบในสวนสาธารณะแห่งหนึ่งในเขตเมืองใหม่ของฮ่องกงเมื่อ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 พบว่าติดเชื้อไข้หวัดนก H5N1",
"title": "ไข้หวัดนก"
},
{
"docid": "232651#1",
"text": "ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ดังกล่าวมีการพบครั้งแรกในรัฐเวรากรูซ ประเทศเม็กซิโก และมีหลักฐานว่าโรคดังกล่าวได้มีการระบาดเป็นเวลานานนับเดือนก่อนจะมีการรับรองอย่างเป็นทางการ ถึงแม้ว่ารัฐบาลเม็กซิโกจะพยายามจะยับยั้งการระบาดของโรคด้วยการปิดสถานที่ราชการและเอกชนจำนวนมากแล้วก็ตาม แต่เชื้อก็ได้ระบาดอย่างรวดเร็วทั่วโลก จนเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552 องค์การอนามัยโลกและศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคสหรัฐอเมริกา (CDC) ได้ประกาศให้ระดับการระบาดของเชื้อเป็น \"โรคระบาดทั่ว\"",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#50",
"text": "ในปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบกันแน่ชัดว่าเชื้อไวรัสดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นมาจากที่ไหนหรือเมื่อไหร่ การวิเคราะห์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ได้เสนอว่าไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ เอช 1 เอ็น 1 ซึ่งเกิดการระบาดอยู่ในปัจจุบันนั้น มีการพัฒนามาจากสายพันธุ์ที่ค้นพบเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 และแพร่สู่มนุษย์เป็นเวลาหลายเดือนก่อนที่จะมีการรับรองอย่างเป็นทางการ และถูกระบุว่าเป็นไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#51",
"text": "มีรายงานการค้นพบไวรัสสายพันธุ์ดังกล่าวในเด็กชาวอเมริกันสองคนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 แต่หน่วยงานสาธารณสุขรายงานว่าปรากฏผู้ติดเชื้อรายแรกเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 ในประเทศเม็กซิโก การระบาดสามารถตรวจพบได้เป็นครั้งแรกในกรุงเม็กซิโกซิตี เมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งรัฐบาลเม็กซิโกได้ทำการ \"ปิดกรุงเม็กซิโกซิตีอย่างมีประสิทธิภาพ\" โดยก่อนหน้านี้ เม็กซิโกมีผู้ป่วยกรณีที่ไม่รุนแรงก่อนหน้าการค้นพบอย่างเป็นทางการแล้วหลายร้อยคน และกำลังอยู่ในช่วง \"โรคระบาดทั่วเงียบ\" จึงส่งผลให้เม็กซิโกรายงานเพียงผู้ป่วยกรณีที่มีอาการรุนแรงซึ่งแสดงอาการของโรคหนักกว่าไข้หวัดใหญ่ธรรมดาเท่านั้น ซึ่งอาจนำไปสู่การคำนวณอัตราการเสียชีวิตที่ผิดพลาด",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#10",
"text": "ไวรัสไข้หวัดใหญ่ยังได้ก่อให้เกิดภัยโรคระบาดทั่วหลายครั้งในศตวรรษที่ผ่านมา รวมทั้งโรคระบาดทั่วแบบไม่แท้ในปี พ.ศ. 2490 (ถึงแม้ว่าจะมีผลกระทบไม่มากนัก เนื่องจากแม้จะติดต่อกันไปทั่วโลก แต่ก็มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนน้อย) การแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่ในสุกร และไข้หวัดใหญ่รัสเซีย ในปี พ.ศ. 2520 ล้วนเกิดขึ้นจากไวรัสเอช 1 เอ็น 1 ทั่วโลกได้เพิ่มระดับการเฝ้าระวังนับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคซาร์สในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เกิดจากโคโรนาไวรัส ซาร์ส) ระดับของการเตรียมพร้อมได้เพิ่มขึ้นอีกและรับมือกับการแพร่ระบาดของ \"ไข้หวัดนก\" หรือไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 5 เอ็น 1 เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่มีอัตราการเสียชีวิตสูง แต่สายพันธุ์ดังกล่าวมีอัตราการติดต่อจากคนสู่คนหรืออัตราการแพร่ระบาดในระดับโลกต่ำ",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#22",
"text": "เป็นที่เชื่อกันว่า การแพร่ระบาดของไวรัสเอช 1 เอ็น 1 เกิดขึ้นในวิธีเดียวกับการแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล โดยส่วนใหญ่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่แพร่ระบาดจากคนสู่คนผ่านทางการไอหรือการจามของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ในบางครั้ง ก็อาจรวมไปถึงการสัมผัสกับบางสิ่งซึ่งมีไวรัสไข้หวัดใหญ่อยู่บริเวณนั้น แล้วไปสัมผัสกับปากหรือจมูกของตนเองได้อีกทางหนึ่งด้วย ค่าความเร็วในการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส (ค่าตัวเลขซึ่งระบุว่ามีผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อไปยังบุคคลอื่นได้มากเพียงใด ในประชากรซึ่งไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรค) ต่อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ เอช 1 เอ็น 1 พ.ศ. 2552 ถูกประเมินไว้ที่ 1.75",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#9",
"text": "การแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่สเปนเริ่มต้นจากระลอกแรกซึ่งมักจะไม่แสดงอาการรุนแรงมากนักในฤดูใบไม้ผลิ ก่อนที่ในระลอกต่อมาจะเป็นอันตรายถึงชีวิตในฤดูใบไม้ร่วง และทำให้มีผู้เสียชีวิตนับแสนคนในสหรัฐอเมริกา ผู้เสียชีวิตเกือบทั้งหมดจากการแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่สเปนเป็นผลมาจากแบคทีเรียโรคปอดอักเสบ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้ทำลายเยื่อบุกรองของถุงหลอดลมและปอดของเหยื่อ ทำให้แบคทีเรียโดยทั่วไปจากจมูกและลำคอแพร่เชื้อใส่ปอดของผู้ป่วย โรคระบาดทั่วในภายหลังมีอันตรายถึงตายน้อยลงเนื่องจากการพัฒนายาปฏิชีวนะซึ่งสามารถรับมือกับโรคปอดบวมได้",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#0",
"text": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นการระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 สายพันธุ์ใหม่ หรือโดยทั่วไปมักเรียกว่า \"ไข้หวัดหมู\" เริ่มพบการระบาดตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา แม้ว่าไวรัสประกอบด้วยการรวมกันของพันธุกรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์ ในสัตว์ปีก และในสุกร รวมกับไวรัสไข้หวัดใหญ่สุกรยูเรเซีย ลักษณะที่แปลกประการหนึ่งของเชื้อเอช 1 เอ็น 1 คือ มักจะไม่ค่อยติดต่อสู่คนวัยชราอายุมากกว่า 60 ปี",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
},
{
"docid": "232651#11",
"text": "ผู้ซึ่งติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2500 ดูเหมือนว่าจะมีภูมิคุ้มกันบางอย่างต่อไข้หวัดใหญ่ในสุกรได้ ดร. เดเนียล เจอร์นิแกนแห่ง CDC กล่าวว่า: \"ผลการทดสอบบนเซรุ่มเลือดจากผู้สูงอายุแสดงว่าพวกเขามีแอนตีบอดีที่สามารถโจมตีไวรัสชนิดใหม่ได้ [...] แต่ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่มีอายุมากกว่า 55 ปีทุกคนจะมีภูมิคุ้มกันต่อโรคโดยสมบูรณ์ นับตั้งแต่ผู้สูงอายุชาวอเมริกันและเม็กซิกันได้เสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ชนิดใหม่นี้\"",
"title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009"
}
] |
3785 | เดอะบิกแบงเธียรี เป็นซีรีส์ที่ออกอากาศช่องใด ? | [
{
"docid": "626631#0",
"text": "เดอะบิกแบงเธียรี (ชื่อไทย:ทฤษฎีวุ่นหัวใจ )(English: The Big Bang Theory) เป็นซีรีส์ซิตคอมสัญชาติอเมริกันที่สร้างโดยชัก ลอร์ และบิล พราดี ผลิตรายการร่วมกับสตีเวน โมลาโร พวกเขาสามคนเป็นคนเขียนบทหลัก ออกอากาศครั้งแรกที่ช่องซีบีเอสเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 2007[4] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2014 รายการได้สร้างเพิ่มอีก 3 ซีซันจนถึงซีซันที่สิบ ซึ่งออกอากาศวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 2016[5][6]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
}
] | [
{
"docid": "626631#6",
"text": "เดวิด ซอลซ์เบิร์ก ศาสตราจารย์วิชาฟิสิกส์และดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส เป็นผู้ตรวจสอบเนื้อหาและจัดเตรียมบทพูด สมการคณิตศาสตร์ และแผนภาพ ที่ใช้เป็นอุปกรณ์ประกอบฉาก[7] ผู้อำนายการสร้าง บิล พราดี กล่าวว่า \"เรามอบโจทย์ปัญหาที่มีจริงให้เชลดอน ซึ่งเขาจะต้องทำวิจัยตลอดซีซีน [แรก] ดังนั้นบนกระดานจึงแสดงความคืบหน้าจริง ๆ ของโจทย์ เราทำงานหนักเพื่อให้วิทยาศาสตร์ถูกต้องทั้งหมด\"[8]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "564014#0",
"text": "ฟาเบิลเจิสกรันต์ () หรือ เดอฟาเบิลเจิสกรันต์ ( แปลว่า \"หนังสือพิมพ์นิทาน\") เป็นซีรีส์โทรทัศน์สำหรับเด็กสัญชาติดัตช์ ซึ่งมีจุดเด่นด้านหุ่นกระบอกและสตอปโมชัน ซีรีส์นี้ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นใน ค.ศ. 1968 โดยเลน ฟัลเกอเนียร์ และผลิตโดยไตส์ คาโนฟสกี (ซีรีส์แรก) กับลุก เดอ เลฟีตา (ซีรีส์ที่สอง) ซีรีส์ชุดนี้จบลงใน ค.ศ. 1989 และได้รับการออกอากาศทางช่องเอ็นโอเอส, แอร์เตเอล 4 และแอร์เตเอล 8 ในประเทศเนเธอร์แลนด์ และทางช่องเฟแอร์เตในประเทศเบลเยียม ตลอดจนตั้งแต่ ค.ศ. 1973 ถึง 1975 ซีรีส์นี้ยังได้รับการจัดฉายในสหราชอาณาจักรทางไอทีวีโดยใช้ชื่อเดอะเดลีเฟเบิล",
"title": "ฟาเบิลเจิสกรันต์"
},
{
"docid": "832817#0",
"text": "จอห์น มาร์ก \"จอห์นนี\" กาเล็กกี ( เกิด 30 เมษายน ค.ศ. 1975) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เขาเป็นที่รู้จักกับบทบาทเดวิด ฮีลี จากซิตคอม \"โรแซน\" ออกอากาศช่องเอบีซี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992-1997 และดร.เลนเนิร์ด ฮอฟสแตดเตอร์ จากซิตคอม\"เดอะบิกแบงเธียรี\" ออกอากาศช่องซีบีเอส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 กาเล็กกียังเคยปรากฏในภาพยนตร์เรื่อง \"เนชันแนลแลมพูนส์คริสต์มาสเวเคชัน\" (1989) \"แพรนเซอร์\" (1989) \"ซุยซายด์คิงส์\" (1997) \"ซัมเมอร์สยองต้องหวีด\" (1997) \"บุกกีส์\" (2003) และ\"ล่าเวลาสุดนรก\" (2011)",
"title": "จอห์นนี กาเล็กกี"
},
{
"docid": "828598#4",
"text": "ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2007 โควโคเริ่มแสดงในซิตคอมเรื่อง \"เดอะบิกแบงเธียรี\" ออกอากาศทางช่องซีบีเอส รับบท เพนนี พนักงานร้านชีสเค้กแฟกทอรี และนักแสดงสาวที่อาศัยอยู่ในห้องชุดตรงข้ามห้องของนักวิทยาศาสตร์ เลนเนิร์ด ฮอฟสแตดเตอร์ และเชลดอน คูเปอร์ ก่อนซีซันปี 2010-2011 เธอมีรายได้ 60,000 ดอลลาร์ต่อตอน เท่ากับนักแสดงร่วม ในปี ค.ศ. 2010 กองถ่ายเจรจาการขึ้นค่าตัวให้กับนักแสดงแต่ละคนเป็นคนละ 200,000 ดอลลาร์ต่อตอน ในวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 2010 เธอประสบอุบัติเหตุตกม้าจนขาหัก และไม่ได้แสดงสองตอน ปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 โควโคช่วยน้องสาว บริแอนนา จัดแฟลชม็อบในฉากของรายการ ซึ่งเธอและกองถ่ายสร้างความประหลาดใจให้ผู้ชมในห้องส่งโดยลิปซิงก์และเต้นรำเพลง \"คอลมีเมย์บี\" ของคาร์ลี เร เจปเซน วิดีโอเหตุการณ์ดังกล่าวถูกโพสต์ลงยูทูบและกลายเป็นไวรอลวิดีโอ คลิปการแสดงนี้ยังถูกนำไปเล่นในรายการ\"โคแนน\" ที่โควโคเป็นแขกรับเชิญในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 2013 ด้วย จนถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2014 โควโค ร่วมด้วยจอห์นนี กาเล็กกี และจิม พาร์สันส์ นักแสดงร่วมจาก\"เดอะบิกแบงเธียรี\" ได้รับค่าตัวจำนวน 1 ล้านดอลลาร์ต่อตอน",
"title": "เคลีย์ โควโค"
},
{
"docid": "770077#3",
"text": "บางทีมุขตลกนี้ก็ถูกใช้นอกสังคมนักฟิสิกส์ ในตอนหนึ่งของซิตคอมที่ชื่อว่า \"เดอะบิกแบงเธียรี\" มุขนี้ถูกใช้โดยแปลงเป็น \"ไก่ทรงกลมในสูญญากาศ\"",
"title": "วัวทรงกลม"
},
{
"docid": "626631#16",
"text": "หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#5",
"text": "ตอนนำร่องตอนแรกและตอนที่สองกำกับโดยเจมส์ แบร์โรวส์ แต่ไม่ได้กำกับต่อในตอนต่อ ๆ ไป ตอนนำร่องที่ทำใหม่ทำให้ช่องซีบีเอสอนุญาตทำเพิ่มอีก 13 ตอน โดยอนุญาตในวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 2007[13] ก่อนออกอากาศช่องซีบีเอส ตอนนำร่องตอนนี้ถูกเผยแพร่ในไอทูนส์แบบไม่คิดค่าใช้จ่าย รายการออกอากาศตอนแรกในวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 2007 และได้รับเลือกให้ทำจำนวน 22 ตอนเต็มซีซันในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2007[14] รายการถ่ายทำต่อหน้าผู้ชมสด ๆ[15] และสร้างโดยวอร์เนอร์บราเธอส์เทเลวิชัน และชัก ลอร์ โพรดักชันส์[16] ต่อมา การสร้างหยุดลงในวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 จากเหตุการณ์ประท้วงของสมาคมนักเขียนแห่งอเมริกา หลังจากนั้นเกือบสามเดือน ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ซีรีส์ถูกแทนชั่วคราวด้วยซิตคอมเรื่อง เวลคัมทูเดอะแคปทัน ก่อนจะกลับมาออกอากาศอีกครั้งในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2008 ในช่วงเวลาที่เร็วกว่าเดิม[17] สรุปแล้ว ซีซันแรกมีจำนวนตอนเพียง 17 ตอน[18][19] หลังจากการประท้วงสิ้นสุดลง รายการได้ทำซีซันที่สอง ซีซีน 2008-09 ฉายตอนแรกในช่วงเวลาเดิมในวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 2008[20] เนื่องจากมียอดผู้ชมเพิ่มขึ้น ในปี ค.ศ. 2009[21][22] รายการได้ต่ออายุอีกสองปีไปจนถึงซีซัน 2010-11 ในปี ค.ศ. 2011 รายการได้ทำต่ออีกสามซีซัน[23] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2014 รายการได้ทำต่ออีกสามซีซันจนถึงซีซัน 2016-17 ดังนั้น ซีรีส์จะมีจำนวนซีซันอย่างน้อย 10 ซีซัน ทำให้เป็นการต่ออายุสามปีเป็นครั้งที่สอง[5]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "829505#0",
"text": "เชลดอน ลี คูเปอร์ () ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต เป็นตัวละครสมมุติในละครโทรทัศน์ \"เดอะบิกแบงเธียรี\" ออกอากาศทางช่องซีบีเอส รับบทโดยนักแสดง จิม พาร์สันส์ บทบาทนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลไพรม์ไทม์เอ็มมีอะวอดส์ รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลทีซีเออะวอร์ด และรางวัลคริติกส์ชอยส์เทเลวิชันอะวอดส์ 2 รางวัล",
"title": "เชลดอน คูเปอร์"
},
{
"docid": "827553#0",
"text": "ไซมอน แมกซ์เวลล์ เฮลเบิร์ก ( เกิด 9 ธันวาคม ค.ศ. 1980) เป็นนักแสดง นักแสดงตลก และนักดนตรีชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักจากบทบาท ฮาวเวิร์ด โวโลวิตซ์ จากละครซิตคอมเรื่อง \"เดอะบิกแบงเธียรี\"",
"title": "ไซมอน เฮลเบิร์ก"
},
{
"docid": "626631#13",
"text": "วิทยาศาสตร์ยังเข้ามาพัวพันกับชีวิตรักของตัวละครด้วย เลสลีเลิกกับเลนเนิร์ดเมื่อเขาสนับสนุนเชลดอนเรื่องทฤษฎีสตริงมากกว่าเรื่องแรงโน้มถ่วงวงวนควอนตัม[33] เมื่อเลนเนิร์ดเดินทางไปทำงานวิจัยที่อาร์กติกกับเชลดอน ราจ และฮาวเวิร์ดเป็นเวลา 3 เดือน ทำให้เลนเนิร์ดกับเพนนีต้องห่างกันขณะความสัมพันธ์กำลังพรั่งพรู เมื่อเบอร์นาเดตต์สนใจงานของเลนเนิร์ด ทำให้เพนนีและฮาวเวิร์ดต่างอิจฉา จนทำให้ฮาวเวิร์ดต้องปะทะเลนเนิร์ด และเพนนีต้องไปให้เชลดอนสอนวิชาฟิสิกส์ให้[34] เชลดอนและเอมีเลิกคบกันในระยะสั้นหลังจากทะเลาะกันว่าสาขาวิชาของใครเหนือกว่ากัน[35]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "827419#1",
"text": "นิตยสาร\"ฟอบส์\"กล่าวว่า ไนเยอร์ เป็นนักแสดงโทรทัศน์ชายที่มีรายได้สูงที่สุดเป็นอันดับที่สามของโลก โดยมีรายได้ 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังแสดงเรื่องเดอะบิกแบงเธียรี",
"title": "คุนาล ไนเยอร์"
},
{
"docid": "827419#7",
"text": "เพื่อนร่วมงานคนหนึ่งของไนเยอร์ได้ยินเกี่ยวกับบทบาทนักวิทยาศาสตร์ในละครซิตคอมที่จะออกอากาศทางช่องซีบีเอส และแนะนำให้เขาออดิชันบทดังกล่าว ทำให้ไนเยอร์ได้แสดงในละคร \"เดอะบิกแบงเธียรี\" ซึ่งเขารับบท ราเจช คูธราปพาลี นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์",
"title": "คุนาล ไนเยอร์"
},
{
"docid": "626631#3",
"text": "โครงสร้างของเนื้อเรื่องตอนนำร่อง<!--pilot-->เดิมที่ถูกพัฒนาเพื่อออกอากาศในซีซันปี 2006-07 นั้นแตกต่างจากรูปแบบของซีรีส์ปัจจุบันอย่างมาก ตัวละครที่ปรากฏในตอนนำร่องทั้งสองแบบคือเลนเนิร์ด (จอห์นนี กาเล็กกี) และเชลดอน (จิม พาร์สันส์) โดยชื่อตัวละครตั้งตามนักวิทยาศาสตร์ เชลดอน เลนเนิร์ด แอลเธีย (เวอร์นี วอตสัน) เป็นตัวละครที่ปรากฏในตอนนำร่องทั้งสองแบบและในตอนแรกของซีรีส์[9] ตัวละครนำหญิงสองคนในขณะนั้นคือ อะแมนดา วอลช์ นักแสดงชาวแคนาดา รับบท เคที \"มัณฑนากรจิตใจบอบบาง\"[10][11] และไอริส บาหร์ รับบท กิลดา เพื่อนนักวิทยาศาสตร์ของตัวละครชาย เชลดอนและเลนเนิร์ดพบเคทีหลังจากเธอเลิกรากับคนรักหนุ่ม และพวกเขาชักชวนให้เธอมาอยู่ห้องชุดห้องเดียวกัน กิลดากับเคทีไม่ลงรอยกัน ผู้ชมในช่วงทดลองถ่ายทำให้การตอบรับต่อเคทีที่ไม่ดีนัก แต่พวกเขาชื่นชอบเชลดอนและเลนเนิร์ด ตอนนำร่องเดิมใช้เพลง \"ชีไบลน์ดิดมีวิทไซนซ์\" ของโทมัส ดอลบี เป็นเพลงประกอบ",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#7",
"text": "นักแสดงในเรื่อง<i data-parsoid='{\"dsr\":[12943,12963,2,2]}'>เดอะบิกแบงเธียรี</i>หลายคนเคยแสดงร่วมกันในซิตคอม โรแซน เช่น จอห์นนี กาเล็กกี ซารา กิลเบิร์ต ลอรี เมตคาล์ฟ (ผู้รับบท แมรี คูเปอร์ มารดาของเชลดอน) และเมแกน เฟย์ (ผู้รับบทมารดาของเบอร์นาเดตต์) ลอร์เคยเขียนบทให้ซีรีส์ดังกล่าวอยู่หลายซีซัน",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "630737#0",
"text": "เจมส์ โจเซฟ \"จิม\" พาร์สันส์ (เกิด 24 มีนาคม ค.ศ. 1973) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักอย่างดีจากบทเชลดอน คูเปอร์ ในละครซิทคอม \"เดอะบิกแบงธีออรี\" ทางช่องซีบีเอส เป็นที่กล่าวขานว่าการแสดงของเขาเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ละครประสบความสำเร็จ เขาได้รับรางวัลมากมายจากการแสดง เช่น รางวัลสมาคมนักวิจารณ์โทรทัศน์ (Television Critics Association) สำหรับความสำเร็จสูงสุดในแนวคอเมดี รางวัลสมาคมผู้กระจายเสียงแห่งชาติ (National Association of Broadcasters) สำหรับความสำเร็จในวินัยศิลปะเฉพาะด้าน รางวัลเอ็มมี 3 รางวัล สาขานักแสดงนำโดดเด่นในซีรีส์แนวคอเมดี และรางวัลลูกโลกทองคำสาขานักแสดงยอดเยี่ยมในรายการโทรทัศน์แนวมิวสิคัลหรือตลก",
"title": "จิม พาร์สันส์"
},
{
"docid": "828598#0",
"text": "เคลีย์ คริสตีน โควโค ( เกิด 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักจากบทบาทบริดเจต เฮนเนสซี ในซิตคอมเรื่อง \"8 ซิมเพิลรูลส์\" เคยออกอากาศทางช่องเอบีซี (2002-2005) บิลลี เจงกินส์ ในซีซันสุดท้ายของซีรีส์ \"ชามด์\" (2005-2006) และเพ็นนี ในซีรีส์ตลกเรื่อง \"เดอะบิกแบงเธียรี\" (2007-ปัจจุบัน) ออกอากาศทางช่องซีบีเอส ซึ่งเธอได้รับรางวัลแซตเทิลไลต์ในปี ค.ศ. 2012 รางวัลคริติกส์ชอยส์เทเลวิชันอะวอร์ดในปี ค.ศ. 2013 และรางวัลพีเพิลส์ชอยส์อะวอร์ดในปี ค.ศ. 2014 โควโคยังปรากฏในภาพยนตร์หลายเรื่องเช่น ทู\"บีแฟตไลก์มี\" (2007) \"ฮอพ กระต่ายซูเปอร์จัมพ์\" (2011) และ\"ออเธอส์อะนอนิมัส\" (2014) ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2014 โควโคได้รับดาวหนึ่งดาวในฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม",
"title": "เคลีย์ โควโค"
},
{
"docid": "827553#6",
"text": "ในปี ค.ศ. 2007 เขาได้รับเลือกให้รับบทฮาวเวิร์ด โวโลวิตซ์ ในละครชุดตลกเรื่อง \"เดอะบิกแบงเธียรี\" ออกอากาศทางช่องซีบีเอส",
"title": "ไซมอน เฮลเบิร์ก"
},
{
"docid": "626631#4",
"text": "ซีรีส์ไม่ได้ถูกเลือกมาฉาย แต่เหล่าผู้สร้างได้โอกาสปรับเปลี่ยนรายการใหม่และสร้างตอนนำร่องตอนที่สอง พวกเขานำนักแสดงที่เหลืออยู่มาแสดงและปรับรายการเป็นรูปแบบล่าสุด เคทีถูกแทนด้วยเพนนี (เคลีย์ โควโค) ตอนนำร่องเดิมที่ไม่ได้ออกอากาศไม่เคยออกจำหน่ายอย่างเป็นทางการ แต่มีให้ชมในอินเทอร์เน็ต ในการพัฒนาซีรีส์นี้ ชัก ลอร์ กล่าวว่า \"เราทำ 'ตอนนำร่องบิกแบง' ประมาณสองปีครึ่งที่แล้ว และมันแย่ แต่ยังมีสองสิ่งที่โดดเด่นที่ทำผลงานได้สมบูรณ์แบบ คือจอห์นนี และจิม เราเขียนเนื้อเรื่องใหม่ทั้งหมดและได้ เคลีย์ ไซมอน และคุนาล มาร่วมแสดง\" ในคำถามที่ว่าโลกจะได้ชมตอนนำร่องตอนเดิมในอนาคตในรูปแบบดีวีดีหรือไม่ ลอร์กล่าวว่า \"ว้าว มันต้องมีอะไรดี เราจะได้เห็นกัน แสดงความล้มเหลวของคุณออกมา\"[12]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#2",
"text": "ตลอดเวลาที่ออกอากาศ มีตัวละครรองได้รับการเลื่อนระดับให้เป็นตัวละครหลัก ได้แก่ เลสลี วิงเคิล เพื่อนนักฟิสิกส์ที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย และต่างเคยเป็นคนรักเก่าของเลนเนิร์ดและฮาวเวิร์ด, เบอร์นาเด็ต รอสเต็นคาวสกี แฟนสาวของฮาวเวิร์ด (ต่อมาได้เป็นภรรยา) เป็นนักจุลชีววิทยาและเคยเป็นสาวบริกรเช่นเดียวกันเพนนี, เอมี แฟร์ราห์ ฟาวเลอร์ นักประสาทวิทยาซึ่งเข้ามาอยู่ในกลุ่มหลังจากถูกจับคู่ให้กับเชลดอนจากเว็บไซต์หาคู่ (และต่อมากลายเป็นแฟนสาวของเชลดอน), และ สจ๊วต บลูม เจ้าของร้านหนังสือการ์ตูนที่เหล่าตัวละครแวะเป็นประจำ",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#14",
"text": "ดร.เดวิด ซอลซ์เบิร์ก ผู้มีปริญญาดุษฎีบัณฑิตในสาขาวิชาฟิสิกส์ เป็นที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์ให้ซีรีส์นานหกซีซัน และเข้าชมการถ่ายทำทุกครั้ง[36] ขณะที่ซอลซ์เบิร์กรู้เรื่องฟิสิกส์ บางครั้งเขาต้องการความช่วยเหลือจากแมยิม เบียลิก ผู้มีปริญญาดุษฎีบัณฑิตในสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ด้วย[37] ซอลซ์เบิร์กเห็นบทละครฉบับแรกซึ่งต้องการข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมในบท และเขามักชี้จุดผิดพลาดที่นักเขียนบทเขียนไว้ เขาไม่จำเป็นต้องเข้าชมการถ่ายทำทุกครั้ง เว้นแต่ในตอนมีกล่าวถึงวิทยาศาสตร์มาก และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากในฉากมีกระดานไวต์บอร์ดด้วย[37]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#1",
"text": "เดอะบิกแบงเธียรี มีใจกลางเนื้อเรื่องอยู่ที่ตัวละครหลัก 5 คนอาศัยอยู่ในเมืองแพซาดีนา แคลิฟอร์เนีย ได้แก่ เลนเนิร์ด ฮอฟสแตดเตอร์ และเชลดอน คูเปอร์ นักฟิสิกส์สองคนที่เป็นเพื่อนร่วมห้องกัน เพนนี สาวบริกรผู้ใฝ่ฝันที่จะเป็นนักแสดง อาศัยอยู่ห้องฝั่งตรงข้าม, และเพื่อนคงแก่เรียนแสนงุ่มง่ามอีกสองคือ ฮาวเวิร์ด โวโลวิตซ์ วิศวกรเครื่องกล และราจ คูธราปพาลี นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ความเนิร์ดและฉลาดหลักแหลมของชายสี่คนนั้นแตกต่างจากทักษะการเข้าสังคมและสามัญสำนึกของเพนนีโดยสิ้นเชิง[7][8]",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#15",
"text": "ตัวละครเอกชายสี่คนเป็นผู้คลั่งไคล้บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ จินตนิมิต และหนังสือการ์ตูน และเป็นนักสะสมของที่ระลึกด้วย",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "827419#0",
"text": "คุนาล ไนเยอร์ ( ปัญจาบ: ਕੁਨਾਲ ਨੈਯ੍ਯਰ เกิดวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1981) เป็นนักแสดงและนักเขียนชาวอินเดีย กำเนิดที่ประเทศอังกฤษ เป็นที่รู้จักจากบทบาท ราเจช คูธราปพาลี จากละครซิตคอม \"เดอะบิกแบงเธียรี\" ออกอากาศทางช่องซีบีเอส",
"title": "คุนาล ไนเยอร์"
},
{
"docid": "4801#64",
"text": "ละครโทรทัศน์ กำลังรอออกอากาศที่ถ่ายทำพร้อมกลับมาอีกครั้งเมื่อเร็วๆ นี้ ซีรีส์ต่างประเทศ ASIAN SERIES (ซีรีส์จีนและเกาหลี) - กำลังคัดเลือกออกอากาศเมื่อเร็วๆ นี้ 9 SERIES (ซีรีส์จีนและเกาหลี) - กำลังคัดเลือกออกอากาศเมื่อเร็วๆ นี้ KOREAN SERIES (ซีรีส์เกาหลี) - กำลังคัดเลือกออกอากาศเมื่อเร็วๆ นี้ ซีรีส์อเมริกา/อินเดีย/ญี่ปุ่น/ยุโรป - กำลังคัดเลือกออกอากาศเมื่อเร็วๆ นี้ รายการเกมโชว์ ยังไม่มีการประกาศใด ๆ จากทางช่อง รายการประเภทเรียลลิตีโชว์ ยังไม่มีการประกาศใด ๆ จากทางช่อง",
"title": "เอ็มคอตเอชดี"
},
{
"docid": "626631#12",
"text": "เนื้อเรื่องในซีรีส์กล่าวถึงวิทยาศาสตร์บ่อยครั้ง โดยเฉพาะฟิสิกส์ ตัวละครเอกชายสี่คนทำงานที่สถาบันคาลเทค และมีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เช่นเดียวกับเบอร์นาเดตต์และเอมี ตัวละครมักนำทฤษฏีหรือข่าวสารมาเล่น (โดดเด่นในช่วงเริ่มเรื่อง) และเล่นมุขตลกที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#8",
"text": "นักแสดงต่อไปนี้เป็นนักแสดงหลักตลอดเรื่อง",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "626631#10",
"text": "นักแสดงต่อไปนี้เคยเป็นนักแสดงรับเชิญ แต่ต่อมาได้เลื่อนขั้นเป็นนักแสดงหลัก",
"title": "เดอะบิกแบงเธียรี"
},
{
"docid": "190995#0",
"text": "อสุรกายดงดิบ () หรือ ปริศนาป่ามรณะ เป็นซีรีส์อเมริกันแนวดราม่า ที่มีเนื้อหากล่าวถึงผู้รอดชีวิตจากอุบัติเหตุเครื่องบินตก บนเกาะลึกลับ บนเส้นทางบินสักแห่งระหว่างซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย กับลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ตกในแปซิฟิกใต้ ในแต่ละตอนจะมีเนื้อหาหลักเป็นเรื่องบนเกาะ เนื้อหารองเป็นเรื่องชีวิตของตัวละครแต่ละคน รายการสร้างสรรค์โดยเดมอน ลินเดลอฟ, เจ. เจ. แอบรัมส์ และเจฟฟรีย์ ลีเบอร์ สถานที่ถ่ายทำหลักที่เกาะโอวาฮู รัฐฮาวาย ตอนแรกที่ออกฉายชื่อ \"The pilot\" เมื่อ 22 กันยายน ค.ศ. 2004 หลังจากนั้นออกอากาศจนฤดูกาลที่ 4 รายการผลิตโดย เอบีซีสตูดิโอส์, แบดโรบอตโปรดักชันส์และกราสส์สเกิร์ตโปรดักชัน ออกอากาศทางช่องเอบีซีในสหรัฐอเมริกา สำหรับในประเทศไทยออกอากาศทางช่องเอเอ็กซ์เอ็น 17 มีนาคม ค.ศ. 2005 เพลงประกอบภาพยนตร์ประพันธ์โดยไมเคิล จิแอชชิโน ผู้อำนวยการสร้างปัจจุบันคือ แอบรัมส์, ลินเดลอฟ, ไบรอัน เบิร์ก, แจ็ก เบนเดอร์ และคาร์ตัน คิวส์ และเนื่องจากมีตัวละครจำนวนมากและค่าถ่ายทำที่ฮาวาย ทำให้ซีรีส์เรื่องนี้เป็นซีรีส์ที่ลงทุนในการผลิตมากที่สุดในรายการโทรทัศน์",
"title": "อสุรกายดงดิบ"
},
{
"docid": "247973#4",
"text": "\"Scooby-Doo, Where Are You!\" ออกอากาศครั้งแรกเมื่อ วันเสาร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2512 ซึ่งออกอากาศทางช่อง ซีบีเอส โดยตอนแรกมีชื่อว่า What a Night for a Knight โดยเสียงตัวละครต้นฉบับ คือ Don Messick ให้เสียง สกูบี้-ดู, ดีเจรายการวิทยุ Casey Kasem ให้เสียง แช็กกี้, Frank Welker ให้เสียง เฟรด, Nicole Jaffe ให้เสียง เวลม่า และ Indira Stefanianna Christopherson ส่วนเพลงเปิดการ์ตูนนั้นช่วงแรก จะเป็นเพลงบรรเลง ต่อมาเพลงถูกเขียนโดย David Mook และ Ben Raleigh ต่อมา ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีซีรีส์ที่ 2 คือเรื่อง \"The New Scooby-Doo Movies\" แต่ที่พิเศษก็คือ ดารารับเชิญซึ่งให้เสียงโดยเจ้าตัวเอง ดารารับเชิญที่มาอย่างเช่น ทีม ฮาร์เล็ม โกลบทรอตเตอร์, 3 พี่น้องจอมยุ่ง, ดอน นอท และ แบทแมน กับ โรบิน ออกอากาศ 2 ซีซั่น จำนวน 24 ตอน",
"title": "สกูบี้-ดู"
}
] |
2328 | ไอร์แลนด์ มีเมืองหลวงชื่ออะไร ? | [
{
"docid": "33244#0",
"text": "ดับลิน (; ไอริช: Baile Átha Cliath) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ชื่อดับลินนั้นมาจากคำว่า Dubh Linn ซึ่งในภาษาไอริชมีความหมายว่า \"สระน้ำสีดำ\" (Black Pool) ดับลินมีพื้นที่ประมาณ 114.99 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 495,781 คนในเขตตัวเมือง",
"title": "ดับลิน"
},
{
"docid": "17218#0",
"text": "ไอซ์แลนด์ (; \"อิสตลันต์\") เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก",
"title": "ประเทศไอซ์แลนด์"
}
] | [
{
"docid": "88116#0",
"text": "ไอร์แลนด์เหนือ (; \"ทวฌเชอรท์ เอรัน\") คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน",
"title": "ไอร์แลนด์เหนือ"
},
{
"docid": "17210#0",
"text": "ไอร์แลนด์ (, หรือ ; \"เอเหรอะ\") คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (; ) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร",
"title": "ประเทศไอร์แลนด์"
},
{
"docid": "853775#0",
"text": "เสนาบดีใหญ่ในสมเด็จฯฝ่ายไอร์แลนด์เหนือ หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักคือ รัฐมนตรีไอร์แลนด์เหนือ เป็นตำแหน่งที่อยู่ใน รัฐบาลสหราชอาณาจักร ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล ไอร์แลนด์เหนือ และเป็นหัวหน้าผู้บริหารระดับสูงของ สำนักไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งผู้ที่สมควรจะได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี จากการเสนอชื่อของ นายกรัฐมนตรี โดยรัฐมนตรีในตำแหน่งนี้จะมีถิ่นพำนักอยู่ใน ไอร์แลนด์เหนือ",
"title": "รัฐมนตรีว่าการไอร์แลนด์เหนือ"
},
{
"docid": "10834#0",
"text": "ไอร์แลนด์ (, \"เอเหรอะ\") เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของทวีปยุโรป ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแองโกล-ไอริช (หรือแองโกล-เซลติก) พื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ส่วนของเกาะไอร์แลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศไอร์แลนด์ ส่วนพื้นที่ที่เหลืออีก 1 ใน 6 ส่วนด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ เป็นที่ตั้งของไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักร",
"title": "เกาะไอร์แลนด์"
},
{
"docid": "222917#0",
"text": "เมืองเทศมณฑล หรือ เมืองหลวงของเทศมณฑล () คือ “เมืองหลวง” ของ มณฑลในสหราชอาณาจักรหรือในสาธารณรัฐไอร์แลนด์. “เมืองมณฑล” มักจะเป็นที่ตั้งขององค์การบริหารและองค์การยุติธรรมหรือเป็นเมืองที่ก่อตั้งมานานจนกลายเป็นเมืองหลักของมณฑลโดยปริยาย แต่ความหมายของ “เมืองมณฑล” เปลี่ยนไปจากความหมายเดิมที่เป็นเมืองศูนย์กลางการบริหารของมณฑล และอันที่จริงแล้ว “เมืองมณฑล” หลายเมืองในปัจจุบันมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารเช่นเมืองมณฑลดาร์บีที่บริหารโดยรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวที่แยกจากมณฑลดาร์บีเชอร์ นอกจากนั้นเมืองมณฑลหลายเมืองก็ยังมีฐานะเป็น “นคร” แต่เมืองเหล่านี้ก็ยังเรียกว่า “เมืองมณฑล” ไม่ว่าจะมีฐานะเป็นนครหรือไม่",
"title": "เมืองเทศมณฑล"
},
{
"docid": "56896#0",
"text": "เรคยาวิก (, IPA: ˈreiːcaˌviːk) เป็นเมืองหลวงของประเทศไอซ์แลนด์ และเป็นเมืองหลวงที่ตั้งอยู่ใกล้กับขั้วโลกเหนือมากที่สุด โดยตั้งอยู่ไม่ไกลจากเส้นอาร์กติกเซอร์เคิลมากนัก ทำเลที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ ด้านมุมล่างของอ่าว Faxaflói ซึ่ง Ingolfur Arnarson ชาวนอร์ดิค เป็นผู้อพยพคนแรกที่มาตั้งรกรากที่เรคยาวิกในปี พ.ศ. 1413 เมื่อเรคยาวิกกลายเป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการค้าและธุรกิจการประมง จึงได้มีการก่อตั้งให้เป็นเมืองหลวงในปี พ.ศ. 2329 ปัจจุบันเขตเมืองมีประชากรประมาณ 120,000 คน ประกอบด้วย 7 เทศบาลนครซึ่งรวมเทศบาลนครเรคยาวิกด้วย",
"title": "เรคยาวิก"
},
{
"docid": "431818#0",
"text": "ฮาราเร (ก่อน พ.ศ. 2525 ชื่อ ซอลส์บรี) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศซิมบับเว ใน พ.ศ. 2552 มีการประเมินประชากรไว้ที่ 1,606,000 คน โดยมี 2,800,000 คนในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2549) ในทางการปกครอง ฮาราเรเป็นนครอิสระมีฐานะเทียบเท่าจังหวัด เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและศูนย์กลางการปกครอง พาณิชย์และการสื่อสารของประเทศซิมบับเว นครนี้เป็นศูนย์กลางการค้ายาสูบ ข้าวโพด ฝ้ายและผลไม้สกุลส้ม การผลิตมีทั้งสิ่งท่อ เหล็กกล้าและเคมีภัณฑ์ ตลอดจนมีการขุดทองในพื้นที่ ฮาราเรตั้งอยู่ที่ความสูง 1,483 เมตรจกระดับน้ำทะเล และภูมิอากาศจัดอยู่ในประเภทอุณหภูมิอบอุ่น",
"title": "ฮาราเร"
},
{
"docid": "505093#0",
"text": "ไบรีกี () เป็นหมู่บ้านและเกาะซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศคิริบาส ตั้งอยู่ทางในเขตเซาท์ตาระวา ที่นี่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารและที่ทำการรัฐบาลของประเทศคิริบาส และเคยเป็นที่ตั้งของรัฐสภาคิริบาส แต่ปัจจุบันย้ายไปแอมโบซึ่งอยู่ระหว่างไบรีกีและบอนรีกี และที่นี่ยังเป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยเซาท์แปซิฟิก แหล่งข้อมูลบางแห่งจึงถือเอาชื่อเกาะนี้เป็นชื่อเมืองหลวงของคิริบาส แต่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง รวมทั้งแหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ซึ่งพิจารณาว่าตัวเกาะปะการังตาระวาทั้งเกาะเป็นเขตเมืองหลวง",
"title": "ไบรีกี"
},
{
"docid": "136937#0",
"text": "เบลฟาสต์ (; ) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ มีประชากร 276,459 คนในเขตเมือง และ 579,554 ในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2544)",
"title": "เบลฟาสต์"
}
] |
1866 | จอห์น โลรีนายติส เริ่มเข้าสู่วงการมวยปล้ำเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "393979#1",
"text": "โลรีนายติส เข้าวงการในปี 1986 ในนามของ จอห์นนี เอจ และขึ้นสังเวียนในฟลอริดาเป็นส่วนใหญ่เขาเป็นน้องชายของ โจ โลรีนายติส หรือ โรดวอร์ริเออร์ แอนิมอล เขาประสบความสำเร็จเมื่อจับคู่กับน้องเล็กอย่าง มาร์คัส โลรีนายติส หรือ เดอะ เทอร์มินาเตอร์ คว้าแชมป์แทคทีม FCW มาครอง 1 สมัย และย้ายไปอยู่สมาคม จิม คร็อกเก็ต จับคู่กับ เชน ดักลาส ในนาม ไดนามิค ดูดส์[5] จนในปี 1990 เขาเดินทางไปซิวเงินเยนที่ญี่ปุ่นซึ่งประสบความสำเร็จคว้าแชมป์ AJPW จับคู่กับ เคนตะ โคะบะชิ 2 สมัย และแชมป์แทคทีมยูนิฟายด์ 4 สมัย คู่กับ เคนตะ โคะบะชิ (2), ไมค์ บาร์ตัน (1) และ สตีฟ วิลเลยมส์ (1) และเป็นผู้ชนะในแมตช์การปล้ำแบทเทิลรอยัล ในวันที่ 2 มกราคม 1991",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
}
] | [
{
"docid": "404168#6",
"text": "ในรอว์ (30 เมษายน 2012) โลรีนายติสได้เชิญให้เลสเนอร์ออกมา แต่ไม่ทันไร ทริปเปิลเอชก็ตามออกมา บอกจะทำในสิ่งที่โลรีนายติสไม่กล้าทำ เลสเนอร์จะไม่ได้รับสัญญาฉบับใหม่ที่เรียกร้องเกินกว่าเหตุเครื่องบินที่รับนายมาจากบ้านจะไม่ส่งนายกลับยกเว้นนายจะจ่ายเงินเช่นเดียวกับรถลิมูซีนที่พานายมาสนามด้วยและรายการนี้ก็จะชื่อ มันเดย์ ไนท์ รอว์ ตลอดไปไม่มีใครใหญ่ไปกว่า WWE ชั้นต้องการให้นายอยู่ที่นี่คนดูก็ต้องการจะดูนายเจอกับ จอห์น ซีนา, ซีเอ็ม พังก์, แรนดี ออร์ตัน หรือ เชมัส แต่นายจะต้องอยู่ภายใต้สัญญาฉบับแรกที่เราตกลงกันเท่านั้นสัญญาใหม่ที่นายขอแก้ไขนั้นชั้นจะไม่เซ็นให้หรอกนะ ทริปเปิล เอช ฉีกสัญญาใหม่ของเลสเนอร์ ทิ้งแล้วพูดต่อว่าถ้านายไม่พอใจล่ะก็จะยกเลิกสัญญาก็ได้แล้วก็จากไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ที่มีต่อซีนา ซึ่งนายคงจะไม่อยากให้เป็นแบบนั้นใช่มั้ย โลรีนายติส พยายามพูดช่วยเลสเนอร์ แต่ ทริปเปิล เอช สั่งให้โลรีนายติส หุบปากซะแต่โลรีนายติส ไม่หยุดพูด ทริปเปิล เอช เลยหันไปเอาเรื่องโลรีนายติส เลยเปิดโอกาสให้เลสเนอร์ อัด ทริปเปิล เอช จากด้านหลัง และจับใส่ท่าคิมุระล็อกจนร้องลั่นด้วยความเจ็บปวดเพราะแขนหักร้อนถึงนักมวยปล้ำฝ่ายธรรมะต้องรีบออกมาช่วย ทำให้เลสเนอร์ รีบหนีลงเวทีไป ในรอว์ (7 พฤษภาคม 2012) พอล เฮย์แมน ออกมา บอกว่าเขามาเพื่อเป็นตัวแทนของเลสเนอร์ ชายผู้ซึ่งชอบการทำลายล้างที่สุดในประวัติศาสตร์ WWE แต่เขากลับถูกแฟนๆ โห่อย่างหนักมาตลอดตั้งแต่เมื่อ 10 ปีก่อนจากความช่วยเหลือของโลรีนายติส ก็ได้เซ็นสัญญาที่เป็นธรรมกับเลสเนอร์ แต่เขากลับถูกหักหลังซึ่งเขาไม่สมควรจะได้รับการปฏิบัติเช่นนั้นเขาเป็น แชมป์ NCWA, แชมป์ WWE และแชมป์ UFC เลสเนอร์ได้มอบหมายให้ เฮย์แมน มาเพื่ออ่านคำแถลงของเลสเนอร์ ผมกลับมาเพื่อนำความจริงจังกลับมาสู่ WWE ชั้นไม่เคยเสียใจกับสิ่งที่ได้ทำกับซีนา เพราะชั้นเกลียดมันและอีกคนหนึ่งที่ถูกชั้นทำให้อับอายก็คือ ทริปเปิล เอช มันอิจฉาชั้นมันทนอยู่ในกรงเหล็กกับอันเดอร์เทเกอร์ ได้หนึ่งชั่วโมงแต่มันสู้กับชั้นได้ไม่ถึง 1 นาทีด้วยซ้ำมันฉีกสัญญาชั้นทิ้งชั้นจึงหักแขนของมันและชั้นก็ไม่สนใจว่า WWE จะฟ้องร้องหรืออะไร เพราะชั้นลาออกแล้ว",
"title": "บร็อก เลสเนอร์"
},
{
"docid": "438447#1",
"text": "ในศึกรอว์ (30 เมษายน 2012) จอห์น โลรีนายติส ได้เชิญให้ บร็อก เลสเนอร์ ออกมา แต่ไม่ทันไร ทริปเปิล เอช ก็ตามออกมา ทริปเปิล เอช บอกชั้นออกมาเพื่อจะทำในสิ่งที่ โลรีนายติส ไม่กล้าทำ เลสเนอร์ นายจะไม่ได้รับสัญญาฉบับใหม่ที่เรียกร้องเกินกว่าเหตุเครื่องบินที่รับนายมาจากบ้านจะไม่ส่งนายกลับยกเว้นนายจะจ่ายเงินเช่นเดียวกับรถลิมูซีนที่พานายมาสนามด้วยและรายการนี้ก็จะชื่อ มันเดย์ ไนท์ รอว์ ตลอดไปไม่มีใครใหญ่ไปกว่า WWE ชั้นต้องการให้นายอยู่ที่นี่คนดูก็ต้องการจะดูนายเจอกับ จอห์น ซีนา, ซีเอ็ม พังก์, แรนดี ออร์ตัน หรือ เชมัส แต่นายจะต้องอยู่ภายใต้สัญญาฉบับแรกที่เราตกลงกันเท่านั้นสัญญาใหม่ที่นายขอแก้ไขนั้นชั้นจะไม่เซ็นให้หรอกนะ ทริปเปิล เอช ฉีกสัญญาใหม่ของ เลสเนอร์ ทิ้งแล้วพูดต่อว่าถ้านายไม่พอใจล่ะก็จะยกเลิกสัญญาก็ได้แล้วก็จากไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ที่มีต่อ จอห์น ซีนา ซึ่งนายคงจะไม่อยากให้เป็นแบบนั้นใช่มั้ย โลรีนายติส พยายามพูดช่วย เลสเนอร์ แต่ ทริปเปิล เอช สั่งให้ โลรีนายติส หุบปากซะแต่ โลรีนายติส ไม่หยุดพูด ทริปเปิล เอช เลยหันไปเอาเรื่อง โลรีนายติส เลยเปิดโอกาสให้ เลสเนอร์ อัด ทริปเปิล เอช จากด้านหลัง จากนั้นก็ลากไปอัดที่มุมเวที ทริปเปิล เอช พยายามต่อยสู้ แต่โดน เลสเนอร์ จับใส่ท่า คิมุระล็อก จนร้องลั่นด้วยความเจ็บปวดเพราะแขนหัก ร้อนถึงบรรดาสตาร์ฝ่ายธรรมะทั้ง เชมัส, บิ๊กโชว์, โคฟี คิงส์ตัน และ อาร์-ทรูธ ต้องรีบออกมาช่วย ทำให้ เลสเนอร์ รีบหนีลงเวทีไป[2] ล่าสุด จากการกระทำของเลสเนอร์ ที่ใช้ท่า คิมุระล็อก ใส่แขนซ้ายของ ทริปเปิล เอช ในศึกรอว์ (30 เมษายน 2012) ที่ผ่านมา ทำให้ COO ของ WWE ได้รับบาดเจ็บและต้องเข้ารับการผ่าตัด โดยทีมแพทย์ของ WWE พบว่าแขนของ ทริปเปิล เอช หัก และยังมีอาการเส้นเอ็นฉีกขาดบริเวณข้อศอกด้วย จึงจำเป็นต้องแก้ไขด้วยการผ่าตัด[3]",
"title": "ซัมเมอร์สแลม (2012)"
},
{
"docid": "438444#2",
"text": "บิ๊กโชว์ ได้ไปล้อเลียนเสียงของ จอห์น โลรีนายติส ในศึกรอว์ (14 พฤษภาคม 2012) โลรีนายติส สั่งให้ บิ๊กโชว์ ขอโทษที่ไปล้อเลียนเสียงของโลรีนายติส โดยบอกว่าถ้าไม่ขอโทษก็จะถูกไล่ออกจาก WWE สุดท้าย บิ๊กโชว์ ก็ยอมขอโทษและยอมคุกเข่า แต่โลรีนายติส ก็ไล่ บิ๊กโชว์ ออกจาก WWE คืนเดียวกัน โลรีนายติส ออกมาล้อเลียนคนดูที่เชียร์ซีนา ว่าเป็นไอ้พวกขี้แพ้ เพราะซูเปอร์สตาร์ที่คุณชอบก็สะท้อนถึงตัวตนคุณ ซีนา เป็นไอ้ขี้แพ้ ทำให้แฟนๆ ของเขาเป็นไอ้ขี้แพ้ด้วยมันแพ้ เดอะ ร็อก และถูก บร็อก เลสเนอร์ อัดเละ ซีนา ออกมาล้อเลียนโลรีนายติส และ อีฟ ทอร์เรส ก็ตามออกมายื่นแฟกซ์ให้อ่าน ซีนา แย่งเอาไปอ่าน บอกว่าเป็นแฟกซ์จากสำนักงานใหญ่ WWE สั่งให้แมตช์ระหว่าง ซีนา กับ โลรีนายติส เป็นแมตช์ตัวต่อตัว ห้ามมีผู้ติดตาม ไม่มีกรรมการพิเศษ ชนะด้วยการกดหรือซับมิชชั่นเท่านั้น ถ้าซูเปอร์สตาร์คนไหนเข้ามาก่อกวนจะถูกไล่ออกทันที และถ้า โลรีนายติส แพ้ก็จะถูกไล่ออกเช่นกัน โลรีนายติส ตบหน้าซีนา ก่อนจะเดินจากไป",
"title": "โอเวอร์เดอะลิมิต (2012)"
},
{
"docid": "393979#5",
"text": "ในรอว์ 30 เมษายน โลรีนายติสออกมาบอกว่าคนที่จะเจอกับจอห์น ซีนา ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) ออกมาแล้วคือเทนไซ ขึ้นเวทีมาเตรียมจะรุมซีนา ที่ไหนได้ โลรีนายติสอัดใส่ซีนา จากด้านหลังแล้วบอกว่าคนที่จะเจอกับซีนาคือเขานั่นเอง โลรีนายติสเหวี่ยงซีนาไปอัดมุมเวที ต่อด้วยเทนไซ ใช้ท่า Running Senton จากนั้นโลรีนายติสกระทืบซีนา แล้วเทนไซก็ลากเอาแขนข้างเจ็บของซีนาไปอัดเสาเวทีแล้วให้โลรีนายติสกระทืบซ้ำปิดท้ายด้วยเก้าอี้เหล็ก ก่อนจะเดินจากไป บิ๊กโชว์ ได้ล้อเลียนเสียงของโลรีนายติส ในศึกรอว์ (14 พฤษภาคม 2012) โลรีนายติสสั่งให้บิ๊กโชว์ ขอโทษที่ไปล้อเลียนเสียงของโลรีนายติส โดยบอกว่าถ้าบิ๊กโชว์ ไม่ขอโทษก็จะถูกไล่ออกจาก WWE และบิ๊กโชว์ก็ยอมขอโทษและยอมคุกเข่า แต่โลรีนายติสก็ไล่บิ๊กโชว์ ออกจาก WWE ในคืนเดียวกันโลรีนายติสออกมาล้อเลียนคนดูที่เชียร์ซีนาว่าเป็นไอ้พวกขี้แพ้ เพราะซูเปอร์สตาร์ที่คุณชอบก็สะท้อนถึงตัวตนคุณซีนาเป็นไอ้ขี้แพ้ ทำให้แฟนๆ ของเขาเป็นไอ้ขี้แพ้ด้วยมันแพ้เดอะ ร็อก และถูกบร็อก เลสเนอร์อัดเละซีนา ออกมาล้อเลียนโลรีนายติส และอีฟ ทอร์เรสก็ออกมายื่นแฟกซ์ให้อ่าน ซีนาแย่งเอาไปอ่าน บอกว่าเป็นแฟกซ์จากสำนักงานใหญ่ WWE สั่งให้แมตช์ระหว่าง ซีนากับโลรีนายติส เป็นแมตช์ตัวต่อตัว ห้ามมีผู้ติดตาม ไม่มีกรรมการพิเศษ ชนะด้วยการกดหรือซับมิชชั่นเท่านั้น ถ้าซูเปอร์สตาร์คนไหนเข้ามาก่อกวนจะถูกไล่ออกทันที และถ้า โลรีนายติส แพ้ก็จะถูกไล่ออกเช่นกัน โลรีนายติสตบหน้าซีนา ก่อนจะเดินจากไป ในศึก โอเวอร์เดอะลิมิต โลรีนายติสสามารถเอาชนะซีนามาได้จากการช่วยเหลือของบิ๊กโชว์ ที่ถูกไล่ออกไปแล้ว",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "438445#2",
"text": "ในรอว์ (11 มิถุนายน 2012) จอห์น โลรีนายติส ออกมา แต่ยังไม่ทันพูดอะไร วินซ์ แม็กแมน ก็ออกมา จอห์น โลรีนายติส จะขอจับมือแต่ วินซ์ แม็กแมน ไม่ยอมจับ วินซ์ แม็กแมน บอกว่า คืนนี้จะมาประเมิณผลงานของนาย ไหนลองบอกเหตุผลมาซิว่าทำไมชั้นถึงไม่ควรจะไล่แกออกในคืนนี้ จอห์น โลรีนายติส บอก มีเพียงเหตุผลเดียวคือ People Power ผมจะทำให้ รอว์ ตอนที่ 1,000 เป็นวันที่ผู้ชมมีความสุขที่สุด วินซ์ แม็กแมน ถามคนดูว่าชอบมั้ย คนดูโห่ จอห์น โลรีนายติส อ้างถึงความสามารถในการบริหารของตัวเองแต่ วินซ์ แม็กแมน บอกว่าแกเซ็น บร็อก เลสเนอร์ มาแล้วก็ทำให้เราถูกฟ้องถึงสองคดี นั่นเรียกว่าบริหารดีเหรอ จอห์น โลรีนายติส บอก เรื่องของ บร็อก เลสเนอร์ นั้นไม่ใช่ความผิดของผมแต่เป็น ทริปเปิล เอช ต่างหาก วินซ์ แม็กแมน บอก แล้วการเซ็นสัญญา บิ๊กโชว์ กลับมาโดยให้ค่าจ้างสูงลิบลิ่วล่ะไอ้อ้วนนี่ฝีมือห่วยแตกมาตั้งแต่ปี 1999 แล้วเอามันกลับมาทำไม จอห์น โลรีนายติส บอก แค่เพราะว่า DX เคยจับหัวคุณมุดใส่ตูด บิ๊กโชว์ ไม่ได้หมายความว่าเขาห่วยนะ จอห์น โลรีนายติส บอกว่าสตาร์ทุกคนต่างก็เห็นผมเป็นดั่งเพื่อนของพวกเขาทั้งนั้น เชมัส ออกมา และบอกว่า จอห์น โลรีนายติส ช่างเป็นเพื่อนที่ดีจริงๆ ปรับเงิน 5 แสน แล้วยังบังคับให้ขอโทษเพียงเพราะชั้นวิ่งชนอีกต่างหาก วินซ์ แม็กแมน บอกว่าถ้าคืนนี้ จอห์น โลรีนายติส ทำผลงานได้ไม่น่าประทำใจละก็โดนไล่ออกแน่ ในช่วงท้ายรายการ วินซ์ แม็กแมน ออกมาพร้อมกับ รปภ.อีกหลายคน เพื่อมาตัดสินอนาคตของ จอห์น โลรีนายติส วินซ์ แม็กแมน เรียก จอห์น โลรีนายติส ออกมา โลรีนายติส บอกว่าไม่ต้องขน รปภ.ออกมาด้วยก็ได้ไม่ว่าคุณจะตัดสินใจอย่างไรผมก็ไม่ทำร้ายคุณหรอก วินซ์ แม็กแมน บอก รปภ.พวกนี้ไม่ได้มีไว้สำหรับชั้น แต่มีไว้ส่งนายออกไปจากสนาม ออกไปจากธุรกิจของชั้น วินซ์ แม็กแมน เตรียมจะไล่โลรีนายติสออก แต่บิ๊กโชว์ออกมาขัดจังหวะ บิ๊กโชว์บอกว่าโลรีนายติสทำสิ่งผิดพลาดไปบ้าง แต่เขาก็ทำสิ่งที่ถูกต้องคือให้สัญญาพิเศษกับชั้น ทำให้ชั้นสามารถทำอะไรก็ได้ นายอาจจะไล่ชั้นออกได้ แต่นั่นก็หมายความว่านายต้องจ่ายเงินหลายล้านให้กับชั้นไปอีกหลายปี โดยไม่ได้อะไรตอบแทน ที่ผ่านมาชั้นต้องแต่งตัวเป็นไอ้โน่นไอ้นี่ ทำตัวเอนเตอร์เทนเพื่อให้คนดูหัวเราะชอบใจ ทั้งหมดนี้ก็เป็นเพราะนายสั่งให้ชั้นทำทั้งนั้น ซีนาออกมาล้อเลียนบิ๊กโชว์และโลรีนายติส สุดท้ายซีนากับบิ๊กโชว์ก็ต่อยกัน โลรีนายติสกับวินซ์พยายามเข้าไปห้าม แต่กลายเป็นบิ๊กโชว์ปล่อยหมัดพลาดไปน็อควินซ์",
"title": "โนเวย์เอาท์ (2012)"
},
{
"docid": "220668#4",
"text": "ในอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2012) คริสเตียนได้ออกมาสนับสนุนจอห์น โลรีนายติส ให้เป็นผู้จัดการทั้งรอว์ และสแมคดาวน์ พร้อมกับ อัลเบร์โต เดล รีโอ และมาร์ก เฮนรี ที่ออกมาสนับสนุนให้กับโลรีนายติส ด้วยเช่นกัน คริสเตียนบอกว่าเขาถูกเชมัสกข้อเท้า และยังถูกบิ๊กโชว์อัดจนคอแทบหักแต่ ทีโอดอร์ ลอง ก็ยังบังคับให้เขาออกไปปล้ำจนต้องเจ็บซ้ำอีก ดังนั้นเขาจึงขอสนับสนุนให้โลรีนายติสมาเป็นผู้จัดการแทน จากนั้นทุกคนก็ร่วมถ่ายรูปหมู่กันเพื่อประสานความสัมพันธ์ที่ดี ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28 คริสเตียนได้เข้าร่วมทีมของโลรีนายติส เจอกับทีมของทีโอดอร์ ลอง ในแมตช์แทกทีม 12 คน แต่ว่าคริสเตียนได้รับบาดเจ็บจากการถูกซีเอ็ม พังก์ เล่นงานในรอว์สุดท้ายก่อนเรสเซิลเมเนีย 26 มีนาคม จนต้องหมดสิทธิ์ ซึ่งแท้จริงแล้วอาการบาดเจ็บของคริสเตียนนั้นยังไม่หายดี ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) คริสเตียนได้กลับมาเป็นฝ่ายธรรมะอีกครั้ง และได้เข้าร่วม \"People Power\" แบทเทิลรอยัล 20 คน ผู้ชนะจะได้สิทธิ์เลือกในการชิงแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัลหรือแชมป์ยูเอส และคริสเตียนก็ได้เป็นผู้ชนะและได้เลือกที่จะชิงแชมป์อินเตอร์กับเจ้าของแชมป์ โคดี โรดส์ คืนเดียวกันคริสเตียนก็คว้าแชมป์จากโคดีมาได้ ก่อนเสียแชมป์ให้กับเดอะมิซในรอว์ ตอนที่ 1000",
"title": "คริสเตียน (นักมวยปล้ำ)"
},
{
"docid": "369430#6",
"text": "ปี 2011 เร็กส์ได้ถูกดราฟท์ไปอยู่รอว์ ต่อมาได้ร่วมทีมกับเคิร์ต ฮอว์กินส์ NXT 18 เมษายน 2012 เร็กส์ได้ชนะฮอว์กินส์โดยผู้แพ้จะถูกไล่ออกจาก WWE และเร็กส์ก็เป็นฝ่ายชนะ แต่ผู้จัดการทั่วไปของNXT วิลเลียม รีกัล ได้ไล่ทั้งคู่ออก จากนั้นเร็กส์ได้บอกผ่านทวิตเตอร์ว่าพวกเขาจะพยายามทำให้คำว่า #SaveReksAndHawkins กลายเป็นคำฮิตติดเทรนด์ให้ได้เพื่อให้จอห์น โลรีนายติส ผู้จัดการทั่วไปของรอว์และสแมคดาวน์ ช่วยเซ็นสัญญาให้พวกเขากลับมาใน WWE NXT 9 พฤษภาคม โลรีนายติสได้แต่งตั้งให้ทั้งคู่เป็นรปภ.ประจำเอ็นเอกซ์ที ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) ทั้งคู่ได้เข้าไปคุยอยู่กับอีฟ ทอร์เรสที่หลังฉากซึ่งอีฟบอกว่าโลรีนายติสได้รับทั้งคู่กลับเข้ามาทำงานใน WWE ต่อได้ ในสแมคดาวน์ 17 สิงหาคม 2012 ทั้งคู่ออกมาในมาดใหม่ เป็นนักระบำเปลื้องผ้าแล้วก็เอาชนะนักมวยปล้ำจ๊อบเบอร์ 2 คนไปได้สบายๆ",
"title": "ไทเลอร์ เร็กส์"
},
{
"docid": "166390#13",
"text": "ในรอว์ 30 เมษายน ซีนาออกมาโดยมีการเข้าเฝือกอ่อนที่แขนซ้าย ซีนาบอกว่า ทริปเปิล เอช แขนหัก จากการถูก เลสเนอร์ เล่นงานหักแขน และเมื่อคืนชั้นก็เจอแบบเดียวกัน แต่ตอนนี้ชั้นก็มาอยู่ที่นี่แล้ว จากการทำ MRI สแกนพบว่ากล้ามเนื้อไม่ฉีก ดังนั้นเขาจึงยังอยู่ใน WWE มันมีการเจ็บอยู่สองประเภท คือ บาดเจ็บ กับเจ็บ ถ้าบาดเจ็บก็ต้องถูกส่งกลับบ้าน แต่ถ้าแค่เจ็บ เขาก็สามารถออกมาทำในสิ่งที่เขารักได้ จอห์น โลรีนายติส ออกมา บอกว่าเขานำเอา เลสเนอร์ กลับมาในฐานะสัญลักษณ์คนใหม่ของสมาคม และบอกว่าคนที่จะเจอกับซีนา ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) ออกมาแล้วคือลอร์ด เทนไซ ขึ้นเวทีมาเตรียมจะรุมซีนา ที่ไหนได้ โลรีนายติส อัดใส่ซีนาจากด้านหลังแล้วบอกว่าคนที่จะเจอกับซีนา ในโอเวอร์เดอะลิมิต คือ โลรีนายติส นั่นเอง จากนั้นซีนาก็ถูกทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บหนักที่แขนซ้าย[109] ในรอว์ 14 พฤษภาคม โลรีนายติสออกมาล้อเลียนคนดูที่เชียร์ซีนาว่าเป็นไอ้พวกขี้แพ้ เพราะซูเปอร์สตาร์ที่คุณชอบก็สะท้อนถึงตัวตนคุณ ซีนาเป็นไอ้ขี้แพ้ ทำให้แฟนๆ ของเขาเป็นไอ้ขี้แพ้ด้วยมันแพ้ เดอะ ร็อก และถูกเลสเนอร์อัดเละ ซีนาออกมาล้อเลียนโลรีนายติส และอีฟ ก็ออกมายื่นแฟกซ์ให้อ่าน ซีนาแย่งเอาไปอ่าน บอกว่าเป็นแฟกซ์จากสำนักงานใหญ่ WWE สั่งให้แมตช์ระหว่างซีนากับโลรีนายติส เป็นแมตช์ตัวต่อตัว ห้ามมีผู้ติดตาม ไม่มีกรรมการพิเศษ ชนะด้วยการกดหรือซับมิชชั่นเท่านั้น ถ้าซูเปอร์สตาร์คนไหนเข้ามาก่อกวนจะถูกไล่ออกทันที และถ้าโลรีนายติสแพ้ ก็จะถูกไล่ออกเช่นกัน ในโอเวอร์เดอะลิมิต ซีนาก็เป็นฝ่ายแพ้ให้โลรีนายติส[110] จากการช่วยเหลือของบิ๊กโชว์ ที่ถูกไล่ออกไปแล้ว[111] ในรอว์ 21 พฤษภาคม โลรีนายติส ได้ประกาศแนะนำคู่ต่อสู้คนต่อไปของซีนาในโนเวย์เอาท์ (2012) นั่นคือบิ๊กโชว์[112] คืนเดียวกัน ซีนาต้องปล้ำแฮนดิแคปจับคู่กับเชมัส เจอกับ ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์, แจ็ก สแวกเกอร์ และเทนไซ โดยมีนักมวยปล้ำฝ่ายอธรรมอยู่ข้างเวทีเป็นลัมเบอร์แจ็ก สุดท้ายแมตช์จบลงโดยไม่มีผลการตัดสินเพราะนักมวยปล้ำข้างเวทีขึ้นมารุม หลังแมตช์ บรรดาฝ่ายธรรมะก็รีบวิ่งออกมาช่วย ซีนารีบวิ่งไปหลังเวทีเพื่อไปตามหา บิ๊กโชว์ แต่กลายเป็นเจอหมัดน็อคจนสลบไป ในโนเวย์เอาท์ ซีนาได้เจอกับ บิ๊กโชว์ ในแมตช์การปล้ำในกรงเหล็ก โดยถ้าซีนา แพ้จะต้องถูกไล่ออก และถ้า บิ๊กโชว์ แพ้ โลรีนายติส จะถูกไล่ออก[113] สุดท้ายซีนาก็เป็นฝ่ายชนะ และทำให้โลรีนายติสถูกไล่ออก หลังแมตช์โลรีนายติสจะเอาไม้เท้ามาฟาดซีนา แต่โดนจับแบก วินซ์เอาไมค์มาและจัดการ You're Fired!! ใส่หน้าโลรีนายติส แล้วซีนาก็ AA ทะลุโต๊ะปิดรายการ[114] ในรอว์ 25 มิถุนายน ซีนาออกมาล้อเลียน บิ๊กโชว์ ต่างๆ นานา คริส เจอริโค ออกมาแล้วก็ไล่ซีนา บอกว่าคืนนี้เป็นคืนที่จะต้องต้อนรับการกลับมาของชั้น ไม่ใช่ให้แกมาเล่นตลกโชว์ ซีนาบอก ตอนนี้บิ๊กโชว์ มันกำลังคลั่ง มันจะเข้าร่วมแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์ เพราะฉะนั้นชั้นจึงขอเข้าร่วมแมตช์นี้ด้วยเพื่อหยุดยั้งบิ๊กโชว์ เจอริโคบอกว่า แกจะเล่นบทฮีโร่ไปถึงไหนแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์ มันไม่ใช่เรื่องเล่นๆ มันเป็นแมตช์ที่โหดและอาจทำให้ต้องยุติอาชีพได้เลย วิคกี เกอร์เรโร ออกมา และบอกว่าจะมีแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์สองแมตช์ทั้งรอว์และสแมคดาวน์ โดยฝั่งรอว์จะอนุญาตให้เฉพาะอดีตแชมป์ WWE เท่านั้นที่จะมีสิทธิ์เข้าร่วมผู้ที่จะได้เข้าร่วมก็คือ บิ๊กโชว์, เคน, คริส เจอริโค และ ซีนา[115] ในมันนีอินเดอะแบงก์ (2012) ซีนาได้คว้ากระเป๋าเอกสารสิทธิ์ในการชิงแชมป์ WWE[116][117]",
"title": "จอห์น ซีนา"
},
{
"docid": "332473#8",
"text": "บิ๊กโชว์ได้ไปล้อเลียนเสียงแหบของจอห์น โลรีนายติส ผู้จัดการทั่วไปของรอว์และสแมคดาวน์ ในรอว์ 14 พฤษภาคม 2012 โลรีนายติสสั่งให้บิ๊กโชว์ขอโทษที่ไปล้อเลียนเสียงของโลรีนายติส โดยบอกว่าถ้าบิ๊กโชว์ไม่ขอโทษก็จะถูกไล่ออก บิ๊กโชว์ก็ยอมขอโทษและยอมคุกเข่า แต่โลรีนายติสก็ไล่บิ๊กโชว์ออก ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) บิ๊กโชว์ได้เป็นฝ่ายอธรรมโดยออกมาก่อกวนในแมตช์และช่วยโลรีนายติส และเล่นงานจอห์น ซีนาด้วยท่า WMD ทำให้โลรีนายติสชนะ ในโนเวย์เอาท์ (2012) บิ๊กโชว์ได้เจอกับซีนา ในแมตช์กรงเหล็ก โดยถ้าบิ๊กโชว์แพ้ โลรีนายติสจะถูกไล่ออก และถ้าซีนาแพ้ ซีนาก็จะถูกไล่ออก สุดท้ายบิ๊กโชว์เป็นฝ่ายแพ้ ทำให้โลรีนายติสถูกไล่ออก ในมันนี่อินเดอะแบงค์ (2012) บิ๊กโชว์ได้เข้าร่วมมันนีอินเดอะแบงก์แลดเดอร์แมตช์ ผู้ชนะจะได้เอกสารสิทธิ์ในกระเป๋าชิงแชมป์ WWE แต่ก็ไม่สำเร็จ ในรอว์ ตอนที่ 1,000 ในแมตช์ชิงแชมป์ WWE ระหว่าง จอห์น ซีนา กับ ซีเอ็ม พังก์ ผลปรากฏว่าบิ๊กโชว์มาลอบทำร้ายซีนา ทำให้ซีนาชนะฟาล์วแต่ไม่ได้แชมป์ หลังแมตช์บิ๊กโชว์กระทืบซีนาไม่ยั้ง แต่พังก์ก็ยืนดูเฉยๆ ไม่ยอมช่วย จนเดอะ ร็อกออกมาช่วยซีนา และจะใช้ People's Elbow ใส่บิ๊กโชว์ แต่พังก์ขึ้นมาโคลทส์ไลน์ใส่ร็อก และจับใส่ GTS ก่อนจะเดินจากไปท่ามกลางเสียงโห่ของคนดูและกลายเป็นฝ่ายอธรรม ในรอว์ 30 กรกฎาคม 2012 บิ๊กโชว์ได้เจอกับซีนา เพื่อหาผู้ท้าชิงแชมป์ WWE กับพังก์ ในซัมเมอร์สแลม (2012) โดยมีพังก์มานั่งเป็นผู้บรรยายอยู่ข้างเวที แต่แมตช์จบลงโดยไม่มีผลตัดสิน หลังแมตช์พังก์เตะก้านคอบิ๊กโชว์ แล้วก็เอาไมค์มาประกาศว่าไม่มีใครชนะแมตช์นี้เลย พวกมันเป็นพวกขี้แพ้ทั้งคู่ พังก์เดินกลับไป แต่เอเจออกมาประกาศให้ทั้งซีนาและบิ๊กโชว์ได้ชิงแชมป์ WWE ในรูปแบบสามเส้า สุดท้ายพังก์ป้องกันได้",
"title": "บิ๊กโชว์"
},
{
"docid": "361116#13",
"text": "เรื่องราวของ ทีมจอห์น โลรีนายติส และ ทีมทีโอดอร์ ลอง จอห์น โลรีนายติส และเดวิด โอทังกา ออกมาประกาศเรื่องสำคัญว่าเขาต้องการจะเป็นผู้จัดการควบทั้งรอว์ และสแมคดาวน์ โดยอัลเบร์โต เดล รีโอออกมาและสนับสนุนโลรีนายติส และมาร์ก เฮนรีออกมาสนับสนุนอีกคน และบอกว่าทีโอดอร์ ลองเป็นอันธพาล สองสัปดาห์ก่อนเขาทำร้ายฉันและยังสั่งแบนอีกด้วย เฮนรีบอกกับโลรีนายติสว่าเราไม่เคยเจอกัน แต่นายไม่ใช่คนที่ชอบรังแกคนอื่น ดังนั้นฉันคิดว่านายควรจะได้เป็นผู้จัดการทั้งรอว์และสแมคดาวน์ จากนั้นคริสเตียนก็ออกมาสนับสนุนอีกคน และบอกว่าเขาโดนเชมัส เล่นงานข้อเท้า และยังโดนบิ๊กโชว์อัดจนคอแทบหัก แต่ทีโอดอร์ ลองก็ยังบังคับให้ฉันออกไปปล้ำจนต้องเจ็บซ้ำอีก ดังนั้นจึงขอสนับสนุนให้โลรีนายติสมาเป็นผู้จัดการแทน จากนั้นทุกคนก็ร่วมถ่ายรูปหมู่กันเพื่อประสานความสัมพันธ์อันดี",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28"
},
{
"docid": "363008#4",
"text": "ในรอยัลรัมเบิล (2012)โคลได้เข้าร่วมรอยัลรัมเบิลโดยขึ้นมาเป็นลำดับที่ 20 แต่ก็ไม่ได้ชนะ ในรอว์ (4 มิถุนายน 2012) โคลขึ้นมาบนเวทีเพื่อสัมภาษณ์จอห์น ซีนา แต่โคลโทษซีนาว่าเป็นคนทำให้บิ๊กโชว์เปลี่ยนไป เพราะซีนาไม่ได้พยายามจะช่วยเหลือบิ๊กโชว์ในตอนที่เขาถูกไล่ออก แต่ซีนากลับออกมาเล่นตลกปัญญาอ่อนใส่จอห์น โลรีนายติส ซีนาบอกไม่ช่วยทันทีก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่ช่วย เดี๋ยวพอชนะโลรีนายติสแล้วมันถูกไล่ออก ได้ผู้จัดการคนใหม่เขาก็ต้องจ้างบิ๊กโชว์กลับมาอยู่ดี โคลบอกนายจะรู้ได้ไงว่า ผู้จัดการคนใหม่จะจ้างบิ๊กโชว์กลับมา นายมันคิดเอาเอง ชอบเอาตัวเองเป็นศูนย์กลางจักรวาล ไม่สนใจความรู้สึกของแฟนๆ และบิ๊กโชว์ ทำให้บิ๊กโชว์ต้องทำในสิ่งที่ชัวร์ที่สุดไว้ก่อนคือการเข้าร่วมกลุ่มกับโลรีนายติส และเขาจะกระทืบนายใน โนเวย์เอาท์ และรู้เอาไว้ด้วยว่านายไม่สามารถทำร้ายผู้บรรยายได้ นี่เป็นกฎข้อใหม่ โลรีนายติสออกมาและบอกว่าคืนนี้จะให้สิทธิ์ซีนาเลือกคู่ต่อสู้เอง แต่บิ๊กโชว์ไม่อยู่ที่นี่นะ เพราะเป็นวันหยุด ส่วนชั้นก็ได้รีไทร์ไปแล้ว ซีนาบอกงั้นเลือกโคลก็แล้วกัน คืนเดียวกันซีนาต้องเจอกับโคล แต่โลรีนายติสออกมาสั่งให้เป็นแมตช์ไม่มีการจับแพ้ฟาวล์แต่มีข้อแม้ว่าซีนาต้องเจอกับเทนไซก่อน แต่ซีนาก็ชนะเทนไซได้ และเจอกับโคลแบบไม่มีการจับแพ้ฟาวล์ โดยโคลแพ้",
"title": "ไมเคิล โคล"
},
{
"docid": "806221#0",
"text": "ไบรอัน ไมเยอส์ (Brian Myers; 20 เมษายน ค.ศ. 1985) นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันในนาม เคิร์ต ฮอว์กินส์ (Curt Hawkins) เขาเปิดตัวในWWEร่วมกับแซค ไรเดอร์ในนามเมเจอร์บรอเธอส์ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม ถึง 16 ธันวาคม 2007 ต่อมาพวกเขาได้มาในบทผู้ช่วยของเอดจ์ ปี 2008 ทั้งคู่ได้คว้าแชมป์แท็กทีม WWEร่วมกัน1สมัย ในปี 2011 ได้ร่วมทีมกับไทเลอร์ เร็กส์ NXT 18 เมษายน 2012 ได้แพ้เร็กส์ทำให้ถูกไล่ออกจาก WWE หลังแมตช์ วิลเลียม รีกัล ผู้จัดการทั่วไปของNXT ได้ไล่ออกทั้งคู่ NXT 9 พฤษภาคม จอห์น โลรีนายติสได้จ้างพวกเขาเป็น รปภ.ประจำNXT ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012)ทั้งคู่ได้เข้าไปคุยอยู่กับอีฟ ทอร์เรสที่หลังฉากซึ่งอีฟบอกว่าโลรีนายติสได้รับทั้งคู่กลับเข้ามาทำงานต่อได้ สิงหาคม 2012 เร็กส์ได้ออกจาก WWE ทำให้ต้องแตกทีม 12 มิถุนายน 2014 ได้ถูกไล่ออกจาก WWE ทำให้ต้องไปปล้ำตามสมาคมอิสระ ในปี 2016 ได้กลับมาWWE และได้ทำสถิติแพ้ติดต่อกันมากที่สุด",
"title": "เคิร์ต ฮอว์กินส์"
},
{
"docid": "393979#12",
"text": "หมวดหมู่:นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้จัดการและผู้จัดการส่วนตัวมวยปล้ำอาชีพ หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนมวยปล้ำอาชีพ หมวดหมู่:ผู้บริหารมวยปล้ำอาชีพ หมวดหมู่:ผู้บริหารดับเบิลยูดับเบิลยูอี",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "393979#4",
"text": "ในอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2012) โลรีนายติสออกมาพร้อมกับเดวิด โอทังกา โดยออกมาประกาศเรื่องสำคัญว่าเขาต้องการจะเป็นผู้จัดการควบทั้งรอว์และสแมคดาวน์ โดยอัลเบร์โต เดล รีโอออกมาและสนับสนุนโลรีนายติส จากนั้นมาร์ก เฮนรีออกมาสนับสนุนอีกคน และบอกว่าทีโอดอร์ ลองเป็นอันธพาล สองสัปดาห์ก่อนเขาทำร้ายฉันและยังสั่งแบนอีกด้วย เฮนรีบอกกับโลรีนายติสว่าเราไม่เคยเจอกันแต่นายไม่ใช่คนที่ชอบรังแกคนอื่น ดังนั้นฉันคิดว่านายควรจะได้เป็นผู้จัดการทั้งรอว์และสแมคดาวน์ จากนั้นคริสเตียนก็ออกมาสนับสนุนอีกคน และบอกว่าเขาโดนเชมัสเล่นงานข้อเท้า และยังโดนบิ๊กโชว์อัดจนคอแทบหัก แต่ลองก็ยังบังคับให้ฉันออกไปปล้ำจนต้องเจ็บซ้ำอีก ดังนั้นจึงขอสนับสนุนให้โลรีนายติสมาเป็นผู้จัดการแทน จากนั้นทุกคนก็ร่วมถ่ายรูปหมู่กันเพื่อประสานความสัมพันธ์อันดี[15][16] ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28 ทีมของโลรีนายติสเอาชนะทีมของทีโอดอร์ ลองไปได้ทำให้ได้เป็นผู้จัดการควบทั้งรอว์ และสแมคดาวน์ และได้ตั้งสโลแกนว่า \"People Power\"",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "429966#1",
"text": "หลังจากศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28 ซึ่ง จอห์น ซีนา แพ้ให้กับ เดอะ ร็อก ในรอว์คืนต่อมา ซีนาออกมาพูด ยอมรับว่าเขาไม่คิดมาก่อนว่าจะแพ้ แต่ก็แพ้จนได้ เขาไม่ได้ออกมาเพื่อจะขอสู้กันอีกครั้ง เพราะด่ากันไปมาปีกว่าแล้ว และก็ได้ตัดสินกันไปแล้วเมื่อคืนนี้ จอห์น ซีนา บอกว่าเขาขอยอมรับว่า เดอะ ร็อก คือสตาร์ WWE ที่ยอดเยี่ยมที่สุดในวงการ และเรียกให้ เดอะ ร็อก ออกมา แต่กลับเป็น บร็อก เลสเนอร์ ที่ออกมา และขึ้นมาประจันหน้ากับ จอห์น ซีนา เพื่อขอจับมือ ที่ไหนได้ บร็อก เลสเนอร์ จับ จอห์น ซีนา ใส่ท่าไม้ตาย F-5 ในรอว์ 9 เมษายน ซีนาออกมาขัดจังหวะ แล้วก็เดินมาตบหน้าเลสเนอร์ เลยโดนเลสเนอร์คร่อมต่อยเป็นชุดจนเลือดกบปาก ร้อนถึงสตาร์ WWE คนอื่นๆ ต้องออกมาช่วยกันจับแยก ในคืนเดียวกัน หลังจากแมตช์ของซีนา \nเลสเนอร์โผล่มาเตะผ่าหมากซีนาแล้วต่อด้วย F-5 ก่อนจะเดินจากไป ในรอว์ 23 เมษายน ซีนาและเลสเนอร์จะต้องเซ็นสัญญาเพื่อที่จะเจอกันในศึก เอ็กซ์ตรีมรูลส์ ในช่วงต้นรายการ ทีโอดอร์ ลอง ประกาศแนะนำตัว จอห์น ซีนา ออกมาก่อนจากนั้นก็ประกาศเรียก บร็อก เลสเนอร์ คนที่ออกมากลายเป็นจอห์น โลรีนายติส บอกว่าเลสเนอร์ยังมาไม่ถึงและสั่งให้ซีนากลับไปก่อน ในช่วงท้ายรายการ จอห์น โลรีนายติส ก็ได้ออกมาเตรียมการเซ็นสัญญาระหว่าง จอห์น ซีนา และ บร็อก เลสเนอร์ ในศึก เอกซ์ตรีมรูลส์ และ บร็อก เลสเนอร์ ออกมาก่อน แต่พอถึงคิว จอห์น ซีนา กลายเป็นว่ามีแต่เพลงแต่ไม่ออกมา บร็อก เลสเนอร์ นำเอาสัญญาฉบับใหม่ที่เขาต้องการแก้ไข และบอกว่าเขาไม่ใช่เด็กบ้านนอกเหมือนเมื่อ 8 ปีก่อนแล้ว ชั้นเป็นสตาร์ดังสมาคมนี้ต้องการตัวชั้นและชั้นต้องยิ่งใหญ่กว่าสมาคม ข้อแรก ชั้นต้องการเครื่องบินเจ็ตส่วนตัวของวินซ์ แม็กแมน ในการรับส่งชั้นจากบ้านไปที่สนาม ข้อ 2 ชั้นไม่ชอบถูกสัมภาษณ์ ชั้นเกลียดการพบปะผู้คน ข้อ 3 ชั้นจะมาร่วมรายการรอว์ เมื่อไหร่ก็ตามแต่ต้องการ ชั้นจะไม่เป็นเครื่องมือของแกเหมือนกับที่คนอื่น ๆ เป็น ข้อ 4 นายปรับเงินคนอื่นไปทั่ว อย่างเช่น เชมัส แต่นั่นจะไม่เกิดขึ้นกับชั้น มีแต่แกจะต้องจ่ายเงินชั้นมากขึ้นจนกว่านายจะยอมรับข้อเสนอนี้ชั้นจะไม่เซ็นสัญญาปล้ำแมตช์ในวันอาทิตย์นี้ ชั้นไม่สนใจหรอกว่าคนดูจะคิดยังไง และดูที่บรรทัดสุดท้ายให้ดี ๆ ถ้าชั้นกลายเป็นสัญลักษณ์ของรายการนี้เมื่อไหร่จะต้องเปลี่ยนชื่อรายการเป็น มันเดย์ ไนท์ รอว์ นำแสดงโดย บร็อก เลสเนอร์ ด้วย จอห์น โลรีนายติส ตอบตกลง และจับมือกับ บร็อก เลสเนอร์ ก่อนที่จะเซ็นสัญญากัน จอห์น ซีนา ออกมาโดยใส่โซ่คล้องคอมาด้วยจากนั้นก็ถอดโซ่ออกมากำไว้ในมือแต่ บร็อก เลสเนอร์ ก็ไม่กลัว บร็อก เลสเนอร์ บอกให้ จอห์น ซีนา เซ็นสัญญา บร็อก เลสเนอร์ บอกว่าแกกำลังกลัวอยู่ใช่มั้ยล่ะฉันสัมผัสได้ถึงกระแสจิตที่ออกมาจากตัวแกว่าแกกำลังกลัว จอห์น ซีนา เซ็นเสร็จแล้วก็โยนใส่เลสเนอร์ เลยทำท่าเหมือนจะต่อยกัน เลสเนอร์แค่ล้มโต๊ะ ซีนาก็สะดุ้งและถอยเล็กน้อย เลสเนอร์หัวเราะเยาะก่อนจะเดินกลับไป",
"title": "เอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2012)"
},
{
"docid": "393979#8",
"text": "โลรีนายติสได้ลาออกจากตำแหน่งรองประธานฝ่ายบุคลากรของสมาคม WWE แล้ว แต่ทั้งนี้เขาจะยังอยู่กับสมาคมต่อไปในตำแหน่งโปรดิวเซอร์ มีหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำนักมวยปล้ำในการปล้ำแต่ละแมตช์ โลรีนายติสกล่าวว่าเขารู้สึกเหนื่อยกับงานที่มากมายของเขา ทั้งต้องเข้าออฟฟิศที่สแตมเฟิร์ด, คอนเน็คติคัต และยังต้องร่วมเดินทางไปกับคณะของ WWE ตลอด แถมต้องปรากฏตัวในรายการ, เขียนบท แต่อันที่จริงแล้วเขาถูกถอดชื่อออกจากตำแหน่งไปได้สักระยะหนึ่งแล้ว โดยคนที่มาแทนก็คือ ทริปเปิล เอช ส่วนโอกาสที่เขาจะกลับมาสู่รายการโทรทัศน์ก็น่าจะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้ โดยขณะนี้ตามเนื้อเรื่องแล้วเขาถูกไล่ออกไปแล้ว แต่ก็ยังปรากฏตัวในเฮาส์โชว์อยู่ประปราย รวมถึงยังมีการวางคิวเอาไว้ให้เขาอีกหลายรายการในช่วงเดือนกันยายน เป็นต้นไป[17]",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "393979#6",
"text": "ในรอว์ 21 พฤษภาคม โลรีนายติสออกมาด้วยรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า และต้องใช้ไม้ค้ำเดิน โลรีนายติสบอกว่าเขาได้รับบาดเจ็บหนักจนร่างกายซีกซ้ายขยับไม่ได้แต่ไม่เป็นไรหรอก เพราะชั้นชนะนายแล้ว และจากการบาดเจ็บนี้ชั้นขอประกาศเลยว่านับจากนี้ไปห้ามซูเปอร์สตาร์คนไหนมาทำร้ายเขาอีก ไม่อย่างนั้นจะถูกไล่ออกทันที และขอแนะนำคู่ต่อสู้คนต่อไปของซีนา ในโนเวย์เอาท์ (2012) นั่นคือ บิ๊กโชว์ ในรอว์ 11 มิถุนายน โลรีนายติสออกมาแต่ยังไม่ทันพูดอะไร วินซ์ก็ออกมา โลรีนายติสจะขอจับมือแต่ วินซ์ไม่ยอมจับ วินซ์บอกว่า คืนนี้จะมาประเมิณผลงานของนาย ไหนลองบอกเหตุผลมาซิว่าทำไมชั้นถึงไม่ควรจะไล่แกออกในคืนนี้ โลรีนายติสบอกมีเพียงเหตุผลเดียวคือ \"People Power\" ผมจะทำให้ รอว์ ตอนที่ 1,000 เป็นวันที่ผู้ชมมีความสุขที่สุด วินซ์ถามคนดูว่าชอบมั้ย คนดูโห่ โลรีนายติสอ้างถึงความสามารถในการบริหารของตัวเองแต่ วินซ์บอกว่าแกเซ็น บร็อก เลสเนอร์ มาแล้วก็ทำให้เราถูกฟ้องถึงสองคดี นั่นเรียกว่าบริหารดีเหรอ โลรีนายติสบอก เรื่องของเลสเนอร์นั้นไม่ใช่ความผิดของผมแต่เป็น ทริปเปิลเอช ต่างหาก วินซ์บอก แล้วการเซ็นสัญญา บิ๊กโชว์กลับมาโดยให้ค่าจ้างสูงลิบลิ่วล่ะไอ้อ้วนนี่ฝีมือห่วยแตกมาตั้งแต่ปี 1999 แล้วเอามันกลับมาทำไม โลรีนายติสบอก แค่เพราะว่า DX เคยจับหัวคุณมุดใส่ตูดบิ๊กโชว์ ไม่ได้หมายความว่าเขาห่วยนะ โลรีนายติสบอกว่าสตาร์ทุกคนต่างก็เห็นผมเป็นดั่งเพื่อนของพวกเขาทั้งนั้น เชมัส ออกมา และบอกว่า โลรีนายติสช่างเป็นเพื่อนที่ดีจริงๆ ปรับเงิน 5 แสน แล้วยังบังคับให้ขอโทษเพียงเพราะชั้นวิ่งชนอีกต่างหาก วินซ์บอกว่าถ้าคืนนี้ โลรีนายติสทำผลงานได้ไม่น่าประทำใจละก็โดนไล่ออกแน่ ในช่วงท้ายรายการ วินซ์ออกมาพร้อมกับ รปภ.อีกหลายคน เพื่อมาตัดสินอนาคตของโลรีนายติส วินซ์เรียกโลรีนายติสออกมา โลรีนายติสบอกว่าไม่ต้องเอา รปภ.ออกมาด้วยก็ได้ไม่ว่าคุณจะตัดสินใจอย่างไรผมก็ไม่ทำร้ายคุณหรอก วินซ์บอก รปภ.พวกนี้ไม่ได้มีไว้สำหรับชั้นแต่มีไว้ส่งนายออกไปจากสนามออกไปจากธุรกิจของชั้น วินซ์เตรียมจะไล่โลรีนายติส ออกแต่บิ๊กโชว์ออกมาขัดจังหวะ บิ๊กโชว์บอกว่า โลรีนายติสทำสิ่งผิดพลาดไปบ้าง แต่เขาก็ทำสิ่งที่ถูกต้องคือให้สัญญาพิเศษกับชั้น ทำให้ชั้นสามารถทำอะไรก็ได้นายอาจจะไล่ชั้นออกได้แต่นั่นก็หมายความว่านายต้องจ่ายเงินหลายล้านให้กับชั้นไปอีกหลายปี โดยไม่ได้อะไรตอบแทน ที่ผ่านมาชั้นต้องแต่งตัวเป็นไอ้โน่นไอ้นี่ ทำตัวเอนเตอร์เทนเพื่อให้คนดูหัวเราะชอบใจทั้งหมดนี้ก็เป็นเพราะนายสั่งให้ชั้นทำทั้งนั้นซีนา ออกมาล้อเลียน บิ๊กโชว์และโลรีนายติส สุดท้ายซีนากับบิ๊กโชว์ ก็ต่อยกัน โลรีนายติสกับวินซ์พยายามเข้าไปห้ามแต่กลายเป็นบิ๊กโชว์ปล่อยหมัดพลาดไปน็อควินซ์ ในศึก โนเวย์เอาท์ บิ๊กโชว์ได้เจอกับซีนา โดยถ้าบิ๊กโชว์แพ้ โลรีนายติสจะถูกไล่ออก และถ้าซีนาแพ้ซีนาก็จะถูกไล่ออก สุดท้ายซีนา ก็เอาชนะมาได้ ทำให้โลรีนายติสถูกไล่ออก หลังแมตช์โลรีนายติสจะเอาไม้เท้ามาฟาดซีนา แต่โดนจับแบก วินซ์เอาไมค์มาจ และตะโกนคำว่า \"แกโดนไล่ออก\" ใส่หน้าโลรีนายติส แล้วซีนา ก็ Attitude Adjustment เล่นงานใส่โลรีนายติส ทะลุโต๊ะเป็นการปิดรายการ",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "393979#0",
"text": "จอห์น โลรีนายติส (English: John Laurinaitis) เกิดวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1962[1][2][3] เป็นโปรดิวเซอร์อาวุโสและนักมวยปล้ำอาชีพที่เกษียณอายุชาวอเมริกัน ใช้ชื่อว่า จอห์นนี เอจ (English: Johnny Ace) ทำงานอยู่กับดับเบิลยูดับเบิลยูอี(WWE) เป็นอดีตรองประธานฝ่ายบุคลากรของ WWE เป็นน้องชายของโจ โลรีนายติส (โรดวอร์ริเออร์ แอนิมอล) อดีตนักมวยปล้ำ WWE พี่ชายของมาร์คัส โลรีนายติส (เดอะเทอร์มิเนเตอร์) และมีหลานชาย เจมส์ โลรีนายติส ซึ่งยังอยู่วงการอเมริกันฟุตบอลโดยเล่นในตำแหน่งไลน์ให้กับทีม St.Louis Ram[4]",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "196281#52",
"text": "จิม คอล์เนลี (รองประธานผู้บริหาร รายการพิเศษ) [38] จอห์น โลรีนายติส (รองประธานผู้บริหารอาวุโส ความสัมพันธ์ของนักมวยปล้ำ) [39] พอล ไมเคิล เลเวสก์ (รองประธานผู้บริหาร ฝ่ายความสามารถเกี่ยวกับของนักมวยปล้ำ)[40] ไมเคิล ลูซี่ (ประธาน ฝ่ายทำภาพยนตร์ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)[41] มิคแชล ดี. วิลสัน (รองประธานผู้บริหาร ฝ่ายการตลาด) [42] ไบรอัน คาลินนาวส์กีส์ (รองประธานผู้บริหาร ฝ่ายสื่อดิจิตอล) [43]",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "345920#4",
"text": "ต่อมาได้รับบทเป็นทนายความและที่ปรึกษาของจอห์น โลรีนายติส ผู้จัดการทั่วไปของรอว์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28ได้เข้าร่วมทีมของโลรีนายติสเอาชนะทีมของทีโอดอร์ ลองในแมตช์แท็กทีม 12 คน ทำให้โลรีนายติสได้เป็นผู้จัดการทั้งรอว์และสแมคดาวน์ ก่อนจะผันตัวมาเป็นผู้บรรยาย",
"title": "เดวิด โอทังกา"
},
{
"docid": "402323#2",
"text": "ในศึกรอว์ (5 ธันวาคม ค.ศ.2011) จอห์น โลรีนายติส ผู้จัดการทั่วไปชั่วคราวของรอว์ ได้ให้ทั้ง 3 คน เซ็นสัญญาปล้ำในแมทช์การปล้ำ โต็ะ บันได และ เก้าอี้ ซึ่งก่อนเริ่มรายการ มี เดอะ มิซ อัลเบร์โต เดล รีโอ จอห์น ซีนา และ ดอลฟ์ ซิกก์เลอร์ ออกมาเถียงกัน ทำให้ จอห์น โลรีนายติส ต้องออกมาแล้วบอกว่าถ้าหาก ทั้งสี่คนเอาชนะ นักมวยปล้ำจากสแมคดาวน์ได้ ก็จะได้รับสิทธิ์ไปชิงแชมป์ WWE ใน TLC 2011 โดย เดอะ มิซ สามารถเอาชนะเคาท์เอาท์ แรนดี ออร์ตัน โดย เวด บาร์เร็ตต์ มาก่อกวน อัลเบอรฺ์โต เดล ริโอ ก็สามารถชนะ แดเนียล ไบรอัน ด้วยซับมิชชั่น ดอลฟ์ ซิกก์เลอร์ เจอ เชมัส แต่ก็แพ้ไม่ได้สิทธิ์ชิงแชมป์ WWE",
"title": "ทีแอลซี: เทเบิล แลดเดอร์ แอนด์ แชร์ (2011)"
},
{
"docid": "404168#5",
"text": "เลสเนอร์ได้กลับมา WWE ในรอว์ (2 เมษายน 2012) โดยออกมาและขึ้นมาประจันหน้ากับจอห์น ซีนาเพื่อขอจับมือ ที่ไหนได้เลสเนอร์จับซีนาใส่ท่าไม้ตาย F-5 ในรอว์ (9 เมษายน 2012) ซีนาออกมาขัดจังหวะ แล้วก็เดินมาตบหน้าเลสเนอร์ เลยโดนเลสเนอร์ คร่อมต่อยเป็นชุดจนเลือดกบปาก ร้อนถึงสตาร์ WWE คนอื่นๆ ต้องออกมาช่วยกันจับแยก ในคืนเดียวกันหลังจากแมตช์ของซีนา เลสเนอร์โผล่มาเตะผ่าหมากซีนา แล้วต่อด้วยท่า F-5 ในรอว์ (23 เมษายน 2012) ซีนาและเลสเนอร์จะต้องเซ็นสัญญาเพื่อที่จะเจอกันในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2012) ช่วงต้นรายการ ทีโอดอร์ ลองประกาศแนะนำตัวซีนาออกมาก่อนจากนั้นก็ประกาศเรียกเลสเนอร์ คนที่ออกมากลายเป็นจอห์น โลรีนายติส บอกว่าเลสเนอร์ยังมาไม่ถึง และก็สั่งให้ซีนากลับไปก่อน ช่วงท้ายรายการโลรีนายติสออกมาเตรียมการเซ็นสัญญาระหว่างซีนาและเลสเนอร์ในเอกซ์ตรีมรูลส์ และเลสเนอร์ออกมาก่อน แต่พอถึงคิวซีนา กลายเป็นว่ามีแต่เพลงตัวไม่ออกมา เลสเนอร์นำเอาสัญญาฉบับใหม่ที่เขาต้องการแก้ไข และบอกว่าเขาไม่ใช่เด็กบ้านนอกเหมือนเมื่อ 8 ปีก่อนแล้ว ชั้นเป็นสตาร์ดังสมาคมนี้ต้องการตัวชั้นและชั้นต้องยิ่งใหญ่กว่าสมาคม ข้อแรก ชั้นต้องการเครื่องบินเจ็ตส่วนตัวของวินซ์ แม็กแมน ในการรับส่งชั้นจากบ้านไปที่สนาม ข้อ 2 ชั้นไม่ชอบถูกสัมภาษณ์ ชั้นเกลียดการพบปะผู้คน ข้อ 3 ชั้นจะมาร่วมรายการรอว์ เมื่อไหร่ก็ตามแต่ต้องการ ชั้นจะไม่เป็นเครื่องมือของแกเหมือนกับที่คนอื่นๆ เป็น ข้อ 4 นายปรับเงินคนอื่นไปทั่ว แต่นั่นจะไม่เกิดขึ้นกับชั้น มีแต่แกจะต้องจ่ายเงินชั้นมากขึ้นจนกว่านายจะยอมรับข้อเสนอนี้ชั้นจะไม่เซ็นสัญญาปล้ำแมตช์ในวันอาทิตย์นี้ ชั้นไม่สนใจหรอกว่าคนดูจะคิดยังไง และดูที่บรรทัดสุดท้ายให้ดีๆ ถ้าชั้นกลายเป็นสัญลักษณ์ของรายการนี้เมื่อไหร่ จะต้องเปลี่ยนชื่อรายการเป็นมันเดย์ไนท์รอว์ นำแสดงโดยบร็อก เลสเนอร์ ด้วย โลรีนายติสตอบตกลงและจับมือกับเลสเนอร์ ก่อนที่จะเซ็นสัญญากัน ซีนาออกมาโดยใส่โซ่คล้องคอมาด้วยจากนั้นก็ถอดโซ่ออกมากำไว้ในมือแต่เลสเนอร์ ก็ไม่กลัวเลสเนอร์ บอกให้ซีนาเซ็นสัญญา เลสเนอร์บอกว่าแกกำลังกลัวอยู่ใช่มั้ยล่ะฉันสัมผัสได้ถึงกระแสจิตที่ออกมาจากตัวแกว่าแกกำลังกลัว ซีนาเซ็นเสร็จแล้วก็โยนใส่เลสเนอร์ เลยทำท่าเหมือนจะต่อยกัน เลสเนอร์แค่ล้มโต๊ะ ซีนาก็สะดุ้งและถอยเล็กน้อย เลสเนอร์หัวเราะเยาะ ก่อนจะเดินกลับไป ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์แพ้ซีนา",
"title": "บร็อก เลสเนอร์"
},
{
"docid": "332472#13",
"text": "ในรอว์ (30 เมษายน 2012) จอห์น โลรีนายติสได้เชิญบร็อก เลสเนอร์ออกมา แต่ไม่ทันไรทริปเปิลเอชก็ตามออกมา และบอกว่าออกมาเพื่อจะทำในสิ่งที่โลรีนายติสไม่กล้าทำ เลสเนอร์จะไม่ได้รับสัญญาฉบับใหม่ที่เรียกร้องเกินกว่าเหตุเครื่องบินที่รับนายมาจากบ้านจะไม่ส่งนายกลับยกเว้นนายจะจ่ายเงินเช่นเดียวกับรถลิมูซีนที่พานายมาสนามด้วยและรายการนี้ก็จะชื่อ มันเดย์ไนท์รอว์ ตลอดไปไม่มีใครใหญ่ไปกว่า WWE ชั้นต้องการให้นายอยู่ที่นี่คนดูก็ต้องการจะดูนายเจอกับนักมวยปล้ำดังๆ แต่นายจะต้องอยู่ภายใต้สัญญาฉบับแรกที่เราตกลงกันเท่านั้นสัญญาใหม่ที่นายขอแก้ไขนั้นชั้นจะไม่เซ็นให้หรอกนะ ทริปเปิลเอชฉีกสัญญาใหม่ของเลสเนอร์ทิ้งแล้วพูดต่อว่าถ้านายไม่พอใจล่ะก็จะยกเลิกสัญญาก็ได้แล้วก็จากไปพร้อมกับความพ่ายแพ้ที่มีต่อซีนา ซึ่งนายคงจะไม่อยากให้เป็นแบบนั้นใช่มั้ย โลรีนายติสพยายามพูดช่วยเลสเนอร์ แต่ทริปเปิล เอช สั่งให้โลรีนายติสหุบปากซะแต่โลรีนายติส ไม่หยุดพูด ทริปเปิลเอชเลยหันไปเอาเรื่องโลรีนายติส เลยเปิดโอกาสให้เลสเนอร์อัดทริปเปิลเอชจากด้านหลัง และโดนจับใส่ท่า คิมุระล็อก จนร้องลั่นด้วยความเจ็บปวดเพราะแขนหัก ร้อนถึงบรรดาสตาร์ฝ่ายธรรมะต้องรีบออกมาช่วย ทำให้เลสเนอร์รีบหนีลงเวทีไป จากการกระทำของเลสเนอร์ที่ใช้ท่าคิมุระล็อกใส่แขนซ้ายของทริปเปิลเอชทำให้ COO ของ WWE ได้รับบาดเจ็บและต้องเข้ารับการผ่าตัด โดยทีมแพทย์ของ WWE พบว่าแขนของเขาหัก และยังมีอาการเส้นเอ็นฉีกขาดบริเวณข้อศอกด้วย จึงจำเป็นต้องแก้ไขด้วยการผ่าตัด[38][39]",
"title": "ทริปเปิลเอช"
},
{
"docid": "393979#3",
"text": "ตลอดระยะเวลากับการทำหน้าที่นี้ เขาต้องเจอเรื่องราวมากมายและทำหน้าที่เป็นเหมือนกันชนทั้งสองฝ่ายคือนักมวยปล้ำและฝ่ายบริหาร ซึ่งเขาทำงานโดยตรงกับ วินซ์ แม็กแมน ถ้าพลาดนิดเดียวมีสิทธิ์โดนด่าได้ตลอดเวลา ซึ่งเขาก็โดนมาแล้วในช่วงเหตุการณ์ที่ ซีเอ็ม พังก์[8] เคยจะลาออก แล้วช่วงหนึ่ง แต่เขาไม่สามารถที่จะทำอะไรได้ ภายหลังเรื่องจบลงที่พังก์ต่อสัญญา นอกจากนี้ยังมีอีกหลายคนที่เคยมีปัญหากับโลรีนายติส ซึ่งสร้างความเครียดให้เขาไม่น้อย แต่ถึงยังไงเขาก็จะพยายามทำให้สมกับที่วินซ์ไว้ใจมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในเดือนตุลาคม 2011 วินซ์ได้แต่งตั้งให้โลรีนายติส เป็นผู้จัดการทั่วไปชั่วคราวของรอว์[9] ต่อมาได้มีเรื่องกับพังก์เจ้าของแชมป์ WWE[10][11][12] ในศึก รอยัลรัมเบิล (2012) โลรีนายติสได้เป็นกรรมการพิเศษในแมตช์การปล้ำชิงแชมป์ WWE ระหว่าง พังก์กับ ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ และเป็นพังก์ที่เป็นฝ่ายป้องกันแชมป์ WWE ไปได้[13][14]",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "393979#7",
"text": "ในรอว์ 18 มิถุนายน โลรีนายติสออกมากล่าวอำลาแฟนๆ บอกว่าก่อนจะถูกไล่ออกเขาได้จัดแมตช์ในศึกรอว์ คืนนี้เอาไว้ล่วงหน้าแล้ว คือ ซีนาเจอกับ บิ๊กโชว์, โอทังกา และตัวเขาเอง โดยก่อนเริ่มแมตช์ บิ๊กโชว์เอาไมค์มากล่าวขอบคุณโลรีนายติสที่มอบสัญญาพิเศษให้กับเขา แต่เขาได้พิสูจน์แล้วว่าเขาสามารถจัดการกับซีนาได้ด้วยตัวคนเดียว ดังนั้นคืนนี้เขาจะไม่ขอปล้ำแมตช์นี้ บิ๊กโชว์เดินจากไป จนเหลือเพียงโลรีนายติสกับโอทังกา สุดท้ายโลรีนายติสก็ถูกโอทังกา ทิ้งให้ปล้ำคนเดียว เพราะแกล้งทำเป็นเจ็บ ซีนาเลยจัดการใส่ Attitude Adjustment เล่นงานใส่โลรีนายติสไปสองรอบ และใส่ท่า STF จนตบพื้นยอมแพ้ไป",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "438444#1",
"text": "ในศึกรอว์ (30 เมษายน 2012) จอห์น ซีนา ออกมาโดยมีการเข้าเฝือกอ่อนที่แขนซ้าย ซีนา บอกว่า ทริปเปิล เอช แขนหัก จากการถูก บร็อก เลสเนอร์ เล่นงานหักแขน และเมื่อคืน (เอกซ์ตรีมรูลส์ 2012) ชั้นก็เจอแบบเดียวกัน แต่ตอนนี้ชั้นก็มาอยู่ที่นี่แล้ว จากการทำ MRI สแกนพบว่ากล้ามเนื้อไม่ฉีก ดังนั้นเขาจึงยังอยู่ใน ดับเบิลยูดับเบิลยูอี มันมีการเจ็บอยู่สองประเภท คือ บาดเจ็บ กับ เจ็บ ถ้าบาดเจ็บก็ต้องถูกส่งกลับบ้าน แต่ถ้าแค่เจ็บเขาก็สามารถออกมาทำในสิ่งที่เขารักได้ จอห์น โลรีนายติส ออกมา บอกว่าเขานำเอา บร็อก เลสเนอร์ กลับมาในฐานะสัญลักษณ์คนใหม่ของสมาคม และบอกว่าคนที่จะเจอกับ ซีนาในโอเวอร์เดอะลิมิตคือลอร์ด เทนไซ ขึ้นมาเตรียมจะรุมซีนา ที่ไหนได้ โลรีนายติส อัดใส่ซีนาจากด้านหลังแล้วบอกว่าคนที่จะเจอกับซีนาคือเขานั่นเอง โลรีนายติสเหวี่ยงซีนาไปอัดมุมเวที ต่อด้วยเทนไซใช้ท่า Running Senton จากนั้นโลรีนายติสกระทืบซีนา แล้วเทนไซก็ลากซีนาเอาแขนข้างเจ็บไปอัดเสาเวทีแล้วให้โลรีนายติส กระทืบซ้ำต่อด้วยเก้าอี้เหล็ก",
"title": "โอเวอร์เดอะลิมิต (2012)"
},
{
"docid": "393979#9",
"text": "ในสแมคดาวน์ 29 มีนาคม 2013 เดอะ ร็อก ออกมาทักทายแฟนๆ และโลรีนายติสได้กลับมาอีกครั้งโดยบอกว่า ทีโอดอร์ ลอง อนุญาตและบอกให้เขาออกมา โลรีนายติสบอกว่าซีนาคือต้นเหตุที่ทำให้เขาถูกไล่ออกมา และเขาอยากจะไปยืนที่มุมของร็อก ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 29 ร็อกจึงบอกว่า งั้นเดี๋ยวจะให้คนดูตัดสินใจนะ (คนดูพากันโห่) ร็อกบอกว่าเดี๋ยวเขากับโลรีนายติสจะร่วมกันส่งสัญญาณถึงซีนาด้วยกัน ทว่าก่อนหน้านั้นเราต้องมาจับมือกันก่อน พอจับมือกัน ร็อกจับโลรีนายติสใส่ Spinebuster ตามด้วย People's Elbow อีกหนึ่งดอก",
"title": "จอห์น โลรีนายติส"
},
{
"docid": "402588#0",
"text": "จอห์จ อารอน \"โจ\" โลรีนายติส () เกิดวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1960 อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เป็นอดีตนักมวยปล้ำของ WWF/E โรดวอร์ริเออร์ แอนิมอล () เคยจับคู่แทกทีมกับโรดวอริเออร์ฮอว์ก ในนามของเดอะโรดวอร์ริเออส์ หรือเลเจียนออฟดูม เป็นพี่ชายของจอห์น โลรีนายติส อดีตรองประธานของสมาคม WWE ปัจจุบันแอนิมอลได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2011 ในนามโรดวอร์ริเออส์",
"title": "โรดวอริเออร์แอนิมอล"
},
{
"docid": "438445#1",
"text": "ในรอว์ (21 พฤษภาคม 2012) จอห์น ซีนา ออกมายอมรับว่า จอห์น โลรีนายติส ชนะเขา แต่ก็โมโหกับสิ่งที่เกิดขึ้นเขาเกือบจะต้องไปจาก WWE อยู่แล้ว แต่ บิ๊กโชว์ กลับพาเขากลับมา บิ๊กโชว์ มาช่วยคนที่เพิ่งจะไล่เขาออก บิ๊กโชว์ เคยเป็นเพื่อนเขา แต่กลับมาชกหน้าเขา บิ๊กโชว์ ยอมขายวิญญาณไปแล้ว บิ๊กโชว์ ไม่น่าทำแบบนั้นเลย เพราะถ้า จอห์น โลรีนายติส ถูกไล่ออกไป ผู้จัดการคนต่อไปก็น่าจะจ้าง บิ๊กโชว์ กลับมาอยู่ดี แต่เขากลับเลือกที่จะไปเข้าข้าง จอห์น โลรีนายติส และ อีฟ ทอร์เรส ออกมาเพื่อประกาศแนะนำตัว จอห์น โลรีนายติส ซึ่งออกมาด้วยรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า และต้องใช้ไม้ค้ำเดิน จอห์น โลรีนายติส บอกว่าเขาได้รับบาดเจ็บหนักจนร่างกายซีกซ้ายขยับไม่ได้แต่ไม่เป็นไรหรอก เพราะชั้นชนะนายแล้ว และจากการบาดเจ็บนี้ชั้นขอประกาศเลยว่านับจากนี้ไปห้ามซูเปอร์สตาร์คนไหนมาทำร้ายเขาอีก ไม่อย่างนั้นจะถูกไล่ออกทันที และขอแนะนำคู่ต่อสู้คนต่อไปของซีนาในโนเวย์เอาท์นั่นคือบิ๊กโชว์ คืนเดียวกัน ซีนาต้องปล้ำแฮนดิแคป โดยจับคู่กับ เชมัส เจอกับ ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์, แจ็ก สแวกเกอร์ และ เทนไซ และมีนักมวยปล้ำฝ่ายอธรรมอยู่ข้างเวทีเป็นลัมเบอร์แจ็ค สุดท้ายแมตช์จบลงโดยไม่มีผลการตัดสินเพราะนักมวยปล้ำข้างเวทีขึ้นมารุม หลังแมตช์ บรรดาฝ่ายธรรมะก็รีบวิ่งออกมาช่วย จอห์น ซีนา รีบวิ่งไปหลังเวทีเพื่อไปตามหา บิ๊กโชว์ แต่กลายเป็นเจอหมัดน็อคไป",
"title": "โนเวย์เอาท์ (2012)"
}
] |
2317 | อี มินโฮ เกิดเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "363799#1",
"text": "ลี มิน-โฮ (; ฮันกึล: 이민호,ฮันจา: 李敏鎬) เกิดวันที่ 22 มิถุนายน 2530 เมืองโซล ประเทศเกาหลีใต้ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอนกุก เริ่มงานในวงการบันเทิงเกาหลีด้วยการเป็นนายแบบ และเริ่มผลงานการแสดง ในปี 2549 เรื่อง Secret Campus ก่อนจะมาโด่งดังเพียงชั่วข้ามคืน จากบท กู จุนพโย ซึ่งทำให้ ลี มินโฮ เป็นที่รู้จักมีแฟนคลับมากมายทั่วเอเซีย จากละครเรื่อง Boys Over Flowers ในปี 2552 โดยรับบทเป็นหัวหน้าของ F4 เวอร์ชันเกาหลี และนั่นทำให้เขากลายเป็นดาราที่โด่งดังอย่างมากของเกาหลี รวมถึงอีกหลายประเทศในเอเชีย และผลงานต่อมา ไม่ว่าจะเป็น City Hunter ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้อีมินโฮเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในประเทศจีน ในปี 2556 ละครเรื่อง The Heirs ก็ทำให้ชื่อของอีมินโฮโด่งดังสุดขีดในประเทศจีน เป็นดาราเกาหลีที่มีผู้ติดตามใน weibo มากที่สุดในปัจจุบัน ถึง 28 ล้านคน ผลงานเรื่องล่าสุดคือ Legend of The Blue Sea ซึ่งเป็นผลงานทิ้งทวนก่อนเข้ากรมรับใช้ชาติ ปัจจุบันอีมินโฮอยู่ระหว่างการเข้ากรมรับใช้ชาติเป็นทหาร ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2560 และเนื่องจากอีมินโฮเคยประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ในปี 2549 ซึ่งหลังการผ่าตัดขาของอีมินโฮก็ไม่เหมือนเดิม 100% จึงได้ปฏิบัติงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริการสาธารณะ ในพื้นที่เขตคังนัม กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นระยะเวลา 24 เดือน มีกำหนดปลดประจำการ ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2562",
"title": "อี มิน-โฮ"
}
] | [
{
"docid": "291982#0",
"text": "อี มิน-อู (; ) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวเกาหลีใต้และเป็นสมาชิกคนหนึ่งของวงชินฮวา สังกัดค่ายM rizing เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่ โซล (ประเทศเกาหลีใต้) มินอูมีพี่ชาย 1 คนและพี่สาว 1 คน จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย Dae Jhun ( Music Major ) ตำแหน่งในวงคือ ร้อง มีความสามารถพิเศษคือ การเต้น Break dancing, ร้องเพลง, Beat-box เป็นCEO Shinhwa Companyค่ายของวงตนเองร่วมกับ เอริค ปัจจุบันยังโสด",
"title": "อี มิน-อู"
},
{
"docid": "151986#0",
"text": "ไอ อีจิมะ (; 31 ตุลาคม พ.ศ. 2515 — 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) มีชื่อจริงว่า มัตสึเอะ โอกูโบะ () บางแห่งว่า \"มิตสึโกะ อิชิอิ\" เป็นนักแสดงภาพยนตร์เอวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีชีวิตยากลำบากตั้งแต่วัยเด็ก ถูกข่มขืนตั้งแต่เป็นวัยรุ่น จนต้องทำแท้ง จึงหนีออกจากบ้านไปทำงานในร้านคาราโอเกะ เป็นนักเต้นเปลือย เป็นนางแบบถ่ายรูปในนิตยสาร และแสดงในรายการโทรทัศน์สำหรับผู้ใหญ่",
"title": "ไอ อีจิมะ"
},
{
"docid": "443873#2",
"text": "อี ซึง-มันเกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2418 เกิดในครอบครัวชนชั้นปกครองที่มีทรัพย์สินพอประมาณที่จังหวัดฮวางแฮ,เกาหลี เขาเป็นน้องคนสุดท้องจากพี่น้องทั้งห้าคน แต่อย่างไรก็ตามบรรดาพี่ของเขาก็เสียชีวิตตั้งแต่อายุยังน้อย โดยครอบครัวของอีนั้นสืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์องค์ที่สามแห่งราชวงศ์โชซอน เมื่อเขาอายุได้ 2 ปี ครอบครัวของเขาก็ย้ายมายังโซล การศึกษาในช่วงเริ่มแรกของเขายังเป็นแบบธรรมเนียมโบราณคือเรียน วรรณกรรมจีน ถึงแม้ว่าเขาจะพยายามสอบเพื่อที่จะเข้ารับราชการ แต่เขาก็ไม่สามารถที่จะสอบเข้ารับราชการได้ เมื่อมีการปฏิรูปโดยยกเลิกระบบการศึกษาแบบโบราณ อีจึงเข้าไปเรียนในโรงเรียนเพเจ ซึ่งเป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นโดยมิชันนารีชาวสหรัฐอเมริกา อีเริ่มฝึกเรียนภาษาอังกฤษ และได้ทำหนังสือพิมพ์ของโรงเรียนคือหนังสือพิมพ์ \"เมอิล ซินมัน\"",
"title": "อี ซึง-มัน"
},
{
"docid": "346791#0",
"text": "ชเว มิน-โฮ (; เกิด 9 ธันวาคม ค.ศ. 1991) เป็นนักแสดงและนักร้องชาวเกาหลีใต้ มีชื่อจากการเป็นสมาชิกวงชายนี บิดาของเขาเป็นผู้กำกับทีมฟุตบอลมืออาชีพในเค-ลีก ซึ่งกำกับทีมแดจอนซิติเซน มินโฮสำเร็จการศึกษาที่ระดับมัธยมต้นย็อนซ็อง และระดับมัธยมปลายคอนกุก ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยบูซก โดยศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยคอนกุกในคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาภาพยนตร์ ค.ศ. 2010",
"title": "ชเว มิน-โฮ (นักร้อง)"
},
{
"docid": "465494#0",
"text": "เซิน หง็อก มิญ () หรือ อาจารย์เมียน เกิดเมื่อ พ.ศ. 2463 ที่จังหวัดจ่าวิญ ประเทศเวียดนาม บิดาของเขาเป็นชาวเขมร ส่วนมารดาเป็นชาวเวียดนาม ได้บวชเป็นพระภิกษุจนได้เป็นครูสอนภาษาบาลี ก่อนจะลาสึกไปเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ได้เป็นประธานคณะกรรมการปลดปล่อยประชาชนเขมรที่พระตะบอง ชื่อของเขาตั้งขึ้นเพื่อระลึกถึงเซิน หง็อก ถั่ญ ที่ขณะนั้นยังลี้ภัยอยู่ในฝรั่งเศส ส่วนชื่อภาษาเวียดนามของเขาที่เรียกกันในหมู่เพื่อนชาวเวียดนามคือ ฝั่ม วัน ฮว้า ()",
"title": "เซิน หง็อก มิญ"
},
{
"docid": "312746#0",
"text": "ไอโคนิก (; ; ) หรือ อี อายูมี (; ) หรือ ยูมิ อิโต () มีชื่อจริงว่า อายูมิ อิโต () เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2527 เคยเป็นอดีตสมาชิกเกิร์ลกรุป \"Sugar\" เกิดที่จังหวัดทตโตริ ประเทศญี่ปุ่น โดยบิดามารดาของเธอเป็นชาวเกาหลี เธอเติบโตมาทั้งสองภาษา คือ ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเกาหลี แม้ว่าเธอจะเกิดและเติบโตในประเทศญี่ปุ่น แต่เธอก็มีชื่อในภาษาเกาหลีด้วย ด้วยเหตุนี้เธอจึงเดินทางมาศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ประเทศเกาหลีใต้ที่ โรงเรียนนานาชาติเคนต์เกาหลี ซึ่งเป็นบ้านเกิดของพ่อ-แม่ของเธอเอง",
"title": "ไอโคนิก"
},
{
"docid": "150705#1",
"text": "มณีรัตน์ คำอ้วน มีชื่อเล่นว่า เอ๋ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรของโมฮัมเหม็ด ฮุสเซน บิดาชาวบังกลาเทศ กับพยอมศรี ฮุสเซน มารดาชาวไทย เดิมครอบครัวมีฐานะยากจนในจังหวัดร้อยเอ็ด เธอมีพี่สาวหนึ่งคนเกิดในบังกลาเทศชื่อ นฤดี คำอ้วน ซึ่งแยกย้ายกันหลังจากบิดาเสียชีวิต ปัจจุบันเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของสายการบินแห่งหนึ่ง",
"title": "มณีรัตน์ คำอ้วน"
},
{
"docid": "194633#1",
"text": "ปู่เย็นเกิดเมื่อปีฉลู พ.ศ. 2443 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนายสุขและนางชม แก้วมะณี นับถือศาสนาอิสลาม มีที่อยู่ตามทะเบียนราษฎรเลขที่ 274/4 ถนนมาตยาวงศ์ ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ท่านมีภรรยา 1 คนชื่อ นางเอิบ แก้วมะณี เป็นชาวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นับถือศาสนาพุทธ ทั้งสองอยู่ด้วยกันโดยไม่เปลี่ยนศาสนาและไม่มีบุตรธิดาเพราะปู่เย็นเป็นหมัน แต่ก็มีลูกสาวบุญธรรม 2 คน",
"title": "เย็น แก้วมะณี"
},
{
"docid": "486872#1",
"text": "ออสติน มาโฮน เกิดที่เมือง แซนแอนโทนีโอ, รัฐเทกซัส, สหรัฐอเมริกา วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1996 พ่อของเขาได้เสียชีวิตลง เมื่อเขาอายุได้เพียง 1 ขวบ 4 เดือนเท่านั้น ออสตินเลยได้รับการเลี้ยงดูจาก \"มิเชลล์ มาโฮน\" () แม่เพียงคนเดียวของเขา และต่อมาเขาได้เข้าเรียนที่ โรงเรียนมัธยมเลดี้เบิร์ดจอห์นสัน () ออสตินกับเพื่อนของเขา Alex Constancio เริ่มโพสต์วิดีโอลงยูทูปครั้งแรกในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 และต่อมาได้โพสต์มิวสิควิดีโอในเดือนมกราคม ค.ศ. 2011 และเขาก็ได้สร้างโซเชียลเน็ตเวิร์กเพื่ออัปเดตข่าวสาร ในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้นเอง ออสตินได้โพสต์วิดีโอที่เขาโคฟเวอร์เพลง Mistltoe ของ จัสติน บีเบอร์ ผู้คนมากมายได้เข้ามาดูโคฟเวอร์ของเขา ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากขึ้น และได้รับฉายาว่าเป็น Second Coming Of Justin Bieber",
"title": "ออสติน มาโฮน"
}
] |
139 | กัมพูชา มีเมืองหลวงชื่อว่า? | [
{
"docid": "25625#0",
"text": "พนมเปญ หรือ ภนุมปึญ (Khmer: ភ្នំពេញ ภฺนุํเพญ ออกเสียง: [pʰnum pɨɲ]; English: Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส",
"title": "พนมเปญ"
}
] | [
{
"docid": "70992#30",
"text": "กัมพูชาประชาธิปไตย (ฝรั่งเศส: Kampuchea démocratique, เขมร: កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ ก็อมปูเจียประเจียทิปะเต็ย ) คือชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลจะถูกอ้างถึงในชื่อ \"อังการ์เลอ\" (องฺคการเลี - องค์การบน หรือ หน่วยเหนือ)[1] ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"อังการ์ปะเดะวัด\" (องฺคการปฏิวัตฺติ - องค์การปฏิวัติ)[2] โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย",
"title": "ประวัติศาสตร์กัมพูชา"
},
{
"docid": "1937#1",
"text": "ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า[11] เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา",
"title": "ประเทศกัมพูชา"
},
{
"docid": "53510#2",
"text": "ธงชาติกัมพูชาในระยะต่อมาเปลี่ยนแปลงลักษณะไปตามความผันผวนทางการเมืองภายในประเทศหลายครั้ง จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ. 2536 องค์การสหประชาชาติซึ่งเข้ามาควบคุมการเปลี่ยนผ่านอำนาจในกัมพูชา ได้จัดให้มีการเลือกตั้งเพื่อลงประชามติกำหนดทิศทางของประเทศ ผลปรากฏว่า พรรคฟุนซินเปคซึ่งเป็นพรรคการเมืองแนวนิยมเจ้าชนะการเลือกตั้ง ประเทศกัมพูชาจึงกลับมาใช้ชื่อว่าราชอาณาจักรกัมพูชาอีกครั้ง และได้กำหนดให้ใช้ธงชาติช่วง พ.ศ. 2491 - 2512 เป็นธงชาติของกัมพูชาอีกครั้ง ตราบจนทุกวันนี้",
"title": "ธงชาติกัมพูชา"
},
{
"docid": "864615#67",
"text": "ชอมสกีและเพื่อนร่วมงานต่อมาเขียนหนังสือเกี่ยวกับกัมพูชาชื่อว่า \"หลังหายนะ (After the Cataclysm)\" (2522) ซึ่งพิมพ์หลังจากที่เขมรแดงหมดอำนาจแล้ว\nนักวิชาการกัมพูชาชาวอเมริกัน-กัมพูชาที่เป็นผู้ลี้ภัยด้วยกล่าวว่า \"เป็นหนังสือที่สนับสนุนการปฏิวัติของเขมรมากที่สุดเล่มหนึ่ง\" ที่ผู้เขียนสองท่าน \"ประพฤติเท่ากับป้องกันเขมรแดงโดยซ่อนอยู่ภายใต้การโจมตีสื่อ\"\nในหนังสือของชอมสกี พวกเขายอมรับว่า \"บันทึกความโหดร้ายในกัมพูชามีแก่นสารและบ่อยครั้งน่าสยดสยอง\" แต่ตั้งข้อสงสัยในจำนวน ซึ่งเชื่อว่า อาจขยาย \"เป็น 100 เท่า\"\nเพราะนโยบายการเกษตรของเขมรแดงได้มีรายงานว่าได้ผลที่ \"น่าตื่นตา\"",
"title": "มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี"
},
{
"docid": "25625#29",
"text": "หมวดหมู่:เมืองหลวงในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา",
"title": "พนมเปญ"
},
{
"docid": "509364#3",
"text": "พระมหากษัตริย์ กัมพูชา พระองค์ต่อไป ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์ก่อน และไทยก็ใช้นามเดิมเรียกว่า พระยาละแวก เคยส่งพระอนุชามาช่วยการศึกกับพม่า แต่มีเรื่องบางอย่าง ขัดพระทัยกันในภายหลัง ทำให้กัมพูชามีการปล้นเมืองชายแดน กวาดต้อนหัวเมืองสยามอีก และเมื่อพระนเรศวรขึ้นครองราชย์ ทรงตั้งพระทัยว่าจะจัดทัพ ไปตีเมืองละแวก แต่ติดศึกด้านอื่น หลังสงครามยุทธหัตถึ เสร็จศึกกับหงศาวดี และยึดได้ตะนาวศรี ทวาย มะริด พระนเรศวรมหาราช ได้จัดทัพสี่ทัพ เข้าตีกัมพูชา ทั้งทางบกและทางทะเล จนเข้าถึงเมืองละแวก เมืองหลวงขณะนั้น ในพงศาวดารบางแห่งบอกว่ามีการพิธีประถมกรรม แต่ในหลายแห่งข้อมูลสมัยใหม่ มีการวิจัยไม่ตรงกัน และมีข้อมูลว่าพระยาละแวกหนีไปทางลาว อย่างไรก็ตาม ทัพไทยได้กวาดต้อน ชาวเมือง และชาวพระราชวัง ทั้งขุนนาง และฝ่ายใน จำนวนมาก มาชุบเลี้ยงตั้งบ้านเรือนในสยาม",
"title": "สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)"
},
{
"docid": "106808#0",
"text": "กัมพูชาประชาธิปไตย ( \"กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย\"; ) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลมักเรียก \"องค์การเหนือ\" ( \"องฺคการเลี\") ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"องค์การปฏิวัติ\" (; \"องฺคการบฎิวตฺต\") โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย",
"title": "กัมพูชาประชาธิปไตย"
},
{
"docid": "532796#0",
"text": "วิทยาสถานปัจเจกวิทยากัมพูชา ( \"วิทฺยาสฺถานบจฺเจกวิทฺยากมฺพุชา\", , ; ITC) เป็นสถาบันอุดมศึกษาทางด้านเทคโนโลยีซึ่งตั้งในปี ค.ศ. 1964 ซึ่งเป็นผลจากความร่วมมือกันระหว่างกัมพูชาและสหภาพโซเวียต ขณะนั้น ใช้ชื่อว่า วิทยาสถานปัจเจกเทศชั้นสูงมิตรภาพเขมรโซเวียต (; , ) จนถึงปัจจุบันผลิตบุคคลากรไปแล้วกว่าหนึ่งหมื่นคนแล้ว ซึ่งโดยมากมักจะทำงานทางด้านเศรษฐกิจ และ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม ",
"title": "วิทยาสถานปัจเจกวิทยากัมพูชา"
},
{
"docid": "70992#20",
"text": "ยุคมืดของกัมพูชา เริ่มตั้งแต่อาณาจักรอยุธยาได้โจมตีอาณาจักรเขมร และ ได้เผา พระนคร เมืองหลวงของอาณาจักรเขมร ราบเป็นหน้ากลอง ทำให้อาณาจักรเขมรเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศตั้งแต่บัดนั้นมา เขมรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาในฐานะดินแดนประเทศราช อาณาจักรอยุธยาปกครองเขมรเป็นเวลาเกือบ 400 ปี ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์เขมรตกอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิสยามอย่างเข้มงวด ในสมัยรัชกาลที่3 ได้เกิด สงครามอานามสยามยุทธทำให้กัมพูชาเป็นรัฐอารักขาระหว่างสยามกับญวณ ก่อนที่จะตกเป็นของฝรั่งเศสในเวลาต่อมา",
"title": "ประวัติศาสตร์กัมพูชา"
},
{
"docid": "158168#6",
"text": "ในช่วงนี้ ฝรั่งเศสพยายามจะลิดรอนอำนาจของกษัตริย์กัมพูชาและเพิ่มอำนาจให้ผู้ว่าการสูงสุดของฝรั่งเศส แต่พระองค์ไม่ยินยอม พระโอรสของพระองค์คือพระยุคนธรได้เดินทางไปยังฝรั่งเศสเพื่อคัดค้านนโยบายนี้จนถูกถอดจากบรรดาศักดิ์และต้องลี้ภัยไปสยาม ฝ่ายฝรั่งเศสก็ได้ทำการย้ายเมืองหลวงจากกรุงอุดงไปที่พนมเปญซึ่งพระองค์ทรงไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งแต่ทางการฝรั่งเศสก็ได้ทำใบแจ้งเรื่องย้ายเมืองหลวงและบังคับให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยจนสำเร็จ พระองค์จึงสละราชบัลลังก์เป็นการคัดค้านการกระทำของฝรั่งเศสและเสด็จไปพำนักที่สยาม ทางการฝรั่งเศสก็ไม่ให้การสนใจต่อการเคลื่อนไหวของพระนโรดมอีกเลยและได้ให้พระสีสุวัตถิ์พระอนุชาของพระองค์ที่นิยมฝรั่งเศสขึ้นสืบสมบัติต่อ ส่วนพระนโรดมได้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2447 ที่กรุงเทพมหานคร ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทางราชสำนักสยามได้อัญเชิญพระบรมศพกลับสู่กัมพูชา พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพมีขึ้นที่กรุงพนมเปญ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าของพระองค์อยู่ในวัดอุดง",
"title": "พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร"
},
{
"docid": "116392#30",
"text": "ต้น พ.ศ. 2518 กองกำลังคอมมิวนิสต์ได้วางระเบิดตัดเส้นทางชายฝั่งแม่น้ำที่ใช้ลำเลียงอาหารและอาวุธเข้าสู่กรุงพนมเปญ[36] และนำกำลังปิดล้อมเมืองหลวงเป็นเวลา 3 เดือน เพื่อเตรียมการบุกยึด ในที่สุด หลังจากการหลบหนีออกจากกัมพูชาของนายกรัฐมนตรีลอน นอล ในเดือนมีนาคมของปีเดียวกัน และความพยายามของสหรัฐอเมริกา ที่จะนำฝ่ายคอมมิวนิสต์มาเจรจากับฝ่ายรัฐบาล ไม่เป็นผล กองกำลังพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่นำโดยกลุ่มเขมรแดงของซาลอธ ซาร์ ก็เข้าบุกยึดกรุงพนมเปญ ในเช้าตรู่วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 ซึ่งตรงกับวันปีใหม่ของชาวกัมพูชา (เหตุที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เลือกวันนี้เป็นวันบุกยึด เพราะต้องการให้ปีใหม่ปีนั้นเป็นปีเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของกัมพูชาใหม่ทั้งหมด) [37]",
"title": "เขมรแดง"
},
{
"docid": "1937#34",
"text": "กัมพูชาประชาธิปไตย (English: Democratic Kampuchea; French: Kampuchea démocratique; Khmer: កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ อ่านว่า ก็อมปูเจียประเจียทิปะเต็ย) คือชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลจะถูกอ้างถึงในชื่อ \"อังการ์เลอ\" (Khmer: អង្គការលើ; องฺคการเลี - องค์การบน หรือ หน่วยเหนือ) ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"อังการ์ปะเดะวัด\" (Khmer: អង្គការបដិវត្ត; องฺคการปฏิวัตฺติ - องค์การปฏิวัติ) โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย",
"title": "ประเทศกัมพูชา"
},
{
"docid": "1937#53",
"text": "เมืองหลวง (ราชธานี) และจังหวัด (เขต) เป็นเขตการปกครองระดับแรกสุดของประเทศกัมพูชา แบ่งเป็น 25 จังหวัด (รวมเมืองหลวง) แต่ละจังหวัดจะแบ่งเป็นเทศบาลและอำเภอ ซึ่งเป็นเขตการปกครองระดับที่สอง มีทั้งหมด 159 อำเภอ และ 26 เทศบาล แต่ละอำเภอและเทศบาลแบ่งเป็นตำบล และแต่ละตำบลแบ่งเป็นหมู่บ้าน",
"title": "ประเทศกัมพูชา"
},
{
"docid": "391427#10",
"text": "นอกจากการสนับสนุนการรุกรานและการควบคุมของเวียดนามแล้ว รวมทั้งการสูญเสียเอกราชในระหว่างนี้[13] ระบอบใหม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนที่หวาดกลัวเขมรแดง[14] แต่เมืองหลวงคือพนมเปญก็ต้องตกอยู่ในความว่างเปล่า เพราะทหารเวียดนามขนส่งสินค้ากลับไปเวียดนาม ภาพพจน์ด้านนี้ถูกนำไปเผยแพร่โดยฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา[15] อย่างไรก็ตาม การคงอยู่ของกองทัพเวียดนามก็มีประโยชน์ในการบูรณะเมืองใหม่หลังจากถูกเขมรแดงทำลายไปโดยสิ้นเชิง[16]",
"title": "สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา"
},
{
"docid": "781196#3",
"text": "ในขณะที่นักองค์เองลี้ภัยอยู่ที่กรุงเทพฯ เวียดนามเข้าไปมีอำนาจในกัมพูชา จัดให้ขุนนางเวียดนามมาปกครอง รัชกาลที่ 1 จึงโปรดให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองเขมร เป็นเวลาถึง 12 ปี จนกระทั่งรบกับเวียดนามจนได้รับชัยชนะ ตั้งเมืองหลวงที่เมืองอุดงค์มีชัยหรือเมืองบันทายเพชรได้ใน พ.ศ. 2333 สถานการณ์เหตุการณ์วุ่นวายสงบลง จึงโปรดขอพระราชทานให้นักองค์เองออกไปครองกรุงกัมพูชา เมื่อทรงอภิเษกนักองค์เองกลับไปครองกรุงกัมพูชานั้น รัชกาลที่ 1 ทรงขอหัวเมืองเขมร คือ พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน อภัยวงศ์) ปกครองโดยสิทธิ์ขาดถึงเก็บภาษีได้เอง ขึ้นการปกครองตรงต่อกรุงเทพฯ นักองค์เองทรงยินยอมดินแดนเขมรส่วนนี้จึงตกเป็นของไทยมาแต่บัดนั้น ส่วนเขมรตอนนอกนั้นนักองค์เองคงปกครองอย่างประเทศราชของกรุงสยามต่อมา",
"title": "เจ้าฟ้าทะละหะ (ปก)"
},
{
"docid": "765205#7",
"text": "พุทธศตวรรษที่ 24 ฝรั่งเศสเริ่มเข้ามามีบทบาทในอินโดจีน และใน พ.ศ. 2410 กัมพูชาก็ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส จนถึงปี พ.ศ. 2497 จึงได้อิสรภาพคืนมา และเรียกชื่อประเทศว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชา มีเมืองหลวงชื่อ พนมเปญ มีกษัตริย์ครองราชย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2483 พระนามว่า พระเจ้านโรดมสีหนุ พระเจ้านโรดมสีหนุสละราชสมบัติให้พระเจ้านโรดมสุรามฤตพระบิดาขึ้นครองราชแทน พระองค์มาตั้งพรรคการเมืองชื่อ สังคมราษฎร์นิยม และได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อพระบิดาสวรรคต จึงทรงเป็นประมุขรัฐโดยไม่ได้ครองราชย์ พระเจ้านโรดมสีหนุ ทรงคิดตั้งทฤษฎี พุทธสังคมนิยม โดยการปกครองที่ยึดหลักพุทธธรรมเป็นหลักในการบริหารประเทศ ในช่วงนี้ประเทศแถบเอเซียอาคเนย์กำลังอยู่ในภาวะการต่อสู้ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ กับลัทธิประชาธิปไตย ",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา"
},
{
"docid": "482831#0",
"text": "เมา อายุทธ นักเขียนรางวัลซีไรต์คนที่สามของกัมพูชา เกิดเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดกำปงจาม เริ่มสนใจงานเขียนตั้งแต่เรียนวิทยาลัยสีสุวัตถิ์ และหันมาศึกษาการเขียนบทภาพยนตร์ในช่วง พ.ศ. 2506 – 2508 หลังจากนั้น เขาเข้าร่วมงานกับ TVRK และได้เป็นผู้กำกับ หลังจากพนมเปญแตกใน พ.ศ. 2518 เขาถูกกวาดต้อนไปอยู่นอกเมืองหลวง และกลับสู่พนมเปญหลังจากระบอบเขมรแดงล่มสลายใน พ.ศ. 2522 และเข้าทำงานในด้านภาพยนตร์ ได้เป็นผู้อำนวยการสร้างโทรทัศน์แห่งชาติของกัมพูชาใน พ.ศ. 2537\nนอกจากงานด้านภาพยนตร์ อายุทธยังเขียนนวนิยายเกี่ยวกับสังคมละวิถีชีวิต ได้รับรางวัลวรรณกรรมซีไรต์ของประเทศกัมพูชาเมื่อ พ.ศ. 2544",
"title": "เมา อายุทธ"
},
{
"docid": "1937#24",
"text": "ยุคมืดของกัมพูชา เริ่มตั้งแต่อาณาจักรอยุธยาได้โจมตีอาณาจักรเขมร และ ได้เผา พระนคร เมืองหลวงของอาณาจักรเขมร ราบเป็นหน้ากลอง ทำให้อาณาจักรเขมรเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศตั้งแต่บัดนั้นมา เขมรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาในฐานะดินแดนประเทศราช อาณาจักรอยุธยาปกครองเขมรเป็นเวลาเกือบ 400 ปี ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์เขมรตกอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิสยามอย่างเข้มงวด ในสมัยรัชกาลที่3 ได้เกิด สงครามอานามสยามยุทธทำให้กัมพูชาเป็นรัฐอารักขาระหว่างสยามกับญวณ ก่อนที่จะตกเป็นของฝรั่งเศสในเวลาต่อมา",
"title": "ประเทศกัมพูชา"
},
{
"docid": "876750#0",
"text": "สายการบินแคมโบเดียอังกอร์แอร์ () เป็นสายการบินประจำชาติ ของประเทศกัมพูชา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่พนมเปญซึ่งเป็นเมืองหลวง เริ่มให้บริการเชิงพาณิชย์วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 มีรัฐบาลกัมพูชาเป็นเจ้าของ (51%) ร่วมกับสายการบินเวียดนามแอร์ไลน์ (49%) ซึ่งใช้ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน เครื่องบินส่วนใหญ่เช่ามาจากเวียดนามแอร์ไลน์",
"title": "แคมโบเดียอังกอร์แอร์"
},
{
"docid": "665#19",
"text": "หลังเยอรมนียอมจำนนแล้ว ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้แบ่งกรุงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีออกเป็น 4 เขตในยึดครองทางทหาร เขตฝั่งตะวันตกซึ่งควบคุมโดยฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ได้รวมกันและจัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ส่วนเขตทางตะวันออกซึ่งอยู่ในควบคุมของสหภาพโซเวียตได้จัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1949 ทั้งสองประเทศนี้ถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า \"ประเทศเยอรมนีตะวันตก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงบ็อน และ \"ประเทศเยอรมนีตะวันออก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงเบอร์ลินตะวันออก",
"title": "ประเทศเยอรมนี"
},
{
"docid": "353070#3",
"text": "น้ำ ข้าว และปลาน้ำจืดเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลมากต่ออาหารกัมพูชา แม่น้ำโขงไหลผ่านใจกลางประเทศกัมพูชา เมืองหลวงของประเทศคือพนมเปญตั้งอยู่ระหว่างจุดตัดของแม่น้ำโขงกับแม่น้ำโตนเลสาบและแม่น้ำบาสัก ทำให้กัมพูชามีปลาน้ำจืดอุดมสมบูรณ์ และเหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในปัจจุบันอาหารกัมพูชามีความใกล้เคียงกับอาหารของประเทศเพื่อนบ้านคืออาหารไทยในด้านการใช้พริก น้ำตาลหรือกะทิ และอาหารเวียดนามในด้านที่ได้รับอิทธิพลจากอาหารฝรั่งเศสเช่นกัน และยังได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนอีกด้วย โดยเฉพาะอาหารจำพวกที่ใช้เส้นก๋วยเตี๋ยว อาหารจำพวกแกงที่ในภาษาเขมรเรียกว่า \"การี\" (ការី) แสดงถึงอิทธิพลของอาหารอินเดีย และยังมีอิทธิพลบางส่วนจากอาหารโปรตุเกสและอาหารสเปน ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขาย อย่างไรก็ตามอาหารกัมพูชาไม่ได้มีรสจัดเท่าอาหารไทย อาหารลาว และอาหารมาเลเซีย",
"title": "อาหารกัมพูชา"
},
{
"docid": "385544#0",
"text": "รัฐบาลเฉพาะกาลเพื่อสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา (Provisional Government of National Union and National Salvation of Cambodia: PGNUNSC) เป็นรัฐบาลเฉพาะกาลที่ตั้งขึ้นโดยเขมรแดงเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เพื่อต่อต้านการจัดตั้งราชอาณาจักรกัมพูชา นายกรัฐมนตรีคือ เขียว สัมพัน ซึ่งเป็นหัวหน้ากองทัพด้วย ส่วนรัฐมนตรีต่างประเทศคือซอน เซน ทีมงานเป็นสมาชิกพรรคสามัคคีแห่งชาติกัมพูชา บริเวณที่ควบคุมได้คือจังหวัดไพลิน (เมืองหลวงของรัฐบาลเฉพาะกาล)และจังหวัดพระวิหาร (ที่ตั้งของกองทัพ) สถานีวิทยุของเขมรแดงเป็นที่รู้จักว่าเป็นวิทยุของรัฐบาลเฉพาะกาลเพื่อสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา รัฐมนตรีอื่นๆได้แก่ จัน ยัวราน มัก เบน อิน โซเพียบ กอร์บุนเฮง พิช เชียง และเชา เชือน.",
"title": "รัฐบาลชั่วคราวสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา"
},
{
"docid": "510183#2",
"text": "หลังกรุงแตก นักองค์โนนร่วมกับก๊กของพระยาตาก จนสามารถสถาปนากรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงได้สำเร็จ หลังจากนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพยายามที่จะช่วยสถาปนานักองค์โนนให้เป็นกษัตริย์กัมพูชา โดยยกทัพไปตีเมืองบันทายเพชรถึงสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2312 แต่ไม่ทันสำเร็จ มีข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จสวรรคต จึงเลิกทัพกลับมาก่อน อีกครั้งหนึ่งใน พ.ศ. 2314 ซึ่งหลักฐานทางฝ่ายไทยกล่าวว่าตีได้เมืองบันทายเพชร นักองค์ตนหนีไปเวียดนาม จึงอภิเษกให้นักองค์โนนขึ้นเป็นกษัตริย์กัมพูชา แต่หลักฐานทางกัมพูชากล่าวว่า สยามตีเมืองบันทายเพชรไม่สำเร็จ จึงให้นักองค์โนนประทับอยู่ที่เมืองกำปอต จน พ.ศ. 2318 เวียดนามที่สนับสนุนนักองค์ตนอ่อนแอลง นักองค์ตนจึงถวายราชสมบัติแก่นักองค์โนน",
"title": "สมเด็จพระรามราชาธิราชแห่งกัมพูชา"
},
{
"docid": "476337#0",
"text": "พรรคนโรดม รณฤทธิ์ (Norodom Ranariddh Party; NRP) เป็นพรรคการเมืองที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยพระนโรดม รณฤทธิ์ หลังจากที่พระองค์แยกตัวออกมาจากพรรคฟุนซินเปกที่พระองค์เคยเป็นผู้นำอยู่ เดิมพรรคนี้ชื่อพรรคแห่งชาติเขมร และเปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคนโรดม รณฤทธิ์เมื่อ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และให้พระนโรดม รณฤทธิ์เป็นหัวหน้าพรรค ในช่วง พ.ศ. 2551 – 2553 พรรคนี้ใช้ชื่อว่าพรรคชาตินิยม\nพรรคนี้มีแนวคิดทางการเมืองหลายอย่างอยู่ด้วยกัน อย่างแรกคือแนวคิดฝ่ายขวาสนับสนุนการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกัมพูชา ปรับปรุงเมืองหลวงคือพนมเปญให้มีความทันสมัย คงไว้ซึ่งเชื้อชาติ ภาษาและวัฒนธรรมเขมร ลดการขึ้นราคาสินค้าและการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ในทำนองเดียวกัน มีนโยบายฝ่ายซ้ายด้วย เช่น ส่งเสริมสิทธิของผู้ใช้แรงงาน รวมทั้งแนวคิดเสรีนิยม ในการสนับสนุนเสรีภาพ ประชาธิปไตยและการใช้กฎหมาย\nพรรคนี้ได้จัดตั้งกลุ่มพันธมิตรกับพรรคสมรังสี พรรคฟุนซินเปกและพรรคสิทธิมนุษยชน เพื่อต่อสู้กับพรรคประชาชนกัมพูชาแต่ก็เป็นฝ่ายแพ้การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2551 ซึ่งพรรคเหล่านี้กล่าวหาว่าพรรคประชาชนกัมพูชาทำให้การเลือกตั้งไม่เป็นธรรม ",
"title": "พรรคนโรดม รณฤทธิ์"
},
{
"docid": "550805#0",
"text": "นกกระจิบกัมพูชา () เป็นชนิดของนกซึ่งถูกค้นพบในกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ในปี 2552 ระหว่างการสืบสวนไข้หวัดนก ในปี 2556 มีการกำหนดให้เป็นชนิดใหม่และมีการอธิบายอย่างเป็นทางการ นกกระจิบกัมพูชาเป็นนกเล็ก มีปอยสีส้มแดงบนหัว นกกระจิบกัมพูชาเป็นสัตว์ประจำถิ่นของประเทศกัมพูชา ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะจำกัดอยู่เฉพาะถิ่นที่อยู่ไม้พุ่มดกในที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึงของแม่น้ำโขง",
"title": "นกกระจิบกัมพูชา"
},
{
"docid": "165075#0",
"text": "เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย ( \"ฎบ่บฺรำพีรเมสามหาโชคชัย\") เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชา ในสมัยที่ใช้ชื่อว่า \"กัมพูชาประชาธิปไตย\" แต่งขึ้นเพื่อระลึกถึงความสำเร็จในการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมร และการสถาปนารัฐกัมพูชาใหม่ในนาม \"กัมพูชาประชาธิปไตย\" เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 เนื้อหากล่าวถึงการเสียสละของเหล่านักรบทั้งชายและหญิงในการก่อตั้งรัฐกัมพูชาและสังคมใหม่ และประกาศปณิธานว่าจะทำให้กัมพูชามีความรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่กว่าสมัยพระนคร ",
"title": "สิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย"
},
{
"docid": "84590#11",
"text": "อำเภอพนัสนิคมแบ่งออกเป็น 20 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้านรวม 185 หมู่บ้าน\nท้องที่อำเภอพนัสนิคมประกอบด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น 20 แห่ง ได้แก่นิทานเรื่องพระรถ-เมรี แพร่หลายในหมู่ชาวสองฝั่งโขง ยังบอกเล่าเรื่องพระรถ-มรี กับสถานที่ต่างๆที่นั่นด้วยจนทุกวันนี้ \nเรื่องพระรถ-เมรีนี้จัดเป็นชาดกนอกนิบาต ซึ่งหมายถึงชาดกที่แต่งขึ้นโดยอาศัยเค้าโครงจากนิทานพื้นบ้าน และไม่พบต้นฉบับในพระไตรปิฎก เรื่องพระรถกับนางเมรีนี้คงเป็นของผู้คนแถบสองฝั่งโขงมาแต่ดึกดำบรรพ์ จึงได้ถูกบันทึกไว้ในรูปของชาดกเรื่องหนึ่ง โดยพระสงฆ์ชาวเชียงใหม่ ราว พ.ศ. 2000 ถึง 2200 และจดไว้ในใบลานจำนวน 50 ผูก รู้จักกันในชื่อว่า “ปัญญาสชาดก”\nในคำอธิบายต้นเล่ม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกไว้ว่าคัมภีร์ปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนฃาดก “เดี๋ยวนี้เห็นจะมีอยู่แต่ในประเทศสยาม กับที่เมืองหลวงพระบางแลที่กรุงกัมพูชา” ซึ่งก็หมายความว่านิทานเหล่านี้น่าจะจัดเป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ของดินแดนสุวรรณภูมินั่นเองในปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนชาดก เรียกนางเมรีว่า นางกังรี แล้วยังมีฉบับอื่นๆ อีกมากมายที่เรียกชื่อตัวละครเพี้ยนกันไปต่างๆ เช่นในพงศาวดารล้านช้างเรียกนางเมรีว่า นางกางรี ",
"title": "อำเภอพนัสนิคม"
},
{
"docid": "767148#0",
"text": "เพลงชาติสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชา ในสมัยที่ใช้ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา\". เรียบเรียงทำนองโดย Sok Udom Deth. ภายหลังการโค่นล้มรัฐบาลเขมรแดง โดยกองทัพประชาชนเวียดนาม; ข้อมูลบางแหล่งจากซีกโลกตะวันตกได้กล่าวถึง เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย ใช้เป็นเพลงชาติของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายจนถึง พ.ศ. 2536",
"title": "เพลงชาติสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา"
},
{
"docid": "53510#3",
"text": "ประเทศกัมพูชาได้มีธงประจำพระองค์พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ธงนี้เรียกชื่อว่า \"ธงมหาราช\" เช่นเดียวกับในภาษาไทย ในสมัยราชอาณาจักรกัมพูชายุค พ.ศ. 2491 -2512 ธงนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยม พื้นนอกสีแดง พื้นในสีน้ำเงิน กลางเป็นรูปตราแผ่นดินของกัมพูชาอย่างย่อ ในแบบลายเส้นสีทอง ต่อมาเมื่อมีการฟื้นฟูราชอาณาจักรอีกครั้งใน พ.ศ. 2536 จึงได้เปลี่ยนธงใหม่เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางเป็นรูปตราแผ่นดินของกัมพูชา ซึ่งใช้สืบมาจนถึงทุกวันนี้",
"title": "ธงชาติกัมพูชา"
}
] |
110 | ธงชาติจีนมีดาวอยู่บนธงกี่ดวง ? | [
{
"docid": "28986#1",
"text": "ธงชาติสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมธงบนด้านต้นธงมีรูปดาวสีเหลือง 5 ดวง ลักษณะเป็นรูปดาวดวงใหญ่ 1 ดวง ล้อมรอบด้วยดาวดวงเล็กอีก 4 ดวง",
"title": "ธงชาติจีน"
}
] | [
{
"docid": "168184#0",
"text": "ธงชาติหมู่เกาะโซโลมอน เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวทแยงมุม จากมุมล่างด้านคันธงไปยังมุมบนด้านปลายธง ครึ่งบนพื้นสีน้ำเงิน ครึ่งล่างพื้นสีเขียวแก่ ระหว่างทั้งสองส่วนดังกล่าวมีแถบยาวสีเหลืองแบ่งทั้งสองสีออกจากกัน ที่มุมธงบนด้านคันธงในพื้นสีน้ำเงินนั้น มีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 5 ดวง เรียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ธงนี้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520",
"title": "ธงชาติหมู่เกาะโซโลมอน"
},
{
"docid": "110168#0",
"text": "ธงชาติฟิลิปปินส์ () มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ตอนต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว ภายในมีรูปดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาวห้าแฉก 3 ดวง ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม รูปเหล่านี้เป็นสีทอง ส่วนทีเหลือของธงนั้นเป็นแถบแบ่งครึ่งตามด้านยาวของธง ครึ่งบนพื้นสีน้ำเงิน ครึ่งล่างพื้นสีแดง หากแถบทั้งสองสีนี้สลับตำแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่บน แถบสีน้ำเงินอยู่ตอนล่าง แสดงว่าประเทศฟิลิปปินส์อยู่ในภาวะสงคราม",
"title": "ธงชาติฟิลิปปินส์"
},
{
"docid": "849439#0",
"text": "ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นธงพื้นสีน้ำเงิน ภายในมีสามเหลี่ยมสีเหลืองที่ด้านมุมฉากอยู่ด้านบนธง ด้านตรงข้ามมุมฉากประดับด้วยดาวห้าแฉกสีขาวเต็มดวง 7 ดวง ส่วนปลายของด้านตรงข้ามมุมฉากทั้งสองด้านมีดาวห้าแฉกสีขาวครึ่งดวง 2 ดวง โดยสามเหลี่ยมแทนกลุ่มชนหลักสามกลุ่มในประเทศ ได้แก่ ชาวบอสนีแอก, ชาวโครแอตและชาวเซิร์บ นอกจากนี้ยังใช้แทนดินแดนของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ดาวแทนทวีปยุโรปและการเรียงตัวของดาวแทนจำนวนที่ไม่สิ้นสุด สีน้ำเงินและสีเหลืองมาจากธงยุโรปที่ใช้ในสภายุโรปและสหภาพยุโรป สีของธง 3 สีคือขาว, น้ำเงินและเหลืองแทนความเป็นกลางและสันติภาพ",
"title": "ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา"
},
{
"docid": "168315#0",
"text": "ธงชาติหมู่เกาะคุก มีลักษณะตามแบบธงของอดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก กล่าวคือ พื้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงิน มีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง (ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร) ในพื้นสีน้ำเงินนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 15 ดวง เรียงเป็นรูปวงแหวน รูปธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นหมายถึงประวัติศาสตร์ชาติผูกพันอยู่กับสหราชอาณาจักร ซึ่งเคยเป็นผู้ปกครองหมู่เกาะคุกในฐานะรัฐในอารักขามาก่อน และหมายถึงความเป็นสมาชิกในเครือจักรภพของหมู่เกาะคุก ดาว 15 ดวง หมายถึงจำนวนเกาะทั้ง 15 เกาะของหมู่เกาะคุก พื้นสีน้ำเงินหมายถึงท้องทะเลและธรรมชาติความเป็นผู้รักสงบของชาวหมู่เกาะคุก",
"title": "ธงชาติหมู่เกาะคุก"
},
{
"docid": "171244#1",
"text": "ธงของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางได้ถือว่าเป็นธงชาติของเอลซัลวาดอร์มาจนถึงปี พ.ศ. 2408 จึงได้เปลี่ยนมาใช้ธงที่มีรูปแบบอย่างธงดาวและริ้วของสหรัฐอเมริกา ลักษณะเป็นธงริ้วสีฟ้าสลับขาวรวม 9 ริ้ว มีรูปดาวสีขาว 12 ดวงในสี่เหลี่ยมสีแดงที่มุมธงบนด้านคันธง ถึงปี พ.ศ. 2455 จึงได้เปลี่ยนกลับมาใช้ธงลักษณะคล้ายธงชาติยุคแรกอีกครั้ง ซึ่งได้แก่ธงชาติเอลซัลวาดอร์ในปัจจุบัน แต่รูปตรากลางธงนั้นคือตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายตราของสหมณฑลอเมริกากลางมาก",
"title": "ธงชาติเอลซัลวาดอร์"
},
{
"docid": "127499#1",
"text": "ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการเปลี่ยนธงชาติตูวาลูเป็นแบบที่ไม่อิงกับลักษณะของธงเรือสหราชอาณาจักร โดยเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบใหญ่ แถบกลางสีฟ้า ขนาบด้วยขอบสีขาวขนาดเล็ก แถบบนและแถบล่างเป็นสีแดง ที่แถบสีฟ้าด้านติดคันธงมีรูปสามเหลี่ยมสีขาว ภายในมีภาพตราแผ่นดิน บนพื้นธงนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 9 ดวง พาดผ่านเป็นรูปแผนที่ประเทศตูวาลูดังที่ปรากฏในธงชาติแบบปัจจุบัน ธงนี้ไม่ได้เป็นที่ยอมรับจากประชาชน เนื่องจากเห็นว่าเป็นการนำประเทศออกห่างจากราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งเป็นที่นับถือของประชาชน ไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ ธงนี้จึงถูกยกเลิกไปในปี พ.ศ. 2540 และมีการนำธงเดิมกลับมาใช้ โดยมีการปรับปรุงแบบธงเล็กน้อย",
"title": "ธงชาติตูวาลู"
},
{
"docid": "97167#8",
"text": "ในธง \"ท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง\" ของลู่เฮาตง รัศมีทั้ง 12 แฉกของดวงอาทิตย์สีขาวหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนและระบบการแบ่งเวลาเป็น 12 ชั่วโมงแบบจีน (時辰, shíchén) ซึ่ง 1 ชั่วโมงจีนเท่ากับ 2 ชั่วโมงสากล ดังนั้น 12 ชั่วโมงจีนจึงเท่ากับ 24 ชั่วโมงสากล หรือเวลาใน 1 วัน ต่อมา ดร. ซุนยัดเซ็นได้เพิ่ม \"แผ่นดินอุดมสีแดง\" หรือพื้นสีแดง เพื่อหมายถึงเลือดของนักปฏิวัติผู้เสียสละตนเองเพื่อโค่นล้มรัฐบาลราชวงศ์ชิงและสถาปนาสาธารณรัฐจีน นอกจากนั้นธงนี้ยังได้สือความหมายของหลักลัทธิไตรราษฏร์ของ ดร. ซุนยัตเซ็นไว้ ดังนี้จะเห็นได้ว่าความหมายของสีทั้งสามในธงชาติสาธารณรัฐจีนมีแนวคิดเดียวกับหลักการ \"เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ\"(Liberté, égalité, fraternité) ของประเทศฝรั่งเศส แล้วธงก็มีลักษณะคล้ายคลึงธงชาติสหรัฐอเมริกาคือ สีแดงตรงผืนใหญ่ และข้างบนซ้ายจะมีนำเงิน ดวงอาทิตย์ขาวซึ่งคล้ายกันมากแต่ก็ต่างกันมากเช่นกัน",
"title": "ธงชาติสาธารณรัฐจีน"
},
{
"docid": "154493#2",
"text": "\"ธงชาติแห่งสาธารณรัฐ (ปานามา) ประกอบด้วยพื้นธงที่แบ่งภายในเป็น 4 ส่วน กล่าวคือ ส่วนมุมบนด้านคันธงเป็นพื้นสีขาวมีรูปดาวห้าแฉกสีน้ำเงิน 1ดวง ส่วนมุมบนด้านปลายธงเป็นพื้นสีแดงเปล่า ส่วนมุมล่างด้านคันธงพื้นสีน้ำเงินเปล่า ส่วนมุมล่างด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาวมีดาวห้าแฉกสีแดง 1 ดวง\" ",
"title": "ธงชาติปานามา"
},
{
"docid": "231864#0",
"text": "ธงชาติเวเนซุเอลา มีพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้เพื่อเอกราชชาติตั้งแต่ ค.ศ. 1811 ลักษณะของธงโดยพื้นฐานในแต่ละยุคเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แถบบนสีเหลือง แถบกลางสีน้ำเงิน แถบล่างสีแดง ส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะในแต่ละยุคนั้นได้แก่การจัดรูปกลุ่มดาว จำนวนของดาว และการเพิ่มดวงตราแผ่นไว้ที่ส่วนมุมธงบนด้านคันธง สำหรับแบบธงที่ปรากฏในปัจจุบันนั้นเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 2006",
"title": "ธงชาติเวเนซุเอลา"
},
{
"docid": "313958#0",
"text": "ธงชาติชิลี หรือที่รู้จักกันในอีกชื่อ คือ \"ธงดาวเดียว\" () ประกอบด้วยแถบแนวนอนสองแถบขนาดเท่ากัน แถบบนสีขาว แถบล่างสีแดง รวมกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีน้ำเงิน ขนาดกว้างเท่ากับแถบสีขาว ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ 1 ดวง ลักษณะดังกล่าวมานี้นับได้ว่าธงนี้มีความคล้ายคลึงกับธงประจำรัฐเทกซัสของประเทศสหรัฐอเมริกามาก",
"title": "ธงชาติชิลี"
},
{
"docid": "313888#1",
"text": "อนึ่ง แม้ประเทศโบลิเวียจะเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล แต่โบลิเวียก็มีธงนาวีใช้สำหรับเรือตรวจการณ์ในลำน้ำและทะเลสาบด้วยเช่นกัน ลักษณะของธงนาวีเป็นธงพื้นสีฟ้า มีรูปธงชาติโบลิเวียที่มุมธงบนด้านคันธง ล้อมด้วยรูปดาวห้าแฉกสีเหลืองขนาดเล็ก 9 ดวง และมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลืองขนาดใหญ่ที่ด้านชายธง ดวงดาวเล็กทั้งเก้าดวงนั้นเป็นตัวแทนของเขตการปกครองทั้ง 9 เขตของโบลืเวีย ส่วนดาวดวงใหญ่หมายถึงสิทธิของประเทศในเดินเรือในทะเล ซึ่งโบลิเวียได้สูญเสียสิทธิดังกล่าวไปในสงครามแห่งมหาสมุทรแปซิฟิกในปี ค.ศ. 1884",
"title": "ธงชาติโบลิเวีย"
},
{
"docid": "164779#0",
"text": "ธงชาติบูร์กินาฟาโซ เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งตามแนวนอน ครึ่งบนพื้นสีแดง ครึ่งล่างพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2527 หลังเหตุการณ์รัฐประหารในปีนั้น ซึ่งนำโดยร้อยเอกโตมาส์ ซังการา (Thomas Sankara - ต่อมาคือประธานาธิบดีคนแรกของประเทศนี้) สีในธงนี้ถือเป็นสีพันธมิตรแอฟริกาเช่นเดียวกับธงในหลายประเทศ ซึ่งมีต้นแบบมาจากธงชาติเอธิโอเปีย โดยสีแดงหมายถึงการต่อสู้ในการปฏิวัติประเทศ สีเขียวหมายถึงความหวังและความอุดมสมบูรณ์ ดาวสีเหลืองหมายถึงความมั่งคั่งด้วยทรัพยากรแร่ธาตุของประเทศ",
"title": "ธงชาติบูร์กินาฟาโซ"
},
{
"docid": "97167#4",
"text": "ระหว่างการจลาจลอู่จางในปี ค.ศ. 1911 (พ.ศ. 2454) ซึ่งนำไปสู่การสถาปนาสาธารณรัฐจีน กองทัพปฏิวัติในที่ต่างๆ ได้ใช้ธงเป็นเครื่องหมายของตนเองอย่างหลากหลาย โดยธง \"ท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง\" ของลู่เฮาตุงนั้นใช้อยู่ในพื้นที่มณฑลกวางตุ้ง มณฑลกวางสี มณฑลยูนนาน และมณฑลกุ้ยโจว ส่วนธงมีรูปดาวสีเหลือง 18 ดวงมีการใช้เป็นธงกองทัพเพื่อแทนมณฑลการปกครองทั้ง 18 มณฑลในเวลานั้น ในพื้นที่เมืองเซี่ยงไฮ้และภาคเหนือของจีนได้ใช้ \"ธงห้าสี\" (五色旗, wǔ sè qí) (The \"Five Races Under One Union\" flag, ธง \"ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ\") เป็นเครื่องหมาย โดยใช้แถบห้าสีแนวนอนแทนสัญลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์หลัก 5 กลุ่มของจีน อันได้แก่ ชาวฮั่น (สีแดง) ชาวแมนจู (สีเหลือง) ชาวมองโกล (สีฟ้า) ชาวหุย (สีชาว) และชาวทิเบต (สีดำ)\nเมื่อได้มีการจัดตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐจีนขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1912 (พ.ศ. 2455) ก็ได้มีการเลือกใช้ \"ธงห้าสี\" เป็นธงชาติจีนโดยวุฒิสภาเฉพาะกาลของรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ส่วน ได้จัดให้เป็นธงประจำกองทัพ และ \"ธงท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง ปฐพีแดง แผ่นดินอุดม\" ใช้เป็นธงนาวี (ธงชาติประจำกองทัพเรือ) อย่างไรก็ตาม ดร. ซุนยัตเซ้นเห็นว่าการเลือกเอาธงห้าสีเป็นธงชาตินั้นไม่เหมาะสม เพราะลำดับของการเรียงแถบสีในธงห้าสีนั้นมีนัยยะถึงการจัดลำดับชนชั้นทางสังคมของชนชาติต่างๆ ในจีนยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์",
"title": "ธงชาติสาธารณรัฐจีน"
},
{
"docid": "137699#9",
"text": "ภายหลังเมื่อต้นเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ได้มีการเสนอแบบธงชาติใหม่ โดยยกเอาดาวห้าแฉก 3 ดวงสีเขียว อันเป็นสัญลักษณ์ของพรรคบะอัธในธงชาติเดิมออก และแทนที่ด้วยรูปวงกลมสีเหลืองซ้อนทับบนดาวแปดแฉกสีเขียว ที่ระหว่างข้อความภาษาอาหรับ \"อัลลอหุ อักบัร\" เพื่อแทนความหมายถึงชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดในอิรัก นอกจากนี้ยังมีการเสนอแบบธงใหม่อีกแบบหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันกับธงชาติช่วง พ.ศ. 2547-2551 แต่เปลี่ยนสีตัวอักษรภาษาอาหรับในธง จากเดิมสีเขียว ให้เป็นสีเหลือง เพื่อให้มีความหมายถึงชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดด้วยเช่นกัน และได้เปลี่ยนนิยามความหมายของดาว 3 ดวงในธงเป็น \"สันติภาพ ขันติธรรม และยุติธรรม\"",
"title": "ธงชาติอิรัก"
},
{
"docid": "115732#0",
"text": "ธงชาตินิวซีแลนด์ มัลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน มีภาพธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง ที่ด้านปลายธงมีรูปดาวห้าแฉกสีแดงขอบขาวรวม 4 ดวง เรียงเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ตามที่ปรากฏบนท้องฟ้าของประเทศนิวซีแลนด์ ",
"title": "ธงชาตินิวซีแลนด์"
},
{
"docid": "92030#1",
"text": "ซึ่งต่างจากธงชาติที่ใช้ในพวกกลุ่มอาณานิคมอังกฤษ โดยที่ธงชาตินีวเวมีดาวเหลือง 5 ดวง โดยดาวดวงที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในวงกลมสีนำเงินกลางธงยูเนียนแจ็ก มุมบนซ้ายฝั่งคันธงของกากบาทเซนต์จอร์จมุมบนซ้าย และมีดาวดวงเล็ก 4 ดวงล้อมรอบที่แขนของกากบาทเซนต์จอร์จ",
"title": "ธงนีวเว"
},
{
"docid": "127499#0",
"text": "ธงชาติตูวาลู มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีฟ้า ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีรูปดาวสีเหลือง 9 ดวง หมายถีงเกาะทั้ง 9 เกาะ ซึ่งรวมกันเป็นประเทศตูวาลู รูปดาวนี้เรียงเป็นแผนที่ของประเทศตูวาลู ซึ่งจะสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนหากเอาธงแขวนตามแนวตั้ง ลักษณะธงอย่างนี้คล้ายคลึงกับธงของอีกหลายประเทศที่เป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร ซึ่งมักจะมีภาพของธงชาติสหราชอาณาจักรประกอบอยู่ด้วย ธงนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศนี้ได้รับเอกราชโดยเป็นประเทศในเครือจักรภพในปี พ.ศ. 2521 โดยก่อนหน้านี้ได้ประกาศแยกตัวจากหมู่เกาะกิลเบิร์ต (ประเทศคิริบาสในปัจจุบัน) เมื่อ พ.ศ. 2519 ในช่วงเวลาก่อนหน้าที่ตูวาลูจะเป็นประเทศในเครือจักรภพนั้น ได้ใช้ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะเอลลิส (ชื่อประเทศในขณะนั้น) ภายในวงกลมสีขาว เป็นธงสำหรับดินแดน",
"title": "ธงชาติตูวาลู"
},
{
"docid": "170385#0",
"text": "ธงชาติเกรนาดา ที่ใช้ในปัจจุบัน เริ่มใช้เมื่อประเทศเกรนาดาได้ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ตอนในแบ่งเป็นสี่ส่วนตามแนวทแยงที่เรียกว่ากางเขนนักบุญแอนดรูว์ ภายในช่องซ้ายและขวาเป็นพื้นสีเขียว ช่องบนและช่องล่างเป็นพื้นสีเหลือง ตรงกลางเป็นวงกลมสีแดงมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง ที่ช่องสีเขียวฝั่งซ้ายมีภายใบลูกจันทน์เทศ 1 ใบ พื้นธงชั้นนอกเป็นขอบสีแดง ในขอบนั้นมีดาวห้าแฉกสีเหลือง 6 ดวง อยู่ด้านบน 3 ดวง ด้านล่าง 3 ดวง",
"title": "ธงชาติเกรเนดา"
},
{
"docid": "128209#1",
"text": "ก่อนที่เยเมนจะรวมเป็นประเทศเดียวกันอย่างในปัจจุบันนี้ เยเมนได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ คือ เยเมนเหนือและเยเมนใต้ ประเทศเยเมนเหนือนั้น ในสมัยที่ยังใช้ชื่อว่าราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน ได้ใช้ธงพื้นแดงมีดาวขาว 5 ดวง โดยดาว 4 ดวงวางที่มุมธง ตรงกลางธงมีดาว 1 ดวงอยู่เหนือดาบโค้งแบบอาหรับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2470 เมื่อถึง พ.ศ. 2505 เยเมนเหนือได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสาธารณรัฐอาหรับเยเมน จึงได้เปลี่ยนมาใช้ธงชาติที่มีลักษณะคล้ายกับในปัจจุบัน แต่ตรงกลางริ้วสีขาวนั้นมีรูปดาวสีเขียว ส่วนเยเมนใต้ ซึ่งใช้ชื่อประเทศว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (พ.ศ. 2510 – 2533) ก็ใช้ธงชาติในลักษณะคล้ายกับธงในปัจจุบันเช่นกัน แต่เพิ่มรูปสามเหลี่ยมสีฟ้า พร้อมดาวห้าแฉกสีแดงที่ด้านคันธง โดยฐานของรูปสามเหลี่ยมนั้นอยู่ที่ด้านกว้างของด้านคันธง ธงของเยเมนใต้นี้ ได้รับอิทธิพลความคิดในการออกแบบธงจากการปฏิวัติคิวบา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 1950",
"title": "ธงชาติเยเมน"
},
{
"docid": "159513#0",
"text": "ธงชาติเซาท์ซูดาน เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงแบ่งเป็นสามแถบตามแนวนอน โดยแถบกลางธงเป็นแถบสีแดงขนาบด้วยขอบสีขาวที่ตอนบนและตอนล่าง แถบบนสุดมีสีดำ แถบล่างสุดเป็นสีเขียว ลักษณะดังกล่าวนี้คล้ายคลึงกับธงชาติเคนยามาก ทึ่ด้านคันธงนั้นมีรูปสามเหลี่ยมสีน้ำเงิน ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลืองดวงหนึ่ง ธงดังกล่าวนี้เดิมใช้เป็นธงของขบวนการประชาชนปลดปล่อยซูดาน (Sudan People's Liberation Movement) ต่อมาจึงถือเป็นธงของรัฐบาลเซาท์ซูดานอย่างเป็นทางการภายหลังการลงนามในความตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จเพื่อยุติสงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่สอง",
"title": "ธงชาติเซาท์ซูดาน"
},
{
"docid": "168193#0",
"text": "ธงชาติซามัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในรูปดังกล่าวมีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นกลุ่มดาวกางเขนใต้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 พื้นสีแดงหมายถึงความกล้าหาญ สีน้ำเงินหมายถึงเสรีภาพ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์",
"title": "ธงชาติซามัว"
},
{
"docid": "114840#0",
"text": "ธงชาติออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักร ใต้ธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นเป็นรูปดาวเจ็ดแฉกสีขาวดวงหนึ่ง มีชื่อเรียกว่า ดาราสหพันธรัฐ (The Commonwelth Star) ถัดจากรูปดังกล่าวมาทางด้านปลายธงนั้น เป็นรูปดาวเจ็ดแฉก 4 ดวง และดาวห้าแฉกอีก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้",
"title": "ธงชาติออสเตรเลีย"
},
{
"docid": "137699#3",
"text": "ธงชาติแบบดังกล่าวนี้ ได้รับอนุญาตให้ใช้ชักในจังหวัดเคอร์ดิชสถาน ซึ่งเป็นเขตปกครองของชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ด ส่วนธงในรุ่นหลัง ซึ่งมีการใช้ในกลุ่มสมาชิกพรรคบะอัธ และกลุ่มสมาคมพันธมิตรอาหรับ ไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้\nต่อมาเมื่อรัฐบาลปฏิวัติของอับดุล การิม คัสซิมถูกโค่นอำนาจโดยพรรคบะอัธ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงธงชาติอิรักอีกครั้งหนึ่ง ตามกฎหมายเลขที่ 28 ค.ศ. 1963 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ธงแบบใหม่นี้เป็นธงริ้วสามสีแนวนอนพื้นสีแดง-ขาว-ดำ มีดาว 5 แฉกสีเขียว 3 ดวง ในแถบสีขาว ซึ่งดาวสีเขียวในธงนี้ เดิมได้กำหนดไว้ในธงเพื่อแทนความหมายถึง ความต้องการก่อตั้งสหภาพสาธารณรัฐอาหรับ โดยความร่วมมือกันระหว่าง 3 ประเทศ คือ อิรัก อียิปต์ และซีเรีย ซึ่งในขณะนั้นทั้งสองชาติหลังมีการใช้ธงที่มีดาวสีเขียว 2 ดวงอยู่กลางธงเหมือนกัน หากการก่อตั้งสหภาพเกิดขึ้นจริงแล้ว ทั้งอียิปต์และซีเรียนั้นก็จะเพิ่มจำนวนดาวในธง ในลักษณะเดียวกับธงชาติอิรักในเวลานั้นด้วย \nในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2534 ได้มีการเปลี่ยนแปลงธงชาติอิรักอีกครั้ง โดยธงชาติมีลักษณะคล้ายกับธงชาติยุค พ.ศ. 2506 แต่มีการเปลี่ยนนิยามความหมายของดาว 3 ดวงในธง ให้หมายถึงหลัก 3 ข้อคำขวัญของพรรคบะอัธ คือ เอกภาพ เสรีภาพ สังคมนิยม (อาหรับ: \"Wahda, Hurriyah, Ishtirakiyah\") และเพิ่มข้อความอักษรคูฟิก ภาษาอาหรับ แทรกระหว่างดาวสีเขียว 3 ดวงว่า \"\"อัลลอหุ อักบัร\"\" โดยประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เป็นผู้ออกคำสั่งให้เพิ่มข้อความข้างต้น แม้จะไม่เป็นที่ยืนยันนัก แต่ก็มีการกล่าวกันว่า ข้อความอักษรคูฟิกดังกล่าวเป็นลายมือของซัดดัม ฮุสเซนเอง ทั้งยังมีอีกหลายคนตีความกันว่า ที่ซัดดัมทำเช่นนี้ก็เพื่อแสวงหาความสนับสนุนจากโลกอิสลามในช่วงสงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรก (พ.ศ. 2534) \nหลังการสิ้นอำนาจของซัดดัมใน พ.ศ. 2547 ได้มีการเสนอธงชาติแบบใหม่ให้แทนธงเดิมในเดือนเมษายนปีเดียวกัน แต่ก็ไม่เคยมีการนำมาใช้แต่อย่างใด (ดูเพิ่มเติมข้างล่าง) ต่อมาในพิธีการส่งมอบอำนาจแก่รัฐบาลรักษาการณ์ของอิรัก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2547 นั้น ได้มีการตกแต่งเวทีโดยใช้ธงซึ่งมีลักษณะคล้ายกันกับธงชาติแบบเดิม กล่าวคือ เป็นธงสามสีแนวนอนพื้นสีแดง-ขาว-ดำ กลางแถบสีขาวมีรูปดาวสีเขียว 3 ดวง ระหว่างดาวทั้งสามมีข้อความภาษาอาหรับ เขียนด้วยอักษรคูฟิกว่า \"อัลลอหุ อักบัร\" ในลักษณะเป็นอักษรตัวเหลี่ยมสมัยใหม่ ธงชาติอิรักแบบแก้ไขเพิ่มเติมนี้ได้มีการเชิญขึ้นสู่ยอดเสาที่สถานทูตอิรักในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547\nวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2547 สภาการปกครองอิรัก (Iraqi Governing Council หรือ IGC) ได้ประกาศใช้ธงชาติอย่างใหม่แทนธงเดิมในยุคของซัดดัม ฮุสเซน โดยเลือกจากธงที่ได้มีการการส่งเข้าประกวด 30 แบบ ซึ่งแบบธงที่ได้รับการคัดเลือกนี้ เป็นผลงานของของริฟัต อัล ชาเดอร์ชี (Rifat al-Chaderchi) ศิลปินและสถาปนิกชาวอิรัก ซึ่งพำนักอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และเป็นพี่ชายของสมาชิกสภาการปกครองอิรักคนหนึ่งด้วย",
"title": "ธงชาติอิรัก"
},
{
"docid": "92030#0",
"text": "ธงนีวเว เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเหลือง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรประดับดาวห้าแฉกสีเหลือง 5 ดวง ประกอบด้วยดาวดวงใหญ่ในวงกลมสีน้ำเงินที่กลางกางเขนรูปธงนั้น 1 ดวง และที่แขนกางเขนตามแนวตั้งและแนวนอนด้านละ 1 ดวง รวม 4 ดวง ลักษณะดังกล่าวถือว่าค่อนข้างจะต่างจากธงที่ได้รับอิทธิพลจากธงเรือของสหราชอาณาจักรอย่างชัดเจน ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2518",
"title": "ธงนีวเว"
},
{
"docid": "174577#0",
"text": "ธงชาติสาธารณรัฐมาซิโดเนีย เป็นธงพื้นสีแดง กลางธงเป็นรูปพระอาทิตย์เปล่งรัศมีแปดทิศจดขอบธงชาติ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง สัญลักษณ์ในธงดังที่กล่าวมามีความหมายว่า \"ดวงตะวันดวงใหม่แห่งเสรีภาพ\" ดังปรากฏวลีนี้ในบทแรกของเพลงชาติมาซีโดเนียในปัจจุบัน ซึ่งมีชื่อว่า \"\"Denes nad Makedonija\"\" (แปลว่า \"วันนี้ทั่วแผ่นดินมาซีโดเนีย\") ดังนี้ในช่วงปี พ.ศ. 2487 - 2535 มาซิโดเนียมีฐานะเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมภายใต้การปกครองของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ธงชาติมีลักษณะเป็นธงสีแดงเกลี้ยงมีรูปดาวแดงขอบสีทองที่มุมธงบนด้านคันธง",
"title": "ธงชาติสาธารณรัฐมาซิโดเนีย"
},
{
"docid": "83541#2",
"text": "หลังจากพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี พ.ศ. 2491 จึงได้มีการกำหนดแบบธงชาติพม่าใหม่ ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในพื้นสีน้ำเงินนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 1 ดวง ล้อมรอบด้วยดาวสีขาวดวงเล็กอีก 5 ดวง ดาวดวงใหญ่หมายถึงสหภาพพม่า ดาวดวงเล็กทั้ง 5 หมายถึงชาวพม่า ชาวไทใหญ่ ชาวกะเหรี่ยง ชาวชิน และชาวคะฉิ่น ส่วนสีขาวนั้นหมายถึงความซื่อสัตย์ ธงนี้ได้รับการรับรองด้วยรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพพม่า ฉบับลงวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2490 และชักขึ้นเหนือแผ่นดินพม่าครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 เวลา 4.25 น.",
"title": "ธงชาติพม่า"
},
{
"docid": "163633#0",
"text": "ธงชาติบุรุนดี เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็น 4 ส่วนด้วยกากบาททแยงสีขาว โดนช่องซ้ายและช่องขาวที่เกิดจากการแบ่งมีพื้นสีเขียว ช่องบนและช่องล่างพื้นสีแดง กลางการบาทนั้นเป็นรูปวงกลมสีขาว ภายในมีดาวหกแฉกสีแดงขอบเขียว 3 ดวง เรียงเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า (แถวบน 2 ดวง แถวล่าง 1 ดวง) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2520 ",
"title": "ธงชาติบุรุนดี"
},
{
"docid": "167547#0",
"text": "ธงชาติปาปัวนิวกินี เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 4 ส่วน ภายในธงแบ่งครึ่งธงตามแนวทแยง จากมุมบนด้านคันธงไปยังมุมล่างด้านปลายธง ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดง มีภาพเงาสีทองของนกปักษาสวรรค์ ครึ่งล่างเป็นพื้นสีดำ มีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ธงนี้เป็นแบบธงที่ชนะเลิศการประกวดแบบธงชาติในปี พ.ศ. 2514 ออกแบบโดยนางสาวซูซาน ฮูฮูม (Susan Huhume) นักเรียนหญิงวัย 15 ปี และได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 ",
"title": "ธงชาติปาปัวนิวกินี"
},
{
"docid": "21348#0",
"text": "ธงชาติสิงคโปร์ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีรูปดาวห้าแฉก 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า รูปเหล่านี้เป็นสีขาว ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2502 ซึ่งเป็นปีที่สิงค์โปร์ได้สิทธิปกครองตนเองจากจักรวรรดิอังกฤษ และถือเป็นธงชาติของรัฐเอกราชเมื่อสิงคโปร์ประกาศเอกราชในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965)",
"title": "ธงชาติสิงคโปร์"
}
] |
2971 | จังหวัดนครพนมตั้งอยู่ภาคใดของไทย ? | [
{
"docid": "13363#0",
"text": "ภาคอีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า \"ตะวันออกเฉียงเหนือ\")[1] หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง",
"title": "ภาคอีสาน (ประเทศไทย)"
}
] | [
{
"docid": "13363#5",
"text": "ภูมิประเทศของภาคอีสานเต็มไปขุนเขาน้อยใหญ่ โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางของภูมิภาค เช่น จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครพนม จังหวัดนครราชสีมา และ จังหวัดบึงกาฬ โดยมีจุดสูงสุดของภาคอีสานอยู่ที่ ยอดเขาหลวง 1,835 เมตร เหนือระดับทะเลหมอกปานกลาง ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติภูกระดึง (จังหวัดเลย)",
"title": "ภาคอีสาน (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "422653#3",
"text": "อดีตเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม (พ.ศ. 2547 - 2551) และรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม ตามลำดับ พ.ศ. 2554 ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนมเป็นครั้งแรก สังกัดพรรคเพื่อไทย และได้รับเลือกตั้ง",
"title": "มนพร เจริญศรี"
},
{
"docid": "6340#13",
"text": "ในจังหวัดนครพนมมีสถาบันระดับอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยรามคำแหง (มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครพนม), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์นครพนม นอกจากนี้ ยังมีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ปริญญาตรีสายปฏิบัติการ/เทคโนโลยีบัณฑิต) ได้แก่ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒ (วิทยาลัยเทคนิคนครพนม, วิทยาลัยเทคนิคบ้านแพง)",
"title": "จังหวัดนครพนม"
},
{
"docid": "863013#0",
"text": "พระอุทัยประเทศ (บัว นิวงษา) เจ้าเมืองฮามองค์แรก เจ้าเมืองลำองค์แรก เจ้าเมืองรามราชองค์แรก (ปัจจุบันคือตำบลรามราช อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม) มีพระนามเดิมว่า ท้าวบัว หรือ อาชญาบัว ทรงเป็นเจ้าเมืองที่สืบเชื้อสายจากเจ้านายเผ่ากะโซ่ (ไทโส้) ในเมืองเชียงฮ่ม (เชียงฮม) ประเทศลาว อีกทั้งเป็นต้นตระกูล นิวงษา และ แก้วนิวงศ์ แห่งตำบลรามราช อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ในภาคอีสานของประเทศไทย",
"title": "พระอุทัยประเทศ (บัว นิวงษา)"
},
{
"docid": "17197#1",
"text": "ภาพดอกไม้แห่งหัวใจ เป็นผลงานอันสำคัญภาพหนึ่งของนายอาณัติ บุนนาค หัวหน้าช่างภาพส่วนพระองค์ท่านนี้ ภาพดอกไม้แห่งหัวใจคือภาพแม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ อายุ 102 ปี แห่งจังหวัดนครพนมที่มาเฝ้ารับเสด็จฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2498 ภาพนี้นับเป็นภาพที่ประทับใจของคนไทยทั่วทั้งประเทศ ที่พระเจ้าอยู่หัวของคนไทยมีพระจริยาวัตรอันงดงามหาที่เปรียบใด ๆ มิได้",
"title": "อาณัติ บุนนาค"
},
{
"docid": "64008#2",
"text": "พ.ศ. 2521 บริษัท เดินอากาศไทย จำกัดได้ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพฯ-นครพนม และบินเชื่อมระหว่างจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือนครพนม อุบลราชธานี อุดรธานี และขอนแก่น โดยใช้เครื่องบินดักลาส DC-3 หรือดาโกต้า และแอฟโร่ Bae HS748 ให้บริการสัปดาห์ละ 3-4 เที่ยวบิน",
"title": "ท่าอากาศยานนครพนม"
},
{
"docid": "296744#0",
"text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครพนม เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดนครพนม ปัจจุบันเล่นใน ลีก ดิวิชั่น 2",
"title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครพนม"
},
{
"docid": "18182#4",
"text": "ผู้พูดภาษาผู้ไทในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณจังหวัดภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์, นครพนม, มุกดาหาร, ร้อยเอ็ด และ สกลนคร นอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยในจังหวัดอุบลราชธานี,อุดรธานี,ยโสธร และ จังหวัดบึงกาฬ โดยในแต่ละท้องถิ่นจะมีสำเนียงและคำศัพท์ที่แตกต่างกันไป ",
"title": "ภาษาผู้ไท"
},
{
"docid": "771630#4",
"text": "จังหวัดเชียงรายมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองในภาคเหนือ รองจากจังหวัดเชียงใหม่ ในด้านความเจริญทางธุรกิจ และการขนส่งผู้โดยสาร ในด้านการท่องเที่ยวและบริการ จากสถานีขนส่งสายเหนือ มีรถยนต์โดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศจากกรุงเทพฯ สู่เชียงรายทุกวัน วันละหลายเที่ยว บริษัทที่ให้บริการเดินทางรถประจำทาง ทั้งรถปรับอากาศชั้นที่ 1 ชั้น 2 วีไอพี (พิเศษ) และรถโดยสารธรรมดา นอกจากนี้จากสถานีขนส่งเชียงราย สามารถเดินทางไปยังจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยได้อีกด้วย ซึ่งมีสถานีขนส่งให้บริการสองแห่ง ดังต่อไปนี้นอกจากนี้ยังมีรถประจำทางระหว่างจังหวัด ที่เดินรถระหว่างเชียงรายไปยัง กรุงเทพมหานคร พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ เชียงใหม่ น่าน ตาก (แม่สอด) กำแพงเพชร นครสวรรค์ นครราชสีมา ชลบุรี ระยอง อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก อุดรธานี เลย ขอนแก่น สกลนคร นครพนม บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ประจวบคีรีขันธ์ (หัวหิน) สงขลา (หาดใหญ่) และภูเก็ตการขนส่งมวลชนทางอากาศในจังหวัดเชียงราย มีท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)",
"title": "การขนส่งในจังหวัดเชียงราย"
},
{
"docid": "782764#0",
"text": "พระบรมราชา (มัง) (พ.ศ. 2348 - 2369) ทรงมีพระนามเต็มว่า พระบรมราชากิตติศัพท์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง ทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครบุรีราชธานีศรีโคตรบูรหลวง หรือเมืองนครพนมในอดีต และทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครราชสีมาอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อครั้งนครพนมยังเป็นเมืองเจ้าหัวเศิกหรือนครประเทศราชของราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. 2348 - 2371) แห่งเวียงจันทน์ ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367 - 2394) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และทรงเป็นผู้สร้างเวียงท่าแขกหรือเมืองท่าแขกของแขวงคำม่วนในประเทศลาวปัจจุบัน เมื่อครั้งสงครามสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นแม่ทัพองค์สำคัญของฝ่ายนครเวียงจันทน์เช่นเดียวกันกับพระยานรินทร์สงคราม (ทองคำ) อนึ่ง พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน มังคลคีรี แห่งจังหวัดนครพนมในภาคอีสานของประเทศไทย อีกทั้งทรงเป็นเจ้าประเทศราชแห่งเมืองนครพนมองค์สุดท้ายที่ขึ้นกับนครเวียงจันทน์และได้รับพระราชทานพระนามเป็นที่ พระบรมราชา เป็นองค์สุดท้ายก่อนที่นครพนมจะตกเป็นประเทศราชของสยาม จากนั้นสยามจึงเปลี่ยนราชทินนามของเจ้าเมืองนครพนมเป็น พระยาพนมนครนุรักษ์ แทน",
"title": "พระบรมราชา (มัง)"
},
{
"docid": "332066#23",
"text": "จากสถิติพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยในรอบ 48 ปี มีจำนวนทั้งหมด 164 ลูก[6] เมื่อนำมาหาความถี่ที่พายุแต่ละลูกเคลื่อนผ่านในแต่ละพื้นที่ พบว่าบริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมากที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดนครพนม มีพายุเคลื่อนผ่าน 20 - 25 เปอร์เซ็นต์ของพายุทั้งหมดจำนวน 164 ลูก รองลงมาคือพื้นที่บริเวณจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร หนองคาย อุดรธานี กาฬสินธุ์ หนองบัวลำภูและเลย มีพายุเคลื่อนผ่าน 15 - 20 เปอร์เซนต์ของจำนวนพายุทั้งหมด",
"title": "ภูมิอากาศไทย"
},
{
"docid": "475045#1",
"text": "ฮาน่า เกิดที่จังหวัดนครพนม โดยบิดาเป็นชาวอังกฤษ ส่วนมารดานั้นเป็นชาวไทย ที่มาสำหรับชื่อฮาน่านั้น ฮาน่า” มาจากภาษาญี่ปุ่นที่แปลไทยว่า “ดอกไม้” เพราะคุณแม่ของฮาน่ามีชื่อว่า “ดอกไม้” ก็ตั้งชื่อที่มีความหมายเหมือนกันให้เป็นชื่อของเธอ กำลังศึกษาอยู่ที่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก (ภาคพิเศษ) ",
"title": "ฮาน่า ลีวิส"
},
{
"docid": "13241#6",
"text": "ส่วนในภาคอีสานส่วนใหญ่จะเป็นชาวแต้จิ๋วในทุกจังหวัดเช่น นครราชสีมา (โคราช) ชัยภูมิ ขอนแก่น เลย อุดรธานี กาฬสินธ์ มหาสารคาม อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ส่วนพื้นที่ริมโขงเช่น หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร จะปะปนไปด้วยชาวแต้จิ๋ว แคะ และเวียดนาม (ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า)",
"title": "ไทยเชื้อสายจีน"
},
{
"docid": "851745#8",
"text": "จึงมีผลทำให้ วิทยาลัยเทคนิคสกลนคร วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการนครพนม (ปัจจุบันคือวิทยาลัยเทคนิคนครพนม) วิทยาลัยเทคนิคบ้านแพง และวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร รวมควบตั้งขึ้นเป็น \"สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒\" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยมีศูนย์กลางที่จังหวัดสกลนคร",
"title": "สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒"
},
{
"docid": "48904#0",
"text": "จำเริญ ทรงกิตรัตน์ มีชื่อจริงว่า ร้อยตำรวจเอก สำเริง ศรีมาดี เป็นชาวจังหวัดนครพนม เป็นนักมวยสากลชาวไทยคนแรกที่ได้ชิงแชมป์โลก และเป็นแชมป์สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) คนแรกของประเทศไทย มีฉายาว่า \"\"จิ้งเหลนไฟ\"\"",
"title": "จำเริญ ทรงกิตรัตน์"
},
{
"docid": "791322#0",
"text": "ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๔ (ก่อน พ.ศ. ๒๔๑๗) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๗ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวสุวรรณเชษฐา กรมการเมืองธาตุพนมเดิม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ท้องถิ่นที่ เพี้ยอรรคฮาช กรมการในคณะอาญาสี่เมืองธาตุพนมก่อนถูกยุบลงเป็นกองบ้านธาตุพนม อนึ่ง ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) เป็นต้นตระกูล อุปละ และตระกูล อุประ แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม",
"title": "ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)"
},
{
"docid": "6340#2",
"text": "สภาพโดยทั่วไปของจังหวัดนครพนมเป็นที่ราบลุ่ม มีที่ราบสูงและภูเขาอยู่บ้าง มีแม่น้ำสายสั้น ๆ เป็นสาขาย่อยแยกจากแม่น้ำโขงมาหล่อเลี้ยงความอุดมสมบูรณ์ภายในพื้นที่ พื้นที่ส่วนใหญ่มีแม่น้ำโขงไหลผ่าน นครพนมจึงนับว่าเป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำที่สมบูรณ์มาก ด้านตะวันออกมีแม่น้ำโขงทอดยาวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับลาว",
"title": "จังหวัดนครพนม"
},
{
"docid": "71830#10",
"text": "ซึ่งตามนัยเนื้อหาของพระบรมราชโองการแสดงให้เห็นและเข้าใจว่า หมายถึงการโอนเมืองไชยบุรีที่ตั้งที่ว่าการอยู่ที่บ้านบึงกาญจน์ จนกระทั่งมีการไปขึ้นกับจังหวัดหนองคาย แล้วต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบึงกาญจน์ ขึ้นกับจังหวัดหนองคาย \nส่วนบ้านปากน้ำสงครามที่เป็นเมืองไชยบุรีเดิมนั้นก็ยังคงมีชื่ออยู่ มิได้โอนไปขึ้นกับจังหวัดหนองคายแต่อย่างใด ยังคงมีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนมอยู่เหมือนเดิม ดังปรากฏ หลักฐานในประกาศเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยที่รับพระราชโองการให้เรียกชื่ออำเภอทั่วราชอาณาจักร ลงวันที่ 24 เมษายน 2460 มีความว่า อำเภอไชยบุรี ในจังหวัดนครพนมนั้นคงให้เรียกชื่ออำเภอไชยบุรีตามเดิม ซึ่งเวลาต่อมาได้ถูกยุบลงให้เป็น ตำบลไชยบุรี ขึ้นอำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม",
"title": "จังหวัดบึงกาฬ"
},
{
"docid": "346455#0",
"text": "สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 3 (; ) เป็นสะพานที่เชื่อมต่อระหว่างประเทศไทยที่หมู่ที่ 1 บ้านห้อม ตำบลอาจสามารถ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม กับประเทศลาวที่บ้านเวินใต้ เมืองท่าแขก แขวงคำม่วน",
"title": "สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 3 (นครพนม–คำม่วน)"
},
{
"docid": "6340#0",
"text": "จังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอด",
"title": "จังหวัดนครพนม"
},
{
"docid": "97402#0",
"text": "อาณาจักรโคตรบูรณ์ หรือ อาณาจักรศรีโคตรบูร เป็นอาณาจักรโบราณที่มีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับนครเวียงจันทน์ยุคจันทะปุระ (ราวพุธศตวรรษที่ 1-10) และยุคซายฟอง (ราวพุธศตวรรษที่ 10-12) เริ่มมีพัฒนาการมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาลถึงพุทธศตวรรษที่ 11-15 หรือระหว่าง พ.ศ. 1,000-1,500 มีพื้นที่ครอบคลุมบริเวณสองฝั่งแม่น้ำโขง ตั้งแต่จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสกลนคร จังหวัดขอนแก่น จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานีของไทย แขวงบอลิคำไซ แขวงคำม่วน แขวงสุวรรณเขต แขวงเวียงจันทน์ แขวงสาละวัน แขวงจำปาศักดิ์ แขวงอัตตะปือ และแขวงเซกองของลาว นักวิชาการบางกลุ่มเสนอว่า อาณาจักรโคตรบูรอาจแผ่อาณาเขตครอบคลุมไปถึงแขวงหลวงพระบางโดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดีประเภทหลักหินซึ่งปรากฏที่เวียงจันทน์-นครพนมด้วย นอกจากนี้อาณาจักรโคตรบูรยังแผ่อิทธิพลทางการเมืองและศิลปกรรมครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของภาคอีสาน พื้นที่เกือบทั้งหมดของลาว พื้นที่รอยต่อของลาว-อีสานกับกัมพูชา ในภาคอีสานและลาวนั้นมีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นักวิชาการลาวและอีสานเชื่อว่าชนชาติดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในอาณาจักรศรีโคตรบูรและสถาปนาอาณาจักรอาจเป็นชาวลาว ข่า ขอม ภูไท โย้ย จาม และชาติพันธุ์ดั้งเดิมอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในลาวและภาคอีสานปัจจุบันนี้ จากการค้นพบใบเสมาและหลักหินโบราณหลายสิบแห่งที่กระจายอยู่ในจังหวัดนครพนม-แขวงคำม่วน และการค้นพบหลักหินและใบเสมาใต้พื้นดินจำนวนมากถึง 473 หลัก ที่กระจุกตัวอยู่บริเวณหอหลักเมืองเวียงจันทน์ ตลอดจนการค้นพบซากกำแพงหินยักษ์ซึ่งสร้างจากฝีมือมนุษย์ที่แขวงคำม่วน ได้ยืนยันถึงความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรโคตรบูรอย่างมาก",
"title": "อาณาจักรโคตรบูร"
},
{
"docid": "790333#0",
"text": "อำมาตย์เอก พระยาศศิวงษ์ประวัติ (เมฆ จันทรสาขา) อดีตเจ้าเมืองมุกดาหารองค์ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๓๐-๒๔๔๒) จากราชวงศ์เวียงจันทน์ในฐานะเจ้าเมืองประเทศราช อดีตราชบุตรผู้รักษาราชการเมืองมุกดาหาร อดีตจางวางที่ปรึกษาราชการเมืองมุกดาหาร อดีตกรมการพิเศษจังหวัดนครพนม (พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๖๐) อดีตจางวางอำเภอมุกดาหาร อำมาตย์เอก พระยาศศิวงษ์ประวัติ (เมฆ จันทรสาขา) เป็นต้นสกุลพระราชทาน จันทรสาขา แห่งจังหวัดมุกดาหารและเป็นต้นสกุลพระราชทาน พิทักษ์พนม แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในภาคอีสานของประเทศไทย",
"title": "พระยาศศิวงษ์ประวัติ (เมฆ จันทรสาขา)"
},
{
"docid": "2854#0",
"text": "มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไทย",
"title": "จังหวัดมุกดาหาร"
},
{
"docid": "246666#0",
"text": "แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ หญิงชราวัย 102 ปี บ้านธาตุน้อย ที่เฝ้ารับเสด็จในหลวง ถวายดอกบัวสามดอกที่เหี่ยวโรย เป็นที่ชาวไทยคุ้นตา และประทับใจในหัวใจเป็นที่สุด ตามที่ท่านเจ้าคุณพระราชธีราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครพนม/เจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ให้ความรู้ “ดอกบัวในใจยังคงบานไม่มีโรยรา” บนเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินทางสามแยกชยางกูร-เรณูนคร ตำบลพระกลางทุ่ง อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เมื่อบ่ายวันที่ 13 พฤศจิกายน 2498 เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกรภาคอีสานเป็นครั้งแรก",
"title": "ตุ้ม จันทนิตย์"
},
{
"docid": "985053#8",
"text": "ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงปลายเดือนพฤศจิกายน จะมีอากาศเย็นเกือบทั่วไป บางแห่งมีอากาศหนาวได้ในบางวัน มีหมอกในตอนเช้า และยังจะมีฝนฟ้าคะนองอยู่เล็กน้อย ต่อมาในเดือนธันวาคมถึงปลายเดือนมกราคม จะมีอากาศหนาวเย็นทั่วไป มีอากาศหนาวจัดได้บางแห่งแถบจังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดน่าน จังหวัดเลย จังหวัดสกลนครและจังหวัดนครพนม บางพื้นที่อาจมีหมอกหนา และบนยอดเขาสามารถเกิดน้ำค้างแข็งได้ ซึ่งต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะอุ่นขึ้นและเริ่มมีอากาศร้อน",
"title": "ฤดูหนาวในประเทศไทย พ.ศ. 2561–2562"
},
{
"docid": "397391#0",
"text": "กุหลาบกระเป๋าเปิดหรือเอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิดหรือเอื้องกุหลาบพวง เป็นกล้วยไม้ในสกุลเอื้องกุหลาบ ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงบนเป็นรูปรี ส่วนคู่ข้างเป็นรูปครึ่งวงกลม ออกดอกช่วงเมษายนถึงพฤษภาคม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ ภาคอีสาน เช่น จังหวัดนครพนม จังหวัดสกลนคร ภาคกลาง เช่น จังหวัดสระบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ภาคตะวันออก เช่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดจันทบุรี และภาคใต้ เช่น จังหวัดกระบี่",
"title": "กุหลาบกระเป๋าเปิด"
},
{
"docid": "158183#0",
"text": "กว๋างบิ่ญ () เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ภาคกลางตอนบนของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดที่มีแผ่นดินแคบที่สุดของเวียดนาม และเป็นจังหวัดที่เดินทางจากไทยไปใกล้ที่สุด คือระยะทาง 145 กิโลเมตรจากจังหวัดนครพนม",
"title": "จังหวัดกว๋างบิ่ญ"
},
{
"docid": "757586#0",
"text": "แม่น้ำสงคราม แม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งของภาคอีสาน ในประเทศไทย มีความยาวกว่า 400 กิโลเมตร ไหลผ่าน 4 จังหวัด ถือเป็นลำน้ำสาขาหรือแควของแม่น้ำโขง มีจุดกำเนิดที่อำเภอทุ่งฝน แถบเทือกเขาภูพาน จังหวัดอุดรธานี จากนั้นไหลผ่านไปยังอำเภอบ้านดุง, จังหวัดสกลนคร, อำเภอโซ่พิสัย จังหวัดบึงกาฬ ก่อนจะไหลไปรวมกับแม่น้ำโขงที่อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 13,001 ตารางกิโลเมตร (8,125,875 ไร่)",
"title": "แม่น้ำสงคราม"
},
{
"docid": "332066#24",
"text": "การวัดสถิติพายุแบ่งตามเดือน พฤษภาคม พายุส่วนใหญ่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยทางด้านตะวันตกของประเทศ บริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมากที่สุดคือพื้นที่ของภาคเหนือตอนบนในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และลำพูน และพื้นที่ของภาคกลางในเขตจังหวัดกาญจนบุรี ต่อเนื่องกับจังหวัดตากและอุทัยธานี โดยคิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพายุทั้งหมดที่เข้าประเทศไทยในเดือนพฤษภาคมซึ่งมีทั้งหมด 6 ลูก มิถุนายน ตั้งแต่เดือนนี้เป็นต้นไปพายุเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยทางด้านตะวันออกของประเทศ ซึ่งในเดือนนี้บริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมากที่สุด ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณจังหวัดนครพนม หนองคายและตอนบนของสกลนคร โดยคิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพายุทั้งหมดที่เข้าประเทศไทยในเดือนมิถุนายนซึ่งมีทั้งหมด 6 ลูก สิงหาคม บริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมากที่สุดคือ พื้นที่ทางด้านตะวันออกของภาคเหนือตอนบนบริเวณจังหวัดน่าน พะเยา แพร่ ลำปาง เชียงรายและเชียงใหม่ รวมถึงพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนบริเวณจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลำภูและเลย โดยคิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพายุทั้งหมดที่เข้าประเทศไทยในเดือนสิงหาคมซึ่งมี 18 ลูก กันยายน เดือนนี้เป็นเดือนแรกที่พายุเริ่มมีโอกาสเคลื่อนตัวเข้ามาในภาคใต้ตอนบน แต่ยังมีโอกาสน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่ที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านยังคงเป็นประเทศไทยตอนบน โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนต่อกับภาคเหนือตอนล่าง บริเวณจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย อุตรดิตถ์ และพิษณุโลกมีพายุเคลื่อนผ่านเข้ามาคิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ของพายุทั้งหมดที่เคลื่อนเข้ามาในเดือนนี้ ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 39 ลูก ตุลาคม เป็นเดือนที่ศูนย์กลางพายุมีโอกาสเคลื่อนผ่านประเทศไทยได้ทั้งในประเทศไทยตอนบน และภาคใต้ โดยในเดือนนี้พายุเริ่มมีโอกาสเคลื่อนเข้าสู่ภาคใต้ตอนล่างได้บ้างแต่มีโอกาสน้อย ส่วนบริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมากที่สุดคือพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกือบทั้งหมด ภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคกลางตอนล่างต่อเนื่องถึงภาคใต้ตอนบน ซึ่งมีพายุเคลื่อนผ่านมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของพายุทั้งหมดที่เคลื่อนผ่านเข้ามาในเดือนนี้ซึ่งมีจำนวน 48 ลูก พฤศจิกายน พายุมีโอกาสเคลื่อนเข้าสู่ภาคใต้ได้มากกว่าประเทศไทยตอนบน โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราชมีพายุเคลื่อนผ่านมากกว่า 25 เปอร์เซ็นต์ของพายุทั้งหมดที่เคลื่อนผ่านเข้ามาในเดือนนี้ซึ่งมีจำนวน 28 ลูก บริเวณที่พายุเคลื่อนผ่านได้มากเป็นอันดับรองลงมา ได้แก่ พื้นที่ในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสงขลา ซึ่งมีศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่าน 10 - 25 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพายุทั้งหมด อย่างไรก็ตามบริเวณประเทศไทยตอนบน ยังมีบางพื้นที่ที่ศูนย์กลางพายุมีโอกาสเคลื่อนผ่านได้ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ต่อกับภาคตะวันออกบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ และสระแก้ว มีพายุเคลื่อนผ่าน 10 - 15 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพายุทั้งหมด ธันวาคม เดือนนี้เป็นเดือนที่ไม่มีพายุเคลื่อนผ่านประเทศไทยตอนบนพายุทั้งหมด จะเคลื่อนผ่านอ่าวไทยเข้าสู่ภาคใต้ตอนล่างตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป โดยศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านบริเวณจังหวัดสงขลาและพัทลุงมากที่สุด คือ 75 เปอร์เซ็นต์ของพายุทั้งหมดที่เคลื่อนผ่านเข้ามาในเดือนนี้จำนวน 7 ลูกด้วยกัน",
"title": "ภูมิอากาศไทย"
},
{
"docid": "51190#0",
"text": "มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 78 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครพนม ที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่122 ตอนที่ 75 ก เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548 จึงมีผลให้มหาวิทยาลัยนครพนม ได้รับการยกฐานะเป็น \"“มหาวิทยาลัยนครพนม”\" ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2548 โดยมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตินั้นให้รวม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครพนม, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตนครพนม, วิทยาลัยเทคนิคนครพนม, วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม, วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม, วิทยาลัยการอาชีพนาหว้า และ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม มาจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยนครพนม และให้มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการตามกฎหมาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ",
"title": "มหาวิทยาลัยนครพนม"
}
] |
1934 | พลังงานนิวเคลียร์ หมายถึง? | [
{
"docid": "6388#31",
"text": "พลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear energy) หมายถึง พลังงานไม่ว่าในลักษณะใดซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยออกมาเมื่อมีการแยก, รวมหรือแปลงนิวเคลียส (หรือแกน) ของปรมาณู คำที่ใช้แทนกันได้คือ พลังงานปรมาณู (Atomic energy) ซึ่งเป็นคำที่เกิดขึ้นก่อนและใช้กันมาจนติดปาก โดยอาจเป็นเพราะมนุษย์เรียนรู้ถึงเรื่องของปรมาณู (Atom) มานานก่อนที่จะเจาะลึกลงไปถึงระดับนิวเคลียส แต่การใช้ศัพท์ที่ถูกต้องควรใช้คำว่า พลังงานนิวเคลียร์ อย่างไรก็ดีคำว่า Atomic energy ยังเป็นคำที่ใช้กันอยู่ในกฎหมายของหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยได้กำหนดความหมายของคำว่าพลังงานปรมาณู ไว้ในมาตรา 3 แห่งพ.ร.บ.พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 ในความหมายที่ตรงกับคำว่า พลังงานนิวเคลียร์ และต่อมาได้บัญญัติไว้ในมาตรา3 ให้ครอบคลุมไปถึงพลังงานรังสีเอกซ์ด้วย การที่ยังรักษาคำว่าพลังงานปรมาณูไว้ในกฎหมาย โดยไม่เปลี่ยนไปใช้คำว่าพลังงานนิวเคลียร์แทน จึงน่าจะยังคงมีประโยชน์อยู่บ้าง เพราะในทางวิชาการถือว่า พลังงานเอกซ์ไม่ใช่พลังงานนิวเคลียร์ การกล่าวถึง พลังงานนิวเคลียร์ในเชิงปริมาณ ต้องใช้หน่วยที่เป็นหน่วยของพลังงาน โดยส่วนมากจะนิยมใช้หน่วย eV, KeV (เท่ากับ1,000 eV) และ MeV (เท่ากับ 1,000,000 eV) เมื่อกล่าวถึงพลังงานนิวเคลียร์ปริมาณน้อย และนิยมใช้หน่วยกิโลวัตต์- ชั่วโมง หรือ เมกะวัตต์-วัน เมื่อกล่าวถึงพลังงานปริมาณมากๆ โดย: 1MWd=เมกะวัตต์-วัน = 24,000 กิโลวัตต์-ชั่วโมง และ 1MeV=1.854x10E-24 MWd",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#32",
"text": "พลังนิวเคลียร์ (Nuclear power) เป็นศัพท์คำหนึ่งที่มีความหมายสับสน เพราะโดยทั่วไปมักจะมีผู้นำไปใช้ปะปนกับคำว่า พลังงานนิวเคลียร์ โดยถือเอาว่าเป็นคำที่มีความหมายแทนกันได้ แต่ในทางวิศวกรรมนิวเคลียร์เราควรจะใช้คำว่าพลังนิวเคลียร์ เมื่อกล่าวถึงรูปแบบหรือวิธีการเปลี่ยนพลังงานจากรูปหนึ่งไปสู่อีกรูปหนึ่งเช่น โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ย่อมหมายถึง โรงงานที่ใช้เปลี่ยนรูปพลังงานนิวเคลียร์มาเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือเรือขับเคลื่อนด้วยพลังนิวเคลียร์ ย่อมหมายถึงเรือที่ขับเคลื่อนโดยการเปลี่ยนรูปพลังงานนิวเคลียร์มาเป็นพลังงานกล เป็นต้น พลังนิวเคลียร์เป็นคำที่มาจาก Nuclear power ในภาษาอังกฤษ แต่ในภาษาอังกฤษเอง เมื่อกล่าวถึงเรื่องที่เกี่ยวกับดุลอำนาจระหว่างประเทศ (Nuclear power) กลับหมายถึง มหาอำนาจนิวเคลียร์ หรือประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์สะสมไว้เพียงพอที่จะใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองได้ (โดยเฉพาะเมื่อใช้เป็นพหูพจน์) การเน้นให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างคำ พลังนิวเคลียร์ และ พลังงานนิวเคลียร์ ก็เพราะในด้านวิศวกรรม พลังควรมีความหมาย เช่นเดียวกับกำลัง ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงพลังในเชิงปริมาณ จะต้องใช้หน่วยที่เป็นหน่วยของกำลัง เช่น \"โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ขนาด 600 เมกะวัตต์ (ไฟฟ้า) โรงนี้ใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (BWR) ขนาด 1,800 เมกะวัตต์ (ความร้อน) เป็นเครื่องกำเนิดไอน้ำแทนเตาน้ำมัน\" เป็นต้น",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#0",
"text": "พลังงานนิวเคลียร์ () เป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่ได้จากการคายความร้อนในปฏิกิริยานิวเคลียร์ เพื่อประโยชน์ในการสร้างความร้อนและผลิตไฟฟ้า. นิวเคลียร์ เป็นคำคุณศัพท์ของคำว่า นิวเคลียส ซึ่งเป็นแก่นกลางของอะตอมธาตุ ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน และนิวตรอน ซึ่งยึดกันได้ด้วยแรงของอนุภาคไพออน",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
}
] | [
{
"docid": "6388#35",
"text": "พร้อมกับแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนอื่นๆ, พลังงานนิวเคลียร์เป็นวิธีการผลิตไฟฟ้าที่มีผลผลิตคาร์บอนที่ต่ำ, จากการวิเคราะห์ในเอกสารเกี่ยวกับวงจรชีวิตของความเข้มของการปล่อยคาร์บอนโดยรวมพบว่ามันก็คล้ายกับแหล่งพลังงานทดแทนอื่นๆเมื่อมีการเปรียบเทียบของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ()ต่อหน่วยของพลังงานที่สร้างขึ้น. ด้วยการแปลความหมายนี้, จากจุดเริ่มต้นของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเชิงพาณิชย์ในปี 1970, ได้มีการป้องกันไม่ให้เกิดการปล่อยก๊าซประมาณ 64 gigatonnes ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าก๊าซเรือนกระจก (GtCO2-eq) (ก๊าซที่จะเกิดขึ้นจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิลในโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนที่สร้างพลังงานไฟฟ้าขนาดเดียวกัน).",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#106",
"text": "ฝ่ายเสนอของพลังงานนิวเคลียร์ยืนยันว่าพลังงานนิวเคลียร์เป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนและเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานโดยการลดการพึ่งพาแหล่งพลังงานที่นำเข้า. ผู้เสนอยังอ้างต่อไปว่าพลังงานนิวเคลียร์แทบจะไม่ผลิตมลพิษทางอากาศทั่วไปอย่างสื้นเชิง, เช่นก๊าซเรือนกระจกและหมอกควัน, ในทางตรงกันข้ามกับทางเลือกหลักที่นำโดยเชื้อเพลิงฟอสซิล. พลังงานนิวเคลียร์สามารถผลิตพลังงานที่มีพื้นฐานจากโหลดแตกต่างจากพลังงานหมุนเวียนจำนวนมากที่มีแหล่งพลังงานที่ไม่สม่ำเสมอ, ขาดวิธีในการจัดเก็บพลังงานขนาดใหญ่และราคาถูก. M. King Hubbert เห็นว่าน้ำมันเป็นทรัพยากรที่จะหมดไปและเสนอพลังงานนิวเคลียร์เป็นแหล่งพลังงานทดแทน. ฝ่ายเสนออ้างต่อไปอีกว่าความเสี่ยงในการจัดเก็บขยะมีน้อยและสามารถจะลดลงไปได้อีกโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดในเครื่องปฏิกรณ์รุ่นใหม่, และสถิติความปลอดภัยในการดำเนินงานในโลกตะวันตกก็ดีเลิศเมื่อเทียบกับโรงไฟฟ้าชนิดอื่นๆที่สำคัญ .",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#107",
"text": "ฝ่ายค้านเชื่อว่าพลังงานนิวเคลียร์แสดงภาพของภัยคุกคามอย่างใหญ่หลวงต่อคนและสิ่งแวดล้อม. ภัยคุกคามเหล่านี้รวมถึงปัญหาของขบวนการผลิต, การขนส่งและการเก็บรักษากากนิวเคลียร์กัมมันตรังสี, ความเสี่ยงของการแพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์และการก่อการร้าย, เช่นเดียวกับความเสี่ยงต่อสุขภาพและความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองแร่ยูเรเนียม. พวกเขายังยืนยันว่าตัวเครื่องปฏิกรณ์เองเป็นเครื่องที่ซับซ้อนขนาดมโหฬารที่หลายสิ่งหลายอย่างสามารถทำงานผิดพลาดได้, และอุบัติเหตุนิวเคลียร์ร้ายแรงก็เคยเกิดขึ้นมาแล้ว. นักวิจารณ์ไม่เชื่อว่าความเสี่ยงทั้งหลายของการใช้นิวเคลียร์ฟิชชันเพื่อเป็นแหล่งพลังงานจะสามารถชดเชยอย่างเต็มที่โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่. พวกเขายังคงแย้งว่าเมื่อทุกขั้นตอนของห่วงโซ่เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ต้องใช้พลังงานอย่างมากถูกนำมาพิจารณา, ตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมจนถึงการรื้อถอนนิวเคลียร์, พลังงานนิวเคลียร์ไม่ได้เป็นแหล่งที่มาของกระแสไฟฟ้าที่ผลิตคาร์บอนต่ำและเป็นแหล่งที่ประหยัดในทางเศรษฐกิจทั้งสองอย่าง.",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#4",
"text": "มีการอภิปรายอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์. ฝ่ายเสนอ เช่น สมาคมนิวเคลียร์โลก (), IAEA และ นักสิ่งแวดล้อมพลังงานนิวเคลียร์ ยืนยันว่า พลังงานนิวเคลียร์มีความปลอดภัย, เป็นแหล่งพลังงานยั่งยืนที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน. ฝ่ายค้าน เช่น กลุ่มกรีนพีซสากล และ หน่วยบริการข้อมูลทรัพยากรและนิวเคลียร์ (), ยืนยันว่า พลังงานนิวเคลียร์สร้างภัยคุกคามจำนวนมากต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม.",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#2",
"text": "พลังงานนิวเคลียร์ บางครั้งใช้แทนกันกับคำว่า พลังงานปรมาณู นอกจากนี้พลังงานนิวเคลียร์ยังครอบคลุมไปถึงพลังงานรังสีเอกซ์ด้วย (พ.ร.บ. พลังงานเพื่อสันติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2508) พลังงานนิวเคลียร์ สามารถปลดปล่อยออกมาเป็นพลังงานหลายรูปแบบ เช่น พลังงานความร้อน รังสีแกมมา อนุภาคเบต้า อนุภาคอัลฟา อนุภาคนิวตรอน เป็นต้น",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "6388#78",
"text": "การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของพลังงานนิวเคลียร์จะต้องคำนึงถึงผู้ที่แบกรับความเสี่ยงของความไม่แน่นอนในอนาคต. ในวันนี้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่กำลังดำเนินงานทั้งหมดได้รับการพัฒนาโดยรัฐเป็นเจ้าของหรือหน่วยงานยูทิลิตี้ผูกขาดที่รัฐกำกับดูแล, ในขณะที่หลายความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง, ประสิทธิผลการดำเนินงาน, ราคาเชื้อเพลิง, ความรับผิดสำหรับอุบัติเหตุและปัจจัยอื่นๆจะตกเป็นภาระของผู้บริโภคมากกว่าผู้ให้บริการ. นอกจากนี้ เนื่องจากความรับผิดที่อาจเกิดขึ้นจากการเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์มีมาก, ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของความรับผิดการประกันภัยทั่วไปจะถูกจำกัด/ตัดยอดจากรัฐบาล, ซึ่งคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานของสหรัฐได้สรุปว่าประกอบด้วยเงินอุดหนุนอย่างมีนัยสำคัญ. หลายประเทศในขณะนี้ได้เปิดเสรีตลาดไฟฟ้าเพื่อที่ความเสี่ยงเหล่านี้, และความเสี่ยงของคู่แข่งที่ถูกกว่าที่เกิดขึ้นก่อนที่ค่าใช้จ่ายเงินทุนจะถูกกู้คืน, จะตกเป็นภาระของผู้สร้างและผู้ดำเนินการโรงงานแทนที่จะเป็นของผู้บริโภค, ที่นำไปสู่การประเมินผลที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของเศรษฐกิจของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่.",
"title": "พลังงานนิวเคลียร์"
},
{
"docid": "296136#4",
"text": "ในระดับนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยวก็เท่ากับพลังงานที่ถูกใช้ปลดปล่อยให้เป็นอืสระเมื่อนิวเคลียสหนึ่งถูกสร้างขึ้นจากนิวคลีออนหรือนิวเคลียสอื่น ๆ พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียส () นี้(หมายถึงพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวคลีออนทั้งหลายให้เป็นหนึ่งนิวไคลด์) ได้มาจาก'แรงนิวเคลียส' (ปฏิสัมพันธ์ที่เหลือค้างอย่างแรง)และเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกนิวเคลียสหนึ่งให้แตกออกเป็นนิวตรอนและโปรตอนอิสระในจำนวนที่เท่ากันกับที่พวกมันถูกยึดเหนี่ยวกันไว้ โดยที่นิวคลีออนเหล่านั้นจะต้องมีระยะห่างจากกันเพียงพอที่จะไม่ทำให้แรงนิวเคลียร์สามารถทำให้อนุภาคเหล่านั้นมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอีกต่อไป 'มวลส่วนเกิน' เป็นแนวคิดที่สัมพันธ์กันที่เปรียบเทียบเลขมวลของนิวเคลียสหนึ่งกับมวลที่วัดได้อย่างแท้จริงของมัน",
"title": "พลังงานยึดเหนี่ยว"
}
] |
2274 | วิกฤตตัวประกันมะนิลา หรือ วิกฤตตัวประกันสวนรีซัล กระทำโดยใคร ? | [
{
"docid": "334664#2",
"text": "ผู้ก่อการจี้ชิงตัวประกันในครั้งนี้ สำนักงานตำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์ระบุว่าเป็นโรลันโด เมนโดซา อดีตนายตำรวจสัญญาบัตรระดับสูง[5] ผู้ซึ่งต้องการที่จะกลับเข้าทำงานในตำแหน่งเดิมพร้อมกับสิทธิประโยชน์ไปยังสถานีตำรวจเดิมที่เขาทำงานอยู่ในกรุงมะนิลา เขาถูกปลดออกจากตำแหน่งในปี พ.ศ. 2552 เนื่องจากข้อกล่าวหาเกี่ยวกับการกรรโชกทรัพย์[1][6]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
}
] | [
{
"docid": "469921#2",
"text": "พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ (ตำแหน่งในขณะนั้น) ได้เข้าไปในที่ประชุมกองบัญชาการสถานการณ์และเสนอตัวเองกับพลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ เสนาธิการทหารให้เป็นผู้เข้าไปเจรจากับผู้ก่อการ ท่ามกลางเสียงคัดค้านในที่ประชุม แต่ภายหลังก็ยินยอม ทั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากเอกอัครราชทูตอียิปต์ประจำประเทศไทย Moustafa el Essawy และผู้นำมุสลิมเข้าไปช่วยเจรจาด้วย",
"title": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515"
},
{
"docid": "334664#10",
"text": "เมื่อหน่วยสวาทของสถานีตำรวจมะนิลามาถึง เมนโดซาประกาศทางการสัมภาษณ์ทางวิทยุบน DZXL ว่าเขาจะสังหารผู้โดยสารและต้องการให้หน่วยสวาทออกจากพื้นที่[23] เกรโกรีโอ เมนโดซา น้องชายของเขา ตำแหน่งนายตำรวจอาวุโส-2 (SPO2 เทียบเท่าสิบโทในกองทัพบก) เดินออกไปหลังจากเจรจากับพี่ชาย เขากระตุ้นพี่ชายให้ยอมมอบตัวโดยสันติและกล่าวว่า \"ไม่มีอะไรเกิดขึ้นที่นี่\"[24] เกรกอรืโอถูกจับกุมหลังจากนั้น โดยกล่าวว่าเขามิได้ถูกร้องขอให้มีส่วนในการเจรจา และเขาฝ่าพื้นที่กีดกันในขณะที่มีอาวุธปืน[25][26] ประธานาธิบดีอากีโนกล่าวในภายหลังว่าน้องชายของมือปืนได้มีส่วนทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงโดยการสร้างความเกลียดชังต่อผู้เจรจา[21]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#6",
"text": "เมนโดซามีอาวุธปืนขนาดเล็กและไรเฟิลเอ็ม 16[13] แสดงความต้องการขอกลับเข้าทำงานในตำแหน่งเดิมพร้อมกับคืนสิทธิประโยชน์ให้แก่เขา พร้อมทั้งกล่าวว่าเขาถูกใส่ร้าย นายกเทศมนตรีกรุงมะนิลา อัลเฟรโด ลิม กล่าวว่าเขาสามารถทำตามความปรารถนาของเมนโดซาที่จะกลับเข้าทำงานได้หากเขาสามารถพิสูจน์ตนเอง[14]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#4",
"text": "เชฟโรงแรม คริสเตียน คาลอว์ กล่าวว่า เขาถูกกล่าวหาจากเมนโดซาและตำรวจคนอื่น ๆ ในข้อหาละเมิดการจอดรถเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2551 พวกเขาได้นำถุงเล็ก ๆ ซึ่งภายในบรรจุเมทแอมเฟตามีนในรถของเขา บีบบังคับให้เขารับยาเสพติด กล่าวหาว่าเขาติดยา และต้องการให้เขาส่งเงินในเอทีเอ็มทั้งหมด คาลอว์กล่าวว่าตำรวจได้ปล่อยตัวเขาหลังจากที่เพื่อนของเขาได้ส่งเงินให้กับตำรวจจำนวน 20,000 เปโซ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินพบว่าเมนโดซาและพวกอีก 4 คนมีความผิดจริงในการประพฤติที่ไม่เหมาะสมและสั่งให้เมนโดซาออกจากราชการและยกเลิกสิทธิประโยชน์ทั้งหมดของเขา[7] ข้อกล่าวหาต่อเมนโดซาได้ลงบันทึกไว้เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551 หลังจากเขาถูกปลดออกจากตำแหน่งหน่วยลาดตระเวนเคลื่อนที่ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 กองที่แปดของสำนักงานอัยการมะนิลาได้ยกฟ้องคดีหลังจากคาลอว์ไม่สามารถเข้าร่วมการพิจารณาคดีได้ ส่วนกิจการภายในของสำนักงานตำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์แนะนำให้ยกฟ้องคดีเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ด้วยเหตุผลเดียวกัน น้องชาย เกรโกรีโอ กล่าวว่าสิ่งที่พี่ชายของเขาต้องการ คือ การได้รับฟังอย่างเป็นธรรมโดยผู้ตรจการแผ่นดิน ผู้ซึ่ง \"ไม่เคยให้โอกาสเขาที่จะป้องกันตัวเอง พวกเขาปลดออกจากตำแหน่งในทันที\"[7]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "469921#0",
"text": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เริ่มขึ้นจากการที่ผู้ก่อการปาเลสไตน์กลุ่ม แบล็กเซปเทมเบอร์ เข้าจู่โจมสถานทูตอิสราเอลในกรุงเทพและจับบุคลากรภายในเป็นตัวประกัน หลังจากการเจรจาอยู่นาน 19 ชั่วโมง ผู้ก่อการก็ยินยอมที่จะถอนตัว โดยแลกกับความปลอดภัยของตนที่ประเทศอียิปต์\nการโจมตีเริ่มขึ้นในวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณขึ้นเป็นสยามมกุฎราชกุมารแห่งประเทศไทย เมื่อผู้ก่อการแบล็ค เซปเทมเบอร์ 2 คนแฝงตัวเข้าไปในงานเลี้ยงภายในสถานทูต ในขณะที่อีก 2 คนปีนข้ามกำแพงสถานทูตพร้อมกับปืนกลเข้าไปในอาคารจากนั้นจึงทำการยึดตัวสถานทูต ผู้ก่อการอนุญาตให้ชาวไทยทั้งหมดในตึกออกไปได้ แต่ให้เหลือเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำกัมพูชา Shimon Avimor ที่อยู่ในเหตุการณ์, เลขานุการเอก Nitzan Hadas และภรรยา รวมถึงเจ้าหน้าที่ของสถานทูตรวม 6 คนไว้เป็นตัวประกัน",
"title": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515"
},
{
"docid": "156058#31",
"text": "หลังจากเสด็จออกจากอียิปต์พระพลานามัยของพระเจ้าชาห์ได้ทรุดลงอย่างรวดเร็วจากการที่ทรงต่อสู้กับพระอาการมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน ความรุนแรงของพระอาการทำให้ทั้งสองพระองค์ที่ทรงลี้ภัยต้องเสด็จไปยังสหรัฐอเมริกาในระยะเวลาสั้นๆเพื่อรักษาพระอาการประชวร การปรากฏของทั้งสองพระองค์ในสหรัฐอเมริกาได้ทำให้ความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดอยู่แล้วระหว่างวอชิงตันและฝ่ายปฏิวัติที่เตหะรานได้ลุกลามไปมากยิ่งขึ้น พระเจ้าชาห์ประทับที่สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าจะทรงมีจพระประสงค์ที่จะรักษาพระอาการประชวรจริงๆแต่กลายเป็นการต่อระยะเวลาแห่งความเป็นศัตรูระหว่างชาติทั้งสอง เหตุการณ์นี้ได้ลุกลามบานปลายจนเกิดยึดสถานเอกอัครราชทูตอเมริกันประจำกรุงเตหะรานซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อเหตุการณ์วิกฤตตัวประกันอิหร่าน",
"title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี"
},
{
"docid": "334664#13",
"text": "ทีมสวาทได้เริ่มล้อมรถบัสเมื่อเวลา 19.37 น.[29] ตำรวจได้พังกระจกรถบัสด้วยค้อนขนาดใหญ่และพยายามที่จะเข้าสู่ตัวรถ แต่ก็ไม่สามารถทำไดเนื่องจากถูกยิงขัดขวาง ความพยายามที่จะขึ้นใช้เวลาไปกว่าหนึ่งชั่วโมง หลังจากนั้น ระเบิดแก๊สน้ำตาสี่ลูกได้ถูกโยนเข้ามาในรถเมื่อตำรวจพยายามที่จะเปิดประตูรถ ไม่มีตำรวจนายได้ทราบถึงที่เปิดประตูฉุกเฉิน ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาและความพยายามของพวกเขา ความพยายามที่จะพังประตูเขามาโดยผูกเชือกเข้ากับยานพาหนะของตำรถทำให้เชือกกระชาก และกลายเป็นการดันประตูไปแทน[30] นักแม่นปืนตำรวจ ผู้ซึ่งเข้าตำแหน่งก่อนหน้านี้ ได้ยิงเมนโดซาเข้าที่หัวระหว่างการโจมตี ในเวลานั้น ตามที่โฆษกประธานาธิบดี เอ็ดวิน ลาเซียร์ดา มีตัวประกันอีกสี่คนที่ได้รับยืนยันว่าเสียชีวิต ตัวประกันอีกหกคนได้รับยืนยันว่ารอดชีวิตและไม่ได้รับบาดเจ็บสาหัส[31] มีรายงานว่ามีสองคนนอกรถ ได้แก่วิศวกรของ TVB วัย 47 ปีและเด็กผู้มุงดูเหตุการณ์ ได้รับลูกหลงบาดเจ็บจากกระสุนที่ยิงออกมา[9]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#7",
"text": "อีกเกือบหนึ่งชั่วโมงต่อมา นักท่องเที่ยวฮ่องกงหกคนได้รับการปล่อยตัว:[15] หญิงชราซึ่งบ่นถึงความเจ็บปวดที่ท้องเป็นรายแรกที่ได้รับการปล่อยตัวจากรถบัส สามีของเธอและผู้ป่วยโรคเบาหวานคนหนึ่งในรับการปล่อยตัว จากนั้น หญิงวัยกลางคนและลูกอีกสองคนได้รับการป่อยตัว และเมื่อเธอออกมา เธอได้ขอให้เด็กคนที่สาม (เป็นเด็กชายวัย 12 ปี) ได้รับการปล่อยตัวเช่นกัน โดยอ้างว่าเด็กชายคนดังกล่าวเป็นลูกของเธอ ช่างภาพชาวฟิลิปปินส์สองคนขึ้นมาบนรถบัสและอาสาที่จะถูกจับเป็นตัวประกันแทนการปล่อยตัวก่อนหน้า ผู้ที่ได้รับการปล่อยตัวได้ถูกนำไปยังพื้นที่ตำรวจในสวนรีซัล[16]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#11",
"text": "หลังจากเมนโดซาเห็นน้องชายของตนถูกจับกุมทางทีวีและวิทยุบนรถบัสซึ่งถ่ายทอดสดทางสื่อ พบว่าเขามีอาการกระสับกระส่าย เขาคิดว่าเขาถูกยิงเตือนเมื่อเห็นน้องชายและลูกชายถูกฉุดออกไปโดยตำรวจ[27] เขาเรียกร้องผ่านทางการสัมภาษณ์ทางวิทยุให้ตำรวจปล่อยตัวน้องชายของเขา มิฉะนั้นเขาจะเริ่มการสังหารตัวประกัน เมนโดซาได้กล่าวอ้างในภายหลังสดทางวิทยุไม่นานก่อนที่ตำรวจจะจู่โจมและเขาได้ยิงตัวประกันไปสองคน[6][28]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "469921#3",
"text": "19 ชั่วโมงผ่านไป ผู้ก่อการก็ตกลงที่จะวางอาวุธและปล่อยตัวประกันแลกกับการที่ไทยจะต้องจัดเครื่องบินนำตัวผู้ก่อการไปส่งยังกรุงไคโร ประเทศอียิปต์ โดยผู้ก่อการได้เดินทางออกจากสถานทูตโดยรถบัสไปยังสนามบินขึ้นเครื่องบินของสายการบินไทยโดยมีเจ้าหน้าที่ของไทยซึ่งมีรัฐมนตรีอยู่ 2 คนรวมถึงเอกอัครราชทูตอียิปต์ประจำประเทศไทยโดยสารไปเป็นประกันด้วย",
"title": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515"
},
{
"docid": "145088#8",
"text": "สหรัฐอเมริกาถือเป็นมิตรประเทศของประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติ แม้กระทั่งหลังการปฏิวัติอิหร่านแล้ว รัฐบาลของประธานาธิบดีคาร์เตอร์ ก็ยังคงมองอิหร่านเป็นปราการเพื่อต่อต้านอิรักและสหภาพโซเวียต สหรัฐมีการเจรจาเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับรัฐบาลเฉพาะกาลของอิหร่าน มีการอนุมัติความร่วมมือด้านข่าวกรองระหว่างสองประเทศในปี 1979 ทั้งสหรัฐและอิหร่าน แต่ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐ-อิหร่าน ขาดสะบั้นลงเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน และอิหร่านยังกล่าวหาสหรัฐว่าอยู่เบื้องหลังการรัฐประหารอิหร่านในปี 1953 สหรัฐได้ตัดทางการทูตเป็นการตอบโต้ ในขณะที่บรรดาผู้นำของอิหร่านรวมทั้งรูฮุลลอฮ์ โคมัยนีต่างเชื่อทฤษฎีสมคบคิดที่ว่าสหรัฐให้ \"ไฟเขียว\" แก่ซัดดัม ฮุสเซน ในการบุกอิหร่าน และยังสงใสว่าสหรัฐจะใช้อิรักเป็นหมากในการแก้แค้นเรื่องวิกฤตตัวประกัน ตามบันทึกของประธานาธิบดีคาร์เตอร์เองก็ได้ระบุในไดอารีของเขาว่า \"\"พวกผู้ก่อการร้ายอิหร่านกำลังจะทำเรื่องบ้าๆอย่างฆ่าตัวประกันชาวอเมริกันถ้าพวกเขาถูกบุกโดยอิรัก ที่เขาบอกว่าเป็นหุ่นเชิดของอเมริกา\"\"",
"title": "สงครามอิรัก–อิหร่าน"
},
{
"docid": "469921#4",
"text": "ก่อนที่จะขึ้นเครื่องบิน ผู้ก่อการได้ให้ปืนกลในเหตุการณ์เป็นของขวัญแก่นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจรกระบอกหนึ่ง ส่วนอีกกระบอกมอบให้ผู้บัญชาการกองทัพบกประพาส จารุเสถียร\nผู้ก่อการปาเลสไตน์ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากรัฐบาลอียิปต์ โดยหลังจากที่พวกเขาลงจากเครื่องบิน ผู้ก่อการได้ถูกนำไปขึ้นรถตำรวจโดยไม่ได้ใส่กุญแจมือแต่อย่างไร ส่วนสำนักข่าวต่างๆในอียิปต์ต่างเรียกพวกเขาเป็นวีรบุรุษ ในด้านของอิสราเอล นายกรัฐมนตรีของอิสราเอลในขณะนั้น โกลดา เมอีร์ และคณะได้แสดงความชื่นชมและขอบคุณรัฐบาลไทยอย่างยิ่งสำหรับการจัดการอันระมัดระวังซึ่งทรงประสิทธิภาพและมีความรับผิดชอบอย่างสูง (active vigilance and supreme responsibility)",
"title": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515"
},
{
"docid": "334664#1",
"text": "จากผลของการปิดล้อมนานสิบชั่วโมง ความพยายามช่วยเหลือตัวประกันที่ผิดพลาดของตำรวจกรุงมะนิลาได้ปรากฏบนหน้าจอโทรทัศน์ถ่ายทอดสดแก่ผู้ชมหลายล้านคนที่กำลังชมข่าวอยู่ ตัวประกัน 8 คน[2]และเมนโดซา[3]เสียชีวิต และอีก 9 คนได้รับบาดเจ็บ รัฐบาลฮ่องกงได้ประกาศเตือนภัยท่องเที่ยวขั้นสูงสุด \"สีดำ\" ทันที[4]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#0",
"text": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา เกิดขึ้นเมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์ที่ถูกปลดออกจากตำแหน่งได้ยึดรถบัสทัวร์หน้าควิริโนแกรนด์สแตนด์ในสวนรีซัล กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 อดีตสารวัตรตำรวจอาวุโสซึ่งไม่พอใจ (มียศเทียบเท่าร้อยเอกในกองทัพบก) โรลันโด เมนโดซา จากสถานีตำรวจมะนิลาได้จี้รถบัสทัวร์ซึ่งมีผู้โดยสารเป็นนักท่องเที่ยวจากฮ่องกงจำนวน 25 คน ในความพยายามที่จะได้รับตำแหน่งงานกลับคืน[1] เขากล่าวว่า เขารู้สึกผิดหวังอย่างยิ่งที่ถูกปลดออกจากตำแหน่งโดยไม่มีโอกาสที่จะปกป้องตนเองอย่างเหมาะสม และสิ่งที่เขาต้องการมีเพียงการรับฟังอย่างยุติธรรมเท่านั้น",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#14",
"text": "หมวดหมู่:พ.ศ. 2553",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#3",
"text": "เมนโดซาสำเร็จการศึกษาด้านอาชญวิทยา สมัครเข้าเป็นตำรวจในตำแหน่งสายตรวจ จากนั้นได้ไต่เต้าขึ้นสู่ตำแหน่งสารวัตรอาวุโส เขาได้รับมอบเหรียญตรา 17 ครั้งในความกล้าหาญและเกียรติยศ ผู้ร่วมงานในสถานีตำรวจกรุงมะนิลากล่าวว่า เขาเป็นคนทำงานหนักและใจดี[7] ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 เมนโดซานำกลุ่มตำรวจโบกสัญญาณให้กับรถตู้ซึ่งกำลังขนกล่องเงินจำนวน 13 กล่อง ซึ่งอดีตประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ เฟอร์ดินานด์ มาร์กอส พยายามที่จะลักลอบนำออกนอกประเทศ เมนโดซาและทีมของเขาได้ส่งเงินดังกล่าวคืนให้กับทางการ[7] ในปีนั้น เมนโดซาได้รับรางวัลในฐานะที่เป็นสิบตำรวจยอดเยี่ยมของฟิลิปปินส์[8]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#9",
"text": "สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินไม่อนุญาตตามความต้องการของเมนโดซาที่จะรับเขากลับเข้ารับราชการตำรวจอีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ยืนยันกับเมนโดซาว่าคดีของเขาจะได้รับการพิจารณาใหม่ อิสโก โมเรโน รองนายกเทศมนตรีกรุงมะนิลา ส่งจดหมายจากผู้ตรวจการแผ่นดินมาถึงบริเวณที่เกิดเหตุการณ์จี้ตัวประกันหลังจากดวงอาทิตย์ตกดิน[19] อย่างไรก็ตาม เมนโดซากล่าวถึงการตัดสินใจของผู้ตรวจการแผ่นดินว่าเป็น \"ขยะ\" และกล่าวว่าข้อความดังกล่าวมิได้ตอบสนองข้อเรียกร้องของเขา[20] นายกเทศมนตรีลิมกล่าวทางวิทยุท้องถิ่นว่าทางการตกลงที่จะรับเมนโดซากลับเข้ารับราชการและยุติวิกฤตดังกล่าว แต่ข้อความไม่สามารถส่งไปได้เนื่องจากการจราจรที่เลวร้าย[21][22]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "516206#0",
"text": "วิกฤตตัวประกันอินอะมะนาส เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556 เมื่อผู้ก่อการร้ายที่เชื่อมโยงกับกลุ่มอัลกออิดะฮ์ ภายใต้การบังคับบัญชาของมุคตาร บัลมุคตาร จับตัวประกันกว่า 800 คน ที่โรงงานผลิตแก๊สเชื้อเพลิงใกล้กับเมืองอินอะมะนาส ประเทศแอลจีเรีย สี่วันให้หลัง หน่วยปฏิบัติการพิเศษเข้าจู่โจมโรงแยกแก๊สดังกล่าวเพื่อที่จะปลดปล่อยตัวประกัน ",
"title": "วิกฤตตัวประกันอินอะมะนาส"
},
{
"docid": "516206#1",
"text": "มีตัวประกันต่างชาติเสียชีวิตอย่างน้อย 39 คน ร่วมกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยชาวแอลจีเรีย 1 คน และคนร้าย 29 คน คนงานชาวแอลจีเรีย 685 คน และชาวต่างชาติ 107 คนได้รับการปล่อยตัว มีคนร้ายถูกจับ 3 คน",
"title": "วิกฤตตัวประกันอินอะมะนาส"
},
{
"docid": "850480#1",
"text": "จารชนฝึกหัดทั้ง 4 คนจะถูกมัดไว้และจะต้องผลัดกันทายตัวเลข 0-99 ตามลำดับ โดยพิธีกรจะบอกใบ้ว่าเลขที่ตอบไปนั้นใกล้เคียงเลขอันตรายหรือไม่ ถ้าพิธีกรบอกว่าตัวเลขที่ทายออกมามากไปหรือน้อยไป ตัวเลขที่ทายพร้อมทั้งตัวเลขที่อยู่ในช่วงที่พิธีกรใบ้จะถูกตัดออก เช่น หากผู้แข่งขันคนแรกทายว่า 25 แล้วพิธีกรบอกว่า น้อยไป ตัวเลขตั้งแต่ 0-25 จะถูกตัดออก และผู้เข้าแข่งขันท่านต่อไปจะทายเลขต่อ ๆ ไปจนกระทั่งมีผู้ทายตัวเลขตรงกับเลขอันตราย จารชนฝึกหัดคนนั้นจะถูกยิงด้วยกระสุนแป้งและจะโดนบทลงโทษซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละสัปดาห์และไม่ได้คะแนนในรอบนี้ไป ส่วนจารชนฝึกหัด 3 ท่านจะได้คะแนนสะสมคนละ 1 คะแนน แต่ถ้าจารชนฝึกหัดคนนั้นเลือกเลขแล้วโดนพิฆาตคนแรก เกมจะจบทันทีในรอบนี้จะมีคำปริศนาอยู่ 4 คำ โดยในแต่ละคำ จารชนฝึกหัดแต่ละคนจะต้องไปเป็นตัวประกันอยู่ด้านบนสไลเดอร์ แล้วเลือกคำปริศนา 1 คำ จากนั้นพิธีกรจะกำหนดตัวอักษรที่ตัวประกันจะต้องใบ้คำสำหรับคำปริศนานั้น (เช่น ถ้าพิธีกรกำหนดตัวอักษร \"ด\" ตัวประกันจะต้องใบ้เป็นเสียงพยัญชนะ ด.เด็กเท่านั้น หากใบ้เป็นเสียงพยัญชนะอื่น จะถือว่าฟาล์ว) โดยตัวประกันจะมีสิทธิ์ใบ้คำ 3 ครั้ง ครั้งละ 10 วินาที หลังจากใบ้เสร็จ จารชนฝึกหัดอีก 3 คนที่เหลือจะมีสิทธิ์กดไฟ ไฟติดที่ใคร คนนั้นจะมีโอกาสตอบ 1 คำตอบ ถ้าตอบถูกจะถือว่าช่วยตัวประกันได้สำเร็จ แต่ถ้าตอบไม่ถูก ตัวประกันจะต้องออกมาใบ้เพิ่มอีก 1 ครั้ง",
"title": "เกมจารชน คู่หูอันตราย"
},
{
"docid": "334664#8",
"text": "จนถึงเวลาเที่ยง ตัวประกันอีกสี่คน (รวมไปถึงไกด์ทัวร์และช่างภาพอีกสองคน) ได้รับการปล่อยตัว ทำให้มีตัวประกันถูกปล่อยตัวไปแล้ว 10 คน นักข่าวทีวี 5 เออร์วิน ทัลโฟ ยังคงติดต่อกับเมนโดซาอย่างต่อเนื่อง โดยมีออร์ลันโด เยบรา ผู้อำนวยการ และโรเมโอ ซัลวาดอร์ หัวหน้าสารวัตร เป็นผู้นำการเจรจา ยังเหลือตัวประกันอีก 17 คนบนรถ[17] ในเวลานี้ สถานีโทรทัศน์หลายแห่ง (ABS-CBN, GMA, TV5 และ NBN) ได้ถ่ายทอดสดในมะนิลา TVB และ Cable TV ยังได้ถ่ายทอดสอดในฮ่องกงหลังเที่ยงเป็นต้นไป และด้วยการยืมใช้การเชื่อมต่อดาวเทียมจากเครือข่าย GMA ทำให้ CNN, Channel News Asia, และรอยเตอร์ สามารถถ่ายทอดข่าวไปได้ทั่วโลก [18]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "334664#5",
"text": "ขณะที่รถบัสทัวร์ของคังไท่ ทราเวล เซอร์วิส กำลังรับนักท่องเที่ยวจากฮ่องกงจำนวน 25 คนหน้าควิริโนแกรนด์สแตนด์ในสวนรีซัล มือปืน โรลันโด เมนโดซา พยายามที่จะตามนักท่องเที่ยวขึ้นไปบนรถและขอโดยสารฟรี เมื่อคนขับปฏิเสธความต้องการของเขา เมนโดซาได้ชักอาวุธของตนเองมา และใส่กุญแจมือคนขับเข้ากับพวงมาลัยและทำการจี้รถบัส[9] อย่างไรก็ตาม ผู้รอดชีวิต ลี อิก บิว ได้เล่าว่าการขึ้นรถนั้นเกิดขึ้นที่ฟอร์ตซานเตียโก[10][11] ข้อเท็จจริงดังกล่าวได้รับการยืนยันโดยคนขับ อัลเบร์โต ลูบัง ผู้ซึ่งกล่าวว่าเมนโดซาได้ประกาศเจตนาที่แท้จริงของเขาที่สวนรีซัล[12]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "748573#0",
"text": "ตัวประกัน เป็นบุคคลหรือสิ่งอื่นซึ่งภาคีคู่ปรปักษ์ (belligerent) ฝ่ายหนึ่งถือหรือยึดไว้เป็นหลักประกันเพื่อปฏิบัติตามข้อตกลง หรือเป็นมาตรการป้องกันสงคราม ทว่า ในการใช้ร่วมสมัย ตัวประกันหมายความว่า บุคคลที่ถูกอาชญากรผู้ลักพาตัวยึดไว้เพื่อบังคับภาคีอื่น เช่น ญาติ นายจ้าง ผู้บังคับใช้กฎหมาย หรือรัฐบาลเพื่อให้กระทำหรืองดมิให้กระทำในทางหนึ่ง ๆ โดยมักขู่ว่าจะทำร้ายตัวประกันหลังเวลาล่วงคำขาด",
"title": "ตัวประกัน"
},
{
"docid": "519188#6",
"text": "เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวประกันที่เหลือในเตหะรานถูกแก้แค้น สหรัฐฯ จึงไม่มีชื่อในฐานะผู้เกี่ยวข้องในการพาคนหลบหนีครั้งนี้เลย โดยให้แคนาดาและทูตเทย์เลอร์เป็นผู้รับความดีความชอบไปทั้งหมด (ทูตเทย์เลอร์และภรรยาใช้สถานะความเป็นทูตออกจากอิหร่านระหว่างวิกฤตตัวประกันนั้นเอง ส่วนแม่บ้านชาวอิหร่านผู้ทราบถึงเรื่องคนอเมริกันหลบหนีแต่โกหกกับคณะปฏิวัติเพื่อช่วยพวกเขาได้หลบหนีไปยังอิรัก) เมนเดซได้รับเหรียญ Intelligence Star แต่เนื่องจากความเป็นปฏิบัติการลับ เขาจึงไม่สามารถเก็บเหรียญดังกล่าวไว้ได้จนกระทั่งข้อมูลของปฏิบัติการนี้ได้รับการเปิดเผยในปี 2540 ตัวประกันทั้งหมดได้รับการปล่อยตัวในวันที่ 20 มกราคม 2524 วันที่โรนัลด์ เรแกนสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 40 แห่งสหรัฐอเมริกา ภาพยนตร์จบด้วยคำกล่าวของประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์เกี่ยวกับวิกฤตการณ์และแผนการแคนาเดียนคาเปอร์",
"title": "แผนฉกฟ้าแลบ ลวงสะท้านโลก"
},
{
"docid": "159247#111",
"text": "จิมมี่ คาร์เตอร์, สมัครรับเลือกตั้งเหมือนเป็นบางคนที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดตั้งทางการเมืองวอชิงตัน, ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในปี 1976. ในเวทีโลก, คาร์เตอร์เป็นนายหน้าของข้อตกลงแคมป์เดวิด() ระหว่างอิสราเอลและอียิปต์. ในปี 1979 นักศึกษาชาวอิหร่านบุกสถานทูตสหรัฐในกรุงเตหะราน และจับชาวอเมริกัน 66 คนเป็นตัวประกัน, ส่งผลให้เกิดวิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน. ด้วยวิกฤตตัวประกันและ stagflation อย่างต่อเนื่อง, คาร์เตอร์แพ้การเลือกตั้งในปี 1980 ให้กับพรรครีพับลิกัน โรนัลด์ เรแกน. ในวันที่ 20 มกราคม 1981 หลายนาทีหลังจากที่ระยะเวลาในสำนักงานของคาร์เตอร์สิ้นสุดลง, เชลยตัวประกันสหรัฐที่เหลือในสถานทูตสหรัฐในอิหร่านได้รับการปล่อยตัว, สิ้นสุดวิกฤตตัวประกันนาน 444 วัน.",
"title": "ประวัติศาสตร์สหรัฐ"
},
{
"docid": "850480#2",
"text": "หากช่วยตัวประกันสำเร็จ ทั้งตัวประกันและคนที่ช่วยตัวประกันสำเร็จจะได้คะแนนไป โดยคะแนนที่ได้จะลดหลั่นตามจำนวนครั้งที่จารชนฝึกหัดตอบถูก \nแต่ถ้าหากไม่มีใครสามารถตอบถูกหลังจากการใบ้ทั้ง 3 ครั้ง จะไม่มีใครได้คะแนนในคำปริศนานี้ และตัวประกันจะถูกทำโทษโดยการถูกผลักจากบนสไลเดอร์ให้ลื่นลงมายังบ่อน้ำด้านล่าง",
"title": "เกมจารชน คู่หูอันตราย"
},
{
"docid": "808874#9",
"text": "หลังจากการเจรจาต่อรองทางการเมืองกับผู้นำไซอัด บาร์รีรัฐบาลเยอรมันตะวันตกได้รับอนุญาตให้โจมตีเครื่องบิน ลุฟต์ฮันซา 181 นี้ได้รับการดำเนินการเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม กองกำลังพิเศษ GSG 9 ซึ่งได้รับการสร้างขึ้นหลังจากวิกฤตตัวประกันในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่มิวนิก พ.ศ. 2515 มีเพียงสมาชิกหนึ่งคนของ GSG 9และ หนึ่งในผู้เข้าร่วมประชุมการบินได้รับบาดเจ็บ;มีกลุ่มที่จี้ลุฟต์ฮันซา 181เพียงคนเดียวคือ Souhaila Andrawes ที่รอดชีวิต.",
"title": "ฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมัน"
},
{
"docid": "334664#12",
"text": "กระสุนปืนนัดแรกยิงมาจากในรถบัสเมื่อเวลา 19.21 น. ในเวลาใกล้เคียงกัน มีรายงานว่าพลแม่นปืนได้ยิงยางรถบัสทำให้รถไม่สามารถเคลื่อนที่ต่อไปได้หลังจากพบว่ารถกำลังจะเคลื่อนที่ คนขับรถบัสสามารถหลบหนีออกมาได้เมื่อราว 19.30 น. และเล่าแก่ตำรวจว่าตัวประกันทั้งหมดบนรถถูกฆ่าแล้ว เขาได้ยอมรับในภายหลังว่าการสันนิษฐานของเขามาจากการได้เห็นเมนโดซายิงตัวประกันสามคนและยิงกระสุนออกไปไม่ทราบจำนวนบนรถบัส[12][25][29]",
"title": "วิกฤตตัวประกันมะนิลา"
},
{
"docid": "469921#1",
"text": "หลังจากนั้น ผู้ก่อการได้ย้ายตัวประกันไปยังชั้นสองของอาคารสามชั้นและเรียกร้องการปล่อยตัวนักโทษ 36 คนในเรือนจำอิสราเอล โดยผู้ก่อการขู่ว่าจะระเบิดสถานทูตทิ้ง ถ้าข้อเรียกร้องไม่ได้รับการตอบสนองภายในเวลา 8 นาฬิกาของวันที่ 29 ธันวาคม",
"title": "วิกฤตตัวประกันสถานทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย พ.ศ. 2515"
}
] |
1476 | ชาวทิเบต มีภาษาของตนเองหรือไม่ ? | [
{
"docid": "200882#0",
"text": "ชาวทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก",
"title": "ชาวทิเบต"
}
] | [
{
"docid": "100035#0",
"text": "ภาษาซองคาเป็นภาษาประจำชาติของภูฏาน อยู่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาสิกขิมและภาษาอื่นๆของชาวภูฏาน ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ เทียบได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฏาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสนา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูฏานเมื่อราว พ.ศ. 2200 โดย ชับดรุง งาวัง นัมกเยล ",
"title": "ภาษาซองคา"
},
{
"docid": "39790#0",
"text": "ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาติ",
"title": "ประวัติศาสตร์ทิเบต"
},
{
"docid": "106297#0",
"text": "ภาษาน่าซีเป็นภาษากลุ่มจีน-ทิเบต มีผู้พูดราว 300,000 คน ในลี่เจียง มณฑลยูนนาน ในพ.ศ. 2543 พบผู้พูดภาษานี้ 308,839 คน ในจำนวนนี้ 100,000 คน พูดได้ภาษาเดียว อีกราว 170,000 คน พูดภาษาจีน ภาษาทิเบต หรือภาษาไป๋ เป็นภาษาที่สอง ผู้พูดเกือบทั้งหมดอาศัยอยู่ในยูนนาน ส่วนน้อยอยู่ในทิเบต และมีความเป็นไปได้ที่จะมีผู้พูดภาษานี้ในพม่า เป็นภาษาที่มีการใช้แพร่หลาย มีราว 75,000 คนที่ใช้ภาษานี้ในรัฐบาลท้องถิ่น โรงเรียน และตลาด สื่อในเขตปกครองตนเองทั้งหมดเป็นภาษาน่าซี ภาษานี้เขียนด้วยอักษรตงบา ซึ่งเป็นอักษรน่าซีชนิดหนึ่ง อักษรละตินหรืออักษรกีบา ",
"title": "ภาษาน่าซี"
},
{
"docid": "289930#5",
"text": "กลุ่มภาษาทิเบตส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรทิเบต แต่ชาวลาดักและชาวบัลติบางส่วนเขียนภาษาของตนด้วยอักษรอาหรับแบบที่ใช้กับภาษาอูรดู ในบัลติสถาน ประเทศปากีสถาน ชาวบัลติเลิกใช้อักษรทิเบตมากว่าร้อยปีซึ่งเป็นอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม อย่างไรก็ตาม ชาวบัลติเริ่มตระหนักถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกโดยเฉพาะจากชาวปัญจาบ จึงพยายามฟื้นฟูอักษรทิเบตขึ้นมาใช้ควบคู่กับอักษรอาหรับ",
"title": "กลุ่มภาษาทิเบต"
},
{
"docid": "99234#0",
"text": "ภาษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรปา\nเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา คำคุณศัพท์ตามหลังคำที่ขยาย คำกริยาวิเศษณ์มาก่อนคำกริยา คำแสดงความเป็นเจ้าของ มาก่อนสิ่งที่อ้างถึง\nภาษาเขียนสมัยโบราณ มี 9 การกคือการกสมบูรณ์ (ไม่มีเครื่องหมาย) การกความเป็นเจ้าของ (-gi, -gyi, -kyi, -’i, -yi) การกแสดงเครื่องมือ (-gi, -gyi, -kyi, -’i, -yi) การกแสดงสถานที่ (-na) การกทั้งหมด (allative case; -la) การกลงท้าย (-ru, -su, -tu, -du, -r) การกแสดงมารยาท (-dang) การกแสดงคำนาม (-nas) และการกแสดงอารมณ์ (-las) การแสดงการกจะเติมที่นามวลีไม่ได้เติมที่คำแต่ละคำ ปัจจัยแสดงคำนามคือ –pa, -ba หรือ –ma ใช้กับคำนาม การแสดงเพศใช้ po หรือ bo สำหรับบุรุษลึงค์และ mo สำหรับสตรีลึงค์ แสดงพหูพจน์โดยใช้ –rnams หรือ –dag เมื่อมีการเน้น ทั้ง 2 กลุ่มคำสามารถเชื่อมกันได้ เช่น rnams–dag หมายถึง กลุ่มที่มีสมาชิกหลายคน dag –rnams หมายถึง หลายกลุ่ม",
"title": "ภาษาทิเบต"
},
{
"docid": "39790#31",
"text": "เมื่อจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบสาธารณรัฐ ทำให้เกิดสุญญากาศทางการเมืองในประเทศ มีการปรากฏตัวของขุนศึกที่แยกเป็นก๊กเป็นเหล่า ทิเบตประกาศตนเป็นประเทศเอกราชในช่วงนี้ มีการขับไล่ชาวจีนออกนอกประเทศ หลังจากการปฏิวัติในจีน กองทหารท้องถิ่นในทิเบตเขาโจมตีกองทหารจีนที่รักษาการณ์ในทิเบต เจ้าหน้าที่ชาวจีนถูกบังคับให้ลงนามในข้อตกลงสามข้อเพื่อยอมรับว่าอำนาจปกครองทิเบตของจีนได้สิ้นสุดลง พ.ศ. 2455 ทะไลลามะเสด็จกลับลาซา และเตรียมหาทางประกาศเอกราช ทิเบตและมองโกเลียกล่าวอ้างว่าทั้งสองได้ลงนามในสนธิสัญญายอมรับซึ่งกันและกันว่าเป็นประเทศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2456 แต่การมีอยู่ของเอกสารนี้ไม่เป็นที่ยืนยัน ในช่วง พ.ศ. 2456 – 2457 มีการจัดการประชุมที่สิมลาระหว่างอังกฤษ ทิเบตและจีน อังกฤษเสนอให้แบ่งทิเบตเป็นทิเบตนอกและทิเบตใน (คล้ายกับข้อตกลงระหว่างจีนกับรัสเซียเกี่ยวกับมองโกเลีย) ทิเบตนอกคือส่วนที่เป็นเขตปกครองตนเองทิเบตในปัจจุบัน จะเป็นส่วนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจีน ส่วนทิเบตในได้แก่ คามตะวันออกและอัมโดอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลที่ลาซา ระหว่าง พ.ศ. 2451 – 2461 มีกองทหารรักษาการณ์ชาวจีนอยู่ในคามและมีอำนาจควบคุมผู้ปกครองท้องถิ่น",
"title": "ประวัติศาสตร์ทิเบต"
},
{
"docid": "422523#0",
"text": "ทิเบต (ภาษาทิเบต: བོད་ \"เป้อ\", ภาษาจีน: 西藏 xīzàng \"ซีจ้าง\") เป็นเขตที่ราบสูงในทวีปเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่อยู่ของชาวทิเบต และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และปัจจุบันมีชาวฮั่นและหุยมาอยู่อาศัยด้วยเป็นจำนวนมาก ทิเบตเป็นบริเวณที่สูงที่สุดในโลก มีระดับความสูงเฉลี่ย 4,900 เมตร",
"title": "ทิเบต"
},
{
"docid": "289930#2",
"text": "มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า",
"title": "กลุ่มภาษาทิเบต"
},
{
"docid": "451224#0",
"text": "ภาษาคังเยีย (Kangjia language; ภาษาจีน, 康家语 Kāngjiā Yǔ) เป็นภาษากลุ่มมองโกลที่เพิ่งพบใหม่ พูดโดยชาวมุสลิมประมาณ 300 คนใน เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบตฮวงนาน (Huangnan Tibetan Autonomous Prefecture) ในมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ภาษานี้มีลักษณะเป็นภาษาที่อยู่กึ่งกลางระหว่างภาษาโบนันกับภาษาซานตาหรือภาษาดองเซียง",
"title": "ภาษาคังเยีย"
},
{
"docid": "370865#1",
"text": "ในเนปาล ภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ของชนกลุ่มอินโด-อารยันส่วนใหญ่ที่อยู่ในหุบเขาทางเหนือของอินเดียจนถึงเขตสูงสุดที่สามารถปลูกข้าวได้ ภาษาแม่ของชนเผ่าในบริเวณภูเขาส่วนใหญ่เป็นกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ภาษาเนปาลมีความแตกต่างจากภาษาปาหารีกลางเพราะได้รับอิทธิพลทั้งทางไวยากรณ์และคำศัพท์จากภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ผู้พูดภาษาปาหารีกลางและตะวันตกไม่มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับภาษากลุ่มทิเบต-พม่า จึงรักษาเอกลักษณ์ของกลุ่มภาษาอินโด-อารยันได้ แม้ว่าชาวปาหารีจะได้พัฒนารูปแบบของตนเองและมีการใช้อย่างแพร่หลาย แต่บางครั้งก็จัดภาษาเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของภาษาฮินดี ชื่อเรียกของภาษาเหล่านี้มีมาก เช่น เนปาลี (ภาษาของชาวเนปาล) กุรขาลี (ภาษาของชาวกุรข่า) ปัรภติยะ (ภาษาของชาวภูเขา) ภาษาปัลปาเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเนปาล บางครั้งถูกแยกเป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหาก",
"title": "กลุ่มภาษาปาหารี"
},
{
"docid": "451425#0",
"text": "ภาษาฉิ่นหรือกลุ่มภาษากูกิช หรือกลุ่มภาษากูกี-ฉิ่น (Kukish languages หรือ Kuki-Chin) เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ที่ใช้พูดทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พม่าตะวันตกและบังกลาเทศตะวันออก ผู้พูดภาษานี้ในภาษาอัสสัมเรียกว่าชาวกูกี และภาษาพม่าเรียกว่า \"ชาวฉิ่น\" และบางส่วนเรียกตนเองว่า ชาวนาคา ในขณะที่ ชาวไมโซ แยกเป็นอีกกลุ่มต่างหาก ภาษาของพวกเขาคือภาษาไมโซ มีการศึกษาถึงระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยไมโซราม",
"title": "ภาษาฉิ่น"
},
{
"docid": "106180#1",
"text": "ประชากรส่วนใหญ่มีต้นกำเนิดมาจากชาวทิเบต โดยประชากรเหล่านี้อพยพมาในเวลาต่างๆกันในอดีต ภาษาที่พูดเป็นสาขาของภาษาทิเบตโบราณ มีชาวชีนบางส่วนพูดภาษาชีนา รูปแบบปัจจุบันของภาษาบัลติได้อิทธิพลจากภาษาบูรุซักกี ภาษาตุรกีและภาษาอูรดู รวมทั้งได้อิทธิพลจากวรรณกรรมอิสลามภาษาเปอร์เซียด้วยทำให้มีความแตกต่างจากภาษาทิเบตที่เป็นต้นกำเนิดมากขึ้น\nภาษาบัลติใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงคามมากกว่าสำเนียงอูซังและอัมโด จึงเป็นไปได้ว่าชาวทิเบตที่เข้าสู่บัลติสถานมาจากแคว้นคาม นักวิชาการบางกลุ่ม เช่น Rever and H.A. Jascke ถือว่าภาษาบัลติเป็นสำเนียงตะวันตกสุดของภาษาทิเบต ไม่ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก\nภาษาบัลติเคยมีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรบัลติ ซึ่งเป็นอักษรแบบเดียวกับอักษรทิเบต ต่อมาถูกแทนที่ด้วยอักษรอาหรับแบบอูรดูเมื่อราว พ.ศ. 2200\nปัจจุบันได้มีการสนับสนุนให้ชาวบัลติกลับมาใช้อักษรของตนเองเพื่อรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนไว้ อักษรชนิดนี้มีใช้หลังจากที่ชาวทิเบตประดิษฐ์อักษรของตัวเองขึ้น และแพร่เข้าสู่บัลติสถานเมื่อราว พ.ศ. 1270 ใช้ในงานเขียนทางศาสนาและเป็นอักษรราชการ จนเมื่อราว พ.ศ. 2100เมื่อราชวงศ์มักโปนมีอำนาจและมีความสัมพันธ์กับราชวงศ์โมกุลของอินเดีย ภาษาเปอร์เซียเข้ามามีบทบาทเหนือกว่าภาษาบัลติ และเมื่อบัลติสถานถูกรวมเข้ากับปากีสถาน เมื่อ พ.ศ. 2491 ภาษาอูรดูและภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทมากจนแทบจะไม่มีการประดิษฐ์คำใหม่ในภาษาบัลติเลย โดยใช้คำจากภาษาอูรดูและภาษาอังกฤษแทน",
"title": "ภาษาบัลติ"
},
{
"docid": "289930#1",
"text": "ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด",
"title": "กลุ่มภาษาทิเบต"
},
{
"docid": "653562#3",
"text": "ผิดกันเพียงแต่ว่า ชาวซ่ง ชาวเหลียว และชาวหยวน ใช้ภาษาและอักษรจีนในการจารึกพระไตรปิฎก ขณะที่ชาวซีเซี่ยใช้ภาษาของตนเองในการจารึก เป็นภาษาที่คล้ายกับภาษาทิเบต แต่ใช้อักษรคล้ายจีน หากมีความซับซ้อนในเชิงการผสม ปัจจุบันมีนักวิชาการพยายามรื้อฟื้นภาษาทังกุตขึ้นมาเพื่อใช้งานด้านวิชาการ และมีการเผยแพร่สิ่งพิมพ์สมัยซีเซี่ยดังเช่น พระไตรปิฎกฉบับซีเซี่ยฉบับนี้",
"title": "พระไตรปิฎกฉบับซีเซี่ย"
},
{
"docid": "120167#0",
"text": "ภาษาฮานี (ชื่อในภาษาของตนเอง: Haqniqdoq; อักษรจีนตัวย่อ: 哈尼语, อักษรจีนตัวเต็ม: 哈尼語 พินยิน: Hāníyǔ; ภาษาเวียดนาม: Tiếng Hà Nhì) เป็นภาษาของชาวโลโลหรือยิ อยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีผู้พูดในจีน ลาว พม่าและเวียดนามมีผู้พูดทั้งหมด 449,261 คน พบในพม่า 200,000 คน (พ.ศ. 2534) ทางภาคตะวันออกของรัฐฉาน พบในจีน 130,000 คน (พ.ศ. 2533) ในสิบสองปันนา พบในลาว 58,000 คน (พ.ศ. 2538) ในหลวงน้ำทา และพงสาลี พบในไทย 60,000 คน (พ.ศ. 2541) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พบในเวียดนาม 1,261 คน (พ.ศ. 2538) ในจังหวัดเกวียงบิญและเกวียงตรีที่อยู่ใกล้ชายแดนลาว จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์",
"title": "ภาษาฮานี"
},
{
"docid": "120169#0",
"text": "ภาษาลาดัก (ภาษาทิเบต: ལ་དྭགས་སྐད་; La-dwags skad) หรือภาษาโภติหรือที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่าภาษาทิเบตโบราณตะวันตก เป็นภาษาหลักของชาวลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีระ และใช้พูดในบัลติสถาน ภาษาลาดักใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ชาวลาดักเองก็มีวัฒนธรรมหลายอย่างใกล้ชิดกับชาวทิเบต รวมทั้งนับถือศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาลาดักกับภาษาทิเบตกลางไม่สามารถเข้าใจกันได้ แม้ว่าจะมีการเขียนที่ถ่ายทอดมาจากภาษาทิเบตโบราณ มีผู้พูดภาษาลาดักในอินเดีย 200,000 คน และอาจจะมีอีกราว 12,000 คนในทิเบตที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน สำเนียงย่อยหลายสำเนียง ส่วนใหญ่ไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้นสำเนียงสโตตสกัตและสำเนียงลาดักบนที่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาทิเบตกลาง \nภาษาลาดักเขียนด้วยอักษรทิเบต โดยชาวลาดักจะออกเสียงตรงตามตัวอักษรและออกเสียงอุปสรรค ปัจจัย อักษรนำที่มักจะไม่ออกเสียงในภาษาทิเบตสำเนียงอัมโด คาม อู่จั้งและลาซา แนวโน้มการออกเสียงแบบนี้ ยังพบในภาษาบัลติอีกด้วย ตัวอย่างเช่น sta 'ขวาน ' ภาษาทิเบตออกเสียงเป็น [ta] แต่ภาษาลาดักยังออกเสียงเป็น [sta] ’bras 'ข้าว' ภาษาทิเบตออกเสียงเป็น[dre] ส่วนชาวลาดักออกเสียงเป็น [dras] การถอดเป็นอักษรโรมันใช้วิธีการเดียวกับภาษาฮินดี",
"title": "ภาษาลาดัก"
},
{
"docid": "149129#0",
"text": "ธงชาติเขตปกครองตนเองทิเบต เริ่มปรากฏการใช้เมื่อ พ.ศ. 2455 โดยทะไลลามะองค์ที่ 13 แห่งทิเบต ทรงออกแบบขึ้น โดยรวมเอาธงประจำกองทัพของชาวทิเบตในทุกเขตแขวงมาสร้างขึ้นเป็นธงเดียว ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของกองทัพชาวทิเบตทั้งหมดมาจนถึง พ.ศ. 2493 เนื่องจากกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนได้บุกเข้ายึดครองทิเบต และสถาปานาดินแดนแห่งนี้เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน ",
"title": "ธงชาติทิเบต"
},
{
"docid": "103182#0",
"text": "ภาษาลิมบูเป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใช้พูดในเนปาล สิกขิม และตำบลดาร์จีลิงในรัฐเบงกอลตะวันตก อินเดีย โดยชาวลิมบู ซึ่งส่วนใหญ่จะพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาที่สอง ชื่อภาษา “ลิมบู” เป็นคำจากภาษาอื่นและไม่รู้ที่มา ชาวลิมบูเรียกตนเองว่า “ยักทุมบา” และเรียกภาษาของตนว่า “ยักทุงปัน” มีสำเนียงสำคัญสี่สำเนียงคือ ปันแทร์ เพดาเป ชัตแทร์ และทัมบาร์ โคเล สำเนียงปันแทร์เป็นสำเนียงมาตรฐาน ในขณะที่สำเนียงเพดาเปเป็นสำเนียงที่เข้าใจได้ทั่วไป สิ่งตีพิมพ์ในภาษาลิมบูมักพิมพ์ควบคู่ไปกับภาษาเนปาล ภาษานี้เขียนด้วยอักษรเทวนาครีได้ด้วย\nภาษาลิมบู ภาษาเลปชา และภาษาเนวารีเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต ที่ใช้พูดในแถบเทือกเขาหิมาลัยตอนกลางและมีตัวอักษรเป็นของตนเอง อักษรกีรันตีหรืออักษรลิมบูน่าจะเกิดขึ้นในช่วงที่พุทธศาสนาเผยแพร่เข้าไปในสิกขิมเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23 อักษรลิมบูน่าจะประดิษฐ์ขึ้นในสมัยเดียวกับอักษรเลปชา โดยอักษรเลปชาประดิษฐ์ขึ้นโดยกษัตริย์องค์ที่ 3 ของสิกขิม พยักโด นัม-กยัล ส่วนอักษรลิมบูประดิษฐ์โดยวีรบุรุษของชาวลิมบู เต-องซี ศิริยูงะ หรือศิริโยงะ ผู้นับถือศาสนาพุทธแบบสิกขิมที่ถูกลอบสังหารโดยพระตซงตามคำสั่งของกษัตริย์สิกขิม ซึ่งเป็นเวลาเดียวกับที่ ศิมะห์ ประทับ ชาห์เป็นกษัตริย์ของเนปาล อักษรทั้งสองชนิดแพร่หลายไปเพราะการเผยแพร่พุทธศาสนาในบริเวณนี้",
"title": "ภาษาลิมบู"
},
{
"docid": "179948#11",
"text": "รัฐบาลจีนปฏิเสธข้อกล่าวอ้างที่ว่าคุณภาพชีวิตของชาวทิเบตตกต่ำลง โดยชี้ให้เห็นว่ามีการใช้ภาษาทิเบตในโรงเรียนและในศาล และชีวิตของชาวทิเบตได้รับการพัฒนาให้ดีกว่าสมัยดาไลลามะหลายด้าน ตัวอย่างเช่น ค่าจีดีพีของเขตปกครองตนเองทิเบตในปัจจุบันเป็น 30 เท่าของเมื่อ พ.ศ. 2493 มีทางหลวงมากกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งสร้างหลังจาก พ.ศ. 2493 มีการจัดระบบการศึกษาหลังจากรวมเข้ากับสาธารณรัฐประชาชนจีน และมีสถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 25 แห่งที่รัฐบาลจีนสร้าง อัตราการตายของทารกลดลงจาก 43% ใน พ.ศ. 2493 เหลือ 0.66% ใน พ.ศ. 2543 ช่วงชีวิตเพิ่มขึ้นจาก 35.5 ปีใน พ.ศ. 2493 เป็น 67 ปี ใน พ.ศ. 2543 การปฏิวัติวัฒนธรรมและการทำลายวัฒนธรรมทั่วทั้งประเทศจีนถูกประณ\nามว่าเป็นภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งผู้ปลุกปั่นได้ถูกตัดสินในศาล และการริเริ่มขึ้นอีกเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ในประเทศจีนปัจจุบัน แผนพัฒนาภาคตะวันตกของจีนรวมทั้งทิเบตด้วย เป็นการมุ่งจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดีขึ้น",
"title": "ขบวนการทิเบตเอกราชนานาชาติ"
},
{
"docid": "92429#8",
"text": "ในยุคนี้พระเจ้าซรอนซันกัมโปได้ทรงส่งทูตชื่อ ทอนมี สัมโภตะ ไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยนาลันทา แล้วกลับทิเบต ท่านได้เริ่มงานประดิษฐ์อักษร และเขียนไวยากรณ์สอนชาวทิเบต โดยใช้อักษรพราหมี ที่นิยมใช้กันในกัศมีร์ (แคชเมียร์) และดำเนินงานเผยแผ่พุทธศาสนาทำให้ประชาชนเลื่อมใส นับว่าพุทธศาสนามีบทบาทสำคัญในการทำให้ชาวทิเบตมีวัฒนธรรมด้านภาษา แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย เพราะได้รับความต้านทานจากความเชื่อเดิม การที่ภาษาทิเบตที่มีรากฐานมาจากอินเดียทำให้รักษาความหมายในการแปลคัมภีร์พุทธศาสนาสันสกฤตเป็นทิเบตได้ดี หากต้นฉบับสันสกฤตสูญหาย ก็ใช้ต้นฉบับของทิเบตเทียบเคียงของเดิมได้ดีที่สุด",
"title": "ศาสนาพุทธแบบทิเบต"
},
{
"docid": "455187#0",
"text": "ภาษามองเกอร์ (Monguor language; ภาษาจีน: 土族语; พินยิน: Tǔzúyǔ;) เป็นกลุ่มภาษามองโกล มีหลายสำเนียง พูดโดยชาวมองเกอร์ มีระบบการเขียนที่พัฒนามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 แต่ปัจจุบันใช้น้อย ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองภาษาคือภาษามองคุล (Mongghul) ในเขตปกครองตนเองฮูซูและตู (Huzhu Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบต และภาษามังเคอร์ (Mangghuer) ในเขตปกครองตนเองมิเญ ฮุยและตู (Minhe Hui and Tu Autonomous County) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีน",
"title": "ภาษามองเกอร์"
},
{
"docid": "59305#0",
"text": "ภาษาสิกขิม หรือ ภาษาภูเตีย เป็นภาษาย่อยของภาษาทิเบตใต้ มีผู้พูดจำนวนหนึ่งในชุมชนภูเตีย ทางภาคเหนือของสิกขิมชื่อเรียกในภาษาของตนเองคือ Dranjongke (Wylie: Bras-ljongs-skad)\nภาษาสิกขิมเขียนด้วยอักษรทิเบต ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบตคลาสสิก แม้ว่าสัทวิทยาและรากศัพท์ของภาษาสิกขิมจะต่างจากภาษาทิเบตคลาสสิก แต่ก็มีผู้พูดภาษาสิกขิมสำเนียงภูเตียที่อ่านออกเขียนได้ด้วยอักษรทิเบตถึง 68%\nผู้พูดภาษาสิกขิมสามารถเข้าใจภาษาซองคาที่มีรากศัพท์ใกล้เคียงกัน 65% และมีความคล้ายคลึงของรากศัพท์กับภาษาทิเบตมาตรฐาน 42% ภาษาสิกขิมยังได้รับอิทธิพลจากภาษายัลโมวาและภาษาตามัง เนื่องจากมีการติดต่อกับผู้พูดภาษาเนปาลีและภาษาทิเบตอย่างใกล้ชิด ทำให้ชาวสิกขิมจำนวนมากพูดภาษานี้ได้ด้วย",
"title": "ภาษาสิกขิม"
},
{
"docid": "106180#0",
"text": "ภาษาบัลติ เป็นภาษาที่ใช้พูดในบัลติสถานทางเหนือของปากีสถานซึ่งเมื่อก่อน พ.ศ. 2491 เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดลาดัก ภาษานี้เป็นสำเนียงย่อยของภาษาลาดักที่ถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาทิเบตอีกทีหนึ่ง เสียงพยัญชนะบางเสียงที่ไม่ออกเสียงในภาษาทิเบตสมัยใหม่ยังคงออกเสียงในภาษาบัลติ\nบัลติสถานมาจากภาษากรีก Byaltae ที่มาจาก sBal-ti ซึ่งในภาษาทิเบตหมายถึงลำธาร ปโตเลมีได้กล่าวถึงดินแดนนี้ไว้ในประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช เรียกดินแดนนี้ว่า Byaltae คำบัลติสถานมาจากภาษาเปอร์เซีย Baltiyul “บ้านเกิดของชาวบัลติ” ในสมัยของกษัตริย์มักโปน ชาวบัลติเคยเข้าไปรุกรานลาดัก ทิเบตตะวันออกรวมทั้งคลิกัตและชิตรัล เป็นการแสดงแสนยานุภาพทางทหาร ผู้ที่อยู่ในบัลติสถานแม้จะมีเผ่าพันธุ์ต่างกันก็เรียกว่าชาวบัลติทั้งสิ้น ชาวทิเบตเป็นกลุ่มใหญ่สุด มีประมาณ 60% ชาวบัลติอาศัยอยู่ทั้งสองฝั่งของแม่น้ำสินธุจากการ์กิลทางตะวันออกไปยังหรโมศทางตะวันตก และจากเทือกเขาการาโกรัมทางเหนือไปยังที่ราบคีโอไซทางใต้ ",
"title": "ภาษาบัลติ"
},
{
"docid": "93553#3",
"text": "ผู้พูดภาษานี้เรียกภาษาของตนว่า อิมัรทาร์ หมายถึงภาษาของแม่ เขาเรียกตนเองว่าชาวมณีปุระ และใช้คำว่า \"ชาวพิษณุปุระ\" หรือ \"พิษณุปริยา\" เพื่อแยกตนเองออกจากกลุ่มอื่น ๆ ในมณีปุระ คำว่า \"พิษณุปริยา\" อาจมาจากคำว่าพิษณุปุระ โดยเติมปัจจัย –อิยา เพื่อให้หมายความว่าประชาชนของพิษณุปุระ ชาวพิษณุปุระดั้งเดิมเชื่อว่าพวกเขาเข้าสู่มณีปุระโดยอพยพมาจากทวารกะและหัสตินาปุระ หลังจากเกิดสงครามมหาภารตะ มีการกล่าวกันว่าการอพยพครั้งนี้นำโดยพภรุวาหนะ บุตรของอรชุนกับจิตรางคทา นักวิชาการและนักประวัติศาสตร์บางคนสนับสนุนทฤษฎีนี้ จากการสังเกตลักษณะของภาษา ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตและภาษามหาราษฏรี เช่นเดียวกับภาษาปรากฤต เช่น ภาษาเสาราเสนี ภาษาเสาราเสนีนี้เป็นภาษาของทหารและประชาชนในทุ่งกุรุเกษตร มัธยเทศ อินทรปรัศถ์และหัสตินาปุระ อย่างไรก็ตาม K.P. Sinha ไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีนี้และเห็นว่าภาษามณีปุระพิษณุปุระมาจากภาษามคธี\nภาษามณีปุระพิษณุปุระไม่ใช่ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า แต่ใกล้เคียงกับภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาไมไตทั้งทางด้านไวยากรณ์และการออกเสียง ในแต่ละช่วงของพัฒนาการ ภาษาเสาราเสนี ภาษามคธี ภาษามหาราษฏรีและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าเข้ามามีอิทธิพลมาก ภาษานี้อาจจะพัฒนามาจากภาษาสันสกฤต ภาษาเสาราเสนี และภาษามหาราษฏรีเช่นเดียวกับภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม ภาษาเบงกาลี และภาษาโอริยา อิทธิพลจากภาษาเสาราเสนีและภาษามหาราษฏรีเห็นได้จากคำสรรพนาม การเชื่อมต่อ และการลงท้ายการก และมีลักษณะบางอย่างจากภาษามคธีปนอยู่ด้วย ภาษานี้คำศัพท์จากภาษาไมไตที่ออกเสียงแบบเก่าในช่วงพ.ศ. 2000 – 2200 ซึ่งอาจเป็นเพราะผู้พูดส่วนใหญ่อพยพออกจากมณีปุระในพุทธศตวรรษที่ 24",
"title": "ภาษามณีปุระพิษณุปุระ"
},
{
"docid": "109975#0",
"text": "รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร",
"title": "รัฐสิกขิม"
},
{
"docid": "268881#0",
"text": "กลุ่มภาษาโบดิช (Bodish languages) มาจากภาษาทิเบต bod ซึ่งเป็นชื่อของภาษาทิเบตในความหมายอย่างกว้าง ซึ่งมาจากการที่กลุ่มผู้พูดภาษาเหล่านี้มักถือว่าตนเป็นชาวทิเบต การแบ่งกลุ่มภาษาโบดิชให้เป็นกลุ่มย่อยมีความแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่ถือว่าภาษาทิเบตแยกต่างหากจากภาษาโบดิชตะวันออก Bradley (1997) ได้ให้กลุ่มภาษาโบดิชรวมถึงกลุ่มภาษาหิมาลัยตะวันตก กลุ่มภาษาซังลา กลุ่มภาษาตามันกิก ทำให้คำว่ากลุ่มภาษาโบดิชมีความหมายเท่ากับกลุ่มภาษาทิเบต-กิเนารีในการแบ่งแบบอื่น ทำให้กลุ่มภาษาโบดิชแยกเป็นสองฝ่ายชัดเจน คือกลุ่มโบดิชตะวันออกกับภาษาทิเบต",
"title": "กลุ่มภาษาโบดิช"
},
{
"docid": "289930#0",
"text": "กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ",
"title": "กลุ่มภาษาทิเบต"
},
{
"docid": "468940#3",
"text": "ภายนอกด้านหน้าวิหารมี แผ่นศิลาจารึก การเจรจาสันติภาพระหว่าง ทิเบต กับ จีน ในปี ค.ศ.821-822 สมัยพระเจ้าตรีซุกเตเซ็น จารึกเป็นภาษาทิเบตและภาษาจีน รวมถึงยังมี ก๊อกน้ำ ที่ชาวทิเบตเชื่อถือว่า เป็นสายน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลขึ้นมาจากหนองน้ำในอดีตทำให้ชาวทิเบตและผู้มาเยือนต่างเข้าแถวยืนรองน้ำจากก๊อกดังกล่าว เพื่อใช้ชำระร่างกายก่อนเข้าไปสวดมนต์สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด ขึ้นไปบนยอดหลังคาปีกหน้าวิหาร มี กงล้อพระธรรมจักร และ กวางหมอบคู่หนึ่ง เป็นสัญลักษณ์การปฐมเทศนา ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน รวมทั้งกระบอกมนตราขนาดใหญ่สีทอง แลไปเบื้องหน้าจะเห็นพระราชวังโปตาลาตั้งตระหง่าน เป็นฉากงามตระการยิ่งใหญ่มองลงไปเบื้องล่างรายรอบวัดโจคัง มีลานกว้างและตลาดใหญ่ ผู้คนเดินพลุกพล่านมากที่สุดในนครแห่งนี้",
"title": "วัดโจคัง"
},
{
"docid": "131654#0",
"text": "ภาษาอี๋ หรือ ภาษานอซู เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวอี๋ บางครั้งเรียกภาษานี้ว่าภาษาโลโล มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรอี๋",
"title": "ภาษาอี๋"
}
] |
1283 | เรือเอก สมรักษ์ คำสิงห์เกิดเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "44816#1",
"text": "สมรักษ์ เป็นชาวหมู่บ้านโนนสมบูรณ์ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (ปัจจุบันคือ อำเภอบ้านแฮด) เกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2516 ในครอบครัวยากจน เป็นบุตรคนกลาง ในจำนวนลูกทั้ง 3 คน ของ นายแดงและนางประยูร คำสิงห์ เหตุที่มีชื่อเล่นว่า \"บาส\" ก็เพราะต้องการให้คล้องกับชื่อเล่นของพี่ชายซึ่งเป็นนักมวยด้วยเหมือนกัน คือ สมรถ คำสิงห์ ที่มีชื่อว่า \"รถ\" เนื่องจาก คลอดบนรถโดยสาร ระหว่างเดินทางไปสถานีอนามัยอำเภอ เคยศึกษา โรงเรียนนายเรือ",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
}
] | [
{
"docid": "44816#27",
"text": "สมรักษ์ คำสิงห์ วีรบุรุษนักชกเหรียญทองโอลิมปิก 1996 แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ใน 44 ปีที่รอคอย เหรียญทองประวัติศาสตร์โอลิมปิก. กทม. คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย. 2539 หน้า 60-67",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "120618#39",
"text": "การแข่งขันโอลิมปิกครั้งที่ 27 ปีนี้จัดที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 15 กันยายน-1 ตุลาคม 2543 ประเทศไทยจะส่งกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน 12 สมาคมกีฬา คือ กรีฑา, ยกน้ำหนัก, เรือพาย, เรือใบ, วินด์เซิร์ฟ, ว่ายน้ำ, แบดมินตัน, เทนนิส, เทเบิลเทนนิส, วอลเลย์บอล, ยิงปืน และมวยสากลสมัครเล่นจาก 12 ชนิดกีฬาที่ไทยส่งไปแข่งขันครั้งนี้ มีเพียง 2 ชนิดกีฬาที่มีโอกาสมากที่สุดในการลุ้นเหรียญทอง คือ ยิงปืน (เทวฤทธิ์ มัจฉาชีพ) และมวยสากลสมัครเล่นที่คนส่วนใหญ่ให้น้ำหนักไปที่ สมรักษ์ คำสิงห์ เจ้าของเหรียญทองเมื่อ 4 ปีก่อน",
"title": "โอลิมปิกฤดูร้อน"
},
{
"docid": "325076#3",
"text": "และเมื่อเบนเข็มมาชกมวยสากลสมัครเล่น ทั้งคู่ก็เริ่มชกพร้อมกัน โดยที่สมรถชกในพิกัดรุ่น 48 กิโลกรัม (ไลท์ฟลายเวท) ขณะที่สมรักษ์ชกในพิกัด 57 กิโลกรัม (เฟเธอร์เวท) เนื่องจากมีรูปร่างที่เล็กกว่าสมรักษ์น้องชาย",
"title": "สมรถ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#26",
"text": "พิมพ์อรัญเล็ก ศิษย์อรัญ (มวยไทยหนแรก) สมรักษ์ ส.เทพสุทิน (มวยไทยหนหลัง)",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "512344#0",
"text": "ฤทธิเดช ว.วรรณทวี หรือ ฤทธิเดช ท.เทพสุทิน เป็นนักมวยไทยชาวไทย ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในสามนักมวยไทยที่โปรโมเตอร์ชุ้น เกียรติเพชร ได้เสนอให้ใจสู้ ท.เทพสุทิน ผู้เป็นศิษย์เอกของสมรักษ์ คำสิงห์ เลือกต่อสู้ ทั้งนี้ ฤทธิเดชจัดเป็นนักมวยเอกที่มีชื่อเสียง และเคยสู้กับนักชกรุ่นพี่ที่มีฝีมือเก่งกาจอย่างสามเอ ไก่ย่างห้าดาวยิม มาแล้วครั้งหนึ่ง",
"title": "ฤทธิเดช ว.วรรณทวี"
},
{
"docid": "234397#4",
"text": "หลังจากนั้นผจญก็ได้แขวนนวมไป และได้ศึกษาจนจบปริญญาตรีที่วิทยาครูจันทรเกษม ในกลางปี พ.ศ. 2539 หลังจากที่ สมรักษ์ คำสิงห์ สามารถคว้าเหรียญทองมาได้จากการชกในรุ่นเฟเธอร์เวท ผจญก็ได้ร่วมแสดงในละครโทรทัศน์เรื่อง \"นายขนมต้ม\" ทางช่อง 7 โดยรับบทเป็น \"ไอ้มิ่ง\" ร่วมกับนักมวยคนอื่น ๆ เช่น สมรักษ์ คำสิงห์, ทวี อัมพรมหา, เขาทราย แกแล็คซี่, สามารถ พยัคฆ์อรุณ รวมทั้ง วิชัย ราชานนท์ ด้วย",
"title": "ผจญ มูลสัน"
},
{
"docid": "6993#88",
"text": "เรือเอกสมรักษ์ คำสิงห์ ร.น. (นักกีฬาทีมชาติไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในกีฬาโอลิมปิก 1996 ที่แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา) นาวาอากาศโท วิชัย ราชานนท์ (นักชกเหรียญทองแดง ในกีฬาโอลิมปิก 1996 ที่แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา) พิมศิริ ศิริแก้ว (นักยกน้ำหนักหญิง เหรียญเงิน ในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 กรุงลอนดอน] ดนัย ศรีวัชรเมธากุล ชาติ เกียรติเพชร พงษ์สิทธิ์ เวียงวิเศษ ฟ้าประกอบ รักเกียรติยิม ภราดร ศรีชาพันธุ์ วันวิน จ.เจริญ ศรายุทธ ชัยคำดี อาทิตย์ สุนทรพิธ พรชัย เค้าแก้ว ฐาปไพพรรณ ไชยศรี วอลเลย์บอล เอ็มอร พานุสิทธิ์ วอลเลย์บอล ศิรินภา พรหนองแสน ตะกร้อหญิง สิบเอกภัทรพงศ์ ยุพดีตะกร้อชาย ผุดผาดน้อย วรวุฒิ ผ่อน ออมกลิ่น ธนา ชะนะบุตร มงคล ทศไกร",
"title": "จังหวัดขอนแก่น"
},
{
"docid": "44816#2",
"text": "สมรักษ์เข้าเรียนครั้งแรกที่โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาโนนสมบูรณ์ ด้วยเหตุที่สมรักษ์มีพ่อเป็นนักมวยเก่า จึงได้รับการฝึกการชกมวยไทยมาตั้งแต่เด็ก ขึ้นชกมวยครั้งแรกขณะอายุได้ 7 ปี และได้ตระเวนชกตามเวทีงานวัดต่าง ๆ จนทั่ว และได้รับการทาบทามจาก ณรงค์ กองณรงค์ หัวหน้าคณะณรงค์ยิมให้มาร่วมค่าย สมรักษ์จึงขอขึ้นชกมวยไทยในชื่อ สมรักษ์ ณรงค์ยิม และกลายเป็นนักมวยมีชื่อในแถบจังหวัดขอนแก่น",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#13",
"text": "วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555 สมรักษ์ขึ้นชกในรายการศึกลุมพินีแชมเปี้ยนเกริกไกร ที่เวทีมวยลุมพินี โดยใช้ชื่อว่า \"สมรักษ์ ส.เทพสุทิน\" ในสังกัดของสมศักดิ์ เทพสุทิน[4] โดยมีฌอง-โกล็ด วอง ดัม รับหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และสมรักษ์เป็นฝ่ายแพ้คะแนน จอมโหด หมอเบสกมลา หรือ จอมโหด เกียรติอดิศักดิ์ ไปด้วยคะแนน 47-49, 47-49 และ 47-49 และต่อมาในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ทั้งคู่ได้กลับมาชกล้างตากันอีกครั้ง ผลปรากฏว่าสมรักษ์เป็นฝ่ายชนะคะแนนไป 49-47 ไปทั้ง 3 เสียง ที่เวทีราชดำเนิน และเป็นฝ่ายคว้าเงินรางวัลเดินพันจำนวน 6,000,000 บาทไป[5] และทางสมรักษ์ยังคงยืนยันที่จะสู้กับบัวขาว ป.ประมุข โดยให้จัดนอกเวทีมวยราชดำเนิน หรือนอกเวทีมวยลุมพินีแทน ส่วนทางจอมโหดได้เปิดเผยว่ามีความต้องการที่จะสู้กับสมรักษ์อีกเป็นครั้งที่ 3 [6] และสมรักษ์ยังได้ขึ้นชกอีกหลายต่อหลายครั้ง",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "325076#0",
"text": "พันโท สมรถ คำสิงห์ อดีตนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยและอดีตนักมวยไทย ผู้เป็นพี่ชายแท้ ๆ ของ สมรักษ์ คำสิงห์ นักกีฬาชาวไทยคนแรกที่สามารถคว้าเหรียญทองโอลิมปิกมาได้ ",
"title": "สมรถ คำสิงห์"
},
{
"docid": "737054#1",
"text": "เขาติดทีมชาติอุซเบกิสถานเข้าแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ พ.ศ. 2541 ได้เหรียญเงิน โดยแพ้สมรักษ์ คำสิงห์ในรอบชิงชนะเลิศ และเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2543 แต่แพ้สมรักษ์ คำสิงห์ตกรอบสอง และเคยได้เหรียญเงินมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลกเมื่อ พ.ศ. 2542",
"title": "ตุลกุนบาย ตูร์กูนอฟ"
},
{
"docid": "44816#15",
"text": "ปัจจุบัน สมรักษ์ยังคงมีผลงานในวงการบันเทิง มีผลงานออกมาเป็นระยะ ๆ ล่าสุด ได้แสดงภาพยนตร์ระดับโลกเรื่อง จอมคนผงาดโลก ในปี พ.ศ. 2549 โดยบทบาทในเรื่องต้องปะทะกับ หลี่เหลียนเจี๋ย ด้วย มีกิจการของตัวเอง เช่น ร้านหมูกระทะ ชื่อ \"สมรักษ์ย่างเกาหลี\" ย่านเกษตร-นวมินทร์ และมีค่ายมวยของตนเอง ชื่อค่าย \"ส.คำสิงห์\"",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#18",
"text": "เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561 ราชกิจจานุเบกษาออกประกาศเรื่อง ให้พิทักษ์ทรัพย์ของ นางเสาวนีย์ คำสิงห์ และนายสมรักษ์ คำสิงห์ เด็ดขาด ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 โดยบริษัทบริหารสินทรัพย์ มหานคร จำกัด ได้ยื่นฟ้องต่อศาลล้มละลายกลาง ขอให้จำเลยทั้งสองล้มละลาย มีอำนาจจัดการเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของจำเลย[8] เนื่องจากมีหนี้สินจากการเปิดปั๊มน้ำมันกว่า 4 ล้านบาท[9]",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#3",
"text": "ต่อมา ณรงค์กับนายแดงพ่อของสมรักษ์เกิดแตกคอกัน สมรักษ์จึงย้ายไปอยู่ค่ายศิษย์อรัญ เข้ามาชกมวยในกรุงเทพฯ ได้ไปเรียนที่ โรงเรียนผะดุงศิษย์พิทยา โดยชกทั้งมวยไทย และมวยสากลสมัครเล่น สมรักษ์ขึ้นชกมวยไทยในชื่อ \"พิมพ์อรัญเล็ก ศิษย์อรัญ\" แต่พอสมรักษ์ขึ้น ม.2 พ่อก็ถึงแก่กรรม",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#22",
"text": "เกิดมาลุย (2547) ขุนบันลือ (2561)",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#19",
"text": "สมรักษ์ชี้แจงว่า กรณีนี้เป็นคดีเก่าที่ค้างคามาหลายทศวรรษปีแล้ว ตั้งแต่สมัยยังคงชกมวยสมัครเล่น มีสาเหตุอันเนื่องมาจากความไม่รู้ไม่เชี่ยวชาญในเรื่องเอกสารต่างๆ ประกอบกับธุรกิจขาดทุน จนสุดท้ายก็เลยกลายเป็นคดียืดเยื้อมาจนถึงปัจจุบัน ขณะที่ ธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม โพสต์ผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัวชี้ว่า หากศาลสั่งให้ล้มละลาย สามารถเป็นเหตุให้สมรักษ์ต้องออกจากราชการด้วย[10]",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#16",
"text": "สมรักษ์แต่งงานกับนางเสาวนีย์ คำสิงห์ ที่รู้จักกันมาตั้งแต่ทั้งคู่ยังเรียนหนังสืออยู่ที่ขอนแก่น โดยทั้งคู่มีบุตร 2 คน คนโตเป็นหญิงชื่อ \"เบสต์\" และคนเล็กเป็นชายชื่อ \"โบ๊ท\"",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#7",
"text": "พ.ศ. 2538 สมรักษ์ได้เหรียญทองจากกีฬาซีเกมส์ที่เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือกไปแข่งกีฬาโอลิมปิกรอบสุดท้ายได้สมรักษ์โด่งดังถึงที่สุดในปี พ.ศ. 2539 เมื่อสมรักษ์สามารถคว้าเหรียญทองจากโอลิมปิกมาได้ โดยชนะ เซราฟิม โทโดรอฟ จากบัลแกเรีย ด้วยคะแนน 8-5 เส้นทางสู่ทองประวัติศาสตร์เริ่มจากรอบแรกเอาชนะแดเนี่ยล เซต้า นักชกเปอร์โตริโก 13-2, รอบสอง ชนะฟิลิป เอ็นดู จากแอฟริกาใต้ 12-7, รอบสามหรือรอบก่อนรองชนะ รามาส พาเลียนี่ จากรัสเซีย 13-4 นั่นหมายถึงว่าได้เหรียญทองแดงคล้องคอไว้แล้ว และสมรักษ์ชนะ พาโบล ชาคอน จากอาร์เจนตินาไปได้ 20-8 และท้ายที่สุดเอาชนะ เซราฟิม โทโดรอฟ จากบัลแกเรียไปได้ ซึ่งก่อนการชกในรอบชิงชนะเลิศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารได้พระราชทานกระเช้าผลไม้มายังสมรักษ์และทีมงานพร้อมทั้งทรงอวยพรให้สมรักษ์ได้รับชัยชนะด้วย โดยการแข่งขันโอลิมปิคในครั้งนี้ สมรักษ์ ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า \"Kamsing Somluck\" โดยเจตนาให้มีนัยทางโชคด้วย (แต่ผู้บรรยายภาษาอังกฤษอ่านออกเสียงว่า คำซิง สมลุก)",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#12",
"text": "ปี พ.ศ. 2555 ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร สมรักษ์ได้รับหน้าที่เป็นผู้บรรยายการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นของสถานีโทรทัศน์ NBT ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้ชมเป็นอย่างดีอีกทั้งเป็นที่กล่าวถึงในเรื่องความตลกของการบรรยายมวยของสมรักษ์ และในปีเดียวกันนี้ ในวันที่ 4 ตุลาคม สมรักษ์ได้สร้างความฮือฮาอีกครั้ง เมื่อกลับขึ้นมาชกมวยไทยอีกครั้ง โดยพบกับ ยอดวันเผด็จ สุวรรณวิจิตร (ใช้ชื่อท้ายในครั้งนั้นว่า \"ไก่ย่างห้าดาว\") อดีตยอดนักมวยไทยอีกคน ในการชกนัดพิเศษที่เวทีราชดำเนิน ที่มีเงินเดิมพันถึง 5,770,000 บาท ผลการชกปรากฏว่าสมรักษ์เป็นฝ่ายเอาชนะไปได้ในยกที่ 3 ด้วยการฟันศอกใส่ จนกรรมการต้องยุติการชก ซึ่งการชกนัดนี้ยังสามารถเก็บเงินค่าผ่านประตูได้สูงถึง 2,950,000 บาท ยอดผู้ชมกว่า 20,000 คน ปลุกกระแสมวยไทยที่ซบเซาให้กลับมาคึกคักได้อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ สมรักษ์ยังเปิดเผยอีกว่าต้องการที่จะชกกับ บัวขาว ป.ประมุข อีกด้วย",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "321641#8",
"text": "ภาพยนตร์ได้ หลี่ เหลียนเจี๋ย นักแสดงกังฟูที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งมารับบท ฮั่ว หยวนเจี๋ย ตัวละครเอกของเรื่อง ซึ่งหลี่ เหลียนเจี๋ย ก็ยังได้ร่วมเป็นผู้อำนวยการสร้างเองอีกด้วย อีกทั้งยังมี สมรักษ์ คำสิงห์ อดีตนักมวยไทยและนักมวยสากลสมัครเล่นเหรียญทองโอลิมปิกชื่อดังชาวไทยที่ผันตัวเองมาเป็นนักแสดง รับบทเป็นนักมวยไทยในเรื่องซึ่งเป็นบทสมทบที่มีสีสันด้วย",
"title": "จอมคนผงาดโลก"
},
{
"docid": "325076#2",
"text": "ทั้งสมรถและสมรักษ์ได้ถูกพ่อ คือ นายแดง ฝึกให้ชกมวยมาตั้งแต่เด็ก โดยขึ้นชกตระเวนไปในแถวบ้านเกิด เนื่องจากความยากจน เมื่อได้เดินทางเข้ามาชกในกรุงเทพฯ พร้อมสมรักษ์น้องชาย สมรถได้ใช้ชื่อว่า \"\"พิมพ์อรัญ ศิษย์อรัญ\"\" ขณะที่สมรักษ์ใช้ชื่อว่า \"\"พิมพ์อรัญเล็ก ศิษย์อรัญ\"\" ซึ่งก็ถือว่าเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงด้วยกันทั้งคู่",
"title": "สมรถ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#5",
"text": "สมรักษ์เริ่มเข้าแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นในนามของโรงเรียน เมื่อปี พ.ศ. 2528 เมื่ออายุ 12 ปี โดยมีพิกัดน้ำหนัก 52 กิโลกรัมเมื่อสมรักษ์จบ ม.6 จากโรงเรียนผดุงศิษย์ฯ ได้รับการทาบทามจากสโมสรราชนาวีให้ชกมวยสากลสมัครเล่นในนามของสโมสรและจะบรรจุให้เข้ารับราชการในกองทัพเรือด้วย สมรักษ์จึงตอบตกลง สมรักษ์ประสบความสำเร็จได้ทั้งแชมป์ประเทศไทยและเหรียญทองกีฬาแห่งชาติ",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#17",
"text": "ในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 สมรักษ์ได้เปิดตัวเป็นผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา ร่วมกับเพื่อนนักมวยอีก 3 คน ได้แก่ เขาทราย แกแล็คซี่, มนัส บุญจำนงค์ และเจริญทอง เกียรติบ้านช่อง โดยที่สมรักษ์ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 10 อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง[7]",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#14",
"text": "ในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2557 สมรักษ์มีกำหนดขึ้นชกกับ ฟิลิปเป บัวส์ นักมวยไทยชาวฝรั่งเศส ในรุ่นมิดเดิลเวท ที่เวทีมวยชั่วคราว โกดัง 4 ภายในศูนย์การค้าเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ มีการถ่ายทอดไปทั่วประเทศผ่านทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 7 แต่เมื่อถึงเวลาชกแล้ว ตัวของสมรักษ์กลับไม่ได้อยู่เวทีหรือห้องพักแต่อย่างใด ทำให้ บริษัท เพชรยินดี บ็อกซิ่ง โปรโมชั่น ไม่พอใจเป็นอย่างมากในฐานะผู้จัดการแข่งขัน ซึ่งได้จ่ายเงินมัดจำเป็นค่าตัวให้สมรักษ์ไปหนึ่งแสนบาทแล้ว และเมื่อติดต่อไปทางไลน์ ก็ไม่ได้รับการตอบกลับ วันต่อมาสมรักษ์ได้ออกมาเปิดเผยเป็นเพราะตนติดถ่ายละครโทรทัศน์มาก ไม่มีเวลาซ้อม เกรงว่าจะชกสู้ไม่ได้ ยินดีจะคืนเงินมัดจำทั้งหมด และเปรยว่าจะแขวนนวมแล้ว เนื่องจากอายุมากถึง 41 ปีแล้ว หากจะชกจะเป็นการชกโชว์เท่านั้น",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "509676#3",
"text": "ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เขาได้รับการแต่งตั้งจากเวทีมวยราชดำเนินให้เป็นโปรโมเตอร์มวยไทยขณะที่มีอายุได้ 25 ปี นับเป็นโปรโมเตอร์ที่มีอายุน้อยที่สุด ซึ่งในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ เขาได้จัดรายการศึกเพชรวิเศษ โดยมีสมรักษ์ คำสิงห์ ขึ้นชกกับจอมโหด เกียรติอดิศักดิ์ และมีคู่ชกสามเอ ไก่ย่างห้าดาวยิม พบโพธิ์แก้ว ฝนจางชลบุรี, แสงมณี ส.เทียนโพธิ์ พบวันชนะ อ.บุญช่วย, น้องโอ๋ ไก่ย่างห้าดาวยิม พบมงคลชัย เพชรสุภาพรรณ, เพชรพนมรุ้ง ว.สังข์ประไพ พบเป็นเอก ศิษย์หนุ่มน้อย รวมถึงยอดวิชา ภ.บุญสิทธิ์ กับสิงห์ดำ เกียรติหมู่ 9 ในรายการเดียวกันนี้",
"title": "ณัฐเดช วชิรรัตนวงศ์"
},
{
"docid": "230857#20",
"text": "นอกจากนี้แล้ว เมื่อ สมรักษ์ คำสิงห์ ชนะเลิศในการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นรุ่นเฟเธอร์เวท ในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 26 ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2539 ก่อนชกในรอบชิงชนะเลิศ สมรักษ์ให้สัมภาษณ์ว่า จะคว้าชัยชนะให้ได้ เพื่อนำเหรียญทองกลับไปร่วมสมโภชน์เป็นส่วนหนึ่งในงานพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ซึ่งเป็นวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ครบ 50 ปีด้วย และเมื่อสมรักษ์สามารถเอาชนะได้ ได้ครองเหรียญทองโอลิมปิกเป็นครั้งแรกของนักกีฬาไทย สมรักษ์ได้เข้าเฝ้าฯ เพื่อทูลเกล้าถวายเหรียญทองประวัติศาสตร์เหรียญนี้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย",
"title": "การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"
},
{
"docid": "44816#0",
"text": "เรือเอก สมรักษ์ คำสิงห์ ร.น. เป็นนักกีฬาทีมชาติไทยคนแรก ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง จากการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่น ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2539",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#9",
"text": "ภายหลังจากได้เหรียญทองแล้ว สมรักษ์กลายเป็นบุคคลชื่อดังไปในทันที กลายเป็นซุปเปอร์สตาร์ในเวลาไม่นาน ด้วยความเป็นคนมีบุคคลิกเฮฮา มีสีสัน น่าสนใจ ภายหลังจากกลับมาจากโอลิมปิคที่แอตแลนต้าแล้ว สมรักษ์ก็มีงานในวงการบันเทิงเข้ามา เริ่มจาก ละครเรื่อง \"นายขนมต้ม\" ทางช่อง 7 ที่รับบทเป็นนายขนมต้มพระเอกเอง โดยประกบคู่กับ กุลณัฐ ปรียะวัฒน์ นางเอก และเพื่อน ๆ นักมวยรุ่นพี่อีกหลายคน",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
},
{
"docid": "44816#8",
"text": "ซึ่งการคว้าเหรียญทองโอลิมปิกในครั้งนี้ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) ได้ออกแสตมป์ที่มีรูปการชกรอบชิงชนะเลิศของสมรักษ์ ราคาดวงละ 6 บาท มาด้วย เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์นี้ และทางกองทัพเรือ (ทร.) ต้นสังกัดก็ได้เลื่อนยศให้สมรักษ์เป็นเรือตรี (ร.ต.) ซึ่งเดิมสมรักษ์มียศเป็นจ่าเอก (จ.อ.)",
"title": "สมรักษ์ คำสิงห์"
}
] |
1474 | สถานีโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศไทย คืออะไร? | [
{
"docid": "4801#5",
"text": "จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เป็นประธานพิธีเปิด สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 (ชื่อย่อ: ไทย ที.วี. ชื่อเรียกตามอนุสัญญาสากลว่าด้วยวิทยุโทรทัศน์: HS1-TV) ขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยและทวีปเอเชียบนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ (Asia Continental) ซึ่งเป็นแห่งที่สองของทวีปเอเชียทั้งหมด ถัดจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ซึ่งตรงกับวันชาติไทยในสมัยนั้น โดยใช้เครื่องส่งโทรทัศน์ขนาด 10 กิโลวัตต์ แพร่ภาพขาวดำระบบ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที เช่นเดียวกับที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา ต่อมาในเวลา 19:00 น. วันเดียวกัน จึงเริ่มทดลองออกอากาศอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วย อารีย์ นักดนตรี ผู้ประกาศของสถานีฯ รำประกอบเพลงต้นบรเทศ (ในยุคหลังเรียกว่า \"ต้นวรเชษฐ์\") ซึ่งใช้เปิดการออกอากาศทั้งสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุของ บจก.ไทยโทรทัศน์ ออกอากาศสดจากห้องส่งโทรทัศน์จากนั้น เย็นจิตต์ สัมมาพันธ์ ผู้ประกาศแจ้งรายการประจำวัน",
"title": "เอ็มคอตเอชดี"
},
{
"docid": "529232#7",
"text": "โดยมีจอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เป็นประธานพิธีเปิด \"สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4\" ( ชื่อย่อ: ไทย ที.วี. ชื่อรหัส: HS1-TV) ขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกของทวีปเอเชีย บนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ (Asia Continental) ต่อมาในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้น ลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง \"คณะกรรมการดำเนินการวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก\" ประกอบด้วย พลเอก ไสว ไสวแสนยากร ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เป็นประธานกรรมการ และพันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง เป็นเลขานุการ มีหน้าที่จัดทำ\"โครงการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก\" พร้อมทั้งวางแผนอำนวยการ และควบคุมการดำเนินกิจการวิทยุโทรทัศน์ รวมถึงให้อำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติงานให้ได้ผล ตามที่ราชการทหารมุ่งหมาย ต่อมาในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกัน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารที่ทำการสถานีฯ ภายในบริเวณกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ สนามเป้า ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท โดยทำสัญญายืมเงินกับกองทัพบก เพื่อเป็นทุนก่อสร้างและจัดหาอุปกรณ์ เป็นจำนวน 10,101,212 บาท",
"title": "โทรทัศน์ในประเทศไทย"
}
] | [
{
"docid": "617448#6",
"text": "ทั้งนี้ ไทยรัฐทีวีเป็นสถานีโทรทัศน์ช่องแรกในประเทศไทยที่นำข้อความจากแอพลิเคชันไลน์ของผู้ชมมาแสดงขึ้นบนหน้าจอ โดยใช้บัญชีไลน์กลางของไทยรัฐเอง โดยไทยรัฐทีวีเริ่มนำเสนอในลักษณะนี้เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558 โดยแสดงเป็นแถบถัดจากสัญลักษณ์รายการที่มุมล่างซ้าย ก่อนที่ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ได้ย้ายลงมาไว้ที่ด้านล่างของจอ เพื่อความต่อเนื่องในการแสดงข้อความ ซึ่งต่อมาสถานีโทรทัศน์ไทยหลายช่องทั้งที่เป็นฟรีทีวีดิจิทัลรวมถึงช่องโทรทัศน์ดาวเทียม ต่างนำรูปแบบดังกล่าวไปใช้กับแต่ละช่องตามลำดับ",
"title": "ไทยรัฐทีวี"
},
{
"docid": "196276#20",
"text": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เป็นสถานีโทรทัศน์ออกอากาศผ่านเสาอากาศภาคพื้นดินแห่งที่ 6 ของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 ภายใต้ชื่อ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี แต่เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นต้นมานั้น ได้ออกอากาศเป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะ ชึ่งเป็นรูปแบบปัจจุบัน ก่อนออกอากาศอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนหลัง คือวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ในปีเดียวกัน ทางสถานีฯ ได้ส่งสัญญาณออกอากาศทางโทรทัศน์สีในระบบยูเอชเอฟ ช่อง 29 (ระบบอะนาล็อก) และช่อง 44 (ระบบดิจิตอล) จากกรุงเทพมหานคร และมีสถานีเครือข่ายในภูมิภาค อีกด้วย",
"title": "องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย"
},
{
"docid": "108249#0",
"text": "ไทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค () เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 จึงเป็นโทรทัศน์ดาวเทียมแห่งเดียวที่ ดำเนินการถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร สาระความรู้ ความบันเทิงออกไปสู่สายตาของผู้ชมทั่วโลกโดย ออกอากาศ 24 ชั่วโมงต่อวัน ส่งสัญญาณ รายการผ่านดาวเทียมถึง 5 ดวง ครอบคลุมพื้นที่กว่า 177 ประเทศทั่วโลก ผังรายการ TGN เป็นผังรายการที่จัดขึ้นใหม่ แยกจากผังรายการของ ททบ.5 แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ เป็นรายการที่ TGN เป็นผู้ผลิตเอง, ผู้จัดรายการผลิตรายการขึ้นใหม่เพื่อเช่าเวลา ส่วนที่เหลือเป็นรายการที่เช่าเวลากับ ททบ.5 นำมาเช่าเวลาเพื่อออกอีกรอบทาง TGN รวมถึงรายการถ่ายทอดสดที่รับสัญญาณจากททบ.5 ลและจากสถานีอื่นที่ไม่ใช่ ททบ.5 (เช่น สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย,เอ็นบีทีเวิลด์ ฯลฯ)ดังนั้น ผังรายการ TGN จึงมีรายการที่มีความหลากหลายน่าสนใจ\nสามารถรับชม TGN ได้ 170 ประเทศ ทั่วโลก ได้แก่สถานีโทรทัศน์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย\nสถานีโทรทัศน์เพื่อเศรษฐกิจและการลงทุน ดำเนินการโดย บริษัท แฟมมิลี่โนฮาว จำกัด\nช้อป แชนแนล ทีวีช้อปปิ้งอันดับ 1 ของญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัท ช้อป โกลบอล (ประเทศไทย) จำกัด",
"title": "ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก"
},
{
"docid": "76497#25",
"text": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 00:08 น. โดยรับช่วงการออกอากาศต่อจากสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ซึ่งในวันนั้น เป็นวันสถาปนาขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย อย่างเป็นทางการ โดยองค์การฯ ได้รับโอนกิจการสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ของกรมประชาสัมพันธ์ มาดำเนินการต่อด้วย และเป็นผลทำให้ทีไอทีวีต้องหยุดการออกอากาศตามผังรายการและสัญญาณของสถานีฯเองทั้งหมดและเชื่อมสัญญาณการทดลองการออกอากาศจากอาคารสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์) เป็นเวลา 16 วัน และกลับมาออกอากาศโดยสัญญาณของสถานีเองอีกครั้ง ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ และในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ เริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการในเวลา 05:00 น.",
"title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี"
},
{
"docid": "242922#7",
"text": "ฝ่ายข่าว ไทยทีวีสีช่อง 3 นับเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศไทย ที่นำเทคโนโลยี \"วิดีโอวอลล์\" ซึ่งเป็นแผงจอโทรทัศน์ ที่สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้รายงานข่าวได้ เข้ามาใช้ในการรายงานข่าว โดยเริ่มใช้เป็นครั้งแรก ในการรายงานการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 ในช่วง \"เจาะกีฬากับบิ๊กจ๊ะ\" ของรายการเรื่องเด่นเย็นนี้ เมื่อวันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ต่อมาจึงติดตั้งวิดีโอวอลล์จอเล็ก เพิ่มขึ้นอีก 1 ชุด ในห้องส่งอีกห้องหนึ่ง เพื่อรองรับการนำเสนอข่าว ในรายการข่าวอื่นๆ อีกด้วย",
"title": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3"
},
{
"docid": "141190#0",
"text": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส () เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อมา",
"title": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส"
},
{
"docid": "492231#6",
"text": "อนึ่ง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกที่แสดงตราสัญลักษณ์ฯ ที่มุมบนซ้ายของหน้าจอ ตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม เวลา 13.45 น. ต่อมาคือสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เริ่มแสดงเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม เวลา 15.45 น. และ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในเวลา 17.00 น. ส่วนสถานีโทรทัศน์แห่งอื่นๆ แสดงตราสัญลักษณ์ฯ เป็นครั้งแรก ในวันที่ 8 พฤษภาคม โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มเวลา 00.00 น. สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ในเวลา 00.53 น. และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อเวลา 17.00 น.",
"title": "ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554"
},
{
"docid": "63610#1",
"text": "เมื่อปี พ.ศ. 2511 ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ในขณะนั้น ได้แก่ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) และ ททบ.7 (ปัจจุบันคือ ททบ.5) กับช่อง 7 สี ของกองทัพบก ได้ประชุมร่วมกันและมีมติว่า แต่ละสถานีฯ ควรจะได้รวมตัวกันขึ้น เพื่อปรึกษาหารือ และดำเนินการจัดการในเรื่องต่าง ๆ อันจะเกิดประโยชน์ร่วมกันกับทุกสถานีฯ จึงก่อตั้งองค์กรชื่อว่า \"โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย\" เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีดังกล่าว โดยกำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง ประกอบด้วยผู้อำนวยการของช่องโทรทัศน์ทั้ง 4 เป็นกรรมการ และมอบให้ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่ก่อตั้ง ซึ่งต่อมาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เข้าร่วมเป็นสมาชิกถาวร นับแต่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ต่อมามีช่องโทรทัศน์ เข้าเป็นสมาชิกสมทบคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และไทยพีบีเอส (เดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี)",
"title": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย"
}
] |
130 | พระเจ้าธีบอเกดเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "164581#3",
"text": "พระเจ้าธีบอ ประสูติวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้ามินดงกับพระนางลองซี หรือพระมเหสีแลซา เจ้าหญิงเมืองฉาน[2] ชมีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาร่วมพระราชบิดาพระราชมารดา 3 พระองค์ ได้แก่",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
}
] | [
{
"docid": "279386#8",
"text": "เมื่อถูกถอดจากบัลลังด์ อังกฤษก็ได้เชิญพระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัตไปประทับยังบริติชราช ทั้งสองพระองค์ประทับที่เมืองมัทราสราว 2-3 เดือน ภายหลังจึงถูกส่งไปประทับถาวรที่เมืองรัตนคีรีเมืองเล็กๆทางชายฝั่งทะเล ทางใต้เมืองบอมเบย์ (มุมไบในปัจจุบัน) พระนางศุภยลัตเกิดทะเลาะกับพระนางอเลนันดอ จนพระนางอเลนันดอต้องขอกลับพม่า อังกฤษก็ยอมให้กลับคุมตัวไว้ที่เมืองเมาะลำเลิงจนสิ้นพระชนม์ พระเจ้าธีบอกับพระนางศุภยลัตถูกเนรเทศอยู่ที่บริติชราชนาน 31 ปี จนพระเจ้าธีบอจึงสิ้นพระชนม์ที่เมืองรัตนคีรีนั่นเอง พระนางจึงได้รับอนุญาตให้พาลูกสาวไปอยู่ย่างกุ้ง ส่วนพระศพพระเจ้าธีบอนั้นฝังไว้ที่อินเดีย",
"title": "พระนางศุภยาลัต"
},
{
"docid": "528278#1",
"text": "เมื่อพระเจ้าธีบอโอรสของพระเจ้ามินดงขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2421 รัฐบาลของพม่าอ่อนแอมาก มีการฆ่าล้างพระราชวงศ์ครั้งใหญ่ในตอนต้นรัชกาล แต่เนื่องจากอังกฤษติดสงครามกับอัฟกานิสถาน และไม่มีผู้ที่เหมาะสมจะสถาปนาให้เป็นกษัตริย์พม่าแทน นอกจากนั้น พระเจ้าธีบอส่งทูตไปฝรั่งเศสและยินยอมให้ฝรั่งเศสเข้ามาทำสัมปทานป่าไม้และจัดตั้งธนาคาร ทำให้อังกฤษรู้สึกว่าเสียผลประโยชน์ จึงตัดสินใจจะผนวกพม่าทั้งหมด",
"title": "สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม"
},
{
"docid": "164581#2",
"text": "พระองค์ได้ขึ้นครองราชสมบัติเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421 ด้วยความช่วยเหลือจากพระนางอเลนันดอ พระมเหสีองค์หนึ่งของพระเจ้ามินดงผู้เป็นพระราชบิดา และเหล่าขุนนางชั้นสูงกลุ่มหนึ่ง พระองค์ได้ทรงเสกสมรสกับพระนางศุภยาลัตพระราชธิดาของพระเจ้ามินดงกับพระนางอเลนันดอ และพระขนิษฐาร่วมพระราชบิดาเดียวกัน ซึ่งพระนางศุภยาลัตเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลต่อการตัดสินพระทัยในเหตุสำคัญต่าง ๆ ของพระเจ้าสีป่อเป็นอย่างมาก",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "806789#5",
"text": "ในช่วงแรก พิธีกร ได้กล่าวต้อนรับผู้เข้าแข่งขันที่ผ่านการคัดเลือกมาทั้งหมด 50 คนและได้ให้ทุกคนเริ่มการถ่ายภาพหน้าธรรมชาติโดย สุรชัย แสงสุวรรณ บรรณาธิการแฟชั่นและช่างภาพแฟชั่นนิตยสารลอฟฟีเซียล ไทยแลนด์ เพื่อที่จะผ่านเข้ารอบต่อไป ขณะนั้นเมนเทอร์ทั้งสามคนในซีซันนี้คือ บี ลูกเกด และ มาช่า ได้กล่าวทักทายกันและรอผู้เข้าแข่งขันมาถ่ายภาพเพื่อตัดสิน ในระหว่างที่ผู้เข้าแข่งขันเข้ามาถ่ายภาพ เมนเทอร์ทั้งสามก็ได้มีการซักถามกับผู้เข้าแข่งขันต่าง ๆ นานา. อุ้ม ได้บอกว่าแต่งงานกับแฟนที่เป็นผู้หญิงและยังคบกันอยู่. มะลิ ที่ ลูกเกด บอกว่าทำให้นึกถึงลิลลี่ใน ซีซัน 2 คือเดินแบบได้อย่างเดียว. เทีย ได้บอกเหตุผลที่เข้ามาแข่งเพื่อที่จะได้รับการฝึกฝนจากเมนเทอร์ทั้งสามคน. ทับทิม และโช ได้ผ่านเข้ารอบ 50 คนในรอบคัดเลือกอีกครั้งหลังจากพลาดโอกาสไปใน ซึ่ง ลูกเกด ได้ยกให้ มาช่า เป็นคนตัดสินใจ และ มาช่า ได้ให้ โช เข้ารอบต่อไป แต่ บี ได้ให้ ทับทิม เข้ารอบต่อไปอีกคน. วิกกี้, เมนเทอร์ดูแล้วรู้สึกว่าผอมเกินไป. จูลี่, ลูกเกด ได้บอกว่าลุคเดียวกับ เจสซี่ จาก ซีซัน 2. แองจี้, เมนเทอร์ทุกคนต่างลงความเห็นว่าตาไม่เท่ากันและอาจทำงานยากในวงการนางแบบ โดยเฉพาะ ลูกเกด ได้ลงความเห็นว่าเด็กเกินไปที่จะมาแข่งขัน. บุ้งกี๋ ได้บอกว่าเป็นครูสอนดนตรี และ มาช่า ได้ขอให้เธอร้องเพลงให้ฟัง. นุ่น ได้บอกว่าเคยเข้าประกวดและได้ถ่ายแบบกับ บี แต่ไม่ได้ถ่ายแบบคู่กัน. เจสซี่, ลูกเกด บอกว่าเวลาไม้ยิ้มดูหน้าบึ้งและได้บอกให้ยิ้มให้ดู. ใบหม่อน ได้บอกเมนเทอร์ว่ากลัวกะเทย บี ได้บอกว่าถ้าไม่เปลี่ยนทัศนคติก็ทำงานในวงการไม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของ ลูกเกด. อาลีน่า อยากเข้าวงการเพื่อตามหาพ่อที่ไม่ได้เจอกันตั้งแต่เกิด. บลอสซั่ม ตีตี้ และ ฮาน่า ที่เข้ามาเป็นกลุ่มสุดท้าย เมนเทอร์ได้ถามว่าเป็นหญิงแท้หรือผู้หญิงข้ามเพศ มีเพียงแค่ ตีตี้ เท่านั้นที่บอกว่าเป็นหญิงแท้. บลอสซั่ม ได้บอกเหตุผลที่เข้ามาแข่งขันว่าอยากเป็นเดอะเฟซคนแรกที่เป็นผู้หญิงข้ามเพศ. ฮาน่า, ลูกเกด บอกว่าลุคเหมือนยู่ยี่. ในรอบนี้มีผู้ผ่านเข้ารอบต่อไป 35 คน โดยที่ ซีย์ ซอส แพม ฟิลเลอร์ แก้มก้น วิกกี้ แองจี้ ใบหม่อน และตีตี้ ไม่ผ่านรอบนี้",
"title": "เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 3"
},
{
"docid": "164581#1",
"text": "พระเจ้าสีป่อเป็นพระราชโอรสของพระเจ้ามินดงกับเจ้าหญิงจากเมืองสีป่อในดินแดนไทใหญ่ มีพระนามเดิมว่าเจ้าชายหม่องปู (မောင်ပု Maung Pu) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2402 ที่กรุงมัณฑะเลย์ เมืองหลวงของราชอาณาจักรพม่าในเวลานั้น เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นได้ผนวชเป็นพระภิกษุเพื่อศึกษาวิชาการต่างๆ เมื่อทรงลาผนวชแล้ว พระราชบิดาจึงทรงแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองตี่บอ ซึ่งเป็นที่มาของพระนามเมื่อเสวยราชสมบัติในเวลาต่อมา",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "279386#7",
"text": "พระเจ้าธีบอตามพระทัยมเหสีจึงสั่งให้เตรียมพลไปรบ อังกฤษก็ให้นายพลแฮร์รี เพนเดอร์กาส นำทหารทั้งฝรั่งและอินเดียเคลื่อนพลเข้ารบ จากย่างกุ้งบุกไปตามลำน้ำอิรวดีถึงมัณฑะเลย์ ใช้เวลาแค่ 14 วันก็ยึดเมืองหลวงได้ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่า นอกเหนือจากอาวุธที่ดีกว่าอย่างเทียบไม่ติด แต่เหตุผลสำคัญที่สุดคือราษฎรไม่คิดจะต่อสู้เพราะไม่รู้จะสู้ไปเพื่ออะไร เนื่องจากรัฐบาลของพระเจ้าธีบอโดยพระนางศุภยาลัต กดขี่พวกเขามาตลอด บ้านเมืองจึงขาดความสามัคคีขนาดหนัก เนื่องจากกษัตริย์และมเหสีไม่เคยทำตนให้เป็นที่รักของประชาชนพม่าของพระองค์เอง พระเจ้าธีบอ และพระนางศุภยาลัตจึงถูกเชิญให้ไปยังเมืองรัตนคีรี ซึ่งเป็นการสิ้นสุดเอกราชของพม่า และการปกครองโดยราชวงศ์อลองพญาที่มีอย่างยาวนาน",
"title": "พระนางศุภยาลัต"
},
{
"docid": "854541#16",
"text": "แต่เมื่อพระเจ้ามินดงทรงพระประชวรด้วยโรคบิดและใกล้สวรรคต พระมเหสีสิ่งผยูมะฉิ่งได้ทรงเริ่มดำเนินแผนการเกลี้ยกล่อมเสนาบดีในสภาลุต่อ ทั้งกินหวุ่นมิงจี้และแตงดาหวุ่นจี้ต่างเห็นพ้องอย่างยิ่งกับข้อดีที่จะให้เจ้าชายธีบอขึ้นสืบราชบัลลังก์ตามที่พระมเหสีสิ่งผยูมะฉิ่งทรงเสนอ มีรายงานว่า ทรงประทานทองคำหนัก 50 จั๊ด เป็นตัวช่วยสำหรับเสนาบดีคนอื่นๆ[26] เหล่าเสนาบดีจึงต่างพากันสนับสนุนเพราะเห็นเช่นเดียวกับพระมเหสีสิ่งผยูมะฉิ่ง ว่า เจ้าชายธีบอนั้นว่านอนสอนง่าย พระมเหสีสิ่งผยูมะฉิ่งทรงชี้ให้แตงดาหวุ่นจี้เห็นถึงประโยชน์ เมื่อเจ้าชายธีบอขึ้นสู่ราชบัลลังก์ และขับไล่พวกอังกฤษ ส่วนกินหวุ่นมิงจี้ก็เห็นประโยชน์ที่ว่า การให้เจ้าชายธีบอครองบัลลังก์จะทำให้ความปรารถนาที่จะสร้างระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของพม่าเป็นจริง และเป็นอย่างอังกฤษ หรือประเทศในยุโรป ซึ่งกี้นวูนมี่นจี้ได้เคยพบเห็นมาในฐานะคณะทูตของพระเจ้ามินดงในพ.ศ. 2414",
"title": "รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422"
},
{
"docid": "164581#5",
"text": "พระราชมารดาของพระองค์ทรงถูกเนรเทศออกจากราชสำนักโดยพระราชโองการของพระเจ้ามินดง พระนางทรงดำรงพระชนม์ชีพในช่วงบั้นปลายด้วยการเป็นตี่ละฉิ่น (thilashin) ซึ่งก็คือคำเรียกแม่ชีในพม่า พระนางทรงใช้ชีวิตและสิ้นพระชนม์อย่างไร้เกียรติ[3]",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "854541#0",
"text": "รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 เป็นเหตุการณ์รัฐประหารในพม่าสมัยราชวงศ์คองบอง ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงก่อนการเสด็จสวรรคตของพระเจ้ามินดงและในช่วงต้นรัชกาลของพระเจ้าธีบอ นับตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421 จนถึงวันที่ 13–18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2422[1] เหตุการณ์นี้มักถูกเรียกว่า เหตุการณ์ ปลงพระชนม์หมู่พระราชวงศ์พม่า ซึ่งดำเนินการโดยพระนางสิ่งผยูมะฉิ่งหรือพระนางอเลนันดอ พระมเหสีตำหนักกลางในพระเจ้ามินดง ร่วมกับเสนาบดีในสภาลุตอที่เป็นพันธมิตรของพระนาง ได้แก่ กินหวุ่นมิงจี้และแตงดาหวุ่นจี้ เหตุการณ์นี้ทำให้เชื้อพระวงศ์พม่าทั้งพระราชโอรสและพระราชธิดาในพระเจ้ามินดงหลายพระองค์ถูกปลงพระชนม์ และราชบัลลังก์ได้ส่งผ่านต่อไปยังพระเจ้าธีบอ ซึ่งเป็นผู้ที่พระนางสิ่งผยูมะฉิ่งและสภาลุตอต้องการให้สืบราชสันตติวงศ์ต่อไป แต่ถึงกระนั้นเหตุการณ์นี้ได้ถูกมองว่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สถาบันกษัตริย์พม่าล่มสลายต่อภัยจักรวรรดินิยม",
"title": "รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422"
},
{
"docid": "164581#0",
"text": "พระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (သီပော္မင္း; pronounced[θìbɔ́ mɪ́ɴ] ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2459[1]",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "745635#3",
"text": "เจ้าชายธีบอ พระเชษฐาของเจ้าหญิงทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาทในช่วงที่พระเจ้ามินดงทรงพระประชวรหนัก ซึ่งตามมาด้วยการสังหารหมู่พระราชวงศ์ที่มีสิทธิในราชบัลลังก์เพื่อเปิดทางให้เจ้าชายธีบอได้ครองราชบัลลังก์ แผนการนี้ดำเนินการโดยพระนางซินผิ่วมะฉิ่น พระมเหสีรองในพระเจ้ามินดง และอัครมหาเสนาบดีในพระเจ้ามินดง คือ เกงหวุ่นมินจี ซึ่งเป็นพันธมิตรของพระนางซินผิ่วมะฉิ่น เจ้าชายหลายพระองค์ซึ่งเป็นพระราชโอรสในพระเจ้ามินดงและเจ้าหญิงบางพระองค์ได้ถูกปลงพระชนม์ในแผนการนี้ เจ้าหญิงเมกถีหล่าทรงรอดพระชนม์มาได้เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระขนิษฐาแท้ในพระเจ้าธีบอ",
"title": "เจ้าหญิงเมกถีหล่า"
},
{
"docid": "845450#3",
"text": "เกิดความวุ่นวายทางการเมืองในปีสุดท้ายของรัชกาลพระเจ้ามินดง ปี พ.ศ. 2421 พระนางซินผิ่วมะฉิ่น พระมเหสีตำหนักกลางในพระเจ้ามินดง และอัครมหาเสนาบดีในพระเจ้ามินดง คือ เกงหวุ่นมินจี ซึ่งเป็นพันธมิตรของพระนางซินผิ่วมะฉิ่น และเต่งกะด๊ะมินจี เสนาบดีผู้มีอิทธิพลในสภาลุดต่ออีกคนหนึ่ง ได้ก่อการรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421 - 2422 โดยดำเนินการแต่งตั้งเจ้าชายธีบอ หนึ่งในพระโอรสของพระเจ้ามินดง และเป็นพระอนุชาต่างมารดาในเจ้าหญิงตองตา ขึ้นเป็นองค์รัชทายาท พระนางซินผิ่วมะฉิ่นและเกงหวุ่นมินจีดำเนินการจับกุมพระราชโอรส ผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์และพระราชธิดารวมถึงเจ้าจอมมารดา บางพระองค์ มาสังหารหมู่เพื่อเปิดทางให้เจ้าชายธีบอขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าธีบอ ได้โดยง่าย เจ้าหญิงตองตาทรงเป็นหนึ่งในราชนิกูลที่ถูกจับกุมตามคำสั่งของพระนางชินผิ่วมะฉิ่นในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2421 พร้อมพระราชธิดาองค์อื่นๆ ที่พระนางชินผิ่วมะฉิ่นเกรงว่าจะเป็นภัยต่อราชบัลลังก์ โดยเหล่าพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากอนิทวาล้วนถูกจับกุม ซึ่งไม่มีการกล่าวถึงการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงตองตา แต่นักประวัติศาสตร์คาดว่าอาจจะทรงถูกปลงพระชนม์ตามคำสั่งของพระนางซินผิ่วมะฉิ่นในราววันที่ 13 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2422 ณ พระราชวังมัณฑะเลย์ สิริพระชนมายุ 28 พรรษา",
"title": "เจ้าหญิงตองตา"
},
{
"docid": "854214#3",
"text": "เจ้าหญิงทั้งสามและเจ้าจอมมารดาทยาสิ่นประทับในพระราชวังหลวงอย่างสงบ ไร้ซึ่งบทบาทในราชสำนัก ภายใต้การปกครองของพระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัต พระมเหสีในพระเจ้าธีบอ ช่วงนี้พม่ากำลังเผชิญภัยคุกคามจากจักรวรรดินิยมอังกฤษ ราชอาณาจักรล่มสลายลงโดยพระเจ้าธีบอทรงครองราชย์ได้เพียง 7 ปีเท่านั้น พระองค์ทรงพ่ายแพ้ในสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม กองทัพอังกฤษได้บุกเข้าพระราชวังมัณฑะเลย์เพื่อเรียกร้องให้พระเจ้าธีบอทรงยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไขภายใน 24 ชั่วโมง และบีบบังคับให้พระเจ้าธีบอสละราชบัลลังก์ พระองค์พร้อมพระราชินีศุภยาลัตและพระราชธิดาทรงถูกเนรเทศไปยังอินเดียในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428",
"title": "เจ้าหญิงเต่งกะด๊ะ"
},
{
"docid": "164581#8",
"text": "ในรัชกาลของพระองค์ได้ส่งคณะทูตไปยังฝรั่งเศสเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2426 และได้มีการเจรจาเกี่ยวกับการทำสัญญาทางการค้า ยินยอมให้ฝรั่งเศสเข้ามาทำสัมปทานป่าไม้ซึ่งได้สร้างความหวาดระแวงให้อังกฤษ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2428 พม่าเรียกค่าปรับจากบริษัทบอมเบย์เบอร์มาเทรดดิงเป็นเงินจำนวน 2.3 ล้านรูปี อังกฤษจึงตัดสินใจยื่นคำขาดต่อพม่าในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2428 โดยให้พม่าลดค่าปรับ ให้ความสะดวกแกอังกฤษในการค้าขายกับจีนและให้อังกฤษควบคุมนโยบายต่างประเทศของพม่า พม่าปฏิเสธมาในวันที่ 9 พฤศจิกายน กองทัพอังกฤษจึงเคลื่อนทัพออกจากย่างกุ้งไปยังพม่าเหนือในวันที่ 14 พฤศจิกายนและยึดมัณฑะเลย์ได้ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัตยอมแพ้ในวันนี้ ทั้งสองพระองค์เสด็จลงเรือไปยังย่างกุ้งและถูกเนรเทศไปอินเดีย[5]",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "933857#0",
"text": "กินหวุ่นมินจี (, 3 กุมภาพันธ์ 1822 — 30 มิถุนายน 1908) อัครมหาเสนาบดีในช่วงรัชสมัย พระเจ้ามินดง — พระเจ้าธีบอ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการผลัดดันให้พม่ามีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น เขาและอีกหลายคนจึงถูกกล่าวหาว่ายอมแพ้ต่ออังกฤษใน สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม",
"title": "กินหวุ่นมินจี"
},
{
"docid": "164581#11",
"text": "พระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัตทรงมีพระธิดาร่วมกัน 4 พระองค์ได้แก่",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "854541#11",
"text": "เจ้าชายเถ่าซา (Prince of Thonze; ประสูติ พ.ศ. 2386 – สิ้นพระชนม์ พ.ศ. 2422) เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 6 ในพระเจ้ามินดง ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโกนิททิวา เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาสูงสุดในขณะนั้น[14] เนื่องจากพระเชษฐาได้ถูกปลงพระชนม์ในคราวกบฏเจ้าชายมินกุนและเจ้าชายมินกุนเดงแล้ว เจ้าชายเถ่าซาทรงมีบทบาทสำคัญในการเมืองของราชอาณาจักร โดยดำรงตำแหน่งอุปราชแห่งชเวโบและพะโม ทำให้มีกำลังทหารสนับสนุนอยู่กลุ่มหนึ่ง อีกทั้งในราชสำนักเจ้าจอมมารดาโกนิททิวา พระราชมารดาของพระองค์ทรงมีอิทธิพลสูงในระดับหนึ่ง เนื่องจากมีพระราชบุตรจำนวนมาก เจ้าชายเมะคะหย่า (Prince of Mekkhara; ประสูติ พ.ศ. 2390 – สิ้นพระชนม์ พ.ศ. 2421) เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 12 ในพระเจ้ามินดง ประสูติแต่พระนางนันทาเทวี มเหสีเหนือที่ 1 (เทียบเท่าสมเด็จพระอัครชายา) เจ้าชายดำรงตำแหน่งอุปราชแห่งเจาะแซและตองอู ทรงเป็นนักการทหาร มีบทบาทในกองทัพ และได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้กล้าหาญ ชำนาญศึก[15] ทรงมีกำลังทหารสนับสนุนจำนวนหนึ่ง เจ้าชายนยองยาน (Prince of Nyaungyan; ประสูติ พ.ศ. 2388 – สิ้นพระชนม์ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2428) เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 11 ในพระเจ้ามินดง ประสูติแต่พระสนมเอกปัทมเทวี พระสนมเอกฝ่ายเหนือ เจ้าชายทรงมีบทบาทเป็นอุปราชแห่งมเยแด้ เจ้าชายทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ที่เคร่งครัดในศาสนาและเป็นพระราชโอรสองค์โปรดของพระเจ้ามินดง[16] เจ้าชายญองย่านเป็นผู้ที่ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่ายมากที่สุด เจ้าชายธีบอ (Prince of Thibaw; ประสูติ 1 มกราคม พ.ศ. 2402 – สิ้นพระชนม์ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2459) เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 31 ในพระเจ้ามินดง ประสูติแต่พระนางลองชี ทรงเป็นหนึ่งในพระราชโอรสที่พระเจ้ามินดงโปรดปราน แต่แทบไม่ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มการเมืองใด ๆ พระราชมารดาของเจ้าชายธีบอทรงเป็นเจ้าหญิงจากรัฐฉาน[17] ทำให้ทรงมีศักดิ์สูงกว่าเจ้าชายหลายพระองค์ที่พระราชมารดาเป็นเพียงบุตรสาวของขุนนาง และทำให้ทรงเป็นหนึ่งในผู้สิทธิในราชบัลลังก์ตามยศศักดิ์ แต่พระราชมารดาของพระองค์ทรงถูกเนรเทศออกจากราชสำนักตามพระราชโองการของพระเจ้ามินดง พระนางทรงดำรงพระชนม์ชีพในช่วงบั้นปลายด้วยการเป็นตีละชีน ([thilashin]error: {{lang}}: text has italic markup (help)) หรือแม่ชีในภาษาพม่า [18] เจ้าชายธีบอจึงทรงขาดการสนับสนุน",
"title": "รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422"
},
{
"docid": "37703#3",
"text": "หลังจากที่เข้าร่วมอย่างไม่ค่อยเต็มในเท่าไหร่ เธอก็ค่อยๆเปลี่ยนไปและเต็มใจจะอยู่กับฝ่ายนี้ในท้ายที่สุด เธอประมือกับทีม X-Men เธอเคยลอบสังหาร วุฒิสมาชิกเคลลี่ ด้วยแต่ก็ถูกขัดขวางไว้โดยมนุษย์กลายพันธุ์ฝ่ายดีทุกครั้ง แต่ยิ่งเธอใช้พลังมากเท่าไหร่ จิตใจของโร้คก็ยิ่งแตกสลายมากขึ้นเท่านั้น จนถึงขั้นที่เธอต้องเข้าพบจิตแพทย์ ฟางเส้นสุดท้ายของเธอกับมิสทีคขาดสะบั้นลง เมื่อโร้คตาสว่างพบว่าแท้จริงแล้วนี่คือแผนร้าย ที่อีกฝ่ายตั้งใจหลอกใช้กันมาตลอด เธอจึงหันหน้าเข้าหาศาสตราจารย์ทเอ็กซ์ และพลพรรคเอ็กซ์ทีม ขอร้องให้เธอควบคุมพลังให้ได้เสียที",
"title": "โร้ค"
},
{
"docid": "1953#17",
"text": "รัชสมัยต่อมา พระเจ้าธีบอ (ครองราชย์ พ.ศ. 2421–2428) ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้ามินดง ทรงมีบารมีไม่พอที่จะควบคุมราชอาณาจักรได้ จึงทำให้เกิดความวุ่นวายขึ้นไปทั่วในบริเวณชายแดน ในที่สุดพระองค์ได้ตัดสินพระทัยยกเลิกสนธิสัญญากับอังกฤษที่พระเจ้ามินดงได้ทรงกระทำไว้ และได้ประกาศสงครามกับอังกฤษเป็นครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2428 ผลของสงครามครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถเข้าครอบครองดินแดนประเทศพม่าส่วนที่เหลือเอาไว้ได้ทั้งหมด",
"title": "ประเทศพม่า"
},
{
"docid": "743345#8",
"text": "ในรอบที่สาม เป็นการแต่งหน้าเพื่อให้เมนเทอร์เลือกเข้าทีม. ลิลลี่ ถูกเลือกเป็นคนแรกโดย คริส และบี ซึ่ง ลิลลี่ ได้เลือกเข้าทีมบี ลูกเกด บอกว่า ที่ไม่เลือกเพราะยังเด็กเกินไป ถ้ามีลูกสาวอายุเท่ากันกับ ลิลลี่ จะไม่ให้มาแข่งขัน. เจสซี่ เป็นคนเดียวที่เมนเทอร์ทั้งสามคนยกโมเดลลิ่งบุ๊คเพื่อเลือกเธอ และเธอก็ได้เลือกเข้าทีมของคริส ลูกเกด ได้ถามอายุ ของ เจสซี่ และได้บอกว่า ตอนที่ ลูกเกด อายุเท่ากับ เจสซี่ เธอก็เคยทำผิดพลาดมาแล้ว. นัตโตะ ถูก ลูกเกด เลือกเข้าทีมแบบไม่เข้าใจตัวเองว่าทำไมถึงได้เลือกเข้ามา. ทับทิม, เมนเทอร์ทุกคนเห็นตรงกันว่าสวยแต่ก็ไม่มีคนเลือกและเมนเทอร์ทุกคนรู้สึกเสียดายมากเมื่อเห็นเธอ โดยเฉพาะ ลูกเกด ถึงกับพูดว่า ถ้าเอากลับมาได้จะเลือกเข้าทีม. วีว่า ได้ความเห็นจาก คริส ว่าถ้าให้ถึงเวลาที่เหมาะสมค่อยมาอีกครั้งอาจจะดีกว่านี้. จู๊กกู้ มี ลูกเกด และบี ยกโมเดลลิ่งบุ๊คเลือกเธอ และ จุ๊กกู้ ได้เลือกเข้าทีมบี โดยได้บอกภายหลังว่ากลัว ลูกเกด เพราะ ลูกเกด เป็นคนดุ ซึ่ง ลูกเกด ได้บอกว่าถึงเธอจะดุแต่ดุเพราะอยากให้ลูกทีมได้ดี. น้ำหวาน มี คริส และลูกเกด ยกโมเดลลิ่งบุ๊คเลือกเธอ แม้ ลูกเกด จะเอารางวัลตุ๊กตาทองมาโชว์เพื่อให้เลือกเข้าทีม แต่ น้ำหวาน ได้เลือกเข้าทีมคริส. เหลือ จูน (ณฏิกา) เป็นคนสุดท้ายที่ยังไม่ได้ถูกเลือก และ คริส ยังต้องมีคนเข้าทีมอึกหนึ่งคนให้ครบทีม จูน (ณฏิกา) จึงได้อยู่ทีมคริส ซึ่ง ลูกเกด พูดว่า ตอนแรกตั้งใจจะเลือก แต่พอเห็นภาพและเห็นตัวจริงก็ดีใจที่ไม่ได้เลือก และคิดว่า คริส คงผิดหวัง แต่ คริส บอกว่า อยากได้มาตั้งแต่แรก. ญาตา อินดี้ กวาง นิก ทับทิม นีว่า วีว่า กุ๊กกิ๊ก นานา จูน แทสเซียร์ นิดหน่อย และนาแนน ต้องกลับบ้านไปเพราะไม่ผ่านรอบนี้",
"title": "เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 2"
},
{
"docid": "745635#8",
"text": "ราชอาณาจักรล่มสลายลงโดยพระเจ้าธีบอทรงครองราชย์ได้เพียง 7 ปี พระองค์ทรงพ่ายแพ้ในสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม กองทัพอังกฤษได้บุกเข้าพระราชวังมัณฑะเลย์เพื่อเรียกร้องให้พระเจ้าธีบอทรงยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไขภายใน 24 ชั่วโมง และบีบบังคับให้พระเจ้าธีบอสละราชบัลลังก์ พระองค์พร้อมพระราชินีศุภยาลัตและพระราชธิดาทรงถูกเนรเทศไปยังอินเดียในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 ซึ่งเจ้าหญิงเมกถีหล่าไม่ทรงได้พบกับพระเชษฐาอีกเลย",
"title": "เจ้าหญิงเมกถีหล่า"
},
{
"docid": "164581#10",
"text": "ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 เทียน เส่ง ประธานาธิบดีพม่าได้เดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพของพระเจ้าสีป่อ และพบกับลูกหลานของพระองค์ที่อาศัยอยู่ที่นั่น ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ประมุขรัฐบาลพม่าเดินทางไปเยือนสุสานของพระองค์[9]",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "164581#12",
"text": "หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์โกนบอง หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสละราชบัลลังก์",
"title": "พระเจ้าธีบอ"
},
{
"docid": "745635#4",
"text": "พระเจ้ามินดงเสด็จสวรรคต พระเจ้าธีบอขึ้นครองราชย์สืบต่อในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421 สถานะของเจ้าหญิงและเชษฐภคินีได้รับการฟื้นคืนขึ้นมาหลังจากที่ตกต่ำลงเมื่อคราวพระราชมารดาทรงถูกเนรเทศ เจ้าหญิงได้รับพระราชทานศักดินา พยุงพยาและเมกถีหล่า (Pyaung Pya and Meiktila) จากพระเจ้าธีบอ ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2421 ซึ่งทำให้ทรงมีสถานะเป็นเจ้าหญิงแห่งพยุงพยาและเมกถีหล่า และกลายเป็นพระนามในการเรียกพระนางว่า เจ้าหญิงเมกถีหล่า",
"title": "เจ้าหญิงเมกถีหล่า"
},
{
"docid": "536820#0",
"text": "เจ้าหญิงมยะพะยาละ (, ; 4 ตุลาคม 1883 - 4 เมษายน 1956) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าธีบอกับพระนางศุภยาลัต ก่อนหน้าที่จะมีการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในพม่าโดยอังกฤษ เจ้าหญิงมยะพะยาละ ได้รับเลือกให้เป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์พม่า เมื่อพระเจ้าธีบอถูกโค่นล้มราชบัลลังก์ พระองค์จึงต้องไปพำนักที่อินเดียกับพระบิดาและพระมารดา ต่อมาเมื่อพระเจ้าธีบอสวรรคตลง พระองค์จึงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์พม่าต่อจากพระบิดา พระองค์สื้นพระชนม์ที่เมืองกาลิมปง ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 4 เมษายน 1956 เจ้าตอ พญา ผู้เป็นพระราชภาคิไนย (เจ้าตอ พญาทรงเป็นพระโอรสในพระขนิษฐาของพระองค์) จึงเป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์พม่าคนต่อไป",
"title": "เจ้าหญิงเมียะพะยาละ"
},
{
"docid": "824091#0",
"text": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่ เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติก-คอมเมดี้ บทประพันธ์ของ นุกูล บุญเอี่ยม, วัชระ ปานเอี่ยม บทโทรทัศน์โดย พิสุทธิ์ แพร่แสงเอี่ยม กำกับการแสดงโดย นุกูล บุญเอี่ยม ผลิตโดย บริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำกัดออกอากาศทุกวันเสาร์–อาทิตย์ เวลา 11.00–11.45 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เคลลี่ ธนะพัฒน์, น้ำฝน โกมลฐิติ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย",
"title": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่"
},
{
"docid": "854541#14",
"text": "พระนางสิ่งผยูมะฉิ่งทรงเลือกเจ้าชายธีบอในฐานะตัวเลือกที่เหมาะสม เนื่องจากพระอุปนิสัยของเจ้าชายเป็นคนที่ไม่ทะเยอทะยาน เชื่อฟัง ซึ่งพระนางมองว่าน่าจะถูกชักจูงได้ง่าย และเจ้าชายเป็นผู้คงแก่เรียน โดยเป็นเจ้าชายเพียงพระองค์เดียวที่ผ่านการสอบธรรมวินัยขั้นสูงสุด ทรงมองว่าการเลือกเจ้าชายธีบอขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ จะช่วยให้เกิดความสมัครสมานระหว่างผู้ที่เคร่งครัดในพระพุทธศาสนาด้วยกันได้เป็นอย่างดี[24] และจะทำให้พระนางทรงได้รับการสนับสนุนด้วยเช่นกัน อีกทั้งเจ้าชายยังทรงมีเลือดขัตติยะทางฝ่ายพระราชมารดาที่เป็นเจ้าหญิงเมืองฉาน จึงมีความเหมาะสมกว่าเจ้าชายองค์อื่นที่มีมารดาเป็นสามัญชน และเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ทรงเลือกเจ้าชายธีบอ คือ เจ้าชายไม่ทรงมีผู้สนับสนุนจากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเลย แม้กระทั่งญาติทางฝ่ายมารดาก็ไม่มีอิทธิพลใด ๆ จึงทำให้พระนางเป็นกลุ่มผู้สนับสนุนแต่เพียงกลุ่มเดียว กล่าวกันว่าเคยมีการกราบทูลพระเจ้ามินดงให้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายธีบอเป็นองค์รัชทายาท ซึ่งอาจจะเป็นการกราบทูลของพระนางสิ่งผยูมะฉิ่งหรือเสนาบดีในสภาลุตอ แต่พระองค์ไม่ทรงดำเนินการใด ๆ ทรงเกรงว่าถ้าพระเจ้าธีบอขึ้นครองราชย์อาจจะไม่สามารถรักษาอิสรภาพของราชอาณาจักรไว้ได้[25] ถึงกระนั้นพระนางสิ่งผยูมะฉิ่งก็ไม่ทรงละความพยายาม ทรงหันเข้าหาเหล่าเสนาบดีเพื่อการสนับสนุนในความประสงค์ของพระนางทั้งด้านอิทธิพลและด้านกองกำลังทหาร จึงกลายเป็นการสร้างกลุ่มการเมืองขึ้นมาต่อสู้กับกลุ่มของเจ้าชายเมะคะหย่าที่ทรงอิทธิพลและมีพระญาติมาก และกลุ่มเจ้าชายนยองยานที่ได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย",
"title": "รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422"
},
{
"docid": "578978#4",
"text": "เริ่มมีผลงานเพลงตั้งแต่ปี 2538 โดยวงที-สเกิ๊ตนั้น ประกอบสมาชิก 3 คนด้วยกัน คือ อัสมา กฮาร (มาร์) ดวงพร สนธิขันธ์ (จอย) และ ธิติยา นพพงษากิจ (กิ๊ฟท์) มีผลงาน 2 อัลบั้มเต็ม และ 1 อัลบั้มพิเศษก่อนที่ทางค่ายคีตา เรคคอร์ดส จะปิดตัวลงไปเมื่อปี 2539 ผลงานเด่นคือเพลง ไม่เท่าไหร่, เจ็บแทนได้ไหม, ฟ้องท่านเปา, เรื่องมันเศร้า และเพลง ทักคนผิด เป็นต้น ผลงานอัลบั้มชุดแรกชื่อว่า \"T-Skirt\" ออกวางจำหน่ายกลางปี 2538 โดยรายชื่อเพลงมีดังนี้ 1.ไม่เท่าไหร่ 2.เจ็บแทนได้ไหม 3.เรื่องมันเศร้า 4.อย่าเล่นอย่างนี้ 5.ทักคนผิด 6.ฟ้องท่านเปา 7.วันที่ไม่เหงา 8.ทำให้เสร็จ 9.ซึ้ง ๆ หน่อย 10. เพื่อนกัน",
"title": "อัสมา กฮาร"
},
{
"docid": "870478#38",
"text": "เมื่อถึงเวลาถ่ายทำ ทีมลูกเกดเริ่มเป็นทีมแรก แต่หลังจากที่ ฟิลลิปส์ เข้าฉากไปได้ไม่นาน ลูกเกด ก็ได้โวยวายเนื่องจากเพลงที่ใช้เปิดมีแค่ทำนองแต่ไม่มีเสียงของนักร้องซึ่งทำให้กะเวลาไม่ลงตัว จึงได้บอกให้เปิดเพลงที่มีเสียงร้องและเริ่มต้นถ่ายทำใหม่อีกครั้ง นิคกี้ ยังทำผลงานออกมาได้ไม่ดีเท่าที่ควร กันย์ ได้บ่นเรื่องที่ไม่ได้เก็บกล่องแหวนเข้ากระเป๋ากางเกงขณะเข้าฉาก มอส ต้องเผชิญกับอุณหภูมิของน้ำที่ร้อนเกินไปเมื่อเข้าฉากล้างฟองแชมพูออกจากผม เมื่อเหลือเวลาอีก 3 นาที ลูกเกด ได้ให้ ฟิลลิปส์ เข้าฉากอีกครั้งเนื่องจากเชื่อว่าเขาตอบโจทย์ใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[29395,29405,2,2]}'>แคมเปญ</i>นี้ได้ดีที่สุด ทีมพีชเริ่มเป็นทีมที่สอง โจเซฟ แสดงอาการตื่นเต้นมากกว่าที่จะตกหลุมรัก พีเค ลืมเก็บกล่องแหวนเข้ากระเป๋ากางเกงก่อนออกจากฉาก แมน และ กันน์ ทำได้ดีที่สุดในทีม ทีมหมูเข้าฉากเป็นทีมสุดท้าย อติล่า ถูก ลูกเกด และ พีช วิจารณ์ว่ามีแค่ความหล่อแต่มีความรู้สึกราบเรียบตลอดเวลาในตอนที่เข้าฉาก เนื่องจาก มิกกี้ เป็นคนที่ตาโต เวลาที่เลิกคิ้วและเหลือบตามองที่กระจกเวลาก้มหน้า ลูกเกด บอกว่าดูน่ากลัว ธาม ยังรู้สึกแย่ที่ไม่ได้เข้าฉาก ลูกเกด ได้พูดว่า ถ้าเธอเป็น หมู ในตอนนี้ เธอจะให้โอกาสลูกทีมทุกคน",
"title": "เดอะเฟซเมนไทยแลนด์ ซีซัน 1"
}
] |
2008 | สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะมีพระบิดาชื่อว่าอะไร? | [
{
"docid": "33649#2",
"text": "สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ปีโชวะที่ 8 (ค.ศ. 1933, พ.ศ. 2476) ณ พระราชวังหลวง กรุงโตเกียว พระองค์เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 5 ใน 7 พระองค์ ในจักรพรรดิโชวะกับสมเด็จพระจักรพรรดินีนะงะโกะ แต่เป็นพระราชโอรสพระองค์โต เมื่อแรกประสูติทรงดำรงพระยศเป็น เจ้าสึงุ ()",
"title": "สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ"
}
] | [
{
"docid": "205953#0",
"text": "เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ (, ประสูติ 6 กันยายน พ.ศ. 2549) พระบุตรองค์ที่สามและพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่สามในการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น โดยพระองค์ถือว่าเป็นพระราชนัดดาชายเพียงพระองค์เดียวใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ",
"title": "เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ"
},
{
"docid": "151276#1",
"text": "เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เสด็จพระราชสมภพที่พระราชวังอะโอะยะมะ ใน กรุงโตเกียว เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ ที่ประสูติแต่พระสนมนะรุโกะ เนื่องจากเป็นพระราชโอรสองค์เดียวในจักรพรรดิเมจิ ทำให้พระองค์ต้องถูกชุบเลียงโดยสมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง ผู้ทรงเป็นพระอัครมเหสี ภายหลังประสูติได้ 6 วัน ทรงได้รับราชทินนามเป็น \"เจ้าฮะรุ\" (明宮 \"ฮะรุ โนะ มิยะ\") เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2422 เจ้าฮะรุ ทรงมีพระวรกายอ่อนแอมาตั้งแต่ประสูติ ด้วยสาเหตุทางพันธุกรรมจากพระราชบิดา ก่อนหน้าที่พระองค์จะประสูติ พระเชษฐาและพระเชษฐภคินีของพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนถึง 4 พระองค์ โดย 2 พระองค์แท้งในครรภ์และ 2 พระองค์สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทารก",
"title": "จักรพรรดิไทโช"
},
{
"docid": "885431#0",
"text": "เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ () (2 ธันวาคม พ.ศ. 2458 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงคิกุโกะแห่งทะกะมะสึ เจ้ามิกะซะถือเป็นเชื้อพระวงศ์ที่พระชนมายุยืนยาวที่สุดในราชวงศ์ญี่ปุ่น",
"title": "เจ้าชายทากาฮิโตะ เจ้ามิกาซะ"
},
{
"docid": "42827#9",
"text": "เจ้าชายโยะชิฮิโตะได้อภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ พระธิดาองค์โตในเจ้าชายคุนิ คุนิโยะชิ ซึ่งภายหลังบรมราชาภิเษก ก็ขึ้นเป็น \"สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง\" เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) และมีพระราชโอรสด้วยกัน 2 พระองค์ และพระราชธิดา 5 พระองค์ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช เจ้าชายฮิโระฮิโตะจึงได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ในนามรัชสมัยใหม่ว่า โชวะ ที่หมายถึงสันติภาพอันส่องสว่าง ซึ่งภายหลังจากการสวรรคตของพระราชบิดาไม่นาน จักรพรรดิโยะชิฮิโตะถูกออกพระนามเป็น \"จักรพรรดิไทโช\"",
"title": "จักรพรรดิโชวะ"
},
{
"docid": "825535#1",
"text": "ซึ่งพระนามเดิมของจักรพรรดิซะกุระมะชิคือ เจ้าชายอะกิฮิโตะ ( , ) อันเป็นพระนามเดียวกับ สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จักรพรรดิองค์ที่ 125 และองค์ปัจจุบันของญี่ปุ่นเพียงแต่พระนามของทั้งสองเขียนไม่เหมือนกัน",
"title": "จักรพรรดิซะกุระมะชิ"
},
{
"docid": "33649#14",
"text": "สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 3 พระองค์ ได้แก่",
"title": "สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ"
},
{
"docid": "33649#0",
"text": "สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ () เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ",
"title": "สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ"
},
{
"docid": "213834#0",
"text": "อะสึโกะ อิเกะดะ () (ประสูติ 7 มีนาคม พ.ศ. 2474) หรือ อดีตเจ้าหญิงโยริ เป็นภริยาของทะกมะซะ อิเกะดะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทั้งยังเป็นหนึ่งในพระภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะที่ยังมีพระชนม์ชีพ",
"title": "อัตสึโกะ อิเกดะ"
},
{
"docid": "737007#1",
"text": "จักรพรรดิโกะ-อุดะมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายโยะฮิโตะ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ โดยทรงสืบเชื้อสายจากราชสกุล ไดกะกุจิเจ้าชายโยะฮิโตะทรงได้รับการสถาปนาจาก จักรพรรดิคะเมะยะมะ พระราชบิดาให้ขึ้นเป็นรัชทายาทและผู้สืบราชบัลลังก์เมื่อปี พ.ศ. 1811\nอดีตจักรพรรดิคะเมะยะมะได้กลายเป็น โฮโอ หรือ อดีตจักรพรรดิอันประทับในศาสนา",
"title": "จักรพรรดิโกอูดะ"
}
] |
2964 | วิดีโอเกมสตาร์คราฟต์ วางขายครั้งแรกปีอะไร ? | [
{
"docid": "15294#0",
"text": "สตาร์คราฟต์ เป็นวิดีโอเกมประเภทวางแผนเรียลไทม์และบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์การทหาร พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบลิซซาร์ด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ออกบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2541[1] ต่อมา เกมขยายเป็นแฟรนไชส์ และเป็นเกมแรกของซีรีส์<i data-parsoid='{\"dsr\":[1624,1639,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ รุ่นแมคโอเอสออกในเดือนมีนาคม 2542 และรุ่นดัดแปลงนินเทนโด 64 ซึ่งพัฒนาร่วมกับแมสมีเดีย ออกในวันที่ 13 มิถุนายน 2543[2] การพัฒนาเกมนี้เริ่มขึ้นไม่นานหลังวอร์คราฟต์ 2: ไทด์สออฟดาร์กเนส ออกในปี 2538 สตาร์คราฟต์</i>เปิดตัวในงานอี3 ปี 2539 ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบน้อยกว่า<i data-parsoid='{\"dsr\":[2083,2099,2,2]}'>วอร์คราฟต์ 2 ฉะนั้น โครงการจึงถูกพลิกโฉมทั้งหมดแล้วแสดงต่อสาธารณะในต้นปี 2540 ซึ่งได้รับการตอบรับดีกว่ามาก",
"title": "สตาร์คราฟต์"
}
] | [
{
"docid": "15294#26",
"text": "สตาร์คราฟต์ ออกทั่วโลกเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2541 และเป็นเกมพีซีขายดีที่สุดในปีนั้น ขายได้กว่า 1.5 ล้านชุดทั่วโลก[69] ในทศวรรษถัดมา สตาร์คราฟต์ ขายได้กว่า 9.5 ล้านชุดทั่วโลก ในจำนวนนี้ 4.5 ล้านชุดขายได้ในประเทศเกาหลีใต้[70] ตั้งแต่ออก<i data-parsoid='{\"dsr\":[41110,41125,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ทีแรก บลิซซาร์ดเอนเตอร์เทนเมนต์รายงานว่า บริการหลายผู้เล่นออนไลน์ แบตเทิลดอตเน็ต ของบริษัทฯ เติบโตกว่าร้อยละ 800[71] สตาร์คราฟต์ ยังเป็นเกมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดของโลกเกมหนึ่ง[72][73]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "964927#1",
"text": "วิดีโอเกมชุดนี้ได้รับคำวิจารณ์แงงบวกอย่างถล่มถลายจากนักวิจารณ์ทั้งยังถูกเรียกว่าเป็นจุดขายสำคัญของเอกซ์บอกซ์ และนำไปสู่การเกิดคำว่า นักฆ่าเฮโล ที่ใช้อธิบายวิดีโอเกมที่ต้องการหรือได้รับการพิจารณาว่าดีกว่าเฮโล จากความสำเร็จของ \"\" และการทำการตลาดของผู้จัดจำหน่ายอย่างไมโครซอฟท์ ทำให้ภาคต่อมาในวิด๊โอเกมชุดนี้มียอดขายยอดเยี่ยมเป็นประวัติการณ์ โดยวิดีโอเกมชุดนี้สามารถจัดจำหน่ายได้ 65 ล้านชุดทั่วโลกพร้อมกับทำรายได้ไปกว่า 3.4 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ \nยอดขายที่แข็งแกร่งยังนำไปสู่การขยายแฟรนไชส์ไปยังสื่อบันเทิงและสินค้าอื่น ๆ ได้แก่นวนิยายที่ติดอันดับขายดีหลายครั้ง นวนิยายภาพ รวมไปถึงวิดีโอเกมชุด Halo Wars ซึ่งนำวิดีโอเกมชุดนี้ไปสู่รูปแบบที่แตกต่างไปจากประเภทของวิดีโอเกมหลักคือ การเป็นเกมประเภทวางแผนแบบเรียลไทม์ ในขณะที่ส่วนที่เหลือของเกมในซีรีส์เป็นแนวมุมมองบุคคลที่หนึ่ง นอกเหนือจากไตรภาคต้นฉบับแล้วบันจี้ได้พัฒนาภาคเสริมอย่างเฮโล 3 โอดีเอสที และภาคก่อนหน้าอย่าง เฮโล: รีช ซึ่งเป็นเกมสุดท้ายที่พวกเขาได้รับสิทธิให้พัฒนา ทั้งนี้การรีมาสเตอร์เกมภาคแรกภายใต้ภาพแบบความละเอียดสูงนั้นเริ่มต้นในปี 2011 โดยมีชื่อว่า \nโดยแฟนคลับของวิดีโอเกมชุดนี้นั้นมีชื่อเรียกว่า \"เฮโล เนชัน\"",
"title": "เฮโล (ชุดวิดีโอเกม)"
},
{
"docid": "15294#17",
"text": "แม้ความคืบหน้าเหล่านี้ สตาร์คราฟต์</i>ก็ยังออกช้า ความล่าช้าต่อเนื่องจูงใจให้กลุ่มแฟน<i data-parsoid='{\"dsr\":[21860,21875,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>กลุ่มหนึ่งบนฟอรัมอย่างเป็นทางการที่ตั้งชื่อตนเองว่า \"Operation: Can't Wait Any Longer\" (ปฏิบัติการ: รอต่อไปไม่ไหวแล้ว) เขียนชุดเรื่องบันเทิงคดีซึ่งสมาชิกของกลุ่มดังกล่าวพยายามนำ<i data-parsoid='{\"dsr\":[22052,22067,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>รุ่นบีตาจากสำนักงานใหญ่ของบลิซซาร์ดในเมืองเออร์ไวน์ รัฐแคลิฟอร์เนีย[30] เพื่อแสดงความเคารพต่อการมีกลุ่มนี้ในฟอรัมและความกระตือรือร้นกับเกมของพวกเขา ต่อมาบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์รวมชื่อกลุ่มดังกล่าวเข้าใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[22439,22454,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>โดยเป็นสูตรโกงเกมที่เร่งการสร้างยูนิต[31] และกล่าวขอบคุณกลุ่มดังกล่าวในเครดิตของเกม[32] ตัวเกมออกสำหรับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2541[1] โดยรุ่นแมคโอเอสออกมาในปีต่อมา คือ ปี 2542[33] การพัฒนา<i data-parsoid='{\"dsr\":[23586,23604,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ 64 ซึ่งเป็นรุ่นสำหรับนินเทนโด 64 เริ่มต้นในปี 2542 ซึ่งแปลงจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยแมสมีเดียอินเตอร์แอ็คทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ซึ่งเป็นบริษัทลูกของทีเอชคิว[34] และวางจำหน่ายโดยนินเทนโด[35] สตาร์คราฟต์ 64 ออกในสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรปในวันที่ 13 มิถุนายน 2543[2] และยังออกในประเทศออสเตรเลียเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2544",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "470105#0",
"text": "กรันตูริสโม (; ) หรือ GT เป็นเกมจำลองการขับรถยนต์เสมือนจริง ออกแบบโดยคาซูโนริ ยามาอูจิ กรันตูริสโม ได้รับการพัฒนาและจัดจำหน่ายโดยโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ได้วางจำหน่ายในปี 1997 สำหรับเพลย์สเตชัน ซึ่งกลุ่มการพัฒนาของเกมได้ก่อตั้งขึ้นเป็นบริษัทโพลีโฟนีดิจิตัลในปี 1998 หลังจากใช้เวลาห้าปีในการพัฒนา ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะและการวิจารณ์ได้เป็นอย่างดี รวมยอดขายได้ 10,850,000 ชุดทั่วโลกของวันที่ 30 เมษายน ศ.ค. 2008 และคะแนนเฉลี่ยจาก 95% ใน GameRankings' ที่ได้รวบรวม",
"title": "กรันตูริสโม (วิดีโอเกม)"
},
{
"docid": "190995#54",
"text": "นอกจากวรรณกรรมต่อยอดแล้ว ก็มีการออกผลิตภัณฑ์ที่มีที่มาจากซีรีส์ เช่น ของเล่น เกม ต่าง ๆ ที่เป็นสินค้ามีลิขสิทธิ์ วิดีโอเกม \"Lost: Via Domus\" ออกวางขาย ได้รับเสียงวิจารณ์ปานกลาง พัฒนาโดยยูบิซอฟต์ ออกในรูปแบบเครื่องเล่นวิดีโอเกมและคอมพิวเตอร์ในบ้าน ขณะที่เกมลอฟต์พัฒนา \"Lost\" เป็นเกมบนโทรศัพท์มือถือและไอพอด คาร์ดินอลเกมออกเกมกระดานชื่อ \"Lost\" เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 2006 ทีดีซีเกมส์ ออกชุดเกมจิ๊กซอว์ จำนวน 1000 ชิ้น ออกมาเป็น 4 ชุดคือ \"The Hatch,\" \"The Numbers,\" \"The Others\" และ \"Before the Crash\" ที่เมื่อต่อเข้าด้วยกันทั้งหมด จะปรากฏร่องรอยเงื่อนงำของปริศนาทั้งหมดใน \"อสุรกายดงดิบ\" อิงก์เวิร์กส ตีพิมพ์การ์ดสะสม ซีรีส์นี้เป็น 2 ชุด และจะออกชุด \"Lost: Revelations set\" ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2006 แม็กฟาร์เลนทอยส์ ประกาศว่าจะออกหุ่นตัวละครแสดงท่าทางในเรื่อง ออกขายชุดแรกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2006 และชุดที่ 2 ออกเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2007 มากกว่านั้นเอบีซีได้ขายสินค้าที่ระลึกจำนวนมากทางร้านออนไลน์ อย่างเช่น เสื้อผ้า อัญมณี และของสะสมอื่น",
"title": "อสุรกายดงดิบ"
},
{
"docid": "15294#2",
"text": "นักหนังสือพิมพ์ของอุตสาหกรรรมวิดีโอเกมจำนวนมากยกย่อง สตาร์คราฟต์ ว่าเป็นเกมที่ดีที่สุด[3] และสำคัญที่สุด[4]ตลอดกาลเกมหนึ่ง และว่าได้ยกระดับการพัฒนาเกมวางแผนเรียลไทม์[5] สตาร์คราฟต์</i>เป็นเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขายดีที่สุดเกมหนึ่ง โดยจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2552 สามารถขายได้ 11 ล้านแผ่นทั่วโลก[6] เกมยังได้รับการยกย่องจากการบุกเบิกการใช้กลุ่มแยกมีเอกลักษณ์ในการเล่นวางแผนเรียลไทม์[7] และเรื่องที่เร้าความสนใจ[8] รูปแบบหลายผู้เล่นของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[4332,4347,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>ได้รับความนิยมเป็นพิเศษในประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งผู้เล่นและทีมร่วมการแข่งขันอาชีพ ได้รับการสนับสนุน และแข่งขันในทัวร์นาเมนต์ที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์[9] สตาร์คราฟต์</i>มีการดัดแปลงและขยายแนวเรื่องผ่านชุดนวนิยาย ภาคเสริม (expansion pack) สตาร์คราฟต์: บรูดวอร์ และตัวเสริม (add-on) ที่ได้รับอนุญาตอีกสองตัว อีก 12 ปีให้หลัง ภาคต่อ สตาร์คราฟต์ 2: วิงส์ออฟลิเบอร์ตี ออกในเดือนกรกฎาคม 2553",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#34",
"text": "หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2541",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#30",
"text": "หลังออก สตาร์คราฟต์</i>ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในประเทศเกาหลีใต้ จนได้เป็นอีสปอร์ตแห่งชาติของประเทศหลังสถาปนาซีนเกมอาชีพสำเร็จ[83] เกมเมอร์อาชีพในประเทศเกาหลีใต้เป็นผู้มีชื่อเสียงในสื่อ และมีการถ่ายทอดเกม<i data-parsoid='{\"dsr\":[48745,48760,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ทางสามช่องโทรทัศน์ซึ่งอุทิศให้ซีนเกมอาชีพ[84] เกมเมอร์อาชีพในประเทศเกาหลีใต้ได้สัญญาโทรทัศน์ ผู้สนับสนุนและรางวัลทัวร์นาเมนต์ จนทำให้ผู้เล่นที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง ลิม โย-ฮวัน[85] ได้แฟนคลับกว่าครึ่งล้านคน[9] ลี ยุน-ยอล ผู้เล่นคนหนึ่ง มีรายงานรายได้ 200,000 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2548 (241,506 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2558)[72]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#3",
"text": "การที่บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ใช้สามเผ่าพันธุ์แยกกันใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[5091,5106,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นการปฏิวัติเกมประเภทวางแผนเรียลไทม์[5] ทุกยูนิต (unit) มีเฉพาะเผ่าพันธุ์ของตน แม้ว่าสามารถเปรียบเทียบระหว่างยูนิตประเภทต่าง ๆ ในต้นไม้เทคโนโลยี (technology tree) อย่างหยาบ ๆ ได้ แต่ทุกยูนิตปฏิบัติการต่างกันและผู้เล่นต้องใช้กลยุทธ์ต่างกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#27",
"text": "โดยทั่วไป นักวิจารณ์ตอบรับ<i data-parsoid='{\"dsr\":[42297,42312,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>อย่างดี โดยนักวิจารณ์ร่วมสมัยจำนวนมากสังเกตว่า แม้เกมอาจมิได้เบี่ยงบนจากสถานะเดิมของเกมวางแผนเรียลไทม์ส่วนใหญ่อย่างสำคัญ แต่เป็นเกมที่ดีที่สุดเกมหนึ่งที่ประยุกต์สูตรนั้น[8][38] นอกจากนี้ นักวิจารณ์ยกย่องการบุกเบิกการใช้สามเผ่าพันธุ์ที่แตกต่าง มีเอกลักษณ์และสมดุลแทนสองฝ่ายเท่ากันของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[42627,42642,2,2]}'>สตาร์คราฟต์[7] โดยเกมสปอตออกความเห็นว่า อย่างนี้ช่วยให้เกม \"เลี่ยงปัญหาที่ระบาดเกมอื่น ๆ ในประเภทนี้\"[8] นักวิจารณ์จำนวนมากยังยกย่องความเข้มแข็งของเรื่องประกอบเกม โดยนักวิจารณ์บางคนประทับใจวิธีที่เรื่องเปิดเผยออกมาเป็นเกมการเล่นอย่างดี[7] โดยเฉพาะการให้เสียงของเกมได้รับการสรรเสริญ ต่อมา เกมสปอตเชิดชูว่างานเสียงในเกมว่ายอดเยี่ยมหนึ่งในสิบในอุตสาหกรรมเกมขณะนั้น[74] ส่วนหลายผู้เล่นของเกมได้รับการตอบรับทางบวกพอ ๆ กัน สตาร์คราฟต์ ได้หลายรางวัล รวมถึงได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในเกมยอดเยี่ยมตลอดกาลโดยเกมสปอต ไอจีเอ็นและเกมอินฟอร์เมอร์[5][75][76][77] ตามข้อมูลของบลิซซาร์ด เอนเตอร์เทนเมนต์ สตาร์คราฟต์ คว้า 37 รางวัล และได้รับดาวบนพื้นของเมทรีออน (Metreon) เป็นส่วนหนึ่งของวอล์กออฟเกมในซานฟรานซิสโกเมื่อต้นปี 2549[68]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "684796#1",
"text": "เซิร์ก (Zerg) เป็นเผ่าพันธุ์ต่างดาวที่ปรากฏในวิดีโอเกมสตาร์คราฟต์ ลักษณะของเผ่าพันธุ์นี้ จะใช้จิตวิญญาณร่วมกันซึ่งมีผู้ออกคำสั่งสูงสุดคือ โอเวอร์ไมนด์ โดยเซิร์กจะแบ่งออกเป็น บรูดส์ (broods - กลุ่มของสิ่งมีชีวิต) ซึ่งแต่ละบรูดส์จะมีหน้าที่ต่างกันไป และถูกควบคุมโดย เซเลเบรต (Celebrate) ซึ่งรับคำสั่งจากโอเวอร์ไมนด์",
"title": "เผ่าพันธุ์ในสตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#18",
"text": "โน้ตดนตรีใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[24528,24543,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>ประพันธ์โดยคีตกวีในองค์กรของบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ดีเรก ดุ๊ก และเกล็นน์ สตัฟฟอร์ดประพันธ์เพลงในรายการเลือกและเพลงในเกม ขณะที่เจสัน เฮยส์ประพันธ์เพลงที่ใช้ในคัตซีนฉาก เทรซี ดับเบิลยู. บุช ให้การสนับสนุนการประพันธ์เพลงเพิ่มเติม[36] เพลงของเกมได้รับเสียงตอบรับดีจากนักวิจารณ์ ผู้อธิบายว่า \"ไพเราะกับมืดมนอย่างเหมาะสม\"[8] และ \"น่าประทับใจ\"[37] โดยมีนักวิจารณ์คนหนึ่งชี้ว่า บางเพลงได้รับแรงบันดาลใจมาจากเพลงภาพยนตร์<i data-parsoid='{\"dsr\":[25187,25198,2,2]}'>เอเลียน</i>ของเจอร์รี โกลด์สมิธ[38] ซาวแทร็กแรกของเกมอย่างเป็นทางการ สตาร์คราฟต์: เกมมิวสิก วอลุม 1 ซึ่งออกในปี 2543 ซึ่งประกอบด้วยเพลงจากทั้ง<i data-parsoid='{\"dsr\":[25354,25369,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>และ<i data-parsoid='{\"dsr\":[25372,25384,2,2]}'>บรูดวอร์ เช่นเดียวกับเพลงรีมิกซ์และดนตรีที่ได้แรงบันดาลใจจาก<i data-parsoid='{\"dsr\":[25436,25451,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ สร้างสรรค์โดยดีเจชาวเกาหลีใต้หลายคน เน็ตวิชชันเอ็นเตอร์เทนเมนต์เป็นผู้แจกจ่ายซาวแทร็ก[39] ในเดือนกันยายน 2551 บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ประกาศว่า ซาวแทร็กที่สอง สตาร์คราฟต์ออริจินัลซาวแทร็ก ออกทางไอทูนส์แล้ว ซาวแทร็กนี้ประกอบด้วยเพลงจาก<i data-parsoid='{\"dsr\":[25862,25877,2,2]}'>สตาร์ฟคราต์</i>และ<i data-parsoid='{\"dsr\":[25880,25892,2,2]}'>บรูดวอร์</i>ทั้งหมด ทั้งจากธีมในเกมจนถึงเพลงที่ใช้ในคัตซีนฉาก[40]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "984039#0",
"text": "เครซีแท็กซี () เป็นชุดวิดีโอเกมแนวแข่งรถเก็บคะแนนที่พัฒนาขึ้นโดยฮิตเมคเกอร์ และวางจำหน่ายโดยเซก้า วิดีโอเกมแรกปรากฏในรูปแบบเกมตู้ในปี 1999 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากทำให้เซก้าได้พอร์ตเวอร์ชันเกมตู้ลงไปยังคอนโซลดรีมแคสต์ในปี 2000 ทำให้เป็นวิดีโอเกมจากคอนโซลดรีมแคสต์ที่ขายดีเป็นอันดับสามในสหรัฐโดยมียอดขายมากกว่าหนึ่งล้านชุด เกมต่อมาได้ถูกพอร์ตลงเพลย์สเตชัน 2, นินเทนโดเกมคิวบ์ และพีซี กับภาคต่อยังปรากฏบนเอกซ์บอกซ์, เกมบอยอัดวานซ์ และ เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล",
"title": "เครซีแท็กซี"
},
{
"docid": "701501#0",
"text": "ตัวละครหลักและปรากฏซ้ำจากชุดบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์การทหาร \"สตาร์คราฟต์\" แสดงรายการด้านล่าง จัดระเบียบโดยสปีชีส์และกลุ่มแยกที่เข้าด้วยมากที่สุดในจักรวาลบันเทิงคดี เรื่องของชุด\"สตาร์คราฟต์\" เกี่ยวข้องกับกิจการระหว่างดาวในภาคห่างไหลของดาราจักร ซึ่งสามสปีชีส์แก่งแย่งชิงความเป็นใหญ่ ได้แก่ เทอร์แรน (Terrans) มนุษยชาติฉบับอนาคตซึ่งมีการแบ่งแยกอย่างมาก โพรทอส (Protoss) เผ่าเทวาธิปไตยซึ่งมีความสามารถพลังจิตอย่างกว้างขวาง และเซิร์ก (Zerg) สปีชีส์คล้ายแมลงซึ่งถูกบุคคลจิตกลุ่ม (hive mind persona) บัญชา สองสปีชีส์หลังถูกเซลนากา (Xel'Naga) สปีชีส์ที่สี่ซึ่งเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว ตัดต่อพันธุกรรม ชุดเริ่มด้วยวิดีโอเกม \"สตาร์คราฟต์\" เมื่อปี 2541 ของบลิซซาร์ดเอนเตอร์เทนเมนต์ และขยายด้วยภาคต่อ (sequel) \"อินเซอร์เร็กชัน\" \"เรทริบิวชัน\" \"\" \"\" \"\" \"\" และ\"\"ที่ยังไม่วางขาย แฟรนไชส์ถูกขยายเพิ่มอีกด้วยชุดนวนิยาย นวนิยายกราฟิกและงานอื่น",
"title": "ตัวละครในสตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "526832#0",
"text": "สตาร์คราฟต์ 2: ฮาร์ตออฟเดอะสวอร์ม () เป็นภาคเสริมของเกมวางแผนเรียลไทม์แนววิทยาศาสตร์การทหาร \"\" (\"StarCraft II: Wings of Liberty\") โดย บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ \"ฮาร์ตออฟเดอะสวอร์ม\" เป็นส่วนที่สองของเกม\"สตาร์คราฟต์ 2\" ไตรภาคที่วางแผนไว้ โดยส่วนที่สามจะมีชื่อว่า \"\" (\"Legacy of the Void\")",
"title": "สตาร์คราฟต์ 2: ฮาร์ตออฟเดอะสวอร์ม"
},
{
"docid": "19727#34",
"text": "ยอดขายของเอกซ์บอกซ์ในแต่ละเดือนนั้นทั้งหมดแทบจะตามหลังยอดขายของเพลย์สเตชัน 2 ยกเว้นในเดือนเมษายน 2547 ที่เอกซ์บอกซ์ขายดีกว่าเพลย์สเตชัน 2 ในสหรัฐอเมริกา แม้จะมียอดขายห่างจากเพลย์สเตชัน 2 เป็นอย่างมาก เอกซ์บอกซ์ถือว่าประสบความสำเร็จ (อย่างมากในทวีปอเมริกาเหนือ) มียอดขายในอันดับสองของเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นที่ 6 อย่างมั่นคง\nแม้จะมีการประชาสัมพันธ์อย่างหนักในประเทศญี่ปุ่นแต่ทว่ายอดขายในประเทศนี้ดูแย่เป็นอย่างมาก (460,000 เครื่องจนถึงเดือนพฤศจิกายน 2554) นักวิเคราะห์บางคนเชื่อว่าที่เอกซ์บอกซ์จะมีปัญหาในการต่อกรกับโซนีและนินเทนโดก่อนที่จะวางจำหน่ายในญี่ปุ่น โดยจะต้องแข่งกับของเล่นที่คล้ายกันและบางอย่างของเอกซ์บอกซ์ไม่เหมาะสำหรับสังคมในญี่ปุ่น (เช่นขนาดของเครื่อง) ทั้งยังขาดเกมที่วางจำหน่ายพร้อมเครื่องที่น่าสนใจสำหรับญี่ปุ่นเช่นเกมแนวสวมบทบาท โดยในสุดสัปดาห์ของ 14 เมษายน 2545 ยอดขายของเอกซ์บอกซ์ห่างจากคู่แข่งอย่างโซนีและนินเทนโดเป็นอย่างมากรวมทั้งยอดขายของ WonderSwan และ PSone. ในเดือนพฤศจิกายน 2545 หัวหน้าเอกซ์บอกซ์ในประเทศญี่ปุ่นได้ลาออก นำไปสู่การหารือกันถึงอนาคตของเอกซ์บอกซ์ ที่มียอดขายเพียง 278,860 เครื่องนับตั้งแต่วางจำหน่ายเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2545 ในสุดสัปดาห์ของวันที่ 18 กรกฎาคม 2547 เอกซ์บอกซ์ขายได้เพียง 272 เครื่อง ซึ่งแย่กว่าเพลย์สเตชันที่ขายได้มากกว่า 4 เท่า ที่เอกซ์บอกซ์ทำได้ แต่ทว่า ขายได้มากกว่าเกมคิวบ์ในสุดสัปดหาของวันที่ 26 พฤษภาคม 2545 แม้จะมีความพยายามของไมโครซอฟท์ แต่เกมที่น่าสนใจแนวญี่ปุ่นบางเกมที่เป็นเกมเฉพาะสำหรับเอกซ์บอกซ์ เช่น เดด ออร์ อไลฟ์ 3 หรือนินจาไกเด็นซึ่งมีส่วนอย่างมากต่อยอดขายเอกซ์บอกซ์ในญี่ปุ่น ",
"title": "เอกซ์บอกซ์"
},
{
"docid": "15294#28",
"text": "แม้นักวิจารณ์ยกย่องกราฟิกส์และเสียงของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[44600,44615,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ในเวลานั้น[62] แต่บทปฏิทัศน์ภายหลังสังเกตว่า กราฟิกส์ไม่เทียบกับเกมทันสมัยกว่า[7] สมรรถภาพของปัญญาประดิษฐ์ของเกมในการนำยูนิตไปจุดระหว่างทางยังเผชิญการวิจารณ์อย่างหนักบ้าง โดยพีซีโซนแถลงว่า ความไร้สามารถของผู้พัฒนาในการสร้างระบบหาเส้นทางทรงประสิทธิภาพเป็น \"ส่วนน่าโมโหที่สุดหนึ่งของประเภทวางแผนเรียลไทม์\"[67] นอกจากนี้ นักวิจารณ์หลายคนยังแสดงความกังวลต่อความคล้ายกันบ้างระหว่างโครงสร้างยูนิตของแต่ละเผ่าพันธุ์ ตลอดจนความไม่สมดุลที่อาจเกิดขึ้นของผู้เล่นที่ใช้ยุทธวิธีรุดเช้าในเกมหลายผู้เล่น[63] บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์บากบั่นดุลยุทธวิธีรุดในอัปเดตหลัง ๆ นักทบทวนตอบรับรุ่นนินเทนโด 64 ของเกมไม่ในทางบวก และวิจารณ์ว่า มีกราฟิกส์เลวเมื่อเทียบกับรุ่นพีซี ทว่า นักวิจารณ์ยกย่องเกมและแมสมีเดียสำหรับการใช้การควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพบนเกมแพด (gamepad) และคงเสียงคุณภาพสูง[37][54][64]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "15294#15",
"text": "บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์เริ่มการพัฒนา<i data-parsoid='{\"dsr\":[18951,18966,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>ในปี 2538 ไม่นานหลังออกวอร์คราฟต์ 2: ไทด์สออฟดาร์คเนสที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง[24] สตาร์คราฟต์เปิดตัวในงานอี3 ปี 2539[25] โดยใช้เกมเอนจินของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[19561,19581,2,2]}'>ไทด์สออฟดาร์คเนส</i>เป็นฐาน รุ่นดังกล่าวของเกมที่ประกอบโดยบ็อบ ฟิทช์ หัวหน้าโปรแกรมเมอร์ ซึ่งถูกจัดแสดง ได้รับการตอบรับค่อนข้างอ่อนจากงาน และถูกหลายคนวิจารณ์ว่าเป็น \"วอร์คราฟต์</i>ในอวกาศ\"[26] ผลคือ มีการยกเครื่องใหม่ทั้งโครงการ โดยนำความสนใจมายังการสร้างสามสปีชีส์แยกกัน บิล โรเปอร์ (Bill Roper) ผู้ผลิตเกมคนหนึ่ง แถลงว่า นี่จะเป็นการเบี่ยงเบนครั้งสำคัญจากแนวการเข้าสู่<i data-parsoid='{\"dsr\":[20151,20165,2,2]}'>วอร์คราฟต์ โดยเทียบสองฝั่งเท่ากันกับหมากรุก และแถลงว่า สตาร์คราฟต์</i>จะให้ผู้เล่น \"พัฒนายุทธศาสตร์เอกลักษณ์ขึ้นอยู่กับว่ากำลังเล่นสปีชีส์อะไร และจะกำหนดให้ผู้เล่นต้องคิดยุทธศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อต่อสู้กับอีกสองสปีชีส์\"[27] ต้นปี 2540 มีการเปิดตัว<i data-parsoid='{\"dsr\":[20636,20651,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>รุ่นใหม่ ซึ่งได้รับการตอบรับดีกว่ารุ่นแรกมาก",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "684796#0",
"text": "เกมวางแผนเรียลไทม์ขายดีที่สุดของบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ \"สตาร์คราฟต์\" มุ่งเน้นกิจการระหว่างดาวในส่วนห่างไกลของดาราจักร โดยสามสปีชีส์และหลายกลุ่มแยกล้วนชิงความเป็นใหญ่ในส่วนนั้น สปีชีส์\"สตาร์คราฟต์\"ที่เล่นได้มีเทอร์แรน (Terrans) มนุษย์ที่ถูกเนรเทศจากโลกซึ่งเชี่ยวชาญในการปรับตัวกับทุกสถานการณ์ เซิร์ก (Zerg) เผ่าพันธุ์คล้ายแมลงซึ่งหมกมุ่นกับการกลืนเผ่าพันธุ์อื่นเพื่อแสวงความสมบูรณ์ของพันธุกรรม และโพรทอส (Protoss) เผ่าพันธุ์คล้ายมนุษย์ซึ่งมีเทคโนโลยีล้ำหน้าและความสามารถพลังจิต โดยพยายามรักษาอารยธรรมของพวกตนและวิถีชีวิตปรัชญาเคร่งครัดจากเซิร์ก แต่ละเผ่าพันธุ์มีโหมดยุทธการผู้เล่นคนเดียวในเกมวางแผนเรียลไทม์\"สตาร์คราฟต์\"แต่ละเกม นอกเหนือจากสามเผ่าพันธุ์นี้ ยังมีเผ่าพันธุ์เล่นไม่ได้ต่าง ๆ เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องชุด\"สตาร์คราฟต์\" ที่เด่นที่สุดคือ เซลนากา (Xel'Naga) เผ่าพันธุ์ซึ่งแสดงเด่นในประวัติศาสตร์เผ่าพันธุ์โพรทอสและเซิร์ก",
"title": "เผ่าพันธุ์ในสตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "19727#2",
"text": "นอกจากนี้ความยอดนิยมในวิดีโอเกมฟอร์มยักษ์อย่าง เฮโล 2 ได้ช่วยให้เกิดความนิยมในการเกมเล่นออนไลน์ผ่านเครื่องเล่นวิดีโอเกม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเกมแนวมุมมองบุคคลที่หนึ่ง แม้ว่าสิ่งนี้ทำให้เอกซ์บอกซ์ขึ้นมามียอดขายเป็นอันดับ 2 แซงหน้านินเทนโด เกมคิวบ์และเซด้า ดรีมแคสต์ แต่ยังห่างกับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 ของโซนี่อยู่มาก\nรุ่นถัดมาของเอกซ์บอกซ์คือ เอกซ์บอกซ์ 360 วางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน ปี 2548 ทำให้ เอกซ์บอกซ์ก็ถูกยุติการทำตลาดในเวลาถัดมาไม่นานเริ่มจากในประเทศที่ไมโครซอฟท์ไม่ประสบความสำเร็จมากนักอย่างญี่ปุ่น ส่วนประเทศอื่น ๆ เริ่มหยุดจำหน่ายในปีถัดมาโดยเกมสุดท้ายที่วางจำหน่ายในทวีปยุโรปของเอกซ์บอกซ์ คือเกม \"เส้าหลิน สุดยอดพลังแห่งเพลงมวย\" ซึ่งวางจำหน่ายในเดือนมิถุนายน 2550 และเกมสุดท้ายที่วางจำหน่ายในอเมริกาเหนือคือเกม \"Madden NFL 09\" ซึ่งวางจำหน่ายในเดือนสิงหาคม 2551 การให้การสนับสุนสำหรับเอกซ์บอกซ์ที่หมดอายุนั้นสิ้นสุดลงในวันที่ 2 มีนาคม 2551 บริการเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์สำหรับเอกซ์บอกซ์สิ้นสุดเมื่อ 15 เมษายน 2552",
"title": "เอกซ์บอกซ์"
},
{
"docid": "705750#27",
"text": "ภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากที่วางจำหน่ายแกรนด์เธฟ์ออโต V สามารถทำรายได้มากกว่า 800 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ โดยขายได้ 11.21 ล้านชุด ซึ่งมากกว่าสองเท่าของตัวเลขที่มีการประมาณการไว้ก่อนหน้า[92][lower-alpha 12][94][95] 3 วันหลังจากวางจำหน่าย แกรนด์เธฟ์ออโต V ก็สามารถทำรายได้มากกว่า 1 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ กลายเป็นสื่อบันเทิงที่ทำยอดขายได้เร็วมากที่สุดในประวัติศาสตร์[96][lower-alpha 13] หกวันหลังจากที่วางจำหน่ายนั้นร็อกสตาร์เปิดเผยว่าแกรนด์เธฟ์ออโต V นั้นทำยอดขายไปถึง 29 ล้านชุดซึ่งมากกว่ายอดขายของแกรนด์เธฟ์ออโต IV ทั้งหมด[98] ในวันที่ 7 ตุลาคม 2013, แกรนด์เธฟ์ออโต V ก็กลายเป็นเกมที่ขายดีที่สุดแบบดิจิตอลบน เพลย์สเตชัน สโตร์ โดยที่ทำลายสถิติก่อนหน้าที่ เดอะ ลาส ออฟ อัส ทำไว้[99][100] แกรนด์เธฟ์ออโต Vยังทำลายสถิตของ Guinness World Records ถึง 7 สถิติด้วยกัน ได้แก่ วิดีโอเกมที่จำหน่ายเร็วที่สุดภายใน 24 ชั่วโมง วิดีโอเกมแอคชั่น-แอดแวนเจอร์ที่จำหน่ายเร็วที่สุดภายใน 24 ชั่วโมง วิดีโอเกมที่ทำรายได้สูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง สื่อบันเทิงที่ทำทำรายได้ถึง 1 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐเร็วที่สุด วิดีโอเกมที่ทำรายได้ถึง 1 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐเร็วที่สุด สื่อบันเทิงที่ทำรายได้ภายใน 24 ชั่วโมงสูงที่สุด และตัวอย่างเกมแอคชั่น-แอดแวนเจอร์ที่ถูกชื่นชมจากนักวิจารณ์มากที่สุด[9] โดยเวอร์ชันดิจิตอลของเอกซ์บอกซ์ 360 นั้นวางจำหน่ายวันที่ 18 ตุลาคม และกลายเป็นเกมที่ทำรายได้สูงสุดในวันแรกและสัปดาห์แรกของเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์[101][102] เดือนสิงหาคม 2014 แกรนด์เธฟ์ออโต V ถูกจำหน่ายไปมากกว่า 34 ล้านชุด[103] โดยเมื่อพฤษภาคม 2014 แกรนด์เธฟ์ออโต Vนั้นสามารถทำรายได้ไปถึง 1.98 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ[104] สิ้นปี 2014 แกรนด์เธฟ์ออโต V สามารถขายได้ 45 ล้านชุดทั่วโลก[105] และเมื่อ 18 พฤษภาคม 2015 แกรนด์เธฟ์ออโต Vสามารถขายได้ถึง 52 ล้านชุดบนทุกแลตฟร์ม[106]",
"title": "แกรนด์เธฟต์ออโต V"
},
{
"docid": "91173#30",
"text": "วอร์คราฟต์ 3 เป็นเกมหนึ่งที่อยู่ในระดับขายดีในระดับเดียวกับเกมชุดสตาร์คราฟต์ เกมชุดไดอะโบล และเกมชุดวอร์คราฟต์ภาคก่อนหน้า และยังเทียบเท่าได้กับเกมคัดสรรจากบริษัทอื่นนอกเหนือจากบริษัทบลิซซาร์ดอีกด้วย",
"title": "วอร์คราฟต์ 3: เรนออฟเคออส"
},
{
"docid": "38355#7",
"text": "สำหรับเกมของ สึซึมิยะ ฮารุฮิ นั้นมีอยู่ด้วยกัน 5 เกม เกมแรกคือ \"คำสัญญาของสึซึมิยะ ฮารุฮิ\" () พัฒนาโดย Namco Bandai Games วางจำหน่ายลงบนเครื่อง เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เกมที่สองคือ \"ความสับสนของสึซึมิยะ ฮารุฮิ\" () . พัฒนาโดย Banpresto วางจำหน่ายลงบนเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 และมียอดขายวิดีโอเกมในญี่ปุ่นอันดับที่ 95 ประจำปี พ.ศ. 2551 ด้วย โดยยอดขายรวมทั้งหมด 139,425 ชุด เกมที่สามคือ \"จังหวะเร้าใจของสึซึมิยะ ฮารุฮิ\" () พัฒนาโดย Kadokawa Shoten วางจำหน่ายลงบนเครื่อง วี เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2552 เกมที่สี่คือ \"โลกคู่ขนานของสึซึมิยะ ฮารุฮิ\" () วางจำหน่ายลงบนเครื่อง วี เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 และเกมที่ห้าคือ \"ลำดับของสึซึมิยะ ฮารุฮิ\" () วางจำหน่ายลงบนเครื่อง นินเทนโด ดีเอส เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 โดย 2 เกมหลังนี้พัฒนาโดย Sega, ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ทางคาโดคาว่า โชเต็น ได้วางจำหน่ายเกม \"The Day of Sagittarius III\" ลงใน App Store ของ Apple",
"title": "สึซึมิยะ ฮารุฮิ"
},
{
"docid": "213826#0",
"text": "สตาร์คราฟต์ 2: วิงส์ออฟลิเบอร์ตี้ () เป็นเกมคอมพิวเตอร์วางแผนการรบประเภทตอบสนองแบบทันกาล (Real Time Strategy) มีเนื้อหาอ้างอิงจากนิยายวิทยาศาสตร์ทางทหาร โดยเป็นภาคต่อของเกม Star Craft พัฒนาและจัดจำหน่ายเกมโดยค่ายบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ออกวางจำหน่ายวันที่ 27 กรกฎาคม 2553 มีเนื้อเรื่องที่เน้นทางเผ่า Terren เป็นหลัก และมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเผ่า Protoss อีกเล็กน้อย ",
"title": "สตาร์คราฟต์ 2: วิงส์ออฟลิเบอร์ตี"
},
{
"docid": "15294#21",
"text": "ไม่นานก่อน<i data-parsoid='{\"dsr\":[28762,28777,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>ออกวางจำหน่าย บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนนต์พัฒนาการทัพเกมเดโมแชร์แวร์ออกมาตัวหนึ่ง ชื่อว่า ลูมิงส์ (Loomings) ซึ่งประกอบด้วยสามภารกิจและสอนเล่น (tutorial) เนื้อเรื่องเป็นเรื่องก่อนหน้าเกตุการณ์ในสตาร์คราฟต์ โดยเกิดขึ้นในอาณานิคมของสมาพันธ์แห่งหนึ่งระหว่างที่ถูกเซิร์กบุก[41][42] ในเดือนตุลาคม 2542 บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ได้สร้างเป็นการทัพแผนที่ตามสั่ง (custom map) ในเกมตัวเต็ม โดยเพิ่มอีกสองภารกิจและตั้งไว้บนแบตเทิล.เน็ต[43] นอกเหนือจากนี้ การวางจำหน่ายสตาร์คราฟต์ตัวเต็มยังรวมการทัพอันดับรอง ชื่อ เอ็นสเลฟเวอร์ส (Enslavers) ประกอบด้วยห้าภารกิจที่เล่นเป็นทั้งเทอร์แรนและโปรทอส เอ็นสเลฟเวอร์ส</i>มีฉากท้องเรื่องในการทัพที่สองใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[30064,30079,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ และติดตามเรื่องของผู้ลักลอบเทอร์แรนที่สามารถควบคุมเซเรเบรทของเซิร์กได้ และถูกตามล่าจากทั้งโปรตอสและเทอร์แรนโดมินเนียน เอ็นสเลฟเวอร์ส</i>ใช้เป็นการทัพผู้เล่นคนเดียวตวอย่างสำหรับตัวออกแบบด่านของเกม โดยเน้นวิธีใช้คุณลักษณะของโปรแกรม[44]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "897822#1",
"text": "Warshaw ตั้งใจพัฒนาเกมที่จะปรับให้คล้ายกับภาพยนตร์และบริษัทอาตาริ คิดว่ามันจะเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จด้วยยอดขายที่สูงขึ้น เนื่องจากภาพยนตร์เรื่องนี้ยังเป็นที่นิยมอย่างมากในสมัยนั้น การเจรจาเพื่อรักษาสิทธิที่จะพัฒนาเกมจบลงในปลายเดือนกรกฎาคม 1982 โดยที่ Warshaw ใช้เวลาเพียงแค่ 5 สัปดาห์ในการพัฒนาเกม เพื่อให้วางจำหน่ายทันช่วงเทศกาลคริสต์มาส 1982 หลังปล่อยตัวเกมครั้งสุดท้าย เกมต้องเผชิญกับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก E.T. มักถูกอ้างถึงว่าเป็นหนึ่งในเกมวิดีโอที่เลวร้ายที่สุดตลอดกาลและเป็นหนึ่งในความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์วิดีโอเกม อย่างไรก็ตามเรื่องนี้เป็นที่นิยมมากสำหรับเหตุผลและยังถือว่าเป็นหนึ่งในเกมที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของวิดีโอเกม โดยเกมถูกโยงว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยต้น ๆ ที่นำมาสู่วิกฤตการณ์อุตสาหกรรมวิดีโอเกมในปี 1983 และได้รับการอ้างถึงบ่อยครั้ง และ เย้ยหยันในวัฒนธรรมสมัยนิยม ซึ่งจะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องเตือนเกี่ยวกับอันตรายของการพัฒนาเกมที่เร็วเกินไปและการเร่งสตูดิโอที่มากเกินเหตุ",
"title": "อี.ที. ดิเอกซ์ตราเทอร์เรสเทรียล (วิดีโอเกม)"
},
{
"docid": "15294#24",
"text": "ในปี 2543 สตาร์คราฟต์ 64 ออกสำหรับนินเทนโด 64 ซึ่งพัฒนาโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์และบริษัทแมสมีเดียร่วมกัน และจัดจำหน่ายโดยนินเทนโด เกมมีทุกภารกิจจากทั้ง<i data-parsoid='{\"dsr\":[34207,34222,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ และภาคเสริม บรูดวอร์ เช่นเดียวกับภารกิจเฉพาะที่เพิ่มมาบ้าง เช่น แผนที่สอนเล่น (tutorial) สองแผนที่และภารกิจลับใหม่ เรซะเร็กชัน 4 (Resurrection IV)[54] เรซะเร็กชัน 4 มีฉากท้องเรื่องหลังบทสรุปของบรูดวอร์ และติตดามจิม เรย์เนอร์กำลังมุ่งหน้าไปภารกิจกู้ตัวละครบรูดวอร์ อะเล็กเซย์ ซตูคอฟ (Alexei Stukov) พลเรือจัตวาจากโลกที่ถูกเซิร์กจับไป ภารกิจบรูดวอร์ต้องใช้เอกซ์แพนชันแพก (Expansion Pak) นินเทนโด 64 ในการเล่น[55] นอกจากนี้ สตาร์คราฟต์ 64 ยังมีภาวะร่วมมือแบ่งจอภาพ ทำให้ผู้เล่นสองคนควบคุมกำลังหนึ่งในเกมได้[56] ซึ่งต้องการเอกซ์แพนชันแพกเช่นกัน สตาร์คราฟต์ 64 ไม่เป็นที่นิยมเท่ารุ่นพีซี และขาดสมรรถภาพออนไลน์และคำพูดในคำสั่งละเอียดภารกิจ ยิ่งไปกว่านั้น ยังย่นคัตซีนด้วย[54] บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์เคยพิจารณาพอร์ตเพลย์สเตชันของเกม แต่ตัดสินใจว่าเกมควรออกบนนินเทนโด 64 แทน[57]",
"title": "สตาร์คราฟต์"
},
{
"docid": "285185#0",
"text": "บริษัท บลิซซาร์ด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ () เป็นบริษัทผู้ผลิตและจัดจำหน่ายวิดีโอเกมสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2534 โดยใช้ชื่อว่า ซิลิกอน & ไซแนพซ์ เดิมเป็นบริษัทผลิตพอร์ตเกมสำหรับค่ายเกมอื่น ๆ ก่อนที่จะเริ่มการพัฒนาซอฟต์แวร์ของตนในปี พ.ศ. 2536 ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2537 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บลิซซาร์ด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ บริษัทดังกล่าวได้ผลิตเกมพีซีซึ่งขายดีและประสบความสำเร็จหลายอย่าง รวมทั้ง \"วอร์คราฟต์\", \"สตาร์คราฟต์\", \"เดียโบล\" และ \"โอเวอร์วอตช์\" และเกมสวมบทบาทออนไลน์ \"เวิลด์ ออฟ วอร์คราฟต์\"",
"title": "บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์"
},
{
"docid": "15294#29",
"text": "เกมสปอตอธิบาย<i data-parsoid='{\"dsr\":[45537,45552,2,2]}'>สตาร์คราฟต์</i>ว่า \"เกมนิยามของประเภทมัน มันเป็นมาตรฐานซึ่งตัดสินเกมวางแผนเรียลไทม์ทุกเกม\"[5] ไอจีเอ็นแถลงว่า สตาร์คราฟต์ \"มอบเกมวางแผนเรียลไทม์ดีที่สุดหรือหนึ่งในที่ดีที่สุดที่เคยสร้าง\"[75] สตาร์คราฟต์ รวมอยู่ในการจัดอันดับเกมยอดเยี่ยมของอุตสาหกรรมเกมบ่อยครั้ง ตัวอย่างเช่น เกมอยู่ในอันดับที่ 37 ของสุดยอด 100 เกมตลอดกาลของเอดจ์[3] สตาร์คราฟต์ ยังถูกนำขึ้นอวกาศ เมื่อแดเนียล บาร์รีนำเกมก๊อปปีหนึ่งไปกับเขาบนภารกิจกระสวยอวกาศ STS-96 ในปี 2542[78] ความนิยมของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[46710,46725,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ส่งผลให้บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ให้เกมได้สถิติโลกสี่อย่าง รวมถึง \"เกมวางแผนพีซีขายดีที่สุด\" \"รายได้สูงสุดในเกมอาชีพ\" และ \"ผู้ชมมากสุดสำหรับการแข่งขันเกม\" เมื่อแฟน 120,000 คนเข้าชมรอบชิงชนะเลิศสกายโปรลีกฤดูกาล 2548 ในปูซาน ประเทศเกาหลีใต้[79] นักวิจัยได้แสดงว่าผู้ชมเกม<i data-parsoid='{\"dsr\":[47130,47145,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ มีหลากหลายและ<i data-parsoid='{\"dsr\":[47159,47174,2,2]}'>สตาร์คราฟต์ ใช้กรณีตัวอย่างอสมมาตรสารสนเทศเพื่อสร้างเกมให้บันเทิงสำหรับผู้ชมยิ่งขึ้น[80] ยิ่งไปกว่านั้น สตาร์คราฟต์ ยังเป็นหัวข้อคอร์สวิชาการ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์เปิดคอร์สบทนำที่นักเรียนจัดการในเรื่องทฤษฎีและยุทธศาสตร์ในฤดูใบไม้ผลิปี 2552[81][82] กริยา \"to zerg\" มาพบใช้ทั่วไปเป็นศัพท์เกม หมายถึง ยุทธวิธีเซิร์ก คือ รุดคู่แข่งด้วยกองทัพยูนิตอ่อนแอขนาดใหญ่มาก",
"title": "สตาร์คราฟต์"
}
] |
258 | ชัย ชิดชอบ แต่งงานกับใคร? | [
{
"docid": "169334#3",
"text": "ชีวิตส่วนตัว นายชัย ชิดชอบ สมรสกับนางละออง ชิดชอบ มีบุตรชาย 5 คน หญิง 1 คน บุตรคือนายเนวิน ชิดชอบ เป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด และนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย นายชัยชื่นชอบนักการเมืองชาวอิสราเอลคนหนึ่ง ที่ชื่อ โมเช่ ดายัน ถึงขนาดตั้งฉายาให้ตัวเองว่า \"ชัย โมเช่\"",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
}
] | [
{
"docid": "169334#0",
"text": "ชัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 — ) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัมย์",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "169334#6",
"text": "ขณะปฏิบัติหน้าที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์ ส.ส. หนองบัวลำภู พรรคพลังประชาชน ได้เสนอ นายจุมพฏ บุญใหญ่ ส.ส. สกลนคร พรรคพลังประชาชน เป็นผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน แต่นายจุมพฏไม่เห็นชอบด้วย นายพิษณุจึงมีทีท่าจะเสนอคนอื่นแทน นายชัย ชิดชอบ จึงกล่าวขึ้นกลางที่ประชุมว่า \"จะเสนอใครถามเจ้าตัวก่อนดีกว่าว่าเขารับหรือไม่ เจ้าตัวไม่เอายังเสือกเสนออยู่อีก จะเสนอใครก็รีบเสนอ เสียเวล่ำเวลา\" ท่ามกลางความตกตะลึงของ ส.ส. ในที่ประชุม อย่างไรก็ดี ความหงุดหงิดของนายชัยเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มประชุมแล้ว เนื่องจากความไม่พร้อมเพรียงและความวุ่นวายของ ส.ส. ที่เข้าประชุม จนนายชัยต้องกดสัญญาณเรียกถึงหกครั้ง และสั่งให้นับองค์ประชุมอีกหลายครั้ง ทั้งนี้ ในวันต่อมา นายชัยก็ได้กล่าวขอโทษ ส.ส. สำหรับกรณีดังกล่าวอย่างสุภาพด้วยความรู้สึกผิด",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "169334#4",
"text": "นายชัย ชิดชอบ เริ่มงานการเมืองจากการเมืองท้องถิ่น เป็นกำนันตำบลอิสาน อำเภอเมืองบุรีรัมย์ และทำธุรกิจโรงโม่หิน ชื่อโรงโม่หินศิลาชัย ที่อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มงานการเมืองตั้งแต่ พ.ศ. 2500 โดยสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์หลายสมัยติดต่อกัน ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 (อิสระ) , 2522 (พรรคประชาราษฎร์), 2526 (พรรคกิจสังคม), 2529 (พรรคสหประชาธิปไตย) , 2535/2 2538 (พรรคชาติไทย) , 2539 (พรรคเอกภาพ) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2548 (พรรคไทยรักไทย) และสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2549 และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 เขาได้สมัครรับเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคภูมิใจไทย ลำดับที่ 2",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "169334#5",
"text": "นายชัย ชิดชอบ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 นายชัยได้ทำหน้าที่ประธานโดยได้ขึ้นนั่งบนบัลลังก์ ขณะที่นายชัยจะคุกเข่าสดับพระบรมราชโองการฯ ก็เกิดล้มหัวคะมำ และเมื่อคุกเข่ารับฟังเสร็จแล้ว เมื่อจะลุกขึ้นก็ลุกไม่ขึ้น แต่นายชัยก็พยายามจะลุกให้ได้ จึงทำให้ล้มไปข้างหน้า จนนายนิสิต สินธุไพร ส.ส. ร้อยเอ็ด พรรคพลังประชาชน ที่มาร่วมในพิธีด้วย รีบเข้าไปพยุงนายชัยให้ยืนขึ้นเป็นปกติ และเดินกลับไปห้องประชุมได้และเรื่องนี้ก็ได้เป็นที่เล่าขานถึงความศักดิ์สิทธ์ของรัฐสภาในการคัดสรรผู้เหมาะสมที่จะบังลังก์",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "169334#1",
"text": "นายชัย ชิดชอบ เกิดที่บ้านเพี้ยราม ตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ จบการศึกษาชั้นมัธยมปลายจากโรงเรียนสุรวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "87944#6",
"text": "ครั้งหนึ่ง วงดนตรีตะวันออก เข้าประกวดที่สถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ชัยชนะขับร้องเพลงชีวิตชาวนาของคำรณ นายเตียง โอศิริ ผู้จัดการฝ่ายแผ่นเสียงของบริษัทกมลสุโกศลได้ชมรายการนั้นอยู่ด้วย และเมื่อพยงค์ มุกดาได้แต่งเพลง \" ของเขาไม่เอา ของเราไม่ให้ \" ที่พูดถึงกรณีพิพาทเรื่องเขาพระวิหารไปเสนอขาย นายเตียง จึงให้คนไปตามหาตัวชัยชนะมาบันทึกแผ่นเสียง งานนี้ ครูพยงค์ ได้แต่งเพลงให้ชัยชนะอีกเพลงชื่อ \" 21 รำลึก \" ชัยชนะจึงมีโอกาสได้บันทึกแผ่นเสียงครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี และ 2 เพลงนี้ทำให้เขาพอมีชื่อเสียงอยู่บ้าง จากนั้น ชัยชนะ ก็ออกเดินสายไปกับวงของครูพยงค์ มุกดา ครั้นพออายุ 18 ปี ก็แอบหนีครูพยงค์ ไปบันทึกเสียงให้กับ พิพัทธ์ บริบูรณ์ รวม 14 เพลง และได้ค่าเหนื่อยเป็นทองคำ 20 บาท งานนี้เขาได้อัดเพลงบางกอกน้อย ที่นักร้องดังหลายคน อย่างทูล ทองใจ , ชรินทร์ นันทนาคร และนริศ อารีย์ ปฏิเสธที่จะร้องเพราะความยาก แต่เพลงนี่ก็ทำให้เขามีชื่อเสียงโด่งดังในทันที และจากนั้นผลงานเพลงของชัยชนะ ก็เป็นที่ชื่นชอบของประชาชนมาอย่างยาวนาน นอกจากจะเป็นนักร้องแล้ว ชัยชนะ ยังมีความสามารถในการประพันธ์เพลงด้วย ซึ่งหลายเพลง ก็เป็นที่นิยม เช่นชัยชนะ บุญนะโชติ เป็นนักร้องที่สร้างลูกศิษย์ในวงการนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงไว้หลายคน อาทิ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ,เดือนเพ็ญ ณ สามพราน, ชัยณรงค์ บุญนะโชติ, เยี่ยม โยธะกา, แดน ดอนเจดีย์",
"title": "ชัยชนะ บุญนะโชติ"
},
{
"docid": "169334#7",
"text": "นายชัย ชิดชอบ ได้กลับมาเล่นการเมืองอีกครั้งเมื่อมีอายุมากแล้ว จึงได้รับการเรียกขานเล่น ๆ จากสื่อมวลชน ว่า \"ปู่ชัย\" หรือ \"ลุงชัย\" และในปลายปี พ.ศ. 2552 ได้รับฉายาจากสื่อมวลชนประจำรัฐสภาว่า \"ตลกเฒ่าร้อยเล่ห์\" อันเนื่องจากการทำหน้าที่ประธานสภาฯที่มีลูกล่อลูกชนและมีมุกตลกแพรวพราวสร้างความสนุกสนานลดความตึงเครียดในที่ประชุมเสมอ",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "87944#4",
"text": "เมื่อหลวงพี่วิเชียรสึกจากพระได้ชวนชัยชนะ ซึ่งตอนนั้นอายุ 14 ปี ให้ไปทำงานที่ บริษัท ส.สำราญไทยแลนด์ ที่ซอยกิ่งเพชร เขาทำอยู่ได้ 2 ปี ก็กลับบ้านที่ จ.ฉะเชิงเทรา และหันมาทำงานเป็นเด็กรถ ในยามว่าง เขากับชัยณรงค์ น้องชาย ก็อาศัยบริเวณท้ายรถโดยสารเป็น เวทีการแสดงการร้องเพลงของเขา โดยเก็บเงินจากบรรดาเด็กรถด้วยกันสำหรับการเข้าชม ชีวิตช่วงนี้เองที่ทำให้ ชัยชนะ เริ่มก้าวเข้าสู่วงการนักร้องอย่างเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น เมื่อเขาเริ่มเป็นนักร้องสมัครเล่นตามงานบวช งานแต่งงาน ซึ่งก็มีคนที่ชื่นชอบ และมอบเงินให้เป็นของขวัญ",
"title": "ชัยชนะ บุญนะโชติ"
},
{
"docid": "169334#2",
"text": "นายชัย ชิดชอบ ใช้วุฒิการศึกษา ม.6 ถึง พ.ศ. 2539 ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำหนดให้ ส.ส. ต้องจบปริญญาตรี นายชัย จึงสมัครเรียนต่อ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาตรี สาขาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง",
"title": "ชัย ชิดชอบ"
},
{
"docid": "24308#1",
"text": "นายเนวิน ชิดชอบ เกิดวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เป็นบุตรของชัย ชิดชอบ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ และนางละออง ชิดชอบ เป็นลูกคนกลางในบรรดาพี่น้องชาย 5 หญิง 1 (นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ น้องชาย เป็นเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย) กำนันชัย ชิดชอบ บิดาของนายเนวิน ตั้งตัวมาจากธุรกิจโรงโม่หิน มีกิจการที่สำคัญคือ โรงโม่หินศิลาชัย",
"title": "เนวิน ชิดชอบ"
}
] |
3364 | ศาสนาอิสลามมีแหล่งกำเนิดอยู่ที่ไหน? | [
{
"docid": "362982#0",
"text": "ประวัติศาสนาอิสลาม เริ่มขึ้นปี ค.ศ. 632 (พ.ศ 1175) จากชุมชนมุสลิมที่นบีมุฮัมมัดตั้งขึ้นแล้วในคาบสมุทรอาหรับ ในศตวรรษต่อมามีการเผยแพร่ศาสนาอิสลามไปอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะในจักรวรรดิกาหลิบรอชิดีนและช่วงราชวงศ์อุมัยยะห์ที่ศาสนาอิสลามแพร่ไปถึงทวีปยุโรปตอนใต้ \nหลายร้อยปีต่อมามีราชวงศ์มุสลิมปกครองหลายประเทศทั่วโลกด้วยกัน ได้แก่ ราชวงศ์อับบาซียะห์ ราชวงศ์ฟาติมียะห์ ราชวงศ์เซลจุค ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์ และมีจักรวรรดิมุสลิมที่แผ่อาณาเขตออกไปกว้างใหญ่ไพศาล เช่น จักรวรรดิโมกุลในประเทศอินเดีย และจักรวรรดิออตโตมันในประเทศตุรกีและคาบสมุทรบอลข่าน",
"title": "ประวัติศาสนาอิสลาม"
}
] | [
{
"docid": "936#82",
"text": "ศาสนาที่มีจำนวนผู้นับถือรองลงมา ได้แก่ ศาสนาอิสลาม มีผู้นับถือประมาณร้อยละ 4.2 เป็นนิกายซุนนีร้อยละ 99 มุสลิมอาศัยอยู่ในจังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลาและสตูล มากที่สุด แต่มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้คิดเป็นเพียงร้อยละ 18 ของมุสลิมในประเทศไทย ทั่วประเทศมีมัสยิด 3,406 แห่ง มุสลิมในประเทศไทยส่วนใหญ่มีเชื้อสายมลายู ซึ่งสะท้อนมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกับประเทศมาเลเซีย เชื่อว่ามีการเผยแผ่ศาสนาอิสลามสู่คาบสมุทรมลายูโดยพ่อค้าอาหรับในคริสต์ศตวรรษที่ 13",
"title": "ประเทศไทย"
},
{
"docid": "962476#3",
"text": "ตัวมัสยิดเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนศิลปะประยุกต์ไทย-จีน ก่อสร้างโดยช่างที่ถูกเกณฑ์ไปสร้างวัดมัชฌิมาวาสหรือวัดกลางซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กัน แม้จะมีสัณฐานคล้ายอุโบสถของวัดในพระพุทธศาสนาแต่ก็ไม่ขัดต่อหลักการในศาสนาอิสลามแต่อย่างใด ส่วนหออาซานเดิมมีลักษณะเดียวกันกับหอระฆังในวัดพุทธเช่นกัน แต่ภายหลังได้ถูกต่อเติมและสร้างโดมรูปหัวหอมขึ้นภายหลัง",
"title": "มัสยิดอุสาสนอิสลาม"
},
{
"docid": "2797#29",
"text": "วัฒนธรรมอิสลามได้แทรกซึมเข้าสู่วัฒนธรรมของอิหร่านอย่างแพร่หลาย ที่เห็นได้ชัดที่สุดคือการระลึกถึงอิหม่ามฮุเซนในวันอาชูรอ ซึ่งมีการรวมตัวของชาวอิหร่านมุสลิม ชาวคริสต์อาร์มีเนีย และชาวโซโรอัสเตอร์ที่มีส่วนร่วมในการไว้ทุกข์ให้กับผู้พลีชีพในการสู้รบที่กัรบาละห์ และวิถีชีวิตของชาวอิหร่านในยุคปัจจุบันก็ยังคงอิงอยู่กับศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์ และสิ่งต่าง ๆ ยังคอยย้ำเตือนให้ชาวอิหร่านระลึกถึงประเพณีและวัฒนธรรมอันรุ่งเรืองของตน",
"title": "ประเทศอิหร่าน"
},
{
"docid": "180561#2",
"text": "กลุ่มนี้ตั้งอยู่ที่ดามัสกัส ประเทศซีเรียและเชื่อว่าแหล่งการเงินของกลุ่มมาจากซีเรียและอิหร่าน กลุ่มนี้เริ่มปฏิบัติการในเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา แต่ก็มีการโจมตีในเลบานอนและจอร์แดนด้วย กลุ่มนี้มีลักษณะคล้ายฮามาสที่ใช้ศาสนาอิสลามในการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อต่อต้านอิสราเอล พวกเขามีความเป็นพี่น้องกับมุสลิมในอียิปต์และรับเงินช่วยเหลือจากอิหร่าน",
"title": "ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์"
},
{
"docid": "362520#1",
"text": "กลุ่มชาติพันธุ์ที่คนไทยเรียกกันว่า \"แขก\" คาดว่าหมายถึงชาวมุสลิมโดยรวม ทั้งนี้พ่อค้าชาวมุสลิมในคาบสมุทรเปอร์เซียที่เข้ามาค้าขายในแหลมมลายู (อินโดนีเซียและมาเลเซีย) ได้นำศาสนาอิสลามเข้ามาด้วย ภายหลังคนพื้นเมืองจึงได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ส่วนในประเทศไทยนี้พบหลักฐานว่าคนไทยได้ติดต่อสัมผัสกับชาวมุสลิมตั้งแต่ยุคสมัยสุโขทัย และช่วงกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมา โดยชาวมุสลิมบางคนนั้น เป็นถึงขุนนางในราชสำนัก ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชาวมุสลิมอพยพมาจากมลายูและเปลี่ยนสัญชาติเป็นไทย นอกจากนี้ยังมีชาวมุสลิมอินเดียที่เข้ามาตั้งรกราก รวมถึงชาวมุสลิมยูนนานที่หนีภัยการเบียดเบียนศาสนาหลังการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ในประเทศจีน",
"title": "ศาสนาอิสลามในประเทศไทย"
},
{
"docid": "35599#4",
"text": "ชาวอาหรับแต่งกายแบบดั้งเดิมและทันสมัย คริสตชนได้รับอิทธิพลการแต่งกายทั้งจากตะวันตกและตะวันออก ธรรมศาลา (Synagogue) คริสต์ศาสนสถาน มัสยิดและที่พักอาศัย มีรูปแบบต่าง ๆ กันซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมแบบโมเสก (Mosaic) กลิ่นเครื่องเทศ สัญลักษณ์ของการปรุงอาหารแบบตะวันออก เสียงระฆังโบสถ์ที่กังวานและยาวนาน สัญญาณเรียกให้มาสวดมนต์ในสุเหร่ามุสลิม และท่วงทำนองเสียงสวดมนต์ของชาวยิวที่กำแพงตะวันตก หรือกำแพงร้องไห้ (Western Wal, Wailing Wall) เพิ่มเสน่ห์และชีวิตชีวาแก่เมืองนี้ บรรยากาศเหล่านี้สัมผัสได้เฉพาะในส่วนที่เป็นเมืองเก่า นอกกำแพงเมืองเยรูซาเลมเต็มไปด้วยบรรยากาศความทันสมัยทั้งถนน เส้นทางคมนาคม ตึกสูง ห้างสรรพสินค้า ย่านธุรกิจ โรงเรียน ร้านอาหารและร้านกาแฟ",
"title": "เยรูซาเลม"
},
{
"docid": "57542#3",
"text": "อย่างไรก็ตามไม่ว่าศาสนาอิสลามจะแตกออกเป็นหลายกลุ่ม แต่ศาสนาอิสลามที่ถูกต้องมีเพียงกลุ่มเดียวส่วนกลุ่มอื่นๆที่แตกแนวนั้นถือเป็นกลุ่มนอกศาสนา เพราะที่อยู่ของเขาเหล่านั้นคือไฟนรก ดังนั้นเราอาจจะสรุปได้ว่า ศาสนาอิสลาม มีนิกายเดียว (เพราะนิกายอื่นๆนั้นไม่ใช่อิสลาม ณ.ที่ อัลลอฮฺ)\nรายชื่อนิกายในศาสนาอิสลามจากตำราต่างๆ มานำเสนอรวมทั้งได้ผนวกกลุ่มต่างๆเท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันเข้าไปด้วย ซึ่งการนำเสนอนี้อาจแตกต่างไปจากตำราทั้งหลาย แต่ก็ไม่น่าแปลกอะไร เพราะแม้แต่ตำราเกี่ยวกับนิกายต่างๆในอิสลาม แต่ละเล่มต่างได้กล่าวไว้ ไม่เท่ากันและแตกต่างกันไป\nข้อสำคัญที่สุดที่ทุกท่านไม่ควรมองข้ามก็คือ แต่ละกลุ่มย่อมมีหลักความเชื่อ(อะกีดะฮ์หรืออุซูลุดดีน)และหลักปฏิบัติ(อัลฟิกฮ์หรืออะห์กาม)ที่เหมือนกันและแตกต่างกัน \nเพราะฉะนั้นทางเราใคร่ขอความร่วมมือจากทุกท่าน กรุณาส่งข้อมูลที่แท้จริงจากมัซฮับ(แนวทาง)ของท่านมายังเรา เพื่อเป็นข้อมูลแก่ผู้ใฝ่ศึกษาศาสนาอิสลามจะได้รับประโยชน์จากท่าน \nเช่นเดียวกันทางเราจะพยายามนำเสนอข้อมูลนิกายต่างๆแก่ท่านด้วย อินชาอัลลอฮ์",
"title": "นิกายในศาสนาอิสลาม"
},
{
"docid": "466475#5",
"text": "ศาสนสถานสำคัญของศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด โดยชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่การละหมาด การปลีกตนเพื่อบำเพ็ญตบะ หาความสันโดษ (อิอฺติกาฟ และ คอลวะหฺ) นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอานและศาสนา สถานที่ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทำบุญเลี้ยง สถานที่ทำพิธีสมรส และสถานที่พักพิงของผู้สัญจรผู้ไร้ที่พำนัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและหญิง การกระทำที่ขัดกับบทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล",
"title": "ศาสนสถาน"
},
{
"docid": "3832#8",
"text": "สติปัญญาและสามัญสำนึกจะพบว่า จักรวาลและมวลสรรพสิ่งทั้งหลายที่มีอยู่ มิได้อุบัติขึ้นมาด้วยตัวเอง เป็นที่แน่ชัดว่า สิ่งเหล่านี้ได้ถูกอุบัติขึ้นมาโดยพระผู้สร้าง ผู้ทรงสูงสุดเพียงพระองค์เดียว ที่ไม่แบ่งภาค หรือแบ่งแยกเป็นสิ่งใด ไม่ถูกบังเกิด ไม่ถูกกำเนิด และไม่ให้กำเนิดบุตร ธิดาใดๆ ผู้ทรงสร้าง และบริหารสรรพสิ่งด้วยอำนาจและความรอบรู้ที่ไร้ขอบเขต ทรงกำหนดกฎเกณฑ์ที่โดยทั่วไปไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไว้ทั่วทั้งจักรวาลหรือที่เข้าใจว่าเป็น\"กฎธรรมชาติ\" ทรงขับเคลื่อนจักรวาลด้วยระบบที่ละเอียดอ่อน มีเป้าหมาย ซึ่งไม่มีสรรพสิ่งใดถูกสร้างขึ้นมาอย่างไร้สาระ",
"title": "ศาสนาอิสลาม"
},
{
"docid": "2043#20",
"text": "เนื่องจากประเทศอินเดียเป็นแหล่งกำเนิดพระศาสนาที่มีความสำคัญในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ศาสนาพราหมณ์ และ พระพุทธศาสนา ชาวอินเดียจึงถือว่าครอบครัวเป็นสถาบันทางสังคมที่มีความสำคัญที่สุด ระบบครอบครัวของอินเดียเป็นระบบครอบครัวร่วม หรือครอบครัวขนาดใหญ่ สมาชิกในครอบครัวประกอบด้วย ปู่ ย่า พ่อ แม่ ลูก หลาน และ เหลน อยู่ร่วมกันภายในครอบครัวเดียว ผู้อาวุโสที่สุดของฝ่ายชายจะเป็นหัวหน้าครอบครัว แม้สังคมของอินเดียยังคงมีความนับถือเรื่องวรรณะอยู่ แต่ก็ปรากฏไม่มากเท่าอดีต การดำเนินชีวิตของชาวอินเดียจะยึดถือศาสนาเป็นสิ่งสำคัญ กว่าร้อยละ 79.8 ของประชากรนับถือศาสนาฮินดู ร้อยละ 14.2 นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 2.3 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.7 นับถือ ศาสนาพุทธส่วนมากอยู่ลาดัก หิมาจัล สิกขิม อัสสัม เบงกอลตะวันตก และโอริศา ร้อยละ 1.7 นับถือศาสนาซิกข์ในรัฐปัญจาบ และที่เหลือ ร้อยละ 0.4 ศาสนาเชนในรัฐคุชรัต และอื่น ๆ อีก 0.9 รวมทั้งพวกนักบวชที่นับถือนิกายต่าง ๆ อีกมากมาย มีประมาณ 400 ศาสนาทั่วอินเดีย",
"title": "ประเทศอินเดีย"
}
] |
735 | ประพุทธเจ้าทรงประสูติเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "80018#3",
"text": "ในคืนที่พระโพธิสัตว์เสด็จปฏิสนธิในครรภ์พระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระสุบินนิมิตว่า มีช้างเผือกมีงาสามคู่ ได้เข้ามาสู่พระครรภ์ ณ ที่บรรทม สิบเดือนหลังจากนั้น ขณะทรงพระครรภ์แก่ ได้ทรงขอพระราชานุญาตจากพระสวามีเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ กรุงเทวทหะอันเป็นพระมาตุภูมิ เพื่อให้การประสูติเป็นไปตามประเพณีนิยมในสมัยนั้น ระหว่างเสด็จกลับพระมาตุภูมิ พระนางได้ทรงพักผ่อนพระอิริยาบถใต้ต้นสาละในสวนป่าลุมพินี[5]ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ก่อนพุทธศักราช 80 ปี เมื่อประสูติแล้ว พระราชกุมารนั้นทรงพระดำเนินได้ 7 ก้าวทันที พร้อมทั้งเปล่งอาสภิวาจา ว่า \"เราเป็นผู้เลิศ เป็นผู้เจริญ เป็นผู้ประเสริฐที่สุดแห่งโลก การเกิดของเราครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย บัดนี้ภพใหม่ไม่มีอีกแล้ว\"[6] อนึ่ง ทั้งสวนป่าลุมพินีและกรุงกบิลพัสดุ์ในปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล[7]",
"title": "พระโคตมพุทธเจ้า"
}
] | [
{
"docid": "157226#1",
"text": "พระนางมหาปชาบดีโคตมีเป็นพระมาตุจฉาของพระพุทธเจ้า และเมื่อพระนางสิริมหามายาสวรรคตแล้ว หลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ 7 วัน ในกาลต่อมาพระเจ้าสุทโธทนะได้ทรงตั้งพระนางมหาปชาบดีโคตมีไว้ในตำแหน่งพระอัครมเหสี ซึ่งพระนางได้ทรงถวายการอภิบาลเจ้าชายสิทธัตถะ เสมือนเป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง พระนางมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า เจ้าชายนันทะ และมีพระราชธิดาพระองค์หนึ่งพระนามว่า เจ้าหญิงรูปนันทา\nพระนางได้ทรงแสดงความประสงค์จะบวชต่อพระพุทธเจ้าในคราวที่พระองค์เสด็จไปโปรดพระพุทธบิดาและพระประยูรญาติ ณ กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงอนุญาตให้พระนางผนวช เนื่องจากยังไม่เคยทรงอนุญาตให้สตรีอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปเมืองเวสาลีและประทับอยู่ที่ กูฏาคารศาลาป่ามหาวัน พระนางปชาบดีโคตมีพร้อมด้วยเหล่านางสากิยานีจำนวนมาก จึงได้ปลงพระเกศา ห่มผ้ากาสายะ เป็นการแสดงเจตนาที่จะบวชอย่างแรงกล้า โดยเสด็จไปยังกูฏาคารศาลาป่ามหาวัน เมืองเวสาลี เพื่อทรงทูลขออุปสมบท โดยพระนางได้ทรงแจ้งพระประสงค์ต่อพระอานนท์ให้นำความไปกราบทูลพระพุทธเจ้า ขอให้พระนางพร้อมทั้งเหล่านางสากิยานีได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีในพระพุทธศาสนา ซึ่งพระอานนท์ใช้ความพยายามอยู่หลายหน พระพุทธเจ้าจึงทรงออกหลัก ปฏิบัติเป็นพิเศษสำหรับสตรีผู้ที่จะเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา คือครุธรรม 8 ซึ่งพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทรงยินดีปฏิบัติตามครุธรรม ทั้ง 8 ประการ จึงได้รับการอุปสมบทในพระพุทธศาสนา พร้อมทั้งเหล่านางสากิยานี",
"title": "พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี"
},
{
"docid": "845450#1",
"text": "เจ้าหญิงศรีประภาเทวี หรือ เจ้าหญิงตองตาทรงเป็นพระราชธิดาลำดับที่ 16 ของพระเจ้ามินดง ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดากอนิทวา พระองค์ประสูติที่พระราชวังอมรปุระ กรุงอมรปุระ ซึ่งขณะนั้นอยู่ในรัชกาลของพระเจ้าพุกามแมง ดังนั้นทรงเป็นพระราชธิดาซึ่งประสูตินอกเศวตฉัตร เจ้าหญิงทรงมีพระเชษฐา พระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาร่วมบิดามารดา 9 พระองค์ดังนี้",
"title": "เจ้าหญิงตองตา"
},
{
"docid": "156456#0",
"text": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า หลังจากพระศาสนาของพระนารทะพุทธเจ้าอันตรธานไปแล้ว เป็นช่วงเวลาที่ว่างจากพระพุทธเจ้าถึงหนึ่งอสงไขยกัป เรียกว่า รุจิอสงไขย เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงมัณฑกัปหนึ่ง มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 1 พระองค์ ทรงพระนามว่า พระปทุมุตระพุทธเจ้า (พระองค์ทรงอุบัติขึ้นเพียงพระองค์เดียว แต่เปรียบเสมือนมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 2 พระองค์ บางตำราก็ว่าเป็นสารกัป)",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "729803#0",
"text": "เมื่อศาสนาของพระปิยทัสสีพุทธเจ้าได้อันตรธานไปแล้ว ในวรกัปเดียวกันนั้น พระพุทธเจ้าพระองค์ที ๒ ได้อุบัติขึ้น ทรงพระนามว่าพระอัตถทัสสีทัสสีพุทธเจ้า\nพระอัตถทัสสีพุทธเจ้า ทรงประสูติในราชตระกูลกษัตริย์นครโสภณะ พระราชบิดาทรงพระนามว่า พระเจ้าสาคระ พระราชมารดาทรงพระะนามว่า พระนางสุทัสสนาราชเทวี\nในวันที่กุมารประสูติ เกิดเหตุการณ์อัศจรรย์ทั่วพระนครโสภณะ เมื่อชาวเมืองต่างค้นขุมทรัพย์ใหญ่ที่บรรพบุรุษในตระกูลของตนฝังไว้แต่นานมา จึงมีการขนานนามแก่พระกุมารว่า พระอัตถทัสสีกุมาร",
"title": "พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "110873#2",
"text": "เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2409 ณ พระราชวังใหม่ เมืองดาร์มชตัดท์ โดยทรงได้รับพระนามแรก ที่มาจากภาษากรีก แปลว่า \"สันติภาพ\" เนื่องจากพระองค์ประสูติในช่วงของการสิ้นสุดสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย เจ้าหญิงอลิซทรงเห็นว่าเจ้าหญิงอีเรเนอทรงเป็นเด็กที่ไม่มีเสน่ห์ดึงดูดและครั้งหนึ่งทรงเขียนถึงเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระภคินีว่าอีเรเนอนั้น \"ไม่สวยน่ารัก\" แม้ว่าจะไม่มีพระสิริโฉมงามเท่าเจ้าหญิงเอลิซาเบธ แต่เจ้าหญิงทรงสุภาพเรียบร้อย ถึงแม้จะเป็นแค่ลักษณะนิสัย เจ้าหญิงอลิซทรงอบรมเลี้ยงดูพระธิดาแบบเรียบง่าย มีพระพี่เลี้ยงชาวอังกฤษควบคุมดูแลพระโอรสและธิดา และให้เสวยพระกระยาหารพวกข้าวบดเหลวกับแอ็ปเปิ้ลอบ และสวมใส่เสื้อผ้าธรรมดา ทรงสอนพระธิดาเรื่องการบ้านการเรือน เช่น การอบขนมเค้ก จัดปูเตียง จุดไฟในเตาผิง และปัดกวาดฝุ่นให้ห้องนอน เจ้าหญิงอลิซยังทรงเน้นถึงความจำเป็นในการช่วยเหลือคนจนและพาพระธิดาไปในการเยี่ยมเยียนโรงพยาบาลและงานการกุศลต่างๆ ด้วย",
"title": "เจ้าหญิงอีเรเนอแห่งเฮ็สเซินและไรน์"
},
{
"docid": "166429#2",
"text": "ในสมัยพุทธกาลนี้ พระโคตมพุทธเจ้าได้เกิดเป็นโชติปาลมานพ (อ่านว่า โช-ติ-ปา-ละ อยู่วรรณะพราหมณ์) ผู้เป็นสหายของฆฏิการอุบาสก (อ่านว่าคะ-ติ-กา-ระ บรรลุธรรมระดับอนาคามีบุคคล) โชติปาลมานพในตอนแรกไม่ได้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า แต่เมื่อฆฏิการอุบาสกชวนไปฟังธรรมบ่อยเข้าจึงยอมไป เมื่อไปพบพระกัสสปพุทธเจ้าโชติปาลมานพ ได้กล่าวลบหลู่ว่า \"การตรัสรู้เป็นของยากจะมีโพธิบัลลังก์ที่ไหนให้ท่านได้ตรัสรู้กัน\" แต่เมื่อได้ฟังธรรมแล้วมีจิตเลื่อมใสจึงออกบวช และได้รับพุทธพยากรณ์ว่าต่อไปภายหน้าโชติปาลภิกษุจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าองค์ต่อไป อย่างไรก็ตามพระโคดมพุทธเจ้าเมื่อครั้งตรัสรู้แล้วได้กล่าวไว้ว่าเพราะผลกรรมที่ได้กล่าวลบหลู่พระกัสสปพุทธเจ้าในอดีตทำให้พระองค์ทรงเสียเวลาในการลองผิดลองถูกเป็นเวลานานถึง 6 ปีกว่าจะได้ตรัสรู้ ซึ่งนานที่สุดในประวัติศาสตร์ของพระพุทธเจ้าที่มีบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกและระหว่างนั้นพระองค์ได้มีการอดอาหารจนกระทั่งเกือบสิ้นพระชนม์",
"title": "พระกัสสปพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "465177#5",
"text": "พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันหลังจากประชวรด้วยไข้ทรพิษในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2320 ราชบัลลังก์ที่ว่างลงได้สืบต่อโดยเจ้าชายราณาพหาทูรศาหะ เป็นพระเจ้ารณพหาทุร ศาหะ พระชนมายุ 2 พรรษา รานีราเชนทราลักษมีในฐานะพระราชชนนีของยุวกษัตริย์ได้ขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทรงใช้พระราชอำนาจกำจัดศัตรุทุกคนของพระองค์ รานีราเชนทราทรงปล่อยให้รานีมาอิจูมีพระประสูติกาลพระโอรสนามว่า เชร์ บะหะดูร์ หลังจากนั้นมีพระราชเสาวนีย์ให้ทหารจับกุมองค์รานีมาอิจูออกจากพระราชวังและบังคับให้พระนางกระทำพิธีสตี พระนางสิ้นพระชนม์ในกองเพลิง หลังจากนั้นรานีราเชนทราทรงกุมพระราชอำนาจทางการเมืองและกลายเป็นปัญหาในรัชกาลต่อมา",
"title": "พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ"
},
{
"docid": "966528#1",
"text": "พระองค์ทรงเสกสมรสกับ เจ้าชายซีกิสมุนด์แห่งปรัสเซีย (2439-2521) เจ้าชายจากประเทศปรัสเซีย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2462 รับพระราชทานพระอิสริยยศและฐานันดรที่ เฮอร์รอยัลไฮนีส เจ้าหญิงซีกิสมุนด์แห่งปรัสเซีย พระชายา (แรกประสูติดำรงฐานันดรที่ \"ไฮนีส\") มีพระบุตร 2 พระองค์ คือ",
"title": "เจ้าหญิงชาร์ล็อทเทอแห่งซัคเซิน-อัลเทินบวร์ค"
},
{
"docid": "123957#3",
"text": "พระทีปังกรพุทธเจ้าประสูติเป็นทีปังกรราชกุมาร รัมมวดีนคร พระบิดาทรงพระนามว่าพระเจ้าสุเทพ และพระมารดาทรงพระนามว่าพระนางสุเมธาเทวี ทีปังกรราชกุมารทรงเกษมสำราญอยู่ 10,000 ปี ในปราสาท 3 หลัง ชื่อว่า หังสา โกญจา และมยุรา เหมาะสมตามฤดูทั้ง 3 มีพระมเหสีนามว่าปทุมาเทวี และทรงมีสนมนารีแวดล้อมอีก 300,000 นาง วันหนึ่ง ทีปังกรราชกุมารเสด็จประพาสอุทยาน ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้งสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ พระองค์จึงมีพระทัยน้อมไปทางบรรพชา",
"title": "พระทีปังกรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "156456#9",
"text": "ในสมัยที่พระพุทธเจ้าปทุมุตระทรงประกาศพระศาสนา พระนิตยโพธิสัตว์ได้เสวยพระชาติเป็น ชฎิล ต่อมาได้ออกบวชเป็นดาบสตบะแก่กล้ามีฤทธิ์มาก เมื่อได้พบพระพุทธองค์ก็มีจิตใจศรัทธาเลื่อมใส ได้ทำการถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธองค์เป็นประธาน พระพุทธองค์ทรงเล็งเห็นพระบารมีของพระโพธิสัตว์ด้วยจักษุทิพย์ จึงทรงประกาศพุทธพยากรณ์ว่า",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "465177#3",
"text": "มูลเหตุแห่งปัญหาคือ พระนางราเชนทราลักษมีศาหะ องค์รานีพระอัครมเหสีของพระองค์ ที่พระองค์ทรงอภิเษกสมรสตามความเหมาะสม แต่พระองค์ทรงอภิเษกสมรสครั้งที่สองกับสตรีจากเผ่าเนวาร์นามว่า มาอิจู ทรงหลงใหลนางมากถึงกับสถาปนานางขึ้นเป็นองค์รานีหรือพระนางมาอิจูศาหะ พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะทรงหลงใหลพระนางมากถึงกับไม่ออกว่าราชการ รานีราเชนทรงทรงริษยารานีมาอิจูมากโดยเฉพาะเมื่อทรงทราบว่ารานีมาอิจูทรงพระครรภ์ พระนางจึงหวั่นว่าฐานะของพระนางถูกสั่นคลอน ในขณะนั้นรานีราเชนทรามีพระประสูติกาลเจ้าชายราณาพหาทูรศาหะ พระโอรสพระชนมายุ 2 ชันษาแล้ว ",
"title": "พระเจ้าประตาปสิงห์ ศาหะ"
},
{
"docid": "53291#7",
"text": "พระขนิษฐาองค์ที่สองของเจ้าหญิงเบียทริกซ์ คือ เจ้าหญิงมาร์เกรียต[4] ประสูติในออตตาวา ปีพ.ศ. 2486 ในระหว่างทรงลี้ภัยอยู่ในแคนาดา เจ้าหญิงเบียทริกซ์ทรงเข้าศึกษาในสถานรับเลี้ยงเด็กและ[8] โรงเรียนเทศบาลร็อคคลิฟปาร์ค โรงเรียนชั้นประถามศึกษาที่เจ้าหญิงทรงเป็นที่รู้จักในฐานะ \"ทริซี่ออเรนจ์\" (Trixie Orange)[9][10]",
"title": "สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์"
},
{
"docid": "156456#4",
"text": "พระปทุมุตระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา แก่พระโอรส 2 องค์ของพระเจ้าอาแห่งกรุงมิถิลา คือ เทวละกุมาร และสุชาตะกุมาร ที่ราชอุทยานกรุงมิถิลา ทำให้พระโอรสทั้งสองและบริวารสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "156287#1",
"text": "พระสุมนะพุทธเจ้า ประสูติเป็นพระสุมนะราชกุมาร ในราชวงศ์กษัตริย์แห่งเมขละนคร พระราชบิดาทรงพระนามว่าพระเจ้าสุทัตตะ และพระราชมารดาทรงพระนามว่าพระนางสิริมา สุมนะราชกุมารทรงเกษมสำราญอยู่ 9,000 ปี ในปราสาท 3 หลัง ชื่อ สิริวัฒนะ โสมวัฒนะ และอิทธิวัฒนะ มีพระมเหสีพระนามว่า พระนางวฏังสิกาเทวี และทรงมีสนมนารีแวดล้อมอีก 360,000 นาง วันหนึ่ง พระสุมนะทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้งสี่ พระองค์จึงมีพระทัยน้อมไปทางบรรพชา เมื่อพระนางวฏังสิกาเทวีประสูติพระโอรส พระนามว่า อนูปมะกุมาร จึงได้เสด็จออกบรรพชาด้วยคชยาน โดยมีผู้ออกบรรพชาตาม จำนวน 30 โกฏิ\nสุมนะราชกุมารทรงบำเพ็ญความเพียรอยู่ ณ อโนมนิคม เป็นเวลา 10 เดือน จนถึงวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ทรงรับข้าวมธุปายาสจากนางอนุปมา ธิดาของอโนมเศรษฐี และรับหญ้า 8 กำจากอนุปมาชีวก ปูลาดใต้ต้นนาคะ (ต้นกากะทิง) เป็นโพธิบัลลังก์ กำจัดเหล่ามารให้พ้นไป และได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในคืนนั้น พระสุมนะพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา แก่พระภิกษุผู้บรรพชาตามจำนวน 30 โกฏิ พร้อมสรณกุมารพระอนุชาต่างมารดา และภาวิตัตตมาณพบุตรปุโรหิต ที่ราชอุทยาน ในเมขละนคร ทำให้พระภิกษุ 30 โกฏินั้น พร้อมพระอนุชาและบุตรปุโรหิต สำเร็จเป็นพระอริยบุคล",
"title": "พระสุมนพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "544827#19",
"text": "๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการพระราชพิธีบรรจุพระสรีรางคาร ทรงบรรจุพระสรีรางคาร ณ.ผนังเบื้องพระปฤศฎางค์ (เบื้องหลัง) ของพระร่วงโรจน์ฤทธิ์ วัดพระปฐมเจดีย์ โดยพิธีเริ่มตั้งแต่เวลา 9:30 น. โดยสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จแทนพระองค์ เมื่อราชยานยนต์หลวงเชิญพระสรีรางคารจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ถึงหน้าองค์พระปฐมเจดีย์ เชิญผอบพระสรีรางคารประดิษฐานบนราชยานกงด้วยกระบวนพระอิสริยยศ โดยสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีทรงเสด็จตามพระสรีรางคาร เมื่อถึงเชิงบันไดพระวิหารหลวง เจ้าพนักงานเชิญผอบพระสรีรางคารขึ้นประดิษฐานที่ม้าหมู่หน้าพระร่วงโรจนฤทธิ์ เมื่อเสด็จถึงทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการพระร่วงโรจนฤทธิ์ ธูปเทียนเครื่องทองน้อยสักการะพระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมชนกนาถ และทรงเชิญพระสรีรางคารออกบรรจุในกล่องศิลา ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยสักการะพระสรีรางคาร ทรงศีล ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทรงธรรม และ ทรงจุดสำหรับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ทรงธรรม จากนั้นทรงทอดผ้าไตรสดัปกรณ์พระราชทานขององค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 40 พับ และไตรสดัปกรณ์ของส่วนพระองค์เอง 40 พับ รวม 80 พับ เทียบเท่าพระชันษาของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระชนนี พระสงฆ์ทั้งนั้นสดัปกรณ์ จากนั้นทรงให้เจ้าพนักงานเชิญกล่องศิลาบรรจุพระสรีรางคารสู่ห้องพระประสูติ เสด็จเข้าห้องพระประสูติทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยสักการะพระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมชนกนาถ จากนั้นทรงเลื่อนกล่องบรรจุพระสรีรางคารเข้าสู่ช่องบรรจุ จากนั้นทรงวางพวงมาลาพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และของส่วนพระองค์ จากนั้นทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยสักการะพระสรีรางคาร ทรงวางพวงมาลัยและจุดธูปเทียนท้ายที่นั่งสักการะพระประสูติ เสด็จกลับ อนึ่ง ฉัตรที่ใช้ถวายสุมพระอัฐิ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทูลขอพระบรมราชานุญาตจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการเชิญฉัตรที่ใช้ถวายสุมพระอัฐิ ไปกางกั้นถวานพระพุทธรูปปางอภัยทานอันเป็นพระพุทธรูปประธานในวัดแก้วพิจิตร วัดประจำสกุล อภัยวงศ์",
"title": "การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี"
},
{
"docid": "37703#3",
"text": "หลังจากที่เข้าร่วมอย่างไม่ค่อยเต็มในเท่าไหร่ เธอก็ค่อยๆเปลี่ยนไปและเต็มใจจะอยู่กับฝ่ายนี้ในท้ายที่สุด เธอประมือกับทีม X-Men เธอเคยลอบสังหาร วุฒิสมาชิกเคลลี่ ด้วยแต่ก็ถูกขัดขวางไว้โดยมนุษย์กลายพันธุ์ฝ่ายดีทุกครั้ง แต่ยิ่งเธอใช้พลังมากเท่าไหร่ จิตใจของโร้คก็ยิ่งแตกสลายมากขึ้นเท่านั้น จนถึงขั้นที่เธอต้องเข้าพบจิตแพทย์ ฟางเส้นสุดท้ายของเธอกับมิสทีคขาดสะบั้นลง เมื่อโร้คตาสว่างพบว่าแท้จริงแล้วนี่คือแผนร้าย ที่อีกฝ่ายตั้งใจหลอกใช้กันมาตลอด เธอจึงหันหน้าเข้าหาศาสตราจารย์ทเอ็กซ์ และพลพรรคเอ็กซ์ทีม ขอร้องให้เธอควบคุมพลังให้ได้เสียที",
"title": "โร้ค"
},
{
"docid": "845446#1",
"text": "พระติสสพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่าเจ้าชายติสสะ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชนสันทะและพระนางปทุมาแห่งกรุงเขมกะ ประสูติที่วีริยราชอุทยาน มีปราสาท 3 หลังเป็นที่ประทับคือ คุณเสลา นาทิยะ และนิสภะ และมีพระสนมกำนัล 30,000 นาง เมื่อเจริญวัยได้ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางสุภัททา มีพระโอรสด้วยกันพระองค์หนึ่งคือ เจ้าชายอานนท์ ",
"title": "พระติสสพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "156456#2",
"text": "วันหนึ่ง เมื่อพระเทวีประสูติพระโอรส พระนามว่า พระอุตตระกุมาร พระปทุมุตระราชกุมารทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้งสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และนักบวช พระองค์จึงมีพระดำริว่าจะออกบวช พอดำริดังนั้น วสวัตดีปราสาทก็ลอยเลื่อนไปลงกลางพื้นดิน เมื่อปทุมุตระราชกุมารพร้อมบุรุษผู้ติดตามออกบรรพชาแล้ว ปราสาทนั้นก็ลอยกลับที่เดิม",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "123957#4",
"text": "เมื่อพระนางปทุมาเทวีประสูติพระโอรส พระนามว่า อุสภักขันธกุมาร จึงได้เสด็จออกบรรพชาในราชอุทยานนั้นด้วยคชยาน 84,000 เชือก มีผู้ออกบรรพชาตามจำนวนโกฏิหนึ่ง หลังจากทรงบำเพ็ญความเพียรอยู่เป็นเวลา 10 เดือน ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ พระองค์ก็นำบริษัทเข้าไปบิณฑบาตข้าวปายาสในนคร ตอนเย็นทรงปลีกจากคณะ ทรงรับหญ้า 8 กำ จากอาชีวกชื่อ อานันทะ และนำมาปูลาดเป็นโพธิบัลลังก์ใต้ต้นเลียบ (ต้นมะกอก) ปราบพระยามารกับพลมารนับอสงไขย และได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในคืนนั้น พระทีปังกรพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา แก่พระภิกษุผู้บรรพชาตามจำนวนโกฏิหนึ่ง ที่สุนันทาราม ทำให้พระภิกษุโกฏิหนึ่งนั้นสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล",
"title": "พระทีปังกรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "156456#1",
"text": "พระปทุมุตระพุทธเจ้า ประสูติเป็นพระปทุมุตระราชกุมาร ในราชวงศ์กษัตริย์แห่งหังสวดีนคร พระราชบิดาทรงพระนามว่าพระเจ้าอานันทะ และพระราชมารดาทรงพระนามว่าพระนางสุชาดาเทวี พระปทุมุตระราชกุมารทรงพระเกษมสำราญอยู่ 10,000 ปี ในปราสาท 3 หลัง ชื่อ นรวาหนะ ยสวาหนะ และวสวัตดี มีพระมเหสีพระนามว่า สุทัตตาเทวี ทรงมีสนมนารีแวดล้อมเป็นบริวาร 120,000 นาง",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "18559#2",
"text": "ประเพณีลอยกระทงเป็นประเพณีโบราณของอินเดียที่ประเทศไทยรับเข้ามาปฏิบัติ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าทำกันมาตั้งแต่เมื่อไหร่ เท่าที่ปรากฏกล่าวได้ว่ามีมาตั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสันนิษฐานว่า เดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำเพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้ถือตามแนวทางพระพุทธศาสนามีการชักโคมเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในชั้นดาวดึงส์ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้ำนัมมทา (แม่น้ำนัมมทา เป็นแม่น้ำที่คู่ขนานกับทิวเขาวินธัย ไหลลงภาคตะวันตกของอินเดียแบ่งเขตอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้) ",
"title": "วันลอยกระทง"
},
{
"docid": "156367#1",
"text": "พระปทุมะพุทธเจ้า ประสูติเป็นพระมหาปทุมราชกุมาร ในราชวงศ์กษัตริย์แห่งจัมปกะนคร พระราชบิดาทรงพระนามว่าพระเจ้าอสมราช และพระราชมารดาทรงพระนามว่าพระนางอสมา พระประยูรญาติทั้งหลายได้ขนานพระนามว่า ปทุมะ เพราะเมื่อพระองค์ประสูติ ได้บังเกิดดอกบัวตกลงมาจากท้องฟ้าลงสู่มหาสมุทรทั่วทั้งชมพูทวีป มหาปทุมราชกุมารทรงเกษมสำราญอยู่ในปราสาท ๓ หลัง ชื่อ นันทุตตระ วสุตตระ และยสุตตระ มีพระมเหสีพระนามว่า อุตตราเทวี และทรงมีสนมนารีแวดล้อมอีก ๓๓,๐๐๐ นาง\nวันหนึ่ง พระมหาบุรุษทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้งสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และนักบวช พระองค์จึงมีพระทัยน้อมไปทางบรรพชา เมื่อพระนางอุตตราเทวีประสูติพระโอรส พระนามว่า รัมมราชกุมาร จึงได้เสด็จออกบรรพชาด้วยราชรถเทียมม้า มีผู้ออกบรรพชาตามจำนวน ๑ โกฏิ\nมหาปทุมราชกุมารทรงบำเพ็ญความเพียรอยู่เป็นเวลา ๘ เดือน จนถึงวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ทรงรับข้าวมธุปายาสจากนางธัญญวดี ธิดาของสุธัญญเศรษฐี กรุงธัญญวดี และรับหญ้า ๘ กำจากติตถกะอาชีวก ปูลาดใต้ต้นมหาโสณะ (ต้นอ้อยช้างใหญ่) เป็นโพธิบัลลังก์ และได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในคืนนั้น",
"title": "พระปทุมพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "911266#1",
"text": "เจ้าหญิงลูอีเซอแห่งปรัสเซีย ประสูติ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2351 ณ ราชอาณาจักรปรัสเซีย ทรงเป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 8 และพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ใน พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย กับ ลูอีเซอแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ สมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย \nเจ้าหญิงลูอีเซอแห่งปรัสเซีย เสกสมรสกับ เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2368 ณ กรุงเบอร์ลิน รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงลูอีเซอแห่งเนเธอร์แลนด์ พระชายา โดยทรงมีพระบุตรร่วมกันดังนี้",
"title": "เจ้าหญิงลูอีเซอแห่งปรัสเซีย (1808-1870)"
},
{
"docid": "814295#1",
"text": "เจ้าหญิงชิกิชิเป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ ประสูติแต่ฟุจิวะระ โนะ ชิเงะโกะ () พระองค์ไม่เสกสมรสกับผู้ใดเลยตลอดพระชนมายุ ทรงปฏิบัติหน้าที่ ณ ศาลเจ้าคะโมะ () กรุงเคียวโตะ แต่กาลต่อมาพระองค์ออกผนวชเป็นภิกษุณีในพุทธศาสนา",
"title": "เจ้าหญิงชิกิชิ"
},
{
"docid": "4047#11",
"text": "ในปีถัดมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเมืองอุบลขึ้นเป็นเมืองประเทศราช แต่งตั้งให้พระประทุมราชวงศาเป็นพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (คำผง) เจ้าครองเมือง เมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช พระราชทานพระสุพรรณบัตร และเครื่องยศเจ้าเมืองประเทศราช พร้อมทำพิธีสบถสาบานถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค่ำ จุลศักราช 1154 ปีชวด จัตวาศก ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม 2335 โดยเป็นเจ้าเมืองคนแรกของอุบลราชธานี ถึงปี 2338 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ทิดพรหม) น้องชายเจ้าพระประทุม จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนต่อมา รวมมีเจ้าเมืองอุบลราชธานี ที่พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งทั้งสิ้น 4 ท่าน",
"title": "จังหวัดอุบลราชธานี"
},
{
"docid": "729467#1",
"text": "พระสุชาตพุทธเจ้า ประสูติเป็นสุชาตะราชกุมาร แห่งวงศ์กษัตริย์เมืองสุมงคล พระราชบิดาทรงพระนามว่าพระเจ้าอุคคตะ พระราชมารดาทรงพระนามว่า พระนางปภาวดี สุชาตะราชกุมารทรงเกษมสำราญ\nในปราสาท ๓ หลังได้ ๙,๐๐๐ ปี อันได้แก่ สิรี อุปสิรี และสิรินันทะ ทรงมีพระอัครมเหสีพระนามว่า พระนางสิรินันเทวี และทรงมีพระสนมนารีแวดล้อม ๒๓,๐๐๐ นาง วันหนึ่งพระสุชาตะราชกุมารทรงทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้ง ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ จึงทรงมีพระทัยน้อมไปทางบรรพชา เมื่อพระนางสิรินันทเทวีประสูติพระโอรสพระนามว่า อุปเสนกุมาร จึงทรงเสด็จออกบรรพชาโดยประทับม้าต้น นามว่า หังสวหัง มีผู้ออกบรรพชาตามพระองค์ ๑ โกฏิ พระสุชาตะราชกุมารทรงบำเพ็ญเพียรเป็นเวลา ๙ เดือน ทรงรับข้าวปายาสจากธิดาของสิรินันทนเศรษฐี แห่งสิรินันทนนคร และทรงรับหญ้าคา \n๘ กำจาก สุนันทอาชีวก ปูลาดใต้ต้นมหาเวฬุ (ต้นไผ่ใหญ่) เป็นโพธิบัลลังก์ และได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระสุชาตพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา แก่พระสุทัสสนกุมาร และเทวกุมารพร้อมทั้งบริวาร ณ \nสุมังคลราชอุทยาน กรุงสุมงคล ",
"title": "พระสุชาตพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "209559#0",
"text": "หลังจากศาสนาของพระปทุมุตระพุทธเจ้าล่วงไปได้ 30,000 กัป ล่วงถึงมัณฑกัปหนึ่ง มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 2 องค์ พระพุทธเจ้าองค์แรกทรงพระนามว่า พระสุเมธพุทธเจ้า",
"title": "พระสุเมธพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "955555#0",
"text": "เจ้าหญิงอันโทเนีย ดัชเชสแห่งเวลลิงตัน ()\nเจ้าหญิงอันโทเนีย ดัชเชสแห่งเวลลิงตัน (เดิม:เจ้าหญิงอันโทเนียแห่งปรัสเซีย) ประสูติเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2498 ณ สหราชอาณาจักร เป็นพระธิดาพระองค์สุดท้องใน เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย และ เลดีเบียร์กิด กินเนสส์ ทรงเป็นพระนัดดาใน เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย และเป็นพระราชปนัดดาใน จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี โดยพระองค์ทรงมีพระเชษฐาฝาแฝดคือเจ้าชายรูเพิร์ต โดยงานหลักของพระองค์คือการเปฌนประธานมูลนิธิกินเนสส์ ทรานซ์ ซึ่งทรงทำต่อจากพระมารดา\nพระองค์ทรงเสกสมรสกับ ชาลส์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 9 แห่งเวลลิงตัน เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 โดยเธอได้รับพระราชทานพระอิสริยยศจากพระสวามีดังนี้",
"title": "เจ้าหญิงอันโทเนีย ดัชเชสแห่งเวลลิงตัน"
},
{
"docid": "156456#6",
"text": "พระปทุมุตระพุทธเจ้า ทรงประชุมสาวกสันนิบาต 3 ครั้ง",
"title": "พระปทุมุตรพุทธเจ้า"
},
{
"docid": "845318#1",
"text": "พระสิทธัตถพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[949,970,3,3]}'>เจ้าชายสิทธัตถะ เป็นพระราชโอรสใน<b data-parsoid='{\"dsr\":[987,1005,3,3]}'>พระเจ้าอุเทน</b>และ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1008,1027,3,3]}'>พระนางสุผัสสา</b>แห่งกรุงเวภาระ ประสูติที่วีริยราชอุทยาน มีปราสาท 3 หลังเป็นที่ประทับคือ โกกาสะ อุปละ และโกกนุทะ (อรรถกถาว่าปทุมะ) และมีพระสนมกำนัล 48,000 นาง[2] เมื่อเจริญวัยได้ทรงอภิเษกสมรสกับ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1224,1241,3,3]}'>พระนางสุมนา มีพระโอรสด้วยกันพระองค์หนึ่งคือ เจ้าชายอนูปมะ",
"title": "พระสิทธัตถพุทธเจ้า"
}
] |
2555 | ยาปฏิชีวนะ คืออะไร ? | [
{
"docid": "26342#0",
"text": "ยาปฏิชีวนะ (English: Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs)[1] ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย[2][3] โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล[4][5] ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น[6] โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
}
] | [
{
"docid": "26342#24",
"text": "อันตรกิริยาระหว่างแอลกอฮอล์กับยาปฏิชีวนะนั้นอาจพบเกิดขึ้นได้ในบางกรณี โดยอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ในระดับที่เล็กน้อยไปจนถึงระดับที่อันตรายถึงชีวิต หรือในบางครั้งอันตรกิริยานี้อาจส่งผลลดประสิทธิภาพในการรักษาของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆลงได้[85][86] การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณเพียงเล็กน้อยถึงปานกลางนั้นพบว่าไม่มีผลรบกวนการออกฤทธิ์หรือประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะทั่วไป แต่ยาปฏิชีวนะบางกลุ่มนั้น การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร่วมด้วยแม้เพียงในปริมาณเล็กน้อยก็อาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาได้[87] ทั้งนี้ ความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นและประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะที่เปลี่ยนแปลงไปจากสาเหตุข้างต้นนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดและรูปแบบของยาปฏิชีวนะที่ได้รับอยู่ในขณะนั้นด้วย[88]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#27",
"text": "ในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรงบางชนิด เช่น วัณโรค เป็นต้น การรักษาด้วยยาหลายขนาน (การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไป) จะถูกนำมาพิจารณาใช้เพื่อชะลอหรือป้องกันการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อสาเหตุ ในกรณีที่เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียแบบเฉียบพลัน ยาปฏิชีวนะที่เลือกใช้ในการรักษาด้วยยาหลายขนานนี้จะต้องเป็นยาเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกันจะทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่าการใช้ยาปฏิชีวนะเพียงชนิดเดียว[96][97] เช่น ในกรณีการติดเชื้อ Staphylococcus aureus ที่ดื้อต่อเมทิซิลลินนั้น อาจให้การรักษาด้วยกรดฟูซิดิค และไรแฟมพิซินร่วมกัน[96] ในทางตรงกันข้าม ยาปฏิชีวนะบางชนิดนั้นเมื่อถูกนำมาใช้ร่วมกันอาจแสดงคุณสมบัติต้านฤทธิ์ซึ่งกันและกัน และทำให้ผลลัพธ์และประสิทธิภาพในการรักษานั้นต่ำกว่าการใช้ยาปฏิชีวนะชนิดนั้นเพียงชนิดเดียวได้เช่นกัน[96] เช่น คลอแรมเฟนิคอล และเตตราไซคลีน จะต้านฤทธิ์ของยากลุ่มเพนิซิลลิน และอะมิโนไกลโคไซด์ อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีนั้นมีความหลากหลายมากขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อสาเหตุและตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย[98] แต่โดยปกติแล้ว ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) มักออกฤทธิ์ต้านกันกับยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic)[96][97]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#34",
"text": "ความสำคัญทางการแพทย์ของยาต้านจุลชีพ ซึ่งรวมไปถึงยาปฏิชีวนะนั้น ได้นำมาซึ่งการค้นคว้าวิจัยเพื่อคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่อย่างกว้างขวางและเข้มข้น ทำให้เกิดพยายามที่จะพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่สามารถออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อก่อโรคได้เป็นวงกว้างมากขึ้น, มีการปรับเปลี่ยนขนาดภาคการผลิตยาปฏิชีวนะโดยใช้กระบวนการหมักเชื้อในเชิงอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น[149] จากความพยามดังข้างต้นของนักวิจัย ทำให้จำนวนยาปฏิชีวนะที่ถูกค้นพบมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 500 ชนิดในทศวรรษที่ 1960 เป็นมากกว่า 11000 ชนิดในปี ค.ศ. 1994 โดยกว่าร้อยละ 50 ของยาปฏิชีวนะเหล่านี้ได้มาจากการสังเคราะห์ของแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิส[154] ส่วนจุลชีพสายพันธุ์อื่นที่มีความสำคัญในการผลิตยาปฏิชีวนะ ได้แก่ ราเส้นใย และแอคติโนมัยสีทสายพันธุ์อื่นที่นอกเหนือจากสกุลสเตรปโตมัยซิส[155]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#7",
"text": "ความเสี่ยงที่จะเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา ดังนั้น ตราบใดที่ยังมีการใช้ยาปฏิชีวนะในจำนวนที่น้อยที่สุดที่ให้ประสิทธิภาพดีในการรักษา และใช้ยาดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่สั้นที่สุดเท่าที่เป็นได้จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดการดื้อยาของแบคทีเรีย ช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ให้ผลลัพธิ์การรักษาที่ดีกว่าและมีภาวะแทรกซ้อนน้อย .ทำให้ในปัจจุบันมีการใช้สูตรการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะระยะสั้นในผู้ที่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด ได้แก่ โรคปอดอักเสบชุมชน (community-acquired pneumonia; CAP), เยื่อบุช่องท้องอักเสบเองจากแบคทีเรีย (spontaneous bacterial peritonitis; SBP), ผู้ป่วยหนักในหน่วยอภิบาลที่คาดว่าอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียในปอด, กลุ่มอาการที่เข้าได้กับอาการปวดท้องเฉียบพลัน (acute abdominal), หูชั้นกลางอักเสบ, โพรงอากาศอักเสบ และการติดเชอื้แบคทีเรียในช่องคอ (throat infection), และการเจ็บป่วยจากการทะลุของลำไส้ ในบางกรณี การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะสูตรระยะสั้นอาจไม่สามารถรรักษาภาวะการติดเชื้อนั้น ๆ ได้ เช่นเดียวกันกับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะสูตรระยะยาว การศึกษาทางคลินิกที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ของสมาคมการแพทย์อังกฤษ (British Medical Association) พบว่า หากอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแบคทีเรียถูกกำจัดออกไปด้วยการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะแล้ว ควรหยุดการบริหารยาดังกล่าว ณ 72 ชั่วโมงหลังอาการดีขึ้น ทั้งนี้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักมีอาการดีขึ้นก่อนที่เชื้อก่อโรคจะถูกกำจัดออกไปหมด ดังนั้นแพทย์ควรให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยทุกคนที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะให้ตระหนักรู้ถึงการได้รับการรักษาด้วยยาดังกล่าวจนถึงระยะเวลาที่แนะนำในแนวทางการรักษามาตรฐาน นักวิจัยบางคนสนับสนุนให้แพทย์ใช้หลักสูตรยาปฏิชีวนะที่สั้นมากในการรักษา และประเมินผู้ป่วยหลังจากนั้น 2–3 วันและหยุดการรักษาหากไม่มีอาการทางคลินิกที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อแบคทีเรีย",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#45",
"text": "อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีคำมั่นสัญญาที่จะลดหรือยกเลิกการใช้เนื้อสัตว์ที่มีแหล่งที่มาจากฟาร์มที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจากบริษัทผลิตอาหารและภัตตาคารต่างๆหลายแห่งก็ตาม การจำหน่ายยาปฏิชีวนะเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์เพื่อการบริโภคนั้นก็ยังคงมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี[191] ซึ่งชี้ให้เห็นว่ายังมีการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์อยู่เป็นจำนวนมาก โดยในสหรัฐอเมริกา การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่มีสาเหตุมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์นั้นได้เป็นประเด็นที่ได้รับการตั้งข้อสงสัยเป็นอย่างมากจากองค์การอาหารและยามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 โดยในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 สภาป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources Defense Council; NRDC) และกลุ่มรณรงค์ด้านผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อมอีก 5 กลุ่มได้ร่วมกันยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นสหรัฐอเมริกาแห่งเซาท์เทิร์นดิสทริคของรัฐนิวยอร์กให้มีคำสั่งให้องค์การอาหารและยาเพิกถอนการรับรองให้ใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์ ซึ่งการรับรองให้ใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีดังกล่าวนั้นถือว่าองค์การอาหารและยาละเมิดกฏข้อบังคับขององค์กรที่ตั้งไว้ตั้งแต่ ค.ศ. 1977[192]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#21",
"text": "การสัมผัสกับยาปฏิชีวนะในช่วงต้นของชีวิตมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของมวลกายในมนุษย์และหนูทดลอง[74] ทั้งนี้ เนื่องมาจากในช่วงตอนต้นของชีวิตนั้นเป็นช่วงที่มีการสร้างสมจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ และการพัฒนาระบบเมแทบอลิซึมของร่างกาย[75] ในหนูทดลองที่สัมผัสกับยาปฏิชีวนะในระดับที่ต่ำกว่าที่ใช้ในการรักษาโรค (subtherapeutic antibiotic treatment; STAT) ชนิดใดชนืดหนึ่ง ได้แก่ เพนิซิลลิน, แวนโคมัยซิน, หรือ คลอร์เตตราไซคลีน นั้นจะเกิดการรบกวนการสร้างสมจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ รวมไปถึงความสามารถในการเผาผลาญสารอาหารของร่างกาย (metabolism)[76] มีการศึกษาที่พบว่าหนูไมซ์ (mice) ที่ได้รับยาเพนิซิลลินในขนาดต่ำ (1 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 กรัม) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงช่วงหย่านม มีการเพิ่มขึ้นของมวลร่างกายและมวลไขมัน, มีการเจริญเติบโตที่เร็วมากขึ้น, และมีการเพิ่มการแสดงออกของยีนของตับที่เหนี่ยวนำให้เกิดกระบวนการสร้างเซลล์ไขมัน ในอัตราที่มากกว่าหนูตัวอื่นในกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะ[77] นอกจากนี้ การได้รับเพนิซิลลินร่วมกับอาหารที่มีปริมาณไขมันสูงนั้นมีผลเพิ่มระดับอินซูลินขณะที่ท้องว่างในหนูไมซ์[77] อย่างไรก็ตาม ยังไม่เป็นทราบแน่ชัดว่า โดยแท้จริงแล้วยาปฏิชีวนะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคอ้วนในมนุษย์ได้หรือไม่ การศุกษาบางการศึกษาพบการมีสหสัมพันธ์ระหว่างการได้รับยาปฏิชีวนะตั้งแต่ในวัยทารก (อายุ <6 เดือน) กับการเพิ่มขึ้นของมวลกาย (ที่อายุ 10 และ 20 เดือน)[78] อีกการศึกษาหนึ่งพบว่า ชนิดของยาปฏิชีวนะที่ได้รับนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วน โดยผู้ที่ได้รับยากลุ่มแมโครไลด์ จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินสูงกว่าผู้ที่ได้รับยาเพนิซิลลินหรือเซฟาโลสปอรินอย่างมีนัยสำคัญ[79] ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่าการได้รับยาปฏิชีวนะในช่วงวัยทารกนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วนในมนุษย์ แต่ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลในประเด็นดังกล่าวนั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโรคอ้วนกับการได้รับยาปฏิชีวนะก็ตาม การใช้ยาปฏิชีวนะในทารกก็ควรที่จะชั่งน้ำหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับประโยชน์ทางคลินิกที่จะได้รับอยู่เฉกเช่นเดิมเสมอ[75]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#44",
"text": "ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ด้านการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นส่งผลให้การใช้ยาปฏิชีวนะในสหราชอาณาจักรมีความเข้มงวดมากขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 (ตามรายงานของ Swann ระบุว่าเริ่มใน ค.ศ. 1969) และสหภาพยุโรปได้ประกาศห้ามใช้ยาปฏิชีวนะเป็นสารช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต (growth-promotional agent) ในปี ค.ศ. 2003[186] นอกจากนี้ องค์กรและหน่วยงานด้านสุขภาพหลายองค์กร (รวมถึงองค์การอนามัยโลก สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา) ได้เข้ามาส่วนสนับสนุนในการจำกัดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อการบริโภค[187] อย่างไรก็ตาม การดำเนินการนี้ต้องล่าช้าลงในขั้นตอนของการร่างกฎหมายและการดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ทางกฎหมายเพื่อจำกัดการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมดังกล่าว เนื่องมาจากต้องเผชิญแรงต้านจากหน่วยงานเอกชนที่ใช้หรือจำหน่ายยาปฏิชีวนะที่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของภาครัฐ และจำเป็นต้องใช้เวลาในการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อยืนยันให้ได้แน่ชัดว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมปศุสัตว์นั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย โดยร่างกฎหมายของรัรัฐบาลกลางจำนวน 2 ฉบับ (S.742[188] และ H.R. 2562[189]) ซึ่งมีใจความสำคัญที่เกี่ยวเนื่องกับการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการรักษาในการอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์เพื่อการบริโภคในสหรัฐอเมริกาได้ถูกเสนอเข้าในการประชุมของรัฐบาลกลาง แต่ร่างกฎหมายนี้ไม่ผ่านการเห็นชอบในที่ประชุมและมีจำเป็นต้องตกไป[188][189] โดยร่างกฎหมายทั้ง 2 ฉบับดังกล่าวนั้นได้รับการรับรองและความเห็นชอบจากองค์กรทางการแพทย์และการสาธารณสุขหลายองค์กี ได้แก่ สมาคมพยาบาลแบบองค์รวมอเมริกัน (American Holistic Nurses' Association; AHNA) สมาคมการแพทย์อเมริกัน (American Medical Association; AMA) และสมาคมสาธารณสุขอเมริกา (American Public Health Association; APHA)[190]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#5",
"text": "การเพิ่มขึ้นของการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นมีความสัมพันธ์กับปริมาณการสั่งใช้ยาหรือการใช้ยาดังกล่าว รวมไปถึงการรับประทานยาปฏิชีวนะไม่ครบตามที่ได้ควรได้รับ โดยการสั่งยาใช้ปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมนี้มีสาเหตุมาจากหลายประการ ทั้งจากการที่ผู้ป่วยยืนยันที่จะให้แพทย์สั่งใช้ยาปฏิชีวนะแก่ตน ถึงแม้จะไม่มีข้อบ่งชี้ที่จำเป็นต้องใช้ยาดังกล่าว และแพทย์บางรายก็อาจสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะให้แก่ผู้ป่วยของตนตามที่ร้องขอ เนื่องจากไม่มีเวลามากพอที่จะอธิบายให้ผู้ป่วยตระหนักรู้ได้ถึงเหตุผลที่ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษาการเจ็บป่วยครั้งนั้น ๆ และในบางกรณี แพทย์ผู้สั่งใช้ยาเองก็ไม่ทราบแน่ชัดว่าเมื่อใดที่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะหรือมีความระมัดระวังมากเกินไปในการสั่งใช้ยาเนื่องมาจากเหตุผลทางการแพทย์ รวมไปถึงเหตุผลทางกฏหมาย นอกจากนี้แล้ว การที่มีระดับความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะในร่างกายต่ำมากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดการดื้อยาของแบคทีเรียได้ผ่านกระบวนการการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ของแบคทีเรียนั้น ๆ ส่งผลให้แบคทีเรียดังกล่าวสามารถเจริญเติบโตอยู่ได้ตามปกติถึงแม้จะมีการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะชนิดเดิมที่ให้ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดมากขึ้นกว่าเดิมก็ตาม ยกตัวอย่างเช่น การดื้อยาของแบคทีเรีย \"Pseudomonas aeruginosa\" และ \"Bacteroides fragilis\" ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์จากการได้รับยาปฏิชีวนะในขนาดที่ให้ความเข้มข้นของยาดังกล่าวในร่างกายต่ำกว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียดังกล่าว (subinhibitory concentration)",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#3",
"text": "ถึงแม้ว่าการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นมีมาก่อนที่จะมีการใช้ยาดังกล่าวในมนุษย์ แต่การใช้ยาปฏิชีวนะโดยมนุษย์กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันนี้ทำให้การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติผ่านกระบวนการการกดดันทางวิวัฒนาการ (evolutionary pressure) ทั้งนี้ สาเหตุหลักที่ทำให้การใช้ยาปฏิชีวนะในมนุษย์ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยเป็นผลมาจากความสามารถในการผลิตยาปฏิชีวนะในระดับอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นทั่วโลกตลอดทุกช่วงเวลาตั้งแต่ปี 1950 ทำให้ปริมาณยาปฏิชีวนะที่ผลิตขึ้นมีจำนวนมากพอที่จะจำหน่ายแก่ประชาชนได้อย่างกว้างขวาง ประกอบกับการที่รัฐไม่สามารถควบคุมการขายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศรายได้น้อยและรายได้ปานกลางหลายประเทศ ซึ่งสามารถซื้อยาดังกล่าวได้โดยไม่ต้องใช้ใบสั่งยาจากแพทย์ และการซื้อยาใช้เองในกรณีดังกล่าว ส่วนใหญ่มักเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงข้อบ่งใช้ ซึ่งจะส่งผลให้ความเสี่ยงที่อาจเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียสูงขึ้นได้ในทุก ๆ สายพันธุ์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#10",
"text": "ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา เป็นที่สงสัยถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์กับการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย จนกระทั่งองค์การอนามัยโลกได้ให้ข้อสรุปในประเด็นดังกล่าวว่า \"การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมในการเลี้ยงสัตว์เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดและการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ทนต่อยาปฏิชีวนะและควรห้ามไม่ให้มีการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญเติบโตในอาหารสัตว์\" องค์การอนามัยโลกได้เพิ่มหลักเกณฑ์ด้านสุขอนามัยสัตว์บกเพื่อเป็นแนวทางในการให้คำแนะนำแก่สมาชิกขององค์กรในการสร้างและประสานการตรวจสอบและติดตามเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพระดับประเทศ, ติดตามตรวจสอบปริมาณยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์, และให้คำแนะนำแก่องค์กรหรือหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อให้มั่นใจว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมและรอบคอบ ส่วนอีกแนวทางหนึ่งคือ การใช้วิธีการที่จะช่วยในการตรวจหาปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการดื้อยา และประเมินความเสี่ยงนั้น ๆ ต่อการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#41",
"text": "หลักการสำคัญในการตัดสินใจเลือกใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเกิดการเจ็บป่วยนั้น อย่างง่ายคือ หลีกเลี่ยงการใช้ยาปฏิชีวนะถ้าไม่จำเป็น และหากมีความจำเป็นต้องใช้ยาดังกล่าวก็ไม่ควรที่จะใช้ในจำนวนที่มากเกินจำเป็น[178]เนื่องจากในปัจจุบันการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมกับภาวะการเจ็บป่วยหรือใช้มากเกินจำเป็นถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย ซึ่งถือเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ถูกจัดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ในปัจจุบัน ตัวอย่างที่พบเห็นได้ทั่วไปของการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมก็คือ การจัดหายาปฏิชีวนะมาใช้เองโดยปราศจากการวินิจฉัยหรือการดูแลที่เหมาะสมจากแพทย์[179] อย่างไรก็ตาม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะจากบุคลการทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคหรืออาการที่ไม่อาจตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ รวมไปถึงโรคหรืออาการบางชนิดที่อาจหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาใดๆ และการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในขนาดหรือระยะเวลาที่ต่ำเกินกว่าที่แนะนำในแบบแผนการรักษามาตรฐาน ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้ทั้งสิ้น[68][179] โดยการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น อย่างเช่นในกรณีของเพนิซิลลินและอิริโทรมัยซินนั้น พบว่ามีความสัมพันธ์ภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1950[162][180] รวมไปถึงการที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะในสถานพยาบาลต่างๆอย่างแพร่หลายก็ล้วนมีความสัมพันธ์กับการเกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะและการเพิ่มขึ้นของจำนวนสายพันธุ์และสเตรนของแบคทีเรียเช่นกัน ซึ่งการดื้อยาของแบคทีเรียนี้เป็นสาเหตุให้โรคติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดไม่อาจสามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะทั่วไปในปัจจุบัน[180]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#18",
"text": "การบริหารยาปฏิชีวนะนั้นสามารถกระทำได้หลายช่องทาง โดยปกติแล้วมักใช้การบริหารยาโดยการรับประทานทางปาก แต่ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง โดยเฉพาะอย่ายิ่ง ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง จะบริหารยาให้แก่ผู้ป่วยด้วยวิธีการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ หรือการฉีดอื่น[2][60] ในกรณีที่ตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้ออยู่ในบริเวณที่ยาปฏิชีวนะสามารถแพร่กระจายเข้าไปได้โดยง่าย อาจบริหารยาปฏิชีวนะนั้นๆได้ด้วยการใช้ในรูปแบบยาใช้ภายนอก อาทิ การใช้ยาหยอดตาหยอดลงเยื่อบุตาในกรณีเยื่อบุตาอักเสบ หรือการใช้ยาหยอดหู ในกรณีติดเชื้อแบคทีเรียในหูหรือหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis externa) ยาใช้ภายนอกในรูปแบบยาทาเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่มีการติดเชื้อบริเวณผิวหนังที่ไม่รุนแรง เช่น สิวอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (acne vulgaris) และเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)[65] โดยประโยชน์จากการใช้ยาปฏิชีวนะในรูปแบบยาใช้ภายนอก ได้แก่ บริเวณที่เกิดการติดเชื้อจะมีความเข้มข้นของยาสูงและมีความสม่ำเสมอ, ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดพิษหรืออาการไม่ประสงค์บางอย่างจากการใช้ยา, และปริมาณยาที่ต้องใช้ในการรักษาลดลง นอกจากนี้ยังลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิดได้อีกด้วย[66] นอกจากนี้ การทายาปฏิชีวนะชนิดทาในกรณีแผลผ่าตัดนั้นก็สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดการติดเชื้อในแผลผ่าตัดได้[67] อย่างไรก็ตาม ยังมีบางประเด็นที่กังวลเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะชนิดใช้ภายนอก เนื่องจากอาจมีการดูดซึมยาเข้าสู่กระแสเลือดได้ในบางกรณี, ปริมาณยาที่ใช้ในแต่ละครั้งนั้นยากที่จะกำหนดให้แม่นยำได้ และอาจทำให้เกิดภาวะภูมิไวเกิน หรือผื่นแพ้สัมผัสได้[66]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#36",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นเป็นภาวะฉุกเฉินภาวะฉุกเฉินที่พบเกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกในปัจจุบัน โดยการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียเป็นการตอบสนองและการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในขณะที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อกำจัดเชื้อแบคทีเรียนั้นๆ โดยการดื้อยานี้อาจเกิดจากการปรับตัวทางกายภาพหรือทางพันธุกรรมของแบคทีเรียนั้นก็ได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสในการอยู่รอดของเชื้อเพิ่มขึ้นแม้จะมีการใช้ยาปฏิชีวนะในขนาดที่สูงขึ้นก็ตาม ในบางสภาวะการใช้ยาปฏิชีวนะอาจทำให้เกิดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียดื้อมากขึ้น ในขณะที่แบคทีเรียซึ่งยังมีความไวต่อยาถูกกำจัดออกไป[160] ตัวอย่างเช่น การใช้ยาปฏิชีวนะในการคัดแยกสายพันธุ์แบคทีเรียที่ได้รับการตกแต่งพันธุกรรมด้วยยีนดื้อยาในปี ค.ศ. 1943 โดยเรียกการทดลองนี้ว่า การทดลองของเดลบรัค–ลูเรีย (Luria–Delbrück experiment)[161] สถานการณ์การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันนี้พบว่า ยาปฏิชีวนะหลายชนิดที่มีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียหลากหลายสายพันธุ์ในอดีต เช่น เพนิซิลลิน และอิริโทรมัยซิน กลับมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆได้น้อยลง ทั้งนี้เนื่องมาจากอัตราการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียมีเพิ่มขึ้นมากกว่าในอดีต[162]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#39",
"text": "กลไกการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในระดับโมเลเท่าที่ทราบในปัจจุบันนั้น การดื้อยาต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียตั้งแต่กำเนิด (Intrinsic resistance) อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม (genetic makeup) ของแบคทีเรียสายพันธ์นั้น[168][169] ตัวอย่างเช่น ตำแหน่งที่เป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะอาจจะหายไปจากจีโนมของแบคทีเรีย ส่วนการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่เกิดภายหลัง (Acquired resistance) นั้นจะเป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ในโครโมโซมของแบคทีเรีย หรือการได้รับยีนดื้อยาจากแบคทีเรียอื่นผ่านทางดีเอ็นเอที่อยู่นอกโครโมโซม (extra-chromosomal DNA)[168] ทั้งนี้ ในแบคทีเรียบางสายพันธุ์ที่สามารถผลิตสารที่ออกฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะได้นั้นจะสามารถดื้อต่อยาปฏิชีวนะดังกล่าวได้อย่างอัตโนมัตและอาจมีการถ่ายทอดความสามารถในการดื้อต่อยาปฏิชีวนะนี้ไปยังแบคทีเรียอื่นๆได้เช่นกัน[170][171] การแพร่กระจายของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะนั้นส่วนใหญ่จะพบในรูปแบบถ่ายทอดพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นหรือการติดต่อตามแนวดิ่ง (vertical transmission) และโดยการรวมตัวกันใหม่ของยีน (Genetic Recombination) ในดีเอ็นเอโดยการถ่ายทอดยีนในแนวราบ (Horizontal gene transfer)[164] โดยแบคทีเรียดื้อยาสามารถถ่ายทอดยีนดื้อยาที่ถูกบรรจุอยู่ในพลาสมิดไปยังสเตรนอื่นหรือสายพันธุ์อื่นได้[164][172] โดยพลาสมิดบางชนิดที่บรรจุยีนดื้อยาที่แตกต่างกันไว้หลายยีนสามารถทำให้แบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนานได้[172] โดยการดื้อยาปฏิชีวนะข้ามชนิดหนือข้ามกลุ่มกันในเชื้อแบคทีเรียนั้นอาจพบเกิดขึ้นได้ในกรณีที่กลไกการดื้อต่อยาเหล่านั้นถูกควบคุมโดยยีนตำแหน่งเดียวกัน[172]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#20",
"text": "อาการไม่พึงประสงค์จากยาปฏิชีวนะที่เกิดขึ้นได้ทั่วไปในผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่าง อาการท้องเสียนั้นเป็นผลมาจากการรบกวนสมดุลเชื้อจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ (intestinal flora) ทำให้เกิดการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอื่นๆ เช่น Clostridium difficile[71] นอกจากนี้ ยาปฏิชีวนะยังส่งผลต่อสมดุลเชื้อจุลินทรีย์ประจำถิ่นในช่องคลอด (vaginal flora) ได้ด้วย ทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนขึ้นของยีสต์สกุลแคนดิดาในช่องคลอดและบริเวณปากช่องคลอดได้[72] ทั้งนี้ อาการไม่พึงประสงค์จากยาปฏิชีวนะอาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา (drug interaction) ระหว่างยาปฏิชีวนะกับยาอื่นได้ เช่น ความเสี่ยงที่อาจเกิดความเสียหายต่อเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) จากการใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่มควิโนโลน (quinolone antibiotic) ร่วมกับคอร์ติโคสเตอรอยด์ที่ให้ผ่านทางระบบ[73]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#35",
"text": "การใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากต้องมีการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่เกิดขึ้นกับสัตว์เหล่านั้น[147] การค้นพบการประยุกต์ใช้ยาปฏิชีวนะและวัคซีนบางชนิดในปศุสัตว์นี้ทำให้การเลี้ยงวัวในปริมาณมากนั้นมีความสะดวกมากขึ้น เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวจะลดการเกิดโรคติดเชื้อในสัตว์ การใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีนี้ทำให้ปศุสัตว์นั้นมีการเจริญเติบโตที่เร็วมากขึ้น ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณมากขึ้น[156] อย่างไรก็ตาม การใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์นี้ทำให้เกิดการตกค้างของยาปฏิชีวนะในผลิตภัณฑ์ต่างๆซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดอันตรายแก่มนุษย์ได้ อาทิ การสะสมของสารหนูซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึ่งของโมเลกุลยาปฏิชีวนะบางชนิดในร่างกายมนุษย์ ซึ่งรวมไปถึงการลดทอนประสิทธิภาพการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในมนุษย์ลง ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการปรับตัวของแบคทีเรียก่อโรคให้ทนต่อยาปฏิชีวนะมากขึ้น[157] ดังนั้น ในปัจจุบัน การตรวจสอบการตกค้างยาปฏิชีวนะตกค้างในผลิตภัณฑ์จากการปศุสัตว์อย่างเข้มข้นและต่อเนื่องจึงเป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยรับประกันความปลอดภัยของสินค้าจากการปศุสัตว์นั้นๆได้ก่อนส่งถึงมือผู้บริโภค[158] นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการตกค้างของยาปฏิชีวนะในสิ่งแวดล้อมจากการปล่อยของเสียจากสัตว์ลงสู่พื้นดิน หรือแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ ทะเลสาบ เป็นต้น[159]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#15",
"text": "ปัญหาการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นจนเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพทั้งมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะมีแหล่งอาศัยอยู่บนบกหรือในน้ำ โดยปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งที่มีส่วนหนุนให้ปัญหาดังกล่าวแพร่กระจายจนส่งผลกระทบในวงกว้างก็คือ การปนเปื้อนและการแพร่กระจายของยาปฏิชีวนะหรือสารที่ออกฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำเสียจากโรงพยาบาลและน้ำเสียจากชุมชนเมืองที่ถูกปล่อยออกสู่ธรรมชาติโดยไม่ได้รับการบำบัดหรือมีระบบการบำบัดที่ไม่รัดกุม ถือเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนดังกล่าว ยาปฏิชีวนะได้ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมนับตั้งแต่มีการนำมาใช้ในมนุษย์ (ยา, การเกษตร) ผ่านทางของเสียต่าง ๆ ที่ถูกขับออกจากร่างกายกมนุษย์ สัตว์เลี้ยง และของเสียจากอุตสาหกรรมยา การที่ของเสียที่มีการปนเปื้อนของยาปฏิชีวนะถูกปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการบำบัดหรือได้รับการบำบัดที่ไม่ดีมาก จะเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้มากขึ้น และเกิดการปนเปื้อนและแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาดังกล่าวในสิ่งแวดล้อมนั้นอีกด้วย ในปี ค.ศ. 2011 การทำแผนที่ของตัวอย่างน้ำทิ้งและน้ำประปาในนิวเดลี ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่ามีจำนวนการใช้ยาปฏิชีวนะของประชาชนบริเวณนั้นในสัดส่วนที่สูง ผลการตรวจพบว่ามีการปนเปื้อนแบคทีเรียอยู่เป็นจำนวนมากและยังส่งผลให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหารในชุมชนที่อุปโภคบริโภคน้ำจากแหล่งดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างและยากแก่การควบคุมโรค โดยพบว่าเชื้อก่อโรคดังกล่าวส่วนใหญ่มักมีผลตรวจเอนไซม์ NDM-1 เป็นบวก ซึ่งเป็นเอนไซม์ดังกล่าวจะส่งผลให้แบคทีเรียนั้น ๆ เกิดการดื้อต่อยาที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงบีตา-แลคแตมได้หลายชนิด ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว ร้อยละ 70–80 ของผู้ปวยที่มีอาการท้องร่วงมักมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส ซึ่งไม่สามารถรักษาได้โดยการใช้ยาปฏิชีวนะ แต่ในการข้อมูลจากการศึกษากลับพบว่าราวร้อยละ 40 ของผู้ป่วยที่มีอาการข้างต้นยังคงพยายามที่จะรักษาอาการท้องร่วงนั้นด้วยยาปฏิชีวนะ ในบางพื้นที่ผู้ที่รักษาอาการท้องร่วงอย่างไม่เหมาะสมด้วยยาปฏิชีวนะนั้นมีสัดส่วนที่มากถึงร้อยละ 80",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#6",
"text": "ดังที่กล่าวไปในข้างต้นว่า การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมและไม่จำเป็นเพื่อการรักษาความเจ็บป่วยของมนุษย์ในปัจจุบันนั้นเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อยาของแบคทีเรีย โดยมากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยาปฏิชีวนะในมนุษย์พบว่าเป็นการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมและไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ ยกตัวอย่างเช่น คน 1 ใน 3 คน ยังคงมีความเชื่อว่ายาปฏิชีวนะมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคไข้หวัด โดยพบว่าการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคไข้หวัดนั้นพบเห็นได้มากที่สุดในประเด็นของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ ถึงแม้จะเป็นที่ทราบกันดีของบุคลากรทางการแพทย์ว่ายาดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคไข้หวัด นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะแม้เพียงครั้งเดียว ถึงแม้จะเป็นการใช้ในผู้ที่มีข้อบ่งใช้ที่จำเป็นต้องได้รับยาดังกล่าว ก็สามารถเพิ่มความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้ โดยความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวจะคงอยู่ได้นานประมาณ 1 เดือน ถึง 1 ปี ตั้งแต่เริ่มมีการใช้ยาดังกล่าว",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#53",
"text": "ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2013 สมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (Infectious Disease Society of America; IDSA) reported that the weak antibiotic pipeline นั้นไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่เพิ่มมากขึ้น โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 2009 เป็นต้นมา พบว่ามีการค้นพบยาปฏิชีวนะชนิดใหม่และได้รับการรับรองให้ใช้กับมนุษย์ในสหรัฐอเมริกาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น โดยในช่วงระยะเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมานั้น ยาปฏิชีวนะชนิดใหม่สำหรับมนุษย์ที่ได้รับการรับรองให้ผลิตเชิงการค้านั้นมีจำนวนที่ลดลงอย่างต่อเนื่องในทุกๆปี โดยในรายงานดังกล่าวระบุว่ามียาปฏิชีวนะชนิดใหม่จำนวน 7 รายการที่ออกฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมลบสกุลบาซิลลัส (Gram-negative bacilli; GNB) ที่กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยทางคลินิกในขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ถึงกระนั้น ยาดังกล่าวก็ไม่ได้มีขอบเขตการออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียแกรมลบสกุลบาซิลลัสที่พบการดื้อยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน[213][214] ตัวอย่างยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่ถูกค้นพบหรือการนำยาปฏิชีวนะชนิดเดิมมาใช้ร่วมกับยาอื่นเพื่อป้องกันการเกิดการดื้อยาของแบคทีเรียหรือขยายขอบเขตการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นให้ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียได้หลากหลายมากขึ้น เช่น:",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "47083#17",
"text": "ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อไวรัสไม่ได้ ฉะนั้นจึงไม่มีผลต่อโรคหวัดซึ่งเกิดจากไวรัสเช่นกัน ทั้งนี้เมื่อพิจารณาว่าการใช้ยาปฏิชีวนะมีโอกาสเกิดผลข้างเคียง ดังนั้นการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคหวัดในภาพรวมจึงทำให้เกิดผลเสียมากกว่า กระนั้น ก็ยังมีการจ่ายยาบ่อยครั้ง สาเหตุบางประการที่ทำให้มีการจ่ายยาปฏิชีวนะบ่อยครั้งเป็นเพราะประชาชนคาดหวังว่ามาพบแพทย์แล้วต้องได้ยา แพทย์รู้สึกอยากทำอะไรสักอย่าง และการคัดภาวะแทรกซ้อนออกที่อาจได้ประโยชน์จากการให้ยาปฏิชีวนะทำได้ยาก ไม่มียาต้านไวรัสใดที่ยืนยันได้ว่ามีประสิทธิภาพแก่โรคหวัด แม้จะมีงานวิจัยขั้นต้นบางชิ้นที่ศึกษาพบว่าอาจมีประโยชน์ก็ตาม",
"title": "โรคหวัด"
},
{
"docid": "26342#28",
"text": "โดยปกติแล้วการแบ่งกลุ่มยาปฏิชีวนะนั้นจะแบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์, โครงสร้างทางเคมี หรือขอบเขตการออกฤทธิ์ โดยมีเป้าหมายการออกฤทธิ์มุ่งไปที่การขัดขวางการทำงานในระดับเซลล์หรือการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย[16] ซึ่งเป้าหมายเหล่านั้นอาจเป็นผนังเซลล์ (กลุ่มเพนิซิลลิน และกลุ่มเซฟาโลสปอริน) หรือเยื่อหุ้มเซลล์ (พอลีมิกซิน) หรือรบกวนการทำงานของเอนไซม์ที่จำเป็นของแบคทีเรีย (กลุ่มไรฟามัยซิน, กลุ่มลิปิอาร์มัยซิน, กลุ่มควิโนโลน, และกลุ่มซัลโฟนาไมด์) โดยที่ออกฤทธิ์ที่ตำแหน่งดังข้างต้นนั้นจะมีคุณสมบัติเป็น ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic) ส่วนยาปฏิชีวนะอื่นที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย (กลุ่มแมโครไลด์, กลุ่มลินโคซาไมด์ และเตตราไซคลีน) จะเป็น ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) ยกเว้นกลุ่มอะมิโมไกลโคไซด์ที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย[99] นอกเหนือไปจากนี้มักเป็นการแบ่งตามความจำเพาะในการออกฤทะกับเป้าหมาย ยกตัวอย่างเช่น ยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ (Narrow-spectrum antibiotics) จะหมายถึงยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์จำเพาะต่อแบคทีเรียกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อาทิ แบคทีเรียแกรมลบ หรือแบคทีเรียแกรมบวก เป็นต้น ในขณะที่ ยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad-spectrum antibiotics) จะออกฤทธิ์ต่อแบคทีเรียได้หลายกลุ่ม นอกเหนือจากการแบ่งกลุ่มดังข้างต้น ได้มีการคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่เพิ่มขึ้นอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งหากย้อนไปในอดีตราว 40 กว่าปีที่แล้วตั้งแต่ที่มีการค้นพบสารประกอบกลุ่มใหม่ที่มีคุณสมบัติในการต้านแบคทีเรีย ก็ไม่ได้มีการค้นพบยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่เพิ่มขึ้นเท่าใดนัก จนกระทั่งในช่วงปลายคริสต์ทศวรรตที่ 2000 และต้นคริสต์ทศวรรตที่ 2010 ได้มีการพัฒนาคิดค้นยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่ขึ้นได้สำเร็จและถูกนำมาใช้ทางคลินิกมากถึง 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไลโปเพปไทด์ (เช่น แดพโตมัยซิน), กลุ่มไกลซิลไซคลีน (เช่น ไทกีไซคลีน), กลุ่มออกซาโซลิไดโอน (เช่น ไลนิโซลิด), และ กลุ่มลิปิอาร์มัยซิน (เช่น ฟิแดกโซมัยซิน)[100][101]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "25437#3",
"text": "หลังจากมีการค้นพบเพนิซิลลิน ยาดังกล่าวได้เข้ามามีส่วนในการปฏิวัติการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างมาก ในห้วงเวลานั้นบริษัทยาหลายบริษัทได้มุ่งเป้ามายังการคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่โดยใช้กระบวนการการสำรวจทางชีวภาพ (Bioprospecting) เพื่อค้นหาโครงสร้างต้นแบบของยาปฏิชีวนะกันอย่างแพร่หลาย อเมริกันไซยานามิดถือเป็นหนึ่งบริษัทในจำนวนนี้ โดยในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1940 นักเคมีของบริษัทดังกล่าวได้ค้นพบคลอร์เตตราไซคลีน ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกของกลุ่มเตตราซัยคลีนที่ถูกค้นพบ[9] หลังจากนั้นไม่นานนัก นักวิทยาศาสตร์ของไฟเซอร์ได้ค้นพบยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในกลุ่มเดียวกันและถูกให้ชื่อว่าออกซิเตตราไซคลีน และต่อมาได้มีการผลิตยาดังกล่าวเพื่อการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ภายใต้ชื่อการค้า Terramycin ยาปฏิชีวนะทั้งสองชนิดที่ถูกค้นพบนี้ล้วนเป็นผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ เช่นเดียวกันกับเพนิซิลลินที่นักวิทยาศาสตร์ในขณะนั้นล้วนเชื่อว่า ยาปฏิชีวนะที่เป็นผลิตผลที่ได้จากธรรมชาตินี้ล้วนมีประสิทธิภาพในการรักษาที่สมบูรณ์แบบกว่ายาที่ได้จากแหล่งอื่น การปรับเปลี่ยนโครงสร้างของยาเหล่านี้อาจทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลงจากเดิมก็เป็นได้ อย่างไรก็ตาม ทีมนักวิทยาศาสตร์ของไซเฟอร์ภายใต้การนำของลอยด์ คอนโอเวอร์ (Lloyd Conover) ได้ทำการดัดแปลงโครงสร้างของยาปฏิชีวนะสองชนิดดังข้างต้น ซึ่งนำไปสู่การค้นพบเตตราซัยคลีน ซึ่งถือเป็นยาปฏิชีวนะกึ่งสังเคราะห์ตัวแรกของกลุ่มนี้ ต่อมาในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1960 ทีมวิจัยของชาร์ลี สตีเฟน (Charlie Stephens) ได้ทำการศึกษาดัดแปลงโครงสร้างของยาดังกล่าวจนได้อนุพันธุ์ของเตตราซัยคลีนที่มีความคงตัวและมีประสิทธิภาพเชิงเภสัชวิทยามากขึ้น โดยยาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัยข้างต้นก็คือ ดอกซีไซคลีน โดยดอกซีไซคลีนได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1967[9]",
"title": "ดอกซีไซคลีน"
},
{
"docid": "720940#1",
"text": "แม้ว่าจะมียาปฏิชีวนะที่รู้จักมากมาย แต่ว่า 1% ของยาปฏิชีวนะเท่านั้น มีค่าทางการแพทย์หรือทางการค้า\nยกตัวอย่างเช่น เพนิซิลลินมีค่าการรักษา (therapeutic index) สูง เพราะว่าไม่มีพิษต่อเซลล์มนุษย์ แต่ว่า ยาปฏิชีวนะส่วนมากไม่ได้มีคุณสมบัติเยี่ยงนี้\nส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้บางพวก อาจจะไม่มีข้อดีเหนือกว่ายาที่นิยมใช้กันอยู่แล้ว และอาจจะไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในกิจอื่น ๆ",
"title": "การผลิตยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#26",
"text": "ผลลัพธ์ที่ดีจากการได้รับการรักษาด้วยาปฏิชีวนะนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระบบภูมิคุ้มกันของแต่ละคน, ตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย, และคุณสมบัติทางเภสัชพลศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษา[90] ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะนั้นอาจจะขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของแบคทีเรียก่อโรค และอัตราการเกิดเมแทบอลิซึมภายในเซลล์ของแบคทีเรีย รวมไปถึงความเร็วในการแบ่งตัวของแบคทีเรียชนิดนั้นๆอีกด้วย[91] โดยปัจจัยที่กล่าวมาดังข้างต้นล้วนเป็นผลลัพธ์ที่ได้มาจากการศึกษาทดลองภายในห้องปฏิบัติการและล้วนให้ผลที่สอดคล้องกับการบำบัดรักษาจริงในทางคลินิก[90][92] ทั้งนี้ เนื่องจากการออกฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะนั้นขึ้นอยู่กับความเข้นข้นของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆ[93] การศึกษานอกร่างกายมนุษย์ ซึ่งทดลองภายในห้องปฏิบัติการ (in vitro) ได้มีการจำแนกประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะโดยใช้ ความเข้มข้นของยาต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย (minimum inhibitory concentration; MIC) และ ความเข้มข้นยาต่ำสุดที่ฆ่าแบคทีเรียได้ร้อยละ 90 (minimum bactericidal concentration; MBC)[90][94] โดยใช้ค่าดังกล่าว ร่วมกับคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆ และคุณลักษณะอื่นทางเภสัชวิทยาในการทำนายประสิทธิภาพและผลลัพธ์การรักษาของยาปฏิชีวนะชนิดใดชนิดหนึ่งในทางคลินิก[95]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#42",
"text": "นอกเหนือจากประเด็นดังข้างต้นแล้ว การใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นสำหรับการป้องกันโรคติดเชื้อแบคทีเรีย และความผิดพลาดในการสั่งใช้และกำหนดขนาดยาปฏิชีวนะให้กับผู้ป่วยของบุคลากรทางการแพทย์ โดยอิงข้อมูลจากคุณลักษณะพื้นฐานและประวัติการรักษาของผู้ป่วยแต่ละราย ก็ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุของการเกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่พบเห็นได้เป็นประจำ ส่วนสาเหตุอื่นที่อาจพบได้ อาทิ การที่ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ครบจำนวนวันตามที่ได้รับการสั่งใช้ยาจากแพทย์ การที่ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ได้ขนาดและมีวิธีการบริหารยาที่ไม่ตรงตามที่มีการสั่งใช้ยา หรือการที่ไม่สามารถพักฟื้นได้เพียงพอหลังการรักษา นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะไม่ตรงตามข้อบ่งใช้อย่างการใช้ยาดังกล่าวในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส เช่น โรคหวัด ก็เป็นสาเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่นำไปสู่การเกิดภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อยาของแบคทีเรียได้ โดยการศึกษาหนึ่งพบว่า แพทย์มักสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะให้แก่ผู้ป่วยที่มีความต้องการที่จะใช้ยาดังกล่าว ถึงแม้ว่าการสั่งใช้ยานี้จะไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ก็ตาม[6] จึงอาจถือได้ว่า การกำหนดมาตรการป้องกันการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ทั้งในด้านการสั่งใช้ยาของแพทย์และการรับรู้ของผู้ป่วยนั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมลงได้[181][182]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#43",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันกำลังอยู่ในความสนใจขององค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสาธารณสุขหลายองค์กร ดดยองค์กรเหล่านั้นได้พยายามผลักดันให้มีการบังคับใช้มาตรการต่างๆออกมาอย่างต่อเนื่องเพื่อลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุสมผล[179] โดยประเด็นการใช้ยาปฏิชีวนะไปในทางที่ผิดและการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นได้ถูกบรรจุให้เป็นประเด็นสำคัญในถ้อยแถลงการก่อตั้งหน่วยเฉพาะกิจร่วมด้านการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา โดยหน่วยเฉพาะกิจนี้มีวัตถุประสงค์ในการจัดการและแก้ไขปัญหาดังข้างต้นเป็นหลัก โดยอาศัยความร่วมมือหลักจากองค์กรที่เกี่ยวเนื่อง 3 องค์กร คือ ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention; CDC) องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration; FDA) และสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (National Institutes of Health;NIH) รวมไปถึงหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวเนื่องอีกหลายหน่วยงาน[183] นอกจากนี้ยังมีโครงการ Keep Antibiotics Working ซึ่งริเริ่มโดยกลุ่มองค์การนอกภาครัฐ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ[184] ส่วนในฝรั่งเศส ได้มีการริเริ่มโครงการ Antibiotics are not automatic โดยหน่วยงานภาครัฐขึ้นใน ค.ศ. 2002 และนำไปสู้การลดลงของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นได้ในที่สุด โดยเฉพาะอย่าง การใช้ยากลุ่มดังกล่าวในผู้ป่วยวัยเด็ก[185]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#32",
"text": "หลังจากการค้นพบเพนิซิลลินเพียงไม่กี่ปี พบว่ายาดังกล่าวเป็นที่นิยมและแพร่หลายเป็นอย่างมาก โดยในปี ค.ศ. 1945 มีการผลิตเพนิซิลลินขึ้นมากถึง 646 พันล้านยูนิต แต่ต่อมาหลังมีการพัฒนายากลุ่มดังกล่าวจนได้เป็นยากลุ่มเซฟาโลสปอริน ทำให้แนวโน้มการใช้ยาปฏิชีวนะนั้นโน้มเอียงมาทางยากลุ่มนี้มากขึ้น โดยในปี ค.ศ. 1980 ยากลุ่มเซฟาโลสปอรินเป็นยาปฏิชีวนะที่ถูกผลิตขึ้นเชิงการค้ามากที่สุด ตามมาด้วยแอมพิซิลลิน และเตตราไซคลีน ตามลำดับ เป็นที่คาดการณ์กันว่าในปีนั้นมีการผลิตยาปฏิชีวนะในปริมาณรวมมากถึง 100 ล้านกิโลกรัม มูลค่าการซื้อขายเฉพาะยาปฏิชีวนะในสหรัฐอเมริกาในปีนั้นมีมากถึง 1000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนมูลค่าทางการตลาดของยาปฏิชีวนะทั้งหมดในปัจจุบันนั้นมีมูลค่าประมาณ 20000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[149] ทั้งนี้ ในการคิดค้นและพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เข้าสู่ตลาดยาในปัจจุบันนั้นต้องใช้งบประมาณประมาณ 1200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[150] แต่ด้วยมูลค่าทางการตลาดที่มหาศาลของยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งๆ ทำให้ธุรกิจด้านการคิดค้นพัฒนายาชนิดนี้ออกจำหน่ายในตลาดยานั้นมีการแข่งขันกันเป็นอย่างมาก โดยการดำเนินงานวิจัยเพื่อคิดค้นและพัฒนายาใหม่ในปัจจุบันมักเป็นการดำเนินงานโดยบริษัทที่เน้นการดำเนินธุรกิจจัดจำหน่ายเคมีภัณฑ์และโภคภัณฑ์ (Commodity chemical) เป็นส่วนมาก[151]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#37",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียอาจเกิดขึ้นได้รูปแบบการย่อยสลายทางชีวภาพของยาปฏิชีวนะ ดังเช่นในกรณีของแบคทีเรียในดินที่ทำหน้าที่ย่อยสลายซัลฟาเมทาซีน ซึ่งได้รับซัลฟาเมทาซีนที่ปนเปื้อนออกมากับอุจจาระของหมู[163] โดยการปรับตัวให้อยู่รอดจากยาปฏิชีวนะได้นี้ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้[164] แต่ในกรณีการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะนั้นมักเกิดจากการที่แบคทีเรียหนึ่งๆ ได้รับยีนต้านทานยาปฏิชีวนะมาจากแบคทีเรียเซลล์อื่น (horizontal gene transfer) โดยกระบวนการถ่ายทอดยีนนี้มักเกิดขึ้นได้บ่อยในพื้นที่ที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะสูง[165]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#30",
"text": "ด้วยความก้าวหน้าทางเภสัชเคมี ทำให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้อยู่ทุกวันนี้สามารถผลิตได้จากวิธีการกึ่งสังเคราะห์ โดยการดัดแปลงสูตรโครงสร้างของสารประกอบจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียให้มีความเหมาะสมในการใช้กับมนุษย์มากขึ้น[145] ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ยาปฏิชีวนะจำพวกบีตา-แลคแตม ซึ่งกลุ่มเพนิซิลลิน (ผลิตจากราในสกุลเพนิซิลเลียม), กลุ่มเซฟาโลสปอริน, และกลุ่มคาร์บาพีแนม ก็ล้วนแต่ถูกจัดอยู่ในยาปฏิชีวนะจำพวกนี้ ส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ในปัจจุบันที่ต้องสกัดจากจุลชีพที่มีชีวิตเท่านั้น คือ ยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ส่วนกลุ่มอื่นๆนั้นล้วนได้มาจากการสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เช่น ซัลโฟนาไมด์, ควิโนโลน, ออกซาโซลิไดโอน เป็นต้น[145] ยาปฏิชีวนะโดยส่วนใหญ่มักมีขนาดโมเลกุลที่ค่อนข้างเล็กและมีมวลโมเลกุลน้อยกว่า 1000 ดาลตัน[146]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#55",
"text": "การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสารที่ได้จากแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิสนั้นได้รับการคาดหวังจากวงการสาธารณสุขเป็นอย่างยิ่งว่าจะช่วยให้ค้นพบยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ได้หลากหลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ต้านสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสที่ดื้อต่อยาเมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus; MRSA) และแบคทีเรียอื่นที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะที่มีใช้อยู่ทั่วไปในปัจจุบัน ความพยายามที่จะทำการศึกษาในประเด็นดังกล่าวของจอห์น อินนส์ เซ็นเตอร์และมหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหราชอาณาจักร ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสภาวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (The Biotechnology and Biological Sciences Research Council; BBSRC) ทำให้มีการก่อตั้งบริษัทต่างๆเพื่อดำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น บริษัทโนวาคตาไบโอซิสเตมส์ (Novacta Biosystems Ltd.) ซึ่งเป็นบริษัทที่พัฒนาและออกแบบสารประกอบ NVB302 ซึ่งจัดเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มแลนติไบโอติก ชนิดบี (type-b lantibiotic) เพื่อรักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย Clostridium difficile โดยปัจจุบันยานี้กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยทางคลินิกในระยะที่ 1[224][225] อย่างไรก็ตาม ความเป็นไปได้ในการคิดค้นและพัฒนายาใหม่นั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดข้อบังคับที่เกี่ยวเนื่องการทดลองทางคลินิกขององค์การอาหารและยา รวมไปถึงแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่เหมาะสมอาจชักชวนให้บริษัทยากล้าที่จะลงทุนในความพยายามนี้[214] ใน ค.ศ. 2013 เพื่อตอบสนองต่อการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่มีจำนวนและความรุนแรงที่เพิ่มมากขึ้น รัฐสภาสหรัฐได้มีมติเห็นชอบผ่านร่างกฎหมายการพัฒนายาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาผู้ป่วยขึ้นสูง (Antibiotic Development to Advance Patient Treatment; ADAPT) โดยภายใต้การดำเนินงานนี้ องค์การอาหารและยาจะสามารถให้การรับรองยาปฏิชีวนะและยาต้านเชื้อราใดๆ ที่ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่เล็กลงกว่าปกติสำหรับการรักษาโรคติดเชื้อที่มีความรุนแรงจนอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของผู้ป่วย ส่วนศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention; CDC) จะทำหน้าที่เฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาปฏิชีวนะในด้านต่างๆ รวมไปถึงการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย และตีพิมพ์เผยแพร่ข้อมูลหรือสถานการณ์นั้นให้แก่หน่วยงานอื่นที่เกียวเนื่อง นอกจากนี้ องค์การอาหารและยายังมีหน้าที่ในการกำหนดเกณฑ์ต่างๆที่ใช้ทดสอบความไวของแบคทีเรียต่อยาปฏิชีวนะใดๆ ด้วย อาทิ \"เกณฑ์การตีความการทดสอบความไวของจุลินทรีย์\" หรือ \"ค่าจุดตัดความไวของยา\" (breakpoint) และให้ข้อมูลที่ถูกต้องเหล่านี้แก่บุคลากรทางการแพทย์[226][227] ซึ่งการเกิดขึ้นของการดำเนินงานนี้เป็นผลมาจากคำแนะนำของอัลลาน คูเกลล์ (Allan Coukell) ผู้อำนวยการอาวุโสขององค์กรการกุศลพิว (The Pew Charitable Trusts) ที่ได้แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับการพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เพื่อตอบสนองความฉุกเฉินของแบคทีเรียดื้อยาว่า \"เพื่อที่จะให้การศึกษาวิจัยทางคลินิกนั้นสามารถทำได้ง่ายมากขึ้น ควรยินยอมให้นักพัฒนายาใช้ข้อมูลและตัวอย่างในการศึกษาทางคลินิกที่น้อยลง และองค์การอาหารและยาก็ต้องแสดงให้เห็นได้แน่ชัดว่าสามารถยอมรับความเสี่ยงที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อคิดคำนวณโทษ–ประสิทธิผลที่อาจได้จากยาเหล่านั้น\"[228]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
}
] |
2516 | หลวงตามหาบัวเกิดเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "237190#3",
"text": "พระธรรมวิสุทธิมงคล หรือ หลวงตามหาบัว เดิมมีชื่อว่า \"บัว โลหิตดี\" เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 ณ ตำบลบ้านตาด อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี มีพี่น้องทั้งหมด 16 คน ในวัยเด็กท่านเป็นคนที่เลื่อมใสในศาสนาพุทธ โดยได้ทำบุญตักบาตรกับผู้ใหญ่อยู่เสมอ",
"title": "พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)"
},
{
"docid": "237190#0",
"text": "พระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดป่าบ้านตาด (วัดเกษรศีลคุณ) เป็นวิปัสสนาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ของพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้บันทึกประวัติของหลวงปู่มั่นโดยละเอียดในเวลาต่อมา",
"title": "พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)"
}
] | [
{
"docid": "455870#7",
"text": "สร้างวัดป่าหลวงตาบัว ญาณสัมปันโน (วัดเสือ)\nในปี 2537 หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ได้รับถวายที่ดิน 100 ไร่เศษ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรีราว 37 กิโลเมตร เพื่อสร้างเป็นวัดป่าสถานที่ปฏิบัติธรรม ต่อมาหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน จึงได้มอบหมายให้พระอาจารย์ภูสิต (จันทร์) ขันติธโร เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างวัด และหลวงตาได้ตั้งชื่อวัดให้ว่า “วัดป่าหลวงตาบัว ญาณสัมปันโน” หลวงตามหาบัว ได้ปลูกต้นโพธิ์ไว้ที่วัด 1 ต้น เป็นปฐมฤกษ์ อีกด้วย",
"title": "พระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขนฺติธโร)"
},
{
"docid": "28284#7",
"text": "ท่านพระอาจารย์หลวงตามหาบัว เล่าถึง หลวงปู่ขาว ในหนังสือ \"ปฏิปทาของพระธุดงค์กรรมฐานสายพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต\" ว่าหลวงปู่ขาว ได้บรรลุธรรมชั้นสุดยอดในราวพรรษาที่ 16-17 ในสถานที่ซึ่งมีนามว่าโหล่งขอด แห่งอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้เขียนเล่าไว้ว่า \"เย็นวันหนึ่ง เมื่อปัดกวาดเสร็จ หลวงปู่ขาว ออกจากที่พักไปสรงน้ำ ได้เห็นข้าวในไร่ชาวเขา กำลังสุกเหลืองอร่าม ทำให้เกิดปัญหาขึ้นมาในขณะนั้นว่า ข้าวมันงอกขึ้นมาเพราะมีอะไรเป็นเชื้อพาให้เกิด ใจที่พาให้เกิดตายอยู่ไม่หยุด ก็น่าจะมีอะไรเป็นเชื้ออยู่ภายในเช่นเดียวกันกับเมล็ดข้าว เชื้อนั้น ถ้าไม่ถูกทำลายเสียที่ใจให้สิ้นไป จะต้องพาให้เกิดตายอยู่ไม่หยุด ก็แล้วอะไรเป็นเชื้อของใจเล่า ถ้าไม่ใช่กิเลสอวิชชา ตัณหาอุปาทาน ท่านคิดทบทวนไปมา โดยถืออวิชชาเป็นเป้าหมายแห่งการวิพากษ์วิจารณ์ พิจารณาย้อนหน้าถอยหลัง อนุโลมปฏิโลมด้วยความสนใจอยากรู้ตัวจริงแห่งอวิชชา นับแต่หัวค่ำจนดึกไม่ลดละการพิจารณาระหว่าง อวิชชา กับ ใจ จวนสว่างจึงตัดสินใจกันลงได้ด้วยปัญญา อวิชชาขาดกระเด็นออกจากใจไม่มีอะไรเหลือ การพิจารณาข้าว ก็มายุติกันที่ข้าวสุก หมดการงอกอีกต่อไป การพิจารณาจิต ก็มาหยุดกันที่ อวิชชาดับ กลายเป็นจิตสุกขึ้นมา เช่นเดียวกับ ข้าวสุก จิตหมดการก่อกำเนิดเกิดในภพต่างๆ อย่างประจักษ์ใจ สิ่งที่เหลือให้ชมอย่างสมใจ คือ ความบริสุทธิ์แห่งจิตล้วน ๆ ในกระท่อมกลางเขา มีชาวป่าเป็นอุปัฏฐากดูแล ขณะที่จิตผ่านดงหนาป่ากิเลสวัฏฏ์ไปได้ แล้วเกิดความอัศจรรย์อยู่คนเดียวตอนสว่าง พระอาทิตย์ก็เริ่มสว่างบนฟ้า ใจก็เริ่มสว่างจากอวิชชาขึ้นสู่ธรรมอัศจรรย์ถึงวิมุตติหลุดพ้นในเวลาเดียว กันกับพระอาทิตย์อุทัย ช่างเป็นฤกษ์งามยามวิเศษเสียจริง",
"title": "หลวงปู่ขาว อนาลโย"
},
{
"docid": "615594#1",
"text": "พระญาณวิสาลเถร (หลวงปู่หา สุภโร) ท่านมีนามเดิมว่า หา ภูบุตตะ เกิดวันศุกร์ที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๘ ปีฉลู ที่บ้านนาเชือก ตำบลเว่อ (ปัจจุบันเป็นตำบลนาเชือก) อำเภอยางตลาด (ปัจจุบันเป็นอำเภอเมือง) จังหวัดกาฬสินธุ์ บิดาชื่อ นายสอ ภูบุตตะ มารดาชื่อ นางบัวลา ภูบุตตะ มีพี่น้องรวมกัน ๗ ท่าน",
"title": "พระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร)"
},
{
"docid": "608614#4",
"text": "ในพรรษาที่ 5 (ปี พ.ศ. 2494) หลวงปู่บุญมี ได้กลับไปอยู่ศึกษาธรรมกับหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ และในพรรษาที่ 6 (ปี พ.ศ. 2495) หลวงปู่บุญมี ได้ไปอยู่ศึกษาธรรมกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ที่วัดป่าบ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร จากนั้นจึงติดตามหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน มาสร้างวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ตั้งแต่พรรษาที่ 11 (ปี พ.ศ. 2500) และอยู่อบรมกรรมฐานกับพระหลวงตามหาบัว เรื่อยมาจนถึงพรรษาที่ 30 (ปี พ.ศ. 2519)",
"title": "หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ"
},
{
"docid": "616309#0",
"text": "หลวงปู่กาหลง เดิมท่านเป็นชาวคลอง 7 ปทุมธานี เกิดเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2461 มีพี่น้องทั้งหมด 4 คน ท่านเป็นบุตรคนโต โดยก่อนที่หลวงปู่ท่านจะเกิด ก็ได้เกิดนิมิตขึ้นมาดังนี้ มีชายคนหนึ่งชื่อ \"ลุงบาง\" กำลังออกหาปลา อาชีพของเขาในตอนนั้น ในตอนนั้นเขากำลังอยู่ใกล้บริเวณบ้านของหลวงปู่ ตอนนั้นท่านยังไม่เกิด ตอนนั้นลุงบางได้เห็นลูกไฟลูกหนึ่งลอยมาหน้าบ้านของหลวงปู่ ทันใดนั้นดวงไฟนั้นก็ได้กลายเป็นฤๅษี กำลังจูงเด็กน้อยเข้าไปในบ้านหลวงปู่ เมื่อแกเห็นเป็นเช่นนั้น แกจึงได้ยกมือไหว้ด้วยความเลื่อมใส และได้ตั้งจิตอธิษฐานว่า ถ้าเด็กในบ้านนี้เกิดเป็นผู้ชาย แกจะเลิกจับปลาเด็ดขาด ต่อมา ผู้หญิงผู้ชายในบ้านนี้ก็ได้คลอดลูกออกมาเป็นลูกชาย ตั้งชื่อให้ว่า \"กาหลง\" หลังจากนั้นลุงบางก็ได้เลิกหาปลาตามที่เขาได้สัญญาไว้ ในชีวิตวัยเยาว์ หลวงปู่ท่านเป็นผู้ที่มีใจฝักใฝ่ต่อพระพุทธศาสนา ท่านชอบไหว้พระ หรือเมื่อพ่อแม่ของท่านชวนท่านไปวัด ท่านก็จะไปวัดกับพ่อแม่เป็นประจำ ท่านชอบนั่งสมาธิภาวนาอยู่เป็นประจำ ในปี พ.ศ. 2481 ตอนนั้น ท่านมีอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ ท่านได้เข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดนาบุญ คลอง 7 จังหวัดปทุมธานี ในวันที่ท่านบวช ลุงบางก็ได้เล่านิมิตที่ลุงบางได้เก็บมานานถึง 20 ปี ให้หลวงปู่ฟัง และหลังจากหลวงปู่ท่านอุปสมบทแล้ว ลุงบางก็ทำหน้าที่เป็นโยมอุปัฏฐาก คอยดูแลหลวงปู่อย่างใกล้ชิด หลังจากอุปสมบท ท่านก็ได้บวชเรียนและจำพรรษาที่ วัดนาบุญ และร่ำเรียนวิทยาคมกับ หลวงพ่อเนียม และ หลวงพ่อซึ้ง ท่านทั้ง 2 นี้เป็นกพระเกจิอาจารย์ชื่อดังจากวัดนาบุญ จนท่านมีความชำนาญในการเข้ากรรมฐาน และวิชาอาคมต่างๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2505 ท่านได้ย้ายไปจำพรรษาอยู่ ณ วัดน้ำซับ หลวงปู่ท่านได้ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ท่านได้สร้างโบสถ์หลายๆหลังขึ้นมาอีกมากมาย จากนั้น ท่านก็ได้ย้ายไปจำพรรษา ณ วัดเขาแหลม และเป็นเจ้าอาวาสวัดเขาแหลมในปี พ.ศ. 2513 \nท่านเคยไปปลุกเสกตามวัดต่างๆหลายต่อหลายวัดมีอยู่ครั้งหนึ่งที่ไปปลุกเสกร่วมกับ ลป.โต๊ะ หลังเสร็จพิธีการลป.โต๊ะถึงกับกล่าวและชี้มาที่ ลป.กาหลง หัยลพ.แช่มวัดนวลนรดิศและศิษย์ที่นั่งอยู่ฟังว่า \"พระรูปนี้ชื่ออะไรอยู่วัดไหน ทำไมพลังอำนาจจิตถึงได้รุนแรงพิศดารแบบนี้ไม่เคยพบเห็นที่ไหนมาก่อน\" หลวงปู่ท่านมีเขี้ยวแก้วอยู่ที่กลางเพดานปากเป็นของศักดิ์สิทธิ์ที่ติดตัวท่านมาแต่เกิด หลวงปู่บอกว่าของดีนี้เกิดขึ้นเองและจะมีก็แต่บุคคลที่พิเศษจริง เช่น ของพระพุทธเจ้าเป็นต้นที่มี ถ้าเป็นขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็เรียกว่า พระเขี้ยวแก้ว แต่ของหลวงปู่ท่านเรียกว่า เขี้ยวแก้ว ซึ่งเป็นของดีเฉพาะตัวเฉพาะบุคคลเวลาใครไปกราบท่านแล้วให้ท่านปลุกเสกของท่านก็มักจะเอามือล้วงไปในปากท่านแตะที่เขี้ยวแก้วของท่านแล้วนำมาคลึง ที่พระหรือ ของที่มาให้ท่านปลุกเสกเป็นการเพิ่มพลังพุทธคุณ ท่านมักกล่าวอยู่เสมอว่า \"ของๆฉันตั้งใจทำมากับมือต่อไปจะมีค่ายิ่งกว่าทองคำจะหายากยิ่งกว่าเพชร\" ฉันทำเครื่องรางของขลังทั้งสักทั้งเสกเพื่อคุ้มครองชีวิตคนมาตั้งแต่ปี 2485 แต่ไม่เคยประกาศให้ใครรู้มีแต่บอกต่อกันแบบปากต่อปาก เมื่อก่อนใครจะมาเอาของๆฉันไปบูชาต้องแบกปืนมาลองด้วยถ้าฉันไม่แน่จริงฉันคงสร้างโบสถ์ได้ไม่ถึง8หลังหรอก คือว่าเมื่อก่อนท่านย้ายวัดไปหลายวัดท่านสร้างโบสถ์เสร็จท่านก็ย้ายไปจำวัดอื่น แล้วก็สร้างโบสถ์อีกเป็นแบบอยู่หลายวัด 8หลังแล้วที่ท่านสร้างมา",
"title": "หลวงปู่กาหลง เตชวัณโณ"
},
{
"docid": "237190#24",
"text": "มีบันทึกจดหมายเป็นลายมือหลวงตามหาบัว ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2519 ถึงลูกศิษย์ที่ป่วยหนักใกล้วาระสุดท้ายแห่งชีวิต ชื่อ คุณเพาพงา วรรธนะกุล ข้อความบางส่วนดังนี้ \n\" \"พญามัจจุราชเตือน และบุกธาตุขันธ์ของสัตว์โลกตามหลักความจริงของเขา เราต้องต้อนรับการเตือน และการบุกของเขาด้วยสติ ปัญญา ศรัทธา ความเพียรไม่ถอยหลัง และขนสมบัติ คือ มรรค ผล นิพพาน ออกมาอวดเขาซึ่งๆ หน้า ด้วยความกล้าตาย โดยทางความเพียร เขากับเราที่ถือว่าเป็นอริศัตรูกันมานาน จะเป็นมิตรกันโดยความจริงด้วยกัน ไม่มีใครได้ใครเสียเปรียบกันอีกต่อไปตลอดอนันตกาล\" \"\nซึ่งในระหว่างที่เธอ (คุณ เพาพงา วรรธนะกุล) ไปอยู่วัดเพื่อปฏิบัติธรรมในวาระสุดท้ายของชีวิต หลวงตามหาบัวท่านได้เมตตาเทศน์สอนในแง่ของข้อปฏิบัติ ซึ่งต่อมา หลวงปู่ปัญญา ปัญญาวัฑโฒ (พระอาจารย์ปีเตอร์ จอห์น มอร์แกน Peter J. Morgan) ผู้ทำหน้าที่อัดเทปเทศน์หลวงตา ได้รวบรวมไฟล์เสียง เป็นธรรมเทศนาชื่อว่า \"ธรรมะชุดเตรียมพร้อม\" ซึ่งต่อมามีการถอดความเป็นหนังสือด้วย.",
"title": "พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)"
},
{
"docid": "108758#3",
"text": "นิตยสารไทม์ฉบับวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ได้ยกย่องให้วัดป่าหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดสำหรับการอยู่ร่วมกันโดยสันติ ซึ่งหมายถึงการที่ทางวัดสามารถนำเสือที่เป็นสัตว์ดุร้ายมาอยู่ร่วมกับคนได้โดยไม่เกิดอันตราย",
"title": "วัดป่าหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน"
},
{
"docid": "363589#11",
"text": "ก่อนหลวงปู่ฟักจะมาถึงวัดป่าบ้านตาดไม่กี่วัน หลวงตามหาบัวได้ถามคุณแม่ชีน้อม ซึ่งพูดภาษาภูไทว่า\n\"เมื่อคนฝันผิเร่อ(ฝันอะไร)\"\nคุณแม่ชีท่านกราบเรียนว่า\n\"ฝันว่าได้ครกตำผักหุ่ง(ตำมะละกอ)จากจันทบุรี ผิวนอกอุยุอะยะ(ขรุขระ) แต่ผิวในเนียนเรียบ\"\nหลวงตามหาบัวถาม \"เลี้ยงพระได้ทั้งวัดบ่...\"\nคุณแม่ชีน้อมตอบว่า \"เลี้ยงได้ทั่วอยู่\"\nหลวงตามหาบัวถามต่อ \"ได้เบิ่ง(ดู)ข้างในไหม\"\nคุณแม่ชีนอมกราบเรียนว่า \"จิตเพิ่น (หลวงปู่ฟัก) ผ่องใสดี\"",
"title": "พระครูสันติวีรญาณ (ฟัก สนฺติธมฺโม)"
}
] |
205 | ราชอาณาจักรแฟรงก์ หรือ ฟรังเกีย สิ้นสุดลงเมื่อใด ? | [
{
"docid": "240635#0",
"text": "ราชอาณาจักรแฟรงก์[3] (English: Frankish Kingdom) หรือ ฟรังเกีย (English: Francia) เป็นดินแดนที่ตั้งถิ่นฐานและปกครองโดยชาวแฟรงก์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาบริเวณเกิดจากการรณรงค์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ชาร์ล มาร์แตล (Charles Martel) พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย[4] และชาร์เลอมาญ-- พ่อ, ลูก, และหลาน--มามั่นคงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
}
] | [
{
"docid": "445525#2",
"text": "คำว่า abbot มีต้นกำเนิดมาจากอารามในอียิปต์และซีเรีย และต่อมาได้แพร่ไปทั่วดินแดนเมดิเตอร์เรเนียน จนนำไปใช้ในหลายภาษาว่าหมายถึง อธิการอาราม ในตอนแรกใช้เป็นคำนำหน้าชื่อของนักพรตโดยทั่วไป แต่ต่อมากฎหมายศาสนจักรให้ใช้เรียกเฉพาะบาทหลวงที่เป็นอธิการ คำว่า abbot ยังเคยใช้กับบาทหลวงในหลาย ๆ ตำแหน่ง เช่น ในราชสำนักของราชอาณาจักรแฟรงก์ มีตำแหน่ง Abbas palatinus (อธิการพระราชวัง) และ Abbas castrensis (อธิการค่าย) ซึ่งเป็นอนุศาสนาจารย์ประจำราชสำนักในราชวงศ์เมรอแว็งเฌียงและราชวงศ์การอแล็งเฌียง และกองทัพบกตามลำดับ ปัจจุบันมักใช้ในคณะนักบวชอารามิกในศาสนาคริสต์ตะวันตก ซึ่งมีสมาชิกเป็นบาทหลวงด้วย",
"title": "อธิการอาราม"
},
{
"docid": "263790#6",
"text": "ต่อมาโอโด เคานต์แห่งปารีส ได้รับเลือกโดยเหล่าขุนนางให้เป็นกษัตริย์คนใหม่ของเวสต์ฟรังเกีย และได้รับการสวมมงกุฎในเดือนต่อมา ถึงตอนนี้ เวสต์ฟรังเกียประกอบด้วยนิวสเตรียในฝั่งตะวันตก ส่วนฝั่งตะวันออกเป็นสิทธิครอบครองของฟรังเกีย แคว้นที่อยู่ระหว่างแม่น้ำเมิซกับแม่น้ำเซน",
"title": "อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก"
},
{
"docid": "83132#4",
"text": "ชาร์เลอมาญขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ใน ค.ศ. 768 หลังจากนั้นทรงประกอบพระกรณียกิจตามธรรมเนียมผู้นำนักรบของชาวแฟรงก์ด้วยการขยายอำนาจของอาณาจักร เริ่มด้วยการผูกมิตรกับชาวลอมบาร์ดทางตะวันออกเฉียงใต้ด้วยการอภิเษกกับธิดากษัตริย์แห่งลอมบาร์ด ซึ่งจะทำให้พระองค์มีสิทธิเหนืออาณาเขตของพวกลอมบาร์ดด้วย แต่ต่อมาก็เกิดความขัดแย้งระหว่างพระองค์กับพวกลอมบาร์ด พระมเหสีถูกขับออกจากราชอาณาจักรแฟรงก์ พวกลอมบาร์ดยังพยายามยึดกรุงโรมและควบคุมพระสันตะปาปา ชาร์เลอมาญจึงส่งกองทัพไปช่วยพระสันตะปาปาและมีชัยชนะเหนือพวกลอมบาร์ด ราชอาณาจักรแฟรงก์จึงทำหน้าที่คุ้มครองศาสนจักรที่กรุงโรมนับแต่นั้น และพระสันตะปาปาก็ให้การรับรองชาร์เลอมาญในฐานะ \"จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน\" ในพิธีราชาภิเษกโดย สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ที่มหาวิหารนักบุญเปโตรในกรุงโรม ในปี ค.ศ. 800 ซึ่งหมายถึงการยอมรับว่าชาร์เลอมาญมีฐานะเทียบเท่าจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันในสมัยโบราณและเป็นประมุขเหนือดินแดนอิตาลี ก่อนหน้านั้นชาร์เลอมาญยังทรงขยายดินแดนไปทางตะวันตกเฉียงใต้และสเปนต่อเนื่องจากสมัยพระบิดาและยึดครองเยอรมันใต้ (รัฐบาวาเรียในปัจจุบัน)",
"title": "ชาร์เลอมาญ"
},
{
"docid": "17184#1",
"text": "หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึงพ.ศ. 2457 สวีเดนได้สูญเสียพื้นที่ราชอาณาจักรรวมถึงฟินแลนด์ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน ตั้งแต่พ.ศ. 2457 นั้น สวีเดนอยู่ในภาวะสันติ โดยที่มีนโยบายต่างประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดในช่วงสันติและเป็นกลางระหว่างสงคราม",
"title": "ประเทศสวีเดน"
},
{
"docid": "240635#6",
"text": "เมื่อโคลวิสสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 511 ราชอาณาจักรถูกแบ่งให้กับพระโอรสทั้งสี่ของพระองค์ รูปแบบดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นซ้ำในช่วงศตวรรษต่อมาและทำให้ราชอาณาจักรแฟรงก์เป็นหนึ่งเดียวกันเพียงช่วงสั้นๆ ทว่ากษัตริย์เมรอวินเจียนชอบการรบราฆ่าฟันและหลายคนสิ้นพระชนม์ก่อนที่จะมีพระโอรสจึงทำให้ราชอาณาจักรไม่แตกออกจากกันอย่างถาวร แต่ผลที่ตามมาหลังการแบ่งคือกษัตริย์เมรอวินเจียนเริ่มต่อสู้กันเองมากกว่าจะต่อสู้กับศัตรูภายนอก ยกเว้นช่วงปี ค.ศ. 531 – 537 ที่ราชอาณาจักรแฟรงก์พิชิตอาณาเขตอันกว้างใหญ่ไพศาลได้อีกครั้ง ราชอาณาจักรของชาวธูรินเจียนถูกทำลายและส่วนหนึ่งถูกพิชิตในปี ค.ศ. 531 ราชอาณาจักรของชาวเบอร์กันเดียนถูกพิชิตในปี ค.ศ. 532 – 534 และผลของการทำสงครามกับชาวออสโทรกอธของจักรพรรดิโรมันตะวันออกทำให้ชาวออสโทรกอธถูกบีบให้ยกส่วนที่เหลืออยู่ของอาเลมันนิกับโพรวองซ์ให้ราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์ในปี ค.ศ. 536 – 537 แลกกับการเป็นกลางของชาวแฟรงก์ ในเวลาเดียวกันบาวาเรียถูกบีบให้ยอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของชาวแฟรงก์และราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์สร้างความแข็งแกร่งในการควบคุมอากีแตนได้มากขึ้น",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "134544#8",
"text": "การต่อสู้กันเองในราชวงศ์และแรงกดดันที่เพิ่มขึ้นจากกลุ่มชนรอบข้าง คือ ชาวเบรอตงกับชาวแกสคงทางตะวันตก, ชาวลอมบาร์ดทางตะวันออกเฉียงใต้ และชาวอาวาร์ทางตะวันออก ทำให้เกิดการปรับโครงสร้างของราชอาณาจักรแฟรงก์ แคว้นทางตะวันออกหลายแคว้นถูกรวมเข้ากับราชอาณาจักรออสเตรเชียที่มีเมืองหลวงอยู่ที่เม็ตซ์ ในทางตะวันตกเกิดนูสเตรียที่มีเมืองหลวงที่แรกอยู่ที่ซวยส์ซงส์และต่อมาย้ายมาเป็นปารีส ในทางใต้ราชอาณาจักรเบอร์กันดีที่มีเมืองหลวงอยู่ที่ชาลง-ซูร์-ซวนขยายขนาดใหญ่ขึ้น ",
"title": "ราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง"
},
{
"docid": "240635#4",
"text": "กษัตริย์เมรอวินเจียนที่มีชื่อเสียงที่สุดคือโคลวิสที่ขึ้นครองบัลลังก์ในราวปี ค.ศ. 482 พระองค์ถูกบีบตั้งแต่ช่วงต้นรัชสมัยให้ต่อสู้กับผู้นำชาวแฟรงก์คู่แข่งที่ถูกพระองค์สังหารอย่างโหดเหี้ยม เศษสุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกถูกพิชิตในปี ค.ศ. 486 เมื่อโคลวิสปราบซีอากริอุสที่เคยปกครองกอลตอนเหนือ พื้นที่ส่วนนั้นของราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์ถูกเรียกว่าเนอุสเตรีย (ดินแดนใหม่) ตรงข้ามกับออสตราเชีย (ดินแดนตะวันออก) ที่เป็นอาณาเขตใจกลางดั้งเดิมของชาวแฟรงก์ ทว่าการพิชิตของโคลวิสไปไกลกว่านั้นมาก พระองค์โจมตีและปราบสมาพันธ์ชนเผ่าเจอร์มานิกอาเลมันนิในราวปี ค.ศ. 496 เพิ่มอาณาเขตขนาดใหญ่ให้กับอาณาจักรของตน อิทธิพลจากพระราชินีชาวเบอร์กันเดียน โคลทิลดา โน้มน้าวพระองค์ให้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์หลังทำสมรภูมิกับชาวอาเลมันนิ การตัดสินใจเข้าร่วมศาสนจักรคาทอลิกแทนที่จะเป็นนิกายอาเรียนของศาสนาคริสต์เหมือนกับชนชาวเจอร์มานิกคนอื่นๆ มีความสำคัญต่อโคลวิสอย่างมาก เนื่องจากทำให้พระองค์ได้รับการสนับสนุนจากประชากรในราชอาณาจักรเพื่อนบ้านที่มองว่าชาวอาเรียนเป็นพวกนอกรีต",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "240635#12",
"text": "* หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเยอรมนี หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 3 ฟ หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 9",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "240635#8",
"text": "กษัตริย์เมรอวินเจียนไม่ได้เสียแค่อาณาเขตในช่วงยุคนี้ อำนาจของพวกเขาในพื้นที่ที่เหลืออยู่ของราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์ก็ถูกลดลงเช่นกัน เป็นผลมาจากการมีกษัตริย์ที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์ ตำแหน่งสมุหราชมณเฑียรถูกตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลราชอาณาจักรจนกว่าพวกเขาจะถึงวัยที่สมควร แต่เมื่อมันกลายเป็นตำแหน่งถาวรและสืบทอดทางสายเลือด ผู้ครองตำแหน่งเหล่านี้ก็กลายเป็นผู้ปกครองที่แท้จริงของราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์แม้แต่ในตอนที่มีกษัตริย์เป็นผู้ใหญ่ ในสมรภูมิที่เตอร์ตรีในปี ค.ศ. 687 สมุหราชมณเฑียรแห่งนูเอสเตรียกับเบอร์กันดีถูกปราบโดยผู้ที่มีตำแหน่งเดียวกันในออสตราเชีย เปแปงแห่งเฮริสตันที่ภายหลังปกครองราชอาณาจักรแฟรงก์ทั้งหมด",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "98888#14",
"text": "ในกรณีที่เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบให้ใช้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาร่างรัฐธรรมนูญจะสิ้นสุดลง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะประชุมร่วมกับคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ได้เคยประกาศใช้บังคับมาแล้วฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันออกเสียงประชามติ และนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญต่อไป",
"title": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550"
},
{
"docid": "240635#5",
"text": "ทว่าการต่อสู้กับชาวอาเลอมันนิไม่จบลงจนถึงปี ค.ศ. 502 เมื่ออาณาเขตทั้งหมดของพวกเขาถูกพิชิตโดยชาวแฟรงก์ ยกเว้นพื้นที่เล็กๆ ที่ได้รับการคุ้มกันจากชาวออสโทรกอธ ก่อนหน้านั้นบริตทานีถูกบีบให้สวามิภักดิ์แม้พวกเขาจะได้เอกราชที่สำคัญมาก็ตาม การพิชิตครั้งสุดท้ายของโคลวิสคืออากีแตนที่ได้มาจากชาววิซิกอธในปี ค.ศ. 507 การแทรกแซงจากชาวออสโทรกอธขัดขวางไม่ให้พิชิตราชอาณาจักรของชาววิซิกอธได้อย่างสมบูรณ์ การสู้รบยังส่งผลให้โคลวิสได้รับแต่งตั้งเป็นกงสุลโรมันโดยจักรพรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งยิ่งเพิ่มความเกรียงไกรให้กับราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์และทำให้การอ้างสิทธิ์ในการเป็นทายาทของจักรวรรดิโรมันของพวกเขาได้รับความน่าเชื่อถือมากขึ้น",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "263984#1",
"text": "จักรวรรดิการอแล็งเฌียงเป็นการเน้นถึงการที่สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 ทรงราชาภิเษกชาร์เลอมาญเป็นจักรพรรดิโรมันในปี ค.ศ. 800 ก่อนหน้านั้นชาร์เลอมาญและบรรพบุรุษของพระองค์เป็นประมุขของจักรวรรดิแฟรงก์ (พระอัยกาชาร์ล มาร์แตลเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิ) การราชาภิเกมิได้เป็นการประกาศการเป็นจักรพรรดิของจักรวรรดิใหม่ นักประวัติศาสตร์นิยมที่จะใช้คำว่า “กลุ่มราชอาณาจักรแฟรงก์” (\"Frankish Kingdoms\" หรือ \"Frankish Realm\") ในการเรียกดินแดนบริเวณที่ปัจจุบันคือเยอรมนีและฝรั่งเศสปัจจุบัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9",
"title": "จักรวรรดิการอแล็งเฌียง"
},
{
"docid": "240635#2",
"text": "ชาวแฟรงก์โดยดั้งเดิมแล้วคือสมาพันธ์ชนเผ่าเจอร์มานิกทางตะวันออกของแม่น้ำไรน์ที่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 257 เริ่มรุกรานอาณาเขตของโรมัน พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในสมาพันธ์ชนเผ่าเจอร์มานิกที่มีอยู่มากมายที่สร้างความเสียหายให้กับจักรวรรดิโรมันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 และสร้างความลำบากให้กับจักรพรรดิโรมันในการรับมือกับการโจมตี ทะเลไม่ได้ปลอดภัยจากการโจมตีของชาวแฟรงก์เนื่องจากพวกเขาเป็นโจรสมลัดที่มีความสามารถด้วยเช่นกัน แต่ชาวแฟรงก์ยังมีอิทธิพลในทางบวกต่อโรมจากการผลิตทหารให้กับกองทัพโรมัน และในปี ค.ศ. 358 ชาวซาเลียนแฟรงก์ได้รับอนุญาตจากจักรพรรดิจูเลียนให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในอาณาเขตของโรมันที่อยู่ระหว่างแม่น้ำสเกลด์กับแม่น้ำเมิซได้ในฐานะฟอยเดราติ (พันธมิตร) ชาวแฟรงก์ตอบแทนด้วยการให้ความช่วยเหลือจักรวรรดิโรมันด้วยการให้กองทหารแลกกับเอกราชอย่างเด็ดขาดในพื้นที่ที่พวกเขาอาศัยอยู่",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "751070#2",
"text": "รัฐบาลของโดลต้องประสบกับปัญหา หลายคนพยายามที่จะฟื้นคืนสถาบันพระมหากษัตริย์รวมถึงการกบฏติดอาวุธเมื่อวันที่ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2438 คณะปฏิวัติ นำโดยรอเบิร์ต วิลเลียม วิลคอกซ์ และผู้สมรู้ร่วมคิดอื่น ๆ ถูกจับและถูกตัดสินประหารชีวิต ต่อมาสมเด็จพระราชินีนาถทรงสละราชสมบัติและสาบานว่าจะจงรักภักดีต่อสาธารณรัฐฮาวายในเดือนกุมภาพันธ์ ในขณะที่ภายใต้การจับกุมพระองค์เขียนว่า \"ข้าพเจ้าขอทำอย่างเต็มที่และยอมรับอย่างแจ่มแจ้งและประกาศว่ารัฐบาลของสาธารณรัฐฮาวายเป็นเพียงรัฐบาลเดียวที่ถูกต้องตามกฎหมายของหมู่เกาะฮาวาย และช่วงปลายสถาบันพระมหากษัตริย์มาถึงในที่สุดและสิ้นสุดลงตลอดไป และไม่ขอให้ความถูกต้องตามกฎหมายหรือที่เกิดขึ้นจริงใด ๆ ที่มีผลบังคับใช้หรือผลใด ๆ\"",
"title": "แซนฟอร์ด บี. โดล"
},
{
"docid": "221552#1",
"text": "ราชวงศ์เมโรแว็งเฌียงเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ ก่อตั้งโดยพระเจ้าคลอวิสที่ 1 เมื่อพระองค์ขึ้นปกครองแคว้นกอทหรืออาณาจักรแฟรงก์ พระองค์หันไปนับถือศาสนาคริสต์และนำศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ในอาณาจักร อย่างไรก็ตาม เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลง อำนาจทั้งหมดตกไปอยู่ในมือของขุนนางตระกูลคาโรลินเจียน โดยเฉพาะชาร์ล มาร์แตลที่สามารถยกกองทัพไปต้านทานการรุกรานของชาวมุสลิมจากคาบสมุทรไอบีเรีย",
"title": "ราชวงศ์การอแล็งเฌียง"
},
{
"docid": "561779#2",
"text": "ในอดีตนั้นตูร์แนเคยถูกเรียกว่า \"ตอร์นาคุม\" (Tornacum) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆในยุคสมัยโรมันซึ่งเป็นสถานที่พักรถบนถนนโรมันซึ่งเริ่มจากโคโลญน์ไปยังบูลอญ-ซูร์-แมร์ โดยตัดข้ามผ่านแม่น้ำสเกลด์ ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 3 ในรัชสมัยของแม็กซีเมียน ได้มีการสร้างปราการขึ้นเพื่อป้องกันการรุกราน ต่อมาเมื่อโรมันได้ลดเขตแดนลงช่วงถนนโรมันสายนี้ทำให้ตกมาอยู่ในการปกครองของชาวซาเลียนแฟรงก์ในปีค.ศ. 432 ในรัชสมัยของพระเจ้าชิลเดอริคที่ 1 (พระบรมศพนั้นได้ฝังอยู่ที่ตูร์แนในปัจจุบัน) ตูร์แนได้กลายเป็นศูนย์กลางอำนาจและเมืองหลวงของราชอาณาจักรแฟรงก์ ต่อมาในปีค.ศ. 486 พระเจ้าโคลวิสที่ 1ได้ย้ายเมืองหลวงจากตูร์แนไปยังปารีสแทน หลังจากการก่อตั้งเขตมุขมณฑลตูร์แนขึ้นมา อะเลอเทรุส ชาวตูร์แนโดยกำเนิดได้รับเลือกเป็นบิชอปองค์แรก ซึ่งปกครองดินแดนบริเวณกว้างของเขตลุ่มแม่น้ำเชลดท์ฝั่งตะวันตก ต่อมาในปีค.ศ. 862 พระเจ้าชาลส์ ผู้เป็นกษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก และยังได้รับเลือกเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงมีพระบัญชาให้ตูร์แนเป็นเมืองศูนย์กลางของเคาน์ตีฟลานเดอร์ ",
"title": "ตูร์แน"
},
{
"docid": "4496#0",
"text": "ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี ค.ศ. 987",
"title": "ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส"
},
{
"docid": "240635#7",
"text": "การแบ่งราชอาณาจักรที่ดำเนินต่อไปในหมู่ชาวเมรอวินเจียนส่งผลให้ราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์แตกออกเป็นสามส่วน นูเอสเตรียทางตะวันตก, ออสตราเชียทางตะวันออก และเบอร์กันดีทางใต้ พื้นที่รอบนอกอย่างบริตทาเนีย, อากีแตน, อาเลมันนิ, ธูรินเจีย และบาวาเรียมักพยายามกอบกู้เอกราชและการต่อสู้ซ้ำแล้วซ้ำเล่าระหว่างชาวเมรอวินเจียนทำให้พวกเขามีโอกาสทำแบบนั้นได้มากขึ้น ชาวธูรินเจียนได้รับเอกราชหลังการสิ้นพระชนม์ของดาโกแบร์ต์ที่ 1 ในปี ค.ศ. 639 อากีแตนปฏิเสธที่จะยอมรับการปกครองของเมริวินเจียนหลังการฆาตกรรมชิลเดริกที่ 2 ในปี ค.ศ. 675 รัฐที่เป็นเอกราชอยู่แล้วอย่างบริตทานีกับบาวาเรียปลดปล่อยตนเองจากชาวแฟรงก์ในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 7 สุดท้ายอาเลมันนิหาทางจนได้เอกราชมาในปี ค.ศ. 709 – 712 การพิชิตที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันเทียบไม่ได้กับส่วนที่สูญเสียไป พื้นที่เล็กๆ ในเทือกเขาแอลป์ถูกพิชิตมาจากชาวลอมบาร์ดในปี ค.ศ. 575 และฟรีสแลนด์ตะวันตกถูกพิชิตในปี ค.ศ. 689 แต่ชาวฟรีเชียนก็ทำเหมือนกับพื้นที่ที่อยู่รอบนอกแห่งอื่นๆ พยายามกอบกู้อิสรภาพกลับคืนมาหลายครั้ง",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "240635#1",
"text": "ธรรมเนียมของการแบ่งดินแดนของพ่อระหว่างลูกชายหมายความว่าดินแดนแฟรงก์ปกครองเป็นอย่างหลวม ๆ เป็นจักรวรรดิที่แบ่งย่อยเป็นส่วนย่อย ๆ (ราชอาณาจักร หรือ อนุราชอาณาจักร) ที่ตั้งและจำนวนอนุราชอาณาจักรก็ต่างกันไปตามเวลา แต่ฟรังเกียโดยทั่วไปมาหมายถึงบริเวณหนึ่งที่เรียกว่าออสเตรเชีย ที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณแม่น้ำไรน์ และแม่น้ำเมิซ (Meuse) ทางตอนเหนือของยุโรป แต่กระนั้นบางครั้งก็จะครอบคลุมไปถึงนิวสเตรีย (Neustria) ทางเหนือของแม่น้ำลัวร์ และทางตะวันตกของแม่น้ำแซนในที่สุดบริเวณนี้ก็เคลื่อนมาทางปารีส และมาสิ้นสุดลงในบริเวณลุ่มแม่น้ำแซนรอบ ๆ ปารีส ที่ยังใช้ชื่ออีล-เดอ-ฟร็องส์ และเป็นชื่อในที่สุดก็กลายเป็นชื่อของราชอาณาจักรฝรั่งเศสทั้งราชอาณาจักร",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "17184#7",
"text": "หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึงพ.ศ. 2457 สวีเดนได้สูญเสียพื้นที่ราชอาณาจักรรวมถึงฟินแลนด์ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน ตั้งแต่พ.ศ. 2457 นั้น สวีเดนอยู่ในภาวะสันติ โดยที่มีนโยบายต่างประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดในช่วงสันติและเป็นกลางระหว่างสงคราม",
"title": "ประเทศสวีเดน"
},
{
"docid": "240635#11",
"text": "การพิชิตของชาร์เลอมาญนั้นใหญ่มากจนผู้คนมองว่าพระองค์ได้ฟื้นฟูจักรวรรดิโรมันตะวันตกกลับคืนมา หลังจากนั้นชาร์เลอมาญได้รับการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิโดยพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 800 แต่ธรรมเนียมการแบ่งราชอาณาจักรกันในหมู่พระโอรสของกษัตริย์ของชาวแฟรงก์ทำให้ความเป็นหนึ่งเดียวคงอยู่เพียงชั่วคราว ราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์ยังเป็นรัฐศักดินาร่วมกับการทำสงครามหาผลประโยช์ด้วยการปล้นประเทศเพื่อนบ้าน เมือราชอาณาจักรขยายอาณาเขตออกไป การปล้นหาผลประโยชน์ก็ลดลงพอๆ กับความจงรักภักดีของขุนนางในยามที่มองไม่เห็นโอกาสที่จะได้รางวัลมากมายจากการรับใช้ จึงทำให้จักรวรรดิของชาวแฟรงก์หลังการสิ้นพระชนม์ของชาร์เลอมาญในปี ค.ศ. 814 พังครืนภายใต้แรงกดดันทั้งจากภายในและภายนอก จนทำให้แตกออกเป็นรัฐศักดินาเล็กๆ จำนวนมากมาย",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "246633#0",
"text": "ราชอาณาจักรโรมัน (ละติน: Regnum Romanum) เป็นอาณาจักรที่มีผู้ปกครองเป็นกษัตริย์แห่งโรมซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรโรมันไม่เป็นที่ทราบแน่นอนเพราะไม่มีหลักฐานใดใดจากสมัยนั้นนอกจากประวัติศาสตร์ที่มาเขียนขึ้นภายหลังระหว่างสมัยสาธารณรัฐโรมันและในสมัยจักรวรรดิโรมันและส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาที่มาจากตำนาน แต่ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรโรมันเริ่มด้วยการก่อตั้งกรุงโรมที่เชื่อกันว่าเกิดขึ้นในปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชและมาสิ้นสุดลงด้วยการโค่นราชบัลลังก์และการก่อตั้งสาธารณรัฐในปี 509 ก่อนคริสต์ศักราช",
"title": "ราชอาณาจักรโรมัน"
},
{
"docid": "263790#4",
"text": "หลังการสิ้นพระชนม์ของพระนัดดาของชาร์ล คาร์โลมันที่ 2 เมื่อ 12 ธันวาคม ค.ศ. 884 ขุนนางเวสต์ฟังเกียเลือกพระปิตุลาของพระองค์ ชาร์ลผู้อ้วนพี ที่เป็นกษัตริย์ในอีสต์ฟรังเกีย (อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก) กับราชอาณาจักรอิตาลีอยู่แล้ว เป็นกษัตริย์ของตน พระองค์อาจได้รับการสวมมงกุฎ \"กษัตริย์แห่งกอล\" (\"เร็กซ์ อิน อัลเลีย\") เมื่อ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 885 ที่กร็องด์ รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาเดียวหลังการสิ้นพระชนม์ของหลุยส์ผู้ศรัทธาที่ฟรังเกียทั้งหมดถูกรวมเป็นหนึ่งเดียวกันอีกครั้งภายใต้ผู้ปกครองคนเดียว ด้วยสามารถที่มีในฐานะกษัตริย์แห่งเวสต์ฟรังเกีย พระองค์น่าจะมอบยศตำแหน่งและอาจจะเครื่องราชกกุธภัณฑ์ด้วย ให้แก่ผู้ปกครองกึ่งเอกเทศแห่งบริททานี อลันที่ 1 การรับมือกับชาวไวกิ้งที่ปิดล้อมปารีสใน ค.ศ. 885-86 ลดพระเกียรติภูมิของพระองค์ลงอย่างมาก ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 887 พระนัดดาของพระองค์ อาร์นูล์ฟแห่งคารินเธียก่อปฏิวัติและยึดเอาตำแหน่งกษัตริย์แห่งอีสต์ฟรังเกียไป ชาร์ลเกษียณตัวเองและสิ้นพระชนม์หลังจากนั้นไม่นาน เมื่อ 13 มกราคม ค.ศ. 888",
"title": "อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก"
},
{
"docid": "235071#1",
"text": "ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี ค.ศ. 987 พระเจ้าอูก กาแป จึงได้สถาปนาราชวงศ์กาเปเซียง ในขณะนั้นรัฐนี้ยังใช้ชื่อว่าฟรังเกีย และประมุขดำรงพระอิสริยยศเป็น \"พระมหากษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์\" () ต่อมาในปี ค.ศ. 1190 พระเจ้าฟิลิปที่ 2 จึงเปลี่ยนพระอิสริยยศเป็น \"พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส\" () ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงซึ่งเป็นมหาสาขาของราชวงศ์กาเปเซียงก็ได้ปกครองอาณาจักรต่อมาจนกระทั่งสิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1792",
"title": "ราชอาณาจักรฝรั่งเศส"
},
{
"docid": "247324#1",
"text": "ตระกูลกาแปมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1328 เมื่อไม่มีพระราชโอรสองค์ใดในสามองค์ของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 ที่สามารถมีทายาทสืบราชบัลลังก์ฝรั่งเศสได้ เมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 4 เสด็จสวรรคตราชบัลลังก์จึงตกไปเป็นของราชวงศ์วาลัวผู้สืบเชื้อสายโดยตรงมาจากชาร์ลแห่งวาลัว พระราชโอรสองค์รองในพระเจ้าฟิลิปที่ 3 ต่อมาราชบัลลังก์ก็ตกไปเป็นของราชวงศ์บูร์บงและราชวงศ์ออร์เลอ็อง ทั้งสองราชวงศ์สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 9) ซึ่งต่างก็สืบเชื้อสายไม่ทางใดทางหนึ่งก็มาจาก \"อูก กาแป\"",
"title": "ตระกูลกาแป"
},
{
"docid": "240635#10",
"text": "เปแปงผู้ตัวเตี้ยสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 768 และทิ้งราชอาณาจักรที่แข็งแกร่งที่สุดของยุโรปตะวันตกไว้ให้พระโอรสสองคน ชาร์เลอมาญกับแกร์โลมอง แกร์โลมองสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 771 และชาร์เลอมาญใช้แหล่งทรัพยากรที่มีอยู่ของราชอาณาจักรที่เป็นหนึ่งเดียวกันขยายอาณาเขตออกไปทุกทิศทุกทาง เมื่อชาวลอมบอร์ดคุกคามพระสันตะปาปาอีกครั้ง ชาร์เลอมาญบุกอิตาลีและตั้งตนเองเป็นกษัตริย์ของชาวลอมบาร์ดในปี ค.ศ. 774 ทว่าราชรัฐชั้นเจ้าชายเบเนเวนโตของชาวลอมบาร์ดในอิตาลียอมรับการเป็นใหญ่เหนือกว่าของชาร์เลอมาญเพียงช่วงสั้นๆ แตกต่างกับการพิชิตอาณาจักรของชาวลอมบาร์ดที่ทำได้อย่างรวดเร็ว การปราบชาวแซ็กซันทางตะวันออกเฉียงเหนือ (ค.ศ. 772 – 804) นั้นยาวนานและนองเลือก เพื่อทำลายความคิดที่จะต่อต้านของชาวแซ็กซัน ชาร์เลอมาญสังหารหมู่พวกเขาเป็นพันๆ คนและเนรเทศชาวแซ็กซันออกจากพื้นที่ ทำให้ชาวแฟรงก์กับชาวสลาฟเข้ามาแทนที่ แคว้นจึงสงบลงในท้ายที่สุด บาวาเรียที่มักเป็นข้าราชบริพารที่ไว้ใจไม่ได้ถูกผนวกเข้ากับราชอาณาจักรของชาวแฟรงก์ในปี ค.ศ. 788 หลังดยุคของรัฐสมคบคิดกับชาวลอมบาร์ดและชาวอาวาร์ จักรวรรดิของชาวอาวาร์ที่มีศูนย์กลางอยู่ในฮังการีถูกบดขยี้ในปี ค.ศ. 791 – 796 ทำให้พื้นที่ของชาวสลาฟในยุโรปกลางยอมรับความเป็นใหญ่เหนือกว่าของชาร์เลอมาญ ฟรีสแลนด์ตะวันออกถูกพิชิตในปี ค.ศ. 784 – 785 และบริตทานียอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของชาวแฟรงก์ในปี ค.ศ. 799 การสู้รบกับชาวอาหรับไม่ค่อยประสบความสำเร็จแต่ชาร์เลอมาญก็หาทางขยายอิทธิพลไปจนถึงแม่น้ำเอโบรได้ในปี ค.ศ. 812 แม้ชาวอาหรับจะเอาคืนด้วยการยึดเกาะบาเลียริกในปี ค.ศ. 798",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "240635#9",
"text": "เมื่อเปแปงแห่งเฮริสตันตายในปี ค.ศ. 714 หลานชายวัย 6 ปีของเขา เธอโดลด์ กลายเป็นสมุหราชมณเฑียรคนใหม่ ตำแหน่งที่ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลราชอาณาจักรในยามที่กษัตริย์เป็นผู้เยาว์บัดนี้เติบโตขึ้นมามีอำนาจมากจนตัวเองสามารถถูกสืบทอดได้โดยคนที่ยังเป็นผู้เยาว์ แต่บุตรชายนอกกฎหมายของเปแปง ชาร์ลส์ มาร์แตล ไม่ยอมรับการถ่ายโอนอำนาจครั้งนี้และประกาศตนเป็นสมุหราชมณเฑียรและกลายเป็นผู้ปกครองคนแรกของราชวงศ์การอแลงเฌียงที่ริบอำนาจของชาวเมรอวินเจียนมาได้ หลายทศวรรษต่อมาสงครามเกิดขึ้นไม่ขาดเมื่อชาวการอแลงเฌียงพยายามพิชิตอาณาเขตที่เสียไปกลับคืนมาและรับมือกับการโจมตีจากชาวอาหรับ ที่การรุกรานของพวกเขาในปี ค.ศ. 732 ถูกขับไล่ออกไปในสมรภูมิที่ปัวติเยร์ส์ การต่อสู้เพื่อสร้างความเป็นหนึ่งเดียวให้กับราชอาณาจักรนั้นยากลำบากแต่ก็ประสบความสำเร็จ ธูรินเจีย, อาเลมันนิ และบาวาเรียสุดท้ายก็ถูกปราบในปี ค.ศ. 744 บาวาเรียกรักษาเอกราชเก่าแก่ของตนไว้ได้แต่ยกพื้นที่ที่อยู่ตอนเหนือของแม่น้ำดานูบทั้งหมดให้ ชาวแฟรงก์ยึดอำนาจเหนือเกาะบาเลียริกในปี ค.ศ. 754 และพิชิตเซปติมาเนียมาจากชาวอาหรับในปี ค.ศ. 759 อากีแตนถูกพิชิตอีกครั้งในปี ค.ศ. 768 การสานสัมพันธไมตรีกับพระสันตะปาปานำไปสู่การสู้รบสองครั้งกับชาวลอมบาร์ดที่ประสบความสำเร็จในปี ค.ศ. 754 และ 756 ในเวลาเดียวกันชาวการอแลงเฌียงเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับอำนาจของตนภายในราชอาณาจักของชาวแฟรงก์ และเปแปงผู้ตัวเตี้ยถอดกษัตริย์เมรอวินเจียนคนสุดท้ายออกจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 751 และทำให้ตนเองได้รับเลือกเป็นกษัตริย์",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "240635#3",
"text": "ชาวซาเลียนแฟรงก์ไม่ใช่ชนชาวแฟรงก์กลุ่มเดียวที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของโรมัน ในราวปี ค.ศ. 430 ชาวแฟรงก์อีกกลุ่มได้รับอนุญาตให้ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ทางตะวันตกของอาณาเขตของชาวซาเลียนแฟรงก์ ชาวแฟรงก์กลุ่มดังกล่าวมาจากทางตะวันออกของแม่น้ำไรน์และถูกเรียกว่าชาวริปูอาเรียนแฟรงก์ ครองพื้นที่ระหว่างแม่น้ำเมิซกับแม่น้ำไรน์ ชาวแฟรงก์กลุ่มที่ยังคงอยู่ในอาณาเขตดั้งเดิมของชาวแฟรงก์ทางตะวันอออกของแม่น้ำไรน์ ถูกเรียกว่าชาวแฟรงก์ตะวันออก ชนชั้นผู้นำของชาวแฟรงก์คือชาวซาเลียนแฟรงก์ กษัตริย์ของพวกเขารวมชาวแฟรงก์ทั้งหมดเข้าด้วยกันในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์เหล่านี้เรียกตัวเองว่า เมรอวินเจียน เพราะพวกเขาสืบเชื้อสายมาจากเมรอเวช ที่ชาวแฟรงก์เชื่อกันว่าเป็นบุตรชายของสิ่งมีชีวิตจากสวรรค์",
"title": "ราชอาณาจักรแฟรงก์"
},
{
"docid": "224175#6",
"text": "ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม การเสียชีวิตของจอนคยอนได้สร้างความเปลี่ยนแปลงอย่างมากแก่ราชสำนัก และยังเป็นการสิ้นสุดตำแหน่งเจ้ากรมมหาดเล็ก คงเหลือไว้แต่เพียงตำแหน่ง \"หัวหน้ามหาดเล็กสูงสุด\" ที่ทำหน้าที่ดูถวายงานใกล้ชิดพระราชาที่ไม่มีสิทธิและอิทธิพลในการสั่งการทหารคนใดในวัง",
"title": "ช็อนกยุน"
}
] |
3981 | เรสเซิลเมเนีย XXVI ถูกจัดขึ้นเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "246123#0",
"text": "เรสเซิลเมเนีย XXVI เป็นการแสดงมวยปล้ำอาชีพแบบ Pay-Per-View (PPV) ของศึก เรสเซิลเมเนีย เป็นครั้งที่ 26 จัดโดย เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE), โดยมีกำหนดจัดวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 2010 ที่ ยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ ฟีนิกซ์ สเตเดียม ใน เกลนเดล, แอริโซนา.[1] โดย เรสเซิลเมเนีย ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่มาจัดใน รัฐแอริโซนา และเป็น เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 3 ที่เป็นการแสดงกลางแจ้ง[1][2] โดยเป็นศึกที่รวมการแสดงนักมวยปล้ำแต่ละค่ายของ WWE เอาไว้ทั้งหมด โดยก่อนเริ่มศึกได้มีการร้องเพลง America the Beautiful ก่อนที่จะเริ่มต้นรายการอีกด้วย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
}
] | [
{
"docid": "237984#6",
"text": "อันเดอร์เทเกอร์ ได้เจอกับ จิมมี สนูกกา ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 7 เป็นครั้งแรกของ อันเดอร์เทเกอร์ และสามารถเอาชนะไปมาได้สำเร็จด้วยสถิติ 1-0 (สมัยนั้นยังไม่การจดจำสถิติ) ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 8 ได้เอาชนะเจก โรเบิตส์ เพิ่มสถิติเป็น 2-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 9 ได้เอาชนะไจแอนท์ ก็อนซาเลซไปแบบ DQ เป็นสถิติ 3-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 11 ได้เอาชนะคิงคองบันดี ด้วยสถิติ 4-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 12 ได้เอาชนะเควิน แนชด้วยสถิติ 5-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 13 ได้เอาชนะไซโค ซิด ในแมตช์ไม่มีกติกาชิงแชมป์ WWF ทำให้ได้แชมป์ WWF และสร้างสถิติ 6-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 14 ได้เอาชนะน้องชายอย่างเคนด้วยสถิติ 7-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 15 ได้เอาชนะบิ๊กบอสแมน ในกติกานรกในกรงเหล็ก ผู้แพ้ถูกจับแขวนคอ เพิ่มสถิติ 8-0 อันเดอร์เทเกอร์ได้มารับบทอเมริกัน แบด แอส (นักเลงขี่มอเตอร์ไซค์ชาวอเมริกัน) และได้เอาชนะทริปเปิลเอช ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 17 สร้างสถิติ 9-0 ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 18 ได้เอาชนะริก แฟลร์ ทำสถิติชนะครบ 10 ครั้ง (เป็นการนับสถิติไร้พ่ายของอันเดอร์เทเกอร์อย่างเป็นทางการครั้งแรก)",
"title": "ดิอันเดอร์เทเกอร์"
},
{
"docid": "218758#1",
"text": "ในฝั่งของรอว์ คริส เจอริโค ได้มีเรื่องกับนักมวยปล้ำในตำนาน ได้แก่ ริกกี สตีมโบต, จิมมี สนูกกา, ร็อดดี ไพเพอร์ และริก แฟลร์ จนทำให้ต้องเจอกันในเรสเซิลเมเนีย โดยมีริก แฟลร์ยีนอยู่ข้างเวทีด้านของแรนดี ออร์ตัน ชึ่งในรอยัลรัมเบิล (2009) ออร์ตันได้เป็นผู้ชนะรอยัลรัมเบิล ซึ่งมีสิทธิ์ในการชิงแชมป์โลกในเรสเซิลเมเนีย และได้เลือกชิงแชมป์ WWEกับทริปเปิลเอช ซึ่งเป็นลูกเขยของตระกูลแม็กแมนรอคอยการแก้แค้นให้พ่อตาจึงท้าให้ออร์ตันชิงแชมป์กับเขาในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25ในฝั่งของสแมคดาวน์ โดยทางด้านของแมทท์ ฮาร์ดี และเจฟฟ์ ฮาร์ดี ชึ่งในรอยัลรัมเบิล (2009) แมทท์ได้เอาเก้าอี้ฟาดใส่เจฟฟ์ จนทำให้เจฟฟ์เสียแชมป์ WWE ให้กับเอดจ์ เป็นเพราะแมทท์อิจฉาเจฟฟ์ นอกจากนี้ แมทท์ยังได้ยิงพลุใส่เจฟฟ์ ขับชนใส่เจฟฟ์ และยังเผาบ้านเจฟฟ์ จนทำให้หมาของเจฟฟ์ตาย ทั้งคู่จึงกลายมาเป็นศัตรูคู่แค้นกันจนในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25 แมทท์และเจฟฟ์จะต้องเจอกันในแมตช์ Extreme Rules ในรายการรอว์ มีการคัดเลือกนักมวยปล้ำจากรอว์ ไปปล้ำกติกา Money In The Bank จำนวน 6 คน โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 8 คน โดยผู้ชนะจะสามารถท้าชิงแชมป์อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาใดก็ได้ ด้านของจอห์น ซีนา ซึ่งในNo Way Out (2009) ซีนาต้องป้องกันแชมป์โลกเฮฟวี่เวท ในกรงเหล็กมรณะ หรือ Elination Chamber กับนักมวยปล้ำถึง 5 คน ได้แก่ เรย์ มิสเตริโอ, เคน, ไมค์ นอกซ์, คริส เจริโค และโคฟี คิงส์ตัน ผลปรากฏว่า ตอนเปิดตัว เอดจ์ได้วิ่งเข้ามาลอบทำร้ายโคฟี หลังจากเสียแชมป์ WWE ให้กับทริปเปิลเอชไปแล้ว ทำให้โคฟีหมดสิทธิ์การปล้ำ และเอดจ์ก็เข้าไปในกรงแทน และก็ใช้กลโกงสารพัดจนกระชากเข็มขัดแชมป์โลกเฮฟวี่เวทไปจากซีนา ซีนาแค้นมากที่ตนเสียแชมป์โลกให้เอดจ์ ตนจึงพยายามหาโอกาสชิงเข็มขัดคืนมา แต่ก็ไม่ได้ซักที เพราะวิกกี เกร์เรโร ภรรยาของเอดจ์ ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของสแมคดาวน์ ได้กีดกันทุกวิถีทางไม่ให้เอดจ์ได้เจอกับซีนา แต่ซีนาก็ไม่ยอมแพ้ ขู่วิกกีเรื่องที่เธอแอบเป็นกิ๊กกับบิ๊กโชว์ จนเธอจำต้องยอมให้ซีนา ได้ชิงแชมป์กับเอดจ์ แต่สุดท้ายความจริงก็ปรากฏให้เอดจ์ รู้ว่าเธอปันใจให้กับ บิ๊กโชว์ ทำให้คู่นี้กลายเป็นศัตรูกัน ทั้งๆที่กะจะรุมซีนาแต่แรก 3 คนนี้ได้เจอกันในเรสเซิลเมเนียชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวท",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25"
},
{
"docid": "429505#1",
"text": "เรื่องราวการชิงแชมป์ WWE ระหว่าง เดอะ ร็อก กับ จอห์น ซีนา ในศึก รอยัลรัมเบิล (2013) จอห์น ซีนาได้เป็นผู้ชนะรอยัลรัมเบิล โดยเหวี่ยงไรแบ็กเป็นคนสุดท้าย ทำให้ซีนาสามารถเลือกได้ว่าจะไปชิงแชมป์ WWE หรือ แชมป์โลกเฮฟวี่เวท ในเรสเซิลเมเนีย โดยซีนาเลือกที่จะชิงแชมป์ WWE กับ เดอะ ร็อก ในรอว์ คืนวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013 ได้มีการหาผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์ WWE ในเรสเซิลเมเนีย ระหว่าง ซีนา กับ ซีเอ็ม พังก์ ผลปรากฏว่าเป็นซีนาเป็นฝ่ายชนะไป และได้ไปชิงแชมป์ WWE กับ เดอะ ร็อก ในศึก เรสเซิลเมเนีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 29"
},
{
"docid": "246123#3",
"text": "2 ซิงเกิ้ลเพลงจาก Kevin Rudolf ได้ถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ โดยการจัดจำหน่ายบัตรใช้เพลง Welcome to the World ในเดือน พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2009 [4] และในเดือน มกราคม ปี ค.ศ. 2010 WWE ได้จัดทำโฆษณาการนับถอยหลังของ เรสเซิลเมเนีย คือ เพลง ไอ เมด อิท [5] เพลง ไอ เมด อิท เป็นเพลงล่าสุดที่ใช้เป็นเพลงประจำศึก เรสเซิลเมเนีย และในวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2010 ระหว่างการจัดรายการ สแมคดาวน์ ได้มีการประชาสัมพันธ์ว่า เพลงในอัลบั้ม AD/DC ไอร่อนแมน 2 คือ เพลง ทันเดอร์สตรัค จะใช้เป็นเพลงประจำศึก เรสเซิลเมเนีย อีก 1 เพลง",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "391003#60",
"text": "26. Retrace XXVI : The Pool of Tears ",
"title": "แพนโดร่า ฮาร์ท"
},
{
"docid": "347305#1",
"text": "โดยตั๋วได้ออกจำหน่ายตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 เรสเซิลเมเนีย ครั้งที 23 ทำรายได้ไปถึง 5.38 ล้านในการจำหน่ายตั๋ว ซึ่งทำลายสถิติก่อนหน้านี้อยู่ที่ 3.9 ล้านที่จัดขึ้นในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 18 ต่อมาตั้งแต่ปี 2013 ได้กลายเป็นศึกที่มีผู้เข้าชมในสนามมากที่สุดอันดับที่สองในประวัติศาสตร์เรซเซิลมาเนีย ซึ่งถูกทำลายสถิติด้วยผู้เข้าชมในสนาม 80,676 คน ในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 29",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23"
},
{
"docid": "881015#1",
"text": "ต่อไปนี้การค้นพบดาวแมบได้รับการแต่งตั้งชั่วคราว S / 2003 U1 และดวงจันทร์ยังถูกกำหนดให้ดาวยูเรนัส XXVI",
"title": "แมบ (ดาวบริวาร)"
},
{
"docid": "246123#4",
"text": "เรสเซิลเมเนีย กับ ประเภทแมตช์การปล้ำ จะถูกกำหนดโดย การวางพล็อตเรื่อง และ เขียนบท โดยที่ เรสเซิลเมเนีย ทำการแสดงไม่เกี่ยวกับรายการทีวีของ WWE รายการใดทั้งสิ้น โดยนักมวยปล้ำจะถูกวางตัวให้เป็น ตัวร้าย หรือ ซุปเปอร์ฮีโร่ ทั้งหมดโดยการจัดแมชท์[6] นักมวยปล้ำทั้งหมดที่มาจาก รอว์ และ สแมคดาวน์ บางคนเท่านั้นที่มีความบาดหมางจากรายการทีวีของ WWE จะได้มาแสดงที่ เรสเซิลเมเนีย [7]",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "832115#9",
"text": "หลังจากพลาดการเป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 แชมป์ Universal ในการปล้ำ Elimination Chamber คืนต่อมา แชมป์ Intercontinental The Miz ออกมาโวยวายว่าเขาสมควรเป็นหนึ่งในคู่เอกเรสเซิลเมเนีย พร้อมกับบอกว่าจะทำให้แชมป์ Intercontinental มีค่ามากกว่าแชมป์ Universal แต่ Kurt Angle ก็ไม่เคยเคารพเขา แถมยังบอกว่าจะจัดแมตช์ให้ในวันนี้เพื่อที่จะหาคนมาท้าชิงแชมป์ซึ่ง Seth Rollins ออกมาเป็นคู่ต่อสู้และเอาชนะ Miz ไปได้ จากนั้น Finn Balor ออกมาเป็นคู่ต่อสู้ให้ Miz อีกคนแต่ Miztourage ขึ้นรุม Balor ทำให้ Gallows & Anderson ขึ้นมาร่วมแจมด้วย Angle ออกมาสั่งให้เริ่มแมตช์ใหม่พร้อมทั้งแบนผู้ติดตามทั้งสองฝ่าย แถมยังบอกว่าถ้าแมตช์นี้จบไม่สวยเขาจะไม่ให้ Miz ปล้ำในเรสเซิลเมเนีย ปรากฏว่า Balor เอาชนะไปได้ หลังเวที Rollins ประกาศท้าชิงแชมป์ Intercontinental กับ Miz ในเรสเซิลเมเนีย สัปดาห์ต่อมา Rollins และ Balor ได้ร่วมมือกันจัดการกับ Miztourage แบบแฮนดิแคปไปได้ หลังแมตช์ Angle ประกาศให้ Miz ป้องกันแชมป์กับ Rollins และ Balor แบบ 3 เส้าที่เรสเซิลเมเนีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 34"
},
{
"docid": "832115#2",
"text": "ในวันที่ 8 เมษายนก่อนที่จะเริ่มเรสเซิลเมเนีย 34 นั้น WWE และ Snickers จะจัดงานบล็อกปาร์ตีเรสเซิลเมเนียที่ลาน Champions Square นอกจากนี้คู่หูอเมริกัน Chloe x Halle จะมาร่วมร้องเพลง \"America the Beautiful\" เปิดรายการเรสเซิลเมเนีย 34",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 34"
},
{
"docid": "448934#0",
"text": "ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด () เป็นชื่อที่กำหนดโดยสหประชาชาติซึ่งแสดงถึงการที่มีค่าดัชนีการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ มีค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์ต่ำ เมื่อจัดลำดับเทียบกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก แนวคิดของการจัดกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยที่สุดเกิดขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2512–2513 รายชื่อประเทศพัฒนาน้อยที่สุดกลุ่มแรกถูกกำหนดโดยสหประชาชาติในข้อมติที่ 2768 (XXVI) เมื่อ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ประเทศที่จะถูกจัดว่าเป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุดจะต้องมีลักษณะสามประการนี้ ได้แก่ ",
"title": "ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด"
},
{
"docid": "832115#5",
"text": "Asuka ได้เป็นผู้ชนะ Royal Rumble ของผู้หญิงครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ทำให้สามารถเลือกชิงแชมป์หญิง Raw หรือ SmackDown เส้นไหนก็ได้ที่เรสเซิลเมเนีย ทางด้าน Commissioner ของ Raw Stephanie McMahon บอกว่า Asuka ยังไม่ต้องตัดสินใจก็ได้ว่าจะเลือกชิงแชมป์คนไหน เพราะ Alexa Bliss ต้องป้องกันแชมป์หญิง Raw ใน Elimination Chamber นอกจากนี้ Asuka ยังต้องเจอกับ Nia Jax ซึ่งถ้า Jax ชนะจะได้ร่วมชิงแชมป์เป็น 3 เส้าที่เรสเซิลเมเนีย ซึ่ง Bliss ป้องกันแชมป์ได้และ Asuka ชนะ Jax ใน Fastlane หลังจากที่แชมป์หญิง SmackDown อย่าง Charlotte Flair สามารถป้องกันแชมป์กับ Ruby Riott ไว้ได้ Asuka ได้ข้ามค่ายออกมาท้าชิงแชมป์กับ Charlotte ที่เรสเซิลเมเนีย ส่วน Bliss ต้องป้องกันแชมป์กับ Nia Jax",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 34"
},
{
"docid": "246123#1",
"text": "ก่อนการคัดเลือกสถานที่ที่ต้องใช้จัด ในศึก เรสเซิลเมเนีย ในปี 2010 ทาง Global Spectrum, ซึ่งเป็นผู้ประสานงานของสนามกีฬาของมหาวิทยาลัยฟินิกซ์ได้ติดต่อไปทาง เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) ให้ร่วมคัดเลือกสถานที่นี้ ให้เป็นสถานที่จัดของ เรสเซิลเมเนีย ในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2008 ทาง WWE ได้คัดเลือกให้สถานที่นี้จัด ศึก เรสเซิลเมเนีย ในปี 2010.[3] โดยมีการแถลงข่าวในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ที่สนาม ยูนิเวอร์ซิตี้ ออฟ ฟีนิกซ์ สเตเดียมซ์ ว่านี้ คือ จุดสำคัญที่ เรสเซิลเมเนีย ได้มาจัด ณ รัฐฟินิกซ์ เป็นครั้งแรก โดยถือว่าเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น โดยบัตรจำหน่ายที่ ทิคเกตส์มาสเตอร์ ในเวลา 10.00 น. ตามเขตเวลา MST",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "255599#3",
"text": "ในรายการ รอว์ มีการคัดเลือกนักมวยปล้ำจากรอว์ ไปปล้ำกติกา Money In The Bank จำนวน 7 คน โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 7 คน โดยผู้ชนะจะสามารถท้าชิงแชมป์อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาใดก็ได้",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24"
},
{
"docid": "254297#7",
"text": "เรย์ได้เปิดศึกกับโคดี โรดส์และท้าเจอกันในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 โดยเรย์เป็นฝ่ายแพ้ ต่อมาเรย์ได้ย้ายไปอยู่รอว์ จากผลการดราฟท์ ในรอว์ 25 เมษายน ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2011)เรย์สามารถเอาชนะโคดีในแมตช์จับกดที่ไหนก็ได้และล้างแค้นโคดีได้สำเร็จ ในรอว์ เรย์ได้ปล้ำสามเส้ากับเดอะมิซและอัลเบร์โต เดล รีโอ เพื่อหาผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์ WWE กับจอห์น ซีนา ใน I Quit Match ในโอเวอร์ เดอะ ลิมิต (2011) ซึ่งเดอะมิซเป็นฝ่ายชนะ หลังแมตช์อาร์-ทรูธได้มาลอบทำร้ายเรย์ ต่อมาเรย์ได้ขอท้าเจอกับทรูธ ในโอเวอร์เดอะลิมิต แต่เรย์ก็เป็นฝ่ายแพ้ไป ในแคปิเทล พูนิชเมนท์ เรย์ได้แพ้ให้ซีเอ็ม พังก์ ในรอว์ 25 กรกฎาคม เรย์ได้เจอกับเดอะมิซ ผู้ชนะก็จะได้แชมป์ WWE ทันที สุดท้ายเรย์ได้เป็นผู้ชนะและคว้าแชมป์ WWE เป็นสมัยแรกมาได้สำเร็จ คืนเดียวกัน เรย์ต้องป้องกันแชมป์กับจอห์น ซีนา สุดท้ายเรย์ก็เสียแชมป์ให้กับซีนา ในรอว์ 15 สิงหาคม เรย์ได้ชิงแชมป์ WWE กับอัลเบร์โต เดล รีโอ เจ้าของตำแหน่ง สุดท้ายเรย์ก็ไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้ หลังแมตช์ เดล รีโอได้ลอบทำร้ายเรย์จนได้รับบาดเจ็บ แต่ซีนาออกมาขัดขวางเอาไว้ หลังจากนั้น เรย์ก็ต้องพักการปล้ำยาวนานหลายเดือน ในรอว์ 12 ธันวาคม เรย์ได้ออกมาปรากฏตัวและประกาศมอบรางวัลสแลมมีอวอร์ด ซุปเปอร์สตาร์แห่งปี ถึงแม้อาการบาดเจ็บของเรย์ยังไม่หายดี วันที่ 26 เมษายน 2012 เว็บไซต์ WWE.com ได้ประกาศว่าเรย์ถูกแบนเป็นเวลา 60 วัน หลังจากไม่ผ่านการตรวจสุขภาพตามระเบียบการของสมาคม สำหรับการฝ่าฝืนระเบียบการของสมาคม ซึ่งเป็นการถูกแบนครั้งที่สองแล้ว ถ้าหากมีครั้งที่สามเมื่อไหร่ เรย์จะถูกไล่ออกในทันที",
"title": "เรย์ มิสเตริโอ"
},
{
"docid": "648438#3",
"text": "เป็น เรสเซิลเมเนีย ครั้งแรกที่มีโลโก้ซึ่งเป็นปุ่ม \"เล่น\" สีแดง ตามในบทความข่าวของ ซาน โฮเซ เมอร์คิวรี, วินซ์ แม็กแมน อธิบายปุ่มเล่นแสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญทางเทคนิคของ Silicon Valley เพลงประกอบศึก เรสเซิลเมเนีย มีชื่อเพลงว่า \"Rise\" โดย David Guetta feat. Skylar Grey และ \"Money and the Power\" โดย Kid Ink และมีการประกาศว่า ศิลปินแร็ปชื่อดีกรี รางวัลแกรมมี อย่าง แอลแอล คูล เจ จะมามีส่วนร่วมในช่วงเปิด เรสเซิลเมเนีย และได้มีการประกาศอีกว่าศิลปินนักร้องอย่าง Kid Ink, Skylar Grey ร่วมด้วยตำนานมือกลองอย่าง Travis Barker จะมาขึ้นแสดงมินิคอนเสิร์ตในรายการนี้ด้วย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 31"
},
{
"docid": "246123#8",
"text": "ได้มีการคัดเลือกนักมวยปล้ำไปปล้ำกติกา Money In The Bank จำนวน 10 คน โดยผู้ชนะจะสามารถท้าชิงแชมป์อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาใดก็ได้ [22] โดยผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้แก่ คริสเตียน, ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์, เคน, ดรูว์ แม็กอินไทร์, เชลตัน เบนจามิน, แจ็ก สแวกเกอร์, เอ็มวีพี, แมต ฮาร์ดี, อีแวน บอร์น และโคฟี คิงส์ตัน[23][24]",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "896552#1",
"text": "พีระมิดแห่งนี้ถูกละเลยโดยนักโบราณคดีในสมัยก่อน การเจอพีระมิดครั้งแรกเจอโดยคาร์ล ริชาร์ด ผู้ซึ่งเรียกมันว่า Lepsius XXVI แต่การวิจัยเกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2517 โดยทีมมหาวิทยาลัยในประเทศเช็ก มีการเจอรูปปั้นประกอบด้วยข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับฟาโรห์เนเฟอร์อิร์คาเรพร้อมข้อความระยะสั้นว่า nTri bAw nfrf ra (\"พระเจ้าเป็นอำนาจของเนเฟอร์อิร์คาเร\") พีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเรไกลที่สุดในทะเลทรายของพีระมิดแห่งอบิวเสียทั้งหมด เป็นพีระมิดที่มีขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศอียิปต์รองจากจากพีระมิดแห่งเอนัส",
"title": "พีระมิดเนเฟอร์อิร์คาเร"
},
{
"docid": "246123#2",
"text": "ในปี ค.ศ. 2010 รูปแบบการจัดศึก เรสเซิลเมเนีย ได้ลงนิตยสารของ WWE แสดงภาพว่า ระหว่างการจัดศึก เรสเซิลเมเนีย จะมีการเปิดหลังคาของสนามเพื่อให้โล่งแจ้งอีกด้วย หลังจากที่มีการจัด เรสเซิลเมเนีย ในที่โล่งแจ้งมาแล้ว 2 ครั้ง คือ เรสเซิลเมเนีย IX และ เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "246123#11",
"text": "เรสเซิลเมเนีย XXVI หมวดหมู่:มวยปล้ำอาชีพในปี พ.ศ. 2553",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "361116#14",
"text": "เรื่องราวของการชิงแชมป์ ของ โคดี โรดส์ และ บิ๊กโชว์ เพื่อชิงแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล ในรอว์ (20 กุมภาพันธ์ 2012) ในแมตช์แบทเทิลรอยัล โดยเหลือ คริส เจอริโค กับ บิ๊กโชว์ ซึ่งเจอริโคได้เป็นผู้ชนะ จากการช่วยเหลือของโคดี โดยดึงมือบิ๊กโชว์ ลงมาข้างล่าง ทำให้บิ๊กโชว์ได้วิ่งไล่ตามโคดีไป ต่อมาโคดีได้ทำคลิปล้อเลียนบิ๊กโชว์ โดยเอาภาพเหตุการณ์ที่น่าอับอายของบิ๊กโชว์ ในเรสเซิลเมเนีย แต่ละครั้งมาล้อเลียน และถูกเรียกว่าเป็นตัวตลกของเรสเซิลเมเนีย ทุกๆ ปี ทำให้บิ๊กโชว์แค้นมากและได้ขอท้าเจอกันในเรสเซิลเมเนีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28"
},
{
"docid": "17481#0",
"text": "วันสหประชาชาติ ได้ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อแจ้งให้ผู้คนทั่วโลกทราบถึงเป้าหมาย จุดประสงค์และการบรรลุผลของสหประชาชาติ โดยกำหนดวันที่กฎบัตรสหประชาชาติ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 เป็นวันกำเนิดขององค์การสหประชาชาติ และในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ได้มีมติของสหประชาชาติที่ 2782 (XXVI) สนับสนุนให้วันสหประชาชาติเป็นวันหยุดประจำชาติในประเทศสมาชิกทุกๆ ประเทศ",
"title": "วันสหประชาชาติ"
},
{
"docid": "881015#0",
"text": "แมบ (/ mæb / MAB) หรือ ยูเรนัส XXVI เป็นดาวที่อยู๋วงโคจรด้านในของดาวยูเรนัส มันถูกค้นพบโดย Mark R. Showalter และ Jack J. Lissauer ในปี 2003 โดยใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล มันถูกตั้งชื่อตามราชินีแมบ นางฟ้าราชินีจากชาวบ้านที่พูดถึงในอังกฤษ โดยวิลเลียม เชคสเปียร์จากละครโรมิโอและจูเลียต",
"title": "แมบ (ดาวบริวาร)"
},
{
"docid": "246123#7",
"text": "อีกหนึ่งคู่ที่มีการปล้ำเพื่อชิงเข็มขัด แชมป์ WWE ในศึก เรสเซิลเมเนีย คือ จอห์น ซีนา พบ บาทิสตา โดยเริ่มจากที่ จอห์น ซีนา กับ เบรต ฮาร์ต มีปัญหากับ เจ้าของ WWE วินซ์ แม็กแมน[18] ต่อมา ในศึกรอว์ ในเดือนกุมภาพันธ์ บาทิสตา มาช่วย วินซ์ และทำร้ายเบรต[19] หลังจากที่การปล้ำจบลง ซีนาได้ออกมาช่วยเบรต และ โจมตี บาทิสตา[20] ต่อจากนั้นใน รายการ อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2010) ในแมทช์เปิดรายการ ซีนา ชนะ เชมัส คว้าแชมป์ WWE มาครอง ในแมตท์ อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ เพื่อการชิงแชมป์ WWE แต่หลังจากที่จบแมชท์ วินซ์ได้ประกาศให้ บาทิสตา ชิงแชมป์ WWE กับ ซีนา ต่อจากนั้นโดยทันที โดยที่ ซีนา พึ่งปล้ำเสร็จ ยังไม่ได้รับการพักผ่อน ทำให้ ซีนา แพ้ บาทิสตา พร้อมกับเสียแชมป์โลก WWEไปอีกด้วย [21] ในศึกรอว์ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ ซีนา แค้นมากจึงขอท้าเจอ บาทิสตา รีแมตช์ ในศึก เรสเซิลเมเนีย แต่วินซ์ให้ ซีนา รีแมตช์ กับ บาทิสตา ในรายการวันนั้น ให้ชนะ จึงจะได้รีแมตช์ ในศึก เรสเซิลเมเนีย และในคืนนั้น จอห์น ซีนา ชนะ ฟาล์ว จึงได้ ไปปล้ำชิงแชมป์ WWE ในศึก เรสเซิลเมเนีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26"
},
{
"docid": "703994#8",
"text": "เรื่องราวสู่ เรสเซิลเมเนีย 32 ยังไม่ได้รับการตอบรับดีจากนักวิจารณ์ เจสันพาวเวลของโปรมวยปล้ำ Dot Net เสียใจที่ \"สร้างเพื่อเรสเซิลเมเนีย ได้รับระเบียบความคิดสร้างสรรค์\" และ WWE บัญชีรายชื่อที่ได้รับบาดเจ็บตีไม่ได้แก้ตัว \"บุ๊กกิ้งเลอะเทอะหรือเรื่องราวที่มีช่องว่างใหญ่และช่องว่างตรรกะ\"[19] เจฟฟ์ แฮมลินแห่ง Wrestling Observer criticized \"มีโมเมนตัมสำหรับเรสเซิลเมเนีย ไม่เป็นที่ทั้งหมด กรณีที่ขายตัวเองหมดจดในชื่อแบรนด์ของตน\"[20] เบนทักเกอร์ของโปรมวยปล้ำไฟฉายเขียน \"ไม่ได้ตั้งแต่เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 13 ของ WWE ซูเปอร์โบว์ลมาร่วมกันในการดังกล่าวเป็นแฟชั่นที่แปลกประหลาดกับ WWE ทำให้บางส่วนของมากที่สุดในการตัดสินใจหัวเกาผมเคยเห็นในทุกเพศทุกวัย\"[21] ไคล์ Fowle ของ A.V. Club ประกาศว่า WWE ของ \"เรือมุ่งตรงไปที่โขดหิน\" และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง \"ศึกชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวทเป็นภัย\"[22]",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 32"
},
{
"docid": "703994#7",
"text": "เรสเซิลเมเนีย กับประเภทแมตช์การปล้ำ จะถูกกำหนดโดยการวางพล็อตเรื่อง และเขียนบท โดยนักมวยปล้ำจะถูกวางตัวให้เป็น ธรรมะ หรือ อธรรม ทั้งหมดโดยการจัดแมตช์ นักมวยปล้ำทั้งหมดของ WWE บางคนเท่านั้นที่มีความบาดหมางจากรายการทีวีของ WWE จะได้มาแสดงที่เรสเซิลเมเนีย[17][18]",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 32"
},
{
"docid": "313907#12",
"text": "บัตรได้จัดจำหน่ายในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2010 โดยงานที่จะจัดก่อนถึง เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 มีชื่อเรียกรวมกันว่า \"WrestleMania Week\" โดยมีงาน เรสเซิลเมเนีย แอ๊กซ์เซส สำหรับแฟนๆ ได้มาพบปะ และพูคุยกัน กับ นักมวยปล้ำ ,งาน ฮอลล์ ออฟ เฟม สำหรับการมอบรางวัลให้กับนักมวยปล้ำ ที่ได้เข้าสู่หอเกียรติยศ,งาน เรสเซิลเมเนีย อาร์ต ครั้งที่ 4 สำหรับให้นักมวยปล้ำนำภาพมาแสดง , และงาน Pro-Am Golf tournament. โดยที่เรสเซิลเมเนีย แอ๊กซ์เซส จัดที่ จอร์เจีย เวิร์ด คองเกรส เซ็นเตอร์, ส่วนงาน ฮอลล์ ออฟ เฟม จัดขึ้นที่ ฟิลิปส์ อารีน่า",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27"
},
{
"docid": "832115#11",
"text": "ใน Fastlane Randy Orton ได้คว้าแชมป์ United States จาก Bobby Roode ทำให้เป็นแชมป์แกรนด์สแลมคนที่ 18 ของ WWE หลังแมตช์ Jinder Mahal ออกมาไล่อัด Orton แต่ Roode มาจัดการ Glorious DDT ใส่ทั้ง Mahal และ Orton ต่อมาใน SmackDown 13 มีนาคม Roode ได้ขอท้ารีแมตช์ชิงแชมป์ US กับ Orton ที่เรสเซิลเมเนีย Mahal ก็ออกมาเยาะเย้ยทั้งคู่และมีแมตช์เอาชนะ Roode ไปได้ ก่อนโดน Orton ใส่ RKO และมีการประกาศชิงแชมป์ US 3 เส้าระหว่าง Orton, Roode และ Mahal ที่เรสเซิลเมเนีย ใน SmackDown 27 มีนาคม Mahal ได้ร่วมทีมกับ Rusev ชนะ Orton กับ Roode ไปได้โดย Rusev เป็นคนจับกด Orton และได้มีการประกาศเพิ่ม Rusev เข้าร่วมชิงแชมป์ US เป็น 4 เส้าที่เรสเซิลเมเนีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 34"
},
{
"docid": "313907#11",
"text": "ในกันยายน ปี 2009 มีการรายงานว่าเมืองแอตแลนต้าได้เข้าร่วมการคัดเลือกเมืองที่จะเป็นสถานที่ ที่จะจัด เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 โดยใช้สถานที่จัดคือ จอร์เจีย โดม.โดยเมื่อมีการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2010 เมืองแอตแลนต้าก็ได้ถูกคัดเลือกให้เป็นสถานที่จัด เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 โดยที่ WWE's senior vice president of special events, John Saboor ได้กล่าวในงานว่า แอตแลนต้าได้รับเลือกในที่สุด เหตุผลก็คือ \"ในบันทึกการจัดกิจกรรมใหญ่พวกเขา พวกเขาประสบความสำเร็จอย่างดี มีพื้นฐานที่ดี เหมาะต่อการจัดงานของ WWE\" ถือว่าเป็นครั้งแรกที่ เรสเซิลเมเนีย มาจัดที่รัฐ จอร์เจีย",
"title": "เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27"
}
] |
2391 | พระนารายณ์ เป็นของศาสนาใด ? | [
{
"docid": "58941#1",
"text": "เหตุที่มีพระนามแตกต่างกัน เนื่องจากมีบางคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเล่าว่า เดิมทีมีเทพเจ้าเพียงองค์เดียว คือ พระนารายณ์ ซึ่งเรียกว่าปรพรหม ซึ่งเป็นพระผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง เมื่อพระนารายณ์รำพึงถึงการสร้างโลก ก็ทรงคำนึงถึงการปกปักรักษา",
"title": "พระนารายณ์"
},
{
"docid": "62690#0",
"text": "พระวิษณุ ( \"วิษฺณุ\") หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ ( \"นารายณ\") เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ\"ประทานพร\")",
"title": "พระวิษณุ"
}
] | [
{
"docid": "368389#0",
"text": "พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์) (17 มีนาคม 2463 - 2 พฤษภาคม 2554)เป็นประธานพราหมณ์ในพระราชสำนัก และ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย โดยเขาสืบเชื้อสายมาจากพราหมณ์ในประเทศอินเดีย โดย บรรพบุรุษของเขาได้มาตั้งหลักถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่อหลายร้อยปีก่อน โดยตั้งหลักอยู่แถว ภาคใต้ของประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช และ อพยพมากรุงเทพสมัย รัชกาลที่ 5 ปัจจุบัน พราหมณ์ละเอียด มีหน้าที่ คือ เป็นผู้นำศาสนาฮินดูแห่งประเทศไทย และ ทำหน้าที่ดูแลองค์กรพราหมณ์-ฮินดู ได้แก่ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ สมาคมฮินดูสมาช และ สมาคมฮินดูธรรมสภา",
"title": "พระมหาราชครูอัษฎาจารย์ (ละเอียด รัตนพราหมณ์)"
},
{
"docid": "78585#15",
"text": "พระมหากษัตริย์ที่มีพระนามยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษนี้ ได้แก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรงมีบทบาทอย่างมากทั้งต่อฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า สมัยนี้ฝรั่งเศสได้เข้ามาติดต่อกับไทย และได้พยายามเผยแผ่คริสต์ศาสนา และอาจทูลขอให้พระนารายณ์เข้ารีต แต่พระองค์ทรงมั่นคงในพระพุทธศาสนา มิชชันนารี่ฝรั่งเศสจึงต้องผิดหวังไป",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศไทย"
},
{
"docid": "14197#23",
"text": "ในรัชสมัยของพระองค์นั้น ชาวฮอลันดาได้กีดกันการเดินเรือค้าขายของไทย ครั้งหนึ่งถึงกับส่งเรือรบมาปิดปากแม่น้ำเจ้าพระยา ขู่จะระดมยิงไทย จนไทยต้องผ่อนผันยอมทำสัญญายกประโยชน์การค้าให้ตามที่ต้องการ แต่เพื่อป้องกันมิให้ฮอลันดาข่มเหงไทยอีก สมเด็จพระนารายณ์จึงทรงสร้างเมืองลพบุรีไว้เป็นเมืองหลวงสำรอง อยู่เหนือขึ้นไปจากกรุงศรีอยุธยา และเตรียมสร้างป้อมปราการไว้คอยต่อต้านข้าศึก เป็นเหตุให้บาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่มีความรู้ทางการช่าง และต้องการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก ได้เข้ามาอาสาสมัครรับใช้ราชการจัดกิจการเหล่านี้ ข้าราชการฝรั่งที่ทำราชการมีความดีความชอบในการปรับปรุงขยายการค้าของไทยขณะนั้นคือ เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ซึ่งกำลังมีข้อขุ่นเคืองใจกับบริษัทการค้าของอังกฤษที่เคยคบหาสมาคมกันมาก่อน เจ้าพระยาวิชเยนทร์ จึงดำเนินการเป็นคนกลาง สนับสนุนทางไมตรีระหว่างสมเด็จพระนารายณ์กับทางราชการฝรั่งเศส ซึ่งเป็นรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส\nฝ่ายสมเด็จพระนารายณ์กำลังมีพระทัยระแวงเกรงฮอลันดายกมาย่ำยี และได้ทรงทราบถึงพระเดชานุภาพของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในยุโรปมาแล้ว จึงเต็มพระทัยเจริญทางพระราชไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ไว้ เพื่อให้ฮอลันดาเกรงขาม ด้วยเหตุนี้ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ จึงได้มีการส่งทูตไปสู่พระราชสำนักฝรั่งเศส และต้อนรับคณะทูตฝรั่งเศสอย่างเป็นงานใหญ่ถึงสองคราว แต่การคบหาสมาคมกับชาติมหาอำนาจคือฝรั่งเศสในยุคนั้นก็มิใช่ว่าจะปลอดภัย ด้วยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 มีพระราโชบายที่จะให้สมเด็จพระนารายณ์ และประชาชนชาวไทยรับนับถือคริสต์ศาสนา ซึ่งบาทหลวงฝรั่งเศสนำมาเผยแผ่ โดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงส่งพระราชสาสน์มาทูลเชิญสมเด็จพระนารายณ์เข้ารับ นับถือคริสต์ศาสนาพร้อมทั้งเตรียมบาทหลวงมาไว้คอยถวายศีลด้วย แต่สมเด็จพระนารายณ์ได้ทรงใช้พระปรีชาญาณตอบปฏิเสธอย่างทะนุถนอมไมตรี ทรงขอบพระทัยพระเจ้าหลุยส์ที่มีพระทัยรักใคร่พระองค์ถึงแสดงพระปรารถนาจะให้ร่วมศาสนาด้วย แต่เนื่องด้วยพระองค์ยังไม่เกิดศรัทธาในพระทัย ซึ่งก็อาจเป็นเพราะพระเป็นเจ้าประสงค์ที่จะให้นับถือศาสนาคนละแบบคนละวิธี เช่นเดียวกับที่ทรงสร้างมนุษย์ให้ผิดแผกเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ หรือทรงสร้างสัตว์ให้มีหลายชนิดหลายประเภทก็ได้ หากพระเป็นเจ้ามี พระประสงค์จะให้พระองค์ท่านเข้ารับนับถือศาสนาตามแบบตามลัทธิที่พระเจ้าหลุยส์ทรงนับถือแล้ว พระองค์ก็คงเกิดศรัทธาขึ้นในพระทัย และเมื่อนั้นแหละ พระองค์ท่านก็ไม่รังเกียจที่จะทำพิธีรับศีลร่วมศาสนาเดียวกัน",
"title": "สมเด็จพระนารายณ์มหาราช"
},
{
"docid": "14197#17",
"text": "นอกจากนี้บาทหลวงเดอ แบส และพระราชพงศาวดาร ฉบับพระพนรัตน์ (แก้ว) ได้กล่าวถึงเรื่องที่สมเด็จพระนารายณ์ทรงรับเลี้ยงดูเด็กเล็กเลี้ยงดูในพระราชวังหลายคนโดยเลี้ยงดุจลูกหลวง แต่หากเด็กคนใดร้องไห้อยากกลับไปหาพ่อแม่เดิมก็ทรงอนุญาตส่งตัวคืน แต่ลาลูแบร์ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า \"...พระองค์ทรงพอพระทัยที่จะเลี้ยงไว้จนกระทั่งเด็กนั้นมีอายุได้ 7 ถึง 8 ขวบ พ้นนั้นไปเมื่อเด็กสิ้นความเป็นทารกแล้วก็จะไม่โปรดอีกต่อไป...\" แต่มีเพียงคนเดียวที่โปรดปรานคือ พระปีย์ ทั้งยังโจษจันกันว่านี่อาจเป็นพระโอรสลับของสมเด็จพระนารายณ์ก็มี ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์เองก็ทรงวางเฉยกับเรื่องพระปีย์เป็นโอรสลับเสียด้วย",
"title": "สมเด็จพระนารายณ์มหาราช"
},
{
"docid": "156206#0",
"text": "พระมหาวีระ หรือ นิครนถนาฏบุตร เป็นศาสดาของศาสนาเชน ประสูติก่อนคริสต์ศักราช 599 ปี ในวันที่ประสูติสมาชิกในครอบครัวได้มารวมตัวกันในงานเลี้ยงที่ยิ่งใหญ่ บิดาของเขาได้กล่าวว่า ครอบครัวของเราได้รับความผาสุกและความดีงามตั้งแต่แม่ของมหาวีระได้ตั้งครรภ์และทั้ง 2 นั้นได้ตั้งชื่อลูกที่เกิดมาว่า วรรธมานะ แปลว่า ความเพิ่มพูน หรือผู้ที่เจริญ แต่ว่าบรรดาสานุศิษย์ของมหาวีระได้เรียกว่า มหาวีระและพวกเขาได้อ้างว่าชื่อนี้คือชื่อที่บรรดาเทพเจ้าเรียกกัน ความหมายคือ ผู้ชนะที่ยิ่งใหญ่ มหาวีระนั้นเป็นลูกคนที่ 2 เขาได้ใช้ชีวิตในช่วงแรกๆอยู่ในอ้อมกอดของบิดามารดา ได้รับความสุขสบายอย่างมากมายโดยมีคนรับใช้อำนวยความสะดวกให้แก่เขา\nมหาวีระนั้นเป็นผู้ที่ยกย่องให้เกียรติ ต่อบิดามารดาอย่างมาก ต่อมาเมื่อเติบใหญ่ขึ้น ได้สมรสกับหญิงคนหนึ่งและมีลูกสาวหนึ่งคน มหาวีระนั้นได้ใช้ชีวิตอย่างสุขสบายเพราะว่าเขานั้นเป็นลูกชายเจ้าเมือง บ้านของบิดาของเขานั้นเป็นที่เยี่ยมเยือนของบรรดานักบวชและพระ ทุกๆครั้งที่บรรดานักบวชได้ไปเยี่ยมเยือน พวกเขาเหล่านี้จะได้รับการต้อนรับอย่างดีและสมเกียรติ และมหาวีระก็จะไปนั่งฟังคำสอนจากพวกเขาเหล่านี้ ซึ่งทำให้เขานั้นประหลาดใจในคำสอนเหล่านั้นและตัวเขาเองนั้นมีความปรารถนาที่จะติดตามพวกนักบวชเหล่านี้ แต่เพราะความรักที่มีให้กับบิดามารดาได้มายับยั้งเขาจากการทำให้บรรลุตามความปรารถนา โดยเขารู้ดีว่าท่านทั้ง 2 นั้นไม่ต้องการให้ มหาวีระอยู่ในหนทางของนักบวช",
"title": "พระมหาวีระ"
},
{
"docid": "950568#0",
"text": "ช้างตระกูลอิศวรพงศ์ เป็นหนึ่งช้างเผือกสี่ตระกูลซึ่งสร้างโดยมหาเทพ พระอิศวรในวิชาไตรเทพของศาสนาพราหมณ์ โดยตำราพระคชศาสตร์ และตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ ได้กล่าวถึงการกำเนิดช้างมงคลว่า พระนารายณ์บรรทมบนเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวจากพระอุทรมี ๘ กลีบ ๑๗๓ เกสร จึงนำไปถวายพระอิศวร ที่เขาไกรลาศ พระอิศวรแบ่งเกสรดอกบัวนั้นประทานแก่พระองค์เอง พระอิศวร รับเกสรไว้ ๘ เกสร ประทานแก่ พระพรหม จำนวน ๒๔ เกสร ประทานแก่ พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ จำนวน ๘ เกสร และประทานแก่พระอัคคีหรือพระเพลิง จำนวน ๑๓๕ เกสร",
"title": "ช้างตระกูลอิศวรพงศ์"
},
{
"docid": "45660#8",
"text": "พระโหราธิบดีนำขึ้นถวาย สมเด็จพระนารายณ์พอพระทัยมาก จึงโปรดให้ศรีเข้าเป็นมหาดเล็ก พระโหราธิบดีรู้ว่า ลูกชายเป็นคนอุกอาจ จึงทูลขอพระราชทานโทษไว้ว่า วันใดลูกชายทำผิดถึงตาย ขออย่าได้ทรงประหาร เป็นแต่เนรเทศก็พอ สมเด็จพระนารายณ์ก็โปรดให้ตามนั้น",
"title": "ศรีปราชญ์"
},
{
"docid": "647101#0",
"text": "พระนารายน์รามาธิบดี หรือ สมเด็จพระนารายณ์ราชาที่ 1 เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาที่ครองราชย์ในระยะเวลาสั้นๆ พระองค์เป็นพระราชโอรสของพระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือเจ้าพญายาต เสด็จขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาใน พ.ศ. 1976 เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 1980 หลังจากพระองค์สวรรคตแล้ว สมเด็จพระศรีราชา พระอนุชาของพระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อมา และได้สร้างเจดีย์บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ไว้ที่เขาพนมโฎนปึญ หลังการสวรรคตของพระองค์ได้เกิดความร้าวฉานในพระราชวงศ์ เกิดการแย่งชิงราชสมบัติระหว่างสมเด็จพระศรีราชา พระอนุชา และพระศรีสุริโยทัย พระโอรสของพระองค์.",
"title": "พระนารายณ์รามาธิบดี"
},
{
"docid": "69187#14",
"text": "ต่อมาหลังการล่มสลายของพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานในอาณาจักรขะแมร์ พระปรางค์สามยอดจึงได้รับการดัดแปลงให้เป็นพุทธสถานในนิกายเถรวาท ดังเห็นได้จากการสร้างวิหารเชื่อมต่อกับปราสาทประธานในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ซึ่งทรงสร้างพระนารายณ์ราชนิเวศน์และบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ ในเมืองลพบุรี ในช่วงระยะเวลาที่เสด็จแปรพระราชฐานมายังเมืองลพบุรีเกือบตลอดรัชกาล",
"title": "พระปรางค์สามยอด"
},
{
"docid": "62690#7",
"text": "พระนามของพระวิษณุ พระนารายณ์ มีผู้ขนานนามเรียกขานจากความแตกต่างกันตามความเชื่อ พระนามตามฤทธิ์อำนาจ และตามเหตุการณ์ที่ต่างกันตามกาล อาทิ อนันตะ ไม่สิ้นสุด จตุรภุช มี 4 กร มุราริ เป็นศัตรูแห่งมุระ นระ (นะระ) ผู้ชาย นารายณ์ ผู้ที่เคลื่อนไปในน้ำ ปัญจายุทธ พระผู้ทรงอาวุธทั้ง 5 อย่าง ปีตามพร ทรงเครื่องสีเหลือง ทโมทร มีเชือกพันเอาไว้รอบเอว กฤษณะ, โควินทะ, โคบาล ผู้เลี้ยงวัว ชลศายิน ผู้นอนเหนือน้ำ พระพิษณุหริ ผู้สงวน อนันตไศยน นอนบนอนัตนาคราช ลักษมีบดี ผู้เป็นสามีของพระลักษมี วิษว์บวร ผู้คุ้มครองโลก สวยภู เกิดเอง เกศวะ มีผมอันงาม กิรีติน ผู้ใส่มงกุฎ พระวิษณุ พระนารายณ์ ทรงประทับบนสวรรค์ เรียก ไวกูณฐ์ พาหนะ คือครุฑ พระวรกายสีนิล ฉลองดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎ อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักร ตรี คทา บ้างก็กล่าวไว้ว่าทรงถือ ดอกบัว ลูกศร ดอกไม้ หรือเชือกบ่วงบาศ หรือสายฟ้า อาวุธประจำที่ใช้ คือ สังข์ จักร คทา ธนู และพระขรรค์",
"title": "พระวิษณุ"
}
] |
1265 | สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติตั้งอยู่ที่ใด? | [
{
"docid": "238820#0",
"text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ปัจจุบัน สทศ. มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 128 อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 35-36 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400",
"title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)"
}
] | [
{
"docid": "238820#2",
"text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นเป็นองค์การมหาชนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิสามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรและบุคลากรได้สูงสุด มีความเป็นอิสระและหน้าด้าที่ขึ้นอยู่กับสายการบริหารของหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดการศึกษาจึงมีความเป็นกลาง เป็นสถาบันที่มีการกำหนดหลักการ นโยบาย มาตรการและเป้าหมาย โครงสร้างการบริหาร และการดำเนินกิจการ ความสัมพันธ์กับรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากร การเงิน การตรวจสอบ และการประเมินผลที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถาบันเพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย และให้บริการ ทางด้านการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ",
"title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)"
},
{
"docid": "134545#4",
"text": "\"การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูง\" (Advanced National Educational Test; A-NET) เป็นการสอบความรู้ขั้นสูง 6 ภาคเรียน ทดสอบเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ประสงค์จะเข้าศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในระบบแอดมิชชั่น จำนวนวิชาสอบ 11 วิชา ตามแต่ละคณะที่กำหนด มีช่วงเวลาสอบในเดือนตุลาคมและเดือนมีนาคมของทุกปี ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ได้ยกเลิกการสอบเอเน็ตแล้วเปลี่ยนไปใช้การทดสอบความถนัดทั่วไป วิชาชีพและวิชาการ (GAT-PAT) แทน รวมมีการจัดสอบเอเน็ตทั้งหมด 4 ครั้ง",
"title": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ"
},
{
"docid": "238820#3",
"text": "เพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ\nสทศ. มีการบริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ รายชื่อต่อไปนี้มีผลตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วย",
"title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)"
},
{
"docid": "238820#1",
"text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า \"สทศ\" ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า \"National Institute of Educational Testing Service (Public Organization)\" เรียกโดยย่อว่า \"NIETS\" จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ",
"title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)"
},
{
"docid": "391047#1",
"text": "วิทยาลัยเทคโนโลยีอุดมศึกษาพณิชยการ ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 4/10 ตารางวา ตามหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน เลขที่ 47810 เลขที่ดิน 1689 หน้าสำรวจ 21837 ที่ตั้ง ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนจากกระทรวงศึกษาธิการตามใบอนุญาตเลขที่ 6/2524 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2524 ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี โดยมีนายกระจ่าง จันทราช เป็นผู้รับใบอนุญาต",
"title": "วิทยาลัยเทคโนโลยีอุดมศึกษาพณิชยการ"
},
{
"docid": "134545#1",
"text": "การทดสอบทางการศึกษาได้รับข้อวิพากษ์วิจารณ์จากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสามัญ ซึ่งมีการกล่าวถึงปัญหาข้อสอบที่มีความกำกวม บางข้อเกินกว่าหลักสูตรกำหนด รวมไปถึงปัญหาข้อสอบผิดและไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นปัญหาที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำลังเร่งแก้ปัญหาอยู่ในปัจจุบัน",
"title": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ"
},
{
"docid": "316832#1",
"text": "โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 472 หมู่ที่ 3 บ้านควนจีน ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นเลขที่ 1663 หมู่ 6 ถนนสนามบิน-พาณิชย์ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา\nก่อนปีพ.ศ. 2521 ในอำเภอหาดใหญ่มีโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เป็นของรัฐบาลเพียงโรงเดียวคือโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย (ญ.ว.) \nต่อมาเมื่อปีพ.ศ. 2521 การศึกษาในอำเภอหาดใหญ่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงทำให้โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยไม่สามารถรองรับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาได้ \nสภาตำบลควนลังโดยมีกำนันอิ้น วงศ์ชนะ เป็นประธานและอาจารย์เชื้อ ศรีระสันต์ เป็นเลขานุการสภาได้ประสานกับกรมสามัญศึกษาขอเปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาขึ้นที่ตำบลควนลัง โดยทางสภาตำบลได้จัดสรรที่ดินซึ่งเป็นที่สงวนสำหรับสัตว์เลี้ยงจำนวน 120 ไร่ เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งนี้\nประมาณเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้จังหวัดสงขลาดำเนินการเปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาขึ้นในที่ดินสงวนดังกล่าว โดยนายสมพร พิชญาภรณ์ ศึกษาธิการอำเภอหาดใหญ่ร่วมกับนายสมบูรณ์ ศรีสุทธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ได้เปิดรับนักเรียนเพื่อเข้าเรียนที่โรงเรียนแห่งนี้\nปรากฏว่ามีผู้มาสมัครเรียนในชั้น ม.ศ.1 จำนวน 8 ห้อง ด้วยความกรุณาของอาจารย์เชื้อ ศรีระสันต์และพระครูพิศาลธรรมคุณ เจ้าอาวาสวัดควนลังได้อนุเคราะห์ให้ใช้สถานที่ของวัดควนลัง\nชาวบ้านตำบลควนลังจึงช่วยกันสร้างอาคารเรียนชั่วคราวหลังแรกจำนวน 10 ห้องเรียน ภายในระยะเวลา 10 วัน และใช้ใต้กุฏิบางส่วนเป็นสถานที่เรียนชั่วคราว\nเปิดเรียนอย่างเป็นทางการวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2521 โดยใช้ชื่อโรงเรียนในขณะนั้นว่า “โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2” ซึ่งมีนายสุวิทย์ ศรีทิพยราษฎร์ เป็นครูใหญ่\nพ.ศ. 2523 ได้ย้ายโรงเรียนจากวัดควนลังมายังสถานที่ตั้งโรงเรียนในปัจจุบันและเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์” \nและในปีการศึกษา 2525 เปิดเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย \nคณะสีมี 6 คณะสี ได้แก่",
"title": "โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์"
},
{
"docid": "134545#3",
"text": "\"การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสามัญ\" (Ordinary National Educational Test; O-NET) เป็นการสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น 6 ภาคเรียน โดยสอบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3, 6, มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ทำการทดสอบความรู้ในกลุ่มสาระต่าง ๆ รวม 8 กลุ่มสาระ ได้แก่ ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, สุขศึกษาและพลศึกษา, ศิลปะ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ มีช่วงเวลาสอบในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นการสอบประจำปีเพียงครั้งเดียวอย่างถาวร",
"title": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ"
},
{
"docid": "311883#0",
"text": "โรงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่ เป็นโรงเรียนเอกชน สอนภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ อาคาร LearnBalance 2991/26 ซ.ลาดพร้าว 101/3 ถ.ลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 ก่อตั้งโดยนายธเนศ เอื้ออภิธร และนางสาวอริสรา ธนาปกิจ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2538 ปัจจุบันมีนายแพทย์ธรรมศักดิ์ เอื้ออภิธร เป็นผู้จัดการทั่วไป",
"title": "โรงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่"
}
] |
1200 | ใครรับบทเป็นเจ้าหญิงอัตสึ ? | [
{
"docid": "266325#3",
"text": "ตัวละครเท็นโชอิงแต่ก่อนเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2546 ฟูจิเทเลวิชันเรื่องโอโอขุซึ่งแสดงนำโดยมิโฮะ คันโน",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
}
] | [
{
"docid": "266325#18",
"text": "ชุมปุเตะ โคะอะสะ เป็น โคะโนะเอะ ทะดะฮิโระ ซึรุทะโระ คาตะโอะกะ เป็น อิวะคุระ โทะโมะมิ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#8",
"text": "เคียวโซะ นะงะสึกะ เป็น ชิมะซุ ทะดะตะเกะ คะนะโกะ ฮิกุชิ เป็น โอะยุกิ โยะชิโนะริ โอะกะดะ เป็น ชิมะซุ ทะดะยุกิ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#4",
"text": "ในเรื่องนี้แสดงโดยมิยะซะกิ อะโอะอิ ซึ่งเป็นเรื่องแรกที่เกี่ยวกับการปฏิรูปไทกะของเธอ เธอยังอ่อนวัยมากที่เล่นบทบาทนี้ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 เธอได้ชนะรางวัลกาแล็กซีอวอร์ดจากที่ได้เล่นบทนี้",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#37",
"text": "คำพูดของท่านหญิงฮิสะว่า เจ้าไม่สมควรจะเป็นมิไดโดโกโระ ทำให้ท่านหญิงอัตสึ อยู่ไปอย่างเซ็ง ๆ ปีต่อมา เปอรี่นำกองเรือรบอเมริกา เข้ามาที่เอะโดะอีก ทำให้นะริอะคิระ ถูกเรียกตัวกลับเอะโดะโดยด่วน ก่อนออกเดินทางเขาไปแวะเยี่ยมทะดะตะเกะ ที่กำลังป่วยหนัก ทะดะตะเกะขอร้องเรื่องหนึ่งไว้ แต่เมื่อได้พบท่านหญิงอัตสึ นะริอะคิระกลับไม่สามารถทำตามสัญญาที่ให้ไว้แก่ทะดะตะเกะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#1",
"text": "ชื่อละครว่า เจ้าหญิงอัตสึ เป็นการแปลที่ผิดพลาดของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เนื่องจากคำว่า ฮิเมะ ในภาษาญี่ปุ่นไม่ได้แปลว่า เจ้าหญิง เสมอไป อะสึโกะเป็นสามัญชนแต่กำเนิด แม้ว่าจะเป็นภริยาของโชกุนก็ไม่ถือว่าเป็นเจ้า ดังนั้น การแปลที่ถูกต้องจึงควรใช้คำแปลว่า ท่านหญิงอะสึ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#56",
"text": "การตายของอี (ไบจะขุ นาคามุระ) ทำให้บะขุฝุสั่นคลอนอย่างยิ่ง เพื่อเรียกศรัทธาในกลับคืนมา บะขุฝุจึงสู่ขอเจ้าหญิงคะสุโนะมิยะ (มากิ โฮริคิตะ) พระขนิษฐาของจักรพรรดิโคเม (ฮิเดกิ โทกิ) ให้มาแต่งงานกับโชกุนอิเอะโมะจิ (โชตะ มะสึดะ) ถึงแม้เท็นโชอิง (อะโอะอิ มิยะซะกิ) จะคัดค้านอย่างหนัก เพราะเจ้าหญิงคะสุโนะมิยะมีพระคู่หมั้นอยู่แล้วแต่พวกที่ปรึกษาก็ไม่เชื่อฟัง ขณะเดียวกันมีจดหมายมาจากซะสึมะเกลี้ยกล่อมให้เท็นโชอิง \"กลับบ้านเกิดที่ซะสึมะ จะดีมั้ย?\"",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "212713#7",
"text": "โดยพระเยซูเคยตรัสว่า \"ไม่มีใครรู้จักพระบุตรนอกจากพระบิดา และไม่มีใครรู้จักพระบิดานอกจากพระบุตรและผู้ที่พระบุตรประสงค์จะสำแดงให้รู้\" ซึ่งในพันธสัญญาใหม่เรียกพระเจ้าว่า \"พระบิดา\" 245 ครั้ง และในบทข้าพเจ้าเชื่อซึ่งเป็นบทอธิษฐานที่สำคัญมากบทหนึ่งของคริสต์ศาสนิกชน ส่วนหนึ่งว่า \"ข้าพเจ้าเชื่อในพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรหนึ่งเดียวของพระเจ้า ทรงบังเกิดจากพระบิดาก่อนกาลเวลา\" แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างพระบิดาและพระบุตรไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ใดเหตการณ์หนึ่งและไม่ได้อยู่ภายใต้กาลเวลา",
"title": "พระเจ้าพระบิดา"
},
{
"docid": "266325#16",
"text": "ฮิโระชิ ทะมะกิ เป็น สะกะโมะโตะ เรียวมะ จุมเป ซุซูกิ เป็น คิโดะ ทะกะโยะชิ นัตสึกิ ฮะระดะ เป็น โอโกะโตะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#15",
"text": "คินยะ คิตะโอะกิ เป็น คัตสึ ไคชู เรียว คัตซึจิ เป็น นะกะฮะมะ มันจิโระ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#32",
"text": "โอคัตสึ ต้องรับการฝึกฝนเข้มข้นจากพี่เลี้ยงคนใหม่ที่มาจากตระกูลโคโนเอะ แห่งเคียวโตะ อิคุชิมะ เมื่อนะริอะคิระ กลับมาถึงซะสึมะ ก็เปลี่ยนชื่อโอคัตสึ เป็น อัตสึโกะ ท่านหญิงอะสึ จึงได้กำเนิดขึ้น ทางด้านเอะโดะ อิเอะโยะชิ โชกุนคนที่ 12 เสียชีวิตกะทันหัน มีอิเอะซาชิ ลูกชายปัญญาอ่อนสืบทอดตำแหน่งโชกุนคนต่อไป นะริอะคิระ จึงบอกความลับให้อิคุชิมะรู้สาเหตุที่ต้องเร่งฝึกเจ้าหญิงอัทสึ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#34",
"text": "ท่านหญิงอะสึ จำต้องทำใจยอมรับการเป็นภรรยาหลวงของ โชกุน เริ่มต้นด้วยการเรียนประวัติศาสตร์กับอิคุชิมะ ทั้งที่ไม่เคยสนใจมาก่อน ด้วยความหวังดีนะริอะคิระ จัดการให้นะโอะโกะโระ ได้พบกับท่านหญิงอะสึที่ทานะบาตะอีกครั้ง ท่านหญิงอะสึขอให้นะโอะโกะโระช่วยดูแลท่านพ่อและท่านแม่ รวมทั้งฝากฝังอนาคตของซะสึมะ นะโอะโกะโระเห็นถึงการตัดสินใจอย่างแน่วแน่ของท่านหญิงอะสึ ก็รู้ได้เลยว่าเจ้าหญิงจะต้องมีอนาคตที่รุ่งโรจน์อย่างแน่นอน วันที่เจ้าหญิง อัตสึจะต้องไปเอะโดะ ใกล้เข้ามาเต็มที",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#51",
"text": "อี ได้รับตำแหน่งไทโรและแต่งตั้งให้โยะชิโตมิ เจ้าแคว้นคิชูเป็นทายาทโชกุน อิเอะซาดะสั่งอีกับฮตตะไว้ว่า \"ให้ท่านหญิงอัตสึ เป็นผู้ปกครองโยะชิโตมิ\" หลังจากนั้นอิเอะซาดะล้มป่วยหนัก แต่ปกปิดไม่ให้ท่านหญิงอัตสึและฮงจุอินรู้อาการที่แท้จริง ขณะนั้นก็มีข่าวจากทางซะสึมะว่านะริอะคิระถึงแก่กรรมแล้ว",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#5",
"text": "ช่วงครึ่งแรกเรื่องราวจะอยู่ที่จังหวัดคะโงะชิมะซึ่งนักแสดงหลายท่านก็มาจากคะโงะชิมะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#17",
"text": "ฮิเดะกิ โตะกิ เป็น สมเด็จพระจักรพรรดิโคเม เทะรุโนะสุเกะ ทะเคะซะอิ เป็น เจ้าชายอะริสุงะวะ ทะรุฮิโตะ มะกิ โฮะริกิตะ เป็น เจ้าหญิงคะซุโนะมิยะ ชิคะโกะ(เซคังอิน)(ภริยาในโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะะโมะจิ) มายูมิ วะกะมุระ เป็น คังโยอิน",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#0",
"text": "เจ้าหญิงอัตสึ () คือละครไทกะหรือละครอิงประวัติศาสตร์เรื่องยาว[1]ของบรรษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งญี่ปุ่น (NHK) ที่ออกอากาศเป็นรายปี ประจำปี พ.ศ. 2551 ซึ่งต่อมาทางสถานีโทรทัศน์ทีวีไทยได้นำมาออกอากาศ เนื้อหาของละครเป็นเรื่องราวของท่านเท็นโชอิงหรือท่านหญิงอะสึ ซึ่งเป็นบุคคลผู้มีส่วนสำคัญที่ทำให้รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะสามารถยอมจำนนโดยสันติต่อรัฐบาลสมเด็จพระจักรพรรดิในสมัยการปฏิรูปเมจิได้สำเร็จ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#42",
"text": "ใกล้จะถึงวันแต่งงาน องค์หญิงอัตสึ ถูกส่งตัวเข้าไปในปราสาทเอะโดะ ความใหญ่โตโอฬารของโอโอขุ เครื่องเรือนที่หรูหรา และคนรับใช้นับพันคนทำให้องค์หญิงตื่นตาตื่นใจมาก เธอได้พบกับฮงจูอิน แม่สามีในอนาคต และทะกิยะมะ หัวหน้านางกำนัลทั้งหมดเพื่อแนะนำตัว เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดการซุบซิบไปทั่วโอโอขุว่าเธอเป็น องค์หญิงเพี้ยน ถึงแม้จะยังไม่ได้พบกับโชกุนอิเอะซาดะ ว่าที่สามี แต่องค์หญิงอัทสึก็ได้ทราบว่าอิเอะซาดะมีสนมชื่อโอชิงะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#36",
"text": "องค์หญิงอัตสึ มาถึงเอะโดะและเข้าไปพักในจวนของแคว้นซะสึมะหลายวันแล้วก็ยังไม่ได้พบกับองค์หญิงฮิสะ ภรรยาของนะริอะคิระ ซึ่งนับเป็นท่านแม่ นอนจากนี้ในปราสาทเอะโดะ นะริอะกิ ยังคัดค้านการให้องค์หญิงอัตสึเป็นมิไดโดโกโระ ทางด้านซะสึมะ นะริอะคิระ เลือกไซโกให้ติดตามไปเอะโดะด้วย สุดท้ายเมื่อได้เข้าเฝ้าองค์หญิงฮิสะ ก็ได้ฟังคำพูดเย็นชาว่า อย่างองค์หญิงอัตสึนั้น ไม่มีทางที่จะเป็นมิไดโดโกโระได้",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#6",
"text": "มิยะซะกิ อะโอะอิ เป็น เท็นโชอิง",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#22",
"text": "แคว้นซะสึมะ สนมโอยุระ กำลังพยายามให้ทาดายุกิ ลูกชายของตนกับเจ้าแคว้นนะริโอกิ ได้ขึ้นเป็นเจ้าแคว้น แต่คนที่นิยมนะริอะคิระ ทายาทตามกฎหมายก็มีมาก ทั้งสองฝ่ายจึงเกิดการต่อสู้กันขึ้น โอคัทสึ สนใจการเมืองภายในแคว้นมาก",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#74",
"text": "หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ละครแนวชีวประวัติ หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์เอ็นเอชเค",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#12",
"text": "ยูกิโยะชิ โอะซะวะ เป็น ไซโง ทะกะโมะริ ไทโซ ฮะระดะ เป็น โอกุโบะ โทะชิมิชิ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#10",
"text": "โทะรุ อิโมะริ เป็น โทะกุงะวะ นะริอะกิ เคนอิชิ ยะจิมะ เป็น มะสึไดระ โยะชินะงะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#33",
"text": "นะริอะคิระ บอกความจริงแก่องค์หญิงอัตสึ ว่าจะต้องไปเป็นภรรยาโชกุน หรือ มิไดโดโกโระ คืนนั้นเององค์หญิงอัตสึ ลอบหนีออกจากปราสาทแต่ไม่สำเร็จ จึงไปถามถึงจุดประสงค์ที่แท้จริงของท่านนะริอะคิระ และได้รับคำตอบว่า ถ้าองค์หญิงอัตสึเป็นมิไดโดโกโระ จะทำให้นะริอะคิระมีอิทธิพลพอที่จะเปลี่ยนรัฐบาลทหารให้ดีขึ้นได้ องค์หญิงอัทสึจึงตัดสินใจยอมไปเป็นภรรยาโชกุนโดยไม่ต้องบังคับ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#13",
"text": "เคะอิโกะ มะสึซะกะ เป็น อิคุชิมะ (ผู้รับใช้เท็นโชอิง) อิซุมิ อินะโมะริ เป็น ทะคิยะมะ (ผู้รับใช้ฮงจูอิน) อัตสึโกะ ทะคะฮะตะ เป็น ฮงจูอิน (มารดาของโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะะซะดะ) มะกิ โฮะริกิตะ เป็น เจ้าหญิงคะสึโนะมิยะ ชิคะโกะ (เซคังอิน) (ภริยาในโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะะโมะจิ)",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#9",
"text": "มะซะโตะ ซะไก เป็น โทะกุงะวะ อิเอะะซะดะ โชตะ มะสึดะ เป็น โทะกุงะวะ อิเอะะโมะจิ ทะเกะฮิโระ ฮิระ เป็น โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ ชิเงะรุ ไซกิ เป็น โทะกุงะวะ อิเอะะโยะชิ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#11",
"text": "เอะอิตะ นะงะยะมะ เป็น โคะมะสึ คิโยะคะโดะ มิกิจิโยะ ฮิระ เป็น ซุโช ฮิโระสะโตะ อิคคิ ซะวะมุระเ ป็น โคะมะสึ คิโยะมิชิ เร โทะโมะซะกะ เป็น โอะชิคะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#19",
"text": "ยูกะ อิตะยะ เป็น ฮิโระคะวะ",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#24",
"text": "โอคัทสึพยายามจะช่วยให้ครอบครัวโอคุโบะ มีรายได้มากขึ้น แต่ถูกฟุขุ ปฏิเสธอย่างไม่ใยดี โอคัทสึจึงได้แต่ฟังโอวาทเรื่องศักดิ์ศรีของสตรีซะสึมะจากโอยุกิ อีกด้านหนึ่ง อะเบะ มะซะฮิโระ ที่ปรึกษาโชกุนก็ใช้อุบายปลดเจ้าแคว้นได้สำเร็จ นะริอะคิระจึงได้ครองบัลลังก์เจ้าแคว้นแทน โชคชะตากำลังชักพาให้นะริอะคิระ กับโอคัทสึมาพบกันในการกลับแคว้นซะสึมะครั้งนี้",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "266325#20",
"text": "นะริอะคิระ ทายาทของเจ้าผู้ครองแคว้นซะสึมะได้กลับบ้านเกิดเป็นครั้งแรก ในเวลาใกล้ ๆ กันนั้น มีเด็กสองคนเกิดมาคือ อัตสึ อยู่ในตระกูลอิไมสุมิชิมะซุ ได้ชื่อว่าคัทสึเพื่อความสมบูรณ์พูนสุขในชีวิต อีกคนหนึ่งเกิดในตระกูลคิโมะสึกิ ชื่อนะโอะโกะโระ ต่อมาสุโชได้เร่งเก็บภาษีอย่างเข้มงวด จึงมีการร้องทุกข์ถึงความยากลำบาก ทะดะตะเกะเจ้าเมืองผ่อนผันให้ชาวบ้านจึงถูกลงโทษ โอคัทสึเห็นพ่อถูกลงโทษจึงรับไม่ได้ บุกไปถามสุโชถึงที่บ้าน.",
"title": "เจ้าหญิงอัตสึ (ละครโทรทัศน์)"
}
] |
16 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี มีพี่น้องกี่คน ? | [
{
"docid": "172368#4",
"text": "พระองค์มีพระขนิษฐาที่ประสูติร่วมพระมารดาอีก 2 พระองค์ ซึ่งมีพระนามที่คล้องจองกัน ได้แก่ ศรีวิไลยลักษณ์ สุวพักตร์วิไลยพรรณ และบัณฑรวรรณวโรภาส",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
}
] | [
{
"docid": "172368#3",
"text": "พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) และเป็นเหลนของ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 5 พระองค์ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 9 ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกพระองค์ว่า \"เจ้าหนู\" พระเจ้าน้องทั้งหลายทรงเรียกว่า \"พี่หนู\" และชาววังเรียกว่า \"เสด็จพระองค์ใหญ่\"",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#15",
"text": "ระหว่างการเสด็จพระราชดำเนินไปในงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของกรมขุนสุพรรณภาควดี สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ ก็ประชวรและสิ้นพระชนม์ ด้วยพระอาการไข้พิษ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 ซึ่งในสี่แผ่นดินกล่าวว่า \"ต้องเชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอองค์หนึ่งลงมา แล้วเชิญพระศพของอีกพระองค์ขึ้นไป\"",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#17",
"text": "ส่วนการพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดีนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวมีพระราชดำริว่า ต้นศรีมหาโพธิ์ซึ่งพระองค์ทรงได้พืชพันธุ์มาจากพุทธคยา แล้วทรงเพาะและปลูกไว้ที่วัดนิเวศธรรมประวัติเป็นวันเดียวกับวันประสูติของพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ดังนั้น พระองค์จึงมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#24",
"text": "นอกจากนี้ พระองค์ยังได้รับพระราชทานเหรียญราชอิสริยาภรณ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวเมื่อครั้งได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น \"กรมขุนสุพรรณภาควดี\" ได้แก่ เหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญรัตนาภรณ์",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#0",
"text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) พระนามเดิม\"หม่อมเจ้าศรีวิไลยลักษณ์\" เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น \"\"ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก\"\"",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#2",
"text": "พระองค์เป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ \"\"กรมขุนสุพรรณภาควดี\"\" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "172368#18",
"text": "ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 เจ้าพนักงานได้เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดีออกจากพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ออกไปทางประตูศักดิไชยสิทธิ์ขึ้นประดิษฐานบนรถพระศพ แล้วประกอบพระลองในด้วยพระโกศทองเล็กห้อยเฟื่อง แล้วจึงเชิญพระศพไปยังสถานีรถไฟเพื่อเชิญพระศพไปยังพระราชวังบางปะอินต่อไป",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
},
{
"docid": "41835#4",
"text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ทรงเป็นต้นราชสกุลโสณกุล มีหม่อมท่านเดียว คือ หม่อมเอม (สกุลเดิม: กุณฑลจินดา) ธิดาหลวงวรศักดาพิศาล (ตาล กุณฑลจินดา) โดยมีพระโอรสธิดา 13 พระองค์ เป็นชาย 8 พระองค์ และหญิง 5 พระองค์",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา"
},
{
"docid": "28335#14",
"text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติก่อนที่พระองค์จะเสด็จฯ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นพระราชธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของรัชกาลที่ 5 หลังจากการทรงกรมเป็น \"\"กรมขุนสุพรรณภาควดี\" \" ได้เพียง 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระราชวังบางปะอิน โดยใช้พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง",
"title": "พระราชวังบางปะอิน"
},
{
"docid": "172368#10",
"text": "\"...กรมพระราชวังบวรฯ (กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ) มิสเตอร์น๊อกซ์ (โทมัส ยอร์ช น็อกซ์) กงสุลอังกฤษ คิดจะเอาพระโอรสองค์ใหญ่มีพระนามว่า พระองค์เจ้าวิลัย (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลัยวรวิลาศ) ส่งไปประเทศอังกฤษ เพื่อมิสเตอร์น๊อกซ์จะเปิดเผยที่เมืองอังกฤษว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่มีพระบรมราชโอรสมีแต่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่คือ กรมขุนสุพรรณฯ ส่วนกรมพระราชวังบวรฯ มีพระโอรส พระโอรสนี้จะเป็นรัชทายาทต่อไป เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงทราบดังนี้แล้ว จึงทรงพระวิตก คิดจะให้สมเด็จวังบูรพากำชับให้กรมขุนสุพรรณฯ ออกไปเรียนวิชา ณ ประเทศอังกฤษ ความที่ทรงหวังในเวลานั้นจะโปรดเกล้าให้กรมขุนสุพรรณฯ เป็นควีนวิคตอเรีย สมเด็จวังบูรพาเป็น ปรินซ์อารเบิด (เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี) เวลานั้นได้จัดผู้ที่จะตามเสด็จไปประเทศยุโรปไว้พร้อมถึงกับได้กำหนดวันที่จะเสด็จออกจากกรุงเทพฯ เวลานี้ข้าราชการทั่วไปพากันตื่นเต้นเข้าไปเฝ้าอยู่ทั่วทุกชั้น เวลานั้นจะมีอุปสรรคอันใดเกิดขึ้นจึงได้ระงับเหตุดังกล่าวนี้ในเวลาไม่กี่เดือนก็รับทราบว่า สมเด็จพระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า (สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) ทรงพระครรภ์ในไม่ช้าก็ประสูติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ พระราชดำริดังกล่าวนี้จึงเป็นอันระงับไป\"",
"title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"
}
] |
3841 | บทละครนอกเรื่อง ยุขัน พิมพ์ครั้งแรกเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "53376#2",
"text": "บทละครนอกเรื่อง ยุขัน พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ จุลศักราช 1240 (พ.ศ. 2421) เป็นการพิมพ์รวมเล่มสมุดไทยตั้งแต่เล่มที่ 1-23 และมิได้มีการพิมพ์เผยแพร่อีก จนกระทั่งในปีพุทธศักราช 2548 กรมศิลปากรพิจารณาเห็นว่า บทละครเรื่องยุขันมีคุณค่าต่อการศึกษาวรรณกรรมไทยในแง่ของการได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมต่างชาติ จึงได้มีการตรวจสอบชำระ และจัดพิมพ์เผยแพร่ขึ้นมาอีกครั้ง",
"title": "ยุขัน"
}
] | [
{
"docid": "48318#6",
"text": "ละครในเป็นละครที่เกิดขึ้นในพระราชฐานจึงเป็นละครที่มีระเบียบแบบแผน สุภาพ ละครในมีความมุ่งหมายสำคัญอยู่ 3 ประการ คือ รักษาศิลปะของการรำอันสวยงาม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีเคร่งครัด รักษาความสุภาพทั้งบทร้องและเจรจา เพราะฉะนั้น เพลงร้อง เพลงดนตรี จึงต้องดำเนินจังหวะค่อนข้างช้า เพื่อให้รำได้อ่อนช้อยสวยงาม ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ จะเป็นวงเครื่องห้า เครื่องคู่หรือ หำเครื่องใหญ่ ก็ได้โรงมีลักษณะเดียวกับโรงละครนอก แต่มักเรียบร้อยสวยงามกว่าละครนอก เพราะใช้วัสดุที่มีค่ากว่า เนื่องจากมักจะเป็นละครของเจ้านาย หรือผู้ดีมีฐานะ\nเครื่องแต่งกาย แบบเดียวกับละครนอก แต่ถ้าแสดงเรื่องอิเหนา ตัวพระบางตัวจะสวมศีรษะด้วยปันจุเหร็จในบางตอน (ปันจุเหร็จในสมัยปัจจุบัน มักนำไปใช้ในการแสดงเรื่องอื่น ๆ ด้วย) \nการแสดง มีคนบอกบท ต้นเสียง ลูกคู่ การร่ายรำสวยงามตามแบบแผน เนื่องจากรักษาขนบประเพณีเคร่งครัด การเล่นตลกจึงเกือบจะไม่มีเลย บทที่แต่งใช้ถ้อยคำสุภาพ คำตลาดจะมีบ้างก็ในตอนที่กล่าวถึงพลเมือง ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน ตัวประกอบอาจเป็นผู้ชายบ้าง\nเรื่องที่ใช้แสดงละครใน แต่โบราณมีเพียง 3 เรื่อง คือ เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท\nโอกาสที่ใช้แสดง ในงานรื่นเริง",
"title": "ละคร"
},
{
"docid": "465021#4",
"text": "ช่วงปลายปี 2556 จิรายุมีผลงานละครเรื่องที่สองในชีวิตโดยรับบทเป็น อิทธิฤทธิ์ หรือ อิท ในละครเรื่อง \"รักสุดฤทธิ์\" แสดงคู่กับ วรกาญจน์ โรจนวัชร ส่วนในปี 2558 เขารับบทเป็น อนวัช พัชรพจนาถ ในละครเรื่อง \"หนึ่งในทรวง\" ปีถัดมา เขาแสดงในละครเรื่อง \"ปดิวรัดา\" คู่กับ ราณี แคมเปน อีกครั้งหลังจากเคยร่วมงานกันในละครเรื่อง \"คุณชายพุฒิภัทร\"",
"title": "จิรายุ ตั้งศรีสุข"
},
{
"docid": "132096#16",
"text": "ในแต่ละตอนมีรูปแบบโครงสร้างที่ชัดเจน เริ่มจากการสรุปเหตุการณ์ โดยโชว์จะเริ่มโดยทีเซอร์ที่ตัดต่อสรุปเนื้อเรื่องที่ผ่านมาที่ในบางครั้งจะเริ่มโดยการแนะนำฉากในสัปดาห์ที่ผ่านมาในส่วนสำคัญ จากนั้นจึงตัดมาเป็นกราฟิกชื่อเรื่อง ซึ่งเป็นรูปสุริยคราส และโลโก้ของ \"ฮีโรส์\" และเพลงเริ่มเรื่อง และชื่อตอนมักจะปรากฏหลังชื่อไตเติล ซึ่งเป็นช่วงหลังพักโฆษณา โดยชื่อตอนจะมีเกาะเกี่ยวกับวัตถุบนโลกในฉากหลังพักโฆษณาแรก ไตเติลจะระบุชื่อบท ที่มีบอกว่าบทที่เท่าไหร่ และเครดิตเปิดเรื่องจะปรากฏรายชื่อนักแสดงตามตัวอักษรของนามสกุลในขณะกำลังดำเนินเรื่องในช่วงแรก มีหลายที่มีหลายตัวละครหลายเรื่องในนั้น บางครั้งก็เป็นเหตุการณ์เดียวกัน ขณะที่หลายครั้งเรื่องของตัวละครแต่ละเรื่องจะสานกันเป็นตอนเดียวกัน แต่ละตอนมักจบด้วยภาวะที่คาราคาซังหรือเรื่องราวที่น่าตื่นเต้น โดยออกในวินาทีท้าย ๆ ก่อนจะตัดไปว่า \"ติดตามชมตอนต่อไป\"",
"title": "ฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)"
},
{
"docid": "272613#3",
"text": "กวีและนักเขียนหน้าใหม่ชาวอังกฤษชื่อ คริสเตียน (รับบทโดย แมคเกรเกอร์) ได้รับการชักชวนจากตูลูส-โลแตร็ก (รับบทโดย เลกูซิอาโน) ให้เขียนบทละครเพลงเรื่องใหม่ให้กับคณะคาบาเรต์ของแฮโรลด์ ซิดเลอร์ (รับบทโดย บรอดเบนท์) ชื่อเรื่อง \"Spectacular Spectacular\" เขามีความรักกับ ซาทีน (รับบทโดย คิดแมน) นางเอกระบำแคนแคนและหญิงงามเมืองในคณะของซิดเลอร์ ละครเพลงเรื่องใหม่นี้ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากท่านดยุกแห่งมอนร็อธ (รับบทโดย ร็อกซ์เบิร์ก) โดยมีเงื่อนไขว่าซาทีนจะต้องตกเป็นนางบำเรอของท่านดยุกก่อนจะเปิดการแสดงรอบแรก ",
"title": "มูแลงรูจ!"
},
{
"docid": "53376#18",
"text": "หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:บทละคร",
"title": "ยุขัน"
},
{
"docid": "136650#3",
"text": "ผลงานการแสดงละคร เรื่อง บทเด็กติดยาในเรื่อง\"ข้าวนอกนา\",บทตัวร้ายในเรื่อง\"ผู้การเรื่อเร่\"ค่ายกันตนา ,บททนายในเรื่อง\"ครูสมศรี\" ,บททอมบอยในเรื่อง \"กิจกรรมชายโสด\"(ในเรื่องนี้ฝากผลงานการเขียนเนื้อเพลงไตเติ้ลให้แพท พัทสนขับร้อง)ในค่ายละครเป่าจินจง, บทหัวหน้าหน่วยคอมมานโดในเรื่อง \"12ราศี\" ผลงานการกำกับละครเรื่องแรกของ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ,บทนางแมงมุมในละครเวทีของ ยุทธนา มุกดาสนิทในเรื่อง\"จุมพิษนางแมงมุม\" ",
"title": "สุกัญญา มิเกล"
},
{
"docid": "53404#3",
"text": "นิทานเรื่องนางพิกุลทอง บทละครนอกที่ปรากฏในสมุดไทยแต่ครั้งสมัย กรุงศรีอยุธยา นั้นจับเรื่องตั้งแต่นางพิกุลทองสรงน้ำ จนถึงตอนนางพิกุลทองลุยไฟ ส่วนนิทานกลอนของนายบุศย์ โรงพิมพ์วัดเกาะจะแต่งเพิ่มต่อจนจบเรื่อง",
"title": "พิกุลทอง"
},
{
"docid": "8139#5",
"text": "ในนวนิยายที่แปลโดย ว. ณ เมืองลุง จะไม่มี เจ้าหญิงอนัตตา ที่มาติดตามหาดาวแห่งทะเลทรายที่ส่งมาเป็นบรรณาการแก่ฮ่องเต้ราชวงศ์หมิง ไม่มีตัวละครมือปราบเล็กกีที่มีหลานชายชื่อเล็กตัน ซึ่งต่อมามีบทบาทในภาคยอดยุทธจักรมังกรฟ้าซึ่งมีเพียงในภาพยนตร์เท่านั้น ต่างจากฉบับที่แปลโดยน.นพรัตน์ จะมีตัวละครจากแคว้นเปอร์เซีย เช่น อี้เปยซา (อีแบล์ซ่า) ศิษย์ของสองจอมมารดำ-ขาว และมีตอนที่ฮุ้นปวยเอี๊ยงกินบัวหิมะเพื่อรักษาตนเอง อนึ่ง ว. ณ เมืองลุง แปลจากนิยายจีนที่แต่งโดย \"อึ้งเอ็ง\" คือ \"เทียนฉานเปี้ยง\" \"ไหมฟ้าปาฏิหาริย์\" ลงในหนังสือ \"จักรวาลปืน\" รายสัปดาห์ ของ \"พนมเทียน\" เมื่อราว ๆ ปี 2522 ถึง 2523 หรือ 2524 ต่อมารวมเล่มโดยสำนักพิมพ์สร้างสรรค์วิชาการ ในปัจจุบันไม่มีจำหน่ายแล้ว คงมีแต่สำนวนของ น.นพรัตน์ แปลและจัดพิมพ์จำหน่ายโดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมมิกส์ สำหรับในภาคที่ 2 ฮุ้นปวยเอียง ได้ต่อสู้กับจอมยุทธ์ชาวแม้ว ที่สำเร็จวิชา \"ไหมฟ้า\" โดยใช้ \"แมงกู่\" เป็นตัวนำกำลังภายในมาสู่ผู้ฝึก ซึ่งที่จริงแล้วจารึกไว้ที่ถ้ำของดินแดนชาวแม้วเป็นภาษาสันสกฤต แล้วถูกปรมาจารย์จากสำนักบู๊ตึง ไปพบแล้วคัดลอกมาดัดแปลงการฝึกใหม่ตามแนวทางธรรมะ เป็นวิชา \"ลมปราณไหมฟ้า\" อันเป็นผลให้ฮุ้นปวยเอี๊ยง ต้องล้มลงในฝ่ามือของจอมยุทธชาวแม้ว และถูกป้ายสีว่าเป็นผู้ฆ่ายอดชาวยุทธ/เจ้าสำนักต่างๆ ในตงง้วน เรื่องน่าติดตามทีเดียว มีทั้งสำนวนของ ว ณ.เมืองลุง และ น.นพรัตน์ ผู้แต่งชาวจีน \"อึ้งเอ็ง\" ไม่ชอบเขียนนิยายที่เกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของจีน ดังนั้นเรื่องในภาพยนตร์โทรทัศน์ในสมัยนั้น บางตอนและบางตัวละครจึงเป็นเรื่อง/บทบาทที่แต่งเติมเพิ่มเพื่อให้เรื่องยาวขึ้น และผลประโยชน์ทางการออกอากาศ ของช่อง 3 ในยุคนั้น ซึ่งมีเรื่อง \"กระบี่ไร้เทียมทาน\" และต่อด้วย \"ยอดยุทธจักรมังกรฟ้า\" อันเป็นเรื่องต่อเนื่องซึ่งมีตัวละครเกี่ยวเนื่องกันเท่านั้น",
"title": "กระบี่ไร้เทียมทาน"
},
{
"docid": "215009#3",
"text": "เริ่มหัดเขียนหนังสือและมีผลงานชิ้นแรกเป็นบทกวีชื่อ \"แสวงหา\" ตีพิมพ์ในนิตยสารสตรีสาร เมื่อปีพ.ศ. 2522 โดยใช้นามปากกา \"ฤสินา\" และตีพิมพ์เรื่องสั้นในสตรีสารครั้งแรก เรื่อง\"ยุทธการในห้องแล็บ\" ปีพ.ศ. 2523 ภายหลังได้ตีพิมพ์เรื่องสั้นและบทกวีอย่างต่อเนื่องอีกสิบกว่าเรื่อง (หลายนามปากกา) จากนั้นหยุดเขียนไปนาน หลายปีต่อมาได้หวนกลับมาเขียนเรื่องสั้นอีก โดยมีผลงานลงพิมพ์ในนิตยสารฟ้าเมืองไทย หน้า “เขาเริ่มต้นที่นี่” ใช้นามปากกา \"ฤทธิ์ จิตรา\" หลายเรื่องด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลเรื่องสั้นตีพิมพ์ในนิตยสารแพรวอีกหนึ่งเรื่อง (นามปากกา\"ปริวรรต\")",
"title": "ธาร ยุทธชัยบดินทร์"
},
{
"docid": "9800#107",
"text": "สามก๊กฉบับหลัว กวั้นจงได้มีการแปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2345 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ซึ่งมีพระราชดำริให้จัดแปลพงศาวดารจีนเรื่องสามก๊ก ไซ่ฮั่น และแปลพงศาวดารมอญเรื่องราชาธิราช เพื่อให้คนไทยได้ใช้ศึกษาเป็นตำราพิชัยสงคราม โดยมอบหมายให้เจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นผู้อำนวยการแปลสามก๊ก มีความยาวทั้งสิ้น 95 เล่มสมุดไทย ซึ่งได้รับการสันนิษฐานว่าเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ไม่ได้แปลสามก๊กจากต้นฉบับทั้งหมด เนื่องจากการใช้สำนวน ภาษา และรูปแบบการแปลในตอนท้ายเรื่องเป็นคนละสำนวนกับตอนต้นเรื่อง สามก๊กฉบับนี้ได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือแบบฝรั่งครั้งแรกโดยโรงพิมพ์หมอบรัดเล มีจำนวน 4 เล่มจบ เมื่อปี พ.ศ. 2408 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [20] ซึ่งต่อมากลายเป็นที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และถูกนำมากล่าวถึงในบทละครนอกเรื่องคาวี ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ความว่า",
"title": "สามก๊ก"
},
{
"docid": "9956#19",
"text": "ผลงานคลาสสิกและงานขำขันในยุคแรกของเชกสเปียร์มักมีโครงเรื่อง 2 ส่วนเกี่ยวพันกัน และมีลำดับการออกมุขตลกที่แน่ชัด เป็นตัวเบิกทางไปสู่ผลงานสุขนาฏกรรมอันอบอวลด้วยความรักในช่วงกลางทศวรรษ 1590[7] นั่นคือ ฝัน ณ คืนกลางฤดูร้อน (A Midsummer Night's Dream) อันเป็นบทละครที่ผสมผสานระหว่างเรื่องราวความรัก เวทมนตร์ของนางฟ้า และฉากตลกขำขัน บทละครเรื่องต่อมาคือ เวนิสวาณิช ก็เป็นละครชวนหัวที่เกี่ยวกับความรัก มีตัวละครชาวยิวผู้เป็นนายหน้าเงินกู้จอมงก ไชล็อก อันสะท้อนภาพของผู้คนในยุคเอลิซาเบธ นอกจากนี้ยังมีบทละครชวนหัวที่เล่นถ้อยคำอย่างชาญฉลาด Much Ado About Nothing, ฉากอันงดงามมีเสน่ห์ใน As You Like It ตลอดจนเรื่องราวรื่นเริงใน ราตรีที่สิบสอง (Twelfth Night) เหล่านี้ล้วนเป็นบทละครสุขนาฏกรรมอันมีชื่อเสียงของเชกสเปียร์[7] หลังจากงานกวีเรื่อง ริชาร์ดที่ 2 เชกสเปียร์นำเสนองานเขียนร้อยแก้วเชิงขำขันกับละครอิงประวัติศาสตร์ในช่วงปลายทศวรรษ 1590 คือเรื่อง พระเจ้าเฮนรีที่ 4 และ พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ตัวละครของเขามีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนมากขึ้น โดยที่ต้องสลับไปมาระหว่างความจริงจังกับความตลก และยังสลับไปมาระหว่างการบรรยายแบบร้อยแก้วกับร้อยกรอง นับเป็นผลสำเร็จในการนำเสนอเรื่องราวด้วยกรรมวิธีต่างๆ ในงานเขียนของเขา[24][7] ยุคนี้ของเชกสเปียร์เริ่มต้นและจบลงด้วยงานเขียนโศกนาฏกรรมสองเรื่อง คือ โรมิโอกับจูเลียต ละครโศกนาฏกรรมความรักที่โด่งดังมีชื่อเสียงที่สุด และ จูเลียส ซีซาร์ ซึ่งแต่งขึ้นจากผลงานแปลของเซอร์โทมัส นอร์ธ เรื่อง Parallel Lives ในปี 1579 นับเป็นการนำเสนอรูปแบบละครชีวิตแนวใหม่[7]",
"title": "วิลเลียม เชกสเปียร์"
},
{
"docid": "47882#0",
"text": "มณีพิชัย เป็นที่รู้จักกันในชื่อเรื่องว่า \"ยอพระกลิ่น\" เข้าใจกันว่าเป็นบทพระราชนิพนธ์ในล้นเกล้า รัชกาลที่ ๒ \nโดยทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนสำหรับใช้เป็นบทละครนอก ซึ่งความจริงร.๒ แต่เฉพาะตอนที่ยอพระกลิ่น\nปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอพระมณีพิไชยไปเป็นทาส ส่วนเนื้อเรื่องตามต้นเรื่องและบทท้ายนั้น \nจากหนังสือ \"รวมพระราชนิพนธ์บทละครนอก ๖ เรื่อง\" ไม่ได้ระบุว่าใครเป็นผู้แต่ง ซึ่งทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัดเคยนำมาสร้างเป็นละครพื้นบ้านแนวจักรๆวงศ์ๆในชื่อ ยอพระกลิ่น โดยผู้รับบท มณีพิชัย คือ ชาตรี พิณโณ และผู้รับบทยอพระกลิ่นคือ กบ สุวนันท์ ปุณณกันต์ โดยละครเรื่องนี้ออกอากาศเมื่อ ปี 2535 บทโทรทัศน์ โดย ภาวิต \nต่อมาเมื่อปี 2546 สามเศียร ได้นำมาทำใหม่อีกครั้ง โดยนำแสดงโดย รติพงษ์ ภู่มาลี และ ฐานมาศ ขวัญหวาน บทโทรทัศน์โดย พิกุลแก้ว ต่อมาเมื่อปี 2557 นำกลับสร้างอีกครั้งของ สามเศียร นำแสดงโดย ภัทชา งามพิสุทธิ์ รับบท ยอพระกลิ่น นพรัตน์ ประเสริฐสุข รับบท มณีพิชัย บทโทรทัศน์ โดย เกล้าเกศ",
"title": "ยอพระกลิ่น"
},
{
"docid": "53376#3",
"text": "บทะครนอกเรื่องยุขัน แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนต้นเรื่องกล่าวถึงกำเนิดของ \"นางประวะลิ่ม\" ซึ่งเป็นนางเอกของเรื่อง ส่วนตอนที่สอง กล่าวถึงการผจญภัยของ \"ยุขัน\" ซึ่งมีความยืดยาวและพิสดารมาก เริ่มตั้งแต่ออกตามหานกวิเศษชื่อ \"หัสรังสี\" และพบ \"นางประวะลิ่ม\" จนกระทั่งจบถึงตอนยุขันจัดเตรียมเครื่องบรรณาการไปกราบพระดาหลีมหามุณี และเดินทางไปกราบพระบรมศพพระเจ้าอุรังยิดที่เมืองอุรังยิด",
"title": "ยุขัน"
},
{
"docid": "156683#2",
"text": "อำภาได้แสดงนำในภาพยนตร์เรื่องแรก คือเรื่อง \"ฟ้าหลังฝน\" ประกบกับ วิฑูรย์ กรุณา และ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ โดยมี พิศาล อัครเศรณี เป็นผู้กำกับการแสดง ซึ่งประสบผลสำเร็จเกินคาด ทั้งทางด้านรายได้และรางวัลนักแสดง อีกทั้งเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องนี้ คือเพลง \"พะวงรัก\" ยังได้รับรางวัลพระราชทาน เสาอากาศทองคำ ทั้งนักร้องและเพลงในปีนั้นด้วย จากนั้น อำภายิ่งดังมากขึ้นกับบทพี่น้องสามสาว ในภาพยนตร์เรื่อง \"สามใบเถา\" คู่กับ สุพรรษา เนื่องภิรมย์ และ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ และเรื่อง \"พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ\" ซึ่งได้รับรางวัลนักแสดงดาวรุ่งจากการประกวด ที่ ไต้หวัน และ อินโดนีเซีย ต่อมาจึงหันไปรับบทนางรอง และนางร้าย แต่ก็ยังสามารถกลับมารับบทนางเอกได้อย่างสมศักดิ์ศรี จากภาพยนตร์หลาย ๆ เรื่อง เช่น \"กากี, น้ำพริกก้นถ้วย\" และเรื่องอื่น ๆ ช่วงที่ อำภารับบทนางเอก จะรับบทคู่กับพระเอกหลัก ๆ 4 คน คือ วิฑูรย์ กรุณา, สรพงศ์ ชาตรี, พอเจตน์ แก่นเพชร และ สมบัติ เมทะนี จากนั้นจึงหันมารับงานแสดงละครโทรทัศน์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2526 เป็นต้นมา ด้วยการเล่นละครเรื่อง \"พัชราวลัย, สุดสายป่าน \"และ\"บ้านโลกย์\"",
"title": "อำภา ภูษิต"
},
{
"docid": "363345#4",
"text": "จุดที่แฟนๆ ดีวา หลายคนกังขา อีฟไม่ใช่เรื่องของฝีมือแต่เป็นเรื่องของบุคลิกตัวละครซึ่งผ่านมาก็หลายปีแต่ WWE ไม่ได้มอบบทอะไรให้เธอเลย และเมื่อตอนนี้ WWE พึ่งคิดที่จะมีแผนมากอบกู้ลีคนี้ จึงทีการจับขยับบทป้อนให้กับ ดีวาส์ มากขึ้น แม้ว่าบางบทจะดูไม่เข้าท่าสักเท่าไหร่ แต่ในทางของ อีฟที่เล่นบทกับ ซูเปอร์สตาร์ แถวหน้าของ WWE นั้นคนละเรื่อง ยิ่งมาเจอบทรักสามเศร้า จนไปถึงแนวบทที่เคยเล่นทั้ง ทริส สตราตัส และ ลิตา มาแล้ว แถม อีฟก็ทำออกมาได้ดีซะด้วย ตอนนี้เธอได้ก้าวขึ้นมาเป็นแถวหน้าของ ดีวา ปัจจุบันได้เต็มปากอย่างไม่ต้องสงสัย ล่าสุดได้คว้าแชมป์ดีวาส์ เป็นสมัยที่ 3 และเสียแชมป์ให้กับ เคทลิน หลังจากนั้นเธอก็ได้ประกาศลาออกจาก WWE เพื่อจะไปแต่งงานกับแฟนหนุ่มที่คบหาดูใจกันมานานหลายปีก่อนจะมีครอบครัวและใช้ชีวิตของเธอเอง",
"title": "อีฟ ทอร์เรส"
},
{
"docid": "428414#5",
"text": "ยุคเริ่มแรกของบริษัทไทยโทรทัศน์ ทำงานทั่วไปตามที่ได้รับมอบหมาย บางครั้งทำหน้าที่ควบคุมการอัดเสียงผู้ที่มาสมัครเป็นผู้ประกาศของสถานีวิทยุ ททท.ซึ่งเปิดดำเนินการก่อนสถานีโทรทัศน์ออกอากาศ ต่อมาได้ทำงานเอกสารในแผนกแผนผังของฝ่ายจัดรายการ ซึ่งนอกจากจะต้องพิมพ์แผนผังการออกอากาศประจำวันแล้ว บางครั้งยังต้องพิมพ์บทละครโทรทัศน์ด้วย และได้เข้าร่วมแสดงเป็นตัวประกอบที่ไม่มีบทพูด เช่น ทหารตัวประกอบซึ่งเรียกกันว่า \"ทหารเสาหรือเสนา 50\" เพราะได้รับค่าตัว 50 บาท ต่อมาจึงได้รับบทที่ต้องมีบทสนทนาในละครหลายเรื่อง จนมาถึงเรื่อง \"เสือเก่า\" ส่งให้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของผู้ชม ในเรื่องนี้รับบทนักมวยเก่าที่แขวนนวมไปแล้ว มีภรรยา (กัณฑรีย์ นาคประภา สิมะเสถียร ) และต้องกลับมาขึ้นชกกับลูกชายของตัวเอง อาคม มกรานนท์ ซึ่งมีโอกาสได้ใช้ประสบการณ์ที่เคยฝึกชกมวยในการแสดงละครครั้งนี้ด้วย",
"title": "สมจินต์ ธรรมทัต"
},
{
"docid": "108875#0",
"text": "ไชยเชษฐ์ เป็น นิทานพื้นบ้าน สมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีผู้นำนิทานเรื่องนี้มาเล่นเป็นละครเพราะเป็นเรื่องสนุก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงนำนิทาน เรื่องไชยเชษฐ์มาพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอก เดิมละครนอกเป็นละครที่ราษฎรเล่นกัน ให้ผู้ชายแสดงเป็นตัวละครทั้งหมด พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ เพื่อให้เป็นบทละครนอกของหลวง และทรงให้ผู้หญิงที่เป็นละครหลวงแสดงอย่างละครนอก",
"title": "ไชยเชษฐ์"
},
{
"docid": "53404#0",
"text": "เรื่องนางพิกุลทอง นี้เป็น ละครนอก หนึ่งใน 14 เรื่อง ที่นิยมนำมาเล่นกันมากเรื่องหนึ่งตั้งแต่ครั้ง สมัยอยุธยา ปัจจุบันยังพบว่ามีต้นฉบับหนังสือตัวเขียนที่เหลือรอดจากการถูกพม่าทำลายคราวเสียกรุง เก็บรักษาไว้อยู่ที่ หอสมุดแห่งชาติ เป็นสมุดข่อยสีขาว ตัวหมึกดำ ลายมือกึ่งบรรจงแกมหวัด ตัวอักษรไม่สม่ำเสมอและมีบันทึกว่า หมู่กลอนบทละคร ชื่อ พิกุลทอง เล่ม 1 (สำนวนเก่า) เลขที่ 20 ตู้ที่ 114 ชั้น 2/1 มัด 39 ประวัติ สมบัติเดิมของหอพระสมุดวชิรญาณ ซึ่งมีเนื้อความเริ่มตั้งแต่นางพิกุลทองสรงน้ำ จนจบตอนท้ายคือปราบนางยักษ์กาขาวและยังไม่ได้รับตรวจสอบชำระฉบับที่เหลืออื่นๆ หรือตีพิมพ์จากกรมศิลปากร ส่วนเรื่องนางพิกุลทองต่อจากสำนวนเดิมที่เป็นการผจญภัยยืดยาวถึงรุ่นลูกนั้น มาจากกลอนอ่านสำนวนของ นายบุศย์ รจนา จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์วัดเกาะราวปี พ.ศ. 2433 ตรงกับสมัย รัชกาลที่ 5 ซึ่งนายบุศย์ผู้นี้ได้นำนิทานไทยครั้งกรุงเก่ามาแต่งสำนวนใหม่เป็น \"กลอนอ่าน\" หรือ กลอนสวด อยู่หลายเรื่อง เช่น แก้วหน้าม้า, จันทโครพ, สุวรรณหงส์ เป็นต้น",
"title": "พิกุลทอง"
},
{
"docid": "9956#2",
"text": "ผลงานที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ของเชกสเปียร์ประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1590 ถึง 1613 ในยุคแรกๆ บทละครของเขาจะเป็นแนวชวนหัวและแนวอิงประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแนวทางบทละครที่เป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาเขาเขียนบทละครแนวโศกนาฏกรรมหลายเรื่อง รวมถึงเรื่อง แฮมเล็ต King Lear และ แม็คเบธ ซึ่งถือว่าเป็นบทละครตัวอย่างชั้นเลิศของวรรณกรรมอังกฤษ ในช่วงปลายของการทำงาน งานเขียนของเขาจะเป็นแนวสุข-โศกนาฏกรรม (tragicomedies) หรือแนวโรมานซ์ และยังร่วมมือกับนักเขียนบทละครคนอื่นๆ อีกมาก บทละครของเขาตีพิมพ์เผยแพร่ในหลายรูปแบบโดยมีรายละเอียดและเนื้อหาต่างๆ กันตลอดช่วงที่เขามีชีวิตอยู่ ในปี ค.ศ. 1623 เพื่อนร่วมงานสองคนในคณะละครของเขาได้ตีพิมพ์หนังสือ \"First Folio\" เป็นการรวบรวมงานเขียนของเขาขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งได้บรรจุบทละครที่ปัจจุบันเชื่อว่าเป็นงานเขียนของเชกสเปียร์เอาไว้ทั้งหมด (ขาดไปเพียง 2 เรื่อง)",
"title": "วิลเลียม เชกสเปียร์"
},
{
"docid": "450204#2",
"text": "ในปี 2551 ภายหลังจากยุน อึนเฮได้เซ็นต์สัญญากับตู้เย็นตระกูล Zipel ซัมซุงยังคงหาดาราที่จะมาเซ็นต์สัญญาต่อจากยุน อึนเฮเพื่อโปรโมตสินค้าตู้เย็นแช่กิมจิ โดยมีลี ดาแฮและฮัน กาอินได้เซ็นต์สัญญาในเวลาต่อมา ลี ดาแฮ ยังได้แสดงซีรีส์แนวแอคชั่นในปี 2551 ในเรื่องตระกูลรักหักเหลี่ยมแค้น ได้แสดงร่วมกับยุน จุงฮุนและซง ซึงฮย็อน หลังจากนั้นไม่นานอี ดาแฮก็ได้เข้าห้องฉุกเฉิน หลังจากที่เธอล้มลงหมดสติเนื่องจากตารางงานที่แน่นประกอบกับการออกกำลังกายอย่างหนักที่ยิมส่งผลให้เกิดความเหนื่อยล้าอย่างมาก แต่อี ดาแฮก็ได้มีการประกาศเรื่องที่น่าตกใจอย่างมากเมื่อเธอได้ประกาศที่จะออกจากละครเรื่องนี้เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพในตอนที่ 40 ซึ่งจะออกอากาศในวันที่ 14 มกราคม โดย มิน ฮเยริน ซึ่งเป็นตัวละครที่อี ดาแฮแสดงนั้นในบทได้บอกว่าได้เดินทางไปศึกษาต่อยังสหรัฐอเมริกาแล้วทิ้งเพื่อนๆ รวมทั้งความหลังต่างๆ ไว้เบื้องหลังโดยเป็นผลให้ดาแฮออกจากละครเรื่องนี้ไปอย่างถาวร โดยในที่สุดก็ได้ฮวาง จุงอึม นักแสดงสาววัย 23 ปี มารับบทเป็นลูกสาวอัยการ ผู้ซึ่งในตอนท้ายจะได้แต่งงานกับบทของ ยุน จุงฮุน ",
"title": "อี ดาแฮ"
},
{
"docid": "9956#10",
"text": "บทละครบางส่วนของเชกสเปียร์ได้รับการตีพิมพ์แล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 1594 เมื่อถึงปี 1598 ชื่อของเขาสามารถเป็นจุดขายโดยได้พิมพ์ปรากฏบนปกหนังสือ[6][17][18] เชกสเปียร์ยังคงแสดงละครเวทีของเขาเองและบทละครของคนอื่นๆ แม้ว่าจะประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในฐานะคนเขียนบทละครแล้ว ละครเวทีของเบน โจนสัน ในปี ค.ศ. 1616 ยังปรากฏชื่อของเชกสเปียร์ในรายชื่อนักแสดงในเรื่อง Every Man in His Humour (1598) และ Sejanus, His Fall (1603)[19] ทว่าชื่อของเขาไม่ได้ร่วมอยู่ในละครของโจนสันในปี 1605 เรื่อง Volpone ทำให้นักวิชาการลงความเห็นว่า นั่นเป็นสัญญาณของการสิ้นสุดบทบาทอาชีพนักแสดงของเชกสเปียร์[14] อย่างไรก็ดี ในหนังสือ \"First Folio\" แสดงชื่อของเชกสเปียร์เป็นหนึ่งในบรรดา \"ตัวละครหลัก\" ของบทละครทั้งหมดนั้น ซึ่งบางเรื่องก็เปิดแสดงหลังจากเรื่อง Volpone แต่ไม่สามารถทราบได้ว่าเชกสเปียร์ได้ร่วมแสดงเป็นตัวละครใดกันแน่[6]",
"title": "วิลเลียม เชกสเปียร์"
},
{
"docid": "9956#25",
"text": "ปี ค.ศ. 1623 เพื่อนของเชกสเปียร์สองคนในคณะละคร King's Men คือ จอห์น เฮมมิ่งส์และเฮนรี่ คอนเดล ได้จัดพิมพ์หนังสือ First Folio เป็นการรวมงานเขียนบทละครต่างๆ ของเชกสเปียร์เป็นครั้งแรก เป็นหนังสือขนาดใหญ่ราว 15 นิ้ว (เรียกว่า folio) ประกอบด้วยเนื้อเรื่องบทละคร 36 เรื่อง ในจำนวนนี้มี 18 เรื่องเป็นบทละครที่เพิ่งพิมพ์เป็นครั้งแรก[28] โดยที่เนื้อเรื่องบางส่วนเคยเผยแพร่มาก่อนหน้านี้แล้วในรูปแบบหนังสือขนาดเล็ก (เรียกว่า quarto) ไม่มีหลักฐานที่แสดงว่าเชกสเปียร์เห็นชอบกับการตีพิมพ์คราวนี้ บางครั้ง \"First Folio\" จึงได้ชื่อว่าเป็นงานที่ \"ขโมยมาและลักลอบตีพิมพ์\"[34] อัลเฟรด พอลลาร์ด เรียกบางส่วนของหนังสือเล่มนี้ว่า \"bad quarto\" (หมายถึงหนังสือที่บิดเบือน) เนื่องจากเนื้อหาจำนวนหนึ่งถูกดัดแปลง ถ่ายความ หรือบิดเบือนไป อันเนื่องจากการเขียนบทประพันธ์ขึ้นใหม่จากความทรงจำ[34] บทละครอื่นๆ ของเชกสเปียร์ยังปรากฏเหลือรอดมาอยู่หลายชุด และแต่ละชุดก็มีความแตกต่างกันไปบ้าง ซึ่งอาจเกิดจากการคัดลอกหรือความผิดพลาดจากการพิมพ์ จากการบันทึกย่อของนักแสดง จากบันทึกของผู้ชม หรือบ้างก็จากกระดาษร่างของเชกสเปียร์เอง[35] บทละครบางเรื่องเช่น แฮมเล็ต ทรอยลัสกับเครสสิดา หรือ โอเธลโล ได้รับการดัดแปลงบทจากเชกสเปียร์เองหลายครั้ง สำหรับเรื่อง King Lear เนื้อหาที่ปรากฏในฉบับ folio กับฉบับ quarto ในปี 1608 มีความแตกต่างกันมากจนกระทั่งทางออกซฟอร์ดต้องตีพิมพ์ใน The Oxford Shakespeare ทั้งสองแบบ เพราะไม่สามารถนำสองเวอร์ชันนี้มารวมเข้าด้วยกันได้โดยไม่ทำให้เกิดความสับสน[28]",
"title": "วิลเลียม เชกสเปียร์"
},
{
"docid": "53376#0",
"text": "ยุขัน เป็นบทละครนอกที่แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนบทละคร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าแต่งเมื่อใดและผู้แต่งเป็นใคร สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับอิทธิพลมาจากนิทานสุภาษิตเปอร์เซียเรื่องอิหร่านราชธรรม หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สิบสองเหลี่ยม เนื่องจากปรากฏข้อความบนทะเบียนเก่าของหอสมุดวชิรญาณ",
"title": "ยุขัน"
},
{
"docid": "979819#2",
"text": "ฮอว์กินส์เริ่มต้นอาชีพด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีในหลายเรื่อง เช่น \"โรเมโอและจูเลียต\" ในบทจูเลียต คาปูเล็ต, \"มัชอะดูอะเบาต์นอตติง\" ในบทฮีโร และ \"ฝัน ณ คืนกลางฤดูร้อน\" ในบทเฮอร์เมีย เธอยังปรากฏในละครเวทีของโรงละครรอยัลคอร์ต ในลอนดอน และในปี ค.ศ. 2010 เธอแสดงละครบรอดเวย์ครั้งแรกในเรื่อง \"มิสซิสวอร์เรนเพอร์เฟกชัน\" ในปี ค.ศ. 2012 เธอได้แสดงเรื่อง \"คอนสตัลเลชันส์\" ที่โรงละครรอยัลคอร์ต ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปที่โรงละครดยุกแห่งยอร์กในเวสต์เอ็นด์ บนจอโทรทัศน์เธอปรากฏในละครเลสเบียนทางช่องบีบีซีเรื่อง \"ขอหยุดหัวใจไว้ที่เธอ\" (2002) ดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของซาราห์ วอเตอส์ โดยรับบทเป็นเซนา เบลก และในเรื่อง \"เล่ห์รัก นักล้วง\" (2005) รับบทเป็นซูซาน ทรินเดอร์ เขียนโดยวอเตอส์อีกเช่นกัน เธอยังรับบทเป็นแอนน์ เอลเลียตในละครเรื่อง \"เพอร์ซูเอชัน\" (2007) ออกอากาศทางช่องไอทีวี สร้างจากนวนิยายของเจน ออสเตน",
"title": "แซลลี ฮอว์กินส์"
},
{
"docid": "53376#1",
"text": "ยุขัน มีชื่อระบุในสมุดไทยว่า ยุขัน (สิบสองเหลี่ยม) อีกทั้งเนื้อเรื่องตอนต้นก็ได้กล่าวถึงเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นในเมืองสิบสองเหลี่ยม แต่กระนั้น ก็มีอิทธิพลของชวา และบทละครเรื่อง อิเหนาเข้ามาปะปนอยู่ด้วย เช่น ชื่อของตัวละคร หรือตำแหน่งต่างๆ เช่น \"ประไหมสุหรี\" เป็นต้น",
"title": "ยุขัน"
},
{
"docid": "82763#2",
"text": "ในสมัยรัชกาลที่ ๒ กรมหลวงภูวเนตรนรินทร์ฤทธิ์ ทรงโปรดเรื่องละครนอก จึงทรงแต่งบทละครนอกขึ้น ๔ เรื่อง คือ มณีพิไชยตอนต้น (ต่อมารัชกาลที่ ๒ ทรงเสียดายเรื่อง จึงทรงพระราชนิพนธ์ต่อในตอนที่นางยอพระกลิ่นแปลงเป็นพราหมณ์)สุวรรณหงส์๑ แก้วหน้าม้า ๑ และนางกุลา (โสนน้อยเรือนงาม) ๑ ปรากฏว่า บทละครนอกของ พระองค์เจ้าทินกร หรือกรมหลวงภูวเนตรนรินทร์ฤทธิ์ เป็นที่แพร่หลายมากจนถึงบัดนี้เป็นละครนอก หรือที่เรียกกันว่าละครชาตรี นิยมเล่นกันมาก ไม่แพ้เรื่อง สังข์ทอง คาวี ไชยเชษฐ์ และ ไกรทอง",
"title": "สุวรรณหงส์"
},
{
"docid": "403842#4",
"text": "ปีถัดมา ราณีมีละครด้วยกันถึง 3 เรื่อง ละครฟอร์มยักษ์อย่างเรื่อง \"ลูกทาส\" รับบทเป็นคุณน้ำทิพย์ หญิงสาวสูงศักดิ์ แสดงคู่กับ ภูภูมิ พงศ์ภาณุ เรื่องที่ 2 รับบทเป็น เนื้อนาง ในละครเรื่อง \"เพลิงฉิมพลี\" แสดงคู่กับ อธิชาติ ชุมนานนท์ และเรื่องที่ 3 รับบทน้ำริน ผีสาวความจำเสื่อม ในละครเรื่อง \"ภพรัก\" แสดงคู่กับ ปริญ สุภารัตน์\nในปี 2559 ราณีได้ ละครเรื่อง \"ปดิวรัดา\" คู่กับ จิรายุ ตั้งศรีสุข อีกครั้งหลังจากเคยร่วมงานกันในละครเรื่อง \"คุณชายพุฒิภัทร\" ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 แสดงในละครแนวรักตลกที่อิงประวัติศาสตร์ เรื่อง \"บุพเพสันนิวาส\" แสดงคู่กับ ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ",
"title": "ราณี แคมเปน"
},
{
"docid": "561609#4",
"text": "ละครในชื่อ ทาสรักทระนง ในปี พ.ศ. 2550 ได้รับกระแสการตอบรับที่ดีและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีจากแฟนละครของเอ็กแซ็กท์ในช่วงเวลานั้นโดยเฉพาะพระนางคู่ขวัญของเรื่องอย่าง กัปตัน ภูธเนศ หงษ์มานพ ผู้รับบท ชินภัทร / นายหัวชิน และ พิม พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร ผู้รับบท อาริตา อนุศาสนันท์ ที่แสดงบทบาททางการแสดงจนผู้ชมเชื่อเลยว่าเป็นได้ทั้งคู่รักคู่กัดคู่ฮากันในละครเรื่องดังกล่าวจนเกือบจะได้เป็นคู่ชีวิตจริงๆกันนอกจอจนทำให้เคยมีกระแสจากแฟนๆละครรวมไปถึงแฟนคลับของสองนักแสดงที่ต่างเชียร์ให้คู่นี้สมหวังกันนอกจอแต่ก็ต้องผิดหวังกันไปตามๆกันในห้วงเวลาต่อมา",
"title": "คนละขอบฟ้า"
},
{
"docid": "758127#3",
"text": "\"หนึ่งด้าวฟ้าเดียว\" เป็นละครจากค่ายทีวีซีน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ผู้จัดเข้าหาวรรณวรรธน์ ผู้เขียน \"ข้าบดินทร์\" ให้มาช่วยแต่งบทละครเรื่องนี้ ผ่านตัวละครและเรื่องราวใหม่ ๆ ได้รับแรงบันดาลใจเค้าโครงเรื่องจาก กฎหมายตราสามดวงว่าด้วยกฎมณเฑียรบาล ที่บันทึกว่ามีขันทีชาวต่างชาติในขบวนเสด็จของกษัตริย์ ทำให้เกิดเรื่องราวของชาวตุรกี ที่ปลอมตัวเป็นขันทีเข้ากรุงศรีอยุธยามาสืบราชการลับในละครเรื่องนี้ โดยมีบุคคลในประวัติศาสตร์อย่าง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, พระเจ้ามังระ, พระยาพิชัยดาบหัก, กรมขุนวิมลพัตร, เจ้าจอมเพ็ญ ฯลฯ และใช้เวลาประพันธ์ 3 เดือน สำหรับตัวละครขันทอง รับบทโดยจิรายุ ตั้งศรีสุข วรรณวรรธน์ได้วางตัวละครนี้โดยมีจิรายุไว้ในใจตั้งแต่ตอนเขียนบทประพันธ์ เพราะประทับใจบทบาทการแสดงในละครเรื่อง \"สุภาพบุรุษจุฑาเทพ\" ส่วนเครื่องแต่งกายของละครเรื่องนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง และเพิ่มเติมสีสันสดใสให้ดูเหมาะสม",
"title": "หนึ่งด้าวฟ้าเดียว"
}
] |
155 | ตัวปราสาทตาเมือนธม หันหน้าไปทาง? | [
{
"docid": "187171#2",
"text": "ตัวปราสาทตาเมือนธม หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่นซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก รับกับเส้นทางที่มาจากเขมรต่ำผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
}
] | [
{
"docid": "359073#9",
"text": "กลุ่มปราสาทตาเมือนธม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองคันนาสามัคคี ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์\nตามรายทางสู่เมืองพระนครของขอม ในอดีตยังไม่มีความรับรู้ในเรื่องพรมแดนต่างประเทศ \nมีแต่เพียงแนวทิศเขาดงเร็ก เป็นพรมแดนธรรมชาติที่กั้นผู้คนสองดินแดนไว้ คนโบราณมีการ\nใช้เส้นทางผ่าช่องเขาที่มีอยู่ตลอดแนว ในบางช่องเขามีการสร้างปราสาทหินขนาดเล็ก เช่น ช่องสายตะกูมีปราสาทบายแบก \nแต่สำหรับที่ช่องตาเมือนหรือตาเมียงนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีปราสาทหินสามหลังอยู่ใกล้ๆกัน เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก \nเรียกว่ากลุ่มปราสาทตาเมือน โดยปราสาทแต่ละหลังมีขนาดและประโยชน์ที่ใช้สอยแตกต่างกันไป",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "359073#6",
"text": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด อยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธม ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 750 เมตร และอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 390 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำแพงล้อมรอบและมีสระน้ำขนาดเล็กอยู่ทางทิศเหนือหนึ่งสระ เชื่อกันว่าปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยาศาล หรือ สถานรักษาพยาบาลของชุมชน หรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "187171#0",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม (Khmer: ប្រាសាទតាមាន់ធំ ตาม็วนธม - ตาไก่ใหญ่) ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลังเรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "190275#0",
"text": "ปราสาทตาควาย หรือปราสาทตาวาย หรือในภาษาเขมรเรียกว่า ปราสาทกรอเบย ( \"บฺราสาทตากฺรบี\") ตั้งอยู่บริเวณช่องตาควาย ในเขตบ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 17 ตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหินศิลาแลง ตั้งทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทตาเมือนธม ห่างไปประมาณ 12 กิโลเมตร",
"title": "ปราสาทตาควาย"
},
{
"docid": "7585#36",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม บ้านหนองคันนา ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ ก่อด้วยหินทราย และศิลาแลง",
"title": "จังหวัดสุรินทร์"
},
{
"docid": "187171#4",
"text": "ปราสาทแห่งนี้อยู่ใกล้เขตชายแดนเขมรมากที่สุด การเที่ยวชมจึงควรอยู่เฉพาะภายในเขตปราสาทเท่านั้น ไม่ควรเดินออกไปไกลจากแนวต้นไม้รอบปราสาทเพราะพื้นที่นี้ยังไม่ปลอดภัยนัก",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "187171#10",
"text": "กลุ่มปราสาทตาเมือนนี้นับได้ว่าเป็นกลุ่มปราสาทที่มีความสมบูรณ์ในด้านของการอำนวยประโยชน์ แก่ผู้คนที่ใช้เส้นทางผ่านช่องเขา ซึ่งไม่ปรากฏในถิ่นอื่น การที่มีกลุ่มปราสาทตาเมือนตั้งอยู่ในบริเวณนี้เป็นประจักษ์พยานที่แสดงให้เห็นว่า ในอดีตเส้นทางช่องเขาตาเมือนนี้คงจะมีชุมชนหรือเป็นเส้นทางผ่านช่องเขาสำคัญของภูมิภาค",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "359073#11",
"text": "เนื่องจากปราสาทแห่งนี้อยู่ใกล้เขตชายแดน การเที่ยวชมจึงควรอยู่เฉพาะภายในเขตปราสาทเท่านั้น \nไม่ควรเดินออกไปไกลจากแนวต้นไม้รอบปราสาทเพราะพื้นที่นี้ยังไม่ปลอดภัยนัก\nปราสาทตาเมือนโต๊ด อยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธม ประมาณ 750 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง \nมีกำแพงล้อมรอบและมีสระน้ำขนาดเล็กอยู่ทางทิศเหนือหนึ่งสระ โดยเชื่อว่าปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยาศาล \nรักษาพยาบาลของชุมชนหรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7\nปราสาทตาเมือน(บายกรีม)อย่ห่างจากปราสาทตาเมือนโต๊ด ประมาณ 390 เมตร เป็นปราสาทที่เล็กที่สุด ก่อด้วยศิลาแลง มีลักษณะเป็นห้องยาว เชื่อว่าเป็นธรรมศาลา \nคือที่พักสำหรับคนเดินทาง\nกลุ่มปราสาทตาเมือนนี้นับได้ว่าเป็นกลุ่มปราสาทที่มีความสมบูรณ์ในด้านของการอำนวยประโยชน์\nแก่ผู้คนที่ใช้เส้นทางผ่านช่องเขา ซึ่งไม่ปรากฏในถิ่นอื่น การที่มีกลุ่มปราสาทตาเมือนตั้งอยู่ในบริเวณนี้เป็นประจักษ์พยานที่แสดงให้เห็นว่า ในอดีตเส้นทางช่องเขาตาเมือนนี้คงจะมีชุมชนหรือเป็นเส้นทางผ่านช่องเขาสำคัญของภูมิภาค",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "359073#10",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่ม \nตัวปราสาทอยู่บนเนินเขาสร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่สำหรับประกอบพิธีกรรม \nอยู่ใกล้ดินแดนเขมรมากที่สุด ปราสาทแห่งนี้หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่นซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก คงจะรับกับเส้นทางที่มาจากเขมรต่ำผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้ ปราสาทตาเมือนธม ซึ่งแปลตรงกับภาษาเขมรว่า ใหญ่ \nนอกจากนี้ยังมีอาคารอื่น คือปรางค์ก่อด้วยหินทรายสองหลัง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน\nบรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอกระเบียงคดทางทิศเหนือมีสระน้ำขนาดเล็กสองสระ ",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "187171#1",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่ม (ธม เป็นภาษาเขมร แปลว่า ใหญ่) ตัวปราสาทอยู่บนเนินเขาสร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่สำหรับประกอบพิธีกรรม",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "359073#2",
"text": "ตัวปราสาทตาเมือนธม หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่นซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก รับกับเส้นทางที่มาจากเขมรต่ำผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้ ",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "359073#7",
"text": "ปราสาทตาเมือน หรือ ปราสาทบายกรีม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงเร็ก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลบ้านตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดเล็กที่สุดในกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "359073#0",
"text": "กลุ่มปราสาทตาเมือนตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทที่รวมกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน มาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน และกำลังพิจารณาปราสาทกลุ่มราชมรรคาเป็นมรดกโลก\nปราสาทตาเมือนธม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน และและสมาชิกใหม่คือปราสาทศีขรภูมิ, ปราสาทตาควาย",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "187171#8",
"text": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด อยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธม ประมาณ 750 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำแพงล้อมรอบและมีสระน้ำขนาดเล็กอยู่ทางทิศเหนือหนึ่งสระ โดยเชื่อว่าปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยาศาล รักษาพยาบาลของชุมชนหรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "187171#7",
"text": "เนื่องจากปราสาทแห่งนี้อยู่ใกล้เขตชายแดน การเที่ยวชมจึงควรอยู่เฉพาะภายในเขตปราสาทเท่านั้น ไม่ควรเดินออกไปไกลจากแนวต้นไม้รอบปราสาทเพราะพื้นที่นี้ยังไม่ปลอดภัยนัก",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "359073#5",
"text": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหลังหนึ่งในกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "187171#6",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่ม ตัวปราสาทอยู่บนเนินเขาสร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่สำหรับประกอบพิธีกรรม อยู่ใกล้ดินแดนเขมรมากที่สุด ปราสาทแห่งนี้หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแผกจากแห่งอื่นซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก คงจะรับกับเส้นทางที่มาจากเขมรต่ำผ่านมาทางช่องทางตาเมือนนี้ ปราสาทตาเมือนธม ซึ่งแปลตรงกับภาษาเขมรว่า ใหญ่ นอกจากนี้ยังมีอาคารอื่น คือปรางค์ก่อด้วยหินทรายสองหลัง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน บรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอกระเบียงคดทางทิศเหนือมีสระน้ำขนาดเล็กสองสระ",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "187171#3",
"text": "ปราสาทตาเมือนธมประกอบด้วยปราสาทประธาน มีอาคารอื่น คือปรางค์ก่อด้วยหินทรายสองหลัง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน มีบรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ มีสระน้ำขนาดเล็กสองสระ",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "189486#0",
"text": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด ( \"ตาม็วนโตจ\" - ตาไก่เล็ก) ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหลังหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน",
"title": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด"
},
{
"docid": "187171#9",
"text": "ปราสาทตาเมือน(บายกรีม)อย่ห่างจากปราสาทตาเมือนโต๊ด ประมาณ 390 เมตร เป็นปราสาทที่เล็กที่สุด ก่อด้วยศิลาแลง มีลักษณะเป็นห้องยาว เชื่อว่าเป็นธรรมศาลา คือที่พักสำหรับคนเดินทาง",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "359073#1",
"text": "ปราสาทตาเมือนธม เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่ม (ธม เป็นภาษาเขมร แปลว่า ใหญ่) ตัวปราสาทอยู่บนเนินเขาสร้างคร่อมโขดหินธรรมชาติที่ศักดิ์สิทธิ์ในรูปของสยัมภูศิวลึงค์ และเป็นที่สำหรับประกอบพิธีกรรม ",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "189483#0",
"text": "ปราสาทตาเมือน () หรือ ปราสาทบายกรีม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลบ้านตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดเล็กที่สุดในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน",
"title": "ปราสาทตาเมือน"
},
{
"docid": "187171#14",
"text": "หมวดหมู่:ปราสาทหินในไทย หมวดหมู่:กลุ่มปราสาทตาเมือน หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสุรินทร์",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "187171#13",
"text": "การเดินทางจากจังหวัดบุรีรัมย์ไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 219 ที่จะไปบ้านกรวด จนมาถึงแยกที่ตัดกับทางหลวงหมายเลข 224 บริเวณนิคมปราสาท อำเภอบ้านกรวด เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 224 จนถึงแยกบ้านตาเมียง แล้วไปตามเส้นทางเช่นเดียวกับข้างต้น",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "187171#12",
"text": "การเดินทางจากจังหวัดสุรินทร์ไปทางอำเภอปราสาทตามทางหลวงหมายเลข 214 จนมาถึงทางแยกตัดกับทางหลวงหมายเลข 24 ให้เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 24 จนถึงสามแยกบริเวณนิคมปราสาท ให้เลี้ยวซ้าย ไปตามป้ายบอกทางไปอำเภอพนมดงรัก ตามทางหลวงหมายเลข 2397 จนมาถึงแยกบริเวณ อบต. แนงมุด ให้เลี้ยวขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 224 จนพบป้ายบอกทางไปกลุ่มปราสาทตาเมือน ให้เลยป้ายไปอีกเล็กน้อยจนถึงแยกบ้านตาเมียง จะพบทางที่มีป้ายบอกไป ฉก. ตชด. 16 เลี้ยวไปตามถนนเส้นนี้(2407)ตรงมาเรื่อยๆ จนพบห้าแยกเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2407 ผ่านบ้านหนองคันนา ใช้ทางตรงมาเรื่อยจนพบทางแยก จะพบปราสาทตาเมือนก่อน ใกล้ๆกันนั้นมีหน่วยตระเวนชายแดนคุ้มครองนักท่องเที่ยว ควรติดต่อเจ้าหน้าที่ก่อนเพื่อความปลอดภัยในการเที่ยวชมปราสาท",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
},
{
"docid": "359073#3",
"text": "ปราสาทตาเมือนธมประกอบด้วยปราสาทประธาน มีอาคารอื่น คือปรางค์ก่อด้วยหินทรายสองหลัง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทประธาน มีบรรณาลัยศิลาแลงสองหลัง และนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ มีสระน้ำขนาดเล็กสองสระ ",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "359073#16",
"text": "ปราสาทตาวาย (ปราสาทตาควาย) หรือ ปราสาทกรอเบย ( \"บฺราสาทตากฺรบี\") ตั้งอยู่บริเวณช่องตาควาย ในเขตบ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 17 ตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหินศิลาแลง ตั้งทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทตาเมือนธม ห่างไปประมาณ 12 กิโลเมตร",
"title": "กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ"
},
{
"docid": "189486#1",
"text": "ปราสาทตาเมือนโต๊ดอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธมไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 750 เมตร และอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 390 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำแพงล้อมรอบและมีสระน้ำขนาดเล็กอยู่ทางทิศเหนือหนึ่งสระ เชื่อกันว่าปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยศาลหรือสถานรักษาพยาบาลของชุมชนหรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7",
"title": "ปราสาทตาเมือนโต๊ด"
},
{
"docid": "187171#5",
"text": "กลุ่มปราสาทตาเมือน ตั้งอยู่ที่บ้านหนองคันนาสามัคคี ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ตามรายทางสู่เมืองพระนครของขอม ในอดีตยังไม่มีความรับรู้ในเรื่องพรหมแดนต่างประเทศ มีแต่เพียงแนวทิวเขาพนมดงรัก เป็นพรหมแดนธรรมชาติที่กั้นผู้คนสองดินแดนไว้ คนโบราณมีการ ใช้เส้นทางผ่าช่องเขาที่มีอยู่ตลอดแนว ในบางช่องเขามีการสร้างปราสาทหินขนาดเล็ก เช่น ช่องไชตะกูมีปราสาทแบแบก แต่สำหรับที่ช่องตาเมือนหรือตาเมียงนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีปราสาทหินสามหลังอยู่ใกล้ๆกัน เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก เรียกว่ากลุ่มปราสาทตาเมือน โดยปราสาทแต่ละหลังมีขนาดและประโยชน์ที่ใช้สอยแตกต่างกันไป",
"title": "ปราสาทตาเมือนธม"
}
] |
1707 | พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ครั้งแรกเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "9091#0",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากสมเด็จพระเชษฐาธิราช สูงศักดิ์กว่า \"วังหน้า\" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช) พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษา",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
}
] | [
{
"docid": "94961#6",
"text": "พระเมืองเกษเกล้า พระราชสวามี ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ครั้งแรกในช่วงปี พ.ศ. 2068-2081 ซึ่งช่วงแรกของการครองราชย์ยังมีกลุ่มอำนาจเดิมในสมัยพญาแก้ว ยังไม่พบความขัดแย้งของเหล่าขุนนาง และดูเหมือนว่าครองราชย์ตามปกติเฉกเช่นกษัตริย์องค์ก่อน ความมั่นคงช่วงแรกจึงเกิดจากแรงสนับสนุนของเหล่าพระสงฆ์และมหาเทวีเจ้าตนย่า (นางโป่งน้อย) ซึ่งเป็นฐานอำนาจเดิม ภายหลังเมื่อมหาเทวีเจ้าตนย่าสวรรคตใน พ.ศ. 2077 โดยพระองค์มีพระราโชบายที่จะรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง สร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางลำปางที่นำโดย หมื่นสามล้าน ซึ่งเป็นผู่นำไม่พอใจและเกิดการก่อกบฏขึ้นในปี พ.ศ. 2078 โดยขุนนางเมืองลำปางได้เป็นแกนนำการก่อกบฏ ดังข้อความตอนหนึ่งว่า \"\"...เสนาทังหลาย เปนต้นว่า หมื่นสามล้านกินนคร ๑ ลูกหมื่นสามล้านเชื่อว่าหมื่นหลวงชั้นนอก ๑ หมื่นยี่อ้าย ๑ จักกะทำคดแก่เจ้าพระญาเกสเชฏฐราชะ พระเปนเจ้ารู้ จิ่งหื้อเอาหมื่นส้อยสามล้านไพข้าเสียวันนั้นแล...\"\" แสดงว่าขุนนางตามภูมิภาค ต่างไม่พอใจพระมหากษัตริย์ และเกิดความขัดแย้งรุนแรงยิ่งขึ้น จนในที่สุด พ.ศ. 2081 ขุนนางมีอำนาจเหนือกษัตริย์และได้ร่วมกันปลดพระเมืองเกษเกล้าออก แล้วส่งไปครองเมืองน้อย",
"title": "พระนางจิรประภาเทวี"
},
{
"docid": "96705#2",
"text": "พระเมืองเกษเกล้า ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ครั้งแรกในช่วงปี พ.ศ. 2068-2081 ซึ่งช่วงแรกของการครองราชย์ยังมีกลุ่มอำนาจเดิมในสมัยพญาแก้ว ยังไม่พบความขัดแย้งของเหล่าขุนนาง และดูเหมือนว่าครองราชย์ตามปกติเฉกเช่นกษัตริย์องค์ก่อน ความมั่นคงช่วงแรกจึงเกิดจากแรงสนับสนุนของเหล่าพระสงฆ์และมหาเทวีเจ้าตนย่า (นางโป่งน้อย) ซึ่งเป็นฐานอำนาจเดิม ภายหลังเมื่อมหาเทวีเจ้าตนย่าสวรรคตใน พ.ศ. 2077 โดยพระองค์มีพระราโชบายที่จะรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง สร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางลำปางที่นำโดย หมื่นสามล้าน ซึ่งเป็นผู่นำไม่พอใจและเกิดการก่อกบฏขึ้นในปี พ.ศ. 2078 โดยขุนนางเมืองลำปางได้เป็นแกนนำการก่อกบฏ ดังข้อความตอนหนึ่งว่า \"\"...เสนาทังหลาย เปนต้นว่า หมื่นสามล้านกินนคร ๑ ลูกหมื่นสามล้านชื่อว่าหมื่นหลวงชั้นนอก ๑ หมื่นยี่อ้าย ๑ จักกะทำคดแก่เจ้าพระญาเกสเชฏฐราชะ พระเปนเจ้ารู้ จิ่งหื้อเอาหมื่นส้อยสามล้านไพข้าเสียวันนั้นแล...\"\" แสดงว่าขุนนางตามภูมิภาค ต่างไม่พอใจพระมหากษัตริย์ และเกิดความขัดแย้งรุนแรงยิ่งขึ้น จนในที่สุด พ.ศ. 2081 ขุนนางมีอำนาจเหนือกษัตริย์และได้ร่วมกันปลดพระเมืองเกษเกล้าออก แล้วส่งไปครองเมืองน้อย",
"title": "พระเมืองเกษเกล้า"
},
{
"docid": "120752#1",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 4 ในพระบรมราชจักรีวงศ์ พระองค์ทรงสถาปนา สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลรับพระบวรราชโองการ มีพระเกียรติยศเสมอด้วยพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 2 พระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้น พระองค์จึงมีพระราชดำริให้ปรับปรุงพระบวรราชวังครั้งใหญ่เพื่อให้สมพระเกียรติยศในฐานะที่เป็นสถานที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "พระที่นั่งคชกรรมประเวศ"
},
{
"docid": "96705#1",
"text": "พระเมืองเกษเกล้า หรือ พญาเกสเชษฐราช พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ หรือ พญาแก้ว พระราชสมภพที่เมืองน้อย ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครองราชย์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2068-2081 สถานภาพของพระองค์เมื่อครั้งแรกครองสิริราชสมบัตินั้น พระองค์ยังสามารถใช้ฐานอำนาจเดิมของพระราชบิดา ไม่มีความขัดแย้งของเหล่าขุนนาง เนื่องจากมีปัจจัยต่างๆ เช่นการสนับสนุนของเหล่าคณะสงฆ์และมหาเทวีตนย่าซึ่งเป็นฐานอำนาจเดิม เมื่อพระเมืองเกษเกล้าเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้ทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาตามแนวทางเดิมของพระราชบิดา โดยส่งเสริมพระภิกษุสงฆ์สำนักสีหลหรือฝ่ายป่าแดง เนื่องจากพระองค์เคยบวชในสำนักสีหลที่วัดโพธารามมหาวิหาร (วัดเจ็ดยอด) จึงให้พระครูของพระองค์มาประจำที่วัดโพธารามมหาวิหารและแต่งตั้งพระภิกษุฝ่ายสีหลให้รับสมณศักดิ์เป็นสังฆราชและมหาสามี และโปรดให้พระภิกษุอุปสมบทในนิกายสีหล ดังนั้น\"ตำนานชินกาลมาลีปกรณ์\"ที่เขียนโดยพระรัตนปัญญาเถระแห่งวัดโพธารามมหาวิหาร ขณะที่พระเมืองเกษเกล้าครองราชย์ได้ 1-2 ปี ได้สรรเสริญพระเมืองเกษเกล้าว่า \"\"...เป็นพระเจ้าธรรมิกราชโดยแท้...\"\"",
"title": "พระเมืองเกษเกล้า"
},
{
"docid": "6776#1",
"text": "ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 นั้น ครูมีแขกได้เป็นครูปี่พาทย์ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงประดิษฐไพเราะ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2396 ตำแหน่งปลัดจางวางมหาดเล็กว่าราชการกรมปี่พาทย์ ฝ่ายถพระบวรราชวัง ในปีเดียวกันนั้นเองท่านได้แต่งเพลงเชิดจีน แล้วนำขึ้นทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด้จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นที่สมพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งจึงโปรดให้เลื่อนบรรดาศักดิ์จากหลวงเป็นพระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางค์กูร) ได้รับสมญาว่าเป็นเจ้าแห่งเพลงทยอยเพราะผลงานเพลงลูกล้อลูกขัด เช่น ทยอยนอก ทยอยเขมร ล้วนเป็นผลงานของท่านทั้งนั้น",
"title": "พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร)"
},
{
"docid": "9091#7",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชอัธยาศัยต่างจากพระเชษฐามาก เพราะฝ่ายแรกชอบสนุกเฮฮา ไม่มีพิธีรีตองอะไร ส่วนฝ่ายหลังค่อนข้างเงียบขรึม ฉะนั้นจึงมักโปรดในสิ่งที่ไม่ค่อยจะตรงกันนัก แต่ถ้าเป็นความสนิทสนมส่วนพระองค์แล้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อทรงทำอะไรก็มักนึกถึงพระราชอนุชาอยู่เสมอ เช่น คราวหนึ่งเสด็จขึ้นไปปิดทองพระพุทธรูปใหญ่วัดพนัญเชิง ก็ทรงปิดเฉพาะพระพักตร์ เว้นพระศอไว้พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ทรงปิดต่อ นอกจากนี้ทั้ง 2 พระองค์ ก็ทรงล้อเลียนกันอย่างไม่ถือพระองค์ และส่วนมากพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ จะเป็นฝ่ายเย้าแหย่มากกว่า",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "9091#4",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวใกล้สวรรคต เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎซึ่งทรงผนวชอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร กราบทูลว่าจะเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์ สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎตรัสว่าท่านฟากข้างโน้น (หมายถึงเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์) มีพระชะตาแรงต้องเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ให้ถวายราชสมบัติแก่ท่านนั้นด้วย เพราะหากพระองค์รับราชสมบัติเพียงพระองค์เดียวจะเกิดอัปมงคล ด้วยไปกีดกันบารมีของสมเด็จพระอนุชา ถ้ามีพระเจ้าแผ่นดินสองพระองค์เหมือนอย่างสมเด็จพระนเรศวรสถาปนาสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นพระเจ้าแผ่นดินด้วยก็จะพ้นจากอัปมงคล เจ้าพระยาพระคลังจึงไปเข้าเฝ้าเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ณ พระราชวังเดิมตามรับสั่ง เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าทั้ง 2 พระองค์ได้เสด็จยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เหล่าขุนนางมาประชุมพร้อมกันแล้วกราบทูลเชิญทั้งสองพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อเสร็จสิ้นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว จึงมีพระราชดำริว่าสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ก็ทรงพระปรีชารอบรู้กิจการต่าง ๆ มีผู้ใหญ่ผู้น้อยนิยมนับถือมาก สมควรที่จะพระราชทานยศใหญ่กว่ากรมพระราชวังบวรสถานมงคลแต่ก่อน ๆ แต่เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศฯ ยังไม่ได้รับพระสุพรรณบัฏตั้งพระนาม ทำให้ไม่มีพระนามเดิม ดูเป็นการต่ำทรามไป จึงพระราชทานพระสุพรรณบัฏตั้งพระนามเป็น \"สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าอิศเรศจุฑามณี\" ชั้นหนึ่งก่อน แล้วจึงพระราชทานพระสุพรรณบัฏในการพระราชพิธีบวรราชาภิเษกในวันที่ 25 พฤษภาคม ว่า\n\"\"พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศวร์ มหิศเรศรรังสรรค์ มหันตวรเดโช ไชยมโหฬารคุณอดุลยเดช สรรพเทเวศรานุรักษ บวรจุลจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณีจักรีบรมนารถ อิศวรราชรามวรังกูร บรมมงกุฎนเรนทรสูรยโสทรานุชาธิบดินทร เสนางคนิกรินทรบวราธิเบศร พลพยุหเนตรนเรศวรมหิทธิวรนายก สยามาทิโลกดิลกมหาบุรุษรัตน ไพบูลยพิพัฒนสรรพศิลปาคม สุนทโรดมกิจโกศล สัตปดลเศวตฉัตร สิริรัตนบวรมหาราชาภิเศกาภิสิต สรรพทศทิศพิชิตไชย อุดมมไหสวริยมหาสวามินทร สเมกธรณินทรานุราช บวรนารถชาติอาชาวศรัย ศรีรัตนไตรสรณารักษ อุกฤษฐศักดิสรรพรัษฎาธิเบนทร ปวเรนทรธรรมมิกราชบพิตร พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว\"\"",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "9091#14",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 58 พระองค์ โดยประสูติก่อนบวรราชาภิเษก 33 พระองค์ และประสูติหลังจากบวรราชาภิเษก 25 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "16485#15",
"text": "เจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน พ.ศ. 2394 ทรงถูกกำหนดให้ช่วยสยามให้รอดพ้นจากการครอบงำอาณานิคมโดยทรงบังคับให้คนในบังคับทันสมัย แม้พระองค์จะเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชในทางทฤษฎี แต่พระราชอำนาจของพระองค์มีจำกัด หลังจากออกผนวชนาน 27 ปี พระองค์จึงขาดฐานในหมู่เจ้านายที่ทรงอำนาจ และไม่อาจดำเนินระบบรัฐสมัยใหม่ตามพระประสงค์ได้ ความพยายามแรกของพระองค์ในการปฏิรูปเพื่อสถาปนาระบบการปกครองใหม่และยกสถานภาพของทาสสินไถ่และสตรีไม่สัมฤทธิ์ผล",
"title": "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)"
},
{
"docid": "9091#3",
"text": "พระองค์ทรงเข้ารับราชการในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพเสด็จสวรรคต เป็นเหตุให้ข้าไทในเจ้านายต่าง ๆ คาดว่าเจ้านายของตนจะได้รับการสถาปนาที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา (ต่อมาคือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)) จึงกราบทูลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ถ้าไม่ทรงตั้งกรมพระราชวังฯ แล้ว ขอให้ยกเจ้าต่างกรมผู้ใหญ่เลื่อนขึ้นเป็นกรมหลวง กรมขุน เพื่อให้ข้าไทเห็นว่าเจ้านายของตัวได้เลื่อนยศเพียงนั้น จะได้หายตื่น ทรงพระราชดำริเห็นด้วย จึงโปรดให้เลื่อนกรมและตั้งกรมเจ้านายรวม 8 พระองค์ด้วยกัน โดยทรงตั้งเจ้าฟ้าพระองค์น้อยเป็น\"สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์\" ได้รับสุพรรณบัฏในวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 ในขณะที่พระองค์มีพระชนมายุได้ 24 พรรษา ได้ทรงบังคับบัญชากรมทหารปืนใหญ่ กรมทหารแม่นปืนหน้าปืนหลัง และญวนอาสารบแขก อาสาจาม",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "9091#2",
"text": "ภายหลังพระองค์ประสูติได้ประมาณ 1 ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต เป็นผลให้สมเด็จพระราชบิดาของพระองค์เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี ก่อนบรมราชาภิเษกได้ 10 วัน เจ้าฟ้าพระองค์น้อยได้เสด็จตามสมเด็จพระราชบิดามาประทับในพระบรมมหาราชวัง เมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 12 พรรษา 6 เดือน มีการพระราชพิธีโสกันต์อย่างธรรมเนียมสำหรับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า หลังจากนั้นเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ผนวชเป็นสามเณร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เพื่อศึกษาศีลธรรมและพระศาสนา เมื่อพระองค์ลาผนวชทรงได้ศึกษาวิชาตามแบบแผนราชสกุลที่จัดให้เจ้านายเรียน โดยพระองค์ทรงศึกษาอักษรสยามในสำนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร ร่วมพระอาจารย์เดียวกับสมเด็จพระเชษฐาของพระองค์ \nเมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 16 พรรษา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคต พระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสพระองคใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชสมบัติพระนามว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงสด็จกลับไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมกับพระราชมารดา ส่วนสมเด็จพระเชษฐาของพระองค์นั้นทรงสมณเพศประทับอยู่ ณ วัดมหาธาตุและวัดสมอราย เมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 21 พรรษา ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเสด็จไปประทับ ณ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หลังจากลาผนวชพระองค์จึงเข้ารับราชการในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว"
}
] |
621 | บริษัท ไอทีวี จำกัดก่อตั้งเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "41115#10",
"text": "บทความที่สามารถคลิกอ่านได้ด้านบนนั้น คือรายชื่อผู้ประกาศข่าวและผู้รายงานข่าวของสถานีฯในขณะนั้นทั้งหมด แต่ในเวลาต่อมาเมื่อสถานีฯได้ทำการเปลี่ยนชื่อเป็นทีไอทีวี และไทยพีบีเอสแล้วนั้น บางรายก็ยังคงหรือกลับมาปฏิบัติงานต่อในแต่ละยุคของสถานี และบางรายย้ายไปปฏิบัติงานที่สถานีแห่งอื่นๆหรืองานด้านอื่นแทน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลโครงการสถานีโทรทัศน์เสรีในระบบยูเอชเอฟ ในนามสถานีโทรทัศน์ไอทีวีนั้น มีสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นเจ้าของคลื่นความถี่ โดยทำสัญญาสัมปทานให้ บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด (ภายหลังคือ บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)) ดำเนินการจัดตั้งสถานีฯ ได้ ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 และออกอากาศทางช่อง 26 มาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539",
"title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี"
}
] | [
{
"docid": "41115#2",
"text": "ในปี พ.ศ. 2538 สปน.ได้เปิดประมูลสัมปทานการดำเนินงานสถานีโทรทัศน์เสรีขึ้น โดย\"กลุ่มบริษัท สยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด\" ซึ่งนำโดยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ชนะการประมูล และได้รับอนุมัติให้ดำเนินงาน โครงการสถานีโทรทัศน์เสรีช่องใหม่ ในระบบยูเอชเอฟ ออกอากาศทางช่อง 26 นับเป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟช่องแรกของประเทศไทย จากนั้น กลุ่มบริษัท สยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด ได้ก่อตั้ง \"บริษัท สยาม อินโฟเทนเมนท์ จำกัด\" เพื่อเป็นนิติบุคคลที่ดำเนินการสถานีฯ โดยมีการลงนามในสัญญาสัมปทานฯ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พร้อมทั้งเชิญชวนให้บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เข้าร่วมถือหุ้น และบริหารสถานีฯ ด้วย",
"title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี"
}
] |
2771 | นครเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ในประเทศอะไร? | [
{
"docid": "93078#0",
"text": "นครหลวงเวียงจันทน์ (, \"นะคอนหลวงเวียงจัน\") เป็นเขตที่ตั้งของกรุงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นทั้งเมืองหลวงของประเทศลาวและเป็นเขตการปกครองพิเศษนครหลวงเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตตรงข้ามอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายของประเทศไทย เชื่อมต่อคมนาคมด้วยสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเขตปกครองที่มีความเจริญของเมืองมากที่สุดในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุด 18 แห่งของประเทศลาว ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2532 โดยแยกออกมาจากแขวงเวียงจันทน์ เดิมชื่อ \"กำแพงนครเวียงจันทน์\" () และเปลี่ยนชื่อเป็น \"นครหลวงเวียงจันทน์\"",
"title": "นครหลวงเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "807044#0",
"text": "มัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์ () เป็นมัสยิดกลางของนครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ถือเป็นมัสยิดหนึ่งในสองแห่งที่ตั้งอยู่ในเมืองหลวง สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2513 โดยสมาคมมุสลิมลาว (The Muslim Association of Laos) ณ บ้านเชียงยืน เมืองจันทบุรี สัปบุรุษส่วนใหญ่ของมัสยิดนี้มีเชื้อสายเอเชียใต้ คือ ปาทานและทมิฬ ส่วนมัสยิดอีกแห่งในเวียงจันทน์คือมัสยิดอาสาฮาร () บ้านโพนสะหวาดใต้ เมืองศรีโคตรบอง ที่สัปบุรุษส่วนใหญ่เป็นชาวจามจากกัมพูชา",
"title": "มัสยิดยามิอา นครหลวงเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "806872#0",
"text": "อาสนวิหารพระหฤทัย บ้างเรียก วัดพระหฤทัย นครเวียงจันทน์ หรือ วัดคาทอลิก นครเวียงจันทน์ (; ) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ในบ้านเก้ายอดใกล้สถานทูตฝรั่งเศส กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว",
"title": "อาสนวิหารพระหฤทัย นครเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "955587#0",
"text": "หน่วยกู้ภัยเวียงจันทน์ (; ) เป็นหน่วยอาสาสมัครกู้ภัยในกรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ที่ตอบสนองต่ออุบัติเหตุทางถนนมากกว่า 5,760 รายต่อปี (ตัวเลขปี ค.ศ. 2015) โดยหน่วยกู้ภัเวียงจันทน์เป็นหน่วยบริการที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ที่ประกอบด้วยอาสาสมัครกว่า 200 คน, รถพยาบาล 8 คัน, หน่วยดับเพลิง, ทีมกู้ภัยดำน้ำลึก ตลอดจนเครื่องมือกู้ภัยไฮดรอลิก และทีมงานขุดค้น",
"title": "หน่วยกู้ภัยเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "13974#0",
"text": "เวียงจันทน์ (, ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน",
"title": "เวียงจันทน์"
},
{
"docid": "36009#0",
"text": "เวียงจันทน์ () เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ",
"title": "แขวงเวียงจันทน์"
}
] | [
{
"docid": "480013#0",
"text": "อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ เป็นอาณาจักรทางตอนกลางของประเทศลาว และ ภาคอีสานตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบัน อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ครอบคลุม ภาคอีสานตอนบน แขวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ กรุงเวียงจันทน์ซึ่งปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของประเทศและบริเวณใกล้เคียง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ติดกับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ เมื่อถึง พ.ศ. 2436 อาณาจักรล้านช้างทั้ง 3 ส่วนจึงได้ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และได้รับเอกราชเป็นพระราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2496 รวมลาวอยู่ภายใต้อาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นเวลา 60 ปี",
"title": "อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "36009#4",
"text": "อาณาจักรเวียงจันทน์หลังการแบ่งแยกมีอาณาเขตมาถึงนครไทย (อยู่ในจังหวัดพิษณุโลกในปัจจุบัน) และติดกับจำปาศักดิ์ในบริเวณเมืองสุวรรณภูมิ (ปัจจุบันคืออำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด) แต่เพราะราชวงศ์ล้านช้างวิวาทกัน ทำให้เจ้าเมืองต่างๆ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์แยกตัวออกมาตั้งแต่พระบรมราชา (เฮงก่วน) เจ้าประเทศราชนครพนม พระวอพระตาแยกมาตั้งเมืองหนองบัวลำภู เมืองอุบลราชธานีและยศสุนทร (ปัจจุบันคือยโสธร) เจ้าโสมพะมิตร์แยกมาตั้งเมืองกาฬสินธุ์ เจ้าผ้าขาวแยกมาตั้งเมืองผ้าขาว เมืองพันนา เจ้าจารย์แก้วเจ้าประเทศราชเมืองสุวรรณภูมิ (ร้อยเอ็ด มหาสารคาม) ขอนแก่น ศรีสะเกษ ชนบถ และเจ้าจารย์จันทสุริยวงศ์เจ้าประเทศราชมุกดาหาร เป็นต้น",
"title": "แขวงเวียงจันทน์"
},
{
"docid": "817177#3",
"text": "วัดหัวเวียงรังษีตั้งอยู่ ณ บ้านธาตุพนม ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ติดริมฝั่งแม่น้ำโขงตรงข้ามกับเมืองหนองบก แขวงคำม่วน ประเทศลาว เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักล้านช้าง และเป็นวัดประจำตระกูลเจ้าเมือง ขุนโอกาส และนายกองเมืองธาตุพนม มาตั้งแต่ครั้งที่เจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์เสด็จมาปกครองธาตุพนม วัดหัวเวียงรังษีเป็นวัดที่สร้างทับพื้นที่วัดเก่าทั้งหมด สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นพร้อมกันกับองค์พระธาตุพนม ได้รับการบูรณะและฟื้นฟูขึ้นใหม่ในสมัยปฏิสังขรณ์วัดพระธาตุพนม เนื่องจากอิฐที่ใช้ก่อพระอุโบสถ (สิม) หลังเดิมนั้นเป็นอิฐรุ่นเดียวกันกับอิฐวัดพระธาตุพนม เดิมวัดหัวเวียงรังษีมีเนื้อที่ประมาณ ๕ ไร่เศษ กล่าวกันว่าวัดแห่งนี้เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของที่ดินกัลปนาพระธาตุพนม เหตุที่เรียกนามวัดว่าวัดหัวเวียงนั้น เนื่องจากเป็นวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศหัวเมืองธาตุพนมซึ่งเป็นหัวเมืองพุทธศาสนานครขนาดใหญ่ หรือเมืองสำคัญของราชอาณาจักรล้านช้างและหัวเมืองฝ่ายลาวมาแต่โบราณ อีกทั้งวัดแห่งนี้ยังตั้งอยู่ทางทิศเหนือของกำแพงเมืองธาตุพนมด้วย เดิมในอาณาบริเวณวัดหัวเวียงรังษีประกอบด้วยสระน้ำโบราณขนาดใหญ่จำนวน ๓ สระ สระน้ำทั้ง ๓ มีไว้สำหรับเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์อุปโภคบริโภค ในตำนานกล่าวว่าสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์เคยเสด็จมาประทับยังอาณาบริเวณสระน้ำทั้ง ๓ ในเขตวัด เนื่องจากใกล้แหล่งน้ำและสะดวกในการคมนาคม อีกทั้งยังอยู่ติดกันกับหอโฮงหลวงของเจ้าเมืองธาตุพนมซึ่งเป็นพระญาติใกล้ชิดของพระองค์ นอกจากนี้ น้ำจากสระทั้ง ๓ ยังใช้เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์สำหรับประกอบพิธีอุปราชาภิเษกและมุทธาภิเษกฮดสรง (มุรธาภิเษก) เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) เจ้าเมืองและขุนโอกาสทุกพระองค์ ตลอดจนนายกองเมืองธาตุพนมท่านต่อมาด้วย สระน้ำทั้ง ๓ ตั้งอยู่บริเวณโรงเรียนบ้านธาตุพนม บริเวณหลังกุฏิวัดหัวเวียงรังษี และบริเวณริมศาลาติดที่ว่าการอำเภอธาตุพนมหลังเดิม ปัจจุบันได้ถูกถมไปทั้งหมดแล้วอันเนื่องมาจากการพัฒนาภูมิทัศน์ของบ้านเมือง",
"title": "เจ้าพระอัคร์บุตร (บุญมี รามางกูร)"
},
{
"docid": "12345#4",
"text": "เวียงศีรษะเกษ ในปัจจุบันตั้งอยู่ที่บริเวณบ้านนาน้อย หมู่ที่ 4 ตำบลนาน้อย เมืองงั่วหรือเมืองศีรษะเกษในสมัยอดีต มีอาณาเขตการปกครองในพื้นที่ตำบลศีรษะเกษ ตำบลเชียงของ ตำบลนาน้อย บางส่วนของตำบลสถานและตำบลสันทะ นาน้อยในยุคเริ่มแรกที่เรียกว่า เมืองงั่ว ยังไม่มีหลักฐานใดบ่งชัดว่าชนกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานคือชนกลุ่มใด สันนิษฐานว่าเป็นชนที่มีเผ่าพันธุ์เช่นเดียวกับคนพื้นเมืองในล้านนา ซึ่งมีการทำมาหากิน การนุ่งห่ม วัฒนธรรมประเพณี ภาษาพูด ที่คล้ายกับท้องถิ่นต่าง ๆ ในภาคเหนือ จากหลักฐานศิลาจารึกที่วัดดอนไชย หมู่ที่ 2 ตำบลนาน้อย ได้กล่าวถึงการเปลี่ยนชื่อจากเมืองงั่วมาเป็นเมืองศีรษะเกษ ในปี จ.ศ. 1241 (ปี พ.ศ. 2422) ในสมัยเจ้ามหาชีวิต อนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ปกครองนครน่าน ซึ่งตรงกับสมัยของรัชกาลที่4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ตามตำนานได้กล่าวถึงชื่อเมืองว่า สาเหตุที่เรียกชื่อเมืองว่า ศีรษะเกษ นั้นมีที่มาจาก ครั้งเมื่อ เจ้าเมืองน่านได้เสด็จประพาสมายังแขวงนี้ได้เห็นสายน้ำไหลกลับทิศ คือไหลจากทิศใต้มาทิศเหนือเป็นที่น่าสังเกตและแปลกจากแขวงอื่นๆ จึงตั้งชื่อแขวงนี้ว่า แขวงศีรษะเกษ คำว่าศีรษะเกษ แผลงมาจากคำว่า\"สังเกต\"ต่อมาได้ตั้งชื่อเป็นอำเภอศีรษะเกษ แต่ชื่อไปตรงกับจังหวัดศรีสะเกษ จริงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งตามสภาพทางภูมิศาสตร์ของตัวอำเภอ ด้วยพื้นที่การทำการเกษตรไม่มาก เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่ของเป็นผืนป่าและภูเขา จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น อำเภอนาน้อย",
"title": "อำเภอนาน้อย"
}
] |
2575 | มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษหรือไม่ ? | [
{
"docid": "20706#0",
"text": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (English: University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า ออกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096[1] ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง[1][11] ออกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส[1] ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองออกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น[12] ทั้งสอง\"มหาวิทยาลัยโบราณ\"มักจะถูกเรียกว่า\"ออกซบริดจ์\"",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
}
] | [
{
"docid": "178554#0",
"text": "มหาวิทยาลัยเดอรัม () เป็นมหาวิทยาลัยในเมืองเดอรัม ประเทศสหราชอาณาจักร เริ่มมีการเรียนการสอนและความพยายามก่อตั้งมหาวิทยาลัยตั้งแต่ในสมัย กษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 ค.ศ. 1657 โดยได้รับการสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ 1832 เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของประเทศอังกฤษ (มีการเรียนการสอนมากว่า 600 ปี) รองจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (อันดับ 1) และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (อันดับ 2) ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 15,529 คน",
"title": "มหาวิทยาลัยเดอรัม"
},
{
"docid": "20706#19",
"text": "มหาวิทยาลัยที่เป็นคู่แข่งขันของออกซฟอร์ด คือ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทั้งสองมหาวิทยาลัยนี้เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ จึงจับคู่กันพัฒนา มีหลายนโยบายที่ทำไปในทิศทางเดียวกัน จึงเรียกนักศึกษาและครูอาจารย์ของสองมหาวิทยาลัยนี้รวม ๆ ว่าพวก ออกซบริดจ์ เพราะคนเหล่านี้โดยพื้นฐานแล้วมาจากระบบการศึกษาที่เหมือนกัน เมื่อนโยบายชัดเจนแล้วก็แข่งขันกันด้านคุณภาพวิชาการในหมู่ครูอาจารย์ และการกีฬาในหมู่นักศึกษา โดยเฉพาะกีฬาแข่งเรือจัดเป็นกีฬาที่มีชื่อเสียงที่สุดที่นักศึกษาสองมหาวิทยาลัยแห่งนี้จัดกันขึ้น สถานีโทรทัศน์บีบีซีถ่ายทอดสดการแข่งขันในช่วงปลายเดือนมีนาคมหรือต้นเดือนเมษายนของทุกปี",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "48212#0",
"text": "รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเนื่องจากอ๊อกฟอร์ดเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคนไทยสมัครเข้าไปเรียนเป็นประจำทุกปีต่อเนื่องมา นับตั้งแต่ ประเทศไทยเริ่มส่งนักศึกษาไปเรียนยังประเทศตะวันตก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้น จึงมีศิษย์เก่าออกซฟอร์ดชาวไทยที่มีชื่อเสียงจากการทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติหรือมีผลงานวิจัยที่โดดเด่นจำนวนมาก ทั้งในหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน อาทิ",
"title": "รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "20706#9",
"text": "ใน ค.ศ. 1637 วิลเลียม ลอดจ์ อธิการบดีและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขึ้น กฎระเบียบเหล่านี้ยังคงอยู่จนถึงช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ลอดยังเป็นผู้รับผิดชอบต่อการให้สิทธิ์พิเศษแก่สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย และเขามีส่วนสำคัญต่อห้องสมุดบอดเลียนซึ่งเป็นห้องสมุดหลักของมหาวิทยาลัย จากการเริ่มต้นของคริสตจักรแห่งอังกฤษในฐานะคริสตจักรที่ถูกสถาปนาขึ้นจนถึง ค.ศ. 1866 สมาชิกของคริสตจักรถูกกำหนดให้ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (BA) จากมหาวิทยาลัย และ\"ผู้คัดค้าน\"ได้รับอนุญาตให้รับแต่เพียงปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (MA) ใน ค.ศ. 1871[31]",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "39091#2",
"text": "หลังจากนั้น เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้ทรงสนับสนุนทุนให้ไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษ จนสำเร็จปริญญาโททาง วรรณคดี สันสกฤต ของ พระพุทธศาสนา มหายาน และของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จากวิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และปริญญาเอกจากคณะบูรพคดีศึกษา สถาบันตะวันออก มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด โดยสังกัดวิทยาลัยเซนต์แอนส์ ระหว่างศึกษาในออกซฟอร์ด มี ศ.ดร.ริชาร์ด ฟรานซิส กอมบริช ผู้ก่อตั้งศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาในออกซฟอร์ด และ ดร.เจมส์ เบนสัน ผู้ชำนาญอัษฏาธยายี ของออกซฟอร์ดเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ วิชาที่ศึกษาในออกซฟอร์ดคือวรรณคดีพระเวท, อัษฏาธยายี ของ ปาณินิ, ภาษาอเวสตะ, ภาษาเปอร์เซียโบราณ และ นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ ระหว่างศึกษา ได้ทุนโบเดนประจำสถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดและทุนอื่นๆ ในออกซฟอร์ด เพื่อไปทำวิจัยเพิ่มเติมที่ภาควิชาสันสกฤตและอินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา และมหาวิทยาลัยปารีสในฝรั่งเศส ",
"title": "ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์"
},
{
"docid": "20706#20",
"text": "การแข่งขันทางวิชาการของสองมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่แห่งนี้ ได้เป็นต้นตำรับของการแข่งขันกันทางวิชาการของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ตามมา อาทิ ฮาร์วาร์ด-เยล ในสหรัฐอเมริกา, เคโอ-วาเซดะ ในญี่ปุ่น, เมลเบิร์น-ซิดนีย์ ในประเทศออสเตรเลีย, ปักกิ่ง-ชิงหว๋า ในประเทศจีน เอ็มกู (มหาวิทยาลัยมอสโก)-เซนปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย หรือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในประเทศไทย",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "779#0",
"text": "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ () เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล",
"title": "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์"
},
{
"docid": "5528#2",
"text": "อดัม สมิธ ได้เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ ในสาขาปรัชญาศีลธรรมกับ<i data-parsoid='{\"dsr\":[2259,2279,2,2]}'>ฟรานซิส ฮัทชีสัน ที่มหาวิทยาลัยนี้เองที่อดัม สมิธได้เกิดกัมภาวะอย่างแรงกล้าในเสรีภาพ เหตุผล และเสรีภาพในการพูด ในปี พ.ศ. 2283 สมิธได้รับรางวัล \"สเนลล์เอกซ์บิชัน\" (รางวัลเรียนดีสำหรับนิสิตกลาสโกว์ที่ต้องการศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด) และเข้าเรียนที่ วิทยาลัยบาลลิออล แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด แต่ออกซฟอร์ดในยุคนั้นก็ไม่ได้ให้สิ่งที่จะเป็นงานสำคัญในชีวิตต่อมาของสมิธมากนัก สมิธออกจากออกซฟอร์ดเมื่อ พ.ศ. 2289 ในหนังสือเล่ม 5 เรื่อง\"ความมั่งคั่งของประชาชาติ\" (The Wealth of Nations) ได้วิจารณ์เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยของอังกฤษในขณะนั้นว่ามีคุณภาพในการสอนต่ำและมีกิจกรรมเชิงปัญญาน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยสก็อตคู่แข่ง สมิธเห็นว่าเป็นผลที่เกิดจากเงินกองทุนที่มีมากมายเกินไปทั้งที่ออกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ทำให้ศาสตราจารย์มีรายมากได้โดยไม่ต้องมีความสามารถในการสร้างความน่าสนใจแก่นิสิต และทำให้นักอักษรศาสตร์มีความเป็นอยู่สุขสบายมากกว่าประมุขฝ่ายศาสนจักรของอังกฤษเสียอีก",
"title": "อดัม สมิธ"
},
{
"docid": "20706#2",
"text": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก[15] และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน[16] ออกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก[17] ออกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "23312#1",
"text": "มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีออกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากออกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินบะระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ ",
"title": "มหาวิทยาลัยกลาสโกว์"
},
{
"docid": "22399#0",
"text": "เคมบริดจ์ (Cambridge) เป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร และเป็นศูนย์กลางการปกครองของเคมบริดจ์เชียร์ เมืองอยู่ห่างจากลอนดอนไปทางเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 80 กม. และห้อมล้อมไปด้วยเมืองและหมู่บ้านขนาดเล็กจำนวนหนึ่ง เมืองนี้ยังเป็นหัวใจของศูนย์เทคโนโลยีชั้นสูง ที่รู้จักกันในชื่อ \"ซิลิคอนเฟน\" (Silicon Fen) และเป็นส่วนสำคัญของเขตอุตสาหกรรมความรู้ \"ออกซฟอร์ด-เคมบริดจ์อาร์ก\" (Oxford-Cambridge Arc)",
"title": "เคมบริดจ์"
},
{
"docid": "2083#77",
"text": "ในขณะที่การศึกษาในประเทศอังกฤษเป็นความรับผิดชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกาาธิการ, การบริหารวันต่อวัน และการระดมทุนของโรงเรียนของรัฐเป็นความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น.[197] การศึกษาของรัฐแบบถ้วนหน้า</b>ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายได้รับการแนะนำทีละน้อยระหว่างปี 1870 ถึงปี 1944.[198][199] ปัจจุบัน การศึกษาจะเป็นภาคบังคับจากวัย 5-16 (15 ถ้าเกิดหลังกรกฎาคมหรือสิงหาคม) ในปี 2011 แนวโน้มในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างประเทศและวิทยาศาสตร์ (TIMSS) ที่จัดให้นักเรียนอายุ 13-14 ปีในอังกฤษและเวลส์เป็นอันดับ 10 ในโลกสำหรับวิชาคณิตศาสตร์ และอันดับ 9 สำหรับวิทยาศาสตร์.[200] ส่วนใหญ่ของเด็กได้รับการศึกษาในโรงเรียนภาครัฐ, ส่วนเล็ก ๆ ของเด็กเหล่านั้นเลือกบนพื้นฐานของความสามารถทางวิชาการ อัตราส่วน 2 ใน 10 สุดยอดของโรงเรียนที่มีการดำเนินการในแง่ของผลการสอบเทียบในปี 2006 เป็นโรงเรียนของรัฐที่เน้นทางด้านวิชาการ กว่าครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยชั้นนำของอ๊อกฟอร์ด และเคมบริดจ์ได้มาจากโรงเรียนของรัฐ.[201] แม้จะมีการลดลงในจำนวนที่เกิดขึ้นจริง สัดส่วนของเด็กในประเทศอังกฤษที่เข้าเรียนในโรงเรียนเอกชนได้เพิ่มขึ้นถึงกว่า 7% .[202] ในปี 2010 กว่า 45% ของที่เรียนที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และ 40% ที่มหาวิทยาลัย เคมบริดจ์มาจากนักเรียนจากโรงเรียนเอกชน ถึงแม้ว่าพวกเขาได้เข้าเรียนเพียง 7% ของประชากร.[203] มหาวิทยาลัยของอังกฤษอยู่ในหมู่ของมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก, มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, ที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด, มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน และ อิมพีเรียลคอลเลจลอนดอนถูกจัดอยู่ในระดับโลก 10 อันดับแรกในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกปี 2010 โดย QS, เคมบริดจ์เป็นอันดับแรก.[204]โรงเรียน การศึกษา ภาคฤดูร้อน Lite Regal Education มีให้เลือกมากมายซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 13-18 มีโอกาสเรียนรู้และเรียนรู้ในช่วงฤดูร้อน ในวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของเคมบริดจ์ หรือมหาวิทยาลัยลอนดอน",
"title": "สหราชอาณาจักร"
},
{
"docid": "616907#2",
"text": "โครงการนักเรียนทุนชวาร์ซแมน (Schwarzman Scholars) เป็นโครงการทุนการศึกษาจากเงินสนับสนุนของมหาเศรษฐีชาวอเมริกัน สตีเฟ่น ชวาร์ซแมน ซึ่งมีวิสัยทัศน์ว่าประเทศจีนจะกลายเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของโลกในอนาคต ผู้นำโลกจะไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ถ้าขาดความรู้เกี่ยวกับประเทศจีน โดยจะมอบให้นักเรียนที่มีความโดดเด่นด้านวิชาการที่สุดจากทั่วโลก 200 คนต่อปี รับทุนการศึกษามาเรียนในหลักสูตรปริญญาโทด้านนโยบายสาธารณะ เศรษฐศาสตร์และธุรกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ณ วิทยาลัยชวาร์ซแมน (Schwarzman College) ของมหาวิทยาลัยชิงหฺวา โดยจะเริ่มรับนักศึกษาในปี ค.ศ. 2016 เขาลงทุนสร้างอาณาจักรพิเศษขึ้นที่ใจกลางมหาวิทยาลัย โดยสร้างอาคารเรียนที่ดีที่สุดในโลก (ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อดังที่สุดในสหรัฐฯ) ผู้รับทุนจะพักอาศัยในที่พักที่ถูกออกแบบให้เทียบเคียงกับห้องรับรองผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งโครงการทุนนี้ได้รับความร่วมมือระหว่างประเทศ มีคณะกรรมการโครงการ ซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยชิงหฺวา อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตผู้นำโลกหลายท่าน มีการระดมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก เช่น มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยเยล มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มาทำการสอนที่มหาวิทยาลัยชิงหฺวา โดยใช้งบประมาณในการลงทุนสูงถึง 350 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ แซงโครงการทุนที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดอย่าง Rhode Scholarship ทุนเก่าแก่กว่าร้อยปีที่ให้นักเรียนหัวกะทิของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และเยอรมนีไปเรียนหลักสูตรปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ทั้งนี้มีนักวิชาการอ้างว่าโครงการนักเรียนทุนชวาร์ซแมนเป็นโครงการ ทุนการศึกษาที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก จากงบประมาณในการลงทุนด้านทุนการศึกษาที่สูงที่สุดอีกด้วย ",
"title": "มหาวิทยาลัยชิงหฺวา"
},
{
"docid": "78373#3",
"text": "ดร.ปิยสวัสดิ์ สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นศึกษาต่อระดับไฮสกูลที่ โรงเรียน Bryanston Public School ประเทศอังกฤษ โดยเรียน 4 ปี ได้ระดับเกรด A ในปี พ.ศ. 2515 สอบเข้า Brasenose College มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ระดับปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ London School of Economics มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ และระดับปริญญาเอก สาขาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ (ได้รับทุนรัฐบาลอังกฤษ)",
"title": "ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์"
},
{
"docid": "20706#15",
"text": "ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดจำนวนมากเป็นผู้มีชื่อเสียงระดับโลก อาทิ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในอังกฤษ, ร่วมในคณะนักบวชพิวริตันก่อตั้งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, ในสหรัฐอเมริกา ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด คือ เจเรมี เบนทัม ผู้นำปรัชญาประโยชน์นิยมซึ่งเคยศึกษาที่วิทยาลัยควีนส์ในออกซฟอร์ด เป็นผู้ก่อตั้ง University College London ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ มหาวิทยาลัยลอนดอน ในอังกฤษ, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและมหาวิทยาลัยเยล, ผู้พิพากษาศาลสูงสุดของอินเดีย, พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างที่ทรงปรับปรุงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากโรงเรียนมหาดเล็ก ก็ทรงได้รับอิทธิพลความคิดจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดนั่นเอง",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "9066#1",
"text": "ด้วยคำจำกัดความหลายแบบของมหาวิทยาลัย จึงเป็นการยากที่จะตัดสินได้ว่ามหาวิทยาลัยไหนเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยมีกล่าวถึงมหาวิทยาลัยของเพลโต ในช่วงราว พ.ศ. 200 ว่าเป็นมหาวิทยาลัยในยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามมีการยอมรับอย่างกว้างขวางว่า มหาวิทยาลัยโบโลญญา ในเมืองโบโลญญา ประเทศอิตาลี เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุด ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1631 (ค.ศ. 1088) ถัดมาคือ มหาวิทยาลัยปารีส ในเมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1693 (ค.ศ. 1150) และถัดมาคือ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ในเมืองออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1710 (ค.ศ. 1167)",
"title": "มหาวิทยาลัย"
},
{
"docid": "5622#22",
"text": "โทลคีนเป็นคนที่ชอบงานสังสรรค์และมีเพื่อนมากมาตั้งแต่เด็ก นับแต่อยู่ที่โรงเรียนคิงเอ็ดเวิร์ด เขาได้ก่อตั้งสมาคม T.C.B.S. ร่วมกับเพื่อนๆ เมื่อเขาไปเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยลีดส์ โทลคีนก็ก่อตั้งชมรม The Viking Club ร่วมกับอาจารย์รุ่นน้องชื่อ อี. วี. กอร์ดอน เพื่ออ่านบทลำนำสนุกๆ ของนอร์สโบราณ และแปลบทกวีเก่าแก่ให้เป็นภาษาแองโกลแซกซอน ชมรมนี้เป็นที่นิยมในหมู่เด็กๆ และทำให้จำนวนนักศึกษาสาขาวรรณคดีอังกฤษของลีดส์เพิ่มจำนวนมากขึ้น และมากกว่าของออกซฟอร์ดในช่วงเวลาเดียวกันเสียอีก[6] ครั้นเมื่อโทลคีนย้ายมาสอนที่ออกซฟอร์ด เขาก็ก่อตั้งชมรม Coalbiters Club (หรือ Kolbitar ในภาษาไอซ์แลนด์) คือกลุ่มชมรมที่นั่งหน้าเตาไฟ เผาถ่านในเตาผิง และอ่านบทกวีไอซ์แลนด์พร้อมกับแลกเปลี่ยนทัศนะ",
"title": "เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน"
},
{
"docid": "37406#38",
"text": "ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2000 \"พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด ออนไลน์\" (Oxford English Dictionary Online; OED Online) ก็มีจำหน่ายแก่สมาชิก ฐานข้อมูลออนไลน์ประกอบด้วยพจนานุกรม OED2 ทั้งหมด และยังปรับปรุงแก้ไขถึง 1/4 ซึ่งจะรวมอยู่ใน OED3 (ดูข้างล่าง) ฉบับออนไลน์นี้ถือเป็นพจนานุกรมฉบับที่ทันสมัยที่สุดที่มีอยู่ \nสำหรับราคาการใช้บริการส่วนบุคคลของพจนานุกรมฉบับออนไลน์นี้ แม้จะลดแล้วในปี 2004 ก็ยังอยู่ในอัตรา 195 ปอนด์ หรือ 295 ดอลลาร์ ต่อปี ผู้สมัครเป็นสมาชิกส่วนใหญ่คือองค์กรขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลัย ผู้ใหญ่บางรายจะไม่ใช้พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต แต่จะดาวน์โหลดฐานข้อมูลทั้งหมดโดยถูกกฎหมายลงมายังคอมพิวเตอร์ขององค์กรนั้นๆ ",
"title": "พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "463396#0",
"text": "ริชาร์ด ดอว์กินส์ () นักชีววิทยาและนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง มีชื่อเต็มว่า คลินตัน ริชาร์ด ดอว์กินส์ (Clinton Richard Dawkins) เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1941 ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา เมื่อครั้งที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ด้านสัตววิทยา แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด",
"title": "ริชาร์ด ดอว์กินส์"
},
{
"docid": "945669#3",
"text": "ในสหราชอาณาจักร (ไม่รวมสกอตแลนด์) และไอร์แลนด์ ปริญญาหลักสูตรขั้นแรกโดยปกติใช้เวลาสามปีแต่การกำหนดชื่อแตกต่างกันไป ช่วงศตวรรษที่ 19 และภายหลังมหาวิทยาลัยมักจะแยกความแตกต่างระหว่างสาขาศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ด้วยการมอบปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตหรือวิทยาศาสตรบัณฑิต อย่างไรก็ตามบางมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่หรือมหาวิทยาลัยโบราณเช่น ออกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และดับลินมีธรรมเนียมในการมอบปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตในระดับปริญญาตรีที่สำเร็จการศึกษาในการสอบครั้งสุดท้าย เช่น ไตรพอสส่วนที่สอง (Part II Tripos) ของเคมบริดจ์ ไฟนอลออเนอร์สสกูลส์ (Final Honour Schools) ของออกซฟอร์ด มอเดอเรเตอร์ชิป (Moderatorship) ของดับลินในสาขาส่วนใหญ่รวมทั้งวิทยาศาสตร์ กลุ่มมหาวิทยาลัยแผ่นกระจกบางแห่งซึ่งจัดตั้งใหม่ในช่วงทศวรรษ 1960 เช่น ยอร์ก และแลนคาสเตอร์ ตามรอยขนบธรรมเนียมของออกซฟอร์ดและเคมบริดจ์โดยการมอบปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชา แต่ได้เปลี่ยนไปมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสามารถอ้างร้องขอได้ใน 21 เงื่อนไขหลังจากการสมัครเข้าเป็นนักศึกษาที่ออกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และดับลิน หลายศตวรรษที่ผ่านมาปริญญาตรีเป็นขั้นตอนระยะกลางและมอบสำหรับการดำเนินงานภายหลังจากโรงเรียนมัธยมศึกษา ชื่อของการสอบครั้งสุดท้ายในโรงเรียนมัธยมศึกษาในฝรั่งเศสและสเปน (และเพิ่มขึ้นในสหราชอาณาจักร - International Baccalaureate) คือ le Baccalauréat และ el Bachillerato ตามลำดับ",
"title": "ศิลปศาสตรบัณฑิต"
},
{
"docid": "339261#0",
"text": "มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ () เป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการวิจัย ตั้งอยู่ในมอนทรีออล รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศแคนาดา โดยก่อตั้งในปี ค.ศ. 1821 ในขณะที่ประเทศแคนาดายังเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษ ชื่อของมหาวิทยาลัยได้ตั้งชื่อตามนาย เจมส์ แมคกิลล์ พ่อค้าชาวสก็อตผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ยังติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศแคนาดา และติดอันดับ 12 ของมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกเมื่อปี ค.ศ. 2007 ในมหาวิทยาลัยมีพิพิธภัณฑ์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศแคนาดา คือ พิพิธภัณฑ์เรดพาธ (Redpath Museum)",
"title": "มหาวิทยาลัยแมคกิลล์"
},
{
"docid": "20706#13",
"text": "ออกซฟอร์ดเป็นสถาบันการศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ มหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ เช่น มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในอังกฤษ, มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เยล พรินซ์ตัน ฯลฯ ในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยหลายแห่งในแคนาดา ออสเตรเลีย ฯลฯ ล้วนแต่เคยใช้มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเป็นต้นแบบในการพัฒนา ไม่ว่าจะในรูปสถาปัตยกรรม ระบบการศึกษา วัฒนธรรมการใช้ชีวิตของนักศึกษาและครูอาจารย์ภายในมหาวิทยาลัย และระบบจัดการศึกษา ตึกเรียนของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดใช้เป็นสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ และเจมส์ บอนด์",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "38149#0",
"text": "มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน (เดนมาร์ก: Københavns Universitet ; อังกฤษ University of Copenhagen) เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุดในประเทศเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1479 มีนักศึกษาเกือบ 33,000 คน และพนักงานมากกว่า 6,000 คน มีวิทยาเขตในเมืองโคเปนเฮเกนและบริเวณรอบ ๆ โดยวิทยาเขตที่เก่าที่สุดตั้งอยู่ใจกลางเมืองโคเปนเฮเกน มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับสองในกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย หลักสูตรส่วนใหญ่สอนเป็นภาษาเดนมาร์ก และมีบางหลักสูตรสอนเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมัน",
"title": "มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน"
},
{
"docid": "37473#1",
"text": "ลิวอิสเกิดที่เบลฟัสต์ ประเทศไอร์แลนด์ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และได้เป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยแม็กดาเลน ออกซฟอร์ด เป็นเวลาเกือบสามสิบปี เขาเป็นสหายสนิทของเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้แต่งเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ด้วย ทั้งสองเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด เป็นนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีบทบาทในการปฏิรูปหลักสูตรภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย และเป็นกลุ่มผู้ก่อตั้งชมรมอิงคลิงส์ในยุคเริ่มต้น ต่อมาเขาจึงได้มาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในตำแหน่ง Professor of Medieval and Renaissance Literature (ศาสตราจารย์ด้านวรรณกรรมยุคกลางและยุคเรเนสซองส์) คนแรกของเคมบริดจ์",
"title": "ซี. เอส. ลิวอิส"
},
{
"docid": "206982#22",
"text": "และเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2551 นายควินตัน เควลย์ เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย กล่าวหลังเข้าพบ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที ที่พรรคประชาธิปัตย์ว่า นายอภิสิทธิ์ มีคุณสมบัติและความ สามารถที่ดีเยี่ยม เพราะเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอีตัน อีกทั้งจบมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ\nพร้อมแสดงความเห็นด้วยกับนายกรัฐมนตรี ว่า รัฐบาลชุดนี้มีภารกิจใหญ่ 4 ประการคือการฟื้นความมั่นใจของนานาชาติในประเทศไทย สร้างความสมานฉันท์ เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งอีกครั้ง โดยยึดหลักนิติธรรม รักษาความปลอดภัยของสนามบิน ซึ่งถือเป็นประตูในการท่องเที่ยวของไทย สร้างความมั่นใจแก่นักธุรกิจทั้งชาวไทยและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ซึ่งจะดึงให้มีการลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ในการเข้าพบครั้งนี้ ในฐานะที่นายกรัฐมนตรีเป็นแฟนฟุตบอลอังกฤษ จึงได้มอบของขวัญเป็นเสื้อยืดนิวคาสเซิล ยูไนเต็ด โดยด้านหลังมีชื่อ นายอภิสิทธิ์ และหมายเลข 27 ซึ่งหมายถึงนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไทย",
"title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59"
},
{
"docid": "5622#15",
"text": "ปลายปี 1911 โทลคีนสามารถสอบชิงทุนเข้าเรียนในวิทยาลัย Exeter มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ได้สำเร็จ เขาเลือกเรียนสาขาวิชาประวัติศาสตร์ภาษา และได้อ่านบทแปลภาษาอังกฤษของมหากาพย์ฟินแลนด์เรื่อง คาเลวาลา เป็นครั้งแรก ทำให้เกิดแรงกระตุ้นในการศึกษาภาษาฟินแลนด์ ด้วยต้องการอ่าน คาเลวาลา ในภาษาต้นฉบับ โทลคีนยังเล่าเรียนแตกฉานในภาษายุคโบราณและยุคกลางอีกหลายภาษา รวมถึงงานประพันธ์ของวิลเลียม มอร์ริส เขาได้อ่านบทกวีเก่าแก่ของแองโกลแซกซอน ว่าด้วยเทพองค์หนึ่งชื่อ เออาเรนเดล (Earendel) ซึ่งประทับใจเขามาก ในปี 1914 หลังการรวมพลของสมาชิก T.C.B.S. โทลคีนแต่งบทกวีขึ้นบทหนึ่ง ตั้งชื่อว่า การผจญภัยของเออาเรนเดล ดวงดาวสายัณห์ (The Voyage of Earendel the Evening Star) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของปกรณัมชุดมิดเดิลเอิร์ธของโทลคีน[6]",
"title": "เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน"
},
{
"docid": "37406#14",
"text": "ตอนนี้ปรากฏชัดแล้ว ว่า สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดคงจะใช้เวลานานมาก จึงจะทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ หากยังไม่ได้แก้ไขปรับปรุงงานบรรณาธิการ ด้วยเหตุนี้ จึงมีการสนับสนุนเงินทุนเพิ่มเติมสำหรับผู้ช่วย แต่ได้ก็ผลตอบแทนใหม่สองอย่างแก่เมอร์เรย์ อย่างแรกคือ ให้เขาย้ายจากมิลล์ ฮิลล์ มายังเมืองออกซฟอร์ด ซึ่งเขาตกลงย้ายใน ค.ศ. 1885 และเมื่อมาถึงออกซฟอร์ด เขาก็ได้สร้างสคริปทอเรียมขึ้นอีก ในที่ดินของเขา (และเพื่อไม่ให้เพื่อนบ้านลำบากใจ เขาจึงสร้างอาคารลงใต้ดินครึ่งชั้น) และสำนักงานไปรษณีย์ออกซฟอร์ด ก็ได้ติดตั้งตู้ไปรษณีย์กลมแบบใหม่ ที่หน้าบ้านของเขาพอดี ",
"title": "พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด"
},
{
"docid": "156343#0",
"text": "มหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน (German: Humboldt-Universität zu Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงเบอร์ลิน เดิมทีเรียกว่า มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1810 ในชื่อ มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน (German: Universität zu Berlin) โดยวิลเฮ็ล์ม ฟ็อน ฮุมบ็อลท์ นักปฏิรูปการศึกษาและนักปรัชญาเสรีนิยมชาวปรัสเซีย ต่อมามหาวิทยาลัยเบอร์ลินแห่งนี้กลายเป็นแม่แบบที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในทวีปยุโรปและโลกตะวันตก มหาวิทยาลัยใหญ่ ๆ ทั้งในยุโรปและอเมริกาจำนวนมาก อาทิ มหาวิทยาลัยปารีส มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท ล้วนแต่ต้องปรับตัวเมื่อมหาวิทยาลัยเบอร์ลินแห่งนี้โด่งดังขึ้นมา",
"title": "มหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน"
},
{
"docid": "20706#22",
"text": "เพราะมีคัมภีร์ต้นฉบับดั้งเดิมมากมาย คณาจารย์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดจึงสามารถจัดทำพจนานุกรมฉบับตั้งโต๊ะออกมาเผยแพร่ได้สำเร็จ เช่น พจนานุกรมภาษากรีก ภาษาละติน ภาษาฮิบรู ภาษาอังกฤษ ฯลฯ หนังสือเหล่านี้สร้างชื่อให้อ๊อกซฟอร์ดมาหลายศตวรรษ มีจัดแสดงที่ร้านหนังสือสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ถนนไฮสตรีต ย่านใจกลางเมือง ออกซฟอร์ด ดังนั้น สำนักหอสมุดออกซฟอร์ดจึงมีการถ่ายเทหนังสือวิชาการเก่าที่มีเนื้อหาล้าสมัยออกจากห้องสมุดทุกๆปี แล้วเอาหนังสือใหม่ที่ผ่านการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยเข้าไปแทน",
"title": "มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด"
}
] |
3347 | ไมเคิล เกรกอรี มิซานินเกิดที่เมืองอะไร? | [
{
"docid": "329594#1",
"text": "เขาเป็นชาวเมืองปาร์มา รัฐโอไฮโอ จบการศึกษาจากนอร์แมนดี ไฮสคูล โดยที่เขาเป็นกัปตันทีมบาสเก็ตบอล และทีมจักรยานวิบากของโรงเรียน[1][2] นอกจากนี้ยังเป็นนักว่ายน้ำและสภานักเรียน และเป็นผู้จัดทำหนังสือรุ่นอีกด้วย[1] หลังจากนั้นเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยไมอามี นอกจากนี้ก็ยังศึกษาด้านธุรกิจกับสถาบันกสิกรธุรกิจ ริชาร์ด ที.ด้วย เขาย้ายสู่เมืองเซาเทิร์น แคลิฟอร์เนีย เพื่อศึกษาต่อทางด้านการแสดง และยังกลับไปเยือนไฮสคูลและมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นวิทยากรบรรยายให้กับรุ่นน้องด้วย",
"title": "เดอะมิซ"
}
] | [
{
"docid": "382752#2",
"text": "เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1917 นิโคลัส ผู้มิได้เป็นพระมหากษัตริย์อีกต่อไป และได้ถูกทหารยามเรียกอย่างดูถูกว่า \"นิโคลัส โรมานอฟ\" กลับมารวมกับครอบครัวอีกครั้งที่พระราชวังอเล็กซานเดอร์ในซาร์สกอเย เซโล[7] เขาถูกขังไว้ในบ้านตามหมายกักกันของรัฐบาลเฉพาะกาลพร้อมกับครอบครัว สมาชิกราชวงศ์ถูกสอบสวนอย่างหยาบคายในคืนแรกที่นิโคลัสกลับมาถึงบ้าน ในคืนเดียวกันนั้น ได้มีทหารกลุ่มหนึ่งบุกรุกเข้าไปในหลุมศพของเกรกอรี รัสปูติน และยกศพที่กำลังเปื่อยเน่าขึ้นมาด้วยแท่งไม้ แล้วขว้างศพนั้นไปบนกองฟืนแล้วราดด้วยน้ำมัน ร่างนั้นถูกเผาเป็นเวลาหกชั่วโมงจนเถ้าถ่านลอยไปกับสายลม[7] อดีตซาร์ยังคงสงบและมีภูมิฐาน กระทั่งยืนกรานให้บุตรธิดามารับการสอนวิชาประวัติศาสตร์กับภูมิศาสตร์กับตนด้วย เขายังสนใจติดตามข่าวความเป็นไปของสงครามทางหนังสือพิมพ์อย่างกระตือรือร้น ซึ่งในนั้นก็มีทั้งวิธีที่สื่อปัจจุบันตีพิมพ์เรื่องราวอันน่าตื่นตกใจระหว่างรัสปูตินกับจักรพรรดินี \"การสารภาพ\" ของอดีตข้าราชบริพารและชีวิตส่วนตัวของผู้อ้างตนเองเป็น \"คนรัก\" ของธิดาของซาร์ทั้งสี่[8]",
"title": "การประหารชีวิตราชวงศ์โรมานอฟ"
},
{
"docid": "316067#1",
"text": "อาจารย์สึเนะซะบุโร มะกิงุชิ เกิดเมื่อวันที่ เกรกอเรียน 23 กรกฎาคม 1871 เกิดในหมู่บ้านอาราฮามา นิอิงาตะ ตอนอายุ14ปีได้เดินทางไปยังฮอกไกโด ได้ทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย จนสามารถเข้าเรียนในโรงเรียนครูสามัญฮอกไกโด และสำเร็จการศึกษา และก้าวเข้าสู่เส้นทางของนักการศึกษา หลังจากไปอยู่ที่เมืองโตเกียวจนมีอายุ 32ปี(พ.ศ. 2446)\nท่านก็ได้จัดพิมพ์หนังสือ วิชาภูมิศาสตร์แห่งชีวิตมนุษย์ ที่มีชื่อเสียงออกมา หลังจากนั้นอีก10ปี ท่านก็ได้เป็นอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนประถมสามัญหลายแห่ง",
"title": "สึเนซาบูโร มากิงูจิ"
},
{
"docid": "97663#0",
"text": "สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 () ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1073 ถึง ค.ศ. 1085\nเกิดในเมืองทัสคานี่ ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา วันที่ 22 เมษายน ค.ศ.1073 มรณะวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ.1085 \nพระองค์ทรงเรียกประชุมสังคายนาออกโองการว่า “พระสันตะปาปาเท่านั้น\nที่เป็นสากล ไม่มีผู้ใดอาจตัดสินพระองค์ได้”",
"title": "สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7"
},
{
"docid": "2122#35",
"text": "ในช่วงชีวิตของนิวตัน มีการใช้งานปฏิทินอยู่ 2 ชนิดในยุโรป คือ ปฏิทินจูเลียน หรือ'ปฏิทินแบบเก่า' กับ ปฏิทินเกรกอเรียน หรือ 'ปฏิทินแบบใหม่' ซึ่งใช้กันในประเทศยุโรปที่นับถือโรมันคาทอลิก และที่อื่นๆ ตอนที่นิวตันเกิด วันที่ในปฏิทินเกรกอเรียนจะนำหน้าปฏิทินจูเลียนอยู่ 10 วัน ดังนั้น นิวตันจึงเกิดในวันคริสต์มาส หรือ 25 ธันวาคม 2185 ตามปฏิทินจูเลียน แต่เกิดวันที่ 4 มกราคม 2186 ตามปฏิทินเกรกอเรียน เมื่อถึงวันที่เสียชีวิต ปฏิทินทั้งสองมีความแตกต่างกันเพิ่มเป็น 11 วัน นอกจากนี้ ก่อนที่อังกฤษจะรับเอาปฏิทินเกรกอเรียนเข้ามาใช้ในปี พ.ศ. 2295 วันขึ้นปีใหม่ของอังกฤษเริ่มในวันที่ 25 มีนาคม (หรือ 'วันสุภาพสตรี' (Lady Day) ทั้งตามกฎหมายและตามประเพณีท้องถิ่น) มิใช่วันที่ 1 มกราคม หากมิได้มีการระบุไว้เป็นอย่างอื่น วันที่ทั้งหลายที่ปรากฏในบทความนี้จะเป็นวันที่ตามปฏิทินจูเลียน",
"title": "ไอแซก นิวตัน"
},
{
"docid": "178395#12",
"text": "สมาคมเกรกอรี เลอมาร์ชาลประกอบกิจกรรมมากมายที่เป็นการช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วยโรคซิสติก ไฟโบรซิสและครอบครัว ด้วยกิจกรรมที่ทำให้เกิดความสะดวกสบายและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วยและครอบครัว\nในเดือนพฤศจิกายนของปีเดียวกัน น้องสาวเขา เลสลี ได้เขียนหนังสือ “\"มง แฟรร์ อาร์ติสต์\"” Mon frère artiste (สำนักพิมพ์ มิแชล ลาฟง \"L’édition Michel Lafon\") รูปภาพประกอบในหนังสือเป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเกรกอรี เลอมาร์ชาล",
"title": "เกรกอรี เลอมาร์ชาล"
},
{
"docid": "79726#17",
"text": "กาตาร์แอร์เวย์ (โดฮา) กาธาโกแอร์ไลน์ ((โมนาสเทียร์) กานาอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ (อักกรา) คอนติเนนตัล แอร์ไลน์ (คลีฟแลนด์, นูอาร์ก, ฮุสตัน) คูบานา เดอ เอวิเอชั่น (ฮาวานา, โฮลกูอิน) โครเอเชียแอร์ไลน์ (ดูโบรฟนิก, ปูลา, สปลิต) เจ็ตทูดอตคอม (นิวคาสเซิล) ซูดานแอร์เวย์ (คาร์ทูม) ซูมแอร์ไลน์ (คาลเกรี, โทรอนโต-เพียร์สัน, มอนทรีอัล, วินนิเป็ก, แวนคูเวอร์, ออตตาวา, เอ็ดมอนตัน, ฮาลิแฟก) เซนทรัลวิง (กราโก, วอร์ซอ, โวรคลอ) ทราเวลเซอร์วิส (ปราก) ทีเอพี โปรตุเกส (ปอร์โต, ฟังคัล, ลิสบอน) ไททันแอร์เวย์ (ชามเบรี) ธอมสันฟลาย (กัว, กาวาลา, เกฟาลลินเนีย, เกโรนา, โกส, เคอร์ฟู, แคนคูน, เจนีวา, ชาเนีย, ชาร์ม เอล ชีค, ซางตาครูส, ซาลซ์บรูก, โซเฟีย, ดาลาแมน, ดูโบรฟนิก, ตูริน, ตูลูส, เตเนไรฟ, นิส, บาร์เบโดส, โบดรัม, โบร์กัส, ปาฟอส, ปาลมา เดอ มอลลอร์คา, ปุนตา คานา, เปอร์โต ปลาตา, โปลฟดิฟ, ฟังคัล, ฟาโร, เฟอร์ทเวนทูรา, มอนเตโกเบย์, มอมบาซา, มอลตา, มะละกา, มาหน, โมนาสเทียร์, โรวาไนมี, ลักซอร์, ลาร์นาคา, ลาส ปาลมาส, วาราดีโร, เวโรนา, อลิคานติ, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, อักกรา, อัลเจโร, อัลเมอเรีย, อาร์เรไคฟ, อิบิซา, เอนอนเตกิโอ, แอนทายา, เฮรากลิออน, เฮอร์กาดา) โธมัส คุก แอร์ไลน์ (กาโย โกโก้, กาลามาตา, เกฟาลลินเนีย, โกส, คาลเกรี, คูนากัว, เคอร์ฟู, แคนคูน, เจนีวา, ชาร์ม เอล ชีค, ซากินธอส, ซาลซ์บรูก, โซเฟีย, ดาลาแมน, ตูริน, ตูลูส, เตเนไรฟ, โทรอนโต-เพียร์สัน, ธีรา, เธสซาโลนิกิ, บันจูล, บาร์เบโดส, โบดรัม, โบร์กัส, ปาฟอส, ปาลมา เดอ มอลลอร์คา, เปอร์โต ปลาตา, โปลฟดิฟ, พรีเวซา, ฟังคัล, ฟาโร, เฟอร์ทเวนทูรา, มอนทรีอัล, มอลตา, มะละกา, มาหน, มิวนิก, โมนาเทียร์, รีอุซ, โรดส์, ลาร์นาคาฃ, ลาส ปาลมาส, ลียง, วาราเดโร, แวนคูเวอร์, สเกียธอส, สปริต, อกาเดียร์, อลิคานติ, ออตตาวา, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, อัลเมอเรีย, อาร์เรไคฟ, อิชเมียร์, อินน์บรัค, อิบิซา, แอนทายา, ฮาลิแฟก, เฮรากลิออน, แฮสซี เมสเซาด์) นอร์ทเวสต์แอร์ไลน์ (ดีทรอยต์, มินนีอาโปลิส/เซนต์ปอล) นูเวลแอร์ตูนิเซีย (ดเยอร์บา, โมนาสเทียร์) บริติชเจ็ต (มอลตา) บัลเกเรียแอร์ (โซเฟีย, วาร์นา) บีเอชแอร์ (โซเฟีย, โบกัส, โปลฟดิฟ, วาร์นา) เบลาเวีย (มิงก์) พีกาซัสแอร์ไลน์ (ดาลาแมน) ฟรีเบิร์ดแอร์ไลน์ (ดาลาแมน, แอนทัลยา) ฟลายบี (เจอน์ซีย์, เจอร์ซีย์, เบลฟาร์ต) ฟลายลาล (วิลเนียส) ฟิวจูรา (เตเนไรฟ) มายทราเวลแอร์เวย์ (กัว, เกฟาลลิเนีย, เกโรวา, โกส, คาลเกรี, เคอร์ฟู, แคนคูน, ซากินธอส, ซาลซ์บรูก, ดาลาแมน, ตูริน, เตเนไรฟ, โทรอนโต-เพียร์สัน, โบดรัม, โบร์กัส, ปาฟอส, ปาลมา, เปอร์โต ปลาตา, เฟอร์ทเวนทูรา, มอนเตโกเบย์, มะละกา, มาเล, มาหน, โมนาสเทียร์, รูส, โรดส์, ลา โรมันนา, ลาส ปาลมาส, แวนคูเวอร์, อกาเดียร์, ออร์แลยโด-แซนฟอร์ด, อัลเมอเรีย, อาร์เรไคฟ, อิบิซา, เฮรากลิออน, เฮอร์กาดา) เมอริเดียนา (คาเกลียรี, ฟลอเรนซ์, โอลเบีย) โมนาร์ชแอร์ไลน์ (กัว, เกรโนเบิล, โกส, คาลเกรี, เคอร์ฟู, แคนคูน, โคลอมโบ, เจนีวา, ชาเนีย, ชาร์ม เอล ชีค, ซาซินธอส, ซาล์ซบรูก, โซเฟีย, เดลี, ตูริน, ตูลูส, เตเรไรฟ, ทรีแวนดรัม, ทาบา, เนเปิลส์, บันจูล, บาร์เบโดส, โบดรัม, ปาฟอส, ปาลมา, เปอร์โต ปลาตา, พรีเวนซา, ฟาโร, เฟอร์ทเวนตูรา, มอมบาซา, มะละกา, มาเล, มาหน, ลักซอร์, ลาส ปาลมาส, แลนซารอต, เวนิซ, เวโรนา, สเกียธอส, อลิคานติ, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, อักกรา, อัลเมอเรีย, อาร์เรไคฟ, อินบรัค, อิบิซา, แอนทายา, เฮรากลิออน) โมนาร์ชแอร์ไลน์ (เครื่องเช่าเหมาลำ) (เกรนาดา, ฟาโร, มะละกา, ลิสบอน, อลิคานติ) ยูเครนอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ (เคียฟ-โบรีสปิล) ยูโรไซเปรียแอร์ไลน์ (ปาฟอส, ลาร์นาคา) ยูโรเปียนเอวิเอชั่นแอร์ชาร์เตอร์ (รีมินี) ยูเอสแอร์เวย์ (ชาร์ล็อต, ฟิลาเดเฟีย) เยอรมันวิง (ฮัมบรูก) โรสซิยาแอร์ไลน์ (เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) ไรอันแอร์ (คอร์ก, แชนนอน, ดับลิน) เวอร์จิ้น แอตแลนติก แอร์เวย์ (เกรนาดา, เซนต์ลูเซีย, โทบาโก, บาร์เบโดส, มอนเตโกเบย์, มัวริเทียส, ลาส เวกัส, ออร์แลนโด, แอนติกา, ฮาวานา) เวอร์จิ้น ไนจีเรีย (ลาโกส) ไวกิงแอร์ไลน์ (เฮรากลิออน) สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม เอสเอเอส บราเอเธนส์ (เบอร์เจน, อาเลซุนด์) สเตอร์ลิงแอร์ไลน์ (โคเปนเฮเกน, บิลลุนด์, สตอกโฮล์ม-อาร์แลนดา, อาลบอร์ก) อเล็กซานแดร์ (โกส, เฮราเลียน) อาเซอร์ไบยันแอร์ไลน์ (บากู) อีซีย์เจ็ต (กราโก, กลาสโก, โคโลญ/โบน, เจนีวา, ตูลูส, นิซ, บาร์เซโลนา, บูดาเปสต์, เบลฟาร์ต, เบอร์ลิน-สคุนฟิวด์, ปราก, ปาลมา เดอ มอลลอร์คา, ปาเลอร์โม, ปิซา,ฟาโร, เฟซ, มะละกา, มาดริด, มาร์เซย์, มาร์ราเคค, มิลาน-มัลเปนซา, มิลาน-ลินาติ, โรม-เคียมปิโน, ลา โรเชย์, วาเลนเซีย, เวนิซ, สปริต, อดินเบิร์ก, อลิคานติ, อัมสเตอร์ดัม, อัลเมอเรีย, อินเวอร์เนส, อิบิซา, เอเธนส์, โอลเบีย) เอ็กซ์แอลแอร์เวย์ (กัว, กาลามาตา, กาวาลา, เกฟาลลินา, เกรนาดา, โกส, คาเกลียรี, เคอร์ฟู, ชาเนีย, ชาร์ม เอล ชีค, ซากินธอส, ซานตาคลารา, ซามอส, เซนต์คิทส์, ดาลาแมน, เตเนไรฟ, ทาบา, โทบาโก, ธีรา, เธสซาโลนิกิ, เนเปิลส์, บาร์เบโดส, บาสเทีย, เบรสเชีย, โบดรัม, ปาฟอส, ปาล์มา, ปุนตา คานา, เปอร์โต ปลาตา, พรีเวนซา, ฟังคัล, ฟาโร, เฟอร์ทเวนทูรา, มอมบาซา, มอลตา, มะละกา, มาร์ซา อาลาม, มาหน, มิโกนอส, มิติลินี, เมอร์เชีย, โรดส์, ลาร์นาคา, ลาส ปาลมาส, เลมนอส, โวโลส, สเกียธอส, อลิคานติ, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, อัลการ์ฟ, อัลเมอเรีย, อาร์เรไคฟ, เอเธนส์, แอนทัลยา, ฮอลกูอิน, เฮรากลิออน, เฮอร์กาดา) เอสโตรเนียนแอร์ (ทาลลินน์) เอสเอทีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล (เดลกาดา, ปอนตา) แอฟริกา ซาฟารี แอร์เวย์ (มอมบาซา) แอฟริกิยาห์ แอร์เวย์ (ทริโปลิ) แอร์ซิมบับเว (ฮาราเร) แอร์ทรานแซต (โทรอนโต-เพียร์สัน, มอลทรีอัล, แวนคูเวอร์, เอ็ดมอนตัน, ฮาลิแฟก) แอร์บอลติก (ริกา, วิลเนียส) แอร์มอลตา (คาตาเนีย, มอลตา) แอร์แอตแลนตายุโรป (ชาร์ม เอล ชีค, ปาฟอส, ฟาโร, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, เฮอร์กาดา) แอลทีอีอินเตอร์เนชั่นเนลเอร์ไลน์ (เตเนไรฟ์, ปาลมา, ลาส ปาลมาส) โอนอร์แอร์ (ดาลาแมน, โบดรัม) โอเรยีแอร์ (เจอน์ซีย์) โอลิมปิกแอร์ไลน์ (เธซาลานิกิ, เอเธนส์) โอเอซิสฮ่องกงแอร์ไลน์ (ฮ่องกง) ไอบีเรีย ให้บริการโดย แอร์นอสทรัม (มาหน)",
"title": "ท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก"
},
{
"docid": "104011#1",
"text": "อึกชื่อหนึ่งที่ทางคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้กับพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 คือ “เกรกอริอุส ไดอาโลกุส” (Gregorius Dialogus) ตามหนังสือชื่อ “Dialogues” ที่พระองค์เป็นผู้ประพันธ์ เป็นพระสันตะปาปาพระองค์แรกที่เป็นนักพรต นอกจากนั้นพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 ยังทรงเป็นหนึ่งในสี่นักปราชญ์แห่งคริสตจักรที่เรียกว่า “ปิตาจารย์แห่งคริสตจักรตะวันตก” โดยอีกสามองค์คือ นักบุญแอมโบรสแห่งมิลาน นักบุญตินแห่งฮิปโป และนักบุญเจอโรม ในบรรดาพระสันตะปาปาด้วยกันเกรกอรีเป็นพระสันตะปาปาที่มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในช่วงต้นสมัยกลาง",
"title": "สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1"
},
{
"docid": "971597#3",
"text": "เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2544 จากมะเร็งปอด สิริอายุ 65 ปี ซึ่งก่อนหน้าเขาจะเสียชีวิตนั้น เขาถูกแต่งตั้งให้เป็น อัศวินแห่งเกรกอรี จาก สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในฐานะที่เชาช่วยดูแลและบริจาคเงินให้กับคนโรมันคาทอลิกในประเทศอังกฤษ",
"title": "ไมเคิล วิลเลียมส์"
},
{
"docid": "178395#0",
"text": "เกรกอรี ฌ็อง-ปอล เลอมาร์ชาล () เกิดวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 ที่เมืองลาทรงช์ และเสียชีวิตด้วยโรคซิสติก ไฟโบรซิส (Cystic fibrosis) ในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 2007 ที่เมืองซูว์แรน เขาเป็นนักร้องชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการเป็นผู้ชนะการประกวดในฤดูที่ 4 ของรายการทีวียอดนิยมของฝรั่งเศส ชื่อ สตาร์ อคาเดมี ในปี 2004 เขามีเนื้อเสียงที่ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ ปาสกาล แนเกรอ ยังได้กล่าวด้วยว่าเสียงของเขานั้นสูงถึง 4 ออกเตฟแม้ว่าข้อมูลนี้ควรจะได้รับการตรวจสอบก็ตาม",
"title": "เกรกอรี เลอมาร์ชาล"
},
{
"docid": "764736#0",
"text": "เกอร์ตี เทเรซา คอรี (; นามสกุลเดิม: แรดนิตซ์ (Radnitz); 15 สิงหาคม ค.ศ. 1896 – 26 ตุลาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักชีวเคมีชาวเช็ก/อเมริกัน เกิดที่เมืองปราก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก) เป็นบุตรสาวของออตโตและมาร์ธา แรดนิตซ์ เรียนที่โรงเรียนแพทย์ของมหาวิทยาลัยชาลส์ ปราก ขณะเรียนอยู่ที่นั่น เกอร์ตีพบกับคาร์ล คอรี ทั้งคู่แต่งงานกันหลังเรียนจบในปี ค.ศ. 1920 และย้ายไปอยู่ที่เมืองเวียนนา โดยเกอร์ตีทำงานที่โรงพยาบาลเด็ก ส่วนคาร์ลทำงานที่ห้องปฏิบัติการ สองปีต่อมา เกอร์ตีและคาร์ลย้ายไปที่สหรัฐอเมริกาและทำงานที่สถาบันมะเร็งรอสเวลล์พาร์กในเมืองบัฟฟาโล รัฐนิวยอร์ก ทั้งคู่ร่วมกันศึกษากระบวนการเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและค้นพบวัฏจักรคอรี ซึ่งเป็นการสร้างแลคเตตจากกระบวนการไกลโคไลซิสแบบไม่ใช้ออกซิเจน ต่อมาในปี ค.ศ. 1931 เกอร์ตีและคาร์ลย้ายไปที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี คาร์ลได้รับตำแหน่งนักวิจัย ส่วนเกอร์ตีรับตำแหน่งผู้ร่วมวิจัยที่โรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ทั้งคู่ค้นพบกลูโคส 1-ฟอสเฟตและอธิบายโครงสร้างของเอนไซม์ ฟอสโฟรีเลส ในปี ค.ศ. 1947 สามี-ภรรยาคอรีและเบอร์นาโด ฮูสเซย์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ เกอร์ตีเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์และสตรีคนที่สามที่ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาวิทยาศาสตร์",
"title": "เกอร์ตี คอรี"
},
{
"docid": "148038#1",
"text": "ในคริสตจักรตะวันตก มีปิตาจารย์แห่งคริสตจักรที่ได้รับยกย่องเป็นนักปราชญ์อยู่ 4 องค์ ได้แก่ นักบุญเกรกอรีผู้ยิ่งใหญ่ นักบุญแอมโบรสแห่งมิลาน นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป และนักบุญเจอโรม ขณะที่คริสตจักรตะวันออกมีนักปราชญ์ที่โดดเด่นเป็นพิเศษ 3 องค์ ได้รับยกย่องเป็น \"ไฮเออราร์คผู้ศักดิ์สิทธิ์ทั้งสาม\" ได้แก่ นักบุญจอห์น คริสซอสตอม นักบุญแบซิลแห่งซีซาเรีย และนักบุญเกรกอรีแห่งนาเซียนซัส ",
"title": "นักปราชญ์แห่งคริสตจักร"
},
{
"docid": "231297#1",
"text": "นักบุญออกัสตินเป็นรองอธิการอาราม (prior) ในกรุงโรม เมื่อสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 เลือกให้เป็นผู้นำในการไปเผยแพร่ศาสนาในปี ค.ศ. 595 ในบริเตนโดยมีจุดประสงค์ที่จะชักชวนให้เอเธลเบิร์ตแห่งเคนต์ (Æthelberht of Kent) เปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนา การที่เลือกเคนต์คงเป็นเพราะตั้งอยู่ใกล้หลายราชอาณาจักรที่นับถือศาสนาคริสต์ในกอล และเอเธลเบิร์ตเสกสมรสกับเจ้าหญิงเบอร์ธา (Bertha of Kent) ซึ่งเป็นคริสต์ศาสนิกชนและหวังกันว่าจะมีอิทธิพลต่อพระสวามีบ้าง ก่อนที่จะเดินทางไปถึงเคนต์กลุ่มมิชชันนารีก็อยากจะหันหลังกลับแต่พระสันตะปาปาเกรกอรีก็ทรงยุให้เดินทางต่อ ในที่สุดในปี ค.ศ. 597 นักบุญออกัสตินก็ขึ้นฝั่งอังกฤษที่เทเนทและเดินทางไปเมืองหลักแคนเทอร์เบอรี",
"title": "ออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี"
},
{
"docid": "417316#4",
"text": "พระอาการประชวรของซาเรวิชอะเลกเซย์ นิโคไลเยวิชนั้น ทำให้สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียและจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซียนั้นเป็นกังวลพระทัยมาก เพราะซาเรวิชอะเลกเซย์เป็นพระโอรสองค์สุดท้องเพียงองค์เดียวและยังเป็นซาเรวิชแห่งรัสเซียด้วย ทั้งสองพระองค์จึงพยายามทุกวิถีทางเพื่อที่จะรักษาพระอาการประชวรของพระโอรส เพราะเหตุนี้เองจึงทำให้เกรกอรี รัสปูตินได้เข้ามารักษาพระอาการประชวรของซาเรวิชอะเลกเซย์จนหายดีแต่ทว่าไม่ได้มีการเปิดเผยใดๆว่ารัสปูตินได้รักษาแก่ซาเรวิชอะเลกเซย์ได้อย่างไร แต่นั้นก็ทำให้รัสปูตินได้กลายเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าซาร์และพระราชินีและได้มอบไว้วางพระทัยให้ในฐานะที่ปรึกษาของจักรพรรดิได้ดูแลการเมืองและราชวงศ์รัสเซีย ด้วยความักใหญ่ใฝ่สูงของรัสปูตินทำให้รัสเซียต้องเผชิญกับความเสื่อมโทรมจนนำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิรัสเซียในที่สุด",
"title": "อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย"
},
{
"docid": "178395#11",
"text": "สมาคมเกรกอรี เลอมาร์ชาล (L’Association Grégory Lemarchal) ได้รับประกาศเป็นสมาคมเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 2007 มีวัตถุประสงค์เพื่อเอาชนะโรคซิสติก ไฟโบรซิส\nหลังจากการเสียชีวิตของเกรกอรี เลอมาร์ชาล พ่อแม่ของเขา โลรองซ์และปิแยร์ (Lauraence และ Pierre) น้องสาวเขา เลสลี (Leslie) และคนรักของเขา การีน แฟร์รี (Karine Ferri) ซึ่งทั้งสี่คนล้วนเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริหารสมาคมเกรกอรี เลอมาร์ชาล ได้เล็งเห็นว่าความสำเร็จของเขาในฐานะศิลปินและการต่อสู้กับโรคร้ายนั้นส่งผลกระทบต่อจิตสำนึกของผู้คน กรณีเช่นนี้จึงเป็นการดีที่จะต่อต้านเพื่อผลประโยชน์ต่อคนที่เป็นโรคซิสติก ไฟโบรซิส",
"title": "เกรกอรี เลอมาร์ชาล"
},
{
"docid": "859062#0",
"text": "โซฟี เกรกอรี ทรูโด (; ; 24 เมษายน ค.ศ. 1975 — ) หรือที่รู้จักกันในนาม โซฟี เกรกอรี เป็นภรรยาของจัสติน ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา เธอเป็นอดีตพิธีกรทางโทรทัศน์ และมีส่วนร่วมในงานด้านการกุศลรวมถึงการพูดในที่สาธารณะ โดยเน้นประเด็นด้านปัญหาสตรี",
"title": "โซฟี เกรกอรี ทรูโด"
},
{
"docid": "338071#9",
"text": "ในปี 1228 บาทหลวงลัทธิโดมินิกัน \"ออเล วอร์เมียส\"ได้แปลนีโครโนมิคอนเป็นภาษาละติน (ในความเป็นจริงนั้น ออเล วอร์มเป็นแพทย์ชาวเดนนิชและมีชีวิตอยู่ในช่วง 1588 ถึง 1655) สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9ได้สั่งให้นีโครโนมิคอนทั้งสองภาษาเป็นหนังสือต้องห้ามในปี 1232 แต่ก็มีการพิมพ์ฉบับภาษาละตินในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ในประเทศเยอรมนีและช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17ในประเทศสเปน ส่วนฉบับภาษากรีกนั้นมีการเผยแพร่ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16ในประเทศอิตาลี",
"title": "นีโครโนมิคอน"
},
{
"docid": "642144#4",
"text": "ราดรีเกซ เกิดที่เมืองแซนแอนโทนีโอ (San Antonio) รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา แม่ของเธอ คาเมน มิลาดี้ ราดรีเกซ เป็นคนพื้นเมืองของโดมินิกัน และพ่อของเธอ ราฟาเอล ราดรีเกซ เป็นชาวเปอร์โตริโก ทำงานในกองทัพสหรัฐ[8][9][10] ราดรีเกซได้ย้ายตามแม่ของเธอไปอยู่สาธารณรัฐโดมินิกันเมื่อเธออายุได้ 8 ขวบและอาศัยอยู่ที่นั่นจนกระทั่งอายุ 11 ปี หลังจากนั้นเธอย้ายไปอยู่ที่เปอร์โตริโกจนอายุได้ 17 ปี และสุดท้ายเธอตั้งรกรากที่เมืองเจอร์ซีย์ (Jersey City) รัฐนิวเจอร์ซีย์ เธอหยุดเรียนไปตอนมัธยมปลายแต่ก็มาเรียนGED ต่อ[11] เธอถูกไล่ออกมา 5 โรงเรียน[12] เธอเข้าเรียนหลักสูตรเร่งรัดที่โรงเรียนทางธุรกิจก่อนที่จะออกจากอาชีพนักแสดง โดยเธอนั้นมีความฝันสูงสุดที่จะเป็นนักเขียนบทและผู้อำนวยการสร้าง[13]",
"title": "มิเชลล์ ราดรีเกซ"
},
{
"docid": "859062#1",
"text": "เกรกอรีได้พบกับจัสติน ทรูโด ซึ่งเป็นบุตรชายคนโตของปีแยร์ ทรูโด เป็นครั้งแรก เมื่อทั้งคู่เป็นเด็กที่เติบโตในมอนทรีออล โดยเกรกอรีเป็นเพื่อนร่วมชั้นและเพื่อนวัยเด็กของมีเชล ผู้เป็นบุตรชายคนสุดท้องของปีแยร์ ทรูโด",
"title": "โซฟี เกรกอรี ทรูโด"
},
{
"docid": "375273#2",
"text": "ซีรีส์ฉบับอเมริกัน ถูกนำมาสร้างโดยเกร็ก แดเนียลส์ ออกอากาศทางเอ็นบีซี ตั้งแต่ปี 2005 จนถึงปัจจุบันเป็นฤดูกาลที่แปด กล่าวถึงสำนักงานสาขาเมืองสแครนตัน รัฐเพนซิลเวเนียของบริษัท ดันเดอร์ มิฟฟลิน (Dunder Mifflin) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก มีผู้จัดการสาขาชื่อ ไมเคิล สก็อตต์ (รับบทโดย สตีฟ แคเรล) มีผู้ช่วยชื่อ ดไวท์ ชรูท (รับบทโดย เรนน์ วิลสัน) และจิม ฮาลเพอร์ท (รับบทโดย จอห์น คราซินสกี) เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลที่เจ็ด บริษัทนี้ถูกบริษัทยักษ์ใหญ่ซื้อกิจการไป และเปลี่ยนตัวผู้จัดการเป็น ดีแองเจโล วิกเกอร์ส (รับบทโดย วิล เฟอร์เรล) ",
"title": "ดิออฟฟิซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)"
},
{
"docid": "331964#5",
"text": "ท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9 มีวันฉลองตรงกับวันที่ 8 สิงหาคมของทุกปี ",
"title": "นักบุญดอมินิก"
},
{
"docid": "12431#76",
"text": "หนังสืออัตชีวประวัติของแมนเดลา ชื่อ Long Walk to Freedom ได้ตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2537 แมนเดลาเริ่มเขียนบันทึกชิ้นนี้อย่างลับ ๆ ตั้งแต่เขายังอยู่ในคุก[157] ในหนังสือนี้ แมนเดลาไม่ได้เปิดเผยสิ่งใดเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิดซึ่งเฟรเดอริก วิลเลิม เดอ แกลร์ก อ้างไว้เกี่ยวกับการเกิดเหตุรุนแรงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 80 และ 90 หรือความเกี่ยวข้องระหว่างอดีตภรรยา วินนี แมนเดลา ในการหลั่งเลือดคราวนั้นเลย อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมาเขาได้ให้ความร่วมมือกับเพื่อนนักข่าวชื่อ แอนโทนี แซมป์สัน ซึ่งสอบถามแมนเดลาเกี่ยวกับเรื่องนี้ และปรากฏเนื้อหาอยู่ในหนังสือ The Authorised Biography[158] ยังมีรายละเอียดเรื่องการสมรู้ร่วมคิดอื่น ๆ ที่แมนเดลาไม่ได้เอ่ยถึง อยู่ในหนังสือเรื่อง Goodbye Bafana[159] ผู้เขียนคือผู้คุมคนหนึ่งบนเกาะโรบเบิน เจมส์ เกรกอรี อ้างว่าได้สนิทสนมกันกับแมนเดลาเมื่ออยู่ในคุก และตีพิมพ์รายละเอียดเรื่องชู้สาวของครอบครัวของเขาในหนังสือ[159] แซมป์สันยืนยันว่าแมนเดลาไม่ได้รู้จักมักจี่กับเกรกอรี แต่เกรกอรีเป็นคนเซ็นเซอร์จดหมายทุกฉบับที่ส่งไปถึงแมนเดลา จึงได้รู้เรื่องราวชีวิตส่วนตัวของเขาอย่างละเอียด แซมป์สันยังยืนยันด้วยว่าผู้คุมคนอื่น ๆ พากันสงสัยว่าเกรกอรีเป็นสายลับของรัฐบาล และแมนเดลาควรจะฟ้องร้องนายเกรกอรีคนนี้[160]",
"title": "เนลสัน แมนเดลา"
},
{
"docid": "22564#16",
"text": "No.PositionPlayer1GKจอร์แดน พิกฟอร์ด2DFเมสัน ฮอลเกต3DFเลห์ตัน เบนส์4DFไมเคิล คีน5DFกูร์ต ซูมา (ยืมตัวมาจากเชลซี)6DFฟิล แจกีเอลกา (กัปตัน)7MFยันนิก บอลาซี8MFอังแดร โกมึช (ยืมตัวมาจากบาร์เซโลนา)9FWซันโดร รามิเรซ10MFจิลวี ซีกืร์ดซอน11FWทีโอ วอลคอตต์12DFลูว์กา ดีญ13DFเยร์ริ มินา14FWแจงค์ โทซุน15DFคูโค มาร์ตีนา16MFเจมส์ มักคาร์ที17MFอีดรีซา แกย์ No.PositionPlayer18MFมอร์แกน ชเนแดร์แล็ง19FWอูมาร์ นีอัซ20FWBernard22GKมาร์เติน สเตเกอเลินบืร์ค23DFเชมัส โคลแมน26MFทอม เดวีส์27FWนีคอลา วลาชิช28MFคีแรน โดเวลล์29FWดอมินิก แคลเวิร์ต-ลูอิน30FWริชาร์ลีซง31FWอะเดโมลา ลุกแมน32MFโจ วิลเลียมส์33MFแคลลัม คอนนอลลี34MFเบนี บานินกีเม38DFแมททิว เพนนิงตัน41GKMateusz Hewelt43DFจอนโจ เคนนี",
"title": "สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน"
},
{
"docid": "493679#1",
"text": "เจ้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกส มีพระนามเต็มว่า \"มารีอา ดา อาซุงเซา อนา ฮวนนา โจเซฟา ลุยซา กอนซากา ฟรานซิสกา เดอ อัซซิส ซาเวียร์ เดอ เปาลา โจวควินา อันโตเนีย เดอ ซาน ติอาโก เดอ บรากังซา อี บูร์บง\" เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2348 ณ พระราชวังหลวงเกวลูซ ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ทรงได้รับการบัฟติศมาในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2348 ในมหาวิหารหลวงโดยทรงได้รับจากเจ้าคณะบาทหลวง อันโตนิโอ ซาเวียร์ เดอ มิรันดา ผู้ซึ่งเป็นเจ้าคณะบาทหลวงแห่งลิสบอน ",
"title": "เจ้าหญิงมารีอา ดา อาซุงเซาแห่งโปรตุเกส"
},
{
"docid": "370379#0",
"text": "เกรกอรี เชน เฮมส์ (Gregory Shane Helms) เกิดวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1974 ที่รู้จักกันในนาม เกรกอรี เฮมส์ (Gregory Helms) และ เดอะเฮอร์ริเคน (The Hurricane) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ฉายา \"Supernatural\"",
"title": "เกรกอรี เฮมส์"
},
{
"docid": "866361#0",
"text": "เทีย เกรกอรี (เกิดเมื่อ 1929) เป็นนักแสดงหญิงชาวอังกฤษ",
"title": "เทีย เกรกอรี"
},
{
"docid": "676657#9",
"text": "ในสมัยใหม่ เกรกอรี ชามิตอฟฟ์ นักบินอวกาศชาวคะเนเดียน-อเมริกันของนาซา เป็นบุคคลแรกที่นำเบเกิลขึ้นสู่อวกาศในภารกิจสเปซชัทเทิล ขึ้นสู่สถานีอวกาศนานาชาติ ใน ค.ศ. 2008 โดยเขาได้นำเบเกิลงาดำแบบมอนทรีออล 18 ชิ้น ซึ่งผลิตโดยแฟร์เมาต์เบเกิล เบเกอรีในมอนทรีออล โดยชามิตอฟฟ์นั้นเกิดในเมืองมอนทรีออลและเกิดในกลุ่มชนรัสเซียน-ยิว และมีควมเกี่ยวข้องกับครอบครัวชลาฟแมน ซึ่งเป็นเจ้าของเบเกอรี. ",
"title": "เบเกิล"
},
{
"docid": "329594#0",
"text": "ไมเคิล เกรกอรี มิซานิน (Michael Gregory Mizanin) เกิด 8 ตุลาคม ค.ศ. 1980[1] นักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกันที่ปัจจุบันเซ็นสัญญาปล้ำให้กับWWEที่รู้จักดีในนาม เดอะมิซ (The Miz) เป็นแชมป์ WWE 1 สมัย, แชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล 8 สมัย, แชมป์ยูเอส 2 สมัย, แชมป์แท็กทีม WWE 6 สมัย, แชมป์ทริปเปิลคราวน์คนที่ 25, แชมป์แกรนด์สแลมคนที่ 14 และผู้ชนะมันนีอินเดอะแบงก์ของฝั่งรอว์ปี 2010 เคยเข้าร่วมประกวดทัฟ อีนัฟ ซีซั่น4",
"title": "เดอะมิซ"
},
{
"docid": "91166#12",
"text": "เพื่อเป็นการส่งเสริมอัลบั้ม มารูนไฟฟ์ได้แสดง \"ซิกส์เดตคลับทัวร์\" แห่งหนึ่ง ณ เวทีขนาดเล็กในบอสตัน ซานฟรานซิสโก ลอสแอนเจลิส มินนีแอโพลิส ไมอามี และนครนิวยอร์ก ในต้นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2007 พวกเขายังมีคอนเสิร์ตที่แสดงสดผ่านช่องเอ็มเอสเอ็นมิวสิก (MSN Music) ตามมาในกลางเดือนเดียวกัน ในวันที่ 10 กรกฎาคม เขาเล่นเป็นวงเปิดคอนเสิร์ตให้กับเดอะโพลิซ ในไมอามี และตามมาด้วยการแสดงดนตรีอคูสติกที่ไมอามีคลับ สตูดิโอ เอ ในวันถัดมา ทัวร์คอนเสิร์ตอัลบั้ม \"อิตโวนต์บีซูนบีฟอร์ลอง\" ของพวกเขาจะเริ่มขึ้นปี ค.ศ. 2007 ซึ่วงจะทัวร์ใน 28 เมือง ทัวร์เริ่มขึ้นในในวันที่ 29 กันยายนในดีทรอยต์ และทัวร์ต่อใน 28 เมืองในอเมริกาเหนือ และจบลงในวันที่ 10 พฤศจิกายนในลาสเวกัส โดยมีวง เดอะไฮฟส์ เป็นแขกรับเชิญพิเศษตลอดงาน ขณะที่มีซารา บาเรลลิส เควิน ไมเคิล และ แฟนทอมแพลเน็ต ที่ร่วมแสดงเป็นบางครั้ง พวกเขายังได้ทัวร์ร่วมกับวงแดชบอร์ดคอนเฟสชันแนล ในงานทัวร์คอนเสิร์ตด้วย และในวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 2008 พวกเขาเริ่มทัวร์คอนเสิร์ตร่วมกับวงวันรีพับบลิก, แบรนดี คาร์ไลล์ และไร คูมิง พวกเขายังได้แสดงเพลง \"เมกส์มีวันเดอร์\" ในรายการ\"อเมริกันไอดอล\" ฤดูกาลที่ 6 และเพลง \"อิฟไอเนเวอร์ซียัวร์เฟสอะเกน\" ในฤดูกาลที่ 7 การออกอัลบั้มซ้ำ (re-release) มีเพลง \"อิฟไอเนเวอร์ซียัวร์เฟสอะเกน\" เวอร์ชันใหม่ที่ร้องร่วมกับริอานนา ซึ่งเวอร์ชันใหม่ของเพลงนี้ยังอยู่ในอัลบั้ม\"กูดเกิลส์กอนแบด\" ซึ่งเป็นการออกจำหน่ายซ้ำเช่นกัน และพวกเขาก็ได้ปล่อยซิงเกิลลำดับที่ห้า \"กูดไนต์กูดไนต์\" ซึ่งปรากฏในฉากเริ่มเรื่องของซีรีส์ \"ซีเอสไอ: นิวยอร์ก\" ตอน \"Page Turner\" ด้วย",
"title": "มารูนไฟฟ์"
},
{
"docid": "189666#0",
"text": "เกรกอรี เอฟธิมิออส ลูเกนิส () เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1960 เป็นนักกระโดดน้ำชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อนจากประเภทสปริงบอร์ด 3 เมตร และแพลตฟอร์ม 10 เมตร ได้ถึง 2 สมัยติดต่อกันเมื่อปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และ 1988 ที่โซล จากประเภทเดิม",
"title": "เกร็ก ลูเกนิส"
},
{
"docid": "79726#15",
"text": "ไซปรัส เตอร์กิส แอร์ไลน์ (ดาลาแมน, แอนทัลยา) ดาอัลโล แอร์ไลน์ (ดจิโบติ) เดลต้า แอร์ไลน์ (ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์น เคนตัคกี, นิวยอร์ก-เจเอฟเค, แอตแลนตา) เนชั่นไวด์ แอร์ไลน์ (โจฮันเนสเบิร์ก) บรัสเซลส์ แอร์ไลน์ (บรัสเซลล์) บริติช แอร์เวย์ (กราโกว, กลาสโกว, เกรเนดา, เกรเรเบิล, คาเกลียรี, คาตาเนีย, คิงส์ตัน, เจนีวา, เจอร์ซีย์, ซาราเจโว, ซาลซ์เบิร์ก, ซูริค, เซนต์ลูเซีย, โซเฟีย, ดับลิน, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ดูโบรฟนิก, เดรสเดน, ติรานา, ตูริน, ตูลูส, เทเนไรฟ, แทมป้า, โทบาโก, เธสซาโลนิกิ, นิซ, นิวคาสเซิล, นิวเควย์, เนเปิลส์, บอร์ดิว, บาร์เซโลนา, บาร์เบโดส, บารี, เบอร์มิวด้า, โบลอกนา, ปราก, ปิซา, พริสตินา, พอร์ท ออฟ สเปน, มาดริด, มาร์เซล์, แมนเชสเตอร์, เรกยาวิก-เกฟลาวิก, โรม-ฟิอูมีชิโน, ลักเซมเบิร์ก, วาร์นา, เวนิซ, เวโรนา, สปลิต, อดินเบิร์ก, อเบอร์ดีน, ออร์แลนโด, อัมสเตอร์ดัม, อิชเมีย, แอนติกา, แอลเจียร์, ฮุสตัน, แฮสซี เมสเซาด์) บริติช แอร์เวย์ ที่ดำเนินการโดย จีบีแอร์เวย์ (ชาร์ท เอล ชีค, เซวิลล์, ดาลาแมน, ตูนิส, เตเนไรฟ เซาท์, เตเนไรฟ นอร์ท, นานท์, บาสเชีย, ปาฟอส, พาลมา เดอ มัลลอร์คา, ฟังคัล, ฟาโร, มอนท์เพลเลอร์, มัลตา, มาร์ราเคค, มะละกา, มาหน, ยิบรอลตา, โรดส์, ลาส พาลมาส, ลียง, อกาเดีย, อลิคานติ, อัจจาชิโอ, อารีไคฟ, อินสบรัค, อิบีซา, เฮรากลิออน, เฮอร์กาดา) ฟลายเจ็ต (เคอร์ฟู, ชาร์ม เอล ชีค, เตเนไรฟ, ปาฟอส, มาหน, ลักซอร์, ลาร์นาคา, แอมรีตซาร์, เฮรากลิออน) ฟลายลาล (วิลเนียส) เฟิร์ทชอยส์ แอร์เวย์ (กราโกว, กา ,กาลามาตา, กิตตาลา, เกฟาลลิเนีย, เกรโนเบิล, โกส, เคอร์ฟู, แคนคูน, เจนีวา, ชาร์ม เอล ชีค, แชนย่า, ซากินธอส, ซาดาร์, ซาลเบิร์ก, เซนต์โทมัส, ดาลาแมน, ดูโบรฟนิก, ตูริน, ตูลูส, เตเรไรฟ, ทาบา, เทลอาวีฟ, เนเปิลส์, บันจูล, บาร์เซโลนา, เบอร์กาส, โบดรัม, ปอร์ลามาร์, ปาฟอส, ปุนตา คานา, เปอร์โต ปลาสตา, พรีเวซา, พาลมา เดอ มอลลอร์คา, ฟังคัล, ฟาโร, เฟอร์เตเวนทูรา, มอมบาซา, มอลตา, มะละกา, มาเล, มาหน, มิติลินี, โมนาสเทียร์, ยับยานา, เรอุซ, โรดส์, ลาร์นาคา, ลาส พาลมาส ,ลิเบอเรีย, วาร์นา, วาราเดโร, เวโรนา, สเกียธอส, อกาเดีย, อลิคานติ, ออร์แลนโด-แซนฟอร์ด, อะรูบา, อัลเมเรีย, อาร์เรไคฟ, อินน์สบรัค, อิบิซา, แอนติกา, แอนเทย์ลา, ฮอลกูอิน, แฮรากลิออน) มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ (บูดาเปรตส์) รอยัลแอร์โมรอค (มาร์ราเคค) อเมริกัน แอร์ไลน์ (ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ราไลจ์/ดูแรม) อาร์เกีย อิสราเอล แอร์ไลน์ (เทลอาวีฟ) อิสแรร์แอร์ไลน์ (เทลอาวีฟ) เอเดรียแอร์เวย์ (ยับยานา) เอมิเรตส์ (ดูไบ) แอร์เซาท์เวส (นิวเควย์, พลายเมาธ์) แอร์นามิเบีย (วินโฮก) แอร์พลัสโคเม็ต (มาดริด) แอร์ฟรานซ์ แอร์ฟรานซ์ ที่ดำเนินการโดย บริทแอร์ (สตาร์สเบิร์ก) แอสแทรอัส (เอล อลาเมน, กาลามาตา, กูซาโม, เกฟาลลิเนีย, เคอร์ฟู, คาลวี, เจนีวา, ชัมเบรี, ชาร์ม เอล ชีค, ซากินธอส, ซาดาร์, ซาล์ซเบิร์ก, เซนต์จอห์น, ดูโบรฟมิก, เดียร์เลก, ทาบา, เทเนไรฟ, ธีรา, บันจูล, บาสเทีย, เบอร์เจน, โบดรัม, ปาฟอส, พรีเวซา, ฟรีทาวน์, ฟาเจอเนส, มอนโรเวีย, มะละกา, มาลาโบ, มิโคนอส, เมอร์เซีย, เมอร์มานส์, ยูราล์ก, ลาส พาลมอส, สปริต, อคาบา, อักกรา, อัลเจโร, อัสวาน, โอลเบีย, เฮรากลิออน, แฮสซี เมสเซาด์)",
"title": "ท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก"
}
] |
3205 | ศาสนาพุทธมีต้นกำเนิดมาจากประเทศอะไร? | [
{
"docid": "77973#0",
"text": "ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน",
"title": "ประวัติศาสนาพุทธ"
}
] | [
{
"docid": "556157#1",
"text": "ชาวบรูไนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ออสโตรนีเซียน มีต้นกำเนิดมาจากเกาะไต้หวันย้อนหลังไปจาก 5000 ปีก่อนคริสตกาล พวกเขาอาศัยอยู่ตลอดชายฝั่งตะวันตกบนของเกาะบอร์เนียวมีประชากรทั้งหมด (2554) 428,146 คน ภาษาทางการ คือภาษามลายู ศาสนาที่ชาวบรูไนนับถือคือ ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายาน 13% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดู ความเชื่อพื้นเมืองและอื่น ๆ ตามมา",
"title": "ประชากรศาสตร์บรูไน"
},
{
"docid": "578913#0",
"text": "ศาสนาแบบอินเดีย (English: Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์[web 1] ศาสนาเหล่านี้ถือว่าเป็นศาสนาตะวันออก แม้ศาสนาแบบอินเดียจะเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์อินเดีย แต่ก็ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในอนุทวีปอินเดียเท่านั้น ยังได้แพร่หลายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วย[web 1]",
"title": "ศาสนาแบบอินเดีย"
},
{
"docid": "288203#1",
"text": "ต้นกำเนิดของภาพปริศนาธรรมอันโด่งดังนี้มีที่เริ่มมาจากลักษณะภาพแกะสลักบนประตูของศาลเจ้านิกโกโทโช จังหวัดโทะชิงิ ประเทศญี่ปุ่น ย้อนหลังไปถึงศตวรรษที่ 17 อย่างไรก็แล้วแต่ตัวปรัชญาของปริศนาธรรมนั้นน่าจะมาพร้อมกับตำนานของ ศาสนาพุทธนิกายเทียนไท้ ซึ่งเชื่อกันว่ามาจากประเทศจีนในศตวรรษที่ 8 (ยุคนะระ)\nในภาษาจีนนั้น ประโยคคล้ายกับเรื่องลิงสามตัวนี้สามารถอ่านเจอในคัมภีร์ของหลักขงจื๊อ ถอดความได้ว่า \"ไม่มองในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม ไม่ฟังในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม และไม่กระทำ (เคลื่อนไหว) ในสิ่งที่ไม่เหมาะสม\" จากที่กล่าวมาในประโยคข้างต้นนั้นสามารถกล่าวได้ว่าเมื่อปรัชญานี้มาถึงญี่ปุ่น ตัวปรัชญาเองนั้นถูกทำให้กระชับและได้ใจความขึ้น",
"title": "ลิงสามตัว"
},
{
"docid": "79774#6",
"text": "ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2340 และอีก 19 ปีต่อมา อังกฤษได้ครองอำนาจแทนฮอลันดา ขยายอำนาจไปทั่วประเทศลังกา โดยรบชนะกษัตริย์แคนดี ได้ตกลงทำสนธิสัญญารับประกันสิทธิของฝ่ายลังกาและการคุ้มครองพระศาสนา ครั้นต่อมาได้เกิดกบฏขึ้น เมื่อปราบกบฏได้สำเร็จ อังกฤษได้ดัดแปลงสนธิสัญญาเสียใหม่ ระบบกษัตริย์ลังกาจึงได้สูญสิ้นตั้งแต่บัดนั้น ตั้งแต่อังกฤษเข้ามาปกครองลังกาตอนต้น พระพุทธศาสนาได้รับความเป็นอิสระมากขึ้น ด้วยสนธิสัญญาดังกล่าว ครั้นต่อมาภายหลังจากการปกครองของอังกฤษประมาณ 50 ปี พระพุทธศาสนาก็ถูกกีดกันและต่อต้านจากศาสนาคริสต์ รัฐถูกบีบจากศาสนาคริสต์ให้ยกเลิกสัญญาที่คุ้มครองพุทธศาสนา บาทหลวงของคริสต์ได้เผยแผ่คริสต์ศาสนาของตน และโจมตีพุทธศาสนาอย่างรุนแรง โดยได้รับการสนับสนุนจากต่างชาติ นับตั้งแต่อังกฤษเข้าปกครองลังกามาเป็นเวลากว่า 300 ปี จนได้รับอิสรภาพเมื่อ พ.ศ. 2491 จากการที่พุทธศาสนาถูกรุกรานเป็นเวลาช้านานจากศาสนาคริสต์ ทำให้ชาวลังกามีความมุ่งมานะที่จะฟื้นฟูพุทธศาสนาในลังกาอย่างจริงจัง จนปัจจุบันประเทศศรีลังกา ได้เป็นประเทศที่มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติแหล่งข้อมูลอื่น",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา"
},
{
"docid": "32560#11",
"text": "การเผยแผ่ในทิเบตอีกทางหนึ่ง มีต้นกำเนิดจากอาณาจักรชางชุง (Zhang zhung หรือ Shang shung) ซึ่งเชื่อว่าคือบริเวณภูเขาไกรลาศทางตะวันตกของทิเบตในปัจจุบัน อันมีอาณาเขตไปจนถึงเปอร์เซีย โดยที่พุทธศาสนาดั้งเดิมนี้ หรือที่ Professor Christopher Beckwith เรียกว่า พุทธโบราณของเอเซียกลาง (ancient Buddhism of Central Asia) มีชื่อเรียกว่า เพิน (Bon) หรือชื่อที่ถูกต้องคือ ยุงตรุงเพิน (Yungdrung Bon) หมายถึง ธรรมะที่ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง คำว่า เพิน แปลว่า ธรรมะ หรือสภาวธรรม คำนี้จึงเป็นคำเดียวกับคำว่า เชอ (Chos) ซึ่งใช้เรียกธรรมะในพุทธศาสนาที่เผยแผ่มาจากอินเดีย หมายถึง คำสอนในนิกายต่างๆข้างต้น (คำว่า เพิน หรือนักแปลบางคนออกเสียงตามภาษาอังกฤษว่า บอน ยังเป็นชื่อเรียกลัทธิความเชื่อแต่ดั้งเดิมที่มีการนับถือธรรมชาติและเคยมีการบูชายัญ แต่ลัทธินี้ซึ่งชื่อเต็มคือ \"เตอเม เพิน\" ถูกทำลายไปจนหมดสิ้นตั้งแต่ในสมัยพุทธกาลของพระพุทธเจ้าเติมปา เชนรับ มิโวเช องค์พระศาสดาก่อนสมัยพุทธกาลของพระพุทธเจ้าศรีศายมุนี เมื่อกว่า 10,000 ปีมาแล้ว หลังจากนั้น ชาวชางชุงได้กลายเป็นชาวพุทธ เมื่อพระพุทธเจ้าเติมปา เชนรับเสด็จทิเบต ทรงนำคำสอนนี้ไปเผยแผ่ในทิเบต ทำให้คำสอนนี้รุ่งเรืองในทิเบต จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการรับคำสอนมาจากอินเดีย ด้วยปัญหาทางการเมืองและศาสนา ในสมัยของกษัติรย์ตรีซง เตเซ็น (ศตวรรษที่ 8) อาณาจักรชางชุงถูกยึดครอง ผู้ปฏิบัติเพินจำนวนมากถูกสังหาร และกษัติรย์องค์สุดท้ายของชางชุงคือ กษัตริย์ลิกมินชาถูกปลงพระชนม์ หลังจากนั้น วิถีปฏิบัติพุทธเพินก็ได้ตกอยู่ในความขัดแย้งของการแบ่งแยกทางศาสนา)",
"title": "วัชรยาน"
},
{
"docid": "79065#0",
"text": "พระพุทธศาสนาเริ่มต้นในประเทศสิงคโปร์ ตั้งแต่สมัยศรีวิชัย แต่ต่อมาชาวมลายูมุสลิมได้มาตั้งรกรากอยู่ และต่อมาก็มีชาวจีนโพ้นทะเลได้มาตั้งรกรากอยู่ที่สิงคโปร์ ได้นำพระพุทธศาสนาแบบมหายานมาเผยแผ่ด้วย และเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากในประเทศนี้ \nในอดีตประเทศสิงคโปร์ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศมาเลเซีย การแผ่ขยายของพุทธศาสนาจึงจะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับประเทศมาเลเซีย และส่วนใหญ่ชาวสิงคโปร์จะเป็นชาวจีนโพ้นทะเล พุทธศาสนาแบบมหายานจึงเจริญรุ่งเรืองและได้รับการประดิษฐานอย่างมั่นคง",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศสิงคโปร์"
},
{
"docid": "60547#1",
"text": "ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เขียนไว้ในหนังสือ ประวัติศาสตร์ผ่านพระเครื่องไว้ว่า พระเครื่องมีความเป็นมาและวิวัฒนาการอันยาวนาน ก่อนจะมาเป็นพระเครื่องนั้นได้เกิดพระพิมพ์ขึ้นมาก่อน เมื่อบริบททางสังคมเปลี่ยนไป คติการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปและเลือนหายไปในที่สุด พระพิมพ์บางส่วนกลายมาเป็นพระเครื่อง พระพิมพ์เป็นของเก่าแก่ที่ได้มีผู้ทำขึ้นตั้งแต่ตอนต้นพุทธศาสนา มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดีย การแผ่ขยายอิทธิพลทางพุทธศาสนาไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ทำให้พระพิมพ์ซึ่งเป็นประติมากรรมเนื่องในคติทางพุทธศาสนาได้แผ่กระจายไปยังดินแดนต่าง ๆ พร้อมกับคำสอน ความเชื่อทางพุทธศาสนา พระธาตุและพระบรมสารีริกธาตุ รวมถึงวัตถุเนื่องในพุทธศาสนาด้วย",
"title": "พระเครื่อง"
},
{
"docid": "981709#0",
"text": "นวยาน (เทวนาครี: नवयान, ) แปลว่า \"ยาน (พาหนะ) ใหม่\" เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาพุทธในประเทศอินเดีย ที่เกิดขึ้นจากการตีความศาสนาขึ้นใหม่ของภีมราว รามชี อามเพฑกร () ผู้มีชาติกำเนิดมาจากชนชั้นทลิต (, \"มิควรข้องแวะ\") ในยุคที่อินเดียตกเป็นอาณานิคม เขาได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ กระทั่งในปี พ.ศ. 2478 เขามีความประสงค์เปลี่ยนศาสนาจากฮินดูไปนับถือศาสนาพุทธ อามเพฑกรได้ศึกษาคติและหลักธรรมคำสอนทางศาสนาเช่นจตุราริยสัจและอนัตตา ซึ่งเขาปฏิเสธความเชื่อเรื่องดังกล่าว แต่ได้นำคำสอนทางศาสนาไปตีความใหม่เรียกว่า นวยาน หรือ \"ยานใหม่\" แห่งพุทธศาสนา บางแห่งก็เรียกนิกายนี้ว่า ภีมยาน () ตามชื่อต้นของอามเพฑกรคือ \"ภีมราว\" ต่อมาเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2499 อามเพฑกรได้ประกาศละจากนิกายหีนยานและมหายาน รวมทั้งศาสนาฮินดู ทว่าเขาก็เสียชีวิตลงหลังการเปลี่ยนศาสนาจากฮินดูไปนับถือนวยานได้เพียงหกสัปดาห์",
"title": "นวยาน"
},
{
"docid": "1953#1",
"text": "อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้[8] ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์โกนบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน ค.ศ. 1948 ช่วงต้นปกครองแบบชาติประชาธิปไตย และหลังรัฐประหารใน ค.ศ. 1962 เป็นการปกครองแบบเผด็จการทหาร แม้เผด็จการทหารสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 2011 แต่ผู้นำพรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังเป็นอดีตนายทหาร",
"title": "ประเทศพม่า"
},
{
"docid": "51612#0",
"text": "ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า ( \"Dàojiao\"; ) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ \"อู๋เหวย์\" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย",
"title": "ลัทธิเต๋า"
},
{
"docid": "105703#0",
"text": "การเข้ามาของพระพุทธศาสนาในประเทศเคนยา เริ่มต้นโดยผ่านกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเล และชาวสิงหล (ลังกา) เนื่องจากชาวจีน และชาวสิงหลเข้าไปทำงานในไร่เกษตรกรรมของชาวอังกฤษเจ้าอาณานิคมในยุคนั้น ช่วงแรกๆของพุทธศาสนาในเคนยาจะเป็นชาวเอเชียกลุ่มแรกๆนี้ แต่ต่อมาในภายหลังชาวเคนยาจำนวนหนึ่งซึ่งนับถือลัทธิภูติผีปีศาจ ได้หันมานับพุทธศาสนาตาม แต่ก็เป็นชนกลุ่มเล็กๆซึ่งอาศัยอยู่แถบเมืองท่าทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ต่อมามีการประชุมศาสนา และสันติภาพโลกที่นครไนโรบี เมืองหลวงของประเทศเคนยา ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2527 ภายหลังได้มีการเผยแผ่พุทธศาสนามากขึ้นในแถบนี้ รวมถึงความพยายามที่จะจัดตั้งชมรมชาวพุทธเคนยาขึ้นมา มีการนิมนต์พระสงฆ์จาก ญี่ปุ่น จีน และไทย เพื่อให้เดินทางเข้ามาเผยแผ่ในประเทศ แต่ยังไม่ทันคืบหน้า ประเทศเคนยาได้ประสบปัญหาในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ รวมไปถึงชนพื้นเมืองบางกลุ่มที่ไม่เป็นมิตรกับคนต่างศาสนา การเผยแผ่จึงเป็นไปได้ยาก",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศเคนยา"
},
{
"docid": "158602#0",
"text": "นิกายนิจิเร็นโชชู () คือหนึ่งในนิกายฝ่ายมหายานของพระพุทธศาสนานิกายนิจิเร็ง โดยยึดตามคำสอนของพระนิจิเร็นไดโชนิง ซึ้งเชื่อในหมู่ผู้นับถือว่าคือพระพุทธเจ้าแท้จริง มีต้นกำเนิดจากประเทศญี่ปุ่น การปฏิบัติที่รู้จักกันดีคือการสวด\"ไดโมกุ\" หรือ ธรรมสารัตถที่ว่า\"นัมเมียวโฮเร็งเงเกียว\" นิกายนี้จัดเป็นนิกายที่มีคำสอนตรงกันข้ามและหักล้างนิกายอื่นๆอย่างชัดเจน อาทิเช่น นิกายเซ็น นิกายชิงงง นิกายสุขาวดี และวัชรยาน เป็นต้น ซึ่งนิจิเร็งได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของพระพุทธศาสนา และได้หักล้างความเบี่ยนเบนต่าง ๆ เหล่านั้น สาวกคนสำคัญของพระนิจิเร็นไดโชนิง พระนิกโค โชนิง เป็นผู้ก่อตั้งวัดใหญ่ไทเซกิจิ ปัจจุบันมีพุทธศาสนิกชนแพร่กระจายอยู่ทั่วโลก มีวัดสาขาและศูนย์กลางเผยแผ่ประจำในประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เกาหลีใต้ ไต้หวัน อินโดนีเซีย ศรีลังกา สิงคโปร์ กานา บราซิล อาร์เจนตินา ฮ่องกง มาเลเซีย สเปน และอินเดีย เป็นต้น",
"title": "นิจิเร็นโชชู"
},
{
"docid": "78585#35",
"text": "ในปี พ.ศ. 2500 นี้ รัฐบาลได้กำหนดพิธีเฉลิมฉลองทั่วประเทศ มีการจัดสร้างพุทธมณฑล ขึ้น ณ ที่ดิน 2,500 ไร่ ระหว่างกรุงเทพ-นครปฐม แล้วสร้างพระมหาพุทธปฏิมาปางประทับยืนลีลาสูง 2500 นิ้ว ภาย ในบริเวณรอบองค์พระมีภาพจำลองพระพุทธประวัติ และมีพิพิธภัณฑ์ทางพระพุทธศาสนา ได้ปลูกต้นไม้ที่มีชื่อในพระพุทธศาสนา เช่น ต้นโพธิ์ ต้นไทร เป็นต้น สร้างพระพิมพ์ปางลีลาเป็นเนื้อชินและเนื้อผงจำนวน 4,842,500 องค์ พิมพ์พระไตรปิฎกแปลจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยออกเผยแพร่ และบูรณะปูชนียสถานวัด วาอารามทั่วพระราชอาณาจักร อุปสมบทพระภิกษุจำนวน 2,500 รูป และนิรโทษกรรมแก่นักโทษ ประกวด วรรณกรรม ศิลปะทางพระพุทธศาสนา โดยเชิญผู้แทนพุทธศาสนิกชนทั่วโลกมาร่วมอนุโมทนา",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศไทย"
},
{
"docid": "43069#1",
"text": "ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ () และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ () ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ () และอิสึโมะ () ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น",
"title": "ชินโต"
},
{
"docid": "129113#9",
"text": "หลังการรับศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ได้มีการนำเสนอที่มาของนางกวักว่ามีต้นกำเนิดในประเทศอินเดียมาแต่ยุคพุทธกาล นางกวักมีนามเดิมว่าสุภาวดี เกิดที่เมืองมิจฉิกาสัณฑนคร เป็นธิดาของสุจิตต์พราหมณ์ กับมารดาชื่อสุมณฑา ครั้นจำเริญวัยได้เดินทางไปค้าขายกับบิดา ระหว่างทางได้พบกับพระอรหันต์สองคือพระมหากัสสปะและพระสีวลี ซึ่งได้ประสาทพรให้นางสุภาวดีให้เป็นผู้เจริญร่ำรวยจากการค้าขาย ทำให้ครอบครัวของนางร่ำรวยขึ้น โดยสุภาวดีและครอบครัวมักทำบุญและบริจาคทานอยู่เป็นนิจ หลังนางสุภาวดีเสียชีวิตจึงมีการสร้างรูปขึ้นมาเคารพบูชา",
"title": "นางกวัก"
},
{
"docid": "101691#0",
"text": "พุทธศาสนาในประเทศนิการากัว เริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 19 มีการอพยพของชาวจีนโพ้นทะเลมาตั้งถิ่นฐานในประเทศนิการากัว ในปัจจุบันในประเทศนิการากัวมีชาวพุทธประมาณ 0.1% ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก และบางส่วนก็ได้หันไปนับถือศาสนาคริสต์ ",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศนิการากัว"
},
{
"docid": "190064#13",
"text": "เมื่อวันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม 2559 พระวิศวภัทร ได้ทำความร่วมมือด้านการศึกษาแลกเปลี่ยนทางพระพุทธศาสนามหายาน กับพระธรรมาจารย์หมิงเซิงมหาเถระ (明生大和尚) รองประธานสำนักพุทธศาสนาแห่งประเทศจีน ประธานสำนักพุทธศาสนา มณฑลกวางตุ้ง เจ้าอาวาสวัดกวงเซี้ยว (光孝寺) เมืองกวางโจว มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน โดยพระธรรมาจารย์หมิงเซิง ได้ตั้งชื่อสำนักและเขียนอักษรพู่กันจีนให้แก่มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัยว่า"大乘禪寺" แปลว่า อารามมหายาน เพื่อแกะสลักเหนือซุ้มประตู พร้อมกันนี้ได้มอบพระไตรปิฎก (ภาษาจีน) ประกอบด้วย 永樂北藏,大正藏,乾隆大藏經,卍續藏經,浄土藏 รวม 5 ชุด 129 กล่อง 1,448 เล่ม เพื่อไว้เป็นที่ศึกษา ค้นคว้า ในหอพระไตรฯ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย และ ได้มอบ รูปหล่อพระสังฆนายกฮุ่ยเหนิงมหาเถระ (หรือ ท่านเว่ยหล่าง:六祖惠能) เนื้อทองเหลือง สูง 1.98 เมตร จากวัดกวงเซี้ยว เมืองกว่างโจ่ว ที่จัดสร้างขึ้นเพียง 3 องค์ (วัดแห่งนี้เป็นวัดที่ท่านฮุ่ยเหนิง ได้ปลงผมใต้ต้นโพธิ์ใหญ่ และได้นำเกศาบรรจุไว้ในสถูป 7 ชั้น ซึ่งปัจจุบันต้นโพธิ์ใหญ่และพระสถูปยังคงอยู่ และยังเป็นสถานที่พระอาจารย์โพธิธรรม หรือพระตั๊กม้อ ได้เคยพักอาศัยเมื่อ 2 พันกว่าปีก่อน โดยรูปปฏิมานี้ ได้ปั้นและหล่อโดยช่างฝีมือ ชื่อ พ่านเคอ เป็น 1 ใน 4 ช่างปั้นที่มีชื่อเสียงที่สุดของจีน โดยได้อัญเชิญกลับสู่ประเทศไทย เพื่อเปิดให้สาธุชนได้เข้ากราบสักการะ ภายในหอบูรพาจารย์ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย เมื่อวันอังคารที่ 9 สิงหาคม 2559 ถือเป็นนิมิตหมายมงคล แห่งการเผยแผ่พระพุทธธรรมมหายาน สายฌาน (เซ็น) และบารมีธรรมแห่งพระบูรพาจารย์ จากต้นกำเนิดสู่ประเทศไทย ซึ่งก่อนหน้านี้ พระธรรมาจารย์ฉางจั้งมหาเถระ (常藏大和尚) รองประธานสำนักพระพุทธศาสนาแห่งนครปักกิ่ง เจ้าอาวาสวัดหลิงกวง (วัดพระธาตุเขี้ยวแก้ว) นครปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้มอบสำเนาหนังสือพระไตรปิฎกทองคำ (趙城金藏)อายุกว่า 1,000 ปี จำนวน 150 เล่ม มาแล้ว ",
"title": "หลวงจีนวิศวภัทร มณีปัทมเกตุ"
},
{
"docid": "33688#0",
"text": "แปะก๊วย (;, ) เป็นพืชสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากทางตะวันออกของประเทศจีน (แถบภูเขาด้านตะวันตกของนครเซี่ยงไฮ้) ที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบพบว่ามีการนำเข้าไปปลูกในประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายเซน เมื่อประมาณ ช่วงราวค.ศ. 1300 หรือสมัยคามากุระมีลักษณะพิเศษคือจะผลัดใบไม่พร้อมกันทุกต้น แต่เมื่อผลัดใบ ใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่นทั้งต้นภายในไม่กี่วัน",
"title": "แปะก๊วย"
},
{
"docid": "434400#1",
"text": "วัดม้าขาว กลายมาเป็นต้นกำเนิด และศูนย์กลางของพุทธศาสนาในประเทศจีน ซึ่งต่อมาได้มีพระภิกษุอีกนับพันรูปได้จำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ รวมทั้งพระอันซื่อกาว พระเสวียนจั้ง หรือ พระถังซัมจั๋ง ด้วย ซึ่งก่อนออกเดินทางไปจารึกแสวงบุญยังประเทศอินเดีย ก็ได้เริ่มต้นการเดินทางจากที่นี่ และเดินทางกลับมายังประเทศจีน ในปี ค.ศ. 645 และมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งปัจจุบันอัฐิของท่านก็ถูกบรรจุอยู่ในเจดีย์องค์หนึ่งที่วัดแห่งนี้ ",
"title": "วัดม้าขาว"
},
{
"docid": "78585#37",
"text": "กระแส<b data-parsoid='{\"dsr\":[19430,19512,3,3]}'>เรียกร้องให้บัญญัติพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย</b>ได้เกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อต้นปีพุทธศักราช 2550 ชาวพุทธ ๗ องค์หลัก กล่าวคือ มหามกุฏราชวิทยาลัย, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก, ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย, คณะสงฆ์อณัมนิกาย, คณะสงฆ์จีนนิกาย, และ พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ได้เริ่มต้นเรียกร้อง ต่อมา กลุ่มชาวพุทธได้ขยายเพิ่มเป็นไม่น้อยกว่า 300 องค์กรทั่วประเทศและได้ผนึกกำลังกันเรียกร้องขึ้นมา",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศไทย"
},
{
"docid": "192850#0",
"text": "โยคะ () เป็น กลุ่มของการปฏิบัติหรือการประพฤติทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยมีต้นกำเนิดในประเทศอินเดียสมัยโบราณ โยคะมีอยู่ด้วยกันหลานสำหนักซึ่งมีการปฏิบัติและเป้าหมายต่างกันไป ทั้งในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน ",
"title": "โยคะ"
},
{
"docid": "524208#3",
"text": "ตามความเชื่อของศาสนาเต๋า เต๋า คือปฐมธาตุ เป็นพลังงาน ต้นกำเนิดของสรรพสิ่งทั้งปวง เต๋าไม่มีชีวิต ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่พระเป็นเจ้า แต่ดำรงอยู่ก่อนพระเป็นเจ้า ความเชื่อเรื่องเต๋าของศาสนาเต๋าจึงมีลักษณะเป็นเอกนิยม มีความคล้ายคลึงกับธรรมกายในศาสนาพุทธนิกายมหายาน-วัชรยานและคล้ายกับความเชื่อเรื่องพรหมันของศาสนาฮินดูสำนักอไทฺวตะ เวทานตะ อีกด้วย",
"title": "เต๋า"
},
{
"docid": "54697#1",
"text": "วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบได้ก่อกำเนิดขึ้นโดยมีวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองเป็นรากฐาน แต่ยังคงเอกลักษณ์ของชนชั้นนักรบไว้ อันได้แก่ ความมีพลวัตร และการสะท้อน ความเป็นจริงอย่างเรียบง่าย ในด้านศาสนา พุทธศาสนาแบบคะมะคุระก็ได้กำเนิดขึ้นโดยพระเถระผู้มีชื่อเสียง อย่าง โฮเน็น (Hounen) ชินรัน (Shinran) และนิฉิเรน (Nichiren) เป็นต้น นักรบฝั่งที่ราบคันโตจะนับถือศาสนาเซนอันได้รับการถ่ายทอดจากจีนแผ่นดินซ้องในศตวรรษที่ 12 เป็นหลัก รูปแบบศิลปะใหม่ ๆ ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ อย่างเช่น ปฏิมากรรมสมัยคะมะคูระตอนต้นนั้น จะมีลายเส้นที่หนักแน่นมีพลังเหมือนของจริง และแสดงออกถึงความเป็นมนุษย์ วรรณศิลป์ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่ชนชั้นนักรบนิยม เช่น “เฮเคะ โมโนงาตาริ (Heike Monogatari) ” ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อต้นศตวรรษที่ 13 เป็นผลงานที่ดีที่สุดในจำนวนนิยายเกี่ยวกับการสู้รบ และก็ยังมีหนังสือรวบรวมบทเรียงความเรื่อง “โฮโจกิ (Houjouki) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 13 และ “สึเรซูเรงูซะ (Tsurezuregusa) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 14",
"title": "ยุคคามากูระ"
},
{
"docid": "82773#1",
"text": "แม้จักมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจากอินเดียผ่านจีนเข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึกนิฮงโชคิพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "150226#7",
"text": "ในบรรดาอำนาจที่แผ่ขยายมาเหล่านี้ จักรวรรดิพาร์เทีย()เป็นจักรวรรดิที่มีต้นกำเนิดในเอเชียกลาง แต่ได้ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมเปอร์เซียซึ่งเป็นตัวอย่างแรกๆของการขยายตัวของชนเผ่าในเอเชียกลางขึ้นมาเป็นอาณาจักรและจักรวรรดิ จากนั้นได้ปรับตัวให้เข้ากับวฒนธรรมภายนอกที่อยู่รอบๆได้รวดเร็ว ในยุคนี้เอเชียกลางเป็นบริเวณที่มีการผสมผสานทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา โดยศาสนาพุทธยังเป็นที่นับถือโดยส่วนใหญ่ แต่แพร่หลายเฉพาะทางตะวันออกบริเวณใกล้กับเปอร์เซียเท่านั้น ศาสนาโซโรอัสเตอร์จึงถูกให้ความสำคัญแทน ศาสนาคริสต์นิกายเนสโทเรีย()ได้แพร่หลายมาถึงบริเวณนี้ แต่เป็นเพียงความเชื่อกลุ่มเล็กๆ ศาสนาที่แพร่หลายเป็นอันดับสามคือศาสนามาณีกี ประชาชนส่วนใหญ่นับถือมากกว่า 1 ศาสนา และผสมผสานความเชื่อดั้งเดิมเข้าไปด้วย การแพร่ขยายของชาวเติร์กเริ่มขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นจักรวรรดิกอกเติร์กในที่สุด ชาวเติร์กได้แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วจนทั่วเอเชียกลาง ชาวเติร์กที่พูดภาษาอุยกูร์เป็นกลุ่มหนึ่งที่มีวัฒนธรรมหลากหลายควบคุมเส้นทางสายไหมที่เมืองตูร์ฟาน()ในสมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งเมืองอยู่ในอาณาเขตของสาธารณรัฐประชาชนจีนปัจจุบัน ชนร่อนเร่ชาวอุยกูร์เหล่านี้นับถือศาสนามาณิกี ศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์นิกายเนสโตเรีย",
"title": "ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง"
},
{
"docid": "999551#0",
"text": "มูลสรวาสติวาท (Mūlasarvāstivāda ) เป็นหนึ่งในนิยายยุคต้นของพุทธศาสนาในอินเดีย ต้นกำเนิดของมูลสรวาสติวาทและความเกี่ยวโยงกับนิยายสรวาสติวาทยังไม่เป็นที่ทราบกันดีนัก แม้ว่าจะมีหลายทฤษฎีที่เสนอเรื่องนี้ก็ตาม ความต่อเนื่องของนิยายมูลสรวาสติวาทยังคงดำรวอยู่ในพุทธศาสนาในทิเบตจนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ ทว่า มีเพียงการสืบทอดมูลสรวาสติวาทสายภิกษุ ไม่มีการสืบทอดสายภิกษุณี",
"title": "มูลสรวาสติวาท"
},
{
"docid": "82773#14",
"text": "ในทางมหายานผู้นับถือไม่ว่าพระหรือฆราวาสจะเน้นอุบายโกศลคือความฉลาดในการหาวิธีการต่าง ๆ มาอธิบายคำสอนให้ผู้คนรู้จักแพร่หลายได้ พระนักบวชในญี่ปุ่นสมัยนี้พยายามปรับตัวทำการปฏิรูปวิธีเผยแผ่คำสอนให้เข้าถึงคนทุกกลุ่มทำให้ศาสนาใกล้ชิดพุทธศาสนิกชนมากขึ้น เจ้าอาวาสวัดโจไซจิบอกว่า ไม่ถือเป็นการผิดแผกแตกต่าง หรือผิดวินัย เพราะดนตรีมีต้นกำเนิดจากศาสนา ในสมัยโบราณนั้นดนตรีถูกบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระพุทธเจ้าและพระเจ้าในศาสนาต่าง ๆ และเครื่องดนตรีหลายอย่างก็มีต้นกำเนิดมาจากในวัด ถ้าหากสามารถทำให้คนหันมาสนใจศึกษาพระธรรมได้ แม้เป็นพระก็ไม่ถือว่าผิดศีล เพราะพระมหายานจะเน้นศีลพระโพธิสัตว์มากกว่าศีลของพระดังที่มีในนิกายเถรวาท สำหรับการสวดมนต์ท่ามกลางเสียงดนตรีนั้น บรรดาพระสงฆ์จะสวดบทสวดมนต์ตามบทต้นฉบับ โดยมีทำนองดนตรีบรรเลงคลอตามไป ส่วนพุทธศาสนิกชนที่เข้าฟังก็จะพนมมือตั้งจิตตั้งใจฟัง",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "5114#28",
"text": "ลัทธิวัชรยานเริ่มปรากฏในเขมรมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าราเชนทรวรมัน (พ.ศ. 1474 –1511 หรือ ค.ศ. 935 – 968) เพราะจารึกปราสาทเบ็งเวียนได้กล่าวถึงพระโลเกศวรและนางปรัชญาปารมิตา ผู้ประทานกำเนิดพระชินพุทธะและธาตุทั้ง 5 (มูลปฺรกฤติ)ในไตรโลก นอกจากนี้จารึกบ้านสับบาก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ใน พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) ได้กล่าวถึงพระปาญจสุคต ซึ่งคือ พระชินพุทธะในลัทธิวัชรยาน และยังกล่าวถึงคัมภีร์ศรีสมาจะ ซึ่งเป็นชื่อย่อของคัมภีร์ศรีคุหยสมาจตันตระ(การสนทนาที่เป็นความลับ) เป็นคัมภีร์เก่าสุดที่พระพุทธเจ้าพระนามว่า สรรว-ตถาคต-กาย-วาก-จิตต์ ประทานให้กับพุทธสมาคมและเป็นต้นตำรับของวัชรยาน ทั้งยังเป็น 1 ใน 9 คัมภีร์หลักของเนปาลจารึกทั้งสองหลักแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานได้มีการวางรากฐานในอารยธรรมเขมรมาตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 15 (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10) และคงแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขตที่ราบสูงโคราชช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 17 (กลางคริสต์ศตวรรษที่ 11) จากนั้นก็เจริญรุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7โดยมีศูนย์กลางของลัทธิวัชรยานในประเทศไทยที่เมืองพิมาย และมีปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สำคัญของลัทธินี้",
"title": "จังหวัดนครราชสีมา"
},
{
"docid": "110770#0",
"text": "พระพุทธศาสนาในประเทศเซเนกัล เริ่มต้นขึ้นเมื่อได้มีชาวเวียดนามอพยพเข้ามาในประเทศเซเนกัล และได้นำพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ในกลุ่มชาวพุทธทั้งหมดในเซเนกัลมีอยู่ประมาณ 0.01% ในจำนวนนี้ จะเป็นชาวเวียดนาม 99% พวกเขาจะสวดมนต์ \"Nam mô A Di Đà Phật\" เพื่อระลึกถึงพระอมิตาภะพุทธะ และชาวเวียดนามมีความเชื่อเกี่ยวกับ พระโพธิสัตว์และกวนอิมเป็นต้น",
"title": "ศาสนาพุทธในประเทศเซเนกัล"
}
] |
1629 | รักแห่งสยามสามารถกวาดรายได้ไปทั่วประเทศไทยเป็นจำนวนเท่าไหร่? | [
{
"docid": "133112#34",
"text": "\"รักแห่งสยาม\" ออกฉายทั่วไปในโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 จากจำนวนโรง 146 โรง โดยสัปดาห์แรกทำรายได้ 18.5 ล้านบาท ส่วนรายได้ในสัปดาห์ที่ 2 จากการที่ภาพยนตร์เรื่อง \"โปงลางสะดิ้ง ลำซิ่งส่ายหน้า\" เข้าในสัปดาห์นี้ ทำให้รายได้ในสัปดาห์ที่ 2 ของ\"รักแห่งสยาม\" น้อยลงกว่าการเปิดตัวกว่าครึ่ง แต่ก็ถือว่ากระแสยังดีอยู่ ทำรายได้ไปอีก 7.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท",
"title": "รักแห่งสยาม"
},
{
"docid": "133112#2",
"text": "ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และ การจัดคอนเสิร์ตรอบพิเศษ ชื่อว่า \"Nokia Music Presents The Love of Siam Special Greeting\" ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551",
"title": "รักแห่งสยาม"
}
] | [
{
"docid": "133112#45",
"text": "สำหรับกระแสในอินเทอร์เน็ต ภาพยนตร์เรื่อง รักแห่งสยาม ยังกวาดรางวัลจาก เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นการจัดมอบรางวัลให้ผลงานดีเด่นรอบปี ทางด้านภาพยนตร์ จากการลงคะแนนของสมาชิกเว็บไซต์ พันทิปดอตคอม ไปทั้งหมด 8 รางวัล รวมถึงรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากการเข้าชิง 13 รายชื่อ จาก 9 สาขา",
"title": "รักแห่งสยาม"
},
{
"docid": "133112#54",
"text": "ตั้งแต่ก่อนที่ภาพยนตร์จะออกฉาย ได้มีการออกของที่ระลึกทั้งในการจัดจำหน่ายและแจกฟรี ไม่ว่าจะเป็น เสื้อทีเชิร์ต 4 สี คือ เขียว ฟ้า น้ำตาล ชมพู ,เสื้อฟรีฮัก ,สมุดโน้ตเพลง,โปสการ์ด ซึ่งการจัดจำหน่ายของที่ระลึกมีขายที่ร้านมูฟวี่คาเฟ่ และงานเดินสายประชาสัมพันธ์ของนักแสดง\nส่วนโปสเตอร์และปฏิทินมีจำนวน 10,000 แผ่น ซึ่งมีแจกเฉพาะผู้ที่ซื้อตั๋วหนัง 2 ที่นั่ง เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ในโรงภาพยนตร์ในเครือ เอสเอฟ เมเจอร์ อีจีวี เซ็นจูรี่ เมเจอร์ฮอลลีวูด และ ยูเอ็มจี อาร์ซีเอ สำหรับผู้ที่ซื้อบัตรที่โรงภาพยนตร์เฮาส์สำหรับฉบับ Director's Cut จะได้รับฟิล์มหนังของที่ระลึกซึ่งมีเพียง 200 ชิ้น นอกจากนั้นยังมีการจับฉลากหางตั๋วของทุกรอบในวันที่ 17-20 มกราคม รางวัลเป็นฟิล์มหนังตัวอย่างทั้งม้วน และยังมีการจัดทำ มินิ-มินิสแตนดี้ มีความสูงประมาณ 1 ฟุต มี 5 แบบ (โต้ง มิว จูน โดนัท และ หญิง) เพื่อหารายได้สมทบทุนมูลนิธิเด็กโรคหัวใจเพิ่มขึ้น มีจำหน่ายเฉพาะโรงภาพยนตร์เฮาส์เท่านั้น",
"title": "รักแห่งสยาม"
},
{
"docid": "133112#46",
"text": "สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติลงมติส่ง \"รักแห่งสยาม\" เข้าชิงรางวัลออสการ์ครั้งที่ 81 สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม มีคู่แข่ง 67 ประเทศ ทางคณะกรรมการให้ความเห็นว่า \"หนังมีความลุ่มลึก เล่าเรื่องหลากหลายมิติ และยังตีแผ่ทัศนคติของคนไทยที่ยังไม่เปิดรับพฤติกรรมชายรักชาย\" ส่วนรางวัลประเภทอื่น \"รักแห่งสยาม\" ยังได้รับรางวัลสื่อสร้างสรรค์สุขภาพจิต ประจำปี 2551 (สาขาสื่อภาพยนตร์) ซึ่งจัดขึ้นเป็นปีที่ 2 ในด้านความรักและความเข้าใจของคนในครอบครัว และให้แง่คิดที่เหมาะกับเด็ก และเยาวชน จากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551",
"title": "รักแห่งสยาม"
},
{
"docid": "156390#9",
"text": "15 มีนาคม 2551 ออกมาประกาศเลื่อนการรับสินค้า จาก 16 มีนาคม เป็น 28 มีนาคม ผ่านทางเอสเอ็มเอส หลังจากนั้น 27 มีนาคม มีประกาศเลื่อนรับดีวีดี จากวันที่ 28 มีนาคม ไปเป็นวันที่ 9 เมษายน โดยจะยังไม่ได้รับตุ๊กตาไม้ สำหรับผู้สั่งจองทางไปรษณีย์จะจัดส่งเป็น 2 รอบโดยการส่งครั้งแรกจะหักจากค่าจัดส่ง 300 บาท ส่วนเหตุผลที่ทำให้ล่าช้านั้น ผู้จัดจำหน่ายแจ้งว่าเกิดจากกระบวนการผลิตตุ๊กตาไม้ ซึ่ง 'วัตถุดิบเป็นไม้ จึงต้องเข้ากระบวนการอบไม้ให้แห้งก่อนการเคลือบ แต่เนื่องจากในช่วงเวลาการผลิตสภาพภูมิอากาศแปรปรวน มีความร้อนชื้น ส่งผลให้คุณภาพการอบไม้\nไม่สมบูรณ์ทำให้ \"ตุ๊กตาไม้\" ที่ผลิตในรอบการผลิตนั้น เกิดเชื้อรา ... จึงต้องเรียกคืนมาเพื่อผลิตใหม่ โดยระยะเวลาในการอบไม้\nใช้เวลา 45 วัน เพื่อความสมบูรณ์ \"ตุ๊กตาไม้ซานตาคลอส\" ก่อนถึงมือผู้สั่งจอง'",
"title": "รักแห่งสยาม (ดีวีดี)"
},
{
"docid": "160821#2",
"text": "ปัจจุบัน ได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ต่อมาได้มีการจัดทำนิทรรศการชุดใหม่โดยมีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหาเท่าทันสมัย และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าชม มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ \"ถอดรหัสไทย\" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ ที่จะพาไปเรียนรู้ทุกมุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี อาหารการกิน การแต่งกาย",
"title": "มิวเซียมสยาม"
},
{
"docid": "133112#29",
"text": "ชลธิชา พรหมศิริ จากนิตยสารเมโทรไลฟ์ ได้พูดถึงหนังเรื่องนี้โดยรวมว่า \"\"รักแห่งสยาม\" หนังรักที่หน้าหนังหวานเหมือนลูกกวาดรสสตรอเบอรี่ แต่พอได้ลิ้มลองแล้วมันกลับเป็นยาขมที่ซ่อนอยู่ภายใน คือหนังดรามาที่ไม่ได้ฟูมฟายจนเกินไป และไม่ใช่หนัง Feel good ที่ใครหลายๆ คนคิด\" คำวิจารณ์จากนิตยสารไบโอสโคป เขียนไว้ว่า \"\"รักแห่งสยาม\" มิได้เสียดสี หาบทสรุป หรือสร้างฝัน แต่นำเสนอภาพเสมือนจริงที่ปะทะ จนผู้ชมต้องนำไปคิดต่อนอกโรงหนัง ทั้งในแง่อนาคตของตัวละคร, การซ่อนความหมายของเนื้อเรื่อง และภาพปัจจุบันของสังคมไทย\"\nในส่วนของนักวิจารณ์ นันทขว้าง สิรสุนทร นักวิจารณ์ชื่อดัง ได้กล่าวถึงการเล่าเรื่องในภาพยนตร์เรื่องนี้ว่า \"การเลือกเรื่องแบบนี้มาเล่า ทำให้คนดูทั่วไปเข้าถึงและง่ายที่จะรู้สึกอะไรไปกับหนัง แต่ \"รักแห่งสยาม\" ไม่ได้แตะเรื่อง Gender (เพศ) ใดๆ หากแต่มุ่งไปที่น้ำหนักของ Self-discover (การค้นพบตัวเองและยอมรับ) โดยใช้ Coming-of-age (การสูญเสียและเรียนรู้ความจริง)\" อภินันท์ บุญเรืองพะเนา จากผู้จัดการรายสัปดาห์ พูดในทำนองเดียวกันว่า \"\"รักแห่งสยาม\" เป็นหนังในสไตล์ Road Movie กับ Coming-of-age ค่อนข้างคล้ายคลึงกันก็คือ การที่หนังมักจะหยิบยื่นสถานการณ์ยุ่งยากบางอย่างให้ตัวละครต้องเผชิญและผ่านพ้นไปให้ได้ เพื่อก้าวไปสู่ “การเรียนรู้” (Enlightenment) บทเรียนใหม่ๆ ที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตและความคิดของตัวละครไปตลอดกาล\" วิมลศักดิ์ ปัญชรมาศจากนิตยสารแฮมเบอร์เกอร์วิจารณ์ว่า \"ผู้กำกับวางจังหวะหนังอย่างมีชั้นเชิงทั้งในด้านอารมณ์ขันอยู่ในตำแหน่งที่พอดี การเล่าเรื่องอย่างค่อยเป็นค่อยไป หนังสามารถเรียงร้อยตัวละครหลายคนที่ทับซ้อนกันอยู่ ไม่ขาดไม่เกินเหมือนการต่อภาพจิ๊กซอว์จนเป็นภาพที่สมบูรณ์\"",
"title": "รักแห่งสยาม"
},
{
"docid": "156390#0",
"text": "ดีวีดีภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยาม ผลิตและจัดจำหน่ายโดยบริษัท แฮปปี้ โฮม เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด และบริษัทผู้ผลิต DVD คือ บริษัท ดูดิสก์ จำกัด ออกวางขายเป็น 2 รูปแบบ คือในฉบับปกติ มีความยาวเท่ากับที่ออกฉายในโรงภาพยนตร์ ความยาว 2 ชั่วโมงครึ่ง เป็นระบบภาพไวด์สกรีน ระบบเสียงภาษาไทย 2 ระบบคือ Dolby Digital 5.1 และ Dolby 2.0 นอกจากนี้ยังเลือกเสียงบรรยายได้ด้วย และมีส่วนเพิ่มเติมคือ มิวสิกวิดีโอ ตัวอย่างภาพยนตร์ ภาพจากหนัง ดีวีดีแบบปกตินี้ออกจำหน่ายวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และยังมีการวางขายดีวีดีฉบับ Director's Cut จำนวน 2 แผ่น ความยาวรวม 178 นาที ออกจำหน่ายวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2551",
"title": "รักแห่งสยาม (ดีวีดี)"
},
{
"docid": "156390#10",
"text": "ในช่วงเย็นของวันที่ 2 เมษายน 2551 ได้มีข่าวส่งผ่านเอสเอ็มเอสจากร้านมูฟวี่ คาเฟ่ว่าสามารถรับเฉพาะดีวีดีได้ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน เป็นต้นไป จนวันที่ 31 พฤษภาคม 2551 จึงมีการแจ้งรับตุ๊กตาไม้ แต่เมื่อได้รับตุ๊กตาไม้แล้วมีหลายคนไม่พอใจกับคุณภาพของตุ๊กตาไม้ โดยเฉพาะเว็บไซต์พันทิพมีผู้ใช้บริการเป็นจำนวนมาก จึงมีการเขียนจดหมายแจ้งไปทางบริษัทแฮปปี้โฮมส์ ซึ่งทางบริษัทก็ออกมาขออภัยและหาแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าว",
"title": "รักแห่งสยาม (ดีวีดี)"
},
{
"docid": "160821#10",
"text": "นิทรรศการ \"ถอดรหัสไทย\" (จัดแสดง พ.ศ. 2561 ถึงปัจจุบัน) เป็นนิทรรศการถาวร ที่จัดแสดงภายหลังการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความประเทศไทย ส่วนนิทรรศการนี้ มีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหามุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่าน 14 ห้องนิทรรศการ อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ อาหารการกิน การแต่งกาย การศึกษา วัฒนธรรมร่วมสมัย",
"title": "มิวเซียมสยาม"
}
] |
3328 | ซาดีก ตีพิมพ์ครั้งแรกที่ประเทศอะไร? | [
{
"docid": "27793#1",
"text": "วอลแตร์เริ่มเขียนงานชิ้นนี้ในปี พ.ศ. 2288 โดยเริ่มแรกใช้ชื่อว่า “เม็มนง” และตีพิมพ์ครั้งแรกที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เพราะเรื่องนี้ไม่สามารถตีพิมพ์ในประเทศฝรั่งเศสได้ เนื่องจากมี เนื้อหาที่เสียดสีสังคมชั้นสูงคือชนชั้นพระและขุนนาง แม้จะเป็นการสมมติเรื่องว่าเกิดในตะวันออกก็ตาม",
"title": "ซาดีก"
}
] | [
{
"docid": "27793#2",
"text": "อีก 2 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2290 \"เม็มนง ซาดีก\" เริ่มเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นในประเทศฝรั่งเศส และในปี พ.ศ. 2291 \"ซาดีก หรือ ชะตาลิขิต\" (Zadig ou la destinée) ก็ได้ออกเผยแพร่ต่อหน้าสาธารณชน โดย ตอนแรกวอลแตร์ไม่ยอมรับว่าเป็นผู้แต่ง แต่หลังจากที่ซาดีกประสบความสำเร็จ เขาจึงยอมรับว่าเป็นผู้แต่ง ภายหลังในปี พ.ศ. 2295 - พ.ศ. 2299 วอลแตร์ได้เขียนเพิ่มขึ้นอีก 2 บท คือการเต้นรำและนัยน์ตาสีฟ้า ซึ่งสองบทหลังนี้ตอนแรกไม่ได้นำมารวมกับเรื่องซาดีก เนื่องจากโครงสร้างเรื่องที่มีอยู่ 19 บทนี่ดีอยู่แล้ว แต่ภายหลังจากที่วอลแตร์ได้เสียชีวิตแล้ว สองบทหลังนี่ก็ได้ถูกนำมาเผยแพร่ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2328",
"title": "ซาดีก"
},
{
"docid": "489082#0",
"text": "เมไจ อาละดินผจญภัย หรือ เมไจ () เขียนและวาดภาพประกอบโดย ชิโนบุ โอตากะ ลงในนิตยสารโชเน็งซันเดย์ รายสัปดาห์ เริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ปัจจุบันตีพิมพ์แบบรวมเล่มแล้ว 37 เล่มในญี่ปุ่น(จบแล้ว) และในประเทศไทย ตีพิมพ์ถึงเล่มที่ 36 โดยบริษัทิสยามอินเตอร์คอมมิกเป็นผู้ถือสิทธิ์ในการตีพิมพ์ และในแบบการ์ตูนอนิเมะชั่น เริ่มฉายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2555และในในประเทศไทย ฉบับอนิเมะ มี บริษัท เวิร์คพอยท์ จำกัด(มหาชน) เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์การเผยแพร่ และ เป็นผู้จัดจำหน่ายสื่อบันทึก DVD และ VCD",
"title": "เมไจ อาละดินผจญภัย"
},
{
"docid": "14447#13",
"text": "การ์ดแค๊ปเตอร์ซากุระภาคหนังสือการ์ตูน วาดโดยนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น แคลมป์ มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 12 เล่ม ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยเป็นของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 แบบปกในธรรมดา และยังมีภาคแอนิเมชัน อีกด้วย ในประเทศญี่ปุ่นลิขสิทธิ์โดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 พิมพ์ทั้งหมด 12 เล่มจบ ปกใน รูป เคโระจัง และยังมีของแถม เป็นโคลว์การ์ด และซากุระการ์ด รูปตัวละคร, รูป Pin Up และโฆษณาข่าวสารของ CLAMP อีกด้วย",
"title": "ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์"
},
{
"docid": "15648#3",
"text": "สำหรับการจัดพิมพ์ในประเทศไทยช่วงแรกๆ ไม่ค่อยแน่ชัดนักในเรื่องของลิขสิทธิ์ ครั้งแรกจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มิตรไมตรีใช้ชื่อว่า \"หน้ากากแก้ว\" ตีพิมพ์เล่ม 1-4 เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2523-2524 หลังจากนั้นเปลี่ยนมาจัดพิมพ์โดย วิบูลย์กิจ ใช้ชื่อว่า \"นักรักโลกมายา\" มีประมาณ 56 เล่ม (ยังไม่จบ) และต่อมาก็เป็น สยามอินเตอร์คอมิกส์ ที่ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์อย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยได้มีการตีพิมพ์มาแล้วถึง 3 ครั้ง ซึ่งในครั้งที่ 2 นี่เอง ที่ได้เปลี่ยนชื่อ \"นักรักโลกมายา\" มาเป็น \"หน้ากากแก้ว\" เพื่อให้ตรงกับความหมายในภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น ซึ่งล่าสุดตีพิมพ์ถึงฉบับที่ 49 ส่วนฉบับที่ 50 ที่มีกำหนดการจะวางขายที่ญี่ปุ่น ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นั้น ทางซุสุเอะ มิอุจิ ก็แจ้งเลื่อนการวางออกไปอีก โดยยังไม่มีประกาศวันวางใหม่ที่แน่นอนออกมาในขณะนี้ ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม ปีเดียวกัน มิอุจิได้ให้สัมภาษณ์ว่าเธออยู่ในช่วงใกล้ตอนจบของการ์ตูนเรื่องนี้แล้ว",
"title": "หน้ากากแก้ว"
},
{
"docid": "217876#2",
"text": "การตีพิมพ์ครั้งแรกของไทม์ลีโดยหนังสือการ์ตูน \"มาร์เวลคอมิกส์\" ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 1939) รวมทั้งการปรากฏตัวครั้งแรกของซุเปอร์ฮีโรแอนดรอยด์ของคาร์ล บูร์กอส ชื่อฮิวแมนทอร์ช และการปรากฏตัวครั้งแรกของแอนตีฮีโรของบิลล์ อีเวอเรตต์ชื่อ กะลาสีนามอร์ ประสบความสำเร็จที่ดี และพิมพ์ครั้งที่สองต่อมาขายต่อเดือนรวมเกือบ 900,000 เล่ม ในขณะที่เนื้อหาของมันมาจากบรรจุด้านนอกของ บริษัท ฟันนีส์ ไทม์ลีในปีต่อไปมีพนักงานของตัวเอง",
"title": "มาร์เวลคอมิกส์"
},
{
"docid": "135195#2",
"text": "ในประเทศไทย คินดะอิจิยอดนักสืบ ตีพิมพ์โดยบลิส พับลิชชิ่ง ในหมวดหมู่ J-Suspense ตีพิมพ์ครั้งแรกเล่มที่ 1 คือฆาตกรรมในตระกูลอินุงามิ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2547 แปลบทประพันธุ์จากภาษาญี่ปุ่นต้นฉบับเป็นภาษาไทยโดยเสวนีย์ นวรัตน์จำรุญ, ชมนาด ศีติสาร, บุษบา บรรจงมณี และรัตน์จิต ทองเปรม ปัจจุบันคินดะอิจิยอดนักสืบ ตีพิมพ์มาจนถึงเล่มที่ 32 ซึ่งถือว่าพิมพ์จนจบแล้ว (โดยบางเล่ม จะรวมคดีสั้นๆเข้าไปด้วย) สำหรับรายชื่อเล่มที่ตีพิมพ์ในประเทศไทยแล้ว มีดังนี้",
"title": "คินดะอิจิยอดนักสืบ"
},
{
"docid": "591622#2",
"text": "\"เกมล่าชีวิต\" วางจำหน่ายในรูปแบบปกแข็งครั้งแรกในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 2008 ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอแลสติก ออกแบบปกโดยทิม โอ'ไบรอัน และต่อมาก็ได้มีการวางจำหน่ายในฉบับปกอ่อน รวมไปถึงหนังสือเสียงและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นับถึงปี ค.ศ. 2012 เกมล่าชีวิตมียอดขายกว่า 17.5 ล้านเล่มทั่วโลก ถูกแปลเป็นภาษาต่างประเทศ 26 ภาษา และได้มีการขายลิขสิทธิ์การตีพิมพ์ไปใน 38 ประเทศ หนังสือเล่มนี้ถือเป็นหนังสือเล่มแรกของไตรภาค\"เกมล่าชีวิต\" ซึ่งมีภาคต่อตามมาคือ \"ปีกแห่งไฟ\" และ \"ม็อกกิ้งเจย์\" ส่วนฉบับภาพยนตร์ดัดแปลงนั้นได้มีการออกฉายในปี ค.ศ. 2012 กำกับการแสดงโดยแกรี รอสส์ ซึ่งคอลลินส์ได้มีส่วนร่วมกับภาพยนตร์ทั้งในฐานะผู้เขียนบทและผู้อำนวยการสร้างร่วม",
"title": "เกมล่าชีวิต"
},
{
"docid": "496749#4",
"text": "ลาสต์ แฟนตาซีเผยแพร่ครั้งแรกบนเว็บเด็กดี.คอม ในปี 2545 โดยเผยแพร่อยู่ประมาณ 3 ปี เป็นจำนวน 109 ตอน จากนั้นจึงตีพิมพ์รวมเล่มกับสำนักพิมพ์กู๊ดเมอร์นิ่งในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2548 ภายใต้ชื่อ \"Last Fantasy\" พิมพ์ครั้งแรก โดยเป็นการยื่นขอตีพิมพ์จากทางสำนักพิมพ์ ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2549 Last Fantasy เล่มที่ 7 ภาค การเดินทางอันยาวไกลถึงการสิ้นสุดแล้ว สำนักพิมพ์กู๊ดมอร์นิ่งได้ถูกตีพิมพ์ออกมา โดยสำนักพิมพ์ได้แจ้งว่าเป็นบทอวสานไว้บนหน้าปก ในตอนท้ายเล่ม มีการชี้แจงเหตุผลที่จำเป็นต้องจบในเล่มที่ 7 ซึ่งจริงๆแล้ววางแผนไว้ว่าจะมีทั้งหมด 15 เล่ม และมีการแจ้งในส่วน \"จากใจสำนักพิมพ์\" ว่า บ.ก.บริหาร เขียนต่ออีก 100 กว่าหน้า เพื่อให้จบโดยความยินยอมของนักเขียน และมีการประกาศสิทธิ์โดยชอบธรรมของ ลาสต์ แฟนตาซี ทั้งหมด 15 เล่ม เป็นของสำนักพิมพ์กู๊ดมอร์นิ่งภายใน 5 ปีนับจากนี้",
"title": "เดอะ ลาสต์ แฟนตาซี"
},
{
"docid": "726320#1",
"text": "\"เบลนเดอร์\" ตีพิมพ์โดยบริษัทเดนนิสพับบลิชชิง นิตยสารเริ่มออกจำหน่ายใน ค.ศ. 1994 ในรูปซีดีรอมครั้งแรก ริเริ่มโดยเจสัน เพียร์สัน เดวิด เชร์รี และเรจินา โจเซฟ ผ่านเฟลิกซ์เดนนิส หรือเดนนิสพับบลิชชิง สหราชอาณาจักร ตีพิมพ์นิตยสารซีดี 15 ฉบับ และเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ใน ค.ศ. 1997 นิตยสารตีพิมพ์ในรูปหนังสืออีกครั้งใน ค.ศ. 1999 จนถึงปัจจุบัน ซีดีรอมของเบลนเดอร์แสดงให้เห็นรูปแบบสิ่งพิมพ์ในรูปดิจิตอลยุคแรก รวมถึงการโฆษณาในรูปดิจิตอลครั้งแรกเช่นกัน",
"title": "เบลนเดอร์ (นิตยสาร)"
},
{
"docid": "27793#0",
"text": "ซาดีก () หรือ ซาดีกูลาแด็สตีเน () หรือ ชะตาลิขิต เป็นนวนิยายเชิงปรัชญาซึ่งเป็นผลงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของวอลแตร์ ผลงานชิ้นนี้มีชื่อเสียงมากพอกับนวนิยายปรัชญาเรื่องอื่น ๆ แห่งยุค วอลแตร์ได้อาศัยจินตนาการจากนวนิยายตะวันออก ทั้งนี้เพื่อง่ายต่อการเสียดสีและวิจารณ์สังคมฝรั่งเศสสมัยนั้น ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า นวนิยายปรัชญาเรื่องซาดีกนี้เขาได้แรงบันดาลใจจากชะตาชีวิตที่ผกผันของเขาในราชสำนักระหว่างปี พ.ศ. 2286 - 2290 ที่เกิดจากประสบการณ์อันขมขื่นของวอลแตร์ในราชสำนักแวร์ซาย (Versailles) ก็คงไม่ผิด เนื่องจากในเรื่องนี้วอลแตร์ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ของตัวเองผ่านตัวละครเอกของเรื่อง ซึ่งก็คือ ซาดีก",
"title": "ซาดีก"
}
] |
3500 | การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เริ่มต้นเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "152372#1",
"text": "การศึกษากายวิภาคศาสตร์เริ่มขึ้นอย่างเร็วที่สุดเมื่อราว 1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในยุคอียิปต์โบราณบน กระดาษปาปิรุส เอ็ดวิน สมิธ (Edwin Smith papyrus) บทความในกระดาษนั้นกล่าวถึงหัวใจ, หลอดเลือดของหัวใจ, ตับ, ม้าม, ไต, มดลูก, และกระเพาะปัสสาวะ และทราบว่าหลอดเลือดออกมาจากหัวใจ มีการกล่าวถึงหลอดเลือดหลอดอื่นๆ ว่าบางเส้นขนส่งอากาศ เมือก และหลอดเลือด 2 เส้นที่ไปทางหูข้างขวาเชื่อกันว่าขนส่ง ลมหายใจแห่งชีวิต (breath of life) ในขณะที่หลอดเลือด 2 เส้นที่ไปทางหูซ้ายขนส่ง ลมหายใจแห่งความตาย (breath of death) ใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[1414,1436,2,2]}'>กระดาษปาปิรุสเอแบส (Ebers papyrus, ประมาณ 1550 ปีก่อนคริสต์ศักราช) กล่าวถึง บทความเกี่ยวกับหัวใจ โดยกล่าวว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางในการสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงตามหลอดเลือดที่เลี้ยงทุกส่วนของร่างกาย ชาวอียิปต์โบราณไม่ค่อยมีความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของไต และเชื่อว่าหัวใจเป็นจุดรวมของหลอดเลือดที่ทำหน้าที่ขนส่งของเหลวทุกชนิดในร่างกายไม่ว่าจะเป็นเลือด, น้ำตา, ปัสสาวะ, และน้ำอสุจิ[1]",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
}
] | [
{
"docid": "99066#4",
"text": "การศึกษากายวิภาคของมนุษย์หยุดชะงักลงไปชั่วคราวในช่วงยุคกลาง ซึ่งมีข้อกำหนดทางศาสนาที่เคร่งครัด จนกระทั่งแพทย์หลวงในอาณาจักรโรมันโบราณ ชื่อ แอนเดรียส เวซาเลียส (Andreas Vesalius) ได้ทำการศึกษากายวิภาคของมนุษย์อย่างละเอียดโดยใช้ศพของนักโทษประหาร และตีพิมพ์เป็นหนังสือ \"De humani corporis fabrica\" ซึ่งมีภาพประกอบของร่างกายของมนุษย์ที่ละเอียดและสมจริงอย่างมาก การศึกษากายวิภาคของมนุษย์ได้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายไปพร้อมกับยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ซึ่งศิลปินเอกหลายคนได้ศึกษาโครงสร้างต่างๆของมนุษย์เพื่อประกอบการสร้างงานศิลปะ ทำให้วิชากายวิภาคศาสตร์รุดหน้าไปมาก",
"title": "กายวิภาคศาสตร์มนุษย์"
},
{
"docid": "152372#13",
"text": "ชาวยุโรปหลายคนที่สนใจการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์เดินทางไปยังอิตาลี ซึ่งต่อมากลายเป็นศูนย์กลางของวิชากายวิภาคศาสตร์ เฉพาะในอิตาลีเท่านั้นที่มีการศึกษาวิจัยที่เฉพาะบางอย่าง เช่น การศึกษาร่างกายผู้หญิง รีอัลโด โคลอมโบ (Realdo Colombo) และกาเบรียล ฟัลลอพพีโอ (Gabriele Falloppio) เป็นนักเรียนของแอนเดรียส เวซาเลียส นักกายวิภาคในศตวรรษที่ 16 โคลอมโบซึ่งในเวลาต่อมาเป็นผู้สืบทอดวิชานี้จากเวซาเลียสในเมืองปาดัว ซึ่งต่อมาได้เขาเป็นศาสตราจารย์ที่โรม ได้ปรับปรุงและแก้ไขกายวิภาคศาสตร์ของกระดูก อธิบายรูปร่างและช่องต่างๆ ในหัวใจ หลอดเลือดแดงพัลโมนารี และหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาและลิ้นหัวใจ และติดตามทางเดินของเลือดจากหัวใจจากห้องขวาไปห้องซ้าย อธิบายสมองและหลอดเลือดสมอง และทำความเข้าใจหูชั้นในให้ถูกต้อง และเป็นคนแรกที่อธิบายเวนทริเคิลของกล่องเสียง ในเวลาเดียวกันนั้นเองก็มีการพัฒนาวิชาวิทยากระดูก (Osteology) เกิดขึ้นโดยความพยายามของจีโอวานนี ฟิลิพโพ อินกรัสซียัส (Giovanni Filippo Ingrassias)",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "63859#21",
"text": "หลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในประเทศไทย ใช้เวลาศึกษา 4 ปี ประกอบไปด้วยการศึกษาวิชาพื้นฐานเช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เคมีอินทรีย์ วิชาเฉพาะทางการแพทย์พื้นฐานเช่น มหกายวิภาคศาสตร์ ประสาทกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา จิตวิทยา สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ จริยธรรมทางการแพทย์ และวิชาเฉพาะทางกายภาพบำบัดเช่น วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว การวินิจฉัยและรักษาด้วยไฟฟ้า เป็นต้น ตลอดหลักสูตรการศึกษานักศึกษาจะต้องฝึกเพิ่มพูนความชำนาญในแต่ละขอบเขตเช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ และจะต้องทำการฝึกปฏิบัติการทางคลินิคเป็นระยะเวลาสั้นๆ สลับกับการเรียนในมหาวิทยาลัยจนจบหลักสูตร [23]",
"title": "กายภาพบำบัด"
},
{
"docid": "224549#2",
"text": "ในปี ค.ศ. 1882 นีล ฟินเซนย้ายไปยังโคเปนเฮเกนเพื่อศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน และสำเร็จการศึกษาใน ค.ศ. 1890 หลังจากเรียนจบเขาได้เป็นนักชำแหละ (prosector) ด้านกายวิภาคศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน หลังจากนั้น 3 ปีเขาลาออกและอุทิศตนเพื่อการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ ใน ค.ศ. 1898 ฟินเซนได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์และได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Knight of the Order of Dannebrog ในปี ค.ศ. 1899",
"title": "นีล ไรเบิร์ก ฟินเซน"
},
{
"docid": "50088#5",
"text": "ในการเรียนการสอนของทุกสถาบันจะประกอบด้วยวิชาพื้นฐานทั้งทางวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ นอกจากนี้ยังต้องศึกษาในศาสตร์อื่นๆที่มีความเกี่ยวข้องกับเภสัชศาสตร์ด้วย อาทิ กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ชีวเคมี และจุลชีววิทยา และในระหว่างการศึกษาสถาบันโดยส่วนใหญ่จะจัดให้มีการฝึกงานทางเภสัชกรรมตามสมควร ภายหลังสำเร็จการศึกษาในแต่ละแห่งอาจศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา อาทิ เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต และ เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต",
"title": "คณะเภสัชศาสตร์"
},
{
"docid": "729#17",
"text": "กายวิภาคศาสตร์เป็นสาขาที่สำคัญในสรีรวิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และความสัมพันธ์ของระบบอวัยวะในสิ่งมีชีวิต เช่น ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต การศึกษาเกี่ยวกับระบบเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อีก เช่น ประสาทวิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "729#3",
"text": "การศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับอะตอมและโมเลกุล จัดอยู่ในสาขาวิชาอณูชีววิทยา ชีวเคมี และอณูพันธุศาสตร์ การศึกษาในระดับเซลล์ จัดอยู่ในสาขาวิชาเซลล์วิทยา และในระดับเนื้อเยื่อ จัดอยู่ในสาขาวิชาสรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และมิญชวิทยา สาขาวิชาคัพภวิทยาเป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต",
"title": "ชีววิทยา"
},
{
"docid": "181546#1",
"text": "กำจร พลางกูร เกิดในกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นศึกษาระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ จากนั้นได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อทางการแพทย์ เป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยการศัลยกรรมประเทศอังกฤษและสำเร็จการศึกษาจากราชวิทยาลัยการแพทย์ประเทศอังกฤษ ภายหลังสำเร้จการศึกษาแล้ว กำจรเข้าดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มสอนในวิชาชีวเคมีเมื่อปี พ.ศ. 2460 ควบคู่กับการประกอบวิชาชีพแพทย์ในโรงพยาบาลศิริราช ต่อมากำจรได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าภาควิชากายวิภาคศาสตร์ช่วงปี พ.ศ. 2481 - 2485 ควบคู่กับการดำรงตำแหน่งคณบดีคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงปี พ.ศ. 2481 - 2486 ทั้งนี้กำจรได้ดำรงตำแหน่งรักษาการแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วง พ.ศ. 2481 - 2482 อีกด้วย",
"title": "พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)"
},
{
"docid": "152372#11",
"text": "นักวิจัยในช่วงเวลาต่อมาได้ดำเนินการปรับปรุงการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น พร้อมทั้งมีการตั้งชื่อโครงสร้างในร่างกายอีกเป็นจำนวนมาก ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีการพัฒนาอย่างเห็นได้ชัดในการทำความเข้าใจระบบไหลเวียนโลหิต ไม่ว่าจะเป็นความเข้าใจหน้าที่ของลิ้นในหลอดเลือดดำ การอธิบายการไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปห้องล่างขวาผ่านทางระบบไหลเวียนโลหิต และสามารถระบุว่าหลอดเลือดดำตับ (hepatic vein) เป็นโครงสร้างหนึ่งที่แยกออกมาในระบบไหลเวียนโลหิต นอกจากนี้ยังสามารถแยกระบบน้ำเหลืองออกเป็นอีกหนึ่งระบบอวัยวะได้ในช่วงระยะเวลานี้",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "152372#15",
"text": "การวิจัยทางกายวิภาคในช่วงร้อยปีที่ผ่านมามีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพราะการเจริญของเทคโนโลยี และความเข้าใจในวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ เช่น ชีววิวัฒนาการ (evolutionary biology) และอณูชีววิทยา (molecular biology) ซึ่งช่วยให้เกิดความเข้าใจอวัยวะและโครงสร้างของมนุษย์มากขึ้น ความเข้าใจในวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ (endocrinology) ทำให้สามารถอธิบายหน้าที่ของต่อมต่างๆ ที่ในอดีตไม่เคยได้รับการอธิบาย อุปกรณ์ทางการแพทย์เช่น การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) หรือการตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ศึกษาอวัยวะของคนที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือเสียชีวิตไปแล้ว ความก้าวหน้าทางกายวิภาคศาสตร์ในปัจจุบันมุ่งไปที่การเจริญเติบโต วิวัฒนาการ และหน้าที่ของโครงสร้างทางกายวิภาค เนื่องจากความรู้ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (macroscopic anatomy) ได้ถูกรวบรวมอย่างเป็นระบบแล้ว สาขาย่อยของกายวิภาคศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ (non-human anatomy) ก็มีความสำคัญในปัจจุบัน เพราะนักกายวิภาคสมัยใหม่กำลังพยายามทำความเข้าใจหลักการพื้นฐานของการจัดระบบของกายวิภาคศาสตร์โดยผ่านเทคนิคสมัยใหม่ตั้งแต่การใช้ finite element analysis ไปจนถึงอณูชีววิทยา",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "152372#0",
"text": "ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "16848#6",
"text": "โดยทั่วไปแล้ว นักศึกษาที่ศึกษาวิชาชีววิทยาในบางสาขา, บุคลากรทางการแพทย์ (paramedics) , นักกายภาพบำบัด (physiotherapists) , พยาบาล, และนักศึกษาแพทย์ (medical students) ศึกษามหกายวิภาคศาสตร์และจุลกายวิภาคศาสตร์จากแบบจำลอง, โครงกระดูก, ตำรา, แผนภาพ, ภาพถ่าย, และการฟังบรรยาย การศึกษาจุลกายวิภาคศาสตร์ (หรือมิญชวิทยา) ในสถานศึกษาจะใช้การศึกษาตัวอย่างหรือสไลด์ผ่านกล้องจุลทรรศน์ และนอกจากนี้ นักศึกษาแพทย์โดยทั่วไปจะได้ศึกษามหกายวิภาคศาสตร์จากการสังเกตและชำแหละร่างกายมนุษย์ หรือที่นิยมเรียกกันในประเทศไทยว่า อาจารย์ใหญ่ ซึ่งเป็นร่างกายของผู้ที่ประสงค์บริจาคเพื่อการศึกษา",
"title": "กายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "209899#6",
"text": "ท่านได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคนที่ 9 ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างปี พ.ศ. 2511 - 2512 เมื่อเกษียณอายุแล้วก็ยังช่วยสอนที่นี่ทุกวันจนถึง พ.ศ. 2536 จนไปทำงานเฉพาะวันพุธ วันละ 4 ชั่วโมง จากปัญหาสุขภาพ จนเสียชีวิต และได้สั่งครอบครัวไว้ให้มอบร่างกายของท่านแก่ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภายหลังบำเพ็ญกุศลแล้ว ปัจจุบันได้แขวนโครงกระดูกไว้ให้นิสิตนักศึกษาแพทย์ใช้ประกอบการศึกษาที่ตึกกายวิภาคศาสตร์",
"title": "สุด แสงวิเชียร"
},
{
"docid": "137276#0",
"text": "ประสาทกายวิภาคศาสตร์ () เป็นสาขาหนึ่งของวิชากายวิภาคศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการจัดเรียงโครงสร้างทางกายวิภาคของระบบประสาท ซึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังจะประกอบเส้นประสาทจำนวนมากที่กระจายตัวจากสมองไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมทั้งโครงสร้างภายในของสมองซึ่งมีความซับซ้อนมาก การศึกษาประสาทกายวิภาคศาสตร์จึงมีการพัฒนาอย่างเป็นระเบียบในตัวมันเอง และยังเป็นสาขาวิชาที่มีการศึกษาเป็นพิเศษในวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ การอธิบายความแตกต่างของโครงสร้างและส่วนของสมองจะเน้นไปถึงการศึกษาการทำงานของมัน ดังเช่นการศึกษาของนักประสาทวิทยาศาสตร์จะมาจากการศึกษาความผิดปกติ (damage หรือ lesion) ของสมองในแต่ละส่วนว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมหรือการทำงานของประสาท",
"title": "ประสาทกายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "152372#5",
"text": "นักกายวิภาคคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคโบราณคือ กาเลน (Galen) มีชีวิตในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2 เขารวบรวมความรู้จากงานเขียนในสมัยก่อน และศึกษาหน้าที่ของอวัยวะโดยการชำแหละสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ งานภาพวาดของเขาซึ่งมักจะเป็นกายวิภาคศาสตร์ของสุนัข กลายมาเป็นตำรากายวิภาคศาสตร์มาเป็นเวลากว่า 1500 ปี แม้ตัวตำราเดิมนั้นได้สูญหายไปแล้ว และงานของเขาเป็นที่รู้จักกันเฉพาะในหมู่แพทย์ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) โดยผ่านทางการเก็บรักษาอย่างดีและถ่ายทอดโดยแพทย์ชาวอาหรับ เนื่องจากมีข้อห้ามทางศาสนาในการเป็นนักกายวิภาคซึ่งกินเวลานานหลายศตวรรษนับตั้งแต่ยุคกาเลนเป็นต้นไป กาเลนจึงคาดเดาเอาว่าโครงสร้างทางกายวิภาคในสุนัขคล้ายคลึงกับในมนุษย์ และทำการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในสุนัขแทน และทำให้การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ต้องหยุดลงในยุโรป",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "28101#11",
"text": "จากนั้นมีการเปิดเผยพินัยกรรม ซึ่งหลวงพ่อคูณทำไว้ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2543 มีใจความสำคัญระบุให้มอบสังขาร แก่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายในเวลา 24 ชั่วโมงนับแต่มรณภาพ แล้วให้ทางมหาวิทยาลัยมอบให้แก่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้นำไปศึกษาค้นคว้า ตามวัตถุประสงค์ของภาควิชา สำหรับพิธีกรรมทางศาสนา และการสวดพระอภิธรรม ขอให้คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกอบพิธีขึ้นที่คณะเป็นเวลา 7 วัน ส่วนการประกอบพิธีบำเพ็ญกุศล เมื่อสิ้นสุดการศึกษาค้นคว้า ของภาควิชากายวิภาคศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้ว ให้จัดอย่างเรียบง่าย ละเว้นการพิธีสมโภชใดๆ ทั้งห้ามขอพระราชทานเพลิงศพ โกศ และพระราชพิธี อื่นๆ เป็นกรณีพิเศษหรือเป็นการเฉพาะ โดยให้คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกอบพิธีเช่นเดียวกับที่จัดให้แก่ อาจารย์ใหญ่ของนักศึกษาแพทย์ประจำปี ร่วมกับอาจารย์ใหญ่ท่านอื่น แล้วเผาที่ฌาปนสถานวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (หรือวัดแห่งอื่น) และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ขอให้คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำอัฐิ เถ้าถ่าน และเศษอังคารทั้งหมด ไปลอยที่แม่น้ำโขง จังหวัดหนองคาย ตามที่เห็นสมควรและเหมาะสม โดยมีสักขีพยานประกอบด้วย รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ขณะนั้น), ญาติ, ไวยาวัจกรวัดบ้านไร่ (ขณะนั้น) และนิติกรชำนาญการ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ลงนามเป็นหลักฐาน[10]",
"title": "พระเทพวิทยาคม (คูณ ปริสุทฺโธ)"
},
{
"docid": "152372#14",
"text": "ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักกายวิภาคศาสตร์ได้รวบรวมคำอธิบายกายวิภาคศาสตร์มนุษย์จากในศตวรรษที่ผ่านมาให้สมบูรณ์ มีการพัฒนาและกำเนิดขึ้นของแหล่งความรู้ของวิชามิญชวิทยา (histology) และชีววิทยาของการเจริญ (developmental biology) ไม่เฉพาะการศึกษาในมนุษย์เท่านั้นก็ยังเจริญขึ้นในสัตว์ด้วย งานวิจัยจำนวนมากเกิดขึ้นในหลายสาขาของกายวิภาคศาสตร์ อังกฤษถือได้ว่าเป็นแหล่งวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ที่สำคัญ มีความต้องการร่างกายมนุษย์ในการศึกษาอย่างมากจนบางครั้งมีการขโมยศพหรือแม้กระทั่งการฆาตกรรมเพื่อให้ได้ศพมาศึกษา ทำให้รัฐสภาอังกฤษต้องผ่านกฎหมาย Anatomy Act 1832 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดหาร่างมนุษย์เพื่อการศึกษาให้เหมาะสม เพียงพอ และถูกกฎหมาย ข้อห้ามในการชำแหละร่างกายมนุษย์นั้นผ่อนคลายลงทำให้ตำรากายวิภาคศาสตร์ Gray's Anatomy ซึ่งมีการรวบรวมเนื้อหากายวิภาคอย่างละเอียดเป็นตำรายอดนิยมขึ้นมา แม้ว่าฉบับในปัจจุบันจะมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะมือก็ตาม แต่ตำรา Gray's Anatomy ก็ถือกำเนิดขึ้นมาจากความต้องการรวบรวมความรู้ด้านกายวิภาคศาสตร์ให้อยู่ในเล่มเดียวให้เหมาะกับแพทย์ที่ต้องเดินทาง",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "156498#2",
"text": "ต่อมาได้โอนหน่วยงานภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาปรสิตวิทยา ของคณะแพทยศาสตร์ และภาควิชาชีวเคมี ภาควิชาจุลชีววิทยา ของคณะวิทยาศาสตร์ มาเป็นภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาชีวเคมี และภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา สังกัดคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรทั้งหมด",
"title": "คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร"
},
{
"docid": "152372#6",
"text": "หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ได้หยุดชะงักลงในทวีปยุโรปซึ่งนับถือศาสนาคริสต์ซึ่งมีข้อกำหนดทางศาสนาที่เคร่งครัด แต่กลับรุ่งเรืองขึ้นในยุคกลางของโลกอิสลาม ที่ซึ่งแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวมุสลิมได้อุทิศตัวอย่างหนักในการศึกษาความรู้และวัฒนธรรมในยุคกลาง แพทย์ชาวเปอร์เซียชื่อว่า อวิเซนนา หรืออาบู อาลี อัล-ฮุเซน อิบน์ อับด์ อัลลอฮ์ อิบน์ ซีนา (Avicenna, Abū ʿAlī al-Ḥusayn ibn ʿAbd Allāh ibn Sīnā; ภาษาเปอร์เซีย: ابو علی الحسین ابن عبدالله ابن سینا) (ค.ศ. 980 - ค.ศ. 1037) ได้ซึมซับการสอนวิชากายวิภาคศาสตร์ของกาเลนและได้เพิ่มเติมลงใน The Canon of Medicine (ทศวรรษที่ 1020) ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อทั้งโลกอิสลามและโลกคริสเตียนของยุโรป The Canon เป็นตำราทางกายวิภาคที่เชื่อถือได้มากที่สุดในโลกอิสลามจนกระทั่ง อิบน์ อัล-นาฟิส (Ibn al-Nafis) ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เมื่อตำรานี้ได้เผยแพร่มาในยุโรปจนกระทั่งมีบทบาทโดดเด่นถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "152372#2",
"text": "นักวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยก่อนซึ่งงานของท่านยังคงมีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันคือ ฮิปโปกราเตส (Hippocrates) แพทย์ชาวกรีกที่มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลถึงต้นศตวรรษที่ 4 ก่อรคริสตกาล (460 - 377 ปีก่อนคริสต์ศักราช) งานของเขาแสดงถึงความเข้าใจพื้นฐานของโครงสร้างของกล้ามเนื้อและกระดูก และการเริ่มต้นความเข้าใจของการทำงานของอวัยวะบางชนิด เช่น ไต แม้ว่างานของเขาส่วนใหญ่ รวมทั้งงานของลูกศิษย์และผู้ศึกษาในเวลาต่อมาจะเน้นการสังเกตใคร่ครวญทางทฤษฎีมากกว่าการทดลองปฏิบัติ",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "347730#9",
"text": "เป็นการศึกษาระดับ pre-clinic จะศึกษาวิชาแพทย์พื้นฐานและวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่นวิชา กายวิภาคศาสตร์ สรีวิทยา เภสัชวิทยา ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท การที่ได้เรียนกับคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาจะได้รับแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และการวิจัยซึ่งเป็นประโยชน์ในการนำไปสู่ ความเป็นเลิศด้านการศึกษาและวิจัย และการพัฒนาศาสตร์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จากนั้นนักศึกษาจะเข้าสู่ปีที่ 3 ได้แก่ วิทยาภูมิคุ้มกัน จุลชีววิทยา เวชพันธุศาสตร์ และพยาธิวิทยา โดยศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล",
"title": "คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช"
},
{
"docid": "730615#3",
"text": "ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2515 คณะวิทยาศาสตร์ได้ย้ายจากที่ทำการชั่วคราว มาดำเนินการสอน ณ ศูนย์ศึกษาอรรถกระวีสุนทร ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และในปีถัดมาคณะได้จัดตั้งหน่วยงานรวมทางด้านพรีคลินิก 5 หน่วยวิชา ได้แก่ กายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี เภสัชวิทยา และสรีรวิทยา เพื่อบริการด้านการเรียนการสอนแก่นักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ซึ่งเพิ่งได้รับการจัดตั้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 คณะได้เปิดรับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ เป็นรุ่นแรก ในปีต่อมา คณะได้อนุมัติในการตั้งหน่วยงานทางพรีคลินิกทั้ง 5 หน่วย ขึ้นเป็นภาควิชา พร้อมกันนั้นได้มีการจัดตั้งหน่วยวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไปขึ้น",
"title": "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์"
},
{
"docid": "728170#0",
"text": "การวิภาคศาสตร์พืช เป็นวิชาที่ศึกษากายวิภาคศาสตร์ภายในพืช โดยดั้งเดิมรวมถึงวิชาสัณฐานวิทยาพืชซึ่งอธิบายถึงลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างภายนอกของพืช ปัจจุบันสองวิชานี้ได้ถูกแยกออกจากกันตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ส่งผลให้วิชากายวิภาคศาสตร์พืชนี้ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของพืชเท่านั้น ปัจจุบันวิชากายวิภาคศาสตร์พืชมักศึกษาในระดับเซลล์ของพืช และรวมถึงการศึกษาเนื้อเยื่อและวิชาการใช้กล้องจุลทรรศน์",
"title": "กายวิภาคศาสตร์พืช"
},
{
"docid": "152372#12",
"text": "การศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์มีความเฟื่องฟูในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โดยมีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ช่วยในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เนื่องจากการศึกษากายวิภาคศาสตร์จะเกี่ยวกับการสังเกตและภาพวาด นักกายวิภาคศาสตร์จะมีชื่อเสียงหรือไม่จึงขึ้นกับฝีมือการวาดภาพของเขาโดยไม่จำเป็นต้องเชี่ยวชาญภาษาละติน[11] ศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายคนก็ศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เข้าเรียนการชำแหละร่างกาย และวาดภาพเพื่อหารายได้ เช่น มีเกลันเจโล (Michelangelo) หรือ แรมบรังด์ (Rembrandt) ในช่วงแรกๆ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงสอนเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์โดยผ่านทางภาพวาดแทนที่จะสอนตามเนื้อหาภาษาละติน สิ่งที่ขัดขวางการศึกษากายวิภาคศาสตร์เพียงอย่างเดียวในช่วงเวลานี้คือคำตำหนิของฝ่ายศาสนา ซึ่งทำให้นักกายวิภาคศาสตร์หลายคนเกิดความหวาดกลัวเมื่อต้องชำแหละร่างกายมนุษย์ เพราะว่าในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา แม้ว่าจะเป็นยุคที่วิทยาศาสตร์มีความเฟื่องฟูและการค้นพบต่างๆ มากมาย แต่ศาสนาก็มีอิทธิพลอย่างมากดังเช่นกรณีของกาลิเลโอซึ่งถูกศาลศาสนาลงโทษเพราะตีพิมพ์ผลงานขัดแย้งกับฝ่ายศาสนา นักวิทยาศาสตร์บางคนในยุคนี้กลัวเกินกว่าจะเดินทางจากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง เช่น เรอเน เดส์การตส์ (Descartes) นักกายวิภาคศาสตร์เพียงบางคนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ชำแหละร่างกายมนุษย์เพื่อศึกษา บางครั้งได้รับอนุญาตเพียงปีเดียว การแสดงการชำแหละร่างกายมนุษย์นี้มักได้รับการสนับสนุนจากสภาของเมือง และบางครั้งอาจต้องเก็บค่าธรรมเนียมราวกับเป็นการแสดงของนักวิชาการ เมืองในยุโรปหลายเมืองเช่น อัมสเตอร์ดัม, ลอนดอน, โคเปนเฮเกน, ปาดัว, และปารีส มีนักกายวิภาคหลวง (Royal anatomists) ที่เชื่อมโยงกับรัฐบาลท้องถิ่น เช่น นีโคลัส ทุลพ์ (Nicolaes Tulp) นักกายวิภาคศาสตร์ที่ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองอัมสเตอร์ดัม 3 สมัย แม้ว่าการแสดงการชำแหละร่างกายมนุษย์ค่อนข้างเป็นธุรกิจที่เสี่ยง และไม่แน่นอนว่าจะหาร่างกายมนุษย์มาจากที่ใด แต่การเข้าชมการชำแหละร่างกายมนุษย์นั้นถูกกฎหมาย นักเรียนกายวิภาคศาสตร์หลายคนเดินทางรอบทวีปยุโรปเพื่อเข้าชมการศึกษาร่างกายมนุษย์ที่แล้วที่เล่าตลอดหลักสูตรการเรียน พวกเขาต้องเดินทางไปตามที่ต่างๆ ซึ่งมีศพมนุษย์ที่เพิ่งเสียชีวิตให้ศึกษา (เช่น หลังจากการแขวนคอ) เพราะว่าหากปล่อยทิ้งไว้ร่างกายอาจเน่าสลายไปจนไม่เหมาะที่จะนำมาศึกษา เนื่องจากยังไม่มีการคิดค้นระบบแช่เย็นในสมัยนั้น",
"title": "ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "16848#7",
"text": "กายวิภาคศาสตร์มนุษย์, สรีรวิทยา และชีวเคมีประกอบกันเป็นวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน (basic medical sciences) ซึ่งโดยทั่วไปจะสอนแก่นักศึกษาแพทย์ในชั้นปีแรก (หรือในชั้นปีที่ 1-3 ในคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย) การสอนวิชากายวิภาคศาสตร์มนุษย์สามารถสอนแยกตามระบบหรือตามตำแหน่ง กล่าวคือสามารถศึกษาแยกตามแต่ละระบบ เช่น ระบบประสาท หรือระบบทางเดินหายใจ หรือศึกษาแยกตามเฉพาะที่ เช่น บริเวณศีรษะ และหน้าอก ตำราทางกายวิภาคศาสตร์ที่สำคัญ เช่น \"Gray's Anatomy\" ในปัจจุบันได้เรียงเนื้อหาใหม่จากแยกตามระบบเป็นแยกตามตำแหน่ง ตามวิธีการสอนแบบใหม่ ความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์นั้นมีความจำเป็นต่อแพทย์ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งศัลยแพทย์ และแพทย์ที่ทำงานด้านการวินิจฉัยเฉพาะทางเช่น จุลพยาธิวิทยา (histopathology) หรือรังสีวิทยา (radiology)",
"title": "กายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "730132#0",
"text": "กายวิภาคศาสตร์พื้นผิว คือการศึกษาลักษณะภายนอกของร่างกาย เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคจากตาเปล่าโดยไม่ผ่านการชำแหละ การวิภาคศาสตร์พื้นผิวเป็นสาขาหนึ่งของวิชามหกายวิภาคศาสตร์ เช่นเดียวกับการส่องกล้อง (endoscopic anatomy) และกายวิภาคศาสตร์เชิงภาพรังสี (radiologic anatomy) วิชากายวิภาคศาสตร์พื้นผิวของมนุษย์นั้น คือการศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกายของร่างกาย กล่าวคือใช้ลักษณะโครงสร้างภายนอกเป็นจุดอ้างอิงเพื่อบ่งบอกตำแหน่งของโครงสร้างภายใน ทั้งในท่าปกติและระหว่างการเคลื่อนไหว",
"title": "กายวิภาคศาสตร์พื้นผิว"
},
{
"docid": "16848#0",
"text": "กายวิภาคศาสตร์ (; \"anatomia\", มาจาก ἀνατέμνειν \"ana\": การแยก และ \"temnein\": การตัดเปิด) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต คำนี้หมายรวมถึงกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (human anatomy) , กายวิภาคศาสตร์สัตว์ (animal anatomy หรือ zootomy) และกายวิภาคศาสตร์พืช (plant anatomy หรือ phytotomy) ในบางแง่มุมกายวิภาคศาสตร์ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับวิชาคัพภวิทยา (embryology) , กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative anatomy) และคัพภวิทยาเปรียบเทียบ (phylogenetics หรือ comparative embryology) โดยมีรากฐานเดียวกันคือวิวัฒนาการ (evolution)",
"title": "กายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "16848#3",
"text": "วิชากายวิภาคศาสตร์นั้นต่างจากพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology หรือ morbid anatomy) หรือจุลพยาธิวิทยา (histopathology) ซึ่งเป็นการศึกษาลักษณะทางมหภาคและจุลภาคของอวัยวะที่เป็นโรค",
"title": "กายวิภาคศาสตร์"
},
{
"docid": "99066#3",
"text": "ในยุคของอารยธรรมกรีกโบราณ การศึกษากายวิภาคศาสตร์ได้มีความเจริญก้าวหน้าขึ้น โดยมีแพทย์และนักปราชญ์เมธีกรีกหลายคนมีส่วนในการพัฒนาวิชานี้ อาทิเช่น ฮิปโปกราเตส (Hippocrates) อริสโตเติล (Aristotle) ฮีโรฟิโลส (Herophilos) และอีราซิสทราทุส (Erasistratus) อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีส่วนในการวางรากฐานของการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคโบราณ คือ กาเลน (Galen) ซึ่งเป็นศัลยแพทย์ชาวกรีกที่ได้ศึกษากายวิภาคของมนุษย์ผ่านทางการผ่าตัดบาดแผลต่างๆ และการศึกษาจากการชำแหละสัตว์ บันทึกของกาเลนได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์จนกระทั่งถึงยุคกลาง",
"title": "กายวิภาคศาสตร์มนุษย์"
},
{
"docid": "729#25",
"text": "กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นการศึกษาโครงสร้างและการจัดเรียงตัวของร่างกายมนุษย์ สาขาวิชาหลักของกายวิภาคศาสตร์ได้แก่ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จุลกายวิภาคศาสตร์ หรือมิญชวิทยา หรือวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับจุลภาคซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาโครงสร้างและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยา (Physiology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านกลศาสตร์ ด้านกายภาพ และด้านชีวเคมี แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย คือ สรีรวิทยาของพืช และสรีรวิทยาของสัตว์ * อณูชีววิทยา (Molecular biology) หรือ ชีววิทยาโมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่าง ๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เป็น โปรตีน พันธุศาสตร์ (Genetics) คือ สาขาแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity) , และวิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง เซลล์พันธุศาสตร์ (Cytogenetics) ศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตำแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยา (Ecology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม คัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อนการงอก (germination) ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) หรือ วิทยาเซลล์ (cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์ มหพยาธิวิทยา (Gross pathology) หมายถึงลักษณะแสดงในระดับมหัพภาค (หรือระดับตาเปล่า) ของโรคที่เกิดในอวัยวะ, เนื้อเยื่อ และช่องตัว ศัพท์ดังกล่าวใช้กันทั่วไปในวิชาพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology) เพื่อหมายถึงการตรวจเพื่อวินิจฉัยหาข้อมูลในชิ้นเนื้อตัวอย่างหรือการชันสูตรพลิกศพ (autopsy)",
"title": "ชีววิทยา"
}
] |
1694 | ประเทศญี่ปุ่นเริ่มคุกคามประเทศจีนเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "558879#3",
"text": "สาธารณรัฐจีนได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมและความทันสมัย แต่ก็ยังมีความปัญหาขัดแย้งระหว่างรัฐบาลคณะชาติในนานกิง อาทิเช่น พรรคคอมมิวนิสต์จีน, ขุนศึกที่เหลือและ จักรวรรดิญี่ปุ่น อย่างต่อเนื่อง สาธารณรัฐจีนได้มีการเร่งพัฒนาประเทศอย่างจริงจังเมื่อเกิดสงครามกับญี่ปุ่น เมื่อกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกรานจีนอย่างอย่างเต็มรูปแบบในปี ค.ศ. 1937",
"title": "สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)"
}
] | [
{
"docid": "183469#6",
"text": "การพักรบตางกูได้แสดงให้เห็นถึงการยอมรับในดินแดนแมนจูกัวของรัฐบาลก๊กมินตั๋ง ซึ่งได้รับบทเรียนสำคัญจากเรอเหอ การพักรบครั้งนี้ได้ยุติการสู้รบระหว่างจีนและญี่ปุ่นเป็นเวลาช่วงระยะเวลาหนึ่ง และความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศได้รับการฟื้นฟู เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1935 สถานทูตชั้นสองของญี่ปุ่นในจีนได้เลื่อนสถานะขึ้นเป็นสถานทูต และเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 1935 ข้อตกลงเฮอ-อุเมสุสิ้นสุดลง ช่วงเวลาพักรบนี้ทำให้รัฐบาลของเจียงไคเช็คได้เรียกระดมพล และพยายามแผ่อิทธิพลไปยังพรรคคอมมิวนิสต์จีน แม้ว่าจะต้องแลกกับการเสียดินแดนทางภาคเหนือก็ตาม แต่ทว่า ความคิดเห็นของประชาชนจีนส่วนใหญ่ได้มองว่าข้อตกลงดังกล่าวเป็นการเอื้ออำนวยให้แก่ฝ่ายญี่ปุ่นและได้สร้างความอับอายให้แก่ประเทศชาติ ถึงแม้ว่าข้อตกลงจะเป็นการสร้างเขตปลอดทหารก็ตาม แต่ว่าอิทธิพลของญี่ปุ่นยังคงคุกคามดินแดนจีนอยู่ดี และได้กลายมาเป็นความจริงเมื่อญี่ปุ่นรุกรานจีนในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1937",
"title": "การพักรบตางกู"
},
{
"docid": "646200#5",
"text": "iPhone 6 และ iPhone 6 พลัสได้ปล่อยออกสู่ตลาดเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2014; คำสั่งซื้อล่วงหน้าเริ่มวันที่ 12 กันยายน 2014[20] ในประเทศจีนที่ iPhone 5S และ 5C จะเป็นรุ่นแรกในตระกูลของ iPhone ที่จะออกตลาดในประเทศนี้ได้ในวันเดียวกับการเปิดตัวในต่างประเทศ แอปเปิ้ลได้แจ้งผู้ให้บริการไร้สายในประเทศว่า บริษัทจะไม่สามารถที่จะส่ง iPhone 6 ออกขายในประเทศจีนได้ในวันที่ 19 เพราะมี \"รายละเอียดที่ยังไม่พร้อม\"; สื่อท้องถิ่นรายงานว่าอุปกรณ์นี้และรุ่นก่อนหน้านี้ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศของจีนภายในสิ้นปี รายงานข่าวโดยโฆษกโทรทัศน์จีนส่วนกลางโดยกล่าวหาว่าอุปกรณ์ iPhone เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของชาติเพราะฟังก์ชั่น\"กำหนดตำแหน่งบ่อย\" (English: frequent locations) ของ iOS 7 จะสามารถเปิดเผย \"ความลับของรัฐ\" ได้[21][22]",
"title": "ไอโฟน 6"
},
{
"docid": "2032#16",
"text": "การปฏิวัติซินไฮ่เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 (สิ้นสุดลงในปี พ.ศ 2455) ซึ่งเป็นการโค่นล้มอำนาจการปกครองของราชวงศ์ชิง โดยการนำของ ดร. ชุน ยัตเซน หัวหน้าพรรคก๊กมินตั๋ง เป็นผลทำให้จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยในที่สุด โดยสาเหตุที่ก่อให้เกิดการโค่นล้มอำนาจครั้งนี้น่าจะมาจากความเสื่อมโทรมของสภาพสังคมจีน ผู้นำประเทศจักรพรรดิแมนจูไม่มีอำนาจกำลังพอที่จะปกครองประเทศได้ ซึ่งตลอดระยะเวลาปกครอง 268 ปี (พ.ศ. 2187 – 2455) มีแต่การแย่งชิงอำนาจในหมู่ผู้นำราชวงศ์ ด้วยเหตุนี้ราษฎรส่วนมากจึงตกอยู่ในสภาพยากจน ชาวไร่ชาวนาถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก ถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าของที่ดิน ชาวต่างชาติเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ แผ่นดินจีนถูกคุกคามจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาติมหาอำนาจตะวันตก และญี่ปุ่น ซึ่งจีนทำสงครามต่อต้านการรุกรานของกองกำลังต่างชาติเป็นฝ่ายแพ้มาโดยตลอด ทำให้คณะปฏิวัติไม่พอใจระบอบการปกครองของราชวงศ์ชิง",
"title": "ประเทศจีน"
},
{
"docid": "321641#7",
"text": "ในที่สุด ฮั่วสามารถสยบนักสู้จากชาติต่าง ๆ ได้หมด จนกระทั่งเหลือเพียงนักคาราเต้จากญี่ปุ่นที่ชื่อ อันโนะ ทานากะ (ชิโด นากามูระ) เป็นผู้ที่แข็งแกร่งที่สุดในบรรดาผู้ท้าประลองทุกคน ซึ่งทั้งคู่ต้องเผชิญหน้ากัน\"Fearless\" หรือ \"Jet Li's Fearless\" หรือในชื่อภาษาจีนว่า ฮั่ว หยวนเจี๋ย เป็นภาพยนตร์กำลังภายในชีวประวัติของ ฮั่ว หยวนเจี๋ย ปรมาจารย์กังฟูที่มีชื่อเสียงอีกคนหนึ่งของจีน เช่นเดียวกับ หวง เฟยหง หรือ ยิปมัน เป็นผู้ที่ได้รับการกล่าวขานว่าเป็นวีรบุรุษของชาวจีนจากการต่อสู้กับชาวต่างชาติในช่วงที่ประเทศจีนถูกคุกคามจากชาวต่างชาติ",
"title": "จอมคนผงาดโลก"
},
{
"docid": "85934#0",
"text": "พลิกตำนานมาพบรัก () เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวเด็กผู้หญิงที่วาดโดย ยู วาตาเซะ โดยมีตัวนำเรื่องคือ ยูกิ มิอากะ เด็กสาวผู้หลงเข้าไปในประเทศจีนยุคโบราณ และได้กลายเป็นธิดาเทพผู้รวบรวมเจ็ดดาวบริวารหงส์ทอง (หงส์แดง หรือ ซูซาคุ) เพื่อปกป้องเมืองโคนันให้พ้นจาการคุกคามของแคว้นเพื่อนบ้าน การเดินทางเพื่อรวบรวมเจ็ดดาวบริวารก่อให้เกิดเรื่องราวมากมาย ทั้งมิตรภาพ การต่อสู้ และความรัก",
"title": "พลิกตำนานมาพบรัก"
},
{
"docid": "118299#25",
"text": "นายฟูกูดะมีนโยบายพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งต่างจากนายอาโซที่มีท่าทีที่แข็งกร้าวมากกว่าต่อประเทศเพื่อนบ้าน โดยนายอาโซเคยกล่าวว่าจีนกำลังจะเป็น “ภัยคุกคามอย่างใหญ่หลวง” ต่อญี่ปุ่น",
"title": "ยาซูโอะ ฟูกูดะ"
},
{
"docid": "413835#1",
"text": "ประเทศสยามถือเป็นประเทศแรก ๆ ของทวีปเอเชียที่มีรถไฟ เพราะว่าในปี พ.ศ. 2398 เมื่อสยามได้ลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริงกับประเทศอังกฤษเป็นที่เรียบร้อยแล้ว คณะทูตอังกฤษจึงได้ถวายเครื่องราชบรรณาการที่พระราชทานโดยสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหนึ่งในนั้นคือรถไฟจำลองในรูปแบบหัวรถจักรไอน้ำที่สามารถขับเคลื่อนได้ จำนวน 1 ชุด ทำให้พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยและเป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัยสำคัญที่ต้องการให้ประเทศสยามควรจะมีการจัดตั้งกิจการรถไฟเป็นของตัวเอง แต่ก็ไม่สามารถจัดตั้งขึ้นมาได้ในรัชสมัยของพระองค์ เนื่องจากงบประมาณและประชากรของประเทศสยามในขณะนั้นยังมีอยู่จำนวนน้อย[5]ทั้งนี้ ในเวลาหลายปีต่อมา เมื่อเข้าสู่รัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว จึงได้มีการตั้งกรมรถไฟ ในปี พ.ศ. 2433 หลังจากนั้นก็มีการพัฒนาระบบรถไฟไทยอย่างเรื่อยมา แต่การพัฒนาถือว่าเป็นไปอย่างช้ามาก และเริ่มที่จะล้าหลัง อีกทั้งอะไหล่หัวรถจักรนั้นหาซื้อได้ยาก จึงได้มีแนวคิด ที่จะพัฒนาระบบรถไฟในประเทศ เป็นระบบรถไฟความเร็วสูง โดยเริ่มมีการศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535[6] ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2537 มีการศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพ - สนามบินหนองงูเห่า - ระยอง และคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติโครงการดังกล่าว เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2537[6] ธันวาคม พ.ศ. 2551 พรรคประชาธิปัตย์ สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ ก็ได้สานต่อโครงการฯ มีการเปิดทางให้ต่างประเทศได้ศึกษาแนวเส้นทาง โดยสองประเทศที่สนใจเข้ามาลงทุน คือ ประเทศจีน และ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งญี่ปุ่นสนใจที่จะลงทุนในเส้นทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ส่วนจีน มีความสนใจในเส้นทาง กรุงเทพฯ-หนองคาย ซึ่งขณะนั้น จีนก็ได้กำลังเจรจากับรัฐบาลลาว เพื่อสร้างทางรถไฟฟ้าความเร็วสูง ซึ่งในอนาคตนั้นสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเส้นทางกรุงเทพ-หนองคายได้เลย เนื่องจากจีนมีแผนวางเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ไปถึงสิงคโปร์ แต่ภายหลังการเจรจาระหว่างรัฐบาลจีนและลาวมีปัญหา เนื่องจากรัฐบาลลาวเห็นว่า เงื่อนไงที่รัฐบาลจีนได้เสนอมานั้นเกินกว่าที่ลาวจะสามารถยอมรับได้ และเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของประเทศ ส่งผลให้โครงการรถไฟความเร็วสูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยต้องสะดุดลง",
"title": "รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย"
},
{
"docid": "2032#40",
"text": "ตั้งแต่ก่อตั้งเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อปี พ.ศ. 2492 กองทัพของประเทศจีนได้เติบโตอย่างรวดเร็วกองทัพเรือ ตำรวจมีอาวุธในข้อตกลงที่แท้จริงของกองทัพแดง ปัจจุบันสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นกองทัพที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งอาวุธที่มีนั้นส่วนใหญ่จะมาจากประเทศรัสเซีย จีนเพิ่มกำลังทางทหารสูงเป็นอันดับ 1 ของเอเชียและอันดับที่ 4 ของโลก หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตทำให้สถานะของยุคหลังสงครามโลก หรือที่เรียกกันว่ายุคสงครามเย็นได้ยุติลง ได้ส่งผลให้ขั้วของการเป็นมหาอำนาจได้เปลี่ยนแปลงไปสหรัฐอเมริกาเองปรารถนาที่จะเป็นขั้วอำนาจขั้วเดียวในโลกโดยดำเนินยุทธศาสตร์ที่มุ่งไปสู่ความเป็นมหาอำนาจชาติเดียว ในขณะเดียวกันประเทศที่ศักยภาพอย่างจีนได้พยายามที่จะพัฒนาตนเองไปสู่ประเทศมหาอำนาจ โดยการเร่งพัฒนาหลาย ๆ ด้าน และที่ขาดไม่ได้นั่นคือ การพัฒนาให้กองทัพมีศักย์ในการดำเนินสงครามโดยการปรับปรุงให้กองทัพให้มีความทันสมัยในช่วง 10 ปี แรกนั้น ภัยคุกคามหลักของจีนนั้นมุ่งไปที่สหภาพโซเวียต ในขณะที่ปัญหาไต้หวันยังเป็นเรื่องที่มีความสำคัญในระดับต่ำ ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2538 – 2539 (ค.ศ. 1995 – 1996) ปัญหาเกิดขึ้นบริเวณเกาะไต้หวัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภายใน ทำให้ทิศทางของการพัฒนากองทัพมุ่งไปสู่การรองรับภัยคุกคามที่เกิดจากการพยายามแยกตัวของไต้หวันตั้งแต่ พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) เป็นต้นมา กองกำลังทางบกได้รับอาวุธและยุทโธปกรณ์พิเศษที่ใหม่ และหลากหลายที่จีนผลิตเองเข้าประจำการ เช่น รถถังหลัก รถถังสะเทินน้ำสะเทินบก รถสายพานลำเลียงพล ปืนใหญ่อัตตาจร อาวุธนำวิถีพื้นสู่อากาศ ระบบป้องกันภัยทางอากาศ คอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม อุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ กล้องมองกลางคืน อากาศยานไร้คนขับ (UAV) ฯลฯ",
"title": "ประเทศจีน"
},
{
"docid": "554484#1",
"text": "ในไต้หวันเอง ความเคลื่อนไหวข้างต้นได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรฟั่นลวี่ (Pan-Green Coalition) แต่ถูกพันธมิตรฟั่นหลัน (Pan-Blue Coalition) ต่อต้าน เพราะกลุ่มหลังนี้ประสงค์จะคงไว้ซึ่งสถานะเดิมของสาธารณรัฐจีนตามที่ได้รับฉันทามติเมื่อ ค.ศ. 1992 แม้เป็นสถานะที่ค่อนข้างเคลือบคลุมก็ตาม หรือกลุ่มหลังนี้อาจต้องการให้ไต้หวันหลุดพ้นจากประเทศจีนอย่างช้า ๆ เพราะที่ผ่านมา ประเทศจีนอ้างว่ามีเอกราชเหนือไต้หวันทั้งยังอาศัยการคุกคามทางทหารเสมอ กลุ่มนี้จึงเห็นว่า การประกาศเอกราชเสียทีเดียวอาจนำไปสู่การประเชิญหน้าทางการยุทธระหว่างกองทัพสาธารณรัฐจีนกับกองทัพสาธารณรัฐประชาชนจีน และอาจเอื้ออำนวยให้ประเทศภายนอก เช่น สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น สอดเข้าเกี่ยวข้องมากขึ้น",
"title": "เอกราชไต้หวัน"
},
{
"docid": "564246#0",
"text": "กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ()เป็นกองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่าง ค.ศ. 1871 ถึง 1945 ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือ แต่ส่วนกองทัพอากาศนั่นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่จะขึ้นตรงต่อสองเหล่าทัพคือกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นถูกก่อตั้งในช่วงสมัยยุคเมจิ เป็นช่วงการปฏิรูปการเมืองและพัฒนาวิทยากรสมัยเพื่อปรับตัวให้เข้ากับประเทศตะวันตกซึ่งเป็นผลผวงจากภายหลังญี่ปุ่นถูกบังคับให้เปิดประเทศโดยสหรัฐอเมริกา รัฐบาลญี่ปุ่นในยุคเมจิได้ตระหนักถึงภัยคุกคามจากการล่าอาณานิคมประเทศตะวันตก หากไม่ปรับปรุงกองทัพแล้วจะทำให้ประเทศต้องตกเป็นอาณานิคมเป็นแน่ จึงได้สร้างกองทัพให้มีความทันสมัยเทียบเท่ากับประเทศตะวันตกพร้อมกับยกเลิกระบบขุนนางศักดินาและทหารซามูไร",
"title": "กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "444248#0",
"text": "กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น () หรือ JSDF บางครั้งเรียกว่า JSF หรือ SDF เป็นบุคลากรจากประเทศญี่ปุ่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงเพื่อแทนที่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ถูกยุบ และฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครองญี่ปุ่น ในเวลาหลังสงคราม กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นถูกใช้งานในเฉพาะภายในประเทศมีหน้าที่ในการป้องกันประเทศอธิปไตยชาติเพียงอย่างเดียวและไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ ยกเว้นในสถานการณ์ที่เป็นการป้องกันตนเองในขอบเขตที่จำกัดเท่านั้น แม้อาจมีภารกิจในต่างประเทศในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ แต่ล่าสุดในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ครม.ญี่ปุ่นได้ตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นใหม่สรุปได้ว่า กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นจะสามารถส่งทหารไปปฏิบัติภารกิจการป้องกันตนเองร่วมได้(Collectvie-Self Defence) ตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อปกป้องชาติหนึ่งจากการถูกรุกราน โดยญี่ปุ่นจะสามารถไปช่วยเหลือชาติพันธมิตรใกล้ชิดที่ถูกโจมตีได้ หากการโจมตีนั้นเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของญี่ปุ่นและไม่มีวิธีอื่นในการปกป้องชีวิตชาวญี่ปุ่น",
"title": "กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "713139#2",
"text": "ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีนที่อาศัยอยู่ร่วมกัน กับการแบกรับความกดดันจากจำนวนประชากรมนุษย์ที่มีมากที่สุดในโลก มีสัตว์อย่างน้อย 840 สายพันธุ์ที่ถูกคุกคาม, เสี่ยงอันตรายต่อการสูญพันธุ์ในประเทศจีน โดยมีสาเหตุหลักมาจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การทำลายสิ่งแวดล้อม, มลพิษ และการแย่งอาหาร, การใช้ขนสัตว์ และส่วนผสมสำหรับการแพทย์แผนจีน สัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย และในขณะที่ปี ค.ศ. 2005 ประเทศนี้มีพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติถึงกว่า 2,349 แห่ง โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 149.95 ล้านเฮกตาร์ (578,960 ตารางไมล์) ซึ่งคิดเป็นประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ประเทศจีนทั้งหมดที่มีอยู่",
"title": "ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีน"
},
{
"docid": "159247#84",
"text": "ฝ่ายพันธมิตร ประกอบด้วยสหรัฐ, สหราชอาณาจักร, สหภาพโซเวียต, จีน, แคนาดา และประเทศอื่นๆ ต่อสู้กับฝ่ายอักษะ ที่มีเยอรมนี, อิตาลี และญี่ปุ่น. ฝ่ายพันธมิตรเห็นเยอรมนี เป็นภัยคุกคามหลักและให้ความสำคัญสูงสุดกับยุโรป. สหรัฐครอบงำสงครามกับญี่ปุ่นและหยุดการขยายตัวของญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกในปี 1942. หลังจากการพ่ายแพ้ที่ เพิร์ลฮาเบอร์และในประเทศฟิลิปปินส์แก่ญี่ปุ่นและเสมอกันในการรบที่ทะเลคอรัล (พฤษภาคม ค.ศ. 1942), กองทัพเรืออเมริกันได้สร้างความเสียหายอย่างเด็ดขาดที่มิดเวย์ (มิถุนายน ค.ศ. 1942). กองทัพบกอเมริกันช่วยใน'การรณรงค์แอฟริกาเหนือ' ที่ในที่สุดก็จบด้วยการล่มสลายของรัฐบาล ฟาสซิสต์ของ Mussolini ในปี 1943 เมื่ออิตาลีเปลี่ยนมาเข้ากับฝ่ายพันธมิตร แนวรบด้านหน้าของยุโรปที่สำคัญที่สุดถูกเปิดในวัน D-Day, วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 ที่กองกำลังอเมริกันและพันธมิตรบุกฝรั่งเศสที่นาซียึดครองอยู่",
"title": "ประวัติศาสตร์สหรัฐ"
},
{
"docid": "975481#6",
"text": "เจียง ไคเชก (蔣中正) ขึ้นมามีอำนาจ เขาก็ได้ทำการบูรณะกองทัพใหม่หมด โดยได้รับแรงสนับสนุนมาจากสหภาพโซเวียต และ เยอรมนี ซึ่งในภายหลังจากที่เจียง เริ่มครองประเทศแบบการปกครองแบบทหาร เขาก็เริ่มปฏิเสธความช่วยเหลือด้านทหารจากสหภาพโซเวียต แล้วหันมาเข้ากับนาซีเยอรมันแทน แต่ภายในปี 1933 นั้น รัฐบาลจีนก็ไม่สามารถพัฒนากองทัพจีนให้แทบเท่ากับประเทศใหญ่ ๆ ประเทศอื่น ๆ ได้ บวกกับความขัดแย้งภายในที่มีกับพวกคอมมิวนิสต์ และ ภัยคุกคามจากจักรวรรดิญี่ปุ่น กองทัพจีนก็ต้องพึ่งพายุทโธปกรณ์ที่ล้าสมัยเพื่อต่อต้านกับภัยเหล่านั้น เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับสาธารณรัฐจีนในกลางปี 1937 รัฐบาลจีนกับพวกคอมมิวนิสต์ก็ร่วมมือกันต่อสู้ญี่ปุ่นที่บุกเข้ามา ซึ่งตอนนั้นเองอาวุธยุทโธปกรณ์ส่วนมากของจีนก็มาจากนาซีเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ เช่น (Stahlhelm) และ อาวุธต่าง ๆ อย่างปืนรุ่นที่ 24 (二四式) ที่เป็นตัวก็อปปี้ของคาราบีเนอร์ 98คา (Karabiner 98k)",
"title": "กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน"
},
{
"docid": "180187#0",
"text": "ในยุคนั้น รถถังถือว่ามีบทบาทมากในเฉพาะสมรภูมิทางด้านยุโรปและในแอฟริกาเหนือ ซึ่งรถถังที่สำคัญในสมัยนั้นก็มี รถถังไทเกอร์,แพนเซอร์ ของกองทัพนาซีเยอรมัน รถถัง T-34 ของสหภาพโซเวียต รถถัง M4 เชอร์แมน ของกองทัพสหรัฐฯ โดยที่อัตราการผลิตรถถังนั้นทางสหภาพโซเวียตได้มีการผลิตรถถังรุ่น T-34 ที่สูงมาก ซึ่งในแต่ละวันนั้นผลิดได้ 60-70 คัน และมีอานุภาพการทำลายล้างสูง(ในระยะกลาง-ใกล้) จนกระทั่งสงครามสิ้นสุด ก็ยังมีประจำการอยู่ประมาณ 50,000 คัน ส่วนของกองทัพสหรัฐฯ เองแม้จะมีอัตราการผลิตสูงก็ตาม แต่อานุภาพการทำลายล้างยังด้อยกว่ารถถังไทเกอร์กับรถถังแพนเซอร์(หลังได้มีการเปลื่ยนปืนเป็ยขนาด76มม.ทำให้สามารถได้สูสีขึ้น) เพราะจำนวนมากนี่เอง ที่ทำให้กองทัพสหรัฐฯและฝ่ายพันธมิตรสามารถเอาชนะกองทัพเยอรมันได้ ส่วนกองทัพเยอรมันแม้ว่าจะมีรถถังที่ทรงอานุภาพมากก็ตาม แต่อัตราการผลิตยังถือว่าน้อยมาก เพราะผลิตออกมาเพียงรุ่นละไม่เกิน 4,500 คันเมื่อเทียบกับ 2 ประเทศยักษ์ใหญ่แล้ว เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตอาวุธของเยอรมันในสมัยนั้นยังเป็นการผลิตในระยะสั้น จึงทำให้สามารถผลิตรถถังออกมาได้ไม่มาก ส่วนทางญี่ปุ่นนั้น จะไม่ค่อยเน้นการผลิตรถถังเสียเท่าไหร่เนื่องจากทุกๆแนวรบไม่จำเป็นจะต้องใช้รถถัง การรบในจีน รถถังของญี่ปุ่นเป็นต่อกองกำลังรถถังของจีน เนื่องด้วยความทันสมัยของรถถังจำนวน และ ความสามารถของพลขับรถถังที่เก่งกว่า ซึ่งได้รับการพิสูจน์ในหลายๆที่แล้วว่า พลรถถังของจีนยังถูกฝึกให้มีความสามารถสู้พลขับรถถังของญี่ปุ่นไม่ได้ จึงไม่นิยมผลิตรถถังจำนวนมาก การรบในแปซิฟิค ด้วยสภาพภูมิประเทศส่วนมากในแปซิฟิคเป็นป่า ยานขนส่งทำการรบในป่าได้ลำบาก และส่วนมากจะรบในป่ามากกว่าที่โล่ง จีงเห็นได้ชัดว่าญี่ปุ่นไม่ค่อยใช้รถถังในภูมิภาคนี้มากสักเท่าไหร่ การต่อสู้กับรถถังอเมริกัน ญี่ปุ่นเห็นควรว่าน่าจะใช้ปืนยิงใหญ่ยิงใส่มากกว่าใช้รถถังเข้าสู้ เพราะรถถังญี่ปุ่นสู้ไม่ได้ และจำนวนยังน้อยกว่า เหล็กส่วนมากมักนำไปผลิตเครื่องบินกับเรือเสียส่วนมาก แต่ก็เหมาะสมต่อกองทัพญี่ปุ่นอยู่แล้ว",
"title": "เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง"
},
{
"docid": "163253#31",
"text": "ในพ.ศ. 2420 โชซ็อนส่งทูตไปเยี่ยมชมการปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตกของญี่ปุ่น และทูตก็ได้พบว่าญี่ปุ่นนั้นเจริญก้าวหน้าเมืองต่าง ๆ กลายเป็นเมืองใหญ่ มเหสีมินจึงทรงตระหนักว่าประเทศของพระองค์นั้นล้าสมัยเพียงใดและต้องการการพัฒนาประเทศ แต่บรรดาขุนนางขงจื๊อของพระองค์ก็แตกเป็นสองฝ่ายคือ ฝ่ายหัวก้าวหน้า ที่เห็นชอบกับการรับวิทยาการตะวันตกเข้ามาอย่างเต็มที่ และตัดความสัมพันธ์กับจีน และฝ่ายซาแด คือ ฝ่ายที่เห็นตัวอย่างจากราชวงศ์ชิงแล้วว่า ชาวตะวันตกคือภัยคุกคาม ไม่ควรข้องแวะ แต่ภายใต้อำนาจของมเหสีมิน วิทยาการตะวันตกก็เข้าสู่โชซ็อนอย่างเต็มตัว",
"title": "ราชวงศ์โชซ็อน"
},
{
"docid": "82843#3",
"text": "ภายในอุทยานจะพบนกได้อย่างน้อย 175 ชนิด โดยเป็นนกประจำถิ่นอย่างน้อย 122 ชนิด เช่น นกยางทะเล เหยี่ยวแดง นกกระแตแต้แว้ดหรือนกต้อยตีวิด นกอพยพที่ไม่ได้มาผสมพันธุ์ประมาณ 60 ชนิด เช่น นกปากแอ่นหางลาย นกสติ๊นท์คอแดง นกเด้าดิน นกนางนวลแกลบธรรมดา และนกอพยพตามฤดูกาล 12 ชนิด เช่น เหยี่ยวนกเขาพันธุ์จีน เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น นกจาบคาหัวเขียว นกจับแมลงสีฟ้าท้องขาว ในจำนวนนี้มีนกชนิดหนึ่งที่ถูกจัดให้เป็นสายพันธุ์ที่ถูกคุกคามระดับนานาชาติ คือ นกหัวโตมลายู ซึ่งจัดเป็นนกชนิดหนึ่งในสองชนิดของนกที่พบในเขตอุทยานที่ใกล้สูญพันธุ์ไปจากประเทศไทยด้วย โดยอีกชนิดหนึ่งคือ นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่ ส่วนนกที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการถูกคุกคาม มีอยู่ชนิดหนึ่งที่พบได้ในเขตอุทยาน คือ นกกระเต็นใหญ่ปีกสีน้ำตาล และมีนกอีก 2 ชนิดที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการถูกคุกคาม คือ นกออก และนกเงือกกรามช้าง",
"title": "อุทยานแห่งชาติแหลมสน"
},
{
"docid": "2417#40",
"text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงดุลอำนาจโลกอย่างรวดเร็วร่วมกับโลกาภิวัตน์ สิ่งแวดล้อมความมั่นคงรอบประเทศญี่ปุ่นทวีความรุนแรงมากขึ้นอันสังเกตได้จากการพัฒนานิวเคลียร์และขีปนาวุธของประเทศเกาหลีเหนือ ภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งมีเหตุจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมทั้งการก่อการร้ายระหว่างประเทศและการโจมตีไซเบอร์ก็เพิ่มความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ประเทศญี่ปุ่นรวมทั้งกองกำลังป้องกันตนเองได้เข้ามีส่วนร่วมอย่างถึงที่สุดในความพยายามธำรงและฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ",
"title": "ประเทศญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "357548#28",
"text": "ในจักรวรรดิจีน ราชวงศ์ต่างๆ ผลัดกันขึ้นมาปกครองดินแดนแถบนี้ หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และสิ้นสุดลงของยุคสามก๊ก ชนเผ่าเร่ร่อนทางตอนเหนือเริ่มคุกคามจีนในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ยึดจีนตอนเหนือบางส่วนและสร้างเป็นอาณาจักรเล็กๆ หลายอาณาจักร ราชวงศ์สุยรวมจีนขึ้นมาใหม่อีกครั้งในปี 581 และภายใต้การปกครองของราชวงศ์ถัง (618-907) จักรวรรดิจีนก้าวเข้าสู่ยุคทองเป็นครั้งที่สอง แต่ราชวงศ์ถังก็ล่มสลายนำไปสู่ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ราชวงศ์ซ่งก็รวมจีนอีกครั้งในปี 982 แต่โดยแรงกดดันจากชนเผ่าเร่ร่อนทางตอนเหนือ ตอนเหนือของจีนจึงตกเป็นของชนเผ่าแมนจูในปี 1141 และจักรวรรดิมองโกลเข้าครองครองประเทศจีนทั้งประเทศในปี 1279 รวมผืนแผ่นดินยูเรเชียเกือบทั้งหมด ยกเว้นก็แต่ยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก เอเชียใต้ส่วนใหญ่ และเกาะญี่ปุ่น",
"title": "ประวัติศาสตร์โลก"
},
{
"docid": "316569#2",
"text": "จุดที่ฟรัมชี้ให้เห็นในหนังสือของเขาคือประโยคที่โดนมองข้ามบ่อยๆในสุนทรพจน์ของโรสเวลต์ในส่วน \"...เราจะไม่เพียงแต่ปกป้องตัวเองอย่างสุดกำลังแต่เราจะทำให้แน่ใจว่าภัยคุกคามนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อเราอีกครั้ง\" ฟรัมแปลความหมายของคำปราศรัยของโรสเวลต์ดังนี้: \"สำหรับโรสเวลต์ เหตุการณ์ที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ไม่ใช่เป็นเพียงการโจมตีเท่านั้น มันยังเป็นการเตือนต่ออนาคตถึงการโจมตีที่รุนแรงจากประเทศอื่น หรือแม้แต่ศัตรูที่เป็นอันตราย\" ประเทศญี่ปุ่น ประเทศที่มีปริมาตรอุตสาหกรรมแค่หนึ่งในสิบของอเมริกา ต้องพึ่งพาการนำเข้าอาหาร และกำลังทำสงครามกับประเทศจีน ได้เสี่ยงเข้าโจมตีสหรัฐอเมริกา ความเสี่ยง \"ที่ทำให้ฝ่ายอักษะคุกคามต่อสันติภาพของโลก\" ฟรัมกล่าว สงครามสองสงครามกับประเทศอิหร่านและคูเวตของซัดดัม ฮุสเซนเป็นความเสียง ฟรัมเชื่อและแสดงว่าจะเป็นภัยคุกคามสันติภาพของโลกเช่นกัน",
"title": "แกนแห่งความชั่วร้าย"
},
{
"docid": "23110#62",
"text": "หลังการปฏิรูปเมจิในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ญี่ปุ่นได้พัฒนาประเทศจนเจริญทัดเทียมกับตะวันตกและเริ่มขยายอำนาจออกนอกประเทศ โดยมีเป้าหมายที่แผ่นดินจีนอันกว้างใหญ่ ญี่ปุ่นเริ่มการคุกคามจีนด้วยการนำกองทัพบุกยึดครองเกาหลีซึ่งเป็นประเทศราชของจีนเพื่อหวังเป็นเส้นทางเข้าสู่จีน ปี พ.ศ. 2437 (ค.ศ. 1894) รัชศกกวงซี่ ปีที่ 20 เกาหลีเกิดจลาจลกลุ่มภูมิปัญญาตะวันออก (ตงเสวียตั่ง) ขึ้น จึงร้องขอให้จีนช่วยเหลือ จีนส่งกองทัพไปตามคำขอ ส่วนญี่ปุ่นส่งกองทัพเรือไปยึดครองเกาหลีและโจมตีทหารจีนอันเป็นการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ กองทหารชิงพ่ายแพ้ ญี่ปุ่นยังรุกต่อเนื่องทำให้ราชสำนักชิงหวั่นเกรงความเข้มแข็งของกองทัพญี่ปุ่น ราชสำนักชิงจึงรีบขอเจรจาสงบศึกก่อน ในปี ค.ศ. 1895 ได้เกิดสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ อันเป็นสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม มีการลงนามระหว่างขุนนางราชสำนักชิง หลี่ หงจางกับนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น อิโต ฮิโระบุมิ ความสูญเสียของจีนคือ ยกเกาหลี ไต้หวัน, คาบสมุทรเหลียวตงให้ญี่ปุ่น ใช้เงินค่าปฏิกรรมสงครามนับสองร้อยล้านตำลึง อนุญาตให้ญี่ปุ่นตั้งโรงงานตามเมืองท่าของจีนได้",
"title": "ราชวงศ์ชิง"
},
{
"docid": "619359#2",
"text": "รัฐบาลกลางของจีนหรือรัฐบาลเป่ยหยางเป็นรัฐบาลทหารที่ยุ่งอยู่กับกาปราบปรามกิจการภายในและไม่ค่อยมีประสิทธิภาพในการตอบโต้การคุกคามจากอิทธิพลที่เกิดขึ้นจากต่างประเทศ\nแม้แท้ที่จริงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งนี้มีสนามรบหลักอยู่ที่ฟากตะวันตกของโลก จีนในขณะนั้นเป็นเพียงคนป่วยแห่งเอเชียที่ยังไม่ฟื้นไข้ บ้านเมืองแตกแยกภายในและชาติถูกรุมทึ้ง แผ่นดินจีนฝั่งติดชายทะเลเต็มไปด้วยเขตเช่า ซึ่งก็คือเขตอิทธิพลของมหาอำนาจหลากหลาย จีนเพิ่งปฏิวัติล้มล้างราชวงศ์ชิงสำเร็จ แต่ตามมาด้วยความวุ่นวาย ขุนศึกแต่ละท้องที่ไม่ยี่หระต่อรัฐบาลกลาง ด้านจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ไกลจากสนามรบหลัก แต่ก็ขอเข้าร่วมในฝ่ายสัมพันธมิตร ญี่ปุ่นซึ่งกำลังประสบความสำเร็จในการขยายอำนาจและดินแดน สามารถใช้จังหวะนี้ขยายอำนาจในเอเชีย จังหวะที่จีนยังลังเลว่าจะเข้าร่วมสงครามหรือไม่ ญี่ปุ่นอาศัยชื่อกองทัพสัมพันธมิตร ลงทุนลงแรงโจมตีกองทัพจักรวรรดิเยอรมันซึ่งครอบครองดินแดนมณฑลซานตงส่วนหนึ่งของจีนซึ่งในขณะนั้นตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมัน ญี่ปุ่นคาดหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะได้แผ่นดินติดปลายนวม-ญี่ปุ่นวางแผนสร้างเขตอิทธิพลในจีนแทนที่เยอรมัน\nสำหรับความร่วมมือจากจีน ญี่ปุ่นก็ต้องการเช่นกันจึงวางแผนหลอกล่อจีน โดยร่วมชักจูงขุนพลต้วนฉีรุ่ย ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีของจีนในขณะนั้นให้เข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร ช่วงนั้นญี่ปุ่นยังให้รัฐบาลต้วนฉีรุ่ยยืมเงินกู้ 145 ล้านเยน แบบลับๆ ในนามสัญญาเงินกู้ Nishihara Loans ",
"title": "ขบวนการ 4 พฤษภาคม"
},
{
"docid": "558879#9",
"text": "สาเหตุที่ก่อให้เกิดการโค่นล้มอำนาจครั้งนี้น่าจะมาจากความเสื่อมโทรมของสภาพสังคมจีน ชาวจีนอยู่ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์ชิง ชนกลุ่มน้อยเผ่าแมนจูซึ่งได้ให้อภิสิทธิ์แก่เฉพาะชาวแมนจูและกดขี่ชาวจีนฮั่น อีกทั้งราชวงศ์ชิงไม่มีอำนาจกำลังพอที่จะปกครองประเทศได้ ซึ่งตลอดระยะเวลาปกครอง 268 ปี (ค.ศ. 1644–1912) มีแต่การแย่งชิงอำนาจในหมู่ผู้นำราชวงศ์ ด้วยเหตุนี้ราษฎรส่วนมากจึงตกอยู่ในสภาพยากจน ชาวไร่ชาวนาถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก ถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าของที่ดิน ชาวต่างชาติเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ แผ่นดินจีนถูกคุกคามจากเหล่าประเทศลัทธิล่าอาณานิคม[4] โดยเฉพาะชาติมหาอำนาจตะวันตก และญี่ปุ่น จีนได้ทำสงครามต่อต้านการรุกรานของกองกำลังต่างชาติเป็นฝ่ายแพ้มาโดยตลอด ทำให้ราษฎรหมดความเชื่อถือต่อราชวงศ์ชิงเป็นอย่างมากนำไปสู่การต่อต้านระบอบการปกครองของราชวงศ์แมนจู",
"title": "สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)"
},
{
"docid": "105582#2",
"text": "ประเทศไทยได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 2 ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2484 และ สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2488 ซึ่งได้รับความบอบซ้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นเดียวกับประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ เศรษฐกิจและการทหารก็นับว่าอยู่ในระยะที่จะต้องปรับปรุงทั้งสิ้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 ปรากฏว่าสถานการณ์รอบ ๆ ประเทศไทยและในภาคพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เริ่มตั้งเค้าแห่งความไม่สงบขึ้น เพราะการใช้สงครามบ่อนทำลายของฝ่ายคอมมิวนิสต์มีสิ่งบอกเหตุว่าภยันตรายอาจจะเกิดขึ้นกับประเทศไทยได้ ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยสู้รบระหว่างฝ่ายเวียตมินต์หรือฝ่ายเวียดนามคอมมิวนิสต์กับฝรั่งเศสมีการแทรกซึมของฝ่ายเวียตมินห์เข้าสู่ประเทศลาวและประเทศเขมร ประเทศไทยอยู่ในฐานะที่ถูกคุกคามได้ตลอดเวลา ทางด้านภาคเหนือของประเทศไทยได้มีการสู้รบกับระหว่างกองทัพของประเทศพม่ากับกองทหารจีนชาติ(ก๊กมินตั๋ง) ที่ถูกคอมมิวนิสต์ตีถอยร่นลงมาทางใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 และได้เข้าอยู่ในพื้นที่ของบ้านตูมและบ้านญวนในเขตแดนพม่าตรงข้ามกับอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่และพื้นที่อื่น ๆ ตรงข้ามกับจังหวัดเชียงรายและแม่ฮ่องสอน นอกจากนั้นกองทัพพม่ายังต่อสู้กับกะเหรี่ยงและไทยใหญ่ ที่เรียกร้องสิทธิในการปกครองตนเอง ซึ่งอยู่ติดกับทางทิศตะวันตกและทิศเหนือของไทยอีกด้วยทางด้านภาคใต้โจรจีนคอมมิวนิสต์ได้ใช้พื้นที่บริเวณชายแดนไทย - มาเลเซีย เป็นฐานทำการต่อสู้กับรัฐบาลของอังกฤษและรัฐบาลมาเลเซีย ประเทศไทยจึงอยู่ในภาวะที่จะต้องระมัดระวังอย่างยิ่งเพราะภัยที่ยังมองไม่เห็นกำลังคุกคามประเทศรอบด้านในขณะที่เหตุการณ์ภายนอกประเทศมีแนวโน้มซึ่งแสดงการคุกคามต่อประเทศไทยขณะเดียวกันเหตุการณ์ภายในประเทศก็เกิดขึ้นอีกโดยปฏิกิริยาของชาวญวนอพยพในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่น จังหวัดหนองคาย และจังหวัดอุบลราชธานี",
"title": "ตำรวจตระเวนชายแดน"
},
{
"docid": "934202#0",
"text": "วลีคำว่า \"ขี้โรคแห่งเอเชีย\" หรือ \"คนป่วยแห่งเอเชีย\" () เป็นคำใช้เรียกประเทศจีนอย่างดูถูกดูแคลนในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อประเทศจีนได้ตกอยู่ในสภาพอ่อนแอถูกรุกรานและถูกขูดรีดเอาเปรียบจากเหล่าประเทศมหาอำนาจชาติตะวันตกและญี่ปุ่น ที่ใช้ลัทธิล่าอาณานิคมหรือจักรวรรดินิยมมาคุกคาม เริ่มตั้งแต่เหตุการณ์สงครามฝิ่นกับจักรวรรดิอังกฤษทำให้ประเทศจีนต้องถูกบังคับให้ลงนามในสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ความรู้สึกต่ำต้อยและอัปยศอดสูของชาวจีนปิดท้ายจนถึงขีดสุดเมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกรานประเทศจีนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง",
"title": "ขี้โรคแห่งเอเชีย"
},
{
"docid": "52791#11",
"text": "ในปี ค.ศ. 1901 การปกครองของราชวงศ์ชิงได้ประสบแต่ความเหลวแหลกมาโดยตลอด ราชสำนักต้องพบภัยล่าอาณานิคมจากประเทศอังกฤษ ราชสำนักเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามฝิ่นจนถึงภายใต้พระนางซูสีไทเฮา การปกครองยังคงล้มเหลวต่อเนื่อง พระนางไม่สามารถปกป้องประเทศจากการคุกคามจากชาติตะวันตกและญี่ปุ่นที่เริ่มเข้ามาล่าอาณานิคมและยึดครองประเทศจีนเช่นกัน เจียงจึงเริ่มมีแนวคิดอุดมการณ์ที่จะให้ประเทศจีนปกครองโดยชาวจีนและกอบกู้ฟื้นฟูประเทศขึ้น",
"title": "เจียง ไคเชก"
},
{
"docid": "68752#6",
"text": "การเปิดประเทศทำให้ราชสำนักเกาหลี โดยเฉพาะพระมเหสีมิน ได้มีโอกาสรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก การคุกคามจากชาติตะวันตก และเทคโนโลที่ทันสมัย พระมเหสีมินทรงตระหนักว่าอาณาจักรโชซอนจะอยู่รอดได้ต้องมีการพัฒนาปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยโดยการดูตัวอย่างจากญี่ปุ่น แต่ในทางการเมืองเนื่องจากทรงเห็นว่าญี่ปุ่นเป็นภัยคุกคามและอาณาจักรโชซอนเป็นประเทศราชของจักรวรรดิจีนมาช้านาน จึงทรงมีนโยบายสานความสัมพันธ์กับราชสำนักราชวงศ์ชิงอย่างแน่นแฟ้นเพื่อเป็นคานอำนาจกับอิทธิพลของญี่ปุ่นในเกาหลี การพัฒนาอย่างแรกคือการปรับปรุงกองกำลังทหารและกองทัพให้มีอาวุธที่ทันสมัย และได้รับการฝึกหัดอย่างตะวันตก โดยพระมเหสีมินทรงให้มินกยอมโฮ (Korean: 민겸호 閔謙鎬) ผู้เป็นพระเชษฐาบุญธรรมเป็นแกนนำในการปรับปรุงกองกำลังทหาร และได้รับความช่วยเหลือจากญี่ปุ่นในการจัดตั้งกองกำลังพิเศษซึ่งติดอาวุธแบบใหม่ อย่างไรก็ตามสิ่งนี้สร้างความไม่พอใจแก่ทหารกลุ่มดั้งเดิมที่ไม่ได้รับการพัฒนา และเนื่องจากราชสำนักโชซอนมีนโยบายต่อทหารสองกลุ่มนี้อย่างไม่เท่าเทียม ทหารกลุ่มเก่าจึงก่อการกบฏขึ้นในค.ศ. 1882 เรียกว่า กบฏปีอีโม (Korean: 임오군란) กองกำลังทหารกลุ่มเก่าเข้าบุกยึดพระราชวังคย็องบกเข้าทำการสังหารทหารกลุ่มใหม่ รวมทั้งมินกยอมโฮและชาวญี่ปุ่นจำนวนหนึ่ง เป็นเหตุให้พระเจ้าโคจงและพระมเหสีมินต้องเสด็จหลบหนีออกจากพระราชวังไปยังเมืองชองจู จังหวัดชุงช็องเหนือในปัจจุบัน กลุ่มทหารกบฏยกเจ้าชายแทวอนให้กลับขึ้นมามีอำนาจอีกครั้ง แต่ทว่าทางฝ่ายราชวงศ์ชิงได้เข้าช่วยเหลือพระมเหสีมินโดยการส่งกองทัพจำนวน 4,500 นำโดยหลี่หงจาง (จีน: 李鴻章 Lǐ Hóngzhāng) เข้ามายังโซลเพื่อทำการปราบกบฏลงได้สำเร็จ จับองค์เจ้าชายแทวอนกลับไปยังเมืองเทียนจิน พระมเหสีมินพร้อมพระสวามีจึงเสด็จนิวัติพระราชวังได้ในที่สุด",
"title": "จักรพรรดินีมย็องซ็อง"
},
{
"docid": "153970#2",
"text": "แต่จักรวรรดิรัสเซียเห็นว่าการขยายอำนาจในตะวันออกไกลของญี่ปุ่นจะเป็นภัย ด้วยความช่วยเหลือของเยอรมนีและฝรั่งเศส การบังคับยึดเอาพอร์ตอาเธอร์ในคาบสมุทรเหลียวตงมาจากจีนกลายเป็นภัยโดยตรงต่อญี่ปุ่น พระมเหสีมินจายองทรงเป็นผู้นำในการต่อต้านอิทธิพลของญี่ปุ่นในโชซ็อน จึงทรงถูกทหารญี่ปุ่นลอบสังหารในปี พ.ศ. 2438 (ค.ศ. 1895) ทำให้พระเจ้าโกจงทรงหลบหนีไปสถานกงสุลรัสเซีย ญี่ปุ่นเข้าควบคุมการปกครองโชซ็อน ทำการปรับปรุงประเทศต่างๆ ยกเลิกประเพณีเก่าแก่ เช่น ยกเลิกการใช้นามปีนับศักราชแบบจีน และให้ใช้ปฏิทินเกรกอเรียนแทน รวมทั้งการตัดจุกของผู้ชาย ซึ่งขัดกับหลักขงจื้อที่ห้ามตัดผมตลอดชีวิต ทำให้ประชาชนเล็งเห็นถึงภัยจากต่างชาติที่กำลังคุกคามโชซ็อน อย่างหนัก จึงรวมตัวกันเป็นสมาคมเอกราช รบเร้าให้พระเจ้าโกจงทรงกลับมาต่อต้านอิทธิพลของญี่ปุ่น ",
"title": "จักรวรรดิเกาหลี"
},
{
"docid": "529157#2",
"text": "จากนั้น สหรัฐอเมริกาแถลงตอบโต้การกระทำของเกาหลีเหนือทันที คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้อนุมัติบทลงโทษใหม่กับเกาหลีเหนือในการปกปิดการทดสอบขีปนาวุธ เหตุการณ์นี้ได้สร้างความวิตกเป็นอย่างมากสื่อหลายสำนักทั่วโลกรวมทั้งจีน รัสเซีย และญี่ปุ่นได้รายงานข่าวว่าเกาหลีเหนือได้เข้าร่วมกลุ่มประเทศที่สามารถผลิตและส่งดาวเทียมในโลก กองบัญชาการป้องกันห้วงอากาศ-อวกาศอเมริกาเหนือ (North American Aerospace Defense Command) รายงานว่าทั้งดาวเทียมและชิ้นส่วนที่ลอยอยู่บนอวกาศ \"\"มิได้เป็นปัจจัยคุกคามความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา\"\"",
"title": "วิกฤตเกาหลี พ.ศ. 2556"
},
{
"docid": "198571#5",
"text": "ช่วงทศวรรษสุดท้ายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ ไดเมียวผู้มีชื่อเสียงสามารถรวบรวมญี่ปุ่นให้เป็นปึกแผ่นได้อีกครั้ง นับแต่ที่เขาได้ตำแหน่งไทโค (มหาเสนาบดี/พระอาจารย์) มา เขาพยายามเพิ่มพูนอำนาจทางทหารของเขา เพื่อลดการพึ่งพาพระราชอำนาจอันมาจากพระราชวงศ์ นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวกันว่า เขาวางแผนการรุกรานจีนในครั้งนี้ เพื่อเป็นสานต่อความฝันของนายเก่าของเขา โอะดะ โนะบุนะงะ และเพื่อกำจัดภัยคุกคามที่เป็นไปได้จากความไม่สงบภายใน และการก่อการกบฏเนื่องจากปรากฏว่ามีจำนวนทหารและซามูไรมากเกินไป\nแต่ก็มีความเป็นไปได้เช่นกันว่าแท้จริงแล้ว ฮิเดะโยะชิอาจมุ่งเพียงแต่การยึดครองรัฐเพื่อนบ้านขนาดเล็กที่อยู่ใกล้เคียง อย่างเช่น หมู่เกาะรีวกีว เกาะลูซอน ไต้หวัน และประเทศเกาหลี ในขณะที่พยายามจะรักษาความสัมพันธ์ทางการค้ากับรัฐที่มีขนาดใหญ่และรัฐที่อยู่ห่างไกล โดยสังเกตได้จากว่าในช่วงระหว่างสงคราม ฮิเดะโยะชิเรียกร้องจีนให้มีการทำสนธิสัญญาการค้าระหว่างจีนกับญี่ปุ่น และเมื่อพิจารณาในระดับระหว่างประเทศแล้ว จากเหตุที่ว่าฮิเดะโยะชิมีไม่มีภูมิหลังอย่างโชกุนเคยมีมา ทำให้เขาต้องการความเหนือกว่าทางทหาร เพื่อแปรสภาพเป็นระบบของญี่ปุ่น และการควบคุมประเทศเพื่อนบ้านให้อยู่ภายใต้อำนาจของญี่ปุ่น นักประวัติศาสตร์ท่านหนึ่งนาม \"เคนเนทท์ สโวป\" ยังได้ตั้งสมมติฐานเอาไว้ว่า แท้จริงแล้วฮิเดะโยะชิเป็นคนจีนที่หนีเงื้อมือกฎหมายจีนไปที่ญี่ปุ่น และพยายามแก้แค้นจีน",
"title": "การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)"
}
] |
1989 | บริษัท อัลฟาโรเมโอ ก่อตั้งขึ้นเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "51528#0",
"text": "อัลฟาโรเมโอ (Alfa Romeo) ในนามบริษัท Alfa Romeo Automobiles S.p.A. บางครั้งก็นิยมเรียกชื่อสั้นๆเข้าใจง่ายว่า \"อัลฟา\" เป็นผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอิตาลี แห่งเมืองมิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 สร้างชื่อเสียงมาจากการผลิตรถสปอร์ตราคาแพง และการแข่งขันกีฬามอเตอร์สปอร์ต ปัจจุบันอยู่ภายใต้การครอบครองของ FCA Italy S.p.A. ในเครือบริษัท Fiat Chrysler Automobiles, NV",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
}
] | [
{
"docid": "51528#31",
"text": "Alfa Romeo 4C (960)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#7",
"text": "จากนั้นในปี ค.ศ. 1954 เริ่มหันกลับมาผลิตรถเล็กและเครื่องยนต์ Twin Cam ซึ่งล้ำสมัยมากในยุคนั้น หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1986 ก็เริ่มใช้เครื่องยนต์แบบ Twin Spark ที่เป็นเอกลักษณ์จากการใช้หัวเทียนแบบสองหัวต่อหนึ่งสูบ ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1960-1970 นั้น Alfa Romeo ได้ผลิตรถในนามของบริษัท Finmeccanica ซึ่งเป็นเจ้าของโดยรัฐบาลอิตาลี ต่อมาได้ขายบริษัทต่อให้กับบริษัท Fiat Group ในปี ค.ศ. 1986 จากนั้น Fiat Group ได้สร้างกลุ่มบริษัทใหม่ขึ้นมา Alfa Lancia Industriale S.p.A เพื่อที่รถ Alfa Romeo และ Lancia ได้ทำการพัฒนาร่วมกัน และได้รวบรวมความเป็น Alfa Romeo ให้เป็นรถที่มีทั้งสไตล์ที่ดูโฉบเฉี่ยว และความเป็นรถสปอร์ตที่ทันสมัย ตามสโลแกนในปีนั้น \"Cuore Sportivo\" (Sporting Heart)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#33",
"text": "Alfa Romeo Giulia (952)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "544899#0",
"text": "กัมปาญอโล () เป็นบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนจักรยานสัญชาติอิตาลี มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองวีเซนซา แคว้นเวเนโต ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1933 โดยตูลลีโอ กัมปาญอโล ที่เคยเป็นนักกีฬาจักรยานในช่วงทศวรรษ 1920 เขาเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระบบเปลี่ยนเกียร์แบบตีนผี (Derailleur gears) ในช่วงแรก และยังเป็นผู้พัฒนาระบบห้ามล้อแบบดิสก์รายแรกๆ ในรถจักรยานยนต์ และยังเป็นผู้พัฒนาชิ้นส่วนหลายชิ้นให้กับบริษัทรถยนต์สัญชาติอิตาลี ทั้งอัลฟาโรมีโอ เฟอร์รารี ลัมบอร์กินี และมาเซราตี ",
"title": "กัมปาญอโล"
},
{
"docid": "51528#5",
"text": "Henry Ford ผู้ก่อตั้ง Ford ได้เคยพูดคุยกับ Ugo Gobbato วิศวกรของ Alfa Romeo เมื่อปี ค.ศ. 1939 ไว้ว่า \"เมื่อผมเห็น Alfa Romeo ขับผ่านไป ผมจะเปิดหมวก\" ซึ่งหากสวมหมวกอยู่การเปิดหมวก หรือเอามือแตะหมวกเป็นธรรมเนียมของชาวตะวันตกเพื่อแสดงความเคารพและให้เกียรติ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#3",
"text": "อัลฟา 155 มีเครื่องยนต์ให้เลือกทั้งหมด 6 แบบคือ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "51528#34",
"text": "Giulia ตัวแทนของ 159 เปิดตัวต่อสื่อมวลชน ในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 2015 วันครบรอบ 105 ปีของการก่อตั้งบริษัท ที่พิพิธภัณฑ์ของ อัลฟา โรมิโอ (Museo Storico Alfa Romeo) ในอเรเซ่ เมืองมิลาน โดยเปิดตัวด้วยรุ่น Quadrifoglio เครื่องยนต์ V6 ทำมุม 90 องศา ที่ใช้พื้นฐานของเครื่องยนต์ V8 F154 ของ Ferrari โดยมีขนาดความจุ 2.9 ลิตร ไบ-เทอร์โบ ให้กำลังสูงสุด 505 แรงม้า จากนั้นรุ่นปกติเปิดตัวตามออกมาภายหลัง",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#1",
"text": "แต่เดิมบริษัทเริ่มก่อตั้งในนามของ Società Anonima Italiana Darracq (SAID) เมื่อปี ค.ศ. 1906 โดยผู้ผลิตรถยนต์ชาวฝรั่งเศส Alexandre Darracq และผู้ลงทุนชาวอิตาลีส่วนนึง จากนั้นปลายปี ค.ศ. 1909 ยอดขายรถของบริษัทได้มีจำนวนลดลง จึงได้แยกตัวออกมาตั้งบริษัทขึ้นมาใหม่ที่มีชื่อว่า A.L.F.A หรือชื่อเต็มว่า Anonima Lombarda Fabbrica Automobili และยังคงเป็นหุ้นส่วนอยู่กับบริษัทเก่า Darracq จากนั้นได้ผลิตรถคันแรกออกมาคือรถ A.L.F.A 24 HP ในปี ค.ศ. 1910 ซึ่งออกแบบโดย Giuseppe Merosi หัวหน้าวิศวกรของบริษัท A.L.F.A มีจุดประสงค์เพื่อไว้ใช้ลงสนามแข่งในรายการ Targa Florio 1911",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#2",
"text": "อัลฟาโรเมโอ 155 ออกขายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1992 โดยออกมาแทนรุ่น อัลฟา 75 เป็นรถสปอร์ตซีดานขนาดกลาง ขับเคลื่อนล้อหน้า อัลฟา 155 เป็นอัลฟารุ่นสุดท้ายที่ยังใช้เครื่องยนต์สี่สูบเรียง-แปดวาล์ว-ทวินโอเวอร์เฮดแคมชาฟท์- พร้อม ที่ทำจากอลูมินั่มอัลลอยด์ทั้งลูกของอัลฟาแท้ๆ ที่ได้รับการพัฒนามาจากเครื่องยนต์ที่ใช้อยู่ในรุ่นจูเลียตต้าในปี ค.ศ. 1955",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "51528#27",
"text": "Alfa Romeo MiTo (955)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#7",
"text": "อัลฟา 155 ยังชนะในการแข่งขันระดับนานาชาติอีกหลายรายการเช่น",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "51528#2",
"text": "จากนั้นในปี ค.ศ. 1915 บริษัทได้อยู่ภายใต้การปกครองของผู้บริหารและวิศวกรคนใหม่ Nicola Romeo ผู้ที่เปลี่ยนแปลงบริษัทให้หันมาผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ของทหารอิตาลีและพันธมิตรในช่วงสงครามโลก ต่อมาเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น Alfa Romeo และได้เปิดตัวรถรุ่น Torpedo 20-30 HP ซึ่งรถรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกที่ได้ใช้ชื่อของ Alfa Romeo อย่างเป็นทางการ โดยพัฒนามาจากรถรุ่นที่แรกที่ผลิตในปี 1910 ซึ่งในช่วงนี้บริษัทมีกระแสตอบรับที่ดีมาก",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#4",
"text": "ในปีค.ศ. 1995 อัลฟาได้ทำการปรับปรุงโฉมและเครื่องยนต์ของ อัลฟา 155 ใหม่ และเรียกชื่อใหม่ว่า อัลฟาโรเมโอ 155 ซุปเปอร์ (Alfa Romeo 155 Super)โดยขยายฐานล้อให้กว้างขึ้นเพื่อการเกาะถนนที่ดีขึ้น มีการตีโป่งที่ซุ้มล้อทั้งสี่ล้อ รวมทั้งมีการเปลี่ยนเครื่องยนต์เบนซินสี่สูบใหม่ทั้งหมด โดยหันมาใช้บล็อกเครื่องยนต์เหล็กหล่อพื้นฐานร่วมกันกับเฟียตแต่ใช้ฝาสูบกอลูมินั่มอัลลอยด์ของอัลฟา นอกจากนั้นอัลฟายังเป็นผู้ปรับแต่งเครื่องยนต์เองร่วมกับการใช้ระบบมัลติวาล์ว ร่วมกับทวินโอเวอร์เฮดแคมชาฟท์-ทวินสปาร์ก พร้อมระบบวาล์วแปรผัน ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "185460#0",
"text": "พินินฟารินา เอส.พี.เอ. \"(Pininfarina S.p.A.)\" เดิมชื่อว่า คาร์รอซเซอเรีย พินินฟารินา \"(Carrozzeria Pininfarina)\" เป็นสำนักออกแบบยานยนต์สัญชาติอิตาลีที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) โดย บาตติสตา \"พินิน\" ฟารินา นักออกแบบและผู้สร้างรถยนต์ชาวอิตาลี มีผลงานออกแบบรถยนต์ให้กับบริษัทผู้ผลิตหลายราย เช่น เฟอร์รารี มาเซราติ คาดิลแลค เปอร์โย จากัวร์ วอลโว อัลฟาโรมีโอ ลันซิอา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองคัมบิอาโน ใกล้กับเมืองตูริน",
"title": "พินินฟารินา"
},
{
"docid": "51528#37",
"text": "หมวดหมู่:บริษัทรถยนต์ หมวดหมู่:ยี่ห้อรถยนต์ หมวดหมู่:บริษัทของอิตาลี หมวดหมู่:เฟียต",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#12",
"text": "ทางด้านวงการรถแข่ง Alfa Romeo มีชื่อเสียงโดยประสบความสำเร็จในการแข่งขันในมากมายหลายๆด้านในวงการ รวมถึง Grand Prix motor racing, Formula One, Sports car racing และ Rally Racing โดยเริ่มต้นประเดิมสนามในปี ค.ศ. 1911 ในนาม A.L.F.A. หลังจากที่ก่อตั้งบริษัทได้เพียงแค่ปีเดียวเท่านั้น และเริ่มประสบความสำเร็จภายในสองปีต่อจากนั้น ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1929 ได้มีทีมแข่งเฉพาะกิจเป็นของตนเองชื่อว่า Alfa Corse และทีมที่ Enzo Ferrari หลังจากสมัยที่เขาทำงาน และเป็นนักแข่งรถให้กับ Alfa Romeo นั่นคือทีมที่มีชื่อว่า Scuderia Ferrari (ทีมแข่งของรถ Ferrari ในปัจจุบัน) ซึ่งก่อตั้งในปีเดียวกัน โดยในยุคแรกๆทีมของ Ferrari นั้นก่อตั้งเพื่อเป็นทีมแข่งโดยใช้รถ Alfa Romeo โดยเฉพาะ โดยในยุคต่อมาหลังจากที่ Ferrari ทำรถยนต์เป็นของตนเอง Alfa Romeo ก็มีทีมงานสำหรับการแข่งขันโดยเฉพาะอีกหนึ่งทีมโดยใช้ชื่อว่า Auto-Delta ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961 โดย Alfa Romeo นั้นสามารถคว้าชัย World championship for Grand Prix ในปี ค.ศ. 1925 แชมป์รายการ World Championships 5 สมัย แชมป์ 24 Hours Le Mans 4 สมัย และรายการอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่ง Alfa Romeo ได้สร้างชื่อเสียงที่ดีในวงการมอเตอร์สปอร์ตมาตลอด อาจกล่าวได้ว่าไม่มีการแข่งรถประเภทใดในทวีปยุโรปที่ Alfa Romeo ลงแข่งขันแล้วไม่เคยชนะ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#0",
"text": "อัลฟาโรเมโอ 155 () เป็นรถซีดานขนาดครอบครัวที่ออกขายเพื่อแข่งขันในตลาดรถครอบครัวระดับบน โดยมีคู่แข่งคือ Audi A4, BMW 3 Series, Lancia Dedra, Mercedes Benz C-Class, Saab 900, Volvo 850 ฯลฯ มีจุดเด่นคือ รูปทรงที่ดูสปอร์ตและถูกหลักอากาศพลศาสตร์กว่ารถอื่นๆ (ด้วยการออกแบบทรงลิ่มที่ดูดุดันและมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานอากาศ หรือ Cd เพียง 0.29) มีสมรรถนะที่ดีเยี่ยมจากเครื่องยนต์ การบังคับควบคุม การเกาะถนนและระบบเบรกที่ดีเลิศ มีอัตราการประหยัดน้ำมันที่ดี มีห้องโดยสารภายในกว้างขวางพอสมควร (สามารถนั่งได้ 5 คนโดยไม่อึดอัด) มีท้ายรถที่บรรจุของใหญ่ (500 ลิตร)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "51528#9",
"text": "อัลฟ่า โรมิโอ มีสโลแกนปัจจุบันคือ La Meccanica Delle Emozioni ในภาษาอิตาลี หรือ The Mechanics of Emotions ในภาษาอังกฤษ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#6",
"text": "สำหรับรุ่นพิเศษของอัลฟา 155 ที่มีขายจะมีอยู่ 2 รุ่นคือ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "291227#0",
"text": "เฟอร์รารี่ () เป็นบริษัทผลิตรถสปอร์ตจากเมืองมาราเนลโล ประเทศอิตาลี ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1929 มีเอ็นโซ เฟอร์รารี่เป็นผู้ก่อตั้ง โดยมีจุดเริ่มต้นจากการเป็นทีมแข่งรถของอัลฟาโรเมโอ โดยใช้ชื่อว่า \"สคูเดอเรีย เฟอร์รารี่\" (Scuderia Ferrari) ซึ่งในตอนที่ทำงานอยู่กับอัลฟาโรเมโอนั้น เอ็นโซเองก็เป็นทั้งวิศวกรและนักแข่งรถด้วย จนมาในปี ค.ศ. 1947 รถยนต์ในนามของเฟอร์รารี่รุ่นแรกจึงถือกำเนิดขึ้น คือรุ่น 125 เอส เฟอร์รารี่ได้เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตรถสปอร์ตชื่อดังที่ประสบความสำเร็จ และมีการจำหน่ายไปทั่วโลก มีสีที่เป็นเอกลักษณ์ คือสีแดง (Rosso Corsa) ซึ่งเป็นของรถแข่งอิตาลี เฟอร์รารี่ ถือเป็นค่ายรถที่ประสบความสำเร็จในกีฬาฟอร์มูล่าวันมากที่สุด",
"title": "เฟอร์รารี่"
},
{
"docid": "54149#3",
"text": "ในปี ค.ศ.1993 อัลฟาโรเมโอ ได้ออกรุ่นปรับปรุงใหม่ของ อัลฟา 164 เรียกว่า อัลฟาโรเมโอ 164 ซุปเปอร์ (Alfa Romeo 164 Super) โดยมีการขยายขนาดตัวถังให้ใหญ่ขึ้น เปลี่ยนลักษณะกันชน กาบข้างประตู และไฟหน้า ให้ดูทันสมัยมากขึ้น ส่วนที่สำคัญที่สุดคือ อัลฟาได้เปลี่ยนเครื่องยนต์ 3.0V6 เป็นแบบ ดับเบิ้ลโอเวอร์เฮดแคมชาฟท์ร่วมกับระบบมัลติวาล์ว นอกจากนั้นสำหรับรุ่นสูงสุดคือ อัลฟา 164Q4 ยังมีระบบขับเคลื่อน 4 ล้อแบบตลอดเวลา รวมทั้งมีระบบช่วงล่างพิเศษแบบ Active Suspension ที่พัฒนาร่วมกับ โคนี่ ซึ่งระบบนี้จะสามารถปรับช่วงล่างของรถให้เข้ากับความเร็วและสภาพการขับขี่ ทำให้มีการเกาะถนนและทรงตัวที่ดีขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยในรุ่น 3.0 V6-24Valve เป็นรุ่นเดียวที่มีการติดตั้งเกียร์อัตโนมัติให้เลือกเป็นอุปกรณ์เสริม",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 164"
},
{
"docid": "51528#35",
"text": "Alfa Romeo Stelvio (949)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54140#5",
"text": "อัลฟาโรเมโอ 155 ซุปเปอร์มีเครื่องยนต์ให้เลือกทั้งหมด 7 แบบคือ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 155"
},
{
"docid": "51528#29",
"text": "Alfa Romeo Giulietta (940)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#8",
"text": "จากนั้นในปี ค.ศ. 2007 บริษัท Fiat Group S.p.A. (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น FCA Italy S.p.A.) ได้ก่อตั้งบริษัทใหม่อีก 4 บริษัท คือ Fiat Automobiles S.p.A., Alfa Romeo Automobiles S.p.A., Lancia Automobiles S.p.A. และ Fiat Light Commercial Vehicles S.p.A. (ปัจจุบันชื่อว่า Fiat Professional S.p.A.)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "54145#0",
"text": "อัลฟาโรเมโอ จูเลียตต้า นูโอวา () เป็นรถสปอร์ตซีดานขนาดกลาง ออกแบบโดยจอรเก็ตโต จูจาโร เป็นรถรุ่นแรกๆในโลกที่หันมาออกแบบโดยใช้ทรงลิ่ม ออกขายเมื่อปี 1978 ใช้เครื่องยนต์เบนซินสี่สูบเรียง มีให้เลือก 4 ความจุคือ 1.3, 1.6, 1.8 และ 2.0 ลิตร",
"title": "อัลฟาโรเมโอ จูเลียตต้า นูโอวา"
},
{
"docid": "54149#0",
"text": "อัลฟาโรเมโอ 164 (Alfa Romeo 164) ออกขายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 ออกแบบโดย พินินฟารีนา (Pininfarina) เป็นรถขนาดใหญ่รุ่นแรกของอัลฟา นอกจากนั้นยังเป็นรถอัลฟาโรเมโอ รุ่นสุดท้ายที่ออกแบบและผลิตก่อนที่อัลฟาจะถูกเฟียตซื้อกิจการไป ",
"title": "อัลฟาโรเมโอ 164"
},
{
"docid": "51528#26",
"text": "นวนิยายของ Dan Brown เรื่อง Angels & Demons ในการตีพิมพ์ครั้งแรกนั้น โดยสวิสการ์ดทั้งหมดใช้รถซีดานยื่ห้อ อัลฟ่า โรมิโอ (ในนวนิยายนั้นเรียกว่า ' Alpha Romeos' ตลอดทั้งเล่ม)",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "51528#3",
"text": "จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1928 Nicola Romeo ตัดสินใจลาออกจาก Alfa Romeo เนื่องจากบริษัทประสบปัญหาทางการเงินจนไปต่อไม่ไหว จึงขายบริษัทให้กับรัฐบาลอิตาลี จากนั้นก็มีผลประกอบการที่ดีขึ้น และหันมาผลิตรถสำหรับเศรษฐีด้วยรถรุ่น Alfa Romeo 8C 2900 Type 35 ซึ่งทำให้ Alfa Romeo ประสบความสำเร็จที่สุดในยุคนั้น",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
}
] |
2490 | ยาปฏิชีวนะ คืออะไร? | [
{
"docid": "26342#0",
"text": "ยาปฏิชีวนะ (English: Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs)[1] ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย[2][3] โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล[4][5] ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น[6] โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
}
] | [
{
"docid": "26342#24",
"text": "อันตรกิริยาระหว่างแอลกอฮอล์กับยาปฏิชีวนะนั้นอาจพบเกิดขึ้นได้ในบางกรณี โดยอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ในระดับที่เล็กน้อยไปจนถึงระดับที่อันตรายถึงชีวิต หรือในบางครั้งอันตรกิริยานี้อาจส่งผลลดประสิทธิภาพในการรักษาของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆลงได้[85][86] การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณเพียงเล็กน้อยถึงปานกลางนั้นพบว่าไม่มีผลรบกวนการออกฤทธิ์หรือประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะทั่วไป แต่ยาปฏิชีวนะบางกลุ่มนั้น การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร่วมด้วยแม้เพียงในปริมาณเล็กน้อยก็อาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาได้[87] ทั้งนี้ ความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นและประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะที่เปลี่ยนแปลงไปจากสาเหตุข้างต้นนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดและรูปแบบของยาปฏิชีวนะที่ได้รับอยู่ในขณะนั้นด้วย[88]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#27",
"text": "ในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรงบางชนิด เช่น วัณโรค เป็นต้น การรักษาด้วยยาหลายขนาน (การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไป) จะถูกนำมาพิจารณาใช้เพื่อชะลอหรือป้องกันการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อสาเหตุ ในกรณีที่เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียแบบเฉียบพลัน ยาปฏิชีวนะที่เลือกใช้ในการรักษาด้วยยาหลายขนานนี้จะต้องเป็นยาเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกันจะทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่าการใช้ยาปฏิชีวนะเพียงชนิดเดียว[96][97] เช่น ในกรณีการติดเชื้อ Staphylococcus aureus ที่ดื้อต่อเมทิซิลลินนั้น อาจให้การรักษาด้วยกรดฟูซิดิค และไรแฟมพิซินร่วมกัน[96] ในทางตรงกันข้าม ยาปฏิชีวนะบางชนิดนั้นเมื่อถูกนำมาใช้ร่วมกันอาจแสดงคุณสมบัติต้านฤทธิ์ซึ่งกันและกัน และทำให้ผลลัพธ์และประสิทธิภาพในการรักษานั้นต่ำกว่าการใช้ยาปฏิชีวนะชนิดนั้นเพียงชนิดเดียวได้เช่นกัน[96] เช่น คลอแรมเฟนิคอล และเตตราไซคลีน จะต้านฤทธิ์ของยากลุ่มเพนิซิลลิน และอะมิโนไกลโคไซด์ อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีนั้นมีความหลากหลายมากขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อสาเหตุและตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย[98] แต่โดยปกติแล้ว ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) มักออกฤทธิ์ต้านกันกับยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic)[96][97]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#34",
"text": "ความสำคัญทางการแพทย์ของยาต้านจุลชีพ ซึ่งรวมไปถึงยาปฏิชีวนะนั้น ได้นำมาซึ่งการค้นคว้าวิจัยเพื่อคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่อย่างกว้างขวางและเข้มข้น ทำให้เกิดพยายามที่จะพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่สามารถออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อก่อโรคได้เป็นวงกว้างมากขึ้น, มีการปรับเปลี่ยนขนาดภาคการผลิตยาปฏิชีวนะโดยใช้กระบวนการหมักเชื้อในเชิงอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น[149] จากความพยามดังข้างต้นของนักวิจัย ทำให้จำนวนยาปฏิชีวนะที่ถูกค้นพบมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 500 ชนิดในทศวรรษที่ 1960 เป็นมากกว่า 11000 ชนิดในปี ค.ศ. 1994 โดยกว่าร้อยละ 50 ของยาปฏิชีวนะเหล่านี้ได้มาจากการสังเคราะห์ของแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิส[154] ส่วนจุลชีพสายพันธุ์อื่นที่มีความสำคัญในการผลิตยาปฏิชีวนะ ได้แก่ ราเส้นใย และแอคติโนมัยสีทสายพันธุ์อื่นที่นอกเหนือจากสกุลสเตรปโตมัยซิส[155]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#7",
"text": "ความเสี่ยงที่จะเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา ดังนั้น ตราบใดที่ยังมีการใช้ยาปฏิชีวนะในจำนวนที่น้อยที่สุดที่ให้ประสิทธิภาพดีในการรักษา และใช้ยาดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่สั้นที่สุดเท่าที่เป็นได้จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดการดื้อยาของแบคทีเรีย ช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ให้ผลลัพธิ์การรักษาที่ดีกว่าและมีภาวะแทรกซ้อนน้อย .ทำให้ในปัจจุบันมีการใช้สูตรการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะระยะสั้นในผู้ที่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด ได้แก่ โรคปอดอักเสบชุมชน (community-acquired pneumonia; CAP), เยื่อบุช่องท้องอักเสบเองจากแบคทีเรีย (spontaneous bacterial peritonitis; SBP), ผู้ป่วยหนักในหน่วยอภิบาลที่คาดว่าอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียในปอด, กลุ่มอาการที่เข้าได้กับอาการปวดท้องเฉียบพลัน (acute abdominal), หูชั้นกลางอักเสบ, โพรงอากาศอักเสบ และการติดเชอื้แบคทีเรียในช่องคอ (throat infection), และการเจ็บป่วยจากการทะลุของลำไส้ ในบางกรณี การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะสูตรระยะสั้นอาจไม่สามารถรรักษาภาวะการติดเชื้อนั้น ๆ ได้ เช่นเดียวกันกับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะสูตรระยะยาว การศึกษาทางคลินิกที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ของสมาคมการแพทย์อังกฤษ (British Medical Association) พบว่า หากอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแบคทีเรียถูกกำจัดออกไปด้วยการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะแล้ว ควรหยุดการบริหารยาดังกล่าว ณ 72 ชั่วโมงหลังอาการดีขึ้น ทั้งนี้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักมีอาการดีขึ้นก่อนที่เชื้อก่อโรคจะถูกกำจัดออกไปหมด ดังนั้นแพทย์ควรให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยทุกคนที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะให้ตระหนักรู้ถึงการได้รับการรักษาด้วยยาดังกล่าวจนถึงระยะเวลาที่แนะนำในแนวทางการรักษามาตรฐาน นักวิจัยบางคนสนับสนุนให้แพทย์ใช้หลักสูตรยาปฏิชีวนะที่สั้นมากในการรักษา และประเมินผู้ป่วยหลังจากนั้น 2–3 วันและหยุดการรักษาหากไม่มีอาการทางคลินิกที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อแบคทีเรีย",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#45",
"text": "อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีคำมั่นสัญญาที่จะลดหรือยกเลิกการใช้เนื้อสัตว์ที่มีแหล่งที่มาจากฟาร์มที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจากบริษัทผลิตอาหารและภัตตาคารต่างๆหลายแห่งก็ตาม การจำหน่ายยาปฏิชีวนะเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์เพื่อการบริโภคนั้นก็ยังคงมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี[191] ซึ่งชี้ให้เห็นว่ายังมีการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์อยู่เป็นจำนวนมาก โดยในสหรัฐอเมริกา การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่มีสาเหตุมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์นั้นได้เป็นประเด็นที่ได้รับการตั้งข้อสงสัยเป็นอย่างมากจากองค์การอาหารและยามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 โดยในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 สภาป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources Defense Council; NRDC) และกลุ่มรณรงค์ด้านผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อมอีก 5 กลุ่มได้ร่วมกันยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นสหรัฐอเมริกาแห่งเซาท์เทิร์นดิสทริคของรัฐนิวยอร์กให้มีคำสั่งให้องค์การอาหารและยาเพิกถอนการรับรองให้ใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์ ซึ่งการรับรองให้ใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีดังกล่าวนั้นถือว่าองค์การอาหารและยาละเมิดกฏข้อบังคับขององค์กรที่ตั้งไว้ตั้งแต่ ค.ศ. 1977[192]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#21",
"text": "การสัมผัสกับยาปฏิชีวนะในช่วงต้นของชีวิตมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของมวลกายในมนุษย์และหนูทดลอง[74] ทั้งนี้ เนื่องมาจากในช่วงตอนต้นของชีวิตนั้นเป็นช่วงที่มีการสร้างสมจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ และการพัฒนาระบบเมแทบอลิซึมของร่างกาย[75] ในหนูทดลองที่สัมผัสกับยาปฏิชีวนะในระดับที่ต่ำกว่าที่ใช้ในการรักษาโรค (subtherapeutic antibiotic treatment; STAT) ชนิดใดชนืดหนึ่ง ได้แก่ เพนิซิลลิน, แวนโคมัยซิน, หรือ คลอร์เตตราไซคลีน นั้นจะเกิดการรบกวนการสร้างสมจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ รวมไปถึงความสามารถในการเผาผลาญสารอาหารของร่างกาย (metabolism)[76] มีการศึกษาที่พบว่าหนูไมซ์ (mice) ที่ได้รับยาเพนิซิลลินในขนาดต่ำ (1 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 กรัม) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงช่วงหย่านม มีการเพิ่มขึ้นของมวลร่างกายและมวลไขมัน, มีการเจริญเติบโตที่เร็วมากขึ้น, และมีการเพิ่มการแสดงออกของยีนของตับที่เหนี่ยวนำให้เกิดกระบวนการสร้างเซลล์ไขมัน ในอัตราที่มากกว่าหนูตัวอื่นในกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะ[77] นอกจากนี้ การได้รับเพนิซิลลินร่วมกับอาหารที่มีปริมาณไขมันสูงนั้นมีผลเพิ่มระดับอินซูลินขณะที่ท้องว่างในหนูไมซ์[77] อย่างไรก็ตาม ยังไม่เป็นทราบแน่ชัดว่า โดยแท้จริงแล้วยาปฏิชีวนะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคอ้วนในมนุษย์ได้หรือไม่ การศุกษาบางการศึกษาพบการมีสหสัมพันธ์ระหว่างการได้รับยาปฏิชีวนะตั้งแต่ในวัยทารก (อายุ <6 เดือน) กับการเพิ่มขึ้นของมวลกาย (ที่อายุ 10 และ 20 เดือน)[78] อีกการศึกษาหนึ่งพบว่า ชนิดของยาปฏิชีวนะที่ได้รับนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วน โดยผู้ที่ได้รับยากลุ่มแมโครไลด์ จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินสูงกว่าผู้ที่ได้รับยาเพนิซิลลินหรือเซฟาโลสปอรินอย่างมีนัยสำคัญ[79] ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่าการได้รับยาปฏิชีวนะในช่วงวัยทารกนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอ้วนในมนุษย์ แต่ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลในประเด็นดังกล่าวนั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโรคอ้วนกับการได้รับยาปฏิชีวนะก็ตาม การใช้ยาปฏิชีวนะในทารกก็ควรที่จะชั่งน้ำหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับประโยชน์ทางคลินิกที่จะได้รับอยู่เฉกเช่นเดิมเสมอ[75]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#44",
"text": "ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ด้านการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นส่งผลให้การใช้ยาปฏิชีวนะในสหราชอาณาจักรมีความเข้มงวดมากขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 (ตามรายงานของ Swann ระบุว่าเริ่มใน ค.ศ. 1969) และสหภาพยุโรปได้ประกาศห้ามใช้ยาปฏิชีวนะเป็นสารช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต (growth-promotional agent) ในปี ค.ศ. 2003[186] นอกจากนี้ องค์กรและหน่วยงานด้านสุขภาพหลายองค์กร (รวมถึงองค์การอนามัยโลก สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา) ได้เข้ามาส่วนสนับสนุนในการจำกัดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อการบริโภค[187] อย่างไรก็ตาม การดำเนินการนี้ต้องล่าช้าลงในขั้นตอนของการร่างกฎหมายและการดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ทางกฎหมายเพื่อจำกัดการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมดังกล่าว เนื่องมาจากต้องเผชิญแรงต้านจากหน่วยงานเอกชนที่ใช้หรือจำหน่ายยาปฏิชีวนะที่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของภาครัฐ และจำเป็นต้องใช้เวลาในการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อยืนยันให้ได้แน่ชัดว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมปศุสัตว์นั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย โดยร่างกฎหมายของรัรัฐบาลกลางจำนวน 2 ฉบับ (S.742[188] และ H.R. 2562[189]) ซึ่งมีใจความสำคัญที่เกี่ยวเนื่องกับการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการรักษาในการอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์เพื่อการบริโภคในสหรัฐอเมริกาได้ถูกเสนอเข้าในการประชุมของรัฐบาลกลาง แต่ร่างกฎหมายนี้ไม่ผ่านการเห็นชอบในที่ประชุมและมีจำเป็นต้องตกไป[188][189] โดยร่างกฎหมายทั้ง 2 ฉบับดังกล่าวนั้นได้รับการรับรองและความเห็นชอบจากองค์กรทางการแพทย์และการสาธารณสุขหลายองค์กี ได้แก่ สมาคมพยาบาลแบบองค์รวมอเมริกัน (American Holistic Nurses' Association; AHNA) สมาคมการแพทย์อเมริกัน (American Medical Association; AMA) และสมาคมสาธารณสุขอเมริกา (American Public Health Association; APHA)[190]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#5",
"text": "การเพิ่มขึ้นของการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นมีความสัมพันธ์กับปริมาณการสั่งใช้ยาหรือการใช้ยาดังกล่าว รวมไปถึงการรับประทานยาปฏิชีวนะไม่ครบตามที่ได้ควรได้รับ โดยการสั่งยาใช้ปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมนี้มีสาเหตุมาจากหลายประการ ทั้งจากการที่ผู้ป่วยยืนยันที่จะให้แพทย์สั่งใช้ยาปฏิชีวนะแก่ตน ถึงแม้จะไม่มีข้อบ่งชี้ที่จำเป็นต้องใช้ยาดังกล่าว และแพทย์บางรายก็อาจสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะให้แก่ผู้ป่วยของตนตามที่ร้องขอ เนื่องจากไม่มีเวลามากพอที่จะอธิบายให้ผู้ป่วยตระหนักรู้ได้ถึงเหตุผลที่ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษาการเจ็บป่วยครั้งนั้น ๆ และในบางกรณี แพทย์ผู้สั่งใช้ยาเองก็ไม่ทราบแน่ชัดว่าเมื่อใดที่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะหรือมีความระมัดระวังมากเกินไปในการสั่งใช้ยาเนื่องมาจากเหตุผลทางการแพทย์ รวมไปถึงเหตุผลทางกฏหมาย นอกจากนี้แล้ว การที่มีระดับความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะในร่างกายต่ำมากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดการดื้อยาของแบคทีเรียได้ผ่านกระบวนการการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ของแบคทีเรียนั้น ๆ ส่งผลให้แบคทีเรียดังกล่าวสามารถเจริญเติบโตอยู่ได้ตามปกติถึงแม้จะมีการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะชนิดเดิมที่ให้ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดมากขึ้นกว่าเดิมก็ตาม ยกตัวอย่างเช่น การดื้อยาของแบคทีเรีย \"Pseudomonas aeruginosa\" และ \"Bacteroides fragilis\" ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์จากการได้รับยาปฏิชีวนะในขนาดที่ให้ความเข้มข้นของยาดังกล่าวในร่างกายต่ำกว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียดังกล่าว (subinhibitory concentration)",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#3",
"text": "ถึงแม้ว่าการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นมีมาก่อนที่จะมีการใช้ยาดังกล่าวในมนุษย์ แต่การใช้ยาปฏิชีวนะโดยมนุษย์กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันนี้ทำให้การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติผ่านกระบวนการการกดดันทางวิวัฒนาการ (evolutionary pressure) ทั้งนี้ สาเหตุหลักที่ทำให้การใช้ยาปฏิชีวนะในมนุษย์ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยเป็นผลมาจากความสามารถในการผลิตยาปฏิชีวนะในระดับอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นทั่วโลกตลอดทุกช่วงเวลาตั้งแต่ปี 1950 ทำให้ปริมาณยาปฏิชีวนะที่ผลิตขึ้นมีจำนวนมากพอที่จะจำหน่ายแก่ประชาชนได้อย่างกว้างขวาง ประกอบกับการที่รัฐไม่สามารถควบคุมการขายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศรายได้น้อยและรายได้ปานกลางหลายประเทศ ซึ่งสามารถซื้อยาดังกล่าวได้โดยไม่ต้องใช้ใบสั่งยาจากแพทย์ และการซื้อยาใช้เองในกรณีดังกล่าว ส่วนใหญ่มักเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงข้อบ่งใช้ ซึ่งจะส่งผลให้ความเสี่ยงที่อาจเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียสูงขึ้นได้ในทุก ๆ สายพันธุ์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#10",
"text": "ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา เป็นที่สงสัยถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์กับการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย จนกระทั่งองค์การอนามัยโลกได้ให้ข้อสรุปในประเด็นดังกล่าวว่า \"การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมในการเลี้ยงสัตว์เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดและการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ทนต่อยาปฏิชีวนะและควรห้ามไม่ให้มีการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญเติบโตในอาหารสัตว์\" องค์การอนามัยโลกได้เพิ่มหลักเกณฑ์ด้านสุขอนามัยสัตว์บกเพื่อเป็นแนวทางในการให้คำแนะนำแก่สมาชิกขององค์กรในการสร้างและประสานการตรวจสอบและติดตามเฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพระดับประเทศ, ติดตามตรวจสอบปริมาณยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์, และให้คำแนะนำแก่องค์กรหรือหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อให้มั่นใจว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมและรอบคอบ ส่วนอีกแนวทางหนึ่งคือ การใช้วิธีการที่จะช่วยในการตรวจหาปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการดื้อยา และประเมินความเสี่ยงนั้น ๆ ต่อการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#41",
"text": "หลักการสำคัญในการตัดสินใจเลือกใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเกิดการเจ็บป่วยนั้น อย่างง่ายคือ หลีกเลี่ยงการใช้ยาปฏิชีวนะถ้าไม่จำเป็น และหากมีความจำเป็นต้องใช้ยาดังกล่าวก็ไม่ควรที่จะใช้ในจำนวนที่มากเกินจำเป็น[178]เนื่องจากในปัจจุบันการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมกับภาวะการเจ็บป่วยหรือใช้มากเกินจำเป็นถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย ซึ่งถือเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ถูกจัดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ในปัจจุบัน ตัวอย่างที่พบเห็นได้ทั่วไปของการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมก็คือ การจัดหายาปฏิชีวนะมาใช้เองโดยปราศจากการวินิจฉัยหรือการดูแลที่เหมาะสมจากแพทย์[179] อย่างไรก็ตาม การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะจากบุคลการทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคหรืออาการที่ไม่อาจตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ รวมไปถึงโรคหรืออาการบางชนิดที่อาจหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาใดๆ และการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในขนาดหรือระยะเวลาที่ต่ำเกินกว่าที่แนะนำในแบบแผนการรักษามาตรฐาน ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้ทั้งสิ้น[68][179] โดยการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น อย่างเช่นในกรณีของเพนิซิลลินและอิริโทรมัยซินนั้น พบว่ามีความสัมพันธ์ภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1950[162][180] รวมไปถึงการที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะในสถานพยาบาลต่างๆอย่างแพร่หลายก็ล้วนมีความสัมพันธ์กับการเกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะและการเพิ่มขึ้นของจำนวนสายพันธุ์และสเตรนของแบคทีเรียเช่นกัน ซึ่งการดื้อยาของแบคทีเรียนี้เป็นสาเหตุให้โรคติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดไม่อาจสามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะทั่วไปในปัจจุบัน[180]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#18",
"text": "การบริหารยาปฏิชีวนะนั้นสามารถกระทำได้หลายช่องทาง โดยปกติแล้วมักใช้การบริหารยาโดยการรับประทานทางปาก แต่ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง โดยเฉพาะอย่ายิ่ง ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง จะบริหารยาให้แก่ผู้ป่วยด้วยวิธีการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ หรือการฉีดอื่น[2][60] ในกรณีที่ตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้ออยู่ในบริเวณที่ยาปฏิชีวนะสามารถแพร่กระจายเข้าไปได้โดยง่าย อาจบริหารยาปฏิชีวนะนั้นๆได้ด้วยการใช้ในรูปแบบยาใช้ภายนอก อาทิ การใช้ยาหยอดตาหยอดลงเยื่อบุตาในกรณีเยื่อบุตาอักเสบ หรือการใช้ยาหยอดหู ในกรณีติดเชื้อแบคทีเรียในหูหรือหูชั้นนอกอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis externa) ยาใช้ภายนอกในรูปแบบยาทาเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่มีการติดเชื้อบริเวณผิวหนังที่ไม่รุนแรง เช่น สิวอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (acne vulgaris) และเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)[65] โดยประโยชน์จากการใช้ยาปฏิชีวนะในรูปแบบยาใช้ภายนอก ได้แก่ บริเวณที่เกิดการติดเชื้อจะมีความเข้มข้นของยาสูงและมีความสม่ำเสมอ, ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดพิษหรืออาการไม่ประสงค์บางอย่างจากการใช้ยา, และปริมาณยาที่ต้องใช้ในการรักษาลดลง นอกจากนี้ยังลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิดได้อีกด้วย[66] นอกจากนี้ การทายาปฏิชีวนะชนิดทาในกรณีแผลผ่าตัดนั้นก็สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดการติดเชื้อในแผลผ่าตัดได้[67] อย่างไรก็ตาม ยังมีบางประเด็นที่กังวลเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะชนิดใช้ภายนอก เนื่องจากอาจมีการดูดซึมยาเข้าสู่กระแสเลือดได้ในบางกรณี, ปริมาณยาที่ใช้ในแต่ละครั้งนั้นยากที่จะกำหนดให้แม่นยำได้ และอาจทำให้เกิดภาวะภูมิไวเกิน หรือผื่นแพ้สัมผัสได้[66]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#36",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียนั้นเป็นภาวะฉุกเฉินภาวะฉุกเฉินที่พบเกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกในปัจจุบัน โดยการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียเป็นการตอบสนองและการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในขณะที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อกำจัดเชื้อแบคทีเรียนั้นๆ โดยการดื้อยานี้อาจเกิดจากการปรับตัวทางกายภาพหรือทางพันธุกรรมของแบคทีเรียนั้นก็ได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสในการอยู่รอดของเชื้อเพิ่มขึ้นแม้จะมีการใช้ยาปฏิชีวนะในขนาดที่สูงขึ้นก็ตาม ในบางสภาวะการใช้ยาปฏิชีวนะอาจทำให้เกิดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียดื้อมากขึ้น ในขณะที่แบคทีเรียซึ่งยังมีความไวต่อยาถูกกำจัดออกไป[160] ตัวอย่างเช่น การใช้ยาปฏิชีวนะในการคัดแยกสายพันธุ์แบคทีเรียที่ได้รับการตกแต่งพันธุกรรมด้วยยีนดื้อยาในปี ค.ศ. 1943 โดยเรียกการทดลองนี้ว่า การทดลองของเดลบรัค–ลูเรีย (Luria–Delbrück experiment)[161] สถานการณ์การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันนี้พบว่า ยาปฏิชีวนะหลายชนิดที่มีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียหลากหลายสายพันธุ์ในอดีต เช่น เพนิซิลลิน และอิริโทรมัยซิน กลับมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆได้น้อยลง ทั้งนี้เนื่องมาจากอัตราการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียมีเพิ่มขึ้นมากกว่าในอดีต[162]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#39",
"text": "กลไกการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในระดับโมเลเท่าที่ทราบในปัจจุบันนั้น การดื้อยาต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียตั้งแต่กำเนิด (Intrinsic resistance) อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม (genetic makeup) ของแบคทีเรียสายพันธ์นั้น[168][169] ตัวอย่างเช่น ตำแหน่งที่เป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะอาจจะหายไปจากจีโนมของแบคทีเรีย ส่วนการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่เกิดภายหลัง (Acquired resistance) นั้นจะเป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ในโครโมโซมของแบคทีเรีย หรือการได้รับยีนดื้อยาจากแบคทีเรียอื่นผ่านทางดีเอ็นเอที่อยู่นอกโครโมโซม (extra-chromosomal DNA)[168] ทั้งนี้ ในแบคทีเรียบางสายพันธุ์ที่สามารถผลิตสารที่ออกฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะได้นั้นจะสามารถดื้อต่อยาปฏิชีวนะดังกล่าวได้อย่างอัตโนมัตและอาจมีการถ่ายทอดความสามารถในการดื้อต่อยาปฏิชีวนะนี้ไปยังแบคทีเรียอื่นๆได้เช่นกัน[170][171] การแพร่กระจายของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะนั้นส่วนใหญ่จะพบในรูปแบบถ่ายทอดพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นหรือการติดต่อตามแนวดิ่ง (vertical transmission) และโดยการรวมตัวกันใหม่ของยีน (Genetic Recombination) ในดีเอ็นเอโดยการถ่ายทอดยีนในแนวราบ (Horizontal gene transfer)[164] โดยแบคทีเรียดื้อยาสามารถถ่ายทอดยีนดื้อยาที่ถูกบรรจุอยู่ในพลาสมิดไปยังสเตรนอื่นหรือสายพันธุ์อื่นได้[164][172] โดยพลาสมิดบางชนิดที่บรรจุยีนดื้อยาที่แตกต่างกันไว้หลายยีนสามารถทำให้แบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนานได้[172] โดยการดื้อยาปฏิชีวนะข้ามชนิดหนือข้ามกลุ่มกันในเชื้อแบคทีเรียนั้นอาจพบเกิดขึ้นได้ในกรณีที่กลไกการดื้อต่อยาเหล่านั้นถูกควบคุมโดยยีนตำแหน่งเดียวกัน[172]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#20",
"text": "อาการไม่พึงประสงค์จากยาปฏิชีวนะที่เกิดขึ้นได้ทั่วไปในผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่าง อาการท้องเสียนั้นเป็นผลมาจากการรบกวนสมดุลเชื้อจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ (intestinal flora) ทำให้เกิดการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอื่นๆ เช่น Clostridium difficile[71] นอกจากนี้ ยาปฏิชีวนะยังส่งผลต่อสมดุลเชื้อจุลินทรีย์ประจำถิ่นในช่องคลอด (vaginal flora) ได้ด้วย ทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนขึ้นของยีสต์สกุลแคนดิดาในช่องคลอดและบริเวณปากช่องคลอดได้[72] ทั้งนี้ อาการไม่พึงประสงค์จากยาปฏิชีวนะอาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา (drug interaction) ระหว่างยาปฏิชีวนะกับยาอื่นได้ เช่น ความเสี่ยงที่อาจเกิดความเสียหายต่อเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) จากการใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่มควิโนโลน (quinolone antibiotic) ร่วมกับคอร์ติโคสเตอรอยด์ที่ให้ผ่านทางระบบ[73]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#35",
"text": "การใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากต้องมีการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่เกิดขึ้นกับสัตว์เหล่านั้น[147] การค้นพบการประยุกต์ใช้ยาปฏิชีวนะและวัคซีนบางชนิดในปศุสัตว์นี้ทำให้การเลี้ยงวัวในปริมาณมากนั้นมีความสะดวกมากขึ้น เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวจะลดการเกิดโรคติดเชื้อในสัตว์ การใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีนี้ทำให้ปศุสัตว์นั้นมีการเจริญเติบโตที่เร็วมากขึ้น ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณมากขึ้น[156] อย่างไรก็ตาม การใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์นี้ทำให้เกิดการตกค้างของยาปฏิชีวนะในผลิตภัณฑ์ต่างๆซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดอันตรายแก่มนุษย์ได้ อาทิ การสะสมของสารหนูซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึ่งของโมเลกุลยาปฏิชีวนะบางชนิดในร่างกายมนุษย์ ซึ่งรวมไปถึงการลดทอนประสิทธิภาพการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในมนุษย์ลง ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการปรับตัวของแบคทีเรียก่อโรคให้ทนต่อยาปฏิชีวนะมากขึ้น[157] ดังนั้น ในปัจจุบัน การตรวจสอบการตกค้างยาปฏิชีวนะตกค้างในผลิตภัณฑ์จากการปศุสัตว์อย่างเข้มข้นและต่อเนื่องจึงเป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยรับประกันความปลอดภัยของสินค้าจากการปศุสัตว์นั้นๆได้ก่อนส่งถึงมือผู้บริโภค[158] นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะในการปศุสัตว์ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการตกค้างของยาปฏิชีวนะในสิ่งแวดล้อมจากการปล่อยของเสียจากสัตว์ลงสู่พื้นดิน หรือแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ ทะเลสาบ เป็นต้น[159]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "923370#15",
"text": "ปัญหาการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นจนเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพทั้งมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะมีแหล่งอาศัยอยู่บนบกหรือในน้ำ โดยปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งที่มีส่วนหนุนให้ปัญหาดังกล่าวแพร่กระจายจนส่งผลกระทบในวงกว้างก็คือ การปนเปื้อนและการแพร่กระจายของยาปฏิชีวนะหรือสารที่ออกฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะในสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำเสียจากโรงพยาบาลและน้ำเสียจากชุมชนเมืองที่ถูกปล่อยออกสู่ธรรมชาติโดยไม่ได้รับการบำบัดหรือมีระบบการบำบัดที่ไม่รัดกุม ถือเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนดังกล่าว ยาปฏิชีวนะได้ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมนับตั้งแต่มีการนำมาใช้ในมนุษย์ (ยา, การเกษตร) ผ่านทางของเสียต่าง ๆ ที่ถูกขับออกจากร่างกายกมนุษย์ สัตว์เลี้ยง และของเสียจากอุตสาหกรรมยา การที่ของเสียที่มีการปนเปื้อนของยาปฏิชีวนะถูกปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการบำบัดหรือได้รับการบำบัดที่ไม่ดีมาก จะเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้มากขึ้น และเกิดการปนเปื้อนและแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาดังกล่าวในสิ่งแวดล้อมนั้นอีกด้วย ในปี ค.ศ. 2011 การทำแผนที่ของตัวอย่างน้ำทิ้งและน้ำประปาในนิวเดลี ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่ามีจำนวนการใช้ยาปฏิชีวนะของประชาชนบริเวณนั้นในสัดส่วนที่สูง ผลการตรวจพบว่ามีการปนเปื้อนแบคทีเรียอยู่เป็นจำนวนมากและยังส่งผลให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหารในชุมชนที่อุปโภคบริโภคน้ำจากแหล่งดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างและยากแก่การควบคุมโรค โดยพบว่าเชื้อก่อโรคดังกล่าวส่วนใหญ่มักมีผลตรวจเอนไซม์ NDM-1 เป็นบวก ซึ่งเป็นเอนไซม์ดังกล่าวจะส่งผลให้แบคทีเรียนั้น ๆ เกิดการดื้อต่อยาที่มีโครงสร้างหลักเป็นวงบีตา-แลคแตมได้หลายชนิด ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว ร้อยละ 70–80 ของผู้ปวยที่มีอาการท้องร่วงมักมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส ซึ่งไม่สามารถรักษาได้โดยการใช้ยาปฏิชีวนะ แต่ในการข้อมูลจากการศึกษากลับพบว่าราวร้อยละ 40 ของผู้ป่วยที่มีอาการข้างต้นยังคงพยายามที่จะรักษาอาการท้องร่วงนั้นด้วยยาปฏิชีวนะ ในบางพื้นที่ผู้ที่รักษาอาการท้องร่วงอย่างไม่เหมาะสมด้วยยาปฏิชีวนะนั้นมีสัดส่วนที่มากถึงร้อยละ 80",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "923370#6",
"text": "ดังที่กล่าวไปในข้างต้นว่า การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมและไม่จำเป็นเพื่อการรักษาความเจ็บป่วยของมนุษย์ในปัจจุบันนั้นเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อยาของแบคทีเรีย โดยมากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยาปฏิชีวนะในมนุษย์พบว่าเป็นการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมและไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ ยกตัวอย่างเช่น คน 1 ใน 3 คน ยังคงมีความเชื่อว่ายาปฏิชีวนะมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคไข้หวัด โดยพบว่าการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคไข้หวัดนั้นพบเห็นได้มากที่สุดในประเด็นของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ ถึงแม้จะเป็นที่ทราบกันดีของบุคลากรทางการแพทย์ว่ายาดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคไข้หวัด นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะแม้เพียงครั้งเดียว ถึงแม้จะเป็นการใช้ในผู้ที่มีข้อบ่งใช้ที่จำเป็นต้องได้รับยาดังกล่าว ก็สามารถเพิ่มความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียได้ โดยความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวจะคงอยู่ได้นานประมาณ 1 เดือน ถึง 1 ปี ตั้งแต่เริ่มมีการใช้ยาดังกล่าว",
"title": "แบคทีเรียดื้อยา"
},
{
"docid": "26342#53",
"text": "ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2013 สมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (Infectious Disease Society of America; IDSA) reported that the weak antibiotic pipeline นั้นไม่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่เพิ่มมากขึ้น โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 2009 เป็นต้นมา พบว่ามีการค้นพบยาปฏิชีวนะชนิดใหม่และได้รับการรับรองให้ใช้กับมนุษย์ในสหรัฐอเมริกาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น โดยในช่วงระยะเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมานั้น ยาปฏิชีวนะชนิดใหม่สำหรับมนุษย์ที่ได้รับการรับรองให้ผลิตเชิงการค้านั้นมีจำนวนที่ลดลงอย่างต่อเนื่องในทุกๆปี โดยในรายงานดังกล่าวระบุว่ามียาปฏิชีวนะชนิดใหม่จำนวน 7 รายการที่ออกฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมลบสกุลบาซิลลัส (Gram-negative bacilli; GNB) ที่กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยทางคลินิกในขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ถึงกระนั้น ยาดังกล่าวก็ไม่ได้มีขอบเขตการออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียแกรมลบสกุลบาซิลลัสที่พบการดื้อยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน[213][214] ตัวอย่างยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่ถูกค้นพบหรือการนำยาปฏิชีวนะชนิดเดิมมาใช้ร่วมกับยาอื่นเพื่อป้องกันการเกิดการดื้อยาของแบคทีเรียหรือขยายขอบเขตการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นให้ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียได้หลากหลายมากขึ้น เช่น:",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "47083#17",
"text": "ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อไวรัสไม่ได้ ฉะนั้นจึงไม่มีผลต่อโรคหวัดซึ่งเกิดจากไวรัสเช่นกัน ทั้งนี้เมื่อพิจารณาว่าการใช้ยาปฏิชีวนะมีโอกาสเกิดผลข้างเคียง ดังนั้นการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคหวัดในภาพรวมจึงทำให้เกิดผลเสียมากกว่า กระนั้น ก็ยังมีการจ่ายยาบ่อยครั้ง สาเหตุบางประการที่ทำให้มีการจ่ายยาปฏิชีวนะบ่อยครั้งเป็นเพราะประชาชนคาดหวังว่ามาพบแพทย์แล้วต้องได้ยา แพทย์รู้สึกอยากทำอะไรสักอย่าง และการคัดภาวะแทรกซ้อนออกที่อาจได้ประโยชน์จากการให้ยาปฏิชีวนะทำได้ยาก ไม่มียาต้านไวรัสใดที่ยืนยันได้ว่ามีประสิทธิภาพแก่โรคหวัด แม้จะมีงานวิจัยขั้นต้นบางชิ้นที่ศึกษาพบว่าอาจมีประโยชน์ก็ตาม",
"title": "โรคหวัด"
},
{
"docid": "26342#28",
"text": "โดยปกติแล้วการแบ่งกลุ่มยาปฏิชีวนะนั้นจะแบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์, โครงสร้างทางเคมี หรือขอบเขตการออกฤทธิ์ โดยมีเป้าหมายการออกฤทธิ์มุ่งไปที่การขัดขวางการทำงานในระดับเซลล์หรือการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย[16] ซึ่งเป้าหมายเหล่านั้นอาจเป็นผนังเซลล์ (กลุ่มเพนิซิลลิน และกลุ่มเซฟาโลสปอริน) หรือเยื่อหุ้มเซลล์ (พอลีมิกซิน) หรือรบกวนการทำงานของเอนไซม์ที่จำเป็นของแบคทีเรีย (กลุ่มไรฟามัยซิน, กลุ่มลิปิอาร์มัยซิน, กลุ่มควิโนโลน, และกลุ่มซัลโฟนาไมด์) โดยที่ออกฤทธิ์ที่ตำแหน่งดังข้างต้นนั้นจะมีคุณสมบัติเป็น ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic) ส่วนยาปฏิชีวนะอื่นที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย (กลุ่มแมโครไลด์, กลุ่มลินโคซาไมด์ และเตตราไซคลีน) จะเป็น ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) ยกเว้นกลุ่มอะมิโมไกลโคไซด์ที่ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย[99] นอกเหนือไปจากนี้มักเป็นการแบ่งตามความจำเพาะในการออกฤทะกับเป้าหมาย ยกตัวอย่างเช่น ยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ (Narrow-spectrum antibiotics) จะหมายถึงยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์จำเพาะต่อแบคทีเรียกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อาทิ แบคทีเรียแกรมลบ หรือแบคทีเรียแกรมบวก เป็นต้น ในขณะที่ ยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad-spectrum antibiotics) จะออกฤทธิ์ต่อแบคทีเรียได้หลายกลุ่ม นอกเหนือจากการแบ่งกลุ่มดังข้างต้น ได้มีการคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่เพิ่มขึ้นอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งหากย้อนไปในอดีตราว 40 กว่าปีที่แล้วตั้งแต่ที่มีการค้นพบสารประกอบกลุ่มใหม่ที่มีคุณสมบัติในการต้านแบคทีเรีย ก็ไม่ได้มีการค้นพบยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่เพิ่มขึ้นเท่าใดนัก จนกระทั่งในช่วงปลายคริสต์ทศวรรตที่ 2000 และต้นคริสต์ทศวรรตที่ 2010 ได้มีการพัฒนาคิดค้นยาปฏิชีวนะกลุ่มใหม่ขึ้นได้สำเร็จและถูกนำมาใช้ทางคลินิกมากถึง 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไลโปเพปไทด์ (เช่น แดพโตมัยซิน), กลุ่มไกลซิลไซคลีน (เช่น ไทกีไซคลีน), กลุ่มออกซาโซลิไดโอน (เช่น ไลนิโซลิด), และ กลุ่มลิปิอาร์มัยซิน (เช่น ฟิแดกโซมัยซิน)[100][101]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "25437#3",
"text": "หลังจากมีการค้นพบเพนิซิลลิน ยาดังกล่าวได้เข้ามามีส่วนในการปฏิวัติการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างมาก ในห้วงเวลานั้นบริษัทยาหลายบริษัทได้มุ่งเป้ามายังการคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่โดยใช้กระบวนการการสำรวจทางชีวภาพ (Bioprospecting) เพื่อค้นหาโครงสร้างต้นแบบของยาปฏิชีวนะกันอย่างแพร่หลาย อเมริกันไซยานามิดถือเป็นหนึ่งบริษัทในจำนวนนี้ โดยในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1940 นักเคมีของบริษัทดังกล่าวได้ค้นพบคลอร์เตตราไซคลีน ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกของกลุ่มเตตราซัยคลีนที่ถูกค้นพบ[9] หลังจากนั้นไม่นานนัก นักวิทยาศาสตร์ของไฟเซอร์ได้ค้นพบยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในกลุ่มเดียวกันและถูกให้ชื่อว่าออกซิเตตราไซคลีน และต่อมาได้มีการผลิตยาดังกล่าวเพื่อการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ภายใต้ชื่อการค้า Terramycin ยาปฏิชีวนะทั้งสองชนิดที่ถูกค้นพบนี้ล้วนเป็นผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ เช่นเดียวกันกับเพนิซิลลินที่นักวิทยาศาสตร์ในขณะนั้นล้วนเชื่อว่า ยาปฏิชีวนะที่เป็นผลิตผลที่ได้จากธรรมชาตินี้ล้วนมีประสิทธิภาพในการรักษาที่สมบูรณ์แบบกว่ายาที่ได้จากแหล่งอื่น การปรับเปลี่ยนโครงสร้างของยาเหล่านี้อาจทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลงจากเดิมก็เป็นได้ อย่างไรก็ตาม ทีมนักวิทยาศาสตร์ของไซเฟอร์ภายใต้การนำของลอยด์ คอนโอเวอร์ (Lloyd Conover) ได้ทำการดัดแปลงโครงสร้างของยาปฏิชีวนะสองชนิดดังข้างต้น ซึ่งนำไปสู่การค้นพบเตตราซัยคลีน ซึ่งถือเป็นยาปฏิชีวนะกึ่งสังเคราะห์ตัวแรกของกลุ่มนี้ ต่อมาในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1960 ทีมวิจัยของชาร์ลี สตีเฟน (Charlie Stephens) ได้ทำการศึกษาดัดแปลงโครงสร้างของยาดังกล่าวจนได้อนุพันธุ์ของเตตราซัยคลีนที่มีความคงตัวและมีประสิทธิภาพเชิงเภสัชวิทยามากขึ้น โดยยาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัยข้างต้นก็คือ ดอกซีไซคลีน โดยดอกซีไซคลีนได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1967[9]",
"title": "ดอกซีไซคลีน"
},
{
"docid": "720940#1",
"text": "แม้ว่าจะมียาปฏิชีวนะที่รู้จักมากมาย แต่ว่า 1% ของยาปฏิชีวนะเท่านั้น มีค่าทางการแพทย์หรือทางการค้า\nยกตัวอย่างเช่น เพนิซิลลินมีค่าการรักษา (therapeutic index) สูง เพราะว่าไม่มีพิษต่อเซลล์มนุษย์ แต่ว่า ยาปฏิชีวนะส่วนมากไม่ได้มีคุณสมบัติเยี่ยงนี้\nส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้บางพวก อาจจะไม่มีข้อดีเหนือกว่ายาที่นิยมใช้กันอยู่แล้ว และอาจจะไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในกิจอื่น ๆ",
"title": "การผลิตยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#26",
"text": "ผลลัพธ์ที่ดีจากการได้รับการรักษาด้วยาปฏิชีวนะนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ระบบภูมิคุ้มกันของแต่ละคน, ตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย, และคุณสมบัติทางเภสัชพลศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษา[90] ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะนั้นอาจจะขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของแบคทีเรียก่อโรค และอัตราการเกิดเมแทบอลิซึมภายในเซลล์ของแบคทีเรีย รวมไปถึงความเร็วในการแบ่งตัวของแบคทีเรียชนิดนั้นๆอีกด้วย[91] โดยปัจจัยที่กล่าวมาดังข้างต้นล้วนเป็นผลลัพธ์ที่ได้มาจากการศึกษาทดลองภายในห้องปฏิบัติการและล้วนให้ผลที่สอดคล้องกับการบำบัดรักษาจริงในทางคลินิก[90][92] ทั้งนี้ เนื่องจากการออกฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะนั้นขึ้นอยู่กับความเข้นข้นของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆ[93] การศึกษานอกร่างกายมนุษย์ ซึ่งทดลองภายในห้องปฏิบัติการ (in vitro) ได้มีการจำแนกประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของยาปฏิชีวนะโดยใช้ ความเข้มข้นของยาต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย (minimum inhibitory concentration; MIC) และ ความเข้มข้นยาต่ำสุดที่ฆ่าแบคทีเรียได้ร้อยละ 90 (minimum bactericidal concentration; MBC)[90][94] โดยใช้ค่าดังกล่าว ร่วมกับคุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะชนิดนั้นๆ และคุณลักษณะอื่นทางเภสัชวิทยาในการทำนายประสิทธิภาพและผลลัพธ์การรักษาของยาปฏิชีวนะชนิดใดชนิดหนึ่งในทางคลินิก[95]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#42",
"text": "นอกเหนือจากประเด็นดังข้างต้นแล้ว การใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นสำหรับการป้องกันโรคติดเชื้อแบคทีเรีย และความผิดพลาดในการสั่งใช้และกำหนดขนาดยาปฏิชีวนะให้กับผู้ป่วยของบุคลากรทางการแพทย์ โดยอิงข้อมูลจากคุณลักษณะพื้นฐานและประวัติการรักษาของผู้ป่วยแต่ละราย ก็ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุของการเกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่พบเห็นได้เป็นประจำ ส่วนสาเหตุอื่นที่อาจพบได้ อาทิ การที่ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ครบจำนวนวันตามที่ได้รับการสั่งใช้ยาจากแพทย์ การที่ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ได้ขนาดและมีวิธีการบริหารยาที่ไม่ตรงตามที่มีการสั่งใช้ยา หรือการที่ไม่สามารถพักฟื้นได้เพียงพอหลังการรักษา นอกจากนี้การใช้ยาปฏิชีวนะไม่ตรงตามข้อบ่งใช้อย่างการใช้ยาดังกล่าวในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส เช่น โรคหวัด ก็เป็นสาเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่นำไปสู่การเกิดภาวะฉุกเฉินด้านการดื้อยาของแบคทีเรียได้ โดยการศึกษาหนึ่งพบว่า แพทย์มักสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะให้แก่ผู้ป่วยที่มีความต้องการที่จะใช้ยาดังกล่าว ถึงแม้ว่าการสั่งใช้ยานี้จะไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ก็ตาม[6] จึงอาจถือได้ว่า การกำหนดมาตรการป้องกันการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ตรงตามข้อบ่งใช้ทั้งในด้านการสั่งใช้ยาของแพทย์และการรับรู้ของผู้ป่วยนั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยลดการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เหมาะสมลงได้[181][182]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#43",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียในปัจจุบันกำลังอยู่ในความสนใจขององค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสาธารณสุขหลายองค์กร ดดยองค์กรเหล่านั้นได้พยายามผลักดันให้มีการบังคับใช้มาตรการต่างๆออกมาอย่างต่อเนื่องเพื่อลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุสมผล[179] โดยประเด็นการใช้ยาปฏิชีวนะไปในทางที่ผิดและการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นได้ถูกบรรจุให้เป็นประเด็นสำคัญในถ้อยแถลงการก่อตั้งหน่วยเฉพาะกิจร่วมด้านการดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา โดยหน่วยเฉพาะกิจนี้มีวัตถุประสงค์ในการจัดการและแก้ไขปัญหาดังข้างต้นเป็นหลัก โดยอาศัยความร่วมมือหลักจากองค์กรที่เกี่ยวเนื่อง 3 องค์กร คือ ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention; CDC) องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration; FDA) และสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (National Institutes of Health;NIH) รวมไปถึงหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวเนื่องอีกหลายหน่วยงาน[183] นอกจากนี้ยังมีโครงการ Keep Antibiotics Working ซึ่งริเริ่มโดยกลุ่มองค์การนอกภาครัฐ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ[184] ส่วนในฝรั่งเศส ได้มีการริเริ่มโครงการ Antibiotics are not automatic โดยหน่วยงานภาครัฐขึ้นใน ค.ศ. 2002 และนำไปสู้การลดลงของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นได้ในที่สุด โดยเฉพาะอย่าง การใช้ยากลุ่มดังกล่าวในผู้ป่วยวัยเด็ก[185]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#32",
"text": "หลังจากการค้นพบเพนิซิลลินเพียงไม่กี่ปี พบว่ายาดังกล่าวเป็นที่นิยมและแพร่หลายเป็นอย่างมาก โดยในปี ค.ศ. 1945 มีการผลิตเพนิซิลลินขึ้นมากถึง 646 พันล้านยูนิต แต่ต่อมาหลังมีการพัฒนายากลุ่มดังกล่าวจนได้เป็นยากลุ่มเซฟาโลสปอริน ทำให้แนวโน้มการใช้ยาปฏิชีวนะนั้นโน้มเอียงมาทางยากลุ่มนี้มากขึ้น โดยในปี ค.ศ. 1980 ยากลุ่มเซฟาโลสปอรินเป็นยาปฏิชีวนะที่ถูกผลิตขึ้นเชิงการค้ามากที่สุด ตามมาด้วยแอมพิซิลลิน และเตตราไซคลีน ตามลำดับ เป็นที่คาดการณ์กันว่าในปีนั้นมีการผลิตยาปฏิชีวนะในปริมาณรวมมากถึง 100 ล้านกิโลกรัม มูลค่าการซื้อขายเฉพาะยาปฏิชีวนะในสหรัฐอเมริกาในปีนั้นมีมากถึง 1000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนมูลค่าทางการตลาดของยาปฏิชีวนะทั้งหมดในปัจจุบันนั้นมีมูลค่าประมาณ 20000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[149] ทั้งนี้ ในการคิดค้นและพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เข้าสู่ตลาดยาในปัจจุบันนั้นต้องใช้งบประมาณประมาณ 1200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[150] แต่ด้วยมูลค่าทางการตลาดที่มหาศาลของยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งๆ ทำให้ธุรกิจด้านการคิดค้นพัฒนายาชนิดนี้ออกจำหน่ายในตลาดยานั้นมีการแข่งขันกันเป็นอย่างมาก โดยการดำเนินงานวิจัยเพื่อคิดค้นและพัฒนายาใหม่ในปัจจุบันมักเป็นการดำเนินงานโดยบริษัทที่เน้นการดำเนินธุรกิจจัดจำหน่ายเคมีภัณฑ์และโภคภัณฑ์ (Commodity chemical) เป็นส่วนมาก[151]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#37",
"text": "การดื้อต่อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียอาจเกิดขึ้นได้รูปแบบการย่อยสลายทางชีวภาพของยาปฏิชีวนะ ดังเช่นในกรณีของแบคทีเรียในดินที่ทำหน้าที่ย่อยสลายซัลฟาเมทาซีน ซึ่งได้รับซัลฟาเมทาซีนที่ปนเปื้อนออกมากับอุจจาระของหมู[163] โดยการปรับตัวให้อยู่รอดจากยาปฏิชีวนะได้นี้ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้[164] แต่ในกรณีการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะนั้นมักเกิดจากการที่แบคทีเรียหนึ่งๆ ได้รับยีนต้านทานยาปฏิชีวนะมาจากแบคทีเรียเซลล์อื่น (horizontal gene transfer) โดยกระบวนการถ่ายทอดยีนนี้มักเกิดขึ้นได้บ่อยในพื้นที่ที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะสูง[165]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#30",
"text": "ด้วยความก้าวหน้าทางเภสัชเคมี ทำให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้อยู่ทุกวันนี้สามารถผลิตได้จากวิธีการกึ่งสังเคราะห์ โดยการดัดแปลงสูตรโครงสร้างของสารประกอบจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียให้มีความเหมาะสมในการใช้กับมนุษย์มากขึ้น[145] ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ยาปฏิชีวนะจำพวกบีตา-แลคแตม ซึ่งกลุ่มเพนิซิลลิน (ผลิตจากราในสกุลเพนิซิลเลียม), กลุ่มเซฟาโลสปอริน, และกลุ่มคาร์บาพีแนม ก็ล้วนแต่ถูกจัดอยู่ในยาปฏิชีวนะจำพวกนี้ ส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ในปัจจุบันที่ต้องสกัดจากจุลชีพที่มีชีวิตเท่านั้น คือ ยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ส่วนกลุ่มอื่นๆนั้นล้วนได้มาจากการสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เช่น ซัลโฟนาไมด์, ควิโนโลน, ออกซาโซลิไดโอน เป็นต้น[145] ยาปฏิชีวนะโดยส่วนใหญ่มักมีขนาดโมเลกุลที่ค่อนข้างเล็กและมีมวลโมเลกุลน้อยกว่า 1000 ดาลตัน[146]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
},
{
"docid": "26342#55",
"text": "การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสารที่ได้จากแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิสนั้นได้รับการคาดหวังจากวงการสาธารณสุขเป็นอย่างยิ่งว่าจะช่วยให้ค้นพบยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ได้หลากหลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ต้านสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสที่ดื้อต่อยาเมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus; MRSA) และแบคทีเรียอื่นที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะที่มีใช้อยู่ทั่วไปในปัจจุบัน ความพยายามที่จะทำการศึกษาในประเด็นดังกล่าวของจอห์น อินนส์ เซ็นเตอร์และมหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหราชอาณาจักร ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสภาวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (The Biotechnology and Biological Sciences Research Council; BBSRC) ทำให้มีการก่อตั้งบริษัทต่างๆเพื่อดำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น บริษัทโนวาคตาไบโอซิสเตมส์ (Novacta Biosystems Ltd.) ซึ่งเป็นบริษัทที่พัฒนาและออกแบบสารประกอบ NVB302 ซึ่งจัดเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มแลนติไบโอติก ชนิดบี (type-b lantibiotic) เพื่อรักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย Clostridium difficile โดยปัจจุบันยานี้กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยทางคลินิกในระยะที่ 1[224][225] อย่างไรก็ตาม ความเป็นไปได้ในการคิดค้นและพัฒนายาใหม่นั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดข้อบังคับที่เกี่ยวเนื่องการทดลองทางคลินิกขององค์การอาหารและยา รวมไปถึงแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่เหมาะสมอาจชักชวนให้บริษัทยากล้าที่จะลงทุนในความพยายามนี้[214] ใน ค.ศ. 2013 เพื่อตอบสนองต่อการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่มีจำนวนและความรุนแรงที่เพิ่มมากขึ้น รัฐสภาสหรัฐได้มีมติเห็นชอบผ่านร่างกฎหมายการพัฒนายาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาผู้ป่วยขึ้นสูง (Antibiotic Development to Advance Patient Treatment; ADAPT) โดยภายใต้การดำเนินงานนี้ องค์การอาหารและยาจะสามารถให้การรับรองยาปฏิชีวนะและยาต้านเชื้อราใดๆ ที่ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่เล็กลงกว่าปกติสำหรับการรักษาโรคติดเชื้อที่มีความรุนแรงจนอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของผู้ป่วย ส่วนศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for Disease Control and Prevention; CDC) จะทำหน้าที่เฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาปฏิชีวนะในด้านต่างๆ รวมไปถึงการเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย และตีพิมพ์เผยแพร่ข้อมูลหรือสถานการณ์นั้นให้แก่หน่วยงานอื่นที่เกียวเนื่อง นอกจากนี้ องค์การอาหารและยายังมีหน้าที่ในการกำหนดเกณฑ์ต่างๆที่ใช้ทดสอบความไวของแบคทีเรียต่อยาปฏิชีวนะใดๆ ด้วย อาทิ \"เกณฑ์การตีความการทดสอบความไวของจุลินทรีย์\" หรือ \"ค่าจุดตัดความไวของยา\" (breakpoint) และให้ข้อมูลที่ถูกต้องเหล่านี้แก่บุคลากรทางการแพทย์[226][227] ซึ่งการเกิดขึ้นของการดำเนินงานนี้เป็นผลมาจากคำแนะนำของอัลลาน คูเกลล์ (Allan Coukell) ผู้อำนวยการอาวุโสขององค์กรการกุศลพิว (The Pew Charitable Trusts) ที่ได้แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับการพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่เพื่อตอบสนองความฉุกเฉินของแบคทีเรียดื้อยาว่า \"เพื่อที่จะให้การศึกษาวิจัยทางคลินิกนั้นสามารถทำได้ง่ายมากขึ้น ควรยินยอมให้นักพัฒนายาใช้ข้อมูลและตัวอย่างในการศึกษาทางคลินิกที่น้อยลง และองค์การอาหารและยาก็ต้องแสดงให้เห็นได้แน่ชัดว่าสามารถยอมรับความเสี่ยงที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อคิดคำนวณโทษ–ประสิทธิผลที่อาจได้จากยาเหล่านั้น\"[228]",
"title": "ยาปฏิชีวนะ"
}
] |
1699 | The Price Is Right Thailand มีใครเป็นพิธีกร? | [
{
"docid": "728110#0",
"text": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย เป็นรายการประเภทเกมโชว์ที่ให้ผู้เข้าแข่งขันมาเล่นเกมเกี่ยวกับราคาของสินค้าชนิดต่างๆ เพื่อได้รับของรางวัลกลับบ้าน โดยมีรูปแบบรายการต้นฉบับมาจากรายการ \"The Price Is Right\" ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทางบริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำกัด (มหาชน) ซื้อลิขสิทธิ์รายการนี้มาจากบริษัท Fremantle ของประเทศสหรัฐอเมริกา นำมาผลิตในรูปแบบของประเทศไทย[1] ดำเนินรายการโดย เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2558",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
}
] | [
{
"docid": "728110#10",
"text": "Spelling Bee รังผึ้งซ่อนรวย ทางรายการจะมีแผ่นป้ายรังผึ้งอยู่ 30 แผ่นป้าย โดยจะมีตัว W ซ่อนอยู่ 11 แผ่นป้าย ตัว I ซ่อนอยู่ 11 แผ่นป้าย ตัว N ซ่อนอยู่ 6 แผ่นป้าย และคำว่า WIN ซ่อนอยู่ 2 แผ่นป้าย โดยทุกป้ายจะมีเงินรางวัลซ่อนอยู่ด้วยแตกต่างกันออกไป โดยเบื้องต้นจะให้แผ่นป้ายก่อน 2 แผ่นป้าย ส่วยอีก 3 แผ่นป้ายจะได้มาจากการทายราคาของว่า มากกว่า หรือ น้อยกว่า หากทายถูกจะได้เปิดเพิ่มอีกชิ้นละ 1 แผ่นป้าย มีทั้งหมด 3 ชิ้น 3 แผ่นป้าย ถ้าแผ่นป้ายที่เลือก เรียงเป็นตัวอักษรว่า W I N หรือคำว่า WIN แม้แต่ป้ายเดียว จะได้รับของรางวัลทันที แต่ถ้าผู้เข้าแข่งขันไม่มั่นใจว่าป้ายที่เลือกจะเรียงเป็นคำว่า W I N หรือคำว่า WIN หรือไม่ ผู้เข้าแข่งขันมีสิทธิ์หยุดเพื่อรับเงินหน้าป้ายทันที",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#21",
"text": "สำหรับประเทศไทย ใช้รูปแบบคลาสสิกของอังกฤษและไม่ใช่รูปแบบเดิมของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีการเล่นตั้งแต่เริ่มเปิดตัวในปี พ.ศ. 2515 (คริสต์ศักราช 1972) โดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในปีพ. ศ. 2518 (คริสต์ศักราช 1975).",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "621949#10",
"text": "The Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 8 คือ โอ โอฬาริก ขุนสิทธิ์\nThe Winner is THAILAND season 1 คือ โอ โอฬาริก ขุนสิทธิ์",
"title": "เดอะวินเนอร์อีส ไทยแลนด์"
},
{
"docid": "728110#5",
"text": "แต่มีระยะหนึ่งในรอบนี้ถูกลดเหลือให้เล่นวันละ 3 รอบ รวมผู้ที่เล่นในรอบนี้แต่ละวันทั้งหมด 6 คน",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#12",
"text": "Bargain Game อะไรลดมากกว่า ในเกมนี้ทางรายการมีของรางวัล 2 ชิ้น ซิ่งทางรายการจะเปิดเผยแค่ราคาที่ลดจากราคาจริงแล้ว กติกาคือ ของชิ้นไหนลดราคาจากราคาจริงเยอะกว่ากัน ถ้าทายถูกรับของทั้ง 2 ชิ้นกลับไปเลย",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "621949#12",
"text": "The Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 3 คือ เจมส์บอนด์-ชานนท์ บุตรพุ่ม\nThe Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 4 คือ เหน่ง-พิชัยยุทธ จันทร์กลับ\nThe Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 5 คือ เดีย-เตชทัต สกุลมาเจริญ\nThe Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 6 คือ ปุยฝ้าย-ชวัลลักษณ์ ดิเรกวัฒนานุกุล\nThe Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 7 คือ โอ่ง-ณัฐชา ปัทมพงศ์\nThe Winner is ประจำสัปดาห์ที่ 8 คือ อั้มพ์-ณภัทร แก้วดวงใจ\nThe Winner is THAILAND season 2 คือ ฝ้าย-ยุคลฉัตร เกษภาษา",
"title": "เดอะวินเนอร์อีส ไทยแลนด์"
},
{
"docid": "728110#13",
"text": "One Wrong Price จับผิดราคา ในเกมนี้ทางรายการมีของรางวัล 3 ชิ้น และกำหนดราคาของทั้ง 3 ชิ้น แต่มีอยู่ 1 ชิ้นที่กำหนดราคามาไม่ตรงกับราคาจริง ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกของ 1 ชิ้น ที่คิดว่าราคาไม่ตรงกับราคาจริง หากเลือกของที่มีราคาไม่ตรงกับราคาจริงได้ถูกต้อง จะได้รับของรางวัลทั้ง 3 ชิ้นไปเลย",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#4",
"text": "ซึ่งในเกม One-Bid นี้ จะเล่นกันวันละ 4 รอบ ในรอบแรกให้ผู้ที่อยู่ตำแหน่งซ้ายสุดเริ่มทายราคาสินค้าก่อน ส่วนรอบที่ 2, 3, 4 จะเรียกผู้เล่นลงมาเพิ่มอีก 1 คน ไปยืนแทนที่ตำแหน่งของคนที่ผ่านเข้ารอบไปแล้ว แล้วเริ่มทายราคาสินค้านั้นก่อนทันที รวมแล้วแต่ละวัน จะมีผู้เข้าแข่งขันที่ต้องเล่นเกมนี้ทั้งหมด 7 คน",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#16",
"text": "สำหรับการเล่นที่มีดารานักแสดงมาร่วมเล่นเกมนี้ด้วย ก็จะให้ผู้เข้าแข่งขันเลือกดารารับเชิญคนใดคนหนึ่งให้หมุนวงล้อนี้ หากดารารับเชิญหมุนวงล้อได้คะแนนเท่าไหร่ ผู้เข้าแข่งขันที่เลือกดารารับเชิญคนนั้นก็จะได้รับเงินรางวัลไปก่อน 100 บาท คูณกับคะแนนที่หมุนได้ เช่น หมุนได้ 100 คะแนน ผู้เข้าแข่งขันคนนั้นก็จะได้รับเงินรางวัล 100 x 100 = 20,000 บาท 50 x 50 = 10,000 บาท",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#22",
"text": "หมวดหมู่:เกมโชว์ไทย หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ช่องทรูโฟร์ยู หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2558",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#17",
"text": "แต่มีระยะหนึ่งในบางเทปของรายการที่ได้ลดจำนวนผู้เข้าเล่นเกมนี้เหลือเพียงแค่วันละ 3 คนเท่านั้น",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "51528#25",
"text": "Jeremy Clarkson อดีตพิธีกรชื่อดังจากรายการ Top Gear ทางช่อง BBC 2 ได้กล่าวกับรถ Alfa Romeo เอาไว้ว่า \"Nobody can call themselves a true petrolhead until they have owned one\" (ไม่มีใครสามารถเรียกตัวเองได้ว่าเป็นคนบ้ารถได้อย่างแท้จริง จนกว่าพวกเขาจะได้เป็นเจ้าของมัน) และในเทปที่ทำการทดสอบ Alfa Romeo 8C Competizione ยังกล่าวเอาไว้อีกว่า \"If I can liken the whole global car industry to the human body, Toyota is the brain, Aston Martin is the face, Cadillac is the stomach and Alfa Romeo... is the heart and soul\" (ถ้าผมสามารถเปรียบอุตสาหกรรมรถยนต์ทั่วโลกเสมือนกับร่างกายมนุษย์, โตโยต้าคือมันสมอง, แอสตัน มาร์ติน คือใบหน้า, คาดิลแลคคือกระเพาะอาหาร และอัลฟ่า โรมิโอ... คือหัวใจและจิตวิญญาณ) ซึ่งความหมายสอดคล้องกับสโลแกนในตอนนั้นของ อัลฟ่า โรมิโอ \"Without Heart We Would Be Mere Machines\" แปลความหมายซึ่งเป็นประโยคเปรียบเทียบกับรถยนต์อื่นๆได้ว่า \"ถ้าเราไม่มีหัวใจ ก็คงเป็นได้แค่เพียงเครื่องจักรเท่านั้น\"",
"title": "อัลฟาโรเมโอ"
},
{
"docid": "587043#7",
"text": "\"Whenever any form of government becomes destructive of these ends, it is the right of the people to alter or to abolish it, and to institute new government.\"",
"title": "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ"
},
{
"docid": "95906#3",
"text": "การแสวงหากลยุทธ์ใหม่ๆ ของรายการเกมโชว์ยังคงดำเนินต่อมาพร้อมกับการขยายตัวของรายการตลอดช่วงทศวรรษ 1970 การใช้พิธีกรคู่หญิงชายที่มีการพูดจาหยอกล้อกันบ้าง เสียดสีในเรื่องเพศบ้าง หรือการนำเอาความลับของตนมาเล่า แต่แม้กระนั้นก็ไม่มีการสร้างสรรค์อะไรใหม่ขึ้นมาในช่วงทศวรรษ 1980 ผู้ชมจึงเริ่มเกิดความเบื่อหน่าย และทำให้รายการเกมโชว์จำนวนมากต้องยุบเลิกไป อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษ 1980 นี้ มีสถานีโทรทัศน์เกิดขึ้นมากมายและยังออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้ทางสถานีต้องพยายามผลิตและสร้างสรรค์รายการที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ รายการเกมโชว์ก็คือตัวเลือกตัวหนึ่งในช่วงนี้ มีรายการเกมโชว์บางรายการที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น Wheel of Fortune ,Jeopardy!,The Price is Right,Let's Make A Deal,Hollywood Squares",
"title": "เกมโชว์"
},
{
"docid": "728110#19",
"text": "ผู้เข้าแข่งขันที่ผ่านหมุนวงล้อได้คะแนนสูงสุดจากรอบ Showcase Showdown จะมาเล่นเกมนี้ กับกลุ่มของรางวัลที่มีราคารวมตั้งแต่หลักแสนขึ้นไป โดยก่อนเปิดเผยของรางวัลนั้น ทางรายการจะมีราคาช่วย ที่สามารถทายราคาต่ำกว่าราคาจริงได้ แต่ไม่เกินราคาช่วยที่กำหนดไว้ ต่างกันไปแล้วแต่เทป โดยผู้เล่นจะต้องกดปุ่ม เพื่อสุ่มรับราคาช่วยนั้น โดยราคาช่วยจะเรื่มต้นที่ 10,000 บาท ซึ่งจะเพื่มขึ้นระดับละ 10,000 บาท จนถึงสูงสุด 60,000 บาท",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#1",
"text": "รูปแบบการแข่งขัน จะคล้ายคลึงกับต้นฉบับของสหรัฐอเมริกาเกือบทุกประการ ยกเว้นรอบสุดท้าย ทั้งนี้ ราคาของสินค้าในรายการทั้งหมด เป็นราคามาตรฐาน ก่อนหักส่วนลดของแต่ละห้างสรรพสินค้า ณ วันที่ถ่ายทำ",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#2",
"text": "ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 4 ท่าน ที่เป็นลูกค้าของทรู และสมัครผ่านทางโทรศัพท์ ที่ถูกเรียกลงมา จะต้องทายราคาสินค้าตามที่รายการกำหนดไว้ ซึ่งราคาจริงนั้น ส่วนใหญ่จะมี 4 หลัก (บางชิ้นจะมี 5 หลัก แต่ต่ำกว่า 20,000 บาท) ผู้เข้าแข่งขันที่สามารถทายราคาได้ใกล้เคียงที่สุด โดยที่ไม่เกินราคาจริง จะได้รับของรางวัลชิ้นนั้นไปทันที และได้เข้าไปเล่นทั้งรอบ Showcase Showdown และรอบ Pricing Game ทุกคน",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#3",
"text": "กรณีที่ทายราคาสินค้าตรงกับราคาจริง จะมีรางวัลโบนัส 5,000 บาทเพิ่มให้กับผู้ทายราคาตรงกับราคาจริงทันที เรียกว่า Perfect-Bid แต่ถ้าทุกคนทายราคาเกินราคาจริงหมด ต้องทายราคาใหม่ทุกคนทันทีโดยไม่เกินราคาต่ำสุดที่1 ใน 4 ผู้เข้าแข่งขันทาย เช่น คนแรกทาย 2,900 บาท คนที่สองทาย 3,500 บาท คนที่สามทาย 2,590 บาท และคนสุดท้ายทาย 4,200 บาท แล้วทุกคนทายเกินทั้งหมด ต้องทายใหม่โดยให้ต่ำกว่า 2,590 บาท เรียกว่า Overbid",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#20",
"text": "หลังจากนั้น ของรางวัลทั้งหมดจะถูกเปิดเผย ผู้เล่นจะต้องทายราคาสินค้าของรางวัลทั้งหมดนั้น ถ้าผู้เล่นสามารถทายราคาสินค้า ต่ำกว่าราคาจริง โดยที่ผลต่างนั้นไม่เกินราคาช่วยที่กำหนดไว้ ผู้เล่นจะได้รับของรางวัลทั้งหมดไปทันที ในกรณีที่ทายราคาสินค้าได้ตรงกับราคาจริง (ผลต่างราคาเป็น 0) จะได้รับเงินรางวัลอีก 100,000 บาทอีกด้วย",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#14",
"text": "ในกรณีที่ผู้เข้าแข่งขันทั้งหมดที่ได้เล่นเกมประจำวันสำเร็จทั้ง 4 เกม (แต่มีระยะหนึ่งที่เหลือเพียง 3 เกม) เรียกว่า Perfect Show",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "942508#2",
"text": "บริษัท VID พยายามที่จะซื้อลิขสิทธิ์รายการ \"วีลออฟฟอร์จูน\" จากบริษัท King World Productions อย่างไรก็ตามบริษัทก็ไม่สามารถซื้อลิขสิทธิ์สำหรับรูปแบบรายการได้ ในท้ายที่สุดลิสต์เซฟ และ Murmulyov ตัดสินใจที่จะดัดแปลงรายการโดยเป็นการนำ \"วีลออฟฟอร์จูน\" และ \"The Price is Right\" รวมเข้าไว้ด้วยกันกันโดยไม่มีการมีส่วนร่วมใด ๆ ของผู้ถือลิขสิทธิ์ชาวอเมริกัน",
"title": "โปเลชูเดส"
},
{
"docid": "728110#6",
"text": "มีข้อสังเกตประการหนึ่งในเกมนี้ว่า หากมีผู้เข้าแข่งขัน 1 ใน 4 คนที่ทายราคาตรงกับราคาจริง จะมีเสียงกระดิ่งดังออกมาเมื่อผู้เข้าแข่งขันทั้ง 4 คนได้ทายราคาเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่ถ้าผู้เข้าแข่งขันทั้ง 4 คนทายราคาเสร็จเรียบร้อยแล้วมีเสียงสัญญาณออดดังขึ้น นั่นหมายความว่าทุกคนทายราคาเกิน (Overbid)",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "37714#2",
"text": "เกมวัดดวง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2545 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อี-เม้าท์ ทางช่อง 7 สี (พ.ศ. 2546 - 2553) ไฟว์ ไลฟ์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2546 - 2549) เปรี้ยวปาก ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (พ.ศ. 2547 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2555) กิ๊กกะไบท์ ทางไอทีวี (พ.ศ. 2547 - 2549) เดอะ โหวต ทางไอทีวี (พ.ศ. 2547 - 2549) คิทเช่น สเน็ค ทางไอทีวี (พ.ศ. 2548 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2549) ทีเด็ดจัง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2549) รู้จริงปะ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (พ.ศ. 2549 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2555) ฆ่าโง่ ทางไอทีวี (พ.ศ. 2549 - 2550) ตาสว่าง ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี (31 มกราคม พ.ศ. 2551 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552) โคลนนิ่งซิงกิ้งคอนเทสต์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 The Hunt (พ.ศ. 2553) สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ สะบัดช่อ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2553 - 2555) เกมเผาขน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (2 มกราคม พ.ศ. 2554 - 29 มกราคม พ.ศ. 2555) เดอะ จ๊อบ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (3 มกราคม - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เฮ สเตชัน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (4 มกราคม - กันยายน พ.ศ. 2554) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 1 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (6 มีนาคม พ.ศ. 2554 - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เทค มี เอาท์ไทยแลนด์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 2 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 2 กันยายน พ.ศ. 2555) The Naked Show โทรทัศน์ ทางจีเอ็มเอ็มวัน ก๊วนคึกระทึกล้าน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (5 มกราคม พ.ศ. 2556 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) The Snake เกมงูซ่า ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - 27 มีนาคม 2557) ใครคือใคร Identity Thailand ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี และ เวิร์คพอยท์ทีวี (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 3 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 25 สิงหาคม 2556) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 4 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (15 มิถุนายน พ.ศ. 2557 - 31 สิงหาคม 2557) Social Nake's World ยอดมนุษย์ออนไลน์ ทางเวิร์คพอยท์ทีวี แบไต๋ไฮเทค Daily 5 Live ทางคมชัดลึก ทีวี, Dude TV, ทรูวิชันส์ 72 ซูเปอร์บันเทิง, เนชั่น แชนแนล (27 มิถุนายน พ.ศ. 2556) 3 แยก TV ทาง GMM ONE (7 กันยายน พ.ศ. 2556 - 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557) SME ตีแตก ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 - 26 กันยายน พ.ศ. 2558) เกมวัดดวง2015 ทาง จีเอ็มเอ็มแชนเนล (2558) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (7 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558) The Price is Right Thailand ราคาพารวย ทางช่อง ทรูโฟร์ยู (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน) Tonight's The Night คืนสำคัญ ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (5 มีนาคม พ.ศ. 2559 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2560) รายการโจ๊ะ ทางช่องวัน ทุกวันอาทิตย์ เวลา 14.00-15.00น. (3 เมษายน พ.ศ. 2559 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2559) เรื่องเล่าเช้านี้ ช่วง ครอบครัวบันเทิง วันจันทร์ - วันอังคาร ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (25 เมษายน พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 6 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (12 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - 4 กันยายน พ.ศ. 2559) Singer Auction เสียงนี้มีราคา ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 เมษายน พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน) บัลลังก์เสียงทอง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) The Unicorn สตาร์ทอัพ พันล้าน ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (2 มิถุนายน - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560) พิธีกรบนเวทีการประกวดนางสาวถิ่นไทยงาม ประจำปี 2561 (รอบตัดสิน) จากห้องอัลทรา ARENA ศูนย์การค้า SHOW DC เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 ถ่ายทอดสดทางช่อง 9 เวลา 22.07-00.00 น. คู่กับ สาวิตรี โรจนพฤกษ์ (จูน) Bao Young Blood ดนตรีสร้างคุณค่าชีวิต ซีซั่นที่ 4 ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน) Show me the money Thailand ทาง True4u (24 เมษายน พ.ศ. 2561) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 7 ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน) THE ROOM ห้องวัดใจ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (เร็วๆ นี้)",
"title": "เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา"
},
{
"docid": "86911#0",
"text": "วราวุธ เจนธนากุล (ชื่อเล่น เอ) เกิดเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2519 ประธานบริษัท เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ จำกัด และเป็นผู้ดำเนินรายการทางโทรทัศน์ คือ รายการ \"Step Right Up ใครเก่ง ใครได้\" รายการ \"รักเอย\" รายการ \"The Money Drop Thailand\" และ รายการ “ตกสิบหยิบล้าน STILL STANDING THAILAND”",
"title": "วราวุธ เจนธนากุล"
},
{
"docid": "728110#9",
"text": "Balance Game ชั่งดีมีรางวัล จะมีถุงเงินอยู่สองชุด ถุงใหญ่นั้นจะเป็นถุงเงินของรางวัลจากราคาจริง อีกหนึ่งชุดจะเป็นถุงเงินที่มีราคาต่างๆ ทั้งหมด 4 ถุง ซึ่งจะมีหนึ่งถุงที่จะเป็นตัวหลอกทำให้ตาชั่งไม่สมดุลกัน เริ่มแรกพิธีกรจะหยิบถุงเงินที่มีมูลค่าน้อยที่สุดวางบนตาชั่ง ซึ่งเป็นถุงที่ถูกต้องอยู่แล้ว โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องนำถุงเงินอีกสองถุงวางบนตาชั่งที่คิดว่าน่าจะเป็นถุงที่ถูกต้อง และเมื่อยืนยันคำตอบแล้ว ผู้ช่วยพิธีกรจะนำถุงใหญ่มาวางบนตาชั่งเพื่อที่จะลุ้นว่า ถุงเงินที่ผู้เข้าแข่งขันได้วางไปนั้นจะหนักเท่ากับถุงใหญ่หรือไม่ หากตาชั่งสมดุลกัน ผู้เข้าแข่งขันจะได้รับของรางวัลไปเลย",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#18",
"text": "ในกรณีที่มีคะแนนสูงสุดเสมอกัน จะต้องทำการหมุนวงล้อใหม่ (เรียกว่า Spin-Off) ผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุด จะเข้ารอบ",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#11",
"text": "Danger Price ราคาพาบึ้ม ในเกมนี้ทางรายการมีของรางวัล 4 ชิ้น โดยทางรายการกำหนดราคาอันตราย 1 ราคา ซึ่งจะตรงกับราคาจริงของ 1 ใน 4 ของรางวัล (ทางรายการจะเรียกว่า ราคาพาบึ้ม) กติกาคือ จะต้องเลือกเลือกของ 3 ชิ้น ที่ราคาไม่ตรงกับราคาอันตราย เช่น ทางรายการกำหนดราคาอันตรายคือ 4,390 บาท ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเลือกของ 3 ชิ้นที่ราคาไม่ใช่ 4,390 บาท หากเลือกครบ 3 ชิ้น แล้วไม่โดนราคาอันตราย จะได้ของรางวัลทั้งหมดทันที ในระหว่างทาง ผู้เข้าแข่งขันสามารถหยุดได้ โดยจะได้รับของรางวัลที่เลือกแล้วไม่โดนราคาอันตรายไปด้วย แต่ถ้าระหว่างทางเกิดเลือกของไปตรงกับราคาอันตราย Gameover และจะไม่ได้รับของรางวัลทันที",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#7",
"text": "เป็นเกมที่ผู้ที่ผ่านเข้ารอบจากเกม One-Bid ทั้ง 4 คน (แต่มีระยะหนึ่งที่ลดจำนวนเหลือ 3 คน) จะต้องเล่นเกมทายราคาสินค้าตามที่รายการได้กำหนดไว้ ซึ่งมีดังนี้",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
},
{
"docid": "728110#15",
"text": "เป็นเกมที่นำผู้ที่ผ่านจากรอบ One-Bid และ Pricing Game ทั้ง 4 คน มาหมุน<b data-parsoid='{\"dsr\":[17455,17471,3,3]}'>วงล้อนำโชค ซึ่งมีคะแนนตั้งแต่ 5 ถึง 100 คะแนน ผู้เล่นจะมีโอกาสหมุนวงล้อได้ 2 ครั้ง เพื่อทำการรวมคะแนนของการหมุนให้ได้มากที่สุด แต่ถ้าเกิน 100 คะแนนหรือน้อยกว่าตัวตั้งด้านขวา จะตกรอบทันที หลังหมุนครั้งแรก ถ้าคิดว่าคะแนนสะสมพอที่จะเข้ารอบ สามารถหยุดเล่นได้ เพื่อรับคะแนนนั้น รอบนี้ ผู้ที่ได้คะแนนรวมมากที่สุดจาก 4 คน จะเข้าไปสู่รอบ Showcase ในกรณีที่หมุนวงล้อได้ 100 คะแนนจะได้เงินรางวัลพิเศษ 10,000 บาท หมุน 2 ครั้ง คะแนนรวมได้ 100 รับ 5,000 บาท",
"title": "The Price Is Right Thailand ราคาพารวย"
}
] |
453 | ความรุนแรงของแผ่นดินไหวมีหน่วยวัดเป็นอะไร ? | [
{
"docid": "4100#3",
"text": "แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว่า",
"title": "แผ่นดินไหว"
}
] | [
{
"docid": "629533#10",
"text": "6 เดือนต่อมา ในอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ ปี 2011 เกิดแผ่นดินไหวครั้งที่ 2วัดขนาดแรงสั่นได้ 6.3 ริกเตอร์ ช่วงเที่ยง เวลา 12:51 ซึ่งเกิดแผ่นดินไหวใกล้เมืองมากขึ้น ใกล้กับ ลีทเทลตัล แผ่นดินไหวระดับความลึก 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) ลึกใต้ผิวพื้นดิน แม้ว่าจะวัดความขนาดของแผ่นดินไหวด้วยวิธีวัดขนาดของแผ่นดินไหวด้วยพลังาน จะน้อยกว่าแผ่นดินไหวครั้งก่อน แต่ความหนาแน่นและความรุนแรงที่สั่นอยู่ใต้พิ้นดินนั้นเมื่อวัดด้วยเครื่องวัด MM IX นับว่ารุนแรงที่สุดที่เคยบันทึกมาในบริเวณเขตเมือง และมีผู้เสียชีวิตจำนวนทั้งหมด 185 คนในของคนที่มีสัญชาติ จากในบรรดาผู้ประสบภัยกว่า 20 ประเทศ ยอดของวิหารโบสต์ไครส์เชิร์ชหักและเสียหายเป็นวงกว้าง นั่นเป็นเหตุให้ตึกและโครงสร้างพื้นฐานของเมืองไครส์เชิร์ชที่ไม่แข็งแรงตั้งแต่แผ่นดินไหวในวันที่ 4 กันยายน 2010 รวมถึงแผ่นดินไหวย่อยๆ(aftershocks) ที่ตามมาหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรง ซึ่งส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ดินสลายตัวบริเวณชานเมืองตะวันออก ทำให้ยอดรวมค่าใช้จ่ายที่ผู้ประกันภัยประเมินมูลค่าสำหรับใช้ในการสร้างเมืองใหม่ ประมาณ 20-30 พันล้านเหรียญนิวซีแลนด์ ",
"title": "ไครสต์เชิร์ช"
},
{
"docid": "804041#2",
"text": "หลังจากแผ่นดินไหวครั้งแรก ได้เกิดแผ่นดินไหวตามอย่างรุนแรงอย่างน้อย 40 ครั้ง ในเบื้องต้น สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกาได้รายงานว่า แผ่นดินไหวหลักมีศูนย์เกิดลึกลงไป วัดขนาดความรุนแรงได้ 6.4 ต่อมาปรับเหลือ 6.2 ในขณะที่ศูนย์วิทยาแผ่นดินไหวยุโรป-เมดิเตอร์เรเนียนวัดขนาดความรุนแรงได้ 6.1 และสถาบันธรณีฟิสิกส์และวิทยาภูเขาไฟแห่งชาติอิตาลีขนาดความรุนแรงได้ 6.0",
"title": "แผ่นดินไหวในภาคกลางของประเทศอิตาลี สิงหาคม พ.ศ. 2559"
},
{
"docid": "3600#10",
"text": "ตารางแสดงมาตราริกเตอร์และผลกระทบ โดยสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา\nแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้น คือ แผ่นดินไหวในประเทศชิลี ที่เมืองวัลดิเวีย พ.ศ. 2503 ซึ่งสามารถวัดความรุนแรงได้ 9.5",
"title": "มาตราริกเตอร์"
},
{
"docid": "527378#9",
"text": "โดยมาตรานี้จะทำงานจาก 0 ถึง 7 โดย 7 เป็นมาตราที่รุนแรงสุด โดยมาตราเมร์กัลลีบางครั้งจะใช้ร่วมกับ\"ชินโดะ\"; อย่างไรก็ตามไม่มีแนวปฏิบัติเรื่องนี้อย่างแน่นอนในญี่ปุ่น การรายงานแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์จะถูกคำนวณอัติโนมัติโดยเครื่องวัดความเร่งพื้นดิน โดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นจะรายงานระดับของแผ่นดินไหวอยู่กับการเร่งของพื้นดิน วัดโดยเครื่องวัดอัติโนมัตความรุนแรง",
"title": "มาตราความรุนแรงคลื่นไหวสะเทือนของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "3600#1",
"text": "ปัจจุบันมาตราริกเตอร์ถูกแทนที่ด้วยมาตราขนาดโมเมนต์ ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จะให้ค่าที่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใกล้เคียงกันสำหรับแผ่นดินไหวขนาดกลาง (3-7 แมกนิจูด) แต่ที่ไม่เหมือนกับมาตราริกเตอร์คือ มาตราโมเมนต์แมกนิจูดจะรายงานสมบัติพื้นฐานของแผ่นดินไหวจากข้อมูลเครื่องตรวจวัด แทนที่จะเป็นการรายงานข้อมูลเครื่องตรวจวัด ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ในแผ่นดินไหวทุกครั้ง และค่าที่ได้จะไม่สมบูรณ์ในแผ่นดินไหวความรุนแรงสูง เนื่องจากมาตราโมเมนต์แมกนิจูดมักจะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันกับมาตราริกเตอร์ แมกนิจูดของแผ่นดินไหวที่ได้รับรายงานในสื่อมวลชนจึงมักจะรายงานโดยไม่ระบุว่าเป็นการวัดความรุนแรงตามมาตราใด",
"title": "มาตราริกเตอร์"
},
{
"docid": "3540#2",
"text": "ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่างแมกนิจูด 9.1 ถึง 9.3 ตามมาตราโมเมนต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismometer) นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคาบเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3 ถึง 10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร [2] และยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่น ๆ ของโลกอีกด้วย [3]",
"title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547"
},
{
"docid": "310159#2",
"text": "การไหวครั้งที่สองเกิดขึ้นเมื่อเวลา 18:12 (16 นาทีหลังจากครั้งแรก) ครั้งนี้เกิดขึ้นที่ความลึกน้อยกว่าครั้งแรกมาก วัดความรุนแรงได้ชินโดะ 6+ และวัดขนาดได้ที่แมกนิจูก 5.9 ครั้งที่สามเกิดขึ้นเมื่อเวลา 18:34 ระดับความรุนแรงวัดได้ที่ชินโดะ 6- เวลา 19:46 เกิดแผ่นดินไหวระดับความรุนแรงชินโดะ 6- ขึ้นอีกครั้ง และยังมีแผ่นดินไหวย่อยที่รุนแรงน้อยกว่าเกิดขึ้นเป็นระยะในภูมิภาค ใน 66 ชั่วโมงแรก มีแผ่นดินไหวระดับความรุนแรงชินโดะ 5- หรือสูงกว่าเกิดขึ้น 15 ครั้งในภูมิภาคชูเอะสึ",
"title": "แผ่นดินไหวในชูเอะสึ พ.ศ. 2547"
},
{
"docid": "763316#0",
"text": "แผ่นดินไหวในไต้หวัน พ.ศ. 2559 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 เวลา 03:57 น. ตามเวลาในประเทศไต้หวัน (UTC+08:00) จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ระหว่างเขตเทศบาลพิเศษเกาสฺยงและเทศมณฑลผิงตง ทางตอนใต้ของประเทศไต้หวัน ห่างจากเมืองผิงตง เกาสฺยง และไถหนัน ราว 28 กิโลเมตร 46 กิโลเมตรและ 48 กิโลเมตรตามลำดับ หน่วยงานธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา (USGS) วัดขนาดของแผ่นดินไหวได้ 6.4 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปใต้ดิน 23 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นทะเลฟิลิปปินส์กับแผ่นยูเรเชีย ถือว่าเป็นพื้นที่หนึ่งที่แผ่นธรณีภาคมีความไม่มั่นคงและมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวระดับรุนแรงได้",
"title": "แผ่นดินไหวในไต้หวัน พ.ศ. 2559"
},
{
"docid": "274235#2",
"text": "ฟูกูโอกะทาวเวอร์ได้ออกแบบให้สามารถรองรับแผ่นดินไหวระดับ 7 ริคเตอร์ และแรงลมความเร็ว 65 เมตรต่อวินาที แต่แผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้นบริเวณหอคอยวัดได้เพียง 6 ริคเตอร์ และแรงลมที่รุนแรงที่สุดวัดได้ 49 เมตรต่อวินาที หอคอยตั้งอยู่ที่ 2-3-26 โมโมจิฮามะ แขวงซาวาระ เมืองฟูกูโอกะ",
"title": "ฟูกูโอกะทาวเวอร์"
},
{
"docid": "853511#8",
"text": "เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในตุรกี ห่างจากเมืองซัมซัต ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 5km (3.1mi) เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ที่ความลึก 10.0km (6.2mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก) มีผู้ได้รับบาดเจ็บอย่างน้อย 30 คน และอาคารบางส่วนได้การเกิดการทรุดตัวลง[53] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากเมืองปังอูนา ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 115km (71mi) เมื่อวันที่ 4 มีนาคม ที่ความลึก 17.0km (10.6mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[54] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด ในฟิลิปปินส์ ห่างจากเมืองซูริเกาซิตี ไปทางเหนือ 5km (3.1mi) เมื่อวันที่ 5 มีนาคม ที่ความลึก 10.5km (6.5mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VII (แรงมาก)[55] มีผู้เสียชีวิต 1 คน จากอาการหัวใจวาย และผู้ได้รับบาดเจ็บอีก 45 คน แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหว 6.5[56] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูด ในปาปัวนิวกินี ห่างจากหมู่บ้านคันเดรียน ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 32km (20mi) เมื่อวันที่ 5 มีนาคม ที่ความลึก 37.0km (23.0mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[57] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในสเปน ห่างจากเมืองโอลซา ไปทางเหนือ 11km (6.8mi) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม ที่ความลึก 2.6km (1.6mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[58] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 แมกนิจูด ในพม่า ห่างจากเมืองทวารวดี ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 34km (21mi) เมื่อวันที่ 13 มีนาคม ที่ความลึก 10.0km (6.2mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[59] วัดในย่างกุ้งบางแห่งได้รับความเสียหายและมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 38 คน แต่เสียชีวิต 2 คนที่โรงพยาบาล[60] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 แมกนิจูด ในชายฝั่งหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของอินเดีย ห่างจากเมืองโมฮิน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 230km (140mi) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ที่ความลึก 10.0km (6.2mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ III (อ่อน)[61] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.4 แมกนิจูด ในหมู่เกาะโซโลมอน ห่างจากเมืองเอากิ ไปทางเหนือ 70km (43mi) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ที่ความลึก 8.4km (5.2mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VI (แรง)[62] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 แมกนิจูด ในอินโดนีเซีย ห่างจากเมือง[บันจาร์มูลุง ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 1km (0.62mi) เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ที่ความลึก 111.7km (69.4mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[63] บ้านเรือน, วัด, สำนักงานและโรงเรียนได้รับความเสียหายในระหว่างแผ่นดินไหว มีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด 7 คน[64] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 แมกนิจูด ในอียิปต์ ห่างจากเมืองสุเอซ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 69km (43mi) เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ที่ความลึก 1.6km (0.99mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[65] มีผู้เสียชีวิต 1 คน และผู้ได้รับบาดเจ็บ 7 คน[66] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 แมกนิจูด ในจีน ห่างจากเมืองหฺยวี่หู มณฑลยูนนาน ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 23km (14mi) เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่ความลึก 27.6km (17.1mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ II (อ่อน)[67] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.2 แมกนิจูด ในสหรัฐ ห่างจากเมืองแอตตูสเตชัน รัฐอะแลสกา ไปทางตะวันตก 63km (39mi) เมื่อวันที่ 27 มีนาคม ที่ความลึก 20.6km (12.8mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ V (ปานกลาง)[68] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 แมกนิจูด ในรัสเซีย ห่างจากเมืองอุสต์-คัมชัตสค์ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 81km (50mi) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ที่ความลึก 17.0km (10.6mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ VIII (อย่างรุนแรง)[69] เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 แมกนิจูด นอกชายฝั่งเม็กซิโก ห่างจากเมืองอีเกราเดซาราโกซา รัฐซีนาโลอา ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 78km (48mi) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ที่ความลึก 17.0km (10.6mi) คลื่นกระแทกมีความรุนแรงสูงสุดที่ระดับ IV (เบา)[70]",
"title": "แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560"
},
{
"docid": "4100#16",
"text": "ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (English: Intensity) ต่างจากขนาดแผ่นดินไหว เนื่องจากความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้งนั้นขึ้นอยู่กับระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวมาถึงผู้สังเกตว่าห่างมากน้อยเพียงใด ความเสียหายจะเกิดมากที่สุดบริเวณใกล้จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวและค่อยๆลดทอนออกมาตามระยะทาง โดยมาตราวัดความรุนแรงมีหลายมาตรา เช่น มาตราชินโดะ มาตราเมร์กัลลี เป็นต้น",
"title": "แผ่นดินไหว"
},
{
"docid": "963699#0",
"text": "เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เกิดเหตุแผ่นดินไหวระดับตื้นซึ่งวัดขนาดความรุนแรงได้ 6.9 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ (7.0 ตามมาตราริกเตอร์) ที่เกาะลมบก จังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวตามของแผ่นดินไหวนำซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณใกล้เคียงกันเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม และมีขนาดความรุนแรง 6.4 ตามมาตราขนาดโมเมนต์",
"title": "แผ่นดินไหวในเกาะลมบก สิงหาคม พ.ศ. 2561"
},
{
"docid": "745933#3",
"text": "ในภูมิภาคแห่งนี้ เมื่อเดือนเมษายนปีเดียวกันก็ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 M มีจุดเหนือศูนย์กลางอยู่ในประเทศเนปาล ทำให้มีผู้เสียชีวิตเกือบ 9,000 คน เป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในรอบ 80 ปีของประเทศ แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ครั้งหนึ่งในพื้นที่ใกล้เคียงกันกับครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อสิบปีก่อน เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 แผ่นดินไหวขนาดใกล้เคียงกัน (7.6 M) จุดศูนย์กลางอยู่ในแคชเมียร์ ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 87,351 คน ประชากร 2,800,000 คนไร้ที่อยู่อาศัย ข้อสังเกตคือแผ่นดินไหวครั้งนั้นมีจุดศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปเพียง 15 กิโลเมตร เทียบกับแผ่นดินไหวครั้งนี้ที่มีจุดศูนย์กลางลึกลงไปกว่า 212.5 กิโลเมตร\nแผ่นดินไหวหลักในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2558 เกิดขึ้นเมื่อเวลา 13:39 น. ตามเวลาในประเทศอัฟกานิสถาน (09:09 UTC) ที่ความลึกจากผิวดิน 212.5 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากเมืองฟายซาบัด (ประชากร 44,000 คน) เมืองหลักของจังหวัดบาดัคชาน ประเทศอัฟกานิสถาน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ราว 82 กิโลเมตร สำนักธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา (USGS) วัดความรุนแรงครั้งแรกได้ 7.7 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ ต่อมาปรับลดขนาดลงเหลือ 7.6 และปรับลดครั้งล่าสุดเหลือ 7.5 M",
"title": "แผ่นดินไหวในประเทศอัฟกานิสถาน พ.ศ. 2558"
},
{
"docid": "3600#2",
"text": "พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาของแผ่นดินไหว ซึ่งสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับพลังทำลายล้างของมัน สามารถวัดได้จาก / เท่าของแอมพลิจูดการสั่น ดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน 1 แมกนิจูดจึงมีค่าเท่ากับพหุคูณของ 31.6 (= (10)) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา และที่แตกต่างกัน 2 แมกนิจูด จะมีค่าเท่ากับพหุคณของ 1000 (= (10)) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา (ความจริงแล้ว แมนติจูด ใช้วัดปริมาณพลังงานของแผ่นดินไหวทีแท้จริง แต่คนไทยเรียกผิดเป็นริกเตอร์)",
"title": "มาตราริกเตอร์"
},
{
"docid": "406160#2",
"text": "เนื่องจากความเข้มสูงและศูนย์กลางที่อยู่ตื้น แผ่นดินไหวได้ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของพื้นดินเป็นบริเวณกว้าง การสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงวัดค่าได้ระดับ 9 ตามมาตราเมอร์แคลลีในวาน แม้ระดับ 6-8 จะสัมผัสได้ในพื้นที่ที่เล็กกว่าและประชากรน้อยกว่าหลายแห่งรอบจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวความรุนแรงระดับ 3-5 ยังรู้สึกได้ไหลกว่านั้นทั่วภูมิภาค ไกลถึงประเทศเพื่อนบ้านอย่างอาร์มีเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย อิหร่าน อิรัก อิสราเอลและซีเรีย",
"title": "แผ่นดินไหวในวาน พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "363968#7",
"text": "การสั่นไหวที่รุนแรงถูกจัดให้อยู่ในระดับ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดของมาตรความรุนแรงแผ่นดินไหวของสำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นในคูริฮาระ จังหวัดมิยางิ ส่วนในจังหวัดอื่นอีกสามจังหวัด ได้แก่ จังหวัดฟูกูชิมะ จังหวัดอิบารากิ และจังหวัดโทจิงิ ถูกบันทึกไว้ว่าอยู่ในระดับ 6 บนตามมาตราดังกล่าว ส่วนสถานีแผ่นดินไหวในจังหวัดอิวาเตะ จังหวัดกุมมะ จังหวัดไซตามะ และจังหวัดชิบะ วัดความรุนแรงได้ในระดับ 6 ล่าง และ 5 บนในโตเกียว",
"title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "365544#1",
"text": "ความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวสามารถคำนวณได้จากการวัดซึ่งขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์คลื่นแผ่นดินไหว ด้วยปรากฏการณ์คลื่นทั้งหมดในทางฟิสิกส์ มีความไม่แน่นอนอยู่ในการวัดปริมาณดังกล่าวเพิ่มยิ่งขึ้นตามความยาวคลื่น ดังนั้นความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งที่มาของคลื่นที่มีความยาวนี้ (ความถี่ต่ำ) จึงเป็นการยากที่จะตรวจสอบให้แน่ชัด แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากจะส่งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาส่วนใหญ่ในรูปของคลื่นแผ่นดินไหวที่มีความยาวคลื่นมาก และดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากขึ้นเท่าใดก็เป็นการปลดปล่อยพลังงานจากหินที่มีมวลมากยิ่งขึ้นเท่านั้น",
"title": "ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว"
},
{
"docid": "776989#0",
"text": "แผ่นดินไหวในอิมผาล พ.ศ. 2559 หรือ แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย พ.ศ. 2559 เป็นแผ่นดินไหวขนาด 6.7 แมกนิจูด เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2559 เวลา 04:35 น. ตามเวลาท้องถิ่นในประเทศอินเดีย () วัดความรุนแรงได้ VII หรือหรือระดับ 7 ตามมาตราเมร์กัลลี โดยมีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากเมืองอิมผาล รัฐมณีปุระ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 33 กิโลเมตร และศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 55 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้รู้สึกแรงสั่นสะเทือนได้ถึงประเทศบังกลาเทศ ประเทศพม่า และประเทศเนปาล",
"title": "แผ่นดินไหวในอิมผาล พ.ศ. 2559"
},
{
"docid": "527378#0",
"text": "มาตราความรุนแรงคลื่นไหวสะเทือนของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น คือมาตราส่วนคลื่นไหวสะเทือนที่ใช้ในญี่ปุ่นและไต้หวันเพื่อวัดระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว โดยใช้หน่วยวัดเป็น ซึ่งต่างจากมาตราส่วนขนาดโมเมนต์ (ก่อนริกเตอร์) ซึ่งเป็นมาตราที่วัดพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากการเกิดแผ่นดินไหว",
"title": "มาตราความรุนแรงคลื่นไหวสะเทือนของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "492285#0",
"text": "แผ่นดินไหวในชเวโบ พ.ศ. 2555 เกิดขึ้นเมื่อเวลา 07.42 น. ตามเวลาท้องถิ่น (01:12 UTC) ของวันที่ 11 พฤศจิกายน วัดขนาดได้ที่แมกนิจูด 6.8 และวัดความรุนแรงได้ที่ระดับ 8 ในมาตราเมร์กัลลี จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ใกล้กับเมือง Male ห่างจากนครชเวโบไปทางเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ 52 กิโลเมตร มีรายงานความเสียหายอย่างมากและเป็นไปได้ว่าผู้เสียชีวิตจากใกล้จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว โดยเกรงว่า ประชาชนอย่างน้อย 13 คนเสียชีวิต และมียอดผู้ได้รับบาดเจ็บสูงกว่านี้อีกมาก สะพานที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างแห่งหนึ่งถล่มลงสู่แม่น้ำอิรวดีบางส่วนใกล้กับชเวโบ และเหมืองทองถล่มที่ Sintku",
"title": "แผ่นดินไหวในชเวโบ พ.ศ. 2555"
},
{
"docid": "707482#0",
"text": "แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558 เกิดเมื่อเวลา 11:56 น. ตามเวลาในประเทศเนปาล (6:11:26 น. เวลาสากลเชิงพิกัด) ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2558 วัดขนาดได้ 7.8 ตามมาตราโมเมนต์ และวัดความรุนแรงได้ IX หรือระดับ 9 ตามมาตราเมร์กัลลี โดยมี epicenter หรือ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากเมืองลัมชุง ประเทศเนปาล ไปทางตะวันออก-ตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 34 กิโลเมตร และศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 15 กิโลเมตร นับเป็นแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดของประเทศเนปาลนับแต่เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล–รัฐพิหาร พ.ศ. 2477 จนถึงวันที่ 27 เมษายน มีรายงานผู้ต้องอุบัติเหตุในประเทศเนปาลและพื้นที่ใกล้เคียงของประเทศอินเดีย, จีน และบังกลาเทศ",
"title": "แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล เมษายน พ.ศ. 2558"
},
{
"docid": "364138#4",
"text": "เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 เกิดแผ่นดินไหวซึ่งวัดความรุนแรงได้ 9.0 แมกนิจูด เมื่อเวลาราว 14.46 น. ตามเวลามาตรฐานญี่ปุ่น นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4, 5 และ 6 ถูกปิดตัวลงก่อนหน้าที่จะเกิดแผ่นดินไหวเพื่อการบำรุงรักษาตามกำหนด ส่วนเครื่องปฏิกรณ์ที่เหลือถูกปิดลงอัตโนมัติหลังจากเกิดแผ่นดินไหว แต่คลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นตามมาได้เข้าท่วมโรงไฟฟ้า ทำให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินซึ่งใช้สำหรับทำงานปั๊มทำความเย็นและควบคุมเตาปฏิกรณ์ ความเสียหายจากอุทกภัยและแผ่นดินไหวทำให้ความช่วยเหลือจากที่อื่นไม่สามารถเข้ามาถึงได้ อีกหลายวันต่อมามีหลักฐานว่าแกนปฏิกรณ์บางส่วนหลอมละลายในเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1, 2 และ 3 การระเบิดของไฮโดรเจนทำลายวัสดุใช้หุ้มส่วนบนของอาคารซึ่งเป็นที่ตั้งของเครื่องปฏิกรณ์ที่ 1 และ 3 แรงระเบิดได้ทำลายอาคารคลุมเตาปฏิกรณ์ที่ 2 และเกิดเพลิงไหม้อย่างรุนแรงที่เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4",
"title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง"
},
{
"docid": "941854#1",
"text": "แผ่นดินไหวมีขนาดความแรงได้ที่ระดับ VIII (\"รุนแรง\") ตามระดับความรุนแรงของมาตราเมร์กัลลี มีแผ่นดินไหวนำขนาดเล็กวัดขนาดได้ 5.4 ซึ่งรู้สึกได้ทั่วทั้งเกาะและไกลถึงเกาะโอวาฮู ",
"title": "แผ่นดินไหวในเกาะฮาวาย พ.ศ. 2561"
},
{
"docid": "476727#0",
"text": "แผ่นดินไหวในประเทศคอสตาริกา พ.ศ. 2555 เกิดขึ้นเมื่อเวลา 8.42 น. ตามเวลาท้องถิ่น (14:42 UTC) วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555 วัดขนาดได้ 7.6 โมเมนต์แมกนิจูด จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหวอยู่ในคาบสมุทรนิโกยา ห่างจากเมืองนิโกยาไปทางตะวันออก-ตะวันออกเฉียงใต้ 11 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้สามารถรับรู้ได้ทั่วประเทศคอสตาริกา และไกลถึงนิการากัว เอลซัลวาดอร์ และปานามา ความรุนแรงสูงสุดถึงระดับ 9 ตามมาตราเมร์กัลลี ใกล้จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว การสั่นสะเทือนมีความรุนแรงในมาตราเมร์กัลลีที่ระดับ 8 ในซานตากรุซ และระดับ 5 ในซานโฮเซ มีการออกเตือนภัยคลื่นสึนามิจากนั้นไม่นาน แต่ภายหลังถูกยกเลิก ทราบว่ามีผู้เสียชีวิตสองราย รายหนึ่งจากอาการหัวใจล้มเหลว และอีกรายหนึ่งเป็นกรรมกรก่อสร้าง ถูกกำแพงถล่มลงมาทับ",
"title": "แผ่นดินไหวในประเทศคอสตาริกา พ.ศ. 2555"
},
{
"docid": "294172#0",
"text": "แผ่นดินไหวในประเทศเฮติ พ.ศ. 2553 เป็นเหตุการณ์ภัยพิบัติแผ่นดินไหว ซึ่งมีความรุนแรง 7.0 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ โดยศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากกรุงปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศเฮติ ไปราว 25 กิโลเมตร แผ่นดินไหวเกิดขึ้นเมื่อเวลา 16:53 น. ตามเวลาท้องถิ่น (21:53 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด) ของวันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2553 หรือตรงกับเวลา 04.53 นาฬิกา ในเช้าวันพุธที่ 13 มกราคม ตามเวลาประเทศไทย จนถึงวันที่ 24 มกราคม ได้บันทึกว่าเกิดอาฟเตอร์ช็อกซึ่งวัดขนาดความรุนแรงได้กว่า 4.5 หรือมากกว่า เมือ่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ได้มีการประมาณว่ามีผู้ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวมากกว่า 3 ล้านคน; รัฐบาลเฮติรายงานว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 217,000 และ 230,000 คน ประมาณการผู้ได้รับบาดเจ็บ 300,000 คน และอีก 1,000,000 ไม่มีที่อยู่อาศัย โดยยอดผู้เสียชีวิตทั้งหมดคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้รัฐบาลยังประมาณว่ามีบ้านเรือน 250,000 หลัง และอาคารพาณิชย์อีกกว่า 30,000 หลัง พังทลายหรือเสียหายอย่างหนัก",
"title": "แผ่นดินไหวในประเทศเฮติ พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "310159#1",
"text": "การไหวครั้งแรกสร้างแรงสั่นสะเทือนในพื้นที่ชูเอะสึในจังหวัดนีงะตะ อ่านค่าความรุนแรงของแผ่นดินไหวในมาตราชินโดะที่เมืองคะวะงุจิ จังหวัดนีงะตะ ได้ที่ระดับ 7 และอ่านขนาดของแผ่นดินไหวได้ที่แมกนิจูด 6.9 (เพื่อการเปรียบเทียบ แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ฮันชิงที่ทำลายพื้นที่หลายส่วนในโคเบะ วัดค่าความรุนแรงตามาตราชินโดะได้ระดับ 7 และวัดขนาดได้ที่แมกนิจูด 7.2 ) แผ่นดินไหวเกิดขึ้นที่ความลึก 15.8 กิโลเมตร JMA ได้ให้พิกัดของแผ่นดินไหวที่ ",
"title": "แผ่นดินไหวในชูเอะสึ พ.ศ. 2547"
},
{
"docid": "414755#0",
"text": "แผ่นดินไหวในรัฐเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2554 เกิดขึ้นในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เมื่อเวลา 19.51 น. ตามเวลาท้องถิ่น (17:51 UTC) ในพื้นที่เปียดมอนต์ของรัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ในลุยซาเคาน์ตี ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของริชมอนด์ 61 กิโลเมตร และ 8 กิโลเมตรทางใต้-ตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองมิเนอรัล 8 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยมีวัดขนาดได้ที่แมกนิจูด 5.8 และวัดความรุนแรงได้ระดับ 7 ตามมาตราเมร์กัลลี เกิดแผ่นดินไหวตามหลายครั้ง ซึ่งมีขนาดใหญ่สุด 4.5 เกิดขึ้นหลังการสั่นสะเทือนหลัก",
"title": "แผ่นดินไหวในรัฐเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "170044#0",
"text": "สถานีแผ่นดินไหว () เป็นหน่วยปฏิบัติงานเฝ้าระวังปรากฏการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลก\nประเทศไทยเริ่มมีสถานีแผ่นดินไหวแห่งแรกที่เชิงดอยสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ.2506 ภายใต้การกำกับของกรมอุตุนิยมวิทยาด้วยความร่วมมือของสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา (United States Geological Survey: USGS) \nปัจจุบัน สถานีแผ่นดินไหวเชียงใหม่ (Chiang Mai Seismic Station: CHTO) ถือเป็นสถานีแผ่นดินไหวที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานเทียบเท่าสถานีเครือข่ายของโลก (Global Seismograph Network) ปฏิบัติงานด้วยเครื่องตรวจแผ่นดินไหวแบบดิจิตอลออนไลน์ระบบไอริส (Incorporated Research Institutions for Seismology: IRIS) สามารถเฝ้าระวังเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ตามเวลาจริง (real time)ปัจจุบันนับว่างานเฝ้าระวังแผ่นดินไหวของไทยมีความก้าวหน้าไปมาก โดยเฉพาะสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานระดับโลกในความมีมาตรฐานการปฏิบัติงานและเครื่องมือที่ทันสมัย สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกายังคงเป็นหน่วยงานที่สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวเชียงใหม่ร่วมมือประสานการปฏิบัติงานตลอดมา นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์ของสถานีที่ออนไลน์อยู่บนโลกไซเบอร์หลายเว็บไซต์ เช่น",
"title": "สถานีแผ่นดินไหว"
},
{
"docid": "450241#0",
"text": "แผ่นดินไหวที่แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลี พ.ศ. 2555 เกิดขึ้นในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 4.04 น. ศูนย์กลางแผ่นดินไหวลึกลงไปเพียง 10 กิโลเมตร วัดขนาดได้ 6.0 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 7 ราย ถูกอาคารทับเสียชีวิต 6 รายและหัวใจวายเสียชีวิต 1 รายมีจุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ อยู่บริเวณ ฟินาเล่ เอมิเลีย , ซาน เฟลิซ ซัล ปานาโร่ และเซอร์ไมด์ห่างไปทางตอนเหนือของเมืองโบโลญญาปนะมาณ 35 กิโลเมตร แต่แรงสะเทือนสามารถรับรู้ถึงความรู้สึกได้ไกลถึงแคว้นทัสคานี่ และอัลโต อาดิเจ เมืองเวนิซและมิลาน โดยเหตุแผ่นดินไหวซ้ำวัดขนาดได้ขนาด 5.1 ในช่วงบ่าย ส่งผลให้ให้อาคารหลายแห่งที่ได้รับความเสียหายอยู่แล้วพังทลายลงมา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สิ่งก่อสร้างในยุคโบราณ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานหลายแห่งเหตุการณ์นี้นับว่าเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในรอบ 3 ปี ของประเทศอิตาลีและคาดว่าแผ่นดินไหวจะทำให้มีคนไร้ที่อยู่อาศัยประมาณ 3,000 คน ",
"title": "แผ่นดินไหวในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา พ.ศ. 2555"
}
] |
3167 | สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีเกิดเมื่อวันที่เท่าไหร่? | [
{
"docid": "84473#2",
"text": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมว่า \"บุญรอด\" เสด็จพระราชสมภพในเวลาเช้าของวันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2310[2] ณ ตำบลอัมพวา เมืองราชบุรี (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสมุทรสงคราม) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก กับบิดาคือเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน เศรษฐีเชื้อสายจีนย่านถนนตาล ในกรุงศรีอยุธยา[3] เมื่อแรกเริ่มเจ้าคุณชีโพ กนิษฐาในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีได้ให้การอุปถัมภ์อำรุง คุณบุญรอดจึงนับถือเจ้าคุณชีโพเป็นพระมารดาเลี้ยงเสมอมา[3]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
}
] | [
{
"docid": "84473#14",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นสืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระนามาภิไธยพระบรมอัฐิเป็น สมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ตามที่ทรงเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเป็นพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#5",
"text": "ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จเข้าไปปรนนิบัติราชการในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์พร้อมพระภัสดาและพระบุตรได้ตามเสด็จเข้ามาตั้งนิวาสสถานและโรงแพที่ตำบลกุฎีจีน ปัจจุบันคือพระวิหารและหอไตรวัดกัลยาณมิตร ส่วนแพอยู่ในคลองบางกอกใหญ่ตรงวัดโมฬีโลกข้างใต้[3]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#24",
"text": "พลับพลาสมเด็จพระศรีสุริเยนทราฯ ตั้งอยู่ที่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เดิมเป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ปลูกอยู่ในสวนพระราชวังเดิม กล่าวกันว่า เป็นพลับพลาที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะทรงผนวชอยู่) ประทับเฝ้าเยี่ยมพระราชมารดา หลังจากสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสวรรคตแล้วโปรดให้รื้อมาปลูกที่ริมคูด้านหน้าออกถนนพระสุเมรุ หน้าพระตำหนัก วัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อเป็นอาสนศาลา ต่อมาจึงย้ายมาปลูกใหม่ในบริเวณตำหนักจันทร์ [17]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "4281#82",
"text": "Family of Main Page 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุศย์ (ชาวบางเขน)11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง14. หลวงอาสาสำแดง (แตง)7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "84473#25",
"text": "สะพานสมเด็จพระศรีสุริเยนทร์",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "53263#13",
"text": "Family of Main Page สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระอัครชายา (หยก)พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทองสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารีพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวชาวฮกเกี้ยนแซ่ตันเงิน แซ่ตันน้องสาวของท่านผู้หญิงน้อย ภรรยาเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์พระอัครชายา (หยก)กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญพระยารัตนราชเศรษฐี (อ๋อง ไซ)บุญมาก แซ่อ๋องหม่อมปราง (บาง) ธิดาพระยาราชาเศรษฐี (องตือดึก) เจ้าญวนเมืองบันทายมาศบุญมี แซ่อ๋องบุญเกิด แซ่โหงวบุญเลี้ยง แซ่โหงวเจ้าจอมมารดาเอม",
"title": "กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ"
},
{
"docid": "45667#27",
"text": "พงศาวลีของสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) เงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุศย์ (ชาวบางเขน)11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า14. หลวงอาสาสำแดง (แตง สุจริตกุล)7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)",
"title": "สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร"
},
{
"docid": "177753#2",
"text": "พระตำหนักแดงภายในพระบรมมหาราชวัง ประกอบด้วย ตำหนัก 2 หลัง โดยหลังแรกเป็นที่ประทับของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ตราบจนพระองค์สิ้นพระชนม์ ต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้ว ทรงเชิญสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระองค์มาประทับภายในพระบรมมหาราชวังโดยประทับ ณ ตำหนักแดงหลังนี้ ชาววังจึงเรียกตำหนักแห่งนี้ว่า \"พระตำหนักตึก\" ส่วนตำหนักแดงหลังที่ 2 นั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยบริเวณหลังพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เพื่อใช้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี พระอัครมเหสีในพระองค์ ",
"title": "พระตำหนักแดง"
},
{
"docid": "47686#28",
"text": "พงศาวลีของสมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุศย์11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า14. หลวงอาสาสำแดง (แตง)7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร"
},
{
"docid": "84473#4",
"text": "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ (ต้นราชสกุลเทพหัสดิน ณ อยุธยา) สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอนัคฆนารี สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าขุนเณร (สิ้นพระชนม์เมื่อพระชันษา 7 ปี) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระนามเดิม เจ้าฟ้าบุญรอด) สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษมนตรี (ต้นราชสกุลมนตรีกุล ณ อยุธยา) สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ (ต้นราชสกุลอิศรางกูร ณ อยุธยา)",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#8",
"text": "เมื่อเวลาผ่านไปได้ 3 เดือน สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรจึงได้เสด็จไปเข้าเฝ้าสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ให้พาพระองค์เข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัว เพื่อขอรับพระราชทานอภัยโทษ จนทรงให้เข้าเฝ้าและค้าขายสำเภาได้ตามเดิม จากนั้นจึงได้เสด็จเข้าเฝ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์เพื่อขอรับเจ้าฟ้าบุญรอดกลับ แต่กรมหลวงเทพหริรักษ์ไม่ไว้พระทัยที่สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรทรงมีเหล่าสนมนางในและบาทบริจาริกามากมายอยู่แล้ว จึงทรงให้เจ้าฟ้าฉิมปฏิญาณว่า \"จะมิให้บุตรและภริยาทั้งปวงเป็นใหญ่กว่าฤๅเสมอเท่าเจ้าฟ้าบุญรอด\" จึงทรงยอมมอบเจ้าฟ้าบุญรอดให้[4] ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2 ระบุว่า \"เมื่อในรัชกาลที่ ๑ นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ เป็นพระอรรคชายา\"[6]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#0",
"text": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือประชาชนเรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระชายา[1]ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "4284#51",
"text": "พงศาวลีของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร 16. (=20) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย8. (=10) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว17. (=21) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา2. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก20. (=16) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย10. (=8) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว21. (=17) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี5. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า22. หลวงอาสาสำแดง (แตง สุจริตกุล)11. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา23. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)1. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร12. ชุ่ม ชูกระมล6. ชู ชูกระมล13.3. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี14.7. คำ ชูกระมล15. ผา",
"title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร"
},
{
"docid": "84473#27",
"text": "Family of Main Page 8.4.9.2. [เงิน แซ่ตัน]]10. จอมเฒ่า5.11.1. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี24. เจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง)12. พระยาราชนิกูล (ทองคำ)6. สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก13.3. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์14.7. พระอัครชายา (หยก)15.",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#22",
"text": "บุญรอด สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ สมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#16",
"text": "สมเด็จเจ้าฟ้าบุญรอดทรงรับหน้าที่กิจการด้านเครื่องต้นรับใช้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยสืบต่อจากสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระมารดา[12] ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ได้กล่าวถึงพระเกียรติคุณของพระองค์ความว่า \"...พระองค์เป็นอัจฉริยะนารีรัตน์ พิเศษพระองค์หนึ่ง ทรงชำนิชำนาญในกิจการของสตรีที่อย่างดีมีปากศิลปวิธีการชั่งทำกับเข้าของกินเป็นเลิศอย่างเอก...\"[13]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "177753#3",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พร้อมกับพระราชโอรส คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ได้เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม ซึ่งในระยะเวลานั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรื้อหมู่ตำหนักภายในเขตพระราชฐานชั้นในเพื่อสร้างเปลี่ยนตำหนักไม้เป็นตำหนักตึก พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำหนักแดงที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีไปปลูกที่พระราชวังเดิมด้วย เมื่อสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสวรรคต ตำหนักแดงในส่วนที่ประทับของพระองค์ได้รื้อไปถวายเป็นกุฏิเจ้าอาวาสวัดโมลีโลกยาราม ",
"title": "พระตำหนักแดง"
},
{
"docid": "19587#54",
"text": "Family of Main Page 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) เงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุศย์11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า14. หลวงอาสาสำแดง (แตง)7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก"
},
{
"docid": "18064#81",
"text": "สกุลวงศ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี[84] 16. (=20.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย8. (=10.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว17. (=21.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา2. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว20. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย10. (=8.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว21. (=17.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี5. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง22. หลวงอาสาสำแดง (แตง สุจริตกุล)11. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา23. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี24. เจ้าพระยาคทาธรธรณินทร์ (เยีย อภัยวงศ์)12. เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)25. ท่านผู้หญิงคทาธรธรณินทร์ (ทิม)6. พระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์)26.13. คุณหญิงสอิ้ง คฑาธรธรณินทร์ [85]27.3. พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี28. สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)14. เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)29. ท่านผู้หญิงกลิ่น บุนนาค7. คุณเล็ก บุนนาค30. พระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์)15. ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)31.",
"title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี"
},
{
"docid": "4261#75",
"text": "Family of Main Page 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุศย์ (ชาวบางเขน)11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง28. พระยาจินดารังสรรค์ (แก้วแขก)14. หลวงอาสาสำแดง (แตง)29. คุณหญิงจีน จินดารังสรรค์7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว"
},
{
"docid": "6263#4",
"text": "จังหวัดสมุทรสงครามเป็นแผ่นดินที่เกิดขึ้นใหม่จากการทับถมของโคลนตะกอนบริเวณปากแม่น้ำ เกิดเป็นที่ดอนจนกลายมาเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ ปรากฏชื่อครั้งแรกในนาม “แม่กลอง” นอกจากนั้นตามประวัติของราชินิกุลบางช้าง (ดูเพิ่มเติม ณ บางช้าง) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีซึ่งเป็นพระราชินีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระญาติวงศ์ มีพระนิวาสสถานดั้งเดิมอยู่ที่แขวงบางช้าง สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีทรงสืบเชื้อสายจากกษัตริย์ราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์พระร่วง (ราชวงศ์สุโขทัย) แห่งอาณาจักรสุโขทัยโดยที่เจ้าพลายและเจ้าแสน แห่งราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงหนีราชภัยมาตั้งถิ่นฐานที่แขวงบางช้าง จังหวัดสมุทรสงครามจึงเป็นเมืองราชินิกุลบางช้างและราชสกุลแห่งราชวงศ์สุโขทัย มีการสืบทอดนาฏศิลป์ วรรณศิลป์ และการทำอาหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารชาววัง) ของสมัยสุโขทัยเป็นต้นมา สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีซึ่งเคยประทับกับสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีที่แขวงบางช้างทรงรับถ่ายถอดการทำอาหารจากที่นี่และทรงเป็นผู้ทำอาหารในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์",
"title": "จังหวัดสมุทรสงคราม"
},
{
"docid": "84473#23",
"text": "พลับพลาสมเด็จพระศรีสุริเยนทราฯ",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#21",
"text": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ประสูติพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จำนวน 5 พระองค์ คือ[16]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "39365#52",
"text": "พงศาวลีของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี 16. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช8. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=12.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. เงิน แซ่ตัน9. (=25.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์2. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์20.10. หลวงอาสาสำแดง (แตง)21.5. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา22.11. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)23.1. Main Page24. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย12. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว25. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี6. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร26. พระยาราชสงคราม (อิน อินทรวิมล)13. เจ้าจอมมารดาพึ่ง27.3. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี28.14. กิม29.7. หม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา30.15. เต่า31.",
"title": "สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี"
},
{
"docid": "37967#74",
"text": "พงศาวลีของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 16. (=22.) สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก8. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช17. (=23.) พระอัครชายา (หยก)4. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย18. ทอง ณ บางช้าง9. สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี19. สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี2. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. เศรษฐีจีนฮกเกี้ยนแซ่ตัน10. เงิน แซ่ตัน21. น้องสาวของท่านผู้หญิงชำนาญบริรักษ์ (น้อย)5. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี22. (=16.) สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก11. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์23. (=17.) พระอัครชายา (หยก)1. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า6. หลวงอาสาสำแดง (แตง)3. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา7. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า"
},
{
"docid": "84473#26",
"text": "สะพานสมเด็จพระศรีสุริเยนทร์ ตั้งอยู่ ณ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นสะพานข้ามแม่น้ำแม่กลองเชื่อมระหว่าง หมู่ที่ 2 ตำบลสวนหลวง อำเภออัมพวา กับเขตเทศบาลตำบลอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม กรมศิลปากรได้พิจารณาเสนอชื่อสะพานตามพระนามสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี เนื่องจากพระองค์เสด็จพระราชสมภพ ณ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อ สะพานสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าและสะพานสมเด็จพระอมรินทร์ ซึ่งได้ตั้งชื่อเป็นพระนามย่อเช่นเดียวกัน [18]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "84473#6",
"text": "เมื่อเกิดการผลัดแผ่นดินขึ้น สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ คุณบุญรอดก็ได้เลื่อนขึ้นเป็นเจ้าทรงพระนาม สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด ทรงประทับอยู่พระตำหนักแดงในพระบรมมหาราชวัง ทั้งนี้ทรงสนิทสนมกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพยวดี พระขนิษฐาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย[4]",
"title": "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"
},
{
"docid": "34380#56",
"text": "Family of Main Page 16. (=24.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก8. (=12.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. (=25.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. (=6.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. (=26.) ขรัวเงิน แซ่ตัน9. (=13.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี19. (=27.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว20. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว10. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์5. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี22. บุษย์11. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา23. แจ่ม1. Main Page24. (=16.) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก12. (=8.) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย25. (=17.) สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี6. (=4.) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว26. (=18.) เงิน แซ่ตัน13. (=9.) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี27. (=19.) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์3. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง14. หลวงอาสาสำแดง (แตง)7. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา15. ท้าวสุจริตธำรง (นาค)",
"title": "สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ"
},
{
"docid": "23931#92",
"text": "พงศาวลีของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ 16. (=20) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย8. (=10) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว17. (=21) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา2. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก20. (=16) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย10. (=8) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว21. (=17) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี5. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า22. หลวงอาสาสำแดง (แตง สุจริตกุล)11. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา23. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)1. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์12. ชุ่ม6. ชู ชูกระมล3. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี7. คำ ชูกระมล15. ผา",
"title": "สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์"
}
] |
2737 | ภูเขาที่สูงที่สุดในโลกอยู่ที่ใด? | [
{
"docid": "24347#2",
"text": "ความสูงของภูเขาโดยทั่วไปจะวัดโดยความสูงที่ระดับเหนือน้ำทะเล เช่น เทือกเขาหิมาลัย โดยเฉลี่ยมีความสูงอยู่ที่ระดับ 5 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล ยอดเขาเอเวอเรสต์บนเทือกเขาหิมาลัย และเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก สูงจากระดับน้ำทะเลราวๆ 8.8 กิโลเมตร (8,844 เมตร) ดอยอินทนนท์ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของไทย มีความสูงจากระดับน้ำทะเลที่ 2,565 เมตร",
"title": "ภูเขา"
},
{
"docid": "5116#2",
"text": "คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา () และนักปีนเขา () บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว",
"title": "ยอดเขาเอเวอเรสต์"
}
] | [
{
"docid": "2074#2",
"text": "ในทางภูมิศาสตร์ หมู่เกาะมลายูเป็นหนึ่งในบริเวณที่มีภูเขาไฟมีพลังมากที่สุดในโลก ผืนดินที่ยกตัวขึ้นในบริเวณนี้ทำให้เกิดภูเขาที่สวยงามอย่างยอดเขาปุนจักจายาที่จังหวัดปาปัวในอินโดนีเซีย ความสูงถึง 5,030 เมตร (16,024 ฟุต) บนเกาะนิวกินี อีกทั้งยังเป็นสถานที่เดียวที่สามารถพบธารน้ำแข็งได้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะที่บริเวณที่สูงเป็นอันดับสองอย่างยอดเขากีนาบาลูในรัฐซาบะฮ์ของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ซึ่งมีความสูง 4,095 เมตร (13,435 ฟุต) ภูเขาที่สูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือยอดเขาคากาโบราซี โดยมีความสูงถึง 5,967 เมตร ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของพม่า และเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย ขณะเดียวกันอินโดนีเซียนั้นถูกจัดว่าเป็นหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลก (จัดโดย CIA World Factbook)",
"title": "เอเชียตะวันออกเฉียงใต้"
},
{
"docid": "952842#0",
"text": "ภูเขาไฟเอเรบัส () เป็นภูเขาไฟมีพลังที่อยู่ใต้สุดของโลกและเป็นสูงเป็นอันดับ 2 ในทวีปแอนตาร์กติการองจากภูเขาไฟซีย์เล ภูเขาลูกนี้เป็นภูเขาบนเกาะที่สูงเป็นอันดับ 6 ของโลก สูง 3,794 เมตรตั้งอยู่บนเกาะรอสส์ที่เป็นที่ตั้งของภูเขาดับสนิทอย่างภูเขาเทเรอะและภูเขาเบิรด์",
"title": "ภูเขาไฟเอเรบัส"
},
{
"docid": "256694#0",
"text": "ยอดเขานังกาปาร์บัต (; ) เป็นยอดเขาสูงสุดในโลกอันดับที่ 9 นังกาปาร์บัตแปลว่า “ยอดเขาเปลือย” “Parbat” มาจากภาษาสันสกฤตว่า “บรรพต” หรือ “ปรฺวต” (पर्वत) ที่แปลว่าภูเขาหรือหิน และคำว่า “Nanga” ที่มาจากภาษาสันสกฤตว่า “นคฺน” (नग्न) ที่แปลว่าเปลือยหรือว่าง แต่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภูเขานักฆ่า” (Killer Mountain) เพราะเป็นภูเขาที่มีอันตรายที่สุดในบรรดายอดเขาแปดพันเมตรสิบสี่ยอด โดยเฉพาะในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 แม้หลังจากนั้นอันตรายจะลดลงแต่ยังปีนได้ยากอยู่",
"title": "ยอดเขานังกาปาร์บัต"
},
{
"docid": "2274#5",
"text": "Great Barrier Reef แนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลก อยู่ห่างออกไปจากชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงเหนือและขยายไปยาวกว่า 2,000 กิโลเมตร (1,240 ไมล์). ภูเขาออกัสตัส, อ้างว่าเป็นหินใหญ่ก้อนเดียวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในออสเตรเลียตะวันตก. ที่ความสูง 2,228 เมตร (7,310 ฟุต) ภูเขา Kosciuszko บน Great Dividing Range เป็นภูเขาที่สูงที่สุดบนแผ่นดินใหญ่ของออสเตรเลีย แม้ว่าที่สูงกว่าคือ Mawson Peak (ที่ 2,745 เมตรหรือ 9,006 ฟุต), บนดินแดนที่ห่างไกลของออสเตรเลียที่เรียกว่า Heard Island, และใน Australian Antarctic Territory, ภูเขา McClintock และภูเขา Menzies ที่ความสูง 3,492 เมตร (11,457 ฟุต) และ 3,355 เมตร (11,007 ฟุต) ตามลำดับ.",
"title": "ประเทศออสเตรเลีย"
},
{
"docid": "71264#2",
"text": "ยอดเขาเคทูมีความโดดเด่นในเรื่องของความสูงและความชัน โดยตัวภูเขาเป็นทรงพีระมิดที่มีด้านทั้งสี่ที่ชันมาก โดยด้านเหนือของภูเขาจะมีความชันมากที่สุด โดยมีความสูงถึง 3,200 เมตรจากธารน้ำแข็งเคทูในระยะทางในแนวราบเพียง 3 กิโลเมตร หรือมีความชันเกือบ 47 องศา โดยเฉลี่ยแล้วแต่ละด้านจะมีความสูง 2,800 เมตรในระยะทางแนวราบประมาณ 4 กิโลเมตรหรือความชันกว่า 35 องศา ซึ่งเป็นองศาความชันที่ไม่มีภูเขาใดในโลกจะเทียบได้ จึงทำให้เคทูเป็นภูเขาที่ชันที่สุดและเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เคทูปีนได้ยากมาก",
"title": "เคทู"
},
{
"docid": "4165#6",
"text": "ภูเขาที่สูงที่สุดของสหภาพโซเวียตเป็นยอดเขาคอมมิวนิสต์ (ปัจจุบัน เป็นยอดเขาอิสมาอิล ยัคโซโมนี) ในทาจิกิสถานที่ 7,495 เมตร (24,590 ฟุต) สหภาพโซเวียตยังมีทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของโลกที่ทะเลสาบแคสเปียน (ร่วมกับอิหร่าน) และทะเลสาบไบคาล ทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่และลึกที่สุดในโลกซึ่งเป็นแหล่งน้ำภายในของรัสเซีย",
"title": "สหภาพโซเวียต"
},
{
"docid": "1990#12",
"text": "เกาะต่าง ๆ ซึ่งเต็มไปด้วยภูเขาส่วนใหญ่มีต้นกำเนิดจากภูเขาไฟและถูกปกคลุมด้วยป่าดิบชื้น ภูเขาที่สูงที่สุดคือภูเขาอาโป มีความสูงถึง 2,954 เมตร (9,692 ฟุต) จากระดับน้ำทะเลและตั้งอยู่ที่เกาะมินดาเนา ร่องลึกแกละทีอาในร่องลึกฟิลิปปินเป็นจุดที่ลึกที่สุดของประเทศและลึกที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ของโลก ร่องลึกดังกล่าวตั้งอยู่ในทะเลฟิลิปปิน",
"title": "ประเทศฟิลิปปินส์"
},
{
"docid": "70173#0",
"text": "ยอดเขาคิลิมันจาโร () ชื่อภูเขามาจากภาษาสวาฮีลี หมายความว่า \"ภูเขาที่ทอแสงแวววาว\" ยอดเขาคิลิมันจาโรตั้งอยู่ในเขตประเทศแทนซาเนียใกล้พรมแดนประเทศเคนยา ลักษณะเป็นภูเขาไฟยอดเดี่ยวที่สูงที่สุดในโลก และเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย มีความสูงกว่า 5,895 เมตร ตรงบริเวณยอดเขามียอดเขาด้วยกัน 5 ยอด เรียงตามลำดับความสูง คือ",
"title": "ยอดเขาคิลิมันจาโร"
},
{
"docid": "76567#1",
"text": "เขาหวงประกอบไปด้วยยอดเขาจำนวนมาก มียอดภูเขาที่มีชื่อ 72 ยอด และมีอยู่ 77 ยอดที่มีความสูงมากกว่า 1,000 เมตร ยอดเขาที่สูงที่สุด 3 อันดับแรกในเทือกเขาคือ ยอดเขาเหลียนหัว (莲花峰 \"เหลียนหัวเฟิง\" ยอดเขาดอกบัว มีความสูง 1,864 เมตร) ยอดเขากวงหมิง (光明顶 ยอดเขาสว่าง มีความสูง 1,840 เมตร) และ ยอดเขาเทียนตู่ (天都峰 \"เทียนตู่เฟิง\" แปลว่า ยอดเขาเมืองหลวงแห่งสวรรค์ มีความสูง 1,829 เมตร) เขตที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกประกอบด้วยบริเวณเทือกเขาซึ่งมีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร และรอบๆเทือกเขาอีก 142 ตารางกิโลเมตร",
"title": "เขาหวง"
}
] |
2845 | สำนักงานใหญ่ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี อยู่ที่ไหน? | [
{
"docid": "196281#2",
"text": "WWE มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ 1241 ถนนอีสต์ เมน ในสแตมฟอร์ด, รัฐคอนเนตทิคัต พร้อมทั้งสำนักงานต่างประเทศในนิวยอร์ก, ลอสแอนเจลิส, ลอนดอน, เซี่ยงไฮ้, โตเกียว, สิงคโปร์, และ มุมไบ[4] [5] เดิม WWE เป็นที่รู้จ้กกันในชื่อของบริษัท Titan Sports, Inc. ก่อนจะเปลี่ยนไปเป็น World Wrestling Federation, Inc. และเป็น World Wrestling Entertainment Inc. ในปัจจุบัน ล่าสุดในปี พ.ศ. 2554 ได้เปลี่ยนชื่อในทางการค้าเป็น WWE[6]",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
}
] | [
{
"docid": "618255#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค () เป็นช่องโทรทัศน์ผ่านอินเทอร์เน็ต ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เดิมทีทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เนตเวิร์กจะเปิดใช้บริการในปี 2012 แต่มีเหตุต้องเลื่อนออกไป จนล่าสุดทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศอีกครั้งว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คจะเปิดให้ใช้บริการวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2014 ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นที่แรก ทั้งนี้ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คมีคิวจะเปิดให้บริการในต่างประเทศต่อไป ไม่ว่าจะเป็น สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, สิงคโปร์, ฮ่องกง, เม็กซิโก, สเปน, ตุรกี และกลุ่มประเทศแถบนอร์ดิก ช่วงสิ้นปี 2014 หรือต้นปี 2015 นี้",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค"
},
{
"docid": "344301#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เอ็กซ์ตรีมรูลส์ เป็นศึกใหญ่ของ WWE ที่จัดขึ้นครั้งในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 2009 และได้เปลี่ยนมาจัดในช่วงประมาณเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 2010 แทนรายการดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบคแลช โดยรูปแบบการปล้ำจะเป็นแมทช์ที่มีการใช้อาวุธต่างๆ เช่น เก้าอี้,โต๊ะ,ดาบเทโด้ หรือ ถัง เป็นต้น และยังมีแมทช์ที่เป็นประเภทกรงเหล็กอีกด้วย",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เอ็กซ์ตรีมรูลส์"
},
{
"docid": "399365#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (วิดีโอเกมซีรีส์) เป็นชุดของวิดีโอเกมเกี่ยวกับมวยปล้ำอาชีพ ที่พัฒนาโดย ยูกี และเผยแพร่โดย ทีเอชคิว เกมในชุดจะขึ้นอยู่ในสมาคมมวยปล้ำอาชีพ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี และลักษณะแมทช์การปล้ำต่างๆ ของมวยปล้ำอาชีพ ตุ๊กตุ่นและตัวอักษรที่เล่นอยู่บนพื้นฐานของโปรแกรม ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ชื่อเดิมหลังจากที่รายการโทรทัศน์ของ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี สแมคดาวน์ ชุดถูกเปลี่ยนชื่อในที่สุดเพื่อเพิ่มการแสดงทางโทรทัศน์ของอื่น ๆ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ที่สำคัญ ในศึก รอว์ ในปี ค.ศ. 2011 ทีเอชคิว ประกาศว่าชุดจะเป็นที่รู้จักกันในขณะนี้เป็นเพียง ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เริ่มต้นด้วยการเปิดตัวของ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '12",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (วีดีโอเกมซีรีส์)"
},
{
"docid": "702479#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบทเทิลกราวด์ เป็นศึกใหญ่ของ WWE ที่จัดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 6 ตุลาคม ปี ค.ศ. 2013 และได้เปลี่ยนมาจัดแทนรายการดับเบิลยูดับเบิลยูอี โอเวอร์เดอะลิมิต ตามปฏิทินรายการเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอี ,ในปี ค.ศ. 2014 ได้ย้ายมาจัดในเดือนกรกฎาคมตามปฏิทินรายการเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอี",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบทเทิลกราวด์"
},
{
"docid": "192149#0",
"text": "รายชื่อรายการเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอี () หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ศึกใหญ่ เป็นรายชื่อรายการเพย์-เพอร์-วิวที่จัดโดยดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE) ในแต่ละเดือนดับเบิลยูดับเบิลยูอีจะจัดรายการดังกล่าว 1 หรือ 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งจะมีระยะเวลา 3 ชั่วโมงและมีการแข่งขันมวยปล้ำประมาณ 6 - 12 คู่ รายการเพย์-เพอร์-วิวทำรายได้ให้ดับเบิลยูดับเบิลยูอีเป็นจำนวนมาก",
"title": "รายชื่อรายการเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "525455#0",
"text": "ทีมดับเบิลยูดับเบิลยูอี เป็นกลุ่มนักมวยปล้ำของสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเฟเดเรชั่น/เอ็นเตอร์เทนเมนต์ หรีอ ดับเบิลยูเอฟ/อี กลุ่มนี้ปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อ ดิแอลไลแอนซ์ (ดับเบิลยูซีดับเบิลยู และ อีซีดับเบิลยู) มาบุก ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ เมื่อปี ค.ศ. 2001",
"title": "ทีมดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "196564#0",
"text": "เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ เป็นเข็มขัดระดับโลกรุ่นเฮฟวี่เวทที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) โดยเป็นเข็มขัดระดับโลกเส้นที่ 3 ที่ได้ใช้งานในดับเบิลยูดับเบิลยูอีเมื่อปี ค.ศ. 2002 ภายหลังจากการซื้อกิจการสมาคมที่ล้มละลายอย่าง เวิลด์ แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (WCW) และเอ็กซ์ตรีม แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (ECW) และยกเลิกสถานะดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ (WCW World Heavyweight Championship) โดยนำมารวมกับดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ แชมเปียนชิพ (WWF Championship) กลายเป็นเข็มขัดเดี่ยว ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิพ (WWF Undisputed Championship) ซึ่งกลายเป็นกรรมสิทธิ์ของสแมคดาวน์ ภายหลังการขยายค่าย ส่งผลให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง ทำให้ เอริค บิชอฟฟ์ อดีตผู้บริหารและเจ้าของดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น นำเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพออกมาใช้งาน ในปัจจุบัน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของ สแมคดาวน์",
"title": "รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)"
},
{
"docid": "484365#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เมนอีเวนต์ เป็นรายการโทรทัศน์กีฬาเพื่อความบันเทิง ผลิตโดยดับเบิลยูดับเบิลยูอี และออกอากาศทางช่องไอออน เทเลวิชัน ในเครือข่ายของสหรัฐอเมริกา โดยรวมนักมวยปล้ำอาชีพจากสมาคมดับเบิลยูดับเบิลยูอี และจะเสริมรายการหลักของดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้แก่ รอว์ และสแมคดาวน์ กับเนื้อหาตรงพิเศษและเบื้องหลังฉาก",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เมนอีเวนต์"
},
{
"docid": "714842#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K15 () เป็นวิดีโอเกมมวยปล้ำอาชีพที่ผลิตโดย Yuke's และ Visual Concepts และจัดจำหน่ายโดย 2K Sports ในรูปแบบเพลย์สเตชัน 3 ,เพลย์สเตชัน 4 ,เอกซ์บ็อกซ์ 360 ,เอกซ์บ็อกซ์วัน และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยภาคนี้เป็นภาคต่อจากดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K14 และเป็นวีดิโอเกมที่ 2 ในซีรีส์ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K15"
},
{
"docid": "344500#0",
"text": "อันฟอร์กิฟเว่น เป็นศึกใหญ่ของ WWE ที่ดำเนินการฉายตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 ถึง ค.ศ. 2008ในปี ค.ศ. 2009 รายการที่มาแทน คือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เบรกกิ้งพอยท์",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี อันฟอร์กิฟเว่น"
},
{
"docid": "349449#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี โอเวอร์เดอะลิมิต () เป็นรายการเพย์-เพอร์-วิวมวยปล้ำอาชีพ ของ WWE จัดขึ้นครั้งแรก ในวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 ที่โจหลุยส์ อรินา ดีทรอยต์ มิชิแกน ซึ่งมาแทนรายการดับเบิลยูดับเบิลยูอี จัดจ์เมนท์เดย์ ในปี ค.ศ. 2013 รายการที่มาแทนศึกโอเวอร์เดอะลิมิตคือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แบทเทิลกราวด์ ซึ่งในตอนแรกโอเวอร์เดอะลิมิตจะจัดในเดือนตุลาคม",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี โอเวอร์เดอะลิมิต"
},
{
"docid": "527208#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เพย์แบ็ค เป็นศึกใหญ่ของ WWE ที่จัดขึ้นครั้งแรกในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 2013 และได้เปลี่ยนมาจัดแทนรายการดับเบิลยูดับเบิลยูอี โนเวย์เอาท์",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เพย์แบ็ค"
},
{
"docid": "365296#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เฟทัลโฟร์เวย์ () เป็นรายการมวยปล้ำอาชีพเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำต้นเดือนมิถุนายน ที่ดำเนินการฉายตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 โดยจะเป็นแมทช์การปล้ำประเภทสี่เส้า ในปี ค.ศ. 2011 รายการนี้ได้ถูกยุบและเปลี่ยนรายการมาเป็น ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แคปิเทล พูนิชเมนท์ ต่อมาในปี ค.ศ. 2012 ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศว่า ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ไฟเทอร์โฟร์เวย์ จะกลับมาในศึกเพย์-เพอร์-วิว แทนดับเบิลยูดับเบิลยูอี แคปิเทล พูนิชเมนท์",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอีเฟทัลโฟร์เวย์"
},
{
"docid": "889851#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K17 () เป็นวิดีโอเกมมวยปล้ำอาชีพที่ผลิตโดย Yuke's และ Visual Concepts และจัดจำหน่ายโดย 2K Sports ในรูปแบบเพลย์สเตชัน 3 ,เพลย์สเตชัน 4 ,เอกซ์บ็อกซ์ 360 ,เอกซ์บ็อกซ์วัน และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยภาคนี้เป็นภาคต่อจากดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K16 และเป็นวีดิโอเกมที่ 4 ในซีรีส์ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K17"
},
{
"docid": "196564#2",
"text": "ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอีได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ไม่ได้เป็นเข็มขัดเส้นเดียวกับ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ (NWA World Heavyweight Championship) หรือดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ (WCW Championship) แม้ว่าจะมีความคล้ายคลึงกันโดยการที่เป็น \"เข็มขัดทองขนาดใหญ่\" เหมือนกัน จึงทำให้ประวัติความเป็นมาและผู้ครองเข็มขัดนั้นไม่สืบเนื่องหรือเกี่ยวโยงกัน โดยเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพเป็นเพียงรุ่นถัดมาของดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ เหมือนที่มันเป็นรุ่นถัดมาของเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพนั่นเอง",
"title": "รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)"
},
{
"docid": "903643#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K18 () เป็นวิดีโอเกมมวยปล้ำอาชีพที่ผลิตโดย Yuke's และ Visual Concepts และจัดจำหน่ายโดย 2K Sports ในรูปแบบเพลย์สเตชัน 4 ,เอกซ์บ็อกซ์วัน ,ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และนินเท็นโดสวิตช์ โดยภาคนี้เป็นภาคต่อจากดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K17 และเป็นวีดิโอเกมที่ 5 ในซีรีส์ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K โดยเป็นครั้งที่ 2 ที่จำหน่ายในรูปแบบนินเท็นโด นับตั้งแต่ครั้งแรกในภาค ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K18"
},
{
"docid": "470286#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13 เป็นวิดีโอเกมมวยปล้ำอาชีพ ที่ผลิตโดย ยูกี โดยนำตัวละครของนักมวยปล้ำ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี มาต่อสู้กัน โดยภาคที่ได้วางจำหน่ายในรูปแบบ เพลย์สเตชัน 3, วี และเอกซ์บอกซ์ 360 โดยจำหน่ายเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 2012 โดยภาคนี้เป็นภาคที่ 2 ของวิดีโอเกมของดับเบิลยูดับเบิลยูอี ต่อจากภาคดับเบิลยูดับเบิลยูอี '12 โดยเกมนี้จะเน้นในยุคแอตติจู๊ดของดับเบิลยูดับเบิลยูอี",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13"
},
{
"docid": "196339#2",
"text": "เวิลด์เฮวีเวตแชมเปียนชิป ได้ถูกเผยโฉมเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2002 และทริปเปิลเอช ก็ได้เป็นแชมเปียนคนแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน เข็มขัดนี้ถูกสร้างขึ้นมาภายหลังจากบร็อก เลสเนอร์ คว้าดับเบิลยูดับเบิลยูอี อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิปไปครอง และเซ็นสัญญากับผู้จัดการทั่วไปของสแมคดาวน์ ในขณะนั้นคือ สเตฟานี แม็กแมน โดยจะป้องกันเข็มขัดให้กับสแมคดาวน์เท่านั้น ซึ่งทิ้งให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง จึงเป็นเหตุให้เอริก บิสชอฟฟ์ ผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น ยกเลิกสถานะไร้ข้อโต้แย้ง (Undisputed) ของเข็มขัดดังกล่าวและเผยโฉม \"เวิลด์เฮวีเวตแชมเปียนชิป\" และประกาศให้เข็มขัดนี้เป็นเข็มขัดระดับโลกหลักของรอว์ เข็มขัดใหม่นี้มีลักษณะเป็น 'เข็มขัดทองขนาดใหญ่' ซึ่งเป็นเข็มขัดที่เคยนำออกมาใช้ก่อนหน้านี้ในชื่อ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิป () และ ดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ () ในเวลาต่อมา บิสชอฟฟ์ได้มอบเข็มขัดนี้แก่ทริปเปิลเอช เนื่องจากเป็นคู่ท้าชิงดับเบิลยูดับเบิลยูอี อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิป ของบร็อก เลสเนอร์คนต่อไป และยังได้กล่าวว่าทริปเปิลเอชเป็นแชมเปียนคนสุดท้ายที่ได้ครองเข็มขัดทองขนาดใหญ่ ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้ดับเบิลยูดับเบิลยูอี อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิป (เดิมมีเข็มขัดสองเส้นในตำแหน่งเดียวกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นเข็มขัดทองขนาดใหญ่) ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2003 ได้มีการเปลี่ยนรูปแบบแผ่นโลหะของเข็มขัดโดยเอาตราดับเบิลยูดับเบิลยูอี มาวางไว้ตรงกลางด้านบนของแผ่น",
"title": "เวิลด์เฮฟวี่เวทแชมเปียนชิป (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)"
},
{
"docid": "217809#0",
"text": "โน เวย์ เอาท์ เป็นศึกใหญ่เพย์-เพอร์-วิวมวยปล้ำอาชีพของ ดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำเดือนกุมภาพันธ์ ที่จัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1998 ในชื่อของ โน เวย์ เอาท์ ออฟ เทกซัส: อิน ยัวร์ เฮาส์ และในปี ค.ศ. 2000-ค.ศ. 2009 โดยมีรูปแบบการปล้ำในกรงเหล็กอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ในปี ค.ศ. 2010รายการที่มาแทนคืออิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ ในปี ค.ศ. 2012 ทาง ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศว่า ดับเบิลยูดับเบิลยูอี โน เวย์ เอาท์ จะกลับมาในเดือนมิถุนายน",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี โนเวย์เอาท์"
},
{
"docid": "619085#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี มันนี่อินเดอะแบงก์ เป็นรายการมวยปล้ำอาชีพเพย์ - เพอร์ - วิว ประจำเดือน กรกฎาคม โดยจัดขึ้นครั้งแรกในปี 2010 โดยมีแมทช์การปล้ำมันนี่อินเดอะแบงค์แลเดอร์แมทช์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งเดิมที่มันนี่อินเดอะแบงค์แลเดอร์แมทช์ เป็นแมทช์การปล้ำที่จัดครั้งแรกในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 21 ในปี 2005 และเป็นคนแรกที่คว้ากระเป๋าถือห้อยลงมาจากคานชนะ และได้รับการชิงแชมป์โลกที่ไหนเมื่อไหนก็ได้ตลอด 12 เดือน แมทช์การปล้ำ มันนี่อินเดอะแบงค์แลเดอร์แมทช์ ได้จัดในศึกเรสเซิลเมเนีย ถึง 5 ครั้ง หลังจากที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นและเป็นศูนย์กลางในการแข่งขัน ",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี มันนี่อินเดอะแบงก์"
},
{
"docid": "196281#37",
"text": "ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 โดย วินซ์ แม็กแมน ได้ออกมาประกาศในรายการ อีซีดับเบิลยู (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) เป็นตอนสุดท้าย ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงรายการโทรทัศน์โดยยุบรายการ อีซีดับเบิลยู (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) และในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553 ได้ถูกเปลี่ยนรายการแทน คือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอีเอ็นเอ็กซ์ที [29] หลังจากมีการชิงแชมป์โลก ECW เป็นแมทช์สุดท้ายระหว่าง คริสเตียน กับ อีซีคีล แจ็กสัน[30][31]",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "953077#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซูเปอร์โชว์-ดาวน์ (WWE Super Show-Down) เป็นการแสดงมวยปล้ำอาชีพแบบ เพย์-เพอร์-วิว (PPV) และรายการของ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค จัดโดย ดับเบิลยูดับเบิลยูอี สำหรับค่ายรอว์ และ สแมคดาวน์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2018 ณ. สนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ในเมืองเมลเบิร์น, รัฐวิกทอเรีย, ประเทศออสเตรเลีย",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซูเปอร์โชว์-ดาวน์"
},
{
"docid": "827250#1",
"text": "ได้มีการออกแบบฐานคล้ายกับ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แชมเปียนชิป มีความแตกต่างที่โดดเด่นตรงโลโก้ของดับเบิลยูดับเบิลยูอีที่แทนขนาดใหญ่ที่ตัดออกมา โดยตรงกลางมีรูปของตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยสิงโตของพระเจ้าวิลเลียมมหาราช และยูนิคอร์นสก็อตที่ด้านข้างของตรา ",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ยูไนเต็ดคิงดอมแชมเปียนชิป"
},
{
"docid": "274320#1",
"text": "ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 โดย วินซ์ แมคแมน ได้ออกมาประกาศในรายการ อีซีดับเบิลยู (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) เป็นตอนสุดท้าย ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงรายการโทรทัศน์โดยยุบรายการ อีซีดับเบิลยู (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) และในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 ได้ถูกเปลี่ยนรายการแทน คือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เอ็นเอ็กซ์ที ให้เหลือเพียง 2 ค่ายระหว่างรอว์ กับ สแมคดาวน์",
"title": "การขยายยี่ห้อของดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "196281#3",
"text": "ธุรกิจหลักของ WWE คือการเป็นสมาคมมวยปล้ำอาชีพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และยังเก็บสะสมซึ่งวิดีโอเทปมวยปล้ำของสมาคมต่าง ๆ ในอดีตซึ่งในปัจจุบันได้ล้มเลิกกิจการไปแล้ว. สมาคม WWE มีชื่อเดิมตั้งแต่ต้นว่า Capitol Wrestling Corporation (CWC) ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อมาเป็น World Wide Wrestling Federation (WWWF), World Wrestling Federation (WWF) และ World Wrestling Entertainment (WWE) ทำการเสนอรายการมวยปล้ำผ่านทาง 5 รายการคือ มันเดย์ ไนท์ รอว์ และ สแมคดาวน์ ไลฟ์ ทางช่อง USA Network, เมนอีเวนต์, ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เอ็นเอ๊กซ์ที และ 205 ไลว์ฟ ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค และยังเป็นสมาคมที่มีเข็มขัดแชมป์โลกถึง 2 เส้นที่ได้รับการยอมรับโดย Pro Wrestling Illustrated (PWI) อีกด้วย",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี"
},
{
"docid": "487695#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แซเทอร์เดย์มอร์นิง สแลม เป็นรายการโทรทัศน์กีฬาเพื่อความบันเทิง ผลิตโดยดับเบิลยูดับเบิลยูอี และออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 25 สิงหาคม 2012 ทางช่องเดอะซีดับเบิลยู ในเครือข่ายของสหรัฐอเมริกา โดยรวมนักมวยปล้ำอาชีพจากสมาคมดับเบิลยูดับเบิลยูอี และจะเสริมรายการหลักของดับเบิลยูดับเบิลยูอี",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แซเทอร์เดย์มอร์นิง สแลม"
},
{
"docid": "555417#0",
"text": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K14 () เป็นวิดีโอเกมมวยปล้ำอาชีพที่ผลิตโดย Yuke's และ Visual Concepts และจัดจำหน่ายโดย 2K Sports ในรูปแบบเอกซ์บ็อกซ์ 360 และเพลย์สเตชัน 3 โดยจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 2013 ในทวีปอเมริกาเหนือ และวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 ในทวีปยุโรป โดยภาคนี้เป็นภาคต่อจากดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13 และเป็นวีดิโอเกมแรกในซีรีส์ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี 2K14"
},
{
"docid": "442941#0",
"text": "อีซีดับเบิลยู ออริจินัล () เป็นกลุ่มทีมมวยปล้ำอาชีพ สังกัดสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ในค่ายสังกัด อีซีดับเบิลยู และโทเทิลนอนสต็อปแอคเชินเรสต์ลิงกลุ่ม อีซีดับเบิลยู ออริจินัล ได้เปิดตัวครั้งแรก ในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 2006 โดยเป็นสมาชิกเคยปล้ำในสมาคมมวยปล้ำอาชีพเอ็กซ์ตรีม แชมเปี้ยนชิพ เรสต์ลิง สักส่วนใหญ่ ในวันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 2011 อีซีดับเบิลยู ออริจินัล ได้เปิดตัวครั้งแรกในสมาคมมวยปล้ำอาชีพทีเอ็นเอ ในนามของ เอ็กซ์ตรีม, เวอร์ชัน 2.0 (อีวี 2.0) หรือ เอ็กซ์ตรีม ไวโอลีนช์ 2.0 (อีวี 2.0)",
"title": "อีซีดับเบิลยู ออริจินัล"
},
{
"docid": "344635#0",
"text": "จัดจ์เมนท์เดย์เป็นศึกใหญ่ของ WWE ที่จัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1998 ถึง ค.ศ. 2009 ในปี ค.ศ. 2010 รายการที่มาแทน คือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี โอเวอร์ เดอะ ลิมิต\nดับเบิลยูดับเบิลยูอี จัดจ์เมนท์เดย์ถูกจัดขึ้นครั้งแรกในปี 1998 ที่ Rosemont, Illinois",
"title": "ดับเบิลยูดับเบิลยูอี จัดจ์เมนท์เดย์"
}
] |
2785 | ใครเป็นผู้รวบรวม รามายณะ เป็นคนแรก? | [
{
"docid": "342398#1",
"text": "เดิมทีฤๅษีวาลมีกิอยู่ในวรรณะพราหมณ์ แต่ชอบคบหาสมาคมกับโจรป่า จากนั้นก็แต่งงานกับโจรป่า จึงทำให้กลายเป็นโจรป่าไปด้วย และได้ปล้นสดมฆ่าคนมามากมาย จนครั้งหนึ่งได้ไปพบกับ สัปตะฤๅษี (ฤๅษี ทั้ง 7) สัปตะฤๅษีก็ได้บอกล่าวถึงบาปบุญคุณโทษให้ฤๅษีวาลมีกิฟัง แล้วเกิดการสำนึกผิดขึ้นมา อยากออกบวช สัปตะฤๅษีจึงบอกวิธีแก้ไขให้ คือ ต้องภาวนามันตราศักดิ์สิทธิ์ว่า \"เฮ ราม\" จากนั้นสัปตะฤๅษีก็จากไป ฤๅษีวาลมีกิท่องมันตราศักดิ์สิทธิ์จนครบ 1,000 ปี จนเกิดจอมปลวกห่อคลุมร่าง แล้วสัปตะฤๅษีก็มาปรากฏให้เห็นอีกครั้ง แล้วบอกฤๅษีวาลมีกิว่า \"เจ้าภาวนาสำเร็จแล้ว\" จากนั้นพระพรหม ก็ปรากฏพระวรกายให้ฤๅษีวาลมีกิเห็นและประทานโองการว่า \"วาลมีกิ ถ้าเจ้าอยากลบล้างบาป ที่เจ้าเคยเป็นโจรป่าแล้วฆ่าคนมามากมาย เจ้าต้องบันทึกเรื่องราวของ พระราม โดยการตั้งชื่อ รามายณะ ส่วนเรื่องราว ฤๅษีนารทมุนี จะเป็นคนเล่าเรื่องให้เจ้าฟัง แล้วให้เจ้าเป็นผู้บันทึกเอง\" จากนั้นฤๅษีวาลมีกิก็ เริ่มบันทึกเรื่องราวของพระราม โดยมาจากวาทะของฤๅษีนารทมุนี และ นิทานพระราม จนเป็นคัมภีร์รามายณะ จนถึงทุกวันนี้",
"title": "ฤๅษีวาลมีกิ"
},
{
"docid": "28423#0",
"text": "รามายณะ () เป็นวรรณคดีประเภทมหากาพย์ของอินเดีย เชื่อว่าเป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ เมื่อกว่า 2,400 ปีมาแล้ว โดยประพันธ์ไว้เป็นบทร้อยกรองประเภทฉันท์ภาษาสันสกฤต เรียกว่า โศลก จำนวน 24,000 โศลกด้วยกัน โดยแบ่งเป็น 7 ภาค (กาณฑ์ หรือ กัณฑ์) ดังนี้รามายณะเป็นวรรณคดีที่มีการดัดแปลง เล่าใหม่ และแพร่หลายไปในหลายภูมิภาคของเอเชีย โดยมีเนื้อหาแตกต่างกันไป และอาจเรียกชื่อแตกต่างกันไปด้วย\nเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการทำศึกสงครามระหว่างฝ่ายพระรามกับฝ่ายทศกัณฐ์ (อสูร) โดยพระรามจะมาชิงตัวนางสีดา (มเหสีของพระราม) ซึ่งถูกทศกัณฑ์ลักพาตัวมา ทางฝ่ายพระรามมีน้องชาย ชื่อพระลักษมณ์และหนุมาน (ลิงเผือก) เป็นทหารเอกช่วยในการทำศึก รบกันอยู่นานท้ายที่สุดฝ่ายอสูรก็ปราชัย",
"title": "รามายณะ"
}
] | [
{
"docid": "28423#2",
"text": "ตัวละครเอกของมหากาพย์รามายณะ ผู้ถูกกล่าวถึงในฐานะอวตารชาติที่ 7 ของพระวิษณุ พระรามเป็นพระราชโอรสลำดับหัวปีและเป็นราชโอรสองค์โปรดของท้าวทศรถ กษัตริย์แห่งกรุงอโยธา และพระนางเกาศัลยา มีพระอุปนิสัยที่ยึดมั่นในคุณธรรมอย่างยิ่ง พระองค์ต้องออกเดินดงก่อนขึ้นครองราชสมบัติเป็นเวลา 14 ปี เพื่อรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดาซึ่งได้ประทานพรแก่นางไกยเกยี ผู้เป็นมเหสีองค์กลาง ว่าจะประทานพรตามที่นางปรารถนา",
"title": "รามายณะ"
},
{
"docid": "400406#2",
"text": "โดยในปีนั้น ธารทิพย์ พงษ์สุข เป็นผู้สวมมงกุฎให้ นับเป็นปีแรกและปีเดียวที่นางสาวไทยในปีที่ผ่านมาสวมมงกุฎให้ผู้ได้รับตำแหน่ง \nทวีพรเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดนางงามจักรวาล 1986 ณ กรุง ปานามาซิตี ประเทศ ปานามา และไม่สามารถผ่านเข้ารอบใดๆ ส่วนรองอันดับหนึ่ง คือ สรารัตน์ ไปประกวดมิสเอเชียแปซิฟิก และ ได้รับตำแหน่งรองอันดับสอง\nรองอันดับสี่ในปีนั้น คือ นางสาวพัชรีพร จันทร์สว่าง เป็นดารานักร้องในกลุ่ม ๑๘ กะรัต และมีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง ๑๘ กะรัต",
"title": "ทวีพร คลังพลอย"
},
{
"docid": "911238#9",
"text": "ผู้ที่ได้ทำการรวบรวมสุนทโรวาท เป็นคนแรกคือ “อาลี อะบูอุซมาน อัมร อิบนิ บะฮฺร ญาฮิซ เจ้าของหนังสือ (บะยาน และ ติบยาน) เสียชีวิตเมื่อปี ๒๕๕ (ฮ.ศ) เขาได้เลือก ๑๐ ธรรมเทศนาจากทั้งหมดและได้ตั้งชายาว่า “ คำที่ผู้เรียกร้อง ร้องขอจากท่านอามีริล มุอฺมินีน อาลีอิบนิ อะบีฏอลิบ”",
"title": "นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ"
},
{
"docid": "237106#10",
"text": "พ่อของริคุโอะ เป็นลูกครึ่งปีศาจจากนูราริเฮียงและโยฮิเมะ มีผมสีดำสนิทและมักสวมเสื้อคลุมยูกาตะลายทางเสมอ เป็นผู้รวบรวมปีศาจทั้งแผ่นดินให้เป็นหนึ่งเดียว เรียกได้ว่าเป็นจุดสูงสุดของโลกปีศาจ และคิดค้นวิชามาโทอิ(อาภรณ์อสูร)เป็นคนแรก เป็นผู้ชายหน้าตาหล่อเหลาบุคลิกอาจหาญและไม่กลัวใคร ตามใจตัวเองและชอบทำอะไรแบบที่คนอื่นคาดไม่ถึงเสมอๆ รู้จักการกล่อมเกลาใจแต่ก็เป็นพวกพูดจาขวานผ่าซาก แต่จริงๆก็รักลูกและพวกพ้อง แล้วยังเป็นพ่อที่อ่อนโยนมากคนหนึ่งทีเดียว",
"title": "นูระหลานจอมภูต"
},
{
"docid": "57211#1",
"text": "เมื่อ พ.ศ. 2533 นราธร เป็นนักเทนนิสไทยคนแรกที่สามารถเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันระดับเยาวชน ส่งผลให้อันดับโลกระดับเยาวชนอยู่ใน 10 อันดับแรกของโลก",
"title": "นราธร ศรีชาพันธุ์"
},
{
"docid": "213988#17",
"text": "ซานดร้าสร้างความประทับใจแก่คณะกรรมการด้วยการโพสท์ท่าได้อย่างสวยงามและมีสไตล์ จึงถูกเรียกชื่อเป็นคนแรก อมินาท, โฟ และ ทาห์เลีย ก็สามารถสร้างความประทับใจแก่คณะกรรมการได้เช่นเดียวกัน ซึ่งภาพถ่ายของทั้งสามคนนั้นถือว่าเป็นภาพถ่ายที่ดีที่สุดของพวกเธอตลอดเวลาที่ผ่านมา นอกจากนั้น แอลลิสัน สร้างความผิดหวังให้แก่คณะกรรมการด้วยภาพของเธอที่ดูเธอคิดมากจนเกินไป จึงทำให้ ภาพถ่ายออกมาไม่สวย ทำให้แอลลิสันต้องยืนเป็นสองคนสุดท้ายคู่กับไนจาห์ อย่างไรก็ตาม ไนจาห์ก็กลายเป็นผู้ถูกคัดออกจากการแข่งขัน เนื่องจากภาพถ่ายที่ดูจึดชืด ไม่มีความมั่นใจ และดูจะพึ่งพาความงามของตนเองมากเกินไป",
"title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 12"
},
{
"docid": "421325#1",
"text": "สุรบถ หลีกภัยได้รวมตัวกับกลุ่มเพื่อนอีก 4-5 คน เปิดตัวครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ในช่วงแรกรายการมีพิธีกร คือ ชัญญ่า ทามาดะ หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล และสุรบถ แนวคิดเกิดมาจากสุรบถที่ใช้งานเฟซบุ๊กที่ได้คำถามจากวัยรุ่นในแฟนเพจ ที่ได้ตั้งกระทู้ปัญหาของตนในเว็บบอร์ด แต่สุรบถคิดว่าข้อแนะนำในเว็บบอร์ดก็แนะนำไปในทางที่ผิด จึงเกิดแนวคิดรายการที่จะแนะนำวัยรุ่นขึ้นมา แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ได้ต้องการให้รายการไปในทางที่เคร่งเครียด เหมือนอย่างรายการข่าวหรือแบบสำรวจตามมหาวิทยาลัย แต่ทำรายการให้สนุกสนาน โดยมีบทสัมภาษณ์จากคนที่ดูดีและบุคคลมีชื่อเสียง โดยมีตอนแรกคือรูปลับ มาจากคำถามมาจาก ปัญหาเรื่องรูปหลุด ที่เด็กวัยรุ่นชอบถ่ายรูปกับแฟนแล้วรูปหลุดลงอินเทอร์เน็ตโดยรายการที่ดูสบาย ๆ มีความเห็นที่สนุกสนาน แต่เดิมมีให้ดูเฉพาะในยูทูบ ต่อมาทางช่องเวรี่ ทีวี ได้ติดต่อมาฉายทางทรูวิชั่นส์",
"title": "วีอาร์โซ"
},
{
"docid": "28423#28",
"text": "2. ในรามายณะ ชาติก่อน ทศกัณฑ์กับกุมภกัณฑ์เป็นนายทวารเฝ้าที่อยู่ของพระนารายณ์ชื่อชัยกับวิชัย ซึ่งพระนารายณ์ห้ามไม่ให้ใครเข้าในเวลาที่ทรงเกษมสำราญ ต่อมามีฤๅษีมาขอเข้าพบพระนารายณ์ นายทวารทั้งสองไม่ยอมให้เข้า ฤๅษีจึงสาปให้ชัยกับวิชัยต้องไปเกิดในโลกมนุษย์ได้รับความทรมาน พวกเขาจึงไปขอความเมตตาจากพระนารายณ์เพราะตนเพียงแต่ทำตามคำสั่งเท่านั้น พระนารายณ์บอกว่าแก้คำสาปฤๅษีไม่ได้แต่บรรเทาให้เบาบางลงได้ โดยให้ทั้งสองไปเกิดเป็นยักษ์เพียงสามชาติ และทั้งสามชาติพระนารายณ์จะลงไปสังหารทั้งสองเองเพื่อให้หมดกรรม \nชาติแรกชัยกับวิชัยเกิดเป็นหิรัณยักษ์กับหิรัณยกศิปุ พระนารายณ์อวตารเป็นหมู และนรสิงห์ไปปราบ\nชาติที่สองนายทวารทั้งสองเกิดเป็นทศกัณฑ์กับกุมภกัณฑ์ พระนารายณ์อวตารเป็นพระรามไปปราบ\nชาติที่สามนายทวารทั้งสองเกิดเป็นพญากงส์ และศรีศุภปาน พระนารายณ์อวตารเป็นพระกฤษณะไปปราบ",
"title": "รามายณะ"
},
{
"docid": "64698#2",
"text": "ร่วมประกวดนางสาวไทยเมื่อ พ.ศ. 2496 ขณะอายุ 16 ปี ได้ตำแหน่งรองอันดับหนึ่ง และเป็นผู้แทนประเทศไทยเดินทางไปประกวดนางงามจักรวาล 1954 ที่แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา นับเป็นสาวไทยคนแรกที่เข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาลและได้ปรากฏตัวในภาพยนตร์เพื่อประชาสัมพันธ์งานเรื่อง \"Beautiful Girl of the World\" ซึ่งมี โทนี่ เคอร์ติส เป็นพิธีกร",
"title": "อมรา อัศวนนท์"
}
] |
1642 | พ.ศ. ๒๕๓๐ ใครเป็นนายกไทย ? | [
{
"docid": "781643#1",
"text": "พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489-ปัจจุบัน) นายกรัฐมนตรี: พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (พ.ศ. 2523-2531)",
"title": "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2530"
}
] | [
{
"docid": "92837#0",
"text": "สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย หรือ Thai Association of Landscape Architects (เรียกย่อๆว่า TALA) เป็นสมาคมวิชาชีพ 1 ใน 4 สาขาหลักของสภาสถาปนิก ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2530 โดยมีนายกสมาคมฯคนแรก คือ นายอภัย ผะเดิมชิต และศาตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ศิลปินแห่งชาติดำรงตำแหน่งเป็นนายกรับเลือก (อุปนายก) มีวัตถุประสงค์เพื่อจรรโลงวิชาชีพ เผยแพร่วิชาชีพต่อสังคม สร้างเครือข่ายภายในองค์กร ประสานงานองค์กรภายนอกที่เกี่ยวกับวิชาชีพ จรรยาบรรณ วิชาการที่เป็นประโยชน์ ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม โดยรวมและต่อภูมิสถาปนิก",
"title": "สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย"
},
{
"docid": "4078#40",
"text": "วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2530 อาจารย์ป๋วยเดินทางกลับมาเมืองไทย หลังจากที่ต้องออกจากบ้านเกิดไป เมื่อเหตุการณ์ 6 ตุลา เป็นครั้งแรก พร้อมด้วยภรรยา ลูกชาย ลูกสะใภ้ และหลานอีกสองคน มีบรรดาเพื่อนๆ ลูกศิษย์ และคนรู้จักมากมายมาพบปะ เยี่ยมเยือนที่บ้านเก่าซอยอารีย์\nวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2530 ที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย พนักงานประมาณ 2,000 คน มายืนต้อนรับการกลับมาของอาจารย์ป๋วย คนธรรมดาคนหนึ่ง ซึ่งเป็นแบบอย่างดีที่สุดของข้าราชการเมืองไทย ในตอนบ่าย ขณะรถอาจารย์ป๋วยกำลังจะแล่นออกไป หลายคนพยายามเข้าไปใกล้ชิดอาจารย์มากที่สุด จนอาจารย์ป๋วยไขกระจกรถลง แล้วยื่นมือออกมาให้พนักงานได้สัมผัส หลายคนร่ำไห้ออกมาอย่างไม่อายใคร ที่บุคคลซึ่งตนให้ความนับถือ และเคารพรัก กำลังจะจากไป",
"title": "ป๋วย อึ๊งภากรณ์"
},
{
"docid": "20259#9",
"text": "ผลงานสำคัญของศาสตราจารย์กิตติคุณเดชา บุญค้ำรวมทั้งการบุกเบิกวิชาชีพและการวางรากฐานการศึกษาภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้เปิดสำนักงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมแห่งแรกของประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2530 ได้ก่อตั้งสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทยขึ้น และดำรงตำแหน่งนายกสมาคม 1 วาระ ทางด้านการพัฒนาวิชาชีพภูมิสถาปนิก ศาสตราจารย์กิตติคุณเดชา ยังเคยได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสภาสถาปนิก เพื่อร่างกฎหมาย ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพ หลักสูตร แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพในสาขาภูมิสถาปัตยกรรมและสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง และปัจจุบันได้รับการคัดสรรเป็นผู้ตรวจสภาสถาปนิก",
"title": "เดชา บุญค้ำ"
},
{
"docid": "11905#47",
"text": "รายนามนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รายนามนายกสภามหาวิทยาลัยวาระการดำรงตำแหน่งอ้างอิง1. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เกษม สุวรรณกุล 24 ตุลาคม พ.ศ. 2521 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2523 (วาระที่ 1) 21 เมษายน พ.ศ. 2524 - 20 เมษายน พ.ศ. 2526 (วาระที่ 2) 5 ตุลาคม พ.ศ. 2526 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (วาระที่ 3) 13 ธันวาคม พ.ศ. 2528 - 12 ธันวาคม พ.ศ. 2530 (วาระที่ 4) 14 ตุลาคม พ.ศ. 2542 - 22 กันยายน พ.ศ. 2544 (วาระที่ 5) 22 กันยายน พ.ศ. 2544 - 21 กันยายน พ.ศ. 2546 (วาระที่ 6) 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 (วาระที่ 7) 2. ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 (วาระที่ 1) 30 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2551 (วาระที่ 2) 26 มกราคม พ.ศ. 2552 - 25 มกราคม พ.ศ. 2554 (วาระที่ 3) 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน (วาระที่ 4) 3. ศาสตราจารย์ ดร. ชัยอนันต์ สมุทวณิช 22 กันยายน พ.ศ. 2533 - 21 กันยายน พ.ศ. 25354. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 (วาระที่ 1) 23 มีนาคม พ.ศ. 2538 - 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 (วาระที่ 2) 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 - 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 (วาระที่ 3) 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2542 (วาระที่ 4) [] 5. ศาสตราจารย์ ดร. คณิต ณ นคร พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2557 (ทำหน้าที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยและอุปนายกสภามหาวิทยาลัย)6. รศ.ดร. องค์การ อินทรัมพรรย์ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561",
"title": "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช"
},
{
"docid": "34111#1",
"text": "สภาอุตสาหกรรมฯ ได้รับการยกฐานะเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2530 จากเดิมคือ \"สมาคมอุตสาหกรรมไทย\" ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 สภาอุตสาหกรรมฯ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตามพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2530",
"title": "สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย"
},
{
"docid": "234045#8",
"text": "ทั้งนี้ทั้งนายกรณ์ และนายอภิสิทธิ์ได้ขึ้นชี้แจงในประเด็นดังกล่าวไปในทางเดียวกันว่า การส่งเอสเอ็มเอส ดังกล่าวนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะ อีกทั้งรัฐไม่ได้เสียงบประมาณใดๆ เนื่องจากเป็นการขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการเอกชน ส่วนที่ว่าเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลนั้น นายกรณ์กล่าวว่าเป็นการส่งเฉพาะเบอร์โทรศัพท์ในเครือข่าย ไม่ได้มีข้อมูลส่วนบุคคลว่าเป็นเบอร์ของใคร",
"title": "การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552"
},
{
"docid": "57338#1",
"text": "วรพลเป็นตัวแทนทีมชาติไทยแข่งขันในกีฬาซีเกมส์หลายครั้ง ได้เหรียญทองรวมถึง 7 เหรียญ เคยขึ้นถึงอันดับ 9 ของโลกในประเภทเยาวชนในปี พ.ศ. 2528 เป็นนักเทนนิสไทยรายแรกๆ ที่ออกไปแข่งขันอาชีพในต่างประเทศ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากขาดผู้สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง อันดับโลก 649 ก็ได้จากการแข่งขันเพียงรายการเดียว ในการแข่งขันเดวิสคัพกับทีมชาตินิวซีแลนด์ ในปี พ.ศ. 2530 สามารถเอาชนะ เคลลี่ อีเวอร์เด้นท์ ซึ่งเป็นมืออันดับที่ 35 ของโลกในขณะนั้น สร้างความฮือฮามาก เพราะอีเวอร์เด้นท์เล่นเดวิสคัพในทวีปเอเชียไม่เคยเสียเซ็ตให้ใครเลย แต่กลับมาแพ้วรพล ซึ่งไม่มีอันดับโลกเลยในปีนั้น",
"title": "วรพล ทองคำชู"
},
{
"docid": "446631#9",
"text": "เนื่องจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายสำเริง แหยงกระโทก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 สมัย หมดวาระลงเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 คณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดรับสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 13 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 และกำหนดให้เลือกตั้งในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2555 โดยมีผู้สมัคร 3 คน ดังนี้เนื่องจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายสมชอบ นิติพจน์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 สมัย หมดวาระลง คณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดรับสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม ระหว่างวันที่ 23 - 27 เมษายน พ.ศ. 2555 และกำหนดให้เลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยมีผู้สมัคร 2 คน ดังนี้ เนื่องจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายชาติชาย เจียมศรีพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หมดวาระลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดรับสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร 23 - 27 เมษายน พ.ศ. 2555 และกำหนดให้เลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยมีผู้สมัคร 2 คน ดังนี้ผลการเลือกตั้ง ปรากฏดังนี้",
"title": "การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555"
},
{
"docid": "883539#10",
"text": "พ.ศ. 2502 ทำงานที่ กรมสรรพากร พ.ศ. 2505 เริ่มบันทึกเพลงลงแผ่นเสียงครั้งแรก พ.ศ. 2506 ได้รับ รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน จาก เพลงเหมือนคนละฟากฟ้า ขับร้องโดย ธานินทร์ อินทรเทพ พ.ศ. 2520 ได้รับรางวัล เสาอากาศทองคำพระราชทานครั้งที่ 4 พ.ศ.2521 ประเภทเพลงลูกกรุง รางวัลประพันธ์ทำนองยอดเยี่ยม จากเพลงหัวใจกระดาษ ขับร้องโดย ดาวใจ ไพจิตร พ.ศ. 2521 ได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน จากเพลงไม่รัก-ไม่ว่า ขับร้องโดย ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา พ.ศ. 2521 เป็นผู้สื่อข่าวบันเทิง หนังสือพิมพ์ปวงชน รายวัน พ.ศ. 2522 เป็นหัวหน้าข่าวบันเทิง หนังสือพิมพ์ ไทยแลนด์ รายวัน พ.ศ. 2523 เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ นิตยสาร กามเทพ และดาราขี้ร้อน พ.ศ. 2526 ได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน จากเพลงทำไมต้องเป็นเรา ขับร้องโดย ธานินทร์ อินทรเทพ พ.ศ. 2530 เป็นอุปนายก สมาคมดนตรีแห่งประเทสไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2531 มีส่วนร่วมในการจัดทำอัลบั้มเพลงบรรเลงด้วยเปียโน จากนักเปียโนฝีมือระดับโลก RICHARD CLAYDERMAN ในเพลงจงรัก Chongrak (Just Love Me) พ.ศ. 2543 เป็นนายกสมาคมนักแต่งเพลงแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2544 เป็นกรรมการตัดสิน การประกวดการขับร้องเพลงไทย สืบสานตำนานเพลง ศาลาเฉลิมกรุง พ.ศ. 2552 เป็นอาจารย์พิเศษ สินวิชาแต่งเพลงและการขับร้อง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแห่ง พ.ศ. 2554 เป็นที่ปรึกษา เฉลิมกรุง ทีวี ผู้จัด รายการเจาะลึกนักร้อง / รายการเพชรในตม / รายการเพลินเพลงกับจงรัก / รายการเบื้องหลังเพลงดัง / รายการวิมานดาว พ.ศ. 2558 ได้รับพระราชทานโล่ห์ล่าสุดในวังอีกรางวัลจาก \"สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี\" พระราชทานโล่ห์เพื่อแสดงว่า คุณจงรัก จันทร์คณา เป็นผู้อนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่เพลงไทยสากล โครงการ \"ศาลาเฉลิมกรุง...สืบสานตำนานเพลง\" พุทธศักราช 2544-2557 ในวันที่ 7 มิถุนายน 2558",
"title": "จงรัก จันทร์คณา"
},
{
"docid": "85275#2",
"text": "หมอนิด มีชื่อเสียงมาจากการทำนายทายทักดวงเมืองและเหตุการณ์การเมืองอย่างตรงไปตรงมา ไม่เกรงใจใคร ไม่หวั่นกลัวอิทธิพลผู้มีอำนาจ เหตุการณ์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมอนิดและสร้างแรงกระเพื่อมในวงการการเมืองและวงการโหราศาสตร์ไทย ได้แก่การทำนายที่เอาอาชีพเป็นเดิมพันในรายการถึงลูกถึงคน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ดำเนินรายการโดย สรยุทธ สุทัศนะจินดา ท่ามกลางหมอดูชื่อดังจำนวนมากที่ทำนายว่านายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ในขณะนั้นจะสามารถอยู่ครบวาระเป็นสมัยที่สอง แต่หมอนิดกลับทำนายในทางตรงกันข้าม โดยได้กล่าวว่า \"\"นายกทักษิณ จะอยู่ไม่ครบเทอม ถ้าครบมาเผาบ้านตนได้เลย\"\" และ \"\"นายกรัฐมนตรีคนดังกล่าวจะไม่มีแผ่นดินอยู่\"\", \"\"นายกจะต้องขึ้นศาล\"\"ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีคำทำนายในรายการคนในข่าว ทาง ASTV ดำเนินรายการโดย อัญชลี ไพรีรัก ว่า \"\"จะมีรถที่ประชาชนไม่มีโอกาสได้ใช้ ออกมาวิ่งบนถนนก่อนเดือนตุลาคม\"\" ซึ่งในอีก 2 สัปดาห์ ก็เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 และยังทำนายล่วงหน้า 4 ปี ถึง ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพฯ ในวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในรายการ คม ชัด ลึก ช่องเนชั่นแชนแนล ดำเนินรายการ โดยธีระ ธัญไพบูลย์ ว่า \"\"คุณอภิรักษ์ จะได้เป็นผู้ว่า ถึง 2 สมัยติดกัน\"\"",
"title": "กิจจา ทวีกุลกิจ"
},
{
"docid": "414131#3",
"text": "นายธานี เทือกสุบรรณ เคยทำงานการเมืองท้องถิ่น เป็นกำนันตำบลท่าสะท้อน อำเภอพุนพิน ในระหว่างปี พ.ศ. 2530 ถึง พ.ศ. 2543 เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ \"กำนันเล็ก\" ต่อมาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (อบจ.) ในปี พ.ศ. 2543-2552 จากนั้นได้เข้าสู่งานการเมืองระดับชาติ โดยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการเลือกตั้งซ่อม พ.ศ. 2552 และได้รับเลือกตั้งอีกสมัยในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554",
"title": "ธานี เทือกสุบรรณ"
},
{
"docid": "13553#10",
"text": "กตัญญูปะกาศิต (2526) -ภาพยนตร์ไทย โหด เลว ดี (2529) โหดต้องโทษดวง (2532) ดอกไม้กับนายกระจอก (2530) เดือด2เดือด (2530) โหด เลว ดี 2 (2530) ตุ้งติ้งตี๋ต๋า (2531) อาหลาง (2532) โหดตัดโหด (2532) โหด เลว ดี 3 (2532) คนตัดคน (2532) ตีแสกตะวัน (2534) โหด เดือด ระอุ (2534) ทะลักจุดแตก (2535) คนตัดคน ตอน เกาจิ้งตัดเอง (2537) \"ศึกโค่นบัลลังก์วังทอง\" (พ.ศ. 2550) ขงจื๊อ (2553) คนท้าใหญ่ (2554) The Assassins (2555) เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้คนสุดท้าย (2555) The Monkey King (2556)",
"title": "โจว เหวินฟะ"
},
{
"docid": "651103#0",
"text": "พรรคประชาชน (ชื่อเดิม พรรครักไทย) พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 พรรครักไทยได้เปลี่ยนแปลงชื่อพรรคเป็น พรรคประชาชน และในปี พ.ศ. 2531 ได้เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่นำโดยกลุ่มของนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ย้ายเข้ามาสังกัดพรรคประชาชนและได้ให้คุณหญิงศศิมา ศรีวิกรม์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรคและนางสาวนิตยา ภูมิดิษฐ์ เป็นรักษาการเลขาธิการพรรค ต่อมาอีกเพียง 15 วัน ที่ประชุมใหญ่ได้มีมติเลือกให้นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ เป็นหัวหน้าพรรค และนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นเลขาธิการพรรคแทน และมีแกนนำคนสำคัญ อาทิ นายเดโช สวนานนท์, นายไกรสร ตันติพงศ์, นายเลิศ หงษ์ภักดี, นายอนันต์ ฉายแสง, นายสุรใจ ศิรินุพงศ์, นายถวิล ไพรสณฑ์, นายพีรพันธุ์ พาลุสุข, นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์, นายกริช กงเพชร",
"title": "พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)"
},
{
"docid": "615676#5",
"text": "ในปี พ.ศ. 2528 บริษัทแกรมมี่ ต้องการบุกเบิกงานด้านมิวสิควิดีโอ ในตอนนั้นในประเทศไทยยังไม่มีใครทำ จึงได้รับอาสาทันทีที่ได้โอกาส ถือได้ว่าเป็นผู้กำกับมิวสิควิดีโอคนแรกของไทย โดยมีผลงานการกำกับที่สร้างชื่อ ได้แก่ “สมปองน้องสมชาย” ของ เรวัต พุทธินันทน์ “ฝากฟ้าทะเลฝัน” ของ ธงไชย แมคอินไตย์ “ธรรมดาเป็นเรื่องธรรมดา” ของ เพชร โอสถานุเคราะห์ “เสี่ยวรำพึง” อัสนี-วสันต์ ฯลฯ ต่อมา พ.ศ. 2530 เปิดบริษัทถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา อัพเปอร์คัท (ในเครือแกรมมี) โดยรับหน้าที่เป็นผู้กำกับหนังโฆษณา ควบคู่กับการดูแลแผนกมิวสิควิดีโอในแกรมมี่ไปด้วย จากนั้น พ.ศ. 2534 กลับเข้ามาดูแลฝ่ายการตลาดเพลงในแกรมมี่ หลังจาก เรวัต พุทธินันทน์ เสียชีวิต ได้มีการแบ่งค่ายใหม่ จึงได้ย้ายไปดูแลฝ่ายอื่นๆ เช่น อราทิสท์ แมเนจเม้นท์, รายการทีวี, แกรมมี่บิ๊ก เป็นต้น ",
"title": "วิเชียร ฤกษ์ไพศาล"
},
{
"docid": "781643#0",
"text": "เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2530 ในประเทศไทย",
"title": "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2530"
},
{
"docid": "335255#6",
"text": "เมื่อพระสันตะปาปาประกาศตั้งมิสซังสยามในปี พ.ศ. 2212 แล้ว ก็ได้ส่งมุขนายกเกียรตินามซึ่งล้วนแต่เป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสมาเป็นประมุขศาสนจักรโรมันคาทอลิกในประเทศไทย จนกระทั่ง วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 จึงประกาศแต่งตั้งมุขนายกเกียรตินามคนไทย คือ มุขนายกยาโกเบ แจง เกิดสว่าง ประมุขมิสซังจันทบุรี เป็นมุขนายกเกียรตินามแห่ง Barcusus นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งมุขนายก",
"title": "มุขนายก"
},
{
"docid": "960254#3",
"text": "จง ฉู่หง ถือเป็นนางเอกที่ดังที่สุดคนหนึ่งในยุคทองของอุตสาหกรรมบันเทิงฮ่องกง ได้รับการขนานนามว่าเป็น 1 ใน 4 ผู้หญิงแถวหน้าของวงการร่วมกับ หลิน ชิงเสีย, จาง ม่านอวี้ และ เหมย เยี่ยนฟาง เสน่ห์ของ จง ฉู่หง ปรากฏผ่านจอภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ด้วยความงามอย่างเป็นธรรมชาติแฝงกลิ่นไอของความบริสุทธิ์ไร้เดียงสา เรือนผมหยักศกดำขลับ ประกอบกับใบหน้าสะสวย จริงใจ อ่อนน้อม และอุปนิสัยไม่ชอบชิงดีชิงเด่น แม้ว่าเธอจะไม่ตั้งใจ แต่ความเซ็กซี่ของเธอมักจะออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ จนทำให้เธอได้รับฉายาว่าเป็น \"เทพธิดาผู้เย้ายวน\"\nไม่เพียงหน้าตาสะสวย ผลงานการแสดงของนางเอกคนนี้เรียกได้ว่าเปี่ยมคุณภาพ จง ฉู่หงได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลสูงสุดด้านการแสดงอย่าง ฮ่องกง ฟิล์มอวอดส์ และ \"รางวัลม้าทองคำ\"ไต้หวัน รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยในยุคนั้นถึงกับมีคำกล่าวที่ว่า \"ดังยังไงก็ดังไม่สู้ จง ฉู่หง เด่นยังไงก็เด่นไม่เท่าโจวเหวินฟะ\" โดยหลังจากเรื่อง \"โหดเด็ดเดี่ยว\" ทั้งคู่แสดงภาพยนตร์ร่วมกันอีกหลายเรื่อง ที่คนไทยรู้จักดี อาทิ ดอกไม้กับนายกระจอก (An Autumn's Tale) ปี พ.ศ. 2530 ที่ขึ้นหิ้งกลายเป็นภาพยนตร์ฮ่องกงสุดโรแมนติกในดวงใจใครหลายคน, ภาพยนตร์โรแมนติกคอมาดี้ ตุ้งติ้งตี๋ต๋า (The Eighth Happiness) ปี พ.ศ. 2531, ภาพยนตร์โรแมนติกสยองขวัญ เจ้าสาวโปเย (Spirtual Love )ในปีเดียวกัน, ภาพยนตร์แอกชั่น คนตัดเหลี่ยมคม (Wild Search) พ.ศ. 2532 หรือ ตีแสกตะวัน (Once a Thief) ที่รับบทนำร่วมกับโจวเหวินฟะ และ เลสลี จาง เมื่อ ปี พ.ศ. 2534 และมีผลงานเด่นอื่นๆ อย่าง เผ็ด สวย ดุ ณ เปไก๋ (Peking Opera Blues) ที่แสดงนำร่วมกับ หลิน ชิงเสีย ทั้งนี้ จง ฉู่ หง แสดงภาพยนตร์ไปทั้งสิ้นราว 60 เรื่อง ตลอดระยะเวลา 11 ปีในวงการ\nนอกจากนี้ ในช่วงที่อุตสาหกรรมหนังเกรดสามฮ่องกงเฟื่องฟู จง ฉู่หง เป็นนางเอกอีกคนหนึ่งที่ไม่สามารถปฏิเสธกระแสธารอันเชี่ยวกราก หลายคนอาจไม่ทราบว่าในยุคแรกๆ ที่เธอเริ่มเพิ่งมีชื่อเสียง เธอเคยรับบทนำในภาพยนตร์เกรดสามโชว์แนวอีโรติกเรทR ที่เน้นโชว์เนื้อหนังถึง 2 เรื่องด้วยกันเรื่องแรก \"คนเดือดเมืองวิกฤติ\" (Hong Kong, Hong Kong (1983) เล่นกับ ว่าน จือเหลียง ในปีพ.ศ. 2526 และอีกเรื่อง \"นี่..อาจใช่รัก\" (May Be Its Love) คู่กับ ทัง เจิ้นเยี่ย เมื่อปี พ.ศ. 2527 อีกด้วย.",
"title": "จง ฉู่หง"
},
{
"docid": "781643#3",
"text": "หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2530",
"title": "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2530"
},
{
"docid": "346028#3",
"text": "สมชาย สุนทรวัฒน์ เริ่มทำงานการเมืองในปี พ.ศ. 2520 ในตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลหนองแค จังหวัดสระบุรี และเป็นประธานหอการค้าจังหวัดสระบุรี ในปี พ.ศ. 2527-2530 เป็นนายกสันนิบาตแห่งประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2528 - 2529",
"title": "สมชาย สุนทรวัฒน์"
},
{
"docid": "316011#4",
"text": "ต่อมาท่านได้เข้าไปจัดการกับเรื่องธุรกิจ ซึ่งมีนิมิตหมายเปลี่ยนแปลงไปในทางด้วยดี ท่านจึงตัดสินใจรับตำแหน่งเป็นนายกสมาคมสร้างคุณค่า ท่านที่ 2 ท่านได้ยืนหยัดเป็นผู้นำหัวแถว แห่งการเผยแผ่ธรรม ก่อนจะเข้ารับตำแหน่งนายกสมาคม ในวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2494 ก็ได้ออกสิ่งที่พิมพ์ของสมาคม ชื่อว่า หนังสือพิมพ์เซเคียว เป็นปฐมฤกษ์ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการต่อสู้ทางความคิดในการเผยแผ่ธรรม จนถึงวันที่ 3 พฤษภาคม ท่านจึงเข้ารับตำแหน่งนายกสมาคมโซคา ท่านที่ 2 และในการกล่าวปราศัยตอนนั้น ตัวท่ายเองได้ตั้งสัตยาธิษฐานไว้ว่า ในชั่วชีวิตของท่าน จะทำการชักชวนแนะนำธรรม ให้ได้ 7 แสน 5 หมื่น ครอบครัว ซึ่งตอนนั้นสมาคมมีสมาชิกประมาณ 3 พันคนเท่านั้น และไม่มีใครเชื่อว่าจะสำเร็จ แต่ด้วยการบัญชาของนายกสมาคมท่านที่ 2 สมาชิกก็เริ่มตื่นตัว ในการเผยแผ่ธรรมอย่างเข้มแข็ง อย่างจริงจัง ทำให้การเผยแผ่ธรรม ก้าวรุดหน้าไปด้วยดี \nเนื่องจากการเผยแผ่ธรรมอย่างไม่หยุดยั้ง จนในปีพ.ศ. 2500 ทำให้มีสมาชิกเพิ่มมาเป็น7แสน5หมื่นครอบครัว อันเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่ไม่เคยมีมา โดยมีไดซาขุ อิเคดะ เป็นผู้ช่วยในการเผยแพร่ธรรม และท่านได้มอบพินัยธรรมให้ไดซาขุ อิเคดะ เป็นนายกสมาคมสร้างคุณค่า สืบต่อเป็นคนที่3และอาจารย์โจะเซ โทะดะ ได้ถึงแก่มรณกรรมวัน 2 เมษายน พ.ศ. 2501 สิริอายุ58ปี",
"title": "โจะเซ โทะดะ"
},
{
"docid": "103589#0",
"text": "ด้วยเกล้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2530 กำกับและเขียนบทโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๙ เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 40 ปี ในปี พ.ศ. 2529 และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ นำแสดงโดย จรัล มโนเพ็ชร , จินตหรา สุขพัฒน์ , สันติสุข พรหมศิริ ได้รับรางวัลภาพยนตร์เกียรติยศแนวสร้างสรรค์ยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2530 และรางวัลเพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม พ.ศ. 2530",
"title": "ด้วยเกล้า"
},
{
"docid": "365983#0",
"text": "รองศาสตราจารย์กฤษติกา คงสมพงษ์ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2508) เป็นนายกสมาคมแม่บ้านทหารบก, อาจารย์ประจำสาขาการตลาด สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษสาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตพิธีกรรายการกำจัดจุดอ่อนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และรายการลูกใครหว่า อีกทั้งได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรอยู่บ่อยครั้ง",
"title": "กฤษติกา คงสมพงษ์"
},
{
"docid": "126414#7",
"text": "เมื่อถึงคราววิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550 เมื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้ยุบสภาลงในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 แล้ว นายกรก็ได้ลาออกจากพรรคไทยรักไทยและทุกตำแหน่งทันทีในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ คือวันรุ่งขึ้นเลย และยุติบทบาททางการเมืองไปชั่วระยะหนึ่ง จนกระทั่งเข้ามาเป็นสมาชิกพรรคประชาราช ซึ่งนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประกาศจะสนับสนุนนายกรให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ในปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 นายกรได้ลาออกจากพรรคประชาราช กลับไปเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยอีกครั้ง\nนายกร เติบโตที่บ้านเทเวศร์ซึ่งเป็นบ้านของ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงเขยทางฝ่ายมารดา และเป็นที่ทราบกันว่า \" นายกรเป็นหลานน้าชาติ \" เนื่องจากมารดาของนายกร เป็นพี่สาวแท้ๆ ของ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี ญาติอีกคนที่สนิทสนมและเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับนายกร คือ พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร ผู้มีศักดิ์เป็นน้าเขย",
"title": "กร ทัพพะรังสี"
},
{
"docid": "385009#0",
"text": "พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม) (นามเดิม:สำรวม สำเร็จสุข ) พ.ศ. 2530 เป็นคณบดีคณะสังคมศาสตร์ รักษาการ ผอ. โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ครูใหญ่ ร.ร.ศึกษาผู้ใหญ่วัดอุดมธานี (กศน.) พ.ศ. 2532 เป็นครูใหญ่ ร.ร.พระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลีอีกตำแหน่ง พ.ศ. 2549 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดฯ สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาคณะชั้นราช ที่พระราชวรนายก พ.ศ. 2552 ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดอุดมธานี พระอารามหลวง จังหวัดนครนายก ชั้นตรี ชนิดสามัญ อดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ",
"title": "พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม)"
},
{
"docid": "435205#0",
"text": "ดร.วุฒิชัย กิตติธเนศวร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก อดีตประธานสภาจังหวัดนครนายก 4 สมัย และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย แต่ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้ย้ายมาสังกัดพรรคภูมิใจไทย นอกจากนี้ยังเป็น ส.ส.และนักการเมืองท้องถิ่นที่มีสถิติไม่เคยแพ้ใครในจังหวัดนครนายกอีกด้วย",
"title": "วุฒิชัย กิตติธเนศวร"
},
{
"docid": "286213#0",
"text": "รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2530 เป็นรางวัลภาพยนตร์ไทยซึ่งจัดโดยสมาคมผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย โดยครั้งนี้มี นายสมบูรณ์สุข นิยมศิริ(เปี๊ยก โปสเตอร์) เป็นนายกสมาคม ",
"title": "รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 7"
},
{
"docid": "787657#0",
"text": "เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2530 ในโทรทัศน์ประเทศไทย",
"title": "โทรทัศน์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2530"
},
{
"docid": "100759#0",
"text": "ศาสตราจารย์กิตติคุณ อำมาตย์เอก พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาชิกผู้ก่อตั้งวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์[1] ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งวิศวกรไทย[2][3] นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5[4]",
"title": "พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)"
},
{
"docid": "36852#0",
"text": "รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2530",
"title": "รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2530"
},
{
"docid": "124506#4",
"text": "ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายกอร์ปศักดิ์ได้ลงในระบบบัญชีรายชื่อและได้เป็น ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อของพรรค และในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นายกอร์ปศักดิ์ได้สมัคร ส.ส. ในพื้นที่เขตที่ 5 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยด้วยเขตราชเทวี แต่นายกอร์ปศักดิ์ไม่ได้รับการเลือกตั้ง หลังจากนั้น นายกอร์ปศักดิ์ได้เขียนหนังสือออกมาหลายเล่ม ซึ่งส่วนมากเป็นหนังสือเกี่ยวกับ การเปิดโปงการทุจริต ในวงการการเมืองหลายเล่ม เช่น ใครว่าคนรวยไม่โกง เป็นต้น",
"title": "กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ"
}
] |
2768 | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกสั้นๆว่าภาคอิสานได้หรือไม่ ? | [
{
"docid": "13363#0",
"text": "ภาคอีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान \"aiśāna\" แปลว่า \"ตะวันออกเฉียงเหนือ\") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง",
"title": "ภาคอีสาน (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "330764#10",
"text": "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ภาคอีสาน ประกอบด้วยจังหวัด 20 จังหวัดมีเนื้อที่ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ทั้งประเทศ มีดินไม่ดีซึ่งไม่ค่อยเอื้อต่อเกษตรกรรม อย่างไรก็ตาม ข้าวเหนียว ซึ่งเป็นอาหารสำคัญสำหรับประชากรในภูมิภาค จำเป็นต้องอาศัยทุ่งนาที่น้ำท่วมถึงและระบายน้ำได้น้อยในการเจริญเติบโต และที่ซึ่งแหล่งน้ำใกล้เคียงสามารถท่วมถึงได้ มักจะเก็บเกี่ยวสองครั้งต่อปี พืชค้า อย่างเช่น อ้อยและมันสำปะหลังมีการเพาะปลูกกันในบริเวณมหาศาล และยาง ในปริมาณที่น้อยกว่าพืชสองชนิดแรก การผลิตไหมเป็นอุตสาหกรรมแถบชนบทและมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจ ภาคอีสานมีฤดูมรสุมสั้น ๆ นำมาซึ่งอุทกภัยในแถบหุบเขาแม่น้ำ ไม่เหมือนกับพื้นที่ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์กว่าของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฤดูแล้งที่ยาวนาน และพื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยหญ้าหรอมแหรม ภูเขาขนาบภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งทางตะวันตกและทางใต้ และแม่น้ำโขงไหลกั้นที่ราบสูงโคราชทางเหนือและทางตะวันออก พืชสมุนไพรพื้นบ้านหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสกุล \"Curcuma\" และพืชวงศ์ขิง เป็นพืชท้องถิ่นของภาค\nภาคอีสานแบ่งลักษณะภูมิประเทศเป็น 5 เขต ได้แก่",
"title": "ภูมิศาสตร์ไทย"
}
] | [
{
"docid": "651985#0",
"text": "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (; ) เป็นภูมิภาคทางตอนเหนือของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม ที่เรียกว่า \"ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\" นั้นก็เพื่อให้แตกต่างจากภาคตะวันตกเฉียงเหนือ แต่ความจริงภูมิภาคนี้ตั้งอยู่ทางตอนเหนือรวมทั้งตะวันออกเฉียงเหนือของฮานอย กินพื้นที่กว้างขวางกว่าเหวียตบั๊ก (ภาคเหนือ) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นหนึ่งในสามภูมิภาคทางตอนเหนือของเวียดนาม (อีกสองภูมิภาคคือภาคตะวันตกเฉียงเหนือและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง) บางครั้ง \"ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\" ก็นับรวมดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงด้วย",
"title": "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)"
},
{
"docid": "315586#0",
"text": "ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกว่า ชายฝั่งตะวันออก () หมายถึง รัฐฝั่งทะเลซึ่งตั้งในภาคกลางหรือภาคเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยมีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก และแคนาดา ด้วยเหตุผลทางด้านภูมิศาสตร์ คำว่า \"ชายฝั่งตะวันออก\" (Eastern Seaboard) ได้มีการใช้อย่างกว้างขวาง; ในการใช้ที่ได้รับความนิยม \"East Coast\" มักเป็นคำที่ใช้ซึ่งเจาะจงหมายถึงเฉพาะครึ่งทางเหนือของพื้นที่ดังกล่าวเท่านั้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนครึ่งทางใต้ของพื้นที่ดังกล่าวมักถูกพิจารณาว่าเป็นภาคใต้หรือภาคตะวันออกเฉียงใต้",
"title": "ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ"
},
{
"docid": "13363#3",
"text": "แอ่งโคราช เป็นการแบ่งโซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามภูมิศาสตร์ โดยแอ่งโคราชจะอยู่ในโซนอีสานตอนล่าง ครอบคลุมพื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธ์ มหาสารคาม บุรีรัมย์ สุรินทร์ ร้อยเอ็ด ยโสธร มุกดาหาร ศรีสะกษ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ทิศเหนือจะจรดแอ่งสกลนครโดยมีเทือกเขาภูพานกั้นไว้ ทิศตะวันตกกั้นด้วยเทือกเขาเพชรบูรณ์ ทิศใต้กั้นด้วยเทือกเขาพนมดงรัก\nจังหวัดในภาคอีสานมีทั้งหมด 20 จังหวัด ตามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา และตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่",
"title": "ภาคอีสาน (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "651979#0",
"text": "ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (; ) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศซึ่งมีภูมิประเทศเป็นภูเขา ภาคนี้ประกอบด้วยสี่จังหวัดหลักคือ จังหวัดเดี่ยนเบียน, จังหวัดลายเจิว, จังหวัดเซินลา และจังหวัดฮหว่าบิ่ญ ส่วนอีกสองจังหวัดคือ จังหวัดหล่าวกายและจังหวัดเอียนบ๊าย บางครั้งจะได้รับการจัดเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ภูมิภาคนี้มีประชากรประมาณสองล้านห้าแสนคน ติดพรมแดนประเทศลาวและประเทศจีนและเป็นหนึ่งในสามทางภูมิศาสตร์ย่อยภูมิภาคตามธรรมชาติของภาคเหนือของเวียดนาม (อีกสองภูมิภาคย่อยเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง)",
"title": "ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)"
},
{
"docid": "652076#0",
"text": "ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (; ) เป็นภูมิภาคแห่งหนึ่งในประเทศเวียดนาม ประกอบด้วย 1 เขตเทศบาลคือนครโฮจิมินห์ และอีก 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดด่งนาย, จังหวัดบิ่ญเซือง, จังหวัดบิ่ญเฟื้อก, จังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่า และจังหวัดเต็ยนิญ อีกสองจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศคือ จังหวัดบิ่ญถ่วนและจังหวัดนิญถ่วน บางครั้งจะนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากที่สุดในเวียดนาม ในปี ค.ศ. 2006 ภูมิภาคนี้ทำรายได้เข้าสู่รัฐประมาณ 148,000 ล้านด่ง (9,250,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ) จากรายได้ทั้งหมด 251,000 ล้านด่ง นอกจากนี้ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ยังเป็นพื้นที่ที่มีความเป็นชุมชนเมืองสูงที่สุดในประเทศ โดยมีประชากรมากกว่าร้อยละ 50 อาศัยอยู่ในเขตเมือง (ในขณะที่อัตราส่วนประชากรในเขตเมืองทั้งประเทศคิดเป็นเพียงร้อยละ 25)",
"title": "ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนาม)"
},
{
"docid": "652276#0",
"text": "เคอร์ดิสถานซีเรีย () หรือเคอร์ดิสถานตะวันตก () (; , \"Kurdistan Al-Suriyah\") มักเรียกเพียง \"โรยาวา\" () (\"ตะวันตก\" ในภาษาเคิร์ด) เป็นดินแดนปกครองตนเองโดยพฤตินัยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศซีเรีย เคอร์ดิสถานซีเรียเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ภูมิศาสตร์ใหญ่กว่า เรียก เคอร์ดิสถาน ซึ่งรวมบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี (เคอร์ดิสถานตุรกี) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอิรัก (เคอร์ดิสถานอิรัก) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน (เคอร์ดิสถานอิหร่าน) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของซีเรีย (เคอร์ดิสถานซีเรีย) เป็นบริเวณที่มีชาวเคิร์ดอาศัยอยู่จำนวนมาก\nพื้นที่ปกคลุมทางตะวันตกเฉียงเหนือของซากรอส และทางตะวันออกของเทือกเขาเทารัส ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 เคอร์ดิสถานซีเรียส่วนใหญ่ถูกควบคุมโดยกองทหารเคิร์ดระหว่างสงครามกลางเมืองซีเรีย และในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ผู้แทนชาวเคิร์ด ชาวอาหรับ ชาวอัสซีเรียและชนกลุ่มน้อยอื่นประกาศตั้งรัฐบาลโดยพฤตินัยในบริเวณนี้",
"title": "สหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ"
},
{
"docid": "17494#2",
"text": "ภูมิประเทศของภาคเหนือประกอบไปด้วยเทือกเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน และมีพื้นที่สำคัญของประเทศหลายจุด เช่น พื้นที่ทางด้านตะวันตกสุดของประเทศที่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ทางด้านเหนือสุดของประเทศที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดสูงสุดของประเทศที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่แรกของประเทศที่แม่น้ำโขงไหลผ่าน โดยจุดแรกที่แม่น้ำโขงไหลผ่านประเทศไทยอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย",
"title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)"
},
{
"docid": "866491#1",
"text": "วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อนตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2518 เดิมมีชื่อว่า โรงเรียนช่างกลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นโรงเรียนชายล้วน และภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือและรับนักเรียน,นักศึกษาหญิง ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้ยกฐานะโรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้นเป็น วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปัจจุบัน",
"title": "วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ"
}
] |
3252 | เพลงชาติไทยถูกใช้ครั้งแรกเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "372262#2",
"text": "แต่งเพลงชาติไทย วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นวันที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย หลังจากนั้นไม่นานได้มีการแต่งเพลงชาติขึ้น เพลงชาติเพลงแรกใช้ทำนองเพลงมหาชัยโดยเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเป็นผู้แต่งเนื้อร้อง ต่อมา น.ต. หลวงนิเทศกลกิจ ร.น. (กลาง โรจนเสนา) ได้ขอให้พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยกร) แต่งทำนองเพลงชาติแบบสากล และขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) แต่งเนื้อร้องขึ้นต้นว่า “แผ่นดินสยามนามประเทืองว่าเมืองทอง ไทยเข้าครองตั้งประเทศเขตแดนสง่า”",
"title": "ฉันท์ ขำวิไล"
},
{
"docid": "2091#2",
"text": "เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้ประกาศใช้เพลงชาติมหาชัย ซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดย เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เป็นเพลงชาติอยู่ 7 วัน (ใช้ชั่วคราว ระหว่างรอพระเจนดุริยางค์แต่งเพลงชาติใหม่) แต่ไม่ได้รับความนิยมจากประชาชน ต่อมาจึงได้เปลี่ยนมาเป็นเพลงชาติฉบับที่แต่งทำนองโดยพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการแทนเพลงสรรเสริญพระบารมี",
"title": "เพลงชาติไทย"
}
] | [
{
"docid": "117956#7",
"text": "เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2475 คณะราษฎร์ได้ประกาศใช้เพลงชาติมหาชัย ซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดย เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นเพลงชาติฉบับที่แต่งทำนองโดยพระเจนดุริยางค์ เมื่อแรกๆ นั้น ได้ใช้คำร้องของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธ์) ประพันธ์ เป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ห้า ใช้\"ระหว่างปี พ.ศ. 2475-2477",
"title": "ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)"
},
{
"docid": "2091#11",
"text": "ในปี พ.ศ. 2478 รัฐบาลของ พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ออกระเบียบการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงชาติ ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 (มีผลบังคับใช้ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน) ระเบียบดังกล่าวนี้ได้มีการกำหนดให้แบ่งการบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงชาติออกเป็น 2 แบบ คือ การบรรเลงแบบพิสดาร (บรรเลงตามความยาวปกติเต็มเพลง) และการบรรเลงแบบสังเขป ในกรณีของเพลงชาตินั้น ได้กำหนดให้บรรเลงเพลงชาติฉบับสังเขปในการพิธีที่เกี่ยวข้องกับประชาชน สโมสรสันนิบาต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพิธีปกติ ส่วนการบรรเลงแบบเต็มเพลงนั้นให้ใช้ในงานพิธีใหญ่เท่านั้น",
"title": "เพลงชาติไทย"
},
{
"docid": "2091#13",
"text": "ในปี พ.ศ. 2482 \"ประเทศสยาม\" ได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"ประเทศไทย\" รัฐบาลจึงได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติไทยใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ โดยกำหนดเงื่อนไขยังคงใช้ทำนองของพระเจนดุริยางค์อยู่เช่นเดิม แต่กำหนดให้มีเนื้อร้องความยาวเพียง 8 วรรคเท่านั้น และปรากฏคำว่า \"ไทย\" ซึ่งเป็นชื่อประเทศอยู่ในเพลงด้วย ผลการประกวดปรากฏว่าเนื้อร้องของพันเอกหลวงสารานุประพันธ์ ซึ่งส่งประกวดในนามกองทัพบกได้รับรางวัลชนะเลิศ รัฐบาลไทยจึงได้ประกาศรับรองให้ใช้เป็นเนื้อร้องเพลงชาติไทย โดยแก้ไขคำร้องจากต้นฉบับที่ส่งประกวดเล็กน้อย เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2482 และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน",
"title": "เพลงชาติไทย"
},
{
"docid": "251042#1",
"text": "ในปี พ.ศ. 2402 เพลงชาติฉบับแรกของอียิปต์ ใช้เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี มีชื่อว่า ซะลามอัฟฟานดินาร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2466 ราชอาณาจักรอียิปต์ได้รับการสถาปนาและได้รับการยอมรับโดยสหราชอาณาจักร ซึ่งได้ใช้เพลงชาติฉบับใหม่ที่มีชื่อว่า อัสซะลามิยะมิสรี (\"จงปลอดภัยเถิด อียิปต์\") ซึ่งเพลงดังกล่าวนี้ใช้เป็นเพลงชาติของตนมาเป็นระยะเวลา 13 ปี และถูกยกเลิกในปี พ.ศ. 2479 ในช่วงดังกล่าว เพลงซะลามอัฟฟานดินาร์ ยังคงใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์ของอียิปต์จนถึงปี พ.ศ. 2495 ภายหลังการปฏิวัติอียิปต์ สหสาธารณรัฐอาหรับ ได้ถือกำเนิด และ ได้มีการประกาศใช้เพลงชาติฉบับใหม่ ที่มีชื่อว่า วาลลาซามานยาเซลาฮี (\"โอ้ อาวุธของพวกเรา\") ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2503.",
"title": "บิลาดี บิลาดี บิลาดี"
},
{
"docid": "99657#65",
"text": "ในปี 2532 สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้จัดงานกึ่งศตวรรษลูกทุ่งไทย ครั้งแรก ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2532 ซึ่งเป็นช่วงที่วงการเพลงลูกทุ่งเริ่มซบเซา ซึ่งปรากฏว่ามีบรรดานักฟังเพลงลูกทุ่งมาชมกันมากเป็นประวัติการณ์จนต้องจัดให้มีการถ่ายทอดสดทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และในปีถัด ๆ ไปสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ก็ได้สนับสนุนเพลงลูกทุ่งไทยมาโดยตลอด และได้จัด งานกึ่งศตวรรษเพลงลูกทุ่งไทย ภาค 2 ในปี พ.ศ. 2533 ซึ่งในปีนี้ เพลง ส้มตำ ถือเป็นเพลงเกียรติยศ ที่นักร้องลูกทุ่งนำมาขับขานในโอกาสการจัดงาน กึ่งศตวรรษเพลงลูกทุ่งไทย ภาค 2 เพลงลูกทุ่งที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ และได้อัญเชิญมาขับร้องด้วยการบันทึกเสียงโดย พุ่มพวง ดวงจันทร์ และถูกอัญเชิญขับร้องใหม่โดย สุนารี ราชสีมา ในงานนี้ด้วย และในปี พ.ศ. 2534 ได้จัดโครงการจัดทำโครงการส่งเสริมเพลงลูกทุ่งไทยด้วยการประกวดขับร้องเพลงลูกทุ่งไทย สืบสานคุณค่าวัฒนธรรมไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 จัดให้มีการประกาศผลงานเพลงลูกทุ่งดีเด่นส่งเสริมวัฒนธรรมไทย และ ในวันที 15 กันยายน พ.ศ. 2542 นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ในขณะนั้น ได้จัดงาน 60 ปีเล่าขานตำนานลูกทุ่งไทยขึ้น ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย",
"title": "เพลงลูกทุ่ง"
},
{
"docid": "2091#18",
"text": "แนวปฏิบัติดังกล่าวนี้ ได้ริเริ่มให้มีขึ้นครั้งแรก จากการบรรเลงเพลงชาติ ตามสัญญาณจากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ในเวลา 08.00 น. โดยบัญชาของจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ราวปี พ.ศ. 2485 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2",
"title": "เพลงชาติไทย"
},
{
"docid": "2091#0",
"text": "เพลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482",
"title": "เพลงชาติไทย"
},
{
"docid": "207287#1",
"text": "เพลงนี้ได้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติเนปาลอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ในรัฐพิธีซึ่งจัดขึ้น ณ หอประชุมคณะกรรมการการวางแผนชาติ ภายในพระราชวังสิงหดรูบาร์ (Singha Durbar) อันเป็นที่ตั้งของรัฐสภาเนปาล โดยนายสุภาศ เนมวัง (Subhash Nemwang) ประธานรัฐสภาเนปาล เป็นผู้เปิดแผ่นซีดีบรรเลงเพลงชาติในพิธีดังกล่าวทั้งนี้ การเริ่มใช้เพลงชาติเนปาลใหม่อย่างเป็นทางการข้างต้น ได้มีขึ้นก่อนการผ่านกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญมาสู่ระบอบสาธารณรัฐอย่างเป็นทางการประมาณ 4 เดือน",
"title": "สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี"
}
] |
2589 | อี ซุน-ชิน เกิดเมื่อไหร่? | [
{
"docid": "184325#0",
"text": "อี ซุน-ชิน (; 28 เมษายน พ.ศ. 2087 – 16 ธันวาคม พ.ศ. 2141) คือแม่ทัพเรือของเกาหลีในยุคราชวงศ์โชซ็อน ที่มีชื่อเสียงจากการนำกองทัพเรือเกาหลีเข้าต่อสู้กับกองทัพเรือญี่ปุ่น ในการรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141) ในยุคราชวงศ์โชซ็อน เขาเข้าร่วมรบในฐานะผู้บัญชาการที่ 1 แห่งจังหวัดทหารเรือคย็องซัง, ช็อลลา และชุงช็อง ราชทินนามของเขาคือ \"Samdo Sugun Tongjesa\" (ฮันกึล: 삼도수군통제사, ฮันจา: 三道水軍統制使) ซึ่งแปลว่า ผู้บัญชาการ 3 จังหวัดทหารเรือ ซึ่งเป็นราชทินนามสำหรับผู้ที่ครองตำแหน่ง ผู้บัญชาการหน่วยรบทางทะเลของราชวงศ์โซซอน มาจนถึง พ.ศ. 2439 อี ซุน-ชินมีชื่อเสียงด้วยการเอาชนะกองทัพญี่ปุ่นในขณะที่ฝ่ายตนมีจำนวนน้อยกว่ามากได้ และการประดิษฐ์เรือรบเต่า (คอบุกซ็อน, 거북선) ซึ่งเป็นเรือรบหุ้มเกราะโลหะลำแรกของโลกอีกด้วย เขาได้รับการยกย่องในฐานะแม่ทัพเรือไร้พ่าย และอาจหาญด้วยวีรกรรมการที่ตนนั้นถูกกระสุนปืนไฟยิงแต่มีคำสั่งให้ลูกน้องมัดตนไว้กับเสากระโดงเรือจนกว่าจะตายและให้แม่ทัพรองสวมเกราะของตนเพื่อขวัญกำลังใจของทหารเรือเกาหลีซึ่งมีเพียงไม่กี่คนในโลกนี้ที่ได้รับการยกย่องเช่นนี้ [1]",
"title": "อี ซุน-ชิน"
}
] | [
{
"docid": "184325#63",
"text": "เมื่อมองดูเกียรติประวัติของเชื้อสายของอี ซุน-ชิน เชื้อสายของเขามากกว่า 200คนผ่านการสอบเข้ารับราชการทหาร กลายเป็นตระกูลสำคัญ หรือบัณฑิตสายทหาร ถึงแม้ว่าเชื้อสายของเขาจะไม่ได้มีบทบาทสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อการเมืองในช่วงท้ายของราชวงศ์โซซอน แต่ราชสำนักก็ให้เกียรติต่อตระกูลลีอย่างสูง หลายคนทำงานข้าราชการสายมหาดไทยระดับสูง หลังการล่มสลายของราชวงศ์โซซอน เชื้อสายของอี ซุน-ชินหลายคน กลายมาเป็นสมาชิกองค์การต่อต้านญี่ปุ่นเพื่อเอกราชของเกาหลี ปัจจุบัน ลูกหลานของอี ซุน-ชินอาศัยอยู่บริเวณโซล และอาซาน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#55",
"text": "โดยประวัติศาสตร์แล้ว มีแม่ทัพเพียงไม่กี่คนที่ชำนาญในยุทธวิธีการเข้าตีตรงหน้า เข้าตีฉับพลัน การรวมกำลัง และการขยายกำลัง นโปเลียนผู้เชี่ยวชาญการยึดครองบางส่วนด้วยทั้งหมด ก็สมควรเรียกได้ว่าเป็นแม่ทัพที่ยอดเยี่ยม ในส่วนของแม่ทัพเรือ 2อัจฉริยะด้านยุทธวิธีที่สมควรจะกล่าวไว้คือ อี ซุน-ชินแห่งเกาหลี จากตะวันออก และเนลสันแห่งอังกฤษ จากตะวันตก ลีเป็นแม่ทัพเรือผู้โดดเด่นอย่างไม่ต้องสงสัย แม้ว่าเขาจะถูกจำกัดขัดขาในสงครามเจ็ดปี และในทางกลับกัน ความกล้าหาญและชาญฉลาดของเขา มิได้เลื่องลือไปทางตะวันตก เหตุเพราะเขาโชคร้ายที่เกิดมาในราชวงศ์โซซอน ใครก็ตามที่จะเปรียบเทียบกับอี ซุน-ชินได้นั้น ควรจะเหนือกว่า มิเชล เดอ รุยเตอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ เนลสันนี้ ยังห่างไกลจากอี ซุน-ชินในแง่ของลักษณะนิสัยและความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ลียังเป็นผู้ประดิษฐ์เรือรบหุ้มเกราะที่รู้จักในนามเรือเต่า(โคบุคซอน) เขาคือผู้บัญชาการทางทะเลผู้ยิ่งใหญ่อย่างแท้จริง และเป็นผู้เชี่ยวชาญงานยุทธนาวีของ 300 ปีที่ผ่านมา[24]",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "198571#103",
"text": "เนื่องจาก อี ซุน-ชิน ทราบถึงสมุทรศาสตร์ของยุทธบริเวณนั้นเป็นอย่างดีว่าเต็มไปด้วยหินโสโครก เขาจึงปฏิเสธพระบรมราชโองการที่จะออกรบอันเป็นเหตุให้พระเจ้าซอนโจลงพระอาญาปลดเขาและจองจำข้อหาไม่ปฏิบัติตามพระบรมราชโองการ ยิ่งไปกว่านั้น วอน กยูน ผู้ซึ่งขึ้นมาแทนตำแหน่งของ อี ซุน-ชิน ยังใส่ความเพ็ดทูลว่า อี ซุน-ชิน นั้นมักจะเมาสุราและเฉื่อยชาอีกด้วย\nหลังจากวอน กยูนเข้าแทนที่ตำแหน่งของ อี ซุน-ชิน เขาก็เรียกกองเรือทั้งหมดของเกาหลี ประมาณ 100 ลำ ที่แม่ทัพลีรวบรวมมาได้อย่างยากเย็น มาประชุมพลที่ยอสุเพื่อหาฝ่ายญี่ปุ่น จากนั้นวอน กยูนก็ออกเดินเรือมุ่งหน้าสู่ปูซานโดยปราศจากการวางแผนหรือเตรียมพร้อมใด ๆ ทั้งสิ้น",
"title": "การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)"
},
{
"docid": "184325#43",
"text": "ระหว่างศึก เฉิน หลิน แม่ทัพเรือฝ่ายจีนตกอยู่ในภาวะคับขัน 2-3ครั้ง และเรือธงก็ตรงเข้ามาช่วยเขาทุกครั้ง เมื่อเชนหลิงมาเข้าพบอี ซุน-ชิน เพื่อขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือ เขาพบลีวาน และได้รับแจ้งถึงมรณกรรมของอี ซุน-ชิน[21] กล่าวกันว่า เชนหลิงตกใจมาก คุกเข่าลงโขกศีรษะถึง3ครั้งและร้องไห้[22] ข่าวการจากไปของแม่ทัพลี แพร่สะพัดไปทั่วทั้งกองเรือผสมหมิง-โซซอนอย่างรวดเร็ว ทหารหาญทุกนาย ไม่ว่าจะหมิงหรือโซซอนต่างก็พากันร้องไห้ระงม[21]",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#42",
"text": "ผู้ที่อยู่ดูใจอี ซุน-ชินก่อนจากไปนั้นมีเพียง3คนเท่านั้น 2ใน3คนนั้นได้แก่ ลี โฮ ลูกชายคนโตของอี ซุน-ชิน และลี วานหลานชายของเขา เพื่อมิให้ใครสังเกตเห็นการตายของอี ซุน-ชิน ลีโฮและลีวาน ประคองร่างของอี ซุน-ชินไร้วิญญาณเข้าไปในตัวเรือ เพื่อหลีกหนีสายตาของผู้คน สำหรับการรบที่เหลือ ลีวานสวมเกราะของลุงของเขา แล้วขึ้นไปตีกลองศึก เพื่อรักษาขวัยกำลังใจทหารว่าแม่ทัพของเขายังคงมีชีวิตเรือธงยังคงทำการรบอยู่[19]",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#45",
"text": "แม่ทัพอี ซุน-ชิน นอกจากจะสามารถถล่มกองทัพญี่ปุ่นได้แล้ว ยังเป็นผู้ที่รักและเคารพในตัวทหารหาญและครอบครัวยิ่ง เขาได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้านจากทั้งผลงานในการป้องกันประเทศชาติ และความเป็นผู้โอบอ้อมอารีย์มีเมตตาต่อประชาชน ผู้ประสบภัยสงครามอีกด้วย ผู้คนเคารพยกย่องแม่ทัพอี ซุน-ชินยิ่ง และกล่าวถึงอี ซุน-ชิน มากกว่าตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือที่เขาเป็น",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#36",
"text": "หลังพระเจ้าซอนโจทรงสดับข่าวหายนะนี้ มีพระราชโองการปล่อยอี ซุน-ชิน และคืนยศ ผู้บัญชาการทหารเรือให้ทันที แต่อี ซุน-ชินก็พบว่า เขามีเรือรบอยู่ 12ลำ กับกำลังพลที่รอดชีวิต และพร้อมที่จะเข้าสู่สนามรบเพียง 200นาย เมื่อรวมกับเรือธงของเขา เขามีเรือรบในบังคับบัญชาเพียง 13ลำเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ พรเจ้าซอนโจจึงทรงดำริว่ากองทัพเรือของพระองค์สิ้นนาวิกานุภาพแล้ว ยากที่จะพื้นฟูให้ทันเวลา จึงมีพระราชโองการให้ยุบกองทัพเรือ และโยกให้ไปขึ้นตรงต่อกองทัพบก ภายใต้การนำของจอมพล คอน ยูล แต่อี ซุน-ชินกลับทูลตอบว่า \"ข้าพเจ้ายังมีเรือรบอยู่13ลำ ตราบที่ข้าพระองค์ยังมีชีวิตอยู่ ราชศัตรูจะไม่มีทางได้ทะเลตะวันตกอย่างแน่นอน (หมายถึงทะเลเหลือง) ฝ่ายญี่ปุ่น ภายใต้การนำของคูรูชิมะ มิชิฟูสะ,โทโด ทากาโทระ,คาโต้ โยชิอากิและวากิซากะ ยาสุฮารุ ที่กำลังได้ใจจากชัยชนะในครั้งก่อน ก็หมายจะกำจัดอี ซุน-ชิน พร้อมเรือรบที่เหลืออีก 13ลำ ระหว่างทางไปโซล ก็เคลื่อนพลออกจากปูซานสู่โซล",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#9",
"text": "วีรกรรมของอี ซุน-ชิน ได้รับการจดจำอย่างมาก จากการเข้าร่วมรบหลายต่อหลายครั้งในการรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141) นี้เอง ในปี พ.ศ. 2135 โทโยโทมิ ฮิเดโยชิออกคำสั่งเคลื่อนพลเข้าตีเกาหลี หมายจะกวาดพื้นที่ทั้งคาบสมุทรเกาหลี เพื่อใช้เป็นฐานปฏิบัติการหน้าในการเข้ายึดประเทศจีนต่อไป หลังการโจมตีเมืองปูซาน อี ซุน-ชินก็เริ่มปฏิบัติการโต้ตอบทางทะเล จากยอซู หน่วยบัญชาการของเขา เขามีชัยเหนือญี่ปุ่นใน ยุทธนาวีที่โอ๊กโป,ยุทธนาวีที่ซาชาน และอีกหลายศึก ชัยชนะอย่างต่อเนื่องของเขา ทำให้แม่ทัพทั้งหลายของญี่ปุ่นกังวลถึงภัยจากทางทะเล อี ซุน-ชินเข้ารบในยุทธนาวีใหญ่ๆ อย่างน้อย 23 ครั้ง และได้ชัยชนะทุกครั้ง",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#69",
"text": "ละครชุด \"อี ซุน-ชินผู้เป็นนิรันดร์\" (불멸의 이순신) จำนวน 104ตอน ถูกนำออกฉายทางช่อง KBS ของเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2547 ถึง 28 สิงหาคม พ.ศ. 2548 โดยเนื้อหาส่วนมากเป็นช่วงการรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น ในขณะที่สะท้อนชีวิตของแม่ทัพลีไปด้วย บทอี ซุน-ชินแสดงโดย คิม มยังมิน และได้รับรางวัลนักแสดงชายยอดเยี่ยมจากบทนี้ ละครเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากในจีน และถูกนำมาฉายซ้ำโดยสถานีโทรทัศน์ที่เน้นด้านจริยธรรมบางช่องในอเมริกา ละครชุดนี้ถูกวิจารณ์มากในหลายๆจุด เช่นการฉายภาพอี ซุน-ชินในวัยหนุ่มว่าอ่อนแอและโดดเดี่ยว และเป็นคนที่ไม่สนใจอะไรเลยในสถานการณ์เสี่ยงตาย อย่างไรก็ตาม ละครชุดนี้ได้รับการกล่าวขานว่า มีมิติของมนุษย์ปุถุชนมากกว่าชุดอื่นๆ ละครลุดนี้ฉายภาพของอี ซุน-ชินในภาพของมนุษย์ปุถุชน ที่ต้องฝ่าฟันพยันตอันตรายเพียงลำพัง ไม่ใช่วีรบุรุษที่ฟ้าประทานลงมา ละครเรื่องนี้กลายเป็นหัวข้อพูดคุยกันมากขึ้นเพราะบังเอิญเป็นช่วงที่ญี่ปุ่นประกาศว่าเกาะโตกโดเป็นของญี่ปุ่น ไม่ใช่เกาหลีใต้",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "198571#107",
"text": "ข่าวความปราชัยของวอน กยูนที่ช่องแคบชีลชอนลยองทำให้พระเจ้าซอนโจมีพระบรมราชโองการปล่อย อี ซุน-ชิน ออกจากคุกพร้อมทั้งคืนตำแหน่งให้เขา อี ซุน-ชิน เร่งกลับไปที่ฐานทัพเรือและพบว่าเขามีเรือรบเหลืออยู่เพียง 12 ลำ พร้อมกำลังพลเพียง 200 นายจากความปราชัยในยุทธการครั้งก่อน อย่างไรก็ตาม ความชาญยุทธพิชัยของ อี ซุน-ชิน หาได้ถดถอยลงไม่และในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1597 อี ซุน-ชิน ใช้เรือรบเพียง 12 ลำ เข้าสัพประยุทธกับเรือรบญี่ปุ่น 133 ลำที่ช่องแคบมลองยอง และในยุทธนาวีนี้เองฝ่ายเกาหลีกลับเป็นผู้มีชัยและบีบบังคับให้โมริ ฮิเดะโทะโมะถอนกองเรือญี่ปุ่นกลับปูซานเปิดช่องให้ลีซุนชินเข้าครอบครองชายฝั่งเกาหลี ยุทธนาวีที่ช่องแคบมลองยองนับได้ว่าเป็นยุทธนาวีที่ยอดเยี่ยมที่สุดของ อี ซุน-ชิน จากความแตกต่างของกำลังรบนี้เอง",
"title": "การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)"
},
{
"docid": "184325#24",
"text": "แต่ฮิเดโยชิก็ปรับแผนอย่างรวดเร็ว ที่ปูซาน เรือรบญี่ปุ่นถูกปรับปรุงด้วยการเสริมเกราะไม้และปืนใหญ่ และเพิ่มมาตรการป้องกันอ่าวด้วยปืนใหญ่ตามริมแนวชาวฝั่ง โดยสั่งให้โรงหล่อในปูซานหล่อขึ้นมา ที่สำคัญที่สุด ญี่ปุ่นรู้ว่าใครอยู่เบื้องหลังความกลัวของพวกเขา และอี ซุน-ชินจะต้องถูกกำจัดให้พ้นทาง ตราบใดที่อี ซุน-ชินยังอยู่ ไม่มีอะไรสามารถรับประกันความปลอดภัยทางทะเลให้ญี่ปุ่นได้แน่นอน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#12",
"text": "ความเยี่ยมยอดของเขา ในฐานะนักยุทธศาสตร์และผู้นำนั้น ได้รับการกล่าวขานอย่างมาก ในระหว่างสงคราม ตัวอย่างเช่น ยุทธการที่ช่องแคบมยองลยาง ที่อี ซุน-ชินนำเรือพานโอกซอนเพียง 13 ลำ เข้าโรมรันกับกองเรือญี่ปุ่น 333 ลำ (เป็นเรือรบ 133ลำ และเรือลำเลียงไม่น้อยกว่า 200 ลำ) [2][3][4][5][6][7][8][9][10][11] ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2140 โดยสามารถจมเรือรบญี่ปุ่นได้ 31ลำ[12] ใช้การไม่ได้ 92 ลำ ถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 ถึง 18,466 นาย [13] ในขณะที่ทางเกาหลีไม่เสียเรือเลยสักลำ มีทหารตาย 2 นาย และบาดเจ็บ 3 นายบนเรือที่อี ซุน-ชินบัญชาการ[14] และอี ซุน-ชินยังเป็นผู้บัญชาการที่กระตือรือร้น มักจะเป็นฝ่ายเข้าตีกองเรือญี่ปุ่นอยู่เสมอ",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#65",
"text": "ราชทินนามของอี ซุน-ชิน ชุงมูโกง (ขุนศึกผู้จงรักษ์) ถูกใช้ในเกาหลี ในฐานะราชทินนามอันทรงเกียรติอันดับ 3 และรู้จักในนาม ตำแหน่งทางทหารผู้พิทักษ์อันเก่งกล้าสามารถแห่งชุงมู (the Cordon of Chungmu of the Order of Military Merit and Valor) เขายังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น เจ้าชายแห่งโด๊กปุง ชุงมูโร (충무로; 忠武路) ถนนดาว์นทาวน์ในโซลเอง ก็ตั้งตามชื่อของเขา เมือง\"ชุงมู\"เอง ก็ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น\"โทงยลอง\" เพื่อเป็นเกียรติให้แก่อี ซุน-ชิน ในฐานะที่เป็นที่ตั้งฐานบัญชาการของเขา (อยู่บนแนวชายฝั่งทางตอนใต้ของเกาหลี) ใน\"เซโจงโน\" กลางโซลมีอนุสาวรีย์ของอี ซุน-ชินตั้งไว้อยู่ นอกจากนี้ เรือพิฆาตหลากวัตถุประสงค์ของเกาหลีรุ่นหนึ่ง ก็มีชื่อชั้นว่า \"ชามูกง อี ซุน-ชิน\" (รหัสโครงการคือ KDX-II)",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#68",
"text": "พ.ศ. 2548 ภาพยนตร์เกาหลี \"ทหารสวรรค์\" (ชอนกุน (천군; 天軍;Heaven's Soldiers) กำกับโดย มิน จุนกิ แสดงถึงอี ซุน-ชินวัยหนุ่ม (แสดงโดย ปาร์ค จุงฮุน) ที่ต่อสู้กับพวกหนู่เจินร่วมกับชาวบ้านในพื้นที่ ร่วมกับทหารเกาหลีเหนือและใต้ ที่ถูกดาวหางฮัลเลย์ดึงให้พลัดมิติย้อนเวลาจาก พ.ศ. 2548 มาสู่ พ.ศ. 2115 นับว่าผิดแปลกไปกว่าฉบับอื่นที่ อี ซุน-ชินถูกนำเสนอในลักษณะของหนุ่มสิบแปดมงกุฎและค่อนข้างเพี้ยน แทนที่จะเป็นวีรบุรุษผู้กล้าหาญ (เวลาในพื้นเรื่อง เกิดก่อนการรุกราณเกาหลีของญี่ปุ่น ราวๆ 20ปี) เหตุการณ์ที่นำเสนอก็ผิดเพี้ยนไปจากประวัติศาสตร์ เช่นการทัพต่อต้านพวกหนู่เจินก็มิได้เกิดในปี พ.ศ. 2115 แต่เกิดในไม่กี่ปีหลังจากนั้น หลังเขาสอบเข้ารับราชการทหารได้ในปี พ.ศ. 2119 ภาพยนตร์เรื่องนี้ลงทุนตามมาตรฐานการสร้างภาพยนตร์ของเกาหลี (7-8 ล้านดอลลาห์) และประสบความสำเร็จ ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายให้เห็นถึงภาพของอี ซุน-ชิน ในฐานะวีรบุรุษของเกาหลีในยุคปัจจุบันและกำลังจะรวมชาติได้อย่างชัดเจน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#41",
"text": "เมื่อญี่ปุ่นเริ่มร่นถอย อี ซุน-ชินก็เร่งให้ตามตี แต่ในช่วงเวลานี้เอง กระสุนปืนคาบศิลานัดหนึ่งที่ญี่ปุ่นยิงมา ถูกร่างของอี ซุน-ชิน[19] เข้าที่สีข้างด้านขวา[20] แม้ว่ากระสุนจะเข้าที่จุดตาย แต่อี ซุน-ชินกลับกล่าวว่า \"การรบดำเนินมาถึงจุดสูงสุดแล้ว อย่าให้ใครรับรู้ถึงการตายของข้า\"[19] แล้วเขาก็ขาดใจตายในอีกไม่กี่อึดใจถัดมา",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#28",
"text": "ด้วยเหตุนี้ อี ซุน-ชินจึงถูกปลด ถูกจับใส่โซ่ตรวน และถูกส่งไปยังโซล เพื่อทรมานและจองจำ อี ซุน-ชินถูกทรมานจนเกือบตาย ด้วยวิธีทรมานพื้นฐานเช่น การเฆี่ยนด้วยแส้, การโบยตีด้วยพลอง, การนาบด้วยเหล็กร้อนแดง และ ด้วยวิธีตามแบบการทรมานของเกาหลี คือการหักขา แท้จริงแล้ว พระเจ้าซอนโจทรงหมายจะเอาชีวิตเขาด้วยซ้ำ แต่ผู้สนับสนุนอี ซุน-ชิน โดยเฉพาะ เสนาบดีชุง ตาก ขอให้ทรงเมตตาอี ซุน-ชิน เพื่อเห็นแก่ความดีความชอบแต่ครั้งก่อน ส่วนมหาเสนาบดี ยู ซอง ลยอง ที่เคยเป็นเพื่อนสมัยเด็กของอี ซุน-ชิน และเป็นหัวเรือใหญ่ในการสนับสนุนเขากลับนิ่งเงียบในช่วงนี้ แม้จะได้รับการละเว้นโทษตาย แต่เขากลับถูกลดขั้นลงเป็นทหารเลวอีกครั้ง ในกองพลของจอมพลคอน ยูล โทษนี้ สำหรับแม่ทัพเกาหลีนั้น รุนแรงยิ่งกว่าโทษตายเสียอีก เพราะพวกเขามีชีวิตอยู่ด้วยเกียรติยศ",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#66",
"text": "มีการนำชีวประวัติของอี ซุน-ชินไปทำเป็นภาพยนตร์ 2เรื่อง ในชื่อเดียวกันคือ \"อี ซุน-ชิน วีรบุรุษนักบุญ\" ครั้งแรกที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2505 เป็นภาพยนตร์ขาวดำ และทำใหม่เป็นภาพสี โดนอิงจากบันทึกสงครามของอี ซุน-ชินในปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2547",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#16",
"text": "การทัพทั้งสี่ของอี ซุน-ชิน รวมไปถึงทุกๆ ปฏิบัติการ อย่างน้อย 33 ปฏิบัติการใหญ่ๆ ที่อี ซุน-ชินได้ชัยมา ทำให้ญี่ปุ่นต้องเสียเรือรบซันเคน เรือลำเลียงพล และเรือลำเลียงเสบียงนับร้อยๆ และมีทหารถูกจับนับพันนาย",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#58",
"text": "สาเหตุหนึ่งที่ทำให้อี ซุน-ชินประสบความสำเร็จคือ การครอบครองปืนใหญ่ที่มีระยะยิงและอำนาจการยิงที่สูงกว่าญี่ปุ่น ในขณะที่ญี่ปุ่นหวังจะใช้การรบระยะประชิดเข้าสู้กับเกาหลี เรือเต่าของเขา ที่เพิ่งถูกปล่อยเรือลงน้ำเพียงวันเดียวก่อนสงครามจะเริ่มต้น มีประสิทธิภาพสูงมากในการเข้าตี และทะลวงแนวรบข้าศึก อี ซุน-ชินชนะศึกทางทะเลอย่างน้อย 12 ครั้ง โดยได้รับความเสียหายเพียงน้อยนิด แต่ถล่มเรือญี่ปุ่นนับพัน สังหารชีวิตทหารญี่ปุ่นนับแสน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#21",
"text": "เรือเต่า ถูกนำออกมาใช้ครั้งแรกในยุทธนาวีแห่งซาชอน (พ.ศ. 2135) และถูกนำมาใช้เกือบทุกครั้งจนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ โศกนาฐกรรมที่ชีลชอนลยาง ที่ราชนาวีเสียเรือเต่าและพานโอกซอนทั้งหมด เหลือเพียง เรือพานโอกซอน 13ลำเท่านั้น (อี ซุน-ชินไม่ได้เป็นผู้บังคับบัญชาในยุทธนาวีนี้ เนื่องจากเชื่อว่าเป็นกับดัก จึงถูกจับขึ้นศาลทหาร) และไม่ปรากฏอีกเลย นับแต่ยุทธการที่ช่องแคบมยองลยาง จุดเปลี่ยนที่2 ของสงคราม",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#37",
"text": "การตอบสนองต่อความเคลื่อนไหวของอี ซุน-ชินช่างทรงพลังยิ่ง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2140 เขาลวงกองทัพเรือญี่ปุ่น (เรือรบ 133ลำ และเรือลำเลียง ไม่ต่ำกว่า200ลำ) ให้เขามาที่ช่องแคบมลองยอง และเริ่มเปิดฉากเข้าตีกองเรือญี่ปุ่นที่นั่น [15] ด้วยการระดมยิงปืนใหญ่และธนูไฟใส่เรือข้าศึก อีกทั้งรักษาระยะห่างจากเรือข้าศึก มิให้ข้าศึกสามารถบุกขึ้นยึดเรือได้ เรือญี่ปุ่น 31ลำอับปาง ทหารญี่ปุ่นนับพันถูกฆ่า ไม่ก็จมน้ำตาย แม่ทัพคูรูชิมะ มิชิฟูสะของญี่ปุ่น ถูกยิงตายโดยพลธนูประจำเรือที่เข้าใกล้เรือธงของญี่ปุ่น ชัยชนะของอี ซุน-ชินในยุทธนาวีที่ช่องแคบมลองยองนี้ สะท้อนให้เห็นถึง ความสามารถอันยิ่งยวดของเขาในฐานะนายทหารจอมยุทธศาสตร์ ทุกวันนี้ ชาวเกาหลีจะเฉลิมฉลองชัยชนะจากยุทธนาวีที่ช่องแคบมลองยอง ในฐานะชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ของอี ซุน-ชิน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#2",
"text": "อี ซุน-ชินเกิดที่กรุงฮันยัง (ปัจจุบันคือโซล) ตระกูลของเขาคือตระกูลลีแห่ง Deoksu พ.ศ. 2095 ลีจอง พ่อของเขาถูกจับและลงโทษ จากข้อหาประกอบพิธีศพให้อาชญากรที่ตายไปแล้ว ครองครัวของเขาจึงย้ายไปที่อาซาน จังหวัดกองซางโต พระเจ้าซอนโจพระราชทานอภัยโทษให้ในปี พ.ศ. 2110",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#46",
"text": "ในทางกลับกัน พระเจ้าซอนโจกลับไม่ได้ทำอะไรเพื่อปกป้องราชอาณาจักรของพระองค์เลย ซ้ำร้ายไปกว่านั้น พระองค์ทรงล้มเหลวในการป้องกันขอบขัณฑสีมา และการแปรพระราชฐานหนีไปจากโซลโดยทันทีของพระองค์ ทำให้ภาพลักษณ์ของพระองค์ล่มสลายลง มีความเป็นไปได้ถึงความเชื่อว่า พระเจ้าซอนโจและราชสำนัก กลับมองชัยชนะของอี ซุน-ชินและการสนับสนุนในตัวเขาเป็นหอกข้างแคร่ ที่อาจจะทำให้เขาก่อกบฏได้ในภายหลัง เฉยเช่นที่ ลี ซองเกเคยก่อรัฐประหาร ยึดอำนาจมาจากราชวงศ์โครยอปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระเจ้าแทโจปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนในปี พ.ศ. 1935 ด้วยความกลัวดังนี้ พระเจ้าซอนโจจึงทรงลงพระอาญาจองจำและทรมานอี ซุน-ชิน แต่ก็ได้ยู ซองลยองคอยช่วยกราบทูลคัดค้านโทษตายของอี ซุน-ชินไว้ถึง 2ครั้ง",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#47",
"text": "ด้วยเหตุนี้ การพระราชทานรางวัลให้อี ซุน-ชิน จึงเกิดขึ้นหลังมรณกรรมของเขาเกือบทั้งหมด",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#67",
"text": "อี ซุน-ชิน และเรือเต่าของเขา ปรากฏในเกมส์ Age of Empire 2 อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดความสมดุล ศักยภาพของเรือเต่าจึงถูกเปลี่ยนใน 2จุดคือ เรือเต่าเคลื่อนที่ได้ช้า ในขณะที่ของจริงแล่นได้เร็วมาก และสามารถยิงปืนใหญ่ได้จากปากมังกรด้านหน้าเท่านั้น ในขณะที่ของจริงสามารถยิงได้รอบด้าน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#62",
"text": "อี ซุน-ชินบันทึกความทรงจำของเขาในสมุดบันทึกอย่างละเอียด ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตลอดจนหนังสือรายงานที่เขาส่งขึ้นกราบทูลพระเจ้าซอนโจ ซึ่งทำให้อนุชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเขาหลายอย่าง นอกจากนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับเรือเต่าเองก็ถูกบันทึกในนี้เช่นกัน งานของเขาได้รับการตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษในชื่อ \"นานจุง อิลกิ: บันทึกความสงจำยามสงครามของแม่ทัพอี ซุน-ชิน (Nanjung Ilgi: War Diary of Admiral Yi Soon-shin)\" และ \"อิมจิน จังโช: ความทรงจำของแม่ทัพลีที่มีต่อราชสำนัก (Imjin Jangcho: Admiral Yi Soon-shin’s Memorials to Court)\"",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#27",
"text": "เมื่อแม่ทัพคิมกราบทูลรายงานถึงการปฏิเสธพระบรมราชโองการ เหล่าขุนนางขี้อิจฉา ที่จ้องจะล้มอี ซุน-ชินต่างก็เร่งกราบทูลให้ลงพระอาญาอี ซุน-ชิน และส่งแม่ทัพวอน กยูน อดีตอดีตผู้บัญชาการกองเรือตะวันตกแห่งจังหวัดกองซาง และผู้บัญชาการทหารบกแห่งจอนลา เพื่อเป็นการซ้ำเติมอี ซุน-ชิน วอน กยูนยังกราบทูลรายงานป้ายสีว่า อี ซุน-ชินเป็นพวกขี้เหล้าและเกียจคร้าน",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#23",
"text": "หลังชัยชนะอย่างต่อเนื่องของอี ซุน-ชิน ฮิเดโยชิ และแม่ทัพของเขาก็เริ่มหวาดเกรง เพราะกองเรือเกาหลีเข้าใกล้ปูซาน ฝ่ายญี่ปุ่นกลัวว่าเส้นทางลำเลียงเสบียงจะถูกตัด อีกทั้ง อี ซุน-ชินยังทำให้การขนส่งอาหารและยุทโธปกรณ์ของญี่ปุ่นล่าช้า กำลังเสริมจากญี่ปุ่นก็ผ่านด่านกองทัพเรือเกาหลีไปไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ แผนการบุกเข้าเปียงยางจึงชะงักลง ด้วยว่าเสบียงมาไม่ถึงมือกองหน้าทั้ง2ของญี่ปุ่น",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#48",
"text": "ขุนนางในราชสำนักหลายคน มีส่วนสำคัญมากในการทำให้พระเจ้าซอนโจมีพระดำริต่ออี ซุน-ชินในแง่ลบ รัฐบาลโซซอนถูกดึงลงไปในวังวนแห่งการแก่งแย่งชิงดี, เกลียดชัง และแบ่งฝักแบ่งฝ่าย เหล่าขุนนางที่กลัวและเกลียดชังแม่ทัพผู้โดดเดี่ยว ทุ่มแรงกายแรงใจทำศึกเพื่อปกป้องประเทศชาติ ในขณะที่ราชสำนักกลับแตกแยกสับสน ด้วยวังวนของความอิจฉาริษยานี้ มีแผนการขัดขาอี ซุน-ชินมากมาย จนทำให้อี ซุน-ชินไม่สามารถต่อกรกับข้าศึกได้อย่างเต็มความสามารถ",
"title": "อี ซุน-ชิน"
},
{
"docid": "184325#34",
"text": "นี่คือความต่างอย่างเห็นได้ชัดระหว่างแม่ทัพกวอน ยูล และแม่ทัพอี ซุน-ชิน ซึ่งอี ซุน-ชินมักจะเคลื่อนทัพอย่างมีแบบแผนและกลยุทธ์ ในขณะที่กวอน ยูลยอมให้กองทัพเรือญี่ปุ่นบุกเข้าประชิด ขึ้นยึดเรือเพื่อเข้ารบในระยะประชิด ซึ่งเป็นกลยุทธ์พื้นฐานของกองทัพญี่ปุ่นได้อย่างง่ายดาย",
"title": "อี ซุน-ชิน"
}
] |
357 | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เกิดเมื่อวันที่ เท่าไหร่? | [
{
"docid": "27997#0",
"text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูงสุด",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
}
] | [
{
"docid": "650127#16",
"text": "จำนวนผู้จบปริญญาเอก ในสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ มีจำนวน 22 รายจาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.5 มากกว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 ที่มีจำนวน 16 ราย จาก 220 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.27 มีผู้ที่มียศทหารและตำรวจไทย ทั้งหมด 78 ราย จาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 39 ยศกองอาสารักษาดินแดน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 3 ผู้มีตำแหน่งทางวิชาการ 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 7 และเป็นแพทย์ 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.5\n ดร. พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นายกองเอก วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นายกองเอก วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นาย วิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นายกองเอก ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n ดร. สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี\n รองศาสตราจารย์ ดร. สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นาย เสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นายกองเอก อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นาย อลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นายแพทย์ อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร. อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี",
"title": "สภาปฏิรูปแห่งชาติ"
},
{
"docid": "671343#2",
"text": "เมื่อ พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีสมัยที่ 2 ทางพรรคได้เข้าร่วมรัฐบาลกับพลเอกเกรียงศักดิ์โดยพลอากาศเอกทวีได้ดำรงตำแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี",
"title": "พรรคกิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522)"
},
{
"docid": "741862#0",
"text": "พลเรือเอก กวี สิงหะ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย",
"title": "กวี สิงหะ"
},
{
"docid": "636609#5",
"text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ดังต่อไปนี้ \nพลโท ไพโรจน์ ทองมาเอง\nพลเอก ไพโรจน์ พานิชสมัย\nศาสตราจารย์พิเศษภัทรศักดิ์ วรรณแสง\nนายกองเอก ภาณุ อุทัยรัตน์\nพลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล\nนาย มณเฑียร บุญตัน\nนาย มนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด\nนายกองเอก มนุชญ์ วัฒนโกเมร\nพลเอก มารุต ปัชโชตะสิงห์\nพลเอก ยอดยุทธ บุญญาธิการ\nนาย ยุทธนา ทัพเจริญ\nพลเรือเอก ยุทธนา ฟักผลงาม\nพลเอก ยุวนัฏ สุริยกุล ณ อยุธยา\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน\nพลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์\nพลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร\nพลเอก วลิต โรจนภักดี\nพลตำรวจเอก ดร. วัชรพล ประสารราชกิจ\nนาย วันชัย ศารทูลทัต\nอาจารย์วัลลภ ตังคณานุรักษ์\nพลเรือเอก วัลลภ เกิดผล\nพลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา\nพลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ\nนาย วิทยา ฉายสุวรรณ\nนาย วิทวัส บุญญสถิตย์\nพลตำรวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้\nพลเอก วิลาศ อรุณศรี\nพลเรือโท วีระพันธ์ สุขก้อน\nนาย วีระศักดิ์ ฟูตระกูล\nพลเอก วีรัณ ฉันทศาสตร์โกศล\nรองศาสตราจารย์ วุฒิชัย กปิลกาญจน์\nผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์\nนาย ศรีศักดิ์ ว่องส่งสาร\nนาย ศักดิ์ชัย ธนบุญชัย\nดร. ศักดิ์ทิพย์ ไกรฤกษ์\nนาย ศิระชัย โชติรัตน์\nพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล\nดร. ศิริพล ยอดเมืองเจริญ\nพลอากาศเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ\nพลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ\nพลเอก ศุภกร สงวนชาติศรไกร\nพลเอก สกนธ์ สัจจานิตย์\nพลเอก สกล ชื่นตระกูล\nนาย สถิตย์ สวินทร\nพลเรือโท สนธยา น้อยฉายา\nศาตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว\nศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์\nศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์\nนาย สมชาย แสวงการ\nนาย สมบูรณ์ งามลักษณ์\nดร.สมพร เทพสิทธา\nนาย สมพล เกียรติไพบูลย์\nนาย สมพล พันธุ์มณี\nพลตำรวจเอก ดร. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง\nนาย สมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ\nพลเอก สมหมาย เกาฏีระ\nพลเอก สมเจตน์ บุญถนอม\nพลเอก สมโภชน์ วังแก้ว\nรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรณ บุญใบชัยพฤกษ์\nพลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์\nพลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร\nนาย สาธิต ชาญเชาวน์กุล\nนาย สีมา สีมานันท์\nพลเอก สุชาติ หนองบัว\nพลอากาศเอก สุทธิพันธ์ กฤษณคุปต์\nนาย สุธรรม พันธุศักดิ์\nนาย สุพันธุ์ มงคลสุธี\nรองศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ\nนาย สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย\nพลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์\nพลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์\nพลเอก สุรวัช บุตรวงษ์\nพลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์\nนาง สุวรรณี สิริเวชชะพันธ์\nพลเอก สุวโรจน์ ทิพย์มงคล\nนาง สุวิมล ภูมิสิงหราช\nนาง เสาวณี สุวรรณชีพ\nพลเอก โสภณ ศีลพิพัฒน์\nพลเอก อกนิษฐ์ หมื่นสวัสดิ์\nพลเอก องอาจ พงษ์ศักดิ์\nพลอากาศเอก อดิศักดิ์ กลั่นเสนาะ\nพลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์\nพลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์\nนายกองเอกอนุวัฒน์ เมธีวิบูลวุฒิ\nนาย อนุศาสน์ สุวรรณมงคล\nพลเรือเอก อมรเทพ ณ บางช้าง\nนางสาว อรจิต สิงคาลวณิช\nพลเอก อักษรา เกิดผล\nพลอากาศเอก อาคม กาญจนหิรัญ\nนาย อาคม เติมพิทยาไพสิฐ\nพลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์\nนาย อาศิส พิทักษ์คุมพล \nดร. อำพน กิตติอำพน\nพลโท อำพน ชูประทุม\nพลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย \nพลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์\nนาย อิสระ ว่องกุศลกิจ\nพลเอก อู้ด เบื้องบน\nพลตำรวจเอก เอก อังสนานนท์\nทั้งนี้หลังจากที่มีประกาศแต่งตั้งแล้ว อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรีได้ทำหนังสือแจ้งต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติขอไม่รับตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เนื่องจากจุฬาราชมนตรีเป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของศาสนาอิสลามในประเทศไทยจึงไม่สมควรรับตำแหน่งทางการเมือง และที่ผ่านมายังไม่มีใครทาบทามให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สนช. และได้ยื่นหนังสือลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2557 ในวันเดียวกันนี้ พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ได้ยื่นหนังสือลาออกเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนา วันที่ 4 สิงหาคม 2557 พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย ได้ยื่นหนังสือลาออกต่อเลขาธิการวุฒิสภาทำหน้าที่เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเคยถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ",
"title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557"
},
{
"docid": "27997#8",
"text": "พลเอกเกรียงศักดิ์ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546 รวมอายุได้ 86 ปี โดยในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่นั้น ภาพที่ติดตาของพลเอกเกรียงศักดิ์ คือ การทำแกงเขียวหวานใส่บรั่นดีระหว่างออกเยี่ยมประชาชนตามที่ต่าง ๆ อันเป็นสูตรของพลเอกเกรียงศักดิ์เอง",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "959442#4",
"text": "พลเอก สุรกิจ มัยลาภ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ในปี พ.ศ. 2516 ซึ่งมีพลอากาศเอก ทวี จุลทรัพย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการฯ และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2520 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์",
"title": "สุรกิจ มัยลาภ"
},
{
"docid": "129550#6",
"text": "ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากนายกรัฐมนตรีลาออก และได้รับแต่งตั้งอีกสมัยหนึ่ง แต่ดำรงตำแหน่งเพียง 12 วัน และได้เข้าเฝ้าถวายสัตย์ปฏิญาณเพียงวันเดียวก็ต้องพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากการรัฐประหารของพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ และเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์",
"title": "ทวี จุลละทรัพย์"
},
{
"docid": "27997#3",
"text": "ในช่วงที่รับราชการทหาร พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เคยร่วมรบในสมรภูมิเกาหลีรุ่นแรก ในตำแหน่งผู้บังคับกองพันทหารราบ ผลัดที่ 3 สร้างเกียรติภูมิอย่างมาก จนหน่วยใต้บังคับบัญชาได้ฉายาว่า \"กองพันพยัคฆ์น้อย\" (ปัจจุบันแปรสภาพเป็นกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์) ภายหลังกลับจากสงครามก็เข้าประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด เติบโตในสายเสนาธิการมาเป็นลำดับจนเป็นพลเอก และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดจนเกษียณอายุราชการ",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "747881#2",
"text": "ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และได้รับแต่งตั้งอีกครั้งในรัฐบาลคณะต่อมา นำโดยพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ได้มีการปรับคณะรัฐมนตรี เขาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แต่ก็ยังไม่ได้ทำหน้าที่ดำงกล่าว นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นก็ประกาศลาออกจากตำแหน่งก่อนจะแถลงนโยบาย เนื่องจากเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาล กับรัฐสภา",
"title": "ดำริ น้อยมณี"
},
{
"docid": "671060#2",
"text": "พลเอก นายกองใหญ่ เล็ก แนวมาลี ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีครั้งแรกในรัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียรเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39 และพ้นจากตำแหน่งไปหลังการรัฐประหารของพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ต่อมาเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40 รัฐบาลของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2521 ได้มีการปรับย้ายไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และดำรงตำแหน่งเรื่อยมาในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41 และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 และพ้นจากตำแหน่งไปเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 หลังจากที่พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ลาออก",
"title": "เล็ก แนวมาลี"
},
{
"docid": "644214#44",
"text": "บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก อำนาจ จีระมณีมัย เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง เป็นรักษาการประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นาวาอากาศตรี ประจักษ์ สัจจโสภณ เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศโท ประกิต ศกุณสิงห์ เป็นกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ พลตำรวจโท มนู เมฆหมอก เป็นกรรมการอิสระ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด พลเอก สาธิต พิธรัตน์ เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจโท อติเทพ ปัญจมานนท์[45]พลตำรวจตรี สมพงษ์ ชิงดวง[46] เป็นกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง พลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์ และ พลตำรวจโท ไถง ปราศจากศัตรู เป็นกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พลเอก วลิต โรจนภักดี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นายกองโท ชยพล ธิติศักดิ์ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศโท กมลนัย ชัยเฉนียน เป็นกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร. ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พลเอก วราห์ บุญญะสิทธิ์ เป็นกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พลเอก วิวรรธน์ สุชาติ ประธานกรรมการ พลอากาศเอก ยุทธนา สุกุมลจันทร์[47] เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ บริษัท ขนส่ง จำกัด พลตรี สุรพล ตาปนานนท์ ประธานกรรมการบริษัท พลโท พรเลิศ วรสีหะ เป็นกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย พลเรือเอก ชัยณรงค์ เจริญรัตน์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) พลเรือเอก ธนะรัตน์ อุบล และ พันเอก นิมิตต์ สุวรรณรัฐ เป็นกรรมการอิสระ การประปาส่วนภูมิภาค พลตรี พงษ์สวัสดิ์ พรรณจิตต์ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต การประปานครหลวง นายกองเอก ฉัตรชัย พรหมเลิศ เป็นประธานกรรมการ พลอากาศเอก ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ และ พลตรี ปรัชญา เฉลิมวัฒน์ เป็นกรรมการ การยาสูบแห่งประเทศไทย พลโท สุรไกร จัตุมาศ ประธานกรรมการอำนวยการโรงงานยาสูบ สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พลโท อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ประธานกรรมการ พลตำรวจตรี สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข พลตรี ฉลองรัฐ นาคอาทิตย์ พันโท หนุน ศันสนาคม พันตำรวจโท อมร หงษ์ศรีทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พลเอก ถเกิงกานต์ ศรีอำไพ ประธานคณะกรรมการ สถาบันการบินพลเรือน พลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์ ประธานคณะกรรมการ ร้อยเอก ประยุทธ เสาวคนธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การรถไฟแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร.ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ[48] การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ และ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข กรรมการอิสระ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ ประธานกรรมการ นาวาอากาศเอก สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ และ พลตรี ดร.สมเกียรติ สัมพันธ์ เป็นกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) พันเอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่และกรรมการบริหาร องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พลเอก ชวลิต ชุนประสาน และ พลโท[49]ไพโรจน์ ทองมาเอง เป็นกรรมการ องค์การคลังสินค้า พลตำรวจตรี ไกรบุญ ทรวดทรง ประธานกรรมการ พันเอก (พิเศษ) ดร. ดิเรก ดีประเสริฐ รองประธานกรรมการ ร้อยตำรวจเอก ดร.สุธรรม เชื้อประกอบกิจ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พลเอก ณัฏฐิพงษ์ เผือกสกนธ์ กรรมการ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ประธานกรรมการ พลเอก ดรัณ ยุทธวงษ์สุข กรรมการและรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ พลตำรวจตรี กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ พลตำรวจตรี อภิชาติ สุริบุญญา ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร พลเรือโท วิพากษ์ น้อยจินดา กรรมการ องค์การสุรา กรมสรรพสามิต พันเอก บุญรอด ศรีสมบัติ กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) พลเอก เทียนชัย รับพร กรรมการอิสระ การเคหะแห่งชาติ พลเอก สุชาติ หนองบัว และ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร เป็นกรรมการ บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด พลเรือเอก พัลลภ ตมิศานนท์ ประธานกรรมการ พลเรือโท สุทธินันท์ สกุลภุชพงษ์ รองประธานกรรมการ พลเรือโท สุชีพ หวังไมตรี พลเรือโท ฐานันดร์ เข็มเพ็ชร พลเรือโท โสภณ วัฒนมงคล พลเรือโท ชุมศักดิ์ นาควิจิตร และ พลเรือตรี วิทยา ละออจันทร์ เป็นกรรมการ นาวาเอก พิชเยนทร์ ตันประเสริฐ เป็นกรรมการผู้จัดการ การกีฬาแห่งประเทศไทย พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร เป็นประธานกรรมการ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ เป็นกรรมการ พล.ร.อ.ชัยณรงค์ เจริญรักษ์ เป็นกรรมการ พลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกีฬา[50] องค์การสะพานปลา พลเรือเอก เริงฤทธิ์ บุญส่งประเสริฐ เป็นกรรมการ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท เป็นกรรมการ องค์การสวนสัตว์ พันเอก ขจรศักดิ์ ไทยประยูร เป็นกรรมการ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พันเอก ประเสริฐ ชูแสง เป็นกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด พลเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศเอก วีระศักดิ์ วิรุฬห์เพชร พลตำรวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา พลตำรวจตรี ดร. สุรเชษฐ์ หักพาล พันเอก พีรวัส พรหมกลัดพะเนาว์ เป็นกรรมการ องค์การตลาด พลตำรวจเอก ชินทัต มีศุข[51]เป็นกรรมการอื่น การยางแห่งประเทศไทย พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต เป็นกรรมการ องค์การจัดการน้ำเสีย พลอากาศเอก ปรีชัย หาญเจนลักษณ์ เป็นกรรมการ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ พลตรี ณัฏฐพัชร สกุลรังสฤษฏ์ เป็นกรรมการ[52] โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจโท ปิยะ สอนตระกูล เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจตรี อนันต์ โตสงวน พลตำรวจตรี เสน่ห์ อรุณพันธุ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พลตำรวจตรีหญิง ขนิษฐา เที่ยงทัศน์ พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ บุญกลาง เป็นกรรมการ[53] ธนาคารออมสิน พลเอก จิระเดช โมกขะสมิต กรรมการอื่น[54]",
"title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61"
},
{
"docid": "643325#0",
"text": "คุณหญิง วิรัตน์ ชมะนันทน์ ภริยาของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรี คนที่ 15 ของไทย",
"title": "วิรัตน์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "27997#7",
"text": "พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยแถลงกลางสภา ฯ เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการที่รัฐบาลตัดสินใจเพิ่มราคาค่าน้ำมันตามราคาตลาดโลก ซึ่งทำให้หลายฝ่ายได้รับความเดือดร้อนและโจมตี หลังจากนั้นได้ยุติบทบาททางการเมือง โดยไม่ข้องเกี่ยวกับวงการเมืองอีก แต่อย่างไรก็ตามในเหตุการณ์กบฏวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 พลเอกเกรียงศักดิ์ถูกต้องสงสัยว่าอาจมีส่วนรู้เห็นหรือสนับสนุนการกบฏดังกล่าว [3]",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "671333#2",
"text": "เมื่อ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 2 พรรคชาติประชาชนก็ได้ร่วมรัฐบาลพล.อ.เกรียงศักดิ์ โดย เรืออากาศตรีบุญยง วัฒนพงศ์ ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี",
"title": "พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)"
},
{
"docid": "636609#9",
"text": " พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ\n นาย ปรีดี ดาวฉาย\n พลเรือเอก พลเดช เจริญพูล\n พลตรี พัลลภ เฟื่องฟู\n พลเรือโท รัตนะ วงษาโรจน์\n พลเรือเอกลือชัย รุดดิษฐ์\n นายกองเอก วิทยา ผิวผ่อง\n พลตรี วุฒิชัย นาควานิช\n พลตำรวจโท ศานิตย์ มหถาวร\n พลโท ศิริชัย เทศนา\n พลเอก ศุภรัตน์ พัฒนาวิสุทธิ์\n พลเอก สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล\n พลเอก สรรชัย อจลานนท์\n พลตรี สันติพงศ์ ธรรมปิยะ\n นาย สุชาติ ตระกูลเกษมสุข\n พลเรือเอก สุชีพ หวังไมตรี\n พลอากาศเอก สุทธิพงษ์ อินทรียงค์\n พลเอก สุรใจ จิตต์แจ้ง\n พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง\nวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพิ่มเติมอีก 3 คนดังต่อไปนี้ วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 พลเอก ยุวนัฎ สุริยกุล ณ อยุธยา ได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยให้เหตุผลเรื่องสุขภาพทำให้จำนวนสมาชิกเหลือ 245 คน",
"title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557"
},
{
"docid": "50800#4",
"text": "ลำดับ (สมัย)รูปรายนามครม. คณะที่เริ่มวาระสิ้นสุดวาระ11จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์2631 มีนาคม พ.ศ. 250012 กันยายน พ.ศ. 2500[1]12จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) 2612 กันยายน พ.ศ. 2500[2]16 กันยายน พ.ศ. 250013 (1- 6)จอมพลถนอม กิตติขจร2723 กันยายน พ.ศ. 250026 ธันวาคม พ.ศ. 2500281 มกราคม พ.ศ. 250120 ตุลาคม พ.ศ. 25012910 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25028 ธันวาคม พ.ศ. 25063011 ธันวาคม พ.ศ. 25067 มีนาคม พ.ศ. 25123111 มีนาคม พ.ศ. 251217 พฤศจิกายน พ.ศ. 25143219 ธันวาคม พ.ศ. 251514 ตุลาคม พ.ศ. 251614พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์3316 ตุลาคม พ.ศ. 251622 พฤษภาคม พ.ศ. 251715พลเอก ครวญ สุทธานินทร์3430 พฤษภาคม พ.ศ. 251714 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 251816 (1)พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา3515 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 251813 มีนาคม พ.ศ. 251817พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร3617 มีนาคม พ.ศ. 251812 มกราคม พ.ศ. 251918พลเอก กฤษณ์ สีวะรา3721 เมษายน พ.ศ. 251928 เมษายน พ.ศ. 251915 (2)พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา3728 เมษายน พ.ศ. 251924 สิงหาคม พ.ศ. 251919หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช3727 สิงหาคม พ.ศ. 251923 กันยายน พ.ศ. 251920 (1-2)พลเรือเอก สงัด ชลออยู่385 ตุลาคม พ.ศ. 25196 ตุลาคม พ.ศ. 25193922 ตุลาคม พ.ศ. 251920 ตุลาคม พ.ศ. 252021พลเอก เล็ก แนวมาลี4012 พฤศจิกายน พ.ศ. 252011 สิงหาคม พ.ศ. 252022พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์4011 สิงหาคม พ.ศ. 252011 พฤษภาคม พ.ศ. 252223 (1-3)100pxพลเอก เปรม ติณสูลานนท์4124 พฤษภาคม พ.ศ. 25223 มีนาคม พ.ศ. 25234221 มีนาคม พ.ศ. 252319 มีนาคม พ.ศ. 2526437 พฤษภาคม พ.ศ. 25265 สิงหาคม พ.ศ. 2529",
"title": "รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย"
},
{
"docid": "653588#2",
"text": "อบ วสุรัตน์ เคยเป็นรองหัวหน้าพรรคชาติประชาธิปไตย ที่มีพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นหัวหน้าพรรค และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2523) และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 จนกระทั่งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2528 เขาได้ขอลาออกจากตำแหน่ง ต่อมาเริ่มต้นเปิดกิจการบริษัทวิทยาคม เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2529",
"title": "อบ วสุรัตน์"
},
{
"docid": "27997#11",
"text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521[6]",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "737773#4",
"text": "วันที่ 1 ตุลาคม 2559 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานยศทหารชั้นนายพล วาระ ตุลาคม 2559 โดยมีสมาชิกได้รับพระราชทานยศ พลเอก 3 รายได้แก่ พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ พลเอก ธงชัย สาระสุข นางสายทิพย์ เชาวลิตถวิล เกษียณอายุราชการ นายสรศักดิ์ เพียรเวช ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ\n ดร.พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นาย วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นาย วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นาย วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n นาย ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นาย ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n นาย สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี (ลาออกเพื่อไปดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)\n รองศาสตราจารย์ ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นายเสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นาย อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นายอลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นาย อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี",
"title": "สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ"
},
{
"docid": "741573#1",
"text": "พล.ร.อ.อมร ศิริกายะ รับราชการในสังกัดกองทัพเรือไทย จนได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2521 ก่อนจะเกษียณอายุราชการ พล.ร.อ.อมร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในคณะรัฐมนตรีคณะต่อมา",
"title": "อมร ศิริกายะ"
},
{
"docid": "635253#0",
"text": "ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 12 ได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ภายหลังจากการ\nปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลนาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร โดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ หัวหน้า คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นผลสำเร็จซึ่งหลังจากนั้น\nอีก 2 วันคือวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เลขาธิการ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้รับการแต่งตั้ง\nเป็น นายกรัฐมนตรี ",
"title": "ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520"
},
{
"docid": "132606#1",
"text": "พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ ประธานสภานโยบายแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ",
"title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40"
},
{
"docid": "741862#2",
"text": "พล.ร.อ.กวี สิงหะ รับราชการในสังกัดกองทัพเรือไทย จนได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2523 ต่อจากพลเรือเอกอมร ศิริกายะ ก่อนจะเกษียณอายุราชการ พล.ร.อ.กวี ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ในปี พ.ศ. 2523",
"title": "กวี สิงหะ"
},
{
"docid": "935539#0",
"text": "พลเรือเอกถวิล รายนานนท์ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายสัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์",
"title": "ถวิล รายนานนท์"
},
{
"docid": "956142#2",
"text": "รัตน์ ศรีไกรวิน เคยรับราชการเป็นผู้พิพากษา และเป็นอดีตรองประธานศาลฎีกา ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์) และเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กระทั่งได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ แทนนายสุธรรม ภัทราคม ซึ่งลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 และได้เข้าถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ของปีเดียวกัน ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาก็พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากพลเอก เกรียงศักดิ์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523",
"title": "รัตน์ ศรีไกรวิน"
},
{
"docid": "466905#9",
"text": "เหตุการณ์ระเบิดในครั้งนี้เป็นหนึ่งในข้ออ้างของการรัฐประหารล้มรัฐบาลธานินทร์ในอีก 3 สัปดาห์ต่อมาที่นำโดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด",
"title": "เหตุระเบิดที่ยะลา 22 กันยายน พ.ศ. 2520"
},
{
"docid": "741573#0",
"text": "พลเรือเอก อมร ศิริกายะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย",
"title": "อมร ศิริกายะ"
},
{
"docid": "27997#1",
"text": "พลเอก เกรียงศักดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 [1] เป็นบุตรของนายแจ่ม กันนางเจือ ชมะนันทน์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นเกรียงศักดิ์ตามนโยบายของรัฐบาลในขณะนั้น (รัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม)[2] ชีวิตครอบครัว สมรสกับคุณหญิง วิรัตน์ ชมะนันทน์ มีบุตรและธิดาคือ พันเอก พงศ์พิพัฒน์ ชมะนันทน์ และ รัตนวรรณ ชมะนันทน์[1]",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
},
{
"docid": "27997#4",
"text": "พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินภายใต้ การนำของ พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร ผลงานสำคัญในช่วงที่พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ดำรงตำแหน่งคือการปรับปรุงสัมพันธภาพกับประเทศเพื่อนบ้านอันประกอบด้วย ประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว และพม่า รวมทั้งพลเอก เกรียงศักดิ์ ได้เดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียต เพื่อกระชับความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจทั้งสอง ทำให้ไทยมีความสัมพันธ์ทางการทูตและการค้ากับทั้งสองประเทศแน่นแฟ้นขึ้น",
"title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"
}
] |
2245 | เกาะสุมาตรา ตั้งอยู่ที่ไหน? | [
{
"docid": "19011#0",
"text": "สุมาตรา หรือ ซูมาเตอรา (English: Sumatra; Indonesian: Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.²) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซีย",
"title": "เกาะสุมาตรา"
}
] | [
{
"docid": "727192#0",
"text": "การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่จะอยู่บนเกาะชวาซึ่งมีรถไฟสายหลักอยู่ 2 สาย ส่วนในเกาะสุมาตราจะมีสายรถไฟที่ไม่เชื่อมต่อกันถึง 5 สาย ซึ่งจะมีในจังหวัดอาเจะฮ์, จังหวัดสุมาตราเหนือ (พื้นที่รอบเมืองเมดัน), จังหวัดสุมาตราตะวันตก (พื้นที่รอบเมืองปาดัง), จังหวัดสุมาตราใต้ และจังหวัดลัมปุง สำหรับรถไฟทางไกลในอินโดนีเซีย ดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจบริษัท รถไฟอินโดนีเซีย จำกัด ส่วนรถไฟชานเมืองในจาการ์ตาดำเนินการโดยบริษัท รถไฟชานเมืองอินโดนีเซีย จำกัด",
"title": "การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "704507#1",
"text": "ถนนสายนี้เปรียบเสมือนหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ช่วยขนส่งผู้อพยพย้ายถิ่นจากเกาะชวาไปยังเกาะสุมาตราซึ่งมีประชากรเบาบางกว่า รวมถึงขนส่งผู้ที่เดินทางจากเกาะสุมาตราไปยังจาการ์ตาและเมืองในเกาะชวา โดยทางหลวงสายทรานส์-สุมาตราตลอดทั้งสายอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชียสาย 25",
"title": "ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา"
},
{
"docid": "1969#5",
"text": "ประเทศอินโดนีเซียมีเกาะหลัก 5 เกาะคือ นิวกินี, ชวา, กาลีมันตัน, ซูลาเวซี และสุมาตรา เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะสุมาตรา ส่วนเกาะชวาเป็นเกาะที่เล็กที่สุดในบรรดาเกาะหลักทั้ง 5 เกาะ แต่ประมาณร้อยละ 60 ของประชากรกว่า 200 ล้านคนอาศัยอยู่บนเกาะนี้และเป็นที่ตั้งกรุงจาการ์ตาซึ่งเป็นเมืองหลวง หมู่เกาะเหล่านี้อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกีนี และติมอร์-เลสเต",
"title": "ประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "234188#0",
"text": "มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา คือชื่อแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียที่ตั้งอยู่บนเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติกูนุงเลอเซอร์ (Gunung Leuser), อุทยานแห่งชาติเกอรินจีเซอบลัต (Kerinci Seblat) และอุทยานแห่งชาติบูกิตบารีซันเซอลาตัน (Bukit Barisan Selatan)",
"title": "มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา"
},
{
"docid": "313319#0",
"text": "แผ่นดินไหวในสุมาตรา เมษายน พ.ศ. 2553 เป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2553 เมื่อเวลา 05:15 ตามเวลาท้องถิ่น (22:15 UTC) มีความรุนแรง 7.8 ตามมาตราขนาดโมเมนต์ ยังไม่มีรายงานผู้ได้รับบาดเจ็บ",
"title": "แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา เมษายน พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "19011#8",
"text": "หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรอินเดีย หมวดหมู่:เกาะสุมาตรา หมวดหมู่:เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร",
"title": "เกาะสุมาตรา"
},
{
"docid": "489889#1",
"text": "กูไลเป็นอาหารที่เป็นที่นิยมชนิดหนึ่งในอินโดนีเซีย โดยเฉพาะในเกาะสุมาตรา เกาะชวา และคาบสมุทรมลายู จุดกำเนิดอยู่ที่สุมาตรา ซึ่งเป็นการนำแกงของอินเดียมาปรับปรุง กูไลยังพบในอาหารของชาวมีนังกาเบา อาเจะฮ์ และมลายู ซึ่งเป็นแกงน้ำข้น ส่วนกูไลในเกาะชวาน้ำแกงจะใสกว่า กูไลนิยมรับประทานกับข้าว แต่ถ้าเป็นกูไลแกะมักรับประทานกับโรตีจาไน ตัวอย่างกูไลแบบต่าง ๆ ได้แก่",
"title": "กูไล"
},
{
"docid": "726269#5",
"text": "อินโดนีเซียมีทางน้ำที่ใช้สัญจรได้ถึง 21,579 กิโลเมตร (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) ซึ่งครึ่งหนึ่งอยู่ในภูมิภาคกาลีมันตัน และอีกครึ่งหนึ่งอยู่บนเกาะสุมาตราและเกาะปาปัว ทางน้ำเป็นทางสัญจรหลักของผู้คนบนเกาะกาลีมันตันและเกาะปาปัวซึ่งมีระบบถนนที่ยังไม่ค่อยดีจะดีนัก ต่างจากเกาะชวาและเกาะสุมาตราซึ่งเป็นเกาะที่มีการพัฒนาสูง ประเทศอินโดนีเซียติดอันดับที่ 7 ในด้านประเทศที่มีทางน้ำยาวที่สุดในโลก",
"title": "การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "1969#9",
"text": "เกาะสุมาตรา จังหวัดอาเจะฮ์* - บันดาอาเจะฮ์ จังหวัดสุมาตราเหนือ - เมดัน จังหวัดสุมาตราใต้ - ปาเล็มบัง จังหวัดสุมาตราตะวันตก - ปาดัง จังหวัดรีเยา - เปอกันบารู หมู่เกาะรีเยา - ตันจุงปีนัง จังหวัดจัมบี - จัมบี หมู่เกาะบังกาเบอลีตุง - ปังกัลปีนัง จังหวัดเบิงกูลู - เบิงกูลู จังหวัดลัมปุง - บันดาร์ลัมปุง เกาะชวา เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา** จังหวัดชวากลาง - เซอมารัง จังหวัดชวาตะวันออก - ซูราบายา จังหวัดชวาตะวันตก - บันดุง จังหวัดบันเติน - เซรัง เขตพิเศษยกยาการ์ตา - ยกยาการ์ตา* หมู่เกาะซุนดาน้อย จังหวัดบาหลี - เด็นปาซาร์ จังหวัดนูซาเติงการาตะวันออก - กูปัง จังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก - มาตารัม เกาะบอร์เนียว จังหวัดกาลีมันตันเหนือ - ตันจุงเซอโลร์ จังหวัดกาลีมันตันกลาง - ปาลังการายา จังหวัดกาลีมันตันใต้ - บันจาร์มาซิน จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก - ซามารินดา จังหวัดกาลีมันตันตะวันตก - ปนตียานัก เกาะซูลาเวซี จังหวัดโก-รนตาโล - โก-รนตาโล จังหวัดซูลาเวซีเหนือ - มานาโด จังหวัดซูลาเวซีกลาง - ปาลู จังหวัดซูลาเวซีใต้ - มากัซซาร์ จังหวัดซูลาเวซีตะวันออกเฉียงใต้ - เกินดารี จังหวัดซูลาเวซีตะวันตก - มามูจู หมู่เกาะโมลุกกะ จังหวัดมาลูกู - อัมบน จังหวัดมาลูกูเหนือ - โซฟีฟี เกาะนิวกินี จังหวัดปาปัว - จายาปูรา จังหวัดปาปัวตะวันตก - มาโนกูวารี",
"title": "ประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "71902#12",
"text": "ทะเลสาบโตบาอยู่ใกล้รอยเลื่อนใหญ่สุมาตราที่ทอดตัวในใจกลางเกาะสุมาตราในแนวรอยแตกสุมาตรา ภูเขาไฟบนเกาะสุมาตราและชวาเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะภูเขาไฟซุนดาที่ก่อตัวขึ้นเมื่อแผ่นเปลือกโลกอินเดีย-ออสเตรเลียเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือจนมุดตัวลงข้างใต้แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียที่เคลื่อนที่ไปทางตะวันออก เขตมุดตัวในพื้นที่นี้มีความเคลื่อนไหวมาก โดยก้นทะเลใกล้ชายฝั่งด้านทิศตะวันตกของเกาะสุมาตราเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่หลายครั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2538 รวมถึงแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 ขนาดแมกนิจูด 9.1 และแผ่นดินไหวบนเกาะสุมาตรา พ.ศ. 2548 ขนาดแมกนิจูด 8.7 ซึ่งทั้งสองครั้งมีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากทะเลสาบโตบาประมาณ 300 กิโลเมตร",
"title": "ทะเลสาบโตบา"
},
{
"docid": "599701#0",
"text": "สุมาตราใต้ () เป็นจังหวัดหนึ่งทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรทั้งหมด 7,446,401 คน (สำมโนประชากรปี 2553) มีเมืองหลักชื่อปาเล็มบัง",
"title": "จังหวัดสุมาตราใต้"
},
{
"docid": "55246#0",
"text": "อาณาจักรศรีวิชัย หรือ อาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดในปี พ.ศ. 1202 (ราวพุทธศตวรรษที่ 13) ก่อตั้งโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลาย เป็นอาณาจักรของชาติพันธุ์มลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบคลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย พื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตรา และหมู่เกาะชวา โดยส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราและบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือ ต่อมาเชื้อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรี ได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมราช",
"title": "อาณาจักรศรีวิชัย"
},
{
"docid": "357966#0",
"text": "อุรังอุตังสุมาตรา (; ) เป็นหนึ่งในอุรังอุตังสองสปีชีส์ ซึ่งพบเฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น อุรังอุตังชนิดนี้หายากและมีขนาดตัวเล็กกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว (\"P. pygmaeus\") อุรังอุตังสุมาตราเพศผู้มีความสูงได้ถึง 1.4 เมตร และหนัก 90 กิโลกรัม ขณะที่เพศเมียจะมีขนาดตัวเล็กกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะสูง 90 เซนติเมตร และหนัก 45 กิโลกรัม",
"title": "อุรังอุตังสุมาตรา"
},
{
"docid": "149268#2",
"text": "มีการกระจายพันธุ์ในเขตใต้สุดของไทย, มาเลเซียและเกาะสุมาตรา มี 2 ชนิดย่อย คือ \"S. s. syndactylus\" พบในมาเลเซีย และ \"S. s. continentis\" พบที่เกาะสุมาตรา อาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น",
"title": "ชะนีเซียมัง"
},
{
"docid": "367408#0",
"text": "ปาเล็มบัง () เป็นเมืองหลักของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝั่งตะวันออกทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำมูซี มีพื้นที่ 400.61\nตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1.44 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของเกาะสุมาตรา รองจากเมืองเมดันซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ปาเล็มบังได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสองเมืองหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 26 ระหว่างวันที่ 11 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ร่วมกับจาการ์ตา",
"title": "ปาเล็มบัง"
},
{
"docid": "357966#8",
"text": "อุรังอุตังสุมาตราเป็นสัตว์ประจำถิ่นเกาะสุมาตรา และมีถิ่นที่อยู่อาศัยจำกัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางตอนเหนือของเกาะ ในธรรมชาติ อุรังอุตังสุมาตรารอดชีวิตอยู่ในจังหวัดนังกรูอาเจะห์ดารุสสลาม (NAD) ซึ่งตั้งอยู่ทางปลายเหนือสุดของเกาะ อุรังอุตังชนิดนี้เคยมีถิ่นที่อยู่อาศัยอย่างกว้างขวาง เนื่องจากพบว่ามันได้เคยอาศัยห่างออกไปทางใต้ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ในจำบีและปาดัง อุรังอุตังสุมาตราจำนวนน้อยยังได้อาศัยอยู่ในจังหวัดสุมาตราเหนือ ตามแนวที่ติดต่อกับ NAD โดยเฉพาะอย่างยิ่งในป่าทะเลสาบโทบา อุรังอุตังชนิดดังกล่าวได้ถูกจัดอันดับเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ขั้นวิกฤตในบัญชีแดงของ IUCN ตั้งแต่ ค.ศ. 2000 และได้รับการพิจารณาว่าเป็นหนึ่งใน \"ไพรเมตที่ใกล้สูญพันธุ์ที่สุดในโลก 25 ชนิด\"",
"title": "อุรังอุตังสุมาตรา"
},
{
"docid": "273695#0",
"text": "แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา พ.ศ. 2552 เกิดขึ้นนอกชายฝั่งทะเลใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เกิดขึ้นเมื่อเวลา 17:16:10 น. ตามเวลาในท้องถิ่น (10:16:10 น. ตามเวลา UTC) มีขนาด 7.6 ตามมาตราโมเมนต์ จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากเมืองปาดัง 45 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และห่างจากเมืองเปกันบารู 220 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีการประมาณว่ามีผู้เสียชีวิตประมาณ 1,300 ราย และมีผู้ประสบภัยที่ติดอยู่ในอาคารที่ถล่มมากกว่าพันราย โดยในขณะนี้ ทางรัฐบาลอินโดนีเซียรายงานจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างแน่นอน 1,115 ราย",
"title": "แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา พ.ศ. 2552"
},
{
"docid": "1000253#0",
"text": "หมู่เกาะซุนดาใหญ่ () เป็นกลุ่มของ 4 หมู่เกาะใหญ่ในกลุ่มเกาะมลายู ประกอบด้วยเกาะชวาที่เล็กสุดแต่มีประชากรมากสุด เกาะสุมาตราทางตะวันตก อยู่ตรงข้ามกับประเทศมาเลเซียโดยมีช่องแคบมะละกาคั่น เกาะบอร์เนียวที่ส่วนของประเทศอินโดนีเซียเรียกว่ากาลีมันตัน และเกาะซูลาเวซี (เดิมชื่อ เซเลบีส) ทางทิศตะวันตก และในบางคำนิยาม จะหมายถึงเพียงเกาะชวา สุมาตรา และบอร์เนียวเท่านั้นที่ถือเป็น หมู่เกาะซุนดาใหญ่",
"title": "หมู่เกาะซุนดาใหญ่"
},
{
"docid": "87409#6",
"text": "D.s. sumatrensis หรือ แรดสุมาตราตะวันตก มีเหลืออยู่ราว 75-85 ตัวเท่านั้น ส่วนใหญ่พบอยู่ในอุทยานแห่งชาติ Bukit Barisan Selatan และ Gunung Leuser บนเกาะสุมาตรา ปัจจัยคุกคามหลักของสปีชีส์ย่อยนี้คือการสูญเสียถิ่นอาศัยและการดักจับอย่างผิดกฎหมาย มีความแตกต่างทางพันธุกรรมเล็กน้อยระหว่างแรดสุมาตราตะวันตกและตะวันออก[15] กระซู่ในทางมาเลเซียตะวันตกมีอีกชื่อหนึ่งคือ D.s. niger แต่ภายหลังพบว่าเป็นสปีชีส์ย่อยเดียวกับกระซู่ทางตะวันตกของสุมาตรา[3]",
"title": "กระซู่"
},
{
"docid": "599700#0",
"text": "สุมาตราเหนือ () เป็นจังหวัดหนึ่งบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรมากกว่า 13 ล้านคน เป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศหากไม่นับรวมกรุงจาการ์ตา",
"title": "จังหวัดสุมาตราเหนือ"
},
{
"docid": "19011#1",
"text": "ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็นภาษาสันสกฤตว่า สุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราบสูงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรี และรามนี (Lamri, Lamuri, Lambri, Ramni) ในคริสต์ศตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยู่ใกล้กับเมืองบันดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาขึ้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักรซามูดรา (สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไม่มีคำเรียกชื่อเกาะแห่งนี้",
"title": "เกาะสุมาตรา"
},
{
"docid": "303134#5",
"text": "สถานะของเสือโคร่งสุมาตราในธรรมชาติก็นับว่าใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว โดยคาดว่ามีจำนวนราว 400-450 ตัว เท่านั้นโดยสถานที่ ๆ พบมากที่สุด คือ อุทยานแห่งชาติเครินซีเซบลัท ที่อยู่ทางตะวันตกของเกาะ มีประมาณ 160 ตัว นับว่าเป็นครึ่งหนึ่งของประชากรเสือโคร่งสุมาตราทั้งหมด โดยสาเหตุสำคัญที่ทำให้เสือโคร่งสุมาตราใกล้สูญพันธุ์ คือ การล่าเพื่อเอาอวัยวะต่าง ๆ ไปทำเป็นยาตามความเชื่อ โดยพรานผู้ล่าจะล่าโดยการใช้กับดักเป็นบ่วงรัดเท้า ซึ่งจะทำให้เกิดบาดแผลฉกรรจ์ อาจบาดลึกเข้าไปถึงกระดูก และตัดข้อเท้าของเสือโคร่งสุมาตราให้ขาดได้เลย ",
"title": "เสือโคร่งสุมาตรา"
},
{
"docid": "935728#0",
"text": "หมู่เกาะบังกาเบอลีตุง () เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสุมาตราใต้ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเกาะหลักสองแห่ง ได้แก่ เกาะบังกา และเกาะเบอลีตุง ซึ่งคั่นด้วยช่องแคบกัสปาร์ จังหวัดนี้ถูกแยกจากเกาะสุมาตราโดยช่องแคบบังกา จังหวัดนี้ติดกับทะเลนาตูนาทางทิศเหนือ ติดกับทะเลชวาทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบการีมาตาทางทิศตะวันออก และติดกับจังหวัดสุมาตราใต้ทางทิศตะวันตก เมืองหลักคือปังกัลปีนัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการปกครอง เมืองอื่น ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ซุงไกลีอัต ตันจงปันดัน และมังการ์ สำหรับในปี ค.ศ. 2015 มีประชากร 1,372,813 คน ตัวจังหวัดตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร จึงมีสภาพภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น จุดที่สูงที่สุดคือภูเขามารัส สูง 699 เมตร แม่น้ำสายสำคัญได้แก่ แม่น้ำเซอบูกู แม่น้ำบาตูรูซา และแม่น้ำเมนโด",
"title": "หมู่เกาะบังกาเบอลีตุง"
},
{
"docid": "726269#0",
"text": "การขนส่งในอินโดนีเซีย มีกระจายอยู่ในเกาะกว่า 1,000 แห่งของประเทศ แต่เกาะที่มีปริมาณการขนส่งที่หนาแน่นที่สุดคือเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย มีการขนส่งครบทุกรูปแบบ โดยที่มีมากที่สุดคือ ถนน มีครอบคลุมทั่วทั้งประเทศกว่า 437,759 กิโลเมตรในปี ค.ศ. 2008 ส่วนการขนส่งระบบราง มีเฉพาะในเกาะชวาและเกาะสุมาตรา การขนส่งทางทะเล เนื่องจากเป็นประเทศหมู่เกาะ จึงเป็นศูนย์การขนส่งทางทะเลที่สำคัญแห่งหนึ่ง โดยในแต่ละเกาะ จะมีเมืองท่าอย่างน้อย 1 แห่ง ส่วนการขนส่งทางแม่น้ำ พบได้ในสุมาตราตะวันออกและกาลีมันตัน และการขนส่งทางอากาศ มีสายการบินให้บริการมากมาย และมีท่าอากาศยานครอบคลุมทั่วประเทศ",
"title": "การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "726107#0",
"text": "สุมาตราตะวันตก () หรือเรียกอย่างย่อว่า ซุมบาร์ () เป็นจังหวัดทางภาคตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรในปี ค.ศ. 2010 มี 4,846,909 คน และในเดือนมกราคม ค.ศ. 2014 มีประชากร 5,098,790 คน มีเมืองหลักคือปาดัง และมีอาณาเขตครอบคลุมถึงเกาะเมินตาไว",
"title": "จังหวัดสุมาตราตะวันตก"
},
{
"docid": "660405#0",
"text": "ช้างสุมาตรา (; ) เป็นชนิดย่อยของช้างเอเชีย (\"E. maximus\") ชนิดหนึ่ง จัดเป็นช้างที่พบได้เฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เท่านั้น ",
"title": "ช้างสุมาตรา"
},
{
"docid": "55968#1",
"text": "ในอดีตพื้นที่ระหว่างเกาะชวากับเกาะสุมาตราเป็นทะเล ต่อมา เมื่อประมาณ 1,000,000 ปีก่อน เปลือกโลกบริเวณนี้ได้แยกตัวออก ส่งผลให้แมกมาและธาตุภูเขาไฟจำนวนมากถูกพ่นออกมา และต่อมาแมกมาก็เย็นลงจับตัวกันเป็นภูเขาใต้น้ำ หลายหมื่นปีต่อมา ธาตุภูเขาไฟเริ่มเย็นตัวลง และจับตัวแข็งอยู่ใต้ทะเลเหนือภูเขาใต้น้ำเหล่านั้น และก็เกิดการทับถมอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นเกาะพ้นน้ำขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับเกาะชวากับเกาะสุมาตรา แต่เป็นเกาะที่ไม่แข็งแรง จึงค่อยๆสึกกร่อนไป จนเหลือเฉพาะบริเวณที่แข็งแรง กลายเป็นเกาะขนาดเล็กหลายเกาะ และมีเกาะจำนวนมากที่มีภูเขาไฟ",
"title": "ภูเขาไฟกรากะตัว"
},
{
"docid": "727192#8",
"text": "โครงข่ายรถไฟส่วนใหญ่อยู่บนเกาะชวา และสายรถไฟเชื่อมต่อระหว่างเมืองหลักสำคัญ เช่น รถไฟจากเมืองเมอรักซึ่งอยู่ทางตะวันตกสุดของเกาะ ไปยังเมืองบาญูวางี ซึ่งอยู่ทางตะวันออกสุดของเกาะ อย่างไรก็ตาม ยังมีสายรถไฟหลายสายที่ไม่ได้เชื่อมต่อบนเกาะสุมาตรา โดยสายรถไฟแต่ละส่วนจะอยู่ที่สุมาตราเหนือ สุมาตราตะวันตก และสุมาตราใต้ตามลำดับ สายรถไฟเหล่านี้สร้างในสมัยที่เป็นอาณานิคมเนเธอร์แลนด์ สำหรับในส่วนของสายรถไฟสุมาตราเหนือเคยปิดตัวไปครั้งหนึ่งเมื่อ ค.ศ. 1971 แต่ได้กลับมาเปิดใช้งานอีกครั้งใน ค.ศ. 2011ใน ค.ศ. 2013 มีทางรถไฟบนเกาะสุมาตรา 1,869 กิโลเมตร แต่มีระยะทางที่ใช้งานได้จริง 1,348 กิโลเมตร และมีโครงการ \"ทางรถไฟสายทรานส์สุมาตรา\" ซึ่งเป็นการรวมสายรถไฟทั้งภูมิภาคให้เชื่อมต่อกัน สำหรับสายรถไฟบนเกาะสุมาตรา แบ่งออกเป็น 3 ภูมิภาค ได้แก่บนเกาะชวา มีขบวนรถสินค้าไม่มากนัก เนื่องจากข้อจำกัดด้านปริมาณทางรถไฟ ขบวนรถสินค้าที่สำคัญ ได้แก่ ขบวนรถสินค้า \"กาลีมัซ\" วิ่งระหว่างจาการ์ตา-ซูราบายา นอกจากนี้ยังมีขบวนรถสินค้าอื่น ๆ อาทิ ขบวนรถน้ำมัน เป็นต้น ในช่วงปีที่ผ่านมา ได้มีการพัฒนาการขนส่งสินค้าระบบรางให้ดียิ่งขึ้น โดยการนำเข้ารถจักรจีอี ซีซี 206 อีกทั้งยังสร้างทางคู่เชื่อมระหว่างจาการ์ตา-ซูราบายาอีกด้วย",
"title": "การขนส่งระบบรางในประเทศอินโดนีเซีย"
},
{
"docid": "704507#0",
"text": "ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา () เป็นถนนแนวเหนือ-ใต้สายหลักในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีระยะทาง 2,508.5 กิโลเมตร และเชื่อมต่อตอนเหนือของเกาะที่เมืองบันดาอาเจะฮ์ เข้ากับตอนใต้ที่เมืองบันดาร์ลัมปุง โดยตัดผ่านเมืองใหญ่ต่าง ๆ เช่น เมดัน, ปาดัง และคาดว่าจะเริ่มพัฒนาถนนให้เป็นทางหลวงเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 รวมถึงการซื้อที่ดิน",
"title": "ทางหลวงสายทรานส์-สุมาตรา"
}
] |
708 | รถไฟฟ้าบีทีเอสดำเนินงานโดยบริษัทอะไร? | [
{
"docid": "7931#0",
"text": "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (English: Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
}
] | [
{
"docid": "196512#7",
"text": "เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform) ทางวิ่งยกระดับสูง 19 เมตรเพื่อให้วางอยู่เหนือสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส\nสถานีบางหว้าเป็นสถานีเชื่อมต่อที่สำคัญแห่งหนึ่งของฝั่งธนบุรี เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบและฝั่งบางหว้าของรถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นสถานีปลายทาง การก่อสร้างทั้งสองสถานีจึงต้องคำนึงถึงความสะดวกในการเข้า-ออกระบบมากเป็นพิเศษ ผู้รับเหมาก่อสร้างคือ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) จึงได้เสนอให้มีการปรับแบบของทั้งสถานีบางหว้าฝั่งบีทีเอสซึ่งมีผู้รับเหมาเป็นเจ้าเดียวกัน และออกแบบให้สถานีฝั่งรถไฟฟ้ามหานครให้เป็นสถานีที่ใช้โครงสร้างบางส่วนร่วมกัน",
"title": "สถานีบางหว้า"
},
{
"docid": "68762#5",
"text": "สัญญาการก่อสร้างของรถไฟฟ้าสายสีเหลืองจะใช้วิธีการมอบสัมปทานทั้งโครงการ โดยสัมปทานเป็นของบริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (Eastern Bangkok Monorail; EBM) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนโดยกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ ซึ่งประกอบด้วย บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) ระยะเวลาสัมปทาน 33 ปี 3 เดือน แบ่งเป็นระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี 3 เดือน (39 เดือน) และดำเนินการงานเดินรถไฟฟ้าและซ่อมบำรุง 30 ปี ซึ่งมีรายละเอียดของสัญญาดังนี้",
"title": "รถไฟฟ้าสายสีเหลือง"
},
{
"docid": "532661#7",
"text": "วันที่ 16 มิถุนายน 2560 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และกระทรวงคมนาคม ได้จัดพิธีลงนามในสัญญาสัมปทานโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพูกับ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด และรถไฟฟ้าสายสีเหลืองกับ บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นโดยกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ อันประกอบด้วย บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิงส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิงส์ จำกัด (มหาชน) ระยะเวลาสัมปทาน 33 ปี 3 เดือน แบ่งเป็นระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี 3 เดือน (39 เดือน) และดำเนินการงานเดินรถไฟฟ้าและซ่อมบำรุง 30 ปี",
"title": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์"
},
{
"docid": "882707#3",
"text": "เมื่อครั้งกรุงเทพมหานคร ได้มีการอนุมัติสัมปทานโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าธนายง หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส ในปัจจุบัน) ให้ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอสซี ไปดำเนินการ กรุงเทพมหานครได้เล็งเห็นถึงแนวโน้มการขยายตัวของเมืองที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงได้พิจารณาร่างเส้นทางส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้าธนายงเอาไว้ทั้งหมด 5 ระยะ เพื่อให้เหมาะสมกับการพัฒนาของตัวเมืองอย่างต่อเนื่อง อันได้แก่ ส่วนต่อขยายช่องนนทรี–พระราม 3 ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ–พรานนก ส่วนต่อขยายอ่อนนุช–ลาดกระบัง ส่วนต่อขยายอ่อนนุช–แบริ่ง และส่วนต่อขยายอ่อนนุช–วัดศรีเอี่ยม อย่างไรก็ตามในการปรับปรุงแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง อันเป็นการดำเนินการร่วมกันระหว่าง สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2547 สนข. ได้มีความเห็นในการยกเลิกเส้นทางส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าธนายงออกเกือบทั้งหมดและคงไว้เพียงแต่ส่วนต่อขยายอ่อนนุช - แบริ่ง เพียงช่วงเท่านั้น โดยให้เหตุผลว่าแนวเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้าธนายงทับซ้อนกับเส้นทางรถไฟฟ้าสายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในแผนแม่บท พ.ศ. 2538",
"title": "รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา–ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ"
},
{
"docid": "68883#6",
"text": "ประกอบไปด้วยโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน ช่วงซอยแบริ่ง-เคหะสมุทรปราการ (ย่านบางปิ้ง) ตามแนวถนนสุขุมวิทใน จ.สมุทรปราการ ระยะทาง 17 กิโลเมตร และโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม ช่วงตลาดนัดจตุจักร-สะพานใหม่ ตามแนวถนนพหลโยธิน ระยะทาง 12 กิโลเมตร ทั้งหมดเป็นส่วนต่อขยายจากโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ที่กระทรวงคมนาคมมีคำสั่งให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยรับผิดชอบโครงการนี้แทนกรุงเทพมหานคร เนื่องจากเส้นทางในหลายจุดเหลื่อมล้ำไปยังเขตปริมณฑลซึ่งกรุงเทพมหานครไม่มีสิทธิ์ในการเข้าไปยุ่งเกี่ยวตรงนี้ ซึ่งปัจจุบัน โครงการช่วงแบริ่ง-เคหะสมุทรปราการ ได้ดำเนินการก่อสร้างเสร็จสิ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2559 และกรุงเทพมหานครได้เปิดใช้งานสถานีสำโรงเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560 โดยส่วนที่เหลือยังอยู่ในระหว่างการเจรจาเรื่องการชำระหนี้สิน ซึ่งกรุงเทพมหานครต้องการชำระหนี้ใน พ.ศ. 2572 เนื่องจากเป็นปีที่บีทีเอสหมดสัมปทานลงและโครงการจะถูกโอนกลับมาเป็นของกรุงเทพมหานครทำให้กรุงเทพมหานครมีรายได้สำหรับใช้หนี้สินที่เกิดขึ้น แต่อย่างไรก็ตามแผนการชำระเงินของกรุงเทพมหานคร กลับไม่ได้รับความเห็นชอบ จึงมีการพิจารณาใหม่ว่าจะใช้วิธีการว่าจ้าง บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอสซี ให้รับดำเนินโครงการแทน โดยอาจจะว่าจ้างในรูปแบบของสัมปทานโครงการ หรือการว่าจ้างเดินรถ หรือแล้วแต่ที่คณะรัฐมนตรีพิจารณา ส่วนโครงการช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง",
"title": "รถไฟฟ้ามหานคร"
},
{
"docid": "7931#82",
"text": "วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 เวลา 05.00 น.[26] เกิดเหตุขัดข้องบริเวณจุดสับรางรถไฟฟ้าช่วงสถานีชิดลมมุ่งหน้าเข้าสถานีสยาม ทำให้รถไฟฟ้าไม่สามารถให้บริการได้ตามปกติในสายสุขุมวิท โดยบีทีเอสได้จัดรถวิ่งเป็นสี่ช่วง คือช่วงแบริ่ง–สยาม–แบริ่ง หมอชิต–สยาม–หมอชิต หมอชิต–บางหว้า–หมอชิต และสนามกีฬาแห่งชาติ–สยาม–สนามกีฬาแห่งชาติ ความถี่ 5–10 นาทีต่อคัน โดยผู้โดยสารต้องเปลี่ยนขบวนรถที่สถานีสยามเพื่อเดินทางไปยังสถานีปลายทาง ต่อมาดร.อาณัติ อาภาภิรม ได้ออกแถลงว่าปัญหาดังกล่าวเกิดจากการที่จุดสับรางรถไฟฟ้าบริเวณดังกล่าวเสียหาย การซ่อมแซมจำเป็นต้องตัดกระแสไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนยกชุด ดังนั้นบีทีเอสซีจะดำเนินการซ่อมแซมภายในคืนวันที่ 24 กุมภาพันธ์หลังปิดให้บริการ และจำเป็นต้องให้บริการรถตามแผนการเดินรถฉุกเฉินทั้งวันจนถึงเวลาปิดให้บริการ จากเหตุการณ์นี้ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของบีทีเอสซีอย่างหนัก รวมถึงกรณีที่อายุของโครงการเริ่มเข้าใกล้ 20 ปี จึงถูกให้ความเห็นอย่างหนักว่าถึงเวลาที่บีทีเอสซีต้องสั่งซื้อขบวนรถใหม่ยกชุดแล้วหรือยัง",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "7931#43",
"text": "บัตรโดยสารแบบสมาร์ตการ์ดชนิดบาง (Thin Card) สามารถใช้เดินทางได้ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส และสามารถเดินทางข้ามไปยังโครงการ รถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง, รถไฟฟ้าสายสีชมพู, รถไฟฟ้าสายสีทอง และระบบขนส่งมวลชนสายอื่นๆ ของกลุ่มบีทีเอสและบริษัทในเครือที่จะเปิดใช้งานในอนาคตได้ โดยไม่ต้องออกบัตรใหม่ที่สถานีเชื่อมต่อ มีทั้งหมด 2 ประเภท ได้แก่ บัตรประเภทเที่ยวเดียว คิดค่าโดยสารตามระยะทางที่เดินทางจริง สามารถซื้อได้ที่เครื่องจำหน่ายบัตรโดยสารอัตโนมัติชนิดหยอดเหรียญหรือธนบัตร และที่ห้องจำหน่ายบัตรโดยสาร ซึ่งใช้ได้เฉพาะวันที่ซื้อเท่านั้น โดยมีอัตราค่าโดยสารดังต่อไปนี้ อัตราค่าโดยสารสำหรับบุคคลทั่วไป เริ่มต้น 16 บาท สูงสุด 44 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลม (โพธิ์นิมิตร–บางหว้า) ซึ่งคิดค่าโดยสารแยกต่างหากในอัตราเหมาจ่าย 15 บาทตลอดสาย อัตราค่าโดยสารพิเศษสำหรับสมาชิกเอไอเอส แรบบิท ไลน์ เพย์, ลูกค้าธนาคารกรุงเทพ และลูกค้าธนาคารกสิกรไทย เริ่มต้น 11 บาท สูงสุด 39 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลม (โพธิ์นิมิตร–บางหว้า) ซึ่งคิดค่าโดยสารแยกต่างหากในอัตรา 10 บาทตลอดสาย เมื่อเดินทางภายในสถานีส่วนต่อขยาย และ 15 บาทตลอดสาย เมื่อเดินทางเข้าสู่เส้นทางส่วนหลัก (อัตราค่าโดยสารพิเศษสำหรับผู้โดยสารที่ชำระค่าบัตรโดยสารเที่ยวเดียวด้วย คิวอาร์โค้ด ผ่าน เอไอเอส แรบบิท ไลน์ เพย์ ในแอปพลิเคชันไลน์ แอปพลิเคชันบัวหลวงไอแบงค์กิ้ง และแอปพลิเคชันเคพลัส) บัตรประเภท 1 วัน ราคา 140 บาท ใช้เดินทางได้ไม่จำกัดจำนวนเที่ยวและระยะทางตั้งแต่เวลาที่ซื้อบัตร จนถึงเวลาปิดทำการในแต่ละวัน (24.00 น. หรือตามเวลาที่บีทีเอสซีกำหนด) สามารถซื้อได้ที่ห้องจำหน่ายบัตรโดยสารทุกสถานี บัตรแรบบิท (Rabbit Card) สามารถใช้เดินทางได้ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส รถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที เรือโดยสารคลองภาษีเจริญ และระบบขนส่งมวลชนสายอื่นๆ ของกรุงเทพมหานคร กลุ่มบีทีเอสและบริษัทในเครือที่จะเปิดใช้งานในอนาคตได้ อีกทั้งยังสามารถใช้จ่ายแทนเงินสดได้กับร้านค้าที่ร่วมรายการ เริ่มจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 มีอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ แรบบิทมาตรฐาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ บุคคลทั่วไป, ผู้สูงอายุ และนักเรียน-นักศึกษา โดยสามารถขอออกบัตรได้ที่สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส และสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ทีทุกสถานี และสามารถเติมเงินได้ตามสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส, สถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที หรือจุดบริการเติมเงินต่างๆ ที่เปิดให้บริการ มีค่าธรรมเนียมในการออกบัตร 200 บาท โดยแบ่งเป็นค่าธรรมเนียมในการออกบัตรใหม่ 100 บาท และยอดเงินเริ่มต้น 100 บาท สามารถเติมได้ทั้งเงินสดและเที่ยวการเดินทางตามโปรโมชั่นของบีทีเอสหรือตามที่กลุ่มบีทีเอสเป็นผู้กำหนด บัตรมีอายุการใช้งาน 7 ปี สามารถเติมมูลค่าในบัตรได้สูงสุด 4,000 บาท โดยมูลค่าในบัตรมีอายุ 2 ปี นับจากวันที่ใช้งานครั้งสุดท้าย แรบบิทพิเศษ เป็นบัตรแรบบิทที่บริษัท บางกอกสมาร์ทการ์ดซิสเท็ม จำกัด เป็นผู้ออกมาจำหน่ายในแบบจำนวนจำกัด โดยจะออกวางจำหน่ายตามเทศกาลต่างๆ เช่น วันพระราชสมภพ, วันพระราชพิธี หรือวันสำคัญต่างๆ เป็นต้น แรบบิทธุรกิจ เป็นบัตรแรบบิทที่ออกตามความต้องการของบริษัทพันธมิตร โดยมีการออกลายหน้าบัตรเพื่อทำการประชาสัมพันธ์ หรือทำเป็นของที่ระลึกเนื่องในโอกาสต่างๆ โดยลายแรกของบัตรแรบบิทธุรกิจคือ บัตรแรบบิท-แครอท ลิมิเต็ด อิดิชั้น ที่ออกเพื่อเป็นการสมนาคุณกับสมาชิกบัตรหนูด่วนพลัส แรบบิทร่วม เป็นบัตรแรบบิทที่ออกร่วมกับองค์กรต่างๆ เช่น การรวมบัตรแรบบิทเข้ากับบัตรเอทีเอ็ม, บัตรเดบิต, บัตรเครดิต, ใช้บัตรแรบบิทเป็นบัตรนักศึกษา หรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น บัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ (AIS Rabbit LINE Pay Card) เป็นบัตรแรบบิทมาตรฐานและบัตรแรบบิทพิเศษ ที่ผนวกความสามารถของบริการ เอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ ของบริษัท แรบบิท-ไลน์ เพย์ จำกัด เข้ามาไว้ในบัตรใบเดียว ทำให้สามารถใช้เดินทางโดยการตัดค่าโดยสารผ่านบัญชีแรบบิท ไลน์เพย์ หรือผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิตโดยตรงได้ โดยเริ่มให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561 สำหรับค่าโดยสารของบัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ค่าโดยสารแบบเงินสด บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับบุคคลทั่วไป คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 15 บาท สูงสุด 43 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 15 บาทตลอดสาย บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับนักเรียนนักศึกษา คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 15 บาท สูงสุด 43 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 10 บาทตลอดสาย บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับผู้สูงอายุ คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 7 บาท สูงสุด 21 บาท โดยไม่ร่วมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 7 บาทตลอดสาย อัตราค่าโดยสารพิเศษ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 – 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562 เที่ยวเดินทาง เที่ยวเดินทางสำหรับบุคคลทั่วไป 50 เที่ยว 1,300 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 26 บาท 40 เที่ยว 1,080 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 27 บาท 25 เที่ยว 725 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 29 บาท 15 เที่ยว 465 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 31 บาท เที่ยวเดินทางสำหรับนักเรียนนักศึกษา 50 เที่ยว 950 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 19 บาท 40 เที่ยว 800 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 20 บาท 25 เที่ยว 550 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 22 บาท 15 เที่ยว 360 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 24 บาท เที่ยวเดินทางสามารถใช้เดินทางได้ในเฉพาะเส้นทางสัมปทาน (อ่อนนุช–หมอชิต และ สนามกีฬาแห่งชาติ–สะพานตากสิน) และส่วนต่อขยายสายสีลมระยะที่ 1 (สะพานตากสิน–วงเวียนใหญ่) เท่านั้น กรณีต้องการเดินทางเข้าส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลมระยะที่ 2 (โพธินิมิตร–บางหว้า) ต้องมีเงินในบัตรคงเหลืออย่างน้อย 15 บาท ถึงจะสามารถเข้าและออกจากระบบที่สถานีส่วนต่อขยายได้ บัตรแรบบิทพลัส (Rabbit Plus Card) เป็นบัตรแรบบิทที่ผนวกความสามารถของบัตรแมงมุมด้วยการติดตั้งชิปแบบ Hybrid Chip ทั้งไมโครชิปไร้สัมผัส และชิปแบบ EMV แบบเดียวกับบัตรเครดิต สามารถใช้ได้ในทุกระบบการขนส่ง ตั้งแต่รถไฟฟ้า, รถประจำทาง, เรือโดยสาร, ทางด่วน และทางพิเศษ ภายในบัตรเดียว จะพร้อมให้บริการภายใน พ.ศ. 2562 บัตรดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แรบบิทพลัสสำหรับบุคคลทั่วไป มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับบุคคลทั่วไป แรบบิทพลัสสำหรับนักเรียนและนักศึกษา สามารถใช้งานได้ตั้งแต่อายุ 7 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 23 ปี หรือสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับนักเรียนและนักศึกษา แรบบิทพลัสสำหรับผู้สูงอายุ บัตรสำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับผู้สูงอายุ แมงมุมสวัสดิการแห่งรัฐ เป็นบัตรพิเศษสำหรับผู้ที่ขึ้นทะเบียนผู้ที่มีรายได้น้อย โดยมีงบค่าโดยสาร 500 บาท/เดือน",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "7931#75",
"text": "วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2553[18] รถไฟฟ้าบีทีเอสได้ประกาศปิดทำการทั้งสายเป็นเวลา 1 วัน เนื่องจากมีเหตุการณ์กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติได้นำยางรถยนต์ไปวางบนสถานีรถไฟฟ้าชิดลม จึงประกาศหยุดเดินรถ บริษัทจึงดำเนินการฟ้องร้อง โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๘๑ [19]",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "534156#3",
"text": "ระหว่างนั้นกรุงเทพมหานคร ในสมัยพลตรีจำลอง ศรีเมืองเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มีการอนุมัติโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ให้กับบริษัท ธนายง จำกัด (บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิงส์ จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) ของนายคีรี กาญจนพาสน์ ไปดำเนินการระบบขนส่งมวลชนทางรางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในระยะแรกของการก่อสร้างกลับพบปัญหาในการหาสถานที่ตั้งศูนย์ซ่อมบำรุงโครงการเนื่องจากเดิมกรุงเทพมหานครได้อนุมัติให้มีการใช้พื้นที่ของสวนลุมพินีในการก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุง แต่การก่อสร้างถูกคัดค้านเนื่องจากประชาชนไม่เห็นด้วย กรุงเทพมหานครจึงพิจารณาย้ายศูนย์ซ่อมบำรุงไปใช้พื้นที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ อันเป็นที่ตั้งของสถานีขนส่งหมอชิต จนในที่สุด บริษัท ธนายง ก็สามารถพัฒนาโครงการสำเร็จเป็นโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส เมื่อ พ.ศ. 2542 ถือเป็นระบบขนส่งมวลชนสายแรกในประเทศไทย และได้รับชื่อพระราชทานโครงการว่า \"รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา\"",
"title": "รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล"
},
{
"docid": "313200#4",
"text": "สัญญาการก่อสร้างของรถไฟฟ้าสายสีชมพูจะใช้วิธีการมอบสัมปทานทั้งโครงการ โดยสัมปทานเป็นของ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด (Northern Bangkok Monorail; NBM) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนของ กิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ ประกอบด้วย บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิงส์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิงส์ จำกัด (มหาชน) ระยะเวลาสัมปทาน 33 ปี 3 เดือน แบ่งเป็นระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี 3 เดือน (39 เดือน) และดำเนินการงานเดินรถไฟฟ้าและซ่อมบำรุง 30 ปี ซึ่งมีรายละเอียดของสัญญาดังนี้",
"title": "รถไฟฟ้าสายสีชมพู"
},
{
"docid": "754254#0",
"text": "โครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด และบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ดำเนินการในรูปแบบระบบขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติ โดยใช้รถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ",
"title": "รถไฟฟ้าสายสีทอง"
},
{
"docid": "7931#85",
"text": "วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รถไฟฟ้าบีทีเอสเกิดเหตุขัดข้องอีกครั้งโดยเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องมาจากวันที่ 25 มิถุนายน เบื้องต้นนายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้แถลงสาเหตุคร่าวๆ ว่า สาเหตุเกิดจากคลื่นความถี่ย่าน 2300 MHz ช่วงปลาย (~2370 MHz) ของดีแทคและทีโอที มารบกวนการทำงานของระบบอาณัติสัญญาณของรถไฟฟ้าซึ่งทำงานอยู่บนคลื่นความถี่สาธารณะ 2400 MHz (2.4 GHz) ตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2561 จนกระทั่งสัญญาณบริเวณย่านสยามสแควร์ถูกปล่อยแรงขึ้นก็เลยทำให้ระบบมีปัญหาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2561 มาจนถึงปัจจุบัน[29] อย่างไรก็ตามดีแทคได้แถลงข่าวสวนกลับว่าคลื่น 2300 MHz ไม่ได้ส่งผลกระทบใดๆ ต่อการให้บริการรถไฟฟ้า[30] แต่ดีแทคยินดีร่วมหาสาเหตุที่แท้จริงไปพร้อมกันด้วยการปิดสัญญาณเครือข่าย \"ดีแทค-ที\" ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าตั้งแต่เช้าวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เวลา 6.00 น. และส่งวิศวกรเครือข่ายระดับสูงเข้ามาร่วมด้วยช่วยกันหาสาเหตุพร้อมๆ กับเจ้าหน้าที่ของ กสทช. ที่เข้าร่วมหาสาเหตุในเช่นเดียวกัน[31] ผลปรากฏว่าหลังดีแทคปิดสัญญาณ ระบบรถไฟฟ้าเกิดปัญหาอีกครั้งในเวลา 6.15 น. 6.28 น. และ 7.18 น. ตามลำดับ ทางดีแทคจึงสรุปว่าปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นจากการรบกวนกันเองของคลื่น 2400 MHz ไม่ใช่ผลจากการเปิดให้บริการเครือข่าย 2300 MHz ตามที่บีทีเอสกล่าวอ้าง และต่อมา สำนักงาน กสทช. ได้มีข้อสรุปออกมาเช่นเดียวกันว่าระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส ถูกก่อกวนด้วยสัญญาณไวไฟจากอาคารข้างเคียงมากกว่าสัญญาณของโทรศัพท์มือถือ[32] ต่อมานายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา ได้ออกแถลงการณ์ใหญ่ผ่านเฟซบุ๊กของบริษัทต่อกรณีที่เกิดขึ้น[33] โดยระบุสาเหตุที่แท้จริงทั้งหมดสองข้อคือ หนึ่งบริษัทฯ กำลังติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณใหม่ทั้งระบบเพื่อรองรับการเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ในเดือนธันวาคม และสองเป็นเพราะระบบอาณัตสัญญาณที่ทำงานอยู่บนคลื่น 2400 MHz ถูกรบกวนโดยสัญญาณเครือข่ายไวไฟที่ใช้ในย่านเดียวกันจากอาคารข้างเคียง ซึ่งมีกำลังส่งสูงถึง 1 วัตต์ โดยอาการดังกล่าวถูกตรวจพบที่สถานีสยาม (จากศูนย์การค้าสยามพารากอน) สถานีอโศก (ศูนย์การค้าเทอร์มินัล 21 อโศก) และสถานีพร้อมพงษ์ (จากศูนย์การค้าเอ็มโพเรี่ยม และศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์) เบื้องต้นบริษัทจะแก้ไขปัญหาด้วยการเปลี่ยนโหมดการทำงานของระบบรถไฟฟ้าจากระบบอัตโนมัติมาเป็นการขับเคลื่อนแบบแมนวลไปจนกว่าการย้ายช่วงคลื่นความถี่ที่ใช้งานและการติดตั้งอุปกรณ์กันสัญญาณรบกวนเสร็จสิ้น พร้อมทั้งขอความร่วมมือไปยังห้างสรรพสินค้าให้มีการปิดสัญญาณไวไฟที่มีปัญหาก่อนจนกว่าบีทีเอสจะดำเนินการแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จ ทั้งนี้บีทีเอสจะพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนระบบไปใช้คลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาตจาก กสทช. แทนการใช้งานคลื่นความถี่สาธาณะต่อไป หลังจากที่ กสทช. เสนอแนวทางให้บีทีเอสเลือกใช้งานคลื่น 800 MHz และ 900 MHz ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม-อาร์ (GSM-R) แทนการใช้คลื่นความถี่สาธารณะในการให้บริการ[32] แต่อย่างไรเสีย วิศวกรของบอมบาร์ดิเอร์ยืนยันว่าระบบของรถไฟฟ้าบีทีเอส ไม่สามารถทำงานร่วมกับคลื่นจีเอสเอ็ม-อาร์ได้ เพราะระบบถูกออกแบบมาให้ทำงานร่วมกับคลื่นความถี่สาธารณะเพียงอย่างเดียวเท่านั้น กสทช. จึงมีมติให้บีทีเอสย้ายคลื่นความถี่ของระบบอาณัติสัญญาณไปอยู่ที่ช่วง 2480 MHz - 2495 MHz ความกว้าง 15 MHz แทน ซึ่งช่วงคลื่นความถี่ดังกล่าวปัจจุบันไม่ได้มีการใช้งาน เนื่องจากเดิมเป็นคลื่นสำหรับเทคโนโลยีไวไฟ บี (802.11b) ที่ปัจจุบันไม่ได้ใช้งานแล้ว และยังเป็นช่วงคลื่นที่สหรัฐอเมริกาใช้งานสำหรับกิจการดาวเทียม และบังคับให้ผู้ผลิตอุปกรณ์รวมถึงองค์กร ITU ไม่ให้มีการจัดสรรคลื่นช่วงนี้ให้ประชาชนใช้งาน กสทช. จึงเห็นว่าในไทยที่ไม่ได้ใช้คลื่นช่วงนี้อยู่แล้ว ให้บีทีเอสย้ายมาอยู่คลื่นช่วงนี้แล้วติดตั้งอุปกรณ์กรองสัญญาณจะดีที่สุด[34]",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "532661#1",
"text": "หลังจากการฟื้นฟูกิจการเสร็จสิ้นไปได้ด้วยดี บริษัทได้ดำเนินการเข้าถือหุ้นสามัญร้อยละ 94.60 ของบีทีเอสซี เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 และใช้ชื่อย่อ BTS ในการซื้อขายหลักทรัพย์หลังจากนั้น ปัจจุบันบริษัทประกอบธุรกิจระบบขนส่งมวลชนและการโฆษณาเป็นหลัก รวมถึงยังดำเนินการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ร่วมกับพันธมิตรตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าในทุกสายทางที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท",
"title": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์"
},
{
"docid": "266789#1",
"text": "ภาพยนตร์นำเสนอในมุมมองของ \"เหมยลี่\" พนักงานบริษัทสาวโสดวัย 30 ปี ที่พบรักกับวิศวกรรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานที่ถ่ายทำส่วนใหญ่ถ่ายทำในรถไฟฟ้า สถานีรถไฟฟ้า บริษัทรถไฟฟ้าบีทีเอส รวมถึงสถานที่อื่นในกรุงเทพมหานครอย่างถนนจันทน์ สองฝั่งคลองริมแม่น้ำเจ้าพระยา พระที่นั่งอนันตสมาคม เยาวราช ท้องฟ้าจำลอง เป็นต้น",
"title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ"
},
{
"docid": "7931#73",
"text": "และผลดำเนินงานบริการรถไฟฟ้าบีทีเอสในรอบบัญชี เมษายน พ.ศ. 2554 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2555 มียอดผู้ใช้บริการทั้งสิ้น 176,028,556 เที่ยวคน เพิ่มขึ้นจากงวดปีที่ผ่านมา 21.24% และเมื่อพิจารณาจากผู้โดยสารเฉลี่ยต่อวันภาพรวมปรับตัวสูงขึ้น 18.26% เป็น 480,952 เที่ยวคน ซึ่งวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555 นับว่าเป็นวันที่ทุบสถิติสูงที่สุดนับตั้งแต่เปิดให้บริการมา มีผู้มาใช้บริการถึง 714,575 เที่ยวคน[14] ปัจจุบันรถไฟฟ้าบีทีเอสมียอดผู้โดยสารสะสมครบ 2,000 ล้านคนไปเป็นที่เรียบร้อย เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2557 หลังเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 ซึ่งใช้เวลาทั้งหมด 14 ปี 9 เดือน",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "3651#4",
"text": "รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างทั้งทางยกระดับเหนือพื้นดินและเป็นอุโมงค์ใต้ดินเป็นสายแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในอดิต ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับสัมปทานโครงการในการร่วมทุนและดำเนินการเชิงพาณิชย์ หรือ PPP-Net Cost ภายในกรอบระยะเวลา 27 ปี จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และได้รับการต่ออายุสัญญาเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2560 ออกไปอีก 33 ปี รวมเป็น 60 ปี มีแนวเส้นทางเป็นแนววงกลมภายในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครชั้นใน เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณหน้าห้างเดอะมอลล์บางแค ตามแนวถนนเพชรเกษม วิ่งผ่านแยกท่าพระ แล้วลดระดับลงเป็นเส้นทางใต้ดิน ลอดแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ฝั่งพระนครภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สวนลุมพินี, ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์, ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย, สวนจตุจักร และศูนย์คมนาคมกลางบางซื่อ แนวเส้นทางจะยกระดับกลับเป็นเส้นทางลอยฟ้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยากลับสู่ฝั่งธนบุรี และกลับมาสิ้นสุดเส้นทางทั้งหมดที่แยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 47.8 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่เน้นการขนส่งผู้โดยสารระหว่างสายด้วยการเดินรถเป็นวงกลมรอบๆ กรุงเทพมหานครชั้นในแนวเส้นทางส่วนใหญ่เป็นเส้นทางใต้ดิน มีจุดเริ่มต้นจากสถานีหัวลำโพง ที่บริเวณถนนพระรามที่ 4 ด้านหน้าสถานีรถไฟกรุงเทพ มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ที่สถานีสีลม จนถึงบริเวณย่านบ่อนไก่ - ตลาดคลองเตย แนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายมุ่งหน้าไปทางเหนือตามแนวถนนรัชดาภิเษก ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ที่สถานีสุขุมวิท และผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และทางรถไฟสายตะวันออก ที่สถานีเพชรบุรี เชื่อมต่อกับแนวเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือจนถึงบริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาเข้าถนนลาดพร้าว มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเข้าถนนพหลโยธิน ลอดใต้ถนนวิภาวดีรังสิต ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ที่สถานีหมอชิต เลี้ยวขวาเข้าสู่ศูนย์คมนาคมกลางบางซื่อ และยกระดับกลับไปเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่จุดเชื่อมต่อสถานีเตาปูนอันเป็นจุดสิ้นสุดเส้นทาง รวมระยะทาง 21 กิโลเมตร",
"title": "รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล"
},
{
"docid": "7931#19",
"text": "รถไฟฟ้าบีทีเอสได้ทำโครงการใช้บัตรโดยสารร่วมกันโดยผู้โดยสาร สามารถใช้บัตรโดยสารบีทีเอสสมาร์ทพาส-บีอาร์ที เพียงใบเดียวในการจ่ายเงินค่าโดยสารได้ แต่ไม่สามารถใช้ในการสะสมคะแนนกับบัตรหนูด่วนพลัสได้ หากใช้บริการของบีอาร์ที เนื่องจากเป็นคนละบริษัท โดยตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป สามารถใช้บัตรแรบบิทไปโดยสารบีอาร์ทีได้แล้ว",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "9860#1",
"text": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ซึ่งเป็นบริษัทลูกของกลุ่มบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ ที่ได้รับสัมปทานโครงการภายในกรอบระยะเวลา 30 ปีจากกรุงเทพมหานคร และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับสัมปทานโครงการจากกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน มีแนวเส้นทางเป็นแนวเหนือ-ตะวันออก พาดผ่านพื้นที่สามจังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, จ.ปทุมธานี และ จ.สมุทรปราการ เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณย่านลำลูกกา จ.ปทุมธานี วิ่งไปตามแนวถนนลำลูกกา จากนั้นเบี่ยงซ้ายเข้าถนนเลียบเส้นทางกับกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศของกองทัพอากาศ เข้าสู่เขตกรุงเทพมหานคร วิ่งผ่านพื้นที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ กองทัพอากาศ, กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์, ม.ศรีปทุม, ม.เกษตรศาสตร์ จากนั้นเข้าสู่พื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นในที่บริเวณแยกรัชโยธิน วิ่งมาจนถึงปากทางห้าแยกลาดพร้าว ยกระดับข้ามดอนเมืองโทลล์เวย์ เข้าถนนพหลโยธิน ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อถึงแยกปทุมวันแนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายเข้าถนนพระรามที่ 1 และมุ่งตรงไปยังถนนเพลินจิต และถนนสุขุมวิท เพื่อเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ ผ่านพื้นที่สำคัญของจังหวัดสมุทรปราการอีกหลายแห่ง อาทิ พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ, โรงเรียนนายเรือ, ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ และสิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่ย่านบางปู บริเวณสถานตากอากาศบางปู จังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น 52.65 กิโลเมตร นับเป็นเส้นทางระบบขนส่งมวลชนที่ยาวที่สุดในกรุงเทพมหานคร แนวเส้นทางจะเน้นขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองทั้งฝั่งเหนือและฝั่งตะวันออกให้เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร พื้นที่ท่องเที่ยว, สถานบันเทิง และเขตเศรษฐกิจชั้นในตามแนวถนนสุขุมวิทได้อย่างรวดเร็ว",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท"
},
{
"docid": "532661#9",
"text": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ เป็นผู้ริเริ่มการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย โดยบริษัทได้ก่อตั้ง บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อเข้ารับสัมปทานโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร สายอ่อนนุช - หมอชิต \n(รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน) และสนามกีฬาแห่งชาติ - สาทร (รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม) จากกรุงเทพมหานคร ซึ่งบริษัทได้ชำระหนี้สิ้นที่ผูกมัดกับโครงการทั้งหมดไปเมื่อ พ.ศ. 2553 และดำเนินการขายรายได้ในอนาคตเข้ากองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันบริษัทอยู่ในสภาวะปลอดหนี้จากการลงทุนระบบขนส่งมวลชน",
"title": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์"
},
{
"docid": "532661#15",
"text": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ เป็นหนึ่งในผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์รายต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยปัจจุบันบริษัทดำเนินการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ผ่านบริษัท ยู ซิตี้ จำกัด (มหาชน) ซึ่งลงทุนในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ทั่วประเทศ และการลงทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ร่วมกับแสนสิริ เพื่อพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร",
"title": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์"
},
{
"docid": "7931#40",
"text": "สัญญาที่ 1 ว่าจ้างกิจการร่วมค้าซีเมนส์-โบซันคาย่า ในการผลิตรถไฟฟ้า ซีเมนส์ อินสไปโร จำนวน 22 ขบวน โดยจำนวน 12 ขบวนจะใช้รองรับในช่วงแบริ่ง–สมุทรปราการ อีก 7 ขบวนรองรับเส้นทางปัจจุบัน หมอชิต-แบริ่ง และเป็นขบวนรถไฟฟ้าสำรอง 3 ขบวน รถไฟฟ้าชุดนี้จะผลิตขึ้นที่โรงงานโบซันคาย่า ประเทศตุรกี โดยซีเมนส์จะเป็นผู้ออกแบบขบวนรถไฟฟ้า จัดหาอะไหล่ที่จำเป็น ควบคุมงานประกอบ และให้บริการหลังการขาย 16 ปีนับจากวันที่ส่งขบวนแรกมาประเทศไทย สัญญาที่ 2 ว่าจ้าง บริษัท ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน เรลเวย์ เวฮิเคิล จำกัด ในการผลิตรถไฟฟ้าซีเอ็นอาร์รุ่นปัจจุบัน (EMU Type-B) เพิ่มเติม 24 ขบวน ใช้รองรับในช่วงหอวัง–สะพานใหม่–คูคต 21 ขบวน และเป็นขบวนรถไฟฟ้าสำรอง 3 ขบวน โดยใช้วัสดุในการประกอบรถไฟฟ้าจากแหล่งเดิม เพื่อให้ได้มาตรฐานที่บีทีเอสกำหนดไว้",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "9860#43",
"text": "อนึ่ง กรุงเทพมหานคร ได้จัดการประชุมสอบถามความเห็นไปยังเอกชนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอสซี บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสกรุ๊ป บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีอีเอ็ม บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด และ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำกัด เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เสียงจากเอกชนส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่าควรให้กลุ่มบีทีเอสเป็นผู้รับสัมปทานแต่เพียงผู้เดียว เนื่องจากการมอบโครงการให้เอกชนรายอื่นเข้ามาบริหาร เกรงว่าจะเกิดความเสี่ยงต่อการดำเนินการ และอาจทำให้การดำเนินการในอนาคตมีปัญหาตามมา",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท"
},
{
"docid": "9861#1",
"text": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ และเป็นเส้นทางที่ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ฝั่งธนบุรีได้เป็นสายแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของกลุ่มบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ ที่ได้รับสัมปทานโครงการภายในกรอบระยะเวลา 30 ปีจากกรุงเทพมหานคร และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับสัมปทานโครงการจากกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน มีแนวเส้นทางเป็นแนวตะวันตก-ใต้ พาดผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นใน ไปจนถึงฝั่งธนบุรี เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลหัวเฉียว วิ่งผ่าน กรีฑาสถานแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อถึงแยกราชประสงค์แนวเส้นทางจะหักขวาเข้าถนนราชดำริ วิ่งผ่านสวนลุมพินี ราชกรีฑาสโมสร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งตรงเข้าสู่ถนนสีลม จากนั้นหักซ้ายเข้าถนนนราธิวาสราชนครินทร์ และหักขวาเข้าสู่ถนนสาทรเพื่อมุ่งหน้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและข้ามไปยังฝั่งธนบุรี แนวเส้นทางจะมุ่งหน้าเข้าสู่ถนนราชพฤกษ์และสิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่บริเวณทางแยกต่างระดับเพชรเกษม (แยกบางหว้า) รวมระยะทางทั้งสิ้น 14.67 กิโลเมตร แนวเส้นทางจะเน้นขนส่งผู้โดยสารจากบริเวณใจกลางฝั่งธนบุรีให้เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานครได้อย่างรวดเร็วแนวเส้นทางเป็นเส้นทางยกระดับทั้งโครงการ มีจุดเริ่มต้นจากสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ มุ่งตรงเข้าสถานีสยาม เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จากนั้นหักขวาเข้าถนนราชดำริ ถนนสีลม ผ่านจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่สถานีศาลาแดง หักซ้ายเข้าถนนนราธิวาสราชนครินทร์ และหักขวาเข้าสู่ถนนสาทร มุ่งหน้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สถานีสะพานตากสิน ผ่านจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีทอง ที่สถานีกรุงธนบุรี จุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่สถานีวงเวียนใหญ่ สิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่สถานีบางหว้า บริเวณทางแยกต่างระดับเพชรเกษม ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลอีกหนึ่งจุด รวมระยะทางทั้งสิ้น 14.67 กิโลเมตร",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม"
},
{
"docid": "550869#0",
"text": "โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย-ลำสาลี) เป็นโครงการศึกษาการดำเนินการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อบรรจุลงในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โครงการได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวหรือรถไฟฟ้าโมโนเรล มีระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร โดยรถไฟฟ้าสายนี้จะเชื่อมต่อเมืองด้านฝั่งแคราย กับฝั่งเกษตร-นวมินทร์ที่มีอัตราการเติบโตสูงเข้าด้วยกัน และยังเป็นโครงข่ายสายรองเพื่อเชื่อมต่อกับโครงข่ายรถไฟฟ้าหลักอีก 4 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม และโครงข่ายรองอีก 3 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีชมพู รถไฟฟ้าสายสีเหลือง และรถไฟฟ้าสายสีเทา ของกรุงเทพมหานครแนวเส้นทางจะเริ่มต้นจากจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง และรถไฟฟ้าสายสีชมพู จากนั้นจะวิ่งตรงเข้าสู่ถนนงามวงศ์วาน ผ่าน ทางพิเศษศรีรัช แยกพงษ์เพชร เรือนจำกลางคลองเปรม แยกบางเขน เชื่อมกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม จากนั้นเบี่ยงซ้ายเข้าสู่พื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรงมาถึงแยกเกษตรแล้วเบี่ยงขวากลับเกาะกลางถนน เชื่อมกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จากนั้นผ่านแยกเกษตรตรงมาบนถนนประเสริฐมนูกิจ และเบี่ยงทางออกจากกันเพื่อลดระดับไปอยู่ใต้ทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 ผ่านจุดตัดทางพิเศษฉลองรัช ในอนาคตจะเชื่อมกับรถไฟฟ้าสายสีเทา จากนั้นจะตรงไปแยกนวลจันทร์-นวมินทร์ แล้วเลี้ยวขวาเข้าถนนนวมินทร์ แล้วตรงไปตามแนวถนนนวมินทร์จนถึงแยกบางกะปิ แนวเส้นทางศึกษาจะแยกออกเป็นสองสายเพื่อสิ้นสุดที่บริเวณแยกลำสาลีที่เป็นจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง โดยในกรณีผู้ให้บริการเป็นบริษัทในเครือบีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ หรือกิจการร่วมค้า บีเอสอาร์ แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาเข้าถนนลาดพร้าวก่อนยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีเหลืองที่จุดตัดถนนลาดพร้าว-ศรีนครินทร์ เพื่อสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีแยกลำสาลีของรถไฟฟ้าสายสีเหลืองซึ่งจะปรับแบบให้เป็นสถานีร่วม แต่หากผู้ให้บริการไม่ใช่กลุ่มบีทีเอส หรือกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ แนวเส้นทางจะวิ่งตรงเข้าสู่ถนนพ่วงศิริและสิ้นสุดที่จุดตันถนนรามคำแหงกับถนนพ่วงศิริ โดยเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีเหลืองด้วยทางเดินยกระดับเดิมโครงการมีการศึกษาศูนย์ซ่อมบำรุงไว้ที่บริเวณจุดตัดทางพิเศษฉลองรัชแต่เนื่องจากบริเวณดังกล่าวกรุงเทพมหานครจะเวนคืนเพื่อก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุงของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา โครงการจึงมีแนวคิดย้ายศูนย์ซ่อมบำรุงไปอยู่พื้นที่บริเวณใกล้ ๆ กัน หรือย้ายไปบริเวณแยกบางกะปิซึ่งอยู่ใกล้กับสถานีแยกลำสาลี",
"title": "รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล"
},
{
"docid": "7931#83",
"text": "มิถุนายน พ.ศ. 2561 รถไฟฟ้าบีทีเอสเกิดเหตุขัดข้อง 9 ครั้งภายในเดือนเดียว (ตั้งแต่วันที่ 1–25 มิถุนายน) กล่าวคือตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน รถไฟฟ้าขัดข้องที่สถานีชิดลม ทำขบวนรถล่าช้า 10 นาที วันที่ 12 มิถุนายน รถไฟฟ้าขัดข้องที่สถานีอ่อนนุช ทำขบวนรถล่าช้า 24 นาที วันที่ 13 มิถุนายน ระบบประตูกั้นชานชาลาขัดข้องที่สถานีสยาม ทำให้ขบวนรถเข้า-ออกจากสถานีสยามได้ล่าช้า วันที่ 15 มิถุนายน รถไฟฟ้าขัดข้องที่บริเวณรางสับหลีกช่วงสถานีพร้อมพงษ์–สถานีอโศก ทำขบวนรถล่าช้า 10 นาที วันที่ 18 มิถุนายน รถไฟฟ้าขัดข้องที่สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ทำขบวนรถล่าช้าในสายสีลม 10 นาที วันที่ 22 มิถุนายน เวลา 12.27 น. รถไฟฟ้าขัดข้องที่สถานีสำโรง ทำขบวนรถล่าช้า 10 นาที วันที่ 22 มิถุนายน เวลา 21.00 น. รถไฟฟ้าขัดข้องที่สถานีชิดลมและสถานีเพลินจิต ทำขบวนรถล่าช้า 10 นาที วันที่ 24 มิถุนายน ระบบอาณัติสัญญาณขัดข้องตั้งแต่สถานีสยามถึงสถานีสะพานควาย ทำขบวนรถล่าช้าทั้งระบบ 10 นาที และขบวนรถเข้า-ออกจากสถานีสยามได้ล่าช้า และวันที่ 25 มิถุนายน ระบบอาณัติสัญญาณขัดข้องอีกครั้งตั้งแต่สถานีสยามถึงสถานีสะพานควาย ทำขบวนรถล่าช้าทั้งระบบ 15 นาที และขบวนรถเข้า-ออกจากสถานีสยามได้ล่าช้า[27] ต่อมา ดร.อาณัติ อาภาภิรม ประธานกรรมการที่ปรึกษา บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้ออกแถลงการณ์ถึงปัญหาความขัดข้องดังกล่าวจำนวนสามเหตุผล ดังต่อไปนี้ บริษัทฯ และกรุงเทพธนาคม กำลังดำเนินการติดตั้งและทดสอบระบบอาณัติสัญญาณ และการติดตั้งระบบประตูกั้นชานชาลาที่โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ ช่วงสถานีสำโรง ถึงสถานีเคหะฯ ร่วมกับบอมบาร์ดิเอร์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ถือเป็นความขัดข้องตามปกติเมื่อครั้งที่บริษัทฯ ดำเนินการทดสอบระบบอาณัติสัญญาณที่สถานีส่วนต่อขยายเมื่อ พ.ศ. 2552–2556 บริษัทฯ กำลังดำเนินการปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณของโครงการส่วนเดิมทั้งสายเพื่อป้องกันคลื่นรบกวนจากภายนอก เนื่องจากสถานีสยามยังคงใช้งานระบบเดิม ทำให้มีปัญหาถูกคลื่นรบกวนการทำงานของระบบอาณัติสัญญาณบ่อยครั้ง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24–25 มิถุนายน เกิดจากมีคลื่นรบกวนการทำงานของระบบอาณัติสัญญาณจนทำให้ระบบล่มลง ทำให้การเดินรถอัตโนมัติไม่สามารถทำได้ บริษัทฯ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยการเปลี่ยนการทำงานมาใช้ระบบแมนวลในการนำรถไฟฟ้าเข้าจอดที่สถานีสยามควบคู่กับการพยายามกู้ระบบอัตโนมัติให้กลับมาทำงานได้",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "196512#8",
"text": "กล่าวคือโครงสร้างชั้นขายบัตรโดยสารของรถไฟฟ้าบีทีเอส จะเป็นการสร้างฐานชั้นลอยของสถานีฝั่งรถไฟฟ้ามหานครไปในตัว ในขณะที่ชั้นชานชาลาจะใช้วิธีการสร้างของฝั่งบีทีเอสและเร่งการวางรางให้ข้ามสถานีของฝั่งบีทีเอสให้แล้วเสร็จก่อนก่อสร้างชั้นขายบัตรโดยสารและชั้นชานชาลาของฝั่งรถไฟฟ้ามหานคร และได้ออกแบบให้ทางออกที่ 3, 4 ของสถานีฝั่งบีทีเอส เป็นทางเข้า-ออกที่ใช้งานร่วมกันด้วย ทำให้เกิดการหมุนเวียนของผู้โดยสารที่ดีและลดความซ้ำซ้อนในการตั้งทางเข้า-ออกโดยไม่จำเป็น",
"title": "สถานีบางหว้า"
},
{
"docid": "532661#14",
"text": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการสื่อโฆษณาแบบครบวงจรผ่านบริษัท วีจีไอ โกลบอล มีเดีย จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับสิทธิ์ในการบริหารโฆษณาและพื้นที่บนสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส และส่วนต่อขยาย 35 สถานี รวมถึงบริหารโฆษณาตามอาคารสถานที่ต่าง ๆ กว่า 100,000 จอทั่วประเทศ และบริษัทยังได้เข้าลงทุนใน บริษัท มาสเตอร์แอด จำกัด (มหาชน) หรือ MACO เพื่อขยายหน่วยธุรกิจสื่อโฆษณาให้กว้างขึ้นจากป้ายโฆษณาที่มีอยู่กว่า 2,000 จุดทั่วกรุงเทพมหานคร และตามต่อม่อโครงการรถไฟฟ้า และอาคารพาณิชย์ทั่วประเทศ",
"title": "บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์"
},
{
"docid": "7931#2",
"text": "ต่อมา กรุงเทพมหานคร อนุมัติสัมปทานการก่อสร้างและจัดการเดินรถให้กับ บริษัท ธนายง จำกัด (ปัจจุบัน คือ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)) ของคีรี กาญจนพาสน์ ทีแรกกำหนดให้สร้างอู่ซ่อมบำรุงบริเวณพื้นที่สวนลุมพินี แต่ประชาชนที่ใช้พื้นที่สวนลุมพินีเพื่อออกกำลังกายเป็นประจำได้รวมตัวประท้วงการเข้าใช้พื้นที่ว่าขัดต่อพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานพระราชทรัพย์จัดสร้างเพื่อเป็นสวนสาธารณะของประชาชน นอกจากนั้นยังมีการประท้วงขอให้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการสร้างรถไฟฟ้าจากโครงสร้างยกระดับลอยฟ้าเป็นอุโมงค์ใต้ดิน ในที่สุดจึงได้มีการย้ายสถานที่ก่อสร้างอู่ซ่อมบำรุง ไปใช้ที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ ซึ่งเป็นที่ทำการ และสถานีขนส่งสายเหนือเดิม (สถานีหมอชิต) ใกล้กับสวนจตุจักร โดยในช่วงแรกก่อนเปิดทำการ รถไฟฟ้าสายนี้ใช้ชื่อว่า รถไฟฟ้าธนายง[1] ตามชื่อบริษัทที่ได้รับสัมปทาน",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส"
},
{
"docid": "9860#42",
"text": "ระยะที่หนึ่ง (พ.ศ. 2562 - พ.ศ. 2572) เอกชนผู้ชนะการประมูลจะต้องรับผิดชอบดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นกับโครงการทั้งหมด รวมถึงรับความเสี่ยงจากการขาดทุนในการดำเนินงาน ซึ่งกรุงเทพมหานครประเมินจากส่วนต่างของรายได้ที่หายไปจากการกำหนดค่าโดยสารสูงสุดไม่เกิน 65 บาทเทียบกับราคาประเมินของรฟม. 158 บาท และเอกชนต้องจัดหารวมถึงบริหารการเงินเพื่อนำเงินก้อนแรกมาชำระค่าโครงสร้างพื้นฐานทั้งหมด 1.1 แสนล้านบาท เพื่อให้กรุงเทพมหานครนำไปชำระคืนแก่ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลัง อีกทอดหนึ่ง รวมถึงชำระค่าปรับปรุงสถานีสะพานตากสิน และสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินในกรอบวงเงิน 1,000 ล้านบาท ในระยะนี้เอกชนผู้ชนะการประมูลจะยังไม่สามารถบริหารโครงการได้เต็มตัว เนื่องจากถือเป็นช่วงของการลงทุน โดยเอกชนผู้ชนะจะต้องว่าจ้าง บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอสซี เป็นผู้ให้บริการชั่วคราวจนถึง พ.ศ. 2572 หรือจนกว่าสัญญาสัมปทานโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครของบีทีเอสซีจะสิ้นสุดลง ระยะที่สอง (พ.ศ. 2572 - พ.ศ. 2602) เอกชนผู้ชนะการประมูลจะได้รับสิทธิ์ในการบริหารโครงการเชิงพาณิชย์ ตั้งแต่ส่วนสัมปทานของบีทีเอสซี ตลอดจนส่วนต่อขยายทุกระยะ โดยเอกชนผู้ชนะจะต้องจัดหาอุปกรณ์ ขบวนรถไฟฟ้า และระบบการเดินรถไฟฟ้าสำหรับโครงการ รวมถึงลงทุนก่อสร้างงานโยธาในส่วนต่อขยายที่เหลือทั้งหมด (ยศเส-สนามกีฬาแห่งชาติ/เคหะฯ-บางปู/คูคต-วงแหวนตะวันออก) พร้อมทั้งแบ่งรายได้ค่าโดยสารให้กรุงเทพมหานครตามสัดส่วนที่กำหนด หากเอกชนผู้ชนะ เป็นเอกชนที่เกี่ยวข้องกับบีทีเอสซี และ/หรือ มีผู้มีอำนาจควบคุมเป็นบุคคลเดียวกัน (นายคีรี กาญจนพาสน์ และ/หรือ บุคคลในตระกูลกาญจนพาสน์) เอกชนรายนั้นสามารถบริหารโครงการทั้งสองระยะพร้อมกันได้ทันที โดยไม่ต้องรอจนถึง พ.ศ. 2572",
"title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท"
}
] |
3521 | ใครเป็นผู้ประดิษฐ์เรด้า? | [
{
"docid": "207785#1",
"text": "ประวัติศาสตร์ของเรดาร์สามารถกล่าวย้อนไปตั้งแต่สมัยแรกเริ่มค้นพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในปี ค.ศ. 1886 Heinrich Hertz ได้สาธิตคุณสมบัติการสะท้อนของคลื่นวิทยุ ในปี ในปี ค.ศ. 1904 วิศวกรชาวเยอรมัน Hülsmeyer ประสบความสำเร็จในการทดลองตรวจจับเรือที่อยู่ทามกลางหมอกทึบได้สำเร็จ อย่างไรก็ตามเขายังไม่สามารถระบุตำแหน่งของเรือได้ ต่อมาค.ศ. 1917 นิโคลา เทสลาได้อธิบายหลักการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการตรวจจับและวัดความเร็วของวัตถ ในปี ค.ศ. 1922 Albert H. Taylor และ Leo C. Young แห่ง U.S.Naval Research Laboratory (NRL) สาธิตการตรวจจับตำแหน่งของเรือโดยใช้เรดาร์ และต่อมาในปี ค.ศ. 1930 Lawrence A. Hyland แห่งห้องทดลอง NRL เช่นกัน เป็นคนแรกที่สามารถตรวจจับเครื่องบิน(โดยบังเอิญ) โดยใช้เรดาร์ได้สำเร็จ จากความสำเร็จนี้ส่งผลให้มีการจดสิทธิบัตรเรดาร์ชนิด Continuous Wave (CW) ในปี ค.ศ. 1934",
"title": "เรดาร์"
}
] | [
{
"docid": "44422#16",
"text": "\" (เล่นทีเผลอ) ใครเข้าห้องน้ำ ตกรอบ\" หมายความว่า ระหว่างพักเกมนั้น ทีมงานได้แอบซ่อนกติกาทีเผลอดังกล่าวไว้ ผู้เข้าแข่งขันที่เข้ารอบในระหว่างพักเกมนั้น คนไหนเผลอใช้ห้องน้ำ คนนั้นจะตกรอบแบบทีเผลอ \" (เล่นทีเผลอ) ใครออกจากห้องคนแรก ตกรอบ\" หมายความว่า คนที่ออกจากห้องมาคนแรกจะตกรอบ \" (เล่นทีเผลอ) ใครทะลึ่งเล่นมุข \"ปลาวาฬชุบแป้งทอด\" ตกรอบทั้งกลุ่ม\"หมายความว่า คนหนึ่งถามว่า ปลาอะไรใหญ่กว่าปลาวาฬ แล้วผู้เข้าขันตอบว่า ปลาวาฬชุบแป้งทอด กลุ่มที่มีผู้เข้าแข่งขันตอบคำดังกล่าวก็จะตกรอบหมดทั้งกลุ่ม",
"title": "เกมวัดดวง"
},
{
"docid": "6045#8",
"text": "ผู้เล่น MVP ของโตเกียวอัจฉริยะผู้มุมานะ เพอเฟ็คท์เพลเยอร์ ที่ใคร ๆก็ทาบไม่ติด เป็นคนที่ใคร ๆก็ไม่คิดทาบรัศมี ตำแหน่งไลน์แบ็คเกอร์ในทีมโอโจไวท์ไนท์ ตามติดมาด้วยอาวุธสุดแกร่งอย่าง\"ไทรเดนต์ แทคเกิ้ล\"ที่ใคร ๆก็หวั่นในความรุนแรงของมัน แต่ก็ต้องมาพ่ายแพ้ให้กับ \"อายชีลด์ 21\" จึงมุฝึกมาตลอดเพื่อคว้าชัยชนะจากศึกรันเนอร์ความเร็วแสงแต่ในทางกลับกันก็เป็นคนที่บื้อเรื่องเทคโนโลยีแบบสุดๆ จับสิ่งไหนที่เป็นเทคโนโลยีก็มีอันต้องวายวอดไปเสียทุกเครื่อง",
"title": "อายชีลด์ 21 ไอ้หนูไต้ฝุ่นมะกันบอล"
},
{
"docid": "206442#8",
"text": "ในข้อแรกเป็นเรื่องของเจ้าของเรื่องนี้โดยให้ผู้เข้าแข่งขันทายว่าเจ้าของเรื่องนี้เป็นของใครหลังจากนั้นพิธีกรจะเฉลยคำตอบโดยให้ดาราที่เป็นสามช่ารับเชิญที่ยืนอยู่บนเวทีแล้วพิธีกรจะถามว่าใครเป็นเจ้าของเรื่องนี้ หลังจากนั้นก็ให้ดาราใครคนใดคนหนึ่งที่เป็นเจ้าของเรื่องนี้ลงมาจากเวที นั่นหมายความว่าถ้าดาราใครคนใดคนหนึ่งที่ลงจากเวทีนั้น นั่นคือคำตอบที่ถูกต้องและเป็นเจ้าของเรื่องนี้นั่นเองส่วนผู้เข้าแข่งขันที่ตอบถูกจะได้คะแนนไปและพร้อมกับให้ดาราเจ้าของเรื่องเล่าประสบการณ์ชีวิตที่ผ่านมาว่าเป็นอย่างไรบ้าง หลังจากที่ดาราเล่าประสบการณ์จบเรียบร้อยแล้ว พิธีกรจะเชิญหม่ำ,เท่ง และ โหน่ง ออกมาสร้างสีสันโดยการโชว์แสดงตลกให้ท่านผู้ชมได้สนุกสนานกัน",
"title": "ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก"
},
{
"docid": "73429#15",
"text": "ช่วงเตรียมของกงเต๊กนี้ พระจีนจะเป็นผู้เขียน \"ใบส่งของ\" ให้เหมือนเป็นการจ่าหน้าซองจดหมาย เพื่อให้รู้ว่าผู้รับของคือใคร ผู้ส่งคือใคร ใบกระดาษบอกชื่อผู้ส่งผู้รับนี้ ต้องปิดบนของกงเต๊กทุกชิ้น เช่นเดียวกับที่ลูกหลานต้องเอาเสื้อของผู้ตาย เลือกตัวที่ผู้ตายชอบมากที่สุดเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ตายน่าจะจำลายผ้าได้เนื่องจากเสื้อผ้าจะต้องถูกตัดเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย เพื่อแปะติดไปกับของทุกชิ้น เพื่อที่ผู้ตายจะได้รู้ว่ากองของกงเต๊กที่เผาไปนี้เป็นของท่านและเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นมาเอาของผิดกองเช่นกัน เพราะแต่ละวันแต่ละวัดจะมีพิธีกงเต๊กซ้อนกันหลายงาน",
"title": "กงเต๊ก"
},
{
"docid": "975991#3",
"text": "เขาไม่พูดพร่ำทำเพลงมาก และอธิบายเรื่องราวทั้งหมดอย่างรวดเร็ว ชายคนนั้นแทนสรรพนามตัวเองว่า \"ผู้คุม\" เค้ามีหน้าที่เพียงอย่างเดียว คือคุมทุกการกระทำของเขา จับตา และดูอย่าให้เขาฆ่าตัวตายอีกเป็นครั้งที่สอง เขาตกใจมากที่เรื่องนี้เป็นเรื่องจริง แต่ผู้คุมก็ไม่ปล่อยให้เวลาเดินไปอย่างช้า ๆ แต่ให้เขาได้กลับไปใช้ชีวิตอยู่ในห้องผู้ป่วยตามปกติ แต่ไม่ทันจะได้พักผู้คุมได้กลับมาอีกครั้งในร่างนางพยาบาลสาวสวย (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์) แต่มาคราวนี้ผู้คุมกลับมาบอกเรื่องราวทั้งหมดแบบละเอียด สิ่งที่เกิดขึ้นคือเขาได้กลับมาอยู่ในร่างของมินในฐานะ \"โฮมสเตย์\" แต่การกลับมาครั้งนี้ไม่ได้เป็นการกลับมาแบบถาวร เพราะเขามีเวลาแค่ 100 วันที่จะได้ใช้ชีวิตใหม่อีกครั้ง ถ้าเขาอยากอยู่ต่อ เขาต้องหาคำตอบให้ได้ว่า เจ้าของร่างที่ชื่อมิน ตายเพราะใคร? ถ้าตอบไม่ได้ เขาก็จะตายและวิญญาณเขาก็จะตายไปพร้อมกันและจะไม่ได้ไปผุดไปเกิดใหม่อีกเลย พร้อมกับให้นาฬิกาชีวิตกับเขาไว้ เขารู้ทันทีว่าเรื่องนี้เริ่มไม่ชอบมาพากลแปลก ๆ เขาจึงตัดสินใจที่จะออกสืบว่า มินตายเพราะใคร ด้วยเวลาที่เหลือเพียง 98 วัน และข้อแม้ว่าห้ามไม่ให้ใครรู้เด็ดขาดว่าเขาไม่ใช่มิน",
"title": "โฮมสเตย์ (ภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2561)"
},
{
"docid": "139354#11",
"text": "ในระยะต่อมาได้มีการปรับรูปแบบและกติกาเล็กน้อย โดยในวันจันทร์-พฤหัสจะมีผู้แข่งขัน 2 ท่าน(จากทางบ้าน) ซึ่งมาจากการสุ่มของพิธีกร ผู้แข่งขันเหล่านั้นจะต้องมาแข่งขันเล่นเกมกันเพื่อหาเดอะวินเนอร์ประจำวัน โดยแบ่งเป็น 2 รอบคือ รอบแรก \"เมเจอร์เกม\" ซึ่งจะเป็นเกมเกี่ยวกับสำนวนหรือประโยคในภาษาไทย และรอบ2 จะเป็นรอบเกมหลักประจำวัน เช่น ดูท่าที,เชื่อใคร,แข่งสารพัด,ต่อปากต่อคำ เมื่อได้แชมป์ประจำวันครบทั้ง 4 ท่านแล้ว ในวันศุกร์ก็จะไปแข่งอีกทีในรอบ \"ใครจะอยู่ ใครจะไป\" เพื่อหาเดอะวินเนอร์ประจำสัปดาห์ ไปไขกุญแจปริศนาในตู้เซฟ เพื่อชิงเงินรางวัล 300,000 บาท",
"title": "มาสเตอร์คีย์"
},
{
"docid": "938307#4",
"text": "ในกรณีที่ทีมใดทีมหนึ่งมีสมาชิกน้อยกว่าอีกทีมถึง 2 คน ทางรายการจะให้ที่ที่มีสมาชิกเยอะกว่า เลือกผู้เข้าแข่งขันทีมตัวเองโดยการโหวตลับ ซึ่งใครถูกโหวตจากสมาชิกทีมตัวเองมากที่สุด ผู้เข้าแข่งขันคนนั้นจะต้องย้ายไปอยู่อีกทีมทันที\nในรอบนี้ จะแบ่งการแข่งขันกันทั้งหมด 2 สัปดาห์ ในสัปดาห์แรก จะให้แข่งขันกันในรูปแบบ ไต่อันดับ โดยจะยึดจากผลการแข่งขันตลอดทั้งทัวร์นาเม้นต์ ซึ่งเรียงตามดังนี้\nใน สัปดาห์ที่ 2 ผู้เข้าชิงทั้ง 2 จะต้องแข่งขันกันทั้งหมด 3 ยก ใครจับฉลากได้ร้องก่อนในยกแรก จะได้ร้องหลังใน ยกที่ 2 และจะกลับมาร้องก่อนอีกครั้งในยกที่ 3 ใครชนะ 2 ใน 3 ยก คนๆนั้น รับเงินรางวัล 1,000,000 บาท ทันที",
"title": "ศึกวันดวลเพลง สงครามเทพบุตร"
},
{
"docid": "956860#2",
"text": "และตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ได้เพิ่มเกมอีก 1 เกม ไว้ในช่วงท้ายรายการ คือ \"สตาร์ตมาสไตรก์\" โดยให้ผู้เข้าแข่งขันที่สมัครเข้ามาร่วมเล่น นำรถของตัวเองมาชนลูกบอลแล้วกลิ้งไปโดนพินโบว์ลิ่งล้มทั้งหมด โดยที่ด้านหน้าของรถต้องไม่เลยเส้นวางลูกบอล ถ้าทำสำเร็จจะถือว่า \"แจ็คพอตแตก\" และผู้เข้าแข่งขันจะได้รับรถกระบะ ISUZU D-Max X-Series กลับไปทันที ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของรถดังนี้\nและในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ได้มีการปรับรูปแบบเป็น Step Right Up ใครเก่ง ใครได้ ล่าขุมทรัพย์ โดยมีการปรับเปลี่ยนฉากเป็นลักษณะคล้ายๆ ป่า และเพิ่มเกมและของรางวัลต่างๆ ซึ่งทางรายการจะเรียกว่า \"ขุมทรัพย์\" ให้มีจำนวนมากยิ่งขึ้น",
"title": "Step Right Up ใครเก่ง ใครได้"
},
{
"docid": "62520#24",
"text": "“ตราประจำตระกูล” ใน ญี่ปุ่น มีวัตถุประสงค์เดียวกับใน ตะวันตก กล่าวคือเพื่อให้สามารถจดจำง่ายขึ้นว่า “ใครเป็นใคร” ในสมรภูมิ การสวมเกราะทั้ง 2 ประเภทนั้นทำให้แต่ละคนและดูเหมือนกันไปหมด ดังนั้นวิธีการที่ จะทำให้สามารถแยกแยะออกว่า ใครเป็นผู้ที่สมควรฆ่าและใครเป็นมิตรจึงเป็น เรื่องคอขาดบาดตาย และสำคัญยิ่งในการทำศึกสงคราม ในตอนเริ่มแรก ไดเมียวผู้คุมกองทัพจะนำธงรบขนาดใหญ่ที่มีสีสัน เพื่อแสดงให้เห็นถึงความจงรักภักดีของทหารต่อตระกูล และแม้แต่ในยุคแรกๆ ก็ได้มีการพิมพ์ มอน หรือ ตราประจำตระกูล ซึ่งมักเป็นรูปสัญลักษณ์ไว้บนธรงรบ หรือประทับไว้บนชุดเกราะ หรือแสดงให้เห็นชัดเจนบนโล่ไม้ขนาดใหญ่",
"title": "เกราะญี่ปุ่น"
},
{
"docid": "297404#4",
"text": "ก่อนทอดลูกเต๋ามีการวางเงินกันก่อน แล้วหงายไพ่ดู ใครได้แต้มสิบเรียก \"บอด\" ใครได้แต้มเกินสิบให้เอาสิบหักออก เหลือเท่าใดจึงเป็นแต้มที่นับ ใครได้แต้มสูงสุดก็ชนะ ถ้าผู้ชนะเป็นเจ้ามือ เจ้ามือก็กิน ถ้าผู้เล่นชนะ ผู้เล่นก็กินเจ้ามือ ถ้าเล่นไม่มีเจ้ามือ ผู้เล่นทุกคนวางเงิน ใครได้แต้มสูงสุดก็ชนะไป",
"title": "แปดเก้า"
},
{
"docid": "95351#2",
"text": "สำหรับรูปแบบใหม่นั้นจะมีผู้แข่งขัน 2 ท่าน โดยวิธีการสุ่มจากผู้ชมในห้องส่งที่สมัครมาเล่นเกมซึ่งทั้งสองต้องมาแข่งกัน กับเกมที่ทางรายการกำหนด โดยจะมีนาฬิกาเรือนใหญ่เป็นการจับเวลา ถ้าพิธีกรให้สัญญาณเริ่มแข่งได้ เข็มของนาฬิกาจะเริ่มเดิน ซึ่งผู้แข่งขันในแต่ละฝ่ายจะมีลูกสีที่จะต้องรักษาลูกสีของแต่ละท่านให้ดี เมื่อเข็มนาฬิกามาใกล้ที่ลูกสีของใคร ผุ้แข่งขันจะต้องนำลูกสีออกมาเพื่อพ้นเข็มนาฬิกาให้ได้ เมื่อพ้นแล้วเอากลับเข้าที่เดิม ในการแข่งขันถ้าใครเล่นเกมที่กำหนดได้สำเร็จก่อน ผู้แข่งขันท่านนั้นจะต้องไปกดหยุดเวลาก่อนจึงจะเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าทำเสร็จแล้วผิดกติกา อีกฝ่ายจะชนะทันที ในขณะเดียวกันถ้าลูกสีของใครแตกก่อนก็จะแพ้ในเกมนั้นทันที โดยผู้แพ้จะได้รับเงินรางวัล 2,000 บาท",
"title": "จับเวลาแจก"
},
{
"docid": "303511#3",
"text": "โดยก่อนร้องเพลง ให้ผู้เข้าแข่งขันเลือกป้ายมา 1 ป้าย หลังเลือกป้ายผู้เข้าแข่งขันต้องร้องเพลงให้ถูกต้องแล้วถ้าใครมีคะแนนน้อยกว่า ตกรอบ ถ้าใครคะแนนเยอะ เข้ารอบ",
"title": "07 โชว์"
},
{
"docid": "122878#2",
"text": "Final Destination ทั้ง 3 ภาค จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับคนกลุ่มหนึ่งที่รอดตายจากอุบัติเหตุครั้งใหญ่ เพราะตัวละครตัวหนึ่งเกิดบังเอิญเห็นภาพคล้ายภาพนิมิตล่วงหน้าถึงอุบัติเหตุครั้งใหญ่นั้น และรู้ถึงรายละเอียดว่าจะลำดับเหตุการณ์หายนะจะเป็นอย่างไร มีใครตายบ้าง รวมทั้ง ใครตายก่อนใครตายหลัง และบอกกับคนรอบข้างตน และจะมีคนกลุ่มหนึ่งเชื่อและทำตามคำแนะนำของผู้เห็นภาพนิมิต และอุบัติเหตุนั้นเกิดขึ้นจริงๆ กลุ่มของผู้เห็นภาพและผู้ที่เชื่อ จึงรอดตาย แต่กลุ่มผู้รอดตายจะเริ่มทยอยประสบอุบัติเหตุแปลกๆ ตายไปทีละคนหลังเวลาผ่านไป 2-3 เดือน แต่ในกลุ่มนั้นก็มีคนพบวิธีที่จะโกงความตาย",
"title": "7 ต้องตาย โกงความตาย"
},
{
"docid": "57545#0",
"text": "จิวยี่ (; ) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก แม่ทัพคนสำคัญของง่อก๊ก ขุนพลผู้ปราดเปรื่อง และเป็นคู่ปรับคนสำคัญของขงเบ้ง เป็นชาวเมืองลู่เจียนซู เกิดในครอบครัวขุนนางเก่า มีชื่อรองว่า กงจิน (公瑾) ลักษณะเป็นบุรุษรูปงาม หน้าขาว เมื่อวัยเด็กได้เรียนรู้วิชาอย่างแตกฉาน ทั้งการทหาร และศิลปะแขนงต่าง ๆ โดยจิวยี่เป็นผู้ชำนาญทางดนตรี กล่าวกันว่า ถ้าใครดีดพิณผิดแม้นิดเดียว ใครต่อใครจับไม่ได้ แต่จิวยี่สามารถจับได้ จิวยี่เป็นผู้มีนิสัยโอบอ้อม มีน้ำใจต่อเพื่อนฝูง ดังนี้ จึงมีผู้ที่เคารพนับถือเป็นมิตรสหายมากมาย ",
"title": "จิวยี่"
},
{
"docid": "139354#10",
"text": "ในแต่ละวันจะมีผู้แข่งขัน 2 ท่าน(จากทางบ้าน) ซึ่งมาจากการสุ่มของพิธีกร ผู้แข่งขันเหล่านั้นจะต้องมาแข่งขันเล่นเกมกันเพื่อหาเดอะวินเนอร์ในแต่ละวัน เช่น ต่อปากต่อคำ,ฉันผิดตรงไหน,ดูท่าที,เชื่อใคร,ใครใหญ่ ใครอยู่,เปิดป้ายทายเพลง,20 คำถาม,แข่งสารพัด,ใครจะอยู่ ใครจะไป เป็นต้น ผู้ที่เป็นเดอะวินเนอร์จะได้รับกุญแจทองในการสะสม และได้สิทธิ์ในการแข่งขันในวันต่อไป โดยจะได้รับเงินรางวัลสมัยละ 10,000 บาท ถ้าสะสมครบ 10 สมัย จะได้รับเงินรางวัล 100,000 บาท และมีสิทธิเข้าไปเล่นรอบโบนัสมาสเตอร์คีย์เพื่อชิงรถกระบะ 1 คัน(ภายหลังเปลี่ยนเป็นเงินรางวัล 300,000 บาท) ถ้าไขกุญแจในตู้เซฟปริศนาถูกต้อง",
"title": "มาสเตอร์คีย์"
},
{
"docid": "46470#15",
"text": "หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ได้กล่าวถึงอุปนิสัย และพระจริยวัตรโดยรวมของพระองค์ไว้ ความว่า \"พระองค์หญิงเฉลิมเขตรมงคลมีพระรูปโฉมเหมือนสมเด็จพระบิดาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งพระอัธยาศัยก็คล้ายกันเป็นอันมาก กล่าวคือไม่มีใครเกลียดและไม่มีศัตรู เพราะไม่เป็นภัยกับใครเลย ไม่มีการเล่นพวก ไม่ด่าว่าค่อนแคะผู้ใด ไม่ดูถูกเหยียดหยามผู้ใด มีแต่ความซื่อสัตย์สุจริตและตามพระทัยพระองค์เอง เช่นเด็กที่เป็น Spoiled Child มาตั้งแต่เกิดเพราะไม่เคยมีใครขัดใจเท่านั้น ถ้ามีสิ่งใดที่เสียก็เป็นเรื่องที่ท่านทำพระองค์ท่านเอง ไม่มีผู้ใดต้องมาเสียหายด้วย เช่น ทรงใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ก็เป็นเงินของท่านเอง ไม่ได้ไปหยิบยืมใครมาให้เขาสูญทรัพย์\"",
"title": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล"
},
{
"docid": "259637#2",
"text": "ในฐานะที่เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งประวัติศาสตร์ศิลป์ต่างจากการวิพากษ์ศิลปะที่จะเน้นการสร้างพื้นฐานของคุณค่าของศิลปะโดยการเปรียบเทียบกับงานชิ้นอื่นที่เปรียบเทียบกันได้ทางด้านลักษณะ หรือการหันหลังให้แก่ลักษณะ หรือขบวนการศิลปะทั้งหมดที่พิจารณา และต่างจาก “ทฤษฎีศิลป์” (art theory) หรือ “ปรัชญาศิลป์” (philosophy of art) ที่คำนึงถึงธรรมชาติพื้นฐานของศิลปะ สาขาย่อยสาขาหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์คือวิชาสุนทรียศาสตร์ (aesthetics) ซึ่งเป็นการศึกษาถึงสุนทรียปรัชญา (Sublime) และการระบุหัวใจของสิ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่มีความเป็นสุนทรีย์ แต่ตามทฤษฎีแล้วประวัติศาสตร์ศิลป์ไม่ใช่สิ่งที่กล่าวมาเพราะนักประวัติศาสตร์ศิลป์ใช้การวิจัยโดยวิธีประวัติศาสตร์ (historical method) ในการตอบคำถาม “ศิลปินสร้างงานขึ้นมาได้อย่างไร”, “ใครเป็นผู้อุปถัมภ์”, “ใครเป็นครู”, “ใครคือผู้ชมงาน”, “ใครเป็นผู้ได้รับอิทธิพลจากลักษณะงาน”, “ประวัติศาสตร์ตอนใดที่มีอิทธิพลต่องาน” และ “งานที่สร้างมีผลทางเหตุการณ์ทางศิลปะ การเมือง และ สังคมอย่างใด”",
"title": "ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา"
},
{
"docid": "210386#2",
"text": "ผู้เข้าแข่งขันทั้ง 16 คน จะทำการโหวต หาบุคคลที่ถูกสงสัยว่าเป็น X-man ใครที่คะแนนมากที่สุด จะต้องทำการสแกนมือ แต่ถ้าบุคคลนี้ไม่ใช่ X-man ผู้ที่มีคะแนนรองลงมาจะต้องขึ้นไปสแกนมือเรื่อยๆ ตามลำดับคะแนนที่ได้จนกว่าจะหา X-man เจอ โดยเงินรางวัลที่จะนำไปบริจาคมีเงื่อนไขว่า หากทาย X-man ถูกในครั้งแรก เงินรางวัลนี้จะถูกนำไปบริจาคในนามผู้ร่วมรายการทุกคน แต่ถ้าทายถูกตั้งแต่ครั้งที่ 2 ขึ้นไป เงินรางวัลจะถูกนำไปบริจาคในนามของผู้ที่เป็น X-man แต่เพียงผู้เดียว",
"title": "X-Man ปริศนาเขาคือใคร"
},
{
"docid": "206442#6",
"text": "ในเกมใครทำได้เป็นเกมที่แก๊งสามช่าจะต้องแข่งขันกันโดยที่ไม่มีผู้กล้า โดยผู้ร่วมรายการจะต้องทายว่าในแก๊งสามช่า ใครที่จะทำคะแนนได้มากที่สุด หากทายถูกก็จะได้คะแนนแต่เมื่อผู้เข้าแข่งขันทายว่าหนึ่งในแก๊งสามช่าทำคะแนนเสมอกันและอยู่ในอันดับสูงผู้เข้าแข่งขันที่ทายนั้นก็จะได้คะแนนเช่นกันโดยเกมนี้ถูกเริ่มใช้วันที่ 15 ตุลาคม 2551 จนถึง 5 พฤษภาคม 2552",
"title": "ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก"
},
{
"docid": "32588#4",
"text": "ต่อมามกเนี่ยมชื้อ ก็เสียชีวิตเพราะงูกัด เอี้ยก้วยจึงเหลือตัวคนเดียว ต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอดด้วยการลักเล็กขโมยน้อย หลายครั้งที่ถูกผู้อื่นเหยียดหยามรุมรังแก ส่งผลให้เขารังเกียจโกรธแค้นผู้คน สิ่งแวดล้อมเช่นนี้ทำให้เขาต้องรู้จักเอาตัวรอด นำความฉลาดของตนมาพลิกสถานการณ์อยู่เสมอ จนใครๆ รู้สึกว่าเอี้ยก้วยเจ้าเล่ห์แสนกล เชื่อมั่นในตนเอง เชื่อใจใครยาก จนคล้ายคนสอนยาก ดื้อด้าน แท้จริงแล้วเอี้ยก้วยทำไปเพื่อป้องกันตัวเอง ซึ่งเป็นผลจากประสบการณ์ที่เคยอยู่อย่างโดดเดี่ยวอย่างยากลำบากมาก่อน เหตุนี้ใครๆ จึงมักกล่าวว่า เอี้ยก้วยมีนิสัยประหลาด เป็นเพราะขัดแย้งกับวัฒนธรรมจีนในขณะนั้นตามความเชื่อของลัทธิขงจื้อ ที่เด็กควรเป็นผู้ว่านอนสอนง่ายกับผู้ใหญ่",
"title": "เอี้ยก้วย"
},
{
"docid": "206434#26",
"text": "ในเกมนี้ พิธีกรจะบอกเล่าเรื่องราวประสบการณ์ชีวิตของสามช่ารับเชิญคนใดคนหนึ่งให้ผู้ชม และผู้เข้าแข่งขันได้ทราบก่อน จากนั้นจะถามว่าเรื่องที่ได้เล่ามาทั้งหมดนี้ สามช่ารับเชิญคนใดเป็นเจ้าของเรื่อง โดยให้ผู้เข้าแข่งขันเขียนคำตอบลงในกระดานคำตอบว่าใครเป็นเจ้าของเรื่อง จากนั้นพิธีกรจะเฉลยคำตอบโดยให้สามช่ารับเชิญทั้งสามคนนั้นออกมายืนด้านหน้าโพเดียม แล้วใครที่เป็นเจ้าของเรื่องให้ลงมาจากโดมแก๊งสามช่า (โพเดียมสามช่ารับเชิญจะอยู่ภายใต้โดมแก๊งสามช่า) ทั้งนี้ หากสามช่ารับเชิญใครคนใดคนหนึ่งลงมาจากโดมแก๊งสามช่า เขาผู้นั้นคือเจ้าของเรื่องดังกล่าว และถือเป็นคำตอบที่ถูกต้องนั่นเอง สำหรับผู้เข้าแข่งขันคนใดก็ตามที่ตอบถูกจะได้คะแนนไปในรอบนี้ คำถามละ 1 คะแนน หลังจากนั้น สามช่ารับเชิญที่เป็นเจ้าของเรื่องจะได้มาเล่าเรื่องที่เป็นประสบการณ์ชีวิตของตนเองว่าเป็นอย่างไรบ้าง เมื่อเล่าจบ พิธีกรจะเชิญแก๊งสามช่าออกมาสร้างสีสัน โดยการแสดงโชว์ตลกเพื่อความสนุกสนานนั่นเอง",
"title": "ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า"
},
{
"docid": "275063#1",
"text": "4 จตุรเทพ เป็นยอดฝีมือที่มีฝีมือเหนือกว่าผู้นำโรงยิมซึ่งไม่เคยคิดที่จะออมมือใคร ศัตรูที่หมายตาไว้จะไม่มีทางรอดเลยซักรายเดียว ในโปเกมอนลีค การแข่งขันจะเป็นแบบสู้กับ 4 คนนั้นตามลำดับพอนะมาได้ ก็สู้กับแชมป์เปี้ยน พอชนะแชมป์เปี้ยนได้จะเป็นแชมป์คนใหม่\n4 จตุรเทพ หรือในอีกชื่อว่า4จักรพรรดิ เป็นยอดฝีมือที่มีฝีมือเหนือกว่าผู้นำโรงยิมซึ่งไม่เคยคิดที่จะออมมือใคร ศัตรูที่หมายตาไว้จะไม่มีทางรอดเลยซักรายเดียว โดยทั้ง 2 เขต ใช้จตุรเทพร่วมกัน4 จตุรเทพโฮเอ็นคือผู้ชนะโฮเอ็นลีกในครั้งก่อน ๆ ซึ่งได้รับการคัดเลือกมา พวกเขาและแชมเปี้ยนจะรอทำการต่อสู้กับผู้ที่ชนะเลิศในการแข่งขันในทัวร์นาเมนต์เป็นคนสุดท้าย ผู้ที่สามารถโค่น4จตุรเทพและแชมเปี้ยนคนปัจจุบันได้ก็จะถูกขนานนามให้อยู่ในระดับท็อปหรือได้รับการจารึกชื่อ\n4 จตุรเทพโจโตเป็นกลุ่มของคนหลงผิดในแต่ละองค์กรซึ่งไม่คิดที่จะอยู่ใต้อาณัติใคร",
"title": "รายชื่อตัวละครในโปเกมอนสเปเชียล"
},
{
"docid": "100903#2",
"text": "บางครั้งเราอาจมองข้ามใครบางคนที่ดีต่อเราไป หากเมื่อถึงยามที่เราไม่มีใครอยู่เคียงข้างจึงจะได้พบกับความจริงนี้ หนังพยายามสื่อให้ผู้ชมพยายามมองดูผู้คนรอบกายอีกครั้ง อย่าปล่อยให้ต้องถึงเวลาที่ย่ำแย่เท่านั้น เพราะเมื่อถึงเวลานั้นเราอาจจะไม่อาจมองเห็นใครเลยก็ได้",
"title": "รักสุดใจของนายซื่อตรง"
},
{
"docid": "680870#14",
"text": "ในงานทดลองเช่นนี้ ทั้งผู้ทำการทดลองและผู้ร่วมการทดลองจะไม่รู้ว่า ผู้ร่วมการทดลองนั้นอยู่ในกลุ่มทดลองหรืออยู่ในกลุ่มควบคุม ต่อเมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้ว หรือในบางครั้งต่อเมื่อทำการวิเคราะห์แล้ว ผู้ทำงานวิจัยจึงจะรู้ว่า ผู้ร่วมการทดลองอยู่ในกลุ่มไหน การทำงานทดลองโดยวิธีนี้สามารถลดอิทธิพลของความคาดหวังหรือสัญญาณที่ส่งโดยไม่รู้ตัว (เช่นที่มีใน ปรากฏการณ์ยาหลอก และปรากฏการณ์ความคาดหมายของผู้สังเกตการณ์) ที่บิดเบือนผลการทดลอง การจัดผู้ร่วมการทดลองให้อยู่ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสุ่ม เป็นกระบวนการที่ขาดไม่ได้ในงานทดลองประเภทนี้ และข้อมูลที่ใช้ว่าใครเป็นใคร อยู่ในกลุ่มไหน จะเก็บไว้โดยบุคคลที่สาม และจะไม่มีการเปิดเผยต่อผู้ทำงานวิจัยจนกระทั่งงานวิจัยได้สำเร็จลงแล้ว",
"title": "การทดลองแบบอำพราง"
},
{
"docid": "297404#5",
"text": "บางทีมีวิธีเล่นที่พิสดารออกไป เช่น ให้ทุกคนหยิบไพ่คนละสองใบ จนมีคนละสี่ใบ แล้วเลือกแต้มออกมาวางครั้งละสองใบ ใครมากสุดก็ชนะไปในหนนั้นแล้วจำไว้ว่าใครแพ้ใครชนะ แล้วจึงเปิดที่เหลือเพื่อดูว่าหนนี้ใครแพ้ใครชนะ ในสองหนนี้ ใครแพ้ทีชนะทีเรียกว่าเสมอไปในครานี้ แพ้ทั้งสองก็แพ้ไป ถ้าชนะทั้งสองหนจึงเป็นผู้ชนะในครานี้ การเล่นแบบนี้มักมีเจ้ามือ",
"title": "แปดเก้า"
},
{
"docid": "93724#5",
"text": "ในขณะลงคะแนนมีเพียงผู้ชมทางบ้านเท่านั้นที่ทราบผ่านทางผู้บรรยายว่าใครคือผู้ที่แกร่งที่สุด และใครคือจุดอ่อน โดยมาจากสถิติในการตอบคำถาม (ซึ่งในบ้างเทปจะให้คนดูในห้องส่งโหวตให้)[1]",
"title": "กำจัดจุดอ่อน"
},
{
"docid": "956860#1",
"text": "ทางรายการจะเปิดโอกาสให้ผู้ชมจากทางบ้านสมัครมาร่วมรายการผ่านทาง SMS เพื่อเล่นเกม 1 ใน 4 เกมต่อสัปดาห์ ตามโจทย์ที่ทางรายการกำหนดให้ โดยผู้เข้าแข่งขันทุกคนจะมีโอกาสคนละ 1 ครั้งในการเล่น หากทำได้สำเร็จจะได้รับของรางวัลที่ทางรายการกำหนดให้ทันที และในแต่ละสัปดาห์จะมีแขกรับเชิญมาร่วมเล่นเกมทั้งหมดร่วมกับผู้ชมด้วย",
"title": "Step Right Up ใครเก่ง ใครได้"
},
{
"docid": "195253#5",
"text": "\"หมอว่าในใต้ฟ้า ทั่วแหล่งหล้าผู้ใด ใครจักเทียมจับคู่ ปู่เจ้าปู่สมิงพราย ธ ว่าให้ตายก็ตายทันเห็น ธ ว่าให้เป็นก็เป็นทันใจ จะลองใครใครก็มา จะหาใครใครก็ บ อยู่ จะไปสู่ท่านไสร้ ไว้ตูจะนำไป เฒ่าว่าทางไกลจรล่ำ วันนี้ค่ำสองนางเมือ พรุ่งเช้าเขือเขียวมา สองนางลาสองเฒ่า ไปบอกแก่สองเจ้า สองอ่อนท้าวยินดี ยิ่งนา ฯ\"\"",
"title": "มด (บุคคล)"
},
{
"docid": "303511#5",
"text": "ในรอบนี้จะมีลูกบอลในอ่าง 16 ลูก โดยให้ผู้เข้าแข่งขันลงไปที่อ่างบอล ให้เวลาทั้งหมด 90 วินาที ต่อมาเป็น 120 วินาที ถ้าใครหยิบบอลแล้วปาบอลใส่ 8 goal เกมจะจบลงทันทีและได้เปิดป้าย 8 ป้าย ใครปาบอลใส่ goal ได้น้อยได้เปิดป้ายน้อย\nหลังเล่นโดยมีทั้งหมด 16 ป้าย จะมี 0 อยู่ 4 ป้าย เลข 3,000 อยู่ 4 ป้าย เลข 5,000 อยู่ 4ป้าย ผู้สนับสนุนหลัก 4 ป้าย ถ้าใครสะสมเงินรางวัลได้มากที่สุดคนนั้นเข้ารอบ ส่วนผู้แพ้จะไดรับเงินรางวัลปลอบใจ 20,000 บาท โดยเกมนี้ใช้ตั้งแต่ปี 2543",
"title": "07 โชว์"
},
{
"docid": "109846#1",
"text": "อกตัญญู คือเนรคุณ ทรยศ หักหลัง ไม่ซื่อสัตย์ ผู้ระลึกไม่ได้ว่าใครเคยทำดีเคยช่วยเหลือเกื้อกูลตนมา ผู้ลืมบุญคุณของคนอื่นที่ทำแก่ตนมา ผู้ไม่ยอมรับบุญคุณของใครทั้งนั้น เรียกว่า คนอกตัญญู มีลักษณะตรงข้ามกับคนกตัญญู",
"title": "อกตัญญู"
}
] |
222 | ศรีลังกาปกครองระบอบใด ? | [
{
"docid": "1252#0",
"text": "ศรีลังกา (Sinhala: ශ්රී ලංකා; Tamil: இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (Sinhala: ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; Tamil: இலங்கை ஜனநாயக சோசலிச குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้",
"title": "ประเทศศรีลังกา"
}
] | [
{
"docid": "17648#22",
"text": "การเรียกร้องให้มีการปกครองแบบรัฐสภา ทำให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง “พระบรมราชาธิบายว่าด้วยความสามัคคีแก้ความในคาถาที่มีโนอามแผ่นดิน” ด้วยมีพระราชประสงค์ที่จะอธิบายแนวความคิดอันเป็นพื้นฐานของพระราโชบายของพระองค์เกี่ยวกับการปรับปรุงการปกครองบ้านเมือง ทั้งเป็นการชี้แจงด้วยว่าเหตุใดพระองค์จึงยังไม่ทรงจัดการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของไทยให้เป็นไปตามแบบฉบับของประเทศในยุโรปโดยทันทีเช่น",
"title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม"
},
{
"docid": "23861#0",
"text": "สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (English: absolute monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมาย[1] กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด",
"title": "สมบูรณาญาสิทธิราชย์"
},
{
"docid": "10495#8",
"text": "ประเทศที่ใช้ระบอบระบอบกึ่งประธานาธิบดีได้แก่ ฝรั่งเศส รัสเซีย อียิปต์ มองโกเลีย ศรีลังกา โรมาเนีย ยูเครน โปรตุเกส แอลจีเรีย เป็นต้น\nระบอบประธานาธิบดีคือระบอบที่ตั้งให้ประมุขแห่งรัฐมีอำนาจสูงสุดอย่างเต็มที่ คณะรัฐบาลอยู่ใต้อำนาจของประมุขแห่งรัฐ เช่น สหรัฐ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะรัฐบาล ในรัฐธรรมนูญของบางประเทศอาจให้มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบคู่ไปกับประธานาธิบดีได้ แต่ส่วนมากนายกรัฐมนตรีในระบอบประธานาธิบดีจะไม่มีอำนาจเท่ากับในระบอบรัฐสภา",
"title": "ประมุขแห่งรัฐ"
},
{
"docid": "17648#24",
"text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พ.ศ. 2453 นั้นกลุ่มปัญญาชนต่างก็มุ่งหวังว่า พระองค์จะทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และคงได้ทรงเตรียมพระองค์ดังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสไว้ แต่ปรากฏว่ายังไม่มีพระราชดำริในเรื่องรัฐสภาและรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด ในเวลาเดียวกันประเทศจีนมีการปฏิวัติล้มล้างราชวงศ์แมนจู เปลี่ยนการปกครองประเทศเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐเป็นผลสำเร็จ ทำให้ความคิดอยากจะได้ประชาธิปไตยมีมากขึ้น ประกอบกับความไม่พอใจในพระราชจริยาวัตรบางประการของพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ จึงทำให้เกิดปฏิกิริยาที่จะล้มล้างระบอบการปกครอง",
"title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม"
},
{
"docid": "634923#9",
"text": "มาตรา 5 ว่า เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทำการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตราบที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้",
"title": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557"
},
{
"docid": "1252#4",
"text": "อิทธิพลของตะวันตกเริ่มเข้ามามีบทบาทในศรีลังกา เริ่มจากโปรตุเกส ดัตช์ และอังกฤษ ตามลำดับ โดยมาทำการค้าตามเมืองท่าด้านตะวันตกของประเทศ และในปี พ.ศ. 2048 (ค.ศ. 1505) โปรตุเกสได้เข้ายึดครองพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและปกครองประเทศก่อนที่ชาวดัตช์จะเข้าครอบครองดินแดนศรีลังกาในปี พ.ศ. 2201 (ค.ศ. 1658) และต่อมาอังกฤษสามารถครอบครองศรีลังกาเป็นเมืองขึ้นในปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) ภายใต้อนุสัญญา Kandyan รวมเวลาที่ศรีลังกาตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติเกือบ 500 ปี และอังกฤษได้ใช้ศรีลังกาเป็นฐานปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญแห่งหนึ่งในมหาสมุทรอินเดียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศรีลังกาได้รับเอกราชจากอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)",
"title": "ประเทศศรีลังกา"
},
{
"docid": "137345#1",
"text": "ระบอบกึ่งประธานาธิบดีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ ประเทศฝรั่งเศส ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 โดยมีชาร์ลส์ เดอ โกลล์ เป็นประธานาธิบดี ทั้งนี้เพราะไม่ว่าผู้ใดจะมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ก็ทำให้เกิดความวุ่นวาย มีข้อขัดแย้งมากและต้องยุบสภาบ่อย รัฐบาลหรือรัฐสภาต้องออกจากตำแหน่งและมีการเลือกตั้งใหม่อยู่บ่อยครั้ง ทำให้เสียงบประมาณ ดังนั้นนักรัฐศาสตร์และนักนิติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสจึงได้พัฒนารูปแบบการปกครองโดยผสมผสานกันระหว่างระบอบรัฐสภาและระบอบประธานาธิบดี ทั้งนี้ได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส พ.ศ. 2493 และมีการแก้ไขในปี พ.ศ. 2505 อีกด้วย",
"title": "ระบบกึ่งประธานาธิบดี"
},
{
"docid": "893407#0",
"text": "ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ หรือ \"ซีลอน\" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประมุข. ดินแดนอาณานิคมซีลอนที่มีสถานะเป็นอาณาจักรในเครือจักรภพ เมื่อ ค.ศ. 1948 ในปี ค.ศ. 1972 ภายหลังจากที่สิ้นสุดการปกครองของสหราชอาณาจักร. เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นสาธารณรัฐในเครือจักรภพส่งผลให้ข้าหลวงต่างพระองค์แห่งซีลอนคนสุดท้าย William Gopallawa ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดี โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ศรีลังกา. เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย .",
"title": "ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ"
},
{
"docid": "858386#16",
"text": "หลังจากที่ญี่ปุ่นพ่ายแพ้และอังกฤษกลับมาฟื้นฟูระบอบอาณานิคมในพม่า แต่ระบบการปกครองในพม่าถูกทำลาย มีเพียงเจ้าที่ดินในท้องถิ่นมีอำนาจและมีกลุ่มติดอาวุธจำนวนมาก กองทัพเอกราชพม่าของอองซานอยู่ในฐานะกลุ่มที่เข้มแข็งที่สุด ในสภาพดังกล่าว ลอร์ดเมาท์แบตเทิร์นได้เสนอให้สร้างกองทัพขึ้นมาสองกลุ่มคือกองทัพของชาวพม่า และของกลุ่มที่ไม่ใช่ชาวพม่า และควบคุมโดยเจ้าหน้าที่ชาวอังกฤษ กองทัพดังกล่าวนั้นตั้งขึ้นเมื่อกลางปี พ.ศ. 2488 ประกอบด้วยกองพลทหารพม่า 4 กอง ทหารกะเหรี่ยง 2 กอง ทหารกะฉิ่น 2 กอง และทหารฉิ่น 2 กอง ความต้องการของอองซานที่ต้องการให้คงหน่วยทหารของเขาร่วมกับกองทัพใหม่ได้รับการยืนยันในการประชุมแคนดีเมื่อ 6-7 กันยายน พ.ศ. 2488 ที่ศรีลังกา",
"title": "ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง"
},
{
"docid": "170674#12",
"text": "จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 มีบุคคลบางกลุ่มได้จัดให้มีการชุมนุมเรียกร้องการฟื้นฟูสถาปนา พระราชวงศ์ออสเตรีย-ฮังการีขึ้น ณ กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี เมื่อเวลา 9 นาฬิกา ต่อมาเวลา 18 นาฬิกาที่กรุงเวียนนา ก็มีการชุมนุมเรียกร้องให้มีการฟื้นฟูสถาปนาพระราชวงศ์ให้กลับมาครองบัลลังก์ และยังเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในออสเตรีย และฮังการีอีกด้วย การชุมนุมนี้มีขึ้น ณ ใจกลางกรุงเวียนนา โดยมีหัวข้อชุมนุมเรียกร้องเป็นภาษาเยอรมันว่า 89 Jahre Republik Sind Genug! แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า \"89 Years are enough for the Republic\" (แปล: \"89 ปี...มากพอแล้วสำหรับการเป็นสาธารณรัฐ\") การชุมนุมของบุคคลบางกลุ่มในทั้ง 2 ประเทศนี้ ทำให้มีการประชุมอย่างเร่งด่วนในรัฐสภาทั้งในออสเตรียและฮังการี และประธานาธิบดีของทั้ง 2 ประเทศต่างได้หารือกันอีกด้วย อย่างไรก็ดี ไม่ปรากฏว่าการชุมนุมดังกล่าวส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะเดิมที่เป็นรูปธรรมใดๆ ทั้งสิ้น หลังจากเวลาผ่านไปกว่า 3 ปีเศษภายหลังการชุมนุมดังกล่าว ทั้งสาธารณรัฐออสเตรียและฮังการีต่างยังคงยึดมั่นในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและสาธารณรัฐไว้ได้อย่างมั่นคง และไม่มีทีท่าว่าประเทศทั้งสองซึ่งต่างก็เป็นรัฐอธิปไตยโดยสมบูรณ์แล้ว จะหวนกลับมารวมกันเป็นประเทศเดียวกันอีกได้แต่ประการใด แม้จนกระทั่งเมื่อออทโท ฟอน ฮับสบวร์ค สิ้นพระชนม์ไปแล้วในปี พ.ศ. 2554 ก็ยังไม่มีสัญญาณที่ชัดเจนว่า ทั้งออสเตรียและฮังการีจะสามารถหวนกลับไปสู่การปกครองระบอบราชาธิปไตยได้อีกเลย",
"title": "ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค"
},
{
"docid": "1252#8",
"text": "ศรีลังกาเป็นประเทศที่ประกอบด้วยประชากรหลายเชื้อชาติ ศาสนา แต่การเมืองภายในมีพรรคการเมืองที่สำคัญเพียง 2 พรรคของชนชาติสิงหล คือ SLFP (Sri Lanka Freedom Party) และพรรค UNP (United National Party) ที่แข่งขันช่วงชิงอำนาจทางการเมือง พรรคการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเป็นพรรคของชนเชื้อสายทมิฬและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ เป็นพรรคย่อยและมีความสำคัญน้อย นับแต่ศรีลังกาได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2491 (ค.ศ. 1948) จนถึงปัจจุบันพรรค SLFP และพรรค UNP ผลัดกันเป็นรัฐบาลมาโดยตลอด โดยทั้งสองพรรคดังกล่าวนิยมระบอบประชาธิปไตยเหมือนกัน แต่ต่างกันที่นโยบายเศรษฐกิจของพรรค SLFP มีลักษณะเป็นสังคมนิยม ในขณะที่พรรค UNP มีนโยบายเศรษฐกิจเสรี",
"title": "ประเทศศรีลังกา"
},
{
"docid": "345856#2",
"text": "สำหรับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยนั้น สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ซึ่งตรงกับวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง และเป็นวันชาติในขณะนั้น โดยความประสงค์ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งการปกครองในยุคนั้นได้รับการวิพากษ์วิจารณ์กันในระยะต่อมาว่ามิได้เป็นวิธีการในระบอบประชาธิปไตยแต่อย่างใด",
"title": "วันรัฐธรรมนูญ"
},
{
"docid": "137346#6",
"text": "เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 มีบุคคลบางกลุ่มได้จัดให้มีการชุมนุมเรียกร้องการฟื้นฟูสถาปนา พระราชวงศ์ออสเตรีย-ฮังการี ขึ้น ณ กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี เมื่อเวลา 9 นาฬิกา ต่อมาเวลา 18 นาฬิกาที่กรุงเวียนนา ก็มีการชุมนุมเรียกร้องให้มีการฟื้นฟูสถาปนาพระราชวงศ์ให้กลับมาครองบัลลังก์ และยังเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในออสเตรีย และฮังการีอีกด้วย การชุมนุมนี้มีขึ้น ณ ใจกลางกรุงเวียนนา โดยมีหัวข้อชุมนุมเรียกร้องเป็นภาษาเยอรมันว่า 89 Jahre Republik Sind Genug! แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า 89 Years are enough for the Republic: 89 ปี...มากพอแล้วสำหรับการเป็นสาธารณรัฐ การชุมนุมของบุคคลบางกลุ่มในทั้ง 2 ประเทศนี้ ทำให้มีการประชุมอย่างเร่งด่วนในรัฐสภาทั้งในออสเตรียและฮังการี และประธานาธิบดีของทั้ง 2 ประเทศต่างได้หารือกันอีกด้วย อย่างไรก็ดี ไม่ปรากฏว่าการชุมนุมดังกล่าวส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะเดิมที่เป็นรูปธรรมใดๆ ทั้งสิ้น หลังจากเวลาผ่านไปกว่า 3 ปีเศษภายหลังการชุมนุมดังกล่าว ทั้งสาธารณรัฐออสเตรียและฮังการีต่างยังคงยึดมั่นในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและสาธารณรัฐไว้ได้อย่างมั่นคง และไม่มีทีท่าว่าประเทศทั้งสองซึ่งต่างก็เป็นรัฐอธิปไตยโดยสมบูรณ์แล้ว จะหวนกลับมารวมกันเป็นประเทศเดียวกันอีกได้แต่ประการใด แม้จนกระทั่งเมื่อออทโท ฟอน ฮับสบูร์ก สิ้นพระชนม์ไปแล้วในปี พ.ศ. 2554 ก็ยังไม่มีสัญญาณที่ชัดเจนว่า ทั้งออสเตรียและฮังการีจะสามารถหวนกลับไปสู่การปกครองระบอบราชาธิปไตยได้อีกเลย",
"title": "ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก"
},
{
"docid": "619#11",
"text": "อีกหนึ่งคำนิยามการเมืองที่ถือได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของการเมืองกับบุคคลในสังคมได้แก่ ณรงค์ สินสวัสดิ์ (2539, 3) ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การรักษาไว้และการใช้อำนาจทางการเมือง โดยที่อำนาจทางการเมืองหมายถึง อำนาจในการที่จะวางนโยบายในการบริหารประเทศหรือสังคม อำนาจที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ อำนาจที่จะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ (Power Approach) ดังที่ได้ยกตัวอย่างไปนี้ เป็นแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ได้รับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ที่เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องหรือมีบริบทเกี่ยวกับการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน ก็มักให้คำนิยามของการเมืองว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อำนาจของรัฐาธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อำนาจซึ่งก็คือประชาชนนั่นเอง โดยคำนิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (development program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่อย่างน้อยก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นความรู้หนึ่งที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยสมควรสั่งสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพื่อประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย",
"title": "การเมือง"
},
{
"docid": "236023#1",
"text": "สำหรับที่มานั้น วลีที่ว่า \"ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข\" เพิ่งจะมีขึ้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 โดยบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ความว่า \"ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข\" ทั้งนี้ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวร่างขึ้นภายใต้อิทธิพลของพลังอนุรักษนิยม ซึ่งขณะนั้นมีพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแทนทางการเมืองที่สำคัญ แต่การปรากฏขึ้นครั้งแรกนี้ ยังไม่ได้ยืนยันความเป็นชื่อเฉพาะของระบอบการปกครองแต่อย่างใด หากแต่การปรากฏขึ้นซ้ำในภายหลัง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 และ พ.ศ. 2519 เป็นสองฉบับแรกที่ยืนยันความชอบธรรมของ \"ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข\"สมศักดิ์ได้ให้ความเห็นไว้อีกว่า หน้าที่ (function) ของการยืนยันในสองฉบับมีความต่างกัน โดยฉบับ พ.ศ. 2511 เพื่อต่อต้านการเมืองและพรรคการเมืองสมัยใหม่ที่เพิ่งปรากฏตัวขึ้น และฉบับ พ.ศ. 2519 เพื่อต่อต้านฝ่ายซ้าย",
"title": "ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข"
},
{
"docid": "598118#1",
"text": "ความชอบธรรมทางการเมืองถือเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในการปกครอง ถ้าไร้ซึ่งความชอบธรรมแล้ว รัฐบาลจะ \"เข้าตาจนในการบัญญัติกฎหมาย\" (legislative deadlock) และอาจล่มสลายได้ในที่สุด แต่ในระบบการเมืองซึ่งมิได้ให้ความสำคัญแก่ความชอบธรรมนั้น ระบอบการปกครองที่มิใช่ของประชาชนสามารถดำรงอยู่ได้เพราะได้รับการอุ้มชูจากอภิชนกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีอิทธิพลมาก ในปรัชญารัฐศาสตร์จีน นับแต่สมัยราชวงศ์โจวเป็นต้นมา รัฐบาลและผู้ปกครองจะมีความชอบธรรมต่อเมื่อได้รับอาณัติแห่งสวรรค์ (Mandate of Heaven) เมื่อใดที่ผู้ปกครองขาดอาณัติแห่งสวรรค์ เมื่อนั้นก็จะขาดความชอบธรรมและสิทธิที่จะปกบ้านครองเมือง",
"title": "ความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)"
},
{
"docid": "96299#22",
"text": "กรณีที่อัยการสูงสุดยื่นคำร้องขอให้ยุบพรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า โดยกล่าวหาว่ากระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 มาตรา 66 (2) และ (3) คณะตุลาการรัฐธรรมนูญพิจารณาพยานหลักฐานที่ปรากฏตามทางไต่สวนแล้ววินิจฉัยว่าสำหรับการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของกรรมการบริหารพรรคมีกำหนดห้าปี ตั้งแต่วันมีคำสั่งยุบพรรคตามประกาศ คปค. ฉบับที่ 27 ข้อ 3 นั้น เห็นว่าการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมิใช่โทษทางอาญา เป็นเพียงมาตรการทางกฎหมายที่เกิดจากผลของกฎหมายที่ให้อำนาจในการยุบพรรคการเมืองที่กระทำการต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง มิให้ผู้บริหารพรรคการเมืองที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีโอกาสที่จะกระทำการอันเป็นการก่อให้เกิดความเสียหายซ้ำอีกในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และแม้สิทธิเลือกตั้งเป็นสิทธิพื้นฐานของประชาชน แต่การมีกฎหมายกำหนดว่าบุคคลใดสมควรมีสิทธิเลือกตั้ง เพื่อให้เหมาะสมแก่สภาพแห่งสังคม หรือเพื่อให้การปกครองระบอบประชาธิปไตยในสังคมนั้นดำรงอยู่ย่อมมีได้ ประกาศ คปค. จึงมีผลบังคับย้อนหลังกับการกระทำอันเป็นเหตุยุบพรรคในคดีนี้ได้",
"title": "คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549"
},
{
"docid": "93955#0",
"text": "ราชวงศ์ () คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกัน มักปรากฎอยู่ในบริบทของระบบศักดินาและระบอบราชาธิปไตย แต่ในบางโอกาสก็ปรากฎอยู่ในระบอบสาธารณรัฐที่มีการเลือกตั้งด้วยเช่นกัน ซึ่งตระกูลของผู้ปกครองที่สืบเชื้อสายติดต่อกันมาอาจเรียกว่า \"พระราชวงศ์\" และมีบรรดาศักดิ์เป็นราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์ เจ้าชาย ขุนนางศักดินา หรืออื่น ๆ ขึ้นอยู่กับว่าผู้นำหรือสมาชิกของตระกูลเกิดมาด้วยฐานันดรเช่นใด นักประวัติศาสตร์หลายคนยังพิจารณาประวัติศาสตร์ของรัฐอธิปไตยแห่ง เช่น อียิปต์โบราณ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง หรือจักรวรรดิจีน ภายใต้กรอบแนวคิดของลำดับราชวงศ์ผู้ปกครอง ดังนั้นบริบทของ \"ราชวงศ์\" จึงสามารถใช้อ้างถึงยุคสมัยที่แต่ละตระกูลปกครอง ทั้งยังเป็นบริบทที่ใช้อธิบายเหตุการณ์ แนวโน้ม และศิลปวัตถุของแต่ละยุคสมัยนั้น ๆ ได้ เช่น แจกันราชวงศ์หมิง ซึ่งบริบทของราชวงศ์มักจะถูกลดทอนลงจากการอ้างอิงคุณศัพท์ดังกล่าว",
"title": "ราชวงศ์"
},
{
"docid": "80405#3",
"text": "ระบอบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้\nในระบอบนี้ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจสมบูรณ์และทรงสืบทอดอำนาจผ่านทางราชวงศ์กลุ่มผู้ปกครองในระบอบนี้จะปกครองประเทศเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตน โดยผู้ปกครองสามารถเป็นบุคคลสามัญได้ \nประเทศเหล่านี้กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง และยังไม่สามารถถูกจำแนกอย่างชัดเจนได้",
"title": "รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง"
},
{
"docid": "153293#4",
"text": "ในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2490 และ 2500 ชาวมัลดีฟส์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเพลงชาติมากขึ้น ถึงปี พ.ศ. 2515 ก่อนหน้าการเสด็จพระราชดำเนินเยือนมัลดีฟส์ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเพียงเล็กน้อย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐมัลดีฟส์ได้แต่งตั้งให้บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา มาเอสโตรชาวศรีลังกา เป็นผู้ดำเนินการประพันธ์ทำนองเพลงชาติมัลดีฟส์ขึ้นใหม่อย่างเร่งด่วน โดยคงเนื้อร้องเดิมของจาเมเอล ดีดีไว้ แต่มีการแก้ไขเพิ่มเติมเล็กน้อย โดยเน้นว่าประเทศนี้เป็นสาธารณรัฐ เนื่องจากมัลดีฟส์ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยยกเลิกระบอบกษัตริย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2511 แล้ว เนื้อร้องและทำนองดังกล่าวนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติมัลดีฟส์สืบมาจนถึงปัจจุบัน โดยไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมแต่อย่างใดอีก",
"title": "เพลงชาติมัลดีฟส์"
},
{
"docid": "17648#29",
"text": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความต้องการของกลุ่มปัญญาชนทั้งข้าราชการและประชาชนที่ต้องการปกครองในแนวประชาธิปไตย พระราชดำริของพระองค์เกี่ยวกับประชาธิปไตยได้ปรากฏในจดหมายเหตุรายวัน\nว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีข้อดีในการที่อำนาจการปกครองประเทศไม่ตกอยู่กับบุคคลคนเดียว แต่ถ้าจะนำมาใช้ก็มีข้อจำกัด คือประชาชนไม่มีความรู้พอที่จะปกครองตนเองได้ ถ้าให้อำนาจในการตัดสินใจแทนผู้ปกครองแประเทศก็อาจจะเกิดผลร้ายต่อชาติ นอกจากนี้ในการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรก็ไม่แน่เสมอไปว่า จะได้คนดีมีความรู้ความสามารถ เนื่องจากประชาชนไม่มีเวลามากพอที่จะพิจารณาอย่างถี่ถ้วน นอกจากนั้นพระองค์ยังมีพระราชวิจารณ์เกี่ยวกับระบบพรรคการเมืองว่า พรรคการเมืองใดทุนมากก็อาจจะล่อใจให้ประชาชนเลือกพรรคของตน อำนาจจึงตกเป็นของคนกลุ่มน้อย แทนที่จะอยู่ในมือของประชาชน และการที่พรรคการเมืองผลัดกันเข้ามาบริหารประเทศ ทำให้การดำเนินนโยบายต่าง ๆ ไม่ติดต่อกัน การงานล่าช้า และชะงักงัน",
"title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม"
},
{
"docid": "235135#3",
"text": "โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น",
"title": "ระบอบเก่า"
},
{
"docid": "17648#26",
"text": "สาเหตุของการคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นเพียงขบวนเล็กน้อย คือในปลาย พ.ศ. 2452 ได้มีการโบยหลังนายทหารสัญญาบัตรกลางสนามหญ้า ภายในกระทรวงกลาโหมท่ามกลางวงล้อมของนายทหารกองทัพบก ด้วยการบัญชาการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทั้งนี้เพราะนายร้อยเอกโสม ได้ตามไปตีมหาดเล็กของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ที่มาทะเลาะวิวาทกับทหารบกที่หน้ากรมทหาร การโบยหลังนายร้อยเอกโสม ทำให้เกิดปฏิกิริยาเกิดขึ้นในหมู่ทหารบก และโดยเฉพาะนักเรียนนายร้อยทหารบก ครั้นต่อมา ใน พ.ศ. 2453 – 2454 นายทหารรุ่นที่จบจากโรงเรียนนายทหารบกในปลาย ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452) ได้เข้ารับราชการประจำกรมกองต่าง ๆ ทั่วพระราชอาณาจักรแล้ว มีหลายคนที่เกิดความรู้สึกสะเทือนใจอย่างแรงกล้าจากการตั้ง \"กองเสือป่า\" คิดว่าพระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงสนับสนุนกิจการทหารบก และคิดต่อไปว่าการที่ประเทศไทยไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควรเพราะเป็นการปกครองด้วยคนคนเดียว นายทหารบกกลุ่มนี้คิดเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเริ่มการปฏิรูปประเทศพร้อม ๆ กัน แต่เหตุใดประเทศญี่ปุ่นจึงเจริญเกินหน้าประเทศไทยไปไกล คำตอบที่นายทหารบกกลุ่ม ร.ศ. 130 คิดได้คือประเทศญี่ปุ่นได้เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยใต้กฎหมาย ทั้งยังปลูกฝังให้พลเมืองรู้จักรักชาติ รักวัฒนธรรม รัฐบาลรู้จักประหยัดการใช้จ่ายในไม่ช้าก็มีการค้าไปทั่วโลก มีผลิตผลจากโรงงานอุตสาหกรรมของตนเอง มีการคมนาคมทั้งทางน้ำและทางบกภายในประเทศและนอกประเทศ และแผ่อิทธิพลทางการเมือง การทหาร การสังคมและวัฒนธรรมไปทั่วโลกได้อีกด้วย แต่ประเทศไทยไม่สามารถจะหยิบยกภาวะอันใดที่เป็นความเจริญก้าวหน้ามาเทียบเคียงกับประเทศญี่ปุ่นได้เลย เมื่อคำนึงถึงความล้าหลังของประเทศ และคิดว่าไม่ควรที่อำนาจการปกครองประเทศชาติจะอยู่ในมือของคนคนเดียว จึงทำให้นายทหารบกคิดปฏิวัติ",
"title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม"
},
{
"docid": "17648#46",
"text": "ความกดดันจากหนังสือพิมพ์ ทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะให้เตรียมตัวประชาชนทั่วไปให้มีความรู้พอสมควรที่จะมีระบอบรัฐสภาได้อย่างมีประสิทธิภาพ พระราชดำริของพระองค์ คือให้มี “Municipal Council”(สภาเทศบาล) “Local Government” (การปกครองท้องถิ่น) เป็นการสอนให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเองตั้งแต่ระดับท้องถิ่น นับเป็นการเตรียมการในการปูพื้นฐานประชาธิปไตยระดับฐานราก เรื่องนี้ได้มีกรรมการร่างพระราชบัญญัติเทศบาลเสร็จในปี พ.ศ. 2473 แต่ก็มิได้มีผลในทางปฏิบัติแต่อย่างใด",
"title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม"
},
{
"docid": "345856#1",
"text": "สำหรับในประเทศไทย วันรัฐธรรมนูญตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันที่ระลึกถึงโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของประเทศไทย โดยผลของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกัน ลักษณะสำคัญคือ ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจาก พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง เป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริการราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาล ก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้ หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐ ซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้น ได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะของประชาชน ผู้ใดจะละเมิดมิได้",
"title": "วันรัฐธรรมนูญ"
},
{
"docid": "301212#0",
"text": "สุลต่าน หรือภาษาอาหรับเรียก สุลฏอน (English: Sultan, Arabic: سلطان Sulṭān) เป็นชื่อตำแหน่งในหมู่ชนอิสลาม ซึ่งมีความหมายในทางประวัติศาสตร์มากมาย รากคำมาจากภาษาอาหรับซึ่งมีความหมายว่า \"ความแข็งแกร่ง\" \"อำนาจ\" หรือ \"การปกครอง\" มาจากคำนามกริยาว่า سلطة sulṭah หมายถึง \"อำนาจ\" ต่อมาใช้เป็นชื่อตำแหน่งของผู้ปกครองประเทศมุสลิมซึ่งมีอำนาจปกครองอย่างเบ็ดเสร็จ (ไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังผู้ปกครองอื่นใดที่เหนือกว่า) บางครั้งก็ใช้เรียกผู้ปกครองแว่นแคว้นที่มีอำนาจภายในระบอบการปกครอง ต่อมายังพัฒนาความหมายไปอีกมากมายในหลายบริบท",
"title": "สุลต่าน"
},
{
"docid": "352129#1",
"text": "การอภิเษกสมรสของเจ้านายฝ่ายใน ในสมัยก่อนไม่เป็นที่นิยมมากนัก โดยหลายพระองค์มิได้อภิเษกสมรสตลอดพระชนม์ชีพ เพราะไม่อาจเลือกคู่ครองเองได้ และจะต้องอภิเษกสมรสกับผู้ที่มีฐานันดรศักดิ์สูงกว่า หรือเท่าเทียมกันเท่านั้น แต่ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย ซึ่งทำให้โครงสร้าง และระบบระเบียบด้านต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป โดยเจ้านายฝ่ายในมีสิทธิในการเลือกคู่ครองได้ โดยส่วนมากเป็นหม่อมเจ้าหญิง ได้กราบบังคมลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์ เพื่อสมรสกับสามัญชน ตามที่กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสมรสพระราชวงศ์ แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2475 มาตรา 4 กล่าวว่า \"\"เจ้าหญิงองค์ใด ถ้าจะทำการสมรสกับผู้อื่น ซึ่งมิใช่เจ้าในพระราชวงศ์ อันเป็นการไม่ต้องด้วยพระราชประเพณีนิยม ท่านว่าต้องกราบถวายบังคมลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เสียก่อน\"\"",
"title": "รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์"
},
{
"docid": "252113#0",
"text": "การก่อการการกำเริบโดยประชาชน () เป็นคำศัพท์ทางการเมืองที่หมายถึง การลุกขึ้นต่อต้านอำนาจผู้ปกครองหรือภาครัฐอันกระทำโดยประชาชนที่พร้อมใจกันในประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นการต่อต้านในประเด็นที่ต่างกันออกไป เช่น การต่อต้านการสืบทอดอำนาจ การต่อต้านระบอบอำนาจนิยมแบบเบ็ดเสร็จ หรือการต้องการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นต้น",
"title": "การก่อการกำเริบโดยประชาชน"
},
{
"docid": "49464#2",
"text": "รัฐธรรมนูญนิยม มีหลายความหมาย โดยส่วนใหญ่แล้วมักหมายถึงกลุ่มของแนวความคิด ทัศนคติ และรูปแบบพฤติกรรมที่สาธยายเกี่ยวกับหลักการที่การใช้อำนาจของรัฐมาจากกฎหมายสูงสุดและถูกจำกัดอำนาจด้วยกฎหมายสูงสุด \nรัฐธรรมนูญนิยม นิยาม รัฐธรรมนูญนิยม หรือ ระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutionalism) หมายถึง ความเชื่อทางปรัชญาความคิดที่นิยมหลักการปกครองรัฐด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ เป็นแนวความคิดที่มุ่งหมายจะใช้รัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร (written constitution) เป็นหลักในการกำหนดรูปแบบ กลไก และสถาบันทางการเมืองการปกครองต่างๆ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานของการบริหารงานภาครัฐในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุด (อมร จันทรสมบูรณ์, 2537: 9; Alexander, 1999: 16; Bellamy, 2007: 4-5; Sartori, 1962: 3) ที่มา แนวคิดนี้เริ่มก่อตัวขึ้นครั้งแรกในประเทศตะวันตก ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อต่อต้าน คัดค้านรูปแบบการเมืองการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolutism) ของประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปขณะนั้น จนมาปรากฏชัดเจนขึ้นหลังจากการประชุมเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1787 (McIlwain, 1977: 17) ซึ่งทำให้แนวคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษรนั้นปรากฏชัดเจนขึ้นเป็นครั้งแรก ดังนั้น แนวคิดเรื่องลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เมื่อเกิดขึ้นในขั้นต้น จึงไม่ได้มีความหมายกลางๆ แต่อย่างใด หากแต่มีความหมายที่โน้มเอียงไปในด้านการจำกัดอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในขณะนั้น และเน้นหนักในการพยายามสร้างสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของพลเมืองภายในรัฐ โดยเรียกร้องให้มีการนำสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” มาใช้เป็นหลักในการวางกรอบของประเด็นดังกล่าว จากลักษณะข้างต้นจึงทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในประเทศตะวันตกนั้นได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์เสรีประชาธิปไตยไปในที่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สำหรับประเทศตะวันตกแล้ว หากจะมีรัฐธรรมนูญก็ควรจะต้องเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยนั่นเอง (Bellamy, 2007: 93) ท่ามกลางกระแสเสรีประชาธิปไตยซึ่งยังคงเป็นกระแสหลักของประเทศส่วนใหญ่ในตะวันตก จึงได้ทำให้คำว่าลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในปัจจุบันกลับกลายเป็นสิ่งที่มีความหมายกลางๆ ที่มองรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือทางกฎหมายอย่างหนึ่ง ที่จะนำมาใช้วางโครงสร้างสถาบันทางการเมืองการปกครอง กำหนดแหล่งที่มาของอำนาจ การเข้าสู่อำนาจ และการใช้อำนาจของผู้ปกครองในทุกๆ ระบอบการปกครอง (McIlwain, 1977) โดยมิได้จำกัดอยู่แต่เพียงระบอบประชาธิปไตยอีกต่อไป ดังจะเห็นได้จากในปัจจุบันนี้รัฐสมัยใหม่ “ทุกรัฐ” ในโลกนี้ไม่ว่าจะเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยหรือไม่ ต่างก็ล้วนแล้วแต่ยึดรูปแบบการปกครองของระบอบรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) ทั้งสิ้น กล่าวคือ ทุกๆ รัฐต่างก็มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการจัดวางอำนาจและโครงสร้างทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (เสน่ห์, 2540: 17) โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) ประเทศที่สหประชาชาติให้การรับรองนั้นมีทั้งสิ้น 196 ประเทศ (แต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติเพียง 193 ประเทศ) ในขณะที่รัฐธรรมนูญที่เป็นทางการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในโลกนี้มีทั้งสิ้นกว่า 203 ฉบับ ทั้งนี้เพราะในรัฐโพ้นทะเลบางแห่งอย่างเช่น หมู่เกาะบริติช เวอร์จิน (British Virgin Islands or BVI) ของอังกฤษ หรือ เกาะกรีนแลนด์ของเดนมาร์กนั้นต่างก็เป็นรัฐที่มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองในฐานะเป็นดินแดนที่มีการปกครองตนเอง แม้ว่าอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน (absolute territorial sovereignty) นั้นจะเป็นของประเทศเจ้าเอกราชก็ตาม ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย ประเทศไทยเองก็รับเอาลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เข้ามาใช้อย่างเป็นทางการภายหลังจากการเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของคณะราษฎร แม้ว่าขบวนการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นจะสามารถสร้างระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นในประเทศไทยได้ แต่ผลจากการที่การเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดจากการต่อสู้กันเฉพาะภายในกลุ่มชนชั้นนำบางส่วนของไทย ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ถึงขนาดที่มีคนเข้าใจว่า “รัฐธรรมนูญ” เป็นชื่อของลูกชายนายทหารผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา (ปรีดี, 2543) ทั้งนี้ก็เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือต่อสู้บนพื้นฐานของความเข้าใจในสิทธิเสรีภาพและการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญ อันจะเป็นเครื่องมือในการสร้างความเสมอภาคเท่าเทียมและเป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยของปวงชน ดังเช่นที่ประชาชนชาติตะวันตกได้ต่อสู้ด้วยความยากลำเค็ญเพื่อก่อร่างสร้างระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศของพวกเขา ดังนั้น ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงสามารถก่อรูปได้ก็แต่เพียงหลักการในการจำกัดอำนาจผู้ปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทำให้แหล่งที่มาของอำนาจต้องอ้างอิงกับประชาชนเจ้าของอำนาจอธิปไตยได้ตามหลักการทุกประการ แต่จากการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการต่อสู้มากนักจึงทำให้พวกเขาไม่สามารถเชื่อมโยงจิตสำนึกให้เข้ากับรัฐธรรมนูญได้ แม้จะมีบทบัญญัติถึงหน้าที่ในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญไว้ในรัฐธรรมนูญก็ตาม จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนไม่ให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญ และทำให้รัฐธรรมนูญขาดความศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จึงกลายเป็นผลลัพธ์และการรอมชอมจากการต่อสู้ของกลุ่มชนชั้นนำทางการเมืองกลุ่มต่างๆ ของไทย ซึ่งสามารถถูกฉีกทิ้งและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาแทนในภายหลังได้อย่างง่ายดาย (เสน่ห์, 2540: 31-35) อย่างไรก็ดี หลังจากเหตุการณ์การเรียกร้องให้มีการใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 ของขบวนการนิสิตนักศึกษาไทย ได้แสดงให้เห็นถึงจุดเปลี่ยนครั้งยิ่งใหญ่ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ปรากฏการณ์นี้สะท้อนว่า คนส่วนหนึ่งของสังคมได้เริ่มตระหนักรู้และเข้าใจความสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยสูงสุดของปวงชน และเป็นเครื่องมือที่จะนำไปใช้จำกัดอำนาจของผู้ปกครองจากการใช้อำนาจอันมิชอบ (abuse of power) ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถมีเสรีภาพและความเสมอภาคเท่าเทียมที่ถูกรับรองไว้ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญได้อย่างถ้วนหน้า ซึ่งเป็นแก่นของระบอบรัฐธรรมนูญนั่นเอง (เสน่ห์, 2540: 316) จากเหตุการณ์ดังกล่าวนี้เองที่ทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาทในการเมืองไทย ในฐานะที่เป็นแนวคิดที่จะสร้างกลไกทางกฎหมายรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ จำกัดอำนาจผู้ปกครอง และสร้างเสรีภาพให้แก่พลเมืองให้มากที่สุด จึงทำให้แนวคิดนี้เติบโตออกไปจากเดิมมาก แม้ช่วงเวลาหลังจากการเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับยุคที่รัฐธรรมนูญมีลักษณะที่เป็นประชาธิปไตยเพียงครึ่งใบก็ตาม และด้วยกระแสลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมที่เติบโตขึ้นจึงทำให้ท้ายที่สุดในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยก็สามารถประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ได้ชื่อว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการยกร่าง และจัดทำรัฐธรรมนูญมากที่สุดฉบับหนึ่ง ซึ่งถึงแม้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะสามารถนำมาบังคับใช้ได้แค่เพียง 9 ปีก่อนจะเกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 แต่จะเห็นได้ว่าการฉีกรัฐธรรมนูญของคณะทหารในครั้งนี้แตกต่างจากครั้งก่อนๆ เพราะครั้งนี้ได้เกิดกระแสต่อต้านคณะรัฐประหารที่ทำลายรัฐธรรมนูญเป็นอย่างมาก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการที่ดีของประเทศไทยที่ประชาชนเริ่มผูกโยงความสำคัญของตัวรัฐธรรมนูญเข้ากับการมีอยู่ของสิทธิและเสรีภาพของตนที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากกว่าเพียงแค่ตัวอักษรที่จารึกไว้ในกระดาษ หากแต่เป็นเจตนารมณ์ของตัวรัฐธรรมนูญที่คอยปกป้องสิทธิ เสรีภาพของประชาชนอันเป็นปัจจัยพื้นฐานของรัฐธรรมนูญทุกรัฐธรรมนูญในระบอบรัฐธรรมนูญ (every constitutionalism’s constitution) นั้นพึงมี\nความหมายของรัฐธรรมนูญที่ได้รับการยอมรับของโลก เป็นความหมายที่ เดวิด เฟลล์แมน เมธีด้านรัฐศาสตร์และรัฐธรรมนูญแห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ได้อธิบายไว้ว่า",
"title": "รัฐธรรมนูญนิยม"
},
{
"docid": "23861#4",
"text": "ประเทศไทยเคยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีอำนาจสิทธิ์เด็ดขาดในการปกครองแผ่นดิน ดังคำกล่าวที่ว่า \"พระบรมราชานุภาพของพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยามนี้ ไม่ได้ปรากฏในกฎหมายอันหนึ่งอันใด ด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นที่ล้นพ้น ไม่มีข้อสั่งอันใดจะเป็นผู้บังคับขัดขวางได้\"[1]",
"title": "สมบูรณาญาสิทธิราชย์"
}
] |
1109 | “เมดีชี” ในภาษาอิตาลีหมายถึงอะไร? | [
{
"docid": "141948#4",
"text": "ที่มาของชื่อ “เมดีชี” ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนแต่คำว่า “เมดีชี” ในภาษาอิตาลีหมายถึง “หมอยา” สมาชิกตระกูลเมดีชีเริ่มมามีตำแหน่งสำคัญๆ เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในกิจการค้าขายขนแกะ โดยเฉพาะกับประเทศฝรั่งเศส และ ประเทศสเปน ถึงแม้ว่าจะเริ่มมีชื่อเสียงทางการปกครองในบางเมืองแต่ก็ยังไม่มีความสำคัญมากเท่าตระกูลใหญ่ๆ เช่นตระกูลอัลบิซซิ (Albizzi) หรือ ตระกูลสโตรซซิ (Strozzi) สมาชิกที่สำคัญคนหนึ่งที่น่าจะกล่าวถึงในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 ก็คือซาลเวสโตร เดอ เมดีชี (Salvestro de Medici) ผู้เป็นวาทกรของ สมาคมพ่อค้าขนแกะระหว่างการปฏิวัติชิออมปิ (Ciompi) จนถูกเนรเทศเมื่อปี ค.ศ. 1382 การที่ตระกูลเมดีชีเข้าไปมีส่วนในการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งเมื่อปีค.ศ. 1400 ทำให้ทั้งตระกูลถูกห้ามเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองและการปกครองของเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาราว 20 ปี ยกเว้นเมื่ออาเวราร์โด (Averardo (Bicci) de Medici) ก่อตั้งวงศ์เมดีชี (Medici dynasty)",
"title": "เมดีชี"
}
] | [
{
"docid": "545445#0",
"text": "ตีชีโน (, ; ) เป็นรัฐทางใต้สุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รัฐตีชีโนติดกับรัฐอูรีทางทิศเหนือ ติดกับรัฐวาเลทางทิศตะวันตก (ผ่านทางช่องเขาโนเวนา) ติดกับรัฐเกราบึนเดินทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับแคว้นปีเอมอนเตและแคว้นลอมบาร์เดียของอิตาลีทางทิศใต้ รัฐตั้งชื่อตามแม่น้ำตีชีโน เป็นรัฐเดียวของสวิตเซอร์แลนด์ที่ใช้ภาษาทางการเป็นภาษาอิตาลี",
"title": "รัฐตีชีโน"
},
{
"docid": "141948#23",
"text": "(โครงร่างของประวัติตระกูลเมดีชี) (สืบประวัติตระกูลเมดีชี) (สืบประวัติตระกูลเมดีชี) (in German) (กาลิเลโอและตระกูลเมดีชี) (ตระกูลเมดีชีและประวัติศาสตร์) (โครงการเก็บหลักฐานตระกูลเมดีชี)",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "145124#0",
"text": "แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis”[1] แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559",
"title": "แคทเธอรีน เดอ เมดีชี"
},
{
"docid": "141948#5",
"text": "จิโอวานนิ ดิ บิชชิ (Giovanni di Bicci de Medici) ผู้เป็นลูกชายของอาเวราร์โด สร้างความร่ำรวยให้แก่ครอบครัวเมดีชีเพิ่มขึ้นอีกโดยการก่อตั้ง “ธนาคารเมดีชี” และกลายเป็นผู้ที่ร่ำรวยที่สุดในฟลอเรนซ์ ถึงแม้ว่าจิโอวานนี ดิ บิชชิจะไม่มีตำแหน่งทางการเมืองแต่ก็ได้รับการสนับสนุนเมื่อจิโอวานนิเสนอวิธีเก็บภาษีแบบสัดส่วน (proportional taxing system) โคสิโม เดอ เมดีชี หรือที่รู้จักกันในนาม “โคสิโมผู้อาวุโส” ผู้เป็นลูกชายของจิโอวานนิดำเนินกิจการต่อมาเมื่อปี ค.ศ. 1434 ในฐานะ “gran maestro” หรือ “grand master” ในภาษาอังกฤษและได้รับตำแหน่งประมุขของรัฐฟลอเรนซ์อย่างไม่เป็นทางการ",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "141948#2",
"text": "ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system)",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "386886#5",
"text": "การใช้ชาลอมในคัมภีร์มักจะชี้ให้เห็นถึงการกระทำที่อยู่นอกเหนือจากสิ่งทั้งหมด ชาลอมถูกอ้างถึงเกี่ยวความรู้สึกดีของสิ่งอื่น (ปฐมกาล 43.27, อพยพ 4.18) การทำพันธสัญญา (1 พงศ์กษัตริย์ 5.12) และในบทสวดเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของบ้านเมืองหรือประชาชาติ (Psalm 122.6, Jeremiah 29.7) รากศัพท์ shalem ที่พบในเยรูซาเลมหมายถึงสันติภาพ และมีความหมายรวมถึงความจริงและการพิพากษา (สดุดี 85.10, อิสยาห์ 48.18, 22, 57.19-21) ความเป็นทั้งหมดของชาลอม ผ่านความหมายในด้านความจริงและการพิพากษา เป็นแรงบันดาลใจของคำเกี่ยวกับความหวังเกี่ยวกับพระเมสสิยาห์ และอ้างถึงเวลาแห่งสันติภาพในสมัยของพระองค์ (ฮักกาย 2.7-9, อิสยาห์ 2.2-4, 11.1-9)\nความหมายเกี่ยวกับความสมบูรณ์ของชาลอมได้รับการยืนยันในคำที่มีรากศัพท์อย่างเดียวกันในภาษากลุ่มเซมิติกอื่นๆ shelam ในภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดียนหมายถึงทั้งสันติภาพและการฟื้นคืน อนุพันธ์ของ shalom และ shalam ในภาษาอราเมอิก มีความหมายเกี่ยวกับสันติภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิภาพ salamu ในภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียหมายถึงสวัสดิภาพ ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดทั้งทางด้านแนวคิดและการกระทำของชาลอมพบในภาษาอาหรับ salaam ซึ่งหมายถึงความปลอดภัย และการให้อภัย และที่นอกเหนือจากนี้ Salaam ยังเป็นรากศัพท์ของคำว่ามุสลิมและอิสลามซึ่งแปลตรงตัวว่าผู้ยอมมอบตนแด่อัลลอหฺ และการมอบตนต่ออัลลอหฺตามลำดับ",
"title": "ชาลอม"
},
{
"docid": "146787#0",
"text": "ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ (; ) (1 มกราคม ค.ศ. 1449 – 9 เมษายน ค.ศ. 1492) เป็นรัฐบุรุษคนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญในทางการปกครอง นอกจากนั้นลอเรนโซ เดอ เมดิชิยังเป็นเป็นนักการทูต, ผู้อุปถัมภ์ผู้มีปัญญา, ศิลปิน, และกวี ลอเรนโซ เดอ เมดิชิมีชีวิตอยู่ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของสมัยเรอเนซองส์ หลังจากลอเรนโซ เดอ เมดิชิเสียชีวิตยุคทองของเรอเนซองส์ก็สิ้นสุดลง ความสัมพันธ์ที่เปราะบางระหว่างแคว้นต่างๆของอิตาลีที่ลอเรนโซพยายามยึดไว้ก็แตกหักลง เพียงสองปีหลังจากลอเรนโซเสียชีวิตฝรั่งเศสก็รุกรานอิตาลีระหว่างปี ค.ศ. 1494-1498 ซึ่งเป็นการเริ่มสมัยการยึดครองของคาบสมุทรอิตาลีโดยชาวต่างประเทศเป็นเวลาทั้งสิ้นเกือบ 400 ปี",
"title": "โลเรนโซ เด เมดีชี"
},
{
"docid": "141948#1",
"text": "ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "880377#0",
"text": "ซัลซา เป็นอาหารประเภทซอสชนิดหนึ่งในอาหารยุโรปและลาตินอเมริกา คำว่าซัลซาเองนั้นหมายถึงซอสในภาษาสเปน ภาษาอิตาลี ภาษากรีก และภาษาตุรกี () ส่วนในภาษาอังกฤษ ซัลซาหมายถึงซอสชนิดหนึ่งในอาหารเม็กซิโก () ซึ่งใช้เป็นเครื่องจิ้ม ลักษณะของซัลซาเป็นซอสที่ทำจากผักและผลไม้หั่นเป็นชิ้น เช้น มะเขือเทศ แตงกวา มะม่วง ใส่พริก หอมแดง ถั่ว ข้าวโพด และเครื่องเทศอื่น ๆ คลุกกับน้ำมันมะกอกและน้ำส้มสายชู กินกับอาหารทะเล รสชาติมีตั้งแต่ปานกลางจนถึงเผ็ด",
"title": "ซัลซา (ซอส)"
},
{
"docid": "141948#24",
"text": "หมวดหมู่:ชาวอิตาลี หมวดหมู่:นักการเมืองอิตาลี หมวดหมู่:ขุนนางอิตาลี",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "141948#18",
"text": "ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครในตระกูลเมดีชีที่เป็นนักวิทยาศาสตร์แต่ตระกูลเมดีชีมีชื่อเสียงในการเป็นผู้อุปถัมภ์นักดาราศาสตร์คนสำคัญคือ กาลิเลโอ กาลิเลอีผู้เป็นครูลูกหลานในตระกูลเมดีชีหลายคน แต่มาหยุดการสนับสนุนเอาในสมัยเฟอร์ดินานโดที่ 2 (Ferdinando II de Medici) เมื่อกาลิเลโอถูกกล่าวหาโดยศาลศาสนาโรมัน (Roman Inquisition) ว่าคำสอนของกาลิเลโอเป็นคำสอนนอกรีต แต่ตระกูลเมดีชีก็ปกป้องกาลิเลโออยู่หลายปีจนกาลิเลโอตั้งชื่อพระจันทร์สี่ดวงของดาวพฤหัสบดีตามชื่อของลูกหลานตระกูลเมดีชี",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "112013#3",
"text": "เมื่ออาร์มาดิลโลถูกคุกคามแล้วจะขดตัวเป็นวงกลมคล้ายลูกบอล โดยเก็บส่วนหน้าและขาทั้ง 4 ข้างไว้ เหมือนกับลิ่น โดยที่ชื่อ armadillo นั้นในภาษาสเปนออกเสียงว่า \"อาร์มาดีโย\" และมีความหมายว่า \"ตัวหุ้มเกราะน้อย\" ขณะที่ชาวแอซเท็ก จะเรียกว่า \"azotochtli\" หมายถึง \"กระต่ายเต่า\" แต่ชื่อในภาษาถิ่นของชาวลาตินอเมริกาในปัจจุบันจะเรียกว่า \"ปีชี\" (Pichi)",
"title": "อาร์มาดิลโล"
},
{
"docid": "141948#11",
"text": "ตระกูลเมดีชีมีอำนาจมากที่สุดในอิตาลีในสมัยนั้นจากการที่มีสมาชิกในตระกูลได้เป็นพระสันตะปาปาสององค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 -- สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 และ สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 -- ซึ่งทำให้เมดีชีกลายเป็นผู้ปกครองโรม และ ฟลอเรนซ์โดยปริยาย พระสันตะปาปาทั้งสององค์เป็นผู้มีบทบาทในการอุปถัมภ์ศิลปะ ตระกูลเมดีชีอีกคนหนึ่งที่ได้เป็นพระสันตะปาคืออเลสซานโดร อ็อตาวิอาโน (Alessandro Ottaviano de' Medici) ผู้ต่อมาเป็น สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "5920#58",
"text": "ขีดความสามารถของมนุษย์ในการแลกเปลี่ยนข้อสนเทศและความคิดผ่านการพูดและการเขียนไม่พบเหมือนในสปีชีส์อื่น ภาษามนุษย์นั้นเปิด คือ นำเสียงและคำจำนวนจำกัดมารวมกันสามารถสร้างเป็นความหมายได้ไม่สิ้นสุด ไม่เหมือนกับรับบสัญลักษณ์ปิดของไพรเมตอื่นซึ่งมีเสียงเป็นได้อย่างเดียวและคู่กับความหมายหนึ่ง ๆ เท่านั้น ภาษามนุษย์ยังมีความสามารถในการแทนที่ คือ การใช้คำเพื่อแทนสิ่งของและปรากฏการณ์ที่มิได้เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือในท้องถิ่น แต่มีอยู่ในจินตนาการร่วมของคู่สนทนา[62] การแทนที่เบื้องต้นอาจพบในสปีชีส์อื่นด้วย แต่ในมนุษย์จะพบซับซ้อนเป็นพิเศษ ทำให้สัญลักษณ์และภาษาสามารถหมายถึงสภาพนามธรรมหรือแม้แต่จินตภาพล้วน ๆ ได้ และสนับสนุนวัฒนธรรมเชิงสัญลักษณ์ซับซ้อนของมนุษย์ ภาษามนุษย์ยังมีเอกลักษณ์เป็นระบบสัญลักษณ์ที่ไม่ขึ้นกับวิธี คือ ความหมายเดียวกันสามารถถ่ายทอดได้ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น ด้วยการฟังในคำพูด ด้วยการมองเห็นโดยสัญลักษณ์ท่าทาง หรือแม้แต่สื่อกายสัมผัสอย่างอักษรเบรลล์ ความสามารถทางภาษาเป็นลักษณนิยามแห่งมนุษยชาติ และเป็นวัฒนธรรมสากล ภาษาเป็นจุดรวมการสื่อสารระหว่างมนุษย์ และสำนึกแห่งอัตลักษณ์ซึ่งรวมชาติ วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์เป็นหนึ่ง การคิดค้นระบบภาษาเมื่ออย่างน้อยห้าพันปีก่อนทำให้ภาษาสามารถเก็บรักษาเป็นรูปธรรม และเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีครั้งใหญ่ ภาษาศาสตร์อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของภาษาและความสัมพันธ์ระหว่างภาษา ปัจจุบันมีประมาณหกพันภาษาใช้กันอยู่ รวมทั้งภาษามือ และภาษาสูญพันธุ์อีกหลายพัน[110]",
"title": "มนุษย์"
},
{
"docid": "876379#1",
"text": "รัฐส่วนใหญ่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาทางการ แต่ก็จะมีบางรัฐในภูมิภาครอม็องดีซึ่งประชากรส่วนมากใช้ภาษาฝรั่งเศส และในรัฐตีชีโนประชากรส่วนมากใช้ภาษาอิตาลี",
"title": "รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์"
},
{
"docid": "141948#9",
"text": "เปียโร ดิ โคสิโม เดอ เมดีชี (Piero di Cosimo de Medici) (ค.ศ. 1416-ค.ศ. 1469) ผู้เป็นลูกชายของโคสิโมที่ 1 มีอำนาจอยู่เพียง 5 ปี (ค.ศ. 1464-ค.ศ. 1469) จนลอเรนโซ เดอ เมดีชี ผู้เป็นหลานปู่ที่จักกันในนาม “Lorenzo the Magnificent”--ลอเร็นโซผู้ปรีชา (ค.ศ. 1449-ค.ศ. 1492) มาดำเนินกิจการและการปกครองอย่างมีความสามารถต่อ แต่ความจริงแล้วตำแหน่ง “the Magnificent” เป็นตำแหน่งท้ายชื่อที่ใช้กันบ่อยและมิได้มีความหมายสมกับความหมายของคำ",
"title": "เมดีชี"
},
{
"docid": "216317#2",
"text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 วังปิตตีใช้เป็นที่บัญชาการของจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศส และต่อมาก็ใช้เป็นวังหลวงของอาณาจักรอิตาลีแต่ก็เพียงระยะเวลาอันสั้น วังและข้าวของภายในวังได้รับการอุทิศให้เป็นสมบัติของประชาชนอิตาลีโดยพระเจ้าวิกเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 ในปี ค.ศ. 1919 ปัจจุบันเปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ และเป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง มีงานสะสมต่าง ๆ นอกเหนือจากงานสะสมที่มาจากตระกูลเมดีชี",
"title": "วังปิตตี"
},
{
"docid": "83606#3",
"text": "ชีสมีรากศัพท์มาจากคำภาษาละตินว่า caseus รากศัพท์ caseus ในภาษาละตินนี้เป็นรากศัพท์ของคำว่าเนยแข็งในภาษาอื่นๆอีกมากมาย เช่น queso ใน ภาษาสเปน queijo ในภาษาโปรตุเกส keju ในภาษามลายู cacio ในภาษาอิตาลี เป็นต้น caseus มีความเกี่ยวข้องและใกล้เคียงกับคำว่า casein ในปัจจุบัน ศัพท์คำนี้มีความหมายถึง ก้อนโปรตีนที่ได้จากน้ำนมวัวซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเนยแข็ง\nเนยแข็ง หรือ ชีส (Cheese) เป็นสิ่งที่คนไทยมักจะเรียกว่า เนย ด้วยความเข้าใจผิด เพราะเห็นว่ามีลักษณะคล้ายคลึงกัน เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากนมเหมือนกัน ดังนั้นจึงคิดเข้าใจว่าเป็นอาหารประเภทเดียวกัน ในความเป็นจริงแล้วเนยแข็งไม่ถือว่าเป็นเนย เพราะเนยแข็งเป็นการนำเอาส่วนโปรตีนของนมมาใช้แปรรูป ต่างจากเนยที่นำเอาส่วนของไขมันมาใช้ ดังนั้นในทางโภชนาการเนยและเนยแข็งจึงจัดว่าเป็นอาหารคนละประเภทกัน \nเนื่องจากในนมมีโปรตีนคุณภาพดีอยู่ในจำนวนมาก ดังนั้นวิธีการแยกเอาโปรตีนออกมาจากนม จึงทำโดยการเติมเอนไซม์เอนไซม์เรนนิน หรือ เรนเนต ที่สกัดได้มาจากกระเพาะสัตว์ และ ไคโมซิน เอนไซม์ที่สกัดได้มาจากแบคทีเรีย เมื่อใส่เอนไซม์เหล่านี้ลงไปในน้ำนมแล้วเอนไซม์จะทำหน้าที่ย่อยโปรตีน ส่งผลให้โปรตีนที่แขวนลอยอยู่ในนม แยกตัวออกมาจับตัวเป็นก้อน เรียกว่า เคิร์ด ก้อนโปรตีนหรือเคิร์ดที่ว่านี้ หากได้มาจากนมสดจะมีไขมันปนอยู่ด้วยส่วนหนึ่ง หากได้มาจากนมขาดมันเนยหรือนมพร่องมันเนย ไขมันที่ติดมาจะมีน้อยลงจนแทบจะเป็นโปรตีนล้วนๆ เมื่อนำก้อนโปรตีนนี้มาบ่มกับแบคทีเรียอีกครั้งก็จะก่อให้เกิดเนยแข็งสารพัดชนิด แล้วแต่กระบวนการบ่ม ดังนั้นเนยแข็งจึงจัดเป็นอาหารจำพวกโปรตีนเหมือนเนื้อสัตว์\n5645",
"title": "เนยแข็ง"
},
{
"docid": "386886#2",
"text": "ชาลอมในภาษาฮีบรูมักจะถูกแปลเป็นคำในภาษากลุ่มโรมานซ์ว่าสันติภาพ เช่น ภาษาอังกฤษว่า peace ภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกสว่า paz ภาษาฝรั่งเศสว่า paix ภาษาอิตาลีว่า pace และภาษาละตินว่า pax คำว่า pax ในภาษาละตินหมายถึงสันติภาพแต่ยังใช้ในความหมายของการสงบศึกหรือสนธิสัญญา จากการได้รับความหมายและการใช้ในภาษาละติน ภาษากลุ่มโรมานซ์ส่วนใหญ่จึงใช้ในความหมายอย่างเดียวกัน รวมถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องหรือใกล้เคียงด้วย (เช่น เกี่ยวกับบุคคล สังคม หรือการเมือง) คำว่า peace เป็นคำที่สำคัญในจารึกและวรรณกรรมศักดิ์สิทธิ์ของชาวคริสต์ eirene เป็นคำภาษากรีกที่แปลไปจากคำว่า peace หมายถึงความสงบและการพักผ่อน ความสำคัญทางทฤษฎีของสันติภาพในศาสนาคริสต์จะเข้าใจได้ดีขึ้นจากความหมายของคำว่า ชาลอม",
"title": "ชาลอม"
},
{
"docid": "252603#3",
"text": "กวีชาวอิตาลีดานเต อลิเกียริและศิลปินและผู้นำคนสำคัญๆ ของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา รวมทั้งสมาชิกในตระกูลเมดีชีต่างก็ได้รับการรับศีลจุ่มที่นี่ จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชาวฟลอเรนซ์ที่เป็นโรมันคาทอลิกทุกคนได้รับศีลจุ่มกันที่นี่",
"title": "หอศีลจุ่มซันโจวันนี"
},
{
"docid": "276655#1",
"text": "ในระยะแรกของสงครามการเข้าไปโจมตีในดัชชีลอแรนของพระเจ้าอ็องรีประสบกับความสำเร็จ โดยทรงยึดนครของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้สามแห่ง คือ แม็ส ตูล และ แวร์เดิง แต่เมื่อทรงเดินทัพไปรุกรานแคว้นทัสกานีในปี ค.ศ. 1553 ในการสนับสนุนซีเอนาที่ถูกโจมตีโดยกองทัพของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และทัสกานี พระองค์ก็ได้รับความพ่ายแพ้ในยุทธการที่มาร์เชียโนต่อจัน จาโกโม เด เมดีชี (Gian Giacomo Medici) ซีเอนาเสียเมืองในปี ค.ศ. 1555 และในที่สุดก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของแกรนด์ดัชชีทัสกานีที่ก่อตั้งขึ้นโดยโกซีโมที่ 1 เด เมดีชี",
"title": "สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)"
},
{
"docid": "240632#1",
"text": "หัวเรื่องการนมัสการของโหราจารย์เป็นหัวข้อที่นิยมเขียนกันในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี เป็นงานที่กาสปาเร ดิ ซาโนบิ เดล ลามาเป็นผู้จ้าง เดล ลามาเป็นนายธนาคารที่มีเบื้องหลังออกจะลึกลับและมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลเมดีชี สำหรับชาเปลส่วนตัวในโบสถ์ซันตามาเรียโนเวลลา (ทำลายไปแล้ว) ภาพนี้ประกอบด้วยบุคคลหลายคนในภาพจากตระกูลเมดีชีที่รวมทั้ง: โกซีโม เด เมดีชี (โหราจารย์ที่คุกเข่าต่อหน้าพระแม่มารีย์ที่บรรยายโดยวาซารีว่า “the finest of all that are now extant for its life and vigour”), ลูกชายสามคนปีเอโร (โหราจารย์คนที่สองที่คุกเข่าตรงกลางสวมเสื้อคลุมแดง) และโจวันนี (โหราจารย์คนที่สาม) และหลานจูเลียโน ดิ เปียโร เดอ เมดิชิ และโลเรนโซ เด เมดีชี เมดีชีสามคนที่เป็นโหราจารย์เสียชีวิตไปแล้วเมื่อบอตตีเชลลีเขียนภาพนี้ และขณะนั้นโลเรนโซเป็นผู้ปกครองฟลอเรนซ์",
"title": "การนมัสการของโหราจารย์ (บอตตีเชลลี)"
},
{
"docid": "248794#11",
"text": "สำเนียงท้องถิ่นของอาบรุซโซประกอบด้วยเตรามาโน, อาบรุซเซเซโอรีเยนตาเล-อาเดรียตีโก และอาบรุซเซเซออคซีเดนตาเล โดยสองสำเนียงแรกจัดอยู่ในกลุ่มภาษาถิ่นอีตาเลียโนเมรีดีโยนาเล-อินแตร์โน () ของอิตาลีตอนใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่ออย่างง่ายคือ นาโปลีตัน เพราะเหตุที่ภูมิภาคนี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง ส่วนอีกสำเนียงเป็นของจังหวัดลากวีลา ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาถิ่นออสโค-อุมโบร () ของอิตาลีตอนกลางรวมถึงกรุงโรม อย่างไรก็ตามสำเนียงภาษาอิตาลีในอาบรุซโซก็ยังไม่มีการกำหนดเฉพาะเจาะจง\nอันที่จริง มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเคยได้จัดตั้งโครงการวิจัยภาษาในเมืองวัสโต เมืองตากอากาศทางใต้ของอาบรุซโซ ปรากฏว่ายังมีผู้พูดภาษาแอลเบเนียในพื้นที่เล็ก ๆ ในเมืองเปนเนของจังหวัดเปสคารา",
"title": "แคว้นอาบรุซโซ"
},
{
"docid": "225115#1",
"text": "ฟรานเชสโคเกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1541 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นบุตรของ โคสิโมที่ 1 เดอ เมดิชิ และเอเลเนอร์แห่งโทเลโด และปกครองทัสเคนีในฐานะตัวแทนของโคสิโมที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1564 ",
"title": "ฟรันเชสโกที่ 1 เด เมดีชี"
},
{
"docid": "142873#0",
"text": "เชนนี ดิ เป็บโป (จิโอวานนี) ชิมาบูเย (ภาษาอิตาลี: Cenni di Pepo (Giovanni) Cimabue) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า เบนชิเวียนี ดิ เป็บโป (Bencivieni Di Pepo) หรือในภาษาอิตาลีสมัยใหม่ว่า เบนเวนูโต ดิ จุยเซ็พปี (Benvenuto Di Giuseppe) (ประมาณ ค.ศ. 1240-ประมาณ ค.ศ. 1302) เป็นจิตรกรและช่างโมเสกชาวอิตาลีจากเมืองฟลอเรนซ์ (ผู้เป็นอาจารย์ของจอตโต ดี บอนโดเน) ชิมาบูเยมีบทบาทสำคัญต่องานจิตรกรรมในประเทศอิตาลี และถือว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญคนสุดท้ายของสมัยศิลปะไบแซนไทน์ ศิลปะยุคนี้ประกอบด้วยโครงสร้างและทิวทัศน์ที่ยังเป็นสองมิติและเป็นสมัยที่เน้นการตกแต่ง (highly stylized) คล้ายจิตรกรรมฝาผนังในวัดไทย ชิมาบูเยเป็นผู้ริเริ่มการวาดแบบใกล้เคืยงธรรมชาติดังจะเห็นได้จากรูปคนที่ขนาดสัดส่วนเท่าคนจริงและการเริ่มใช้แสงเงาบ้างเล็กน้อย",
"title": "ชีมาบูเอ"
},
{
"docid": "112215#4",
"text": "อเมริโก เวสปุชชิ นักเดินเรือชาวอิตาลี ได้ออกเดินเรือไปสำรวจฝั่งของดินแดนที่โคลัมบัสเคยได้สำรวจมาก่อนหน้าหนึ่งแล้ว และสำรวจเลยลงไปทางตอนใต้ โดยในปี ค.ศ. 1497 เขาสำรวจฝั่งของเวเนซูเอลาให้แก่สเปน และในปี ค.ศ. 1502 ได้สำรวจอ่าวริโอเดจาเนโรให้ปอร์ตุเกส การออกสำรวจของอเมริโกเวสปุชชิทำให้เขาเกิดความเชื่อแน่ว่าดินแดนที่โคลัมบัสพบ และที่เขาสำรวจอยู่นี้มิได้เป็นดินแดนของภาคตะวันออกแต่อย่างใด หากเป็นดินแดนของโลกใหม่ทีเดียว \nมันเหมาะที่จะเรียกดินแดน ส่วนนี้ว่าโลกใหม่ อเมริโกเขียนจดหมายบอกเล่าไปยังเพื่อนคนหนึ่ง จดหมายจำนวนนับหลายสิบฉบับที่เขาเขียนไปยังเหล่าเพื่อนของเขานั้นเล่าถึงเรื่องการออกสำรวจของเขานั้นได้ถูกตีพิมพ์และอ่านกันแพร่หลายในยุโรป ทำให้คนทั้งหลายเชื่อว่าอเมริโกได้ค้นพบผืนแผ่นดินใหม่ และได้เริ่มเรียกว่า ดินแดนของอเมริโก\"'",
"title": "อเมริโก เวสปุชชี"
},
{
"docid": "442217#10",
"text": "ตัวอย่างของเศรษฐยาธิปไตยในอดีตรวมทั้งจักรวรรดิโรมัน, นครรัฐบางรัฐในกรีซโบราณ, อารยธรรมคาร์เธจ, นครรัฐ/สาธารณรัฐวาณิชต่าง ๆ ในอิตาลีรวมทั้ง สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐฟลอเรนซ์ (โดยตระกูลเมดีชี) กับสาธารณรัฐเจนัว, และจักรวรรดิญี่ปุ่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (โดยกลุ่มไซบัตสึ) ตามนักปฏิบัติการทางการเมืองโนม ชอมสกี และอดีตประธานาธิบดีสหรัฐ จิมมี คาร์เตอร์ สหรัฐอเมริกาในปัจจุบันมีการปกครองคล้ายกับเศรษฐยาธิปไตย แม้จะมีรูปแบบของประชาธิปไตย[14][15]",
"title": "เศรษฐยาธิปไตย"
},
{
"docid": "112215#0",
"text": "อเมริโก เวสปุชชี (; 9 มีนาคม พ.ศ. 1997 — 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2055) เป็นนักสำรวจ นักเดินเรือ และนักทำแผนที่ชาวอิตาลีที่เป็นคนชี้กระจ่างว่าส่วนที่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เคยมาสำรวจมานั้นไม่ใช่เป็นแผ่นดินส่วนหนึ่งของเอเชีย หากแต่เป็นแผ่นดินใหม่ หลังจากนั้นก็ได้ตั้งชื่อทวีปเป็นอเมริกาเพื่อเป็นการให้เกียรติกับ อเมริโก เวสปุชชี ในการชี้แนะอย่างถูกต้อง (อเมริโกนั้นเป็นภาษาละติน แต่เพราะในภาษาอังกฤษนั้นเรียกว่าอเมริกา)",
"title": "อเมริโก เวสปุชชี"
},
{
"docid": "220865#1",
"text": "ฟัน เดอร์คุสเขียนภาพ \"ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี\" ราวปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพการชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ เป็นงานที่ได้รับจ้างสำหรับวัดโรงพยาบาลซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์โดยนายธนาคารชาวอิตาลี ตอมมาโซ ปอร์ตีนารี ที่พำนักอยู่ที่เมืองบรูชเป็นเวลากว่าสี่สิบปีในฐานะผู้แทนของธนาคารเมดีชีของตระกูลเมดีชี ปอร์ตีนารีเองปรากฏในแผงซ้ายของฉากแท่นบูชากับลูกชายสองคน คือ อันโตนีโอและปีเจลโล ส่วนมารีอา ดี ฟรันเชสโก บารอนเชลลี (ภรรยา) กับมาร์การีตา (ลูกสาว) อยู่บนแผงขวา ทุกคนในภาพมีนักบุญผู้พิทักษ์ของแต่ละคน (ยกเว้นปีเจลโล) กล่าวคือ บนแผงซ้ายเป็นนักบุญทอมัสอัครสาวกถือหอกและนักบุญแอนโทนีอธิการถือกระดิ่ง บนแผงซ้ายนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาถือผอบน้ำมันหอม และนักบุญมาร์กาเรตแห่งแอนติออกถือหนังสือและมีมังกรที่เท้า",
"title": "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี"
}
] |
2849 | อุทกภัยในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2553มีพื้นที่ประสบอุทกภัย มีจังหวัดประสบภัยทั้งสิ้นกี่จังหวัด? | [
{
"docid": "343149#1",
"text": "กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย พบว่ามีพื้นที่ประสบอุทกภัย มีจังหวัดประสบภัยทั้งสิ้น 39 จังหวัด 425 อำเภอ 3,098 ตำบล 26,226 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,002,961 ครัวเรือน 7,038,248 คน พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับความเสียหาย 7,784,368 ไร่ พบผู้เสียชีวิตจากเหตุอุทกภัยแล้วทั้งหมด 180 ราย เป็นบุคคลสัญชาติไทย 178 ราย กัมพูชา 1 ราย พม่า 1 ราย เนเธอร์แลนด์ 1 ราย",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "386369#3",
"text": "ธนาคารแห่งประเทศไทยรายงานเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ว่าจำนวนพื้นที่ประสบภัยพิบัติ 77 จังหวัด 87 อำเภอ 6,670 ตำบล",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
}
] | [
{
"docid": "386369#81",
"text": "วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ธนน เวชกรกานนท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่มจังหวัดนราธิวาส ได้ประกาศให้พื้นที่ทั้งจังหวัดเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ อย่างไรก็ตาม ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ รายงานสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสว่า มีพื้นที่เดือดร้อน 63 ตำบล 221 หมู่บ้าน มีผู้ประสบภัย 48,583 คน รวม 13,473 ครัวเรือน เจ้าหน้าที่ได้อพยพชาวบ้าน 82 ครัวเรือน 388 คน นอกจากนี้ ในพื้นที่อำเภอจะแนะ มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากมีโรคประจำตัวและยืนแช่น้ำเป็นเวลานานอีก 1 ราย",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "386369#123",
"text": "วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ศูนย์ปฏิบัติการรองรับเหตุฉุกเฉิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ศปฉ.ปภ.) และศูนย์สนับสนุนการอำนวยการและการบริหารสถานการณ์ อุทกภัยวาตภัยและดินโคลนถล่ม (ศอส.) รายงานตรงกันเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันว่า ยังมีพื้นที่ประสบอุทกภัยประเทศไทยตอนบน 10 จังหวัด 83 อำเภอ 579 ตำบล 3,851 หมู่บ้าน เฉพาะกรุงเทพมหานคร 36 เขต ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,658,981 ครัวเรือน 4,425,047 ราย ฟื้นฟู 55 จังหวัด ประสบอุทกภัยรวม 65 จังหวัด และอ่างเก็บน้ำไม่สามารถรับน้ำเพิ่มได้อีกจำนวน 8 อ่างจาก 33 อ่างทั่วประเทศ นับตั้งแต่วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 รายงานเสียชีวิตรวม 680 ราย สูญหาย 3 ราย มากที่สุดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจำนวน 139 ราย",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "452706#38",
"text": "จังหวัดยะลาได้ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติจากอุทกภัย 8 อำเภอ ในช่วงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555\nนายสามารถ วราดิศัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาสประกาศพื้นที่ภัยพิบัติฉุกเฉิน ใน 13 อำเภอหรือทั้งจังหวัด ซึ่งมีผู้ประสบภัยล่าสุดรวม 25,158 คนได้อพยพประชาชนไปยังอาศัยอยู่ที่ศูนย์อพยพเป็นการชั่วคราวแล้ว จำนวน 345คน แยกเป็น อ.จะแนะ 75 คน อ.แว้ง 27 คน อ.สุไหงโก-ลก 160 คน อ.สุคิริน 83คน ส่วนสิ่งสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยในครั้งนี้ประกอบด้วย ถนนถูกน้ำท่วมจนยานพาหนะไม่สามารถสัญจรไปมาได้ 13 สาย คอสะพานถูกน้ำกัดเซาะ 2 แห่ง และฝายน้ำล้นถูกน้ำที่เชี่ยวกรากพัดเสียหาย 2 แห่ง",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2555"
},
{
"docid": "343149#2",
"text": "ส่วนสรุปสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ได้ระบุว่า มีจังหวัดประสบภัยทั้งสิ้น 12 จังหวัด 133 อำเภอ 874 ตำบล 6,197 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 609,511 ครัวเรือน 1,932,405 คน มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 80 คน มีสัญชาติไทยทั้งหมด",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2553"
},
{
"docid": "386369#88",
"text": "จังหวัดที่ได้รับผลกระทบน้ำท่วมได้แก่ \nในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ออกประกาศ ประกาศจังหวัดกาญจนบุรี เรื่องประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ อำเภอทองผาภูมิ และในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554 ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ออกประกาศ ประกาศจังหวัดกาญจนบุรี เรื่องประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ อำเภอไทรโยค อำเภอบ่อพลอย อำเภอเลาขวัญ อำเภอหนองปรือ",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "366653#13",
"text": "ต่อมา เมื่อเวลา 13.00 น. วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554 พินิจ เจริญพานิช ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ได้รับรายงานว่ามีพื้นที่ประสบปัญหาอุทกภัยรวม 7 อำเภอ 38 ตำบล 334 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อนร่วม 37,000 คน ประเมินความเสียหายเบื้องต้นกว่า 30 ล้านบาท โดยอำเภอที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด คือ อำเภอหลังสวน นอกจากนี้ยังมีรายงานว่านักศึกษาและเด็กรวม 7 คน ติดอยู่บนเกาะแกลบ โดยไม่มีไฟฟ้าและแสงสว่างในเวลากลางคืน",
"title": "อุทกภัยและดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "386369#103",
"text": "วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาประกาศให้จังหวัดนครราชสีมา เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากเหตุอุทกภัย 18 อำเภอในเบื้องต้น จังหวัดนครราชสีมา ได้รับรายงานว่ามีความเสียหายเกิดขึ้นในพื้นที่รวม 79 ตำบล 721 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับความเดือนร้อนกว่า 19,000 หลังคาเรือน ใน 18 อำเภอของจังหวัด พื้นที่การเกษตรซึ่งส่วนใหญ่เป็นนาข้าว ถูกน้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมนับหมื่นไร่ ถนนมากกว่า 70 สายถูกตัดขาด",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "386369#69",
"text": "วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ทางจังหวัดสงขลาได้ประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินเพิ่มเป็น 8 อำเภอ 42 ตำบล 276 หมู่บ้าน จากที่เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ได้ประกาศ 5 อำเภอ โดยมีราษฎรได้รับความเดือดร้อน 20,078 ครัวเรือน 4,983 คน อพยพ 459 คน แต่ระดับน้ำเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง\nวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ที่พื้นที่บ้านคลองปอม ต.บ้านพรุ พื้นที่บ้านทุ่งลุง ต.พะตง ซึ่งอยู่ในเขต อ.หาดใหญ่ปรากฏว่าฝนตกกระหน่ำอย่างหนักและต่อเนื่องในช่วงบ่ายวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554จนถึงขณะนี้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 ก็ยังคงมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้น้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมจนบ้านเรือน ทรัพย์สิน และภาคการเกษตรของประชาชนได้รับความเสียหายชนิดไม่ทันตั้งตัว",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554"
},
{
"docid": "452706#15",
"text": "วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555 นายวันชัย สุทิน ผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพชร ได้ประกาศให้พื้นที่ประสบภัยพิบัติรวม 5 อำเภอ ประกอบด้วย อ.เมือง อ.ขาณุวรลักษบุรี อ.ทรายทองวัฒนา อ.คลองลาน และ อ.โกสัมพีนคร ต่อมาในวันที่ 10 กันยายน พ.ศ.2555 ประกาศเพิ่ม 1 อำเภอ รวม 6 อำเภอ ได้แก่ อ.คลองขลุง ราษฎร ได้รับความเดือดร้อน 5 ตำบล 21 หมู่บ้าน 5,695 ราย 387 ครอบครัว ถนนเสียหาย 70 สาย นาข้าว 10000 ไร่ พื้นที่ทางเกษตร 2000 ไร่ รวมค่าเสียหายประมาณ 19-20 ล้านบาท",
"title": "อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2555"
}
] |
2319 | สีประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คือสีอะไร? | [
{
"docid": "669#12",
"text": "ธรรมจักร เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย[16] โดยตราธรรมจักรนี้มี 12 แฉก อันหมายถึง อริยสัจ 4 ซึ่งวนอยู่ในญาณ 3 คือ สัจจญาณ กิจจญาณ และ กตญาณ และมีพานรัฐธรรมนูญอยู่ตรงกลาง อันหมายถึงการยึดมั่นและรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย[17] เพลงประจำมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ทำนองมอญดูดาว) เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยเพลงแรก ประพันธ์โดยขุนวิจิตรมาตรา เมื่อ พ.ศ. 2478[18] สีเหลืองแดง เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย ดังปรากฏในเนื้อเพลง \"เพลงประจำมหาวิทยาลัย\" (มอญดูดาว) ที่ว่า \"เหลืองของเราคือธรรมประจำจิต แดงของเราคือโลหิตอุทิศให้\" มีความหมายถึง ความสำนึกในความเป็นธรรมและความเสียสละเพื่อสังคม นับเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ปีแรกของการก่อตั้ง คือ พ.ศ. 2477[18] เพลงพระราชนิพนธ์ธรรมศาสตร์ (ยูงทอง) เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน[19] โดยในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2504 ได้มีนักศึกษากลุ่มหนึ่งขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ขณะเสด็จมาทรงดนตรี ณ เวทีลีลาศ สวนอัมพร ภายในพระราชวังดุสิต พระองค์รับสั่งว่าจะทรงพระราชนิพนธ์เพลงประจำมหาวิทยาลัยพระราชทานให้แก่นักศึกษาธรรมศาสตร์",
"title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
}
] | [
{
"docid": "50748#18",
"text": "เสื้อครุยวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยเป็นเสื้อคลุม ผ้าโปร่งสีขาว ผ่าอกตลอดรอบขอบและที่ต้นแขนกับปลายแขน มีแถบสีทองและฟ้าเข้มทาบทับด้วยแถบทองบริเวณอกเสื้อทั้งสองข้างมีวงมีตรามหาวิทยาลัย ปริญญาตรี และเส้นมีการจัดสีพื้นกับสีประจำคณะ สีของเส้นที่แสดงระดับของวุฒิคือ ปริญญาตรี 1 เส้น ปริญญาโทและเอกใช้ 2 และ 3 เส้น ตามลำดับนั้นเนื่องจากมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2548 แต่ยังไม่ได้มีการกำหนดตราสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้เสนอว่าควรกำหนดให้มีตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นรูปมงกุฎสีทองซึ่งเป็นตราพระสัญลักษณ์ประจำพระองค์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ส่วนบนเป็นมงกุฎสีทอง ส่วนกลางมีอักษรย่อพระนาม กว.สีฟ้าน้ำทะเล ส่วนล่างเป็นโบว์สีทองวงซ้อนพับกัน ภายในแถบโบว์มีชื่อ\"มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์\"สีฟ้าน้ำทะเล ซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มีพระวินิจฉัยและพระราชทานอนุญาต เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2549 และสภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์พิจารณาแล้วเห็นชอบด้วย จึงได้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวมาเพื่อดำเนินการและต่อมาจึงได้ประกาศ \"พระราชกฤษฎีกากำหนดตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2551\" โดยมีสาระสำคัญเป็นการกำหนดตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายโดยสมบูรณ์",
"title": "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์"
},
{
"docid": "12100#19",
"text": "ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือ ต้นมะพร้าว สีประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเทา - ทอง",
"title": "มหาวิทยาลัยบูรพา"
},
{
"docid": "73261#55",
"text": "กีฬานิติสัมพันธ์ เป็นการแข่งขันกีฬา และจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยจัดขึ้น ปีละ 1 ครั้งเป็นประจำทุกปี ทั้งนี้ จะสลับกันเป็นเจ้าภาพ กีฬาที่จัดแข่งขันกัน มี 2 ประเภท คือ ฟุตบอล และ บาสเกตบอล โดยจะแบ่งเป็นประเภท ทีมน้องใหม่ ทีมรวม และ ทีมอาจารย์ หลังจากเสร็จการแข่งขันกีฬา จะมีการเลี้ยงอาหาร และกิจกรรมรื่นเริง ระหว่าง นิสิต-นักศึกษา อันได้แก่ การเล่นดนตรี การแสดงต่างๆงานประเพณีสิงห์สัมพันธ์ เป็นกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง พี่น้องสิงห์ทุกสถาบัน เพื่อกระชับสัมพันธไมตรี ไม่ต้องแบ่งสี แบ่งก๊ก แบ่งเหล่า (เริ่มจาก 5 มหาวิทยาลัย คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) และต่อมามี 6 สถาบัน สถาบันที่เพิ่มเข้ามาคือ มหาวิทยาลัยบูรพา(อดีตมศว บางแสน) โดยเข้ามาในปีที่ 5 ของการจัดงาน ในปี2554 จะเป็นการแข่งขันครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยที่เป็นเจ้าภาพคือมหาวิทยาลัยบูรพา และต่อมาในปี 2557 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เข้ามาในปีที่ 9 และงานประเพณีสิงห์สัมพันธ์ ครั้งที่ 11 เจ้าภาพโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2561",
"title": "กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย"
},
{
"docid": "11905#20",
"text": "มหาวิทยาลัยกำหนดให้ ต้นปาริชาตหรือต้นทองหลางลายเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย เนื่องจากมีใบเป็นสีเขียวและเส้นใบเป็นสีทอง ตรงกับสีเขียว-ทองซึ่งเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย",
"title": "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช"
},
{
"docid": "11674#13",
"text": "\"สีเขียวเวอร์ริเดียน\" หรือที่เรียกตามสีไทยโทนว่า \"สีเขียวตั้งแช\"[7] เป็นสีของน้ำทะเลระดับลึกที่สุด แต่ในระยะแรกก่อตั้งมหาวิทยาลัยได้กำหนดใช้สีเขียว ซึ่งเป็นสีพื้นป้ายมหาวิทยาลัยป้ายแรก แต่ช่วงนั้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็ใช้สีเขียวเป็นสีประจำมหาวิทยาลัยเช่นกัน จึงมีแนวคิดที่จะสร้างความแตกต่าง และเนื่องจากนักศึกษาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ นิยมพารุ่นน้องปี 1 ไปทำกิจกรรมรับน้องที่เกาะเสม็ด จึงได้มีโอกาสชื่นชมสีของน้ำทะเลใส และได้นำมาเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสีที่บ่งบอกถึงความสร้างสรรค์ของชาวศิลปากร",
"title": "มหาวิทยาลัยศิลปากร"
},
{
"docid": "290867#2",
"text": "ตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ ออกแบบโดยการนำเอาสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เข้ามาประกอบ ได้แก่ ตึกโดมและสีเหลืองแดง ซึ่งเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย เมื่อมองตราสัญลักษณ์โดยภาพรวมแล้วจะเห็นเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37"
},
{
"docid": "120602#9",
"text": "ทำด้วยผ้าโปร่งสีขาว มีสำรดรอบขอบและที่ปลายแขน พื้นสำรดทำด้วยสักหลาดสีขาว มีแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร ทับบนริมทั้งสองข้าง เว้นระยะ 0.5 เซนติเมตร มีแถบสักหลาดสี ตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 0.5 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง เว้นระยะอีก 0.5 เซนติเมตร มีแถบทอง ขนาด 1 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีดำขนาด 2 เซนติเมตร ตรงกึ่งกลางติดทับด้วยสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 1 เซนติเมตร และมีตรามหาวิทยาลัยทำด้วยโลหะสีเงิน ขนาดสูง 4 เซนติเมตร ติดตามทางดิ่งกลางสำรดบนสักหลาด ตอนหน้าอกทั้งสองข้าง สำรดที่ต้นแขน เช่นเดียวกับสำรดรอบขอบ แต่ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีดำ ตรงกึ่งกลาง ห่างจากขอบ 0.5 เซนติเมตร ติดทับด้วยสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย จำนวน 3 เส้น แต่ละเส้นคั่นด้วยแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร โดยเว้นระยะระหว่างแถบ 0.5 เซนตเมตร",
"title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย"
},
{
"docid": "36069#4",
"text": "สำหรับการแต่งกายของเชียร์ลีดเดอร์ทั้งสองสถาบันก็เริ่มพัฒนาจากเดิมที่มีการแต่งการสร้างสีสันการนำเชียร์หน้าอัฒจันทร์ของประธานเชียร์ หรือ ผู้นำร้องเพลง โดยกลุ่มผู้นำเชียร์จะแต่งกายเป็นกลุ่ม เหมือนกัน โดยเน้นความทะมัดทะแมงโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางกลุ่มผู้นำเชียร์ของธรรมศาสตร์ จะมีการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ คือนอกเหนือจากจะใช้สี หรือสัญลักษณ์ประจำสถาบันที่โดดเด่น ยังมักแฝงแนวคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดหลักการการจัดงาน การเชียร์ หรือ ในปีนั้น ๆ ส่วนทางจุฬาฯ มักจะเน้นการแต่งกายที่อ่อนหวาน โก้หรู โดยใช้สีชมพู หรือขาวสอดคล้องกับประเพณีการเชียร์และเพลงสถาบันเช่นกัน",
"title": "เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "70645#9",
"text": "ในปี พ.ศ. 2534 มีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรวบรวมการเรียกชื่อปริญญาและสีประจำสาขาวิชาทั้งของสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ไว้ในพระราชกฤษฎีกาฉบับเดียวกัน และพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ได้มีการสะกดชื่อปริญญาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนแตกต่างไปจากเดิมเล็กน้อย โดยตัดเครื่องหมายทัณฑฆาตท้ายคำว่า \"ศาสตร์\" ออก ดังพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534 ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 122 วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 (7) สาขาวิชาวารสารศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น ได้แก่",
"title": "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "6858#7",
"text": "มหาวิทยาลัยทักษิณมีตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยเป็นรูปตำราการศึกษา 3 เล่ม สีเทา (สีประจำมหาวิทยาลัย) สะท้อนปรัชญาของมหาวิทยาลัย “ปัญญา จริยธรรม และการพัฒนา” ล้อมรอบด้วยอักษรสีฟ้า (สีประจำมหาวิทยาลัย) เป็นภาษาไทย “มหาวิทยาลัยทักษิณ” และภาษาอังกฤษ “THAKSIN UNIVERSITY” ซึ่งหมายถึงมหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้ ด้านบนเหนือรูปตำราการศึกษาเป็นมงกุฎเปล่งรัศมีสีฟ้า ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นเลิศและเกียรติยศ ด้วยในปีพุทธศักราช 2539 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้ ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยทักษิณ ตรงกับวโรกาสอันเป็นมหามงคลสมัยปีกาญจนาภิเษก ในศุภวาระที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 50 ปี",
"title": "มหาวิทยาลัยทักษิณ"
},
{
"docid": "61431#3",
"text": "เรวัตหัดเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 11 ปี โดยบิดาบังคับให้เรียนแซกโซโฟน เขากับเพื่อนๆ โรงเรียนเซนต์คาเบรียลตั้งวงดนตรี ชื่อ Dark Eyes ต่อมาเปลี่ยนชื่อวงเป็น Mosrite และเข้าประกวดในงานของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ในปี พ.ศ. 2508 และ 2509\nขณะเรียนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2510 ได้ร่วมกับเพื่อนตั้งวง Yellow Red (เหลือง-แดง คือสีประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) เพื่อนในวงคนสำคัญคือ ดนู ฮันตระกูล และจิรพรรณ อังศวานนท์",
"title": "เรวัต พุทธินันทน์"
},
{
"docid": "12104#3",
"text": "ตราประจำมหาวิทยาลัย ใช้สัญลักษณ์ เจดีย์ทรงล้านช้าง หมายถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภายในมีดอกบัวหลวงประดิษฐานอยู่บนแท่นรองรับของเส้น 3 เส้น ดอกบัวมีสีกลีบบัว อันหมายถึงสัญลักษณ์ของจังหวัดอุบลราชธานี และเส้น 3 เส้นที่เป็นฐานรองรับดอกบัวนั้น หมายถึงแม่น้ำสายสำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือ แม่น้ำโขง แม่น้ำชี และแม่น้ำมูล ลักษณะของดอกบัวเป็นประเภทบัวเหนือน้ำที่พร้อมจะ เบ่งบาน ให้ความดีงามแก่มหาชนได้ชื่นชม ส่วนกลีบดอกบัวด้านล่างสองกลีบ หมายถึง คุณธรรมและปัญญาอันเป็นเปลือกหุ้มสถาบันสำหรับดอกตูมสามกลีบหมายถึง องค์พระรัตนตรัย สีน้ำเงิน ที่เป็นขอบเส้นของตรามหาวิทยาลัยนั้นมีความ หมายถึง ความมั่นคงแข็งแรงและสีเหลืองสดที่เป็นพื้น หมายถึง สีประจำมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ ต้นกันเกรา เป็นไม้สูงประมาณ 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึก ใบดกหนาทึบ สีเขียวแก่เป็นมัน ดอกสีเหลืองอมแสด ออกดอกที่ช่อปลายกิ่ง มีกลิ่นหอมเย็นระรื่นอยู่ 7 วัน จากนั้นจะมีกลิ่นเหม็น ไม้กันเกราสื่อความหมายถึงเครื่องป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ และทำให้เสาเรือนมั่นคง ต้นกันเกราเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยอุบล ราชธานี เป็นต้นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งที่พบมากใน บริเวณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก “มันปลา” ภาคใต้ เรียก“ตำเสา”ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง อักษรย่อ คือ ม.อบ.",
"title": "มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี"
},
{
"docid": "295810#14",
"text": "ตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ ออกแบบโดยปิติ ประวิชไพบูลย์ นิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับแรงบันดาลใจมาจากดอกจามจุรีซึ่งเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย โดยนำแฉกรัศมีของพระเกี้ยวมาเรียงเป็นดอกจามจุรี 3 ดอกในแนวตั้งจากใหญ่ขึ้นไปเล็กมีลักษณะคล้ายกับพระเกี้ยวอันสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย และยังสามารถอ่านได้เป็นตัวเลข 38 อันเป็นครั้งของการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ โดยเลือกใช้สีชมพูอันเป็นสีประจำมหาวิทยาลัยไล่เฉดสีจากอ่อนขึ้นไปเข้มสื่อความหมายถึงความรุ่งเรืองของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่พร้อมจะต้อนรับนักกีฬาทุกสถาบันในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย และดอกจามจุรีทั้ง 3 ยังสื่อถึงการรู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย ซึ่งเป็นคุณสมบัติของน้ำใจนักกีฬาด้วย[18] นอกจากนี้ บริเวณปลายดอกบนสุด จะแทรกด้วย สีฟ้า เขียว เหลือง แดง และชมพู โดยมีความหมายรวมกันเป็นคำว่า SPORT ซึ่งมีความหมายดังนี้ S</u>uccess (ความสำเร็จ) แทนด้วย สีเขียว, P</u>eace (ความสันติ) แทนด้วย สีฟ้า, O</u>riginal (ความเป็นต้นแบบ) แทนด้วย สีเหลือง, R</u>elationship (ความสัมพันธ์) แทนด้วย สีชมพู และ T</u>eamwork (การทำงานเป็นหมู่คณะ) แทนด้วย สีแดง[19]",
"title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38"
},
{
"docid": "669#14",
"text": "หางนกยูงฝรั่ง เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงปลูกไว้บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่จำนวน 5 ต้น เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 เวลา 14:30 นาฬิกา พร้อมกับพระราชทานให้เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[21] ดอกมีสีเหลือง–แดง สัมพันธ์กับสีประจำมหาวิทยาลัย",
"title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "312134#2",
"text": "สีเลือดหมู เป็นสีประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และใช้เป็นสีประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ทุกสถาบัน เพลงแรงเลือดหมู เป็นเพลงประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ธงประจำคณะ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีเลือดหมู ตรงกลางมีดวงตราพระสิทธิธาดา (ตรามหาวิทยาลัย) ใต้ดวงตรามีชื่อคณะตามแนวโค้งของดวงตรา ขอบธงประดับด้วยพู่สีเหลือง ต้นไผ่ ต้นไม้ประจำคณะ และต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์",
"title": "คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์"
},
{
"docid": "669#122",
"text": "จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ คณะราษฎร ธรรมจักร (ตราประจำมหาวิทยาลัย) เพลงพระราชนิพนธ์ธรรมศาสตร์ (ยูงทอง) (เพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน) หางนกยูงฝรั่ง (ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตึกโดม งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ โดม เอฟซี - สโมสรฟุตบอลอาชีพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โขนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา เหตุการณ์ 14 ตุลาคม เหตุการณ์ 6 ตุลาคม",
"title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "386779#1",
"text": "กฤษณา สีหลักษณ์ เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 เป็นบุตรของนายสุนันท์ กับนางถนอมขวัญ สีหลักษณ์ สำเร็จการศึกษาด้านการบัญชี จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารรัฐกิจ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์",
"title": "กฤษณา สีหลักษณ์"
},
{
"docid": "1847#21",
"text": "สีน้ำเงิน ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สีเขียว ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สีม่วง ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สีแดงเลือดนก ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ สีน้ำเงินเทอร์ควอยส์ (น้ำเงินทะเล) ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก สีทอง ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ สีน้ำตาลทอง ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สีเหลือง ( ) เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สีแสด ( )เป็นสีประจำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน",
"title": "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล"
},
{
"docid": "5519#18",
"text": "จามจุรี เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมพระราชทานต้นจามจุรีแก่มหาวิทยาลัย จำนวน 5 ต้น ซึ่งพระองค์ทรงนำมาจากวังไกลกังวล ทรงปลูกด้วยพระองค์เอง บริเวณด้านหน้าหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในครั้งนั้น พระองค์ท่านได้พระราชทานพระราชดำรัสถึงความผูกพันระหว่างชาวจุฬาฯ กับจามจุรี ทรงเน้นว่าดอกสีชมพูเป็นสัญลักษณ์สูงสุดอย่างหนึ่งของจุฬาฯ ทรงเล่าว่าทรงปลูกต้นไม้ที่พระตำหนักไกลกังวล จามจุรีงอกขึ้นที่บริเวณต้นไม้ซึ่งทรงปลูกไว้ จึงทรงถือว่าทรงปลูกจามจุรีเหล่านั้นด้วย เมื่อจามจุรีโตขึ้นแล้วเห็นว่าควรเข้ามหาวิทยาลัยเสียที สถานที่เรียนนั้นไม่มีที่ใดเหมาะเท่าจุฬาฯ[59] สีชมพู เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย โดยศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล ได้เสนอว่าชื่อของมหาวิทยาลัย คือ พระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคารและโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สีชมพูเป็นสีประจำพระองค์ จึงสมควรอัญเชิญสีประจำพระองค์เป็นสีประจำมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นเกียรติและสิริมงคล[60][61]",
"title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"
},
{
"docid": "12279#6",
"text": "ปัจจุบัน ได้เปลี่ยนมาใช้ \"สีม่วง\" และ \"สีแสด\" เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย โดยการเปลี่ยนแปลงสีประจำมหาวิทยาลัยนั้น เพื่อเป็นเกียรติกับสองบูรพาจารย์ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย เนื่องจากสีม่วงเป็นสีประจำวันเสาร์ และสีแสดเป็นสีประจำวันพฤหัสบดี",
"title": "มหาวิทยาลัยกรุงเทพ"
},
{
"docid": "11719#111",
"text": "เป็นครุยพื้นผ้าโปร่งสีขาว มีสำรดรอบขอบและที่ต้นแขนกับปลายแขน พื้นสำรดทำด้วยสักหลาดสีขาว มีแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร ทับบนริมทั้งสองข้าง เว้นระยะ 0.5 เซนติเมตร มีแถบสักหลาดสีตามสีประจำ มหาวิทยาลัย ขนาด 1 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง เว้นระยะอีก 0.5 เซนติเมตร มีแถบทอง ขนาด 1 เซนติเมตร ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีแดงชาด ติดแถบสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 3 เซนติเมตร ทั้งสองข้างโดยติดห่างจากขอบสักหลาดสีแดงชาด 0.5 เซนติเมตร และมีตรามหาวิทยาลัยทำด้วยโลหะสีทองขนาดสูง 4 เซนติเมตร ติดตามทางดิ่งกลางสำรดบนสักหลาดตอนหน้าอกทั้งสองข้าง และมีสร้อยทำด้วยโลหะสีทองพร้อมด้วยเครื่องหมายของมหาวิทยาลัยตามแบบที่สภามหาวิทยาลัยกำหนดระหว่างตรามหาวิทยาลัยทั้งสองข้าง ยึดติดกับครุยประมาณร่องหัวไหล",
"title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น"
},
{
"docid": "11719#104",
"text": "ทำด้วยผ้าโปร่งสีขาว มีสำรดรอบขอบและที่ปลายแขน พื้นสำรดทำด้วยสักหลาดสีขาว มีแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร ทับบนริมทั้งสองข้าง เว้นระยะ 0.5 เซนติเมตร มีแถบสักหลาดสี ตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 0.5 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง เว้นระยะอีก 0.5 เซนติเมตร มีแถบทอง ขนาด 1 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีดำขนาด 2 เซนติเมตร ตรงกึ่งกลางติดทับด้วยสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 1 เซนติเมตร และมีตรามหาวิทยาลัยทำด้วยโลหะสีเงิน ขนาดสูง 4 เซนติเมตร ติดตามทางดิ่งกลางสำรดบนสักหลาด ตอนหน้าอกทั้งสองข้าง สำรดที่ต้นแขน เช่นเดียวกับสำรดรอบขอบ แต่ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีดำ ตรงกึ่งกลาง ห่างจากขอบ 0.5 เซนติเมตร ติดทับด้วยสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย จำนวน 3 เส้น แต่ละเส้นคั่นด้วยแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร โดยเว้นระยะระหว่างแถบ 0.5 เซนตเมตร",
"title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น"
},
{
"docid": "365983#0",
"text": "รองศาสตราจารย์กฤษติกา คงสมพงษ์ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2508) เป็นนายกสมาคมแม่บ้านทหารบก, อาจารย์ประจำสาขาการตลาด สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษสาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตพิธีกรรายการกำจัดจุดอ่อนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และรายการลูกใครหว่า อีกทั้งได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรอยู่บ่อยครั้ง",
"title": "กฤษติกา คงสมพงษ์"
},
{
"docid": "120602#14",
"text": "เป็นครุยพื้นผ้าโปร่งสีขาว มีสำรดรอบขอบและที่ต้นแขนกับปลายแขน พื้นสำรดทำด้วยสักหลาดสีขาว มีแถบทองขนาด 1 เซนติเมตร ทับบนริมทั้งสองข้าง เว้นระยะ 0.5 เซนติเมตร มีแถบสักหลาดสีตามสีประจำ\nมหาวิทยาลัย ขนาด 1 เซนติเมตร ทั้งสองข้าง เว้นระยะอีก 0.5 เซนติเมตร มีแถบทอง ขนาด 1 เซนติเมตร ตอนกลางมีพื้นสักหลาดสีแดงชาด ติดแถบสักหลาดสีตามสีประจำมหาวิทยาลัย ขนาด 3 เซนติเมตร ทั้งสองข้างโดยติดห่างจากขอบสักหลาดสีแดงชาด 0.5 เซนติเมตร และมีตรามหาวิทยาลัยทำด้วยโลหะสีทองขนาดสูง 4 เซนติเมตร ติดตามทางดิ่งกลางสำรดบนสักหลาดตอนหน้าอกทั้งสองข้าง และมีสร้อยทำด้วยโลหะสีทองพร้อมด้วยเครื่องหมายของมหาวิทยาลัยตามแบบที่สภามหาวิทยาลัยกำหนดระหว่างตรามหาวิทยาลัยทั้งสองข้าง ยึดติดกับครุยประมาณร่องหัวไหล\nเช่นเดียวกับครุยประจำตำแหน่งของนายกสภามหาวิทยาลัย แต่ไม่มีสร้อย",
"title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย"
},
{
"docid": "882712#2",
"text": "วทันยา วงษ์โอภาสี สำเร็จการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษและวรรณคดีภาษาอังกฤษ เธอเคยเป็นเชียร์ลีดเดอร์ในงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ รวมถึงเคยถ่ายโฆษณาผลิตภัณฑ์การ์นิเย่",
"title": "วทันยา วงษ์โอภาสี"
},
{
"docid": "669#49",
"text": "เป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวที่จัดโดยมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอันดับ 8 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 73 ของโลก[48]",
"title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "400621#12",
"text": "ยุคแห่งผู้บริหารจาก \"ธรรมศาสตร์\" ในยุคนี้มีผู้อำนวยการถึง 3 คนที่จบปริญญาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ นายกุหลาบ ประภาสโนบล นายทอง พงศ์อนันต์ และนายชะลอ ปทุมานนท์ ซึ่งล้วนแล้วแต่นำสิ่งใหม่ๆมาสู่โรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นสีประจำโรงเรียน (เหลืองแดง) ต้นไม้ที่ปลูกรอบโรงเรียนล้วนได้รับอิทธิพลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แม้กระทั่งตราโรงเรียนยุคแรกก็ยังได้รับอิธิพลจากตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการตีพิมพ์วารสารโรงเรียนขึ้นเป็นครั้งแรกโดยได้รับความร่วมมือจากกระทรวงและเป็นการกำหนดหลักสูตรให้กับโรงเรียนโดยรอบจังหวัดผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่ทันสมัยในยุคนั้น\nสืบเนื่องจากนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงแยกโรงเรียนออกเป็นชายล้วนและหญิงล้วนในระหว่างช่วงนี้โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพลได้แยกนักเรียนหญิงในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปยัง \"โรงเรียนสตรีชัยภูมิ\" และได้ทำการสอนนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายตามปกติจนกระทั่งปี พ.ศ. 2483 โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพลจึงกลายโรงเรียนชายล้วนอย่างสมบูรณ์",
"title": "โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล"
},
{
"docid": "68843#5",
"text": "สัญลักษณ์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในโอกาสครบรอบ 48 ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ใน พ.ศ. 2556 มีที่มาจากแก้วหลากสี (polychrome glass) รูปศีรษะบุคคล สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ซึ่งพบบริเวณปากแม่น้ำโขง",
"title": "คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
},
{
"docid": "70645#8",
"text": "ในคราวประชุมคณบดี ครั้งที่ 7/2533 เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2533 ได้มีมติให้คณะใหม่ ไปพิจารณาเลือกสีประจำคณะ ที่ไม่ซ้ำกับคณะเก่า สำหรับคณะเก่า ก็ขอให้กำหนดสีที่ชัดเจนด้วย คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน จึงนำเข้าพิจารณา ในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ที่ประชุมมีมติกำหนดให้สีม่วงเม็ดมะปรางเป็นสีประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนนับแต่นั้นเป็นต้นมา",
"title": "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
}
] |
2078 | โฮงซาวหมายถึงอะไร? | [
{
"docid": "828796#3",
"text": "โฮงซาวหมายถึงโฮงขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยหมู่อาคารหลายๆ ห้องยาวติดต่อกัน หรือหมู่อาคารหลายๆ หลังแยกจากกัน แต่มีส่วนเชื่อมโยงหากัน ดังปรากฏในวรรณกรรมลาว-อีสาน เรื่องรามเกียรติ์ (พะลักพะลาม) หรือเรื่องพระยาฮาบพระนาสวน ว่า",
"title": "โฮง"
}
] | [
{
"docid": "828796#41",
"text": "ความเชื่อทางไสยศาสตร์ของหมอดูหรือหมอหูฮา (หมอโหรา) ทางลาว-อีสานที่ปรากฏในคัมภีร์ใบลานก้อมหรือหนังสือก้อม ได้มีการกล่าวถึงฤกษ์ยามเรื่องมื้อ-วัน เพื่อการทำการอุดมมงคลสวัสดีต่างๆ ในบ้านเรือน คำว่า มื้อ ส่วนมากหมายเอาทางจันทรคติขึ้นแรม เช่น มื้อ ๑ ค่ำ มื้อ ๒ ค่ำ เป็นต้น ส่วนคำว่า วัน นั้นหมายเอาทางสุริยคติ เช่น อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ เป็นต้น ในตำราหมอดูมื้อ-วัน ได้จัดมื้อ-วัน เป็นโคง (โคลง) เพื่อความสะดวกในการจดจำและเกิดคุณค่าในทางวรรณศิลป์ อาทิ โคงยาม โคงวัน โคงเดือน โคงวันจม โคงวันฟู โคงช้างแก้ว เป็นต้น",
"title": "โฮง"
},
{
"docid": "447226#0",
"text": "โฮซอ (ความหมายอย่างแท้จริง \"ฝั่งตะวันตกของทะเลสาบ\") เป็นภูมิภาคที่อยู่กับจังหวัดชุงชองเดิม ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเกาหลีใต้ ปัจจุบันนี้ภูมิภาคโฮซอใช้กล่าวอ้างถึงบริเวณ แทจอน, จังหวัดชุงชองใต้และจังหวัดชุงชองเหนือ ชาวภูมิภาคโฮซอใช้ภาษาถิ่นชุงชอง ชื่อโฮซอนี้ใช้อ้างถึงบุคคลที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้",
"title": "โฮซอ"
},
{
"docid": "828796#0",
"text": "โฮง หรือ หอโฮง คือพระราชวัง วัง หรือตำหนักอันเป็นสถานที่ประทับหรืออยู่อาศัย ตลอดจนใช้ว่าราชการและสำเร็จราชการงานเมืองของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง เจ้าผู้ครองนคร เจ้าเมือง หรือเจ้านายในคณะอาญาสี่ (เจ้าขันคำทั้งสี่หรือเจ้ายั้งขม่อมทั้งสี่) และพระบรมวงศานุวงศ์ของเจ้านายฝ่ายหัวเมืองลาว-อีสาน หรือหมายถึงที่พักอาศัยที่ใหญ่กว่าเฮือน (เรือน) มักมีหลายห้องและเป็นที่อยู่ของเจ้าเมืองลาวในสมัยโบราณ",
"title": "โฮง"
},
{
"docid": "828796#47",
"text": "\" \"...เฮือนหอห้อง โฮงซานให้ปัดกวาด \"\n\"อย่าได้หมกเสี่ยงไว้ งูเงี้ยวสิตอดตาย\"\n\"อันว่าหญิงสมเซื้อ สิ้นแพรซักตาก\"\n\"บ่แม่นถอดถิ่มไว้ คอยถ่าแม่ตน\"\n\"คันญิงไดเฮ็ดได้ บ่อึดซายขอสู่ เจ้าเด้อ\"\n\"เวียกการบ้าน ภาชน์ข้าวแต่งแปง\"\n\"แขกไกลใกล้ ไปมาหาสู่\"\n\"พลูหมากแลโอน้ำ ส่งให้ยื่นถวย\"\n\"มีเพียบพร้อม ความงามเป็นขนาด\"\n\"แม่นว่าฮูปฮ่างฮ้าย ก็ควรเข้านั่งแปง\"\n\"ผิดกับญิงฮูปเกี้ยง แงงคีงเซ้าค่ำ\"\n\"ซายได๋ได้นั่งบ้าน คอยมื้อแต่สิจน นั่นแหลว...\" (โดย บ่าวเมืองขอน) \"",
"title": "โฮง"
},
{
"docid": "828796#31",
"text": "เยียเข้าในภาษาลาว-อีสานหมายถึง เล้าข้าว ในบทสูตรขวัญเล้าข้าวของชาวลาว-อีสาน มีการนำเล้าข้าวมาเปรียเทียบหรืออุปมากับโฮงเพื่อความเป็นสิริมงคลไว้ว่า",
"title": "โฮง"
},
{
"docid": "828796#40",
"text": "\" \"...ว่ามาเยอขวัญเอย แป้นแอ้มใหม่คือไม้แดง ตงขางแข็งคือไม้แต้ เอามาแต่เมืองสาละวัน ไม้จันทันและหน้าต่าง วิสุกรรมเป็นซ่างป่อนมาหา ไม้สะยัวหลังคาพระอินทราตกแต่ง เผิ่นจัดแจ่งตงขาง เอามาวางพิงพาด ดูสะอาดโฮงหลวง คนทั้ง ปวงมาโฮมแห่ พวกเฒ่าแก่มาออนวอน มาเฮือนนอนเย็นซุ่ม ใต้เมืองหลุ่มงามหลาย ปานเดือน หงายใสส่อง บ่มีป่องฮูฮอย...\" \"",
"title": "โฮง"
},
{
"docid": "701884#9",
"text": "13:3:7 “ด้วยเหตุนี้ วิญญูชนเมือเอ่ยนามก็ต้องพูดได้ เมื่อพูดได้ก็ต้องปฏิบัติได้ ท่าทีของวิญญูชนต่อคำพูดไม่อาจเหลวไหลได้”\nจื่อลู่เสียชีวิตเนื่องจากบุกเข้าช่วยเหลือข่งคุย จนร่างกายถูกทหารศัตรูสับจนแหลกเมื่อครั้งรัฐเว่ยเกิดรัฐประหาร ทำให้ขงจื่อเสียใจมาก ข่งจื่อสาบานว่าจะไม่ทานอาหารประเภทเนื้อสับอีกต่อไป",
"title": "จ้ง โหยว"
},
{
"docid": "168075#1",
"text": "มีเป้าหมายเจตคติต่อโลกนิจจาทั้งหมดว่า คือลบล้างระบบเก่าสร้างขึ้นใหม่ แต่ละคนมีสปายกับฐานจากแต่แคว้น เพื่อสอดแทรกการเมืองภายในและการสร้างหายะนะ กัดกร่อนทีละส่วน\n=ประวัติ=\nแสงอุษา แต่เดิมเป็นองค์กรที่ก่อตั้งโดย ยาอิโกะ,นางาโตะ,โคนัน แต่เดิมทั้ง 3 เป็นศิษย์จิไรยะ ตอนสงครามโลกนินจาครั้งที่ 2 อยู่ด้วยกัน 3 ปี พอจิไรยะไปสงครามต่อ ทั้ง 3 สร้างกลุ่มเล็ก กับมีนินจาในหมู่บ้านเริ่มเห็นด้วยกับแนวคิดของยาฮิโกะ เข้าร่วมจนกลุ่มขยายตัวกลายเป็นองค์กร ในหมู่บ้านอาเมะงาคุเระ ในชื่อแสงอุษา เป้าหมายคือยุติสงครามกลางเมืองในแคว้นตน จึงไปเป็นเป็นพันธมิตรกับฮันโซ แต่ทั้งหมดถูกดันโซจัดฉาก เพื่อหลอกใช้ จนโคนันเป็นตัวประกัน ยาฮิโกะที่เป็นหัวหน้าถูกบีบคั้น จึงจงใจให้นางาโตะฆ่าตน เพื่อช่วยโคนัน",
"title": "แสงอุษา (นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ)"
},
{
"docid": "199960#0",
"text": "คัณฑวยูหะ หรือคัณฑวยูหสูตร เป็นบทสุดท้ายของอวตังสกสูตร นามในภาษาสันสกฤตหมายความว่าช่อบุปผามาลัย ซึ่งคล้องจองกับความหมายของอวตังสกสูตร อย่างไรก็ตาม ยังมีความเห็นไม่ลงรอยกันในหมุ่นักวิชาการว่า ควรจะหมายถึงอะไรกันแน่ ขณะที่นามเรียกขานในภาษาจีนคือ \"รู่ฝ่าเจี้ยผิ่น\" ( 入法界品) หรือ \"ธรรมธาตุยาตราวรรค\" พระสูตรส่วนนี้แปลจากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีนเมื่อปีค.ศ. 798 โดยพระปรัชญามหาเถระ ปัจจุบันมีทั้งตัวบทภาษาจีน ทิเบต และสันสกฤต รวมถึงบทแปลภาษาต่างๆ แม้จะเป็นบทสุดท้ายของอวตังสกสูตร แต่เชื่กันว่า เป็นส่วนที่เก่าหแก่ที่สุด และอาจจะรจนาขึ้นก่อนหน้าส่วนอื่นๆ ของพระสูตรฉบับเต็ม",
"title": "คัณฑวยูหสูตร"
}
] |