query_id
stringlengths
1
4
query
stringlengths
11
185
positive_passages
listlengths
1
9
negative_passages
listlengths
1
30
4050
สัปปายะสภาสถาน โดยใช้งบประมาณทั้งหมดราวเท่าไหร่?
[ { "docid": "783233#2", "text": "สัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการสร้างรัฐสภาขนาดใหญ่ บนพื้นที่ดิน 119.6 ไร่ มีพื้นที่ใช้สอยในอาคาร 424,000 ตารางเมตร[3] มีที่จอดรถทั้งสิ้น 2,069 คัน[3] มีพื้นที่สีเขียวรวม 115,529 ตารางเมตร[4] โดยใช้งบประมาณทั้งหมดราว 22,987 ล้านบาท[4] มีความสูงจากฐานถึงยอดเจดีย์พระสุเมรุ 134.56 เมตร ภายในประกอบด้วยส่วนสภาทั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ซึ่งแยกออกเป็น 2 ส่วน นอกจากนี้ยังมีการออกแบบพิพิธภัณฑ์ ศูนย์ประชุม ห้องสัมมนา สโมสรจัดเลี้ยง ห้องทำงาน สส. และ สว. อีกด้วย[5]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" } ]
[ { "docid": "783233#14", "text": "สถาปนิกได้ออกแบบนำเสนอคติและสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของไทยในอดีตผสมผสานไปกับเทคโนโลยีการก่อสร้าง ระบบโครงสร้างทางสังคม และระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขในปัจจุบัน ผ่านทางรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่บนพื้นฐานทางภาษาและฉันทลักษณ์ตามอย่างสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี[17] ตามคติ ไตรภูมิ ที่นอกจากจะแสดงเอกลักษณ์ทางจิตวิญญาณถึงความเป็นไทย ยังมีความหมายเพื่อให้คนไทยและเหล่า ฯพณฯ ที่ดี และพวกบรรดานักการเมืองในเสื้อสูทประชาธิปไตย เมื่อเข้ามาอยู่ในสภาจะสำนึกถึง \"บาปบุญคุณโทษ\" พลิกฟื้นจิตใจผู้คนให้ประกอบกรรมดี[5]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#1", "text": "สัปปายะสภาสถาน เป็นผลงานชนะเลิศการประกวดแบบของธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) จากผู้ส่งประกวดทั้งหมด 5 ราย[2] โครงการได้เริ่มวางเสาเข็มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยมีบริษัทซิโนไทยเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง ซึ่งเดิมต้องแล้วเสร็จภายใน 900 วัน หรือในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 แต่ปัจจุบันโครงการได้ล่าช้าออกไป เนื่องจากปัญหาการส่งมอบพื้นที่และการปรับรายละเอียดแบบก่อสร้างในบางส่วน ทำให้โครงการได้เลื่อนออกไป โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2563", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#15", "text": "นอกจากนี้ยังใช้แนวคิดของ \"สถาปัตยกรรมสีเขียว\" (Green Architecture) ซึ่งเห็นได้จากการปลูกต้นไม้ใหญ่ล้อมรอบอาคาร", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "267833#10", "text": "ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 มีรายงานว่าค่าใช้จ่ายในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และพาราลิมปิก อาจจะมากกว่าการคาดการณ์งบประมาณเดิมถึงสี่เท่า และดังนั้นมีการเสนอให้มีการปรับปรุงแผนงาน เพื่อลดงบประมาณต่างๆ รวมถึงการย้ายสถานที่จัดการแข่งขันออกนอกกรุงโตเกียว\nเขตประวัติศาสตร์มีสถานที่จัดการแข่งขันทั้งหมด 7 สถานที่ โดยเขตประวัติศาสตร์ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจใจกลางของกรุงโตเกียว ซึ่งเขตนี้อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้านนักกีฬา สถานที่บางส่วนเคยจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964", "title": "โอลิมปิกฤดูร้อน 2020" }, { "docid": "783233#11", "text": "สัปปายะสภาสถาน ใช้เวลาออกแบบพร้อมเขียนแบบก่อสร้างเพียง 7 เดือน ซึ่งใช้สถาปนิก ทุกภาควิชากว่า 200 คน รวมถึงวิศวกรและผู้เชี่ยวชาญแขนงงานต่างๆ จากองค์กรต่างๆ มากกว่า 20 องค์กร โดยต้องทำแบบก่อสร้างกว่า 6,000 หน้า และ รายการประกอบแบบกว่า 1 หมื่นแผ่น[15]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#13", "text": "ในด้านงานภูมิสถาปัตยกรรมทั้ง ท่าเรือ ลานประชาธิปไตย สวนภายนอก สนามรัฐสภา ลานประชาชน ออกแบบหลักโดย ปิยเมศ ไกรฤกษ์ จาก บลูแพลนเนตดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล[16]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "78737#2", "text": "เป้ออกมาทำงานโดยเป็นนักดนตรีเล่นดนตรีตามสถานบันเทิงต่าง ๆ ยามค่ำคืนตามพี่ชาย แต่เมื่อหักค่าใช้จ่ายต่อวันแล้วก็เหลือไม่เท่าไหร่ โดยเป้เป็นคนชอบร้องเพลงมาตั้งแต่เด็กแล้ว โดยมักจะร้องด้วยโทนเสียงสูงไม่ว่าจะเป็นเพลงลูกทุ่งหรือเพลงร็อกเพราะต้องร้องแข่งกับดนตรี เคยตั้งวงดนตรีขึ้นมาเล่น ๆ ในสมัยเด็ก ชื่อ \"เดอะ จักจั่น\"", "title": "อนุวรรตน์ ทับวัง" }, { "docid": "783233#21", "text": "ชุมชนบ้านพักองค์การทอผ้า มีจำนวนประชากร 93 ครอบครัว ทางรัฐสภาได้ทำข้อตกลงคล้ายกับชุมชนตระกูลดิษฐ์ โดยจะไปปลูกสร้างในพื้นที่แผนกซ่อมบำรุงเรือกองร้อยขนส่งเรือ (ฝั่งวัดแก้วฟ้าจุฬามณี) โดยจะแบ่งพื้นที่ให้ครอบครัวละ 12 ตารางวา[24]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "135637#5", "text": "ในวันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2561 นาย สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 ได้เตรียมจัดประชุมเพื่อเลือกสถานที่ในการเป็นรัฐสภาชั่วคราวในระหว่างที่ สัปปายะสภาสถาน หรือรัฐสภาแห่งใหม่ยังสร้างไม่แล้วเสร็จโดยห้องประชุมของบริษัท ทีโอที ถนนแจ้งวัฒนะ ถูกคาดหมายว่าจะถูกใช้เป็นห้องประชุมรัฐสภาชั่วคราวในระหว่างเดือน ธันวาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2562", "title": "อาคารรัฐสภาไทย" }, { "docid": "783233#23", "text": "หมวดหมู่:รัฐสภาไทย หมวดหมู่:เขตดุสิต", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#8", "text": "โครงการรัฐสภาแห่งใหม่เป็นการประกวดแบบครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของประเทศนับตั้งแต่การประกวดแบบสนามบินสุวรรณภูมิ ชิงเงินรางวัลชนะเลิศการประกวดแบบสูงถึง 200 ล้านบาท[13] มีผู้ส่งเข้าประกวดทั้งหมด 133 ราย[14] และผ่านเข้าในรอบสุดท้ายทั้งหมด 5 ราย ได้แก่", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "653073#2", "text": "ผลงานออกแบบมีจุดเด่นคือ การออกแบบที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานกับสมัยใหม่อย่างลงตัว ทั้งการจัดให้มีพื้นที่กิจกรรมสันทนาการและการพักผ่อนในบรรยากาศธรรมชาติ รวมถึงการนำลักษณะของภูมิทัศน์และรูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นมาสร้างสภาพแวดล้อม มีงานออกแบบที่สร้างชื่อเสียงอย่าง อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ \"สัปปายะสภาสถาน\" ที่ชนะเลิศการประกวดแบบจากผู้เข้าประกวดกว่า 133 ราย ", "title": "ธีรพล นิยม" }, { "docid": "783233#0", "text": "สัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ของประเทศไทยและแห่งที่ 3 ของประเทศไทยแทนที่อาคารเดิมบริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต โครงการก่อสร้างตั้งอยู่ติดริ่มฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต[1] โครงการได้ริเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 สมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ในการประชุมจัดหาสถานที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ จนมีมติเลือกที่เดินราชพัสดุถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต เป็นสถานที่ในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#12", "text": "ในส่วนงานสถาปัตยกรรมไทยได้ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี และเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี ซึ่งต่างเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาสถาปัตยกรรมไทย ร่วมให้คำแนะนำและออกแบบ[15]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "28453#4", "text": "เมื่อออกพรรษาแล้วพระศรี มหาวีโรในครั้งนั้นได้ออกจาริกแสวงธรรม ไปตามวนาป่าเขาราวไพร อาทิ ภูเก้า ภูผักกูด บ้านห้วยทราย อำเภอคำชะอี จังหวัดนครพนม ซึ่งที่ภูผักกูด หรือภูผากูดแห่งนี้ เป็นสัปปายะสถาน ที่พ่อแม่ครูอาจารย์หลวงปู่เสาร์ หลวงปู่มั่น เคยธุดงค์จาริก มาพำนัก เป็นแหล่งเจริญธรรม ที่ผู้กล้าแห่งกองทัพธรรม ได้มาประพฤติธรรม บำเพ็ญเพียร ด้วยเป็นสถานที่อยู่ไกลจากชุมชน ขาดแคลนขัดสน ในปัจจัยสี่ แต่มีภูมิทัศน์ ที่เหมาะแก่การพัฒนา ภูมิธรรมสัมมาปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง ", "title": "พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)" }, { "docid": "783233#22", "text": "โรงเรียนโยธินบูรณะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนอายุกว่า 80 ปี ออกทั้งหมดเพื่อใช้สร้างอาคารรัฐสภา โดยในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งเป็นวันเปิดเทอมวันแรกของปีการศึกษา ก็ได้มีพิธีมอบพื้นที่โรงเรียนโยธินบูรณะ(เกียกกาย)ให้กับสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาเพื่อใช้ก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ โดยโรงเรียนได้ย้ายไปสร้างใหม่ย่านถนนประชาราษฎร์สาย 1[25]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#3", "text": "ด้วยพื้นที่ในอาคารถึง 424,000 ตารางเมตร ทำให้เมื่อก่อสร้างเสร็จ สัปปายะสภาสถานจะเป็นอาคารของรัฐที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกแทนที่อาคารรัฐสภาแห่งโรมาเนีย ซึ่งมีพื้นที่ในอาคาร 365,000 ตารางเมตร โดยจะเป็นรองเพียงอาคารเดอะเพนตากอนที่มีพื้นที่ 600,000 ตารางเมตรเท่านั้น", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#16", "text": "สัปปายะสภาสถาน สร้างบนพื้นที่ขนาด 123 ไร่[18] มีเนื้อที่กว่า 424,000 ตารางเมตร โดยใช้งบประมาณทั้งหมดราว 12,000 ล้านบาท สามารถรองรับผู้คนได้มากกว่า 5 พันคน รองรับการจอดรถได้มากกว่า 2 พันคัน[16] ภายในอาคารประกอบไปด้วย โถงรับรอง ส.ส. และ ส.ว., ห้องประชุมของ ส.ส. หรือที่เรียกว่า \"ห้องพระสุริยัน\", ห้องประชุม ส.ว. หรือที่เรียกว่า \"ห้องพระจันทรา\", โถงรัฐพิธี, พิพิธภัณฑ์ประชาธิปไตย, ห้องอาหาร ส.ส., ห้องอาหาร ส.ว.[19] ในส่วนของดาดฟ้าอาคาร ประกอบด้วยกำแพงแก้วล้อมรอบส่วนเจดีย์และพิพิธภัณฑ์ชาติไทย[19]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#19", "text": "รวมถึงการวิจารณ์ถึงความเหมาะสมและความคุ้มค่าในการก่อสร้างซึ่งต้องใช้งบประมาณสูง", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#6", "text": "ในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการประชุมจัดหาสถานที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ โดยมีสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นประธาน และได้พิจารณาพื้นที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ บริเวณที่ดินราชพัสดุ ถนนทหาร(เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ, ที่ดินราชพัสดุกองคลังแสง กรมสรรพวุธทหารบก ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี และที่ดินบริเวณคลังเชื้อเพลิง แขวงคลองเตย เขตคลองเตย จนมีมติที่เดินราชพัสดุถนนทหาร (เกี่ยกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต เป็นสถานที่ในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ในที่สุด[8]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#10", "text": "โดยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ก็ได้มีการตัดสินคัดเลือกแบบของธีรพล นิยม โดยมีกรรมการ 12 คนประกอบไปด้วย สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ด้านสถาปัตยกรรมสถาน สภาวิศวกรรม และศิลปินแห่งชาติ พิจารณาการประกวดโครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#4", "text": "สัปปายะสภาสถาน เป็นการรวมคำระหว่าง \"สัปปายะ\" และ \"สภาสถาน\" โดย \"สัปปายะ\" หรือ \"สัปปายะ 7\" ซึ่งแปลว่า สิ่งที่สบาย, สภาพเอื้อ, สิ่งที่เกื้อกูล, สิ่งที่เหมาะสมกัน[6] เมื่อรวมกับ \"สภาสถาน\" จึงมีความหมายถึง สภาที่มีแต่ความสงบร่มเย็นสบาย[7]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#17", "text": "สัปปายะสภาสถาน ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวาง ทั้งการวิจารณ์ว่าออกแบบที่เหมือน \"วัด\"[20][14] จากมุมมองสถาปนิก รศ.ชาตรี ประกิตนนทการ อาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ได้ออกมาวิจารณ์ว่า \"ใช้ความหมายเดิมๆ ศีลธรรมเป็นเรื่องจอมปลอม ไม่คำนึงถึงปัญหาความขัดแย้งทางศาสนาของสังคม และการใช้งานไม่เอื้อให้เป็นพื้นที่ของประชาชนอย่างแท้จริง\" และกล่าวเสริมต่อว่า \"การใช้แนวคิดด้านพระพุทธศาสนามากเกินไปจนไม่มีมุมมองด้านประชาธิปไตยและการออกแบบที่ยังคงยวนอยู่ในกรอบของภาษาความเป็นไทยทางสถาปัตยกรรมที่ตื้นเขินและไม่มีอยู่จริง\"[21][22]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "209259#2", "text": "ยิ่งเมล็ดกาแฟถูกคั่วให้เข้มมากขึ้นเท่าไหร่ รสชาติดั้งเดิมของมันก็จะยิ่งถูกบดบังด้วยรสที่เกิดจากการคั่วมากขึ้นเท่านั้น กาแฟบางประเภทที่ถูกคั่ว จนรสชาติแทบจะไม่ได้บ่งบอกถึงสถานที่ปลูกเลย จะถูกขายโดยใช้ระดับของการคั่วเป็นหลัก โดยเริ่มตั้งแต่ \"อบเชยคั่วอ่อนๆ (Light Cinnamon Roast) \" ไปจนถึง \"การคั่วแบบเวียนนา (Vienna Roast) \" และ \"การคั่วแบบฝรั่งเศส (French Roast) \" และอื่นๆ", "title": "การคั่วเมล็ดกาแฟ" }, { "docid": "608770#11", "text": "ราว ๆ พ.ศ. 2520-2530 มหาวิทยาลัยได้สร้างอาคารเรียนใหม่ขึ้นเป็นจำนวนมาก รวมทั้งพัฒนาที่ดินที่ชิลเวิร์ทมาเนอร์ (Chilworth manor) ให้เป็นอุทยานวิทยาศาสตร์และสถานที่ประชุม ที่ดินที่ท่าเรือก็ได้พัฒนาเป็นศูนย์สมุทรศาสตร์แห่งชาติ รวมทั้งซื้อที่ดินโรงเรียนทอนตัน (Taunton College) และถนนไวด์เลน (Wide lane) สำหรับใช้เป็นที่ตั้งคณะมนุษยศาสตร์และศูนย์กีฬา ตามลำดับ ขณะเดียวกันแม้จะมีการตัดงบประมาณรัฐบาลกลางสำหรับอุดหนุนสถานศึกษา แต่สภามหาวิทยาลัยก็ได้จัดการปรับอัตรากำลังตามสัดส่วนงบประมาณที่ลดแทนการไล่พนักงานออกจากตำแหน่ง", "title": "มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน" }, { "docid": "783233#9", "text": "กลุ่มนายธีรพล นิยม - ทีมสงบ 10151 บริษัทสถาปนิก 49 จำกัด (A49) กลุ่มนายธรรมศักดิ์ อังศุสิงห์ บริษัทดีไซน์ 103 อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ผศ.วิเชษฐ์ สุวิสิทฐ์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "783233#18", "text": "นอกจากนี้ในช่วงก่อนการเลือกแบบได้มีการตั้งกระทู้ในเว็บไซต์พันทิปดอดคอม ในการโหวต 5 แบบสุดท้าย จากผู้โหวตทั้งหมด 168 คน ผลปรากฏว่าเสียงโหวตส่วนใหญ่ตกไปที่แบบที่ 5 ของ ผศ.วิเชษฎ์ สุวิสิทฐ์ ในขณะที่แบบของทีมสงบอยู่ในอันดับที่ 2[23]", "title": "สัปปายะสภาสถาน" }, { "docid": "135637#7", "text": "รัฐสภาไทย วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย พระที่นั่งอนันตสมาคม ทำเนียบรัฐบาล สัปปายะสภาสถาน", "title": "อาคารรัฐสภาไทย" }, { "docid": "783233#5", "text": "อาคารรัฐสภาไทยได้มีการเปลี่ยนสถานที่มาแล้วกว่า 2 ครั้ง สถานที่แรกคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งใช้มาตั้งแต่หลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จนในปี พ.ศ. 2517 จึงได้ย้ายไปที่อาคารรัฐสภาแห่งที่ 2 บริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต (สวนสัตว์เขาดิน) จนถึงปัจจุบัน แต่เนื่องจากสถานที่ที่เริ่มคับแคบลงเมื่อจำนวน ส.ส. ส.ว. และข้าราชการเพิ่มขึ้น ทำให้ทางรัฐสภาได้แก้ปัญหาโดยการเช่าพื้นที่บางส่วน จนต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงเริ่มมีแนวคิดในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่", "title": "สัปปายะสภาสถาน" } ]
3351
ความฝันอเมริกัน ปรากฎครั้งแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "146783#3", "text": "นิยามโดยรวมของ “ความฝันอเมริกัน” ปรากฏครั้งแรกในหนังสือประวัติศาสตร์ที่เขียนโดย<i data-parsoid='{\"dsr\":[2223,2248,2,2]}'>เจมส์ ทรัสโลว์ อดัมส์ ชื่อ “มหากาพย์แห่งอเมริกา” (The Epic of America - พ.ศ. 2474", "title": "ฝันอเมริกัน" } ]
[ { "docid": "856742#1", "text": "ภาพยนตร์เรื่องนี้เล่าเรื่องของ Sam Lowry ชายคนหนึ่งผู้ซึ่งพยายามตามหาหญิงสาวผู้ปรากฏตัวในความฝัน ในขณะที่ทำงานที่แสนน่าเบื่อและใช้ชีวิตในห้องพักอันคับแคบ ในโลกอนาคตอันห่างไกลอุดมคติ ที่ซึ่งสังคมถูกผลักดันโดยวัตถุนิยม ผู้คนจำเป็นต้องอาศัยเครื่องจักร ซึ่งไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ดีพอ รัฐบาลที่ปรากฎในเรื่องนี้เป็นรัฐบาลราชการเผด็จการเบ็ดเสร็จ คล้ายคลึงกับที่ปรากฏในเรื่อง\"หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่\"ของ George Orwell เพียงแต่มีความตลกโปกฮา และไม่มีผู้นำสูงสุดในลักษณะเดียวกับบิ๊กบราเธอร์ปรากฏให้เห็น", "title": "บราซิล แหกกฏศตวรรษ" }, { "docid": "626478#2", "text": "ทั้งนี้ ในเมตตสูตรบทหลังซึ่งปรากฏอานิสงส์ 11 ประการ มิได้ระบุถึงสถานที่แสดงพระสูตรไว้ แต่ในเมตตสูตรบทแรกได้ระบุไว้ว่า สมเด็จ \"พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี\" แล้วทรงตรัสพระสูตรนี้แก่ภิกษุทั้งหลาย ซึ่งเมื่อนำพระสูตรทั้ง 2 มารวมกันเป็นเมตตานิสังสสุตตปาฐะ เนื้อความจึงสมบูรณ์ยิ่งขึ้น กล่าวคือ เมตตสูตรแรกปรากฎสถานที่แสดง แต่อานิสงส์มีเพียง 8 ประการ ขณะที่เมตตสูตรที่ 2 ไม่ปรากฎที่มา แต่มีเนื้อหากล่าวถึงอานิสงส์ 11 ประการ ขณะที่เมตตานิสังสสุตตปาฐะ ปรากฎสถานที่แสดงพระสูตรจากเมตตสูตรแรก และอานิสงส์ 11 ประการจากเมตตสูตรหลัง", "title": "เมตตานิสังสสุตตปาฐะ" }, { "docid": "971119#7", "text": "การเปิดการ์ดในภาคนี้จะแตกต่างจากออนไลน์ 3 ตรงที่ว่าจะมีโมเดลนักฟุตบอลปรากฎตอนเปิดการ์ดซึ่งถ้าเปิดได้ผู้เล่นที่มีพลังมากกว่า 80 จะมีแอนิเมชั่นเปิดตัวของการ์ด(Walkout)ปรากฎขึ้นมาโดยจะปรากฎเสื้อทีม,เบอร์เสื้อ,ส่วนใบหน้าของนักเตะ เพื่อให้มีความลุ้นมากขึ้น ซึ่งการ์ดต่าง ๆ จะมีแตกต่างกันออกไปตามแพ็คต่าง ๆ", "title": "ฟีฟ่าออนไลน์ 4" }, { "docid": "841974#1", "text": "แนวคิดพลขว้างระเบิดนั้นปรากฎครั้งแรกในสมัยราชวงศ์หมิงของจีนซึ่งมีบันทึกว่าทหารจีนบนกำแพงเมืองจีนได้ขว้างลูกระเบิดใส่ข้าศึก สำหรับในยุโรปพบว่าพลขว้างระเบิดปรากฎครั้งแรกในสเปนและออสเตรีย และพลขว้างระเบิดก็ปรากฎอยู่ในอังกฤษเช่นกันในช่วงสงครามกลางเมืองอังกฤษ", "title": "แกรนาเดียร์" }, { "docid": "576906#1", "text": "ปรากฎตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน อัลติเมตฟอลล์เอาท์ ฉบับที่ 4 (สิงหาคม 2011) หลังจากการตายของปีเตอร์ ปาร์คเกอร์ เป็นวัยรุ่นอเมริกันเชื้อสายแอฟริกันและลาติน ไมล์เป็นไอ้แมงมุมคนที่ 2 ในอัลติเมตมาร์เวล", "title": "สไปเดอร์-แมน (ไมล์ โมราเลส)" }, { "docid": "632432#22", "text": "พระสูตรนี้มักถูกนำไปอธิบายปรากฎการณ์จันทรคราส และมีพระสูตรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันคือสุริยสูตร ใช้อธิบายปรากฎการณ์สุริยคราสเช่นกัน ว่า เกิดจากการกลืนกินของราหู อย่างไรก็ตาม เสฐียรพงษ์ วรรณปก ผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนาได้แสดงความเห็นไว้ว่า จันทิมสูตรอาจเป็นสูตรที่แต่งขึ้นใหม่ และเป็นของแปลกปลอมมิใช่พระสูตรดั้งเดิม โดย เสฐียรพงษ์ แสดงความเห็นเรื่องนี้ไว้การบรรยายเรื่อง \"ความเป็นมาของพระไตรปิฎก\" ความว่า", "title": "จันทปริตตปาฐะ" }, { "docid": "132776#0", "text": "กอลลัม (Gollum) เป็นตัวละครเอกในจินตนิยายเรื่อง เดอะฮอบบิท และ เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นชนเผ่าฮอบบิท มีชื่อเดิมว่า สมีโกล ปรากฎตัวครั้งแรกในเดอะฮอบบิท และปรากฎตัวในเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอนหอคอยคู่พิฆาต", "title": "กอลลัม" }, { "docid": "576876#0", "text": "บลูอีเกิล () เป็นตัวละครการ์ตูนซูเปอร์ฮีโรจากมาร์เวลคอมิกส์ ซึ่งปรากฎตัวครั้งแรกในนามของทีมซูเปอร์ฮีโรของ สควาดรอน สุพรีม ในการ์ตูนเรื่องดิ อเวนเจอร์ส ฉบับที่ 85 (กุมภาพันธ์ 1971) ในชื่อ อเมริกันอีเกิล ต่อมาในชื่อ แค็พ'เอ็นฮอว์ก ในการ์ตูนเรื่องดิ อเวนเจอร์ส\" ฉบับที่ 148 (มิถุนายน 1976) และต่อมาได้ชื่อว่า บลูอีเกิล ในการ์ตูนเรื่องสควาดรอน สุพรีม ฉบับที่ 1 (กันยายน 1985)", "title": "บลูอีเกิล (หนังสือการ์ตูน)" }, { "docid": "780309#2", "text": "แรกเริ่มตัวละครนี้ปรากฎ โดยไม่มีชื่อ ในสงครามโลกครั้งที่สองและพบรักกับกัปตันอเมริกา Tales of Suspense #75 และ เล่ม 77 (พฤษภาคม 1966) โดยนักเขียน สแตน ลี และจิตรกร แจ็ก เคอร์บี . เธอปรากฎตัวอีกครั้งในฐานะพี่สาวของ ชารอน คาร์เตอร์ใน Captain America #161 (พฤษภาคม 1973)", "title": "เพ็กกี คาร์เตอร์" }, { "docid": "677909#3", "text": "ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2010 Jeremy ปรากฎตัวใน The Young and the Restless ด้วยตัวเขาเอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะเพื่อนสนิทของ CL หัวหน้า งวงของเกิร์ลกรุ๊ปเกาหลี 2ne1 เขาให้เสื้อผ้าเป็นของขวัญแก่เธอและผู้หญิงอื่นๆด้วย เขาปรากฎตัวใน 2NE1 TV Season 2 (เรียลริตี้โชว์ของชีวิต 2ne1 ระหว่างออกอัลบั้มใหม่ล่าสุดของพกเขา) กับ Will.i.am แห่ง The Black Eyed Peas ปรากฎตัวกับ 2ne1 เช่นกัน ในพฤศจิกายน 2010 O'live OnStyle Sytle Icon Awards ซึ่ง Scott จะปรากฎตัวในงานเพื่อมอบรางวัลให้ 2ne1 วงผู้หญิงที่ทันสมัยที่สุด", "title": "เจเรมี สก็อตต์" }, { "docid": "943117#0", "text": "แคนแดซ ฮัทสัน () (เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ.1980) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในการพากษ์เสียงเป็นเซร่า ของหนังญาติไดโนเสาร์เจ้าเล่ห์ตั้งแต่ตอนแรกจนถึงตอนที่ 4 เธอปรากฎในรายการโทรทัศน์ชื่อ \"Evening Shade\". พากษ์เสียง Mattie the Mouse ใน \"Reader Rabbit\" และเคยปรากฎตัวในหนัง \"Dolly Dearest\" (1992) และ \"The Maddening\" (1995).", "title": "แคนแดซ ฮัทสัน" }, { "docid": "684401#1", "text": "ดองกีคองได้ปรากฎตัวในเกมดองกีคองเป็นเกมอาร์เคดที่โด่งดังเป็นเกมที่แสดงการปรากฎตัวของมาริโอ และ ดองกีคองก์ในเกมนั้นมาริโอจะเป็นตัวละครฝ่ายดีและดองกีคองก์จะเป็นตัวละครฝ่ายร้ายแต่ว่าสุดท้ายดองกีคองก์ก็เป็นฝ่ายแพ้และถูกมาริโอลักพาตัวแทนดังนั้นมาริโอจึงได้เป็นตัวละครฝ่ายร้ายแทนส่วนตัวละครฝ่ายดีคือดองกีคองก์จูเนียร์ในเกมดองกีคองก์จูเนียร์\nแรก็ได้เป็นบริษัทที่พัฒนาเกมดองกีคองทำให้เกิดเกมที่มีชื่อว่าดองกีคองคันทรีเป็นเกมที่ได้แสดงการปรากฎตัวของคิง เครู\nเกมดองกีคองทำให้เกิดเกมที่มีชื่อว่าดองกีคองคันทรีรีเทิร์น", "title": "ดองกีคอง (ตัวละคร)" }, { "docid": "138291#0", "text": "ปรากฏการณ์โดรสต์ () เป็นความสัมพันธ์เวียนเกิดที่ปรากฏในรูปแบบศิลปะ โดยมีลักษณะการวาดรูปลักษณะเดิมซ้ำแต่มีขนาดเล็กกว่าในรูปนั้นๆ และในรูปเล็กก็มีรูปเดียวกันอีกรูปหนึ่งปรากฏอยู่ เป็นชั้นๆ ไปเรื่อยๆ มักใช้ออกแบบโลโก้ต่าง ๆ แต่การที่ปรากฎการณ์นี้จะเกิดขึ้นจนเป็นอนันต์นั้นเกิดขึ้นได้เพียงในทางทฤษฎีเท่านั้น โดยปกติจะเกิดขึ้นเท่าที่ขนาดรูปจะปรากฎได้ ซึ่งสั้นมาก ", "title": "ปรากฏการณ์โดรสต์" }, { "docid": "202377#1", "text": "ประเทศจีนเป็นชาติแรกที่ประดิษฐ์ดินปืนขึ้นใช้ได้ และแนวคิดปืนใหญ่เริ่มปรากฎขึ้นในแผ่นดินจีน ในช่วงราชวงศ์ซ่ง หรือราวศตวรรษที่ 12 โดยปรากฎหลักฐานเป็นหนึ่งในรูปปั้นของงานแกะสลักหินแห่งต้าจู๋. อย่างไรก็ดี ปืนใหญ่ไม่ได้รับการผลิตขึ้นใช้จริงจนกระทั่งศตวรรษที่ 13. ในปีคริสต์ศักราช 1288 มีการบันทึกว่า กองทัพของราชวงศ์หยวนมีปืนใหญ่มือไว้ใช้ในการรบ. หลังจากนั้นเทคโนโลยีปืนใหญ่ก็เริ่มปรากฎตัวขึ้นในยุโรปในราวต้นศตวรรษที่ 14.", "title": "ปืนใหญ่" }, { "docid": "117172#10", "text": "วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เขาถูกวิจารณ์อีกครั้งภายหลังที่เขาโพสต์ขอโทษ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เนื่องมาจากการส่อเสียดในรายการสายล่อฟ้าโดยปรากฎคำพูดออกรายการในขณะนั้นว่า ยิ่งลักษณ์ เอาอยู่ โดย นาย ศิริโชค เจตนาให้ผู้ชมเข้าใจคำว่า เอาอยู่ ในลักษณะที่หมิ่นประมาทว่า ยิ่งลักษณ์ กำลังมีเพศสัมพันธ์ อยู่ ณ โรงแรมโฟร์ซีซันส์ ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้มีคำสั่งลงโทษจำคุก 1 ปี ปรับ ห้าหมื่นบาท และคดีกำลังเข้าสู่ศาลฎีกา ปรากฎว่า นายศิริโชคขอไกล่เกลี่ยเป็นการขอโทษผ่านเฟสบุ๊ค ภายหลัง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ยื่นถอนฎีกาแล้ว ปรากฎว่า เขาลบข้อความขอโทษออกทันที ซึ่งได้รับคำวพากษ์วิจารณ์อย่างมาก จนสุดท้ายเขาขอประกาศลงคำขอโทษไว้ 7 วัน", "title": "ศิริโชค โสภา" }, { "docid": "923326#2", "text": "ในช่วงที่ทุกอย่างเหมือนจะไปได้ราบรื่นนี่เอง ปัญหาต่างๆ นานาก็เริ่มรุมเร้าเข้ามา เมื่อลู่เจี๋ย ผู้ที่ไม่ชอบมู่ฉีก็พยายามหาข้ออ้างต่างๆ เพื่อจะไล่มู่ฉีออกจากโรงเรียน จงเยี่ยน ผู้อำนวยการโรงเรียนที่แอบหลงรักมู่ฉีก็พยายามใช้ทุกวิถีทางที่จะให้มู่ฉีรับรัก ในช่วงที่ปัญหาน่าปวดหัวพวกนี้กำลังถาโถม ปัญหาที่น่ากลัวที่สุดก็ปรากฎขึ้น เมื่ออดีตของมู่ฉี ที่เคยเกี่ยวข้องกับการพนันบอล ก็ถูกเปิดเผยขึ้นให้คนได้รับรู้ มู่ฉีและเพ้ยตั่วซึ่งเป็นคู่กัดกันมาตลอด ความสัมพันธ์ก็พัฒนาในทางที่ดี พอมู่ฉีที่เพิ่งคบกับเพ้ยตั่วไม่นาน ถูกแม่ของเพ้ยตั่วซึ่งเป็นเจ้าของบริษัทต่อต้าน การแข่งขันฟุตบอลรอบคัดเลือกของโรงเรียนก็กำลังจะมาถึง แต่ความฝันและอาชีพฟุตบอลของมู่ฉีกำลังแขวนอยู่บนเส้นด้าย มู่ฉีจะฝ่าฝันอุปสรรคและอดีตของตนเองที่เคยทำผิดพลาดไปได้หรือไม่??ทั้งสองคนจะสามารถสร้างปาฏิหาริย์ให้แก่ทีมฟุตบอลโดยที่ไม่คาดคิดมาก่อน", "title": "โกล์! สู้สุดฝัน" }, { "docid": "707990#1", "text": "สำหรับนักเดินทางที่เหนื่อยล้า ภาพมิราจอาจปรากฎขึ้นให้แลดูเหมือนสระน้ำ หรือทะเลสาปที่อยู่ไกลออกไป ซึ่งเป็นปรากฎการณ์ของมิราจแบบต่ำ (inferior) เนื่องจากภาพลวงที่เกิดขึ้นเป็นภาพสะท้อนของวัตถุจริงที่อยู่เหนือขึ้นไป ได้แก่ ท้องฟ้า ", "title": "มิราจ" }, { "docid": "979809#1", "text": "กูปปะลิงส์ปรากฎตัวครั้งแรกในเกมซูเปอร์มาริโอบราเธอส์ 3 โดยรับบทเป็นบอสในแต่ละด่านโดยมีคฑาที่ขโมยมาจากพระราชาและสาปเขาให้เป็นสัตว์ต่างๆ หลังจากนั้นจึงปรากฎตัวในเกมซูเปอร์มาริโอเวิลด์ในปี 1990 โดยเก็บไข่ของโยชิไว้ในปราสาทบนดินแดนไดโนเสาร์ (Dinosaur Land)", "title": "กูปปะลิงส์" }, { "docid": "761846#0", "text": "การข่มข้ามคู่ () ในทางพันธุศาสตร์หมายถึงปรากฎการณ์ที่การที่การแสดงออกของยีนยีนหนึ่งต้องขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของยีนปรับแต่ง (modifier gene) หนึ่งอันหรือมากกว่า การกลายพันธุ์ที่มีลักษณะข่มข้ามคู่จะส่งผลต่อลักษณะปรากฎเป็นลักษณะที่ผ่านการผสมผสานกันมาจากยีนหลายๆ ยีน แทนที่จะเป็นมาจากยีนใดยีนหนึ่ง เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ของยีน อาจเป็นระหว่างยีนคนละยีนหรือภายในยีนเดียวกันทำให้เกิดผลที่ไม่เสริมกัน (non-additive)", "title": "การข่มข้ามคู่" }, { "docid": "780309#0", "text": "มากาเร็ต \"เพ็กกี\" คาร์เตอร์ เป็นตัวละครที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนอเมริกัน ตีพิมพ์โดยมาร์เวลคอมิกส์ เธอเป็นตัวละครฝ่ายสนับสนุนในหนังสือกัปตันอเมริกา ตัวละครสร้างโดยนักเขียนการ์ตูน สแตน ลี และวาดภาพโดยแจ็ก เคอร์บี เธอปรากฎตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน\"เทลออฟซัสเปนส์\" เล่ม 77 เป็นคนรักของสตีฟ โรเจอส์ในภาพความหลังช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมาเธอกลายเป็นญาติของชารอน คาร์เตอร์ คนรักยุคปัจจุบันของกัปตันอเมริกา", "title": "เพ็กกี คาร์เตอร์" }, { "docid": "229703#0", "text": "ไมเคิล เบนจามิน เบย์ () ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันในชื่อ ไมเคิล เบย์ ผลงานของเขาจะโด่งดังในฐานะภาพยนตร์แอ็คชั่นทุนสร้างราคาสูง และมีสไตล์การลำดับภาพแบบรวดเร็วและการใช้สเปเชียลเอฟเฟ็คต์ โดยเฉพาะการใช้ระเบิดที่จะปรากฎในแทบทุกเรื่องของเขา ไมเคิล เบย์ได้โปรดิวซ์เซอร์และกำกับภาพยนตร์โด่งดังมากมายอาทิ \"Armageddon\" (ปี 1998), \"Pearl Harbor\" (ปี 2001) และภาพยนตร์ชุด \"Transformers\" (ปี 2007-ปัจจุบัน) ไมเคิล เบย์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่สร้างรายได้มากกว่า 7.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้เขายังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทผลิตสื่อโฆษณาชื่อ ดิ อินสติจูด เพื่อการพัฒนางานด้านสื่อโดยเฉพาะ เขายังเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แพลตินัม ดูนส์ บริษัทผลิตภาพยนตร์ที่มักจะหยิบผลงานสยองขวัญเก่า ๆ มาสร้างใหม่เช่น \"The Texas Chainsaw Massacre ล่อมาชำแหละ\" (ปี 2003), \"The Amityville Horror ผีทวงบ้าน\" (ปี 2005) ที่เกี่ยวกับบ้านผีสิงที่มีอยู่จริงในสหรัฐอเมริกา, \"The Hitcher คนนรกโหดข้างทาง\" (ปี 2007), \"Friday the 13th ศุกร์ 13 ฝันหวาน\" (ปี 2009), \"A Nightmare on Elm Street นิ้วเขมือ\" (ปี 2010)", "title": "ไมเคิล เบย์" }, { "docid": "906773#1", "text": "ปรากฎการณ์ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมากของจำนวนการฆ่าตัวตาย ซึ่งเกิดตามหลังการฆ่าตัวตายที่เป็นข่าวในวงกว้าง มักถูกเรียกว่า ปรากฎการณ์แวเธ่อร์ (Werther effect) ซึ่งตั้งตามนิยายของเกอเธ่เรื่อง \"แวเธ่อร์ระทม\"", "title": "การฆ่าตัวตายเลียนแบบ" }, { "docid": "626680#0", "text": "เมตตานิสังสคาถาปาฐะ เป็นคาถา หรือบทกวีที่กล่าวถึงอานิสงส์ของเมตตาหรือไมตรีจิต โดยคุณ หรืออานิสงส์ของเมตตานี้ มีปรากฎในตพระไตรปิฎกหลายบท แต่ใน เมตตานิสังสคาถาปาฐะเน้นอานิสงส์ของการไม่ประทุษร้ายมิตร และผลอันเลิศซึ่งจะได้จากการไม่ประทุษร้ายนั้น ทั้งนี้ เมตตานิสังสคาถาปาฐะได้รับการรวบรวมเป็นหนึ่งในบทสวดมนต์สำคัญ ปรากฎในภาณวาร หรือหนังสือสวดมนต์ฉบับหลวง มักมีการจำสับสนกับเมตตานิสังสสุตตปาฐะ", "title": "เมตตานิสังสคาถาปาฐะ" }, { "docid": "932908#6", "text": "เมื่อโหมดลับอันหนึ่งปลดล็อก ปุ่ม '?' จะปรากฎที่หน้าหลัก กดที่ปุ่มนั้นจะปรากฎโหมดลับที่ผู้เล่นปลดล็อก", "title": "บีจิวเวลด์ 2" }, { "docid": "940428#2", "text": "ปรากฎการณ์ \"ไฟของนักบุญเอลโม\" เป็นที่รู้จักกันมาแต่สมัยกรีกโบราณ โดยนักเดินเรือชาวกรีกเรียกแสงประเภทนี้ว่า \"เฮเลแน\" () หากปรากฎเป็นแสงเดี่ยว ๆ แต่จะเรียกว่า คาสตอร์กับโพลีเดวเคส (Kastor and Polydeukes) หากเกิดขึ้นเป็นปรากฎการณ์แสงคู่ (ซึ่งเป็นชื่อของฝาแฝดผู้เป็นพี่น้องกับเฮเลน ราชินีของชาวสปาร์ตา)", "title": "ไฟของนักบุญเอลโม" }, { "docid": "765127#0", "text": "ดร.เฮนรี \"แฮงก์\" พิม () ปรากฎตัวครั้งแรกในTales to Astonish เล่มที่ 27 แฮงก์ พิม ปรากฎตัวครั้งแรกไม่ใช่ในฐานะซูเปอร์ฮีโรแต่เป็นตัวละครในการ์ตูนไซไฟที่ชื่อว่า The Man in Ant Hill โดยนอกจากจะเป็นแอนต์-แมนเขายังเป็นไจอันต์-แมน, โกไลอัท และวอสป์ซึ่งได้เปลี่ยนเป็นชุดนี้เพื่อให้เกียรติภรรยาเขาอีกด้วย", "title": "แฮงก์ พิม" }, { "docid": "970245#12", "text": "ตอร์ปิโดปรากฎตัวในซีรีส์แอนิเมชันต้นฉบับ\"\" เขาได้ปรากฏตัวครั้งแรกในซีรีส์แอนิเมชันในอะเรียลอเมริกันฮีโร มินิซีรีส์ภาค 3", "title": "ตอร์ปิโด (จีไอโจ)" }, { "docid": "850970#0", "text": "ฟาโรห์เนเฟอร์คาฮอร์ เป็นฟาโรห์อียิปต์โบราณของราชวงศ์ที่ 7 และ 8 ในช่วงระยะเวลาแรก ตามที่นักไอยคุปต์วิทยา Jürgenfon Beckerath และ Darell Baker เขาเป็นกษัตริย์ที่สิบเอ็ดของราชวงศ์นี้ ชื่อของพระองค์ปรากฎในรายการของอบีดอส (หมายเลข 50) และตราประทับที่ไม่รู้จัก แต่ชื่อของพระองค์ไม่ปรากฎบนบัทึกแห่งตูริน ส่งผลกระทบต่อราชวงศ์ที่ 7 และ 8 ที่ชื่อของเขาจะถูกระบุไว้", "title": "ฟาโรห์เนเฟอร์เคาฮอร์" }, { "docid": "756265#0", "text": "\"กันส์ฟอร์แฮนส์\" () เป็นเพลงของวงดนตรีออลเทอร์นาทิฟฮิปฮอปชาวอเมริกัน ทเวนตีวันไพล็อตส์ ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น เพลงนี้ปรากฎอยู่ในสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ที่มีชื่อว่า \"รีเจียนัลแอตเบสต์\", สตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ที่มีชื่อว่า \"เวสเซิล\", อีพีปี พ.ศ. 2555 ที่ชื่อ \"ทรีซองส์\", และอีพีปี พ.ศ. 2556 ที่ชื่อ \"ไมเกรน\" มิวสิกวิดีโอกำกับโดย มาร์ก ซี. เอเชิลแมน (Mark C. Eshleman)", "title": "กันส์ฟอร์แฮนส์" }, { "docid": "37704#0", "text": "วอร์เร็น เคนเน็ธ เวอร์ธิงตัน ที่สาม () (แต่เดิมมีชื่อเดิมว่าแองเจิล ()และต่อมาเป็นอาร์คแองเจิล ())คือ ตัวละครซูเปอร์ฮีโร่ที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนอเมริกันที่ตีพิมพ์โดยมาร์เวลคอมิกส์และเป็นผู้ก่อตั้งทีมเอ็กซ์เมนที่สร้างขึ้นโดยนักเขียนสแตน ลี และนักวาดแจ็ค เคอร์บี้ ปรากฎตัวครั้งแรกในThe X-Men # 1 (ก.ย. 1963)", "title": "วอร์เร็น เวอร์ธิงตัน ที่สาม" } ]
2678
เป็นต่อ ละครแนวซิตคอมออกอากาศครั้งแรกเมื่อใด ?
[ { "docid": "45027#1", "text": "ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มออกอากาศวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ออกอากาศตอนสุดท้ายทางช่อง 3 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยมีซิตคอมเรื่องใหม่ชื่อ \"เป็นข่าว\" มาออกอากาศแทน หลังจากที่จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ออกกล่องสัญญาณดาวเทียม \"จีเอ็มเอ็มแซต\" มาขายในช่วงฟุตบอลยูโร มีข่าวออกมาว่าซิตคอมเป็นต่อจะกลับมาฉายอีกครั้งโดยมีเนื้อเรื่องต่อจากตอนเดิมในชื่อเรื่อง \"เป็นต่อ ขั้นเทพ\" เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ทางช่องจีเอ็มเอ็มวัน (ปัจจุบันคือช่องวัน 31) ออกอากาศครั้งสุดท้ายวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556", "title": "เป็นต่อ" }, { "docid": "218835#0", "text": "รายชื่อตอนในเป็นต่อ ละครแนวซิตคอม (Situation Comedy) ออกอากาศครั้งแรกทาง ช่อง 3 ทุกวันพฤหัสบดี เวลาประมาณ 23:15 น. - 00:15 น. (ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2547 - 9 กุมภาพันธ์ 2555) และกลับมาฉายอีกครั้งทางช่อง GMM ONE โดยมีเนื้อเรื่องต่อจากตอนเดิมในชื่อเรื่อง เป็นต่อ ขั้นเทพ\nออกอากาศวันพฤหัสบดี เวลา 22.00 น. - 23.00 น. รีรันทุกวันศุกร์ เวลา 09.00 น. , 16.00 น. และทุกวันเสาร์ เวลา 11.00 น. (ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2555 - 13 มิถุนายน 2556) และกลับมาออกอากาศตอนแรกของซีซั่นใหม่ทาง ช่องวัน 31 ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน", "title": "รายชื่อตอนในเป็นต่อ" } ]
[ { "docid": "440962#0", "text": "ลูกพี่ลูกน้อง เป็นละครโทรทัศน์แนวซิตคอมออกอากาศทางช่อง สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทุกวันเสาร์ เวลา 18:00 น. – 19:00 น. ออกอากาศตอนแรกในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และออกอากาศตอนสุดท้ายในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557ปัจจุบันรับตำแหน่งประธานหมู่บ้าน ซึ่งตนใช้เทโนโลยีไม่ค่อยเป็น ขนาดเอารีโมทแอร์มาเปิดทีวี แล้วพอถูกจ๊ะจ๋าชวนให้เล่น Skype กับป้าจิ๊บที ก็เสพติดมาก ถึงขนาดเอาห้องจ๊ะจ๋าติดต่อเมีย ถึงขั้นวานให้ธันวาไปซื้อโน้ตบุ๊คที่เมืองนอก แต่ตนใส่ชุดว่ายน้ำรัดรูปในบ้านจะอวดเมียโชว์แต่กลายเป็นอวดธันวาแทน ตนขอร้องให้ปิดไว้เพราะอาย แต่รู้กันทั้งบ้านเต็มๆ จนอายกว่าเดิมจึงเลิกเล่นไป", "title": "ลูกพี่ลูกน้อง (ละครซิตคอม)" }, { "docid": "293812#0", "text": "หกตกไม่แตก เป็นละครซิตคอม ทางช่อง 7ที่ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2538 จนถึง 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 สร้างโดยค่าย เอ็กแซ็กท์ เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์ของวงการซิตคอมไทย ที่นำวงยูเอชที มาเล่นละครเรื่องนี้ ซึ่งในแต่ละตอนเพลงไตเติลจบมักจะมีรูปแบบไม่ซ้ำกัน ถือว่าเป็นมิติใหม่แห่งวงการซิตคอมไทย", "title": "หกตกไม่แตก" }, { "docid": "490627#6", "text": "สำหรับละครแนวซิตคอม ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่าเริ่มเมื่อใด แต่มีการสันนิษฐานว่า ละครชุด \"นุสรา\" (พ.ศ. 2503) เป็นละครแนวซิตคอมเรื่องแรก ได้รับอิทธิพลจากละครของสหรัฐอเมริกาเรื่อง \"I Love Lucy\" ละครชุด \"นุสรา\" เป็นละครเบาสมองชุดสั้นจบในตอน มีความยาว ตอนละ 30 นาที มีผู้แสดงชุดเดียวกันตลอด แต่เรื่องที่ผลิตเรื่องที่สองไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่มีรูปแบบละครรูปแบบนี้อีกหลายเรื่องเช่น \"ผู้พิทักษ์ความสะอาด\", \"ยุทธ-จักรนักคิด\", \"สาธรดอนเจดีย์\", \"พิภพมัจจุราช\", \"หุ่นไล่กา\", \"บาปบริสุทธิ์\" เป็นต้น อย่างไรก็ตามละครแนวซิตคอมเริ่มได้รับความนิยมในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ส่วนใหญ่มีเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัว", "title": "ละครโทรทัศน์ไทย" }, { "docid": "644193#0", "text": "ยีนเด่น เป็นละครโทรทัศน์แนวซิตคอมออกอากาศทางช่องวัน ผลิตโดยซีเนริโอ กำกับการแสดงโดย กิตติ เชี่ยววงศ์กุล เดิมมีความยาวตอนละ 30 นาที และออกอากาศทุกวันพุธ เวลา 19:00 น. – 19:30 น. ออกอากาศตอนแรกวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2557 และวันเสาร์ เวลา 19.00 - 19.30 น. ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เนื่องจากกระแสตอบรับที่ดี จึงได้เพิ่มเวลาออกอากาศเป็น 45 นาที และย้ายมาออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 18:30 - 19:15 น. ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2558\nยีนเด่นหลุดจากผังของช่องวัน โดยออกอากาศตอนสุดท้ายในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึงแม้จะมีกระแสตอบรับและคำวิจารณ์ที่ดีในโลกออนไลน์ก็ตาม แต่เนื่องด้วยเหตุผลเรื่องเรตติ้งและต้นทุนการผลิต ทำให้ยีนเด่นมีการออกอากาศรวมทั้งหมดเพียง 41 ตอน และมีตอนพิเศษ 1 ตอน คือ ยีนเด่น Holiday โดยทางช่องจะนำละครซิตคอมเรื่องมือปราบกุ๊กกุ๊กกู๋มาฉายแทน", "title": "ยีนเด่น (ละครซิตคอม)" }, { "docid": "831830#0", "text": "ขวัญใจไทยแลนด์ เป็นละครซิตคอมที่ผลิตโดย เลยดูดี สตูดิโอ (LeayDoDee Studio) และบริษัท โต๊ะกลมโทรทัศน์ จำกัด (TOHGLOAM) โดยนำมาทำเป็นละครซิตคอมจบในตอน ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 10.15 - 11.15 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเสนอเป็นตอนจบในเวลา 08.30 - 09.15 น. และซิทคอมเรื่องนี้ได้ย้ายเวลาออกอากาศไปเป็นเวลา 08.30 - 09.15 น. โดยฉายซ้ำรีรันตอนเก่าๆ อีกครั้งในวันและเวลาเดียวกันนี้ เริ่ม 9 กรกฎาคมนี้", "title": "ขวัญใจไทยแลนด์" }, { "docid": "939148#4", "text": "อนึ่ง ในปีเดียวกันนั้น เป็นปีแรกที่ทางบริษัทฯ ได้ผลิตละครโทรทัศน์เรื่องยาวเป็นเรื่องแรก นั้นคือเรื่อง \"\"รหัสปริศนา Code Hunter\"\" ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยละครโทรทัศน์ของทางบริษัทฯ จะเจาะกลุ่มผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเมืองเป็นหลัก ซึ่งก่อนหน้านั้นทางบริษัทฯ ได้ผลิตละครซิตคอมเป็นเรื่องแรก ในปี พ.ศ. 2556 นั้นคือเรื่อง \"\"เณรจ๋า\"\" ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เช่นเดียวกัน โดยมี \"\"ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์\"\" ซึ่งเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง มากำกับละครซิตคอมเรื่องนี้", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "541084#0", "text": "ซิตคอมในประเทศไทย กำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2519 นักแสดงชื่อดังยุคนั้นคือ ภัทราวดี มีชูธน วางมือจากงานภาพยนตร์มาจับงานผู้จัดละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์ ไทยทีวีสีช่อง 3 นอกจากริเริ่มการแสดงละครโดยไม่มีการบอกบท ยังจัดละครประเภทซิตคอมตอนสั้นๆ ออกอากาศต่อเนื่อง ได้รับความนิยมสูง กวาดคะแนนถล่มทลายก่ายกองคือ \"ตุ๊กตาเสียกบาล\" ที่ภัทราวดีรับบทนำเป็น เจี๊ยบ สาวปัญญาอ่อน เพราะความที่เป็นซิตคอมเรื่องแรกและความแตกต่างจากละครทั่ว ๆ ไปทำให้ซิตคอมเรื่องต่อ ๆ มา ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “ละครภัทราวดี” โฆษณาหลั่งไหลเข้าถึงตอนละ 18 นาที ทำให้เวลาละครเหลือเพียง 12 นาที นับแต่นั้นจึงต้องมีการกำหนดเวลาโฆษณาเหลือ 5 นาทีต่อรายการความยาว 30 นาที", "title": "รายชื่อซิตคอมไทย" }, { "docid": "802286#0", "text": "จ่าเริง เซิ้งยับ เป็นละครซิตคอมที่ผลิตโดยบริษัท รฤก โปรดั๊กชั่น จำกัด โดยนำมาทำเป็นละครซิตคอมจบในตอน ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 11.00-12.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2559 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2560 และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไปทางสถานีจัดผังรายการใหม่ในเดือนมกราคม โดยที่ละครซิทคอมเรื่องนี้ได้ย้ายเวลาออกอากาศมาเร็วขึ้นกว่าเดิมเป็นเวลา 10.15 - 11.15 น. เริ่มวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2560", "title": "จ่าเริง เซิ้งยับ" } ]
1750
การรวมราชบัลลังก์ทำให้เกิดการรวมราชวงศ์และรัฐร่วมประมุขขึ้นใหม่ใช่หรือไม่?
[ { "docid": "709810#1", "text": "การรวมราชบัลลังก์ทำให้เกิดการรวมราชวงศ์และรัฐร่วมประมุขขึ้นใหม่ โดยราชบัลลังก์แห่งสกอตแลนด์ยังคงแยกต่างหากออกมาจากราชบัลลังก์แห่งอังกฤษ แม้ว่าพระเจ้าเจมส์จะทรงพยายามอย่างมากในการสถาปนา ราชบัลลังก์แห่งบริเตนใหญ่ ขึ้นมาใหม่ก็ตาม ทำให้อังกฤษและสกอตแลนด์ยังคงดำรงสถานะเป็นรัฐอธิปไตยต่อไป รวมทั้งมีพระประมุขร่วมกับราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ทั้งสามอาณาจักรมีสมัยไร้กษัตริย์ร่วมกันระหว่างปี พ.ศ. 2192 - 2203 หรือในสมัยเครือจักรภพแห่งอังกฤษและสมัยรัฐในอารักขา) ไปจนกระทั่งการผ่านร่างพระราชบัญญัติสหภาพ พ.ศ. 2250 โดยรัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาสกอตแลนด์ ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระราชินีนาถแอนน์ พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์สจวต[2]", "title": "การรวมราชบัลลังก์" } ]
[ { "docid": "58457#6", "text": "รัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2453 ภายใต้ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา และสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2479 แม้ว่ารัฐอิสระไอร์แลนด์ (Irish Free State) จะแยกตัวออกจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2465 แต่ชื่อของราชอาณาจักรยังคงเดิมจนกระทั่งปี พ.ศ. 2470 เมื่อพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์แห่ง รัฐอิสระไอร์แลนด์ ด้วย ในทศวรรษหลังจาก พ.ศ. 2470 พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ เครือจักรภพ รวมถึง แคนาดา, ออสเตรเลีย, รัฐอิสระไอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ฯลฯ ในสมัยก่อนพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของรัฐเหล่านั้นจากการใช้ราชบัลลังก์ร่วมกันกับจักรวรรดิอังกฤษ แต่หลังจากปี พ.ศ. 2470 เครือจักรภพต่างๆ ได้มีพระมหากษัตริย์ร่วมกันจากการที่ทรงครองหลายราชบัลลังก์ จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2490 พระมหากษัตริย์อังกฤษทรงเป็นจักรพรรดิของอินเดียด้วย", "title": "ราชวงศ์วินด์เซอร์" }, { "docid": "271828#2", "text": "ระหว่าง ค.ศ. 1361 ถึง ค.ศ. 1477 ทั้งดัชชีแห่งบูร์กอญและอาณาจักรเคานท์แห่งบูร์กอญก็ปกครองโดยประมุขจากตระกูลสาขาของราชวงศ์วาลัว เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์วาลัวก็ปกครองจังหวัดส่วนใหญ่ในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ ซึ่งทำให้เป็นราชวงศ์ที่มีอำนาจมากที่สุดราชวงศ์หนึ่งในยุโรปตะวันตก แต่ดินแดนของราชวงศ์วาลัว-บูร์กอญในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำก็มิได้เป็นส่วนหนึ่งของตัวภูมิภาคบูร์กอญ แต่ดินแดนทั้งหมดของราชวงศ์บางครั้งก็เรียกว่า “ดินแดนบูร์กอญ” (Burgundian Lands) หรือบูร์กอญเนเธอร์แลนด์ ดินแดนที่ปกครองโดยราชวงศ์วาลัว-บูร์กอญเหล่านี้เป็นรัฐบริวาร ไม่ก็ของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หรือ พระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชาร์ลส์เดอะโบลด์ ดยุคแห่งบูร์กอญก็มีความคิดที่จะรวมดินแดนต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อก่อตั้งเป็นราชอาณาจักรบูร์กอญใหม่ที่เป็นอิสระจากจักรวรรดิอื่นๆ โดยมีตนเองเป็นประมุข ชาร์ลส์ถึงกับหว่านล้อมให้สมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ยอมมาทำการสวมมงกุฎให้เป็นกษัตริย์ที่ทริเออร์ แต่พระราชพิธีก็มิได้เกิดขึ้นเมื่อจักรพรรดิฟรีดริชเสด็จหนี (กันยายน ค.ศ. 1473) เมื่อไม่ทรงพอพระทัยในทัศนคติของชาร์ลส์", "title": "ราชอาณาจักรบูร์กอญ" }, { "docid": "4554#39", "text": "ตอนปลายราชวงศ์ถังมีการก่อกบฏประชาชนตามชายแดน ขันทีครองอำนาจบริหารบ้านเมืองอย่างเหิมเกริม มีการแย่งชิงอำนาจกัน แม่ทัพจูเวิน (จูเฉวียนจง) สังหารขันทีทรงอำนาจในราชสำนัก แล้วสถาปนาตนเป็นจักรพรรดิ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุด บรรดาหัวเมืองต่างๆมีการแบ่งอำนาจกันเป็นห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร คือ ราชวงศ์เหลียง ถัง จิ้น ฮั่น และโจว โดยปกครองแถบลุ่มน้ำฮวงโหติดต่อกันมาตามลำดับ ส่วนเขตลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงกับดินแดนทางใต้ลงไปเกิดเป็นรัฐอิสระอีก 10 รัฐ รวมเรียกว่า สิบอาณาจักร การแบ่งแยกอำนาจปกครองยุคนี้ขาดเสถียรภาพ ชีวิตของประชาชนเต็มไปด้วยความลำบากยากแค้น ต่อมา เจ้าควงอิ้น ผู้บัญชาการทหารองครักษ์ชิงอำนาจจากราชวงศ์โจวตั้งตนสถาปนาราชวงศ์ซ่งหรือซ้องเป็น พระเจ้าซ่งไท่จู่ แล้วปราบปรามรวมอาณาจักรเรื่อยมา จนกระทั่งพระเจ้าซ่งไท่จง ผู้สืบทอดราชบัลลังก์ปิดฉากสภาพการแบ่งแยกดินแดนทั้งหมดลงสำเร็จโดยใช้เวลาเกือบ 20 ปี", "title": "ประวัติศาสตร์จีน" }, { "docid": "283368#5", "text": "ภายใต้พ.ศ. 2328 ข้อตกลงราชสกุลนัสเซา ดินแดนต่างๆของราชวงศ์นัสเซาในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ในข้อตกลง(ลักเซมเบิร์กและรัฐนัสเซา)ได้ถูกผูกมัดด้วยกฎบัตรซาลลิคได้นำมาซึ่งมรดกโดยสตรีหรือผ่านทางสตรีในโอกาสการสูญสิ้นทายาทที่เป็นบุรุษแห่งราชวงศ์ เมื่อสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเล็มที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์เสด็จสวรรคต เจ้าหญิงวิลเฮลมินาทรงเป็นรัชทายาทเพียงพระองค์เดียวได้ขึ้นครองราชสมบัติเนเธอร์แลนด์ โดยไม่ผูกมัดตามข้อตกลงของราชสกุล อย่างไรก็ตามราชบัลลังก์ลักเซมเบิร์กได้ผ่านไปถึงเชื้อสายบุรุษของราชวงศ์นัสเซาสายอื่น คือ ดยุกอดอลฟ์ผู้ถูกขับออกจากตำแหน่งดยุกแห่งนัสเซาและเป็นประมุขของสายราชวงศ์นัสเซา-เวลเบิร์ก", "title": "รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก" }, { "docid": "510567#35", "text": "ถึงแม้ว่าแกรนด์ดัสเชสจะไม่ทรงกระทำสิ่งต่างๆที่ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม กระแสความไม่จงรักภักดีได้สร้างการต่อต้านมากเกินไปสำหรับแกรนด์ดัสเชสมารี-อาเดลาอีด เสียงของรัฐสภาได้เรียกร้องให้พระนางสละราชบัลลังก์ขณะมีพระชนมายุ 25 พรรษา ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2462 แก่พระขนิษฐา เจ้าหญิงชาร์ล็อต[34] เบลเยียมซึ่งต้องการที่จะผนวกลักเซมเบิร์กในฐานะรัฐร่วมประมุขต้องยอมรับแกรนด์ดัสเชสชาร์ล็อตในฐานะพระประมุขของลักเซมเบิร์กอย่างเลี่ยงไม่ได้ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พระราชวงศ์ยังทรงดำรงอย่างแทบจะไม่มีความหมายจนกระทั่งเดือนกันยายน พ.ศ. 2462 เมื่อการลงคะแนนเสียงประชามติซึ่งกำหนดอนาคตของราชรัฐผลคือคะแนนเสียงจากประชาชนถึง 77.8% ต้องการให้มีสถาบันพระมหากษัตริย์ภายใต้ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กต่อไป[38]", "title": "แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก" }, { "docid": "541109#3", "text": "แม้พระองค์จะไม่ได้ครองราชย์บัลลังก์ฟินแลนด์ แต่พระองค์ก็ยังคงทรงพระอิสริยยศเป็นประมุขแห่งราชวงศ์เฮ็สเซิน และทรงสละตำแหน่งเมื่อวันที่ [[16 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1925]] [[เจ้าชายฟิลิป แลนด์เกรฟแห่งเฮ็สเซิน|เจ้าชายฟิลิปแห่งเฮ็สเซิน]]พระโอรสจึงเป็นประมุขแห่งราชวงศ์องค์ต่อมา ส่วนผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ฟินแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์พระองค์ต่อมาคือ[[เจ้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮ็สเซิน]][[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2411]]\n[[หมวดหมู่:เจ้าชายเยอรมัน]]\n[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เฮ็สเซิน]]", "title": "เจ้าชายฟรีดริช คาร์ล แห่งเฮ็สเซิน" }, { "docid": "440998#19", "text": "เจ้าชายคริสเตียนแห่งกลึคส์บูร์ก(1818–1906)เป็นพระนัดดาบุญธรรมในพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6กับสมเด็จพระราชินีมารี โซฟี ดังนั้นทำให้ทรงคุ้นเคยดีกับพระราชประเพณีและธรรมเนียมของราชวงศ์ เจ้าชายคริสเตียนเป็นพระปนัดดาในสมเด็จพระราชินีมารี โซฟีและทรงเป็นเชื้อสายของพระญาติชั้นหนึ่งในพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 พระองค์ถูกส่งมายังเดนมาร์กเพื่อประทับในพระราชวงศ์และตรัสภาษาเดนมาร์กและไม่ทรงเป็นชาตินิยมเยอรมัน แม้ว่าสิ่งที่ทางราชวงศ์ทำจะไม่เป็นไปตามกฎหมาย แต่ราชวงศ์ทำให้เจ้าชายทรงเป็นที่นิยมและเป็นจุดสนใจในชาวเดนมาร์ก ในขณะเป็นทายาทชายซึ่งอ่อนอาวุโส พระองค์ทรงมีสิทธิในราชบัลลังก์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์ แต่ไม่ใช่พระองค์แรกในราชสันตติวงศ์ เนื่องจากทรงเป็นเชื้อสายของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 3 ทำให้ทรงมีสิทธิสืบราชบัลลังก์เดนมาร์ก แต่ก็ไม่ใช่พระองค์แรกในราชสันตติวงศ์ อย่างไรก็ตามลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ยังไม่ชัดเจน", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "32264#56", "text": "ในปี ค.ศ. 2007 องค์พระประมุของค์ปัจจุบันและอดีตพระประมุขในราชวงศ์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปที่ทรงสืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียคือ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักร (พระราชสวามี) สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสเปน สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งกรีซ (ถูกปลดออกจากราชบัลลังก์) และสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งโรมาเนีย (ถูกถอดออกจากราชบัลลังก์) แล้วยังมีผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์แห่งเซอร์เบีย รัสเซีย ปรัสเซียและเยอรมนี ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา ฮันโนเฟอร์ เฮสส์ และบาเดินที่ล้วนเป็นพระราชสันตติวงศ์ของพระองค์ด้วยเช่นกัน", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "59917#20", "text": "ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายเลชีตีมีสต์ — สืบเชื้อสายจากราชวงศ์บูร์บง ไม่ยอมรับประมุขแห่งรัฐตั้งแต่ ค.ศ. 1830 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายออร์เลอองนีสต์ — สืบเชื้อสายจากพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 ไม่ยอมรับประมุขแห่งรัฐตั้งแต่ ค.ศ. 1848 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายโบนาปาร์ตีสต์ — สืบเชื้อสายมาจากนโปเลียนที่ 1 และพระอนุชา ไม่ยอมรับประมุขแห่งรัฐตั้งแต่ ค.ศ. 1815 – 1852 และตั้งแต่ ค.ศ. 1870 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายฌาโกบีต — สืบเชื้อสายจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ซึ่งอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส (ยกเลิกโดยพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งราชวงศ์ฮาโนเวอร์ หลังประกาศพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800)", "title": "รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส" }, { "docid": "5518#8", "text": "นอกเหนือไปจากสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชินีนาถและสมาชิกพระองค์อื่นของราชวงศ์ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอยู่เป็นประจำในกลุ่มประเทศเครือจักรภพอีกสิบห้าประเทศ ซึ่งสมเด็จพระราชินีนาถทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ เมื่อราชบัลลังก์ภายในประเทศเหล่านี้แยกออกจากราชบัลลังก์ของสหราชอาณาจักรอย่างถูกต้องตามกฎหมายแล้ว จะให้เงินทุนสนับสนุนประเทศเหล่านี้แยกจำเพาะเป็นรายประเทศ โดยผ่านกระบวนการจัดสรรงบประมาณทางนิติบัญญัติมาตรฐาน เงินทุนที่จัดสรรให้ส่วนใหญ่แล้วจะสนับสนุนภารกิจการงานของตัวแทนของพระประมุขในประเทศนั้นๆ ซึ่งเรียกว่า ข้าหลวงใหญ่ ผู้ว่าการ และผู้ช่วยผู้ว่าการ แม้ว่าเงินบางส่วนจะใช้ในการเยือนอย่างเป็นทางการต่างๆ", "title": "ราชวงศ์สหราชอาณาจักร" }, { "docid": "7708#154", "text": "ครั้งที่ 1 เมื่อขงจื๊อสิ้นชีพแล้วได้ 200 ปีเศษ หรือพุทธศตวรรษที่ 3 จิ๋นซีฮ่องเต้ กษัตริย์แห่งนครฉี ทรงปราบรัฐใหญ่ ๆ 6 รัฐหมดแล้ว จึงปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ปกครองประเทศจีนแต่เพียงพระองค์เดียว พระองค์ปรารถนาจะให้ราชบัลลังก์ของพระองค์ยั่งยืนอยู่ชั่วกาลนาน ทรงเห็นชอบกับคำแนะนำของ หลีซือ นายกรัฐมนตรีว่า บรรดาศาสนาและปรัชญาต่าง ๆ ทำให้คนฉลาดและมีความคิดเห็นแตกต่างกัน ยากที่จะปกครอง ควรที่จะล้มเลิกศาสนาและปรัชญาเหล่านั้น จิ๋นซีฮ่องเต้จึงทรงรับสั่งให้นำคัมภีร์ของศาสนาและปรัชญาทั้งหมดมารวมกันแล้วเผาทำลายทั้งหมด กล่าวกันว่า กองไฟเผาคัมภีร์เหล่านี้ลุกโชติช่วงติดต่อกันไม่ดับเป็นเวลา 3 เดือน พวกนักปราชญ์ของศาสนาและปรัชญาถูกฆ่าถึง 460 คนเศษ ลัทธิขงจื๊อและม่อจื๊อ ได้รับความกระทบกระเทือนมากที่สุด เพราะรัฐบาลเห็นว่าเป็นศัตรูหมายเลข 1 แต่ความหวังของจิ๋นซีฮ่องเต้ที่จะให้ราชวงศ์ของพระองค์ยั่งยืนเป็นหมื่นปีก็พังลง เพราะหลังจากพระองค์สิ้นพระชนม์แล้วก็ได้เกิดกบฏล้มราชบัลลังก์ โดย หลิวปัง ขุนพลคนหนึ่งเป็นหัวหน้า ทำการได้สำเร็จจึงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ พระนามว่า พระเจ้าฮั่นเกาจู่ ตั้งราชวงศ์ฮั่น สืบสันตติวงศ์ต่อมา ราชวงศ์ฮั่นได้ปกครองบ้านเมืองมาตามลำดับ จนถึงพระเจ้าฮั่นอู่ตี้ ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 5 ทรงฟื้นฟูปรัชญาขงจื๊อขึ้นใหม่ และทรงให้การสนับสนุนเป็นการใหญ่ ปรัชญาขงจื๊อจึงได้กลับมามีชีวิตอีกครั้งหนึ่ง", "title": "ขงจื๊อ" }, { "docid": "279928#7", "text": "จากการสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระสวามี ทำให้สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาทรงเป็นพระประมุขสตรีพระองค์แรกแห่งราชอาณาจักรเมรีนา นับตั้งแต่ก่อตั้งในปีค.ศ. 1540 การก้าวขึ้นสู่พระราชอำนาจของพระนางเกิดขึ้นท่ามกลางสภาพสังคมที่ชื่นชอบผู้ชายมากกว่าผู้หญิงในทางการเมือง ในวัฒนธรรมดั้งเดิมของอิเมรีนา ผู้ปกครองจะได้รับการยกย่องอย่างเป็นพิเศษด้วยอำนาจที่จะต้องสามารถปรับเปลี่ยนได้โดยหลีกเลี่ยงจากกรอบบรรทัดฐานและธรรมเนียมที่ถูกกำหนดไว้ เหล่าผู้ปกครองมักจะปรับเปลี่ยนรูปแบบของอำนาจผ่านการสร้างรูปแบบการเกี่ยวดองทางเครือญาติแบบใหม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานดั้งเดิมของระเบียบทางการเมือง อย่างไรก็ตามผู้หญิงมีความเกี่ยวข้องกับสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นหน่วยความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งและจะเป็นสิ่งที่อยู่ตรงข้ามกับการใช้บทบาทและอำนาจในฐานะประมุข และผู้หญิงถูกมองว่าไม่เหมาะสมที่จะขึ้นมาปกครองประเทศ แม้ว่าการมีประมุขสตรีครั้งหนึ่งจะเคยเป็นเรื่องปกติในหมู่พวกวาซิมบา ซึ่งเป็นกลุ่มที่ถูกอธิบายไว้ว่าเป็นผู้อาศัยดั้งเดิมในเกาะมาดากัสการ์ ประเพณีผู้ปกครองสตรีสิ้นสุดลงในที่ราบสูงภาคกลางในรัชกาลของพระเจ้าอันเดรียมาเนโล (1540-1575) กษัตริย์ผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรเมรีนา พระองค์ทรงสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระราชชนนีซึ่งเป็นชาววาซิมบาคือ สมเด็จพระราชินีนาถราฟอไฮแห่งอาราโซรา (1530-1540) หลังจากนั้นก็ไม่มีประมุขสตรีอีก จนล่วงมาถึงสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 1 แห่งมาดากัสการ์" }, { "docid": "485995#5", "text": "อำนาจตุลาการเป็นอิสระจากรัฐบาล ศาลสูงสุดในกัมพูชาคือ ศาลแขวงสูงสุด (Supreme Council of the Magistracy)\nการปกครองของกัมพูชาเป็นแบบที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข พระมหากษัตริย์มีฐานะเป็นประมุขรัฐ ไม่มีอำนาจปกครอง ทรงเป็นสัญลักษณ์ถึงความเป็นเอกภาพและความยั่งยืนของชาติ พระนโรดม สีหนุทรงเป็นประมุขรัฐระหว่าง 24 กันยายน พ.ศ. 2536 จนถึง 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 พระมหากษัตริย์ไม่มีอำนาจทางการเมืองแต่พระนโรดม สีหนุทรงมีบารมีที่ทำให้พระองค์มีอิทธิพลต่อรัฐบาลและมีบทบาทในการยับยั้งความขัดแย้งภายในรัฐบาล หลังจากพระนโรดม สีหนุสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2547 พระโอรสของพระองค์คือพระนโรดม สีหมุนีได้เป็นกษัตริย์ต่อมา ส่วนพระนโรดม สีหนุที่สละราชสมบัติไปนั้น สมัชชาแห่งชาติได้กำหนดตำแหน่งของพระองค์เป็นพระมหาวีรกษัตริย์\nการสืบราชสมบัติถูกกำหนดโดยสภาราชบัลลังก์ซึ่งประกอบด้วยประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี พระสังฆราช รองประธานรัฐสภาคนที่ 1 และคนที่ 2 จะมีการเรียกประชุมสภาราชบัลลังก์ภายใน 1 สัปดาห์หลังจากพระมหากษัตริย์สวรรคตหรือสละราชสมบัติ และจะเลือกจากสมาชิกราชวงศ์ที่มีสิทธิในราชบัลลังก์\nACCT, AsDB, ASEAN, CP, ESCAP, FAO, G-77, IAEA, IBRD, ICAO, ICC, ICRM, IDA, IFAD, IFC, IFRCS, ILO, IMF, IMO, Intelsat (ยังไม่ได้ลงนามในสัญญา), กองทุนการเงินระหว่างประเทศ, Interpol, IOC, ISO, ITU, NAM, OPCW, PCA, UN, UNCTAD, UNESCO, UNIDO, UPU, WB, WFTU, WHO, WIPO, WMO, WTO, WToO, WTrO (ขอสมัคร)", "title": "การเมืองกัมพูชา" }, { "docid": "729659#1", "text": "ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐ ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้", "title": "การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์" }, { "docid": "5518#23", "text": "ธรรมเนียมปฏิบัติในการพระราชทานตำแหน่งดยุกให้แก่สมาชิกอาวุโสของราชวงศ์สิ้นสุดลงเมื่อไม่นานในปี พ.ศ. 2542 เมื่อเจ้าชายเอ็ดเวิร์ดทรงได้รับการสถาปนาเป็นเอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ ตำแหน่งเอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์มิเคยมีการแต่งตั้งจากประมุขของอังกฤษและบริเตนใหญ่มาก่อนนับแต่ปี พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) กล่าวกันว่าตำแหน่งดยุกแห่งเอดินบะระจะพระราชทานให้แก่เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ แต่กระนั้นตำแหน่งดยุกดังกล่าวจะตกทอดสู่เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ไม่ใช่ของเอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ เมื่อเจ้าชายแห่งเวลส์เสวยราชสมบัติเป็นพระประมุข หรือเป็นพระประมุขแล้วเมื่อตำแหน่งดยุกตกทอดสู่พระองค์ ตำแหน่งนั้นจะรวมเข้ากับราชบัลลังก์และเพียงแต่รอการพระราชทานใหม่อีกครั้ง", "title": "ราชวงศ์สหราชอาณาจักร" }, { "docid": "154822#2", "text": "ก่อนที่จะขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระเจ้าจอร์จที่ 1 ทรงดำรงตำแหน่งเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงได้ดินแดนต่าง ๆ ทางตอนใต้ของรัฐนีเดอร์ซัคเซินซึ่งทำให้อาณาบริเวณในการปกครองขยายออกไปจากดินแดนที่ได้จากสงครามต่าง ๆ ในยุโรปในรัชสมัยของพระองค์ เมื่อพระชนมายุได้ 54 พรรษาทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ในฐานะพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์แฮโนเวอร์ ถึงแม้ว่าจะมีผู้ที่สมควรได้รับราชบัลลังก์มากกว่าแต่เจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์พระราชมารดาของพระองค์ เป็นรัชทายาทต่อจากสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 เพราะทรงเป็นโปรเตสแตนต์ แต่เจ้าหญิงโซฟีสิ้นพระชนม์ก่อนพระราชินีนาถแอนน์ราชบัลลังก์จึงตกมาเป็นของพระเจ้าจอร์จที่ 1 ผู้สนับสนุนการตั้งราชวงศ์สจวตเป็นประมุขพยายามโค่นราชบัลลังก์และตั้งเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 (พระราชบิดาของพระราชินีนาถแอนน์) ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินแทนที่แต่ไม่สำเร็จ ระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จอำนาจของพระมหากษัตริย์เริ่มลดน้อยลงและระบบการปกครองแบบคณะรัฐมนตรีนำโดยนายกรัฐมนตรีก็เริ่มวิวัฒนาการขึ้น ในปลายรัชสมัยอำนาจที่แท้จริงอยู่ที่เซอร์โรเบิร์ต วอลโพลมักจะถูกบรรยายว่าเป็น “นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร” คนแรก พระเจ้าจอร์จสวรรคตระหว่างการเสด็จไปฮันโนเฟอร์", "title": "จอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่" }, { "docid": "268857#0", "text": "ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (; ) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1882 ราชรัฐเซอร์เบียปกครองโดยราชวงศ์คาราจอร์เจวิช (Karadjordjevic dynasty) มาตั้งแต่ ค.ศ. 1817 (บางครั้งก็แทนด้วยราชวงศ์ออเบรนอวิชเป็นช่วง ๆ) ราชรัฐที่เดิมเป็นเมืองขึ้น (suzerain) ของจักรวรรดิออตโตมัน แต่สามารถขับกองทหารออตโตมันออกไปจากอาณาจักรได้ในปี ค.ศ. 1867 ซึ่งทำให้เซอร์เบียได้รับอิสรภาพ ในปี ค.ศ. 1878 สนธิสัญญาเบอร์ลินก็รับรองความเป็นอิสรภาพของราชรัฐเซอร์เบียอย่างเป็นทางการ", "title": "ราชอาณาจักรเซอร์เบีย" }, { "docid": "272370#8", "text": "ราชอาณาจักรโครเอเชีย และราชอาณาจักรฮังการีรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1102 ภายใต้พระมหากษัตริยฮังการี รายละเอียดของการรวมตัวระบุในข้อตกลงสหภาพ (Pacta conventa) ที่ระบุการก่อตั้งโครเอเชียเป็นรัฐเอกเทศที่บริหารโดยซาบอร์ (สภาขุนนางโครเอเชีย) และอุปราช นอกจากนั้นขุนนางโครเอเชียก็ยังคงรักษาที่ดินและทรัพย์สิน และ ตำแหน่งที่มีอยู่ได้ การรวมตัวของฮังการีและโครเอเชียในยุคกลางเกิดขึ้นจาก “รัฐร่วมประมุข” และดำเนินต่อมาจนถึงยุทธการโมเฮ็คส์ในปี ค.ศ. 1526 เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1527 ขุนนางโครเอเชียมีมติเป็นเอกฉันท์เลือกอาร์คดยุคเฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรียและผู้สืบเชื้อสายจากพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และรัชทายาท แต่โดยทางการแล้วสหราชอาณาจักรฮังการี-โครเอเชียก็มีอยู่ต่อมาจนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ สนธิสัญญาไทรอานอน\nในฐานะเป็นอาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ปกครองโดยซาร์แห่งรัสเซียในฐานะแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ระหว่าง ค.ศ. 1809 จนถึง ค.ศ. 1917 ตามความเห็นของชาวฟินแลนด์ลักษณะของการรวมตัวคล้ายกับ “รัฐร่วมประมุข” ตามสนธิสัญญาเฟรดริคสฮัมน์ (Treaty of Fredrikshamn) ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย และได้พระราชทานฐานะให้เป็นเขตปกครองตนเองโดยพระเจ้าซาร์ แต่สิทธินี้ก็มาถูกเพิกถอน (Russification of Finland) เป็นการชั่วคราวต่อมาข้อสังเกต: ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปัญหาที่ก่อให้เกิดสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนคือความหวาดระแวงของการสืบราชบัลลังก์สเปนที่ระบุโดยกฎหมายสเปน ที่มีผลทำให้หลุยส์ผู้เป็นรัชทายาทของฝรั่งเศสอยู่แล้วจะได้ครองสเปนด้วยโดยสิทธิ “รัฐร่วมประมุข” ซึ่งเป็นการทำให้เสถียรภาพของมหาอำนาจในยุโรปขาดความสมดุล (ฝรั่งเศสขณะนั้นเป็นประเทศที่มีอานุภาพทางทหารมากกว่าผู้ใดในยุโรปและสเปนก็เป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุด)", "title": "รัฐร่วมประมุข" }, { "docid": "398219#1", "text": "พรรคสังคมเกิดขึ้นหลังจากพระนโรดม สีหนุ สละราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2498 ให้พระบิดาของพระองค์คือพระนโรดม สุรามฤต ขึ้นครองราชย์แทน ส่วนพระองค์หันมาเล่นการเมือง ตั้งพรรคสังคมราษฎรนิยมขึ้น สมาชิกของพรรคเป็นสมาชิกราชวงศ์ กลุ่มฝ่ายขวา เช่นกลุ่มของดาบ ฌวน กลุ่มเขมรใหม่ของลน นล พรรคนี้เข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2498 โดยมีพรรคฝ่ายตรงข้ามคือพรรคประชาธิปไตยและกรมประชาชน ในที่สุดผลการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2498 พรรคสังคมชนะการเลือกตั้งและทำให้พระนโรดม สีหนุได้ทรงบริหารดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีบ้าง ประมุขแห่งรัฐบ้างไปอีกถึง 15 ปี จนชาวกัมพูชาในขณะนั้นพร้อมใจกันเรียกพระองค์ว่า สมเด็จเอิว (); () หรือ \"สมเด็จพ่อ\" ของประชาชนชาวกัมพูชานั่นเอง ", "title": "สังคมราษฎรนิยม" }, { "docid": "585826#1", "text": "ราชรัฐลักเซมเบิร์กก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1815 โดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาและรวมอยู่ในรัฐใหม่คือ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ภายใต้พระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ ในการแลกเปลี่ยนสำหรับบรรพบุรุษของพระองค์ โดยรัฐออเรนจ์-นัสเซาจะต้องตกเป็นของปรัสเซีย ส่งผลให้แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์กพระองค์แรกเป็นพระมหากษัตริย์ชาวดัตช์ และรัชทายาทก็จะเหมาะสมกับทั้งสองราชบัลลังก์ สหภาพเริ่มแตกสลายในปีค.ศ. 1884 เมื่อพระราชโอรสองค์สุดท้ายของพระมหากษัตริย์-แกรนด์ดยุกได้สิ้นพระชนม์ ทำให้ไม่มีรัชทายาทที่เป็นชายในสายพระราชสันตติวงศ์ของราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา ในขณะที่พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์คือ เจ้าหญิงวิลเฮลมินาสามารถ (และต้อง) สืบราชบัลลังก์ดัตช์ ในฐานะ สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์กในฐานะดินแดน \"เยอรมัน\" ตามข้อตกลงราชสกุลนัสเซาในปีค.ศ. 1783 ในที่นั้นกฎหมายแซลิก (การยกเว้นการสืบทอดมรดกของเพศหญิง) ได้นำมาใช้ แต่ราชบัลลังก์ได้ถูกส่งผ่านไปยังสาขาราชสกุลนัสเซาที่ยังคงเหลือเพียงหนึ่งคือ ราชสกุลนัสเซา-ไวล์บูร์ก", "title": "รายพระนามรัชทายาทลักเซมเบิร์ก" }, { "docid": "493689#8", "text": "ทายาทของเจ้าหญิงอนาเป็นประมุขแห่งตระกูลลูเล โดบเชื้อสายของพระนาง เปโดร ฟอลเก เดอ เมนโดคา โรลิม เดอ เมารา บาร์เรโต ดยุคที่ 6 แห่งลูเล เขาได้รับการพิจารณาให้เป็นทายาทที่มีสิทธิอันชอบธรรมในราชบัลลังก์โปรตุเกสที่ถูกล้มล้างไปแล้ว ด้วยความบริสุทธิ์ของสายสืบราชสันตติวงศ์ที่มีภูมิลำเนาเดิมอย่างไม่ขาดสายเป็นสิทธิโดยแผ่นดินโปรตุเกส ถึงแม้ว่าดยุคจะไม่อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ตามพระราชมรดกและทรงยอมรับการรับรองตำแหน่งดยุคจากประมุขแห่งราชวงศ์สายอื่นคือ ดูอาร์เต ปิโอ ดยุคแห่งบราแกนซา ซึ่งเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์คนปัจจุบัน", "title": "เจ้าหญิงอานา ดี ฌีซุช มารีอาแห่งโปรตุเกส" }, { "docid": "110503#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2461 พระสวามีของเจ้าหญิงมาร์กาเรเทอทรงตอบรับข้อเสนอการครองราชบัลลังก์แห่งฟินแลนด์ แต่ก็เนื่องจากความอับโชคของเยอรมันระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทรงสละราชสิทธิ์ภายในเวลาไม่นาน เจ้าหญิงคงจะได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฟินแลนด์ โดยที่พระมเหสีของประมุขแห่งฟินแลนด์องค์ก่อนคือ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของพระองค์ โดยทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นแกรนด์ดัชเชสพระชายาแห่งฟินแลนด์ ในเวลาต่อมา พระสวามีทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นประมุขแห่งราชวงศ์เฮสส์-คาสเซิล สืบต่อจากพระเชษฐา", "title": "เจ้าหญิงมาร์กาเรเทอแห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "268795#0", "text": "สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ หรือ ราชอาณาจักรสหเนเธอร์แลนด์ (, , ) (ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1830) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่หมายถึงรัฐใหม่ของยุโรปที่เกิดขึ้นจากจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 ระหว่างการประชุมแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า \"ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์\" ที่ประกอบด้วยอดีตสาธารณรัฐแห่งรัฐดัตช์ทั้งเจ็ดทางตอนเหนือ, อดีตเนเธอร์แลนด์ออสเตรียทางตอนใต้, และราชรัฐมุขนายกลีแยฌ โดยมีพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ออเรนจ์-นาซอเป็นประมุขของราชอาณาจักรใหม่", "title": "สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์" }, { "docid": "16273#2", "text": "ระบบรัฐสภา สภาเดี่ยว ประกอบด้วยสมาชิก 49 คน โดย 47 คน มาจากการเลือกตั้ง และผู้แทน 2 คนที่ได้รับการแต่งตั้งจากเผ่ามาไต (Matai) วาระดำรงตำแหน่ง 5 ปี เดิมประมุขรัฐมาจากการสืบตระกูลและดำรงตำแหน่งประมุขตลอดชีพ แต่ภายหลังจากที่พระประมุข มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 ประมุขรัฐที่ได้รับการแต่งตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ได้สิ้นพระชนม์ลงเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ด้วยพระชันษา 94 พรรษา โดยไม่มีรัชทายาทสืบราชบัลลังก์ทำให้ซามัวไม่มีกษัตริย์อีกต่อไป และเริ่มใช้ระบบประธานาธิบดีมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีแทน ซามัวเป็นประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมืองมากที่สุดในแปซิฟิกใต้", "title": "ประเทศซามัว" }, { "docid": "512410#1", "text": "มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 ไม่มีราชโอรสสืบราชบัลลังก์ทำให้ซามัวไม่มีกษัตริย์อีกต่อไป และเริ่มใช้ระบบประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีอยู่ในตำแหน่ง 5 ปี", "title": "รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐซามัว" }, { "docid": "286134#2", "text": "เนื่องด้วยสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ มีพระประสูติกาลพระราชธิดาถึง 3 พระองค์ เป็นเวลาถึง 10 ปี สร้างความไม่พอพระทัยแก่พระเจ้าฟารุกเป็นอย่างมาก ด้วยความมุ่งมั่นในการที่จะได้พระโอรสเป็นรัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ พระเจ้าฟารุกที่ 1 จึงได้ตัดสินพระทัยหย่ากับราชินีฟารีดา เพื่อให้แน่ใจต่อการสืบทอดราชบัลลังก์ รวมถึงการต่อต้านประชาชนที่ทำให้อำนาจของราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีเสื่อมลงเรื่อยๆ พระเจ้าฟารุกจึงมองหาเจ้าสาวชาวอียิปต์คนใหม่ ที่มิใช่ชนชั้นสูงมากนัก นั่นก็คือนารีมานนั่นเอง", "title": "นารีมาน ศอดิก" }, { "docid": "443262#1", "text": "ชนชาติอเมริกันพื้นเมืองที่ประมุขสืบราชสันตติวงศ์จะไม่รวมในรายพระนามนี้ รายพระนามนี้รวมเฉพาะพระมหากษัตริย์หรือประมุขจากยุโรปซึ่งครองราชบัลลังก์ในยุโรปด้วยและผืนแผ่นดินอเมริกาซึ่งแต่ละพระองค์มิเคยเสด็จเหยียบบนพื้นแผ่นดินอเมริกา ประมุขพระองค์อื่นที่มิใช่กษัตริย์ของชนพื้นเมืองอเมริกัน ได้แก่ มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1, ตูอิ มานูอา เอลิซาลาและสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย ที่ซึ่งไม่ใช่พระมหากษัตริย์องคสุดท้ายจากพระประมุขอาณานิคม โดยจุดสิ้นสุดมาจากการที่ต้องตกเป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ในหนึ่งรัฐอาจมีพระประมุของค์สุดท้ายหลายพระองค์เนื่องมาจากการซื้อดินแดนของสหรัฐอเมริกา", "title": "รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา" }, { "docid": "277193#6", "text": "หลังจากที่สมาชิกอาวุโสสายเอิร์นเนสทีนได้สูญเสียสิทธิการเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกให้แก่สายอัลเบอร์ทีนในปีค.ศ. 1547 แต่ยังคงถือสิทธิ์ในดินแดนทูริงเกีย โดยแบ่งเป็นราชรัฐเล็กๆหลายแห่ง โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ สายซัคเซิน-โคบูร์กและซาลเฟลด์ และต่อมาเปลี่ยนเป็น สายซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ตั้งแต่ปีค.ศ. 1826 เป็นต้นไป และจากนั้นได้รับการคัดเลือกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม (ตั้งแต่ปีค.ศ. 1831) และบัลแกเรีย (ค.ศ. 1908 - 1946) รวมถึงการส่งเจ้าชายไปอภิเษกกับประมุขแห่งโปรตุเกส (พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส) และสหราชอาณาจักร (เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ราชบัลลังก์ของบริเตนใหญ่ และโปรตุเกสนั้นสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน", "title": "ราชวงศ์เวททิน" }, { "docid": "644857#2", "text": "ราชรัฐอันดอร์รานั้นมีความพิเศษตรงที่ถูกปกครองร่วมโดยสองราชวงศ์ โดยสายหนึ่ง (คือ ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส) นั้นถือเป็นราชวงศ์เดียวในโลกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยสามัญชน ซึ่งก็มิใช่ราษฎรแห่งอันดอร์รา แต่โดยราษฎรฝรั่งเศส ประธานาธิบดีฝรั่งเศสนั้นยังเป็นตำแหน่งเดียวที่เป็นทั้งพระมหากษัตริย์และประมุขแห่งสาธารณรัฐในคนเดียวกัน", "title": "ผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา" } ]
2116
เรณูวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์เชิงสหวิทยาการและเป็นสาขาหนึ่งของอะไร?
[ { "docid": "232116#1", "text": "เรณูวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์เชิงสหวิทยาการและเป็นสาขาหนึ่งของธรณีวิทยาและชีววิทยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤกษศาสตร์ วิชาการลำดับชั้นหินทางเรณูวิทยาเป็นสาขาหนึ่งของวิชาบรรพชีวินวิทยาจุลภาคและพฤกษศาสตร์โบราณซึ่งศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ของเรณูสัณฐานจากช่วงพรีแคมเบรียนตลอดจนถึงสมัยโฮโลซีน", "title": "เรณูวิทยา" } ]
[ { "docid": "513753#1", "text": "เครือข่ายสังคมและการวิเคราะห์เป็นสาขาวิชาสหวิทยาการโดยแท้ อันปรากฏขึ้นจากจิตวิทยาสังคม สังคมวิทยา สถิติศาสตร์ และทฤษฎีกราฟ จอร์จ ซิมเมิล (Georg Simmel) ได้แต่งตำราเกี่ยวกับทฤษฎีเชิงโครงสร้างในสังคมวิทยา เพื่อเน้นให้เห็นถึงพลวัตของความสัมพันธ์ไตรภาคและ \"ข่ายโยงใยของการเข้าร่วมกลุ่ม\" จาค็อบ โมเรโน (Jacob Moreno) ก็มีชื่อเสียงในเรื่องการพัฒนาผังสังคมมิติ (sociogram) ขึ้นเป็นคนแรกในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แนวการศึกษาเหล่านี้ถูกทำให้เป็นระเบียบแบบแผนเชิงคณิตศาสตร์ในคริสต์ทศวรรษ 1950 จากนั้นทฤษฎีและวิธีการต่าง ๆ ของเครือข่ายสังคมก็เป็นที่แพร่หลายในสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ในคริสต์ทศวรรษ 1980 ปัจจุบันนี้การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมเป็นหนึ่งในกระบวนทัศน์หลักของสังคมวิทยาร่วมสมัย และถูกนำไปใช้ในศาสตร์เชิงสังคมและรูปนัยอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง นอกจากนี้เครือข่ายสังคมก่อร่างขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสาขาวิชาวิทยาการเครือข่ายที่เพิ่งเริ่มต้น ควบคู่ไปกับเครือข่ายซับซ้อนอื่น ๆ", "title": "เครือข่ายสังคม" }, { "docid": "33205#1", "text": "อาชญาวิทยาเป็นสาขาสหวิทยาการของพฤติกรรมศาสตร์ที่ดึงเอางานวิจัยจากสังคมวิทยา จิตวิทยา จิตเวชศาสตร์ มานุษยวิทยาสังคม และนิติศาสตร์", "title": "อาชญาวิทยา" }, { "docid": "232116#0", "text": "เรณูวิทยา</b>ในชั้นหิน (English: Stratigraphic palynology or Geological palynology) เป็นวิทยาศาสตร์ที่นักธรณีวิทยาศึกษาเกี่ยวกับเรณูสัณฐานของสิ่งมีชีวิตปัจจุบันและซากดึกดำบรรพ์เพื่อศึกษาหาอายุเปรียบเทียบและการลำดับชั้นหิน จากซากเหลือของ ละอองเรณู(pollen) สปอร์(spores) ไดโนแฟลกเจลเลต(dinoflagellatesc และระยะซีสต์:hypnozygote) อาคริทาร์ช(acritarchs) ไคตินโนซัว(chitinozoans) และสโคเลโคดอนต์(scolecodonts) รวมไปถึงอินทรีย์วัตถุ(other microfossils)และเคอโรเจนที่มีลักษณะเฉพาะที่พบในตะกอนและหินตะกอน บางครั้งการศึกษาเรณูสัณฐาน(Palynomorphs)จะรวมถึงการศึกษาไดอะตอม(diatom) ฟอแรมมินิเฟอรา(microforaminifera) หรือสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีโครงร่างภายนอกเป็นสารพวกซิลิก้าและเนื้อปูน(อ้างอิงจากPalynology at U of AZ)", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "36694#1", "text": "สำหรับประเทศไทยสาขาวิทยาการการรู้หรือวิทยาการปัญญาเปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโทหรือปริญญาเอก) ณ วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา (College of Research Methodology and Cognitive Science : RMCS) มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี นับเป็นสถาบันแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดสอนหลักสูตรนี้ โดยมุ่งเน้นการทำวิจัยลักษณะสหวิทยาการ และมีศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาการปัญญา (Centre of Excellence in Cognitive Science : CECoS) ที่เน้นทำวิจัยทางด้านประชานศาสตร์โดยเฉพาะ", "title": "ประชานศาสตร์" }, { "docid": "232116#17", "text": "ลาวัลย์ รักสัตย์ (2526). วิธีวิเคราะห์เรณู(Pollen Analysis). รายงานผลการวิเคราะห์เรณู ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กทม. , 25 หน้า.", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "41067#0", "text": "วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผลมาจากการประชุมวิชาการเรื่อง \"โครงการบริหารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี\" เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และเรื่อง \"บัณฑิตศึกษาเชิงสหวิทยาการ\" ซึ่งจัดขึ้นโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 12-13 กันยายน พ.ศ. 2536 เพื่อเป็นการเสริมศักยภาพวิชาที่เปิดสอนอยู่แล้วและผลิตบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ เพื่อไปรับใช้ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต", "title": "วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "68506#1", "text": "หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพเท่าที่มีการเรียนการสอนในประเทศไทยนั้นอาจกล่าวได้ว่ายังเป็นไปตามแบบแผนวิชาการตะวันตกเสียส่วนใหญ่ จึงควรปรับกระบวนทัศน์โดยผสมผสานแนวคิดและวิธีวิทยาในแนวสหวิทยาการ (Interdisciplinary Approach) เพื่อศึกษาเรียนรู้ อนุรักษ์และพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาไทยและตะวันออก ทั้งจากพื้นฐานในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาอื่นๆ ที่เป็นการต่อยอดเชิงประยุกต์ เช่น เทคโนโลยีวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ และเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งมีบทบาทสูงในโลกยุคข้อมูลข่าวสาร รวมถึงสาขาสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ เช่น สังคมวิทยามานุษยวิทยาการแพทย์ นิเทศศาสตร์ การตลาด การบริหารธุรกิจ การออกแบบนิเทศศิลป์ ฯลฯ อันจะเป็นการขยายมุมมองให้รอบด้านลุ่มลึกเพื่อให้สามารถเข้าใจถึงปัญหา เหตุปัจจัย และหาหนทางแก้ไขได้อย่างแท้จริง", "title": "วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "976036#1", "text": "ตามหลักแล้ว ประวัติศาสตร์ดนตรีวิทยา (เรียกทั่วไปว่า ประวัติศาสตร์ดนตรี) เป็นสาขาที่เด่นชัดที่สุดของดนตรีวิทยา ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 2010 ประวัติศาสตร์ดนตรีวิทยาถือเป็นหนึ่งในสาขาย่อยดนตรีวิทยาที่ใหญ่ที่สุด โดยประวัติศาสตร์ดนตรีวิทยา, มานุษยดนตรีวิทยา และดนตรีวิทยาเชิงระบบ (systematic musicology) มีขนาดใกล้ ๆ กัน มานุษยดนตรีวิทยา ว่าด้วยเรื่องการศึกษาดนตรีที่เกี่ยวข้องกับบริบททางวัฒนธรรม ดนตรีวิทยาเชิงระบบ ว่าด้วยดนตรีสวนศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียงของเครื่องดนตรี และนัยยะที่เกี่ยวข้องทางดนตรีของสรีรศาสตร์ จิตวิทยา สังคมวิทยา หลักปรัชญา และการคำนวณ", "title": "ดนตรีวิทยา" }, { "docid": "404415#0", "text": "เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 ได้รับการจัดอันดับเป็นวารสารวิทยาศาสตร์สหวิทยาการที่อ้างอิงมากที่สุดของโลก ตามการจัดอันดับของรายงานการอ้างอิงวารสาร ค.ศ. 2010 ฉบับวิทยาศาสตร์ วารสารวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ปัจจุบันเป็นแบบเฉพาะทางอย่างสูง และ\"เนเจอร์\"เป็นเพียงหนึ่งในวารสารไม่กี่ฉบับที่ยังตีพิมพ์บทความงานค้นคว้าต้นฉบับในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์หลายสาขาซึ่งมีการตีพิมพ์ความก้าวหน้าใหม่ที่สำคัญและงานค้นคว้าต้นฉบับเป็นบทความหรือจดหมายใน\"เนเจอร์\"", "title": "เนเจอร์ (วารสาร)" }, { "docid": "232116#13", "text": "การลำดับชั้นหินทางชีววิทยา หรือ การหาอายุทางธรณีวิทยา นักธรณีวิทยาใช้การศึกษาทางเรณูวิทยาในทางการลำดับชั้นหินทางชีววิทยาเพื่อเปรียบเทียบชั้นหินและหาอายุเปรียบเทียบของชั้นหิน หมวดหิน หรือการลำดับชั้นหินหนึ่งๆ นิเวศวิทยา และ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโบราณ เรณูวิทยาสามารถนำไปใช้วิเคราะห์ชุมชนพืชในอดีตและชุมชนแพลงตอนพืชในทะเลหรือแหล่งน้ำจืด และสามารถอนุมานเป็นสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศในอดีตได้ การศึกษาลักษณะปรากฏทางเรณูวิทยา ด้วยการตรวจสอบสภาพการเก็บรักษาของอินทรีย์วัตถุที่จะทำให้ทราบสภาพแวดล้อมของการตกสะสมตะกอนของหินตะกอน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงความร้อนใต้พิภพ ด้วยการตรวจสอบสีของเรณูสัณฐานที่แยกออกมาจากเนื้อของหินทำให้ทราบการแปรผันของอุณหภูมิและการพัฒนาเต็มที่ของสารไฮโดรคาร์บอนของการลำดับชั้นตะกอนซึ่งจะทำให้สามารถประมาณการอุณหภูมิโบราณสูงสุดได้ การศึกษาทางชลธีวิทยา เรณูสัณฐานน้ำจืดและเศษชิ้นส่วนของพืชและสัตว์ รวมถึงพวกสาหร่ายหลากหลายชนิด (พราซิโนไฟต์ เดสมิด และสาหร่ายสีเขียว) ที่สามารถศึกษาระดับน้ำในทะเลสาบในอดีตและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระยะยาว อนุกรมวิธาน การจำแนกทางวิทยาศาสตร์ และ การศึกษาเชิงวิวัฒนาการ นิติเรณูวิทยา เป็นการศึกษาละอองเรณูและเรณูสัณฐานอื่นๆเพื่อการใช้เป็นหลักฐานประกอบในพื้นที่เกิดเหตุอาชญากรรม การศึกษาโรคภูมิแพ้ เป็นการศึกษาการกระจายตัวในตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และการปริมาณการการผลิตละอองเรณูตามฤดูกาลที่สามารถช่วยผู้ป่วยจากอาการภูมิแพ้อย่างเช่นโรคแพ้เกสรดอกไม้ได้ เรณูวิทยาน้ำผึ้ง เป็นการศึกษาละอองเรณูและสปอร์ที่พบอยู่ในน้ำผึ้ง เรณูวิทยาโบราณคดี เป็นการศึกษาการใช้พืชของมนุษย์ในอดีต ที่สามารถช่วยอธิบายการเพาะปลูกตามฤดูกาล การมีหรือไม่มีกิจกรรมหรือผลผลิตทางการเกษตร และพื้นที่ที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพืชในเชิงโบราณคดี บอนไฟร์ เชลเตอร์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของการประยุกต์ทางเรณูวิทยานี้", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "850098#0", "text": "คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อังกฤษ: Faculty of Learning Sciences and Education, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่ 19 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 รับผิดชอบการพัฒนาบุคลากรทางการเรียนรู้และการศึกษาที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยมุ่งจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกและนานาชาติ เพื่อสร้างพื้นที่การเรียนรู้ที่ผสมผสานศาสตร์และศิลป์ด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจความหมายของการเรียนรู้และการศึกษาจากหลากหลายสาขาวิชา คณะวิทยาการเรียนรู้ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยแรกในประเทศไทยที่มีการสอนรายวิชา วิชาการเรียนรู้ ขึ้น อีกทั้งยังเป็นคณะแรกที่มีการผสมผสานหลักสูตรเชิงสหวิทยาการและ Active Learning เข้าด้วยกัน", "title": "คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "338557#3", "text": "CI รวบรวมการปฏิบัติของชุมชน พัฒนาการและองค์กรรู้ได้จากสังคมวิทยา,การวางแผน,วิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นทฤษฎีสำคัญ การศึกษาสตรี,ห้องสมุดและข้อมูลทางวิทยาศาสตร์,ระบบสารสนเทศการจัดการและการศึกษาการจัดการ มันมีผลต่อเครือข่ายชุมชนเมื่อ ICT เปิดใช้งานบริการได้มีดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นไปถึงองค์การระดับรากหญ้า,องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคม,รัฐบาล,ภาคเอกชน,และหน่วยงานพหุภาคีในหมู่ผู้อื่น ที่ตนเองได้ริเริ่มจัดตั้งชุมชนทั้งหมดจากประเทศอื่น จึงมีความกังวลกับวิธีการ ICT ควบคุมสำหรับทุนทางสังคม,บรรเทาความยากจนและเสริมพลังของท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับ บริษัท ขนาดใหญ่ทางเศรษฐกิจสภาพแวดล้อมทางการเมืองและสังคม\nในความเป็นจริงสารสนเทศของชุมชน ไม่เป็นเช่นเดียวกับสถานศึกษามันจะคล้ายกับระบบสารสนเทศหรือการจัดการระบบสารสนเทศ แต่ยังคงเป็นที่สะดวกสำหรับกิจกรรมสหวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีการตัดขาดเหล่านั้นที่มาจากสารสนเทศศาสตร์ในภาพรวมของทฤษฎีทางสังคมรวมทั้งทฤษฎีที่เกี่ยวกับองค์กรดูเหมือนว่าจะไม่ตรงประเด็นต่อการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนและบรรดาผู้ที่สนใจสามารถตามประเด็นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติรอบการทำงานกับชุมชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประชาธิปไตยและสังคม มีคนจำนวนมากที่เกี่ยวข้องพยายามแข็งขันกันก่อนมีนักวิชาการที่มาจากหลายสาขารวมทั้งมนุษย์วิทยา,วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์,การศึกษาการพัฒนา,วิทยาศาสตร์สารสนเทศและระบบ,การจัดการ,การออกแบบ,สังคมวิทยา,งานสังคมสงเคราะห์และอื่นๆ", "title": "สารสนเทศชุมชน" }, { "docid": "232116#15", "text": "เรณูวิทยายังช่วยให้นักวิทยาศาสตร์อนุมานสภาพภูมิอากาศได้จากการปรากฏของชุมชนพืชในพื้นที่ตลอดช่วงเวลาทางธรณีวิทยาย้อนหลังไปนับเป็นพันปีหรือนับเป็นล้านๆปีทีเดียว และนี้เป็นสิ่งพื้นฐานในการวิจัยถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "371898#1", "text": "วิทยาธารน้ำแข็ง เป็นสหวิทยาการของวิทยาศาสตร์โลกที่รวมเอา ธรณีฟิสิกส์, ธรณีวิทยา, ภูมิศาสตร์กายภาพ, ธรณีสัณฐานวิทยา, climatology, อุตุนิยมวิทยา, อุทกวิทยา, ชีววิทยา, และ นิเวศวิทยา. \nผลกระทบของธารน้ำแข็งต่อชีวิตผู้คน รวมไปถึงสาขาวิชาของ ภูมิศาสตร์มนุษย์ และมานุษยวิทยา", "title": "วิทยาธารน้ำแข็ง" }, { "docid": "670329#0", "text": "วิทยาศาสตร์การกีฬา () เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าถึงผลของการมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายในกิจกรรมต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาศักยภาพร่างกายของนักกีฬา ให้สามารถเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยหลักวิชาทางด้านสรีรวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา หรืออื่น ๆ ดังนั้นวิทยาศาสตร์การกีฬาจึงเป็นการรวมวิชาต่าง ๆมากมายหรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ ที่มีเนื้อหารสาระครอบคลุมในสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น สรีรวิทยาการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา สังคมวิทยาการกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา โภชนาการการกีฬา เทคโนโลยีการกีฬา วิทยวิธีทางกีฬา วิทยาการการจัดการการกีฬา อื่น ๆ ", "title": "วิทยาศาสตร์การกีฬา" }, { "docid": "195407#1", "text": "การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้วย", "title": "การวิจัย" }, { "docid": "41067#1", "text": "มูลเหตุในการจัดตั้งวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดลนั้น มาจากผลการประชุมวิชาการเรื่อง \"โครงการบริหารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี\" เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และเรื่อง \"บัณฑิตศึกษาเชิงสหวิทยาการ\" ซึ่งจัดขึ้นโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 12-13 กันยายน พ.ศ. 2536 โดยผลจากการประชุมวิชาการทำให้ได้ผลสรุปว่า สาขาการบริหารจัดการ เป็นสาขาหนึ่งที่มหาวิทยาลัยมหิดลสมควรดำเนินการจัดตั้งให้มีขึ้น เพื่อเป็นการเสริมศักยภาพวิชาที่เปิดสอนอยู่แล้ว เช่น ให้มีวิชาเลือกทางสาขาการจัดการให้กับนักศึกษาสายการแพทย์และวิทยาศาสตร์เป็นต้น และผลิตบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ เพื่อไปรับใช้และช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต", "title": "วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "232116#12", "text": "เรณูวิทยาถูกนำไปประยุกต์ใช้ที่หลากหลาย มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆมากมาย", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "709053#0", "text": "มรณวิทยา เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความตาย วิชานี้จะตรวจสอบกลไกและมุมมองทางนิติเวชของความตาย เช่น การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายหลังเสียชีวิต และช่วงเวลาหลังการตาย รวมถึงมุมมองทางสังคมกว้าง ๆ เกี่ยวกับความตาย โดยหลักเป็นการศึกษาแบบสหวิทยาการ เป็นวิชาที่เปิดสอนในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลายแห่ง", "title": "มรณวิทยา" }, { "docid": "3703#13", "text": "ส่วนการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 3 ในปีพ.ศ. 2554 พบว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการประเมินในระดับ 5 หรือในระดับดีเยี่ยมในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และระดับ 4 หรือในระดับดีในกลุ่มสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี , ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ (Plant and Soil Science) ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาแพทยศาสตร์และทันตแพทยศาสตร์ (อายุรศาสตร์) ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ชีวเวชศาสตร์ พยาธิวิทยา หน่วยระบาดวิทยา รังสีวิทยา เวชศาสตร์ฉุกเฉิน และสถาบันโรคระบบทางเดินอาหารและตับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (เภสัชศาสตร์) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์", "title": "มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์" }, { "docid": "36694#0", "text": "ประชานศาสตร์ หรือ วิทยาการการรู้ หรือ วิทยาการปัญญา หรือ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา () ความหมายโดยทั่วไปคือการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้งเรื่องของความคิดและความฉลาด แต่หากกล่าวอย่างเป็นรูปนัยจะเน้นว่าเป็นการศึกษาด้านสหวิทยาการประกอบด้วย ประชานจิตวิทยา (cognitive psychology) ประสาทจิตวิทยา (neuropsychology) ภาษาศาสตร์ ปรัชญา วิทยาการคอมพิวเตอร์ (เจาะจงเรื่องปัญญาประดิษฐ์) มานุษยวิทยา และ จิตชีววิทยา (psychobiology) หรือสาขาประยุกต์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อการศึกษาวิจัยภาวะของจิตและกระบวนการที่มนุษย์ควบคุมเปลี่ยนแปรยักย้ายข้อมูลข่าวสาร งานวิจัยในสาขาวิทยาการการรู้ได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากหลากหลายสาขาเพื่อศึกษาการทำงานของระหว่างสมองและจิตใจ (brain and mind) ศึกษาวิจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างการคิด อารมณ์ และการกระทำ การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (brain-based learning) พฤติกรรม ความผิดปกติทางการเรียน การรับรู้ ความสนใจ การจำ การแก้ปัญหา การคำนวณ การให้เหตุผล และการตัดสินใจ บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เช่น การแปลผลจากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) การวิเคราะห์จากถ่ายภาพสมอง (brain imaging) เป็นต้น ", "title": "ประชานศาสตร์" }, { "docid": "232116#25", "text": "หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์โลก หมวดหมู่:เรณูวิทยา หมวดหมู่:ธรณีวิทยา หมวดหมู่:โบราณคดี หมวดหมู่:บรรพชีวินวิทยา หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์ หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์ หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์ทางเรณูวิทยา", "title": "เรณูวิทยา" }, { "docid": "5208#0", "text": "วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ () เป็นสหวิทยาการเชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ เมื่อ เทคโนโลยี ก้าวหน้าขึ้น, สาขาย่อยของ วิศวกรรม ก็ขยายและพัฒนาขึ้น จุดประสงค์ของเมคคาทรอนิกส์จึงเป็นกระบวนการออกแบบที่รวมเป็นหนึ่งเดียวของสาขาย่อยเหล่านี้ แต่เดิม เมคคาทรอนิกส์ได้รวมแค่เมคคานิกส์และอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น ดังนั้นคำว่าเมคคาทรอนิกส์จึงเป็นคำผสมของ แมคคา และ ทรอนิกส์; อย่างไรก็ตาม เมื่อระบบด้านเทคนิคมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ คำ ๆ นี้จึงถูกขยายความให้รวมถึงพื้นที่ทางเทคนิคมากยิ่งขึ้น", "title": "วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์" }, { "docid": "547#17", "text": "การผังเมือง การวางแผนภาค และการวางแผนเชิงพื้นที่ เป็นการใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ช่วยในการกำหนดแนวทางในการพัฒนา (หรือไม่พัฒนา) ที่ดินให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น ความปลอดภัย ความสวยงาม โอกาสทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมทางธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น เป็นต้น การวางแผนพื้นที่ของเมือง นคร และชนบทโดยส่วนมากจะประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ภูมิภาค ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 วอลเตอร์ ไอสาร์ดได้นำเสนอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ภูมิภาคเพื่อเป็นพื้นฐานหาคำตอบทางภูมิศาสตร์โดยเน้นเชิงปริมาณมากขึ้น ตรงข้ามกับการใช้แนวโน้มเชิงพรรณนาที่อยู่ในแบบแผนดั้งเดิม วิทยาศาสตร์ภูมิภาคประกอบด้วยองค์ความรู้ซึ่งในมิติเชิงพื้นที่ใช้เป็นบทบาทพื้นฐาน เช่น การจัดการทรัพยากร ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง การวางแผนภาคและเมือง การขนส่งและการสื่อสาร ภูมิศาสตร์มนุษย์ การกระจายของประชากร นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ และสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ วิทยาดาวเคราะห์ โดยทั่วไปภูมิศาสตร์จะมีความเกี่ยวข้องเฉพาะกับโลก อย่างไรก็ตามภูมิศาสตร์ก็สามารถนำมาใช้ในการศึกษาถึงโลกอื่น ๆ ได้เช่นกัน เช่น ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะและนอกเหนือไปจากระบบสุริยะ วิทยาดาวเคราะห์เป็นการศึกษาระบบที่มีขนาดใหญ่กว่าโลกซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นสาขาหนึ่งของดาราศาสตร์หรือจักรวาลวิทยา ตัวอย่างอื่น ๆ เช่น อังคารวิทยา (การศึกษาเกี่ยวกับดาวอังคาร) ได้รับการเสนอแต่ยังไม่ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย วิทยาศาสตร์ดาวเทียม โดยศึกษาเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมในการเป็นเครื่องมือศึกษาทางภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลก หรือ โลกศาสตร์ นำวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษาโลกในด้านที่เป็นประโยชน์ต่อภูมิศาสตร์ วิศวกรรมสำรวจ ใช้หลักทางวิศวกรรมมาใช้ในการช่วยศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยครอบคลุมรวมไปถึง วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมธรณี วิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมทรัพยากรธรณี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า และ วิชาการทำแผนที่", "title": "ภูมิศาสตร์" }, { "docid": "4783#0", "text": "ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ หรือ ภาษาศาสตร์เชิงคำนวณ () เป็นสหวิทยาการที่ว่าด้วยการสร้างแบบจำลองเชิงตรรกะของภาษาธรรมชาติ จากมุมมองในเชิงคำนวณ แบบจำลองนี้ ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในสาขาในสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์", "title": "ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์" }, { "docid": "547#3", "text": "นักภูมิศาสตร์ได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับนักทำแผนที่และผู้ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับลำดับและชื่อของสถานที่ต่าง ๆ แม้ว่านักภูมิศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนเกี่ยวกับภูมินามวิทยาและการทำแผนที่แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นหน้าที่หลักของนักภูมิศาสตร์ นักภูมิศาสตร์เป็นผู้ศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่และการกระจายของฐานข้อมูลเชิงเวลาจากปรากฏการณ์ กระบวนการ คุณลักษณะ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม [8] เนื่องจากพื้นที่และสถานที่ส่งผลต่อความหลากหลายของสิ่งต่าง ๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ สุขภาพ ภูมิอากาศ พืช และสัตว์ ทำให้ภูมิศาสตร์มีความเป็นสหวิทยาการสูง ลักษณะการเป็นสหวิทยาการของวิธีการทางภูมิศาสตร์ขึ้นอยู่กับความสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์รวมถึงแบบรูปเชิงพื้นที่ที่เกิดขึ้น[9]", "title": "ภูมิศาสตร์" }, { "docid": "4218#0", "text": "วิวัฒนาการของมนุษย์ (English: Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ \"มนุษย์ปัจจุบัน\" (English: modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์[1]", "title": "วิวัฒนาการของมนุษย์" }, { "docid": "47836#6", "text": "ข้อแตกต่างระหว่างราชสมาคมแห่งลอนดอน และราชบัณฑิตยสภาได้แก่การเน้นสาขาวิทยาการ ราชสมาคมแห่งลอนดอนจำกัดสมาชิกเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในขณะที่ราชบัณฑิตยสภาของประเทศไทยเป็นสถาบันสหวิทยาการ", "title": "ราชบัณฑิต" }, { "docid": "4783#1", "text": "เดิมทีเดียว นักภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์มักจะเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language) แต่งานวิจัยในช่วงหลัง ได้แสดงให้เห็นว่า ภาษานั้นซับซ้อนเกินกว่าที่คาดคิดไว้ ดังนั้นกลุ่มศึกษาภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์จึงกลายสภาพเป็นกลุ่มสหวิทยาการไป โดยจะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งคนที่เป็นนักภาษาศาสตร์​ (นั่นคือ ฝึกฝนมาทางด้านภาษาศาสตร์โดยเฉพาะ) ส่วนคนอื่น ๆ อาจจะเชี่ยวชาญในสาขา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ จิตวิทยาปริชาน () ตรรกวิทยา และอื่น ๆ", "title": "ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์" } ]
2665
ราชอาณาจักรอิตาลี ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ?
[ { "docid": "252329#0", "text": "ราชอาณาจักรอิตาลี (, ) เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นโดยชนลอมบาร์ดผู้เข้ามารุกรานคาบสมุทรอิตาลีหลังจากที่ราชอาณาจักรออสโตรกอธถูกทำลายในปี ค.ศ. 568 อาณาจักรลอมบาร์ดเป็นอาณาจักรที่มีความมั่นคงกว่าราชอาณาจักรออสโตรกอธก่อนหน้านั้น แต่ในปี ค.ศ. 774 ชนแฟรงค์ที่นำโดยชาร์เลอมาญก็เข้ามารุกรานโดยอ้างว่าเพื่อเป็นการป้องกันสถาบันพระสันตะปาปาและได้รับชัยชนะต่ออาณาจักรลอมบาร์ด ชนแฟรงค์รักษาบริเวณอิตาลี-ลอมบาร์ดแยกจากจักรวรรดิของตนเอง แต่อาณาจักรลอมบาร์ดก็ประสบกับการแบ่งแยกเขตแดน สงครามกลางเมือง และวิกฤติการณ์สืบราชบัลลังก์เช่นเดียวกับที่จักรวรรดิคาโรแล็งเชียงต้องประสบมาจนกระทั่งถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่ออาณาจักรอิตาลีได้รับอิสรภาพแต่ก็ยังเป็นอาณาจักรที่ปกครองแบบกระจายอำนาจ ในปี ค.ศ. 951 สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ผู้เป็นพระมหากษัตริย์เยอรมนีอยู่แล้วก็อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อิตาลี ราชบัลลังก์อิตาลีและเยอรมนีรวมกันกลายเป็นพื้นฐานของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รัฐบาลกลางในอิตาลีสูญหายไปอย่างรวดเร็วในยุคกลางตอนกลาง (High Middle Ages) แต่ปรัชญาของความเป็นอาณาจักรยังมีอยู่ เมื่อมาถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาความคิดนี้ก็เป็นเพียงความคิดที่ไม่มีมูลและในสัญญาสงบศึกเวสต์เฟเลีย (Peace of Westphalia) (ค.ศ. 1648) ความคิดเรื่องอาณาจักรก็หายไปทั้งทางปรัชญาและทางกฎหมาย แต่อาจจะยังหลงเหลืออยู่เพียงในนามมาจนเมื่อจักรวรรดิถูกยุบในปี ค.ศ. 1806 ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ก็ได้ก่อตั้งราชอาณาจักรของพระองค์เองขึ้น “ราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)” (Regno d'Italia) ที่ไม่มีส่วนใดที่หลงเหลือมาจากอาณาจักรในยุคกลาง", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี (ยุคกลาง)" }, { "docid": "273209#0", "text": "ราชอาณาจักรอิตาลี (, ) เป็นราชอาณาจักรของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ก่อตั้งขึ้นโดยนโปเลียนทางตอนเหนือของอิตาลีในปี ค.ศ. 1805 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1814 เมื่อนโปเลียนได้รับความพ่ายแพ้", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)" }, { "docid": "192295#0", "text": "ราชอาณาจักรอิตาลี () เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" } ]
[ { "docid": "273966#0", "text": "จักรวรรดิอิตาลี () ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861) โดยอิตาลีได้ร่วมมือกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรปใน “การล่าอาณานิคมในแอฟริกา” ในช่วงนี้จักรวรรดิโปรตุเกส, สเปน, เนเธอร์แลนด์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ต่างก็เป็นเจ้าของอาณานิคมกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ดินแดนสุดท้ายที่ยังคงเหลือสำหรับยึดเป็นอาณานิคมคือทวีปแอฟริกาเท่านั้น", "title": "จักรวรรดิอิตาลี" }, { "docid": "289086#0", "text": "ราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชีย (; ; ) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรอิตาลีที่เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย ราชอาณาจักรก่อตั้งขึ้นหลังจากความพ่ายแพ้ของนโปเลียนตามความตกลงในการประชุมแห่งเวียนนาเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1815 และมาสิ้นสุดลงเมื่อบริเวณสุดท้ายถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรอิตาลีในปี ค.ศ. 1866", "title": "ราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวนีเชีย" }, { "docid": "192295#24", "text": "โครงการสร้างอาณานิคมจำนวนมากได้ผ่านการรับรองจากรัฐบาลอิตาลี เพื่อแสวงหาการสนับสนุนจากกลุ่มชาตินิยมและจักรวรรดินิยมชาวอิตาลี ซึ่งต่อการจะสร้างจักรวรรดิโรมันขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ในเวลานั้นอิตาลีได้มีเขตที่ชาวอิตาลีได้ตั้งถิ่นฐานขนาดใหญ่อยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย ไคโร และตูนิสอยู่แล้ว ประเทศอิตาลีได้พยายามแสวงหาอาณานิคมครั้งแรกผ่านการเจรจากับชาติมหาอำนาจอื่นๆ เพื่อขอสัมปทานดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งเป็นอาณานิคมของอิตาลี ซึ่งการเจรจาดังกล่าวปรากฏว่าล้มเหลว นอกจากนั้น อิตาลียังได้ส่งมิชชันนารีไปยังดินแดนที่ยังไม่ได้ตกเป็นอาณานิคมเพื่อสืบหาช่องทางที่จะยึดครองเป็นอาณานิคมของอิตาลี พื้นที่ที่อิตาลีมีความเป็นไปได้ที่จะสร้างอาณานิคมของตนขึ้นได้จริงมากที่สุดก็คือในทวีปแอฟริกา มิชชันนารีของอิตาลีได้เริ่มบุกเบิกการเผยแผ่ศาสนาที่เมืองมาสซาวา (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเอริเทรีย) และเริ่มเดินทางลึกเข้าไปในจักรวรรดิเอธิโอเปียในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1830", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" }, { "docid": "192295#3", "text": "อาณาเขตของราชอาณาจักรอิตาลีอ้างสิทธิ์บนพื้นที่ทั้งหมดที่เป็นสาธารณรัฐอิตาลีในปัจจุบัน พัฒนาการของอาณาเขตราชอาณาจักรได้เริ่มก่อตัวขึ้นจากการรวมชาติอิตาลีจนถึงปี ค.ศ. 1870 และราชอาณาจักรจะยังไม่ได้ครอบครองดินแดนของเมืองตรีเอสเตและเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (ติรอลใต้) อย่างในปัจจุบัน หากแต่เมืองเหล่านี้จะได้รับมาจากออสเตรียในปี ค.ศ. 1919 นอกจากนี้ตามสนธิสัญญาแวร์ซายและสนธิสัญญาแซงแชร์แมง อิตาลีเองต้องยอมเสียดินแดนส่วนกอรีตซา ตรีเอสเต อิสเตรีย (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโครเอเชียและสโลวีเนีย) และพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของโครเอเชียในปัจจุบันเพื่อแลกกับการได้จังหวัดดัลเมเชียซึ่งเดิมเป็นของโครเอเชีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อิตาลีได้ครอบครองดินแดนในส่วนที่เป็นของโครเอเชียและดัลเมเชียเพิ่มขึ้น แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 การอ้างสิทธิเหนือดินแดนดังกล่าวได้ถูกยกเลิกและได้มีการจัดทำเส้นพรมแดนใหม่ตามที่ปรากฏในปัจจุบัน", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" }, { "docid": "240892#0", "text": "ราชอาณาจักรเนเปิลส์ () เป็นอาณาจักรที่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (Italian peninsula) หรือบางครั้งก็รู้จักกันอย่างสับสนกับ “ราชอาณาจักรซิซิลี” ซึ่งเป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งหลังจากการแยกตัวของซิซิลีจากราชอาณาจักรซิซิลีเดิมที่เป็นผลมาจากกบฏซิซิเลียนเวสเปิร์ส (Sicilian Vespers) ของปี ค.ศ. 1282 ระหว่างการเป็นราชอาณาจักร ราชอาณาจักรเนเปิลส์ปกครองสลับกันปกครองโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหรือพระมหากษัตริย์สเปน ขึ้นอยู่กว่าผู้ใดจะมีอำนาจมากกว่า", "title": "ราชอาณาจักรเนเปิลส์" }, { "docid": "192295#72", "text": "มีการเจรจากับรัฐบาลสหราชอาณาจักรในหัวข้อการขยายเขตแดนของอาณานิคมลิเบีย การเจรจาครั้งแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1925 เพื่อปักปันเขตแดนระหว่างลิเบียของอิตาลีกับอียิปต์ซึ่งในขณะนั้นตกเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ส่งผลให้อิตาลีได้รับดินแดนส่วนที่ยังไม่ได้ปักปันเพิ่มเติม ในปี ค.ศ. 1934 อิตาลีเรียกร้องดินแดนเพิ่มเติมอีกครั้งจากซูดานซึ่งตกเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรจึงยอมมอบดินแดนบางส่วนให้ผนวกเข้ากับลิเบีย มีการคาดเดาว่าสาเหตุที่เป็นเช่นนั้นอาจเป็นเพราะความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศยังคงแน่นแฟ้นดีอยู่ ก่อนที่จะเลวร้ายลงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935 เป็นต้นไป", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" }, { "docid": "269239#3", "text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิโรมันในอิตาลีและไบแซนไทน์ก็เปิดโอกาสให้ลอมบาร์ดยึดอำนาจของดินแดนโรมันทางตอนเหนือของอิตาลี แต่ในปี ค.ศ. 774 ลอมบาร์ดก็พ่ายแพ้ต่อชาร์เลอมาญ ผู้ทรงปลดกษัตริย์ลอมบาร์ดและก่อตั้งตำแหน่ง \"rex Italiae\" หรือ \"กษัตริย์แห่งอิตาลี\" ราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อมาก็ถือตำแหน่งเป็นกษัตริย์แห่งอิตาลี และกษัตริย์ส่วนใหญ่ก็ได้รับการราชภิเษกที่เมืองพาเวียที่เป็นเมืองหลวงของลอมบาร์เดียก่อนที่จะเดินทางต่อไปทำการราชภิเษกเป็นจักรพรรดิในกรุงโรม แต่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ยังทรงปกครองเพียงบางส่วนของอิตาลี โดยมีอาณาจักรอื่นบนคาบสมุทรที่ยังคงเป็นอิสระจากจักรวรรดิต่อมาอีกหลายร้อยปี บางอาณาจักรก็มีฐานะเป็นราชอาณาจักรเช่นราชอาณาจักรซิซิลี และ ราชอาณาจักรเนเปิลส์", "title": "พระมหากษัตริย์อิตาลี" }, { "docid": "192295#8", "text": "ภายหลังจากการปฏิวัติปี ค.ศ. 1848 ได้มีการเคลื่อนไหวของผู้นำการรวมชาติโดย จูเซปเป การีบัลดี นักปฏิวัติชาวอิตาลี เขาเป็นที่รู้จักไปทั่วในหมู่ชาวอิตาลีทางใต้ และเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกจากการที่เขามีผู้สนับสนุนเป็นกลุ่มที่มีแนวคิดแบบสุดขั้ว การิบัลดีได้นำชาวอิตาลีฝ่ายนิยมสาธารณรัฐเป็นผู้ขับเคลื่อนในกระบวนการรวมชาติในอิตาลีตอนใต้ แต่ในทางตอนเหนือของอิตาลี ราชวงศ์ซาวอยแห่งราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอันเป็นรัฐของชาวปิเอมอนเตโดยพฤตินัย ซึ่งมีรัฐบาลภายใต้การนำของอัครมหาเสนาบดีคามิลโล เบนโซ, เคานท์แห่งคาวัวร์ ก็เป็นฝ่ายที่มีความปรารถนาที่จะสถาปนารัฐอิตาลีอันเป็นเอกภาพด้วยเช่นกัน ในทางปฏิบัติราชอาณาจักรก็มิได้มีการติดต่อเพื่อการรวมชาติไปยังโรม (เป็นที่รู้ดีกันว่ากรุงโรมอันเป็นราชธานีของรัฐพระสันตะปาปามีฐานะเป็นเมืองหลวงของอิตาลี แม้ว่าจะไม่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการก็ตาม) แต่ราชอาณาจักรก็ประสบความสำเร็จในการท้าทายต่อจักรวรรดิออสเตรียในสงครามประกาศเอกราชครั้งที่สอง โดยสามารถปลดปล่อยราชอาณาจักรลอมบาร์ดี-เวเนเชีย จากการปกครองของออสเตรียได้สำเร็จ อีกทั้งยังสามารถก่อตั้งพันธมิตรเพื่อการรวมชาติอิตาลี เช่น สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส ในสงครามไครเมีย ราชอาณาจักรซาร์ดิเนียประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1860 แต่ถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้แก่ฝรั่งเศสเพื่อรักษาความสัมพันธ์ไว้ ดินแดนดังกล่าวนี้ได้รวมถึงเมืองนีซ ซึ่งเป็นบ้านเกิดของการิบัลดีด้วย\nคาวัวร์ได้ท้าทายความพยายามรวมชาติของการิบัลดีด้วยการยุยงให้เกิดการจลาจลของประชาชนในรัฐพระสันตะปาปา และใช้การจลาจลในครั้งนี้เป็นข้ออ้างในการรุกรานรัฐพระสันตะปาปา แม้การรุกรานดังกล่าวจะสร้างความโกรธเคืองให้แก่ชาวคาธอลิกก็ตาม แต่คาวัวร์ก็อ้างว่าทำไปเพื่อปกป้องศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกจากฝ่ายชาตินิยมต่อต้านศาสนจักรและนิยมสาธารณรัฐของการิบัลดี รัฐพระสันตะปาปาได้เหลือเพียงบริเวณเล็กๆ รอบกรุงโรมเท่านั้นที่อยู่ภายใต้การควบคุมของสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 แม้ทั้งสองฝ่ายจะมีแนวทางที่แตกต่างกัน คาวัวร์ก็ได้ตกลงที่จะให้มีการรวมอิตาลีทางตอนใต้ของการิบัลดีเข้าร่วมเป็นสหพันธ์เดียวกับปิเอมอนเต-ซาร์ดิเนียในปี ค.ศ. 1860 หลังจากนั้นไม่นานคาวัวร์จึงได้ประกาศให้รวมอิตาลีตอนเหนือและอิตาลีตอนใต้เข้าเป็นหนึ่งเดียว และสถาปนาราชอาณาจักรอิตาลีขึ้นในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1861 โดยมีพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 กษัตริย์แห่งซาร์ดิเนียจากราชวงศ์ซาวอย ทรงดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีพระองค์แรก ชื่อราชอาณาจักรอิตาลีนี้เคยถูกเลิกใช้นับตั้งแต่การสละราชสมบัติของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1814 \nหลังการรวมดินแดนส่วนใหญ่ของอิตาลี ความตึงเครียดระหว่างผู้สนับสนุนราชาธิปไตยกับผู้สนับสนุนสาธารณรัฐก็ปะทุขึ้น ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1861 การิบัลดีได้เข้าไปยังรัฐสภาของอิตาลีและท้าทายต่อคาวัวร์ในฐานะผู้นำรัฐบาล โดยกล่าวหาว่าเขาเป็นผู้แบ่งแยกอิตาลี อีกทั้งยังพูดถึงการจัดการกับปัญหาสงครามกลางเมืองระหว่างกองทัพราชอาณาจักรฝ่ายเหนือเหนือกับกองทัพของการิบัลดีทางฝ่ายใต้ ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1861 นายกรัฐมนตรีคาวัวร์ได้ถึงแก่อสัญกรรม ท่ามกลางความวุ่นวายและไร้เสถียรภาพทางการเมือง ฝ่ายของการิบัลดีก็มีผู้สนับสนุนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การจับกุมการิบัลดีในปี ค.ศ. 1862 ได้สร้างข้อถกเถียงเป็นวงกว้างไปทั่วโลก\nในปี ค.ศ. 1866 ออทโท ฟอน บิสมาร์ค มุขมนตรีแห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย ได้ถวายสัมพันธไมตรีแก่พระเจ้าวิคเตอร์ เอมมานูเอลที่ 2 โดยการเชิญอิตาลีเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับปรัสเซียในสงครามออสโตร-ปรัสเซียน และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนในการเป็นพันธมิตร ปรัสเซียจึงได้ยินยอมยกให้อิตาลีสามารถผนวกเอาเวนิสซึ่งเป็นดินแดนของชาวอิตาลีที่อยู่ในความครอบครองของจักรวรรดิออสเตรียได้ พระเจ้าวิคเตอร์ เอมมานูเอลที่ 2 จึงทรงยอมร่วมเป็นพันธมิตรและสงครามประกาศเอกราชครั้งที่สามก็ได้เปิดฉากขึ้น ในสงครามครั้งนี้อิตาลีปฏิบัติการรบได้ย่ำแย่จากปัญหาการจัดการโครงสร้างกองทัพที่ไม่มีประสิทธิภาพในการรบกับออสเตรีย แต่ชัยชนะของปรัสเซียก็ได้ทำให้อิตาลีสามารถผนวกเมืองเวนิสได้ อุปสรรคหลักในการรวมชาติเพียงหนึ่งเดียวที่เหลืออยู่มีเพียงที่โรมเท่านั้น", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" }, { "docid": "192295#2", "text": "ในสมัยแห่งการปกครองโดยพรรคฟาสซิสต์อิตาลีและภายใต้การปกครองแบบเผด็จการของเบนีโต มุสโสลีนี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1922 จนกระทั่งเขาถูกขับออกจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 1943 นามที่ใช้เรียกราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงนี้ส่วนใหญ่นักประวัติศาสตร์จะเรียกกันว่า ฟาสซิสต์อิตาลี ภายใต้ระบอบฟาสซิสต์ ราชอาณาจักรอิตาลีได้เป็นพันธมิตรกับนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1943 ในช่วงสองปีสุดท้ายของสงคราม ประเทศอิตาลีได้สลับข้างไปร่วมเป็นพันธมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจากได้มีการขับไล่มุสโสลีนีลงจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและยุบเลิกพรรคฟาสซิสต์ รัฐของฝ่ายฟาสซิสต์ที่ยังคงสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรต่อคือรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีทางเหนือของอิตาลีซึ่งมีชื่อเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี โดยมีมุสโสลีนีและพวกฟาสซิสต์ที่ยังจงรักภักดีต่อเขาเป็นแกนนำ หลังจากสงครามยุติไม่นาน ความไม่พอใจของประชาชนในปี ค.ศ. 1946 ได้นำไปสู่การลงประชามติให้อิตาลียังคงมีสถานะเป็นราชอาณาจักรต่อไปหรือให้มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองไปเป็นสาธารณรัฐ ผลปรากฏว่าประชาชนต้องการให้ล้มเลิกการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและได้มีการจัดตั้งสาธารณรัฐอิตาลีขึ้น ซึ่งสาธารณรัฐแห่งนี้คือประเทศอิตาลีที่ยังดำรงอยู่สืบมาจนถึงปัจจุบัน", "title": "ราชอาณาจักรอิตาลี" } ]
2365
ในสมองมนุษย์มีเส้นประสาทหรือไม่?
[ { "docid": "145709#0", "text": "ประสาทสมอง (English: cranial nerve หรือ cerebral nerve) เป็นเส้นประสาทที่เกิดจากสมองและก้านสมองโดยตรง ตรงข้ามกับประสาทไขสันหลังซึ่งเกิดจากไขสันหลังหลายปล้อง ประสาทสมองเป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณ ส่วนใหญ่คือศีรษะและคอ", "title": "ประสาทสมอง" } ]
[ { "docid": "145709#3", "text": "ประสาทสมองเป็นองค์ประกอบของระบบประสาทนอกส่วนกลาง โดยยกเว้นประสาทสมองเส้นที่ 2 (ประสาทตา) ซึ่งมิใช่ประสาทส่วนปลายแท้จริงแต่เป็นลำเส้นใยประสาทของไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) เชื่อมจอตากับนิวเคลียสงอคล้ายเข่าข้าง (lateral geniculate nucleus) ฉะนั้น ทั้งประสาทตาและจอตาเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทส่วนกลาง แกนประสาทนำออกของประสาทอีกสิบสองเส้นที่เหลือทอดออกจากสมองและถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทนอกส่วนกลาง ปมประสาทกลางของประสาทสมองหรือนิวเคลียสประสาทสมองกำเนิดในระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนมากในก้านสมอง", "title": "ประสาทสมอง" }, { "docid": "844992#28", "text": "ส่วน DCN มีเซลล์หลัก ๆ 2 รูปแบบ และรับข้อมูลจาก VCN\nใยประสาท Cochlear nerve ส่งสัญญาณเสียงจากอวัยวะรูปหอยโข่งไปยังสมอง โดยมนุษย์มีเกิน 30,000 เส้นสำหรับแต่ละข้าง และแต่ละเส้นจะตอบสนองดีที่สุดที่ความถี่หนึ่ง แม้จะตอบสนองต่อความถี่หลายระดับด้วย", "title": "ระบบการได้ยิน" }, { "docid": "145709#4", "text": "เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่สามารถเรียกเป็นชื่อย่อโดยใช้คำว่า \"Cranial nerve\" หรือ \"CN\" แล้วตามด้วยเลขโรมันแสดงลำดับที่ของเส้นประสาทคู่นั้น ลำดับที่จะเรียงตามตำแหน่งของนิวเคลียสในก้านสมอง เช่น เส้นประสาทสมองเส้นที่ 3 (CN III หรือ เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา) ออกจากก้านสมองในตำแหน่งที่สูงกว่าเส้นประสาทสมองเส้นที่ 12 (CN XII หรือ เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น) เพราะจุดเริ่มต้นของเส้นประสาทสมองเส้นที่ 12 จะอยู่ต่ำกว่าของเส้นประสาทสมองเส้นอื่นๆ", "title": "ประสาทสมอง" }, { "docid": "974595#4", "text": "เส้นประสาทสมองหลายเส้นวิ่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของหู รวมทั้งประสาทสมองเส้นที่ 5 (trigeminal) เส้นที่ 7 (facial) เส้นที่ 9 (glossopharyngeal) เส้นที่ 10 (vagus) และเส้นประสาทคอระดับ C2-C3 (great auricular nerve)\nแต่เส้นประสาทเหล่านี้ก็ยังดำเนินไปยังส่วนอื่น ๆ ของร่างกายอีกด้วยเริ่มตั้งแต่ปาก จนไปถึงหน้าอกและท้อง\nดังนั้น ความระคายเคืองต่อเส้นประสาทเหล่านี้เพราะส่วนอื่น ๆ ของร่างกายอาจทำให้เจ็บหู\nซึ่งเป็นอาการปวดต่างที่อย่างหนึ่ง\nการระคายเคืองที่ประสาทสมองเส้นที่ 5 ซึ่งทำให้สามารถรู้สึกที่ใบหน้าและควบคุมกล้ามเนื้อต่าง ๆ เพื่อกัดและเคี้ยวเป็นต้น เป็นเหตุสามัญที่สุดของการเจ็บหูต่างที่", "title": "อาการเจ็บหู" }, { "docid": "605030#25", "text": "เส้นประสาทของระบบ (ดูส่วนหนึ่งในรูป) ซึ่งเป็นสาขาของเส้นประสาท vestibulocochlear หรือเส้นประสาทสมองเส้นที่ 8 มีปลายรับสัญญาณจากฐานเซลล์ขนในหลอดกึ่งวงกลมและใน olithic organs มีตัวเซลล์ประสาทสองขั้ว ที่ vestibular ganglia หรือ Scarpa's ganglia ในช่องหู และส่งแอกซอนไปเชื่อมกับไซแนปส์ที่คอมเพล็กซ์นิวเคลียสประสาท vestibular nuclei 4 อันในซีกร่างกายเดียวกัน (คือ medial, lateral, superior, และ descending) ซึ่งอยู่ที่ด้านหลัง (dorsal) ของพอนส์และเมดัลลาในก้านสมอง\nโดยนิวเคลียสประสาทแต่ละข้างของก้านสมองยังได้รับข้อมูลจากนิวเคลียสของซีกตรงข้าม จากสมองน้อย จากระบบการเห็น และจากระบบรับความรู้สึกทางกาย และส่งสัญญาณเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและตำแหน่งของร่างกายไปยังส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้", "title": "ระบบการทรงตัว" }, { "docid": "137276#1", "text": "ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกได้เป็นระบบประสาทกลาง หรือ ซีเอ็นเอส (central nervous system) และระบบประสาทนอกส่วนกลาง หรือ พีเอ็นเอส (peripheral nervous system) ระบบประสาทกลางประกอบด้วยสมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord) ซึ่งมีหน้าที่หลักในการควบคุมพฤติกรรม ส่วนระบบประสาทนอกส่วนกลางประกอบด้วยเซลล์ประสาททั้งหมดที่อยู่นอกระบบประสาทกลาง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นระบบประสาทกาย (somatic nervous system) และระบบประสาทอิสระ หรือ เอเอ็นเอส (autonomic nervous system) \nระบบประสาทกายประกอบด้วยเซลล์ประสาทนำเข้า (afferent neuron) ที่ส่งข้อมูลการรับความรู้สึกจากอวัยวะรับความรู้สึกมายังสมองและไขสันหลัง และเซลล์ประสาทนำออกที่ขนส่งข้อมูลสั่งการออกไปยังกล้ามเนื้อหรืออวัยวะที่ตอบสนองอื่นๆ ระบบประสาทอิสระแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) ซึ่งเป็นชุดของเส้นประสาทที่กระตุ้นการตอบสนองแบบ \"สู้หรือหนี\" (\"fight-or-flight\" response) ส่วนระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) ตรงกันข้ามกันคือเตรียมความพร้อมร่างกายให้พักผ่อนและเก็บพลังงานเอาไว้", "title": "ประสาทกายวิภาคศาสตร์" }, { "docid": "145709#1", "text": "ประสาทไขสันหลังลงไปถึงกระดูกสันหลังส่วนคอที่หนึ่ง และประสาทสมองบทบาทสัมพันธ์กันเหนือระดับนี้ ประสาทสมองมีเป็นคู่และอยู่ทั้งสองข้าง ประสาทสมองในมนุษย์มีสิบสองหรือสิบสามเส้นแล้วแต่แหล่งที่มา ซึ่งกำหนดชื่อด้วยตัวเลขโรมัน I–XII และมีการกำหนดเลขศูนย์ให้ประสาทสมองเส้นที่ 0 (หรือประสาทปลาย) ตามลำดับที่มีจุดกำเนิดจากสมองส่วนหน้าไปถึงด้านหลังของสมองและก้านสมอง", "title": "ประสาทสมอง" }, { "docid": "396300#0", "text": "ในทางกายวิภาคศาสตร์ ศีรษะ (, มักสะกดผิดเป็น \"ศรีษะ\") หรือ หัวของสัตว์ ถือว่าเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากแกนกลางของร่างกาย ในมนุษย์มีส่วนประกอบที่ทำให้เป็นศีรษะเช่น กะโหลกศีรษะ ใบหน้า สมอง เส้นประสาทสมอง เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง ฟัน อวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ และโครงสร้างอื่นๆ เช่นหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง และไขมัน", "title": "ศีรษะ" }, { "docid": "184091#0", "text": "เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา หรือ เส้นประสาทสมองเส้นที่ 3 () เป็นเส้นประสาทสมองเส้นหนึ่งจากจำนวนทั้งหมด 12 คู่ ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของตา การหรี่ม่านตา และช่วยในการลืมตา (นอกจากนี้ยังมีเส้นประสาทสมองเส้นที่ 4 และ 6 ที่มีส่วนในการควบคุมการเคลื่อนไหวของตา)", "title": "เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา" }, { "docid": "142831#0", "text": "ฆานประสาท หรือ ประสาทรับกลิ่น หรือ ประสาทสมองเส้นที่ 1 หรือ เส้นประสาทโอลแฟ็กทอรี () เป็นเส้นประสาทสมองคู่แรกจากทั้งหมด 12 คู่ เซลล์ประสาทรับรู้กลิ่นของเส้นประสาทนี้อยู่ในเยื่อเมือกรับกลิ่น (olfactory mucosa) ที่อยู่ด้านบนของโพรงจมูก เส้นประสาทรับกลิ่นประกอบด้วยใยประสาทรับความรู้สึกที่มาจากเซลล์เนื้อเยื่อบุผิวรับกลิ่น (olfactory epithelium) ไปยังออลแฟคทอรี บัลบ์ (olfactory bulb) โดยผ่านรูเปิดเล็กๆ จำนวนมากที่มีลักษณะเหมือนตะแกรงที่เรียกว่า แผ่นคริบิฟอร์ม ของกระดูกเอทมอยด์", "title": "เส้นประสาทรับกลิ่น" }, { "docid": "38834#93", "text": "ในมนุษย์ รสชาติจะส่งไปทางประสาทสมอง 3 เส้นจาก 12 เส้น สาขา chorda tympani และ greater superior petrosal ของเส้นประสาทเฟเชียล (VII) จากปมประสาท geniculate ganglion ส่งข้อมูลรสชาติจากลิ้นด้านหน้าประมาณ 2/3[16][123][124] ส่วนสาขา lingual branch ของประสาทลิ้นคอหอย (glossopharyngeal nerve, IX) จากปมประสาท petrosal ganglion/inferior ganglion of glossopharyngeal nerve ส่งข้อมูลจากลิ้นด้านหลังประมาณ 1/3 รวมทั้งปุ่มเซอร์คัมแวลเลต[16][123][124] ในขณะที่สาขา superior lingual branch ของประสาทเวกัส (vagus nerve, X) จากปมประสาท nodose ganglion/inferior ganglion of vagus nerve ส่งข้อมูลรสไปจากส่วนต่าง ๆ ด้านหลังของช่องปากรวมทั้งเพดาน คอหอย ฝากล่องเสียง[16][123] และ 1/3 ส่วนต้นของหลอดอาหาร[124] โดยประสาททั้งหมดจะส่งไปยัง solitary nucleus (NST) ทางด้านหน้าส่วนข้าง (rostral and lateral) ซึ่งเป็นส่วนที่เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า gustatory nucleus of NST โดยอยู่ในก้านสมองส่วนท้าย (medulla oblongata)[16][123]", "title": "การรับรู้รส" }, { "docid": "605035#13", "text": "ในมนุษย์ การแปลผลของข้อมูลสายตาในขั้นเบื้องต้นเกิดที่นิวรอนในเรตินา\nยังไม่ชัดเจนว่า เส้นประสาทเหล่านี้จะมีปฏิกิริยากับข้อมูลสีใหม่อย่างไร คือไม่รู้ว่า ระบบประสาทสามารถส่งข้อมูลสีใหม่นั้นโดยเป็นสีต่างหาก หรือว่า ต้องรวมข้อมูลสีใหม่ลงในส่วนข้อมูลสีที่มีอยู่แล้ว\nข้อมูลทางตาออกจากตาโดยเส้นประสาทตา (optic nerve) ซึ่งจะมีความจุสำรองเพื่อจะส่งข้อมูลเกี่ยวกับสีใหม่หรือไม่ก็ยังไม่รู้\nนอกจากนั้นแล้ว การแปลผลข้อมูลสายตาในระดับสูง ๆ ขึ้นไปก็เกิดขึ้นในสมอง แต่ก็ยังไม่รู้ว่า เขตต่าง ๆ เหล่านั้นจะปฏิบัติการอย่างไรถ้ามีทางประสาทที่ส่งข้อมูลสีใหม่ ๆ เกิดขึ้น", "title": "เตตราโครมาซี" }, { "docid": "407300#0", "text": "ภาวะอัมพาตแบบเบลล์ () เป็นอาการอัมพาตของใบหน้าชนิดหนึ่งทำให้มีการทำงานผิดปกติของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 (เส้นประสาทเฟเชียล) จนควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อใบหน้าด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ โรคหรือภาวะที่ทำให้มีใบหน้าชาเช่นนี้มีอีกหลายโรค ตั้งแต่เนื้องอกในสมอง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไลม์ และอื่นๆ แต่หากไม่พบภาวะซึ่งเป็นสาเหตุได้จะถือว่าภาวะใบหน้าเป็นอัมพาตนั้นเกิดจากภาวะอัมพาตแบบเบลล์ ภาวะนี้ได้ชื่อตามนักกายวิภาคศาสตร์ชาวสก็อตชื่อชาร์ลส์ เบลล์ ซึ่งได้บรรยายภาวะนี้เอาไว้เป็นครั้งแรก อัมพาตแบบเบลล์เป็นโรคของเส้นประสาทเส้นเดียว (mononeuropathy) ที่พบบ่อยที่สุด และเป็นสาเหตุของภาวะเส้นประสาทเฟเชียลเป็นอัมพาตเฉียบพลันที่พบบ่อยที่สุดด้วย", "title": "อัมพาตแบบเบลล์" }, { "docid": "5630#6", "text": "การมองเห็นของมนุษย์นั้นเป็นผลมาจากภาวะอนุภาคของแสงโดยเฉพาะ เกิดจากการที่ก้อนพลังงาน (อนุภาคโฟตอน) แสง ไปกระตุ้น เซลล์รูปแท่งในจอตา(rod cell) และ เซลล์รูปกรวยในจอตา (cone cell) ที่จอตา (retina) ให้ทำการสร้างสัญญาณไฟฟ้าบนเส้นประสาท และส่งผ่านเส้นประสาทตาไปยังสมอง ทำให้เกิดการรับรู้มองเห็น", "title": "แสง" }, { "docid": "939730#14", "text": "ปุ่มล้อมด้วยกำแพงได้เส้นประสาทรับรสจากประสาทสมองเส้นที่ 9 (เส้นประสาทลิ้นคอหอย) แม้จะอยู่หน้า sulcus terminalis\nเพราะลิ้นที่อยู่ด้านหน้า 2/3 ที่เหลือ จะได้เส้นประสาทจากสาขา chorda tympani ของประสาทสมองเส้นที่ 7 (เส้นประสาทเฟเชียล) ซึ่งกระจายอยู่ร่วมกันกับสาขาประสาทลิ้น (lingual nerve) ของประสาทสมองเส้นที่ 5 (ประสาทไทรเจมินัล)", "title": "ปุ่มลิ้น" }, { "docid": "146039#4", "text": "เส้นประสาทส่วนใหญ่ต่อเชื่อมกับระบบประสาทกลางผ่านทางไขสันหลัง เว้นแต่เส้นประสาทสมอง (cranial nerves) ทั้ง 12 คู่ที่ต่อโดยตรงกับสมอง การเรียกชื่อเส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) จะเรียกเป็นอักษรบอกระดับของกระดูกสันหลังและลำดับเลขตามตำแหน่งระดับของกระดูกสันหลังที่เส้นประสาทเข้าไปเชื่อมกับไขสันหลัง (เช่น C1 หมายถึงเส้นประสาทที่เชื่อมกับไขสันหลังที่ระดับกระดูกสันหลังส่วนคอ (\"cervical\") ชิ้นที่ 1) ส่วนเส้นประสาทสมองจะนับเรียงเป็นลำดับเลข ซึ่งมักจะใช้เลขโรมัน ตั้งแต่ I ถึง XII นอกจากนี้เส้นประสาทหลัก ๆ มักมีชื่อของตัวเอง ส่วนทางประสาทในระบบประสาทกลางจะเรียกเป็น ลำเส้นใยประสาท (tract) มากกว่าเรียกว่าเส้นประสาท", "title": "เส้นประสาท" }, { "docid": "654635#8", "text": "ปลายสัปดาห์ที่สี่ ส่วนบนของท่อประสาทงอที่ระดับสมองส่วนกลางในอนาคต คือ เมเซนเซฟาลอน (mesencephalon) เหนือเมเซนเซฟาลอน คือ โปรเซนเซฟาลอน (prosencephalon, สมองส่วนหน้าในอนาคต) และข้างใต้เป็นรอมเบนเซฟาลอน (rhombencephalon, สมองส่วนหลังในอนาคต) เกิดถุงตา (optic vesicle) ซึ่งสุดท้ายจะกลายเป็นเส้นประสาทตา จอตาและม่านตา ที่แผ่นฐานของโปรเซนเซฟาลอน", "title": "การเจริญของประสาทในมนุษย์" }, { "docid": "136073#0", "text": "ในกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ กล้ามเนื้อทราพีเซียส () เป็นกล้ามเนื้อในชั้นตื้นที่อยู่ด้านหลังของมนุษย์ เลี้ยงโดยเส้นประสาทแอกเซสซอรี (accessory nerve) หรือเส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 และโดยแขนงประสาทด้านท้องของเส้นประสาทสันหลังส่วนคอที่ 3 และ 4 ซึ่งนอกจากจะเลี้ยงกล้ามเนื้อนี้แล้วยังเลี้ยงกล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ด้วย เนื่องจากใยกล้ามเนื้อนี้วางตัวในหลายทิศทาง กล้ามเนื้อทราพีเซียสจึงทำหน้าที่ได้หลากหลาย ได้แก่", "title": "กล้ามเนื้อทราพีเซียส" }, { "docid": "184071#0", "text": "เส้นประสาทเฟเชียล[1] หรือ เส้นประสาทสมองเส้นที่ 7[1] (English: Facial nerve) เป็นหนึ่งในเส้นประสาทสมองจากจำนวนทั้งหมด 12 คู่ เส้นประสาทนี้ออกมาจากก้านสมองที่ระหว่างพอนส์และเมดัลลา ออบลองกาตา และทำหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อแสดงสีหน้า และรับรสจากส่วนด้านหน้า 2/3 ของลิ้นและช่องปาก นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เลี้ยงใยประสาทก่อนปมประสาทของพาราซิมพาเทติกไปยังปมประสาทของศีรษะและคออีกจำนวนมาก", "title": "เส้นประสาทเฟเชียล" }, { "docid": "142831#3", "text": "เส้นประสาทรับกลิ่นเป็นเส้นประสาทสมองที่สั้นที่สุด และเป็นหนึ่งในสองเส้นประสาทสมองที่ไม่เชื่อมต่อกับก้านสมอง (อีกเส้นหนึ่งคือเส้นประสาทตา)", "title": "เส้นประสาทรับกลิ่น" }, { "docid": "901005#17", "text": "กล้ามเนื้อตา (extraocular muscle) เป็นตัวควบคุมตำแหน่งของตา ดังนั้น ปัญหาที่กล้ามเนื้อหรือเส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อ สามารถทำให้ตาเหล่ได้ เส้นประสาทสมอง Oculomotor nerve (III), Trochlear nerve (IV), และ Abducens nerve (VI) เป็นเส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อตา ปัญหาที่เส้น III จะทำให้ตาที่ได้รับผลเบี่ยงลงและออก และอาจจะมีผลต่อขนาดรูม่านตา ส่วนปัญหาของเส้น IV ซึ่งอาจเป็นแต่กำเนิด อาจทำให้ตาเบี่ยงขึ้นและอาจจะเบนเข้าหน่อย ๆ ส่วนปัญหาของเส้น VI อาจทำให้ตาเบี่ยงเข้า โดยมีเหตุที่เป็นไปได้มากมายเพราะเป็นเส้นประสาทที่ค่อนข้างยาว เช่น ความดันที่เพิ่มขึ้นในกะโหลกศีรษะอาจกดเส้นประสาทเมื่อมันวิ่งผ่านระหว่างส่วน clivus และก้านสมอง[27] นอกจากนั้น ถ้าแพทย์ไม่ระวังไปบิดคอของทารกเมื่อคลอดโดยใช้ปากคีม (forceps delivery) ก็จะทำให้เส้นประสาท VI เสียหายได้ แพทย์บางท่านยังเห็นหลักฐานด้วยว่า เหตุของตาเหล่อาจอยู่ที่สัญญาณประสาทที่ส่งไปยังเปลือกสมองส่วนการเห็น[28] ซึ่งทำให้ตาเหล่โดยไม่มีความเสียหายโดยตรงต่อเส้นประสาทสมองหรือกล้ามเนื้อตา", "title": "ตาเหล่" }, { "docid": "23839#6", "text": "รูปร่างของคอเคลียสามารถจะบอกช่วงความถี่ของคลื่นเสียงที่หู สามารถตอบสนองได้ ของมนุษย์ระหว่าง 20 – 20,000 รอบต่อวินาที แมวอยู่ระหว่าง 50,000 รอบต่อวินาที ค้างคาวและปลาโลมา มีความสามารถรับความถี่ได้สูงมากถึง 100,000 รอบต่อวินาที\nเสียงที่ดังมาก ๆ เมื่อเข้ามากระทบแก้วหู การสั่นสะเทือนที่รุนแรงของของเหลวในหูส่วนในอาจทำให้ซิเลียของเซลล์ขนฉีกขาดได้ ทำให้สูญเสียการรับเสียงในช่วงความถี่นั้นๆ ได้ หูของมนุษย์มีชุดกล้ามเนื้อที่สามารถลดการเคลื่อนที่อย่างรุนแรงของกระดูกโกลนเมื่อได้รับการกระตุ้นของเสียงอย่างรุนแรงได้บ้าง การสูญเสียเซลล์ขนจำนวนมากจะไม่สามารถสร้างกลับคืนมาได้ใหม่ อาจเกิดขึ้นได้กับมนุษย์ เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่น เสียงเครื่องจักรกลในโรงงานใหญ่ เสียงเครื่องบินเร็วกว่าเสียง เช่นเครื่องบินไอพ่น เสียงจากท่อไอเสียของรถจักรยานยนต์ และรถแข่ง รวมทั้งเสียงดนตรีในแหล่งสถานบันเทิง\nการทำงานของหู เริ่มจาก เสียงจะเข้าไปในรูหูผ่านใบหู หลังจากนั้น ก็จะไปสั่นที่แก้วหู หลังจากนั้นแก้วหูก็จะไปสั่นกระดูกทั่ง ค้อน และ โกลน หลังจากนั้น กระดูกโกลนและจะไปสั่นคอเคลีย ของเหลวในคอเคลียจะไปสั่นเซลล์ขนในคอเคลีย เซลล์ขนจะแปรความสั่นสะเทือนเป็นกระแสไฟฟ้าและส่งไปยังเส้นประสาท กระแสไฟฟ้าจะเดินทางผ่านเส้นประสาทและไปที่ไปที่สมอง เพื่อให้สมองแปรเป็นข้อมูล :)", "title": "หู" }, { "docid": "426722#0", "text": "เนอร์วัส อินเทอร์มีเดียส () หรือ เส้นประสาทอินเทอร์มีเดียท () เป็นส่วนหนึ่งของเส้นประสาทเฟเชียล (เส้นประสาทสมองเส้นที่ 7) อยู่ระหว่างใยประสาทสั่งการของเส้นประสาทเฟเชียลและเส้นประสาทหู (vestibulocochlear nerve; เส้นประสาทสมองเส้นที่ 8) เส้นประสาทนี้นำพากระแสประสาทรับความรู้สึกและใยประสาทพาราซิมพาเทติกของเส้นประสาทเฟเชียล เส้นประสาทนี้เชื่อมกับรากประสาทสั่งการของเส้นประสาทเฟเชียลบริเวณปมประสาทเจนิคิวเลตก่อนถึงคลองประสาทเฟเชียล (facial canal)", "title": "เส้นประสาทอินเทอร์มีเดียท" }, { "docid": "936852#16", "text": "ระบบประสาทประกอบด้วยระบบประสาทกลาง (สมองและไขสันหลัง) และระบบประสาทนอกส่วนกลางประกอบด้วยเส้นประสาทและปมประสาทนอกสมองและไขสันหลัง สมองเป็นอวัยวะแห่งความคิด อารมณ์ ความทรงจำ และการประมวนทางประสาทสัมผัส และทำหน้าที่ในหลายมุมมองของการสื่อสารและควบคุมระบบและหน้าที่ต่าง ๆ ความรู้สึกพิเศษประกอบด้วย การมองเห็น การได้ยิน การรับรู้รส และการดมกลิ่น ซึ่ง ตา,หู, ลิ้น, และจมูกรวบรวมข้อมูลจากสิ่งรอบตัว", "title": "ร่างกายมนุษย์" }, { "docid": "184076#0", "text": "จักษุประสาท, ประสาทตา, ประสาทการเห็น หรือ ประสาทสมองเส้นที่ 2 () เป็นเส้นประสาทที่ทำหน้าที่รับภาพจากจอตาที่ดวงตา เพื่อไปแปลผลที่สมอง", "title": "เส้นประสาทตา" }, { "docid": "139709#7", "text": "เทเลนเซฟาลอนทำหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการในร่างกายมนุษย์ หน้าที่ดังกล่าวเริ่มต้นภายในไพรมารี มอเตอร์ คอร์เท็กซ์ (primary motor cortex) และบริเวณอื่นๆ ในบริเวณสั่งการของกลีบสมองด้านหน้า เมื่อสมองส่วนนี้เสียไป สมองจะไม่สามารถส่งสัญญาณผ่านเส้นประสาทไปยังเส้นประสาทสั่งการของกล้ามเนื้อ และทำให้เกิดโรคที่เรียกว่า Motor Neurone Disease การเสื่อมของสมองประเภทนี้ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง และขาดความแม่นยำ มากกว่าทำให้เกิดอัมพาตทั้งตัว", "title": "สมองใหญ่" }, { "docid": "928300#0", "text": "เส้นประสาทไทรเจมินัล () หรือ ประสาทสมองเส้นที่ 5 เป็น เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 จากทั้งหมด 12 คู่ โดยมีหน้าที่รับความรู้สึกบนหน้าและควบคุมการเคลื่อนไหว เช่น การกัด และการเคี้ยว เป็นเส้นประสาทสมองที่ใหญ่ที่สุด ชื่อของเส้นประสาท (\"ไทรเจมินัล (trigeminal)\" = \"tri-\" หรือ สาม และ \"-geminus\" หรือ คู่ รวมกันเป็นสามคู่) มาจากการที่เส้นประสาททั้งสอง (ในพอนส์แต่ละข้าง) ต่างแยกออกเป็นสามแขนงหลัก เส้นประสาทออปทัลมิก (V), เส้นประสาทแมกซิลลารีย์ (V), และเส้นประสาทแมนดิบูลาร์ (V) เส้นประสาทออปทัลมิกและแมกซิลลารีย์ทำหน้าที่รับความรู้สึกเพียงอย่างเดียว ขณะที่เส้นประสาทแมนดิบูลาร์ทำหน้าที่ทั้งรับความรู้สึกและควบคุมการเคลื่อนไหว", "title": "เส้นประสาทไทรเจมินัล" }, { "docid": "467742#0", "text": "เซลล์ประสาทรับกลิ่น () เป็นเซลล์ที่ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทภายในระบบรับกลิ่น\nเป็นเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อรับกลิ่นที่บุบางส่วนของโพรงจมูก (ประมาณ 5 ซม ในมนุษย์) บริเวณยอดเซลล์จะมีเส้นขนเล็ก ๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่จับโมเลกุลกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก \nเซลล์จะถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทแล้วส่งผ่านเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ซึ่งวิ่งผ่านรูในกระดูก cribriform plate เหนือโพรงจมูกขึ้นไปยังป่องรับกลิ่นในสมอง\nการรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่นสุนัข ซึ่งมีประสาทรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม", "title": "เซลล์รับกลิ่น" }, { "docid": "184071#22", "text": "มุมมองด้านล่างของสมอง แสดงชื่อเส้นประสาทสมอง ภาพตัดพื้นผิวของคอด้านขวา แสดงให้เห็นหลอดเลือดแดงคาโรติดและหลอดเลือดแดงใต้กระดูกไหปลาร้า (subclavian arteries) เยื่อดูราและส่วนยื่นของมัน เมื่อเปิดเอาสมองและกะโหลกศีรษะครึ่งซีกขวาออก ภาพชำแหละพื้นผิวของก้านสมอง มุมมองด้านท้อง สมองส่วนท้ายและกลาง มุมมองด้านข้างด้านหลัง ปมประสาทปมประสาทเทอริโกแพลาทีน และแขนง เส้นประสาทขากรรไกรล่าง แขนงของเส้นประสาทไทรเจมินัล เส้นประสาทขากรรไกรล่าง แขนงของเส้นประสาทไทรเจมินัล มุมมองจากกึ่งกลาง แผนภาพเส้นประสาทเฟเชียลและเนอร์วัส อินเทอร์มีเดียส และแขนงเชื่อมกับเส้นประสาทอื่น เส้นทางและแขนงเชื่อมของเส้นประสาทเฟเชียลในกระดูกขมับ ส่วนบนของ medulla spinalis และสมองส่วนกลางและส่วนหลัง มองทางด้านหลัง มุมมองของผนังด้านในของโพรงหูส่วนกลาง (ขยาย) เยื่อแก้วหูข้างขวาและกระดูกค้อนและเส้นประสาทคอร์ดา ทิมพานี มุมมองจากด้านใน ด้านหลังด้านบน ตำแหน่งของกระดูกห้องหูชั้นในข้างขวาในกะโหลกศีรษะ มุมมองจากด้านบน ภาพชำแหละเส้นประสาทเฟเชียล กระดูกขมับข้างซ้าย แสดงพื้นผิวของของโพรงหูส่วนกลาง (แดง) โพรงหลอดเลือดดำตามขวาง (ฟ้า) และเส้นประสาทเฟเชียล (เหลือง) ด้านข้างของคอ แสดงตำแหน่งพื้นผิวที่สำคัญ แขนงเส้นประสาทเฟเชียล เส้นประสาทเฟเชียลในทารก เส้นประสาทเฟเชียลในทารก เส้นประสาทเฟเชียลในทารก เส้นประสาทเฟเชียลในทารก", "title": "เส้นประสาทเฟเชียล" }, { "docid": "654839#3", "text": "สมองมนุษย์ผู้ใหญ่หนักโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5 กิโลกรัม โดยมีปริมาตรราว 1,130 ลูกบาศก์เซนติเมตร (ซม.3) ในหญิง และ 1,260 ซม.3 ในชาย แม้มีความแปรผันปัจเจกมาก ความแตกต่างทางประสาทวิทยาระหว่างเพศไม่แสดงว่าสัมพันธ์กับระดับเชาวน์ปัญญาหรือการวัดความสามารถการรู้อื่น สมองมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ประสาท เซลล์เกลียและหลอดเลือด จำนวนเซลล์ประสาท ตามการถ่ายภาพรังสีส่วนตัด แสดงว่ามีเซลล์ประสาทประมาณ 86,000 ล้านเซลล์ในสมองมนุษย์ โดยมีเซลล์ที่มิใช่เซลล์ประสาทที่เรียก เกลีย จำนวนพอ ๆ กัน", "title": "สมองมนุษย์" } ]
2283
คนสายตาสั้นใช้แว่นเลนส์แบบไหน?
[ { "docid": "11012#0", "text": "เลนส์เว้า (concave lens) คือ เลนส์ที่มีผิวโค้งเข้าด้านใน มีขอบหนา และตรงกลางบาง แสงที่ผ่านเลนส์เว้าจะกระจายออก เลนส์เว้านำมาใช้ในกล้องโทรทรรศน์, กล้องจุลทรรศน์ และแว่นตา สำหรับในแว่นตานั้น เลนส์เว้าช่วยปรับสายตาสำหรับคนสายตาสั้นได้ เลนส์เว้าสามารถสร้างภาพเสมือนได้", "title": "เลนส์เว้า" } ]
[ { "docid": "905747#9", "text": "การปรับตาดูใกล้ไกลได้ที่ลดลง ก็เป็นอาการปรากฏของสายตาผู้สูงอายุ (presbyopia) ด้วย \nเมื่อสูงอายุขึ้น ขนาดผ่านศูนย์กลาง (equatorial) ของเลนส์จะใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ และแรงดึงพื้นฐานของเอ็นขึงแก้วตาก็จะลดลงเรื่อย ๆ ด้วย โดยทั้งสองจะมีผลทำให้กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตาสั้นลงและทำให้มีกำลังปรับเลนส์ตาน้อยลง นี้เป็นสมุฏฐานของการปรับตาดูใกล้ไกลที่ลดสมรรถภาพลงดังที่พบในสายตาผู้สูงอายุ", "title": "การปรับตาดูใกล้ไกล" }, { "docid": "5630#12", "text": "เมื่อลำแสงวิ่งผ่านเข้าสู่ตัวกลางจากสุญญากาศ หรือวิ่งผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง(เช่น) แสงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ แต่เปลี่ยนความยาวคลื่นเนื่องจากความเร็วที่เปลี่ยนไป ในกรณีที่มุมตกกระทบของแสงนั้นไม่ตั้งฉากกับผิวของตัวกลางใหม่ที่แสงวิ่งเข้าหา ทิศทางของแสงจะถูกหักเห ตัวอย่างของปรากฏการณ์หักเหนี้เช่น เลนส์ต่างๆ ทั้งกระจกขยาย คอนแทคเลนส์ แว่นสายตา กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องทางไกล", "title": "แสง" }, { "docid": "905747#2", "text": "สมรรถภาพการปรับตาดูใกล้ไกลจะลดลงตามอายุ\nในช่วงอายุ 50 จะลดไปจนกระทั่งโฟกัสที่ใกล้สุด จะไกลกว่าระยะที่อ่านหนังสือโดยปกติ\nกลายเป็นสายตาแบบของผู้สูงอายุ (presbyopic)\nและเมื่อเกิดขึ้นแล้ว ผู้ที่สายตาปกติ (emmetropic) ซึ่งธรรมดาไม่จำเป็นต้องใส่แว่นเพื่อมองไกล ก็จะต้องใช้แว่นเพื่อมองใกล้ ๆ\nส่วนผู้ที่สายตาสั้นและปกติต้องใช้แว่นเพื่อมองไกล ก็จะปรากฏกว่า เห็นระยะใกล้ได้ดีกว่าถ้าไม่ใส่แว่นมองไกล\nส่วนผู้ที่สายตายาวก็จะพบว่า ต้องใส่แว่นทั้งเมื่อมองใกล้และไกล", "title": "การปรับตาดูใกล้ไกล" }, { "docid": "934473#59", "text": "ผู้มีวิชาชีพดูแลตารวมทั้งจักษุแพทย์ นักตรวจปรับสายตา (optometrist) และนักประกอบแว่น (optician) จะเป็นผู้ดูแลบริการในเรื่องตาและโรคตา แผนภาพสเนลเลน (Snellen chart) สามารถวัดการเห็นได้ชัด (visual acuity) วิธีหนึ่ง หลังจากได้ตรวจตา หมอตาอาจจะให้ใบค่าตรวจตาแก่คนไข้เพื่อตัดแว่นสายตา โรคตาบางชนิดที่จำเป็นต้องใช้แว่นสายตารวมทั้งสายตาสั้น ซึ่งประชากรมนุษย์ประมาณ 1/3 จะมี, สายตายาว (hyperopia) ซึ่งประชากรมนุษย์ประมาณ 1/4 มี, สายตาเอียง, และสายตาผู้สูงอายุ (presbyopia) ซึ่งเป็นการเสียพิสัยการโฟกัสเมื่ออายุมากขึ้น", "title": "ตามนุษย์" }, { "docid": "35590#0", "text": "เลนส์สัมผัส เป็นเลนส์สำหรับแก้สายตา บำบัดโรคหรือเพื่อความสวยงาม ปกติจะวางบนกระจกตา มีวัตถุประสงค์ใช้งานเหมือนแว่นสายตาทั่วไป แต่มีน้ำหนักเบากว่า และมองแทบไม่เห็น ให้ความคล่องตัวมากกว่าแว่นสายตา", "title": "เลนส์สัมผัส" }, { "docid": "654928#0", "text": "แว่นกันแดด เป็นอุปกรณ์ถนอมสายตารูปแบบหนึ่งที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันอันตรายหรืออาการระคายเคืองตาจากแสงอาทิตย์ และแสงพลังงานสูง (HEV) บางครั้งมีหน้าที่ช่วยเหลือด้านการมองเห็น โดยจะมีเลนส์ที่เป็นสีสัน กรองแสง และทำให้มืด", "title": "แว่นกันแดด" }, { "docid": "58923#3", "text": "ในกรณีของต้นกำเนิดของแว่นสายตา Dr. David A Goss จากประเทศสหรัฐอเมริกาได้แสดงความเห็นไว้ว่า เป็นไปได้ที่แว่นสายตาเกิดขึ้นครั้งแรกในศตวรรษที่ 13 เนื่องจากพบการระบุในเอกสารโบราณจากปี ค.ศ. 1305 ที่บันทึกโดยนักบวชในเมือง Pisa ซื่อ Rivalto โดยได้บันทึกไว้ว่า \"It is not yet 20 years since there was discovered the art of making eyeglasses\" ซึ่งแปลได้ว่า \"มันเป็นเวลาไม่ถึง 20 ปีซึ่งศาสตร์ในการประกอบแว่นสายตาได้ค้นพบขึ้น\" เรายังได้ทราบอย่างแน่ชัดว่าประมาณช่วงศักราชของปี 1300 แว่นสายตามีการผลิตและใช้งานในดินแดนของอิตาลี เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์", "title": "ทัศนมาตรศาสตร์" }, { "docid": "16201#1", "text": "เริ่มต้นจาก บริษัท \"นิปปง โคงะกุ โคเงียว\" () ในชื่อภาษาอังกฤษว่า \"Japan Optical Co.\" ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 (ค.ศ. 1917) โดยเป็นการรวมตัวของบริษัทเล็ก ๆ 3 บริษัทที่เป็นบริษัทเกี่ยวกับสายตาหรือการมองเห็น บริษัทเริ่มเดินสายพานการผลิตด้วยคนงานเพียง 200 คน และช่างเทคนิคชาวเยอรมันอีก 8 คน และในสายพานการผลิตของบริษัทในขณะนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพเลยแม้แต่น้อย แต่สินค้าที่ทางบริษัทผลิต คือ กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทัศน์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจและใช้ในการกะวัดระยะสำหรับใช้ในทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม สินค้าเหล่านี้ล้วนเป็นสินค้าที่สร้างชื่อเสียงให้แก่บริษัท เลนส์เป็นสินค้าอีกชิ้นหนึ่งที่ทำชื่อเสียงให้ทางบริษัทและได้ผลิตออกมาหลายรุ่นมากตั้งแต่เลนส์ 50 mm. ถึง 700 mm. ", "title": "นิคอน" }, { "docid": "662459#1", "text": "วิชาชีพการดูแลตาแก้ไขสายตาสั้นด้วยการใช้เลนส์บำบัดมากที่สุด เช่น แว่นตาหรือเลนส์สัมผัส นอกจากนี้ ยังอาจแก้ไขได้โดยศัลยกรรมหักเหแสง แม้มีกรณีผลข้างเคียงที่สัมพันธ์ เลนส์บำบัดมีกำลังสายตาเป็นลบ (คือ มีผลเว้าสุทธิ) ซึ่งชดเชยไดออพเตอร์ (diopter) บวกเกินของตาที่สั้น โดยทั่วไปไดออพเตอร์ลบใช้อธิบายความรุนแรงของสายตาสั้น และเป็นค่าของเลนส์เพื่อแก้ไขตา สายตาสั้นขั้นสูงหรือสายตาสั้นรุนแรงนิยามโดย -6 ไดออพเตอร์หรือเลวกว่านั้น", "title": "สายตาสั้น" }, { "docid": "6573#3", "text": "- เลนส์มุมกว้าง (Wide Field lens, Wide Angle Lens, Short lens) เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสสั้นกว่าเลนส์มาตรฐาน หรือเลนส์ที่ใช้ถ่ายภาพปกติธรรมดาทั่ว ๆ ไป ฉะนั้น การใช้เลนส์มุมกว้างถ่ายภาพจึงครอบคลุมพื้นที่ได้มากกว่าเลนส์ทั่วไป และยังได้ระยะชัดลึกตลอดทั้งภาพ", "title": "เลนส์ถ่ายภาพ" }, { "docid": "58923#1", "text": "Optometry หรือทัศนมาตรศาสตร์เป็นวิชาชีพในการประกอบโรคศิลปะสาขาทัศนมาตรมีต้นกำเนิดที่แตกต่างจากรากฐานของวิชาชีพที่แตกต่างจากการประกอบวิชาชีพเวชกรรมซึ่งมักสับสนกันได้ง่ายเพราะรากฐานของวิชาชีพตามประวัติศาสตร์อาจมีอายุย้อนกลับไปทางด้านการประกอบอาชีพของผู้ประกอบแว่นสายตามากกว่า 700 ปีมาแล้ว ในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับการกำเนิดขึ้นในรูปแบบของวิชาชีพที่มีการศึกษาเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการของสาขาวิชาหลากหลายวิชา ได้แก่\nประวัติศาสตร์ของทัศนมาตรศาสตร์อาจเกี่ยวข้องกับการหาคำอธิบายของปรากฏการณ์ธรรมชาติในด้านแสงลักษณะต่างๆและการเกิดของภาพที่ก่อให้เกิดสภาพการเห็น การกำเนิดในด้านวิทยาศาสตร์การเห็นหรือทัศนวิทยาศาสตร์นั้นเกิดขึ้นไม่กี่พันปีก่อนหน้าคริสต์ศักราชซึ่งพบจากหลักฐานโบราณคดีในรูปของเลนส์สำหรับตกแต่งในแหล่งโบราณคดีต่างๆ", "title": "ทัศนมาตรศาสตร์" }, { "docid": "37708#4", "text": "เขาใช้สมญานามว่า ไซคลอปส์ ยักษ์ตาเดียวในตำนานของกรีก เพราะว่าเมื่อเขาสวมแว่นพิเศษ ซึ่งมีแร่ควอทซ์เป็นเลนส์คอยควบคุมการเปิดปิดของแสงจากดวงตา เขาจะกลายเป็นคนที่มีตาเดียวไปโดยปริยาย", "title": "ไซคลอปส์ (เอ็กซ์เมน)" }, { "docid": "61393#1", "text": "เลนส์แว่นตาหลายชั้นไร้รอยต่อ มีการเปลี่ยนแปลงกำลังเลนส์แบบไล่ระดับ เพื่อชดเชยกำลังสายตาที่ขาดหายไปจากระบบปรับโฟกัสที่บกพร่องในลูกตา ซึ่งจะต่างกับเลนส์ 2 ชั้น หรือ 3 ชั้น ที่มีกำลังสายตาเป็นระดับที่คงที่ในแต่ละชั้น", "title": "เลนส์หลายชั้นไร้รอยต่อ" }, { "docid": "58923#2", "text": "แว่นสายตาอันแรกนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อไร แต่นักวิทยาศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ Sir Joseph Needham ได้แสดงความเห็นในหนังสือ Science and Civilization in China ของเขาว่า แว่นสายตาอันแรกน่าจะประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในดินแดนภายใต้อารยธรรมจีน โดยหลักฐานสำคัญมาจากเอกสารของราชวงศ์หมิง (ช่วงศตวรรษที่ 14 - 17) อย่างไรก็ตามจากการศึกษาเอกสารต้นฉบับดั้งเดิมนั้นกลับไม่ได้กล่าวถึงการผลิตแว่นในการแก้ไขปัญหาสายตาแต่กล่าวถึงการมาถึงของความรู้ทางด้านการใช้แว่นสายตาที่เป็นลักษณะของการนำเข้าความรู้จากต่างถิ่น", "title": "ทัศนมาตรศาสตร์" }, { "docid": "19292#1", "text": "กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสงเป็นกล้องที่ถูกสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกโดยฮานส์ ช่างทำแว่นคนหนึ่ง ซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกันให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกลๆได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอี ก็ได้ นำมาสำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรกโดยตัวกล้องจะมีเลนส์ 2 ตัวขึ้นไปคือ เลนส์วัตถุ และเลนส์ตา โดยเลนส์วัตถุจะทำหน้าที่รับภาพจากวัตถุ แล้วหักเหแสงไปยังเลนส์ใกล้ตา ซึ่งเลนส์ใกล้ตาจะทำหน้าที่ขยายภาพจากเลนส์วัตถุอีกทีหนึ่ง โดยลักษณะการวางเลนส์จะใช้เลนส์วัตถุที่มี ความยาวโฟกัส ยาว และเลนส์ใกล้ตาที่มีความยาวโฟกัสสั้น โดยในการวางเลนส์ จะวางเลนส์วัตถุ (ความยาวโฟกัสยาว) ไว้ด้านหน้า และเลนส์ใกล้ตา (ความยาวโฟกัสสั้น) ไว้ด้านหลัง โดยระยะห่างของเลนส์ 2 ตัวนี้คือ ความยาวโฟกัสเลนส์วัตถุ + ความยาวโฟกัสเลนส์ตา เป็นต้น", "title": "กล้องโทรทรรศน์" }, { "docid": "185064#0", "text": "แว่นตา เป็นเลนส์ที่สวมอยู่ในกรอบ สำหรับใส่ข้างหน้าตา ปกติเพื่อปรับแก้การมองเห็น ป้องกันตา หรือเพื่อป้องกันรังสีเหนือม่วง โดยแว่นตานี้จะถูกใช้เนื่องในหลาย ๆ กรณี อาทิเช่น คนที่มีปัญหาทางด้านสายตา ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว ผู้มีปัญหาทางตาเช่นโรคต้อบางชนิดที่จำเป็นต้องป้องกันนัยต์ตาไม่ให้โดนลมปะทะ หรือในบางครั้งยังสามารถใช้เป็นแว่นตาสำหรับใส่เล่น (แฟชั่น) ได้อีกด้วย และข้อดีอย่างหนึ่งคือ สามารถกันรังสีต่าง ๆ ที่ออกมาจากคอมพิวเตอร์ ทำให้ช่วยในเรื่องของการถนอมสายตาได้อีกด้วย แว่นสมัยใหม่โดยทั่วไปทำจากโลหะหรือพลาสติก ซึ่งจะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป ", "title": "แว่นตา" }, { "docid": "912564#14", "text": "การตรวจการหักเหแสงก็เพื่อดูว่าจำเป็นต้องใช้แว่นตาหรือไม่\nการตรวจจะบอกได้ว่า บุคคลนั้น ๆ สายตาสั้นหรือยาวหรือไม่\nซึ่งเป็นภาวะที่แสงเข้าไปในตาแต่ไม่รวมลงที่จุดเดียวในจอตา\nภาวะการหักเหแสงไม่ลงตัวทั้งสอง จะต้องใช้เลนส์ปรับแสงเพื่อช่วยให้เห็นชัดขึ้น", "title": "แบบสิ่งเร้า" }, { "docid": "58923#4", "text": "ในปี ค.ศ.1623 บาทหลวงชื่อ Benito Daza de Valdes ได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวข้องกับการใช้และประกอบแว่นตาขึ้นซึ่งถือว่าเป็นตำราทางด้านทัศนมาตรศาสตร์ในยุคแรกๆ หลายปีต่อมา William Molyneux ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับความรู้ทางด้านทัศนศาสตร์และเลนส์สายตาขึ้นโดยกล่าวถึงต้นเหตุของปัญหาสายตาสั้นว่ามาจากการใช้สายตาในระยะใกล้ซึ่งนั่นเป็นช่วงปี ค.ศ.1692 หากพิจารณาตามผลงานของนักวิทยาศาสตร์แห่งยุคต่างๆในระดับโลกไม่ว่าจะเป็น Claudius Ptolemy หรือ Johannes Kepler ต่างก็มีส่วนสำคัญในวางรากฐานองค์ความรู้ที่นำไปสู่การกำเนิดของสาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ อาทิในกรณีของ Kepler ซึ่งเขาได้พบว่าประสาทตาหรือ Retina มีส่วนสำคัญในการทำให้เกิดการเห็นในมนุษย์ อย่างไรก็ตามความเข้าใจในด้านสายตาเอียงนั้นต้องรอจนกระทั่งประมาณปี ค.ศ. 1773 โดย Thomas Young ได้อภิปายคุณสมบัติและลักษณะเฉพาะของสายตาเอียงซึ่งเขาเรียกลักษณะเช่นนี้ในสายตามนุษย์ว่า Astigmatism แต่มันจำเป็นต้องใช้เวลาอีกหลายปีจนกระทั่ง George Biddell Airy สามารถออกแบบเลนส์สายตาที่เรียกว่า Spheroclindrical ในการแก้ไขปัญหาสายตาเอียงซึ่งมันเป็นเวลาราวๆปี ค.ศ. 1829 ", "title": "ทัศนมาตรศาสตร์" }, { "docid": "480598#0", "text": "เลสิก หรือ LASIK ย่อมาจากคำว่า ( Laser In-Situ Keratomileusis) คือเทคโนโลยีการรักษาสายตาโดยการใช้แสงเลเซอร์ในการรักษา สายตาสั้น ,สายตายาว,หรือสายตาเอียง ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมที่สร้างประวัติศาสตร์อันโดดเด่นของการรักษาสายตา เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก ปลอดภัยและรวดเร็ว โดยใช้เวลาเพียง 15 นาทีต่อการรักษา 1 ข้างและให้ผลอย่างถาวร ทำให้ผู้ที่ได้รับการรักษาไม่ต้องใส่แว่นหรือคอนแทคเลนส์", "title": "เลสิก" }, { "docid": "402272#4", "text": "วรเจตน์ชื่นชอบนวนิยายจีน เช่น \"มังกรหยก\", \"ฤทธิ์มีดสั้น\"ในระยะหลัง วรเจตน์มีบทบาทแสดงความคิดเห็นทางกฎหมายต่อการเมืองในเชิงวิพากษ์ซึ่งไม่เป็นที่ชอบใจของบุคคลบางกลุ่ม วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 เวลาประมาณ 15:40 นาฬิกา มีชายสองคนเข้าทำร้ายร่างกายเขาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วรเจตน์ว่า ตนขับรถยนต์เก๋งเข้าไปจอดในคณะเพื่อเตรียมสอนในเวลาเย็น เมื่อลงจากรถ มีชายสองคนเดินปรี่เข้ามาจากด้านหลัง คนหนึ่งตะโกนว่า \"กูรอมึงมานานแล้ว\" และชกเข้าที่หน้าขวาเขาไม่ยั้ง จนแว่นตาที่เขาสวมอยู่กระเด็นตกพื้นเลนส์แตกเสียหาย เขาได้แต่ใช้มือปัดป้อง และเห็นหน้าชายทั้งสองไม่ชัด เนื่องจากสายตาสั้น เวลานั้น มีชายสองคนวิ่งเข้ามาช่วย ทราบภายหลังว่า เป็นเพื่อนอาจารย์ แต่ก็ถูกผู้ก่อเหตุทั้งคู่ผลักล้มลง จากนั้น คนทั้งสองวิ่งไปขึ้นจักรยานยนต์ แล้วพากันขับหลบหนีไป ระหว่างนั้นตะโกนไล่หลังว่า \"ถ้ามึงอยากรู้ว่ากูเป็นใคร ให้ไปดูกล้องวงจรปิดดู เดี๋ยวก็รู้ว่ากูเอง\" ต่อมา เขาได้รับการนำส่งโรงพยาบาลธนบุรี แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย แพทย์ตรวจแล้วแถลงว่า มีบาดแผลฟกช้ำ และรอยขีดข่วนทั่วใบหน้าขวา ตั้งแต่โหนกแก้ม กรามขวา ไปจนถึงหน้าผาก กับทั้งมีเลือดไหลออกจากจมูก", "title": "วรเจตน์ ภาคีรัตน์" }, { "docid": "398436#1", "text": "สาวแว่น ไม่ว่าที่เป็นมนุษย์จริง หรือตัวละคร อาจสวมแว่นเพราะมีปัญหาทางสายตาหรือไม่ก็ได้ ไม่เป็นข้อพิจารณาของคำว่า \"สาวแว่น\" อนึ่ง ไม่ถือกันด้วยว่า แว่นเป็นวัตถุเร้ากามารมณ์ (fetish) เหมือนอย่างเครื่องแบบนักเรียนของสาวในชุดนักเรียน (seifuku) หรือชุดของสาวใช้ (meido)", "title": "สาวแว่น" }, { "docid": "57010#3", "text": "เลนส์แว่นตาสำหรับแก้ไขสายตาเอียงในปัจจุบัน มีให้เลือกใช้ตั้งแต่ระดับราคาคู่ละไม่กี่ร้อยบาท ไปจนถึงระดับราคาคู่ละหลายหมื่นบาท การตรวจวัดสายตาเอียง มีขั้นตอนยุ่งยากและซับซ้อนกว่าการตรวจวัดสายตาสั้น หรือสายตายาว และจะยิ่งซับซ้อนมากขึ้น กรณีที่มีสายตายาวและสายตาเอียง ในสัดส่วนสายตาเอียงลบ เป็นสองเท่าของสายตายาว ที่เรียกว่าสายตาเอียงชนิด Complete Mix Astigmatism", "title": "สายตาเอียง" }, { "docid": "340861#9", "text": "ไฟในกันชนหน้า รุ่นที่จำหน่ายในประเทศไทยจะเป็นไฟแบบแนวนอนตามยาว หรือเรียกว่ารุ่นไฟยาว ด้วยเจตนาให้ส่องพื้นผิวมากกว่าให้กระทบสายตารถที่สวนทางมา ทำให้ตำแหน่งการจัดวางทำมุมก้มต่ำลงไปที่พื้นมาก และด้วยเลนส์ที่มีความบางทำให้เมื่อมีหินดีดกระเด็นมากระทบตามองศาของเลนส์ไฟดังกล่าวทำให้แตกร้าวได้ง่าย แต่รุ่นที่จำหน่ายในญี่ปุ่นจะเป็นรุ่นไฟสั้น ทำมุมตั้งฉากกับพื้นและเป็นหลุมลึกหลบเข้าไปในกันชนทำให้มีโอกาสถูกหินกระทบแตกน้อยกว่า แม้ความสวยงามอาจดูเป็นรองแต่ก็จูงใจให้ผู้ใช้รถในไทยเปลี่ยนไปใช้กันชนรุ่นนี้เป็นจำนวนมาก", "title": "นิสสัน พรีเซีย" }, { "docid": "654928#1", "text": "ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพแนะนำให้ป้องกันดวงตาเมื่อใดก็ตามที่แสงอาทิตย์ส่อง เพื่อป้องกันสายตาจากรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) และแสงสีฟ้า ที่อาจทำให้เกิดปัญหาทางสายตาได้ แว่นกันแดดเป็นสิ่งจำเป็นทันทีหลังจากได้รับการผ่าตัด เช่น อินทราเลสิก (IntraLASIK) และเป็นที่แนะนำให้ใช้ตามเวลาที่กำหนดในพื้นที่ที่เต็มไปด้วยฝุ่นละออง ขณะออกจากบ้านหรืออยู่หน้าจอโทรทัศน์ หรือคอมพิวเตอร์หลังจากผ่าตัดเลเส็ก (LASEK) แว่นกันแดดได้เข้ามามีบทบาทกับผู้มีชื่อเสียง และนักแสดงภาพยนตร์ หากเขาต้องการปกปิดตัวตน ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1940 แว่นกันแดดได้รับความนิยม ถือว่าเป็นเครื่องประดับตามแฟชัน โดยเฉพาะตามชายหาด นอกเหนือจากนี้ แว่นกันแดดยังเป็นสิ่งที่หลายคนนั้นขาดไม่ได้ เพราะถือเป็นหนึ่งในเครื่องแต่งกายที่จะช่วยเสริมให้ผู้ส่วมใส่นั้นดูดียิ่งขึ้น", "title": "แว่นกันแดด" }, { "docid": "908425#37", "text": "ในการตรวจการเห็นเป็น 3 มิติ (stereopsis test, stereotest) แพทย์จะแสดงภาพสองภาพที่ต่างกันเล็กน้อยให้แก่ตาข้างละภาพ ซึ่งคนที่ตาปกติจะสามารถเห็นเป็น 3 มิติได้\nและอาจทำโดยใช้ vectograph ซึ่งมองด้วยแว่นโพลาไรซ์ หรือภาพสามมิติแบบซ้อนเหลื่อม (anaglyph) ซึ่งมองเห็นด้วยแว่นแดง-เขียว หรือเลนส์เล็นติคูลาร์ (lenticular lens) ซึ่งมองเห็นด้วยตาเปล่า หรือใช้หน่วยแสดงผลสวมศีรษะ (HMD)\nความต่างระหว่างภาพที่แสดงแก่ตาหนึ่งเทียบกับอีกตาหนึ่ง \nอาจต่างกันขึ้นอยู่กับระดับความชัดที่ต้องการตรวจสอบ\nดังนั้น ภาพชุดที่ใช้ตรวจความชัดที่ระดับหนึ่งจึงเป็นการตรวจ stereoacuity (ความชัดในการเห็นเป็น 3 มิติ)", "title": "การเห็นเป็น 3 มิติ" }, { "docid": "19292#0", "text": "กล้องโทรทรรศน์ คืออุปกรณ์ที่ใช้ขยายสิ่งต่างๆวัตถุท้องฟ้าโดยอาศัยหลักการรวมอันมากมายแสง เพื่อให้สามารถมองเห็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพราะมันไกลเกินไป หรือทำให้มองเห็นได้ชัดขึ้น และมีขนาดใหญ่ขึ้นตามขนาด กล้องโทรทรรศน์ได้ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1608 โดยฮานส์ ช่างทำแว่นคนหนึ่งซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกับให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกลๆได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอิ ก็ได้ นำมาสำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรกซึ่งในตอนนั้นเป็นกล้องหักเหแสงที่มีกำลังขยายไม่ถึง 30 เท่า เท่านั้นแต่ก็ทำให้เห็นรายละเอียดต่างๆมากมายของดวงดาวต่างๆที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อนทำให้เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มมาสำรวจท้องฟ้าโดยใช้กล้องโทรทรรศน์", "title": "กล้องโทรทรรศน์" }, { "docid": "540491#0", "text": "แว่นไบโฟคอลเป็นเลนส์แว่นตาที่มีเลนส์ที่มีการแยกระหว่างสองจุดแข็งที่แตกต่างกัน โดยปกติแล้วครึ่งล่างของเลนส์แต่ละคนจะทำเพื่อช่วยในการอ่านผู้สวมใส่ในขณะที่หนึ่งบนคือการช่วยให้ผู้สวมใส่ดูที่ระยะห่างไกลออกไป", "title": "แว่นไบโฟคอล" }, { "docid": "293384#7", "text": "ภาวะสายตาผิดปกติถือเป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในประชากร ในคนปกติจะพบสายตาผิดปกติได้กว่า 20 % ของประชากรในยุคปัจจุบัน โดยแนวทางหลักในการแก้ไขสายตาผิดปกติ ได้แก่ การสวมแว่นสายตา หรือคอนแทคเลนส์ อย่างไรก็ตามในบางกรณีการแก้ไขโดยวิธีดังกล่าว เช่น แว่นสายตาอาจก่อให้เกิดความไม่สะดวกต่อกิจกรรมหรือการประกอบอาชีพบางอย่าง และการใช้คอนแทคเลนส์ไม่ถูกวิธีหรือดูแลไม่เหมาะสม อาจนำไปสู่ผลเสียต่อดวงตาได้ทางคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสายตาของประชาชนในภาคเหนือ เพื่อให้เป็นทางเลือกแก่ประชาชนในการแก้ไขสายตาให้มีคุณภาพการมองเห็น และคุณภาพชีวิตที่ดี จึงมีความพยายามจะจัดตั้งศูนย์รักษาสายตาด้วยวิธีการผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์มาหลายครั้ง ตั้งแต่การจัดตั้งศูนย์ศรีพัฒน์ผ่านความพยายามของผู้บริหารร่วมกับความต้องการของภาควิชามาหลายสมัยจนกระทั่งในสมัยที่ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิเวศน์ นันทจิต ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับงบประมาณในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ขึ้นในช่วงที่มีการประชุมสัญจรของคณะรัฐมนตรี หลังจากนั้นได้งบไทยเข้มแข็งอีกครั้งจึงได้เครื่องมือเอกไซเมอร์เลเซอร์สำหรับแก้ไขสายตา และเครื่องแยกชั้นกระจกตาด้วยแสงเลเซอร์ และได้บรรจุให้มีศูนย์รักษาสายตาด้วยแสงเลเซอร์ไว้เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ความเป็นเลิศ ในช่วงก่อตั้งศูนย์เลสิคได้ดำเนินการโดยผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศขณะนั้น (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล) ได้จัดตั้งศูนย์เลสิคจนพร้อมที่จะดำเนินการได้และสามารถผ่าตัดผู้ป่วยเลสิค ได้ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 ด้วยเหตุนี้ทางคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนในภาคเหนือได้ประโยชน์จากโครงการนี้มากที่สุด และได้พิจารณาทั้งด้านคุณภาพในการรักษาเป็นหลักและมีราคาที่เหมาะสม โดยคุณภาพของเครื่องเลเซอร์ที่ทางศูนย์เลสิคใช้ในการรักษาเป็นเครื่องที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน ในด้านราคาแม้จะเป็นการได้งบประมาณแผ่นดินจากภาษีของประชาชน แต่เราก็จำเป็นที่จะต้องเตรียมเงินไว้สำหรับการซื้อเครื่องที่ใหม่ขึ้นในอนาคต แต่ก็พิจารณาให้เหมาะสมโดยมีราคาประมาณครึ่งหนึ่งของภาคเอกชน สำหรับด้านนโยบาย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ วัฒนา นาวาเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มอบนโยบายให้ศูนย์เลสิคแห่งนี้เป็นศูนย์ที่สร้างประโยชน์แก่นักศึกษา และประชาชน ตลอดจนสามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ และการวิจัยด้านสายตาและกระจกตาอย่างต่อเนื่อง เป็นต้นแบบของศูนย์ความเป็นเลิศอื่นๆที่จะเกิดขึ้นในอาคารแห่งนี้ และสามารถสนองตอบนโยบายความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้", "title": "คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่" }, { "docid": "22889#2", "text": "เลนส์ ที่อยู่ส่วนข้างหน้าของตาทำหน้าที่เช่นเดียวกับเลนส์ของกล้อง เมื่อคนเราแก่ตัวลง ตาของคนแก่จะไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และต้องใช้แว่น หรือคอนแทคท์เลนส์ จึงจะสามารถมองเห็นชัดเจนได้", "title": "ตา" } ]
1067
เขาทราย แกแล็คซี่ เกิดเมื่อไหร่?
[ { "docid": "47201#3", "text": "เขาทรายเป็นบุตรของนายขัน แสนคำ และนางคำ แสนคำ เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่บ้านเฉลียงลับ ตำบลนาป่า อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ จบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนเฉลียงลับวิทยา ชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนประสิทธิวิทยา และระดับอาชีวศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากโรงเรียนเทคนิคเพชรบูรณ์", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47225#1", "text": "เขาค้อมีชื่อจริงว่า วิโรจน์ แสนคำ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่บ้านเฉลียงลับ ตำบลนาป่า อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเขาค้อคลอดทีหลังเขาทราย แต่ความเชื่อของคนต่างจังหวัด แฝดที่คลอดทีหลังจะถือเป็นพี่ เพราะเชื่อว่าพี่จะดันให้น้องคลอดออกมาก่อน เขาค้อ จึงถือเป็นพี่ของเขาทรายไปด้วยความเชื่อนี้", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" } ]
[ { "docid": "156782#0", "text": "ยู มย็อง-อู () เป็นนักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อ 10 มกราคม พ.ศ. 2507 ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ สถิติการชก 39 ครั้ง ชนะ 38 (น็อค 14) แพ้ 1 นับว่าเป็นแชมป์โลกชาวเอเชียที่ป้องกันแชมป์ได้เป็นอันดับ 2 ของทวีปเอเชีย รองจากเขาทราย แกแล็คซี่ และเป็นแชมป์โลกชาวเกาหลีใต้ที่มีสถิติป้องกันแชมป์สูงสุดด้วย มีฉายาว่า \"โซนากิ\" (소나기) แปลว่า \"สายฝน\"", "title": "ยู มย็อง-อู" }, { "docid": "49350#1", "text": "ศักดาเป็นนักมวยคนเดียวที่เคยชกชนะ เขาทราย แกแล็คซี่ แชมป์โลกผู้ยิ่งใหญ่ของไทย ทั้งคู่ชกกันหลังจากที่เขาทรายชกมวยสากลอาชีพมาได้ 6 ครั้ง และขึ้นชิงแชมป์เวทีราชดำเนินรุ่นแบนตัมเวทซึ่งศักดา ศักดิ์สุรีย์ ครองแชมป์แชมป์อยู่ในขณะนั้น เมื่อ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ก่อนการชก ทุกฝ่ายมั่นใจว่าเขาทรายน่าจะเป็นฝ่ายชนะน็อคได้ไม่ยาก เพราะศักดาน้ำหนักเกินรุ่นแบนตัมเวทไปมาก ถึงวันชั่งน้ำหนักยังต้องอบตัวและออกวิ่งกว่าจะทำน้ำหนักตามพิกัดได้\nเมื่อขึ้นเวทีชกกันจริงๆ ปรากฏว่าเขาทรายเข้าไม่ติด ไม่สามารถใช้หมัดซ้ายชกศักดาได้จังๆเพราะเสียเปรียบช่วงชกมาก ศักดาใช้ช่วงชกที่ได้เปรียบชกทำคะแนนนำไปก่อนแมจะอ่อนแรงในยกท้ายๆและถูกเขาทรายต่อยจนแตกทั้งสองคิ้ว เมื่อเขาทรายชกศักดาลงไปให้กรรมการนับสิบไม่ได้ ครบสิบยก ศักดาจึงเป็นฝ่ายชนะคะแนนไป ", "title": "ศักดิ์ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#25", "text": "ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557 เขาทรายได้ร่วมกับภรรยาคนปัจจุบัน คุณหนึ่ง เปิดโรงเรียนสอนมวยไทยขึ้นแก่บุคคลทั่วไป ที่ซอยอินทามระ 47 ด้วยทุนกว่า 1,500,0000 บาท โดยใช้ชื่อว่า \"เขาทราย แกแล็คซี มวยไทยยิม\" โดยเขาทรายเป็นผู้ลงมือสอนด้วยตัวเอง[16] ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2559 ก็ได้เปิดอีกสาขาหนึ่งที่จังหวัดภูเก็ต พร้อมกับสนามมวยแห่งหนึ่ง และยังผันตัวเองมาเป็นโปรโมเตอร์จัดรายการมวยไทยอีกด้วย[17]", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#28", "text": "Transclusion error: {{En}} is only for use in File namespace. Use {{lang-en}} or {{en icon}} instead.", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#7", "text": "ชีวิตการชก มวยไทย ของเขาทราย ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร จนได้รับการปรามาส จากแฟนมวยว่า \"เขาควาย\" จึงเบนเข็มมาชกมวยสากล โดยฝึกมวยสากลจาก \"ครูเฒ่า-ชนะ ทรัพย์แก้ว\" และ \"เกา คิม หลิน-ทวิช จาติกวณิช\" และเมื่อเป็นแชมป์โลกเปลี่ยนมาเป็น \"โกฮง-พงษ์ ถาวรวิวัฒน์บุตร\"", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#18", "text": "หลังแขวนนวม เขาทรายออกอัลบั้มเพลงมาชุดหนึ่ง เพื่อเป็นการขอบคุณแฟน ๆ ที่ให้การสนับสนุน ชื่อชุด \"ขอบคุณครับ\" ภายใต้สังกัด แกแล็กซี่ และมีพิธีมงคลสมรส กับหญิงสาวชาวญี่ปุ่น \"ยูมิโกะ โอตะ\" ที่พบกันในการป้องกันตำแหน่งที่นั่นโดยมี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ องคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีที่จัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 แต่ได้หย่าขาดกันในเวลาต่อมา โดยเขาทรายให้เหตุผลว่า เพราะวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมแตกต่างกัน[7]", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#8", "text": "เมื่อเปลี่ยนมาชกมวยสากลเขาทรายสามารถชนะน็อค ด้วยหมัดซ้ายติดต่อกัน 5 ครั้ง ชนะคะแนนอีก 1 ครั้ง เขาทรายมีโอกาสได้ขึ้นชิงแชมป์เวทีราชดำเนินรุ่นแบนตั้มเวท กับ ศักดา ศักดิ์สุรีย์ แชมป์ในขณะนั้น เมื่อ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ก่อนการชก ทุกฝ่ายมั่นใจว่าเขาทรายน่าจะเป็นฝ่ายชนะน็อคได้ไม่ยาก เพราะศักดาน้ำหนักเกินรุ่นแบนตั้มเวทไปมาก ถึงวันชั่งน้ำหนักยังต้องอบตัวและออกวิ่งกว่าจะทำน้ำหนักตามพิกัดได้ เมื่อขึ้นเวทีชกกันจริง ๆ ปรากฏว่าเขาทรายเข้าไม่ติด ไม่สามารถใช้หมัดซ้ายชกศักดาได้จัง ๆ เพราะเสียเปรียบช่วงชกมาก ศักดาใช้ช่วงชกที่ได้เปรียบชกทำคะแนนนำไปก่อนแม้จะอ่อนแรงในยกท้าย ๆ และถูกเขาทรายต่อยจนแตกทั้งสองคิ้ว เมื่อเขาทรายชกศักดาลงไปให้กรรมการนับสิบไม่ได้ ครบสิบยก ศักดาจึงเป็นฝ่ายชนะคะแนนไป [1]", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47225#9", "text": "อนึ่ง หลังจากที่เขาค้อได้ครองแชมป์โลกสมัยแรกแล้ว ทางรายการตามไปดูทางช่อง 9 ได้จัดมวยคู่พิเศษตามคำเรียกร้องของผู้ชมรายการ คือ จัดชกระหว่าง เขาทราย และ เขาค้อ ที่เวทีราชดำเนิน โดยให้ทั้งคู่ชกกันจริง ๆ กำหนด 3 ยก เพื่อที่จะหาว่าใครเก่งกว่ากัน ผลการชกปรากฏว่า เขาทรายเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปในที่สุด", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#23", "text": "ต่อมาในการเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เขาทรายได้ย้ายไปอยู่กับพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมกับเพื่อนนักมวยอีก 3 คน คือ สมรักษ์ คำสิงห์, มนัส บุญจำนงค์ และเจริญทอง เกียรติบ้านช่อง โดยในครั้งนี้เขาทรายได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขต 2 จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นบ้านเกิด[13] แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง โดยได้รับคะแนนไปทั้งสิ้น 8,485 คะแนน[14]", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#6", "text": "หลังการชกกับ กังสดาล ส.ประทีป นิวัฒน์ เหล่าสุวรรณวัฒน์ (แชแม้) โปรโมเตอร์ชื่อดังที่ชักชวนให้มาชกที่กรุงเทพฯ ในชื่อ \"เขาทราย วังชมภู\" (ต่อมาเปลี่ยนชื่อหลังตามชื่อค่ายว่า \"แกแล็คซี่\" ซึ่งเป็นชื่อกิจการภัตตาคารของนักธุรกิจชื่อดังคือ นายอมร อภิธนาคุณ ซึ่งเป็นเพื่อนของนิวัฒน์) ได้สนับสนุนให้เขาทรายเปลี่ยนมาชกมวยสากลอาชีพ นับเป็นการเริ่มต้นตำนานแชมป์โลกของ เขาทราย แกแล็กซี่", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47225#4", "text": "เขาค้อ ใช้ชื่อในการชกมวยไทยว่า \"เด่นจ๋า เมืองศรีเทพ\" โดยสอดคล้องกับเขาทราย คือ \"ดาวเด่น เมืองศรีเทพ\" ทั้งคู่ได้ตระเวนชกไปทั่วจังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดใกล้เคียง โดยเขาค้อขึ้นชกมวยไทยก่อนเขาทราย และเคยปลอมตัวชกแทนเขาทรายด้วย[1] จนกระทั่งมาพอกับ \"แชแม้\" นิวัฒน์ เหล่าสุวรรณวัฒน์ จึงได้รับทั้งคู่มาอุปการะให้ชกที่กรุงเทพฯ", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#0", "text": "เขาทราย แกแล็คซี่ เป็นอดีตนักมวยแชมเปี้ยนโลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของ สมาคมมวยโลก (WBA) เป็นแชมป์โลกคนที่ 9 ของไทย มีชื่อจริงว่า สุระ แสนคำ ได้รับฉายาว่า ซ้ายทะลวงไส้ นอกจากนี้แล้ว เขาทรายยังมีพี่ชายฝาแฝด ซึ่งเป็น อดีตแชมป์โลกเช่นเดียวกันคือ เขาค้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท WBA โดยมีระยะเวลาที่เป็นแชมป์โลกคู่กัน ซึ่งทำให้นับเป็นแชมป์โลกคู่แฝดรายแรกของโลกอีกด้วย", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#24", "text": "ทางด้านการเรียน การศึกษา หลังแขวนนวมแล้ว เขาทรายได้เริ่มต้นศึกษาใหม่ โดยการไปสมัครเรียนในหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนทั้งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย จนกระทั่งจบ และได้เข้าศึกษาต่อคณะศิลปศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา จนกระทั่งจบการศึกษาในปี พ.ศ. 2555 [15]", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#16", "text": "ทั้งที่เคยเป็นแชมป์โลกมาก่อน และได้เป็นแชมป์โลกในเวลาต่อมามีทั้งหมด 8 ราย คือ", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47225#10", "text": "หลังจากเสียแชมป์โลกในครั้งนี้ไปแล้ว ราว 2 เดือน เขาค้อได้นั่งรถเบนซ์ที่เขาทรายเป็นคนขับ เพื่อที่จะกลับบ้านที่เพชรบูรณ์ หลังจากการไปโชว์ตัวด้วยกัน เกิดอุบัติเหตุรถพลิกคว่ำ เขาค้อเจ็บหนักต้องเข้ารับการรักษาที่ห้องไอซียูนานถึง 21 วัน และทำให้เขาค้อมีรอยแผลเป็นที่กรามมาจนถึงทุกวันนี้[1] ขณะที่เขาทราย คู่แฝดที่นั่งไปด้วยกัน บาดเจ็บเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และสามารถกลับมาชกมวยได้ในเวลาไม่นาน", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "77290#2", "text": "สำหรับในประเทศไทยและทวีปเอเชีย สมาคมมวยโลกมีสถาบันที่ให้การยอมรับ คือ สมาคมมวยภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก (Pan Pacific and Asia Boxing Association - PABA) และสหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (Oriental and Pacific Boxing Federation - OPBF) มีนักมวยไทยเคยเป็นแชมป์โลกของสถาบันนี้มาแล้วหลายคน ได้แก่ โผน กิ่งเพชร, ชาติชาย เชี่ยวน้อย, เบิกฤกษ์ ชาติวันชัย, เขาทราย แกแล็คซี่, เขาค้อ แกแล็คซี่, ชนะ ป.เปาอินทร์, ดาวรุ่ง ชูวัฒนะ, แสน ส.เพลินจิต, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, หยกไทย ศิษย์ อ., พิชิต ช.ศิริวัฒน์, สงคราม ป.เปาอินทร์ (เป็นเพียงแค่แชมป์เฉพาะกาล), ศรพิชัย กระทิงแดงยิม, ยอดดำรงค์ สิงห์วังชา, ยอดสนั่น ส.นันทชัย, สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์, เด่นเก้าแสน กระทิงแดงยิม, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม, ขวัญไทย ศิษย์หมอเส็ง, พรสวรรค์ ป.ประมุข, เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา, ไผ่ผารบ พ.นอบน้อม (เป็นเพียงแค่แชมป์เฉพาะกาล), คมพยัคฆ์ ป.ประมุข (เป็นเพียงแค่แชมป์เฉพาะกาล), ยอดมงคล ว.แสงเทพ (เป็นเพียงแค่แชมป์เฉพาะกาล), น็อคเอาท์ ซีพีเฟรชมาร์ท และ แสตมป์ ศิษย์หมอเส็ง (เป็นเพียงแค่แชมป์เฉพาะกาล) และในต้นปี ค.ศ. 2012 ได้ยกย่องให้ เขาทราย แกแล็คซี่ เป็นสุดยอดแชมป์โลก หรือ แชมป์โลกตลอดกาล ในรุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวท หรือซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์)[2]", "title": "สมาคมมวยโลก" }, { "docid": "47225#2", "text": "ทั้งเขาทราย และเขาค้อ เป็นบุตรของนายขัน และนางคำ แสนคำ มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน โดยมีเขาค้อเป็นคนโต เขาค้อเรียนหนังสือพร้อมกับเขาทราย และจบการศึกษาที่โรงเรียนเทคนิคเพชรบูรณ์เหมือนกัน", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#22", "text": "ในทางการเมือง เขาทรายเข้าเป็นสมาชิก พรรคเพื่อแผ่นดิน และลงสมัครรับเลือกตั้งในระบบสัดส่วน ลำดับที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 2 ของพรรคเพื่อแผ่นดิน ในการเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "374205#5", "text": "ระหว่างการเป็นผู้สื่อข่าวและช่างภาพในคราวนี้ พิทักษ์ได้มีโอกาสทำข่าวรายการชกมวยนัดสำคัญ ๆ หลายครั้ง เช่น การชกป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกของ เขาทราย แกแล็คซี่ ที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเคยได้ไปพักเป็นเวลานับเดือนยังบ้านของยูมิโกะ โอตะ ซึ่งต่อมากลายเป็นภริยาคนแรกของเขาทรายด้วย รวมทั้งที่ประเทศฟิลิปปินส์ ทำให้ได้สนิทสนมกับนักมวยและบุคคลในแวดวงมวยหลายคน ", "title": "พิทักษ์ คันธจันทร์" }, { "docid": "75230#9", "text": "โผน กิ่งเพชร เป็นแชมป์โลกรุ่นฟลายเวท 3 สมัย คนแรก แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ เป็นคนแรกที่ชกมวย 3 ครั้งแล้วได้เป็นแชมป์โลก เขาทราย แกแล็คซี่ ป้องกันแชมป์โลกได้มากที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นสถิติโลกในรุ่น 115 ปอนด์ เขาทราย แกแล็คซี่ และ เขาค้อ แกแล็คซี่ เป็นแชมป์โลกพี่-น้องคู่แฝด คู่แรกของโลก ชนะ ป.เปาอินทร์ และ สงคราม ป.เปาอินทร์ เป็นแชมป์โลกพี่-น้องคู่แฝด คู่ที่สองของโลก ซึ่งในปัจจุบัน (พ.ศ. 2551) ยังมีเพียง 2 คู่ในโลกเท่านั้น พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ ป้องกันแชมป์โลกได้มากที่สุดในรุ่น 112 ปอนด์ และป้องกันแชมป์โลกรุ่นนี้ด้วยการชนะน็อคเร็วที่สุด", "title": "มวยสากล" }, { "docid": "47225#5", "text": "การชกมวยสากลอาชีพของเขาค้อ เกิดขึ้นหลังจากเขาทรายได้เป็นแชมป์โลกแล้ว ก่อนหน้านั้นเขาค้อทำหน้าที่เป็นคู่ซ้อมลงนวมให้เขาทราย เมื่อเขาทรายประสบความสำเร็จได้เป็นแชมป์โลกแล้ว เขาค้อจึงรับการผลักดันให้ชกมวยสากลอาชีพบ้าง เขาค้อก็ชกได้ดี ชนะนักมวยฝีมือดีหลายต่อหลายราย จนได้แชมป์แบนตั้มเวทของเวทีมวยราชดำเนิน ต่อมาจึงได้ชกกับนักมวยชาวต่างชาติ และมีชื่อเข้าอันดับโลก", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#11", "text": "เขาทราย แกแล็คซี่ นับว่าเป็นนักมวยที่ได้รับความนิยมสูงสุดตลอดกาล ในสมัยที่ยังชกมวยอยู่ ได้รับฉายาจากแฟนมวยว่า \"ซ้ายทะลวงไส้\" จากหมัดซ้ายที่หนักหน่วง และการชกลำตัวที่ยอดเยี่ยม เป็นนักมวยที่ไปชกป้องกันตำแหน่งนอกประเทศหลายครั้ง รวมทั้งเคยป้องกันกับนักมวยชาวไทยด้วยกัน คือ ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ และแทบทุกครั้งของการชก เขาทรายจะได้รับชัยชนะอย่างงดงาม ความนิยมในตัวเขาทรายมีถึงขนาดที่ว่า เมื่อใดที่เขาทรายชก ถนนในกรุงเทพฯจะว่าง เพราะทุกคนรีบกลับบ้านไปดูเขาทราย", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "47225#11", "text": "เขาค้อ แกแล็คซี่ จึงต้องแขวนนวมไปโดยปริยายจากเหตุนี้ แต่ก็ยังคงช่วยเขาทรายเป็นคู่ซ้อมอยู่เหมือนเดิม และเมื่อเขาทรายได้แขวนนวมแล้ว เขาค้อก็เป็นผู้ดูแลกิจการต่าง ๆ ที่เขาทรายสร้างไว้ เช่น โต๊ะสนุกเกอร์ เป็นต้น", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "75230#10", "text": "แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ เขาทราย แกแล็คซี่ เขาค้อ แกแล็คซี่ ชนะ ป.เปาอินทร์ พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ ชาติชาย เชี่ยวน้อย แชมป์โลก 2 สถาบันคนแรก วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น ผู้เกือบทำลายสถิติป้องกันแชมป์โลกรุ่นแบนตัมเวท พเยาว์ พูนธรัตน์ แชมป์โลกและนักมวยเหรียญทองแดงโอลิมปิกคนแรก", "title": "มวยสากล" }, { "docid": "47225#0", "text": "เขาค้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท (118 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก หรือ WBA เป็นคู่แฝดกับเขาทราย แกแล็คซี่", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "47201#15", "text": "คู่ชกของเขาทราย แกแล็กซี่", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" }, { "docid": "49351#4", "text": "ก้องธรณีกลับมาชกชนะอีก 3 ครั้ง จึงมีโอกาสได้ชิงแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวท WBA กับ เขาทราย แกแล็คซี่ ซึ่งถือเป็นศึกสายเลือดคู่ที่สองของไทย การชกในครั้งนั้น ก้องธรณีเป็นฝ่ายใช้ชั้นเชิงคอยดักจังหวะชก และเป็นฝ่ายต่อยเขาทรายลงไปให้กรรมการนับแปดในยกที่ 5 แต่หลังจากนั้น ก้องธรณีกลับเอาแต่หนี ไม่ค่อยออกอาวุธ ในขณะที่เขาทรายเป็นฝ่ายรุกไล่เกือบตลอด เมื่อครบยกปรากฏว่าเขาทรายเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปอย่างเป็นเอกฉันท์ ก้องธรณีจึงต้องพบกับความผิดหวังอีกครั้งหนึ่ง", "title": "ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ" }, { "docid": "47201#9", "text": "หลังจากชกแพ้ในครั้งนั้น นิวัฒน์ผู้จัดการจัดให้เขาทรายชกกับสึงูยูกิ โทมะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่นเป็นการแก้หน้าในครั้งต่อมา ซึ่งเขาทรายเป็นฝ่ายชนะน็อคได้ในยกที่ 4 และในการชกครั้งต่อมาเขาทรายชนะน็อก ศักดิ์สมัย ช.ศิริรัตน์ ได้ครองแชมป์ แบนตั้มเวท เวทีมวยราชดำเนิน ที่ว่างอยู่เนื่องจากศักดาสละแชมป์ไป และนับจากชกชนะสึงูยูกิ เขาทรายไม่เคยแพ้ใครอีกเลยจนได้ชิงแชมป์โลก", "title": "เขาทราย แกแล็คซี่" } ]
1082
พระนิคเคนโชนิน มีภูมิลำเนาอยู่ที่ไหน?
[ { "docid": "312652#2", "text": "พระนิคเคนโชนิน ประสูติวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1922 ในโตเกียว มีนามในวัยเด็กว่า ชิโบุ อาเบะ เป็นบุตรชายของ โฮอุน อาเบะ ซึ่งได้เป็นเจ้าอาวาสของวัดโจเซ็นจิ ในซุมิดะ, โตเกียว และในภายหลังได้ดำรงตำแหน่งป็น สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 50 พระนิชิไค โชนิน ชิโนบุ ได้บวชเป็นพระสงฆ์ในปี ค.ศ. 1928 และเปลี่ยนชื่อเป็น พระชินโน (信雄) พระชินโนสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยริชโช ในปี ค.ศ. 1943 ภายหลังจากการร่วมรบในฐานะทหารเรือญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสของวัดสำคัญๆ ถึงสามวัดด้วยกันคือ วัดฮนเกียวจิ (โตเกียว ค.ศ. 1947) เฮอันจิ (เกียวโต ค.ศ. 1963) และภายหลังวัดโจเซ็นจิ (โตเกียว) และได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานของ เคียวกะบุคุ (แผนกที่รับผิดชอบการศึกษาธรรมและรักษาความดั้งเดิมของหลักธรรม) ในปี ค.ศ. 1961 ในตำแหน่งนี้ ท่านจึงเป็นหนึงใน พระสงฆ์สองท่านแรกที่ได้เดินทางไปยังต่างประเทศเพื่อทำพิธีรับศีล (Gukujai โกคุไจ) กับสมาชิกผู้นับถือใหม่ต่างประเทศ ขณะเดียวันสมเด็จพระสังฆราชในขณะนั้นได้ตั้งนามใหม่ให้ท่านว่า เอ็ตสุโยะ (越洋: \"บุรุษที่ข้ามทะเล\") ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็น นิชิเรนโชชู โซคัน หรือตำแหน่งสูงสุดอันดับที่สองของพระสงฆ์นิกายนิชิเรนโชชูในปี ค.ศ. 1979 และในที่สุดท่านก็ได้ดำรงตำแหน่งเป็น สมเด็จพระสังฆราช ภายหลังจากการดับขันธ์ของสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 66 พระนิททัตสุโชนิน ในวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1979 ในช่วงเวลานั้นท่านได้เปลี่ยนชื่อนิชิโกะ (ชื่อซึ่งเริ่มต้นด้วย นิชิ ซึ่งเป็นชื่อที่พระสงฆ์ทุกๆรูปจะต้องมี แต่จะใช้เฉพาะในโอกาสเป็นทางการหรือใช้กับพระสงฆ์อาวุโสเท่านั้น) ของท่านจาก นิชิจิ (日慈) เป็น นิคเคน (日顕)", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" } ]
[ { "docid": "312652#0", "text": "พระนิคเคนโชนิน (阿部日顕, Abe Nikken หรือ 日顕上人, Nikken Shonin ; 19 ธันวาคม ค.ศ. 1922 - ปัจจุบัน) เป็นพระสังฆราชของพุทธศาสนานิกาย นิชิเรนโชชู องค์ที่ 67 ซึ่งเป็นหนึ่งในนิกายสำคัญของศาสนาพุทธนิกายนิชิเรน และยังดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสแห่งวัดใหญ่ไทเซขิจิ ณ ชิซุโอกะ ประเทศญี่ปุ่น สานุศิษย์นิชิเรนโชชูจะขนานนามท่านว่า พระนิคเคนโชนิน, นิคเคนโชนิน เกอิคะ, โกะอิซน โชนิน, โกอินซนซะมะ หรือ โกอิรเคียวซะมะ แต่มักจะเรียกอย่างเป็นทางการว่า \"พระสังฆราชองค์ที่ 67 พระนิคเคนโชนิน\"(67th High Priest Nikken Shōnin.)", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#8", "text": "เมื่อพระนิคเคนโชนินขึ้นดำรงตำแหน่งสังฆราชแห่งนิชิเรนโชชู ในขณะนั้น สมาคมโซกา งัคไค ก็อยู่ภายใต้การนำของ ไดซาขุ อิเคดะ โดยในระหว่างนั้นนั่นเอง สมาคมโซกา งัคไค จะเป็นผู้ประสานงานระหว่างผู้นับถือทั่วโลกกับวัดใหญ่ไทเซขิจิ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชนิคเคนโชนิน ได้พบเห็นพฤติกรรมอันไม่ชอบมาพากลของ ประธานอิเคดะ และคณะผู้บริหาร ทั้งในเรื่องเงินบริจาคจากสมาชิกทั่วโลกที่มหาศาล และในเรื่องการบิดเบือนคำสอน และวิถีการปฏิบัติ รวมทั้งการปลอมแปลงโงะฮนซน(สิ่งสักการบูชาสูงสุด) ซึ่งเป็นประเด็นสำคัญมากที่สุด โดยในเรื่องการปลอมแปลงโงะฮนซนนี้ว่ากันว่าถูกจับได้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสังฆราชนิตทัทสุ โชนิน มาก่อนแล้ว แต่สมเด็จพระสังฆราชได้อภัยโทษให้ แต่อย่างไรก็ตามพระนิคเคน โชนิน ได้ตัดสินใจคว่ำบาตร ไดซาขุ อิเคดะ ประธานสมาคมโซกา งัคไคในปี ค.ศ. 1991 และต่อมาในปี ค.ศ. 1997 สมาชิกของสมาคมโซกา งัคไค ทุกๆคนจำนวน กว่า 10 ล้านคนทั่วโลก ได้ถูกคว่ำบาตรออกจากการเป็นนิชิเรนโชชูอย่างเป็นทางการ", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "328132#0", "text": "พระนิชิคัน (ค.ศ. 1665 - ค.ศ. 1726) หรือ พระนิชิคัน โชนิน เป็นประมุขสงฆ์ของพุทธศาสนานิกายนิชิเรนโชชู เป็นผู้ที่ทำให้พุทธธรรมของพระนิชิเรนไดโชนิน มีความเจริญรุ่งเรือง นอกเหนือจากพระนิกโคโชนินและพระนิชิโมขุโชนินแล้ว พระนิชิคันโชนินนับว่าเป็นประมุขสงฆ์อันดับ 1 ของการศรัทธาที่ขึ้นตรงต่อพระนิชิเรนไดโชนิน พระนิชิคันโชนินเป็นพระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงในฐานะเป็น บรรพบุรุษแห่งการฟื้นฟูพุทธธรรม กล่าวคือ หลังจากที่พระนิชิเรนไดโชนินดับขันธ์แล้วประมาณ 400 ปี ท่านก็ได้เป็นผู้ทำลายคำสอนต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่นที่บิดเบือนไปจากพุทธธรรมของพระนิชิเรนไดโชนิน ท่านได้ชี้ชัดให้เห็นถึงความถูกต้องของพุทธธรรมของพระนิชิเรนไดโชนินทั้งภายในและภายนอกนิกาย แล้วยังได้จัดให้มีการศึกษาที่ถูกต้องโดยกลับไปสู่จุดเริ่มต้นของพระนิชิเรนไดโชนิน ดังนั้น ท่านได้สมญานามว่า ท่านคันที่เคารพยิ่ง มาตั้งแต่สมัยนั้น ท่านได้รับการยกย่องว่ามีความศรัทธาและผลงานที่ยิ่งใหญ่", "title": "พระนิชิกัง" }, { "docid": "315165#0", "text": "พระนิทตัตสุ โชนิน (日達, Nittatsu Shonin ; 15 เมษายน ค.ศ. 1902 - 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1979) เป็นพระสังฆราชของพุทธศาสนานิกาย นิชิเรนโชชู องค์ที่ 66 ซึ่งเป็นหนึ่งในนิกายสำคัญของศาสนาพุทธนิกายนิชิเรน และยังดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสแห่งวัดใหญ่ไทเซขิจิ ณ ชิซุโอกะ ประเทศญี่ปุ่น ท่านเป็นพระสังฆราชที่ได้รับการขนานนามว่า เป็นพระสังฆราชผู้เมตตา เนื่องด้วยมักจะปรากฏออกสาธารณชนด้วยสีหน้าที่ยิ้มแย้มต่อสานุศิษย์เสมอ", "title": "พระนิตตะสึ" }, { "docid": "312652#13", "text": "กรณีรูปภาพพระนิคเคนโชนิน ร่วมกับหญิงเกอิชา", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#11", "text": "โซกางัคไค กล่าวว่า: พระนิคเคนโชนินได้กระทำการดู่หมิ่นธรรมขั้นร้ายแรงโดยการสร้างและทำพิธีเปิดหลุมศพของบิดามารดาของท่าน ในวัดนิกายเซน ณ วัดฮะคุซันจิ ใน ฟุคุชิมะ ซึ่งถือเป็นนิกายนอกรีตสำหรับนิชิเรนโชชู พลังของปิศาจมารจากนิกายนอกรีตจะทำลายความศรัทธาของผู้นับถือนิชิเรนโชชู จึงทำให้พระนิคเคนนั้น สูญเสียความศรัทธาที่ถูกต้องแท้จริงไป", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312561#2", "text": "ว่ากันว่าพระนิกโค เข้าเป็นศิษย์ของ พระนิชิเร็นไดโชนิน ระหว่างปี ค.ศ. 1258 และ ปี ค.ศ. 1260 ซึ่งไม่ระบุเวลาที่แน่ชัด ท่านได้ตามรับใช้พระนิชิเรนอย่างใกล้ชิด จนถึงวันที่ท่านดับขันธ์ จากบันทึกของนิชิเรนโชชู พระนิกโคยังได้โดนเนรเทศพร้อม ๆ กับพระนิชิเรนถึงสองครั้ง และยังเป็นผู้ทำการเก็บรักษาบทธรรมนิพนธ์ที่พระนิชิเรนเขียนไว้อย่างมหาศาล โดยได้ทำการเก็บรักษาอย่างดีและระมัดระวัง", "title": "พระนิกโก" }, { "docid": "312561#0", "text": "พระนิกโค (日興 \"Nikkō\") (ค.ศ. 1246 - ค.ศ. 1333) หรือ พระนิกโค โชนิน เป็นผู้ก่อตั้งนิกายย่อยของศาสนาพุทธ นิกายนิชิเรน ซึ่งคือ นิชิเรนโชชู นามแบบเต็มของท่านคือ ฮะวะคิ-โบะ เบียวคุเร็น อาจาริ นิกโค (伯耆房 白蓮阿闍梨 日興 \"Hawaki-bō Byakuren Ajari Nikkō\")", "title": "พระนิกโก" }, { "docid": "312652#14", "text": "โซกางัคไค กล่าวว่า: พระนิคเคนโชนิน นั้นได้กระทำผิดอย่างมหันต์ด้วยการคบชู้สู่สาวกับหญิงเกอิชา ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสมอย่างร้ายแรงสำหรับพระสงฆ์ และเป็นความผิดอย่างร้ายแรงสำหรับพระสังฆราช โดยได้อ้างรูปภาพที่พระนิคเคนโชนินถ่ายรูปร่วมกับเหล่าหญิงเกอิชา", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#4", "text": "ในรัชสมัยของพระนิคเคนโชนิน นั้นเป็นสมัยที่เต็มไปด้วยความสำเร็จและการขัดแย้ง พระนิคเคนได้จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบการจากไปของพระนิชิเรนครบ 700 ปี ในปี ค.ศ. 1981, 650 ปี ครบรอบการจากไปของผู้ก่อตั้งวัดใหญ่ไทเซขิจิพระนิกโค โชนิน และ พระนิชิโมขุ โชนิน (ค.ศ. 1982), ครบรอบ 700 ปีการก่อตั้งวัดใหญ่ไทเซขิจิ (ค.ศ. 1990) และ 750 ปีของการก่อตั้งนิกายนิชิเรนโชชู (ค.ศ. 2004)", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#12", "text": "นิชิเรนโชชูกล่าวว่า: โซกางัคไค ได้เข้าใจผิดมหันต์เกี่ยวกับหลุมฝังศพดังกล่าว สุสานของบิดามารดาของพระนิคเคนโชนินนั้นอยู่ที่ วัดใหญ่ไทเซขิจิ ไม่ใช่วัดฮะคุซันจิ หลุมศพของครอบครัวอะเบะที่อยู่ในวัดฮะคุซันจินั้นเป็นหลุมศพของญาติของพระนิคเคนโชนิน มิใช่ของบิดามารดาของพระสังฆราชแต่อย่างใด แต่ในจังหวัดฟุคุชิวะนั้นเป็นบ้านเกิดของท่าน ครอบครัวอะเบะที่ได้อาศัยอยู่ในขณะนี้คือ นายเค็นโซ อะเบะ เป็นสมาชิกนิชิเรนโชชู ซึ่งเป็นญาติของท่าน และได้ยกคำกล่าวของนายโจเซอิ โทดะ ประธานคนที่สองของโซกางัคไค ว่าด้วยเรื่องการตั้งหลุมฝังศพในวัดนิกายอื่นว่า ซึ่งนิชิเรนโชชูได้อ้างว่าไม่ใช่สิ่งที่ผิดที่จะจ่ายเงินค่าเช่าให้กับที่ดินที่คุณทำการเช่า", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "315165#3", "text": "โดยพระนิทตัตสุ โชนิน ได้มีกล่าวดังนี้ในที่ประชุม ในการประชุมกลุ่มฮอกเคะโขะ ในเมษายน ปี ค.ศ. 1947 ที่วัดไทเซขิจิ", "title": "พระนิตตะสึ" }, { "docid": "312652#6", "text": "หลังจากการคว่ำบาตรสมาคมสร้างคุณค่า พระนิคเคนโชนิน ได้ทำการเปิดวัดนิกายนิชิเรนโชชูในต่างประเทศจำนวนมาก (วัดล่าสุดคือที่สิงคโปร ในธันวาคม 2005 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งสังฆราช) และเปิดศูนย์เผยแผ่ธรรมใน แอฟริกา, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอเมริกาใต้ รวมไปถึง ยุโรป และ อเมริกาเหนือ และแต่งตั้งพระสงฆ์ผู้ทรงคุณวุฒิรุ่นใหม่เป็นผู้ดูแล อีกทั้งยังมีหลายครั้งที่พระนิคเคน โชนิน ได้เดินทางไปเยี่ยมผู้นับถือในต่างประเทศด้วยพระองค์เอง ด้วยพระชนมายุที่มากขึ้น", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "328132#5", "text": "อาจารย์โจเซอิ โทดะ นายกสมาคมโซคา งัคไก ท่านที่ 2 ได้กล่าวว่า การศึกษาของพระนิชิคันโชนิน เป็นการศึกษาที่เกิดจากความศรัทธาที่ลึกซึ้งมีกล่าวว่า ในช่วงเวลา 7 ปี พระนิชิคันโชนินได้สวดไดโมขุ 20 ล้านคำอุทิศให้กับบิดามารดาเพื่อทดแทนคุณเป็นการกระทำที่สมกับเป็นผู้ยึดถือโงะฮนซนเป็นหลัก พระนิชิคันโชนินมีแนวคิดที่ขึ้นตรงต่อพระนิชิเรนไดโชนิน โดยยึดโงะฮนซนและธรรมนิพนธ์เป็นหลัก และได้ยึดถือแนวทางการเผยแผ่ธรรมไพศาลเป็นอันดับหนึ่งมาโดยตลอด พระนิชิคันโชนินได้กล่าวว่า ผู้ที่เกียจคร้านนั้นไม่ใช้ศิษย์ของอาตมา ซึ่งจะเป็นเห็นจากบันทึกที่บันทึกไว้ในบทนิพนธ์เรื่องการประกอบพิธีในนิกาย ว่า เมื่อบวชเป็นสงฆ์แล้ว โกนศีรษะ สวมจีวร แล้ว ยังเกียจคร้าน จะไม่ใช้เป็นศิษย์ของอาตมา แต่จะเป็นศิษย์ของพวกนอกพุทธศาสนา", "title": "พระนิชิกัง" }, { "docid": "312532#1", "text": "ตั้งแต่อายุได้ 16 ปี ถึง 32 ปี พระนิชิเร็งไดโชนินได้ศึกษาหลักธรรมคำสอนต่าง ๆ นับไม่ถ้วนในประเทศญี่ปุ่น โดยเฉพาะที่ ภูเขาฮิเออิ และภูเขาโคยะ โดยในช่วงเวลานั้นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอยู่ เมือง นาระ และ เกียวโต พระนิชิเร็งไดโชนินได้ประกาศว่า คำสอนที่ถูกต้องแท้จริงของพระพุทธเจ้าพระศากยมุนีพุทธะ คือ พระสัทธรรมปุณฑริกสูตร หรือ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว ตลอดช่วงชีวิตของพระนิชิเร็งไดโชนิน ได้ทำการโต้วาทีธรรม และโจมตีหักล้างคำสอนของศาสนาพุทธนิกายอื่น ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ว่าเป็นคำสอนนอกรีต และไม่ใช่คำสอนที่แท้จริงของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะกับ นิกายสุขาวดี และ นิกายเซ็น ซึ่งสมัยนั้นเป็นนิกายที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่น ท่านได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ ริชโซ อันโคคุรอน หรือการยึดถือคำสอนที่ถูกต้องเพื่อให้ประเทศเกิดสันติ เมื่อ ค.ศ. 1260 เพื่อยื่นเสนอต่อรัฐบาลทหารคามาคูระซึ่งอยู่ภายใต้การบริหารของผู้สำเร็จราชการลำดับที่ 5 โฮโจ โทขิโยริ", "title": "นิจิเร็ง" }, { "docid": "312352#16", "text": "การสวดมนต์ของ นิชิเรนโชชู และ โซคางัคไก นั้นจะมีข้อแตกต่างกันบางประการ อาทิเช่น นิชิเรนโชชู นั้นจะมี บทสวดมนต์ทั้งหมด 5 บท (5 วาระ) แต่สำหรับ โซคางัคไก บทแรกอธิษฐานในใจแทนจึงมีบทสวดออกเสียงเพียง 4 บท และไม่มีการอธิษฐานเพื่อพระประมุขสงฆ์องค์ปัจจุบันโดย ทางโซคางัคไกได้เปลี่ยนแปลงเป็นการอธิษฐานในวาระที่ 2 เพื่อขอบคุณต่อ ไดโงะฮนซน, พระนิชิเรนไดโชนิน, พระนิกโคโชนิน, พระนิชิโมขุโชนิน ส่วนวาระที่ 3 อธิษฐานเพื่อการเผยแผ่ธรรมไพศาลทั่วโลกและประธานสมาคมโซคาทั้ง 3 ท่านผู้อุทิศชีวิตต่อการเผยแผ่ธรรม, วาระที่ 4 อธิษฐานเพื่อตนเองและอุทิศให้บรรพบุรุษ และวาระที่ 5 อธิษฐานเพื่อสันติภาพและความสุขของมวลมนุษยชาติทั่วโลก", "title": "สมาคมสร้างคุณค่า" }, { "docid": "328132#4", "text": "ในปี ค.ศ. 1718 พระนิชิคันโชนินก็ได้รับการสืบทอดจากพระนิชิยูโชนิน (ประมุขสงฆ์ลำดับที่25) และได้เป็นประมุขสงฆ์ลำดับที่ 26 ท่านอยู่ในตำแหน่งประมุขสงฆ์เป็นเวลา 3 ปี หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1720 ท่านก็ได้มอบทุกสิ่งทุกอย่างให้กับพระนิชิโยโชนิน แล้วท่านก็กลับไปอยู่ที่หอศึกษาธรรมอีกครั้งหนึ่ง ท่านก็ได้ทำการสอนคำอธิบายธรรมนิพนธ์ แต่พระนิชิโยโชนิน ก็อยู่ตำแหน่งประมุขสงฆ์ได้แค่ 4 ปีก็ได้มรณภาพ ดังนั้นพระนิชิคันโชนินจึงต้องกลับมาเป็นประมุขสงฆ์อีกครั้งหนึ่ง และอยู่ตำแหน่งนี้ 4 ปี ท่านได้สร้างผลงานอันยิ่งใหญ่ในการฟื้นฟูพุทธธรรมของพระนิชิเรนไดโชนิน อย่างมากมาย และท่านได้มรณภาพลงอย่างสงบในปี ค.ศ. 1726 ตอนนั้นท่านอายุ 62 ปี", "title": "พระนิชิกัง" }, { "docid": "328132#3", "text": "เมื่อพระนิชิคันโชนิน อายุได้ 15 ปี ได้ไปทำงานที่บ้านของเจ้านายคือท่าน ทาดะมิเนะ ซาคาอิ ที่เมืองเอโดะ จนถึงช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1683 ขณะนั้นอายุได้ 19 ปี ก็ได้มีโอกาสฟังพุทธธรรมของพระชิเรนไดโชนิน จึงเกิดความเลื่อมใสแล้วตัดสินใจบวช จึงได้ขอลาออกจากการรับราชการ แต่เจ้านายไม่ยินยอมให้ลาออกในตอนนั้น จนกระทั่งเดือนธันวาคมในปีเดียวกันท่านจึงได้สมปรารถนาที่ต้องการ โดยสามารถออกบวชได้ ท่านได้พยายามภายใต้การดูแลของพระนิชิเออิโชนิน (ประมุขสงฆ์ลำดับที่24) และในปี ค.ศ. 1711 พระนิชิเออิโชนิน ก็ได้มีคำสั่งแต่งตั้งท่านเป็นหัวหน้าฝ่ายการศึกษาอันดับที่ 6 หลังจากนั้นท่านก็ได้พยายามส่งเสริมให้การศึกษาเจริญรุ่งเรืองมากขึ้น เช่น ท่านได้บรรยายธรรมนิพนธ์ เขียนคำอธิบายธรรมนิพนธ์ที่สำคัญยิ่ง5ฉบับ และยังได้เขียนบทนิพนธ์ 6 ม้วน เป็นต้น ", "title": "พระนิชิกัง" }, { "docid": "312591#0", "text": "พระนิชิโมขุ (日目, ค.ศ. 1260- ค.ศ. 1333) หรือ พระนิชิโมขุ โชนิน เป็นสาวกและศิษย์ของพระนิชิเรน ซึ่งได้อยู่ฝั่งพระนิกโค ในการก่อตั้งนิชิเรนโชชู พระนิชิโมขุได้รับการแต่งตั้งจากพระนิกโคให้เป็น พระสังฆราชองค์ที่ 3 แห่งนิชิเรนโชชู", "title": "พระนิชิโมะกุ" }, { "docid": "312561#1", "text": "ในปี ค.ศ. 2015 นี้ จะเป็นปีแห่งการเฉลิมฉลองครบรอบ 770 ปี ของการประสูติของพระนิกโค โชนิน โดยนิกาย นิชิเรนโชชู", "title": "พระนิกโก" }, { "docid": "312652#17", "text": "โซกางัคไค กล่าวว่า: พระนิคเคนโชนิน นั้นได้อิจฉานายไดซาขุ อิเคดะ ที่สามารถรวบรวมเงินบริจาคจากสมาชิกจำนวนมหาศาลเพื่อนำมาสร้างสิ่งปลูกสร้างอันยิ่งใหญ่นี้ จึงได้จัดการทำลายเสีย แล้วแสดงให้เห็นว่าตนเองก็สามารถจะสร้างสิ่งปลูกสร้างที่ยิ่งใหญ่ได้เช่นกัน โดยไม่พึ่งโซกางัคไค", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "315165#1", "text": "ในสมัยของพระนัทตัตสุ โชนิน นี้ เป็นสมัยเริ่มแรกที่เกิดความพิพาทระหว่าง โซกา งัคไค และ นิชิเรนโชชู จนนำไปสู่การคว่ำบาตรใน สมัยพระสังฆราชองค์ต่อไป พระนิคเคน โชนิน", "title": "พระนิตตะสึ" }, { "docid": "312652#7", "text": "พระนิคเคนโชนิน เป็นพระสังฆราชองค์แรกและองค์เดียวของนิกายนิชิเรนโชชู ที่อยู่ในตำแหน่งสังฆราชจนถึงอายุ 80 พรรษา และได้ทำการสละตำแหน่งสังฆราชหลังจากดำรงตำแหน่งมาเป็นเวลานานถึง 27 ปี พระองค์เป็นผู้ฟื้นฟูวัดใหญ่ไทเซขิจิ ในด้านพิธีกรรมและประเพณีแบบดั้งเดิมทั้งหมดซึ่งมีหลายสิ่งที่ได้ถูกยกเลิกไปในสมัยของโซกางัคไค ในแง่มุมของผู้นับถือนิกายนิชิเรนโชชู พระนิคเคนโชนินได้ยึดมั่นว่า หลักธรรมของนิชิเรนโชชูน้นไม่อาจสามารถตีความเองโดยผู้นับถือได้ตามอำเภอใจ แต่ต้องยึดแบบดั้งเดิมตามแบบฉบับของพระนิชิเรนไดชนิน พระนิคเคนโชนิน ยังมีพระชนม์ชีพยืนยาวและได้คว่ำบาตรกลุ่มผู้นับถือที่ได้ตัดสินใจเลือกตีความหลักธรรมของนิชิเรนโชชูตามความคิดของตนถึง 3 กลุ่ม", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312352#10", "text": "ในปี ค.ศ. 1991 พระนิคเคน โชนิน ประมุขสงฆ์แห่งพุทธศาสนานิชิเร็นโชชู ได้ประกาศการคว่ำบาตรต่อ ประธานสมาคมโซคากักไก ซึ่งเป็นสมาคมผู้นับถือที่ใหญ่ที่สุด โดยได้ให้เหตุผลว่า การปฏิบัติ คำสอน ของผู้นับถือจากสมาคมนี้นั้นถูกเบี่ยนเบนไปโดยผู้นำ หรือประธานสมาคม และพระสงฆ์กลุ่มหนึ่งได้ฟ้องร้องประธานสมาคมกรณีสิ่งพิมพ์สมาคมโซคาเปิดเผยพฤติกรรมเสื่อมเสียของประมุขสงฆ์ ประมุขสงฆ์งดการมอบโงะฮนซนซึ่งเป็น สิ่งสักการบูชาของผู้นับถือนิชิเร็นโชชูให้กับสมาชิกสมาคม ซึ่งโดยปกติแล้วโงะฮนซนถูกคัดลอกจากวัดใหญ่ไทเซขิจิโดยมีการทำพิธีโดยพระประมุขสงฆ์ที่วัดใหญ่ เมื่อสมาคมนำแบบพิมพ์เก่าของพระนิชิคันโชนินสังฆราชลำดับ 26 ผู้มีชื่อเสียงเป็นที่เคารพผู้ทำการรวบรวมฟื้นฟูพุทธธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนินมาคัดลอกให้สมาชิกจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นโงะฮนซนปลอม และในที่สุดในปี ค.ศ. 1997 ผู้นับถือทั้งหมดที่ตัดสินใจยังคงเข้ากับสมาคมโซคากักไกทั้งหมดทั่วโลก ก็ได้ถูกคว่ำบาตรออกจากการเป็นผู้นับถือพุทธศาสนานิชิเร็นโชชูด้วยเช่นกัน สมาชิกสมาคมโซคากักไกต้องงดการเดินทางไปยังวัดไทเซขิจิ เพื่อนมัสการไดโงะฮนซน ซึ่งเป็นสิ่งสักการบูชาสูงสุด โดยชักชวนให้ถอนตัวจากสมาคมโซคากักไก และกลับมาเข้ากับนิกายนิชิเรนโชชูดังเดิม ซึ่งจะต้องผ่านพิธีสำนึกผิดโดยพระสงฆ์", "title": "สมาคมสร้างคุณค่า" }, { "docid": "312652#1", "text": "พระนิคเคนโชนินเป็นผู้ทำการคว่ำบาตรผู้นับถือนับล้านคนทั่วโลกที่เข้ากับ โซกา งัคไค หรือ สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย ซึ่ง ถูกคว่ำบาตรและขับไถ่ออกจากการเป็นผู้นับถือ นิชิเรนโชชู และยุคของท่านยังเป็นสมัยที่ดุเดือดที่สุดในการพิพาทระหว่างวัดใหญ่ และสมาคมโซกา งัคไค", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "341358#0", "text": "พระนิชโช โชนิน (24 กันยายน ค.ศ. 1879 - 14 ตุลาคม ค.ศ. 1957) เป็นพระสังฆราชแห่งนิชิเรนโชชู องค์ที่ 64 และทรงเป็นเจ้าอาวาสวัดใหญ่ไทเซขิจิด้วย", "title": "พระนิชโช (นิชิเร็งโชชู)" }, { "docid": "312652#9", "text": "แม้พระนิคเคนโชนิน จะดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จพระสังฆราชแห่งนิชิเรนโชชู ก็ตามแต่ผู้นับถือจากโซกางัคไค ได้ออกมาแสดงตนและกล่าวหาว่าพระนิคเคนโชนินนั้น มีพฤติกรรมที่เบี่ยนเบน และไม่เหมาะสมกับตำแหน่งพระสังฆราช ทำให้ศาสนจักรเสื่อมเสีย สมาชิกจากโซกางัคไคจะเรียกนิกายนิชิเร็นโชชู ในปัจจุบันว่า นิกายนิคเคน และกล่าวหาพระนิคเคน โชนิน ว่าเป็นสงฆ์ที่ชั่วร้าย ซึ่งเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่ทำให้พระนิคเคน โชนิน เสียหายและถูกประณามจากผู้นับถือจากโซกา งัคไคด้วย", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#5", "text": "พระนิคเคน โชนิน ยังได้ทรงทำพระราชกรณียกิจที่จะฟื้นฟูความศรัทธาของนิกายนิชิเรนโชชู ซึ่งได้สูญลายไปในระหว่างที่นิกายนิชิเรนโชชูได้ติดต่อกับองค์กร โซกางัคไค และ เอสจีไอ ซึ่งเคยเป็นองค์กรฆราวาสของนิกายนิชิเรนโชชู และทำหน้าที่เผยแผ่ธรรมในฐานะฆราวาส หลังจากที่นิกายนิชิเรนโชชูได้ทำการขับไล่สมาคมสร้างคุณค่าออกจากนิกายแล้วนั้น พระนิคเคนโชนิน ยังได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างคอนกรีตซึ่งได้ถูกสร้างถวายโดยสมาชิกของโซกางัคไค และแทนที่ด้วยวิหารที่เหมาะกับบรรยากาศ และความปลอดภัยที่สูงขึ้น โดยยึดหลักความดั้งเดิมของศาสนาพุทธญี่ปุ่น", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" }, { "docid": "312652#15", "text": "นิชิเรนโชชู กล่าวว่า: ภาพดังกล่าวนั้นเกิดจากการตัดต่อทางคอมพิวเตอร์โดยสมาชิกของโซกางัคไคที่ไม่หวังดีต่อพระนิคเคนโชนิน มิใช่ภาพถ่ายจริงแต่อย่างใด", "title": "พระนิกเก็ง โชนิง" } ]
712
จุดมุ่งหมายของศาสนาพุทธคืออะไร?
[ { "docid": "934#1", "text": "ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกาย[1] คือ ให้พึ่งตนเอง[2] เพื่อพาตัวเองออกจากกอง ทุกข์[3] มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงในโลกด้วยวิธีการสร้าง ปัญญา ในการอยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนาคือการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับที่พระศาสดาทรงหลุดพ้นได้ด้วยกำลังสติปัญญาและความเพียรของพระองค์เอง ในฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็นมนุษย์ มิใช่เทพเจ้าหรือทูตของพระเจ้าองค์ใด[4]", "title": "ศาสนาพุทธ" } ]
[ { "docid": "57347#19", "text": "จากเหตุผลข้างต้น ธรรมะจึงยังไม่เป็นที่พึ่งให้แก่โลกได้เต็มตามความมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา ตัวอย่างเช่น เรื่องสันติภาพ แม้จะพยายามดำเนินการให้เกิดความสงบในโลกเพียงใดก็ตาม ก็ยังไม่เป็นสันติภาพถาวรไปได้ เพราะต่างฝ่ายต่างเป็นโรคทางวิญญาณ แต่ไม่รู้ตัวว่าเป็น และไม่ได้นำยา คือ ธรรมะของพระพุทธเจ้าไปใช้ในการรักษาโรคของตัวเอง\nเมื่อทำความเข้าใจกับผู้ฟังให้เข้าใจความหมายในภาพรวมเรื่องโรคทางวิญญาณแล้ว ท่านจึงเริ่มการวินิจฉัยในรายละเอียดว่า โรคทางวิญญาณนั้นเป็นอย่างไร และจะรักษาด้วย “ ธรรมะกำมือเดียว” ได้อย่างไร", "title": "แก่นพุทธศาสน์" }, { "docid": "38896#0", "text": "องค์การไม่แสวงหาผลกำไร () เป็นชื่อเรียกองค์การที่มีจุดมุ่งหมายสนับสนุนกลุ่มที่มีความคิดเห็นพ้องกัน โดยเนื้อหาจะแตกต่างตั้งแต่ ศิลปะ การกุศล การศึกษา การเมือง ศาสนา งานวิจัย และจุดมุ่งหมายในด้านอื่น ๆ โดยการทำงานทั้งหมดไม่มีจุดประสงค์ในเชิงพาณิชย์ ไม่หาผลประโยชน์เข้าสู่องค์การ แต่มีรายได้จากค่าลงทะเบียน ค่าบำรุงจากสมาชิก หรือเงินหรือทรัพย์สินอื่นใดที่ได้มาจากการบริจาคหรือจากการให้โดยเสน่หา", "title": "องค์การไม่แสวงหาผลกำไร" }, { "docid": "57347#13", "text": "ท่านแจ้งว่าในโอกาสการบรรยายครั้งเดียวเป็นพิเศษ จึงเห็นสมควรกล่าวถึง ใจความสำคัญทั้งหมดของพระพุทธศาสนา โดยหวังว่าเมื่อผู้ฟัง ท่านใดจับใจความสำคัญได้แล้ว ก็จะสะดวกในการศึกษาออกไปได้อย่างกว้างขวาง แต่ถ้าท่านใด จับใจความสำคัญไม่ได้ ก็จะสับสน รู้สึกว่าพระพุทธศาสนาช่างมีเรื่องมากมายเกินกว่าที่จะจำได้ เข้าใจ หรือนำไปปฏิบัติ ท่านขยายความว่า ความรู้ทางพุทธศาสนาที่ไม่ใช่หลักขั้นมูลฐาน มีอยู่ไม่น้อย และจะพาให้ค่อยๆเขวไปทีละน้อยจน กลายเป็นพุทธศาสนาใหม่ หรือกลายเป็นพุทธศาสนาเนื้องอก ที่งอกออกไปเรื่อยๆ เช่น เรื่องประวัติศาสตร์พุทธศาสนา พิธีรีตองต่างๆ เป็นต้น จากนั้นท่านได้กล่าวถึงความหมายของหลักพุทธศาสนาขั้นมูลฐาน ว่า ประกอบด้วยสองสิ่ง คือ จุดมุ่งหมายและความมีเหตุผลอยู่ในตัวเอง\nคำที่ใช้เกี่ยวกับโรคภัยไขัเจ็บ เนื่องจากเป็นการบรรยายในโรงพยาบาล ท่านพุทธทาสฯ จึงนึกถึงชื่อหนึ่งที่ใช้เรียกพระพุทธเจ้ามาแต่โบราณ คือ แพทย์ในทางฝ่ายวิญญาณ เพราะ ในสมัยพุทธกาล แยกโรคภัยไข้เจ็บเป็น 2 ประเภทเท่านั้น คือ โรคทางกายกับ โรคทางจิต", "title": "แก่นพุทธศาสน์" }, { "docid": "41516#1", "text": "ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธส่วนที่สุดสองอย่าง และเสนอแนวทางดำเนินชีวิตโดยสายกลางอันเป็นแนวทางใหม่ให้มนุษย์ มีเนื้อหาแสดงถึงขั้นตอนและแนวทางในการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงอริยสัจทั้ง 4 คืออริยมรรคมีองค์ 8 โดยเริ่มจากทำความเห็นให้ถูกทางสายกลางก่อน เพื่อดำเนินตามขั้นตอนการปฏิบัติรู้เพื่อละทุกข์ทั้งปวง เพื่อความดับทุกข์ อันได้แก่นิพพาน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา", "title": "ธัมมจักกัปปวัตนสูตร" }, { "docid": "36203#2", "text": "เป็นพิธีทางพุทธศาสนา มีพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎทรงกำหนดให้มีขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นพิธีทำขวัญเมล็ดพืชพันธุ์ต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือกเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ถั่ว งา เป็นต้น ฯลฯ มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เมล็ดพันธุ์เหล่านั้น ปราศจากโรคภัยและให้อุดมสมบูรณ์เจริญงอกงามดี", "title": "แรกนาขวัญ" }, { "docid": "276211#7", "text": "“...จุดมุ่งหมายโดยตรงแท้ของศาสนาทั้งปวง และโดยเฉพาะของพระพุทธศาสนามุ่งจะให้บุคคลศึกษาพิจารณาหลักการ และแนวความคิดในศาสนธรรม และน้อมนำมาเป็นที่ยึดเหนี่ยวและปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการครองชีวิต คือให้เกิดความผาสุก ความร่มเย็น และความเจริญในแต่ละบุคคลในส่วนรวม และให้เกิดความบริสุทธิ์หลุดพ้นอันเป็นปรมัตถประโยชน์ ดังนั้นการบำรุงส่งเสริมพระศาสนาจึงควรจะได้กระทำให้ถูกเป้าหมาย...”", "title": "วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก" }, { "docid": "149036#4", "text": "ต่อมาจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสเข้ามาได้เมืองขึ้นในอินโดจีน เช่น ประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว โดยลักษณะเดียวกับโปรตุเกสและสเปน คือล่าเมืองขึ้นและเผยแพร่ศาสนาพร้อมกัน แต่ไม่ประสบผลสำเร็จนัก ทำให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์ในกลุ่มประเทศนี้มีน้อย อาจเพราะการมุ่งผลทางการเมืองและเศรษฐกิจของผู้ปกครองจักรวรรดินิยมทั้งก่อนหน้าและขณะนั้น ทำให้จุดมุ่งหมายที่ดีงามทางศาสนาถูกผู้คนในประเทศพื้นเมืองตั้งทัศนคติว่ามีเจตนาแอบแฝงเสียส่วนใหญ่ ไม่ว่ามิชชันนารีจะมีเจตนาแอบแฝงจริงหรือไม่ก็ตาม ", "title": "ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย" }, { "docid": "5114#27", "text": "เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในคติพุทธศาสนา เพราะประธานเป็นรูปพระพุทธรูปนาคปรกศิลามีพระนาม กมรเตงชคตวิมายะ แต่การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้นักวิชาการส่วนมากเข้าใจว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานหรือตันตระยาน เป็นนิกายหนึ่งของพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งเมื่อศึกษาถึงปรัชญาและจุดมุ่งหมายของวัชรยานและมหายานแล้ว จะเห็นได้ว่าทั้งวัชรยานและมหายานต่างก็มีปรัชญาที่ต่างกัน ดังนั้นวัชรยานและมหายานจึงเป็นลัทธิที่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏที่ปราสาทหินพิมายทั้งจากตัวศิลปะและจารึกกล่าวได้ว่า ปราสาทหินพิมายสร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน เนื่องจากด้านหน้าทางเข้าปราสาทประธาน ปรากฏรูปพระวัชรสัตวพุทธะ คือ พระชินพุทธะองค์ที่ 6 ของลัทธิวัชรยานแสดงรูปโดยทรงถือวัชระในพระหัตถ์ขวา และทรงถือกระดิ่งในพระหัตถ์ซ้าย และจากการศึกษาประติมากรรมเครื่องใช้สัมฤทธิ์ที่บริเวณเมืองพิมายและบริเวณใกล้เคียง พบวัชระและกระดิ่งที่ภิกษุในลัทธิวัชรยานใช้ในการประกอบพิธีกรรมเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้รูปเคารพที่ปรากฏอยู่บนทับหลังประดับประตูด้านในวิมานของปราสาทประธาน ยังแสดงถึงรูปเทพเจ้าในลัทธิวัชรยานด้วย คือทับหลังประดับทิศใต้ แสดงภาพกมรเตงชคตวิมายะอยู่ตรงกลาง ตอนบนของทับหลัง คือ พระชินพุทธะ 6 พระองค์ ด้านละ 3 พระองค์ ทับหลังประดับทิศตะวันตก ตอนบนแสดงภาพพระอมิตาภพุทธะ พระชินพุทธะ ประจำทิศตะวันตกส่วนตอนล่างแสดงภาพความรื่นรมย์บนสวรรค์สุขาวดี ทับหลังประดับทิศเหนือ ตรงกลางเป็นรูปเทพเจ้า 3 พักตร์ 6 กร โดยพระหัตถ์ล่างอยู่ในท่าปางสมาธิ พระหัตถ์ขวากลางถือลูกประคำ และพระหัตถ์ซ้ายกลางถือกระดิ่ง ซึ่งก็คือเหวัชระ หรือพระวัชรินตามชื่อที่ปรากฏในจารึกของกัมพูชาทับหลังประดับทิศตะวันออก แสดงภาพเทพเจ้า 4 พักตร์ 8 กร โดยพระพักตร์ที่ 4อยู่ด้านหลังสองกรล่างอยู่ในท่าแสดงธรรม ร่ายรำอยู่ในท่าอรรธปรยังกะ บนพระไภรวะและนางกาลราตรี และทรงถือหนังช้าง เทพเจ้าองค์นี้คือ สังวร ซึ่งอยู่ในสกุลพระอักโษภยะพระชินพุทธะประจำทิศตะวันออกนอกจากนี้ ยังปรากฏทับหลังประดับประตูชิ้นหนึ่งไม่ทราบตำแหน่งเดิมจากปราสาทหินพิมาย คือ ทับหลังภาพเจ้าเมืองทำอัษฎางคประดิษฐ์ ในพระหัตถ์มีหม้อน้ำที่รองรับน้ำมนตร์จากพระกมรเตงชคตวิมายะ ที่แสดงภาพอยู่ตอนกลางด้านบนของทับหลัง การถวายอัษฎางคประดิษฐ์เป็นการถวายความเคารพในลัทธิวัชรยาน ซึ่งยังคงปรากฏอยู่ในประเทศธิเบตและเนปาลปัจจุบัน", "title": "จังหวัดนครราชสีมา" }, { "docid": "41644#0", "text": "นิพพาน ( \"nibbāna\" นิพฺพาน; \"nirvāṇa\" \"นิรฺวาณ\") หมายถึง ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์ เป็นสภาพโลกุตระอันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในศาสนาพุทธ", "title": "นิพพาน" }, { "docid": "136080#31", "text": "อย่างไรก็ดี พูลแมนยังได้รับการสนับสนุนจากพวกคริสเตียนบางกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากโรวัน วิลเลียมส์ [[อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี]] ซึ่งเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของ[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]] เขาอธิบายว่าการโจมตีของพูลแมนครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายกล่าวถึงการบังคับฝืนใจ อันตรายจากความเชื่อโดยไร้เหตุผล และการแอบอ้างใช้ศาสนาข่มเหงผู้อื่น แต่ไม่ได้เป็นปฏิปักษ์กับศาสนาคริสต์โดยตรง วิลเลียมส์ยังเสนอว่าวรรณกรรมไตรภาคของธุลีปริศนาควรจะถูกบรรจุไว้ในชั้นเรียนการสอนศาสนาเพื่อการอภิปราย และยังกล่าวอีกว่า \"หากได้เห็นกลุ่มนักเรียนมาชมการแสดงละครเวทีเรื่องนี้ของพูลแมนที่โรงละครแห่งชาติกันเป็นจำนวนมากคงจะน่าตื่นเต้นไม่น้อย\" ", "title": "ธุลีปริศนา" }, { "docid": "515976#0", "text": "วันศุกร์ประเสริฐ () หรือวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ () เป็นวันสำคัญทางศาสนาคริสต์ ซึ่งตรงกับวันศุกร์ในตรีวารปัสคา (ก่อนวันอีสเตอร์) ของสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อระลึกถึงการตรึงพระเยซูที่กางเขน", "title": "วันศุกร์ประเสริฐ" }, { "docid": "664586#0", "text": "นามูเมียวโฮเร็งเงเกียว หรือ นัมเมียวโฮเร็งเงเกียว () เป็นมนต์ที่ใช้สวดเป็นบทหลักในศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็ง มีความหมายว่า \"ขอนอบน้อมแด่สัทธรรมปุณฑรีกสูตร\" มนต์นี้ถูกอ้างอิงถึงในชื่อไดโมกุ (題目) หรือเรียกอย่างยกย่องว่าโอไดโมกุ (お題目) ซึ่งได้มีการเผยแพร่ครั้งแรกโดยพระนิจิเร็ง พระภิกษุในศาสนาพุทธชาวญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 28 เดือนสี่ทางจันทรคติญี่ปุ่น ค.ศ. 1253 ณ วัดเซโชจิ (หรือที่เรียกกันว่าคิโยซูมิเดระ) ใกล้เมืองโคมินาโตะ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองคาโมงาวะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น พิธีสวดไดโมกุนั้นเรียกว่า \"โชได\" (唱題) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรัสรู้เข้าถึงพุทธภาวะได้โดยสมบูรณ์ในภพปัจจุบัน", "title": "นามูเมียวโฮเร็งเงเกียว" }, { "docid": "114669#0", "text": "วิสุทธิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด ในศาสนาพุทธกล่าวถึง วิสุทธิ 7 ซึ่งหมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการชำระให้บริสุทธิ์ ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่าไตรสิกขา ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือนิพพาน มี 7 ขั้น คือ", "title": "วิสุทธิ" }, { "docid": "32409#18", "text": "หลักสำคัญของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน คือหลักแห่งพระโพธิสัตวภูมิซึ่งเป็นหลักที่พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานแต่ละนิกายยอมรับนับถือ มหายานทุกนิกายย่อมมุ่งหมายโพธิสัตวภูมิ ซึ่งเป็นเหตุที่ให้บรรลุพุทธภูมิ บุคคลหนึ่งบุคคลใดที่จะบรรลุถึงพุทธภูมิได้ ต้องผ่านการบำเพ็ญจริยธรรมแห่งพระโพธิสัตว์มาก่อน เพราะฉะนั้น จึงถือว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[10586,10628,3,3]}'>โพธิสัตวภูมิเป็นเหตุ พุทธภูมิเป็นผล เมื่อบรรลุพุทธภูมิเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าย่อมโปรดสัตว์ให้ถึงความหลุดพ้นได้กว้างขวาง และขณะบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ ก็ยังสามารถช่วยเหลือสรรพสัตว์ที่ตกทุกข์ในสังสารวัฏได้มากมาย อุดมคติอันเป็นจุดหมายสูงสุดของมหายานจึงอยู่ที่การบำเพ็ญบารมีตามแนวทางพระโพธิสัตว์ เพื่อนำพาสรรพสัตว์สู่ความหลุดพ้นจากวัฏสงสารให้หมดสิ้น", "title": "มหายาน" }, { "docid": "618549#0", "text": "โพธิสัตว์ศีล คือศีลที่ปรากฏเฉพาะในพุทธศาสนานิกายมหายาน มีจุดมุ่งหมายให้ผู้สมาทานศีลนี้ มีความสำรวมทั้งกาย วาจา ใจเพื่อการก้าวสู่สถานะพระโพธิสัตว์รื้อขนสรรพสัตว์สู่พระนิพพาน โดยปกติแล้วฝ่ายบรรพชิตฝ่ายเถรวาทจะถือพระปาติโมกข์หรือศีล 227 ข้อ หรือที่ฝ่ายมหายานเรียกในภาษสันสกฤตว่า ปราติโมกษ์ โดยบรรพชิตฝ่ายมหายานก็ถือศีลชุดนี้เช่นกัน โดยอาศัยพระวินัยปิฎกจากพระไตรปิฎกของนิกายธรรมคุปต์ ซึ่งมีเนื้อหาตรงกับพระวินัยและ/หรือพระปาติโมกข์ของฝ่ายเถรวาท โดยบรรจุรวมอยู่ในพระไตรปิฎกภาษาจีน อย่างไรก็ตาม นอกจากปาติโมกข์ หรือปราติโมกษ์ แล้ว บรรพชิตฝ่ายมหายานยังถือโพธิสัตว์ศีลอีกด้วย เพื่อขัดเกลาตนเองและศีลให้บริสุทธิ์สมกับการดำเนินตามครรลองโพธิสัตว์มรรคยิ่งขึ้น อันเป็นหลักปฏิบัติสำคัญของพุทธศาสนิกชนนิกายมหายาน\nเสถียร โพธินันทะ ผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนา และผู้แปลพระวินัยในพุทธศาสนามหายาน กล่าวถึงโพธิสัตว์ศีลไว้ในหนังสือ \"ประมวญกำหนดสิกขาบทในอุตตรนิกาย\" ไว้ว่า \n\"\"อนึ่ง ถ้าจะพิจารณาตามกำเนิดของลัทธิมหายาน จักประจักษ์ว่า เป็นด้วยวัตถุประสงค์ส่งเสริมจริยาแห่งพระบรมโพธิสัตว์เป็นสำคัญ โดยสอนให้บุคคลตั้งปณิธาน มุ่งพระพุทธภูมิ เพื่อมีโอกาสในการโปรดสรรพสัตว์ได้กว้างขวาง ฉะนั้น ลัทธิมหายานจึงมีสิกขาบทพิเศษอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งไม่มีในลัทธิฝ่ายสาวกยานนั่นคือ “โพธิสัตว์สิกขาบท” หรือ “โพธิสัตว์ศีล” ซึ่งศีลประเภทนี้ เป็นสาธรณทั่วไป แก่บรรพชิต และฆราวาสชน มิได้จำกัดเพศ ใคร ก็ตามที่มีโพธิจิตต์ตั้งความปรารถนา จักลุพุทธภูมิไซร้ ก็ย่อมบำเพ็ญตามสิกขาบทนี้ และโพธิจริยาอื่นๆ มีทศบารมี เป็นต้น\"\"", "title": "โพธิสัตว์ศีล" }, { "docid": "266481#7", "text": "ท่านก็ถือว่าเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการช่วยพระพุทธเจ้าเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล เป็นพระสงฆ์กลุ่มแรกที่พระพุทธเจ้าทรงส่งออกไปประกาศพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้มีกิริยามารยาทน่าเลื่อมใสมาก จนทำให้อุปติสสะมาณพ บุตรแห่งนายบ้านนาลันทาเกิดความเลื่อมใสและยอมตนบวชในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้กล่าวพระคาถาสำคัญในพระพุทธศาสนาคือพระคาถาที่รู้จักกันดีว่าคือพระคาถา \"เย ธมฺมา\" พระคาถานี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระคาถาสำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะกล่าวถึงความเป็นเหตุผลและจุดมุ่งหมายในพระพุทธศาสนาไว้ในคาถาเดียว คาถานี้ได้รับการยอมรับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยทวารวดี พระคาถาจำนวน 4 บาทนี้ได้ถูกนำมาจารึกลงและบรรจุไว้ในพระเจดีย์ในฐานะองค์แทนแห่งพระพุทธศาสนา พระคาถาของท่านมีดังนี้", "title": "พระอัสสชิเถระ" }, { "docid": "45337#0", "text": "อิทธิบาท หรือ อิทธิบาท 4 เป็นศัพท์ในพระพุทธศาสนา หมายถึง ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี ๔ ประการ คือ", "title": "อิทธิบาท ๔" }, { "docid": "38809#34", "text": "ณ จุดนี้เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทราบว่า Ashokavadana เป็นข้อความทางพุทธศาสนาในตัวเอง พยายามที่จะได้รับการเปลี่ยนศาสนาเป็นชาวพุทธใหม่ๆ โดยอาศัยตำนานเหล่านี้ทั้งหมด ความจงรักภักดีต่อพระพุทธศาสนาและความจงรักภักดีต่อพระสงฆ์ถูกเน้นหนัก ตำราดังกล่าวเพิ่มความเข้าใจว่าอโศกเป็นพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสำหรับชาวพุทธที่สมควรได้รับความชื่นชมและการเลียนแบบ", "title": "พระเจ้าอโศกมหาราช" }, { "docid": "356987#1", "text": "แซมปานอกจากจะเป็นอาหารประจำชาติของทิเบตแล้ว ยังมีบทบาทในทางวัฒนธรรม มีประเพณีการขว้างปาแซมปาในพิธีกรรมศานาพุทธหลายพิธี เชื่อกันว่า การโยนแซมปาเป็นพิธีกรรมที่มาจากศาสนาดั้งเดิมก่อนจะนำมาปรับให้เข้ากับพุทธศาสนาโดยถือเป็น \"เครื่องหมายแห่งความสุขและการเฉลิมฉลอง\" ใช้ในโอกาสฉลองเช่นการแต่งงานและวันเกิด ทุกวันนี้ยังใช้ในการเฉลิมฉลองปีใหม่ซึ่งจะมีการสวดมนต์พร้อมด้วยข้อแสดงความปรารถนาที่ โชคดีในปีที่กำลังจะมาถึง การโยนแซมปายังเกิดขึ้นในงานศพชาวพุทธส่วนใหญ่เพื่อจุดมุ่งหมายที่จะปล่อยจิตวิญญาณของผู้เสียชีวิต", "title": "แซมปา" }, { "docid": "18078#2", "text": "งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น ", "title": "ทอมัส อไควนัส" }, { "docid": "119043#0", "text": "ประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นงานบุญประเพณีของคนภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราช ที่ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อ ซึ่งมาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมีการผสมผสานกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติที่ล่วงลับ ซึ่งเชื่อว่าได้รับการปล่อยตัวมาจากภูมินรกที่ตนต้องจองจำอยู่เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยก่อไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากภูมินรกในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 เพื่อมายังโลกมนุษย์ โดยมีจุดประสงค์ในการมาขอส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้องที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังภูมินรก ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10", "title": "ประเพณีสารทเดือนสิบ" }, { "docid": "105578#6", "text": "ด้วยการยึดครองของจีนในธิเบต กองทัพชาวอินเดียและชาวจีน ต้องเผชิญหน้ากันบนเขตแดนของเทือกเขาหิมาลัย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ สงครามที่ต้องเสียเลือดเสียเนื้อระหว่าง 2 ประเทศนี้ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1962 เมื่อครั้งที่ธิเบตยังมีอิสรภาพ อินเดียเคยใช้กำลังทหารเพียง 1,500 คนในการดูแลความสงบ ณ รอยต่อเขตพรมแดนกับธิเบต แต่ทุกวันนี้อินเดียได้ประมาณการใช้จ่ายไว้ถึง 550 - 650 ล้านรูปีต่อวัน ในการที่จะคุ้มกันเขตพรมแดนแห่งเดียวกันนี้จากกองทหารจีนกว่า 300,000 กอง ซึ่งตั้งอยู่ในที่ ๆ ชาวจีนเรียกว่า \"เขตปกครองตนเองธิเบต\" (Tibet Autonomous Region) ซึ่งพื้นที่แห่งนี้ประกอบด้วยอาณาเขตของธิเบตที่เหลือเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น ส่วนอีกครึ่งหนึ่งกำลังถูกกลืนไปกับหลาย ๆจังหวัดของจีนในบริเวณนั้น\nอำนาจการยึดครองธิเบตโดยจีน ได้พยายามทำลายความเป็นหนึ่งเดียวของชาวธิเบต อย่างเป็นระบบ โดยการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างต่อเนื่อง การทำลายล้างอาคารบ้านเรือน ทางศาสนา และประวัติศาสตร์ วัตถุทางศาสนาถูกทำลายและผู้นำท้องถิ่นต่าง ๆ ได้ถูกทรมานและฆ่าฟัน วัดวาอารามของชาวพุทธมากว่า 6,000 แห่งได้ถูกทำลาย รูปปั้นและวัตถุศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาทั้งหมด ถ้าไม่ถูกทำลายก็จะถูกขโมยไปขายทอดตลาด นโยบายของรัฐบาลจีนในลักษณะนี้มีจุดมุ่งหมายไปที่การค่อย ๆ นำมาซึ่งความตายทางวัฒนธรรมและศาสนาของชาวธิเบต แบบค่อยเป็นค่อยไปและเป็นธรรมชาติมากที่สุด", "title": "ทิเบตภายใต้การปกครองของจีน" }, { "docid": "61586#0", "text": "นันโทปนันทสูตรคำหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร (เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคำประพันธ์เป็นร่ายยาว นำด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแผ่คำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนำเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร", "title": "นันโทปนันทสูตรคำหลวง" }, { "docid": "266481#1", "text": "พระอัสสชิ เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว มีบทบาทสำคัญในการช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาในช่วงต้นพุทธกาล ด้วยความเป็นผู้มีมารยาทน่าเลื่อมใสของท่าน ทำให้ท่านเป็นภิกษุรูปแรกที่ทำให้อุปติสสมาณพ ซึ่งต่อมาคือพระสารีบุตร เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้กล่าวคาถาสำคัญยิ่งคาถาหนึ่งในพระพุทธศาสนาคือพระคาถา เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา ... พระคาถานี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระคาถาสำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะกล่าวถึงความเป็นเหตุผลและจุดมุ่งหมายในพระพุทธศาสนาไว้ในคาถาเดียว ท่านดำรงอายุพอสมควรแก่กาลก็ดับขันธปรินิพพาน", "title": "พระอัสสชิเถระ" }, { "docid": "645115#18", "text": "แต่ปัจจุบันกลายเป็นระบบการศึกษาไม่สามารถตามเหตุการณ์ที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบันทัน จนสะท้อนออกทางผลผลิต คือ “สภาพบุคคลในสังคม” ต้องผจญกับปัญหาต่าง ๆ มากขึ้นทั้งปัญหาสุขภาพกาย ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาชีวิต รวมทั้งปัญหาเศรษฐกิจและปัญหาสังคมอื่น ๆ รุมเร้าเข้ามารอบด้าน เป็นการศึกษาที่หย่อนยานด้านวินัยด้านคุณธรรมเพราะไม่สามารถพัฒนาให้สมดุลกับความรู้ได้ การพัฒนาด้านคุณธรรมของบุคคลจะให้เกิดผลดีนั้นจะต้องใช้วิธีการของศาสนาเข้ามาผสมผสาน เพราะหลักการของศาสนาทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายเพื่ออบรมสั่งสอน ปลูกฝังคุณธรรมแก่บุคคลให้เป็นคนดี มีปัญญามีคุณค่าของความเป็นมนุษย์ให้สูงขึ้น แนวความคิดและคำสั่งสอนของทุกศาสนา จึงเป็นหลัก “ปรัชญาชีวิต” ที่ใช้เป็น “หลักการของชีวิต” ได้ดียิ่งเพราะได้วางกฎเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติไว้อย่างละเอียดให้บุคคลได้ดำเนินชีวิตตามด้วยความราบรื่น สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีสันติสุข ซึ่งเป็นหลักการชีวิตที่มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาชีวิตบุคคลไปในทิศทางเดียวกันกับจุดมุ่งหมายของการศึกษาโดยทั่วไป ฉะนั้นเพื่อให้การศึกษาเป็นเครื่องมือแห่งกระบวนการที่ใช้พัฒนาบุคคลได้สมบูรณ์ยิ่งทั้งในด้านการพัฒนาจิตใจ การปลูกฝังวินัยคุณธรรม ให้เกิดความสำนึกรับผิดชอบต่อชีวิตตน สังคมเป็นบุคคลที่มีคุณภาพตามจุดมุ่งหมายจึงควรนำหลักการศึกษาแบบ “ไตรสิกขา”ของศาสนามาผสานให้กลมกลืนเป็นกระบวนการเดียวกันกับระบบการศึกษาในปัจจุบันเพื่อ “พัฒนานิสัยทำงานด้วยใจรัก”ให้มากขึ้น จุดประสงค์หลักของการนำหลักไตรสิกขามาผสานเข้ากับระบบการศึกษา คือ", "title": "โรงเรียนวิถีพุทธ" }, { "docid": "111478#1", "text": "ในทางพระพุทธศาสนา การกำหนดทุกข์ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องทำเพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ในอริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส", "title": "ทุกข์" }, { "docid": "35824#1", "text": "ปราสาทเมืองสิงห์ มีจุดมุ่งหมายสร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธศาสนสถานในพุทธศาสนา นิกายมหายาน จากการขุดตกแต่งของกรมศิลปากรที่ค่อยทำค่อยไปตั้งแต่ พ.ศ. 2478 แต่มาเริ่มบุกเบิกกันจริงจังเมื่อ พ.ศ. 2517 แล้วเสร็จเป็นอุทยานประวัติศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2530 จึงสวยงามดังที่เห็นอยู่ในวันนี้ ปราสาทเมืองสิงห์นี้กล่าวว่าสถาปัตยกรรมและปฏิมากรรม คล้ายคลึงกับของสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1720 - 1780) กษัตริย์นักสร้างปราสาทแห่งขอม จากการขุดแต่งของกรมศิลปากร พบศิลปกรรมที่สำคัญยิ่งคือพระพุทธรูปนาคปรก พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และ นางปรัชญาปารมิตา และยังพบรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเปล่งรัศมีอีกองค์หนึ่ง รูปลักษณ์คล้ายกับที่พบในประเทศกัมพูชา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้นำไปเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แล้ว คงเหลือแต่องค์จำลองไว้ ", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์" }, { "docid": "53566#0", "text": "วิมุตติ คือ ความหลุดพ้น เป็นวัตถุประสงค์มุ่งหมายของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ดังพุทธภาษิตว่า ", "title": "วิมุตติ" }, { "docid": "806278#17", "text": "มากกว่าพันปีแล้ว ที่มีการใช้ข้อปฏิบัติทางพุทธศาสนาทั่วโลกเพื่อจุดประสงค์ที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา\nเมื่อเร็ว ๆ นี้ นักจิตวิทยาคลินิกชาวตะวันตก นักทฤษฎี และนักวิจัยได้รวมข้อปฏิบัติของพุทธในวิธีจิตบำบัดมากมายที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบ\nโดยเฉพาะแล้ว คือรวมการฝึกสติโดยตรงเป็นเทคนิคการรักษาทางจิต\nและโดยอ้อม ๆ แล้ว จิตบำบัดที่อาศัยการเปลี่ยนความคิด (cognitive restructuring) มีหลักคล้ายกับการกำจัดความทุกข์ในศาสนาพุทธ", "title": "ศาสนาพุทธกับจิตวิทยา" } ]
3243
จอกว้างฟิล์ม ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ?
[ { "docid": "974126#0", "text": "จอกว้าง ฟิล์ม (English: Jor Kwang Films) หรือชื่อที่จดทะเบียนบริษัทว่า บริษัท จอกว้าง ฟิล์ม จำกัด เป็นบริษัทผลิตภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ ปัจจุบันเป็นบริษัทในเครือของจีดีเอช ห้าห้าเก้า เปิดทำการในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2549 โดยผลงานแรกของบริษัทคือภาพยนตร์เรื่อง สายลับจับบ้านเล็ก และยังคงผลิตผลงานเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน", "title": "จอกว้าง ฟิล์ม" } ]
[ { "docid": "519356#0", "text": "หมวดโอภาส ยอดมือปราบ..คดีพิศวง เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด หรือ ซีรีส์ (Series) ภาคต่อของ สายลับเดอะซีรีส์ กับ 24 คดีสุดห้ามใจ ผลิตโดยค่ายภาพยนตร์จีทีเอช และ จอกว้าง ฟิล์ม ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 20.40 น.–21.30 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ต่อมา ให้ทำภาคต่อ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น หมวดโอภาส เดอะซีรีส์ ปี 2 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.00 น.– 17.00 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555", "title": "หมวดโอภาส" }, { "docid": "816823#1", "text": "ทอดด์-เอโอเริ่มต้นจากระบบฟิม์มจอกว้างความละเอียดสูง ถูกพัฒนาโดย ไมค์ ทอดด์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตละครบรอดเวย์ โดยความร่วมมือกับบริษัทออปติคอลอเมริกา ในบัฟฟาโล, นิวยอร์ค ช่วงกลางทศวรรศ ค.ศ. 1950 เพื่อผลิตกระบวนการสร้างภาพจอกว้างความละเอียดสูงจากกล้องเดี่ยวแข่งกับระบบซีเนรามา หรือที่จำกัดความโดยผู้พัฒนาว่า \"ซีเนรามาในรูเดียว\" เนื่องจากระบบซีเนรามาใช้การสร้างภาพจากฟิล์มสามม้วนถ่ายและฉายภาพโดยพร้อมกันและซับซ้อนมาก ในขณะที่ระบบทอดด์-เอโอต้องการเพียงกล้องถ่ายภาพยนต์เดี่ยวและเลนส์", "title": "ทอดด์-เอโอ" }, { "docid": "277066#4", "text": "ในปี 2561 ภาคภูมิมีผลงานกำกับภาพยนตร์เดี่ยวขนาดยาวครั้งแรกกับค่ายจอกว้างฟิล์ม ชื่อเรื่อง Home Stay โดยมีค่ายจีดีเอช ห้าห้าเก้าเป็นผู้จัดจำหน่าย นำแสดงโดย ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญ กับ เฌอปราง อารีย์กุล และจะเป็นภาพยนตร์แนวแฟนตาซีทริลเลอร์อีกด้วย", "title": "ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ" }, { "docid": "975991#16", "text": "สำหรับเพลงประกอบ ทีมงานได้ ป้อ-ชาติชาย พงษ์ประภาพันธ์ มาร่วมทำเพลงประกอบให้กับจอกว้างฟิล์มอีกครั้งในรอบ 4 ปี หลังจากมีผลงานทำเพลงให้กับภาพยนตร์เรื่อง \"ฝากไว้..ในกายเธอ\" นอกจากนั้นยังทำให้ชาติชายมีผลงานเพลงประกอบภาพยนตร์ที่เข้าฉายในเดือนตุลาคมถึง 2 เรื่อง ซึ่งอีกเรื่องคือ \"นาคี 2\"", "title": "โฮมสเตย์ (ภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2561)" }, { "docid": "816823#12", "text": "ทอดด์-เอโอยังมีระบบฟิล์ม 35 มม. ไม่สมมาตร ซึ่งในทางเทคนิคเหมือนกับฟิล์ม 35 มม. ของพานาวิชันหรือซีเนมาสโคป ซึ่งอาจทำให้สับสนได้ถ้าเครดิตทอดด์-เอโอปรากฎบนภาพยนต์จอกว้างที่ผลิตในทศวรรศ 1970 ถึง 1980 และยิ่งสับสนกับระบบ 70 มม. ซึ่งทำสำหรับภาพยนต์ที่มีมัลติเพล็กซ์ อย่าง \"ดูน\" และ \"โลแกน รัน\".", "title": "ทอดด์-เอโอ" }, { "docid": "803721#0", "text": "แฟนเดย์..แฟนกันแค่วันเดียว เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-ดราม่า และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของจีดีเอช ห้าห้าเก้า ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม กำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกูล นำแสดงโดย ฉันทวิชช์ ธนะเสวี และนิษฐา จิรยั่งยืน กำหนดออกฉายในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559\nจีดีเอช จัดแถลงข่าวภาพยนตร์ \"แฟนเดย์..แฟนกันแค่วันเดียว\" เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2559 ณ ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ และจัดฉายรอบสื่อมวลชนในวันที่ 29 สิงหาคม 2559 ณ พารากอนซีนีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน", "title": "แฟนเดย์..แฟนกันแค่วันเดียว" }, { "docid": "525329#0", "text": "เน็กซัส 7 () เป็นแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ได้รับการออกแบบและวางขายโดยกูเกิล ร่วมกับเอซุส โดยเป็นแท็บเล็ตเครื่องแรกในรุ่นของกูเกิล เน็กซัส ซึ่งเป็นตระกูลของรุ่นที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ และจะใช้ระบบที่จะไม่ได้รับการปรับแต่งใด ๆ จากผู้ผลิต เน็กซัส 7 นั้นมีหน้าจอกว้าง 7 นิ้ว วัดตามแนวทแยง, ใช้หน่วยประมวลผล เอ็นวีเดีย เทกรา 3 ควอดคอร์, แรม 1 จิกะไบต์ และ หน่วยความจำภายใน 8, 16 หรือ 32 จิกะไบต์ รวมไปถึงระบบวายฟาย และการเชื่อมต่อเอ็นเอฟซี โดยมีแหล่งรวบรวมความบันเทิงและโปรแกรมบน กูเกิล เพลย์ ซึ่งมีทั้งโปรแกรมประยุกต์, หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, รายการโทรทัศน์, ภาพยนตร์ (Play Movies), เกม (Play Game) และเพลง (Play Music) ปัจจุบันในประเทศไทย(พ.ศ. 2557)สามารถใช้บริการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์,ภาพยนตร์และเกมได้แล้ว ยกเว้นแต่รายการโทรทัศน์และเพลงเท่านั้น \nแท็บเล็ตเน็กซัส 7 เป็นอุปกรณ์รุ่นแรกที่ออกวางขายพร้อมกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 4.1 ที่มีชื่อว่า \"เจลลีบีน\"", "title": "เน็กซัส 7 (รุ่นปี พ.ศ. 2555)" }, { "docid": "760690#0", "text": "ไดอารี่ตุ๊ดซี่ส์ เดอะซีรีส์ () เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุดคอมเมดี้ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์จีเอ็มเอ็ม 25 ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2559 ทุกวันเสาร์ เวลา 23:00 นาฬิกา ผลิตโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า ภาพดีทวีสุข และ จอกว้างฟิล์ม กำกับและเขียนบทโดย ปิยะชาติ ทองอ่วม มีเค้าโครงมาจากประสบการณ์จริงของ ธีร์ธวิต เศรฐไชย (คุณช่า) ที่เผยแพร่ลงเพจบนเฟซบุ๊ก \"บันทึกของตุ๊ด\" ในรูปแบบไดอารี่ มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเพื่อนสนิทกลุ่มเพศที่สามประกอบด้วย กัส (เผ่าเพชร เจริญสุข) กอล์ฟ (ธงชัย ทองกันทม) คิม (รัฐนันท์ จรรยาจิรวงศ์) และแนตตี้ (ภัทรศยา เครือสุวรรณศิริ) ถูกคนรักบอกเลิกพร้อมกัน ทำให้พวกเขาตัดสินใจตามหารักแท้ ซีซั่น 2 เริ่มตอนแรก วันเสาร์ที่ 11กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560-วันเสาร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2560 และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ที่งาน GDHxนาดาวParty นิ่งเป็นปรับ..ขยับเป็นงาน ได้มีการเปิดเผยโปรเจกต์ภาคต่อของไดอารี่ตุ๊ดซีส์ ในรูปแบบของภาพยนตร์ โดยมีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ภายในปี พ.ศ. 2562ตอนพิเศษเบื้องหลังการถ่ายทำ ออกอากาศวันเสาที่ 6 พฤษภาคม 2560", "title": "ไดอารีตุ๊ดซีส์ เดอะซีรีส์" }, { "docid": "974126#1", "text": "หมวดหมู่:บริษัทของไทย หมวดหมู่:จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ หมวดหมู่:ธุรกิจภาพยนตร์ หมวดหมู่:บริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทย หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2549 หมวดหมู่:365 ฟิล์ม", "title": "จอกว้าง ฟิล์ม" }, { "docid": "879497#0", "text": "เพื่อน..ที่ระลึก () เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2560 แนวดราม่า-สยองขวัญ กำกับโดย โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม จัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า นำแสดงโดย น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ และ อภิชญา ทองคำ โดยมีฉากสำคัญในอาคารสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ กำหนดออกฉายในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2560พ.ศ. 2540 ปีที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับฝันร้ายที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” โศกนาฏกรรมทางการเงินครั้งสำคัญที่ทำให้ “นักธุรกิจร้อยล้าน” กลายเป็น “บุคคลล้มละลาย” ในชั่วข้ามคืน เช่นเดียวกับอิ๊บและบุ๋มที่ครอบครัวต้องพังไปพร้อมๆกัน เมื่อตึกคอนโดหรูใจกลางเมืองที่พ่อของพวกเธอลงทุนร่วมกัน ถูกระงับการก่อสร้างจากเศรษฐีกลายเป็นคนมีหนี้สินหลายร้อยล้าน บ้านที่เคยอยู่มาทั้งชีวิตก็ถูกยึดสมบัติในบ้านถูกนำมาเปิดท้ายขายของในราคาถูก อิ๊บและบุ๋มรับมือกับความล่มสลายของครอบครัวไม่ไหว จึงตัดสินใจจะฆ่าตัวตายพร้อมกัน บน “ตึก” ที่เคยสัญญาว่าจะอยู่ด้วยกันตลอดไป แต่คนที่ตายกลับเป็นแค่อิ๊บเพียงคนเดียว", "title": "เพื่อน..ที่ระลึก" }, { "docid": "933129#0", "text": "น้อง.พี่.ที่รัก () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้-ดราม่า ร่วมเขียนบทและกำกับโดย วิทยา ทองอยู่ยง ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ อุรัสยา เสปอร์บันด์ และนิชคุณ หรเวชกุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของพี่น้องที่ไม่ถูกกัน โดยมีพี่ที่พยายามขัดขวางความรักของผู้เป็นน้องสาว", "title": "น้อง.พี่.ที่รัก" }, { "docid": "331574#0", "text": "กวน มึน โฮ () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีทีเอช ออกฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เป็นผลงานการกำกับภาพยนตร์ของบรรจง ปิสัญธนะกูล ได้รับการจัดอันดับ \"น 15+\" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) นำแสดงโดย ฉันทวิชช์ ธนะเสวี และหนึ่งธิดา โสภณ ภาพยนตร์เป็นผลงานกำกับในแนวหนังรักเรื่องแรกของบรรจง โดยได้รับแรงบันดาลใจจากหนังสือ \"สองเงาในเกาหลี\" ของ ทรงกลด บางยี่ขัน", "title": "กวน มึน โฮ" }, { "docid": "975991#1", "text": "ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า นำแสดงโดย ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญ เฌอปราง อารีย์กุล และ นพชัย ชัยนาม และเข้าฉายอย่างเป็นทางการในโรงภาพยนตร์ตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561", "title": "โฮมสเตย์ (ภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2561)" }, { "docid": "822882#0", "text": "พรจากฟ้า () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวมิวสิคัล-โรแมนติก-ดราม่า-คอมเมดี้ ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า ร่วมกับสิงห์ คอร์เปอเรชัน โดยได้รับแรงบันดาลใจจากเพลงพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3 เพลงคือ ยามเย็น (Love at sundown), ในดวงใจนิรันดร์ (Still on my Mind) และ พรปีใหม่ ผ่านการเล่าเรื่องราวของหนุ่มสาว 3 คู่ที่มีลักษณะในการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันไป", "title": "พรจากฟ้า" }, { "docid": "738871#0", "text": "เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้-แฟนตาซี ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีทีเอช ร่วมเขียนบทและกำกับโดย ชยนพ บุญประกอบ ที่เคยมีผลงานการกำกับ ซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ นำแสดงโดย สุทัตตา อุดมศิลป์ ธิติ มหาโยธารักษ์ ธนภพ ลีรัตนขจร และ นรีกุล เกตุประภากร", "title": "เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ" }, { "docid": "816823#0", "text": "ทอดด์ เอโอ () คือบริษัทให้บริการกระบวนการหลังการผลิตภาพยนต์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1953 ให้บริการเกี่ยวกับเสียงให้กับอุตสาหกรรมภาพยนต์และโทรทัศน์ แบ่งการให้บริการเป็นสามแห่งในพื้นที่ลอสแอนเจลิส ทอดด์-เอโอยังเป็นชื่อของระบบฟิล์ม 70 มม. สำหรับจอกว้างซึ่งพัฒนาโดย ไมค์ ทอดด์ และ บริษัทออปติคอลอเมริกา ในช่วงกลางทศวรรศ ค.ศ. 1950 ทอดด-เอโอ ในตอนแรกตั้งขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์และให้บริการระบบดังกล่าว", "title": "ทอดด์-เอโอ" }, { "docid": "274805#0", "text": "สายลับเดอะซีรีส์ กับ 24 คดีสุดห้ามใจ เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด หรือ ซีรีส์ (Series) ผลิตโดยค่ายภาพยนตร์จีทีเอช และ จอกว้าง ฟิล์ม ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 20.40 น.–21.30 น. ดำเนินเนื้อเรื่องต่อแยกจากภาพยนตร์เรื่อง \"สายลับจับบ้านเล็ก\" โดยเรื่องราวของละครชุดจะเกี่ยวกับ ฉลาม เพื่อนของจ๊อก ตัวละครเอกที่ทำอาชีพเป็นนักสืบชู้ในภาพยนตร์ และมีภาคต่อแยกของหมวดโอภาส หนึ่งในตัวละครหลักของเรื่อง ที่ชื่อว่า \"หมวดโอภาส ยอดมือปราบ...คดีพิศวง และ หมวดโอภาสเดอะซีรีส์ ปี 2\" เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2552 ในปัจจุบันมีการนำออกจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดี และเปิดให้รับชมในไอฟลิกซ์ ในเมื่อความรักไม่เข้าใครออกใคร ปัญหาผัวเมียละเหี่ยใจจึงเกิดขึ้นได้ทุกหย่อมหญ้า อาชีพนักสืบตามล่าเมียน้อยจึงยังคงเป็นที่ต้องการอย่างสูงในตลาดมืด นอกจากไอ้จ๊อก-สายลับจับบ้านเล็ก ที่เคยสร้างกระแสฮิตเกรียวกราวไปบนจอเงินเมื่อกลางปีที่แล้ว ในมุมเล็กๆ อีกแห่งของกรุงเทพฯ ก็ยังมี \"“ฉลาม” (แดน-วรเวช ดานุวงศ์)\" นักสืบหนุ่มรูปหล่อ ที่ใช้ร้านตัดขนหมาเป็นฉากบังหน้ารับอาชีพนักสืบกิ๊กอยู่อีกคน", "title": "สายลับเดอะซีรี่ส์ กับ 24 คดีสุดห้ามใจ" }, { "docid": "851888#1", "text": "ภาพยนตร์เรื่องนี้ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า ว่าด้วยเรื่องราวของนักเรียนชั้นมัธยมปลายกลุ่มหนึ่งที่คิดหารายได้จากการโกงข้อสอบระดับนานาชาติ โดยอ้างอิงเหตุการณ์โกงข้อสอบ การทดสอบการใช้เหตุผลเอสเอที ที่เกิดขึ้นในประเทศจีนเป็นเหตุการณ์และเค้าโครงเรื่องต้นแบบ", "title": "ฉลาดเกมส์โกง" }, { "docid": "119112#27", "text": "จีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์ ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ 365 ฟิล์ม จอกว้างฟิล์ม จีดีเอช ห้าห้าเก้า ที โมเมนต์", "title": "จีเอ็มเอ็ม ไท หับ" }, { "docid": "984474#0", "text": "เฟรนด์โซน () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้ ร่วมเขียนบทและกำกับโดย ชยนพ บุญประกอบ ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีดีเอช ห้าห้าเก้า นำแสดงโดย ณภัทร เสียงสมบุญ และ พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ มีกำหนดเข้าฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562", "title": "Friend Zone (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "359579#5", "text": "ต่อมา เธอได้ออกจากการบวชชีก่อน เพราะลูกของเธอที่ถูกจับนั้นป่วย และเธอกับทมได้ไต่สวนคดีฆาตกรรม จึงตัดสินให้ทมถูกประหารชีวิต สุดท้ายเธอได้หันหน้าเข้าหาความสงบจากพระธรรม\nแพรดำ เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่ถ่ายทำในระบบฟิล์ม 35 มม. สี เสียงซีนีมาสโคบ ที่ให้ภาพจอกว้างเต็มตา เป็นภาพยนตร์อาชญกรรมที่ถือได้ว่าเป็นฟิล์มนัวร์เรื่องแรกของเมืองไทย ผสมผสานองค์ประกอบที่ตีแผ่ให้เห็นด้านมืดของปุถุชนคนธรรมดา เหนืออื่นใด แพรดำ เป็นภาพยนตร์ที่สมควรได้รับการยกย่องให้เป็นผลงานระดับคลาสสิก โดยเฉพาะในส่วนของศิลปะหนัง เพื่อพัฒนาเรื่องและสื่อความหมายได้อย่างดีเยี่ยม ", "title": "แพรดำ" }, { "docid": "969192#12", "text": "เลือดข้นคนจาง ริเริ่มขึ้นจากโครงการ 5:7:9 เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองการครบรอบการก่อตั้ง 11 ปีของโฟร์โนล็อค โดยเลข 5 หมายถึงการพัฒนากลุ่มไอดอลเอสบีไฟฟ์ให้กับค่าย LOVEiS ของบอย โกสิยพงษ์ เลข 7 คือการคว้าสิทธิ์การดูแลศิลปินวงก็อตเซเวนจากเจวายพีเอนเตอร์เทนเมนต์ในประเทศไทยแต่เพียงผู้เดียว และเลข 9 คือโครงการพิเศษที่โฟร์โนล็อคต้องการที่จะรวบรวมนักแสดงรุ่นใหม่เก้าคนเพื่อตั้งเป็นกลุ่มไอดอลที่มีชื่อว่า ไนน์บายนาย (9by9) ซึ่งจะมีผลงานเพลง คอนเสิร์ต แสดงละครและซีรีส์ทางโทรทัศน์ เพื่อให้งานเดินหน้าไปตามแผน อนุวัติ วิเชียรณรัตน์ ผู้บริหารโฟร์โนล็อค จึงได้ทาบทามทรงยศ สุขมากอนันต์เพื่อร่วมโครงการดังกล่าว ซึ่งเดิมทรงยศวางแผนจะกลับไปทำภาพยนตร์ร่วมกับจอกว้าง ฟิล์มและ จีดีเอช ห้าห้าเก้า หลังจากจบการถ่ายทำมินิซีรีส์ I Hate You, I Love You ทางไลน์ทีวี ซึ่งต่อมาทรงยศได้ตกลงให้ร่วมมือในฐานะผู้ผลิต โดยในช่วงแรกวางแผนให้ 4 ผู้กำกับจากซีรีส์โปรเจกต์ เอส ที่ผลิตเมื่อปีก่อนมาร่วมกำกับ และทรงยศเองตั้งใจจะขึ้นเป็นโปรดิวเซอร์เพื่อให้มีเวลาไปถ่ายทำภาพยนตร์ได้ แต่เมื่อโครงการเริ่มเดินหน้าและขยายขึ้นมากกว่าที่ตั้งใจไว้ ทรงยศก็ตัดสินใจมากำกับละครด้วยตัวเอง[2]", "title": "เลือดข้นคนจาง" }, { "docid": "816823#10", "text": "มีเพียงสองเรื่องแรกของภาพยนต์ระบบทอดด์-เอโอ ได้แก่ \"โอกลาโฮมา!\" และ \"80 วันรอบโลก\" ที่ฉายด้วยความเร็ว 30 เฟรมต่อวินาที เนื่องจากระบบดั้งเดิมต้องการภาพที่ 24 เฟรมต่อวินาที ทุกฉากต้องถ่ายสองครั้ง ครั้งแรกด้วยระบบทอดด์-เอโอและอีกครั้งด้วยฟิล์มซีเนมาสโคป 35 มม. เรื่องต่อๆ มาจึงถ่ายด้วยฟิล์มระบบทอดด์-เอโอ 65 มม. พร้อมกัน โดยให้กล้องที่สองมีความเร็วที่ 24 เฟรมต่อวินาทีเพื่อฉายภาพจอกว้างโดยลดจำนวนฟิล์มพิมพ์ลง และพิมพ์ลงบนฟิล์มพิมพ์ 35 มม. เพื่อให้ตรงความต้องการของระบบดั้งเดิม โดยรวมแล้ว มีภาพยนต์ฉายในระบบทอดด์-เอโอทั้งหมด 16 เรื่อง", "title": "ทอดด์-เอโอ" }, { "docid": "730570#0", "text": "ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-แบล็คคอมเมดี้-ดราม่า เขียนบทและกำกับโดย นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีทีเอช นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ ดาวิกา โฮร์เน่ กำหนดเข้าฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 ว่าด้วยเรื่องราวของฟรีแลนซ์ที่ทำงานข้ามวันข้ามคืนจนเป็นผื่น เลยต้องไปหาหมอจนแอบชอบหมอจีทีเอชจัดฉาย \"ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ\" รอบสื่อมวลชน เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2558 ณ พารากอนซีนีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน และเข้าฉายรอบปกติในอีกสองวันถัดมา โดยทำรายได้ในวันเปิดตัว 11.60 ล้านบาท ระหว่างวันที่ 24-30 กันยายน ค.ศ. 2015 ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ 86.07 ล้านบาท", "title": "ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ" }, { "docid": "195325#0", "text": "เนื้อคู่ประตูถัดไป เป็นละครซิตคอม ของค่ายภาพยนตร์จีทีเอช (GTH) และ จอกว้างฟิล์ม ออกอากาศเวลา 14.05 น. - 15.00 น. ของทุกวันเสาร์ ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ พอลล่า เทเลอร์ โดยเริ่มออกอากาศตอนแรกในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในตอน อกหักเพียงครั้งยังไม่ตาย และตอนสุดท้ายในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ในตอน ชีวิตนี้ใช้หนี้อย่างเดียว ตอนที่ 2 อย่างไรก็ตาม เนื้อคู่ประตูถัดไป ได้มีการเปลี่ยนชื่อเรื่องใหม่เป็น เนื้อคู่อยากรู้ว่าใคร โดยเริ่มกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ทุกวันจันทร์ เวลา 22.25 - 23.25 น. ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553", "title": "เนื้อคู่ประตูถัดไป" }, { "docid": "755900#8", "text": "ในปี 2561 บริษัทได้ปล่อยผลงานออกมาถึง 4 เรื่องด้วยกัน โดยมีค่ายลูกคือ จอกว้าง ฟิล์ม ผลิตเอง 2 เรื่องคือ \"น้อง.พี่.ที่รัก\" กำกับโดย วิทยา ทองอยู่ยง ฉายวันที่ 10 พฤษภาคม และหนังทริลเลอร์วัยรุ่นแฟนตาซี \"Homestay\" กำกับโดย ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ ซึ่งพร้อมฉายหลังจากถูกเลื่อนจากกำหนดฉายเดิมคือธันวาคม พ.ศ. 2559 และหลังจากปล่อยคลิปไวรัลปริศนาใช้ชื่อว่า \"K1189B54N\" ผ่านสื่อต่างๆมาแล้ว ทางค่ายก็ได้เปิดเผยว่าภาพยนตร์เรื่องนี้จะนำแสดงโดย ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญ และ เฌอปราง อารีย์กุล โดยมีกำหนดฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 25 ตุลาคม ปีเดียวกัน", "title": "จีดีเอช" }, { "docid": "765902#1", "text": "โดย ทรูวิชั่นส์ ออริจินอล พิคเจอร์ส, ซองซาวด์โปรดักชัน, นอร์ธสตาร์โปรดักชัน (โสฬส สุขุม, กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ, ปิยะลักษณ์ มหาธนทรัพย์)\nโดย อิเล็คทริคอีล ฟิล์ม, แอดเวิร์ดโปรดักชัน, คริสลีโปรดักชัน (Edward Gunawan, Chris Lee, อโนชา สุวิชากรพงศ์)\nโดย จีทีเอช, จอกว้างฟิล์ม (จิระ มะลิกุล, เช่นชนนี สุนทรศารทูล, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์, สุวิมล เตชะสุปินัน, วีรชัย ใหญ่กว่าวงศ์)\nโดย จีทีเอช, จอกว้างฟิล์ม (จิระ มะลิกุล, เช่นชนนี สุนทรศารทูล, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์, สุวิมล เตชะสุปินัน)\nโดย จี วิลเลจ (อนุชา บุญยวรรธนะ, อารียา ชีวีวัฒน์, ดรสะรณ โกวิทวณิชชา, คณีณัฐ เรืองรุจิระ, ภุชงค์ ตันติสังวรากูร, วิชชพัทร์ โกจิ๋ว)ประพันธ์โดย ตนุภพ โนทยานนท์, พงศ์จักร พิษฐานพร, วรเวช ดานุวงศ์\nประพันธ์โดย สมภพ โภคพูล\nประพันธ์โดย ทศพล อำนวยกูล\nประพันธ์โดย อภิชัย ตระกูลเผด็จไกรพิจารณาจากผลงานภาพยนตร์ขนาดยาวเรื่องแรกที่เข้าฉายเชิงพาณิชย์", "title": "รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 24" }, { "docid": "495349#0", "text": "เคาท์ดาวน์ () เป็นภาพยนตร์ไทยแนวระทึกขวัญ เขียนบทและกำกับโดย นัฐวุฒิ พูนพิริยะ ผลิตโดยจอกว้างฟิล์ม และจัดจำหน่ายโดยจีทีเอช ว่าด้วยเรื่องราวของกลุ่มวัยรุ่นที่ต้องการจัดปาร์ตี้ในวันส่งท้ายปี และได้พบกับชายคนหนึ่งที่จะทำให้พวกเขาจำคืนนี้ไปจนวันตาย", "title": "เคาท์ดาวน์" }, { "docid": "351801#1", "text": "ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกของเอ็ม พิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ โดยสร้างร่วมกับจอกว้างฟิล์ม เป็นผลงานการกำกับของหลายผู้กำกับฯ จาก 365 ฟิล์ม (วิทยา ทองอยู่ยง, วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, คมกฤษ ตรีวิมล, ทรงยศ สุขมากอนันต์, อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม และนิธิวัฒน์ ธราธร) ที่โด่งดังจากการร่วมกันกำกับภาพยนตร์เรื่อง \"แฟนฉัน\" และเป็นผลงานการแสดงของหลายนักแสดง เข้าโรงฉายเมื่อวันที่ 20 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เฉพาะโรงภาพยนตร์เอสพละนาด ซีนีเพล็กซ์, เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์สาขา รัชโยธิน และสาขา สุขุมวิท เท่านั้น", "title": "หวานขม บิทเทอร์สวีท บอย ป๊อด เดอะ ชอต ฟิล์ม" } ]
3349
เภสัชวิทยาคืออะไร?
[ { "docid": "15844#0", "text": "เภสัชวิทยา (English: Pharmacology) เป็นศาสตร์สาขาของชีววิทยา ซึ่งมุ่งเน้นศึกษาเกี่ยวกับการออกฤทธิ์ของยา,[1] การได้มาของยา ทั้งจากที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์โดยมนุษย์ ธรรมชาติ หรือแม้แต่โมเลกุลภายในร่างกายมนุษย์เอง ซึ่งส่งผลชีวเคมีหรือสรีรวิทยาต่อเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือจุลชีพ (ในบางครั้ง คำว่า ฟาร์มาคอน ก็ถูกนำมาใช้แทนที่เพื่อให้มีนิยามครอบคลุมสารภายในและภายนอกร่างกายที่ทำให้ผลทางชีวภาพเหมือนกับยา) แต่ถ้ากล่าวให้จำเพาะมากขึ้นแล้ว เภสัชวิทยานั้นเป็นศาสตร์ที่ศึกษาปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตและสารคเมีที่ส่งผลให้เกิดความผิดปกติและปรับสมดุลการทำงานทางชีวเคมีของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ซึ่งหากสารเคมีใดที่มีคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค อาจถือได้ว่าสารเคมีนั้นจัดเป็นยา[2][3][4]", "title": "เภสัชวิทยา" } ]
[ { "docid": "155307#16", "text": "(วันที่ค้นข้อมูล: 28 มีนาคม 2551) ยุพิน สังวินทะ และคณะ. เภสัชวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 3, ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.2539 (Access date: March 28, 2008)]", "title": "ประจำเดือน" }, { "docid": "23217#6", "text": "รหัสระดับที่ 3 ระบุกลุ่มย่อยตามการรักษา/เภสัชวิทยา ประกอบด้วยตัวอักษร 1 ตัว", "title": "ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์" }, { "docid": "676945#1", "text": "ในทางโครงสร้างเคมี PCP จัดอยู่ในกลุ่มของ arylcyclohexylamine class และ ในกลุ่มทางเภสัชวิทยาได้อยู่ในกลุ่มของยาชา ", "title": "เฟนไซคลิดีน" }, { "docid": "61678#0", "text": "บาราคอล เป็นสารที่สกัดได้จากสมุนไพรขี้เหล็ก โดยในปี พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 พบว่ายารักษาโรคขาดแคลนเป็นอย่างมาก ศาสตราจารย์ นพ.อวย เกตุสิงห์ จึงได้พยายามค้นหาสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยาแผนโบราณอย่างแพร่หลายมาศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และได้พบว่าใบและดอกของต้นขี้เหล็กทำให้เกิดอาการง่วงซึมและมีพิษน้อยกว่าสมุนไพรชนิดอื่นๆ ที่ได้ศึกษา ต่อมาจึงมีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดใบขี้เหล็กอีกครั้งโดยใช้แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลาย พบว่าสารสกัดนี้มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง เพิ่มความตึงตัวของกล้ามเนื้อเรียบ และมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ", "title": "บาราคอล" }, { "docid": "15844#4", "text": "หมวดหมู่:ชีวเคมี หมวดหมู่:เภสัชกรรม", "title": "เภสัชวิทยา" }, { "docid": "17902#2", "text": "สำหรับยาซึ่งเป็นสารเคมีที่ได้รับจากภายนอกเพื่อใช้ในการวินิจฉัย ป้องกัน หรือรักษาโรคนั้น เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายโดยทั่วไปจำเป็นต้องผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึมเช่นเดียวกับสารเคมีอื่น ๆ ที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย ทั้งนี้การเมแทบอลิซึมยา (drug metabolism) เป็นปฏิกิริยาเคมีที่ใช้เปลี่ยนรูปยาซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปที่ละลายในไขมันได้ดี ให้กลายเป็นเมแทบอไลต์ (metabolite) ที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ถูกขับออกจากร่างกายทางปัสสาวะหรือน้ำดีได้ง่ายขึ้น และมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา หรือมีพิษลดน้อยลงกว่าสารเดิม (parent compound) อย่างไรก็ตาม การเมแทบอลิซึมยาบางชนิดอาจทำให้ได้เมแทบอไลต์ที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้น้อยลง หรือมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหรือพิษเพิ่มมากขึ้นก็ได้ สำหรับยาหรือสารเคมีที่ได้รับจากภายนอกร่างกายที่ละลายน้ำได้ดีอยู่แล้ว ร่างกายสามารถขับออกไปได้โดยตรงโดยไม่จำเป็นต้องผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึม", "title": "เมแทบอลิซึมของยา" }, { "docid": "459642#0", "text": "ในสาขาเภสัชวิทยาและชีวเคมี โมเลกุลเล็ก เป็นสารอินทรีย์มวลโมเลกุลต่ำ ซึ่งมิใช่พอลิเมอร์ตามนิยาม คำว่า โมเลกุลเล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาเภสัชวิทยา ปกติจำกัดใช้เฉพาะกับโมเลกุลซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยสัมพรรคภาพสูงกับพอลิเมอร์ชีวภาพ เช่น โปรตีน กรดนิวคลีอิก หรือพอลิแซคคาไรด์ และยังเปลี่ยนกิจกรรมหรือหน้าที่ของพอลิเมอร์ชีวภาพ ขอบเขตมวลโมเลกุลขั้นสูงของโมเลกุลเล็กอยู่ที่ประมาณ 800 ดาลตัน ซึ่งทำให้โมเลกุลเล็กสามารถแพร่ข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อที่จะไปถึงจุดออกฤทธิ์ (site of action) ภายในเซลล์ได้ นอกเหนือจากนี้ การจำกัดมวลโมเลกุลนี้เป็นเงื่อนไขจำเป็นแต่ไม่เพียงพอแก่ชีวปริมาณออกฤทธิ์ (bioavailability) ทางปาก", "title": "โมเลกุลเล็ก" }, { "docid": "15897#2", "text": "เภสัชจลนศาสตร์มีความสำคัญยิ่งต่อกระบวนการศึกษาวิชาเภสัชวิทยา", "title": "เภสัชจลนศาสตร์" }, { "docid": "15844#2", "text": "ต้นกำเนิดของการศึกษาทางเภสัชวิทยาคลินิกเกิดขึ้นในยุคกลาง ตามที่มีการบันทึกไว้ในตำราการแพทย์ The Canon of Medicine ของอิบน์ ซีนา, Commentary on Isaac ของปีเตอร์ ออฟ สเปน, และ Commentary on the Antedotary of Nicholas ของจอห์น ออฟ เซนต์ แอมานด์[5] โดยเป็นศาสตร์ที่มีฐานรากมาจากการศึกษาค้นคว้าทางการแพทย์ของวิลเลียม วิเธอริง[6] แต่เภสัชวิทยาในฐานะศาสตร์แขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ไม่ได้มีการพัฒนาก้าวหน้ามากขึ้นเท่าใดนักจนกระทั่งในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคที่มีการฟื้นตัวของศาสตร์ชีวการแพทย์แขนงต่างๆ เป็นอย่างมาก[7] โดยในช่วงต้นคริสต์สตวรรษที่ 19 นั้น ความเข้าใจในกลไกการออกฤทธิ์ที่จำเพาะและความแรงของยาต่างๆ เช่น มอร์ฟีน, ควินีน และดิจิทาลลิส นั้นยังมีความคลุมเครือเป็นอย่างมาก รวมไปถึงมีการกล่าวอ้างถึงคุณสมบัติและสัมพรรคภาพของสารเคมีบางชนิดต่อร่างกายและเนื้อเยื่อที่ผิดแผกไปจากความเป็นจริงในปัจจุบัน[8] ความเจริญก้าวหน้าทางเภสัชวิทยาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 นี่ทำให้มีการจัดตั้งแผนกเภสัชวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1847 โดยรูดอล์ฟ บูคไคม์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจถึงผลของยาที่ใช้ในการบำบัดรักษาโรคและการเกิดพิษจากยาเหล่านั้น[7]", "title": "เภสัชวิทยา" }, { "docid": "680870#28", "text": "หมวดหมู่:การออกแบบการทดลอง หมวดหมู่:เภสัชวิทยา หมวดหมู่:การวิจัยทางคลินิก หมวดหมู่:ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์", "title": "การทดลองแบบอำพราง" }, { "docid": "202279#12", "text": "ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา (งานวิจัย)", "title": "ฮวานง็อก" }, { "docid": "676945#8", "text": "PCP ถูกสังเคราะห์ในพ.ศ. 2469. ในการสังเคราะห์ช่วงแรกๆนั้น ในความจริงแล้ว PCP เป็นตัวสื่อของ PCC. PCP ถูกค้นพบอย่างบังเอิญโดย Victor Maddox นักเคมีที่ Parke-Davis ในมิชิแกน ในขณะที่เขากำลังตรวจสอบตัวอย่างยาแก้ปวดที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา แม้ว่าการไม่ได้คาดหวังในการเกิดของ PCP นั้นแต่ PCP ก็ได้ถูกระบุว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าสนใจและเป็นตัวแทนของตัวอย่างในการทดสอบเภสัชวิทยา แนวโน้มผลของเภสัชวิทยาในทางการสืบสวนเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนาอย่างรวดเร็วของ PCP และได้รับการอนุมัติให้เป็นสารใช้ตรวจสอบยาเสพติดภายใต้ชื่อทางการค้าที่มีชื่อว่า \" Sernyl \" ในยุคทศวรรศ 2490ได้ถูกใช้เป็นยาระงับความเจ็บปวด (anesthetic) แต่ว่ายาตัวนี้มีค่าครึ่งชีวิตที่ยาวนานและก่อให้เกิดผลข้างเคียง (side effects) อาทิ อาการประสาทหลอน(hallucinations) บ้า(mania) เพ้อ(delirium) และสับสน(disorientation) โดยถูกถอดถอนออกในปีพ.ศ. 2508 และถูกจำกัดการใช้ยา", "title": "เฟนไซคลิดีน" }, { "docid": "15433#0", "text": "เภสัชเคมี () เป็นสาขาวิชาที่เกิดจากการผสมผสานกันของศาสตร์หลายสาขาโดยเฉพาะเคมีและเภสัชกรรม เพื่อการค้นหาและออกแบบตัวยา เภสัชเคมีจะเกี่ยวข้องกับการศึกษาเอกลักษณ์ทางเคมีของตัวยา การสังเคราะห์ตัวยา และการพัฒนาสารเคมีตัวใหม่ที่เหมาะสำหรับการรักษาโรค รวมถึงการศึกษายาที่มีอยู่เดิมในส่วนของคุณสมบัติทางเคมีกับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา-พิษวิทยา เช่น ความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างการออกฤทธิ์และโครงสร้างของยา (Quantitative Structure-Activity Relationship: QSAR) เป็นต้น\nขั้นตอนแรกของการค้นพบยา (drug discovery) เกี่ยวข้องกับการหาเอกลักษณ์ของสารประกอบที่น่าสนใจใหม่ เรียกว่า \"ฮิตส์\" (\"hits\") โดยการคัดสรรสารประกอบหลายตัวที่มีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาตรงกับที่เราต้องการ ฮิตส์เหล่านี้อาจมาจากแหล่งธรรมชาติเช่น พืช สัตว์ เชื้อรา หรือบางครั้งมาจากการสังเคราะห์ เช่น สารประกอบที่สังเคราะห์สะสมไว้เดิม โดยเฉพาะจากเทคนิคเคมีเชื่อมโยง (combinatorial chemistry) โดยอาศัยองค์ความรู้ทางเคมีอินทรีย์ขั้นสูง วิทยาการคอมพิวเตอร์ และสถิติ เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลากระบวนการสรรหาให้เร็วขึ้น", "title": "เภสัชเคมี" }, { "docid": "61677#1", "text": "ในปี พ.ศ. 2485 ศาสตราจารย์ นพ.อวย เกตุสิงห์ ได้ศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของต้นขี้เหล็ก พบว่าใบและดอกขี้เหล็กทำให้เกิดอาการง่วงซึมและมีพิษน้อยกว่าสมุนไพรชนิดอื่นๆ ที่ได้ศึกษา ต่อมาจึงมีผู้ศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดใบขี้เหล็กอีกครั้งโดยใช้แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลาย พบว่าสารสกัดนี้มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง เพิ่มความตึงตัวของกล้ามเนื้อเรียบ และมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2513 คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนอตทิงงัม ประเทศอังกฤษได้รายงานว่าสามารถสกัดสารชนิดใหม่จากใบขี้เหล็กได้ โดยตั้งชื่อว่าบาราคอล (barakol) ซึ่งมีฤทธิ์กล่อมประสาทและลดความกังวล แต่ภายหลังมีการพบว่ามีพิษต่อตับด้วยเช่นกัน", "title": "ขี้เหล็ก" }, { "docid": "15844#3", "text": "ในช่วงแรกของการศึกษาด้านเภสัชวิทยานั้นจะมุ่งเน้นไปที่การศึกษาสารที่ได้จากธรรมชาติเป็นหลัก โดยส่วนคือสารสกัดที่ได้จากพืช แต่หลังจากการพัฒนาทางด้านชรวการแพทย์ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการปรับประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่ได่จากการศึกษาทางเภสัชวิทยาในห้องปฏิบัติการไปในการบำบัดรักษาโรคเพิ่มมากขึ้น[9] ในปัจจุบัน เภสัชกรในฐานะผู้ศึกษาหลักด้านเภสัชวิทยาใช้ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาพันธุศาสตร์ อณูชีววิทยา เคมีและเครื่องมือขั้นสูงอื่น ๆ เพื่อแปลงข้อมูลระดับโมเลกุลหรือกำหนดเป้าหมายการออกฤทธิ์ของยาระดับโมเลกุลเพื่อการบำบัดรักษาและควบคุมโรค ข้อบกพร่องของร่างกายหรือเชื้อก่อโรคที่จำเพาะ รวมไปถึงการสร้างวิธีการในการดูแลป้องกัน การวินิจฉัย และการพัฒนายาเพื่อการรักษาในระดับบุคคล (personalized medicine)", "title": "เภสัชวิทยา" }, { "docid": "473702#2", "text": "ใช้เป็นยาสมุนไพร มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในการต้านเชื้อแบคทีเรียและลดความดันโลหิตสูง", "title": "ฉัตรพระอินทร์" }, { "docid": "44984#11", "text": "การศึกษาทางเภสัชวิทยาคือการศึกษาเกี่ยวกับผลของยา ต่อร่ายกายสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะการศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาภายในและภายนอกร่างกายว่ามีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของอวัยวะภายในร่ายกายหรือไม่ เมื่อยาที่ผ่านการทดสอบทางเภสัชวิทยาแล้วว่ามีคุณสมบัติทางการรักษาจะนำมาพัฒนาเป็นเภสัชภัณฑ์ การศึกษาทางเภสัชวิทยาประกอบด้วยการศึกษากลไกการออกฤทธิ์, การตอบสนองของร่างกายต่อยา, อันตรกิริยา, ผลข้างเคียงและความเป็นพิษ และการใช้ยาเพื่อการรักษาโรค โดยอาจแบ่งการศึกษาผลทางพิษของยาหรือสารที่เป็นพิษแยกออกจากวิชาเภสัชวิทยาไปเป็นวิชาพิษวิทยา ", "title": "เภสัชศาสตร์" }, { "docid": "757392#1", "text": "ไตรเทอร์พีนอยด์ (triterpenoid) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเช่นเดียวกับไตรเทอร์พีน แต่จับกับหมู่ฟังก์ชัน บางครั้งสองคำนี้ใช้แทนกันได้ ไตรเทอร์พีนอยด์เป็นสารที่มีคุณค่าทางเคมีและเภสัชวิทยา", "title": "ไตรเทอร์พีน" }, { "docid": "649383#1", "text": "ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของกัญชาเทศ", "title": "กัญชาเทศ" }, { "docid": "183225#12", "text": "เจ้าพ่ออาชญากร มารับช่วงต่อจาก ฟัลโคนี\nผู้จัดการเงินสำหรับอาชญากร\nนักจิตเภสัชวิทยา ปัจจุบันถูกประสาทหลอน ซึ่งเมอร์ฟีได้มาแสดงบทตัวประกอบ หลังจากแสดงใน แบทแมน บีกินส์", "title": "แบทแมน อัศวินรัตติกาล" }, { "docid": "44984#12", "text": "เภสัชวิทยายังมีสาขาสำคัญอีก 2 สาขา คือ เภสัชจลนศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับช่วงเวลาของยาที่อยู่ในร่างกาย การสลายตัวและครึ่งชีวิตรวมถึงปริมาณการกระจายตัวของยา และสาขาเภสัชพลศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับบริเวณการออกฤทธิ์ของยาและบริเวณที่เกิดพิษ", "title": "เภสัชศาสตร์" }, { "docid": "117971#16", "text": "-แบ่งตามคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา ", "title": "สารพฤกษเคมี" }, { "docid": "813118#35", "text": "หมวดหมู่:เภสัชวิทยา หมวดหมู่:เภสัชศาสตร์ หมวดหมู่:กลุ่มอาการ", "title": "กลุ่มอาการเซโรโทนิน" }, { "docid": "12072#0", "text": "ประสาทวิทยาศาสตร์ () เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง (neuroanatomy) , หน้าที่, การเจริญเติบโต (neural development) , พันธุศาสตร์, ชีวเคมี, สรีรวิทยา, เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยาของระบบประสาท นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ยังถือว่าเป็นสาขาของประสาทวิทยาอีกด้วย", "title": "ประสาทวิทยาศาสตร์" }, { "docid": "15844#1", "text": "การศึกษาด้านเภสัชวิทยานั้นครอบคลุมองค์ประกอบและคุณสมบัติต่างๆของยา การสังเคราะห์และการออกแบบยา กลไกการออกฤทธิ์ของยาทั้งในระดับโมเลกุลและระดับเซลล์ ผลของยาต่ออวัยวะและระบบต่างๆของร่างกาย ระบบการรับส่งสัญญาณการสื่อสารระดับเซลล์ การวินิจฉัยระดับโมเลกุล อันตรกิริยา พิษวิทยา ชีววิทยาของเซลล์ การบำบัดรักษา การประยุกต์ใช้ยาทางการแพทย์ และความสามารถในการต้านทานการเกิดโรคของยา ทั้งนี้ การศึกษาด้านเภสัชวิทยามุ่งเน้นไปที่ 2 ประเด็นหลัก คือ เภสัชพลศาสตร์ และเภสัชจลนศาสตร์ โดยเภสัชพลศาสตร์จะเป็นการศึกษาถึงผลของยาต่อระบบชีวภาพต่างๆของสิ่งมีชีวิต ส่วนเภสัชจลนศาสตร์ จะศึกษากระบวนการการตอบสนองหรือการจัดการของระบบภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตต่อยา หากกล่าวสรุปแล้ว เภสัชพลศาสตร์จะอภิปรายได้ถึงผลของยาต่อร่างกาย และเภสัชจลนศาสตร์จะกล่าวถึงการดูดซึมยา การกระจาย การเปลี่ยนแปลงยา และการกำจัดยาของร่างกาย (ADME) ทั้งนี้ บ่อยครั้งที่เกิดความสับสนและเข้าใจผิดว่า เภสัชวิทยา และเภสัชศาสตร์ เป็นคำพ้องซึ่งกันและกัน แต่โดยรายละเอียดของศาสตร์ที่งสองแล้ว มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว เภสัชวิทยาจั้นจัดเป็นชีวเวชศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับการวิจัย การค้นคว้า และการจำแนกสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ การศึกษาการทำงานของเซลล์และจุลชีพที่เกี่ยวเนื่องกับสารเคมีเหล่านั้น ในทางตรงกันข้าม เภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษาทางวิชาชีพบริการทางสุขภาพที่มุ่งเน้นการปรับประยุกตฺใช้หลักการและองค์ความรู้ต่างๆที่ได้จากการศึกษาทางเภสัชวิทยามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค ดังนั้น ความแตกต่างหลักระหว่างทั้งสองศาสตร์ คือ ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยโดยตรงโดยการปฏิบัติด้านเภสัชกรรม และสาขาการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ที่ขับเคลื่อนโดยเภสัชวิทยา", "title": "เภสัชวิทยา" }, { "docid": "181532#41", "text": "-วท.ม. สาขาเภสัชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", "title": "คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย" }, { "docid": "52261#3", "text": "อวยเข้ารับราชการเป็นอาจารย์และทำงานพร้อมศึกษาต่อ ณ คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล และสอบได้ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตใน พ.ศ. 2478 ในปีต่อมาอวยสามารถสอบทุนอเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮุมโบลท์ ไปศึกษาเพิ่มเติมในวิชาสรีรวิทยา เภสัชวิทยา และเคมี ณ มหาวิทยาลัยฮัมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี ภายหลังสำเร็จการศึกษาแล้วนั้น อวยได้กลับมาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โดยได้ดำรงตำแหน่งสำคัญต่างๆ อาทิ หัวหน้าแผนกสรีรวิทยา, รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน), หัวหน้าแผนกเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์, คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบันสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), รักษาการผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ อวยยังเป็นบิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต์ เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้ง อายุรเวทวิทยาลัย ให้ความสำคัญแก่วิธีการรักษาแบบตะวันออก ตามแนวของหมอชีวกโกมารภัจจ์", "title": "อวย เกตุสิงห์" }, { "docid": "23217#8", "text": "รหัสระดับที่ 4 ระบุกลุ่มย่อยตามเคมี/การรักษา/เภสัชวิทยา ประกอบด้วยตัวอักษร 1 ตัว", "title": "ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์" }, { "docid": "3886#3", "text": "สาขาวิชาอื่น ๆ ที่ถือกำเนิดจากการศึกษาวิจัยทางสรีรวิทยา ได้แก่ ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ชีวกลศาสตร์ และเภสัชวิทยา", "title": "สรีรวิทยา" } ]
1675
ความกลัวในสมอง เกิดขึ้นที่สมองส่วนไหน?
[ { "docid": "593770#1", "text": "มีการทดลองที่ได้ทำแล้วหลายอย่างเพื่อจะสืบหาว่า สมองแปลผลจากสิ่งเร้าได้อย่างไร และสัตว์มี \"การตอบสนองประกอบด้วยความกลัว\"ที่เกิดขึ้นได้อย่างไร จริง ๆ แล้ว ความรู้สึกหวาดกลัว เป็นสิ่งที่กำหนดไว้กระทั่งในยีนของมนุษย์ เพราะความกลัวนั้นจำเป็นต่อการมีชีวิตรอดอยู่ได้ของแต่ละคน นอกจากนั้นแล้ว นักวิจัยยังพบว่า ความกลัวก่อร่างสร้างตัวอย่างไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ และเขตสมองชื่อว่า อะมิกดะลา มีบทบาทในการปรับสภาวะให้เกิดความกลัว (fear conditioning)", "title": "การประมวลผลให้เป็นความกลัวในสมอง" }, { "docid": "593770#3", "text": "ในกระบวนการปรับสภาวะให้เกิดความกลัว (fear conditioning) วงจรประสาทที่เกี่ยวข้องก็คือ\nเนื่องจากว่า วิถีประสาทเหล่านี้ ไปรวมตัวลงที่อะมิกดะลาด้านข้าง และเพราะว่า กระบวนการเสริมกำลังการส่งสัญญาณในระยะยาว (long-term potentiation, ตัวย่อ LTP) และสภาพพลาสติกของไซแนปส์ที่เพิ่มระดับการตอบสนองของนิวรอนที่อะมิกดะลาด้านข้างต่อตัวกระตุ้นมีเงื่อนไข เกิดขึ้นที่อะมิกดะลาด้านข้าง\nดังนั้น ข้อมูลเกี่ยวกับตัวกระตุ้นมีเงื่อนไขจึงสามารถจะเดินทางไปจากอะมิกดะลาด้านข้าง ไปถึงนิวเคลียสกลางของอะมิกดะลา \nคือ ส่วนฐาน (basal) และ Intercalated cells ของอะมิกดะลาเชื่อมอะมิกดะลาส่วนข้างไปยังนิวเคลียสกลางทั้งโดยตรงและโดยอ้อม\nวิถีประสาทจากนิวเคลียสกลางของอะมิกดะลาที่ดำเนินไปยังเขตต่อไปนั่นแหละ เป็นส่วนในสมองที่ควบคุมพฤติกรรมเพื่อป้องกันตน (เช่นการมีตัวแข็ง) ควบคุมการตอบสนองของระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system) และควบคุมการตอบสนองของระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งล้วนแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเนื่องด้วยความกลัว\nนอกจากนี้แล้ว งานวิจัยเร็ว ๆ นี้ยังแสดงว่า เขตคอร์เทกซ์ก่อนระบบลิมบิกมีบทบาทในการแสดงออกความกลัวเช่นเดียวกัน ซึ่งอาจจะเป็นเพราะมีการเชื่อมต่อกับส่วนฐานและนิวเคลียสกลางของอะมิกดะลา", "title": "การประมวลผลให้เป็นความกลัวในสมอง" } ]
[ { "docid": "574894#2", "text": "ภาวะละเลยกึ่งปริภูมิเกิดขึ้นโดยมากจากการบาดเจ็บในสมองซีกขวา ก่อให้เกิด ภาวะละเลยทางการเห็น () ของปริภูมิในด้านซ้าย ภาวะละเลยปริภูมิทางด้านขวามีน้อย เนื่องจากว่า มีระบบการประมวลผลของปริภูมิด้านขวา ในทั้งสมองซีกซ้ายและซีกขวา เปรียบเทียบกับปริภูมิด้านซ้าย ซึ่งในสมองของบุคคลที่ถนัดขวาโดยมาก (คือมีสมองด้านซ้ายเป็นใหญ่) จะมีระบบประมวลผลเพียงแค่ในสมองซีกขวาเท่านั้น ถึงแม้ว่าภาวะนี้จะมีผลอย่างเห็นได้ชัดในการรับรู้ทางตา (visual perception) การละเลยในการรับรู้ทางประสาทอื่น ๆ ก็มีได้ ไม่ว่าจะโดยลำพังหรือเกิดขึ้นพร้อมกับ\"ภาวะละเลยทางการเห็น\"", "title": "ภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ" }, { "docid": "574894#9", "text": "แม้ว่าภาวะละเลยกึ่งปริภูมิก็ปรากฏเมื่อมีความเสียหายต่อสมองซีกซ้าย ซึ่งทำให้เกิดภาวะละเลยในปริภูมิด้านขวา แต่ว่า ภาวะนี้เกิดขึ้นบ่อยกว่าเมื่อมีความเสียหายในสมองซีกขวา โดยมีทฤษฎีว่า ความไม่เสมอกันนี้ เกิดจากความที่สมองซีกขวามีกิจเฉพาะในการรับรู้ปริภูมิและในการทรงจำ ในขณะที่สมองซีกซ้ายมีกิจเฉพาะในเรื่องภาษา ดังนั้น จึงมีการประมวลผลเกี่ยวกับลานสายตาด้านขวาในซีกสมองทั้งสองข้าง และเพราะเหตุนั้น สมองซีกขวาจึงสามารถทำกิจที่สูญเสียไปทางสมองซีกซ้าย แต่ว่า ในนัยตรงข้ามกันไม่เป็นอย่างนั้น", "title": "ภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ" }, { "docid": "601935#41", "text": "เมื่อระบบสมองกลีบหน้าส่วนหน้าด้านใน (anteromedial) มีความเสียหาย\nการเคลื่อนไหวที่ประกอบด้วยจุดมุ่งหมายแต่ไม่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ ที่เข้าไปสำรวจ เข้าไปจับ \nก็ถูกปล่อยออก (คือไม่มีการยับยั้ง) ในอวัยวะด้านตรงกันข้ามของซีกสมอง \nนี้เรียกว่า positive cortical tropism เพราะว่าสิ่งเร้าทางประสาทสัมผัส\nเช่นความรู้สึกสัมผัสที่เกิดขึ้นที่ด้านหน้าของนิ้วหรือฝ่ามือ\nมีความสัมพันธ์กับการเกิดขึ้นของการเคลื่อนไหวที่เพิ่มหรือยกระดับการเร้าผ่านการเชื่อมต่อป้อนกลับแบบบวก (ดูที่กล่าวมาแล้วด้านบนเกี่ยวกับ \"สมองกลีบข้างและสมองกลีบท้ายทอย\")", "title": "กลุ่มอาการมือแปลกปลอม" }, { "docid": "601935#45", "text": "เมื่อมีการขาดการเชื่อมต่อกันอย่างสำคัญระหว่างซีกสมองทั้งสองข้างที่เกิดจากความเสียหายที่ corpus callosum\nระบบ\"ผู้กระทำ\"ในซีกสมองหลักที่เชื่อมต่อกับระบบภาษา ซึ่งยังสามารถควบคุมแขนขาที่ถนัดก็จะสูญเสียโดยระดับหนึ่ง\nซึ่งความสามารถในการควบคุมโดยตรงและโดยอ้อมซึ่ง\"ผู้กระทำ\"ที่อยู่ในซีกสมองที่ไม่เป็นใหญ่ และซึ่งแขนขาที่ไม่ถนัด\nเป็นแขนขาที่ก่อนหน้านั้นตอบสนองและ \"เชื่อฟัง\" \"ผู้กระทำหลัก\"\nดังนั้น การกระทำมีจุดมุ่งหมายที่เกิดขึ้นนอกเหนืออิทธิพลของ\"ผู้กระทำหลัก\" ก็สามารถเกิดขึ้นได้\nและสมมุติฐานพื้นฐาน (ที่สมองมีอยู่) ว่า มือทั้งสองนั้นมีการควบคุมโดย\"ผู้กระทำหลัก\" ก็กลายเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง\nความรู้สึกว่าเป็นตนที่ปกติเกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนไหวของแขนขาที่ไม่ถนัด ก็จะไม่เกิดขึ้นในกรณีนี้ หรือว่า เกิดขึ้นแต่ไม่ปรากฏให้รับรู้ได้\nดังนั้น คนไข้จึงต้องสร้างคำอธิบายใหม่ เพื่อที่จะเข้าใจถึงสถานการณ์ที่\"ผู้กระทำ\"ในซีกสมองที่ไม่เป็นหลักสามารถที่จะก่อให้เกิดการทำงานในแขนขาที่ไม่ถนัด", "title": "กลุ่มอาการมือแปลกปลอม" }, { "docid": "638161#14", "text": "ความผิดปกติทางตาในอาการนี้มักจะเกิดจากความเสียหายที่ยอดส่วนเชื่อมของสมองกลีบขมับ-สมองกลีบท้ายทอย (temporal-occipital) ในซีกสมองทั้งสองข้าง\nสมองกลีบขมับเป็นส่วนด้านข้างของสมองข้างหู และสมองกลีบท้ายทอยเป็นส่วนหลังของสมอง\nดังนัน ส่วนเชื่อมจึงอยู่ที่ข้าง ๆ ด้านหลังของสมอง\nในอาการนี้ ส่วนยอดของสมองกลีบข้างในซีกสมองทั้งสมองอาจจะเกิดความเสียหายด้วย\nสมองกลีบข้างเป็นส่วนตรงกลางด้านบนของสมอง", "title": "Bálint's syndrome" }, { "docid": "593770#16", "text": "ความกลัวเกิดขึ้นเนื่องจากตัวกระตุ้นต่าง ๆ กัน และมีกระบวนการทางชีวเคมีดังที่กล่าวไปแล้ว\nวิลเลียม อาร์เอ็ม และคณะ ศึกษาเรื่องสหสัมพันธ์ทางประสาท (Neural correlate) ของการทำงานร่วมกันระหว่างข้อมูลทางภาษาและข้อมูลทางตา\nงานวิจัยนั้นตรวจสอบดูว่า ข้อมูลทางภาษาและทางตาทำงานร่วมกันอย่างไรเพื่อก่อให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก\nโดยใช้ปรากฏการณ์สามัญในการถ่ายหนังอย่างหนึ่งว่า การแสดงภาพทางตาที่เป็นกลาง ๆ ปรากฏว่า เพิ่มความรู้สึกกลัวหรือความไม่แน่ใจซึ่งเริ่มขึ้นจากข้อมูลทางประสาทอื่นเช่นทางภาษา\nได้มีการใช้หลักการนี้เพื่อเพิ่มความกลัวโดยแสดงตัวกระตุ้นทางตาที่เป็นกลาง ๆ\nไอเดียของหลักการก็คือ ข้อมูลทางตาเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับตัวกระตุ้น (ซึ่งในที่นี้คือภาษา) ที่ทำให้เกิดความกลัว โดยทำสิ่งที่เพียงกล่าวไว้ในประโยคคำพูดที่เป็นนามธรรมให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมา\nเชื่อกันว่า การทำงานที่เกิดขึ้นที่ temporal pole ด้านหน้าโดยเฉพาะ ทำหน้าที่เชื่อมข้อมูลความรู้สึกที่มาจากวิถีประสาทหลาย ๆ ทางเช่นข้อมูลทางตาและข้อมูลทางภาษา", "title": "การประมวลผลให้เป็นความกลัวในสมอง" }, { "docid": "601935#42", "text": "แต่ถ้าระบบประสาทที่จุดเชื่อมระหว่างสมองกลีบขมับ สมองกลีบข้าง และสมองกลีบท้ายท้อย ส่วนหลังด้านข้าง (posterolateral) เกิดความเสียหาย\nการเคลื่อนไหวประกอบด้วยจุดมุ่งหมายที่อยู่นอกอำนาจจิตใจที่เป็นไปในลักษณะของการปล่อยและการดึงออก เช่นการยกขึ้นหรือการหลีกเลี่ยงโดยสัญชาตญาณ \n(เป็นพฤติกรรมที่เด็นนี่-บราวน์เรียกว่า \"negative cortical tropism ความเบนแบบลบของคอร์เทกซ์\") \nก็ถูกปล่อยออก (คือไม่มีการยับยั้ง) ในอวัยวะด้านตรงกันข้ามของซีกสมอง \nนี้เรียกว่า negative cortical tropism เพราะว่าสิ่งเร้าทางประสาทสัมผัส\nเช่นความรู้สึกสัมผัสที่เกิดขึ้นเนื่องจากด้านหน้าของนิ้วหรือฝ่ามือ\nมีความสัมพันธ์กับการเกิดขึ้นของการเคลื่อนไหวที่ลดหรือกำจัดการเร้าผ่านการเชื่อมต่อป้อนกลับแบบลบ (ดูที่กล่าวมาแล้วด้านบนเกี่ยวกับ \"สมองกลีบข้างและสมองกลีบท้ายทอย\")", "title": "กลุ่มอาการมือแปลกปลอม" }, { "docid": "568270#22", "text": "รอยโรคที่รอยต่อของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอย (temporo-occipital junction) ซีกซ้ายข้างเดียว ก่อให้เกิดภาวะไม่รู้วัตถุ แต่ไม่มีผลต่อกระบวนการรู้จำใบหน้า แต่ว่า เพราะว่ามีบางกรณีที่ถูกบันทึกว่า ความเสียหายต่อสมองข้างซ้ายซีกเดียวก่อให้เกิดภาวะบอดใบหน้า จึงมีการเสนอว่า ความบกพร่องของการรู้จำใบหน้า ที่เกิดจากความเสียหายในสมองซีกซ้ายข้างเดียว เป็นเพราะมีความผิดปกติ ที่เข้าไปห้ามกระบวนการค้นคืนความจำเกี่ยวกับข้อมูลของบุคคล ที่ปรากฏอยู่ในสายตานั้น", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" } ]
2647
ครอบครัวตึ๋งหนืด ในประเทศไทยเริ่มออกจำหน่ายภายในปี พ.ศ.ใด?
[ { "docid": "359670#0", "text": "ครอบครัวตึ๋งหนืด ( ; ) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากเกาหลีใต้ เป็นการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ จัดพิมพ์ด้วยระบบภาพสี และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทย โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ในประเทศไทยเริ่มออกจำหน่ายภายในปี พ.ศ. 2550 โดยเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับชาวเกาหลี ซึ่งเห็นแก่กินแต่ตอนหลังเริ่มหันมาให้ความสำคัญต่อความรู้ด้านการมัธยัสถ์อดออม และได้รับการตอบรับเชิงบวกในประเทศไทย โดยในช่วง พ.ศ. 2554 ครอบครัวตึ๋งหนืดมียอดขายเป็นอันดับหนึ่ง จากการจัดอันดับของศูนย์จำหน่ายหนังสือบีทูเอสในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ด้วยเช่นกัน การ์ตูนความรู้ชุดดังกล่าว ยังมีความสัมพันธ์กับการ์ตูนชุด ครอบครัวหัวกะทิ โดยการ์ตูนทั้งสองชุดมีตัวตัวละครที่เป็นพี่น้องกัน และเป็นการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับไอคิว จัดพิมพ์ด้วยระบบภาพสี ซึ่งมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์เช่นกัน และนอกจากนี้ ยังมีการ์ตูนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ชุด สุดป่วนก๊วนกระเป๋าตุง โดยเป็นผลงานของทีมผู้เขียนครอบครัวตึ๋งหนืด และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เช่นกัน และยังมีการ์ตูนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ชุด เซฟตีแมน ฮีโร่พันธุ์โก๊ะ โดยเป็นผลงานของทีมผู้เขียนครอบครัวตึ๋งหนืด และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ อีกเช่นกัน", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" } ]
[ { "docid": "669154#0", "text": "ครอบครัวตึ๋งหนืดตืดขั้นเทพ เป็นละครแนวคอเมดี้ จากหนังสือการ์ตูนเกาหลี\"ครอบครัวตึ๋งหนืด\" มาดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ ผลิตโดย บริษัท มาสเตอร์พีซ เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ จำกัด นำแสดงโดย ชยพล บุนนาค, ศรศิลป์ มณีวรรณ์, กุมภ์ ทองพุทธรักษ์, พรชดา เครือคช, ธีระธันญ์ ขจรชัยเดชาวัฒน์ และนักแสดงอื่นอีกหลายราย กำกับการแสดงโดย ประดิษฐ์ สมดังเจตน์ ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.15 - 18.45 น. โดยเริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558 ถึง 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ทาง ช่อง 7 สี และ ช่อง 7 HD", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืดตืดขั้นเทพ" }, { "docid": "359670#25", "text": "\"ครอบครัวหัวกะทิ\" เป็นการ์ตูนประเภทพัฒนาตนเอง มีทีมงานผู้เขียนเดียวกันครอบครัวตึ๋งหนืด เริ่มพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ในปี พ.ศ. 2550 โดยมีทั้งหมดด้วยกัน 2 เล่ม", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" }, { "docid": "146373#20", "text": "Ratatouille ถูกจัดจำหน่ายในรูปแบบแผ่นบลูเรย์ความละเอียดสูง และแผ่นดีวีดี เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 โดยมีฉากที่ตัดออกและเบื้องหลังภาพยนตร์ ภายในแผ่นยังมีภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องสั้นชื่อ Lifted โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับมนุษย์ต่างดาวฝึกหัดต้องพยายามที่จะลักพาตัวมนุษย์ที่กำลังหลับอยู่ โดยทั้งเรื่องไม่มีบทพูด และภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องสั้นอีกเรื่องหนึ่งชื่อ Your Friend the Rat รวมถึงฉากสัมภาษณ์ของและเชฟโธมัส เคลเลอร์", "title": "ระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก" }, { "docid": "359670#12", "text": "ในเล่มที่ 17 ก็มีรายการแข่งขันการประหยัดอีกครั้งปรากฏขึ้นในชื่อ เกมซ่าท้าตึ๋งหนืด โดยมีเงินรางวัลสูงสุด 1,000,000 บาท ซึ่งแน่นอนว่าครอบครัวตึ๋งหนืดไม่พลาดในการสมัครเข้าร่วมรายการ และได้คว้าแชมป์เกมซ่าท้าตึ๋งหนืดด้วย ซึ่งพวกเขาต้องเจอกับคู่แข่งหลายทีม โดยจาก 1,000 ทีมจะคัดให้เหลือ 10 ทีม แต่ตอนสุดท้ายเหลือแค่ 3 ทีมที่ได้แข่งขันเท่านั้น เช่น ทีมนักกีฬาท้าลุย ทีมเด็กหอหัวกะทิ ทีมต่างชาติ ทีม BMW ทีมสองสาวจุ๊บุ และทีมหนุ่มเนื้อทอง โดยภารกิจแรกจาก 1,000 ทีมคัดเหลือ 10 ทีม (สอบข้อเขียนเกมซ่าท้าตึ๋งหนืด) ภารกิจที่ 2 คัดเหลือ 8 ทีม 2 ทีมที่เหลือจะตกรอบ (ภารกิจยื้อยุดหยุดความหิว) ภารกิจที่ 3 คัดเหลือ 5 ทีม 3 ทีมตกรอบ (ภารกิจเดินทางด่วนจี๋ประหยัดสุดใจ) ภารกิจที่ 4 คัดเหลือ 2 ทีม 3 ทีมตกรอบ (ภารกิจนักคำนวณค่าน้ำค่าไฟอัจฉริยะ ครอบครัวตึ๋งหนืดตกรอบในตอนนี้) ภารกิจที่ 5 ผู้ตกรอบทั้งหมดคัด 1 ทีมกลับไปแข่ง (ภารกิจพลิกบ้านควานหาของเก่า ครอบครัวตึ๋งหนืดเข้ารอบ) ตั้งแต่ภารกิจที่ 6-9 เปลี่ยนเป็นการสะสมคะแนน ผู้ที่ทำภารกิจสำเร็จจะได้ 1 คะแนน โดยทีมครอบครัวตึ๋งหนืดได้ 2 คะแนน (ภารกิจพี่เลี้ยงจอมประหยัด และภารกิจแต่งบ้านเก๋ไก๋ด้วยของรีไซเคิล) ทีมนักกีฬาท้าลุยได้ 1 คะแนน (ภารกิจช็อปกระหน่ำ 1,000 บาท) ทีมเด็กหอหัวกะทิได้ 1 คะแนน (ภารกิจนักบริหารเวลามือทอง) ภารกิจที่ 10 เป็นรอบชิงชนะเลิศ (ภารกิจเปลี่ยนขยะไร้ค่ามาเป็นขุมทรัพย์) ผู้ที่ทำภารกิจสำเร็จจะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 บาทจากทางรายการ โดยผู้ชนะเลิศคือทีมครอบครัวตึ๋งหนืด แต่สุดท้ายก็นำไปฝากบัญชีธนาคาร", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" }, { "docid": "359670#26", "text": "\"สุดป่วนก๊วนกระเป๋าตุง\" เป็นการ์ตูนชุดซึ่งสอดแทรกความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ มีทีมงานผู้เขียนเดียวกันครอบครัวตึ๋งหนืด เริ่มพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ในปี พ.ศ. 2552 โดยมีทั้งหมดด้วยกัน 5 เล่ม", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" }, { "docid": "146373#0", "text": "ระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก เป็นชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง Ratatouille ผลิตโดย พิกซาร์ และจัดจำหน่ายโดย วอล์ท ดิสนีย์ แอนิเมชัน กำกับภาพยนตร์โดย แบรด เบิร์ด (Brad Bird) ออกฉายในประเทศไทยในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 และออกฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ถือเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันลำดับที่ 8 ของพิกซาร์ โดยตั้งชื่อตามอาหารของฝรั่งเศส \"ราทาทุย\" (ออกเสียง \"แรททาทูอี\" ในภาษาอังกฤษ) ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์, รางวัลลูกโลกทองคำ, รางวัลบาฟต้า, และรางวัลแกรมมี่", "title": "ระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก" }, { "docid": "15648#8", "text": "ออกอากาศทางสถานีนิปปอนทีวี ตั้งแต่เมื่อวันที่ 24 กันยายน ถึง 4 เมษายน พ.ศ. 2527 มีความยาวทั้งสิ้น 23 ตอน ได้นำออกฉายในประเทศไทยครั้งแรกในช่อง IBC ในชื่อเรื่อง \"นักรักโลกมายา\" (ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็น UBC และ True ในปัจจุบัน) โครงเรื่องหลักๆ จะเหมือนกับในฉบับหนังสือการ์ตูน โดยเริ่มตั้งแต่ตอนแรกที่มายะต้องวิ่งส่งบะหมี่คนเดียว จนถึงช่วงที่แสดงบทเฮเลน เคลเลอร์ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดและลำดับเหตุการณ์ในเนื้อเรื่องไปมากพอสมควร เช่น ในฉากที่มายะจะต้องได้ประชันฝีมือครั้งแรกกับอายูมิในการเล่นละครใบ้ กลับถูกเปลี่ยนเป็นให้มายะได้แต่แอบดูการแสดงของอายูมิเท่านั้น และหลังจากที่มายะเข้าคณะละคร ก็ได้รับบทเป็นเบ็ธ ในเรื่องสี่ดรุณีทันที โดยไม่มีการกล่าวถึงเหตุการณ์ก่อนที่จะได้รับบทเลย ซึ่งหากเปรียบเทียบกันแล้ว เวอร์ชัน พ.ศ. 2548 จะมีเนื้อเรื่องที่ตรงกับในฉบับหนังสือการ์ตูนมากกว่า\nมีความยาว 3 ตอนจบ ออกจำหน่ายในช่วงปี พ.ศ. 2541-2542 โดยใช้ชื่อว่า \"หน้ากากแก้ว เด็กสาวผู้มีหน้ากากพันหน้า\" () ผลิตโดย TMS และจัดจำหน่ายโดย โพลีแกรม", "title": "หน้ากากแก้ว" }, { "docid": "359670#27", "text": "\"เซฟตีแมน ฮีโร่พันธุ์โก๊ะ\" เป็นการ์ตูนประเภทวิทยาศาสตร์ มีทีมงานผู้เขียนเดียวกันครอบครัวตึ๋งหนืด เริ่มพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ในปี พ.ศ. 2561", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" }, { "docid": "359670#24", "text": "\"ตึ๋งหนืดตะลอนทัวร์\" คือ การ์ตูนใหม่ เป็นการ์ตูนในแนวการเดินทางรอบโลกให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ซึ่งไม่ได้เน้นเศรษฐศาสตร์ (แต่ก็ยังมีความรู้ในการประหยัดแทรกอยู่) และตัวละครยังเหมือนเดิมกับครอบครัวตึ๋งหนืด (ยกเว้นคารุและโดโร่) ราวกับได้อ่านครอบครัวตึ๋งหนืด + ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า รวมเป็นเล่มเดียวกัน", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" } ]
3926
วัดอัมพวัน ก่อตั้งเมื่อไหร่?
[ { "docid": "304270#1", "text": "วัดอัมพวัน ตั้งอยู่เลขที่ ๙๑ หมู่ ๑ ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย สร้างขึ้นในราวพุทธศักราช ๒๔๑๕ ได้รับพระราชทานวิสุง คามสีมาเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๒๐ ตามตำนานกล่าว กันว่ากรมช้างในพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ ได้ให้ควาญช้างนำช้าง ไปเลี้ยงยังป่าละเมาะใกล้คลองตาสา หรือวัดกลาง ในปัจจุบัน พื้นที่วัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำลพบุรีทางด้านทิศเหนือ และแวดล้อมด้วยหมู่บ้านชาวมอญมาแต่อดีต สันนิษฐานว่าเป็นชาวมอญที่สืบเชื้อสายกันมา ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา สืบเนื่องจากที่ชาวมอญจากเมืองมอญอพยพตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเข้ามา หลังประกาศเอกราช ณ เมืองแครง โดยมีพระมหาเถรคันฉ่องเป็นผู้ช่วยเหลือ ครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ปูนบำเหน็จแก่ขุนนางและพระสงฆ์มอญขนานใหญ่ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับชุมชนมอญบางขันหมาก จังหวัดลพบุรีนั้น น่าจะเห็นเด่นชัดในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ที่สร้างพระราชวังพระนารายณ์ราชนิเวศน์ที่ลพบุรี คงได้เกณฑ์ชาวมอญส่วนหนึ่งมาก่อเตาเผาอิฐสร้างพระราชวัง และอาราธนาพระสงฆ์มอญมาด้วย และยังสร้างวัด “ตองปุ” ให้พระสงฆ์มอญจำพรรษา นอกจากชื่อวัดอัมพวันแล้ว ยังมีชาวบ้านเรียกขานชื่อวัดไปต่าง ๆ กันอีกหลายชื่อ ได้แก่ “วัดค้างคาว” ด้วยเหตุที่สมัย ก่อนนั้นในเขตวัดอัมพวันมีค้างคาวแม่ไก่มาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" } ]
[ { "docid": "390713#0", "text": "หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ (พ.ศ. 2408 — 25 ธันวาคม พ.ศ. 2477) เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดคลองมะดัน จังหวัดสุพรรณบุรี \nหลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ ท่านเกิดในปี พ.ศ. 2408 ตรงกับปลายรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นชางตำบลบ้านตาล อำเภอสองพี่น้อง เป็นบุตรของนายโต และนางจ้อย มีพี่น้องทั้งหมด 9 คน ท่านเป็นคนที่ 2 อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2432 ณ วัดสองพี่น้อง โดยมีพระอาจารย์จันทร์ วัดทุ่งคอก เป็นอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ดิษฐ์และพระอธิการสุด เป็นพระกรรมวาจาจารย์และพระอนุสาวนาจารย์ ตามลำดับ ตั้งแต่บวชมา ท่านไม่เคยฉันเนื้อสัตว์เลย เมื่ออุปสมบทแล้วก็ได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดทุ่งคอก 2 พรรษา วัดสองพี่น้อง 7 พรรษา จากนั้นก็มาจำพรรษาอยู่ที่วัดใหม่อัมพวัน (วัดคลองมะดัน) ตลอดมา ท่านได้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดใหม่อัมพวัน ท่านได้ทำนุบำรุงวัดจนรุ่งเรือง หลวงพ่อท่านมรณภาพเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2477 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รวมสิริอายุได้ 69 ปี นับพรรษาได้ 45 พรรษา", "title": "หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ" }, { "docid": "139009#1", "text": "ทะเบียนวัดของสำนักงานศึกษาการอำเภอสามชุก ประมาณว่าสร้างราว พ.ศ. 2300 เดิมชาวบ้านเรียกว่า \"วัดอัมพวัน\" มาเปลี่ยนเป็น \"วัดสามชุก\" ภายหลัง เมื่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2481", "title": "วัดสามชุก" }, { "docid": "189651#0", "text": "ถนนสืบศิริ (Thanon Suep Siri) เป็นถนนส่วนหนึ่งของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 อยู่ในช่วงสุดท้ายจากจำนวนถนนทั้งหมด 8 ช่วง เริ่มจากแยกเข้าเมืองปักธงชัย อำเภอปักธงชัย จนถึง สามแยกวัดใหม่อัมพวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา", "title": "ถนนสืบศิริ" }, { "docid": "6803#42", "text": "วัดปรางค์หลวง วัดอัมพวัน วัดสวนแก้ว", "title": "จังหวัดนนทบุรี" }, { "docid": "207849#0", "text": "พระธรรมสิงหบุราจารย์ นามเดิม จรัญ จรรยารักษ์ ฉายา ตธมฺโม เป็นพระภิกษุชาวไทย ในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 3 ", "title": "พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)" }, { "docid": "55626#14", "text": "ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2483 ได้ศึกษาพระกัมมัฏฐาน จากครูบาอาจารย์หลายท่าน เช่น พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท) เจ้าอาวาสวัดบางนมโค หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก, พระอาจารย์เล็ก เกสโร วัดบางนมโค พระครูรัตนาภิรมย์ (อยู่ ติสฺโส) เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ หลวงพ่อเนียม วัดน้อย หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ วัดอัมพวัน (วัดคลองมะดัน) และหลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ", "title": "พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)" }, { "docid": "363800#13", "text": "ปี พ.ศ. 2479 หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ได้ปรารภถึงการเดินทางกลับจังหวัดอุบลราชธานี คณะศิษย์ทั้งหลายจึงได้จัดประชุมคณะสงฆ์และร่วมทำบุญในวันมาฆบูชา ณ วัดป่าอ้อมแก้ว หรือ วัดเกาะแก้วอัมพวัน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป็นวัดที่หลวงปู่ใหญ่เสาร์สร้างไว้เมื่อปี พ.ศ. 2473 ซึ่งการประชุมคณะสงฆ์ครั้งนี้ถือเป็นภารกิจสุดท้ายของหลวงปู่ใหญ่เสาร์ที่จังหวัดนครพนมและถือเป็นการให้โอวาทครั้งสุดท้ายแก่คณะศิษย์ที่ไม่ได้เดินทางติดตามไปที่จังหวัดอุบลราชธานี การประชุมในครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นการประชุมพระธุดงค์กรรมฐานครั้งใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครพนมในสมัยนั้น", "title": "พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)" }, { "docid": "6263#25", "text": "อุทยาน ร.2 ค่ายบางกุ้ง ดอนหอยหลอด ตลาดน้ำท่าคา วัดบางกะพ้อม วัดจุฬามณี[9] ตลาดน้ำอัมพวา ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคน พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (วัดอัมพวันเจติยาราม)", "title": "จังหวัดสมุทรสงคราม" }, { "docid": "609820#11", "text": "สนับสนุนศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ บริจาคเงินให้มูลนิธิสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธรมหาเถร) วัดสามพระยา เพื่ออุดหนุนการศึกษาเด็กขาดแคลน จัดตั้งทุนพระเทพกิตติมุนี ในมูลนิธิวัดอัมพวัน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทุนการศึกษา สมทบทุนนิธิ ส.ป.ช. สงเคราะห์การศึกษา สงเคราะห์ปริยัติธรรมวัดเทวราชกุญชรวรวิหาร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จัดตั้งทุนเพื่อการศึกษาของพระภิกษุสามเณรวัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี", "title": "พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)" }, { "docid": "304270#5", "text": "ศาลาการเปรียญวัดอัมพวันสร้างขึ้นในราวปีพุทธศักราช ๒๔๖๖ รูปทรงคล้ายกับศาลาการเปรียญเครื่องไม้ ที่นิยมสร้างขึ้นตามวัดที่เห็นได้ทั่วไปในภาคกลาง เป็นศาลาการเปรียญเครื่องไม้ขนาด ๑๓ ห้อง เป็นศาลาแบบโล่งไม่มีฝา ยกพื้นสูง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ด เป็นศาลาที่สร้างด้วยเครื่องไม้ทั้งหลังแม้แต่ช่อฟ้า ใบมะกา หางหงษ์ และหน้าบันก็ทำด้วยเครื่องไม้ทั้งสิ้นมีบันไดก่ออิฐถือปูนเป็นทางขึ้นที่ด้านหลังและด้านข้าง", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" }, { "docid": "302803#5", "text": "นอกจากวัดอัมพวันเจติยารามแล้ว สมเด็จพระรูปฯ ยังได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดโบราณอีกวัดหนึ่ง ซึ่งทรุดโทรมสิ้นสภาพแล้ว ชื่อ วัดทอง ต่อมาภายหลังพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิสังขรณ์ พระราชทานนามว่า วัดกาญจนสิงหาสน์ ", "title": "สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี" }, { "docid": "53089#14", "text": "ประวัติความเป็นมาของวัด วัดอัมพวันเป็นชื่อเดิมมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา ศิลาจารึกในอุโบสถหลังเก่าจารึกเป็นภาษาจีนว่า คนจีนได้สร้างอุโบสถวัดอัมพวัน สมัยเหม็งเชี้ยว คนจีนได้นำเรือกำปั่นมาทำการค้าขายกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมืองลพบุรี มากับชาวฮอลันดา จอดหน้าวัดอัมพวัน ได้สร้างโบสถ์วัดอัมพวัน สมัยเจ้าอาวาสวัดอัมพวันชื่อ พระครูญาณสังวร อายุ 99 ปี สร้างโบสถ์เสร็จแล้ว ฝรั่งเพื่อนคนจีนได้ขอพระราชทาน พระหน้าปรกหินทั้งสององค์จากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ให้คนจีนเอาไว้ในโบสถ์ จนถึงการสร้างโบสถ์หลังใหม่มาจนถึงทุกวันนี้", "title": "อำเภอพรหมบุรี" }, { "docid": "189652#0", "text": "ถนนมุขมนตรี เป็นถนนในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เชื่อมระหว่างห้าแยกหัวรถไฟ บริเวณหน้าสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดนครราชสีมา ถนนมุขมนตรีเป็นถนนแยกที่หนึ่งของห้าแยกหัวรถไฟ ตัดผ่านสถานีรถไฟนครราชสีมา ย่านสวายเรียง วัดหนองจะบก วัดใหม่อัมพวัน ย่านอัมพวัน วัดสวนพริกไทย วัดหลักร้อย ทางหลวงหมายเลข 2 (เลี่ยงมือง) วัดภูเขาลาด สิ้นสุดที่บ้านภูเขาลาด ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่", "title": "ถนนมุขมนตรี" }, { "docid": "304270#0", "text": "วัดอัมพวัน เป็นวัดในตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" }, { "docid": "294871#6", "text": "อายุ 8-14 ขวบ เข้าเรียนที่โรงเรียน(ศาลา)วัดอัมพวันเจติยาราม \nอายุ 12-14 ปี โรงเรียนเกษตรกรรม ประจำอำเภออัมพวา \nอายุ 15-17 ปี โรงเรียนฝึกหัดครู ประจำจังหวัดสมุทรสงคราม \nอายุ 18-19 ปี โรงเรียนมัธยมวัดปทุมคงคา จบชั้นมัธยมปีที่ 8 จากนั้นไม่ได้ศึกษาต่อ", "title": "เลิศ อัศเวศน์" }, { "docid": "7605#64", "text": "อำเภอเมืองยโสธร วัดมหาธาตุ (พระอารามหลวง) วัดศรีธรรมาราม (พระอารามหลวง) วิมานพญาแถน สวนสาธารณะบุ่งน้อยบุ่งใหญ่ สวนสาธารณะพญาแถน ธาตุก่องข้าวน้อย พระพุทธบาทจำลอง วัดอัมพวัน วัดทุ่งสว่างชัยภูมิ วัดป่าบ้านหนองแสง (หลวงปู่สอ พันธุโล) วัดป่าศิลาพร (หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ) วัดป่าหนองไคร้ (หลวงปู่ประสาร สุมโน) หมู่บ้านหัตถกรรมบ้านนาสะไมย์ - บ้านทุ่งนางโอก โครงการพัฒนาพื้นที่หนองอึ่งอันเนื่องมาจากพระราชดำริ วัดบ้านโพนงอย ต.ขั้นไดใหญ่ อ.เมือง จ.ยโสธร (พระครูถาวร เขมกิจ)", "title": "จังหวัดยโสธร" }, { "docid": "571061#32", "text": "บรรพชา วันศุกร์ที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำเดือน ๗ ปีมะแม ณ วัดอัมพวัน ตำบลมะเดื่อหวาน อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการอ่ำ ปุณฺโณ วัดอัมพวัน ตำบลมะเดื่อหวาน อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี", "title": "วัดดุสิดารามวรวิหาร" }, { "docid": "37312#2", "text": "สุรัฐ พุกกะเวส มีน้อง ดังรายนาม ดังนี้ในวัยเยาว์ สุรัฐ ได้อยู่ในอุปการะของนายชิน พุกกะเวส ผู้เป็นญาติ เพื่อศึกษา โดยโยกย้ายไปหลายโรงเรียน เริ่มจาก โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ , โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม , หลังจากนั้นจึงมาเรียนต่อกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนมัธยมวัดสระเกศ , โรงเรียนพระนครวิทยาลัย , โรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ แล้วกลับไปศึกษาที่โรงเรียนวัดทรงธรรม ที่จังหวัดสมุทรปราการ จนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ความเป็นคนขยันหมั่นเพียร จึงได้เข้ามาศึกษาต่อมัธยม 6 อีกครั้งที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ ปากคลองตลาด จนจบ เท่ากับ สุรัฐ จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 ถึงสองหน", "title": "สุรัฐ พุกกะเวส" }, { "docid": "304270#2", "text": "วัดสุสาน เคยถูกใช้เรียกวัดอัมพวันอยู่ในสมัยหนึ่ง ด้วยเหตุที่ในยุคหนึ่งวัดอัมพวันปลูกสร้างกุฏิสงฆ์แยกออกเป็น ๒ หลังอย่างชัดเจน เพราะอยู่ห่างไกลกันมีป่ารกทึบคั่นกลาง จึงดูเหมือนแยกกันเป็น ๒ วัด คือ วัดนอก ริมแม่น้ำลพบุรี และ วัดใน อยู่ลึกเข้ามาจากริมแม่น้ำติดป่าช้า เนื่องจากสมัยนั้น วัดอัมพวันปกครองโดยหลวงปู่ทอกรัก เจ้าอาวาส และยังมี อาจารย์แจะ ซึ่งมีพรรษาใกล้เคียงกับหลวงปู่ทอกรัก วิสัยของอาจารย์แจะท่านชอบสันโดษ จึงปลีกวิเวกไปปลูกกุฏิอยู่ข้างป่าช้า ต่อมาภายหลังมีพระสงฆ์ย้ายไปอยู่กับท่านเพิ่มขึ้น", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" }, { "docid": "21165#2", "text": "พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี อ้างว่า ฝันถึงสมเด็จพระวันรัต วัดป่าแก้ว แห่งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระวันรัตบอกกล่าวว่า รูปเป็นผู้แต่งคาถาพาหุงนี้ถวายสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเอง ให้พระองค์ไว้สวดเป็นประจำในพระบรมมหาราชวังและระหว่างออกศึกสงคราม จึงมีชัยชนะต่อพระมหาอุปราชแห่งพม่า และกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากกรุงหงสาวดีได้สำเร็จ", "title": "พระคาถาพาหุง" }, { "docid": "385009#2", "text": "เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2504 ได้บรรพชา ณ วัดอัมพวัน ต.บางอ้อ อ.บ้านนา มีพระครูวิสุทธิธรรมธาดา วัดอัมพวัน เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูพิศาลธรรมประยุต วัดกุฎีเตี้ย ต.อาษา อ.บ้านนา เป็นพระกรรมวาจาจารย์\nพร้อมกันนี้ยังได้รับมอบหมายจากเจ้าคณะจังหวัดนครนายก ให้รับผิดชอบการศึกษาและเผยแผ่ของคณะสงฆ์ในจังหวัด\nทั้งนี้ เมื่อช่วงเช้าวันที่ 20 ก.ค. หลังจากพระราชวรนายก ได้ฉันภัตตาหารเช้าแล้วได้เข้าพักผ่อนอยู่ภายในกุฏิชั้นล่าง ต่อมาช่วงสายก็พบว่านอนแน่นิ่งไม่รู้สึกตัว จึงช่วยนำส่งโรงพยาบาลนครนายก แล้วมรณภาพด้วยอาการสงบ เมื่อเวลาประมาณ 10.00 น. \nคณะศิษย์ได้กำหนดพิธีสักการะรดน้ำศพ ณ ศาลาบำเพ็ญกุศล วัดอุดมธานี ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ตั้งแต่เวลา 12.00 น. และจะพระราชทานน้ำหลวงสรงศพในเวลา 16.00 น. พระราชวรนายก สิริรวมอายุได้ 69 ปี 11 เดือน 49 พรรษา", "title": "พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม)" }, { "docid": "304270#8", "text": "หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา หมวดหมู่:วัดในจังหวัดลพบุรี", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" }, { "docid": "28098#9", "text": "หลวงปู่คำพอง ขนฺติโก วัดป่าอัมพวัน จ.เลย", "title": "หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ" }, { "docid": "304270#3", "text": "วัดสุด ก็เป็นอีกชื่อหนึ่งที่หมายถึงวัดอัมพวัน ด้วยเหตุที่ชุมชนมอญบางขันหมากมีชาวมอญอาศัยกันอยู่อย่างหนา แน่น ประกอบกับชาวมอญเป็นผู้ที่มีจิตเป็นกุศลยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า นิยมสร้างวัดไว้ในบวรพุทธศาสนา และใช้เป็นสถานที่ทำพิธีกรรมทางศาสนา เป็นที่ศึกษาเล่าเรียนของบุตรหลานชาวมอญบางขันหมากจึงได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้น ในชุมชนถึง ๔ แห่งด้วยกัน คือ วัดโพธิ์ระหัต วัดกลาง วัดอัพวัน และวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ซึ่งวัดอัมพวันอยู่ใต้สุดของตำบลบางขันหมากใต้ ติดกับตำบลพรหมมาสตร์ ชาวบ้านจึงนิยมเรียกวัดอัมพวันตามสำเนียงมอญว่า “เภี่ยฮะโม” ส่วนในภาษา ไทยเรียกว่า “วัดสุด” ตามภูมิประเทศนั่นเอง", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" }, { "docid": "53089#12", "text": "วัดอัมพวันเป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก สภาพทั่วไปนั้นมีต้นไม้ประมาณ 300 ต้น เป็นไม้ดอกไม้ใบที่ปลูกใหม่ เดิมสภาพพื้นที่จะเป็นที่ที่น้ำท่วมถึง มาบัดนี้ทางวัดได้ทำถนนและคูกั้นน้ำ จึงสามารถป้องกันน้ำไว้ได้ จึงได้มีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น", "title": "อำเภอพรหมบุรี" }, { "docid": "362094#3", "text": "ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2553 เขตเทศบาลเมืองเมืองปักมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 14,322 คน แยกเป็นชาย 6,813 คน หญิง 7,509 คน มีผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 มีจำนวนวัด 4 วัด ได้แก่ วัดกลางปักธงชัย วัดโพธิ์เมืองปัก วัดอัมพวัน และวัดโนนขุนชัย ประชากรในเขตเทศบาลเมืองเมืองปักส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประเภทอุตสาหกรรมครัวเรือนและการเกษตร", "title": "เทศบาลเมืองเมืองปัก" }, { "docid": "462821#0", "text": "โรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยาเป็นโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 และเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาประจำอำเภอม่วงสามสิบ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2516 ปัจจุบันมีอายุ 39 ปี โดยปัจจุบันมีนักเรียนประมาณ 1,700 คน มีบุคลากรในสถานศึกษาประมาณ 65 คน และมีเนื้อที่ 151 ไร่ 68 ตารางวา", "title": "โรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยา" }, { "docid": "907646#16", "text": "ในปีนี้ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ได้ปรารภถึงการเดินทางกลับจังหวัดอุบลราชธานี คณะศิษย์ทั้งหลายจึงได้จัดประชุมคณะสงฆ์และร่วมทำบุญในวันมาฆบูชา ณ \"วัดอ้อมแก้ว\" หรือ วัดเกาะแก้วอัมพวัน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ซึ่งถือเป็นภารกิจสุดท้ายของหลวงปู่ใหญ่เสาร์ที่จังหวัดนครพนมและถือเป็นการให้โอวาทครั้งสุดท้ายแก่คณะศิษย์ที่ไม่ได้เดินทางติดตามไปที่จังหวัดอุบลราชธานี การประชุมในครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นการประชุมพระธุดงค์กรรมฐานครั้งใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครพนมในสมัยนั้น ", "title": "พระอาจารย์ดี ฉนฺโน" }, { "docid": "304270#4", "text": "อุโบสถวัดอัมพวันยังคงสภาพเดิมของอุโบสถที่สร้างขึ้นในรุ่นแรกๆ ของวัดมอญในชุมชนมอญบ้านบางขันหมากแห่งนี้ได้ดีที่สุด ลักษณะของอุโบสถวัดอัมพวันเป็นอุโบสถขนาดเล็ก ก่ออิฐถือปูน ฐานยกพื้นสูงจากพื้นดินเล็กน้อยเป็นฐานบัว หน้าบันเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กรอบหน้าบันหยักเป็นรูปสามเหลี่ยมฟันปลา ไม่มีลวดลายแบบง่ายๆ ตัวอาคารก่อด้วยผนังทึบทั้ง ๔ ช่อง มีประตูทางเข้าด้านหน้า ๒ ประตู ไม่มีการประดับเช่นกัน แต่มีบันไดนาคปูนปั้นที่ประตูทางขึ้น หลังคาทรงจั่วมีชั้นลด ๒ ชั้นมุงด้วยกระเบื้องเกล็ดประดับด้วยช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ มีกำแพงแก้วเตี้ยๆ ส่วนซุ้มประตูทางเข้ากำแพงแก้วด้านข้างคงเป็นซุ้มประตูแบบเดิม คือเป็นซุ้มประตูขนาดเล็กล้อมรอบและมีซุ้มประตูทางเข้าที่ด้านหน้า ๑ ประตู และด้านซ้ายมืออีก ๑ ประตู ซุ้มประตูทางที่กำแพงแก้วด้านหน้าคงจะทำขึ้นใหม่ในคราวหลัง แต่เมื่อได้ทำการบูรณะซ่อมแซมอุโบสถในราวปี พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงได้เปลี่ยนใบเสมาไม้เป็นเสมาปูนปั้นตามแบบที่นิยมทั่วไป ปัจจุบันมีเสมาไม้สักของวัดอัมพวันเหลืออยู่เพียงชิ้นเดียวเท่านั้น", "title": "วัดอัมพวัน (ลพบุรี)" } ]
3937
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี มีบิดาชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "18064#0", "text": "พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา", "title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" }, { "docid": "18064#4", "text": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 เวลา 12 นาฬิกา 52 นาที ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร ภายในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี โดยประสูติก่อนการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพียงวันเดียว นอกจากนี้ เมื่อนับพระญาติทางฝ่ายพระมารดานั้น พระองค์นับเป็นพระญาติชั้นที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ อดีตพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชา และเป็นพระญาติชั้นที่ 4 กับพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหมุนี", "title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" } ]
[ { "docid": "18064#7", "text": "แต่แล้วเมื่อใกล้มีพระประสูติกาล ความชื่นบานทั้งหลายกลับกลายเป็นความกังวล เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระประชวรหนักด้วยโรคพระอันตะ มีพระอาการรุนแรงขึ้นอย่างมิคาดฝัน ในยามนั้น พระองค์ประทับ ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประทับ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ซึ่งติดกับพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เพื่อทรงรอฟังข่าวพระประสูติการอย่างใกล้ชิด จนกระทั่ง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี มีพระประสูติการเจ้าฟ้าหญิงในวันที่ 24 พฤศจิกายน จากนั้นในเวลาบ่าย เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ได้เข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลพระกรุณาว่า พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ \"“สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ”\" เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว มีพระราชดำรัสว่า \"“ก็ดีเหมือนกัน”\" จนรุ่งขึ้นในวันพุธที่ 25 พฤศจิกายน เจ้าพระยารามราฆพ เชิญเสด็จสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์น้อยไปเฝ้าฯ สมเด็จพระบรมชนกนาถ ซึ่งกำลังทรงพระประชวรหนักบนพระแท่น เมื่อทอดพระเนตรแล้ว ทรงพยายามยกพระหัตถ์ขึ้นสัมผัสพระราชธิดา แต่ก็ทรงอ่อนพระกำลังมากจนไม่สามารถจะทรงยกพระหัตถ์ได้เนื่องจากขณะนั้นมีพระอาการประชวรอยู่ในขั้นวิกฤต เจ้าพระยารามราฆพจึงเชิญพระหัตถ์ขึ้นสัมผัสพระราชธิดา เมื่อจะเชิญเสด็จพระราชกุมารีกลับ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโบกพระหัตถ์แสดงพระราชประสงค์จะทอดพระเนตรพระราชธิดาอีกครั้ง จึงเสด็จสมเด็จพระเจ้าลูกเธอมาเฝ้าฯ เป็นครั้งที่สอง และเป็นครั้งสุดท้ายแห่งพระชนมชีพจนกลางดึกคืนนั้นเองก็เสด็จสวรรคต", "title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" } ]
2986
จังหวัดนครพนม มีพื้นที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "6340#2", "text": "นครพนมเป็นจังหวัดชายแดนตั้งเลียบชายฝั่งขวาของแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับเมืองท่าแขก แขวงคำม่วนของประเทศลาว นครพนมเป็นจังหวัดที่ประดิษฐานพระธาตุพนมอันศักดิ์สิทธิ์และเก่าแก่ ซึ่งเป็นพระธาตุที่ประดิษฐานพระอุรังคธาตุ (กระดูกหน้าอก) ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (สมณโคดม) และนับเป็นพระบรมธาตุคู่เมืองนครพนม เป็นที่เคารพสักการะของชาวไทยและชาวลาวทั้งสองฝั่งแม่น้ำโขงมาตั้งแต่บรรพกาล พระธาตุพนมประดิษฐานอยู่ที่อำเภอธาตุพนม อยู่ห่างจากตัวเมืองนครพนม 52 กิโลเมตร จังหวัดนครพนมมีพื้นที่ประมาณ 5,512.668 ตารางกิโลเมตร ระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 740 กิโลเมตร นอกจากนี้ ในตัวเมืองนครพนมยังมีพระธาตุนครประดิษฐานเป็นพระธาตุกลางเมืองด้วย พระธาตุนครนี้เดิมเป็นวัดที่ใช้สำหรับประกอบพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาของเจ้าเมืองนครพนมในอดีต", "title": "จังหวัดนครพนม" } ]
[ { "docid": "6340#0", "text": "จังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอดสภาพโดยทั่วไปของจังหวัดนครพนมเป็นที่ราบลุ่ม มีที่ราบสูงและภูเขาอยู่บ้าง มีแม่น้ำสายสั้น ๆ เป็นสาขาย่อยแยกจากแม่น้ำโขงมาหล่อเลี้ยงความอุดมสมบูรณ์ภายในพื้นที่ พื้นที่ส่วนใหญ่มีแม่น้ำโขงไหลผ่าน นครพนมจึงนับว่าเป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำที่สมบูรณ์มาก ด้านตะวันออกมีแม่น้ำโขงทอดยาวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับลาว", "title": "จังหวัดนครพนม" }, { "docid": "306809#0", "text": "เทศบาลเมืองนครพนม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมืองและตำบลหนองแสงทั้งตำบล รวมทั้งบางส่วนของตำบลอาจสามารถและตำบลหนองญาติ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดนครพนม", "title": "เทศบาลเมืองนครพนม" }, { "docid": "6340#3", "text": "นครพนมเป็นจังหวัดที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์มาแต่โบราณกาล ในฐานะเมืองเก่าเคียงคู่อยู่กับอาณาจักรศรีโคตรบูร แต่เดิมนครพนมมีชื่อเต็มในจารึกสถาปนาวัดโอกาสศรีบัวบานว่า เมืองนครบุรีราชธานีศรีโคตรบูรหลวง เคยเป็นราชธานีที่มีกษัตริย์และเจ้าผู้ครองนครปกครองมาก่อนหลายสมัย เอกสารของล้านช้างส่วนใหญ่ออกนามว่าเมืองลครหรือเมืองนคร เดิมทีนั้นมีพื้นที่อยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงหรือเมืองเก่าท่าแขก ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ฝั่งขวาที่เมืองเก่าหนองจันทน์ จากนั้นย้ายขึ้นไปทางตอนเหนือที่บ้านโพธิ์คำ คือตัวเมืองนครพนมในปัจจุบัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกตีเมืองนครเวียงจันทน์ได้แล้ว เจ้าเมืองนครพนมหรือเมืองศรีโคตรบองได้ทูลเกล้าถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองแก่สยามในฐานะนครประเทศราช ชื่อของดินแดนนี้ได้ถูกเปลี่ยนนามเป็น \"นครพนม\" สันนิษฐานว่านามนี้มาจากนครพนมเป็นเมืองที่มีพื้นที่ติดต่อกับทิวเขามากมายทางฝั่งซ้าย หลังเสร็จสิ้นสงครามเจ้าอนุวงศ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ลดฐานะเมืองนครพนมเป็นหัวเมืองชั้นเอก ด้วยความเป็นอาณาจักรที่เคยเจริญรุ่งเรืองมาเก่าก่อน ประกอบกับแม่น้ำโขงเป็นแหล่งวัฒนธรรมของมนุษย์ชาติจากหลายชนเผ่า ดังนั้น นครพนมจึงมีโบราณสถานจำนวนมาก และมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์", "title": "จังหวัดนครพนม" }, { "docid": "122778#7", "text": "พื้นที่นอกเขตลุ่มน้ำ คือ พื้นที่ตำบลโพธิ์กลาง หนองบัวศาลา ไชยมงคล และสุรนารี ตั้งอยู่ในที่ราบสูง ไม่มีแหล่งน้ำไหลผ่านและไม่สามารถจะจัดเป็นลุ่มน้ำได้ แต่ในแต่ละตำบลและหมู่บ้านดังกล่าวมีหนองน้ำและบึงขนาดใหญ่ รวมถึงอ่างเก็บน้ำของกรมชลประทานอยู่ด้วย การผลิตน้ำประปาเพื่อให้บริการประชาชนในเขตเทศบาล อยู่ในความรับผิดชอบของกองประปาเทศบาลนครนครราชสีมา โดยอาศัยแหล่งน้ำดิบจากเขื่อนลำตะคอง ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว", "title": "อำเภอเมืองนครราชสีมา" }, { "docid": "6803#21", "text": "จังหวัดนนทบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีแม่น้ำไหลผ่าน จึงแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งตะวันตก มีพื้นที่ 3 ใน 4 ของจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีน้ำท่วมถึง มีคูคลองขนาดต่าง ๆ เชื่อมโยงกันหลายสายเหมือนใยแมงมุม มีการทำเรือกสวนไร่นา และฝั่งตะวันออกมีพื้นที่ 1 ใน 3 ของจังหวัด ได้แก่พื้นที่ในเขตเทศบาลนครนนทบุรีและเทศบาลนครปากเกร็ด เป็นเขตเมืองมีประชากรอยู่อย่างหนาแน่น อาจถือได้ว่าส่วนนี้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองหลวง เพราะเขตแดนระหว่างนนทบุรีกับกรุงเทพมหานครนั้นแทบจะไม่เป็นที่รู้จัก", "title": "จังหวัดนนทบุรี" }, { "docid": "34664#4", "text": "อำเภอพนมมีเนื้อที่โดยประมาณ 1,160 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 720,000 ไร่ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติถึง 2 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติเขาสก และอุทยานแห่งชาติคลองพนม\nลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของอำเภอพนมเป็นภูเขาสูง โดยเฉพาะทางทิศตะวันตก มีกว่าร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมด มีที่ราบเชิงเขาเพียงเล็กน้อย มีลักษณะเป็นลอนลูกฟูก เป็นต้นกำเนิดของลำคลอง 2 สาย ที่สำคัญ คือ คลองศกและคลองพนม ซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำพุมดวงและแม่น้ำตาปี\nลักษณะภูมิอากาศตอนเช้าของอำเภอพนมนั้นจะมีอากาศหนาวมีหมอกปกคลุมตลอดทั้งปีคล้ายลักษณะทางภาคเหนือของประเทศไทย จนกระทั่งหลัง 10.00 น. เป็นต้นไปอากาศจึงกลับสู่ภาวะปกติ ลักษณะภูมิอากาศแบบนี้เองจึงได้รับสมญานามว่า \"เขาเสียบหมอก\" แต่ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปจะมีลักษณะอากาศร้อนและอบอุ่น มี 2 ฤดูคือ ฤดูร้อนและฤดูฝน ฤดูร้อนจะร้อนอบอ้าว เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม-เดือนเมษายน ส่วนในฤดูฝน อากาศจะเย็น มีฝนตกและมีหมอกหนาแน่น", "title": "อำเภอพนม" }, { "docid": "306809#3", "text": "เทศบาลเมืองนครพนมได้ครอบคลุมพื้นที่ 4 ตำบลของอำเภอเมืองนครพนม (ตามกฎหมายลักษณะการปกครองท้องที่) ได้แก่ ตำบลในเมืองและตำบลหนองแสง รวมทั้งตำบลอาจสามารถและตำบลหนองญาติบางส่วน รวมเนื้อที่ปัจจุบัน 24.13 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 25 ชุมชน ดังนี้เทศบาลเมืองนครพนมมีสถานศึกษาในสังกัดดังนี้", "title": "เทศบาลเมืองนครพนม" }, { "docid": "5114#52", "text": "จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่บนที่ราบสูงโคราช ห่างจากกรุงเทพ 259 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 20,493.964 ตารางกิโลเมตร (12,808,728 ไร่) เป็นพื้นที่ป่าไม้ 2,297,735 ไร่ โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติคืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติทับลานร้อยละ 61.4 และเป็นแหล่งน้ำ 280,313 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่น ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์ และทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดสระบุรี ชัยภูมิ และลพบุรี", "title": "จังหวัดนครราชสีมา" }, { "docid": "6803#20", "text": "จังหวัดนนทบุรีตั้งอยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือค่อนทางเหนือ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ปกครองทั้งหมด 622.303 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 388,939.375 ไร่ โดยมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ละติจูดที่ 13 องศา 47 ลิปดาเหนือ ถึงละติจูดที่ 14 องศา 04 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที่ 100 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ถึงลองจิจูดที่ 100 องศา 34 ลิปดาตะวันออก และมีอาณาเขตจรดอำเภอและจังหวัดข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้", "title": "จังหวัดนนทบุรี" } ]
319
มังกร เป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีนหรือไม่ ?
[ { "docid": "9612#0", "text": "มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ , คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง", "title": "มังกรจีน" } ]
[ { "docid": "638691#1", "text": "การเชิดมังกรมักจะจัดขึ้นในช่วงเทศกาลปีใหม่ของจีน (ตรุษจีน) มังกรจีนเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และพวกเขาเชื่อว่ามังกรจะนำความโชคดีมาให้กับผู้คน ฉะนั้นยิ่งเชิดมังกรระยะเวลานานมากขึ้นเท่าไหร่ก็จะนำความโชคดีมาให้ชุมชนมากขึ้น. มังกรถูกเชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณสัมบัติที่ประกอบด้วย พลังอันยิ่งใหญ่ ความสง่างาม ความอุดมสมบูรณ์ สติปัญญา และสิริมงคล. ลักษณะของมังกรมีทั้งความน่ากลัว และมีขนาดใหญ่ แต่มันก็มีความเมตตา ดังนั้นจึงถูกนำไปกลายเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจกษัตริย์ การเคลื่อนไหวแบบที่สืบทอดกันมาเป็นการแสดงถึงอำนาจและความสง่างามของมังกร", "title": "การเชิดมังกร" }, { "docid": "9612#8", "text": "ตามความเชื่อของชาวจีนโบราณนั้น จะมีสัตว์ศักดิ์สิทธิ์อยู่ 4 ชนิด คือ กิเลน หงส์ เต่า และมังกร โดยชาวจีนจะเชื่อถือกันว่ามังกรนั้น เป็นสัตว์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในบรรดาสัตว์ทั้ง 4 ชนิดนั้น มังกรจีนหรือที่ชาวจีนเรียกกันว่า \"เล้ง-เล่ง-หลง-หลุง\" ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของการออกเสียงของในแต่ละท้องถิ่น ชาวจีนถือว่ามังกรนั้นเป็นสัญลักษณ์ของพลัง อำนาจ ความยิ่งใหญ่ และเพศชาย", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#18", "text": "ชาวจีนจะมีการบวงสรวงมังกรเป็นพิเศษที่นี่ทุกวันที่ 1 และ 15 ของทุกเดือน ศาลเจ้าและแท่นบูชามังกรยังคงปรากฏให้เห็นตามชายฝั่งทะเลและริมฝั่งแม่น้ำในหลาย ๆ ส่วนของจีนและดินแดนตะวันออกไกล เพราะมังกรจีนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำ โบสถ์กลางน้ำในประเทศญี่ปุ่นกลายมาเป็นแหล่งแวะพักที่ได้รับความนิยมของผู้แสวงบุญซึ่งสวดอ้อนวอนต่อมังกร ตำนานของชาวจีนตำนานหนึ่งบันทึกไว้ว่า มังกรจีนเพศผู้และเพศเมียเคยแต่งงานกับมนุษย์และลูกหลานของมังกรจีนก็กลายมาเป็นผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่ที่สุด จักรพรรดิญี่ปุ่นที่ชื่อ ฮิโรฮิโตะ สืบสาวต้นตระกูลของตนเองย้อนหลังไปจนถึง 128 รุ่น ซึ่งก็คือ เจ้าหญิง Fruitful Jewel ลูกสาวของราชามังกรแห่งท้องทะเลลึก จักรพรรดิของหลายประเทศในเอเชียอ้างว่าตนเองก๋มีบรรพบุรุษเป็นมังกร ซึ่งก็ทำให้มีความคิดที่ว่าทุกสิ่งที่ใช้จะต้องประดับด้วยมังกรเช่น บัลลังก์มังกร เสื้อคลุมมังกร เตียงมังกร เรือมังกร การที่ชาวจีนถือว่าจักรพรรดิเป็นมังกรเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ชาวจีนมีความเชื่อว่าจักรพรรดินั้นสามารถทำให้ตนเองกลายเป็นมังกรได้", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#42", "text": "ลักษณะของมังกรจีน สัญลักษณ์แห่งเทพเจ้าที่จีนให้ความเคารพนับถือ ลักษณะของมังกรเกิดจากจินตนาการโดยการรวมเอาลักษณะของสัญลักษณ์เผ่าต่างๆมารวมกัน มีความแตกต่างกันตามคติความเชื่อถือและการประดิษฐ์ของช่าง มีกาลเทศะและวาสนาแตกต่างกันไปตามความเชื่อของคตินิยมแต่ละยุคแต่ละสมัย ซึ่งว่ากันว่ามังกรของจีนนั้นมี 9 ท่า 9 สี คำว่า หลง ในภาษาจีนกลางหมายถึงมังกรที่มีลักษณะดังนี้", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#38", "text": "เป็นมังกรที่ใช้สำหรับสลักบนประตูคุก เพื่อป้องกันการทะเลาะวิวาทของเหล่านักโทษ มังกรปิกันเป็นมังกรที่รักในการใช้พละกำลัง เป็นการแสดงความดุร้าย ซึ่งนักเลงมักจะนิยมสักมังกรชนิดนี้ไว้ที่บริเวณแขน หน้าอกและบริเวณกลางหลัง บางคนก็สักไว้ที่หน้าขาและที่อื่น ๆ นักเลงพวกนี้มักจะสักมังกร \"คุก\" และเรียกขานกันว่า พวก ตั้วหลักเล้ง จะใช้เป็นสัญลักษณ์", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "103503#1", "text": "พ.ศ. 2442 หวัง ยิรง (Wang Yirong) นักวิชาการจากปักกิ่ง พบสัญลักษณ์คล้ายอักษรบนกระดูกมังกร(กระดูกสัตว์ที่ชาวบ้านคิดว่าเป็นกระ ดูกมังกร)ที่เขาได้รับจากเภสัชกร ในเวลานั้น กระดูกมังกรซึ่งมักเป็นซากฟอสซิลของสัตว์ ยังใช้ในการแพทย์แผนจีน กระดูกสัตว์เหล่านั้นพบมาก ในซากปรักหักพังของเมืองหลวงในสมัยราชวงศ์ซัง ทางเหนือของมณฑลเหอหนาน", "title": "อักษรจีน" }, { "docid": "9612#45", "text": "มังกรสวรรค์ หรือเทียนหลง มีชื่อเรียกว่า มังกรฟ้า เป็น มังกรในหาดสวรรค์ บางครั้งก็จะเป็นพาหนะของเทพเจ้าเทวาในลัทธิเต๋า คนจีนมีความเชื่อกันว่า มังกรเทียนหลงนี้เป็นมังกรที่ทำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองปราสาทราชวังของเทพเจ้าบนสรวงสรรค์ และเป็นสัญลักษณ์ตัวแทนของฮ่องเต้อีกด้วย", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#5", "text": "มังกรจริง ๆ ในปัจจุบันก็คือซากของไดโนเสาร์ยุคดึกดำบรรพ์ ซึ่งกลายเป็นหิน ไข่ไดโนเสาร์ถูกค้นพบในหลายพื้นที่ในประเทศจีน ซึ่งขึ้นชื่อว่ามีไดโนเสาร์มากที่สุดในโลกในสมัยโบราณใช้ในการประกอบเป็นยาสมุนไพร เรียกกันว่า \"ยากระดูกมังกร\" ส่วนไข่ของมังกรจีนนั้นในสมัยเฉียนหลง ถือเอาไข่มังกรจีนเป็นเครื่องรางประจำราชสำนักภายในพระราชวังปักกิ่ง แต่ต่อมาเมื่อพระราชวังปักกิ่งแตก ไข่มังกรจีนก็ตกทอดมาจากประเทศจีนมาอยู่ที่ประเทศไทย", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "32588#0", "text": "เอี้ยก้วย (อังกฤษ:Yang Guo ,จีนตัวเต็ม: 楊過; จีนตัวย่อ: 杨过; พินอิน: Yáng Guò) เป็นตัวละครในนิยายกำลังภายใน บทประพันธ์โดย กิมย้ง ที่นำเอาประวัติศาสตร์จีนช่วงหนึ่งซึ่งตรงกับราชวงศ์ซ้องใต้ (หนานซ้อง-น่ำซ้อง) หรือประมาณ พ.ศ. 1669-1822 ซึ่งตรงกับสมัยสุโขทัย มาผูกปมเข้ากับบทประพันธ์ ให้ชื่อเรื่องตามภาษาจีนว่า จอมยุทธคู่อินทรีเทพยดา (หรือจอมยุทธจ้าวอินทรีหรือจอมยุทธเทพอินทรี แล้วแต่ผู้แปล) กิมย้งได้ผูกเรื่องให้เชื่อมโยงต่อจากเรื่องจอมยุทธล่าอินทรี (มังกรหยกภาค 1) แต่คนไทยรู้จักเรื่องจอมยุทธคู่อินทรีเทพยดาในชื่อมังกรหยกภาค 2 ทั้งที่เนื้อเรื่องไม่ได้เกี่ยวกับมังกรหรือหยก ที่เป็นเช่นนี้มีผู้สันนิษฐานว่า อาจเพราะผู้แปลฉบับภาษาไทยท่านแรกเห็นว่าเป็นนิยายจีน มังกรเป็นสัตว์สัญลักษณ์ประจำชาติที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ ส่วนหยกเป็นหินประดับที่มีค่าในความรู้สึกนึกคิดของชาวจีน", "title": "เอี้ยก้วย" }, { "docid": "9612#56", "text": "มังกรเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิจีน แต่การใช้มังกรเป็นลวดลายประดับบนเสื้อนั้นเป็นการแสดงถึงความสูงต่ำของตำแหน่ง ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#58", "text": "หลังปี ค.ศ. 1759 ได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ไว้อย่างแน่ชัด คือ จักรพรรดิ ขุนนางชั้นอัครมหาเสนาบดี เสนาบดี และราชบุตรเขยพระองค์แรก เจ้าชายพระองค์แรก รูปมังกรจะมี 4 เล็บ อัครมหาเสนาบดีที่โปรดปรานจะได้รับการพิจารณาเพิ่มเล็บมังกรเป็นพิเศษ อย่างไรก็ตามการกำหนดชั้นฐานะก็มีเรื่องของสีเสื้อเข้ามาเกี่ยวด้วย สีของเสื้อที่จะใช้กับลายมังกรมีอยู่ 3 สีคือ", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "820690#11", "text": "ม้าน้ำเป็นสัญลักษณ์ที่ได้รับการยอมรับของประชาคมคนหูหนวกในประเทศญี่ปุ่น โดยตามตำนานของญี่ปุ่น มังกรนั้นไม่มีหูและหูหนวก หูของมังกรตกลงไปในมหาสมุทร ซึ่งหูเหล่านั้นกลายเป็นม้าน้ำ อดีต\"หูมังกร\"เหล่านี้ จึงได้รับการนำเสนอกราฟิกเป็นม้าน้ำในฐานะตราสัญลักษณ์และตัวนำโชคของสหพันธ์คนหูหนวกแห่งประเทศญี่ปุ่น และกราฟิกเครื่องหมายนี้ยังพบในตราสัญลักษณ์อื่น ๆ ของประชาคมคนหูหนวก ตัวอย่างเช่น ภาพกราฟิกม้าน้ำของสหพันธ์คนหูหนวกแห่งประเทศญี่ปุ่นได้รับการจดทะเบียนเป็นตราสัญลักษณ์ขององค์กรคนหูหนวกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลัง ดังเช่น สหพันธ์คนหูหนวกแห่งกรุงโตเกียว และสมาคมเทเบิลเทนนิสคนหูหนวกแห่งประเทศญี่ปุ่น", "title": "สหพันธ์คนหูหนวกแห่งประเทศญี่ปุ่น" }, { "docid": "483703#2", "text": "ประวัติของการกำหนดธงชาติจีนในยุคราชวงศ์ชิงสามารถสืบย้อนไปได้ราวปี ค.ศ. 1856 ในเวลานั้นได้เกิดกรณีเรือแอโรว์ ซึ่งมีสาเหตุจากเรือสินค้าจีนได้ชักธงเรือของต่างประเทศ (อังกฤษ) ขึ้นท้ายเรือของตน เนื่องจากในเวลานั้นประเทศจีนยังไม่มีธงสัญลักษณ์ของชาติอย่างเป็นทางการ ต่อมาในปี ค.ศ. 1862 กะลาสีเรือของจักรพรรดินาวีต้าชิงและราชนาวีอังกฤษได้รบกันในแม่น้ำแยงซีเกียง เพื่อเป็นการตอบสนองคำชี้แจงของราชนาวีอังกฤษในเรื่อการไม่อาจแยกแยะเรือของจีนออกจากเรือของชาติอื่นได้ เจ้าชายก่ง (ก่งชินหวัง - 恭親王) จึงกระตุ้นให้เจิง กว๋อฟาน (曾國藩) สร้างธงราชการสำหรับรัฐบาลราชวงศ์ชิงขึ้น และแนะนำให้ใช้ธงมังกรพื้นเหลือง ซึ่งมีใช้อยู่ในแปดกองธงของแมนจู และ กองทัพต้าชิง ในเวลานั้น เจิง กว๋อฟานจึงเอาแบบธงดังกล่าวซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มาตัดออกมุมหนึ่งให้เป็นรูปสามเหลี่ยมเพื่อให้แตกต่างจากธงเดิม และได้ใช้ในราชการระหว่าง ค.ศ. 1862 - 1889 โดยเป็นการเฉพาะในวงราชการและกองทัพเรือจีนเท่านั้น เรือของพลเรือนทั่วไปไม่สามารถใช้ได้ และ ไม่มีการกำหนดให้ธงนี้เป็นธงชาติแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามในโอกาสทางการทูตหรือการแสดงนิทรรศการนานาชาติ ก็ได้มีการใช้ธงรูปสามเหลี่ยมดังกล่าวเป็นสัญลักษณ์แทนประเทศจีนเช่นกัน ภายหลังจึงได้แก้แบบให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าในปี ค.ศ. 1890 และใช้สืบมาจนกระทั่งสิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์ชิง", "title": "ธงราชวงศ์ชิง" }, { "docid": "196742#5", "text": "ตราสัญลักษณ์ของสถานีเป็นมังกร เพื่อสื่อถึงย่านไชน่าทาวน์ ถนนเยาวราชและวัดมังกรกมลาวาส และใช้สีแดงตกแต่งภายในเนื่องมาจากเป็นสีมงคลของชาวจีน ส่วนกระเบื้องหัวเสาใช้\nลวดลายของประแจจีนบุพื้นสีทอง สลับกับกระเบื้องลายดอกบัว", "title": "สถานีวัดมังกร" }, { "docid": "9612#20", "text": "มังกรกลายมาเป็นส่วนสำคัญของชีวิตของผู้คนชาวจีน ในรูปของเทพเจ้าจากสรวงสวรรค์ อย่างที่ชาวโลกได้รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ Sheng Chi มังกรจีนคือผู้ที่ยอมสละชีวิตและพลังของตนออกมาในรูปของฤดูกาลของชาวจีนแผ่นดินใหญ่ มังกรจีนเป็นผู้นำน้ำมาจากฝน ความอบอุ่นจากดวงอาทิตย์ สายลมจากทะเลและผืนดินจากโลก มังกรเป็นตัวแทนของพลังที่ยิ่งใหญ่แห่งธรรมชาติ พลังอำนาจสูงสุดของโลก บางครั้งเราอาจพบมังกรจีนในรูปสัญลักษณ์ของเทพเจ้าแห่งการปกป้องและคุ้มครอง พวกมันถูกยกย่องให้เป็นสิ่งมีชีวิตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเหนือกว่าสิ่งมีชีวิตทั้งมวล พวกมันมีสามารถอาศัยอยู่ในทะเล บินขึ้นไปถึงสวรรค์ และขดตัวบนพื้นดินในรูปของภูเขา ในหมู่ของสิ่งมีชีวิตในเทพนิยายทั้งหลาย มังกรสามารถปัดเป่าวิญญาณที่ชั่วร้าย ปกป้องผู้บริสุทธิ์และทำให้ผู้ที่ถือเครื่องหมายของพวกมันรอดพ้นจากพยันตรายต่างๆ นานาได้ มังกรจีนถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์แทนความโชคดีสูงสุด", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#2", "text": "มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#46", "text": "มังกรวิญญาณเฉียนหลง หรือหลีเฉี่ยวหลง เป็นมังกรที่บันดาลให้เกิดลมฝนเพื่อประโยชน์ต่อการเกษตรและมนุษยชาติของชาวจีน แต่โบราณ มังกรหลีเฉี่ยวหลงนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ของจักรราศีอีกด้วย", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "8347#3", "text": "อย่างไรก็ตาม มังกรที่พบในตำนานของทางยุโรปและของทางเอเชียนั้น ค่อนข้างจะแตกต่างกันในแง่สัญลักษณ์ โดยเฉพาะคติของจีนที่มักจะถือว่า มังกรนั้นคือเทพเจ้า และเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นมงคล รวมถึงเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิ (ซึ่งเป็นสมมติเทพ) แต่ทางยุโรปนั้นมักจะถือมังกรเป็นสัญลักษณ์ของความชั่วร้าย (อันเป็นคติที่สืบทอดมาจากความหวาดกลัวงูของชาวยุโรป)", "title": "มังกร" }, { "docid": "105225#4", "text": "โดยปกติแล้ว หงส์เป็นนกที่มนุษย์ไม่ใช้เป็นอาหาร แต่จะเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามได้ โดยมักเลี้ยงตามสระน้ำต่าง ๆ ตามสวนสาธารณะหรือสถานที่ต่าง ๆ เพราะหงส์ถือเป็นสัตว์ที่มนุษย์ถือว่า มีความสวยสง่างาม ท่วงท่าอ่อนช้อย โดยเฉพาะเมื่อว่ายน้ำ ช่วงคอที่ยาวระหง จะโค้งงอเป็นรูปตัว S อีกทั้งยังถือเป็นสัญลักษณ์ของความรักและความงามต่าง ๆ เนื่องจากเป็นสัตว์ที่มีคู่เดียวไปตลอดชีวิต ได้มีการใช้หงส์ในสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น นิทานปรัมปราต่าง ๆ หรือในอุปรากรสวอนเลค ที่นิยมนำมาประกอบการแสดงบัลเลต์ หรือในความเชื่อของชาวจีน หงส์ถือเป็นสัญลักษณ์ของเพศหญิง ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำองค์ฮองเฮา เคียงข้างกับมังกร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเพศชาย ประจำองค์ฮ่องเต้ และยังจัดว่าเป็น 1 ใน 4 สัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโลกมนุษย์และสวรรค์ด้วย ถือเป็นสัตว์อมตะ ไม่มีวันตาย และหงส์ยังถือเป็นพาหนะของพระพรหม ซึ่งถือเป็น 1 ในตรีมูรติตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ ในประเทศพม่า หงส์เป็นต้นตำนานของการกำเนิดเมืองหงสาวดี และเป็นสัญลักษณ์ประจำราชวงศ์ตองอู ", "title": "หงส์" }, { "docid": "483703#1", "text": "ราชวงศ์ชิงเป็นราชวงศ์จักรพรรดิที่ปกครองประเทศจีนลำดับสุดท้าย สถาปนาเมื่อ ค.ศ. 1644 และถูกโค่นล้มด้วยการปฏิวัติซินไฮ่ในปี ค.ศ. 1912 ลักษณะของธงดังที่ปรากฏข้างต้นนี้เป็นแบบที่ใช้อยู่ระหว่าง ค.ศ. 1890 - 1912 โดยดัดแปลงจากธงสีเหลืองของกองทัพแปดกองธง ทั้งนี้ สีเหลืองเป็นสีของจักรพรรดิจีนตั้งแต่สมัยโบราณ อนึ่งยังเป็นสีที่หมายถึงชนเผ่าแมนจูด้วย ส่วนมังกรห้าเล็บเป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจของจักรพรรดิ", "title": "ธงราชวงศ์ชิง" }, { "docid": "9612#54", "text": "ลายรูปปู่เหลา ชาวจีนมักปั้นเป็นหูของระฆัง หรือทำเป็นลายสลักอยู่บนยอดสุดของฆ้องหรือระฆัง สื่อให้เห็นลักษณะที่ชอบร้องเสียงดังของมังกรจีน เวลาที่ถูกปลาวาฬจู่โจม อันเป็นศัตรูตัวสำคัญ ลายรูปจิวหนิว เป็นลายที่สลักอยู่บนก้านบิดของซอสำหรับทดสอบเสียง ลายรูปปาเซีย เป็นรูปสลักบนยอดหินจารึก แสดงถึงว่ามังกรจีนชนิดนี้ชอบในวรรณคดี เป็นเครื่องหมายแสดงแทนเต่าทั้งเพศผู้และเพศเมีย ซึ่งก้มหัวลงต่ำแสดงถึงความเศร้าโศก และยังถูกนำไปทำเป็นฐานของเสาหิน หรือรูปสลักสำหรับหลุมฝังศพ เป็นเทพเจ้าแห่งแม่น้ำ เป็นสัตว์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีความเข้มแข็งอดทน ลายรูปปู-เซีย เป็นรูปสลักที่อยู่ก้นของอนุสาวรีย์หิน มีความหมายถึงให้ช่วยแบกรับน้ำหนักที่มากไว้ ลายรูปเจ้าเฟิง เป็นรูปลักษณะที่อยู่บนชายคาโบสถ์วิหาร เพื่อสะท้อนความที่มังกรจีนนั้นพอใจต่ออันตรายทั้งหลาย ลายรูปฉี-เหวิน เป็นลายรูปที่สลักอยู่บนคานสะพาน เนื่องจากเป็นมังกรที่ชอบน้ำ จึงถูกสลักไว้บนยอดจั่วของอาคารเพื่อป้องกันไฟ มังกรจีนชนิดนี้ชอบจ้องมองออกไปข้างนอก ดังนั้นสัญลักษณ์ของมังกรจึงเป็นรูปปลายกหางขึ้นฟ้า ลายรูปส้วน-นี่ เป็นลายรูปที่อยู่บนยอดอาสนะของพระพุทธรูป มีนิสัยชอบพักผ่อน ตำราบอกไว้ว่าเป็นพวกเดียวกับซีจู หรือสัญลักษณ์รูปสิงโต ลายรูปไย่จู เป็นรูปลายที่สลักอยู่บนด้ามดาบ เพราะเป็นมังกรที่ชอบการฆ่าฟัน ลายรูปปี๋-กัน เป็นลายรูปที่สลักอยู่ตามประตูคุก เพราะเป็นมังกรที่ชอบขึ้นศาลต่อสู้คดี ทะเลาะวิวาท มีพละกำลัง ความเข้มแข็ง และดุร้ายมาก เป็นสัตว์ที่มีเกล็ดและมีเขาหนึ่งเขา", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#16", "text": "มังกรจีนเป็นสัตว์เทพเจ้าที่อยู่บนสรวงสวรรค์ตามความเชื่อของชาวจีน เปรียบเหมือนสัญลักษณ์ของชนชาติจีน ชาวจีนทั่วโลกต่างหยิ่งทะนงในการที่พวกตนนั้น สืบสายเลือดมาจากมังกร (Lung Tik Chuan Ren) ชาวจีนเชื่อกันว่ามังกรนั้นเป็นเทพเจ้าในตำนานที่จะนำมาซึ่งอายุยืนยาว ความเจริญรุ่งเรือง โชคลาภวาสนา และจากสัญลักษณ์ของจักรพรรดิและอำนาจอันยิ่งใหญ่ของฮ่องเต้ ตำนานมังกรของจีนได้ซึมซาบเข้าไปในวิถีชีวิตของชาวจีนโบราณ และกลายมาเป็นวัฒนธรรมของชาวจีนตราบจนถึงทุกวันนี้ มังกรจีนได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของความยิ่งใหญ่ ความดีงาม และอำนาจบารมี", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#3", "text": "ตำนานมังกรจีนโบราณมีอายุยาวนานกว่า 4,000 ปี ซึ่งลักษณะรูปร่างของมังกรจีนนั้น สุดแล้วแต่นักวาดรูปจะจินตนาการเสริมแต่งออกมา การขายจินตนาการของนักวาดรูปจะเขียนมังกรออกมาโดยยึดลักษณะรูปแบบที่เล่าต่อ ๆ กันมาคือ มังกรจีนจะมีลักษณะลำตัวที่ยาวเหมือนงู มีเกล็ดสีเขียว นัยน์ตาสีแดง มีหนวดและเขาอย่างละคู่ มีขา 4 ขาและกงเล็บที่แข็งแรง มังกรจีนโบราณถูกยกย่องว่าเป็นสัตว์เทพเจ้าซึ่งชาวจีนเคารพนับถือ เป็นสัตว์พาหนะของเทพเจ้าในลัทธิเต๋า ทำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองปราสาทราชวังของเทพเจ้าบนสวรรค์ มังกรจีนที่มีกงเล็บ 5 เล็บ ถือเป็นสัญลักษณ์แห่งจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ของจีนเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ มังกรบางตัวจะถือไข่มุกเม็ดใหญ่อยู่ที่ขาหน้า ครั้งหนึ่งคนเคยคิดว่าไข่มุกคือไข่ของมังกร มังกรบางชนิดวางไข่ในน้ำไหล", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#55", "text": "มังกรจีนโดยเฉพาะมังกร 5 เล็บจะถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิหรือฮ่องเต้แห่งประเทศจีน โดยมีหงส์เป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดินี เนื่องมาจากตามตำนานได้กล่าวไว้ว่า หงส์เป็นพาหนะของพระแม่ซิหวั่งหมู่ ซึ่งเป็นเจ้าแม่ผู้ปกครองภูเขาคุนหลุน ซึ่งถ้าเทียบตามศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เขาคุนหลุนก็คือเขาพระสุเมรุของไทย ตามนิทานแล้วเจ้าแม่ซิหวั่งหมู่เป็นผู้ปกครองสวรรค์ฝั่งตะวันตกคู่กับเง็กเซียนฮ่องเต้ที่ปกครองสวรรค์ฝั่งตะวันออก เหมือนกับที่องค์จักรพรรดิเป็นผู้ปกครองบ้านเมืองแต่องค์ฮองเฮาเป็นผู้ปกครองวังหลัง คอยให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนในด้านต่าง ๆ", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#61", "text": "ฉลองพระองค์ของพระเจ้าแผ่นดินจีนตอนพิธีราชาภิเษก เป็นผ้าปักไหมสีสันต่าง ๆ เป็นรูปมังกร 5 เล็บอยู่ตรงกลางด้านหน้า ข้างบนตัวมังกรเป็นกลุ่มดาว 3 ดวงที่ฮ่องเต้ต้องบวงสรวง ข้างขวาของตัวมังกรเป็นอักษรคำว่า \"ฮก\" หมายถึงความสุข ข้างซ้ายของตัวมังกรเป็นรูปขวานโบราณหมายถึงอำนาจ ในความเป็นจริงแล้ว องค์จักรพรรดิของจีนนอกจากจะเป็นผู้นำของประเทศแล้ว ยังเป็นผู้นำในทางศาสนาอีกด้วย ดังจะเห็นจากที่พระเจ้าแผ่นดินจะเป็นผู้นำในการทำพิธีต่าง ๆ ซึ่งตามคติโบราณที่ว่าแต่เดิมมังกรนั้นก็คือมนุษย์หรือเกิดมาจากมนุษย์(ดังที่กล่าวมาแล้วในเรื่องการกำเนิดมังกร) และรูปลักษณ์ของเทพเจ้าโบราณก็มีลักษณะเป็นครึ่งคนครึ่งมังกร มังกรจึงถูกนำมาเปรียบให้เป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์จีนนั่นเอง", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#12", "text": "ในหนังสือประวัติวัฒนธรรมจีนได้กล่าวกันไว้ว่า มังกรนั้นได้ถือกำเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าอึ่งตี่ พระเจ้าอึ่งตี่, อึ้งตี่ หรือหวงตี้ ทรงเป็นกษัตริย์ผู้ที่รวบรวมแผ่นดินจีนไว้เป็นผืนเดียวกัน โดยพระองค์ได้ทรงสร้างจินตนาการรูปมังกรขึ้นมา จากการรวมสัญลักษณ์ของเผ่าต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มังกรกลายเป็นสัญลักษณ์ที่ว่าเผ่าต่าง ๆ ได้รวมกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้ว ตามตำนานกล่าวไว้ว่าเมื่อพระเจ้าอึ่งตี่สิ้นอายุไข ก็มีมังกรจากฟ้าลงมารับพระองค์และพระมเหสีขึ้นไปเป็นเซียนบนสวรรค์ โดยบางตำราได้กล่าวว่าพระองค์นั้นเป็นหวงตี้องค์เดียวกับที่ได้เป็นเจ้าสวรรค์ หรือเง็กเซียนฮ่องเต้ในเวลาต่อมา เพราะเหตุนี้ชาวจีนจึงถือว่ามังกรเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์และเป็นเจ้าแห่งสัตว์ทั้งปวง", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "8347#1", "text": "ในตำนานยุโรป มังกรเป็นสัตว์อันตรายและน่าสะพรึงกลัวสำหรับมนุษย์ มังกรจึงเป็นศัตรูตัวฉกาจของเหล่าวีรบุรุษทั้งหลาย การฆ่ามังกรและขึ้นเถลิงราชย์เป็นกษัตริย์. มังกรจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของกษัตริย์ ทั้งที่มีตัวตนจริง ๆ และในตำนานต่าง ๆ เช่น กษัตริย์อาเธอร์ ซึ่งมีนามสกุลว่า Pendragon มีความหมายว่า 'ศีรษะของมังกร' หรือ 'หัวหน้ามังกร' และมงกุฎของกษัตริย์อาเธอร์ ก็เป็นรูปมังกร ส่วนในตำนานจีน มังกรเป็นสัตว์มงคลและมีสถานะเป็นเทพเจ้า เสื้อคลุมมังกร 5 เล็บเป็นเครื่องทรงของที่กษัตริย์สามารถใช้ได้เท่านั้น ส่วนเครื่องทรงที่มีรูปมังกร 4 เล็บจะเป็นชุดสำหรับขุนนาง และ 3 เล็บสำหรับประชาชนทั่วไป", "title": "มังกร" }, { "docid": "9612#27", "text": "นอกจากนี้มังกรมีความสามารถที่จะอยู่ในทะเล บินขึ้นไปยังสวรรค์ และขดตัวบนพื้นในรูปของภูเขา มังกรจีนสามารถปัดเป่าวิญญาณพเนจรชั่วร้าย ปกป้องผู้บริสุทธิ์ และให้ความปลอดภัยกับทุกคนที่ถือสัญลักษณ์ของเขามังกรจีนเป็นเครื่องหมายแห่งอำนาจและคุณงามความดี ความองอาจและความกล้าหาญ ความเป็นวีรบุรุษและความอุตสาหะ และความสูงส่งและความศักดิ์สิทธิ์ และนอกจากนี้ มังกรจีนเป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดี ความเป็นมงคล และความมั่งคั่งอีกด้วย", "title": "มังกรจีน" }, { "docid": "9612#21", "text": "ความเชื่ออย่างแปลกประหลาดอย่างหนึ่งเกี่ยวกับมังกรของคนจีน คือการผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่างสัตว์ต่าง ๆ เช่น ช้างหมูและม้า ซึ่งถือว่าสัตว์เหล่านี้เป็นเชื้อสายของมังกรเช่นกัน คนจีนใช้มังกรเป็นสัตว์สัญลักษณ์แทนปีมะโรงซึ่งจะแตกต่างกับคนไทยที่ใช้พญานาค บางท่านกล่าวว่าปีนักษัตรเกิดสมัยพระพุทธเจ้า จีนคือผู้ที่คิดค้นแรกเริ่มตั้งแต่ราว 2,700 ปีมาแล้ว หรือภายหลังราชวงศ์โจวตะวันออกเล็กน้อย หลักฐานที่ยืนยันการคิดริเริ่มของจีนปรากฏอยู่บนแจกันสำริด ที่จัดแสดงอย่างถาวรอยู่ในพิพิธภัณฑสถานพระราชวังแห่งชาติไทเป ประเทศไต้หวัน ภายในห้องแสดงสำริดโบราณ การผสมข้ามสายพันธุ์ของมังกรนั้น ลูกหลานของมังกรได้แก่ ม้ามังกรในวรรณคดีไทยเรื่องพระอภัยมณีของไทยและเขมร ส่วนหมูและช้างนั้นภาคเหนือของประเทศไทยนั้น นับเป็นปีนักษัตรคือ ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเส็ง มะเมีย มะแม วอก ระกา จอ กุน ทางภาคเหนือใช้ช้างแทนสัตว์สัญลักษณ์ปีกุน ซึ่งไม่ใช่หมู", "title": "มังกรจีน" } ]
3414
อาลีเยนอร์แห่งอากีแตนเสียชีวิตเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "159473#0", "text": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122[1] - 1 เมษายน ค.ศ. 1204)", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" } ]
[ { "docid": "159473#46", "text": "กับ พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส:", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#31", "text": "จอห์น สปีดสันนิษฐานกันว่าพระเจ้าเฮนรีและอาลีเยนอร์อาจจะมีพระโอรสด้วยกันอีกองค์หนึ่งเป็นผู้ชายชื่อฟิลิป[4]แต่คงจะเสียชีวิตตั้งแต่ยังเป็นทารก[5]", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#37", "text": "ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1173 เฮนรียุวกษัตริย์ หรือ เฮนรีเคานท์แห่งอองจู (พระราชโอรสองค์ที่สอง) ไม่ทรงพอใจที่พระราชบิดาไม่ยอมให้มีอำนาจใดใด และทรงได้รับการยุยงจากผู้เป็นศัตรูของพระเจ้าเฮนรีให้ก่อการปฏิวัติ เฮนรีทรงหลบหนีไปปารีส ที่ปารีสทรงได้รับการสนับสนุนจากพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส เฮนรีกลับมาอากีแตนอย่างลับๆ เพื่อมาชักชวนพระอนุชาอีกสองพระองค์ ริชาร์ดและเจฟฟรี ที่ยังประทับอยู่กับพระราชินีอาลีเยนอร์ให้เข้าร่วมด้วย[6] พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงส่งพระโอรสทั้งสององค์ไปฝรั่งเศสเพื่อให้ไปช่วยเฮนรีก่อการปฏิวัติต่อพระราชบิดา[7] เมื่อส่งพระโอรสไปแล้วพระราชินีอาลีเยนอร์ก็ยุยงให้ขุนนางทางใต้ให้ลุกขึ้นสนับสนุนพระโอรส[8] ระหว่างปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนพฤษภาคมพระราชินีอาลีเยนอร์ก็เดินทางจากปัวตีเยไปปารีสแต่ทรงถูกจับระหว่างทางและถูกส่งไปให้พระเจ้าเฮนรีที่รูออง พระเจ้าเฮนรีก็มิได้ทรงประกาศข่าวการจับอย่างเป็นทางการ ปีต่อมาก็ไม่เป็นที่ทราบว่าที่ประทับของพระราชินีอาลีเยนอร์อยู่ที่ใด เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1174 พระเจ้าเฮนรีก็เสด็จกลับอังกฤษจากบาร์เฟลอร์ทรงนำพระราชินีอาลีเยนอร์กลับไปด้วย เมื่อเรือถึงท่าที่เซาทแธมตันพระราชินีอาลีเยนอร์ก็ถูกนำตัวไปกักขังไม่ที่ปราสาทวินเชสเตอร์ก็ที่ปราสาทเซรัมที่เมืองซอลทบรี", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#26", "text": "เมื่อเสด็จกลับฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์และพระราชินีอาลีเยนอร์ก็เสด็จกลับคนละลำเรือเพราะความที่ทรงมีความขัดแย้งกัน กองเรือถูกโจมตีโดยกองเรือไบเซ็นไทน์ที่พยายามจะจับทั้งสองพระองค์ แต่ทรงหลบหนีได้ เรือของพระราชินีอาลีเยนอร์โดนพายุจนเลยไปทางฝั่งบาร์บารี เมื่อพระราชินีอาลีเยนอร์มาถึงพาร์เลอร์โมในซิซิลีราวกลางเดือนกรกฎาคม ก็พบว่าผู้คนคิดว่าทั้งสองพระองค์เสด็จสวรรคตไปแล้วหลังจากทรงหายไปรางสองเดือนโดยไม่มีข่าวคราว แต่พระเจ้าหลุยส์ยังทรงหายไป พระเจ้าโรเจอร์แห่งซิซิลีทรงประทานที่พักอาศัยให้พระราชินีอาลีเยนอร์ ในที่สุดพระเจ้าหลุยส์ก็มาถึงคาลาเบรีย พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงได้รับข่าวการเสียชีวิตของพระปิตุลาเรย์มอนด์ที่ราชสำนักของพระเจ้าโรเจอร์ แทนที่จะเสด็จกลับฝรั่งเศสจากมาร์เซย์ ทั้งสองพระองค์ก็เสด็จไปเฝ้า พระสันตะปาปาที่ทัสคิวลัม (ที่ทรงหนีไปประทับห้าเดือนก่อนหน้านั้นเพื่อหลบหนีจากการปฏิวัติที่โรม) แทนเพื่อจะขอให้ประกาศการแต่งงานเป็นโมฆะ", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#50", "text": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท ราชวงศ์กาเปเซียง สงครามครูเสด ประวัติศาสตร์อังกฤษ", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#40", "text": "ในปี ค.ศ. 1183 เฮนรียุวกษัตริย์ ทรงพยายามก่อการปฏิวัติขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยทรงพยายามซุ่มโจมตีพระเจ้าเฮนรีที่ลิโมจส์ เฮนรีได้รับกองหนุนจากเจฟฟรีน้องชายและจากพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส แต่พระเจ้าเฮนรีทรงล้อมเมืองจนสามารถกดดันให้เคานท์เฮนรีต้องหนี เฮนรีหนีร่อนเร่ออกจากเมืองอย่างไม่มีจุดหมายในบริเวณอากีแตนจนล้มเจ็บด้วยโรคบิด เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1183 เฮนรีรู้ตัวว่าจะตายและสำนึกผิดในสิ่งต่างๆ ที่ได้ทำมา เมื่อพระเจ้าเฮนรีทรงส่งแหวนมาให้เฮนรีก็ทูลขอให้พระราชบิดาให้ทรงมีความปราณีต่อพระมารดาและขอให้ทรงปล่อย พระเจ้าเฮนรีทรงส่งทอมัสแห่งเอียร์ลีย์อัครดีคอนแห่งเวลล์ไปบอกข่าวการเสียชีวิตของเคานท์เฮนรีแก่พระราชินีอาลีเยนอร์ที่ปราสาทเซรัม[9] พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงกล่าวว่าทรงฝันเห็นเคานท์เฮนรีก่อนที่จะสิ้นชีวิต ในปี ค.ศ. 1193 ทรงบอกกับสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 3 ว่าความทรงจำในการเสียชีวิตของเคานท์เฮนรีเป็นสิ่งที่ทรมานใจพระองค์มาตลอด", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#32", "text": "นอกพระราชโอรสธิดากับอาลีเยนอร์แล้วพระเจ้าเฮนรีก็ยังมีพระราชบุตรนอกสมรสอีกหลายคน อย่างเช่นพระราชโอรส วิลเลียม เคานท์แห่งปอยเตียร์ของพระองค์กับอาลีเยนอร์ ประสูติเพียงสองสามเดือนจาก เจฟฟรี (พระโอรสนอกสมรส) พระราชินีอาลีเยนอร์ดูเหมือนจะทรงยอมรับในการนอกพระทัยของพระเจ้าเฮนรี เช่นจะเห็นได้จากกรณีของ เจฟฟรี ซึ่งพระเจ้าเฮนรียอมรับว่าเป็นพระโอรสและได้รับการเลี้ยงดูในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์โดยพระราชินีอาลีเยนอร์", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#3", "text": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตนทรงได้รับการเลี้ยงดูขึ้นมาในราชสำนักที่ถือกันว่ามีวัฒนธรรมดีที่สุดราชสำนักหนึ่งในยุโรปในสมัยนั้น ซึ่งเป็นที่กำเนิดของปรัชญารักในราชสำนัก (courtly love) ดยุกวิลเลียมที่ 10 พยายามส่งเสริมให้พระราชินีอาลีเยนอร์มีการศึกษาที่ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ แม้ว่าภาษาแม่ของพระราชินีอาลีเยนอร์จะเป็นภาษาปัวเตแวน (Poitevin) แต่ก็ทรงได้รับการศึกษาในภาษาละติน การดนตรี วรรณคดี การทรงม้า การล่าด้วยเหยี่ยว และการล่าสัตว์ อาลีเยนอร์มีพระลักษณะที่ชอบการสังคม มีพระปรีชาสามารถฉลาดเฉลียว และทรงมีชื่อว่าเป็นผู้มีหัวแข็ง นอกจากนั้นก็ทรงมีชื่อว่ามีพระสิริโฉมงดงามโดยผู้คนร่วมสมัยแต่ไม่มีหลักฐานคำบรรยายความงามของพระองค์หลงเหลืออยู่", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#1", "text": "พระราชินีอาลีเยนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137 ถึงวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1152 และพระราชินีของอังกฤษในพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1154 ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189 นอกจากนั้นก็ยังเป็นพระราชชนนีของพระมหากษัตริย์อังกฤษสองพระองค์สมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ และสมเด็จพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ และทรงมีส่วนร่วมในการเดินทางไปต่อสู้ในสงครามครูเสดครั้งที่ 2 อาลีเยนอร์แห่งอากีแตนสิ้นพระชนม์เมื่อ 1 เมษายน ค.ศ. 1204 ที่อารามฟองเทวฟรอด์ ในฝรั่งเศส พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงเป็นสตรีที่มีฐานะดีและอำนาจมากที่สุดในยุโรปในยุคกลาง", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#7", "text": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 เองในขณะนั้นก็ประชวรหนักจากโรคบิด (dysentery) และดูเหมือนว่าจะไม่ทรงรอด แต่แม้ว่าจะประชวรหนักพระเจ้าหลุยส์ก็มีพระสติดีพอที่จะคำนึงถึงสถานะการณ์ของพระองค์เองและสถานะการณ์ใหม่ แทนที่จะทรงดูแลอากีแตนและอาลีเยนอร์อย่างที่ดยุกวิลเลียมขอไว้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 ทรงตัดสินพระทัยจัดการเสกสมรสระหว่างอาลีเยนอร์กับพระโอรสของพระองค์เองแทนที่ ซึ่งทรงหวังว่าจะเป็นการผนวกดินแดนอากีแตนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรฝรั่งเศส และเป็นการเพิ่มอำนาจของฝรั่งเศสและของราชวงศ์คาเปต์ ฉะนั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมงหลังจากที่ทรงได้รับข่าว พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 ก็มีพระราชโองการให้หลวงพ่อซูแกร์จัดการเสกสมรสระหว่างเจ้าชายหลุยส์พระราชโอรสกับอาลีเยนอร์ เจ้าชายหลุยส์ทรงถูกส่งไปบอร์โดซ์พร้อมกับอัศวินอีก 500 คน รวมทั้ง หลวงพ่อซูแกร์, ทีโอโบลด์ที่ 2 เคานท์แห่งชองปาญ และ ราอูลที่ 1 เคานท์แห่งแวร์มองดัว", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#23", "text": "ขณะที่ทรงศึกอยู่ที่เมดิเตอร์เรเนียนพระราชินีอาลีเยนอร์ก็ทรงศึกษาเกี่ยวกับกฎการศึกทางทะเลซึ่งเป็นรากฐานของกฎหมายราชนาวี (admiralty law) ทรงนำความรู้นี้มาเผยแพร่ยังดินแดนของพระองค์ที่เกาะโอเลรองในปี ค.ศ. 1160 และต่อมาในอังกฤษ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้มีบทบาทในการก่อตั้งข้อตกลงในการค้าขายระหว่างคอนสแตนติโนเปิลและเมืองท่าต่างๆ ในดินแดนศักดิ์สิทธิ์", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#38", "text": "พระราชินีอาลีเยนอร์ถูกจำขังเป็นเวลา 15 ปี ตามที่ต่างๆ ในอังกฤษ ระหว่างที่ทรงถูกจำขังก็ทรงห่างเหินจากพระราชโอรสมากขึ้นโดยเฉพาะจากริชาร์ด ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์โปรดเพราะไม่ทรงมีโอกาสพบปะกับพระราชโอรสเท่าใดนัก ระหว่างที่ถูกกักพระองค์ก็ทรงถูกปล่อยบ้างบางโอกาสเช่นวันคริสต์มาส", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "978912#2", "text": "อาแดลมีบทบาทในการเมืองของราชอาณาจักร ร่วมกับพระภราดาของพระองค์ อ็องรีที่ 1, ตีโบที่ 5 และวิลเลียมมือขาว อองรีกับตีโบเสกสมรสกับพระราชธิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 กับอาลีเยนอร์แห่งอากีแตน", "title": "อาแดลแห่งช็องปาญ" }, { "docid": "159473#19", "text": "วันที่จะข้ามเขาแคดโมสพระเจ้าหลุยส์ทรงเลือกคุมกองหลังซึ่งเป็นกลุ่มของนักแสวงบุญผู้ไม่ถืออาวุธและกองเครื่องใช้ต่างๆ กองหน้าที่พระราชินีอาลีเยนอร์ร่วมเดินนำโดยเจฟฟรีแห่งแรนคองนายทหารจากแคว้นในการปกครองของอากีแตน ถึงแม้ว่าจะต้องควบคุมสิ่งของต่างแต่เจฟฟรีก็ขึ้นถึงยอดเขาแคดโมสสำเร็จ ซึ่งตามพระราชโองการแล้วเจฟฟรีก็ควรจะไปตั้งค่ายคอยรอกองหลังอยู่บนยอดเขา แต่เจฟฟรีตัดสินใจเดินทัพต่อเพื่อจะไปสมทบกับเคานท์แห่งมอเรียนพระปิตุลาของพระเจ้าหลุยส์ตรงบริเวณที่เป็นที่ราบสูงซึ่งเหมาะแก่การตั้งค่ายมากกว่า การขัดพระราชโองการเช่นนี้ดูเป็นเรื่องปกติของการเดินทัพครั้งนี้ เพราะพระเจ้าหลุยส์มิได้ออกคำสั่งอย่างเด็ดขาด", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#4", "text": "ในฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 1130 เมื่ออาลีเยนอร์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา วิลเลียมพระอนุชาผู้มีพระชนมายุ 4 พรรษาและพระมารดาก็สิ้นพระชนม์ที่ปราสาททาลมองต์ทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของอากีแตน อาลีเยนอร์จึงกลายเป็นทายาทของแคว้นอากีแตนซึ่งเป็นแคว้นที่ใหญ่และร่ำรวยที่สุดในฝรั่งเศสในเวลานั้น ปัวตูและอากีแตนรวมกันมีเนื้อที่กว่าหนึ่งในสามของฝรั่งเศสปัจจุบัน อาลีเยนอร์มีน้องที่เป็นธิดาในสมรสเพียงองค์เดียวชื่อเอลิธ (Aelith) แต่มักจะเรียกกันว่าเพโทรนิลลาแห่งอากีแตน พระเชษฐาต่างพระมารดา วิลเลียม และ จอสเซแล็ง ยอมรับกันว่าเป็นบุตรของดยุกวิลเลียมที่ 10 แต่มิได้เป็นมิสิทธิเป็นทายาท ต่อมาระหว่างสี่ปีแรกของรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ พระขนิษฐาและอนุชาสามพระองค์ก็เข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชสำนักของพระราชินีอาลีเยนอร์", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#41", "text": "หลังจากเฮนรียุวกษัตริย์สิ้นพระชนม์ ในปี ค.ศ. 1183 พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ก็อ้างสิทธิในดินแดนบางส่วนในนอร์มังดีที่อ้างว่าเป็นของมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส เคานท์เทสแห่งอองจู แต่พระเจ้าเฮนรีอ้างว่าดินแดนที่ทรงอ้างแต่เดิมเป็นของพระราชินีอาลีเยนอร์ เมื่อเฮนรีเสียชีวิตดินแดนเหล่านั้นก็กลับไปเป็นของพระราชินีอาลีเยนอร์ตามเดิม ด้วยเหตุผลเช่นที่ว่าพระเจ้าเฮนรีจึงทรงเรียกตัวพระราชินีอาลีเยนอร์มานอร์มังดีเมื่อปลายฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1183 เป็นเวลาราวหกเดือน ทรงเป็นเวลาที่ได้รับอิสระพอสมควรแต่ก็ยังมีผู้คุม[10] สองสามปีหลังจากนั้นพระราชินีอาลีเยนอร์ก็มักจะเสด็จร่วมกับพระสวามีในกิจการที่เกี่ยวกับการปกครองราชอาณาจักรแต่ก็ยังทรงมีผู้ควบคุมจึงมิได้ทรงมีอิสระอย่างเต็มที่", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#36", "text": "ถึงแม้ว่าชีวิตการสมรสระหว่างพระราชินีอาลีเยนอร์และพระเจ้าเฮนรีเป็นชีวิตสมรสที่รุนแรงเต็มไปด้วยการต่อปากต่อคำ และแม้ว่าจะมีพระสนมและทรงสั่งกักขังพระราชินีอาลีเยนอร์อยู่เป็นระยะเวลานาน แต่พระราชินีอาลีเยนอร์ก็ยังทรงกล่าวไว้ครั้งหนึ่งว่า ชีวิตแต่งงานระหว่างพระองค์กับพระเจ้าเฮนรีเป็นชีวิตที่มีความสุขกว่าชีวิตแต่งงานของพระองค์กับพระเจ้าหลุยส์ พระราชินีอาลีเยนอร์และพระเจ้าเฮนรีทรงมีความรักและนับถือซึ่งกันและกัน และทรงพยายามช่วยกันสมานสามัคคีครอบครัวเข้าด้วยกัน", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#48", "text": "กับ พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ:", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#2", "text": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตนทรงเป็นธิดาองค์โตของกีโยมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตน และดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ ผู้เป็นธิดาของไอเมอริคที่ 1 ไวเคานท์แห่งแชเทลเลโรลท์และเคานเทสแดงเกอร์รูสผู้เป็นภรรยาน้อยของกีโยมที่ 9 ดยุกแห่งอากีแตนและพระอัยกีของพระราชินีอาลีเยนอร์ การเสกสมรสของพระบิดาและมารดาเป็นการจัดการโดยดยุกวิลเลียมที่ 9 พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงได้รับการขนานพระนามตามพระมารดาเอเนอร์เป็น “Aliénor” จากภาษาละติน “alia Aenor” ซึ่งแปลว่า “อาลีเยนอร์อีกคนหนึ่ง” พระนามกลายมาเป็น “Eléanor” ในภาษาlangues d'oïl และ “Eleanor” ในภาษาอังกฤษ", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#6", "text": "อาลีเยนอร์มีพระชนมายุได้ 15 พรรษาเมื่อได้เป็นดัชเชสแห่งอากีแตนซึ่งทำให้เป็นผู้ที่เป็นที่ต้องการในการเสกสมรสไปทั้งยุโรป ในสมัยนั้นการลักพาตัวของผู้มีตำแหน่งดีเป็นการกระทำที่ยอมรับกันว่าว่าเป็นวิธีที่เร็วที่สุดที่จะได้ดินแดนและตำแหน่งใหม่ แต่วิลเลียมบอกพินัยกรรมในวันที่สิ้นชีวิตยกอากีแตนให้อาลีเยนอร์และขอให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส พระนามเล่น “พระเจ้าหลุยส์อ้วน” ให้เป็นผู้ดูแลอาลีเยนอร์ ดยุกวิลเลียมขอให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 ทรงดูแลทั้งแผ่นดินอากีแตนและอาลีเยนอร์ และให้หาสามีที่เหมาะสมให้ วิลเลียมสั่งให้รักษาข้อความในพินัยกรรมไว้เป็นความลับจนกว่าจะถึงพระหัตถ์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 ผู้ถือพินัยกรรมจึงเดินทางอย่างเร่งด่วนข้ามเทือกเขาพิเรนีสโดยแวะที่บอร์โดซ์เพื่อบอกข่าวแก่บาทหลวงแห่งบอร์โดซ์ก่อนที่จะเดินทางไปเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 ที่ปารีส", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#12", "text": "หลังจากการโจมตีชองปาญแล้วพระเจ้าหลุยส์ทรงรู้สึกสยดสยองต่อความรุนแรงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จึงทรงพยายามสร้างสันติภาพกับเคานท์ทีโอโบลด์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการที่เคานท์ทีโอโบลด์สนับสนุนพระองค์ในการค้านสถาบันศาสนาที่ยับยั้งการแต่งงานระหว่างราอูลเคานท์แห่งแวร์มองดัวและเพโทรนิลลาแห่งอากีแตน เคานท์ทีโอโบลด์ยอมตกลงพอที่จะมีเวลาสร้างเสริมชองปาญ พอเสร็จก็กลับคำสถานะการณ์จึงเป็นไปตามเดิมเมื่อราอูลไม่ยอมทิ้งเพโทรนิลลา ซึ่งทำให้พระเจ้าหลุยส์ต้องเสด็จกลับมาโจมตีชองปาญอีกครั้งหนึ่ง", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#21", "text": "พระเจ้าหลุยส์ทรงหลบหนีมาได้เพราะความไร้สมรรถภาพของพระองค์เนื่องด้วยความที่ไม่โปรดที่จะทรงเครื่องแบบกษัตริย์จึงทรงแต่เครื่องแบบทหารอย่างง่ายๆ เมื่อเกิดเหตุการณ์วุ่นวายขึ้นจึงทรงหลบหนีมาได้โดยไม่เป็นที่สังเกต", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#51", "text": "หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1665 หมวดหมู่:คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์อังกฤษ หมวดหมู่:ราชินีแห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์แพลนแทเจเนต หมวดหมู่:ราชวงศ์กาเปเซียง หมวดหมู่:ราชวงศ์ปัวตีเย หมวดหมู่:ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่เป็นสตรี หมวดหมู่:ดยุกแห่งอากีแตน หมวดหมู่:บุคคลจากบอร์โด หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอากีแตน", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#35", "text": "ส่วนทางพระเจ้าเฮนรีก็ยังทรงมุ่งมั่นในการขยายราชอาณาจักร ทรงข่มเหงข้าราชสำนักของพระราชินีอาลีเยนอร์ในการที่ทรงพยายามควบคุมดินแดนอากีแตนที่เป็นของพระราชินีอาลีเยนอร์และราชสำนักที่ปัวตีเยของพระองค์ พระเจ้าเฮนรีทรงเป็นส่วนหนึ่งของสาเหตุที่ทำให้ทอมัส เบ็คเค็ทอัครมหาเสนาบดีผู้ต่อมาเป็นอัครบาทหลวงแห่งแคนเตอร์บรีถูกฆาตกรรมที่แท่นบูชาภายในมหาวิหารแคนเตอร์บรีในปี ค.ศ. 1170 (แต่เหตุการณ์นี้ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่าพระเจ้าเฮนรีมีส่วนในการกำจัดทอมัส เบ็คเค็ทจริงหรือไม่) การฆาตกรรมของทอมัส เบ็คเค็ท เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงเพิ่มความชังในตัวพระเจ้าเฮนรีมากยิ่งขึ้น ซึ่งรวมไปถึงทัศนคติโดยทั่วไปในยุโรปในขณะนั้น", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#11", "text": "พระเจ้าหลุยส์จึงทรงเข้าสงครามกับเคานท์ทีโอโบลด์และทรงอนุญาตสภากฎหมาย (seneschal) ประกาศให้การแต่งงานของราอูลที่ 1 เคานท์แห่งแวร์มองดัวกับเลโอโนราผู้เป็นหลานของทีโอโบลด์เป็นโมฆะ เพื่อให้ราอูลมาแต่งงานกับเพโทรนิลลาแห่งอากีแตนพระขนิษฐาของอาลีเยนอร์ อาลีเยนอร์ทรงยุให้พระเจ้าหลุยส์สนับสนุนการเสกสมรสที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายของพระขนิษฐากับราอูลเคานท์แห่งแวร์มองดัว เคานท์แห่งชองปาญหยามพระพักตร์โดยไปเข้าข้างพระสันตะปาปา สงครามเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1142 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1144 ด้วยการยึดครองชองปาญโดยพระเจ้าหลุยส์ พระเจ้าหลุยส์ทรงโจมตีและเผาเมืองวิทรี (Vitry) ด้วยพระองค์เอง กล่าวกันว่าในการเผาเมืองประชาชนกว่าพันคนที่หนีหลบภัยเข้าไปในวัดแต่ก็ถูกเผาตาย", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#8", "text": "เจ้าชายหลุยส์เสด็จไปถึงบอร์โดซ์เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พอวันรุ่งขึ้นก็ทรงพบกับเจฟฟรีย์แห่งโลรูซ์บาทหลวงแห่งบอร์โดซ์ผู้ดูแลอาลีเยนอร์และเพโทรนิลลา เจ้าชายหลุยส์และอาลีเยนอร์ทรงเสกสมรสกันที่มหาวิหารแซ็ง-อองเดรแห่งบอร์โดเป็นพิธีใหญ่โตมีผู้เข้าร่วมพิธีราวพันคน แต่ในเรื่องดินแดนมีข้อแม้ว่าดินแดนอากีแตนเป็นอิสระจากฝรั่งเศส และจะรวมกับฝรั่งเศสก็ต่อเมื่ออาลีเยนอร์มีพระโอรส พระโอรสองค์โตที่เกิดกับอาลีเยนอร์จึงจะได้ดำรงพระอิสริยศเป็นทั้งพระเจ้าแผ่นดินของฝรั่งเศสและดยุกแห่งอากีแตน ฉะนั้นดินแดนของอาลีเยนอร์จะไม่ได้รับการผนวกกับฝรั่งเศสจนรุ่นพระโอรสถ้าทรงมี ของขวัญที่อาลีเยนอร์ถวายเจ้าชายหลุยส์ในวันเสกสมรสเป็นแจกันทำจากควอตซ์ (rock crystal vase) ซึ่งปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#25", "text": "พระเจ้าหลุยส์ทรงถูกสั่งโดยทางสถาบันศาสนาให้เสด็จต่อไปยังกรุงเยรูซาเลม พระราชินีอาลีเยนอร์ทรงประกาศความตั้งพระทัยที่จะอยู่ที่อันติออคกับกองทหารของอากีแตนกับเรย์มงด์แห่งอันติออค พระเจ้าหลุยส์จึงทรงต้องลากตัวพระราชินีอาลีเยนอร์ไปกรุงเยรูซาเลมด้วยกำลัง การเดินทัพไปกรุงเยรูซาเลมเป็นการเดินทางที่ทำความตรากตรำให้แก่กองทัพแต่ที่ยิ่งทำความลำบากใจให้แก่อัศวินมากขึ้นคือการจองจำพระราชินีอาลีเยนอร์ กองทัพที่แตกแยกไม่สามารถเอาชนะทหารมุสลิมได้ ด้วยสาเหตุที่ไม่มีผู้ใดทราบซึ่งอาจจะเป็นด้วยการที่เยอรมันต้องการเอาชัยชนะ ผู้นำกองทัพครูเสดจึงเลือกโจมตีดามาสคัสซึ่งเป็นเมืองเป็นพันธมิตรเมื่อก่อนโจมตี แต่เมื่อโจมตีไม่สำเร็จกองทัพครูเสดก็ถอยจากเยรูซาเลมและในที่สุดก็ถอยกลับยุโรป", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#33", "text": "ระยะเวลาระหว่างที่พระเจ้าเฮนรีขึ้นครองราชย์และการกำเนิดของพระราชโอรสองค์สุดท้องเป็นระยะเวลาที่เต็มไปด้วยปัญหารอบข้าง เริ่มโดยอากีแตนไม่ยอมรับการปกครองของพระเจ้าเฮนรี; การพยายามอ้างสิทธิในดินแดนทูลูสแต่ไม่สำเร็จ; เฮนรียุวกษัตริย์พระโอรสองค์รองเสกสมรสกับมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส เคานท์เทสแห่งอองจูพระราชธิดาของพระเจ้าหลุยส์; และความขัดแย้งระหว่างพระเจ้าเฮนรีกับทอมัส เบ็คเค็ทอัครมหาเสนาบดีผู้ต่อมาเป็นอัครบาทหลวงแห่งแคนเตอร์บรี ระหว่างนี้ไม่มีหลักฐานอะไรที่แสดงว่าพระราชินีอาลีเยนอร์มีบทบาทอย่างใดในเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ ภายในปี ค.ศ. 1166 พระราชินีอาลีเยนอร์ก็ทรงให้กำเนิดพระราชโอรสองค์สุดท้าย ชีวิตการสมรสระหว่างพระราชินีอาลีเยนอร์และพระเจ้าเฮนรีก็เริ่มเลวลงเป็นลำดับ พระเจ้าเฮนรีทรงยกย่องโรสซามุนด์ คลิฟฟอร์ดพระสนมคนโปรดโดยไม่ทรงปิดบัง ในปี ค.ศ. 1167 พระราชธิดาองค์ที่สามมาทิลดาแห่งอังกฤษก็เสกสมรสกับเฮนรีสิงห์แห่งแซ็กโซนี พระราชินีอาลีเยนอร์ยังประทับอยู่ที่อังกฤษกับพระธิดาจนปีหนึ่งก่อนที่มาทิลดาจะเสด็จไปนอร์มังดีในเดือนกันยายน หลังจากนั้นก็ทรงส่งสิ่งของส่วนพระองค์ไปอาร์จองตอง (Argentan) ในเดือนธันวาคมเมื่อมีการฉลองวันคริสต์มาสก็เป็นที่เห็นกันว่าทรงตกลงพระทัยที่จะแยกกับพระเจ้าเฮนรี หลังวันคริสต์มาสพระราชินีอาลีเยนอร์ก็เสด็จกลับปัวตีเย พระเจ้าเฮนรีมิได้ทรงขัดขวางแต่อย่างใดและยังทรงเดินทางไปพร้อมกับกองทหารที่ติดตามไปส่งด้วย ระหว่างทางก็ทรงโจมตีปราสาทที่เป็นของครอบครัวลูซินแยงที่แข็งข้อต่อพระองค์ เมื่อส่งแล้วก็ทรงทิ้งพระราชินีอาลีเยนอร์ให้อยู่ในความดูแลของเอิร์ลแพททริคเพื่อไปทรงงานส่วนพระองค์นอกอากีแตน เมื่อเอิร์ลแพททริคถูกฆ่าหลังจากการโจมตี พระราชินีอาลีเยนอร์จึงทรงถูกทิ้งให้ควบคุมทรัพย์สมบัติและดินแดนด้วยพระองค์เอง", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" }, { "docid": "159473#5", "text": "ในปี ค.ศ. 1137 ดยุกวิลเลียมที่ 10 ก็เดินทางจากปัวตูไปบอร์โดซ์โดยนำอาลีเยนอร์และเพโทรนิลลาไปด้วย เมื่อไปถึงบอร์โดซ์อาลีเยนอร์และเพโทรนิลลาก็ถูกทิ้งไว้ในความปกครองของเจฟฟรีย์แห่งโลรูซ์บาทหลวงแห่งบอร์โดซ์ผู้ที่วิลเลียมไว้วางใจในการดูแลความปลอดภัยของลูกสาว แล้วดยุกวิลเลียมก็เดินทางต่อไปยังมหาวิหารเซนต์เจมส์แห่งคอมโพสเตลลาทางตะวันออกเฉียงเหนือของสเปนเพื่อไปแสวงบุญ แต่เมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1137 ซึ่งเป็นวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (Good Friday) ดยุกวิลเลียมก็ล้มป่วยด้วยสาเหตุที่อาจจะมาจากอาหารเป็นพิษ วิลเลียมสิ้นชีวิตค่ำวันเดียวกัน อากีแตนจึงตกไปเป็นของอาลีเยนอร์", "title": "อาลีเยนอร์แห่งอากีแตน" } ]
3840
ฟังก์ชันเลขชี้กำลังจะเกิดขึ้น เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณอย่างหนึ่งเติบโตหรือเสื่อมสลายในอัตราที่ได้สัดส่วนกับค่าปัจจุบันใช่หรือไม่?
[ { "docid": "392228#4", "text": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลังจะเกิดขึ้น เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณอย่างหนึ่งเติบโตหรือเสื่อมสลายในอัตราที่ได้สัดส่วนกับค่าปัจจุบัน ตัวอย่างสถานการณ์นี้เช่นดอกเบี้ยทบต้นต่อเนื่อง เมื่อ ค.ศ. 1683 ยาคอบ แบร์นูลลี (Jocob Bernoulli) พบว่ามันเป็นเช่นนั้นโดยข้อเท็จจริง [4] และนำไปสู่จำนวน e ที่ไม่ทราบค่าดังนี้", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" } ]
[ { "docid": "46694#3", "text": "ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมปริภูมิกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้", "title": "ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ" }, { "docid": "7205#14", "text": "เมื่อ \"n\" มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า \"n\"! จะมีอัตราการเติบโตมากกว่าพหุนามและฟังก์ชันเลขชี้กำลังทั้งหมดที่มี \"n\" ประกอบอยู่ (แต่ก็ยังน้อยกว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้น)", "title": "แฟกทอเรียล" }, { "docid": "46223#7", "text": "ลักษณะพิเศษของกุ้งสายพันธุ์นี้คือ สามารถสร้างความคุ้นเคย หรือฟาร์มลักษณะนิสัยภายใต้ระบบการเพาะเลี้ยงได้เช่น สามารถทำการเพาะเลี้ยงได้ทั้งในน้ำที่มีระดับความเค็มที่ 5-35 ส่วนในพันส่วน (PPT) และระดับความเค็มต่ำ 0-5 ส่วนในพันส่วน แต่ระดับความเค็มที่เจริญเติบโตได้ดีคือ 10-22 ส่วนในพันส่วน อุณหภูมิของน้ำที่เจริญเติบโตได้ดี คือ 26-29 องศาเซลเซียส แต่สามารถทำการเพาะเลี้ยงได้ในช่วงอุณหภูมิ 25-35 องศาเซลเซียส ระดับออกซิเจนละลายน้ำ (D.O.) ควรมีค่า 4-9 มิลลิกรัมต่อลิตร และสำหรับค่าความเป็นกรดและด่าง (pH) ควรอยู่ระหว่าง 7.2-8.6 ซึ่งอาจจะทำการเพาะเลี้ยงได้ทั้งในบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง (Coastal area) หรือบริเวณพื้นที่ในแผ่นดินที่ลึกเข้ามาซึ่งเป็นเขตพื้นที่ที่มีความเค็มต่ำ (Inland area) ก็ตาม อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 6-23 กรัม ในช่วง 2-5 เดือน อัตรารอดเฉลี่ย ประมาณ 30-65% ในการเพาะเลี้ยงทั่วไป และ 80-90% ในการเพาะเลี้ยงตามศูนย์วิจัยที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษจากข้อมูล ของ F.A.O. ปี ค.ศ. 2000 รายงานว่าผลผลิตกุ้งสายพันธุ์นี้ที่จับจากทะเลต่อปี มีค่าประมาณ 250 ตัน และผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงของประเทศเอกวาดอร์ มีปริมาณ 72,000 ตัน และของประเทศสหรัฐอเมริกามีปริมาณ 28,000 ตัน โดยทั่วไปผลผลิตในการเพาะเลี้ยงมักจะไม่แน่นอน สำหรับในกลุ่มประเทศละตินอเมริกามีปริมาณในช่วง 500-1,000 กิโลกรัม ต่อ 6.25 ไร่ต่อรุ่น และในประเทศสหรัฐอเมริกามีปริมาณตั้งแต่ 500-3,000 กิโลกรัมต่อ 6.25 ไร่ต่อรุ่น ข้อมูลของบริษัทที่ดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจกุ้งสายพันธุ์นี้ของประเทศอิสราเอลที่ทำการเพาะเลี้ยงกุ้งสายพันธุ์นี้ รายงานว่าสามารถทำการเพาะเลี้ยงกุ้งชนิดนี้ในน้ำกร่อย (brackish water) ที่มีระดับความเค็มที่ 3 ส่วน ในพันส่วน ค่าอัลคาไลน์ 180 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าความกระด้างรวม 130 มิลลิกรัมต่อลิตร รักษาระดับออกซิเจนละลายน้ำ (D.O.) ที่ 6-8 มิลลิกรัมต่อลิตร ระดับค่าความเป็นกรดและด่าง (pH) ที่ 7.5-8.0 มีระบบเติมอากาศที่ดี ระบบบำบัดน้ำเสียที่ดีสามารถเลี้ยงในระบบความหนาแน่นสูงที่ 156.25 ตัวต่อตารางเมตร", "title": "กุ้งขาว" }, { "docid": "392228#0", "text": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง หรือ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (English: exponential function) หมายถึงฟังก์ชัน ex เมื่อ e คือจำนวนที่ทำให้ฟังก์ชัน ex เท่ากับอนุพันธ์ของมันเอง (ซึ่ง e มีค่าประมาณ 2.718281828) [1][2] ฟังก์ชันเลขชี้กำลังถูกใช้เพื่อจำลองความสัมพันธ์ เมื่อการเปลี่ยนแปลงคงตัวในตัวแปรอิสระ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนเดียวกันในตัวแปรตาม (เช่นการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอัตราร้อยละ) ฟังก์ชันนี้มักเขียนเป็น exp(x) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อตัวแปรอิสระเขียนเป็นตัวยกไม่ได้", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "3852#34", "text": "รูปแบบการผลิตแบบทุนนิยมนั้นมีศักยภาพในการเติบโตได้มหาศาล ทั้งนี้เนื่องจากนายทุนนั้นสามารถนำผลกำไรที่ได้ไปลงทุนเพิ่มในเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ และนายทุนเองก็มีแรงจูงใจที่จะการลงทุนเพิ่มเติมในลักษณะเช่นนี้ด้วย มากซ์มองว่าชนชั้นนายทุนเป็นกลุ่มที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นกลุ่มที่คอยปฏิวัติเครื่องมือในการผลิตอยู่ตลอดเวลา แต่มากซ์เชื่อว่าในระบบทุนนิยมนั้นจะมีการเกิดวิกฤตเป็นระลอก ๆ เขาชี้ให้เห็นว่านายทุนจะลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ในปริมาณที่มากขึ้น ในขณะที่จะลดต้นทุนของแรงงานลงเรื่อย ๆ ด้วยเช่นกัน เนื่องจากมากซ์เชื่อว่ามูลค่าส่วนเกินที่ได้จากการขูดรีดแรงงานคือที่มาของกำไร เขาสรุปว่าการลงทุนดังกล่าวจะทำให้อัตราได้กำไรลดลงแม้ว่าเศรษฐกิจจะเติบโตขึ้นก็ตาม การที่อัตราได้กำไรลดลงต่ำกว่าจุด ๆ หนึ่งจะก่อให้เกิดภาวะถดถอยหรือภาวะตกต่ำที่จะทำให้บางส่วนของระบบเศรษฐกิจจะพังลง มากซ์เข้าใจว่าในช่วงวิกฤตดังกล่าวค่าจ้างแรงงานก็จะเกิดการตกต่ำลงเช่นเดียวกัน และในที่สุดก็จะทำให้การลงทุนในเทคโนโลยีใหม่เป็นไปได้ และทำให้เกิดการเติบโตขึ้นของส่วนใหม่ ๆ ของระบบเศรษฐกิจ", "title": "คาร์ล มากซ์" }, { "docid": "392228#67", "text": "แฟกทอเรียลก็เติบโตเร็วกว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลัง แต่ช้ากว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้น ตัวอย่างของฟังก์ชันเลขชี้กำลังสองชั้นเช่น จำนวนแฟร์มาต์ (Fermat number) ที่ได้จากสูตร F ( m ) = 2 2 m + 1 {\\displaystyle F(m)=2^{2^{m}}+1} และจำนวนแมร์แซนสองชั้น (double Mersenne number) ที่ได้จากสูตร M M ( p ) = 2 ( 2 p − 1 ) − 1 {\\displaystyle MM(p)=2^{(2^{p}-1)}-1} เป็นต้น", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "384894#6", "text": "การศึกษาเชิงประจักษ์โดยตรงบ่งชี้ว่า ผลกระทบการขจัดความยากจนในสหรัฐอเมริกาจะเกิดขึ้นค่อนข้างน้อย แม้ว่าจะไม่มีผลกระทบด้านการว่างงานก็ตาม แรงงานค่าแรงต่ำจำนวนน้อยมากมาจากครอบครัวยากจน แต่ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำส่วนใหญ่จะเป็นวัยรุ่นและหญิงผู้ใหญ่ที่มีฝีมือต่ำและทำงานนอกเวลา และอัตราค่าแรงที่มีผลต่อรายได้ของพวกเขาใด ๆ เป็นสัดส่วนลดลงเทียบกับเวลาที่พวกเขาถูกเสนอให้ทำงาน ดังนั้น หากผลลัพธ์ด้านตลาดสำหรับครอบครัวฝีมือต่ำถูกผนวกในวิธีที่สังคมพอใจปัจจัยอื่นนอกเหนือจากอัตราค่าแรงจะต้องถูกพิจารณาด้วย ได้แก่ โอกาสการจ้างงานและปัจจัยจำกัดการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน[4] นักเศรษฐศาสตร์ โทมัส โซเวลล์ ได้แย้งว่า โดยไม่คำนึงถึงประเพณีหรือกฎหมาย ค่าจ้างขั้นต่ำแท้จริงจะต้องเป็นศูนย์เสมอ และศูนย์เป็นค่าแรงที่บางคนจะได้รับหากพวกเขาไม่สามารถหางานทำได้เมื่อพวกเขาพยายามเข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือเมื่อพวกเขาสูญเสียงานที่พวกเขากำลังทำอยู่[5]", "title": "ค่าจ้างขั้นต่ำ" }, { "docid": "392228#62", "text": "อย่างไรก็ตาม เมื่อ b ไม่ใช่จำนวนเต็ม ฟังก์ชันนี้จะเป็นฟังก์ชันหลายค่า เพราะ θ ไม่ได้มีเพียงหนึ่งเดียว", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#7", "text": "ถ้ามีเงินต้นจำนวน 1 และได้รับดอกเบี้ยในอัตรารายปี x โดยทบต้นรายเดือน ดังนั้นอัตราดอกเบี้ยที่ได้รับต่อเดือนจึงเป็น x/12 เท่าของมูลค่าปัจจุบัน แต่ละเดือนจึงมียอดรวมของเดือนก่อนหน้าคูณด้วย (1+x/12) ในที่สุดมูลค่าที่ได้เมื่อสิ้นปีจึงเท่ากับ (1+x/12)12 ถ้าคิดดอกเบี้ยทบต้นรายวันแทน มูลค่าจะกลายเป็น (1+x/365)365 และถ้ากำหนดให้จำนวนช่วงเวลาต่อปีเพิ่มขึ้นโดยไม่จำกัด จะนำไปสู่นิยามของลิมิตของฟังก์ชันเลขชี้กำลังดังนี้", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "26355#11", "text": "นีโอมัยซินสูตรที่ได้มาตรฐานนั้นจะประกอบไปด้วยสารประกอบที่เกี่ยวเนื่องหลายชนิด ได้แก่ นีโอมัยซินเอ (หรือนีเอมีน – Neamine), นีโอมัยซินบี (หรือฟรามัยซีติน – framycetin), นีโอมันซินซี, และสารประกอบอื่นอีกหลายชนิดในสัดส่วนที่ค่อนข้างน้อย โดยในสารประกอบทั้งหมดที่เป็นส่วนผสมของนีโอมัยซินนี้พบว่า นีโอมัยซินบี เป็นสารที่มีปริมาณมากที่สุด รองลงมาคือ นีโอมัยซินเอ โดยนีโอมัยซินเอเป็นสารที่ไม่ออกฤทธิ์ที่เกิดจากการเสื่อมสลาย (inactive degradation product) ของนีโอมัยซินซี และบีไอโซเมอร์[19] จำนวนและสัดส่วนของสารที่เป็นส่วนประกอบของนีโอมัยซินจะมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบของการผลิตขึ้นอยู่กับผู้ผลิตและกระบวนการที่ใช้ในการผลิต[20]", "title": "นีโอมัยซิน" }, { "docid": "392228#1", "text": "กราฟของฟังก์ชัน y = ex มีลักษณะตั้งชันขึ้นและมีอัตราเพิ่มค่าเร็วยิ่งขึ้นเมื่อ x เพิ่มขึ้น กราฟจะวางตัวอยู่เหนือแกน x เสมอ แต่เมื่อ x เป็นลบกราฟจะลู่เข้าแกน x ดังนั้นแกน x จึงเป็นเส้นกำกับแนวนอน (horizontal asymptote) เส้นหนึ่งของกราฟนี้ ความชันของกราฟแต่ละจุดมีค่าเท่ากับพิกัด y ของจุดนั้น ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเลขชี้กำลังคือลอการิทึมธรรมชาติ ln(x) ด้วยเหตุนี้ตำราบางเล่มจึงอ้างถึงฟังก์ชันเลขชี้กำลังว่าเป็น แอนติลอการิทึม (antilogarithm) [3]", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "3181#3", "text": "อัตราการเติบโตของฟังก์ชันใดๆ มีค่าเป็นสัญกรณ์โอใหญ่ของอีกฟังก์ชันหนึ่งแล้ว แสดงว่าอัตราการเติบโตของฟังก์ชันใดๆนั้นจะ\"โตน้อยกว่าหรือเท่ากับ\"อัตราการเติบโตของฟังก์ชันดังกล่าว ดังนั้นจึงอาจนิยามได้ว่า\nอย่างไรก็ตาม นิยามนี้จำกัดเฉพาะกรณี formula_13 เท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอต่อการอธิบายในกรณีที่ formula_19 ดังนั้นจึงอาจใช้นิยามในอีกรูปแบบ ในการขยายไปถึงสัญกรณ์โอใหญ่กณิกนันต์ ซึ่งเป็นพิจารณาอัตราการเติบโตของฟังกชันรอบ ๆ จุด a ใด ๆ\nนิยามทั้งสองรูปแบบสามารถขยายไปหลายตัวแปรได้\nหรือในอีกนิยามที่พิจารณาอัตราการเติบโตของฟังก์ชันรอบๆพิกัด formula_31 ใดๆว่า", "title": "สัญกรณ์โอใหญ่" }, { "docid": "392228#13", "text": "อนุพันธ์ (อัตราการเปลี่ยนแปลง) ของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง คือฟังก์ชันเลขชี้กำลังโดยตัวมันเอง หรืออีกนัยหนึ่งคือ ฟังก์ชันที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงได้สัดส่วนกับฟังก์ชันตัวเอง (แทนที่จะหมายถึงเท่ากับตัวเอง) สามารถแสดงได้ในรูปแบบฟังก์ชันเลขชี้กำลัง สมบัติของฟังก์ชันข้อนี้นำไปสู่การอธิบายการเติบโตและการเสื่อมสลายแบบเลขชี้กำลัง", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#25", "text": "ความชันของกราฟ ณ จุดใด ๆ เท่ากับความสูงของฟังก์ชันที่จุดนั้น อัตราการเพิ่มของฟังก์ชันที่จุด x เท่ากับค่าของฟังก์ชันที่จุด x ฟังก์ชันที่เป็นคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ y ′ = y exp เป็นจุดตรึง (fixed point) ของอนุพันธ์ในฐานะฟังก์ชันนัล (functional)", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#68", "text": "e (ค่าคงตัว) การเติบโตแบบเลขชี้กำลัง การเสื่อมสลายแบบเลขชี้กำลัง การยกกำลัง เทเทรชัน", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#52", "text": "เมื่อ a และ b เป็นค่าจริง (ดูเพิ่มที่สูตรของออยเลอร์) สูตรนี้เป็นตัวเชื่อมโยงฟังก์ชันเลขชี้กำลังเข้ากับฟังก์ชันตรีโกณมิติและฟังก์ชันไฮเพอร์บอลิก ดังนั้นฟังก์ชันมูลฐาน (elementary function) ทั้งหมดยกเว้นพหุนาม เป็นผลมาจากฟังก์ชันเลขชี้กำลังไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#66", "text": "ฟังก์ชันที่ประกอบด้วยพจน์เชิงเลขชี้กำลังสองพจน์ ซึ่งมีเลขชี้กำลังต่างกัน ฟังก์ชัน f ( x ) = a a x {\\displaystyle f(x)=a^{a^{x}}} ฟังก์ชันนี้มีอัตราการเติบโตเร็วกว่าฟังก์ชันเลขชี้กำลังธรรมดา เช่นกำหนดให้ a = 10 จะได้ f(−1) = 1.26, f(0) = 10, f(1) = 1010, f(2) = 10100 = กูกอล, …, f(100) = กูกอลเพลกซ์", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#42", "text": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลังสามารถนิยามบนระนาบเชิงซ้อนได้หลายรูปแบบเทียบเท่ากัน เช่นเดียวกับกรณีของจำนวนจริง การนิยามเหล่านี้บางอย่างเหมือนสูตรต่าง ๆ ของฟังก์ชันเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริง หากกล่าวโดยเฉพาะเจาะจง เรายังสามารถใช้นิยามอนุกรมกำลังซึ่งค่าจริงถูกแทนที่ด้วยค่าเชิงซ้อน", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "703028#1", "text": "การทดสอบเส้นแนวยืนกระทำได้โดยใช้ไม้บรรทัดหรือสันตรงลากเส้นตรงขนานกับแกน \"y\" สำหรับค่า \"x\" ใด ๆ ที่เลือกไว้ ถ้าเส้นแนวยืนผ่านกราฟมากกว่าหนึ่งครั้งบนค่า \"x\" ใด ๆ ก็ตาม กราฟนั้นจะไม่ใช่กราฟของฟังก์ชัน และในทางตรงข้าม ถ้าเส้นแนวยืนผ่านกราฟเพียงครั้งเดียว ไม่ว่าจะลากเส้นตรงที่ตำแหน่งไหน กราฟนั้นจะเป็นกราฟของฟังก์ชัน ตัวอย่าง กราฟเส้นโค้งที่อยู่ในรูปเส้นตรงนอกเหนือจะเส้นแนวยืน เป็นกราฟของฟังก์ชันเสมอ อีกตัวอย่างหนึ่ง กราฟพาราโบลาที่หันข้าง (ที่มีเส้นบังคับเป็นเส้นแนวยืนเส้นหนึ่ง) ไม่เป็นกราฟของฟังก์ชัน เนื่องจากเส้นแนวยืนบางเส้นผ่านกราฟพาราโบลาสองครั้ง", "title": "การทดสอบเส้นแนวยืน" }, { "docid": "392228#55", "text": "สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z และ w ทุกจำนวน การยกกำลังนี้จึงเป็นฟังก์ชันหลายค่าตามไปด้วย กฎการยกกำลังที่ระบุไว้ข้างต้นยังคงเป็นจริง ถ้าตีความว่าเป็นประโยคที่เกี่ยวกับฟังก์ชันหลายค่าอย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตามกฎการคูณเลขชี้กำลังสำหรับจำนวนจริงบวก ไม่สามารถใช้ได้ในบริบทของฟังก์ชันหลายค่า นั่นคือ", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#24", "text": "นั่นคือ ex เป็นอนุพันธ์ของตัวเอง และเป็นตัวอย่างพื้นฐานอันหนึ่งของฟังก์ชันแบบพฟัฟฟ์ (Pfaffian function) ฟังก์ชันต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปแบบ cex ซึ่ง c เป็นค่าคงตัว เป็นฟังก์ชันกลุ่มเดียวที่มีสมบัติเช่นนี้ (จากทฤษฎีบทปิการ์-ลินเดเลิฟ (Picard–Lindelöf theorem)) หรือกล่าวให้เจาะจงได้ว่า กำหนดให้ k เป็นค่าคงตัวจำนวนจริงใด ๆ ฟังก์ชัน f: R→R จะสอดคล้องกับเงื่อนไข f ′ = kf ก็ต่อเมื่อ f(x) = cekx สำหรับค่าคงตัว c บางจำนวน การอธิบายด้วยวิธีอื่นที่ให้ผลเหมือนกันเช่น", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "577035#0", "text": "ในแคลคูลัสเวกเตอร์ เกรเดียนต์ของสนามสเกลาร์คือสนามเวกเตอร์ที่ชี้ไปในทิศทางของอัตราการเพิ่มขึ้นที่ใหญ่ที่สุดของสนามสเกลาร์และมีขนาดที่เป็นอัตราของการเพิ่มขึ้น ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงในปริภูมิของปริมาณใด ๆ สามารถแสดง (เช่น แบบภาพกราฟิก) ได้โดยใช้ความชัน (slope) ในวิชาคณิตศาสตร์, เกรเดียนต์เป็นลักษณะทั่วไปของแนวคิดตามปกติของอนุพันธ์กับฟังก์ชันของหลายตัวแปร (functions of several variables) ถ้า เป็นฟังก์ชันอนุพันธ์ของหลายตัวแปรที่เรียกว่า \"สนามสเกลาร์\" เกรเดียนต์ของมันคือเวกเตอร์ของอนุพันธ์ย่อย n ของ f ดังนั้นจึงเรียกค่าฟังก์ชันเวกเตอร์ (vector-valued function) ที่ได้ว่าเป็น สนามเวกเตอร์ (vector field)", "title": "เกรเดียนต์" }, { "docid": "571893#3", "text": "ในขั้นตอนกลางแต่ละช่วง จะมีการปล่อยกัมมันตภาพรังสีจำนวนเดียวกันกับไอโซโทปดั้งเดิม (แต่ไม่ใช่พลังงานเดียวกัน) เมื่อมีความสมดุล ไอโซโทปหลานจะปรากฏให้เห็นในสัดส่วนโดยตรงกับครึ่งชีวิตของมัน แต่เนื่องจากกิจกรรมของมันเป็นสัดส่วนผกผันกับครึ่งชีวิตของมัน นิวไคลด์แต่ละตัวในห่วงโซ่การสลายในที่สุดก็ก่อให้เกิดกัมมันตภาพรังสีมากเท่ากับส่วนหัวของห่วงโซ่ แม้ว่าจะไม่ใช่พลังงานเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นยูเรเนียม-238 มีกัมมันตรังสีอย่างอ่อน แต่ pitchblende ซึ่งเป็นแร่ยูเรเนียมดิบ มีกัมมันตรังสีมากกว่าเป็น 13 เท่าของโลหะยูเรเนียมบริสุทธิ์ในปริมาณที่เท่ากันเพราะมันประกอบด้วยเรเดียมและไอโซโทปลูกสาวอื่น ๆ. ไอโซโทปของเรเดียมที่ไม่เสถียรไม่เพียงแต่เป็นตัวปลดปล่อยกัมมันตภาพรังสีที่มีนัยสำคัญเท่านั้น แต่ในขั้นตอนต่อไปในห่วงโซ่การสลายพวกมันยังสร้างเรดอนซึ่งเป็นก๊าซกัมมันตรังสีที่หน​​ัก, เฉื่อย, และเกิดขึ้นตามธรรมชาติอีกด้วย หินที่มีทอเรียมและ/หรือยูเรเนียม (เช่นหินแกรนิตบางก้อน) ปล่อยก๊าซเรดอนที่สามารถสะสมในสถานที่ปิดล้อมเช่นใต้ดินหรือเหมืองใต้ดิน การเปิดรับเรดอนถูกพิจารณาว่าเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดในผู้ไม่สูบบุหรี่", "title": "ห่วงโซ่การสลาย" }, { "docid": "392228#29", "text": "ดังนั้นฟังก์ชันเลขชี้กำลังใด ๆ จึงเป็นพหุคูณค่าคงตัวของอนุพันธ์ของตัวเอง", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "579845#2", "text": "เมื่อวัตถุกำลังหมุนรอบแกน, แรงบิดจะต้องถูกนำมาใช้เพื่อเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมของมัน ปริมาณของแรงบิดที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ก็ตามในโมเมนตัมเชิงมุมจะเป็นสัดส่วนกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ค่าคงที่ของความได้สัดส่วนเป็นคุณสมบัติของวัตถุที่รวมมวลและรูปร่างของมันเข้าไว้ด้วยกัน, ที่รู้จักกันว่าเป็นโมเมนต์ความเฉื่อย ในกลศาสตร์ดั้งเดิม,", "title": "โมเมนต์ความเฉื่อย" }, { "docid": "392228#2", "text": "ในบางกรณีคำว่า ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ก็มีใช้ในความหมายทั่วไปยิ่งขึ้น สำหรับฟังก์ชันต่าง ๆ ที่อยู่ในรูปแบบ cbx เมื่อ b คือฐานที่เป็นจำนวนจริงบวก ไม่จำเป็นต้องเป็น e ดูเพิ่มที่การเติบโตแบบเลขชี้กำลังสำหรับความหมายนี้", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#33", "text": "ถ้าอัตราการเติบโตหรือเสื่อมสลายของตัวแปรได้สัดส่วนกับขนาดของตัวแปร เช่นการเติบโตของประชากรอย่างไม่จำกัด ดอกเบี้ยทบต้นต่อเนื่อง หรือการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี ตัวแปรนั้นจะสามารถเขียนในรูปแบบค่าคงตัวคูณด้วยฟังก์ชันเลขชี้กำลังของเวลา", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#14", "text": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลังขยายแนวคิดเป็นฟังก์ชันทั่ว (entire function) ชนิดหนึ่งบนระนาบเชิงซ้อน สูตรของออยเลอร์เกี่ยวข้องกับค่าของฟังก์ชันเมื่อส่งค่าอาร์กิวเมนต์ส่วนจินตภาพไปยังฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันเลขชี้กำลังก็มีสิ่งที่คล้ายกันสำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นเมทริกซ์ หรือแม้แต่สมาชิกของพีชคณิตแบบบานัค (Banach algebra) หรือพีชคณิตแบบลี (Lie algebra)", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" }, { "docid": "392228#49", "text": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลังเป็นฟังก์ชันทั่ว (entire function) ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมันเป็นสาทิสสัณฐาน (holomorphic) บนระนาบเชิงซ้อนทั้งหมด ให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนได้ทุกจำนวนยกเว้นค่า 0 สิ่งนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของทฤษฎีบทเล็กของปิการ์ (Picard's little theorem) ซึ่งกล่าวว่า ฟังก์ชันทั่วที่ไม่เป็นค่าคงตัวใด ๆ ให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนได้ทุกจำนวน โดยอาจยกเว้นค่าใดค่าหนึ่ง", "title": "ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง" } ]
2148
เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว วางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อใด ?
[ { "docid": "219542#16", "text": "สำหรับยอดจำหน่ายของดีวีดีแผ่นแรกอนิเมะนั้น เปิดตัวได้อันดับที่ 7 ในชาร์ตโอริกอนประจำสัปดาห์ของวันที่ 29 กรกฎาคม 2009 ได้ยอดจำหน่ายรวม 8,000 ชุด ส่วน แผ่นบลูเรย์ นั้น ยอดจำหน่ายรวม 33,000 ชุด ในสัปดาห์เดียวกัน โดยติดชาร์ตอันดับสูงสุด ของชาร์ตโอริกอนบลูเรย์ และในเดือนสิงหาคม 2009 อนิเมะแผ่นแรกของ \"K-ON!\" เป็นทีวีอนิเมะที่ขายดีที่สุดในญี่ปุ่น โดยผู้ครองอันดับเดิมคือ \"มาครอสฟรอนเทียร์\" ซึ่งมียอดจำหน่ายของแผ่นแรกรวม 22,000 ชุด และปัจจุบันยอดขายบูลเรย์สูงสุดประจำปี 2009 ในญี่ปุ่น คือ \"\" ซึ่งมียอดจำหน่ายรวม 96,000 ชุด ซึ่ง \"K-ON!\" แผ่นแรกนั้นอยู่อันดับที่ 10 (ถ้าจัดลำดับกับอนิเมะด้วยกันแล้วจะอยู่อันดับที่ 5) ด้วยยอดจำหน่ายรวม 40,000 แผ่น \"K-ON!\" ก็ได้รับรางวัลชนะเลิศในสาขา Best TV Animation Award ในงาน Tokyo International Anime Fair ประจำปี 2010 และ \"K-ON!!\" ก็ได้รับรางวัลชนะเลิศในสาขา Best Television award ในงาน Animation Kobe Awards ประจำปี 2010 ด้วย", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#0", "text": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว (; ) เป็นมังงะซึ่งแต่งเรื่องและเขียนภาพโดย คาคิฟลาย (Kakifly) ลงเป็นตอน ๆ ในนิตยสารแนวเซเน็ง \"มังงะไทม์คิราระ\" (Manga Time Kirara) และนิตยสาร \"มังงะไทม์คิราระกะรัต (Manga Time Kirara Carat)\" ของสำนักพิมพ์โฮบุนชะ (Houbunsha) ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 ถึงเดือนตุลาคม 2553", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" } ]
[ { "docid": "391412#1", "text": "อากิเริ่มอาชีพนักร้องจากผลงานเพลงเปิดและเพลงปิดของอนิเมะชุด \"เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว\" เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 และในเดือนเดียวกันนั้น อากิและนักพากย์อีก 3 คนได้เปิดตัวกลุ่มดนตรีสเฟียร์ ด้วยซิงเกิล \"Future Stream\" ต่อมา เพลงปิดของ \"เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว\" ได้รับรางวัล \"เพลงยอดเยี่ยม\" จากแอนิเมชันโคเบะ อากิออกซิงเกิลเดี่ยวชุดแรกในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 ชื่อว่า \"love your life\" เธอได้รับรางวัล \"การแสดงดนตรียอดเยี่ยม\" ในงานเซยูอวอร์ดสครั้งที่ 4 พร้อมกับศิลปินอีก 4 คน จากผลงานมินิอัลบั้ม \"โฮกะโงะ ที ไทม์\" ของ \"เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว\"", "title": "อากิ โทโยซากิ" }, { "docid": "219542#7", "text": "มังงะเริ่มตีพิมพ์ในนิตยสาร \"มังงะ ไทม์ คิราระ\" ในสำนักพิมพ์ โฮบุนชะ ในฉบับเดือนพฤษภาคม 2007 จำหน่ายเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2007และมังงะยังได้ตีพิมพ์ลงในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ \"มังงะ ไทม์ คิราระ คารัท\" ด้วย ในฉบับเดือนตุลาคม 2008 จำหน่ายเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2008 และฉบับรวมเล่ม เล่มแรกวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2008 เล่มสองวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2009 เล่มสามวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2010 และเล่มสี่ซึ่งเป็นเล่มสุดท้ายวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2010 มีลิขสิทธิ์จำหน่ายต่างประเทศได้แก่ ทวีปอเมริกาเหนือ ลิขสิทธิ์โดย Yen Press ประเทศไทย ลิขสิทธิ์โดย สยามอินเตอร์คอมิกส์ ประเทศอินโดนีเซีย ลิขสิทธิ์โดย Elex Media Komputindo สำหรับ Anthology ของ เค-อง! ได้แก่, \"มินนะ เดะ อุนตัน!\" เป็นการนำศิลปินหลายคนมาวาดเรื่องเค-อง!, \"K-On! Anthology Comic\" () วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2009 เล่มที่สองวางจำหน่ายวันที่ 27 เมษายน 2010 โดย โฮบุนฉะ, อัลบั้มรวมภาพจากทั้งออฟฟิเชล อาร์ตและแฟนอาร์ตจากนักวาดโดจิน วางจำหน่ายวันที่ 27 มกราคม 2010", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#13", "text": "วิดีโอเกมพัฒนาโดย Sega โดยมีชื่อว่า \"K-On! Hōkago Live!!\" () สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน พอร์เทเบิล วางจำหน่ายในวันที่ 30 กันยายน 2010 โดยรูปแบบการเล่นเป็นการกดปุ่มตามจังหวะโน้ตในเพลง ซึ่งตัวเกมนั้นสามารถเล่นโหมดผู้เล่นหลายคนได้มากที่สุดถึง 5 คน ตัวเกมประกอบด้วยเพลงจากอนิเมะซีซันแรกและเพลงประจำตัวละครรวม 19 เพลง ผู้เล่นสามารถแต่งตัวตัวละคร ห้องชมรม และห้องนอนของยุย และยังสามารถสร้างเพลงได้ด้วย", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#1", "text": "ในประเทศญี่ปุ่น เกียวโตแอนิเมชัน (Kyoto Animation) ผลิตมังงะดังกล่าวเป็นอนิเมะโทรทัศน์ ใช้ชื่อเดียวกัน ความยาวสิบสามตอน ฉายตั้งแต่เดือนเมษายนถึงมิถุนายน 2552, โอวีเอความยาวหนึ่งตอน ขายในเดือนมกราคม 2553, อนิเมะโทรทัศน์ ฤดูกาลที่สอง ความยาวยี่สิบหกตอน ใช้ชื่อว่า \"เค-อง!! (K-On!!)\" ฉายตั้งแต่เดือนเมษายนถึงกันยายน 2554, โอวีเอ ความยาวหนึ่งตอน ขายในเดือนมีนาคม 2554, และอนิเมะโรง ฉายตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2554 ตามลำดับ เนื้อหาต่อเนื่องกัน", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "227958#0", "text": "\"เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว\" เป็นอนิเมะที่สร้างจากมังงะชื่อเรื่องเดียวกัน เขียนและวาดภาพโดย Kakifly ซึ่งผลิตโดยเกียวโตแอนิเมชัน กำกับโดยนาโอโกะ ยามาดะ เขียนบทโดยเรโกะ โยชิดะ และออกแบบตัวละครโดยยูกิโกะ โฮริงูจิ เนื้อเรื่องเป็นเรื่องราวของนักเรียนมัธยมปลาย 4 คน ซึ่งเข้าร่วมชมรมดนตรีของโรงเรียนที่กำลังจะถูกยุบ", "title": "รายชื่อตอนในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#8", "text": "สำหรับอนิเมะเรื่องนี้ เกียวโตแอนิเมชันเป็นผู้ผลิต กำกับโดย นาโอโกะ ยามาดะ และ เขียนบทโดย เรโกะ โยชิดะ ซึ่งเริ่มฉายเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2009 ทางช่อง TBS ในญี่ปุ่น และช่องอื่นๆ เช่น BS-TBS, MBS, และ Chubu-Nippon Broadcasting โดยทางช่อง TBS นั้นจะฉายในภาพอัตราส่วน 4:3 และทางช่อง BS-TBS นั้นจะฉายในรูปแบบไวด์สกรีนในอัตราส่วน 16:9 เริ่มฉายเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2009 สำหรับการวางจำหน่าย ดีวีดี และ บลูเรย์ รวมทั้งหมด 7 แผ่น วางจำหน่ายโดย Pony Canyon ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม 2009 ถึง 20 มกราคม 2010 โดยในแผ่นสุดท้ายจะใส่ตอนพิเศษลงไปด้วย ในวันที่ 20 ธันวาคม 2009 ได้มีการประกาศลิขสิทธิ์ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการโดยจัดทำตามต้นฉบับนั้นคือ 7 แผ่นจบพร้อมทั้งแผ่น un-ten ด้วย โดยชุด Box จะแยกขายและให้ผู้ที่สะสมซื้อแยกตามรายแผ่น", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#11", "text": "เพลงเปิดของอนิเมะนี้คือเพลง \"Cagayake! Girls\" และเพลงปิดคือเพลง \"Don't say 'lazy'\" ทั้งสองเพลงนั้นขับร้องโดย อากิ โทโยซากิ, โยโกะ ฮิกาซะ, ซาโตมิ ซาโต และมินาโกะ โคโตบูกิ โดยทั้งสองซิงเกิลได้วางจำหน่ายไปเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2009 โดย Pony Canyon ซิงเกิลเพลงประกอบ เพลง \"Fuwa Fuwa Time\" () ซึ่งใช้ขึ้นแสดงในตอนที่ 6 วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2009 เพลงประจำตัวละคร 7 ซิงเกิล ได้แก่ ยุย (โดยโทโยซากิ) และ มิโอะ (โดยฮิกาซะ) วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2009 ซิงเกิลของ ริทสึ (โดยซาโต), สึมุกิ (โดยโคโตบูกิ) และอาซึสะ (โดยทาเกตัตสึ) วางจำหน่ายไปเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2009 และซิงเกิลของ อุย (โดยโยเนซาวะ) และ โนโดกะ (โดยฟูจิโต) จะวางจำหน่ายวันที่ 21 ตุลาคม 2009 ซาวด์แทร็คอนิเมะ โดย ฮาจิเมะ เฮียกโกคุ วางจำหน่ายในวันที่ 3 มิถุนายน 2009 และสี่เพลงที่ใช้ขึ้นแสดงในตอนที่ 8 ของอนิเมะนั้นจะวางจำหน่ายในรูปแบบมินิอัลบั้มชื่อ \"Hōkago Tea Time\" () ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2009 \"Maddy Candy\" ซิงเกิลของวง Death Devil วางจำหน่ายในวันที่ 12 สิงหาคม 2009 และอัลบั้มพิเศษ K-ON! Sakura Kou Keionbu Official Band Yarouyo!! Band Score Duke วางจำหน่ายวันที่ 2 กันยายน 2009", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" }, { "docid": "219542#15", "text": "ส่วนซิงเกิลอนิเมะ โดยเพลงเปิด \"Cagayake! Girls\" และเพลงปิด \"Don't say 'lazy'\" เปิดตัวโดยการติดชาร์ตโอริกอนประจำสัปดาห์ได้อันดับที่ 4 และ 2 โดยยอดจำหน่ายรวมในสัปดาห์แรกได้ทั้งหมดประมาณ 62,000 แผ่น และ 67,000 แผ่น ตามลำดับ มินิอัลบั้ม \"Ho-Kago Tea time\" (After School Tea Time) เปิดตัวโดยการติดชาร์ตโอริกอนประจำสัปดาห์ได้อันดับที่ 1 ยอดจำหน่ายรวม 67,000 แผ่น และเป็นครั้งแรกที่อัลบั้มเพลงจากตัวละครในอนิเมะที่ติดชาร์ตอันดับสูงสุดสำหรับซิงเกิลอนิเมะในซีซัน 2 โดยเพลงเปิด \"Go! Go! Maniac\" และเพลงปิด \"Listen!!\" เปิดตัวโดยการติดชาร์ตโอริกอนประจำสัปดาห์ได้อันดับที่ 1 และ 2 โดยยอดจำหน่ายรวมในสัปดาห์แรกได้ทั้งหมดประมาณ 83,000 แผ่น และ 76,000 แผ่น ตามลำดับ สำหรับเพลงเปิดและปิดในซีซัน 2 คือ \"Utauyo! Mircale\" และ \"No, Thank You!\" ยอดจำหน่ายรวมในสัปดาห์แรกประมาณ 85,000 แผ่น และ 87,000 แผ่น โดยติดชาร์ตโอริกอนในอันดับ 3 และ 2 โดยอันดับหนึ่งคือเพลง \"This is Love\" ของวง SMAP เพลง \"No, Thank You!\" และ \"Utauyo! Miracle\" ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำจาก RIAJ เมื่อเดือนสิงหาคม 2010 เนื่องจากมียอดจำหน่ายมากกว่า 100,000 แผ่น ซิงเกิล \"Gohan wa Okazu\"/\"U&I\" เปิดตัวโดยการติดชาร์ตโอริกอนประจำสัปดาห์ได้อันดับที่ 3 โดยยอดจำหน่ายรวมในสัปดาห์แรกได้ทั้งหมดประมาณ 53,000 แผ่น", "title": "เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว" } ]
3725
มหาสติปัฏฐานสูตร เป็นคำสอนของศาสนาอะไร?
[ { "docid": "179640#1", "text": "มหาสติปัฏฐานสูตร เป็นพระสูตรสำคัญในพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่ชาวกุรุชนบท ชื่อว่ากัมมาสทัมมะ", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#2", "text": "มหาสติปัฏฐานสูตร เมื่อพิจารณาจากพระพุทธพจน์ตอนเริ่มพระสูตร อาจกล่าวได้ว่าพระสูตรนี้แสดงหลักการพัฒนาตนเพื่อเป้าหมายคือการบรรลุนิพพานสำหรับบุคคลหลายจริต หลายระดับ คือให้มีสติสัมปชัญญะตามดูอารมณ์กรรมฐานไม่ขาดตอนให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง เพื่อไม่ถูกครอบงำด้วยอำนาจกิเลสต่าง ๆ โดยมีแนวปฏิบัติ 4 ขั้นตอนไล่จากการตามพิจารณาอารมณ์กรรมฐานที่หยาบไปจนละเอียด คือ กาย เวทนา จิต และ ธรรม(เหตุเกิดเหตุดับ).", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" } ]
[ { "docid": "179640#0", "text": "มหาสติปัฏฐานสูตร หรือ สติปัฏฐานสูตรเป็นพระสูตรที่รวมวิธีการปฏิบัติวิปัสสนาด้วยการเจริญสติ ที่เรียกว่า สติปัฏฐานสี่ คือ การมีสติอันเป็นไปใน กาย, เวทนา, จิต, และ ธรรม จนเห็นรูปนามตามความเป็นจริงว่าเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อันเป็นทางสายเอกในอันที่จะนำพาผู้ปฏิบัติไปสู่การบรรลุมรรคผลนิพพานได้", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#40", "text": "มหาสติปัฏฐานสูตร กับ สติปัฏฐานสูตร ต่างกันดังนี้ :-อนึ่ง ข้อน่าสังเกต คือ ฉ. ฉัฏฐสังคายนาของพม่า สติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกาย ชื่อของพระพุทธพจน์จะใช้ มหาสติปัฏฐานสูตร ส่วนในอรรถกถาจะใช้แค่สติปัฏฐานสูตร. เมื่อตรวจสอบกับที่อื่นๆ ในอรรถกถาก็พบว่า เมื่อสุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกายอ้างถึงมหาสติปัฏฐานสูตรว่าจะอธิบายในสูตรนี้ ท่านก็จะใช้คำว่า \"มหาสติปฏฺฐานสุตฺต\". แต่ถ้าเป็นปปัญจสูทนี อรรถกถาของมัชฌิมนิกาย เวลาอ้างท่านจะใช้แค่ว่า \"สติปฏฺฐานสุตฺต\" ไม่ใช่ \"มหาสติปฏฺฐานสุตฺต\". ซึ่งเป็นอย่างนี้ทั้งในอรรถกถาและฏีกาของทั้ง 2 คัมภีร์ และตรงกันทั้ง ฉบับไทย ทั้ง ฉบับพม่า. จึงมีความเป็นไปได้ว่า ท่านใช้ชื่อสติปัฏฐานสูตรกับมหาสติปัฏฐานสูตร ตามแบบที่ไทยใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ โดยแยกอย่างนี้มาตั้งแต่โบราณแล้ว.", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#15", "text": "อนึ่ง ส่วนนี้ในพระไตรปิฎกของมหายานไม่มี เพราะตามมหาโคสิงคสาลสูตรพระเถระผู้นำในสังคายนาครั้งที่ 1ของเถรวาท ส่วนมากท่านเป็นลูกศิษย์พระสารีบุตรอัครสาวกด้วย ฉะนั้น ท่านจึงแสดงมหาสติปัฏฐานสูตรตามที่ฟังมาจากพระสารีบุตร เพราะพระพุทธเจ้ายกย่องธรรมะที่พระสารีบุตรแสดงให้เทียบเท่ากับที่พระองค์แสดง, ส่วนทางนิกายอื่นรวมถึงมหายานนั้น สังคายนากันโดยไม่มีพระเถระเหล่านั้นอยู่ด้วย ฉะนั้น พระสูตรฝั่งมหายานจึงไม่มีส่วนที่มาจากพระสารีบุตร ทั้งในสูตรนี้ และทั้งอภิธรรมด้วย.", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#41", "text": "ในอรรถกถาที่อื่นนั้น มีอยู่ 1 ที่ ในนิทานวรรคท่านเรียกรวมทั้ง มหาสติปัฏฐานสูตร ในทีฆนิกาย และ สติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกาย รวมกันทั้ง 2 สูตร ว่าเป็น \"มหาสติปัฏฐาน\" ไปเลยก็มี. คงเป็นเพราะว่า ถ้าสติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกายไม่ทำเปยยาลแล้วเขียนเต็มก็จะต้องมีขนาดเท่ากับมหาสติปัฏฐาน สูตรในมัชฌิมนิกายนั่นเอง.", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#10", "text": "อรรถกถาของสูตรนี้กล่าวว่า ชาวกุรุเป็นผู้ที่มีอัธยาศัยสมบูรณ์และมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจึงตรัสกรรมฐานไว้, ทรงแสดงพลววิปัสสนาญาณคือขยญาณและภังคญาณไว้เป็นหลักในตอนท้ายของทุกบรรพะ, อีกทั้งในตอนท้ายอรรถกถาแสดงว่ามีผู้บรรลุหลังฟังสูตรนี้จบด้วย.", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" }, { "docid": "179640#7", "text": "สติปัฏฐานสูตร​ ​คือ​ ​พระสูตรที่กล่าว​ถึง​วิธี​เจริญสติปัฏฐาน​ ​สติปัฏฐานสูตรนี้อาจมีอยู่ในพระไตรปิฎกหลายที่​แล้ว​แต่​ท่านจะ​ตั้งชื่อ​ ​แต่ที่นิยมเอามาพูด​ถึง​ ​จะ​อยู่​ใน​พระสุตตันตปิฎก​ ​มัชฌิมนิกาย​ ​มูลปัณณาสก์​ ​กล่าว​ถึง​วิธี​เจริญสติปัฏฐาน​ 21 ​บรรพะ​เหมือน​ใน​ทีฆนิกายนั่นเอง​.", "title": "มหาสติปัฏฐานสูตร" } ]
1213
สงครามโลกครั้งที่สองยุติลงเมื่อใด?
[ { "docid": "5333#0", "text": "สงครามโลกครั้งที่สอง (English: World War II หรือ Second World War[note 1]; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น \"สงครามเบ็ดเสร็จ\" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[3] ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด[4] และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ[5]", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" } ]
[ { "docid": "833811#3", "text": "หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ยุติลง การแข่งขันฟุตบอลในประเทศอังกฤษที่ได้หยุดไปในช่วงสงครามก็ได้เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง การขับเคี่ยวกันของทั้งสองสโมสรก็ยังดำเนินต่อไป เมื่อในฤดูกาล 1919–20 ทั้งอาร์เซนอลและสเปอร์ต่างจบอันดับอยู่ในสถานะที่ต้องตกชั้นลงไปเล่นในระดับดิวิชัน 2 ทั้งคู่ แต่ทว่าสมาคมฟุตบอลอังกฤษ (เอฟเอ) ได้ตัดสินให้อาร์เซนอลยังคงอยู่ต่อไปในระดับดิวิชัน 1 ได้ โดยทางอาร์เซนอลได้อ้างว่า หากเป็นเช่นนั้นจะไม่มีสโมสรจากกรุงลอนดอนเล่นอยู่ในระดับดิวิชัน 1 อยู่เลย ในที่สุดก็เป็นสเปอร์ที่ต้องตกชั้นลงไปแทน แม้ทางสเปอร์จะได้ยื่นฟ้องเรื่องนี้ต่อศาล แต่มิได้อาจเปลี่ยนแปลงคำตัดสินใด ๆ และยังต่อมาในระดับดิวิชัน 2 อาร์เซนอลที่อยู่ในอันดับ 5 กลับได้สิทธิเลื่อนชั้นขึ้นไปเล่นในระดับดิวิชัน 1 ได้ โดยมีเหตุผลว่า เป็นสโมสรที่เก่าแก่ ขณะที่บาร์นสลีย์ และวุลเวอร์แฮมป์ตันวันเดอเรอส์ ที่มีอันดับดีกว่าอาร์เซนอลกลับไม่ได้รับการเลื่อนชั้น โดยทั้งหมดนี้มีเสียงซุบซินนินทากันว่าเป็นเพราะอิทธิพลและการติดสินบนของนอร์ริสเพื่อให้อาร์เซนอลได้อยู่ต่อไป เรื่องดังกล่าวกลายเป็นที่อื้อฉาวในขณะนั้น แต่ทว่าก็มิได้หลักฐานใด ๆ อีกทั้งสื่อมวลชนก็มิได้นำเสนอถึงเรื่องนี้", "title": "ดาร์บีลอนดอนเหนือ" }, { "docid": "25747#0", "text": "ฝ่ายอักษะ (; ; ; ) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว () เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1940 ฝ่ายอักษะขยายอิทธิพลของตนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนของทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก ทว่า สงครามโลกครั้งที่สองยุติลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายอักษะ ทำให้ฝ่ายอักษะต้องสูญเสียอำนาจและพื้นที่จำนวนมากที่ยึดครองมาได้ เช่นเดียวกับฝ่ายสัมพันธมิตร สมาชิกภาพของกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดช่วงสงคราม", "title": "ฝ่ายอักษะ" }, { "docid": "165970#66", "text": "ได้มีการถกเถียงกันว่าในปี 1933 โปแลนด์ได้พยายามที่จะชักจูงให้ฝรั่งเศสเข้าร่วมกับตนในความพยายามที่จะโจมตีเยอรมนีหลังจากที่พรรคนาซีมีอำนาจในประเทศเยอรมนี เหตุการณ์อันตึงเครียดที่เกิดขึ้นระหว่างโปแลนด์และเยอรมนีนั้นเกี่ยวข้องกับนครเสรีดานซิกและฉนวนโปแลนด์ เหตุการณ์นี้ได้สงบลงในปี 1934 หลังจากการลงนามในสนธิสัญญาไม่รุกรานกัน แต่ในฤดูใบไม้ผลิปี 1939 เหตุการณ์อันตึงเครียดก็ได้เกิดขึ้นอีกครั้ง และท้ายที่สุด หลังจากได้ยื่นข้อเสนอมากมาย เยอรมนีก็ได้ประกาศยุติความสัมพันธ์ทางการทูต และไม่นานหลังจากสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพได้ลงนาม การโจมตีโปแลนด์ก็ได้เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งเคยรับประกันความเป็นเอกราชของโปแลนด์ และได้ยื่นคำขาดแก่เยอรมนีให้ถอนกำลังออกจากโปแลนด์โดยทันที เยอรมนีปฏิเสธ ดังนั้น ทั้งสองประเทศจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี แต่ทว่าทั้งสองก็มิได้ให้ความช่วยเหลือแต่อย่างใดนัก ส่วนทางด้านตะวันออก สหภาพโซเวียตบุกครองโปแลนด์ในวันที่ 17 กันยายน", "title": "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "549762#0", "text": "ความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อยุติสถานะสงครามระหว่างสยามและฝ่ายสัมพันธมิตร () หรือ ความตกลงสมบูรณ์แบบ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2489 ณ สิงคโปร์ อันเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและราชอาณาจักรสยามในสงครามโลกครั้งที่สอง", "title": "ความตกลงสมบูรณ์แบบ" }, { "docid": "165970#38", "text": "ด้วยความจริงที่ว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลงด้วยการยอมแพ้ของเยอรมนีอย่างกะทันหัน หลายคนจึงอาจนับว่าสงครามโลกครั้งที่สองนั้นสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งแรก กองทัพพันธมิตรไม่ได้เหยียบแผ่นดินเยอรมนีเลยแม้แต่นายเดียว และประชาชนเยอรมันยังคาดหวังว่าสนธิสัญญาสันติภาพที่ตามมาจะยึดตามหลักเกณฑ์ของ หลักสิบสี่ข้อ ซึ่งหมายความว่า ชาวเยอรมันนั้นโต้เถียงว่า \"คนทรยศ\" มิได้ยอมจำนนต่อฝ่ายพันธมิตร เยอรมนียังสามารถที่จะเอาชนะสงครามได้ แต่ว่ากลับไม่เป็นเช่นนั้น เงื่อนไขของสันติภาพนั้นคิอการลงทัณฑ์เยอรมนีให้รับผิดชอบต่อความเสียหายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มลทินซึ่งได้ทำให้เยอรมนีกลายเป็นประเทศที่ขมขื่น ประชาชนเยอรมันจึงพยายามที่จะฟื้นฟูประเทศและหาทางล้างแค้น", "title": "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "2417#3", "text": "ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงปี 2411 ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองด้วยระบบทหารเจ้าขุนมูลนายโชกุนซึ่งปกครองในพระปรมาภิไธยจักรพรรดิ ประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่ระยะแยกอยู่โดดเดี่ยวอันยาวนานในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งยุติในปี 2396 เมื่อกองเรือสหรัฐบังคับให้ประเทศญี่ปุ่นเปิดต่อโลกตะวันตก หลังความขัดแย้งและการก่อการกำเริบภายในเกือบสองทศวรรษ ราชสำนักจักรวรรดิได้อำนาจทางการเมืองคืนในปี 2411 ผ่านการช่วยเหลือของหลายตระกูลจากโชชูและซัตสึมะ และมีการสถาปนาจักรวรรดิญี่ปุ่น ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชัยในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นและสงครามโลกครั้งที่หนึ่งทำให้ประเทศญี่ปุ่นขยายจักรวรรดิระหว่างสมัยแสนยนิยมเพิ่มขึ้น สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองปี 2480 ขยายเป็นบางส่วนของสงครามโลกครั้งที่สองในปี 2484 ซึ่งยุติในปี 2488 นับแต่การลงมติเห็นชอบรัฐธรรมนูญฉบับบทวนวันที่ 3 พฤษภาคม 2490 ระหว่างการยึดครองของผู้บังคับบัญชาสูงสุดสำหรับประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ประเทศญี่ปุ่นธำรงระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและราชาธิปไตยภายใต้รัฐรรมนูญโดยมีจักรพรรดิเป็นประมุขแห่งรัฐและสภานิติบัญญํติจากการเลือกตั้ง เรียก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ", "title": "ประเทศญี่ปุ่น" }, { "docid": "287669#0", "text": "สงครามกลางเมืองยุโรป เป็นคำซึ่งอธิบายถึงแนวคิดที่เชื่อว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง และสมัยระหว่างสองสงครามโลกเป็นสงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อซึ่งเกิดขึ้นในทวีปยุโรป คำดังกล่าวมักใช้อ้างอิงถึงการเผชิญหน้าหลายครั้งซึ่งเกิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ไม่มีข้อยุติที่เหมาะสมเกี่ยวกับรายละเอียดและเหตุผลเชื้อมโยง เช่น ระดับความเกี่ยวพันของนานาชาติในสงครามกลางเมืองสเปน และในบางครั้ง สงครามกลางเมืองรัสเซีย คำดังกล่าวมักถูกใช้อธิบายแนวคิดของการเสื่อมสภาพความเป็นเจ้าในโลกของทวีปยุโรป และการเกิดขึ้นของสหภาพยุโรป ดร. ฟรานซ-วิลลิง อธิบายว่า ในสมัยดังกล่าว \"การต่อสู้กันเองของทวีปยุโรปทำให้ยุโรปเสียตำแหน่งในโลกและความเป็นเจ้า และทำให้ตนเองถูกแบ่งออกในสองขั้วอิทธิพล ขั้วหนึ่งคืออเมริกา อีกขั้วหนึ่งคือรัสเซีย\" ", "title": "สงครามกลางเมืองยุโรป" }, { "docid": "184506#2", "text": "หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นประกาศตกลงยอมแพ้สงครามต่อฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 และลงนามในตราสารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกที่นับเป็นการยุติสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างเป็นทางการในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (นาซีเยอรมนีลงนามตราสารประกาศยอมแพ้และยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรปอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทำให้ประเทศญี่ปุ่นต้องยอมรับหลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์", "title": "การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ" }, { "docid": "10106#16", "text": "ในขณะนั้นเมื่อมีใครเอ่ยถึงออพเพนไฮเมอร์ ทุกคนจะนึกถึงชายวัย 38 ปี ผู้เป็นหัวหน้าทีมวิทยาศาสตร์ในโครงการแมนฮัตตัน ที่ได้รวบรวมนักฟิสิกส์ นักเคมี และวิศวกรระดับสุดยอดนับ 6,000 คน มาสร้างระเบิดปรมาณู เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยให้มาทำงานร่วมกันที่ลอสอาลาโมสในรัฐนิวเม็กซิโก อย่างลับสุดยอด คือ ไม่ให้ฝ่ายเยอรมนีรู้อย่างเด็ดขาด ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรกำลังสร้างระเบิดมหาประลัย และให้กองทัพนักวิทยาศาสตร์ทำงานร่วมกับกองทัพทหารอย่างใกล้ชิด อย่างหนัก และอย่างรวดเร็ว และทุกคนก็ประจักษ์ว่าเขาคือ บุคคลเดียวเท่านั้นที่สามารถประคับประคองและประสานความแตกต่างระหว่างความคิดเห็น อย่างเสรีของบรรดานักการเมืองและนักวิชาการกับความลับของทหารได้ เช่น เวลา ฮันส์ เบเทอ ขัดแย้งกับเออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และEdward Teller (บิดาของระเบิดไฮโดรเจน) เขาต้องเก่งพอที่จะตัดสินได้ว่า เทคนิคใดเหมาะสม และเป็นไปได้ หรือเวลาประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมนขัดแย้งกับ J. Edgar Hoover แห่งเอฟบีไอ และนายพล Leslie Groves ผู้เป็นหัวหน้าโครงการแมนฮัตตัน เขาต้องถูกมะรุมมะตุ้มด้วยกระสุนวาจาจากบุคคลเหล่านี้ตลอดเวลาทำงาน และเขาก็ตระหนักว่า ถึงจะเป็นนักวิชาการที่เก่ง แต่อำนาจทางการเมืองก็เหนือกว่า ฉะนั้นเมื่อใดที่ทั้งสองข้างปะทะกัน นักวิชาการก็ต้องถอย", "title": "โครงการแมนฮัตตัน" }, { "docid": "110167#20", "text": "หลังสงครามปะทุไม่นาน อังกฤษก็ได้ทำการปิดล้อมทางทะเลต่อเยอรมนี ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์เห็นผลแล้วว่ามีประสิทธิภาพ โดยการปิดล้อมได้ตัดเสบียงของทั้งทหารและพลเรือนที่สำคัญของเยอรมนี แม้ว่าพฤติการณ์ดังกล่าวจะเป็นการละเมิดกฎหมายนานาชาติซึ่งได้รับการยอมรับและประมวลขึ้นผ่านความตกลงระหว่างประเทศหลายครั้งในช่วงสองศตวรรษที่ผ่านมาก็ตาม กองทัพเรืออังกฤษยังได้วางทุ่นระเบิดในเขตน่านน้ำสากลเพื่อป้องกันมิให้เรือลำใดออกสู่เขตมหาสมุทร ซึ่งเป็นอันตรายแม้แต่กับเรือของประเทศที่เป็นกลาง และเนื่องจากอังกฤษได้รับปฏิกิริยาจากยุทธวิธีดังกล่าวเพียงเล็กน้อย เยอรมนีจึงคาดหวังว่าสงครามเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตของตนจะได้รับปฏิกิริยาเพียงเล็กน้อยแบบเดียวกัน\nค.ศ. 1916 ยุทธนาวีจัตแลนด์ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นยุทธนาวีครั้งใหญ่ที่สุดในสงคราม และครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นการปะทะกันเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ซึ่งกินเวลาสองวัน คือ 31 พฤษภาคมและ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1916 ในทะเลเหนือนอกคาบสมุทรจัตแลนด์ กองเรือทะเลหลวงของกองทัพเรือเยอรมัน ภายใต้บังคับบัญชาของพลเรือโทไรนาร์ด เชร์ ประจัญกับกองเรือหลวงของราชนาวีอังกฤษภายใต้การนำของพลเรือเอก เซอร์จอห์น เจลลิโค ผลของยุทธนาวีนี้ไม่มีฝ่ายใดแพ้หรือชนะ เมื่อฝ่ายเยอรมันสามารถหลบหนีจากกองเรืออังกฤษที่มีกำลังเหนือกว่า และสร้างความเสียหายแก่กองเรืออังกฤษมากกว่าที่ตนได้รับ แต่ในทางยุทธศาสตร์แล้ว ฝ่ายอังกฤษแสดงสิทธิ์ในการควบคุมทะเล และกองเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ของเยอรมนีถูกกักอยู่แต่ในท่ากระทั่งสงครามยุติ", "title": "สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง" }, { "docid": "562012#2", "text": "วันที่ 28 สิงหาคม การยึดครองญี่ปุ่นโดยผู้บัญชาการสูงสุดแทนฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มขึ้น พิธียอมจำนนจัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กันยายน บนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี (BB-63) ของกองทัพเรือสหรัฐ ซึ่งข้าราชการจากรัฐบาลญี่ปุ่นลงนามตราสารยอมจำนนของญี่ปุ่น และยุติความเป็นศัตรูกันในสงครามโลกครั้งที่สอง ทั้งพลเรือนและทหารฝ่ายสัมพันธมิตรล้วนเฉลิมฉลองวันแห่งชัยชนะเหนือญี่ปุ่น อย่างไรก็ดี ทหารและกำลังพลบางส่วนที่ถูกโดดเดี่ยวของจักรวรรดิญี่ปุ่นทั้งในทวีปเอเชียและหมู่เกาะแปซิฟิกปฏิเสธที่จะยอมจำนนเป็นเวลาหลายเดือนและหลายปีหลังจากนั้น บางคนปฏิเสธกระทั่งคริสต์ทศวรรษ 1970 บทบาทของการทิ้งระเบิดปรมาณูในการยอมจำนนของญี่ปุ่น และจริยธรรมของการโจมตีทั้งสองยังเป็นที่ถกเถียง สถานะสงครามระหว่างญี่ปุ่นและฝ่ายสัมพันธมิตรยุติลงอย่างเป็นทางการเมื่อสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1952 และอีกสี่ปีให้หลัง ก่อนที่ญี่ปุ่นและสหภาพโซเวียตจะลงนามแถลงการณ์ร่วมโซเวียต–ญี่ปุ่น ค.ศ. 1956 ซึ่งยุติสถานะสงครามระหว่างสองประเทศอย่างเป็นทางการ", "title": "การยอมจำนนของญี่ปุ่น" }, { "docid": "731314#0", "text": "วันชัยเหนือญี่ปุ่น () หรือวันชัยในแปซิฟิก () เป็นวันที่ประเทศญี่ปุ่นยอมจำนนในสงครามโลกครั้งที่สอง ส่งผลให้ยุติสงคราม คำนี้ใช้กับวันที่มีการประกาศการยอมจำนนของญี่ปุ่นในขั้นต้น คือ บ่ายวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ในประเทศญี่ปุ่น และด้วยข้อแตกต่างของเขตเวลา จึงหมายถึงวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 (เมื่อมีการประกาศในสหรัฐอเมริกาและทวีปอเมริกาและหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันออกที่เหลือ) เช่นเดียวกับวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945 ซึ่งมีการลงนามตราสารยอมจำนนอันยุติสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเป็นทางการ", "title": "วันชัยเหนือญี่ปุ่น" }, { "docid": "359243#0", "text": "เบบีบูมหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หมายถึง ช่วงเบบีบูมที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองในหลายประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศตะวันตก ยังไม่เป็นที่ตกลงกันว่าช่วงเบบีบูมดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นและสิ้นสุดลงอย่างชัดเจนเมื่อใด แต่ส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่าช่วงเบบีบูมนี้เริ่มต้นขึ้นทันทีหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ และสิ้นสุดลงในอีกมากกว่าหนึ่งทศวรรษถัดมา อัตราการเกิดในสหรัฐอเมริกาเริ่มลดลงใน ค.ศ. 1957 ซิลเวีย พอร์เตอร์ คอลัมนิสต์ของนิวยอร์กโพสต์ เป็นบุคคลแรกที่ใช้คำว่า \"บูม\" เพื่อหมายถึงปรากฏการณ์การเพิ่มอัตราการเกิดในสหรัฐอเมริกาหลังสงคราม", "title": "เบบีบูมหลังสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "375182#0", "text": "ร้อยตรี ฮิโร โอโนดะ () เป็นนายทหารจักรวรรดิญี่ปุ่นผู้ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่สอง และหลบซ่อนตัวอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์เป็นเวลากว่าสามสิบปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ยุติลงแล้ว เพราะไม่เชื่อว่าสงครามสิ้นสุดลง เขายอมมอบตัวในปี 1974", "title": "ฮิโร โอโนดะ" }, { "docid": "112388#2", "text": "Template:CJKV ; Japanese: 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า \"สงครามแปซิฟิก\" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 [1]", "title": "สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง" }, { "docid": "2519#1", "text": "คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น พ.ศ. 2448 และถูกแบ่งเป็นเขตยึดครองโซเวียตและอเมริกาใน พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ เกาหลีเหนือปฏิเสธจะเข้าร่วมการเลือกตั้งที่สหประชาชาติอำนวยการ ซึ่งจัดที่กรุงโซลใน พ.ศ. 2491 และนำไปสู่การสถาปนารัฐบาลเกาหลีแยกในเขตยึดครองทั้งสอง ทั้งเกาหลีเหนือและใต้ต่างอ้างอธิปไตยเหนือคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด และนำไปสู่สงครามเกาหลีใน พ.ศ. 2493 ความตกลงสงบศึกชั่วคราว พ.ศ. 2496 ยุติการสู้รบ อย่างไรก็ดี ทั้งสองยังถือว่าอยู่ในภาวะสงครามต่อกันและกันอย่างเป็นทางการ เนื่องจากยังไม่มีการลงนามสนธิสัญญาสันติภาพแต่อย่างใด[1] ทั้งสองรัฐได้รับการยอมรับเข้าสู่สหประชาชาติใน พ.ศ. 2534[2]", "title": "ประเทศเกาหลีเหนือ" }, { "docid": "963675#0", "text": "สงครามโซเวียต–ญี่ปุ่น (; , \"Soviet Union entry into war against Japan\") เป็นความขัดแย้งทางทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในไม่ช้าหลังจากเที่ยงคืนเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 1945 เมื่อสหภาพโซเวียตบุกครองรัฐหุ่นเชิดแมนจูกัวของญี่ปุ่น การโจมตีของโซเวียตและมองโกเลียนำมาสู่การยุติการยึดครองแมนจูกัว, เหม่งเจียง (มองโกเลีย), ทางตอนเหนือของเกาหลี, คาราฟูโตะ และ หมู่เกาะคูริล ความพ่ายแพ้ของกองทัพกวันตงของญี่ปุ่นช่วยในการยอมจำนนของญี่ปุ่นและการยุติสงครามโลกครั้งที่สอง การที่โซเวียตเข้าสู่สงครามเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจของรัฐบาลญี่ปุ่นที่จะยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขตามที่มันทำให้เห็นได้ชัดล้าหลังจะไม่ได้มีความตั้งใจที่จะทำหน้าที่เป็นบุคคลที่สามในการเจรจาสิ้นสุดสงครามในข้อตกลงเงื่อนไข", "title": "สงครามโซเวียต–ญี่ปุ่น" }, { "docid": "5333#13", "text": "29 กรกฎาคม ค.ศ. 1938 กองทัพญี่ปุ่นและกองทัพโซเวียตปะทะกันอย่างประปรายที่ทะเลสาบคาซาน แม้ว่าโซเวียตจะเป็นฝ่ายชนะ แต่ญี่ปุ่นกลับมองว่าเป็นการเสมอที่ยังไม่รู้ผลแพ้ชนะ และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1939 ญี่ปุ่นตัดสินใจขยายพรมแดนญี่ปุ่น-มองโกเลียขึ้นไปถึงแม่น้ำคัลคินกอลด้วยกำลัง[28] แม้ว่าญี่ปุ่นจะประสบความสำเร็จในระยะแรก แต่กองทัพคันโตในมองโกเลียได้ถูกขัดขวางอีกครั้ง และสงครามยุติลงด้วยสัญญาหยุดยิงเมื่อวันที่ 15 กันยายน โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงดินแดนใด ๆ นับเป็นความพ่ายแพ้ครั้งสำคัญครั้งแรกกองทัพคันโต[29][30] ความพ่ายแพ้ดังกล่าวได้ทำให้รัฐบาลญี่ปุ่นควรมุ่งปรองดองกับรัฐบาลโซเวียตเพื่อมิให้เข้ามายุ่งเกี่ยวกับสงครามในจีน และหันเหความสนใจทางทหารไปทางใต้ ไปยังดินแดนในครอบครองของสหรัฐอเมริกาและยุโรปในแปซิฟิกแทน", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "5333#17", "text": "สงครามโลกครั้งที่สองไม่สามารถกำหนดจุดเริ่มต้นอย่างชี้ชัดแน่นอนได้ เพราะเป็นการไม่ยุติธรรมต่อประเทศใดประเทศหนึ่ง นักประวัติศาสตร์จึงเลือกหลายช่วงเวลาว่าเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งนี้แตกต่างกันไปตามแนวคิดของตน ซึ่งได้แก่ เหตุการณ์ญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย ในปี ค.ศ. 1931[44][45] อิตาลีบุกครองเอธิโอเปีย ในปี ค.ศ. 1935[46][47][48] ซึ่งนำไปสู่การล่มสลายของสันนิบาติชาติ[49] สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1937[50][51] เยอรมนีบุกครองโปแลนด์ ในปี ค.ศ. 1939 ซึ่งนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงคราม[52][53][54] ญี่ปุ่นโจมตีที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ ในปี ค.ศ. 1941 และเยอรมนีบุกครองสหภาพโซเวียต ในปี ค.ศ. 1941[54] และยังมีนักเขียนบางคนให้ความเห็นว่า สงครามโลกครั้งที่สองเป็นสงครามครั้งเดียวกันกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งด้วยซ้ำไป[55] (ใช้คำว่า \"สงครามกลางเมืองยุโรป\" หรือ \"สงครามสามสิบปีครั้งที่สอง\"[56][57]) อย่างไรก็ตาม ในตำราส่วนใหญ่มักถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 และยุติเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "558879#4", "text": "สงครามกับญี่ปุ่นได้ยืดเยื้อจนกระทั่งนำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง สาธารณรัฐจีนได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติลงและจักรวรรดิญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไขในปี ค.ศ. 1945 สาธารณรัฐจีนมีฐานะเป็นผู้ชนะสงครามและได้กลายมาเป็นหนึ่งในชาติมหาอำนาจ มีส่วนในการก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ", "title": "สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)" }, { "docid": "25751#0", "text": "ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง[1]", "title": "ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "233271#8", "text": "และอีกตัวอย่างหนึ่ง คือ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งได้ยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอย่างเป็นทางการ โดยคาดว่ามันน่าจะเป็นสนธิสัญญาฉบับที่กระฉ่อนที่สุด เนื่องจากถูกประณามว่าเป็นการก่อให้เกิดลัทธินาซีในเยอรมนี และสืบเนื่องไปถึงการปะทุของสงครามโลกครั้งที่สองในที่สุด ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงความยากลำบากของการดำเนินกระบวนการสันติภาพเพื่อให้เป็นที่พอใจแก่ทุกฝ่าย", "title": "สนธิสัญญาสันติภาพ" }, { "docid": "614750#17", "text": "ในขณะนั้นเมื่อมีใครเอ่ยถึงเขา ทุกคนจะนึกถึงชายวัย 38 ปี ผู้เป็นหัวหน้าทีมวิทยาศาสตร์ในโครงการแมนฮัตตัน ที่ได้รวบรวมนักฟิสิกส์ นักเคมี และวิศวกรระดับสุดยอดนับ 6,000 คน มาสร้างระเบิดปรมาณู เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยให้มาทำงานร่วมกันที่ลอสอาลาโมสในรัฐนิวเม็กซิโก อย่างลับสุดยอด คือ ไม่ให้ฝ่ายเยอรมนีรู้อย่างเด็ดขาด ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรกำลังสร้างระเบิดมหาประลัย และให้กองทัพนักวิทยาศาสตร์ทำงานร่วมกับกองทัพทหารอย่างใกล้ชิด อย่างหนัก และอย่างรวดเร็ว และทุกคนก็ประจักษ์ว่าเขาคือ บุคคลเดียวเท่านั้นที่สามารถประคับประคองและประสานความแตกต่างระหว่างความคิดเห็น อย่างเสรีของบรรดานักการเมืองและนักวิชาการกับความลับของทหารได้ เช่น เวลา ฮันส์ เบเทอ (รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1967) ขัดแย้งกับเออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ (รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1939) และEdward Teller (บิดาของระเบิดไฮโดรเจน) เขาต้องเก่งพอที่จะตัดสินได้ว่า เทคนิคใดเหมาะสม และเป็นไปได้ หรือเวลาประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมนขัดแย้งกับ J. Edgar Hoover แห่งเอฟบีไอ และนายพล Leslie Groves ผู้เป็นหัวหน้าโครงการแมนฮัตตัน เขาต้องถูกมะรุมมะตุ้มด้วยกระสุนวาจาจากบุคคลเหล่านี้ตลอดเวลาทำงาน และเขาก็ตระหนักว่า ถึงจะเป็นนักวิชาการที่เก่ง แต่อำนาจทางการเมืองก็เหนือกว่า ฉะนั้นเมื่อใดที่ทั้งสองข้างปะทะกัน นักวิชาการก็ต้องถอย[6]", "title": "เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์" }, { "docid": "65024#4", "text": "รูสเวลท์ เป็นหนึ่งในประธานาธิบดีอเมริกาผู้มีชื่อเสียงเและสำคัญมากที่สุดผู้หนึ่ง รูสเวลท์เป็นนักชาตินิยมหัวรุนแรงและเป็นผู้นำที่กระฉับกระเฉง การจัดการสำคัญของการบริหารของรูสเวลท์ก็เพื่อจะสร้างความเสมอภาคในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เขาเชื่อว่าเขาควรเป็นตัวแทนประชาชนทุกคน ไม่ว่าจะเป็น ชาวนา ผู้ใช้แรงงาน และคนงานคอขาว หรือนักธุรกิจ รูสเวลท์เรียกชื่อโปรแกรมนี้ว่าการจัดการที่เสมอภาค ปีค.ศ. 1902 เขาชักชวนประเทศเยอรมันให้ตัดสินการโต้แย้งระหว่างอเมริกาและเวเนซูเอลา ในปี 1903 เขาได้คลองปานามา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1914 ตอนแรกรูสเวลท์ปฏิเสธที่จะเข้าข้างฝ่ายใด แต่หลังจากสองสามเดือนผ่านไป เขาก็ตัดสินใจว่าผลประโยชน์ของอเมริกาและโลกต้องได้รับชัยชนะเหนือเยอรมันเป็นดีที่สุด ความสามารถโดยธรรมชาติของรูสเวลท์ผสมกับการประสบความสำเร็จอย่างสม่ำเสมอของเขา ทำให้เขาประสบความสำเร็จมากที่สุดในการแสดงความเป็นผู้นำด้านการควบคุม รูสเวลท์ผลักดันการอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยเขายึดทฤษฎีที่ว่า 1. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นของประชาชนทุกคน 2. การป่าไม้ที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะให้ปริมาณไม้สำหรับใช้ในการก่อสร้างอย่างสม่ำเสมอ 3. หมู่บ้านริมแม่น้ำควรได้รับการพัฒนาเป็นหน่วยรวม ปีค.ศ.1905 เขาเสนอความช่วยเหลือเพื่อยุติสงครามระหว่างรัสเซีย – ญี่ปุ่น การเป็นกลางของเขาประสบผลสำเร็จและทำให้เขาได้รับรางวัลสันติภาพโนเบล ในทางตรงกันข้าม เขากลับยังส่งกองทหารอเมริกาเข้าร่วมสงครามโลกในปี 1907", "title": "ธีโอดอร์ โรสเวลต์" }, { "docid": "374881#1", "text": "สงครามครั้งนี้มักถูกเรียกว่าเป็นความขัดแย้งอันนองเลือดที่สุดในยุโรปนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองยุติ ความขัดแย้งดังกล่าวกลายเป็นสิ่งเลวทรามเนื่องจากมีอาชญากรรมสงครามเข้ามาเกี่ยวข้อง รวมทั้งการกวาดล้างเชื้อชาติขนานใหญ่ สงครามยูโกสลาเวียเป็นความขัดแย้งครั้งแรงนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกตัดสินว่ามีลักษณะของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างเป็นทางการ และบุคคลสำคัญจำนวนมากที่เกี่ยวข้องถูกตั้งข้อหาอาชญากรรมสงครามในเวลาต่อมา ศาลอาญาระหว่างประเทศในอดีตยูโกสลาเวียถูกจัดตั้งขึ้นโดยสหประชาชาติเพื่อพิจารณาอาชญากรรมเหล่านี้", "title": "สงครามยูโกสลาเวีย" }, { "docid": "808464#1", "text": "ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโซเวียตอินฟอร์มบูโรได้เป็นเครื่องมือของ All-Slavonic Committee, Anti-Fascist Committee of Soviet Women, Anti-Fascist Committee of the Soviet Youth, Anti-Fascist Committee of Soviet Scientists และ the Jewish Anti-Fascist Committee (JAC) ในการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อต่อต้านนาซีหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่สองยุติลงโซเวียตอินฟอร์มบูโรยังคงทำงานต่อจนปี\nค.ศ. 1961 โซเวียตอินฟอร์มบูโรจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Novosti Press Agency (APN) และเปลี่ยนเป็นรีอะโนวัสติในปัจจุบัน", "title": "โซเวียตอินฟอร์มบูโร" }, { "docid": "434587#1", "text": "บี-29 เป็นเครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และล้ำสมัยที่สุดในยุคนั้น เช่น ระบบปรับความดันห้องโดยสาร ระบบควบคุมการยิงด้วยไฟฟ้า ป้อมปืนกลควบคุมด้วยรีโมท จึงได้รับฉายาว่า \"\"ซูเปอร์ฟอร์เทรส\"\" โดยใช้เป็นเครื่องบินหลักในการปฏิบัติการทางอากาศต่อจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ที่โด่งดังที่สุดคือการบรรทุกระเบิดปรมาณูในการโจมตีเมืองฮิโระชิมะและนะงะซะกิ เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่สอง", "title": "โบอิง บี-29 ซูเปอร์ฟอร์เทรส" }, { "docid": "347913#3", "text": "ระบบของแมคคอยได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วและแพร่กระจายไปยังหน่วยอื่นของสหรัฐและฝ่ายสัมพันธมิตรตลอดทั้งยุทธบริเวณแปซิฟิก เมื่อถึงปลายปี ค.ศ. 1942 กองทัพสหรัฐทั้งหมดในแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกได้เริ่มใช้ระบบของแมคคอย รายชื่อดังกล่าวมีชื่ออากาศยานทั้งหมด 122 ชื่อ และถูกใช้จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองยุติ จนถึงปัจจุบัน บันทึกประวัติศาสตร์ตะวันตกจำนวนมากเกี่ยวกับสงครามมหาสุมทรแปซิฟิกยังคงใช้ระบบดังกล่าวในการระบุอากาศยานของญี่ปุ่น", "title": "ชื่ออากาศยานญี่ปุ่นตั้งโดยฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "158959#7", "text": "ค.ศ. 1943 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีบทบาทอย่างมากในฐานะนายทหารระดับสูง จนเมื่อสงครามโลกยุติ ก็มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลยูเครน จนธันวาคม 1949 ก็ได้ย้ายจากยูเครนกลับมายังมอสโก", "title": "นีกีตา ครุชชอฟ" }, { "docid": "7440#21", "text": "มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรีสากล ฯลฯ โดยมีคำขวัญในสมัยนั้นว่า \"มาลานำไทยสู่มหาอำนาจ\" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตำรวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คำแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา มีคำสั่งให้ข้าราชการไทยกล่าวคำว่า \"สวัสดี\" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซ้ำกันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำมากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุดจากอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูกยกเลิกไปโดยปริยาย อักขรวิธีภาษาไทยได้กลับไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ดี วัฒนธรรมที่สังคมไทยเริ่มรับมาจากตะวันตกหลายรูปแบบในขณะนั้น ยังคงอยู่ต่อมาแม้ว่าจะไม่มีการบังคับใช้ตาม \"รัฐนิยม\" อีกต่อไป และได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยสมัยใหม่ไปแล้ว[7]", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" } ]
2462
ภาคเหนือของประเทศไทย มีกี่จังหวัด?
[ { "docid": "17494#7", "text": "จังหวัดทั้ง 9 ของภาคเหนือในการแบ่งเช่นนี้อาจเรียกว่า \"ภาคเหนือตอนบน\" ซึ่งส่วนใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนามาก่อน (สำหรับจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดตากเคยเป็นบางส่วน) และมีภาษาถิ่นเป็นคำเมือง ส่วน 8 จังหวัดที่เหลืออาจเรียกว่า \"ภาคเหนือตอนล่าง\" ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดนครสวรรค์ อันเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำคัญ ปัจจุบันการแบ่งแบบนี้ไม่นิยมใช้อ้างอิงในเอกสารของทางราชการและบทความทางวิชาการอื่น ๆ เนื่องจากราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้จังหวัดเหล่านี้ เป็นจังหวัดในเขตภาคกลาง ยกเว้นจังหวัดตากอยู่ในภาคตะวันตก", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17494#6", "text": "นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว ยังมีหน่วยงานที่เคยจัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยขึ้นเพื่อกำหนดแผนบริหารงานด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นการแบ่งภูมิภาคอย่างไม่เป็นทางการได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยกำหนดให้ภาคเหนือมีทั้งหมด 17 จังหวัด ประกอบด้วย 9 จังหวัดภาคเหนือข้างต้น กับอีก 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17494#8", "text": "จังหวัดในภาคเหนือที่แบ่งตามราชบัณฑิตยสถานมี 9 จังหวัด ได้แก่\nพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์ เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ทำให้เกิดลักษณะของตัวอักษรและสำเนียงเฉพาะถิ่น เรียกว่าอักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง) และภาษาถิ่นพายัพ (กำเมือง)", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17494#5", "text": "จังหวัดในภาคเหนือ กำหนดโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2521 และประกาศใช้โดยราชบัณฑิตยสถาน เป็นการแบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคม วัฒนธรรมและภาษา เป็นการแบ่งระบบ 6 ภูมิภาค ประกอบไปด้วย 9 จังหวัด ตามลักษณะภูมิภาคตามธรรมชาติที่ตั้งอยู่ในเขตภูเขา", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" } ]
[ { "docid": "17494#2", "text": "ภูมิประเทศของภาคเหนือประกอบไปด้วยเทือกเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อน และมีพื้นที่สำคัญของประเทศหลายจุด เช่น พื้นที่ทางด้านตะวันตกสุดของประเทศที่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ทางด้านเหนือสุดของประเทศที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดสูงสุดของประเทศที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่แรกของประเทศที่แม่น้ำโขงไหลผ่าน โดยจุดแรกที่แม่น้ำโขงไหลผ่านประเทศไทยอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17500#6", "text": "การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคด้วยระบบ 6 ภาค เป็นการแบ่งที่เป็นทางการโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ ใช้ในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยภาคกลางของระบบ 6 ภาคนี้ ประกอบไปด้วยเขตการปกครอง 21 จังหวัด รวมถึงกรุงเทพมหานคร (ซึ่งเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัด) โดยมีพื้นที่ทางเหนือไปจนสุดเขตจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดพิษณุโลก และทางใต้ลงไปสุดที่อ่าวไทย ยกเว้นจังหวัดที่ติดกับประเทศพม่า ซึ่งมีลักษณะเป็นภูเขา และยกเว้นจังหวัดทางภาคตะวันออก จังหวัดในภาคกลางตามการแบ่งที่เป็นทางการ ประกอบไปด้วยจังหวัดต่าง ๆ 21 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ดังตารางข้างล่างนี้", "title": "ภาคกลาง (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17494#4", "text": "เขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคอื่น ๆ ของภาคเหนือ เรียงตามเข็มนาฬิกา ได้แก่ ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับประเทศพม่า ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับประเทศลาว ทิศใต้ติดกับภาคกลาง พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และ สุโขทัย ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มีพื้นที่ติดกับภาคตะวันตก บริเวณจังหวัดตาก", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17633#0", "text": "ภาคตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก", "title": "ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)" }, { "docid": "330764#12", "text": "ภาคตะวันออกประกอบด้วย 7 จังหวัด มีอาณาเขตติดกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือทางทิศเหนือ ประเทศกัมพูชาทางทิศตะวันออก ติดกับอ่าวไทยทางทิศใต้ ติดกับภาคกลางด้านตะวันตก มีเนื้อที่ 34,380 ตารางกิโลเมตร\nภูมิประเทศของภาคตะวันออกแบ่งได้ 4 ลักษณะ คือ ภูมิประเทศส่วนทิวเขา มีทิวเขาสันกำแพง ทิวเขาจันทบุรี และทิวเขาบรรทัด ภูมิประเทศส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มน้ำ คือที่ราบลุ่มน้ำบางปะกง ที่ราบชายฝั่งทะเล ตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกงไปจนสุดเขตแดนที่แหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด ส่วนใหญ่ชายฝั่งทะเลจะมีหาดทรายสวยงาม และส่วนเกาะและหมู่เกาะ เช่น เกาะสีชัง เกาะเสม็ด หมู่เกาะช้าง และเกาะกูด และมีท่าเรือพานิชย์ที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย\nอยู่ที่แหลมฉบัง", "title": "ภูมิศาสตร์ไทย" }, { "docid": "17498#0", "text": "ภาคใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุงพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีทิวเขาที่สำคัญ ได้แก่ ทิวเขาภูเก็ต ทิวเขานครศรีธรรมราช โดยมีทิวเขาสันกาลาคีรี เป็นพรมแดนกั้นระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย ทิวเขาในภาคใต้มีความยาวทั้งสิ้น 1,000 กิโลเมตร", "title": "ภาคใต้ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "936#26", "text": "ประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ภาคเหนือเป็นพื้นที่ภูเขาสูงสลับซับซ้อน จุดสูงที่สุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์ ณ 2,565 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รวมทั้งยังปกคลุมด้วยป่าไม้อันเป็นต้นน้ำที่สำคัญของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของที่ราบสูงโคราช สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่ค่อยเอื้อต่อการเพาะปลูก ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง มีแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำใหญ่ที่สุดในประเทศซึ่งเกิดจากแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่านที่ไหลมาบรรจบกันที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ ทำให้ภาคกลางเป็นภาคที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด และถือได้ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไทย-มลายู ขนาบด้วยทะเลทั้งสองด้าน มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระ แล้วขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลายู ทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ส่วนภาคตะวันตกเป็นหุบเขาและแนวเทือกเขาซึ่งพาดตัวมาจากทางตะวันตกของภาคเหนือ", "title": "ประเทศไทย" } ]
3968
พระราชินีของอังกฤษชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "5513#0", "text": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "5513#29", "text": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทอดพระเนตรเห็นการเปลี่ยนแปลงของจักรวรรดิอังกฤษไปสู่เครือจักรภพแห่งประชาชาติตลอดช่วงพระชนม์ชีพของพระองค์ ตั้งแต่การเสด็จขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2495 ตำแหน่งพระประมุขของรัฐอธิปไตยหลากหลายรัฐก็สถาปนาขึ้นไว้แล้ว ซึ่งตลอดช่วงปี พ.ศ. 2496 - 2497 พระองค์และพระราชสวามีได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ รอบโลกเป็นเวลาหกเดือน และยังเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์แห่งออสเตรเลียและพระมหากษัตริย์แห่งนิวซีแลนด์เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศของพระองค์ขณะทรงครองราชย์อยู่ ประมาณกันว่าสามในสี่ของประชาชนชาวออสเตรเลียได้พบเห็นสมเด็จพระราชินีนาถของตนระหว่างช่วงการเสด็จพระราชดำเนินเยือน เสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศทั้งที่ใช่และไม่ใช่ประเทศเครือจักรภพมากมายตลอดช่วงรัชสมัยของพระองค์ และเป็นพระประมุขแห่งรัฐที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศมากที่สุดในประวัติศาสตร์", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "5513#1", "text": "เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและพระมหากษัตริย์แห่งเจ็ดรัฐเครือจักรภพ เจ็ดรัฐ ได้แก่ สหราชอาณาจักร แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ ปากีสถาน และ ซีลอน พิธีราชาภิเษกของพระองค์ในปีถัดมาเป็นพิธีราชาภิเษกครั้งแรกที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์ ระหว่าง พ.ศ. 2499 ถึง 2535 จำนวนราชอาณาจักรของพระองค์แปรผันเมื่อดินแดนต่าง ๆ ได้รับเอกราชและบ้างกลายเป็นสาธารณรัฐ ปัจจุบัน นอกจากสี่ประเทศแรกที่ได้กล่าวไว้แล้วนั้น สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ยังเป็นพระราชินีนาถแห่งจาเมกา บาร์เบโดส หมู่เกาะบาฮามาส เกรนาดา ปาปัวนิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน ตูวาลู เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ แอนติกาและบาร์บูดา เบลิซ และเซนต์คิตส์และเนวิส พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระชนมายุมากที่สุดของบริเตน เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558 พระองค์เป็นประมุขแห่งรัฐบริเตนที่ทรงราชย์นานที่สุด แซงหน้ารัชกาลของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผู้เป็นพระมารดาของพระปัยกา (ทวด) ของพระองค์ และเป็นพระราชินีนาถที่ทรงราชย์นานที่สุดในประวัติศาสตร์\nพระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกของดยุกและดัชเชสแห่งยอร์ก (ต่อมาคือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ) พระราชบิดาเป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 กับสมเด็จพระราชินีแมรี พระราชบิดาของพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 พระราชโอรสองค์โตทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัชทายาทโดยสันนิษฐานแห่งสหราชอาณาจักร", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "5513#49", "text": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มีพระราชดำรัส ณ ที่สมัชชาใหญ่สหประชาชาติเป็นครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2553 ในฐานะที่เป็นพระประมุขแห่งประเทศเครือจักรภพ เลขาธิการสหประชาชาติ พัน กีมุน กล่าวสดุดีพระองค์ว่าเป็น \"เสาหลักสำหรับยุคของเรา\" ในระหว่างการเสด็จฯ เยือนนครนิวยอร์กซึ่งตามมาด้วยการเสด็จฯ เยือนแคนาดา เสด็จฯ ไปทรงเปิดสวนอนุสรณ์ระลึกถึงเหยื่อผู้เสียชีวิตชาวอังกฤษจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน ต่อมาเสด็จพระราชดำเนินเยือนออสเตรเลียในปีเดียวกัน ซึ่งเป็นครั้งที่ 16 นับตั้งแต่ พ.ศ. 2497 และได้รับการขนานนามจากสื่อว่าเป็น \"การเสด็จฯ เยือนอำลา\" เนื่องจากพระองค์มีพระพรรษามากแล้ว", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร" } ]
[ { "docid": "5513#56", "text": "เนื่องจากพระองค์พระราชทานสัมภาษณ์น้อยครั้งทำให้สาธารณชนทราบถึงพระราชอัธยาสัยส่วนพระองค์ได้น้อยมาก และในฐานะที่เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ทำให้ไม่สามารถแสดงทัศนะทางการเมืองส่วนพระองค์ในที่สาธารณะได้ ทรงมีพันธกิจด้านศาสนาและสังคมที่หยั่งรากลึกในพระราชหฤทัย อีกทั้งยังทรงกล่าวพระราชดำรัสสาบานพระองค์ในวันขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติอย่างจริงจัง นอกเหนือจากการที่เป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษอย่างเป็นทางการแล้ว พระองค์ยังทรงเลื่อมใสในคริสตจักรแห่งอังกฤษและคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์เป็นการส่วนพระองค์อีกด้วย และยังทรงแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ทรงมีต่อศาสนาอื่น ๆ ด้วยการพบปะกับผู้นำนิกายและศาสนาต่าง ๆ เช่น การที่ทรงพบปะกับพระสันตะปาปาถึงสามพระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23, สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ความศรัทธาเลื่อมใสในศาสนาของพระองค์ปรากฏให้เห็นบ่อยครั้งในพระราชดำรัสผ่านทางโทรทัศน์เนื่องในวันคริสต์มาสต์ซึ่งถ่ายทอดไปยังประเทศเครือจักรภพเป็นประจำทุกปี เช่นในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ที่มีพระราชดำรัสถึงความสำคัญของคริสต์สหัสวรรษที่ 2 อันเป็นปีที่การประสูติของพระเยซูครบรอบ 2000 ปี ดังนี้", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร" } ]
725
ฮ่องกงมีขนาดพื้นที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "6032#0", "text": "ฮ่องกง (; ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (; ) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม. และประชากรกว่าเจ็ดล้านคน เป็นเขตที่มีประชากรอยู่อาศัยหนาแน่นที่สุดเขตหนึ่งในโลก ประชากรฮ่องกง 93.6% มีเชื้อชาติจีน และ 6.4% มาจากกลุ่มอื่น ประชากรส่วนใหญ่ที่พูดภาษากวางตุ้งของฮ่องกงกำเนิดจากมณฑลกวางตุ้งที่อยู่ติด ซึ่งประชากรจำนวนมากหนีสงครามและการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ในจีนแผ่นดินใหญ่ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930", "title": "ฮ่องกง" } ]
[ { "docid": "148946#1", "text": "เกาะฮ่องกงเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 2 ถัดจากเกาะลันเตา โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 80.4 ตารางกิโลเมตร เกาะฮ่องกงอยู่หากจากแผ่นดินใหญ่ไม่มาก โดยมีอ่าววิคตอเรียกั้นอยู่ระหว่างเกาะฮ่องกงกับเกาลูน", "title": "เกาะฮ่องกง" } ]
949
เวียนนา เป็นประเทศหรือไม่ ?
[ { "docid": "32713#0", "text": "เวียนนา (English: Vienna) หรือ วีน (German: Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย", "title": "เวียนนา" } ]
[ { "docid": "78278#36", "text": "“พระแม่มารีและพระบุตร” (ราว ค.ศ. 1512) , พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย “ภาพเหมือนของเปียโตร อาเรติโน” (Pietro Aretino) (ราว ค.ศ. 1512) “พระแม่มารีและพระบุตร” (ราว ค.ศ. 1516) , พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย “พระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญแอ็กเนสและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์” (ราว ค.ศ. 1528) พิพิธภัณฑ์ศิลปะดิจอง, ประเทศฝรั่งเศส “วีนัสแห่งเออร์บิโน” (ค.ศ. 1538) , พิพิธภัณฑ์อุฟิซิ ฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี “ภาพเหมือนของพระสันตะปาปาพอลที่ 3” (ค.ศ. 1543) , พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย “ชะลอร่างจากกางเขน” (ราว ค.ศ. 1559) พิพิธภัณฑ์ปราดา, ประเทศสเปน “นักบุญแมรี แม็กดาเลน” (ราว ค.ศ. 1565) , พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, ประเทศรัสเซีย “ซาโลเม” และพระเศียรนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ “The fall of man” พิพิธภัณฑ์ปราดา, ประเทศสเปน ประเทศรัสเซีย", "title": "ทิเชียน" }, { "docid": "257300#0", "text": "เดวิดกับหัวโกไลแอธ () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย ", "title": "เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-เวียนนา)" }, { "docid": "369735#4", "text": "ขอบข่ายการใช้บังคับของอนุสัญญาฯ นี้มีจำกัด โดยอนุสัญญาฯ นี้ใช้บังคับแก่สนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างรัฐเท่านั้น ไม่ใช้แก่ที่ทำขึ้นระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ หรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศด้วยกันเอง แต่ว่าเกณฑ์ใดที่ปรากฏไว้ในอนุสัญญาฯ นี้ และผูกพันกับองค์การดังกล่าวตามกฎหมายอื่น ก็ยังคงผูกพันเช่นนั้นอยู่ อนึ่ง อนุสัญญาฯ นี้ยังใช้บังคับแก่สนธิสัญญาที่ทำขึ้นโดยรัฐภายในองค์การระหว่างรัฐบาล กับรัฐภายในองค์การระหว่างรัฐบาล ด้วยกันเอง ส่วนความตกลงระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ หรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศด้วยกันเองนั้น จะอยู่ในบังคับแห่ง อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญาระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศฯ ที่สำคัญ อนุสัญญาฯ นี้ไม่ใช้บังคับแก่ความตกลงที่มิใช่ทำเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ความตกลงแบบสุภาพบุรุษ (gentleman's agreement)", "title": "อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา" }, { "docid": "369735#0", "text": "อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา () เป็นสนธิสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองในเรื่องสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐ โดยเป็นการนำกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศมาประมวลไว้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร", "title": "อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา" }, { "docid": "95393#0", "text": "ท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา (เยอรมัน: Flughafen Wien-Schwechat) ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร (11 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของออสเตรียนแอร์ไลน์ และนิกิแอร์ไลน์", "title": "ท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา" }, { "docid": "369748#1", "text": "ในประเทศทางยุโรป ไส้กรอกเวียนนาเป็นไส้กรอกสำเร็จรูป มักรมควัน และหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไป มีลักษณะละรสคล้ายคลึงกับไส้กรอกแดงทั่วไปเป็นอันมาก ภาษาปากจึงมักเรียกรวมกันว่าไส้กรอกแดง แต่ไส้กรอกเวียนนายาวและบางกว่า กับทั้งยังบรรจุใน \"กรอก\" (casing) ที่เบากว่าและรับประทานได้ด้วย เมื่อจะกิน มักจัดให้ร้อน ๆ ทั้งชิ้นยาว ๆ นั้น พร้อมเครื่องปรุงรส ยิ่งทำให้มีรูปลักษณ์คล้ายไส้กรอกแดงทั่วไปไปใหญ่", "title": "ไส้กรอกเวียนนา" }, { "docid": "607159#0", "text": "สถานีรถไฟเวียนนาตะวันตก เป็นสถานีรถไฟหลักที่มีความสำคัญในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมต่อรถไฟไปยังเมืองต่าง ๆ เช่น ซาลซ์บูร์ก มิวนิก แฟรงก์เฟิร์ต ซูริก บูดาเปสต์ บูคาเรสต์ และเบลเกรด นอกจากนี้ สถานีรถไฟนี้ยังเชื่อมต่อกับ รถไฟเร็วเขตเมืองเวียนนา สาย และรถไฟใต้ดินเวียนนา สาย และสาย รถราง 6 สาย และรถโดยสารประจำทาง", "title": "สถานีรถไฟเวียนนาตะวันตก" }, { "docid": "510951#2", "text": "หลังจากนั้น 2 ปีถัดมา ลินทซ์ได้กลับไปที่บ้านเกิดในประเทศออสเตรีย และได้กลับไปเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลในบ้านเกิด โดยให้ความสำคัญกับการเป็นนักฟุตบอลอาชีพมากขึ้น ซึ่ง 2 ปีต่อมานั้นเขาสามารถทำได้ถึง 27 ประตู ใน 53 นัด เขามีฟอร์มการเล่นที่ดีกับดิวิชั่น 2 และเขาได้ถูกซื้อตัวไปอยู่กับทีมที่ใหญ่กว่า ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ลินทซ์ได้เข้าร่วมกับสโมสรฟุตบอลที่อยู่ในแนวหน้าของออสเตรีย คือออสเตรีย เวียนนา ในกรุงเวียนนา", "title": "โรลันท์ ลินทซ์" }, { "docid": "218104#0", "text": "ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ", "title": "จุดหมายปลายทางของการบินไทย" }, { "docid": "149675#6", "text": "ในปีพ.ศ. 2356 ออสเตรียได้เข้าจู่โจมฝรั่งเศสอีกครั้ง ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 4 และเป็นครั้งสุดท้าย โดยครั้งนี้ออสเตรียได้ร่วมมือกับสหราชอาณาจักร รัสเซีย และปรัสเซียโจมตีนโปเลียน โดยออสเตรียได้เปรียบในตอนสุดท้าย คือการตั้งการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) โดยมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง เจ้าชายคลีเมนส์ เว็นเซิลแห่งเม็ทเตอร์นิชเป็นองค์ประธาน เพื่อช่วยในการปฏิรูประบอบการปกครองของราชอาณาจักรหรือจักรวรรดิต่างๆ รวมทั้งมีการก่อตั้งกลุ่มสมาพันธรัฐเยอรมัน เพื่อเป็นหน่วยย่อยในการดูแล ควบคุมระบอบการเมืองการปกครองของกลุ่มประเทศเยอรมัน โดยการประชุมแห่งเวียนนาได้จัดระบบประเทศต่างๆของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยให้จักรพรรดิฟรันซ์เป็นองค์ประธานในการประชุมที่เวียนนาและกลุ่มสมาพันธรัฐเยอรมัน โดยพระองค์ทรงเป็นเจ้าภาพร่วมกับพระราชวงศ์ประเทศอื่นในการประชุม แต่อย่างไรก็ตาม พระองค์ได้ทรงตัดความสัมพันธ์กับรัสเซียและปรัสเซีย คือจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย และพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย ในการเจรจาสนธิสัญญาลับในการฟื้นฟูสถาปนาพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสให้เป็นองค์พระประมุขฝรั่งเศสอีกครั้งหนึ่ง", "title": "จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "607136#0", "text": "รถรางเวียนนา () เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถรางในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย โดยเริ่มใช้งานตั้งแต่ ค.ศ 1865 เป็นหนึ่งในระบบรถรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีระยะทาง จำนวน 1,031 สถานี", "title": "รถรางในเวียนนา" }, { "docid": "334849#3", "text": "นอกจากนั้นนายสวนิต คงสิริ ยังเคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรไทยประจำสำนักงานขององค์การสหประชาชาติและองค์การระหว่างประเทศอื่นๆ ณ กรุงเวียนนา อาทิ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency หรือ IAEA) และองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (UNIDO) เอกอัครราชทูตไทย ณกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน และเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย ", "title": "สวนิต คงสิริ" }, { "docid": "268755#3", "text": "ความตกลงบางอย่างเริ่มขึ้นแล้วก่อนหน้าที่จะมีการประชุมในสนธิสัญญาปารีสระหว่างฝรั่งเศสกับสัมพันธมิตรที่หก (Sixth Coalition) และในสนธิสัญญาคีลซึ่งครอบคลุมปัญหาที่เกี่ยวกับสแกนดิเนเวีย สนธิสัญญาปารีสริเริ่มความคิดของการ \"ประชุมทั่วไป\" ที่ควรจะจัดขึ้นในกรุงเวียนนา และกล่าวว่าคำเชิญควรจะออกให้แก่ \"ประเทศอำนาจทุกประเทศที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งสองฝ่ายในสงครามนี้\"", "title": "การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา" }, { "docid": "268755#2", "text": "สิ่งที่เป็นความพิเศษของการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาก็คือเป็นการชุมนุมที่มิใช้การประชุมอย่างเป็นทางการ ที่มิได้มีการประชุมเต็มคณะ (plenary session) การพบปะกันส่วนใหญ่เป็นไปอย่างไม่เป็นทางการ การพบกันตัวต่อตัว หรือการประชุมระหว่างมหาอำนาจฝรั่งเศส ออสเตรีย รัสเซีย และบริเตน และบางครั้งก็รวมปรัสเซียกับผู้แทนผู้เข้าร่วมประชุมผู้อื่น แต่จะอย่างไรก็ตาม การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาก็เป็นเหตุการณ์แรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นการประชุมระดับทวีปที่พยายามหาทางตกลงสนธิสัญญาร่วมกัน แทนที่จะใช้ผู้ถือสาส์นติดต่อกันระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าข้อตกลงจากการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาจะมีการเปลี่ยนแปลงบ้างหลังจากนั้น แต่ก็กลายเป็นโครงสร้างทางการเมืองระดับนานาชาติของยุโรปมาจนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1914", "title": "การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา" }, { "docid": "769816#0", "text": "คาร์ล ลันด์สไตเนอร์ (; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1868 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1943) เป็นแพทย์ชาวออสเตรีย/อเมริกัน เกิดที่เมืองบาเดินเบวีน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ใกล้กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน) เป็นบุตรของเลโอโปลด์และแฟนนี (นามสกุลเดิม เฮสส์) ลันด์สไตเนอร์ เรียนจบด้านการแพทย์จากมหาวิทยาลัยเวียนนา ระหว่างปี ค.ศ. 1891–1893 ลันด์สไตเนอร์เรียนวิชาเคมีที่เมืองเวือร์ซบูร์ก, มิวนิกและซูริก เมื่อกลับมาที่เวียนนา ลันด์สไตเนอร์ทำงานเป็นผู้ช่วยนักวิทยาแบคทีเรีย แอนตัน ไวช์เซลบอมที่มหาวิทยาลัยเวียนนา ในปี ค.ศ. 1901 ลันด์สไตเนอร์ประสบความสำเร็จในการจำแนกหมู่โลหิต A, B และ O และพบว่าการถ่ายเลือดให้กับผู้ที่มีหมู่เลือดเดียวกันไม่ทำให้เซลล์เม็ดเลือดถูกทำลาย จากการค้นพบดังกล่าวทำให้ในปี ค.ศ. 1907 รูเบน ออตเตนเบิร์ก นายแพทย์ชาวอเมริกันประสบความสำเร็จในการถ่ายเลือดเป็นครั้งแรก", "title": "คาร์ล ลันด์สไตเนอร์" }, { "docid": "300644#0", "text": "อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (German: Stephansdom, English: St. Stephen's Cathedral) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี", "title": "ชเตฟันสโดม" }, { "docid": "520312#0", "text": "อัครมุขมณฑลเวียนนา () เป็นอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา รัฐโลว์เออร์ออสเตรีย ประเทศออสเตรีย", "title": "อัครมุขมณฑลเวียนนา" }, { "docid": "416026#0", "text": "คอนเสิร์ตฉลองปีใหม่ของวงเวียนนาฟิลฮาร์โมนิค () เป็นการแสดงคอนเสิร์ตดนตรีคลาสสิกที่จัดขึ้นตอนเช้าของวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีการถ่ายทอดสดไปทั่วโลก ประเมินว่ามีผู้รับชมมากกว่า 50 ล้านคน จาก 72 ประเทศ ในวันปีใหม่ ค.ศ. 2010 ", "title": "คอนเสิร์ตฉลองปีใหม่เวียนนา" }, { "docid": "11569#3", "text": "ไม่กี่ปีต่อมาที่ประเทศฮังการี เขาเป็นพ่อทูนหัวให้กับบุตรของเคานต์แห่งแอ็สแตร์ฮาซี ได้พบกับรักที่ไม่สมหวัง และกลับมาใช้ชีวิตที่กรุงเวียนนาอีกครั้ง ทั้งชีวิตของเขาได้อุทิศให้กับดนตรี, การแต่งเพลง และการสังสรรค์กับเพื่อนฝูง (กลุ่มสหายของชูเบิร์ท) ในร้านทำขนมที่กรุงเวียนนา", "title": "ฟรันทซ์ ชูเบิร์ท" }, { "docid": "6721#1", "text": "IAEA มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเวียนนา IAEA มี \"สำนักงานพิทักษ์ภูมิภาค\" สองแห่งซึ่งตั้งอยู่ในโตรอนโต ประเทศแคนาดาและในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น IAEA ยังมีสำนักงานติดต่อประสานงานสองแห่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก สหรัฐ และในเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นอกจากนี้ IAEA มีห้องปฏิบัติการสามแห่งตั้งอยู่ในกรุงเวียนนาและไชเบอร์ซดอร์ฟ ประเทศออสเตรียและในโมนาโก", "title": "ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ" }, { "docid": "9139#12", "text": "ค.ศ. 1792 เบทโฮเฟินตั้งรกรากที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เบทโฮเฟินมีโอกาสศึกษาดนตรีกับโยเซ็ฟ ไฮเดิน หลังจากเขาเดินทางมาเวียนนาได้ 1 เดือน ก็ได้รับข่าวว่าบิดาป่วยหนักใกล้จะเสียชีวิต (มาเวียนนาครั้งก่อน อยู่ได้ครึ่งเดือนมารดาป่วยหนัก มาเวียนนาครั้งนี้ได้หนึ่งเดือนบิดาป่วยหนัก) แต่ครั้งนี้เขาตัดสินใจไม่กลับบ็อน แบ่งหน้าที่ในบ็อนให้น้องทั้งสองคอยดูแล และในปีนั้นเองบิดาของเบทโฮเฟินก็สิ้นใจลงโดยไม่มีเบทโฮเฟินกลับไปดูใจ แต่เบทโฮเฟินเองก็ประสบความสำเร็จในการแสดงคอนเสิร์ตในฐานะนักเปียโนเอก และเป็นผู้ที่สามารถเล่นได้โดยคิดทำนองขึ้นมาสด ๆ ทำให้เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในแวดวงและครอบครัวขุนนาง", "title": "ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน" }, { "docid": "607153#0", "text": "สถานีรถไฟเวียนนาใต้ เคยเป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เปิดทำการลงในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 และได้ทำการรื้อถอนใน ค.ศ. 2010 เพื่อย้ายที่ตั้งไปใช้งานที่สถานีแห่งใหม่ สถานีแห่งนั้นคือ สถานีรถไฟกลางเวียนนาแห่งใหม่ ปัจจุบันเปิดให้บริการบางส่วนตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 2012 และจะเปิดให้บริการเต็มรูปแบบในปี ค.ศ. 2015", "title": "สถานีรถไฟเวียนนาใต้" }, { "docid": "954789#0", "text": "รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง เป็นเหตุการณ์ครั้งที่สองในข้อพิพาทดินแดนทั้งสองประเทศที่มีผู้ให้การตัดสินโดยนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี การตัดสินให้ปฏิบัติตาม เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1940 ได้มีการกำหนดดินแดนทางตอนเหนือของทรานซิลเวเนีย (รวมทั้ง Maramureș และส่วนหนึ่งของ Crișana) จากโรมาเนียไปยังฮังการี", "title": "รางวัลเวียนนาครั้งที่สอง" }, { "docid": "607015#0", "text": "รถไฟเร็วเขตเมืองเวียนนา เป็นชื่อระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (เอส-บาห์น) ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งให้บริการควบคู่กับรถไฟใต้ดินเวียนนา (อู-บาห์น) แตกต่างกันตรงที่เอส-บาห์นมีขนาดใหญ่กว่า และมีการรถไฟสหพันธรัฐออสเตรีย (ÖBB) เป็นเจ้าของ ปัจจุบันมีจำนวน 9 เส้นทาง ในแต่ละเส้นทางการเดินรถจะมีการใช้สีที่ไม่ซ้ำกันเลย เพื่อบอกเส้นทางการเดินรถให้สะดวกและง่ายต่อการเข้าใจ", "title": "รถไฟเร็วเขตเมืองเวียนนา" }, { "docid": "823813#0", "text": "คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา (, , ตัวย่อ VBC) เป็นคณะประสานเสียงของเด็กชายที่มีเสียงระดับโซปราโนและแอลโตแห่งนครเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นคณะประสานเสียงเด็กชายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคณะหนึ่งในโลก เด็กส่วนใหญ่มาจากออสเตรีย แต่ก็มีที่มาจากประเทศอื่น รวมทั้งประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์\nมาเลเซีย\nอินเดีย และไต้หวัน\nคณะประสานเสียงเป็นองค์กรเอกชนที่ไม่หวังผลกำไร มีเด็กนักร้องประมาณ 100 คนอายุระหว่าง 10-14 ปี โดยแบ่งออกเป็น 4 คณะที่ออกเดินทาง ตั้งชื่อมุ่งใช้ภายในสถาบันตามผู้ประพันธ์ดนตรีชาวออสเตรียที่ใกล้ชิดกับคณะ คือ บรุกเนอร์ ไฮเดิน โมทซาร์ท และชูเบิร์ท แต่ละคณะแยกเรียนต่างหากและออกเดินทางประมาณปีละ 11 อาทิตย์", "title": "คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา" }, { "docid": "6835#15", "text": "ตามกฎหมายระหว่างประเทศ กิจการด้านการทูตและกิจการด้านการกงสุลอยู่ภายใต้บังคับของสัญญาระหว่างประเทศสองฉบับ คือ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต ค.ศ. 1961 (Vienna Convention on Diplomatic Relations of 1961) และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ค.ศ. 1963 (Vienna Convention on Consular Relations of 1963)", "title": "กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "607145#0", "text": "สถานีรถไฟกลางเวียนนาแห่งใหม่ เป็นสถานีรถไฟกลางแห่งใหม่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย แทนสถานีเดิม คือ สถานีรถไฟเวียนนาใต้ เป็นสถานีรถไฟที่เป็นจุดเชื่อมต่อทางรถไฟสายต่าง ๆ และระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ เช่น รถไฟเร็วเขตเมืองเวียนนา รถไฟใต้ดินเวียนนา และรถรางเวียนนา", "title": "สถานีรถไฟกลางเวียนนาแห่งใหม่" }, { "docid": "326712#0", "text": "เดอะบลูดานูบ () เป็นชื่อที่รู้จักกันทั่วไปของ An der schönen blauen Donau op. 314 \"()\" เพลงวอลต์ซโดยโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1866 และแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1867 ที่สมาคมนักร้องประสานเสียงแห่งเวียนนา (; ) กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในเพลงคลาสสิกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด และถูกจัดให้เป็นเพลงชาติอย่างไม่เป็นทางการของประเทศออสเตรีย", "title": "เดอะบลูดานูบ" }, { "docid": "167269#2", "text": "ดร.นฤพนธ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ และเข้าศึกษาต่อที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากนั้น ได้รับทุนรัฐบาลออสเตรีย ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาสถาปัตยกรรม (Master of Architecture) ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเวียนนา (Vienna University of Technology) ประเทศออสเตรีย และปริญญาเอก สาขาการผังเมือง จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเวียนนาเช่นกัน", "title": "นฤพนธ์ ไชยยศ" } ]
3376
คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิตหรือไม่?
[ { "docid": "569625#0", "text": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555 เป็นคดีซึ่งเกิด ณ วันที่ 16 ธันวาคม 2555 ในหมู่บ้านมุนิรกา (Munirka) ของเมืองเดลีใต้ เมื่อหญิงซึ่งอายุยี่สิบสามปีและเป็นผู้ฝึกหัดวิชากายภาพบำบัดถูกทำร้ายร่างกายแล้วรุมโทรมบนรถประจำทางที่เธอโดยสารมากับเพื่อนชาย[2] ผู้ลงมือเป็นชายหกคนซึ่งโดยสารมาพร้อมกัน รวมถึงคนขับรถนั้นด้วย หญิงดังกล่าวบาดเจ็บสาหัสจนถึงแก่ความตายในวันที่ 19 ธันวาคม 2555 ขณะรับการรักษาฉุกเฉินในประเทศสิงคโปร์[3][4] เหตุการณ์นี้ได้รับการรายงานทั่วประเทศและทั่วโลก ทั้งเป็นที่ประณามของสตรีหลายกลุ่มทั้งในและนอกประเทศ ภายหลังประชาชนทั่วประเทศได้ประท้วงรัฐบาลอินเดียที่ไม่รักษาความปลอดภัยให้แก่สตรีอย่างเพียงพอ และผู้ประท้วงนับพันได้ปะทะอาวุธกับเจ้าพนักงานด้วย", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" } ]
[ { "docid": "440518#0", "text": "เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 เป็นเหตุการณ์ระเบิดที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี และเขตเทศบาลนครยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ผู้ก่อการร้ายซุกซ่อนระเบิดในรถยนต์และจุดระเบิดขึ้นเป็นระเบิดติดรถ ที่บริเวณชั้นใต้ดินของอาคารจอดรถโรงแรมลีการ์เด้นพลาซ่า ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีผู้เสียชีวิต 3 ราย บาดเจ็บ 416 ราย ส่วนเหตุการณ์ที่จังหวัดยะลา ผู้ก่อการร้ายก่อเหตุลักษณะเดียวกันที่บริเวณถนนจงรักษ์และถนนรวมมิตร เขตเทศบาลนครยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา มีรถยนต์ที่มีวัตถุระเบิดสองคัน แต่ไฟจากการระเบิดได้ลุกลามไปติดรถบริเวณนั้นอีกคันหนึ่งจนเกิดระเบิดขึ้น มีผู้เสียชีวิต 11 ราย บาดเจ็บ 127 ราย", "title": "เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#8", "text": "คนทั้งหกให้การว่า พวกเขามาดื่มกินกันในตอนเช้า[3] เสร็จแล้วจึงชวนกันเอารถที่ราม สิงห์ ได้รับใบอนุญาตให้ขนส่งคนนั้น ออกขับเล่นเพื่อ \"หาอะไรทำสนุก ๆ\" ถึงแม้ว่า ตามใบอนุญาตแล้ว ราม สิงห์ ไม่สามารถนำรถออกรับผู้โดยสารในวันหยุดตามปรกติ ทั้งไม่สามารถใช้รับผู้โดยสารในเมืองเดลีได้โดยสิ้นเชิงเพราะหน้าต่างรถมืดไปก็ตาม[16][3] เบื้องต้น มุเกศ สิงห์ ขับรถ ผู้โดยสารคนแรกที่พวกเขารับนั้นเป็นช่างไม้ พวกเขาคิดค่าโดยสารสิบรูปีอินเดีย แล้วชิงทรัพย์มูลค่าแปดพันรูปีอินเดีย ก่อนทิ้งช่างไม้คนดังกล่าวไว้ที่เมืองเดลีใต้[27]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#13", "text": "เดิมศาลนัดอ่านคำพิพากษาสำหรับจำเลยผู้เยาว์ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2556[47] แต่ได้เลื่อนมาเป็นวันที่ 5 สิงหาคม 2556[48] และเลื่อนอีกหนเป็นวันที่ 19 สิงหาคม 2556[49] ครั้นวันที่ 31 สิงหาคม 2556 จึงมีการอ่านคำพิพากษาว่า จำเลยผู้เยาว์นี้มีความฐานข่มขืนกระทำชำเราและฆ่าคนตามรัฐบัญญัติการยุติธรรมเยาวชน (Juvenile Justice Act) และให้ลงโทษกักขังไว้ที่สถานพินิจเป็นเวลาสามปี อันเป็นโทษสูงสุดที่พึงลงได้ตามกฎหมาย แต่ให้หักระยะเวลากักขังนั้นออกจากระยะเวลาแปดเดือนที่จำเลยถูกขังไว้ระหว่างพิจารณาด้วย[50]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "779666#57", "text": "เดวิด มิลเลอร์ และ ฮานนาห์ วิทเธอร์ริดจ์ นักท่องเที่ยวคู่รักชาวอังกฤษถูกฆาตกรรมบนเกาะเต่าใน พ.ศ. 2557 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 ผู้ต้องสงสัยถูกตัดสินว่าผิดจริง และถูกประหารชีวิตโดยการฉีดยา นักท่องเที่ยวชาวอังกฤษที่เคยถูกฆาตกรรมได้แก่ (ถูกพบว่าเสียชีวิตในโรงแรมที่กรุงเทพมหานคร) และอีกคดีหนึ่งที่นักท่องเที่ยว คริสตี้ โจนส์ ถูกข่มขืนและฆาตกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2556 ผู้อยู่อาศัยชาวอเมริกันถูกฟันจนเสียชีวิตด้วยดาบโดยคนขับแท็กซี่ การฆาตกรรมเกิดขึ้นบ่อยครั้งจนมีนักเขียนคนหนึ่งเขียนหนังสือที่ชื่อว่า \"ทำอย่างไรจึงจะไม่ถูกฆาตกรรมในประเทศไทย\" ผู้เขียนกล่าวถึงคดีการฆาตกรรมชาวอเมริกันที่ชื่อว่า ทรอย พิลคิงตัน รวมถึงบันทึกเกี่ยวกับอันตรายของคนขับแท็กซี่และรถสาธารณะ หลายครั้งที่การตายมีสาเหตุที่ไม่ชัดเจน ทว่าประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่ได้รับความนิยมในการท่องเที่ยว ศพของสาวชาวอังกฤษ คริสติน่า แอนเนสลีถูกพบบนเกาะเต่า นักดนตรีในร้านอาหารที่ประเทศไทยแทงนักธุรกิจชาวอเมริกันจนเสียชีวิตต่อหน้าลูกชาย ขณะกำลังฉลองวันเกิดกับครอบครัว ตำรวจไทยจับตัวนักดนตรี 3 คนที่ก่ออาชญากรรมนี้", "title": "อาชญากรรมในประเทศไทย" }, { "docid": "476733#0", "text": "แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2555 เป็นชุดแผ่นดินไหวที่ถล่มเมืองอี๋เหลียง (彝良) จังหวัดเจาทง (昭通) ในมณฑลยูนนาน เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 89 ศพ และมีผู้บาดเจ็บ 800 คน ตามข้อมูลของทางการ มีการอพยพประชาชนกว่า 100,000 คน และมีบ้านเรือนได้รับความเสียหายกว่า 20,000 หลังคาเรือน", "title": "แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#9", "text": "พาวัน คุปตะ รับผิดในชั้นจับกุม และกล่าวว่า ตนควรถูกประหารแล้ว[28][29] ทั้งหกคนถูกขังไว้ที่เรือนจำติหาร แต่มุเกศ สิงห์ ถูกเพื่อนร่วมคุกประชาทัณฑ์ ต่อมาจึงถูกขังเดี่ยว[30]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "478447#0", "text": "เหตุเพลิงไหม้โรงงานในปากีสถาน พ.ศ. 2555 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดในนครการาจีและลาฮอร์ ประเทศปากีสถาน เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555 เหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้นในโรงงานสิ่งทอทางตะวันตกของการาจีและในโรงงานทำรองเท้าในลาฮอร์ เหตุเพลิงไหม้ครั้งนี้ถูกมองว่าเป็นครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดและเพลิงไหม้โรงงานอุตสาหกรรมครั้งเลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ปากีสถาน ซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 315 ศพ และได้รับบาดเจ็บสาหัสกว่า 250 คน", "title": "เหตุเพลิงไหม้โรงงานในปากีสถาน พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#2", "text": "ผู้เสียหายประกอบด้วย หญิงคนหนึ่งอายุยี่สิบสามปี กับเพื่อนชายของเธอหนึ่งคน คืนวันที่ 16 ธันวาคม 2555 ทั้งคู่ไปชมภาพยนตร์เรื่อง ชีวิตอัศจรรย์ของพาย (Life of Pi) ที่ย่านสาเกต (Saket) เมืองเดลีใต้[10][11] เสร็จแล้ว ขึ้นรถประจำทางที่หมู่บ้านมุนิรกาเพื่อกลับบ้านที่กิ่งเมืองทวารกา (Dwarka) ขณะนั้น เวลา 21:30 นาฬิกา บนรถมีชายหกคนรวมคนขับ หนึ่งในนั้นซึ่งเป็นผู้เยาว์เรียกให้ผู้เสียหายทั้งสองขึ้นรถโดยระบุว่าจะผ่านทวารกา ทั้งสองจึงขึ้นรถ[3][12] แต่ชายผู้เสียหายเกิดแคลงใจเพราะรถไม่ได้ไปตามเส้นทางปรกติ ทั้งยังไม่เปิดรับผู้โดยสารอื่นด้วย จึงเรียกให้จอด คนขับไม่จอด และชายคนอื่น ๆ เข้าเย้าแหย่หญิงผู้เสียหายว่า เหตุใดจึงมาอยู่กันลำพังในเวลามืดค่ำดังนี้[13]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#17", "text": "ทนายฝ่ายจำเลยกล่าวว่า จำเลยสามคนประสงค์อุทธรณ์คำพิพากษา[54] ตุลาการโยเกศ ขันนะ (Yogesh Khanna) ยกอุทธรณ์ และกล่าวว่า คดีนี้ \"สะเทือนความรู้สึกคนอินเดียทุกคน...สำหรับความผิดเช่นนี้ ศาลจะเอาหูไปนาเอาตาไปไร่ไม่ได้\"[7][9] จำเลยทั้งสี่จึงถูกประหารชีวิตด้วยการแขวนคอในวันที่ 13 กันยายน 2556[8]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#12", "text": "วันที่ 28 มกราคม 2556 คณะกรรมการข้างต้นวินิจฉัยว่า ผู้ต้องหาคนนี้เป็นผู้เยาว์ และยกคำร้องของสุพรหมัณยัม สวามี (Subramanian Swamy) หัวหน้าพรรคชนตา (Janata Party) ที่ขอให้ดำเนินคดีผู้ต้องหาคนดังกล่าวเสมือนเป็นผู้ใหญ่ ผู้ต้องหาจึงถูกชำระต่างหากที่ศาลเยาวชน[44][45][46]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#4", "text": "ราว 23:00 นาฬิกา ชาวบ้านผ่านมาพบผู้เสียหายทั้งสองอยู่ริมถนน เนื้อตัวมีเสื้อผ้าห่อหุ้มบางส่วน จึงโทรศัพท์เรียกตำรวจเดลี เจ้าพนักงานพาผู้เสียหายทั้งสองไปยังโรงพยาบาลซัฟดาร์จัง (Safdarjang Hospital) วันรุ่งขึ้น เจ้าพนักงานจึงอายัดรถคันที่ใช้ก่อเหตุไว้ได้[15]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "779666#26", "text": "ต่อมาวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เกิดเหตุสังหารหมู่ลูกเรือชาวจีน 13 ราย ที่ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 เกิดเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิต 14 ราย และในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เกิดเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 มีผู้เสียชีวิต 20 ราย วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ได้เกิดคดีฆาตกรรมยกครัว 8 ศพ ที่ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ", "title": "อาชญากรรมในประเทศไทย" }, { "docid": "569625#3", "text": "ชายผู้เสียหายจะเข้าช่วยเหลือ จึงถูกจับทำร้ายร่างกาย และถูกแท่งโลหะตีสิ้นสติไป จากนั้น ชายทั้งหลายที่อยู่บนรถลากหญิงผู้เสียหายไปท้ายรถ เอาแท่งโลหะตีเธอ ก่อนรุมข่มขืนกระทำชำเราเธอขณะที่รถวิ่งอยู่ อินเตอร์เนชัลนัลบิซีเนสไทมส์ (International Business Times) ว่า โฆษกตำรวจระบุว่า ผู้ต้องหาที่เป็นผู้เยาว์นั้นลงมือหนักที่สุด และ \"กระทำทางเพศแก่ผู้เสียหายสองรอบ ทั้งยังเอามือเปล่าล้วงเข้าไปลากเครื่องในผู้เสียหายออกมา\"[14] เจ้าพนักงานตำรวจยังรายงานว่า หญิงผู้เสียหายพยายามต่อสู้โดยกัดผู้ต้องหาถึงสามคน จึงมีรอยฟันปรากฏบนลำตัวเขาเหล่านั้น[15] หลังโทรมหญิงเสร็จ ผู้ต้องหาช่วยกันโยนผู้เสียหายทั้งสองลงจากรถที่กำลังแล่นอยู่ แล้วน่าเชื่อว่า คนขับขับรถมาจะทับหญิงนั้นด้วย แต่เพื่อนชายรวบรวมกำลังลากเธอหนีได้ทัน ครั้นแล้ว ผู้ต้องหาคนหนึ่งจึงล้างรถเพื่อทำลายพยานหลักฐาน[15][16]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#1", "text": "ผู้ต้องหาหกคนถูกจับกุมและฟ้องฐานกระทำทารุณทางเพศและฆ่าคน ผู้ต้องหาหนึ่งคนตายเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2556 ระหว่างถูกขังไว้ ณ เรือนจำติหาร (Tihar Jail)[5] ผู้ต้องหนึ่งคนเป็นผู้เยาว์ ถูกชำระต่างหากที่ศาลเยาวชน โดยศาลพิพากษาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2556 ว่า มีความผิด ให้กักขังไว้ที่สถานพินิจสามปี ผู้ต้องหาอีกสี่คนถูกเบิกตัวขึ้นศาลแผนกรวบรัด (fast-track court) โจทก์นำสืบพยานหลักฐานฝ่ายตนเสร็จเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2556[6] และศาลพิพากษาเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2556 ว่า มีความผิด ให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอในวันที่ 13 กันยายน 2556[7][8][9]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#5", "text": "หญิงผู้เสียหายได้รับการรักษาฉุกเฉินและใช้เครื่องช่วยหายใจ[17] เวลาที่ชาวบ้านพบเธอนั้น เธอมีบาดแผลทั่วกาย และร้อยละห้าของลำไส้โผล่พ้นจากมาช่องท้อง[18] รายงานการตรวจวินิจฉัยทางแพทย์ระบุว่า เธอถูกกระทำจนช่องท้อง ลำไส้ และอวัยวะสืบพันธุ์ บาดเจ็บสาหัส แพทย์เห็นว่า ร่องรอยความเสียหายบ่งบอกว่า มีการใช้วัตถุแข็งทื่อ (สงสัยว่าเป็นแท่งโลหะข้างต้น) ทิ่มแทงเข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของเธอ[11] แพทย์กล่าวด้วยว่า \"แท่งนั้นสอดเข้าไปในร่างกายเธอแล้วดึงออกมาอย่างแรงถึงขนาดที่ทำให้ลำไส้เธอติดออกมาด้วย นี้คงเป็นสิ่งเดียวที่อธิบายว่า ทำไมลำไส้เธอถึงเสียหายเพียงนั้น\"[18] ภายหลัง เจ้าพนักงานตำรวจแถลงว่า แท่งโลหะดังกล่าวเป็นแม่แรง (jack) รูปตัวแอล (L) ซึ่งเป็นสนิมด้วย[19]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "230080#10", "text": "นายอำเภอเมย์คอมบ์มายังที่เกิดเหตุและพบว่าบ๊อบ เอเวลล์ตายระหว่างการต่อสู้ นายอำเภอเถียงกับแอตติคัสเกี่ยวกับการให้เจมส์หรือบูรับผิดชอบ ในที่สุดแอตติคัสก็ยอมรับเรื่องของนายอำเภอว่า บ๊อบ ยูเวลล์ ล้มลงทับบนมีดของเขาเอง บูขอให้สเกาต์ไปส่งเขาที่บ้าน และหลังจากที่เธอกล่าวลาเขาที่หน้าประตูบ้านของเขา บูก็หายตัวไปอีกครั้ง ขณะที่ยืนอยู่บนระเบียงบ้านของแรดลีย์ สเกาต์นึกภาพชีวิตจากมุมมองของบู และรู้สึกเสียใจที่พวกเธอไม่เคยตอบแทนของขวัญที่บูให้มา\nลีกล่าวว่า \"ผู้บริสุทธิ์\" ไม่ใช่อัตชีวประวัติ แต่เป็นตัวอย่างของ\"วิธีเขียนเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เขียนรู้ และเขียนด้วยความสัตย์\" แต่ถึงกระนั้น ผู้คนและเหตุการณ์หลายอย่างในวัยเด็กของเธอก็คล้ายคลึงกับสเกาต์ในนิยาย อมาซา โคลแมน พ่อของลี เป็นทนายความเหมือนกับแอตติคัส ฟินช์ และใน พ.ศ. 2462 เขาว่าความให้กับชายผิวดำสองคนที่เป็นจำเลยในคดีฆาตกรรม หลังจากที่พวกเขาถูกตัดสินว่ามีความผิดและถูกแขวนคอ เขาก็ไม่เคยรับว่าความคดีอาญาอีกเลย พ่อของลียังเป็นบรรณาธิการและผู้ตีพิมพ์หนังสือพิมพ์มอนโรวิลล์ แม้ว่าเขาจะมีท่าทีต่อการแบ่งเชื้อชาติเป็นอนุรักษนิยมมากกว่าแอตติคัส เขาค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นเสรีนิยมเมื่อเขามีอายุมากขึ้น แม้ว่าแม่ของสเกาต์เสียชีวิตตั้งแต่เธอเป็นทารก ในขณะที่แม่ของลีเสียชีวิตเมื่อเธอมีอายุ 25 ปี แต่แม่ของลีก็ป่วยเป็นโรคประสาทที่ทำให้พวกเขาห่างเหินกัน ลีมีพี่ชายชื่อเอ็ดวินซึ่งอายุมากกว่าเธอสี่ปีเหมือนตัวละคร เจม และแม่บ้านคนผิวดำจะมาดูแลบ้านและครอบครัวของลีทุกวันเหมือนในนิยาย", "title": "ผู้บริสุทธิ์" }, { "docid": "569625#18", "text": "หมวดหมู่:เหตุการณ์ในประเทศอินเดีย", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#16", "text": "ศาลแผนกรวบรัดเบิกตัวจำเลยทั้งสี่มาพิจารณา และโจทก์นำสืบพยานหลักฐานหลายประการ รวมทั้งถ้อยคำของพยาน ถ้อยคำของผู้เสียหาย ลายนิ้วมือ การตรวจสอบทางพันธุกรรม และการจำลองทางทันตวิทยา แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2556[6][57] ครั้นวันที่ 10 กรกฎาคม 2553 ศาลพิพากษาว่า จำเลยทั้งสี่มีความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ความผิดฐานฆ่าคน ความผิดอันขัดต่อธรรมชาติ (unnatural offence) และความผิดฐานทำลายพยานหลักฐาน ให้ลงโทษประหารชีวิตทั้งหมด ในวันอ่านคำพิพากษานั้น ประชาชนเดินขบวนมาชุมนุมรายรอบศาลและเรียกร้องให้ประหารชีวิตจำเลยอยู่ไม่ขาด[54][58] แม้บิดาของจำเลยคนหนึ่งก็ขอให้ประหารชีวิตจำเลยทั้งสี่คนเสีย โดยกล่าวว่า \"เราจะปิดคดีนี้ให้สมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อขจัดผู้ต้องหาพวกนี้ทุกคนไปเสียจากพื้นโลก\"[57] เมื่อศาลอ่านคำพิพากษาเสร็จ บรรดาผู้คนที่ประชุมกันอยู่นอกห้องพิจารณาก็พากันโห่ร้องปรบมือ ขณะที่ครอบครัวผู้เสียหายซึ่งเข้าฟังการอ่านคำพิพากษานั้นกล่าวว่า พอใจกับผลคดี ส่วนมารดาของหญิงผู้เสียหายให้สัมภาษณ์ว่า \"เรารอคอยมาจนแทบหมดลมหายใจ ตอนนี้เราสบายใจแล้ว ดิฉันขอขอบคุณประชาชนในประเทศของดิฉันรวมถึงสื่อมวลชนด้วย\"[59]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#6", "text": "เจ้าพนักงานตำรวจอาศัยภาพบันทึกจากกล้องวงจรปิดของตำรวจทางหลวงซึ่งปรากฏรูปพรรณสัณฐานของรถชัดเจน เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่า รถคันดังกล่าวรับจ้างโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง จึงสืบค้นไปจนพบคนขับ คือ ราม สิงห์ นอกจากนี้ เจ้าพนักงานยังอาศัยภาพร่างจากปากคำของชายผู้เสียหาย ประกอบกับสัญญาณของโทรศัพท์มือถือผู้เสียหายที่ผู้ต้องสงสัยลักไป ค้นหาไปจนเจอผู้ต้องสงสัย โดยติดตามและจับกุมผู้ต้องสงสัยทั้งหมดได้ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง [20]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#15", "text": "หลังจากที่ราม สิงห์ ตายในเรือนจำแล้ว จำเลยสี่คน คือ มุเกศ สิงห์, วินัย ศรมา, พาวัน คุปตะ และอักษัย ฐากูร ขึ้นศาลและให้การปฏิเสธ[54][55] วันที่ 10 มกราคม 2556 มโนหาร ลัล ศรมา (Manohar Lal Sharma) ทนายฝ่ายจำเลย ให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนว่า ผู้เสียหายทำตัวเอง เพราะควรรู้ว่า เมื่อไม่ใช่คู่สมรสกัน ก็ไม่พึงมาเดินเตร่บนถนนในยามวิกาล และไม่พึงใช้ยวดยานขนส่งสาธารณะด้วย เขากล่าวว่า \"จนเดี๋ยวนี้ผมก็ยังไม่เคยเหตุการณ์หรือกรณีตัวอย่างที่กุลสตรีถูกชำเราสักครั้งเลย ถ้าทำตัวดีต่อให้อยู่ในนรกยมบาลก็จะปฏิบัติด้วยอย่างมีสัมมาคารวะ\"[56] เขาย้ำว่า ชายผู้เสียหายต้องรับผิดชอบเหตุการณ์ครั้งนี้เองทั้งหมด เพราะชายผู้เสียหาย \"ไม่ดูแลปกป้องผู้หญิงให้ดี\"[56]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "230080#13", "text": "แม่แบบของทอม โรบินสันนั้นไม่ชัดเจน หลายคนคาดคะเนว่าตัวละครนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากหลายต้นแบบ เมื่อลีอายุ 10 ขวบ หญิงคนขาวที่อาศัยอยู่ใกล้ ๆ มอนโรวิลล์คนหนึ่งกล่าวหาชายผิวดำชื่อ วอลเตอร์ เลตต์ ว่าข่มขืนเธอ เรื่องราวและการตัดสินถูกลงในหนังสือพิมพ์ของพ่อของเธอ เลตต์ถูกตัดสินให้มีความผิดและถูกลงโทษประหารชีวิต แต่หลังจากมีจดหมายหลายฉบับร้องเรียนว่าเลตต์ถูกกล่าวหา เลตต์จึงถูกลดโทษลงเป็นจำคุกตลอดชีวิต เขาเสียชีวิตในคุกด้วยวัณโรคในปี พ.ศ. 2480 นักวิชาการหลายคนเชื่อว่าเค้าเรื่องนี้ยังได้รับอิทธิพลจากคดีของกลุ่มเด็กหนุ่มในสกอตต์สโบโร ที่โด่งดัง ซึ่งเป็นคดีที่ชายผิวดำ 9 คนถูกตัดสินให้มีความผิดข้อหาข่มขืนหญิงผิวขาว 2 คนทั้ง ๆ ที่มีหลักฐานไม่เพียงพอ แต่ใน พ.ศ. 2548 ลีกล่าวว่า ถึงคดีของสกอตต์สโบโรจะสามารถแสดงถึงความไม่เท่าเทียมในรัฐทางใต้ได้เหมือนกัน แต่เธอคิดถึงอะไรที่ตื่นเต้นน้อยกว่านั้น นอกจากนี้ เอมเมตต์ ทิลล์ วัยรุ่นผิวดำที่ถูกสังหารเพราะจีบผู้หญิงผิวขาวในรัฐมิสซิสซิปปีเมื่อ พ.ศ. 2498 และผู้ซึ่งการตายของเขาเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียกร้องสิทธิของชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ก็ถูกสันนิษฐานว่าเป็นต้นแบบของทอม โรบินสัน เช่นกัน", "title": "ผู้บริสุทธิ์" }, { "docid": "471364#0", "text": "แผ่นดินไหวในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2555 เกิดขึ้นในจังหวัดอาเซอร์ไบจานตะวันออก ประเทศอิหร่าน เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) เวลา 16:53 น. ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศอิหร่าน (เวลา 19:23 น. ตามเวลาในประเทศไทย) โดยจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ใกล้กับเมืองอะฮาร์และวาร์ซากัน ห่างจากเมืองตาบริซไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 60 กิโลเมตร (37 ไมล์) แผ่นดินไหวหลักมีขนาดแมกนิจูด 6.4 และอีกสิบเอ็ดนาทีต่อมา (เวลา 17:04 น.) ก็ได้เกิดแผ่นดินไหวตาม ที่แมกนิจูด 6.3 เหตุการณ์ครั้งนี้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 306 คน บาดเจ็บมากกว่า 3,000 คน ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในเขตชนบทและเขตภูเขา ส่วนในเมืองอะฮาร์มีผู้เสียชีวิต 45 คน แผ่นดินไหวครั้งนี้ยังรู้สึกได้ในพื้นที่ประเทศอาเซอร์ไบจานและอาร์มีเนีย แต่ไม่มีรายงานความเสียหาย", "title": "แผ่นดินไหวในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#7", "text": "ผู้ต้องสงสัยทั้งหก ประกอบด้วย คนที่หนึ่ง ราม สิงห์ และคนที่สอง มุเกศ สิงห์ น้องชายของราม สิงห์ ทั้งคู่อาศัยอยู่ที่ชุมชนแออัดชื่อ ค่ายรวีทาส (Ravidas camp) เมืองเดลีใต้ และไปถูกจับที่รัฐราชสถาน[21] คนที่สาม วินัย ศรมา เป็นผู้ช่วยครูยิมนาสติก และคนที่สี่ พาวัน คุปตะ ขายผลไม้ ถูกจับด้วยกันที่เมืองเดลี[22] คนที่ห้าเป็นผู้เยาว์อายุสิบเจ็ดปี อาศัยอยู่ที่เมืองบดายุง (Budaun) รัฐอุตตรประเทศ และจับได้ที่สถานีขนส่งอนันทวิหาร (Anand Vihar) เมืองเดลี ทั้งปรากฏด้วยว่า เพิ่งรู้จักผู้ต้องสงสัยคนอื่น ๆ ในวันเกิดเหตุนั้นเอง[23][24][25] ส่วนคนสุดท้าย อักษัย ฐากูร เดินทางมาหางานทำที่เมืองเดลี ถูกจับได้ที่เมืองเอารันฆาบัด (Aurangabad)[22][26]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#10", "text": "ตุลาการศาลแขวงเบิกตัวราม สิงห์ เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2555[31] ราม สิงห์ ไม่ยินยอมให้ผู้เสียหายชี้ตัว[27] ครั้นราว 05:45 นาฬิกาของวันที่ 11 มีนาคม 2556 เขาถูกพบเป็นศพโดยแขวนคอกับช่องลมในห้องขังที่เรือนจำติหาร[32] เจ้าพนักงานกล่าวว่า ไม่แน่ชัดว่าเขาฆ่าตัวตายหรือถูกฆ่าตาย[33][34][35] แต่ทนายฝ่ายจำเลยและครอบครัวของเขาเชื่อว่า เขาถูกฆ่า[36]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#14", "text": "วันที่ 3 มกราคม 2553 ห้าวันหลังจากผู้เสียหายตาย เจ้าพนักงานตำรวจได้ยื่นฟ้องผู้ต้องหาห้าคนซึ่งเป็นผู้ใหญ่ด้วยความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ลักพา ฆ่าคน ทำลายพยานหลักฐาน และพยายามฆ่า (ชายผู้เสียหาย)[51][52][1] ดายัน กฤษณัน (Dayan Krishnan) นักกฎหมายอาวุโส ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานอัยการเจ้าของสำนวน[53]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" }, { "docid": "338356#71", "text": "ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2552 รัฐบาลสกอตแลนด์ภายใต้การนำของอเล็กซ์ ซัลมอนด์ ประกาศว่าจะปล่อยตัวอับเดลบาเซต อัล-เมกราฮี ด้วยเหตุผลทางการแพทย์ ซึ่งอัล-เมกราฮีเป็นบุคคลเพียงคนเดียวที่ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนรับผิดชอบต่อเหตุก่อการร้ายที่คร่าชีวิตชาวอเมริกัน 169 คน และชาวสหราชอาณาจักร 40 คน ในเหตุการณ์ระเบิดสายการบินแพนแอม เที่ยวบินที่ 103 เหนือเมืองล็อกเกอร์บี สกอตแลนด์ ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2531 โดยอัล-เมกราฮีถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในปี พ.ศ. 2544 แต่ถูกปล่อยตัวหลังได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายและคาดว่าจะมีชีวิตอยู่ต่อไปได้อีกประมาณ 3 เดือน ฝ่ายสหรัฐกล่าวว่าการตัดสินใจดังกล่าวไม่มีความปราณีต่อญาติผู้เสียชีวิตและไม่เห็นแก่ผู้เสียชีวิตในเหตุระเบิดดังกล่าว ด้านประธานาธิบดีบารัก โอบามา กล่าวว่าการตัดสินใจดังกล่าว \"ไม่เหมาะสมอย่างมาก\" อย่างไรก็ตาม หลุยส์ ซัสแมน เอกอัครราชทูตสหรัฐกล่าวว่าแม้การที่สกอตแลนด์ตัดสินใจปล่อยตัวอับเดลบาเซต อัล-เมกราฮีจะทำให้สหรัฐรู้สึกเสียใจอย่างมาก แต่ความสัมพันธ์กับสหราชอาณาจักรจะยังคงดำเนินไปอย่างเต็มที่และเข้มแข็งเช่นเดิม ส่วนรัฐบาลสหราชอาณาจักรภายใต้การนำของกอร์ดอน บราวน์ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจดังกล่าว กอร์ดอน บราวน์กล่าวในการแถลงข่าวว่าไม่มี 'บทบาท' ใดๆ ในการตัดสินใจครั้งนี้ ต่อมาอับเดลบาเซต อัล-เมกราฮี เสียชีวิตในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ด้วยวัย 60 ปี", "title": "ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ" }, { "docid": "100359#51", "text": "ปี 2014 จอห์นนีโดนหมายศาลในคดีแปลก ๆ เพราะทนายความอยากให้เขาช่วยไปเป็นพยานว่าลูกความของเขามีความผิดปกติทางจิต เนื่องจาก Nancy Lekon ลูกความของทนายความคนนั้น กำลังขับรถลีมูซีนของตัวเองอยู่ที่ย่านดาวน์ทาวน์ใน LA ในปี 2009 จู่ ๆ เธอก็ขับขึ้นไปบนทางเท้าทั้ง ๆ ที่มีคนเดินอยู่ ก่อนที่ร่างของเหยื่อจะถูกลากติดกับรถไปหลายไมล์และเสียชีวิตในที่สุด Lekon ถูกตั้งข้อหาในคดีฆาตกรรม และคดีของเธอจะถูกตัดสินในเมษายน 2014 ในตอนที่โดนตำรวจจับ เธอได้อ้างตัวว่าเธอคือแฟนสาวของจอห์นนี เดปป์และกำลังจะไปหาเขาเพราะได้นัดกันไว้ ตำรวจและทนายจึงได้ขอให้จอห์นนีช่วยเป็นพยานว่าเธอเสียสติ แต่ในที่สุดทุก ๆ ฝ่ายที่มีส่วนร่วมในคดีนี้ก็ได้ลงความเห็นว่าเธอมีความผิดปกติทางจิต ทำให้เขาไม่ต้องเป็นพยานในคดีนี้ในที่สุด", "title": "จอห์นนี เดปป์" }, { "docid": "426644#1", "text": "นับจากวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึง 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ยอดผู้เสียชีวิตจากภัยหนาวในยุโรปเพิ่มขึ้นเป็น 600 ราย โดยยูเครนมีผู้เสียชีวิตมากที่สุด 131 คน โปแลนด์อีก 107 ศพ ฮังการี 35 ศพ เซอร์เบีย 20 ศพ และอีก 10 ศพในโคโซโว และฟินแลนด์ มีอุณหภูมิลดต่ำ -40 องศาเซลเซียส ช่วงกลางคืน ส่วนทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐเช็ก อุณหภูมิดิ่งลงไปแตะ -38.1 องศาเซลเซียส", "title": "คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555" }, { "docid": "569625#11", "text": "ในคำฟ้องจำนวนสามสิบสามหน้า ตำรวจเดลีพรรณนาว่า ผู้ต้องหาที่เป็นผู้เยาว์นั้นพฤติกรรมอำมหิตมากที่สุด[37][38][39][40] คณะกรรมการการยุติธรรมเยาวชน (Juvenile Justice Board) ระบุว่า ในวันก่อเหตุ ผู้เยาว์คนนี้อายุสิบเจ็ดปี หกเดือน คำนวณตามสูติบัตรและเอกสารโรงเรียน แต่คณะกรรมการไม่อนุญาตให้เจ้าพนักงานตรวจการสร้างกระดูกของผู้เยาว์เพื่อชี้วัดว่าอายุเป็นไปตามเอกสารจริงหรือไม่[41][42][43]", "title": "คดีโทรมหญิงในเดลี พ.ศ. 2555" } ]
1228
ทฤษฎี การตอบสนองโดยสู้หรือหนี ถูกค้นพบเมื่อไหร่?
[ { "docid": "815786#0", "text": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี หรือ การตอบสนองแบบสู้หรือหนี (English: fight-or-flight response, hyperarousal, acute stress response) เป็นปฏิกิริยาทางสรีรภาพที่เกิดตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่รู้สึกว่าเป็นอันตราย เสี่ยงต่อถูกทำร้าย หรือเสี่ยงต่อชีวิต[1] โดยมี ศ. นพ. วอลเตอร์ แบรดฟอร์ด แคนนอนที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดกล่าวถึงไอเดียนี้เป็นคนแรกในปี พ.ศ. 2472[2] ทฤษฎีของเขาแสดงว่า สัตว์ (และมนุษย์) มีปฏิกิริยาต่อภัยด้วยการทำงานในระบบประสาทซิมพาเทติก ซึ่งช่วยเตรียมสัตว์ให้สู้หรือหนี[3]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" } ]
[ { "docid": "355991#2", "text": "ในปั 1780 นายลุยจิ กัลวานี ค้นพบว่าเมื่อโลหะสองชนิดที่แตกต่างกัน (เช่นทองแดงและสังกะสี) ถูกนำมาแตะกับส่วนต่าง ๆ ของเส้นประสาทของขากบในเวลาเดียวกัน ขาของกบจะหดตัว[2] เขาเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า \"ไฟฟ้าจากสัตว์\" ต่อมานายแอเลสซานโดร โวลตา ได้ประดิษฐ์เซลล์โวลตาวางซ้อน (English: voltaic pile) ในปี 1800 มันประกอบด้วยหลายเซลล์ที่คล้ายกับเซลล์กัลวานีวางซ้อนกันเป็นชั้น อย่างไรก็ตาม โวลตาสร้างมันขึ้นมาทั้งหมดจากวัสดุที่ไม่ใช่ชีวภาพเพื่อที่จะท้าทายทฤษฎีไฟฟ้าจากสัตว์ของกัลวานี (และนักทดลองต่อมานาย Leopoldo Nobili) เพื่อตอบสนองกับความพอใจในทฤษฎีสัมผัสไฟฟ้าโลหะต่อโลหะของตัวเขาเอง[3] นายคาร์โล Matteucci ได้เปลี่ยนมาสร้างแบตเตอรี่ที่ปราศจากวัสดุชีวภาพโดยสิ้นเชิงเพื่อสนองตอบต่อนายโวลตา[4] การค้นพบเหล่านี้ปูทางไปสู่แบตเตอรี่ไฟฟ้าทั้งหลาย; เซลล์ของโวลตาเป็นชื่อในลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญของ IEEE ในปี 1999[5]", "title": "เซลล์กัลวานี" }, { "docid": "815740#5", "text": "พฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียดของสัตว์เพศหญิงที่เพิ่มการรอดชีวิตของลูกจะทำให้ค่าความเหมาะสมของสัตว์สูงขึ้น และดังนั้น เป็นพฤติกรรมที่มีโอกาสตกทอดไปสู่ลูกผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ\nเมื่อมีภัย การป้องกันและปลอบลูกในขณะที่หนีหายเข้าไปในสิ่งแวดล้อมอาจเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของทั้งแม่และลูก\nเมื่อเผชิญหน้ากับความเครียด หญิงมักตอบสนองโดยดูแลลูก ซึ่งช่วยลดระดับความเครียด\nงานศึกษาปี 2532 แสดงว่า ในวันที่งานเครียดมาก หญิงจะตอบสนองโดยดูแลลูกเพิ่มขึ้น\nและโดยเปรียบเทียบกัน พ่อมีโอกาสไม่ยุ่งกับครอบครัวหรือว่าหาเรื่องกับสมาชิกในบ้านมากขึ้นในเย็นวันนั้น\nนอกจากนั้นแล้ว การถูกต้องทางกายระหว่างแม่กับลูกหลังเหตุการณ์ที่เป็นภัย จะช่วยลดการทำงานของสมองบริเวณแกนไฮโปทาลามัส-พิทูอิทารี-อะดรีนัล (ซึ่งมีหน้าที่ตอบสนองต่อความเครียด) และลดความตื่นตัวของระบบประสาทซิมพาเทติก (ซึ่งโดยทั่วไปเป็นส่วนให้เกิดการตอบสนองโดยสู้หรือหนี)", "title": "การดูแลและหาเพื่อน" }, { "docid": "563366#1", "text": "ตัวกระตุ้นภายในมักจะเป็นองค์ประกอบของระบบการธำรงดุล (homeostatic control system) ของร่างกาย ส่วนตัวกระตุ้นภายนอกสามารถก่อให้เกิดการตอบสนองแบบทั่วระบบของร่างกาย เช่นการตอบสนองโดยสู้หรือหนี (fight-or-flight response) การจะตรวจพบตัวกระตุ้นได้นั้นขึ้นอยู่กับระดับของตัวกระตุ้น คือต้องเกินระดับกระตุ้นขีดเริ่มเปลี่ยน (absolute threshold) ถ้าสัญญาณนั้นถึงระดับกระตุ้นขีดเริ่มเปลี่ยน ก็จะมีการส่งสัญญาณนั้นไปยังระบบประสาทกลาง ซึ่งเป็นระบบที่รวบรวมสัญญาณต่าง ๆ และตัดสินใจว่าจะตอบสนองต่อตัวกระตุ้นอย่างไร แม้ว่าร่างกายโดยสามัญจะตอบสนองต่อตัวกระตุ้น แต่จริง ๆ แล้ว ระบบประสาทกลางเป็นผู้ตัดสินใจในที่สุดว่า จะตอบสนองต่อตัวกระตุ้นนั้นหรือไม่", "title": "ตัวกระตุ้น" }, { "docid": "815786#4", "text": "ระบบประสาทซิมพาเทติกเริ่มที่ไขสันหลังและทำหน้าที่หลักคือก่อความเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพที่เกิดขึ้นในช่วงการตอบสนองโดยสู้หรือหนี ส่วนประกอบของระบบประสาทนี้ ใช้สารสื่อประสาทและส่งสัญญาณให้ปล่อยสารสื่อประสาทนอร์เอพิเนฟรินในปฏิกิริยานี้[8]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#5", "text": "ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกเริ่มจากไขสันหลังและ medulla oblongata โดยทำงานร่วมกับระบบประสาทซิมพาเทติก และทำหน้าที่หลักคือก่อการตอบสนองแบบ \"พักและย่อยอาหาร\" แล้วคืนสภาพร่างกายไปสู่ภาวะธำรงดุลหลังจากตอบสนองแบบสู้หรือหนี ระบบนี้ใช้สารสื่อประสาทและส่งสัญญาณให้ปล่อยสารสื่อประสาท acetylcholine[8]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#3", "text": "ระบบประสาทอิสระเป็นระบบควบคุมที่ทำงานใต้จิตสำนึกและควบคุมอัตราหัวใจเต้น การย่อยอาหาร อัตราการหายใจ การตอบสนองของรูม่านตา การถ่ายปัสสาวะ และอารมณ์เพศ เป็นระบบหลักที่ควบคุมการตอบสนองแบบสู้หรือหนี ที่อำนวยโดยส่วนประกอบสองอย่าง[7] ดังที่จะกล่าวต่อไป", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#11", "text": "ปัจจัยทางการรู้คิดในช่วงการตอบสนองดูเหมือนจะเป็นในเชิงลบโดยมาก รวมทั้ง การใส่ใจในสิ่งเร้าเชิงลบ ความรู้สึกถึงสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจนว่าเป็นแบบลบ และการระลึกถึงคำพูดเชิงลบได้อย่างซ้ำ ๆ[21] และอาจจะมีความคิดเชิงลบที่เฉพาะเจาะจงโดยสัมพันธ์กับอารมณ์ที่มักมีในปฏิกิริยาแบบเดียวกัน[22]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#1", "text": "โดยเฉพาะก็คือ สมองส่วน adrenal medulla ซึ่งเป็นส่วนของต่อมหมวกไตจะสร้างปฏิกิริยาลูกโซ่ทางฮอร์โมนมีผลเป็นการหลั่งสารประกอบอินทรีย์แบบโมโนอะมีนคือ catecholamines โดยเฉพาะนอร์เอพิเนฟรินและอีพิเนฟริน (คือ อะดรีนาลีน)[4] นอกจากนั้นแล้ว ฮอร์โมนเพศหญิงหลักคือเอสโตรเจน ฮอร์โมนเพศชายหลักคือเทสโทสเตอโรน และฮอร์โมนที่หลั่งเมื่อเครียดคือคอร์ติซอล กับทั้งสารสื่อประสาทโดพามีนและเซโรโทนิน ก็ยังมีอิทธิพลต่อการตอบสนองต่อความเครียดของสัตว์อีกด้วย[5]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#13", "text": "แบบจำลองการประมวลข้อมูลทางสังคม (social information processing) เสนอปัจจัยหลายอย่างที่กำหนดพฤติกรรม ภายในสภาพแวดล้อมคือสถานการณ์ทางสังคมและความคิดที่มีอยู่ก่อน[25] การตีความว่ามีการมุ่งร้าย โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน ดูเหมือนจะเป็นปัจจัยทางการรู้คิดสำคัญที่สุดที่สัมพันธ์กับการตอบสนอง[26]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#10", "text": "ในช่วงปฏิกิริยา ความรุนแรงทางอารมณ์ที่เกิดจากสิ่งเร้าจะเป็นตัวกำหนดธรรมชาติและความรุนแรงของการตอบสนองทางพฤติกรรมด้วย[18] บุคคลที่ไวปฏิกิริยาทางอารมณ์สูงอาจมีแนวโน้มต่อความวิตกกังวลและความก้าวร้าว ซึ่งแสดงผลที่ตามมาของการมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่สมควรในช่วงการตอบสนองแบบสู้หรือหนี[19][20]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#21", "text": "แกนไฮโปทาลามัส-พิทูอิทารี-อะดรีนัล การรับมือ (จิตวิทยา)", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#22", "text": "ปฏิกิริยาเฉียบพลันต่อความเครียด โรควิตกกังวล โรคกลัว", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#20", "text": "ตัวเมียและตัวผู้มักจะรับมือกับสถานการณ์ก่อความเครียดอย่างแตกต่างกัน ตัวผู้มีโอกาสตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยความก้าวร้าว คือการสู้ สูงกว่า ในขณะที่ตัวเมียมีโอกาสสูงกว่าที่จะหนี หันหน้าไปหาสัตว์อื่นเพื่อให้ช่วย หรือพยายามปลดชนวนสถานการณ์ ที่เรียกว่าการดูแลและผูกมิตร (tend and befriend) คือเมื่อเครียด แม่มีโอกาสสูงเป็นพิเศษที่จะตอบสนองแบบป้องกันลูก และผูกมิตรกับผู้อื่นเพื่อร่วมมือกันตอบสนองต่อภัยที่ปรากฏ[30]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "813148#30", "text": "โดยทั่วไปแล้ว งานศึกษาชี้ว่า หญิงมักจะใช้การรับมือโดยเพ่งที่อารมณ์ และมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดโดยดูแลลูกและหาเพื่อน (tend-and-befriend) เทียบกับชายที่มักใช้การรับมือเพ่งที่ปัญหา และมีปฏิกิริยาแบบสู้หรือหนี (fight-or-flight) ซึ่งอาจเป็นเพราะมาตรฐานสังคมสนับสนุนให้ชายเป็นตัวของตัวเองมากกว่า และสนับสนุนให้หญิงเกื้อกูลกันมากกว่า ทฤษฎีอีกอย่างที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ก็คือเป็นเรื่องทางพันธุกรรม แต่ระดับอิทธิพลที่ปัจจัยทางพันธุกรรมเทียบกับทางสังคมมีต่อพฤติกรรม ก็ยังไม่มีข้อยุติ[28]", "title": "การรับมือ (จิตวิทยา)" }, { "docid": "815786#7", "text": "การเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพเมื่อตอบสนองแบบสู้หรือหนีเกิดขึ้นเพื่อให้กำลังและความเร็วกับร่างกายโดยคาดว่าจะมีการสู้หรือวิ่งหนี การเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพมีหน้าที่โดยเฉพาะ ๆ รวมทั้ง[14][15]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "813128#22", "text": "การใช้ยาเสพติดเป็นตัวอย่างของการเปลี่ยนการตอบสนอง โดยสามารถเปลี่ยนการตอบสนองทางกายต่อเหตุการณ์ที่สร้างอารมณ์ เช่น สุรามีฤทธิ์ระงับประสาทและความวิตกกังวล\nและยาเบต้า บล็อกเกอร์สามารถมีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก (ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการตอบสนองแบบสู้หรือหนี และการควบคุมภาวะธำรงดุล)", "title": "การควบคุมอารมณ์ตนเอง" }, { "docid": "815786#2", "text": "การตอบสนองเช่นนี้รู้แล้วว่าเป็นระยะแรกของกลุ่มอาการปรับตัวทั่วไป (General Adaptation Syndrome) ที่ควบคุมการตอบสนองต่อความเครียดของสัตว์มีกระดูกสันหลังและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ[6]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#19", "text": "ภัยจากสัตว์อีกตัวหนึ่งไม่ได้มีผลเป็นปฏิกิริยาสู้หรือหนีทันทีทุกครั้ง อาจจะมีช่วงเวลาที่รู้สึกตัวเพิ่มขึ้น เป็นช่วงที่สัตว์ตีความพฤติกรรมของสัตว์อื่น พฤติกรรมเช่น การถอดสี ขนตั้ง การแข็งตัว เสียง และท่าทางอื่น ๆ จะแสดงถึงสถานะและความตั้งใจของสัตว์แต่ละตัว อาจจะมีเหมือนกับระยะการต่อรอง ซึ่งตามด้วยการสู้หรือหนี แต่ก็อาจจะกลายเป็นการเล่นกัน การผสมพันธุ์ หรือไม่เกิดอะไรขึ้นเลย ยกตัวอย่างเช่น การเล่นของลูกแมว แม้ว่าลูกแมวแต่ละตัวจะแสดงการตื่นตัวของระบบประสาทซิมพาเทติก แต่ก็ไม่ได้ทำอันตรายแก่กันจริง ๆ", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815740#0", "text": "การดูแลและหาเพื่อน () เป็นพฤติกรรมของสัตว์บางชนิดรวมทั้งมนุษย์ เพื่อตอบสนองต่อภัยโดยป้องกันหรือดูแลเลี้ยงลูก (tend) และโดยหาพวกหรือกลุ่มสังคมเพื่อช่วยป้องกันให้กันและกัน (befriend)\nมีสมมติฐานว่าพฤติกรรมนี้เป็นการตอบสนองปกติของหญิงต่อความเครียด เหมือนกับที่การตอบสนองหลักของชายเป็นแบบสู้หรือหนี\nเป็นแบบจำลองทางทฤษฎีที่ตั้งขึ้นโดย ดร. เช็ลลีย์ เทย์เลอร์ และคณะวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในวารสารวิชาการ \"Psychological Review\" พิมพ์ในปี พ.ศ. 2543", "title": "การดูแลและหาเพื่อน" }, { "docid": "815786#15", "text": "ตัวอย่างของการตอบสนองต่อความเครียดที่พบในสัตว์ ก็คือม้าลายที่กำลังกินหญ้าอยู่ ถ้ามันเห็นสิงโตกำลังวิ่งเข้ามาเพื่อฆ่า การตอบสนองต่อความเครียดก็จะเริ่มทำงาน การหนีจำเป็นต้องใช้กล้ามเนื้อมาก โดยได้รับการสนับสนุนจากระบบอื่น ๆ ของกาย การทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติกทำให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นโดยเกิดขึ้นไม่บ่อยครั้ง", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "563366#37", "text": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี (Fight-or-flight response) คือ เมื่อร่างกายประสบกับตัวกระตุ้นภายนอกที่อาจจะมีอันตราย ต่อมหมวกไตก็จะปล่อยอีพีเนฟรีน ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่นทำเส้นเลือดให้ตีบ ขยายม่านตา ทำหัวใจให้เต้นเร็วขึ้น ทำการหายใจให้เร็วขึ้น และเพิ่มการสันดาปของน้ำตาลกลูโคส การตอบสนองทากายภาพทั้งหมดเหล่านี้รับรองพฤติกรรมในสัตว์ที่อาจทำให้พ้นจากภัย ไม่ว่าจะตัดสินใจเพื่ออยู่สู้ หรือเพื่อหนีหลบอันตราย", "title": "ตัวกระตุ้น" }, { "docid": "815786#8", "text": "การเพิ่มการไหลของโลหิตไปยังกล้ามเนื้อโดยส่งไปจากส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย การเพิ่มความดันโลหิต อัตราหัวใจเต้น น้ำตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้พลังงานเพิ่มขึ้นแก่ร่างกาย การจับลิ่มของเลือดทำงานได้เร็วขึ้นเพื่อป้องกันการเสียเลือดมากถ้าเกิดบาดเจ็บในช่วงการตอบสนอง การเพิ่มความตึงตัวของกล้ามเนื้อเพื่อให้ความเร็วและกำลังเพิ่มแก่ร่างกาย", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "21991#13", "text": "ทฤษฎีพื้นฐานของแรงถูกพัฒนาจากการรวมกันของแนวคิดที่ต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ไอแซก นิวตัน ได้ตั้ง ทฤษฎีโน้มถ่วงสากล  จะเป็นแรงที่ตอบสนองต่อวัตถุให้ตกลงมาสู้พื้นโลก ด้วยแรงดึงดูดระหว่างมวลของโลกกับดวงจันทร์ และแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล ไมเคิล ฟาราเดย์ และ เจมส์ เคิร์ก แม๊กซ์เวล สาธิตให้เห็นว่าแรงไฟฟ้า และแรงแม่เหล็ก สามารถรวมเป็นแรงเดียวกันได้ผ่าน ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ", "title": "แรง" }, { "docid": "815786#9", "text": "ในสภาพแวดล้อมของการตอบสนองแบบสู้หรือหนี จะมีการควบคุมอารมณ์ล่วงหน้าเพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด และควบคุมระดับความตื่นตัวทางอารมณ์[16][17]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#6", "text": "ในสมอง ปฏิกิริยาเริ่มที่อะมิกดะลา ซึ่งจุดชนวนการตอบสนองในไฮโปทาลามัส ปฏิกิริยาเบื้องต้นจะตามด้วยการทำงานของต่อมใต้สมอง (pituitary gland) และการปล่อยฮอร์โมน Adrenocorticotropic hormone (ACTH)[9] โดยมีต่อมหมวกไตที่เริ่มทำงานเกือบพร้อมกันและปล่อยฮอร์โมนอีพิเนฟริน (อะดรีนาลีน) การปล่อยสารเคมีต่าง ๆ เหล่านี้มีผลเป็นการผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล ซึ่งเพิ่มความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด และระงับระบบภูมิคุ้มกัน[10] การตอบสนองเบื้องต้นนี้และปฏิกิริยาต่อ ๆ มา เกิดขึ้นเพื่อเพิ่มพลังงานที่มี ซึ่งเกิดขึ้นเมื่ออีพิเนฟรินเข้ายึดกับเซลล์ตับซึ่งผลิตกลูโคสต่อมา[11] นอกจากนั้นแล้ว การไหลเวียนของคอร์ติซอลยังเปลี่ยนกรดไขมันเป็นพลังงาน ซึ่งตระเตรียมกล้ามเนื้อทั่วร่างกายเพื่อการตอบสนอง[12] ส่วนฮอร์โมนกลุ่ม Catecholamine เช่น อีพิเนฟริน หรือนอร์เอพิเนฟริน (นอร์อะดรีนาลีน) อำนวยปฏิกิริยาทางกายแบบฉับพลันต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับการเตรียมตัวใช้กล้ามเนื้ออย่างรวดเร็วรุนแรง ปฏิกิริยารวมทั้ง[13]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#14", "text": "จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology) อธิบายว่า สัตว์บรรพบุรุษต้องมีปฏิกิริยาต่อสิ่งเร้าที่เป็นภัยอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีเวลาเตรียมตัวเองทั้งทางกายและทางใจ ดังนั้น การตอบสนองแบบสู้หรือหนีจึงเป็นกลไกให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อภัยชีวิตอย่างรวดเร็ว[27][28]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#17", "text": "สัตว์ตอบสนองต่อภัยด้วยวิธีที่ซับซ้อนหลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่น หนูจะพยายามหนีเมื่อเกิดภัย แต่จะสู้ถ้าจนตรอก สัตว์บางชนิดจะยืนอยู่นิ่ง ๆ เพื่อที่สัตว์ล่าเหยื่อจะไม่เห็นมัน สัตว์หลายประเภทจะแข็งตัวและแกล้งตายเมื่อถูกตัวโดยหวังว่าสัตว์ล่าเหยื่อจะเลิกสนใจ และสัตว์อื่น ๆ ก็มีวิธีป้องกันตัวอย่างอื่น ๆ สัตว์เลือดเย็นบางประเภทเปลี่ยนสีได้อย่างรวดเร็วเพื่ออำพรางตัวเอง[29]", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#18", "text": "การตอบสนองเหล่านี้เริ่มจากการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติก แต่เพื่อให้เข้ากับแบบจำลองสู้หรือหนี แนวคิดเรื่องการหนีต้องขยายรวมทั้งการหนีจากการถูกจับ ไม่ว่าจะโดยทางกายหรือโดยแฝงตัว ดังนั้น อาจจะหนีไปสู่อีกสถานที่หนึ่งหรือว่าเพียงแค่หายตัวอยู่ตรงนั้น และบ่อยครั้ง ทั้งการสู้การหนีจะเกิดรวมกันในสถานการณ์หนึ่ง ๆ การสู้หรือหนียังปรากฏว่ามีสองข้าง คือ สัตว์อาจจะสู้หรือหนีต่อต้านอะไรบางอย่างที่เป็นภัย เช่นสิงโตหิว หรือสู้หรือหนีไปยังอะไรที่ต้องการ เช่นไปสู่ฝั่งเพื่อความปลอดภัยจากแม่น้ำที่กำลังหลากมา", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" }, { "docid": "815786#24", "text": "หมวดหมู่:ระบบประสาท หมวดหมู่:ความกลัว หมวดหมู่:ทฤษฎีจิตวิทยา", "title": "การตอบสนองโดยสู้หรือหนี" } ]
296
สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ มีสำนักงานใหญ่อยู่ทีไหน?
[ { "docid": "238820#0", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ปัจจุบัน สทศ. มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 128 อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 35-36 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" } ]
[ { "docid": "35930#7", "text": "การสอบเอ็นทรานซ์ (Entrance Examination) เป็นส่วนหนึ่งของระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษากลาง CUAS การสอบเอ็นทรานซ์เป็นการวัดความรู้เป็นหลัก โดยสำนักทดสอบกลาง ทบวงมหาวิทยาลัย ต่อมาคือ สำนักทดสอบกลาง สกอ. (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ในปัจจุบัน) ", "title": "การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย" }, { "docid": "191454#8", "text": "องค์กร, หน่วยงานราชการ\nกองทัพบก, กองทัพอากาศ, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กระทรวงพลังงาน, สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง, กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ, กรมสุขภาพจิต, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรมประชาสัมพันธ์, สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สถาบันดำรงราชานุภาพ, วิทยาลัยปกครอง, สถาบันการประชาสัมพันธ์, กรมทรัพยากรน้ำบาดาล, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, กรมอุตสาหกรรมและการเหมืองแร่, สำนักงานอัยการสูงสุด, สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, การเคหะแห่งชาติ, สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง(สกย.), การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, การทางพิเศษแห่งประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร, สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, การไฟฟ้าแห่งผลิตแห่งประเทศไทย, การไฟฟ้านครหลวง, องค์การเภสัชกรรม, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร, ศูนย์อาเซียนศึกษา, สภากาชาดไทย \nองค์กร, หน่วยงานเอกชน\nกลุ่ม ปตท., บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน), บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด, บริษัท สยามไวเนอรี่ จำกัด, Asia Business Connect Asia Business Forum Asia Dyna Forum (ADF), Business & Manufacturing Network Media (BMN), The Executive Alliance, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย, สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย, สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย, สมาคมประชาสัมพันธ์ไทย, สมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย, สมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย, ชมรมประชาสัมพันธ์ธนาคารไทย \nสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย\nจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยบูรพา, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, มหาวิทยาลัยเกริก, มหาวิทยาลัยรังสิต", "title": "พจน์ ใจชาญสุขกิจ" }, { "docid": "238820#2", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นเป็นองค์การมหาชนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิสามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรและบุคลากรได้สูงสุด มีความเป็นอิสระและหน้าด้าที่ขึ้นอยู่กับสายการบริหารของหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดการศึกษาจึงมีความเป็นกลาง เป็นสถาบันที่มีการกำหนดหลักการ นโยบาย มาตรการและเป้าหมาย โครงสร้างการบริหาร และการดำเนินกิจการ ความสัมพันธ์กับรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากร การเงิน การตรวจสอบ และการประเมินผลที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถาบันเพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย และให้บริการ ทางด้านการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "268309#91", "text": "ปีการศึกษา 2554 มีนักเรียน นักศึกษาที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ทางด้านอาชีวศึกษา Vocational National Education Test (V-NET) ดีเด่น และได้รับรางวัลจากสำนักความร่วมมือ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตามลำดับ ดังนี้", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "238820#8", "text": "9 วิชาสามัญ หรือเดิม 7 วิชาสามัญ เป็นข้อสอบสำหรับเข้าคณะแพทยศาสตร์ ในระบบ กสพท. และการสอบรับตรงร่วมกันสำหรับคณะทั่วไปในสถาบันส่วนใหญ่[4] ข้อสอบประกอบด้วยรายวิชาทั้ง 9 วิชา ได้แก่ คณิตศาสตร์ 1, คณิตศาสตร์ 2, วิทยาศาสตร์พื้นฐาน, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทยและ สังคมศึกษา O-NET: Ordinary National Educational Test (การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน) เป็นการสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้นที่ 1 - 3 ของชั้น ป.6 ม. 3 และ ม. 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร โดยเดิมมี 8 วิชา แต่ต่อมาในปีการศึกษา 2558 ได้ลดลงเหลือ 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ[5] V-NET: Vocational National Educational Test (การทดสอบการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา) ซึ่งจัดสอบให้กับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 I-NET: Islamic National Educational Test (การทดสอบมาตรฐานอิสลามศึกษา) ระดับตอนต้น ตอนกลาง และ ตอนปลาย ซึ่งจัดสอบให้กับนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในปีสุดท้ายของหลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น ตอนกลาง และ ตอนปลาย ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญ N-NET: Non-Formal National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน[6] B-NET: Buddhism National Educational Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศาสนา[7] การทดสอบสมรรถนะครู สำหรับครู", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "238820#1", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า \"สทศ\" ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า \"National Institute of Educational Testing Service (Public Organization)\" เรียกโดยย่อว่า \"NIETS\" จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "238820#5", "text": "จัดการบริหารทดสอบทางการศึกษาระดับชาติให้ได้มาตรฐาน พัฒนาข้อสอบให้สามารถวัดได้ทุกมาตรฐานการศึกษาอย่างมีมาตรฐาน ดำเนินการให้มีการนำผลการทดสอบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ วิจัยและพัฒนาให้มีระบบการทดสอบทางการศึกษาให้ครบทุกมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนในทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา ศึกษาวิจัยเรื่องรูปแบบข้อสอบและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับโปรแกรม และเทคนิคการสร้างข้อสอบและมาตรฐานการวัดรูปแบบต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลและข้อความรู้ เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ที่ดีต่อสาธารณชน ทบทวนกฎหมาย ข้อบังคับและมติต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับสภาพที่เป็นจริง ทันสมัย และเอื้อต่อการปฏิบัติงาน สนับสนุนและส่งเสริมให้สถานศึกษาและทุกระดับสถานศึกษาและต้นสังกัดมีโปรแกรมการทดสอบและประเมินผลผู้เรียนตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้บริการการทดสอบแก่บุคลากรและหน่วยงานต่าง ๆ เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา สนับสนุน และให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่างๆ ตลอดจนความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้อย่างมีมาตรฐานระดับสากล", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "134545#0", "text": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ () เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์รวบยอดของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ โดยที่ในอดีตมีการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูงอีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้แบบทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และแบบทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT) มาใช้แทน ", "title": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ" }, { "docid": "37312#3", "text": "เมื่อจบมัธยม 6 แล้ว สุรัฐ คิดอยากจะเป็นนักเรียนนายเรือก่อน แต่การทดสอบเพื่อเข้าศึกษาในนั้น มีการทดสอบว่ายน้ำ โดยลอยคอ 6 นาที ซึ่งสุรัฐทำไม่ได้ จึงได้เปลี่ยนไปสมัครเป็นครูโรงเรียนประชาบาลบางบ่อ พักหนึ่ง เมื่อทางโรงเรียนเตรียมปริญญา มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และ การเมือง ( ต.ม.ธ.ก. )ประกาศรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษา สุรัฐ จึงไปสมัคร และเรียนจนจบ นับเป็นรุ่นที่ 4 ของสถาบันนี้ จากนั้นได้ไปเข้าทำงาน เป็นเลขานุการ ของ พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ และทำงานในโรงแรมรัตนโกสินทร์ ตำแหน่งเลขานุการโรงแรม ( รัตนโกสินทร์ ) และ ภาพยนตร์ ของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ", "title": "สุรัฐ พุกกะเวส" }, { "docid": "13431#4", "text": "องค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) องค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติเฉพาะ คุรุสภา สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)", "title": "กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "11719#67", "text": "ระบบ Admission กลาง โดยผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกต้องผ่านกระบวนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) และการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง (A-Net) โดยจะนำผลการทดสอบดังกล่าวมาเลือกคณะและสาขาวิชาต่างๆ ของมหาวิทยาลัยได้ตามความต้องการโดยผ่านทางการคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา", "title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น" }, { "docid": "134545#1", "text": "การทดสอบทางการศึกษาได้รับข้อวิพากษ์วิจารณ์จากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสามัญ ซึ่งมีการกล่าวถึงปัญหาข้อสอบที่มีความกำกวม บางข้อเกินกว่าหลักสูตรกำหนด รวมไปถึงปัญหาข้อสอบผิดและไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นปัญหาที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำลังเร่งแก้ปัญหาอยู่ในปัจจุบัน", "title": "การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ" }, { "docid": "238820#10", "text": "ดร.ชาคร วิภูษณวนิช ประธานกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ[8] รศ.ดร.จอมพงศ์ มงคลวนิช ดร.ศิริพรรณ ชุมนุม รศ.ดร.อารยา จาติเสถียร ดร.วราภรณ์ สีหนาท ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์ รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กรรมการและเลขานุการ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "721#2", "text": "เอสไอไอทีเปิดสอนทั้งในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาโดยเน้นการศึกษาแบบใช้การวิจัยเป็นตัวนำ อาจารย์ประจำทั้งหมดมีวุฒิอย่างน้อยระดับปริญญาเอก ในการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เมื่อปี 2550 เอสไอไอทีเป็นคณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียงแห่งเดียวของประเทศที่ได้รับการจัดระดับสูงสุด \"ดีมาก\" จากทั้ง 3 ตัวชี้วัด สถาบันฯ เป็น 1 ในสถาบันอุดมศึกษา 4 แห่งของประเทศ ที่ได้รับมอบทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนนักเรียนที่สนใจศึกษาต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับอุดมศึกษา โดยทุนนี้จะมอบให้แก่นักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์ (โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย) เพื่อศึกษาต่อและทำงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทช. สถาบันเป็นสมาชิกของเครือข่าย LAOTSE ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม", "title": "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "174686#0", "text": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ทำการเรียนการสอน ณ 2 วิทยาเขต คือคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ในสังคมปัจจุบัน กฎหมายมีความจำเป็นที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ การดำเนินธุรกิจทุกสาขาอาชีพ ตลอดจนชีวิตประจำวันของทุกคน ประกอบจากการรวบรวมข้อมูลการศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ในสถาบันการศึกษาภาครัฐส่วนกลาง (กรุงเทพมหานคร) พบว่านิสิต นักศึกษา ส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาในจังหวัดทางภาคใต้ คิดเป็นอัตราส่วนที่ค่อนข้างสูง จึงทำให้เห็นว่า กฎหมายเป็นที่นิยมของคนภาคใต้ ทั้งนี้นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มีผลบังคับใช้และผลจากการปฏิรูประบบราชการในกระบวนการยุติธรรม ทำให้มีการจัดตั้งหน่วยงานราชการ และองค์กรอิสระด้านกฎหมายเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดความต้องการบุคลากรทางด้านกฎหมายสูงขึ้นตามไปด้วย ยกตัวอย่างเช่น ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา กรมสอบสวนคดีพิเศษ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ เป็นต้น รวมถึงบุคลากรสายอาจารย์ทางด้านกฎหมาย ซึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกหลายสถาบันได้เล็งเห็นความสำคัญ และริเริ่มจัดตั้งคณะนิติศาสตร์ ประกอบกับอัตราค่าตอบแทนทางวิชาชีพที่ค่อนข้างสูง เช่น ผู้พิพากษา ตุลาการ อัยการ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้บุคลากรในภาครัฐและเอกชนสนใจและมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนสายงานไปสู่วิชาชีพดังกล่าว และเมื่อพิจารณาแหล่งที่ตั้งของมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา แล้ว ยังพบว่า เป็นศูนย์รวมของหน่วยงานราชการในกระบวนการยุติธรรมหลายแห่ง อันได้แก่ ศาลจังหวัดสงขลา ศาลปกครองสงขลา สำนักงานอัยการจังหวัดสงขลา เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 สำนักงานอธิบดีอัยการเขต 9 สำนักงานตำรวจภูธรภาค 9 ซึ่งนับว่าเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติให้แก่นิสิต โดยการศึกษาดูงานและฝึกงานในหน่วยงานดังกล่าวข้างต้นได้อีกด้วย", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ" }, { "docid": "803#11", "text": "นอกจากศูนย์หลักที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยแล้ว ยังมีศูนย์เอไอทีเวียดนามที่ตั้งกระจายอยู่ตามเมืองสำคัญในประเทศเวียดนาม ได้แก่ กรุงฮานอย นครโฮจิมินห์ซิตี และเกิ่นเทอ ซึ่งเป็นศูนย์หลักในประเทศเวียดนามทั้ง 3 แห่ง และยังมีสำนักงานย่อยกระจายในเมืองต่างๆอีก 4 แห่ง โดยศูนย์เอไอทีเวียดนามนั้นก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ภายใต้ข้อตกลงร่วมกับรัฐบาลเวียดนาม ทำให้เป็นสถาบันการศึกษานานาชาติแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในประเทศเวียดนาม", "title": "สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย" }, { "docid": "437877#1", "text": "ในส่วนของโรงพยาบาลของรัฐแบ่งเป็น สังกัดกรุงเทพมหานคร 11 แห่ง(ไม่นับคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 5 แห่ง สังกัดกระทรวงศึกษา 2 แห่ง สังกัดกระทรวงกลาโหม 5 แห่ง สังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2 แห่ง สังกัดกระทรวงยุติธรรม 1 แห่ง สังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 1 แห่ง สังกัดสภากาชาดไทย 1 แห่ง สังกัดมูลนิธิมิราเคิลออฟไลฟ์ 1 แห่ง สังกัดสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ 1 แห่ง สถาบันจิตเวชสังกัดกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง สถาบันจิตเวชสังกัดรัฐบาล 1 แห่ง ", "title": "รายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร" }, { "docid": "723191#1", "text": "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เดิมคือ \"โรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ\" ซึ่งเป็นวิทยาลัยในสังกัด กองโรงเรียนพาณิชย์ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 ที่ถนนประชาราษฎ์สาย 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร\nในปัจจุบันคณะฯได้เปิดรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) โดยผ่านกระบวนการสอบของสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยผ่านการสอบคัดเลือกตรง เพื่อเข้ามาศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 4 ปี (วศ.บ.) ในสาขาต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการรับนักศึกษาโควต้าและผู้มีความสามารถพิเศษด้านต่างๆเช่น ด้านหุ่นยนต์และสิ่งประดิษฐ์ เป็นต้น ส่วนในระดับบัณฑิตศึกษาก็จะมีสาขาวิชาที่ต่อเนื่องสูงขึ้นไปจากระดับปริญญาตรีในทุกสาขาวิชาเพื่อเป็นการเสริมสร้างงานวิจัยและสร้างองค์ความรู้ด้านวิชาการให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป", "title": "คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ" }, { "docid": "851865#1", "text": " วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ แรกเริ่มก่อตั้งโดยมีดำริของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) จัดตั้งสถาบันการศึกษาด้านวิชาชีพการประมงขึ้นโดยมีหน่วยงานร่วมพิจารณาดำเนินการ ได้แก่ กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ", "title": "วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้" }, { "docid": "238820#3", "text": "เพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "721#6", "text": "ปัจจุบันเอสไอไอทีขยายการศึกษาเป็นสองวิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตธรรมศาสตร์รังสิต และวิทยาเขตบางกะดี ทั้งสองวิทยาเขตอยู่ในพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจเทคโนโลยีกรุงเทพตอนบนตามแผนยุทธศาสตร์ของสวทช. ซึ่งในพื้นที่ประกอบไปด้วยสถาบันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สำคัญจำนวนมาก เช่น อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (รวมถึงศูนย์วิจัยแห่งชาติในสังกัดอีก 4 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ), สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), เทคโนธานี, เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งประเทศไทย (ซอฟต์แวร์พาร์ค), องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.), สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย รวมถึงเขตอุตสาหกรรมไฮเทค และสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง. โดยเอสไอไอทีได้ร่วมมือและแลกเปลี่ยน ทั้งด้านการสอน วิจัย และถ่ายทอดเทคโนโลยี กับหน่วยงานเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ", "title": "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "238820#4", "text": "ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำระบบ วิธีการทดสอบ และพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดการศึกษา และการทำลายการศึกษาระดับชาติ ตลอดจนให้ความร่วมมือและสนับสนุนการทดสอบทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ดำเนินการเกี่ยวกับการทำลายการศึกษา บริการสอบวัดความรู้ความสามารถและการสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการเทียบระดับ และการเทียบโอนผลการเรียนที่มาจากการศึกษาในระบบเดียกับ หรือการศึกษาผ่านระบบ ดำเนินการเกี่ยวกับศึกษาวิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทำลายการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่างๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงการพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "238820#12", "text": "ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มีดังนี้", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "900328#3", "text": "เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้อนุมัติให้ใช้ที่ดินทำเลเลี้ยงสัตว์ข้างต้นเป็นสถานที่ตั้งและโครงการได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงาน ก.พ. สำนักงบประมาณ และคณะรัฐมนตรี ในการประชุมศึกษา โดยมีมติเห็นชอบด้วยกับโครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร และอนุมัติให้บรรจุโครงการ ฯ เข้าไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร ในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  ", "title": "คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน" }, { "docid": "10000#2", "text": "สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นสถาบันการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของรัฐ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระทัยในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นพิเศษ เมื่อราว พ.ศ. 2503 ได้ทรงปรารภกับ นายเดวิด รอกกิเฟลเลอร์ ถึงเรื่องที่จะปรับปรุงการสถิติของชาติ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ และในที่สุดได้มีการจัดทำโครงการเสนอรัฐบาล โดยให้ตั้ง Graduate Institute of Development Administration (GIDA) ขึ้น ต่อมา รัฐบาลได้ตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาจัดตั้งสถาบันสอนวิชาการบริหารเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศ โดยได้นำโครงการ GIDA มาศึกษา และได้เสนอมติของที่ประชุมคณะกรรมการต่อคณะรัฐมนตรีว่าควรจะตั้ง สถาบันพัฒนาการบริหาร (Institute of Development Administration) โดยดำเนินการสอนในขั้นปริญญาโทและเอก การศึกษาฝึกอบรม และการวิจัย ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2509 ด้วยความช่วยเหลือเบื้องต้นจาก กรมวิเทศสหการ มูลนิธิฟอร์ด และ Midwest University Consortium for International Affairs (MUCIA) โดยโอนคณะรัฐประศาสนศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งานฝึกอบรมส่วนหนึ่งของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ งานฝึกอบรมและงานสอนส่วนหนึ่งของสำนักงานสถิติแห่งชาติ มาเป็นกิจกรรมหนึ่งของสถาบันสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์มีอธิการบดีมาแล้ว 13 คน ดังรายนามต่อไปนี้\nสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เปิดสอนเฉพาะหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยมีหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน และหน่วยงานสนับสนุน ดังนี้", "title": "สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์" }, { "docid": "727950#1", "text": "ตั้งแต่เริ่มแรกของการจัดตั้ง คณะฯ ได้ยึดถือเป็นนโยบายในการผลิตวิศวกรที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการวิศวกรรมศาสตร์พื้นฐาน (engineering sciences) และมีทักษะในเชิงปฏิบัติ กล่าวคือสามารถนำทฤษฎีไปประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมในปัญหาจริงได้อย่างมีประสิทธิผล\nในปัจจุบันคณะฯได้เปิดรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยผ่านการสอบคัดเลือกตรงและรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) โดยผ่านกระบวนการสอบของสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพื่อเข้ามาศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 4 ปี (วศ.บ.) ในสาขาต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการรับนักศึกษาโควต้าและผู้มีความสามารถพิเศษด้านต่างๆเช่น ด้านหุ่นยนต์และสิ่งประดิษซ์ เป็นต้น ส่วนในระดับบัณฑิตศึกษาก็จะมีสาขาวิชาที่ต่อเนื่องสูงขึ้นไปจากระดับปริญญาตรีในทุกสาขาวิชาเพื่อเป็นการเสริมสร้างงานวิจัยและสร้างองค์ความรู้ด้านวิชาการให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป\nคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ให้ความสำคัญกับความร่วมมือกับต่างประเทศมาตลอด อาทิ ความร่วมมือรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันมาตั้งแต่ปี 2524 และปี 2527 คณะฯ ได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในเยอรมันโดยการสนับสนุนทางการเงินจากสหภาพยุโรปในการพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมเคมีและกระบวนการในปี 2532 คณะฯ ได้ร่วมมือมหาวิทยาลัยในฝรั่งเศสภายใต้การสนับสนุนทางการเงินจากสหภาพยุโรปในโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยด้านการสันดาปในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและในปลายปี 2534 โครงการความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาและวิจัยในฝรั่งเศสก็ได้เริ่มขึ้นเพื่อยกระดับมาตรฐานทางวิชาการด้านวิศวกรรมเครื่องกลโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป ในปัจจุบันคณะวิศวกรรมศาสต์ร์ก็ยังมีความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับบัณฑิตศึกษา\nตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมาคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเพื่อเป็นการพัฒนาการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การประเมินผลการเรียนการสอน การส่งเสริมการวิจัย ของบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร์ กิจกรรม 5 ส. การประกันคุณภาพ และตั้งแต่ปี 2543 คณะฯ ก็ได้เริ่มกิจกรรมในการจัดการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ร่วมกับอุตสาหกรรมในโครงการ \"สหกิจศึกษา\"", "title": "คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ" }, { "docid": "238820#9", "text": "สทศ. มีการบริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ รายชื่อต่อไปนี้มีผลตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วย", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "11719#130", "text": "หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่: นักวิชาการเกษตร นักเขียนชาวไทย รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย: อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์: ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ เดชะอำไพ: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2545, ศาสตราจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2554, ศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ หารหนองบัว: นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี 2544, คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ พงศ์ศุภสมิทธิ์: ผู้อำนวยการ สสวท., รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์: นักวิจัยไทยคนแรกที่ได้รับรางวัล UNESCO Science Prize 2003 ศาสตราจารย์ ดร.ละออศรี เสนาะเมือง: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ กระทรวงสาธารณสุข[36] ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ: ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)", "title": "มหาวิทยาลัยขอนแก่น" }, { "docid": "13431#6", "text": "กรมธรรมการ (หน่วยงานในสมัยที่เป็นกระทรวงธรรมการ) กรมศึกษาธิการ (หน่วยงานในสมัยที่เป็นกระทรวงธรรมการ) กรมมหาวิทยาลัย ต่อมายกฐานะเป็นทบวงมหาวิทยาลัย ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมวิชาการ ปัจจุบันลดฐานะเป็น สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมอาชีวศึกษา ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับกรมสามัญศึกษา เป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมสามัญศึกษา ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมวิสามัญศึกษา มีหน้าที่จัดการศึกษาตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1-5 ภายหลังยุบรวมกับกรมสามัญศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ภายหลังถูกยุบรวมเป็นสำนักงานบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ปัจจุบันคือสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรมการฝึกหัดครู กรมพลศึกษา ปัจจุบันย้ายไปสังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ภายหลังเปลี่ยนเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู (ก.ค.) ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 39 แห่ง กรมการศาสนา เดิม ออกเป็น 2 ส่วน คือ กรมการศาสนาสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรมศิลปากร ปัจจุบันย้ายไปสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เดิมคือกองวัฒนธรรมสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันกรมส่งเสริมวัฒนธรรมสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ปัจจุบันคือ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) ปัจจุบันย้ายไปสังกัดกระทรวงพาณิชย์", "title": "กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)" } ]
2243
เนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงชื่ออะไร ?
[ { "docid": "33479#0", "text": "อัมสเตอร์ดัม (, ) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) \nอัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ \nถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก", "title": "อัมสเตอร์ดัม" }, { "docid": "8191#0", "text": "เนเธอร์แลนด์ ( \"เนเดอร์ลอนต์\"; ) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ () หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า \"ฮอลแลนด์\" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ", "title": "ประเทศเนเธอร์แลนด์" } ]
[ { "docid": "378056#2", "text": "หลังจากยุบเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส ปัจจุบันกือราเซา มีสถานะเป็นประเทศปกครองตนเองที่ขึ้นตรงต่อราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เช่นเดียวกับประเทศเนเธอร์แลนด์,อารูบา และซินต์มาร์เติน มีพื้นที่ 444 ตารางกิโลเมตร (171 ตารางไมล์) และมีวิลเลมสตัดเป็นเมืองหลวง จากข้อมูลวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2017 มีประชากร 160,337 คน พื้นที่ทั่วไปเป็นพื้นที่ราบ มีอุตสาหกรรมที่สำคัญคือ การกลั่นน้ำมันซึ่งนำน้ำมันดิบมาจากเวเนซุเอลา นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยว เกาะกือราเซารวมกับเกาะไกลน์กือราเซา (ซึ่งไม่มีคนอาศัยอยู่)", "title": "กือราเซา" }, { "docid": "274704#0", "text": "โกรนิงเงิน () เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือสุดของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงชื่อเดียวกันคือเมืองโกรนิงเงิน จังหวัดโกรนิงเงินมีพรมแดนทางตะวันออกติดกับรัฐโลว์เออร์แซกโซนีของประเทศเยอรมนี ทางตอนใต้ติดกับจังหวัดเดรนเทอ ทางตะวันตกติดกับจังหวัดฟรีสลันด์ และทางเหนือติดกับทะเลวัดเดิน", "title": "จังหวัดโกรนิงเงิน" }, { "docid": "439612#0", "text": "เดอะเฮก หรือ กรุงเฮก (, \"แด็นฮาค\") หรือชื่อทางการภาษาดัตช์คือ สคราเฟินฮาเคอ () เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองมีประชากร 500,000 คน (ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2011)", "title": "เดอะเฮก" }, { "docid": "756436#0", "text": "อันเดอร์เลคต์ () หรือ อ็องแดร์แล็กต์ (ตามการออกเสียงในภาษาฝรั่งเศส) เป็นเทศบาลที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ ติดต่อกับทางตะวันตกเฉียงใต้ของนครบรัสเซลส์ ครอบคลุมพื้นที่ 17.74 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 115,000 คน ในแต่ละปีจะมีเทศกาลงานออกร้านซึ่งได้รับการรับรองจากพระเจ้าวิลเลิมที่ 2 แห่งเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่ พ.ศ. 2368 เป็นเทศกาลที่จัดการเฉลิมฉลองในหลายรูปแบบ รวมทั้งการแสดงของสัตว์ นิทรรศการกลางแจ้ง การแสดงดอกไม้ และขบวนแห่เพื่อเป็นเกียรติแด่นักบุญกาย ผู้เป็นนักบุญอุปถัมภ์ของเมือง นอกจากนี้อันเดอร์เลคต์ยังเป็นที่รู้จักจากแอร์.เอส.เซ. อันเดอร์เลคต์ ซึ่งเป็นสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงจากการแข่งขันทั้งในระดับทวีปและประเทศ", "title": "อันเดอร์เลคต์" }, { "docid": "8191#10", "text": "ประเทศเนเธอร์แลนด์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 จังหวัด (\"provincie\") โดยแต่ละจังหวัดจะมีเมืองหลวง ได้แก่", "title": "ประเทศเนเธอร์แลนด์" }, { "docid": "238060#0", "text": "เวลลิงตัน () เป็นเมืองหลวงของประเทศนิวซีแลนด์ เป็นที่รู้จักกันในชื่อของ \"เวลลิงตัน เมืองแห่งสายลม\" เนื่องจากเป็นภูมิภาคที่มีสายลมพัดผ่านมากที่สุดของนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ปลายสุดของเกาะเหนือ ระหว่างช่องแคบคุกกับ Rimutaka Range ชื่อของเมืองหลวงแห่งนี้มาจากชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแด่ อาร์เธอร์ เวลเลสลีย์ (Arthur Wellesley) มีประชากรทั้งสิ้น 430,000 คน นับเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 รองจากโอ๊คแลนด์ เวลลิงตันเป็นที่ตั้งของรัฐสภา สถานทูต และกงสุลต่างๆ เป็นศูนย์กลางของศิลปวัฒนธรรมและความมีชีวิตชีวา ในเมืองจะเต็มไปด้วยร้านอาหารรสเลิศ ร้านกาแฟ และกิจกรรมยามค่ำคืน นอกจากการเป็นเมืองหลวงแล้ว เวลลิงตันยังมีความสำคัญ คือเป็นเมืองท่าขนาดใหญ่ที่ใช้สัญจรผ่านไปสู่เกาะใต้ ตามแนวเขาลาดชันชายฝั่ง จะเห็นสิ่งปลูกสร้างไม้สไตล์วิคตอเรียขึ้นอยู่เป็นทิวแถว อุณหภูมิอบอุ่นกำลังดีระหว่าง 9-13 องศาเซลเซียสในหน้าหนาว ส่วนหน้าร้อนประมาณ 17-22 องศาเซลเซียส", "title": "เวลลิงตัน" }, { "docid": "274721#0", "text": "เดรนเทอ () เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงอยู่ที่อาสเซิน จังหวัดเดรนเทอมีพรมแดนทางตอนใต้ติดกับจังหวัดโอเฟอไรส์เซิล ทางตะวันตกติดกับจังหวัดฟรีสลันด์ ทางเหนือติดกับจังหวัดโกรนิงเงิน และทางตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี", "title": "จังหวัดเดรนเทอ" }, { "docid": "803045#9", "text": "เนเธอร์แลนด์ขยายอิทธิพลจากเขตชายฝั่งเพื่อควบคุมพื้นที่ทั้งหมด สร้างทางรถไฟเชื่อมถึงเมืองหลวง ทำให้ประเทศสงบลงได้ใน พ.ศ. 2427 กระบวนการทางสันติภาพเชื่องช้าลงหลังจากนั้น แต่ก็ก้าวหน้าอีกครั้งระหว่าง พ.ศ. 2441–2446 ซึ่งเจ้าของที่ดินได้เซ็นสัญญาสงบศึกกับเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์สามารถจัดตั้งรัฐบาลในอาเจะฮ์ได้ และทำให้สุลต่านยอมมอบตัวใน พ.ศ. 2446 และได้ลี้ภัยใน พ.ศ. 2450 โดยไม่ได้ระบุนามรัชทายาท แต่ฝ่ายต่อต้านก็ยังสู้รบต่อจนถึง พ.ศ. 2455", "title": "รัฐสุลต่านอาเจะฮ์" } ]
1352
ใครคือผู้ก่อตั้ง วิกตอเรียส์ซีเคร็ต?
[ { "docid": "132244#1", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตนั้นถูกก่อตั้งขึ้นโดย รอย เรย์มอนด์ นักธุรกิจชาวอเมริกัน เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1977[1] โดยวิกตอเรียส์ซีเคร็ตสาขาแรกได้ถือกำเนิดขึ้นที่ซานฟรานซิสโก, แคลิฟอร์เนีย ต้นเหตุของการก่อตั้งวิกตอเรียส์ซีเคร็ต มาจากความรู้สึกเขินอายของรอยที่ต้องตกเป็นเป้าสายตาเวลาที่เขาไปเลือกซื้อชุดชั้นในให้ภรรยาที่ห้างสรรพสินค้า นอกจากนั้นในช่วงปี 1970 ถึง 1980 ผู้หญิงอเมริกันในยุคนั้นจะชอบซื้อชุดชั้นในเป็นแพ็ค แพ็คละ3ชิ้นมาใส่ ซึ่งเป็นชุดชั้นในที่ไม่สวย เรียบ และดูล้าสมัย โดยชุดชั้นในที่มีลวดลายสวยงามหรือมีลูกไม้ จะเก็บเอาไว้ใส่ในเฉพาะโอกาสสำคัญหรือโอกาสพิเศษเช่นการไปฮันนีมูนเท่านั้น เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว รอยจึงได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับตลาดชุดชั้นใน และได้กู้เงินจำนวนประมาณ 80,000 ดอลลาร์สหรัฐ (40,000 ดอลลาร์กู้จากพ่อแม่ของเขา และอีก 40,000 ดอลลาร์กู้จากธนาคาร) เพื่อนำมาสร้างเป็น \"วิกตอเรียส์ซีเคร็ต\" ร้านชุดชั้นในที่มีความประสงค์ให้ผู้ชายหรือสามีที่ต้องมาซื้อชุดชั้นในให้ภรรยานั้นไม่มีความเขินอายและรู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" } ]
[ { "docid": "850282#20", "text": "เป็นประจำในทุกๆปี ที่วิกตอเรียส์ซีเคร็ตจะเลือกหนึ่งในนางฟ้าให้สวมใส่ \"แฟนตาซีบรา\" ซึ่งเป็นบราที่ทำจากอัญมณีต่างๆ ซึ่งแต่เดิมแฟนตาซีบราถูกผลิตขึ้นเพื่อถ่ายโฆษณาลงในแคตตาล็อกของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตเพียงเท่านั้น แต่ว่าตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 เป็นต้นมา แฟนตาซีบราก็ได้ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ด้วย โดยก่อนที่จะถึงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ในแต่ละปี วิกตอเรียส์ซีเคร็ตจะร่วมมือกับแบรนด์หรือนักออกแบบอัญมณีที่มีชื่อเสียง เพื่อทำการผลิตแฟนตาซีบรา ที่จะนำไปเป็นไฮไลท์สำคัญในแฟชั่นโชว์ของปีนั้นๆ", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "132244#5", "text": "ในปี ค.ศ. 1982 วิกตอเรียส์ซีเคร็ตมีสาขาเพิ่มขึ้นเป็น 6 สาขา และมียอดขายอยู่ที่ประมาณ 5,000,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี แต่จากความตั้งใจเดิมของรอยที่ต้องการจะเจาะตลาดกลุ่มลูกค้าผู้ชายหรือสามีที่มาซื้อชุดชั้นในให้ภรรยานั้นเริ่มไม่ได้ผลตอบรับที่ดีเท่าที่ควร ทำให้บริษัทเริ่มมีปัญหาทางด้านการเงินและเสี่ยงจะล้มละลาย จนในที่สุดรอยก็ได้ตัดสินใจขายวิกตอเรียส์ซีเคร็ตให้กับ เลสลี เวกซ์เนอร์ จากบริษัทลิมิทิด ด้วยราคา 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[2][3]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#7", "text": "ในปี ค.ศ. 1985 ฮาวเวิร์ด กรอสส์ ได้เลื่อนจากตำแหน่งรองประธานกรรมการ ขึ้นสู่ตำแหน่งประธานกรรมการของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต[5]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "850282#4", "text": "ปี ค.ศ. 1999 ระหว่าง ซูเปอร์โบวล์ ครั้งที่ 33 วิกตอเรียส์ซีเคร็ต ประกาศนับถอยหลัง 72 ชั่วโมงสำหรับการออกอากาศทางอินเทอร์เน็ตของงานวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ ซึ่งส่งผลให้มีผู้ชมบนอินเทอร์เน็ตกว่า 2 ล้านคนในรายการ.[1] โดยการแสดงโชว์ออกอากาศบนเว็บไซต์ Broadcast.com[2][3]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "132244#6", "text": "ในปี ค.ศ. 1983 เลสลี เวกซ์เนอร์ ได้ทำการปรับปรุงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตในรูปโฉมใหม่ จากเดิมที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นลูกค้าผู้ชายหรือสามี มาเป็นกลุ่มลูกค้าผู้หญิง[4] ทั้งการออกแบบ สไตล์ และสีสันของชุดชั้นใน ที่มีการปรับเปลี่ยนให้ดูเซ็กซี่ มีรสนิยม ดูหรูหราในแบบยุโรป เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในการดึงดูดความสนใจของกลุ่มลูกค้าผู้หญิง[4] อีกหนึ่งกลยุทธ์คือการโกหกสถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต ที่ได้พิมพ์ระบุที่อยู่ลงไปในแค็ตตาล็อกว่าสำนักงานใหญ่นั้นอยู่ที่กรุงลอนดอน ซึ่งเป็นที่อยู่หลอก ๆ เพราะความจริงแล้วสำนักงานใหญ่นั้นอยู่ที่เมืองโคลัมบัส รัฐโอไฮโอ[4] นอกจากนี้แล้ววิกตอเรียส์ซีเคร็ตยังได้ตกแต่งร้านใหม่ให้เป็นแบบอย่างอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ด้วย", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "850504#1", "text": "บุคคลที่ได้เซ็นสัญญาเป็นนางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตในปัจจุบัน ระบุในตารางด้านล่างนี้", "title": "รายนามนางแบบวิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "916606#0", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2014 (อังกฤษ: Victoria's Secret Fashion Show 2014) เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต เช่น อาดรียานา ลีมา, อาเลซังดรา อังบรอซียู, คาร์ลี คลอสส์, ลินด์ซีย์ เอลลิงสัน, กันดิส สวาเนปุล, เดาท์เซน โครส์, ลิลี ออลดริดจ์, และเบฮาตี ปรินส์ลัว", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2014" }, { "docid": "850282#0", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ (English: Victoria's Secret Fashion Show) เป็นงานแสดงแฟชั่นโชว์ประจำปีของแบรนด์ชุดชั้นในวิกตอเรียส์ซีเคร็ต เพื่อเป็นการใช้โปรโมตสินค้า โดยมีนางแบบชื่อดังจากทั่วโลกมาร่วมเดินแบบ อย่างนางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตในปัจจุบัน คือ อาดรียานา ลีมา, เบฮาตี ปรินส์ลัว, ลิลี ออลดริดจ์, กันดิส สวาเนปุล, แจสมิน ทุกส์, โจเซฟีน สไครเวอร์, ซารา ซังไปยู, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, โรเม สไตรด์, ไลส์ รีเบย์รู, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, และเอลซา ฮอสค์", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "132244#20", "text": "ในปี ค.ศ. 2014 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตที่มีการผลิตแฟนตาซีบราออกมา 2 ชุด มีชื่อว่า Dream Angels Fantasy Bras โดยมีผู้ที่ได้รับเลือกให้สวมใส่ 2 คน คือ เอเดรียนา ลิมา และ อเลสซานดรา แอมโบรซิโอ", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "850282#22", "text": "ในปี ค.ศ. 2014 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตที่มีการผลิตแฟนตาซีบราออกมา 2 ชุด มีชื่อว่า Dream Angels Fantasy Bras โดยมีผู้ที่ได้รับเลือกให้สวมใส่ 2 คน คือ เอเดรียนา ลิมา และ อเลสซานดรา แอมโบรซิโอ", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "850504#0", "text": "นี่คือรายชื่อปัจจุบันและอดีตของ เหล่านางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต และนางแบบที่ได้ร่วมเดินในงาน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ จากปี ค.ศ.1995", "title": "รายนามนางแบบวิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#14", "text": "ในปี ค.ศ. 1999 วิกตอเรียส์ซีเคร็ตได้สร้างยี่ห้อย่อยขึ้นมา มีชื่อว่า \"บอดี้ บาย วิกตอเรีย\"[15]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "850282#12", "text": "ในปี ค.ศ. 2009 แฟชั่นโชว์จัดขึ้นที่เลกซิงตันอเวนิวอาร์โมรี ในนิวยอร์ก ซึ่งเป็นที่เดียวในครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 2005 โชว์ในปี ค.ศ. 2009 นั้นเริ่มค้นหานางแบบหน้าใหม่ เรียกว่า \"วิกตอเรียส์ซีเคร็ต โมเดล เซิช\" เพื่อค้นหาวิกตอเรียส์ซีเคร็ต \"รันเวย์ แองเจิล\" และได้ผู้ชนะคือ ไคย์ลี บิซัตตี[14]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "132244#16", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ครั้งแรกถูกจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1995 โดยวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ในช่วงปี ค.ศ. 1995 - ค.ศ. 1998 นั้นจะยังไม่มีการถ่ายทอดให้ผู้ชมทางบ้านได้ชม ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1999 - ค.ศ. 2000 จึงได้มีการถ่ายทอดออนไลน์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต และในปี ค.ศ. 2001 จึงได้มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "907332#0", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017 () เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือ ลิลี ออลดริดจ์, เอลซา ฮอสค์, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, อาดรียานา ลีมา, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, ไลส์ รีเบย์รู, ซารา ซังไปยู, โจเซฟีน สไครเวอร์, โรเม สไตรด์, กันดิส สวาเนปุล, แจสมิน ทุกส์, อาเลซังดรา อังบรอซียูที่เดินแบบให้งานวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์เป็นครั้งสุดท้ายของเธอ และเบฮาตี ปรินส์ลัวพลาดการแสดงในครั้งนี้ เนื่องจากเธอตั้งครรภ์", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017" }, { "docid": "132244#9", "text": "ในปี ค.ศ. 1987 แค็ตตาล็อกของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตนั้นถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มของ \"แค็ตตาล็อกที่ขายดีและได้รับความนิยม\"[8] ในปี ค.ศ. 1990, นักวิเคราะห์ได้ประเมินถึงยอดขายของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตที่เติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4 ปีหลัง ว่าเกิดจากการถูกพูดถึงและแนะนำกันแบบปากต่อปาก นั่นจึงทำให้วิกตอเรียส์ซีเคร็ตได้รับการจัดให้เป็นยี่ห้อหนึ่งที่มีการเติบโตที่รวดเร็วที่สุดในวงการธุรกิจ[9]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#13", "text": "ในปี ค.ศ. 1998 มีการรายงานว่าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตนั้นมีส่วนแบ่งการตลาดกับยี่ห้อเครื่องแต่งกายอื่น ๆ อยู่ที่ประมาณ 14 เปอร์เซนต์ อย่างไรก็ตามในปีเดียวกัน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตมีรายรับ 3,500 ล้านดอลลาร์ลหรัฐ จากผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเครื่องสำอาง[14]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#10", "text": "ในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1990 วิกตอเรียส์ซีเคร็ตต้องเผชิญกับปัญหาเกี่ยวกับช่องว่างในการบริหาร เมื่อฮาวเวิร์ด กรอสส์ ประธานกรรมการของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต ซึ่งเป็นผู้ที่พัฒนาวิกตอเรียส์ซีเคร็ตมาสู่การเป็นยี่ห้อชุดชั้นในแถวหน้า ได้ย้ายไปบริหารยี่ห้อที่ชื่อว่า แอลแบรนดส์ ซึ่งเป็นยี่ห้อย่อยของบริษัทลิมิทิด แต่ผลงานออกมาไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ เพราะไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร จึงกลายเป็นว่า ทั้งวิกตอเรียส์ซีเคร็ตและแอลแบรนดส์ต่างก็ประสบกับปัญหาด้วยกันทั้งคู่[10]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#22", "text": "ในปี 2007 นางฟ้าของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต ได้ถูกรับเลือกเป็นหนึ่งใน \"100 บุคคลที่สวยงามที่สุดในโลก\" ในนิตยสารพีเพิล ของสหรัฐอเมริกา[30]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#15", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ เป็นแฟชั่นโชว์ประจำปีของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งแฟชั่นโชว์ที่สำคัญและมีผู้รอชมทั่วโลก โดยวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์นั้นถูกจัดขึ้นเพื่อใช้ในในการโปรโมตสินค้าโดยเฉพาะชุดชั้นในของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต ซึ่งในแต่ละปีก็จะประกอบไปด้วยนางแบบชื่อดังระดับโลกที่เข้าร่วมเดินในแฟชั่นโชว์นี้", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "907591#0", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2015 (อังกฤษ: Victoria's Secret Fashion Show 2015) เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือ อาดรียานา ลีมา, อาเลซังดรา อังบรอซียู, กันดิส สวาเนปุล, ลิลี ออลดริดจ์, เบฮาตี ปรินส์ลัว, เอลซา ฮอสค์, ไลส์ รีเบย์รู, ซารา ซังไปยู, เจค จากาเชียค, เคท กริโกเรียวา, มาร์ธา ฮันต์, เทย์เลอร์ ฮิลล์, แจสมิน ทุกส์, โรเม สไตรด์, และสเตลลา แม็กซ์เวลล์", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2015" }, { "docid": "132244#18", "text": "เป็นประจำในทุก ๆ ปี ที่วิกตอเรียส์ซีเคร็ตจะเลือกหนึ่งในนางฟ้าให้สวมใส่ \"แฟนตาซีบรา\" ซึ่งเป็นบราที่ทำจากอัญมณีต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมแฟนตาซีบราถูกผลิตขึ้นเพื่อถ่ายโฆษณาลงในแค็ตตาล็อกของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตเพียงเท่านั้น แต่ว่าตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 เป็นต้นมา แฟนตาซีบราก็ได้ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ด้วย โดยก่อนที่จะถึงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ในแต่ละปี วิกตอเรียส์ซีเคร็ตจะร่วมมือกับแบรนด์หรือนักออกแบบอัญมณีที่มีชื่อเสียง เพื่อทำการผลิตแฟนตาซีบรา ที่จะนำไปเป็นไฮไลท์สำคัญในแฟชั่นโชว์ของปีนั้น ๆ", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "850282#2", "text": "การแสดงแฟชั่นโชว์มักจะจัดอย่างหรูหรา กับชุดชั้นในที่ออกแบบให้ประณีต และเพลงที่แตกต่างกันจากนักร้องชั้นนำของโลก และการออกแบบตามธีมต่าง ๆ ที่แสดงโชว์ การแสดงนี้มักดึงดูดผู้ชมที่มีชื่อเสียงและนักบันเทิงหลายคน รวมถึงนักแสดงในทุก ๆ ปี ในแต่ละปีมีนางแบบชั้นนำของโลกยี่สิบถึงสี่สิบคน มาร่วมเดินแบบโชว์ รวมถึงนางแบบที่เซ็นสัญญากับบริษัท ซึ่งรู้จักกันในนามของ วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแองเจิล ซึ่งจะช่วยโปรโมตงานและสินค้า ปีกนางฟ้ายักษ์ที่สวมใส่โดยนางแบบ ตลอดจนปีกอื่น ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ และขนาด เช่น ปีกผีเสื้อ ปีกขนนกยูง หรือ ปีกปีศาจ ก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของแบรนด์วิกตอเรียส์ซีเคร็ต", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์" }, { "docid": "132244#8", "text": "นิตยสาร เดอะนิวยอร์กไทมส์ ได้รายงานถึงการขยายตัวอย่างรวดเร็วของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต จาก 4 สาขาในปี ค.ศ. 1982 เพิ่มขึ้นเป็น 100 สาขาในปี ค.ศ. 1986 ซึ่งใช้เวลาเพียง 4 ปี โดยเหล่านักวิเคราะห์นั้นได้คาดการณ์ว่าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตจะสามารถขยายสาขาได้เป็น 400 สาขา ภายในปี ค.ศ. 1988[6][7]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#17", "text": "สิ่งหนึ่งที่ทำให้วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์มีผู้รอชมทั่วโลกนั่นก็คือการแสดงจากศิลปินชั้นนำระดับโลกที่ได้มาร่วมแสดงโชว์บนเวที อาทิ เลดี้กาก้า เทย์เลอร์ สวิฟต์, จัสติน บีเบอร์, เคที เพอร์รี, ริฮานนา, มารูนไฟฟ์, บรูโน มาร์ส, นิกกี มินาจ, เดอะวีกเอนด์, แบล็กอายด์พีส์, เอคอน, จัสติน ทิมเบอร์เลค, อัชเชอร์ และเจย์-ซี เป็นต้น และอีกส่วนที่เป็นสิ่งสำคัญที่จะขาดไม่ได้สำหรับวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์นั่นก็คือปีกที่สร้างสรรค์ออกมาให้นางแบบได้ใส่ประกอบชุดในทุก ๆ ปี โดยแต่ละปีกนั้นจะถูกออกแบบให้เข้ากับแต่ละโชว์หรือเซกเมนต์ต่างกันไป", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "132244#21", "text": "\"นางฟ้า\" ของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือกลุ่มนางแบบที่ได้เซ็นสัญญากับบริษัทและอยู่ในตำแหน่งพรีเซ็นเตอร์ของสินค้า นางฟ้าของวิกตอเรียส์ซีเคร็ตถูกก่อตั้งครั้งแรกในปี 1997 โดยมีดานิแอลา แป็ชโตวา, กาเริน มึลเดอร์, เฮเลนา คริสเตนเซน, สเตฟานี ซีมอร์ และไทรา แบงส์ เป็นนางแบบกลุ่มแรกที่เซ็นสัญญาเป็นนางฟ้าของวิกตอเรียส์ซีเคร็ต[29] และได้เปิดตัวบนรันเวย์ครั้งแรกในปี 1998 ซึ่งเป็นการจัดวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ครั้งที่ 4 โดยในครั้งนั้น เฮเลนา คริสเตนเซน ไม่สามารถมาร่วมเดินแบบได้ จึงให้แชนดรา นอร์ท สวมปีกเป็นนางฟ้าตัวแทน", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "907393#1", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ ค.ศ. 2016 จัดแสดงขึ้นที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ณ กร็องปาแล ร่วมการแสดงดนตรีโดย เลดี้ กาก้า, เดอะวีกเอนด์, และบรูโน มาร์ส ในปีนี้ผู้ที่สวมใส่วิกตอเรียส์ แฟนตาซีบรา คือ แจสมิน ทุกส์", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016" }, { "docid": "132244#12", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตได้เปิดตัว \"มิราเคิลบรา\" ซึ่งจำหน่ายในราคา 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปีแรก แต่ก็ต้องเผชิญกับคู่แข่งนั่นคือซาร่า ลี จากยี่ห้อวอนเดอร์บรา ในปีต่อมา วิกตอเรียส์ซีเคร็ตจึงได้ใช้กลยุทธ์ใหม่นั่นคือการโฆษณาทางโทรทัศน์[13]", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ต" }, { "docid": "907393#0", "text": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016 () เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือ ลิลี ออลดริดจ์, เอลซา ฮอสค์, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, อาดรียานา ลีมา, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, ไลส์ รีเบย์รู, ซารา ซังไปยู, โจเซฟีน สไครเวอร์, โรเม สไตรด์, แจสมิน ทุกส์, และอาเลซังดรา อังบรอซียู ส่วนเบฮาตี ปรินส์ลัว และกันดิส สวาเนปุล พลาดการแสดงในครั้งนี้ เนื่องจากพวกเธอตั้งครรภ์ การแสดงยังให้ความสำคัญ PINK spokesmodels คือ ราเชล ฮิลเบิร์ต, ซูรี ทิบบี้, เกรซ เอลิซาเบธ", "title": "วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016" } ]
2861
ช่องจีเอ็มเอ็ม 25 ออกอากาศครั้งแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "621765#1", "text": "จีเอ็มเอ็ม 25 มีเนื้อหาที่นำเสนอรายการวาไรตี้ ดนตรี กีฬา ข่าวสาร สาระบันเทิง รวมถึงรายการเด็กและครอบครัว บริหารงานโดย สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา ซึ่งก่อนหน้าจะเริ่มออกอากาศ มีการโฆษณาด้วยชื่อ \"จี-ทเวนตีไฟว์\" (G-25) แต่มิได้นำมาใช้จริง โดยเปิดตัวในชื่อ \"ช่องบิ๊ก\" (BiG) เป็นครั้งแรก ร่วมกับช่องวัน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เริ่มทดลองออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม เวลา 11:00 น. จากนั้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ต้นสังกัดก็เปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน และเปิดตัวอัตลักษณ์ใหม่ เมื่อวันที่ 1 กันยายน ปีเดียวกัน ซึ่งตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 แสดงหมายเลขช่อง 25 กำกับไว้ทางขวามือ เพิ่มขึ้นจากอัตลักษณ์เดิม นอกจากนี้ ทางช่องยังก่อตั้งสำนักข่าว \"จีเอ็มเอ็มนิวส์\" ซึ่งบริหารงานโดย ภูวนาท คุณผลิน โดยเริ่มออกอากาศรายการข่าว ภายใต้สำนักข่าวนี้ มาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 และได้มีการเปิดตัวผังรายการปี 2558 ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558", "title": "จีเอ็มเอ็ม 25" } ]
[ { "docid": "754429#3", "text": "ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ช่องจีเอ็มเอ็ม 25ได้ประกาศของดการออกอากาศละครตามโปรแกรมเดิมตามปกติ เนื่องมาจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช ทำให้มีมติจากคำสั่งของ กสทช. ได้ออกคำสั่งให้งดการออกอากาศรายการที่แสดงถึงความรื่นเริงเป็นระยะเวลา 30 วันนอกจากนี้ช่องจีเอ็มเอ็ม 25ยังได้จับมือร่วมกับ วิว ในการนำละครซีรีส์ แหวนดอกไม้ ขึ้นเป็นซีรีส์พิเศษจากเน็ตฟลิกซ์ (Viu Original Series) โดยเปิดให้รับชมทั่วโลกหลังออกอากาศจบทันที ทำให้ซีรีส์เรื่องนี้งดการเผยแพร่ทางยูทูปและไลน์ทีวี", "title": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องจีเอ็มเอ็ม 25" }, { "docid": "754429#0", "text": "นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ จีเอ็มเอ็ม 25 ในช่วงที่ยังคงเป็น ช่องบิ๊ก (25 พฤษภาคม-17 กรกฎาคม 2557) อยู่นั้น รายการละครที่ออกอากาศทั้งหมดล้วนเป็นการนำมาออกอากาศซ้ำจาก ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี และ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เช่น ช็อกโกแลต 5 ฤดู, โลมากล้าท้าฝัน, เพื่อเธอ, หัวใจศิลา, หัวใจเรือพ่วง เป็นต้น", "title": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องจีเอ็มเอ็ม 25" }, { "docid": "621765#2", "text": "วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 19.00 น. ทางสถานีได้มีประกาศสำนักพระราชวังเรื่อง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสวรรคต กสทช. จึงมีคำสั่งให้สถานีโทรทัศน์ทุกสถานีรวมถึงช่องจีเอ็มเอ็ม 25 งดออกอากาศรายการตามปกติเป็นระยะเวลา 30 วัน และให้เกี่ยวโยงสัญญาณจาก สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ททบ. 5) , สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (สทท.) ร่วมกับ โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.) เผยแพร่สารคดีพระราชกรณียกิจของพระองค์รวมไปถึงคอนเทนต์รายการพิเศษที่เกี่ยวกับพระองค์ อาทิ ภาพยนตร์เทิดพระเกียรติ , ละครเทิดพระเกียรติ ฯลฯ มาออกอากาศแทนชั่วคราวระยะหนึ่ง หลังจากโทรทัศน์ทุกช่องออกอากาศได้ตามปกติแล้ว สถานีจึงปรับผังรายการเป็นการเฉพาะกิจ โดยงดรายการบันเทิง รวมถึงรายการเทิดพระเกียรติ จนกระทั่งหลังครบกำหนด 30 วัน สถานีได้ทยอยนำรายการปกติมาออกอากาศทีละรายการจนครบตามผังปกติในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2559", "title": "จีเอ็มเอ็ม 25" }, { "docid": "519451#1", "text": "ช่องวัน 31 ออกอากาศเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ด้วยชื่อ \"วัน-สกาย วัน\" () มีเนื้อหาที่นำรายการโทรทัศน์ต่างๆ ทั้งประเภทดนตรี ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ซึ่งผลิตขึ้นโดย บริษัทในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ซึ่งมีสถานะเป็นหนึ่งในช่องรายการหลัก แพร่ภาพทางช่องหมายเลข 0 ของบริการโทรทัศน์ผ่านกล่องรับสัญญาณดาวเทียม \"วันสกาย\" ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เปลี่ยนชื่อบริการ และกล่องรับสัญญาณเป็น \"จีเอ็มเอ็มแซต\" ส่วนชื่อช่องรายการเปลี่ยนเป็น \"จีเอ็มเอ็มแซต ฮิตส์\" () จากนั้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน เปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็น \"จีเอ็มเอ็มวัน\" พร้อมเปลี่ยนมาผลิตรายการขึ้นเองทั้งหมด รวมถึงย้ายไปยังช่องหมายเลข 7 ของบริการโทรทัศน์ผ่านกล่องรับสัญญาณดาวเทียมจีเอ็มเอ็มแซต และเริ่มเปิดสัญญาณให้รับชมฟรี (free-to-air) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พร้อมทั้งเพิ่มเนื้อหาใหม่เช่น ละครชุด รายการต่างประเทศ และข่าวบันเทิง พร้อมทั้งเผยแพร่ตราสัญลักษณ์ และคำขวัญของช่องคือ \"ดูทุกที ดีทุกวัน\" แต่เมื่อวันที่ 1 กันยายน ปีเดียวกัน ช่องวันสามารถรับชมได้ ทางบริการโทรทัศน์ผ่านกล่องรับสัญญาณดาวเทียม ของจีเอ็มเอ็มแซตและพีเอสไอ ซึ่งสามารถถอดรหัสสัญญาณบิสส์ (BISS) ได้เท่านั้น", "title": "ช่องวัน" }, { "docid": "973839#1", "text": "เด็กใหม่ ได้ออกอากาศทางโทรทัศน์ 3 รอบด้วยกันรอบแรกออกอากาศทางช่องจีเอ็มเอ็ม 25 ทุกวันพุธเวลา 22.25 - 23.25 น. รอบที่ 2 ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 23.50 - 0.50 น. รอบที่ 3 ออกอากาศทางสถานีเคเบิลทีวีแฟนทีวี ทุกวันเสาร์เวลา 22.27 - 23.27 น. โดยการออกอากาศจะต่างกับช่องจีเอ็มเอ็ม 25 คือจะออกอากาศในตอนสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งจะต่างกับช่องจีเอ็มเอ็ม 25 ที่ออกอากาศตอนเดียวกันที่ออกอากาศในรอบแรก นอกจากนี้มีช่องทางการรับชมทางเน็ตฟลิกซ์ในรูปแบบเวอร์ชัน Uncensor และ Director Uncut แบบรวดเดียวจบ 13 ตอนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน", "title": "เด็กใหม่ Girl from Nowhere" }, { "docid": "754429#1", "text": "ต่อมาในช่วงการเปลี่ยนผ่านสู่ จีเอ็มเอ็มแชนแนล เริ่มมีรายการละครที่ผลิตขึ้นมาใหม่ ออกอากาศทางหน้าจอมากขึ้น โดยได้ จีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือ GTH มาผลิตซีรีส์วัยรุ่นช่วงเวลา 22.15 น. ทุกวันเสาร์ ประเดิมด้วยซีรีส์ ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ซีซั่น 2 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ได้ออกอากาศทางช่องทีวีดิจิตอล (ในซีซั่นแรกออกอากาศทางช่องวัน ในช่วงที่เป็นทีวีดาวเทียม) รวมไปทั้ง เอไทม์มีเดีย ที่ย้ายการออกอากาศ Club Friday The Series มาอยู่ที่นี่ (เดิมเคยออกอากาศที่ช่องดาวเทียม กรีนแชนแนล และช่องวัน ในช่วงแรกของการออกอากาศในระบบดิจิตอล)", "title": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องจีเอ็มเอ็ม 25" }, { "docid": "943407#1", "text": "ทอล์ก-กะ-เทย เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ในชื่อ ทอล์ก-กะ-เทย Tonight ทุกวันอาทิตย์ ทางช่องจีเอ็มเอ็ม 25 โดยเคยออกอากาศซ้ำทางช่องแบงแชนแนล ในวันพฤหัสบดีของสัปดาห์ถัดมา (รีรันตอนแรกวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558) และได้ออกอากาศซ้ำเป็นครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็น 1 สัปดาห์ก่อนที่ช่องแบงแชนแนลจะยุติการออกอากาศ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558)", "title": "ทอล์ก-กะ-เทย" }, { "docid": "45027#1", "text": "ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มออกอากาศวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ออกอากาศตอนสุดท้ายทางช่อง 3 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยมีซิตคอมเรื่องใหม่ชื่อ \"เป็นข่าว\" มาออกอากาศแทน หลังจากที่จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ออกกล่องสัญญาณดาวเทียม \"จีเอ็มเอ็มแซต\" มาขายในช่วงฟุตบอลยูโร มีข่าวออกมาว่าซิตคอมเป็นต่อจะกลับมาฉายอีกครั้งโดยมีเนื้อเรื่องต่อจากตอนเดิมในชื่อเรื่อง \"เป็นต่อ ขั้นเทพ\" เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ทางช่องจีเอ็มเอ็มวัน (ปัจจุบันคือช่องวัน 31) ออกอากาศครั้งสุดท้ายวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556", "title": "เป็นต่อ" }, { "docid": "634021#1", "text": "ช่องนาว ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555 ที่นำเสนอรายการข่าวสาร โดยเอกลักษณ์ของช่องเมื่อครั้งแรกก่อตั้งคือ ข่าวเศรษฐกิจ และการวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน ได้เริ่มทำการทดลองออกอากาศในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557 เนื่องจากต้องการให้ช่อง เนชั่นทีวี เปิดตัวก่อน จึงประกาศเปลี่ยนแปลงวันออกอากาศในวันที่ 2 เมษายนแทนจากเดิม 1 เมษายน แต่ก่อนหน้านี้ได้ออกอากาศในระบบดาวเทียมในชื่อ กรุงเทพธุรกิจทีวี อยู่แล้ว จึงสามารถรับชมได้ในช่องทางดังกล่าวตามปกติ ในชื่อ \"นาว\" โดยช่วงเวลานั้นอัตลักษณ์ที่ปรากฏหน้าจอจะหมุน (Flip) สลับด้านระหว่างคำว่า Now กับ กรุงเทพธุรกิจทีวี จากนั้นต่อมาในช่วงปลายเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2557 จึงได้เติม 26 ลงในอัตลักษณ์สถานี และต่อมาในปี พ.ศ. 2559 ช่องนาวได้ปรับอัตลักษณ์ใหม่เป็นวงกลมสีเขียว มีตัวเลข 26 และตัวอักษร NOW อยู่ที่ด้านล่างของตัวเลข 26 (กรณีใช้แสดงบนหน้าจอ รวมถึงในโฆษณารายการต่างๆ รวมถึงในไตเติ้ลรายการบางรายการ ตัวอักษร NOW จะอยู่ด้านซ้าย ส่วนวงกลมสีเขียวที่ระบุเลข 26 จะอยู่ด้านขวามือ)", "title": "นาว 26" } ]
2342
เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อไหร่ ?
[ { "docid": "2122#6", "text": "ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2186 ที่วูลส์ธอร์พแมนเนอร์ ท้องถิ่นชนบทแห่งหนึ่งในลินคอล์นเชียร์ ตอนที่นิวตันเกิดนั้นประเทศอังกฤษยังไม่ยอมรับปฏิทินเกรกอเรียน ดังนั้นวันเกิดของเขาจึงบันทึกเอาไว้ว่าเป็นวันที่ 25 ธันวาคม 2185 บิดาของนิวตัน (ชื่อเดียวกัน) ซึ่งเป็นชาวนาผู้มั่งคั่งเสียชีวิตก่อนเขาเกิด 3 เดือน เมื่อแรกเกิดนิวตันตัวเล็กมาก เขาเป็นทารกคลอดก่อนกำหนดที่ไม่มีผู้ใดคาดว่าจะรอดชีวิตได้ มารดาของเขาคือ นางฮานนาห์ อายสคัฟ บอกว่าเอานิวตันใส่ในเหยือกควอร์ทยังได้ (ขนาดประมาณ 1.1 ลิตร) เมื่อนิวตันอายุได้ 3 ขวบ มารดาของเขาแต่งงานใหม่กับสาธุคุณบาร์นาบัส สมิธ และได้ทิ้งนิวตันไว้ให้มาร์เกรี อายส์คัฟ ยายของนิวตันเลี้ยง นิวตันไม่ชอบพ่อเลี้ยง และเป็นอริกับมารดาไปด้วยฐานแต่งงานกับเขา ความรู้สึกนี้ปรากฏในงานเขียนสารภาพบาปที่เขาเขียนเมื่ออายุ 19: \"ขอให้พ่อกับแม่สมิธรวมทั้งบ้านของพวกเขาถูกไฟผลาญ\" นิวตันเคยหมั้นครั้งหนึ่งในช่วงปลายวัยรุ่น แต่เขาไม่เคยแต่งงานเลย เพราะอุทิศเวลาทั้งหมดให้กับการศึกษาและการทำงาน", "title": "ไอแซก นิวตัน" }, { "docid": "2122#0", "text": "เซอร์ไอแซก นิวตัน () (25 ธันวาคม ค.ศ. 1641 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1725 ตามปฏิทินจูเลียน) นักฟิสิกส์ นัก คณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยาชาวอังกฤษ​", "title": "ไอแซก นิวตัน" }, { "docid": "617485#0", "text": "ไอแซก นิวตัน (25 ธันวาคม 1642 – 20 มีนาคม 1727) เป็นนักศาสนศาตร์ที่มีความรู้และความเชียวชาญ (ตามความเห็นของบุคคลที่อยู่ในยุคเดียวกัน). เขาเขียนผลงานขึ้นหลายฉบับซึ่งปัจจุบันอาจถูกจัดได้ว่าเป็น การเรียนรู้เกี่ยวกับเวทมนตร์ และ บทความทางด้านศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการตีความคัมภีร์ไบเบิล.", "title": "ความคิดเห็นทางศาสนาของไอแซค นิวตัน" } ]
[ { "docid": "2122#34", "text": "ในช่วงชีวิตของนิวตัน มีการใช้งานปฏิทินอยู่ 2 ชนิดในยุโรป คือ ปฏิทินจูเลียน หรือ'ปฏิทินแบบเก่า' กับ ปฏิทินเกรกอเรียน หรือ 'ปฏิทินแบบใหม่' ซึ่งใช้กันในประเทศยุโรปที่นับถือโรมันคาทอลิก และที่อื่นๆ ตอนที่นิวตันเกิด วันที่ในปฏิทินเกรกอเรียนจะนำหน้าปฏิทินจูเลียนอยู่ 10 วัน ดังนั้น นิวตันจึงเกิดในวันคริสต์มาส หรือ 25 ธันวาคม 2185 ตามปฏิทินจูเลียน แต่เกิดวันที่ 4 มกราคม 2186 ตามปฏิทินเกรกอเรียน เมื่อถึงวันที่เสียชีวิต ปฏิทินทั้งสองมีความแตกต่างกันเพิ่มเป็น 11 วัน นอกจากนี้ ก่อนที่อังกฤษจะรับเอาปฏิทินเกรกอเรียนเข้ามาใช้ในปี พ.ศ. 2295 วันขึ้นปีใหม่ของอังกฤษเริ่มในวันที่ 25 มีนาคม (หรือ 'วันสุภาพสตรี' (Lady Day) ทั้งตามกฎหมายและตามประเพณีท้องถิ่น) มิใช่วันที่ 1 มกราคม หากมิได้มีการระบุไว้เป็นอย่างอื่น วันที่ทั้งหลายที่ปรากฏในบทความนี้จะเป็นวันที่ตามปฏิทินจูเลียน", "title": "ไอแซก นิวตัน" }, { "docid": "2122#33", "text": "อนุสาวรีย์นิวตัน (2274) ตั้งอยู่ในมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ ด้านทิศเหนือของทางเดินสู่เวทีนักร้องของโบสถ์ ใกล้กับที่ฝังศพของเขา ศิลปินผู้แกะสลักคือ ไมเคิล ไรส์แบร็ค (2237-2313) ทำด้วยหินอ่อนสีขาวและเทา ออกแบบโดยสถาปนิก วิลเลียม เคนท์ เป็นรูปปั้นนิวตันกำลังนอนเอนอยู่เหนือหีบศพ ศอกขวาตั้งอยู่บนหนังสือสำคัญหลายเล่มของเขา มือซ้ายชี้ไปยังม้วนหนังสือที่ออกแบบในเชิงคณิตศาสตร์ เหนือร่างเขาเป็นพีระมิดกับโดมท้องฟ้า แสดงสัญลักษณ์จักรราศีและเส้นทางเดินของดาวหางใหญ่แห่งปี 2223 ด้านข้างมียุวเทพกำลังใช้เครื่องมือหลายอย่างเช่นกล้องโทรทรรศน์และปริซึม", "title": "ไอแซก นิวตัน" }, { "docid": "2122#18", "text": "เซอร์ไอแซก นิวตันมีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือพระเจ้าท้ายสระแห่งสมัยกรุงศรีอยุธยา", "title": "ไอแซก นิวตัน" }, { "docid": "387834#0", "text": "Opticks เป็นชื่อหนังสือที่เขียนโดย นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ เซอร์ไอแซก นิวตัน ซึ่งได้ตีพิมพ์ในปี คศ. 1704 มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ออพติก และ การหักเหของแสง ได้รับการพิจารณาว่าเป็นงานที่มีความสำคัญทางวิทยาศาสตร์ หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานชิ้นที่สอง ในด้านฟิสิกส์ของนิวตัน", "title": "Opticks" }, { "docid": "795168#0", "text": "เซอร์ โจเซฟ นอร์แมน ล็อกเยอร์ (; 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1836 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1920) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองรักบี้ หลังเรียนจบจากสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ล็อกเยอร์รับราชการที่สำนักการสงคราม และย้ายไปที่เมืองวิมเบิลดันหลังแต่งงานกับวินิเฟรด เจมส์ ล็อกเยอร์เป็นนักดาราศาสตร์สมัครเล่นที่สนใจในดวงอาทิตย์ ในปี ค.ศ. 1868 เขาพบแถบสีเหลืองในสเปกตรัมใกล้ขอบดวงอาทิตย์ ซึ่งมีความยาวคลื่นประมาณ 588 นาโนเมตร ล็อกเยอร์สันนิษฐานว่าแถบสีเหลืองเกิดจากธาตุชนิดหนึ่ง เขาจึงร่วมกับนักเคมีชาวอังกฤษ เอ็ดเวิร์ด แฟรงค์แลนด์ ตั้งชื่อธาตุนี้ว่า \"ฮีเลียม\" โดยมาจากคำในภาษากรีกโบราณ \"hḗlios\" ที่แปลว่า \"ดวงอาทิตย์\" เมื่อเกิดสุริยุปราคาในปีเดียวกัน ปิแอร์ จองส์ชอง นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาแถบสีเหลืองดังกล่าวและค้นพบธาตุฮีเลียมเช่นกัน ล็อกเยอร์และจองส์ชองจึงถือว่าเป็นผู้ค้นพบธาตุฮีเลียมร่วมกัน", "title": "นอร์แมน ล็อกเยอร์" }, { "docid": "137626#1", "text": "ไวส์เคานท์เซเวิร์นเกิดด้วยการผ่าท้องออกเมื่อเวลา 16.20 นาฬิกา ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศอังกฤษ ของวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ณ โรงพยาบาลฟริมลีย์พาร์ก เมืองฟริมลีย์ มณฑลเซอร์เรย์ เมื่อตอนแรกเกิดมีน้ำหนัก 6 ปอนด์ 2 ออนซ์ (2.8 กิโลกรัม) เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ซึ่งทรงประทับอยู่ด้วยขณะนั้นได้ตรัสว่า \"เงียบสงบกว่าครั้งก่อนมาก\" และพระชายาทรง \"สบายดี\" และพระโอรสก็ \"เหมือนกับทารกทั่วไปที่ตัวเล็ก น่ารักและน่ากอดมาก\" ไวเคานต์เซเวิร์นและพระชนนีเสด็จออกจากโรงพยาบาลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และวันต่อมา ได้มีการประกาศชื่อของไวส์เคานท์เซเวิร์นคือ เจมส์ อเล็กซานเดอร์ ฟิลิป ธีโอ มีพี่สาวคือ เลดีลูอีส วินด์เซอร์พระราชหัตถเลขาที่ออกเมื่อปี พ.ศ. 2460 (และยังคงมีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน) กำหนดให้พระราชอิสริยยศของเจ้าชายและฐานันดรศักดิ์ชั้น \"รอยัลไฮเนส\" เป็นของพระราชนัดดาผ่านสายพระราชโอรสของพระประมุขอังกฤษ ดังนั้นทารกไวส์เคานท์เซเวิร์นจะมีพระอิสริยยศทั้งหมดดังกล่าว และเป็น เจ้าชายเจมส์แห่งเวสเซ็กส์ (His Royal Highness Prince James of Wessex) อย่างไรก็ตาม เมื่อพระชนกและพระชนนีทรงอภิเษกสมรสกัน ได้มีการประกาศตามความประสงค์ว่า พระโอรสและพระธิดาจะมิทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายหรือเจ้าหญิง พร้อมทั้งฐานันดรศักดิ์ชั้น Royal Highness แต่เป็นโอรสและธิดาของเอิร์ลแทน พระโอรสคนโตสุดของเอิร์ลจะได้รับหนึ่งในบรรดาศักดิ์กิตติมศักดิ์รองของบิดาตามประเพณี ดังนั้นเจมส์ วินด์เซอร์จึงมียศเป็น \"ไวส์เคานท์เซเวิร์น\" แม้พระอิสริยยศทางทฤษฎีจะเป็นเจ้าชาย เมื่อทรงบรรลุนิติภาวะแล้วจะทรงสามารถใช้พระอิสริยยศและฐานันดรศักดิ์ของราชวงศ์อย่างเป็นทางการได้ หากประสงค์เช่นนั้น", "title": "เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น" }, { "docid": "580964#1", "text": "นอร์แมนเกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1965 ที่เบลฟาสต์ ไอร์แลนด์เหนือเขาชอบเล่นฟุตบอลตั้งแต่\nเด็กจึงทำให้ฟอร์มไปเข้าตาแมวมองของ อิปสวิชทาวน์ \nคือ เบน ร็อดเจอร์ส แต่พ่อแม่ของนอร์แมนคือนอร์แมน\nซีเนียร์และเอลีนกลับเป็นแฟนบอลของปีศาจแดงทั้งคู่จึง\nสนับสนุนให้ลูกชายเข้าทีมเยาวชนของปีศาจแดงซึ่งผู้ที่พา\nไปคือแมวมองของปีศาจแดงที่ชื่อ จิม บิชอป", "title": "นอร์มัน ไวต์ไซด์" }, { "docid": "335484#4", "text": "สตีฟ โรเจอร์ส ถือกำเนิดในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1917 ที่โลเวอร์อีสท์ไซด์ของแมนฮัตตัน ในนิวยอร์ก โดยมีพ่อแม่เป็นชาวไอร์แลนด์ที่อพยพเข้าเมือง ซึ่งมีชื่อว่าซาร่าห์ กับโจเซฟ โรเจอร์ส โจเซฟ โรเจอร์สเสียชีวิตลง โดยที่เหลือเพียงสตีฟซึ่งเป็นบุตรเพียงคนเดียวของซาร่าห์ผู้เป็นมารดา จากนั้นในภายหลัง ซาร่าห์ก็ได้เสียชีวิตลงด้วยโรคปอดบวมในช่วงที่สตีฟอยู่ในวัยหนุ่ม ในช่วงต้นยุค 1940 ก่อนที่อเมริกาจะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง โรเจอร์สเป็นผู้มีร่างกายสูงแต่ผอมบาง เขาเป็นนักเรียนด้านวิจิตรศิลป์ผู้เชี่ยวชาญภาพประกอบ จากเหตุการณ์ที่คุกคามโดยจักรวรรดิไรช์ที่สามนี้ โรเจอร์สได้พยายามที่จะเข้าร่วมเกณฑ์ เพียงเพื่อต้องการที่จะปฏิเสธความยากจน เนื่องด้วยพลเอกเชสเตอร์ ฟีลิปส์แห่งกองทัพสหรัฐกำลังมองหาการทดสอบอยู่พอดี โรเจอส์จึงมีโอกาสที่จะรับใช้ประเทศชาติด้วยการมีส่วนร่วมในโครงการป้องกันความลับสุดยอด โอเปอร์เรชั่น: รีเบิร์ธ หรือโครงการการเกิดใหม่จึงได้เกิดขึ้น ซึ่งได้มีความพยายามในการพัฒนาด้านการสร้างซูเปอร์โซลเยอร์ที่มีความแข็งแกร่งทางด้านร่างกายอย่างแท้จริง โรเจอร์สอาสาเข้ารับการทดสอบ และภายหลังจากการคัดเลือกอย่างเข้มงวด เขาก็ได้รับเลือกให้เป็นมนุษย์คนแรกที่ได้รับเซรุ่มเพื่อเป็นซูเปอร์โซลเยอร์จากนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อว่า ดร.โจเซฟ ไรน์สไตน์ ซึ่งในภายหลังเขาได้เปลี่ยนชื่อรหัสของนักวิทยาศาสตร์มาเป็น อับราฮัม เออร์สไคน์", "title": "กัปตันอเมริกา" } ]
927
รัชนก อินทนนท์ สังกัดสโมสรอะไร?
[ { "docid": "467087#1", "text": "ปัจจุบัน รัชนกสังกัดสโมสรโรงเรียนแบดมินตันบ้านทองหยอด และแข่งขันในนามสโมสรชิงเต่าในลีกระดับโลกที่ประเทศจีน ตั้งแต่ปี 2555 โดยเซ็นสัญญาแบบปีต่อปี[2]", "title": "รัชนก อินทนนท์" } ]
[ { "docid": "467087#24", "text": "พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 5 เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ (บ.ภ.)[40] พ.ศ. 2556 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 3 ตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.)[41] พ.ศ. 2559 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 2 ทุติยดิเรกคุณาภรณ์ (ท.ภ.)[42]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#13", "text": "ปี พ.ศ. 2555 รัชนกสามารถทำผลงาน ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศได้ในรายการ ไทยแลนด์ โอเพ่น กรังด์ปรีซ์ โกลด์ ก่อนที่จะพ่ายต่อไซน่า เนห์วาล ไป 1-2 เซต ทำให้ได้เพียงอันดับสอง ต่อมาในเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน รัชนกได้รับสิทธิ์เข้าแข่งขันโอลิมปิก 2012 ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เป็นครั้งแรก ในฐานะมือวางอันดับ 11 ของโลก[20] โดยเธอสามารถผ่านรอบแรกไปได้ และสามารถเอาชนะจูเลียน เชงค์ จากเยอรมันไปได้ในรอบ 16 คนสุดท้าย[21] ก่อนที่จะแพ้หวัง ซิน จากจีนในรอบ 8 คนสุดท้ายไป 1-2 เซต[22]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "765524#4", "text": "18 เมษายน – รัชนก อินทนนท์ ได้เป็นนักแบดมินตันหญิงเดี่ยวมือหนึ่งของโลกคนแรกของประเทศไทย", "title": "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2559" }, { "docid": "467087#9", "text": "อนึ่ง ในระดับเยาวชน รัชนกยังทำผลงานได้ดีอย่างต่อเนื่อง ด้วยการคว้าเหรียญทอง ประเภทหญิงเดี่ยว รายการแบดมินตันเยาวชนชิงแชมป์โลก ได้เป็นสมัยที่ 2 ติดต่อกัน[17] ส่วนในการแข่งขันแบดมินตันชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2553 รัชนกเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ ก่อนจะพ่ายต่อสลักจิต พลสนะ 21-14 21-15[18]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "348345#1", "text": "นอกจากนี้ ภัททพลยังเป็นผู้ฝึกสอนแบดมินตันให้แก่รัชนก อินทนนท์ และณริฎษาพัชร แลม", "title": "ภัททพล เงินศรีสุข" }, { "docid": "467087#21", "text": "รายการระดับ ซูเปอร์ ซีรีส์ พรีเมียร์ และซูเปอร์ ซีรีส์ รายการระดับ กรังด์ปรีซ์ โกลด์ และกรังด์ปรีซ์", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#25", "text": "หมวดหมู่:นักแบดมินตันโอลิมปิกทีมชาติไทย หมวดหมู่:นักแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี หมวดหมู่:บุคคลจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดร้อยเอ็ด หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดยโสธร หมวดหมู่:นักกีฬาจากกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:นักกีฬาทีมชาติไทย หมวดหมู่:นักแบดมินตันชาวไทย หมวดหมู่:แชมป์แบดมินตันแห่งประเทศไทย หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวไทย หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.ภ. หมวดหมู่:นักแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#16", "text": "วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2556 รัชนก อินทนนท์ สามารถคว้าแชมป์การแข่งขันแบดมินตันโลกได้สำเร็จเป็นคนแรกของประเทศไทย และเป็นแชมป์โลกแบดมินตันที่มีอายุน้อยที่สุด รวมถึงในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556 รัชนก อินทนนท์ ได้ขึ้นมาอยู่ในอันดับ 2 ของโลก จากการจัดอันดับของสหพันธ์แบดมินตันโลก[27]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#8", "text": "ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน รัชนกเข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 16 ในนามทีมชาติไทย และได้รับรางวัลเหรียญเงิน ในประเภททีมหญิง โดยในรอบชิงชนะเลิศ เธอลงแข่งขันในฐานะเดี่ยวมือ 1 และพ่ายให้กับหวัง ซิน นักแบดมินตันมือ 1 ของโลกในสมัยนั้นไปอย่างสูสี 1-2 เกม 22-20 17-21 14-21[16]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#6", "text": "ในระดับเยาวชน รัชนกลงแข่งขัน รายการ บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์จูเนียร์แชมเชียนชิพ หรือเยาวชนชิงชนะเลิศแห่งโลก เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2551 โดยเข้าถึงรอบ 8 คนสุดท้าย ก่อนที่จะพ่ายให้กับหวัง ซื่อเสียน จากสาธารณรัฐประชาชนจีน ปีต่อมา พ.ศ. 2552 รัชนกลงแข่งขันในรายการนี้อีกครั้ง และได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง เป็นครั้งแรก ด้วยการเอาชนะพรทิพย์ บูรณะประเสริฐสุข รุ่นพี่ทีมชาติไทย ในรอบชิงชนะเลิศ โดยเธอถือเป็นนักแบดมินตันหญิงเดี่ยวที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ รวมถึงเป็นนักแบดมินตันไทยคนแรก ที่ได้รับตำแหน่งนี้[13]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#22", "text": "WFSFQF#RAN/ANH", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#4", "text": "รัชนกสำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมตอนต้นจากโรงเรียนกสิณธรอาคาเดมี่[10] มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี และระดับอุดมศึกษาที่คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#3", "text": "รัชนกเริ่มเล่นกีฬาแบดมินตัน เมื่ออายุได้ 6 ปี เนื่องจากกมลา ทองกร เกรงว่ารัชนกจะวิ่งเล่นซุกซนภายในโรงงานจนเกิดอุบัติเหตุได้ จึงได้นำเธอมาหัดเล่นแบดมินตันตั้งแต่บัดนั้น หนึ่งปีต่อมาเธอได้ลงแข่งขันเป็นครั้งแรก ในรายการอุดรธานี โอเพ่น และได้รับรางวัลชนะเลิศเป็นครั้งแรก", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "76151#12", "text": "ศูนย์บริการข้อมูลนกอินทนนท์ (ร้านลุงแดง) ตั้งอยู่กิโลเมตรที่ 31 หน่วยจัดการต้นน้ำแม่กลาง ให้บริการด้านข้อมูลนกในดอยอินทนนท์ เช่น สมุดบันทึกการพบนกในดอยอินทนนท์ ภาพวาดลายเส้นของนักดูนกท่านต่างๆแผนที่เส้นทางดูนกดอยอินทนนท์ ภาพถ่าย สไลด์เกี่ยวกับนก ฯลฯ ให้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ", "title": "อำเภอจอมทอง" }, { "docid": "467087#5", "text": "ปี พ.ศ. 2550 ด้วยวัยเพียง 12 ปี รัชนกลงแข่งขัน รายการแบดมินตันชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยเป็นครั้งแรก และได้รับเหรียญทองแดง ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 เธอได้รับเหรียญเงิน[11] และปี พ.ศ. 2552 เธอได้รับเหรียญทองเป็นครั้งแรก โดยเอาชนะสลักจิต พลสนะ อดีตแชมป์ประเทศไทย ได้ในรองรอบชนะเลิศ และเอาชนะทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ได้ในรอบชิงชนะเลิศ[12]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#17", "text": "รัชนกเป็นนักแบตมินตันคนแรกของโลกที่สามารถคว้าแชมป์ซูเปอร์ซีรีส์สามรายการติดต่อกันใน 3 สัปดาห์ ที่ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย และสิงคโปร์ ซึ่งยังไม่เคยมีใครทำได้มาก่อน และทำคะแนนสะสมขึ้นนำเป็นนักแบตมินตันหญิงมือ 1 ของโลกประเภทหญิงเดี่ยว[28] โดยอันดับล่าสุด ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2559 รัชนกอยู่ในอันดับที่ 3 ของโลก", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#12", "text": "ในส่วนของผลงานรายการเก็บคะแนนสะสมในรอบปี รัชนกทำผลงานได้ดีที่สุด ด้วยการคว้าแชมป์ในรายการ อินเดีย โอเพ่น กรังด์ปรีซ์โกลด์ ในเดือนธันวาคม", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#14", "text": "หลังจากนั้น รัชนกสามารถทำผลงานได้ดีอีกครั้ง ด้วยการผ่านเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศ รายการไชน่า โอเพ่น ซูเปอร์ ซีรีส์ พรีเมียร์ ก่อนที่จะพ่ายแก่หลี่ เสี่ยวเล่ย มืออันดับ 1 ของโลก ไป 0-2 เซต ได้เพียงอันดับ 2[23] แต่นั่นก็เพียงพอทำให้รัชนก ได้สิทธิ์ไปแข่งขันรายการซูเปอร์ ซีรีส์ สุดท้ายของปี ที่จะให้สิทธิ์สำหรับนักแบดมินตัน 8 อันดับแรกที่ทำคะแนนสะสมสูงสุดในรอบปี โดยในรายการสุดท้ายนี้ รัชนกสามารถเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ ก่อนจะพ่ายต่อหวัง ฉีเซียน จากจีน ไป 0-2 เซต 12-21 19-21[24]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "546171#4", "text": "เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 บุศนันทน์เข้าแข่งขันศึกสวิสโอเพน 2013 และในเดือนมิถุนายนของปีเดียวกันนี้ บุศนันทน์เข้าแข่งขันเอสซีจี ไทยแลนด์ โอเพ่น แบดมินตัน แชมเปี้ยนชิพ 2013 ประเภทหญิงเดี่ยวในฐานะมือวางอันดับ 7 ของรายการ และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ โดยเป็นฝ่ายแพ้ต่อรัชนก อินทนนท์ ที่ 2-1 เกม", "title": "บุศนันทน์ อึ๊งบำรุงพันธุ์" }, { "docid": "467087#2", "text": "รัชนก อินทนนท์เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ที่จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นบุตรของวินัสชัย อินทนนท์ และคำผัน สุวรรณศาลา มีน้องชาย 1 คนคือ รัชพล อินทนนท์ เมื่ออายุ 3 เดือน รัชนกย้ายเข้ากรุงเทพมหานครตามบิดาและมารดา ซึ่งมาทำงานที่โรงงานทำขนมบ้านทองหยอด และได้ใช้ชีวิตอยู่ที่นั่น นับแต่นั้น[8] รัชนกยังมีกมลา ทองกร เจ้าของโรงงานบ้านทองหยอด เป็นมารดาบุญธรรมอีกด้วย[9]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#0", "text": "รัชนก อินทนนท์ ชื่อเล่น เมย์ (เกิด 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เป็นนักกีฬาแบดมินตันหญิงชาวไทย อดีตนักแบดมินตันหญิงเดี่ยวมือหนึ่งของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2559 และเป็นคนไทยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าว โดยก่อนหน้านั้นในปี 2556 เธอได้คว้าแชมป์โลกและสร้างสถิติเป็นแชมป์โลกแบดมินตันอายุน้อยที่สุด[7]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2553 รัชนกเริ่มก้าวเข้าสู่การแข่งขันในระดับทั่วไปในรายการที่ใหญ่ขึ้น และสามารถทำผลงานได้ดีในหลายรายการ ในเดือนตุลาคม ด้วยวัย 15 ปี รัชนกสามารถคว้าแชมป์แรกในระดับกรังด์ปรีซ์ และกรังด์ปรีซ์ โกลด์ ให้กับตัวเอง ได้ที่ประเทศเวียดนาม และอินโดนีเซียตามลำดับ[14][15] และในรอบปีนั้น ยังทำผลงาน เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศได้ในรายการไชน่า ซูเปอร์ซีรีส์ พรีเมียร์, ฮ่องกง ซูเปอร์ซีรีส์, ไชนีส ไทเป กรังด์ปรีซ์โกลด์ และโคเรีย กรังด์ปรีซ์โกลด์", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#15", "text": "วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 รัชนกสร้างสถิติโลกใหม่เป็นนักแบดมินตันที่อายุน้อยที่สุดที่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ในวัยเพียง 18 ปี หลังคว้าแชมป์ \"โยเน็กซ์ ซันไรส์ อินเดีย โอเพ่น\"[25] และในวันที่ 20 มิถุนายน สหพันธ์แบดมินตันโลก (บีดับเบิลยูเอฟ) ประกาศการจัดอันดับนักแบดมินตันโลก รัชนก อินทนนท์ ขยับขึ้นจากอันดับ 5 ไปเป็นมือ 3 โลก ในประเภทหญิงเดี่ยว[26]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#19", "text": "รายการ2009 2010 2011 แบดมินตันเยาวชนชิงแชมป์โลกGoldGoldGold", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#18", "text": "รายการ2013 แบดมินตันชิงแชมป์โลกGold", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "467087#10", "text": "ในปี พ.ศ. 2554 รัชนกเป็นนักแบดมินตันที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในรายการ บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์จูเนียร์แชมเชียนชิพ ด้วยการสร้างประวัติศาสตร์ คว้าแชมป์เยาวชนชิงชนะเลิศแห่งโลก ได้เป็นสมัยที่ 3 ติดต่อกัน เป็นคนแรกในประวัติศาสตร์แบดมินตันโลก[19]", "title": "รัชนก อินทนนท์" }, { "docid": "528551#5", "text": "เมื่ออายุ 9 ปี อรเณศ ดีคาบาเลส ยังเคยเล่นแบดมินตันกับรัชนก อินทนนท์ มาแล้วครั้งหนึ่ง รวมถึงเธอยังมีนักแบดมินตันที่ชื่นชอบและเป็นต้นแบบคือ ซู หลิน", "title": "อรเณศ ดีคาบาเลส" }, { "docid": "7605#94", "text": "พิชิตพงษ์ เฉยฉิว นักฟุตบอลทีมชาติไทย ปิยะชาติ ถามะพันธ์ นักฟุตบอลทีมชาติไทย เมย์ รัชนก อินทนนท์ นักแบดมินตันหญิง ไทยแลนด์ คำทอง ผู้นำเชียร์กีฬาทีมชาติไทย", "title": "จังหวัดยโสธร" }, { "docid": "467087#11", "text": "เดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน รัชนกเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2011 ในฐานะผู้เล่นทีมชาติไทย โดยลงแข่งขันทั้งในประเภทหญิงเดี่ยว และในประเภททีมหญิง ซึ่งรัชนกสามารถคว้ามาได้ 1 เหรียญทอง และ 1 เหรียญทองแดง จากประเภททีมหญิง และหญิงเดี่ยว ตามลำดับ", "title": "รัชนก อินทนนท์" } ]
3572
พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ ตั้งอยู่ที่ใด ?
[ { "docid": "633536#2", "text": "ในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิก สร้างขึ้นภายในสนามบินนานาชาติฮอนาลูลู หลังจากการกดดันจากหอการค้าฮาวาย เพื่อให้สร้างพิพิธภัณฑ์การบินในฮาวาย ให้สำเร็จ[2] ในเฟสแรกของการเปิดพิพิธภัณฑ์ใน ค.ศ. 1991 โดย Frank Der Yuen.[2] ภายใต้ความคิดที่การเปิดพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพื่อฉลองการครบรอบชัยชนะเหนือญี่ปุ่น ในค.ศ.1995[3] หลังจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พิพิธภัณฑ์อากาศยานแปซิฟิกถูกระงับการปิดให้บริการโดยรัฐและถูกเคลื่อนย้ายไปในสองปีต่อมา[2] บางส่วนของส่วนจัดแสดงนำกลับมาโดยมูลนิธิพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิก ซึ่งรับผิดชอบในรายการด้านการศึกษาและทุนการศึกษาอีกด้วย[2]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" } ]
[ { "docid": "633536#19", "text": "ในระหว่างปัญหาการระงับใช้งบประมาณปี 2013 ในสหรัฐ ทางพิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ได้ต้อนรับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เนื่องจากการจำกัดจำนวนเที่ยวเรือเฟอร์รี่ ที่จะเดินทางไป อนุสรณ์สถานUSS Arizona ซึ่งดำเนินการโดยกองทัพเรื่อสหรัฐ[43] เนื่องจสกเกาฟอร์ดยังเป็นส่วนหนึ่งของกองที่ทำการกองทัพJoint Base Pearl Harbor-Hickam ที่ยังทำการอยู่ นักท่องเที่ยวจึงต้องผ่าน กองบริการอุทยานแห่งชาติ ท่าเรื่อHalawa ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่ออุทยานประวัติศาสตร์เพิร์ล ฮาร์เบอร์ โดยต้องซื้อบัตรเข้าชมแล้วจึงเดินทางโดยรถบัสท่องเที่ยวไปยังพิพิธภัณฑ์และเรื่อ USS Missouri ได้[44]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#20", "text": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ล ฮาร์เบอร์ติดอันดับ 8 สุดยอดสถานที่การบินดึงดูดใจที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยTripAdvisor.[45] ในปี ค.ศ.2007 พิพิธภัณฑ์ได้รับรางวัลการอนุรักษ์จากมูลนิธิประวัติศาสตร์ฮาวาย จาก\"โครงการพิเศษในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูอาคาร วัตถุ สถานที่ หรือบริิเวณทางประวัติศาสตร์\" ในการพัฒนาพื้นที่ Hangar 37[46]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#13", "text": "ในปี ค.ศ.2008 Hawaii Pacific University ได้มีการพัฒนาภาพยนตร์สารคดีความยาว 12 นาทีในชื่อ East, Wind, Rain ที่ใช้แทนภาพยนตร์ชุดเก่าเพื่อฉายให้แก่ผู้เข้าชมพิพธภัณฑ์[35] ภาพยนตร์อธิบายถึงการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ อันน่าประหลาดใจให้กับผู้ชมและ ยังชนะรางวัลปี 2010 Pixie Gold Award จากสมาคม American Pixel Academy.[36]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#7", "text": "ในปี ประธานผู้บริหารของพิพิธภัณฑ์ McDonalds Fred L. Turner สนันสนุนให้บูรณะเครื่องบิน Douglas SBD Dauntless.[27] และจัดแสดงเครื่องบิน Boeing N2S-3 Stearman ที่ประธานาธิบดี George H.W. Bush ใช้ในการฝึกบินและใช้ในการบินเดี่ยวครั้งแรกไว้ในส่วนจัดแสดง[28]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#10", "text": "ในวันที่ 11 เมษายน2013 ซากเครื่องบินทิ้งระเบิด B-17 bomber มาถึงพิพิธภัณฑ์การบินแปซิซิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ซึ่งเป็นเวลาเกือบ70 ปีหลังจากรอดจากการโจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์[32] การเก็บรักษาคาดว่าต้องใช้เงินประมาณ $5,000,000 ดอลลาร์[32] เครื่องบินถูกเรียกว่า\"Swamp Ghost\", ซึ่งคาดการณ์ว่าบินจากHickam Field ในวันที่ 7 ธันวาคม1941 แต่ล่าช้าไปเนื่องจากเครื่องยนต์ขัดข้องถึงสองครั้ง จึงรอดจากการโจมตีดังกล่าว[32] หลังจากนั้นมันได้ใช้ิ้ในการทิ้งระเบิดที่ราบวลในวันที่ 22 กุมภาพันธ์1942 โดยหลังการทิ้งระเบิดเครื่องบินถูกโจมตีโดยเครื่องบินจู่โจมญี่ปุ่น 9 ลำแต่สามารถบินกลับฐานได้ ทั้งที่ใบพัดไม่หมุนและตกลงในหนองน้ำ[32][33] ยาวนานถึง 64 ปี ชื่อเล่นนี้เองจึงถูกนำไปใช้ เครื่องช่วยนำทาง[32] มันถูกค้นพบโดย National Geographic ในปี 1992 และความพยายามหลายครั้งในการกู้ซากแต่ไม่ประสบความสำเร็จจนกระทั่งปี 2006 และกลับมายังสหรัฐอเมริกา ในปี 2010.[32] และมันถูกซื้อคืนมาโดยพิพิธภัณฑ์ในปี 2011ซึ่งเป็นแยกส่วนมาทั้งหมด 7 ชิ้นและปัจจุบันยังคงอยู่ภายนอกโรงจอด Hangar 79.[32][33]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#15", "text": "ในเดือนมีนาคม 2013 บริการขายตั๋วออนไลน์ถูกแฮกค์ข้อมูล แต่ทางบริษัทผู้ให้บริการของพิพิธภัณฑ์เชื่อว่้่าิไม่มีข้อมูลของลูกค้าที่ถูกแฮกค์ไป[38]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "342495#3", "text": "อยู่บนชั้นบนสุดของพิพิธภัณฑ์ โดยขึ้นบันไดเลื่อนตรงสุดปลายทางอุโมงค์ถ้ำทะเล ซึ่งวงแหวนไฟ (Ring of Fire) คือ บริเวณโดยรอบมหาสมุทรแปซิฟิกที่ยังมีการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็ยังเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตจำนวนมาก ที่เปรียบเสมือน วงแหวนแห่งชีวิต (Ring of Life) โดยมีแนวความคิดว่า โลกที่มีแผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทุกับสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่อาศัยอยู่บนโลกเป็นระบบสิ่งมีชีวิตหนึ่งที่ต่างก็เกื้อกูลซึ่งกันและกัน\nเป็นบ่อที่มีน้ำจำนวนกว่า 5,400 ตัน ในระดับความลึก 9 เมตร ซึ่งลดหลั่นจากชั้นบนสุดลงมาเรื่อย ๆ ภายในมีปลาขนาดใหญ่ อาทิ ปลาฉลามวาฬ, ปลากระเบนแมนตา และอีกด้านหนึ่งของเส้นทางเป็นบ่อจำลองสภาพแวดล้อม 10 บริเวณ ที่ตั้งอยู่บนวงแหวนแห่งไฟที่อยู่ล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก อาทิ ป่าญี่ปุ่น, ทิวเกาะอะลิวเทียน, อ่าวมอนเทอร์เรย์, ขั้วโลกใต้, ทะเลทัสมัน และ เกรท แบริเออร์ รีฟ ซึ่งในนี้มีสิ่งมีชีวิตน้อยใหญ่อาศัยอยู่มากมาย และส่วนหนึ่งมีให้ชมกันในพิพิธภัณฑ์นี้ อาทิ นาก, นากทะเล, สิงโตทะเลแคลิฟอร์เนีย, แมวน้ำ, นกเพนกวินจักรพรรดิ, โลมาขาวแปซิฟิก, ปลาผีเสื้อ, หมึกยักษ์ และปูแมงมุม รวมแล้วที่นี่มีตัวอย่างสัตว์ให้ชมถึง 580 ชนิด ในจำนวนกว่า 30,000 ตัว", "title": "พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำไคยูกัง" }, { "docid": "633536#17", "text": "ในปี ค.ศ. 2008 พิพิธภัณฑ์ได้รับความเห็นชอบจาก BAE Systems ในการจัดหาทุนในโปรแกรม Barnstorming เพื่อ สร้างอุโมงค์ลมและเครื่องบินจำลองเพื่อให้ความรู้ในเรื่องความรู้ด้านบรรยากาศแก่นักเรียนในเกรด 6 โรงเรียนในท้องถิ่น[41] ในปี ค.ศ. 2012 โปรแกรม Barnstorming ได้สอนให้แก่นักเรียนมากกว่า 3,500 คนใน 40 โรงเรียน[41]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#21", "text": "Onizuka Space Center List of aerospace museums List of museums in Hawaii", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "165967#0", "text": "เพิร์ลฮาร์เบอร์ () คือท่าเรือที่ใช้สำหรับให้เรือขนาดใหญ่หลบลมพายุต่างๆ ตั้งอยู่บนเกาะโอวาฮู, รัฐฮาวาย ทางตะวันตกของโฮโนลูลู ส่วนมากของพื้นที่บริเวณท่าเรือจะล้อมรอบไปด้วยฐานทัพเรือน้ำลึกของสหรัฐอเมริกา และเป็นสำนักงานใหญ่ของกองเรือแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกาที่นี้เป็นที่รู้จักในเหตุการณ์โจมตีที่ท่าเรือเพิร์ลโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เป็นจุดเริ่มต้นของการเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สองของสหรัฐอเมริกา", "title": "เพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "148722#42", "text": "ยุทธนาวีมิดเวย์ เป็นยุทธนาวีที่สำคัญที่สุดในแนวรบด้านมหาสมุทรแปซิฟิก[18][19][20] ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 4 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2485 ประมาณหนึ่งเดือนหลังยุทธนาวีทะเลคอรัล และประมาณหกเดือนหลังจากญี่ปุ่นโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาได้รับชัยชนะอย่างขาดลอย จากการต่อต้านการโจมตีของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่มิดเวย์อะทอลล์ และเป็นการคาดโทษ ความเสียหายที่ไม่อาจแก้ไขได้ของกองเรือรบญี่ปุ่น จอห์น คีแกนได้เรียกมันว่า\"ที่สุดของความประหลาดใจและเด็ดเดี่ยวอย่างคาดไม่ถึง ในประวัติศาสตร์ของการทำสงครามกองทัพเรือ\" ยุทธนาวีนี้เคยเป็นการพ่ายแพ้ที่เลวร้ายที่สุดของกองทัพเรือญี่ปุ่นในระยะ 350 หลา", "title": "สงครามแปซิฟิก" }, { "docid": "633536#9", "text": "เครื่องบินญี่ปุ่น A6M2-21 Zero ซึ่งเป็นรุ่นเดียวกับเครื่องบินที่ใช้ในการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ที่ถูกกู้ขึ้นมาในปี1968 และเก็บรักษาใช้สามารถใช้บินได้จริง ในปี 1985.[1] แต่เดิมมันบินจากกลุ่มเครื่องบินญี่ปุ่น 201 จากหมู่เกาะโซโลมอน[28] และขายให้กับ Confederate Air Force เพื่อใช้แสดงทางการบินและต่อมาก็ขายให้กับทางพิพิธภัณฑ์ในปี 2006[1]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#22", "text": "หมวดหมู่:Aerospace museums in Hawaii หมวดหมู่:World War II museums in Hawaii หมวดหมู่:Museums in Honolulu, Hawaii หมวดหมู่:Attack on Pearl Harbor หมวดหมู่:Smithsonian Institution affiliates หมวดหมู่:Museums established in 2006", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#6", "text": "โรงจอด Hangar 37เป็นโรงจอดเครื่องบินน้ำ ซึ่งเป็นหนึ่งที่เหลือรอดจากการโจมตีท่าเรื่อเพิร์ล ฮาร์เบอร์ และเป็นโรงจอดแรกที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นพิพิธภัณฑ์ [22] พื้นที่ 7.25 เอเคอร์ (2.93 เฮกเตอร์) ประกอบไปด้วย 9 ส่วนจัดแสดง, 1โรงภาพยนตร์, เครื่องบังคับการจำลองการบิน, 1ร้านที่ระลึกและภัตราคาร[12] งบประมาณนการปรับปรุงพื้นที่เป็นเงินถึง $11,000,000 ดอลลาร์และได้เพิ่มขึ้นจากรัฐบาลสนับสนุนและ ผ่านทางการบริจาคจากหน่วยงานในชุมชน [12] ก่อสร้างเมื่อปี1939 และโรงจอด Hangar 79,พื้นที่ 87,000 ตารางฟุด (8,100ตารางเมตร) ได้รับการบูรณะให้คงเป็นโรงจอดแต่ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงมากมายและรวมถึง ส่วนจัดแสดง เครื่องบินflying tigers ส่วนจัดแสดง เครื่องบินMiG Alley เฮลิคอปเตอร์ เครื่องบินและอากาศยานที่ใช้ทางราชการ[23][24][25] ห้องกระจกในโรงจอดยังคงจัดแสดงหลุมระเบิดจากเครื่องบินญี่ปุ่นจากการโจมตีในวันนั้น[25] มูลนิธิTawani Foundation บริจาค $82,500 ดอลลาร์ในการปรับปรุงโรงจอด Hangar 79.[26]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#8", "text": "ซากเครื่องบิน Japanese A6M2 Zero \"B11-120\" ซึ่งบินโดยพลทหารอากาศ Shigenori Nishikaichi ซึ่งบินจาก เรือบรรทุกเครื่องบินHiryu ซึ่ง บินตกที่เกาะ Ni'ihau หลังจากการโจมตีระรอกที่สองของการโจมตีท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร ยังคงเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์[29] ซึ่งมีการแสดงซากเดิมหลังการตก[30] ยังคงเหลือรถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการขุดคูดินโดยรอบที่ใช้ป้องกันการลงจอด [29] คูดินนี้ถูกขุดขึ้นหลังจากที่เกาะได้รับการแจ้งเตือนว่าญี่ปุ่นมีแผนจะใช้เกาะเป็นฐานปฏิบัติการ[31]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#5", "text": "เนื่องจากเป็นสถานที่ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่แรกที่มีการแจ้งเตือนทางวิทยุของ โจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์attack on Pearl Harbor พิพิธภัณฑ์วางแผนในการใช้งบ $7,500,000 ดอลลาร์ ในการซ่อมแซมหอบังคับการบนเกาะฟอร์ด[16] ซึ่งถูกลงทะเบียนเป็นสิ่งก่อสร้างประเภท 1 แผนอนุรักษ์ฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ใน ค.ศ. 1978 และภายใต้การซ่อมแซมของบริษัท Kiewit Building Group ซึ่งเซ็นต์สัญญารับผิดชอบการสร้างอาคารของพิพิธภัณฑ์ด้วยเช่นกัน[16] หอบังคับการอายุ 70 ปีและสูง 158 feet (48m) ซึ่งทรุดโทรมจากบันไดเหล็กและลานจอดเครื่องบินที่ขึ้นสนิมซึ่งต้องซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่[17] หลังจากความเห็นชอบจากกระทรวงกลาโหมสหรัฐเพื่อเก็บรักษาและคงเหลือสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ไว้จึงได้มอบทุนแก่พิพิธภัณฑ์จำนวน$3,800,000 ดอลลาร์เพื่อเป็นทุนในขั้นต้นในการเริ่มโครงการ[18] หอบังคับการรวมถึงทางวิ่งเครื่องบินได้รับเลือกให้เป็นโบราณสถานแห่งชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964[19] ในปี 2010 จากข้อมูลของสภาคองเกส ว่ากระทรวงกลาโหมได้บริจาคเงินเกือบ$449,000 ดอลลาร์เพื่อเพิ่มเงินทุนในการอนุรักษ์หอคอยดังกล่าว[20] โดยมีเสนอมติโดยวุฒิสมาชิกInouye และทำให้มีผู้เห็นชอบมากมายร่วมบริจาค [20] หอบังคับการยังเป็นสถานที่ประกอบในภาพยนตร์เรื่องTora! Tora! Tora! และPearl Harbor.[21]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#3", "text": "ก่อนการเสร็จสมบูรณ์ของ สะพานAdmiral Clarey Bridge ในปี ค.ศ.1998 การเข้าสู่เกาะฟอร์ด ทั้งผู้ที่อาศัยและนักท่องเที่ยวต้องเข้าผ่านทางเรือเฟอร์รี่เท่านั้น[3] วุฒิสมาชิก Inouye เสนอให้มี \"การฟื้้นคืนชีพ\" เกาะฟอร์ดโดยใช้งบประมาณ $500,000,000 ดอลล่าส์ผ่านทางกฏหมายพิเศษ 2814 U. S. Code[4] เพื่อให้สิทธิแก่กองทัพเรืิอในการขายที่ดินเพื่อเป็นกองทุนในการฟื้นฟู [5][6][7] ในพื้นที่ประกอบด้วยบ้านพักอาศัยใหม่ของบุคลากรของกองทัพเรือจำนวน 500 หลัง ศูนย์พัฒนาเด็กแห่งใหม่ เรื่องรับรองกองทัพเรือใหม่ และ พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ล ฮาร์เบอร์[6][7] แต่เดิมพิพิธภัณฑ์ถูกเรียกว่า พิพิธภัณฑ์การบินกองทัพแห่งมหาสมุทรแปซิฟิก[7] มูลนิธิระดมทุนเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม $46 million จากหลายแหล่ง ทั้งจาก US รัฐแห่งฮาวาย รัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา และงานราตรีระดมทุนต่างๆ[7][8] ทั้งได้รับการสนับสนุนจาก US นักบินอวกาศกัปตัน Walter Schirra.[7] ในขณะที่เป็นผู้บริหารของSan Diego Air & Space Museum, อลัน ปาล์มเมอร์ถูกจ้างโดยกองทัพอากาศสหรัฐ ให้เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้เกี่่ยวกับพิพิธภัณฑ์การบิน และหลังจากนั้นถูกแต่งตั้งให้เป็นประธานบริหารของพิพิธภัณฑ์ในเวลาต่อมา[3][9][10]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "97836#2", "text": "พลเรือเอกอิโซโรกุ ยามาโมโตะ เป็นผู้บัญชาการในปีแรกสำหรับการวางแผนในสงครามหลัก เช่น การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ยุทธนาวีที่มิดเวย์ เขาเป็นนายพลเรือหัวก้าวหน้าผู้โด่งดัง ที่สนันสนุนแนวทางพัฒนาศักยภาพกองทัพเรือโดยการพัฒนาการบิน มากกว่าการต่อเรือรบขนาดใหญ่ ยามาโมโตะไม่เห็นด้วยกับการทำสงครามกับสหรัฐและอังกฤษ จนถูกปองร้ายจากคนในกองทัพ แต่ก็เป็นผู้ที่มีส่วนร่วมสำคัญในการวางแผนการโจมตีอ่าวเพิร์ล เขายังเป็นผู้บัญชาการสูงสุดกองเรือสหพันธ์ตลอดห้วงระยะเวลารุนรานแปซิฟิกใต้ และเป็นผู้นำการรบที่ยุทธนาวีมิดเวย์จนพ่ายแพ้ยับเยิน หลังจากความพ่ายแพ้ที่มิดเวย์ และกัวดัลคะแนล ยามาโมโตะเสียชีวิตระหว่างเดินทางไปให้กำลังใจทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน เมื่อเครื่องบินที่พลเรือเอกอิโซโรกุ ยามาโมโตะโดยสารมาถูกแกะรอยจากหน่วยข่าวกรองสหรัฐจนรู้เส้นทางการบิน และใช้ฝูงบินของเครื่องบินขับไล่ P-38 ดักสังหาร ในที่สุด", "title": "อิโซโรกุ ยามาโมโตะ" }, { "docid": "633536#4", "text": "การวางศิลาฤกษ์ถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2006 ด้วยเงินทุนการก่อสร้าง $75,000,000 ดอลลาร์ในการก่อวร้างพิพิธภัณฑ์[11][12] และเปิดตัวในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซึ่่งเป็นวันที่ครบรอบ 65 ปี ของการโจมตีท่าเรื่องเพิร์ล ฮาร์เบอร์[13] ประธานพิธีการในวันนั้นคือ ประธานาธิบดีสหรัฐGeorge H.W. Bush, นายพลจัตวากองทัพบก Chuck Yeager, Brigadier General Paul Tibbets.[13] พิพิธภัณฑ์จัดแสดง โรงจอด Hangars 37, 54, และ 79 บน เกาะฟอร์ด กินเนื้อที่ครอบคลุม 16 เอเคอร์[11] ในปี ค.ศ. 2012, พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ ถูกตั้งชื่อว่าสถาบันSmithsonian Institution ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม องค์กรSmithsonian Affiliations [14] ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2013 พิพิธภัณฑ์ได้รับนักท่องเที่ยวครบ 1 ล้านคน[15]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#14", "text": "ในปี 2013 กองทัพเรือมีความกังวลใจในการเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ของนักท่่องเที่ยวจีน1,500 คน จากAmway China ที่เดินทางท่องเที่ยวในเกาะฟอร์ดที่สนใจการจัดแสดงเครื่องบินFlying Tigers เนื่องจากเกาะฟอร์ดยังเป็นฐานทัพที่ยัประจำการอยู่[32] ด้วยความกังวลใจนี้ จึงทำให้กองทัพเรือสร้างกำแพงสูงถึง6-foot (1.8m) ☃☃☃ เพื่อปิดกั้นฐานทัพเอ[32][37]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "225427#31", "text": "8. การบินไทยได้รับการจัดอันดับให้เป็นสายการบินยอดเยี่ยมอันดับที่ 2 ของโลกและเอเซียแปซิฟิก จากการประกาศรางวัลบิสสิเนส ทราเวลเลอร์ เอเชียแปซิฟิก อวอร์ด 2011 ( Business Traveller Asia-Pacific Awards 2011 ) ที่จัดขึ้น ณ โรงแรมคอนราด ฮ่องกง นอกจากนี้ การบินไทยยังได้รับการจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 3 อันดับแรกด้านการบริการต่างๆ ได้แก่ เป็นอันดับ 2 ของสายการบินที่มีรายการสะสมไมล์ยอดเยี่ยม (รายการสะสมไมล์รอยัล ออร์คิด พลัส) อันดับ 3 ของสายการบินที่ให้บริการชั้นธุรกิจยอดเยี่ยม อันดับ 3 ของสายการบินที่ให้บริการชั้นประหยัดยอดเยี่ยม และอันดับ 3 ของสายการบินที่ให้บริการห้องรับรองพิเศษยอดเยี่ยมในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก อนึ่ง นิตยสารบิสสิเนส ทราเวลเลอร์ ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2525 โดยเมื่อปี พ.ศ. 2534 ได้จัดการประกาศผลรางวัลบิสสิเนส ทราเวลเลอร์ เอเชียแปซิฟิก อวอร์ด ( Business Traveller Asia-Pacific Awards ) เป็นปีแรก ซึ่งปีนี้นับเป็นปีที่ 20 ของการประกาศรางวัลดังกล่าว โดยมีการจัดประเภทรางวัลต่างๆ ถึง 55 ประเภทที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน และการท่องเที่ยว ซึ่งการจัดอันดับประเภทต่างๆ มาจากการลงคะแนนของสมาชิกผู้อ่านนิตยสารบิสสิเนส ทราเวลเลอร์ จากทั่วโลก", "title": "รางวัลที่การบินไทยได้รับ" }, { "docid": "633536#0", "text": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์ (English: Pacific Aviation Museum Pearl Harbor) ถูกสร้างขึ้นเพื่อไม่แสวงหาผลกำไร ในปี ค.ศ. 1999 เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์การบินใน ฮาวาย[1] เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ของวุฒิสมาชิก Daniel Inouye เพื่อการบูรณะ เกาะฟอร์ด พิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการทางกการบินที่หลากหลายด้วยหลักสำคัญจากการโจมตีท่าเรือเพิร์ล ฮาร์เบอร์และสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่วนจัดแสดงแรก โรงเก็บเครื่องบิน 37 (Hangar 37) เปิดแสดงเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2006 และเป็นส่วนที่สำคัญที่รวบรวมสิ่งจัดแสดงไว้มากมาย โรงเก็บเครื่องบินจัดแสดงความเสียหายที่เกิดจากการโจมตีีท่าเรื่อเพิร์ลฮาร์เบอร์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#11", "text": "ในเดือนมิถุนายน 2012 พิพิธภัณฑ์จัดสร้างภาพสามมิติสูง 10-foot (3.0m) กว้าง 40 ฟุตเป็นภาพ ยุทธนาวีมิดเวย์.[34] ซึ่งสั่งการโดยประธานผู้บริหาร Turner ซึ่งใช้งบ $400,000 ดอลลาร์ในใช้เวลาถึ3 3 ปีในการก่อสร้างและเสร็จสมบูรณ์โดยนาวิกโยธินสหรัฐ Karl Lau.[34]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#16", "text": "ในเดือนมิถุนายน 2013 พิพิธภัณฑ์ขัดแย้งกับกองทัพเรือสหรัฐ เนื่องจากกองทัพมีแผนที่จะติดตั้งอุปกรณ์รับแสงอาทิตย์ จำนวน 60,000 ชิ้นซึ่งใช้พื้นที่มากกว่า 28 เอเคอร์ ของลานบินบนเกาะฟอร์ด[39] กองทัพเรือส่งเรื่องให้ทางสภาคองเกรสและกระทรวงกลาโหม อนุมัติด้วยสาเหตของการลดพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงของผู้ที่อาศัยบนเกาะฮาวาย ซึ่งแพงที่สุดในสหรัฐอเมริกา[39] แผนการดังกล่าวถูกชี้ประเด็นในการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวบนลานบินประวัติศษสตร์นี้จะทำให้สามารถผลิตพลังงานไฟได้ถึง 2 ครั้งต่อวัน[40] กองทัพเสนอเงิน $250,000 ดอลลาร์ให้กับพิพิธภัณฑ์เพื่อเป็นทุนในการปรับปรุงลิฟท์ในหอบังคับเพื่อแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุนแผนการที่ทางพิพิธภัณฑ์คัดค้านก่อนหน้านี้[40] มีการออกการรณรงค์ทางเว็บไซต์เพื่อต่อต้านแผนการคิดตั้งอุปกรณ์ในสถานที่สำคัญดังกล่าว[39] ดังนั้นทางกองทัพเรือจึงตัดสินใจที่จะติดต่อตั้งอุปกรณ์กล่าวในสถานที่โดยรอบท่าเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์แทน[39]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "633536#1", "text": "พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่ี่สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการอนุรักษ์ หนึ่งในการทัศนศึกษารอบเกาะฮาวาย โดยโฟกัสสำคัญในการพยายามที่จะปฏิสังขรณ์หอบังคับการ Ford Island และเซ็นต์สัญญาในการเช่าพื้นที่จากกองทัพเรืิ่อในการเริ่มขึ้นการซ่อมแซม ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์สามารถเข้าชมโดย รถท่องเที่ยวจากพื้นที่่ประวัติศาสตร์เพิร์ลฮาร์เบอร์ บนลานบินHalawa หรือใช้บัตรประจำตัวกองทัพสหรัฐจากประตู Admiral Clarey bridge พิพิธภัณฑ์ได้รับจากความพยายามในการอนุรักษ์อาคารทางประวัติศาสตร์ และยังติดอันดับ 10 พิพิธภัณฑ์ทางการบินจาก TripAdvisor.", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "148722#23", "text": "แผนใต้ มีขั้นตอนดังนี้ โจมตีมาลายาและฮ่องกง โจมตีกลุ่มเกาะบิสมาร์ค เกาะชวาและเกาะสุมาตรา โดดเดี่ยวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ แผนตะวันออก มีขั้นตอนดังนี้ เปิดฉากโจมตีต่อกองเรือแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกาที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ ฮาวาย ด้วยเครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องบินของกองเรือผสม ยึดครองฟิลิปปินส์ ตัดเส้นทางการสื่อสารของสหรัฐอเมริกาโดยยึดเกาะกวมและเกาะเวก", "title": "สงครามแปซิฟิก" }, { "docid": "633536#12", "text": "Aeronca Model 65TC Bell AH-1 Cobra Bell UH-1 Iroquois Boeing B-17 Flying Fortress (Swamp Ghost) Boeing B-52 Stratofortress (nose section) Boeing N2S-3 Stearman Convair F102A Delta Dagger Curtiss P-40E Warhawk Douglas A3D/NTA-3B Skywarrior Douglas SBD Dauntless General Dynamics F-111C Grumman F4F-3 Wildcat Grumman F-14D Tomcat Lockheed F-104A Starfighter Lockheed T-33 Shooting Star McDonnell Douglas F-15C Eagle McDonnell Douglas F-4C Phantom II Mikoyan-Gurevich MiG-15 Mikoyan-Gurevich MiG-21 Mitsubishi A6M2 Model 21 Type 0 North American B-25B Mitchell North American F-86F Sabre North American F-86L Sabre North American T-6 Texan Northrop F-5A Freedom Fighter Sikorsky SH-3 Sea King Sikorsky HH-34J Choctaw Sikorsky CH-53D Sea Stallion Sikorsky SH-60B Seahawk", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" }, { "docid": "148722#30", "text": "ขณะที่เกิดการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ขึ้นนั้น สหรัฐอเมริกายังไม่ได้อยู่ในสภาวะสงครามอย่างเป็นทางการกับประเทศใด ๆ ในโลก กลุ่มอเมริกาเฟิร์สท์คอมมิตตีได้คัดค้านการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกาในทวีปยุโรปอย่างรุนแรง แม้ว่าสหรัฐจะขายความช่วยเหลือทางทหารต่ออังกฤษและสหภาพโซเวียตผ่านโครงการให้เช่า-ยืม แต่การต่อต้านสงครามในสหรัฐหายไปหลังจากการโจมตีดังกล่าว วันที่ 8 ธันวาคม เนเธอร์แลนด์ประกาศสงครามต่อญี่ปุ่น[13] ตามมาด้วยออสเตรเลียในวันรุ่งขึ้น[14] สี่วันหลังจากเพิร์ลฮาร์เบอร์ นาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลีประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำให้สหรัฐต้องเผชิญกับสงครามสองด้าน พฤติการณ์ดังกล่าวได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นความสัพเพร่าของยุทธศาสตร์หลัก เนื่องจากเยอรมนีสูญเสียประโยชน์ที่ญี่ปุ่นทำให้สหรัฐไขว้เขว และการลดการให้ความช่วยเหลือแก่อังกฤษ ซึ่งทั้งรัฐสภาและฮิตเลอร์ต่างก็พยายามหลีกเลี่ยงมาตลอดช่วงที่ต่างฝ่ายต่างยั่วยุเป็นระยะเวลาปีเศษ", "title": "สงครามแปซิฟิก" }, { "docid": "633536#18", "text": "ในปี ค.ศ. 2013 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้รางวัล \"Museums Connect\" แก่พิพิธภัณฑ์ สำหรับการมีส่วนร่วมในโปรแกรม \"Past to Present: U.S. -Sino Bridge of Connections\" program.[42] โปรแกรมยังจัดให้นักเรียนจากโรงเรียน Kaiser High School ได้ส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับนักเรียนจากเมืองเฉิงตู, ประเทศจีน อีกด้วย และจัดการวิจัยในเรื่องความสัมพันธ์อเมริกา-จีนเมื่อปีประมาณ1940[42]", "title": "พิพิธภัณฑ์การบินแปซิฟิกเพิร์ลฮาร์เบอร์" } ]
289
ขนมขิง มีต้นกำเนิดมาจากประเทศอะไร?
[ { "docid": "26348#9", "text": "ขนมขิงในรูปแบบที่รู้จักกันในปัจจุบันมีต้นกำเนิดจากเมืองดิแนนท์ในเบลเยี่ยม จากนั้นชาวเมืองอาคเคนได้รับมาดัดแปลง (อ้างอิงจากประวัติขนมขิงตำรับเมืองอาคเคน หรือ Aachener Printen) และท้ายที่สุดคณะนักบวชในฝรั่งเศสก็รับขนมชนิดนี้มา และดัดแปลงอีกเล็กน้อย คณะแม่ชีในสมัยนั้นจะอบขนมขิงเพื่อใช้เป็นของหวาน", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#23", "text": "ประเทศอื่นๆ ในยุโรปก็มีขนมขิงตำรับเฉพาะที่มีประวัติความเป็นมายาวนานเช่นกัน ตัวอย่างเช่น ขนมขิงตำรับฝรั่งเศสแห่งเมืองดิโจ (Dijon) ขนมขิงตำรับคริสเตียนส์เฟลด์ (Christiansfeld) ของเดนมาร์ก หรือ ขนมขิงตำรับธอร์นเนอร์ คาทรินเช็น (Thorner Kathrinchen) จากเมืองธอร์นซึ่งเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโตรันของโปแลนด์ตั้งแต่ ค.ศ. 1919 ตุ๊กตาขนมขิงและบ้านขนมขิงที่มาจากเมืองพาร์ดูบิซในสาธารณรัฐเช็กนั้นจะแต่งหน้าด้วยน้ำตาลไอซิ่งจำนวนมากเป็นพิเศษ", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#22", "text": "ในสวิตเซอร์แลนด์ ขนมขิงรูปซานตาคลอสเป็นที่นิยมแพร่หลาย บนชิ้นขนมขิงจะมีกระดาษรูปซานตาคลอสแปะอยู่โดยใช้น้ำยางกัมอารบิกซึ่งเป็นยางไม้ธรรมชาติเป็นกาวติด ประเพณีนี้มีมาตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่19 ขนมขิงตำรับสวิตเซอร์แลนด์ที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลกคือ ขนมขิงตำรับบาสเลอร์ เล็คเคอลี (Basler Leckerli) จากเมืองบาเซล และขนมขิงตำรับบิเบอร์ลี (Biberli) จากเทือกเขาแอพเพ็นเซล ขนมขิงที่มีความหลากหลายคล้ายๆ กันนี้ก็เป็นที่แพร่หลายไปทั่วในออสเตรียเช่นเดียวกับในเยอรมนี", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#8", "text": "หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรชิ้นแรกๆ ซึ่งบันทึกเกี่ยวกับขนมขิงน้ำผึ้งที่ผสมเครื่องเทศ นั้นมีอายุราวๆ 350 ปีก่อนคริสตกาล ชาวอียิปต์โบราณมีขนมอบที่ใช้น้ำผึ้งเป็นสารให้ความหวาน และเป็นขนมที่ต้องใช้ในพิธีศพ ชาวโรมันมีขนมที่เรียกว่า พานุส เมลลิทุส (panus mellitus) ซึ่งก็คือขนมที่ทาหน้าด้วยน้ำผึ้ง แล้วนำไปอบ ในสมัยก่อนนั้นต่างจากปัจจุบันคือ การรับประทานขนมขิงไม่เพียงเป็นที่นิยมเฉพาะในช่วงเทศกาลคริสต์มาสเท่านั้น แต่รวมไปถึงในช่วงเทศกาลอีสเตอร์ (เทศกาลฉลองการคืนชีพของพระเยซู) หรือช่วงเวลาอื่นๆด้วย ขนมขิงนั้นจัดเป็นหนึ่งในอาหารที่นิยมรับประทานในช่วงเวลาถือศีลอด และอาจเสิร์ฟพร้อมกับเบียร์ดีกรีสูง เป็นต้น", "title": "ขนมปังขิง" } ]
[ { "docid": "26348#10", "text": "ชื่อเรียกว่า เฟฟเฟอร์คูเคน หรือขนมขิงพริกไทยนั้นมีมาแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 1296 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี และในศตวรรษที่ 14 ขนมอบชนิดนี้ก็เป็นที่รู้จักในเมืองนูเรมเบิร์กและบริเวณใกล้เคียง โดยผู้รับมาคือคณะพระนักบวช ต้นตำรับของเมืองนูเรมเบิร์กนี้มีที่มาจากอารามคริสตจักรที่เมืองไฮลส์บรอนน์ซึ่งอยู่ไม่ไกลออกไป ขนมขิงนั้นเป็นที่นิยมเนื่องจากไม่เสียง่ายและสามารถเก็บไว้รับประทานได้นาน เหล่านักบวชมักจะนำไปแจกจ่ายให้กับประชาชนในช่วงเวลาอดอยากแร้นแค้น", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#7", "text": "ชื่อเรียก เฟฟเฟอร์คูเคน (Pfefferkuchen) หรือขนมขิงพริกไทย มีที่มาจากยุคกลาง ในยุคที่เรียกเครื่องเทศจากต่างประเทศซึ่งใช้เป็นส่วนผสมในการอบขนมรวมกันว่า พริกไทย คำเรียกขนมขิงในภาษาอังกฤษที่ว่า จินเจอร์เบรด (gingerbread) หรือในภาษาฝรั่งเศสที่ว่า แปง เด ปีส (pain d’épices) รวมถึงคำว่า อิงแกวร์โบรท (Ingwerbrot : ขนมปังขิง) หรือ เกเวิร์ซโบรท (Gewürzbrot : ขนมปังเครื่องเทศ) ในภาษาเยอรมัน ล้วนสื่อความหมายที่บ่งถึงเครื่องเทศแห่งโลกตะวันออกได้อย่างชัดเจน ส่วนคำว่า โฮนิกโบรท (Honigbrot : ขนมปังน้ำผึ้ง) ในภาษาเยอรมัน นั้นก็สื่อถึงส่วนผสมหลักอย่างต่อไปของขนมขิงซึ่งก็คือ น้ำผึ้ง นั่นเอง", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#16", "text": "ขนมขิงลายภาพก็คือขนมขิงที่มีการตัดหรือกดทับให้เป็นลาย ขนมขิงรูปแบบนี้มีมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 15 มีทั้งแบบดั้งเดิมที่มีรูปภาพทางศาสนา และหลังจากนั้นก็เริ่มมีแบบที่เป็นรูปภาพทั่วไป ในปัจจุบันขนมขิงลายภาพเหล่านี้เป็นที่แพร่หลายในนานาประเทศ และไม่ได้ผลิตเพียงแค่ในช่วงเทศกาลคริสต์มาสอีกต่อไป ขนมขิงรูปหัวใจที่ตกแต่งด้วยน้ำตาลไอซิ่งนั้นค่อนข้างเป็นที่รู้จักกันดี และซื้อหาได้ทั่วไปในงานรื่นเริง งานประจำปี และแม้กระทั่งบนแผงขายขนมในตลาดคริสต์มาส", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "26348#17", "text": "หนึ่งในขนมขิงลายภาพซึ่งเป็นที่รู้จักทั่วโลกก็คือ “เจ้ามนุษย์ขนมขิง หรือ จินเจอร์เบรดแมน (Gingerbread Man) ” จากประเทศแถบที่ใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรูปร่างเป็นคนแบบปั้นง่ายๆ โดยไม่มีรายละเอียดของมือและเท้า เจ้ามนุษย์ขนมขิงมีชื่อเรียกว่า “เพ็พพาร์คาคอร์ (pepparkakor) ” ในภาษาสวีเดน และ “เซแวร์นิเย โคซูลี (северные козули) ” ในภาษารัสเซีย เชื่อกันว่าเจ้ามนุษย์ขนมขิงนี้นำมาซึ่งโชคดีและความร่ำรวย", "title": "ขนมปังขิง" }, { "docid": "252227#1", "text": "ขนมผิงมีต้นกำเนิดมาจากอาหารโปรตุเกส โดยหญิงลูกครึ่งโปรตุเกส-ญี่ปุ่น มารี กีมาร์ ที่เกิดในอาณาจักรอยุธยา หลังจากที่ทหารญี่ปุ่นชุดแรกได้เข้ามาเป็นทหารอาสาในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไม่นานมารี กีมาร์ ก็ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งหัวหน้าห้องเครื่องต้น และได้ชื่อในภาษาไทยว่า \"ท้าวทองกีบม้า\" ได้สอนการทำขนมหวาน อาทิ ทองหยอด, ฝอยทอง และอีกหลาย ๆ อย่าง ให้กับผู้ที่ทำงานอยู่ใกล้ชิด และจากนั้นก็ได้กลายมาเป็นขนมไทยหลากหลายอย่างรวมถึง ขนมผิงด้วย", "title": "ขนมผิง" }, { "docid": "465749#2", "text": "บ้านขนมปังขิง (Ginger Bread Style) หมายถึงบ้านสไตล์หนึ่งที่มีการประดับตกแต่งบ้านด้วยไม้ฉลุลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ชายคา ช่องลม หรือราวระเบียง ซึ่งต้นแบบนั้นมาจากบ้านสไตล์วิคตอเรียนในประเทศอังกฤษ และได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศของเราหลังจากที่ชาวต่างชาติเริ่มเข้ามามีบทบาทในประเทศช่วงราวรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา และได้สร้างบ้านเรือนตามแบบที่ตนคุ้นเคยไว้ในประเทศไทย ชาวไทยเองก็ชื่นชอบความงดงามของลวดลายไม้แกะสลักจนเกิดเป็นกระแสนิยมนำเอาลวดลายขนมปังขิงมาประดับที่บ้านเรือนของเราบ้าง โดยความนิยมนั้นก็เริ่มต้นขึ้นจากพระราชวัง บ้านขุนนาง เศรษฐี คหบดี และตามวัดวาอารามต่างๆ", "title": "หมู่กุฏิขนมปังขิงที่วัดสวนพลู" }, { "docid": "426484#1", "text": "ไผ่กวนอิม มีถิ่นกำเนิดในป่าดิบชื้นของประเทศแคเมอรูนและคองโก มีลักษณะลำต้นขนาดเล็ก เนื้อไม้อ่อน ลำต้นตรงเล็ก เป็นข้อ ๆ สีเขียว ไม่มีกิ่งก้านสาขา มีการเจริญเติบโตจากการยืดตัวของข้อใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากส่วนยอดของลำต้น มีกาบใบห่อหุ้มลำต้นสลับกันเป็นชั้น ๆ ตามข้อของลำต้น ส่วนใบแคบเรียวยาวปลายใบแหลม โคนใบสอบลงมาถึงกาบใบ ใบมีสีเขียวและสีขาวพาดยาวตามใบ ใบค่อนข้างป้อม ปลายแหลม ก้านยาวโคนใบเป็นกาบใบหุ้มรอบลำ โตเต็มที่สูงได้ถึง 1.5 เมตร ขนาดกว้างของใบ 2–3 เซนติเมตร ยาว 6–8 เซนติเมตร", "title": "ไผ่กวนอิม" } ]
21
วิจารณญาณ หมายถึงอะไร ?
[ { "docid": "33326#0", "text": "วิจารณญาณ (อ่านว่า วิจาระนะยาน) หมายถึงปัญญาที่สามารถรู้หรือให้เหตุผลที่ถูกต้อง ปัญญาสามารถในการพิจารณาจัดแจง วางแผน สืบสวน แสวงหา ไตร่ตรองเหตุผล เรียกว่า วิจารณปัญญา ก็มี", "title": "วิจารณญาณ" } ]
[ { "docid": "33326#1", "text": "วิจารณญาณ เป็นเครื่องมือในการสังเกตคิดค้น และตัดสินวินิจฉัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นเครื่องมือของโยนิโสมนสิการ มีลักษณะเฟ้นหาไตร่ตรองข้อเท็จจริงด้วยเหตุผลรอบคอบและรอบด้าน ทำให้ฉุกคิดไม่ตัดสินใจโดยรีบด่วนจนเกิดความผิดพลาด เป็นให้การสรุปผลหรือตัดสินเรื่องนั้นๆ ถูกต้องถ่องแท้ หรือผิดพลาดน้อยที่สุด", "title": "วิจารณญาณ" }, { "docid": "449595#0", "text": "วิญญาณ (; ) ในทางปรัชญาหมายถึงสิ่งซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสารัตถะของชีวิตมนุษย์ อาจรวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ ด้วย วิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เน่าเปื่อย เป็นอมตะ ศาสนาอับราฮัมเชื่อว่าเฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่มีวิญญาณ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวที่ไม่ตาย (ในส่วนวิญญาณ) และอาจไปรวมกับพระเป็นเจ้าได้ ขณะที่ศาสนาอื่น ๆ บางศาสนา เช่น ศาสนาเชนเชื่อว่าไม่เฉพาะมนุษย์แต่สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตมีวิญญาณ ส่วนลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต (เช่น แม่น้ำ ภูเขา) ล้วนมีวิญญาณทั้งสิ้น บางลัทธิเชื่อว่าโลกก็มีวิญญาณเรียกว่าวิญญาณโลก หรืออาตมันในศาสนาฮินดู", "title": "วิญญาณ" }, { "docid": "812431#1", "text": "ภววิทยา ถือว่าเป็นปรัชญาแขนงหนึ่งของอภิปรัชญา (metaphysics) อันเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความจริงของสรรพสิ่ง ความเป็นจริงของสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร อะไรอยู่ในฐานะที่เรียกได้ว่า จริง หรือ มีอยู่จริง และความจริงสูงสุด (Ultimate Reality) ที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่ปรากฏนั้นคืออะไร อะไรคือความจริงสูงสุดอันนั้น ความจริงสูงสุดนั้นเป็นยังไง เช่น ความดีคืออะไร ความยุติธรรมคืออะไร พระเจ้าคืออะไร จิตเป็นความจริงมูลฐาน หรือวัตถุเป็นความจริงมูลฐาน เป็นต้น แต่ในส่วนภววิทยา (Ontology) จะศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความจริงเหล่านั้น การดำรงอยู่ของสิ่งเหล่านั้น หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไร โดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของสัตตะ (being) ความเป็นจริงที่มีอยู่ของสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน", "title": "ภววิทยา" }, { "docid": "33326#2", "text": "วิจารณญาณ เป็นเรื่องของปัญญา เหตุผลและข้อเท็จจริง มิใช่เป็นเรื่องของทัศนะและการคาดเดา", "title": "วิจารณญาณ" }, { "docid": "344437#60", "text": "ส่วนความเชื่อทางจิตวิญญาณ (Spirituality) หมายถึงกระบวนการสืบหาความหมายและความเข้าใจเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับตนที่อยู่ในจักรวาลอันกว้างใหญ่\nเป็นการสืบหาโดยบุคคลหรือโดยกลุ่มว่า อะไรควรเป็นสิ่งที่เคารพยำเกรงหรือเป็นสิ่งที่ให้ความหมายในชีวิต\nดังนั้น บุคคลหนึ่งอาจจะเชื่อในศาสนาแต่ไม่เชื่อในเรื่องจิตวิญญาณ หรือว่า อาจจะเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณแต่ไม่เชื่อในเรื่องศาสนา", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "7587#0", "text": "อัตถิภาวนิยม () คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความคิดในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังคิดว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน", "title": "อัตถิภาวนิยม" }, { "docid": "943675#1", "text": "ลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าสรรพวัตถุและสรรพสัตว์ (ซึ่งรวมถึง ต้นไม้ ก้อนหิน ลำธาร สภาพอากาศ งานหัตถกรรมของมนุษย์ และแม้แต่คำพูด) ล้วนแต่มีวิญญาณ มีชีวิต และ/หรือมีเจตจำนง (agency) เป็นของตัวเอง ลัทธิวิญญาณนิยมเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยมีอยู่ก่อนศาสนาจัดตั้งทุกรูปแบบ และถือกันว่าเป็นมุมมอง/ทัศนคติทางจิตวิญาณ หรือของความเชื่อเหนือธรรมมชาติอย่างแรกที่เกิดขึ้นในโลก ซึ่งพบหลักฐานเกี่ยวกับความเชื่อนี้ย้อนหลังไปถึงยุคหินเก่า ซึ่งเป็นสมัยมนุษย์ยังท่องเที่ยวไปตามพื้นที่ต่างๆเพื่อล่าสัตว์ หรือเก็บรวมรวบของป่า และสื่อสารกับจิตวิญญาณของธรรมชาติ ในแง่นี้ความเชื่อแบบศาสนาเชมัน (shaman) หรือลัทธิที่นับถือพ่อมดหมอผีว่าเป็นผู้ที่สื่อสารกับธรรมชาติได้ จึงมีความเกี่ยวข้องและเป็นส่วนหนึ่งของระบบความเชื่อแบบวิญญาณนิยม ในวิชามานุษยวิทยาว่าด้วยศาสนา\"วิญญาณนิยม\" เป็นคำที่ถูกใช้เพื่อสื่อถึงระบบความเชื่อดั้งเดิมของชาวพื้นเมือง โดยเฉพาะเวลาที่นำไปเปรียบเทียบกับระบบความเชื่อทางจิตวิญญาณ หรือศาสนาจัดตั้งที่เกิดขึ้นภายหลัง เนื่องจากแต่ละวัฒนธรรมจะมีตำนานความเชื่อ นิทานเทพปกรณัม และพิธีกรรมที่แตกต่างกันไป แนวคิด \"วิญญาณนิยม\" จึงใช้สื่อถึงสายใยความต่อเนื่องในระดับรากฐานของทัศนคติทางจิตวิญญาณ หรือในเรื่องเหนือธรรมชาติของชนพื้นเมือง ที่ไม่ได้รับอิทธิพลจากความคิดความเชื่อ หรือคำสอนของลัทธิที่มาจากภายนอก จนถึงขนาดว่าบางครั้งทัศนคติทางวิญญาณดังกล่าวอาจจะฝังรากลึกลงไปในระบบความเชื่อของชนพื้นเมืองนั้นมาแต่ปฐมกาล จนทำให้ชนพื้นเมืองดังกล่าวไม่มีคำที่ใช้เรียกระบบความเชื่อนั้นในภาษาของตน", "title": "วิญญาณนิยม" }, { "docid": "306042#0", "text": "ไญยนิยม หรือลัทธินอสติก (; gnōsis \"ความรู้\"; ) คือแนวคิดทางศาสนารูปแบบหนึ่งในสมัยโบราณ ซึ่งเชื่อว่ามนุษย์ควรสละโลกวัตถุ เพื่อมุ่งเน้นเรื่องจิตวิญญาณ แนวคิดเช่นนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อศาสนาสมัยโบราณ ดังเห็นได้จากการถือพรต ถือพรหมจรรย์ เพื่อให้ถึงการหลุดพ้น การตรัสรู้ ความรอด การกลับไปรวมกับพระเป็นเจ้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม รายละเอียดการปฏิบัติอาจแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม", "title": "ไญยนิยม" }, { "docid": "292377#6", "text": "แทนที่จะแสวงหาสิ่งที่นำมาซึ่ง “ความเป็นจริงอันแท้จริง” (True Reality หรือ ความเป็นจริงในโลกทางจิตวิญญาณ) สำหรับมุสลิมแล้ว อักษรวิจิตรอาหรับคือการแสดงออกที่มองเห็นได้ของศิลปะที่เหนือศิลปะใด หรือศิลปะของคำอ่าน (หรือการเผยแพร่ความคิดและประวัติศาสตร์) ในศาสนาอิสลามเอกสารชิ้นที่สำคัญที่สุดที่ใช้เล่าขานกันคืออัลกุรอาน สุภาษิตและบทอ่านจากจากอัลกุรอานจะเห็นได้ในศิลปะอาหรับ", "title": "ลายอาหรับ" } ]
2630
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5สวรรคตเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "4253#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระองค์ที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสวยราชสมบัติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2411 เสด็จสวรรคต เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ด้วยโรคพระวักกะ", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "34380#12", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมชนกนาถได้เสด็จสวรรคตในวันที่ 23 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2453 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมารพระเชษฐาของพระองค์ เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 แล้ว ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนพิษณุโลกประชานาถ เป็นนายพลโท", "title": "สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ" }, { "docid": "4261#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม ปีจอ พุทธศักราช 2453 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ปีฉลู รวมพระชนมายุ 45 พรรษา เสด็จดำรงราชสมบัติรวม 15 ปี", "title": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
[ { "docid": "20093#3", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตที่ชั้น 3 ของพระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อ รัชกาลที่ 6 และ รัชกาลที่ 7 เสด็จมาประทับ ณ พระที่นั่งองค์นี้ ได้ประทับแค่เพียงชั้น 2 เท่านั้น เพราะชั้น 3 ถือว่าเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "พระที่นั่งอัมพรสถาน" }, { "docid": "4253#20", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ทรงเดินทางไปถึงทวีปยุโรป การเสด็จฯ เยือนครั้งประวัติศาสตร์ในปี 2440 ถือเป็นทั้งเรื่องใหญ่และใหม่มากในสมัยนั้น", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4249#1", "text": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสวยราชสมบัติในวันพุธ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ยังเป็นโทศก พ.ศ. 2394 รวมดำรงสิริราชสมบัติ 16 ปี 6 เดือน และมีพระราชโอรส - พระราชธิดารวมทั้งสิ้น 82 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง เวลาทุ่มเศษ ตรงกับวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 สิริพระชนมายุ 64 พรรษา วัดประจำรัชกาลคือวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4253#5", "text": "วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตภายหลังเสด็จออกทอดพระเนตรสุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 โดยก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคตนั้น ได้มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า \"พระราชดำริทรงเห็นว่า เจ้านายซึ่งจะสืบพระราชวงศ์ต่อไปภายหน้า พระเจ้าน้องยาเธอก็ได้ พระเจ้าลูกยาเธอก็ได้ พระเจ้าหลานเธอก็ได้ ให้ท่านผู้หลักผู้ใหญ่ปรึกษากันจงพร้อม สุดแล้วแต่จะเห็นดีพร้อมกันเถิด ท่านผู้ใดมีปรีชาควรจะรักษาแผ่นดินได้ก็ให้เลือกดูตามสมควร\" ดังนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรคต จึงได้มีการประชุมปรึกษาเรื่องการถวายสิริราชสมบัติแด่พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ซึ่งในที่ประชุมนั้นประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ ได้เสนอสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ซึ่งที่ประชุมนั้นมีความเห็นพ้องเป็นเอกฉันท์ ดังนั้น พระองค์จึงได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดา โดยในขณะนั้น มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังนั้น จึงได้แต่งตั้งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะมีพระชนมพรรษครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "58216#0", "text": "เนื่องด้วยปี พ.ศ. 2441 (ร.ศ.117) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงครองราชย์ในรัชกาลที่ 5 เป็นเวลายาวนาน 2 เท่า ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดจัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ทวีธาภิเศก เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2441 ถวายบรมอัยกาธิราช ณ พระที่นั่งอัมรินทรวินิฉัย และสมโภชสิริราชสมบัติ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท", "title": "พระราชพิธีทวีธาภิเศกในรัชกาลที่ 5" }, { "docid": "4253#24", "text": "หากไม่นับรวมรัชกาลที่ 1-4 แล้ว ถือว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ โดยเป็นสมเด็จพระบรมชนกนาถของพระมหากษัตริย์ไทย 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราชของพระมหากษัตริย์ไทยอีก 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รวมถึงยังเป็นสมเด็จพระบรมปัยกาธิราชของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "37967#43", "text": "หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับจากการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 และทรงให้สร้างวังสวนดุสิตและจึงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักสวนหงส์พระราชทานสมเด็จนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวีด้วย หลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระองค์ได้เสด็จมาประทับที่พระตำหนักสวนหงส์เป็นการชั่วคราวอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะเสด็จไปประทับ ณ วังสระปทุมตราบจนเสด็จสวรรคต", "title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" } ]
2862
ผู้จัดการทีมอาร์เซนอลคนแรกของสโมสรชื่อว่าอะไร ?
[ { "docid": "5446#3", "text": "ในปี 1925 อาร์เซนอลได้ว่าจ้างให้เฮอร์เบิร์ต แชปแมนเป็นผู้จัดการทีม แชปแมนเคยพาฮัดเดอร์สฟิลด์ทาวน์คว้าแชมป์ลีกมาแล้ว 2 สมัยคือฤดูกาล 1923-24 และ 1924-25 ก่อนที่จะเข้ามารับตำแหน่งผู้จัดการทีมอาร์เซนอลนี้ และแชปแมนคือคนแรกที่พาอาร์เซนอลก้าวเข้าสู่ยุคแห่งความสำเร็จยุคแรก เขาจัดการเปลี่ยนระบบการซ้อมและแทคติคใหม่ทั้งหมดพร้อมทั้งซื้อนักเตะระดับแนวหน้ามาร่วมทีมไม่ว่าจะเป็นอเล็กซ์ เจมส์และคลิฟฟ์ บานติน ทำให้อาร์เซนอลก้าวสู่ความยิ่งใหญ่ในวงการฟุตบอลอังกฤษได้ในช่วงทศวรรษที่ 1930 อาร์เซนอลคว้าแชมป์รายการใหญ่ๆได้เป็นครั้งแรกภายใต้การคุมทีมของแชปแมน โดยสามารถคว้าแชมป์เอฟเอคัพได้ฤดูกาล 1929-30 และแชมป์ลีก 2 สมัยคือฤดูกาล 1930-31 และ 1932-33 นอกจากนั้น แชปแมนยังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการเปลี่ยนชื่อสถานีรถไฟใต้ตินที่อยู่ในย่านนั้นคือ Gillespie Road เป็นสถานีรถไฟใต้ดิน \"อาร์เซนอล\" อันเป็นสถานีรถไฟใต้ดินเพียงแห่งเดียวที่ตั้งชื่อตามสโมสรฟุตบอลโดยเฉพาะ[9]", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" } ]
[ { "docid": "5446#5", "text": "หลังจากสงครามสิ้นสุดลง ทอม วิทเทคเกอร์ ผู้สืบทอดตำแหน่งของอัลลิสันได้เข้ามาบริหารทีม อาร์เซนอลจึงกลับมาประสบความสำเร็จได้อีก 2 ครั้งคือฤดูกาล 1947-48 และ 1952-53 ที่ได้แชมป์ลีก และ 1949-50 ที่ได้แชมป์เอฟเอคัพ อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้น โชคก็เหมือนจะไม่เข้าข้างอาร์เซนอลเท่าไรนัก สโมสรไม่สามารถดึงดูดความสนใจของนักเตะชุดเดียวกับที่เคยอยู่ในทีมช่วงทศวรรษ 1930 ให้กลับเข้าสู่ทีมได้ ในช่วงทศวรรษที่ 1950 และ 1960 นั้น อาร์เซนอลกลายเป็นทีมระดับธรรมดาๆที่ไม่สามารถคว้าแชมป์อะไรได้เลย แม้ แต่บิลลี ไรท์ อดีตกัปตันทีมชาติอังกฤษที่ผันตัวเองมาเป็นผู้จัดการทีมนั้นก็ไม่สามารถนำความสำเร็จมาสู่สโมสรได้เลยในช่วงปี 1962-1966 ที่เข้ามาคุมทีม", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "5446#8", "text": "ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของสโมสรอยู่ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 และช่วงทศวรรษที่ 2000 เนื่องจาก อาร์แซน แวงแกร์ เข้ามาดำรงตำแหน่งผู้จัดการทีมในปี 1996 แวงแกร์นำแทคติคใหม่ๆมาใช้ นำวิธีการซ้อมใหม่ ๆ เข้ามาและนำนักเตะต่างชาติที่สามารถปรับตัวเข้ากับฟุตบอลอังกฤษได้มาเสริมทีมจำนวนมาก อาร์เซนอลจึงสามารถคว้าดับเบิลแชมป์ได้อีกครั้งในฤดูกาล 1997-98 ซึ่งเป็นแชมป์ลีกและแชมป์บอลถ้วย และได้ดับเบิลแชมป์ที่ 3 ในฤดูกาล 2001-02 นอกจากนั้น สโมสรยังสามารถเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศฟุตบอลยูฟ่าคัพได้ในฤดูกาล 1999-00 (แพ้จุดโทษให้กับกาลาตาซาราย แต่มาได้แชมป์เอฟเอคัพ ในฤดูกาล 2002-03 และ 2004-05 แชมป์พรีเมียร์ลีกอีกครั้งในปี 2003-04 ซึ่งเป็นแชมป์พรีเมียร์ลีกโดยที่ไม่แพ้ทีมใดเลยจนได้รับฉายาว่า \"อาร์เซนอลผู้ไร้เทียมทาน\" (The Invincibles) [13] และสามารถทำสถิติไม่แพ้ติดต่อกัน 49 นัดได้ในฤดูกาลต่อมา ซึ่งนับว่าเป็นสถิติสูงสุดของประเทศอีกด้วย", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "945801#1", "text": "นี่เป็นฤดูกาลแรกของสโมสรที่ไม่มีผู้จัดการทีม อาร์แซน แวงแกร์ ใน 22 ปี. และเป็นฤดูกาลที่สองติดต่อกันของอาร์เซนอลไม่สามารถเข้าไปเล่นสำหรับ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และได้เข้าร่วมแข่งขันใน ยูฟ่ายูโรปาลีก.", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2018–19" }, { "docid": "148087#1", "text": "ฟัน แปร์ซีเป็นบุตรของคู่สามีภรรยาศิลปิน จึงได้รับการเลี้ยงดูฟูมฟักให้เป็นศิลปินตามรอยเท้าของผู้ให้กำเนิด แต่ฟัน แปร์ซีกลับเลือกที่จะเล่นฟุตบอลและได้เริ่มเล่นฟุตบอลกับเอส.เบ.เฟ. เอกแซ็ลซียอร์ (S.B.V. Excelsior) สโมสรดัตช์เล็ก ๆ แห่งหนึ่งโดยเป็นนักเตะเยาวชนของสโมสรเมื่อปี ค.ศ. 2001 จากนั้นก็ได้เซ็นสัญญากับสโมสรฟุตบอลไฟเยอโนร์ด สโมสรดังประจำบ้านเกิดเมืองนอนของเขาเมื่อปี ค.ศ. 2002 ทำให้เพอร์ซีมีโอกาสได้สัมผัสด้วยแชมป์ยูฟ่าคัพ 2002 อีกด้วย ฟัน แปร์ซีเริ่มมีชื่อเสียงเนื่องจากเป็นนักเตะอายุน้อยที่มีพรสวรรค์ แต่กลับมีปัญหาเรื่องระเบียบวินัยกับไฟเยอโนร์ดแห่งนี้ จนแบร์ต ฟัน มาร์ไวก์ ผู้จัดการทีมที่เริ่มทนไม่ไหวกับพฤติกรรมของเขาต้องการให้เขาย้ายสโมสร จนในที่สุดก็เป็นอาร์เซนอล (ภายใต้การคุมทีมของอาร์แซน แวงแกร์) ที่ยังเล็งเห็นถึงความสามารถที่แฝงอยู่ในตัวฟัน แปร์ซีอยู่ และได้ทำสัญญากับเขาเมื่อปี ค.ศ. 2004 ด้วยค่าตัว 2.75 ล้านปอนด์ นับจากนั้นมา ฟัน แปร์ซีก็ช่วยให้อาร์เซนอลคว้าแชมป์คอมมิวนิตีชิลด์และเอฟเอคัพตั้งแต่ฤดูกาลแรกที่มาค้าแข้งอยู่ที่ลอนดอน จากนั้นก็ได้รับรางวัลนักกีฬายอดเยี่ยมประจำปีแห่งเมืองโรตเตอร์ดัมเมื่อปี ค.ศ. 2006 อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลา 4 ปีแรกที่อยู่กับอาร์เซนอลนั้น เขาก็ไม่ได้มีโอกาสได้ลงสนามมากเท่าที่ควรเนื่องจากได้รับบาดเจ็บ แต่ยามใดที่พร้อมลงสนามก็มักจะได้รับโอกาสลงเป็นตัวจริงเสมอ ", "title": "โรบิน ฟัน แปร์ซี" }, { "docid": "139367#15", "text": "หลังจากนั้น อาร์แซน แวงแกร์ ก็นำถ้วยเอฟเอคัพมาสู่สโมสรอาร์เซนอลได้อีกครั้งในปี ค.ศ. 2005 ทำให้อาร์เซนอลได้แชมป์พรีเมียร์ลีก 3 สมัยและเอฟเอคัพ 4 สมัยภายใต้การคุมทีมของแวงแกร์ นับว่าเขาเป็นผู้จัดการทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์อาร์เซนอลเมื่อนับตามถ้วยรางวัลที่ได้มา อย่างไรก็ตาม แวงแกร์ก็ยังไม่เคยได้แชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก รายการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของยุโรปมาครองได้ โดยเขาพาทีมเข้าไปใกล้คำว่า \"แชมป์\" มากที่สุดในฤดูกาล 2005-06 ที่อาร์เซนอลเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร แต่กลับแพ้ให้กับบาร์เซโลนา 2-1 อย่างน่าเสียดาย", "title": "อาร์แซน แวงแกร์" }, { "docid": "464084#1", "text": "ฌีรูเล่นฟุตบอลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994 ให้กับชุดเยาวชนของฟรอฌและเกรอนอบล์ แล้วได้เล่นแบบนักฟุตบอลอาชีพในปี ค.ศ. 2005 กับอิสทร์และตูร์ สโมสรฟุตบอลในประเทศฝรั่งเศส และในปี ค.ศ. 2010 ฌีรูได้ย้ายไปเล่นให้กับมงเปอลีเย สโมสรฟุตบอลชื่อดังจากเมืองมงเปอลีเย ในลีกเอิง โดยฌีรูถนัดในการเล่นบอลเร็ว สามารถชนหรือหนีกองหลังของทีมต่าง ๆ ได้ และด้วยความที่เป็นคนตัวสูง ฌีรูจึงมักจะทำประตูได้ทั้งการโหม่งและการยิง ในปี ค.ศ. 2011 ฌีรูได้ถูกยืมตัวไปตูร์ อดีตสโมสรที่ตนเคยเล่นให้ และเมื่อจบฤดูกาล 2011–12 ฌีรูได้กับมาอยู่มงเปอลีเยอีกครั้ง และอาร์แซน แวงแกร์ ผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศสของอาร์เซนอล สโมสรฟุตบอลชื่อดังจากพรีเมียร์ลีกในอังกฤษได้สนใจในตัวเขา เพราะฌีรูเล่นในตำแหน่งที่แวงแกร์ต้องการปรับปรุงและแก้ไขจุดอ่อนเฉพาะของทีม และเป็นการเลือกกองหน้าที่มาเล่นแทนให้กับโรบิน ฟัน แปร์ซี ที่กำลังย้ายออกไปจากสโมสร และเมื่อแวงแกร์และคณะกรรมการบริหารของอาร์เซนอลได้ตกลงสัญญาของฌีรูกับบอร์ดบริหารของมงเปอลีเยแล้ว ฌีรูก็ได้ย้ายมาอยู่กับอาร์เซนอลอย่างเป็นทางการด้วยค่าตัว 12 ล้านปอนด์ สวมเสื้อหมายเลข 12", "title": "ออลีวีเย ฌีรู" }, { "docid": "5446#2", "text": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลเริ่มต้นขึ้น เมื่อกลุ่มคนงานของโรงงานผลิตอาวุธรอยัลอาร์เซนอลในแขวงวูลิช กรุงลอนดอน ก่อตั้งทีมฟุตบอลของตนเองขึ้นมาเมื่อปลายปี ค.ศ. 1886 ในชื่อ ไดอัล สแควร์ การแข่งขันแรกของทีมคือเกมที่สามารถเก็บชัยชนะเหนือทีมอีสเทิร์น วันเดอเรอร์ส 6-0 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1886 หลังจากนั้นไม่นานก็เปลี่ยนชื่อเป็น รอยัลอาร์เซนอล และยังคงแข่งขันในเกมอุ่นเครื่องและรายการท้องถิ่นต่อไป จากนั้นได้ก้าวขึ้นมาเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพแล้วหันมาใช้ชื่อ วูลิชอาร์เซนอล</b>ในปี 1891 สโมสรแห่งนี้ได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลลีกเป็นครั้งแรกในปี 1893 ในดิวิชั่น 2 จากนั้นในปี 1904 ก็ได้ก้าวขึ้นมาอยู่ดิวิชั่น 1 เป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตาม ในทางภูมิศาสตร์นั้นจะเห็นว่าสโมสรแห่งนี้ตั้งอยู่โดดเดี่ยวเกินไป ส่งผลกระทบให้จำนวนผู้ชมมีน้อยกว่าสโมสรอื่นจนกระทั่งทีมต้องประสบกับปัญหาทางการเงินอย่างหนักจนนำไปสู่การยุบทีมในปี 1910 เมื่อเฮนรี นอร์ริสได้เข้ามาเทคโอเวอร์[6] นอร์ริสพยายามมองหาแนวทางที่จะย้ายที่ตั้งของสโมสรไปอยู่ที่อื่นจนกระทั่งในปี 1913 หลังจากที่ตกชั้นดิวิชั่น 1 มาอยู่ดิวิชั่น 2 เหมือนเดิมนั้น อาร์เซนอลก็ได้ย้ายไปอยู่ที่อาร์เซนอลสเตเดียมในย่านไฮบิวรี่ บริเวณลอนดอนเหนือ ในปีต่อมา สโมสรได้ตัดสินใจตัดคำว่า \"วูลิช\" ออกจากชื่อสโมสรจนเหลือเพียง อาร์เซนอล เท่าที่เห็นในปัจจุบัน[7] หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ลีกดิวิชั่น 1 ก็เพิ่มจำนวนทีมเป็น 22 ทีม อาร์เซนอลได้อันดับ 5 ของดิวิชั่น 2 ในปี 1919 แต่ถึงกระนั้นก็ได้รับเลือกให้กลับขึ้นสู่ดิวิชั่น 1 อีกครั้งหนึ่ง[8] และอาร์เซนอลก็ไม่เคยถูกลดชั้นหรือตกชั้นเลยนับตั้งแต่นั้นมา", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "926747#38", "text": "อาร์เซนอลเข้าสู่ลีกคัพในรอบที่สาม และถูกจับสลากเล่นที่บ้านของรอเทอรัมยูไนเต็ด แวงแกร์ให้กองกลาง เซสก์ ฟาเบรกัส ลงเล่นนัดแรกเมืออายุได้ 16 ปี 177 วัน จนถึงปี 2016 เขายังเป็นผู้เล่นอายุน้อยสุดที่ลงเล่นให้สโมสร อาร์เซนอลนำตั้งแต่นาทีที่ 11 จากประตูของอาลียาเดียร์ แต่เสียประตูตีเสมอในช่วงท้ายเกมทำให้ต้องต่อเวลา ผู้รักษาประตูรอเทอรัม ไมก์ พอลลิตต์ ถูกไล่ออกจากสนามเพราะถือบอลนอกกรอบเขตโทษ ส่วนตัวสำรอง แกรี มอนต์กอเมอรี ป้องกันประตูชัยของวีลตอร์ได้ เนื่องจากไม่มีทีมใดยิงประตูเพิ่มได้ จึงตัดสินด้วยจุดโทษซึ่งอาร์เซนอลชนะ 9–8 อาร์เซนอลชนะคู่แข่งจากดิวิชันวุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ในรอบที่สี่ วีเยราซึ่งไม่ได้ลงเล่นจากอาการบาดเจ็บในเดือนกันยายนและตุลาคม กลับมาลงเล่นให้ทีมครั้งแรกและเล่นเต็มเวลา", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "926747#18", "text": "นัดเปิดฤดูกาล อาร์เซนอลลงเล่นในบ้านพบกับเอฟเวอร์ตันที่ไฮบรี แคมป์เบลล์ถูกไล่ออกในนาทีที่ 25 จากการทำฟาวล์ที่กีดขวางการเล่น (professional foul) ใส่ทอมัส กราเวอเซิน กองกลางเอฟเวอร์ตัน แม้ว่าอาร์เซนอลจะเสียเปรียบจำนวนผู้เล่น แต่ก็นำสองประตูเมื่อเวลา 58 นาที ก่อนที่ตอมัช ราจินสกี จะยิงประตูให้ทีมเยือน นัดต่อมาหลังจากนัดแรกหนึ่งสัปดาห์ พวกเขาไปเยือนมิดเดิลส์เบรอที่ริเวอร์ไซด์สเตเดียม จบด้วยชัย 4–0 โดยได้ 3 ประตูจากอ็องรี, ชิลเบร์ตู ซิลวา และซีลแว็ง วีลตอร์ในครึ่งแรก สามวันถัดมา อาร์เซนอลชนะแอสตันวิลลา โดยแคมป์เบลล์และอ็องรีทำประตูได้คนละประตู อาร์เซนอลยังรักษาช่วงต้นฤดูกาลที่ยอดเยี่ยมด้วยการบุกไปชนะแมนเชสเตอร์ซิตี เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2003 เมื่อแคมป์เบลล์ถูกพักการเล่น มาร์ติน คีโอนเข้ามาเล่นตัวจริงคู่กับตูเรแทน แม้ว่าอาร์เซนอลทำเข้าประตูตัวเองโดยโลแรนในครึ่งแรก และเล่น \"45 นาทียอดแย่ที่แฟนคนใดจะจำได้\" ตามคำบรรยายของนักหนังสือพิมพ์ แมต ดิกคินสัน แต่ในครึ่งหลังวีลตอร์ตามตีเสมอในครึ่งหลัง ก่อนเฟรดริก ยุงแบร์ย ใช้ข้อผิดพลาดของซีแมนทำประตูชัย จบ 4 นัดแรก อาร์เซนอลอยู่อันดับหนึ่ง มีแต้มนำแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอยู่สามแต้ม\nเนื่องจากกำหนดการแข่งขันทีมชาติ ทำให้สโมสรได้พักสองสัปดาห์ พวกเขากลับมาลงเล่นในบ้านพบกับพอร์ตสมัทที่เพิ่งเลื่อนชั้น โดยกองหน้า เท็ดดี เชริงงัม ยิงให้ทีมเยือนขึ้นนำก่อน ก่อนที่อาร์เซนอลได้จุดโทษเมื่อปีแร็สถูกเดยัน สเตฟานอวิช กรรมการตัดสินว่าทำฟาวล์ในกรอบเขตโทษ อ็องรียิงประตูเข้า และแม้การเล่นของทีมจะดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในครึ่งหลัง แต่เกมก็จบด้วยผลเสมอ ทำให้ผู้จัดการทีมพอร์ตสมัท แฮร์รี เรดแนปป์ บ่นถึงการเสียจุดโทษและรู้สึกว่าปีแร็ส \"... กำลังจะได้ใบเหลือง [จากการพุ่งล้ม]\" แต่ปีแร็สปฏิเสธการกล่าวหาดังกล่าวที่ว่าเขาตบตากรรมการ \"ผมไม่ได้พุ่งล้มและผมไม่ได้โกง ไม่ใช่วิธีการเล่นของผม\"", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "5424#9", "text": "หลังจากไม่ประสบความสำเร็จในอิตาลีนัก อ็องรีย้ายออกจากยูเวนตุสเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1999 มาอยู่กับสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลด้วยค่าตัวราว 11 ล้านปอนด์ กลับมาอยู่กับอดีตผู้จัดการทีมของเขาอีกครั้ง อาร์แซน แวงแกร์ เมื่ออยู่กับอาร์เซนอลทำให้ชื่อเขาติดอยู่ในนักฟุตบอลระดับโลก และถึงแม้ว่าการย้ายมาจะไม่ปราศจากข้อพิพาทซะทีเดียว เพราะแวงแกร์โน้มน้าวว่าอ็องรีคุ้มค่าแก่การมีค่าตัว และได้แทนที่เขากับศูนย์หน้าชาวฝรั่งเศส เพื่อนร่วมชาติ นีกอลา อาแนลกา โดยแวงแกร์ให้อ็องรีเป็นฝึกในตำแหน่งกองหน้าตัวเป้าโดยทันที การลงทุนของทีมก็เห็นผลในเวลาต่อมา แต่ก็มีข้อสงสัยเกี่ยวกับความสามารถในการปรับเปลี่ยนความเร็วและลักษณะโดยธรรมชาติของฟุตบอลอังกฤษ เมื่อเขายิงประตูไม่ได้ใน 8 นัดแรก หลังจากความยากลำบากในหลายเกมในอังกฤษ อ็องรียอมรับว่า \"เขาต้องเรียนใหม่เกี่ยวกับศิลปะการเป็นศูนย์หน้าตัวเป้า\" ข้อสงสัยเริ่มคลายลงไปเมื่อจบฤดูกาลแรกที่อาร์เซนอล โดยเขายิงประตูสร้างความประทับใจได้ 26 ประตู อาร์เซนอลอยู่อันดับ 2 ในฤดูกาลนั้นเป็นรองแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด และแพ้ในยูฟ่าคัพ ต่อสโมสรตุรกี กาลาทาซาไร", "title": "ตีแยรี อ็องรี" }, { "docid": "139367#34", "text": "แวงแกร์ยังโดนผู้จัดการทีมพรีเมียร์ลีกคนอื่น ๆ วิพากษ์วิจารณ์บ่อย ๆ ว่าไม่ยอมให้โอกาสนักเตะอังกฤษเลย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเกมแชมเปียนส์ลีก อะลัน พาร์ดิว อดีตผู้จัดการทีมเวสต์แฮมยูไนเต็ดได้บอกว่า ความสำเร็จในแชมเปียนส์ลีกของอาร์เซนอลไม่ได้เป็นความสำเร็จของฟุตบอลสหราชอาณาจักรเลย แต่ทางด้านแวงแกร์มองว่า เรื่องสัญชาติกับฟุตบอลนั้นมันไม่เกี่ยวข้องกันเลยและกล่าวว่า \"เวลาคุณเล่นให้กับสโมสร มันก็ขึ้นอยู่กับคุณค่าและความสามารถ ไม่ใช่ว่าคุณถือพาสปอร์ตอะไร\" นอกจากนั้น ผู้มีชื่อเสียงคนอื่น ๆ เป็นต้นว่าเทรเวอร์ บรุกกิง ผู้อำนวยการพัฒนากีฬาฟุตบอลแห่งสมาคมฟุตบอลอังกฤษก็ยังได้ปกป้องแวงแกร์ด้วย โดยบรูกกิงบอกว่านักเตะตัวหลักของทีมชาติอังกฤษต่างก็เริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลภายใต้การทำทีมของอาร์แซน แวงแกร์ทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็น เดวิด เบนต์ลีย์, สตีฟ ซิดเวลล์, เจอร์เมน เพนแนนต์ และแอชลีย์ โคล โดยล่าสุดนั้น เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007 แวงแกร์ก็โดนเซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน คู่ปรับเก่าตำหนิว่าให้โอกาสนักเตะอังกฤษน้อยเกินไป", "title": "อาร์แซน แวงแกร์" }, { "docid": "926747#24", "text": "วันที่ 20 ธันวาคม 2003 อาร์เซนอลบุกไปเยือนโบลตันวอนเดอเรอส์ที่สนามกีฬารีบ็อก ซึ่งเคยมีส่วนทำให้อาร์เซนอลพลาดแชมป์เมื่อแปดเดือนที่แล้ว แม้ว่าทีมจะเก็บได้เพียงหนึ่งแต้ม แต่แวงแกร์ยังมองว่ามีประโยชน์ \"หากโบลตันยังคงเล่นแบบนั้น เราจะมองย้อนกลับมาดูผลนี้และรู้สึกยินดีมาก ดีมากเท่ากับทีมที่เราเล่น\" ต่อมาในวันเปิดกล่องของขวัญ อ็องรียิงสองประตูช่วยให้ทีมชนะวุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ 3–0 สามวันถัดมา ทีมพบกับเซาแทมป์ตัน ประตูชัยมาจากครึ่งแรก คือ ลูกส่งผ่านของอ็องรีเข้าเท้าของปีเรส \"ที่สไลด์บอลลอดใต้อันต์ตี นิเอมี\" ผลชนะทำให้อาร์เซนอลไม่แพ้ทีมใดมาครึ่งฤดูกาลแล้ว และ \"เดอะไทมส์\" เขียนว่าทีมเริ่ม \"สร้างรัศมีไร้พ่าย\" อาร์เซนอลจบปีปฏิทินด้วยอันดับที่สอง มี 45 แต้มจาก 19 นัด ตามหลังแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเพียงหนึ่งแต้ม และนำเชลซีอยู่สามแต้ม", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "139367#16", "text": "ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 เขาได้เซ็นสัญญาว่าจะอยู่กับสโมสรไปจนจบฤดูกาล 2007-08 โดยเดวิด ดีน รองประธานสโมสรอาร์เซนอลวางแผนว่าจะยื่นข้อเสนอให้อาร์แซน แวงแกร์เข้ามาเป็นบอร์ดบริหารสโมสรเมื่อครั้งที่เขาวางมือจากตำแหน่งผู้จัดการทีมไปแล้ว ", "title": "อาร์แซน แวงแกร์" }, { "docid": "187125#7", "text": "อาร์เซนอลต้องการให้โอกาสกับนักเตะเยาวชน จึงได้สร้างทีม A ขึ้นมาในปี 1929 โดยตอนแรกนั้นทีม A ได้เล่นในลีกกลางสัปดาห์รายการลอนดอนโปรเฟสชันแนล และได้แชมป์ในฤดูกาล 1931-32 ทีมชุดนี้ได้ทำการแข่งขันเรื่อยมาจนถึงปี 1933-34 จนกระทั่งฤดูร้อนของปี 1934 อาร์เซนอลได้จับมือกับ Margate ให้เป็นสโมสรลูก อาร์เซนอลทำข้อตกลงส่งนักเตะดาวรุ่งเข้าไปเล่นในสโมสร Margate เพื่อหาประสบการณ์ในลีกทางใต้และยังให้โอกาสผู้เล่นของ Margate มาเล่นในกับอาร์เซนอลเป็นบางครั้งอีกด้วย ทั้งสองสโมรมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเป็นเวลานาน 4 ปีก่อนที่อาร์เซนอลจะยุติความสัมพันธ์ในปี 1938 หลังจากนั้น อาร์เซนอลก็ได้ส่งทีมสำรองของสโมสรเองเข้าไปเล่นในลีกทางใต้ด้วยสิทธิของสโมสรเอง โดยเกมในบ้านจะเล่นที่สนามที่ตั้งอยู่บนถนน Southbury Road ซึ่งเป็นสนามเหย้าของสโมสร Enfield โดยสโมสรสามารถคว้าอันดับที่ 6 มาครองได้ในฤดูกาล 1938-39", "title": "ทีมสำรอง สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "355296#9", "text": "เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2010 วิลเชียร์ทำประตูแรกในแชมเปียนส์ลีก โดยชิปข้าม อันดรีย์ ปีอาตอฟ (Andriy Pyatov) ที่สนามเอมิเรตส์สเตเดียม ในรอบแบ่งกลุ่มที่เจอกับสโมสรฟุตบอลชาคห์ตาร์โดเนตสค์ ชนะไป 5-1[33] เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010 วิลเชียร์ได้เซ็นสัญญาระยะยาวฉบับใหม่[34] เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010 วิลเชียร์ทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดอาร์เซนอลพบสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลา ชนะไป 4–2 วิลเชียร์ได้รับคำชมในผลงานที่แข่งกับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา โดยทีมชนะไป 2-1 ในนัดนี้เขาส่งผ่าน 93.5% โดย 91% เกิดขึ้นใน 1 ใน 3 ส่วนของสนาม ในแดนคู่แข่ง[35][36][37] ผู้จัดการทีมอาร์เซนอลอาร์แซน แวงแกร์ พูดถึงผลงานครั้งนี้ของเขาว่า \"โดดเด่น\"[38] ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2011 วิลเชียร์ได้รับรางวัลผู้เล่นดาวรุ่งแห่งปีจากสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ และยังอยู่ในรายชื่อทีมแห่งปีของฤดูกาล 2011 ของสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ ร่วมกับเพื่อนร่วมทีมอื่นของอาร์เซนอล ซาเมียร์ นาสรีและบาการี ซาญา[39]", "title": "แจ็ก วิลเชียร์" }, { "docid": "41334#16", "text": "เมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 2013 เบคแคมได้เริ่มกลับมาฝึกฟุตบอลกับสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลและได้มีข่าวว่าทางอาร์เซนอลจะเซ็นสัญญากับเบคแคมเป็นผู้เล่นของสโมสรแต่ก็ได้ถูกปฏิเสธไปอย่างเป็นทางการจากอาร์แซน แวงแกร์ ผู้จัดการทีมของอาร์เซนอล โดยแวงแกร์ได้บอกกับสื่อว่าเหตุที่เขาให้เบคแคมมาฝึกซ้อมกับสโมสรอาร์เซนอลคือเพื่อให้เบคแคมได้ฝึกสภาพร่างกายของเขาเท่านั้นไม่ได้มีการเซ็นสัญญากันอย่างเป็นทางการ. สโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งจึงได้เปิดตัวเขาเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013 โดยนัดแรกของเบคแคมกับปารีแซ็ง แฌร์แม็งคือในนัดที่พับกับ ออแล็งปิกเดอมาร์แซย์ ซึ่งเขาได้ลงเล่นมาเล่นในฐานะตัวสำรองให้กับสโมสรในนาทีที่ 76 และเขายังเป็นผู้เล่นคนที่ 400 ของสโมสรปารีแซ็ง-แฌร์แม็งอีกด้วย. ในวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2013 เบคแคมและเพื่อนร่วมสโมสรสามารนำปารีแซ็ง-แฌร์แม็งคว้าแชมป์ลีกเอิงได้สำเร็จด้วยเอาชนะ ออแล็งปิกลียอแน ไป 1-0 แล้วได้คว้าแชมป์ลีกเอิงเป็นสมัยแรกของเบคแคมและสมัยที่สามของสโมสร.", "title": "เดวิด เบคแคม" }, { "docid": "187125#1", "text": "หัวหน้าโค้ชของทีมสำรองคือ นีล แบนฟิลด์ ซึ่งรับหน้าที่เป็นผู้จัดการทีมด้วย โดยมี ไมก์ ซาลมอน เป็นผู้ช่วย ส่วนหัวหน้าศูนย์พัฒนาเยาวชนของอาร์เซนอลคือ ไลอัม แบรดี มีเดวิด คอร์ท คอยดูแลพัฒนาการโดยทั่วๆไปของผู้เล่นเยาวชนในทีม", "title": "ทีมสำรอง สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "719984#3", "text": "โดยอาร์เซนอลซื้อผู้เล่นใหม่เข้ามาเพียง 2 คนเท่านั้น คือ เปเตอร์ เช็ค ในตำแหน่งผู้รักษาประตู ในช่วงก่อนเปิดฤดูกาล และโมฮาเหม็ด เอลเนนี ในตำแหน่งกองกลาง ในช่วงต้นปี ค.ศ. 2016 และด้วยความที่ห่างจากแชมป์พรีเมียร์ลีกมานานแล้ว ทำให้ในช่วงปลายฤดูกาล มีผู้สนับสนุนสโมสรบางส่วนได้นัดหมายกันขับไล่ อาร์แซน แวงแกร์ ผู้จัดการทีมออกจากตำแหน่งและรวมไปถึงสแตน โครเอนเก นักธุรกิจผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของสโมสรอีกด้วย ", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2015–16" }, { "docid": "926747#46", "text": "ในรอบก่อนรองชนะเลิศ อาร์เซนอลพบสโมสรอังกฤษร่วมชาติเชลซี ผลจับสลากทำให้รองประธานดีนผิดหวัง เขาว่า \"ความยินดีของการเล่นในยุโรปอย่างหนึ่งคือการเล่นกับทีมจากต่างประเทศ และการได้เล่นกับเชลซีสามครั้ง เป็นการชะลอความตื่นเต้นไปบ้าง\" ผลัดแรกแข่งที่สแตมฟอร์ดบริดจ์ยุติด้วยการเสมอเมื่อกวึดยอนแซนและปีแร็สทำประตูให้สโมสรของตน อาร์เซนอลไม่สามารถใช้ข้อได้เปรียบจากการไล่มาร์แซล เดอซายี ออกในครึ่งหลัง แต่แวงแกร์รู้สึกว่าทีมเขาอยู่ในตำแหน่งที่ดีที่จะผ่านเข้ารอบ \"เป้าหมายหลักของเราจะเป็นการชนะเกมที่ไฮบรี และเรารู้ว่าเราทำได้\" ", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "156492#1", "text": "อาแนลกาเริ่มต้นชีวิตนักเตะเยาวชนที่สโมสรปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1996 เมื่อเขาอายุได้ 17 ปี อาร์แซน แวงแกร์ (ซึ่งเพิ่งเข้ารับตำแหน่งผู้จัดการทีมอาร์เซนอลได้ไม่นาน) ได้ซื้อตัวอาแนลกาเข้าร่วมทีมอาร์เซนอลด้วยค่าตัว 5 แสนปอนด์ ฤดูกาลแรกของเขาที่อาร์เซนอล ช่วง 1996-97 ผลงานออกมาไม่ค่อยดี แต่ในฤดูกาลถัดมา 1997-98 อาแนลกาก็สามารถขึ้นมาเป็นตัวจริงได้ และเป็นกองกำลังสำคัญนำทีมอาร์เซนอลคว้าดับเบิลแชมป์พรีเมียร์ลีกและยูฟ่าคัพในฤดูกาลนั้น อาแนลกาเป็นผู้ยิงประตูที่สองให้อาร์เซนอลชนะนิวคาสเซิลยูไนเต็ดไป 2-0 ในนัดชิงชนะเลิศเอฟเอคัพ", "title": "นีกอลา อาแนลกา" }, { "docid": "926747#4", "text": "อาร์เซนอลจบฤดูกาลที่แล้วด้วยอันดับรองชนะเลิศในพรีเมียร์ลีก หลังถูกแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดทำคะแนนแซงในช่วงสิบสัปดาห์สุดท้ายของฤดูกาล อย่างไรก็ตาม สโมสรฯ สามารถคว้าแชมป์เอฟเอคัพ โดยชนะเซาแทมป์ตัน 1–0 และผลจากการเริ่มต้นฤดูกาล 2002–03 ที่ดีนั้น ผู้จัดการทีม อาร์แซน แวงแกร์ บอกเป็นนัยว่าทีมของเขาอาจไม่แพ้ทุกการแข่งขันของฤดูกาล \"ใช่ว่ามันเป็นไปไม่ได้เมื่อเทียบกับที่เอซี มิลานเคยทำได้ แต่ผมมองไม่ออกเลยว่าทำไมแค่พูดถึงก็น่าตกใจหนักหนา คุณคิดว่าแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, ลิเวอร์พูล หรือเชลซีไม่คิดฝันอย่างนี้บ้างหรือ พวกเขาก็เหมือนกัน พวกเขาเพียงไม่พูดเพราะกลัวคนมองว่าน่าตลกขบขัน แต่ไม่มีใครขำขันกับงานแบบนี้หรอก เพราะเรารู้ว่าอะไรก็เกิดขึ้นได้\" ทีมของเขาพ่ายต่อเอฟเวอร์ตันเพียงหนึ่งเดือนหลังประกาศของแวงแกร์ โดยนักเตะดาวรุ่งอย่างเวย์น รูนีย์ เป็นผู้ทำประตูชัย หยุดสถิติไร้พ่าย 30 นัดของอาร์เซนอล ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2003 อาร์เซนอลเป็นจ่าฝูง มีแต้มเหนือกว่าแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอยู่ 5 แต้ม แต่เนื่องจากการบาดเจ็บของผู้เล่นคนสำคัญ รวมทั้งกัปตันทีมปาทริก วีเยรา ทำให้ทีมขาดเสถียรภาพ อาร์เซนอลเสมอหลายนัดในเดือนเมษายน ประกอบกับแพ้ในบ้านต่อลีดส์ยูไนเต็ด ทำให้อาร์เซนอลหมดโอกาสรักษาแชมป์ลีก แวงแกร์หักล้างความคิดเห็นจากสื่อที่กล่าวว่าเป็นฤดูกาลที่ล้มเหลว แวงแกร์กล่าวว่า\nแน่นอนเราต้องการแชมป์ลีก แต่ผมคิดว่าสิ่งที่ยากที่สุดสำหรับสโมสรคือความคงเส้นคงวา และเรามีความคงเส้นคงวาอย่างมาก เราเสียแชมป์ลีกให้กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ซึ่งใช้เงินมากกว่า 50% ทุกปี ปีที่แล้วพวกเขาใช้เงินซื้อนักเตะ 30 ล้านปอนด์หลังจากเสียแชมป์ พวกเขาจะทำแบบนี้อีกในปีหน้า และพวกเราสร้างปาฏิหาริย์ที่ต่อกรกับพวกเขา", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "791388#1", "text": "โดยรวม อาร์เซนอลจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 5 ในพรีเมียร์ลีก นับเป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี ที่อาร์แซน แวงแกร์ ทำหน้าที่ผู้จัดการทีมและหัวหน้าผู้ฝึกสอนที่ไม่อาจผ่านไปเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกในฤดูกาลถัดไปได้ อีกทั้งยังเป็นครั้งแรกตั้งแต่ฤดูกาล 1994–95 หรือเป็นเวลา 22 ปี ที่จบด้วยอันดับต่ำกว่า ทอตนัมฮอตสเปอร์ สโมสรร่วมกรุงลอนดอน ซึ่งถือว่าเป็นคู่แข่งสำคัญอีกด้วย โดยทราบผลนี้ตั้งแต่จบการแข่งขันนัดที่ 35 ถึงแม้ว่าผลการแข่งขันเอฟเอคัพ อาร์เซนอลจะได้แชมป์ ซึ่งถือว่าเป็นแชมป์สมัยที่ 13 นับว่ามากที่สุดในบรรดาสโมสรทั้งหมดก็ตาม ", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17" }, { "docid": "5446#7", "text": "การกลับเข้ามาสู่วงการฟุตบอลอีกครั้งของ จอร์จ แกรแฮม อดีตนักเตะในฐานะผู้จัดการทีมของอาร์เซนอลในปี 1986 ทำให้สโมสรสามารถคว้าแชมป์ได้ 3 สมัย อาร์เซนอลคว้าแชมป์ลีกคัพได้ในฤดูกาล 1986-87 ซึ่งเป็นฤดูกาลแรกที่แกรแฮมเข้ามาคุมทีม จากนั้นก็มาได้แชมป์ลีกในฤดูกาล 1988-89 ด้วยการคว้าแชมป์จากประตูในนาทีสุดท้าของเกมที่พบกับลิเวอร์พูล จากนั้น อาร์เซนอลภายใต้การคุมทีมของแกรแฮมนั้นก็ได้แชมป์ลีกอีกในปี 1990-91 โดยแพ้ไปเพียงเกมเดียวเท่านั้น และสามารถคว้าแชมป์ดับเบิลแชมป์เอฟเอคัพพร้อมกับฟุตบอลลีกคัพได้ในฤดูกาล 1992-93 และถ้วยยุโรปใบที่ 2 คือยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพในฤดูกาล 1993-94 ได้ อย่างไรก็ตาม ชื่อเสียงของแกรแฮมก็กลายเป็นความเสื่อมเสียเมื่อมีการเปิดเผยว่าเขาได้รับเงินสินบนจาก Rune Hauge เอเยนต์ของนักเตะในการซื้อตัว[11] จากนั้น แกรแฮมก็โดนไล่ออกในปี 1995 และ บรูซ ริออช ก็เข้ามารับตำแหน่งแทน ซึ่งได้คุมทีมอยู่เพียงฤดูกาลเดียวก่อนที่จะลาออกไปเนื่องจากขัดแย้งกับบอร์ดบริหาร[12]", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" }, { "docid": "926747#30", "text": "วันที่ 28 มีนาคม 2004 การพบกับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดในบ้านถือเป็นบททดสอบที่ดุดันของอาร์เซนอล เป็นการพบกันครั้งแรกของทั้งสองทีมหลังเหตุรุนแรงที่โอลด์แทรฟฟอร์ด กลีชีได้เป็นผู้เล่นตัวจริงแทนโคลซึ่งบาดเจ็บในเกมแชมเปียนลีกพบกับเชลซีเมื่อกลางสัปดาห์ ส่วนเรเยสได้เป็นตัวจริงแทนแบร์คกัมป์ อ็องรียิงประตูขึ้นนำให้อาร์เซนอลด้วยลูกยิงระยะไกลที่โค้งผ่านผู้รักษาประตู รอย แคร์รอลล์ แต่ในห้านาทีสุดท้าย ลูย ซาอา หลบหลีกกองหลังของอาร์เซนอล และทำประตูตีเสมอให้ทีมเยือน อาร์เซนอลเกือบได้ประตูชัยในช่วงทดเวลาบาดเจ็บ แต่ผู้รักษาประตูรับลูกยิงของโลแรนได้ ผลเสมอไม่ดีสำหรับเซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ซึ่งยอมรับโอกาสของทีมเขาภายหลังว่า \"ตอนนี้พวกเขา (อาร์เซนอล) กำลังจะเป็นแชมป์ลีก ผมแน่ใจเลย พวกเขาเล่นด้วยความมุ่งมั่นอย่างยิ่ง ... ทีมที่แข็งแกร่ง ฉะนั้นควรชนะลีกจริง ๆ\" หลังจบนัดนั้น \"อาร์เซนอลสร้างสถิติลีกใหม่ตลอดกาลของลีกไม่แพ้ทีมใด 30 นัดติดต่อกันตั้งแต่เริ่มฤดูกาล ซึ่งผู้ถือสถิติเดิม ได้แก่ ลีดส์และลิเวอร์พูล จบเดือนมีนาคม พวกเขาอยู่อันดับที่หนึ่งของตาราง มีแต้มนำห่างเชลซี 7 แต้มในขณะที่เหลือการแข่งขันอีก 8 นัด\nหลังตกรอบแชมป์ถ้วยสองรายการห่างกันหนึ่งสัปดาห์ อาร์เซนอลเปิดบ้านรับลิเวอร์พูลในวันศุกร์ประเสริฐ นัดนั้น ฮูเปีย้ฟยิงประตูขึ้นนำให้ทีมเยือนก่อนตั้งแต่ 5 นาทีแรก ต่อมาอ็องรีก็ยิงประตูตีเสมอหลัง 30 นาทีเล็กน้อย แต่ลิเวอร์พูลก็ขึ้นนำอีกครั้งก่อนหมดครึ่งแรก อาร์เซนอลยิงสองประตูพลิกขึ้นนำในเวลา 1 นาที ประตูที่สองของอ็องรีเป็นการหยุดดีทมาร์ ฮามัน ในกลางสนาม เลี้ยงผ่านกองหลัง เจมี แคร์ราเกอร์ และวางบอลผ่านแยชือ ดูแด็ก อ็องรีทำแฮตทริกได้ในนาทีที่ 78 หลังแบร์คกัมป์ช่วยส่งให้ ผู้จัดการทีมลิเวอร์พูล เฌราร์ อูลีเย เปรียบอาร์เซนอลกับ \"สัตว์บาดเจ็บ\" หลังการแข่งขันและเชื่อว่าอ็องรีเป็น \"ผู้สร้างความแตกต่าง ... เขาตั้งจังหวะการเล่น\" ต่อมาอาร์เซนอลเสมอ 0–0 กับนิวคาสเซิลในวันจันทร์หยุดธนาคาร และห้าวันถัดมาพบกับลีดส์ยูไนเต็ด นัดนั้นอ็องรียิงสี่ประตู และได้รับคำชมจากแวงแกร์ว่าเป็น \"กองหน้าดีที่สุดในโลก\" อาร์เซนอลต้องการชนะอีกสองนัดก็จะคว้าแชมป์", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "139367#17", "text": "อนาคตอาชีพผู้จัดการทีมของแวงแกร์เริ่มไม่แน่นอนเมื่อครั้งที่เดวิด ดีนได้ลาออกจากบอร์ดบริหารของอาร์เซนอลเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 2007 ซึ่งเดวิด ดีนคือหนึ่งในบอร์ดบริหารที่แวงแกร์ใกล้ชิดมากที่สุด จนเกิดกระแสว่าแวงแกร์อาจจะไปคุมทีมที่สโมสรอื่นหรืออาจจะวางมือจากวงการฟุตบอล อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 2007 อาร์แซน แวงแกร์ได้ตกลงเซ็นสัญญา 3 ปีฉบับใหม่กับอาร์เซนอล สัญญานี้มีมูลค่าถึง 4 ล้านปอนด์และทำให้แฟนบอลอาร์เซนอลที่เคยคิดว่าเขาจะออกจากสโมสรตอนท้ายฤดูกาลเมื่อสัญญาหมดลงได้มั่นใจขึ้นอย่างมากว่า เขาจะยังอยู่กับอาร์เซนอลต่อไปอีก", "title": "อาร์แซน แวงแกร์" }, { "docid": "926747#52", "text": "หนึ่งวันหลังนัดที่พบกับเลสเตอร์ซิตี อาร์เซนอลจัดการแห่ถ้วยรางวัลพรีเมียร์ลีกบนรถโดยสารประจำทางเปิดประทุนต่อหน้าแฟนกว่า 250,000 คน แห่ฉลองชัยเริ่มต้นจากไฮบรีไปสิ้นสุดที่ศาลากลางเมืองอิสลิงตัน ในเฉลียงของศาลากลาง วีเยรากล่าวต่อฝูงชนว่า \"มันเป็นฤดูกาลวิเศษ เราทำสิ่งที่ไม่น่าเชื่อถือสำเร็จ แต่เราไม่สามารถทำได้หากปราศจากแฟน\" ในการสัมภาษณ์กับบีบีซี ดีนเสริมว่า \"เราเห็นประวัติศาสตร์ถูกสร้าง และผมจะแปลกใจหากมันเกิดขึ้นอีกครั้ง มันเป็นเอกสิทธิ์จริง ๆ ที่ได้ชมอาร์เซนอลฤดูกาลนี้\"\nความสำเร็จไร้พ่ายของอาร์เซนอลตลอดฤดูกาลลีกได้รับการยกย่องจากผู้เกี่ยวข้องในวงการฟุตบอล เดริก ชอว์ (Derek Shaw) ประธานสโมสรเพรสตันกล่าวแสดงความยินดีเมื่ออาร์เซนอลทำสถิติไร้พ่ายตลอดฤดูกาลเช่นเดียวกับสโมสรของเขาทำไว้เมื่อ 115 ปีก่อน ชาวบราซิล โรแบร์ตู การ์ลุส เปรียบเทียบลีลาการเล่นของอาร์เซนอลกับ \"ฟุตบอลแซมบา\" ส่วนมีแชล ปลาตีนีปรบมือให้กับ \"ความสามารถและสปิริตยิ่งใหญ่\" ของทีม อดีตผู้จัดการทีมอาร์เซนอล จอร์จ เกรอัม ยกความสำเร็จให้การการปรับปรุงเกมรับ เนื่องจากความผิดพลาดในฤดูกาลที่แล้วมีราคาแพงและอดีตกองหน้า อลัน สมิท รู้สึกว่าทีมชุดนี้ \"ดีที่สุดเท่าที่ไฮบรีเคยเห็นแน่นอน\"", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04" }, { "docid": "662577#2", "text": "ในปี ค.ศ. 1997 โอเฟอร์มาร์สได้ย้ายมาร่วมสโมสรอาร์เซนอล ในช่วงแรกเขายังทำผลงานได้ไม่ดีนักและตกเป็นเป้าการวิพากษ์วิจารณ์จากบรรดาเกจิฟุตบอลและแฟนบอล แต่เมื่อจบฤดูกาลแรก โอเฟอร์มาร์สก็กลายเป็นหัวใจสำคัญในการนำทีมคว้าทั้งแชมป์ลีกและแชมป์ถ้วยได้สำเร็จ โดยเป็นผู้ทำประตูชัยในเกมที่อาร์เซนอลพบกับคู่แข่งสำคัญอย่างแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดซึ่งช่วยกรุยทางสู่การเป็นแชมป์พรีเมียร์ลีกของสโมสร และยังเป็นผู้ยิงประตูเบิกร่องให้ทีมเอาชนะนิวคาสเซิลยูไนเต็ดในรอบชิงชนะเลิศของเอฟเอคัพ 1998 อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2000 โอเฟอร์มาร์สย้ายไปยังบาร์เซโลนาด้วยข้อตกลงมูลค่า 25 ล้านปอนด์ และกลายเป็นนักเตะที่มีค่าตัวแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ฟุตบอลดัตช์ แต่บาร์เซโลนากลับไม่สามารถคว้าแชมป์รายการใด ๆ มาครองได้เลยในช่วงที่เขาค้าแข้งอยู่กับทีม การเปลี่ยนผู้จัดการสโมสรหลายครั้งทำให้เขากลายเป็นนักเตะส่วนเกินของทีม และอาการบาดเจ็บเรื้อรังที่หัวเข่าก็ทำให้เขาต้องประกาศเลิกเล่นฟุตบอลอาชีพในปี ค.ศ. 2004 แต่ในปี ค.ศ. 2008 เขาก็เปลี่ยนใจกลับมาเล่นให้กับโกอะเฮดอีเกิลส์เป็นเวลาหนึ่งฤดูกาลก่อนจะเลิกเล่นไปอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 2012 เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฟุตบอลของสโมสรอายักซ์", "title": "มาร์ก โอเฟอร์มาร์ส" }, { "docid": "139367#9", "text": "แวงแกร์นั้นถือว่าเป็นคนที่โชคดีที่ได้เป็นเพื่อนกับคนที่จะได้เป็นรองประธานสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในเวลาต่อมา นั่นคือ เดวิด ดีน ในคราวที่ทั้งสองได้พบกันเมื่อแวงแกร์ไปชมเกมระหว่างอาร์เซนอลกับควีนส์ปาร์กเรนเจิร์สในปี ค.ศ. 1988 ต่อมาหลังจากที่บรูซ ริอ็อก ได้ลาออกไปในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1996 นั้น เฌราร์ อูลีเย ต่อมาได้เป็นผู้อำนวยการทางเทคนิคของสหพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศสได้แนะนำให้ดีนชวนแวงแกร์มาทำงานแทนในปี ค.ศ. 1996 อาร์เซนอลยืนยันการว่าจ้างอาร์แซน แวงแกร์เป็นผู้จัดการทีมในวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1996 และเขาก็ได้เข้ามารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 ตุลาคม ปีเดียวกันนั้นเอง แวงแกร์เป็นผู้จัดการทีมของอาร์เซนอลคนแรกที่มาจากประเทศนอกสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ แม้ว่าผู้อำนวยการทางเทคนิคที่มีศักยภาพของสมาคมฟุตบอลจะเป็นคนชักชวนให้แวงแกร์มารับตำแหน่งนี้ แต่ในเวลานั้นแทบไม่มีใครในอังกฤษเลยที่รู้จักชื่อของคนคนนี้", "title": "อาร์แซน แวงแกร์" }, { "docid": "5446#9", "text": "อาร์เซนอลจบฤดูกาลด้วยอันดับ 1 หรืออันดับ 2 รวมทั้งสิ้น 8 ฤดูกาลจาก 11 ฤดูกาลที่อาร์แซน แวงแกร์ก้าวเข้ามาคุมทีมนี้[14] อาร์เซนอลเป็นหนึ่งในห้าสโมสรเท่านั้นที่สามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกได้ตั้งแต่ก่อตั้งลีกสูงสุดนี้ขึ้นในปี 1993 (นอกจากอาร์เซนอลก็มีแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, แบล็กเบิร์นโรเวอส์, เชลซี และแมนเชสเตอร์ซิตี) แม้ว่าจะไม่สามารถป้องกันแชมป์ได้แม้แต่สมัยเดียวก็ตาม[15] เมื่อไม่นานมานี้ อาร์เซนอลยังไม่เคยตกรอบที่ต่ำกว่ารองก่อนรองชนะเลิศในรายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกเลย โดยในฤดูกาล 2005-06 สามารถเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศได้ ซึ่งเป็นทีมแรกจากกรุงลอนดอนที่สามารถเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศถ้วยยุโรปได้ในรอบ 15 ปี แต่กลับแพ้ให้กับบาร์เซโลนา 2-1 อย่างน่าเสียดาย จากนั้นในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2006 อาร์เซนอลก็ได้ยุติประวัติศาสตร์ 93 ปีที่ไฮบิวรีลง โดยการย้ายสนามเหย้ามาอยู่ที่สนามเอมิเรตส์สเตเดียมอันเป็นที่ตั้งของสโมสรในปัจจุบันนี้", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล" } ]
3507
ไทยเปิดโอกาสให้สตรีลงสมัครเลือกตั้งสส.ได้โดยเสรีใช่หรือไหม?
[ { "docid": "372834#0", "text": "บทบาทของ<b data-parsoid='{\"dsr\":[8,29,3,3]}'>สตรีในประเทศไทย</b>นั้นได้เพิ่มขึ้นกว่าในอดีตอย่างมากและพบว่า ผู้หญิงได้รับการยอมรับในสังคมมากขึ้น[1] โดยประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆ ในทวีปเอเชียที่เปิดโอกาสให้ผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2475[2][3] อย่างไรก็ดี บทบาทด้านการพัฒนาชาติยังไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก ผู้หญิงยังคงมีบทบาทน้อยในการเมืองไทย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมาจากความตระหนักเรื่องความเท่าเทียมทางเพศที่ไม่เพียงพอและจากทัศนคติของสังคม[4] อย่างไรก็ดีพวกเธอก็ยังได้รับการยอมรับจากสังคมในภาพรวมมากกว่าบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ", "title": "สตรีในประเทศไทย" } ]
[ { "docid": "390425#2", "text": "อนุตตมา อมรวิวัฒน์ เริ่มทำงานภายหลังจากสำเร็จการศึกษา เป็นข้าราชการประจำกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ในตำแหน่ง นักวิชาการพาณิชย์ ระดับ 6 จากนั้นจึงเปลี่ยนแปลงสายงานมาเป็นอาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทั่งได้ลาออกจากงานอาจารย์ เพื่อลงสมัคร ส.ส. ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย ในเขต 7 กทม. แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และต่อมาได้ย้ายไปเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้รับมอบหมายให้ดูแลเกี่ยวกับงานด้านสังคม โดยเฉพาะ นโยบายสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส หลังจากนั้นก็ได้รับการแต่งต้งให้เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นอกจากนั้น ยังได้รับแต่งตั้งจากพรรคเพื่อไทย ให้ไปดำรงตำแหน่ง รองโฆษกพรรคเพื่อไทย เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 และได้รับเลือกจากที่ประชุมพรรค ให้รับตำแหน่ง \nรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย ", "title": "อนุตตมา อมรวิวัฒน์" }, { "docid": "588515#114", "text": "พรรคเพื่อไทยแสดงความเสียใจต่อคำวินิจฉัย และกล่าวว่า ประเทศได้สูญเสียโอกาสที่จะก้าวเดินต่อไป และศาลได้สร้างมาตรฐานที่ไม่ถูกต้องเพื่อเปิดให้ล้มการเลือกตั้งทั้งหมดได้ด้วยการสร้างความปั่นป่วนที่หน่วยเลือกตั้งเพียงบางแห่งเท่านั้น ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้าน แสดงความเห็นทำนองเดียวกันว่า \"เป็นบรรทัดฐานว่า ต่อไปหากใครอยากล้มการเลือกตั้ง ให้หาคนออกมาประท้วงปิดถนนล้อมหน่วยเลือกตั้งไม่ให้มีการสมัครสัก 28 เขต แค่นี้การเลือกตั้งก็เป็นโมฆะ\"", "title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557" }, { "docid": "53996#7", "text": "ต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ได้ลาออกจากพรรคประชาธิปัตย์โดยให้เหตุผลเนื่องจากไม่ได้รับความเป็นธรรมในการพิจารณาส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงเลือกตั้ง และยืนยันไม่ลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550 กระทั่งได้มีโอกาสลงสมัครในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ส่ง อภิรักษ์ โกษะโยธิน ลงสมัครในนามพรรคฯ โดยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ได้เบอร์ 2 มีสโลแกนการหาเสียงว่า \"ดร.แดนทำได้\" หรือ \"Dr. Dan Can Do\" ได้รับคะแนน 260,051 คะแนน เป็นลำดับที่ 4\nประวัติ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์", "title": "เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์" }, { "docid": "242634#24", "text": "ได้ยื่นหนังสือต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้ระงับการรับสมัครผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมืองใหม่ อันเกิดจากหัวหน้าพรรคฝ่าฝืนนโยบายพรรค ข้อบังคับพรรค และมติที่ประชุมใหญ่และกล่าวหาว่านายสมศักดิ์ โกศัยสุข หัวหน้าพรรคการเมืองใหม่ กระทำการเข้าข่ายฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 มาตรา 31 และคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม่ทั้ง 10 ราย ยังเข้าร่วมรณรงค์ให้ประชาชนโหวตโนผ่านสื่อมวลชนต่าง ๆ ซึ่งการกระทำดังกล่าว เป็นการฝ่าฝืนวินัย และจรรยาบรรณของสมาชิกพรรค และกรรมการสาขาพรรค (ข้อ 17) ตามข้อบังคับของพรรคการเมืองใหม่ พ.ศ. 2552 จึงไม่มีสิทธิ์ ไปแถลงในนามของพรรค และยังเป็นการฝ่าฝืน มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 อีกทั้ง ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้มีหนังสือที่ ลต (ทบพ.) 0401/8737 ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2554 ชี้ขาดว่าพรรคการเมืองใหม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้โดยถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ", "title": "พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย" }, { "docid": "415393#3", "text": "นายบุญชู รู้จักมักคุ้นกับตระกูลไกรวัตนุสสรณ์โดยเฉพาะนายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ ส.ส. หลายสมัย และนายอุดร ไกรวัตนุสสรณ์ (นายก อบจ. ยุคที่นายบุญชูเป็น ส.อบจ.) มาตั้งแต่สมัยเป็นกำนันตำบลอ้อมน้อย พ.ศ. 2554 จึงได้รับการชักชวนให้ลงสมัคร ส.ส. ในนามพรรคเพื่อไทย และได้รับการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก", "title": "บุญชู นิลถนอม" }, { "docid": "70764#6", "text": "เมื่อต้นปี พ.ศ. 2551 ภายหลังพรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้ง นายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พ.ต.อ.ทินกร มั่งคั่ง อดีตนายเวร ที่ถูก พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ฯ ปลดออกจากราชการ ลงนามหนังสือร้องเรียนถึงนายสมัครฯ ซึ่งสำนักนายกรัฐมนตรีได้ลงรับหนังสือร้องเรียนทั้ง 3 ฉบับ ไว้พร้อมกันในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และในวันรุ่งขึ้น นายสมัครฯก็ได้ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยร้ายแรงต่อ พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ฯ ทันที โดยข้ามขั้นตอนไม่ทำการสืบสวนข้อเท็จจริงตามกฎหมายเสียก่อน และในวันเดียวกันนั้นก็ได้ออกคำสั่งให้ พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ฯ ไปปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี โดยให้ พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้รักษาราชการแทน ", "title": "เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส" }, { "docid": "197881#3", "text": "ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 การุณได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 5 กรุงเทพมหานคร (บางเขน, สายไหม และดอนเมือง) ในสังกัดพรรคพลังประชาชน แต่ต่อมาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญได้มีมติให้ยุบพรรคพลังประชาชน การุณจึงย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย โดยลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้ง ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 และสามารถเอาชนะ แทนคุณ จิตต์อิสระ จากพรรคประชาธิปัตย์ไปได้ ต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร", "title": "การุณ โหสกุล" }, { "docid": "420152#2", "text": "นางปานหทัยอยู่ในครอบครัวนักการเมือง โดยทั้งบิดา น้องชาย และสามี ล้วนเป็นนักการเมืองทั้งหมด หลังจากนายทศพร เสรีรักษ์ สามี ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี ร่วมกับบ้านเลขที่ 111 นางปานหทัยจึงลงสมัครรับเลือกตั้งแทน ในปี พ.ศ. 2550 และได้รับการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในสังกัดพรรคพลังประชาชน และต่อมาได้รับการเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย", "title": "ปานหทัย เสรีรักษ์" }, { "docid": "460432#3", "text": "ผณินทรา ได้เข้าสู่งานการเมืองครั้งแรก โดยลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการชักชวนของนายไกรสร ตันติพงศ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ ให้ลงสมัครคู่กับสามี ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 และนับเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่", "title": "ผณินทรา ภัคเกษม" }, { "docid": "722752#2", "text": "นายดาบชัย อัคราช เริ่มทำงานเป็นครูที่โรงเรียนราษฎร์อนุกูลวิทยา ต่อมาเริ่มทำงานการเมืองโดยสมัครรับเลือกตั้งได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมืองสกลนคร ในปี พ.ศ. 2497 และเป็นสมาชิกสภาจังหวัด (ส.จ.) ในปี พ.ศ. 2498 กระทั่งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร สังกัดพรรคเสรีประชาธิปไตย จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ จึงเป็นอันสั้นสุดการปฏิบัติหน้าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในครั้งนั้น", "title": "ดาบชัย อัคราช" }, { "docid": "630851#61", "text": "ความลำเอียงเพื่อยืนยันอาจนำให้นักลงทุนมีความมั่นใจมากเกินไป โดยไม่ใส่ใจในหลักฐานว่ายุทธวิธีของตนจะทำให้ขาดทุน \nในงานวิจัยตลาดหลักทรัพย์เลือกตั้ง (จุดประสงค์เพื่อจะพยากรณ์ว่าใครจะได้รับเลือกตั้ง) นักลงทุนจะทำกำไรได้ดีกว่าถ้าพยายามฝืนความเอนเอียง\nยกตัวอย่างเช่น นักลงทุนที่ประเมินผลการอภิปรายของผู้รับสมัครเลือกตั้งอย่างเป็นกลาง ๆ ไม่ใช่ตามแนวพรรคของตน มีโอกาสที่จะได้กำไรมากกว่า \nเพื่อที่จะต่อต้านความเอนเอียงเพื่อยืนยัน นักลงทุนสามารถลองเปลี่ยนทัศนคติไปในแนวตรงกันข้ามเพื่อที่จะพัฒนาเหตุผลในทางความคิด \nเทคนิคหนึ่งให้นักลงทุนจินตนาการว่า การลงทุนของตนเองจะล้มเหลวแล้วให้ถามตนเองว่า ทำไมเหตุการณ์นี้จึงเกิดขึ้น", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "7892#22", "text": "ประชาธิปไตยเสรียังมีอายุสั้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และหลายประเทศมักอ้างว่าตนให้สิทธิการเลือกตั้งแก่พลเมืองทั้งหมดแล้ว ในอาณานิคมออสเตรเลียเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ขณะที่เซาท์ออสเตรเลียเป็นรัฐบาลแห่งแรกของโลกที่ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งแก่สตรีในปี ค.ศ. 1861 ส่วนในประเทศนิวซีแลนด์ ได้ให้สิทธิการเลือกตั้งแก่ชาวมาวรีพื้นเมืองใน ค.ศ. 1867 ชายผิวขาวใน ค.ศ. 1876 และผู้หญิงใน ค.ศ. 1893 ซึ่งนับเป็นประเทศแรกที่ให้ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปกับพลเมืองทั้งหมด แม้สตรียังไม่ได้รับอนุญาตให้สมัครรับเลือกตั้งจน ค.ศ. 1919", "title": "ประชาธิปไตย" }, { "docid": "458922#3", "text": "โดยการเลือกตั้งครั้งนี้ นายสมัครได้กล่าวว่า เหตุที่ลงสมัคร เพื่อตอบรับคำเรียกร้องของ นายโกวิท สีตลายัน คอลัมนิสต์อาวุโสของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เจ้าของนามปากกา \"มังกรห้าเล็บ\" และจะเป็นตำแหน่งทางการเมืองครั้งสุดท้ายแล้วของตน ซึ่งภายหลังจากนี้จะไปดำเนินรายการโทรทัศน์แนววิพากษ์วิจารณ์การเมืองแทน ซึ่งในระหว่างการหาเสียง นายสมัครไม่ร่วมประชันวิสัยทัศน์กับผู้สมัครคนอื่น ๆ ไม่ว่ารายการไหนก็ตาม ด้วยถือว่ามีอาวุโสทางการเมืองสูงกว่ามาก โดยมีนโยบายที่จะให้การค้าขายแผงลอยบนทางเท้าเป็นไปโดยเสรีตลอดทั้งสัปดาห์ จึงได้รับความนิยมอย่างมากจากบรรดาพ่อค้าแม่ค้า และใช้คำขวัญในการหาเสียงว่า \"\"ถ้าจะใช้ผม กรุณาเลือกผม\"\"", "title": "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543" }, { "docid": "68305#16", "text": "ในปี พ.ศ. 2556 แทนคุณได้ลงสมัครการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตดอนเมือง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อีกครั้ง โดยเป็นการเลือกตั้งซ่อม เนื่องจาก นายการุณ โหสกุล โดนใบแดงและถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี การเลือกตั้งในครั้งนี้ นายแทนคุณสามารถเอาชนะคู่แข่งคือ ยุรนันท์ ภมรมนตรี จากสังกัด พรรคเพื่อไทย ไปได้กว่าสองพันกว่าคะแนน จึงได้เป็น สส.เขตดอนเมืองจาก พรรคประชาธิปัตย์ คนแรกในรอบ 37 ปีในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้ง ได้มีคำสั่งเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี แก่นายการุณ โหสกุล ซึ่งต้องพ้นจากตำแหน่ง ส.ส. อันเนื่องจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2554 ได้ให้ร้ายแทนคุณด้วยข้อความอันเป็นเท็จ", "title": "แทนคุณ จิตต์อิสระ" }, { "docid": "635268#4", "text": "พ.อ.สมคิด ศรีสังคม ลงสมัครรับเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2512 ในสังกัดพรรคเสรีประชาธิปไตย ซึ่งมีนายจารุบุตร เรืองสุวรรณ เป็นหัวหน้าพรรค แต่เขาได้รับเลือกตั้งเพียงคนเดียว ต่อมาเขาได้ก่อตั้งพรรคสังคมประชาธิปไตย ในปี พ.ศ. 2514 แต่ก็ต้องยุบไปในปีเดียวกันเนื่องจากการปฏิวัติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 เขาจึงได้จัดตั้งพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทยขึ้นมา และดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค ส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2519 ต่อมาย้ายมาร่วมงานกับนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร หัวหน้าพรรคแรงงานประชาธิปไตย และได้จัดตั้งพรรคสังคมประชาธิปไตย ขึ้นอีกครั้งในปี พ.ศ. 2525", "title": "สมคิด ศรีสังคม" }, { "docid": "450504#5", "text": "ในวันต่อมาได้มีการเลือกตั้งอบจ.ปทุมธานี ซึ่ง นายสุเมธ ฤทธาคนีได้ลงสมัครแข่งกับ นายนายชาญ พวงเพ็ชร์ นายกอบจ.คนเก่าแล้วแพ้ 214,419 คะแนนต่อ 110,974 คะแนน เป็นผลว่าพรรคเพื่อไทยได้ไล่นายสุเมธออกแล้วได้สั่งว่า ห้ามสส.เพื่อไทยคนไดลาออกจากตำแหน่งเพื่อมาลงสมัครเลือกตั้งท้องถิ่น", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555" }, { "docid": "450504#2", "text": "พรรคเพื่อไทยมีมติส่ง นาย สมชาย รังสิวัฒนศักดิ์ อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ อำเภอธัญบุรี ซึ่งเป็นสามีของนางสาวพรพิมล ธรรมสาร ซึ่งเป็นสส.ปทุมธานีเขต 4 ของ พรรคเพื่อไทย ลงสมัครเลือกตั้งซ่อมในครั้งนี้ ในส่วนของพรรคประชาธิปัตย์ ได้มีมติส่ง นายเกียรติศักดิ์ ส่องแสง ผู้สมัครที่ลงแข่งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 จังหวัดปทุมธานี เขตเดิม", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555" }, { "docid": "412603#2", "text": "ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ อดีตเป็นสมาชิกสภาเขตหนองจอก 4 สมัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ต่อมาลาออกมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคพลังประชาชน และได้รับการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ", "title": "ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์" }, { "docid": "133073#20", "text": "พ.ศ. 2533: ได้รับรางวัลสตรีดีเด่น 1 ใน 12 คน เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส (มีนาคม) พ.ศ. 2537: ได้รับรางวัล Sacred Souls Award 1 ใน 5 คน จาก Culture Care Foundation, New York, สหรัฐอเมริกา โดยมีพิธีที่เมืองจาร์กาต้า ประเทศอินโดนีเซีย (17 ธันวาคม) พ.ศ. 2538: ได้รับโล่เกียรติคุณ บุคคลที่มีผลงานและบทบาทดีเด่น ประจำปี 2537 สาขาการแก้ไขปัญหาโสเภณี เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล 8 มีนาคม 2538 จาก นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี จัดโดยคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ (กสส.) สำนักนายกรัฐมนตรี (1 มีนาคม) พ.ศ. 2545: ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในพระพุทธศาสนา ประจำปี 2545 จากคณะกรรมการมหาวิทยาลัยพุทธศาสนาโลก มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก", "title": "กนิษฐา วิเชียรเจริญ" }, { "docid": "125808#9", "text": "ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550 ได้ลงสมัคร ส.ส.กรุงเทพมหานคร เขต 5 (บางเขน สายไหม ดอนเมือง) สังกัดพรรคพรรคชาติไทยอีกครั้ง แต่ไม่ได้รับเลือก จากนั้นในปี พ.ศ. 2551 ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคชาติไทย", "title": "จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์" }, { "docid": "127751#3", "text": "ในการเลือกตั้งครั้งนี้มี 4 พรรค ที่ส่งผู้สมัครแต่ไม่มีผู้ใดได้รับเลือกเลยคือ พรรคสหประชาธิปไตย, พรรครวมพลังใหม่, พรรคท้องถิ่นก้าวหน้า และ พรรคเกษตรเสรี", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535" }, { "docid": "551461#5", "text": "ก่อน “ดร. นุ” ผันตัวเองมาทำงานภาคเอกชนและแวดวงการเงินการธนาคารทั้งในประเทศและต่างประเทศมากกว่า 25 ปี เคยทำงานสื่อมวลชนช่วงจบการศึกษาใหม่ๆ และ ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม เป็นอดีตผู้นำนักศึกษา นายกสโมสรนิสิตจุฬาฯปี 31 และกรรมการ สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย และผู้ประสานงานสหพันธ์นักศึกษาไทยในสหรัฐฯ ปี 34-36 มีบทบาทในการผลักดันให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง การถ่ายทอดการประชุมรัฐสภาฯ การเปิดเผยทรัพย์สินของนักการเมือง กฎหมายประกันสังคม และการเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนผู้ด้อยโอกาส และร่วมพลักดัน [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2540|รัฐธรรมนูญปี ๔๐]] (ฉบับประชาชน) เป็นต้น ช่วงที่เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจปี 40 “อนุสรณ์ ธรรมใจ” ได้ร่วมกับ [[นิคม_จันทรวิทุร|ศ. นิคม จันทรวิทุร]] นักวิชาการด้านแรงงานท่านอื่นๆ และผู้นำแรงงาน ผลักดันให้มีการใช้ระบบประกันการว่างงานให้เกิดขึ้นในประเทศไทย ในปี [[พ.ศ. 2547]] เขาได้แสดงปาฐกถาปรีดี พนมยงค์และได้นำเสนอแนวทางการปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองในหลายเรื่องด้วยกัน ในปี [[พ.ศ. 2551]] ได้ตัดสินใจลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร ทั้งที่รู้ว่าโอกาสในการชนะเลือกตั้งไม่มาก เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ปี 50 ให้มีสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพฯ ได้เพียงท่านเดียว (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ให้มีสมาชิกวุฒิสภาได้ถึง 18 ท่าน) เพื่อประกาศจุดยืนประชาธิปไตย เรียกร้องให้ สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง และต้องการไปผลักดันให้เกิดขบวนการปฏิรูปประเทศไทยครั้งใหญ่ และนำเสนอตัวเองในฐานะที่เป็นกลางทางการเมืองแต่ไม่สามารถฝ่ากระแสความขัดแย้งทางการเมืองแบบสุดขั้วได้ และขณะนั้นกระแสและอิทธิพลของคณะรัฐประหาร คมช ยังคงอยู่ เขาจึงไม่ได้รับเลือกตั้ง แต่ก็ได้คะแนนเสียงจากประชาชนไม่น้อย มากกว่าสองแสนคะแนน จุดยืนทางการเมืองของเขาจึงยึดหลักการ[[ประชาธิปไตย]]อย่างเข้มแข็งและต้องการให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมาจากการเลือกตั้ง ต้องการให้มีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีที่มีความเป็นธรรม โดยบทบาทและแนวคิดจึงมีความชัดเจนว่าไม่เห็นด้วยกับแนวทางอนุรักษนิยมและเผด็จการ จึงจัดอยู่ในกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดแบบเสรีนิยมที่ยอมรับข้อดีระบบสังคมนิยมด้วย เขายังเลื่อมใสในแนวทางรัฐสวัสดิการที่มีลักษณะเป็น Productive Welfare System อีกด้วย", "title": "อนุสรณ์ ธรรมใจ" }, { "docid": "27972#11", "text": "การประชุมกำหนดการเลือกตั้ง 2 เมษายน 2549 น่าจะไม่ชอบ เกี่ยวกับองค์ประชุม ที่กำหนดในพรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการเลือกตั้ง 2540 มาตรา 8 ระบุเรื่องการประชุมให้มีไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ของเท่าที่มีอยู่ แต่ในวันที่ประกาศ พรฎ นั้น กรรมการ กกต. มีจำนวนเพียง 3 คน จากที่มีอยู่ 4 คน (กกต. จะต้องมี 5 คนตามรัฐธรรมนูญ แต่ มีกรรมการ 1 คนเสียชีวิตเมื่อ พย.2548 ยังไม่มีการสรรหาเพิ่ม, และขณะนั้น 1 คนเดินทางไปต่างประเทศ) กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ใน 40 เขตในวันที่ 23 เมษายน 2549 โดยเปิดรับผู้สมัครใหม่เมื่อวันที่ 8-9 เมษายน แต่ให้ผู้ที่เคยสมัครในการเลือกตั้งรอบแรก ใช้หมายเลขเดิม เปิดโอกาสให้ผู้สมัครเวียนเทียนสมัคร โดยผู้สมัครที่ขาดคุณสมบัติในเขตการเลือกตั้งหนึ่ง และแพ้การเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน และทาง กกต.ยังไม่ได้รับรองการเลือกตั้ง สามารถย้ายไปลงสมัครที่เขตอื่น จังหวัดอื่นได้ ทั้งนี้ผู้อำนวยการเขตเลือกตั้งได้ตัดสิทธิ์ของผู้สมัครเหล่านี้ แต่กลับมีหนังสือเวียนโดยนายวาสนา เพิ่มลาภ ประธาน กกต. แจ้งให้รับสมัครได้ เปิดโอกาสให้ผู้สมัครที่ขาดคุณสมบัติในการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน เนื่องจากไม่ได้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งครั้งก่อนหน้า ลงสมัครรับเลือกตั้งในวันที่ 23 เมษายน ได้ โดยอ้างว่าได้รับสิทธิ์คืนมา เนื่องจากไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน แล้ว เปิดโอกาสให้ผู้สมัครที่ขาดคุณสมบัติในการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน เนื่องจากเป็นสมาชิกพรรคการเมืองไม่ครบ 90 วัน นับถึงวันรับสมัครรอบแรก ลงสมัครรับเลือกตั้งในวันที่ 23 เมษายนได้ เนื่องจากเป็นสมาชิกพรรคการเมืองครบ 90 วัน ในวันรับสมัครรอบที่สอง วันที่ 8-9 เมษายน แล้ว", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549" }, { "docid": "70764#12", "text": "ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555 พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ฯ ได้เปิดตัวแสดงเจตนาที่จะลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งที่มีขึ้นในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556 ที่โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล ในนาม \"กลุ่มพลังกรุงเทพ\"[5] โดยได้เบอร์ 11 และได้รับคะแนนทั้งสิ้น 166,582 คะแนน แม้จะไม่ได้รับเลือกตั้ง แต่ก็มีคะแนนเป็นอันดับสามต่อจากพรรคการเมืองใหญ่ทั้ง 2 พรรค และอันดับหนึ่งจากผู้สมัครอิสระที่ไม่สังกัดพรรคอีก 23 คน \nเจาะลึกชีวประวัติ เสรีพิศุทธ์ 31 ตอน https://www.youtube.com/playlist?list=PL0es7AO-fRPMgjoCioEGBU9KJuVuTSl76&disable_polymer=true", "title": "เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส" }, { "docid": "372115#10", "text": "ด้านพรรคชาติไทยพัฒนา ส่งชุมพล ศิลปอาชา หัวหน้าพรรค เป็นผู้สมัครระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1 ทางพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ที่เกิดจากการรวมพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคเพื่อแผ่นดินนั้น ส่งชาญชัย ชัยรุ่งเรือง เป็นผู้สมัครระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1 ทางพรรครักประเทศไทย ได้ส่งชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์เป็นผู้สมัครระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1 โดยประกาศจะขอทำหน้าที่ฝ่ายค้าน ส่วนพรรคการเมืองใหม่ โฆษกพรรค ดร.สุริยะใส กตะศิลา ยืนยันว่าพรรคจะไม่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส่วนที่สมศักดิ์ โกศัยสุข หัวหน้าพรรค ออกมาประกาศว่าจะส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้งนั้น ไม่ใช่มติพรรค", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554" }, { "docid": "27972#6", "text": "ผู้สมัครจำนวนหลายสิบเขต ได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนไม่เลือกใคร แต่ได้รับเลือกด้วยเกณฑ์ร้อยละยี่สิบ และเกณฑ์กรณีมีผู้สมัครมากกว่าหนึ่งคน คูหาเลือกตั้งหันหลังออก ทำให้เกรงว่าอาจจะทำให้สามารถมองเห็นการลงคะแนนได้โดยง่าย มีการร้องเรียนว่า ที่หน่วยเลือกตั้งไม่มีปากกาเพียงพอ และบางหน่วยเตรียมไว้ให้เพียงตรายางสำหรับประทับ เดิม กกต. ให้ใช้เฉพาะตรายาง ต่อมาได้มีการร้องเรียนไปยังศาลปกครองเป็นกรณีเร่งด่วน และศาลมีคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการคุ้มครองเพื่อบรรเทาทุกข์ชั่วคราวให้สามารถใช้ได้ทั้งปากกา และตรายางประทับ มีการนำรายชื่อผู้สมัครไปติดไว้ในคูหาเลือกตั้ง มีบัตรเสียจำนวนเพิ่มขึ้นจากการเลือกตั้งครั้งที่แล้วอย่างผิดปกติ โดยเฉพาะบัตรเสียในบัตรเลือกตั้งแบบแบ่งเขต", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549" }, { "docid": "79585#42", "text": "ถึงกระนั้น ศ. สาขาเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยชิคาโกคนหนึ่งก็ได้อ้างในหนังสือของเขาว่า การใช้จ่ายเพื่อหาเสียงไม่สามารถประกันได้ว่าจะได้รับเลือก\nโดยเปรียบเทียบชัยชนะการเลือกตั้งของคู่ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้สมัครแข่งกันเองอย่างซ้ำ ๆ เพื่อตำแหน่งเดียวกัน (ซึ่งมักจะเกิดในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาสหรัฐ) ที่มีการใช้จ่ายระดับต่าง ๆ กัน\nเขาสรุปว่า \n\"ผู้สมัครรับเลือกตั้งฝ่ายชนะ สามารถตัดการใช้จ่ายครึ่งหนึ่งแล้วจะเสียคะแนนเสียงไปเพียงแค่ 1 เปอร์เซ็นต์ ในขณะเดียวกัน ผู้แพ้ ถ้าเพิ่มการใช้จ่ายเป็นทวีคูณ สามารถหวังคะแนนเสียงเพิ่มเข้าข้างตนเองได้เพียงแค่ 1 เปอร์เซ็นต์เช่นเดียวกัน\" \nแต่ก็อาจกล่าวได้ว่า การตอบเช่นนี้ไม่ตรงประเด็นของนักสังคมนิยม คือ ประชาชนที่มีเงินน้อยหรือไม่มีเลย จะไม่มีทางได้ตำแหน่งทางการเมืองได้เลย\nซึ่งเป็นประเด็นที่ไม่อาจปฏิเสธได้โดยเพียงข้อสังเกตว่า ไม่ว่าการใช้จ่ายจะเพิ่มเป็นทวีคูณหรือลดลงครึ่งหนึ่ง ก็จะเปลี่ยนโอกาสชนะของผู้สมัครรับเลือกตั้งโดย 1 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น", "title": "ประชาธิปไตยเสรีนิยม" }, { "docid": "630851#6", "text": "นอกจากนั้นแล้ว ความชอบใจในการทดสอบเชิงบวกไม่ใช่เป็นความเอนเอียงโดยตรง เนื่องจากว่าการทดสอบเช่นนี้สามารถให้ข้อมูลที่ดี \nแต่ว่า เมื่อรวมเข้ากับพฤติกรรมอื่น ๆ วิธีเช่นนี้สามารถใช้เพื่อยืนยันความเชื่อหรือสมมติฐานของตน ไม่ว่าความเชื่อนั้นจะเป็นความจริงหรือไม่ \nในชีวิตจริง หลักฐานข้อมูลต่าง ๆ มักซับซ้อนและปรากฏคละกัน ยกตัวอย่างเช่น ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันเองเกี่ยวกับบุคคลหนึ่ง แต่ละอย่างสามารถสนับสนุนได้โดยดูพฤติกรรมด้านหนึ่งของบุคคลนั้น ดังนั้น การหาหลักฐานเพื่อที่จะสนับสนุนสมมติฐานหนึ่ง ๆ จึงมีโอกาสประสบผลสำเร็จสูง \nตัวอย่างหนึ่งก็คือ การตั้งคำถามสามารถมีผลต่อคำตอบได้โดยนัยสำคัญ เช่นคำถามว่า \"คุณมีความสุขในชีวิตสังคมของคุณหรือไม่\" มักได้คำตอบเชิงบวกมากกว่าคำถามว่า \"คุณไม่มีความสุขในชีวิตสังคมของคุณใช่ไหม\"", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "415382#1", "text": "นายกองเอก ดร.ประชา ประสพดี เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503 เป็นบุตรของนายประนอม และนางสมสมัย ประสพดี สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ด้านประวัติครอบครัวสมรสกับนางนันทวรรณ มีบุตร 1 คน มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 3 คน ได้แก่นางนฤมล ธารดำรงค์ อดีต ส.ส. สมุทรปราการ พรรคพลังประชาชน น้องสาว และพันตำรวจเอกวัชรินทร์ ประสพดี ผกก.สภ.พระประแดง น้องชาย\nเคยลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาหลายครั้งแต่แต่สมัยสังกัดพรรคพลังธรรม แต่มาได้รับการเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไทย นายกองเอก ดร.ประชาเป็นข่าวหลายครั้งจากการแถลงในหลายกรณี เช่น พ.ศ. 2546 จากการแถลงขับไล่ ร้อยตำรวจเอก ดร.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ สมัยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาล ดร.ทักษิณ ชินวัตร และ พ.ศ. 2548 กรณีให้ประมวล รุจนเสรี ขอโทษพรรคไทยรักไทย หลังจากประมวลซึ่งเป็น ส.ส. ออกมาวิพากษ์วิจารณ์พรรคที่สังกัดอยู่คือพรรคไทยรักไทย ก่อนการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2554 ดร.ประชาถูกคนร้ายลอบยิงจนได้รับบาดเจ็บ หลังจากนั้นนายประชาได้ลงสมัครในนามพรรคเพื่อไทย และได้รับเลือกตั้ง", "title": "ประชา ประสพดี" }, { "docid": "704947#0", "text": "ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี (Illiberal Democracy) หมายถึงรูปแบบประชาธิปไตยที่แม้จะมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง แต่สิทธิพลเมือง (civil liberties) ของประชาชนมักถูกจำกัด ละเมิด หรือไม่ได้รับความคุ้มครอง มีการปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูล สื่อถูกควบคุม และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวดจากรัฐ นอกจากนี้ในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรี กระบวนการเลือกตั้งมักไม่เป็นไปตามหลักการเลือกตั้งในระบอบเสรีประชาธิปไตย ที่เน้นความโปร่งใส (transparency) เป็นอิสระ (free) จากการครอบงำโดยผู้กุมอำนาจรัฐหรืออำนาจอื่นใด การแข่งขันเลือกตั้งให้ความเป็นธรรม (fair) กับผู้แข่งขันและผู้สนับสนุนทุกฝ่าย และประกันความลับของผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง (secret ballot) ระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรีมักเกิดขึ้นในสังคมที่อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตยไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา (developing country) หรือประเทศประชาธิปไตยใหม่ (new democracies) แต่บางครั้งประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศก็อาจมีมิติของประชาธิปไตยที่ไม่เสรีปรากฏให้เห็นได้ด้วยเช่นกัน อาทิ ในสิงคโปร์ที่มีการเลือกตั้งที่สร้างกติกาปิดกั้นการแข่งขัน กีดกันผู้สมัครฝ่ายค้าน ไม่ประกันความลับของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และการจำกัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนในการแสดงความคิดเห็น (Zakaria, 1997: 22-43)", "title": "ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี" } ]
2966
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ครองราชย์เมื่อไหร่?
[ { "docid": "4281#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 76 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระองค์ที่ 9 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 รวมดำรงสิริราชสมบัติ 9 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 สิริพระชนมพรรษา 47 พรรษา", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
[ { "docid": "551810#2", "text": "เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น\"พระยาราชวงศ์\" เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2390 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น\"พระยาแพร่\" ขณะมีชันษาได้ 34 ปี เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน", "title": "พระยาพิมพิสารราชา" }, { "docid": "119910#2", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงขึ้นครองราชสมบัติ แล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้เสด็จไปประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิตระยะหนึ่ง แล้วเสด็จกลับมาประทับที่วังศุโขทัยอีกครั้ง ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หลังจากนั้นประมาณปีเศษ ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จไปประทับที่ประเทศอังกฤษ จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ช่วงนั้นวังศุโขทัยตกเป็นกรรมสิทธิ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และใช้เป็นสถานที่ราชการ จนกระทั่งสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีเสด็จกลับมาประทับที่ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แล้วจึงได้เสด็จมาประทับที่วังศุโขทัยอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2511 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 และก่อนหน้าที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรจะรับการอัญเชิญขึ้นทรงราชย์ พระองค์ได้ประทับ ณ ที่นี่ แต่ต่อมาได้ย้ายที่ประทับไปที่พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต โดยปัจจุบันเป็นที่ประทับของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์", "title": "วังศุโขทัย" }, { "docid": "118444#8", "text": "2 มีนาคม – พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ขณะประทับรักษาพระเนตรอยู่ในประเทศอังกฤษ, วันเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี ขณะที่มีพระชนมายุ 9 พรรษา ได้แต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 13 กันยายน – รัฐบาลลาออก เพราะแพ้คะแนนเสียงในสภาเรื่องสัญญาการจำกัดยาง[12] 22 กันยายน – ตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[12]", "title": "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร" }, { "docid": "338976#1", "text": "ประการแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยตามพระนามในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และมีพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระราชลัญจกร (ตรา) ประจำรัชกาลที่ 7 คือพระแสงศรสามองค์ พระแสงจักร พระแสงตรี ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎมาเป็นส่วนหนึ่งของตราประจำมหาวิทยาลัย\nประการที่สอง ระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัย คือ ระบบการศึกษาทางไกล ให้โอกาสประชาชนทั่วไปเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน สอดคล้องกับพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงยึดถือความสำคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิตและหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ถือกำเนิดขึ้นในรัชกาลของพระองค์\nมหาวิทยาลัยจึงจัดตั้งห้องจัดแสดงนิทรรศการและแหล่งให้บริการสารสนเทศทุกประเภททางด้านพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี รวมทั้งเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นและที่เกี่ยวข้องในช่วงรัชสมัยระหว่าง พ.ศ. 2468-2477", "title": "ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี" }, { "docid": "4281#65", "text": "พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (โรงพยาบาลพระปกเกล้า)", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "618493#2", "text": "เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หม่อมเจ้าอมรทัต ได้เป็นคณะทูตทหารในคณะผู้แทนรัฐบาลไทยในการประชุมสันติภาพ ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ จึงได้แต่งตั้งเป็นสมุหราชองครักษ์ และด้วยความสนิทสนมกับราชสำนักยุโรป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สนองพระเดชพระคุณด้านวางระเบียบราชการในพระราชสำนัก โดยเฉพาะในส่วนที่ติดต่อประสานงานกับต่างประเทศ และแบบแผนในการรับรองคณะทูตานุทูต", "title": "หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร" }, { "docid": "11905#27", "text": "ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตั้งอยู่ ณ อาคารบรรณสาร ชั้นสอง ออกแบบตกแต่งด้วยรูปลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและให้บริการข้อมูลทางประวัติศาสตร์ระหว่างพ.ศ. 2468-2477 [18]", "title": "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" }, { "docid": "18932#10", "text": "ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน อุปนายกราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร และพระองค์ยังได้รับการแต่งให้ให้ดำรงตำแหน่งผู้กำกับการพระราชวงศ์ มีหน้าที่สนองพระเดชพระคุณในพระราชกรณียกิจส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชวงศ์พระองค์ใดที่มีกิจที่ไม่ต้องกราบบังคมทูลพระกรุณาก็ให้ติดต่อกราบบังคมทูลต่อพระองค์แทน[7] นอกจากนี้ ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จยังต่างประเทศ พระองค์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476[8] จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงพ้นจากตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์", "title": "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์" }, { "docid": "203457#25", "text": "วันที่ ๒๕-๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ มีงานบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานบนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และต่อมาในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ศกเดียวกัน ได้อัญเชิญพระบรมราชสรีรังคารพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไปบรรจุ ณ พุทธบัลลังก์พระพุทธอังคีรส วัดราชบพิธ ซึ่งเป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรับเป็นวัดประจำรัชกาลของพระองค์", "title": "งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4281#74", "text": "พิพิธภัณฑ์สถาน พระปกเกล้ารำไพพรรณี เฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ที่วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี สร้างขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ที่มีพระมหากรุณาธิคุณแก่ปวงชนชาวไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ชาวจังหวัดจันทบุรีและวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทำพิธีเปิดแพรคลุมป้ายพิพิธภัณฑ์ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2551 [62]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4219#8", "text": "ลำดับรูปพระนามขึ้นครองราชย์สิ้นสุดการครองราชย์รัชกาลที่ 1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช6 เมษายน พ.ศ. 23257 กันยายน พ.ศ. 2352รัชกาลที่ 2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย7 กันยายน พ.ศ. 235221 กรกฎาคม พ.ศ. 2367รัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว21 กรกฎาคม พ.ศ. 23672 เมษายน พ.ศ. 2394รัชกาลที่ 4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว6 เมษายน พ.ศ. 23941 ตุลาคม พ.ศ. 2411รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว1 ตุลาคม พ.ศ. 241123 ตุลาคม พ.ศ. 2453รัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว23 ตุลาคม พ.ศ. 245326 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468รัชกาลที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว26 พฤศจิกายน พ.ศ. 24682 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478) (สละราชสมบัติ)รัชกาลที่ 8พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล2 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478)9 มิถุนายน พ.ศ. 2489รัชกาลที่ 9พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช9 มิถุนายน พ.ศ. 248913 ตุลาคม พ.ศ. 2559รัชกาลที่ 10สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร13 ตุลาคม พ.ศ. 2559ยังอยู่ในราชสมบัติ", "title": "ราชวงศ์จักรี" }, { "docid": "338976#4", "text": "มีการจัดแสดงนิทรรศการพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชกรณียกิจทั้งในและต่างประเทศเพื่อให้ความรู้ จัดแสดงสื่อมัลติมีเดียพระราชประวัติ พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวด้านศิลปวัฒนธรรมซึ่งได้รับรางวัลดีเด่นจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2544 การจัดแสดงตกแต่งด้วยศิลปะสถาปัตยกรรมย้อนยุคสมัยรัชกาลที่ 7", "title": "ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี" }, { "docid": "39365#16", "text": "ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2476 (นับศักราชตามเดิม)พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ สู่ทวีปยุโรป[14] แต่ก็ยังมีการขัดแย้งเจรจาเกี่ยวกับการเมืองกับทางกรุงเทพมหานครสืบเนื่องกันอยู่ตลอดเวลา จนในที่สุด ก็มีการขัดแย้งกันระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับรัฐบาล เช่นในเรื่องที่รัฐบาลได้แต่งตั้งพรรคพวกเข้าเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรประเภทที่สองและรัฐบาลไม่ได้ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนอย่างเพียงพอ ไม่ตรงกับพระราชปณิธานอย่างแน่วแน่ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงแสดงความไม่เห็นพ้องกับคณะผู้บริหารประเทศด้วยการตัดสินพระราชหฤทัยทรงสละราชสมบัติในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 ขณะที่ยังประทับอยู่ในประเทศอังกฤษ ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี มีพระราชดำรัสถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ว่า[15]", "title": "สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี" }, { "docid": "17648#38", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ใหม่ ๆ มีผู้ใช้นามว่านายภักดีกับนายไทย ถวายฎีกาขอให้พระองค์พระราชทานรัฐธรรมนูญ และในขณะนั้นหนังสือพิมพ์จำนวนหนึ่งมีบทความเกี่ยวกับแง่คิดหรือปัญหาบ้านเมืองลงพิมพ์อยู่เนื่อง ๆ เสียงเรียกร้องเหล่านี้อาจเป็นแรงกระตุ้นให้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มแสวงหาแนวทางการปกครองที่เหมาะสม", "title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม" }, { "docid": "78616#5", "text": "เมื่อสวรรคตในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ภายหลังเมื่อได้ถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว วันที่ 31 สิงหาคม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารจากในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ไปยังวัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐมโดยขบวนรถไฟพระที่นั่งพิเศษเสด็จพระราชดำเนินถึงสถานนีสนามจันทร์ เวลา 16.35 น. พระยาวงษาภรณ์ภูษิตภูษามาลาเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารจากรถไฟพระที่นั่ง ขึ้นรถยนต์พระที่นั่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จขึ้นประทับรถยนต์พระที่นั่งตามรถพระบรมราชสรีรางคาร มีรถยนต์พระบรมวงศานุวงศ์และรถยนต์ข้าราชการตามมาโดยลำดับ เสด็จพระราชดำเนิน ถึงวัดพระปฐมเจดีย์ รถที่อัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร และรถพระที่นั่ง เทียบที่อัฒจันทร์หน้าพระวิหารพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ มีทหารกองเกียรติยศ กองเสือป่ารับเสด็จกระทำวันทยาวุธ แตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี พระยาวงษาภรณ์ภูษิตเชิญพาน พระผอบพระบรมราชสรีรางคารขึ้นทางบันไดนาค พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินตาม พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ ชาวประโคมประโคมแตร สังข์ มโหรทึก กลองชนะเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคาร ขึ้นประดิษฐานเหนือพระแท่นแว่นฟ้าในพระวิหารพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ ตอนใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องทองน้อยสักการะพระบรมราชสรีรางคาร ทรงทอดผ้าไตร 20 ไตร พระสงฆ์ 20 รูป มีพระราชสุธี เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์เป็นประธานสดับปกรณ์ แล้วถวายอนุโมทนา พระราชสุธีถวายอดิเรกเสร็จ พระยาวงษาภรณ์ภูษิตเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารจากพระแท่นแว่นฟ้าสู่ยังที่บรรจุ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบรรจุพระบรมราชสรีรางคารในพระผอบศิลาและทรงโปรยเงินเหรียญดอกพิกุลทองดอกพิกุลเงิน เจ้าพนักงานได้เลื่อนรอกลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจับสายสูตรเชือกรอกเคลื่อนพระผอบศิลาลอดผนังเข้ายังที่บรรจุในฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงจุดเทียนเครื่องราชสักการะถวายบังคมแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการได้ถวายบังคมต่อไปเสร็จแล้ว เสด็จออกจากพระวิหารชั้นในมายังที่พระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ ทรงเครื่องนมัสการเครื่องห้าบูชาพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชินีแล้ว เจ้าพนักงานได้วางศิลาปิดโบกปูน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปที่พระวิหารชั้นใน ทรงโปรยปรายดอกไม้สดบนพระแท่นอาสนบูชา ทรงพระสุหร่าย แล้วทรงจุดเทียนทองเทียนเงิน ถวายต้นไม้ทอง ต้นไม้เงินบูชาพระบรมสารีริกธาตุที่บรรจุในองค์พระปฐมเจดีย์ ทรงประเคนผ้าไตรย่ามแก่พระสงฆ์ 20 รูป ที่จักเจริญพระพุทธมนต์ ทรงเครื่องนมัสการทรงศีลแล้ว พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จออกจากพระวิหารหลวงประทับเกยทิศตะวันออก พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชินี ให้ข้าราชการและประชาชนพลเมืองเฝ้า แล้วทรงจุดเทียนชนวน ทรงจบพระราชทาน ให้ชาวที่ไปจุดดอกไม้เพลิงเป็นพุทธบูชา แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับเมื่อเวลา 18.35 น.", "title": "พระร่วงโรจนฤทธิ์" }, { "docid": "4281#59", "text": "สถาบันพระปกเกล้า เป็นสถาบันพัฒนาประชาธิปไตยที่จัดตั้งขึ้นในวโรกาสครบรอบ 100 ปี วันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ประชาชนชาวไทย โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชให้เชิญพระนามของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมาเป็นชื่อของสถาบัน[56]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "260409#4", "text": "จากที่กล่าวข้างต้นนี้ แสดงให้เห็นว่าวัดมณีฯ เป็นวัดที่มีความสำคัญ ด้วยเป็นวัดหลวง ที่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์จากพระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์และด้วยเหตุที่สภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ มีน้ำล้อมรอบ เหมาะแก่การเสด็จประพาสประทับพักผ่อนพระอิริยาบถ จึงทำให้มีเจ้านายชั้นผู้ใหญ่หลายพระองค์เสด็จมาบำเพ็ญพระราชกุศล และเสด็จมาประทับพักผ่อนหลายพระองค์ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (เคยเสด็จท้องพรหมาสตร์เล่นสักวาเมื่อวันขึ้นสิบค่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก ตรงกับ พ.ศ. 2415 ) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จพระราชทานกฐิน 2 ครั้ง คือเมื่อ พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2469 การเสด็จแต่ละครั้งก็จะประทับ ณ พระตำหนักแพ กลางท้องพรหมาสตร์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เคยเสด็จเมื่อตอนลาผนวชก่อนขึ้นเสวยราชย์ หรือมีพระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ เจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธุ์วงศ์วรเดช และ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ก็เคยเสด็จถวายพระกฐิน ณ วัดนี้เช่นกัน ", "title": "วัดมณีชลขัณฑ์" }, { "docid": "4281#58", "text": "ถนนประชาธิปก เป็นถนนที่เริ่มตั้งแต่สะพานพระพุทธยอดฟ้าถึงวงเวียนใหญ่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงตั้งชื่อถนนถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า \"ถนนพระปกเกล้า\" หรือ \"ถนนประชาธิปก\" เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงสร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าและถนนเพื่อเชื่อมฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรี โดยพระองค์พระราชทานนามถนนนี้ว่า \"ถนนประชาธิปก\"[55]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4281#62", "text": "โรงพยาบาลพระปกเกล้า เดิมชื่อ โรงพยาบาลจันทบุรี คณะรัฐมนตรีมีมติให้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลพระปกเกล้าเพื่อน้อมเกล้าถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2496 นอกจากนี้ ยังมีการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและตึกต่างๆ เช่น อาคารประชาธิปก อาคารประชาธิปกศักดิเดชน์ ภายในโรงพยาบาล รวมทั้ง มีการจัดตั้งโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยขึ้นที่โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปัจจุบัน คือ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ยังได้พระราชทานพระราชทรัพย์จัดตั้ง \"ทุนประชาธิปก\" (ต่อมาเปลี่ยนเป็น มูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี) เพื่อสนับสนุนกิจการของโรงพยาบาลพระปกเกล้า, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี [58]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4775#9", "text": "ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยยังคงทำสงครามกับพม่ามาโดยตลอดซึ่ง เจ้าเมืองและชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังคงมีส่วนในการทำสงครามดังกล่าว จนเมื่อพม่าตกเป็นของอังกฤษ บทบาทของเมืองเพชรบุรีที่มีต่อเมืองหลวงและราชสำนักจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีตั้งแต่ครั้งยังผนวชอยู่เมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นบนเขาเตี้ย ๆ ใกล้กับตัวเมืองและพระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังอีกแห่งหนึ่งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรือที่เรียกกันภาษาชาวบ้านว่า “วังบ้านปืน” และด้วยความเชื่อที่ว่าอากาศชายทะเลและน้ำทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน” ขึ้นที่ชายหาดชะอำเพื่อใช้เป็นที่ประทับรักษาพระองค์", "title": "จังหวัดเพชรบุรี" }, { "docid": "39209#6", "text": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เดิมเรียกว่า พิพิธภัณฑ์รัฐสภา อยู่ในการกำกับดูแลของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร อยู่บริเวณใต้พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าอาคารรัฐสภา จัดเป็นพิพิธภัณฑ์พระมหากษัตริย์ โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 พระราชทานสิ่งของส่วนพระองค์นำมาจัดแสดงและเปิดให้ประชาชนเข้าชมในปี พ.ศ. 2523 ต่อมาในวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2544 สถาบันพระปกเกล้าได้รับโอนอำนาจการดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ฯ และได้รับความอนุเคราะห์จากกรมโยธาธิการให้ใช้อาคารที่ตั้งในปัจจุบัน", "title": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "78585#29", "text": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีการทำสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2468 - 2473 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นการสังคายนาครั้งที่ 3 ในเมืองไทย แล้วทรงจัดให้พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ ชุดละ 45 เล่ม จำนวน 1,500 ชุด และพระราชทานแก่ประเทศต่าง ๆ ประมาณ 500 ชุด โปรดให้ย้ายกรมธรรมการกลับเข้ามารวมกับกระทรวงศึกษาธิการ และเปลี่ยนชื่อกระทรวงศึกษาธิการเป็นกระทรวงธรรมการอย่างเดิม โดยมีพระราชดำริว่า \"การศึกษาไม่ควรแยกออกจากวัด\" ต่อมาปี พ.ศ. 2471 กระทรวงธรรมการประกาศเพิ่มหลักสูตรทางจริยศึกษาสำหรับนักเรียน ได้เปิดให้ฆราวาสเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม โดยจัดหลักสูตรใหม่ เรียกว่า \"ธรรมศึกษา\" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งยิ่งใหญ่ของไทย เมื่อคณะราษฎรได้ทำการปฏิวัติ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสละราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2477 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ขึ้นครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 8", "title": "ศาสนาพุทธในประเทศไทย" }, { "docid": "338976#0", "text": "ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เป็นห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ ที่ตั้งอยู่ที่ อาคารบรรณสาร ชั้นสอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี\nเปิดดำเนินการตั้งแต่วันพุธที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 โดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ด้วยเหตุผลสำคัญคือ", "title": "ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี" }, { "docid": "56292#0", "text": "กบฏนายสิบ เป็นแผนที่จะเกิดขึ้นในเวลา 03.00 น. วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2478 หลังการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) แ้ล้ว และเสด็จไปประทับยังประเทศอังกฤษ เมื่อนายทหารชั้นประทวนในกองพันต่าง ๆ นำโดย สิบเอกสวัสดิ์ มหะมัด ได้รวมตัวกันก่อการเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยหมายจะสังหารนายทหารและบุคคลสำคัญต่าง ๆ ในกองทัพบกและรัฐบาลหลายคน โดยเฉพาะหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ให้จับตายเท่านั้น และเมื่อลงมือจริงต้องสามารถจับ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี และ พันโทหลวงพิบูลสงคราม (จอมพลป. พิบูลสงคราม - ยศในขณะนั้น) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นตัวประกันไว้ให้ได้ โดยมีแผนการจะยึดที่ทำการกระทรวงกลาโหมเป็นฐานบัญชาการ และปล่อยตัวนักโทษการเมืองต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นกองกำลังด้วย จากนั้นจะอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นิวัติคืนสู่พระนคร และเสด็จขึ้นครองราชย์อีกครั้ง", "title": "กบฏนายสิบ" }, { "docid": "39209#7", "text": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แบ่งออกเป็น 3 ชั้น โดยแต่ละชั้นจะจัดแสดงเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้", "title": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4236#22", "text": "พ.ศ. 2367 มีเหตุการณ์สำคัญดังนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต ขณะมีพระชนมายุได้ 57 พรรษา ครองราชย์ได้ 15 ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีให้อุปราชาภิเษกพระองค์เจ้าอรุโณทัยขึ้นเป็นที่ \"กรมพระราชวังบวรสถานมงคล\" โปรดเกล้าฯ ให้ส่งกองทัพไทยไปช่วยอังกฤษรบพม่า", "title": "พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "39209#3", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงเปิดพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2545 ภายในพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์มีการรวบรวมข้าวของเครื่องใช้ส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จัดแสดงภาพถ่าย เอกสาร และพระราชประวัติของพระองค์ ", "title": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "267041#9", "text": "ลำดับรูปรายพระนาม/รายนามระยะการดำรงตำแหน่งหมายเหตุ1สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชาพ.ศ. 2468ผู้สำเร็จราชการในขณะที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประชวรเมื่อปลายรัชกาล ซึ่งภายหลังขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)", "title": "ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "16485#29", "text": "พระองค์ไม่มีทายาทที่เป็นโอรส ฉะนั้น เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันเมื่อ พ.ศ. 2468 ด้วยพระชนมายุเพียง 44 พรรษา สถาบันพระมหากษัตริย์ก็อยู่ในสภาพที่อ่อนแอแล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอนุชา เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อมา", "title": "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)" }, { "docid": "4281#70", "text": "พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพิพิธภัณฑ์ในความดูแลของสถาบันพระปกเกล้า ตั้งที่อาคารกรมโยธาธิการเดิม บริเวณสี่แยกผ่านฟ้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งสถาบันพระปกเกล้าได้บูรณะเพื่อจัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อรวบรวมข้าวของเครื่องใช้ส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จัดแสดงภาพถ่าย เอกสาร และพระราชประวัติของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จฯ แทนพระองค์ทรงเปิดพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2545 [60]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
1848
สปีชีส์ คืออะไร ?
[ { "docid": "4308#0", "text": "ในวิชาชีววิทยา ชนิด[1] หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (English: species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น \"ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด\" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma))", "title": "สปีชีส์" } ]
[ { "docid": "934519#0", "text": "การเกิดสปีชีส์ หรือ การเกิดชนิด\nเป็นกระบวนการทางวิวัฒนาการที่กลุ่มประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการเป็นสปีชีส์ต่าง ๆ กัน\nนักชีววิทยาชาวอเมริกันออเรเตอร์ เอฟ คุ๊ก (Orator F. Cook) ได้บัญญัติคำภาษาอังกฤษว่า speciation ในปี 1906 โดยหมายการแยกสายพันธุ์แบบ cladogenesis (วิวัฒนาการแบบแยกสาย) ไม่ใช่ anagenesis (วิวัฒนาการแบบสายตรง) หรือ phyletic evolution ซึ่งเป็นวิวัฒนาการแบบในสายพันธุ์\nชาลส์ ดาร์วินเป็นบุคคลแรกที่กล่าวถึงบทบาทของการคัดเลือกโดยธรรมชาติต่อการเกิดสปีชีส์ใหม่ในหนังสือปี 1859 ของเขา คือ \"กำเนิดสปีชีส์ (The Origin of Species)\"\nเขายังได้ระบุการคัดเลือกทางเพศ (sexual selection) ว่าเป็นกลไกหนึ่งที่เป็นไปได้ แต่ก็พบปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับมัน", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "934519#1", "text": "มีการเกิดสปีชีส์ตามภูมิภาค 4 ประเภทในธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับระดับที่กลุ่มประชากรที่กำลังเกิดสปีชีส์อยู่แยกจากกัน คือ\nการเกิดสปีชีส์ต่างบริเวณ (allopatric speciation), การเกิดสปีชีส์รอบบริเวณ (peripatric speciation), การเกิดสปีชีส์ข้างบริเวณ (parapatric speciation), และการเกิดสปีชีส์ร่วมบริเวณ (sympatric speciation)\nการเกิดสปีชีส์สามารถทำขึ้นได้ผ่านการทดลองทางสัตวบาล ทางเกษตรกรรม และทางห้องปฏิบัติการ\nยังไม่ชัดเจนว่า การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงมีบทบาทสำคัญหรือไม่ในกระบวนการเกิดสปีชีส์", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "934519#14", "text": "ตัวอย่างที่ดีที่สุดก็คือปลาหมอสีในแอฟริกาตะวันออก ซึ่งอยู่ในทะเลสาบริฟต์แวล์ลีย์ โดยเฉพาะทะเลสาบวิกตอเรีย ทะเลสาบมาลาวี และทะเลสาบแทนกันยีกา\nโดยได้ค้นพบแล้วกว่า 800 สปีชีส์ และโดยการประเมินบางงาน อาจมีถึง 1,600 สปีชีส์ในแถบนั้น\nวิวัฒนาการของปลาอ้างว่าเป็นตัวอย่างของทั้งการคัดเลือกโดยธรรมชาติและการคัดเลือกทางเพศ", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "527170#0", "text": "วงศ์พวงแก้วกุดั่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranunculaceae) เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีสมาชิกราว 1,700 สปีชีส์ ชื่อของวงศ์นี้มาจากภาษาละติน \"rānunculus\" หมายความว่า \"กบน้อย\" วงศ์พวงแก้วกุดั่นประกอบด้วยพืช 60 สกุล โดยสกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ \"Ranunculus\" (มีพืชจำนวน 600 สปีชีส์), \"Delphinium\" (365 สปีชีส์), \"Thalictrum\" (330 สปีชีส์), \"Clematis\" (325 สปีชีส์), และ \"Aconitum\" (300 สปีชีส์)", "title": "วงศ์พวงแก้วกุดั่น" }, { "docid": "530469#0", "text": "วงศ์ยางนา หรือ วงศ์ไม้ยาง หรือDipterocarpaceae เป็นวงศ์ของไม้ยืนต้นมีสมาชิก 17 สกุลและประมาณ 500 สปีชีส์ ส่วนใหญ่เป็นพืชเขตร้อน ในป่าฝนเขตร้อนระดับล่าง ชื่อของวงศ์นี้มาจากสกุล \"Dipterocarpus\" ซึ่งมาจากภาษากรีก (\"di\" = สอง, \"pteron\" = ปีก \"karpos\" =ผล) หมายถึงผลที่มีสองปีก สกุลขนาดใหญ่ในวงศ์นี้ ได้แก่ \"Shorea\" (196 สปีชีส์), \"Hopea\" (104 สปีชีส์), \"Dipterocarpus\" (70 สปีชีส์), และ \"Vatica\" (65 สปีชีส์) ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 40–70 m บางชนิดมากกว่า 80 m (ในสกุล \"Dryobalanops\", \"Hopea\" และ \"Shorea\"), ซึ่งพบตัวอย่าง (\"Shorea faguetiana\")ที่สูงที่สุดถึง 88.3 m มีการแพร่กระจายตั้งแต่ทางเหนือของอเมริกาใต้ไปจนถึงแอฟริกา อินเดีย อินโดจีน และมาเลเซีย ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว บางสปีชีส์ในวงศ์นี้เป็นพืชใกล้สูญพันธุ์เพราะถูกโค่นมากเกินไป", "title": "วงศ์ยางนา" }, { "docid": "934519#37", "text": "เรื่องกำเนิดสปีชีส์มีประเด็นหลัก ๆ สองอย่าง คือ\nเริ่มตั้งแต่ชาลส์ ดาร์วิน ความพยายามเพื่อเข้าใจสปีชีส์ต่าง ๆ โดยหลักจะมุ่งไปในประเด็นที่หนึ่ง\nและบัดนี้ก็มีความเห็นพ้องทั่วไปว่า ปัจจัยที่ขาดไม่ได้ในการเกิดสปีชีส์ใหม่ก็คือการแยกเอกเทศทางการสืบพันธุ์\nต่อไปบทความจะกล่าวถึงปัญหาในประเด็นที่สอง\nในหนังสือ \"กำเนิดสปีชีส์ (On the Origin of Species)\" ดาร์วินได้ตีความวิวัฒนาการทางชีวภาพสืบเนื่องกับการคัดเลือกโดยธรรมชาติ แต่ก็ยังงงว่า ทำไมสิ่งมีชีวิตจึงรวมกลุ่มเป็นสปีชีส์\nบทที่ 6 ของหนังสือมีหัวเรื่องว่า \"ปัญหาของทฤษฎี (Difficulties of the Theory)\"\nซึ่งเขาได้ให้ข้อสังเกตว่า \n\"ก่อนอื่น ทำไม หากสปีชีส์ได้สืบสายมาจากสปีชีส์อื่น ๆ \nโดยการเปลี่ยนแปลงช้า ๆ และละเอียดอย่างสังเกตเห็นไม่ได้ \nเราจึงไม่เห็นในทุกหนแห่งรูปแบบในระหว่าง ๆ ที่มากจนนับไม่ได้ ? \nทำไม ธรรมชาติทั้งหมดจึงไม่มั่วสับสน แต่สปีชีส์ตามที่เราเห็นกลับระบุได้อย่างชัดเจน ?\"\nปัญหานี้ สามารถกำหนดได้ว่า เป็นการขาดหรือมีน้อยของรูปแบบช่วงเปลี่ยนสภาพต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต\"ตามแหล่งที่อยู่\"ต่าง ๆ", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "566666#0", "text": "วงศ์กัญชา หรือ Cannabaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกขนาดเล็ก ประกอบด้วย 170 สปีชีส์ จาก 11 สกุล ได้แก่ \"Cannabis\" (กัญชา), \"Humulus\" (ฮอบส์) และ \"Celtis\" (hackberries). \"Celtis\" เป็นสกุลที่ใหญ่ที่สุด ประกอบด้วย 100 สปีชีส์", "title": "วงศ์กัญชา" }, { "docid": "934519#40", "text": "ความเหมือน ๆ กันที่น่าทึ่งระหว่างสัตว์ที่โตแล้วในสปีชีส์ที่มีเพศ จึงสามารถทำให้เขียนหนังสือระบุนก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน แมลง และอื่น ๆ ที่อาจแสดงสปีชีส์ที่กล่าวถึงในรูปเดียว (หรือสองรูป ถ้าตัวผู้ตัวเมียต่างกัน)\nเมื่อกลุ่มประชากรได้กลายเป็นเหมือน ๆ กันซึ่งเป็นเรื่องปกติในสปีชีส์โดยมาก สมาชิกในสปีชีส์ก็จะเลี่ยงผสมพันธุ์กับสมาชิกกลุ่มอื่น ๆ ที่มีลักษณะรูปร่างต่างจากตนเอง\nดังนั้น การหลีกเลี่ยงคู่ที่แสดงลักษณะทางฟีโนไทป์ที่มีน้อยหรือแปลกในที่สุดก็จะนำไปสู่การแยกเอกเทศทางการสืบพันธุ์ ซึ่งเป็นหลักสำคัญหนึ่งในการเกิดสปีชีส์", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "705530#0", "text": "ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิล ประกอบด้วยสัตว์, เห็ดรา และพืช ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในประเทศนี้ของทวีปอเมริกาใต้ โดยหลักแหล่งของพวกมันมีสภาพเป็นป่าดิบชื้นแอมะซอนถึง 60 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณหนึ่งในสิบของสปีชีส์ทุกชนิดที่มีอยู่ในโลก นับได้ว่าประเทศบราซิล เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่ยิ่งใหญ่ที่สุดกว่าประเทศใด ๆ ในโลก โดยมีสายพันธุ์พืชซึ่งเป็นที่รู้จักราว 55,000 สปีชีส์, ปลาน้ำจืดราว 3,000 สปีชีส์ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอีกกว่า 689 สปีชีส์ ประเทศนี้ยังได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับสามของประเทศที่มีจำนวนสายพันธุ์สัตว์ปีกมากที่สุดถึง 1,832 สปีชีส์ และอยู่ในอันดับสองของประเทศที่มีสายพันธุ์สัตว์เลื้อยคลานมากที่สุดถึง 744 สปีชีส์ ส่วนจำนวนของสายพันธุ์เชื้อรายังไม่ทราบแน่ชัด แต่ก็ถือว่ามีเป็นจำนวนมหาศาล ประมาณสองในสามของสปีชีส์ทั้งหมดที่มีอยู่ทั่วโลกสามารถพบได้ในพื้นที่แบบร้อนชื้น ซึ่งมักจะเป็นประเทศกำลังพัฒนาดังเช่นประเทศบราซิล ทั้งนี้ ประเทศบราซิลเป็นประเทศที่มีสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากประเทศอินโดนีเซีย", "title": "ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศบราซิล" }, { "docid": "934519#36", "text": "แต่งานปี 2006 ก็ได้แสดงว่า ยีนที่กระโดดจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งอาจมีส่วนร่วมในการเกิดสปีชีส์ใหม่\nและยืนยันพิสูจน์กลไกการแยกเอกเทศทางการสืบพันธุ์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบกุญแจสำคัญในการเกิดสปีชีส์", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "4218#103", "text": "สกุล Australopithecus (1.7-4.2 ล้านปี กลุ่ม gracile australopithecine) รวมสปีชีส์ A. anamensis, A. afarensis, A. africanus, A. bahrelghazali, A. garhi และ A. sediba สกุล Kenyanthropus (3.2-3.5 ล้านปี) รวมสปีชีส์ Kenyanthropus platyops (บางที่รวมเข้ากับ Australopithecus) สกุล Paranthropus (1.2-2.7 ล้านปี กลุ่ม robust australopithecine) รวมสปีชีส์ P. aethiopicus, P. boisei และ P. robustus", "title": "วิวัฒนาการของมนุษย์" }, { "docid": "4434#21", "text": "ชนิดพันธุ์หรือสปีชีส์ ที่มีลักษณะปลีกย่อยต่างกัน มักจะแบ่งออกเป็นชนิดย่อยหรือซับสปีชีส์ (subspecies)", "title": "การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์" }, { "docid": "934519#23", "text": "เป็นเรื่องที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่า การคัดเลือกทางเพศ (sexual selection) อาจเป็นตัวขับการเกิดสปีชีส์ในสิ่งมีชีวิตหลายเคลด โดยเกิดต่างหากจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ\nอย่างไรก็ดี คำว่า การเกิดสปีชีส์ ในบริบทนี้ มักจะใช้ในสองความหมายที่ไม่ได้แยกขาดจากกัน\nความหมายแรกหมายถึงการเกิดสปีชีส์ใหม่\nซึ่งก็คือ การแตกสายพันธุ์ของสปีชีส์ที่มีอยู่แล้วออกเป็นสองสปีชีส์\nหรือการแตกหน่อของสปีชีส์ใหม่จากสปีชีส์บรรพบุรุษ\nทั้งสองผลักดันโดย \"ความนิยมทางแฟชั่น\" คือการชอบใจลักษณะต่าง ๆ ในเพศตรงกันข้ามที่ไม่จำเป็นต้องมีคุณสมบัติทางการปรับตัว", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "992327#7", "text": "เทอร์เทิลคอนเซอร์แวนซีได้ซื้อที่อยู่อาศัย 43,000 เอเคอร์ซึ่งเป็นที่อยู่สุดท้ายของเต่าบอลสัน \"(Gopherus flavomarginatus)\" ในรัฐดูรังโก ประเทศเม็กซิโก มันเป็นสัตว์เลื้อยคลานบกที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ เต่าบกชนิดนี้เพิ่งเป็นที่รู้จักสำหรับวงการวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 เต่าบอลสันอาศัยอยู่ในพื้นที่เล็ก ๆ ของโบลซอนเดมาปิมีในทะเลทรายชีวาวันของประเทศเม็กซิโก พื้นที่สงวนชีวาลัยมาปิมีได้รับการก่อตั้งขึ้นเพื่อปกป้องเต่าบกสปีชีส์ดังกล่าว แต่ที่ดินนี้ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการพัฒนาเกษตรกรรมและการเลี้ยงปศุสัตว์ ซึ่งกำลังคุกคามที่อยู่อาศัยของเต่า การได้มาซึ่งที่ดินนี้ในเม็กซิโกตอนเหนือตอนกลางจะคุ้มครองเต่าบกพร้อมกับพืชและสัตว์พื้นเมืองอื่น ๆ รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 28 สปีชีส์, นกกว่า 200 สปีชีส์, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ 5 สปีชีส์ และสัตว์เลื้อยคลาน 39 สปีชีส์ เทอร์เทิลคอนเซอร์แวนซีเริ่มต้นความร่วมมือนี้ด้วยความช่วยเหลือจากมูลนิธิครอบครัวแอนดรู ซาบิน, โจไซอาห์ ที. ออสติน และสภาเต่าบกทะเลทราย รวมทั้งจะทำงานร่วมกับกองทุนสัตว์ใกล้สูญพันธุ์เทอร์เนอร์", "title": "เทอร์เทิลคอนเซอร์แวนซี" }, { "docid": "559621#0", "text": "วงศ์มุ่นดอย หรือ \"()\" เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วย 605 สปีชีส์ ใน 12 สกุล สกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ \"Elaeocarpus\" มี 350 สปีชีส์และ\"Sloanea\" มี 150 สปีชีส์", "title": "วงศ์มุ่นดอย" }, { "docid": "934519#29", "text": "มีการพบยีนเกี่ยวกับการเกิดสปีชีส์น้อยมาก\nซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการเสริมแรงในระยะหลัง ๆ ของการเกิดสปีชีส์\nในปี 2008 มีการรายงานยีนการเกิดสปีชีส์ที่เป็นเหตุของการแยกเอกเทศทางการสืบพันธุ์\nคือทำให้ลูกผสมกับสปีชีส์ที่เกี่ยวข้องกันเป็นหมัน\nลำดับการเกิดสปีชีส์ของกลุ่ม 3 กลุ่มที่มาจากบรรพบุรุษเดียวกันอาจไม่ชัดเจนหรือไม่สามารถรู้ได้\nกลุ่มสปีชีส์สามอย่างเช่นนี้จะเรียกว่า trichotomy", "title": "การเกิดสปีชีส์" }, { "docid": "392960#0", "text": "Staphylococcus (มาจาก, \"staphylē\", \"พวงองุ่น\" และ κόκκος, \"kókkos\", \"แกรนูล\") เป็นสกุลของแบคทีเรียแกรมบวก เมื่อมองใต้กล้องจุลทรรศน์มีรูปร่างกลม และจัดตัวเป็นรูปคล้ายพวงองุ่น สกุล \"Staphylococcus\" ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ มีอยู่ 9 สปีชีส์ที่แบ่งได้สองสับสปีชีส์ และอีก 1 สปีชีส์ที่มีสามสับสปีชีส์ ส่วนใหญ่ไม่เป็นอันตราย พบที่ผิวหนังและสารเมือกของมนุษย์ และพบเป็นส่วนน้อยในดิน", "title": "Staphylococcus" }, { "docid": "644266#0", "text": "สกุลจั่น () เป็นสกุลในวงศ์ Fabaceae ประกอบด้วยสปีชีส์ 150 สปีชีส์ แพร่กระจายในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนทั่วโลก", "title": "สกุลจั่น" }, { "docid": "44817#4", "text": "นกในวงศ์และอันดับนี้ มีอยู่ประมาณ 40 สกุล 310 สปีชีส์ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ในประเทศไทยพบราว 28 สปีชีส์ ใน 9 สกุล โดยมีสปีชีส์หนึ่งที่สูญพันธุ์ไปนานกว่า 350 ปีแล้วและเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ นกโดโด", "title": "วงศ์นกพิราบและนกเขา" }, { "docid": "6799#36", "text": "สำหรับพืชที่ค้นพบในประเทศตองงานั้น พบว่ามีพืชที่มีท่อน้ำเลี้ยง 770 สปีชีส์ ซึ่งรวมไปถึงเฟิร์นที่มี 70 สปีชีส์ (3 สปีชีส์เป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น) พืชเมล็ดเปลือย 3 ชนิด (\"Podocarpus pallidus\" เป็นพืชเมล็ดเปลือยที่พบเฉพาะถิ่น) และมีพืชดอก 698 สปีชีส์ ซึ่งมี 9 สปีชีส์ที่เป็นไม้ดอกท้องถิ่น เกาะต่าง ๆ ของประเทศตองงาต่างมีสปีชีส์ของพืชที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน เช่น เกาะโตงาตาปูมีพืช 340 สปีชีส์ ในขณะที่วาวาอูมีพืช 7 สปีชีส์", "title": "ประเทศตองงา" }, { "docid": "648147#0", "text": "วงศ์กะลังตังช้าง หรือ () เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ชื่อของวงศ์นี้ตั้งตามสกุล \"()\" มีสมาชิกทั้งสิ้น 2,600 สปีชีส์ ประกอบด้วย 54 - 79 สกุล สกุลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ \"()\" 500 to 715 สปีชีส์ รองลงมาคือ \"()\" 300 สปีชีส์, \"()\" 80สปีชีส์ และ \"()\" 75 สปีชีส์)กระจายพันธุ์ทั่วโลก", "title": "วงศ์กะลังตังช้าง" }, { "docid": "618223#0", "text": "สกุลแผ่นดินเย็น หรือ Nervilia iเป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งมีสมาชิก 65 สปีชีส์ มี 6 สปีชีส์ที่พบในออสเตรเลีย ส่วนใหญ่กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของเอเชีย ในอินเดียพบ 16 สปีชีส์ และพบในแอฟริกาใต้ 5 สปีชีส์", "title": "สกุลแผ่นดินเย็น" }, { "docid": "865119#0", "text": "ในทางชีววิทยา วงศ์วานวิวัฒนาการ () (Greek: φυλή, φῦλον - \"phylé\", \"phylon\" = เผ่าพันธุ์, ชาติพันธุ์ + γενετικός - \"genetikós\" = ต้นกำเนิด, แหล่งที่มา, ชาติกำเนิด) เป็นแขนงหนึ่งของชีววิทยา (Biology) ที่ศึกษาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์การวิวัฒนาการ และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม หรือสมาชิกของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากสิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีมากมายหลายล้านสปีชีส์ นักวิทยาศาสตร์จึงใช้วิธีการจัดกลุ่มเป็นระบบซับเซ็ท เรียงลำดับเป็นระดับ 7 ชั้น จากกลุ่มใหญ่ไปยังกลุ่มย่อย จากรายละเอียดน้อยไปรายละเอียดมาก ซึ่งเรียกว่า “อนุกรมวิธาน (Taxanomy) โดยมี “อาณาจักร” (Kingdom) มีระดับที่ใหญ่ที่สุด และ “สปีชีส์” (Species) เป็นระดับที่เล็กที่สุด โดยความเกี่ยวข้องระหว่างสิ่งมีชีวิตในกลุ่มความสัมพันธ์ต่างๆ (เช่น คลาส, ออเดอร์, สกุล, วงศ์, สปีชีส์) ต้องอาศัยการวิเคราะห์ลักษณะร่วมที่สืบทอดทางพันธุกรรมได้ ไม่ว่าโดยทาง DNA หรือ ในทางสัณฐานวิทยา (morphology)", "title": "วงศ์วานวิวัฒนาการ" }, { "docid": "539957#0", "text": "วงศ์พริกไทย หรือ Piperaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ามีสมาชิกประมาณ 3,610 สปีชีส์ใน 5 สกุล ส่วนใหญ่จะพบในสองสกุลหลักคือ\"Piper\" (2000 สปีชีส์) และ \"Peperomia\" (1600 สปีชีส์) ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุก พืชในสกุลนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือพริกไทย", "title": "วงศ์พริกไทย" }, { "docid": "623114#1", "text": "วงศ์ Plantaginaceae s.l. / Veronicaceae ประกอบด้วย 90 สกุลและประมาณ 1,700 สปีชีส์ สกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ\"Veronica\" ที่มีประมาณ 450 สปีชีส์ สกุลทั้งหมดของ Plantaginaceae เคยรวมอยู่ในวงศ์ Scrophulariaceae", "title": "วงศ์เทียนเกล็ดหอย" }, { "docid": "879427#8", "text": "การปรับตัวเป็นกระบวนการหลักหนึ่งในสองอย่าง ที่อธิบายความหลากหลายของสปีชีส์ต่าง ๆ เช่นดังที่พบในนกจาบปีกอ่อนของดาร์วิน\nกระบวนการอีกอย่างก็คือการเกิดสปีชีส์ โดยปกติเนื่องจากการแยกสืบพันธุ์กัน (reproductive isolation)\nตัวอย่างที่มักใช้สำหรับอันตรกิริยาของการปรับตัวกับการเกิดสปีชีส์ ก็คือวิวัฒนาการของปลาหมอสีในทะเลสาบของแอฟริกา ที่การแยกสืบพันธุ์กันเป็นเรื่องซับซ้อน", "title": "การปรับตัว (ชีววิทยา)" }, { "docid": "536662#0", "text": "วงศ์ผักกาด หรือ Brassicaceae, เป็นวงศ์ของพืชมีดอก ชื่อวงศ์ตั้งตามชื่อสกุล \"(_\" วงศ์นี้แต่เดิมใช้ชื่อว่า ( หมายถึงลักษณะดอกที่มีสี่กลีบ วงศ์นี้ประกอบด้วย 330 สกุล มีสมาชิกประมาณ 3,700 สปีชีส์ สกุลที่ใหญ่ที่สุดคือ \"()\" (365 สปีชีส์) รองลงไปได้แก่ \"()\" (200 สปีชีส์แต่คำจำกัดความยังมีข้อโต้แย้ง) \"()\" (225 สปีชีส์), \"()\" (230 สปีชีส์) และ \"()\" (195 สปีชีส์)", "title": "วงศ์ผักกาด" }, { "docid": "282214#4", "text": "สหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติมีวัตถุประสงค์ที่จะประเมินระดับความเสี่ยงของทุกสปีชีส์ใหม่ทุก 5 ถ้าทำได้ หรืออย่างน้อยก็ทุก 10 ปี ที่ทำโดยวิธีการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer review) โดยคณะกรรมการความอยู่รอดของสปีชีส์ (Species Survival Commission (SSC)) ซึ่งเป็นกลุ่มชำนัญพิเศษของสหภาพเอง ผู้มีความรับผิดชอบดัชนีรายชือสปีชีส์, กลุ่มสปีชีส์ หรือ กลุ่มสปีชีส์ของภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง หรือในกรณีขององค์การชีวปักษานานาชาติก็จะตรวจสอบสปีชีส์ในอันดับนก", "title": "บัญชีแดงไอยูซีเอ็น" }, { "docid": "659646#3", "text": "การสํารวจทางชีวภาพ มักจะใช้ตัวชี้วัด เช่น องค์ประกอบของสปีชีส์และความอุดมสมบูรณ์ (ยกตัวอย่างเช่น จำนวนของสปีชีส์, มลภาวะที่ก่อให้เกิดการเสื่อมของสปีชีส์) และปัจจัยทางนิเวศวิทยา (จำนวนของบุคคล, สัดส่วนของสัตว์ที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร, การปรากฏตัวของโรคภัยไข้เจ็บ) การสํารวจทางชีวภาพอาจระบุปัญหามลพิษที่ค่อนข้างยากหรือมีราคาแพงในการตรวจสอบ โดยใช้วิธีการทดสอบทางเคมี", "title": "การสํารวจทางชีวภาพ" } ]
593
เมืองหลวงของญี่ปุ่นคือ ?
[ { "docid": "5484#0", "text": "โตเกียว () หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[3412,3431,3,3]}'>มหานครโตเกียว (; Tokyo Metropolis) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ<b data-parsoid='{\"dsr\":[3501,3512,3,3]}'>เอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน [5]) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน[6] ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า \"โตเกียว\" หมายถึง \"นครหลวงตะวันออก\" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ", "title": "โตเกียว" }, { "docid": "32425#0", "text": "ประเทศญี่ปุ่นนั้นมีเมืองหลวง (首都 ชุโตะ หรือ 都 มิยะโกะ) มานับต่อนับ แต่ส่วนมากจะอยู่ในยุคโบราณ และจะอยู่ในภาคคันไซทั้งหมด ยกเว้นโตเกียวซึ่งเป็นเมืองหลวงใหม่ เมืองหลวงที่ไม่ใช่เมืองโตเกียว ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประเทศคือ เฮอังเกียว ซึ่งเป็นยุคที่ถือได้ว่าเป็นต้นกำเนิดของวัฒนธรรมญี่ปุ่น มีการประดิษฐ์ตัวอักษรญี่ปุ่น โดยดัดแปลงมาจากตัวอักษรจีน ผู้คนเริ่มที่จะสวมใส่กิโมโน ซึ่งในยุคก่อนหน้านั้น ชาวญี่ปุ่นยังแต่งตัวแบบจีนอยู่", "title": "เมืองหลวงญี่ปุ่น" } ]
[ { "docid": "9973#6", "text": "4. คำที่รับมาจากภาษาญี่ปุ่นซึ่งมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เช่น คำในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครองและเมืองหลวง, ชื่อแร่และชื่อธาตุ ฯลฯ ให้ใช้ตามประกาศครั้งล่าสุด", "title": "การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น" }, { "docid": "876708#0", "text": "ฟุกุฮะระเกียว () อดีตเมืองหลวงโบราณของญี่ปุ่นใน ยุคเฮอัง สร้างขึ้นโดย ไทระ โนะ คิโยะโมะริ ขุนนางที่กำลังเรืองอำนาจในราชสำนักขณะนั้นที่ จังหวัดเฮียวโงะ ในปัจจุบันเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 1723 (ค.ศ. 1180) เพื่อใช้เป็นเมืองหลวงแทน เฮอังเกียว โดยมีฐานะเป็นเมืองหลวงเพียง 6 เดือนก่อนจะย้ายกลับไปยังเฮอังเกียวในปลายปีเดียวกัน", "title": "ฟุกุฮะระเกียว" }, { "docid": "22907#7", "text": "วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ได้มีการประกาศสถาปนา \"รัฐแมนจู\" () ญี่ปุ่นได้ให้การรับรองประเทศแมนจูผ่านการลงนามในพิธีสารญี่ปุ่น-แมนจูกัว เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1932 เมืองฉางชุนซึ่งได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น \"ซิงกิง\" (; \"\"เมืองหลวงใหม่\"\") มีฐานะเป็นเมืองหลวงของรัฐใหม่แห่งนี้ ชาวฮั่นในแมนจูเรียได้รวมตัวกันเป็นกองทัพอาสาสมัครเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น ทำให้รัฐใหม่ดังกล่าวจำเป็นต้องทำสงครามอันยื้ดเยื้ออีกหลายปีเพื่อสร้างความสงบภายในประเทศ", "title": "ประเทศแมนจู" }, { "docid": "485001#1", "text": "ปี ค.ศ. 1560 ไดเมียวใหญ่ผู้สูงส่งจากทางภาคตะวันออกนาม อิมะงะวะ โยะชิโมะโตะ ได้ทำการระดมกองทัพขนาดใหญ่ถึง 40,000 คนเพื่อจะบุกเข้าเมืองหลวงเกียวโต และได้นำทัพเดินหน้ายึดเมืองได้ถึง 3 จังหวัด โดยโอะวะริก็อยู่ในทางผ่านนั้นด้วยเพราะโอะวะริเป็นเมืองที่อยู่แถบภาคกลางของญี่ปุ่นและอยู่ใกล้กับเมืองหลวง", "title": "ยุทธการโอะเกะฮะซะมะ" }, { "docid": "855218#0", "text": "สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 2 (Second Philippine Republic) หรือสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (ภาษาญี่ปุ่น: フィリピン共和国, ภาษาฟิลิปิโน: Republika ng Pilipinas) หรือสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ญี่ปุ่นสนับสนุน (Japanese-sponsored Philippine Republic) เป็นรัฐหุ่นเชิด จัดตั้งเมื่อ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ในช่วงที่ญี่ปุ่นเข้ายึดครอง ประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล เกซอน ได้ประกาศที่มะนิลา เมืองหลวงให้เป็นเมืองเปิด ปกครองโดยจอร์จ บี วาร์กัส ญี่ปุ่นเข้าเมืองได้เมื่อ 2 มกราคม พ.ศ. 2485 และตั้งมะนิลาเป็นเมืองหลวง ญี่ปุ่นเข้าสู่ฟิลิปปินส์อย่างเต็มที่เมื่อ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 หลังจากยุทธการคอร์เรกิดอร์\nนายพลมาซาฮารุ ฮอมมา ได้ประกาศสลายเครือจักรภพฟิลิปปินส์และจัดตั้งคณะกรรมการสูงสุดฟิลิปปินส์ (Komisyong Tagapagpaganap ng Pilipinas) และให้จอร์จ วาร์กัสเป็นประธานคนแรกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2485 กาลิบาปีซึ่งเป็นตัวย่อในภาษาตากาล็อกขององค์กรบริหารแห่งฟิลิปปินส์ใหม่ (Kapisanan sa Paglilingkod sa Bagong Pilipinas) ก่อตั้งขึ้นโดยประกาศหมายเลข 109 ของคณะกรรมการสูงสุดฟิลิปปินส์ และประกาศเป็นกฎหมายเมื่อ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2485 คว่ำบาตรพรรคการเมืองทั้งหมดที่มีอยู่ และจัดตั้งพันธมิตรของรัฐบาลใหม่ พรรคกานับซึ่งเป็นพรรคนิยมญี่ปุ่นได้รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกาลิบาปี", "title": "สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 2" }, { "docid": "873176#8", "text": "วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ได้มีการประกาศสถาปนา \"รัฐแมนจู\" หรือ \"แมนจูกัว\" ญี่ปุ่นได้ให้การรับรองแมนจูกัวผ่านการลงนามในพิธีสารญี่ปุ่น-แมนจูกัว เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1932 เมืองฉางชุนซึ่งได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น \"ซิงกิง\" (\"\"เมืองหลวงใหม่\"\") มีฐานะเป็นเมืองหลวงของรัฐใหม่แห่งนี้ ชาวฮั่นในแมนจูเรียได้รวมตัวกันเป็นกองทัพอาสาสมัครเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น ทำให้รัฐใหม่ดังกล่าวจำเป็นต้องทำสงครามอันยื้ดเยื้ออีกหลายปีเพื่อสร้างความสงบภายในประเทศ", "title": "จักรวรรดิอาณานิคมญี่ปุ่น" }, { "docid": "141736#1", "text": "เวลา 13:17 น. วันที่ 16 กรกฎาคม 1988 กรุงโตเกียว เมืองหลวงของญี่ปุ่น ถูกระเบิดปรมาณูแหลกละเอียด อีก 9 ชั่วโมงต่อมา เกิดสงครามโลกครั้งที่ 3 เมืองหลวงใหญ่และสำคัญของโลกล้วนแล้วแต่ถูกระเบิดปรมาณูทำลายสิ้น หลังจากที่สูญเสียอย่างร้ายแรง 3 อาทิตย์ต่อมา ทุกประเทศได้เจรจาสันติเพื่อสงบศึก เพื่อสร้างโลกใหม่...", "title": "อากิระ คนไม่ใช่คน" }, { "docid": "32128#2", "text": "ในยุคคามากูระและยุคเอโดะเฮอังเกียวหมดอำนาจลงเนื่องจากการปกครองได้เปลี่ยนจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตามแบบประเทศจีนมาเป็นระบอบโชกุนซึ่งมีนักรบเป็นใหญ่ แต่เฮอังเกียวก็ยังมีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่นและเป็นสถานที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิเรื่อยมา แต่ในบันทึกนั้น ไม่มีการบอกว่าเฮอังเกียวนั้นเป็นเมืองหลวงเลย จนมาถึงในสมัยยุคเมจิได้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่แบบตะวันตกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิในยุคนั้น จึงต้องทรงย้ายที่ประทับไปสู่เมืองหลวงใหม่โตเกียวแทน ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของเฮอังเกียวในฐานะเมืองหลวง", "title": "เฮอังเกียว" }, { "docid": "92742#0", "text": "จังหวัดมิยางิ () เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคโทโฮกุของญี่ปุ่นอยู่บนเกาะฮนชู มีเซ็นไดเป็นเมืองหลวงเป็นเมืองแห่งปราสาท และหนึ่งในนั้นเป็นปราสาทที่ไดเมียวดาเตะ มาซามูเนะ เจ้าผู้ครองแคว้นโบราณเคยสร้างเอาไว้ เด่นในด้านเกษตรกรรมและการประมง และเป็นแหล่งจุดชมวิวที่สวยงามของญี่ปุ่นที่อ่าวมัตสึชิมะ", "title": "จังหวัดมิยางิ" }, { "docid": "357400#0", "text": "กิฟุ () เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกิฟุ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัด ในอดีตมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในยุคเซ็งโงกุ กล่าวคือบรรดานักรบและไดเมียวสำคัญเช่นโอดะ โนบูนางะ ใช้เมืองกิฟุที่มีทำเลที่ตั้งอยู่กึ่งกลางของประเทศ ใช้เป็นฐานในการรวบรวมและปกครองแผ่นดินญี่ปุ่น", "title": "กิฟุ (เมือง)" }, { "docid": "359971#0", "text": "วันชาติ () เป็นวันหยุดราชการในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ในวันนี้ ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการก่อตั้งชาติและเชื้อสายจักรพรรดิตามจักรพรรดิในตำนานพระองค์แรก จิมมุ ผู้ซึ่งได้สร้างเมืองหลวงขึ้นที่ยามาโตะ เมื่อ 660 ปีก่อนคริสตกาล", "title": "วันชาติ (ประเทศญี่ปุ่น)" }, { "docid": "198571#75", "text": "เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราถึงกรุงฮันซอง (โซลในปัจจุบัน) ลี กวาง ข้าหลวงมณฑลจอนลาพยายามจะหยั่งดูความเคลื่อนไหวของข้าศึกจึงส่งกำลังไปยังเมืองหลวง แต่เนื่องจากว่าญี่ปุ่นสามารถยึดเมืองหลวงได้ก่อน ลี กวางจึงตัดสินใจถอนทัพ อย่างไรก็ตาม ระหว่างทางเขาสามารถรวบรวมรี้พลจากพลเรือนอาสาเข้ามาร่วมทัพจนขนาดของกองทัพของเขามีถึง 50,000 นาย ลี กวางและผู้นำทหารอาสาต่างก็พิจารณาปรับแผนการยึดกรุงฮันซองคืนเสียใหม่และตัดสินใจใจยกทัพขึ้นเหนือไปตั้งมั่นที่ซึ่งตั้งอยู่ทางใต้ของกรุงฮันซองเป็นระยะทาง 42 กิโลเมตร 4 มิถุนายน ลี กวางส่งกองกำลัง 1,900 นายเข้าปฏิบัติการจู่โจมป้อมใกล้ ๆ ยองอิน ซึ่งมีทหารญี่ปุ่น 600 นายรักษาอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ วะกิซะกะ ยะชุฮะรุ ซึ่งหลีกเลี่ยงการสู้รบกับฝ่ายเกาหลีแต่รอจนกำลังเสริมเดินทางมาถึงในวันถัดมา การตอบโต้ของกองหนุนฝ่ายี่ปุ่นบังคับให้ฝ่ายเกาหลีจำต้องล่าถอยกลับไป", "title": "การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)" }, { "docid": "93741#34", "text": "สงครามยิ่งดำเนินไปฝ่ายญี่ปุ่นก็ยิ่งเพลี่ยงพล้ำมากขึ้น เมื่อข่าวสถานการณ์ของการรบในพม่าของญี่ปุ่นเลวร้ายลงทุกที ฝ่ายสัมพันธมิตรทำลายแนวป้องกันที่อิรวะดีลงอย่างราบคาบ ประกอบกับการรบในทะเลของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่เป็นตกฝ่ายเสียเปรียบ อำนาจทางการเมืองของจอมพล ป. ค่อยๆลดลงเนื่องจากประเทศต้องตกอยู่ในภาวะเสียเปรียบเหมือนกลุ่มประเทศอักษะ จอมพล ป. จึงเห็นว่าควรย้ายเมืองหลวงไปเพชรบูรณ์เพราะมีความเหมาะสมที่จะเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ เพื่อเป็นฐานทัพลับเพื่อซ่องสุมกำลังไว้เพื่อรบขับไล่ญี่ปุ่น โดยวางแผนที่จะเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรและหันมาประกาศสงครามกับญี่ปุ่น จนกระทั่ง 20 กรกฎาคม 2487 รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้เสนอพระราชกำหนดระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์ฯ พ.ศ. 2487 ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่ออนุมัติเป็นพระราชบัญญัติ มีผลดำเนินการอย่างถาวรตลอดไป แต่ในที่สุดสภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่อนุมัติด้วยคะแนนเสียง 48 ต่อ 36 ด้วยเหตุผลว่า \"เพชรบูรณ์เป็นแดนกันดารภูมิประเทศเป็นป่าเขาและมีไข้ชุกชุม เมื่อเริ่มสร้างเมืองนั้นผู้ที่ถูกเกณฑ์ไปทำงานล้มตายลงนับเป็นพัน ๆ คน...\" จอมพล ป. จึงตัดสินใจยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี", "title": "สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย" }, { "docid": "148722#53", "text": "ในปลายปี ค.ศ.1944 จนถึงปี ค.ศ.1945 เครื่องบินของกองทัพอเมริกาได้กระหน่ำทิ้งระเบิดลงสู่เมืองต่างๆของญี่ปุ่นไม่ว่าจะเป็นโอซะกะ นะระ อิชิกะวะ เป็นต้น รวมถึงโตเกียวเมืองหลวงของญี่ปุ่นด้วย ซึ่งทำให้เมืองต่างๆของญี่ปุ่นเกิดเพลิงไหม้ทั้งวันทั้งคืน สิ่งก่อสร้างพังทลายลงมา มีคนบาดเจ็บและเสียชีวิตมากมาย", "title": "สงครามแปซิฟิก" }, { "docid": "32128#0", "text": "เฮอังเกียว () คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่นสถาปนาขึ้นในปีพ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคัมมุ ในปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดเกียวโตมีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียวในปีพ.ศ. 2411", "title": "เฮอังเกียว" }, { "docid": "63904#56", "text": "เมื่อเกิดสงครามมหาเอเซียบูรพา จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารสูงสุดขณะนั้น ได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ทางทหาร ด้วยการนำกำลังกองทัพบกส่วนใหญ่ขึ้นไปอยู่ทางภาคเหนือ แล้วจัดตั้งเป็นกองทัพพายัพขึ้น กับได้วางแผนการย้ายเมืองหลวงจากกรุงเทพฯ ไปอยู่เพชรบูรณ์ ทั้งนี้เพื่อรักษาอธิปไตยของไทยให้พ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่น และในขณะเดียวกัน ก็พยายามรักษากำลังทัพของไทยมิให้กองทัพญี่ปุ่นปลดอาวุธ แผนการนี้เป็นแผนที่จะใช้พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นป้อมปราการต่อสู้ตายกับศัตรู เมื่อภัยสงครามได้ทวีความรุนแรงขึ้นใน พ.ศ. 2486 กองบัญชาการกองทัพบกสนามได้อพยพส่วนหนึ่งจากกรุงเทพฯ ไปตั้งที่ ตำบลวังรุ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ตามแผนการย้ายเมืองหลวงดังกล่าว", "title": "กองทัพบกไทย" }, { "docid": "11437#14", "text": "ญี่ปุ่นได้สร้างอารยธรรมใหม่ขึ้นพร้อมๆ กับการล่มสลายของนะระ โดยยุคถัดมาคือ ยุคเฮอัง (平安時代, \"เฮอังจิได\") เมื่อเมืองหลวงใหม่ซึ่งเลียนแบบเมืองหลวงของประเทศจีน \"เฮอังเกียว\" ได้รับการสถาปนาเมื่อปี พ.ศ. 1337 (ค.ศ. 794) การย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่เมืองเฮอังเกียว นับเป็นจุดเริ่มต้นของสมัยเฮอันซึ่งดำรงอยู่ยาวนาน รุ่งเรือง และยิ่งใหญ่ที่สุดสมัยหนึ่งของการพัฒนาการในประเทศญี่ปุ่น การติดต่อกับประเทศจีนหยุดชะงักลงในช่วงปลายศตวรรษที่ 9 และอารยธรรมญี่ปุ่นเริ่มที่จะมีลักษณะและรูปแบบเป็นของตนเอง", "title": "ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น" }, { "docid": "11437#12", "text": "ญี่ปุ่นก้าวเข้าสู่ยุคนะระในปี พ.ศ. 1253 (ค.ศ. 710) เมื่อเมืองหลวงถาวรแห่งแรกของญี่ปุ่น เฮโจเกียวได้รับการสถาปนาขึ้นโดยสร้างตามแบบเมืองฉางอาน (เมืองซีอานในปัจจุบัน) เมืองหลวงของจีนในขณะนั้น มีราชวงศ์ของญี่ปุ่นเป็นผู้ปกครอง ราชวงศ์ญี่ปุ่นประทับอยู่ที่เมืองนะระโดยตลอดและขยายอำนาจไปทั่วประเทศทีละน้อยจนรวมประเทศเป็นปึกแผ่นได้ (ยกเว้นโอะกินะวะ และฮอกไกโด) หากแต่ว่าระบอบการปกครองในยุคนี้ใช้ตามแนวคิดแบบจีน ซึ่งเมื่อมาใช้กับญี่ปุ่นแล้ว ไม่เหมาะสมนัก และเกิดผลกระทบจากความไม่เหมาะสมนั้น และเกิดเป็นผลกระทบแบบลูกโซ่ ผลสุดท้ายคือ ต้องขึ้นภาษีประชาชนอย่างหนัก ทำให้เฮโจเกียวเป็นเมืองหลวงได้ไม่นานนัก และเพื่อหนีอิทธิพลของพระในศาสนาพุทธที่มีอำนาจมาก เมืองหลวงเฮโจวเกียวจึงถูกย้ายไปยังนะงะโอะกะเกียวในปี พ.ศ. 1327 (ค.ศ. 784) และต่อมาที่เฮอังเกียวในปี พ.ศ. 1337 (ค.ศ. 794)", "title": "ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น" }, { "docid": "66660#1", "text": "ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาคคันโตซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียวเมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมืองนาระและเมืองเกียวโต เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมืองเกียวโต ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุงโตเกียว นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นครโอซากะ ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุงโตเกียวและโยโกฮามะ เมืองเกียวโตและนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมืองโคเบะซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น", "title": "คันไซ" }, { "docid": "486496#6", "text": "ในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างสงครามการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น ผู้บัญชาการอีควังได้พยายามปฏิบัติการให้กองกำลังของเขาเข้าสู่เมืองหลวง โซล (ในเวลานั้นเรียกว่าฮันซ็อง) กองกำลังถูกถอนออกไป อย่างไรก็ตามภายหลังจากข่าวว่าเมืองหลวงถูกยึดถึงผู้บัญชาการ กองทัพก็โตขึ้นไดยมีกำลัง 50,000 นายพร้อมทั้งมีกองกำลังอาสาสมัครอีกจำนวนหนึ่ง โดยอีควังและผู้บัญชาการที่ไม่ได้ประจำการอีกจำนวนหนึ่งได้พิจารณาเป้าหมายที่จะกอบกู้เมืองหลวงอีกครั้งหนึ่ง และได้รวบรวมกำลังไว้ทางตอนเหนือของซูว็อน ", "title": "ซูว็อน" }, { "docid": "11437#35", "text": "ในช่วงปีแรกๆ ของการครองราชย์ สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงย้ายเมืองหลวงจากกรุงเกียวโตไปอยู่ที่เมืองเอโดะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของรัฐบาลระบบศักดินาที่ผ่านมา และได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงเป็นโตเกียว ซึ่งแปลว่า \"เมืองหลวงตะวันออก\" มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ตลอดจนตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบันนิติบัญญัติระบบสองสภา ยกเลิกการแบ่งชนชั้นแบบเก่าของสมัยศักดินา ญี่ปุ่นทั้งประเทศทุ่มเทพลังงานและความกระตือรือร้นในการศึกษาและรับอารยธรรมตะวันตกมาใช้", "title": "ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น" }, { "docid": "11437#17", "text": "เมืองหลวงเฮอังเกียว หรือเกียวโตะยังคงมีฐานะเป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่นมาอีกกว่า 600 ปี กระทั่งสิ้นสุดยุคเอะโดะในปี พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867) และย้ายเมืองหลวงมาที่โตเกียวในอีก 2 ปีต่อมา", "title": "ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น" }, { "docid": "32425#2", "text": "หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น", "title": "เมืองหลวงญี่ปุ่น" }, { "docid": "92934#0", "text": "จังหวัดอากิตะ () เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคโทโฮกุซึ่งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น มีเมืองหลวงชื่ออากิตะ", "title": "จังหวัดอากิตะ" }, { "docid": "76471#0", "text": "ทะเลสาบบิวะ () มีชื่อเดิมว่า ทะเลโอ () เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในจังหวัดชิงะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองหลวงเก่าเกียวโต เนื่องจากอยู่ใกล้กับเมืองหลวงเก่า ทะเลสาบแห่งนี้จึงปรากฏอยู่ในวรรณกรรมของญี่ปุ่นอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะในกวีนิพนธ์และบันทึกทางประวัติศาสตร์ยามสงคราม", "title": "ทะเลสาบบิวะ" }, { "docid": "92957#1", "text": "จังหวัดอิบารากิตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตคันโตและมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่กลางของหมู่เกาะญี่ปุ่น ระยะทางจากจังหวัดอิบารากิถึงเมืองหลวงโตเกียวอยู่ระหว่าง 30 ถึง 150 กม. (100 กม. จากมิโตะ เมืองหลวงของจังหวัดอิบารากิ) และ 40 กม. จากสนามบินนานาชาตินาริตะถึงเมืองวิทยาศาสตร์สึกูบะ (Tsukuba Science City)", "title": "จังหวัดอิบารากิ" }, { "docid": "66384#9", "text": "แต่เดิม เมืองนี้มีชื่อในภาษาญี่ปุ่นว่า เคียว (京) และ มิยาโกะ (都) หรือบางครั้งก็เรียกรวมว่า เคียวโนะมิยาโกะ (京の都)\nต่อมาในศตวรรษที่ 11 เปลี่ยนชื่อเป็น เกียวโต (มีความหมายว่า เมืองหลวง) ตามคำของภาษาจีนของเมืองหลวงที่อ่านว่า \"จุงตู\" (京都) แต่หลังจากที่เมืองเอโดะเปลี่ยนชื่อเป็นโตเกียว (มีความหมายว่า \"เมืองหลวงตะวันออก\") ในปี ค.ศ. 1868 เมืองเกียวโตก็เปลี่ยนชื่อเป็น ไซเกียว (西京 มีความหมายว่า \"เมืองหลวงตะวันตก\") เป็นเวลาสั้น ๆ ก่อนจะเปลี่ยนกลับมาเป็น เกียวโต ในเวลาต่อมา", "title": "เกียวโต (นคร)" }, { "docid": "396247#0", "text": "พิธีสารญี่ปุ่น-แมนจูกัว (日満議定書) ได้ลงนามในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1932 ระหว่าง ญี่ปุ่นและรัฐแมนจูกัวสนธิสัญญายืนยันได้รับการยอมรับโดยญี่ปุ่นของรัฐแมนจูกัว ดังต่อไปนี้ การรุกรานแมนจูเรียในปี 1931 และการสถาปณาของรัฐแมนจูในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1932 เปลี่ยนชื่อเมืองฉางชุนเดิมเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น \"ซิงกิง\" และยกระดับให้ซิงกิงเป็นเมืองหลวงของรัฐแมนจูกัว สนธิสัญญาที่กำหนดไว้นอกจากนี้ยังมีข้อตกลงร่วมกันป้องกันให้กองทัพญี่ปุ่นสามารถสร้างฐานทัพในแมนจูกัว จึงมีประสิทธิภาพและครอบครองประเทศ .\nด้านญี่ปุ่น พิธีสารลงนามโดย โนบูโยชิ มูโตะและในด้านแมนจูเรียโดย เจิ้ง เสี่ยวซู่", "title": "พิธีสารญี่ปุ่น-แมนจูกัว" }, { "docid": "32031#0", "text": "เฮโจเกียว หรือ เฮเซเกียว () เป็นเมืองหลวงโบราณของประเทศญี่ปุ่น อีกนัยหนึ่งก็คือเมืองหลวงในยุคนาระนั่นเอง ตั้งอยู่ใน จังหวัดนาระ ประเทศญี่ปุ่น มีรูปทรงเป็นแบบเวียง คือรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผ้าตามแบบจีน หรือตามแบบที่นิยมสร้างกันในอาณาจักรล้านนาและพม่า ซึ่งเฮโจเกียวนี้ได้นำแบบแผนมาจากเมืองซีอานประเทศจีน เมืองหลวงของจีนในขณะนั้น", "title": "เฮโจเกียว" } ]
406
อารมณ์ เกิดจากการสั่งการของสมองใช่หรือไม่?
[ { "docid": "12075#1", "text": "สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้", "title": "สมอง" } ]
[ { "docid": "806364#1", "text": "SSRIs เป็นยาแก้ซึมเศร้าที่แพทย์สั่งให้คนไข้มากที่สุดในประเทศหลาย ๆ ประเทศ\nแต่ประสิทธิผลของ SSRIs ต่อโรคซึมเศร้าในระดับอ่อนหรือปานกลางยังเป็นเรื่องขัดแย้ง\nข้อบ่งใช้หลักของ SSRIs ก็คือโรคซึมเศร้า (MDD)\nแต่ SSRIs บ่อยครั้งใช้สำหรับโรควิตกกังวลด้วย เช่น โรควิตกกังวลทางสังคม (social anxiety disorder) โรคตื่นตระหนก โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder) ความเจ็บปวดที่เรื้อรัง และเป็นบางครั้งสำหรับความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD)\nและบ่อยครั้งใช้รักษา depersonalization disorder (โรคที่รู้สึกว่าร่างกาย ความคิด หรืออารมณ์ความรู้สึกไม่ใช่ของตน) ด้วย แม้ว่าโดยทั่วไปจะไม่ได้ผลดี", "title": "Selective serotonin re-uptake inhibitors" }, { "docid": "684287#27", "text": "อารมณ์ (affect) ในที่นี้หมายถึงความรู้สึกเช่นความกลัว ความยินดีสนุกสนาน และความประหลาดใจ\nซึ่งมีอายุสั้นกว่า \"พื้นอารมณ์\" (mood) และเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วอย่างไม่ได้ตั้งใจ เป็นปฏิกิริยาต่อสิ่งเร้า\nเช่นการอ่านคำว่า \"มะเร็งปอด\" อาจจะทำให้รู้สึกสยอง \nหรืออ่านคำว่า \"ความรักของคุณแม่\" อาจทำให้รู้สึกถึงความรักและความอบอุ่น\nเมื่อเราใช้อารมณ์ (ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองทันทีโดยไม่ได้คิด) เพื่อตัดสินประโยชน์และความเสี่ยงของเรื่อง ๆ หนึ่ง เรากำลังใช้ฮิวริสติกโดยอารมณ์ \nการใช้ฮิวริสติกโดยอารมณ์สามารถอธิบายว่า ทำไมความสื่อสารที่กระตุ้นอารมณ์ จึงชักชวนใจได้ดีกว่าความที่แสดงความจริง\nมีทฤษฎีที่แข่งกันหลายอย่างเกี่ยวกับการตัดสินใจของมนุษย์ ซึ่งต่างกันในประเด็นว่า การใช้ฮิวริสติกถือว่าเป็นการกระทำที่ไม่สมเหตุสมผล (irrational) หรือไม่\nทฤษฎีแนว \"ความขี้เกียจทางประชาน\" เสนอว่า การใช้ฮิวริสติกเป็นทางลัดที่ช่วยไม่ได้เนื่องจากสมรรถภาพอันจำกัดของสมองมนุษย์\nส่วนทฤษฎีแนว \"การประเมินผลที่เป็นไปตามธรรมชาติ\" เสนอว่า สมองได้ทำการคำนวณผลที่ซับซ้อนอย่างรวดเร็วและเป็นไปโดยอัตโนมัติเป็นบางอย่างแล้ว\nและการตัดสินใจที่เหลือก็เลยใช้กระบวนการทางลัดเหล่านี้ แทนที่จะทำการคำนวณมาตั้งแต่เริ่มต้น\nแนวคิดเช่นนี้นำไปสู่ทฤษฎีที่เรียกว่า \"attribute substitution\" (การทดแทนลักษณะ)\nซึ่งเสนอว่า เราเผชิญหน้ากับปัญหาที่ซับซ้อน โดยวิธีตอบปัญหาคนละปัญหาแต่เกี่ยวเนื่องกัน โดยที่ไม่รู้ว่าตนกำลังใช้วิธีอย่างนี้ \nส่วนทฤษฎีแนวที่สามเสนอว่า ฮิวริสติกใช้ได้ดีเท่ากับกระบวนการตัดสินใจที่ซับซ้อนกว่านี้ แต่ว่าทำได้เร็วกว่าโดยมีข้อมูลน้อยกว่า\nเป็นแนวคิดที่เน้น \"ความรวดเร็วและความมัธยัสถ์\" ของฮิวริสติก", "title": "ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ" }, { "docid": "568294#33", "text": "อะมิกดะลาในสมองซีกซ้ายและซีกขวามีการทำงานแตกต่างกัน ในงานวิจัยหนึ่ง การกระตุ้นอะมิกดะลาซีกขวาด้วยไฟฟ้าก่อให้เกิดอารมณ์เชิงลบ โดยเฉพาะความหวาดกลัวและความเสียใจ ส่วนการกระตุ้นอะมิกดะลาซีกซ้ายก่อให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกที่น่าปรารถนา เช่นความสุขใจ หรือที่ไม่น่าปรารถนา เช่นความกลัว ความวิตกกังวล และความเสียใจ \nหลักฐานอื่น ๆ ยังบอกเป็นนัยว่า อะมิกดะลาซีกซ้ายมีบทบาทในระบบรางวัล (reward system) ของสมอง", "title": "อะมิกดะลา" }, { "docid": "40622#3", "text": "เวทนา ๖ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นหกอย่าง คือ\nในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงเวทนา ในลักษณะที่เป็นเจตสิก(คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า เวทนาเจตสิก เป็นธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ จำแนกเป็น เวทนา๓ และ เวทนา๕ (ดังบรรยายไปแล้วข้างต้น)เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง", "title": "เวทนา" }, { "docid": "148663#19", "text": "การบำบัดรักษาผู้ติดยาบ้าไม่ใช่การทำให้ร่างกายปลอดจากยาเสพติด แต่เป็นการบำบัดรักษาความผิดปกติของร่างกายจากผลของยาเสพติด คือ ความผิดปกติของระบบประสาท (คือผู้เสพจะรู้สึกว่าร่างกายตื่นตัวและมีความต้องการทำในสิ่งที่คิดหรือสิ่งที่ถูกสั่งจากสมอง) โดยเฉพาะสมองส่วนกลาง (Central nervous system) และสารสื่อเคมีสมอง (Neurotransmitter) สมองของผู้ติดยาเสพติดต้องการฤทธิ์ของยาเสพติดที่จะกระตุ้นให้ระบบสมองทำงานอย่างปกติ หากช่วงใดขาดยาเสพติดไปกระตุ้นก็จะเกิดอาการผิดปกติขึ้น", "title": "ยาบ้า" }, { "docid": "530225#32", "text": "อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะมีความเสียหายดังที่กล่าวมาแล้ว โดยที่สุด การตอบสนองต่อตัวกระตุ้นของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[22283,22294,2,2]}'>ทาลามัส</i>และสมองส่วนหน้าก็สามารถที่จะหายเป็นปกติ และการรับรู้อารมณ์สามารถกลับคืนมาได้[37] องค์แห่งการเปิดทางให้เกิดการรับรู้อารมณ์อีกอย่างหนึ่งก็คือ intralaminar nuclei (ตัวย่อ ILN) 5 นิวเคลียสหรือมากกว่านั้น ของ<i data-parsoid='{\"dsr\":[22579,22590,2,2]}'>ทาลามัส ILN รับสัญญาณด้านเข้าจากนิวเคลียสก้านสมอง และยิงสัญญาณที่มีกำลังไปสู่ basal ganglia โดยตรง, และไปสู่ชั้น 1 (layer I) ของคอร์เทกซ์ใหม่โดยกระจายไปอย่างอ้อม ๆ, ความเสียหายแม้เล็กน้อย (1 ซม3 หรือน้อยกว่านั้น) ใน ILN ของสมองทั้งสองข้าง สามารถน๊อคเอาท์การรับรู้อารมณ์ทั้งหมด[38]", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "467725#0", "text": "ระบบปิรามิด (pyramidal system) เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทสั่งการ หรือระบบประสาทมอเตอร์ (motor system) ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายภายใต้อำนาจจิตใจ (voluntary control)\nระบบปิรามิดสามารถพบได้ที่ชั้นที่ 5 ของเปลือกสมอง precentral gyrus หรือ primary motor cortex หรือ Brodmann's area 4 (M1) ซึ่งอยู่ด้านหน้าต่อร่อง central sulcus โดยมีจุดกำเนิดจากเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปิรามิดที่มีขนาดใหญ่ เรียกว่า giant betz cell โดยแอกซอน (axon) ของเซลล์ดังกล่าวจะสอดแทรกผ่าน internal capsule ไปยัง cerebral peduncle ของก้านสมองส่วน midbrain เมื่อถึงสมองส่วน medulla จะเกิดการทอดไปยังฝั่งตรงข้าม ณ บริเวณที่เรียกว่า pyramidal decussation และจะเกิดการรวมกลุ่มกันเป็น lateral corticospinal tract ไปสิ้นสุดยังไขสันหลังซึ่งเป็นจุดหมายปลายทาง โดยใยประสาทนี้จะไปเลี้ยงเซลล์ประสาทอัลฟามอเตอร์ (α motor neuron) และแอกซอนของเซลล์ประสาทมอเตอร์ก็จะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลาย (skeleton muscle) ต่อไป \nควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อลายด้านตรงข้ามของร่างกาย โดยควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ เช่น ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ ควบคุมการเคลื่อนไหวที่ละเอียดอ่อนต่างๆอย่างเช่นการควบคุมนิ้วมือเพื่อใช้ในการหยิบจับสิ่งของหรือเขียนหนังสือ การแสดงออกทางสีหน้า การพูด เป็นต้น\nระบบปิรามิดจะมีการทำงานร่วมกันกับระบบนอกปิรามิดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบสั่งการ เพื่อควบคุมคุณภาพของการเคลื่อนไหว เช่น การเดิน การวิ่ง หรือการเตะลูกบอล เป็นต้น ซึ่งระบบสั่งการนั้นจะต้องอาศัยการทำงานร่วมกันของสมองหลายบริเวณเพื่อประมวลและสั่งการให้กล้ามเนื้อเกิดการเคลื่อนไหวต่อไป\nการเกิดพยาธิสภาพในระบบปิรามิด อาจทำให้เกิดอัมพาตแบบต่างๆขึ้นอยู่กับว่าตำแหน่งที่เกิดพยาธิสภาพนั้นเป็นส่วนใด โดยอาจมีอาการแบบไม่รุนแรง สามารถขยับร่างกายได้บ้างจนถึงการเกิดอัมพาตทั้งตัว ซึ่งสาเหตุนั้นอาจจะมาจากความผิดปกติของหลอดเลือดในสมองที่อาจเกิดการอุดตัน ทำให้เนื้อสมองขาดเลือดจนเกิดภาวะช็อคและเป็นอัมพาตได้ นอกจากนี้ ภาวะที่เกิดการบาดเจ็บของไขสันหลังทั้งการกดทับหรือการตัดขาดก็ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวและการเป็นอัมพาตเช่นกัน", "title": "ระบบพีระมิด" }, { "docid": "530225#17", "text": "นิวเคลียสจำนวนมากที่มีลักษณะเฉพาะทางเคมีต่าง ๆ กันในทาลามัส (thalamus) สมองส่วนกลาง (midbrains) และพอนส์ (pons) ต้องทำงานถ้าบุคคลนั้นจะมีความตื่นตัวทางสมองเพียงพอที่จะรับรู้อะไร ๆ ได้ ดังนั้น นิวเคลียสเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญของการรับรู้อารมณ์ ในทางตรงกันข้าม เป็นไปได้ว่า เซลล์ประสาทเฉพาะในคอร์เทกซ์และส่วนประกอบบริวารที่เกี่ยวข้องของเซลล์เหล่านั้นรวมทั้งอะมิกดะลา (amygdala) ทาลามัส คลอสตรัม (claustrum) และ basal ganglia เป็นตัวทำให้เกิด เป็นสื่อแห่งอารมณ์เฉพาะอย่างของการรับรู้อารมณ์ชนิดหนึ่ง ๆ", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "886489#0", "text": "ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic หรือ Neuroleptic) หรือ ยากล่อมประสาทหลัก (Major tranquilizer) เป็นยาประเภทหนึ่งที่ใช้รักษาโรคจิต (ได้แก่อาการหลงผิด, ประสาทหลอน, อาการจิตหวาดระแวง หรือ ความผิดปรกติในความคิด) โดยเฉพาะโรคจิตเภทและโรคอารมณ์สองขั้ว อย่างไรก็ตาม มีการใช้ยานี้เพื่อรักษาโรคอื่นๆที่ไม่ใช่โรคจิตเช่นกัน การใช้ยาประเภทนี้ติดต่อกันในระยะยาวอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงอันได้แก่ การเคลื่อนไหวนอกอำนาจจิตใจ, เต้านมโต, และโรคอ้วนลงพุง ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อมจากการใช้ยาประเภทนี้", "title": "ยาระงับอาการทางจิต" }, { "docid": "601935#31", "text": "งานวิจัยในปี ค.ศ. 2009 ที่ใช้ fMRI ในการสังเกตลำดับการทำงานของเครือข่ายคอร์เทกซ์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวใต้อำนาจจิตใจของคนปกติ พบ \"ลำดับการทำงานจากหน้าไปหลัง จาก supplemental motor area, ผ่าน premotor cortex และ motor cortex, ไปยัง posterior parietal cortex\"[35] ดังนั้น ในการเคลื่อนไหวแบบปกติ ความรู้สึกว่าเป็นตน (sense of agency[36]) ที่เกิดขึ้นดูเหมือนจะมีความสัมพันธ์กับการทำงานไปตามลำดับ ที่ในตอนแรกเกิดขึ้นที่สมองกลีบหน้าส่วนหน้าด้านใน (anteromedial ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กับ supplementary motor complex ในผิวด้านในของซีกสมองส่วนหน้า) ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการทำงานของคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิที่รอยนูนก่อนร่องกลาง (pre-central gyrus ที่ด้านข้างของซีกสมอง) ซึ่งเป็นที่ที่การสั่งการเคลื่อนไหวของมือเกิดขึ้น หลังจากการทำงานของคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ ที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติการ (การเคลื่อนไหว) โดยส่งพลังประสาทเข้าไปในลำเส้นใยประสาทคอร์เทกซ์-ไขสันหลัง (corticospinal tract[37]) ก็จะมีการติดตามด้วยการทำงานใน posterior parietal cortex ซึ่งอาจจะมีความเกี่ยวข้องกับการรับสัญญาณป้อนกลับของความรู้สึกทางกายที่เกิดขึ้นที่ปลายประสาทเพราะการเคลื่อนไหว และจะมีการแปลผลประสานกับก๊อปปี้สัญญาณ efference copy[38] ที่ได้รับมาจากคอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ จึงมีผลให้การเคลื่อนไหวนั้นปรากฏว่าเป็นของตน ไม่ใช่เป็นการเคลื่อนไหวมีเหตุจากปัจจัยภายนอก", "title": "กลุ่มอาการมือแปลกปลอม" }, { "docid": "556382#26", "text": "อะดอลฟ์ คาฮิลล์ และชูลทำงานวิจัยที่แสดงว่า ความตื่นตัวทางอารมณ์สื่อการเข้ารหัสข้อมูลของความจำชัดแจ้งระยะยาว \nพวกเขาได้เลือกผู้รับการทดลอง 2 คน ที่มีความเสียหายต่ออะมิกดะลาในซีกสมองทั้งสองข้าง บุคคลในกลุ่มควบคุม 6 คน และบุคคลอีก 6 คนที่มีความเสียหาย (อื่น) ในสมอง\nแล้วแสดงชุดแผ่นภาพเลื่อน 12 ชิ้นที่ประกอบด้วยการเล่าอธิบาย\nแผ่นภาพต่าง ๆ ทำให้เกิดอารมณ์ในระดับต่าง ๆ กัน แผ่นที่ 1-4 และแผ่นที่ 9-12 ไม่ทำให้เกิดอารมณ์\nส่วนแผ่นที่ 5-8 แสดงภาพที่ทำให้เกิดอารมณ์\nส่วนแผ่นที่ 7 มีภาพและคำบรรยายที่ทำให้เกิดอารมณ์มากที่สุด", "title": "ความจำชัดแจ้ง" }, { "docid": "5920#53", "text": "แรงจูงใจเป็นแรงขับความปรารถนาเบื้องหลังการกระทำโดยเจตนาทั้งหมดของมนุษย์ แรงจูงใจขึ้นอยู่กับอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแสวงความพึงพอใจ (ประสบการณ์อารมณ์ทางบวก) และการหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง อารมณ์ทางบวกและทางลบนิยามโดยภาวะสมองแต่ละคน ซึ่งอาจได้รับอิทธิพลจากบรรทัดฐานทางสังคม บุคคลอาจถูกขับให้ทำร้ายตัวเองหรือก่อเหตุรุนแรงเพราะสมองของผู้นั้นถูกวางเงื่อนไขให้สร้างการตอบสนองทางบวกต่อการกระทำเหล่านี้ แรงจูงใจนั้นสำคัญเพราะมันเกี่ยวข้องกับสมรรถนะของการตอบสนองที่เกิดจากการเรียนรู้ทั้งหมด ในวิชาจิตวิทยา การหลีกเลี่ยงความขัดแย้งและแรงขับทางเพศ (libido) ถูกมองว่าเป็นแรงจูงใจหลัก ในวิชาเศรษฐศาสตร์ แรงจูงใจมักถูกมองว่าเกิดจากสิ่งจูงใจ ซึ่งอาจเป็นเงิน ศีลธรรมหรือการบีบบังคับก็ได้ ขณะที่ศาสนามักมองถึงอิทธิพลของพระเจ้าหรือปีศาจ", "title": "มนุษย์" }, { "docid": "568257#0", "text": "ปมประสาทฐาน หรือ Basal ganglia หรือ basal nuclei (, ตัวย่อ BG) เป็นกลุ่มของนิวเคลียสที่อยู่ในเขตต่าง ๆ ของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ทำกิจหน้าที่เป็นหน่วยเดียวกัน นิวเคลียสเหล่านั้นอยู่ที่ฐานของซีรีบรัม และมีการเชื่อมต่อกันอย่างหนาแน่นกับเปลือกสมอง ทาลามัส และเขตอื่น ๆ ในสมอง\nbasal ganglia มีบทบาทในหน้าที่หลายอย่างรวมทั้ง การสั่งการเคลื่อนไหวใต้อำนาจจิตใจ การเรียนรู้เชิงกระบวนวิธี (procedural learning) ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมซ้ำซากหรือพฤติกรรมเป็นนิสัย เป็นต้นว่าการขบฟัน การเคลื่อนไหวของตา กิจทางประชาน (cognitive functions) และกิจที่เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก", "title": "ปมประสาทฐาน" }, { "docid": "806313#8", "text": "ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้มักจะเพ่งความสนใจไปที่อารมณ์หดหู่/ซึมเศร้า และพิจารณาโรคซึมเศร้าว่าเป็นส่วนสุดของอารมณ์ที่ทำหน้าที่ผิดปกติ และไม่ใช่เป็นลักษณะพิเศษที่ต่างหากจากอารมณ์ซึมเศร้า\nเพราะว่า นอกจากภาวะสิ้นยินดี ความเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้อื่นรวมทั้งการเคลื่อนไหวช้า การรับประทานและการนอนผิดปกติ การสูญอารมณ์ทางเพศ ล้วนแต่เป็นลักษณะการตอบสนองต่อความเจ็บปวดทางกายด้วย\nในคนซึมเศร้า เขตสมองที่มีบทบาทรับรู้ความเจ็บปวดทางกาย เช่น anterior cingulate cortex และ prefrontal cortex ข้างซ้าย จะทำงานมากขึ้น\nซึ่งทำให้สมองสามารถแสดงความคิดแบบลบที่เป็นนามธรรม เสมือนกับตัวก่อความเครียดทางกายต่อส่วนอื่น ๆ ของสมอง", "title": "แนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้า" }, { "docid": "530225#20", "text": "เทคนิคเหล่านี้ ล้วนแต่เข้าไปตัดรอนความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งกระตุ้นภายนอกและอารมณ์ภายในจิตที่เกี่ยวข้องกันของสัตว์ทดลอง ที่ดูเหมือนจะง่าย ๆ และไม่คลุมเครือ[17] ตัวอย่างเช่น อารมณ์ที่สัมพันธ์กับตัวกระตุ้นของสัตว์ทดลอง สามารถระงับได้อย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายวินาทีหรือแม้แต่หลายนาที โดยใช้เทคนิค<i data-parsoid='{\"dsr\":[11859,11878,2,2]}'>การอำพรางแบบวาบ สัตว์ทดลองไม่เห็นรูปภาพที่ฉายเข้าไปในตาข้างหนึ่งเมื่อมีรูปอีกภาพหนึ่งที่ฉายเข้าไปในตาอีกข้างหนึ่ง. เทคนิคเหล่านี้ทำให้สามารถชี้ตัวกลไกของเซลล์ประสาทที่ตอบสนองต่ออารมณ์ภายใน ไม่ใช่ที่ตอบสนองต่อวัตถุตัวกระตุ้นภายนอก จึงอำนวยให้ศึกษาติดตามการรับรู้อารมณ์ทางตาในสมองได้. ในการทดลองด้วยภาพลวงตา วัตถุตัวกระตุ้นภายนอกดำรงอยู่ ในขณะที่อารมณ์ที่สัตว์ทดลองรับรู้ภายในมี ๆ หาย ๆ ตัวอย่างของภาพลวงตาที่รู้จักกันดีที่สุดคือ ลูกบาศก์เนกเกอร์ (English: Necker cube) เป็นภาพลวงตาที่มีเส้น 12 เส้น เป็นภาพลวงตาเพราะสามารถรับรู้ได้โดยแบบใดแบบหนึ่งใน 2 แบบ ต่างกันโดยความลึก.", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "344437#25", "text": "โดยกำหนดสัมพันธภาพทางประสาท (neural correlate) กับอารมณ์ นักวิทยาศาสตร์อาจสามารถใช้เทคนิคเช่น การสร้างภาพสมองโดยใช้ fMRI เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเกี่ยวกับความสุขแบบต่าง ๆ เช่น นักจิตวิทยาผู้หนึ่งทำงานวิจัยเพื่อกำหนดส่วนของสมองที่มีส่วนร่วมกับอารมณ์เชิงบวก แล้วพบว่า prefrontal cortex ด้านซ้าย ทำงานมากกว่าเมื่อเกิดความสุข และสัมพันธ์กับความสามารถในการฟื้นตัวจากอารมณ์เชิงลบ และความสามารถที่เพิ่มขึ้นในการระงับอารมณ์เชิงลบ และที่น่าสนใจก็คือ เขาพบว่า บุคคลสามารถฝึกตัวเองให้สมองส่วนนี้ทำงานเพิ่มขึ้น[35]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "709039#26", "text": "ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาท ในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกาย, การนอนหลับที่ผิดปกติ, ความผิดปกติของการทำงานในส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์ ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียด หรือปัญหาต่าง ๆ ภายในชีวิตได้ ก็สามารถกระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน", "title": "โรคอารมณ์สองขั้ว" }, { "docid": "664580#4", "text": "หลายการศึกษาชี้ว่า วงจรปาเปซได้รับอิทธิพลอย่างมากจากสมองน้อย และบางทีฮิปโปแคมปัสอาจมิใช่จุดเริ่มต้นของวงจร ในทางกายวิภาคศาสตร์ จะสมเหตุสมผลเพราะสมองน้อยเชื่อมต่อกับวงจรดังกล่าวด้วยเส้นใยละเอียดและมัดเส้นใยจำนวนมาก รอยโรคเคมีต่อสมองน้อยดูเหมือนมีผลยับยั้งต่อวงจร การศึกษาพฤติกรรมสัตว์แสดงว่า การกระตุ้นสมองน้อยหน้าด้วยไฟฟ้าสามารถให้เกิดการเร้า การโจมตีล่าเหยื่อและการสนองการกิน ซึ่งทั้งหมดเชื่อว่าเป็นการแสดงอารมณ์ โดยรวมแล้ว การศึกษาเหล่านี้ให้หลักฐานว่าสมองน้อยอาจรวมอยู่ในระบบอารมณ์ของสมองด้วย", "title": "วงจรปาเปซ" }, { "docid": "530225#16", "text": "ความสมบูรณ์ของการรับรู้อารมณ์ดูเหมือนว่า จะเพิ่มพูนไปตามลำดับเริ่มจากการหลับสนิท สู่การง่วงนอน สู่การตื่นตัวอย่างเต็มที่ ซึ่งสามารถบ่งปริมาณได้โดยใช้ภาษาจากทฤษฎีวัดความซับซ้อน (complexity theory) ที่บ่งทั้งมิติและระดับความละเอียดของการรับรู้อารมณ์ ที่นำไปสู่คำอธิบายแบบเบ็ดเสร็จ รวบรวมทั้งข้อมูลและทฤษฎีของการรับรู้อารมณ์[15] เมื่อความตื่นตัวทางพฤติกรรมมีเพิ่มมากขึ้น ทั้งความหลากหลายและความซับซ้อนของพฤติกรรมที่เป็นไปได้ก็มีเพิ่มขึ้นเช่นกัน ถึงอย่างนั้น ในการหลับฝัน บุคคลนั้นขาดความตึงตัวแห่งกล้ามเนื้ออันเป็นลักษณะเฉพาะของการหลับฝัน มีความตื่นตัวต่ำในประสาทสั่งการ (motor) และกล้ามเนื้อ และประสบความลำบากที่จะตื่นขึ้น แม้ว่าสมองจะมีค่าเมแทบอลิซึมและค่าไฟฟ้าสูง และมีการรับรู้อารมณ์ที่แจ่มชัด", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "568200#15", "text": "เพราะฉะนั้น การชี้ตัวอารมณ์ (object identification) และการรู้จำอารมณ์ (object recognition) จึงได้รับการพิจารณาว่า เป็นกระบวนการต่างกัน ที่เกิดขึ้นในเขตสมองต่างกัน ทำงานโดยเป็นอิสระจากกันและกัน ทฤษฎีเกี่ยวกับระบบย่อยของการชี้ตัวและการรู้จำอารมณ์ สามารถอธิบายปรากฏการณ์ \"การรับรู้แฝง\" ที่คนไข้เห็นทั้งบอดประสบ นอกจากนั้น งานวิจัยต่าง ๆ ยังได้แสดงอีกด้วยว่า ตัวกระตุ้นทางตาที่เห็นได้โดยลักษณะอย่างเดียว เช่นขอบเขตที่ชัดเจน ความฉับพลันในการปรากฏและหายไป\nการเคลื่อนไหว\nความถี่ปริภูมิที่ต่ำ\nเป็นตัวสนับสนุน แม้ว่าจะไม่ใช่เป็นเหตุสำคัญ ของความชัดเจนของอารมณ์ในปรากฏการณ์เห็นทั้งบอด", "title": "สภาวะเห็นทั้งบอด" }, { "docid": "530225#1", "text": "วิทยาศาสตร์ของการรับรู้อารมณ์ต้องอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะจิตใจที่เป็นอัตตวิสัย และสภาวะสมองที่เป็นปรวิสัยอย่างแม่นยำ กล่าวคือ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจิตที่รับรู้อารมณ์ (conscious mind) และปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าในสมอง. ความก้าวหน้าของปรัชญาประสาท (neurophilosophy) ที่ผ่าน ๆ มา มาจากความใส่ใจในสมอง ไม่ใช่ในจิตใจ ในพื้นเพภูมิหลังเช่นนี้ ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ (ซึ่งอยู่ในสมอง) สามารถที่จะพิจารณาได้ว่า เป็นเหตุของการรับรู้อารมณ์, และการรับรู้อารมณ์สามารถที่จะพิจารณาได้ว่า เป็นคุณสมบัติแปรตาม (dependent property) ของระบบชีวภาพ (biological system) บางอย่างที่ซับซ้อน ที่ปรับตัวแก้ไขตนเองได้ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างสูง และเป็นระบบชีวภาพที่ยังไม่มีการนิยามที่ชัดเจน[4]", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "12075#9", "text": "ทาลามัส (Thalamus) - อยู่เหนือไฮโปทาลามัส ทำหน้าที่เป็นสถานีถ่ายทอดกระแสประสาทเพื่อส่งไปจุดต่างๆในสมอง รับรู้และตอบสนองความรู้สึกเจ็บปวด ทำให้มีการสั่งการแสดงออกพฤติกรรมด้านความเจ็บปวด ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) - ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติ และสร้างฮอร์โมนเพื่อควบคุมการผลิตฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองซึ่งจะทำการควบคุมสมดุลของปริมาณน้ำและสารละลายในเลือด และยังเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก วงจรการตื่นและการหลับ การหิว การอิ่ม และความรู้สึกทางเพศ", "title": "สมอง" }, { "docid": "343643#0", "text": "จิตแพทย์ () เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในด้านจิตเวชศาสตร์และได้รับการรับรองให้ทำการรักษาความผิดปกติทางจิต จิตแพทย์ทุกคนถูกฝึกให้วินิจฉัยโรคและจิตบำบัด เนื่องจากจิตแพทย์ต้องเป็นแพทย์อยู่เองด้วย และสามารถวินิจฉัยโรคผู้ป่วยได้ จิตแพทย์จึงเป็นหนึ่งในกลุ่มสาขาผู้ชำนาญการด้านสุขภาพจิตจำนวนจำกัด ที่สามารถจ่ายยาเพื่อรักษาอาการทางจิตของผู้ป่วยได้ ตลอดจนสามารถสั่งตรวจร่างกาย สั่งและอธิบายการทดลองในห้องปฏิบัติการและตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง และสั่งให้มีการถ่ายภาพสมอง อย่างเช่น การตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก และโครโมโทกราฟีให้ผู้ป่วยได้ ในขณะที่ผู้ชำนาญการด้านสุขภาพจิตสาขาอื่น เช่น นักจิตวิทยา นักจิตบำบัด พยาบาลจิตเวช ฯลฯ ซึ่งมิใช่แพทย์ จะไม่สามารถสั่งจ่ายยาและสั่งการรักษาดังกล่าวได้เอง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับกฎระเบียบในแต่ละประเทศด้วย โดยปกติจิตแพทย์จะร่วมทำงานเป็นทีมกับบุคลากรสาธารณสุขสาขาอื่น ๆ ในการรักษาผู้ป่วยรายหนึ่ง ๆ", "title": "จิตแพทย์" }, { "docid": "139709#7", "text": "เทเลนเซฟาลอนทำหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการในร่างกายมนุษย์ หน้าที่ดังกล่าวเริ่มต้นภายในไพรมารี มอเตอร์ คอร์เท็กซ์ (primary motor cortex) และบริเวณอื่นๆ ในบริเวณสั่งการของกลีบสมองด้านหน้า เมื่อสมองส่วนนี้เสียไป สมองจะไม่สามารถส่งสัญญาณผ่านเส้นประสาทไปยังเส้นประสาทสั่งการของกล้ามเนื้อ และทำให้เกิดโรคที่เรียกว่า Motor Neurone Disease การเสื่อมของสมองประเภทนี้ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง และขาดความแม่นยำ มากกว่าทำให้เกิดอัมพาตทั้งตัว", "title": "สมองใหญ่" }, { "docid": "3116#17", "text": "จิตนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้เรารู้จักการเรียนรู้ คิดค้น และมีอารมณ์ ความรู้สึกได้ ส่วนสมองนั้นเป็นเพียงเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้มนุษย์เรียนรู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ แต่ผู้ที่กระทำการเรียนรู้ เข้าใจ นึกคิดนั้นต้องเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่สมอง และไม่ใช่สสาร และสิ่งนั้นคือ จิตหรือวิญญาณ และแม้ว่า จิตจะไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้ แต่มันก็เป็น จริงอยู่ในตัวเราเท่า ๆ กับร่างกายที่เป็นจริงด้วย", "title": "ปรัชญา" }, { "docid": "530225#0", "text": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ (English: neural correlates of consciousness, ตัวย่อ NCC) คือเซตที่เล็กที่สุดของปรากฏการณ์ในเซลล์ประสาท และการประกอบกันของเซลล์ประสาทพอที่จะให้เกิดอารมณ์[2]ที่รับรู้ (conscious percept)[3] นักวิทยาศาสตร์ประสาทใช้วิธีการทดลองเป็นหลักเพื่อที่จะค้นพบประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ เซตได้รับการกำหนดให้เล็กที่สุดเพราะว่า ถ้าสมองเป็นเพียงธรรมชาติเดียวที่ก่อให้เกิดการรับรู้อารมณ์ สิ่งที่จะต้องสืบหาก็คือ ส่วนไหนของสมองเป็นส่วนสำคัญให้เกิดการรู้อารมณ์", "title": "ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์" }, { "docid": "684311#21", "text": "คนไข้ภาวะซึมเศร้ามักจะมีความเอนเอียงนี้ในระดับที่น้อยกว่าคนปกติ \nในงานทดลองหนึ่งที่สำรวจผลของพื้นอารมณ์ (mood) ต่อความเอนเอียงนี้ โดยที่พื้นอารมณ์ของผู้ร่วมการทดลอง จะมีการปรับเปลี่ยนให้เป็นไปทางเชิงบวกหรือเชิงลบ\nผู้มีพื้นอารมณ์เชิงลบ มีโอกาสที่จะให้เครดิตตัวเองเพราะผลสำเร็จน้อยกว่าผู้มีพื้นอารมณ์เชิงบวก โดยไปให้เครดิตปัจจัยภายนอกแทน \nมีการเสนอว่า พื้นอารมณ์เชิงลบของผู้มีภาวะซึมเศร้า และความใส่ใจที่มุ่งไปในตน เป็นตัวอธิบายว่า ทำไมคนไข้คลินิกที่มีภาวะซึมเศร้า จึงมีโอกาสน้อยกว่าที่จะแสดงความเอนเอียงนี้เทียบกันคนปกติ\nมีการใช้เทคนิค fMRI ในการสร้างภาพสมองของคนปกติเมื่อเกิดความเอนเอียงนี้\nเมื่ออ้างเหตุผลที่มีความเอนเอียง สมองจะเกิดการทำงานในเขต dorsal striatum ซึ่งมีบทบาทในพฤติกรรมที่ประกอบกับแรงจูงใจ และในเขต dorsal anterior cingulate \nแต่ในคนไข้โรคซึมเศร้า จะมีการเชื่อมต่อกันที่อ่อนกว่าระหว่างเขต dorsomedial prefrontal cortex และระบบลิมบิก ดังนั้น การทำงานเชื่อมต่อกันนี้ อาจมีบทบาทเกี่ยวกับการอ้างเหตุผลรับใช้ตนเอง", "title": "ความเอนเอียงรับใช้ตนเอง" }, { "docid": "363706#10", "text": "เยื่อหุ้มสมองอักเสบอาจเกิดจากสาเหตุที่ไม่ใช่การติดเชื้อได้หลายอย่าง เช่น การแพร่กระจายของมะเร็งมายังเยื่อหุ้มสมอง (เยื่อหุ้มสมองอักเสบเหตุเนื้องอก) และยาบางชนิด ส่วนใหญ่เป็นยาในกลุ่มยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ ยาปฏิชีวนะ และอิมมูโนกลอบูลินแบบให้ทางหลอดเลือดดำ หรืออาจเกิดจากภาวะการอักเสบอื่นๆ ได้หลายอย่าง เช่น ซาร์คอยโดซิส (ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าซาร์คอยโดซิสที่ระบบประสาท) โรคของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น ลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง หรือหลอดเลือดอักเสบบางชนิด เช่น โรคเบเซท ถุงน้ำของหนังกำพร้าและเดอร์มอยด์ซีสต์อาจหลั่งสารที่ทำให้เกิดการระคายเคืองเข้าช่องใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางทำให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบได้ เยื่อหุ้มสมองอักเสบแบบมอลลาเร็ตเป็นกลุมอาการอย่างหนึ่งที่ทำให้มีเยื่อหุ้มสมองอักเสบไร้เชื้อเป็นซ้ำๆ ปัจจุบันเชื่อว่าเกิดจากการติดเชื้อเฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ไวรัสชนิดที่ 2 นอกจากนี้ไมเกรนยังอาจเป็นสาเหตุของเยื่อหุ้มสมองอักเสบได้แต่พบน้อยมาก ส่วนใหญ่จะให้การวินิจฉัยก็ต่อเมื่อตรวจหาสาเหตุอื่นๆ แล้วยังไม่พบ", "title": "เยื่อหุ้มสมองอักเสบ" }, { "docid": "980823#3", "text": "ทางการแพทย์คาดว่าต้นเหตุของโรคอาจจะเกิดจากอาการผิดปกติทางสมองในส่วนที่ระบบ Limbic ที่เป็นส่วนในการควบคุมอารมณ์ทางเพศ ขณะนี้กำลังหาหนทางในการรักษาอย่างถาวร ผู้ป่วยบางท่านถึงจุดสุดยอดไปเกือบ 10 ครั้งขณะปรึกษษแพทย์ แต่อาการเหล่านี้ไม่ใช่ความสุข เนื่องจากการคั่งของเลือดทำให้เจ็บปวดและเหน็ดเหนื่อยในผู้ป่วยส่วนใหญ่", "title": "โรคถึงจุดสุดยอดพร่ำเพรื่อ" } ]
2732
โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นใด ?
[ { "docid": "219920#16", "text": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โดยแบ่งแผนการเรียน ดังนี้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 18 ห้องเรียน", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" } ]
[ { "docid": "219920#11", "text": "พุทธศักราช 2507 กระทรวงศึกษาธิการได้เปลี่ยนแบบจัดการศึกษาให้มีระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.1-3) และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.4-5) แทนการจัดการเรียนชั้นเตรียมอุดมศึกษา (ม.7-8) แบบเดิม จึงได้มีการก่อตั้งโรงเรียนโครงการมัธยมศึกษาแบบประสมขึ้นแห่งแรกในจังหวัดขอนแก่น อาศัยสถานที่ของโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนเป็นสถานที่ในการจัดการศึกษาชั่วคราว โดยรับนักเรียน ม.ศ.1 ทั้งหญิงและชาย กระทั่งปีการศึกษา 2511 จึงได้ย้ายออกไปก่อตั้งเป็นโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัยในปัจจุบัน", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" }, { "docid": "219920#12", "text": "ปีพุทธศักราช 2512 ขยายชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้มากขึ้นตามแผนการพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 รวมทั้งได้มีการกำหนดเปลี่ยนแปลงการใช้อักษรย่อปักเสื้อของนักเรียนจากที่ปัก ข.ก.1 ให้เป็น ข.ก. ซึ่งใช้ปักบนเสื้อนักเรียนจนประทั่งปัจจุบัน มีการปรับปรุงและก่อสร้างสิ่งต่างๆ ในโรงเรียนมากมาย และยังคงอยู่ในสถานศึกษาจนปัจจุบัน เช่น มีการก่อสร้างอาคาร 3 ราวปีพุทธศักราช 2518 อาคาร 1 ราวปีพุทธศักราช 2521 โดยการแลกเปลี่ยนที่ดินกับสัสดีจังหวัด โดยแลกเปลี่ยนที่ดินบริเวณบ้านพักครู ภารโรง ถนนหลังเมือง เยื้องวิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นปัจจุบันกับพื้นที่บริเวณแนวจากอาคาร 3 จดโรงแรมแก่นอินน์ เป็นต้น นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงเรียนผู้ใหญ่ ระดับ 5 (ม.ศ.4-5) ภายในบริเวณโรงเรียน ใช้ชื่อว่า \"โรงเรียนผู้ใหญ่ขอนแก่นวิทยายน\" อาคารที่ตั้งอยู่บริเวณอาคาร 85 ปี (อาคารห้องสมุด) ในปัจจุบัน และยังมีการปรับปรุงชั้นเรียนใหม่ตามแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ กำหนดระบบการจัดชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (ม.1-3) และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (ม.4-6)", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" }, { "docid": "877573#1", "text": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ๓ ตั้งขึ้นตามแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 7 ระหว่างปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2539 ได้จัดตั้งเป็นสาขาโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ที่ตำบลโนนท่อน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยนายสวาท ภูคำแสน ผู้อำนวยการโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ผู้ตรวจราชการกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 9 และดำรงตำแหน่งอนุกรรมการกรมการข้าราชการครูในกรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งให้นายเทอดศักดิ์ สินธุศิริ อาจารย์ 2 ระดับ 6 โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน เป็นหัวหน้าสาขาโรงเรียน โดยทางโรงเรียนได้ขอใช้ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมจังหวัดขอนแก่น ที่ตำบลโนนท่อน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ๓" }, { "docid": "335438#2", "text": "ในปีแรกเปิดสอน 8 ห้องเรียน มีนักเรียน 280 คน แบ่งเป็นนักเรียนชาย 140 คน และนักเรียนหญิง 140 คน เป็นโรงเรียนัธยมแบบประสมและเป็นสหศึกษาคือรับทั้งชายทั้งหญิงมาเรียนรวมกัน โดยในสมัยนั้น การจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาจะแยกนักเรียนชายให้เรียนในโรงเรียนประจำ จังหวัดชาย (โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน), นักเรียนหญิงเรียนในโรงเรียนประจำจังหวัดหญิง (โรงเรียนกัลยาณวัตร) โรงเรียนสหศึกษาคือมีนักเรียนชายและหญิงเรียนรวมกัน ส่วนโรงเรียนมัธยมแบบประสม หมายถึง การเปิดสอนในหลักสูตรที่กว้าง หลากหลาย มีวิชาให้เลือกเรียนได้ตามความรู้ความสามารถที่ตนถนัด (TO EACH HIS OWN ABILITY) มีทั้งวิชาสามัญ วิชาศิลป-ปฏิบัติ(วิชาชีพ) เมื่อจบมัธยมต้นแล้วสามารถจะนำไปศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้", "title": "โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย" }, { "docid": "219920#10", "text": "ในปีพ.ศ. 2496 รัฐบาลได้ประกาศใช้แผนการศึกษาชาติฉบับใหม่ โรงเรียนได้ปรับระดับชั้นเป็นมัธยมต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และเตรียมอุดมศึกษา 2 ปี ซึ่งในส่วนหลังนี้ได้มีการเปิดเรียนเมื่อภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2501 ส่วนการศึกษาระดับประถมศึกษาที่เคยจัดมานั้น ได้โอนไปอยู่กับงานของเทศบาลเมืองขอนแก่นตั้งแต่พ.ศ. 2482 แล้ว", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" }, { "docid": "877573#2", "text": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน 3 ได้เปิดทำการเรียนการสอนวันแรก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ในวันที่ 18 สิงหาคม 2540 โรงเรียนได้ย้ายจากที่เดิมมาทำการสอน ณ ที่ตั้งแห่งใหม่ตรงถนนมิตรภาพ กิโลเมตรที่ 19 ข้างอ่างเก็บน้ำซำจานเป็นวันแรก", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ๓" }, { "docid": "756365#0", "text": "โรงเรียนเนกขัมวิทยา เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2527 จากนั้นปีการศึกษา 2538 โรงเรียนได้เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เป็นปีแรก แผนการจัดชั้นเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 3 – 3 - 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 – 2 - 2 โรงเรียนเนกขัมวิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบล ได้รับประกาศจัดตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2527 เปิดรับนักเรียนชั้น ม.1-6 ทั้งชาย และ หญิง ปัจจุบันมีนักเรียน 285 คน ครู-อาจารย์ 19 คน นักการภารโรง 2 คน", "title": "โรงเรียนเนกขัมวิทยา" }, { "docid": "219920#4", "text": "4 ปีถัดมา คือในปีพุทธศักราช 2458 พระยาพิศาลสารเกษตร (พร พิมพะสูต) ผู้ว่าราชการเมืองในขณะนั้น ได้พิจารณาให้ย้ายที่ทำการของโรงเรียนวัดธาตุวิทยาคารจากบริเวณวัดธาตุ ให้ไปตั้งอยู่ ณ ที่โรงเรียนขอนแก่นวิทยายนปัจจุบัน โดยมีการก่อสร้างอาคารชั่วคราวขึ้น 1 หลังสำหรับทำการเรียนการสอน เป็นอาคารทรงปั้นหยา ชั้นเดียว ยกพื้น แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น \"โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน\"", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" }, { "docid": "219920#28", "text": "ในส่วนอาคารต่างๆ ของโรงเรียนนั้น ประกอบด้วยอาคารเรียนเก้าหลัง และอาคารต่างๆ มีดังต่อไปนี้โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน เป็นโรงเรียนที่ตั้งชื่อคณะสีตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจะมีการจับฉลากเลือกคณะสีในวันปฐมนิเทศของนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 โดยจะอยู่ในคณะสีนั้นยาวนาน 3 ปี ตลอดการเรียนในแต่ละช่วงชั้น มีทั้งหมด 6 คณะสี", "title": "โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน" } ]
33
ใครเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายแห่งแรกของประเทศไทย?
[ { "docid": "1796#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2440 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ได้ทรงก่อตั้ง \"โรงเรียนกฎหมาย\" ขึ้นในกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนโดยคณาจารย์ส่วนใหญ่เป็นตุลาการ ต่อมาได้มีการยุบโรงเรียนกฎหมายไปจัดตั้งเป็น \"คณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์\" ขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากนั้นเพียง 8 เดือน นักเรียนโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรมเดิม ไม่พอใจที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน (ปัจจุบันคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย แต่โรงเรียนกฎหมายไม่ได้ยกฐานะ ดร.ปรีดี พนมยงค์ จึงรับปากว่าจะช่วย", "title": "นิติศาสตร์" }, { "docid": "554032#0", "text": "โรงเรียนกฎหมาย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2440 โดยพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม (ฐานันดรศักดิ์และตำแหน่งขณะนั้น) เพื่อให้การศึกษาอบรมด้านนิติศาสตร์โดยเฉพาะ ซึ่งไม่เคยมีมาก่อน อย่างไรก็ดี โดยเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ทรงให้การศึกษาด้วยพระองค์เอง เมื่อทรงเสร็จสิ้นการเสวยพระกระยาหารกลางวันแล้ว ครั้นมีนักเรียนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จึงย้ายไปทำการเรียนการสอน ยังตึกสัสดีหลังกลาง กระทรวงยุติธรรม", "title": "โรงเรียนกฎหมาย" } ]
[ { "docid": "14170#1", "text": "มิสเจนีวีฟ คอล์ฟิลด์ สตรีตาบอดชาวอเมริกัน ได้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2482 โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนสอนคนตาบอด โดยใช้บ้านหลังเล็กๆ ที่ ถนนคอชเช่ ศาลาแดง นับว่าเป็น โรงเรียนสอนเด็กพิการแห่งแรกในประเทศไทย นักเรียนคนแรก คือ หม่อมเจ้าพวงมาศผกา ดิศกุล ได้มีผู้มีจิตกุศล ช่วยเหลือ และสนับสนุน โดยตั้งเป็น มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 นับเป็น มูลนิธิสงเคราะห์คนพิการ แห่งแรกในประเทศไทย ต่อมา ได้ย้าย โรงเรียนสอนคนตาบอด ไปอยู่ตามที่ต่างๆ เนื่องจากมีนักเรียนเพิ่มมากขึ้น และเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2", "title": "โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ" }, { "docid": "749#18", "text": "ใน พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอันเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่ประเทศไทยยังคงปกครองอยู่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้อาศัยการสอนที่โรงเรียนดังกล่าว ปลุกจิตสำนึกนักศึกษาให้สนใจเป็นขั้น ๆ ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบเดิมให้เป็นระบบราชาธิปไตยภายใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังได้เปิดอบรมทบทวนวิชากฎหมายที่บ้านถนนสีลมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับนักศึกษาให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จึงมีลูกศิษย์ลูกหาเข้าร่วมเป็นสมาชิกและผู้สนับสนุนคณะราษฎรในเวลาต่อมาหลายคน", "title": "ปรีดี พนมยงค์" }, { "docid": "287131#4", "text": "ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้ที่บุกเบิกการต่อตั้งโรงเรียนราษฎร์ไม่ใช่คนไทย แต่เป็นมิชชั่นนารีซึ่งเดินทางเข้ามาเผยแพร่ศาสนาในประเทศไทย โรงเรียนราษฎร์ซึ่งได้รับการจัดตั้งและสนับสนุนโดยมิชชั่นนารี ได้แก่ โรงเรียนของนามัททูน (Mrs. Mattoon) มิชชั่นนารีชาวอเมริกัน จึงเปิดสอนในปี พ.ศ. 2395 ซึ่งถือเป็นโรงเรียนราษฎร์แห่งแรกในสมัยนั้น โรงเรียนคริสเตียนไฮสกูล (The Christian High School) ปัจจุบันคือ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2431 เปิดสอนเฉพาะเด็กผู้ชาย สำหรับโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง (Kunsatree Wang Lang School) ปัจจุบันคือ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย เปิดสอนเฉพาะเด็กผู้หญิง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2417 และโรงเรียนไทย – ฝรั่ง (Thai Farang School) ปัจจุบันคือ โรงเรียนอัสสัมชัญ (Assumption College) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2420", "title": "สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน" }, { "docid": "14157#3", "text": "อักษเบรลล์เริ่มมีการนำเข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยอาจารย์เจเนวีฟ คอลฟีลด์ (Genevieve Caulfield) ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดขึ้นในประเทศไทย 12 มกราคม พ.ศ. 2482 ใช้ชื่อว่า โรงเรียนสอนคนตาบอด นับว่าเป็นโรงเรียนสำหรับคนพิการแห่งแรกในประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจาก นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ร่วมกำหนดรหัสโค้ดอักษรเบรลล์ไทยขึ้น ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกด มีนักเรียนคนแรก คือ หม่อมเจ้าพวงมาศผกา ดิศกุล และได้ทำการเผยแพร่ในระบบการศึกษาและการประกอบอาชีพยาวนานกว่า 70ปี", "title": "อักษรเบรลล์" }, { "docid": "288029#0", "text": "โรงเรียนสารสาสน์พิทยา () เป็นโรงเรียนแห่งที่แรก ของกลุ่มโรงเรียนในเครือสารสาสน์ที่เปิด ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน (Bilingual Program โรงเรียนสองภาษา) ก่อตั้งขึ้นโดยท่านอาจารย์พิบูลย์ ยงค์กมล และท่านอาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เมื่อปี พ.ศ. 2507 และเป็นโรงเรียนแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้ทำการทดลองสอนหลักสูตรสองภาษา (Bilingual Programme) โดยในภายหลังหลักสูตรนี้ได้ถูกนำไปเริ่มใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกที่ โรงเรียนสารสาสน์เอกตรา", "title": "โรงเรียนสารสาสน์พิทยา" }, { "docid": "587144#0", "text": "วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) () เป็นสถานศึกษาเอกชนที่เปิดสอนด้านช่างอุตสาหกรรมแห่งแรกของประเทศไทย เป็นสถาบันในเครือเดียวกันกับวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม(อุดมศึกษา)และมหาวิทยาลัยสยาม โดยอาจารย์ ดร.ณรงค์ มงคลวานิช เป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้งโรงเรียนแห่งนี้ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2508 โดยใช้ชื่อโรงเรียนเมื่อแรกเริ่มในการจัดตั้งว่า “โรงเรียนช่างกลสยาม” เปิดสอนประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ระดับ ปวช. 3 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า และช่างวิทยุ-โทรคมนาคม นับว่าเป็นโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย ที่เปิดทำการสอนทางด้านอาชีวศึกษา ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม และทางโรงเรียนได้ทำพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2508 โดยหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีเปิด", "title": "วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)" }, { "docid": "34736#4", "text": "ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำหลักสูตรวิชาศิลปะการละครเป็นวิชาเอกของนิสิตอักษรศาสตร์ ใน พ.ศ. 2507 และก่อตั้งแผนกวิชาศิลปะการละครขึ้นในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2514 ถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดสอนสาขาวิชานี้อย่างครบวงจร เป็นแม่แบบของหลักสูตรวิชาการละครและการแสดงในสถาบันต่าง ๆ ทั่วประเทศ นอกจากนียังอุทิศตนเพื่อประโยชน์ของวงการด้านศิลปะการละคร ตลอดจนกิจการสาธารณประโยชน์อื่น ๆ อาทิ เป็นกรรมการพิจารณาโครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการบริหารสถานีวิทยุจุฬาฯ เป็นกรรมการร่างและตรวจพิจารณาหลักสูตรการละครของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนการแสดงของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นต้น", "title": "สดใส พันธุมโกมล" }, { "docid": "37917#17", "text": "พระราชกรณียกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือในปี พ.ศ. 2440 ได้ทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้น โดยมีเจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (โรลังยัคมินส์) เป็นที่ปรึกษา และพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าสอนเป็นประจำ ต่อมาได้จัดให้มีการสอบไล่ขึ้นด้วย ในปีแรกที่มีการสอบปรากฏว่ามีผู้สอบผ่านเพียง 9 คนจากจำนวนกว่าร้อยคน และแม้ใน 14 ปีแรกมีผู้สอบผ่านเพียง 129 คนเท่านั้น แต่ก็ถือเป็นการผลิตนักกฎหมายที่มีคุณภาพให้สังคมเป็นอย่างมาก ต่อมายังทรงเป็นประธานกรรมการตรวจชำระกฎหมาย, กรรมการตรวจตัดสินความฎีกา และกรรมการตรวจร่างกฎหมายลักษณะอาญาอีกด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังต่อไปนี้", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์" } ]
3090
จังหวัดเชียงใหม่มีสโมสรฟุตบอลใช่หรือไม่?
[ { "docid": "52376#0", "text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพจากจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันกำลังแข่งขันอยู่ในไทยลีก", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่" } ]
[ { "docid": "220739#7", "text": "ก่อนที่สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดจะมีสนามเหย้าเป็นของตัวเอง พวกเขาเคยต้องเช่าสนามหลายแห่งเพื่อใช้ในการแข่งขันนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรในปีพ.ศ. 2552 และต้องประสบปัญหาการไม่มีสนามเหย้าใช้แข่งขันในจังหวัดของตัวเองอยู่ระยะหนึ่ง ด้วยปัญหาความล่าช้าในการปรับปรุงสนามกีฬากลางจังหวัดขององค์การบริหารส่วนจังหวัด และจากปัญหาแอลกอฮอล์ในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นต้น โดยสนามที่สโมสรเคยใช้ในการแข่งขันก่อนจะมีสนามเป็นของตัวเองคือ สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, สนามกีฬากลางจังหวัดเชียงราย และสนามกีฬาสมโพชเชียงใหม่ 700 ปี โดยการที่ต้องไปแข่งขันที่จังหวัดเชียงใหม่นั้นได้ส่งผลกระทบต่อรายได้สโมสรเป็นอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการสนับสนุนให้สโมสรมีสนามเป็นของตัวเองขึ้น โดยสนามเหย้าถาวรของสโมสรนั้นได้เริ่มมีการก่อสร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2554 ก่อนเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2555", "title": "สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ด" }, { "docid": "953333#2", "text": "ด้านผลงานระดับอาชีพ ภานุพงศ์เป็นผู้ทำหน้าที่ร่วมกับสโมสรฟุตบอลชลบุรี ในศึกโตโยต้า ลีกคัพ 2559 และไทยลีก ฤดูกาล 2559 รวมถึงเป็นผู้มีส่วนช่วยให้ทีมของตนเป็นฝ่ายชนะสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้ายในศึกโตโยต้า ลีกคัพ 2560 ", "title": "ภานุพงศ์ พลซา" }, { "docid": "362260#2", "text": "ฤดูกาล 2552 เลกแรก วรนันท์เล่นให้กับนครสวรรค์ เอฟซีในระดับลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 และทำผลงานได้ดี ในเลกสองจึงถูกดึงตัวเข้าสู่สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดในระดับไทยพรีเมียร์ลีกได้รับเสื้อหมายเลข 24 แต่วรนันท์ก็ไม่ได้ลงสนามมากนัก จนในที่สุดฤดูกาล 2553 สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ได้ดึงตัววรนันท์ไปร่วมทีม ทว่าไม่ค่อยได้รับโอกาสลงสนามจึงถูกปล่อยตัวหลังจบเลกแรกของฤดูกาล 2553 และไปร่วมทีมกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดลพบุรี", "title": "วรนันท์ ศรีวารี" }, { "docid": "52390#4", "text": "ต่อมา ในฤดูกาล 2555 สโมสรปากน้ำโพ เอ็นเอสอาร์ยู ได้ย้ายจาก โซนกรุงเทพฯและปริมณฑล มาแข่งขันใน โซนภาคเหนือ แฟนคลับกลุ่มหนึ่งจึงได้แยกตัวออกไปสร้างกลุ่มแฟนคลับของสโมสรอย่างเป็นเอกเทศ\nต่อมาทาง การกีฬาแห่งประเทศไทย และ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มีการจัดการแข่งขัน โปรวินเชียลลีก และทางทีมจังหวัด ก็ได้รับเชิญเข้าร่วมการแข่งขัน ร่วมกับ ทีมจังหวัดเชียงใหม่ โดยเข้าร่วมการแข่งขันตั้งแต่ ฤดูกาล 2542/43 โดยได้รับความร่วมมือจาก สมาคมกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ และ สมาคมสโมสรถาวรฟาร์ม โดยใช้ชื่อ ทีมสมาคมกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ ", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์" }, { "docid": "361129#3", "text": "หลังจากถูกปล่อยตัวจากเทโรฯ อานนท์ได้เซ็นต์สัญญากับ สโมสรฟุตบอลจังหวัดนนทบุรี แต่เพียงครึ่งฤดูกาลก็ถูกปล่อยตัวพร้อมนักแตะของทีมอีกหลายราย ด้วยเหตุผลภาระค่าใช้จ่ายของสโมสร ฤดูกาล 2554 อานนท์ย้ายมาสังกัดสโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี ในช่วงการเปิดตลาดซื้อขายนักเตะเลค 2 แต่ไม่ได้รับโอกาสในการลงสนามให้ต้นสังกัด อานน,Nจึงถูกปล่อยให้กับ สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรสาคร ในสัญญายืมตัว ในฤดูกาลต่อมาอานนท์ย้ายสู่สโมสรสโมสรฟุตบอลเกร็กคู ลูกทัพฟ้า ปทุมธานี แต่ยังไม่ได้ลงสนามทีมงานสโมสรที่ติดดึงตัวเขาเข้ามาในทีมก็ลาออก อานนท์จึงต้องย้ายสังกัดสู่สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่", "title": "อานนท์ บุษผา" }, { "docid": "634945#3", "text": "ในปี พ.ศ. 2557 ติณภพเป็นผู้ทำประตูชัยให้แก่สโมสรฟุตบอลราชนาวี เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลศรีราชา บ้านบึง รวมถึงเป็นผู้ทำประตูชัย เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่", "title": "ติณภพ ศรีสถิตย์" }, { "docid": "52376#3", "text": "จนปี พ.ศ. 2556 ได้กลับมาแข่งขันในไทยลีกดิวิชั่น 1 อีกครั้ง แต่ในช่วงครึ่งหลังของฤดูกาล 2556 ประธานสโมสร อุดรพันธ์ จันทร์วิโรจน์ ประกาศถอนทีมไม่ร่วมแข่งขันต่อในฤดูกาลนั้น โดยหลังจากการหารืออย่างยาวนาน ประธานสโมสรจึงตัดสินใจส่งทีมร่วมแข่งขันต่อไป", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่" }, { "docid": "5262#60", "text": "เชียงใหม่มีสโมสรฟุตบอลอาชีพสองสโมสร ได้แก่", "title": "จังหวัดเชียงใหม่" }, { "docid": "52376#4", "text": "ประวัติสัญลักษณ์ของสโมสร (2542-2548) (2549-2550) (2550-2551) (2551-2552) (2552-2553) (2553-2559) (2560-)", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่" }, { "docid": "833479#6", "text": "วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2560 สโมสรลงแข่งขันเป็นนัดแรก โดยเป็นการแข่งขันฟุตบอลดิวิชั่น 3 โซนภาคเหนือ รอบแบ่งกลุ่ม พบกับสโมสรฟุตบอลกองทัพภาคที่ 3 - สมาคมกีฬาจังหวัดเพชรบูรณ์ ที่สนามกีฬามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งสโมสรเป็นฝ่ายเอาชนะไปได้ 4–1 และ มณฑล เชื้อศรีลา ได้รับการบันทึกว่าเป็นผู้เล่นของสโมสรที่ทำประตูได้เป็นคนแรก", "title": "สโมสรฟุตบอลเจแอล เชียงใหม่ ยูไนเต็ด" }, { "docid": "662342#3", "text": "วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557 เสกสันต์ทำหน้าที่ร่วมกับทีมสโมสรฟุตบอลราชนาวีในการแข่งขันยามาฮ่าลีกวัน เมื่อครั้งที่พบกับทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดขอนแก่น โดยทีมของเขาเป็นฝ่ายชนะที่ 1 ประตูต่อ 0 ต่อมา วันที่ 6 เมษายน เสกสันต์ได้ทำหน้าที่ร่วมกับทีมดังกล่าวเมื่อพบกับทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ และทีมของเขาเป็นฝ่ายชนะที่ 1 ประตูต่อ 0 แต่แล้วในวันที่ 26 เมษายน เขาไม่ได้เข้าแข่งเมื่อครั้งที่พบกับทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมา เนื่องด้วยมีการประกาศห้าม และวันที่ 4 พฤษภาคม เขาได้ทำหน้าที่ร่วมทีมสโมสรฟุตบอลราชนาวี เมื่อครั้งที่พบกับทีมสโมสรฟุตบอลร้อยเอ็ด ยูไนเต็ด โดยในนัดดังกล่าว ทั้งสองทีมต่างเสมอกันที่ 2 ประตูต่อ 2 รวมถึงในวันที่ 23 กรกฎาคม เมื่อครั้งที่พบกับทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดตราด ทว่า ทีมราชนาวีของเขาเป็นฝ่ายแพ้ที่ 0 ประตูต่อ 1 ส่วนวันที่ 3 สิงหาคม เขาได้พบกับทีมสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ที่ซึ่งทีมของเขาเป็นฝ่ายแพ้ที่ 0 ประตูต่อ 1 และในวันที่ 24 สิงหาคม เสกสันต์ยังคงทำหน้าที่เป็นนักฟุตบอลคนสำคัญร่วมทีมสโมสรฟุตบอลราชนาวีเมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลร้อยเอ็ด ยูไนเต็ด อย่างไรก็ตาม ทีมของเขาเป็นฝ่ายแพ้ในนัดดังกล่าวที่ 1 ประตูต่อ 2 ", "title": "เสกสันต์ ชาวทองหลาง" }, { "docid": "195333#51", "text": "หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวไทย หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร‎‎ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2531 หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ หมวดหมู่:ผู้เล่นในไทยพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่", "title": "รณชัย รังสิโย" }, { "docid": "52376#10", "text": "จังหวัดเชียงใหม่ หมวดหมู่:จังหวัดเชียงใหม่", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่" }, { "docid": "833479#0", "text": "สโมสรฟุตบอลเจแอล เชียงใหม่ ยูไนเต็ด () เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ถนนช้างเผือก ต.ศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับไทยลีก 2", "title": "สโมสรฟุตบอลเจแอล เชียงใหม่ ยูไนเต็ด" }, { "docid": "869988#1", "text": "ยาซูโตชิ มิอูระ ผ่านการคุมสโมสรมาหลายระดับ รวมทั้งสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ และยังเป็นพี่ชายของคาซูโตชิ มิอูระ นักฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่นเจ้าของสถิตินักเตะที่อายุมากที่สุดที่ลงเล่นในเจลีก", "title": "ยาซูโตชิ มิอูระ" }, { "docid": "296767#1", "text": "สโมสรฟุตบอลลำปางเกิดจากการรวมกลุ่มของผู้สนับสนุนที่ต้องการให้มีสโมสรฟุตบอลอาชีพของจังหวัดลำปาง จนเกิดการรวมกลุ่มอภิปราย และเกิดการก่อตั้งสโมสรขึ้นมา โดยมีธนาธร โล่ห์สุนทร ดำรงตำแหน่งประธานสโมสร รวมถึงได้แต่งตั้งณรงค์ พินธิสืบ อดีตกัปตันทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้จัดการทีมฯ พร้อมกับแต่งตั้งสุภาพ วงค์ษา และดาชัย อุชุโกศลการ เป็นผู้ช่วยผู้จัดการทีม", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดลำปาง" }, { "docid": "52861#1", "text": "ในอดีตที่ผ่านมามีทีมฟุตบอลมากมายที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้าร่วมการแข่งขันในนามตัวแทนของจังหวัดพิษณุโลก เช่นการแข่งขันยามาฮ่าไทยแลนด์คัพ และการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ เป็นต้น จนกระทั่งในปี 2547-2548 ทีมฟุตบอลจังหวัดพิษณุโลกได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโปรวิลเชี่ยลลีก ดิวิชั่น 2 โดยมี พล.ท.พิพัฒน์ เด็ดแก้ว เป็นผู้ก่อตั้งและควบคุมทีมในขณะนั้น โดยในครั้งนั้น ทีมฟุตบอลจังหวัดพิษณุโลกสามารถทำผลงานได้ดี โดยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลโปรวิลเชี่ยลลีก ดิวิชั่น 2 รอบคัดเลือกโซนภาคเหนือ หลังจากที่ในนัดชิงชนะเลิศต้องพ่ายให้กับทีมฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ไป 0-1 ที่จังหวัดพิจิตรเป็นเจ้าภาพ แต่ยังได้สิทธิเข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายการแข่งขันฟุตบอลโปรวิลเชี่ยลลีก ดิวิชั่น 2 ระดับประเทศ ที่จังหวัดสกลนคร และสามารถทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมโดยสามารถคว้าตำแหน่งชนะเลิศมาครองได้ โดยการเบียดชนะเจ้าภาพอย่างทีมฟุตบอลจังหวัดสกลนครมาได้ 1-0 ซึ่งส่งผลให้ทีมฟุตบอลจังหวัดพิษณุโลกได้โควตาขึ้นมาเล่นในการแข่งขันฟุตบอลโปรวิลเชี่ยลลีก ดิวิชั่น 1 ในปีถัดมา", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดพิษณุโลก" }, { "docid": "951021#1", "text": "ซากีรีน ตีกาสม ทำหน้าที่เป็นนักฟุตบอลระดับอาชีพรวมกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ก่อนที่จะย้ายไปเข้าร่วมทีมลำพูน วอร์ริเออร์, เชียงใหม่, ปัตตานี, สงขลา ยูไนเต็ด, เชียงใหม่, เชียงราย ยูไนเต็ด, บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด และในปี พ.ศ. 2560 เขาได้ย้ายมาเข้าร่วมทีมบางกอกกล๊าส ด้วยค่าตัวกว่า 3 ล้านบาท", "title": "ซากีรีน ตีกาสม" }, { "docid": "833479#3", "text": "สโมสรก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2558 ในชื่อ สโมสรฟุตบอลช้างเผือก เชียงใหม่ โดยนายชูชัย เลิศพงศ์อดิศร ซึ่งเป็นทนายความ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ และจดทะเบียนก่อตั้งเป็นนิติบุคคลในรูปแบบบริษัทขึ้นเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ในชื่อบริษัท ช้างเผือกเชียงใหม่ ยูไนเต็ด จำกัด", "title": "สโมสรฟุตบอลเจแอล เชียงใหม่ ยูไนเต็ด" }, { "docid": "832840#0", "text": "สโมสรฟุตบอลแม่โจ้ ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันแข่งขันอยู่ในระดับไทยลีก 4 โซนภาคเหนือตอนบน", "title": "สโมสรฟุตบอลแม่โจ้ ยูไนเต็ด" }, { "docid": "220739#17", "text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงราย สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ สโมสรฟุตบอลจังหวัดน่าน กัมบะ โอซาก้า", "title": "สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ด" }, { "docid": "361894#0", "text": "สาธิต ป้อมเสมา เป็นนักฟุตบอล เกิดที่จังหวัดกำแพงเพชร จบการศึกษาจากโรงเรียนเทศบาล วัดจอมคีรีนาคพรต จ.นครสวรรค์ และ สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตเพชรบูรณ์ จ. เพชรบูรณ์ สาธิตเริ่มเล่นฟุตบอลอาชีพกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์ โดยเล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรุก หรือเพลย์เมคเกอร์ สาธิตเป็นกำลังหลักในแดนกลางของนครสวรรค์ เอฟซีในระดับดิวิชั่น 2 จนในที่สุดสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ได้ดึงตัวสาธิตไปร่วมทีมในปี 2553 และปัจจุบันได้ย้ายมาอยู่กับ สโมสรกำแพงเพชรเอฟซีในระดับดิวิชั่น 2 ", "title": "สาธิต ป้อมเสมา" }, { "docid": "921608#0", "text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ในฤดูกาล 2561 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ เชียงใหม่ เอฟซี ใน ไทยลีก 2. ฤดูกาลนี้เชียงใหม่ เอฟซีได้เข้าร่วมการแข่งขันใน ไทยลีก 2, เอฟเอคัพ และ ลีกคัพ", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ในฤดูกาล 2561" }, { "docid": "52862#1", "text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครปฐมก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2542 โดยเริ่มเล่นในโปรวินเชียลลีก ใน พ.ศ. 2547 สโมสรจบฤดูกาลโดยอยู่กลางตารางของลีก ในปีต่อมา สโมสรจบฤดูกาลในสามอันดับแรก และได้รับสิทธิ์เข้าไปเล่นในไทยพรีเมียร์ลีก ติดต่อกันใน พ.ศ. 2548-49 โดยใน พ.ศ. 2549 สโมสรได้รับสิทธิ์เข้าไปเล่นในลีกสูงสุดของประเทศไทย โดยเป็นทีมสำรองลำดับที่สองของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือแห่งประเทศไทย สโมสรนครปฐมไม่ได้นำมาซึ่งเฉพาะความเป็น \"ทีมภูมิภาค\" ในลีกเท่านั้น แต่ยังมีกระแสแฟนบอลที่เดินทางไปเชียร์ทั้งนัดเยือนและนัดเหย้า สโมสรนครปฐมเป็นอีกทีมหนึ่งเช่นเดียวกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดชลบุรีและสโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีที่แข่งขันในระดับพรีเมียร์ลีก โดยไม่ใช่ทีมจากกรุงเทพมหานคร", "title": "สโมสรฟุตบอลนครปฐม ยูไนเต็ด" }, { "docid": "549350#4", "text": "จากนั้น สิทธิพงษ์ได้ทำหน้าที่เป็นผู้รักษาประตูให้แก่สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม เชียงใหม่ เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรสงคราม ของการแข่งไทยพรีเมียร์ลีก 2555 ที่สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม และในเดือนกรกฎาคม เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลชลบุรี ที่สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี รวมถึงในวันที่ 12 สิงหาคมปีเดียวกันนี้ เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ที่สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ซึ่งสิทธิพงษ์สามารถทำการรักษาประตูได้หลายครั้ง และทั้งสองทีมเป็นฝ่ายเสมอกันที่ 2 ประตูต่อ 2 และในวันที่ 29 กันยายน เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสที่ลีโอสเตเดียม โดยทั้งสองทีมเสมอกันที่ 2 ประตูต่อ 2 จากนั้น เขาทำหน้าที่รักษาประตูให้แก่สโมสรฟุตบอลราชนาวี เมื่อครั้งที่พบกับสโมสรฟุตบอลสิงห์ท่าเรือในการแข่งไทยลีกดิวิชั่น 1 ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ที่แพท สเตเดี้ยม", "title": "สิทธิพงษ์ มะนาวหวาน" }, { "docid": "52323#8", "text": "ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552-2558 สโมสรเปลี่ยนชื่อที่ใช้ในการแข่งขันหลายครั้ง เนื่องจากไม่มีสนามเหย้าประจำเป็นของตนเอง จึงต้องย้ายไปใช้สนามกีฬาตามจังหวัดต่างๆเป็นสนามเหย้าเพื่อใช้ในการแข่งขันแต่ละฤดูกาล โดยใน ฤดูกาล 2552 ทางสโมสรได้มีการเปลี่ยนชื่อสโมสร เพื่อให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ของเอเอฟซี โดยรวมมือกับทาง จังหวัดสมุทรสาคร และเปลื่ยนชื่อเป็น \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม สมุทรสาคร\" และใน ฤดูกาล 2553 ได้ย้ายทีมมารวมกับจังหวัดพิจิตร ทางสโมสรได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม เอฟซี พิจิตร\" และในฤดูกาล 2555 สโมสรย้ายไปใช้สนามเหย้าที่จังหวัดเชียงใหม่ และใช้ชื่อในการแข่งขันว่าว่า \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม เชียงใหม่\" โดยผลงานของทีมในลีกนั้นไม่ดีเท่าที่ควร จนสโมสรตกชั้นในฤดูกาลนั้น", "title": "สโมสรฟุตบอลยาสูบ" }, { "docid": "604990#0", "text": "ซูงาโอะ คัมเบะ () เป็นโค้ช สัญชาติญี่ปุ่น อดีตผู้ช่วยผู้ฝึกสอนทีมนาโกย่า แกรมปาสเอจ ทีมดังจาก เจลีก ญี่ปุ่น และอดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติฟิลิปปินส์และทีมชาติกวม เคยเป็นประธานฝ่ายพัฒนาเทคนิคสโมสรเจฟ ยูไนเต็ด เจลีก ญี่ปุ่น เป็นโค้ชที่มีความรู้และมีประสบการณ์จากการทำทีมในระดับเจลีกของประเทศญี่ปุ่นและเคยเป็นเฮดโค้ชให้กับทีมชาติชุดใหญ่ของฟิลิปปินส์และทีมชาติกวม เคยเป็นผู้ฝึกสอนให้กับสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมาและสโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอนให้กับสโมสรฟุตบอลอุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด", "title": "ซูงาโอะ คัมเบะ" }, { "docid": "731523#0", "text": "วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย จากจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสโมสรฟุตบอลชลบุรี เอฟซี ตำแหน่งกองกลาง อดีตเคยเจ้าของสถิตินักเตะอายุน้อยที่สุดที่สามารถทำประตูได้ในไทยพรีเมียร์ลีก และได้รับแต่งตั้งเป็นกัปตันทีมชาติไทยชุดอายุไม่เกิน 19 ปี ชิงแชมป์อาเซียนที่ สปป.ลาว และสามารถคว้าดาวซัลโวประจำรายการ\nวรชิตเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เรื่มเล่นฟุตบอลมาตั้งแต่ 6-7 ขวบ จากนั้นย้ายมาอยู่กรุงเทพฯ 3 ปี ด้วยคำแนะนำของ น.อ.จีรศักดิ์ เจริญจันทร์ ทำให้วรชิตตัดสินใจเดินทางมาคัดตัวเข้าอะคาเดมีของสโมสรฟุตบอลชลบุรี เอฟซี ด้วยฝีเท้าที่โดดเด่นเกินวัย วิทยา เลาหกุล ถึงกลับแสดงความเห็นว่า \"“ผมยังจำวันแรกที่ยิมมาอยู่กับเราได้เลย เขาเป็นเด็กตัวเล็กๆ ตาตี่ๆ มีเบสิคและทักษะดีมาก และต้องยอมรับเลยว่าเขามีของ”\"", "title": "วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ" }, { "docid": "52376#1", "text": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 โดยส่งลงแข่งขันนาม สมาคมกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ และได้ทำการแข่งขันใน โปรวินเชียลลีก ตั้งแต่ปีแรกที่มีการก่อตั้งลีก", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่" } ]
1714
วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งโดยใคร?
[ { "docid": "63535#1", "text": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตก่อตั้งโดยมติที่ประชุมกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2532 และทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุญาตให้ดำเนินการรับนักศึกษาและเปิดการเรียนการสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2532 จึงถือเป็นคณะ/วิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 12 ของมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 9 ของประเทศไทย เริ่มเปิดรับนักศึกษาแพทย์ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2532 ซึ่งต่อมาแพทยสภาได้รับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตในการประชุมคณะกรรมการแพทยสภา ครั้งที่ 2/2537 เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2537 โดยกำหนดหลักการให้มีการจัดตั้งมูลนิธิเป็นเงื่อนไขในการเปิดดำเนินการของโรงเรียนแพทย์เอกชน โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนของหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ให้ผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีคุณภาพตามที่กำหนด เป็นผลให้ในเวลาต่อมา ได้มีการลงนามข้อตกลงการร่วมผลิตแพทย์ภาคคลินิก ระหว่างกรมการแพทย์ และมหาวิทยาลัยรังสิต ในวันที่ 15 มีนาคม 2537 โดยร่วมกันจัดตั้งสถาบันร่วมผลิตแพทย์ระหว่างกรมการแพทย์ และมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนในภาควิชาคลินิก (นักศึกษาแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ชั้นปีที่ 4, 5 และ 6) ทั้งหมด และการจัดตั้งมูลนิธิสถาบันร่วมผลิตแพทย์ กรมการแพทย์และมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเป็นกองทุนรับผิดชอบในการดำเนินการร่วมผลิตแพทย์ ของมหาวิทยาลัยรังสิต [2]จึงถือเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ของประเทศไทยโดยสมบูรณ์", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" } ]
[ { "docid": "63535#0", "text": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 9 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 21 สถาบัน ได้รับการรับรองจากแพทยสภาเปิดเป็นโรงเรียนแพทย์โดยสมบูรณ์[1] ด้วยปณิธานของมหาวิทยาลัยรังสิตที่จะผลิตผลิตบัณฑิตในสาขาที่ประเทศขาดแคลนต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อเพิ่มจำนวนแพทย์ให้เพียงพอโดยการร่วมกันผลิตแพทย์ระหว่างภาครัฐคือกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และเอกชน คือมหาวิทยาลัยรังสิต ในปัจจุบันวิทยาลัยนี้มีนักศึกษาจบไปแล้วทั้งสิ้น 19 รุ่น จำนวนกว่า 1200 คน (บัณฑิตแพทย์รุ่น 19 สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2555-56)", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#4", "text": "พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยรังสิต มีนโยบายปรับปรุงวิชาในหมวดการศึกษาทั่วไปของหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิตให้อยู่ในโครงสร้างอันเดียวกัน และปรับปรุงระบบการศึกษาจากระบบทวิภาคเป็น ระบบไตรภาค วิทยาลัยแพทยศาสตร์จึงได้ปรับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตใหม่จากระบบทวิภาคเป็นระบบไตรภาคตามโครงการที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อให้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ในปีการศึกษา 2542 ได้รับอนุมัติตลอดหลักสูตร 6 ปี เท่ากับ 263 หน่วยกิต ตามระบบทวิภาคซึ่งจะเท่ากับ 328 หน่วยกิต ตามระบบไตรภาค", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#33", "text": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มีพื้นที่ในส่วนต่างๆ ดังนี้ ้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#5", "text": "พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ปรับระบบการศึกษาจากระบบไตรภาคเป็นระบบทวิภาค วิทยาลัยแพทยศาสตร์จึงได้ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตใหม่จากระบบ ไตรภาคเป็นทวิภาคตามเดิมคือ 263 หน่วยกิต ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 เป็นต้นไป", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#9", "text": "ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ โรงพยาบาลเลิศสิน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นสถาบันสมทบแห่งที่ 2 ในการผลิตบัณฑิตแพทย์ภาคคลินิก ในโอกาสครบรอบ 25 ปี แพทย์รังสิต", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#19", "text": "การรับบุคคลเข้าศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต ของทางวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มีจำนวนทั้งสิ้น 4 โครงการ และอีก 1 โครงการย่อย ดังนี้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#17", "text": "คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้แก่ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสงค์ ตู้จินดา คณบดีกิตติคุณ และกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต พลเรือตรี ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิทุร แสงสิงแก้ว ประธานคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และ กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ศาสตราจารย์ นายแพทย์เสรี ตู้จินดา รองประธานกรรมการบริหารวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล[3] และกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ศาสตราจารย์ นายแพทย์พรชัย มาตังคสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต และ กรรมการนโยบายวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ศาสตราจารย์คลินิก(พิเศษ) นายแพทย์สมภพ พันธุโฆษิต กรรมการ นายแพทย์ประสาท โหตรภวานนท์ กรรมการ นายวิศิษฐ์ จิตต์แจ้ง กรรมการ นายแพทย์วุฒิกิจ ธนภูมิ กรรมการ รองศาสตราจารย์คลินิก(พิเศษ) นายแพทย์เจษฎา โชคดำรงสุข รองอธิบดีกรมการแพทย์ และผู้อำนวยการสถาบันร่วมผลิตแพทย์ กรมการแพทย์-มหาวิทยาลัยรังสิต โดยตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี</b>โดยตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี</b>โดยตำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยตำแหน่ง", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#10", "text": "ปัจจุบัน มีบัณฑิตแพทย์จำนวนมากมายที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งปฏิบัติงานในการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ประชาชนทั่วประเทศ ในหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ทหารบก โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ทหารเรือ โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ทหารอากาศ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โรงพยาบาลในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลเอกชน", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#41", "text": "เมื่อแรกเริ่มมีการเรียนในภาคคลินิกในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการประชุมเพื่อแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในภาคคลินิก และจัดประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาแห่งประเทศไทยขึ้น ซึ่งในสมัยนั้น มี นพ.ไพโรจน์ นิงสานนท์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ นพ.สุจินต์ ผลากรกุล อธิบดีกรมการแพทย์ ได้มีแนวคิดในการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อจัดการประสานความมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการผลิตแพทย์ตามรูปแบบแนวคิดการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นโรงเรียนแพทย์เอกชนที่ร่วมมือในการผลิตแพทย์กับภาครัฐ และได้มีการประชุมประสานงานอีกหลายครั้ง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2536 กรมการแพทย์และกระทรวงสาธารณสุขมีมติเห็นชอบให้มีการจัดตั้ง สถาบันร่วมผลิตแพทย์ กรมการแพทย์-มหาวิทยาลัยรังสิต ในขณะนั้น ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2536-2538) และได้มีการร่วมลงนามในข้อตกลงการร่วมผลิตแพทย์ระหว่างกรมการแพทย์ (โดย พล.รต.ศ.นพ.วิทุร แสงสิงแก้ว อธิบดีกรมการแพทย์ในสมัยนั้น) กับมหาวิทยาลัยรังสิต (โดยนายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ นายกสภามหาวิทยาลัยรังสิต และผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเป็นผู้ลงนาม) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2537 ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาและเปิดดำเนินนการเรียนกการสอนในภาคคลินิกได้อย่างสมบูรณ์และผลิตแพทย์เอกชน ที่เปี่ยมด้วยคุณภาพจากอาจารย์ของกรมการแพทย์", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#31", "text": "มีการเรียนการสอนส่วนใหญ่จะเน้นด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน เป็นการปูพื้นฐานเพื่อจะนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในภาคคลินิก ซึ่งรับผิดชอบโดยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งอาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์สอนเป็นหลัก โดยอาจารย์แพทย์จากวิทยาลัยแพทยศาสตร์ สถาบันร่วมผลิตแพทย์ฯ ซึ่งเป็นแพทย์ของโรงพยาบาลราชวิถีและสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ร่วมสอนด้วย นอกจากนี้ยังมีอาจารย์พิเศษจากโรงเรียนแพทย์ต่างๆมาบรรายายในหัวข้อต่างๆ ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้พื้นที่เรียนในอาคารวิทยาศาสตร์ (อาคาร 4) และอาคารรังสิตประยูรศักดิ์ (อาคาร 12) ภายในพื้นที่มหาวิทยาลัยรังสิต และอาคารสถาบันร่วมผลิตแพทย์ กรมการแพทย์-มหาวิทยาลัยรังสิต ภายในพื้นที่โรงพยาบาลราชวิถี เมื่อเรียนจบวิชาพยาธิวิทยา ซึ่งเป็นวิชาสุดท้ายของการเรียนในภาคปรีคลินิก ประมาณเดือนพฤศจิกายน นักศึกษาแพทย์จะย้ายมาเรียนภาคคลินิกที่โรงพยาบาลราชวิถีต่อไป", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#25", "text": "โครงการนี้จะรับนักศึกษาแพทย์ผ่านทาง สกอ. โดยที่จะใช้คะแนน [GAT 20%], [PAT2 30%] และ GPA ของนักศึกษาในการคิด ซึ่งจะคิดในระบบของวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากนั้นให้ยื่นผ่านทางระบบแอดมิสชั่น เข้าวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยปกติจะทำการสมัครในเดือนเมษายนของทุกปี", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "346031#0", "text": "คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2547 ได้รับการรับรองหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิตเมื่อ วันที่ 24 มีนาคม 2549 โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีการรับนักศึกษาเข้าครั้งแรกในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548", "title": "วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#63", "text": "เป็นงานกีฬาเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์กันระหว่างวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กับคณะทันตแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะในสายงานเดียวกัน โดยจะจัดในช่วงภาคการเรียนที่ 1 ของทุกปี", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#35", "text": "ห้องสโมสรนักศึกษาแพทย์มหาวิทยาลัยรังสิต อยู่ภายในอาคารรูปสี่เหลี่ยมที่ตั้งระหว่างอาคารวิทยาศาสตร์ (ตึก 4) และอาคารวิษณุรัตน์ (ตึก 5) ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มอาคารวิษณุรัตน์ (ตึก 5/1) โดยอาคารแห่งนี้สร้างเสร็จเมื่อปีการศึกษา 2550 เพื่อใช้เป็นห้องสโมสรของนักศึกษาคณะต่างๆ ทั้งสิ้น 4 คณะ โดยที่ทางมหาวิทยาลัยได้มอบห้องสโมสรนักศึกษาให้แก่วิทยาลัยแพทยศาสตร์ ทั้งหมด 3 ห้อง เพื่อใช้ทำกิจกรรม, ประชุมงาน หรือเป็นที่อ่านหนังสือสำหรับนักศึกษาแพทย์โดยเฉพาะ", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "12481#7", "text": "เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต พระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร อนุญาตให้มหาวิทยาลัยรังสิต จำลองพระอนุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เพื่อประดิษฐาน ณ บริเวณหน้าอาคารวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และคณะทันตแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับอนุญาตให้อัญเชิญพระนาม รังสิตประยูรศักดิ์ เป็นชื่ออาคาร เนื่องจากทรงมีบทบาท ในการพัฒนาการแพทย์และการสาธารณสุขไทย เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณสู่นักศึกษาและอนุชนรุ่นหลังสืบไป[8]", "title": "มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#65", "text": "มหกรรมกีฬาที่ใหญ่ที่สุดของนักศึกษาแพทย์ เพราะเป็นการรวมนักศึกษาแพทย์จากทุกสถาบันมาแข่งกีฬา เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์กันระหว่างมหาวิทยาลัย โดยที่เจ้าภาพการจัดการแข่งขันจะสลับเปลี่ยนหมุนเวียนไปทุกปี ซึ่งในปีการศึกษา 2553 จะมีวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าและวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นเจ้าภาพ", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#44", "text": "สโมรสรนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต และคณะกรรมการประจำชั้นปี เป็นหน่วยงานหลักในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของวิทยาลัย ซึ่งมีทั้งกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัด โดยมีวิทยาลัยแพทยศาสตร์เข้าร่วม, กิจกรรมและประเพณีอื่นๆ ที่จัดขึ้นโดยวิทยาลัยแพทยศาสตร์เอง และกิจกรรมที่เข้าร่วมกับสถาบันแพทยศาสตร์อื่นในประเทศไทย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "216678#43", "text": "โครงการความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยชินชู เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยสมัยท่านผู้อำนวยการสุภาวดี วงษ์สกุล โดยดร.Tatsu Tsuruishis อาจารย์พิเศษประจำแผนการเรียนอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยชินชู) ได้ประสานงานในการที่จะส่งเสริมนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ได้มีโอกาสในการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่ประเทศญี่ปุ่น จึงเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยชินชูเดินทางมาดูงานที่โรงเรียนฯ ถึง 3 ครั้ง เพื่อหารือแนวทางในการพัฒนาทางด้านวิชาการร่วมกัน และเมื่อวันที่ 14-17 กุมภาพันธ์ 2558 ได้ตกลงทำ MOU กับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ในการให้ทุนกับนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ไปศึกษาต่อปีละ 5 ทุน มหาวิทยาลัยชินชู ถือเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรกรรม วิศกรรม และ แพทยศาสตร์", "title": "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต" }, { "docid": "63535#72", "text": "หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยรังสิต รังสิต", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#14", "text": "รายนามคณบดีวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบันมีดังนี้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#59", "text": "เป็นงานกีฬาที่มหาวิทยาลัยรังสิตจัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มาร่วมแข่งขันกีฬา โดยมีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคณะ/วิทยาลัยต่างๆ และนอกจากนี้ยังมีการแข่งขันประกวดสแตนเชียร์จากคณะต่างๆ อีกด้วย ซึ่งปกติจะจัดในช่วงของการรับน้องใหม่ในเดือนมิถุนายนของทุกปี", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#2", "text": "เดือนกุมภาพันธ์ 2539 มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ทำสัญญาความร่วมมือกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และได้จัดสัมมนาเรื่อง \"การประกันคุณภาพแพทยศาสตรศึกษา\" ระหว่างคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด กับคณะแพทยศาสตร์ ทุกคณะในประเทศไทย", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#36", "text": "เป็นอาคารที่ใช้ร่วมกับคณะทันตแพทยศาสตร์ ซึ่งทางวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้พื้นที่ในส่วนด้านตะวันออก อาคารนี้สร้างเสร็จเมื่อปลายปีการศึกษา 2550 และพร้อมใช้งานได้ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 ที่จะถึงนี้ ซึ่งทางวิทยาลัยแพทยศาสตร์วางแผนที่จะเปิดสำนักงานถาวรของวิทยาลัยฯ ในอาคารนี้ และนอกจากนี้จะมีห้องไว้สำหรับอ่านหนังสือ, ประชุม, สืบค้นข้อมูล และอื่นๆ สำหรับนักศึกษาแพทย์", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#30", "text": "การเรียนการสอนในวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#8", "text": "ปีการศึกษา 2550 วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตได้เพิ่มแนวทางการรับนักศึกษาแพทย์จากจากเดิมเพียงผ่านระบบการคัดเลือกส่วนกลาง โดยเข้าร่วมกับ และยังคงมีสัดส่วนจำนวนรับร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)เช่นเดิม", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#38", "text": "อาคารสถาบันร่วมผลิตแพทย์ฯ หรือ อาคารประสิทธิ์ อุไรรัตน์ เป็นสถานที่ของสถาบันร่วมผลิตแพทย์ฯ ไม่ได้ถือเป็นสถานที่ของวิทยาลัยแพทยศาสตร์โดยตรง แต่สร้างโดยงบประมาณของมหาวิทยาลัยรังสิต ที่มอบเป็นทุนประเดิมให้แก่ มูลนิธิสถาบันร่วมผลิตแพทย์ กรมการแพทย์-มหาวิทยาลัยรังสิต</i>เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการเรียนการสอน และประสานงานระหว่างกรมการแพทย์และมหาวิทยาลัยรังสิตเพื่อพัฒนาคุณภาพนักศึกษาแพทย์ ในระยะยาวที่ส่งเข้ามาเรียนในความรับผิดชอบของสถาบันร่วมผลิตแพทย์ฯ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในเขต โรงพยาบาลราชวิถีบริเวณด้านฝั่งถนนพญาไท ติดกับทางด้านสถานีรถไฟฟ้าBTS สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีลักษณะโครงสร้างเป็นอาคารสูง 6 ชั้น หลังก่อสร้างเสร็จคุณพ่อประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ได้มอบ พระพุทธรูปปางป่าเรไรประทานพร ประดิษฐานเป็นศูนย์รวมจิตใจของนักศึกษาแพทย์ ที่โถงชั้นล่างของอาคาร และแต่ละชั้นแบ่งพื้นที่การใช้สอยโดยโดยแบ่งดังนี้", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#15", "text": "คณบดีวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตรายนามคณบดีวาระการดำรงตำแหน่ง1. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสงค์ ตู้จินดาพ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2548 ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง คณบดีกิตติคุณวิทยาลัยแพทยศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กิจประมุข ตันตยาภรณ์มกราคม พ.ศ. 2548 - พฤษภาคม พ.ศ. 25483. ศาสตราจารย์คลินิก แพทย์หญิงบุญเชียร ปานเสถียรกุล21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 - 14 กันยายน พ.ศ. 2551 ร่วมกับตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันร่วมผลิตแพทย์ฯ4. ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์สุรวิทย์ เตชธุวานันท์1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน อดีตรองอธิบดีกรมการแพทย์และผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#18", "text": "สีประจำคณะสีเขียวหัวเป็ด เพลงประจำวิทยาลัย</b>เพลงหมอมวลชน รหัสประจำวิทยาลัย12 สัญลักษณ์ประจำวิทยาลัย</b>รอข้อมูล สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยรังสิต</b>กลุ่มสามเหลี่ยม ฟันเฟือง ดวงอาทิตย์ ช่อชัยพฤกษ์ และปิ่น", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" }, { "docid": "63535#6", "text": "เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2545 คณะแพทยศาสตร์ ได้ยกระดับเป็น วิทยาลัยแพทยศาสตร์ เพื่อให้มีการบริหารงาน การจัดการและการพัฒนาเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนระดับโลก ตามประกาศของมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและการบังคับบัญชา", "title": "วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต" } ]
1835
ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "1820#8", "text": "พื้นที่ของประเทศฝรั่งเศส รวมทั้งจังหวัดและดินแดนโพ้นทะเล (ไม่รวมดินแดนอาเดลี) คือ 674,843 ตารางกิโลเมตร (260,558 ตารางไมล์) นับเป็น 0.45% ของพื้นแผ่นดินโลกทั้งหมด แต่อย่างไรก็ตามประเทศฝรั่งเศสครอบครองพื้นที่เขตเศรษฐกิจจำเพาะเป็นอันดับสองของโลก ด้วยเนื้อที่ 11,035,000 ตารางกิโลเมตร (4,260,000 ตารางไมล์) นับเป็น 8% ของพื้นที่เขตเศรษฐกิจจำเพาะทั้งหมดในโลก ตามหลังสหรัฐอเมริกา ไปเพียง 316,000 ตารางกิโลเมตร และนำประเทศออสเตรเลียกว่า 2,886,750 ตารางกิโลเมตร ประเทศฝรั่งเศสภาคพื้นทวีปยุโรปตั้งอยู่ระหว่าง 41° and 50° เหนือ บนขอบทวีปยุโรปตะวันตกและตั้งอยู่ในภูมิอากาศเขตอบอุ่นเหนือ ทางภาคเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือมีสภาพภูมิอากาศเขตอบอุ่น แต่กระนั้นภูมิประเทศและทะเลก็มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศเหมือนกัน ละติจูด ลองจิจูดและความสูงเหนือระดับน้ำทะเลทำให้ประเทศฝรั่งเศสมีภูมิอากาศแบบคละอีกด้วย ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้มีสภาพภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ภาคตะวันตกส่วนมากจะมีปริมาณน้ำฝนสูง ฤดูหนาวไม่มากและฤดูร้อนเย็นสบาย ภายในประเทศภูมิอากาศจะเปลี่ยนไปทางภาคพื้นทวีปยุโรป อากาศร้อน มีมรสุมในฤดูร้อน ฤดูหนาวหนาวกว่าเดิมและมีฝนตกน้อย ส่วนภูมิอากาศเทือกเขาแอลป์และแถบบริเวณเทือกเขาอื่น ๆ ส่วนมากมักจะมีภูมิอากาศแถบเทือกเขา ด้วยอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งกว่า 150 วันต่อปีและปกคลุมด้วยหิมะกว่า 6 เดือน จริงนะครับนี่เป็นเมืองที่มีความสวยงามมากเลยนะครับ", "title": "ประเทศฝรั่งเศส" } ]
[ { "docid": "510716#7", "text": "เริ่มแรกขุนพิทักษ์ไม่ได้สนใจชุ่มเท่าไหร่ แต่นานวันเข้าความซื่อ ไร้เดียงสาของชุ่ม ทำให้ขุนพิทักษ์หลงรักอย่างไม่รู้ตัว", "title": "บ่วงบาป" }, { "docid": "342282#1", "text": "ในเขตพรมแดนระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ที่เรียกว่า DMZ หรือ JSA มีการพบศพทหารเกาหลีเหนือ 2 นายเสียชีวิต และเพื่อสอบสวนหาข้อเท็จจริง ทางการของทั้ง 2 ประเทศได้ส่ง พันตรีหญิง โซฟี อี.จีน (ลี ยองเอ) นายทหารหญิงลูกครึ่งเกาหลี-สวิสเซอร์แลนด์ มาสอบสวน โดยเน้นย้ำว่าต้องให้เป็นกลางอย่างแท้จริง แต่ทั้ง 2 ประเทศให้ข้อมูลพาดพิงกัน เมื่อเธอสืบจนพบความจริงบางอย่าง ซึ่งทำให้นายทหารที่เกี่ยวข้องต้องฆ่าตัวตาย และเมื่อยิ่งสืบสาวราวเรื่องเท่าไหร่ ก็พบเรื่องความราวมิตรภาพของคนจาก 2 สัญชาติที่ลึก ๆ แล้วเขาก็คือพี่น้องร่วมชาติกันมาก่อน", "title": "สงครามเกียรติยศ มิตรภาพเหนือพรมแดน" }, { "docid": "311994#1", "text": "โทนี่ อาศัยอยู่ที่เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย มาตั้งแต่อายุ 12 ปี เพราะพ่อแม่แยกทางกัน เดิมที โทนี่ เป็นคนที่ค่อนข้างเกเร ไม่สนใจเรียนเท่าไหร่ แต่ได้เพื่อนรุ่นน้องช่วยเตือน ทำให้เขากลับตัวได้ และด้วยความที่ โทนี่ ชอบวาดรูป จึงเลือกเรียนต่อมหาวิทยาลัย ด้านครีเอทีฟโฆษณา และยังได้เรียนรู้ประสบการณ์หลายๆ อย่าง ทั้งภาษา กีฬา ดนตรี แฟชั่น รวมไปถึงการทำผม", "title": "โทนี่ รากแก่น" }, { "docid": "718495#18", "text": "กระนั้น ก็ยังถูกมองว่ายังขาดความคงเส้นคงวา ในการก้าวขึ้นมารับช่วงต่อจาก บุญศักดิ์ ในฐานะนักแบดมินตันชายเดี่ยวเบอร์หนึ่งของไทย“สอง เป็นนักแบดมินตันที่มีฝีมือดี แต่ผลงานที่ผ่านมายังไม่คงเส้นคงวา ทำให้ไม่เป็นที่สนใจเท่าไหร่ แต่ระยะหลังมานี้ สอง พัฒนาฝีมือขึ้น โอกาสที่จะก้าวเป็นมือหนึ่งของประเทศไทยก็ไม่น่าจะยาก หากยังคงการเล่นที่ยอดเยี่ยมอย่างนี้ต่อไป” คือความเห็นของ บุญศักดิ์ ถึงรุ่นน้องรายนี้ เมื่อหลายปีก่อน", "title": "ทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข" }, { "docid": "569316#11", "text": "อย่างไรก็ตาม ในสมัยก่อน สโมสรเจลีกไม่ค่อยจะจริงจังกับการแข่งชันเอเชียนแชมเปียนส์ลีกเท่าไหร่นักเนื่องจากต้องเดินทางไกลและคุณภาพของทีมที่ต้องแข่งด้วยนั้นยังไม่น่าสนใจเท่าไหร่ แต่ในปี 2008 มีทีมญี่ปุ่นผ่านเข้าไปสู่รอบก่อนรองชนะเลิศถึง 3 ทีมด้วยกัน", "title": "เจลีก ดิวิชัน 1" }, { "docid": "17455#7", "text": "มีผมที่ยาวขึ้น ไม่มีคิ้ว มีนัยน์ตาเป็นสีฟ้า และมีสายฟ้ารอบตัว เป็นร่างที่พัฒนามาจากซุปเปอร์ไซย่า 2 โดยร่างนี้เกิดจากการฝึกฝนอย่างหนัก โดยจะมีพลังและความเร็วเพิ่มขึ้นจากเดิม 400 เท่า เป็นร่างที่ใช้พลังงานมากและร่างกายจะได้รับภาระอย่างหนัก จึงไม่ค่อยได้ใช้สักเท่าไหร่ โดยจะปรากฏตัวครั้งแรกในช่วงที่สู้กับจอมมารบู", "title": "ซง โกคู" }, { "docid": "901764#4", "text": "ไม่ว่าระยะจะห่างไปเท่าไหร่ แต่ความสว่างของแสงรวมจะยังคงมีค่าเท่าเดิมตามระยะทาง ซึ่งหมายความว่า แสงแต่ละชั้นจะมีการเพิ่มความสว่างขึ้นมาเรื่อย ๆ และยิ่งมีชั้นเป็นอนันต์ ท้องฟ้ายามค่ำคืนจึงควรที่จะสว่าง", "title": "ปฏิทรรศน์ของออลเบอร์" }, { "docid": "5256#37", "text": "ประเทศไทยประสบกับปัญหากองโจรคอมมิวนิสต์ในประเทศระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 อย่างไรก็ตาม ปัญหาดังกล่าวก็ไม่ค่อยจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศสักเท่าไหร่ และกองโจรก็หมดไปในที่สุด", "title": "ประวัติศาสตร์ไทย" }, { "docid": "213498#0", "text": "เคลลี่ ธนะพัฒน์ หรือมีชื่อจริงว่า รัฐพงศ์ ธนะพัฒน์ เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 ที่ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชื่อเล่น เคลลี่ เป็นนักแสดงลูกครึ่ง ชาวไทยสัญชาติอเมริกัน จบการศึกษาจาก University of California San Diego ประเทศสหรัฐอเมริกา คณะวิทยาศาสตรบัณฑิต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 28 ปี โดยคำชักชวนของคุณเก๋ (ผู้จัดการส่วนตัวในปัจจุบัน) แล้วเซ็นสัญญาการเป็นนักแสดงให้กับ บริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำกัด มีผลงานละครเรื่องแรกคือ \"รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่\" ที่ก็ทำให้เคลลี่มีชื่อเสียงจากละครเรื่องนี้ ", "title": "เคลลี่ ธนะพัฒน์" }, { "docid": "530146#1", "text": "มาถึงวันนี้สี่หนุ่มมาแรงที่เลือกใช้ชื่อวงเท่ๆ ว่า \"PRINCE\" (พริ้นซ์) ก็เริ่มถูกจับตาตั้งแต่ยังไม่ออกอัลบั้มไปซะแล้ว กับซิงเกิ้ลฮอตติดชาร์ทเพลง \"จับตาดูให้ดีดี\"'กับวลีเด็ดที่ล่าสุดแฟนเพลงร้องตามกันได้กระหึ่มคอนเสิร์ต \"จับตาดูให้ดีดี ให้ดีดี ว่าเขาเป็นยังไง เพราะฉันไม่แน่ใจว่าเขารักเธอเท่าไหร่ อยากฝากเท่านี้\"'", "title": "พริ้นซ์" }, { "docid": "28224#1", "text": "จีดีพีแบบความเสมอภาคของอำนาจซื้อ จะสะท้อนว่าประเทศนั้นๆได้ผลิตสินค้าและบริการรวมกันมากน้อยแค่ไหนหากใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริกาเป็นฐานในการคำนวณ อาทิ ประเทศไทยผลิตน้ำตาลในหนึ่งปีได้หนึ่งแสนตัน การคำนวณแบบ PPP จะไม่สนว่าหนึ่งแสนตันนี้จะจำหน่ายในประเทศและส่งออกได้เงินเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ แต่เราจะสนว่าราคาน้ำตาลในสหรัฐอเมริกาเป็นเท่าไหร่แล้วจึงนำราคานั้นมาคำนวณมูลค่า ก็จะได้เป็น PPP จากภาคอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทย", "title": "ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ" }, { "docid": "41914#3", "text": "นักเขียนที่เขาชอบมีหลายคน แต่ส่วนใหญ่ชอบงานทางเยอรมนีและฝรั่งเศส เขาไม่ค่อยชอบงานด้านฝั่งสหรัฐอเมริกาสักเท่าไหร่ นักเขียนที่ชอบก็มีอาลแบร์ กามูว์, หลู่ ซฺวิ่น, เลโอ ตอลสตอย, ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ส่วนนักเขียนไทยชอบอ่านงานของลาว คำหอม, ศรีบูรพา, นิคม รายยวา", "title": "ศิลา โคมฉาย" }, { "docid": "930988#1", "text": "เหตุการณ์สุดพลิกผันกลางท้องฟ้าจากความระทึกสุดขั้วสู่ความกลัวสุดขีดตลอดเที่ยวบินเมื่อกลุ่มผู้โดยสารที่นำโดย “แบรด มาร์ติน” และ แอร์โฮสเตสสาว ต้องเผชิญหน้ากับอุบัติเหตุเหนือคาดฝันที่ส่งผลให้มีผู้โดยสารเสียชีวิต ก่อนที่ผู้โดยสารและลูกเรือแต่ละคนต้องประสบกับการจู่โจมของแรงอาฆาตเร้นลับซึ่งซ่อนตัวอยู่ในทุกพื้นที่ของเครื่องบินลำนี้ ยิ่งเครื่องบินทะยานใกล้โตเกียวมากขึ้นเท่าไหร่ ชีวิตของทุกคนในไฟลท์ “7500” ก็ยิ่งตกอยู่ในความหวาดผวามากขึ้นเท่านั้น ไร้ทางหนี ไม่ทีทางรอด หรือสุดท้ายเครื่องบินลำนี้กำลังจะต้องกลายเป็นสุสานบนน่านฟ้า!", "title": "7500 ไม่ตกก็ตาย" }, { "docid": "47225#7", "text": "แต่ภายหลังที่ได้แชมป์โลกแล้ว เขาค้อไม่สามารถที่จะป้องกันตำแหน่งไว้ได้เลยแม้สักครั้งเดียว โดยป้องกันตำแหน่งครั้งแรกก็แพ้แตก \"ไอ้ผมม้า\" มูน ซัง กิล นักมวยเกาหลีใต้ ถึงโซล ประเทศของผู้ท้าชิง และเมื่อได้โอกาสแก้มือ แม้สามารถเอาชนะไปได้ ได้แชมป์โลกกลับคืน เมื่อต้องป้องกันตำแหน่งครั้งแรก ในสมัยที่ 2 แพ้ทีเคโอ หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา นักมวยชาวฟิลิปปินส์ ไปในยกแรก แบบไม่น่าเชื่อ เพราะการชกยังไม่ทันได้เริ่มขึ้นเท่าไหร่ เขาค้อ จู่ ๆ ก็ล้มลงบนเวทีเสียเฉย ๆ โดยไม่ได้ถูกหมัดของคู่ชก และกรรมการก็ได้โบกมือยุติการชกทันที ด้วยเวลาเพียง 2.13 นาทีของยกแรกเท่านั้น", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "267278#6", "text": "ระหว่างที่เขาทำตัวตัดขาดจากโลกภายนอก (ปิดประเทศ) โลกก็เปลี่ยนแปลงไปมาก แต่เขาก็ปรับตัวเข้ากับโลกสมัยใหม่ได้ในเวลาเพียง 10 ปีเท่านั้น โดยในช่วงเวลาที่ปิดประเทศนั้น ได้อาศัยเนเธอร์แลนด์ที่เป็นเพื่อนชาวยุโรปเพียงหนึ่งเดียวกันมายาวนาน คอยบอกข่าวสารเกี่ยวกับโลกภายนอกว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง ก่อนที่จะถูกบังคับให้เปิอประเทศโดยอเมริกาพี่ชายของแคนาดา เขาเป็นตัวละครที่คึกคักกระฉับกระเฉงและหัวแข็ง เขาถูกอังกฤษเลี้ยงดูมาตั้งแต่เด็ก แต่ภายหลังได้ต่อสู้กับอังกฤษเพื่อประกาศอิสรภาพของตนเอง (เมื่อถูกอังกฤษกดดันมากขึ้น) เขาได้ตั้งตัวเองเป็นผู้นำของฝ่ายสัมพันธมิตร มักพูดติดปากอยู่เสมอว่า \"ฉันคือวีรบุรุษ\" แนวคิดในการแก้ปัญหาระหว่างชาติของอเมริกาส่วนมากมักจะไร้ผลและตัวเขาเองก็มักลืมคำนึงถึงความคิดเห็นของคนอื่น หมู่นี้ก็เลยมีแค่อังกฤษกับญี่ปุ่นเท่านี้ที่เป็นเพื่อนด้วย ความคิดและสิ่งประดิษฐ์ที่อเมริกาสร้างขึ้นดูยิ่งใหญ่ แต่ยากนักที่จะใช้ได้กับที่อื่นๆ ลักษณะเด่นของอเมริกาอย่างหนึ่งในเรื่องนี้คือ เรามักจะพบเขาในขณะที่ถือแฮมเบอร์เกอร์หรือมักทานแฮมเบอร์เกอร์ไปพลางพูดไปพลางจนสำลักอยู่เสมอเขามีเอกลักษณ์ประจำตัวคือ คิ้วหนาเป็นเส้นเรียงกัน ในอดีตเคยเป็นโจรสลัด (สมัยล่าอาณานิคม) ปัจจุบันเป็นสุภาพบุรุษเจ้าคารมและชอบพูดจาเหน็บแนมคนอื่น คุณสมบัติเด่นที่ปรากฏคือมีฝีมือการทำอาหารที่แย่มาก ชอบพูดจาประชดประชัน สามารถมองเห็นภูตผีปีศาจ และสามารถใช้เวทมนตร์ร่ายคำสาปใส่ศัตรูได้ อังกฤษไม่ถูกกับฝรั่งเศสซึ่งเป็นคู่แข่งต่อกันมาอย่างยาวนาน และอเมริกาซึ่งตนเองเคยเลี้ยงดูมาก่อน เขาเป็นที่จดจำด้วยคิ้วที่หนา ผมปลายแหลมสีบลอนด์ และดวงตาสีเขียว เวลาเมาเหล้าแล้วจะอาละวาด สู้รบกับเยอรมันอยู่บ่อยครั้ง เพื่อนสนิทของเขาคือญี่ปุ่นหนุ่มผู้ซึ่งรักการแสดงออก โดยเฉพาะ เรื่องความรัก นิยมทำอะไรตามแบบของตัวเอง มั่นใจสุดๆ ทั้งเรื่องอาหาร รักศิลปะ วัฒนธรรม และ เสื้อผ้า มีความเป็นนักรักสูง หากรักใครแล้วจะหญิงหรือชายก็ชอบหมดทุกอย่าง เป็นรุ่นพี่ของอิตาลีเวเนเซียโน่และโรมาโน่ ชอบเรียกตัวเองว่าคุณพี่ ชอบดื่มไวน์ ชอบเปิดเผย\nไม่เคยเปิดความลับให้ใครเห็น แต่ก่อนก็เคยเลี้ยงดูแลแคนาดา ทรงผมจึงคล้ายกับเขา สนิทกับสเปน ตอนเด็กพวกเขาเคยนั่งคุยด้วยกันอยู่บ่อยๆ และยังมีเพื่อนอีกคนหนึ่ง คือ ปรัสเซียเห็นหน้าแบบนี้แล้วดูเหมือนคุณปู่ไม่ก็นักพรต มีประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตอย่างมาก เป็นพี่ใหญ่ของฝั่งเอเซีย มีการค้าและวัฒนธรรมที่ทรงพลัง วาดรูปได้สวยงาม และเก่งกาจ เลี้ยงดูแล น้องๆเอเชียทั้งหลายรวมถึงญี่ปุ่นด้วย ชอบตุ๊กตาแมวที่ญี่ปุ่นนำมาให้มากๆ แต่ตุ๊กตาตัวนั้นกลับถูกใส่ปากโดยเจ้านายแทนประเทศทางเหนือขนาดใหญ่มหึมาเป็นอันดับ 1 แต่ผู้คนไม่ค่อยมากเท่าไหร่ เนื่องจากอากาศหนาวเย็น เขาชอบดื่มวอดก้า มีสองบุคลิกคือด้านโหดเหี้ยมและด้านเหงาโดดเดี่ยว ด้วยความที่มีขุนพลฤดูหนาวเป็นอาวุธหลัก ทำให้ไม่มีประเทศใดบุกโจมตีได้เลย (ยกเว้นเหล่าประเทศเมืองหนาว) มีผู้ติดตาม 3 คน คือ ลิธัวเนีย ลัตเวีย และเอสโทเนีย (รัฐบอลติก) แม้ความคิดจะดูน่ากลัวแต่สิ่งที่กลัวมากที่สุดคือน้องสาวตนเอง ", "title": "พลังอักษะ เฮตาเลีย" }, { "docid": "97970#0", "text": "ภาษาญ้อ หรือ ภาษาไทญ้อ (Nyaw) เป็นกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ ที่พูดกันในหมู่ชาวไทญ้อ ซึ่งมีอยู่ในประเทศไทยราว 50,000 คน (พ.ศ. 2533) ในจังหวัดสกลนคร หนองคาย นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรี และสระบุรี พบได้มากที่ อำเภอนาหว้า อำเภอท่าอุเทน อำเภอโพนสวรรค์ อำเภอศรีสงคราม อำเภอเมืองสกลนคร อำเภออรัญประเทศ เป็นต้น ส่วนใหญ่อพยพมาจากทางตอนเหนือของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว\nภาษาญ้อจัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบาง มีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกล้ำ 6 เสียง\nไปกะเลอ,ไปสิเลอ,ไปเตอ = ไปไหน\nอะเตอ,สิเลอ = อะไร\nอะเผอ,เผอ,ไผ,ผู้เลอ = ใคร\nท่อเลอ,เท่าเลอ = เท่าไหร่\nบ่จั๊ก,บ่ฮู้ = ไม่รู้\nคูมื้อ = ทุกวัน\nเฮ็ดสิเลอ,เอ็ดสิเลอ = ทำอย่างไร\nเฮียน = บ้าน\nเมียเฮียน,เมือเฮียน = กลับบ้าน\nโตผุเจ้า = ตัวเราเอง\nโตนาไปกะเลอ = เธอจะไปไหน\nสินี้,ซินี้ = อย่างนี้\nขี้กะแจ๊ม = 🦎จิ้งจก", "title": "ภาษาญ้อ" }, { "docid": "154785#6", "text": "ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ครอบคลุมพื้นที่ 551,695 กม.² (213,011 ตร.ไมล์) ในขณะที่ประเทศฝรั่งเศสโพ้นทะเลครอบคลุมพื้นที่ 123,148 กม.² (47,548 ตร.ไมล์) โดยรวมกันเป็น 674,843 กม.² (260,558 ตร.ไมล์) (ซึ่งไม่รวมกับดินแดนอาเดลีในแอนตาร์กติกาที่มีปัญหา) ซึ่งเมื่อคำนวณดูแล้ว พื้นที่ของประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่นั้นเท่ากับ 81.8% ของพื้นที่สาธารณรัฐฝรั่งเศส", "title": "ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่" }, { "docid": "204546#7", "text": "แต่เมื่อภาพยนตร์เข้าฉาย ปรากฏว่าชยามาลานพยายามที่จะดำเนินเรื่องราวด้วยวิธีการตามแบบ \"The Sixth Sense\" ที่แม้แต่ให้นักแสดงคนเดิม คือ บรูซ วิลลิส รับบทนำและมีตัวละครเด็กผู้ชาย อย่าง โจเซฟ คล้ายกับ โคล เซียร์ ใน \"The Sixth Sense\" แต่ \"Unbreakable\" ทำได้น่าเบื่อและไม่น่าติดตามเท่า อีกทั้งการหักมุมตอนท้ายเรื่องก็ไม่มีอะไรน่าแปลกใจเท่าที่ควร ทำให้เสียงวิจารณ์ออกมาในลักษณะที่ไม่ค่อยดีเท่าไหร่ โดยบรูซ วิลลิส มีบทรับเชิญท้ายเครดิตของหนังเรื่อง split และ glass จะเป็นการมาเจอกันอีกครั้งของ บรูซ วิลลิส และ ซามูเอล แอล แจ็กสัน และ เจมส์ แม็คอวอย มาร่วมกันแสดงด้วยกัน", "title": "เฉียดชะตา...สยอง" }, { "docid": "37614#0", "text": "มิซุโนะ อามิ () เป็นตัวละครการ์ตูนจากเรื่อง เซเลอร์มูนสาวน้อยผู้แปลงร่างเป็น เซเลอร์เมอร์คิวรี่ (セーラーマーキュリー) อามิเรียนอยู่ที่โรงเรียนจูบัง เหมือนกับอุซางิ เธอมีไอคิวถึง 300 ผลการเรียนจัดได้ว่าอยู่ในระดับท็อปของประเทศจนถูกขนานนามว่าเป็น \"สาวน้อยอัจฉริยะ\" แต่อามิไม่ค่อยจะมีเพื่อนเท่าไหร่นัก เพราะนักเรียนหลายๆ คนต่างมองเธอเป็นศัตรูคู่แข่งทางการเรียน แถมพ่อแม่ของเธอก็แยกทางกัน แม้ปัจจุบัน อามิจะอาศัยอยู่กับแม่ แต่แม่ของเธอซึ่งเป็นหมอ ก็มักจะติดงานจนไม่ค่อยได้กลับบ้านเท่าไหร่ อามิจึงต้องใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยวมาตลอด แต่เมื่อได้พบกับอุซางิ และเพื่อนๆ เซเลอร์คนอื่น เธอก็เริ่มร่าเริง มีชีวิตชีวา และเปิดใจให้กับผู้อื่นมากขึ้น ", "title": "มิซุโนะ อามิ" }, { "docid": "304130#45", "text": "เป็นการแข่งขันเล่นท่าทางต่างๆที่กรรมการกำหนดให้ทั้งหมด 25ท่าในประเภทของ Single A ซึ่งจะไล่ระดับความยากของท่าเล่นขึ้นไป โดยจะมีจุดหรือกรอบพื้นที่ เพื่อสำหรับแสดงท่าเล่นต่อกรรมการ ซึ่งผู็เล่นจะต้องเล่นท่าทางที่กรรมการกำหนดให้ในพื้นที่ที่กำหนดเท่านั้นไม่สามารถซ้อมท่าได้ หากต้องการจะตรวจสอบลูกหรือเชือกจะต้องออกจากจุดแสดงท่า โดยในการแข่งขัน ผู้เล่นจะต้องเล่นท่าที่กำหนดให้และเก็บเข้ามือให้สมบูรณ์ มีโอกาสพลาดได้เพียง 2ครั้งเท่านั้นตลอดการเล่น 25ท่า หากพลาดครั้งแรกที่ท่าใหนก็จะข้ามท่านั้นๆไป และพลาดครั้งที่สอง ก็จะจบการแข่งขัน ผู้ที่สามารถเล่นท่าได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ ถ้ามีผู้ที่สามารถเล่นได้ถึง25ท่า จะวัดกันที่การพลาดครั้งแรกว่าพลาดก่อนในท่าลำดับที่เท่าไหร่ ผู้ที่พลาดในลำดับหลังจะเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าหากเล่นได้ครบ25ท่าโดยไม่พลาดหลายคน กรรมการจะมีท่าตัดสินโดยนับจำนวนครั้งในการทำท่า ผู้ที่ทำท่าได้จำนวนครั้งมากกว่าจะเป็นผู้ชนะ", "title": "โยโย่" }, { "docid": "37703#3", "text": "หลังจากที่เข้าร่วมอย่างไม่ค่อยเต็มในเท่าไหร่ เธอก็ค่อยๆเปลี่ยนไปและเต็มใจจะอยู่กับฝ่ายนี้ในท้ายที่สุด เธอประมือกับทีม X-Men เธอเคยลอบสังหาร วุฒิสมาชิกเคลลี่ ด้วยแต่ก็ถูกขัดขวางไว้โดยมนุษย์กลายพันธุ์ฝ่ายดีทุกครั้ง แต่ยิ่งเธอใช้พลังมากเท่าไหร่ จิตใจของโร้คก็ยิ่งแตกสลายมากขึ้นเท่านั้น จนถึงขั้นที่เธอต้องเข้าพบจิตแพทย์ ฟางเส้นสุดท้ายของเธอกับมิสทีคขาดสะบั้นลง เมื่อโร้คตาสว่างพบว่าแท้จริงแล้วนี่คือแผนร้าย ที่อีกฝ่ายตั้งใจหลอกใช้กันมาตลอด เธอจึงหันหน้าเข้าหาศาสตราจารย์ทเอ็กซ์ และพลพรรคเอ็กซ์ทีม ขอร้องให้เธอควบคุมพลังให้ได้เสียที", "title": "โร้ค" }, { "docid": "139041#3", "text": "คำว่า “โรมาเนสก์” ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักโบราณคดีชาร์ลส์-อเล็กซีส-อาเดรียน ดูเอริสซิเยร์ เดอ แชวิลล์เมื่อต้นปีคริสต์วรรษที่ 19 เพื่อบรรยายสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์วรรษที่ 5 จนถึงคริสต์วรรษที่ 13 ในเวลาที่สิ่งก่อสร้างทั้งหลายยังระบุไม่ได้ว่าสร้างเมื่อไหร่ คำนี้ในปัจจุบันจำกัดเวลาแคบลงจากเดิมมาเป็นสถาปัตยกรรมตั้งแต่ปลายคริสต์วรรษที่ 10 จนถึงคริสต์วรรษที่ 12 คำว่า “โรมาเนสก์” บรรยายถึงลักษณะที่เป็นแบบบอกได้แน่นอนว่าเป็นยุคกลางแต่ก่อนสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคแต่ก็ยังรักษารูปลักษณ์แบบสิ่งก่อสร้างโรมันเช่นซุ้มโค้งฉะนั้นจึงดูเหมือนว่าเป็นศิลปะที่ต่อเนื่องมาจากโรมันซึ่งเป็นแบบเรียบง่ายแต่วิธีการก่อสร้างไม่ดีเท่าสิ่งก่อสร้างโรมัน \nคำว่า “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์” บางครั้งจะหมายถึงสถาปัตยกรรมในประเทศเยอรมนี สมัยคาโรแล็งเชียงและแบบอ็อตโตเนียน (Ottonian) ขณะที่ “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์ต้น” กล่าวถึงสิ่งก่อสร้างในประเทศอิตาลี ประเทศสเปน และบางส่วนของ ประเทศฝรั่งเศสที่มีลักษณะโรมาเนสก์แต่ก่อนหน้าอิทธิพลของแอบบีคลูนี", "title": "สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์" }, { "docid": "139528#4", "text": "ปี 2525 อัลบั้มชุดแรก \"รักปักใจ\" ในนามวง \"สาว สาว สาว\" กับสังกัดรถไฟดนตรีและจัดจำหน่ายโดยอีเอ็มไอ (ประเทศไทย) ซึ่งมีเพลงแนะนำคือ “แพะยิ้ม” อัลบั้มชุดนี้เป็นการนำเอาเพลงเก่ามาทำใหม่ และไม่เหมาะกับวัยของ 3 สาวเท่าไหร่นัก ชื่อเสียงของ “สาว สาว สาว” เลยไม่เป็นที่รู้จักเท่าไหร่ ระบบในสมัยนั้นตัวเพลงจะทำหน้าที่ขายตัวเองมากที่สุดโดยไม่มีปัจจัยอื่นมาสนับสนุน ประกอบกับภาพลักษณ์ของทางวงไม่ชัดเจน", "title": "เสาวลักษณ์ ลีละบุตร" }, { "docid": "108841#19", "text": "สภาพเศรษฐกิจในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้มีการเปลี่ยนแปลงตามการปกครอง ด้วยการที่มีระบอบการปกครองแบบพระมหากษัตริย์ควบคู่ (Dual Monarchy) ทางด้านเทคโนโลยีนั้นได้ขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมและการเปลี่ยนแปลงสภาพของเมืองต่างๆ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทางด้านการผลิตนั้นได้เติบโต และสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ในช่วงเวลา 50 ปีของการริเริ่มยุคกลางของการผลิตอุตสาหกรรม โดยในช่วงแรกนั้น ระบบเศรษฐกิจได้เจริญเติบโตเฉพาะในกรุงเวียนนา พื้นที่เขตอัลไพน์ และโบฮีเมีย แต่ต่อมา เมื่อถึงปลายศตวรรษที่ 19 ระบบเศรษฐกิจได้เจริญเติบโตในเขตพื้นที่ฮังการีตอนกลางและเขตพื้นที่คาร์พาเธียน ดังนั้น ระบเศรษฐกิจได้พัฒนาขึ้นในเขตจักรวรรดิในระยะเริ่มต้น โดยระบบเศรษฐกิจในจักรวรรดิฝั่งตะวันตกจะพัฒนาได้ดีและมากกว่าระบบเศรษฐกิจในฝั่งตะวันออก เมื่อแรกเริ่มศตวรรษที่ 20 จักรวรรดิหลายจักรวรรดิส่วนใหญ่ได้ริเริ่มพัฒนาระบบเศรษฐกิจและเทคโนโลยีต้อนรับศตวรรษใหม่ มาตรวัดรายรับและผลผลิตของประเทศ (GNP) เจริญเติบโตร้อยละ 1.45% ต่อปีตั้งแต่ปีพ.ศ. 2413ถึงพ.ศ. 2456 ซึ่งการเจริญเติบโตของรายรับและผลผลิตของจักรวรรดินี้ สามารถนำไปเปรียบเทียบกับระบบเศรษฐกิจชาติอื่นๆได้ เช่น อังกฤษ (1.00%), ฝรั่งเศส (1.06%), และเยอรมนี (1.51%) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ระบบเศรษฐกิจของจักรวรรดิยังมีความล้าหลังกว่าชาติอื่นๆอยู่บ้าง เช่น อังกฤษมีรายรับและผลผลิตของประเทศเกือบ 3 เท่า ซึ่งมากกว่าจักรวรรดิถึงแม้ว่ามาตรวัดจะน้อยกว่า ในขณะเดียวกันที่เยอรมนี ได้มีรายรับและผลผลิตของประเทศ 2 เท่าซึ่งมากกว่าออสเตรีย-ฮังการีด้วยซ้ำ ทั้งในด้านGNPและมาตรวัดรายรับและผลผลิตของประเทศ ถึงแม้ว่าทุกประเทศนั้นจะมียอดพัฒนาระบบเศรษฐกิจไม่เหมือนกัน", "title": "จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี" }, { "docid": "32147#4", "text": "มนุษย์เรียนรู้การใช้ไฟและในการหลอมโลหะ ตีอุปกรณ์ ทำแก้ว ยุคนี้เป็นยุคเฟื่องฟูของศาสนาและการทำมาค้าขาย ในยุคที่มีการแบ่งชนชั้นมากเช่นนี้ ผู้คนจำเป็นต้องมี การนำของไปถวายหรือบูชา ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมทางศาสนาหรือว่าการบูชาทำนาย ทำให้มีการทำเหมืองแบบเก่าเป็นจำนวนมาก เพื่อขุดทอง เงินและทองแดง ในการทำเครื่องประดับต่าง ๆ นอกจากนี้เรื่องของเครื่องแต่งกายยังเป็นยุคที่เฟื่องฟูอีกด้วย เชื่อกันว่าผู้คนรู้จักการย้อมผ้าและ แล้วทักยอแบบหยาบ ๆ แล้ว โดยอาศัยตัวไหมและยางจากต้นไม้ ในทางเขตยุโรปผู้คนนิยมทำเครื่องเกราะ ดาบ เครื่องเงิน มงกุฎและอุตสาหกรรมต่อเรือยังเป็นอะไรที่เฟื่องฟูอีกด้วย ผู้คนนิยมเดินทาง โดยเฉพาะชาวฝรั่งเศสและ อังกฤษที่ชอบล่าเมืองขึ้น และบ้านยังเป็นแบบไม้ชั้นเดียวที่ต้องแน่นหนา การประดิษฐ์เป็นแบบพื้น ๆ แล้วศิลปะมากกว่าทางเอเชียหรือแอฟฟริกา ทางเอเชีย การประดิษฐ์ไม่ค่อยเป็นที่ใส่ใจเท่าไหร่ บ้านยังเป็นแบบเก่าที่ทำจากไม้ ผู้คนจะนิยมค้าขายอาหารกิจกรรมทางศาสนามากกว่า เช่นเดียวกับแอฟริกาที่การประดิษฐ์ไม่ค่อยเจริญเทียบเท่ายุโรป", "title": "สิ่งประดิษฐ์" }, { "docid": "824091#0", "text": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่ เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติก-คอมเมดี้ บทประพันธ์ของ นุกูล บุญเอี่ยม, วัชระ ปานเอี่ยม บทโทรทัศน์โดย พิสุทธิ์ แพร่แสงเอี่ยม กำกับการแสดงโดย นุกูล บุญเอี่ยม ผลิตโดย บริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำกัดออกอากาศทุกวันเสาร์–อาทิตย์ เวลา 11.00–11.45 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เคลลี่ ธนะพัฒน์, น้ำฝน โกมลฐิติ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย", "title": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่" }, { "docid": "80399#3", "text": "แม้จะเป็นเพียงแชมป์ของสถาบันที่ไม่มีได้รับการยอมรับมากเท่าไหร่ แต่แซมซั่นก็ได้สร้างประวัติศาสตร์หลายอย่างให้เกิดขึ้นกับวงการมวยไทยและวงการมวยโลก โดยสามารถป้องกันตำแหน่งไว้ได้ถึง 38 ครั้ง มากกว่านักมวยคนใด ๆ ในโลก ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมายจากหลายหน่วยงานในประเทศไทย นับเป็นนักมวยที่ขึ้นป้องกันตำแหน่งเดือนต่อเดือน ในแบบที่ไม่มีนักมวยคนใดทำมาก่อน แม้จะเป็นการชกในเมืองไทยเท่านั้น แต่ก็มีบรรดาผู้ให้การสนับสนุนมากมาย ไม่ว่าจะเป็น นักการเมืองท้องถิ่นหรือนักการเมืองระดับประเทศก็ตาม หรือสินค้าประเภทต่าง ๆ อย่างชนิดที่นักมวยแชมป์โลกชาวไทยในสถาบันที่มีมาตรฐานกว่ายังไม่อาจจะทำได้ และเป็นนักมวยคนหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากแฟนมวย ในการชกแต่ละครั้งจะมีผู้ชมจำนวนมาก", "title": "แซมซั่น กระทิงแดงยิม" }, { "docid": "209259#2", "text": "ยิ่งเมล็ดกาแฟถูกคั่วให้เข้มมากขึ้นเท่าไหร่ รสชาติดั้งเดิมของมันก็จะยิ่งถูกบดบังด้วยรสที่เกิดจากการคั่วมากขึ้นเท่านั้น กาแฟบางประเภทที่ถูกคั่ว จนรสชาติแทบจะไม่ได้บ่งบอกถึงสถานที่ปลูกเลย จะถูกขายโดยใช้ระดับของการคั่วเป็นหลัก โดยเริ่มตั้งแต่ \"อบเชยคั่วอ่อนๆ (Light Cinnamon Roast) \" ไปจนถึง \"การคั่วแบบเวียนนา (Vienna Roast) \" และ \"การคั่วแบบฝรั่งเศส (French Roast) \" และอื่นๆ", "title": "การคั่วเมล็ดกาแฟ" }, { "docid": "578978#4", "text": "เริ่มมีผลงานเพลงตั้งแต่ปี 2538 โดยวงที-สเกิ๊ตนั้น ประกอบสมาชิก 3 คนด้วยกัน คือ อัสมา กฮาร (มาร์) ดวงพร สนธิขันธ์ (จอย) และ ธิติยา นพพงษากิจ (กิ๊ฟท์) มีผลงาน 2 อัลบั้มเต็ม และ 1 อัลบั้มพิเศษก่อนที่ทางค่ายคีตา เรคคอร์ดส จะปิดตัวลงไปเมื่อปี 2539 ผลงานเด่นคือเพลง ไม่เท่าไหร่, เจ็บแทนได้ไหม, ฟ้องท่านเปา, เรื่องมันเศร้า และเพลง ทักคนผิด เป็นต้น ผลงานอัลบั้มชุดแรกชื่อว่า \"T-Skirt\" ออกวางจำหน่ายกลางปี 2538 โดยรายชื่อเพลงมีดังนี้ 1.ไม่เท่าไหร่ 2.เจ็บแทนได้ไหม 3.เรื่องมันเศร้า 4.อย่าเล่นอย่างนี้ 5.ทักคนผิด 6.ฟ้องท่านเปา 7.วันที่ไม่เหงา 8.ทำให้เสร็จ 9.ซึ้ง ๆ หน่อย 10. เพื่อนกัน", "title": "อัสมา กฮาร" }, { "docid": "9919#1", "text": "ตัวเลขดรรชนีหักเหนั้นโดยทั่วไปมีค่ามากกว่าหนึ่ง โดยยิ่งวัสดุมีความหนาแน่นมากเท่าไหร่ แสงก็จะเดินทางได้ช้าลงเท่านั้น", "title": "ดรรชนีหักเห" } ]
195
ใครคือรัชกาลที่ 1 ของไทย ?
[ { "docid": "4226#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ขณะมีพระชนมายุได้ 46 พรรษา และทรงย้ายราชธานีจากฝั่งธนบุรีมาอยู่ฝั่งพระนคร และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับ", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" } ]
[ { "docid": "9877#7", "text": "และ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็นคนไทยคนแรก ที่คว้าแชมป์ใน เอเชียนทัวร์ อย่างน้อย 1 รายการ ทุกฤดูกาล โดยเป็นมาทั้งหมด 8 รายการ คือ โคลอน คัพ โคเรียน โอเพ่น 2000, เวลส์ อินเดียน โอเพ่น 2001, เมียนมาร์ โอเพ่น 2002, วอลโว่ มาสเตอร์ส ออฟ เอเชีย ไทยแลนด์ 2003, เมียนมาร์ โอเพ่น 2004, คาร์ลสเบอร์ก มาเลเชียน โอเพ่น 2004, คาร์ลสเบอร์ก มาเลเชียน โอเพ่น 2005 และ วอลโว่ มาสเตอร์ส ออฟ เอเชีย ไทยแลนด์ 2006", "title": "ธงชัย ใจดี" }, { "docid": "437242#11", "text": "เอแบคโพล ได้รายงานผลการวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง \"สุดยอดของความบันเทิง แห่งปี 2555\" โดยธรณีนี่นี้ใครครอง ได้อันดับที่ 2 ประเภท ละครไทย ที่เป็นที่ชื่นชอบมากที่สุดในปี 2555 (ร้อยละ 7.0) รองจากแรงเงา ส่วนกรุงเทพโพลล์ เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนเรื่อง \"ที่สุดของความคิดสร้างสรรค์แห่งปี 2555\" ได้ในอันดับที่ 4 (ร้อยละ 4.5) ละครทีวีของไทยที่สร้างสรรค์มากที่สุดในรอบปี 2555", "title": "ธรณีนี่นี้ใครครอง" }, { "docid": "437242#0", "text": "ธรณีนี่นี้ใครครอง เป็นละครโทรทัศน์ไทย จากบทประพันธ์ \"กาญจนา นาคนันทน์\" โดยนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช ซึ่งได้รับรางวัลประเภทนวนิยายดีเด่นสะท้อนชีวิตในสังคมไทย จากงานวันสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2518 ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 โดย บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย \"แอนดริว เกร้กสัน\" และ\"ปิยธิดา วรมุสิก\" ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ได้นำมาสร้างใหม่อีกครั้ง บทโทรทัศน์ \"ปารดา กันตพัฒนกุล\" กำกับการแสดงโดย \"ยุทธนา ลอพันธ์ไพบูลย์\" นำแสดงโดย \"ณเดชน์ คูกิมิยะ\" และ\"อุรัสยา เสปอร์บันด์\" ออกอากาศในปี พ.ศ. 2555 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3", "title": "ธรณีนี่นี้ใครครอง" }, { "docid": "28723#2", "text": "ผู้ที่เป็นแกนนำสำคัญก็คือ เจ้าฟ้ามงกุฎ ที่มีพระวิสัยทัศน์กว้างไกล เมื่อทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีความพร้อมที่จะรับมือกับความเปลี่ยนแปลง ที่ดำเนินมาพร้อมกับการแสวงหาประโยชน์ อย่างผู้ที่ถือตนว่ามีพัฒนาการและอำนาจเหนือกว่าชาติทางแถบเอเชีย โดยได้โปรดให้ปรับเปลี่ยนธรรมเนียมแบบแผนหลายๆ อย่างให้เหมาะแก่กาลสมัย และสอดคล้องกับความเป็นสากลนิยม ตามแบบชาติตะวันตกที่เป็นมหาอำนาจอยู่ ณ เวลานั้น", "title": "เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย" }, { "docid": "210386#1", "text": "\"ฤดูกาลในที่นี้ ใช้ตามฤดูกาลที่ฉายทางช่อง SBS\"ฤดูกาล ที่ 28 กับ 33 ไม่มีออกอากาศในไทยฤดูกาลที่ 38-40 ไม่มีออกออากศในไทยฤดูกาลที่ 61-62 ไม่มีออกอากาศในไทยผู้เข้าแข่งขันโดยส่วนใหญ่จะเป็นดารา นักร้อง และนักแสดง และ 1 ใน 16 ผู้เข้าแข่งขัน จะมี 1 คนเท่านั้นที่จะได้เป็น X-Man ตอนต้นรายการจะทำการต่อสายถึงทีมงาน ผู้เข้าแข่งขันคนที่ได้ยินคำว่า \"คุณได้รับเลือกให้เป็น...X-man\" คนนั้นจะต้องทำภารกิจในเกมเพื่อทำลายโอกาสทุกอย่าง", "title": "X-Man ปริศนาเขาคือใคร" }, { "docid": "966031#0", "text": "มาสเตอร์เชฟจูเนียร์ไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 เป็นรายการเกมโชว์ทำอาหาร โดยจะออกอากาศในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยเปิดรับสมัครผู้เข้าแข่งขันที่มีอายุ 8–13 ปี ดำเนินรายการโดยปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ (ป๊อก) และมีคณะกรรมการในการตัดสินคือ หม่อมหลวงภาสันต์ สวัสดิวัตน์ (คุณอิงค์), หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล (คุณป้อม) และพงษ์ธวัช เฉลิมกิตติชัย (เชฟเอียน)", "title": "มาสเตอร์เชฟจูเนียร์ไทยแลนด์ ซีซันที่ 1" }, { "docid": "7948#8", "text": "มีความก้าวหน้าทางดนตรีมาก เริ่มจากสมัยรัชกาลที่ 1 ได้เพิ่มกลองทัดขึ้นในวงปี่พาทย์เป็น 2 ลูก และเพิ่มระนาดในวงมโหรีปี่พาทย์อีก 1 ราง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 เริ่มมีปี่พาทย์บรรเลงประกอบเสภา จึงได้นำเปิงมางมาติดข้างสุกถ่วงเสียงให้ต่ำลง เรียกว่าสองหน้า ใช้ประกอบการบรรเลงประกอบเสภา และได้เพิ่มฆ้องวงในวงมโหรีด้วย ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีผู้สร้างระนาดทุ้มและฆ้องวงเล็กขึ้นมา ทำให้เกิดวงปี่พาทย์เครื่องคู่ขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีระนาดทีเปลี่ยนชื่อเป็นระนาดเอก เพื่อให้เข้าคู่กับระนาดแบบใหม่ ที่เพิ่มราง 1 ราง และสร้างขนาดใหญ่เรียกว่า ระนาดทุ้ม และฆ้องวงใหญ่ เพื่อให้เข้าคู่กับฆ้องวงเล็กที่สร้าง ขนาดเล็กลงเรียกว่า ฆ้องวงเล็ก นอกจากนี่ยังมีการนำปี่นอกเข้ามาผสมเข้าคู่กับปี่ใน และเครื่องดนตรีเดิม คือ ตะโพน กลองทัดและฉิ่งเช่นเดิม รวมทั้งมีวงมโหรีเครื่องคู่เกิดขึ้น โดยมีการนำระนาดทุ้ม ฆ้องวงเล็ก และขลุ่ยหลีบ ให้เข้าคู่กับเครื่องดนตรีที่มีอยู่เดิม ในสมัยรัชกาลที่ 4 วงปี่พาทย์มีความเจริญมาก โดยเจ้านาย ขุนนาง ข้าราชการ ต่างก็มีวงปี่พาทย์ประจำบ้านกัน และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงพระราชดำริให้นำลวดเหล็กเล็ก ๆ ที่ทอดพระเนตรจากนาฬิกาตั้งโต๊ะที่กลไกข้างในมีลวดเส้น เล็ก ๆ สั้นบ้างยาวบ้าง ปักเรียงกันถี่ ๆ เป็นวงกลมคล้ายหวีตรงกลางมีแกนหมุนและเหล็กเขี่ยเส้นลวดเหล็กเหล่านั้นผ่านไปโดยรอบที่พระองค์ทรงเรียกว่า นาฬิกาเขี่ยหวี ซึ่งมีเสียงดังกังวานมาสร้าง เป็นระนาดทุ้มเหล็ก และระนาดเหล็กที่เล็กกว่าและมีเสียงสูงกว่า มาเพิ่มเข้าในวงปี่พาทย์ และเรียกวงปี่พาทย์นี้ว่า วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องดนตรี ระนาดทุ้มเหล็กและระนาดเอกเหล็กที่ทำด้วยทองเหลืองเรียกว่า ระนาดทอง และนำซอด้วงและซออู้มาผสมในวงมโหรีด้วยเรียกว่า มโหรีเครื่องใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เกิดวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ทรงปรับปรุงขึ้นเพื่อบรรเลงประกอบละครวงปี่พาทย์นี้มีชื่อเสียงไพเราะนุ่มนวลกว่า เพราะได้ดัดเครื่องดนตรีที่มีเสียงดังมาก เสียงสูงและเสียงเล็กแหลมออกจนหมด และระนาดเอกก็ตีด้วยไม้นวม รวมทั้งยังนำฆ้องชัยหรือฆ้องหุ่ยมา 7 ลูก เทียบเสียงเรียงลำดับตีห่างๆ คล้ายกับ เบสของฝรั่ง เพิ่มเข้ามา ในสมัยรัชกาลที่ 6 การดนตรีมีความเจริญขึ้นมาก โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งกรมมหรสพ กรมบัญชาการ กรมโขนหลวง กรมพิณพาทย์หลวงกลองเครื่องสายฝรั่งหลวง และกรมช่างมหาดเล็ก สำหรับสร้างและซ่อมสิ่งที่เป็นศิลปะต่าง ๆ และพระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเครื่องปี่พาทย์ประดับมุกและประดับงาขึ้น 2 ชุด ประดับเป็นลวดลายวิจิตร มีอักษรพระปรมาภิไธย ม.ว. ซึ่งงดงามมีค่ายิ่ง ในสมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งวงเครื่องสาย ส่วนพระองค์ขึ้น โดยพระองค์ทรงซอด้วง และพระบรมราชินีทรงซออู้ พร้อมทั้งเจ้านายอีกหลายพระองค์ อยู่ในวงนั้น นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์ เพลงราตรีประดับดาว เถา เพลงเขมรละออองค์ เถา และเพลงคลื่นกระทบฝั่ง 3 ชั้น ต่อมาเมื่อหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 การดนตรีไทยได้ค่อย ๆ เสื่อมลง จนมาถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปแล้ว จึงได้มีการฟื้นฟูดนตรีไทยขึ้นใหม่ จนมาถึงปัจจุบันนี้ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระปรีชาสามารถทางดนตรีสากล และพระราชนิพนธ์เพลงขึ้นหลายเพลงด้วย แต่พระองค์ยังทรงสนพระทัยการดนตรีไทย โดยพระราชทานทุน ให้พิมพ์เพลงไทยเป็นโน้ตสากลออกจำหน่ายจนเป็นที่นิยมของวงการดนตรีทั่วไป", "title": "เครื่องดนตรีไทย" }, { "docid": "510688#0", "text": "ใครคือใคร Identity Thailand เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ที่มีรูปแบบของรายการจากสหรัฐอเมริกา ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ ชายด์ อินเตอร์เนชั่นแนล ผลิตรายการโดยเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 จนถึง 6 มกราคม พ.ศ. 2559 ออกอากาศช่วงกลางคืน ในปัจจุบันกลับมาออกอากาศโดยย้ายเวลาออกอากาศเป็นทุกวันเสาร์ 10.00 - 11.00 น. ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ถึง วันเสาร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ทางช่องเวิร์คพอยท์", "title": "ใครคือใคร Identity Thailand" }, { "docid": "190414#0", "text": "แผ่นดินของใคร หรือชื่อเดิมว่า แผ่นดินฉกรรจ์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเขาพระวิหารโดยตรง ถ่ายทำและถ่ายทอดบรรยากาศบนเขาพระวิหารแทบตลอดทั้งเรื่อง เปิดตัวโฆษณาในนิตยสาร \"ดาราไทย\" ตั้งแต่ปี 2502 โดยกำหนดฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เอ็มไพร์ แต่หลังจากที่กัมพูชายื่นฟ้องต่อศาลโลก \"แผ่นดินฉกรรจ์\" จึงถูกทางเจ้าหน้าที่เซ็นเซอร์พิจารณาอีกครั้ง ซึ่งบางส่วนที่มีการพาดพิงกรณีก็ถูกตัดออกไป", "title": "แผ่นดินของใคร" }, { "docid": "75276#1", "text": "ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้ \"ตั๋วกระดาษ\" ราคา 1 อัฐ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2417 เพื่อใช้แทนเงินเหรียญกษาปณ์ที่ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า \"อัฐกระดาษ\" ที่ใช้เรียกขานกันในหมู่ประชาชน ต่อมาในปี พ.ศ. 2432-2442 ทรงอนุญาตให้ธนาคารต่างประเทศที่เข้ามาเปิดสาขาดำเนินงานในประเทศไทย คือ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้, ธนาคารชาเตอรด์แห่งอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน และธนาคารแห่งอินโดจีน ให้สามารถออกธนบัตรของตัวเองได้ เรียกว่า \"แบงก์โน้ต\" หรือ \"แบงก์\" นับว่าเป็น \"บัตรธนาคาร\" รุ่นแรกๆ ที่มีใช้ในประเทศไทย จนถึงวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2445 จึงทรงให้ยกเลิก และประกาศใช้ \"ธนบัตร\" แบบแรกของประเทศไทยอย่างเป็นทางการ", "title": "ธนบัตรไทย" } ]
2446
กัมพูชามีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "25625#0", "text": "พนมเปญ หรือ ภนุมปึญ (Khmer: ភ្នំពេញ ภฺนุํเพญ ออกเสียง: [pʰnum pɨɲ]; English: Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส", "title": "พนมเปญ" } ]
[ { "docid": "70992#30", "text": "กัมพูชาประชาธิปไตย (ฝรั่งเศส: Kampuchea démocratique, เขมร: កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ ก็อมปูเจียประเจียทิปะเต็ย ) คือชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลจะถูกอ้างถึงในชื่อ \"อังการ์เลอ\" (องฺคการเลี - องค์การบน หรือ หน่วยเหนือ)[1] ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"อังการ์ปะเดะวัด\" (องฺคการปฏิวัตฺติ - องค์การปฏิวัติ)[2] โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย", "title": "ประวัติศาสตร์กัมพูชา" }, { "docid": "1937#1", "text": "ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า[11] เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา", "title": "ประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "53510#2", "text": "ธงชาติกัมพูชาในระยะต่อมาเปลี่ยนแปลงลักษณะไปตามความผันผวนทางการเมืองภายในประเทศหลายครั้ง จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ. 2536 องค์การสหประชาชาติซึ่งเข้ามาควบคุมการเปลี่ยนผ่านอำนาจในกัมพูชา ได้จัดให้มีการเลือกตั้งเพื่อลงประชามติกำหนดทิศทางของประเทศ ผลปรากฏว่า พรรคฟุนซินเปคซึ่งเป็นพรรคการเมืองแนวนิยมเจ้าชนะการเลือกตั้ง ประเทศกัมพูชาจึงกลับมาใช้ชื่อว่าราชอาณาจักรกัมพูชาอีกครั้ง และได้กำหนดให้ใช้ธงชาติช่วง พ.ศ. 2491 - 2512 เป็นธงชาติของกัมพูชาอีกครั้ง ตราบจนทุกวันนี้", "title": "ธงชาติกัมพูชา" }, { "docid": "864615#67", "text": "ชอมสกีและเพื่อนร่วมงานต่อมาเขียนหนังสือเกี่ยวกับกัมพูชาชื่อว่า \"หลังหายนะ (After the Cataclysm)\" (2522) ซึ่งพิมพ์หลังจากที่เขมรแดงหมดอำนาจแล้ว\nนักวิชาการกัมพูชาชาวอเมริกัน-กัมพูชาที่เป็นผู้ลี้ภัยด้วยกล่าวว่า \"เป็นหนังสือที่สนับสนุนการปฏิวัติของเขมรมากที่สุดเล่มหนึ่ง\" ที่ผู้เขียนสองท่าน \"ประพฤติเท่ากับป้องกันเขมรแดงโดยซ่อนอยู่ภายใต้การโจมตีสื่อ\"\nในหนังสือของชอมสกี พวกเขายอมรับว่า \"บันทึกความโหดร้ายในกัมพูชามีแก่นสารและบ่อยครั้งน่าสยดสยอง\" แต่ตั้งข้อสงสัยในจำนวน ซึ่งเชื่อว่า อาจขยาย \"เป็น 100 เท่า\"\nเพราะนโยบายการเกษตรของเขมรแดงได้มีรายงานว่าได้ผลที่ \"น่าตื่นตา\"", "title": "มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี" }, { "docid": "25625#29", "text": "หมวดหมู่:เมืองหลวงในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา", "title": "พนมเปญ" }, { "docid": "509364#3", "text": "พระมหากษัตริย์ กัมพูชา พระองค์ต่อไป ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์ก่อน และไทยก็ใช้นามเดิมเรียกว่า พระยาละแวก เคยส่งพระอนุชามาช่วยการศึกกับพม่า แต่มีเรื่องบางอย่าง ขัดพระทัยกันในภายหลัง ทำให้กัมพูชามีการปล้นเมืองชายแดน กวาดต้อนหัวเมืองสยามอีก และเมื่อพระนเรศวรขึ้นครองราชย์ ทรงตั้งพระทัยว่าจะจัดทัพ ไปตีเมืองละแวก แต่ติดศึกด้านอื่น หลังสงครามยุทธหัตถึ เสร็จศึกกับหงศาวดี และยึดได้ตะนาวศรี ทวาย มะริด พระนเรศวรมหาราช ได้จัดทัพสี่ทัพ เข้าตีกัมพูชา ทั้งทางบกและทางทะเล จนเข้าถึงเมืองละแวก เมืองหลวงขณะนั้น ในพงศาวดารบางแห่งบอกว่ามีการพิธีประถมกรรม แต่ในหลายแห่งข้อมูลสมัยใหม่ มีการวิจัยไม่ตรงกัน และมีข้อมูลว่าพระยาละแวกหนีไปทางลาว อย่างไรก็ตาม ทัพไทยได้กวาดต้อน ชาวเมือง และชาวพระราชวัง ทั้งขุนนาง และฝ่ายใน จำนวนมาก มาชุบเลี้ยงตั้งบ้านเรือนในสยาม", "title": "สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)" }, { "docid": "106808#0", "text": "กัมพูชาประชาธิปไตย ( \"กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย\"; ) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลมักเรียก \"องค์การเหนือ\" ( \"องฺคการเลี\") ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"องค์การปฏิวัติ\" (; \"องฺคการบฎิวตฺต\") โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย", "title": "กัมพูชาประชาธิปไตย" }, { "docid": "532796#0", "text": "วิทยาสถานปัจเจกวิทยากัมพูชา ( \"วิทฺยาสฺถานบจฺเจกวิทฺยากมฺพุชา\", , ; ITC) เป็นสถาบันอุดมศึกษาทางด้านเทคโนโลยีซึ่งตั้งในปี ค.ศ. 1964 ซึ่งเป็นผลจากความร่วมมือกันระหว่างกัมพูชาและสหภาพโซเวียต ขณะนั้น ใช้ชื่อว่า วิทยาสถานปัจเจกเทศชั้นสูงมิตรภาพเขมรโซเวียต (; , ) จนถึงปัจจุบันผลิตบุคคลากรไปแล้วกว่าหนึ่งหมื่นคนแล้ว ซึ่งโดยมากมักจะทำงานทางด้านเศรษฐกิจ และ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม ", "title": "วิทยาสถานปัจเจกวิทยากัมพูชา" }, { "docid": "70992#20", "text": "ยุคมืดของกัมพูชา เริ่มตั้งแต่อาณาจักรอยุธยาได้โจมตีอาณาจักรเขมร และ ได้เผา พระนคร เมืองหลวงของอาณาจักรเขมร ราบเป็นหน้ากลอง ทำให้อาณาจักรเขมรเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศตั้งแต่บัดนั้นมา เขมรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาในฐานะดินแดนประเทศราช อาณาจักรอยุธยาปกครองเขมรเป็นเวลาเกือบ 400 ปี ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์เขมรตกอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิสยามอย่างเข้มงวด ในสมัยรัชกาลที่3 ได้เกิด สงครามอานามสยามยุทธทำให้กัมพูชาเป็นรัฐอารักขาระหว่างสยามกับญวณ ก่อนที่จะตกเป็นของฝรั่งเศสในเวลาต่อมา", "title": "ประวัติศาสตร์กัมพูชา" }, { "docid": "158168#6", "text": "ในช่วงนี้ ฝรั่งเศสพยายามจะลิดรอนอำนาจของกษัตริย์กัมพูชาและเพิ่มอำนาจให้ผู้ว่าการสูงสุดของฝรั่งเศส แต่พระองค์ไม่ยินยอม พระโอรสของพระองค์คือพระยุคนธรได้เดินทางไปยังฝรั่งเศสเพื่อคัดค้านนโยบายนี้จนถูกถอดจากบรรดาศักดิ์และต้องลี้ภัยไปสยาม ฝ่ายฝรั่งเศสก็ได้ทำการย้ายเมืองหลวงจากกรุงอุดงไปที่พนมเปญซึ่งพระองค์ทรงไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งแต่ทางการฝรั่งเศสก็ได้ทำใบแจ้งเรื่องย้ายเมืองหลวงและบังคับให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยจนสำเร็จ พระองค์จึงสละราชบัลลังก์เป็นการคัดค้านการกระทำของฝรั่งเศสและเสด็จไปพำนักที่สยาม ทางการฝรั่งเศสก็ไม่ให้การสนใจต่อการเคลื่อนไหวของพระนโรดมอีกเลยและได้ให้พระสีสุวัตถิ์พระอนุชาของพระองค์ที่นิยมฝรั่งเศสขึ้นสืบสมบัติต่อ ส่วนพระนโรดมได้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2447 ที่กรุงเทพมหานคร ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทางราชสำนักสยามได้อัญเชิญพระบรมศพกลับสู่กัมพูชา พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพมีขึ้นที่กรุงพนมเปญ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าของพระองค์อยู่ในวัดอุดง", "title": "พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร" }, { "docid": "116392#30", "text": "ต้น พ.ศ. 2518 กองกำลังคอมมิวนิสต์ได้วางระเบิดตัดเส้นทางชายฝั่งแม่น้ำที่ใช้ลำเลียงอาหารและอาวุธเข้าสู่กรุงพนมเปญ[36] และนำกำลังปิดล้อมเมืองหลวงเป็นเวลา 3 เดือน เพื่อเตรียมการบุกยึด ในที่สุด หลังจากการหลบหนีออกจากกัมพูชาของนายกรัฐมนตรีลอน นอล ในเดือนมีนาคมของปีเดียวกัน และความพยายามของสหรัฐอเมริกา ที่จะนำฝ่ายคอมมิวนิสต์มาเจรจากับฝ่ายรัฐบาล ไม่เป็นผล กองกำลังพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่นำโดยกลุ่มเขมรแดงของซาลอธ ซาร์ ก็เข้าบุกยึดกรุงพนมเปญ ในเช้าตรู่วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 ซึ่งตรงกับวันปีใหม่ของชาวกัมพูชา (เหตุที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เลือกวันนี้เป็นวันบุกยึด เพราะต้องการให้ปีใหม่ปีนั้นเป็นปีเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของกัมพูชาใหม่ทั้งหมด) [37]", "title": "เขมรแดง" }, { "docid": "1937#34", "text": "กัมพูชาประชาธิปไตย (English: Democratic Kampuchea; French: Kampuchea démocratique; Khmer: កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ อ่านว่า ก็อมปูเจียประเจียทิปะเต็ย) คือชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 ซึ่งเกิดจากการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรของนายพลลอลนอล และได้จัดปกครองในรูปแบบรัฐคอมมิวนิสต์โดยพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาหรือเขมรแดง ในสมัยนี้องค์กรของรัฐบาลจะถูกอ้างถึงในชื่อ \"อังการ์เลอ\" (Khmer: អង្គការលើ; องฺคการเลี - องค์การบน หรือ หน่วยเหนือ) ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชานั้น แกนนำของพรรคให้เรียกชื่อว่า \"อังการ์ปะเดะวัด\" (Khmer: អង្គការបដិវត្ត; องฺคการปฏิวัตฺติ - องค์การปฏิวัติ) โดยผู้นำสูงสุดของประเทศที่ครองอำนาจยาวนานที่สุดคือนายพล พต ซึ่งเป็นผู้นำสูงสุดของเขมรแดงด้วย", "title": "ประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "1937#53", "text": "เมืองหลวง (ราชธานี) และจังหวัด (เขต) เป็นเขตการปกครองระดับแรกสุดของประเทศกัมพูชา แบ่งเป็น 25 จังหวัด (รวมเมืองหลวง) แต่ละจังหวัดจะแบ่งเป็นเทศบาลและอำเภอ ซึ่งเป็นเขตการปกครองระดับที่สอง มีทั้งหมด 159 อำเภอ และ 26 เทศบาล แต่ละอำเภอและเทศบาลแบ่งเป็นตำบล และแต่ละตำบลแบ่งเป็นหมู่บ้าน", "title": "ประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "391427#10", "text": "นอกจากการสนับสนุนการรุกรานและการควบคุมของเวียดนามแล้ว รวมทั้งการสูญเสียเอกราชในระหว่างนี้[13] ระบอบใหม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนที่หวาดกลัวเขมรแดง[14] แต่เมืองหลวงคือพนมเปญก็ต้องตกอยู่ในความว่างเปล่า เพราะทหารเวียดนามขนส่งสินค้ากลับไปเวียดนาม ภาพพจน์ด้านนี้ถูกนำไปเผยแพร่โดยฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา[15] อย่างไรก็ตาม การคงอยู่ของกองทัพเวียดนามก็มีประโยชน์ในการบูรณะเมืองใหม่หลังจากถูกเขมรแดงทำลายไปโดยสิ้นเชิง[16]", "title": "สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา" }, { "docid": "781196#3", "text": "ในขณะที่นักองค์เองลี้ภัยอยู่ที่กรุงเทพฯ เวียดนามเข้าไปมีอำนาจในกัมพูชา จัดให้ขุนนางเวียดนามมาปกครอง รัชกาลที่ 1 จึงโปรดให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองเขมร เป็นเวลาถึง 12 ปี จนกระทั่งรบกับเวียดนามจนได้รับชัยชนะ ตั้งเมืองหลวงที่เมืองอุดงค์มีชัยหรือเมืองบันทายเพชรได้ใน พ.ศ. 2333 สถานการณ์เหตุการณ์วุ่นวายสงบลง จึงโปรดขอพระราชทานให้นักองค์เองออกไปครองกรุงกัมพูชา เมื่อทรงอภิเษกนักองค์เองกลับไปครองกรุงกัมพูชานั้น รัชกาลที่ 1 ทรงขอหัวเมืองเขมร คือ พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน อภัยวงศ์) ปกครองโดยสิทธิ์ขาดถึงเก็บภาษีได้เอง ขึ้นการปกครองตรงต่อกรุงเทพฯ นักองค์เองทรงยินยอมดินแดนเขมรส่วนนี้จึงตกเป็นของไทยมาแต่บัดนั้น ส่วนเขมรตอนนอกนั้นนักองค์เองคงปกครองอย่างประเทศราชของกรุงสยามต่อมา", "title": "เจ้าฟ้าทะละหะ (ปก)" }, { "docid": "765205#7", "text": "พุทธศตวรรษที่ 24 ฝรั่งเศสเริ่มเข้ามามีบทบาทในอินโดจีน และใน พ.ศ. 2410 กัมพูชาก็ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส จนถึงปี พ.ศ. 2497 จึงได้อิสรภาพคืนมา และเรียกชื่อประเทศว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชา มีเมืองหลวงชื่อ พนมเปญ มีกษัตริย์ครองราชย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2483 พระนามว่า พระเจ้านโรดมสีหนุ พระเจ้านโรดมสีหนุสละราชสมบัติให้พระเจ้านโรดมสุรามฤตพระบิดาขึ้นครองราชแทน พระองค์มาตั้งพรรคการเมืองชื่อ สังคมราษฎร์นิยม และได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อพระบิดาสวรรคต จึงทรงเป็นประมุขรัฐโดยไม่ได้ครองราชย์ พระเจ้านโรดมสีหนุ ทรงคิดตั้งทฤษฎี พุทธสังคมนิยม โดยการปกครองที่ยึดหลักพุทธธรรมเป็นหลักในการบริหารประเทศ ในช่วงนี้ประเทศแถบเอเซียอาคเนย์กำลังอยู่ในภาวะการต่อสู้ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์ กับลัทธิประชาธิปไตย ", "title": "ศาสนาพุทธในประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "482831#0", "text": "เมา อายุทธ นักเขียนรางวัลซีไรต์คนที่สามของกัมพูชา เกิดเมื่อ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดกำปงจาม เริ่มสนใจงานเขียนตั้งแต่เรียนวิทยาลัยสีสุวัตถิ์ และหันมาศึกษาการเขียนบทภาพยนตร์ในช่วง พ.ศ. 2506 – 2508 หลังจากนั้น เขาเข้าร่วมงานกับ TVRK และได้เป็นผู้กำกับ หลังจากพนมเปญแตกใน พ.ศ. 2518 เขาถูกกวาดต้อนไปอยู่นอกเมืองหลวง และกลับสู่พนมเปญหลังจากระบอบเขมรแดงล่มสลายใน พ.ศ. 2522 และเข้าทำงานในด้านภาพยนตร์ ได้เป็นผู้อำนวยการสร้างโทรทัศน์แห่งชาติของกัมพูชาใน พ.ศ. 2537\nนอกจากงานด้านภาพยนตร์ อายุทธยังเขียนนวนิยายเกี่ยวกับสังคมละวิถีชีวิต ได้รับรางวัลวรรณกรรมซีไรต์ของประเทศกัมพูชาเมื่อ พ.ศ. 2544", "title": "เมา อายุทธ" }, { "docid": "1937#24", "text": "ยุคมืดของกัมพูชา เริ่มตั้งแต่อาณาจักรอยุธยาได้โจมตีอาณาจักรเขมร และ ได้เผา พระนคร เมืองหลวงของอาณาจักรเขมร ราบเป็นหน้ากลอง ทำให้อาณาจักรเขมรเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศตั้งแต่บัดนั้นมา เขมรเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาในฐานะดินแดนประเทศราช อาณาจักรอยุธยาปกครองเขมรเป็นเวลาเกือบ 400 ปี ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์เขมรตกอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิสยามอย่างเข้มงวด ในสมัยรัชกาลที่3 ได้เกิด สงครามอานามสยามยุทธทำให้กัมพูชาเป็นรัฐอารักขาระหว่างสยามกับญวณ ก่อนที่จะตกเป็นของฝรั่งเศสในเวลาต่อมา", "title": "ประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "876750#0", "text": "สายการบินแคมโบเดียอังกอร์แอร์ () เป็นสายการบินประจำชาติ ของประเทศกัมพูชา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่พนมเปญซึ่งเป็นเมืองหลวง เริ่มให้บริการเชิงพาณิชย์วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 มีรัฐบาลกัมพูชาเป็นเจ้าของ (51%) ร่วมกับสายการบินเวียดนามแอร์ไลน์ (49%) ซึ่งใช้ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน เครื่องบินส่วนใหญ่เช่ามาจากเวียดนามแอร์ไลน์", "title": "แคมโบเดียอังกอร์แอร์" }, { "docid": "665#19", "text": "หลังเยอรมนียอมจำนนแล้ว ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้แบ่งกรุงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีออกเป็น 4 เขตในยึดครองทางทหาร เขตฝั่งตะวันตกซึ่งควบคุมโดยฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ได้รวมกันและจัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ส่วนเขตทางตะวันออกซึ่งอยู่ในควบคุมของสหภาพโซเวียตได้จัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1949 ทั้งสองประเทศนี้ถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า \"ประเทศเยอรมนีตะวันตก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงบ็อน และ \"ประเทศเยอรมนีตะวันออก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงเบอร์ลินตะวันออก", "title": "ประเทศเยอรมนี" }, { "docid": "353070#3", "text": "น้ำ ข้าว และปลาน้ำจืดเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลมากต่ออาหารกัมพูชา แม่น้ำโขงไหลผ่านใจกลางประเทศกัมพูชา เมืองหลวงของประเทศคือพนมเปญตั้งอยู่ระหว่างจุดตัดของแม่น้ำโขงกับแม่น้ำโตนเลสาบและแม่น้ำบาสัก ทำให้กัมพูชามีปลาน้ำจืดอุดมสมบูรณ์ และเหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในปัจจุบันอาหารกัมพูชามีความใกล้เคียงกับอาหารของประเทศเพื่อนบ้านคืออาหารไทยในด้านการใช้พริก น้ำตาลหรือกะทิ และอาหารเวียดนามในด้านที่ได้รับอิทธิพลจากอาหารฝรั่งเศสเช่นกัน และยังได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนอีกด้วย โดยเฉพาะอาหารจำพวกที่ใช้เส้นก๋วยเตี๋ยว อาหารจำพวกแกงที่ในภาษาเขมรเรียกว่า \"การี\" (ការី) แสดงถึงอิทธิพลของอาหารอินเดีย และยังมีอิทธิพลบางส่วนจากอาหารโปรตุเกสและอาหารสเปน ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขาย อย่างไรก็ตามอาหารกัมพูชาไม่ได้มีรสจัดเท่าอาหารไทย อาหารลาว และอาหารมาเลเซีย", "title": "อาหารกัมพูชา" }, { "docid": "385544#0", "text": "รัฐบาลเฉพาะกาลเพื่อสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา (Provisional Government of National Union and National Salvation of Cambodia: PGNUNSC) เป็นรัฐบาลเฉพาะกาลที่ตั้งขึ้นโดยเขมรแดงเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เพื่อต่อต้านการจัดตั้งราชอาณาจักรกัมพูชา นายกรัฐมนตรีคือ เขียว สัมพัน ซึ่งเป็นหัวหน้ากองทัพด้วย ส่วนรัฐมนตรีต่างประเทศคือซอน เซน ทีมงานเป็นสมาชิกพรรคสามัคคีแห่งชาติกัมพูชา บริเวณที่ควบคุมได้คือจังหวัดไพลิน (เมืองหลวงของรัฐบาลเฉพาะกาล)และจังหวัดพระวิหาร (ที่ตั้งของกองทัพ) สถานีวิทยุของเขมรแดงเป็นที่รู้จักว่าเป็นวิทยุของรัฐบาลเฉพาะกาลเพื่อสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา รัฐมนตรีอื่นๆได้แก่ จัน ยัวราน มัก เบน อิน โซเพียบ กอร์บุนเฮง พิช เชียง และเชา เชือน.", "title": "รัฐบาลชั่วคราวสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา" }, { "docid": "510183#2", "text": "หลังกรุงแตก นักองค์โนนร่วมกับก๊กของพระยาตาก จนสามารถสถาปนากรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงได้สำเร็จ หลังจากนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพยายามที่จะช่วยสถาปนานักองค์โนนให้เป็นกษัตริย์กัมพูชา โดยยกทัพไปตีเมืองบันทายเพชรถึงสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2312 แต่ไม่ทันสำเร็จ มีข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จสวรรคต จึงเลิกทัพกลับมาก่อน อีกครั้งหนึ่งใน พ.ศ. 2314 ซึ่งหลักฐานทางฝ่ายไทยกล่าวว่าตีได้เมืองบันทายเพชร นักองค์ตนหนีไปเวียดนาม จึงอภิเษกให้นักองค์โนนขึ้นเป็นกษัตริย์กัมพูชา แต่หลักฐานทางกัมพูชากล่าวว่า สยามตีเมืองบันทายเพชรไม่สำเร็จ จึงให้นักองค์โนนประทับอยู่ที่เมืองกำปอต จน พ.ศ. 2318 เวียดนามที่สนับสนุนนักองค์ตนอ่อนแอลง นักองค์ตนจึงถวายราชสมบัติแก่นักองค์โนน", "title": "สมเด็จพระรามราชาธิราชแห่งกัมพูชา" }, { "docid": "476337#0", "text": "พรรคนโรดม รณฤทธิ์ (Norodom Ranariddh Party; NRP) เป็นพรรคการเมืองที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยพระนโรดม รณฤทธิ์ หลังจากที่พระองค์แยกตัวออกมาจากพรรคฟุนซินเปกที่พระองค์เคยเป็นผู้นำอยู่ เดิมพรรคนี้ชื่อพรรคแห่งชาติเขมร และเปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคนโรดม รณฤทธิ์เมื่อ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และให้พระนโรดม รณฤทธิ์เป็นหัวหน้าพรรค ในช่วง พ.ศ. 2551 – 2553 พรรคนี้ใช้ชื่อว่าพรรคชาตินิยม\nพรรคนี้มีแนวคิดทางการเมืองหลายอย่างอยู่ด้วยกัน อย่างแรกคือแนวคิดฝ่ายขวาสนับสนุนการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกัมพูชา ปรับปรุงเมืองหลวงคือพนมเปญให้มีความทันสมัย คงไว้ซึ่งเชื้อชาติ ภาษาและวัฒนธรรมเขมร ลดการขึ้นราคาสินค้าและการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ในทำนองเดียวกัน มีนโยบายฝ่ายซ้ายด้วย เช่น ส่งเสริมสิทธิของผู้ใช้แรงงาน รวมทั้งแนวคิดเสรีนิยม ในการสนับสนุนเสรีภาพ ประชาธิปไตยและการใช้กฎหมาย\nพรรคนี้ได้จัดตั้งกลุ่มพันธมิตรกับพรรคสมรังสี พรรคฟุนซินเปกและพรรคสิทธิมนุษยชน เพื่อต่อสู้กับพรรคประชาชนกัมพูชาแต่ก็เป็นฝ่ายแพ้การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2551 ซึ่งพรรคเหล่านี้กล่าวหาว่าพรรคประชาชนกัมพูชาทำให้การเลือกตั้งไม่เป็นธรรม ", "title": "พรรคนโรดม รณฤทธิ์" }, { "docid": "550805#0", "text": "นกกระจิบกัมพูชา () เป็นชนิดของนกซึ่งถูกค้นพบในกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ในปี 2552 ระหว่างการสืบสวนไข้หวัดนก ในปี 2556 มีการกำหนดให้เป็นชนิดใหม่และมีการอธิบายอย่างเป็นทางการ นกกระจิบกัมพูชาเป็นนกเล็ก มีปอยสีส้มแดงบนหัว นกกระจิบกัมพูชาเป็นสัตว์ประจำถิ่นของประเทศกัมพูชา ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะจำกัดอยู่เฉพาะถิ่นที่อยู่ไม้พุ่มดกในที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึงของแม่น้ำโขง", "title": "นกกระจิบกัมพูชา" }, { "docid": "165075#0", "text": "เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย ( \"ฎบ่บฺรำพีรเมสามหาโชคชัย\") เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชา ในสมัยที่ใช้ชื่อว่า \"กัมพูชาประชาธิปไตย\" แต่งขึ้นเพื่อระลึกถึงความสำเร็จในการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมร และการสถาปนารัฐกัมพูชาใหม่ในนาม \"กัมพูชาประชาธิปไตย\" เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 เนื้อหากล่าวถึงการเสียสละของเหล่านักรบทั้งชายและหญิงในการก่อตั้งรัฐกัมพูชาและสังคมใหม่ และประกาศปณิธานว่าจะทำให้กัมพูชามีความรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่กว่าสมัยพระนคร ", "title": "สิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย" }, { "docid": "84590#11", "text": "อำเภอพนัสนิคมแบ่งออกเป็น 20 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้านรวม 185 หมู่บ้าน\nท้องที่อำเภอพนัสนิคมประกอบด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น 20 แห่ง ได้แก่นิทานเรื่องพระรถ-เมรี แพร่หลายในหมู่ชาวสองฝั่งโขง ยังบอกเล่าเรื่องพระรถ-มรี กับสถานที่ต่างๆที่นั่นด้วยจนทุกวันนี้ \nเรื่องพระรถ-เมรีนี้จัดเป็นชาดกนอกนิบาต ซึ่งหมายถึงชาดกที่แต่งขึ้นโดยอาศัยเค้าโครงจากนิทานพื้นบ้าน และไม่พบต้นฉบับในพระไตรปิฎก เรื่องพระรถกับนางเมรีนี้คงเป็นของผู้คนแถบสองฝั่งโขงมาแต่ดึกดำบรรพ์ จึงได้ถูกบันทึกไว้ในรูปของชาดกเรื่องหนึ่ง โดยพระสงฆ์ชาวเชียงใหม่ ราว พ.ศ. 2000 ถึง 2200 และจดไว้ในใบลานจำนวน 50 ผูก รู้จักกันในชื่อว่า “ปัญญาสชาดก”\nในคำอธิบายต้นเล่ม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกไว้ว่าคัมภีร์ปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนฃาดก “เดี๋ยวนี้เห็นจะมีอยู่แต่ในประเทศสยาม กับที่เมืองหลวงพระบางแลที่กรุงกัมพูชา” ซึ่งก็หมายความว่านิทานเหล่านี้น่าจะจัดเป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ของดินแดนสุวรรณภูมินั่นเองในปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนชาดก เรียกนางเมรีว่า นางกังรี แล้วยังมีฉบับอื่นๆ อีกมากมายที่เรียกชื่อตัวละครเพี้ยนกันไปต่างๆ เช่นในพงศาวดารล้านช้างเรียกนางเมรีว่า นางกางรี ", "title": "อำเภอพนัสนิคม" }, { "docid": "767148#0", "text": "เพลงชาติสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชา ในสมัยที่ใช้ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา\". เรียบเรียงทำนองโดย Sok Udom Deth. ภายหลังการโค่นล้มรัฐบาลเขมรแดง โดยกองทัพประชาชนเวียดนาม; ข้อมูลบางแหล่งจากซีกโลกตะวันตกได้กล่าวถึง เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย ใช้เป็นเพลงชาติของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายจนถึง พ.ศ. 2536", "title": "เพลงชาติสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา" }, { "docid": "53510#3", "text": "ประเทศกัมพูชาได้มีธงประจำพระองค์พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ธงนี้เรียกชื่อว่า \"ธงมหาราช\" เช่นเดียวกับในภาษาไทย ในสมัยราชอาณาจักรกัมพูชายุค พ.ศ. 2491 -2512 ธงนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยม พื้นนอกสีแดง พื้นในสีน้ำเงิน กลางเป็นรูปตราแผ่นดินของกัมพูชาอย่างย่อ ในแบบลายเส้นสีทอง ต่อมาเมื่อมีการฟื้นฟูราชอาณาจักรอีกครั้งใน พ.ศ. 2536 จึงได้เปลี่ยนธงใหม่เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางเป็นรูปตราแผ่นดินของกัมพูชา ซึ่งใช้สืบมาจนถึงทุกวันนี้", "title": "ธงชาติกัมพูชา" } ]
2641
เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เป็นชาวอะไร ?
[ { "docid": "140813#0", "text": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Dutch: Peter Paul Rubens, pronounced[ˈrybə(n)s]; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" } ]
[ { "docid": "232030#1", "text": "ยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์ เป็นจิตรกรสามคนที่นำความมีหน้ามีตามาสู่ตระกูลการเขียนภาพแบบแอนต์เวิร์ป (Antwerp school) ยอร์ดานส์เป็นจิตรกรในหมู่น้อยที่มิได้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อศึกษาการเขียนภาพแบบอิตาลี และความก้าวหน้าทางอาชีพของยอร์ดานส์ก็มิได้มีอยู่ความสนใจในราชสำนักหรือความก้าวหน้าในราชสำนัก[1] นอกไปจากการเดินทางระยะสั้น ๆ ภายในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำแล้วยอร์ดานส์ก็ได้อยู่แต่ในแอนต์เวิร์ปจนตลอดชีวิต[1] นอกจากจะเป็นจิตรกรที่ประสบความสำเร็จเป็นอันมากแล้วยอร์ดานส์ก็ยังเป็นผู้ออกแบบพรมทอแขวนผนังผู้มีชื่อเสียงด้วย[2] เช่นเดียวกับรือเบินส์, งานเขียนของยอร์ดานส์จะเป็นฉากแท่นบูชา, ตำนานเทพ, และอุปมานิทัศน์ และหลังจากการเสียชีวิตของรือเบินส์ในปี ค.ศ.1640 ยอร์ดานส์ก็กลายมาเป็นจิตรกรคนสำคัญที่สุดในแอนต์เวิร์ปสำหรับงานจ้างชิ้นใหญ่ ๆ และฐานะของผู้จ้างของก็ดีขึ้นเป็นลำดับ[3] งานชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีในปัจจุบันเป็นงานภาพชีวิตประจำวันขนาดใหญ่ในภาพ \"กษัตริย์เสวยน้ำจัณฑ์\" และภาพ \"ผู้ใหญ่ร้องเพลง, เด็กร้องตาม\" ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของยอร์ดานส์ในทางศิลปะนอกจากจะเป็นรือเบินส์แล้วก็เป็นจิตรกรทางเหนือของอิตาลีเช่นจาโกโป บัสซาโน (Jacopo Bassano), ปาโอโล เวโรเนเซ และการาวัจโจ[1]", "title": "ยาโกบ ยอร์ดานส์" }, { "docid": "294491#0", "text": "ยกกางเขน (; ) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ป ในเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม ", "title": "ยกกางเขน (รือเบินส์)" }, { "docid": "232030#34", "text": "ร่างภาพ \"ในครัว\" (Interior of a Kitchen) เป็นงานร่างชิ้นสำคัญที่สุดในบรรดางานร่างออกแบบมากมายสำหรับพรมแขวนผนังที่ยอร์ดานส์เขียน พรมแขวนผนังเป็นงานที่มีค่าตลอดสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบาโรก พรมแขวนผนังผืนใหญ่ ๆ เริ่มปรากฏบนผนังของเจ้านายหรือขุนนางผู้มั่งคั่งในยุโรปในราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 [43] ผู้อุปถัมภ์งานมักจะจ้างจิตรกรเช่นยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และปีเอโตร ดา กอร์โตนา ให้แสดงผู้อุปถัมภ์ในผืนพรมในรูปของบุคคลสำคัญ ๆ ในประวัติศาสตร์หรือตำนานเทพเพื่อเป็นการยกย่องตนเอง[44] ยอร์ดานส์ประสบความสำเร็จในการออกแบบพรมทอแขวนผนังเป็นอย่างมาก ที่ทำให้ได้รับงานจากหลายงานในการสร้างพรมชุดต่าง ๆ และได้ชื่อว่าเป็นผู้นำในการออกแบบพรมทอแขวนผนังคนหนึ่งในยุคนั้น[45]", "title": "ยาโกบ ยอร์ดานส์" }, { "docid": "146208#3", "text": "ภายในสองสามปึก็ได้เป็นผู้ช่วยเอกของเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรผู้มีชื่อเสียงของแอนต์เวิร์ปและทางตอนเหนือของยุโรปทั้งหมด ผู้ใช้วิธืจ้างโรงฝึกงานย่อย ๆ ให้ทำงานให้โรงฝึกงานใหญ่ของรือเบินส์เอง รือเบินส์มีอิทธพลต่อฟัน ไดก์เป็นอันมาก และกล่าวถึงลูกศิษย์อายุ 19 ปีว่าเป็น \"ลูกศิษย์คนเก่งที่สุดในบรรดาลูกศิษย์คนอื่น ๆ\" ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างลูกศิษย์กับอาจารย์จะเป็นอย่างไรไม่เป็นที่ทราบแน่นอน แต่สันนิษฐานกันว่าฟัน ไดก์เป็นลูกศิษย์ของรือเบินส์ตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 1613 เพราะงานในสมัยนั้นมีลักษณะอิทธิพลของรือเบินส์ แต่ก็ไม่มีหลักฐานอะไรแน่นอนไปกว่านี้ และอาจจะเป็นได้ว่า ถึงแม้ฟัน ไดก์จะกลับมาแอนต์เวิร์ปบ้างในบางครั้ง แต่ฟัน ไดก์ก็ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในต่างประเทศเพราะเมืองแอนต์เวิร์ปเริ่มหมดความสำคัญลง ในปี ค.ศ. 1620 รือเบินส์ได้รับงานชิ้นสำคัญในการเขียนภาพบนเพดานวัดเยสุอิตที่แอนต์เวิร์ป (ปัจจุบันถูกทำลายไปแล้ว) ฟัน ไดก์เป็นผู้หนึ่งที่ระบุไว้ว่าเป็นผู้วาดภาพจากการออกแบบของรือเบินส์", "title": "อันโตน ฟัน ไดก์" }, { "docid": "245702#0", "text": "อาดัม เอ็ลส์ไฮเมอร์ (; 18 มีนาคม ค.ศ. 1578 – 11 ธันวาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรชาวเยอรมันที่ทำงานในกรุงโรม เอ็ลส์ไฮเมอร์เสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 32 ปี แต่ก็เป็นจิตรกรผู้มีอิทธิพลในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์ จิตรกรรมภูมิทัศน์ และจิตรกรรมตู้ เอ็ลส์ไฮเมอร์มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่น ๆ เช่น เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์, แร็มบรันต์, ดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก) เป็นต้น เอ็ลส์ไฮเมอร์เขียนภาพเพียงไม่กี่ภาพและมักจะเป็นภาพเล็กที่เขียนบนแผ่นทองแดง และเป็นผู้คิดค้นวิธีใช้แสงต่าง ๆ และการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์", "title": "อาดัม เอ็ลส์ไฮเมอร์" }, { "docid": "149695#2", "text": "ภาพเหมือนตนเองที่อาจจะเป็นภาพเหมือนของศิลปิน มักจะเขียนเป็นส่วนหนึ่งของงานชิ้นใหญ่ หรือภาพเหมือนหมู่ เชื่อกันว่าจิตรกรหลายคนวาดภาพเหมือนของคนบางคนหรือของตนเองผสานลงไปในภาพเขียนทางศาสนาหรือภาพเขียนประเภทอื่นที่มิได้จงใจจะให้เป็นภาพเหมือนของผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ การวาดลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะเป็นใบหน้าในบรรดาหมู่คน และมักจะอยู่ตรงมุมภาพ ภาพเขียนอีกประเภทหนึ่งที่นิยมสอดแทรกบุคคลร่วมสมัยและจิตรกรเองเข้าไปในภาพคือภาพประวัติศาสตร์ ที่ทำให้ภาพกลายเป็นทั้งภาพเหมือนและภาพประวัติศาสตร์ ทั้งเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และแร็มบรันต์เขียนภาพประเภทนี้ ที่ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ออกมาในรูปของภาพเขียนโดยยัน เดอ ไบร หรืองานภาพถ่ายของซินดี เชอร์แมน นอกจากการเขียนด้วยสีแล้วก็ยังมีการใช้การวาดเส้น และการพิมพ์ในการเขียนภาพเหมือนตนเองด้วย", "title": "ภาพเหมือนตนเอง" }, { "docid": "245707#4", "text": "ภาพเขียนหลายภาพเป็นงานเขียนที่ทำร่วมกับผู้อื่นโดยผู้อื่นเขียนคนในภาพ และยันเขียนภูมิทัศน์ งานชิ้นสำคัญที่ทำร่วมกับผู้อื่นคืองานที่เขียนภาพเล็กหลายภาพร่วมกับเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เช่นภาพ \"เวอร์ทัมนัสและโพโมนา\", \"แซเตอร์ชมนิมฟ์หลับ\" และ \"สวรรค์บนโลก\" ", "title": "ยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)" }, { "docid": "140813#4", "text": "รือเบินส์ร้องขอให้มารดาพาเขาออกไปจากราชสำนัก และแล้วในปี พ.ศ. 2134 เขาถูกส่งตัวไปศึกษากับจิตรกรภาพทิวทัศน์นามว่า โตบียัส เฟอร์ฮาคต์ (Tobias Verhaecht) หลังจากนั้นอีก 6 เดือน เขาก็ได้ไปทำงานอยู่กับศิลปินอีกคนหนึ่ง คือ อาดัม ฟัน โนร์ต (Adam van Noort) และใช้เวลา 4 ปีอยู่ในห้องปฏิบัติงานศิลปะที่ค่อนข้างจะไม่เรียบร้อยของศิลปินผู้นี้ แต่ก็สนุกสนานมากทีเดียว ครูคนที่ 3 ของเขาเคยเดินทางท่องเที่ยวมามาก และเป็นคนฉลาดหลักแหลมมาก ด้วยครูคนนี้มีนามว่า โอตโต ฟัน เฟน (Otto van Veen) ซึ่งรือเบินส์ก็ได้ทำงานในห้องปฏิบัติศิลปะของเขาเรื่อยมาจนกระทั่ง พ.ศ. 2143", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "232030#6", "text": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์มีอิทธิพลต่องานเขียนของยอร์ดานส์เป็นอันมาก ในบางโอกาสรือเบินส์ก็จะจ้างยอร์ดานส์ให้เขียนภาพร่างสำหรับภาพเขียนใหญ่ให้ หลังจากรือเบินส์เสียชีวิต ยอร์ดานส์ก็กลายเป็นจิตรกรผู้มีชื่อเสียงที่สุดของแอนต์เวิร์ป[12] และเช่นเดียวกับรือเบินส์ งานของยอร์ดานส์ใช้สีที่อุ่นและเป็นธรรมชาติ และเป็นผู้มีความสามารถในการใช้ค่าต่างแสง (chiaroscuro) และการเขียนภาพสว่างในความมืด (tenebrism) ยอร์ดานส์มีความสำเร็จพอประมาณกับการเขียนภาพเหมือน แต่ที่เด่นคือความสามารถในการดึงบุคลิกพื้นฐานของบุคคลในภาพให้เห็น งานเขียนเกี่ยวกับชาวบ้านและงานเขียนชิ้นใหญ่ ๆ ที่แสดงคำสอนทางจริยธรรมมีอิทธิพลต่อจิตรกรเช่นยัน สเตน ยาโกบ ยอร์ดานส์ไม่มีความสามารถพิเศษแต่มักจะเขียนภาพที่มีพื้นฐานมาจากสุภาษิตที่แสดงตัวแบบจากเบื้องหลังที่แตกต่างกันไปและมีอายุแตกต่างกันไปซึ่งนั่งร่วมกันที่โต๊ะในการฉลอง งานที่ชวนขันเหล่านี้มักจะมีบรรยากาศที่ออกไปทางหยาบเล็กน้อย[4] ตลอดชีวิตการเป็นจิตรกร ยอร์ดานส์ได้รับแรงบันดาลใจจากรือเบินส์และใช้แรงจูงใจของรือเบินส์ แต่งานของยอร์ดานส์แตกต่างออกไปตรงที่จะดูเป็นจริงมากกว่า มีตัวแบบในภาพแน่นกว่า และมักจะมีอารมณ์ขันหรือเป็นภาพแบบล้อเลียนมากกว่าแม้แต่ในภาพทางศาสนาหรือในตำนานเทพ[12] \"โพรมีเทียส\" ที่เขียนราว ค.ศ. 1640 เป็นตัวอย่างที่แสดงทั้งอิทธิพลที่ได้รับจากรือเบินส์ และจากฟรันส์ สไนเดอส์ (Frans Snyders) แม้ว่าเป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลมาจากงานที่ร่วมกับรือเบินส์ในภาพหัวข้อเดียวกัน (\"พันธนาการโพรมีเทียส\") ในราว ค.ศ. 1611-1612 แต่ \"โพรมีเทียส\" ของยอร์ดานส์ก็เป็นภาพที่ให้ความหวังมากกว่า", "title": "ยาโกบ ยอร์ดานส์" }, { "docid": "294813#0", "text": "โอตโต ฟัน เฟน () หรือ อ็อกตาวิอุส ไวนิอุส (; ราว ค.ศ. 1556 - 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1629) เป็นจิตรกรและนักวาดลายเส้นชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฟัน เฟนทำงานส่วนใหญ่ในบริเวณแอนต์เวิร์ปและบรัสเซลส์ และเป็นที่รู้จักกันว่ามีห้องเขียนภาพใหญ่โตในแอนต์เวิร์ปที่สร้างงานหนังสือประกอบภาพเอ็มเบล็ม (Emblem book) หลายเล่ม และเป็นอาจารย์ของเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ระหว่างปี ค.ศ. 1594/1595 ถึงปี ค.ศ. 1598 บทบาททางด้านความรู้เกี่ยวกับลัทธิมนุษยนิยมคลาสสิกมีอิทธิพลต่อมาในงานเขียนของรือเบินส์ ผู้ที่ต่อมาก็กลายเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในด้านเดียวกัน", "title": "โอตโต ฟัน เฟน" }, { "docid": "140813#11", "text": "หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2120 หมวดหมู่:จิตรกรชาวเฟลมิช หมวดหมู่:จิตรกรสมัยบาโรก หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 17", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#8", "text": "การสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับสภาเมืองแอนต์เวิร์ปของเขา, ข้าหลวงสเปนในบรัสเซลล์ และความมีเมตตาสุดนำรือเบินส์ไปในศูนย์กลางของอำนาจทางการเมือง สตูดิโอของเขากลายเป็นจุดศูนย์กลางของกิจกรรมทางการทูต โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการเกิดขึ้นของสงคราม 30 ปีใน พ.ศ. 2161 กษัตริย์แห่งสเปนพระราชทานตำแหน่งอันมีเกียรติแก่รือเบินส์ และระหว่างภารกิจทางการทูตครั้งหนึ่ง เขารับพระราชทานการแต่งตั้งเป็นอัศวินโดยพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "149695#13", "text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จิตรกรเฟลมิชและดัตช์เขียนภาพของตนเองมากกว่าจิตรกรในประเทศอื่นในยุโรป ในช่วงเวลานี้จิตรกรผู้มีชื่อเสียงก็จะมีฐานะทางสังคมดีพอที่จะต้องการที่จะมีภาพเขียนของตนเองเอาไว้เช่นเดียวกับผู้อยู่ฐานะเท่าเทียมกันในสังคม นอกจากเขียนภาพตนเองแล้วจิตรกรก็ยังอาจจะเขียนภาพของภรรยาและบุตรธิดา หรือญาติพี่น้องเช่นเดียวกับพฤติกรรมของชนชั้นกลางโดยทั่วไปในขณะนั้น อันโตนี ฟัน ไดก์ และ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ต่างก็เขียนภาพของตนเองเป็นจำนวนหลายภาพ โดยเฉพาะรือเบินส์ผู้นอกจากจะเขียนภาพของตนเองแล้วก็ยังเขียนภาพของครอบครัวด้วย", "title": "ภาพเหมือนตนเอง" }, { "docid": "240114#0", "text": "เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรชาวเฟลมิชคนสำคัญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะแห่งเบอร์ลินในประเทศเยอรมนี รือเบินส์เขียนภาพ \"เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา\" เสร็จในปี ค.ศ. 1620", "title": "เพอร์ซิอัสปล่อยแอนดรอมิดา" }, { "docid": "140813#10", "text": "At the exhibition Drawings by Peter Paul Rubens in the Metropolitan Museum of Art (MET) of New-York 115 drawings of Pieter-Paul Rubens were on display in April 2005. in Antwerp, Belgium is the former house of Rubens, now converted into a museum.", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#9", "text": "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#3", "text": "รือเบินส์เข้าโรงเรียนในนครแอนต์เวิร์ป และเรียนรู้ภาษาละตินและภาษากรีกด้วย ผู้เป็นมารดาต้องการให้เขาเป็นข้าราชสำนัก พอเขาอายุ 13 ปี เธอจึงส่งเขาไปเป็นมหาดเล็กในราชสำนักของเจ้าฟ้าหญิงใหญ่ ทรงพระนามว่า มาร์เกอริต เดอ ลีญ ชีวิตที่นี่ไม่มีอะไรน่าสนใจสำหรับหนูน้อยผู้นี้เลย (รือเบินส์พบว่า การเป็นเด็กมหาดเล็กรับใช้ในราชสำนักช่างเป็นชีวิตที่น่าเบื่อเสียจริง ๆ) เพราะเขาพร้อมที่จะแสดงสัญญาณแห่งอัจฉริยะทางการเขียนภาพให้ปรากฏอยู่แล้ว", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#7", "text": "ชีวิตของรือเบินส์น่าทึ่งและโลดแล่นอย่างมีพลังคล้ายองค์ประกอบภาพของเขา ในฤดูร้อนของ พ.ศ. 2152 เขาแต่งงานกับอีซาแบ็ลลา บรันต์ (Isabella Brant) ลูกสาวของผู้สูงศักดิ์แอนต์เวิร์ป และไม่นานเขาย้ายไปในบ้านหลังใหญ่ซึ่งในหลายปีต่อมาเขาขยายให้มีเป็นลักษณะราวกับพระราชวังด้วยห้องทำงานขนาดใหญ่ รือเบินส์ได้รับการแต่งตั้งเป็นจิตรกรในราชสำนักของอาร์ชดุ๊กอัลเบร็ชท์ ข้าหลวงสเปน แต่เขาได้รับระยะเวลาในสัญญาที่ให้เขาอยู่และทำงานในแอนต์เวิร์ปมากกว่าที่นั่งของรัฐบาลในบรัสเซลส์ หลังจากนั้นพ่อของเขาเป็นนายกเทศมนตรีแอนต์เวิร์ป เมืองที่ร่ำรวยสุดในยุโรป", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#5", "text": "แต่สำหรับพรสวรรค์ทางศิลปะที่ยิ่งใหญ่ของเขา แม้แต่แอนต์เวิร์ป (ซึ่งในขณะนั้นใหญ่กว่าลอนดอนหรือปารีส) ก็ยังเล็กเกินไป เขาเริ่มเดินทางไปอิตาลี ตอนนี้เขาศึกษา วาด และลอกทุกอย่างในศิลปะอิตาลีที่เขาสามารถเจอเป็นครั้งแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับทิเชียน", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "140813#6", "text": "ที่โรม ศิลปะบาโรกกำลังเกิดขึ้นในฐานะศิลปะเรอแนซ็องส์ครั้งที่สอง ขณะนั้นเป็นสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 รือเบินส์อยู่ในโนโรมเกือบสี่ปี เขาศึกษางานของมีเกลันเจโลในโบสถ์น้อยซิสทีน การศึกษากับราฟาเอลของเขาละเอียดไม่น้อยกว่ากัน รือเบินส์จากโรมในพ.ศ. 2151 และกลับไปแอนต์เวิร์ป ทันทีทันใดหลังการกลับของเขา เขาวาดการชื่นชมของแมไจสำหรับศาลาว่าการเมืองแอนต์เวิร์ป", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "4502#28", "text": "ฟลานเดอส์เป็นแหล่งกำเนิดของจิตรกรที่มีชื่อเสียงหลายยุคสมัย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 บริเวณยุโรปเหนือเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา จิตรกรชาวเฟลมิชคนสำคัญของยุคนี้ประกอบไปด้วย ยัน ฟัน ไอก์, โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน และปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟลานเดอส์มีจิตรกรที่มีชื่อเสียงมากของยุคคือ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์[19]", "title": "ประเทศเบลเยียม" }, { "docid": "245697#0", "text": "ดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก) () หรือ ดาฟิด เตอเนียร์สที่ 2 (; 15 ธันวาคม ค.ศ. 1610 - 25 เมษายน ค.ศ. 1690) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชผู้มีความสำคัญเกือบเทียบเท่าเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ ของสมัยบาโรกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอเนียร์สมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน จิตรกรรมภูมิทัศน์ จิตรกรรมห้องแสดงภาพและงานสะสม และจิตรกรรมตู้", "title": "ดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก)" }, { "docid": "221141#3", "text": "หลังจากการล้อมเมืองแอนต์เวิร์ป (Siege of Antwerp (1584-1585) ) บริเวณทางใต้ของเนเธอร์แลนด์ (ฟลานเดอส์) ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสเปนและแยกตัวจากสาธารณรัฐดัตช์ แม้ว่าจิตรกรหลายคนจะหนีสงครามศาสนาและย้ายจากเนเธอร์แลนด์ใต้ไปยังสาธารณรัฐดัตช์ จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจึงรุ่งเรืองโดยเฉพาะของตระกูลการเขียนแบบแอนต์เวิร์ประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่นำโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์, อันโตนี ฟัน ไดก์ และยาโกบ ยอร์ดานส์", "title": "จิตรกรรมเฟลมิช" }, { "docid": "291062#7", "text": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (ค.ศ. 1577-ค.ศ. 1640) เป็นจิตรกรผู้มีอิทธิพลเป็นอันมากทางตอนเหนือของยุโรป ผู้ถือกันว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญของยุคบาโรกของเฟลมิชที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างลักษณะการเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของยุค และการใช้จักษุศิลป์ในการสื่อความหมายของงานจิตรกรรม รือเบินส์เป็นผู้ดูแลการสร้างงาน และสร้างงานต่าง ๆ ด้วยตนเองด้วยกันกว่าสามพันชิ้นที่รวมทั้งงานภาพพิมพ์แกะไม้, ภาพพิมพ์แกะโลหะ และจิตรกรรมที่เขียนบนวัสดุหลายอย่าง ประเภทของงานที่เขียนก็มีทั้งจิตรกรรมประวัติศาสตร์, จิตรกรรมศาสนา, จิตรกรรมอุปมานิทัศน์, จิตรกรรมภูมิทัศน์, ฉากแท่นบูชา และภาพเหมือน รือเบินส์มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักโดยเฉพาะในการเขียนร่างคนที่งดงามและเครื่องตกแต่งร่างกายที่ทำจากผ้าเนื้อดีมีสีสันอันพรายตา และเป็นภาพที่เขียนจากหัวเรื่องที่มาจากทั้งคริสต์ศาสนาและวัฒนธรรมคลาสสิก การศึกษางานคลาสสิกของกรีกและโรมันเป็นภาษาละตินของรือเบินส์ในระยะแรกมามีอิทธิพลต่ออาชีพการเป็นจิตรกร ที่ทำให้เป็นจิตรกรที่แตกต่างจากจิตรกรผู้อื่นในสมัยเดียวกัน เมื่อเริ่มอาชีพการเป็นจิตรกรใหม่ ๆ รือเบินส์เข้าศึกษากับจิตรกรเฟลมิชเช่นโอตโต ฟัน เฟน, แต่อิทธิพลต่องานของรือเบินส์มาจากช่วงเวลาที่ไปพำนักอยู่ในอิตาลีเมื่อไปศึกษาประติมากรรมคลาสสิกและงานของมีเกลันเจโล, ราฟาเอล, การาวัจโจ, ทิเชียน และปาโอโล เวโรเนเซ ในช่วงเวลานั้นรือเบินส์ก็เริ่มก๊อบปี้งานประติมากรรมคลาสสิก เช่น \"เลอาโคอันและบุตร\" และงานวาดที่เขียนโดยศิลปินคนอื่น ๆ นอกจากนั้นรือเบินส์ก็ยังเป็นนักสะสมงานศิลปะทั้งงานดั้งเดิมและงานใหม่ที่ก๊อบปี้งานคลาสสิก (reproduction) และไม่เพียงแต่จะสะสมงานของศิลปินชั้นครูของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงงานของศิลปินร่วมสมัยด้วย รือเบินส์เป็นเจ้าของงานพิมพ์ของศิลปินร่วมสมัยอาเดรียน เบราเวอร์ มากกว่างานของศิลปินอื่น ๆ ที่สะสม ซึ่งอาจจะสันนิษฐานได้ว่ามาจากความห่วงใยในอนาคตของเบราเวอร์มากกว่าที่จะมาจากประโยชน์ในการสะสมงานของเบราเวอร์ก็เป็นได้ การสะสมงานศิลปะและอิทธิพลของศิลปินร่วมสมัยผู้ที่บางคนกลายมาเป็นเพื่อนตลอดชีพของรือเบินส์มีอิทธิพลต่องานเขียนของรือเบินส์จนตลอดชีวิต ", "title": "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส" }, { "docid": "291062#0", "text": "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส () เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดา", "title": "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส" }, { "docid": "140813#1", "text": "รือเบินส์เกิดในปี พ.ศ. 2120 ที่เมืองซีเกิน (Siegen) ใกล้กับโคโลญ ตระกูลของเขามาจากนครแอนต์เวิร์ป ซึ่งอยู่ในอาณาบริเวณของประเทศที่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลซึ่งในปัจจุบันนี้เราเรียกว่าประเทศเบลเยียม", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "220160#2", "text": "พระเจ้าลุดวิกที่ 1 แห่งบาวาเรีย มีพระราชโองการให้เลโอ ฟ็อน เคล็นเซอ (Leo von Klenze) สร้างสิ่งก่อสร้างใหม่สำหรับเป็นที่เก็บงานสะสมศิลปะของราชวงศ์วิทเทิลส์บัค (Wittelsbach) ในปี ค.ศ. 1826 พิพิธภัณฑ์ออกแบบเพื่อที่จะแสดงงาน \"การตัดสินครั้งสุดท้าย\" โดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ ซึ่งเป็นงานเขียนบนผืนผ้าใบที่ใหญ่ที่สุดที่เคยเขียนกันมา สิ่งก่อสร้างถือกันว่าเป็นสิ่งก่อสร้างที่สมัยใหม่ในเวลานั้นและเป็นตัวอย่างของการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ในเยอรมนีต่อมาหลังจากที่เปิดในปี ค.ศ. 1836 และเป็นแบบอย่างแก่หอศิลป์ใหม่ ๆ ในกรุงโรม, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, บรัสเซลส์ และคัสเซิล", "title": "อัลเทอพีนาโคเทค" }, { "docid": "140813#2", "text": "ในสมัยนั้นประเทศฮอลแลนด์และประเทศเบลเยียมมีฐานะเป็นแว่นแคว้นรวมอยู่ในประเทศเดียวกัน โดยอยู่ภายใต้การปกครองของชาวสเปนและประชาชนทั้งหลายต่างก็กำลังจะเริ่มก่อกบฏต่อต้านผู้กดขี่พวกเขา บิดาของรือเบินส์ต้องหลบหนีจากสเปนไปยังประเทศเยอรมนี และที่นั้นในเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งที่มีชื่อว่าเมืองซีเกิน ก็กลายเป็นที่กำเนิดของรือเบินส์ พอเขาอายุ 9 ปี ก็มาอยู่เมืองโคโลญกับบิดา มารดา และฟีลิปผู้เป็นพี่ชาย ใน พ.ศ. 2130 บิดาของเขาถึงแก่กรรมลง มารดาของเขาจึงส่งบุตรคนน้องนี้กลับไปนครแอนต์เวิร์ป", "title": "เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์" }, { "docid": "220531#2", "text": "เช่นเดียวกับจิตรกรเนเธอร์แลนด์ในขณะนั้นที่ตื่นเต้นกับการการวิวัฒนาการทางจิตรกรรมในแบบอิตาลี ฟัน โฮนต์ฮอสต์เดินทางไปอิตาลีในปี ค.ศ. 1616 และไปเลียนแบบการเขียนแบบธรรมชาติและลักษณะความแปลกประหลาด (eccentricities) ของการาวัจโจ และเดินทางกลับเนเธอร์แลนด์ราวปี ค.ศ. 1620 หลังจากได้รับการฝึกอย่างดีในกรุงโรม เมื่อกลับมาถึงเนเธอร์แลนด์ ฟัน โฮนต์ฮอสต์, ดีร์ก ฟัน บาบือเริน และแฮ็นดริก เตอร์บรึคเคิน ก็ริเริ่มกลุ่มการเขียนแบบการาวัจโจที่ปัจจุบันเรียกกันว่า \"การเขียนภาพแบบการาวัจโจ\" ในยูเทรกต์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1623 ฟัน โฮนต์ฮอสต์ก็ได้เป็นประธานของสมาคมจิตรกรของยูเทรกต์ที่ซึ่งโฮนต์ฮอสต์แต่งงานกับลูกพี่ลูกน้องกัน โฮนต์ฮอสต์มีชื่อเสียงแพร่หลายจนเซอร์ดัดลีย์ คาร์ลตันผู้เป็นทูตอังกฤษในเดอะเฮกขณะนั้น แนะนำงานเขียนของฟัน โฮนต์ฮอสต์แก่เอิร์ลแห่งแอรันเดลและลอร์ดดอร์ชิสเตอร์ ในปี ค.ศ. 1626 ฟัน โฮนต์ฮอสต์เขียนภาพเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เป็นชายผู้ซื่อตรงที่ถูกเสาะหาและพบโดยไดออจินีส", "title": "เคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์" } ]
2021
ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "205316#0", "text": "ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์ หรือ ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ () เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ลำดับที่ 33 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 จนถึงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 ทางสถานีทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ โดยออกอากาศทั้งหมด 49 ตอน , ตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์อีก 3 ตอน คือ ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ ฉบับจอเงิน , ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ ฉบับจอเงิน BANG! ฉายวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2010 และ เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ VS ชินเคนเจอร์ เอพพิค ON จอเงิน ตอนพิเศษทางโอวีเอ อีก1ตอน คือ คาเอรุเทคิตะ ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ โทคุเบทสึบาคุ (การกลับมาของซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ ฉบับพิเศษ)ในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 2010 และ รับเชิญในมาสค์ไรเดอร์ดีเคด ในตอนที่24 และ 25", "title": "ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์" } ]
[ { "docid": "205316#1", "text": "ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์ในการจัดจำหน่าย ชินเคนเจอร(ฉบับทีวีซีรีส์) คือ โรส มีเดียแอนด์เอนเตอร์เทนเมนต์ โดยใช้ชื่อว่า ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์ และออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในรายการแก๊งการ์ตูนทุกวันอาทิตย์เวลา7:10-7:40 น. เริ่มวันอาทิตย์ที่18 กันยายน 2554 - 26 สิงหาคม 2555 ปัจจุบันเปลี่ยนเวลาออกอากาศ เป็นทุกวันอาทิตย์ เวลา 6:15-6:45 น.\nในอดีตกาลได้มีปิศาจคอยทำร้ายมวลมนุษย์เพื่อต้องการครองโลกนาม เงโดวชูว พวกเขาปรากฏตัวจากอีกภพหนึ่งเพื่อแสวงหาพลังงงานและคอยกัดกินมนุษย์ จึงเป็นเหตุให้เกิดกลุ่มผู้พิทักษ์ขึ้นมา โดยรวบรวมนักดาบฝีมือดีจากตระกูลต่างๆของเหล่าซามูไรขึ้นมา นาม ชินเคนเจอร์ เพื่อต่อกรและขับไล่ปิศาจให้พ้นจากโลก", "title": "ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์" }, { "docid": "286016#0", "text": "ขบวนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ () เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ลำดับที่ 34 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 จนถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 ทางสถานีทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ มีตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์ทั้งหมด 4 ตอน ได้แก่ ขบวนการ ซามูไร ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ THE MOVIE BANG! ฉายวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2010 , ขบวนการ เทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์ EPIC ON THE MOVIE (เอพพิค ออน เดอะ มูฟวี่) , เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ VS ชินเคนเจอร์ เอพพิค ON จอเงิน ฉายวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2011 และ โกไคเจอร์ โกเซย์เจอร์ ซูเปอร์เซนไท 199 ฮีโร่ ไดเคซเซน(ゴーカイジャー ゴセイジャー スーパー戦隊199ヒーロー 大決戦) ตอนพิเศษทางโอวีเอ อีก1ตอน คือ คาเอรุเทคิตะ เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ last epic (การกลับมาอีกครั้งของ เทนโซ เซนไท โกเซย์เจอร์ last epic)", "title": "ขบวนการเทพสวรรค์ โกเซย์เจอร์" }, { "docid": "64161#0", "text": "จูเคน เซนไท เกคิเรนเจอร์ () เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 31 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. รวมทั้งสิ้น 49 ตอนและมีตอนพิเศษอยู่ 3 ตอนคือ เกคิเรนเจอร์ เดอะมูวี่ NeNe! HoHo! ตะลุยเมืองฮ่องกง และ เกคิเรนจอร์ VS โบเคนเจอร์ และ โกออนเจอร์ ปะทะ เกคิเรนเจอร์", "title": "ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์" }, { "docid": "134766#0", "text": "ขบวนการเอนจิน โกออนเจอร์ หรือ เอนจิน เซนไท โกออนเจอร์ () เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 32 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30-8.00 น. และจบลงเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 โดยออกอากาศทั้งหมด 50 ตอน และมีภาพยนตร์ตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์มี 3 ตอนคือ ตอน BUNBUN BANBAN GekijoBANG ฉายเมื่อวันที่ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2008 , เอนจิน เซนไท โกออนเจอร์ VS เกคิเรนเจอร์ ฉายเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2009 และ ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ ฉบับจอเงิน BANG! ฉายวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2010", "title": "ขบวนการเอนจิน โกออนเจอร์" }, { "docid": "205316#23", "text": "เกิดจากการรวมร่างของไดไค ชินเคนโอ , อิกะเทนคูบัสเตอร์ และ โมกิว ไดโอ จนเกิดหุ่นยนต์ร่างสุดยอดขึ้นมา โดย\nซามูไรฮาโอ ขับเคลื่อนด้วยล้อเกวียนที่ส่วนหลังของซามูไร ฮาโอ ซึ่งส่วนล้อเกวียนจะทำหน้าที่เป็นตัวห้ามล้อเมื่อถูกโจมตีและกระเด็นถอยหลัง ทำให้ลดอัตารความเสียหายของสภาพแวดล้อมโดยรอบที่เกิดจากการถูกโจมตี", "title": "ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์" }, { "docid": "205316#21", "text": "เกิดจากการรวมร่างของชินเคนโอ และ ไดไคโอ โดย ชิชิ โอริงามิ เป็นส่วนลำตัวช่วงล่างตั้งแต่สะโพกช่วงล่างถึงต้นขา ,ริว โอริงามิ เป็นขาซ้าย ,คุมะ โอริงามิ เป็นขาขวา ,ซารุ โอริงามิ เป็นฝักดาบด้านซ้าย (เชื่อมต่อกับส่วนเอวและเกราะหลังด้านซ้าย),คาเมะ โอริงามิ เป็นฝักดาบด้านขวา (เชื่อมต่อกับส่วนเอวและเกราะหลังด้านขวา) และ ไดไคโอ เป็นส่วนหัวจนถึงสะโพกช่วงบน กระโปรง เกราะหลังช่วงบน แขนทั้ง 2 ข้าง หัวเข่า และ เกราะขาทั้ง 2 ข้าง", "title": "ขบวนการซามูไร ชินเคนเจอร์" }, { "docid": "473979#0", "text": "ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ ฉบับจอเงิน BANG!! () เป็นภาพยนตร์ซีรีส์ซูเปอร์เซนไทผลิตโดยโตเอะ คัมปะนี โดยได้นำซีรีส์ ชินเคนเจอร์และโกออนเจอร์มาทำเป็นภาพยนตร์ เริ่มออกฉายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 2010", "title": "ซามูไร เซนไท ชินเคนเจอร์ VS โกออนเจอร์ ฉบับจอเงิน BANG!!" }, { "docid": "497806#0", "text": "ขบวนการไดโนเสาร์ไฟฟ้า เคียวริวเจอร์ หรือ จูเดน เซนไท เคียวริวเจอร์ () เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ลำดับที่ 37 เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013 ทางสถานีทีวีอาซาฮี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7.30 - 8.00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ มีตอนพิเศษ 4 ตอน ได้แก่ โทคุเมย์ เซนไท โกบัสเตอร์ vs ไคโซคุ เซนไท โกไคเจอร์ THE MOVIE (特命戦隊ゴーバスターズVS海賊戦隊ゴーカイジャー THE MOVIE) , มาสค์ไรเดอร์ x ซูเปอร์เซนไท x ตำรวจอวกาศ ซูเปอร์ฮีโร่ไทเซน Z (仮面ライダー×スーパー戦隊×宇宙刑事 スーパーヒーロー大戦Z) , จูเดน เซนไท เคียวริวเจอร์ กาบุรินโชว OF มิวสิก , จูเดน เซนไท เคียวริวเจอร์ vs โกบัสเตอร์ส ศึกใหญ่ไดโนเสาร์ เพื่อนกันตลอดไป (劇場版-キョウリュウジャーvsゴーバスターズ-恐竜大作戦-さらば永遠の友よ) และ การกลับมาของ จูเดน เซนไท เคียวริวเจอร์ 100 Years After", "title": "ขบวนการไดโนเสาร์ไฟฟ้า เคียวริวเจอร์" }, { "docid": "69152#0", "text": "ไทโย เซนไท ซันวัลคัน () หรือ ขบวนการสุริยะ ซันวัลคัน เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 5 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 18.00-18.30 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ถึง 30 มกราคม พ.ศ. 2525 รวมความยาวทั้งสิ้น 50 ตอน และมีตอนพิเศษสำหรับออกฉายในโรงภาพยนตร์อีก 1 ตอน (ออกฉาย 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2524)", "title": "ขบวนการสุริยะ ซันวัลคัน" } ]
2183
นภัทร อินทร์ใจเอื้อ เข้าวงการบันเทิงครั้งแรกเมื่อใด?
[ { "docid": "306210#6", "text": "สำหรับเส้นทางการเข้าสู่วงการบันเทิงของกันนั้น เมื่อปี พ.ศ. 2552 กันได้เข้าแข่งขันในรายการ เดอะสตาร์ 5 มาก่อน ด้วยแนวเพลงลูกทุ่ง-ลูกกรุง แต่ไม่ผ่าน แม้จะเสียใจแต่กันก็ไม่ท้อถอย กันได้ฝึกฝนตนเองทางด้านการร้องเพลงจากครูสอนร้องเพลงชื่อดัง นนทิยา จิวบางป่า ซึ่งได้รับคำแนะนำและการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก ศุภชัย ศรีวิจิตร ผู้จัดการดาราชื่อดัง โดยฝึกหัดร้องเพลงในแนวเพลงป๊อบ จนในปี 2553 จึงได้มาประกวดอีกครั้งในรายการเดอะสตาร์ 6 และเป็น<i data-parsoid='{\"dsr\":[4506,4520,2,2]}'>ผู้ชนะเลิศ", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" } ]
[ { "docid": "122640#232", "text": "บ้านนี้มีรัก ศิลปิน พีทูวอร์ชิพ (P2Warship) ตอนที่ 1-238 และ 246-525 กันเอง ศิลปิน นภัทร อินทร์ใจเอื้อ ตอนที่ 239-245", "title": "บ้านนี้มีรัก" }, { "docid": "306210#44", "text": "2556 สุดยอดสารคดีแห่งจินตนาการบันดาลใจสู่ความฝันพลิกโลก กับโครงการ I Magic The Project เรื่อง \"Great Barrier Reef\" (ให้เสียงภาษาไทย) 2558 ช่อง ONE ถวายพระพรในหลวง ให้เสียงโดย กัน นภัทร", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#42", "text": "| rowspan = \"1\" align=\"center\"| 2553 ||align=\"center\"| บ้านนี้ที่บางรัก ||align=\"center\"| กัน The Star (รับเชิญ) |- | rowspan = \"1\" align=\"center\"| 2555 - 2557 ||align=\"center\"| ลูกพี่ลูกน้อง ||align=\"center\"|ปัณณ์ วงศ์ทวิภาค |-", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "146940#10", "text": "แชมป์ยกสยาม - ศุภักษร ไชยมงคล และ ชาลิสา บุญครองทรัพย์, กรรชัย กำเนิดพลอย และ เมย์ เฟื่องอารมย์, นภัทร อินทร์ใจเอื้อ และ วาโย อัศวรุ่งเรือง", "title": "ยกสยาม" }, { "docid": "306210#29", "text": "วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2561 บอย โกสิยพงษ์ ได้ใช้เวทีคอนเสิร์ต BOYdKO50th # 1 RHYTHM & Boyd The Concert ประกาศว่า นภัทรได้ย้ายสังกัดเพลงจากค่ายเอ็กแซ็กท์มิวสิคของ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มาอยู่ค่ายเลิฟอีสตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์เป็นต้นไป สร้างความตกตะลึงและความน่าสงสัยให้กับผู้เข้าร่วมคอนเสิร์ตและแฟนเพลงของนภัทรอย่างมากเนื่องจากว่าสัญญาเดิมที่ทำไว้กับเอ็กแซ็กท์ยังไม่หมดลง รวมถึงนภัทรยังมีรายการที่ออกอากาศอยู่ในช่องวัน และละครที่รอออกอากาศอีกไม่น้อย ภายหลังนภัทรได้ให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวบันเทิงว่า ตนตัดสินใจย้ายค่ายเพลงเพราะเชื่อฝีมือและประสบการณ์ของคุณบอย โกสิยพงษ์ แต่ตนก็ยังคงทำงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่งานเพลงร่วมกับเอ็กแซ็กท์อยู่ตามสัญญาที่มีอยู่เดิม เท่ากับว่านภัทรถือสัญญาทั้งหมดสองสัญญา คือสัญญางานแสดงกับเอ็กแซ็กท์ และสัญญางานเพลงกับเลิฟอีส", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "684034#0", "text": "\"พิมพ์ไว้ในใจ\" เป็นซิงเกิลของ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ หรือ กัน เดอะสตาร์ นักร้องจากเวทีเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6 เป็นเพลงแรกที่นักร้อง นภัทร อินทร์ใจเอื้อ ได้ประพันธ์เนื้อร้องและแต่งทำนองด้วยตนเองเป็นครั้งแรก และเรียบเรียงโดย พณวรรธน์ พงศ์ภักดีบริบาล ออกจำหน่ายในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555", "title": "พิมพ์ไว้ในใจ" }, { "docid": "306210#0", "text": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (ชื่อเดิม: ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ; ชื่อเล่น: กัน เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6(2553) และเป็น 1 ใน 3 คนของแก๊งอสรพิษซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันในช่วงแข่งขันรายการเดอะสตาร์และยังคงคบหาสนิทสนมกันจนมาถึงปัจจุบัน อันประกอบไปด้วย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช, ได้รับรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยมจากผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา\"เรือนแพ\"(2554), รับบทคุณเปรม(วัยหนุ่ม) ในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล(2554-2555/2557/2560), รับบทพัดใน ลมหายใจ เดอะมิวสิคัล(2559), ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ แผลเก่า(2557), คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชาย ปี 2558, รางวัล \"ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่\" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2558 คัดเลือกโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชายปี 2559 และรางวัล เพลงประกอบละครยอดนิยม ขวัญใจมหาชน (เพลง คนไม่สำคัญ ประกอบละครบัลลังก์เมฆ) Maya Awards 2559", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#16", "text": "และในปี 2560 ทางซีเนริโอ ได้นำกลับมาแสดงใหม่ในช่วงเดือนสิงหาคม เริ่มแสดง วันที่ 8 สิงหาคม 2560 ถึง 10 ธันวาคม 2560 รวม 63 รอบ (โดยไม่รวมรอบ Gala)", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#20", "text": "22 กรกฎาคม 2557 ภาพยนตร์อมตะเรื่อง \"แผลเก่า\" ของผู้กำกับ\"หม่อมน้อย - หม่อมหลวง พันธุ์เทวนพ เทวกุล\"ได้ \"กัน - นภัทร อินทร์ใจเอื้อ\" มาถ่ายทอดบทเพลงอมตะของภาพยนตร์เรื่องนี้ในเพลง \"เคียงเรียม\" \"แสนแสบ\" \"สั่งเรียม\" และ \"ลำนำแผลเก่า\"", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "397970#22", "text": "ในวันประกาศผล จะมีผู้เข้าแข่งขันเดอะสตาร์ในปีที่ผ่านมา ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนขึ้นมาร้องเพลงในช่วงที่ 2 ของรายการ ซึ่งในสัปดาห์นี้คือ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (กัน) ได้มาร้องเพลง พิมพ์ไว้ในใจ ซึ่งเป็นเพลงที่กันแต่งเอง และผู้ที่ไม่ได้ไปต่อในสัปดาห์นี้คือ อติรุจ กิตติพัฒนะ (แคน) ผู้เข้าแข่งขันหมายเลย 4 อำลาด้วยเพลง มีแต่คิดถึง (ธงไชย แมคอินไตย์) ", "title": "เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8" }, { "docid": "306210#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2552 กันได้เข้าประกวดร้องเพลงในรายการ เดอะสตาร์ 5 ในชื่อเดิม คือ \"ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ\" แต่ตกรอบตัวแทนภาค จากนั้นได้ทำศัลยกรรมใบหน้าบางส่วน[1] และเปลี่ยนชื่อเป็น \"นภัทร\" หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2553 กันได้เข้าประกวดร้องเพลงในรายการ เดอะสตาร์ 6 และได้ผ่านเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย โดยเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน กันได้คว้าตำแหน่งผู้ชนะเลิศไปครองด้วยเปอร์เซ็นต์ของคะแนนรวมทั้งหมด 61.12%[2][3][4][5][6] [7] [8] นับเป็นก้าวแรกในการเข้าสู่วงการบันเทิงของเขา", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "376550#2", "text": "ครั้งล่าสุด ในปี พ.ศ. 2554 กำกับการแสดงโดย สันต์ ศรีแก้วหล่อ นำแสดงโดย ยุกต์ ส่งไพศาล, ภาคิน คำวิลัยศักดิ์, นภัทร อินทร์ใจเอื้อ, บุษกร ตันติภนา ", "title": "เรือนแพ (ละครโทรทัศน์)" }, { "docid": "306210#24", "text": "25 พ.ค. 2559 ซึ่งในระหว่างที่ซ้อมละครเวทีเรื่องนี้ กันได้รับบาดเจ็บจากการเตะฟุตบอลแล้วเกิดอุบัติเหตุเอ็นข้อเท้าฉีก ต้องใส่เฝือกอยู่ประมาณ 1 เดือน[13]", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "487782#2", "text": "เข้าสู่วงการด้วยการชนะการประกวดประเภทเพลงไทย-สากล จากเวที \"KPN Junior Award Singing Contest 2000\" (ปีเดียวกับ กัน-นภัทร อินทร์ใจเอื้อ และ พลอย ลิตเติ๊ลว๊อยซ์) หลังจากนั้นก็ได้เข้ามาเซนต์สัญญาเป็นศิลปินค่ายแกรมมี่ มีผลงานถึง 4 อัลบั้มคือ PLAY TIME 1-2 ฯลฯ", "title": "เปี่ยมปีติ หัถกิจโกศล" }, { "docid": "306210#43", "text": "2554 เมืองไทยประกันชีวิต ช็อป ชิม ชิลล์ ร่วมกับ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช 2557 AIS Calling Melody รักกันสนั่นเรือ ร่วมกับ คุณแม่วรรณา อินทร์ใจเอื้อ 2559 TVC วันต่อต้านยาเสพติดโลก 2559 \"ประชารัฐร่วมใจ ปลอดภัยยาเสพติด\" 2561 AIS Calling Melody สุดเลิฟเสิร์ฟรักกับกัน & ริท ร่วมกับ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช 2561 Sizzler Teriyaki Set ร่วมกับ ภาคิน คำวิลัยศักดิ์", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "684358#1", "text": "เนื้อหาพูดถึงมุมมองความรักดีๆ แม้เวลาจะผ่านไปนานเพียงใด ก็ยังมีใครสักคนอยู่ข้างคุณเสมอ ได้", "title": "กาลเวลา (เพลงนภัทร อินทร์ใจเอื้อ)" }, { "docid": "306210#11", "text": "ละครเรื่องเรือนแพออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เป็นผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา มีความยาว 30 ตอน กำกับการแสดงโดย สันต์ ศรีแก้วหล่อ เป็นเรื่องราวโศกนาฏกรรมของเพื่อนรัก ที่สุดท้ายมิตรภาพ ความรัก และความผูกพันของเพื่อนต้องแตกหักลงในที่สุด ซึ่งแสดงร่วมกับ ภาคิน คำวิลัยศักดิ์, ยุกต์ ส่งไพศาล และบุษกร ตันติภนา ซึ่งกันได้ร้องเพลงเรือนแพ เพลงอมตะประกอบละครเรือนแพด้วย ละครเรื่องนี้ถือว่าประสบความสำเร็จในด้านรางวัลเพราะได้รับรางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 ประจำปี 2554 จำนวน 2 รางวัล คือรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยม (นภัทร อินทร์ใจเอื้อ) และรางวัล มณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ละครดีเด่นยอดนิยม (เรือนแพ) และส่งให้ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ คว้ารางวัลนักแสดงนำชายดีเด่น จากเวทีรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26 อีกด้วย", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "684341#0", "text": "\"ครึ่งใจ\" เป็นซิงเกิลของ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ หรือ กัน เดอะสตาร์ นักร้องจากเวทีเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6 ประพันธ์เนื้อร้องโดย วรัชยา พรหมสถิต แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย จิตรกร มงคลธรรม ออกจำหน่ายในวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556", "title": "ครึ่งใจ" }, { "docid": "306210#31", "text": "เกี่ยวกับการถ่ายภาพ กัน นภัทร เผยว่าช่วงหลังชอบถ่ายรูป เพราะอยากลองกล้อง และได้ใช้เทคนิคใหม่ๆ ในการถ่าย เลยไปถ่ายตามสถานที่ต่างๆ ล่าสุดเพิ่งไปเที่ยวเขาค้อกับพี่สาวและน้องชาย ก็ได้ลองถ่ายมุมใหม่ๆ วิวสวยๆ ก็ไม่ได้จำเพาะเจาะจงนางแบบ นายแบบ ถ่ายใครก็ได้ แต่ถ้ามีคนมาจ้างจ่ายตังให้เป็นช่างภาพจริงจัง คงไม่รับถ่าย เพราะไม่ได้ฝีมือดีอะไรขนาดนั้น อยากทำเป็นงานอดิเรกมากกว่า", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#26", "text": "วันที่ 28 ก.ย.-2 ต.ค. 2559 นภัทรได้รับเกียรติจาก จ. กิฟุ ประเทศญี่ปุ่น ให้เป็นตัวแทนประชาสัมพันธ์จังหวัด โดยเดินทางไปสัมผัสบรรยากาศ ศิลปวัฒนธรรม สถานที่ท่องเที่ยวทางมรดกโลก อาหารญี่ปุ่น และกิจกรรมต่าง ๆเช่น เก็บแอปเปิ้ลที่ฟาร์ม ไหว้พระ ชมเทศกาลโคมไฟกระดาษที่ประทับใจและอบอุ่น ชมศิลปะท้องถิ่นต่างๆ ชมวิวธรรมชาติและสัมผัสวิถีชีวิตที่เรียบง่าย", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#14", "text": "ระหว่างช่วงเปิดการแสดง กันได้ล้มป่วยเป็นลำไส้อักเสบ จนอาเจียนระหว่างเล่น ในช่วงเช้าของวันพุธซึ่งเป็นวันทำการแสดง[10]", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "485274#16", "text": "ในวันประกาศผล จะมีผู้เข้าแข่งขันเดอะสตาร์ในปีที่ผ่านมา ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนขึ้นมาร้องเพลงในช่วงที่ 2 ของรายการ ซึ่งในสัปดาห์นี้คือ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (กัน) ได้มาร้องเพลง คำสัญญา ในสัปดาห์นี้ไม่มีใครต้องออกจากการแข่งขัน เนื่องจากเกิดเหตุขัดข้องทางเทคนิคในโชว์ของบูรณ์ ทางรายการจึงประกาศให้ผู้เข้าแข่งขันทุกคนได้ไปต่อ ในช่วงท้ายรายการ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (กัน) จึงมาร้องเพลง หนึ่งในพันล้าน แทนการร้องเพลงอำลาของผู้ที่ไม่ได้ไปต่อ", "title": "เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 9" }, { "docid": "684358#0", "text": "\"กาลเวลา\" เป็นซิงเกิลของ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ หรือ กัน เดอะสตาร์ นักร้องจากเวทีเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6 ประพันธ์เนื้อร้องและแต่งทำนองโดย พณวรรธน์ พงศ์ภักดีบริบาล และเรียบเรียงโดย ศรายุทธ แสงชุมพล ออกจำหน่ายในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2557 เพลงนี้ยังถูกรวมในอัลบั้มของ \"10 Years Of Love บทเพลงรักจากเดอะสตาร์\"", "title": "กาลเวลา (เพลงนภัทร อินทร์ใจเอื้อ)" }, { "docid": "306210#28", "text": "รายการ 4 โพดำ ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 21.20 - 23.00 น. รูปแบบรายการเป็นการเล่นละครร่วมกับแขกรับเชิญโดยจะเน้นให้กันเป็นพระเอก แก้มเป็นนางเอก ตั้มและโดมเป็นตัวตลก ส่วนแขกรับเชิญเป็นบทบาทสมทบในรายการ", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#1", "text": "กันเกิดเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2533 จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนกลางของนายชำนาญและนางวรรณา อินทร์ใจเอื้อ กันมีพี่สาวหนึ่งคนและน้องชายหนึ่งคน", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#47", "text": "พ.ศ. 2558 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้น<i data-parsoid='{\"dsr\":[46517,46544,2,2]}'>เหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์ (ร.ง.ภ.)[39]", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#30", "text": "กัน นภัทรชอบถ่ายภาพ ดูหนัง อ่านหนังสือ ซ้อมดนตรี ร้องเพลง เขียนเพลง ท่องเที่ยวในสถานที่แนวธรรมชาติ สะสมโมเดลและรองเท้าฟุตบอล ดูแลยายที่ชรา ทำบุญและช่วยเหลือสังคม", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#8", "text": "หลังจากรายการเดอะสตาร์ 6 จบลง ชื่อของ นภัทร อินทร์ใจเอื้อ ถูกตีพิมพ์ลงบนสื่อสิ่งพิมพ์หลายฉบับด้วยกัน กันได้ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ สื่อนิตยสารต่าง ๆ อย่างมากมาย นอกจากนี้ยังได้ถ่ายแบบลงนิตยสารหลายเล่มด้วยกัน เช่น สุดสัปดาห์ OHO (English: OHO) ไฮ (English: Hi) พลอยแกมเพชร เปรียว ผู้หญิง ขวัญเรือน กุลสตรี โคเรียน ซีรีส์ แคส (English: Kazz) วอลลุ่ม (English: Volume) เธอกับฉัน เป็นต้น", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" }, { "docid": "306210#23", "text": "ต่อคำถามที่ว่าอยู่วงการมา 6 ปี เล่นละครเวทีมา 3 เรื่องรู้สึกยังไงกับศาสตร์ละครเวที เขากล่าวว่า เขาเล่นละครเวทีมา 3 เรื่อง แต่ 4 ครั้ง คือ สี่แผ่นดิน 2 เวอร์ชัน มิสไซง่อน และมาเรื่องนี้ อย่างตอนสี่แผ่นดิน 2 เวอร์ชัน เล่นรวมกันประมาณ 155 รอบ เพราะเวอร์ชันแรก เล่นเกิน 100 รอบ สำหรับผมรู้สึกว่า เสน่ห์ของละครเวทีอยู่ทั้งที่คนแสดงและคนดู อย่างคนแสดง ต้องแสดงออกมายังไง ที่ไม่ให้รู้สึกว่าตัวเองเล่นซ้ำๆ ในคำพูดเดิม บทเดิม แต่ต้องทำให้ตัวเองไม่รู้สึกเบื่อที่จะพูด แต่ต้องจำให้ได้ว่า เราแสดงอะไรออกไป สำหรับคนดู ก็จะได้ความรู้สึกว่าได้ดูอะไรใหม่ๆ ไม่เหมือนกันเลยสักรอบ เพราะแต่ละรอบ จะไม่เหมือนกันเลย ทั้งสำหรับคนแสดงและคนดู ผมว่าเสน่ห์ของละครเวทีอยู่ที่ การที่คนแสดงและคนดูมีความรู้สึกร่วมกัน ณ อารมณ์นั้น[12]", "title": "นภัทร อินทร์ใจเอื้อ" } ]
2325
ประเทศไต้หวัน ติดกับจีนหรือไม่ ?
[ { "docid": "2283#0", "text": "เกาะไต้หวัน ( \"ไถวาน\"; ภาษาไต้หวัน: Tâi-oân) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาธารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไต้หวันก็ตาม", "title": "ภูมิศาสตร์ไต้หวัน" }, { "docid": "2295#1", "text": "ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "2295#4", "text": "สาธารณรัฐจีน มีลักษณะเป็นกลุ่มเกาะ ทำให้ภูมิประเทศติดกับทะเล ไม่ติดกับประเทศใดเลย ห่างจากเกาะไปทางทิศเหนือและทิศตะวันตกเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้เป็นประเทศฟิลิปปินส์และทะเลจีนใต้ ส่วนทิศตะวันออกเป็นมหาสมุทรแปซิฟิก", "title": "ประเทศไต้หวัน" } ]
[ { "docid": "2295#32", "text": "ปัจจุบันสาธารณรัฐจีนยังคงมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับ 20 ประเทศ (เบลีซ เอลซัลวาดอร์ เฮติ นิการากัว เซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน กัวเตมาลา ปารากวัย ฮอนดูรัส เซนต์ลูเซีย บูร์กินาฟาโซ สวาซิแลนด์ นครรัฐวาติกัน คิริบาส นาอูรู หมู่เกาะโซโลมอน ตูวาลู หมู่เกาะมาร์แชลล์ และ ปาเลา) ไต้หวันมีข้อจำกัดในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ เนื่องจากกรอบนโยบายจีนเดียว ไต้หวันจึงให้ความสำคัญกับการกระชับความสัมพันธ์ในกรอบเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการให้ความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีกับประเทศต่างๆ ที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่)", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "2295#13", "text": "ไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่นัดเจรจาหาทางออกของข้อขัดแย้งทางการเมืองครั้งแรกที่สิงคโปร์เมื่อปี พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) แต่ปรากฏว่าจีนแผ่นดินใหญ่ประวิงเวลาการลงนามในสัญญาหลายฉบับที่เป็นข้อตกลงร่วมกัน ทำให้ผลของการเจรจาคราวนั้นไม่ก้าวหน้าไปถึงไหน ความสัมพันธ์ระหว่างสองจีนเลวร้ายลงทุกที เมื่อประธานาธิบดีหลี่ เติงฮุย เดินทางไปเยือนสหรัฐอเมริกาและได้รับการยอมรับอย่างเอิกเกริก ทำให้จีนแผ่นดินใหญ่ไม่พอใจเป็นอย่างมาก จึงกระทำการข่มขวัญไต้หวันกับประเทศที่ให้การสนับสนุนไต้หวัน ด้วยการทำการซ้อมรบขึ้นใกล้ ๆ เกาะไต้หวัน สหรัฐอเมริกาออกมาแสดงอาการปกป้องคุ้มครองไต้หวันด้วยการส่งกำลังกองเรือรบของสหรัฐฯ มาป้วนเปี้ยนอยู่ในน่านน้ำที่จีนซ้อมรบ", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "2295#17", "text": "ในขณะที่ความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างสองจีนในสายตาชาวโลกเลวร้ายลง จีนทั้งสองกลับมีการติดต่อทางการค้ากันมากขึ้น มีการผ่อนปรนอนุญาตให้ชาวไต้หวันเดินทางไปจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อเยี่ยมญาติได้ เกิดปรากฏการสำคัญคือนักธุรกิจไต้หวันหอบเงินทุนมากกว่า 20,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไปลงทุนดำเนินธุรกิจทางตอนใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่ จนกระทั่งขณะนี้ชาวไต้หวันกลายเป็นนักลงทุนรายใหญ่เป็นลำดับ 2 ของจีน", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "20671#2", "text": "ทั้ง 17 ประเทศนี้มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับไต้หวันอย่างเป็นทางการ โดยรับรองสถานะเป็นรัฐบาลโดยชอบธรรมเพียงหนึ่งเดียวเหนือแผ่นดินจีนทั้งหมด ไม่ใช่เฉพาะในอาณาเขตของหมู่เกาะในปัจจุบัน ซึ่งประกอบไปด้วย เกาะไต้หวัน, หมู่เกาะเผิงหู, เกาะจินเหมิน และหมู่เกาะหมาจู่ และเกาะเล็กเกาะน้อยอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง", "title": "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน" }, { "docid": "2295#2", "text": "เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ \"โค่นชิงฟื้นหมิง\" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "2295#34", "text": "หลังจากพรรคก๊กมินตั๋งถอยหนีมาอยู่บนเกาะไต้หวัน ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของสาธารณรัฐประชาชนจีนแทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนมีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศที่รับรองสถานะของสาธารณรัฐจีน และทุกประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วยจะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของสาธารณรัฐประชาชนจีนเหนือไต้หวัน", "title": "ประเทศไต้หวัน" }, { "docid": "2295#0", "text": "ไต้หวัน (; ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (; ) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า \"พื้นที่ไต้หวัน\" (臺灣地區)", "title": "ประเทศไต้หวัน" } ]
1661
ศตวรรษ แปลว่าอะไร ?
[ { "docid": "5675#0", "text": "ศตวรรษ (จากภาษาสันสกฤต ศต (หนึ่งร้อย) และ วรรษ (ปี) หมายถึงช่วงเวลาติดต่อกัน 100 ปี ในทุกระบบวันที่ ศตวรรษจะถูกกำหนดให้เป็นตัวเลขแบบมีลำดับ ดังนั้น เราจะกล่าวถึง \"ศตวรรษที่สอง\" แต่ไม่กล่าวว่า \"ศตวรรษสอง\"", "title": "ศตวรรษ" } ]
[ { "docid": "63217#1", "text": "ชาวเบอร์เบอร์เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณนี้อย่างน้อยตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาชาวฟินิเชีย ชาวโรมัน และชาวเมรินิดได้เข้ามาใช้เป็นเมืองท่าในชื่อ \"อันฟา\" (Anfa) เมืองนี้ได้เป็นอิสระและกลายเป็นแหล่งกบดานโจรสลัดในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ทำให้โปรตุเกสเข้ามาทำลายเมืองในปี ค.ศ. 1468 และสร้างใหม่เป็นป้อมปราการ เมืองใหม่ที่เจริญเติบโตรอบป้อมนี้มีชื่อเรียกว่า \"กาซาบรังกา\" () ซึ่งแปลว่า \"บ้านสีขาว\" ในภาษาโปรตุเกส แต่ชาวยุโรปได้ละทิ้งเมืองไปหลังจากเกิดแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 1755 สุลต่านแห่งโมร็อกโกได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นอีกครั้งโดยได้รับความช่วยเหลือจากสเปน เมืองนี้จึงได้รับการตั้งชื่อเป็นภาษาอาหรับ (อัดดารัลบัยฎออ์) โดยแปลจากชื่อเมืองในภาษาสเปนว่า \"กาซาบลังกา\" () ซึ่งแปลว่าบ้านสีขาวเช่นกัน ต่อมาถูกฝรั่งเศสเข้ายึดครองในปี ค.ศ. 1907 จนกระทั่งได้รับเอกราชพร้อมกับพื้นที่อื่น ๆ ของโมร็อกโกเมื่อปี ค.ศ. 1956", "title": "กาซาบล็องกา" }, { "docid": "101764#1", "text": "ในราวพุทธศตวรรษที่ 9 ท่านพุทธภัทรได้แปลอวตังสกสูตรออกสู่พากย์จีน และต่อมาในสมัยราชวงศ์ถัง ท่านศึกษานันทะได้แปลอีกฉบับหนึ่ง ถือกันว่าเป็นฉบับที่สมบูรณ์ ตั้งแต่พระสูตรถูกแปลเป็นพากย์จีน ก็ถูกกับอุปนิสัยของชาวจีนมาก มีผู้ศึกษากันแพร่หลาย ", "title": "หัวเหยียน" }, { "docid": "794912#2", "text": "โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง", "title": "จักรพรรดิโกไดโงะ" }, { "docid": "570533#3", "text": "จนกระทั่งมาถึงช่วงศตวรรษที่ 9 กษัตริย์ทิเบตจึงทรงเริ่มให้การอุปถัมภ์การแปลอย่างจริงจัง และมีการจัดทำรายการบัญชีพระสูตรและศาสตร์ต่างๆ ที่ได้รับการแปลเป็นครั้งแรก รวมแล้วมีถึง 700 หัวเรื่อง ", "title": "พระไตรปิฎกภาษาทิเบต" }, { "docid": "13276#10", "text": "นักวิชาการเห็นว่าภาษาบาลีเป็นภาษาลูกผสม ซึ่งแสดงลักษณะของภาษาปรากฤตหลายสำเนียง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 2 และได้ผ่านกระบวนการทำให้เป็นภาษาสันสกฤต พระธรรมคำสอนทั้งหมดของพระพุทธศาสนาถูกแปลเป็นภาษาบาลีเพื่อเก็บรักษาไว้ และในศรีลังกายังมีการแปลเป็นภาษาสิงหลเพื่อเก็บรักษาในรูปภาษาท้องถิ่นอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาบาลีได้เกิดขึ้นที่อินเดียในฐานะภาษาทางการเขียนและศาสนา ภาษาบาลีได้แพร่ไปถึงศรีลังกาในพุทธศตวรรษที่ 9-10 และยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน", "title": "ภาษาบาลี" }, { "docid": "310302#5", "text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนการแพทย์ในเมืองซาเลอโนขึ้นโดยฆราสาส ซึ่งถือเป็นโรงเรียนการแพทย์โรงเรียนแนกในยุโรปยุคกลาง และส่งผลให้ซาเลอโนเป็นแหล่งของความรู้โดยอิทธิพลของอาหรับ อาทิ Antidotarium ในฉบับของ Donnolo เป็นต้น จนกระทั่งเมื่อคอนสแตนตินแห่งแอฟริกาได้มาเยือนเมืองซาเลอโน ได้เกิดความรู้ใหม่ๆและได้มีการแปลบทความภาษาอาหรับเป็นภาษาละตินครั้งแรก แม้แต่หนังสือสิ่งพิมพ์ของวงการการแพทย์ก็ได้รับอิทธิพลจากงานแปลของคอนสแตนตินเช่นกัน หนังสือทางเภสัชกรรมที่ได้รับการแปลและมีชื่อเสียงเล่มหนึ่งคือ \"Antidotarium magnum\" ซึ่งเป็นหนังสือที่เรียบเรียงเกี่ยวกับสูตรตำรับยาอาหรับกว่า 140 คำรับ ในฉบับของ Nicolai ได้มีการแปลเพิ่มขึ้นในอีกหลายภาษาและเป็นหนึ่งในตำราทางเภสัชกรรมที่สำคัญของมหาวิทยาลัยปารีส และยังมีอิทธิพลต่องานด้านเภสัชกรรมจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 18", "title": "เภสัชกรรมสมัยกลาง" }, { "docid": "45646#2", "text": "ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไศวะ มีการบูรณะก่อสร้างต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขะแมร์ได้หันมานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงได้รับการดัดแปลงเป็นวัดมหายาน ในช่วงแรกปราสาทหินพนมรุ้ง สร้างขึ้นจากหินทรายสีชมพู ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งสูง 1,320 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ชื่อพนมรุ้งแปลว่าภูเขาใหญ่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15-18", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "760#1", "text": "คำว่า \"เศรษฐศาสตร์\" มาจากคำภาษากรีก \"oikonomia\" ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (\"oikos\" แปลว่าบ้านและ \"nomos\" แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19", "title": "เศรษฐศาสตร์" }, { "docid": "5254#2", "text": "คำว่า มังงะ แปลตรงตัวว่า \"ภาพตามอารมณ์\" ถูกใช้อย่างกว้างขวางเป็นครั้งแรกหลังจากจิตรกรอุคิโยเอะชื่อโฮคุไซตีพิมพ์หนังสือชื่อโฮคุไซมังงะในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ดีนักประวัติศาสตร์บางกลุ่มเห็นว่ามังงะอาจมีประวัติยาวนานกว่านั้น โดยมีหลักฐานคือภาพจิกะ (แปลตรงตัวว่า \"ภาพตลก\") ซึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 12 มีลักษณะหลายประการคล้ายคลึงกับมังงะในปัจจุบัน อาทิ การเน้นเนื้อเรื่อง และการใช้เส้นที่เรียบง่ายแต่สละสลวย เป็นต้น", "title": "มังงะ" }, { "docid": "35661#1", "text": "สมัยแห่งการบันทึกพระสูตรเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกนั้นไม่มีมติที่แน่นอน ซึ่งการค้นพบต้นฉบับของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในหลายสถานที่จากหลากหลายภูมิภาค สัทธรรมปุณฑริกสูตรมีการแปลเป็นหลายภาษา และมีการคัดลอกต้นฉบับตลอดช่วงเวลาอันยาวนาน อันเป็นข้อพิสูจน์ว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนจำนวนมากในหลากหลายเชื้อชาติ โดยมีการค้นพบต้นฉบับภาษาต่าง ๆ อันได้แก่ สันสกฤต บาลี คานธารี โขตาน ซากา โตคาเรียน ซอกเดีย อุยกูร์เก่า ทิเบต จีน มองโกเลีย แมนจู ซีเซี่ย(ตันกัต) เกาหลี เวียดนาม เป็นต้น ตัวอย่างของสะสมจากสถาบันต้นฉบับภาษาตะวันออกแห่งสมาคมวิทยาศาสตร์รัสเซียมีต้นฉบับคัมภีร์ภาษาสันสกฤต คัดลอกด้วยตัวอักษรพราหมีเตอร์กีสถานใต้ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 ต้นฉบับแปลภาษาจีน คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ต้นฉบับแปลภาษาอุยกูร์เก่า คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 ", "title": "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร" }, { "docid": "590933#1", "text": "ในปีค.ศ. 420 พระธรรมเกษม [3] แปลพุทธจริตในภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน ต่อมาในราวศตวรรษที่ 7 หรือราวศตวรรษที่ 8 ได้มีการแปลเป็นภาษาทิเบต และได้รับการยอมรับว่า มีความใกล้เคียงกับต้นฉบับภาษาสันสกฤตมากกว่าฉบับแปลภาษาจีน [4] [5]", "title": "พุทธจริต" }, { "docid": "147883#7", "text": "นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับลักษณะการประพันธ์ของบทร้อยกรองว่าเป็นสิ่งเกิดขึ้นร่วมสมัยกับการบันทึก หรือว่าเป็นบทกวีที่แต่งขึ้นนานมาแล้ว และเล่าปากเปล่าต่อๆ กันมานานหลายปีก่อนจะมีการบันทึกในภายหลัง ศจ.เคียร์แนนเห็นว่าบทกวีกับการบันทึกน่าจะเกิดร่วมสมัยกัน เมื่อพิจารณาจากการใช้คำและฉันทลักษณ์ แต่นักวิชาการจำนวนมากเห็นว่าบทกวีนี้น่าจะแต่งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หรือก่อนหน้านั้น เพราะเนื้อหาที่เอ่ยถึงชะตากรรมของชาวเดนมาร์กไม่น่าจะถูกประพันธ์ขึ้นโดยชาวแองโกล-แซกซอนในยุคไวกิ้ง (คือราวศตวรรษที่ 9-10) เคียร์แนนเห็นแย้งกับสมมุติฐานนี้ เพราะเช่นนั้นจะหมายความว่าบทกวีถูกแปลมาเป็นภาษาแองโกล-แซกซอนในยุคไวกิ้ง รวมถึงลักษณะของคำและฉันทลักษณ์ก็บ่งชี้ว่า บทกวีน่าจะประพันธ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 นักวิชาการที่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้เห็นว่า ต้นฉบับเบวูล์ฟเกิดจากการแปลและประพันธ์ขึ้นใหม่โดยกวีในศตวรรษที่ 11 มิใช่เรื่องเล่าตามตำนานที่สืบทอดมาโดยนักบวชที่ได้รับการศึกษา", "title": "เบวูล์ฟ" }, { "docid": "35283#5", "text": "นักวิชาการชาวยุโรปในพุทธศตวรรษที่ 23 ที่ไม่สามารถอ่านภาษาจีนเพราะระบบการเขียนที่ซับซ้อนเลือกที่จะแปลจากภาษาแมนจูหรือใช้รูปแบบที่มีภาษาแมนจูคู่ขนานอยู่ด้วย โดยกล่าวว่าภาษาแมนจูเป็นหน้าต่างในการเข้าไปศึกษาวรรณคดีจีน นักวิชาการด้านจีนชาวรัสเซียได้ศึกษาภาษาแมนจูเช่นกัน หลังจากที่มาจัดตั้งนิกายรัสเซียนออร์ธอดอกซ์ในปักกิ่ง มีการแปลเอกสารจากภาษาแมนจู และทำพจนานุกรมภาษาแมนจู-จีน มีการสอนการแปลภาษาแมนจูในอินกุตส์ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 23 และสอนต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน ชาวยุโรปได้ใช้การถอดคำในภาษาจีนด้วยอักษรแมนจู เพื่อช่วยในการออกเสียงภาษาจีนซึ่งนิยมใช้มากกว่าระบบที่ใช้อักษรโรมัน", "title": "ภาษาแมนจู" }, { "docid": "317162#2", "text": "กรุสมบัติแปลตรงตามตัวอักษรว่า “สมบัติที่พบ” คำนี้ในภาษาอังกฤษแผลงมาจากคำว่า “tresor trové” ของภาษาอังกฤษ-ฝรั่งเศส[1] ที่เทียบเท่ากับคำในภาษากฎหมายของภาษาละตินว่า “thesaurus inventus” ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ของอังกฤษคำภาษาอังกฤษ-ฝรั่งเศสได้รับการแปลว่า “treasure found” (สมบัติที่พบ) แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็เริ่มมีการพ่วงด้วยคำภาษาฝรั่งเศสว่า “trové” ที่แผลงเป็นภาษาอังกฤษเป็น “trovey”, “trouve” หรือ “trove”[2]", "title": "กรุสมบัติ" }, { "docid": "872167#6", "text": "ข้อความที่สาม อาจจะเหลือรอดในเวอร์ชันแปลภาษาอาหรับ ซึ่งถูกอ้างว่าแปลโดยอารยภัฏ แต่ชื่อภาษาสันสกฤตของงานชิ้นนี้ไม่เป็นที่รู้กัน อาจจะนำสืบมาจากศตวรรษที่ 9 ซึ่งมันถูกกล่าวถึงโดยนักวิชาการนักประวัติศาสตร์อินเดียชาวเปอร์เซียชื่อ Abū Rayhān al-Bīrūnī", "title": "อารยภัฏ" }, { "docid": "939635#1", "text": "คำว่าพาลินโดรมนั้นถูกสร้างขึ้นโดยเบน โจนสันนักเขียนบทละครและนักแสดงชาวอังกฤษในช่วงศตวรรษที่ 17 โดย palin มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า () ที่แปลว่า\"อีกครั้ง\" ส่วน dromos () ที่แปลว่า \"ทาง, ทิศทาง\"", "title": "พาลินโดรม" }, { "docid": "61662#2", "text": "ในเวลาต่อมา มีพราหมณ์ 2 คน คือ สุเกรสวัร และวเนศวัร ได้แปลพงศาวดารนี้เป็นภาษาสันสกฤตและแปลต่อเป็นภาษาเบงกาลีเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ส่วนฉบับเดิมที่เขียนด้วยภาษากอกบอรอกสูญหายไป ภาษากอกบอรอกถูกลดฐานะเป็นเพียงภาษาทั่วไปของสามัญชนตลอดสมัยราชอาณาจักรตรีปุระ ในขณะที่ภาษาเบงกาลีเป็นภาษาราชการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 ภาษากอกบอรอกเป็นภาษาราชการของรัฐตรีปุระเมื่อ พ.ศ. 2522 ปัจจุบันถือเป็นภาษาประจำชาติภาษาหนึ่งของอินเดีย\n\"บทความหลัก:ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก\"", "title": "ภาษากอกบอรอก" }, { "docid": "21832#23", "text": "พระเจ้ากนิษกะทรงขยายอาณาจักรไปยังแอ่งทาริม Tarim Basin อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นในการส่งผ่านพระพุทธศาสนาไปยังจีน พระสงฆ์จากแคว้นคันธาระมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาและส่งผ่านแนวคิดทางพระพุทธศาสนาไปในเส้นทางของเอเชียเหนือตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 7 พระสงฆ์ชาวกุษาณะ พระโลกะเกษม Lokaksema) พ.ศ. 721 เป็นนักแปลคนแรก ในการแปลคัมภีร์ชาวพุทธมหายานไปสู่ภาษาจีนและพิมพ์การแปล โรงพิมพ์อยู่ที่เมืองลั่วหยาง(ปัจจุบันคือเมืองลกเอี๋ยง)เมืองหลวงของจีนในอดีต ในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกพระสงฆ์ชาวพุทธปรากฏบทบาทในการประคับประคองการแลกเปลี่ยนอย่างแข็งขันในศตวรรษดังกล่าว", "title": "พระเจ้ากนิษกะ" }, { "docid": "928341#2", "text": "คำภาษาอังกฤษว่า Neuropil มาจากคำภาษากรีก คือ \"neuro\" ที่แปลว่า \"เอ็น ประสาท\" และ \"pilos\" ที่แปลว่า ผ้าขนสัตว์\nโดยเริ่มใช้ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19", "title": "นิวโรพิล" }, { "docid": "479777#2", "text": "ตุมเตียวเป็นนิยายรักคลาสสิกในจังหวัดกำปงจามที่เป็นที่รู้จักไปทั้งประเทศเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 โดยมีต้นกำเนิดมาจากบทกวีในสมัยพุทธศตวรรษที่ 22 – 23 ในปัจจุบัน ตุมเตียวได้กลายเป็นวรรณคดี ละคร และภาพยนตร์ในกัมพูชา แปลเป็นภาษาฝรั่งเศสโดย Étienne Aymonier เมื่อ พ.ศ. 2423 ตุมเตียวเป็นที่นิมในต่างประเทศ เมื่อ George Chigas นำต้นฉบับของพระปทุมเถระโสมไปแปล\nวรรณกรรมกัมพูชาแบ่งเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้", "title": "วรรณคดีกัมพูชา" }, { "docid": "899637#3", "text": "คำแปลฉบับพระเจ้าเจมส์นี้มีชื่อเสียงด้าน \"โวหารอลังการ\" (majesty of style) และนับเป็นหนึ่งในเอกสารสำคัญทางวัฒนธรรมอังกฤษ ทั้งยังเป็นแรงผลักดันให้เกิดการหลอมรวมโลกที่ใช้ภาษาอังกฤษ คำแปลฉบับนี้ยังเป็นที่ยึดถือในคริสตจักรแองกลิคันและโปรเตสแตนต์ เว้นแต่ส่วนเพลงสดุดี (Psalms) และข้อความสั้นบางตอน ที่ใช้ตาม \"หนังสือสวดมนต์ทั่วไป\" (Book of Common Prayer) คำแปลฉบับพระเจ้าเจมส์ไม่มีผู้ตั้งปัญหาเรื่องความถูกต้องแม่นยำเลยในตลอดครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ทั้งนักวิชาการที่ใช้ภาษาอังกฤษก็ยึดเป็นพระคัมภีร์ฉบับมาตรฐานแทนเอกสารวัลเกตภาษาละติน (Latin Vulgate) ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษเดียวกันนั้น จนเมื่อการพิมพ์แบบสเตริโอไทป์ (stereotype) พัฒนาขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำแปลฉบับพระเจ้าเจมส์ก็กลายเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์บ่อยครั้งที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยมักยึดฉบับพิมพ์ ค.ศ. 1769 ที่เบนจามิน เบลย์นีย์ (Benjamin Blayney) จากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ปรับปรุง เป็นแม่แบบ และมักตัดภาคนอกสารบบออก ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงพระคัมภีร์พระเจ้าเจมส์ ปัจจุบันก็มักเข้าใจถึงฉบับออกซฟอร์ดนี้", "title": "ฉบับพระเจ้าเจมส์" }, { "docid": "32560#10", "text": "พุทธศาสนาในทิเบตมีประวัติความเป็นมา 2 ทาง ทางหนึ่งเผยแผ่จากอินเดียในศตวรรษที่ 7 ในสมัยกษัตริย์ซงซัน กัมโปดังกล่าวข้างต้น แบ่งออกเป็น 4 นิกายใหญ่ๆ ได้แก่ ญิงมาปะ (Nyingmapa), กาจูร์ปะ (Kagyupa), สาเกียปะ (Sakyapa) และเกลุกปะ (Gelugpa) โดยญิงมาปะเน้นการฝึกปฏิบัติตามคำสอนในคัมภีร์ที่ได้มีการแปลจากสันสกฤตระหว่างศตวรรษที่ 7-10 ส่วนนิกายที่เหลือรวมเรียกว่า ซาร์มา (Sarma) หมายถึงนิกายใหม่ เน้นการฝึกปฏิบัติตามคำสอนในคัมภีร์ที่ได้มีการแปลหลังศตวรรษที่ 11 โดยมีท่านอตีศะทีปังกร พระอาจารย์ชาวอินเดียเป็นผู้เน้นในเนื้อหาของพระสูตร", "title": "วัชรยาน" }, { "docid": "145755#1", "text": "สันนิษฐานว่าอนารยชนเยอรมันพวกซูเอบีเป็นผู้ตั้งเมืองซานเตียโกเดกอมโปสเตลาขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 หรือต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนที่มาของชื่อเมืองนั้นยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อกันว่า \"Compostela\" นี้มาจากคำในภาษาละตินว่า \"campus stellae\" (แปลว่า \"ท้องทุ่งแห่งดวงดาว\") ดังนั้น \"Santiago de Compostela\" จึงมีความหมายว่า \"นักบุญเจมส์ในท้องทุ่งแห่งดวงดาว\" มาจากความเชื่อที่ว่ากระดูกของนักบุญเจมส์นั้นถูกส่งมาจากตะวันออกกลางสู่สเปน ต่อมากระดูกเหล่านี้ก็ถูกฝังในที่ซึ่งกลายเป็นมหาวิหารซานเตียโกเดกอมโปสเตลาทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อว่าชื่อเมืองนี้มาจากคำอื่น ๆ อีก เช่น \"Composita Tella\" แปลว่า \"พื้นที่ฝังศพ\" เป็นต้น", "title": "ซานเตียโกเดกอมโปสเตลา" }, { "docid": "17356#2", "text": "ญาบิร บินฮัยยานได้แต่งหนังสือและบทบันทึกเกี่ยวกับเคมี และวิทยาศาสตร์รวมทั้งหมดราว 2,000 เล่ม ในวิทยาการต่าง ๆ รวมทั้งแผนที่ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นบันทึกข้อมูลที่เขาเรียนรู้มาจากท่านอิมามญะอฺฟัร และส่วนหนึ่งแปลจากภาษาสันสกฤต ชาวยุโรปได้เริ่มแปลหนังสือของเขาเป็นภาษาละตินในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 13 หลายเล่ม และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นหนังสือที่เขียนได้ดีมาก และกว่าจะหาผู้ที่เขียนได้เทียมเท่าก็อีก 8 ศตวรรษต่อมา ", "title": "ญาบิร" }, { "docid": "10468#1", "text": "ตามที่มีหลักฐานยืนยัน เหตุการณ์นี้ได้รับการบันทึกครั้งแรกใน \"บทกวีเอ็ดดา\" ซึ่งแปลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากบันทึกโบราณ และบทร้อยแก้วเอ็ดดาที่เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน ใน \"มหากาพย์เอ็ดดา\" และกลอนบทหนึ่งใน \"บทกวีเอ็ดดา\" เหตุการณ์นี้เรียกว่า Ragnarök หรือ Ragnarøkkr (ภาษานอร์สโบราณ แปลว่า \"ชะตากรรมของเหล่าทวยเทพ\" หรือ \"สนธยาของเหล่าทวยเทพ\" ตามลำดับ) การนำไปใช้งานที่มีชื่อเสียงกระทำโดยนักแต่งเพลงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ริชาร์ด วากเนอร์ ใช้เป็นหัวเรื่องดนตรีอุปรากร \"ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน\" องค์สุดท้ายของเขา \"เกิทเทอร์เดมเมอร์รุง\" (ค.ศ. 1876)", "title": "แรกนะร็อก" }, { "docid": "256694#0", "text": "ยอดเขานังกาปาร์บัต (; ) เป็นยอดเขาสูงสุดในโลกอันดับที่ 9 นังกาปาร์บัตแปลว่า “ยอดเขาเปลือย” “Parbat” มาจากภาษาสันสกฤตว่า “บรรพต” หรือ “ปรฺวต” (पर्वत) ที่แปลว่าภูเขาหรือหิน และคำว่า “Nanga” ที่มาจากภาษาสันสกฤตว่า “นคฺน” (नग्न) ที่แปลว่าเปลือยหรือว่าง แต่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภูเขานักฆ่า” (Killer Mountain) เพราะเป็นภูเขาที่มีอันตรายที่สุดในบรรดายอดเขาแปดพันเมตรสิบสี่ยอด โดยเฉพาะในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 แม้หลังจากนั้นอันตรายจะลดลงแต่ยังปีนได้ยากอยู่", "title": "ยอดเขานังกาปาร์บัต" }, { "docid": "27551#2", "text": "สำเนาใบลานของเรื่องราชาธิราชฉบับพญาทะละปัจจุบันเหลือรอดมาเพียง 4 ชุด สันนิษฐานว่าทำขึ้นในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 23 (คริสต์ศตวรรษที่ 18) นอกจากนี้ยังมีฉบับแปลฉบับอื่นๆ อยู่อีก รวมทั้งสิ้น 9 ฉบับ ตามการวิเคราะห์โดยนายปันหละเมื่อปี พ.ศ. 2511 นายปันหละได้แปลราชาธิราชฉบับหนึ่งกลับเป็นภาษามอญเมื่อปี พ.ศ. 2501 และเรียบเรียงเรื่องราชาธิราชขึ้นใหม่อีก 1 ฉบับเป็นภาษาพม่า (นับเป็นราชาธิราชฉบับที่ 10) โดยสังเคราะห์ข้อมูลจากราชาธิราชฉบับพญาทละ ฉบับ \"ปากลัด\" และบันทึกจากพงศาวดารพม่าฉบับหอแก้ว (มานนานยาซะเวง) รวมทั้งอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมจากการวิจัยสมัยใหม่", "title": "ราชาธิราช" }, { "docid": "291058#62", "text": "ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ชองอิสลามก็เผยแพร่เข้ามายังยุโรปตะวันตก อุปกรณ์ แอสโตรเลบ (astrolabe) ที่ใช้ในการคำนวณทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในสมัยคลาสสิกก็ได้รับการนำกลับมาฟื้นฟูขึ้นใช้ในยุโรปอีกครั้งหนึ่ง งานของยุคลิด และ อาร์คิมิดีสที่หายไปจากทางตะวันตกได้รับการแปลจากภาษาอาหรับกลับมาเป็นภาษาละตินในสเปน ตัวเลขฮินดู-เลขอารบิกสมัยใหม่รวมทั้งเลข “ศูนย์” ก็ได้รับการวิวัฒนาการขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ฮินดูในคริสต์ศตวรรษที่ 5 และ 6 นักคณิตศาสตร์อิสลามเรียนสิ่งต่างๆ เหล่านี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และมาเพิ่มการใช้เศษส่วนทศนิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10 ราวปี ค.ศ. 1000 แกร์แบร์ตแห่งออริลแยค (ต่อมาเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2) สร้างลูกคิดที่ตัวนับสลักเป็นเลขฮินดู-อาหรับ ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 วิทยานิพนธ์ที่เขียนโดยอัล เคาะวาริสมีเกี่ยวกับการคำนวณโดยใช้ตัวเลขเหล่านี้ก็ได้รับการแปลเป็นภาษาละตินในสเปน", "title": "ต้นสมัยกลาง" }, { "docid": "301236#4", "text": "สิ่งที่เด่นที่สุดของแซ็งต์-ชาแปลคือหน้าต่างประดับกระจกสีที่แคบและสูงและตกแต่งด้วยกระจกที่เป็นสีแพรวพราว หน้าต่างกุหลาบมาเพิ่มเติมบนชั้นบนของชาเปลภายหลังในคริสต์ศตวรรษที่ 15", "title": "แซ็งต์-ชาแปล" }, { "docid": "143159#1", "text": "คำว่า \"โชกุน\" นั้นแปลว่า \"จอมทัพ\" ตัดมาจาก \"เซอิไทโชกุน\" (征夷大将軍) ที่แปลว่า \"จอมทัพใหญ่ปราบเถื่อน\" เดิมเป็นตำแหน่งผู้นำทัพปราบกลุ่มเอมิชิที่ขัดขืนอำนาจส่วนกลางเมื่อต้นยุคเฮอัง (คริสต์ศตวรรษที่ 7–10) ส่วนคณะเจ้าหน้าที่ของโชกุนนั้นเรียกรวมกันว่า \"รัฐบาลโชกุน\" (shogunate) หรือ \"บากูฟุ\" (幕府) ที่แปลว่า \"สำนักพลับพลา\" เดิมเป็นคำเรียกที่บัญชาการของขุนศึก", "title": "โชกุน" } ]
1382
อาเลสซานโดร โวลตา คือใคร?
[ { "docid": "366546#0", "text": "อาเลสซานโดร จูเซปเป อันโตนิโอ อนาสตาซิโอ โวลตา (; 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1745 — 5 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นนักฟิสิกส์ชาวลอมบาร์ดี ซึ่งเป็นที่รู้จักว่าคิดค้นแบตเตอรี (เซลล์ไฟฟ้าเคมี) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1800", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#5", "text": "อาเลสซานโดร เกิดที่เมืองโกโม เมืองในปัจจุบันในตอนเหนือของอิตาลีเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1745 และในปี ค.ศ. 1794 Volta ได้แต่งงานกับสตรีชั้นสูงชื่อ Teresa Peregrini และเขาก็ได้ให้กำเนิดบุตรชาย 3 คน ซึ่งเขาได้ยกลูกชายทั้งสามคน ได้แก่ Zanino, Flaminio และ Luigi และพ่อของเขา Filippo Volta ให้เป็นขุนนาง รวมถึงแม่ของเขา Donna Maddalena ที่มาจากครอบครัว Inzaghis", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#1", "text": "อาเลสซานโดร เป็นผู้บุกเบิกการผลิตไฟฟ้าและพลังงานซึ่งเป็นเครดิตในฐานะ ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่ไฟฟ้าและผู้ค้นพบก๊าซมีเทน เขาได้คิดค้นกองเชื้อเพลิงในปี ค.ศ. 1799 และได้รายงานผลการทดลองของเขาในปี ค.ศ. 1800 ในจดหมายฉบับที่สองถึงประธานาธิบดีแห่งราชสมาคมด้วยการประดิษฐ์นี้ Volta พิสูจน์ให้เห็นว่ากระแสไฟฟ้าสามารถเกิดขึ้นได้ทางเคมีและหักล้างทฤษฎีที่แพร่หลายว่ากระแสไฟฟ้าถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์เท่านั้น สิ่งประดิษฐ์ของ Volta กระตุ้นให้เกิดความตื่นเต้นทางวิทยาศาสตร์และนำไปสู่การทดลองอื่น ๆ ที่นำไปสู่การพัฒนาด้านไฟฟ้าเคมีในที่สุด", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" } ]
[ { "docid": "366546#3", "text": "อาเลสซานโดร ได้เก้าอี้นักประสบการณ์ทางฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัย Pavia มาเกือบ 40 ปีและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางจากนักเรียนของเขา", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#2", "text": "อาเลสซานโดร ได้รับการชื่นชมจาก Napoleon Bonaparte สำหรับการประดิษฐ์ของเขาและได้รับเชิญให้ไปที่สถาบันฝรั่งเศสเพื่อแสดงให้เห็นถึงสิ่งประดิษฐ์ของเขาแก่สมาชิกของสถาบัน Volta ความสุขที่ได้ใกล้ชิดกับจักรพรรดิตลอดชีวิตของเขาและเขาก็ได้รับพระราชทานเกียรติยศมากมาย", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#19", "text": "อาเลสซานโดรยกฐานะคาทอลิกและตลอดชีวิตของเขายังคงรักษาความเชื่อของเขาเพราะบางครั้งเขาก็ไม่ได้รับการบวชเป็นนักบวชตามที่ครอบครัวของเขาคาดไว้บางครั้งเขาก็ถูกกล่าวหาว่าเป็นคนไร้ศาสนาและบางคนก็สันนิษฐานว่าเป็นไปได้ที่จะเป็นที่นับถือศาสนาในแบบของเขาโดยเน้นว่า \" เขาไม่ได้เข้าร่วมศาสนจักร  หรือว่าเขาแทบไม่สนใจ คริสตจักรเลย \" อย่างไรก็ตามเขาได้ขจัดข้อสงสัยในการประกาศศรัทธาซึ่งเขากล่าวไว้ว่า", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#15", "text": "ทองแดงไม่ทำปฏิกิริยา แต่ทำหน้าที่เป็นอิเล็กโทรดสำหรับกระแสไฟฟ้า", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#9", "text": "ในปีค.ศ. 1779 ได้เป็นอาจารย์นักประสบการณ์ทางฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัย Pavia มาเกือบ 40 ปี", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#14", "text": "ฉะนั้น มีสองปลาย และกระแสไฟฟ้าจะไหลหากเชื่อมต่อกัน ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์โวตาอิกนี้เป็นดังนี้", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" }, { "docid": "366546#8", "text": "Volta ยังได้เรียนรู้สิ่งที่เราเรียกว่าความจุไฟฟ้าการพัฒนาวิธีการแยกเพื่อศึกษาทั้งศักยภาพทางไฟฟ้า (V) และประจุ (Q) และค้นพบว่าวัตถุที่กำหนดจะมีสัดส่วน Volta ได้เรียกสิ่งนี้ว่า กฎของความจุไฟฟ้า และผลงานชิ้นนี้ ได้ถูกตั้งชื่อว่า โวลต์", "title": "อาเลสซานโดร โวลตา" } ]
1332
เชื้อไวรัสเอชไอวี ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "20779#3", "text": "การศึกษาวิจัยทางพันธุศาสตร์ชี้ว่าเชื้อไวรัสเอชไอวีมีถิ่นกำเนิดมาจากแอฟริกากลางตะวันตกในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โรคเอดส์เป็นที่รู้จักครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาโดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) ใน ค.ศ. 1981 ส่วนสาเหตุของโรคและเชื้อไวรัสเอชไอวีนั้นค้นพบในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1980", "title": "เอดส์" } ]
[ { "docid": "311468#97", "text": "การเจาะเลือดซึ่งเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่กลุ่ม นปช. ใช้ในการต่อต้านรัฐบาลส่งผลกระทบต่อด้านสาธารณสุข ซึ่งจากการเก็บตัวอย่างเลือดที่มีการเทไปยังสถานที่ต่างๆ ของกลุ่มผู้ชุมนุมมาตรวจที่ห้องแล็บของโรงพยาบาลรามาธิบดี วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล พบเชื้อไวรัสติดต่อร้ายแรง 3 ชนิด ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี และไวรัสเอชไอวี (เอดส์) อยู่ในเกณฑ์สูงกว่าปกติ จึงอาจทำให้กลุ่มผู้ชุมนุมอาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย โดย น.พ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา กล่าวว่า จะนำเรื่องนี้เข้าสู่การประชุมของแพทยสภาเพื่อพิจารณา ทั้งนี้ การจะเจาะเลือดจะต้องมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ คงต้องพิจารณาอีกครั้งว่าเจาะเลือดเพื่ออะไรและนำไปใช้อย่างไรบ้าง ทั้งนี้ผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือได้รับความเสียหายจากกการกระทำครั้งนี้ สามารถมาฟ้องร้องดำเนินคดีได้ คงต้องดำเนินการเอาผิดกับผู้ที่เจาะเลือด รวมถึงผู้ที่เทและสาดเลือดเจาะเลือด [147] [148]", "title": "การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553" }, { "docid": "60652#2", "text": "ในด้านที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ\nงานวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. วิชัย ริ้วตระกูล เป็นงานวิจัยพื้นฐานแบบกำหนดทิศทาง ซึ่งจะมุ่งเน้นทั้งสร้างองค์ความรู้ใหม่ การศึกษาวิจัยในเรื่องที่อาจจะนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ได้ งานวิจัยแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกคือ การวิจัยพื้นฐานแบบกำหนดทิศทางด้านเคมีอินทรีย์สังเคราะห์ \nส่วนที่สองคือ การวิจัยในโครงการ Drug Discovery ซึ่งเป็นการศึกษาแบบกำหนดทิศทาง เพื่อมุ่งเน้นศึกษาและค้นหาสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ จากต้นไม้ที่ขึ้นในประเทศไทย เช่น พืชในสกุล Gardenia, Polyalthia, Garcinia, Ventilago และพันธุ์พืช Ventilago harmandiana, Garcinia speciosa, Garcinia hanburyi, Mallotus spodocarpus, Ochna intergerrima และ Diospyros variegata เพื่อนำมาใช้เป็นสารโครงสร้างนำ (lead structures) ในการพัฒนาเป็นยาต่างๆ อาทิ สารที่มีฤทธิ์แก้อาการอักเสบทั้งชนิดกินและชนิดทา สารฆ่าเซลส์มะเร็ง สารฆ่าเชื้อไวรัสเอชไอวี สารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ควบคุมการเจริญพันธุ์ในเพศชาย เป็นต้น ซึ่งการพัฒนาโครงการดังกล่าว ได้นำไปสู่การพัฒนาห้องปฏิบัติการการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพที่ได้มาตรฐาน ที่ภาควิชาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และที่ภาควิชาสรีรวิทยา และภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้การวิจัยดำเนินการหาสารพวกที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ อาจจะนำมาพัฒนาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และใช้ในการรักษาสภาพของผลิตผลทางเกษตรให้คงความสดนานยิ่งขึ้นได้ด้วย", "title": "วิชัย ริ้วตระกูล" }, { "docid": "20779#15", "text": "การป้องกันและรักษาโรคฉวยโอกาส ในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือป่วยด้วยโรคฉวยโอกาส (ที่สำคัญคือ หลายโรคป้องกันได้ และทุกโรครักษาได้) การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี เพื่อลดปริมาณไวรัสในเลือดให้น้อยที่สุดและควบคุมปริมาณไวรัสให้อยู่ในระดับต่ำนานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ซึ่งจะส่งผลให้ระดับภูมิคุ้มกันสูงขึ้น ลดโอกาสที่จะป่วยเป็นโรคฉวยโอกาส", "title": "เอดส์" }, { "docid": "20779#1", "text": "เอดส์ หรือ กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม[8] (acquired immunodeficiency syndrome - AIDS)เป็นโรคของระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี (human immunodeficiency virus, HIV) ทำให้ผู้ป่วยมีการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง เสี่ยงต่อการติดเชื้อฉวยโอกาสและการเกิดเนื้องอกบางชนิด เชื้อไวรัสเอชไอวีติดต่อผ่านทางการสัมผัสของเยื่อเมือกหรือการสัมผัสสารคัดหลั่งซึ่งมีเชื้อ เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำหล่อลื่นในช่องคลอด น้ำหลั่งก่อนการหลั่งอสุจิ และนมมารดา อาจติดต่อผ่านเพศสัมพันธ์ไม่ว่าจะเป็นทางช่องคลอด หรือทวารหนัก หรือช่องปาก, การรับเลือด, การใช้เข็มฉีดยาที่ปนเปื้อน, ติดต่อจากแม่สู่ลูกขณะตั้งครรภ์ คลอด ให้นม หรือการสัมผัสสารคัดหลั่งต่างๆ ดังกล่าว", "title": "เอดส์" }, { "docid": "297624#1", "text": "มีเชื้อเอชไอวีสองชนิดที่ติดต่อมายังมนุษย์ คือเอชไอวี-1 และเอชไอวี-2 โดย เอชไอวี-1 นั้นเป็นอันตรายมากกว่า ติดต่อง่ายกว่า และเป็นสาเหตุของการติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่บนโลกนี้ เชื้อเอชไอวี-1 มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเชื้อไวรัสที่พบในลิงชิมแปนซี และการศึกษาทาง molecular phylogenetics ก็บ่งชี้ว่าเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ปรากฏขึ้นในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1884-1924 ในแอฟริกาเขตเส้นศูนย์สูตร เชื้อเอชไอวี-2 นั้นติดต่อกันได้ยากกว่าและส่วนใหญ่พบอยู่ในแอฟริกาตะวันตกร่วมกับเชื้อใกล้ชิดอื่นๆ ได้แก่ไวรัสที่พบใน Sooty Mangabey (\"Cercocebus atys\") ซึ่งเป็นลิงโลกเก่าใน Guinea-Bissau, Gabon และ Cameroon", "title": "ประวัติศาสตร์เอชไอวี/เอดส์" }, { "docid": "352612#0", "text": "ยาต้านรีโทรไวรัส () คือยาสำหรับการักษาการติดเชื้อรีโทรไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มไวรัสเอชไอวี โดยอาศัยการรักษาร่วมโดยยาสามถึงสีชนิด โดยรู้จักว่าเป็นการักษารีโทรไวรัสที่มีประสิทธิภาพสูง () ในหลายสถาบันสุขภาพทั่วโลกต่างแนะนำให้ใช้การรักษาด้วยยาต้านรีโทรไวรัสสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ทุกคน ทั้งนี้ผู้ป่วยจำเป็นต้องบริหารยานี้อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความรุนแรงจากอาการอันไม่พึงประสงค์ของยาและป้องกันการดื้อยา ลายองค์กรมีความพยายามให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมกับแผนการรักษาใทางเลือกต่างๆ และแนะนำให้วิเคราะห์ความเสียงและประโยชน์จาการบริหารยาเพื่อลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือด ()", "title": "ยาต้านรีโทรไวรัส" }, { "docid": "20779#8", "text": "เชื้อเอชไอวีเป็นเชื้อไวรัสในกลุ่ม Lentivirus ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มไวรัส Retrovirus ไวรัสกลุ่มนี้ขึ้นชื่อในด้านการมีระยะแฝงนาน การทำให้มีเชื้อไวรัสในกระแสเลือดนาน การติดเชื้อในระบบประสาท และการทำให้ภูมิคุ้มกันของผู้ติดเชื้ออ่อนแอลง เชื้อเอชไอวีมีความจำเพาะต่อเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 T lymphocyte และ Monocyte สูงมาก โดยจะจับกับเซลล์ CD4 และฝังตัวเข้าไปภายใน เชื้อเอชไอวีจะเพิ่มจำนวนโดยสร้างสายดีเอ็นเอโดยเอนไซม์ reverse transcryptase หลังจากนั้นสายดีเอ็นเอของไวรัสจะแทรกเข้าไปในสายดีเอ็นเอของผู้ติดเชื้ออย่างถาวร และสามารถเพิ่มจำนวนต่อไปได้", "title": "เอดส์" }, { "docid": "72220#23", "text": "ในปี 1987 เฟรดดีได้ถูกตรวจพบว่ามีผลเป็นบวกในการตรวจไวรัสเอชไอวี แต่เขาตัดสินใจปิดเรื่องนี้เป็นความลับ จนมีเพียงไม่กี่คนที่ทราบเรื่องนี้ แม่กระทั่งคัชมีรา น้องสาวของเฟรดดีเองยังไม่ทราบเรื่องนี้ โดยระหว่างนั้นทางวงได้ปฏิเสธข่าวลือเรื่องอาการป่วยของเฟรดดีมาตลอด อย่างไรก็ดี เขายังคงตัดสินใจทำเพลงต่อไป โดยได้ออกอัลบั้มร่วมกับมุนซาร์รัต กาบัลเย ในชื่อ \"Barcelona\" ซึ่งเป็นอัลบั้มแนวครอสโอเวอร์ระหว่างป็อปกับโอเปรา", "title": "ควีน" }, { "docid": "362887#5", "text": "รัฐบาลทักษิณยังเปิดให้มีการเข้าถึงยาต้านรีโทรไวรัสเอชไอวีราคาถูกถ้วนหน้า ทำให้จำนวนผู้ที่ป่วยเอชไอวีตลอดจนอัตราความชุกของโรคโดยรวมลดลงอย่างมีนัยยะ เพราะมีผู้ติดเชื้อลดลง[10] นอกจากนี้ ทักษิณอนุญาตให้แรงงานต่างด้าวประมาณ 2.3 ล้านคนขึ้นทะเบียนและรับบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบสาธารณสุขของไทย พวกเขายังมีสิทธิได้ใบอนุญาตทำงานเมื่อสิ้นสุดระยะขึ้นทะเบียน ทำให้พวกเขาได้รับการคุ้มครองแรงงานอย่างสมบูรณ์", "title": "การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร" }, { "docid": "297191#3", "text": "เอนไซม์ reverse transcriptase ที่ได้รับการศึกษามาพอสมควรแล้วได้แก่จากการที่ไวรัสเอชไอวีใช้เอนไซม์รีเวิร์สแทรนสคริปเทสในการทำซ้ำสารพันธุกรรมและสร้างไวรัสตัวใหม่ (เป็นส่วนหนึ่งของวงจรการเพิ่มจำนวนของเรโทรไวรัส) มียาโดยเฉพาะที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อยับยั้งกระบวนการนี้ทำให้สามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสได้ โดยรวมๆ ยาในกลุ่มนี้เรียกว่า reverse transcriptase inhibitor รวมถึงชนิดที่เป็น nucleoside และ nucleoside analogue อย่าง zidovudine, lamivudine และ tenofovir รวมถึง non-nucleoside inhibitor อย่าง nevirapine ด้วย", "title": "รีเวิร์สแทรนสคริปเทส" }, { "docid": "78740#13", "text": "การตรวจหาเชื้อเอชไอวีและเอดส์ทำได้ด้วยการเจาะเลือด ซึ่งแบ่งเป็นการตรวจหาปริมาณ CD4 (CD4 Count) เป็นการตรวจเซลล์เม็ดเลือดขาวที่อยู่ในเลือด เพื่อดูความเสียหายที่เกิดจากไวรัสเอชไอวีทำลายเม็ดเลือดขาว ซึ่งเป็นที่อยู่ของระบบภูมิคุ้มกัน การตรวจหาปริมาณไวรัสที่อยู่ในเลือด (Viral Load:  VL) และการตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัส (Nucleic Acid Test: NAT)", "title": "เอชไอวี" }, { "docid": "20779#38", "text": "เป้าหมายทั่วไปของการรักษาโดยสูตรยา HAART คือการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน และลดจำนวนไวรัสเอชไอวีในกระแสเลือดให้อยู่ต่ำกว่าระดับที่ตรวจวัดได้ แต่ทั้งนี้ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยให้หายจากการติดเชื้อเอชไอวีได้ เมื่อหยุดยาแล้วเชื้อเอชไอวีก็สามารถเพิ่มจำนวนกลับมาก่อโรคได้ และเชื้อที่เพิ่มจำนวนขึ้นมานี้มักดื้อต่อยาต้านไวรัส[46][47] ทั้งนี้เวลาที่ต้องใช้ในการกำจัดไวรัสให้หมดไปจากร่างกายด้วยการใช้ยาต้านไวรัสนั้นก็นานกว่าอายุขัยของคนปกติ[48] อย่างไรก็ดีผู้ติดเชื้อเอชไอวีหลายคนรู้สึกได้ถึงสุขภาพทั่วไปและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งนำไปสู่การลดลงของอัตราการตายและอัตราการเป็นโรคที่เกี่ยวเนื่องกับเอชไอวี[49][50][51] ในขณะที่หากไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ผู้ป่วยจะมีการดำเนินโรคจากการติดเชื้อเอชไอวีไปยังการเป็นเอดส์ด้วยมัธยฐานระหว่าง 9-10 ปี และ median survival time หลังจากดำเนินเป็นโรคเอดส์แล้วที่ 9.2 เดือน[52] เชื่อกันว่าการรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตร HAART ทำให้เพิ่มอายุขัยได้ระหว่าง 4-12 ปี[53][54]", "title": "เอดส์" }, { "docid": "174197#3", "text": "ไวรัสเอชไอวีซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเอดส์นั้นถ่ายทอดโดยตรงจากแอฟริกาไปยังประเทศเฮติ จากนั้นจึงแพร่กระจายในสหรัฐอเมริกาและส่วนอื่นๆ ของโลกตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ในปัจจุบันโรคเอดส์จัดเป็นโรคระบาดทั่ว โดยมีอัตราการติดเชื้อสูงถึงร้อยละ 25 ในภูมิภาคแอฟริกาใต้และตะวันออก ในปี พ.ศ. 2549 ความชุกของเชื้อเอชไอวีในสตรีมีครรภ์ในประเทศแอฟริกาใต้คือร้อยละ 29.1 การให้การศึกษาเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยและการระวังการติดเชื้อผ่านทางเลือดช่วยชะลออัตราการติดเชื้อในประเทศแถบแอฟริกาหลายประเทศ อัตราการติดเชื้อในเอเชียและอเมริกายังกลับเพิ่มขึ้นอีก จากการวิจัยประชากรโดยองค์การสหประชาชาติประมาณการณ์ว่าโรคเอดส์จะคร่าชีวิตประชาชนในอินเดียถึง 31 ล้านคน และในจีนถึง 18 ล้านคนในปี พ.ศ. 2568 ผู้เสียชีวิตจากโรคเอดส์โดยรวมในแอฟริกาอาจสูงถึง 90–100 ล้านคนในปี พ.ศ. 2568", "title": "โรคระบาดทั่ว" }, { "docid": "78740#1", "text": "เชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อได้ทาง เลือด อสุจิ สารคัดหลั่งในช่องคลอด หรือน้ำนม ซึ่งภายในของเหลวที่ร่างกายสร้างขึ้นนี้ เชื้อเอชไอวีสามารถอยู่ได้ทั้งในสภาพอิสระในตัว และอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ สาเหตุใหญ่ของการแพร่กระจายเชื้อ คือ การมีเพศสัมพันธ์โดยที่ไม่ได้ป้องกัน เข็มฉีดยาที่ปนเปื้อน การติดเชื้อจากแม่สู่ลูกผ่านทางการให้น้ำนม เลือดที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเอชไอวีจากการบริจาคให้ธนาคารเลือด", "title": "เอชไอวี" }, { "docid": "158303#4", "text": "ชีวิตส่วนตัว ร็อค ฮัดสัน สมรสกับ ฟิลิส เกตส์ เลขานุการของเอเยนต์ส่วนตัว โดยรสนิยมทางเพศส่วนตัวเป็นชายรักร่วมเพศ ในบั้นปลายชีวิต เขาป่วยด้วยโรคมะเร็งปอด และติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งอ้างว่าติดมาจากการถ่ายเลือด เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มีการตรวจไวรัสเอชไอวี ในโลหิตที่ได้มาจากการบริจาค", "title": "ร็อค ฮัดสัน" }, { "docid": "18892#2", "text": "จนกระทั่งตั้งแต่กลางปี ค.ศ. 1980 ก็ได้เกิดยาต้านไวรัสขึ้นมาเป็นสิบๆ ตัว จากความเจริญ\nก้าวหน้าทางการแพทย์สาขาพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลที่ทำให้เราเข้าใจโครงสร้างและการทำงานของเชื้อไวรัส ประกอบกับความกดดันทางการแพทย์ ที่จะต้องหาทางรักษาโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจากเชื้อไวรัสเอชไอวี (human immunodeficiency virus - HIV) ที่ทำให้เกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ (acquired immunodeficiency syndrome - AIDS) มีคนกล่าวว่าเราควรขอบคุณโรคเอดส์ เพราะมันกดดันเราอย่างมากให้ต้องพัฒนาเทคโนโลยีการต่อต้านไวรัส", "title": "ยาต้านไวรัส" }, { "docid": "218864#1", "text": "และยังอาจมีความหมายถึงกลุ่มผู้ชายที่มีความเสี่ยงสูงที่อาจได้รับเชื้อโรคจากทางเพศสัมพันธ์ อย่างเช่น เชื้อเอชไอวี MSM เป็นการแบ่งแยกทางพฤติกรรม ไม่ใช่การแบ่งแยกทางอัตลักษณ์ โดยใช้ในการศึกษาเรื่องการแพร่กระจายของไวรัสเอชไอวีเป็นเบื้องต้น", "title": "ผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย" }, { "docid": "297624#2", "text": "นักวิจัยเรื่องเอชไอวีส่วนใหญ่ยอมรับว่าเชื้อเอชไอวีวิวัฒนาการมาจากเชื้อไวรัสภูมิคุ้มกันเสื่อมในลิงหรือเอสไอวี (Simian Immunodeficiency Virus - SIV) และเชื้อเอชไอวีแพร่มาจากไพรเมทที่ไม่ใช่มนุษย์ในอดีต (แบบโรครับจากสัตว์ - zoonosis) งานวิจัยในเรื่องนี้ทำโดยใช้ความรู้ทาง molecular phylogenetics เพื่อเปรียบเทียบลำดับจีโนมของไวรัสเพื่อหาความเกี่ยวข้องกัน\nเนื่องจากชนิดส่วนใหญ่ของเอชไอวี-1 นั้นมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสายพันธุ์เชื้อเอสไอวีที่ติดต่อในลิงชิมแปนซีสายพันธุ์ \"Pan troglodytes troglodytes\" (SIVcpz) นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ยอมรับว่าเชื้อเอชไอวีมีขึ้นครั้งแรกในประชากรชิมแปนซีป่าใน West-Central Africa จะเป็นในป่าฝนทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ของแคเมอรูน (modern East Province) ใกล้แม่น้ำ Sanaga หรือตอนใต้ลงไปกว่านั้นใกล้ Kinshasa ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกนั้นยังเป็นประเด็นสนทนาในแวดวงวิทยาศาสตร์อยู่\nจากการตรวจลำดับพันธุกรรมเชื้อเอชไอวี-1 ที่ได้รับการเก็บรักษาไว้ในตัวอย่างเชื้อร่วมกับการประมาณอัตราการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส นักวิทยาศาสตร์ได้คำนวณพบว่าการติดเชื้อข้ามจากชิมแปนซีมาสู่มนุษย์เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 โดยอาจเป็นช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1915-1941 งานวิจัยชิ้นหนึ่งตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 2008 ได้ทำการวิเคราะห์ลำดับสารพันธุกรรมของไวรัสที่ได้จากชิ้นเนื้อปี ค.ศ. 1960 ที่เพิ่งได้รับการค้นพบเทียบกับลำดับสารพันธุกรรมที่ทราบอยู่ก่อนแล้ว ทำให้เชื่อว่าน่าจะมีบรรพบุรุษของเชื้อร่วมกันช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1884 ถึง ค.ศ. 1924", "title": "ประวัติศาสตร์เอชไอวี/เอดส์" }, { "docid": "232651#53", "text": "ในปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบกันแน่ชัดว่าเชื้อไวรัสดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นมาจากที่ไหนหรือเมื่อไหร่[153][154] การวิเคราะห์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ได้เสนอว่าไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ เอช 1 เอ็น 1 ซึ่งเกิดการระบาดอยู่ในปัจจุบันนั้น มีการพัฒนามาจากสายพันธุ์ที่ค้นพบเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 และแพร่สู่มนุษย์เป็นเวลาหลายเดือนก่อนที่จะมีการรับรองอย่างเป็นทางการ และถูกระบุว่าเป็นไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่[153][155]", "title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009" }, { "docid": "20779#16", "text": "เชื้อไวรัสเอชไอวีพบในเลือดและสารคัดหลั่งหลายชนิดของร่างกาย ได้แก่ น้ำอสุจิ เมือกในช่องคลอดสตรี น้ำนม และอาจพบได้ในปริมาณน้อยๆ ในน้ำตาและปัสสาวะ เมื่อพิจารณาจาก แหล่งเชื้อแล้วจะพบว่าเชื้อไวรัสเอชไอวีติดต่อได้ หลายวิธีคือ", "title": "เอดส์" }, { "docid": "20779#7", "text": "รวมแปลว่า “กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม” เป็นกลุ่มอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสเอชไอวี เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาว ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย เสื่อมหรือบกพร่องลง เป็นผลทำให้เป็นโรคติดเชื้อหรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการมักจะรุนแรง เรื้อรัง และเสียชีวิตในที่สุด", "title": "เอดส์" }, { "docid": "343022#23", "text": "ตูมชาขาวมีสารโพลีฟีนอลอยู่มากที่เป็นสิ่งทรงพลัง ช่วยพัฒนากระบวนการล้างสารพิษและสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย จึงช่วยป้องกันเซลล์ของร่างกายจาก การเสื่อมสภาพและถูกทำลายก่อนวัยอันควร ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในระบบภูมิคุ้มกันทางธรรมชาติและปรับสภาพอนุมูลอิสระให้เป็นกลาง จากข้อมูลในวารสารวิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์และโรคภูมิแพ้ ฉบับประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ระบุว่าสารคาเทชินในชาขาว โดยเฉพาะ EGCG มีสรรพคุณป้องการติดเชื้อเอชไอวีผลจากการทดลองแสดงให้เห็นว่า ชาขาวเข้มข้นช่วยป้องกันไม่ให้เชื้อไวรัสเอชไอทีจับตัวกับเซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิดที่มีความสำคัญต่อภูมิคุ้มกันในร่างกายที่เรียกว่า “ ทีเซลล์ ” (T Cells) ซึ่งเป็นด่านแรกที่ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวีได้[20]", "title": "ชาขาว" }, { "docid": "212367#4", "text": "โดยรวมแล้วเขามีสุขภาพดีในช่วงวัยเด็ก จนกระทั่งล้มป่วยขั้นรุนแรงด้วยโรคปอดบวม ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1984 และเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1984 ในขณะที่ดำเนินการเอาปอดออกบางส่วน ไวต์ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเอดส์ สันนิษฐานว่าติดเชื้อจากการรักษาด้วยแฟกเตอร์ VIII ที่ปนเปื้อนด้วยเชื้อเอชไอวี ในสมัยนั้นสังคมมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเอดส์ไม่มาก นักวิทยาศาสตร์เพิ่งค้นพบในช่วงต้นปีนั้นว่าเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุของโรคเอดส์ และเนื่องจากเอชไอวีเพิ่งถูกค้นพบได้ไม่นาน เลือดสำรองจำนวนมากเป็นเลือดที่ติดเชื้อเพราะแพทย์ไม่รู้วิธีตรวจสอบเชื้อโรค และผู้บริจาคไม่รู้ตัวว่าพวกเขาติดเชื้อ ผู้ป่วยโรคเฮโมฟิเลียที่รับการรักษาด้วยปัจจัยการแข็งตัวของเลือดระหว่างปี 1979 ถึง 1984 เกือบ 90% ติดเชื้อเอชไอวี ในเวลานั้นการวินิจฉัยของไวต์ ค่า CD4 ของเขาตกลงไปที่ 25 (ค่าปกติอยู่ที่ประมาณ 1,200) แพทย์คาดว่าไวต์จะมีชีวิตอยู่ในอีกเพียง 6 เดือนเท่านั้น", "title": "ไรอัน ไวต์" }, { "docid": "232651#25", "text": "เป็นที่เชื่อกันว่า การแพร่ระบาดของไวรัสเอช 1 เอ็น 1 เกิดขึ้นในวิธีเดียวกับการแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล โดยส่วนใหญ่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่แพร่ระบาดจากคนสู่คนผ่านทางการไอหรือการจามของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ในบางครั้ง ก็อาจรวมไปถึงการสัมผัสกับบางสิ่งซึ่งมีไวรัสไข้หวัดใหญ่อยู่บริเวณนั้น แล้วไปสัมผัสกับปากหรือจมูกของตนเองได้อีกทางหนึ่งด้วย[9] ค่าความเร็วในการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส (ค่าตัวเลขซึ่งระบุว่ามีผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อไปยังบุคคลอื่นได้มากเพียงใด ในประชากรซึ่งไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรค) ต่อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ เอช 1 เอ็น 1 พ.ศ. 2552 ถูกประเมินไว้ที่ 1.75[74]", "title": "การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009" }, { "docid": "34394#3", "text": "ปัจจุบัน สถาบันปาสเตอร์ยังคงเป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกที่ยังคงทำงานวิจัยงานด้านจุลชีววิทยาอยู่ รวมทั้งการค้นพบเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเอดส์", "title": "หลุยส์ ปาสเตอร์" }, { "docid": "20779#17", "text": "การมีเพศสัมพันธุ์ เกิดขึ้นได้ทั้งการมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน และกับเพศตรงข้าม การรับเลือดและองค์ประกอบของเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะรวมทั้งไขกระดูกและน้ำอสุจิที่ใช้ผสมเทียมซึ่งมีเชื้อ แต่ในปัจจุบันปัญหานี้ได้ลดลงไปจนเกือบหมด เนื่องจากมีการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีในผู้บริจาคเหล่านี้ รวมทั้งคัดเลือกกลุ่มผู้บริจาคซึ่งไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ไม่รับบริจาคเลือดจากผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้น เป็นต้น การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน และของมีคมที่สัมผัสเลือด จากมารดาสู่ทารก ทารกมีโอกาสรับเชื้อได้หลายระยะ ได้แก่ เชื้อไวรัสแพร่มาตามเลือดสายสะดือสู่ทารกในครรภ์ ติดเชื้อขณะคลอด จากเลือดและเมือกในช่องคลอด ติดเชื้อในระยะเลี้ยงดูโดยได้รับเชื้อจากน้ำนม จะเห็นได้ว่าวิธีการติดต่อเหล่านี้เหมือนกับไวรัสตับอักเสบบีทุกประการ ดังนั้นถ้าไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ก็จะไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ด้วย", "title": "เอดส์" }, { "docid": "20779#51", "text": "มีรายงานถึงโรคเอดส์ครั้งแรกในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2526 เมื่อ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้บันทึกการระบาดของโรค Pneumocystis carinii pneumonia (ปัจจุบันเรียก Pneumocystis pneumonia จากเชื้อ Pneumocystis jirovecii) ในชายรักร่วมเพศ 5 คนในลอสแอนเจลิส[81] ในระยะแรก CDC ยังไม่มีชื่อเรียกโรคนี้ โดยมักเรียกตามลักษณะอาการที่ปรากฏของโรค เช่น lymphadenopathy (พยาธิสภาพของต่อมน้ำเหลือง) ซึ่งเป็นชื่อที่เคยใช้เป็นชื่อของไวรัสเอชไอวีเมื่อแรกค้นพบ[10][11] ชื่ออื่นเช่น Kaposi's Sarcoma and Opportunistic Infection (เนื้องอกคาโปซีที่มีการติดเชื้อฉวยโอกาส) ซึ่งเป็นชื่อที่มีการตั้งทีมงานดูแลในปี พ.ศ. 2524[82] โดยทั่วไปยังมีการใช้คำว่า GRID (Gay-related immune deficiency - ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องสัมพันธ์กับกลุ่มรักร่วมเพศ) อีกด้วย[83] ทาง CDC ระหว่างที่กำลังหาชื่อโรคอยู่นั้นเคยใช้คำว่า \"โรค 4H\" (the 4H disease) เนื่องจากโรคนี้ดูเหมือนจะพบในชาวเฮติ (Heitians) ,กลุ่มรักร่วมเพศ (Homosexuals), ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย (Hemophiliacs) และผู้ใช้ยาเฮโรอิน (Heroin users) [84] อย่างไรก็ดีหลังจากมีการค้นพบว่าโรคนี้ไม่ได้พบแต่ในกลุ่มคนรักร่วมเพศ[82] คำว่า GRID ก็กลายเป็นคำที่ทำให้เข้าใจผิด และคำว่า AIDS ก็ถูกเสนอขึ้นมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2525[85] จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2525 CDC ก็เริ่มใช้ชื่อโรคเอดส์ และเริ่มให้นิยามของโรคนี้ได้อย่างเหมาะสม[86]", "title": "เอดส์" }, { "docid": "297317#7", "text": "ข้ออ้างเช่นนี้ได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดแล้วในบทความทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ชนิดที่มี[[การตรวจสอบโดยผู้เสมอกัน]] เกิดเป็น[[ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์]]ที่ล้มล้างข้ออ้างของแนวคิดนี้อย่างชัดเจน และเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุของเอดส์จริงๆ สำหรับกรณีที่ดูสเบิร์กอ้างอิงว่ายังไม่สามารถ \"แยก\" เชื้อเอชไอวีออกมาได้นั้น การทำ[[ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส]] (PCR) หรือเทคนิกอื่นๆ สามารถแสดงให้เห็นการมีอยู่ของเชื้อไวรัสได้ และคำอ้างของแนวคิดปฏิเสธที่ว่าการตรวจเอชไอวีไม่มีความแม่นยำนั้นมาจากความเข้าใจที่ผิดหรือไม่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับวิธีการตรวจแอนติบอดีต่อเอชไอวีและการแปลผล ส่วนเรื่องของ Koch's postulate นั้น วารสาร New Scientist กล่าวว่า \"ควรมีการถกเถียงตั้งแต่ความเหมาะสมของการมุ่งเอาหลักการที่คิดขึ้นสำหรับพิจารณาการติดเชื้อแบคทีเรียตั้งแต่ศตวรรษที่ยังไม่มีการค้นพบไวรัสมาใช้ในการนี้ อย่างไรก็ดี เชื้อ HIV นั้นเป็นไปตาม Koch's postulate ทุกประการ ตราบเท่าที่ไม่มีการนำหลักการนั้นไปใช้อย่างบิดเบือนจนไม่เหลือความเป็นเหตุเป็นผล\" บทความเดียวกันนี้ได้อธิบายไว้ชัดเจนว่าเชื้อ HIV ตรงตาม postulate แต่ละข้ออย่างไร", "title": "แนวคิดปฏิเสธเอดส์" }, { "docid": "78740#4", "text": "ไวรัสโรคเอดส์หรือเชื้อไวรัสเอชไอวีเป็นไวรัสในกลุ่ม Retrovirus มีสายพันธุกรรมหรือยีนเป็น RNA แทนที่จะเป็น DNA เหมือนกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิตชั้นสูงทั่วไป ซึ่งไวรัสในกลุ่มนี้มีหลายตัวด้วยกัน และมีการค้นพบมานานแล้ว โดยพบในสัตว์ หลายชนิด เช่น ม้า หนู เป็ด ไก่ เป็นต้น แต่ไวรัสโรคเอดส์เป็นไวรัสที่พบใหม่ เชื่อกันว่าเป็นไวรัสที่มีวิวัฒนาการ และพัฒนา ตัวเองมาจากไวรัสที่แต่เดิมทำให้เกิดโรคเฉพาะในสัตว์เท่านั้น ไม่สามารถทำให้เกิดโรคในคนได้ แต่ต่อมาเมื่อเชื้อมีวิวัฒนาการ จากการได้รับ RNA ในไวรัสจำพวกแตกตัวอีกหลายชนิด จนมีระบบการทำงานในสัตว์ที่มีระบบน้ำเหลืองและระบบการแต่งตัวของเซลล์ จนสามารถทำให้เกิดโรคในสัตว์ที่ใกล้เคียงกับคน เช่น ลิง โดยเฉพาะลิงเขียวในทวีปแอฟริกา (Africa Green Monkey) หรือลิงชิมแปนซี (Chimpanzee) เป็นต้น หลังจากนั้นไวรัสเหล่านั้นอาจติดเข้ามาในคน โดยในระยะแรกเป็นไวรัสที่ ทำให้เกิดเป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในคนเท่านั้น ต่อมาจึงเกิดเป็นโรคเอดส์ที่เป็นเฉพาะในคนเท่านั้น", "title": "เอชไอวี" } ]
818
ขีปนาวุธอากาศ เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ ใช้คู่กับเครื่องบินอะไร?
[ { "docid": "83961#0", "text": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ ([AIM-54 Phoenix]error: {{lang-xx}}: text has italic markup (help)) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยเรดาร์พิสัยใกล้ที่สามารถบรรทุกได้มากถึงหกลูก มันเคยถูกใช้ในกองทัพเรือสหรัฐฯ และในปัจจุบันใช้โดยเครื่องบินขับไล่เอฟ-14 ทอมแคทของกองทัพอากาศอิหร่านซึ่งเป็นอากาศยานลำเดียวที่สามารถบรรทุกได้", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" } ]
[ { "docid": "83961#11", "text": "เมื่อร่วมกับเรดาร์เอดับบลิวจี-9 ที่ใช้ในเอฟ-111บีและเอฟ-14 ทอมแคทมันจึงเป็นขีปนาวุธที่ใหญ่ที่สุดและทรงพลังที่สุดเท่าที่เคยใช้บนเครื่องบินขับไล่", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#22", "text": "ผู้สนับสนุนสิ่งนี้อ้างในความจริงที่ว่า ในสงครามอ่าวนักบินอิรักจะหนีทันทีเมื่อนักบินเอฟ-14 ของอเมริกันล็อกตำแหน่งพวกเขาด้วยเรดาร์เอเอ็น-เอดับบลิวจี-9 ซึ่งเสนอว่านักบินอิรักได้เรียนรู้ที่จะหลีกเลี่ยงเอฟ-14 มีการโต้เถียงที่ว่าเครื่องบินขับไล่ทั้งหมดของอิรักจะหนีไปโดยไม่สนใจว่าเครื่องบินที่พวกเขาเข้าปะทะเป็นชนิดใด กองทัพอากาศสหรัฐจะมีชัยเหนือการฝ่ายอิรักทางอากาศด้วยเอฟ-15 อีเกิลมากกว่าเอฟ-14 ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#7", "text": "เมื่อเทียบกับขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางนำวิถีด้วยเรดาร์เอไอเอ็ม-120 แอมแรมที่ใช้คอมพิวเตอร์ดิจอตอลช่วยในการเข้าปะทะกับเป้าหมาย มันสามารถรับข้อมูลเพิ่มจากเครื่องบินก่อนที่จะใช้ตัวค้นหาเพื่อเข้าสู่ขั้นตอยสุดท้าย", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#23", "text": "ตามที่คูเปอร์กล่าว กองทัพอากาศอิหร่านสามารถใช้เอฟ-14 และเอไอเอ็ม-54 ตลอดสงครามอิรัก-อิหร่าน แม้ว่าจะมีหลายลำที่ไม่สามารถขึ้นบินได้ แย่กว่านั้นในปีพ.ศ. 2530 เอไอเอ็ม-54 เหลือจำนวนน้อยมากโดยมีน้อยกว่า 50 ลูกที่ยังใช้งานได้ ขีปนาวุธนั้นต้องใช้แบทเตอรี่ความร้อนอันใหม่ซึ่งหาซื้อได้จากสหรัฐเท่านั้น ท้ายสุดอิหร่านก็หาซื้อจนได้อย่างลับๆ โดยมีมูลค่าลูกละ 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ อิหร่านได้รับชิ้นส่วนอะไหล่ของทั้งเอฟ-14 และเอไอเอ็ม-54 จากหลายแหล่งในสงครามอิหร่าน-อิรัก และยังได้รับอยู่หลังจากสงครามจบลง อิหร่านเริ่มโครงการทางอุตสหกรรมเพื่อสร้างอะไหล่ให้กับเครื่องบินและขีปนาวุธของพวกเขา แม้ว่ามีการอ้างว่าไม่มีทางที่เอฟ-14 และเอไอเอ็ม-54 จะทำงานได้หากขาดแหล่งอะไหล่ มันก็มีหลักฐานที่ว่าอิหร่านยังคงผลิตอะไหล่อย่างลับๆ[3]", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "74545#8", "text": "ขีปนาวุธรุ่นแรกๆ ถูกแทนที่โดยรุ่นที่ก้าวหน้ากว่า โดยเฉพาะการมาของอิเลคทรอนิกซึ่งทำให้มันเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้นและยังเป็นการเพิ่มพื้นที่ให้กับเครื่องยนต์จรวด ดังนั้นจึงมีการเปลี่ยนเอไอเอ็ม-54เอ ฟีนิกซ์ เอไอเอ็ม-7อี-2 สแปร์โรว์ และเอไอเอ็ม-9เจ ไซด์ไวน์เดอร์มาเป็นฟีนิกซ์แบบบีและซี แบบเอฟ เอ็ม พีสำหรับสแปร์โรว์ และไซด์ไวน์เดอร์ก็เปลี่ยนเป็นแบบแอลและเอ็ม", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "83961#2", "text": "ขีปนาวุธฟีนิกส์เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้เพียงแบบเดียวของสหรัฐฯ และเป็นขีปนาวุธที่สามารถจัดการเป้าหมายได้มากกว่าหนึ่ง", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#27", "text": "ในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2542 เอฟ-14 อีกลำของสหรัฐได้ยิงเอไอเอ็ม-54 ใส่มิก-23 ของอิรักซึ่งมุ่งหน้ามายังทางใต้ในเขตห้ามบินจากฐานบินอัล ทากัดดัมทางตะวันตกของแบกแดด ขีปนาวุธนั้นพลาดเป้าและตกลงสู่พื้นดิน[5]", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#21", "text": "รายงานมากมายอ้างว่าการใช้เอฟ-14 ส่วนมากนั้นใช้ทำหน้าที่แจ้งเตือนล้วงหน้าทางอากาศโดยมีเครื่องบินขับไล่คอบคุ้มครอง อย่างไรก็ตามคูเปอร์อ้างว่ากองทัพอากาศอิหร่านใช้เอฟ-14 เป็นเครื่องบินขับไล่สกัดกั้น และในเวลาเดียวกันก็เป็นเครื่องบินขับไล่ที่ใช้เอไอเอ็ม-54 ทำการสังหารได้ 60-70 แต้ม เอฟ-14 มักถูกใช้เพื่อป้องกันเครื่องบินบรรทุกเชื้อเพลิงของอิหร่านที่คอยสนับสนุนการเข้าโจมตีอิรัก และตรวจตราแนวชายแดนด้วยเรดาร์ นอกจากนั้นเอฟ-14 ยังถูกดัดแปลงให้เป็นเครื่องบินแจ้งเตือนล่วงหน้า", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "74545#38", "text": "การมีส่วนร่วมของเอฟ-14 ในสงครามอ่าวเมื่อปีพ.ศ. 2534 ประกอบด้วยการลาดตระเวนรบเหนือทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภารกิจเหนือพื้นดินที่ทั้งคุ้มกันการโจมตีและการสอดแนม จนกระทั่งวันสุดท้ายของปฏิบัติการพายุทะเลทรายมาถึง การบินครองอากาศในประเทศก็ถูกทำโดยเอฟ-15 อีเกิลของกองทัพอากาศสหรัฐ กฎการเข้าปะทะยังเน้นถึงการระบุมิตรหรือศัตรูเมื่อต้องใช้ขีปนาวุธระยะไกลเกินสายตาอย่างเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์และเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ สิ่งนี้เป็นการขัดขวางทอมแคทจากการใช้อาวุธที่ทรงอานุภาพที่สุดของมัน นอกจากนั้นสัญญาณที่ทรงพลังจากเรดาร์เอดับบลิวจี-9 ถูกตรวจจับได้ง่ายในระยะไกล กองทัพเรือสหรัฐได้รับความเสียหายโดยเสียเอฟ-14 ไปเพียงลำเดียวจากศัตรูเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2534 เมื่อเอฟ-14เอ+ หมายเลขบี/เอ็น 161430 ถูกยิงตกโดยขีปนาวุธพื้นสู่อากาศเอสเอ-2ขณะทำภารกิจคุ้มกันใกล้กับฐานบินอัล อซาดในอิรัก ลูกเรือทั้งสองนายดีดตัวออกมาทัน โดยนักบินได้รับการช่วยเหลือจากกองกำลังพิเศษและผู้ควบคุมเรดาร์ถูกจับเป็นเชลยโดยทหารฝ่ายอิรักในค่ายเชลยศึกจนจบสงคราม เอฟ-14 ยังได้ทำแต้มสุดท้ายของมันโดยการยิงเฮลิคอปเตอร์มิล เอ็มไอ-8 ตกด้วยเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ ", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "83961#8", "text": "การผสมผสานของเอไอเอ็ม-54/เอดับบลิวจี-9 เป็นความสามารถในการปะทะเป้าหมายหลายเป้าได้เป็นครั้งแรก (มากถึง 24 เป้าหมาย) และยิงขีปนาวุธออกไปได้มากถึง 6 ลูกเกือบพร้อมกัน ขีปนาวุธขนาด 1,000 ปอนด์จะถูกติดตั้งด้วยหัวรบแบบทั่วไป โครงสร้างของมันเป็นเหมือนเอไอเอ็ม-47 ฟอลคอนที่ใหญ่ เครื่องบินสามารถติดตั้งได้ 4 ลูกที่ใต้ท้องและอีก 2 ลูกใต้ปีกแต่ละข้าง ฟีนิกซ์สามารถติดตั้งพร้อมกันได้มากสุด 6 ลูกและใช้ราวปล่อยที่มีนำหนักมากว่า 8,000 กิโลกรัมหรือสองเท่าของขีปนาวุธสแปร์โรว์ ดังนั้นฟีนิกซ์จึงมักติดตั้งครั้งแรก 4 ลูกพร้อมกับ สแปร์โรว์และไซด์ไวน์เดอร์อย่างละ 2 ลูก มีรายงานว่าเอฟ-14 ไม่สามารถลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบินพร้อมฟีนิกซ์ทั้ง 6 ลูกได้", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "74545#16", "text": "เอฟ-14 ทอมแคทถูกออกแบบมาให้เป็นทั้งเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศและเครื่องบินสกัดกั้นทางทะเลพิสัยไกล เอฟ-14 มีสองที่นั่งพร้อมฝาครอบห้องนักบินที่ให้มุมมอง 360 องศา เครื่องบินมีจุดเด่นที่ปีกซึ่งสามารถพับได้อย่างอัตโนมัติเมื่อทำการบิน ในการเข้าสกัดกั้นด้วยความเร็วสูงปีกจะลู่ไปข้างหลัง พวกมันจะกางออกเพื่อทำให้เอฟ-14 เลี้ยวได้แคบขึ้นและได้เปรียบในการต่อสู้ มันถูกออกแบบมาเพื่อพัฒนาการทำงานของเอฟ-4 แฟนทอม 2 ในหลายๆ ด้าน ลำตัวและปีกของเอฟ-14 ทำให้มันไต่ระดับได้รวดเร็วกว่าเอฟ-4 ในขณะที่หางคู่นั้นช่วยเพิ่มความเสถียร เอฟ-14 มีปืนแกทลิ่งเอ็ม61 วัลแคนขนาด 20 ม.ม.ติดอยู่ที่ด้านซ้าย และสามารถใช้ขีปนาวุธเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ และเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ได้ กองทัพเรือสหรัฐต้องการให้เอฟ-14 มีอัตราแรงขับต่อน้ำหนักให้เท่ากับหนึ่งหรือมากกว่า แต่นั่นก็ไม่สามารถเป็นจริงได้จนกระทั่งเอฟ-14 เข้าประจำการ เพราะว่าการพัฒนาเครื่องยนต์ที่ล้าช้า", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "74545#31", "text": "เดิมทีทอมแคทนั้นถูกออกแบบมาเพื่อเป็นทั้งเครื่องบินที่คล่องแคล่วและเครื่องบินจัดการกับขีปนาวุธร่อนและเครื่องบินทิ้งระเบิดของโซเวียต ผลที่ได้คือเครื่องบินที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพในแทบจะทุกด้าน ในด้านอาวุธทอมแคทถูกออกแบบมาเพื่อใช้เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์โดยเฉพาะ แต่ไม่เหมือนกับเอฟ-111บีที่มันสามารถจัดการกับเป้าหมายทั้งในระยะกลางและใกล้ได้ ดังนั้นเอฟ-14 จึงเป็นเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศอย่างสมบูรณ์และไม่ได้เป็นแค่เครื่องบินสกัดกั้นพิสัยไกลเท่านั้น มันมีปืนเอ็ม61 วัลแคนพร้อมกระสุน 676 นัดและสามารถเลือกการยิงแบบ 4,000 หรือ 6,000 นัดต่อนาทีได้ มันสามารถบรรทุกได้มากกว่า 6,700 กิโลกรัมสำหรับภารกิจต่อสู้ในหลายตำแหน่งทั้งที่ใต้ท้องและใต้ปีก โดยปกติแล้วนั่นแปลว่ามันสามารถมีฟีกนิซ์หรือสแปร์โรว์สูงสุดได้ 2-4 ลูก ฟีนิกซ์หรือสแปร์โรว์สามารถติดตั้งที่ปีกได้ 2 ลูก และไซด์ไวน์เดอร์ 2 ลูกบนปีก ในบางกรณีเอไอเอ็ม-7 สี่ลูกและเอไอเอ็ม-9 สี่ลูกจะติดตั้งอยู่ที่ใต้ท้องเหมือนกับของเอฟ-4 และเอฟ-15 ", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "83961#3", "text": "อากาศยานของสหรัฐฯ ส่วนใหญ่จะใช้ขีปนาวุธที่มีขนาดเล็กและราคาถูกกว่าซึ่งคือเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ การนำวิถีของสแปร์โรว์ต้องการอากาศยานที่ใช้เรดาร์ของมันเพื่อชี้เป้าไม่เช่นนั้นมันก็จะสูญเสียเป้าหมาย วิธีนี้หมายความว่าอากาศยานไม่มีความสามารถในการตรวจหาในขณะที่สนับสนุนสแปร์โรว์ที่ยิงออกไปซึ่งมันลดประสิทธิภาพในการระวังตัวของเครื่องบิน", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "81542#0", "text": "เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ () เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (\"Fox Two\") ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน ", "title": "เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์" }, { "docid": "83961#6", "text": "ฟีนิกซ์มีรูปแบบนำวิถีมากมายและสามารถทำระยะได้มากที่สุดโดยใช้เรดาร์เอดับบลิวจี-9 ของเอฟ-14 (หรือเรดาร์เอพีจี-71 ในเอฟ-14บีและเอฟ-14ดี) เมื่อมันไต่ระดับระหว่าง 80,000 และ 100,000 ฟุตโดยมีความเร็วเกือบ 5 มัค ด้วยการใช้ความสูงเพื่อเพิ่มแรงจลน์ ขีปนาวุธจะดำดิ่งตรงไปที่เป้าหมายและมันจะเริ่มขั้นตอนสุดท้าย คือการเริ่มระบบเรดาร์สำหรับการบินช่วงสุดท้าย", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "225436#50", "text": "ทั้งโลกเปลี่ยนไปใช้เครื่องบินไอพ่นในช่วงนี้ กรัมแมนได้สร้างเอฟ9เอฟ แพนเธอร์ที่ใช้โดยกองทัพเรือสหรัฐฯ เป็นเครื่องบินหลักในสงครามเกาหลี และมันเป็นหนึ่งในเครื่องบินขับไล่ไอพ่นรุ่นแรกๆ ที่มีสันดาปท้าย เดอ ฮาวิลแลนด์ แวมไพร์เป็นเครื่องบินขับไล่ไอพ่นลำแรกของกองทัพเรืออังกฤษ เรดาร์ถูกใช้กับเครื่องบินกลางคืนอย่างเอฟ3ดี สกายไนท์ซึ่งได้ยิงมิกตกเหนือเกาหลี และต่อมาก็ติดตั้งให้กับเอฟ2เอช แบนชีและเครื่องบินปีกลู่หลังอย่างเอฟ7ยู คัทลาสและเอฟ3เอช ดีมอน ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศแบบอินฟราเรดรุ่นแรกๆ อย่างเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์และขีปนาวุธนำวิถีด้วยเรดาร์อย่างเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ซึ่งได้พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 20 ถูกนำมาใช้ครั้งแรกกับเครื่องบินปีกลู่หลังอย่างคัทลาสและดีมอน", "title": "เครื่องบินขับไล่" }, { "docid": "83961#10", "text": "กองทัพอากาศสหรัฐได้เลิกใช้ทั้งเอไอเอ็ม-47 และเอไอเอ็ม-54 สหรัฐๆม่มีขีปนาวุธใดมาทดแทนจนกระทั่งมีการนำเอาเอไอเอ็ม-120 แอมแรมมาใช้ รุ่นล่าสุดคือเอไอเอ็ม-120ซี-7 ที่มีพิสัย 116 กิโลเมตรซึ่งก็ยังด้อยกว่าเอไอเอ็ม-54 ที่ถูกปลดประจำการไปแล้ว", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#13", "text": "แม้ว่าจะมีความสามารถที่มากกว่า ฟีนิกซ์ก็ไม่ค่อยได้ใช้รบจริงๆ มีการยิงเพียงสองครั้งเท่านั้นและไม่มีการยืนยันว่าเป้าหมายถูกทำลาย แม้ว่าเอฟ-14 ของอิหร่านจะทำแต้มได้มากก็ตามในสงครามอิหร่าน-อิรัก เอฟ-15 อีเกิลของกองทัพอากาศทำหน้าที่การบินรบรักษาเขตในปฏิบัติการพายุทะเลทรายเมื่อปีพ.ศ. 2534 เนื่องมาจากเอฟ-15 มีความสามารถในการแยกแยะมิตรและศัตรูบนพื้น ทอมแคมนั้นไม่สามารถทำได้ตามกฎการปะทะเพื่อที่จะยิงเป้าหมายที่อยู่เลยการมองเห็น จากการสรรค์สร้างและใช้งาน ฟีนิกซ์กล่าวได้ว่ามันประสบความสำเร็จอย่างมาก อย่างไรก็ตามมันเป็นขีปนาวุธจากตระกูลฟอลคอนเพียงรุ่นเดียวที่ยังเหลืออยู่ มันไม่ได้ถูกใช้โดยชาติอื่น (นอกจากอิหร่าน) มันมีขนาดใหญ่ หนัก แพง และใช้งานได้ยากในการต่อสู้ระยะใกล้เมื่อเทียบกับสแปร์โรว์หรือแอมแรม", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#20", "text": "บางแหล่งข้อมูลของฝั่งตะวันตกอ้างว่ามันดูไม่เหมือนว่าฟีนิกซ์ถูกใช้อย่างเป็นทางการ อย่างแรกด้วยความยุ่งยากของขีปนาวุธและระบบควบคุมการยิง อิหร่านจึงได้จ้างช่างเทคนิคชาวอเมริกันมากมายมาทำการแก้ไข พวกเขาได้รับความรู้ในการใช้งานและดูแลรักษาระบบอาวุธที่ซับซ้อนจากช่างเหล่านั้น นอกจากนั้นการที่ไม่มีการสนับสนุนทางวิศวกรรมจากฮิวจ์ส แอร์คราฟท์ อะไหล่ และการพัฒนา ทำให้แม้กระทั่งช่างที่มีความชำนาญก็ยังไม่สามารถใช้งานอาวุธได้อย่างเต็มที่", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#29", "text": "หมวดหมู่:ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ หมวดหมู่:ขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ขีปนาวุธพิสัยกลาง", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#19", "text": "มีรายงานมากมายที่แตกต่างถึงขีปนาวุธ 285 ลูกที่มอบให้กับอิหร่าน[2] ในสงครามอิหร่าน-อิรักตั้งแต่ปีพ.ศ. 2523-2531 มีข่าวลือว่าช่างเทคนิคของสหรัฐได้ก่อวินาศกรรมเครื่องบินและอาวุธก่อนที่พวกมันจะออกจากประเทศหลังจากการปฏิวัติอิหร่านเมื่อปีพ.ศ. 2522 ทำให้เป็นไปไม่ได้ที่เครื่องบินจะยิงขีปนาวุธ อย่างไรก็ตามกองทัพอากาศอิหร่านสามารถทำการซ่อมแซมความเสียหายให้กับเครื่องบินบางลำเท่านั้น", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#1", "text": "เอไอเอ็ม-54 เดิมทีถูกพัฒนาในช่วงต้นปีพ.ศ. 2503 สำหรับเครื่องบินเอฟ-111บีที่ถูกยกเลิกและมีพื้นฐานมาจากโครงการอีเกิลสำหรับยกเลิกเอฟ-6ดี มิสไซเลอร์ ทั้งสองมีพื้นฐานมาจากความคิดเพื่อให้อากาศยานบรรทุกขีปนาวุธพิสัยใกล้ที่ช้าและไม่คล่องตัวทำการตอบโต้เครื่องบินทิ้งระเบิดที่บรรทุกขีปนาวุธมาด้วย มันไม่ถูกใช้ในระยะใกล้", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "74545#43", "text": "ในต้นทศวรรษที่ 2513 กองทัพอากาศจักรวรรดิอิหร่านได้มองหาเครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ที่ก้าวหน้า โดยเฉพาะลำที่สามารถเข้าสกัดกั้นมิก-25 \"ฟ็อกซ์แบท\"ของโซเวียตได้ หลังจากที่ประธานาธิบดีสหรัฐริชาร์ด นิกสันได้ไปเยือนอิหร่านในปีพ.ศ. 2515 ซึ่งได้ยื่นเทคโนโลยีทางทหารใหม่ล่าสุดของอเมริกันให้กับอิหร่าน กองทัพอากาศจักรวรรดิอิหร่านมีสองทางเลือกคือเอฟ-14 ทอมแคทหรือเอฟ-15 อีเกิล บริษัทกรัมแมนได้จัดการสาธิตระหว่างทอมแคทกับอีเกิลต่อหน้ากษัตริย์ซาห์ของอิหร่านในตอนนั้น และในเดือนมกราคม พ.ศ. 2517 อิหร่านก็ได้สั่งซื้อเอฟ-14 30 ลำพร้อมขีปนาวุธเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ 424 ลูก โดยมีมูลค่า 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่กี่เดือนต่อมารายการดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นกลายเป็นเครื่องบิน 80 ลำและขีปนาวุธ 714 ลำเพื่อเป็นอะไหล่ให้กองทัพไปอีก 10 ปี ", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "83961#15", "text": "เอไอเอ็ม-54ซีรุ่นที่พัฒนา มันดีกว่าในการจัดการกับขีปนาวุธร่อน มันเข้ามาแทนที่แบบเดิมตั้งปีพ.ศ. 2529", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#4", "text": "เรดาร์ของเครื่องทอมแคทสามารถติดตามเป้าหมายได้มากถึง 24 เป้าในโหมดสแกน ด้วยการเลือกเป้าหมาย 6 เป้าหมายที่จะยิงโดยเอไอเอ็ม-54 นักบินหรือผู้ควบคุมเรดาร์จะสามารถยิงขีปนาวุธฟีนิกซ์เมื่อตัวแปรเข้าที่ หน้าจอขนาดใหญ่ของห้องผู้ควบคุมเรดาร์จะแสดงข้อมูลมากมายให้กับลูกเรือและที่สำคัญกว่านั้นเอดับบลิวจี-9 จะสามารถมองหาเป้าหมายอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ยิงขีปนาวุธฟีนิกซ์ไปแล้ว", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "74545#4", "text": "กรัมแมนได้นำเครื่องยนต์ทีเอฟ30 ของเอฟ-111บีมาใช้อีกครั้ง แม้ว่ากองทัพเรือได้วางแผนที่จะแทนที่มันด้วยเอฟ401-พีดับบลิว-400 ที่กำลังอยู่ในการพัฒนา แม้ว่าจะเบากว่าเอฟ-111บี มันก็ยังใหญ่และหนักกว่าเครื่องบินขับไล่ของกองทัพอากาศสหรัฐลำใดๆ ที่เคยบินบนเรือบรรทุกเครื่องบิน ขนาดของมันมาจากการที่ต้องบรรทุกเรดาร์เอดับบลิว-9 ขนาดใหญ่และขีปนาวุธเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ นอกจากนั้นเชื้อเพลิงข้างในยังมีถึง 7,300 กิโลกรัม เอฟ-14 ยังมีช่องรับลม ปัก และอุปกรณ์ลงจอดที่เหมือนกันกับเอ-6 อินทรูเดอร์ของกรัมแมน ", "title": "เอฟ-14 ทอมแคท" }, { "docid": "225436#62", "text": "วัตกรรมอื่นในเครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ยังรวมทั้งเรดาร์ จอแสดงผลแบบเอชดี คันบังคับ และหน้าจอแสดงผลที่หลากหลาย ทั้งหมดนั้นได้กลายมาเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญ วัสดุผสมที่มีโครงสร้างอัลลูมิเนียมแบบรวงผึ้ง และผิวกราไฟท์ถูกใช้สร้างเครื่องบินเพื่อลดน้ำหนัก เซ็นเซอร์หาและติดตามอินฟราเรดกลายมาเป็นที่แพร่หลายสำหรับการใช้อาวุธอากาศสู่พื้น และในอากาศสู่อากาศเช่นเดียวกัน ระบบนำวิถีด้วยอินฟราเรดกลายเป็นอาวุธพื้นฐาน ซึ่งทำให้การเข้าปะทะทำได้หลายมุม ขีปนาวุธนำวิถีด้วยอินฟราเรดพิสัยไกลแบบแรกที่เข้าประจำการคือเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ ซึ่งติดตั้งกับเอฟ-14 ทอมแคท หนึ่งในเครื่องบินขับไล่ปีกปรับมุมได้ที่เข้าสู่การผลิต", "title": "เครื่องบินขับไล่" }, { "docid": "83961#12", "text": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ถูกปลดประจำการจากกองทัพเรือสหรัฐในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2547 เอฟ-14 ทอมแคทถูกปลดประจำการในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2549 พวกมันถูกแทนที่โดยเอไอเอ็ม-120 ที่ใช้บนเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท ทั้งเอฟ-14 และเอไอเอ็ม-54 ยังคงทำหน้าที่ต่อในกองทัพอากาศสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" }, { "docid": "83961#9", "text": "ฟีนิกซ์ถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันหมวดเรือบรรทุกเครื่องบินจากภัยต่างๆ รวมทั้งขีปนาวุธร่อน พิสัยและความสามารถในการบินของมันทำให้ทำการป้องกันได้จากระยะไกล ในช่วงที่สงครามเย็นดุเดือด ภัยร้ายแรงยังมาจากเครื่องบินทิ้งระเบิดอย่างตู-16 แบดเจอร์และตู-22เอ็ม แบ็คไฟร์ที่ติดตั้งขีปนาวุธร่อนความเร็วสูงและอีเอ็มซีหลายแบบ ฟีนิกซ์ที่ได้รับการพัฒนาอย่างเอไอเอ็ม-54ซีถูกพัฒนาให้จัดการกับเป้าหมายที่เป็นอาวุธจากเครื่องบินได้ดียิ่งขึ้น และการพัฒนายังรวมทั้งความสามารถในการตั้งโปรแกรมใหม่ เป็นที่คิดกันว่าฟีนิกซ์มีพื้นฐานมาจากเอไอเอ็ม-47 เอไอเอ็ม-47 นั้นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบเครื่องบินสกัดกั้นล็อกฮีด วายเอฟ-12 เพื่อเป็นอาวุธให้กับเอสอาร์-71 แบล็คเบิร์ด", "title": "เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์" } ]
15
องค์การยูเนสโก ตั้งอยู่ที่ไหน ?
[ { "docid": "5201#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (English: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 และต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศสมาชิกก่อตั้ง 20 ประเทศ ได้ร่วมมือกันให้สัตยาบันธรรมนูญองค์การ ซึ่งเริ่มด้วยข้อความที่ว่า นอกจากนี้ ธรรมนูญยูเนสโกยังบ่งชี้ไว้ด้วยว่า สันติภาพที่เกิดจากการตกลงทางการเมือง ทางเศรษฐกิจระหว่างรัฐบาลเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่แท้จริงและยืนนาน จากประเทศชาติต่าง ๆ ในโลก สันติภาพจะต้องวางรากฐานอยู่บนความร่วมมือทางภูมิปัญญา และจิตสำนึกของมนุษยชาติ. ดังนั้นองค์การยูเนสโกจึงมุ่งเน้นการส่งเสริมสันติภาพ ด้วยการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติ ด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม เพื่อให้ทั่วโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิ และเสรีภาพ ที่มนุษย์พึงมี โดยไม่ถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาติ. ยูเนสโกมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" } ]
[ { "docid": "878734#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไมโครนีเซียทั้งสิ้น 1 แหล่ง ", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในไมโครนีเซีย" }, { "docid": "746038#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเนปาลทั้งสิ้น 4 แหล่ง ", "title": "รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศเนปาล" }, { "docid": "749726#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเซนต์ลูเซียทั้งสิ้น 1 แหล่ง", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเซนต์ลูเซีย" }, { "docid": "749722#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของสหรัฐอเมริกาทั้งสิ้น 23 แหล่ง", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหรัฐอเมริกา" }, { "docid": "86365#0", "text": "เขตสงวนชีวมณฑล () ตามความหมายขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) คือ พื้นที่ระบบนิเวศบนบก และ/หรือชายฝั่งทะเล ที่ได้รับการยอมรับจากโครงการมนุษย์และชีวมณฑลขององค์การยูเนสโก (Man and the Biosphere - MAB) ประกอบไปด้วยพื้นที่แกนกลาง พื้นที่กันชน และพื้นที่รอบนอก", "title": "เขตสงวนชีวมณฑล" }, { "docid": "5201#8", "text": "ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ได้มีการจัดตั้ง สำนักงานคณะผู้แทนถาวรไทย ประจำ ณ สำนักงานใหญ่องค์การยูเนสโก กรุงปารีส โดยมีเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส เป็นผู้แทนถาวรไทยประจำยูเนสโก ส่วนกระทรวงศึกษาธิการได้จัดส่งนักวิชาการศึกษามาประจำที่สำนักงาน เพื่อทำหน้าที่รองผู้แทนถาวรไทยประจำยูเนสโก แต่ในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้ประสบภาวะเศรษฐกิจ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้เสนอปิดสำนักงานเป็นการชั่วคราว และรองผู้แทนถาวรไทยประจำยูเนสโก ได้เดินทางกลับมาปฏิบัติหน้าที่ที่กรุงเทพฯ โดยมีสำนักงานชั่วคราวที่กองการสัมพันธ์ต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ และสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส ได้มอบหมายให้มีเจ้าหน้าที่ดูแลงานของยูเนสโกแทน", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" }, { "docid": "747161#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง ", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย" }, { "docid": "746427#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศบาห์เรนทั้งสิ้น 2 แหล่ง ", "title": "รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศบาห์เรน" }, { "docid": "746443#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศซีเรียทั้งสิ้น 6 แหล่ง ", "title": "รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศซีเรีย" }, { "docid": "519396#2", "text": "เขตตัวเมืองแซ็งเตมีลียงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก ในปีค.ศ. 1999", "title": "แซ็งเตมีลียง" }, { "docid": "5201#5", "text": "ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การยูเนสโกเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2492 นับเป็นประเทศสมาชิกลำดับที่ 49 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติแต่งตั้ง คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (National Commission for UNESCO) เพื่อให้เป็นไปตามกฎบัตรของยูเนสโก โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน, ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธาน, และ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฝ่ายการต่างประเทศ) เป็นเลขาธิการ", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" }, { "docid": "563673#1", "text": "แมซง ดูว์ รัว นั้นได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกร็องปลัสแห่งบรัสเซลส์ ในปีค.ศ. 1998", "title": "แมซงดูว์รัว" }, { "docid": "27880#58", "text": "พ.ศ. 2508 หนังสือแก่นพุทธศาสน์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ หนังสือดีประจำปี พ.ศ. 2508 จากองค์การยูเนสโก พ.ศ. 2527 ได้รับคัดเลือกเป็นบุคคลทำประโยชน์ฝ่ายบรรพชิตเนื่องในโอกาสสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ได้รับรางวัลเป็นสัญลักษณ์เสาอโศก และเงินสดจำนวน 10,000 บาท พ.ศ. 2537 คุรุสภาประกาศยกย่องเชิดชูว่าเป็นผู้ทำคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่งต่อการศึกษาชาติ เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี กระทรวงศึกษาธิการ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548 องค์การยูเนสโก ประกาศยกย่องให้ท่านพุทธทาสภิกขุเป็นบุคคลสำคัญของโลก ด้านส่งเสริมขันติธรรม สันติธรรม วัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีของมวลมนุษย์ พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทย รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ ได้พร้อมใจกันจัดกิจกรรมทางธรรมะเนื่องในโอกาสรำลึกครบรอบ 100 ปี ชาตกาล ท่านพุทธทาสภิกขุ", "title": "พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)" }, { "docid": "563548#1", "text": "ในปัจจุบัน จัตุรัสแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก ", "title": "กร็อง-ปลัส" }, { "docid": "5201#9", "text": "ในฐานะประเทศสมาชิก ประเทศไทยได้ชำระเงินอุดหนุนองค์การเป็นประจำ โดยมีสัดส่วน ร้อยละ 0.335 โดยการตั้งงบประมาณไว้ที่กระทรวงศึกษาธิการ ในปีงบประมาณปี พ.ศ. 2545 ประเทศไทยได้ชำระค่าสมาชิกให้กับยูเนสโก เป็นจำนวน 35.18 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีเงินอุดหนุนสำนักงานส่วนภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่ตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ เงินอุดหนุนศูนย์ ICCROM ที่ประเทศอิตาลี และเงินอุดหนุนกองทุนมรดกโลก อีก 905,000 บาท", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" }, { "docid": "359238#3", "text": "เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เมืองเชียงใหม่ได้รับประกาศเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน", "title": "เชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์" }, { "docid": "249338#0", "text": "เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรับ", "title": "เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ" }, { "docid": "746178#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟีจีทั้งสิ้น 1 แหล่ง ", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟีจี" }, { "docid": "538037#2", "text": "ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 กานาลดูว์มีดีได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก ", "title": "กานาลดูว์มีดี" }, { "docid": "564815#1", "text": "เบกีนาฌซึ่งพบได้ในเขตฟลามส์ (ฟลานเดอส์) ทั้ง 13 แห่งในประเทศเบลเยียมได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 1998", "title": "เบกีนาฌ" }, { "docid": "544533#1", "text": "ชันตรมันตระ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก ในปีค.ศ. 2010", "title": "ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)" }, { "docid": "107384#0", "text": "บุคคลสำคัญของประเทศไทยที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง", "title": "รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก" }, { "docid": "749734#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเปรูทั้งสิ้น 12 แหล่ง", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเปรู" }, { "docid": "92848#6", "text": "ในปีค.ศ.1979 ได้มีการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรม โดยองค์การยูเนสโก", "title": "มง-แซ็ง-มีแชล" }, { "docid": "5201#6", "text": "ต่อมาเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ได้มีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อประสานงานกับยูเนสโก คือ สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่ สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีหน้าที่เป็นหน่วยประสานงานในระดับชาติของกิจกรรมที่อยู่ในขอบข่ายงานของยูเนสโก มี 6 ด้านได้แก่ การศึกษา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วัฒนธรรม การสื่อสารและสารสนเทศ ส่วนด้านสุดท้ายเป็นหัวข้อพิเศษ ซึ่งในทางปฏิบัติจะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติงานเฉพาะด้าน ตามภารกิจและความชำนาญ", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" }, { "docid": "746464#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศแอลจีเรียทั้งสิ้น 7 แหล่ง", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศแอลจีเรีย" }, { "docid": "97099#1", "text": "และด้วยเหตุนี้ องค์การยูเนสโกจึงได้เริ่มการระดมทุนเพื่อช่วยกอบกู้สิ่งก่อสร้างทั้งหลายนี้ขึ้น ผลตามมาก็คือ ได้มีประเทศต่างๆกว่า 60 ประเทศได้บริจาคทั้งเงินและความช่วยเหลือ อนุรักษ์และศึกษา ซึ่งต่อมาทั่วโลกได้ตระหนักว่าควรจะมีองค์กรพิเศษเพื่อรักษาและอนุรักษ์สถานที่ ทั้งสิ่งก่อสร้างและธรรมชาติขึ้น จนเมื่อถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) ในการประชุมใหญ่องค์การยูเนสโกครั้งที่ 17 ณ สำนักงานใหญ่องค์การยูเนสโก กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จึงได้มีการลงนามสนธิสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ซึ่งในอีก 3 ปีต่อมาประเทศกว่า 20 ประเทศได้ลงปฏิญาณร่วมกัน", "title": "กลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบีย" }, { "docid": "5201#12", "text": "เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ เว็บไซต์สำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ Thai National Commission for UNESCO", "title": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ" }, { "docid": "746177#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอาร์มีเนียทั้งสิ้น 3 แหล่ง ", "title": "รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศอาร์มีเนีย" } ]
1216
ซิงเกิลแรกของ ธงไชย แมคอินไตย์ คืออะไร?
[ { "docid": "478457#0", "text": "หาดทราย สายลม สองเรา เป็นอัลบั้มเพลงอัลบั้มแรกของธงไชย แมคอินไตย์ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2529 ในรูปแบบเทปและแผ่นเสียง ในสังกัดแกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ โดยมี เรวัต พุทธินันทน์ เป็นโปรดิวเซอร์ อัลบั้มนี้มีจำนวน 10 เพลง และถูกจัดให้เป็นอัลบั้มศิลปินชายที่เป็นที่สุดแห่งปี โดยมีการนำเพลงดังในอัลบั้มไปใช้ประกอบภาพยนตร์เรื่อง \"ด้วยรักและผูกพัน\" ซึ่งนำแสดงโดยเบิร์ด ในปีเดียวกัน", "title": "หาดทราย สายลม สองเรา" }, { "docid": "23258#5", "text": "ธงไชยมีความสามารถด้านการร้องเพลง เขาได้รับทาบทามให้ไปร้องเพลงในรายการสดของนันทวัน เมฆใหญ่ ขณะเดียวกันวรายุฑก็ให้ธงไชยลองสมัครประกวดร้องเพลงเวทีสยามกลการในปี พ.ศ. 2527 เป็นจุดเริ่มต้นด้านเพลงที่สำคัญ การประกวดครั้งนั้นธงไชยได้รับรางวัลในการประกวด 3 รางวัล โดยเฉพาะรางวัลนักร้องดีเด่นประเภทเพลงไทยสากลจากเพลง \"ชีวิตละคร\" ระหว่างการประกวด ธงไชยได้พบกับเรวัต พุทธินันทน์ ซึ่งเห็นพรสวรรค์ในตัวของเขา จึงชักชวนธงไชย แต่ผลการประกวดธงไชยได้รางวัลทำให้ต้องเซ็นสัญญากับสยามกลการ เรวัต พุทธินันทน์จึงเข้าพบกับคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดชเพื่อเจรจาขอธงไชยมาเป็นศิลปินของแกรมมี่ คุณหญิงพรทิพย์ได้ตัดสินใจฉีกสัญญาและให้โอกาสธงไชยไปทำงานอย่างอิสระ ทำให้ธงไชยก้าวสู่การเป็นนักร้องอย่างเต็มตัวในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ \nระหว่างที่รออัลบั้มเสร็จต้องใช้เวลา 2 ปี ธงไชยยังหารายได้พิเศษต่อเนื่องจากการแสดงละครและภาพยนตร์ ธงไชยรับบทพระเอกภาพยนตร์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 เรื่อง \"ด้วยรักคือรัก\" คู่กับอัญชลี จงคดีกิจ และกำกับโดย หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย ซึ่งเป็นอีกบุคคลสำคัญที่ทำให้เขาได้แจ้งเกิด โดยภาพยนตร์ดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่างสูง และสร้างปรากฏการณ์สำคัญในคริสต์ทศวรรษ 1980 กลายเป็นคู่ขวัญทางจอเงินระดับคลาสสิกอีกคู่หนึ่งของวงการหนังไทย และในปีเดียวกัน ยังร่วมแสดงในละครเรื่อง \"บ้านสอยดาว\" และ \"พลับพลึงสีชมพู\" เป็นต้น\nในปี พ.ศ. 2529 ธงไชยได้รับเกียรติให้เป็นพิธีกรบนเวทีการประกวดนางสาวไทย รอบตัดสิน ปี 2529–2530 และเขายังเป็นพิธีกรคู่แรกในรายการถ่ายทอดสด \"7 สีคอนเสิร์ต\" คู่กับมยุรา ธนะบุตร ซึ่งกลายเป็นพิธีกรคู่ขวัญจากความเป็นธรรมชาติ สนุกสนานของทั้งคู่ ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้ดำเนินรายการดีเด่นชาย รางวัลเมขลา ประจำปี พ.ศ. 2529 \" และในปีเดียวกันธงไชยมีอัลบั้มแรก \"หาดทราย สายลม สองเรา\" โดยเพลง \"ผ่านมา ผ่านไป\" เป็นซิงเกิลแรกที่เขาเข้าบันทึกเสียง สำหรับเพลงที่เป็นซิงเกิลแรกที่เผยแพร่ผ่านสื่อ และแจ้งเกิดเขาในวงการเพลงคือ เพลง \"ด้วยรักและผูกพัน\" \"ฝากฟ้าทะเลฝัน\" \"บันทึกหน้าสุดท้าย\" เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง จากความสำเร็จของอัลบั้มดังกล่าวได้มีการนำเพลงดังในอัลบั้มไปใช้ประกอบในภาพยนตร์ \"ด้วยรักและผูกพัน\" ที่ถ่ายทำในต่างประเทศ ธงไชยจึงตัดสินใจลาออกจากงานประจำและก้าวสู่วงการบันเทิงอย่างเต็มตัว โดยมีพรพิชิต พัฒนถาบุตรเป็นผู้จัดการส่วนตัว นอกจากนี้ ธงไชยมีคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้มแรกชื่อว่า \"คอนเสิร์ต สุดชีวิต ธงไชย\" และในปีนั้นยังมีการจัดคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 1 ถือเป็นการบุกเบิกทำคอนเสิร์ตครั้งแรกในประเทศไทยของแกรมมี่", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" } ]
[ { "docid": "471269#0", "text": "ธงไชย วิลเลจ เป็นอัลบัมของธงไชย แมคอินไตย์ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2549 ในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำนวน 10 เพลง โดยมีเพลงเด่นคือ \"เถียงกันทำไม\", \"ก็ดี\",\"น้านา\" เป็นต้น โดยเพลงเถียงกันทำไม และเพลง น้านา ได้เป็นเพลงแห่งปีที่โดนใจคนฟังมากที่สุด ถูกขอเข้ามากที่สุดจัดอันดับโดยคลื่น EFM ปี พ.ศ. 2549 สำหรับเพลง ก็ดี ได้อันดับสูงสุด 1 จากการจัดอันดับของ ซี้ดเอฟเอ็ม ในชาร์ต ซี้ดเอฟเอ็ม ชาร์ตท็อป 20 ประจำวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 โดยวัดจากการออกอากาศของคลื่นวิทยุในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนาน 40 สถานีซี้ดเอฟเอ็ม ชาร์ตท็อป 20", "title": "ธงไชย วิลเลจ" }, { "docid": "15249#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2529 มีการออกอัลบั้มแรกของ ธงไชย แมคอินไตย์ อัลบั้ม \"หาดทราย สายลม สองเรา\" ออกวางตลาด ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง พร้อมทั้งเพิ่มการผลิตเพลง แนวเพลงร็อค ได้แก่ วงไมโคร ในอัลบั้มแรก \"ร็อค เล็ก เล็ก\" ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีเช่นกัน หลังจากจากนั้นมีผลงานต่อมาคือ \"หมื่นฟาเรนไฮต์\" ซึ่งมีเพลงประจำคอนเสิร์ตมือขวาคือเพลง เอาไปเลย และ \"เต็มถัง\" ซึ่งมีเพลงดังคือ ส้มหล่น", "title": "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่" }, { "docid": "23258#16", "text": "หลังจากนั้นในปี 2541–2544 ธงไชยมีผลงานเพลงต่อเนื่องอีก 4 อัลบั้มที่ทำยอดขายเกินล้านชุด ได้แก่ \"ธงไชย เซอร์วิส\" (2541) มีเพลงเด่นคือ \"ซ่อมได้\" \"บอกว่าอย่าน่ารัก\" \"ก็เลิกกันแล้ว\" \"ถ่านไฟเก่า\" เป็นต้น พร้อมกับอัลบั้มพิเศษ \"ธงไชย เซอร์วิสพิเศษ\" และละคร \"ความทรงจำใหม่ หัวใจเดิม\" และมีคอนเสิร์ต อัลบั้ม\"ตู้เพลงสามัญประจำบ้าน\" (2542) มีเพลงเด่นคือ \"ลองซิจ๊ะ\" \"กลับไม่ได้ไปไม่ถึง\" \"ผิดตรงไหน\" \"ทำไมต้องเธอ\" เป็นต้น และปี พ.ศ. 2543 มีคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 7, อัลบั้มพิเศษ \"100 เพลงรักไม่รู้จบ\" \nวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2544 อุดม แมคอินไตย์ มารดา เสียชีวิตที่จังหวัดเชียงราย มีพิธีพระราชทานเพลิงศพวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน พร้อมด้วยเจ้านาย 3 พระองค์ พระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "23258#24", "text": "ในปี พ.ศ. 2553 ธงไชยออกอัลบั้ม\"อาสาสนุก\" ซึ่งเป็นอัลบั้มใหม่ในรอบ 3 ปี มียอดจำหน่ายและยอดดาวน์โหลดสูงที่สุด โดยมีเพลงเด่นคือ \"อยู่คนเดียว\" \"อย่าทำอย่างนี้ไม่ว่ากับใคร...เข้าใจไหม\" \"ทูมัชโซมัชเวรีมัช\" และ \"เรามาซิง\" โดยสองเพลงหลังมีการซื้อลิขสิทธิเพลงดังกล่าวไปแปลงเป็นภาษาญี่ปุ่นขับร้องใหม่โดยนักร้องญี่ปุ่น และต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2554 ธงไชยยังมีคอนเสิร์ตใหญ่คอนเสิร์ตเบิร์ดอาสาสนุกที่จัดขึ้นที่อิมแพ็ค เมืองทองธานีเป็นหนึ่งในคอนเสิร์ตสุดร้อนแรงแห่งปี และหนึ่งในคอนเสิร์ตที่ได้รับการตอบรับสูงสุดแห่งปี นอกจากนั้นเพลง \"ร้องไห้ทำไม\" ซึ่งอยู่ในอัลบั้ม ยังได้รับคัดเลือกให้ทำคำร้องใหม่เป็นภาษาจีนแมนดารินขับร้องใหม่โดยธงไชย เพื่อนำไปประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวไทย โดยเผยแพร่ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "23258#22", "text": "ในปี พ.ศ. 2550 มีจัดคอนเสิร์ตเบิร์ดเปิดฟลอร์ และปลายปีมีอัลบั้ม \"ซิมพลีย์ เบิร์ด\" ซึ่งมีเพลงเด่นคือ \"ช่วยรับที\" \"มีแต่คิดถึง\" และเพลง \"น้ำตา\" เป็นต้น เพลง \"น้ำตา\" แต่งโดย อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ได้รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากงานประกาศผลรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ ครั้งที่ 20 ขณะที่เพลง \"มีแต่คิดถึง\" ซึ่งแต่งโดยนิติพงษ์ ห่อนาค ได้รางวัลชมเชยการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย และในปีดังกล่าวธงไชยยังได้รับฉายาจากสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยว่า \"ป๋าพันปี\" หมายความว่า \"ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใด ก็ยังคงดังเช่นเดิม\" \nในปี พ.ศ. 2551 ธงไชยแสดงคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 ตอน MAGIC MEMORIES อัศจรรย์แห่งความทรงจำ สิ่งเหล่านี้คือความเป็นเรา...ตลอดไป เมื่อรวมรอบอังกอร์พลัสแล้ว สร้างสถิติสูงสุดของ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ด้วยจำนวนผู้ชม 120,000 คน จาก 12 รอบการแสดง", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "753521#0", "text": "DREAM เป็นอัลบัมของธงไชย แมคอินไตย์ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำนวน 10 เพลง โปรดิวเชอร์โดย อนุวัฒน์ สืบสุวรรณ โดยมีเพลงเด่นคือ \"พรุ่งนี้\", \"สัญญาต้องเป็นสัญญา\",\"อยากรู้\" เป็นต้น จากอัลบัมดังกล่าวทำให้เบิร์ดมี คอนเสิร์ต เปิดอัลบั้ม ดรีม ณ MCC HALL เดอะมอลล์บางกะปิ จำนวน 2 รอบ รายชื่อเพลงในอัลบั้ม DREAM มีดังนี้", "title": "DREAM (อัลบั้มธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "753435#0", "text": "พริกขี้หนู เป็นอัลบั้ม ของธงไชย แมคอินไตย์ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2534 ในสังกัดแกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ โปรดิวเซอร์โดย สมชาย กฤษณะเศรณี จำนวน 11 เพลง ซึ่งมียอดจำหน่ายเกิน 3 ล้านตลับ และถูกจัดให้เป็นอัลบั้มที่ดีที่สุดของทศวรรษ (ปี 1990 - 1999) เป็นยอดจำหน่ายสูงสุดอีกอัลบั้มของธงไชย โดยสื่อบันเทิงได้ยกให้เป็นปรากฏการณ์ \"เบิร์ดฟีเวอร์\" อีกครั้งของเขา โดยมีเพลงเด่นอาทิเพลง พริกขี้หนู อย่าต่อรองหัวใจ ขออุ้มหน่อย เป็นต้น ซึ่งเป็นอัลบั้มดังที่ทำออกมาต่อเนื่องจากบูมเมอแรง จากความสำเร็จของอัลบั้มดังกล่าว ทำให้มีการจัดคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้มพริกขี้หนู ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ย้ายมาจัดที่อินดอร์สเตเดี้ยม หัวหมาก เพื่อรองรับจำนวนผู้ชมที่เพิ่มขึ้นถึง 2 รอบ และต่อเนื่องในปีเดียวกันด้วย คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 5 โดยใช้ชื่อตอน ความสุข ความทรงจำ ไม่มีที่สิ้นสุด จำนวน 29 รอบ จำนวนผู้ชม 58,000 คน ซึ่งมีจำนวนรอบสูงสุดเป็นประวัติการณ์ของศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และเป็นคอนเสิร์ตทิ้งท้ายก่อนเบิร์ดขอหยุดพักงานในวงการบันเทิงชั่วคราว 2 ปี(นับจากปลายปี 2534- 2536) เช่นเดียวกับอัลบั้มพริกขี้หนูเป็นอัลบั้มทิ้งท้ายในช่วงดังกล่าวก่อนที่จะมีอัลบั้มใหม่ที่ห่างกันถึง 3 ปี สำหรับรายชื่อเพลง", "title": "พริกขี้หนู (อัลบั้มธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "648321#0", "text": "น้ำตา เป็นเพลงจากอัลบั้มและซิงเกิลที่ 6 ของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในอัลบั้ม ซิมพลีย์ เบิร์ด ประพันธ์เนื้อร้องโดย อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ทำนองโดย พิสิทธิ์ พัทยากรพิสุทธิ์ และ อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข และเรียบเรียงโดย จารุวัฒน์ ขันธวุฒิ ออกจำหน่ายในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยซิงเกิลนี้เป็นซิงเกิลโปรโมทของอัลบั้ม ซิมพลีย์ เบิร์ด", "title": "น้ำตา (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "449757#0", "text": "บูมเมอแรง เป็นอัลบั้มเพลงที่ 5 ของธงไชย แมคอินไตย์ ในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2533 โดยมี สมชาย กฤษณะเศรณี เป็นโปรดิวเซอร์ โดยถูกจัดให้เป็นอัลบั้มที่ดีที่สุดของแกรมมี่ในปีดังกล่าว ซึ่งสร้างสถิติยอดจำหน่าย 2 ล้านตลับแรกของนักร้องแกรมมี่ และถูกจัดให้เป็นอัลบั้มที่เป็นที่สุดแห่งปี สำหรับเพลงเปิดตัวคือเพลง บูมเมอแรง ออกอากาศทางโทรทัศน์พร้อมภาพยนตร์เพลงที่กำกับโดย ดล ผดุงวิเชียร ซึ่งถือเป็นการเปิดตัวที่ไม่เหมือนอัลบั้มอื่นๆของเบิร์ดที่เน้นภาพลักษณ์อบอุ่น โดยอัลบั้มนี้นำเสนอเบิร์ดเป็นฮีโร่ที่มาพร้อมกับอาวุธ คือ บูมเมอแรง ในภาพลักษณ์เรียบง่ายเสื้อยืดสีเทา กางเกงยีนส์ และต่อเนื่องด้วยการเปิดตัวเพลง คู่กัด อีกหนึ่งเพลงดังแห่งยุค และเพลงดังอื่นๆ อาทิ เพลงเงียบๆคนเดียว เพลงหมอกหรือควัน เป็นต้น และจากความสำเร็จของอัลบั้มดังกล่าวทำให้เบิร์ดมีทัวร์คอนเสิร์ตที่ใช้ชื่อว่ามนุษย์บูมเมอแรงทุกภาค และต่อเนื่องด้วย คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 4 โดยรายชื่อเพลงอัลบั้มบูมเมอแรง ดังนี้", "title": "บูมเมอแรง (อัลบั้มธงไชย แมคอินไตย์)" } ]
2882
โรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของไทยหรือไม่ ?
[ { "docid": "39490#0", "text": "โรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์", "title": "โรงพยาบาลศิริราช" } ]
[ { "docid": "104288#8", "text": "ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ อาจารย์สงกรานต์ ได้รับเชิญไปสอนให้นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้การอบรมพนักงานอัยการ และผู้ช่วยผู้พิพากษา พ.ศ. ๒๔๙๙ สอนให้แก่นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๐๐ สอนนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักศึกษาปริญญาโทคณะสาธารณสุขศาสตร์ และต่อๆ มา ก็มีสถาบันต่างๆ เชิญอาจารย์สงกรานต์ไปให้การสอนและอบรมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตลอดมา แม้จนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของอาจารย์ อาจารย์ก็ยังได้รับเชิญไปให้การอบรมและสอนแก่นักศึกษา หรือผู้ประกอบวิชาชีพของสถาบันต่างๆ ดังกล่าวมาแล้วหลายแห่ง และเนื่องจากงานสอนทางนิติเวชศาสตร์เพิ่มมากขึ้น อาจารย์สงกรานต์ได้เลิกสอนปาราสิตวิทยาในปี พ.ศ. ๒๔๙๔\nในด้านการปฏิบัติงาน ซึ่งจำเป็นต้องมีควบคู่ไปกับการสอน เพื่อจะได้มีวัตถุดิบ มาประกอบการเรียนการสอน และมีการฝึกฝนหาความชำนาญ ตลอดจน ทำการค้นคว้าวิจัยควบคุมไปด้วยนั้น อาจารย์สงกรานต์ ได้เป็นผู้ริเริ่มในเรื่องนี้ โดยได้ทำบันทึกลงวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึงหัวหน้าแผนกพยาธิวิทยา เสนอให้โรงพยาบาลศิริราชรับศพที่มีคดีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจส่งมา โดยที่ขณะนั้น โรงพยาบาลศิริราชไม่รับผู้ป่วยที่มีคดีไว้รักษาพยาบาล นอกจากรับเพียงบางราย เป็นครั้งคราว ฉะนั้น ผู้ป่วยที่ตายในโรงพยาบาลศิริราช ส่วนใหญ่จึงมิใช่ศพคดี ที่ต้องมีการชันสูตรพลิกศพตามกฎหมาย (โรงพยาบาลที่รับผู้ป่วยคดีและศพเป็นประจำ ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง) คณะกรรมการคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้อนุมัติในหลักการดังกล่าว นายแพทย์ชัชวาลย์ โอสถานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราชในขณะนั้น จึงทำหนังสือลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึงอธิบดีกรมตำรวจแจ้งว่า ทางโรงพยาบาลศิริราชยินดีจะช่วยเหลือ กิจการด้านชันสูตรพลิกศพ ฯลฯ เกี่ยวกับคดีต่างๆ ของทางการ และทางกรมตำรวจ จึงได้ออกแจ้งความไปยังพนักงานสอบสวนให้ทราบทั่วกัน แจ้งความดังกล่าวลงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ พล.ต.ต. โชติ โชติชนาภิบาล รองอธิบดีเป็นผู้ลงนามแทนอธิบดี ในระยะแรกที่มีแจ้งความของกรมตำรวจออกไปแล้ว พนักงานสอบสวนยังส่งศพไปตรวจพิสูจน์ ที่โรงพยาบาลศิริราชเพียงเล็กน้อย อาจารย์สงกรานต์ จึงได้ทำบันทึกถึง ผู้บังคับการโรงเรียนสืบสวนสอบสวนกรมตำรวจ ในฐานะอาจารย์ที่สอนในโรงเรียนสืบสวนสอบสวนด้วย โดยขอให้ทางโรงเรียนหาวิธีการ ที่ให้มีการส่งศพไปตรวจ ที่โรงพยาบาลศิริราชมากขึ้น เพื่อประโยชน์ในการศึกษาภาคปฏิบัติ ทั้งนักเรียนนายร้อยตำรวจ และนักเรียนสืบสวนด้วย บันทึกฉบับนี้ของอาจารย์ คงจะมีผลให้ทางโรงเรียนสืบสวนสอบสวนขอความร่วมมือ หรือบังคับกลายๆ ให้นักเรียนสืบสวน ซึ่งมาจากพนักงานสอบสวนทั่วประเทศ ได้ให้ความร่วมมือในการส่งศพไปตรวจที่โรงพยาบาลศิริราช และตั้งแต่นั้นมา โรงพยาบาลก็ได้รับศพจากพนักงานสอบสวนส่งมาตรวจเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกปี ส่วนทางโรงพยาบาลศิริราชเอง ก็คงจะเห็นความจำเป็น ที่ไม่อาจปฏิเสธที่จะรับผู้ป่วย ที่มีคดี ไว้รักษาพยาบาลในโรงพยาบาลอีกต่อไปได้ จึงได้มีระเบียบการรับชันสูตรผู้ป่วยมีคดีออกใช้ ในวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๔๙๖ จึงนับว่า คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้ให้บริการทางด้านนิติเวชศาสตร์โดยสมบูรณ์ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา และในต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๖ นี้เอง แผนกวิชาพยาธิวิทยาก็ได้รับแพทย์ประจำบ้านทางสาขานิติเวชวิทยาไว้ ๑ คน นับว่า งานนิติเวชศาสตร์ในขณะนั้น ได้ถือกำเนิดเป็นสาขาหนึ่ง ในแผนกวิชาพยาธิวิทยาโดยสมบูรณ์ เช่นเดียวกัน \nนายแพทย์ชัชวาลย์ โอสถานนท์\nเนื่องจากอาจารย์สงกรานต์ เห็นว่า งานนิติเวชศาสตร์นั้นเกี่ยวข้องอยู่กับกฎหมาย จึงได้ไปสมัครเรียนกฎหมาย ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้วย จนสำเร็จได้ปริญญาธรรมศาสตร์บัณฑิต ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และในปีเดียวกันนี้ ทางกรมตำรวจได้มีการก่อตั้งโรงพยาบาลตำรวจขึ้น อาจารย์สงกรานต์ได้รับแต่งตั้งจากกรมตำรวจ ให้เป็นที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญทางนิติเวชวิทยา และในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ทางกรมตำรวจได้รับโอนนายแพทย์ถวัลย์ อาศนะเสน ซึ่งขณะนั้น รับราชการเป็นอาจารย์โท แผนกกายวิภาคศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ไปอยู่โรงพยาบาลตำรวจ เพื่อทำหน้าที่ทางนิติเวชศาสตร์ โดยได้รับพระราชทานยศเป็นนายร้อยตำรวจเอก และนายแพทย์ ร.ต.อ. ถวัลย์ ได้ไปวางโครงการจัดตั้งแผนกนิติเวชวิทยาขึ้น ในโรงพยาบาลตำรวจ", "title": "นิติเวชศาสตร์" }, { "docid": "39490#5", "text": "ศาลาศิริราช 100 ปี เป็นสถานที่ส่วนหนึ่งของโรงพยาบาลศิริราช จัดสร้างขึ้นเนื่องในการสมโภชครบ 100 ปี ของโรงพยาบาลศิริราช เมื่อปี พ.ศ. 2531 โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดศาลาศิริราช 100 ปี พร้อมกับตึกอานันทมหิดล เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2531 โดยภายในลานศาลาศิริราช 100 ปี ประกอบด้วย พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และห้องโถงศิริราช 100 ปี (ซึ่งอยู่ภายในตึก 72 ปี) [3][4]", "title": "โรงพยาบาลศิริราช" }, { "docid": "19587#17", "text": "เมื่อพระองค์ทรงลาออกจากการรับราชการในกระทรวงทหารเรือแล้ว พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการและผู้บัญชาการโรงเรียนราชแพทยาลัย ในขณะนั้น พร้อมด้วยหม่อมเจ้าพูนศรีเกษม เกษมศรี ได้เสด็จไปเข้าเพื่อชักชวนให้มาช่วยโรงพยาบาลศิริราช โดยพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ได้ทูลเชิญทูลกระหม่อมให้แวะที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อทอดพระเนตรเห็นโรงคนไข้มีสถานที่คับแคบไม่พอที่จะรองรับคนไข้ได้อย่างเพียงพอทำให้คนไข้ต้องไปนั่งรอที่โคนต้นไม้ นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังขาดแคลนอุปกรณ์ทางแพทย์ พระองค์ทรงสลดพระทัยเป็นอย่างยิ่งและทรงตกลงพระทัยที่จะช่วยในการปรับปรุงการแพทย์ไทย แต่พระองค์มีพระดำริว่า \"ก่อนจะทรงช่วยเหลือจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ จึงตั้งพระทัยจะเสด็จไปทรงศึกษาด้านการแพทย์เสียก่อน\"[18]", "title": "สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก" }, { "docid": "11343#1", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตั้งคณะคอมมิตี้ เพื่อจัดสร้างโรงพยาบาล โดยใช้ที่ดินส่วนหนึ่งของวังหลัง มาเป็นที่สร้างโรงพยาบาลแห่งแรก ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า \"โรงพยาบาลวังหลัง\" ในระหว่างการสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ ได้สิ้นพระชนม์ลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ในงานพระเมรุนำไปสร้างโรงพยาบาล และเสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงพยาบาล พร้อมทั้งพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า โรงศิริราชพยาบาล", "title": "ประวัติมหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "35600#5", "text": "วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2431 ซึ่งวันนี้ถือว่าเป็นวันกำเนิดโรงพยาบาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดโรงพยาบาล และพระราชทานนามใหม่แก่โรงพยาบาลว่า “โรงศิริราชพยาบาล” สังกัดกรมพยาบาลอันมีพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์เป็นอธิบดี เมื่อตั้งโรงพยาบาลแล้ว ในชั้นแรกคณะกรรมการได้เชิญหมอหลวงที่มีชื่อเสียงมาเป็นแพทย์ใหญ่ ซึ่งได้พระประสิทธิวิทยา (หนู) ซึ่งภายหลังได้เป็นพระยาประเสริฐศาสตร์ธำรง พร้อมกับลูกศิษย์อีก 2 คน", "title": "คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "41656#6", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกำหนดงานพระเมรุ ณ ท้องสนามหลวง พระเมรุห้ายอด ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นพิเศษ และโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สิ่งก่อสร้างเป็นไม้จริง ด้วยมีพระราชประสงค์ว่าเมื่อเสร็จการแล้วจะพระราชทานแก่โรงพยาบาล เมื่อเสร็จการพระเมรุแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้รื้อพระเมรุไปสร้างเรือนคนไข้ได้จำนวน 4 หลัง ภายในโรงพยาบาล และพระราชทานเครื่องเรือน เครื่องใช้ทั้งปวงให้แก่โรงพยาบาลวังหลัง พร้อมทั้งพระราชทานนามโรงพยาบาลวังหลังใหม่ว่า \"โรงพยาบาลศิริราช\"", "title": "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์" }, { "docid": "35600#8", "text": "ในปี พ.ศ. 2464 รัฐบาลได้เริ่มเจรจากับมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ (Rockefeller) โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ ทรงรับเป็นผู้แทนฝ่ายไทยในการเจรจาเพื่อขอความช่วยเหลือปรับขยายหลักสูตรของคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาลให้ถึงระดับปริญญา โดยมีโรงพยาบาลศิริราชเป็นโรงพยาบาลฝึกหัด นอกจากนี้ เมื่อครั้งที่สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยังทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างตึกในโรงพยาบาลศิริราชหลายหลัง และยังได้พระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทย สำหรับไปศึกษายังต่างประเทศเพื่อให้กลับมาเป็นอาจารย์ นับได้ว่า สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชฯ มีพระมหากรุณาธิคุณต่อศิริราชและการแพทย์แผนปัจจุบันของไทยเป็นอย่างมาก ทางคณะฯ จึงได้จัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ไว้ ณ ใจกลางโรงพยาบาล และถวายพระราชสมัญญาว่า “องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย”\nในรัฐบาลสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ได้จัดระเบียบการบริหารราชการใหม่และก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์” ขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 โดยโอนคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล แผนกทันตแพทยศาสตร์ แผนกสัตวแพทยศาสตร์ และแผนกเภสัชศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาเป็นคณะในสังกัดของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มีฐานะเป็นกรมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ก่อนจะย้ายมาสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ. 2502 แต่นักศึกษายังคงต้องเรียนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเช่นเดิมแม้คณะจะเปลี่ยนไปสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์แล้ว ", "title": "คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "40282#41", "text": "สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีความห่วงใยความเจ็บไข้ได้ป่วยของราษฎรและทหารเป็นอย่างยิ่ง โดยทรงสนับสนุนการก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราชซึ่งนับว่าเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ ตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลแห่งนี้สำหรับเป็นสถานศึกษาวิชาพยาบาลและผดุงครรภ์ของสตรี ทั้งยังทรงจ่ายเงินเดือนแพทย์ มิชชั่นนารี ช่วยเหลือค่าใช้จ่าย ตลอดจนค่าอาหารของนักเรียน และพระราชทานเงินให้แก่หญิงอนาถา[37] ที่มาคลอดบุตรในโรงพยาบาลศิริราชเพื่อเป็นค่าใช้สอยทุกคน", "title": "สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง" }, { "docid": "433049#0", "text": "โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)", "title": "โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์" }, { "docid": "23931#33", "text": "นอกจากนี้ ยังได้ทรงรับมูลนิธิและกองทุนการกุศลต่าง ๆ ทางด้านสาธารณสุขไว้ในพระอุปถัมภ์อีกหลายหน่วยงาน ได้แก่ มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย กองทุนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเพื่อพัฒนาการพยาบาล ศิริราชมูลนิธิ มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ มูลนิธิช่วยการสาธารณสุข มูลนิธิส่งเสริมสวัสดิภาพสตรีและเยาวชน มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ มูลนิธิช่วยการสาธารณสุข สมาคมพยาบาลสาธารณสุขไทย มูลนิธิเพื่อโรงพยาบาลราชานุกูล มูลนิธิสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ มูลนิธิโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน มูลนิธิโรงพยาบาลเลิดสิน[39]", "title": "สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์" }, { "docid": "40197#1", "text": "วิวัฒนาการ มาจาก \"โรงเรียนนางพยาบาลสภากาชาดสยาม\" ต่อมาเปลี่ยนเป็น \"โรงเรียนการพยาบาลสภากาชาดไทยและโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์ และอนามัยสภากาชาดไทย\" เปิดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2457 รับผดุงครรภ์ ที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนสูติกรรมโรงพยาบาลศิริราช ช่วยดูแลผู้ป่วยหญิง มีนายสิบพยาบาล พลพยาบาล พลเปล และนางพยาบาล พลเรือนดูแลผู้ป่วยชาย สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ องค์สภานายิกาสภากาชาดสยาม พระราชทานกำเนิดโรงเรียนนางพยาบาลเพื่อเปิดสอนวิชาการพยาบาลขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงสยาม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2457", "title": "สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย" }, { "docid": "818770#6", "text": "แรกเริ่มสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าทรงฝากโรงพยาบาลสมเด็จสมเด็จนี้ไว้ในสังกัดโรงพยาบาลศิริราช จนถึงปี พ.ศ. 2461 พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้โรงพยาบาลนี้ไปอยู่ภายในการกำกับดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[7] ภายใต้กระทรวงธรรมการ(กระทรวงศึกษาธิการ) 10 ปีให้หลังในเดือนเมษายน พ.ศ. 2471 จึงโปรดเกล้าฯให้โอนโรงพยาบาลจากกระทรวงธรรมการไปสังกัดสภากาชาดไทย เป็นโรงพยาบาลแห่งที่สองของสภากาชาดไทยแต่มีอายุมากกว่าโรงพยาบาลแห่งแรกคือโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ถึง 12 ปี[8]", "title": "โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา" }, { "docid": "827127#0", "text": "ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นโรงพยาบาลลำดับที่ 4 นับลำดับจากโรงพยาบาลในสังกัดจำนวน 3 แห่งคือ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน", "title": "ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก" }, { "docid": "35600#3", "text": "ในปี พ.ศ. 2430 ขณะกำลังก่อสร้างโรงพยาบาล สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ ประชวรสิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคบิด สร้างความโศกเศร้าพระราชหฤทัยแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี เป็นอย่างมาก จึงมีพระราชประสงค์พระราชทานโรงพยาบาลเพื่อเป็นพระราชกุศล เมื่อเสร็จสิ้นงานพระเมรุพระราชทานเพลิงพระศพแล้ว ได้พระราชทานไม้ที่ใช้สร้างพระเมรุมาศจำนวน 15 หลังมาเป็นวัสดุสำหรับก่อสร้างโรงพยาบาลวังหลัง ทั้งยังได้พระราชทานพระราชทรัพย์ในส่วนของเจ้าฟ้าศิริราชฯ จำนวน 700 ชั่ง (56,000 บาท) เป็นค่าก่อสร้างอีกด้วย ตามพระราชปรารภของพระองค์ในพระราชหัตถเลขาถึงคณะกรรมการสร้างโรงพยาบาล ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ลงวันอังคาร เดือนอ้าย แรม 7 ค่ำ ปีชวดสัมฤทธิ์ศก จุลศักราช 1250 ใจความตอนหนึ่งว่า", "title": "คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "139621#3", "text": "เมื่อลาเพศชีออกมาได้ 5-6 ปี ภารกิจที่บ้านว่างลง จึงขออนุญาตคุณนายทับทิม ไปเข้าเรียนวิชาพยาบาล จนสำเร็จวิชาพยาบาลศิริราช รุ่นที่ 9 เป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนวิชาพยาบาลของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ที่โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราช และไปเป็นพยาบาลที่โรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าตามลำดับ และเคยเป็นพยาบาลอาสาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ด้วย ", "title": "ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)" }, { "docid": "5374#35", "text": "คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลรามาธิบดี สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะทันตแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร คณะสัตวแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร โรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่า ปศุปาลัน ศูนย์การแพทย์มหิดลนครสวรรค์ คลินิกสัตว์วันเฮลท์", "title": "มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "433049#5", "text": "ภายในโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ ประกอบด้วยอาคารโรงพยาบาลชื่อว่า อาคารปิยมหาราชการุณย์ เป็นอาคารสูง 14 ชั้น มีพื้นที่ใช้สอยสำหรับบริการตรวจรักษาประมาณ 165,270 ตารางเมตร และสถาบันการแพทย์ชื่อว่า สถาบันการแพทย์สยามินทราธิราช ในโรงพยาบาลฯ ประกอบไปด้วย \nใช้งบลงทุนกว่า 7,000 ล้านบาท", "title": "โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์" }, { "docid": "185391#3", "text": "คณะกรรมการสร้างโรงพยาบาลศิริราชได้ขอพระราชทานที่แปลงใต้ คือ วังกรมหมื่นนราเทเวศน์ มาเป็นพื้นที่สำหรับสร้างโรงพยาบาล ต่อมา โรงพยาบาลศิริราชได้ขยายออกไปจนเกือบเต็มวังหลัง โดยได้รับพระราชทานพื้นที่เพิ่มเติมบ้าง เวนคืนด้วยเงินงบประมาณบ้าง ส่วนเขตวังหลังส่วนเหนือซึ่งเป็นที่ของสถานีรถไฟธนบุรี ทางโรงพยาบาลศิริราชเพิ่งได้รับกรรมสิทธิ์เพิ่มเติมอีก ๓๐ ไร่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อพัฒนาเป็นสถาบันการแพทย์ชั้นเลิศในเอเชียอาคเนย์", "title": "ท่าวังหลังและท่าพรานนก" }, { "docid": "35600#2", "text": "วิชาการแพทย์ไทยแต่เดิมพัฒนาจากการใช้ยาสมุนไพรและรับการรักษาจากหมอยาตำราหลวงตามแบบแผนอย่างไทย ต่อมาเมื่อมีคณะมิชชันนารีจากต่างประเทศเข้ามาเผยแผ่ศาสนาพร้อมกับวิทยาการทางการแพทย์แผนตะวันตกในช่วงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เกิดรูปแบบการรักษาพยาบาลแบบใหม่ขึ้นในประเทศ ไม่นานในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ให้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้น เพื่อจัดระเบียบและยกระดับมาตรฐานการแพทย์และการสาธารณสุขในประเทศให้สมกับความรุ่งเรืองของประเทศ พระองค์ทรงจัดตั้งคณะกรรมการขึ้น เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2429 ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 ท่าน คือ\nเป็นผู้ร่วมดำเนินการจัดตั้งโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศ คณะกรรมการได้กราบทูลขอแบ่งพื้นที่พระราชวังบวรสถานพิมุขด้านใต้อันเป็นพื้นที่หลวงร้างฝั่งธนบุรี เพื่อเป็นพื้นที่ก่อสร้างโรงพยาบาลและซื้อที่ริมข้างเหนือโรงเรียนของคณะมิชชันนารีอเมริกันเพื่อทำท่าขึ้นโรงพยาบาล และตั้งชื่อว่า “โรงพยาบาลวังหลัง”", "title": "คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "363170#1", "text": "โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นโรงพยาบาลในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ซึ่ง มีชื่อเดิมคือคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นในสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และเป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 3 ของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยการนับจำนวนเตียง ปี พ.ศ. 2558 และมีความเป็นมาดังนี้", "title": "โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่" }, { "docid": "63859#20", "text": "จุดเริ่มต้นของเวชศาสตร์ฟิ้นฟูในประเทศไทยนั้น เริ่มต้นขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยพลตรีนายแพทย์ขุนประทุมโรคประหาร ซึ่งปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ได้นำวิธีธาราบำบัดมาใช้รักษาผู้ป่วยเป็นครั้งแรก ต่อมา ก็ได้มีการส่งแพทย์ชาวไทยเพื่อไปเรียนด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูที่ประเทศสหรัฐอเมริกาหลายคน แต่ด้วยปัญหาด้านการจัดหาทุนจึงได้ระงับโครงการไปชั่วคราว ต่อมาเริ่มงานทางด้านกายภาพบำบัดขึ้นที่โรงพยาบาลศิริราช และได้ก่อตั้งเป็นภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด ขึ้นที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เมื่อปี พ.ศ. 2507 และหลังจากนั้นเพียง 1 ปี ก็มีการก่อตั้งโรงเรียนกายภาพบำบัด สังกัดภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด ขึ้นในปี พ.ศ. 2508 ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ในขณะนั้น แห่งแรกของประเทศขึ้น และพัฒนาจนเป็นคณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ และปัจจุบัน คือ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล [22]", "title": "กายภาพบำบัด" }, { "docid": "18064#40", "text": "ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุข พระองค์ทรงตั้งกองทุนและมูลนิธิในโรงพยาบาลต่างๆ เช่น ทุนเพชรรัตนการุญ ในศิริราชมูลนิธิ โรงพยาบาลศิริราช มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ในโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร[38] นอกจากนี้ทรงรับมูลนิธิวชิรพยาบาล โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สำนักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย และมูลนิธิดุลยภาพบำบัดเพื่ออายุและสุขภาพไว้ในพระอุปถัมภ์[39] และทรงให้การอุปการะกิจการของโรงพยาบาลต่างๆ เช่น โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย[38]", "title": "สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" }, { "docid": "32955#4", "text": "ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นโดยตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณพระราชวังบวรสถานพิมุขหรือวังหลัง พระราชทานนามว่า \"โรงศิริราชพยาบาล\" (ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลศิริราช) ซึ่งมีความจำเป็นต้องหาแพทย์มาประจำในโรงพยาบาลจึงมีความจำเป็นต้องเปิดโรงเรียนแพทย์ขึ้นเพื่อผลิตแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการ โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพได้ทำหนังสือกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตตั้งโรงเรียนแพทย์ที่โรงพยาบาลศิริราช ต่อมาได้รับพระราชทานชื่อว่า \"โรงเรียนราชแพทยาลัย\" (ปัจจุบัน คือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล) ซึ่งเป็นสถานที่ฝึกอบรมรมแพทย์เพียงแห่งเดียวของประเทศในขณะนั้นซึ่งตั้งเป้าหมายการผลิตแพทย์ไว้ประมาณ 50 คนต่อปี แต่ความนิยมของผู้ป่วยที่ต้องการเข้ารับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบันนั้นมีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ยิ่งทำให้เกิดความต้องการแพทย์เพิ่มมากยิ่งขึ้น ทำให้คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลต้องเพิ่มจำนวนการรับนักเรียนแพทย์แต่ด้วยมีทรัพยากรและสถานที่จำกัดทำให้รับนักเรียนแพทย์ได้ไม่เกิน 100 คนต่อปีเท่านั้น\nเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรเสด็จพระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2489 ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า \"\"...พระองค์มีพระราชประสงค์ให้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ผลิตแพทย์ผู้ได้สำเร็จหลักสูตรให้มีปริมาณมากขึ้น เพื่อออกมาช่วยเหลือประเทศชาติ...\"\"", "title": "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "39490#4", "text": "ในระยะแรกคณะกรรมการจัดสร้างโรงพยาบาล ได้จัดสร้างเรือนพักผู้ป่วยขึ้น 6 หลัง และเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด และพระราชทานนามว่า \"โรงพยาบาลศิริราช\" [2] หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า \"โรงพยาบาลวังหลัง\" โดยทำการบำบัดรักษาผู้ป่วยไข้ทั้งแผนปัจจุบันและแผนโบราณของไทย", "title": "โรงพยาบาลศิริราช" }, { "docid": "43901#1", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งกรมการพยาบาลขึ้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2431 เพื่อให้ควบคุมดูแลกิจการศิริราชพยาบาลสืบแทนคณะกรรมการสร้างโรงพยาบาลวังหน้า กรมพยาบาลมีหน้าที่จัดการศึกษาวิชาแพทย์ ควบคุมโรงพยาบาลอื่น ๆ และจัดการปลูกฝีเป็นทานแก่ประชาชน", "title": "กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)" }, { "docid": "671316#0", "text": "ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา (ชื่อจีน:\"เล้าไซ้เคง\") เริ่มรับราชการที่แผนกกุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 ในช่วงแรกได้ไปศึกษาต่อวิชาโลหิตวิทยา และกุมารเวชศาสตร์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาจนได้ปริญญาเอกทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย พ.ศ. 2506 ได้กลับมาปฏิบัติงานที่ศิริราชระยะหนึ่ง จึงย้ายมาปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลรามาธิบดีตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง\nศ.เกียรติคุณ พญ.ภัทรพร เป็นแพทย์รุ่นบุกเบิกของคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแต่ พ.ศ. 2508 และร่วมก่อตั้งภาควิชากุมารเวชศาสตร์ เป็นผู้บุกเบิกและพัฒนางานด้าน Blood Coagulation และ Blood Component Therapy ที่สมบูรณ์ และทำเลือดแยกส่วนใช้รักษาผู้ป่วยเป็นแห่งแรกของไทยที่โรงพยาบาลศิริราช เป็นผู้ให้กำเนิดมูลนิธิเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลียแห่งประเทศไทย ชมรมผู้ป่วยฮีโมฟีเลียและเลือดออกง่ายทางพันธุกรรมแห่งประเทศไทย มีความคิดริเริ่มและอุทิศตนเพื่อการค้นคว้าวิจัยด้านโลหิตวิทยา มีตำราและหนังสือวิชาการที่ตีพิมพ์ 17 เล่ม วารสารทางการแพทย์กว่า 340 เรื่อง \nศ.เกียรติคุณ พญ.ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา เกิด(วันที่ 9 ตุลาคม) พ.ศ. 2475 เป็นบุตรคนที่ 5 ในจำนวน 8 คนของนายชุน หรือชุนฮวง พรรณเชษฐ์ และนางประทิน (ทองรวย) ที่อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร", "title": "ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา" }, { "docid": "39490#3", "text": "พระเมรุ 5 ยอด สมเด็จเจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ วัสดุก่อสร้างที่เหลือจากงานพระเมรุนำมาสร้าง \"โรงพยาบาลศิริราช\" ในระหว่างที่เตรียมการก่อสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ พระราชโอรสอันประสูติจาก สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ได้ประชวรโรคบิดสิ้นพระชนม์ลงเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430 ยังความอาลัยเศร้าโศกแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ยิ่งนักถึงกับมีพระราชปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มีโรงพยาบาลขึ้น ครั้นเสร็จงานพระเมรุแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ในงานพระเมรุนำไปสร้างโรงพยาบาล ณ บริเวณวังหลังดังกล่าว นอกจากนี้ยังพระราชทานทรัพย์ส่วนของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ฯ แก่โรงพยาบาลอีกด้วย", "title": "โรงพยาบาลศิริราช" }, { "docid": "48847#2", "text": "คณะกรรมการสร้างโรงพยาบาลศิริราชได้ขอพระราชทานที่แปลงใต้ คือ วังกรมหมื่นนราเทเวศร์ มาเป็นพื้นที่สำหรับสร้างโรงพยาบาล ต่อมาโรงพยาบาลศิริราชได้ขยายออกไปจนเกือบเต็มวังหลัง โดยได้รับพระราชทานพื้นที่เพิ่มเติมบ้าง เวนคืนด้วยเงินงบประมาณบ้าง ส่วนเขตวังหลังส่วนเหนือซึ่งเป็นที่ของสถานีรถไฟธนบุรี ทางโรงพยาบาลศิริราชเพิ่งได้รับกรรมสิทธิ์เพิ่มเติมอีก 30 ไร่ เมื่อปี พ.ศ. 2547 เพื่อพัฒนาเป็นสถาบันการแพทย์ชั้นเลิศในเอเชียอาคเนย์ คือ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ ซากกำแพงวังหลังส่วนนี้ได้ถูกอนุรักษ์ดูแลเป็นอย่างดี โดยมีกระจกควบคุมอุณหภูมิครอบไว้อยู่", "title": "พระราชวังบวรสถานพิมุข" }, { "docid": "39490#7", "text": "หมวดหมู่:โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หมวดหมู่:เขตบางกอกน้อย หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย ศ", "title": "โรงพยาบาลศิริราช" } ]
1406
แม่น้ำเจ้าพระยาไหลลงทะเลที่จังหวัดใด ?
[ { "docid": "9927#0", "text": "แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ", "title": "แม่น้ำเจ้าพระยา" } ]
[ { "docid": "168610#0", "text": "แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า \"แม่น้ำมะขามเฒ่า\" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า \"แม่น้ำสุพรรณบุรี\" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า \"แม่น้ำนครชัยศรี\" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า \"แม่น้ำท่าจีน\"", "title": "แม่น้ำท่าจีน" }, { "docid": "49389#0", "text": "สะพานพระราม 4 () เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมการคมนาคมระหว่างพื้นที่ตำบลบางตะไนย์กับตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด ทางตอนเหนือของจังหวัดนนทบุรี โดยสร้างเป็นส่วนต่อจากสะพานลอยรถข้ามห้าแยกปากเกร็ดตามแนวถนนแจ้งวัฒนะ ยกระดับเหนือถนนแจ้งวัฒนะย่านกลางเมืองปากเกร็ด ข้ามแม่น้ำตรงด้านเหนือของเกาะเกร็ด แล้วเชื่อมต่อกับถนนชัยพฤกษ์ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ (ก่อนที่จะไปบรรจบถนนราชพฤกษ์)", "title": "สะพานพระราม 4" }, { "docid": "22912#2", "text": "เนื่องจากสายทางด่วนเฉลิมมหานคร สายดาวคะนอง-ท่าเรือ ส่วนหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่บริเวณวัดไทร ซึ่งเป็นบริเวณที่แม่น้ำมีขนาดค่อนข้างกว้าง (ประมาณ 500 เมตร) และสองฝั่งแม่น้ำจะมีโกดังเก็บสินค้า ช่วงกลางแม่น้ำจะเป็นทุ่นจอดเรือเดินทะเลขนาดใหญ่รับ-ส่ง สินค้า ซึ่งกรมเจ้าท่าได้กำหนดว่าถ้าจะสร้าง สะพานข้ามแม่น้ำบริเวณดังกล่าวจะต้องมีตอม่ออยู่ในแม่น้ำลึกไม่เกิน 2.00 เมตร วัดจากระดับน้ำต่ำสุด (-1.73 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง \"รทก\") และ ท้องสะพานจะต้องสูงกว่าระดับสูงสุด (+2.17 \"รทก\") ไม่ต่ำกว่า 41.00 เมตร บริษัท Peter Fraenkel International Ing. Dr. Ing. Hellmut Homberg ซึ่งเป็นบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา และบริษัทออกแบบ ได้ออกแบบสะพานโดยมีตัวสะพานยาว 782 เมตร มีช่วงกลาง (Main Span) ยาว 450 เมตร ตัวสะพานมีความกว้าง 31-33 เมตร มีสายเคเบิลขึงเป็นแบบระนาบเดี่ยว (Single Plane) จำนวนฝั่งละ 17 คู่ มีเสาตอม่อฝั่งละ 4 ต้น แต่ละต้นจะสูง 35-40 เมตร เสาขึงเคเบิล (Pylon) ตั้งอยู่บนตอม่อริมน้ำสูง 87 เมตร ความลาดของสะพาน (Gradient) สูงสุด 5 เปอร์เซ็นต์ และเอียงออกด้านข้าง (Grossfall) 2.5 เปอร์เซ็นต์ ท้องสะพานสูงจากระดับน้ำสูงสุด 41 เมตร ทั้งสองข้างของตัวสะพานจะมีเชิงลาด (Bridge Approaches) ยาว 650 เมตร สำหรับฝั่งพระนคร และ 630 เมตร สำหรับฝั่งธนบุรี การออกแบบเชิงลาดของสะพานเป็นรูป Double T เป็นคอนกรีตอัดแรงมีความยาวช่วงละ 50 เมตร กว้าง 15 เมตร 2 เส้นทางคู่กัน", "title": "สะพานพระราม 9" }, { "docid": "105449#0", "text": "เขื่อนกิ่วลม เป็นเขื่อนในการดูแลของกรมชลประทาน ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองลำปางขึ้นไปทางทิศเหนือตามถนนพหลโยธิน ประมาณ 38 กิโลเมตรเศษ แยกซ้ายกิโลเมตรที่ 623 เข้า ไปอีก 14 กิโลเมตร ปิดกั้น แม่น้ำวัง ซึ่งเป็นแควที่มีขนาดเล็กและสั้นที่สุดของแม่น้ำเจ้าพระยา อยู่ในท้องที่จังหวัดลำปางเพียงจังหวัดเดียวเกือบตลอดสาย และไหลลงสู่แม่น้ำปิงในเขตจังหวัดตาก แม่น้ำวังมีพื้นที่ลุ่มน้ำแคบ ประกอบกับมีฝนน้อยกว่าลุ่มน้ำอื่น ๆ ในภาคนี้ แม่น้ำจึงเล็ก แต่น้ำขึ้นและลงในเวลาอันรวดเร็ว กับมีระยะเวลาขาดแคลนน้ำค่อนข้างมาก การทำนาจึงขึ้นอยู่กับฝนเป็นส่วนใหญ่ ทำให้เกษตรกรได้รับความเดือดร้อนเป็นอันมาก และข้าวที่ปลูกได้ก็น้อยจนไม่พอบริโภคในจังหวัด เพื่อเป็นการแก้ไขความเดือดร้อนเกี่ยวกับเรื่องน้ำเพื่อการเพาะปลูกของราษฎรในขั้นแรกนั้น กรมชลประทานได้พิจารณาสร้างโครงการชลประทานแม่วังซึ่งเป็นโครงการประเภททดและส่งน้ำแบบเหมืองฝายขึ้นเป็นโครงการแรกเมื่อ พ.ศ.2478 ต่อมา เมื่อความต้องการน้ำเพื่อการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น กรมชลประทานจึงสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำกิ่วลมที่ตำบลบ้านแลง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง เพื่อเก็บกักน้ำบนแม่น้ำวัง และสามารถส่งให้ราษฎรทำการเพาะปลูกได้ตลอดปี เขื่อนกิ่วลมเป็นเขื่อนเก็กน้ำแห่งแรกในภาคเหนือ และเริ่มเก็บน้ำได้ในปี 2515", "title": "เขื่อนกิ่วลม" }, { "docid": "999114#0", "text": "แม่น้ำระยอง หรือคนท้องถิ่นเรียกว่า คลองใหญ่ เป็นแม่น้ำสายสั้น ๆ ในจังหวัดระยอง มีความยาวประมาณ 50 กิโลเมตร มีต้นกำเนิดจากเทือกเขากองซอง และเขาพนมศาสตร์ ไหลผ่านท้องที่อำเภอปลวกแดง อำเภอบ้านค่ายและผ่านตำบลท่าประดู่ ลงสู่ทะเลที่ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองระยอง ปากแม่น้ำที่ไหลลงสู่อ่าวไทย เป็นเพียงร่องน้ำที่ไหลผ่านสันทรายแคบ ๆ เท่านั้น โดยก่อนไหลสู่ทะเล แม่น้ำจะไหลคดเคี้ยวไปตามพื้นที่ราบ และแม่น้ำแตกกิ่งก้านสาขา วกวนจนเกิดเกาะแก่ง พื้นท้องแม่น้ำเป็นโคลนเลนและเป็นพื้นที่ป่าชายเลน มีสันทรายแคบ ๆ กั้นพื้นที่ทะเลด้านนอกที่เป็นพื้นทรายสะอาด รูปร่างของแม่น้ำช่วงนี้จึงเป็นเหมือนถุงยาวใหญ่ที่กักน้ำไว้ และมีทางออก ที่ปากถุงแคบ ๆ เพียงทางเดียว", "title": "แม่น้ำระยอง" }, { "docid": "201295#0", "text": "แม่น้ำแควใหญ่ หรืออีกชื่อคือ แม่น้ำศรีสวัสดิ์ เป็นแม่น้ำสำคัญทางภาคตะวันตกของประเทศไทย มีต้นน้ำที่ทิวเขาถนนธงชัย ไหลลงมาทางใต้ผ่านอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก เขตทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดอุทัยธานี ต่อกับอำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอเมืองกาญจนบุรี ไหลมารวมกับแม่น้ำแควน้อยที่ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นแม่น้ำแม่กลอง มีความยาวประมาณ 450 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำที่มีสะพานข้ามแม่น้ำแควที่มีชื่อเสียง", "title": "แม่น้ำแควใหญ่" }, { "docid": "78621#2", "text": "แม่น้ำสะแกกรัง คือ ช่วงตั้งแต่ปากคลองขุมทรัพย์ หรือคลองอีเติ่ง ที่บ้านจักษา อำเภอเมืองอุทัยธานี หรือตรงปลายแม่น้ำตากแดด ณ จุดที่แม่น้ำตากแดดไหลมาบรรจบกับคลองขุมทรัพย์ ซึ่งน้ำจะเป็นสองสี แล้วไหลผ่านตัวเมืองอุทัยธานี แล้วไหลไปบรรจบแม่น้ำเจ้าพระยาที่อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท มีความยาวจากต้นน้ำถึงจุดที่บรรจบแม่น้ำเจ้าพระยาประมาณ 108 กิโลเมตร", "title": "แม่น้ำสะแกกรัง" }, { "docid": "284897#2", "text": "ตั้งอยู่ฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้ มีแม่น้ำตาปีซึ่งเป็นแม่น้ำสายสำคัญ ไหลผ่านจากทิศใต้ไปลงทะเลทางทิศเหนือที่อ่าวบ้านดอน\nวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ของจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้แก่ประเพณี ชักพระ ทอดพระป่าประเพณี แข่งเรือยาวทอดพระป่า รับ – ส่ง ตายายมีมหรสพพื้นเมือง ได้แก่ หนังตะลุง มโนราห์\nอุตสาหกรรมครัวเรือน ย่างมะพร้าว\nน้ำมันมะพร้าวสะกัดเย็น", "title": "ตำบลบางใบไม้" }, { "docid": "539489#1", "text": "คลองระพีพัฒน์เริ่มต้นขุดจากแม่น้ำป่าสัก บริเวณ คุ้งยางนม ตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ก่อนจะไหลลงมาที่อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี และแยกออกเป็นสองสาย ความยาว 32 กิโลเมตร มีประตูน้ำพระนารายณ์ และประตูน้ำพระเอกาทศรถกั้นอยู่ระหว่างคลอง เป็นคลองที่มีบทบาทสำคัญในการระบายน้ำ และโครงการชลประทานในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สระบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง", "title": "คลองระพีพัฒน์" } ]
114
ฟุตบอลทีมชาติอิรักก่อตั้งครั้งแรกเมื่อใด ?
[ { "docid": "71371#0", "text": "ฟุตบอลทีมชาติอิรัก (منتخب العراق لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐอิรัก อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก (IFA) ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1948 และได้เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกของฟีฟ่า ในปี 1950 จากนั้นได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ในปี 1970 และเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) ในปี 2000", "title": "ฟุตบอลทีมชาติอิรัก" } ]
[ { "docid": "71371#6", "text": "ยุค 1970–1980 ถือเป็นยุครุ่งเรืองของวงการฟุตบอลในประเทศอิรัก โดยอิรักสามารถผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายได้สำเร็จเป็นครั้งแรก ในฟุตบอลโลก 1986 ที่สหรัฐเม็กซิโก และผ่านเข้าไปเล่นในโอลิมปิก 3 ครั้งติดต่อกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ที่กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต, โอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกาและโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่กรุงโซล เกาหลีใต้", "title": "ฟุตบอลทีมชาติอิรัก" }, { "docid": "38909#1", "text": "ทีมฟุตบอลทีมชาติไทยก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2458 ในนาม\"คณะฟุตบอลสำหรับชาติสยาม\" และเล่นการแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการครั้งแรก (พบกับทีมฝ่ายยุโรป) ที่สนามราชกรีฑาสโมสร ในวันที่ 20 ธันวาคม ในปีนั้น จนวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามฯ โดยลงเล่นในการแข่งขันระหว่างประเทศครั้งแรกใน พ.ศ. 2473 พบกับทีมชาติอินโดจีน ซึ่งประกอบไปด้วยผู้เล่นเวียดนามใต้ และ ฝรั่งเศส เพื่อต้อนรับการเสด็จประพาสอินโดจีนของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยชื่อของทีมชาติและชื่อของสมาคมได้ถูกเปลี่ยนชื่อในปี พ.ศ. 2482 เมื่อสยามกลายเป็นประเทศไทย", "title": "ฟุตบอลทีมชาติไทย" }, { "docid": "71371#9", "text": "ในฟุตบอลโลก 1986 อิรักลงเล่นภายใต้การคุมทีมของ \"เอวาริสตู เดอ มาเชดู\" อดีตกองหน้าทีมชาติบราซิล ที่เคยค้าแข้งกับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาและเรอัล มาดริด โดยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มบี ร่วมกับทีมชาติปารากวัย, ทีมชาติเบลเยียม และทีมชาติเม็กซิโก โดยอิรักลงเล่นฟุตบอลโลกนัดแรกเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ.1986 ด้วยการแพ้ทีมชาติปารากวัย 1–0 ที่สนามเนเมซิโอ ดิเอซ เมืองโตลูกา และมายิงประตูในฟุตบอลโลกได้เป็นครั้งแรกในการแข่งขันนัดที่สองที่แพ้ให้กับทีมชาติเบลเยียม 1–2 โดย \"อาเหม็ด รอฎีย์\" ได้รับการบันทึกว่าเป็นผู้ยิงประตูแรกและประตูเดียวให้กับทีมชาติอิรักได้ในฟุตบอลโลก จากนั้นทีมชาติอิรักได้ลงแข่งนัดสุดท้ายในรอบแบ่งกลุ่มกับเจ้าภาพอย่างเม็กซิโก และแพ้ไป 1–0 ตกรอบไปในที่สุด", "title": "ฟุตบอลทีมชาติอิรัก" }, { "docid": "350511#4", "text": "วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 , 15 เดือน หลังจากก่อตั้งสมาคมฟุตบอลไอริช (IFA) ทีมชาติไอร์แลนด์ได้ลงแข่งขันฟุตบอลระดับชาติเป็นครั้งแรก โดยเป็นการแข่งขันนัดกระชับมิตรกับทีมชาติอังกฤษ ที่เมืองเบลฟาสต์ ซึ่งผลการแข่งขันนัดดังกล่าว ทีมชาติไอร์แลนด์เป็นฝ่ายแพ้คาบ้านไปถึง 13–0 และเป็นสถิติแพ้ขาดลอยมากที่สุดในประวัติศาสตร์ทีมชาติมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเป็นสถิติชนะขาดลอยมากที่สุดของทีมชาติอังกฤษอีกด้วย", "title": "ฟุตบอลทีมชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์" }, { "docid": "786912#1", "text": "สมาคมฟุตบอลออสเตรียก่อตั้งในวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1904 ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ส่วนประวัติในระดับสากลของออสเตรีย เริ่มต้นขึ้นในทศวรรษที่ 30 เมื่อได้รับการขนานนามให้เป็น \"ทีมมหัศจรรย์\" จากรูปแบบการเล่นที่สวยงามและมีประสิทธิภาพ และมีสถิติไม่แพ้ใครติดต่อกันถึง 14 นัด ในช่วง ค.ศ. 1931–32 และเข้าร่วมฟุตบอลโลก 1934 โดยถูกจัดให้เป็นทีมหนึ่งที่มีโอกาสคว้าแชมป์ไปครอง แต่ในรอบรองชนะเลิศออสเตรียแพ้ต่ออิตาลี ซึ่งต่อมาอิตาลีก็ได้แชมป์ไปในท้ายที่สุด", "title": "ฟุตบอลทีมชาติออสเตรีย" }, { "docid": "870519#1", "text": "ทีมชาติก่อตั้งขึ้นในปี 1901 ในสมัยราชอาณาจักรโบฮีเมียที่ถูกปกครองโดยจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ต่อมาได้ก่อตั้งเชโกสโลวาเกีย ก่อนจะแยกประเทศกับสโลวาเกียในปี 1992 การแข่งขันระหว่างประเทศของพวกเขาเป็นครั้งแรกที่สาธารณรัฐเช็กคือยูโร 1996 ที่พวกเขาเสร็จสิ้นการวิ่งขึ้นเสร็จที่ดีที่สุดของพวกเขาในการแข่งขันระหว่างประเทศใด ๆ แม้จะมีความสำเร็จแรกของพวกเขาที่พวกเขาได้ให้ความสำคัญเฉพาะในฟุตบอลโลก 2006 ทัวร์นาเมนต์ที่พวกเขาถูกกำจัดในรอบแรกของการแข่งขัน พวกเขาเผชิญชะตากรรมเดียวกันที่ ยูโร 2008 ลักษณะที่ปรากฏล่าสุดของพวกเขาในขั้นตอนสุดท้ายของการแข่งขันที่สำคัญ", "title": "ฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย" }, { "docid": "349993#2", "text": "สมาพันธ์ฟุตบอลโครเอเชียก่อตั้งในวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1912 ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งโครเอเชีย เป็นประเทศที่เกิดใหม่ช่วงที่เป็นรัฐอิสระระหว่างปี ค.ศ. 1940–ค.ศ. 1945 ได้ผนวกรวมตัวกับประเทศยูโกสลาเวีย จึงแยกตัวออกมาเป็นรัฐอิสระในปี ค.ศ. 1990 ทำให้ในยุคแรกนักฟุตบอลทีมชาติโครเอเชียจะเป็นนักฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวียมาก่อน โดยนัดสุดท้ายที่นักฟุตบอลทั้ง 2 ชาติเล่นร่วมกันในนามทีมชาติยูโกสลาเวีย คือ การพบกับสวีเดน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 และเข้าเป็นสมาชิกฟีฟ่าในปลายปี ค.ศ. 1992 และได้รับการจัดอันดับเป็นครั้งแรกจากฟีฟ่าให้เป็นที่ 125 ของโลก เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1994", "title": "ฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย" }, { "docid": "71371#5", "text": "อิรักลงแข่งขันฟุตบอลในระดับชาติครั้งแรกกับทีมชาติโมร็อกโก โดยแข่งขันกันที่ประเทศเลบานอน ในปี ค.ศ. 1957 ซึ่งเสมอกันไป 3–3 จากนั้นได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกเป็นครั้งแรก ในการคัดเลือกฟุตบอลโลก 1974", "title": "ฟุตบอลทีมชาติอิรัก" }, { "docid": "52286#1", "text": "สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2459 ในนาม \"สโมสรกีฬากองทัพบก\" โดยมีวัตถุประสงค์ในการที่จะให้กำลังพลในกองทัพ ได้ออกกำลังกาย โดยในระยะแรก นักฟุตบอลส่วนใหญ่ มาจากกำลังพลในกองทัพทั้งสิ้น โดยได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีเกียรติยศที่สำคัญคือ ชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน ก ในปี 2526 และเคยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ฟุตบอลควีนส์คัพ ในปี 2540 อีกด้วย", "title": "สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด" } ]
1414
โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์ ออกอากาศตอนสุดท้ายเมื่อไหร่?
[ { "docid": "211190#0", "text": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์ () เป็นภาพยนตร์โทคุซัทสึซึ่งเป็นของบริษัท TAKARA TOMY ในซีรีส์โทมิกะ อันดับที่ 2 ต่อจาก TOMICA ฮีโร่ เรสคิวฟอร์ซ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2009 ถึงวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2010 เวลา 08.00 น. ทาง ทีวีไอจิ และทางสถานีโทรทัศน์ ทีวี โตเกียว มีจำนวนตอนทั้งหมด 51 ตอน", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" } ]
[ { "docid": "211190#36", "text": "\"Rescue Fire\" () ร้องโดย JAM Project ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 1-29 \"Bakushin kanryo! Rescue Fire\" () ร้องโดย JAM Project ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 30", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#19", "text": "เรสคิว โชเวล เรด ไทป์ พาหนะกู้ภัยขนาดกลางสีแดง เป็นเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงโดยใช้ต้นแบบจากเรสคิว โชเวล โดยรุ่นเรด ไทป์ มีกำหนดที่จะใช้งานในสาขายุโรป มีพลังในการต่อสู้มากกว่ารุ่นเดิมหลายเท่า ผู้พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลคือ ซาเอคิ บันจิ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#41", "text": "แต่จุดต่างของสกายทีม และ โกออนวิงคส์ คือ สกายทีมไม่มีสมาชิกที่เป็นผู้หญิง เกราะและลวดลายบนร่างกายของไฟเออร์-1X มีความคล้ายคลึงกับมาสค์ไรเดอร์ไคซะ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#29", "text": "Rescue Dash 5 (Rescue Dash Five) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไฟเออร์-5 ตัวรถสีน้ำเงิน รถที่ใช้เป็นของยี่ห้อ นิสสันรุ่น X-TRAIL ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 1.7 เมตร ,ยาว 4.6 เมตร,กว้าง 1.8 เมตร,หนัก 2 ตัน ,ความเร็วสูงสุด 250 กม./ชม.", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#40", "text": "มีสมาชิกทีมเป็น 2 คน เช่นเดียวกัน เจ็ทคาลิเบอร์ และ วิงก์ ทริเกอร์ เป็นอาวุธประเภทดาบ เช่นเดียวกัน ด้ามจับของเจ็ทคาลิเบอร์ มีลักษณะคล้ายคลึงกับวิงก์ ทริเกอร์ เช่นเดียวกัน พาหนะหลักเป็นเครื่องบินเหมือนกัน พาหนะหลักของสกายทีม สามารถรวมร่างกับ พาหนะหลักของเรสคิวไฟเออร์ทีม ได้เช่นเดียวกับ โกออนวิงคส์", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#22", "text": "เรสคิว โดเซอร์ บลู ไทป์ พาหนะกู้ภัยขนาดกลางสีน้ำเงิน เป็นเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงโดยใช้ต้นแบบจากเรสคิว โดเซอร์ โดยรุ่นบลู ไทป์ มีกำหนดที่จะใช้งานในสาขายุโรป มีพลังในการต่อสู้มากกว่ารุ่นเดิมหลายเท่า ผู้พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลคือ ซาเอคิ บันจิ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#26", "text": "Rescue Dash 2 (Rescue Dash Two) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไฟเออร์-2 ตัวรถสีขาว ติดตั้งไซเรนไว้ที่หลังคารถ มีรูปแบบคล้ายกับรถพยาบาล ใต้ท้องรถจะมีไอพ่นทั้งหมด4จุดเพื่อใช้ในการลอยตัวบนอากาศและทำการรวมร่างกับโดเซอร์ ดราก้อน ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 3 เมตร ,ยาว 6 เมตร,กว้าง 2 เมตร,หนัก 4 ตัน,ความเร็วสูงสุด 210 กม./ชม.", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#32", "text": "ไฟเออร์ ฟินิกซ์ ฐานทัพของเรสคิวไฟเออร์ ตั้งอยู่ที่ริมชายฝั่งทะเล ตัวอาคารเป็นใช้แบบแปลนเดียวกับเรสคิว ฟินิกซ์ แต่มีจุดต่างตรงที่สีของอาคารเป็นสีเงิน-แดง ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 60 เมตร, ยาว 70 เมตร , กว้าง 50 เมตร ไฟเออร์ ฟินิกซ์ สเปซโหมด ไฟเออร์ ฟินิกซ์ ในรูปแบบการบินกึ่งกระสวยอวกาศ สามารถบินออกนอกอวกาศได้ ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 60 เมตร , ยาว 140 เมตร , กว้าง 100 เมตร , ความเร็วสูงสุด มัค35 ท่าไม้ตาย = ฟรีซซิ่ง แคนนอน (เมื่อได้รับคำสั่ง Final Rescue ไฟเออร์ ฟินิกซ์ สเปซโหมด จะทำการยิงสารเยือกแข็งจากปืนใหญ่ที่ติดอยู่ปลายปีกยานทั้ง 2 ข้างทำให้คาเอนมาจินไม่สามารถเคลื่อนไหวได้) , ฟินิกซ์ บลาสท์ (เมื่อได้รับคำสั่งFinal Rescue ออร่าวิหคเพลิงจะห่อหุ่มรอบตัวไฟเออร์ ฟินิกซ์ สเปซโหมด จากนั้นไฟเออร์ ฟินิกซ์ สเปซโหมด จะทำการพุ่งชนคาเอนมาจินด้วยความเร็วสูง)", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#23", "text": "เรสคิว เครน กรีน ไทป์ พาหนะกู้ภัยขนาดกลางสีเขียว เป็นเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงโดยใช้ต้นแบบจากเรสคิว เครน โดยรุ่นกรีน ไทป์ มีกำหนดที่จะใช้งานในสาขายุโรป มีพลังในการต่อสู้มากกว่ารุ่นเดิมหลายเท่า ผู้พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลคือ ซาเอคิ บันจิ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#35", "text": "ไฮเปอร์ จูคาเอน จูคาเอนมาจิน ที่ได้รับพลังจากเศษปักษาสีแดงของโจคาเอน ทำให้มีรูปร่างขนาดใหญ่ ไฮเปอร์ ซาคาเอน ซาคาเอนมาจิน ที่ได้รับพลังจากเศษปักษาสีแดงของโจคาเอน ทำให้มีรูปร่างขนาดใหญ่ ไฮเปอร์ ซาคาจูคาเอน เกิดจากการรวมร่างของ ไฮเปอร์ จูคาเอน และ ไฮเปอร์ ซาคาเอน", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#20", "text": "เรสคิว ดริล แบล็ค ไทป์ พาหนะกู้ภัยขนาดกลางสีดำ เป็นเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงโดยใช้ต้นแบบจากเรสคิว ดริล โดยรุ่นแบล็ค ไทป์ มีกำหนดที่จะใช้งานในสาขายุโรป มีพลังในการต่อสู้มากกว่ารุ่นเดิมหลายเท่า ผู้พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลคือ ซาเอคิ บันจิ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#1", "text": "จาคาเอน กลุ่มองค์กรปิศาจชั่วร้ายที่ต้องการยึดครองโลกด้วยอัคคีภัยได้ถือกำเนิดขึ้น พร้อมกับการเกิดภูเขาน้ำแข็งละลายเนื่องจากมนต์สะกด<b data-parsoid='{\"dsr\":[536,550,3,3]}'>ดอนคาเอน</b>ได้ถูกทำลายลง ทำให้โลกเกิดอัคคีภัยในหลายๆประเทศ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#7", "text": "เรสคิว วีเคิล ของหน่วยเรสคิวไฟเออร์ ได้รับการพัฒนาข้อมูลมาจากเรสคิว วีเคิล ของเรสคิวฟอร์ซ ทำให้มีประสิทธิภาพในการบรรเทาภัยที่สูงกว่าเดิม", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#39", "text": "ชุดทำงานของเรสคิวไฟเออร์ก่อนแปลงร่าง มีลักษณะคล้ายกับชุดตำรวจของเดกะเรนเจอร์ สกายทีม มีความคล้ายคลึงกับ โกออนวิงคส์ ใน โกออนเจอร์ อยู่หลายอย่างเช่น", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#27", "text": "Rescue Dash 3 (Rescue Dash Three) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไฟเออร์-3 ตัวรถสีเงินแถบสีเขียวที่ด้านข้างรถ มีรูปแบบคล้ายกับรถตู้ รถที่ใช้เป็นของยี่ห้อ นิสสันรุ่น CUBE ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 1.7 เมตร ,ยาว 3.9 เมตร,กว้าง 1.7 เมตร,หนัก 1.2 ตัน ,ความเร็วสูงสุด 250 กม./ชม.", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#24", "text": "เซอร์เบรอส ดราก้อน พาหนะกู้ภัยขนาดใหญ่พิเศษ ที่เกิดจากการรวมร่างของ ไฟเออร์ ดราก้อน , เรสคิว โชเวล เรด ไทป์ , เรสคิว ดริล แบล็ค ไทป์ , เรสคิว เทอร์โบ เรด ไทป์ , เรสคิว โดเซอร์ บลู ไทป์ และ เรสคิว เครน กรีน ไทป์ เข้าไว้ด้วยกัน มีพลังในโจมตีทั้งระยะประชิด ระยะกลาง และ ระยะไกล ได้อย่างสมบูรณ์ แกนกลางในการรวมร่างคือ ไฟเออร์ ดราก้อน ดราก้อน แลดเดอร์เป็นอาวุธด้านซ้าย ,เรสคิว โชเวล เรด ไทป์ เป็นส่วนบนและตัวเครื่องด้านขวาบน , เรสคิว ดริล แบล็คไทป์ เป็นตัวเครื่องด้านขวา(เชื่อมต่อกับดราก้อน แลดเดอร์)สว่านด้านข้าง(ทั้ง2ซ้ายและขวา) ยกเว้นส่วนควบคุมที่ไม่มีส่วนประกอบในการรวมร่าง , เรสคิว เทอร์โบ เรด ไทป์ ส่วนท้ายเป็นส่วนท้ายรถ (เชื่อมต่อกับเรสคิว โดเซอ บลู ไทป์ร์ส่วนท้าย) , เรสคิว โดเซอร์ บลู ไทป์ เป็นส่วนหน้าของรถก และส่วนท้ายของรถ , เรสคิว เครน กรีน ไทป์ ใช้เพียงส่วนเครน ติดตั้งเป็นอาวุธด้านขวา(เชื่อมต่อกับตัวเครื่องด้านขวา) มีรูปแบบและพลังเทียบเท่ากับ ก็อด สไตรเกอร์ ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 11 เมตร , ยาว 38 เมตร ,กว้าง 10.4 เมตร ,หนัก 138 ตัน , ความเร็วสูงสุด 200 กม./ชม. ท่าไม้ตาย = เซอร์เบรอส ครัช (เมื่อได้รับคำสั่ง Final Rescue เซอร์เบรอส ดราก้อน จะรวบรวมพลังงานไว้ทั่วคัน ส่วนของ เทอร์โบ จะรวบรวมพลังงานลมเอาไว้จนเกิดลำแสงสีเขียว ส่วนของ ดริล ทำการหมุนรอบสว่านจนเกิดลำแสงสีฟ้า ส่วนของ โชเวล ล้อสายพานและส่วนตักดินรวบรวมพลังงานจนเกิดลำแสงสีแดง ส่วนของแลดเดอร์ ดราก้อน ทำการรวบรวมพลังงานเพื่อยิงลำแสงแช่แข็ง ส่วนของ เครน รวบรวมพลังงานสว่านจนเกิดกระแสไฟฟ้าสีเหลือง ส่วนของ โดเซอร์ รวบรวมพลังงานสีน้ำเงินเพื่อส่งไปยังส่วนต่างๆ เมื่อสิ้นเสียงคำรามจากส่วนโดเซอร์จะปล่อยลำแสงทุกชนิดออกจากเซอร์เบรอส ดราก้อน พุ่งเข้าใส่คาเอนมาจินอย่างรุนแรงทำให้คาเอนมาจิน กลายเป็นน้ำแข็ง จากนั้นเซอร์เบรอส ดราก้อนจะทำการกระโดดและใช้ส่วนของโชเวล โดเซอร์ เครน แลดเดอร์ ทำการยืดเกาะ เมื่อยืดเกาะได้สำเร็จจะทำการเจาะร่างคาเอนมาจิน ทำให้คาเอนถูกทำลายในที่สุด)", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#5", "text": "R-1/ R-1 Max/ โทโดโรคิ ฮิคารุ (轟 輝) แสดงโดย อิซุคะ เคนตะ (猪塚 健太) สมาชิกหน่วยเรสคิวฟอร์ซ ได้มาช่วยเหลือเรสคิวไฟเออร์โดยเขาปรากฏตัวพร้อมกับอิชิคุโระที่เพิ่งกลับมายุโรป ในตอนที่43-44 ฮิคารุได้กลับมาช่วยเหลือเรสคิวไฟเออร์อีกครั้งเนื่องจากสาขายุโรปต้องการเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงของเรสคิว ฟอร์ซ นำไปใช้งานที่สาขายุโรปจึงทำให้เขาได้ร่วมสู้อีกครั้งกับรุ่นน้องและฝากการปกป้องโลกไว้กับเรสคิวไฟเออร์ R-5 /อิชิคุโระ เออิจิ (石黒 鋭二) แสดงโดย อิวานางะ ฮิโรอาคิ (岩永 洋昭) หัวหน้าหน่วยเรสคิวฟอร์ซ ได้เดินทางไปยุโรปเพื่อรับตำแหน่งหัวหน้าหน่วยที่สาขายุโรป มาเยี่ยมและให้กำลังใจไทงะในฐานะสมาชิกของUFDA R-U / R-4 (คนแรก) / นัมบุ นาทสึโนะ(南部 奈津乃) แสดงโดย ฮายามิ ยู (早見 優) ซาโตชิ (ปรากฏตัวในตอนที่ 2) เด็กชายที่ไฟเออร์-1 ช่วยเหลือหลังจากเกิดเหตุการณ์ไฟป่า โดยฝีมือของซาคาเอน เป็นเจ้าของจิบิสุเกะ สุนัขที่ถูกซาคาเอนใช้เป็นเครื่องมือในการทำลายล้าง ไอจัง (ปรากฏตัวในตอนที่ 3) เด็กหญิงที่ไฟเออร์-3 ช่วยเหลือ เป็นเด็กที่เกลียดเห็ดจนเกิดปากเสียงกับพ่อ และเป็นเหตุให้ชูคาเอนใช้ประโยชน์จากการการเกลียดเห็ดสร้างเป็นคิโนโคเอน ซาเอคิ บันจิ (佐伯 文治) หัวหน้าแผนกช่างเครื่องของUFDA เป็นผู้ดูแลเรสคิววีเคิ่ลและไฟเออร์สูท นอกจากนี้ยังเป็นผู้รู้ความลับเกี่ยวกับริคุที่ไม่สามารถแปลงร่างเป็นเรสคิวไฟเออร์ ดร.ไทงะ นาโอชิ (大河 直司) พี่ชายของริคุ เป็นนักโบราณคดี วิจัยเรื่องการกำเนิดจาคาเอนครั้งอดีตกาล เป็นผู้ค้นพบศิลาที่บันทึกภาพแกะสลักถึงเรื่องราวของจาคาเอน ไทงะ มาริโมะ(大河 マリモ) น้องสาวคนสุดท้องของบ้านไทงะ มีศักดิ์เป็นน้าสาวของอาซึกะ ทำงานเป็นปศุสัตว์ที่ไร่แห่งหนึ่ง ไทงะ อาซึกะ (大河 飛鳥) ลูกสาวของนาโอชิ เป็นผู้ค้นพบศิลาและเป็นผู้กุมพลังของดาบริวโดเคน เมกุมิ ทัตสึโกโร่ (恵 タツゴロウ) พ่อของยูมะ มีอาชีพเป็นหัวหน้าคนงานก่อสร้าง วาตาริ ยูคิโอะ (航 ユキオ) พ่อของจุน เป็นประธานบริษัท วาตาริ โฮลด์ดิ้ง ต้องการให้จุนลาออกจากเรสคิวไฟเออร์เพื่อต้องการสืบทอดกิจการของตน อิเคยะ ทัตสึโนะสุเกะ (池家 哲之助)", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#28", "text": "Rescue Dash 4 (Rescue Dash Four) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไฟเออร์-4 ตัวรถสีดำ รถที่ใช้เป็นของยี่ห้อ นิสสันรุ่น SKYLINE ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 1.4 เมตร ,ยาว 4.7 เมตร,กว้าง 1.8 เมตร,หนัก 1.7 ตัน ,ความเร็วสูงสุด 400 กม./ชม.", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#25", "text": "Rescue Dash 1 (Rescue Dash One) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไฟเออร์-1 ตัวรถสีแดง ติดตั้งไซเรนไว้ที่หลังคารถ รถที่ใช้เป็นของยี่ห้อ นิสสันรุ่นFAIRLADY 370z สีแดง ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 2.3 เมตร ,ยาว 4.3 เมตร,กว้าง 1.9 เมตร,หนัก 1.5 ตัน,ความเร็วสูงสุด 650 กม./ชม.", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#21", "text": "เรสคิว เทอร์โบ เรด ไทป์ พาหนะกู้ภัยขนาดกลางสีแดง เป็นเรสคิว วีเคิลรุ่นปรับปรุงโดยใช้ต้นแบบจากเรสคิว เทอร์โบ โดยรุ่นเรด ไทป์ มีกำหนดที่จะใช้งานในสาขายุโรป มีพลังในการต่อสู้มากกว่ารุ่นเดิมหลายเท่า ผู้พัฒนาและปรับปรุงข้อมูลคือ ซาเอคิ บันจิ", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#4", "text": "เรสคิวไฟเออร์ คือหน่วยกู้ภัยที่ถูกจัดตั้งขึ้นโดยโอซาคาเบะ เรย์จิ ผู้เป็นเรสคิวฟอร์ซในตำนาน , เรสคิวไฟเออร์ มีหลากหลายสาขากระจายอยู่ทั่วมุมโลกเพื่อรับมือกับเหตุการณ์ร้ายแรงและคอยส่งข่าวสารให้กับสมาชิกของUFDAให้ทราบถึงสถานการณ์ต่างๆ ในแต่ละสาขาจะมีรูปแบบเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่จะมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับหน่วยอัคคีภัย เรสคิวไฟเออร์ ที่ปรากฏในเรื่องจะมีอยู่ 2 ทีมด้วยกัน ประกอบไปด้วย เรสคิวไฟเออร์ทีม ทีมที่เน้นการกู้ภัยบนภาคพื้นดิน ขึ้นตรงกับโอซาคาเบะ เรย์จิ สกายทีม ทีมที่เน้นการกู้ภัยทางอากาศ สัตว์ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ของเรสคิวไฟเออร์คือ มังกร และ นกเหยี่ยว ไฟเออร์-1 (Fire-One) / ไฟเออร์-1X / โฮมุระ ทัตสึยะ (炎 タツヤ) แสดงโดย คุโบ โช (久保 翔) สมาชิกคนล่าสุดของเรสคิวไฟเออร์ มีความกล้าหาญในจิตวิญญาณแห่งการผจญเพลิงอยู่เต็มเปี่ยม มีนิสัยใจร้อน วู่วาม ชอบพูดจาเสียงดังแต่มีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้คน นึกถึงความสุขของผู้คนมากกว่าความสุขของตน เนื่องจากทัตสึยะเป็นคนที่ชอบช่วยเหลือผู้ประสพภัย ทำให้ช่วยเหลือผู้ประสพภัยของเขานั้นมีปัญหาตามมาเนื่องจากความเข้าใจผิด ทั้งที่ความจริงทัตสึยะมีความตั้งใจจริงในการช่วยเหลือผู้เหลือผู้ประสพภัยเท่าที่ตัวเขาจะทำได้โดยคำนึงถึงจิตใจของผู้ประสพภัยเป็นหลัก ทัตสึยะ ชื่นชอบมอเตอร์ไซต์เป็นอย่างมากจนถึงขั้นสะสมโปสเตอร์มอเตอร์ไซต์ติดไว้ที่ห้องพักส่วนตัว ภายหลังจากการต่อสู้ ทัตสึยะ ได้เดินทางไปสหรัฐอเมริกาพร้อมกับQ สุเกะโดยใช้มอเตอร์ไซต์เป็นพาหนะในการเดินทาง ส่วนหนึ่งที่ได้ไปอเมริกาเนื่องจากได้รับมอบหมายงานจากสาขาอเมริกาและความต้องการที่ออกไปท่องเที่ยวตามความฝันของเขา ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 19 ปี , กรุ๊ปเลือด B ท่าไม้ตาย - ริวโอ เอ็กซ์ กิริ , เซมปูคิ๊ก , ดราก้อน คิ๊ก ไฟเออร์-2 (Fire-Two) / เมกุมิ ยูมะ (恵 ユウマ) แสดงโดย คาวาดะ ยู (川田 祐) สมาชิกทีมเรสคิวไฟเออร์ ชำนาญการต่อสู้ด้วยพละกำลัง และการปฐมพยาบาลผู้ประสพภัย ยูมะ เป็นคนอารมณ์ดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกๆคนโดยไม่ถือตัว ภายหลังจากการต่อสู้ ยูมะได้แต่งงานกับทามะจัง มีลูกด้วยกัน 1 คน แม้จะมีครอบครัวไปแล้วแต่ยูมะ ยังคงเป็นเจ้าหน้าที่ฝึกสอนการดับเพลิงให้กับประชาชน ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 21 ปี , กรุ๊ปเลือด O ท่าไม้ตาย - แอ็กซ์ สตอร์ม , เซอร์เคิล ช็อต ไฟเออร์-3 (Fire-Three) / ยูคิ ริทสึกะ (雪 リツカ) แสดงโดย นาคามูระ ยู (中村 優) สมาชิกทีมเรสคิวไฟเออร์ มีนิสัยเด็ดเดี่ยว สุขุม ห้าวหาญ เป็นคู่หูในการปฏิบัติงานกับไฟเออร์-2 แม้จะเป็นผู้หญิงแต่มีความสามารถรอบด้านทั้งด้านการต่อสู้ที่เก่งกีฬาฟันดาบและกีฬายิงปืน ด้านวิชาการมีความสามารถในการวิเคราะห์และวิจัยในเรื่องต่างๆ ทำให้มีฉายาว่า Miss Perfect เนื่องจากการทดสอบภาคปฏิบัติที่เธอสามารถทำคะแนนได้สูงและมีคะแนนเต็มทุกครั้งที่มีการทดสอบ ริทสึกะ ไม่พอใจในตัวทัตสึยะ เนื่องจากเข้าใจไปเองว่าทัตสึยะเป็นคนเหลวไหลและมีนิสัยโวยวายซึ่งไม่เหมาะกับการเป็นเรสคิวไฟเออร์ ภายหลังจากการต่อสู้ ริทสึกะทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมพนักงานของUFDA และคอยถามข่าวคราวของเรสคิวไฟเออร์คนอื่นๆเสมอมา ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 19 ปี , กรุ๊ปเลือด A ไฟเออร์-4 (Fire-Four) / อาโออิ สึบาสะ (葵 ツバサ) แสดงโดย ฟุคุยามะ คาซึคิ (福山 一樹) หัวหน้าสกายทีม แห่งเรสคิวไฟเออร์ สาขาอเมริกา เป็นคนที่มีความสุขุม เยือกเย็น เคยเป็นเพื่อนร่วมรุ่นและคู่แข่งของริทสึกะ แต่ลึกๆแล้ว สึบาสะแอบชอบริทสึกะเพียงแต่ไม่เคยได้บอกกับริทสึกะไปตรงๆ ในเข็มกลัดของเขามีรูปที่ถ่ายคู่กับริทสึกะไว้เป็นที่ระลึกในการเป็นเรสคิวไฟเออร์ แต่เดิม สึบาสะ มีความตั้งใจที่จะเป็นไฟเออร์-1 แต่ด้วยเหตุผลบางประการทำให้เขาได้พลาดตำแหน่งนี้ไป ภายหลังจากการต่อสู้ สึบาสะ ได้เป็นพรีเซ็นเตอร์ประชาสัมพันธ์การสมัครคัดเลือกบุคคลทั่วไปเข้ามาเป็นพนักงานของUFDA ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 21 ปี , กรุ๊ปเลือด AB ท่าไม้ตาย - เทนคู V โนะ ชิกิริ (天空Vの字斬り) , เจ็ท พาร์ทเนอร์ ไฟเออร์-5 (Fire-Five) / วาตาริ จุน (航 ジュン) แสดงโดย มิสุโนะ มาซาโนริ (水野 真典) สมาชิกสกายทีม เชี่ยวชาญทางด้านเครื่องยนต์ทางอากาศเนื่องจากชื่นชอบเครื่องบินเป็นทุนเดิม ทำงานเป็นคู่หูกับสึบาสะได้เป็นอย่างดี นิสัยดีมีมนุษยสัมพันธ์ดี มีความมุ่งมั่นในการทำงานอย่างเต็มที่แต่ติงต๊อง มีจุดเด่นที่สวมแว่นสายตาและตัวเล็กกว่าคนอื่นๆ ก่อนที่จะมาสมัครเป็นเรสคิวไฟเออร์ จุน ได้ประชดครอบครัวและหนีออกจากบ้านออกมา ภายหลังจากการต่อสู้ จุน ได้สมัครเป็นเจ้าหน้าที่ของสำนักบรรเทาทุกข์กู้ภัยโตเกียว โดยเขาสมัครเป็นนักบินและได้ขับเฮลิคอปเตอร์ รุ่น Eurocopter SA 365/AS365 Dauphin 2 ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 20 ปี , กรุ๊ปเลือด A ท่าไม้ตาย - เทนคู V โนะ ชิกิริ (天空Vの字斬り) , เจ็ท พาร์ทเนอร์ ไทงะ ริคุ (大河 リク) แสดงโดย ฟุจิชิเงะ มาซาทาคะ (藤重 政孝) กัปตันหน่วยเรสคิวไฟเออร์ คอยสั่งการณ์และออกคำสั่งFinal Rescueให้กับเรสคิวไฟเออร์ เป็นคนจริงจังมีความมุ่งมั่นในการทำงาน เข้มงวดคล้ายกับพ่อ แต่บางครั้งเป็นคนใจดี มักหัวเสียในเรื่องความใจร้อนของทัตสึยะบ่อยครั้ง บ่อยครั้งที่ริคุมักแสดงอาการเจ็บแค้นใจผ่านทางมือขวาของเขา เนื่องด้วยในอดีต ริคุ เป็น1ในผู้พัฒนาออกแบบและทดลอง ไฟเออร์สูท ทั้ง5ชุดด้วยตัวของเขาเอง แต่เนื่องด้วยระบบไฟเออร์สูทและร่างกาย เกิดการต่อต้านไม่สอดคล้องกับระบบที่ใช้ ทำให้ริคุไม่สามารถต่อสู้ในฐานะเรสคิวไฟเออร์ เขาจึงได้ตัดสินใจที่จะเป็นกัปตันหน่วยเรสคิวไฟเออร์ และเฟ้นหาผู้ที่มารับหน้าที่เรสคิวไฟเออร์แทนตนเอง ภายหลังจากากรต่อสู้ ริคุ ได้ยุบเรสคิวไฟเออร์ และผันตัวเป็นอาจารย์สอนวิชาป้องกันภัยให้กับสถาบันUFDA ริคุเป็นคนเดียวที่สามารถติดต่อทัตสึยะที่อาศัยอยู่ต่างระเทศ ข้อมูลเบื้องต้น - อายุ 25 ปี , กรุ๊ปเลือด O R-0 (R-Zero) / โอซาคาเบะ เรย์จิ (刑部 零次) แสดงโดย ฟูจิโอกะ ฮิโรชิ (藤岡 弘) ผบ.หน่วยเรสคิวไฟเออร์ มีความสนใจในตัวทัตสึยะที่มีจิตวิญญาณแห่งการผจญเพลิงจึงคอยสนับสนุนให้ทัตสึยะเป็นสมาชิกทีมเรสคิวไฟเออร์ มีอีกโฉมหน้าหนึ่งเป็นสมาชิกเรสคิวฟอร์ซ นาม R-0 (R-Zero) ท่าไม้ตาย - เยลโล่ แครช ซึงิยามะ ทามามิ(杉山 タマミ ชื่อเล่น ทามะจัง) แสดงโดย นาคามูระ ชิสึกะ (中村 静香) เจ้าของร้านอาหารในไฟเออร์ฟินิกซ์ที่สมาชิกเรสคิวไฟเออร์นั่งรับประทานจนเป็นลูกค้าประจำ เป็นขวัญใจของหน่วยเรสคิวไฟเออร์ ภายหลังจากการต่อสู้ ทามะจัง ได้แต่งงานกับยูมะ และมีลูก1คน Q สุเกะ พากย์โดย ทาคางิ เรย์โกะ (高木 礼子) คู่หูของทัตสึยะ แปลงมาจากเรสคิว เมกะโฟน พูดจาฉ้อเลาะ และเป็นที่รักใคร่ของหน่วย ชื่อจริงของQ สุเกะ คือ TF-Q", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#37", "text": "\"BURNING HERO\" ร้องโดย REY ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 1-29 \"Rescue taisou\" () ร้องโดย ฮิโรชิ คิดาทานิ ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 30", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#42", "text": "หมวดหมู่:โทคุซัทสึ หมวดหมู่:TOMICA ฮีโร่ เรสคิวซีรีส์", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#30", "text": "Rescue Dash 6 (Rescue Dash Six) พาหนะกู้ภัยขนาดเล็กของไทงะ ริคุ ตัวรถสีบรอนซ์เทา-น้ำตาล รถที่ใช้เป็นของยี่ห้อ นิสสันรุ่นมุราโน่", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#10", "text": "เรสคิว สไตรเกอร์ พาหนะกู้ภัยขนาดใหญ่สีแดง มีรูปแบบคล้ายรถดับเพลิง เป็นพาหนะที่ได้รับการออกแบบมาจากเรสคิวฟอร์ซจึงได้รับการผลิตมาในจำนวนมากและถูกส่งมายังเรสคิวไฟเออร์ เพื่อรองรับสถานการณ์เหตุฉุกเฉิน เป็นพาหนะของไฟเออร์-3 ใช้Rescue Dash 3 เป็นห้องบังคับเรสคิว สไตรเกอร์ สามารถเคลื่อนไหวด้วยตนเองหรือเคลื่อนไหวด้วยการสั่งการณ์จากเรสคิว ไฟเออร์,เรสคิว สไตรเกอร์ ถูกทำลายลงด้วยฝีมือของกัตไทเอน โดยที่เรสคิว สไตรเกอร์เอาตัวเข้าไปขวางเพื่อช่วยเหลือไฟเออร์-1 ให้รอดพ้นจากอันตราย ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 6 เมตร ,ยาว 25 เมตร,กว้าง 7 เมตร,หนัก 50 ตัน,ความเร็วสูงสุด 250 กม./ชม. ท่าไม้ตาย = วอเตอร์แคนนอน", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#2", "text": "โอซาคาเบะ เรย์จิ หนึ่งในคณะกรรมผู้บริหารระดับสูงของUFDA (United Fire-Defense Agency) จึงได้จัดตั้งทีมกู้ภัยพิเศษขึ้นมา นาม เรสคิวไฟเออร์ เพื่อต่อกรกับจาคาเอน โดยมี<b data-parsoid='{\"dsr\":[780,795,3,3]}'>ไทงะ ริคุ เป็นกัปตันทีม และมีสมาชิกทั้งหมด 3 คน ประกอบด้วย โฮมุระ ทัตซึยะ (ไฟเออร์-1) , เมกุมิ ยูมะ (ไฟเออร์-2) และ ยูคิ รัทสึกะ (ไฟเออร์-3) ทำหน้าที่ช่วยเหลือมวลมนุษย์ให้รอดพ้นจากความชั่วที่แฝงมาในรูปแบบอัคคีภัย", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#38", "text": "\"Rescue Dream!\" ร้องโดย REY ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 14-17, 19 \"Three souls\" ร้องโดย JAM Project ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 23 \"Rescue King\" () ร้องโดย REY ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 26-29 \"Ideyo Gaialeon\" () ร้องโดย มาซาอากิ เอนโด ใช้ตั้งแต่ตอนที่ 30", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#31", "text": "เรสคิวคิง เกิดจากการรวมร่างของไฟเออร์ ดราก้อน และ เอ็กซ์ ดราก้อน เข้าไว้ด้วยกันโดย ไฟเออร์ ดราก้อนเป็นส่วนลำตัวของหุ่น นอกนั้นเป็นชิ้นส่วนของเอ็กซ์ ดราก้อน บังคับจากส่วนหัวของเรสคิวคิงโดยการยืนบังคับหุ่นและควบคุมด้วยตนเอง เมื่อใช้อาวุธและใช้ท่าไม้ตายสามารถใช้เอ็กซ์แบชเชอร์ในการควบคุมและการโจมตี ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 28 เมตร , ยาว 20 เมตร , กว้าง 18 เมตร , หนัก 120 ตัน , ความเร็วสูงสุด 200 กม./ชม. อาวุธ = คิง เอ็กซ์แบชเชอร์ (ดาบประจำตัวของเรสคิวคิง มีต้นแบบมาจากเอ็กซ์แบชเชอร์) , ไวเวิร์น แคนนอน ท่าไม้ตาย = เอ็กซ์ ครัช (เมื่อได้รับคำสั่ง Final Rescue เรสคิวคิง ทำการชาร์จพลังงานไว้ที่คิง เอ็กซ์แบชเชอร์ เมื่อพลังงานเต็มที่จะทำการพุ่งเข้าหาคาเอนมาจินและทำการฟันเป็นรูปกากบาท พลังงานจากดาบเมื่อกระทบกับคาเอนมาจินจะทำให้ค่าเอนมาจินกลายสภาพเป็นวัตถุแช่แข็งและถูกทำลายในที่สุด) , ไวเวิร์น แคนนอน (เมื่อได้รับคำสั่งFinal Rescue เรสคิวคิง ทำการล็อกเป้าหมาย และยิงพลังงานผลึกน้ำแข็งจากไวเวิร์น แคนนอน พุ่งตรงไปยังคาเอนมาจิน เมื่อคาเอนมาจินถูกผลึกน้ำแข็งจะทำให้ร่างกายของคาเอนมาจินกลายเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดยักษ์และถูกทำลายในที่สุด ) เอ็กซ์ ดราก้อน โรโบ (พากย์โดย ริจิมะ ฮาจิเมะ ;飯島肇) เกิดจากการเปลี่ยนร่างจากเอ็กซ์ ดราก้อน รูปแบบรถพยาบาลเป็นรูปแบบหุ่นยนต์ มีระบบA.I. ทำให้สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองและรับคำสั่งการต่อสู้จากไฟเออร์-1 เป็นหลัก รูปแบบของหุ่นและลักษณะการต่อสู้เลียนแบบมาจากคาราเต้และยูโด ด้วยรูปแบบของหุ่นที่มีลักษณะของสัดส่วนคล้ายคลึงมนุษย์ทำให้การเคลื่อนไหวของเอ็กซ์ ดราก้อน โรโบ มีความคล่องตัวสูงขึ้น ข้อมูลเบื้องต้น = สูง 20 เมตร , ยาว 8.5 เมตร , กว้าง 15 เมตร , หนัก 72 ตัน , ความเร็วสูงสุด 200 กม./ชม. ท่าไม้ตาย = เอ็กซ์ ริวเซย์ พั๊นซ์ (เมื่อได้รับคำสั่ง Final Rescue เอ็กซ์ ดราก้อน จะรวบรวมออร่าสีส้มไว้ที่มือขวาและมือซ้าย โดยพลังงานจะไหลรวมไปยังขือขวาทั้งหมด จากนั้นเอ็กซ์ ดราก้อน เคลื่อนที่ด้วยล้อจากส่วนเท้าของหุ่น พุ่งเข้าไปต่อยคาเอนมาจินอย่างรุนแรง)", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" }, { "docid": "211190#3", "text": "เมื่อจาคาเอนได้เพิ่มพลังการทำลายด้วยอัคคีภัยมากขึ้นกว่าเดิมทั้งการเพิ่มพลังให้คาเอนมาจิน และการรวมร่างของคาเอนมาจินทั้ง 2 ตัว รวมไปถึงความสามารถในการจู่โจมบนอากาศ ทำให้เรสคิวไฟเออร์ ไม่สามารถโจมตีได้อย่างง่ายดายเหมือนก่อน เนื่องจากพวกเขาไม่มีเครื่องมือที่ต่อสู้บนอากาศ ทำให้เรสคิวไฟเออร์ สาขาญี่ปุ่นได้เรียกตัวสมาชิกจากสาขาอเมริกามาร่วมทีมเพื่อเสริมความแข็งแกร่งขึ้นในนาม<b data-parsoid='{\"dsr\":[1389,1402,3,3]}'>สกายทีม ประกอบไปด้วย อาโออิ สึบาสะ (ไฟเออร์-4) และ วาตาริ จุน (ไฟเออร์-5) โดยสกายทีม มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสพภัทางอากาศและร่วมมือกับเรสคิวไฟเออร์ในการกำจัดจาคาเอน แม้พวกเขาจะมีเรื่องที่ไม่ลงรอยกันของทั้ง 2 ทีมแต่ด้วยจิตวิญญาณที่ช่วยเหลือผู้ประสพภัยแล้วนั้น ทำให้ปัญหาส่วนตัวและปัญหานิสัยของพวกเขาคลี่คลายและแปรเปลี่ยนเป็นพลังในการช่วยเหลือมวลมนุษย์ต่อไป", "title": "โทมิกะฮีโร่ เรสคิวไฟเออร์" } ]
3977
จอห์น ฟอน นอยมันน์ คือใคร?
[ { "docid": "715#0", "text": "จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" } ]
[ { "docid": "715#1", "text": "เขาเป็นบุตรชายคนโต ในพี่น้อง 3 คน ชื่อเดิมของนอยมันน์ คือ János Lajos Margittai Neumann เกิดที่เมืองบูดาเปส บิดาคือ Neumann Miksa (Max Neumann) เป็นนักการธนาคาร และ มารดาคือ Kann Margit (Margaret Kann) นอยมันน์มีชื่อเล่น ว่า \"Jancsi\" เขาเติบโตมาในครอบครัวชาวยิวที่ไม่เคร่งครัด และได้แสดงถึงความจำที่เป็นเลิศ มาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก โดยสามารถทำการหารเลข 8 หลักในใจได้ตอนอายุ 6 ปี. ในปี ค.ศ. 1911 ก็เข้าเรียนที่ Lutheran Gymnasium (ในประเทศเยอรมนี, gymnasium หมายถึง โรงเรียนมัธยมปลาย) พอปี ค.ศ. 1913 เนื่องจากคุณพ่อของเขาได้รับตำแหน่ง (ยศ) เขาจึงได้รับชื่อในภาษาเยอรมัน von จึงใช้ชื่อเต็มเป็น János von Neumann", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "392619#2", "text": "ตัวสร้างเลขสุ่มเทียมที่อาศัยคอมพิวเตอร์ ยุคแรกๆ คิดค้นโดย จอห์น ฟอน นอยมันน์ ในปี ค.ศ. 1946 รู้จักกันในนามของ วิธีมิดเดิลสแควร์ (middle-square method) ขั้นตอนวิธีนี้ง่ายมาก รับตัวเลขอะไรเข้ามาเป็น ตัวตั้งต้น ก็นำตัวเลขนั้นมายกกำลัง 2 แล้วนำหลักตรงกลางออกจากผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะได้ตัวเลขสุ่มขึ้นมาตามต้องการ ซึ่งสามารถนำตัวเลขนี้มาเป็น ตัวตั้งต้น ในการสร้างตัวเลขสุ่มอื่นๆต่อไปได้เรื่อยๆ ", "title": "ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม" }, { "docid": "299403#12", "text": "ในขณะเดียวกันแวร์เนอร์มาหาแทลฮายม์ เพื่อเอาเงินมาให้ ซึ่งแทลฮายม์โกรธมินนา จึงปฏิเสธไม่รับเงินอีกคัร้ง ต่อมาแทลฮามย์ไปหามินนา เพื่อที่จะว่าเธอเรื่องที่จะถอนหมั้น ในขณะนั้นลุงของมินนาก็ได้เข้ามา ซึ่งแทลฮายม์คิดว่าลุงคนนั้นแย่มากที่รังแกมินนา จึงพยายามปกป้องมินนา แต่หลังจากลุงกล่าวว่าไม่รู้เรื่องตัดออกจากกองมรดกและมินนาเปิดโปรงเรื่องทั้งหมด ซึ่งบอกให้ดูแหวนของตนว่าเป็นแหวนของใคร แทลฮายม์ก็เข้าใจทุกอย่างและทั้งสองคนก็ได้กลับมาเป็นคู่เหมือนเดิม", "title": "มินนา ฟอน บาร์นเฮลม์" }, { "docid": "715#9", "text": "นอยมันน์ได้พิสูจน์ว่า การใช้เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการทำเหมืองขนาดใหญ่มากๆ อย่างการทำเหมืองบนดวงจันทร์ หรือ แถบดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากกลไกแบบนี้จะมีการเติบโตเป็นแบบเลขชี้กำลัง", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "8339#1", "text": "เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ซึ่งถูกวีรบุรุษเพอร์ซิอุสฟันคอ ในขณะที่เลือดจากลำคอพุ่งกระเซ็นนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง เพกาซัสเป็นพี่ของคริสซาออร์ ซึ่งก็เกิดมาหลังจากนั้น ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลย ตอนที่เพกาซัสเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่เพกาซัสวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงามที่เหล่ากวีและศิลปินชื่นชมกันนักหนา คือ น้ำพุฮิปโปครีนี ที่เป็นที่รู้จักในวรรณคดีกรีกโบราณ ว่ากันว่า หากใครได้ดื่มน้ำพุนี้แล้ว โอกาสที่จะเป็นกวีเอกอยู่แค่เอื้อม นอกจากนี้แล้วเพกาซัสยังทำหน้าที่คอยเก็บสายฟ้าให้ซุส\nเพกาซัสโดนปราบโดยเด็กหนุ่มรูปงามชาวเมืองโครินทร์ คือ เบลเลอโรฟอน เบลเลอโรฟอนเป็นโอรสของกษัตริย์เมืองโครินท์ คือ กลอคุส ซึ่งต่อมาเบลเลอโรฟอนได้ขี่เพกาซัสปราบสัตว์ประหลาดร้ายไคเมร่า", "title": "เพกาซัส" }, { "docid": "715#7", "text": "นอยมันน์นั้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาของทฤษฎีเกม (game theory). เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ Theory of Games and Economic Behavior โดยร่วมเขียนกับ Oskar Morgenstern ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ \"MAD\" (mutually assured destruction) ซึ่งเทียบเท่าสำนวนจีนว่า \"หยกกระเบื้องล้วนแหลกราญ\" หรืออาจแปลไทยได้เป็น \"รับรองได้ว่าเจ๊งไปด้วยกันทั้งคู่แน่\" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เป็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "92021#1", "text": "ผู้เริ่มศึกษาทฤษฎีเกมในระยะแรกคือ จอห์น ฟอน นอยมันน์ และออสการ์ มอร์เกินสเติร์น โดยได้ตีพิมพ์ตำรา \"Theory of Games and Economic Behavior\" ใน พ.ศ. 2487 ต่อมา จอห์น แนชได้พัฒนาการศึกษาในด้านนี้และได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์จากการนำทฤษฎีเกมไปประยุกต์ใช้ในด้านเศรษฐศาสตร์ นอกจากแนชแล้ว มีนักทฤษฎีเกมคนอื่นอีกเจ็ดคนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์", "title": "ทฤษฎีเกม" }, { "docid": "12125#67", "text": "เอมิลลี ลุยส์ มารี ฟร็องซวส โฌซฟีน เปลลาปรา บุตรสาวของฟร็องซัวส-มารี เลอรัว คาร์ล ยูจัง ฟอน มูห์ลเฟลด์ บุตรชายของวิคตอเรีย โครส์ เอเลน นโปเลโอน โบนาปาร์ต บุตรสาวของเค้าน์เตสมองโตลอง จูลส์ บาร์เธเลมี-ซังต์-ติแลร์ (ชาตะ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1805 มรณะ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1895) โดยไม่ทราบว่ามารดาของเขาเป็นใคร", "title": "จักรพรรดินโปเลียนที่ 1" }, { "docid": "692#14", "text": "พอสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มสงบปี ค.ศ. 1944 ทัวริงก็เริ่มสานต่อโครงการเก่าตั้งชื่อ \"Buiding the Brain\" แต่ตัดสินใจล้มโครงการไปในปี ค.ศ. 1945 พอได้ข่าวว่าจอห์น ฟอน นอยมันน์ออกบทความเรื่อง EDVAC ออกมาจากฝั่งอเมริกา", "title": "แอลัน ทัวริง" }, { "docid": "392619#4", "text": "ปัญหาของ คือท้ายที่สุดแล้ว จะมีการซ้ำกับลำดับสุ่มซึ่งสร้างขึ้นก่อนหน้า บางอันจะทำให้เกิดการวนซ้ำเร็วมากเช่น 00000 ซึ่งถ้านำไปทดลองทำตามวิธีนี้จะพบว่า ตัวเลขสุ่มที่ได้ทุกครั้งคือ 0000000000 ซึ่งฟอน นอยมันน์ ก็ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวเช่นกัน แต่เขาคิดว่ามันเพียงพอแล้วกับวัตถุประสงค์ในการใช้งานของเขา เขาได้ใช้กลวิธีการทางคณิตศาสตร์บางอย่างในการคาดเดาล่วงหน้าก่อนจะใส่เป็น ตัวตั้งต้น ซึ่งจะสามารถซ่อนข้อผิดพลาดดังกล่าวไว้ได้ ต่อมา ถูกแทนที่จากวิธีการอื่นซึ่งซับซ้อนและมีความละเอียดอ่อนมากกว่าซึ่งลำดับสุ่มเสมือนที่ได้มีความใกล้เคียงลำดับสุ่มแท้จริงมากกว่า", "title": "ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม" }, { "docid": "268543#1", "text": "ฟอนดาเริ่มโดดเด่นในการเป็นนักแสดงละครบรอดเวย์ จากนั้นก้าวสู่ฮอลลีวูดในปี 1935 และเริ่มโดดเด่นขึ้นมาหลังจากได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในปี 1940 จากบท ทอม โจด ในเรื่อง \"The Grapes of Wrath\" ผลงานดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ จอห์น สไตน์เบก ใน 6 ทศวรรษในฮอลลีวูด ฟอนดา มีผลงานการแสดงอย่าง \"The Ox-Bow Incident\", \"Mister Roberts\" และ \"12 Angry Men\" ", "title": "เฮนรี ฟอนดา" }, { "docid": "715#2", "text": "เขาเรียนจบปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยบูดาเปส ประเทศฮังการี ตอนอายุ 23 ปี", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "182735#0", "text": "สถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์ () คือรูปแบบการออกแบบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หน่วยประมวลผลกับพื้นที่บันทึกความจำเป็นโครงสร้างในการเก็บคำสั่งและข้อมูล รูปแบบนี้ตั้งชื่อตามจอห์น ฟอน นอยมันน์ ผู้เป็นนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ในยุคบุกเบิก", "title": "สถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์" }, { "docid": "758827#2", "text": "สหรัฐอเมริกาเป็นชาติแรกที่มีอาวุธชนิดนี้ โดยทำการทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ลูกแรกของโลกในปี ค.ศ. 1952 มีโค้ดเนมคือ (Ivy Mike) นับแต่นั้นคอนเซ็ปต์ดังกล่าวจึงมีหลายชาตินิวเคลียร์ส่วนใหญ่ของโลกลอกแบบไปใช้ในออกแบบอาวุธของตน การออกแบบอาวุธนิวเคลียร์ชนิดใหม่ที่เกิดขึ้นในสหรัฐนี้จะเรียกว่า โครงแบบเทลเลอร์–อูลาม (Teller–Ulam configuration) ตามชื่อผู้มีส่วนสำคัญสองคน คือ เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์และสแตนิสลอว์ อูลาม ซึ่งพัฒนาใน ค.ศ. 1951 ให้สหรัฐ และด้วยคอนเซ็ปต์นี้บางอย่างได้ถูกพัฒนาต่อด้วยการมีส่วนร่วมของ จอห์น ฟอน นอยมันน์ สหภาพโซเวียดเป็นชาติที่สองที่มีอาวุธชนิดนี้ โดยทำการทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ของตนเองลูกแรก ใช้ชื่อว่า \"RDS-6s (Joe 4)\"เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1953 จากนั้นจึงตามมาด้วย สหราชอาณาจักร จีนและฝรั่งเศสตามลำดับซึ้งต่างก็พัฒนาอุปกรณ์คล้ายกันนี้\nอาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์เป็นระเบิดนิวเคลียร์ชนิดที่ออกแบบได้ทรงประสิทธิภาพที่สุดสำหรับผลและพลังงานในระเบิดที่มีผลเกิน 50 กิโลตันขึ้นไป จึงทำให้อาวุธนิวเคลียร์แทบทั้งหมดที่ห้าประเทศนิวเคลียร์ใช้อยู่ในปัจจุบันภายใต้สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ล้วนเป็นอาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์ที่ใช้การออกแบบของเทลเลอร์-อูลามทั้งสิ้น คุณลักษณะสำคัญของการออกแบบอาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์ถูกเก็บเป็นความลับอย่างเป็นทางการมาเกือบสามทศวรรษ ซึ่งคุณลักษณะที่ว่านี้ คือ", "title": "อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์" }, { "docid": "715#12", "text": "หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวยิว ฟอน นอยมันน์, จอห์น หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์ หมวดหมู่:บุคคลจากบูดาเปสต์ หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "715#10", "text": "นอยมันน์นับเป็นบุคคลที่ฉลาดล้ำลึก และความจำที่เป็นเลิศเกือบจะเรียกได้ว่า จำได้ทุกอย่าง ในระดับรายละเอียดเลยก็ว่าได้ เขาเป็นคนชอบออกสังคมไม่เก็บตัว ชอบดื่มเหล้า เต้นรำและการเริงรมย์ เป็นคนสนุกสนาน และขบขัน เสียชีวิตที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "692#9", "text": "ปี พ.ศ. 2477 ทัวริงก็จบจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ทางมหาวิทยาลัยก็เลยเชิญเขาอยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ (ส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่ทัวริงจบเพียงปริญญาตรี) ปี พ.ศ. 2478 ทัวริงไปเรียนกับจอห์น ฟอน นอยมันน์ เรื่อง ปัญหาของการตัดสินใจ (Entscheidungs problem) ที่ถามว่า \"Could there exist, at least in principle, a definite method or process by which it could be decided whether any given mathematical assertion was provable?\" ทัวริงก็เลยมาคิด ๆ โดยวิเคราะห์ว่า คนเราทำอย่างไรเวลาทำงานที่เป็นกระบวนการที่มีกฎเกณฑ์ (methodical process) แล้วก็นึกต่อว่า วางกรอบว่าให้เป็นอะไรซักอย่างที่สามารถทำได้อย่างเป็นกลไก (mechanically) ล่ะ? เขาก็เลยเสนอทฤษฏีออกมาเป็น \"The analysis in terms of a theoretical machine able to perform certain precisely defined elementary operations on symbols on paper tape\". โดยยกเรื่องที่เขาคิดมาตั้งแต่เด็กว่า 'สถานะความคิด' (state of mind) ของคน ในการทำกระบวนการทางความคิด มันเกี่ยวกับการเก็บ และเปลี่ยนสถานะจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนี่ง ได้ตามการกระทำทางความคิด โดยทัวริงเรียกสิ่งนี้ว่า คำสั่งตรรกะ (logical instructions) แล้วก็บอกว่าการทำงานต้องมี กฎเกณฑ์ที่แน่นอน (definite method) (ต่อมาเรียกว่า ขั้นตอนวิธี)", "title": "แอลัน ทัวริง" }, { "docid": "136178#0", "text": "ห () เป็นวงจรเชิงผสมหคำนวณ (Arithmetic) และตรรกะ (Logic)ห (command) หง\nจอห์น ฟอน นอยมันน์ห\"หน่วยคำนวณและตรรกะ\"' ห\nตัวจอห์น ฟอน นอยมันน์หอย", "title": "หน่วยคำนวณและตรรกะ" }, { "docid": "103131#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2483 แชนนอนได้เข้าทำงานเป็นนักวิจัยใน ซึ่งในที่นั้นแชนนอนได้พบปะพูดคุยกับนักวิทยาศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียง อาทิ จอห์น ฟอน นอยมันน์ นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ผู้พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์แบบปัจจุบัน หรือบางครั้งแม้แต่ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในที่แห่งนั้นเอง แชนนอนเริ่มเกิดแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสารสนเทศขึ้นมา", "title": "คล็อด แชนนอน" }, { "docid": "182735#1", "text": "โครงสร้างของสถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์ ประกอบด้วยรูปแบบการทำงานหลักๆ 3 แบบได้แก่:", "title": "สถาปัตยกรรมฟอนนอยมันน์" }, { "docid": "715#6", "text": "ช่วง ค.ศ. 1936 จนถึง 1938 แอลัน ทัวริง ได้เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนไปที่สถาบัน และเรียนจบปริญญาเอก โดยมีนอยมันน์เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา การไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนครั้งนี้ของทัวริง เกิดขึ้นหลักจากที่เขาได้ดีพิมพ์บทความวิชาการ \"On Computable Numbers with an Application to the Entscheidungs-problem\" ในปี ค.ศ. 1934 ได้ไม่นาน. งานตีพิมพ์นี้ เกี่ยวข้องกับ หลักการของ logical design และ universal machine. ถึงแม้จะเป็นที่แน่ชัดว่า นอยแมนรู้ถึงแนวความคิดของทัวริง แต่ก็ไม่เป็นที่แน่ชัดว่า เขาได้ใช้หลักการของทัวริง ในการออกแบบเครื่อง IAS ที่ถูกสร้างในเวลา 10 ปีต่อมา", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "715#11", "text": "จาก ที่เขียนโดย George B. Dantzig ซึ่งเป็นผู้ที่คิดค้น simplex method ที่ใช้แก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้น เขาได้เขียนถึงนอยมันน์ จากประสบการณ์ที่ได้ไปพบและขอคำแนะนำจากนอยมันน์ และยังได้สะท้อนถึงบุคลิกของนอยมันน์ และได้เล่าถึงตอนที่นอยมันน์ได้ช่วยเหลือ โดยการตอบคำถามของ Hotelling (ผู้คิดค้น Principal components analysis) ระหว่างการนำเสนอผลงานการโปรแกรมเชิงเส้นของเขา", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "715#4", "text": "ในปี ค.ศ. 1930 นอยมันน์ได้รับเชิญให้ไปยังเมืองพรินซ์ตัน, รัฐนิวเจอร์ซีย์ และได้เป็นหนึ่งในหกบุคคล (J. W. Alexander, อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, Marston Morse, Oswald Veblen, จอห์น ฟอน นอยมันน์ และ Hermann Weyl) ที่ถูกคัดเลือกเพื่อเป็นอาจารย์ประจำชุดแรกของ Institute for Advanced Study เขาเป็นศาสตราจารย์คณิตศาสตร์ที่นั่น ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสาขาวิชาในปี ค.ศ. 1933 จนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิตเขา", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "395512#1", "text": "ขั้นตอนวิธีการหาเกณฑ์ค่าเสียโอกาสมากน้อยที่สุดมีที่มาจากทฤษฎีเกมของจอห์น ฟอน นอยมันน์ ซึ่งเกิดจากการศึกษาเกมศูนย์เพื่อหาวิธีการลดความเสี่ยงจากการสูญเสียเมื่อแพ้", "title": "ขั้นตอนวิธีมินิแมกซ์" }, { "docid": "86106#1", "text": "จอห์น เคลโซ่ (จอห์น คูแซค) นักข่าวหนุ่มจากนิวยอร์กถูกส่งไปเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งที่ชื่อ ซาวานน่าห์ ที่อยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา เพื่อไปทำข่าวงานเลี้ยงวันเกิดของเศรษฐีผู้ใจบุญของเมือง ที่ชื่อ จิม วิลเลี่ยมส์ (เควิน สเปซี่ย์) ในคืนวันงานเลี้ยง ได้มีเด็กหนุ่มคนหนึ่ง ชื่อ บิลลี่ คาร์ล แฮนสัน (จูด ลอว์) เสียชีวิตในงานด้วยถูกฆาตกรรม ไม่มีใครรู้ว่าเป็นฝีมือใคร แต่เชื่อว่าจิมมีส่วนพัวพัน จอห์น เคลโซ่ ได้สัมภาษณ์หลายคนในเมืองเกี่ยวกับจิม ซึ่งหลายคนก็ได้พูดถึงจิมในแง่มุมก็แตกต่างกันออกไป ซึ่งตลอดระยะเวลาที่จอห์นได้ทำข่าวสืบสวนอยู่ที่นี่ เขาก็ได้เรียนรู้และเติบโตขึ้น และในที่สุด ก็รู้ตัวฆาตกรซึ่งเป็นบุคคลที่ทุกคนคาดไม่ถึงและเบื้องหลังที่ไม่น่าเชื่อ", "title": "บาปฆาตกร" }, { "docid": "715#8", "text": "นอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่า เครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "715#3", "text": "ระหว่างปี ค.ศ. 1926 ถึง 1930 เขาทำงานเป็น \"อาจารย์อิสระ\" (\"Privatdozent\" เป็นตำแหน่งในระบบมหาวิทยาลัยยุโรป สำหรับผู้ที่ต้องการจะเป็นศาสตราจารย์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งนี้ไม่มีเงินเดือนประจำ) โดยในขณะนั้นเขาเป็นอาจารย์อิสระที่อายุน้อยที่สุดมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "715#5", "text": "ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอยมันน์ได้มีส่วนร่วมใน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) ซึ่งเป็นโครงการสร้างระเบิดปรมาณู", "title": "จอห์น ฟอน นอยมันน์" }, { "docid": "823#144", "text": "ความรุ่งเรืองของฟาสซิสต์และนาซีในคริสต์ทศวรรษ 1930 ทำให้นักวิทยาศาสตร์ยุโรปจำนวนมาก รวมทั้ง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, เอนรีโก แฟร์มี และจอห์น ฟอน นอยมันน์เข้าเมืองสหรัฐ[504] ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการแมนฮัตตันพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ นำไปสู่ยุคอะตอม ขณะที่การแข่งขันด้านอวกาศสร้างความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในด้านจรวด, วัสดุศาสตร์ และวิชาการบิน[505][506]", "title": "สหรัฐ" } ]
1680
มาโต้ ซากุระเรียนอยู่ชั้นอะไร?
[ { "docid": "196170#0", "text": "มาโต้ ซากุระ เป็นตัวละครสมมติจากเกมซาวนด์โนเวลของ ไทป์-มูน และการ์ตูนเรื่อง เฟท/สเตย์ ไนท์ สาวน้อยนักเรียนปี 1 โรงเรียนเดียวกันกับที่ ชิโร่ เรียนอยู่ เธอเป็นน้องสาวของ มาโต้ ชินจิ หลังจากที่พ่อของชิโร่ เอมิยะ คิริซึงุ เสียชีวิต เธอก็ได้แวะเวียนมาหาชิโร่ที่บ้านบ่อยๆ ทุกเช้าเพื่อนที่จะช่วยเหลืองานบ้านของเขา ภายนอกเธอดูเหมือนคนขี้อาย แต่แท้จริงแล้วเธอมีพลังที่ยิ่งใหญ่ซุกซ่อนอยู่ภายใน นอกจากนั้นเธอยังแอบชอบชิโร่มานานแล้วด้วย วันเกิดของเธอคือวันที่ 2 มีนาคม กรุ๊ปเลือด O ในช่วงของ เฟท/ซีโร่ เธอสูง 120 ซม. น้ำหนัก 25 กก. 10 ปีผ่านไป เธอได้โตขึ้นเป็นสูง 156 ซม. น้ำหนัก 46 กก. และสัดส่วน B85/W56/H87", "title": "มาโต้ ซากุระ" } ]
[ { "docid": "196170#2", "text": "เธอคือน้องสาวร่วมสายเลือดของ โทซากะ ริน ที่ได้ถูกตระกูลมาโต้รับไปเป็นบุตรบุญธรรมเมื่อหลายปีก่อน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นเพราะพ่อของเธอ โทซากะ โทคิโอมิ ซึ่งเป็นจอมเวทย์นั้นจะเลือกแค่เพียงลูกสาวเพียงหนึ่งคนไว้เพื่อเป็นคนสืบทอดตระกูลจอมเวทย์ โดยผู้ที่รับอุปถัมภ์เธอคือ มาโต้ โซเค็น ผู้เป็นพันธมิตรกับตระกูลโทซากะมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เพราะเหตุผลที่จะใช้เธอเป็นเครื่องมือแทน มาโต้ ชินจิ ลูกหลานของตนที่ไม่สามารถใช้เวทมนตร์ได้", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "76582#20", "text": "ความสัมพันธ์ระหว่างซากุระ กับ โทโมโยะ ไดโดจิ โทโมโยะเป็นเพื่อนสนิทของซากุระ (นอกจากนั้นแม่ของทั้งสองก็ยังเป็นญาติด้วย) ทั้งคู่พบกันเมื่อตอนเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตอนนั้นซากุระให้ยางลบของเธอกับโทโมโยะที่ไม่มี ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับซากุระ โทโมโยะจะเป็นคนที่รู้ดีที่สุด เธอรู้เรื่องราวทุก ๆ เรื่องที่เกี่ยวกับซากุระ นอกจากนั้นงานอดิเรกของโทโมโยะคือการถ่ายวิดีโอและตัดชุดคอสตูมให้ซากุระอีกด้วย\nโทโมโยะ เป็นคนที่ซากุระไว้วางใจคนหนึ่ง เธอเล่าเรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวกับโคลว์การ์ดและสาเหตุที่ต้องกลายมาเป็นมือปราบไพ่ทาโรต์ ในการต่อสู้กับโคลว์การ์ดแต่ละครั้งโทโมโยะจะเป็นคนออกแบบชุดต่อสู้ต่าง ๆ ให้กับซากุระและคอยถ่ายวิดีโอการต่อสู้ในแต่ละครั้งด้วย ในตอนที่ซากุระได้รับคฑาอันใหม่โทโมโยะก็เป็นคนออกแบบท่าทางใช้คทาอันนั้น\nโทโมโยะถือว่าเป็นคนที่โรแมนติกคนหนึ่ง ในหนังสือและให้ภาพยนตร์การ์ตูนมีประโยคหนึ่งที่เธอพูดว่า เธอชอบซากุระ แต่เธอไม่หวังว่า ซากุระจะบอกเธอว่าชอบเธอกลับ ในหนังสือการ์ตูนมีตอนหนึ่งที่โทโมโยะพูดว่าความรักของเธอนั้นมีมากกว่าที่เธอคิดเสียอีก ซึ่งคำพูดนี้ทำให้ซากุระสับสนเล็กน้อย แต่โทโมโยะก็แก้ปัญหาด้วยการบอกต่อไปว่า “ฉันจะบอกเธอทีหลัง เอาไว้ให้เธออายุมากกว่านี้ก่อน” อย่างไรก็ตามโทโมโยะก็พร้อมที่จะช่วยเหลือในเวลาที่ซากุระสับสนระหว่างความรู้สึกของเธอที่มีต่อยูกิโตะและเชารันอย่างไม่เห็นแก่ตัว โทโมโยะรู้ดีว่าใครที่จะเป็นคนที่ทำให้ซากุระมีความสุขมากที่สุด\nเพราะว่าโทโมโยะ ไม่มีเวทมนตร์ จึงดูเหมือนเป็นหน้าที่ที่ซากุระต้องคอยปกป้องเวลาต่อสู้กับการ์ดต่าง ๆ ถ้าเห็นว่าโทโมโยะอาจจะได้รับอันตราย ซากุระจะรีบใช้การ์ดช่วยเหลือเธอทันที", "title": "ซากุระ คิโนโมโตะ" }, { "docid": "14447#11", "text": "คิโนโมโตะ ซากุระ () สาวน้อยอายุ 10 ขวบ เรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมโทโมเอดะ อาศัยอยู่กับพ่อและพี่ชาย แม่ของเธอเสียชีวิตไปตั้งแต่เธออายุได้ 3 ขวบ ความสามารถพิเศษคือการเล่นกีฬา นอกจากนั้นเธอยังเป็นสมาชิกของชมรมเชียร์อีกด้วย เพื่อนสนิทของเธอคือ โทโมโยะ ไดโดจิ สิ่งกลัวมากสุดคือผี แต่แล้ววันหนึ่งเธอได้ปลดผนึกโคลว์การ์ดออกโดยไม่รู้ตัว จึงทำให้เธอต้องออกตามหาโคลว์การ์ดกลับมา (CV:ซากุระ ทันเกะ)", "title": "ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "196170#7", "text": "ถึงเธอจะเติบโตมาในตระกูลมาโต้ แต่แท้จริงแล้วในตัวเธอก็มีพลังเวทย์ปริมาณมหาศาลซุกซ่อนอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้มาตามสายเลือดของโทซากะ แต่ถึงกระนั้นเธอก็ยังมีความรู้ในเรื่องของการใช้เวทมนตร์ และเรื่องที่มานาของเธอถูกจำกัดโดยหนอนของโซเค็นเพียงนิดหน่อยเท่านั้น แม้ว่าเธอจะมีความรู้ในศาสตร์ของตระกูลมาโต้เพียงแค่เป็นทฤษฎี แต่เธอก็เหมาะสมสำหรับการเป็นจอมเวทย์มากกว่าด้วยสายเลือดของเธอ และตัวของเธอที่ถูกบังคับให้ปรับตัวเข้ากับหนอนของโซเค็น เพื่อให้สามารถให้ใช้เวทมนตร์เฉพาะของตระกูลมาโต้ได้ นอกจากนั้น หนอนของโซเค็นยังสามารถทำให้เธอเป็นเหมือนกับ อังรี มานยุ ในตอนที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือเป็น \"เงา\" นั่นเอง ซึ่งทำให้ซากุระต้องทำเดินตามเส้นทางที่โซเค็นกำหนดเอาไว้ด้วยความกลัว อย่างไรก็ตาม หากซากุระบิดเบือนไม่ยอมทำตามที่โซเค็นควบคุม และควบคุมตัวเธอเอง เธอจะกลายเป็น ซากุระด้านมืด ซึ่งเป็นด้านที่โหดร้ายอย่างที่ผิดกับตัวเธอแต่เดิมมากที่สุด เธอจะกลายเป็นคนไร้เหตุผลและอารมณ์ และจ้องแต่จะทำลายทุกสิ่งทุกอย่างรอบข้างเธอในที่สุด", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "71944#1", "text": "พี่ชายของซากุระ และเพื่อนเก่าของชิโร่ เขาเป็นรองประธานชมรมยิงธนูของโรงเรียนที่ออกจะหลงตัวเองและเป็นที่นิยมในหมู่สาวๆ เขาไม่ได้มีความสามารถโดดเด่นในเชิงเวทย์เช่นเดียวกับชิโร่ แม้ว่าตระกูลมาโต้จะเป็นตระกูลผู้ใช้เวทมนตร์ แต่เขากลับไม่มีความสามารถในเชิงเวทย์เลย จึงทำให้เขาไม่พอใจ และพยายามที่จะพิสูจน์ให้คนอื่นเห็นว่าตนเองก็มีดีด้วยการเข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 นี้ บวกกับความทะเยอทะยานอยากของเขา จึงไม่เป็นที่น่าสงสัยเลยว่าเขาจะหักหลังเพื่อนของเขาได้อย่างหน้าตาเฉยเพื่อตัวเขาเอง เขาไม่พอใจที่ซากุระน้องสาวของเขาไปหาชิโร่ที่บ้านทุกวันๆ เขาจึงเสนอข้อตกลงกับรินในการร่วมมือกันในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่รินก็ได้ปฏิเสธไปเพราะรู้ถึงเนื้อแท้ของเขานั่นเอง", "title": "มาโต้ ชินจิ" }, { "docid": "87490#6", "text": "เธอคือภรรยาของ โทซากะ โทคิโอมิ มีลูกสาวสองคนคือ ริน และ ซากุระ นอกจากนั้นเธอยังเป็นเพื่อนสมัยเด็กของ มาโต้ คาริยะ ชื่อเดิมของเธอคือ เซนโจ อาโออิ", "title": "โทซากะ อาโออิ" }, { "docid": "196170#13", "text": "ใน อิคลิพส์ ซึ่งเป็นบทพิเศษใน อทาราเซีย เธอได้ร่วมมือกับไรเดอร์ในการยั่วยวนชิโร่ และช่วยกันปรนนิบัติเขา ซึ่งเหตุผลที่ไรเดอร์ทำแบบนี้ก็เพื่อให้ชิโร่หันมาสนใจในตัวมาสเตอร์ของเธอมากยิ่งขึ้น แต่แท้จริงนั่นเป็นเพียงมนต์ของไรเดอร์ ที่อนุมานตัวซากุระขึ้นมาเพื่อแสดงความต้องการที่แท้จริงของตัวเธอเองเท่านั้น", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "196170#4", "text": "ในช่วงที่อาศัยอยู่กับตระกูลมาโต้ เธอได้ถูกข่มเหงทั้งทางกายและใจอยู่ตลอดเวลา ซึ่งโซเคนได้หาทางที่จะใช้เธอเป็นภาชนะในการรองรับจอกศักดิ์สิทธิ์ในอนาคต โดยใช้พลังของ อังรี มานยุ รวมเข้ากับเศษซากของจอกศักดิ์สิทธิ์ในสงครามครั้งก่อน เขาได้ผสมเลือดสีดำที่เขาได้เก็บสะสมไว้ เข้ากับหนอนที่เขาเพาะไว้ และฝังหนอนเหล่านั้นไว้ในร่างของซากุระ เพื่อที่จะให้มันดูดมานาของเธอ และเพิ่มความต้องการทางเพศอย่างรุนแรงให้กับเธอแทน เพื่อที่จะระงับความรุนแรงนั้น เขาจึงได้สอนให้ชินจิข่มขืนซากุระอยู่เป็นประจำ และด้วยความจงเกลียดจงชังในตัวของซากุระที่ช่วงชิงสิ่งที่เขาควรจะเป็นในนามของตระกูลมาโต้ไป เขาจึงข่มเหงซากุระอย่างทารุณต่อไปด้วยความต้องการของตัวเขาเองเช่นกัน และด้วยตัวหนอนที่โซเคนได้ฝังไว้ในร่างกายของเธอนั้นเอง ทำให้เธอมีสีผมและสีตาเป็นสีม่วงเหมือนสมาชิกคนอื่นๆ ในตระกูลมาโต้", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "76637#3", "text": "ในความเป็นจริงแล้วยูกิโตะไม่ใช่มนุษย์ธรรมดา หากแต่ร่างที่แท้จริงของเขานั้นถูกสร้างขึ้นมาโดยโคลว์รีด มีชื่อว่า \"ยูเอะ\" [[ดวงจันทร์]] สัญลักษณ์ของเขาก็คือดวงจันทร์ หน้าที่ของเขาคือตัดสินพิพากษาผู้ที่จะมาเป็นเจ้าของโคลว์การ์ดคนใหม่ (คนที่จะมาเป็นเจ้าของโคลว์การ์ดคนใหม่นั้นเคเบรอสหรือเคโระจังจะเป็นคนเลือก)(CV:[[เมกุมิ โอกาตะ]])[[ไฟล์:Kinomototoya.jpg‎|right|100px|โทยะ คิโนโมโตะ]]\nโทยะ คิโนโมโตะ () \nพี่ชายของซากุระ เขาเรียนอยู่ห้อง 2-D โรงเรียนมัธยมเซโจที่โรงเรียนข้างๆของซากุระ มีอายุมากกว่าซากุระ 7 ปี เขามักจะมองหางานพิเศษทำเป็นประจำ นอกจากนั้นเขายังเป็นนักฟุตบอลประจำโรงเรียนที่เขาเรียนอยู่ด้วย เขามักจะขี่จักรยานไปโรงเรียนพร้อมๆ กับซากุระและยูกิโตะ ความสามารถพิเศษของเขาคือสามารถมองเห็นวิญญาณได้ และความสามารถนั้นส่งผลให้ซากุระกลายเป็นคนกลัวผีเพราะชอบหลอกซากุระว่ามีผีอยู่ตรงนู้น ตรงนั้นเรื่อยมา และดูเหมือนเขาจะเป็นเจ้าของพลังบางอย่าง ซึ่งในซากุระการ์ดแคปเตอร์ตอนที่ 65 สปิเนลกล่าวไว้ว่า เขาเป็นเจ้าของพลังที่ร้ายกาจ แสดงให้เห็นว่าเขาเองก็มีพลังเวทย์เช่นเดียวกับน้องสาว อีกทั้ง เมื่อครั้งที่ยูกิโตะหรือ \"ยูเอะ\" มีพลังเวทย์ไม่เพียงพอ โทยะก็เป็นคนที่แบ่งพลังให้ เขาอาศัยอยู่กับซากุระและพ่อของเขา แถมชอบมาว่าซากุระเป็นยัยสัตว์ประหลาดและชอบมาขัดจังหวะเวลาที่ซากุระกำลังจะให้คำตอบกับเชาหลางที่เชาหลางสารภาพรักไปเมื่อคราวก่อน ซากุระมัวสับสนและลังเลอยู่เลยไม่รู่เลยว่าซากุระน่ะชอบหรือไม่ชอบลี่ เชาหลางกันแน่ พี่ของซากุระจะเป็นคนที่เท่มากในหมู่สาวๆที่โรงเรียนไม่แพ้ ยูกิโตะเลย เขามักจะไปทำงานพิเศษอยู่บ่อยๆและซากุระก็มักจะไปอยู่ที่นั่นด้วย เหตุผลอาจเป็นเพราะว่าเขาเป็นห่วงน้องสาวจึงชอบตามไปดูและอยู่ใกล้ๆ ถึงเขาจะดูเป็นคนปากแข็งแต่เขาก็ทั้งห่วง ทั้งหวงและรักน้องสาวมาก สังเกตจากปฏิกิริยาของเขาที่มีต่อ ลี่ เชาหลางที่แอบชอบซากุระอยู่ เมื่อพวกเขาเจอหน้ากันก็มีต้องเขม่นกันทุกครั้งไป (CV:[[โทโมคาสึ เซกิ]])[[ไฟล์:Limeiling.jpg‎|right|100px|ลี เมริน]] \nลี่ เหม่ยหลิง () หรืออ่านตามสำเนียงภาษาจีนว่า หลี่เหมยหลิง ([[พินอิน]]:Lǐ Méilíng) \nลูกพี่ลูกน้องของเชาหลาง มาที่เมืองโทโมเอดะเพื่อช่วยเชาหลางรวบรวมการ์ด เธอชอบเชาหลางตั้งแต่เมื่อยังเป็นเด็ก ๆ ทั้งสองเคยได้สัญญาเอาไว้ว่า เธอจะเป็นคู่หมั้นของเชาหลางจนกว่าเชาหลางจะพบคนที่เชาหลางรัก สิ่งที่เธอถนัดคือการทำอาหารจีนแต่กลับแย่เอามากๆ ในเรื่องของการทำเค้ก ถึงแม้ว่าเธอจะเป็นลูกพี่ลูกน้องกับเชาหลาง แต่เธอกลับไม่มีพลังเวทมนตร์ เธอจึงไม่ได้เรียนการใช้เวทย์แต่ก็ฝึกวิชากังฟูมาพร้อมๆกับเชาหลาง บ่อยครั้งที่เชาหลางออกไปรวบรวมการ์ดพร้อมกับซากุระเธอมักจะแสดงอาการหึงหวงอยู่เสมอ ลี่ เหม่ยหลิงจะปรากฏตัวเฉพาะการ์ตูนแอนิเมชั่นเท่านั้นแถมเธอก็ชอบโมโหง่ายรวมถึงขี้น้อยใจอีกด้วย แต่ก็เป็นคนที่ชอบให้กำลังใจคนอื่นเก่งเหมือนกัน (CV:[[ยูคานะ โนงามิ]])[[ไฟล์:Hiiragizawaerioru.jpg‎|right|100px|เอริออล ฮิอิรางิซาวา]]\nเอริออล ฮิอิรางิซาวา () \nนักเรียนแลกเปลี่ยนอีกคนหนึ่ง เดินทางมาจากประเทศอังกฤษ เขาเป็นคนสุภาพมาก ดูเหมือนว่าเขาจะชอบซากุระอยู่เหมือนกัน ซึ่งนั่นก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เชาหลางรู้สึก\nหึงซากุระ เขาพักอาศัยอยู่กับนากุรุ และซุปปี้ เอริออลเป็นอีกคนหนึ่งที่มีพลังเวทมนตร์ และเหมือนเขาจะใช้เวทมนตร์นั้นเพื่อจุดประสงค์บางอย่าง ", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "76582#2", "text": "ซากุระ คิโนโมโตะ เป็นเด็กหญิงธรรมดาคนหนึ่ง อายุ 12 ขวบ เรียนอยู่โรงเรียนเอกชนโทโมเอดะ แต่แล้วในบ่ายวันแรกของการเปิดเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากที่เธอกลับมาถึงบ้านแล้ว เธอก็ได้ยินเสียงประหลาดดังมาจากห้องหนังสือชั้นใต้ดิน เมื่อเดินลงไป เธอได้พบกับหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า เดอะ โคลว์ (The Clow) เมื่อเปิดดูภายในนั้นมีโคลว์การ์ดทั้งหมด 52 ใบ เธอหยิบการ์ดใบแรกสุดขึ้นมาอ่าน “วินดี้” (Windy) ฉับพลันก็เกิดลมพัดแรงขึ้นทำให้การ์ดที่เหลือปลิวกระจัดกระจายไปทั่วเมืองโทโมเอดะ เคลเบรอส ผู้ดูแลการ์ดจึงให้เธอกลายมาเป็นมือปราบไพ่ทาโรต์ และตามหาโคลว์การ์ดทั้งหมดกลับคืนมา", "title": "ซากุระ คิโนโมโตะ" }, { "docid": "79040#9", "text": "ในตอนที่ 46 ของอะนิเมะ เมื่อซากุระถูกส่งไปยังโลกที่ทุกคนหลงลืมความรักที่มีให้แก่กัน ที่โรงเรียนเธอทักทายโทโมโยะเหมือนปกติทุก ๆ วัน แต่แทนที่จะเริ่มต้นพูดคุยเรื่องราวอื่น ๆ เหมือนปกติ โทโมโยะเปลี่ยนรองเท้าแล้วเดินออกไป เธอหันมาพูดกับซากุระเพียงแค่ว่า “เดี๋ยวจะเข้าห้องเรียนสายนะ” และเช่นเดียวกันหลังจากเลิกเรียนโทโมโยะไม่ได้รอซากุระหลังจากที่ซากุระฝึกซ้อมเชียร์กีฬาเสร็จ ในตอนนี้ซากุระถึงได้รู้ว่า โทโมโยะห่วงใยซากุระมากที่สุด", "title": "โทโมโยะ ไดโดจิ" }, { "docid": "196170#8", "text": "ซากุระด้านมืด จะสามารถสะสมมานาไว้ได้ไม่จำกัดปริมาณ แต่เธอก็สามารถที่จะปล่อยมันออกมาเป็นวงจรเวทย์ได้ โดยสิ่งที่แตะต้องเธอในขณะที่เธออยู่ในด้านมืด ทุกสิ่งจะถูกหลอมละลายและแปรสภาพเป็นมานาบริสุทธิ์ให้กับเธอ และเมื่อสิ่งที่มีลักษณะคล้ายวิญญาน อย่างเช่นพวกข้ารับใช้ เมื่อถูกสัมผัสโดย “เงา” ของเธอ ทั้งจิตใจและร่างกายของข้ารับใช้เหล่านั้นจะถูกเปลี่ยนแปลงให้เป็นด้านมืด ซึ่งจะส่งผลให้ข้ารับใช้เหล่านั้นแข็งแกร่งขึ้นอีกด้วย นอกจากนั้น เธอยังสามารถควบคุม “เงา” ของเธอให้อยู่ในรูปร่างคล้ายหนวด หรือแม้แต่สร้างอสูรขึ้นมาจากเงาของตนเองเพื่อใช้งานได้ และเธอยังมีความสามารถในการฟื้นฟูสภาพร่างกายขั้นสูงอีกด้วย", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "13608#3", "text": "อิโนะได้เข้าสอบจูนินพร้อมกับเพื่อนทีม 10 ทั้งสามคน โดยในการสอบรอบแรก สอบข้อเขียน อิโนะได้เข้าสิงร่างคนอื่นเพื่อแอบดูข้อสอบ และได้ช่วย ชิกามารุ และ โจจิ เพื่อนร่วมทีมโดยการสิงร่างเพื่อนร่วมทีมเพื่อกาข้อสอบให้ ในการสอบรอบที่สองในป่า อิโนะได้เห็นซากุระถูกรุมทำลายโดนนินจาจากหมู่บ้านโอโตะ อิโนะตัดสินใจเข้ามาช่วยพร้อมทั้งลากเพื่อนร่วมทีมทั้งสองคน ตอนสอบจูนินรอบคัดเลือกเข้ารอบที่สาม ฮิโนะได้สู้กับซากุระ โดยเกือบจะชนะซากุระโดยการสิงร่างซากุระและจะประกาศยอมแพ้ภายในร่างซากุระ แต่ปรากฏว่าซากุระอีกคนตื่นมาไล่อิโนะออกจากร่าง และได้ต่อยกันสลบทั้งคู่ผลตัดสินให้ทั้งคู่ตกรอบ อิโนะสูง167ซ.ม.หนัก39ก.ก.วิชาของตระกูลยามานากะเลยใช้กับฮารุโนะ ซากุระไม่ได้เพราะซากุะระมี2ตัวตน ปัจจุบัน ได้เรียนวิชาแพทย์กับซึนาเดะ โฮคาเงะรุ่นที่ 5", "title": "ยามานากะ อิโนะ" }, { "docid": "76637#1", "text": "คิโนโมโตะ ซากุระ () \nสาวน้อยอายุ 10 ขวบ เรียนอยู่ชั้นป.4 โรงเรียนประถมโทโมเอดะ อาศัยอยู่กับพ่อและพี่ชาย แม่ของเธอเสียชีวิตไปตั้งแต่เธออายุได้ 3 ขวบ มีนิสัยร่าเริง มองโลกในแง่ดีเสมอ ความสามารถพิเศษคือการเล่นกีฬา นอกจากนั้นเธอยังเป็นสมาชิกของชมรมเชียร์ลีดเดอร์อีกด้วย เพื่อนสนิทของเธอคือ ไดโดจิ โทโมโยะ สิ่งกลัวมากสุดคือผี แต่แล้ววันหนึ่งเธอได้ปลดปล่อยผนึกโคลว์การ์ดออกโดยไม่รู้ตัว จึงทำให้เธอต้องออกตามหาโคลว์การ์ดแล้วรวบรวมกลับมา และแถมเธอยังความรู้สึกช้า ชอบเหม่อลอยแล้วก็ซุ่มซ่ามนิดๆหน่อยๆและยังไม่รู้ว่าเชาหลางกำลังแอบชอบเธออยู่ ตอนที่เชาหลางสารภาพรักไปเธอมัวแต่สับสนและชักช้าแล้วยังไม่รู้ว่าจะตอบเชาหลางว่าอะไรเพราะความรู้สึกที่มีต่อเชาหลางทำให้ซากุระคิดมากแต่สุดท้ายเธอก็ตัดสินใจบอกรักกลับเชาหลางไปในอะนิเมะภาคเดอะมูฟวี่2 และคบหาดูใจกันอย่างเป็นทางการในภาคเคลียร์การ์ด (CV:ซากุระ ทันเกะ)\"ลี่ เชารัน\" () หรืออ่านตามสำเนียงภาษาจีนว่า หลี่เสี่ยวหลาง (พินอิน:Lǐ Xiǎoláng) นักเรียนแลกเปลี่ยนจากเกาะฮ่องกง เข้ามาเรียนอยู่ห้องเดียวกันกับซากุระและโทโมโยะ เขาเป็นทายาทสืบเชื้อสายฝั่งแม่ของโควล์และสามารถใช้พลังเวทมนตร์ได้ เขามายังเมืองโทโมเอดะเพื่อทำการรวบรวมโคลว์การ์ด แต่ถึงอย่างนั้น คนที่สามารถทำให้การ์ดต่าง ๆ กลับคืนสู่การ์ดได้ก็มีเพียงแค่ซากุระกับโคลวรีด เท่านั้น เนื่องจากการทำให้โควล์การ์ดกลับคืนสู่สภาพเดิมจำเป็นต้องใช้กุญแจผนึก ที่เมืองโทโมเอดะ เขาอาศัยอยู่กับพ่อบ้าน ชื่อ เหว่ย แต่ในตอนกลางลี่ เหม่ยหลิงจะมาอาศัยอยู่กับเขาด้วย เชารันแอบรักซากุระแต่ไม่ยอมแสดงออก แต่ก่อนแอบชอบสึกิชิโระ ยูกิโตะเพราะโดนพลังของจันทราของยูเอะหรือยูกิโตะทำให้หลงรัก ชอบทะเลาะกับโทยะพี่ชายของซากุระเพราะคิดว่าลี เชารันจะรังแกน้องแต่ความจริงแล้วจะชิงโคลวการ์ดแต่ตอนหลังแอบชอบซากุระและยังสารภาพรักไปด้วย คบหาดูใจกับซากุระอย่างเป็นทางการในภาคเคลียร์การ์ด (CV:โมโตโกะ คุมาอิ)ไดโดจิ โทโมโยะ () \nเพื่อนร่วมชั้นเรียนของซากุระ เธอมีงานอดิเรกคือถ่ายวิดีโอต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับซากุระ แม่ของเธอมีชื่อว่า โซโนมิ เป็นเจ้าของบริษัทผลิตของเล่น ดังนั้นจึงจัดได้ว่าครอบครัวของโทโมโยะเป็นครอบครัวที่รวยมากครอบครัวหนึ่ง โทโมโยะอาศัยอยู่ในคฤหาสหลังใหญ่และมีองครักษ์คอยคุ้มกันหลายคน งานอดิเรกอีกอย่างหนึ่งของโทโมโยะคือออกแบบและตัดชุดให้ซากุระสำหรับใส่ต่อสู้กับโคลว์การ์ดและโอกาสพิเศษอื่นๆ โทโมโยะชอบซากุระเอามาก ๆ สิ่งเดียวที่เธอต้องการคือเห็นซากุระมีความสุข ที่สำคัญในตอนท้ายเธอยังช่วยเหลือให้ซากุระได้รับรู้ว่าแท้จริงแล้วคนที่ซากุระรักนั้นคือใคร (CV:จุนโกะ อิวาโอะ)เคลเบรอส () หรือเคโระจัง \nสัตว์อสูรที่ดูหมือนกับตุ๊กตายัดนุ่นทั่วไป แต่แท้จริงแล้วเขาเป็นสัตว์อสูรผู้คอยดูแลโคลว์การ์ด เขาถูกโควล์รีดสร้างขึ้นมาเมื่อนานมาแล้วเพื่อทำหน้าที่คุ้มครองผนึกโคลว์การ์ด แต่ได้สูญเสียพลัง เพราะซากุระได้ใช้สายลมเวทย์พัดการ์ดกระจัดกระจายไปหมด หลังจากที่ซากุระสามารถจับไพ่อัคคี [[โควล์การ์ด The Fiery] และไพ่ปฐพี [[โคลว์การ์ด The Earthy] ได้แล้วนั้นเขาก็ได้รับพลังทั้งหมดกลับคืนมา \nสัญลักษณ์ของเขาคือ[[ดวงอาทิตย์]] ซึ่งถือว่าเป็นการ์ดหลักของการ์ดธาตุไฟ งานอดิเรกคือกิน นอน หรือ เล่นเกม นอกจากนั้นเขามักชอบบ่นเรื่องที่ซากุระมักจะปฏิบัติกับเขาแตกต่างกับยูเอะเสมอ เคลเบรอสจะทำหน้าที่เป็นผู้เลือกผู้ที่จะมาเป็นเจ้าของโคลว์การ์ดคนต่อไป (CV:[[อายะ ฮิซาคาวะ]] \"ร่างเคโระจัง\" / [[มาซายะ โอโนซากะ]] \"ร่างเคลเบรอส\")[[ไฟล์:Tsukishiroyukito.jpg‎|right|100px|ยูกิโตะ สึกิชิโระ]]\nยูกิโตะ สึกิชิโระ () \nเพื่อนร่วมชั้นเรียนของ [[โทยะ คิโนโมโตะ]] เขาทั้งสองคนเป็นเพื่อนสนิทกันมาตั้งแต่โทยะย้ายเข้ามาอาศัยที่เมืองโทโมเอดะใหม่ๆ ยูกิโตะอาศัยอยู่กับปู่และย่าของเขา แต่ปู่กับย่าของเขาชอบเดินทางท่องเที่ยวไปยังที่ต่าง ๆ ทำให้เขาต้องอยู่คนเดียวเป็นประจำ เขาเป็นสุภาพบุรุษคนหนึ่ง มีจิตใจที่อ่อนโยน ที่โรงเรียนเขาไม่ได้อยู่ในสังกัตของชมรมอะไรเลย แต่เขาจะคอยช่วยเหลือทุกๆ ชมรมที่ต้องการความช่วยเหลือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชมรมบาสเก็ตบอล เขามีความสามารถทางด้านกีฬาเกือบทุกประเภท นอกจากนั้นเขายังเป็นคนที่ซากุระหลงใหลเอาอย่างมาก ซึ่งไม่ใช่มีแค่ซากุระเท่านั้นเชาหลางก็หลงใหลเขาด้วยเช่นกัน ยูกิโตะเป็นคนที่กินจุเอามากๆ ", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "76637#15", "text": "ทากาชิ ยามาซากิ () \nเพื่อนร่วมชั้นอีกคนหนึ่งของซากุระ ซากุระเรียกเขาว่า \"ยามาซากิคุง\" เขาชอบเล่าเรื่องโกหกให้เพื่อน ๆ ในชั้นฟังเป็นประจำ ในตอนท้ายของเรื่อง [[จิฮารุ มิฮาระ]] บอกกับทุกคนว่าในที่สุดก็มีเรื่องที่เขาไม่พูดโกหก และนั่นก็ดูเหมือนจะเป็นเพียงแค่เรื่องเดียวเท่านั้นที่เขาไม่โกหก อย่างไรก็ตาม คนที่เข้ากับเขาได้อย่างเป็นปี่เป็นขลุ่ยกลับเป็น[[เอเรียล ฮีรากิซาวา]] (CV:[[อิซเซ มิยาซากิ]])ฟูจิทากะ คิโนโมโตะ () \nอาจารย์คิโนโมโตะ อาจารย์สอนวิชาโบราณคดีประจำมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เขาพบ[[นาเดชิโกะ อามามิยะ]] เมื่อครั้งที่ยังสอนหนังสืออยู่ในโรงเรียนมัธยม ในตอนนั้นเขาอายุได้ 27 ปี และนาเดชิโกะอายุได้ 16 ปี ครอบครัวของเธอไม่เห็นด้วยกับการแต่งงานครั้งนี้ อย่างไรก็ตามเขาเป็นคนสุภาพและใจดีคนหนึ่งเป็นที่พึ่งของซากุระเสมอ แท้จริงแล้วเขาคือ อีกครึ่งหนึ่งของโคลว์ที่กลับมาเกิด เวลาว่างเขามักจะชอบทำอาหารและงานฝีมือต่าง ๆ เขาเป็นคนที่ห่วงใยทั้งซากุระและโทยะอย่างมาก (CV:[[ฮิเดยูกิ ทานากะ]])โยชิยูกิ เทราดะ () \nอาจารย์ประจำชั้นอีกคนของซากุระ และเป็นอาจารย์สอนวิชา[[ฟิสิกส์]] และคณิตศาสตร์ เขารู้ว่า ริกะ ซาซากิ ชอบเขา ทำให้เขารู้สึกขัดเขินใจเล็กน้อยและรักษาน้ำใจเธออยู่เสมอ (CV:[[โทรุ ฟุรุซาวะ]] / [[คัตสึยูกิ โคนิชิ]])นาเดชิโกะ คิโนโมโตะ () \nแม่ของซากุระ เธอแต่งงานกับ[[ฟูจิทากะ คิโนโมโตะ]]อาจารย์ที่สอนหนังสือเธอเมื่อสมัยเรียนอยู่ชั้นมัธยม เมื่ออายุได้ 16 ปี ซึ่งนั่นก็เป็นการสร้างความแตกร้าวครั้งใหญ่ให้กับครอบครัวของเธอ ทั้ง[[โซโนมิ ไดโดจิ]]และ[[มาซากิ อามามิยะ]]ต่างพากันต่อว่าตำหนิฟูจิทากะว่าพรากเอาเธอไปจากพวกเขา นาเดชิโกะเป็นผู้หญิงสวย เธอเป็นนางแบบ เธอไม่ถนัดทั้งเรื่องการทำอาหารหรือแม้แต่งานฝีมือ มีรูปภาพของเธอมากกมายวางอยู่ภายในบ้าน เมื่อซากุระอายุได้ 3 ขวบเธอก็ล้มป่วยและตายจากไป อย่างไรก็ตามเธอก็ยังคงวนเวียนคอยดูแลใกล้พวกเขาเหล่านั้น (CV:[[ยูโกะ มินางุจิ]])โซโนมิ ไดโดจิ () \nลูกพี่ลูกน้องของ[[นาเดชิโกะ คิโนโมโตะ]] เธอพบกับนาเดชิโกะเมื่อครั้งยังเรียนหนังสืออยู่ และมักจะโกรธเคืองฟูจิทากะเวลาที่เขาพูดคุยอยู่กับนาเดชิโกะ ถึงกระนั้นเธอก็ยอมรับว่าเวลาที่นาเดชิโกะอยู่กับฟูจิทากะเธอจะมีความสุขมาก โซโนมิมักจะยุ่งอยู่กับงานในบริษัทของเธอเสมอ แต่ในบางครั้งเธอก็สละเวลามาดูแล[[โทโมโยะ ไดโดจิ|โทโมโยะ]]ลูกสาวของเธอ ของเล่นต่าง ๆ ที่ผลิตขึ้นในบริษัทของเธอ เธอจะถูกส่งมาให้โทโมโยะเป็นประจำ ซึ่งโทโมโยะจะนำมันมาแบ่งให้ซากุระ เชารัน และ เคโระจังได้ใช้อยู่เสมอ ๆ (CV:[[มิกิ อิโต้]])มากิ มัทซึโมโตะ () \nเจ้าของร้านทวิน เบลล์ (Twin Bells) ร้านตุ๊กตาและของกิ๊ฟต์ช็อปที่กลุ่มของซากุระมักแวะไปหาด้วยบ่อย ๆ ร้านที่เธอเปิดนั้น ที่จริงแล้วเป็นร้านที่สามีของเธอที่เสียชีวิตไปก่อนหน้าใฝ่ฝันอยากจะมี เธอเป็นคนทั้งใจดีและสุภาพอ่อนโยน (CV:[[โคโตโนะ มิตสึอิชิ]])มาซากิ อามามิยะ () \nตาของนาเดชิโกะและโซโนมิ เขาเป็นทวดของซากุระและโทยะ เขาอาศัยอยู่นอกเมืองเพียงลำพัง เมื่อครั้งที่นาเดชิโกะแม่ของซากุระยังมีชีวิตอยู่นั้นเวลาที่เธอกลับมาเยี่ยมเขาจะเป็นเวลาที่เขามีความสุขมากที่สุด เขายังคงเก็บภาพสายรุ้งที่เธอวาดให้เขา นับตั้งแต่นาเดชิโกะแต่งงานกับฟูจิทากะ คิโนโมโตะ เขาก็ไม่เคยพูดคุยหรือพบหน้าครอบครัวของซากุระอีกเลย แต่จะมีโซโนมิที่เป็นคนกลางคอยติดต่อให้ระหว่างมาซากิ อามามิยะ กับ ฟูจิทากะ คิโนโมโตะ มีตอนหนึ่งที่พ่อของซากุระพา ครอบครัวไปเที่ยวที่บ้านพักต่างจังหวัด คุณพ่อบอกให้ซากุระเอาขนมไปให้บ้านพักที่อยู่ติดกัน โดยที่ไม่บอกซากุระว่า คุณตาที่บ้านนั้นเป็นใคร เมื่อมาซากิได้พบซากุระก็นึกถึงนาเดชิโกะ แล้วยกชุดเด็กผู้หญิงที่เคยเป็นของนาเดชิโกะให้กับซากุระไป มาซากิ แกล้งถามซากุระว่า คุณพ่อของซากุระเป็นคนยังไงด้วยใบหน้าที่ไม่ค่อยชอบใจ แต่หลังจากที่ได้ฟังซากุระพูดชมและบอกว่ารักพ่อมาก ทำให้มาซากิรู้สึกดีขึ้นว่านาเดชิโกะไม่ได้เลือกคนผิด เหตุการณ์นี้คนที่ทำให้ซากุระได้พบคุณทวด ก็คือฟูจิทากะและคุณแม่ของโทโมโยะ แต่สุดท้ายซากุระก็ยังไม่รู้ว่าคุณตาคนนั้น คือทวดของตัวเอง(CV:[[โอซามุ ซากะ]])[[หมวดหมู่:ตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์| ]]\n[[หมวดหมู่:รายชื่อตัวละครการ์ตูนญี่ปุ่น|ซ]]", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "70553#15", "text": "มาโต้ ชินจิ ()พี่ชายชองซากุระ และเพื่อนรักของชิโร่ เขาเป็นรองประธานชมรมยิงธนูของโรงเรียนที่ออกจะหลงตัวเองและเป็นที่นิยมในหมู่สาวๆ คล้ายๆกับริน เขาไม่ได้มีความสามารถโดดเด่นในเชิงเวทเช่นเดียวกับชิโร่ แม้ว่าตระกูลมาโต้จะเป็นตระกูลผู้ใช้เวทมนตร์ แต่เขากลับไม่มีความสามารถในเชิงเวทเลย จึงทำให้เขาไม่พอใจ และพยายามที่จะพิสูจน์ให้คนอื่นเห็นว่าตนเองก็มีดีด้วยการเข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 นี้ บวกกับความทะเยอทะยานอยากของเขา จึงไม่เป็นที่น่าสงสัยเลยว่าเขาจะหักหลังเพื่อนของเขาได้อย่างหน้าตาเฉยเพื่อตัวเขาเอง เขาไม่พอใจที่ซากุระน้องสาวของเขาไปหาชิโร่ที่บ้านทุกวันๆ เขาจึงเสนอข้อตกลงกับรินในการร่วมมือกันในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่รินก็ได้ปฏิเสธไปเพราะรู้ถึงเนื้อแท้ของเขานั่นเอง", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "76637#12", "text": "[[ไฟล์:Rikasasaki.jpg‎|right|150px|เพื่อน ๆ ของซากุระ]]\nริกะ ซาซากิ () \nเพื่อนร่วมชั้นอีกคนหนึ่งของซากุระ เธอมีความเป็นผู้ใหญ่กว่าคนอื่นในกลุ่ม เก่งทั้งเรื่องงานฝีมือและการทำอาหาร พ่อของเธอทำงานอยู่ที่ต่างประเทศไกลออกไป เธอชอบอาจารย์เทราดะ เพราะเขามีลักษณะคล้ายกับพ่อของเธอ ในภาคเคลียร์การ์ดได้ย้ายไปเรียนโรงเรียนอื่น (CV:[[โทโมโกะ คาวาคามิ]])", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "78170#4", "text": "เชาหลางพบกับซากุระครั้งแรกที่โรงเรียน เขาเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนที่เดินทางมาจากเกาะฮ่องกงและย้ายเข้ามาเรียนห้องเดียวกับซากุระ ที่นั่งของเขาอยู่หลังซากุระซึ่งเขาจะนั่งอยู่ตรงนั้นตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง\nในอะนิเมะภาคแรก ความคิดของเชาหลางที่แสดงออกให้เห็นเด่นชัดนั้นมีเพียงแค่ต้องการค้นหาและจับโคลว์การ์ดใบใหม่ ๆ ให้ได้ก่อนซากุระ แต่ถึงกระนั้นเขาก็ไม่สามารถที่จะแปลสภาพพลังของการ์ดต่าง ๆ ให้กลับคืนสู่รูปโคลว์การ์ดได้ อย่างไรก็ตามยังคงมีโคล์วการ์ดบางใบที่เชาหลางสามารถเอาชนะและหลังจากที่ซากุระทำการเปลี่ยนสภาพของมันกลับคืนสู่การ์ดแล้วเขาก็ได้เป็นผู้ที่ครอบครองมัน การ์ดที่เขาสามารถรวบรวมได้คือ การ์ด The Time การ์ด The Storm การ์ด The Return การ์ด The Freeze การ์ด The Dream การ์ด The Sand การ์ด The Twin และ การ์ด The Bubbles ซึ่งในการจับการ์ด The Bubbles ของเขานั้นได้ถูกโทโมโยะบันทึกวิดีโอไว้ (ซึ่งจะเห็นได้ในซากุระมือปราบไพ่ทาโรต์ ตอนพิเศษ 2 - การ์ดที่ถูกผนึก)เมื่อไรก็ตามที่เชาหลางและซากุระต้องมาจับการ์ดใบเดียวกันในสถานที่เดียวกัน ถึงแม้ว่าพวกเขาจะช่วยกันจับการ์ด แต่เชาหลางก็ยังคงจะพยายามเอาชนะการ์ดให้ได้ บางครั้งบางคราวเชารันก็จะหน้าแดงเมื่อพวกเขาสบหน้ากัน และซากุระส่งยิ้มมาให้ ", "title": "ลี เชารัน" }, { "docid": "196170#14", "text": "หมวดหมู่:ตัวละครในมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "196170#15", "text": "en:List of Fate/stay night characters#Main characters", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "196170#9", "text": "บทบาทของเธอในเนื้อเรื่อง ทั้งบทเฟท และบท อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส เธอจะเป็นเพียงแค่ตัวละครรองเท่านั้น แต่ในเนื้อเรื่องบทที่ 3 หรือบท เฮฟเว่นส์ ฟีล ซึ่งเป็นบทของเธอโดยเฉพาะ จะกล่าวถึงปูมหลังในช่วงที่เธออาศัยอยู่กับตระกูลมาโต้ โดยกล่าวถึงเหตุการณ์ที่ มาโต้ โซเคน ไม่พอใจที่ชินจิ หลานชายของตนไม่สามารถเป็นมาสเตอร์ได้ จึงได้ทำการล่าล้างข้ารับใช้ทุกตน โดยใช้ซากุระ และ ทรู แอสซาซิน เป็นเครื่องมือ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น เบอร์เซิร์กเกอร์, แลนเซอร์, เซเบอร์ และ อาเชอร์ ได้ตกลงสู่ตรีเอกานุภาพแห่งความมืด และเธอก็ได้เข้าครอบงำ เซเบอร์ด้านมืด และ เบอร์เซิร์กเกอร์ด้านมืด ให้เป็นข้ารับใช้ของเธออีกด้วย ในคืนเดียวกัน เธอก็ได้ออกอาละวาดทำลายเมืองฟุยูกิ สังหารผู้บริสุทธิ์เป็นจำนวนมาก เพื่อสะสมมานานั่นเอง ในเหตุการณ์ครั้งนั้น กิลกาเมชก็ได้ปรากฏตัวขึ้น และโจมตีเธอด้วย เกท ออฟ บาบิโลน ของเขา แต่เมื่อต้องปะทะกับความสามารถในการฟื้นฟูร่างกายอันเหนือธรรมชาติของเธอ จึงทำให้เธอแทบไม่ได้รับผลอะไรเลย และท้ายสุด เขาก็ได้ถูกกลืนกินเข้าไปอีกคน", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "76637#14", "text": "จิฮารุ มิฮาระ () \nเพื่อนร่วมชั้นอีกคนหนึ่งของซากุระ เป็นเด็กผู้หญิงคล่องแคล่ว ดูเป็นกันเองและอยู่ชมรมเชียร์ลีดเดอร์อีกด้วย เธอรู้จักกับ[[ทากาชิ ยามาซากิ]]มาตั้งแต่สมัยเรียนอยู่ชั้นอนุบาล และเธอก็ชอบเขาด้วยเหมือนกัน อย่างไรก็ตามทุกครั้งที่ทากาชิเริ่มอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ เธอมักจะเป็นคนแรกที่บอกว่าเรื่องที่เขาพูดนั้นเป็นเรื่องโกหก (CV:[[มิวะ มัตสึโมโตะ]])", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "76637#6", "text": "นากุรุ อะคิซุกิแท้จริงแล้วเธอก็ไม่ใช่คนธรรมดาทั่วไป เธอถูกสร้างขึ้นมาให้คล้ายกับยูกิโตะ และมีสัญลักษณ์เป็นดวงจันทร์เช่นเดียวกับเขา นอกจากการเป็นคนไม่ธรรมดาแล้วยังมีความไม่ธรรมดายิ่งกว่าคือ นากุรุ อะคิซุกิ เป็นเหมือนครึ่งหญิง ครึ่งชาย เพราะเธอไม่มีหน้าอกแบบผู้หญิง และถึงแม้จะเป็นอย่างนั้น เธอก็ชอบที่จะทำตัวเป็นผู้หญิงมากกว่า[[ไฟล์:Mizukikaho.jpg‎|right|100px|คาโฮะ มิซึกิ]]\nคาโฮะ มิซึกิ () \nอาจารย์มิซึกิ อาจารย์ประจำชั้นของซากุระ เธอเป็นผู้หญิงสวยคนหนึ่ง และซากุระก็ชอบเคลิ้มเวลาอยู่ใกล้ๆ เธอ ในทางตรงข้าม [[ลี้ เชาหลาง]]กลับไม่ชอบเธอ เขาคิดว่าเธอเป็นคนที่มีพลังมากคนหนึ่ง และคอยระแวงเธออยู่ตลอดเวลา ก่อนหน้านั้นเธอเคยคบหากับ[[โทยะ คิโนโมโตะ]] แต่เป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ก่อนที่เธอจะเดินทางไปเรียนต่อที่[[ประเทศอังกฤษ]] เธออาศัยอยู่ที่ศาลเจ้าและเป็นคนที่คอยให้ความช่วยเหลือซากุระอยู่ห่างๆ ", "title": "รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "196170#3", "text": "ใน เฟท/ซีโร่ ได้เปิดเผยว่า มาโต้ คาริยะ ลุงของซากุระในขณะนั้น ได้ทำข้อตกลงกับโซเค็น ไว้ว่าหากเขาชนะในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เธอจะได้เป็นอิสระจากโซเค็น และกลับไปอยู่กับตระกูลโทซากะ ซึ่งตัวเขาเองเป็นสมาชิกในตระกูลมาโต้เพียงคนเดียวที่รักและห่วงใยซากุระ และเขายังเป็นเพื่อนกับ โทซากะ อาโออิ (แม่ของซากุระ) ตั้งแต่เด็กอีกด้วย เขาเข้ากันได้ดีกับซากุระ และพี่สาวของเธอ นอกจากนั้นเขายังเคยรักอาโออิเพียงข้างเดียว และยอมปล่อยเธอมีความสุขกับโทคิโอมิแต่โดยดี แต่เดิมเขาไม่เคยถูกฝึกให้เป็นจอมเวทย์ (ถึงแม้ว่าเขาจะมีความสามารถที่เหนือกว่า มาโต้ เบียคุยะ พ่อของชินจิ ซ่อนเอาไว้อยู่ก็ตามที) แต่เขาก็มีหนอนฝังอยู่ในร่างกายเขาเพื่อใช้ในการกระตุ้นวงจรเวทย์ในตัวเขา ซึ่งมันก็จะทำให้ชีวิตของเขาสั้นลง พร้อมกับทำให้ร่างกายอ่อนแอลงเนื่องจากถูกกัดกินวงจรเวทย์ไปด้วยนั่นเอง กระนั้นแล้วเขาก็ยังเป็นมาสเตอร์ของข้ารับใช้สายเบอร์เซิร์กเกอร์ ซึ่งเป็นสายที่กินมานามากที่สุด จึงไม่แปลกถ้าเขาจะได้รับความพ่ายแพ้ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เพราะข้ารับใช้ของเขาเอง", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "76582#13", "text": "ครอบครัวของซากุระมีด้วยกัน 3 คน คือ ซากุระ พ่อ (ฟูจิทากะ คิโนโมโตะ) และ พี่ชาย (โทยะ คิโนโมโตะ) ส่วนแม่ของซากุระ (นาเดชิโกะ คิโนโมโตะ) นั้นเสียชีวิตไปตั้งแต่ซากุระอายุได้เพียงแค่ 3 ขวบเท่านั้น และครอบครัวของซากุระย้ายมาอาศัยอยู่ที่เมืองโทโมเอดะก่อนหน้าเนื้อเรื่อง 3 ปี ในตอนนั้นโทยะเรียนโรงเรียนมัธยมโทโมเอะชั้นปีที่ 2 และ ซากุระเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภายในบ้านทั้งสามคนจะแบ่งงานที่ต้องรับผิดชอบต่าง ๆ ในแต่ละวัน", "title": "ซากุระ คิโนโมโตะ" }, { "docid": "14447#13", "text": "ไดโดจิ โทโมโยะ () เพื่อนร่วมชั้นเรียนของซากุระ เธอมีงานอดิเรกคือถ่ายวิดีโอต่าง ๆ เกี่ยวกับซากุระ แม่ของเธอมีชื่อว่า โซโนมิ เป็นเจ้าของบริษัทผลิตของเล่น ดังนั้นจึงจัดได้ว่าครอบครัวของโทโมโยะเป็นครอบครัวที่รวยมากครอบครัวหนึ่ง โทโมโยะอาศัยอยู่ในคฤหาสหลังใหญ่และมีองครักษ์คอยคุ้มกันหลายคน งานอดิเรกอีกอย่างหนึ่งของโทโมโยะคือออกแบบและตัดชุดให้ซากุระสำหรับใส่ต่อสู้กับโคลว์การ์ดและโอกาสพิเศษอื่น ๆ ในความจริงแล้วโทโมโยะชอบซากุระเอามาก ๆ สิ่งเดียวที่เธอต้องการคือเห็นซากุระมีความสุข ที่สำคัญในตอนท้ายเธอยังช่วยเหลือให้ซากุระได้รับรู้ว่าแท้จริงแล้วคนที่ซากุระรักนั้นคือใคร (CV:จุนโกะ อิวาโอะ)", "title": "ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์" }, { "docid": "79040#6", "text": "โทโมโยะพบกับซากุระครั้งแรกเมื่อตอนเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตอนนั้นเธอลืมเอายางลบมาโรงเรียนและขอยืมมันมาจากซากุระ และดูเหมือนว่ายางลบก้อนนั้นจะถูกใช้เพียงแค่ครั้งนั้นเพียงครั้งเดียว ซึ่งต่อมายางลบก้อนนั้นได้กลายเป็นสมบัติที่ล้ำค่ามากที่สุดสำหรับโทโมโยะ เมื่อซากุระร่าเริง อ่อนโยน และน่ารักขึ้นเรื่อย ๆ ความรักที่โทโมโยะมีให้แก่เธอก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยเช่นกัน", "title": "โทโมโยะ ไดโดจิ" }, { "docid": "196170#1", "text": "สำหรับ เสียงพากย์ ของซากุระนั้นคือเสียงของ ชิทายะ โนริโกะ ในภาษาญี่ปุ่น ส่วนภาษาอังกฤษนั้นเป็นของ เชอร์รี่ ลิน[1]", "title": "มาโต้ ซากุระ" }, { "docid": "168840#7", "text": "มาสเตอร์ที่แท้จริงของเธอนั้นคือ มาโต้ ซากุระ แต่ที่เธอมาเป็นข้ารับใช้ของชินจินั้นเป็นเพราะซากุระได้ถูกแย่งคำสั่งมนตราไป ถึงแม้ว่าเธอจะเป็นข้ารับใช้ของชินจิ แต่ในใจเธอก็ไม่ได้ต้องการทำเพื่อคนที่ชั่วช้าอย่างเขาเลยแม้แต่น้อย ที่เธอทำเป็นคอยรับใช้อย่างซื่อสัตย์นั้นเป็นเพราะต้องการปฏิบัติหน้าที่ในส่วนของข้ารับใช้ให้สมบูรณ์เท่านั้น และเพื่อเป็นการปกป้องซากุระ คนที่เหมือนกับเธอในหลายๆ อย่างเท่านั้น และในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เธอก็ไม่ได้มีจุดประสงค์อะไรในจอกศักดิ์สิทธิ์ เช่นเดียวกันกับข้ารับใช้ตนอื่นๆ ในสงครามครั้งนี้", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" } ]
4071
กรณ์ จาติกวณิชเกิดเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "52438#0", "text": "กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นรองหัวหน้าตามภารกิจ พรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า \"หล่อโย่ง\" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม \"หล่อใหญ่\" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า \"หล่อเล็ก\" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า \"หล่อจิ๋ว\"", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" } ]
[ { "docid": "52438#22", "text": "โครงการขนส่ง/Logistic จำนวน 571,523 ล้านบาท โครงการด้านทรัพยากรน้ำและการเกษตร จำนวน 238,515 ล้านบาท โครงการด้านการศึกษา จำนวน 137,975 ล้านบาท โครงการสาธารณสุข จำนวน 99,399 ล้านบาท โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการท่องเที่ยว จำนวน 18,537 ล้านบาท", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#15", "text": "กรณ์ จาติกวณิช เคยได้รับเลือกให้ทำหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเงา ในการติดตามตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#12", "text": "กรณ์ จาติกวณิช เคยดำรงตำแหน่งประธาน บริษัทเจพี มอร์แกน (ประเทศไทย) จำกัดพ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2547 ประธานบริษัทหลักทรัพย์เจเอฟ ธนาคม จำกัด พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2543 เอส จี วอร์เบิร์ก ลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2530", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#1", "text": "ต้นปี พ.ศ. 2549 กรณ์ จาติกวณิช มีบทบาทสำคัญในการตรวจสอบการขายหุ้นชินคอร์ปของ ตระกูลชินวัตร และดามาพงษ์ โดยได้รับมอบหมายจากพรรคประชาธิปัตย์ให้เป็นหัวหน้าคณะ​ทำงานตรวจสอบ​การขายหุ้นชินคอร์ป ซึ่งการขายหุ้นดังกล่าวถูกตั้งข้อสงสัยว่ามีความเกี่ยวพันกับ พ.ต.ท.ทักษิณ ในประเด็นการซุกหุ้น และหลีกเลี่ยงภาษี", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#9", "text": "กรณ์ จาติกวณิช สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก วินเชสเตอร์ คอลเลจ (Winchester College) หลังจากนั้นศึกษาต่อปริญญาตรี สาขาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ ที่ เซนต์จอห์น (St.John's) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (University of Oxford) จนสำเร็จการศึกษาได้รับ เกียรตินิยมอันดับสอง", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#17", "text": "กรณ์ จาติกวณิช ดำรงตำแหน่งเป็น รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์[4] ต่อมาเขาได้ลาออกจากตำแหน่งรองหัวหน้าพรรค เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2556[5] เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับกลุ่ม กปปส.", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#23", "text": "วิถีชีวิตของ กรณ์ จาติกวณิช และ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ มีความคล้ายคลึงกันไม่น้อย ตั้งแต่ที่ทั้งคู่ถือกำเนิดในตระกูลเก่าแก่ มีบรรพบุรุษทางบิดาเป็นชาวจีนที่เข้ามาตั้งรกรากในประเทศสยาม ทั้งนามสกุล \"จาติกวณิช\" และ \"เวชชาชีวะ\" ต่างก็เป็นนามสกุลพระราชทานในสมัยรัชกาลที่ 6", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#6", "text": "กรณ์ จาติกวณิชเกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 ที่ Princess Beatrice Hospital ถนน Brompton ประเทศอังกฤษ มีชื่อเล่นว่า \"ดอน\" เป็นบุตรคนกลางของ นายไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กับ นางรัมภา จาติกวณิช (นามสกุลเดิม พรหโมบล บุตรี พระยาบุเรศผดุงกิจ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ)", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#3", "text": "เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 พรรคประชาธิปัตย์ได้จัดการประชุมใหญ่วิสามัญประจำปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ตามข้อบังคับพรรค และ กรณ์ จาติกวณิช ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ รับผิดชอบดูแลพื้นที่ กรุงเทพมหานคร", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#26", "text": "หลังจากสำเร็จการศึกษา กรณ์และอภิสิทธิ์ได้แยกย้ายกันไปทำงานแตกต่างกัน โดยอภิสิทธิ์ทำงานเป็นอาจารย์ ส่วนกรณ์ทำงานในสายการเงิน แต่ทั้งคู่ยังมีความสัมพันธ์เพิ่มขึ้นอีก เมื่อกรณ์แต่งงานกับ วรกร จาติกวณิช เนื่องจากภรรยาของกรณ์คนนี้เป็นญาติกับอภิสิทธิ์เพราะว่านามสกุลเดิมของเธอคือ สูตะบุตร เช่นเดียวกับมารดาของอภิสิทธิ์ นอกจากนี้ วรกร จาติกวณิชซึ่งเป็นภรรยาของกรณ์ยังสนิทกับ งามพรรณ เวชชาชีวะ นักเขียนรางวัลซีไรต์ ที่เป็นพี่สาวของอภิสิทธิ์อีกด้วย นอกจากนี้ คุณลุงของกรณ์ คือ ศ.นพ.กษาน จาติกวณิช กับบิดาของอภิสิทธิ์ คือ ศ.เกียรติคุณ นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ต่างก็เคยเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดลมาแล้วเช่นกัน", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#27", "text": "ในที่สุดทั้งอภิสิทธิ์และกรณ์ได้เข้าสู่วงการเมือง ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์เช่นเดียวกัน และได้ดำรงตำแหน่งระดับบริหารพรรคด้วยกันในเวลาต่อมา และหลังจากนั้นอภิสิทธิ์ได้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไทย โดยมีกรณ์ำดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#30", "text": "โดย กรณ์ จาติกวณิช ได้รับรางวัลพร้อมกับผู้ได้รับรางวัลชาย อีก 4 คน คือ", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#7", "text": "กรณ์ จาติกวณิช สมรสกับวรกร จาติกวณิช (สกุลเดิม: สูตะบุตร) มีบุตรธิดาด้วยกัน คือ กานต์ จาติกวณิช (แจม) และไกรสิริ จาติกวณิช (จอม) นอกจากนี้วรกรยังมีลูกจากการสมรสครั้งก่อนอีก 2 คน คือ พงศกร มหาเปารยะ (แต๊งค์) และพันธมิตร มหาเปารยะ (ติ๊งค์)", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#16", "text": "ทางด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร กรณ์ จาติกวณิช ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองประธานคณะกรรมาธิการการเงินการคลังและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร 2 สมัยติดต่อกัน", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#5", "text": "ต่อมาเมื่อพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กรณ์ จาติกวณิช ได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง [1] ในรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ครม.คณะที่ 59)", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#29", "text": "กรณ์ จาติกวณิช ได้รับรางวัล \"เปรียว อวอร์ด 2005\" [9] ที่นิตยสารเปรียวมอบให้ 10 บุคคลคุณภาพแห่งปี ซึ่งประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน และเป็นที่รู้จักในแวดวงสังคมไทย โดยมีการเชิญบุคคลที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จ จากหลากหลายวิชาชีพมาทำหน้าที่เป็น คณะกรรมการคัดเลือก และตัดสิน ภายใต้หลักเกณฑ์สำคัญคือ จะต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติพร้อม ทั้งเรื่องบุคลิกภาพ, สัมพันธภาพ, ความฉลาด, ความสง่างาม และมีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับในสังคม", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#4", "text": "นอกจากนี้ทางด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร กรณ์ จาติกวณิช ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองประธานคณะกรรมาธิการการเงินการคลังและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร เป็นสมัยที่ 2 ติดต่อกัน", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#14", "text": "กรณ์ จาติกวณิช เข้าสู่วงการการเมืองจากการชักชวนของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เพื่อนนักเรียนเมื่อครั้งเรียนอยู่ที่อังกฤษ โดยชนะเลือกตั้งได้เป็น ส.ส. เขต 7 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย เขตยานนาวาและเขตสาทรบางแขวงของพรรคประชาธิปัตย์ จากการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ด้วยคะแนนเสียง 36,010 คะแนน เป็น 1 ใน 4 ของ ส.ส.กรุงเทพมหานครของพรรคประชาธิปัตย์", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#35", "text": "พ.ศ. 2554 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[11] พ.ศ. 2553 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) [12]", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#11", "text": "ต้นตระกูลทางฝ่ายบิดาของ กรณ์ จาติกวณิช เป็นชาวจีนฮกเกี้ยนที่มาตั้งรกรากในประเทศสยาม นามสกุล \"จาติกวณิช\" หรือ \"Chatikavanij\" เป็นนามสกุลพระราชทานสมัยรัชกาลที่ 6 ลำดับที่ 1211 ที่พระราชทานแก่ พระอธิกรณประกาศ (หลุย) เจ้ากรมกองตระเวนในขณะนั้น โดยระบุว่าพระอธิกรณประกาศมีปู่คือ พระอภัยวานิช (จาด) และเนื่องจากเป็นสกุลพ่อค้า จีงมีคำว่า \"วณิช\" ในนามสกุล[3] คุณปู่คือ พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช หรือ ซอเทียนหลุย) ได้เข้ารับราชการและดำรงตำแหน่งเป็น อธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 2 ของไทย และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็น องคมนตรี ในสภากรรมการองคมนตรี สมัยรัชกาลที่ 7 คุณตาคือ พระยาบุเรศผดุงกิจ (รวย พรหโมบล) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 3 ที่ดำรงตำแหน่งต่อจาก พระยาอธิกรณ์ประกาศ ซึ่งเป็นคุณปู่ของกรณ์ พระยาอธิกรณ์ประกาศ มีภรรยา 2 คน ภรรยาคนแรก มีบุตรชาย คือ นายแพทย์กษาน จาติกวณิช คุณหญิงเสงี่ยมภรรยาคนที่สอง มีบุตรชาย 2 คน คือ เกษม จาติกวณิช และ ไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากรและกรมสรรพากร อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ซึ่งเป็นบิดาของกรณ์ คุณลุง คือ ศาสตราจารย์นายแพทย์กษาน จาติกวณิช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล (สมรสกับ ท่านผู้หญิงสุมาลี (ยุกตะเสวี) จาติกวณิช มีบุตรสาวคือ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการและเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) คุณลุงอีกคนคือ นายเกษม จาติกวณิช หรือ \"ซูเปอร์เค\" เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และเป็นประธานรถไฟฟ้า BTS สมรสกับ คุณหญิงชัชนี จาติกวณิช (ล่ำซำ) ผู้บริหารกลุ่ม “ล็อกซเล่ย์” คุณย่าเป็นคนเหนือจากจังหวัดลำปาง คุณตา (พระยาบุเรศผดุงกิจ) สืบเชื้อสายโดยตรงจาก เจ้าอนุวงศ์ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ คุณยาย เป็นชาวมุสลิมที่อาศัยอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย กรณ์ มีเชื้อสายดัตช์ แต่เกิดที่กรุงลอนดอน และเดินทางกลับมาประเทศไทยตั้งแต่อายุ 3 ปี และปักหลักเป็นชาวกรุงเทพมหานครมาจนถึงปัจจุบัน กรณ์ มีพี่น้องเป็นชายล้วน 3 คน คือ อธิไกร กรณ์ และอนุตร ซึ่งอนุตรมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับกรณ์มาก ขนาดที่มีคนจำผิดมาแล้วมากมาย", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#18", "text": "ปลายปี พ.ศ. 2553 สื่อมวลชนประจำทำเนียบได้ตั้งฉายารัฐบาลและรัฐมนตรี โดยกรณ์ ได้รับฉายาว่า \"โย่งคาเฟ่\" จากผลงานการแสดงบทบาทพันตรีประจักษ์ คู่กับทักษอร ภักดิ์สุขเจริญในภาพยนตร์โฆษณา และการเปิดผับเชียร์ฟุตบอล[6]", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#32", "text": "และผู้ได้รับรางวัลหญิง อีก 5 คน คือ", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#31", "text": "สราวุฒิ มาตรทอง นักแสดงและนักเขียน เรืองวิทย์ นันทาภิวัฒน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนอยุธยาเจเอฟ จำกัด เจษฎ์ โทณวณิก นักกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา จิตตนาถ ลิ้มทองกุล ผู้บริหาร หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#19", "text": "แผนกระตุ้นเศรษฐกิจกลางปีจำนวน 116,700 ล้านบาท อันไปใช้ในโครงการดังกล่าว[7]", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "131366#1", "text": "นายเกษม จาติกวณิช เกิดวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2467 เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวนบุตรธิดา 8 คนของ พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 สมรสกับ คุณหญิงชัชนี จาติกวณิช (สกุลเดิม ล่ำซำ บุตรสาวนายโชติ ล่ำซำ และนางน้อม (อึ้งภากรณ์)) มีบุตร-ธิดา 4 คน ", "title": "เกษม จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#8", "text": "ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 นาย พันธมิตร มหาเปารยะ ถูกตำรวจจับพร้อมของกลางยาเสพติดให้โทษประเภท 2 หรือ โคเคน 1 ถุง น้ำหนัก 0.920 กรัม[2]", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "362890#58", "text": "กรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง และ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน เดินทางไปร่วมการประชุมด้านธุรกิจ ที่ สมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศในกรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554", "title": "การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ" }, { "docid": "52438#34", "text": "เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553 นิตยสาร The Banker นิตยสารชั้นนำของประเทศอังกฤษ คัดเลือกให้กรณ์ จาติกวณิช เป็น \"รัฐมนตรีคลังโลก ปี 2010\" และ \"รัฐมนตรีคลังเอเชียแห่งปี 2010\" โดยคัดเลือกจากรัฐมนตรีคลังในประเทศต่างๆ ทั่วโลก 5 ภูมิภาค ได้แก่ อเมริกา ยุโรป เอเชีย แอฟริกา และตะวันออกกลาง[10]", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" }, { "docid": "52438#36", "text": "หมวดหมู่:สกุลจาติกวณิช หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายลาว หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทย หมวดหมู่:นักการเมืองไทย หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทย หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์ หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทย หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช. หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม. หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยแบบบัญชีรายชื่อ", "title": "กรณ์ จาติกวณิช" } ]
1383
ใครเป็นผู้คิดค้นเม้าส์ เพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์?
[ { "docid": "12240#4", "text": "เมาส์ถูกประดิษฐ์ขึ้นในปี 1963 โดย ผู้คิดค้นประดิษฐ์เม้าส์มีชื่อว่า ดร ดักลาส คาร์ล อิงเกิลบาร์ต Douglas Carl Engelbart ที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด (Stanford Research Institute) หลังจากการทดสอบการใช้งานอย่างละเอียด (เมาส์เคยมีอีกชื่อนึงว่า “บัก” (bug) แต่ภายหลังได้รับความนิยมน้อยกว่าคำว่า “เมาส์”) มันเป็นหนึ่งในการทดลองอุปกรณ์ชี้ (Pointing Device) สำหรับ Engelbart's oN-Line System (NLS) ส่วนอุปกรณ์ชี้อื่นออกแบบมาเพื่อการเคลื่อนไหวในร่างกายส่วนอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ติดกับคางหรือจมูก แต่ท้ายที่สุดแล้วเมาส์ก็ได้รับการคัดเลือกเพราะง่ายต่อการใช้งาน", "title": "เมาส์" } ]
[ { "docid": "370810#19", "text": "ระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ส่วนมากได้จัดเตรียมวิธีการสำหรับป้องกันไฟล์จากความเสียหายทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ คอมพิวเตอร์ที่สามารถมีผู้ใช้ได้หลายคนนำสิทธิการเข้าถึงไฟล์มาใช้ควบคุมว่าใครจะสามารถแก้ไข ลบ หรือสร้างไฟล์และโฟลเดอร์ใดได้หรือไม่ได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้หนึ่ง ๆ อาจได้รับสิทธิการอ่านไฟล์หรือโฟลเดอร์หนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ให้แก้ไขหรือลบไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น หรือผู้ใช้อาจได้รับอนุญาตให้อ่านและแก้ไขไฟล์หรือโฟลเดอร์อื่น แต่ไม่ให้สั่งกระทำการไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้นก็ได้ เป็นต้น สิทธิการเข้าถึงไฟล์อาจใช้สำหรับการอนุญาตให้ผู้ใช้จำเพาะบางรายสามารถเข้าถึงเนื้อหาของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ สิทธิการเข้าถึงไฟล์นี้ช่วยป้องกันการก้าวก่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการทำลายสารสนเทศในไฟล์ และช่วยรักษาสารสนเทศส่วนบุคคลให้เป็นความลับจากผู้ใช้อื่นที่ไม่ได้รับอนุญาต", "title": "ไฟล์คอมพิวเตอร์" }, { "docid": "871264#2", "text": "การใช้แสงนั้น จะทำให้ดึงความสนใจของผู้ใช้งาน เช่น การทำเอฟเฟ็กต์แสงแบบ Glow แทนเม้าส์, หรือการกระพริบเพื่อแสดงว่ามีการชี้เม้าส์อยู่ หรือเป็น Feedback หลักจากคลิก", "title": "ระบบการออกแบบ ฟลูเอนด์ ดีไซน์" }, { "docid": "84652#28", "text": "แม้ว่าจะมีการประดิษฐ์เกิดขึ้นมากมายเพราะเขา แต่ก็มีผู้มีบางคนโต้แย้งว่า ที่แท้แล้ววัตต์คิดค้นนวัตกรรมต้นฉบับเพียงอันเดียวจากสิทธิบัตรจำนวนมากที่เขาจด อย่างไรก็ตามไม่มีใครแย้งเรื่องที่นวัตกรรมเดียวนั้นเขาได้ประดิษฐ์จริง ก็คือ เครื่องสันดาปแยก (separate condenser) ซึ่งเป็นการฝึกหัดเพื่อเตรียมแนวความคิดที่สร้างชื่อแก่เขา เพราะเขาตั้งใจให้สิทธิบัตรเชื่อถือได้ในความปลอดภัย และทำให้แน่ใจได้ว่า ไม่มีใครได้ฝึกหัดและคิดค้นสิ่งประดิษฐ์นั้นได้อย่างเขา", "title": "เจมส์ วัตต์" }, { "docid": "108806#0", "text": "จอห์น แบกคัส (, (3 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 17 มีนาคม พ.ศ. 2550) ผู้บุกเบิกในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นผู้คิดค้น ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ซึ่งเป็นภาษาระดับสูงภาษาแรกที่มีการใช้งานจริง และออกแบบ Backus-Naur form สำหรับการอธิบายภาษาโปรแกรมอย่างเป็นทางการ", "title": "จอห์น แบกคัส" }, { "docid": "94504#0", "text": "แป้นพิมพ์เกษมณี เป็นผังแป้นพิมพ์ภาษาไทย คิดค้นโดยสุวรรณประเสริฐ เกษมณี เพื่อใช้กับเครื่องพิมพ์ดีด (ซึ่งไม่มี ฃ/ฅ) ไม่ใช่กับคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยในตอนแรกผังแป้นพิมพ์นี้เรียกว่า \"แบบมาตรฐาน\" เนื่องจากเป็นผังแป้นพิมพ์แบบแรก ๆ ที่ใช้ ต่อมาผู้ร่วมงานเรียกชื่อว่า แป้นพิมพ์เกษมณี เนื่องจากสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ได้นำเสนอผังแป้นพิมพ์แบบใหม่ ที่เรียกว่าแป้นพิมพ์ปัตตะโชติ", "title": "แป้นพิมพ์เกษมณี" }, { "docid": "618657#154", "text": "คอมพิวเตอร์สวมใส่ได้ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถสวมใส่บนร่างกายของมนุษย์ได้. คอมพิวเตอร์สวมใส่ได้ เป็นประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานที่ต้องการความสนับสนุนจากคอมพืวเตอร์ในขณะที่ มือ, เสียง, ตาหรือความสนใจของผู้ใช้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ. คอมพิวเตอร์สวมใส่ได้ถูกคิดขึ้นครั้งแรกโดยนักคณิตศาสตร์ ชาวอเมริกัน Edward O. Thorp ในปี ค.ศ. 1955 และร่วมคิดค้นกับวิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ชาวอเมริกัน Claude Shannon.[136]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "192881#8", "text": "หัน มาดูทางด้านคอมพิวเตอร์ของเรากันบ้าง ดูเหมือนว่าบริษัทผู้ผลิตซาวด์การ์ดที่ใช้กับคอมพิวเตอร์จะไม่ค่อยได้ติดตาม ข่าวคราว ในวงการดนตรีสักเท่าไรนัก หรืออาจเป็นเพราะว่าไม่ได้เตรียมตัวเตรียมใจเอาไว้ก่อนว่าจะมีใครเอา ซาวด์การ์ดมาใช้เล่นเพลง เล่นดนตรีกันทั่วบ้านทั่วเมืองแบบนี้ก็ได้ เลยเป็นผลทำให้ซาวด์การ์ดจำนวนมากยังคงใช้ชิพกำเนิดเสียงเครื่องดนตรีตาม มาตรฐาน GM กันอยู่ สังเกตได้จากราคาที่ค่อนข้างถูกและมักจะชอบแถมมากับคอมพิวเตอร์ที่สั่ง ประกอบสำเร็จจากร้านค้า ", "title": "มิดิ" }, { "docid": "10996#3", "text": "ผู้ที่คิดค้นสัญรูปอารมณ์ :-) และ :- ( และเสนอว่ามันสามารถใช้แสดงอารมณ์คือ สกอตต์ ฟาห์ลแมน (Scott Fahlman) ซึ่งเสนอในกระดานสนทนาของคณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน เมื่อ 19 กันยายน พ.ศ. 2525 เวลา 11.44 น. ไว้ดังนี้", "title": "สัญรูปอารมณ์" }, { "docid": "60950#5", "text": "ยุคการอ่านหนังสือจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกกันว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยมอย่างมากในต่างประเทศ เนื่องจากการแพร่หลายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถพกพาไปได้สะดวก อาทิ พ็อคเก็ต พีซี (Pocket PC) ปาล์ม โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมมากขึ้นในอนาคตเช่นกัน เพราะเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ทำให้การเข้าถึงสื่อสารนิเทศประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกและรวดเร็วทันต่อความต้องการของผู้ใช้จากทั่วโลก โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อาจกล่าวได้ว่าในทุกวันนี้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้รับความสนใจของผู้คนทั่วไปในทุกสาขาอาชีพโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับหนังสือ เช่น บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ นักจดหมายเหตุผู้จัดพิมพ์หนังสือ หรืออาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ เป็นต้น ส่วนบริษัทผู้จัดจำหน่ายฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้แต่หวังให้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ราคาถูกลง เพราะหากเป็นอย่างนั้น ก็จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ผู้อ่านจะหันมาสนใจอ่านหนังสือ\nอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น อย่างไรก็ตามไม่สามารถคาดเดาได้ว่า ในอนาคตตลาดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเช่นไร หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแทนที่หนังสือตัวเล่มได้หรือไม่ เมื่อไร และจะสามารถเอาชนะใจหนอนหนังสือทั้งหลายได้หรือไม่ แต่ขึ้นอยู่กับพัฒนาการหรือการคิดค้นรูปแบบใหม่และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับความสะดวกในการอ่านให้มากขึ้น การที่จะทำให้นักอ่านทั้งหลายเล็งเห็นถึงสิ่งที่น่าสนใจในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น คงต้องใช้เวลาในการยอมรับพอสมควร", "title": "หนังสืออิเล็กทรอนิกส์" }, { "docid": "14288#1", "text": "เขาร่วมก่อตั้งแอปเปิลคอมพิวเตอร์กับสตีฟ วอซเนียก ใน ค.ศ. 1976 เป็นผู้มีส่วนช่วยทำให้แนวความคิดเรื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นที่นิยมขึ้นมา ด้วยเครื่อง Apple II ต่อมา เขาเป็นผู้แรกที่มองเห็นศักยภาพทางการค้าของส่วนประสานงานผู้ใช้แบบกราฟิกส์และเม้าส์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นในศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค ของบริษัทซีร็อกซ์ และได้มีการผนวกเทคโนโลยีเหล่านี้เข้าไว้ในเครื่องแมคอินทอช[4][5] หลังพ่ายแพ้ในการแย่งชิงอำนาจกับคณะกรรมการบริหารใน ค.ศ. 1984 [6] จอบส์ลาออกจากแอปเปิลและก่อตั้งเน็กซ์ บริษัทพัฒนาแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในการศึกษาขั้นอุดมศึกษาและตลาดธุรกิจ การซื้อกิจการเน็กซ์ของแอปเปิลใน ค.ศ. 1996 ทำให้จอบส์กลับเข้าทำงานในบริษัทแอปเปิลที่เขาร่วมก่อตั้งขึ้นนั้น และเขารับหน้าที่ CEO ตั้งแต่ ค.ศ. 1997 ถึง 2011 จอบส์ยังเป็นประธานบริหาร และผู้บริหารระดับสูงของพิกซาร์แอนิเมชันสตูดิโอส์ ผู้นำด้านการผลิตภาพยนตร์แอนิเมชันด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ทั้งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ 50.1% กระทั่งบริษัทวอลต์ดิสนีย์ซื้อกิจการไปใน ค.ศ. 2006[7] จอบส์เป็นผู้ถือหุ้นมากที่สุดของดิสนีย์ที่ 7% และเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริหารของดิสนีย์[8][9][10]", "title": "สตีฟ จอบส์" }, { "docid": "10892#0", "text": "สิทธิบัตร () หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบว่าด้วยสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบ เพื่อให้ได้สิ่งของ,เครื่องใช้หรือสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น การประดิษฐ์รถยนต์, โทรทัศน์, คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์ หรือการออกแบบขวดบรรจุน้ำดื่ม, ขวดบรรจุน้ำอัดลม หรือการออกแบบลวดลายบนจานข้าว, ถ้วยกาแฟ ไม่ให้เหมือนของคนอื่น เป็นต้น", "title": "สิทธิบัตร" }, { "docid": "1853#18", "text": "จากความพยายามในการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นดิจิทัล เพื่อการควบคุมระบบซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นระบบอนาล็อก จึงส่งผลให้มีการพัฒนาทางทฤษฎี<b data-parsoid='{\"dsr\":[8850,8873,3,3]}'>ระบบควบคุมดิจิทัล (English: digital control) โดยในปี ค.ศ. 1952 จอห์น รากัซซินี (J.R. Ragazzini) , แฟรงคลิน (G Franklin) และ ซาเดห์ (L.A. Zadeh ผู้คิดค้นฟัซซี่ลอจิก) ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ได้พัฒนาทฤษฎีระบบแบบชักข้อมูล (sampled data systems) ขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุมกระบวนการในอุตสาหกรรมนั้น ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1959 ที่ โรงกลั่นน้ำมัน พอร์ต อาเธอร์ (Port Arthur) ในรัฐเทกซัส", "title": "ทฤษฎีระบบควบคุม" }, { "docid": "10977#7", "text": "อีเมลเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ปัจจุบันได้มีการเถียงกันระหว่างเครื่อง SDC's Q32 และ MIT's CTSS ว่าใครเป็นผู้ใช้ระบบอีเมลเป็นเครื่องแรก", "title": "อีเมล" }, { "docid": "618657#152", "text": "สเปรดชีตอิเล็กทรอนิกส์เป็นแอปพลิเคชันจัดระเบียบข้อมูลสารสนเทศให้อยู่ในรูปซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ที่กำหนดด้วยคอลัมน์(แนวตั้ง) และแถว(แนวนอน). ถูกใช้เป็นหลักเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจและการบัญชี, ข้อมูลนั้นจะสามารถ \"บวกขึ้นไป\" ตามสูตรที่จะให้ผลรวม ทั้งหมด. โปรแกรมสเปรดชีทสรุปข้อมูลสารสนเทศจากหลายแหล่งให้อยู่ในที่เดียวกันและนำเสนอผลลัพธ์ในรูปแบบที่จะช่วยให้ผู้ตัดสินใจเห็น\"ภาพใหญ่\"ทางการเงินของบริษัท. สเปรดชีต ในกระดาษได้มีการใช้โดยนักบัญชีเป็นเวลาหลายร้อยปี. อย่างไรก็ตาม สเปรดชีตอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคอมพิวเตอร์เป็นแหล่งกำเนิดมากขึ้นล่าสุด. ในปี 1961, ริชาร์ด Mattessich, อาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนียที่เบิร์กลีย์, ได้บุกเบิกแนวคิดของ speadsheets อิเล็กทรอนิกส์สำหรับใช้ในการบัญชีธุรกิจ. ในฤดูใบไม้ร่วงของปี 1978, นักเรียน โรงเรียนธุรกิจฮาร์วาร์ด Dan Bricklin, เกิดความคิดสำหรับเครื่องคิดเลขแบบโต้ตอบที่สามารถมองเห็นได้. Bricklin และ Bob Frankston จึงร่วมกันคิดค้นโปรแกรมซอฟต์แวร์ VisiCalc, \"โปรแกรมนักฆ่า\"และสเปรดชีตอิเล็กทรอนิกส์ตัวแรกของโลกสำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล.[134][135]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "183566#1", "text": "เดอะเฮาส์ออฟเดอะเดธ เป็นเกมแนวยิงปืนที่ผู้เล่น (มากสุด 2 คน)จะต้องใช้ปืน (หรือเม้าส์ ในเวอร์ชันเกมคอมพิวเตอร์)บังคับตัวละครในการเล็งและยิงศัตรูที่โผล่ออกมา ปืนสั้นที่ตัวละครถืออยู่จะบรรจุกระสุนปืนอยู่ข้างใน และจะต้องบรรจุใหม่ทุกครั้งที่กระสุนหมด โดยที่มุมข้างจอที่ผู้เล่นอยู่จะมีจำนวนกระสุนปืนที่เหลืออยู่ (สามารถบรรจุเพิ่มกี่ครั้งก็ได้) รวมถึงลูกไฟจำนวนหนึ่งที่อยู่ข้างๆจะบอกชีวิตที่ตัวละครเหลืออยู่ ถ้าผู้เล่นไม่สามารถฆ่าศัตรูให้ทันแล้วถูกโจมตี หรือยิงชาวเมืองที่ยังมีชีวิตอยู่ ลูกไฟดวงหนึ่งก็จะหายไป ถ้าลูกไฟหายไปหมด \nผู้เล่นก็จะตาย แต่ผู้เล่นยังสามารถเล่นต่อได้โดยการใส่เหรียญเพิ่มลงในตู้เกมแล้วกดปุ่ม \"continue\" หรือ \"start\"", "title": "เดอะเฮาส์ออฟเดอะเดด 2" }, { "docid": "618657#193", "text": "Hypertext ส่วนใหญ่มักจะหมายถึงข้อความ(English: text) บนคอมพิวเตอร์ที่จะนำผู้ใช้ ไปยังข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นตามความต้องการ. มันเป็นนวัตกรรมค่อนข้างล่าสุดสำหรับการติดต่อกับผู้ใช้ (English: user interface), ที่สามารถเอาชนะบางส่วนของข้อจำกัดของข้อความที่ถูกเขียนขึ้น. มากกว่าจะอยู่เฉยๆเหมือนข้อความทั่วไป, ไฮเปอร์เท็กซ์ทำให้เป็นไปได้ขององค์กรแบบไดนามิกของข้อมูลผ่านการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อที่เรียกว่าการเชื่อมโยงหลายมิติ (English: hyperlinks). เท็ด เนลสัน ประกาศใช้คำว่า \"ไฮเปอร์เทกซ์\" และ \"ไฮเปอร์มีเดีย\" ในปี 1965 และคิดค้น-ระบบการแก้ไข Hypertext-ในปี 1968 ที่มหาวิทยาลัยบราวน์.[169]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "618657#290", "text": "ปุ่มเลื่อนเมาส์ (English: pointing stick) เป็นจอยสติกแบบหนึ่ง ทำงานโดยใช้แรงบังคับ และใช้เป็นอุปกรณ์เลื่อนตำแหน่งบนเครื่องคอมพิวเตอร์แล็ปท็อป. มันใช้รูปแบบของหมวกยางตั้งอยู่บนแป้นพิมพ์ที่ฝังอยู่ระหว่างปุ่ม 'G', 'H' และ ' B'. ปุ่มเลื่อนเมาส์ถูกคิดค้นโดย นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน เท็ด Selker ในปี 1984.[259]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "400385#1", "text": "สาขาวิชานี้ ได้เกี่ยวข้องกับ ด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์พฤติกรรมผู้บริโภค การออกแบบ และ สาขาอื่นๆที่อาจเกี่ยวข้องในเนื้อหาของงานวิจัยนั้น ๆ\nวิธีการปฏิสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมของผู้ใช้ และ ฟังก์ชันการใช้งานของคอมพิวเตอร์นั้น ได้ถูกคิดค้นขึ้นอย่างง่าย ๆ ที่รู้จักกันในชื่อของ อินเตอร์เฟส\nอินเตอร์เฟสนี้ รวมถึงซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างเช่น ลักษณ หรือวัตถุประสงค์ของดิสเพลย์ต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ การรับผล ข้อมูลนำเข้าจากการปฏิบัติการของผู้ใช้ที่กระทำต่อ ฮาร์ดแวร์ เช่น การเคาะคีย์บอร์ด กดแป้นพิมพ์ และ การเคลื่อนย้ายเม้าส์ รวมทั้ง การศึกษาที่เกี่ยวกับ การปฏิบัติการที่ผู้ใช้มีปฏิสัมพันธ์กับระบบขนาดใหญ่ต่างๆ เช่นระบบ เครื่องบิน ระบบโรงงานผลิตไฟฟ้า เป็นต้น", "title": "ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์" }, { "docid": "5780#4", "text": "การเป็นนักเลงคอมพิวเตอร์ สามารถหมายถึงวิธีการศึกษาหาคำตอบให้กับปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่มีข้อจำกัดในเรื่องของข้อมูลหรือความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรือความเข้าใจต่อปัญหาเหล่านั้นได้มากขึ้น การได้ใช้คำว่านักเลงคอมพิวเตอร์จึงเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจ เพราะเปรียบได้กับเป็นผู้คิดค้นสิ่งใหม่ที่สามารถทำงานหรือแก้ปัญหาได้ดีขึ้นและง่ายขึ้น แต่ถ้าการเป็นนักเลงคอมพิวเตอร์ ที่อาศัยความรู้หรือความสามารถที่มีในทางที่ไม่ดี ก็จะเกิดความสับสนในการใช้คำว่า\"นักเลงคอมพิวเตอร์ \" ดังนั้นคำว่าแครกเกอร์จึงถูกนำมาใช้เรียกคนที่มีความรู้ความเข้าใจต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งแต่ใช้ความรู้นั้นในทางที่ไม่ดีและขัดกับจริยธรรมของนักเลงคอมพิวเตอร์Cracker (แครกเกอร์) มีความหมายอย่างเดียวกันกับ Hacker แต่ต่างกันตรงที่’’’วัตถุประสงค์ในการกระทำ’’’ จุดมุ่งหมายของ Cracker คือ บุกรุกระบบคอมพิวเตอร์คนอื่นโดยผิดกฎหมายเพื่อทำลายหรือเอาข้อมูลไปใช้ส่วนตัว แต่โดยทั่วไปแล้วมักเข้าใจกันว่าเป็นพวกเดียวกันนั่นเอง คือมองว่ามีเจตนาไม่ดีทั้งคู่ ทั้งที่จริงๆแล้วไม่ใช่", "title": "นักเลงคอมพิวเตอร์" }, { "docid": "618288#7", "text": "คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอ เป็นรูปแบบของการใช้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ดีเอ็นเอ, ชีวเคมี และชีวโมเลกุล, แทนที่จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซิลิกอนแบบดั้งเดิม. คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอ, หรือโดยทั่วไป, คอมพิวเตอร์โมเลกุล, เป็นสาขาสหวิทยาการที่กำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว. การวิจัยและพัฒนาในสาขานี้เกี่ยวข้องกับทฤษฎี, การทดลอง, และการนำคอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอไปประยุกต์ใช้งาน. คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอโดยพื้นฐานแล้วคล้ายกับการใช้คอมพิวเตอร์แบบขนาน (English: parallel computing) ในแง่ที่ว่าการใช้ข้อได้เปรียบจากโมเลกุลที่แตกต่างกันมากของ ดีเอ็นเอที่จะลองความเป็นไปได้หลายๆอย่างที่แตกต่างกันในครั้งเดียว. สาขานี้ถูกคิดค้นเป็นครั้งแรกโดย Leonard Adleman แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียภาคใต้ในปี 1994. Adleman ได้แสดงการพิสูจน์ในหลักการ(English: proof-of-concept)การใช้ดีเอ็นเอในรูปแบบของ การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งแก้ไขปัญหาเส้นทางของ Hamilton เจ็ดจุด(English: seven-point Hamiltonian path).[11]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (หลัง ค.ศ. 1991)" }, { "docid": "618657#196", "text": "มินิคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์หลายผู้ใช้ที่อยู่ในช่วงกลางของสเปกตรัมคอมพิวเตอร์ใน ระหว่างระบบหลายผู้ใช้ที่ใหญ่ที่สุดและระบบผู้ใช้คนเดียวที่เล็กที่สุด. เวสลีย์ เอ คลาร์ก และ ชาร์ลส์ Molnar ร่วมคิดค้น PDP-8 ในปี 1965 ซึ่งเป็นมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ใช้ เทคโนโลยีวงจรรวม. เนื่องจากขนาดที่ค่อนข้างเล็กและป้ายราคาที่ $ 18,000, Digital Equipment ขายได้ไม่กี่ร้อยหน่วย.[172]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "35644#0", "text": "ระบบฝังตัว หรือ สมองกลฝังตัว (embedded system) คือระบบประมวลผล ที่ใช้ชิปหรือไมโครโพรเซสเซอร์ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะโดย beenvai เป็นผู้คิดค้น เป็นระบบคอมพิวเตอร์ขนาดจิ๋วที่ฝังไว้ในอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องเล่นอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพื่อเพิ่มความฉลาด ความสามารถให้กับอุปกรณ์เหล่านั้นผ่านซอฟต์แวร์ซึ่งต่างจากระบบประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป ระบบฝังตัวถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและสำนักงาน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีเครือข่ายเน็ตเวิร์ก เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีเครื่องกลและของเล่นต่าง ๆ คำว่าระบบฝังตัวเกิดจาก การที่ระบบนี้เป็นระบบประมวลผลเช่นเดียวกับระบบคอมพิวเตอร์ แต่ว่าระบบนี้จะฝังตัวลงในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่เครื่องคอมพิวเตอร์\nในปัจจุบันระบบสมองกลฝังตัวได้มีการพัฒนามากขึ้น โดยในระบบสมองกลฝังตัวอาจจะประกอบไปด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ระบบสมองกลฝังตัวที่เห็นได้ชัดเช่นโทรศัพท์มือถือ และในระบบสมองกลฝังตัวยังมีการใส่ระบบปฏิบัติการต่างๆแตกต่างกันไปอีกด้วย ดังนั้น ระบบสมองกลฝังตัวอาจจะทำงานได้ตั้งแต่ควบคุมหลอดไฟจนไปถึงใช้ในยานอวกาศ", "title": "ระบบฝังตัว" }, { "docid": "283925#70", "text": "ในการคิดค้นศัพท์ใหม่ขึ้นใช้ มีข้อพิจารณาอยู่บางประการ กล่าวคือ...คำภาษาอังกฤษที่ว่า 'pattern of courtship' ท่านผู้รู้ท่านหนึ่งแปลว่า 'กระสวนแห่งการเว้าวอน' เราต้องยอมรับกันว่า คำไทยใหม่นี้ไพเราะมาก แต่มีใครบ้างที่จะทราบความหมายของคำนี้ทันทีที่ได้อ่านได้ฟัง...ถ้าใช้คำว่า 'วิธีการเกี้ยว' ทุกคนต้องเข้าใจทันที...", "title": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์" }, { "docid": "935902#0", "text": "โรเบิร์ต โทรุ คิโยซากิ เกิดเมื่อ 8 เมษายน 1947 เป็นนักธุรกิจและนักเขียนชาวอเมริกัน เขาเป็นผู้ก่อตั้งของบริษัทริชแด๊ดคัมพานี ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่ทำงานด้านการศึกษาด้านการเงิน ให้ความรู้ด้านการเงินส่วนบุคคลและความรู้ด้านธุรกิจผ่านหนังสือและวิดีโอ รายได้ส่วนใหญ่ของบริษัทมาจากแฟรนไชส์งานสัมมนาพ่อรวยสอนลูก ซึ่งจัดโดยกลุ่มเอกชนและใช้เครื่องหมายการค้าของคิโยซากิโดยมีค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยังเป็นผู้คิดค้นเกมกระดานและเกมคอมพิวเตอร์ชุดแคชโฟลว์ (\"กระแสเงินสด\") เพื่อให้ความรู้ด้านการเงินและธุรกิจกับทั้งเด็กและผู้ใหญ่", "title": "โรเบิร์ต คิโยซากิ" }, { "docid": "33431#1", "text": "คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมาก ตั้งแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา มนุษย์เรามีความพยายามที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคำนวณและการนับ ตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับ จนมาใช้ก้อนกรวด หิน มนุษย์จึงคิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้ จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคำนวณ จนวิวัฒนาการมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4 ยุค ดังนี้", "title": "ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์" }, { "docid": "618657#230", "text": "คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องใดๆที่มีราคาขายเดิม, ขนาดและความสามารถที่ทำให้มันมีประโยชน์สำหรับเฉพาะบุคคล, และมีวัตถุประสงค์ที่จะใชงานโดยตรงโดย ผู้ใช้, โดยไม่มีการแทรกแซงจากผู้ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์. Kenbak-1 ได้รับเครดิตอย่างเป็นทางการจาก-พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์-ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกของโลกที่ถูกคิดค้นในปี 1971 โดยจอห์น Blankenbaker.[203][204] ด้วยป้ายราคาที่ $750 และหลังการขายเพียง 40 เครื่อง, Kenbak คอร์ปอเรชั่นปิดประตูรันในปี 1973. [203]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "320748#3", "text": "ริตชีคิดค้นภาษาซีและมีบทบาทในการพัฒนายูนิกซ์ โดยทำงานร่วมกับเคน ทอมป์สัน ซึ่งเขายกย่องริตชีว่าเป็นผู้บุกเบิกคนสำคัญแห่งคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ภาษาซียังคงใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์และระบบปฏิบัติการอย่างแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้ และมีอิทธิพลต่อภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ด้วย ยูนิกซ์ก็ได้รับอิทธิพลในเรื่องแนวคิดและหลักการในการสร้าง ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างดีในวงการคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน", "title": "เดนนิส ริตชี" }, { "docid": "618657#277", "text": "Control-Alt-Delete , มักย่อว่า Ctrl-Alt-Del เป็นคำสั่งบนแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ในระบบที่รองรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ที่ใช้ในการรีบูตเครื่องคอมพิวเตอร์, และเรียกตัวจัดการงาน (English: task manager) หรือระบบปฏิบัติการ. มันถูกเรียกใช้โดยการกดปุ่ม Ctrl, lt และ Delete พร้อมกัน: Ctrl+Alt+Delete. การทำอย่างนั้น เป็นการบังคับให้ PC ทำการซอล์ฟรีบูต, เรียก task manager ขึ้นมา (บน Windows และ BeOS) หรือกระโดดไปที่ตัวตรวจสอบ ROM. Ctrl-Alt-Del ถูกคิดค้นในปี 1981 โดยเดวิด แบรดลีย์ ขณะที่ทำงานให้ IBM.[246]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "618657#273", "text": "ระบบกระดานข่าว (English: Bulletin Board System (BBS)) เป็น ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีรันซอฟแวร์ที่ยอมให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อและล็อกอินเข้าสู่ระบบโดยใช้โปรแกรมลูกข่าย. เมื่อล็อกอินเข้าสู่ระบบได้แล้ว, ผู้ใช้สามารถทำงานเช่น อัปโหลดและดาวน์โหลดซอฟแวร์และข้อมูล, อ่านข่าวและแถลงการณ์, และแลกเปลี่ยนข้อความกับผู้อื่น, ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือในกระดานข้อความสาธารณะ. BBS จำนวนมากยังมีเกมออนไลน์ที่ผู้ใช้สามารถแข่งขันกัน และ BBS ที่มีสายโทรศัพท์หลายๆสาย มักจะจัดให้มีห้องแชทที่ยอมให้ผู้ใช้ โต้ตอบกัน. CBBS เป็นระบบ Bulletin Board แรก, ถูกคิดค้นโดย Ward Christensen และแรนดี้ Suess ในชิคาโก, ดำเนินการอย่างเต็มที่ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 1978.[243]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "618657#208", "text": "ความเป็นจริงเสมือน (English: Virtual reality (VR)) เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับสภาพแวดล้อมที่จำลองด้วยคอมพิวเตอร์. สภาพแวดล้อมความเป็นจริงเสมือนในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็นประสบการณ์การมองเห็นเป็นหลัก, ที่แสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือผ่านทางการแสดงพิเศษหรือสามมิติ, แต่การจำลองบางครั้งรวมถึงข้อมูลทางประสาทสัมผัสเพิ่มเติมเช่น เสียงผ่านลำโพงหรือหูฟัง. ในปี 1968 อีวาน Sutherland, ด้วยความช่วยเหลือของนักเรียนของเขา บ๊อบ Sproull, ได้ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นครั้งแรกของความเป็นจริงเสมือนและความเป็นจริงเสริม (English: augmented reality (AR)) ระบบจอแสดงผลติดตั้งบนหัว (English: head mounted display (HMD)). [186] มันเป็นแบบดั้งเดิมทั้งในแง่ของส่วนติดต่อผู้ใช้และความสมจริง, และ HMD ที่จะสวมใส่โดยผู้ใช้ก็หนักมากซะจนมันจะต้องถูกห้อยลงมาจากเพดาน, และกราฟิกประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมเสมือนก็ เป็นห้องพักแบบโครงร่างง่ายๆ. ในปี 1989, Jaron ลานิเยร์ ผู้ก่อตั้ง VPL Research นิยม แนวคิดของความเป็นจริงเสมือนกับระบบ \"google n' gloves\"ของเขา.[187]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" } ]
1989
บริษัท อัลฟาโรเมโอ ก่อตั้งขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "51528#0", "text": "อัลฟาโรเมโอ (Alfa Romeo) ในนามบริษัท \"Alfa Romeo Automobiles S.p.A.\" บางครั้งก็นิยมเรียกชื่อสั้นๆเข้าใจง่ายว่า \"อัลฟา\" เป็นผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอิตาลี แห่งเมืองมิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 สร้างชื่อเสียงมาจากการผลิตรถสปอร์ตราคาแพง และการแข่งขันกีฬามอเตอร์สปอร์ต ปัจจุบันอยู่ภายใต้การครอบครองของ FCA Italy S.p.A. ในเครือบริษัท Fiat Chrysler Automobiles, NV", "title": "อัลฟาโรเมโอ" }, { "docid": "51528#15", "text": "Giulia ตัวแทนของ 159 เปิดตัวต่อสื่อมวลชน ในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 2015 วันครบรอบ 105 ปีของการก่อตั้งบริษัท ที่พิพิธภัณฑ์ของ อัลฟา โรมิโอ (Museo Storico Alfa Romeo) ในอเรเซ่ เมืองมิลาน\nโดยเปิดตัวด้วยรุ่น Quadrifoglio เครื่องยนต์ V6 ทำมุม 90 องศา ที่ใช้พื้นฐานของเครื่องยนต์ V8 F154 ของ Ferrari โดยมีขนาดความจุ 2.9 ลิตร ไบ-เทอร์โบ ให้กำลังสูงสุด 505 แรงม้า จากนั้นรุ่นปกติเปิดตัวตามออกมาภายหลัง", "title": "อัลฟาโรเมโอ" } ]
[ { "docid": "51528#1", "text": "แต่เดิมบริษัทเริ่มก่อตั้งในนามของ Società Anonima Italiana Darracq (SAID) เมื่อปี ค.ศ. 1906 โดยผู้ผลิตรถยนต์ชาวฝรั่งเศส Alexandre Darracq และผู้ลงทุนชาวอิตาลีส่วนนึง จากนั้นปลายปี ค.ศ. 1909 ยอดขายรถของบริษัทได้มีจำนวนลดลง จึงได้แยกตัวออกมาตั้งบริษัทขึ้นมาใหม่ที่มีชื่อว่า A.L.F.A หรือชื่อเต็มว่า Anonima Lombarda Fabbrica Automobili และยังคงเป็นหุ้นส่วนอยู่กับบริษัทเก่า Darracq จากนั้นได้ผลิตรถคันแรกออกมาคือรถ A.L.F.A 24 HP ในปี ค.ศ. 1910 ซึ่งออกแบบโดย Giuseppe Merosi หัวหน้าวิศวกรของบริษัท A.L.F.A มีจุดประสงค์เพื่อไว้ใช้ลงสนามแข่งในรายการ Targa Florio 1911", "title": "อัลฟาโรเมโอ" }, { "docid": "291227#0", "text": "เฟอร์รารี่ () เป็นบริษัทผลิตรถสปอร์ตจากเมืองมาราเนลโล ประเทศอิตาลี ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1929 มีเอ็นโซ เฟอร์รารี่เป็นผู้ก่อตั้ง โดยมีจุดเริ่มต้นจากการเป็นทีมแข่งรถของอัลฟาโรเมโอ โดยใช้ชื่อว่า \"สคูเดอเรีย เฟอร์รารี่\" (Scuderia Ferrari) ซึ่งในตอนที่ทำงานอยู่กับอัลฟาโรเมโอนั้น เอ็นโซเองก็เป็นทั้งวิศวกรและนักแข่งรถด้วย จนมาในปี ค.ศ. 1947 รถยนต์ในนามของเฟอร์รารี่รุ่นแรกจึงถือกำเนิดขึ้น คือรุ่น 125 เอส เฟอร์รารี่ได้เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตรถสปอร์ตชื่อดังที่ประสบความสำเร็จ และมีการจำหน่ายไปทั่วโลก มีสีที่เป็นเอกลักษณ์ คือสีแดง (Rosso Corsa) ซึ่งเป็นของรถแข่งอิตาลี เฟอร์รารี่ ถือเป็นค่ายรถที่ประสบความสำเร็จในกีฬาฟอร์มูล่าวันมากที่สุด", "title": "เฟอร์รารี่" }, { "docid": "51528#10", "text": "ทางด้านวงการรถแข่ง Alfa Romeo มีชื่อเสียงโดยประสบความสำเร็จในการแข่งขันในมากมายหลายๆด้านในวงการ รวมถึง Grand Prix motor racing, Formula One, Sports car racing และ Rally Racing โดยเริ่มต้นประเดิมสนามในปี ค.ศ. 1911 ในนาม A.L.F.A. หลังจากที่ก่อตั้งบริษัทได้เพียงแค่ปีเดียวเท่านั้น และเริ่มประสบความสำเร็จภายในสองปีต่อจากนั้น ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1929 ได้มีทีมแข่งเฉพาะกิจเป็นของตนเองชื่อว่า Alfa Corse และทีมที่ Enzo Ferrari หลังจากสมัยที่เขาทำงาน และเป็นนักแข่งรถให้กับ Alfa Romeo นั่นคือทีมที่มีชื่อว่า Scuderia Ferrari (ทีมแข่งของรถ Ferrari ในปัจจุบัน) ซึ่งก่อตั้งในปีเดียวกัน โดยในยุคแรกๆทีมของ Ferrari นั้นก่อตั้งเพื่อเป็นทีมแข่งโดยใช้รถ Alfa Romeo โดยเฉพาะ โดยในยุคต่อมาหลังจากที่ Ferrari ทำรถยนต์เป็นของตนเอง Alfa Romeo ก็มีทีมงานสำหรับการแข่งขันโดยเฉพาะอีกหนึ่งทีมโดยใช้ชื่อว่า Auto-Delta ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961 โดย Alfa Romeo นั้นสามารถคว้าชัย World championship for Grand Prix ในปี ค.ศ. 1925 แชมป์รายการ World Championships 5 สมัย แชมป์ 24 Hours Le Mans 4 สมัย และรายการอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่ง Alfa Romeo ได้สร้างชื่อเสียงที่ดีในวงการมอเตอร์สปอร์ตมาตลอด อาจกล่าวได้ว่าไม่มีการแข่งรถประเภทใดในทวีปยุโรปที่ Alfa Romeo ลงแข่งขันแล้วไม่เคยชนะ\nJeremy Clarkson อดีตพิธีกรชื่อดังจากรายการ Top Gear ทางช่อง BBC 2 ได้กล่าวกับรถ Alfa Romeo เอาไว้ว่า \"Nobody can call themselves a true petrolhead until they have owned one\" (ไม่มีใครสามารถเรียกตัวเองได้ว่าเป็นคนบ้ารถได้อย่างแท้จริง จนกว่าพวกเขาจะได้เป็นเจ้าของมัน) และในเทปที่ทำการทดสอบ Alfa Romeo 8C Competizione ยังกล่าวเอาไว้อีกว่า \"If I can liken the whole global car industry to the human body, Toyota is the brain, Aston Martin is the face, Cadillac is the stomach and Alfa Romeo... is the heart and soul\" (ถ้าผมสามารถเปรียบอุตสาหกรรมรถยนต์ทั่วโลกเสมือนกับร่างกายมนุษย์, โตโยต้าคือมันสมอง, แอสตัน มาร์ติน คือใบหน้า, คาดิลแลคคือกระเพาะอาหาร และอัลฟ่า โรมิโอ... คือหัวใจและจิตวิญญาณ) ซึ่งความหมายสอดคล้องกับสโลแกนในตอนนั้นของ อัลฟ่า โรมิโอ \"Without Heart We Would Be Mere Machines\" แปลความหมายซึ่งเป็นประโยคเปรียบเทียบกับรถยนต์อื่นๆได้ว่า \"ถ้าเราไม่มีหัวใจ ก็คงเป็นได้แค่เพียงเครื่องจักรเท่านั้น\"", "title": "อัลฟาโรเมโอ" }, { "docid": "51528#4", "text": "Henry Ford ผู้ก่อตั้ง Ford ได้เคยพูดคุยกับ Ugo Gobbato วิศวกรของ Alfa Romeo เมื่อปี ค.ศ. 1939 ไว้ว่า \"\"เมื่อผมเห็น Alfa Romeo ขับผ่านไป ผมจะเปิดหมวก\"\" ซึ่งหากสวมหมวกอยู่การเปิดหมวก หรือเอามือแตะหมวกเป็นธรรมเนียมของชาวตะวันตกเพื่อแสดงความเคารพและให้เกียรติ", "title": "อัลฟาโรเมโอ" }, { "docid": "533016#0", "text": "บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) ( ชื่อย่อ:AF) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2540 โดยใช้ชื่อว่า บริษัทธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด โดยการร่วมทุนระหว่าง บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 50 กลุ่มธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 38 และกลุ่มผู้ถือหุ้นอื่น ถือหุ้นร้อยละ 12 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง เพื่อดำเนินธุรกิจแฟคตอริ่งโดยเน้นกลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้จัดจำหน่ายสินค้าให้แก่ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) เนื่องจากบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด มีบทบาทสำคัญในธุรกิจค้าปลีกจึงมีฐาน Supplier เป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายสำคัญของธุรกิจแฟคตอริ่ง ในขณะที่กลุ่มธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ทำหน้าที่ให้การสนับสนุนด้านการเงินแก่บริษัท บริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2547", "title": "ไอร่า แฟคตอริ่ง" }, { "docid": "54149#0", "text": "อัลฟาโรเมโอ 164 (Alfa Romeo 164) ออกขายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1987 ออกแบบโดย พินินฟารีนา (Pininfarina) เป็นรถขนาดใหญ่รุ่นแรกของอัลฟา นอกจากนั้นยังเป็นรถอัลฟาโรเมโอ รุ่นสุดท้ายที่ออกแบบและผลิตก่อนที่อัลฟาจะถูกเฟียตซื้อกิจการไป", "title": "อัลฟาโรเมโอ 164" }, { "docid": "51528#2", "text": "จากนั้นในปี ค.ศ. 1915 บริษัทได้อยู่ภายใต้การปกครองของผู้บริหารและวิศวกรคนใหม่ Nicola Romeo ผู้ที่เปลี่ยนแปลงบริษัทให้หันมาผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ของทหารอิตาลีและพันธมิตรในช่วงสงครามโลก ต่อมาเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น Alfa Romeo และได้เปิดตัวรถรุ่น Torpedo 20-30 HP ซึ่งรถรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกที่ได้ใช้ชื่อของ Alfa Romeo อย่างเป็นทางการ โดยพัฒนามาจากรถรุ่นที่แรกที่ผลิตในปี 1910 ซึ่งในช่วงนี้บริษัทมีกระแสตอบรับที่ดีมาก", "title": "อัลฟาโรเมโอ" }, { "docid": "533039#0", "text": "บริษัท เอเชียน ไฟย์โตซูติคอลส์ จำกัด (มหาชน) ( ชื่อย่อ:APCO) บริษัทก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2531 เพื่อดำเนินธุรกิจการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเสริมความงามจากสมุนไพรธรรมชาติ ซึ่งต่อมาได้ขยายสู่การผลิตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและธุรกิจการจัดจำหน่าย โดยผลิตภัณฑ์ทั้งหมดผู้ก่อตั้งตลอดจนคณะทำงานวิจัยเป็นผู้ทำการวิจัยและพัฒนาขึ้นด้วยตนเองโดยมีหลักฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์รับรองประสิทธิภาพ ในปี 2554 บริษัทได้นำหุ้นสามัญของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ", "title": "เอเชียน ไฟย์โตซูติคอลส์" } ]
1645
ใครเป็นผู้ก่อตั้ง บริษัท สแควร์อีนิกซ์?
[ { "docid": "44524#1", "text": "สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยการควบรวมกันครั้งนี้ผู้ถือหุ้นในบริษัทสแควร์ได้รับส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นสัดส่วน 0.81 และเอนิกซ์ได้รับในอัตรา 1:1 แต่นอกเหนือจากเรื่องส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้น ในส่วนของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ระดับสูงหลายคนของบริษัทสแควร์ได้รับบทบาทในฐานะผู้นำในสแควร์เอนิกซ์ รวมทั้งประธานบริษัทสแควร์ซึ่งก็คือนายโยอิจิ วาดะ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานของสแควร์เอนิกซ์นั่นเอง", "title": "สแควร์เอนิกซ์" }, { "docid": "44824#6", "text": "ในปี ค.ศ. 2002 บริษัทสแควร์ ได้รวมกิจการกับ เอนิกซ์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตเกมดราก้อนเควสต์ เพื่อที่จะควบคุมการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันเนื่องมาจากความล้มเหลวจากการผลิตภาพยนตร์ และในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2003 การควบรวมบริษัทก็ประสบความสำเร็จและใช้ชื่อเป็นบริษัทสแควร์เอนิกซ์ (Square Enix) จนถึงปัจจุบัน", "title": "สแควร์" } ]
[ { "docid": "136097#0", "text": "สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ หรือ เสี่ยเจียง ผู้ก่อตั้งบริษัท สหมงคลฟิล์ม จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ในปี พ.ศ. 2545) ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ \"สุริโยไท\" และ \"องค์บาก\"", "title": "สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ" }, { "docid": "369661#1", "text": "ในปี 2002 เขาได้ลาออกจากบริษัทสแควร์อีนิกซ์ และก่อตั้งบริษัททำเสียงประกอบเกมเป็นของตัวเองคือ Basiscape และได้ทำการบริหารงานทางด้านธุรกิจทำเสียงอย่างเต็มรูปแบบทั้งเสียงเกม การ์ตูนอะนิเมะ เป็นต้น", "title": "ฮิโตชิ ซากิโมโตะ" }, { "docid": "14288#21", "text": "ในปีค.ศ. 1986 จอบส์ได้ร่วมกับเอ็ดวิน แคทมัลล์ก่อตั้งพิกซาร์ ซึ่งเป็นสตูดิโอสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันด้วยคอมพิวเตอร์ ตั้งอยู่ที่เมืองเอเมอรีวิลล์ รัฐแคลิฟอร์เนีย บริษัทนี้ก่อตั้งขึ้นจากแผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ของบริษัทลูคัสฟิล์มเดิม ซึ่งจอบส์ได้ซื้อกิจการต่อมาจากจอร์จ ลูคัส ผู้ก่อตั้ง ด้วยราคา 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหนึ่งในสามของราคาที่ตั้งไว้", "title": "สตีฟ จอบส์" }, { "docid": "142371#3", "text": "ขณะกำลังก่อสร้างศูนย์การค้าสยามสแควร์ นายกอบชัย ซอโสตถิกุล ผู้บริหารสูงสุดของบริษัท เซาท์อีสต์เอเชียก่อสร้าง จำกัด (ซีคอน) ที่รับเหมาออกแบบ และก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ภายในสยามสแควร์ ติดต่อมายังนายพิสิฐ เพื่อเสนอให้ลงทุน เปิดกิจการโรงภาพยนตร์ ภายในสยามสแควร์ บนพื้นที่ริมถนนพระรามที่ 1 ทั้งนี้ อาคารโรงภาพยนตร์ทั้งสามแห่ง มีนายพิสิฐ เป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ส่วนนายกอบชัย เป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง", "title": "โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์" }, { "docid": "230186#1", "text": "ในยุคเริ่มแรก ถกลเกียรติ วีรวรรณ หนึ่งในกรรมการบริษัทของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้ก่อตั้ง บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด และควบตำแหน่งทั้งเป็นผู้จัดละครโทรทัศน์ ผู้กำกับ และผู้จัดการทั่วไป โดยรับจ้างผลิตละคร เกมโชว์ ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ เพื่อป้อนลงสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆ ซึ่งเริ่มจัดตั้งบริษัทในวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 และเริ่มออกอากาศละครซิตคอม เรื่อง \"3 หนุ่ม 3 มุม\" เป็นรายการแรกของบริษัท ต่อมา ในปี พ.ศ. 2535 ได้สร้างละครดราม่าเรื่องแรกของบริษัทเรื่อง รักในรอยแค้น และในปี พ.ศ. 2546 ถกลเกียรติ ได้ก่อตั้ง บริษัท ซีเนริโอ จำกัด โดยถือหุ้นเอง 75% และให้จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ถือหุ้น 25% โดยมีจุดประสงค์เดียวกับเอ็กแซ็กท์ คือเป็นบริษัทที่ดำเนินการผลิต ละคร เกมโชว์ วาไรตี้ และละครเวที เพื่อป้อนลงช่องต่าง ๆ ตลอดมา", "title": "เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์" }, { "docid": "133183#1", "text": "นายอุเทน เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท สุรามหาคุณ ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่ายสุราของโรงงานสุราบางยี่ขัน ในชื่อ “แม่โขง” และ “กวางทอง” เมื่อ พ.ศ. 2502 ก่อนจะสูญเสียธุรกิจนี้ไปจากการพ่ายแพ้การประมูลให้แก่นายเจริญ สิริวัฒนภักดี นอกจากนี้นายอุเทนยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท วังเพชรบูรณ์ ผู้ก่อสร้างโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ปัจจุบัน คือ เซ็นทรัลเวิลด์)", "title": "อุเทน เตชะไพบูลย์" }, { "docid": "412052#0", "text": "โรเบิร์ต นอร์ตัน นอยซ์ (), 12 ธันวาคม ค.ศ. 1927 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1990) เจ้าของฉายา \"นายกเทศมนตรีแห่งซิลิกอนวัลเลย์\" เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทแฟร์ไชลด์เซมิคอนดักเตอร์ใน ค.ศ. 1957 และบริษัทอินเทลใน ค.ศ. 1968 เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์แผงวงจรรวมหรือไมโครชิปร่วมกับแจ็ก คิลบี ซึ่งนำไปสู่การปฏิวัติคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเป็นที่มาของชื่อซิลิกอนวัลเลย์ นอยซ์ยังเป็นที่ปรึกษาและเปรียบเสมือนบิดาของผู้ประกอบการทั้งรุ่น", "title": "โรเบิร์ต นอยซ์" }, { "docid": "18805#2", "text": "แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1969, โดยกลุ่มผู้บริหารเดิมจาก Fairchild Semiconductor, ประกอบด้วย เจอรี่ แซนเดอร์ เอ็ดวิน เทอร์นี่, จอห์น คาเรย, สเวน ซิมอนเซน, แจ๊ค กิฟฟอร์ด และ สมาชิก 3 คนในกลุ่มของแจ๊ค, แฟรงค์ บ๊อทเต้, จิม ไจลส์, และ แลรี่ สเตรนเจอร์.โดยที่บริษัทเริ่มผลิต ลอจิกชิป , ต่อมาจึงเข้าสู่ธุรกิจการผลิตแรมในปี 1975. และในปีเดียวกันนี้เอง พวกเขาก็เริ่มจำหน่ายสิ่งที่ได้จากการทำสถาปัตยกรรมย้อนกลับซึ่งเป็นสิ่งที่เลียนแบบมาจาก หน่วยประมวลผล Intel 8080. ในช่วงเวลานั้น,เอเอ็มดีก็ได้ออกแบบและสร้างหน่วยประมวลผลในซีรีส์ (Am2900, Am29116, Am293xx) ซึ่งถูกนำมาใช้แพร่หลายในการออกแบบวงจรของมินิคอมพิวเตอร์เวลาต่อมา, เอเอ็มดีก็พยายามที่จะทำให้โปรเซสเซอร์เล็กลง โดยการรวม AMD 29K processor, ให้เข้ากับ อุปกรณ์กราฟิกและเสียง เช่นเดียวกับหน่วยความจำแบบ EPROM. โดยมันเสร็จในช่วงกลางปี 1980 เรียกกันว่า AMD7910 and AMD7911 \"World Chip\" โดยเป็นอุปกรณ์แรกๆที่ ครอบคลุมทั้ง Bell และCCITT. โดย AMD 29K ยังเป็น embedded processor อีกด้วย และ เอเอ็มดี ยังแยกให้ Spansion ออกไปเพื่อสร้าง หน่วยความจำแฟลช. เอเอ็มดี ยังตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแนวทางสู้กับหน่วยประมวลผลจาก อินเทล โดยวางให้เป็นธุรกิจหลัก และให้ตลาดหน่วยความจำแฟลชเป็นตลาดรอง", "title": "เอเอ็มดี" } ]
2258
อสังหาริมทรัพย์คืออะไร?
[ { "docid": "11112#2", "text": "อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ที่ดิน ทรัพย์อันติดกับที่ดิน หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน รวมทั้งสิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินด้วย จากนิยามดังกล่าว อาจแบ่งอสังหาริมทรัพย์ออกได้ดังนี้", "title": "อสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "11112#0", "text": "อสังหาริมทรัพย์ () ในทางกฎหมาย ได้แก่ที่ดิน และทรัพย์สินอื่นที่ติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น เช่น อาคาร บ้านเรือน", "title": "อสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "268744#5", "text": "ขณะที่ตามกฎหมายไทยแล้ว ป.พ.พ. ม.138 ให้ ทรัพย์สิน () หมายความถึง ทรัพย์คือวัตถุมีรูปร่าง และหมายความรวมถึงวัตถุที่ไม่มีรูปร่างด้วย ซึ่งวัตถุทั้งสองประเภทนี้อาจมีราคาและอาจถือเอาได้อสังหาริมทรัพย์ () หมายความว่า ทรัพย์ที่นำไปไม่ได้ คือ ทรัพย์ที่ติดกับที่ ได้แก่ ที่ดิน และทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย", "title": "ทรัพย์สิน" } ]
[ { "docid": "296424#8", "text": "ในประเทศไทยมีนักกฎหมายบางกลุ่มเห็นว่า อสังหาริมทรัพย์เป็นทรัพย์สินอันเคลื่อนที่มิได้ และสังหาริมทรัพย์ประเภทไม่มีรูปร่างจับต้องไม่ได้ มีสภาพที่ส่งมอบให้แก่กันมิได้ จึงให้กันยืมมิได้ เช่น ขอยืมลิขสิทธิ์ในวรรณกรรมไปพิมพ์หนังสืองานศพแจก จะหยิบลิขสิทธิ์มาส่งมอบให้กันเช่นไร ความเห็นนี้ถูกต่อต้านจากอีกกลุ่ม เช่น ไผทชิต เอกจริยกร ศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่อธิบายว่า", "title": "ยืมใช้คงรูป" }, { "docid": "11112#1", "text": "ถ้าจะมีการกระทำการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นที่ดิน อาคาร บ้านเรือน ในทางกฎหมายกำหนดให้ต้องทำสัญญาหนังสือ ให้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่นโฉนด หรือทะเบียนที่ดินเป็นเอกสารที่แสดงความเป็นเจ้าของที่ดินแปลงนั้นๆ ทั้งนี้ก็เพราะว่าอสังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินทีมีมูลค่าสูงจึงต้องมีกฎหมายควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา", "title": "อสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "11112#7", "text": "คอนโดมีเนียม คือกลุ่มห้องอันเป็นส่วนหนึ่งของอาคาร ซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัยของครัวเรือน โดยกลุ่มห้องนี้จะต้องมีห้องครัว ห้องน้ำ ตลอดจนทางเข้าออกห้องชุดเป็นของตนเอง ซึ่งสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ออกเป็นส่วน ๆ โดยแต่ละส่วนประกอบด้วยกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง\nโรงงาน คือ โรงงานสำหรับประกอบกิจการอุตสาหกรรมโดยใช้ เครื่องจักร ซึ่งเทียบได้เกิน 5 แรงม้าเป็นปัจจัย \nโกดัง คือ สิ่งก่อสร้างที่ใช้เพื่อเก็บสินค้า", "title": "อสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "11112#5", "text": "บ้าน คือ สิ่งก่อสร้างที่ปลูกอยู่หลังเดียวโดด ๆ พร้อมทั้งเรือนครัว โรงรถ เรือนคนใช้ด้วยถ้ามี และเป็นที่อยู่อาศัยของบุคคลในครัวเรือนเดียวกัน หรือบ้านที่ปลูกอยู่หลายหลังภายในบริเวณรั้วเดียวกัน และเป็นที่อยู่อาศัยของบุคคลภายในครัวเรือนเดียวกัน", "title": "อสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "279667#0", "text": "ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ () เป็นทรัพยสิทธิประเภทหนึ่งที่ตัดทอนกรรมสิทธิ์ของเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ กล่าวคือ อสังหาริมทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในภาระติดพันอันเป็นเหตุให้ผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ จากอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือได้ใช้และถือประโยชน์แห่งอสังหาริมทรัพย์นั้นตามที่ระบุกันไว้ เช่น อนุญาตให้เพื่อนสามารถเข้าอาศัยในบ้านพักตากอากาศชายทะเลได้ในเดือนเมษายนของทุกปีเป็นเวลาสามสิบปี หรืออนุญาตให้เพื่อนได้รับเงินหนึ่งล้านบาทจากค่าเช่าที่ดินที่ตนเก็บมาทุกครั้งเป็นเวลาสามสิบปี เป็นต้น", "title": "ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์" }, { "docid": "483473#1", "text": "ฮับทาวน์ลิมิเต็ดเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดของมุมไบ โดยมีพื้นที่มากกว่า 43 ล้านตารางฟุตภายใต้การพัฒนา บริษัทนี้มีโครงการต่อเนื่องใน อันเธรี, เอ็มไอดีซีอันเธรี, ถนนมิรา, บันดรา, ไซออน, มุมไบใต้, ประภาเทวี, วรลี และเทน บริษัทได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์บอมเบย์ (บีเอสอี) และตลาดหลักทรัพย์แห่งชาติ (เอ็นเอสอี) ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007", "title": "ฮับทาวน์ลิมิเต็ด" }, { "docid": "532500#1", "text": "เป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2532 โดยในวันที่ 21 มิถุนายน 2537 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รับบริษัทเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า “LPN”\nบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วม ประกอบธุรกิจใน 2 ส่วน ทั้งการผลิตและการให้บริการที่ต่อเนื่องกันตลอดทั้งกระบวนการ ได้แก่ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจการให้บริการด้านการบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบครบวงจร", "title": "แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์" }, { "docid": "11112#8", "text": "อาคารพาณิชย์ คือ อาคารที่ใช้ เพื่อประโยชน์แห่งการค้า หรือ โรงงานที่ใช้ เครื่องจักรซึ่งเทียบได้ไม่เกิน 5 แรงม้า หรือ อาคาร ที่ก่อสร้าง ห่างแนวทางสาธารณะ หรือ ทางซึ่งมีสภาพ เป็นสาธารณะไม่เกิน 20 เมตร ซึ่งอาจใช้ เป็นอาคารเพื่อประโยชน์แห่งการค้าได้", "title": "อสังหาริมทรัพย์" } ]
987
สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ?
[ { "docid": "43460#1", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เกิดขึ้นจาก บริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด (English: Bangkok Entertainment Company Limited; ชื่อย่อ: บีอีซี.; BEC ปัจจุบันเข้าเป็นบริษัทในกลุ่มบีอีซีเวิลด์) ซึ่งวิชัย มาลีนนท์ ดำเนินการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัท เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 ลงนามในสัญญาดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์ ร่วมกับบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2511 โดยมีอายุสัญญา 10 ปี ระหว่างวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513-25 มีนาคม พ.ศ. 2523", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" } ]
[ { "docid": "274668#1", "text": "ทีวี ธันเดอร์ ถือกำเนิดขึ้นหลังจากที่สมพงษ์ วรรณภิญโญ อดีตเป็นหนึ่งในผู้บริหาร คีตา เรคคอร์ดส ได้ขายกิจการต่อให้คุณแสงชัย อภิชาติวรพงษ์ ไปทำต่อในชื่อ คีตา เอนเตอร์เทนเมนท์ เมื่อคุณสมพงษ์ได้เงินจากการขายคีตาก็นำเงินจำนวนนี้มาเปิดบริษัทใหม่ โดยมีความมุ่งหวังที่จะสร้างสรรค์ความสุขทุกรูปแบบให้กับคนไทยผ่านสื่อโทรทัศน์ นับจากจุดเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2536 เพียง 4 รายการ ปัจจุบันมีสตูดิโอเป็นของตนเอง และผลิตรายการหลากหลายรูปแบบมากกว่า 200 รายการ ทั้งละคร, ซิทคอม, เกมโชว์, ควิซโชว์, สารคดี, วาไรตี้โชว์, และทอล์คโชว์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยหลายแห่งคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี,สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี, สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เป็นต้น", "title": "ทีวี ธันเดอร์" }, { "docid": "529232#15", "text": "กล่าวโดยสรุปคือ ระหว่างปี พ.ศ. 2513-2517 ในระบบแพร่ภาพ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (เป็นภาพขาวดำทั้งหมด) ไทยทีวีสีช่อง 3 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 2, ไทยทีวีช่อง 4 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 4/11/12, ททบ.7 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 7, ช่อง 7 สี รับชมทางช่องสัญญาณที่ 9 ส่วนระบบแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที ไทยทีวีสีช่อง 3 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 3 เป็นภาพสี, ททบ.7 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 5 เป็นภาพขาวดำ, ช่อง 7 สี รับชมทางช่องสัญญาณที่ 7 เป็นภาพสี, ไทยทีวีช่อง 4 รับชมทางช่องสัญญาณที่ 9 เป็นภาพขาวดำ นอกจากนี้ ทั้งสี่ช่องยังมีคลื่นวิทยุซึ่งจัดสรรไว้ สำหรับกระจายเสียงภาษาต่างประเทศ ในภาพยนตร์หรือรายการจากต่างประเทศ โดยไทยทีวีช่อง 4 ใช้สถานีวิทยุ ท.ท.ท. ความถี่เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ และมีระบุในสัญญากับ บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ ยกคลื่นความถี่เอฟเอ็ม 105.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ของสถานีวิทยุ ท.ท.ท. ให้แก่ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อใช้ในการนี้ ส่วน ททบ.7 ใช้สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก (ว.ทบ.) ความถี่เอฟเอ็ม 94.0 เมกะเฮิร์ตซ์ และมีระบุในสัญญากับ บจก.กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ ยกคลื่นความถี่เอฟเอ็ม 103.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ของ ว.ทบ.ให้แก่ช่อง 7 สี เพื่อใช้ในการนี้", "title": "โทรทัศน์ในประเทศไทย" }, { "docid": "43460#9", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (ชื่อสากล: HS-TV 3[4]) เป็นสถานีโทรทัศน์เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย ที่ออกอากาศโดยใช้ช่องความถี่ต่ำ ในระบบวีเอชเอฟ คือช่อง 2 ถึงช่อง 4 โดยในระยะเริ่มแรก ใช้เครื่องส่งโทรทัศน์สีขนาด 25 กิโลวัตต์ จำนวนสองเครื่องขนานกัน รวมกำลังส่งเป็น 50 กิโลวัตต์ อัตราการขยายสายอากาศ 13 เท่า กำลังออกอากาศที่ปลายเสาอยู่ที่ 650 กิโลวัตต์ เสาอากาศเครื่องส่งมีความสูง 250 เมตร ความถี่คลื่นอยู่ระหว่าง 54-61 เมกะเฮิร์ตซ์ ใช้ระบบ ซีซีไออาร์ พาล (CCIR PAL) 625 เส้น เป็นแห่งแรกของไทย โดยส่งออกอากาศทางช่องสัญญาณที่ 3 ซึ่งสามารถให้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง รวมทั้งหมด 18 จังหวัดเท่านั้น คิดเป็นร้อยละ 20.64 ของพื้นที่ประเทศไทย[2][3] นับเป็นสถานีโทรทัศน์สีแห่งที่สองของไทย ต่อจากสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "342351#2", "text": "นวนิยายชุด บ้านไร่ปลายฝัน ได้ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2553 โดยตั้งชื่อว่า ละครชุด\"4 หัวใจแห่งขุนเขา\"เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 40 ปี สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ประกอบด้วย ธาราหิมาลัย ดวงใจอัคนี ปฐพีเล่ห์รัก และ วายุภัคมนตรา จะออกอากาศทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ เริ่ม 16 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3", "title": "บ้านไร่ปลายฝัน" }, { "docid": "43460#26", "text": "เมื่อปี พ.ศ. 2524 ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยอนุมัติของ นายวิชัย มาลีนนท์ และผู้บริหารสถานีฯ ได้จัดกิจกรรมให้ผู้ชมร่วมเสนอคำขวัญประจำสถานีฯ ทว่าไม่มีคำขวัญใดที่ได้รับการคัดเลือก ทั้งนี้ ในอีกสามปีต่อมา นายวิชัย พร้อมด้วยผู้บริหารไทยทีวีสีช่อง 3 นำคำขวัญ ซึ่งได้มาจากการเสนอของผู้ชมในครั้งแรก มารวมเข้ากับแนวคิดของพนักงานเจ้าหน้าที่ของสถานีฯ จนกระทั่งได้คำขวัญว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยนำมาเผยแพร่ออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2527 เนื่องในโอกาสที่สถานีฯ มีอายุครบ 15 ปี ในวันที่ 26 มีนาคม ปีเดียวกันนั้น", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "43460#11", "text": "ต่อมาในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 บริษัทฯ ลงนามในสัญญาขยายเครือข่ายโทรทัศน์ทั่วประเทศ ร่วมกับ อ.ส.ม.ท. เพื่อดำเนินการจัดตั้งสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ พร้อมทั้งอุปกรณ์ออกอากาศร่วมกัน ระหว่างไทยทีวีสีช่อง 3 และไทยทีวีสีช่อง 9 จำนวนทั้งหมด 31 แห่ง ในระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ต้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2531-กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เป็นผลให้ทั้งสองช่อง สามารถออกอากาศครอบคลุมถึงร้อยละ 89.7 ของพื้นที่ประเทศไทย คิดเป็นศักยภาพของการให้บริการถึงร้อยละ 96.3 ของจำนวนประชากร[2][3] โดยรับสัญญาณจากสถานีส่งหลักในกรุงเทพมหานคร ผ่านช่องสัญญาณของดาวเทียมอินเทลแซต และเครื่องรับสัญญาณไมโครเวฟ จากดาวเทียมสื่อสารของประเทศไทย", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "242922#0", "text": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นหน่วยงานย่อยของบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินงาน สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท ซึ่งทำหน้าที่ผลิตข้อมูลข่าวสารทุกประเภท ในรูปของเนื้อหาข่าว และภาพเคลื่อนไหวแบบวิดีโอ หรือภาพนิ่งในบางกรณี เพื่อสนับสนุนกับรายการโทรทัศน์ ประเภทข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ทั้งส่วนที่ผลิตเอง และส่วนที่ให้บริษัทเอกชนเช่าเวลาผลิต ภายใต้ตราสินค้า \"ครอบครัวข่าว 3\" ในช่วงเวลาต่างๆ ที่กำหนดไว้ในผังรายการ ทางไทยทีวีสีช่อง 3", "title": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "43460#47", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 บีอีซี เวิลด์ มิสไทยแลนด์เวิลด์ บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ครอบครัวข่าว 3 เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ ครอบครัวข่าวเช้า เรื่องเด่นเย็นนี้ ข่าววันใหม่ ช่อง 3 แฟมิลี ช่อง 3 เอสดี วิทยุครอบครัวข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "67880#0", "text": "การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย เป็นความร่วมมือกันระหว่างสถานีโทรทัศน์ต่างๆ ได้แก่ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี, สถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (ชื่อเดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวีและสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี) เพื่อจัดระดับความเหมาะสมของรายการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ชมสามารถเลือกดูได้ว่ารายการใดที่มีความเหมาะสมต่อตัวเองและคนรอบข้าง อาทิเช่น รายการใดที่เด็กควรดู รายการที่ผู้ใหญ่ควรให้ความแนะนำ หรือรายการที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กและเยาวชน", "title": "การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย" }, { "docid": "220594#6", "text": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย ผลิตรายการต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็ก ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้คอเมดี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด ละครเวที สารคดี และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส, สถานีโทรทัศน์ช่องวัน, สถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์, สถานีโทรทัศน์นาว 26, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ,สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี และ สถานีโทรทัศน์อมรินทร์ทีวี ปัจจุบัน เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 10 รายการ เป็นรายการประเภททอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้เกมโชว์ สารคดี เรียลลิตี้โชว์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 9 MCOT HD และช่องไทยพีบีเอส HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์และออกอากาศในแอปพลิเคชัน LINE TV และ AIS PLAY เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "213584#6", "text": "สาระแน แปซิฟิค ได้ผลิตรายการต่างๆ เป็นจำนวนกว่า 20 รายการ ทั้งเกมโชว์ วาไรตี้โชว์ รายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี, สถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ ทีวี, สถานีโทรทัศน์จีเอ็มเอ็มแชนเนล, สถานีโทรทัศน์ช่องวัน และสถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, ไลน์ทีวี ปัจจุบันสาระแน แปซิฟิคมีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 4 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ วาไรตี้โชว์ และวาไรตี้คอเมดี้โชว์ ออกอากาศทางช่อง 9MCOT HD ช่องไทยรัฐทีวี HD ช่อง 8 และช่อง7 HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา)", "title": "ลักษ์ 666" }, { "docid": "170942#2", "text": "ในสมัยนั้นในช่วงที่มีการแข่งขันในด้านละครจักรๆ วงศ์ๆ มีคู่แข่งทั้ง 7 ช่องรายการ เช่น สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี, และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส มักจะแข่งขันกันที่เวลา ฐานการรับชม และการออกอากาศเป็นส่วนใหญ่ ในปัจจุบันนี้ ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 9 ช่อง 11 ช่อง NBT ไอทีวี ทีไอทีวี และ ไทยพีบีเอส ยุติการออกอากาศละคร จักร์ๆ วงศ์ๆ แล้วสาเหตุมาจากฐานการรับชมมีน้อย", "title": "ละครจักร ๆ วงศ์ ๆ" }, { "docid": "34424#27", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก กองทัพบกไทย ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก" }, { "docid": "242922#1", "text": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มดำเนินงานเป็นครั้งแรก เมื่อวันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2529 หลังจากที่ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) อนุมัติให้ไทยทีวีสีช่อง 3 ดำเนินการผลิตรายการข่าวได้ด้วยตนเอง โดยก่อนหน้านั้น อ.ส.ม.ท.ผลิตรายการข่าวประจำวัน เพื่อออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 และไทยทีวีสีช่อง 3 ไปพร้อมกัน ในเวลา 20:00-20:45 น. ภายใต้ชื่อ \"ข่าวร่วม 3-9 อ.ส.ม.ท.\" ที่ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524", "title": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "941208#1", "text": "จีเอ็มเอ็มทีวี (เดิมชื่อ แกรมมี่ เทเลวิชั่น) จดทะเบียนบริษัทเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ด้วยทุนจดทะเบียน 20,000,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์การก่อตั้งบริษัทจากการที่ผู้บริหารของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เล็งเห็นศักยภาพที่จะพัฒนาให้ธุรกิจโทรทัศน์เติบโต แข็งแรง มั่นคง จึงได้แยกฝ่ายการตลาดของบริษัทออกมาเป็นบริษัทเพื่อบริหารงานทางด้านธุรกิจโทรทัศน์โดยเฉพาะ และเริ่มผลิตรายการเกมโชว์และรายการเพลงต่าง ๆ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, โมเดิร์นไนน์ทีวี และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ปัจจุบันเป็นสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส) โดยมี ดวงใจ หล่อเลิศวิทย์ และ สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัทในช่วงเวลานั้นตามลำดับ", "title": "จีเอ็มเอ็มทีวี" }, { "docid": "84275#0", "text": "สายสวรรค์ ขยันยิ่ง ชื่อเล่น : (หนิง) เป็นผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ของสถานีโทรทัศน์ไอทีวีมานานกว่า 10 ปี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และหลังจากสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีปิดลงได้ไม่นาน เธอก็ได้มาเป็นผู้ประกาศข่าวเช้าในรายการจมูกมดของทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในระยะหนึ่ง ปัจจุบัน เธอได้เซ็นสัญญาเป็นผู้ประกาศข่าว ของทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ", "title": "สายสวรรค์ ขยันยิ่ง" }, { "docid": "213584#2", "text": "บริษัทฯ เริ่มผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทวาไรตี้โชว์ คือรายการสาระแนโชว์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นรายการแรกเมื่อปี พ.ศ. 2541 ต่อมาได้ขยายการผลิตรายการในหลากหลายรูปแบบ และหลายสถานี เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ ทีวี, สถานีโทรทัศน์จีเอ็มเอ็มแชนเนล, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี , สถานีโทรทัศน์ช่องวันและ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มาโดยตลอดเป็นระยะเวลา 17 ปี เช่นเกมโชว์, ทอล์คโชว์, วาไรตี้โชว์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยบางรายการจะมีผู้ผลิตรายการรายอื่น เช่น กันตนา กรุ๊ป จันทร์ 25 ,ดี.ด็อกคิวเมนทารี่ และมีเดีย สตูดิโอ และมีบริษัทด้านสื่อต่างๆ ทั้ง สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ ค่ายเพลง ภาพยนตร์ เป็นต้น", "title": "ลักษ์ 666" }, { "docid": "775943#0", "text": "ปะการังสีดำ เป็นละครโทรทัศน์ สร้างจากบทประพันธ์ของ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก เป็นเรื่องราวของหญิงสาวซึ่งถูกฆ่าตายและดวงวิญญาณถูกสะกดไว้กับปะการัง ถูกสร้างเป็นละครแล้วถึง 3 ครั้ง โดยในครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 โดย ภัทราวดี มีชูธน ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2539 โดยกันตนา ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2562 โดยกันตนา เอฟโวลูชั่น ออกอากศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3", "title": "ปะการังสีดำ" }, { "docid": "43460#28", "text": "ในยุคแรกของการออกอากาศ สถานีโทรทัศน์ทั่วโลก มักเกิดปัญหาความไม่เสถียร ของสัญญาณการออกอากาศ หรือปัญหากระแสไฟฟ้าขัดข้อง สำหรับในประเทศไทย เจ้าหน้าที่เทคนิคจะเตรียมสไลด์ภาพดอกไม้ชนิดต่าง ๆ ที่ประกอบด้วยตราสัญลักษณ์ของสถานีฯ รวมถึงอาจมีชื่อย่อหน่วยงานภาครัฐ ที่ให้เช่าสัมปทานและคลื่นความถี่ พร้อมทั้งแถบบันทึกเสียง ประกาศขออภัยผู้ชมไว้อยู่เสมอ ทั้งนี้ สำหรับไทยทีวีสีช่อง 3 ญาดา ยมกานนท์ เป็นผู้ประกาศตามแถบบันทึกเสียงดังกล่าว โดยมีใจความว่า \"สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ต้องขออภัยท่านผู้ชมเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากกระแสไฟฟ้าขัดข้อง จึงทำให้การออกอากาศต้องหยุดชะงักไปชั่วขณะ ... และต่อจากนี้ไป ขอเชิญท่านผู้ชม ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของทางสถานีฯ ได้ตามปกติค่ะ\"", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "242922#10", "text": "ในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีการออกภาพยนตร์โฆษณา Image Campaign ชุด \"ข่าว 3 ไม่ต้องรอ\" เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์และเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มต้นการแพร่ภาพรายการจากไทยทีวีสีช่อง 3 ในระบบแอนะล็อก คู่ขนานกับโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาพคมชัดสูงช่อง 33 โดยภาพยนตร์โฆษณาชุดนี้มีการนำเพลง \"ยามรัก\" ของหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ มาประกอบโดยมีคณะผู้ประกาศข่าวของสถานีร่วมแสดงด้วย ", "title": "ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "398302#0", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นช่องโทรทัศน์ที่มีรายการต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงละครที่มีมากมายหลายเรื่องและหลายช่วงเวลา เมื่อมีละครเรื่องหนึ่งจบหรืออวสานไปก็จะมีละครเรื่องใหม่มาออกอากาศแทน โดยละครแต่ละเรื่องจะมีนักแสดงนำและบทละครที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ ละครทางช่อง 3 ที่อวสานไปเมื่อประมาณ 1 ปี ถึง 3 ปีที่แล้ว จะถูกนำมาออกอากาศอีกครั้งในช่วงเวลาตอนบ่ายในวันจันทร์ถึงศุกร์ด้วย\nต่อไปนี้เป็นรายชื่อละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบัน ส่วนละครตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2539 จะถูกซ่อนทั้งหมดในบทความเนื่องจากบทความนี้ยาวมากๆ อาจทำให้ไม่สะดวกต่อการอ่านบทความ", "title": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "141190#95", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส รายนามผู้ประกาศข่าวและผู้รายงานข่าว สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุไทยพีบีเอสออนไลน์ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย", "title": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส" }, { "docid": "56785#10", "text": "ภาพยนตร์สั้นเรื่อง \" ไร้สิ้นสุด \" ละครเวที \" ธนูทอง \" ละครเวที \" วิวาห์พระสมุทร \" พิธีกรโทรทัศน์รายการ \" โลกใบเล็ก \" คู่กับ สินจัย หงส์ไทย ช่อง 3 ผลิตรายการโทรทัศน์ \" สถานีครอบครัว \" ช่อง 7 ผลิตรายการโทรทัศน์ \" @ Woman \" ช่อง ไอทีวี มิวสิกวิดีโอ \" น้ำในตา \" ของ อิทธิ พลางกูร พ.ศ. 2539 การแสดงสื่อผสม แสง สี เสียง เนื่องใน \" งานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ำแคว \" พ.ศ. 2545 การแสดงสื่อผสม แสง สี เสียง \" แผ่นดินผืนนี้มีความหลัง \" รับบทเป็น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2549: เดือน สิงหาคม ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2550: เดือน พฤศจิกายน ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2551: เดือน ธันวาคม ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2552: เดือน ธันวาคม ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2553: เดือน ธันวาคม ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ แอน ทองประสม ลลิตา ศศิประภา ปฏิทินจากไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2554: เดือน กุมภาพันธ์ ร่วมกับ ลลิตา ศศิประภา ณัฐวุฒิ สกิดใจ", "title": "ฉัตรชัย เปล่งพานิช" }, { "docid": "37714#2", "text": "เกมวัดดวง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2545 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อี-เม้าท์ ทางช่อง 7 สี (พ.ศ. 2546 - 2553) ไฟว์ ไลฟ์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2546 - 2549) เปรี้ยวปาก ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (พ.ศ. 2547 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2555) กิ๊กกะไบท์ ทางไอทีวี (พ.ศ. 2547 - 2549) เดอะ โหวต ทางไอทีวี (พ.ศ. 2547 - 2549) คิทเช่น สเน็ค ทางไอทีวี (พ.ศ. 2548 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2549) ทีเด็ดจัง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2549) รู้จริงปะ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (พ.ศ. 2549 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2555) ฆ่าโง่ ทางไอทีวี (พ.ศ. 2549 - 2550) ตาสว่าง ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี (31 มกราคม พ.ศ. 2551 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552) โคลนนิ่งซิงกิ้งคอนเทสต์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 The Hunt (พ.ศ. 2553) สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ สะบัดช่อ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (พ.ศ. 2553 - 2555) เกมเผาขน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (2 มกราคม พ.ศ. 2554 - 29 มกราคม พ.ศ. 2555) เดอะ จ๊อบ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (3 มกราคม - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เฮ สเตชัน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (4 มกราคม - กันยายน พ.ศ. 2554) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 1 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (6 มีนาคม พ.ศ. 2554 - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เทค มี เอาท์ไทยแลนด์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 2 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (3 มิถุนายน พ.ศ. 2555 - 2 กันยายน พ.ศ. 2555) The Naked Show โทรทัศน์ ทางจีเอ็มเอ็มวัน ก๊วนคึกระทึกล้าน ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (5 มกราคม พ.ศ. 2556 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) The Snake เกมงูซ่า ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - 27 มีนาคม 2557) ใครคือใคร Identity Thailand ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี และ เวิร์คพอยท์ทีวี (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 3 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 25 สิงหาคม 2556) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 4 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (15 มิถุนายน พ.ศ. 2557 - 31 สิงหาคม 2557) Social Nake's World ยอดมนุษย์ออนไลน์ ทางเวิร์คพอยท์ทีวี แบไต๋ไฮเทค Daily 5 Live ทางคมชัดลึก ทีวี, Dude TV, ทรูวิชันส์ 72 ซูเปอร์บันเทิง, เนชั่น แชนแนล (27 มิถุนายน พ.ศ. 2556) 3 แยก TV ทาง GMM ONE (7 กันยายน พ.ศ. 2556 - 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557) SME ตีแตก ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 - 26 กันยายน พ.ศ. 2558) เกมวัดดวง2015 ทาง จีเอ็มเอ็มแชนเนล (2558) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 5 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (7 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558) The Price is Right Thailand ราคาพารวย ทางช่อง ทรูโฟร์ยู (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน) Tonight's The Night คืนสำคัญ ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (5 มีนาคม พ.ศ. 2559 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2560) รายการโจ๊ะ ทางช่องวัน ทุกวันอาทิตย์ เวลา 14.00-15.00น. (3 เมษายน พ.ศ. 2559 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2559) เรื่องเล่าเช้านี้ ช่วง ครอบครัวบันเทิง วันจันทร์ - วันอังคาร ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (25 เมษายน พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 6 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (12 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - 4 กันยายน พ.ศ. 2559) Singer Auction เสียงนี้มีราคา ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2 เมษายน พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน) บัลลังก์เสียงทอง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) The Unicorn สตาร์ทอัพ พันล้าน ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (2 มิถุนายน - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560) พิธีกรบนเวทีการประกวดนางสาวถิ่นไทยงาม ประจำปี 2561 (รอบตัดสิน) จากห้องอัลทรา ARENA ศูนย์การค้า SHOW DC เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 ถ่ายทอดสดทางช่อง 9 เวลา 22.07-00.00 น. คู่กับ สาวิตรี โรจนพฤกษ์ (จูน) Bao Young Blood ดนตรีสร้างคุณค่าชีวิต ซีซั่นที่ 4 ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน) Show me the money Thailand ทาง True4u (24 เมษายน พ.ศ. 2561) ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่นที่ 7 ทางเวิร์คพอยท์ทีวี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน) THE ROOM ห้องวัดใจ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (เร็วๆ นี้)", "title": "เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา" }, { "docid": "43460#22", "text": "ต่อมาในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กสทช.ลงมติเพิกถอนโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก จากส่วนที่ให้บริการเป็นการทั่วไป จึงต้องยุติการออกอากาศ ผ่านระบบโทรทัศน์ดาวเทียม และเครือข่ายโทรทัศน์ทางสายเคเบิล ตามที่กฎหมายกำหนด ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน เป็นต้นไป[6] โดยทางไทยทีวีสีช่อง 3 อาศัยความในประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 27 ประกอบกับ ความในสัญญาสัมปทาน โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก ซึ่งทำไว้กับ อสมท จนถึงปี พ.ศ. 2563 เพื่อรักษาสิทธิในการ ออกอากาศต่อไปตามเดิม[7] วันต่อมา (3 กันยายน) กสทช.ทำหนังสือถึง ผู้ให้บริการโครงข่ายโทรทัศน์ ผ่านระบบดาวเทียมและสายเคเบิล ให้งดการแพร่ภาพ ไทยทีวีสีช่อง 3 ในระบบแอนาล็อก โดยกำหนดเวลาภายใน 15 วัน พร้อมทั้งเสนอ ความช่วยเหลือทางกฎหมาย เพื่อทำให้ไทยทีวีสีช่อง 3 นำสัญญาณจากช่องในระบบแอนะล็อก มาออกอากาศคู่ขนาน ทางช่องในระบบดิจิทัลได้[8] ไทยทีวีสีช่อง 3 นำความขึ้นร้องต่อศาลปกครอง ชั้นต้นวินิจฉัยให้ กสทช.กับผู้บริหารไทยทีวีสีช่อง 3 เปิดการเจรจากัน แต่ไม่ได้ข้อยุติ ศาลปกครองสูงสุดจึงเข้าไกล่เกลี่ย โดยทำข้อตกลงให้บีอีซี-มัลติมีเดีย นำสัญญาณภาพและเสียงทั้งหมด ของไทยทีวีสีช่อง 3 ในระบบแอนะล็อก ไปออกอากาศด้วยภาพคมชัดสูง ทางช่องหมายเลข 33 ของตนในระบบดิจิทัล ภายในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557[9]", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "274668#5", "text": "ทีวี ธันเดอร์ ได้ผลิตรายการต่างๆ เป็นจำนวนกว่า 200 รายการ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ ละครซิทคอม ละครยาว และเรียลลิตี้โชว์ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ทรูโฟร์ยู, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี และสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี โดยปัจจุบันมีรายการโทรทัศน์ และละครโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวนทั้งหมด 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ ควิซโชว์ วาไรตี้โชว์ และเรียลลิตี้โชว์ ทางช่อง 3 HD ช่อง 5 ช่องทรูโฟร์ยู ช่องไทยรัฐทีวี HD และช่อง PPTV HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์ลงแอปพลิเคชัน LINE TV เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "ทีวี ธันเดอร์" }, { "docid": "43460#33", "text": "หลังจากนั้นไม่นาน ภาพสัญญาณก็ดับไปอีก แต่หากรับชมผ่านระบบยูเอชเอฟ ช่อง 32 ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียง จะมีภาพตราสัญลักษณ์ของสถานีฯ ส่วนล่างของจอ ระบุข้อความ \"สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3\" และมีเสียงดังปี๊บอยู่ตลอดเวลา [14] แต่หากชมผ่านดาวเทียมไทยคม ระบบซี-แบนด์ ซึ่งไทยทีวีสีช่อง 3 ออกอากาศอยู่ในสองความถี่คือ ดาวเทียมไทยคม 2 ที่ความถี่ 3967/H/4550 ซึ่งปรากฏภาพเช่นเดียวกับการรับชมผ่านระบบยูเอชเอฟ และดาวเทียมไทยคม 5 ที่ความถี่ 3803/V/4551 ซึ่งไม่มีสัญญาณ ปรากฏเป็นสีดำ จากนั้นในเวลา 21.15 น. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย ในขณะนั้น) รายงานข่าวว่า ในวันที่ 20 พฤษภาคม ไทยทีวีสีช่อง 3 จะงดการออกอากาศชั่วคราว เป็นเวลา 1 วัน", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "218073#15", "text": "กันตนา ได้ผลิตรายการโทรทัศน์หลายประเภทเช่น เกมโชว์ ควิซโชว์ ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ สารคดี วาไรตี้คอเมดี้โชว์ รายการเพลง รายการเด็ก และละคร เป็นจำนวนกว่า 200 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี(ภายหลังใช้ชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และปัจจุบันคือสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส) และสถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ปัจจุบันกันตนา กรุ๊ปมีรายการโทรทัศน์และละครที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 14 รายการ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 3 HD ช่อง 9 MCOT HD ช่อง 3 SD และช่องไทยรัฐทีวี HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ออกอากาศหรือขายลิขสิทธิ์ในแอปพลิเคชัน LINE TV หรือ iflix เน้น \"ตัวเอียง\")", "title": "กันตนา" }, { "docid": "63610#1", "text": "เมื่อปี พ.ศ. 2511 ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ในขณะนั้น ได้แก่ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) และ ททบ.7 (ปัจจุบันคือ ททบ.5) กับช่อง 7 สี ของกองทัพบก ได้ประชุมร่วมกันและมีมติว่า แต่ละสถานีฯ ควรจะได้รวมตัวกันขึ้น เพื่อปรึกษาหารือ และดำเนินการจัดการในเรื่องต่าง ๆ อันจะเกิดประโยชน์ร่วมกันกับทุกสถานีฯ จึงก่อตั้งองค์กรชื่อว่า \"โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย\" เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีดังกล่าว โดยกำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง ประกอบด้วยผู้อำนวยการของช่องโทรทัศน์ทั้ง 4 เป็นกรรมการ และมอบให้ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่ก่อตั้ง ซึ่งต่อมาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เข้าร่วมเป็นสมาชิกถาวร นับแต่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ต่อมามีช่องโทรทัศน์ เข้าเป็นสมาชิกสมทบคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และไทยพีบีเอส (เดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี)", "title": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย" }, { "docid": "63610#0", "text": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 4 ช่องคือ ททบ.5 ช่อง 7 เอชดี ไทยทีวีสีช่อง 3 และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี", "title": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย" } ]
2389
คู่สมรสของเจ้าชายสิทธัตถะคือใคร?
[ { "docid": "80018#8", "text": "อย่างไรก็ตาม พระเจ้าสุทโธทนะ ทรงปริวิตกต่อคำทำนายของพราหมณ์หนุ่มที่ว่าเจ้าชายจะทรงออกผนวชแน่นอน จึงทรงจัดการเตรียมความพร้อมสำหรับการราชาภิเษกให้เจ้าชายขึ้นครองราชย์ พร้อมสร้างปราสาท 3 ฤดูให้ประทับ เมื่อพระชมน์ได้ 16 พรรษา ได้เข้าสู่พิธีอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธราพิมพา ผู้เป็นธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะ กษัตริย์ผู้ครองราชสมบัติกรุงเทวทหะ จนพระชนมายุได้ 29 พรรษา จึงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่าพระราหุล ซึ่งแปลว่า บ่วง", "title": "พระโคตมพุทธเจ้า" } ]
[ { "docid": "180262#1", "text": "หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ", "title": "หญ้ากุศะ" }, { "docid": "847465#2", "text": "สำหรับพิธีกรรมชีนบยู ในประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเกิดในสมัยพุทธกาล โดยราหุลพระโอรสในเจ้าชายสิทธัตถะ วันหนึ่งพระนางยโสธรา มารดาของพระองค์มีรับสั่งให้พระองค์ไปทูลขอพระราชสมบัติจากเจ้าชายสิทธัตถะ บิดาของพระองค์ (ซึ่งขณะนั่นได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว) เพื่อที่จะได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อ เมื่อราหุลพบพระพุทธองค์ ราหุลกลับเลื่อมใสพระพุทธศาสนาและทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธองค์จึงทรงบรรพชาพระราหุลเป็นสามเณรและให้เสด็จติดตามพระองค์ไปด้วย พระกุมารราหุลจึงเป็นสามเณรรูปแรกในพุทธศาสนา ", "title": "ชีนบยู" }, { "docid": "59540#9", "text": "ครั้นกาลเวลาล่วงเลยมาถึง 29 ปี เจ้าชายสิทธัตถะ เสด็จออกบรรพชาโกณฑัญญะพราหมณ์ทราบข่าวก็ดีใจ เพราะตรงกับคำทำนายของตน จึงรีบไปชวนบุตรของพราหมณ์ทั้ง 7 คนที่ร่วมทำนายด้วยกันนั้น โดยกล่าวว่า “บัดนี้ เจ้าชายสิทธัตถะราชกุมาร โอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ เสด็จออกบรรพชาแล้ว พระองค์จักได้ตรัสรู้เป็นพระสัพพัญญเจ้าแน่นอน ถ้าบิดาของพวกท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็คงจะออกบวชด้วยกันกับเรา ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะบวชก็จงบวชตามเสด็จพระมหาบุรุษพร้อมกันเถิด”", "title": "พระอัญญาโกณฑัญญเถระ" }, { "docid": "266473#1", "text": "พระนาลกะ เกิดในวรรณะพราหมณ์ เมืองกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ มารดาของท่านเป็นน้องสาวของอสิตดาบส (กาฬเทวิลดาบส) อาจารย์ของพระเจ้าสุทโธทนะพระชนกของพระพุทธเจ้า ท่านจึงเป็นหลานของอสิตดาบส เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ 3 วัน ท่านอสิตดาบสได้ไปเยี่ยมพระเจ้าสุทโธทนะเพื่อดูพระโอรส จึงทราบว่าอีกไม่นานพระโอรสเจ้าตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแน่นอน ท่านได้กลับมาบอกนาลกะหลานชายว่า เจ้าชายสิทธัตถะจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ให้นาลกะออกบวชเป็นฤๅษีบำเพ็ญฌานรอจนกว่าเจ้าชายสิทธัตถะบรรลุธรรม และให้กลับมาขอให้ทรงประทานโมเนยยปฏิบัติ (การปฏิบัติของมุนี) ซึ่งป็นชื่อเรียกการปฏิบัติให้บรรลุธรรมในยุคที่พระพุทธเจ้ายังไม่ตรัสรู้", "title": "พระนาลกะ" }, { "docid": "266483#4", "text": "เนื่องด้วยพราหมณ์ผู้เป็นบิดาของท่าน เคยเป็นพราหมณ์ 1 ใน 8 คนที่ได้รับนิมนต์เข้ารับภัตตาหารในพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์ในวันขนานพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ และได้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธัตถะหากออกผนวชจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บิดาของท่านจึงตั้งใจว่าหากเจ้าชายออกผนวชตนจะออกบวชตาม แต่ด้วยบิดาของท่านมีอายุมากแล้ว และเกรงว่าตนอาจจะอยู่ไม่ถึงวันที่เจ้าชายบรรลุเป็นพระอรหันต์ ท่านจึงสั่งเสียให้ลูกชายคือวัปปะพราหมณ์ออกบวชหากเจ้าชายออกผนวชตามคำทำนาย โดยเมื่อเจ้าชายออกบวชท่านได้ตามโกณฑัญญะพราหมณ์และบุตรพราหมณ์ 108 จำนวน 3 คนออกบวชด้วย", "title": "พระวัปปเถระ" }, { "docid": "35823#3", "text": "คณะกรรมการโครงการรวม ดวงใจศิลปิน เพื่อพระพุทธศาสนาร่วม กับบรรดาองค์กร ทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ จึงจัด \"มหกรรมละครพุทธประวัติ\" เรื่อง \"สิทธัตถะ พุทธบารมี\" เป็นการประชาสัมพันธ์การจัดเฉลิมฉลองดังกล่าวโดยมี ดาราและนักแสดงกิตติมศักดิ์ร่วมแสดง อาทิ ต่อ-นันทวัฒน์ อาศิรพจนกุล รับบทเป็นเจ้าชายสิทธัตถะและ บุ๋ม-ปนัดดา วงศ์ผู้ดี เป็นพระแม่ธรณีบีบมวยผม ส่วนนักแสดงกิตติมศักดิ์ คุณหญิงพันธุ์เครือ ยงใจยุทธ เป็นพระนางสิริมหามายา ศุภชัย ไพจิตร เป็นพระสันตดุสิตโพธิสัตว์ และ วรภัทร วิลาวรณ์ เป็นเจ้าชายเทวฑัต พร้อมผู้แสดงอื่น ๆ อีกมากมายโดยมีกำหนดแสดงในวันที่ 16 พ.ค. 2547 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 18.00 น. นำรายได้สมทบกองทุนยาพระวรราชาทินัดดามาตุฯ และสมทบกองทุนเผยแผ่ ธรรมะทางวิทยุโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย", "title": "งานวันวิสาขบูชาโลก" }, { "docid": "266480#2", "text": "พระนันทเถรศากยะ เป็นพระประยูรญาติของพระพุทธเจ้า โดยท่านเป็นพระภาดาต่างพระราชมารดาของพระพุทธเจ้า พระราชบิดาของท่านคือพระเจ้าสุทโธทนศากยราชาพระมหากษัตริย์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ โดยเป็นพระราชบิดาร่วมพระองค์กับเจ้าชายสิทธัตถะ พระราชมารดาของพระนันทศากยะมีพระนามว่า พระนางมหาปชาบดีโคตมี ผู้เป็นพระมาตุจฉาและทรงเคยเป็นพระอภิบาลของเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อยังทรงพระเยาว์", "title": "พระนันทะ" }, { "docid": "266484#4", "text": "เนื่องด้วยพราหมณ์ผู้เป็นบิดาของท่าน เคยเป็นพราหมณ์ 1 ใน 8 คนที่ได้รับนิมนต์เข้ารับภัตตาหารในพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์ในวันขนานพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ และได้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธัตถะหากออกผนวชจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บิดาของท่านจึงตั้งใจว่าหากเจ้าชายออกผนวชตนจะออกบวชตาม แต่ด้วยบิดาของท่านมีอายุมากแล้ว และเกรงว่าตนอาจจะอยู่ไม่ถึงวันที่เจ้าชายบรรลุเป็นพระอรหันต์ ท่านจึงสั่งเสียให้ลูกชายคือภัททิยะพราหมณ์ออกบวชหากเจ้าชายออกผนวชตามคำทำนาย โดยเมื่อเจ้าชายออกบวชท่านได้ตามโกณฑัญญะพราหมณ์และบุตรพราหมณ์ 108 จำนวน 3 คนออกบวชด้วย", "title": "พระภัททิยเถระ" }, { "docid": "20838#84", "text": "ในเหตุการณ์วันประสูติ สามารถยกหลักธรรมมาเทียบเคียงได้ คือ \"หลักความกตัญญู\" เพราะในพระพุทธประวัติ แม้พระนางสิริมหามายา ผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะจะสิ้นพระชนม์ไปหลังที่เจ้าชายประสูติได้เพียง 7 วัน แต่เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้แล้ว ก็ได้เสด็จไปโปรดพระพุทธมารดาบนดาวดึงสเทวโลก ถึงแม้พระเจ้าสุทโธทนะ ผู้เป็นพระราชบิดา พระพุทธองค์ก็เสด็จไปโปรดถึงพระราชวังที่ประทับ จนพระเจ้าสุทโธทนะประชวรหนักใกล้สวรรคต พระพุทธองค์ก็ได้เสด็จเข้าไปโปรดจนพระราชบิดาได้บรรลุสำเร็จเป็นพระอรหันต์และนิพพานในพระราชวังในวันนั้นเอง", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "20838#12", "text": "เหตุการณ์การตรัสรู้พระบรมสัมมาสัมโพธิญาณของเจ้าชายสิทธัตถะนี้ เป็นเหตุการณ์สำคัญลำดับที่สองของพระพุทธเจ้าที่ได้เกิดในวันเพ็ญ เดือนวิสาขมาส ซึ่งเหตุการณ์นี้ถือได้ว่าเป็นเหตุการณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของพระพุทธเจ้าและพระพุทธศาสนา โดยถือได้ว่าเป็นการเกิดครั้งที่สองของเจ้าชายสิทธัตถะ คือ ครั้งแรกนั้นเพียงเกิดเป็นมนุษย์ แต่การตรัสรู้นี้ถือว่าเป็นการเกิดใหม่อีกครั้ง เป็นการเกิดที่หาได้โดยยาก เป็นการเกิดที่สมบูรณ์พร้อมด้วยอริยผล รู้แจ้งซึ่งสรรพกิเลสทั้งปวง หลุดพ้นจากบ่วงแห่งมาร คือ ทุกข์และสุขทั้งปวงได้หมดสิ้น เหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้เจ้าชายสิทธัตถะเป็น \"พระสัมมาสัมพุทธเจ้า\" แปลว่า ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง (ผู้ไม่ได้รับบัญชาจากใคร ผู้ไม่ได้รับโองการจากพระผู้สร้าง หรือเทพเทวดาองค์ไหน) เป็นการ \"รู้แจ้งโลกทั้งปวง\" ที่เจ้าชายสิทธัตถะในฐานะมนุษย์ธรรมดาคนหนึ่งพึงกระทำได้ และทุกคนมีสิทธิ์ที่จะ \"รู้\" เหมือนที่พระองค์ทรงรู้ด้วยเหมือนกัน ดังนั้น จึงทำให้มีผู้เรียกพระธรรมวินัยหรือคำสั่งสอนของพระองค์ว่า \"พระพุทธศาสนา\" แปลว่า \"ศาสนาของผู้รู้แจ้ง - ศาสนาของผู้ (ปฏิบัติเพื่อ) หลุดพ้นจากกิเลสทั้งมวล\"[8]", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "80018#9", "text": "เหตุการณ์การออกผนวชจากหลักฐานชั้นอรรถกถากล่าวว่า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเจริญวัยจนมีพระชนมายุได้ 29 พรรษาแล้ว ทรงเสพสุขอยู่บนปราสาท 3 ฤดู มีความสุขทางโลกบริบูรณ์[10] จนวันหนึ่งได้เสด็จประพาสอุทยาน ครั้งนั้นเทวดาได้เนรมิตเทวทูต 4 อันได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และนักบวช เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้ง 4 ก็ทรงบังเกิดความสังเวชในพระทัย และใคร่เสด็จออกผนวชเป็นสมณะ", "title": "พระโคตมพุทธเจ้า" }, { "docid": "266482#4", "text": "เนื่องด้วยพราหมณ์ผู้เป็นบิดาของท่าน เคยเป็นพราหมณ์ 1 ใน 8 คนที่ได้รับนิมนต์เข้ารับภัตตาหารในพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์ในวันขนานพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ และได้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธัตถะหากออกผนวชจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บิดาของท่านจึงตั้งใจว่าหากเจ้าชายออกผนวชตนจะออกบวชตาม แต่ด้วยบิดาของท่านมีอายุมากแล้ว และเกรงว่าตนอาจจะอยู่ไม่ถึงวันที่เจ้าชายบรรลุเป็นพระอรหันต์ ท่านจึงสั่งเสียให้ลูกชายคือมหานามพราหมณ์ออกบวชหากเจ้าชายออกผนวชตามคำทำนาย โดยเมื่อเจ้าชายออกบวชท่านได้ตามโกณฑัญญะพราหมณ์และบุตรพราหมณ์ 108 จำนวน 3 คนออกบวชด้วย", "title": "พระมหานามเถระ" }, { "docid": "266481#4", "text": "เนื่องด้วยพราหมณ์ผู้เป็นบิดาของท่าน เคยเป็นพราหมณ์ 1 ใน 8 คนที่ได้รับนิมนต์เข้ารับภัตตาหารในพระราชวังกรุงกบิลพัสดุ์ในวันขนานพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ และได้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธัตถะหากออกผนวชจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บิดาของท่านจึงตั้งใจว่าหากเจ้าชายออกผนวชตนจะออกบวชตาม แต่ด้วยบิดาของท่านมีอายุมากแล้ว และเกรงว่าตนอาจจะอยู่ไม่ถึงวันที่เจ้าชายบรรลุเป็นพระอรหันต์ ท่านจึงสั่งเสียให้ลูกชายคืออัสสชิพราหมณ์ออกบวชหากเจ้าชายออกผนวชตามคำทำนาย โดยเมื่อเจ้าชายออกบวชท่านได้ตามโกณฑัญญพราหมณ์และบุตรพราหมณ์ 108 จำนวน 3 คนออกบวชด้วย", "title": "พระอัสสชิเถระ" }, { "docid": "20838#8", "text": "เหตุการณ์ในวันประสูติเป็นเหตุการณ์สำคัญลำดับแรกของพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในวันเพ็ญ เดือนวิสาขมาส โดยพระพุทธเจ้าหรือพระนามเดิม \"เจ้าชายสิทธัตถะ\" ได้ประสูติในพระบรมศากยราชวงศ์ เป็นพระราชโอรสแห่งพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา ผู้เป็นพระราชมเหสีแห่งพระเจ้าสุทโธทนะ โดยเจ้าชายสิทธัตถะทรงดำรงตำแหน่งศากยมกุฏราชกุมาร ผู้จักได้รับสืบพระราชบัลลังก์เป็นกษัตริย์แห่งกรุงกบิลพัสดุ์สืบไป", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "48108#14", "text": "ปัจจุบัน ลุมพินีวันได้รับการบูรณะและมีถาวรวัตถุสำคัญที่ชาวพุทธนิยมไปสักการะ คือ \"เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช\" ที่ระบุว่าสถานที่นี้เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ นอกจากนี้ ยังมี \"วิหารมายาเทวี\" ภายในประดิษฐานภาพหินแกะสลักพระรูปพระนางสิริมหามายาประสูติพระราชโอรส โดยเป็นวิหารเก่ามีอายุร่วมสมัยกับเสาหินพระเจ้าอโศก ปัจจุบัน ทางการเนปาลได้สร้างวิหารใหม่ทับวิหารมายาเทวีหลังเก่า และได้ขุดค้นพบศิลาจารึกรูปคล้ายรอยเท้า สันนิษฐานว่าเป็นจารึกรอยเท้าก้าวที่เจ็ดของเจ้าชายสิทธัตถะที่ทรงดำเนินได้เจ็ดก้าวในวันประสูติ", "title": "สังเวชนียสถาน" }, { "docid": "157127#2", "text": "พระเจ้าสุทโธทนะเป็นกษัตริย์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมและยึดมั่นในราชประเพณีอย่างเคร่งครัดในการปกครองบ้านเมือง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุขตลอดรัชสมัยของพระองค์ ทรงมุ่งหวังที่จะให้พระโอรสโดยเฉพาะสิทธัตถะได้รับเลือกจากสภาศากยะให้เป็นราชาสืบต่อจากตน แต่เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช และพอทราบว่า เจ้าชายสิทธัตถะได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว จึงเชิญพระศาสดากลับมาที่กรุงกบิลพัสดุ์", "title": "พระเจ้าสุทโธทนะ" }, { "docid": "157333#0", "text": "พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระนามเดิม พระนางยโสธรา (พระนางพิมพา หรือ พระนางยโสธราพิมพา) เป็นพระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระนางได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีและบรรลุเป็นพระอรหันต์ในที่สุด", "title": "พระภัททากัจจานาเถรี" }, { "docid": "332458#1", "text": "พระเจ้าสุปปพุทธะ มีพระราชบุตร 2 พระองค์ องค์แรกเป็นพระราชโอรส มีพระนามว่า เจ้าชายเทวทัต ซึ่งคิดอิจฉาริษยากับพระพุทธเจ้ายิ่งนัก ส่วนพระองค์ที่ 2 เป็นพระราชธิดา มีพระนามว่า นางยโสธรา หรือ พิมพา ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งต่อมาเจ้าชายสิทธัตถะได้ออกบวชและได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า", "title": "พระเจ้าสุปปพุทธะ" }, { "docid": "48077#8", "text": "ปัจจุบัน ลุมพินีวันได้รับการบูรณะและมีถาวรวัตถุสำคัญที่ชาวพุทธนิยมไปสักการะ คือ \"เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช\" ที่ระบุว่าสถานที่นี้เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ นอกจากนี้ ยังมี \"วิหารมายาเทวี\" ภายในประดิษฐานภาพหินแกะสลักพระรูปพระนางสิริมหามายาประสูติพระราชโอรส โดยเป็นวิหารเก่ามีอายุร่วมสมัยกับเสาหินพระเจ้าอโศก ปัจจุบัน ทางการเนปาลได้สร้างวิหารใหม่ทับวิหารมายาเทวีหลังเก่า และได้ขุดค้นพบศิลาจารึกรูปคล้ายรอยเท้า สันนิษฐานว่าเป็นจารึกรอยเท้าก้าวที่เจ็ดของเจ้าชายสิทธัตถะที่ทรงดำเนินได้เจ็ดก้าวในวันประสูติ", "title": "ลุมพินีวัน" }, { "docid": "20838#18", "text": "ในช่วงแรกนั้น พระองค์ทรงบำเพ็ญเพียรทางกาย คือ \"ทุกกรกิริยา\"[12] คือ การบำเพ็ญเพียรที่นักพรตผู้บำเพ็ญตบะในสมัยนั้นยกย่องว่าเป็นยอดของการบำเพ็ญเพียรทั้งปวง 3 ประการ โดยในระหว่างบำเพ็ญเพียร ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 คือ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ ผู้เป็นพราหมณ์ (โกณฑัญญะ) และบุตรแห่งพราหมณ์ (ปัญจวัคคีย์ที่เหลือ) ที่ได้ร่วมงานทำนายลักษณะมหาบุรุษแห่งเจ้าชายสิทธัตถะ (ในคราว 5 วันหลังจากประสูติ) ว่า \"ถ้าเจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช จักได้เป็นศาสดาเอกของโลก\" เมื่อท่านเหล่านั้นได้ทราบข่าวการออกผนวชของเจ้าชายสิทธัตถะ จึงชักชวนกันออกบวชเพื่อตามหาเจ้าชาย และได้พบเจ้าชายสิทธัตถะในขณะกำลังบำเพ็ญทุกกรกิริยาจึงคอยเฝ้าอยู่ปฏิบัติ ต่อมา เมื่อพระองค์ได้ทรงบำเพ็ญเพียรถึงขั้นยวดยิ่งแล้วแต่ยังไม่ตรัสรู้ พระองค์ได้ทราบอุปมาแห่งพิณ 3 สาย ว่าการปฏิบัติเช่นนี้เป็นหนทางอันสุดโต่งเกินไป จึงได้ละทุกกรกิริยาเสีย หันกลับมาเสวยอาหาร เหล่าปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 จึงคิดว่าพระองค์ทรงคลายความเพียรทางกายด้วยทุกกรกิริยา ไม่มีโอกาสตรัสรู้ได้ จึงพาพวกละทิ้งพระองค์ไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "934#6", "text": "ศาสดาของศาสนาพุทธ คือ พระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติในดินแดนชมพูทวีป ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 80 ปีก่อนพุทธศักราช ณ สวนลุมพินีวัน เจ้าชายสิทธัตถะผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา ทรงดำรงตำแหน่งรัชทายาท ผู้สืบทอดราชบัลลังก์กรุงกบิลพัสดุ์แห่งแคว้นสักกะ[15] และเมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงยโสธราแห่งเมืองเทวทหะ ต่อมาเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา มีพระโอรส 1 พระองค์พระนามว่า ราหุล[16]", "title": "ศาสนาพุทธ" }, { "docid": "20838#42", "text": "ปัจจุบัน ลุมพินีวันได้รับการบูรณะและมีถาวรวัตถุสำคัญที่ชาวพุทธนิยมไปสักการะ คือ \"เสาหินพระเจ้าอโศกมหาราช\" ที่ระบุว่าสถานที่นี้เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ นอกจากนี้ ยังมี \"วิหารมายาเทวี\" ภายในประดิษฐานภาพหินแกะสลักพระรูปพระนางสิริมหามายาประสูติพระราชโอรส โดยเป็นวิหารเก่ามีอายุร่วมสมัยกับเสาหินพระเจ้าอโศก ปัจจุบัน ทางการเนปาลได้สร้างวิหารใหม่ทับวิหารมายาเทวีหลังเก่า และได้ขุดค้นพบศิลาจารึกรูปคล้ายรอยเท้า สันนิษฐานว่าเป็นจารึกรอยเท้าก้าวที่เจ็ดของเจ้าชายสิทธัตถะที่ทรงดำเนินได้เจ็ดก้าวในวันประสูติ", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "266480#0", "text": "พระนันทเถรศากยะ หรือ พระนันทเถระ เป็นพระภิกษุสาวกเอตทัคคะในศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล พระนันทเถรศากยะเป็นพระประยูรญาติของเจ้าชายสิทธัตถะ โดยท่านเป็นพระภาดา ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระมาตุจฉาของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า", "title": "พระนันทะ" }, { "docid": "881343#1", "text": "\"พระเจ้าสุทโธทนะ” กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ เป็นพระบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ อยากมีทายาทมาก จึงทำทุกวิถีทางเพื่อให้พระมเหสีมีประสูติกาล เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติ ก็ทรงมุ่งหวังให้พระโอรสได้เป็นมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ จึงให้เจ้าชายร่ำเรียนวิชาการรบ กวาดต้อนคนเจ็บคนแก่ออกจากเมือง เพื่อสร้างปราสาท 3 ฤดู ให้เจ้าชายมีแต่ความสุข ไม่พบเจอความทุกข์ใดๆ", "title": "พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก" }, { "docid": "267847#2", "text": "พระกีสาโคตมีเถรี นี้ เป็นคนละคนกับ พระนางกีสาโคตมี พระธิดาของพระน้านางของเจ้าชายสิทธัตถะ (คือ พระนางปมิตา หรือ อมิตา คนใดคนหนึ่ง) เป็นผู้ตรัสชมเจ้าชายสิทธัตถะว่า ผู้ที่เป็นบิดามารดาหรือชายาของเจ้าชายนี้ ย่อมเป็นผู้หมดทุกข์ (คือมีความสุข)", "title": "พระกีสาโคตมีเถรี" }, { "docid": "377771#5", "text": "เนื้อหาของแอนิเมชั่นเรื่อง \"เทะซึกะ โอะซะมุ โนะ บุดดะ - อะคะอิ ซะบะคุ โยะ! อุซุคุชิคุ\" จะกล่าวถึงช่วงปฐมวัยของพระพุทธเจ้าครั้งยังเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งพานพบกับชีวิตที่สมบูรณ์พูนสุขแห่งวรรณะกษัตริย์ ตรงกันข้ามชีวิตกับคู่ขนานของลูกทาสที่ชื่อชาปรา ซึ่งพยายามต่อสู้ดิ้นรนให้ตนเองได้อยู่ในฐานะที่สูงขึ้นและพ้นจากชีวิตอันยากลำบากแร้นแค้นโดยปิดบังชาติกำเนิดในวรรณะศูทรของตนไว้ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความรักของเจ้าชายสิทธัตถะกับนางโจรสาวชื่อมิคาอิลาซึ่งถูกกีดกันโดยพระเจ้าสุทโธทนะ ", "title": "บุดดะ" }, { "docid": "58290#1", "text": "เจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อพระองค์ทรงได้รับคำทำนายจากดาบสและพราหมณ์ผู้เชี่ยวชาญในพระเวทว่าจะเสด็จออกบรรพชา และตรัสรู้ธรรมเป็นศาสดาเอกของโลก เมื่อทรงเจริญวัย ทรงศึกษาศิลปศาสตร์ 18 ประการจนสำเร็จ ทรงอภิเษกกับพระนางพิมพา และมีพระโอรสพระนามว่า ราหุล เจ้าชายสิทธัตถะทรงและได้นิมิตเห็นเทวทูตทั้ง 4 จึงตระหนักถึงทุกข์จากความแก่ ความเจ็บ ความตาย ซึ่งย่ำยีสรรพสัตว์โดยไม่ยกเว้น จึงทรงตัดสินพระทัยเสด็จหนีออกบรรพชา โดยเสด็จขึ้นหลังม้ากัณฐกะและมีนายฉันนะตามเสด็จ", "title": "ปางมหาภิเนษกรมณ์" }, { "docid": "59368#1", "text": "เมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกพ้นเขตกรุงกบิลพัสดุ์จนมาถึงฝั่งแม่น้ำอโนมา จึงเสด็จลงจากหลังม้า ประทับเหนือหาดทรายริมฝั่งแม่น้ำ รับสั่งแก่นายฉันนะว่า พระองค์จักบรรพชาถือเพศเป็นบรรพชิต ณ ที่นี้ ให้นำเครื่องประดับและม้ากัณฐกะกลับพระนคร เจ้าชายสิทธัตถะทรงตั้งพระทัยว่า เมื่อได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว จะเสด็จกลับมาเทศนาโปรดพระประยูรญาติ", "title": "ปางอธิษฐานเพศบรรพชิต" }, { "docid": "20838#6", "text": "เช้าวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ก่อนพุทธศักราช 80 ปี เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติ ที่พระราชอุทยานลุมพินีวันระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เช้ามืดวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี เจ้าชายสิทธัตถะ ตรัสรู้ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี ปัจจุบัน สถานที่แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นตำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่งรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย หลังจากตรัสรู้ ทรงออกประกาศพระธรรมวินัยและโปรดเวไนยสัตว์เป็นเวลา 45 ปี เมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ก็ เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมืองกุสีนคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย)", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "845318#1", "text": "พระสิทธัตถพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[949,970,3,3]}'>เจ้าชายสิทธัตถะ เป็นพระราชโอรสใน<b data-parsoid='{\"dsr\":[987,1005,3,3]}'>พระเจ้าอุเทน</b>และ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1008,1027,3,3]}'>พระนางสุผัสสา</b>แห่งกรุงเวภาระ ประสูติที่วีริยราชอุทยาน มีปราสาท 3 หลังเป็นที่ประทับคือ โกกาสะ อุปละ และโกกนุทะ (อรรถกถาว่าปทุมะ) และมีพระสนมกำนัล 48,000 นาง[2] เมื่อเจริญวัยได้ทรงอภิเษกสมรสกับ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1224,1241,3,3]}'>พระนางสุมนา มีพระโอรสด้วยกันพระองค์หนึ่งคือ เจ้าชายอนูปมะ", "title": "พระสิทธัตถพุทธเจ้า" } ]
454
อาการของการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอาจมีเช่นอาการปวดศีรษะรุนแรงเฉียบพลันใช่หรือไม่?
[ { "docid": "308056#1", "text": "อาการของการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอาจมีเช่นอาการปวดศีรษะรุนแรงเฉียบพลัน คลื่นไส้ อาเจียน สับสน หรือซึมลง บางครั้งอาจชักได้[1] ยืนยันการวินิจฉัยด้วยการใช้การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์หรือบางครั้งอาจทำได้ด้วยการเจาะตรวจน้ำไขสันหลัง การรักษาทำโดยการผ่าตัดอย่างทันท่วงที อาจด้วยการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะหรือการใช้รังสีช่วยในกระบวนการรักษา ร่วมกับการใช้ยาและการรักษาอื่นๆ เพื่อป้องกันการเกิดเลือดออกซ้ำและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการมีเลือดออก เคยมีการรักษาหลอดเลือดโป่งพองด้วยการผ่าตัดในช่วงประมาณหลังปี ค.ศ. 1930 แต่ตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา การรักษาหลอดเลือดโป่งพองส่วนใหญ่ทำโดยวิธีรักษาที่รุกล้ำร่างกายน้อยกว่าอย่างการใช้ลวดขดซึ่งทำโดยการสอดลวดพิเศษเข้าไปทางหลอดเลือดขนาดใหญ่[1]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" } ]
[ { "docid": "461955#0", "text": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก () เป็นภาวะตกเลือดอย่างหนึ่งทำให้มีก้อนเลือดอยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดระหว่างเยื่อดูรากับเยื่ออะแร็กนอยด์ ส่วนใหญ่เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดดำบริดจิงซึ่งทอดผ่านช่องว่างใต้เยื่อดูรา ภาวะนี้อาจทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงได้ ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายเพิ่มเติมต่อเนื้อสมอง ภาวะนี้หากเกิดขึ้นเฉียบพลันมักจะเป็นอันตรายถึงชีวิต อย่างไรก็ดี หากเกิดแบบเรื้อรังและได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มักมีพยากรณ์โรคที่ดีกว่า", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก" }, { "docid": "308056#41", "text": "พันธุกรรมอาจมีส่วนในการทำให้บางคนเสี่ยงต่อการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางมากกว่าคนอื่น โดยจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 3-5 เท่าในผู้ที่มีญาติสายตรงอันดับที่หนึ่งป่วยด้วยมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[4] อย่างไรก็ได้ปัจจัยเสี่ยงที่มาจากวิธีการดำเนินชีวิตมีผลต่อความเสี่ยงโดยรวมมากกว่า[2] ความเสี่ยงเหล่านี้ได้แก่ การสูบบุหรี่ ความดันเลือดสูง และการดื่มสุรา[14] ผู้ที่เคยสูบบุหรี่มีความเสี่ยงต่อการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางเป็นสองเท่าของผู้ที่ไม่เคยสูบ[2] มีข้อมูลที่ไม่ชัดเจนนักว่าปัจจัยบางอย่างเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง ปัจจัยเหล่านี้เช่น การมีเชื้อชาติคอเคเชียน การได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน เบาหวาน และการมีระดับคอเลสเตอรอลมากกว่าปกติ[2] ประมาณ 4% ของการมีเลือดออกจากหลอดเลือดโป่งพองเกิดขึ้นหลังการมีเพศสัมพันธ์ และผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง 10% เริ่มมีอาการขณะที่กำลังก้มตัวหรือยกของหนัก", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "382539#2", "text": "ผู้ป่วยจะค่อยๆ มีอาการปวดศีรษะ (30%), ตามัว, อ่อนเพลีย (90%), คลื่นไส้ อาเจียน (30%), ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ (65%), รู้สึกมีเหน็บชา (paresthesia), อาจมีอาการบวมได้แต่แม้จะไม่บวมก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่เป็นโรคนี้ ผู้ป่วยจะต้องมีความดันเลือดสูง แม้จะสูงไม่มากก็เป็นได้ อาจมีการแตกของเยื่อหุ้มตับและเกิดก้อนเลือดคั่งได้ ผู้ป่วยอาจมีอาการรุนแรงมากจนชักและหมดสติ (โคม่า) ได้ ซึ่งถือว่าเข้าสู่โรคพิษแห่งครรภ์ระยะชัก", "title": "กลุ่มอาการ HELLP" }, { "docid": "363706#12", "text": "การมีคอแข็งเกร็งนั้นพบได้ในผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรียที่เป็นผู้ใหญ่สูงถึง 70% อาการแสดงอื่นของภาวะระคายเคืองเยื่อหุ้มสมองนั้น เช่น มีอาการแสดงเคอร์นิกหรือบรุดซินสกี โดยอาการแสดงเคอร์นิกตรวจโดยให้ผู้ป่วยนอนหงาย แพทย์จับขาให้สะโพกและเข่าของผู้ป่วยงอ 90 องศา แล้วเหยียดขาออก การที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดเมื่อแพทย์พยายามจับขาให้เหยียดออกจนเกร็งต้านคือผลการตรวจอาการแสดงเคอร์นิกเป็นบวก ส่วนอาการแสดงบรุดซินสกีนั้นคือมือแพทย์จับคอผู้ป่วยก้มลงในท่านอนแล้วผู้ป่วยมีการงอสะโพกและเข่าขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ ถึงแม้อาการแสดงทั้งสองนี้จะถูกใช้ในการคัดกรองเยื่อหุ้มสมองอักเสบอยู่โดยทั่วไป แต่ความไวของการตรวจทั้งสองยังมีข้อจำกัดมาก ทั้งนี้การตรวจทั้งสองมีความจำเพาะต่อภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบสูง น้อยมากที่จะพบในโรคอื่น การตรวจอีกอย่างหนึ่งเรียกว่า \"การทำท่าให้กระตุกโดยเน้น\" (jolt accentuation maneuver) ช่วยในการตรวจว่าผู้ป่วยที่มีไข้และปวดศีรษะนี้มีเยื่อหุ้มสมองอักเสบหรือไม่ โดยให้ผู้ป่วยส่ายหน้าเร็วๆ ถ้าทำแล้วไม่มีอาการปวดศีรษะมากขึ้น แสดงว่ามีโอกาสน้อยที่จะเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ", "title": "เยื่อหุ้มสมองอักเสบ" }, { "docid": "308056#17", "text": "ระบบประเมินความรุนแรงของ Fisher แบ่งระดับความรุนแรงตามลักษณะของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่ปรากฏให้เห็นใน CT scan[21] แบบประเมินความรุนแรงนี้ได้รับการดัดแปลงโดย Claassen และคณะ ตามความเสี่ยงที่พบใหม่เกี่ยวกับขนาดของเลือดที่ออกและการมีเลือดออกในโพรงสมอง (intraventricular hemorrhage) ร่วมด้วย[22]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#15", "text": "มีระบบจัดระดับความรุนแรงของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอยู่หลายระบบ แบบประเมินความรู้สึกตัวของกลาสโกว (Glasgow Coma Scale) ก็เป็นระบบที่ใช้ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยที่ใช้กันตัวไป นอกจากนี้ยังมีระบบวัดคะแนนที่ออกแบบมาเป็นพิเศษสำหรับการประเมินผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอยู่สามแบบ แต่ละแบบกำหนดให้ตัวเลขที่มากหมายถึงการมีผลการรักษาไม่ดี[19] แบบประเมินเหล่านี้ถูกออกแบบขึ้นโดยเปรียบเทียบลักษณะอาการของผู้ป่วยกับผลการรักษาย้อนหลัง", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#32", "text": "อาจพบภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ (hydrocephalus) เป็นภาวะแทรกซ้อนของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยสามารถตรวจพบได้จาก CT scan โดยจะพบมีโพรงสมองข้าง (lateral ventricle) โตขึ้น ถ้ามีปัญหาระดับการรู้สึกตัวลดลงผู้ป่วยอาจต้องรับการเจาะหลังระบายน้ำ หรือวางสายระบายนอกโพรงสมอง (extraventricular drain) หรืออาจต้องวางทางลัดโพรงสมอง (shunt) ถาวร[1][3] การที่สามารถบรรเทาภาวะโพรงสมองคั่งน้ำได้อาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นได้อย่างมาก[5] ผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่นอนรักษาในโรงพยาบาลประมาณครึ่งหนึ่งมีภาวะแทรกซ้อนได้แก่ความแปรปรวนของความดันโลหิต ความผิดปกติของเกลือแร่ ปอดบวม และภาวะหัวใจล้มเหลวได้ ภาวะเหล่านี้อาจทำให้ผู้ป่วยมีพยากรณ์โรคแย่ลง[1]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#9", "text": "จากการที่มีผู้ป่วยที่มาห้องฉุกเฉินด้วยอาการปวดศีรษะรุนแรงเฉียบพลันเพียง 10% เท่านั้นที่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง จึงต้องมีการคิดถึงสาเหตุอื่นๆ ไว้ด้วยเสมอ สาเหตุอื่นๆ เหล่านี้เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไมเกรน และลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำสมอง (cerebral venous sinus thrombosis) [4] ภาวะเลือดออกในสมองใหญ่ (intracerebral hemorrhage) ซึ่งมีเลือดออกในเนื้อสมองนั้นพบบ่อยกว่าถึงสองเท่าและมักได้รับการวินิจฉัยผิดเป็นเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[14] ไม่บ่อยนักที่จะมีการวินิจฉัยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางผิดไปเป็นไมเกรนหรือการปวดศีรษะจากความเครียด (tension headache) ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการตรวจ CT scan ช้ากว่าที่ควร งานวิจัยปี ค.ศ. 2004 พบว่าเกิดกรณีเช่นนี้สูงถึง 12% ของผู้ป่วย ส่วนใหญ่เกิดกับผู้ป่วยที่มีเลือดออกเป็นบริเวณน้อยและไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพจิต การวินิจฉัยล่าช้าจะนำไปสู่ผลการรักษาที่ไม่ดี[15] ผู้ป่วยบางรายอาจหายจากอาการปวดศีรษะได้เองโดยไม่มีอาการอื่นหลงเหลือ อาการปวดศีรษะเช่นนี้ถูกเรียกว่าอาการปวดศีรษะแสดงเบื้องต้น (\"sentinel headache\") เนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดจากการมีเลือดไหลจากหลอดเลือดโป่งพองเป็นปริมาณน้อยๆ อาการปวดศีรษะแสดงเบื้องต้นเช่นนี้ควรได้รับการตรวจเพิ่มเติมด้วย CT scan และการเจาะหลังเนื่องจากอาจมีเลือดออกเพิ่มเติมได้ในเวลาสามสัปดาห์[3]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#7", "text": "การประเมินผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางในเบื้องต้นคือการซักประวัติและตรวจร่างกายซึ่งมีจุดประสงค์หลักเพื่อประเมินว่าอาการที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์นั้นเป็นผลจากการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางหรือสาเหตุอื่น อย่างไรก็ดีแพทย์ไม่อาจให้การวินิจฉัยภาวะนี้ได้จากการตรวจทางคลินิกเพียงอย่างเดียวดังนั้นการตรวจภาพรังสีทางการแพทย์จึงมีความจำเป็นไม่เพื่อยืนยันการมีเลือดออกก็เพื่อคัดออก การตรวจที่นิยมเลือกใช้เป็นอันดับต้นๆ คือการตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (CT scan) ของสมอง ซึ่งเป็นการตรวจที่มีความไวสูงโดยสามารถตรวจพบภาวะนี้ได้อย่างถูกต้องได้ถึงกว่า 95% โดยเฉพาะหากได้รับการตรวจในวันแรกที่มีเลือดออก การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีความไวมากกว่าหากตรวจผู้ป่วยที่มีอาการมาหลายวัน[1] การศึกษาวิจัยชิ้นหนึ่งรายงานว่าหากทำ CT ภายใน 6 ชั่วโมงหลังเริ่มมีอาการ จะมีความไวในการตรวจพบเลือดออกสูง 100%[11]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#6", "text": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางอาจเกิดในผู้ประสบอุบัติเหตุกระทบกระเทือนศีรษะได้ อาการของผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจมีเช่น ปวดศีรษะ ซึม อ่อนแรงครึ่งซีก ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางนี้เกิดขึ้นบ่อยในการบาดเจ็บของสมอง หากมีการเปลี่ยนแปลงของระดับการรู้สึกตัวด้วยจะมีความสัมพันธ์กับการมีพยากรณ์โรคที่แย่[10]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "363192#0", "text": "อาการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง หรืออาการคอแข็งเกร็ง () เป็นอาการแสดงทางการแพทย์ประกอบด้วยลักษณะร่วมสามอย่าง ได้แก่ คอแข็ง (nuchal rigidity, neck stiffness) แพ้แสงจ้า (photophobia) และปวดศีรษะ เป็นสัญญาณแสดงว่ามีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง อาจพบในโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง และโรคอื่นๆ", "title": "อาการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง" }, { "docid": "308056#0", "text": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (English: subarachnoid hemorrhage, SAH, pronounced/ˌsʌbəˈræknɔɪd ˈhɛm (ə) rɪdʒ/(deprecated template)) คือการมีเลือดออกที่ช่องใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางกับชั้นในซึ่งอยู่รอบๆ สมอง อาจเกิดขึ้นได้เอง หรือจากการแตกของหลอดเลือดสมองโป่งพอง หรือเกิดจากอุบัติเหตุกระทบกระเทือนศีรษะก็ได้", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#3", "text": "อาการตามแบบฉบับของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางคือการมีอาการปวดศีรษะรุนแรงเฉียบพลัน เหมือนโดนเตะเข้าที่หัว (\"like being kicked in the head\") [4] หรือปวดหัวรุนแรงที่สุดเท่าที่เคยประสบมาในชีวิต (\"worst ever\") ซึ่งเวลาที่เริ่มเป็นถึงเป็นมากที่สุดใช้เวลาเป็นนาทีหรือวินาที อาการปวดศีรษะนี้มักปวดตุ้บๆ ตามจังหวะเต้นหัวใจไปยังบริเวณท้ายทอย (occiput) [5] ผู้ป่วยหนึ่งในสามไม่มีอาการอย่างอื่นนอกจากอาการปวดศีรษะลักษณะที่ว่านี้ และผู้ป่วยหนึ่งในสิบมาพบแพทย์ด้วยอาการนี้ซึ่งต่อมาภายหลังจึงได้รับการวินิจฉัยเป็นเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[1] อาจมีอาการอาเจียน และ 1/14 มีอาการชัก[1] อาจมีอาการสับสน ซึม หรืออาจถึงขั้นโคม่าได้ รวมทั้งอาจมีอาการคอแข็งเกร็งหรืออาการแสดงของการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมองได้[1] อาการคอแข็งมักปรากฏขึ้นประมาณหกชั่วโมงหลังเริ่มมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[6] การมีรูม่านตาขยายเพียงข้างเดียว (isolated dilation of a pupil) และการไม่มีรีเฟลกซ์รูม่านตาตอบสนองต่อแสง (pupillary light reflex) อาจสะท้อนถึงการมีสมองถูกกดทับ (brain herniation) ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของความดันในกะโหลกศีรษะ (increased intracranial pressure) [1] อาจมีเลือดออกในลูกตา (intraocular hemorrhage) จากการตอบสนองต่อความดันที่ขึ้นสูงอย่างรวดเร็วได้ โดยการมีเลือดออกใต้ชั้นไฮยาลอยด์ (subhyaloid hemorrhage) และเลือดออกในน้ำวุ้นลูกตา (vitreous hemorrhage) อาจตรวจพบได้ด้วยการตรวจส่องตา (fundoscopy) นี้เรียกว่ากลุ่มอาการเทอร์สัน (Terson syndrome) พบในผู้ป่วย 3-13% และพบมากขึ้นตามความรุนแรงของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[7]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "144950#8", "text": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (subarachnoid hemorrhage) เป็นการตกเลือดอย่างเฉียบพลันใต้เยื่ออะแร็กนอยด์ อาจเกิดขึ้นได้เองหรือเป็นผลจากการบาดเจ็บ เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (subdural hematoma) เป็นก้อนเลือดขัง (hematoma) ที่อยู่ในรอยแยกของเยื่ออะแร็กนอยด์และเยื่อดูรา เกิดจากหลอดเลือดดำขนาดเล็กซึ่งเชื่อมระหว่างเยื่อดูราและเยื่ออะแร็กนอยด์เกิดฉีกขาดจากอุบัติเหตุ ทำให้เลือดออกมาขังบริเวณนี้ได้ เลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (epidural hematoma) มักเกิดขึ้นได้เองหรือเกิดหลังจากอุบัติเหตุ เช่น หลอดเลือดแดงมิดเดิลเมนินเจียล (middle meningeal artery) ฉีกขาดหลังจากถูกกระแทกอย่างแรงที่ทัดดอกไม้ (pterion)", "title": "เยื่อหุ้มสมอง" }, { "docid": "26373#2", "text": "พบครั้งแรกใน ค.ศ. 1958 พบได้เกือบทั่วโลก ได้แก่ ทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอฟริกา และออสเตเรีย ในประเทศไทยมีการสำรวจพบจากแหล่งน้ำธรรมชาติ ในจังหวัดนครราชสีมา\nอะคันธามีบา ที่ทำให้เกิดโรคในคนมี 7 species มีรูปร่างลักษณะ 2 ระยะ คือ Trophozoitte และ Cyst Trophozoitte มีขนาด 10-60 ไมครอน รูปร่าง ไม่แน่นอน มี pseudopod หรือ ขาเทียม รูปร่าง คล้ายหนามยื่นออกมาทั่วตัว เคลื่อนที่ช้า\nCyst มีขนาด 10-25 ไมครอน รูปร่างค่อนข้างกลม มีผนังหุ้ม 2 ชั้น ผนังชั้นนอก ไม่เรียบเป็น รอยย่น ผนังชั้นในเป็นรูปหลายเหลี่ยม มุมที่ผนังชั้นในสัมผัส กับผนังชั้นนอก จะเป็นตำแหน่งรูปเปิดของ Cyst ดำรงชีวิตเป็นอิสระในน้ำ ดิน โคลนเลน เจริญเติบโต ได้ดีที่อุณหภูมิ 25-35 องศาเซลเซียส พบได้ในแหล่งน้ำทั่วไป รวมทั้งน้ำกร่อย และน้ำทะเล เข้าสู่ทางร่างกาย โดยผ่านทางผิวหนัง ตา ระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิด โรคที่ผิวหนัง ตาอักเสบ การติดเชื้อที่ไซนัส ส่วนการติดเชื้อที่สมอง เชื่อว่าเชื้อ มาตามกระแสเลือด มักติดเชื้อในผู้ที่สูงอายุ ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ ส่วนในผู้ที่สุขภาพ แข็งแรงมีอาการติดเชื้อได้น้อย ระยะฟักตัวของโรคนี้ ไม่แน่นอน อาจนานกว่า 10 วัน หรือเรื้อรังนานเป็นเดือน การติดเชื้อเป็น แบบกึ่งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง อาการเริ่มแรก คล้ายกับอาการของไข้หวัด มีเจ็บคอ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และอาการของ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ต่อมาอาการคล้ายโรคฝีหรือเนื้องอกในสมองได้แก่ ชัก สับสน ประสานหลอน มึนงง ง่วงซึม และถึงแก่กรรม หลังจากเริ่มมีอาการประมาณ 3 สัปดาห์\nการวินิจฉัยทำได้ด้วยการตรวจจากน้ำไขสันหลัง หรือการตรวจพยาธิวิทยา จากการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ หรือการตรวจหาแอนตี้บอดี้ ในรายที่มีการติดเชื้อที่ตา หรืออวัยวะอื่น ๆ ควรรีบให้การรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่สมอง ผู้ที่ใช้คอนแทกเลนส์ ควรทำความสะอาดเลนส์ด้วยน้ำยาที่สะอาดผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้ว และไม่ควรใส่คอนแทกเลนส์ในขณะว่ายน้ำ ถึงแม้ว่าอะมีบาจะไม่ใช่โรคติดต่อและโอกาสที่จะติดเชื้อจนถึงขั้นเสียชีวิตมีน้อย แต่ก็ไม่ควรประมาทเพราะหากได้รับเชื้ออะมีบาแล้ว โอกาสที่จะรอดมีน้อยมาก", "title": "อะมีบา" }, { "docid": "308056#14", "text": "ผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บที่สมอง 60% จะมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางตรวจพบได้จาก CT scan[18] เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ (traumatic SAH) นี้ส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่บริเวณใกล้กับตำแหน่งที่เกิดกะโหลกศีรษะร้าวหรือสมองช้ำ[17] ส่วนใหญ่พบร่วมกับการบาดเจ็บแบบอื่นๆ ของสมองและมักมีพยากรณ์โรคที่ไม่ดี แต่ยังไม่แน่ชัดนักว่าพยากรณ์โรคที่ไม่ดีนั้นเป็นผลจากการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางโดยตรงหรือเป็นจากการบาดเจ็บอื่นที่มีการแสดงออกเป็นเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางกันแน่[18]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#28", "text": "การหดเกร็งของหลอดเลือด (English: vasospasm) จะทำให้มีเลือดไหลไปยังบริเวณที่เกิดการหดเกร็งของหลอดเลือดน้อยลง ถือเป็นภาวะแทรกซ้อนของภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่อันตรายมาก อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บของเนื้อสมองที่เกิดจากการขาดเลือด (ischemic brain injury) จนสมองเสียหายอย่างถาวรได้เนื่องจากการขาดออกซิเจนของเนื้อเยื่อสมอง หากรุนแรงมากอาจทำให้เสียชีวิตได้ การขาดเลือดที่เกิดขึ้นภายหลังมีลักษณะเฉพาะคือการมีอาการทางระบบประสาทที่เกิดขึ้นใหม่ อาจตรวจยืนยันได้โดยการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงผ่านกะโหลกศีรษะ (transcranial doppler) หรือการฉีดสีเข้าหลอดเลือดสมอง (cerebral angiography) ผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่ต้องรับไว้นอนรักษาในโรงพยาบาลประมาณหนึ่งในสามจะมีการขาดเลือดที่เกิดขึ้นภายหลัง ผู้ป่วยกลุ่มนี้ครึ่งหนึ่งจะมีความเสียหายที่เกิดขึ้นถาวร[36] การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาการหดเกร็งของหลอดเลือดนั้นสามารถทำได้โดยการทำ transcranial doppler ทุกๆ 24-48 ชั่วโมง โดยความเร็วของการไหลของเลือดที่ช้ากว่า 120 เซนติเมตรต่อนาทีถือว่าอาจมีการหดเกร็งของหลอดเลือดเกิดขึ้น[3]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#8", "text": "การเจาะน้ำไขสันหลังอาจทำให้พบหลักฐานของการมีเลือดออกได้ในผู้ป่วย 3% ที่ผลตรวจ CT ปกติ ดังนั้นจึงถูกกำหนดให้เป็นการตรวจที่จำเป็นต้องทำในผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางแต่ผลภาพสมองปกติ[1] โดยอย่างน้อยต้องเก็บตัวอย่างน้ำไขสันหลังให้ได้ 3 ขวด[6] หากมีจำนวนเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติในทั้ง 3 ขวดจะเป็นการบ่งชี้ว่ามีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง ถ้าจำนวนไม่เท่ากันโดยค่อยๆ ลดลงในแต่ละขวด จะแสดงว่าเลือดน่าจะมาจากการบาดเจ็บของหลอดเลือดขนาดเล็กระหว่างการทำหัตถการมากกว่า (\"traumatic tap\") [3] ตัวอย่างน้ำไขสันหลังที่เก็บได้จะถูกนำไปตรวจว่ามี xanthochromia (การมีสีออกเหลือง[12]) หรือการที่น้ำไขสันหลังที่ผ่านการปั่นให้ตกตะกอนแล้วมีสีเป็นสีเหลือง การตรวจที่มีความไวมากกว่าคือการตรวจด้วย spectrophotometry ซึ่งเป็นการตรวจการดูดกลืนคลื่นแสงในความยาวคลื่นต่างๆ เพื่อตรวจว่ามีบิลิรูบินซึ่งเป็นผลผลิตจากการย่อยสลายเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงหรือไม่[1][13] การตรวจหา xanthochromia และการตรวจด้วย spectrophotometry ยังคงเป็นวิธีที่เชื่อถือได้ในการตรวจหาเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางหลังจากเริ่มมีอาการปวดศีรษะมาหลายวัน[13] แต่ต้องทำหลังจากปวดศีรษะอย่างน้อย 12 ชั่วโมง เนื่องจากกว่าที่เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงจะถูกเปลี่ยนเป็นบิลิรูบินนั้นต้องใช้เวลาหลายชั่วโมง[1][13]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "407021#0", "text": "สมองอักเสบ () เป็นภาวะซึ่งมีการอักเสบเฉียบพลันของสมอง หากเกิดร่วมกับเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรียกว่าเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ อาการที่พบได้เช่นปวดศีรษะ ไข้ สับสน ซึม และอ่อนเพลีย หากเป็นมากอาจมีอาการรุนแรง เช่น ชัก สั่น ประสาทหลอน ความจำเสื่อม เป็นต้น", "title": "สมองอักเสบ" }, { "docid": "308056#22", "text": "บางครั้งอาจมีการตรวจพบหลอดเลือดสมองโป่งพองโดยบังเอิญจากการตรวจภาพสมองในเหตุอื่น เรื่องนี้ถือเป็นปัญหาที่เป็นที่ถกเถียงปัญหาหนึ่ง เนื่องจากวิธีการรักษาหลอดเลือดสมองโป่งพองแต่ละวิธีนั้นมีโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง โครงการศึกษาวิจัยนานาชาติว่าด้วยหลอดเลือดโป่งพองในกะโหลกศีรษะที่ยังไม่ปรากฏการแตก (The International Study of Unruptured Aneurysms, ISUIA) ศึกษาข้อมูลพยากรณ์โรคทั้งในกลุ่มผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางและผู้ที่ตรวจพบหลอดเลือดโป่งพองด้วยสาเหตุอื่นๆ พบว่าผู้ที่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางแล้วมีโอกาสสูงที่จะมีเลือดออกจากหลอดเลือดโป่งพองที่อื่นๆ อีก ในทางกลับกัน ผู้ที่มีหลอดเลือดโป่งพองขนาดเล็กกว่า 10 มิลลิเมตรและไม่เคยมีเลือดออกจากหลอดเลือดโป่งพองมีโอกาสน้อยมากที่จะมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง และมักสามารถรับการรักษาหลอดเลือดโป่งพองนั้นได้โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน[27] จากงานวิจัย ISUIA นี้และงานวิจัยอื่นๆ ปัจจุบันจึงถือเป็นคำแนะนำโดยทั่วไปว่าผู้ป่วยจะได้รับการพิจารณาเข้ารับการรักษาเพื่อป้องกันล่วงหน้านี้ก็ต่อเมื่อมีประมาณอายุขัยนานพอสมควรและหลอดเลือดโป่งพองนั้นมีโอกาสแตกสูง[25] ในขณะเดียวกันก็ยังมีหลักฐานงานวิจัยเพียงไม่มากที่ยืนยันว่าการรักษาหลอดเลือดโป่งพองที่ยังไม่แตกโดยเทคนิคการสวนหลอดเลือดทำหัตถการนั้นมีประโยชน์อย่างแท้จริง[28]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "363706#11", "text": "อาการที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่ได้แก่อาการปวดศีรษะ พบบ่อยถึงเกือบ 90% ของผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรีย รองลงมาได้แก่อาการคอแข็งเกร็ง อาการสามอย่างที่มักใช้เป็นเกณฑ์ในการวินิจฉัยได้แก่อาการคอแข็งเกร็ง ไข้สูงเฉียบพลัน และการเปลี่ยนแปลงของสภาพจิต อย่างไรก็ดีผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรียเพียง 44-46% เท่านั้นที่มีอาการครบทั้งสามอย่างนี้ หากไม่มีอาการใดๆ เลยในสามอย่าง โอกาสเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบมีน้อยมาก อาการแสดงอื่นที่มักพบว่ามีความสัมพันธ์กับเยื่อหุ้มสมองอักเสบได้แก่อาการทนแสงจ้าไม่ได้และทนเสียงดังไม่ได้ ผู้ป่วยเด็กเล็กมักไม่มีอาการดังที่กล่าวมา โดยอาจมีอาการเพียงดูไม่สบายหรือดูหงุดหงิดก็ได้ ทารกที่อายุไม่เกิน 6 เดือนอาจพบมีกระหม่อมโป่งตึงได้ อาการอื่นๆ ที่อาจใช้แยกโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบออกจากภาวะอื่นที่ไม่อันตรายเท่าได้ในเด็กเล็กได้แก่ อาการปวดขา แขนขาเย็น และสีผิวผิดปกติ", "title": "เยื่อหุ้มสมองอักเสบ" }, { "docid": "384947#0", "text": "อาการปวดศีรษะคืออาการปวดซึ่งเกิดกับบริเวณใดๆ ของศีรษะและคอ ซึ่งอาจเป็นอาการของหลายๆ ภาวะที่เกิดกับศีรษะและคอ ทั้งนี้เนื่องจากเนื้อเยื่อสมองนั้นไม่สามารถรับรู้ความเจ็บปวดได้เนื่องจากไม่มีตัวรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวด ดังนั้นอาการปวดศีรษะส่วนใหญ่เกิดจากความผิดปกติของอวัยวะอื่นๆ รอบๆ สมองที่สามารถรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดได้ โดยอวัยวะเหล่านี้อาจแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม คือ ส่วนที่อยู่ในกะโหลกศีรษะ (หลอดเลือด เยื่อหุ้มสมอง และเส้นประสาทสมอง) และนอกกะโหลกศีรษะ (เยื่อหุ้มกระดูกของกะโหลกศีรษะ กล้ามเนื้อ เส้นประสาท หลอดเลือด เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ตา หู โพรงอากาศ และเยื่อบุ)", "title": "ปวดศีรษะ" }, { "docid": "308056#4", "text": "การทำงานผิดปกติของเส้นประสาทกล้ามเนื้อตา (หนังตาตก ลูกตาอยู่ในตำแหน่งมองค้างไปทางด้านล่างเฉียงออกด้านนอกของใบหน้า) หรืออาการชาอาจบ่งชี้ว่ามีเลือดออกจากหลอดเลือดแดงโพสทีเรียร์คอมมิวนิเคติง[1][5] อาการชักยังเป็นอาการที่พบได้บ่อยหากเลือดนั้นออกมาจากหลอดเลือดโป่งพอง นอกจากนี้แล้วค่อนข้างเป็นการยากที่จะทำนายตำแหน่งที่เลือดออกจากอาการแสดงที่ปรากฏ[1] ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางในผู้ป่วยที่แข็งแรงดีมาตลอดมักใช้เป็นการวินิจฉัยรูปผิดปกติของหลอดเลือดแดงและดำได้[5]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#43", "text": "แม้จะมีการสังเกตเห็นอาการทางคลินิกของเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางมาตั้งแต่สมัยของฮิปโปกราเตสแล้วแต่การมีอยู่ของโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองและข้อเท็จจริงที่ว่ามันสามารถแตกได้นั้นยังไม่เป็นที่ทราบกันจนกว่าจะถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18[52] มีการอธิบายอาการที่เกี่ยวข้องเอาไว้โดยละเอียดกว่าโดยนายแพทย์ ไบรอม แบรมเวลล์ ชาวเอดินบะระในปีค.ศ. 1886[53] ต่อมาในปีค.ศ. 1924 เซอร์ ดร. ชาร์ลส์ ไซมอนส์ (1890-1978) นักประสาทวิทยาชาวลอนดอนได้บันทึกอาการหลักๆ ของการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางเอาไว้อย่างครบถ้วน และเสนอให้ใช้คำว่า \"เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางเกิดเอง\" (spontaneous subarachnoid hemorrhage) [52][54][55] ไซมอนส์ ยังได้อธิบายการใช้การเจาะน้ำไขสันหลังและการมีสีออกเหลืองในการช่วยวินิจฉัยเอาไว้ด้วย[56]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#20", "text": "ยังไม่มีการตรวจคัดกรองหลอดเลือดสมองโป่งพองในระดับประชากรเนื่องจากเป็นโรคที่ค่อนข้างพบน้อย ไม่มีความคุ้มทุน เว้นแต่คนที่มีญาติระดับที่หนึ่งไม่ต่ำกว่าสองคนที่มีอาการจากเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่เกิดจากการแตกของหลอดเลือดสมองโป่งพองเท่านั้นที่การตรวจคัดกรองอาจมีประโยชน์[1][25]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#36", "text": "เชื่อกันว่าพยากรณ์โรคของอุบัติเหตุกระทบกระเทือนศีรษะนั้นส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับตำแหน่งและความรุนแรงของการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง[18] แต่การแยกเอาผลของการมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางออกจากผลอื่นๆ ของภาวะสมองกระทบกระเทือนนั้นเป็นการยาก ทำให้ไม่มีใครทราบว่าการมีเลือดใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางนั้นเป็นปัจจัยที่ทำให้พยากรณ์โรคแย่ลง หรือเป็นเพียงสัญญาณบ่งบอกว่ามีการบาดเจ็บเกิดขึ้น ผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บของสมอง (traumatic brain injury) ระดับปานกลางและรุนแรงที่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางตั้งแต่แรกรับไว้รักษาในโรงพยาบาลนั้นมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางถึงสองเท่า นอกจากนั้นยังมีความเสี่ยงของการเกิดภาวะทุพพลภาพรุนแรงและสภาพผักเรื้อรังมากกว่าอีกด้วย นอกจากนี้เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่เกิดจากอุบัติเหตุยังมีความสัมพันธ์กับตัวบ่งชี้ผลลัพธ์ที่ไม่ดีอย่างอื่น เช่น ภาวะลมชักหลังเกิดการบาดเจ็บ (post traumatic epilepsy) ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ และการต้องอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยหนักเป็นเวลานาน อย่างไรก็ดีผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บที่มีคะแนนแบบประเมินกลาสโกวมากกว่า 12 นั้น 90% มีผลการรักษาดี[18]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#38", "text": "อาการทางระบบประสาทชั้นสูง เช่น ความรู้สึกเปลี้ย อารมณ์แปรปรวน และอาการอื่นๆ เป็นผลตามมาที่พบได้ทั่วไป แม้ในผู้ป่วยที่มีอาการทางระบบประสาทฟื้นตัวอย่างดีก็ยังพบมีภาวะวิตกกังวล ซึมเศร้า ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD) และการเสื่อมถอยของสติปัญญาได้บ่อย ผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางถึง 46% จะมีความบกพร่องของภาวะการรับรู้ที่รุนแรงถึงขั้นส่งผลต่อคุณภาพชีวิต[3] ผู้ป่วยถึง 60% มีอาการปวดศีรษะ[49] เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่เกิดจากหลอดเลือดโป่งพองอาจทำให้มีความเสียหายต่อไฮโปทาลามัสและต่อมใต้สมอง ซึ่งทำหน้าที่สำคัญในการควบคุมและผลิตฮอร์โมนของร่างกาย ผู้ป่วยที่เคยมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางถึงกว่าหนึ่งในสี่มีภาวะต่อมใต้สมองทำงานน้อย ทำให้มีฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดน้อยกว่าปกติ ฮอร์โมนเหล่านี้ เช่น โกรธฮอร์โมน (Growth hormone) เฟชเอสเอช (Follicle-stumulating hormone) แอลเอช (luteinizing hormone) เป็นต้น[50]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#34", "text": "ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางมักให้ผลลัพธ์ที่ไม่ดีกับผู้ป่วย[2] โดยมีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 40-50%[14] แต่ปัจจุบันเริ่มมีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้นเรื่อยๆ[1] ผู้ป่วยที่ไม่จำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลจำนวนมากกว่าหนึ่งในสี่มีความจำกัดในการดำเนินชีวิตอย่างมาก และมีจำนวนผู้ที่ไม่มีอาการหลงเหลืออยู่เลยเพียงไม่ถึงหนึ่งในห้าเท่านั้น[31] การได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เช่น การวินิจฉัยผิดเป็นโรคปวดศีรษะไมเกรน มีส่วนทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ไม่ดี[15] ปัจจัยที่ตรวจพบได้ตั้งแต่แรกรับไว้รักษาในโรงพยาบาลที่มีความสัมพันธ์กับการมีผลลัพธ์ไม่ดีมีหลายอย่าง ในจำนวนนี้เช่น การมีอาการทางระบบประสาทที่ไม่ดี มีความดันเลือดตัวบนสูง เคยเป็นโรคหัวใจมาก่อน เคยมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางมาก่อน มีโรคตับ ตรวจ CT scan พบมีเลือดออกมากหรือมีหลอดเลือดโป่งพองขนาดใหญ่ ตำแหน่งของหลอดเลือดโป่งพองอยู่ที่ระบบไหลเวียนส่วนหลัง และการมีอายุมาก[44] ปัจจัยที่ตรวจพบระหว่างนอนรักษาในโรงพยาบาลที่ทำให้มีพยากรณ์โรคที่ไม่ดีมีหลายอย่างเช่น มีการขาดเลือดของเนื้อสมองที่เกิดขึ้นภายหลังซึ่งเกิดจากการหดเกร็งของหลอดเลือด มีก้อนเลือดในเนื้อสมอง มีเลือดออกในโพรงสมอง และการมีไข้ขึ้นในวันที่ 8 ของการนอนรักษาในโรงพยาบาล[44]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" }, { "docid": "308056#2", "text": "การมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางเป็นโรคหลอดเลือดสมองอย่างหนึ่งซึ่งคิดเป็น 1-7% ของโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด[2] ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่อาจทำให้เสียชีวิตหรือทุพพลภาพได้รุนแรงแม้จะได้รับการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ ก็ตาม ผู้ป่วยเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางเกือบครึ่งนั้นเสียชีวิต และ 10-15% เสียชีวิตก่อนมาถึงโรงพยาบาล[1] ผู้ที่รอดชีวิตนั้นก็มักมีความสูญเสียทางระบบประสาทหรือการรับรู้[3]", "title": "เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง" } ]
687
อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน มีพื้นที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "868938#1", "text": "ป่าไม้เขตลำปางได้มีหนังสือ ที่ กษ 0709 (ลป)/4181 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2524 เรื่อง ขอกำหนดพื้นที่ป่าบริเวณน้ำตกแจ้ซ้อนเป็นวนอุทยาน กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ จึงมีคำสั่งที่ 1648/2524 ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2524 ให้นายนฤทธิ์ ตันสุวรรณ นักวิชาการป่าไม้ 6 ไปทำการสำรวจ สรุปได้ว่าสภาพป่าบริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีจุดเด่นทางธรรมชาติสวยงามหลายแห่ง มีน้ำตกและบ่อน้ำร้อนตลอดปี เหมาะสำหรับจัดเป็นวนอุทยาน ในปีงบประมาณ 2526 กรมป่าไม้ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งวนอุทยานแอ่งน้ำอุ่น (วนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน) บริเวณน้ำตกแจ้ซ้อน ตำบลแจ้ซ้อน กิ่งอำเภอเมืองปาน อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง เนื้อที่ประมาณ 45,000 ไร่ หรือ 75 ตารางกิโลเมตร โดยอยู่ในความดูแลของสำนักงานป่าไม้เขตลำปาง", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" } ]
[ { "docid": "868938#4", "text": "ต่อมาได้มีประกาศขยายเขตอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน ตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกาขยายเขตอุทยานแห่งชาติป่าแม่สุก ป่าแม่สอย ป่าแม่ตุ๋ยฝั่งซ้าย และป่าแม่ตุ๋ยฝั่งขวา ในท้องที่ตำบลวังใต้ ตำบลร่องเคาะ อำเภอวังเหนือ ตำบลแม่สุก อำเภอแจ้ห่ม และตำบลหัวเมือง ตำบลเมืองปาน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง พ.ศ. 2543 เนื้อที่ประมาณ 110,000 ไร่ หรือ 176 ตารางกิโลเมตร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนที่ 121 ก ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2543", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#20", "text": "บ่อน้ำร้อนแจ้ซ้อน ห้องอาบน้ำแร่ จุดชมวิวดอยล้าน เทศกาลดอกเสี้ยวบาน ถ้ำผางาม น้ำตกแจ้ซ้อน น้ำตกแม่ขุน น้ำตกแม่เปียก น้ำตกแม่มอญ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#13", "text": "ป่าสนเขา ขึ้นเป็นหย่อมๆ บริเวณแนวสันเขา ไหล่เขา ที่มีความสูงมากกว่า 900 เมตรจากระดับน้ำทะเล พันธุ์ไม้เด่นที่พบได้แก่ สนสองใบ สนสามใบ ก่อ จำปีป่า หว้า มะขามป้อมดง กำลังเสือโคร่ง ฯลฯ พืชพื้นล่างเป็นพวกหญ้า หนาด สาบหมา และพืชในวงศ์ข่า", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#15", "text": "เนื่องจากสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ และผสมปะปนกันอยู่หลายชนิด ตลอดจนระดับความสูงที่แตกต่างกันตั้งแต่ 300 - 2,000 เมตร จึงทำให้เกิดเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิด สัตว์ป่าที่พบเห็นในเขตอุทยานแห่งชาติ ประกอบด้วย เก้ง กวางป่า เลียงผา หมูป่า เสือดาว หมีควาย ชะนีมือขาว ลิงลม เม่น หมูหริ่ง ชะมด พังพอน ลิ่นพันธุ์ชวา กระต่ายป่า กระรอกหลากสี กระแต อ้นใหญ่ หนูฟานเหลือง ค้างคาวไผ่หัวแบนเล็ก ไก่ป่า นกเขาเปล้า นกบั้งรอกใหญ่ นกแอ่นพันธุ์หิมาลัย นกกะเต็นน้อยธรรมดา นกโพระดกคอสีฟ้า นกนางแอ่นบ้าน นกพญาไฟใหญ่ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ นกเขียวคราม นกกินแมลงอกเหลือง นกกางเขนดง นกจับแมลงจุกดำ นกสีชมพูสวน ตะพาบน้ำ จิ้งจกดินลายจุด กิ้งก่าสวน แย้ขีด จิ้งเหลนบ้าน งูสามเหลี่ยม งูลายสอใหญ่ งูเขียวหางไหม้ท้องเขียว อึ่งกรายตาขาว คางคกบ้าน เขียดจะนา กบหนอง ปาดบ้าน และอึ่งขาดำ เป็นต้น ประมาณเดือนเมษายนของทุกปี จะมีจักจั่นป่ามารวมตัวกันบริเวณบ่อน้ำร้อน ซึ่งเชื่อกันว่าจักจั่นป่าเหล่านี้มาดื่มน้ำแร่", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#3", "text": "กองอุทยานแห่งชาติกรมป่าไม้ จึงมีคำสั่งที่ 388/2530 ลงวันที่ 4 มีนาคม 2530 ให้ นายสุทัศน์ วรรณะเลิศ นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปดำเนินการสำรวจพื้นที่ป่าบริเวณวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมประกอบการพิจารณากำหนดขอบเขตพื้นที่ เพื่อยกระดับฐานะวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อนเป็นอุทยานแห่งชาติ อีกทั้งนายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย อธิบดีกรมป่าไม้ และนายธำมรงค์ ประกอบบุญ ผู้อำนวยการกองอุทยานแห่งชาติ ได้เดินทางไปเยี่ยมชมและร่วมพิจารณาความเหมาะสมในการวางแนวทางพัฒนาวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อนเป็นสถานที่ท่องเที่ยว เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2530 และกองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ 1/2530 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2530 เห็นชอบในการยกฐานะเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าแม่สุก ป่าแม่สอย ป่าแม่ตุ๋ยฝั่งซ้าย ป่าแม่ตุ๋ยฝั่งขวา ในท้องที่ตำบลแจ้ซ้อน ตำบลเมืองปาน ตำบลบ้านขอ ตำบลทุ่งกว๋าว อำเภอแจ้ห่ม และตำบลบ้านคำ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง เนื้อที่ประมาณ 370,000 ไร่ หรือ 592 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 105 ตอนที่ 122 ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2531 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 58 ของประเทศ", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "103234#1", "text": "ตามคำสั่งกรมป่าไม้ ที่ 1627/2532 ให้ นายพูนสถิตย์ วงศ์สวัสดิ์ นักวิชาการป่าไม้ 5 กองอุทยานแห่งชาติดำเนินการสำรวจเพิ่มเติม และจัดตั้งพื้นที่ป่าบริเวณอุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท และบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยาง-ป่าแม่งาว ป่าแม่ต๋า-ป่าแม่มาย ป่าแม่งาวฝั่งขวา และป่าแม่โป่ง ในท้องที่อำเภอเมือง อำเภอแจ้ห่ม และอำเภองาว จังหวัดลำปาง เพื่อประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยให้ทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแห่งนี้ด้วย", "title": "อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท" }, { "docid": "868938#12", "text": "ป่าดิบเขา พบขึ้นอยู่ในระดับความสูงจากน้ำทะเลตั้งแต่ 800 เมตรขึ้นไป มีอยู่เป็นหย่อมๆ บริเวณตอนเหนือของอุทยานแห่งชาติ พันธุ์ไม้เด่นที่พบได้แก่ ก่อเดือย ก่อแป้น ก่อตาหมู ไก๋ ทะโล้ เหมือด จำปาป่า ยางเหลือง ตะไคร้ต้น ฯลฯ พืชพื้นล่างที่พบ เช่น ไผ่ศก โชนผี และพืชในวงศ์ขิงข่า", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "57951#5", "text": "ได้มีกลุ่มราษฎรในท้องที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ชุมนุมคัดค้านการประกาศจัดตั้งอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว เนื่องจากพื้นที่เตรียมการดั้งกล่าวบางส่วนทับซ้อนพื้นที่ทำกินของราษฎรและได้ทำการสำรวจรังวัดแนวเขตปรับปรุงใหม่โดยส่วนวิศวกรรมป่าไม้ กรมป่าไม้แล้ว ขณะนี้ข้อมูลดังกล่าวได้จัดส่งให้สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เมื่อเดือนมกราคม 2546 เพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไปแล้ว", "title": "อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว" }, { "docid": "17494#15", "text": "จังหวัดเชียงใหม่ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย อุทยานแห่งชาติขุนขาน อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก อุทยานแห่งชาติดอยเวียงผา อุทยานแห่งชาติผาแดง อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้ อุทยานแห่งชาติแม่โถ อุทยานแห่งชาติแม่วาง อุทยานแห่งชาติศรีลานนา อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง อุทยานแห่งชาติออบขาน อุทยานแห่งชาติออบหลวง จังหวัดลำพูน อุทยานแห่งชาติแม่ปิง อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล จังหวัดเชียงราย อุทยานแห่งชาติดอยหลวง อุทยานแห่งชาติขุนแจ อุทยานแห่งชาติลำน้ำกก จังหวัดลำปาง อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อุทยานแห่งชาติดอยจง อุทยานแห่งชาติแม่วะ อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท อุทยานแห่งชาติเขลางค์บรรพต จังหวัดพะเยา อุทยานแห่งชาติดอยภูนาง อุทยานแห่งชาติแม่ปืม อุทยานแห่งชาติภูซาง จังหวัดอุตรดิตถ์ อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน อุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ อุทยานแห่งชาติถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ อุทยานแห่งชาติแม่เงา อุทยานแห่งชาติสาละวิน จังหวัดน่าน อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อุทยานแห่งชาติขุนสถาน อุทยานแห่งชาติศรีน่าน อุทยานแห่งชาติขุนน่าน อุทยานแห่งชาติแม่จริม อุทยานแห่งชาตินันทบุรี อุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน จังหวัดแพร่ อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย อุทยานแห่งชาติแม่ยม อุทยานแห่งชาติดอยผากลอง", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "63525#0", "text": "เมืองปาน () เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนเหนือของจังหวัดลำปาง มีสภาพภูมิศาสตร์เป็นภูเขาและป่าไม้อุดมสมบูรณ์ และเป็นที่ตั้งของที่ทำการอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน", "title": "อำเภอเมืองปาน" }, { "docid": "868938#6", "text": "สภาพภูมิประเทศ เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน เป็นส่วนหนึ่งของสันเขาผีปันน้ำตะวันตก ทอดตัวตามแนวทิศเหนือสู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ เรื่อยไปทางทิศใต้จนถึงอำเภอแม่พริก ซึ่งเป็นเขตแบ่งระหว่างจังหวัดลำปางกับจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางตั้งแต่ 300-2,031 เมตร มียอดเขาสูงที่สุดคือ ดอยลังกา", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#10", "text": "ป่าเบญจพรรณ พบขึ้นอยู่โดยทั่วไปตามสันเขาและตามหุบเขาในระดับความสูง 400-1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล ครอบคลุมพื้นที่ โดยทั่วไปทางด้านทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ พันธุ์ไม้เด่นที่พบส่วนใหญ่ประกอบด้วย สัก แดง ประดู่ แสมสาร กระบก กว้าว เก็ดแดง ติ้ว ซ้อ ปอกระสา ฯลฯ จะพบไผ่กระจายอยู่ทั่วไป เช่น ไผ่ซางนวล ไผ่ไร่ ไผ่หอบ พืชพื้นล่างและพืชอิงอาศัยที่พบมีกล้วยนวล กระชาย เล็บเหยี่ยว กะลังตังช้าง เครือออน เป็นต้น", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#11", "text": "ป่าเต็งรัง พบอยู่ตามเชิงเขาไหล่เขาทางด้านทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติในระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ 700 เมตร พันธุ์ไม้เด่นที่พบได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง มะกอกป่า แดง ประดู่ อ้อยช้าง กระโดน มะเกิ้ม โมกมัน มะค่าแต้ ฯลฯ พืชพื้นล่างที่พบได้แก่ หญ้าเพ็ก โจด และปรงป่า", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#9", "text": "สังคมพืชของอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อนสามารถจำแนกออกได้เป็น", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#0", "text": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อำเภอเมืองปาน อำเภอแจ้ห่ม อำเภอวังเหนือ และอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร มีสัตว์ป่านานาชนิด และมีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง เช่น น้ำตก แอ่งน้ำอุ่น บ่อน้ำร้อน ซึ่งสามารถเป็นหลักฐานหนึ่งที่แสดงว่าใต้พื้นโลกเรายังมีความร้อนระอุอยู่", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#21", "text": "หมวดหมู่:อุทยานแห่งชาติในจังหวัดลำปาง", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#18", "text": "จากตัวเมืองลำปางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (ลำปาง-ห้างฉัตร) เลี้ยวขวาที่สามแยกบ้านน้ำโท้ง ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1157 (ลำปาง-ห้วยเป้ง-เมืองปาน) ระยะทาง 55 กม. เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1287 (เมืองปาน-แจ้ห่ม) ประมาณ 2 กิโลเมตร เลี้ยวซ้าย ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1252 (ข่วงกอม-ปางแฟน)อีกประมาณ 11 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าตามทาง รพช.อีกประมาณ 3 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน (มีป้ายบอกตลอดเส้นทาง)", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#7", "text": "นอกจากนี้ยังประกอบด้วย ดอยสันผักกิ้ง ดอยชายแดน ดอยแม่กา ดอยตะไคร้ ดอยต๋ง ดอยวังหลวง ดอยห้วยหลอด ผาหลักไก่ ม่อนทางเก้า ดอยแม่บึก ม่อนจวง ดอยแม่มอน และดอยแปเมือง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าต้นน้ำลำธารชั้น 1-A ของลุ่มน้ำวัง ประกอบด้วยลำน้ำขนาดต่างๆ จำนวนมากที่สำคัญได้แก่ น้ำแม่หมี น้ำแม่ต๋อม น้ำแม่สอย น้ำแม่มอน น้ำแม่ปาน น้ำแม่ฮะ น้ำแม่ปอม น้ำแม่บึง น้ำแม่สุ่ย และน้ำแม่ค่อม เป็นต้น และเป็นแหล่งต้นกำเนิดของลำห้วยใหญ่ๆ ที่สำคัญเป็นสาขาของแม่น้ำวัง เช่น แม่น้ำสอย ห้วยแม่กา ห้วยแม่ปาน นอกจากนี้ยังมีแหล่งน้ำที่ผุดขึ้นมาจากใต้ดินเป็นแหล่งบ่อน้ำร้อน บริเวณกว้างถึง 2,400 ตารางเมตร มีน้ำร้อนผุดจากบ่อเล็กถึง 9 บ่อ เต็มไปด้วยโขดหินน้อยใหญ่ มีอัตราการไหลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งมีอัตราการไหลประมาณ 15 ลิตร/วินาที อุณหภูมิระหว่าง 39-47 องศาเซลเซียส", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#16", "text": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อนอยู่ห่างจากตัวเมืองจังหวัดลำปางประมาณ 75 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปอุทยานแห่งชาติได้ดังนี้", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#5", "text": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.1 (ทุ่งยาง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.2 (ผางาม) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.3 (แม่สุย) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.4 (แม่อ้อ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.5 (แม่แจ๋ม) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.6 (ป่าเหมี้ยง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.7 (ดอยล้าน) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ จซ.8 (แม่กา) หน่วยจัดการต้นน้ำขุนสอย หน่วยจัดการต้นน้ำแม่นึง สถานีควบคุมไฟป่าแจ้ซ้อน ด่านตรวจ/ด่านเก็บค่าธรรมเนียม", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "312864#8", "text": "อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช เดิมมีชื่อว่า อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่ เนื่องจากมีต้นกระบากที่ใหญ่สุดในประเทศไทยเท่าที่สำรวจพบในขณะนี้ ตั้งอยู่ในท้องที่ 2 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตาก และอำเภอแม่สอด ซึ่งประกาศทับซ้อนป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ละเมา ตำบลพะวอ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 954 (พ.ศ. 2524) และประกาศทับซ้อนป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ท้อ–ห้วยตากฝั่งขวา ตำบลแม่ท้อ อำเภอเมือง จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 145 (พ.ศ. 2509) มีพื้นที่ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาจำนวน 93,125 ไร่ แต่มีพื้นที่จริงจากการคำนวณเท่ากับ 163,750 ไร่ \nต่อมากองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ พิจารณาเห็นว่า เพื่อเป็นการเทอดพระเกียรติแด่องค์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเป็นสิริมงคลแก่อุทยานแห่งชาติ ตลอดจนเพื่อเป็นการรำลึกถึงสถานที่อันมีค่าทางประวัติศาสตร์ของชาติไทย ได้แก่ จังหวัดตาก เห็นสมควรเปลี่ยนชื่อ อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่ เป็น อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช กรมป่าไม้จึงได้ดำเนินการกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เพื่อใช้พระปรมาภิไธยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นชื่ออุทยานแห่งชาติ และได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามหนังสือสำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2529 ให้ใช้ชื่อว่า อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ", "title": "พระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี" }, { "docid": "868938#8", "text": "ลักษณะภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จัดอยู่ในลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับแล้ง ประกอบด้วย ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม จะมีฝนตกชุกในเดือนกันยายน ปริมาณน้ำฝนในรอบปี มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 1,070 มิลลิเมตร มีการกระจายไม่สม่ำเสมอ โดยจะมีฝนตกชุกในช่วงต้นเดือนกันยายน และจะมีระยะฝนทิ้งช่วงระหว่างต้นเดือนมิถุนายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงที่อากาศเย็นสบาย อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 22 องศาเซลเซียส และฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งจะเป็นช่วงที่อากาศค่อนข้างจะร้อน อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 26 องศาเซลเซียส แต่โดยปกติอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อนสามารถเดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดปี", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#14", "text": "ป่าดิบชื้น พบอยู่ในบริเวณหุบเขา ตามริมห้วยลำธารต่างๆ บริเวณที่มีความชุ่มชื้นสูง พันธุ์ไม้เด่นที่สำคัญ ได้แก่ ยาง มะหาด มะไฟ อบเชย ชมพู่ป่า สะท้อนรอก ลำไยป่าเครือ คอแลน สะตอ ยมป่า พระเจ้าห้าพระองค์ พืชพื้นล่างที่พบเป็นพวก ไผ่เฮียะ เฟิน หวาย และพืชในวงศ์ขิงข่า", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#2", "text": "ต่อมากรมป่าไม้ได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/13868 และ 13870 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2526 ถึงจังหวัดลำปางและป่าไม้เขตลำปาง ขอความเห็นที่จะยกฐานะวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน (วนอุทยานแอ่งน้ำอุ่น) เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งจังหวัดลำปางได้มีหนังสือ ด่วนมาก ที่ ลป 0009/18356 ลงวันที่ 12 กันยายน 2526 และป่าไม้เขตลำปางได้ให้ความเห็นชอบและสนับสนุน ในการที่จะกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจ เป็นการสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2526 ที่กำหนดให้จังหวัดลำปาง เป็นจังหวัดส่งเสริมการท่องเที่ยว กองอุทยานแห่งชาติ ได้ดำเนินการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมต่อมาเป็นระยะๆ และกองอุทยานแห่งชาติ สำนักงานป่าไม้เขตลำปางและส่วนราชการองค์กรภาคเอกชนของจังหวัดลำปาง ได้เริ่มโครงการจัดตกแต่งวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระชนมายุครบ 60 พรรษา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2529 ถึงวันที่ 5 ธันวาคม 2530 และเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2530 ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี ได้เดินทางไปตรวจราชการวนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน เกิดความประทับใจในธรรมชาติที่สวยงาม จึงเสนอในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อวางแผนพัฒนาให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวต่อไป ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีเสนอ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2530 และได้มีหนังสือแจ้งให้กรมป่าไม้ดำเนินการตามสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/2889 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2530", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "5525#164", "text": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน อุทยานแห่งชาติดอยหลวง อำเภอวังเหนือ อุทยานแห่งชาติดอยจง อำเภอเสริมงาม อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท อำเภองาว อุทยานแห่งชาติแม่วะ อำเภอเถิน อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาน อำเภอห้างฉัตร พื้นที่สงวนชีวมณฑลสวนสัก ห้วยทาก อำเภองาว", "title": "จังหวัดลำปาง" }, { "docid": "868938#17", "text": "จากตัวเมืองลำปาง ไปตามทางหลวงหมายเลข 1035 (ลำปาง-วังเหนือ) ระยะทาง 58 กิโลเมตร ผ่านอำเภอแจ้ห่ม เลี้ยวซ้ายท่สามแยกบ้านปงคอบ ไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1287 (แจ้ห่ม-เมืองปาน) ระยะทาง 6 กิโลเมตร เลี้ยวขวาไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1252 (ข่วงกอม-ปางแฟน) ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าตามทาง รพช.อีกประมาณ 3 กิโลเมตร ถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน (มีป้ายบอกตลอดเส้นทาง)", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "868938#19", "text": "จากจังหวัดเชียงราย สามารถเดินทางมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ประมาณ 25 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาตามทางหลวงหมายเลข 118 ผ่านอำเภอแม่สรวย อำเภอเวียงป่าเป้า ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร ถึงสามแยกบ้านแม่ขะจานแล้วเลี้ยวซ้ายเข้ามา 10 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวขวาตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1035 (ลำปาง-วังเหนือ) ระยะทาง 60 กิโลเมตร ถึงสามแยกบ้านปงคอบเลี้ยวขวา ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1252 (ข่วงกอม-ปางแฟน) อีกประมาณ 11 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าตามทาง รพช.อีกประมาณ 3 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน", "title": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน" }, { "docid": "103234#0", "text": "อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท มีพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่อำเภอเมืองลำปาง อำเภอแจ้ห่ม อำเภองาว จังหวัดลำปาง มีลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพป่าเป็นป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มาก มีสวนสักกระจายอยู่ทั่วไป เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์จำนวนมาก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร ชั้นที่ 160 มีจุดเด่นและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่สำคัญ คือ ถ้ำผาไท หล่มภูเขียว น้ำตำแม่แก้ น้ำตกเก๊าฟุ บริเวณอ่างเก็บน้ำเขื่อนกิ่วลม ถ้ำออกรู ห้วยแม่พลึง นอกจากนี้ยังมีน้ำตกขนาดเล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป และยังมีสถานที่ท่องเที่ยวขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ คือ ศูนย์ฝึกลูกช้างบ้านปางหละ อำเภองาว มีเนื้อที่ประมาณ 758,750 ไร่ หรือ 1,214 ตารางกิโลเมตร ", "title": "อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท" }, { "docid": "5525#156", "text": "อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน กิ่วฝิ่น อำเภอเมืองปาน", "title": "จังหวัดลำปาง" } ]
720
โฟร์แองจี สี่สาวแสนซนออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "124482#0", "text": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชัน 3 มิติ จากประเทศไทย เกิดจากการร่วมมือกันระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 กับ บริษัท โฮมรัน เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด ผลิตแอนิเมชันโดย บริษัท อัญญาแอนิเมชัน จำกัด (Anya Animation) ออกฉายครั้งแรกที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2549", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" } ]
[ { "docid": "124482#12", "text": "ไก่จังเป็นเด็กหญิงชั้นประถม หนึ่งในสมาชิกของ “โฟร์แองจี” เธอมีนิสัยเรียบร้อย อ่อนหวาน ในเทอมแรกเธอกลัวตุ๊กตาหมีเป็นที่สุด เพราะตอนเป็นเด็กเล็กเคยถูกตุ๊กตาหมีตัวใหญ่หล่นทับ เวลาเจอตุ๊กตาหมีมักจะเป็นลม แต่ในเทอม 2 ความกลัวตุ๊กตาหมีได้หายไปเพราะถูกหมีแพนด้าช่วยเอาไว้ ทำให้เธอคิดว่าหมีไม่ได้น่ากลัวอะไร", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#14", "text": "นิน่า เป็นตัวการ์ตูนจากเรื่อง “โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน” ทั้งชื่อและนิสัยเอาแบบมาจาก “กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์” ซึ่งเป็นพิธีกรรายการ “ผู้หญิงถึงผู้หญิง”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "243189#0", "text": "ด๊อกกาดู๊ป () เป็นแอนิเมชัน 3 มิติ จากประเทศไทย ผลิตโดย บริษัท โฮมรันเอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2552 ต่อจาก โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน และได้การตอบรับเป็นอย่างดีจากในประเทศไทย ทำให้เรื่องด๊อกกาดู๊ปมีเรทติ้งสูงติดอันดับท๊อป 3 ของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ", "title": "ด๊อกกาดู๊ป" }, { "docid": "124482#17", "text": "ในเทอม 2 เธอได้เข้าร่วมขบวนการ “สี่อภินิหาร” ของกัปตันเจ และได้รับการฝึกฝนจากกัปตันเจ ทำให้เธอสามารถควบคุมท่า “พายุนิน่า” ได้สำเร็จ", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#7", "text": "เริ่ม 19 พฤศจิกายน 2553 ทาง ช่อง 3 ทุกวันศุกร์ เวลา 18.00 น. — 18.30 น. และจะมีการออกอากาศเพียง 5 สัปดาห์จบเท่านั้น", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#21", "text": "กัปตันเจ/ครูแจ้ กัปตันเจออกโรงครั้งแรกในตอนท้ายของเทอม 1 แต่มามีบทบาทเอาเทอม 2 เขาเป็นมนุษย์ดาวอังคารคนสุดท้ายที่รอดจากการทำลายล้างของพ่อมดดูฮู หลังจากที่บ้านเกิดของเขาถูกทำลายลงไปแล้ว เขาก็ได้มาแฝงตัวอยู่ในโลกมนุษย์ และได้เป็นครูที่โรงเรียนประถมแองเจิลโดยใช้ชื่อว่า “นายดนุพร แก้วจาน หรือ ครูแจ้” เพื่อเฝ้ารอการมาของพ่อมดดูฮู และดำรงอยู่ในฐานะซูเปอร์ฮีโร่คอยพิทักษ์โลก ในตอนที่เขาต่อสู้กับพ่อมดดูฮูนั้น เข็มขัดของเขาเกิดเสีย ทำให้เขาใช้พลังไม่ได้ เขาจึงตั้งขบวนการ “สี่อภินิหาร” ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกของ “โฟร์แองจี” ทั้ง 4 คน ในยามปกตินอกจากเป็นครูแล้ว เขายังเปิดร้านขายหนังสืออีกด้วย ซึ่งร้านขายหนังสือนี้ใช้เป็นฐานลับของเขากับขบวนการสี่อภินิหาร กัปตันเจเห็นนิน่าเป็นคนดีมีนิสัยอ่อนโยน ก็เลยแต่งตั้งเธอให้เป็นหัวหน้า", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#31", "text": "หมวดหมู่:การ์ตูนไทย หมวดหมู่:แอนิเมชันไทย", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#20", "text": "ในเทอม 2 เธอได้เข้าร่วมขบวนการ “สี่อภินิหาร” ของกัปตันเจ โดยที่กัปตันเจไม่อยากรับเข้าเป็นสมาชิก แต่ด้วยลูกตื้อของกาละแมร์ที่ต้องการเข้ากลุ่มให้ได้ กับทั้งความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทำให้กัปตันเจต้องยอมให้เธอเข้าร่วมขบวนการด้วย", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#11", "text": "ไก่จัง[9] (Kai) เป็นตัวการ์ตูนที่อยู่ใน “โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน” ทั้งชื่อและนิสัยเอาแบบมาจาก “มีสุข แจ้งมีสุข” ซึ่งเป็นพิธีกรรายการ “ผู้หญิงถึงผู้หญิง”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#29", "text": "น้องไอติม น้องไอติมเป็นเด็กเล็ก ชอบกินไอติมเป็นที่สุด บุคลิกของน้องไอติมจะถือแท่งไอติมตลอดเวลา เวลาพูดจะพูดออกเสียงอู้อี้ ด้วยความเป็นเด็กเล็กก็เลยมักถูกพวก X-4 รังแกเป็นประจำ แต่ก็มีพวกโฟร์แองจีมาช่วยประจำเหมือนกัน", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#15", "text": "นิน่าเป็นเด็กหญิงชั้นประถม หนึ่งในสมาชิกของ “โฟร์แองจี” เธอมีนิสัยเรียบร้อย มีความรับผิดชอบสูง ทำให้เธอได้รับความไว้วางใจจากครูและเพื่อนๆให้เป็นหัวหน้าห้อง เธอมีข้อเสียอยู่อย่างหนึ่งก็คือ เวลาได้ยินเสียงเพลงประเภทเพลงเต้น เธอจะไม่สามารถควบคุมตัวเองไว้ได้ และได้เกิดท่า “พายุนิน่า” ซึ่งเป็นท่าที่เธอหมุนตัวด้วยความเร็วสูง ถ้าหากไปถูกใครหรือถูกอะไรเข้า ก็จะทำความเสียหายให้เกิดขึ้นได้ แต่ถ้าเป็นเพลงช้าจะไม่เป็นไร", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#16", "text": "บุคลิกที่เด่นของนิน่าอีกอย่างก็คือ เธอใช้ผ้าพันคอที่มีสีหลากสี[11] ซึ่งเป็นตัวละครเพียงตัวเดียวที่พันคอด้วยผ้าแบบนี้", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#24", "text": "พ่อมดดูฮู พ่อมดดูฮูออกโรงครั้งแรกในเทอม 2 เขาเป็นมนุษย์ต่างดาวที่มีแผนจะทำลายโลก แต่ถูกกัปตันเจที่แฝงตัวมาเป็นครูที่โรงเรียนประถมแองเจิลเข้าขัดขวาง และยังทำให้ไม้เท้าของเขาที่ใช้สำหรับการร่ายมนต์หายไปอีกด้วย ต่อมาเขารู้ว่าไม้เท้านั้นตกไปอยู่ในมือของปุ้ยและตอนหลังก็ไปตกอยู่ในมือของครูใหญ่ และไม่สามารถเอาไม้เท้าคืนได้ เขาจึงต้องทำไม้เท้าอันใหม่ทดแทน แต่ไม้เท้าอันใหม่ไม่ดีเท่าอันเก่า ทำให้เขาไม่สามารถใช้เวทมนตร์ได้อย่างใจนึก", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#4", "text": "ในเทอมแรก ปุ้ย ไก่จัง นิน่า และกาละแมร์ ได้มาเจอกันระหว่างทางไปโรงเรียนประถมแองเจิล[4] แต่ไม่สามารถเข้าโรงเรียนได้เนื่องจากมาสาย ทำให้ทั้งสี่ต้องหาวิธีที่จะเข้าไปในโรงเรียนโดยไม่ถูกครูใหญ่ลงโทษ ทั้งสี่คนได้อยู่ห้องเดียวกัน และได้เป็นเพื่อนกันในเวลาต่อมา จึงเกิดความคิดที่จะรวมกลุ่มและได้ตั้งชื่อกลุ่มของตัวเองว่า “โฟร์แองจี”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#10", "text": "ในเทอม 2 เธอได้เข้าร่วมในขบวนการ “สี่อภินิหาร” ของกัปตันเจ", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#30", "text": "ตัวละครในโฟร์แองจี รายการผู้หญิงถึงผู้หญิง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#1", "text": "โฟร์แองจี เป็นชื่อกลุ่มที่ประกอบด้วยเด็กหญิง 4 คน ได้แก่ ปุ้ย ไก่จัง นิน่า และ กาละแมร์ ตัวละครทั้ง 4 นี้ได้ถอดแบบมาจากพิธีกรรายการ “ผู้หญิงถึงผู้หญิง” ซึ่งเป็นรายการที่ออกอากาศทางช่อง 3 โดยตัวละครแต่ละตัวจะใช้ชื่อเล่นของพิธีกรแต่ละคน อุปนิสัยของตัวละครก็เช่นกัน ล้วนแต่มีที่มาจากพิธีกรทั้ง 4 คนด้วย[1]", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#2", "text": "หลังจากที่ออกอากาศในประเทศไทยมาระยะหนึ่ง โฟร์แองจี ก็ได้ออกอากาศที่ต่างประเทศ โดยทาง \"แชนแนลเจ\" (Canal J) ซึ่งเป็นฟรีทีวีช่องรายการสำหรับเด็กอันดับหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ได้ติดต่อซื้อลิขสิทธิ์ไปฉายที่ฝรั่งเศส รวมถึงประเทศในแถบยุโรปอย่าง ประเทศเบลเยียม และ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[2]", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#3", "text": "สำหรับฝรั่งเศส หลังจากซื้อลิขสิทธิ์ไปออกอากาศ ก็ได้ใช้ชื่อเรื่องว่า \"KaNiKaZo, Super Angies\" โดยทำการเปลี่ยนชื่อตัวละครหลายตัว ชื่อ KaNiKaZo (กานิกาโซ) มาจากชื่อตัวย่อของตัวละครที่ได้รับการเปลี่ยนชื่อแล้ว ได้แก่ Ka</u>mille เปลี่ยนมาจากไก่จัง, Ni</u>non มาจากนิน่า, Ka</u>pucine มาจากกาละแมร์ และ Zo</u>é มาจากปุ้ย[3] เป็นคำที่โฟร์แองจีแสดงอาการดีใจ ซึ่งผิดกับทางของไทยจะใช้คำว่า \"กานิกาปู้\" (KaNiKaPu) มาจากตัวหน้าที่สะกดเป็นอังกฤษของชื่อ ไก่จ้ง (Ka</u>i) ,นิน่า (Ni</u>na) ,กาละแมร์ (Ka</u>lamare) และ ปุ้ย (Pu</u>i)", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#18", "text": "กาละแมร์ เป็นตัวการ์ตูนที่อยู่ในเรื่อง “โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน” ทั้งชื่อและนิสัยเอาแบบมาจาก “พัชรศรี เบญจมาศ” ซึ่งเป็นพิธีกรรายการ “ผู้หญิงถึงผู้หญิง”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#26", "text": "ครูติ๋ม ครูติ๋มเป็นครูสาวใจดี เป็นที่รักของนักเรียน และยังเป็นครูประจำชั้นของโฟร์แองจีอีกด้วย ปกติเธอจะขี้ตกใจ กลัวพวกแมลงต่างๆ แต่ถ้าหากเธอต้องปกป้องลูกศิษย์ล่ะก็ เธอจะกลายเป็นยอดนักสู้ขึ้นมาทันที มีข้อสังเกต ปกติเธอจะใส่แว่นตา แต่พอเธอใส่ชุดพละเธอจะถอดแว่น", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#27", "text": "แพรีส แพรีสเป็นนักเรียนหญิงอยู่ห้องเดียวกับโฟร์แองจี ครอบครัวของเธอร่ำรวย เธอเองก็ชอบอวดความร่ำรวยอยู่เสมอ พูดไทยคำอังกฤษคำ เวลาเธอไปไหนจะมีเพื่อนของเธอสองคน[14]ตามไปด้วยเสมอ แพรีสไม่ค่อยชอบพวกโฟร์แองจีสักเท่าไหร่ แต่ไม่ถึงกับเป็นศัตรู บางครั้งเธอก็เข้าร่วมกับโฟร์แองจี แต่ส่วนใหญ่เธอจะชอบพูดข่มพวกโฟร์แองจี เช่น อวดความร่ำรวยของตัวเอง เป็นต้น", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#22", "text": "X-4 X-4 (อ่านว่า เอ๊ก - โฟ) มาจาก \"X-Tra[12] Ordinary 4\" เป็นกลุ่มแก๊งเด็กนักเรียนชายรุ่นเดียวกับโฟร์แองจี มีสมาชิกทั้งหมด 4 คน ได้แก่ หนึ่ง, สอง, สาม และ สี่ ทั้งหมดหน้าเหมือนกันหมด เวลาดูว่าใครเป็นใครต้องดูที่ทรงผม หากมีแหลมเดียวก็คือ “เจ้าหนึ่ง “ ซึ่งเป็นหัวโจกของกลุ่ม ในกลุ่มนี้มี “เจ้าสี่” เพียงคนเดียวที่ใช้ผ้าปิดปาก ทำให้พูดไม่ถนัด", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#8", "text": "ปุ้ย (Pui) เป็นตัวการ์ตูนจากเรื่อง “โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน” ทั้งชื่อและนิสัยเอาแบบมาจาก “พิมลวรรณ หุ่นทองคำ”[6] ซึ่งเป็นพิธีกรรายการ “ผู้หญิงถึงผู้หญิง”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#23", "text": "X-4 เป็นแก๊งอันธพาลประจำโรงเรียนประถมแองเจิล เป็นคู่ปรับตลอดกาลของพวกโฟร์แองจี มักทำตัวก่อเรื่องวุ่นวายให้เกิดขึ้น แต่ว่าพวกเขาไม่ได้มีความสามารถพิเศษอะไรนอกจากหัวคิดที่ขี้โกง ชอบแกล้งคนที่อ่อนแอกว่า ทั้งยังเป็นนักวางแผนการร้ายตัวยงอีกด้วย", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#19", "text": "กาละแมร์เป็นเด็กหญิงชั้นประถม หนึ่งในสมาชิกของ “โฟร์แองจี” เธอมีนิสัยกระด้าง ไม่เรียบร้อย ชอบใช้กำลัง ชอบพูดเสียงดัง ไม่เกรงกลัวใคร ถือว่าเป็นตัวละครที่เป็นตัวเด่นตัวหนึ่งของโฟร์แองจี เวลาเรียนชอบหลับ ทำให้ได้คะแนนสอบไม่ค่อยดี เธอมีลักษณะอย่างหนึ่งที่ทำให้เธอรู้สึกเหมือนว่าเป็นปมด้อย ก็คือ ผิวของเธอนั้นคล้ำ ทำให้ถูกหลายคนล้อ แต่ว่ากาละแมร์มีความสามารถพิเศษ เธอสามารถเปล่งเสียงออกมาเป็นตัวอักษรที่แข็งได้ และใช้ความสามารถนี้เป็นอาวุธ จนถูกกลุ่ม X-4 ล้อว่า “ยายเสียงแข็ง”", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#5", "text": "ในเทอม 2 “พ่อมดดูฮู” ต้องการจะทำลายโลก ทำให้ “กัปตันเจ” ซึ่งเป็นมนุษย์จากดาวอังคารคนสุดท้ายที่รอดพ้นจากการทำลายล้างของพ่อมดดูฮู ได้เข้ามาแฝงตัวในโลกมนุษย์ โดยแฝงมาเป็นครูในโรงเรียนประถมแองเจิล ใช้ชื่อว่า “นายดนุพร แก้วจาน” หรือ “ครูแจ้” และคอยขัดขวางพ่อมดดูฮูไม่ให้ทำลายโลก แต่ระหว่างการต่อสู้ เข็มขัดที่เป็นแหล่งกำเนิดพลังของเขาเกิดชำรุด เขาจึงรวบรวม “โฟร์แองจี” มาช่วยต่อสู้ด้วยและตั้งชื่อขบวนการว่า “สี่อภินิหาร”[5] ฉะนั้นในเทอมนี้ ปุ้ย ไก่จัง นิน่า และกาละแมร์ จึงต้องเข้าร่วมขบวนการสี่อภินิหาร", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#9", "text": "ปุ้ยเป็นเด็กหญิงชั้นประถม หนึ่งในสมาชิกของ “โฟร์แองจี” มีนิสัยตระหนี่ ชอบเก็บของต่างๆ รวมทั้งของที่เขาทิ้งแล้วมาไว้ในกระเป๋าของตัวเอง เธอมีกระเป๋าใบหนึ่งชื่อว่า “กระเป๋าเก็บตก”[7] สามารถเก็บของได้ทุกอย่าง ไม่ว่าของนั้นจะใหญ่แค่ไหนก็ตาม ด้วยนิสัยที่มีความเป็นผู้ใหญ่สูง ทำให้ถูกเพื่อนร่วมกลุ่มล้อว่าเหมือนป้า และชอบเรียกเธอว่า “ป้าปุ้ย”[8]", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" }, { "docid": "124482#6", "text": "ในเทอมที่ 3 โฟร์แองจีได้ฝันพบกับมนุษย์หิมะ และบอกว่าต้องตามหาโน้ตทั้งเจ็ดที่หายไปจากกล่องดนตรีให้พบเพื่อหยุดความพิโรธของเทพกาย่า", "title": "โฟร์แองจี สี่สาวแสนซน" } ]
694
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์เมื่อไหร่??
[ { "docid": "4249#1", "text": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสวยราชสมบัติในวันพุธ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ยังเป็นโทศก พ.ศ. 2394 รวมดำรงสิริราชสมบัติ 16 ปี 6 เดือน และมีพระราชโอรส - พระราชธิดารวมทั้งสิ้น 82 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง เวลาทุ่มเศษ ตรงกับวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 สิริพระชนมายุ 64 พรรษา วัดประจำรัชกาลคือวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
[ { "docid": "39975#7", "text": "\"ตามรายงานนี้เห็นได้ชัดว่า เขาเตรียมจะใช้กำลังกับเราอยู่แล้ว เผอิญให้เกิดมีการสวรรคตและเปลี่ยนแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นมาเสวยราชย์ในเวลาที่ทรงทราบเหตุการณ์นอกประเทศดีอยู่แล้ว เพราะทรงมีเวลาศึกษาเพียงพอ ในเวลาที่ผนวชเป็นพระภิกษุถึง 27 ปี พอเสวยราชย์ได้ 4 ปี เซอร์จอน โบว์ริง (Sir John Bowring) เจ้าเมืองฮ่องกง ก็มีจดหมายส่วนตัวเข้ามากราบทูลว่า คราวนี้ตัวเขาจะเข้ามาเป็นราชทูตแทนพระองค์ควีน วิคตอเรีย ไม่ใช่เป็นแต่เพียงทูตมาจากผู้สำเร็จราชการอินเดียเช่นคนก่อน ๆ เพราะฉะนั้นจึงหวังว่าจะไม่มีเรื่องเดือดร้อนถึงต้องขัดใจกัน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบข้อไขอันนี้ดี จึงเปิดประตูรับในฐานะมิตร และเป็นผลให้เราได้พ้นภัยมาได้แต่ผู้เดียวในทางตะวันออกประเทศนี้\"", "title": "พระสยามเทวาธิราช" }, { "docid": "551810#2", "text": "เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น\"พระยาราชวงศ์\" เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2390 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น\"พระยาแพร่\" ขณะมีชันษาได้ 34 ปี เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน", "title": "พระยาพิมพิสารราชา" }, { "docid": "4249#45", "text": "พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าอยู่หัว ได้แก่ \"พระมหาพิชัยมงกุฎ\" หนึ่งในเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ ซึ่งการสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดมาจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ \"มงกุฎ\" นั่นเอง โดยพระราชลัญจกรจะเป็นตรางา ลักษณะกลมรี ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา ซึ่งแสดงถึงทรงมีความเชี่ยวชาญทางด้านอักษรศาสตร์และดาราศาสตร์ ส่วนทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์ เพชร ซึ่งมาจากพระฉายาเมื่อพระองค์ผนวชว่า \"วชิรญาณ\"", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "41622#0", "text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส หรือ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้านพวงศ์ วรองค์อรรคมหามกุฎ ปรมุตมราโชรส เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อย (ธิดาพระอินทรอำไพ (สมเด็จเจ้าฟ้าทัศไภย) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 4 แรม 10 ค่ำ ปีมะเมียจัตวาศก จ.ศ. 1184 ตรงกับวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2365 ในสมัย ร.2 พระองค์เจ้านพวงศ์ เป็นพระโอรสหนึ่งในสองพระองค์ที่ประสูติก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จะทรงขึ้นครองราชย์ (อีกพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร) แรกประสูติ เป็น หม่อมเจ้านพวงศ์ พระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎ ในสมัย ร.4 จึงได้เป็น พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้า", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส" }, { "docid": "17648#3", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 2394 นั้นพระองค์ทรงตระหนักว่าถึงเวลาที่ประเทศไทยจะต้องยอมเปิดสันติภาพกับประเทศตะวันตกในลักษณะใหม่ และปรับปรุงบ้านเมืองให้ก้าวหน้าเยี่ยงอารยประเทศ ทั้งนี้เพราะเพื่อนบ้านกำลังถูกคุกคามด้วยลัทธิจักรวรรดินิยม จึงทรงเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศของไทยมาเป็นการยอมทำสนธิสัญญาตามเงื่อนไขของประเทศตะวันตก และพยายามรักษาไมตรีนั้นไว้เพื่อความอยู่รอดของประเทศ", "title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม" }, { "docid": "4249#10", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระราชวงศ์และเสนาบดีมีมติเห็นชอบให้ถวายราชสมบัติแก่พระมงกุฎ วชิรญาณะ จึงได้ให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ไปเฝ้าพระมงกุฎ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร แต่พระองค์ยังไม่ทรงลาผนวชและตรัสว่าต้องอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ขึ้นครองราชย์ด้วย เนื่องจากพระองค์ทรงเห็นว่าเป็นผู้ที่ควบคุมกำลังทหารเป็นอันมากได้", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "41626#0", "text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร หรือ พระองค์เจ้าชายสุประดิษฐ วรฤทธิราชมกุฎ บุรุษยรัตนราชวโรรส มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมเจ้าน้อย ธิดาของพระอินทรอำไพ (สมเด็จเจ้าฟ้าทัศไภย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กับกรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 6 แรม 14 ค่ำ ปีวอกฉศก จ.ศ. 1186 ตรงกับวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2367 ในสมัย ร.2 พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ เป็นพระโอรสหนึ่งในสองพระองค์ที่ประสูติก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะขึ้นครองราชย์ (อีกพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส) แรกประสูติ เป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎ ในสมัย ร.4 จึงได้เป็น พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้า", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร" }, { "docid": "4249#22", "text": "ด้วยเหตุที่ทรงสนพระทัยในวิทยาการตะวันตกมาตั้งแต่ก่อนขึ้นครองราชย์ จึงทรงคุ้นเคยกับชาวตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษเป็นอย่างมาก ทั้งยังเกี่ยวข้องกับเสนาบดีสกุลบุนนาคเช่นพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์นั้นก็เป็นผู้สนิทสนมและนิยมอังกฤษ เช่นนี้ในรัชสมัยของพระองค์จึงเปิดความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตกอย่างกว้างขวาง มีการทำสัญญากับต่างประเทศถึง 10 ประเทศ ทรงยึดนโยบาย \"ผ่อนสั้น ผ่อนยาว\" มาใช้กับประเทศมหาอำนาจเป็นพระองค์แรกในสมัยรัตนโกสินทร์ อันทำให้ไทยสามารถดำรงเอกราชอยู่ได้จนทุกวันนี้ พระองค์ได้ส่งคณะทูตไทยโดยมีพระยามนตรีสุริยวงศ์เป็นราชทูต เจ้าหมื่นสรรเพ็ชภักดีเป็นอุปทูต หมื่นมณเฑียรพิทักษ์เป็นตรีทูต นำพระราชสาส์นไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษนับเป็นความคิดริเริ่มให้มีการเดินทางออกนอกประเทศได้ เนื่องจากแต่เดิมกฎหมายห้ามมิให้ เจ้านาย พระราชวงศ์ ข้าราชการผู้ใหญ่เดินทางออกจากพระนคร เว้นเสียแต่ไปในการสงครามกับกองทัพ", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "53060#1", "text": "วัดป่าเลไลยก์วรวิหารเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ระดับวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่หน้าบันของวิหารวัดป่าเลไลยก์มีเครื่องหมายพระมหามกุฎอยู่ระหว่างฉัตรคู่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จธุดงค์มาพบสมัยยังผนวชอยู่ เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้วจึงทรงมาปฏิสังขรณ์", "title": "วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร" }, { "docid": "4219#8", "text": "ลำดับรูปพระนามขึ้นครองราชย์สิ้นสุดการครองราชย์รัชกาลที่ 1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช6 เมษายน พ.ศ. 23257 กันยายน พ.ศ. 2352รัชกาลที่ 2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย7 กันยายน พ.ศ. 235221 กรกฎาคม พ.ศ. 2367รัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว21 กรกฎาคม พ.ศ. 23672 เมษายน พ.ศ. 2394รัชกาลที่ 4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว6 เมษายน พ.ศ. 23941 ตุลาคม พ.ศ. 2411รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว1 ตุลาคม พ.ศ. 241123 ตุลาคม พ.ศ. 2453รัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว23 ตุลาคม พ.ศ. 245326 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468รัชกาลที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว26 พฤศจิกายน พ.ศ. 24682 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478) (สละราชสมบัติ)รัชกาลที่ 8พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล2 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478)9 มิถุนายน พ.ศ. 2489รัชกาลที่ 9พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช9 มิถุนายน พ.ศ. 248913 ตุลาคม พ.ศ. 2559รัชกาลที่ 10สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร13 ตุลาคม พ.ศ. 2559ยังอยู่ในราชสมบัติ", "title": "ราชวงศ์จักรี" }, { "docid": "170064#2", "text": "ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เคยอยู่ในเพศบรรพชิตได้เสด็จมาพระราชทานผ้าป่าที่วัดนี้ ในคราวนั้น พระอธิการแก้วเจ้าอาวาสได้ทูลถวายพยากรณ์ว่า \"จะได้เป็นเจ้าชีวิตในเร็วๆนี้\" พระองค์จึงมีรับสั่งว่า \"ถ้าได้ครองแผ่นดินจริงจะมาสร้างวัดให้อยู่ใหม่\" หลังจากนั้นหลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์จึงโปรดเกล้าฯให้สถาปนาวัดขึ้นใหม่ ในเวลาต่อมาจึงโปรดให้พระราชทานสมณะศักดิ์ พระอธิการแก้วเป็น \"พระมหาพฤฒาจารย์\" และโปรดให้สร้างพระอารามใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2397 จนถึง พ.ศ. 2409 โดยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) เป็นแม่กองในการสถาปนา ต่อมาเมื่อทำการก่อสร้างแล้วเสร็จ จึงโปรดฯ ให้สถาปนาขึ้นในพระอารามหลวง พระราชทานนามว่า \"วัดมหาพฤฒาราม\"", "title": "วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร" }, { "docid": "596142#1", "text": "วัดบรมนิวาส เป็นวัดที่พระวชิรญาณเถระโปรดให้เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2377 ประกอบด้วยพระอุโบสถ พระเจดีย์ และกุฏิ 14 หลัง การก่อสร้างดังดำเนินมาจนกระทั่งพระวชิรญาณเถระลาผนวชและขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอารามได้รับการปฏิสังขรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่อีกครั้งในสมัยที่พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) เป็นเจ้าอาวาส โดยเจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5 และพระราชโอรสธิดา เป็นผู้สนับสนุนทุนทรัพย์", "title": "วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร" }, { "docid": "16485#15", "text": "เจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน พ.ศ. 2394 ทรงถูกกำหนดให้ช่วยสยามให้รอดพ้นจากการครอบงำอาณานิคมโดยทรงบังคับให้คนในบังคับทันสมัย แม้พระองค์จะเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชในทางทฤษฎี แต่พระราชอำนาจของพระองค์มีจำกัด หลังจากออกผนวชนาน 27 ปี พระองค์จึงขาดฐานในหมู่เจ้านายที่ทรงอำนาจ และไม่อาจดำเนินระบบรัฐสมัยใหม่ตามพระประสงค์ได้ ความพยายามแรกของพระองค์ในการปฏิรูปเพื่อสถาปนาระบบการปกครองใหม่และยกสถานภาพของทาสสินไถ่และสตรีไม่สัมฤทธิ์ผล", "title": "อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)" }, { "docid": "9091#5", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวใกล้สวรรคต เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎซึ่งทรงผนวชอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร กราบทูลว่าจะเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์ สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎตรัสว่าท่านฟากข้างโน้น (หมายถึงเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์) มีพระชะตาแรงต้องเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ให้ถวายราชสมบัติแก่ท่านนั้นด้วย เพราะหากพระองค์รับราชสมบัติเพียงพระองค์เดียวจะเกิดอัปมงคล ด้วยไปกีดกันบารมีของสมเด็จพระอนุชา ถ้ามีพระเจ้าแผ่นดินสองพระองค์เหมือนอย่างสมเด็จพระนเรศวรสถาปนาสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นพระเจ้าแผ่นดินด้วยก็จะพ้นจากอัปมงคล เจ้าพระยาพระคลังจึงไปเข้าเฝ้าเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ณ พระราชวังเดิมตามรับสั่ง[1] เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าทั้ง 2 พระองค์ได้เสด็จยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เหล่าขุนนางมาประชุมพร้อมกันแล้วกราบทูลเชิญทั้งสองพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ[11] เมื่อเสร็จสิ้นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว จึงมีพระราชดำริว่าสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ก็ทรงพระปรีชารอบรู้กิจการต่าง ๆ มีผู้ใหญ่ผู้น้อยนิยมนับถือมาก สมควรที่จะพระราชทานยศใหญ่กว่ากรมพระราชวังบวรสถานมงคลแต่ก่อน ๆ[12] แต่เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศฯ ยังไม่ได้รับพระสุพรรณบัฏตั้งพระนาม ทำให้ไม่มีพระนามเดิม ดูเป็นการต่ำทรามไป จึงพระราชทานพระสุพรรณบัฏตั้งพระนามเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าอิศเรศจุฑามณี ชั้นหนึ่งก่อน[13] แล้วจึงพระราชทานพระสุพรรณบัฏในการพระราชพิธีบวรราชาภิเษกในวันที่ 25 พฤษภาคม ว่า", "title": "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "260409#4", "text": "จากที่กล่าวข้างต้นนี้ แสดงให้เห็นว่าวัดมณีฯ เป็นวัดที่มีความสำคัญ ด้วยเป็นวัดหลวง ที่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์จากพระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์และด้วยเหตุที่สภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ มีน้ำล้อมรอบ เหมาะแก่การเสด็จประพาสประทับพักผ่อนพระอิริยาบถ จึงทำให้มีเจ้านายชั้นผู้ใหญ่หลายพระองค์เสด็จมาบำเพ็ญพระราชกุศล และเสด็จมาประทับพักผ่อนหลายพระองค์ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (เคยเสด็จท้องพรหมาสตร์เล่นสักวาเมื่อวันขึ้นสิบค่ำ เดือนสิบสอง ปีวอก ตรงกับ พ.ศ. 2415 ) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จพระราชทานกฐิน 2 ครั้ง คือเมื่อ พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2469 การเสด็จแต่ละครั้งก็จะประทับ ณ พระตำหนักแพ กลางท้องพรหมาสตร์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เคยเสด็จเมื่อตอนลาผนวชก่อนขึ้นเสวยราชย์ หรือมีพระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ เจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธุ์วงศ์วรเดช และ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ก็เคยเสด็จถวายพระกฐิน ณ วัดนี้เช่นกัน ", "title": "วัดมณีชลขัณฑ์" }, { "docid": "189470#0", "text": "หอระฆัง ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของพระอุโบสถ สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นใหม่โดยมีลักษณะคล้ายสถาปัตยกรรมไทย ย่อมุมไม้สิบสอง (สี่ด้าน ด้านละสามมุม) ประดับด้วยเครื่องถ้วยชามแบบจีน เป็นลวดลายต่างๆวิจิตรพิสดารอย่างยิ่ง ปัจจุบันได้มีการบูรณะซ่อมแซมใหม่เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 ", "title": "หอระฆัง (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม)" }, { "docid": "78585#24", "text": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อทรงเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎได้ผนวช 27 พรรษาแล้วได้ลาสิกขาขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 57 พรรษา ใน พ.ศ. 2394 ด้านการพระศาสนา ทรงพระราชศรัทธาสร้างวัดใหม่ขึ้นหลายวัด เช่น วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัสวิหาร วัดมกุฏกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นต้น ตลอดจนบูรณะวัดต่าง ๆ อีกมาก โปรดให้มีพระราชพิธี \"มาฆบูชา\" ขึ้นเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนได้ถือปฏิบัติสืบมาจนถึงทุกวันนี้", "title": "ศาสนาพุทธในประเทศไทย" }, { "docid": "4775#9", "text": "ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยยังคงทำสงครามกับพม่ามาโดยตลอดซึ่ง เจ้าเมืองและชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังคงมีส่วนในการทำสงครามดังกล่าว จนเมื่อพม่าตกเป็นของอังกฤษ บทบาทของเมืองเพชรบุรีที่มีต่อเมืองหลวงและราชสำนักจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีตั้งแต่ครั้งยังผนวชอยู่เมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นบนเขาเตี้ย ๆ ใกล้กับตัวเมืองและพระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังอีกแห่งหนึ่งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรือที่เรียกกันภาษาชาวบ้านว่า “วังบ้านปืน” และด้วยความเชื่อที่ว่าอากาศชายทะเลและน้ำทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บป่วยได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน” ขึ้นที่ชายหาดชะอำเพื่อใช้เป็นที่ประทับรักษาพระองค์", "title": "จังหวัดเพชรบุรี" }, { "docid": "4054#19", "text": "หลังจากลาสิกขาบท สุนทรภู่ได้รับพระอุปถัมภ์จากเจ้าฟ้าน้อย หรือสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ รับราชการสนองพระเดชพระคุณทางด้านงานวรรณคดี สุนทรภู่แต่ง เสภาพระราชพงศาวดาร บทเห่กล่อมพระบรรทม และบทละครเรื่อง อภัยนุราช ถวาย รวมถึงยังแต่งเรื่อง พระอภัยมณี ถวายให้กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพด้วย เมื่อถึงปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงสถาปนาเจ้าฟ้าน้อยขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สุนทรภู่จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศักดิ์เป็น พระสุนทรโวหาร ช่วงระหว่างเวลานี้สุนทรภู่ได้แต่งนิราศเพิ่มอีก 2 เรื่อง คือ นิราศพระประธม และ นิราศเมืองเพชร", "title": "พระสุนทรโวหาร (ภู่)" }, { "docid": "5358#4", "text": "ในระยะราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 ละโว้หรือลพบุรีตกอยู่ภายใต้อำนาจทางการของอาณาจักรเขมรเป็นครั้งคราว ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เกิดความอ่อนแอในอาณาจักรเขมร ทำให้รัฐต่าง ๆ ที่เคยอยู่ใต้อำนาจปลีกตัวเป็นอิสระ รวมทั้งละโว้ด้วย ในราวพุทธศตวรรษที่ 19 ปรากฏหลักฐานว่าเมืองลพบุรีน่าจะเป็นเมืองที่พระเจ้าอู่ทองเคยครองราชย์มาก่อนที่จะย้ายไปสถาปนาอาณาจักรอยุธยา และในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้เองที่ลพบุรีเจริญรุ่งเรืองที่สุด เพราะสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) ได้สถาปนาลพบุรีเป็นราชธานีที่สอง หลังแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว ลพบุรีก็ขาดความสำคัญลงมากจนกระทั่งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้โปรดสถาปนาเมืองลพบุรีเป็นที่ประทับอีกแห่งหนึ่ง", "title": "จังหวัดลพบุรี" }, { "docid": "158168#1", "text": "ในรัชสมัยของพระองค์กัมพูชาได้หลุดพ้นการตกอยู่ภายใต้การปกครองของสยามและกลายมาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ทำให้พระองค์ได้ทรงเป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์แรกที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส \nเมื่อพำนักในกรุงเทพฯ พระองค์มีสถานะเป็นพระราชบุตรบุญธรรมของกษัตริย์สยาม ผนวชในธรรมยุติกนิกาย 1 พรรษาที่วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร เมื่อสมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดีขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาแล้ว พระองค์ได้ส่งพระราชโอรส คือ นักองค์ราชาวดี เข้ามาทำราชการที่กรุงเทพมหานครในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดีมีใบบอกเข้ามายังกรุงเทพมหานครว่า \"ตนมีชนมายุเจริญล่วงมากไปแล้ว ขอพระราชทานให้พระเจ้าแผ่นดินสยาม ทรงตั้งนักพระองค์ราชาวดี บุตรผู้ใหญ่เป็นมหาอุปราช นักพระองค์ศรีสวัสดิ์บุตรที่ 2 เป็นพระแก้วฟ้า ออกไปช่วยรักษาเมืองเขมร\" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นักพระองค์ราชาวดีมีนามว่า \"\"องค์พระนโรดมพรหมบริรักษ์มหาอุปราช\"\" ตั้งนักพระองค์ศรีสวัสดิ์เป็น \"\"องค์หริราชดะไนไกรแก้วฟ้า\"\" ตามที่พระเจ้ากรุงกัมพูชาทรงขอมา เมื่อ พ.ศ. 2400", "title": "พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร" }, { "docid": "4236#22", "text": "พ.ศ. 2367 มีเหตุการณ์สำคัญดังนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต ขณะมีพระชนมายุได้ 57 พรรษา ครองราชย์ได้ 15 ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีให้อุปราชาภิเษกพระองค์เจ้าอรุโณทัยขึ้นเป็นที่ \"กรมพระราชวังบวรสถานมงคล\" โปรดเกล้าฯ ให้ส่งกองทัพไทยไปช่วยอังกฤษรบพม่า", "title": "พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "7605#14", "text": "ปี พ.ศ. 2400 พระสุนทรราชวงศาฯ (เจ้าฝ่ายบุต) ได้ถึงแก่พิราลัย ยังแต่พระศรีวรราช (เจ้าเหม็น) บุตรพระสุนทรราชวงศาฯ (เจ้าฝ่ายบุต) แลกรมการช่วยกันดูแลราชการบ้านเมืองอยู่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระศรีวรราช (เจ้าเหม็น) บุตรพระสุนทรราชวงศาฯ (เจ้าฝ่ายบุต) เป็นที่พระสุนทรราชวงศา มหาขัตติยชาติ ประเทศราชดำรงรักษ์ศักดิยศไกร ศรีพิไชยสงคราม เจ้าผู้ครองเมืองยศสุนทร คนที่ 4 (พ.ศ. 2400-2418) ปี พ.ศ. 2416 พระสุนทรราชวงศา (เจ้าเหม็น) พระศรีรราชสุพรหม ผู้เป็นบุตร พร้อมด้วยญาติวงศ์ แลไพร่พลได้พร้อมกันปฏิสังขรณ์วัดท่าแขกที่สร้างขึ้นในสมัยเจ้าฝ่ายบุต แล้วนิมนต์พระเกตุโล (เกตุ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพฯ มาเป็นเจ้าอาวาส พร้อมตั้งวงศ์ธรรมยุติกนิกายในเมืองยศสุนทรเป็นครั้งแรก และให้ชื่อวัดใหม่ว่า \"วัดศรีธรรมารามหายโศรก\" (วัดศรีธรรมาราม) พระเกตุโล (เกตุ) ยังเป็นพระภิกษุที่ได้รับการอุปสมบทเป็นพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกายโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ จึงเป็นลูกศิษย์รุ่นแรกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับว่าวัดศรีธรรมารามหายโศรกเป็นวัดธรรมยุติกนิกายแห่งแรกของเมืองยศสุนทร", "title": "จังหวัดยโสธร" }, { "docid": "112394#28", "text": "ภายหลังการเสวยราชย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว พระองค์ทรงปรารถนาที่จะวางกฎเกณฑ์บรรดาศักดิ์แก่บรรดาเจ้าประเทศราชฝ่ายล้านช้างให้เป็นแบบแผน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สถาปนาฐานันดรศักดิ์สำหรับลูกท่านหลานเธอแห่งเจ้าผู้ครองนครประเทศราชฝ่ายล้านช้างหลวงพระบางและฝ่ายจำปาศักดิ์ (ยกเว้นนครเวียงจันทน์) ตลอดจนหัวเมืองฝ่ายอีสานบางเมืองขึ้นอีก เรียกว่า เจ้ายั้งขะหม่อม หรือ เจ้าย่ำกระหม่อม รวมเป็น ๑๑ ตำแหน่ง ดังนี้", "title": "อาญาสี่" }, { "docid": "32173#2", "text": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2393 มีพระราชปณิธานช่วยเหลือราษฎรด้านความเป็นอยู่ โดยมีพระราชดำริแตกต่างจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเชษฐา หลายอย่าง โดยทรงเห็นว่าการเปิดให้ค้าข้าวกับต่างประเทศได้อย่างเสรีจะสร้างประโยชน์แก่บ้านเมืองมหาศาล จะทำให้ข้าวราคาสูงขึ้น เพราะมีความต้องการซื้อข้าวจากต่างชาติ ชาวนาก็จะมีเงินมากขึ้น ข้าวจะกลายเป็นสินค้าส่งออกของไทย สร้างรายได้ให้แก่รัฐบาลเช่นกัน ตลอดจนทรงเห็นว่านโยบาย \"ปิดข้าว\" สร้างรายได้ให้แก่คนส่วนน้อย ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม", "title": "สนธิสัญญาเบาว์ริง" }, { "docid": "538208#0", "text": "พระราชวังสมุทรปราการ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยทรงโปรดฯ ในการเสด็จประพาสเมืองปากน้ำ(สมุทรปราการในปัจจุบัน) เพราะมีหาดทรายขาว ลำน้ำสงบนิ่ง มีธรรมชาติของแม่น้ำเจ้าพระยาที่สวยงาม (ครั้งยังไม่มีเรือใหญ่แล่นผ่าน) และที่สำคัญที่สุด คือ พระสมุทรเจดีย์ โดยเสด็จลงเรือข้ามจากฝั่งอำเภอเมือง ไปนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์หลายครั้ง บันทึกในพงศาวดารยังได้กล่าวเพิ่มเติมว่า ทรงปฏิบัติเช่นว่านี้มาตั้งแต่ครั้งยังทรงผนวช\nเมื่อทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริในการปฏิสังขรณ์องค์พระสมุทรเจดีย์ให้ยิ่งใหญ่ด้วยความสูงถึง ๑๙ วา ๒ ศอก ครอบองค์พระเจดีย์ดั้งเดิมที่ก่อสร้างมาแต่สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างการปรับปรุงพระสมุทรเจดีย์ขึ้นใหม่นี้เอง พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง เพื่อทรงเตรียมไว้เป็นที่ประทับ ในยามเสด็จมาตรวจสอบความคืบหน้าของโครงการ พระราชวังใหม่สร้างขึ้นที่ฝั่งตัวเมือง (ฝั่งตลาด) ริมแม่น้ำเจ้าพระยา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณถนนด่านเก่า ไปจรดพื้นที่รอบตลาดวิบูลย์ศรีในปัจจุบัน ทรงใช้โอกาสในวันสมโภชพระสมุทรเจดีย์องค์ใหม่ พระราชทานนามว่า “พระราชวังสมุทรปราการ” ", "title": "พระราชวังเมืองสมุทรปราการ" }, { "docid": "267041#9", "text": "ลำดับรูปรายพระนาม/รายนามระยะการดำรงตำแหน่งหมายเหตุ1สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชาพ.ศ. 2468ผู้สำเร็จราชการในขณะที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประชวรเมื่อปลายรัชกาล ซึ่งภายหลังขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)", "title": "ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "196664#2", "text": "เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสวยราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 4 ได้ทรงบัญญัติคำนำพระนามพระราชโอรสพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ และได้ใช้คำนำพระนามนี้มาจนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการให้เปลี่ยนเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ แทน", "title": "พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4529#32", "text": "พระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) พระเจ้าประเทศราชผู้ครองนครศรีธรรมราชในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) หรือเจ้าพระยานครพัฒน์ อดีตเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เป็นพระโอรสในกรมหมื่นอินทรพิทักษ์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์) กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์ (เจ้าหญิงฉิม) พระมเหสีฝ่ายซ้ายในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นพระธิดาในพระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) กับหม่อมทองเหนี่ยว เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง พระสนมในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นพระธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) และเป็นมารดาของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) หรือเจ้าพระยานครน้อย อดีตเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ต้นสกุล ณ นคร, โกมารกุล ณ นคร และจาตุรงคกุล เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กับเจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง และเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) เจ้าพระยามหาศิริธรรม (น้อยใหญ่ โกมารกุล ณ นคร) บุตรเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) ต้นสกุล โกมารกุล ณ นคร เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง ณ นคร) อดีตเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช บุตรเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) พระยาเสน่หามนตรี (น้อยเอียด ณ นคร) บุตรเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) ต้นสกุล จาตุรงคกุล เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และพระชนนีในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ เป็นธิดาเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) กับท่านผู้หญิงชุ่ม เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก พระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท และพระชนนีในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปัทมราช เป็นธิดาเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) กับท่านผู้หญิงชุ่ม เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว พระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นธิดาพระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช และพระชนนีในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ และหม่อมไกรสร (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ) เจ้าจอมมารดาน้อยใหญ่ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) และพระชนนีในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมวงศ์ เจ้าจอมน้อยเล็ก พระสนมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เจ้าจอมมารดาบัว พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) และพระชนนีในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณเลิศ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดำรงฤทธิ์ เจ้าจอมหนูชี พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยามหาศิริธรรม (น้อยใหญ่ ณ นคร) เจ้าจอมอิ่ม พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง ณ นคร) เจ้าจอมจับ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง ณ นคร) เจ้าจอมเป้า พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยาบริรักษ์ภูธร (แสง ณ นคร) เจ้าจอมอำพัน พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระอุทัยธานี (ม่วง ณ นคร) เจ้าจอมกุหลาบ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระอุทัยธานี (ม่วง ณ นคร) เจ้าจอมเขียน พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยาเสนานุชิด (นุช ณ นคร) เจ้าจอมทับทิม พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยาเสนานุชิด (นุช ณ นคร) เจ้าจอมเกตุ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยาวิชิตสรไกร (กล่อม ณ นคร) เจ้าจอมสว่าง พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง ณ นคร) และท่านผู้หญิงดาวเรือง เจ้าจอมนวล พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยาเสนานุชิด (นุช ณ นคร) เจ้าจอมเพิ่ม พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระอิศราธิไชย (กลิ่น ณ นคร) เจ้าจอมพิณ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระศรีสุพรรณดิษฐ์ (เสม ณ นคร) เจ้าจอมมิ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในนายสนิทยศสถาน (พร้อม จาตุรงคกุล) เจ้าจอมสุวรรณ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในพระยากาญจนดิษฐบดี (พุ่ม ณ นคร)", "title": "จังหวัดนครศรีธรรมราช" }, { "docid": "4249#8", "text": "ในขณะที่ผนวชอยู่นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ พระองค์ทรงตัดสินพระทัยที่จะดำรงสมณเพศต่อไป ในระหว่างที่ผนวชอยู่นั้นได้เสด็จออกธุดงค์ไปยังหัวเมืองต่าง ๆ ทำให้ทรงคุ้นเคยกับสภาพความเป็นอยู่ของอาณาประชาราษฏร์อย่างแท้จริง พระองค์ทรงพระราชอุตสาหะวิริยะเรียนภาษาอังกฤษจนทรงเขียนได้ ตรัสได้ ทรงเป็นนักปราชญ์รอบรู้ ทำให้พระองค์ทรงมีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ของโลกตะวันตกเป็นอย่างดี[1] พระองค์ทรงผนวชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2367 จนถึงลาผนวชเพื่อรับการขึ้นครองราชย์ เป็นเวลารวมที่บวชเป็นภิกษุทั้งสิ้น 27 พรรษา (ขณะนั้นพระชนมายุ 48 พรรษา) หมายเหตุ; เวลาที่ผนวชเป็นสามเณร 7 เดือน", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
898
สื่อมวลชน หมายถึงอะไร ?
[ { "docid": "92347#0", "text": "สื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหมาย", "title": "สื่อมวลชน" } ]
[ { "docid": "751025#4", "text": "แต่หลังจากที่เผยแพร่ได้ไม่นาน ทางสถานีโทรทัศน์เคบีเอส ซึ่งเป็นหนึ่งในสถานีโทรทัศน์ยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่งของเกาหลีใต้ได้แบนเพลงและมิวสิกวิดีโอดังกล่าว เนื่องจากให้เหตุผลว่าเนื้อเพลงบางท่อนตรงกับสำนวนภาษาญี่ปุ่น นั่นคือคำว่า \"\"ppikka\"\" ซึ่งตรงกับในภาษาเกาหลีคือ \"\"bbunjjuck\"\" ซึ่งหมายถึงการส่องประกายและความงดงาม ทำให้ทางสถานี ซึ่งถือเป็นสื่อมวลชนหลักของประเทศมองว่าไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะนำซิงเกิลดังกล่าวมาเผยแพร่ผ่าน ซึ่งทางต้นสังกัดต้องนำเนื้อเพลงท่อนนี้กลับไปแก้ไขใหม่เป็น \"\"bbunjjuck\"\" เพื่อให้สอดคคล้องกับภาษาเกาหลีในที่สุด เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่อน แต่กับสถานีโทรทัศน์แห่งอื่น ๆ กลับไม่มีปัญหาดังกล่าว", "title": "ออ-อี" }, { "docid": "156019#4", "text": "จนกระทั่งเวลาประมาณ 15.00 น. นายจอห์นนี่ได้ต่อรองขอเฮลิคอปเตอร์ให้ไปส่งตนและพรรคพวกที่ชายแดนไทย-พม่า ที่จังหวัดราชบุรี ทางรัฐบาลไทยได้ตอบรับ โดย ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ เสนอตัวเป็นตัวประกันนั่งโดยสารไปด้วยเพื่อรับรองความปลอดภัยจนกระทั่งถึงที่หมาย ซึ่งระหว่างตอนที่รถของนักศึกษาและรถของเจ้าหน้าที่ไทยออกจากสถานทูต ได้มีการปิดถนนสาทรและมีการรายงานสดจากที่เกิดเหตุของบรรดาสื่อมวลชนช่องต่าง ๆ ", "title": "เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543" }, { "docid": "188068#0", "text": "การสื่อสารมวลชน () เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดข้อมูลผ่านสื่อมวลชนให้คนส่วนใหญ่ มักมีความหมายเกี่ยวข้องกับหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ที่ใช้ในการเผยแพร่ข่าวหรือโฆษณา", "title": "การสื่อสารมวลชน" }, { "docid": "86188#7", "text": "ทุกวันนี้ สิบแปดมงกุฎมิใช่สำนวนที่ใช้เรียกพวกนักเลงพนันเท่านั้น แต่ใช้เรียกพวกมิจฉาชีพทั้งหลาย เป็นสำนวนที่พบเห็นบ่อยมากตามสื่อมวลชนต่างๆ ซิ่งมีความหมายถึงพวกที่ยักยอก ต้มตุ๋น หลอกลวงให้ผู้อื่นหลงเชื่อแล้วยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินผู้อื่นมาเป็นของตน", "title": "วานรสิบแปดมงกุฎ" }, { "docid": "350395#9", "text": "อัตลักษณ์ทางเพศของ พวกรักเพศเดียวกันอาจหมายถึง อัตลักษณ์ที่ระบุว่าเป็นเกย์หรือเลสเบียน ถ้าให้แคบกว่านี้ เกย์หมายถึง ผู้ชายรักเพศเดียวกัน แต่มักจะใช้ความหมายของเกย์ในทางกว้างมากกว่า โดยเฉพาะในหัวข้อหรือการรายงานจากสื่อมวลชน ความหมายของรักเพศเดียวกันโดยส่วนมาก ส่วนเลสเบียนจะหมายถึงผู้หญิงรักเพศเดียวกัน", "title": "รักร่วมเพศ" }, { "docid": "46332#0", "text": "วัฒนธรรมประชานิยม () หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของผู้คนในสมัยนั้น เกิดจากการสื่อสารของบุคคล ความต้องการของวัฒนธรรมในจังหวะช่วงเวลานั้น ซึ่งเกิดขึ้นทุกวันและแสดงเป็นภาพลักษณ์ออกมา ซึ่งสามารถรวมได้ถึงทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการทำอาหาร การแต่งกาย สื่อมวลชน กีฬา หรือวรรณกรรม วัฒนธรรมประชานิยมมักมีลักษณะตรงข้ามกับวัฒนธรรมระดับสูง", "title": "วัฒนธรรมประชานิยม" }, { "docid": "10499#1", "text": "ไมโครซอฟท์ประกาศใช้ชื่อ \"วินโดวส์วิสตา\" อย่างเป็นทางการแก่สื่อมวลชนในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 แทนที่ชื่อรหัส \"ลองฮอร์น\" (Longhorn) โดยคำว่า \"วิสตา\" ในภาษาอังกฤษ หมายถึงมุมมอง หรือทิวทัศน์", "title": "วินโดวส์วิสตา" }, { "docid": "197306#2", "text": "เมื่อนายสมัครได้ฟังทั้งสองเพลง จึงกล่าวถึงไว้ในรายการว่า ตนชอบความหมายของเพลงนี้ เนื่องจากคล้ายคลึงกับชีวิตของตนในเวลานั้น ทั้งนี้ ในรายการเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม นายสมัครได้ขอให้ผู้ควบคุมการออกอากาศ เปิดเพลงโชคมนุษย์ในการปิดรายการวันนั้นให้ยาวขึ้น เนื่องจากตนต้องการร้องตาม เพราะในรายการครั้งก่อนหน้า เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ตนก็ร้องตามอยู่ด้วยเช่นกัน แต่ถูกสื่อมวลชนค่อนแคะถึงเรื่องนี้ ทั้งสองเพลงดังกล่าว จึงกลายเป็นเพลงสัญลักษณ์ ที่ทำให้ผู้คนนึกถึงนายสมัคร นับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ", "title": "สนทนาประสาสมัคร" }, { "docid": "241913#20", "text": "ส่วนทางด้านงานวิชาการ ดร.ปีเตอร์ แจ็กสัน กล่าวว่า สื่อมวลชนมักนำเสนอเกย์ในสังคมไทยในเรื่องที่เสื่อมเสีย เช่นเรื่องอาชญากรรม การล่อลวงเด็ก การขายตัว ต่างชาติมาถ่ายภาพยนตร์และวิดีโอเกย์ลามกในประเทศไทย การระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเกย์ ดังนั้นเกย์ในสังคมไทยยังไม่กล้าที่จะเปิดเผยตัวเองนัก และสังคมไทยยังสับสนกับกลุ่มผู้รักร่วมเพศ โดยมองว่ากลุ่มผู้รักร่วมเพศ เป็นพวกกะเทยหรือลักเพศมากกว่าความหมายทางด้านพฤติกรรมรักร่วมเพศ", "title": "กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย" }, { "docid": "316012#0", "text": "ราษฎรอาวุโส () เป็นคำเรียกบุคคลชาวไทย หมายถึง บุคคลที่ดำรงตนเป็นผู้มีคุณประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาชนบท การพัฒนาชุมชน และการเสนอความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม โดยจะถูกได้รับการยกย่องจากวงการสื่อมวลชน", "title": "ราษฎรอาวุโส" }, { "docid": "252138#31", "text": "ผลงานของโรเดอร์เหนือกว่าที่สื่อมวลชนคาดหมายกันไว้มาก โดยเขาพานิวคาสเซิลขึ้นไปถึงอันดับ 7 ทำให้ทีมได้เข้าไปเล่นในยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ ก่อนที่โรเดอร์จะได้รับการต่อสัญญาแบบถาวรเป็นเวลา 2 ปี ในช่วงก่อนเริ่มฤดูกาลใหม่ นิวคาสเซิลสามารถคว้าตัวปีกซ้ายชาวไอร์แลนด์ เดเมียน ดัฟฟ์ จากเชลซี มาด้วยค่าตัว 5 ล้านปอนด์ และยังได้ตัวกองหน้าไนจีเรียน โอบาเฟมี มาร์ตินส์ จากอินเตอร์ มิลาน เข้ามาสวมเสื้อหมายเลข 9 ต่อจากแอลัน เชียเรอร์", "title": "ประวัติสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด" }, { "docid": "110831#7", "text": "เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ปรากฏข่าวทางสื่อมวลชนว่ามีภาพนายแพทย์เปรมศักดิ์ เข้าพิธีสู่ขอนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งนำไปสู่กรณีพิพาทกับสื่อมวลชนโดยเขาถูกสื่อมวลชนแจ้งความตามความผิดประมวลกฎหมายอาญา กักขัง หน่วงเหนี่ยว และเขาแจ้งความสื่อมวลชนด้วยเช่นเดียวกัน ฐานบุกรุกและละเมิดสิทธิ์", "title": "เปรมศักดิ์ เพียยุระ" }, { "docid": "4948#22", "text": "งานเขียนของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษานั้นเน้นการศึกษาชีวิตจริงของผู้คนในแง่มุมต่าง ๆ อาทิ เรื่องการศึกษา เรื่องวัฒนธรรมวัยรุ่น เรื่องสื่อมวลชน อาทิ โฆษณา และโทรทัศน์ ดังนั้น หัวใจสำคัญของการศึกษาของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยนั้นจึงอยู่ที่การประกาศจุดยืนทางอุดมการณ์ของตัวเองอย่างชัดเจนในเบื้องแรกว่า ยึดถือและศรัทธาในงานของมากซ์ แต่ก็เสนอว่าที่ผ่านมานั้นยังไม่มีทฤษฎีในเรื่องของอุดมการณ์ที่เป็นที่พอใจและหนทางที่จะได้ทฤษฎีอุดมการณ์ที่น่าพอใจนั้นก็คือการผสมผสานการถกเถียงทางทฤษฎีเข้ากับการศึกษากรณีรูปธรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะในการทำการค้นหา \"ความสัมพันธ์ที่แท้จริง (real relations)\" กับ \"รูปแบบที่ปรากฏออกมา (phenomenal form)\" ซึ่งในหลายกรณีนั้นรูปแบบที่ปรากฏออกมานั้นก็ทำให้เราลุ่มหลงอยู่กับมัน และเชื่อว่าสิ่งนั้นเป็นจริงแท้\nสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษานั้นจึงเสนอว่า การศึกษาเรื่องอุดมการณ์นั้นเป็นส่วนสำคัญในการศึกษา \"วัฒนธรรม\" โดยเฉพาะในความสัมพันธ์ระหว่าง ความคิดต่าง ๆ สถาบันต่าง ๆ และบริบททางสังคม ทฤษฎีของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษามีอิทธิพลในการศึกษาเรื่องของการสื่อสารและสื่อมวลชนกับมิติทางการเมืองโดยเฉพาะในอังกฤษในช่วงทศวรรษที่ 70 เป็นต้นมา โดยเฉพาะงานเขียนของ นักสังคมวิทยาชาวสหราชอาณาจักรที่มีอิทธิพลอย่างสูงอยู่ในวงวิชาการในศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัยที่มหาวิทยาลัย เบอร์มิงแฮม (Center of Contemporary Cultural Studies ; CCCS) หรือที่รู้จักกันในเวลาต่อมาว่า \"ตระกูลนักคิดสายเบอร์มิงแฮม (the Birmingham school)\" โดยฮอลล์ เสนอว่า คำว่าอุดมการณ์นั้นไม่เคยเป็นคำที่มีความเป็นกลางทางการเมือง และแม้จะมีการให้ความหมายว่า อุดมการณ์คือ \"ชุดของความคิดที่มีความเป็นระบบ\" แต่วิธีการอธิบายเช่นนี้ก็มีลักษณะที่เน้นการพรรณาความ มากกว่าการวิเคราะห์ ดังนั้น แม้ว่าคำว่าอุดมการณ์ทางการเมืองจะมีความเกี่ยวข้องกับคำว่า \"ความคิด\" แต่ในขณะเดียวกันความคิดนั้นไม่ใช่ตัวอุดมการณ์ทั้งหมด อุดมการณ์จึงมีการซ่อนแอบความหมายอยู่ด้วย และเป็นหน้าที่ของนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษาที่จะต้องค้นหาให้ได้ว่าอะไรคือรากฐานหรือธรรมชาติของการบังคับหรือเป็นที่มาของการที่บางสิ่งบางอย่างที่ไม่ใช่เรื่องของความคิดซึ่งเข้ามากำหนดส่วนที่เป็นความคิด ", "title": "ลัทธิมากซ์" }, { "docid": "40040#1", "text": "ชื่อ \"มอร์นิงมูซูเมะ\" เกิดจากการรวมกันของคำว่า \"มอร์นิง\" (Morning) ซึ่งเป็นคำในภาษาอังกฤษแปลว่า \"ยามเช้า\" กับคำว่า \"มูซูเมะ\" (娘) ซึ่งเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า \"บุตรสาว\" หรือ \"เด็กผู้หญิง\" เมื่อรวมทั้งสองคำนี้เข้าด้วยกัน คำว่ามอร์นิงมูซูเมะจึงมีความหมายว่า \"เหล่าสาวน้อยแห่งรุ่งอรุณ\" (Morning Girls) หรือ \"บุตรสาวแห่งรุ่งอรุณ\" (Morning Daughter) ชื่อมอร์นิงมูซูเมะนี้ ยังมักจะถูกเรียกแบบย่อโดยกลุ่มผู้ฟังและสื่อมวลชนต่าง ๆ ว่า โมมุซุ (モームス) หรือ โมมูซูเมะ (モー娘) อีกด้วย ", "title": "มอร์นิงมูซูเมะ" }, { "docid": "233128#0", "text": "วลีติดปาก หรือ สำนวนติดปาก () เป็นวลีหรือสำนวนที่ยอมรับกันที่มีความหมายที่เป็นที่เข้าใจกันเพราะการใช้กันบ่อย วลีหรือสำนวนเหล่านี้มักจะมาจากวัฒนธรรมสมัยนิยมหรือจากศิลปะ และมักจะแพร่หลายโดยสื่อมวลชนต่าง ๆ เช่นทางวรรณกรรมและสิ่งพิมพ์ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ และวิทยุ และรวมทั้งโดยปากต่อปาก วลีหรือสำนวนเหล่านี้บางส่วนก็กลายเป็น “เอกลักษณ์” ประจำตัวผู้เริ่มใช้หรือตัวละครที่เป็นที่เริ่มของวลีหรือสำนวนไปโดยปริยาย ข้อหลังนี้มักจะเกิดขึ้นกับนักแสดงตลก", "title": "วลีติดปาก" }, { "docid": "177551#22", "text": "สำหรับรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้รับรองไว้ใน<b data-parsoid='{\"dsr\":[8214,8240,3,3]}'>มาตรา 45 ถึงมาตรา 48 โดยมาตรา 45 เป็นมาตราหลักซึ่งได้รับรองเสรีภาพในการแสดงออกของบุคคลและเสรีภาพของสื่อมวลชนไว้อย่างครอบคลุม มาตรา 45 บัญญัติหลักการทั่วไปไว้ในวรรคแรกว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น”และวรรคสองบัญญัติว่าการจำกัดสิทธิต้องออกเป็นกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน", "title": "เสรีภาพในการพูด" }, { "docid": "643561#3", "text": "ณดาและไอรินจะดันพัดลมให้เป็นทั้งนักร้องและนักมวยเบอร์ 1 ของค่าย จึงจ้าง 3 หมัด เขาทราย สามารถ และสมรักษ์ มาเป็นครูฝึกให้พัดลม พัดลมจึงสอนปองกับพู่กันร้องเพลง ทั้งสามคนตั้งใจซ้อมร้องเต้นอย่างเต็มที่จน ณดามั่นใจว่าทั้งสามคนพร้อมที่จะเปิดตัวกับสื่อมวลชนแล้ว แต่อยู่ ๆ ก็มีหมายท้าปะลองจากค่ายมวยอื่น ๆ โดยระบุตัวพัดลมเป็นตัวแทนค่าย พัดลมโดนต่อยจนหมดสติ", "title": "หมัดเด็ดเสียงทอง" }, { "docid": "654717#1", "text": "เดิมทีลิงกอริลลาตัวนี้มีชื่อว่า อึนฟูมู อึงกุย ในภาษาฟอง (ซึ่งหมายถึง \"กอริลลาสีขาว\") โดยผู้จับมันมา จากนั้นมันได้รับชื่อใหม่คือ ฟลูแกตดาเนว (ภาษากาตาลา หมายถึง \"เจ้าเกล็ดหิมะน้อย\") โดยผู้เลี้ยงดูมันที่ชื่อ ฌอร์ดี ซาบาเต ปี หลังจากนั้น เมื่อมันเดินทางมาถึงบาร์เซโลนาก็ได้รับการต้อนรับอย่างเป็นทางการจากนายกเทศมนตรีของบาร์เซโลนาชื่อฌูแซป มาริอา ดา ปูร์ซิออลัส ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1966 ซึ่งมันได้รับการเรียกในชื่อ \"บลังกาเนียเบส\" (ซึ่งหมายถึง \"สโนว์ไวต์\") ในหนังสือพิมพ์\"เตเล/อักซเปรส\" แต่มันก็กลายเป็นที่รู้จักจากชื่อที่ตั้งให้แก่มันโดย Sabater เมื่อ\"นิตยสารเนชั่นแนล จีโอกราฟิก\" ได้แสดงการขึ้นหน้าปกของมันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1967 โดยมีชื่อว่าเกล็ดหิมะในภาษาอังกฤษ และเป็นชื่อที่ได้รับการแพร่กระจายโดยสื่อมวลชน (ทั้งนิตยสาร\"ชแตร์น\", \"ไลฟ์\", \"ปารี-มัตช์\") ส่วนตัวซาบาเตเองเรียกกอริลลาตัวนี้ว่า \"โกปี\" หรือ \"ฟลูแกต\" และต่อมาเรียกว่า \"เอ็นฟูมู\" นอกจากนี้ มันยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อ \"ลิตเติลบัตเตอร์คัป\" และ \"วานิลลากอริลลา\" รวมถึงดาวเคราะห์น้อย 95962 โกปีโต ที่ได้รับการค้นพบโดยโคตา. มันเตกา ซึ่งเป็นนักดาราศาสตร์ชาวสเปน ยังได้ทำการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่มัน", "title": "เกล็ดหิมะ (กอริลลา)" }, { "docid": "11431#5", "text": "นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1998 โดยสื่อมวลชนชาวมาเลเซีย ชื่อ Chiew Lee Yih ซึ่งมาจากคำว่า ไท่คง (太空) ในภาษาจีน หมายถึง อวกาศ แต่ในภาษาจีนนั้น มีคำว่า อยู่หาง หยวน (宇航員, ต้นหนอวกาศ) ซึ่งใช้กันมานานในความหมายว่า นักบินอวอากาศและมนุษย์อวกาศ ในภาษาพูดทั่วไปจะใช้ว่า ไท่คงเหริน (太空人) มีความหมายว่ามนุษย์อวกาศนั่นเอง แต่ข้อความภาษาอังกฤษที่ทางการจีนใช้เรียกนักบินอวกาศของตน ยังคงใช้ว่า astronaut ตามปกติ", "title": "นักบินอวกาศ" }, { "docid": "12911#12", "text": "วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 เจ้าชายทรงขอหมั้นเลดี้ไดอานาและเธอตอบตกลง แต่ข่าวการหมั้นหมายถูกปิดเก็บความลับจากสื่อมวลชนนานกว่าสามสัปดาห์[30]", "title": "ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์" }, { "docid": "108986#0", "text": "รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มนิเทศศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร และสื่อสารมวลชน เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดข้อมูลผ่านสื่อมวลชนให้คนส่วนใหญ่ มักมีความหมายเกี่ยวข้องกับหนังสือพิมพ์ นิตยสาร เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ที่ใช้ในการเผยแพร่ข่าวหรือการโฆษณา", "title": "รายชื่อคณะนิเทศศาสตร์ในประเทศไทย" }, { "docid": "120487#17", "text": "ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ณัฐวุฒิได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ ในสังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นที่คาดหมายว่าจะได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ดูแลสื่อมวลชน)[6] แต่ในการแต่งตั้งรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม กลับไม่มีชื่อของณัฐวุฒิในตำแหน่งใดๆ", "title": "ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ" }, { "docid": "27999#18", "text": "พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ มีชื่อที่เรียกเป็นที่รู้จักทั่วไปว่า \"น้าชาติ\" มีคำพูดติดปากเมื่อให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่า \"No Problem\" หมายถึง \"ไม่มีปัญหา\" จนเป็นที่จดจำได้ทั่วไป ซึ่งศิลปินเพลง แอ๊ด คาราบาว ได้นำไปประพันธ์เป็นเพลงล้อเลียนการเมืองชื่อ \"โนพลอมแพลม\"", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "680776#1", "text": "ความเอนเอียงในสื่อเป็นความเอนเอียงของผู้สื่อข่าวและผู้ผลิตข่าว (news producer) ในสื่อมวลชน โดยเลือกเหตุการณ์และเรื่องที่จะรายงาน และโดยวิธีการรายงาน คำภาษาอังกฤษว่า \"media bias\" (ความเอนเอียงของสื่อ) บ่งถึงความเอนเอียงที่เป็นไปอย่างกว้างขวางที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานและจริยธรรมของการสื่อข่าว ไม่ใช่หมายถึงความเอนเอียงที่มีเฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือบทความใดบทความหนึ่ง แต่ยังไม่มีความเห็นที่ตรงกันในเรื่อง media bias ที่มีในประเทศต่าง ๆ ทั้งในส่วนของฝักฝ่ายและระดับความเอนเอียง", "title": "ความเอนเอียง" }, { "docid": "57369#27", "text": "ปลายปี พ.ศ. 2552 สื่อมวลชนประจำรัฐสภาได้ให้ฉายา ร้อยตำรวจเอก เฉลิมว่า \"ดาวดับ\" อันเนื่องจากวาทะที่แก้ตัวให้กับการกระทำที่ส่อทุจริตของ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ว่า \"พันตำรวจโท ทักษิณ ไม่ได้ทำผิดกฎหมาย แต่ทำในสิ่งที่กฎหมายห้าม\" ซึ่งได้กลายเป็นวาทะประจำปีด้วย[23]", "title": "เฉลิม อยู่บำรุง" }, { "docid": "5511#16", "text": "เหตุการณ์ไม่เป็นไปอย่างความคาดหมายของทุกคน ในระยะแรกเจ้าหญิงไม่สามารถทรงปรับพระองค์ให้เข้ากับชีวิตของความเป็นเจ้าหญิงได้ และทรงทุกข์ทรมานจากพระโรค bulimia (น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว) หลังจากหายจากพระโรค เจ้าหญิงได้มีพระประสูติกาลเจ้าชายวิลเลียม หลังจากนั้นอีก 3 ปี พระองค์ได้มีพระประสูติกาลอีกครั้ง เจ้าชายแฮร์รี ซึ่งสร้างความผิดหวังให้กับเจ้าชายชาลส์มาก เนื่องจากพระองค์ทรงหวังว่าพระองค์น่าจะได้พระธิดาจากการประสูติกาลครั้งที่ 2 นี้ เนื่องจากโปรดลูกสาวของคามิลลามากอีกทั้งยังมีข่าวลือว่า แท้จริงแล้วเจ้าชายแฮร์รีอาจไม่ใช่พระโอรสของพระองค์ รายงานข่าวส่วนหนึ่งเชื่อว่าทั้งสองพระองค์เริ่มแยกกันอยู่หลังจากการเสกสมรสเพียง 5 ปี บางคนเชื่อว่าเนื่องจากเจ้าชายชาลส์ไม่สามารถทนได้ที่พระชายาได้รับความชื่นชมมากกว่าพระองค์ (คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ของเจ้าหญิงมาซาโกะ มงกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นในปัจจุบัน) ภาระทั้งหมดกลับตกไปที่ไดอานาในฐานะที่ควรจะ \"ทรงทนให้ได้\" เจ้าหญิงพยายามอย่างยิ่งที่จะพยายามเชื่อมความสัมพันธ์ของพระองค์กับชาลส์ไว้ให้นานที่สุด แต่ไม่เป็นผล สื่อมวลชนประโคมข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเจ้าชายชาลส์กับคามิลลาอย่างครึกโครม รวมทั้งประโคมข่าวระหว่างเจ้าหญิงกับผู้ชายอีกหลายคน นั่นทำให้ทั้ง 2 พระองค์คิดว่า เรื่องราวทั้งหมดควรจะจบลงเสียที ความสัมพันธ์ของทั้งสองพระองค์ในขณะนั้น สื่อมวลชนเรียกว่า \"สงครามแห่งเวลส์\" (War of Waleses)", "title": "เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์" }, { "docid": "178374#51", "text": "ความล่าช้านี้นำมาสู่วาทะแห่งปีของสื่อมวลชนประจำรัฐสภา ประจำปี พ.ศ. 2551 วาทะ \"ม็อบมีเส้น\"[99]ของ พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นโดยกล่าวในสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ความตอนหนึ่งว่า “ทุกคนทราบดีว่าพันธมิตรฯ ชุมนุมมา 6 เดือน และใช้เสรีภาพอย่างผิดกฎหมาย ทุกคนก็ทราบดีว่าม็อบนี้เป็นม็อบมีเส้น เพราะหากเป็นม็อบธรรมดา เรื่องจบไปนานแล้ว” ซึ่งขณะนั้นสื่อมวลชนและประชาชนส่วนหนึ่งเข้าใจได้ว่า เส้นนั้นหมายถึง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนื่องจากทรงเสด็จไปพระราชทานเพลิงศพ อังคณา ระดับปัญญาวุฒิ ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และทรงมีพระราชปฏิสันถารกับครอบครัวของผู้เสียชีวิต ความตอนนึงว่า น้องโบว์เป็นเด็กดี ช่วยชาติ ช่วยรักษาสถาบันกษัตริย์[100]แม้ว่า พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ ไม่ได้กล่าวพาดพิงบุคคลใด", "title": "การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551" }, { "docid": "76110#0", "text": "ผู้ประกาศข่าว เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ประกาศข่าวสารต่าง ๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ดำเนินรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ด้วย", "title": "ผู้ประกาศข่าว" }, { "docid": "619109#0", "text": "สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลกหรือวันสื่อมวลชนโลกตรงกับวันที่ 3 พฤษภาคมของทุกปี เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของเสรีภาพสื่อและย้ำเตือนรัฐบาลถึงหน้าที่เคารพและสนับสนุนเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งได้รับการคุ้มครองตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 19 และเป็นเครื่องหมายวันครบรอบปฏิญญาวินด์ฮุก อันเป็นคำแถลงหลักสื่อมวลชนเสรีซึ่งนักหนังสือพิมพ์ชาวแอฟริการวบรวมไว้ในปี 2534", "title": "วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก" } ]
2
เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดลฤดูกาลที่ 5 ใครเป็นผู้ชนะ ?
[ { "docid": "838221#1", "text": "ผู้ชนะในฤดูกาลนี้ คือ มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ จาก ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเธอจะได้รับรถยนต์ ซูบารุ อิมเปรซ่า หนึ่งคัน, ถ่ายภาพแฟชั่นเซ็ทและขึ้นหน้าปกให้กับ นิตยสาร ไนล่อน แม็กกาซีน สิงคโปร์ และเซ็นสัญญานางแบบกับเอเจนซี่ สตอร์ม โมเดล แมเนจเมนท์ ที่ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" } ]
[ { "docid": "667426#45", "text": "ต่อมา โมนิก้า ได้พูดคุยกับจอร์จิน่า ซึ่งโมนิก้าได้เผยว่า ตัวเธอไม่ได้เป็นคนเสแสร้ง และไม่ได้เป็นคนขี้โกหก และการถ่ายภาพที่เธอประสบปัญหามากที่สุดคือ การถ่ายแคตตาล็อกของ ซาโลรา และเมื่อจอร์จิน่าถามว่า เธอคิดว่าใครควรชนะการแข่งขัน เธอได้ตอบว่า กานี่ เนื่องจากเธอเชื่อมันศักยภาพในตัวกานี่เป็นอย่างมาก ว่าจะสามารถไปได้ไกลในวงการแฟชั่น โครงหน้าของเธอสามารถทำให้ถ่ายภาพออกมาได้อย่างสวยงาม และสุดท้ายเธอได้เผยว่า กานี่ คือคู่แข่งที่น่ากลัวที่สุดสำหรับเธอ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3" }, { "docid": "497778#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1 เป็นฤดูกาลแรกของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#64", "text": "ผู้ชิงตำแหน่งสามคนสุดท้าย: มิญ ตู้ เหงียน, มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ และชิคิน โกเมซ เอเชีย เน็กซ์ ทอป โมเดล: มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ ช่างถ่ายภาพ: ยู ไซ แขกรับเชิญพิเศษ: เพีย วูร์ทซบาค, รูบี้ แอดเลอร์, อะเดล ชาน, เกล็น ตัน, แดเนียล บอย, นูราอซิลาห์ โกเมซ, โรซินะห์ บินตี้ ยาฮายะห์, ลึง จื่อ เถียน, ฉึ่ง หวิก ซี, เอ็นริโก้ นิดิวิดาด, เดซี่ นิดิวิดาด", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "283787#1", "text": "นิโคลเป็นผู้ผ่านรอบคัดเลือกรอบ 14 คนสุดท้ายของรายการ อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 ซึ่งเป็นฤดูกาลสำหรับสาวที่สูงไม่เกิน 5 ฟุต 7 และเธอก็เป็นผู้ชนะในฤดูกาลนั้น ไม่กี่เดือนก่อนที่จะเปิดรอบคัดตัว นิโคลก็ได้พบกับช่างภาพเดนเวอร์ ที่อาร์ทแกลอรี่ ซึ่งเขาได้แนะนำให้เธอลองมาออดิชั่นเหมือนกับที่เคยแนะนำ แอลลิสัน ฮาร์วาร์ด จาก อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 12 มาแล้ว", "title": "นิโคล ฟ็อกซ์" }, { "docid": "497778#10", "text": "สุดท้ายแล้ว กลุ่มสองเป็นกลุ่มที่ชนะ และภาพของพวกเธอ จะได้ถูกตีพิมพ์ลงนิตยสาร ฮาร์เปอร์บาซาร์ จีและสเตฟานี่ ต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย จากภาพถ่ายที่ออกมาจืดชืด และไม่มีชีวิตชีวา แต่ นาเดีย ได้กล่าวว่า เนื่องจาก โมนิก้า ได้ออกจากการแข่งขัน ในสัปดาห์นี้พวกเธอทั้งคู่จะได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง โดยจะไม่มีใครถูกคัดออกจากการแข่งขัน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#21", "text": "ซึ่งการตัดสินนั้น จะตัดสินจากภาพเซลฟี่แบบรายบุคคล โดยสาวๆต่างแยกย้ายกันออกไปถ่ายภาพตามมุมต่างๆภายในบ้านพัก ซึ่งภาพถ่ายที่องค์ประกอบภาพออกมาโดยรวมถูกใจ แอนเดรีย มากที่สุด คือภาพของ วาเลรี่ เธอจึงเป็นผู้ชนะในครั้งนี้ ทำให้เธอได้รับคะแนนจากการแข่งขันสูงที่สุด ในขณะที่ เลย์ลา ได้รับคะแนนต่ำที่สุด ซึ่งทำให้ มิญ ตู้ ที่สนิทกับ เลย์ลา รู้สึกกังวลแทนเธอเป็นอย่างมาก ต่อมา พวกเธอได้รับข้อความจากซินดี้ ว่าให้ไปดูที่ริมสระว่ายน้ำ เมื่อพวกเธอออกไป จึงพบว่า มีอาหารและเครื่องดื่ม เป็นจำนวนมาก จัดเตรียมไว้ให้แก่พวกเธอ พวกเธอจึงดื่มและรับประทานอาหารกันอย่างสนุกสนาน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "605534#0", "text": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 21 (หนุ่มหล่อ & สาวสวย2) เป็นฤดูกาลที่ 21 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล โดยในฤดูกาลนี้ จะเป็นครั้งที่สองในประวัติศาสตร์รายการ ทีมีผู้เข้าแข่งขันเป็นผู้ชาย ร่วมเข้าแข่งขันในรายการด้วย ซึ่งฤดูกาลนี้จะเริ่ม ออกอากาศใน ปี 2557 โดยคณะกรรมการยังประกอบไปด้วย ไทรา แบงส์, เคลลี่ ครูโทน, สุดยอดนายแบบชาย ร็อบ อีวานส์ ถูกเปลี่ยนเป็น เจ.อเล็กซานเดอร์ และ ผู้กำกับการถ่ายภาพ เปลี่ยนจาก จอห์นนี่ วูเจ็ค เป็น ยู ไซ โดยที่ในฤดูกาลนี้ประชาชนยังสามารถโหวตให้คะแนนผู้เข้าแข่งขัน ได้เหมือนใน สองฤดูกาลที่แล้ว ซึ่งจะเป็นปัจจัยในการคัดออกในแต่ละสัปดาห์ได้เหมือนเดิม", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 21" }, { "docid": "194337#30", "text": "ในรอบสามคนสุดท้าย ผู้เข้าแข่งขันต้องถูกคณะกรรมการประเมินผลงานทั้งหมดที่ผ่านมาเพื่อคัดเลือกให้เหลือเพียงสองคนสำหรับเข้าสู่การเดินแบบรอบสุดท้าย โดยแชนน่อนเป็นคนแรกที่ผ่านเข้ารอบ และเอลิสกับเอเดรียนน์ที่เป็นสองคนสุดท้าย และผู้ตัดสินต่างลงความเห็นว่าจนถึงตอนนี้เอลิสก็ยังไม่ยอมเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับการเป็นนางแบบไม่เพียงแต่สวยอย่างเดียวเท่านั้นยังต้องมีความฉลาดอีกด้วยและนั่นจึงทำให้เธอต้องตกรอบ\nหลังจากที่เอเดรียนน์และแชนน่อนได้เดินแบบให้กับโชว์ของเบบี้แฟทแล้ว สองสาวก็ต้องเข้าพบคณะกรรมการเพื่อให้ประเมินผลงานอีกเป็นครั้งสุดท้าย การเดินแบบบนรันเวย์ของแชนน่อนได้รับคำชมจากกรรมการเป็นอย่างมาก และคณะกรรมการได้ลงความเห็นว่าเธอน่าจะขายได้ในวงการแฟชั่น ไทร่ารู้สึกแปลกใจที่เอเดรียนน์มาไกลได้ถึงขนาดนี้เพราะในตอนรกทั้งรูปลักษณ์และการพูดจาของแอนเดรียนน์ไม่ได้ใกล้เคียงกับคำว่านางแบบเลยแม้แต่น้อย หลังจากที่ตัดสินใจกันได้เรียบร้อยแล้ว ไทร่าได้เรียกผู้เข้าแข่งขันทั้งสองกลับเข้ามาแล้วบอกว่าภาพที่อยู่ด้านหลังคณะกรรมการคือผู้ชนะ และเมื่อดึงผ้าที่ปิดอยู่ออกมาปรากฏว่า ผู้ชนะคนแรกของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลก็คือ เอเดรียนน์ เคอร์รี่", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#66", "text": "ผู้ชนะเลิศการแข่งขัน ผู้ที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ชนะการแข่งขันประจำสัปดาห์ ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ชนะการแข่งขันประจำสัปดาห์ และถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกเพิ่มเข้ามา แต่ที่จริงแล้ว เป็นกรรมการที่ปลอมตัวมาเป็นผู้เข้าแข่งขัน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "754150#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4 เป็นฤดูกาลที่ 4 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศวันที่ 9 มีนาคม 2559 เป็นวันแรก โดยในฤดูกาลนี้จะเป็นครั้งแรกที่จะตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสิน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4" }, { "docid": "192335#60", "text": "หลังจากที่ถ่ายภาพให้กับนิตยสารเซเว่นทีนแล้ว สองสาวต้องเดินโชว์บนรันเวย์ให้กับ แอดดีย์ แวน เดน ครอมเมนแอ็คเกอร์ โดยมี วิทนีย์ ทอมป์สัน ผู้ชนะจากฤดูกาลที่ 10 และ อนันดา มาร์คชิลดอน จาก เนเธอร์แลนด์ เน็กซ์ ท็อปโมเดลฤดูกาลที่ 4 เข้าร่วมด้วย โดยพวกเธอต้องเดินบนรันเวย์ที่ยาวและดูแปลกในคอนเซปต์แฟรี่เทลล์ และในการตัดสินครั้งสุดท้าย ทั้งคู่ต่างสูสีกันอย่างมากอย่างกินกันไม่ลงทั้งการเดินโชว์บนรันเวย์ และภาพถ่ายที่ผ่านมา แม็กคีย์ดูมีความหลากหลายและเป็นแฟชั่นชั้นสูง ส่วนซาแมนธ่าดูเข้าถึงง่ายและเป็นตัวแทนของสาวสุขภาพดี ทำให้กรรมการต้องลำบากใจในการตัดสินครั้งนี้มาก และหลังจากที่พิจารณากันอย่างถี่ถ้วนแล้ว คณะกรรมการก็ตัดสินใจและประกาศว่า ผู้ชนะของฤดูกาลที่ 11 ก็คือ แม็กคีย์ ซูลลิแวน", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11" }, { "docid": "260729#0", "text": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 (America's Next Top Model, Cycle 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ออกอากาศครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา ทางช่อง CW ในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 สำหรับฤดูกาลนี้มีผู้เข้าแข่งขันจำนวนเท่ากับ ฤดูกาลที่ 10 และ 11 โดยมีทั้งสิ้น 14 คน และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สุดยอดนางแบบ หญิงสาวสูง 5 ฟุต 7 นิ้วและเตี้ยกว่านั้น , ความงามอยู่ภายใต้มาตรฐานความสูง เพื่อก้าวสู่ผู้ชนะ 14 สาวต้องพิสูจน์ความงามที่มาในทุกรูปทรง , ขนาดและความสูง สำหรับคำโฆษณาที่ใช้ในฤดูกาลนี้คือ \"'The Lineup Is 5\"7' And Under. Not The Usual Suspects. BOOK 'EM!\" และเพลงที่ใช้สำหรับประกอบตัวอย่างของรายการในฤดูกาลนี้คือเพลง \"Good Girls Go Bad\" ของ Cobra Starship", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13" }, { "docid": "838221#24", "text": "ผู้ที่ถูกเรียกชื่อคนแรก: มิญ ตู้ เหงียน ผู้ที่ตกเป็นสองคนสุดท้าย: เลย์ลา อ๋อง และ โดโรธี เพทโซลด์ ผู้ที่ถูกคัดออก: เลย์ลา อ๋อง ช่างถ่ายภาพ: ยู ไซ แขกรับเชิญพิเศษ: แอนเดรีย ชง, เจสัน ก็อดฟรี, แม็ดดี้ รอสส์", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "345395#2", "text": "ผู้ชนะคนแรกของออสเตรเลียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล คือ เจมมา แซนเดอร์สัน อายุ 22 ปี จากเมือง นิวคาสเซิล", "title": "ออสเตรเลียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "589564#20", "text": "เริ่มต้นสัปดาห์นี้ อดัม ได้เข้ามาปลุกสาวๆที่บ้านพักแต่เช้าตรู่ เพื่อเตรียมตัวเดินทางออกไปทำโจทย์ประจำสัปดาห์ โดยหัวข้อในครั้งนี้คือ การออกกำลังกาย ในระหว่างที่เดินทางออกไปยังค่าย แจนิซ ได้พูดถึง เทีย ในแง่ลบ ซึ่งทำให้มารี และพูจา รู้สึกประหลาดใจ เนื่องจากสาวๆในบ้านคิดว่า พวกเธอเป็นเพื่อนสนิทกัน ในการแข่งขัน สาวๆจะได้แข่งกันเป็นทีม โดยผู้ที่ได้ภาพที่ดีที่สุดในครั้งก่อน จะได้เป็นหัวหน้าทีม คือ มารี และ โจเซฟิน ซึ่งสุดท้ายแล้ว เทีย เป็นคนเดียวที่ไม่มีใครเลือกเลย เธอจึงต้องเป็นทีมที่มีคนเดียว โดยสาวๆแต่ละทีม จะต้องฝ่าด่านต่างๆของการฝึก ซึ่งทีมที่ทำเวลาได้น้อยที่สุด จะได้เป็นทีมที่ชนะ สุดท้ายแล้ว เทีย ซึ่งมีร่างกายที่แข็งแรง ทำเวลาได้น้อยที่สุด เธอจึงเป็นผู้ชนะการแข่งขันครั้งนี้ รางวัลของเธอคือ จะได้ใช้เวลาในการทำสปาทรีทเม้นท์ โดยเธอได้เลือก แจนิซ ร่วมแบ่งปันรางวัลกับเธอด้วย", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "838221#68", "text": "ผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดในสัปดาห์ ผู้ชนะเลิศการแข่งขัน ผู้ที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกตัดสิทธิ์ในการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกเพิ่มเข้ามาภายหลัง แต่ที่จริงแล้ว เป็นกรรมการที่ปลอมตัวมา", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "838221#41", "text": "ผู้ที่ถูกเรียกชื่อคนแรก: ชิคิน โกเมซ ผู้ที่ตกเป็นสามคนสุดท้าย: ซินดี้ เฉิน, โดโรธี เพทโซลด์ และวาเลรี่ คราสนาเดวี ผู้ที่ถูกคัดออก: โดโรธี เพทโซลด์ และ วาเลรี่ คราสนาเดวี ผู้กำกับวิดีโอ: เควิน โอ แขกรับเชิญพิเศษ: คิม โจนส์, เรย์น รีด", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "589564#64", "text": "การตัดสินครั้งที่สองจะเป็น การตัดสินจากการเดินแบบครั้งสุดท้าย และเป็นอีกครั้งที่ ชีน่า ได้รับการยกย่องว่า มีใบหน้าที่เป็นเอเชียแบบทันสมัย ในขณะที่ โจดิลลี่ ก็มีการเดินแบบที่แข็งแกร่ง และยังมีใบหน้าที่เป็นสาวเอเชียแบบคลาสสิค และเมื่อทั้งสองคนถูกเรียกกลับมา ผู้ชนะ ของเอเชีย เน็กซ์ ทอป โมเดล ฤดูกาลที่สอง คือ ชีน่า เลียม", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "589564#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2 เป็นฤดูกาลที่ 2 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศมาเลเซีย และเริ่มออกอากาศวันที่ 8 มกราคม 2557 เป็นวันแรก", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "497778#43", "text": "ต่อมา สาวๆได้เดินทางมาที่ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ในการเดินแบบครั้งสุดท้าย พวกเธอจะได้สวมชุดราตรีที่ออกแบบโดย เฟรเดอริก ลี ซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจาก วัฒนธรรมชาวเขาของเอเชีย โดยจะได้สาวๆที่ถูกคัดออกไปแล้ว เฮเลน่า, โซเฟีย, ทรัง, ฟีแลนโทรปี, เคย์ล่า และอาสธา รวมถึง โซฟี่ ซัมเนอร์ ผู้ชนะจาก อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 18 มาร่วมเดินแบบอีกด้วย ซึ่งพวกเธอ ก็สามารถทำออกมาได้อย่างน่าประทับใจ ซึ่งหลังจากเดินแบบเสร็จ ไทรา แบงส์ จึงได้เข้ามาพูดคุยกับสาวๆที่หลังเวที", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#32", "text": "ในการแข่งขัน สาวๆต่างเลือกจับคู่กันเอง และถ่ายภาพให้ซึ่งกันและกัน ซึ่งสาวๆแต่ละกลุ่ม ก็ประสบปัญหาที่แตกต่างกันออกไป สุดท้ายแล้ว โดโรธี เป็นผู้ชนะในครั้งนี้ จากภาพถ่ายที่ออกมาดูสร้างสรรค์มากที่สุด เมื่อผลคะแนนการแข่งขันปรากฏออกมา ได้เกิดความตึงเครียดขึ้น เมื่อ วาเลรี่ รู้สึกว่า โดโรธี ไม่ควรชนะการแข่งขันในครั้งนี้ จึงเกิดการโต้แย้งกันระหว่าง นามีธา, วาเลรี่ และเวโรนิก้า", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "838221#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5 เป็นฤดูกาลที่ 5 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศ 5 เมษายน 2560 โดยในฤดูกาลนี้จะยังคงตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสินเช่นเดียวกันกับ ฤดูกาลที่ผ่านมา โดยธีมของฤดูกาลนี้ คือ \"คาดหวังในสิ่งที่ไม่คาดคิด\" (Expect The Unexpected)", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "467054#3", "text": "ในฤดูกาลที่ 7 ทางรายการได้เปลี่ยนชื่อรายการจาก \"บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล\" มาเป็น \"บริเทนแอนด์ไอร์แลนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล\" เพื่อเปิดกว้างการรับสัมครนางแบบในประเทศไอร์แลนด์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อกลับเป็นเหมือนเดิม แต่ยังคงรับสมัครนางแบบในไอร์แลนด์\nในปี 2555 ผู้เข้าแข่งจากฤดูกาลที่ 2 - 5 ได้เข้าร่วมแข่งขันในรายการ อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 18 ในชื่อว่า อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล:บริทิช อินเวชั่น (America's Next Top Model: British Invasion) โดยทั้งหมดจะต้องไปแข่งขันเป็นทีมกับนางแบบชาวอเมริกัน และ โซฟี่ ซัมเนอร์ จากฤดูกาลที่ 5 ได้คว้าตำแฟน่งผู้ชนะเลิศในฤดูกาลดังกล่าวด้วย", "title": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "667426#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3 เป็นฤดูกาลที่ 3 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยผู้ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศวันที่ 25 มีนาคม 2558 เป็นวันแรก", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3" }, { "docid": "497773#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล () เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ทำการคัดเลือกสาวๆจากประเทศในภูมิภาคเอเชีย ที่ใฝ่ฝันจะเป็นสุดยอดนางแบบในระดับมืออาชีพ โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องขับเคี่ยวและฟ่าฝ่าอุปสรรคต่างๆนานา ในการขึ้นอยู่ไปอยู่ในระดับสุดยอดนางแบบ ทั้งการถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ซึ่งเริ่มออกอากาศครั้งแรกทางช่อง สตาร์เวิลด์ ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "838221#73", "text": "หมวดหมู่:เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล หมวดหมู่:การแข่งขัน หมวดหมู่:การประกวดนางแบบ หมวดหมู่:เรียลลิตีโชว์", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "939106#1", "text": "ซึ่งผู้ชนะในฤดูกาลนี้ คือ เดนา สโลซาร์ ตัวแทนจาก ประเทศไทย ซึ่งเธอจะได้รับรถยนต์ ซูบารุ เอ็กซ์วี หนึ่งคัน, ถ่ายภาพแฟชั่นเซ็ทและขึ้นหน้าปกให้กับ นิตยสาร ฮาร์เปอร์ บาซาร์ ไทยแลนด์, ได้เป็นตัวละครส่วนหนึ่งของเกมส์ในโทรศัพท์มือถือ อเมริกาส์เน็กซ์ท็อปโมเดล และเซ็นสัญญานางแบบกับเอเจนซี่ สตอร์ม โมเดล แมเนจเมนท์ ที่ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6" }, { "docid": "467054#0", "text": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล () เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ออกอากาศอยู่ทางช่อง ลิวิง โดยจะทำการคัดเลือกหญิงสาวจากทั่วประเทศที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ ในเงื่อนไขที่ว่า ผู้สมัครเข้าแข่งขันต้องไม่เคยทำงานหรือทำสัญญากับบริษัทโมเดลลิ่งใดๆ มาก่อนเลยในระยะเวลา 5 ปี โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องผ่านบททดสอบมากมาย และผู้ชนะเพียงหนึ่งเดียวจะได้เซ็นสัญญากับเอเจนซี่ และเป็นใบเบิกทางสำหรับอาชีพนางแบบต่อไป", "title": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "939106#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลแรกที่จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศไทย เริ่มออกอากาศ 22 สิงหาคม 2561 โดยในฤดูกาลนี้จะยังคงตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสินเช่นเดียวกันกับ ฤดูกาลที่ผ่านมา และในฤดูกาลนี้จะมีโมเดลเมนเทอร์คอยดูแลและให้คำแนะนำแก่ผู้เข้าแข่งขัน ซึ่งมี โมนิกา ซานตา มาเรีย อดีตผู้เข้าแข่งขันจาก ฤดูกาลที่ 3 ชิคิน โกเมซ และ มิญ ตู้ เหงียน อดีตผู้เข้าแข่งขันจาก ฤดูกาลที่ 5 มาทำหน้าที่ในครั้งนี้ โดยธีมของฤดูกาลนี้ คือ \"\"เหนือขีดจำกัด\" (Beyond Limits)\"", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6" } ]
3288
สาธารณรัฐดัตช์ มีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "8191#0", "text": "เนเธอร์แลนด์ (Dutch: Nederland [ˈneːdərˌlɑnt] เนเดอร์ลอนต์; English: Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (English: Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร[1] ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก[2] ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า \"ฮอลแลนด์\" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง[3][4] หรือไม่เป็นทางการ[5] ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ[6]", "title": "ประเทศเนเธอร์แลนด์" } ]
[ { "docid": "750916#2", "text": "หลัวเป็นประมุขของรัฐจนเสียชีวิตเมื่อพ.ศ. 2338 ชาวหลานฟางเลือกเจียง อู่ปั๋ว (江戊伯) เป็นประธานาธิบดีคนต่อไป มีชาวพื้นเมืองเข้ามาเป็นพันธมิตรกับหลานฟางมากขึ้น แต่จะมีชาวจีนในสาธารณรัฐเท่านั้นที่เลือกผู้นำได้\nเมื่อราชวงศ์ชิงอ่อนแอลงและไม่สามารถสนับสนุนสาธารณรัฐหลานฟางในฐานะรัฐบรรณาการได้อีก ทำให้หลานฟางเผชิญการรุกรานของดัตช์ ประชากรของสาธารณรัฐพยายามต่อต้านแต่ขาดแคลนอาวุธ ลิน อาห์ซินเป็นผู้นำคนสุดท้ายของหลานฟาง ชาวจีนในหลานฟางเดินทางไปยังสุมาตราและสิงคโปร์เพื่อหวังสร้างสาธารณรัฐชองชาวจีนแห่งใหม่ในเอเชียตะวันออก สงครามระหว่างชาวจีนกับกองทัพของดัตช์อีสต์อินดีสที่เรียกสงครามกงสี มีเหตุการณ์ที่สำคัญคือการขยายตัวสู่ชายฝั่งตะวันตกของบอร์เนียว (พ.ศ. 2365 – 2367) การต่อต้านของชาวจีนที่มนตราโด (พ.ศ. 2393 – 2397) และการลุกฮือของชาวจีนที่มันโดร์ บอร์เนียว (พ.ศ. 2427 – 2428) ในที่สุดชาวจีนจึงเสียการปกครองของตนเองไป ดัตช์มิได้ผนวกหลานฟางในทันทีแต่ตั้งระบอบหุ่นเชิดขึ้นมาแทน จนกระทั่งราชวงศ์ชิงล่มสลายใน พ.ศ. 2455 ดัตช์จึงประกาศผนวกดินแดน", "title": "สาธารณรัฐหลานฟาง" }, { "docid": "3189#3", "text": "ชาวดัตช์เข้ามาถึงจายาการ์ตาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในพ.ศ. 2162 กองกำลังของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East India Company) นำโดยยัน ปีเตอร์โซน กุน (Jan Pieterszoon Coen) ยึดครองเมืองและเปลี่ยนชื่อจายาการ์ตาเป็นบาตาฟียา (Batavia) ซึ่งเป็นชื่อภาษาละตินของชนเผ่าที่อาศัยในเนเธอร์แลนด์ในสมัยโรมัน บาตาฟียาเป็นเมืองหลวงของอาณานิคมอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East Indies) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการขยายเมืองเมื่อชาวดัตช์เริ่มย้ายไปทางใต้ ไปที่พื้นที่สูงที่คาดว่ามีความอุดมสมบูรณ์กว่า ชาวอังกฤษยึดครองชวาใน พ.ศ. 2354 และครองอยู่ 5 ปีระหว่างที่เนเธอร์แลนด์ทำสงครามนโปเลียน (Napoleonic Wars) ในยุโรป ก่อนคืนให้ดัตช์", "title": "จาการ์ตา" }, { "docid": "496524#0", "text": "สตัดเฮาเดอร์ () แปลตรงตัวว่า \"เจ้าผู้ครองสถาน\" [ผู้ครอบครองสถานที่ของผู้ใดผู้หนึ่ง; สันนิษฐานว่าเป็นการยืมคำศัพท์จากภาษาเยอรมัน \"ชตัทท์ฮัลเทอร์\" (), ภาษาฝรั่งเศส \"ลีเยิตน็อง\" () หรือภาษาละตินยุคกลาง \"ลอกูงแตเนงส์\" ()] คือคำที่ใช้อธิบายรูปแบบหนึ่งของศักดินาตำแหน่งอุปราชหรือผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ในกลุ่มประเทศต่ำ สตัดเฮาเดอร์คือระบบจากยุคกลางและต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ถูกยกระดับให้มีศักดิ์เทียบเท่าประมุขแห่งรัฐในทางปฏิบัติของระบอบมกุฎสาธารณรัฐ (crowned republic) ในสาธารณรัฐดัตช์ สามารถเปรียบเทียบได้กับศักดินา \"ลีเยิตน็อง\" ของฝรั่งเศส และ \"ผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์\" ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งประสงค์หลักของของตำแหน่งนี้ก็เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นของสาธารณรัฐดัตช์ตอนต้น", "title": "สตัดเฮาเดอร์" }, { "docid": "131346#36", "text": "บริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ตั้งอาณานิคมเคป ณ ปลายใต้สุดของทวีปแอฟริกาใน ค.ศ. 1652 เป็นสถานีทางผ่านสำหรับเรือดัตช์ในการเดินทางไปและกลับจากอาณานิคมในอินเดียตะวันออก บริเตนได้อาณานิคมดังกล่าวอย่างเป็นทางการรวมทั้งประชากรแอฟริกันเนอร์ (หรือชาวบัวร์) ขนาดใหญ่ใน ค.ศ. 1806 หลังจากยึดครองมาตั้งแต่ ค.ศ. 1795 เพื่อป้องกันมิให้อาณานิคมแห่งนี้ตกอยู่ในมือฝรั่งเศส หลังจากการบุกครองเนเธอร์แลนด์ของฝรั่งเศส การเข้าเมืองของชาวบริติชเริ่มเพิ่มขึ้นหลังจาก ค.ศ. 1820 และผลักดันชาวบัวร์นับพันซึ่งไม่พอใจกับการปกครองของอังกฤษขึ้นไปทางเหนือเพื่อก่อตั้งสาธารณรัฐอิสระปกครองตนเองในช่วงเกรตเทร็ก ปลายคริสต์ทศวรรษ 1830 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1840 ระหว่างนั้น วูเทรกเกอส์ปะทะกับชาวบริติชบ่อยครั้ง ซึ่งมีแรงจูงใจของตนเกี่ยวกับการขยายอาณานิคมในแอฟริกาใต้และต่อองค์กรการเมืองแอฟริกาหลายแห่ง รวมถึงชาติโซโทและซูลู สุดท้ายชาวโบร์สถาปนาสาธารณรัฐสองแห่งที่มีอายุยืนยาวกว่าแห่งอื่น ๆ ได้แก่ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้หรือสาธารณรัฐทรานส์วัลล์ (ค.ศ. 1852–1877; 1881–1902) และเสรีรัฐออเรนจ์ (ค.ศ. 1854–1902) ใน ค.ศ. 1902 บริเตนยึดครองทั้งสองสาธารณรัฐ โดยบรรลุสนธิสัญญากับสองสาธารณรัฐบัวร์ให้หลังสงครามบัวร์ครั้งที่สอง (ค.ศ. 1899–1902)", "title": "จักรวรรดิบริติช" }, { "docid": "409141#11", "text": "การประชุมรัฐสภาสาธารณรัฐเทกซัสครั้งแรกเริ่มขึ้นในเดือนตุลาคม 1836 ที่เมืองโคลัมเบีย (เวสต์โคลัมเบียในปัจจุบัน) สตีเฟน เอฟ. ออสติน ผู้ได้รับสมญานาม “บิดาแห่งเทกซัส” ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1836 หลังจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศให้สาธารณรัฐใหม่ได้เพียงแค่สองเดือน เนื่องจากในช่วงสถาปนารัฐ เกิดสงครามต่อสู้เพื่ออิสรภาพอยู่ จึงมีการกำหนดให้เมืองห้าแห่งมีหน้าที่เป็นเมืองหลวงชั่วคราวของเทกซัสในปี 1836 ได้แก่เมืองวอชิงตัน-ออน-เดอะ-แบรซัส, แฮร์ริสเบิร์ก, แกลวิสตัน, วิลาสโก และโคลัมเบีย ต่อมาได้มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ฮิวสตัน ซึ่งเป็นเมืองสร้างใหม่ ในปี 1837 ในปี 1839 เมืองหลวงถูกย้ายอีกครั้งไปยังนิคมเล็กๆ บริเวณชายแดนเลียบแม่น้ำโคลาราโด ที่เรียกว่าวอเตอร์ลู ซึ่งได้มีการผังเมืองใหม่ที่เมืองดังกล่าว และทำการเปลี่ยนชื่อเสียใหม่เป็นเมืองหลวงชื่อว่าออสติน", "title": "สาธารณรัฐเทกซัส" }, { "docid": "221102#0", "text": "ศิลปะดัตช์ () เป็นการบรรยายประวัติศาสตร์ทัศนศิลป์ของเนเธอร์แลนด์หลังจากสหพันธ์จังหวัดแยกจากฟลานเดอส์มาเป็นสาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ที่รวมทั้งงานเขียนของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก, ยุคทองของเนเธอร์แลนด์, จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น และจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20", "title": "ศิลปะดัตช์" }, { "docid": "262996#0", "text": "ชาวดัตช์ ( ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ของประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเนเธอร์แลนด์ นอกจากในประเทศเนเธอร์แลนด์แล้วชาวดัตช์หรือผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวดัตช์ก็ยังตั้งถิ่นฐานในดินแดนต่างๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในแคนาดา,ออสเตรเลีย, สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และในสหรัฐอเมริกา", "title": "ชาวดัตช์" }, { "docid": "25771#0", "text": "หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง () เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ. 2470 ถึง พ.ศ. 2492 โดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีผู้นำขณะนั้น คือ นายพลเจียงไคเช็ค หลังสถาปนาเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลใหม่จึงได้ย้ายเมืองหลวงกลับมายังปักกิ่งดังเดิม", "title": "หนานจิง" }, { "docid": "278702#0", "text": "ของขวัญดัตช์ ของปี ค.ศ. 1660[1] (English: Dutch Gift) คือภาพเขียนจำนวน 28 ภาพที่ส่วนใหญ่เป็นภาพเขียนจากยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี, ประติมากรรมคลาสสิก 12 ชิ้น และเรือยอชต์หลวง “แมรี” (HMY Mary) และเฟอร์นิเจอร์ที่รัฐสภาแห่งเนเธอร์แลนด์ถวายให้แก่สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษในปี ค.ศ. 1660[2] เนื่องในโอกาสที่ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษหลังจากการฟื้นฟูราชวงศ์ ก่อนหน้าที่จะเสด็จกลับอังกฤษไปขึ้นครองราชย์ สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ประทับลี้ภัยอยู่ในสาธารณรัฐดัตช์เป็นเวลาหลายปี ระหว่างที่อังกฤษตกอยู่ในสมัยที่เรียกว่า “สมัยไร้กษัตริย์” ที่ปกครองภายใต้ระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ วัตถุประสงค์ของการถวายของขวัญเหล่านี้ก็เพื่อเป็นการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางการทูตระหว่างอังกฤษและสาธารณรัฐดัตช์ แต่เพียงไม่กี่ปีหลังจากนั้นสองชาติก็เข้าสู่สงครามกันอีกครั้งหนึ่งในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1665-ค.ศ. 1667", "title": "ของขวัญดัตช์" }, { "docid": "17126#0", "text": "เอสโตเนีย (; ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (; ) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป", "title": "ประเทศเอสโตเนีย" }, { "docid": "750916#0", "text": "สาธารณรัฐหลานฟาง (Lanfang Republic; ภาษาจีน: 蘭芳共和國; พินยิน: Lánfāng Gònghéguó; Pe̍h-ōe-jī: Lân-phang Kiōng-hô-kok) เป็นรัฐของชาวจีนที่ใช้ระบบกงสีในกาลีมันตันตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ก่อตั้งโดยชาวจีนฮากกาชื่อหลัว ฟางปั๋ว (羅芳伯) เมื่อ พ.ศ. 2320 ก่อนจะสิ้นสุดลงโดยการยึดครองของดัตช์เมื่อ พ.ศ. 2427 \nสุลต่านแห่งบอร์เนียวตะวันตกได้นำเข้าแรงงานชาวจีนในพุทธศตวรรษที่ 23 เพื่อทำงานในเหมืองทองคำและตะกั่ว กลุ่มกงสีของแรงงานเหมืองได้จัดตั้งกลุ่มเพื่อปกครองตนเอง แต่หลานฟางเป็นที่รู้จักเพราะบันทึกไว้โดยยับ เซียงโยน บุตรเขยของกัปตันคนสุดท้ายของกงสีแห่งหลานฟาง ซึ่งแปลเป็นภาษาดัตช์ใน พ.ศ. 2428 ไม่มีหลักฐานที่เป็นเอกสารเกี่ยวกับกลุ่มกรรมกรเหมืองกลุ่มอื่น\nผู้ก่อตั้งสาธารณรัฐหลานฟางคือหลัว ฟางปั๋ว ผู้มาจากเหมย์โจวในมณฑลกวางตุ้ง และมาอาศัยในเกาะบอร์เนียวเป็นเวลานาน ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการค้าและทำเหมือง เขาก่อตั้งบริษัทของเขาเอง หลัวได้จัดตั้งสาธารณรัฐหลานฟางขึ้นใน พ.ศ. 2320 เมืองหลวงอยู่ที่วันยินตะวันออกเพื่อปกป้องผู้ตั้งถิ่นฐานชาวจีนจาการกดดันของชาวดัตช์ หลัวได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี เขาได้นำหลักการปกครองแบบประชาธิปไตยมาใช้เช่น การมีส่วนร่วมของพลเมือง ตำแหน่งผู้บริหารต่างๆมาจากการเลือกตั้ง หลานฟางเป็นพันธมิตรกับสุลต่านอับดูร์เราะห์มานแห่งรัฐสุลต่านปอนเตียนัก", "title": "สาธารณรัฐหลานฟาง" }, { "docid": "4502#25", "text": "เบลเยียมมีภาษาทางการ 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาดัตช์ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน โดยคาดว่า มีผู้พูดภาษาดัตช์เป็นภาษาหลักราว 60 เปอร์เซนต์ และประมาณ 40 เปอร์เซนต์สำหรับภาษาฝรั่งเศส โดยภาษาเยอรมันมีผู้พูดน้อยกว่า 1 เปอร์เซนต์[1] ผู้พูดภาษาดัตช์ส่วนใหญ่อยู่ในภาคเหนือของประเทศ โดยเป็นภาษาทางการของเขตฟลามส์และชุมชนฟลามส์ และหนึ่งในสองภาษาทางการของเขตเมืองหลวง ผู้พูดภาษาฝรั่งเศสกระจุกตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เป็นภาษาทางการของชุมชนฝรั่งเศส อีกหนึ่งภาษาทางการของเขตเมืองหลวง และภาษาหลักของเขตวัลลูน ภาษาเยอรมันมีผู้พูดอยู่ในเขตชายแดนตะวันออกของประเทศ เป็นภาษาทางการในบางส่วนของวัลลูน ภาษาอื่น ๆ ที่มีผู้พูดในเบลเยียมได้แก่ ภาษาวัลลูน ภาษาปีการ์ ภาษาช็องเปอนัว และภาษาลอแร็ง", "title": "ประเทศเบลเยียม" }, { "docid": "558879#27", "text": "ในเดือนถัดมาญี่ปุ่นได้สร้างรัฐใหม่ขึ้นบนแผ่นดินแมนจูเรีย โดยมีญี่ปุ่นคอยเชิดอยู่เบื้องหลัง ตั้งชื่อว่า ประเทศแมนจูกัว (满洲国) มีฉางชุนเป็นเมืองหลวง แล้วนำจักรพรรดิผู่อี๋ (ปูยี) ฮ่องเต้ราชวงศ์ชิงองค์สุดท้ายที่ถูกปฏิวัติในปี ค.ค. 1911 ซึ่งมีอายุ 25 พรรษในขณะนั้นมาเป็นฮ่องเต้หุ่นเชิดที่ได้ปกครองแต่ในนาม จากนั้นญี่ปุ่นก็ใช้อำนาจในการขูดรีดประชาชน ทำลายวัฒนธรรม ทำให้ชาวจีนกว่า 30 ล้านคนต้องทนทุกข์ทรมาน", "title": "สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)" }, { "docid": "624735#0", "text": "จักรวรรดิดัตช์ () เป็นหนึ่งในจักรวรรดิอาณานิคมของโลกที่เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสาธารณรัฐดัตช์ซึ่งได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิสเปน และเป็นมหาอำนาจทางทะเลเช่นเดียวกับ สเปน โปรตุเกสและสหราชอาณาจักร", "title": "จักรวรรดิดัตช์" }, { "docid": "562661#0", "text": "นครบรัสเซลส์ (ฝรั่งเศส: \"Bruxelles-Ville\" หรือ \"Ville de Bruxelles\" , ดัตช์: \"Stad Brussel\" ) คือเขตเทศบาลที่มีขนาดที่ใหญ่ที่สุดในเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ และยังถือเป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม", "title": "นครบรัสเซลส์" }, { "docid": "112824#0", "text": "ภาษาฟลามส์ (ดัตช์: \"Vlaams\") หรือภาษาเฟลมิช (อังกฤษ: \"Flemish\") เป็นภาษาถิ่นของชาวฟลามส์ ในฟลานเดอร์หรือเขตฟลามส์ของ ประเทศเบลเยียม ฟลามส์ไม่เชิงเป็นภาษา แต่เป็นสำเนียงหนึ่งของ ภาษาดัตช์มาตรฐาน (Algemeen Nederlands) ภาษาดัตช์เป็นหนึ่งใน 3 ภาษาราชการของเบลเยียม ใช้สื่อสารทั่วไปใน ฟลานเดอร์ และบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม", "title": "ภาษาเฟลมิช" }, { "docid": "152080#4", "text": "ในระดับนานาชาติ การปฏิวัติถูกเชื่อมโยงกับสงครามมหาสัมพันธมิตร บนยุโรปภาคพื้นทวีป โดยถูกมองว่าเป็นการรุกรานอังกฤษโดยชาวต่างชาติครั้งสุดท้ายที่ประสบความสำเร็จ การปฏิวัติทำให้ทุกความพยายามที่จะครอบครองสาธารณรัฐดัตช์ ด้วยกำลังทหารของอังกฤษในสงครามอังกฤษ-ดัตช์ ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นอันต้องสิ้นสุดลง อย่างไรก็ตามผลกระทบจากการร่วมมือกันทางการค้าและการทหารของอังกฤษและดัตช์ ทำให้ขั้วอำนาจทางการค้าของโลกถูกส่งผ่านจากสาธารณรัฐดัตช์ไปสู่อังกฤษแล้วถูกส่งต่อไปยังราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในที่สุด", "title": "การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์" }, { "docid": "268803#1", "text": "สัญญาสันติภาพที่เขียนเป็นฝรั่งเศสเป็นการยุติสงครามสามสิบปีในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ สงครามแปดสิบปี ระหว่างสเปน และ สาธารณรัฐดัตช์และรัฐทั้งเจ็ด ผู้เข้าร่วมในการสร้างสัญญาสันติภาพก็ได้แก่ สมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ฮับส์บวร์ก), ราชอาณาจักรสเปน, ฝรั่งเศส และ สวีเดน, สาธารณรัฐดัตช์ และพันธมิตรของแต่ละฝ่าย", "title": "สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย" }, { "docid": "239881#0", "text": "สาธารณรัฐดัตช์ (อังกฤษ: ชื่อเต็ม Republiek der Zeven Verenigde Nederlanden หรือ De Nederlandse Republiek และ De Verenigde Provincien) เป็นการรวมหนึ่งในส่วนรัฐทั้ง 7 ของเนเธอร์แลนด์ของสเปน โดยเป็นกบฏโปรแตสแตนท์ในกลุ่มขุนนาง ผู้ปกครองคนแรกคือ วิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และทำให้เกิดสงคราม 80 ปีจนสงบศึกในปี ค.ศ. 1648", "title": "สาธารณรัฐดัตช์" }, { "docid": "64255#0", "text": "เซียร์ราลีโอน () หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน () เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าฟรีทาวน์ มีเนื้อที่โดยประมาณ 71,740 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับสาธารณรัฐกินี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับประเทศไลบีเรีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก", "title": "ประเทศเซียร์ราลีโอน" }, { "docid": "665#19", "text": "หลังเยอรมนียอมจำนนแล้ว ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้แบ่งกรุงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีออกเป็น 4 เขตในยึดครองทางทหาร เขตฝั่งตะวันตกซึ่งควบคุมโดยฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ได้รวมกันและจัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ส่วนเขตทางตะวันออกซึ่งอยู่ในควบคุมของสหภาพโซเวียตได้จัดตั้งขึ้นเป็นประเทศที่ชื่อว่า \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี\" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1949 ทั้งสองประเทศนี้ถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า \"ประเทศเยอรมนีตะวันตก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงบ็อน และ \"ประเทศเยอรมนีตะวันออก\" มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงเบอร์ลินตะวันออก", "title": "ประเทศเยอรมนี" }, { "docid": "892693#10", "text": "ระหว่างการปฏิวัติอินโดนีเซีย ดัตช์ได้สลายกองทัพอาณานิคม ทหารชาวพื้นเมืองมีตัวเลือกระหว่างหยุดการเคลื่อนไหวหรือเข้าร่วมกับกองทัพอินโดนีเซีย แต่เนื่องจากผู้นำสาธารณรัฐที่เป็นมุสลิมชาวชวาไม่ไว้วางใจ จึงเป็นตัวเลือกที่ยากสำหรับชาวอัมบนที่นับถือคริสต์โปรแตสแตนท์และมีส่วนน้อยที่เลือกเข้าร่วมกับกองทัพอินโดนีเซีย การสลายตัวเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน และใน พ.ศ. 2494 สองปีหลังการถ่ายโอนอธิปไตย ทหารทั้งหมดไม่ได้สลายตัว ดัตช์ที่ได้รับแรงกดดันจากนานาชาติให้สลายกองทัพอาณานิคมและทำให้ทหารเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพปกติของดัตช์ชั่วคราว ในขณะที่มีความพยายามจากชวาให้ยุบกลุ่มนี้ไป สถานการณ์ทางการเมืองในสาธารณรัฐใหม่ในอินโดนีเซียไม่มั่นคง ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมีทหารชาวอัมบนมีส่วนร่วมด้วย ใน พ.ศ. 2494 มีการประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐโมลุกกะใต้ที่อัมบน และได้รับการสนับสนุนจากทหารชาวอัมบนที่มาจากกองทัพอาณานิคม ทหารชาวโมลุกกะที่อยู่นอกโมลุกกะใต้แสดงความต้องการเข้าร่วมกับอัมบน แต่อินโดนีเซียปฏิเสธไม่ให้ดัตช์ขนส่งทหารเหล่านั้นไปยังอัมบน หลังจากเกิดการต่อสู้อย่างรุนแรงที่อัมบน ทหารที่พ่ายแพ้หนีไปเซรัม การต่อต้านอินโดนีเซียยังคงอยู่ และถูกปิดกั้นโดยอินโดนีเซีย", "title": "สาธารณรัฐโมลุกกะใต้" }, { "docid": "816372#1", "text": "มเยาะอูเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอาระกันเมื่อ พ.ศ. 1974 เมื่อเมืองเติบโตขึ้นมีการสร้างวัดและเจดีย์ต่างๆมากมาย และยังคงเหลืออยู่จนถึงปัจุบัน ในราวพุทธศตวรรษที่ 20 - 23 ที่เมืองมเยาะอูเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอาระกันนั้น มีพ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาค้าขายมากมาย รวมทั้งชาวโปรตุเกสและชาวดัตช์ ", "title": "อาณาจักรมเยาะอู" }, { "docid": "325622#7", "text": "พระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลเต็มที่ในเวลาสั้น ๆ เท่านั้น หลังจากสงครามอังกฤษ-ดัตช์ครั้งที่สอง ซึ่งส่งผลอย่างหายนะต่ออังกฤษ ดัตช์ได้บรรลุสิทธิ์ที่จะขนส่งวัตถุซื้อขายซึ่งผลิตในบริเวณหลังเมืองท่าในเยอรมนี ไปยังอังกฤษราวกับว่าเป็นการขนส่งสินค้าของดัตช์ และที่สำคัญไปกว่านั้น อังกฤษได้ยอมรับแนวคิดของ \"เรือเสรี สินค้าเสรี\" ซึ่งเป็นการให้เสรีภาพในการรบกวนโดยราชนาวีดัตช์ในการขนส่งในทะเลหลวง ถึงแม้ว่าในสงครามสาธารณรัฐดัตช์จะเป็นกลางก็ตาม นี่ได้ให้เสรีภาพแก่ดัตช์ได้การ \"ลักลอบนำเข้า\" ได้ตราบที่พวกเขาไม่ถูกพบว่าผิดในน่านน้ำซึ่งควบคุมโดยอังกฤษ บทบัญญัติดังกล่าวได้รับการยืนยันอีกครั้งหนึ่งในสนธิสัญญาเวสต์มินสเตอร์ (ค.ศ. 1674) หลังจากสงครามอังกฤษ-ดัตช์ครั้งที่สาม ", "title": "พระราชบัญญัติการเดินเรือ" }, { "docid": "221141#3", "text": "หลังจากการล้อมเมืองแอนต์เวิร์ป (Siege of Antwerp (1584-1585) ) บริเวณทางใต้ของเนเธอร์แลนด์ (ฟลานเดอส์) ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสเปนและแยกตัวจากสาธารณรัฐดัตช์ แม้ว่าจิตรกรหลายคนจะหนีสงครามศาสนาและย้ายจากเนเธอร์แลนด์ใต้ไปยังสาธารณรัฐดัตช์ จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจึงรุ่งเรืองโดยเฉพาะของตระกูลการเขียนแบบแอนต์เวิร์ประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่นำโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์, อันโตนี ฟัน ไดก์ และยาโกบ ยอร์ดานส์", "title": "จิตรกรรมเฟลมิช" }, { "docid": "131346#23", "text": "นับแต่ ค.ศ. 1718 การขนส่งไปอาณานิคมอเมริกาเป็นการลงโทษสำหรับอาชญากรรมหลายอย่างในบริเตน โดยนักโทษประมาณ 1,000 คนถูกขนส่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกต่อปี หลังการเสียสิบสามอาณานิคมใน ค.ศ. 1783 รัฐบาลบริติชถูกบีบให้หาที่ใหม่ และหันไปดินแดนออสเตรเลียซึ่งเพิ่งค้นพบ ชาวยุโรปเคยสำรวจชายฝั่งตะวันตกของออสเตรเลียแล้ว โดยนักสำรวจชาวดัตช์ วิลเล็ม เจนซ์ ใน ค.ศ. 1606 และภายหลังบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์เปลี่ยนชื่อเป็นนิวฮอลแลนด์ แต่ไม่มีความพยายามยึดเป็นอาณานิคม ใน ค.ศ. 1770 เจมส์ คุกค้นพบชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลียระหว่างการเดินเรือเที่ยววิทยาศาสตร์ไปมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ เขาอ้างสิทธิ์ทวีปเป็นของบริเตน และตั้งชื่อว่านิวเซาท์เวลส์ ใน ค.ศ. 1778 โจเซฟ แบงส์ นักพฤกษศาสตร์ซึ่งเดินทางไปกับคุก นำเสนอหลักฐานต่อรัฐบาลถึงความเหมาะสมของอ่าวโบตานีในการตั้งทัณฑนิคม และใน ค.ศ. 1787 เรือขนนักโทษเที่ยวแรกก็ออกเดินทาง โดยมาถึงใน ค.ศ. 1788 บริเตนดยังส่งนักโทษมายังนิวเซาท์เวลส์เรื่อยมาจน ค.ศ. 1840 อาณานิคมออสเตรเลียกลายเป็นผู้ส่งออกขนสัตว์และทองคำซึ่งมีรายได้มหาศาล หลัก ๆ เพราะการตื่นทองในอาณานิคมวิกตอเรียทำให้เมืองหลวงเมลเบิร์นเป็นเมืองที่รวยที่สุดในโลก และนครใหญ่สุดในจักรวรรดิบริติชรองจากกรุงลอนดอน", "title": "จักรวรรดิบริติช" }, { "docid": "892693#12", "text": "สถานการณ์ดำเนินต่อไปจนถึง พ.ศ. 2513 CAZ ได้สลายตัวไป รัฐมนตรีและตัวแทนอื่นๆเข้ามารับผิดชอบ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์มองว่าชาวโมลุกกะไม่ใช่ผู้อยู่อาศัยแบบชั่วคราวแต่จะอยู่ต่อไปในอนาคตในเนเธอร์แลนด์ ใน พ.ศ. 2511 ชาวโมลุกกะมากกว่าร้อยละ 80 ยังไม่มีสัญชาต อดีตทหารในกองทัพอาณานิคมรู้สึกไม่สบายใจกับการที่กองทัพถูกยุบไป เพราะกองทัพอาณานิคมให้รายได้และการดำรงชีวิตทั้งหมดแก่พวกเขา พวกเขาจงรักภักดีต่อดัตช์แต่กังวลกับความไม่แน่นอน พวกเขาตั้งความหวังไว้กับเอกราชของสาธารณรัฐโมลุกกะใต้และหวังว่าดัตช์จะช่วยเหลือ ความรู้สึกนี้ยังคงต่อเนื่องแม้เมื่อมาอยู่ในค่ายโดดเดี่ยวในเนเธอร์แลนด์ แต่ในความเป็นจริงไม่สามารถทำได้\nสภาพการณ์นี้นำมาซึ่งความตึงเครียดและแตกแยกในขบวนการสาธารณรัฐโมลุกกะใต้ ผู้นำรุ่นเก่ามองว่าสิทธิของพวกเขาเปลี่ยนแปลงไป ในที่สุด เกิดวิกฤตในชุมชนชาวอัมบน และใช้ความรุนแรงต่อต้านสังคมดัตช์ เกิดการก่อการร้ายใน พ.ศ. 2513 ที่สถานทูตอินโดนีเซีย การโจมตีเกิดขึ้นอีกครั้งใน พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2520 เป้าหมายของการโจมตีไม่ชัดเจน ห่างไกลจากการฟื้นฟูความเป็นหนึ่งเดียวกันของขบวนการสาธารณรัฐโมลุกกะใต้ การโจมตีรถไฟและโรงเรียนใน พ.ศ. 2520 ทำให้รัฐบาลดัตช์ตัดสินใจใช้กำลังทหารเข้าระงับเหตุ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นทำให้ชาวโมลุกกะแปลกแยกจากสังคมดัตช์มากขึ้น\nเมื่อสิ้นสุดความรุนแรงจากการก่อการร้าย รัฐบาลดัตช์ได้ยกเลิกแนวคิดที่จะให้ชาวโมลุกกะเป็นผู้อยู่อาศัยชั่วคราว แต่ไม่สามารถสร้างช่องทางการสื่อสารผ่านการอภิปรายและการนำนโยบายไปปฏิบัติเพื่อเปิดทางสู่อนาคต ต้องพิจารณาเกี่ยวกับสถานะทางสังคมมาก การเข้าโรงเรียนต่ำ และการว่างงานสูง ความพยายามในการพัฒนาการสื่อสารระหว่างตัวแทนรัฐบาลและชาวโมลุกกะไม่ประสบความสำเร็จ เพราะมีการต่อต้านภายในชุมชนโมลุกกะ และไม่สามารถสนองตอบต่อความต้องการทางการเมืองของชาวโมลุกกะได้ ใน พ.ศ. 2519 มีการอภิปรายร่างกับตัวแทนชุมชนดัตช์ ใน พ.ศ. 2521 ได้เสนอสมุดปกขาวจากรัฐบาลสู่รัฐสภาโดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของชาวโมลุกกะในสังคมดัตช์ โดยเฉพาะในด้านการศึกษาและตลาดแรงงาน ในปัจจุบัน สถานะของชาวโมลุกกะถือเป็นพลเมืองของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งต่างจากเมื่อ พ.ศ. 2513\nกองกำลังหลักของกองทัพโมลุกกะใต้ที่อัมบนพ่ายแพ้ต่ออินโดนีเซียเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2493 มีการต่อสู้แบบกองโจรอีกเล็กน้อยที่เจรัมจนถึง พ.ศ. 2505 การพ่ายแพ้ที่อัมบนทำให้รัฐบาลสาธารณรัฐหลบหนีออกไปจากเกาะและจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นในเนเธอร์แลนด์ ทหาร 12,000 และครอบครัวย้ายถิ่นไปเนเธอร์แลนด์ ในระหว่างที่เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น สาธารณรัฐได้โจมตีเนเธอร์แลนด์ด้วยการก่อการร้าย เริ่มครั้งแรกใน พ.ศ. 2513 ที่สถานทูตอินโดนีเซีย มีตำรวจชาวดัตช์ถูกยิงเสียชีวิต มีการโจมตีขบวนรถไฟใน พ.ศ. 2518 และ 2520 การโจมตีครั้งสุดท้าย เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2521\nดร. คริส ซูโมกิล เป็นประธานาธิบดีเมื่อ พ.ศ. 2497 ซึ่งเป็นผู้นำกองโจรต่อสู้กับอินโดนีเซียที่เจรัม เขาถูกทหารอินโดนีเซียจับกุมเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2505 และถูกประหารชีวิตในสมัยที่ซูฮาร์โตเป็นประธานาธิบดีเมื่อ 12 เมษายน พ.ศ. 2509", "title": "สาธารณรัฐโมลุกกะใต้" }, { "docid": "409141#4", "text": "ในปี ค.ศ. 1836 มีเมืองห้าแห่งด้วยกันที่ทำหน้าที่เป็นเมืองหลวงชั่วคราวให้กับเทกซัส ได้แก่เมืองวอชิงตัน-ออน-เดอะ-แบรซัส, แฮร์ริสเบิร์ก, แกลวิสตัน, วิลาสโก และโคลัมเบีย ก่อนที่ประธานาธิบดีแซม ฮิวสตันจะย้ายเมืองหลวงไปที่เมืองฮิวสตันในปี 1837 เมืองหลวงถูกย้ายไปที่เมืองสร้างใหม่ที่ชื่อว่าออสตินในปี 1839 โดยประธานาธิบดีคนต่อมา มิราโบ บี. ลามาร์ ธงชาติผืนแรกของสาธารณรัฐเทกซัสคือ “ธงเบอร์เน็ต” (Burnet Flag) มีลักษณะเป็นธงผืนน้ำเงินที่มีดาวทองอยู่ตรงกลาง ตามมาด้วยการประกาศใช้อย่างเป็นทางการของธงดาวเดียว (Lone Star Flag) ที่ยังเป็นธงประจำรัฐเทกซัสมาจนถึงทุกวันนี้", "title": "สาธารณรัฐเทกซัส" }, { "docid": "404029#1", "text": "ทั้งสองบรรลุความตกลงในการถอนทหารดัตช์ \"ภายในระยะเวลาสั้นที่สุดที่เป็นไปได้\" และสหรัฐอินโดนีเซียจะมอบ \"สถานะชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง\" แก่เนเธอร์แลนด์ นอกจากนั้น จะไม่มีการเลือกปฏิบัติระหว่างคนหรือบริษัทสัญชาติดัตช์ และสาธารณรัฐตกลงจะเข้าควบคุมความตกลงการค้าที่เจรจาโดยหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ดี มีอยู่สองประเด็นสำคัญที่ตกลงกันไม่ได้ คือ ว่าด้วยหนี้ในช่วงที่เนเธอร์แลนด์ปกครองในฐานะเจ้าอาณานิคม และสถานะของนิวกินีตะวันตก", "title": "การประชุมโต๊ะกลมดัตช์–อินโดนีเซีย" }, { "docid": "274528#0", "text": "สงครามแปดสิบปี หรือ สงครามอิสรภาพเนเธอร์แลนด์ () เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1566 จนถึงปี ค.ศ. 1648 ระหว่าง สาธารณรัฐดัตช์ และ จักรวรรดิสเปน สงครามเริ่มจากการเป็นการปฏิวัติต่อต้านสมเด็จพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งสเปนผู้เป็นประมุขของเนเธอร์แลนด์ของฮับส์บวร์กในหลายจังหวัดทางตอนเหนือ ที่เริ่มขึ้นในฮอลแลนด์ และ เซแลนด์ สงครามจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย ผลของสงครามในที่สุดก็นำไปสู่การแยกตัวของเจ็ดจังหวัดที่มารวมตัวกันเป็นสาธารณรัฐดัตช์ จังหวัดต่อต้านฟลานเดอร์ส และ บราบองต์ต่อมากลายเป็นเบลเยียมปัจจุบัน", "title": "สงครามแปดสิบปี" } ]
3722
สมจิตร เกตภูเขียว โด่งดังเป็นที่รู้จักจากเพลงอะไร ?
[ { "docid": "779808#1", "text": "แดง จิตกร เป็นคนขอนแก่น จบการศึกษาระดับชั้น ป.4 ด้วยความที่พ่อแม่เลิกกัน เขาจึงอยู่กับยายมาตั้งแต่เด็ก และความที่เป็นลูกชาวนาชาวไร่ ทำให้เขามุมานะอดทนทำงานสารพัดที่ขอนแก่น แต่ด้วยใจรักเสียงเพลง ผลักให้ตัวเองเข้ามาสมัครเป็นคอนวอยในวงดนตรี ชื่อว่า \"วงชุมแพ คอมพิวเตอร์\" ที่ขอนแก่น ด้วยใจคิดฝันไปว่าวันข้าง หัวหน้าคณะจะให้ร้องเพลงบ้างแล้ววันหนึ่งนักร้องประจำวงป่วย เขาจึงถูกเรียกตัวให้ร้องแทน วันนั้นทำได้ดี จึงถูกจ้างให้เป็นนักร้องประจำวง ตั้งแต่นั้นมาเส้นทางนักร้องเริ่มต้นขึ้น เมื่อเขาได้มีโอกาสทำเพลง และให้บริษัทท็อปไลน์ ฯ เป็นผู้จัดจำหน่าย ผลงานที่ที่สร้างชื่อให้เขาก็คือ เพลง \"น้ำตาผ่าเหล้า\" และเพลง \"หัวใจคิดฮอด\" เป็นผลงานการแต่งของ “สลา คุณวุฒิ” [2]", "title": "แดง จิตกร" } ]
[ { "docid": "39796#47", "text": "พระมุนีร ญาณเถรมหานาโน หรือ หลวงปู่เขียว มหานานโน อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง (ธรรมยุติ) และอดีตรองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น สมัยก่อนพระป่า คณะสงฆ์อำเภอมัญจาคีรี อำเภอบ้านไผ่ และอำเภอชนบท แม้จะมีวัดมากมายแต่ไม่ได้ใบตราตั้งวัดเพราะสร้างในเขตป่าสงวนพื้นที่เขต สปก. เลยไม่มีเจ้าคณะอำเภอและเจ้าคณะตำบลมีเฉพาะเจ้าอาวาส คณะสงฆ์อำเภอชนบท (ฝ่ายธรรมยุติ) ได้ปกครองถึง 3 - 4 อำเภอคือ อำเภอบ้านไผ่ อำเภอชนบท อำเภอมัญจาคีรี บางพื้นที่กินอำเภอแวงใหญ่บางส่วนด้วย เพราะเมื่อก่อนอำเภอแวงใหญ่ยังไม่แยกตัวขอเป็นอำเภอ ยังเป็นบ้านแวงใหญ่ ตำบลคอนฉิม อำเภอชนบท หลวงปู่เขียว มหานาโน จึงเป็นเจ้าคณะอำเภอที่ปกครองหลายพื้นที่ เป็นหัวมังกรที่คณะสงฆ์สายป่าเคารพและรักท่านมาก เพราะท่านคงแก่เรียน พรรษากาลมาก และทรงอภิญญา ขนาดหลวงปู่นิล มหันตปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าสุมนามัย และอดีตเจ้าคณะอำเภอบ้านไผ่ (ธรรมยุติ) ยังมาบวชกับหลวงปู่เขียว หลวงปู่เขียวท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ของหลวงปู่นิล ว่ากันว่าหลวงปู่นิลท่านละสังขารกระดูกเป็นพระธาตุ หลวงปู่เขียวจึงดังแบบพลุแตก และท่านก็มีชื่อเสียงมานานแล้วแต่วัตถุมงคลของท่านสร้างน้อยหายาก เลยไม่ค่อยจะมีคนชงกัน ท่านเป็นพระมหาเถรที่ทรงวิทยาคมมาก ว่ากันว่าท่านอ่านจิตของลูกศิษย์ได้ทุกคน เล่นแร่แปรธาตุเก่งมาก พระเณรทะเลาะกันในวิหารท่านไม่อยู่ พอท่านกลับมาท่านพูดในเวลาฉันท์ข้าวสั่งสอนทำให้พระเณรสะอึกและเกิดความละอายมาหลายรูป วัดศรีบุญเรืองเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองอำเภอชนบท เพราะเมืองชลบทสร้างก่อนจังหวัดขอนแก่น ถ้าอ่านประวัติเมืองเก่าท่านจะรู้ เมื่อก่อนเจ้าเมืองขอนแก่นส่งส่วยเจ้าเมืองชลบท เจ้าเมืองชลบทส่งส่วยเมืองโคราช ที่คือประวัติย่อย ๆ พอถนนมิตรภาพและทางรถไฟตัดผ่าน อำเภอชนบทเลยอาภัพเป็นเมืองเก่าที่ถูกลืม สิมโบราณเมื่อก่อนอยู่วัดศรีบุญเรืองยังไม่พังถลายลงมาตามกาลเวลามีพระเก่ามากมาย หลวงปู่เขียวท่านสามารถเพ่งจิตดูได้ว่าใต้แผ่นดินนี้มีอะไรอยู่บ้าง หลวงปู่เขียวท่านเป็นเพื่อนสหธรรมมิตร (เพื่อน) กับหลวงปู่พัน พระธรรมสารเถร วัดจันทร์ประสิทธิ์ อำเภอบ้านไผ่ เป็นสหธรรมมิกกับสมเด็จบ้านโต้น สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) วัดมหาธาตุฯ สมัยท่านไปเรียนที่กรุงเทพไปพักอยู่ที่วัดบรมนิวาส ได้ไปพักจำพรรษากับท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันฺโท จันทร์) ได้ยัติธรรมยุต ณ พัทธสีมา วัดบรมนิวาส เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2461 โดยมีท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์เป็นพระอุปัชฌาย์ และศึกษาเล่าเรียนที่วัดบรมนิวาส 3 พรรษา ระหว่างเรียนบาลีอยู่กรุงเทพนั้นหลวงปู่เขียวท่านได้สนทนาธรรมกับเกจิยุคนั้นหลายรูปที่ร่วมเรียนด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสโส อ้วน) หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่ตื้อ อจลธัมฺโม ซึ่งเป็นสหธรรมมิกกัน (สหาย) และสมเด็จพระสังฆราช(จวน) ก็สนิทสนมกัน เพราะมีอุปัชฌาย์เดียวกัน ก่อนท่านจะกลับมาบ้านเกิดอำเภอชลบท หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต ท่านเคารพหลวงปู่เขียวนี้มากถือเป็นอาจารย์หลวงปู่ผางอีกรูป ที่ท่านเคารพกราบไหว้พูดถึงอยู่บ่อยๆ ท่านเป็นที่เคารพของเกจิอาจารย์ยุคนั้นหลายรูปอาทิ หลวงพ่อผาง จิตฺตคุตฺโต วัดอุดมคงคาคีรีเขตต์,หลวงปู่วรพรตวิธาน วัดจุมพล แวงน้อย , หลวงปู่พระมหาโส กัสฺสโป ฯลฯ นอกจากนั้นหลวงปู่เขียวท่านยังเป็นพระอุปัชฌาย์ให้เกจิดัง ๆ ยุคนั้นหลายรูป อาทิ หลวงปู่นิล มหันฺตปัญโญ วัดป่าสุมนามัย อำเภอบ้านไผ่ ก่อนท่านจะมาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดป่าคุ้มจัดสรรค์และเจ้าคณะอำเภอบ้านไผ่ , พระครูสีลสังวราภรณ์ ,พระครูโอภาสสมณกิจ วัดป่าธรรมวิเวก อดีตเจ้าคณะอำเภอชนบท ผู้สร้างเหรียญหลวงพ่อผางรุ่นแรกคงเคและคอติ่งจนโด่งดัง,หลวงพ่อชม ปภัสสโร วัดบ้านระหอกโพธิ์ อำเภอโนนศิลา อดีตเจ้าคณะอำเภอบ้านไผ่ (ก่อนหลวงปุ่นิล มหันตปัญโญ) ,หลวงปู่บุญมา เจ้าอาวาสวัดป่าภูหันบรรพรต,หลวงปู่แสวง วัดป่าชัยวาริน อำเภอบ้านไผ่ ,หลวงปู่เขี่ยม วัดบ้านขุมดิน อำเภอมัญจาคีรี, รวมถึงพระอาจารย์จำนงค์ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันวัดอุดมคงคาคีรีเขตต์ ฯลฯ บั้นปลายชีวิต หลวงปู่เขียวท่านมรณภาพเมื่อ 24 สิงหาคม 2524 สิริอายุ 86 ปี 6 เดือน 66 พรรษา วันที่พระราชทานเพลิงศพหลวงปู่เขียว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) ท่านมาเป็นประธานสงฆ์ พระราชธานเพลิงศพท่าน และมานอนที่สิมโบราณวัดบึงแก้ว เพราะวัดบึงแก้วอยู่ติดกับวัดศรีบุญเรืองไม่กี่ร้อยเมตรครับ วัตถุมงคลของท่านสร้างออกมาในวาระที่ท่านได้ทรงสมณศักดิ์เลื่อนขั้นเป็นเจ้าคุณชั้นสามัญที่ \"พระมุณีวรานุรักษ์\" หรือพระมุณีวรญาณเถรมหานาโม ถือเป็นเจ้าคุณรูปแรกในอำเภอชนบทก็ว่าได้", "title": "อำเภอชนบท" }, { "docid": "33674#20", "text": "1 นายสุพจน์ เตียนพลกรัง\n2 นายอุระ เนียมกลาง\n3 นายมานพ จันทสิทธิ์\n4 นางลินดา เชิดชัย\n5 นายสัมภาษณ์ อัตถาวงศ์\n6 พ.อ. ขวัญชัยค์ ศิลปิกุล\n7 นายบุญร่วม นภาโชติ\n8 นายยงยศ เล็กกลาง\n9 นายเอกสิทธิ์ บุตรคล้าย\n10 ร.อ. สนิท ขวัญจันทึก\n11 นายสมชาย เลิศด้วยลาภ\n12 นายสมศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล\n13 นายวัชรินทร์ โสตถิยาภรณ์\n14 นางรักษ์ฤทัย อุดมรัตนะศิลป์\n15 นายอุทร หวังอ้อมกลาง\n16 นายชนะศักดิ์ อุ่นเมตตาอารี\n17 นายเสนอจิตร จิตรโคกกรวด\n18 นายสมส่วน ศรีนอก\n19 นายยอดยิ่ง พันธุ์ศรีนคร\n20 ร.ต. หญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี\n21 นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ\n22 นายศุภกิจ ตั้งสิทธิประเสริฐ\n23 นายประชา ฉัตรวงศ์วาน\n24 นายไพจิตร ปวะบุตร\n25 พล.ต.ต. เถลิงศักดิ์ สุคนธมาน\n26 นายสงวน รัฐนิรันดร์\n27 นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล\n28 นายมโน พงษ์สามารถ\n29 นายสมบูรณ์ จีระมะกร\n30 นางถนอมศรี ปรารถนาดี\n31 นายบุญเลิศ ครุฑขุนทด\n32 นางศิริพร ชาติปฏิมาพงษ์\n33 นายธีรวิทย์ ภิญโญณัฐกานต์\n34 นายบรรพต เชิดชัย\n35 นายมานิต มานิธิคุณ\n36 นายคำผอง ตรีราษ\n37 นายสนอง ม่วงศิลปชัย\n38 นายกฤษณะ สืบสงวน\n39 นายสมนึก อุดมพร\n40 นางบุญมณี เอื้อศรี\n41 น.ส.จิราภรณ์ วัฒนเวช\n42 นายสมพงษ์ เปรมฤทัยรัตน์\n43 พล.ท. หญิงพูนภิรมย์ ลิมปพัลลภ\n44 นายคมสัน เพ็งวิสาภาพพงษ์\n45 นายภูมิศาสตร์ บุญมา\n46 นายอากาศ มงคลพันธ์\n47 นายกฤษฎาง แถวโสภา\n48 นายประมวล วงศ์หทัย\n49 ว่าที่ ร.ต. สม พรหมเวฬุพัฒน์\n50 พล.ต. สมาน เกษรอินทร์\n51 นายทวิสันต์ โลณานุรักษ์\n52 นายสุรกิตต์ กิติธีระพงษ์\n53 พล.ต.ท. แหลมทอง ญาณอุบล\n54 นายพิศาล อุทัยแสงไพศาล\n55 นายประสิทธิ์ ภูวสวัสดิ์\n56 นายผดุง จตุรภักดิ์\n57 นายประหยัด คชประดิษฐ์\n58 นางนภาพร พัฒนโชติ\n59 เรือเอกศิริเกษ กุลประเสริฐ\n60 นายจิรันธร์ ตีรนานนท์\n61 พ.ต.ธงชัย จิตรมั่น\n62 นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง กิตติรักษกุล\n63 นางนีรนุช บัวอินทร์\n64 นายโสฬส สิงห์ขวา\n65 นายชฎิน เกิดสิน\n66 นายอดุลย์ หาญสงคราม\n67 นายวันชัย ภูนาคพันธุ์", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549" }, { "docid": "538625#1", "text": "สิงขร สิงขร บางกอก, สิงขร นักเขียน, จักร เขลางค์, ก้องฟ้า มหาวัน, สะบันงา สิงขร สิงขร วงค์จิตติมา อัศวพาหุ, ศรีอยุธยา, ไก่เขียว, น้อยลา, นายแก้ว-นายขวัญ, พันแหลม - พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กฤษณา อโศกสิน, กัญญ์ชลา, สุปปวาสา, ญาดา - สุกัญญา ชลศึกษ์ กิ่งฉัตร - ปาลิฉัตร ศาลิคุปต กาแฟดำ - สุทธิชัย หยุ่น ไพฑูรย์ ธัญญา - รองศาสตราจารย์ ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์ นิ้วกลม - สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ ครูเทพ, เขียวหวาน - เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี จันทร์รำไพ - จันทร์รำไพ พลจันทร์ จามรี พรรณชมพู, นลิน บุษกร, วลัย นวาระ, - ศรีเฉลิม สุขประยูร แจ็คกี้ - อดิสรณ์ พึ่งยา บ.บู๋ - บูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร เตยหอม - พิษณุ นิลกลัด บิ๊กจ๊ะ - สาธิต กรีกุล นุ บางบ่อ - นุกูล นาคถนอม นักเขียนสารคดีท่องเที่ยว Online หรือ Bloger ชัยคุปต์ - \"ชัยวัฒน์ คุประตกุล\" นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ รวมถึงบทความวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ช่อมณี ,แพรดาว - มณีรัตน์ อัศวิศราภรณ์ บ. บุญค้ำ - บุญสิงห์ บุญค้ำ ผู้เขียนสารคดี \"เที่ยวเมืองเชียงตุงและแคว้นสาละวิน\" ที่มีผู้นำไปใช้เขียนนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง \"บ่วงบรรจถรณ์\" ป. อินทรปาลิต - \"ปรีชา อินทรปาลิต\" ผู้แต่งนิยายชุดที่มีชื่อเสียง \"พล นิกร กิมหงวน\" ส. พลายน้อย - สมบัติ พลายน้อย นักเขียนสารคดีคนสำคัญ มีผลงานการค้นคว้าเกี่ยวกับตำนาน ประเพณี ความเชื่อ และวัฒนธรรมไทย เช่น พฤกษนิยาย, สัตวนิยาย, จันทคตินิยาย เป็นต้น นายตำรา ณ เมืองใต้ - เปลื้อง ณ นคร อาจารย์ด้านภาษาและวรรณคดีไทย นักเขียนพจนานุกรม และปูชนียบุคคลคนหนึ่งในวงการวรรณกรรมของไทย นายหนหวย - ศิลปชัย ชาญเฉลิม น้ำอบ - อิราวดี นวมานนท์ แว่นดำ, ศกุนตชาติ - พ.ต.ต.ประชา พูนวิวัฒน์ ทีปกร - จิตร ภูมิศักดิ์ นักคิดและนักเขียนด้านภาษา วรรณคดี และวิจารณ์สังคม (จิตรยังมีนามปากกาอีกมากได้แก่: นาคราช, ศูลภูวดล, ศรีนาคร, สมสมัย ศรีศูทรพรรณ, ศิลป์ พิทักษ์ชน, สมชาย ปรีชาเจริญ, สุธรรม บุญรุ่ง, ขวัญนรา, สิทธิ ศรีสยาม, กวีการเมือง, กวี ศรีสยาม, บุคแมน, มูฟวี่แมน (มูวี่แมน) , ศิริศิลป์ อุดมทรรศน์, จักร ภูมิสิทธิ์: ดูเพิ่มพร้อมชีวประวัติที่: จิตร ภูมิศักดิ์) นายผี - อัศนี พลจันทร ฉัตร เชิงดอย - สุภาพ คลี่ขจาย ไฟ พูลวรลักษณ์, บึง พูลวรลักษณ์ - ฟ้า พูลวรลักษณ์ ทวีปวร - ทวีป วรดิลก รพีพร, สันติ ชูธรรม - สุวัฒน์ วรดิลก นายรำคาญ - ประหยัด ศ. นาคนาท ฮิวเมอริสต์, รม ทับทิมดี, ศัสตราวุธาจารย์ - อบ ไชยวสุ พ. เนตรรังษี - พัฒน์ เนตรรังษี ไม้เมืองเดิม - ก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา ช้าง พีอาร์ - สัณหชัย ผลชีวิน ซูม, จ่าแฉ่ง - สมชาย กรุสวนสมบัติ ยาขอบ - โชติ แพร่พันธุ์ มังกรห้าเล็บ - โกวิท สีตลายัน ชัย ราชวัตร - สมชัย กตัญญุตานนท์ รักษ์ มนตรี - สิทธิ์ สมมนตรี เขื่อนขันธ์ - สืบพงษ์ อุณรัตน์ แม่วัน - พระยาสุรินทราชา แม่ช้อย นางรำ, นที สีทันดร - สันติ เศวตวิมล เซี่ยงเส้าหลง, พายัพ วนาสุวรรณ - สนธิ ลิ้มทองกุล ศรีบูรพา - กุหลาบ สายประดิษฐ์ จิ๋ว บางซื่อ - พ.ญ. โชติศรี ท่าราบ อุษณา เพลิงธรรม - ประมูล อุณหธูป อ. สนิทวงศ์ - อุไร สนิทวงศ์ พิมาน แจ่มจรัส - พิมล แจ่มจรัส อ.น.ก - พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนชีวะ) อ. มาจาก อุปกิตศิลปสาร น. มาจาก นิ่ม และ ก. มาจาก กาญจนชีวะ (นามปากกาอื่น ๆ คือ อุนิกา และ อนึก คำชูชีพ) เสฐียรโกเศศ - พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) นาคะประทีป - พระสารประเสริฐ (ตรี นาคประทีป) น.ม.ส - พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส (กรมหมื่นพิทยาลงกรณ) วิเทศกรณีย์ - หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) กาญจนนาคพันธํ์ - ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) ว. ณ ประมวญมารค - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต พ. ณ ประมวลมารค - หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุ รัชนี ภ. ณ ประมวลมารค - หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ทมยันตี,ลักษณวดี,โรสลาเรน,กนกเรขา,มายาวดี - วิมล ศิริไพบูลย์ ว. วินิจฉัยกุล, แก้วเก้า - รศ.ดร.คุณหญิงวินิตา ดิถียนต์ สมิงกะหร่องและแบตตลิ้งกรอบ,ผู้นำ,ม. ชูพินิจ,แม่อนงค์,เรไร,ผุสดี ,อาตมา,ลดารักษ์,นายดอกไม้ ,น้อย อินทนนท์,หนอนหนังสือ,เรียมเอง,อุมา,นายฉันทนา - มาลัย ชูพินิจ เทวรักษ์ - สันต์ ท.โกมลบุตร ปิยะพร ศักดิ์เกษม - นันทพร ศานติเกษม เปลว สีเงิน - โรจน์ งามแม้น เดือนวาด พิมวนา - พิมใจ จูกลิ่น วินทร์ เลียววาริณ - วินทร์ เลี้ยววาริณ ดอกไม้สด - หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ แมลงหวี่ - หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช คร้าม ควนเปลว, พงศ์พริ้ง - คำพูน บุญทวี ส.ศิวรักษ์ - สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ญามิลา,วนาโศก,ปลาอ้วน -วิรัตน์ โตอารียฺมิตร อัญชัน - อัญชลี วิวัธนชัย ศิลา โคมฉาย - วินัย บุญช่วย 'รงค์ วงษ์สวรรค์, 'รงค์ วงษ์สวรรค์ (หนุ่ม) - ณรงค์ วงษ์สวรรค์ ศัลยา - ศัลยา สุขะนิวัตติ์ คมทวน คันธนู - ประสาทพร ภูสุศิลป์ธร ว.วชิรเมธี - พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี แพรเยื่อไม้ - พระครูพิศาลธรรมโกศล พ.กิ่งโพธิ์ - สมณะเพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐ วรรณวรรธน์ - วรรธนวรรณ จันทรจนา บินหลา สันกาลาคีรี - วุฒิชาติ ชุ่มสนิท วินนี่ เดอะ ปุ๊ - ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ มาลา คำจันทร์ - เจริญ มาลาโรจน์ ก้อง คาร์ ไว - ทรงกลด บางยี่ขัน กาหลิบ, จิตร พลจันทร์ - จักรภพ เพ็ญแข ผัดไท - ใจดี ดีดีดี สมจุ้ย เจตนาน่าสนุก - ศุ บุญเลี้ยง เรืองวิทยาคม, สิริอัญญา - ไพศาล พืชมงคล วีระ ธีรภัทร, วราพร - วีระ ธีระภัทรานนท์ วรากรณ์ ตรีเศศ - วรากรณ์ สามโกเศศ หนุ่มเมืองจันท์ - สรกล อดุลยานนท์ \"ผมอยู่ข้างหลังคุณ\" - นายแพทย์พีรพล ภัทรนุธาพร อีแร้ง - ยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์ เศก ดุสิต, ศ.ดุสิต, สุริยา - เริงชัย ประภาษานนท์ นอร์แมน วีรธรรม - วีระธรรม วิชัยรักษากุล พนมเทียน - ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ สุริยัน ศักดิ์ไธสง - ถาวร ภู่ประเสริฐ ณารา - ณิชา ตันติเฉลิมสิน ร่มแก้ว - ฉัตรารัศมิ์ แก้วมรกต เก้าแต้ม - คัคณางค์ มิ่งมิตรพัฒนะกุล ซ่อนกลิ่น - มนต์ชัย ศิริลัทพร แพรณัฐ - ทิพยวไลย์ สุพันธุ์วณิช บุษบาหนึ่งหรัด, ฉายา, แสบทรวง, Stylo Romantique - ศรุดา เปรยรัตน์ โยชิตะ-ยูริ - จุฬาภรณ์ พานแก้ว ภรปภัช - ภรปภัช รัตนกิตติพล หนึ่งนาง กลิ่นเกสร รัชวารนาม มาดามป้ายแดง มะยมกลมกลิ้ง ซิ่งตลอด - ร้อยเสน่หา ,ดนตรีรักจังหวะใจ ยัยแตงหวาน, กันตาวีร์ กาลาตารี กำปั่น ส.สันติ ทิพนา นิลกาฬ.", "title": "รายชื่อนามปากกา" }, { "docid": "56227#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2533 วงคาราบาวประสบความสำเร็จกับอัลบั้ม \"ห้ามจอดควาย\" โดยมีเพลงที่โด่งดังอย่างมากคือเพลง \"สัญญาหน้าฝน\" ซึ่งเขียว เป็นผู้ขับร้อง ผลจากความสำเร็จของเพลงนี้ทำให้เขียวโด่งดังอย่างมาก เขียวจึงได้ตัดสินใจลาออกจากวงคาราบาว โดยก่อนหน้านี้สมาชิกในวงอีก 3 คน คือเทียรี่ เมฆวัฒนา, เป้า - อำนาจ ลูกจันทร์ และอ.ธนิสร์ ศรีกลิ่นดีได้แยกมาออกอัลบั้มเดี่ยวกันแล้ว เขียวจึงออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกของตัวเองออกมาบ้างในชื่อชุด \"ก่อกวน\" โดยมีแอ๊ด - ยืนยง โอภากุล แต่งเนื้อร้องเพลง \"ไม่เคย\" ซึ่งเพลงนี้กลายเป็นเพลงฮิตที่แฟนเพลงในสมัยนั้นรู้จักกันดี และเป็นอีกหนึ่งเพลงประจำตัวของเขียวนอกจากเพลง \"สัญญาหน้าฝน\"", "title": "กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร" }, { "docid": "78274#3", "text": "หลังซุ่มทำเพลงอยู่นานถึงสองปี มนต์สิทธิ์ก็ผลิตผลงานชุดแรกชื่อ \"ขายควายช่วยแม่\" ออกมา ก่อนจะออกเดินสายไปกับวงของสมจิตร บ่อทอง ซึ่งตอนนั้นกำลังโด่งดังเพื่อโปรโมตผลงานเพลง และเพื่อฝึกงานด้านหน้าเวที", "title": "มนต์สิทธิ์ คำสร้อย" }, { "docid": "91174#3", "text": "ชีวิตผกผันอีกครั้งในงานเผาศพคุณยายของครูชาลี อินทรวิจิตร ที่วัดใหม่คล้ายนิมิต มหาชัย ซึ่งมีการประกวดร้องเพลงด้วย เทียนชัยในฐานะผู้กว้างขวางของมหาชัย ก็สมัครประกวดด้วย ด้วยเพลง \"เหมันต์สิ้นแล้ว\" ของชาญ เย็นแข คว้ารางวัลชนะเลิศมาครอง ครูชาลีประทับใจจึงพามาพบครูประดิษฐ์ อุตตะมัง นักแต่งเพลงและโฆษกวงพยงค์ มุกดา เมื่อครูพยงค์เห็นหน่วยก้านดี ฟังเสียงแล้วใช้ได้เลยแต่งเพลงให้บันทึกเสียงในเพลง \" แม้นพี่มีฤทธิ์\" \" รักจากใจ\" และอีกหลายเพลง \"ปากน้องหวานนัก น่ารักและน่าจูบ แก้มน้องผ่องใส น่าไล้น่าโลมลูบ ปากหวานแก้มหอม น่าถนอมน่าจูบ น่ากอดน่ารัด น่าสัมผัสโลมลูบ อยากจะกอดจะจูบ พี่ก็ยังไม่กล้า... เพลง \"จูบประทับใจ\" เทียนชัยเป็นต้นฉบับขับร้องไว้คนแรก ต่อมาสุเทพ วงศ์กำแหง ธานินทร์ อินทรเทพ มีโอกาสนำไปร้อง ก็ได้รับความนิยมไม่น้อย", "title": "เทียนชัย สมยาประเสริฐ" }, { "docid": "34318#2", "text": "ฮายาชิบาระเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้างจากบทของ รันม่าหญิง ในเรื่อง รันม่า ½ หลังจากนั้นเธอก็มีงานอย่างต่อเนื่องมาตลอด ไม่ว่าจะเป็นงานพากย์ งานวิทยุ หรืองานเพลง ซึ่งทุกอย่างล้วนประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ทำให้ชื่อของเธอเริ่มโดดเด่นมากขึ้นเรื่อยๆ และจากนั้นไม่นานก็โด่งดังถึงขีดสุด แต่ยังไม่ทันที่ความดังจะเสื่อมคลายลง ในช่วงปลายปี 2538 บทของ อายานามิ เร ใน อีวานเกเลียน ก็ยิ่งตอกย้ำให้ชื่อเสียงของเธอโด่งดังมากขึ้นไปอีก", "title": "เมงูมิ ฮายาชิบาระ" }, { "docid": "73030#0", "text": "แมงปอ ชลธิชา เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย ที่ประสบความสำเร็จจนมีชื่อเสียงจากผลงานเพลงลูกทุ่งในค่ายนพพร ซิลเวอร์โกลด์และอาร์สยาม โดยเพลงที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นจำนวนมาก อาทิ สาวนครชัยศรี , หนูกลัวตุ๊กแก , ตามหาสมชาย , คอยรักหนุ่มตังเก , คำเตือนของแม่ ,นางสาวแนนซี่ ,หนูอยากโดนอุ้ม , สมชายเปลี่ยนไป , รักเก้อเพราะก้อนอิฐ , แม่ครัวหัวไข่ , รอรักหนุ่ม อ.บ.ต. , สาวลูกทุ่ง , ท้ารัก , ชอบคนมีตังค์ , จอนห์นี่ที่รัก , โอ้โฮ้บางกอก , นักรบนิรนาม , เซ็นใบหย่า และ เปิดใจ เป็นต้น ทุกครั้งบนเวทีคอนเสิร์ต การแสดงสดแมงปอ ชลธิชา ถือว่าเป็นการแสดงสดที่ สนุก และอลังการเต็มเวทีไปหมด จนแฟนๆเรียกเธอว่า ราชินีเพลงโชว์ ", "title": "แมงปอ ชลธิชา" }, { "docid": "556878#1", "text": "เนื่องจากนักแสดงที่เล่นเป็นตัวโกงจักจั่น ดาวไพรตั้งครรภ์ วงเสียงอิสานจึงขาดนักแสดงที่เป็นตัวโกงนกน้อย อุไรพรจึงเริ่มค้นหานักแสดงหน้าใหม่ ไม่นานนกน้อย อุไรพรได้เดินทางไปบ้านโนนสมบรูณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อตามหาสาวน้อยเสียงดี ตามคำแนะนำของครูเพลงชื่อดัง ครูดอย อินทนนท์ ไม่นานชื่อ แสงอรุณ บุญยู้ ก็เป็นที่รู้จัก และโด่งดังอย่างมากจากผลงานเพลงข้อมูลมากไม่อยากรัก", "title": "แสงอรุณ บุญยู้" }, { "docid": "349421#0", "text": "ณฐมน ภูวะปัจฉิม หรือ ปอ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 เป็นนักร้องและนักแสดง ชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการเข้าแข่งขันร้องเพลงในเวที \"6.2.12 คอนเทสต์\" จากนั้นได้มีผลงานการถ่ายแบบ และได้เซนต์สัญญาเป็นศิลปินจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ไปในที่สุด เริ่มโด่งดัง และเป็นที่รู้จักจากการรวมกลุ่มวงดนตรีวัยรุ่น ทีนเอจเกรดเอ ภายหลังมีผลงานเพลงป็อป, แดนซ์ในชื่อวงแจมป์ ร่วมกับเพื่อนอีก 3 คน และเคยออกอัลบั้มเดี่ยว \"Por Touch Me\" ในปีพ.ศ. 2544 ปัจจุบันเป็นผู้ประกาศข่าวทางช่อง Money Channel และ ช่องวัน", "title": "ณฐมน ภูวะปัจฉิม" }, { "docid": "33620#1", "text": "พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ เกิดเมื่อ 18 กันยายน พ.ศ. 2496 ที่ บ้านหัวเลิง (ศีรษะละเลิง) ต.บ้านใหม่ อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา เริ่มต้นเป็นศิลปินเพลงเมื่อกลับออกมาจากป่าแล้ว พงษ์เทพได้เข้าร่วมกับวงคาราบาวโดยเดินทางร่วมแสดงคอนเสิร์ตไปด้วยกัน แต่ไม่ได้เป็นสมาชิกวง จนกระทั่งคาราบาวโด่งดังจากอัลบั้ม เมดอินไทยแลนด์ แล้ว แอ๊ด คาราบาว (ยืนยง โอภากุล) จึงช่วยเล่นดนตรีให้กับการออกอัลบั้มชุดแรกของพงษ์เทพ คือ ชุด \"ห้วยแถลง\" กับเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้ม โดยมีจังหวะเร็กเก้สนุก ๆ กับเนื้อหาที่เสียดสีชีวิตมนุษย์ จากนั้นพงษ์เทพก็ได้เป็นศิลปินเดี่ยว และมีชื่อเสียงในเวลาต่อมา เพลงที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันดีของพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ ก็ได้แก่ \"คนกับหมา, ตังเก, น้ำตาหอยทาก, ต้นขับขี่, โคราชา, ตรงเส้นขอบฟ้า,คิดถึงบ้าน เจ้าสาวผีเสื้อ\" เป็นต้น โดยเนื้อเพลงส่วนมาก พงษ์เทพจะเป็นผู้แต่งเอง โดยใช้ถ้อยคำสำนวนที่เหมือนบทกวี สมกับฉายาของตัวเอง โดยฉายา \"กวีศรีชาวไร่\" นี้ \"นายผี\" อัสนี พลจันทร์ ปัญญาชนนักปฏิวัติเป็นผู้ให้", "title": "พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ" }, { "docid": "42772#0", "text": "ซูเปอร์เบเกอร์ () กลุ่มศิลปินแนวป็อป จากสังกัด สมอลล์รูม ซึ่งเป็นที่รู้จักจากเพลง \"ความรู้สึกของฉันที่มีเธออยู่ด้วยกันอีกหนึ่งคนบนโลกใบนี้\" หรือเรียกสั้นๆ ว่า \"minute of love\" เพลงพิเศษที่ทางต้นสังกัดส่งออกมา โดยไม่ได้ตั้งใจจะวางขายแต่อย่างใด แต่กลับเป็นที่รู้จักและโด่งดังจนต้องทำเป็นแผ่นซิงเกิล limited edition ออกขาย\nเพลงนี้เป็นฝีมือการแต่งจากผู้บริหารภายในค่ายสมอลล์รูม เมื่อแต่งเสร็จแล้วจึงหาผู้ที่มีเสียงร้องเหมาะกับเพลงนี้ ซึ่งแจ็คพอตก็มาตกอยู่กับกอล์ฟ-ประภพ ชมถาวร ซึ่งเคยเสนอเดโมไปที่สมอลล์รูมนั่นเอง", "title": "ซูเปอร์เบเกอร์" }, { "docid": "55081#1", "text": "เนตรเป็นบุตรของนายสุวิทย์ นางลำดวน จิตรกวี เริ่มชกมวยเมื่ออายุ 8 ขวบในงานวัดประจำปีแถวบ้าน เมื่อเห็นว่าลูกต้องการเอาดีทางการชกมวย พ่อจึงส่งมาอยู่ค่ายศศิประภายิม ของฐากูร ผ่องสุภา ขึ้นชกมวยไทยใช้ชื่อว่า เนตร ชมภูทอง แต่เส้นทางการชกมวยไทยไม่โด่งดังมาก มีจุดเด่นที่เป็นมวยหมัดหนัก เคยชกกับมวยมีชื่อเช่น ลูกรัก ศ.กัตติกา ต่อมามีปัญหาในการคุมน้ำหนักตัวจึงเลิกชกไป", "title": "เนตร ศศิประภายิม" }, { "docid": "779808#27", "text": "ด้านชีวิตครอบครัว แดง จิตกร มีภรรยาชื่อ อุไรวรรณ เกตภูเขียว และมีบุตรด้วยกัน 3 คน คือ เกตุกนก เกตุภูเขียว, ฐิติมา เกตุภูเขียว และ ศุภกฤต เกตุภูเขียว[3] ก่อนหน้านั้น แดงได้พบรักกับ พัชรธิดา ทะชัยวงศ์ และใช้ชีวิตแบบครอบครัวด้วยกัน แต่แล้วความสัมพันธ์กลับกลายเป็นแค่การห่างกันเท่านั้นเอง[8]", "title": "แดง จิตกร" }, { "docid": "35578#0", "text": "ภูพานปฏิวัติ เป็นเพลงที่จิตร ภูมิศักดิ์แต่งขึ้นขณะร่วมอยู่กับกองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทยอยู่ทางภาคอีสาน แถบเทือกเขาภูพาน ในเขตจังหวัดสกลนคร ติดต่อกับชายแดนลาว โดยใช้ชื่อจัดตั้งขณะนั้นว่า \"สหายปรีชา\"", "title": "ภูพานปฏิวัติ" }, { "docid": "76159#0", "text": "สมมาส ราชสีมา นักร้องเพลงลูกทุ่งชายซุปเปอร์สตาร์ชาวไทย สังกัดค่าย อาร์ สยาม ในเครือ อาร์เอส เจ้าของฉายาหนุ่มโคราชเสียงหวาน เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง จำใจชั่ว,จดหมายจากลูก,ทหารห่วงแฟน,เมาอ้อนเมีย,ลืมไม่ลง,เหมือนเดิมได้ไหม,ไม่รู้จักพอ,รักพี่หรือยัง,ขอสิทธิ์แค่คิดฮอด ฯลฯ", "title": "สมมาส ราชสีมา" }, { "docid": "111501#11", "text": "\"สมคิด สิงสง\" มีไวโอลินเก่าๆอยู่ตัวหนึ่ง มาเล่นด้วยกัน เพลงที่ชอบเล่นอยู่บ่อยๆก็คือเพลง MASTER OF WAR ของ บ็อบ ดีแลน ซึ่งทุกครั้งที่เล่นเพลงนี้ สมคิด จะสีไวโอลินเป็นเสียงเมโลดี้ตามไปด้วย เล่นด้วยกันไปมาต่อเป็นเพลง \"คนกับควาย\" ขึ้นมาเป็นเบื้องแรก และเมื่อ \"หงา\" ไปพบบทกวี \"เปิบข้าว\" ของจิตร ภูมิศักดิ์ เข้าจึงได้ฮัมเป็นเสียงเพลงออกมา", "title": "สมคิด สิงสง" }, { "docid": "72669#8", "text": "และนับตั้งแต่นั้นมา ชื่อของ ยิ่งยง ยอดบัวงาม ก็เป็นชื่อของหนึ่งในนักร้องลูกทุ่งที่คนไทยรู้จักกันดี กระแสความโด่งดังของเขา ทำให้มีการผลิตนักร้องลอกเลียนแบบ ชื่อ ยิ่งยง ยอดบัวบาน พร้อมกับผลงานเพลงชุด สมศรีไปญี่ปุ่น", "title": "ยิ่งยง ยอดบัวงาม" }, { "docid": "779808#0", "text": "แดง จิตกร หรือชื่อจริงว่า สมจิตร เกตภูเขียว (ชื่อเล่น: แดง) เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 ที่ จังหวัดขอนแก่น อายุ 46 ปี เป็นนักร้องลูกทุ่ง สังกัดค่ายท็อปไลน์ ไดมอนด์ ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียง อาทิ น้ำตาผ่าเหล้า หัวใจคิดฮอด มนต์รัก ตจว. [1]", "title": "แดง จิตกร" }, { "docid": "106169#5", "text": "นอกจากนั้นครูรังสีได้สร้างภาพยนตร์ดำเนินรอยตามภาพยนตร์เพลงอย่าง \"มนต์รักลูกทุ่ง\" อีกหลายเรื่อง เช่น \"มนต์รักจากใจ\" \"มนต์รักนักรบ\" \"บัวลำภู\" ฯลฯ และภาพยนตร์เพลง \"บัวลำภู\" นี่เองที่ได้กลายเป็น \"แบบฉบับ\" ของภาพยนตร์เพลงอีสาน ทำให้นางเอกหมอลำจากบ้านนอก อย่าง \"อังคนางค์ คุณไชย\" โด่งดังด้วยเพลงประกอบหนังเรื่องนี้", "title": "รังสี ทัศนพยัคฆ์" }, { "docid": "779808#8", "text": "แดง ซึ่งว่างงานและโต๋เต๋อยู่แถวโรงงานการ์เมนท์ ได้อัดเพลง \"น้ำตาผ่าเหล้า\" ที่ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ห้องอัด อ.หนุ่ม ภูไท จนเพลงนี้เพลงโด่งดังเปรี้ยงปร้าง แต่เพลงชุดนี้ มีปัญหาในการจัดจำหน่ายเพราะ เสี่ยแบงค์ นำไปให้ ซีเอ็นซี จัดจำหน่าย แต่ยอดขายช้า ทั้งๆที่เพลงดังมาก จึงพยายามนำมาให้ อาร์.เอส.โปรโมชั่น โดยมนต์ เมืองเหนือ จัดจำหน่าย แต่เมื่อได้ตรวจสอบสัญญาแล้ว พบว่า ป๊อด ได้เซ็นสัญญาแดง จิตกร กับ ท็อปไลน์ ไว้ก่อน ในช่วงที่ เคซีเอส ผลิต ท็อปไลน์ ขาย อาร์.เอส.จึงส่งกลับมาให้ท็อปไลน์ ซึ่งในเวลานั้น เสี่ยแบงค์ ค่ายลาวัลย์ จึงปั้น เขียว ดวงสดใส ขึ้นมา ต่อเนื่องกับแดง จิตกร ซึ่งเพลง \"น้ำตาผ่าเหล้า\" จึงเป็นเพลงที่มีปัญหาซับซ้อนเรื่องลิขสิทธิ์[3]", "title": "แดง จิตกร" }, { "docid": "186610#6", "text": "สมจิตร จงจอหอ สมรสกับ นางศศิธร (อุ๋ม) (นามสกุลเดิม : เนาว์ประเสริฐ) มีบุตร 2 คน ชื่อ อภิภู จงจอหอ (ชื่อเล่น : กำปั้น) และ พิชามญธุ์ จงจอหอ (ชื่อเล่น : จันทร์เจ้า) ", "title": "สมจิตร จงจอหอ" }, { "docid": "64154#7", "text": "ผ่องศรี วรนุช เล่าเอาไว้ว่า \"...พี่พล อัดเพลง “ลืมไม่ลง “ มาปีหนึ่งก็ไม่ดัง ขายไม่ได้ พี่พลเคยเจอเรา เขาคงไปพูดกับนายห้างคาเธ่ย์ บอก...เฮ้ย กูเจอเด็กคนหนึ่ง สมัยก่อนเขาพูดมึงๆ กูๆ...แต่มันไม่สวย มันขี้เหร่ กูจะแต่งเพลงแก้ให้ มึงเป็นคนออกทุน...อะไรอย่างนี้ กูจะให้เด็กคนนี้อัดแผ่นแก้กับกู..\" \"เสร็จแล้วเขาก็มาจ้างเราให้อัดเพลง “ไหนว่าไม่ลืม “ เราก็อัดเป็นการโต้ตอบ เพลงดังเพราะได้นายทุนดี อีกอย่างหนึ่ง สมัยนั้นนักร้องหญิงไม่มีใครเลย พอเราอัดแผ่น ทั้งพี่วงจันทร์ ไพโรจน์ , สมศรี ม่วงศรเขียว เริ่มดินสายออกต่างจังหวัด เพลง “ ไหนว่าไม่ลืม “ เกิดโด่งดังขึ้นมา พี่พลเขาก็เอาเพลง “ ลืมไม่ลง “ ออกมา ปรากฏว่าขายได้ดี\"", "title": "ผ่องศรี วรนุช" }, { "docid": "98803#0", "text": "จีระพันธ์ วีระพงษ์ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี ที่อยู่ในวงการเพลงลูกทุ่งมามากกว่า 35 ปี และมีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลายเพลง เสียงของจีระพันธ์ วีระพงษ์ ออกมาในทางเดียวกับ ระพิน ภูไท ปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกสู่ท้องตลาด จีระพันธ์ วีระพงษ์ โด่งดังมาจากเพลง “ คุณนายใจบุญ “ และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ ไก่นาตาฟาง “ และ \" มาดามดิงดอง \"", "title": "จีระพันธ์ วีระพงษ์" }, { "docid": "71792#3", "text": "เรื่องราวชีวิตที่ยากลำบากของศรินทิพย์ ช่วง พ.ศ. 2486-2487 ก่อนจะได้พบกับชาลี อินทรวิจิตร เคยถูกสร้างเป็นละครวิทยุจนโด่งดัง ชื่อเรื่อง \"ม่านน้ำตา\" และนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ กำกับโดย เนรมิต นำแสดงโดย เพชรา เชาวราษฎร์ รับบทเป็นศรินทิพย์ วิไลวรรณ วัฒนพานิช รับบทเป็นแม่ และอนุชา รัตนมาลย์ รับบทสามีเก่าของศรินทิพย์ เข้าฉายที่โรงภาพยนตร์คาเธ่ย์ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 ปรากฏว่า อำนวย กลัสนิมิ และ ศรินทิพย์ ถูกสามีเก่าของเธอฟ้องหมิ่นประมาทจนเป็นเรื่องราวโด่งดัง คดีนี้จบลงโดยศาลไกลเกลี่ย ผู้กำกับยินยอมประกาศขอขมานายจำเนียร รัศมี ทางหน้าหนังสือพิมพ์ จากเหตุการณ์ครั้งนี้ ชาลี อินทรวิจิตร ได้แต่งเพลงชื่อ \"ไม่อยากให้โลกนี้มีความรัก\" ขับร้องโดย สวลี ผกาพันธุ์", "title": "ศรินทิพย์ ศิริวรรณ" }, { "docid": "149616#119", "text": "- เพลงหลายเพลงที่แต่งโดยครูไพบูลย์ บุตรขัน เคยให้นักร้องคนอื่นร้องมาก่อน เช่น มนต์เมืองเหนือ ขับร้องโดย สมยศ ทัศนพันธ์ เพลง น้ำตาเทียน ขับร้องครั้งแรก โดยสมจิตร ตัดจินดา", "title": "ทูล ทองใจ" }, { "docid": "35578#1", "text": "จิตร ภูมิศักดิ์แต่งคำร้องและทำนองเพลงนี้เสร็จสมบูรณ์ระหว่างเดินเท้ากลับจากงานลำเลียง บนยอดเขาแห่งหนึ่งชื่อ ภูผาลม (อยู่ในเขตดงพระเจ้า อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร) เมื่อ พ.ศ. 2508 ต่อมาเพลงนี้กลายเป็นเพลงสำคัญเพลงหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย", "title": "ภูพานปฏิวัติ" }, { "docid": "574297#2", "text": "อัลบั้มนี้ประกอบไปด้วยเพลงฮิตทั้ง 9 เพลงจากโรเจอส์ เป็นเหตุให้เพลงอื่น (ที่ไม่ค่อยดังอย่าง Daytime Friends,Sweet Music Man,Love or Something Like It ไม่ถูกบรรจุอยู่ในอัลบั้ม) แต่นั่นก็ไม่สามารถฉุดความดังพลุแตกของอัลบั้มนี้ได้ ความโด่งดังของอัลบั้มนี้ยิ่งตอกย้ำความโด่งดังของโรเจอส์ในฐานะนักร้องระดับโลก อัลบั้มนี้มียอดขายทั่วโลกมากกว่า 24 ล้านชุด ถือเป็นอัลบั้มรวมเพลงที่ขายดีที่สุดตลอดกาลของวงการเพลงคันทรี ก่อนที่จะถูกอัลบั้ม The Hits ของ Garth Brooks ทำลายสถิติลงในปี 1994 ", "title": "เกรตเทสต์ฮิตส์ (อัลบั้มเคนนี โรเจอส์)" }, { "docid": "602520#0", "text": "นพพร ซิลเวอร์โกลด์ ผู้ก่อตั้งคือ ชาตรี ชินวุฒิ หรือชื่อในวงการคือ พนม นพพร ค่ายเพลงนี้เป็นที่รู้จักในวงการเพลงลูกทุ่ง มีเพลงหลากหลายแนวเช่น ลูกทุ่ง,ลูกทุ่งอีสาน,ลูกทุ่งเพิ่อชีวิต แต่ส่วนใหญ่มักผลิตผลงานเพลง ลูกทุ่ง และ ลูกทุ่งหมอลำ ค่ายเพลงค่ายนี้มักเป็นที่รู้จักสำหรับแฟนเพลงลูกทุ่งเป็นอย่างดี เพราะเป็นค่ายเดียวที่ผลิตงานเพลงลูกทุ่งแท้ๆ และเป็นมาตรฐานที่สุด ศิลปินที่สร้างชื่อเสียงในค่ายนพพรให้เป็นที่รู้จักและโด่งดังได้แก่ แมงปอ ชลธิชา,อร อรดี,พิมพ์ ญาดา,สาลี่ ขนิษฐา,ชล อภิชาติ เป็นต้นการขายเทปทำลายสถิติค่ายคือ ชุด ตามหาสมชาย ของ แมงปอ ชลธิชา ด้วยยอดเทปสูงกว่า 1 ล้านตลับ ปัจจุบัน ค่ายเพลงแห่งนี้ปิดกิจการลงแล้ว", "title": "นพพร ซิลเวอร์โกลด์" }, { "docid": "56227#0", "text": "กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร มีผลงานเพลงที่โด่งดังคือเพลง \"สัญญาหน้าฝน\" และ เพลง \"ไม่เคย\"", "title": "กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร" } ]
571
พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส ครองราชปีใด ?
[ { "docid": "248449#0", "text": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส ([Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์]error: {{lang-xx}}: text has italic markup (help); 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก ([le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม]error: {{lang-xx}}: text has italic markup (help))[1], ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373[2] เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย[3]", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" } ]
[ { "docid": "517872#0", "text": "หลุยส์ อองตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม () หรือ พระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าชาร์ลที่ 10 บางครั้งพระองค์ถือว่าเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่ถูกต้องตามกฎหมาย (พระเจ้าหลุยส์ที่ 19 แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์) หลังจากที่พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงลงพระปรมาภิไธยสละราชสมบัติ และ 20 นาทีถัดมา พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยสละราชสมบัติเช่นเดียวกัน ทำให้พระองค์กลายเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุดในประวัติศาสตร์", "title": "หลุยส์ อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม" }, { "docid": "235225#0", "text": "พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส () (27 มิถุนายน ค.ศ. 1550 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 ", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "233785#11", "text": "ต่อมาโจนถูกจับตัวได้โดยฝ่ายเบอร์กันดีผู้ส่งตัวให้กับฝ่ายอังกฤษ โจนถูกพิจารณาโทษว่าเป็นผู้นอกศาสนา และถูกเผาทั้งเป็นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431 พระเจ้าชาร์ลมิได้ทรงเข้าช่วยเหลือโจนแต่อย่างใดแม้ว่าโจนจะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการที่พระองค์ได้ขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสก็ตาม", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "247900#68", "text": "พระพลานามัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ทรุดลงในฤดูใบไม้ผลิ ปีค.ศ. 1824 พระองค์ทรงทุกข์ทรมานจากโรคอ้วน, โรคเกาต์และเนื้อตายเน่า ทั้งเปียกและแห้ง ในพระเพลา (ขา) และกระดูกสันหลัง พระเจ้าหลุยส์เสด็จสวรรคตในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1824 โดยทรงแวดล้อมด้วยเหล่าพระราชวงศ์และข้าราชการบางคน ผู้สืบราชบัลลังก์ต่อคือ พระอนุชาของพระองค์ เคานต์แห่งอาตัวส์ทรงครองราชย์ในฐานะ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส", "title": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#1", "text": "เจ้าชายชาร์ลฟิลิปป์แห่งฝรั่งเศสประสูติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 เป็นเจ้าชายพระองค์สุดท้องในโดแฟ็งหลุยส์ กับ โดฟิเนมารี โฌเซฟ ณ พระราชวังแวร์ซาย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เคานต์แห่งอาร์ตัว ตั้งแต่ประสูติโดยพระอัยกา พระเจ้าหลุยส์ที่ 15[4] ในฐานะที่ทรงเป็นราชนิกุลบุรุษพระองค์ท้ายสุด เจ้าชายชาร์ลจึงทรงดูเหมือนว่าไม่มีโอกาสที่จะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ต่อมาในปี พ.ศ. 2304 เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบอร์กันดี พระเชษฐาองค์ใหญ่สุดของพระองค์สิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดคิด ทำให้ทรงเลื่อนขึ้นหนึ่งลำดับในลำดับการสืบราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ทรงได้รับการถวายเลี้ยงดูโดยมาดามเดอมาร์ซ็อง ข้าหลวงแห่งราชโอรสราชธิดาฝรั่งเศส", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#3", "text": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ทรงพระประชวรในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2317 และเสด็จสวรรคตในวันที่ 10 พฤษภาคม ด้วยโรคฝีดาษ สิริพระชนมายุรวม 64 พรรษา[6] พระราชนัดดา เจ้าชายหลุยส์-โอกุสต์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส[7]", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "558852#6", "text": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 สวรรคตในเดือนกันยายน พ.ศ. 2367 พระอนุชา พระเจ้าชาร์ลที่ 10 จึงสืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ครองราชย์ในแนวทางอนุรักษนิยมมากกว่ารัชกาลของพระเชษฐา ทรงประกาศใช้กฎหมายแนวขวาจัด เช่น พระราชบัญญัติห้ามทำลายรูปเคารพ (Anti-Sacrilege Act; พ.ศ. 2368 - 2373) ซึ่งทำให้ความนิยมในตัวพระองค์เสื่อมถอยลง พระองค์กับบรรดารัฐมนตรีพยายามจะชี้นำผลการเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ. 2373 ด้วยการออกกฤษฎีกาเดือนกรกฎาคม (July Ordinances) ซึ่งก่อให้เกิดการปฏิวัติตอบโต้การกระทำของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 ต่อมาในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 พระเจ้าชาร์ลสละราชสมบัติแก่พระนัดดา อองรี ดยุกแห่งบอร์โดซ์ แต่รัชกาลของพระเจ้าอองรีกลับสิ้นสุดลงในวันที่ 9 สิงหาคม เมื่อสภาผู้แทนมีมติประกาศให้หลุยส์-ฟีลิป แห่งออร์เลอองส์ ที่ก่อนหน้านี้ทรงปกครองฝรั่งเศสในฐานะผู้สำเร็จราชการแทน ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส อันเป็นจุดเริ่มต้นของยุคราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม", "title": "การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง" }, { "docid": "248449#26", "text": "พระอาการประชวรของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เป็นที่น่ากังวลมาตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2367[39] ทรงทรมานจากพระอาการเนื้อตายเน่าทั้งแบบเปียกและแบบแห้งบริเวณขาและกระดูกสันหลัง จากนั้นก็เสด็จสวรรคตในวันที่ 16 กันยายน ปีเดียวกัน พระอนุชาจึงสืบทอดราชสมบัติขึ้นเป็นพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส[40] ความพยายามแรกในฐานะพระมหากษัตริย์ของพระองค์ก็คือการรวบรวมราชวงศ์บูร์บงศ์ให้มีความกลมเกลียวเหนียวแน่น พระองค์พระราชทานบรรดาศักดิ์ชั้น รอยัลไฮเนส แก่พระญาติฝ่ายราชวงศ์ออร์เลอองส์ ซึ่งก่อนหน้านี้ถูกกีดกันโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เพราะอดีตดยุกแห่งออร์เลอองส์มีส่วนร่วมในการสวรรคตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "233791#1", "text": "พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเมื่อพระชนมายุได้เพียง 11 พรรษาในปี ค.ศ. 1380 ในพิธีบรมราชาภิเษกที่มหาวิหารแรงส์ ต่อมาอีกห้าปีก็ทรงเสกสมรสกับอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียในปี ค.ศ. 1385 และทรงเริ่มปกครองประเทศด้วยพระองค์เองในปี ค.ศ. 1388 หลังจากการปกครองโดยพระปิตุลาฟิลิปเดอะโบลด์ดยุคแห่งเบอร์กันดี (Philip the Bold) ตั้งแต่ขึ้นครองราชสมบัติ ", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#5", "text": "ในปี พ.ศ. 2318 เจ้าหญิงมารี เตเรซ มีพระประสูติกาลแด่เจ้าชายหลุยส์ อ็องตวน ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นดยุกแห่งอ็องกูแลมโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 นับเป็นรัชทายาทพระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงรุ่นถัดไป เนื่องจากทั้งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 และเคานต์แห่งโพรว็องยังมิได้มีพระประสูติกาลแก่รัชทายาทใดเลย ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้พวก ลิเบลลิสต์ (กลุ่มนักเขียนใบปลิวอื้อฉาวเกี่ยวกับบุคคลสำคัญในราชสำนักและทางการเมือง) นำไปล้อเลียนถึงความไร้สมรรถภาพทางเพศของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16[9] สามปีถัดมาในปี พ.ศ. 2521 ก็มีพระประสูติกาลแด่เจ้ายหลุยส์ แฟร์ดิน็อง และต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นดยุกแห่งแบร์รี[10] ในปีเดียวกันนั้นเองที่สมเด็จพระราชินีมารี อ็องตัวแน็ต มีพระประสูติกาลพระธิดาเป็นครั้งแรกนามว่า เจ้าหญิงมารี เตเรซ ซึ่งช่วยกลบข่าวลือที่ว่าทรงไม่สามารถมีรัชทายาทได้", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#35", "text": "ไม่กี่นาทีหลังผ่านเวลาเที่ยงคืนของวันที่ 30 ย่างเข้าสู่วันที่ 31 กรกฎาคม พระเจ้าชาร์ลที่ 10 พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชสำนักของพระองค์ เสด็จ ฯ ลี้ภัยจากแซ็งต์-โคลด์ไปยังพระราชวังแวร์ซายเนื่องจากทรงได้รับคำเตือนจากนายพลเกรสโซว่าชาวปารีสกำลังวางแผนโจมตีที่พำนักของพระองค์ ยกเว้นดยุกแห่งอ็องกูแลม พระราชโอรสองค์โต ที่ไม่ได้เสด็จไปในการนี้ด้วยเนื่องจากซ้อนพระองค์อยู่ในกองทหาร ในขณะที่ดัชเชสแห่งอ็องกูแลม พระชายา ทรงพักผ่อนอยู่ ณ เมืองวิชี ส่วนเหตุการณ์ในกรุงปารีส หลุยส์ ฟีลิปแห่งออร์เลอองส์เข้าดำรงตำแหน่งพลโทหลวงแห่งราชอาณาจักร (ตำแหน่งสูงสุดในกองทัพ) อย่างเป็นทางการ[51]", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "235469#0", "text": "พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส ( หรือ ; 21 มกราคม ค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1364 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1380 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามร้อยปีที่ทรงยึดดินแดนที่เสียไปแก่ราชอาณาจักรอังกฤษในสนธิสัญญาเบรทินยี (Treaty of Brétigny)", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "233785#0", "text": "พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (; ) (22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1403- 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Victorieux” (ผู้พิชิต) หรือ “le Bien-Servi” (ผู้ได้รับการสนองพระบรมราชโองการเป็นอย่างดี) พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส การขึ้นครองราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการคัดค้านโดยฝ่ายอังกฤษที่ขณะนั้นมีอำนาจอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษที่นำโดยจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 ที่ทำการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้าเฮนรีอยู่ในปารีสก็อ้างว่าพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทรงเป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอย่างถูกต้องตามที่ระบุในสนธิสัญญาตรัวส์ (Treaty of Troyes) แต่พระเจ้าชาร์ลก็ทรงได้เข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เมืองแรงส์ในปี ค.ศ. 1429 ด้วยความช่วยเหลือของโจนออฟอาร์คในการทำสงครามขับไล่อังกฤษออกจากฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461 ในปลายรัชสมัยพระองค์ทรงต้องประสบกับความยุ่งยากจากความขัดแย้งกับพระราชโอรสผู้ครองราชย์ต่อมาเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#43", "text": "จากการที่พระเจ้าชาร์ลที่ 10 เสด็จ ฯ ย้ายมาประทับ ณ สกอตแลนด์ ปรากฏว่าความสัมพันธ์ของพระองค์กับดัชเชสแห่งแบร์รีไม่ค่อยราบรื่นนัก เนื่องจากดัชเชสแห่งแบร์รีทรงอ้างสิทธิ์การเป็นผู้สำเร็จราชการแทนให้แก่พระโอรสของพระนาง อ็องรี ดาร์ตัว รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งฝรั่งเศสสายเลชีตีมีสต์องค์ปัจจุบัน ซึ่งเป็นผลมาจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ล ณ ร็องบูเยต์ ในช่วงแรกพระเจ้าชาร์ลไม่ทรงยอมรับการอ้างสิทธิ์ดังกล่าว แต่ในเดือนธันวาคมทรงตกลงว่าจะสนับสนุนการอ้างสิทธิ์ดังกล่าว[58] หากพระนางเสด็จนิวัตฝรั่งเศสได้สำเร็จ[57] ในปี พ.ศ. 2374 ดัชเชสแห่งแบร์รีเสด็จออกจากบริเตนผ่านเนเธอร์แลนด์ ปรัสเซีย ออสเตรีย สู่เนเปิลส์ อันเป็นถิ่นที่ประทับเดิมที่ราชวงศ์ของพระนางประทับอยู่[57] ต่อมาเสด็จถึงมาร์แซย์ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2375 แต่ทรงได้รับเสียงสนับสนุนเพียงน้อยนิด[57] จึงเสด็จต่อไปยังว็องเด ที่ซึ่งทรงพยายามก่อการกำเริบต่อรัฐบาลใหม่ แต่ทรงถูกจับกุมตัวและถูกคุมขัง นำมาซึ่งความอัปยศแก่พระเจ้าชาร์ลเป็นอันมาก[58] เมื่อทรงได้รับการปล่อยตัว ดัชเชสแห่งแบร์รีเสกสมรสใหม่อีกครั้งกับขุนนางชั้นผู้น้อยแห่งเนเปิลส์ ยิ่งทำให้พระเจ้าชาร์ลทรงรู้สึกอนาถพระทัยมากขึ้นไปกว่าเดิม และจากการแต่งงานต่างฐานันดรในครั้งนี้ ทำให้พระเจ้าชาร์ลทรงห้ามไม่ให้พระนางพบกับพระโอรส-ธิดาของพระนางอีก[59]", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "236240#1", "text": "พระเจ้าชาร์ลส์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1328 พระร่างของพระองค์ถูกบรรจุที่มหาวิหารแซงต์เดอนีส์ ชาร์ลส์ไม่มีพระโอรส ราชบัลลังก์จึงผ่านไปยังฟิลิปของสายราชวงศ์วาลัวส์ผู้ ขึ้นครองราชย์ต่อมาเป็นพระเจ้าฟิลิปที่ 6 แห่งฝรั่งเศส", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 4 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "233785#4", "text": "เมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 6 พระราชบิดาเสด็จสวรรคต การสืบราชบัลลังก์ฝรั่งเศสก็กลายเป็นปัญหา ถ้าโดแฟ็งชาร์ลเป็นพระราชโอรสที่ถูกต้องพระองค์ก็ทรงมีสิทธิในการขึ้นครองราชบัลลังก์ได้โดยชอบธรรม แต่ถ้าเป็นพระราชโอรสนอกสมรส ทายาทก็จะเป็นดยุกแห่งออร์เลอองส์ นอกจากนั้นแล้วสนธิสัญญาตรัวส์ที่ลงนามโดยพระเจ้าชาร์ลที่ 6 ในปี ค.ศ. 1420 ก็ยังระบุว่าหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ราชบัลลังก์ฝรั่งเศสก็จะตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 5 ผู้ที่เพิ่งเสด็จสวรรคต กับ แคทเธอรินแห่งวาลัวพระราชธิดาของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 เอง แต่ผู้มีสิทธิทั้งสามต่างก็ไม่มีสิทธิอย่างเต็มตัว ฝ่ายอังกฤษผู้ที่ครองดินแดนทางตอนเหนือของฝรั่งเศสที่รวมทั้งปารีสอยู่ในขณะนั้นสามารถอ้างสิทธิในการครองฝรั่งเศสในส่วนที่มีอำนาจปกครองอยู่ ฉะนั้นทางตอนเหนือของฝรั่งเศสจึงถูกปกครองโดยผู้สำเร็จราชการอังกฤษที่ปกครองแทนสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษโดยมีราชสำนักอยู่ในนอร์ม็องดี ", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "194120#0", "text": "พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (; ) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม \"พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม\" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ)", "title": "พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "145124#1", "text": "เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์", "title": "แคทเธอรีน เดอ เมดีชี" }, { "docid": "504336#8", "text": "ต่อมาเมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงสละราชสมบัติและพระโอรสของพระองค์ก็ทรงปฏิเสธที่จะขึ้นครองราชย์ ทำให้ราชวงศ์บูร์บงพ้นจากการปกครองฝรั่งเศส ตำแหน่งนี้ก็ถูกล้มเลิกไปอีกครั้ง (รัชทายาทของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 กษัตริย์แห่งฝรั่งเศสพระองค์ต่อมา ทรงบรรดาศักดิ์เป็น \"ราชกุมาร\") ในภายหลังพระยศโดแฟ็งยังถูกใช้โดยเชื้อพระวงศ์บูร์บงในสเปนในฐานะผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์สเปนสายสืบสิทธิโดยนิติธรรมอีกด้วย", "title": "โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "517885#0", "text": "เจ้าหญิงมารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศส () เป็นพระชายาในเจ้าชายหลุยส์ อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อ็องตัวแน็ต ได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสสละราชสมบัติ เจ้าชายหลุยส์ อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม พระสวามีของพระองค์จึงได้ครองราชย์และเพียง 20 นาที ต่อมาพระองค์ก็ลงพระนามสละราชสมบัติ เป็นอันสิ้นสุดตำแหน่ง ", "title": "มารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "517878#0", "text": "อ็องรี ดาร์ตัว () หรือ พระเจ้าอ็องรีที่ 5 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งฝรั่งเศส ตามการออกเสียงแบบอังกฤษ เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ว่าเป็นกษัตริย์ฝรั่งเศสพระองค์ต่อจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 19 โดยพวกนิยมกษัตริย์ ตั้งแต่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 9 สิงหาคม ปีเดียวกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามการครองราชย์ของพระองค์ยังเป็นที่เลื่อนลอย เนื่องจากพระองค์ทรงยอมรับการปฏิวัติและรัฐฝรั่งเศสก็มิได้ระบุไว้แต่อย่างใด", "title": "อ็องรี ดาร์ตัว" }, { "docid": "504336#7", "text": "อิสริยยศโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสถูกยกเลิกโดยรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ค.ศ. 1791 ซึ่งนิยามฝรั่งเศสให้เป็นประเทศราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ และภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่นี้ได้นิยามให้รัชทายาทผู้สืบราชบัลลังก์ฝรั่งเศส (ในขณะนั้นคือ โดแฟ็งหลุยส์-ชาร์ล) เปลี่ยนพระยศไปเป็น \"ราชกุมาร\" () ส่วนเจ้าชายสืบสายพระโลหิตถูกเปลี่ยนพระยศไปเป็น \"เจ้าชายฝรั่งเศส\" () การเปลี่ยนแปลงถูกประกาศรับรองโดยสภานิติบัญญัติและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1791 ต่อมาเมื่อมีการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงขึ้น และพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เสด็จขึ้นครองราชย์ พระยศโดแฟ็งก็ถูกนำกลับมาใช้อีกครั้ง อย่างไรก็ดีในช่วงรัชสมัยดังกล่าวกลับไม่มีผู้ได้ดำรงพระยศโดแฟ็งไปจนกระทั่งพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 เสด็จสวรรคต ต่อมาด้วยการเสด็จขึ้นครองราชย์ของพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ซึ่งก็คือ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระโอรสของพระเจ้าชาร์ลนามว่า หลุยส์-อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม ผู้เป็นรัชทายาทโดยตรง จึงได้ทรงพระยศโดแฟ็งโดยอัตโนมัติ ", "title": "โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "59917#2", "text": "นอกจากนี้ในรายพระนามด้านล่าง พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและบริเตนใหญ่ช่วง พ.ศ. 1883 - 1903 และ พ.ศ. 1912 - 2344 ทรงอ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส อันเป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นที่การกล่าวอ้างนี้ยึดอยู่บนพื้นฐานของสนธิสัญญาตรัวส์ พ.ศ. 1963 ที่พระเจ้าชาร์ลที่ 6 ทรงถือเอาพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษว่าเป็นอุปราชและรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ฝรั่งเศส แต่พระเจ้าเฮนรีที่ 5 เสด็จสวรรคตก่อนพระเจ้าชาร์ลที่ 6 ดังนั้นพระโอรสของพระเจ้าเฮนรีที่ 5 ซึ่งก็คือ พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสต่อจากพระอัยกา (พระเจ้าชาร์ลที่ 6) ดินแดนทางตอนเหนือของฝรั่งเศสส่วนมากอยูภายใต้การปกครองของอังกฤษจนกระทั่ง พ.ศ. 1978 แต่เมื่อถึง พ.ศ. 1996 ชาวอังกฤษก็ถูกขับไล่ออกไปจากแผ่นดินฝรั่งเศสจนหมด ฝรั่งเศสได้ยึดคืนเมืองกาลายส์และหมู่เกาะแชนเนล ต่อมาเมืองกาลายส์ก็ถูกยึดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2101 อย่างไรก็ตามพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ (ต่อมาเปลี่ยนเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร) ยังคงอ้างสิทธิ์เหนือบัลลังก์ฝรั่งเศสมาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งยุติลงจากการสถาปนาสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (จากพระราชบัญญัติสหภาพ) ในปี พ.ศ. 2344", "title": "รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส" }, { "docid": "529604#1", "text": "พระเจ้าชาร์ลที่ 3 เป็นพระโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและอเดลไอเดแห่งปารีสพระมเหสีองค์ที่สองของพระองค์ พระองค์ทรงประกาศอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่ที่โอโด เคานต์แห่งปารีสขึ้นครองราชย์ แต่พระองค์ได้ปกครองฝรั่งเศสจริงๆ หลังจากที่โอโดสิ้นพระชนม์", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "235434#2", "text": "ฌานเสกสมรสเมื่อพระชนมายุได้ 12 พรรษาเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1476 ด้วยเหตุผลทางเมืองกับญาติห่าง ๆ ของพระราชบิดาหลุยส์ ดยุกแห่งออร์เลอ็อง ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 เมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 8 พระเชษฐาของฌานเสด็จสวรรคตและหลุยส์ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ หลุยส์ก็ถูกบังคับให้ประกาศให้การแต่งงานของพระองค์กับฌานเป็นโมฆะเพื่อที่จะได้เสกสมรสกับแอนน์แห่งบริตตานี พระราชินีหม้ายในพระเจ้าชาร์ลที่ 8 เพื่อรักษาดัชชีบริตตานีไว้กับราชวงศ์ฝรั่งเศสที่ได้รับการบรรยายว่าเป็น “คดีที่น่าขยะแขยงที่สุดของสมัยนั้น” พระเจ้าหลุยส์มิได้ทรงใช้การแต่งงานภายในสายเลือดเดียวกัน (consanguinity) เป็นข้ออ้างซึ่งเป็นเหตุผลที่นิยมใช้เป็นข้ออ้างกันในสมัยนั้น แม้ว่าจะทรงสามารถหาพยานพิสูจน์ได้ว่ามีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดต่อกันโดยการแต่งงานของบรรดาพี่ ๆ น้อง ๆ หลายคู่ และไม่ทรงสามารถใช้ข้ออ้างที่ว่าพระชนมายุต่ำกว่าที่ระบุไว้ในกฎหมาย (14 ปี) ที่จะต้องได้รับอนุญาตในการเสกสมรส ไม่มีใครทราบว่าพระองค์ประสูติเมื่อใด พระองค์เองตรัสว่ามีพระชนมายุ 12 ปี ผู้อื่นสันนิษฐานว่า 11 ถึง 13 ปี แต่ก็ไม่มีสิ่งที่พิสูจน์ได้ว่าทรงถูกบังคับให้ใช้เหตุผลอื่น", "title": "ฌานแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งแบรี" }, { "docid": "247324#1", "text": "ตระกูลกาแปมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1328 เมื่อไม่มีพระราชโอรสองค์ใดในสามองค์ของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 ที่สามารถมีทายาทสืบราชบัลลังก์ฝรั่งเศสได้ เมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 4 เสด็จสวรรคตราชบัลลังก์จึงตกไปเป็นของราชวงศ์วาลัวผู้สืบเชื้อสายโดยตรงมาจากชาร์ลแห่งวาลัว พระราชโอรสองค์รองในพระเจ้าฟิลิปที่ 3 ต่อมาราชบัลลังก์ก็ตกไปเป็นของราชวงศ์บูร์บงและราชวงศ์ออร์เลอ็อง ทั้งสองราชวงศ์สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 9) ซึ่งต่างก็สืบเชื้อสายไม่ทางใดทางหนึ่งก็มาจาก \"อูก กาแป\"", "title": "ตระกูลกาแป" }, { "docid": "235469#1", "text": "พระเจ้าพระเจ้าชาร์ลที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1338 ที่แว็งแซนในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและ โบนนีแห่งโบฮีเมีย ดัชเชสแห่งนอร์ม็องดีผู้ที่สิ้นพระชนม์ไม่นานก่อนที่พระสวามีจะขึ้นครองราชย์ ต่อมาพระองค์ทรงเสกสมรสกับฌานแห่งบูร์บง ในปี ค.ศ. 1350 และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกันเก้าพระองค์ที่รวมทั้งพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส, หลุยส์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอ็อง และกาเตอรีนแห่งวาลัว", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "235451#0", "text": "พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส ( หรือรู้จักกันในภาษา) (30 มิถุนายน ค.ศ. 1470 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1483 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1498 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของการรณรงค์ในสงครามอิตาลีซึ่งเป็นสงครามใหญ่ของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "248449#37", "text": "ในวันถัดมา 2 สิงหาคม พระเจ้าชาร์ลที่ 10 สละราชสมบัติให้แก่พระราชนัดดา อ็องรี ดยุกแห่งบอร์โด ผู้มีพระชนมายุไม่ถึง 10 ชันษา โดยข้ามลำดับสืบราชสันตติวงศ์ของหลุยส์ อ็องตวน พระราชโอรสองค์โตของพระองค์ไป ในตอนแรก ดยุกแห่งอ็องกูแลมทรงปฏิเสธที่จะลงพระนามกำกับในเอกสารสละพระราชสิทธิ์ในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ตามคำกล่าวของดัชเชสแห่งมาอีเย \"มีการทะเลาะกันอย่างรุนแรงระหว่างพระบิดาและพระโอรส จนเราสามารถได้ยินเสียงของทั้งสองพระองค์จากห้องข้าง ๆ\" จนในที่สุด หลังจากผ่านไปยี่สิบนาที ดยุกแห่งอ็องกูแลมจึงยอมลงพระนามกำกับในเอกสารสละพระราชสิทธิ์ดังกล่าวอย่างไม่เต็มพระทัย[53] ซึงเนื้อหาในเอกสารมีใจความดังต่อไปนี้", "title": "พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส" } ]
3986
ตูร์เดอฟร็องส์ 1903 ถูกจัดขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "629503#0", "text": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903 เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ครั้งแรก โดยได้รับการสนับสนุนจากหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) ซึ่งเป็นชื่อเดิมของหนังสือพิมพ์รายวัน L'Équipe การแข่งขันจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-19 กรกฎาคม โดยแบ่งเป็น 6 สเตจ (stage) รวมระยะทางกว่า 2,428km (1,509mi) โดยผู้ชนะในรายการนี้ได้แก่ โมรีซ กาแรง (Maurice Garin) [1]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" } ]
[ { "docid": "629503#5", "text": "เดิมการแข่งขันกำหนดจัดขึ้นระยะเวลา 5 อาทิตย์ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ไปจนถึงวันที่ 5 กรกฎาคม โดยมีค่าสมัครเข้าแข่งขันจำนวน 20 ฟรังค์ (francs) ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวทำให้มีผู้สนใจเข้าร่วมการแข่งขันน้อยมาก โดยมีผู้สมัครเข้าแข่งขันเพียง 15 คน ทั้งที่เหลือเวลาอีกเพียง 1 อาทิตย์ก็จะเริ่มการแข่งขันแล้ว Desgrange จึงตัดสินใจเลื่อนกำหนดการแข่งขันออกไปเป็นวันที่ 1 ถึง 9 กรกฎาคม โดยเพิ่มเงินรางวัลให้สูงขึ้นถึง 20,000 ฟรังค์ และลดค่าสมัครเข้าแข่งขันให้เหลือเพียง 10 ฟรังค์ รวมทั้งยังการันตีว่า ผู้เข้าแข่งขันที่ทำเวลารวมได้ดีที่สุด 50 รายแรกจะได้รับเงินอย่างน้อย 5 ฟรังค์ ต่อวัน [6] ซึ่งผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้มีผู้สมัครเข้าแข่งขันเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 79 คน และเข้าแข่งขันจริงจำนวน 60 คน [7]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#7", "text": "การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) มีทั้งหมด 6 สเตจ (stage) หากเทียบกับสเตจของการแข่งขันสมัยใหม่ สเตจตูร์เดอฟร็องส์มีระยะทางที่ยาวมากกว่าปกติโดยมีระยะทางเฉลี่ยมากกว่า 400km (250mi) ในขณะที่ระยะทางเฉลี่ยของการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) มีเพียง 171km (106mi) ผู้เข้าแข่งขันจะได้พัก 1-3 วัน ระหว่างการเดินทางข้ามแต่ละสเตจ และเส้นทางส่วนมากจะราบเรียบ โดยมีเพียงสเตจเดียวเท่านั้นที่มีภูเขารวมอยู่ด้วย การแข่งขันจะเป็นแบบรายบุคคล และชำระค่าสมัครเข้าแข่งขันจำนวน 10 ฟรังค์ (€87.50 at 2003 prices) สำหรับการแข่งขันประเภทจัดอันดับผู้ชนะโดยนับจากเวลารวมที่น้อยที่สุด (general classification) หรือ 5 ฟรังค์ สำหรับการแข่งขันในแต่ละสเตจ และเนื่องจากระยะทางที่ยาวของแต่ละสเตจ ทุกสเตจจะเริ่มการแข่งขันตั้งแต่ก่อนฟ้าสางยกเว้นสเตจแรก และสำหรับสเตจสุดท้ายเริ่มการแข่งขันตั้งแต่ 21:00 [8]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "474715#0", "text": "ฌัก อ็องก์ตีล () นักจักรยานชาวฝรั่งเศส เป็นชาวฝรั่งเศสคนแรกที่ชนะการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์ 5 ครั้ง ในปี 1957 และสี่ปีติดต่อกันระหว่าง 1961 ถึง 1964 เป็นชาวฝรั่งเศสคนแรกที่ชนะจีโรดีตาเลีย ในปี 1960 และเป็นชาวฝรั่งเศสคนแรกที่ชนะครบทั้งสามรายการใหญ่ เมื่อเขาชนะวูเอลตาอาเอสปันญาในปี 1963 ในการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์เมื่อปี 1961 เขาได้ประกาศก่อนเริ่มการแข่งขันว่าจะสวมเสื้อแจกเกตสีเหลืองตั้งแต่จบวันแรก และจะสวมเสื้อตัวนี้ตลอดทั้งรายการ เขาสามารถทำได้เช่นนั้นจริง โดยเป็นผู้นำตลอดการแข่งขันตั้งแต่วันแรก", "title": "ฌัก อ็องก์ตีล" }, { "docid": "629503#11", "text": "ผู้เข้าแข่งขันที่ทำเวลาได้เร็วที่สุด 8 อันดับแรกของแต่ละสเตจได้รับรางวัลตั้งแต่ 50 ฟรังค์ ไปจนถึง 1,500 ฟรังค์ แตกต่างกันไปในแต่ละสเตจ และสำหรับผู้เข้าแข่งขันที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุด 14 อันดับแรก ก็ได้รับรางวัลด้วยเช่นกัน คือ ผู้ชนะอันดับแรกได้รับ 3,000 ฟรังค์ และ ลำดับที่ 14 ได้รับ 25 ฟรังค์ [6] ผู้เข้าแข่งขันอีก 7 คนที่แข่งจนครบเวลาของประเภท general classification ได้รับรางวัลคนละ 95 ฟรังค์ (5 ฟรังค์ต่อวัน สำหรับการแข่งขันทั้งหมด 19 วัน) โดยมีข้อกำหนดว่า พวกเขาจะต้องไม่ได้รับเงินรางวัลเกิน 200 ฟรังค์ และมีความเร็วเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 20km/h (12mph) ในสเตจอันใดอันหนึ่ง [6]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "10634#8", "text": "หมวดหมู่:การแข่งขันจักรยาน หมวดหมู่:กีฬาในประเทศฝรั่งเศส", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "512172#1", "text": "สถานที่ตั้งของปาร์กเดแพร็งส์ตั้งในภูมิประเทศซึ่งเคยเป็นสถานที่ล่าสัตว์ของเหล่าเชื้อพระวงศ์ของฝรั่งเศส ในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยสนามที่ใช้อยู่ในปัจจุบันถือเป็นแห่งที่ 3 ที่ก่อสร้างในสถานที่แห่งนี้ โดยครั้งแรกเปิดใช้ ในปี ค.ศ. 1897 ตามด้วยครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1932\nปาร์กเดแพร็งส์เคยใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลยูโรเปียนคัพ นัดชิงชนะเลิศ มาแล้ว 6 ครั้ง รวมถึงฟุตบอลสโมสรชิงแชมป์ยุโรปครั้งแรก ในชื่อยูโรเปียนแชมเปียนคลับคัพ ในปี ค.ศ. 1956 นอกจากนั้น ยังใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 1938 (รอบชิงชนะเลิศ) และ 1998 และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (รอบชิงชนะเลิศ) ในปี ค.ศ. 1960, 1984 และ 2016\nปาร์กเดแพร็กส์เคยถูกใช้เป็นเส้นชัยของการแข่งขันจักรยานทางไกล ตูร์เดอฟร็องส์ ในช่วงปี ค.ศ. 1903 ถึง 1967 และยังมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในฐานะสนามจัดการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติของฝรั่งเศส", "title": "ปาร์กเดแพร็งส์" }, { "docid": "10634#0", "text": "ตูร์เดอฟร็องส์ (French: Tour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากร็องด์บุกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง)", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "629503#3", "text": "ภายหลังจากเหตุการณ์เรื่องเดรฟุส (Dreyfus affair) จบลง หนังสือพิมพ์เลอ เวโล (Le Vélo)ได้ถูกแย่งพื้นที่โฆษณาไป และมีการจัดตั้งหนังสือพิมพ์ขึ้นใหม่โดยใช้ชื่อว่า โลโต้เวโล (L'Auto-Vélo) ในปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่ง Henri Desgrange อดีตนักแข่งขันจักรยานรับหน้าที่เป็นบรรณาธิการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) หนังสือพิมพ์ดังกล่าวได้ถูกกดดันให้เปลี่ยนชื่อเป็นโลโต้ (L'Auto) Desgrange ต้องการรักษาฐานลูกค้าซึ่งเป็นแฟนคลับของการแข่งขันจักรยาน ซึ่งมียอดซื้อสูงถึง 20,000 ฉบับ [2]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "10634#6", "text": "ก่อนหน้าที่แลนซ์ อาร์มสตรอง นักแข่งจักรยานชาวอเมริกันจะถูกตัดสิทธิ์ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 จากข้อหาใช้สารกระตุ้น เขาเป็นผู้ที่ชนะการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์มากที่สุด คือ 7 สมัยติดต่อกัน ปัจจุบันผู้ที่ชนะการแข่งขันมากที่สุดเป็นสถิติร่วมระหว่างนักแข่ง 4 คน คือ มีเกล อินดูเรน (สเปน) ชนะ 5 สมัยติดต่อกัน แบร์นาร์ อีโนล (ฝรั่งเศส) ชาก อองเกอตีล (ฝรั่งเศส) และเอดดี เมิกซ์ (เบลเยียม) ชนะคนละ 5 สมัย", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "629503#2", "text": "โมรีซ กาแรง เป็นผู้ชนะในสเตจแรกตั้งแต่การแข่งขันรอบ pre-race favourite และยังคงเป็นผู้นำตลอดการแข่งขัน เขายังเป็นผู้ชนะในสองสเตจ (stage) สุดท้าย โดยมีเวลานำผู้เข้าแข่งขันทีทำเวลารองลงไปถึง 3 ชั่วโมง ยอดจำหน่ายของหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า ทั้งระหว่างและภายหลังการแข่งขัน ซึ่งทำให้การแข่งขันดังกล่าวถือว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก จนต้องมีการจัดขึ้นอีกครั้งในปีถัดมา และยังส่งผลให้หนังสือพิมพ์เลอ เวโล (Le Vélo) ต้องปิดตัวลงในช่วงเวลาดังกล่าวด้วย", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#10", "text": "ตลอดเส้นทางการแข่งขันจะมีเจ้าหน้าที่ประจำจุดเพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้เข้าแข่งขันปั่นจักรยานในเส้นทางที่ถูกต้อง[5][6] ในสมัยนั้นเสื้อสีเหลือง (yellow jersey) ซึ่งมอบให้แก่ผู้ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดตลอดการแข่งขัน (general classification) ยังไม่ได้นำมาใช้ แต่จะได้รับสายรัดข้อมือสีเขียวแทน [5]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "728125#0", "text": "ตูร์เดอฟร็องส์ 2015 () เป็นการแข่งขันครั้งที่ 102 ของตูร์เดอฟร็องส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของรายการใหญ่ โดยการแข่งขันเริ่มขึ้นที่ ยูเทรกต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในวันที่ 4 กรกฎาคม จนถึงช็องเซลีเซ ปารีส ในวันที่ 26 กรกฎาคม รวมเป็นระยะทาง 3,360.3 กิโลเมตร (2,088 ไมล์) การแข่งขันนี้มีนักปั่นจักรยานเข้าร่วม 198 คน จาก 22 ทีมที่เข้ารอบในรอบ 21 ทีม โดยมีผู้ชนะคือ คริส ฟรูม ของทีมสกาย ส่วนอันดับสองและสามเป็นของไนโร ควินตานา และ อาเลคันโดร บัลเบร์เด นักปั่นทีมโมวิสตาร์ ตามลำดับ", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 2015" }, { "docid": "629503#9", "text": "ในปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) นักแข่งจักรยานอาชีพสามารถจ้างผู้นำหน้า (pacer) เพื่อให้นำทางระหว่างการแข่งขันได้ แต่ Desgrange ได้สั่งห้ามการกระทำดังกล่าว ซึ่งแท้จริงแล้ววัตถุประสงค์แรกเริ่มคือ ต้องการให้ใช้ผู้นำหน้าเฉพาะสเตจสุดท้ายและระยะทางยาวที่สุด อย่างไรก็ตาม การจ้างผู้นำหน้าได้ถูกยกเลิกไปหลังการแข่งขันสเตจที่ 5 [5][10][11]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "10634#5", "text": "รายชื่อผู้ชนะเลิศตั้งแต่ครั้งแรกในภาษาอังกฤษอยู่ทางด้านขวา", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "629503#4", "text": "เมื่อ Desgrange และลูกจ้างชื่อ Géo Lefèvre กลับมาจากการแข่งขันจักรยาน Marseille–Paris [3] Lefèvre ได้แนะนำให้จัดการแข่งขันรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งคล้ายกับการแข่งขัน six-day races ที่โด่งดังและจัดการแข่งขันอยู่ [4] Desgrange จึงนำเสนอแนวคิดดังกล่าวให้แก่ Victor Goddet ผู้ดูแลด้านการเงิน ซึ่งตอบตกลงและการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์ก็ถูกประกาศลงในหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) ในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) [5]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#12", "text": "การแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์ในสมัยนั้นแตกต่างกับการแข่งขันในปัจจุบัน คือ อนุญาตให้ผู้เข้าแข่งขันซึ่งออกจากการแข่งขันกลางคันในแต่ละสเตจสามารถเริ่มการแข่งขันใหม่ได้อีกในสเตจถัดไป แต่เวลารวมที่เขาทำได้จะไม่นำมานับรวมสำหรับการคัดเลือกผู้ชนะประเภท general classification ซึ่งทำให้ Hippolyte Aucouturier ซึ่งออกจากการแข่งขันไปในสเตจแรกกลับมาเป็นผู้ชนะในสเตจที่ 2 และ 3 รวมถึง Charles Laeser ผู้ชนะของสเตจที่ 4 ก็แข่งขันในสเตจที่ 3 ไม่จบด้วยเช่นกัน [7]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#13", "text": "ผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 60 คน มีทั้งนักแข่งอาชีพ (professionals) และกึ่งอาชีพ (semi-professionals) ประกอบด้วยผู้เข้าแข่งขันจากประเทศฝรั่งเศสจำนวน 49 คน เบลเยียม 4 คน สวิสเซอร์แลนด์ 4 คน เยอรมัน 2 คน และอิตาลี 1 คน โดยในจำนวนนี้ได้รับการสนับสนุนจากผู้ประกอบธุรกิจผลิตจักรยานจำนวน 21 คน และที่เหลือ 39 คน เข้าแข่งขันด้วยตนเอง [6][7][12] ผู้เข้าแข่งขันจำนวน 24 คน เข้าแข่งขันเฉพาะบางสเตจเท่านั้น โดยในการแข่งขันรายการนี้ มีนักปั่นจักรยานที่ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันถือโอกาสเข้าร่วมปั่นในบางสเตจด้วย นักปั่นรายหนึ่งเข้าร่วมทั้งในสเตจที่ 2 และ 4 และอีกสามรายเข้าร่วมในบางส่วนของสเตจที่ 2 นอกจากนี้ยังมีรายหนึ่งเข้าร่วมในสเตจที่ 3 อีก 15 รายเข้าร่วมในสเตจที่ 4 และอีก 4 รายเข้าร่วมในสเตจที่ 5 [7]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#16", "text": "ในเวลานั้น กาแรงยังคงเป็นผู้นำของการแข่งขัน โดยมี Emile Georget ตามหลังอยู่ถึงสองชั่วโมง[16] ในสเตจที่ห้า ยางรถของ Georget แบนทั้งสองเส้น และเขายังผล็อยหลับไประหว่างที่หยุดพักข้างทาง จึงทำให้เขาไม่สามารถเอาชนะได้ [3] กาแรงจึงยังคงเป็นผู้นำในการแข่งขันต่อไปด้วยการคว้าชัยชนะในสเตจนี้ไปครอง โดยมีสามชั่วโมงนำหน้าคนอื่นอยู่นับจนถึงวันสุดท้ายของการแข่งขัน[17] กาแรงขอร้องให้นักปั่นคนอื่นในกลุ่มที่เป็นผู้นำการแข่งขันอยู่ปล่อยให้เขาเป็นผุ้ชนะในสเตจ แต่ Fernand Augereau ปฏิเสธคำร้องขอของเขา Garin then had Lucien Pothier throwing his bicycle at Augerau, และต่อมา Augereau ก็พลาดล้มลง จึงทำให้เหลือแต่ กาแรง Pothier และ Pasquier ที่ยังคงแข่งขันต่อไป โดย Pothier ก็ไม่สามารถปั่นเข้าเส้นชัยได้ ในขณะที่กาแรงเป็นผู้ชนะในประเภท sprint ไปอย่างง่ายดาย [18] Augerau ได้รับเงินรางวัล 100 ฟรังค์ จาก Velo-Sport Nantes สำหรับผู้ที่ทำเวลาได้เร็วที่สุดในกิโลเมตรสุดท้ายของสเตจใน Nantes velodrome [19] สเตจสุดท้ายเป็นสเตจที่มีระยะทางยาวที่สุดคือ 471km (293mi) จากเมือง, Nantes ไปยัง Velodrome ในกรุงปารีส โดยมีผู้เข้าชมการแข่งขันกว่า 20,000 คน ร่วมเป็นสักขีพยานชัยชนะในสเตจที่สามของกาแรง โดยทำเวลาไปได้ 2 ชั่วโมง 59 นาที 31 วินาที โดยเวลาดังกล่าวยังคงเป็นเวลาที่ดีที่สุดของการแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์ [5]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#1", "text": "การแข่งขันถูกจัดขึ้นมาเพื่อโปรโมทหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) ภายหลังจากที่ยอดจำหน่ายเริ่มดิ่งลงจากการแข่งขันกับหนังสือพิมพ์ Le Vélo ที่วางจำหน่ายมาอย่างยาวนาน เดิมการแข่งขันมีกำหนดจะเริ่มต้นในเดือนมิถุนายน แต่ถูกเลื่อนออกไป 1 เดือน และเพิ่มเงินรางวัลมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีจำนวนผู้สมัครเข้าแข่งขันน้อยจนเป็นที่น่าผิดหวัง การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) ในครั้งแรกจัดการแข่งขันบนถนน เมื่อเทียบกับการแข่งขันแกรนด์ทัวร์ (Grand Tours) การแข่งขันตูร์เดอฟร็องส์มีจำนวนสเตจ (stage) ที่น้อยกว่า แต่มีระยะทางไกลกว่าที่แข่งขันอยู่ในปัจจุบัน ผู้เข้าแข่งขันไม่จำเป็นต้องปั่นครบทั้ง 6 สเตจ (stage) แม้ว่าการเข้าแข่งขันครบทุกช่วงจะเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดอันดับผู้ชนะโดยพิจารณาจากผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดตลอดเส้นทางการแข่งขันที่เรียกว่า general classification.", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "10634#1", "text": "ตูร์เดอฟร็องส์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ที่จัดการแข่งขันในยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "629503#20", "text": "Tour de France หมวดหมู่:Tour de France by year Tour de France", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#14", "text": "ผู้ชนะในรอบ pre-race favourites ได้แก่ โมรีซ กาแรง (Maurice Garin) และ Hippolyte Aucouturier[3] กาแรง ขึ้นนำในการแข่งขันตั้งแต่ออกจากจุดเริ่มต้นและเป็นผู้ชนะของสเตจแรกซึ่งมีระยะทาง 471km (293mi) จากกรุงปารีสถึงเมืองลียง การแข่งขันเริ่มขึ้นในเวลา 15:16 น. โดยผู้เข้าแแข่งปั่นด้วยความเร็ว 35กิโลเมตรต่อชั่วโมง ผู้เข้าแข่งขันที่ล้มเลิกกลางคันรายแรกหยุดที่ระยะทางประมาณ 50km (31mi).[13] กาแรง และ Emile Pagie เป็นผู้นำในการแข่งขันโดยถึงจุด control point ที่เมืองเนอแวร์ (Nevers) เวลา 23:00 น. กาแรงคาดการณ์ว่า พวกเขาจะถึงเส้นชัยในเวลา 8:00 ของเช้าวันรุ่งขึ้น แต่ช่วงกลางคืน คู่แข่งของกาแรง, Aucouturier, มีอาการตะคริวที่ท้องทำให้ไม่สามารถแข่งจนจบสเตจได้ [5][13] นอกจากนี้ การทำผิดกฎของการแข่งขันเป็นครั้งแรกก็เกิดขึ้นตั้งแต่สเตจแรก โดย Jean Fischer ได้ใช้รถยนต์สำหรับ pacer ซึ่งถือว่าผิดกฎ[5][13] Pagie ล้มลงแต่ก็ลุกกลับขึ้นมาได้อีก เขาและกาแรง รั้งตำแหน่งผู้นำในการแข่งขันตลอดคืนนั้น จนกระทั่งเวลา 9:00 น. ทั้งคู่จึงเข้าเส้นชัยที่เมืองลียง โดยกาแรงเข้าเส้นชัยก่อนหน้า Pagie เพียงแค่ 1 นาที [13]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "474860#0", "text": "อาลแบร์ บูร์ลง () เป็นอดีตนักขี่จักรยานถนนอาชีพชาวฝรั่งเศส เขาเกิดในซ็องแซร์ก ใน ค.ศ. 1947 บูร์ลงเป็นผู้ชนะอันดับที่ 14 ของรายการตูร์เดอฟร็องส์ โดยเกือบเป็นช่วงแรกที่เขาได้แยกทางออกไป และขี่มาแบบเดี่ยวเป็นระยะ 253 กม. (157 ไมล์) ซึ่งเป็นเส้นทางที่ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ตูร์เดอฟร็องส์หลังช่วงสงคราม", "title": "อาลแบร์ บูร์ลง" }, { "docid": "10634#3", "text": "การแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1903 เกิดขึ้นเนื่องจากการท้าทายกันทางหน้าหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ โลโต้ (L'Auto) มีนักแข่งเข้าร่วมจำนวนถึง 60 คน แต่สามารถเข้าเส้นชัยได้เพียง 21 คน ซึ่งกิตติศัพท์ของความยากลำบากในการแข่งขัน ทำให้การแข่งขันนี้เป็นที่สนใจ และมีผู้ชมการแข่งขันช่วงสุดท้ายในกรุงปารีส ตามสองฟากถนนระหว่างทางราว 100,000 คน และกลายเป็นประเพณี ที่การแข่งขันทุกครั้งจะไปสิ้นสุดที่ประตูชัย จตุรัสเดอเลตวล ปารีส", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์" }, { "docid": "629503#17", "text": "การแข่งขันในปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) ไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์ที่แตกต่างกันระหว่างการแข่งขันในสเตจทางเรียบและสเตจที่มีภูเขา ดังนั้น รูปภาพที่แสดงด้านล่างเป็นเพียงการแสดงให้เห็นว่า สเตจใดมีภูเขาอยู่ด้วย", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#19", "text": "ยอดจำหน่ายของหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญอันเป็นผลมาจากการจัดแข่งขันนี้ ภายหลังจบการแข่งขัน หนังสือฉบับพิเศษที่จัดพิมพ์จำนวนจำกัดได้ถูกจัดพิมพ์ขึ้น 130,000 ฉบับ [22] และยอดจำหน่ายของหนังสือพิมพ์ปกติได้พุ่งสูงขึ้นจากเดิม 25,000 ฉบับ เป็น 65,000 ฉบับ [2] ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของยอดขายนี้ทำให้การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์กจัดขึ้นอีกในปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) นักปั่นจักรยานได้กลายมาเป็นวีรบุรุษของชาติ ในขณะที่ โมรีซ กาแรง (Maurice Garin) ซึ่งเข้าร่วมการแข่งขันในปี พ.ศ. 2447 อีกครั้งกลับไม่สามารถรักษาตำแหน่งแชมป์เอาไว้ได้เนื่องจากเขาถูกตัดสิทธิ์จึงทำให้ขาดคุณสมบัติ โมรีซ กาแรง ได้ใช้เงินรางวัลที่เขาได้รับจากชัยชนะในปี พ.ศ. 2446 รวมทั้งหมด 6,075 ฟรังค์ (francs) [7] (เทียบเท่ามูลค่าประมาณ US$40,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา และ 23,000 ปอนด์ ในปี 2549 [5]) ซื้อสถานีบริการน้ำมันและใช้ชีวิตที่เหลือของเขาอยู่ที่นั่นจนสิ้นอายุขัย [5]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#8", "text": "การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ครั้งแรกไม่มีการปั่นข้ามภูเขาแต่มีการปั่นผ่านช่องเทือกเขาเล็กน้อย ช่องเทือกเขาแรก คือ des Echarmeaux (712m (2,336ft)) ซึ่งอยู่ในช่วงต้นของสเตจที่เริ่มจากกรุงปรารีสไปเมืองลียง (Lyon) ในปัจจุบันคือถนนสายเก่าที่วิ่งจากเมืองโอเติง (Autun) ไปเมืองลียง นอกจากนี้ยังมีช่องเทือกเขา col de la République (1,161m (3,809ft)) ซึ่งอยู่ในสเตจที่เริ่มจากเมืองลียงไปเมืองมาร์แซย์ หรือในปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ col du Grand Bois ซึ่งอยู่ติดชายแดนของเมืองแซ็งเตเตียน (St-Étienne)[9]", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#6", "text": "Géo Lefévre ทำหน้าที่เป็นกรรมการจัดงาน ผู้ตัดสิน และ ผู้จับเวลา โดย Henri Desgrange เป็นกรรมการจัดงานทั่วไป (directeur-général) ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ได้ติดตามการแข่งขันก็ตาม", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" }, { "docid": "629503#18", "text": "ผู้เข้าแข่งขันจำนวน 21 คน เข้าร่วมแข่งขันจนครบทั้งหมด 6 สเตจ โดยเวลาในแต่ละสเตจของนักปั่นจักรยานเหล่านี้ได้นำไปนับรวมสำหรับผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุด (general classification) โดยผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดจะเป็นผู้ชนะ", "title": "ตูร์เดอฟร็องส์ 1903" } ]
1952
โรคใคร่เด็กคือโรคที่มีความผิดปกติในด้านใด?
[ { "docid": "764178#0", "text": "โรคใคร่เด็ก[1] หรือ ความใคร่เด็ก (English: Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์[2][3] ส่วนในการวินิจฉัยทางการแพทย์ เกณฑ์วินิจฉัย \"โรคใคร่เด็ก\" ขยายอายุเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ไปถึง 13 ปี[2] ผู้ที่รับวินิจฉัยว่ามีโรคนี้ จะต้องมีอายุอย่างน้อย 16 ปี และเด็กวัยรุ่นที่รับวินิจฉัยว่ามีโรค ต้องมีอายุ 5 ปีอย่างน้อยมากกว่าเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์[2][3]", "title": "โรคใคร่เด็ก" } ]
[ { "docid": "764178#48", "text": "ผู้ใคร่เด็กบางคนไม่ทำร้ายเด็กทางเพศ[5][6][12][13] แต่ว่า มีความรู้ยิ่งน้อยเกี่ยวกับกลุ่มประชากรเช่นนี้เพราะว่างานศึกษาโรคใคร่เด็กโดยมากใช้อาชญากรหรือคนไข้ ซึ่งอาจจะไม่เป็นตัวแทนของประชากรคนใคร่เด็กโดยทั่วไป[105] นักจิตวิทยาเพศศึกษาคนหนึ่งเสนอว่า คนใคร่เด็กที่ทารุณเด็กทางเพศทำอย่างนั้นเพราะมีลักษณะต่อต้านสังคมอย่างอื่น ๆ บวกกับความสนใจทางเพศต่อเด็ก เขากล่าวว่า คนใคร่เด็กที่ \"เป็นคนช่างพิจารณา ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ไม่ชอบเสี่ยง เว้นจากการดื่มเหล้าและยาเสพติด และเห็นด้วยกับทัศนคติและความเชื่อที่สนับสนุนพฤติกรรมความคิดปกติและกฎหมาย\" อาจจะมีโอกาสน้อยกว่าที่จะทารุณเด็ก[13] งานวิจัยปี 2015 พบว่า คนใคร่เด็กที่ทำร้ายเด็กทางเพศมีความแตกต่างทางประสาทจากคนใคร่เด็กที่ไม่ทำผิด คือคนใคร่เด็กที่ทำร้ายเด็กมีความบกพร่องทางประสาทที่แสดงนัยว่า มีความผิดปกติในเขตสมองที่ทำหน้าที่ยับยั้ง ในขณะที่คนใคร่เด็กที่ไม่ทำผิดไม่บกพร่องเช่นนั้น[106]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#25", "text": "คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต ฉบับที่ 5 (DSM-5) ของสมาคมจิตเวชอเมริกัน มีการวินิจฉัยโรคใคร่เด็กที่ละเอียดกว่าฉบับก่อน ๆ ซึ่งกล่าวว่า", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "405824#6", "text": "การทารุณเด็กทางเพศสามารถมีผลทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งโรคจิตต่าง ๆ ต่อ ๆ มาในชีวิต[15][28] อาการและผลรวมทั้งภาวะซึมเศร้ารุนแรง[10][29][30] ความวิตกกังวล[11] ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorders)[31] การมีความเคารพตน (self-esteem) ต่ำ[31] การเกิดโรคกายเหตุจิต (somatization)[30] ความผิดปกติในการนอน (sleep disturbances)[32][33] โรคดิสโซสิเอทีฟ (Dissociative identity disorder), และโรควิตกกังวล รวมทั้งความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD)[12][34] แม้ว่าเด็กอาจจะแสดงพฤติกรรมย้อนวัยเช่น การดูดนิ้วหัวแม่มือ และการถ่ายรดที่นอน แต่อาการที่ชัดเจนที่สุดของการถูกทารุณกรรมทางเพศก็คือ การเล่นเลียนแบบทางเพศ และการมีความรู้ความสนใจทางเพศที่ไม่สมควรต่อวัย[35][36] เด็กอาจจะไม่สนใจไปโรงเรียนหรือเล่นกับเพื่อน[35] และมีปัญหาด้านการเรียนการประพฤติหลายอย่างรวมทั้งการกระทำทารุณโหดร้ายต่อสัตว์[37][38][39][40] การมีสมาธิสั้น (ADHD) ความผิดปกติทางความประพฤติ (conduct disorder) และความผิดปกติแบบท้าทายชอบทำตรงกันข้าม (oppositional defiant disorder)[31] ในช่วงวัยรุ่น อาจจะเกิดตั้งครรภ์และพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยง[41] เหยื่อทารุณกรรมแจ้งการทำร้ายตนเองเกือบถึง 4 เท่าของปกติ[42]", "title": "การทารุณเด็กทางเพศ" }, { "docid": "767586#31", "text": "แม้ว่า DSM-5 จะยอมรับว่า มีความผิดปกติแบบกามวิปริตเป็นโหล ๆ แต่ว่าก็ให้รายชื่อโดยเฉพาะเพียงแค่ 8 อย่างที่สามัญและสำคัญในกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งความผิดปกติถ้ำมอง ความผิดปกติแสดงอนาจาร ความผิดปกติถูอวัยวะอนาจาร ความผิดปกติมาโซคิสม์ ความผิดปกติซาดิสม์ทางเพศ ความผิดปกติใคร่เด็ก ความผิดปกติเกิดอารมณ์จากสิ่งเฉพาะ ความผิดปกติชอบแต่งกายลักเพศ[6] ส่วนกามวิปริตอื่น ๆ จะวินิจฉัยภายใต้หมวด Other Specified Paraphilic Disorder (ความผิดปกติแบบกามวิปริตที่กำหนดอื่น) หรือ Unspecified Paraphilic Disorder (ความผิดปกติแบบกามวิปริตที่ไม่กำหนดอื่น)[48]", "title": "โรคกามวิปริต" }, { "docid": "764178#35", "text": "APA แจ้งว่า \"ในกรณีความผิดปกติแบบใคร่เด็ก รายละเอียดที่สำคัญในคู่มือใหม่ อยู่ในส่วนที่ไม่ได้เปลี่ยน แม้ว่าจะมีการพิจารณาถึงข้อเสนอต่าง ๆ ตลอดกระบวนการพัฒนา DSM-5 เกณฑ์วินิจฉัยในที่สุดก็เหมือนกับใน DSM-IV TR... ชื่อของความผิดปกติเท่านั้นที่เปลี่ยนจาก pedophilia ไปเป็น pedophilic disorder เพื่อให้เข้ากับรายการอื่น ๆ ที่อยู่ในบทนั้น\"[74] ถ้า APA ได้ยอมรับการวินิจฉัย hebephilia เข้ากับ pedophilia ใน DSM-5 ก็จะกลายเป็นสิ่งที่คล้ายกับนิยามของ pedophilia ใน ICD-10 ที่รวมเด็กเริ่มวัยเจริญพันธุ์ในระยะต้น ๆ อยู่แล้ว[13] และบุคคลอายุน้อยที่สุดที่จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคก็จะมีอายุเพิ่มจาก 16 ปี ไปเป็น 18 ปี โดยที่ต้องมีอายุอย่างน้อย 5 ปีมากกว่าเด็กที่เป็นเป้าหมายนั้น[23]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#4", "text": "ในสหรัฐหลังปี 1997 ผู้กระทำผิดทางเพศที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติทางจิตบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคใคร่เด็ก อาจถูกสั่งขังในคดีแพ่งได้อย่างไม่มีกำหนด[19]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#22", "text": "ยีนหรือปัจจัยเป็นพิษ (noxious factor) อย่างอื่น ๆ ในสิ่งแวดล้อมก่อนคลอด เป็นตัวการทำให้ชายโน้มเอียงไปเพื่อพัฒนาความผิดปกติทางอารมณ์และโรคใคร่เด็ก หรือว่า ความขัดใจ ภยันตราย และความโดดเดี่ยวทางสังคม ที่เกิดจากความต้องการทางเพศที่สังคมรับไม่ได้ หรือว่าเกิดจากการสนองความรู้สึกโดยลับ ๆ ซ่อน ๆ เป็นบางครั้งบางคราว เป็นตัวการทำให้เกิดความวิตกกังวลและความหมดหวัง ?[63]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#2", "text": "ส่วนโดยนิยมของชาวตะวันตก คำว่า pedophilia มักจะใช้กับความสนใจทางเพศต่อ \"เด็ก\" ทุกอย่าง หรือการทารุณเด็กทางเพศ[5][6] การใช้คำเช่นนี้เป็นการผสมความรู้สึกทางเพศต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับการทารุณเด็กทางเพศ และไม่แยกแยะระหว่างความรู้สึกต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ กับเด็กวัยหลังจากนั้นที่ยังเรียกว่าเด็กตามกฎหมาย[7][8] นักวิจัยแนะนำไม่ให้ใช้คำอย่างไม่แม่นยำเช่นนี้ เพราะแม้ว่าคนที่ทารุณเด็กทางเพศบางครั้งอาจจะมีความผิดปกตินี้[6][9] แต่ผู้ทารุณเด็กทางเพศอาจจะไม่ใช่คนใคร่เด็ก นอกจากจะมีความสนใจทางเพศ<i data-parsoid='{\"dsr\":[4960,4991,2,2]}'>เป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ</i>ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์[7][10][11] และวรรณกรรมวิชาการก็แสดงว่า มีคนใคร่เด็กที่ไม่ทำร้ายเด็กทางเพศ[5][12][13]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#53", "text": "เขากล่าวถึงกรณีใคร่เด็กหลายกรณีในหญิงผู้ใหญ่ (โดยได้ข้อมูลจาก น.พ.อีกท่านหนึ่ง) และพิจารณาการทารุณเด็กชายโดยชายรักร่วมเพศว่าเกิดน้อยมาก[110] แล้วกล่าวเรื่องนี้ให้ชัดเจนขึ้นว่า ชายผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติทางการแพทย์หรือทางประสาทแล้วทารุณเด็กชาย จะไม่ใช่คนใคร่เด็กจริง ๆ และตามสังเกตการณ์ของเขา เหยื่อของชายเช่นนี้มักจะมีอายุมากกว่าและถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์แล้ว เขายังลงในรายการ pseudopaedophilia (โรคใคร่เด็กเทียม) ที่เป็นอาการซึ่งสัมพันธ์กันที่ \"บุคคลได้สูญเสียอารมณ์ทางเพศต่อผู้ใหญ่ผ่านการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง แล้วจึงหันไปหาเด็กเพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน\" และอ้างว่า สภาวะเช่นนี้มีมากกว่า[110]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#5", "text": "คำว่า pedophilia (โรคใคร่เด็ก, ความใคร่เด็ก) มาจากคำภาษากรีกว่า παῖς, παιδός (paîs, paidós) แปลว่า เด็ก กับคำว่า φιλία (philía) แปลว่า \"ความรักฉันมิตร\" หรือ \"มิตรภาพ\"[20] เป็นคำที่ใช้เรียกบุคคลที่มีความสนใจทางเพศโดยหลักหรือโดยจำกัดเฉพาะต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์อายุต่ำกว่า 13 ปี[2][3] ส่วนคำว่า nepiophilia (โรคใคร่ทารก, ความใคร่ทารก) มาจากภาษากรีกว่า νήπιος (népios) แปลว่า \"ทารก\" หรือ \"เด็ก\" ซึ่งมาจาก \"ne-\" กับ \"epos\" ซึ่งแปลรวมว่า \"ไม่พูด\" หรือบางครั้งใช้อีกคำหนึ่งว่า infantophilia เป็นประเภทย่อยของโรคใคร่เด็ก หมายถึงความต้องการทางเพศต่อทารกและเด็กหัดเดิน (อายุต่ำกว่า 5 ขวบ)[9][21] ส่วนคำว่า hebephilia ใช้เรียกบุคคลที่มีความสนใจทางเพศโดยหลักหรือโดยจำกัดเฉพาะต่อเด็กวัยเริ่มเจริญพันธุ์อายุ 11-14 ปี[22] แม้ว่า DSM-5 จะไม่กำหนด hebephilia ในรายการวินิจฉัย แต่ก็มีหลักฐานที่แสดงว่า hebephilia ต่างจาก pedophilia. ส่วน ICD-10 รวมเด็กวัยเริ่มเจริญพันธุ์ระยะต้น ๆ (ซึ่งเป็นอาการของ hebephilia) ในนิยามของ pedophilia เป็นนิยามครอบคลุมความคาบเกี่ยวกันของระยะพัฒนาการเด็กระหว่างความใคร่ทั้งสองแบบ[13] นอกจาก hebephilia แล้ว ยังมีแพทย์ที่เสนอหมวดหมู่อื่น ๆ ที่ต่างจาก pedophilia โดยบางส่วนหรือโดยสิ้นเชิง รวมทั้ง pedohebephilia (ลูกผสมของ pedophilia และ hebephilia) และ ephebophilia (ความใคร่ในเด็กวัยรุ่นช่วงกลางถึงปลายระหว่างอายุ 15-19 ปี) แม้ว่าความใคร่แบบหลังจะไม่จัดว่าเป็นโรค[23][24]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#8", "text": "งานวิจัยโรคใคร่เด็กในผู้กระทำผิดทางเพศต่อเด็กบ่อยครั้งรายงานว่า มันเกิดกับจิตพยาธิอย่างอื่น ๆ เช่น การเคารพตนต่ำ (self-esteem)[28] ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และปัญหาบุคลิกภาพต่าง ๆ ไม่ชัดเจนว่า สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนของโรค ผลของความเอนเอียงโดยการสุ่มตัวอย่าง หรือผลที่เกิดจากการถูกระบุว่าเป็นผู้ทำผิดทางเพศ[18] การทบทวนวรรณกรรมงานหนึ่งสรุปว่า งานวิจัยเรื่องบุคลิกภาพและจิตพยาธิในผู้ใคร่เด็กน้อยครั้งที่จะใช้ระเบียบวิธีที่ถูกต้อง โดยส่วนหนึ่งเกิดจากความสับสนระหว่าง \"คนใคร่เด็ก\" กับ \"ผู้ทำผิดทางเพศต่อเด็ก\" และความยากลำบากที่จะได้ตัวอย่างคนใคร่เด็กจากชุมชนที่เป็นตัวแทนประชากร[29] มีนักวิชาการที่ชี้ว่า คนใคร่เด็กที่ได้จากกระบวนการรักษาอยู่ที่นั่นก็เพราะว่าตนเดือดร้อนเกี่ยวกับความชอบทางเพศของตน หรือเพราะความกดดันจากคนอื่น ซึ่งเพิ่มโอกาสว่า คนเหล่านั้นจะแสดงปัญหาทางจิตต่าง ๆ และโดยนัยเดียวกัน คนใคร่เด็กที่ได้มาจากกระบวนการยุติธรรมก็เป็นผู้ถูกตัดสินว่าผิดในอาชญากรรม ทำให้มีโอกาสมากขึ้นที่จะมีลักษณะต่อต้านสังคมต่าง ๆ[30]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#29", "text": "ส่วน ICD-10 ขององค์การอนามัยโลก นิยามโรคใคร่เด็กว่า \"ความต้องการทางเพศต่อเด็ก จะเป็นหญิงหรือชายหรือทั้งสอง โดยปกติก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์หรือวัยเริ่มเจริญพันธุ์ในระยะต้น ๆ\"[4] และเหมือนกับ DSM เกณฑ์ในระบบนี้กำหนดให้บุคคลต้องอายุอย่างน้อย 16 ปีหรือแก่กว่าก่อนที่จะวินิจฉัยว่าเป็นคนใคร่เด็ก และต้องมีความต้องการทางเพศที่ยืนกรานและเป็นหลักต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ที่อายุน้อยกว่าอย่างน้อย 5 ปี[3]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "718488#36", "text": "การจัดหมวดหมู่ของผู้ป่วยที่มีอาการชักออกเป็นกลุ่มอาการจะทำได้บ่อยกว่าในเด็กเนื่องจากการเริ่มของอาการชักซ้ำเกิดขึ้นเร็ว ตัวอย่างของกลุ่มอาการชักที่มีความร้ายแรงน้อยได้แก่ (2.8 ต่อ 100,000) โรคลมชักแบบอับซองส์วัยเด็ก (0.8 ต่อ 100,000) และโรคลมชักแบบกล้ามเนื้อกระตุกสั่นในเด็กและเยาวชน (อิมพัลซีฟ เปอตีต์ มาล) (0.7 ต่อ 100,000) กลุ่มอาการลมชักแบบรุนแรงที่ทำให้เกิดการทำงานที่ผิดปกติของสมอง (โดยความผิดปกติมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากโรคลมชัก) จะถูกเรียกว่าโรคสมองลมชัก (epileptic encephalopathies) โดยกลุ่มอาการเหล่านี้มักทำให้เกิดอาการชักซึ่งทนทานต่อการรักษาและส่งผลให้เกิดกระบวนการการรับรู้ที่ผิดปกติอย่างรุนแรง เช่นกลุ่มอาการเล็นน็อกซ์-กาสเตาต์ และ มีความเชื่อกันว่าพันธุกรรมมีบทบาทสำคัญในการก่อให้เกิดโรคลมชักผ่านกลไกได้หลายช่องทาง กลไกการส่งกรรมพันธ์ () ทั้งแบบง่ายและซับซ้อนที่ก่อให้เกิดโรคลมชักบางประเภทได้รับการระบุไว้บ้างแล้ว อย่างไรก็ตามการตรวจคัดกรองจีโนมขนาดใหญ่ในผู้ป่วยโรคลมชักทั้งตัวแบบไม่ทราบสาเหตุ ยังไม่พบการกลายพันธ์ของยีนเพียงตัวเดียวที่เพิ่มความเสี่ยงอย่างมากต่อการเป็นโรคลมชักได้ การศึกษา และ จีโนม ในเร็วๆนี้แสดงให้เห็นถึงการกลายพันธ์ใหม่ (de novo gene mutations) ของยีนหลายตัวที่ก่อให้เกิดโรคสมองลมชัก ได้แก่ และ และ , , และ ", "title": "โรคลมชัก" }, { "docid": "764178#9", "text": "งานวิจัยปี 2002 พบความเสียหายต่อความคิดเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในตัวอย่างผู้กระทำผิดทางเพศต่อเด็กที่ผ่านเกณฑ์วินิจฉัยว่าเป็นโรคใคร่เด็ก เป็นความเสียหายที่ผู้เขียนเสนอว่า อาจมีส่วนให้ทำผิดต่อเด็ก คือ คนใคร่เด็กผู้ทำผิดทางเพศในงานวิจัยมีระดับ psychopathy (พฤติกรรมต่อต้านสังคม ความเห็นใจคนอื่นและความเสียใจน้อย พฤติกรรมที่ไม่ยับยั้งชั่งใจ) ที่สูงขึ้นและมีความบิดเบือนทางประชาน เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นคนปกติจากชุมชน ซึ่งนักวิจัยตีความว่าเป็นมูลฐานของความไม่สามารถห้ามพฤติกรรมทางอาชญากรรมของตน[31] แต่ว่างานในปี 2009 และ 2012 กลับพบว่า ผู้ที่ทำร้ายเด็กทางเพศแต่ไม่ใช่คนใคร่เด็กแสดงลักษณะ psychopathy แต่คนใคร่เด็กผู้ทำร้ายเด็กไม่แสดง[32][33]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#34", "text": "นักจิตวิทยาผู้เชี่ยวชาญในเพศวิทยาที่รู้จักกันดีเพราะงานวิจัยเกี่ยวกับโรคใคร่เด็กคือ ดร.เรย์ แบล็งเชิร์ด กล่าวปัญหาเกณฑ์ของ DSM-IV-TR ในการทบทวนวรรณกรรม แล้วเสนอการแก้ปัญหาทั่วไปที่ใช้ได้กับโรคกามวิปริต (paraphilia) ทั้งหมด โดยแยกกามวิปริต (paraphilia) ออกจากความผิดปกติแบบกามวิปริต (paraphilic disorder) และให้การวินิจฉัยความผิดปกติในเรื่องนั้น (เช่น paraphilic disorder หรือ pedophilic disorder) ต้องผ่านเกณฑ์ทั้งที่ 1 และ 2 เทียบกับบุคคลที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ 2 (คือไม่ทำและไม่เดือดร้อน) ผู้ชัดเจนว่ามีกามวิปริตเพราะผ่านเกณฑ์ที่ 1 แต่ไม่วินิจฉัยว่าเป็นความผิดปกติ (disorder)[65] นอกจากนั้น ดร.แบล็งเชิร์ด และผู้ร่วมงานจำนวนหนึ่งเสนอให้วินิจฉัย hebephilia ว่าเป็นความผิดปกติภายใต้ DSM-5 เพื่อแก้ความความคาบเกี่ยวกันของพัฒนาการทางกายของเด็กเป้าหมายในโรคใคร่เด็กและ hebephilia โดยรวมเข้าใต้หมวดหมู่ ความผิดปกติแบบใคร่เด็ก (pedophilic disorder) แต่ให้กำหนดพิสัยอายุที่เป็นประเด็น[23][72] ซึ่งต่อมา APA ปฏิเสธ[73] แต่ว่า การแยกแยะกามวิปริต (paraphilia) และความผิดปกติแบบกามวิปริต (paraphilic disorder) APA ได้ดำเนินการตามข้อเสนอ และดังนั้น การแยกแยะความใคร่เด็กและความผิดปกติแบบใคร่เด็กก็เช่นกัน[2][74]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#60", "text": "โรคใคร่เด็กเป็นความผิดปกติทางจิตที่ถูกประณามมากที่สุดโรคหนึ่ง[35] งานศึกษาหนึ่งพบความโกรธ ความกลัว และความรังเกียจทางสังคมในระดับสูง ต่อคนใคร่เด็กแม้ที่ยังไม่ทำอาชญากรรม[128] นักวิชาการเสนอว่า ทัศนคติเช่นนี้อาจจะมีผลลบต่อการป้องกันทารุณกรรมทางเพศต่อเด็ก โดยลดเสถียรภาพทางจิตของผู้ใคร่เด็ก และทำให้หมดกำลังใจในการเสาะหาความช่วยเหลือ[35] ตามนักสังคมศาสตร์คู่หนึ่ง ความเป็นห่วงของสังคมเกี่ยวกับโรคใคร่เด็กขยายเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 ซึ่งเกิดพร้อมกับอาชญากรรมอื้อฉาวหลายคดี แต่เกิดในช่วงที่อัตราการทารุณเด็กทางเพศกำลังลดลงโดยทั่วไป พวกเขาพบว่า คำว่า pedophile ปรากฏน้อยมากในหนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ (สหรัฐอเมริกา) และ เลอมงด์ (ฝรั่งเศส) ก่อนปี 1996 โดยปรากฏเป็น 0 ในปี 1991[129]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#49", "text": "ตามนักวิชาการบางท่าน[107] มีความแตกต่างระหว่างลักษณะของผู้ทำร้ายเด็กที่ใคร่เด็ก และผู้ทำร้ายเด็กอื่น ๆ ค่อนข้างมาก คือ ผู้ทำร้ายเด็กอื่น ๆ มักจะทำผิดเมื่อเครียด ทำผิดเมื่ออายุมากกว่า และมีเหยื่อบ่อยครั้งเป็นสมาชิกครอบครัวโดยมีจำนวนน้อยกว่า ในขณะที่ผู้ทำร้ายเด็กผู้ใคร่เด็กมักจะทำผิดเริ่มตั้งแต่อายุน้อย มีเหยื่อเป็นจำนวนมากกว่าและบ่อยครั้งไม่ใช่สมาชิกครอบครัว มีแรงจูงใจจากภายในที่จะทำผิด (ไม่ใช่เป็นเพราะสถานการณ์) และมีค่านิยมและความเชื่อที่สนับสนุนการใช้ชีวิตแบบกระทำผิด งานศึกษาหนึ่งพบว่า ผู้ทำร้ายเด็กที่ใคร่เด็กมีเหยื่อมัธยฐานที่ 1.3 คน สำหรับผู้ที่มีเหยื่อเป็นหญิง และ 4.4 คนสำหรับผู้ที่มีเหยื่อเป็นชาย[101] แต่ว่า ผู้ทำร้ายเด็กทุกคน ไม่ว่าจะใคร่เด็กหรือไม่ ใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อที่จะเข้าถึงเด็กเพื่อเพศสัมพันธ์ บางคนปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อให้ร่วมมือ (child grooming) โดยให้ความสนใจและของขวัญ บางคนขู่ขวัญ บางคนใช้เหล้า ยาเสพติด หรือกำลังทางกาย[108]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#18", "text": "ในงานศึกษาปี 2008 ที่ใช้ MRI ตรวจโครงสร้างสมอง พบว่า ชายผู้ใคร่เด็กมีปริมาตรของเนื้อขาว (white matter) น้อยกว่ากลุ่มควบคุม[55] ส่วนงานปี 2007 ที่ใช้ fMRI แสดงว่า ผู้ทำร้ายเด็กที่วินิจฉัยว่าเป็นโรคใคร่เด็กมีระดับการทำงานของไฮโปทาลามัส (ซึ่งมีโครงสร้างที่ทำงานต่างกันระหว่างเพศชาย-หญิง โครงสร้างเกี่ยวกับพฤติกรรมและรสนิยมทางเพศ) ที่ต่ำกว่า เทียบกับผู้ไม่ใช่คนใคร่เด็กเมื่อดูภาพผู้ใหญ่ที่เร้าอารมณ์ทางเพศ[61] Biol Psychiatry. 2007 Sep 15;62(6):698-701. Epub 2007 Apr 2. Pedophilia is linked to reduced activation in hypothalamus and lateral prefrontal cortex during visual erotic stimulation. Walter M1, Witzel J, Wiebking C, Gubka U, Rotte M, Schiltz K, Bermpohl F, Tempelmann C, Bogerts B, Heinze HJ, Northoff G. งานวิจัยที่สร้างภาพทางสมองโดยกิจ (functional neuroimaging) ในปี 2008 พบว่า การประมวลสิ่งเร้าทางเพศหลักของบุคคลรักต่างเพศที่เป็น \"คนไข้ในผู้ใคร่เด็ก ที่ศาลบังคับให้อยู่ในโรงพยาบาล\" อาจจะเปลี่ยนไปเพราะความผิดปกติในเครือข่ายประสาทกลีบหน้าผากส่วนหน้า (prefrontal network) ซึ่ง \"อาจจะสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ควบคุมโดยสิ่งเร้า เช่นพฤติกรรมชั่ววูบตามอารมณ์เพศ\" และบอกเป็นนัยว่า \"มีการทำหน้าที่ผิดปกติของการประมวลความตื่นตัวทางเพศในระดับประชาน\"[62]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#7", "text": "โดยตอบสนองต่อการตีความผิดว่า สมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychiatric Association ตัวย่อ APA) พิจารณาโรคใคร่เด็กว่าเป็นรสนิยมทางเพศ ไม่ใช่ความผิดปกติ เพราะคำพูดที่พิมพ์ในคู่มือ DSM-5 ซึ่งแยกแยะระหว่างกามวิปริต (paraphilia) และสิ่งที่คู่มือเรียกว่า ความผิดปกติแบบกามวิปริต (paraphilic disorder) ซึ่งมีผลเป็นการแบ่ง pedophilia (ความใคร่เด็ก) และ pedophilic disorder (ความผิดปกติแบบใคร่เด็ก) สมาคมจึงกล่าวว่า \"'รสนิยมทางเพศ' ([S]exual orientation) ไม่ใช่เป็นคำที่ใช้เป็นเกณฑ์วินิจฉัยความผิดปกติแบบใคร่เด็ก และการใช้คำนั้นในคำบรรยายของ DSM-5 เป็นความผิดพลาดที่ควรแก้เป็น 'ความสนใจทางเพศ' (sexual interest)\" และ \"จริงอย่างนั้น APA พิจารณาความผิดปกติแบบใคร่เด็กว่าเป็น 'กามวิปริต' และไม่ใช่ 'รสนิยมทางเพศ' ความผิดพลาดนี้จะแก้ใน DSM-5 รุ่นอิเล็กทรอนิกส์ และในการพิมพ์คู่มือครั้งต่อไป\" APA สนับสนุนอย่างเข้มแข็ง ซึ่งความพยายามที่จะดำเนินคดีอาญา ต่อผู้ที่ทารุณต่อและฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กและวัยรุ่น และ \"สนับสนุนความพยายามต่อเนื่อง ที่จะพัฒนาการรักษาบำบัดสำหรับผู้ที่มีความผิดปกติแบบใคร่เด็ก เพื่อป้องกันทารุณกรรมที่จะเกิดในอนาคต\"[27]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#6", "text": "ความใคร่เด็กเกิดขึ้นก่อนหรือระหว่างวัยเริ่มเจริญพันธุ์ และเสถียรในระยะยาว[25] และเป็นสิ่งที่พบในตน ไม่ใช่สิ่งที่เลือก[6] เพราะเหตุนี้ ความใคร่เด็กจึงเรียกว่าเป็นความผิดปกติของความชอบทางเพศ (disorder of sexual preference) คล้ายกับรสนิยมทางเพศเป็นคนรักต่างเพศหรือคนรักร่วมเพศ ที่ไม่ได้เลือก[25] แต่ว่า ธรรมชาติเช่นนี้ไม่ได้ลดระดับ pedophilia ให้ไม่เป็นความผิดปกติทางจิต เพราะว่ากิจกรรมใคร่เด็กสามารถสร้างความเสียหายต่อเด็ก และแพทย์พยาบาลสุขภาพจิตในบางกรณีสามารถช่วยคนใคร่เด็กให้ระงับไม่ทำตามอารมณ์ชั่ววูบซึ่งสร้างความเสียหาย[26]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "767586#19", "text": "ต่อมาในปี 1968 DSM-II ก็ยังใช้คำว่า ความเบี่ยงเบนทางเพศ อยู่ แต่ไม่ได้เป็นหมวดหมู่ย่อยของความผิดปกติทางบุคลิกภาพอีกต่อไป แต่ว่า เป็นหมวดหมู่กว้าง ๆ ในในระดับเดียวกันชื่อว่า \"ความผิดปกติทางบุคลิกภาพและความผิดปกติทางจิตที่ไม่ใช่วิกลจริตอย่างอื่น ๆ\" (personality disorders and certain other nonpsychotic mental disorders) ประเภทของควาเบ่งเบียนทางเพศใน DSM-II รวมทั้งการรบกวนทางรสนิยมทางเพศ (คือรักร่วมเพศ) การเกิดอารมณ์เพศจากสิ่งเฉพาะ โรคใคร่เด็ก โรคชอบแต่งกายลักเพศ การแสดงอนาจาร โรคถ้ำมอง โรคซาดิสม์ โรคมาโซคิสม์ และ \"ความเบี่ยงเบนทางเพศอื่น ๆ\" แม้ว่าจะไม่มีนิยามหรือตัวอย่างให้กับ \"ความเบี่ยงเบนทางเพศอื่น ๆ\" แต่ก็หมายจะแสดงถึงความชอบใจทางเพศของบุคคล \"ที่พุ่งไปยังวัตถุแทนที่เพศตรงข้าม ไปยังกิจกรรมทางเพศที่ทั่วไปไม่เกี่ยวกับการร่วมเพศ หรือการร่วมเพศทำในสถานการณ์แปลก ๆ เช่นที่พบในอาการชอบสมสู่กับศพ โรคใคร่เด็ก โรคซาดิสม์ทางเพศ และการเกิดอารมณ์เพศจากสิ่งเฉพาะ\"[40] ยกเว้นการถอนรักร่วมเพศออกจากคู่มือ DSM-III และฉบับต่อ ๆ มา คำนิยามนี้ก็ได้ใช้เป็นมาตรฐานทั่วไปของการนิยามโรคกามวิปริตประเภทเฉพาะต่าง ๆ ในฉบับต่อ ๆ มาจนถึง DSM-IV-TR[41]", "title": "โรคกามวิปริต" }, { "docid": "764178#30", "text": "มีบทอภิธานหลายศัพท์ที่ใช้เพื่อแยกแยก \"คนใคร่เด็กจริง ๆ\" จากผู้กระทำผิดที่ไม่ใช่คนใคร่เด็กหรือไม่จำกัดเฉพาะเด็ก หรือเพื่อแยกแยะประเภทของผู้กระทำผิดแบบต่อเนื่อง โดยแยกตามกำลังและความจำกัดเฉพาะของความสนใจใคร่เด็ก และตามแรงจูงใจในการทำผิด (ดู ผู้กระทำความผิดทางเพศต่อเด็ก) เช่น คนใคร่เด็กแบบจำกัดเฉพาะบางครั้งเรียกว่า \"คนใคร่เด็กจริง ๆ\" คือสนใจแต่เด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์เท่านั้น โดยที่ไม่มีความสนใจทางเพศกับผู้ใหญ่ และจะสามารถมีอารมณ์เพศก็ต่อเมื่อจินตนาการหรืออยู่กับเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์หรือทั้งสอง[16] และเช่นผู้กระทำผิดที่ไม่จำกัดเพาะ บางทีเรียกว่า คนใคร่เด็กแบบไม่จำกัดเฉพาะ และบางครั้งเรียกว่าผู้กระทำผิดที่ไม่ใช่คนใคร่เด็ก แต่ว่าสองคำนี้บางครั้งก็ไม่ใช้เป็นไวพจน์ของกันและกัน (คือใช้ในความหมายที่ไม่เหมือนกัน) ผู้ทำผิดที่ไม่จำกัดเฉพาะ มีความรู้สึกทางเพศต่อทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และสามารถเกิดอารมณ์ทางเพศเพราะเหตุจากเด็กหรือผู้ใหญ่ แต่ว่าอาจจะชอบใจเด็กหรือผู้ใหญ่ทางเพศเป็นพิเศษ และถ้าชอบใจเด็กทางเพศมากกว่า (คือเป็นหลัก) ผู้กระทำผิดเช่นนี้ก็พิจารณาว่าเป็นคนใคร่เด็กเหมือนกับผู้ทำผิดที่จำกัดเฉพาะ[4][16]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "970970#3", "text": "ในปีหนึ่ง ประเทศพัฒนาแล้วพบความผิดปกติของการรับประทานแบบตะกละในหญิงประมาณร้อยละ 1.6 และชายร้อยละ 0.8 โรคเบื่ออาหารเหตุจิตใจพบในประชากรประมาณร้อยละ 0.4 และอาการหิวไม่หายในหญิงอายุน้อยประมาณร้อยละ 1.3 หญิงมากถึงร้อยละ 4 มีโรคเบื่ออาหารเหตุจิตใจ ร้อยละ 2 มีอาการหิวไม่หาย และร้อยละ 2 มีความผิดปกติของการรับประทานแบบตะกละในช่วงใดช่วงหนึ่ง โรคเบื่ออาหารเหตุจิตใจและอาการหิวไม่หายเกิดในหญิงมากกว่าชายเกือบ 10 เท่า ตรงแบบเริ่มในปลายวัยเด็กหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น อัตราของความผิดปกติของการรับประทานแบบอื่นไม่ชัดเจน อัตราของความผิดปกติของการรับประทานดูพบน้อยกว่าในประเทศที่ด้อยพัฒนากว่า", "title": "ความผิดปกติของการรับประทาน" }, { "docid": "405824#45", "text": "ความใคร่เด็ก (English: Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือเด็กปลายวัยรุ่น มีความรู้สึกทางเพศเป็นหลักและจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กรุ่นก่อนหนุ่มสาว (ก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์) โดยทั่วไปอายุ 11 ขวบหรือน้อยกว่า ไม่ว่าจะทำการเนื่องกับความชอบใจนั้นหรือไม่[137][138] ส่วนในการวินิจฉัยทางการแพทย์ เกณฑ์เฉพาะของ \"โรคใคร่เด็ก\" ขยายอายุเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ไปถึง 13 ปี[137] ผู้ที่รับวินิจฉัยว่ามีโรคนี้ ต้องมีอายุอย่างน้อย 16 ปี และเด็กวัยรุ่นที่รับวินิจฉัยว่ามีโรค ต้องมีอายุ 5 ปีอย่างน้อยมากกว่าเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์[137][138] ผู้ที่มีภาวะเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า \"pedophile\" (คนใคร่เด็ก)", "title": "การทารุณเด็กทางเพศ" }, { "docid": "764178#3", "text": "โรคนี้รู้จักเป็นวงกว้างและให้ชื่ออย่างเป็นทางการครั้งแรกในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีงานวิจัยเป็นจำนวนสำคัญที่ทำในเรื่องนี้เริ่มตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 แม้ว่าหลักฐานโดยมากจะพบในชาย แต่ก็มีหญิงที่มีความผิดปกติเช่นนี้[14][15] และนักค้นคว้า (researchers) ได้ตั้งสมมุติฐานว่า มีจำนวนหญิงใคร่เด็กที่มีน้อยกว่าความเป็นจริง[16] ไม่มีวิธีรักษาความผิดปกตินี้ให้หายขาด แต่มีวิธีบำบัดช่วยลดการทารุณเด็กทางเพศ[6] แม้ว่าเหตุของโรคจะยังไม่ชัดเจน[17] แต่ว่าก็มีงานวิจัยในผู้ทำผิดทางเพศต่อเด็ก ที่พบสหสัมพันธ์ของโรคกับความผิดปกติทางประสาทและสภาวะจิตพยาธิหลายอย่าง[18]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#65", "text": "ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 ถึงต้น 1990 มีองค์กรสมาชิกคนใคร่เด็กหลายองค์กรที่เสนอให้ลดอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ หรือให้เลิกกฎหมายนี้โดยสิ้นเชิง[136][137][138] เสนอให้ยอมรับความใคร่เด็กว่าเป็นรสนิยมทางเพศแทนที่จะเป็นความผิดปกติทางจิต[139] และเสนอให้เปลี่ยนสถานะสื่อลามกอนาจารเด็กให้ถูกกฎหมาย[138] แต่ว่าความพยายามขององค์กรเหล่านี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากประชาชน[136][138][140][141][142] และทุกวันนี้ กลุ่มจำนวนน้อยใดที่ยังไม่สลายตัวไป ก็จะมีสมาชิกที่น้อยมาก และกลุ่มได้ยุติการดำเนินการทั้งหมดยกเว้นผ่านเว็บไซต์บางเว็บ[138][142][143][144]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#56", "text": "Pedophilia ไม่ใช่คำที่ใช้ในกฎหมาย[9] และการมีความสนใจทางเพศต่อเด็กอย่างเดียวก็ไม่ได้ผิดกฎหมาย[6] ในวงการบังคับใช้กฎหมาย คำว่า pedophile ใช้อย่างกว้าง ๆ รวมเอาบุคคลที่ทำผิดทางเพศต่อเหยื่อที่มีวัยต่ำกว่าอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ (บ่อยครั้งที่ 17 ปี) ซึ่งรวมอาชญากรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งการทารุณเด็กทางเพศ การข่มขืนโดยกฎหมาย (เช่นมีเพศสัมพันธ์กับเด็กต่ำกว่าอายุแม้ยินยอม) การทำผิดที่เกี่ยวข้องกับสื่อลามกอนาจารเด็ก การปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม (child grooming) การให้ความสนใจแบบไม่ต้องการจนเป็นการก่อกวน (stalking) และการแสดงลามกอนาจาร หน่วยหนึ่งของกองบัญชาการสืบสวนการทารุณเด็ก (Child Abuse Investigation Command) ของสหราชอาณาจักรที่รู้จักกันว่า \"หน่วยคนใคร่เด็ก\" มีความชำนาญพิเศษในการสืบสวนและบังคับใช้กฎหมายออนไลน์[117] หนังสือนิติเวชศาสตร์บางเล่มยังใช้คำนี้หมายถึงผู้ทำผิดที่ตั้งเป้าหมายที่เหยื่อเด็ก แม้ว่าเด็กอาจจะไม่ใช่ความสนใจทางเพศหลักของผู้ทำผิด[118] แต่ว่า เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสอบสวนกลางสหรัฐ แยกแยะระหว่างคนใคร่เด็กและผู้ทำร้ายเด็กทางเพศ[119]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#57", "text": "ในสหรัฐอเมริกาหลังปี 1997 ผู้กระทำผิดทางเพศที่วินิจฉัยว่ามีผิดปกติทางจิตบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคใคร่เด็ก อาจถูกกักขังได้อย่างไม่มีกำหนด[19][120][121] เพราะว่ามีความผิดปกติทางจิตที่ \"เป็นสภาพแต่กำเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ที่มีผลต่อสมรรถภาพทางอารมณ์และทางสัญเจตนา (volitional) ที่โน้มเอียงให้บุคคลทำผิดทางเพศแบบรุนแรง จนกระทั่งว่าบุคคลนั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้อื่น\" และอาจถูกกักขังไม่ว่าจะได้รับการบำบัดจากรัฐหรือไม่[122][123][124] รวมทั้งบุคคลที่ได้ถูกตัดสินว่าผิดในคดีสื่อลามกอนาจารเด็ก[121][125] โดยสาเหตุว่า \"เป็นบุคคลที่ได้ทำผิดหรือได้พยายามทำผิดทางเพศแบบรุนแรง หรือทำร้ายเด็กทางเพศ ผู้เป็นอันตรายทางเพศต่อผู้อื่น\" และ \"จะมีความยากลำบากอย่างยิ่งที่จะเว้นจากการทำผิดทางเพศแบบรุนแรง หรือการทำร้ายเด็กทางเพศ ถ้าปล่อยตัว\"[126]", "title": "โรคใคร่เด็ก" }, { "docid": "764178#20", "text": "แม้ว่าจะไม่ใช่เหตุของโรคใคร่เด็ก ทารุณกรรมในวัยเด็กโดยผู้ใหญ่ หรือปัญหาทางใจที่เกิดร่วมกับโรค เช่น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ (personality disorder) และการใช้ยาเสพติด (substance abuse) เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการทำผิดต่อเด็กเนื่องจากอารมณ์ใคร่ชั่ววูบ[6] แต่ว่าในเรื่องปัญหาที่เกิดร่วมกับโรค นักวิชาการกลุ่มหนึ่งกล่าวว่า", "title": "โรคใคร่เด็ก" } ]
2682
อนิเมชั่นเรื่อง มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ ออกอากาศตอนสุดท้ายเมื่อไหร่?
[ { "docid": "70553#0", "text": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ () เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ \"เฟท/สเตย์ ไนท์ [เรียลตา นัว]\" โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" } ]
[ { "docid": "70553#5", "text": "สิ่งหนึ่งที่ชิโร่ไม่เคยรู้มาก่อนเลยคือเมืองฟุยูกิที่เขาอาศัยอยู่นั้นได้ถูกจัดเตรียมไว้เพื่อเป็นสนามรบระหว่างจอมเวททั้งเจ็ดอย่างลับๆ ซึ่งจอมเวททั้งเจ็ดคนที่เข้ามาร่วมจะต้องเสี่ยงชีวิตเพื่อแย่งชิงจอกศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถประทานทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการได้ ซึ่งสงครามจะเริ่มต้นทุกๆ 50 ปี อย่างครั้งล่าสุดคือสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เมื่อ 16 ปีก่อนก็ได้เป็นชนวนทำให้เกิดสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ขึ้นมาอีกภายในเวลา 10 ปีโดยหาสาเหตุไม่ได้ จอมเวทที่เข้าร่วมสงครามทุกคนนั้นจะถูกขนานนามว่า \"มาสเตอร์\" ผู้ซึ่งควบคุมวิญญานที่อยู่ในฐานะ \"ข้ารับใช้\" เพื่อใช้ในการต่อสู้ในสงคราม ซึ่งวิญญานเหล่านั้นคือวิญญานของเหล่าวีรชนในแต่ละยุคสมัยของโลก ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าวิญญานของวีรชน () แต่ละคนนั้นย่อมมีความสามารถพิเศษเฉพาะตัว หรือที่เรียกว่า \"โนเบิล แฟตาซึ่ม\" () ซึ่งมันจะเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงตัวตนที่แท้จริงของข้ารับใช้แต่ละคนนั้นด้วย และมันจะทำให้คู่ต่อสู้ทราบถึงจุดอ่อนของข้ารับใช้คนนั้นๆ ทันที การอัญเชิญข้ารับใช้ของมาสเตอร์แต่ละคนนั้นจะมีแตกต่างกันไป ซึ่งบางกรณีจะเกี่ยวข้องกับสื่อที่ใช้อัญเชิญ และความคิดความต้องการของมาสเตอร์ ซึ่งถ้าหากมาสเตอร์คนไหนมีความคิดเดียวกันกับวีรชนคนใด วีรชนคนนั้นก็จะมาเป็นข้ารับใช้ให้กับมาสเตอร์คนนั้นๆ ซึ่งในแต่ละครั้งของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ ข้ารับใช้จะถูกอัญเชิญออกมาจาก 1 ใน 7 ประเภทคือ เซเบอร์, อาเชอร์ , แลนเซอร์, เบอเซิร์กเกอร์, ไรเดอร์, แอสซาซิน และ แคสเตอร์", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "104286#5", "text": "ใน \"เฟท ฮอลโล่ว์ อทาราเซีย\" เซเบอร์ยังคงอยู่กับชิโร่ ซึ่งความสัมพันธ์ของทั้งคู่ก็ได้ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ เธอได้สังหารอาเชอร์ที่พยายามจะสังหารชิโร่เพื่อปกป้องเขาในช่วงแรกของการหวนกลับ ในช่วงการหวนกลับอื่นๆ เธอได้ถูกสังหารโดย ฟรากรัช ของ บาเซตต์ ในขณะที่เธอพยายามที่จะใช้เอกซ์คาลิเบอร์กับบาเซตต์ ในการหวนกลับครั้งสุดท้าย เธอได้ช่วยเหลือชิโร่/อเวนเจอร์ ในการเข้าถึงจอกศักดิ์สิทธิ์ที่ถูกคุ้มกันไว้ด้วยสัตว์ประหลาดลึกลับ (ที่เกิดจากเศษเสี้ยวของความปรารถนาที่ต้องการจะให้เกิดการหวนกลับอีกครั้งของอเวนเจอร์) พร้อมกับวิญญาณวีรชนตนอื่นๆ ใน \"เฟท/สเตย์ ไนท์ เธอได้ตกหลุมรักกับชิโร่ แต่เธอก็ไม่สามารถแสดงออกมาได้นั่นเป็นเพราะเธอเป็นเพียงข้ารับใช้เท่านั้น", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "168840#8", "text": "เป็นเพราะว่าต้องเผชิญกับข้ารับใช้ที่แข็งแกร่งหลายตนในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ซ้ำยังมีมาสเตอร์กระจอกแบบชินจิ จึงทำให้เธอเป็นฝ่ายถูกกำจัดไปเองในเสียเกือบทุกเนื้อเรื่อง เช่น ", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "73031#7", "text": "ในช่วงเหตุการณ์ใน เฟท/สเตย์ ไนท์ อเวนเจอร์เป็นเพียงแค่วิญญานที่อยู่ในจอกศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งถูกกักไว้หลังจากจบสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 แต่อย่างไรก็ตาม ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เขาก็ได้ออกมาอีกครั้งเพราะมานาที่สะสมไว้มากมาย ก่อนที่จอกจะถูกทำลายลงโดยชิโร่เพื่อป้องกันเหตุร้ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยอเวนเจอร์ หลังจากที่จอกศักดิ์สิทธิ์อยู่ในสภาพที่สามารถจะให้พรได้แล้ว จอกศักดิ์สิทธิ์กลับหายไปโดยที่ยังไม่ได้ให้พรกับใครทั้งนั้น อเวนเจอร์จึงต้องหาทางที่จะทำให้จอกกลับมาให้พรตามที่ตนเองจะขอนั้นเป็นจริงให้ได้ ต่อมาเขาก็ได้พบกับบาเซตต์ในสภาพใกล้ตาย ซึ่งเธอก็เรียกร้องว่ายังไม่อยากตาย ดังนั้นเขาจึงทำสัญญากับบาเซตต์ และกลายมาเป็นข้ารับใช้ของบาเซตต์ เพื่อเป็นหนทางที่จะทำให้ความหวังของตนเป็นจริง", "title": "อเวนเจอร์ (เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย)" }, { "docid": "104286#4", "text": "ใน บท \"เฮฟเว่นส์ ฟีล\" เซเบอร์ได้ถูกครอบงำเข้าสู่ด้านมืดโดย อังรี มานยุ และกลายเป็นข้ารับใช้ของซากุระ ซึ่งสุดท้ายก็ได้ถูกสังหารโดยชิโร่นั่นเอง", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "209621#27", "text": "หมวดหมู่:ตัวละครในมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์", "title": "แลนเซอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "102850#5", "text": "หลังจากจบสงครามไปแล้ว คิเรย์ก็ได้หันมาให้ความสนใจกับจอกศักดิ์สิทธิ์มากขึ้น เพื่อที่จะทำให้เกิดสงครามขึ้นอีกครั้งในตลอดชีวิตของเขา หลังจากที่เมืองฟุยูกิได้ถูกเผาราบไปส่วนหนึ่งแล้ว คิเรย์ก็ได้ออกสำรวจเพื่อตามจับเหล่าเด็กๆ ผู้เคราะห์ร้ายมากักขังไว้ที่ชั้นใต้ดินของโบสถ์ ซึ่งเด็กเหล่านั้นจะถูกนำมาใช้เป็นแหล่งเติมมานาของข้ารับใช้ของเขา ในระหว่างที่อาร์เชอร์อาศัยอยู่ในเมืองฟุยูกินั้น ตัวเขาเองก็ได้เข้าร่วมในภารกิจต่างๆ ของสมาคมจอมเวทย์ และยังเป็นผู้ฝึกสอนให้กับ โทซากะ ริน อีกด้วย สิบปีหลังจากที่เขาได้รับชีวิตใหม่จากจอกศักดิ์สิทธิ์ เขาก็ได้ตั้งตนเองเป็นผู้คุ้มกฎในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 และได้พบกับ บาเซตต์ ฟราก้า แม็กเรมินซ์ และได้แสร้งร่วมมือกับเธอ สุดท้ายแล้วเขาก็ได้ทรยศเธอด้วยการตัดแขนซ้ายที่มีลายมนตราของเธอ และบังคับให้ข้ารับใช้สายแลนเซอร์ ของเธอให้มาทำพันธสัญญากับตน", "title": "โคโตมิเนะ คิเรย์" }, { "docid": "104286#1", "text": "อาธูเรียได้ปกครองบริเทน ซึ่งปราสาทของเธอนั้นอยู่ที่กรุงคาเมล็อต และได้รับการยกย่องสรรเสริญจากประชาชนของเธอเป็นอย่างมาก เธอได้รับการสั่งสอนจากเมอร์ลิน และได้รับความช่วยเหลือต่างๆ จาก อัศวินโต๊ะกลม ซึ่งเธอก็ได้ทำให้อังกฤษอยู่ในยุคที่เฟื่องฟูและสงบสุข ต่อมาดาบคาลิเบิร์นของเธอก็ได้ถูกทำลายลง แต่เธอก็ได้รับดาบเล่มใหม่ เอกซ์คาลิเบอร์ และอวาลอน ซึ่งได้รับมาจาก วิเวียน ซึ่งอานุภาพของอวาลอนยามที่มันอยู่ในร่างกายของเธอ อาธูเรียจะไม่มีวันแก่ และเป็นอมตะ ในสงครามเลยทีเดียว ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "231939#1", "text": "การกล่าวถึง \"จอก\" วิเศษ แม้ไม่ปรากฏชัดว่า ศักดิ์สิทธิ์ด้วยหรือไม่นั้น ปรากฏครั้งแรกในนิยายวีรคติเรื่อง \"แปร์เซอวัลเลอกงต์ดูกราล\" (Perceval, le Conte du Graal; \"แปร์เซอวาลตำนานจอก\") ผลงานซึ่งเขียนไม่เสร็จของเครเตียง เดอ ทรัว (Chrétien de Troyes) ในราว ค.ศ. 1190 ในเอกสารนี้ ภาชนะดังกล่าวเป็น \"ถาด\" (salver) สำหรับเชิญอาหารในงานเลี้ยง เอกสารของเครเตียงนำไปสู่การเล่าต่อ แปลความ และตีความ อีกมากมายในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในจำนวนนี้รวมถึงผลงานของวอลฟรัม ฟอน เอสเชนบัค (Wolfram von Eschenbach) ซึ่งเข้าใจไปว่า \"จอก\" เป็น \"ศิลา\" ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นั้นเอง โรแบร์ เดอ โบรง (Robert de Boron) เขียนผลงานชื่อ \"โฌเซฟดารีมาตี\" (Joseph d'Arimathie) ว่า จอกนี้เป็นภาชนะที่พระเยซูทรงใช้เสวยพระกระยาหารมื้อสุดท้าย แล้วโยเซฟชาวอาริมาเธียใช้รองพระโลหิตของพระองค์ขณะทรงถูกตรึงกางเขน หลังจากนั้น เรื่องราวของจอกศักดิ์สิทธิ์ก็ผสมปนเปไปกับตำนานเรื่องถ้วยศักดิ์สิทธิ์ (Holy Chalice) อันเป็นภาชนะในพระกระยาหารมื้อสุดท้าย", "title": "จอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "148200#5", "text": "หนึ่งอาทิตย์หลังจากการเปิดตัวในไต้หวันและฮ่องกง แอนิแมกซ์เปิดตัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2004 โดยมีการออกอากาศรายการแอนิเมชั่นในแบบภาษาญี่ปุ่น และมีบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งกลายเป็นสถานีแรกของบริษัทที่ออกอากาศเป็นภาษาอังกฤษ ภายหลังได้มีการเพิ่มการพากย์เสียงภาษาอังกฤษให้กับแอนิเมชั่น ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2006 แอนิแมกซ์เปิดตัวในมาเลเซีย โดยออกอากาศเป็นภาษาอังกฤษ และยังออกอากาศรายการในภาษาญี่ปุ่นพร้อมกับการบรรยายในภาษาท้องถิ่นอีกด้วย รายการที่ออกอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รุ่นแรกๆ อย่างเช่น ดิจิทัล เลดี้, การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ, จีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก, Haibane Renmei, Doctor Dokkiri, Vision of Escaflowne, มือขวากับขาโจ๋, กัปตันซึบาสะ, Wolf's Rain, โมบิลสูท กันดั้ม, Cowboy Bebop, และภายหลังออกอากาศอีกหลายเรื่อง รวมถึง มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์, Blood+, Honey and Clover, ท่านมาเรียมองเราอยู่นะ, , Otogizōshi, Jigoku Shōjo, แกแล็คซี่แองเจล, Witch Hunter Robin, Samurai 7, กันสลิงเกอร์ เกิร์ล, ลามู ทรามวัยจากต่างดาว, และ รันม่า 1/2", "title": "แอนิแมกซ์เอเชีย" }, { "docid": "70553#25", "text": "เฟท/สเตย์ ไนท์ ในรูปแบบอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2549 และสิ้นสุดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ความยาวทั้งหมด 24 ตอนโดย Studio DEEN ภายใต้ชื่อว่า Fate Project ด้วยความร่วมมือของ Geneon Entertainment, TBS,CREi,ไทป์-มูน และ Frontier Works Inc. ต่อมาก็ได้ออกอากาศอย่างเป็นสากลในช่อง อะนิแม็กซ์ ในปี 2550 อีกทั้งยังมีฉบับภาษาอังกฤษ เพื่อออกอากาศในเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเดือน เมษายน ปี พ.ศ. 2550 พร้อมทั้งยังมีการเผยแพร่ลิขสิทธิ์ไปยัง อเมริกาเหนือ อีกด้วย ซึ่งเนื้อหาในอะนิเมะนั้นจะเน้นหนักไปในเนื้อหาของเกม ในส่วนของบท<i data-parsoid='{\"dsr\":[18611,18618,2,2]}'>เฟท มีการเสริมเนื้อหาในส่วนของ อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส และ เฮฟเว่นส ฟีล อีกด้วย แต่จะไม่เพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของ เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย เลยแม้แต่นิดเดียว ซึ่งในฉบับอะนิเมะนี้ ก็ได้คุณ คาวาอิ เคนจิ ซึ่งเป็นผู้แต่งเพลงในซีรีส์ของเฟท ในต้นฉบับของเกม มาเป็นผู้แต่งเพลงให้ในฉบับอะนิเมะด้วย ซึ่งจะเห็นได้จากการนำซาวนด์แทร็กในเกม มารีมิกซ์ใหม่เพื่อใช้ในฉบับอะนิเมะโดยเฉพาะ อย่างเช่นเพลง \"Yakusoku Sareta Shouri No Tsurugi\"(約束されたの剣), \"Emiya\" และ \"This Illusion\" ซึ่งต่อมาได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น \"disillusion\" เพื่อใช้เป็นเพลงเปิดสำหรับฉบับอะนิเมะ", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "104286#3", "text": "เซเบอร์ได้ทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์ ไปในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 ซึ่งนั่นเป็นเพราะ เอมิยะ คิริซึงุ ได้ใช้ลายมนตรา (Reiju) บังคับให้เธอทำในสิ่งที่เธอไม่ต้องการ อย่างไรก็ตาม จอกที่เธอทำลายไปนั้นเป็นเพียงแค่รูปธรรมของจอกเท่านั้น ซึ่งความปรารถนาของเธอนั้นมีเพียงแค่การได้กลับไปแก้ไขอดีตของเธอ ที่จะไม่ขึ้นเป็นกษัตริย์ในขณะที่เธอยังมีชีวิตอยู่ ในบท\"เฟท\" ชิโร่ได้แนะนำให้เซเบอร์ควรที่จะยอมรับในสิ่งที่เธอเป็นอยู่ในปัจจุบัน ดีกว่าการที่จะย้อนกลับไปแก้อดีตที่ผ่านมา ในฉากจบแบบดีของบท \"อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส\"์ นั้นเธอจะไม่เสียชีวิต และในทั้งบท\"เฟท\" และ \"อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส\" เธอได้ใช้เอกซ์คาลิเบอร์ทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์ทั้งสองบท ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "70553#11", "text": "โทซากะ ริน ()นักเรียนดีเด่นและดาวประจำโรงเรียนที่ชิโร่ศึกษาอยู่ เบื้องหลังเป็นหนึ่งในจอมเวทที่เข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 รินเกิดในตระกูลจอมเวทติดตัว และมีเชี่ยวชาญเชิงเวทเป็นอย่างมาก บิดาของเธอเสียชีวิตในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เป็นเหตุให้เธอตั้งใจฝึกฝนการใช้เวทมนตร์สืบต่อจากเขา เธอพยายามที่จะอัญเชิญข้ารับใช้สายเซเบอร์ออกมา แต่เกิดความผิดพลาดในระหว่างการอัญเชิญ ทำให้ได้ข้ารับใช้สายอาเชอร์แทน", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "70037#2", "text": "เอมิยะ คิริซึงุ เข้าสู่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 โดยการว่าจ้างของตระกูลเอนซ์เบิร์นให้เป็นตัวแทนของการต่อสู้ โดยข้ารับใช้ของเขาคือเซเบอร์ ที่เขาได้อัญเชิญมาโดยอวาลอน ที่เขาได้รับมาจากตระกูลเอนซ์เบิร์นที่คอร์นวอล ประเทศอังกฤษ โดยที่ตระกูลเอนซ์เบิร์นยังใช้สเปิร์มของคิริซึงุในการสร้างโฮมุนครุสอย่างอิลิยาสเวียล ฟอน เอนซ์เบิร์นขึ้นมาด้วย จึงทำให้เขาเป็นบิดาของอิลลิยาสเวียลอย่างไม่ต้องสงสัย แต่อย่างไรก็ตาม เขาได้ต่อสู้โดยที่ไม่สนใจใคร และไม่ยอมฟังใครนอกจากตระกูลเอนซ์เบิร์นเท่านั้น อย่างใน เฟท/ซีโร่ เขาได้ต่อสู้กับมาสเตอร์คนอื่นๆ ในรูปแบบของเขาเอง พร้อมกับอาวุธคู่กายของเขา ปืนพกThompson Contender,ปืนกลCalico 960 และ Walther WA 2000 สไนเปอร์ ไรเฟิล ที่ดัดแปลงด้วยการติดกล้องส่องในความมืดรุ่น AN/PVS04 พร้อมกับกล้องตรวจจับความร้อน IR ในการตรวจหามาสเตอร์จากความร้อนที่แผ่ออกมาจากตัวมาสเตอร์แต่ละคน ซึ่งจะแตกต่างจากมนุษย์ธรรมดา เพราะนักเวทย์ย่อมมีการเดินพลังเวทย์อยู่เสมอ ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนสูงกว่าคนทั่วไป และเขายังได้รับการช่วยเหลือจาก ไมยะ ฮิซาอุ ผู้ช่วยของเขาด้วย\nทุกสิ่งทุกอย่างที่คิริซึงุทำไปนั้น ล้วนยึดถือด้วยคำว่าคุณธรรม ดังที่เขาต้องการที่จะปกป้องทุกๆคน ให้พ้นจากอันตรายและไม่ต้องเดือดร้อน เรื่องเรียกง่ายได้ว่า \"ผู้ผดุงคุณธรรม\" ถึงเขาจะรู้อยู่แก่ใจแล้วว่ามันเป็นไปไม่ได้ที่จะปกป้องทุกสิ่งไว้ก็ตาม ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เขาได้พยายามที่จะทำให้มีผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องในสงครามนี้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด โดยการสังหารมาสเตอร์คนอื่นๆ อย่างไร้ความปราณี แม้ว่าเขาจะต้องบิดเบือนหนทางนักเวทย์ของเขาก็ตามด้วยการหันมาพึ่งเครื่องยนต์กลไก แต่ตัวเขาก็หวังไว้ว่าสิ่งที่เขาทำนี้ จะช่วยทำให้เกิดความเสียหายต่อทุกสิ่งทุกอย่างน้อยที่สุด\nในช่วงท้ายของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เขาได้เอาชนะ โคโตมิเนะ คิเรย์ มาสเตอร์คนสุดท้าย และได้ครอบครองจอกศักดิ์สิทธิ์ที่ถูกครอบงำไปด้วยความชั่วร้าย ซึ่งจะเป็นผลร้ายต่อการขอพรต่อจอกที่ปนเปื้อนความชั่วร้ายนั้น คิริซึงุจึงได้หักหลังตระกูลเอนซ์เบิร์นด้วยการใช้มนตราอาคม บังคับให้เซเบอร์เข้าทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์นั้น แต่ได้มีความชั่วร้ายที่ปนเปื้อนอยู่ในจอกศักดิ์สิทธิ์ มาติดที่ตัวเขา ซึ่งส่งผลทำให้เขาเสียชีวิตในอีก 4 ปีถัดมาอย่างไม่ทราบสาเหตุ\nหลังจากที่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ได้จบลง คิริซึงุก็ได้ละทิ้งความไร้ความปราณีของเขา และพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อชดเชยในสิ่งที่เขาได้ทำไปในสงครามครั้งนี้ เขาได้พบกับชิโร่นอนหมดสติอยู่ท่ามกลางซากปรักหักพังของตึกซึ่งเป็นผลพวงจากการระเบิดในช่วงสุดท้ายของสงคราม เขาดีใจมากที่ยังมีชีวิตน้อยๆ หลงเหลืออยู่ เขาจึงได้ช่วยเหลือชิโร่ไว้ด้วยการฝังอวาลอน สื่ออัญเชิญข้ารับใช้ซึ่งมีคุณสมบัติในการรักษาอาการเจ็บปวดได้อย่างรวดเร็วไว้ในร่างกายของชิโร่ และรับเขาเป็นลูกบุญธรรม เพื่อทดแทนในสิ่งที่เขาได้ทำไปในสงคราม", "title": "เอมิยะ คิริซึงุ" }, { "docid": "70553#15", "text": "มาโต้ ชินจิ ()พี่ชายชองซากุระ และเพื่อนรักของชิโร่ เขาเป็นรองประธานชมรมยิงธนูของโรงเรียนที่ออกจะหลงตัวเองและเป็นที่นิยมในหมู่สาวๆ คล้ายๆกับริน เขาไม่ได้มีความสามารถโดดเด่นในเชิงเวทเช่นเดียวกับชิโร่ แม้ว่าตระกูลมาโต้จะเป็นตระกูลผู้ใช้เวทมนตร์ แต่เขากลับไม่มีความสามารถในเชิงเวทเลย จึงทำให้เขาไม่พอใจ และพยายามที่จะพิสูจน์ให้คนอื่นเห็นว่าตนเองก็มีดีด้วยการเข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 นี้ บวกกับความทะเยอทะยานอยากของเขา จึงไม่เป็นที่น่าสงสัยเลยว่าเขาจะหักหลังเพื่อนของเขาได้อย่างหน้าตาเฉยเพื่อตัวเขาเอง เขาไม่พอใจที่ซากุระน้องสาวของเขาไปหาชิโร่ที่บ้านทุกวันๆ เขาจึงเสนอข้อตกลงกับรินในการร่วมมือกันในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่รินก็ได้ปฏิเสธไปเพราะรู้ถึงเนื้อแท้ของเขานั่นเอง", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "73031#9", "text": "เพื่อให้บาเซตต์เข้าใจว่าเธอยังมีชีวิตอยู่ อเวนเจอร์จึงได้สร้างสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง อย่างไรก็ตามปัญหาใหญ่คือเขาไม่ได้รับรู้ถึงเรื่องราวในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 อย่างถ่องแท้ ซึ่งเขาก็รู้เพียงแค่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 เท่านั้น ดังนั้นเขาจึงเอาผู้เข้าร่วมแข่งขันของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 มาใช้แทนบุคคลในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 โดยอาศัยสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เป็นฉากหลัง", "title": "อเวนเจอร์ (เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย)" }, { "docid": "70553#20", "text": "ในบท Fate จะกล่าวถึงเซเบอร์ที่เป็นตัวละครหลัก ในบท Unlimited Blade Works จะกล่าวถึงรินซึ่งเป็นตัวละครหลัก แต่เนื้อเรื่องจะมุ่งประเด็นไปที่ตัวตนของข้ารับใช้ของเธอ อาเชอร์ มากกว่า และในบท Heaven's Feel จะกล่าวถึงอดีตอันเลวร้ายของซากุระ และยังเชื่อมต่อไปถึงเนื้อเรื่องของ เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย อีกด้วย ส่วนเนื้อเรื่องในแอนิเมชันจะเป็นการนำเนื้อเรื่องทั้ง 3 มารวมกัน และเน้นหนักไปที่บท Fate มากกว่าบทอื่นๆ", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "121754#4", "text": "เบอร์เซิร์กเกอร์ได้ถูกอัญเชิยมาโดยตระกูลไอนซ์แบร์น ในเยอรมัน หลายเดือนก่อนช่วงสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 จะเริ่มต้นขึ้น โดยใช้เศษหินของวิหารเฮราเคลสเป็นสื่ออัญเชิญ ซึ่งตั้งแต่สมัยไหนแล้ว ที่ตระกูลไอนซ์แบร์นไม่เคยได้รับชัยชนะในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์เลยซักครั้ง จึงทำให้ตระกูลนี้ถูกเหยียดหยามมาตลอดตั้งแต่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 ดังนั้นเพื่อเป็นการกอบกู้เกียรติยศของตระกูลไอนซ์แบร์น พวกเขาจึงได้อัญเชิญวีรบุรุษผู้ที่แกร่งกล้าที่สุดในตำนานกรีกขึ้นมา และให้อิลยาควบคุมเขาเข้าสู่สงครามเพื่อที่จะฟื้นฟูปาฎิหาริย์ที่สูญเสียไปของพวกเขา", "title": "เบอร์เซิร์กเกอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "148200#6", "text": "แอนิแมกซ์ยังมีการจัดช่วงรายการต่างๆ อย่างเช่น \"\"Teen-Edge\"\" ซึ่งออกอากาศทุกวันจันทร์ถึงศุกร์จาก 15:00 ถึง 16:30 และออกอากาศรายการอย่างเช่น Chibi Maruko-chan, Hime-sama Goyōjin และ สึบาสะ สงครามเทพข้ามมิติ, ช่วงรายการ Animania ซึ่งออกอากาศทุกวันจันทร์ถึงศุกร์จาก 17:00 ถึง 18:00 ออกอากาศรายการอย่างเช่น ดราก้อนบอล และ Law of Ueki, ช่วง \"\"Mega Zone\"\" ซึ่งออกอากาศทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ตั้งแต่ 18:00 เป็นต้นไป ออกอากาศรายการอย่างเช่น Gun X Sword, มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ และ Honey and Clover และช่วงรายการ \"\"Weekends\"\" ซึ่งออกอากาศวันอาทิตย์ตั้งแต่ 8:00pm จนถึง 9:00pm ออกอากาศรายการอย่างเช่น Dear Boys, Blood+ และ Please Teacher!", "title": "แอนิแมกซ์เอเชีย" }, { "docid": "70553#2", "text": "ในปี 2549 เจเนออนและสตูดิโอดีนได้นำ เฟท/สเตย์ ไนท์ มาดัดแปลงเนื้อหาและสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนความยาว 24 ตอน ในปีเดียวกัน ไทป์-มูน ยังได้ประกาศจะวางแผง เฟท/สเตย์ ไนท์ สำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ \"เฟท/สเตย์ ไนท์ [เรียลตา นัว]\" ในครึ่งปีหลัง แต่เลื่อนมาจำหน่ายในปี 2550 แทน ไทป์-มูน ยังได้ร่วมมือกับไนโตรพลัสเขียนนวนิยายเรื่อง เฟท/ซีโร่ เล่าเรื่องสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่เกิดขึ้นก่อนสงครามใน เฟท/สเตย์ ไนท์ นอกจากนี้ เมื่อต้นปี 2550 เจเนออนยังได้จัดรายการวิทยุ \"เฟท/สเตย์ ทูน\" โดยมี คานะ อุเอดะ และ อายาโกะ คาวาสุมิ นักพากย์ผู้รับบทเป็นตัวละครเอกในการ์ตูนโทรทัศน์ เป็นพิธีกรอีกด้วย จริงหรอ?", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "104286#0", "text": "เซเบอร์ () คือหนึ่งในตัวละครหลักของ เฟท/ซีโร่ และเป็นหนึ่งในสามตัวละครหญิงหลักใน เฟท/สเตย์ ไนท์ เธอคือเซอร์แวนท์คลาสเซเบอร์ของ เอมิยะ คิริซึงุ ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่สี่และ เอมิยะ ชิโร่ ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ห้า เธอเป็นเซอร์แวนท์ของนอร์มา กู๊ดเฟลโล่ว์ (ซึ่งถูกสิงโดย มานากะ ไซโจว) ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ของ เฟท/ลาบรินธ์ แล้วก็ยังเป็นหนึ่งในเหล่าเซอร์แวนท์ของตัวละครหลักในเกม เฟท/แกรนด์ ออเดอร์\nหลังจากสูญเสียคาลิเบิร์นไปเซเบอร์ก็ได้รับดาบเล่มนี้มาจากสตรีแห่งทะเลสาบ () ซึ่งเธออนุญาตให้เซเบอร์ใช้ดาบนี้ได้ตลอดอายุขัยของเธอ มันเป็นหนึ่งในศาสตราแห่งตำนานที่ทรงพลังที่สุด (ระดับ A++) ที่ไม่อาจพบเจอได้จากผลงานของมนุษย์ทั่วไป ตัวอักษรบนดาบนั้นเป็นภาษาโบราณของเหล่าพรายที่สาบสูญ (เรื่องภาษาโบราณจะได้เห็นอีกในหลายๆเรื่องของไทป์มูนเช่น คะระ โนะ เคียวไก บทที่6) ตัวดาบเอกซ์คาลิเบอร์นั้นได้รับพรที่แข็งแกร่ง และจะคมกล้าตลอดเวลา แต่โดยปกติแล้วเซเบอร์จะใช้ ม่านอากาศซ่อนเร้น (อินวิซิเบิ้ล แอร์) ปกปิดไว้เพื่ออำพรางรูปร่างแท้จริงของดาบ ไม่ให้คู่ต่อสู้สังเกตได้โดยง่าย ศาสตรานี้มาจากชื่อดาบในตำนานของ กษัตริย์อาเธอร์ ที่ได้รับมาจาก วิเวียน\nชื่อเต็มของเธอนั้นคือ อาเทอเรีย เพนดราก้อน ซึ่งต้นแบบตัวละครของเธอนั้นมีแรงบันดาลใจมาจากตำนานของ กษัตริย์อาเธอร์ อาธูเรียเป็นลูกสาวของกษัตริย์ ยูเธอร์ เพนดราก้อน แห่งอังกฤษ และ พระนางอิเกรน ดัชเชสแห่ง คอร์นวอล ด้วยตามการทำนายชะตาของเธอแล้ว ยูเธอร์ได้ตระหนักว่าเธอไม่เหมาะสมที่จะได้รับสิทธิ์ในการครองบัลลังก์ เขาจึงไม่บอกกับใครเกี่ยวกับเรื่องการเกิดของอาธูเรีย และเพศของเธอ พร้อมทั้งมอบเธอให้กับ เมอร์ลิน ให้ไปมอบให้กับ เซอร์เอ็กเตอร์ นักรบผู้ที่ให้การเลี้ยงดูเธอในฐานะของบุตรชายบุญธรรม เมื่ออาธูเรียอายุ 15 ปี กษัตริย์ยูเธอร์ก็ได้สวรรคต และบัลลังก์ก็ได้ไร้ผู้สืบทอด อังกฤษในสมัยนั้นจึงได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพวก แซกซอน ต่อมาเมอร์ลินก็ได้มาปรากฏตัวต่อหน้าเธอ และได้เล่าเรื่องราวทั้งหมดให้เธอได้ฟังว่าหากเธอเป็นผู้ที่ดึงดาบคาลิเบิร์นที่ปักอยู่ที่แท่นหินได้ ชาวอังกฤษทุกคนจะยกย่องเธอให้เป็นกษัตริย์องค์ต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม การที่ใครจะดึงดาบเล่มนั้นขึ้นมา ผู้นั้นจักต้องยอมรับในสิ่งต่างๆ ที่หนักหนาสาหัสที่จะถาโถมเข้ามาในฐานะของกษัตริย์ และอาธูเรียจะต้องรับผิดชอบที่จะต้องปกป้องประชาชนเหล่านั้นด้วย เมื่อปราศจากความลังเลและความกังขาในเรื่องเพศของตนแล้ว เธอก็ได้เลือกที่จะดึงดาบเล่มนั้นขึ้นมา และขึ้นเป็นผู้นำแห่งอังกฤษ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "229946#36", "text": "เมื่อจบการออกอากาศแอนิเมชั่นชุด \"โยรินุกิ กินทามะ-ซัง\" ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554 แล้ว ในสัปดาห์ถัดมา ซึ่งตรงกับวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554 สถานีโทรทัศน์ทีวีโตเกียวจึงเริ่มการแพร่ภาพแอนิเมชั่นเรื่องกินทามะชุดใหม่ ภายใต้ชื่อ กินทามะ ( มีการเพิ่มเครื่องหมายอะพอสทรอฟีไว้หลังชื่อ) ซึ่งเป็นแอนิเมชั่นเรื่องกินทามะชุดล่าสุดที่กำลังออกอากาศในขณะนี้ ทีมงานในการผลิตยังคงใช้ทีมงานชุดเดียวกันกับใน 4 ภาคก่อนหน้า โดยมีโยอิจิ ฟูจิตะ เป็นผู้กำกับรายการ สำหรับดีวีดีชุดแรกจากแอนิเมชั่นชุดนี้จะเริ่มจัดจัดจำหน่ายในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554", "title": "กินทามะ" }, { "docid": "341709#2", "text": "ภาคแรกเรื่องหีบศักดิ์สิทธิ์ที่บรรจุบัญญัติ 10 ประการที่โมเลสนำลงมาจากยอดเขา ส่วนภาค 3 หนังก็เล่นเรื่องจอกศักดิ์สิทธิ์หรือจอกกาลิสที่พระเยซูใช้ในการเสวยพระกระยาหารมื้อสุดท้าย ซึ่งตำนานนี้ยังเกี่ยวโยงมาถึงเรื่องของสงครามครูเสดและอัศวันโต๊ะกลมอีกด้วย นอกจากนี้ก็ยังมีดารารับเชิญ Dan Aykroyd เจ้าหน้าที่สนามบินที่เดินไปคุยไปกับอินดี้", "title": "ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 2 ตอน ถล่มวิหารเจ้าแม่กาลี" }, { "docid": "37612#32", "text": "ปรากฏในหนังสือการ์ตูน [มูนไครซิสเมคอัพ], อนิเมะคลาสสิค [อำนาจศักดิ์สิทธิ์แห่งจันทรา จงสำแดงฤทธา ณ บัดนี้], อนิเมะคริสตัล [จอกศักดิ์สิทธิ์แห่งจันทรา จงสำแดงฤทธา ณ บัดนี้]", "title": "สึคิโนะ อุซางิ" }, { "docid": "102850#4", "text": "ด้วยตำแหน่งของการเป็นตัวแทนขององค์กรศาสนา ทำให้เขามีสิทธิ์ที่จะอัญเชิญ อาเชอร์ เพื่อเข้าร่วมในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 ได้ ซึ่งใน เฟท/ซีโร่ แล้วนั้น ข้ารับใช้ของเขาคือ แอสซาซิน ในขณะเดียวกันที่ โทซากะ โทคิโอมิ สหายของเขาได้อัญเชิญอาเชอร์มาเป็นข้ารับใช้ ต่อมา โคโตมิเนะ ริเซย์ บิดาของเขาซึ่งเป็นผู้คุ้มกฎในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 และ 4 ได้เสียชีวิตลงในขณะที่เขาพยายามที่จะเยียวยาสถานการณ์ที่เลวร้ายในสงคราม คิเรย์ก็ได้ใช้จังหวะนี้ในการสังหารโทคิโอมิ และทำพันธสัญญากับอาเชอร์ของโทคิโอมิเสียเอง ต่อมาในช่วงสุดท้ายของสงคราม เขาก็ได้ปะทะกับ เอมิยะ คิริซึงุ แต่เขาก็พ่ายแพ้ไปอย่างง่ายดาย ก่อนที่เขาจะสิ้นลมหายใจนั้น จอกศักดิ์สิทธิ์ก็ได้ปรากฏต่อหน้าเขา พร้อมทั้งทำร้ายคิริซึงุ คิเรย์ได้ยื่นมือไปสัมผัสกับของเหลวภายในจอก ซึ่งนั่นก็คือคำสาป เขาได้ขอพรต่อจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่สิ่งที่เขาได้กลับมาก็คือกองเพลิงขนาดมหึมาที่ทำลายล้างเมืองฟุยูกิเสียสิ้น คิริซึงุจึงได้สั่งให้เซเบอร์ มุ่งเข้าทำลายจอกทันที ซึ่งนั่นก็ทำให้ของเหลวที่อยู่ในจอกศักดิ์สิทธิ์ได้ไหลลงมาปนปื้อนร่างไร้วิญญาณของคิเรย์ ซึ่งของเหลวเหล่านั้นก็ได้ชุบชีวิตคิเรย์ขึ้นมาและได้กลายเป็นหัวใจสีดำของคิเรย์ไปในที่สุด", "title": "โคโตมิเนะ คิเรย์" }, { "docid": "168840#9", "text": "บทโชคชะตา (Fate)\nไรเดอร์เป็นภัยคุกคามในช่วงแรกของชิโร่และเซเบอร์ แต่ไม่ได้ปะทะกับวีรชนคนอื่นอย่างเต็มที่ โดยพยายามเน้นการรวบรวมพลังด้วยเครือข่ายคำสาบและผู้บริสุทธิ์ในเมืองมากกว่า ตามคำสั่งของชินจิ แต่ด้วยการร่วมมือของโทซากะและชิโร่ ทำให้สามารถขับไล่ไรเดอร์ไปได้ และไปตัดสินศึกสุดท้ายกับเซเบอร์กันบนยอดตึกระฟ้าในเมือง (ตอน Skycrapser) ซึ่งการต่อสู้นั้นไรเดอร์ได้เปรียบค่อนข้างมากจากอาวุธวิเศษที่หลากหลาย ดังเช่น เนตรอสูร และสัตว์วิเศษเปกาซัส ขณะที่เซเบอร์พยายามเก็บพลังฝีมืออันแท้จริงและพลังเวทย์ที่มีไว้ แต่สุดท้ายด้วยสถานการณ์บังคับที่ต้องปกป้องชิโร่ เซเบอร์จึงปลดปล่อยดาบศักดิ์สิทธิ์เอ็กซคาลิเบอร์แบบเต็มกำลัง (Anti-Fortress) และสังหารไรเดอร์ไปพร้อมกับเปกาซัสในทีเดียว ", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "168840#7", "text": "มาสเตอร์ที่แท้จริงของเธอนั้นคือ มาโต้ ซากุระ แต่ที่เธอมาเป็นข้ารับใช้ของชินจินั้นเป็นเพราะซากุระได้ถูกแย่งคำสั่งมนตราไป ถึงแม้ว่าเธอจะเป็นข้ารับใช้ของชินจิ แต่ในใจเธอก็ไม่ได้ต้องการทำเพื่อคนที่ชั่วช้าอย่างเขาเลยแม้แต่น้อย ที่เธอทำเป็นคอยรับใช้อย่างซื่อสัตย์นั้นเป็นเพราะต้องการปฏิบัติหน้าที่ในส่วนของข้ารับใช้ให้สมบูรณ์เท่านั้น และเพื่อเป็นการปกป้องซากุระ คนที่เหมือนกับเธอในหลายๆ อย่างเท่านั้น และในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เธอก็ไม่ได้มีจุดประสงค์อะไรในจอกศักดิ์สิทธิ์ เช่นเดียวกันกับข้ารับใช้ตนอื่นๆ ในสงครามครั้งนี้", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "209621#26", "text": "แต่ใน เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย บทบาทของเขาได้เพิ่มขึ้นมากจากใน เฟท/สเตย์ ไนท์ คือเขากลายเป็นชายตกปลาธรรมดาที่พบเห็นได้ในท่าเรือเมืองฟุยูกิ, เตร็ดเตร่ไปรอบเมือง, รับงานพาร์ทไทม์เป็นคนขายของชำ มักจะเห็นเขาพูดคุยกับเหล่าผู้เข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธ์อยู่บ่อย แต่เขาก็ไม่เข้าไปยุ่งในการต่อสู้กับเงาหมาป่าปิศาจ ซึ่งเป็นฝีมือของอเวนเจอร์ในการเข้าควบคุม เฮฟเว่นส์ ฟีล นั่นเอง", "title": "แลนเซอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "331594#2", "text": "ในปี 1938 อินเดียน่า โจนส์ (แฮร์ริสัน ฟอร์ด) ต้องเดินทางตามหาขุมทรัพย์อีกครั้ง นั่นคือ จอกกาลิซ หรือจอกศักดิ์สิทธิ์ที่พระเยซูใช้ในพระกระยาหารมื้อสุดท้าย แล้วจอกที่ว่านี้ยังเคยรองรับพระโลหิตของพระองค์ตอนถูกตรึงกางเขนมาแล้วด้วย จากนั้นจอกดังกล่าวตกอยู่ในมือของโจเซฟแห่งอารามาเทียอยู่พักหนึ่ง ก่อนจะหายสาบสูญไปนับพันปี เงื่อนงำล่าสุดก็คือ อัศวินสามพี่น้องแห่งสงครามครูเสดเป็นผู้พิทักษ์เอาไว้ คนพี่คนแรกได้เสียชีวิตไปก่อน ส่วนอัศวินคนที่สองก่อนตายก็ได้เปิดเผยความลับนี่แก่หลวงพ่อรูปหนึ่ง ส่วนคนน้องสุดท้องก็ไม่มีใครได้พบ ว่ากันว่าเขายังคงปกป้องจอกนี้อยู่ ในตำนานได้กล่าวไว้ว่า ใครได้ครอบครองและดื่มน้ำจากจอก คนผู้นั้นจะเป็นอมตะ หลังจากที่ ศจ.เฮนรี โจนส์ (ฌอน คอนเนอรี่) พ่อของอินดี้ก็ได้ออกตามหาจอกแล้วก็หายไปก่อนหน้านี้ อินดี้จึงรีบดำเนินการสืบหาร่องรอยของพ่อทันที แล้วการผจญภัยครั้งใหม่ก็เริ่มขึ้นครับ มันนำพาเขาไปพบกับศัตรูดั้งเดิมอย่างพวกนาซีที่ต้องการจอกเช่นกันต่อมาเมื่อหนังภาค 2 ฉายไปและยังทำเงินอยู่ ทางจอร์จ ลูคัส ก็เริ่มมาคุยกับผู้กำกับ ถึงหนังภาค 3 ซึ่ง จอร์จ ลูคัส เสนอว่าอยากให้ภาค 3 มันเกี่ยวกับเรื่องของบ้านผีสิงอะไรทำนองนั้น แต่เผอิญช่วงนั้น ผู้กำกับ เพิ่งสร้าง Poltergeist ไปเมื่อปี 1982 และเขาก็ไม่อยากทำอะไรที่มันซ้ำซาก จอร์จ ลูคัส เลยคิดบทเกี่ยวกับเรื่องของจอกกาลิซขึ้นมาแทน แล้วผู้กำกับ ก็เสนอให้เป็นเรื่องเกี่ยวกับพ่อลูกตระกูลโจนส์ ซึ่งคนที่จะมาแสดงเป็นพ่อของอินดี้ คือ ฌอน คอนเนอรี่ เขาคือต้นตำรับแห่ง เจมส์ บอนด์ และนักแสดงอื่นๆ จาก 007 ในแต่ละภาค", "title": "ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 3 ตอน ศึกอภินิหารครูเสด" } ]
1316
ซาร์ด สังกัดอยู่ค่ายเพลงใด?
[ { "docid": "42702#0", "text": "ซาร์ด () เป็นกลุ่มนักร้องเจ-ป็อปที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534 ในสังกัดค่ายเพลง บี-แกรมเรคอร์ด เดิมประกอบด้วยสมาชิก 5 คน นำโดยนักร้องอิซุมิ ซะกะอิ ซึ่งเธอเป็นสมาชิกคนเดียวในกลุ่มที่ยังคงอยู่ในวงตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและเป็นผู้แต่งเพลงทั้งหมดให้กับวงซาร์ด รวมถึงวงอื่น ๆ ด้วย ในขณะที่สมาชิกอื่นเปลี่ยนตัวตลอดเวลา และหลังจากอัลบั้มโฮลด์มี (HOLD ME) ออกจำหน่าย สมาชิกทั้งหมดก็ออกจากวงไป ทำให้เมื่อกล่าวถึงซาร์ด ก็มักจะหมายถึงอิซุมิ ในขณะเดียวกันเมื่อกล่าวถึงอิซุมิ ก็สามารถหมายถึงซาร์ดได้เช่นกัน ซาร์ดมีเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอยู่หลายเพลง เช่น มะเกะไนเดะ () , ยุเระรุโอะโมะอิ () (พ.ศ. 2536) และ มายเฟรนด์ () (พ.ศ. 2539)", "title": "ซาร์ด" } ]
[ { "docid": "42702#13", "text": "ดีวีดีของซาร์ดออกในนามของค่ายบีวิชั่น ซึ่งเป็นค่ายในสังกัดบีอิ้งเช่นเดียวกับบี-แกรมเรคคอร์ด\nเพลงของซาร์ดมักถูกนำไปประกอบในรายการทีวีและโทรทัศน์ต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น อยู่บ่อยครั้ง ต่อไปนี้คือรายการซาวด์แทร็กที่นำเพลงของซาร์ดไปรวมอยู่ในอัลบั้มรวมเพลงของรายการนั้น ๆ ด้วย", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "42702#6", "text": "ซาร์ดเป็นนักแต่งคำร้องที่มีความสามารถสูง เธอเขียนเพลงรวม 150 เพลงตลอดเวลา 17 ปีที่อยู่ในวงการ ทั้งของตัวเองและของคนอื่น ยกเว้นเพลง อนนะเดะอิตะอิ () และ โคอิอนนะโนะยูยุทสุ () ของซาร์ดในอัลบั้มแรก กูด-บายมายโลนลีเนส (Good-bye My Loneliness) ซึ่งแต่งโดยดาริยะ คะวะชิมะ โดยเพลงที่เธอแต่งนั้นนอกจากจะทำเป็นซิงเกิลและอัลบั้มแล้ว ยังมีหนังสือจำนวนหนึ่งที่ออกมาเกี่ยวกับเพลงที่เธอแต่งด้วยเช่นกัน ในบทบรรณาธิการของ หนังสืออาซาฮีชิมบุนกล่าวว่า ความลับที่ทำให้ซาร์ดประสบความสำเร็จอันเนื่องมาจากกระแสที่รายการเพลงทาง โทรทัศน์เริ่มน้อยลงเรื่อย ๆ ซาร์ดกลับใช้ช่วงโฆษณาในช่วงดึกเพื่อโปรโมตผลงานแทน", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "42702#7", "text": "นอกจากซาร์ดจะแต่งเพลงสำหรับตัวเองแล้ว ซาร์ดยังแต่งเพลงสำหรับนักร้องเจป็อปอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน เช่น ฟิลออฟวิว วานด์ส ดีน รวมไปถึง เติ้ง ลี่จวิน นักร้องไต้หวันอีกด้วย ตัวอย่างของเพลงที่เธอแต่งและร้องร่วมกับนักร้องคนอื่น เช่น ซิงเกิล ฮาเตชินาอิยูเมะโวะ () ที่ซาร์ดร้องร่วมกับกลุ่มเจป็อปอื่น ๆ อาทิ วานด์ส ซิก เรฟ รวมไปถึงอดีตนักเบสบอลใน ตำนานของญี่ปุ่น ชิเกะโอะ นากาชิมะ เพลงที่ซาร์ดแต่งมักถูกนำไปใช้ประกอบการ์ตูนและรายการอื่น ๆ อยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นเพลงที่ซาร์ดร้องเองหรือไม่ก็ตาม เช่น ดราก้อนบอล GT ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ยอดกุ๊กแดนมังกร และสแลมดังก์ รวมถึงวิดีโอเกม โทคิเมคิเมโมเรียล 3 ตัวอย่างของเพลงในกลุ่มนี้คือเพลง ดังดัง โคะโคะโระฮิกะเระเตะกุ () ซึ่งใช้ในอะนิเมะเรื่องดราก้อนบอล GT ร้องโดยฟิลออฟวิว เป็นเพลงที่อิซุมิเป็นผู้แต่งคำร้องให้ ซึ่งซาร์ดนำมาร้องเป็นเวอร์ชันของตัวเองในอัลบั้ม ทูเดย์อีสอนาเธอร์เดย์ (Today Is Another Day)", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "42702#5", "text": "ใน พ.ศ. 2538 ซิงเกิล มายเฟรนด์ เป็นซิงเกิลที่สองของซาร์ดที่ทำยอดขายรวมได้มากกว่า 1 ล้านชุด โดยรวมแล้วตั้งแต่ซาร์ดเข้าวงการจนถึงปัจจุบัน ซาร์ดมีซิงเกิลทั้งสิ้น 11 ซิงเกิลที่ขึ้นถึงอันดับหนึ่งบนชาร์ตโอริคอน และสตูดิโออัลบั้มจำนวน 6 อัลบั้มที่ขึ้นถึงอันดับหนึ่ง นั่นคือตั้งแต่อัลบั้มยุเระรุโอะโมะอิ โอมายเลิฟ (Oh My Love) ซึ่งเป็นอัลบั้มอันดับหนึ่งลำดับที่ 500 ตั้งแต่มีการจัดอันดับชาร์ตโอริคอน จนถึงอัลบั้ม โทคิโนะสึบาสะ () ก่อนที่จะมาร่วงในอัลบั้มที่ 10 โทมัตเตอิตา โทเคอิกาอิมาอุโกคิดาชิตา () ซึ่งทำอันดับได้สูงสุดอันดับ 2", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "260085#1", "text": "สกาแล็กซี่ ประกอบไปด้วยสมาชิก 4 คน คือ ตั้ม - เอกจิต สรรเสริญ (ร้องนำ) เล็ก - ยศพล สิงห์สุวงศ์ (กีตาร์) อาร์ต - นราธิป งามสมพล (เบส) และมอส - สมชาย ป้อมคำ (กลอง) ในปี พ.ศ. 2543 เริ่มออกอัลบั้มเพลงแรกกับค่ายเพลงหัวลำโพงริดดิม ในชื่ออัลบั้ม \"\"Look\"\" ก่อนที่จะย้ายค่ายมาสังกัดกับค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ พร้อมกับผลงานเพลงอัลบั้มที่สองในชื่อ \"\"Ready to Drink\"\" หลังจากนั้น 2 ปี ก็มีผลงานอัลบั้มที่สามตามมาในชื่อ \"จิกซอว์\" (Jigsaw) และอัลบั้มที่สี่ \"Original\" ในปี พ.ศ. 2549", "title": "สกาแล็กซี่" }, { "docid": "42702#3", "text": "ซาร์ดทำยอดขายในสองซิงเกิลต่อมาได้ไม่ดีนัก จนมาถึงซิงเกิลที่สี่ เนะมุเรไนโยะรุโวะไดเตะ () ที่แนวเพลงเริ่มแตกต่างจากสามซิงเกิลแรก เนื่องจากการที่เพลงนี้เป็นเพลงแนวร็อก ทำให้เพลงเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น ในมิวสิกวีดิโอภาพ ที่เดิมดูมืดในมิวสิกวิดีโอก่อน ๆ ก็เริ่มสว่างมากขึ้น เพลงนี้ทำยอดขายไปได้ประมาณ 440,000 ชุด และทำให้ซาร์ดปรากฏตัวทางโทรทัศน์หลายครั้ง ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งของการปรากฏตัวทางโทรทัศน์อย่างเป็นทางการของซาร์ด ล้วนมีการร้องเพลงนี้ทั้งสิ้น ในการปรากฏตัวครั้งหนึ่ง คะซุโยะชิ โมริตะ (เรียกสั้น ๆ ว่า \"ทาโมริ\") พิธีกรรายการมิวสิกสเตชัน ซึ่งเป็นรายการร้องเพลงสดทางโทรทัศน์ของนักร้องในประเทศญี่ปุ่น ได้ถามซะกะอิว่าเหตุใดจึงใช้เวลานานกว่าจะได้มาปรากฏตัวในรายการ เธอตอบว่าเพื่อให้ยอดขายอัลบั้มประสบผลสำเร็จ เธอจึงไม่อยากมาปรากฏตัวเพื่อโปรโมตเพลงของเธอก่อนกำหนดวางขายซิงเกิลของ ซาร์ด", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "42702#12", "text": "พิธีศพของซาร์ดสำหรับแฟนเพลงถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2550 หนึ่งเดือนหลังจากเธอเสียชีวิต ที่ย่านอาโอยาม่า เขตมินะโตะ กรุงโตเกียว โดยก่อนหน้านั้นหนึ่งวันมีการจัดพิธีไว้อาลับที่จัดสำหรับบุคคลในวงการ อาทิเช่น เท็ตสึโระ โอดะและมากิ โอกุโระ ซึ่งในวันเดียวกัน ทัค มะสึโมโตะ และ โคชิ อินาบะ แห่งวงบีซ ไม คุรากิและชิเกโอะ นากาชิมะ ได้ร่วมกล่าวไว้อาลับให้กับซาร์ดด้วย นอกจากนี้ยังมีการออกอัลบั้มรวมเพลง 2 อัลบั้ม แบ่งเป็นเพลงที่อิซุมิชอบ 1 อัลบั้มและของสตาฟผู้ผลิตเพลงของเธออีก 1 อัลบั้มเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม รวมถึงยังมีการเปิดให้แฟนเพลงร่วมโหวดเพลงที่จะนำไปรวมเป็นอัลบั้มตามคำขอ ของแฟนเพลงอีกด้วย รวมถึงในปีนั้นยังมีการจัดคอนเสิร์ตที่ชื่อ \"ว็อทอะบิวตีฟูลเมโมรี\" (What a Beautiful Memory) เมื่อวันที่ 6, 7 กันยายน ที่โอซากะเฟสติวัลฮอลล์ และวันที่ 14 กันยายน ที่ นิปปอน บูโดกัง โดยเหตุที่เลือกสองสถานที่นี้มาจากการที่ซาร์ดเคยจัดคอนเสิร์ตว็อทอะบิวตีฟูลโมเมนต์ เมื่อ พ.ศ. 2547 โดยเลือกสถานที่ทั้งสองเป็นสถานที่แรกและสถานที่สุดท้ายตามลำดับ สำหรับคอนเสิร์ตในวันที่ 14 นั้นมีผู้เข้าชมกว่า 13,000 คน มีการฉายภาพที่ไม่เคยออกอากาศทางพีวีมาก่อน แต่ไฮไลต์สำคัญคือเพลง กลอเรียสมานด์ () ที่ถูกนำมาเล่นในงาน ซึ่งเป็นเพลงที่เธอแต่งก่อนที่จะเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการมะเร็งปากมดลูกเมื่อ พ.ศ. 2549 เพลงนี้แท้จริงแล้วเป็นเพลงที่ยังไม่สมบูรณ์เนื่องจากอิซุมิบันทึกเสียงไว้เฉพาะท่อนคอรัส แต่ท่อนอื่นไม่ได้บันทึกเสียงไว้ เพลงท่อนอื่นที่เป็นภาษาอังกฤษจึงเกิดจากการนำเพลงที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ที่ไม่ได้ออกวางขายของซาร์ดมาใส่แทน โดยเพลงนี้ถูกใช้เป็นเพลงเปิดของอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "42702#8", "text": "ซาร์ดเป็นที่รู้จักเพราะความที่เป็นนักร้องที่ลึกลับคนหนึ่ง เนื่องจากต้นสังกัดของเธอไม่ได้เปิดเผยรายละเอียดที่เกี่ยวกับเธอมากนัก และการที่เธอไม่ปรากฏตัวทางโทรทัศน์หรือปรากฏตัวต่อสาธารณชนมากนัก ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 อาทิ การปรากฏตัวผ่านทางรายการเพลง ซึ่งเป็นวิธีทำตลาดในวงการเพลงญี่ปุ่น เช่น รายการมิวสิกสเตชันของทีวีอาซาฮี แต่ซาร์ดปรากฏตัวต่อสาธารณชนในรูปของการออกแสดงคอนเสิร์ตรวมทั้งสิ้น 2 ครั้งแทน ครั้งแรกจัดขึ้นบนเรือสำราญแปซิฟิกวีนัสในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2542 โดยมีการคัดเลือกผู้เข้าชมเพียง 600 คนจากผู้สมัครกว่า 2 ล้านคน ดีวีดีของการแสดงครั้งนี้วางจำหน่ายจำนวนจำกัดเพียง 300,000 ชุดในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2543 และคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบ ว็อทอะบิวตีฟูลโมเมนต์ (What a Beautiful Moment) ในช่วงเดือนมีนาคมถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งเมื่อมีคอนเสิร์ตนี้ขึ้น ซิงเกิลของเพลงที่เธอใช้ในคอนเสิร์ตก็ขายหมดเกลี้ยงเกือบทุกซิงเกิล", "title": "ซาร์ด" }, { "docid": "348801#5", "text": "ในชุดที่ 1-2 ยังไม่มีตั้ม สมประสงค์ แต่ตั้ม เข้าร่วมวง ในชุดที่ 3 ของวง THE SAINT เดอะ เซ้นท์\nสมาชิก\nนำวงษ์ หงษ์วิไล -ร้องนำ\nสมมาตร สิงห์ศิริ -กีต้าร์\nนพดล ศิริณรงค์ -กีต้าร์\nปราโมทย์ ศุทธาเวศ -เบส\nทรงวุฒิ กิจพจน์ -คีย์บอร์ด\nจิรศักดิ์ นาคทับ -แซกโซโฟน\nแสงเทียน ไกรสำราญ -ทรัมเป็ต\nมานิต รุ่งเรืองจิต -กลอง\nโอฬาร คำประสิทธิ์ -กลอง\n\"เดอะ เซ้นท์ ชุด เพลงรักนักบุญ (พ.ศ. 2525) (ค่ายนิธิทัศน์-ออนป้า)\n\"เดอะ เซ้นท์ ชุด เรียนเป็นหลัก (พ.ศ. 2526)\n\"เดอะ เซ้นท์ ชุด ภาพบาดตา (พ.ศ. 2527)\nสมาชิกในชุดนี้\nนำวงษ์ หงษ์วิไล -ร้องนำ\nสมมาตร สิงห์ศิริ -กีต้าร์\nนพดล ศิริณรงค์ -กีต้าร์\nปราโมทย์ ศุทธาเวศ -เบส\nทรงวุฒิ กิจพจน์ -คีย์บอร์ด\nจิรศักดิ์ นาคทับ -แซกโซโฟน\nแสงเทียน ไกรสำราญ -ทรัมเป็ต\nมานิต รุ่งเรืองจิต -กลอง\nโอฬาร คำประสิทธิ์ -กลอง\nประเสริฐ เนตรายน -ทรัมเป็ต \nสมประสงค์ สิงหวนวัฒน์ -ร้องนำ\n\"รวมศิลปินออนป้า+เสียงทอง ชุด เพลงรักคู่โลก (พ.ศ. 2527)\n\"18 กะรัต ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2527)\nเพลง \"ใครเจ๋งกว่ากัน\"\nเพลง \"ไว้รอวันนั้น\" (ร้องคู่กับ แหม่ม - พัชรี จันทร์สว่าง\n\"18 กะรัต ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2528)\nเพลง \"หนีไม่พ้น\" (ตั้ม & แหม่ม)\n\"18 กะรัต ชุดที่ 3 (พ.ศ. 2529)\nเพลง \"ใจประสานใจ\" (รวมศิลปิน)\nเพลง \"ไปละเพื่อน\" (ตั้ม , สายชล & จิ๊บ - จิรนุช กาญจนเรขา)\nเพลง \"ซีดไปตามกัน\" (ตั้ม , สุเทพ ประยูรพิทักษ์ , กำธร ศรวิจิตร & แมว - สุชาดา)\nเพลง \"ท่าดีทีเหลว\" (ตั้ม & แหม่ม)\n\"ตั้ม+สุนิตย์ ชุด ล้อมใจด้วยรัก (พ.ศ. 2529)\n\"ตั้ม ชุด แหวกฟ้า คว้าดาว (พ.ศ. 2531) (ค่ายแกรมมี่)\n\"ตั้ม ชุด ผู้ชายธนู (พ.ศ. 2533)", "title": "สมประสงค์ สิงหวนวัฒน์" } ]
3742
ธรณีแปรสัณฐานพบในลักษณะเทือกเขาสูงชัน บ้างก็เป็นที่ราบกินอาณาบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล ใช่หรือไม่
[ { "docid": "361309#0", "text": "ธรณีแปรสัณฐาน (English: Geotectonic) เป็นการศึกษาด้านธรณีแปรสัณฐาน ที่นักธรณีวิทยาตั้งข้อสงสัยไว้หลายร้อยปีมาแล้วถึงลักษณะของพื้นผิวโลกที่มีลักษณะธรณีสัณฐานที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ บ้างก็เป็นลักษณะเทือกเขาสูงชัน บ้างก็เป็นที่ราบกินอาณาบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล หรือ ที่ราบในบางแห่งก็เป็นที่ราบไหล่ทวีปใกล้ชายฝั่งทะเล บ้างก็พบเกาะกลางมหาสมุทร รวมถึงร่องลึกกลางมหาสมุทร โดยในช่วงประมาณ ค.ศ. 1960 เมื่อ B.C. Heezen, H.H. Hess และ R.S. Dietz ได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร (Seafloor Spreading) กล่าวถึงการแยกตัวที่พื้นมหาสมุทรออกจากกันเป็นแนวยาวโดยมีแมกมาจากใต้ชั้นเปลือกโลกแทรกขึ้นมาเย็นตัวและแข็งตัว เกิดเป็นพื้นมหาสมุทรใหม่แล้วก็แยกจากกันออกไปอีกเรื่อยๆ นอกจากนั้นยังมีการพูดถึงการหดตัวของโลกอันเนื่องมาจากการสูญเสียพลังงานความร้อนทำให้การหดตัวเกิดขึ้นไม่เท่ากันในแต่ละบริเวณ บริเวณที่มีการหดตัวมากอาจเป็นเป็นร่องลึก อยู่ต่ำลงไป แต่บริเวณที่มีการหดตัวน้อยก็อาจเห็นเป็นเทือกเขาสูงได้เนื่องจากบริเวณโดยรอบมีการหดตัวที่มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถอธิบายถึงแนวร่องหุบเขาที่เกิดขึ้นได้ นักธรณีวิทยายังคงศึกษาถึงเหตุการณ์ต่างๆอย่างต่อเนื่อง เช่น สนามแม่เหล็กโลกโบราณ ซากดึกดำบรรพ์ต่างๆที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก ทำให้ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงทฤษฎีอยู่ 2 ทฤษฎี ที่จะมาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ได้แก่", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" } ]
[ { "docid": "361309#5", "text": "เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกออกจากกัน ที่บริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (Divergent Boundaries) หินหนืดร้อน (Hot Magma) จากชั้นแมนเทิลจะแทรกตัวขึ้นมาตามช่องว่างตามแนวรอยแตก เมื่อหินหนืดเย็นตัวก็จะกลายเป็นแผ่นเปลือกโลกใหม่ การแทรกตัวขึ้นมาของหินหนืดจะทำให้แนวแยกตัวนั้นสูงขึ้นกลายเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid-Ocean Ridges) แสดงถึงขอบของแผ่นเปลือกโลกในมหาสมุทร เปลือกโลกใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นอย่างต่อเนื่องมีอัตราเร็วในการเกิดประมาณ 20 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อปี", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "128399#2", "text": "สภาพพื้นที่ทั่ว ๆ ไปเป็นภูเขาสูงชันและป่าทึบ มีที่ราบระหว่างภูเขาบ้างเล็กน้อย ลักษณะดินมีความอุดมสมบูรณ์ สภาพพื้นที่เป็นเทือกเขามีเทือกเขาที่สำคัญ ได้แก่", "title": "อำเภอสุคิริน" }, { "docid": "961850#4", "text": "พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า อยู่ในเขตรอยต่อระหว่างบริเวณเขตเทือกเขาภาคตะวันตกกับบริเวณขอบที่ราบภาคกลาง สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อน แนวเขาวางตัวในทิศเหนือ-ใต้ เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัย ที่ราบอยู่ทางตอนกลางพื้นที่ ซึ่งมีลักษณะเป็นอ่างกะทะขนาดเล็ก จำนวน 2 แอ่ง พื้นที่ 2,000-5,000 ไร่ แนวเทือกเขาที่สำคัญได้แก่ เขาเย็น เขาสน เขาเต่าดำ เขาขนุน เขาขาแล้ง เขาอีโละโคะ เขาวังเจ้า เขาปั๋งใหญ่ ดอยลวก และเขาวุ๊งกะสัง เป็นต้น ความสูงของพื้นที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 200-1,898 เมตรโดยมียอดเขาเย็นที่อยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่สูงที่สุด พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ลุ่มน้ำปิง ประกอบด้วย 2 ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำคลองวังเจ้า ประกอบด้วย คลองแม่ยะมา คลองวังเจ้า คลองขุนหมาก คลองแขยง และลุ่มน้ำคลองสวนหมาก ประกอบด้วย คลองไพร คลองวุ๊งกะสัง คลองพลู คลองอีหมี คลองส้มโอ คลองปั๋งใหญ่ คลองสวนหมาก คลองเต่าดำ คลองผู้ใหญ่เลา คลองนายปู คลองขาแข้ง คลองจำปา คลองตะเนาะ และคลองปางขบ เป็นต้น", "title": "อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า" }, { "docid": "361732#7", "text": "เราสามารถแบ่งแดนเทือกเขาออกเป็นเขตต่างๆ ตามลักษณะ โครงสร้าง วิทยาหิน และระดับการแปรสภาพของหิน โดยเขตตามประเภทเหล่านี้อาจเป็นบริเวณเดียวกันหรือซ้อนทับกันเป็นบางส่วน ดังนั้นการเรียกชื่ออย่างถูกต้องจะช่วยให้นักธรณีวิทยาเกิดความเข้าใจที่ตรงกันได้ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นแดนเทือกเขาที่เกิดจากการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรกล่าวโดยสรุปแล้วภูเขาหรือเทือกเขาเป็นผลจากกระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกับธรณีแปรสัณฐาน (plate tectonic) แบบการเคลื่อนที่เข้าปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก (plate convergence) ได้แก่ การชนกันของแผ่นทวีป (continental collision) และการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก (subduction) ซี่งโดยทั่วไปแล้วมักเป็นการมุดตัวของแผ่นมหาสมุทรลงใต้แผ่นเปลือกโลกเนื่องจากแผ่นมหาสมุทรมีความหนาแน่นมากกว่าจึงจมลงด้านล่างได้ง่ายกว่า การสร้างภูเขาประกอบด้วยกระบวนการทางธรณีวิทยาย่อยๆ อีกเช่น การเปลี่ยนลักษณะ (deformation) การเกิดหินแปร (metamorphism) การยกตัวของแผ่นเปลือกโลก (uplift) และการเกิดแผ่นดินไหว (seismic activity) เป็นต้น", "title": "การก่อเทือกเขา" }, { "docid": "17500#5", "text": "3. บริเวณขอบที่ราบ (marginal plain) ได้แก่ ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นที่ราบแคบ ๆ บางบริเวณทางด้านตะวันตกของจังหวัดอุทัยธานี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม และบางบริเวณทางด้านตะวันออกของจังหวัดสระบุรีและลพบุรี ซึ่งลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวมีความแตกต่างจากที่ลุ่มแม่น้ำในทางธรณีสัณฐานวิทยา ทั้งนี้เพราะหินที่สึกกร่อนกลายเป็นดินรวมทั้งน้ำเป็นตัวการทำให้เศษดิน เศษหิน เหล่านี้มาทับถมในบริเวณเชิงเขา และส่วนที่ต่อแนวของที่ราบลุ่มแม่น้ำเมื่อเปรียบเทียบลักษณะการเกิดพบว่าต่างกัน บริเวณทางด้านตะวันตกของจังหวัดลพบุรี โดยเฉพาะในเขตอำเภอโคกสำโรง เป็นที่ราบสลับลูกเนินเตี้ย ๆ ซึ่งบริเวณนี้สึกกร่อนมาจากหินปูน (ชุดราชบุรี) หินชนวน และหินดินดาน ทำให้ดินมีสีเทาเข้มถึงดำ นอกจากนี้ในบางบริเวณยังมีหินอัคนีแทรกขึ้นมาเป็นหย่อม ๆ มีหินบะซอลต์และหินแอนดีไซต์ปนอยู่ด้วย บางแห่งมีแร่เหล็ก เช่น ที่เขาทับควาย อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี พื้นที่บริเวณขอบที่ราบทั้ง 2 ด้าน ปัจจุบันเป็นแหล่งที่มีความสำคัญในการปลุกพืช เช่น ข้าวโพด อ้อย ข้าวฟ่าง มันสำปะหลัง และอื่น ๆ กลายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ", "title": "ภาคกลาง (ประเทศไทย)" }, { "docid": "37514#0", "text": "ธรณีสัณฐาน หมายถึง แบบรูป หรือลักษณะของเปลือกโลก ที่มีรูปพรรณสัณฐานต่าง ๆ กัน เช่น เป็นภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ และอื่น ๆ การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศเรียกว่า ธรณีสัณฐานวิทยาส่วนผู้ที่ทำหน้าที่ในการศึกษาธรณีสัณฐาน รวมถึงผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้เรียกว่า นักธรณีวิทยา", "title": "ธรณีสัณฐาน" }, { "docid": "813027#0", "text": "ลาดตีนทวีป () เป็นบริเวณที่ต่อเนื่องจากลาดทวีปไปจนถึงพื้นท้องสมุทร (seabed) มีลักษณะเป็นที่ราบเรียบและอาจมีความชันเล็กน้อย และอาจมีบางส่วนลึกหรือเป็นที่สูงต่ำ เกิดจากการตกทับถมของตะกอนต่าง ๆ ที่พัดพามากับกระแสน้ำ บ้างปรากฏเป็นเขาก้นสมุทร (abyssal hill) ไม่สูงมาก พบได้ทั่วไป บางส่วนของลาดตีนทวีปนั้นก็มีความราบเรียบเท่ากันกับพื้นท้องมหาสมุทรที่เป็นพื้นที่ของมหาสมุทรนั้นมีลักษณะภูมิประเทศหลากหลายอันได้แก่ สันเขา ที่ราบสูง แอ่ง ภูเขา เช่น เทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทอดยาวจากไอซ์แลนด์ลงมาเกือบถึงทวีปแอนตาร์กติก มีบางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ำทะเลกลายเป็นเกาะ เช่น หมู่เกาะอะโซร์สหรือหมู่เกาะฮาวาย ลักษณะภูมิประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ภูเขาใต้ทะเล พบที่พื้นท้องมหาสมุทร บางลูกมียอดตัด เรียกว่า เขายอดราบใต้สมุทร (guyout) พบมากบริเวณตอนกลางและด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างหมู่เกาะมาเรียนากับหมู่เกาะฮาวาย สำหรับยอดเขายอดราบใต้สมุทรนั้นมักอยู่ที่ระดับน้ำลึก 1,200–1,800 เมตร", "title": "ลาดตีนทวีป" }, { "docid": "360734#0", "text": "หุบเขาทรุด () เป็นพื้นที่ราบต่ำลักษณะเป็นเส้นยาว ขนาบข้างด้วยพื้นที่ราบสูง หรือแนวเทือกเขา เกิดขึ้นจาก แผ่นเปลือกโลกขยายตัวอันเนื่องจากแรงดึงทางกระบวนการธรณีแปลสัณฐาน ส่งผลให้เกิดรอบแตกที่ผิวเปลือกโลก จนกระทั่งแรงดึงมีปริมาณมากพอ แผ่นเปลือกโลกจะแยกตัวออกจากกัน ส่วนที่อยู่ตรงกลางจะยุบตัวลง เกิดเป็น “กราเบน” มีลักษณะเป็นที่ราบต่ำขนาบข้างด้วยหน้าผามุมสูง หากกการขยายตัวของแผ่นเปลือกโลกยังมีต่อไป ที่ราบต่ำนี้จะมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยบล็อกที่สูงด้านข้างแตกออกแล้วยุบตัวลง ต่อเนื่องกลายเป็นแอ่งขนาดใหญ่ การเกิดหุบเขาทรุดเกิดได้ทั้งบนแผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร", "title": "หุบเขาทรุด" }, { "docid": "361309#8", "text": "แรงดันจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรทำให้แผ่นเปลือกภาคพื้นทวีปที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าที่เคลื่อนที่ต้านแรงดังกล่าวเกิดการโก่งตัวเกิดเป็นแนวเทือกเขาขนาดใหญ่ (Mountain Ranges) เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาร๊อกกี้", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "7488#38", "text": "ลักษณะภูมิประเทศ \nลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดเป็นที่ลุ่ม มีเนินเขาเตี้ย ๆ ทอดยาวไปจรดกับจังหวัดอุบล ฯ ในเขตอำเภอชานุมาน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ประมาณ ๖๘ เมตร ลักษณะของดิน เป็นดินร่วนปนทราย มีดินลูกรังอยู่บางส่วน สามารถแบ่งลักษณะภูมิประะเทศออกได้เป็นสองบริเวณคือ \nบริเวณที่ราบสูง ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบสูง บางส่วนเป็นลูกคลื่น ลอนตื้น หรือเนินเขาเตี้ย ๆ อยู่ในเขตอำเภอชานุมาน และอำเภอเสนางคนิคม \nบริเวณที่ราบ ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบถึงลูกคลื่นลอนตื้น เป็นแนวยาวตามทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตกอยู่ในเขตอำเภอเมือง ฯ อำเภอพนา อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอหัวตะพาน และอำเภอลืออำนาจ \nเทือกเขา ได้แก่ เทือกเขาภูพาน เป็นเทือกเขาที่ทอดผ่านหลายจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในส่วนที่อยู่ในเขตจังหวัดอำนาจเจริญ จะอยู่ในเขตอำเภอเสนางคนิคม มีลักษณะเป็นเทือกเขาที่สูงไม่มากนัก เป็นเนินเขาเตี้ยๆ \nลักษณะภูมิสัณฐาน แบ่งออกได้เป็นสี่บริเวณด้วยกันคือ \nบริเวณที่เป็นสันดินริมแม่น้ำ เกิดจากตะกอนลำน้ำที่พัดมาทับถม สภาพพื้นที่เป็นเนินสันดิน พบบริเวณสันดินริมฝั่งแม่น้ำโขงในเขตอำเภอชานุมาน และบริเวณสันดินริมฝั่งลำน้ำเซบาย ในเขตอำเภอหัวตะพาน \nบริเวณที่เป็นแอ่ง หรือที่ราบหลังแม่น้ำ เกิดจากการกระทำของขบวนการน้ำ พบบางแห่งเป็นบริเวณลำเซบายของอำเภอหัวตะพาน จะมีน้ำแช่ขังนานในฤดูฝน \nบริเวณที่เป็นแบบลานตะพักน้ำ เกิดจากการกระทำของขบวนการน้ำมานานแล้ว ประกอบด้วยบริเวณที่เป็นลานตะพักลำน้ำระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง \nลักษณะพื้นที่มีทั้งเป็นแบบที่ราบแบบลูกคลื่นลอนลาด จนถึงลูกคลื่นลอนชัน จะอยู่ถัดจากบริเวณที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึงขึ้นมา พบได้ในพื้นที่ทั่วไปของจังหวัด บางแห่งใช้สำหรับทำนา บางแห่งใช้สำหรับปลูกพืชไร่ \nทรัพยากรน้ำพระมงคลมิ่งเมืองเป็นพระประธานของภาพ แสงฉัพพรรณรังสี เปล่งรัศมีโดยรอบพระเศรียรซ้ายขวามีต้นไม้อยู่สองข้าง ถัดไปเป็นกลุ่มเมฆ ด้านล่างเป็นแถบป้ายชื่อจังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ใช้อักษรย่อว่า อจ.ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดเป็นคนท้องถิ่นเชื้อสายไทย - ลาว และมีคนกลุ่มอื่นที่มีหลายเชื้อสาย และภาษาพูดต่างออกไปได้แก่ ชาวภูไท พบในเขตอำเภอชานุมาน และอำเภอเสนางคนิคม ส่วยและข่า พบในอำเภอชานุมาน\nในชุมชนที่มีการค้าขายหรือในเขตเมือง จะมีคนไทยเชื้อสายจีนและญวนปะปนอยู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย \nประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดนับถือพระพุทธศาสนา ร้อยละ ๙๗.๕๐ มีวัดในพระพุทธศาสนาอยู่ ๒๖๖ แห่ง นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ ๒.๓๐ และนับถือศาสนาอิสลามน้อยมาก", "title": "จังหวัดอำนาจเจริญ" }, { "docid": "240735#0", "text": "เทือกเขากลางสมุทร () คือแนวเทือกเขาใต้ทะเลโดยจะมีแนวร่องหุบที่รู้จักกันในนามของร่องแยก (rift) ที่สันของแนวเทือกเขาซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน รูปแบบของเทือกเขากลางสมุทรนี้เป็นลักษณะที่รู้จักกันว่าเป็นแนว “ศูนย์กลางของการแยกแผ่ขยายออก” ซึ่งเป็นการแผ่ขยายออกของแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทร การยกตัวของพื้นมหาสมุทรเป็นผลเนื่องมาจากกระแสการพาความร้อน (convection currents) ซึ่งเป็นการดันตัวขึ้นมาของหินหนืดจากชั้นฐานธรณีภาคตามแนวที่อ่อนตัวของพื้นมหาสมุทรโดยการปะทุขึ้นมาในรูปของลาวา เกิดเป็นเปลือกโลกใหม่เมื่อเย็นตัวลง เทือกเขากลางสมุทรเป็นแนวขอบเขตรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกทางเทคโทนิกสองแผ่นและถือกันว่าเป็นแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว", "title": "เทือกเขากลางสมุทร" }, { "docid": "361309#7", "text": "เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่มีการเย็นตัวเป็นเวลากว่าสิบล้านปี ความหนาแน่นก็จะค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นจนมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นหินหนืดที่อยู่ด้านล่าง จากนั้นจึงมุดตัวลงไปใต้โลกเรียกว่า Subduction การมุดตัวนี้จะเกิดขึ้นในบริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (Convergent Plate Boundaries) ซึ่งแผ่นเปลือกโลกทั้งสองแผ่นมีการเคลื่อนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะเข้าชนและมุดตัวใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปที่ความหนาแน่นน้อยกว่า เมื่อแผ่นเปลือกโลกมุดตัวลงไปในโลก จะเกิดการบีบอัดและหลอมเป็นบางส่วน (Partially Melting) เนื่องจากอุณหภูมิและความดันที่สูงขึ้น ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟ ขึ้นเหนือบริเวณที่มีการมุดตัว โดยการเคลื่อนที่แบบ Convergence จะทำให้เกิดลักษณะธรณีสัณฐาน 3 แบบได้แก่", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "263737#0", "text": "ที่ราบพันโนเนีย () เป็นที่ราบในยุโรปกลางที่เกิดขึ้นเมื่อทะเลพันโนเนียในสมัยไพลโอซีนเหือดแห้งลง ที่ราบแพนโนเนียเป็นธรณีสัณฐานที่เปลี่ยนแปลงของระบบเทือกเขาแอลป์-หิมาลัย (Alpide belt) โดยมีแม่น้ำดานูบแบ่งที่ราบออกเป็นสองส่วน ที่ราบส่วนใหญ่ประกอบด้วยที่ราบฮังการีใหญ่ (Great Hungarian Plain) ทางตอนใต้และทางตะวันออก และที่ราบฮังการีน้อย (Little Hungarian Plain) ทางตะวันตกเฉียงเหนือ", "title": "ที่ราบพันโนเนีย" }, { "docid": "17500#1", "text": "ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยที่ราบซึ่งเกิดจากการที่แม่น้ำพัดพาเอาเศษหิน เศษดิน กรวดทราย และตะกอนมาทับถมพอกพูนมานับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี บริเวณที่ราบของภาคนี้กินอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของจังหวัดอุตรดิตถ์ลงไปจนจรดอ่าวไทย นับเป็นพื้นที่ราบที่มีขนาดกว้างใหญ่กว่าภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศ อย่างไรก็ตามบางบริเวณของภาคกลาง มีภูเขาโดด ๆ ทางจังหวัดนครสวรรค์และด้านตะวันตกของจังหวัดพิษณุโลก จากหลักฐานทางธรณีวิทยา สันนิษฐานว่าภูเขาโดดเหล่านี้เดิมเคยเป็นเกาะ เพราะน้ำทะเลท่วมขึ้นไปถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ในหลายยุค พื้นดินยกตัวสูงขึ้น รวมทั้งการกระทำของแม่น้ำหลาย ๆ สายซึ่งมีการกัดเซาะสึกกร่อนและการทับถมพอกพูน ทำให้บริเวณดังกล่าวเป็นที่ราบอันกว้างใหญ่ของประเทศ", "title": "ภาคกลาง (ประเทศไทย)" }, { "docid": "375571#1", "text": "สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกของพื้นที่เป็นภูเขาสูงชัน ทางตอนกลางถึงตอนใต้ของพื้นที่เป็นเทือกเขาสูง โดยบริเวณยอดเขาจะเป็นพื้นที่ราบกว้างใหญ่ ซึ่งมีต้นสนเขาขนาดใหญ่ขึ้นกระจายอยู่ทั่วไป ทำให้มีทิวทัศน์ที่สวยงาม ส่วนทางทิศตะวันตกของพื้นที่เป็นภูเขาหินปูน ความสูงประมาณ 300-400 เมตรจากระดับน้ำทะเล ประกอบด้วยดอยผาจี่ ดอนผาขัดห้าง ดอยปูโมะ และดอยแปรหลวง โดยมีดอยผาจี่ เป็นดอยที่สูงที่สุด สูงประมาณ 1,027 เมตรจากระดับน้ำทะเล เป็นต้นกำเนิดของลำห้วยที่สำคัญได้แก่ ห้วยแม่วะ ห้วยแม่แสลม ห้วยแม่สลิด ซึ่งห้วยเหล่านี้จะไหลลงแม่น้ำปิง แม่น้ำวัง และแม่น้ำยม", "title": "อุทยานแห่งชาติแม่วะ" }, { "docid": "361309#6", "text": "มีลักษณะเป็นแนวเทือกเขาเตี้ยวางตัวทอดยาวไปบนพื้นมหาสมุทรคล้ายกับเทือกเขาบนทวีป เทือกเขากลางสมุทรที่สำคัญได้แก่ Mid-Atlantic Ridge และ East Pacific Rise เป็นต้น กลางเทือกเขามีลักษณะพิเศษคือมีร่องลึกอันเกิดจากรอยเลื่อนทอดตัวตลอดความยาวของเทือกเขา โดยมีลักษณะคล้ายคลึงกับร่องหุบเขาที่ปรากฏอยู่บนแผ่นดินหลายแห่ง เช่น ร่องหุบเขาทางด้านตะวันออกของทวีปแอฟริกา หรือร่องหุบเขาบริเวณแม่น้ำไรน์ในยุโรป เป็นต้น บนเทือกเขากลางสมุทรมีการยกตัวขึ้นมาของหินหลอมละลายที่ลึกลงไปในชั้นเนื้อโลกทำให้เกิดเป็นหินอัคนีพุจำพวก Basalt และ Ultramafic หินอัคนีพุเหล่านี้แสดงหลักฐานเป็นแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกซึ่งเกิดขึ้นขณะที่หินหลอมละลายกำลังเย็นตัว แถบบันทึกนี้แสดงให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กโลกได้เกิดการกลับขั้วไปมาตลอดเวลา นอกจากนี้ยังพบว่าแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกนี้ปรากฏอยู่บนหินที่ประกอบเป็นพื้นมหาสมุทรทั้งสองฟากของเทือกเขากลางสมุทรด้วย และพบว่ายิ่งห่างออกไปจากแนวกลางของเทือกเขาชุดหินจะมีอายุแก่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นจึงอธิบายได้ว่าหินเหล่านี้เกิดขึ้นก่อนที่กลางเทือกเขาแล้วค่อยเคลื่อนที่ออกจากกันเรื่อย ๆ ตามกาลเวลา จากการคำนวณการเคลื่อนที่ทำให้กำหนดความเร็วของการแยกตัวได้ว่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 15 เซนติเมตรต่อปี ดังนั้นเราสามารถระบุขอบของแผ่นเปลือกโลกในส่วนที่กำลังแยกตัวออกจากกันจากบริเวณเทือกเขากลางสมุทรได้", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "297839#4", "text": "ชะวากทะเลสามารถจำแนกโดยอาศัยลักษณะทางธรณีสัณฐาน ออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้\nชะวากทะเลชนิดนี้ส่วนมากจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 6,000 ถึง 15,000 ปีที่ผ่านมา หรือในช่วงปลายของ Wisconsin glaciation (เป็นช่วงเวลาที่ระดับน้ำทะเลทั่วโลกเพิ่มขี้นประมาณ 100 ถึง 130 เมตร) เมื่อระดับน้ำทะเลลดลงจึงได้มีการเกิดลักษณะชะวากทะเลเช่นนี้ขึ้น นอกจากนี้แล้วการทรุดตัวของบริเวณชายฝั่งยังช่วยให้เกิดชะวากทะเลแบบร่องน้ำจมตัวได้อีกด้วย โดยลักษณะเช่นนี้มักเกิดขึ้นในที่ราบต่ำ ขนาดกว้าง มีความลึกไม่มากนัก มักพบได้ตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก สหรัฐอเมริกา ตัวอย่างเช่น Chesapeake Bay, Delaware Bay, Galveston Bay และ Tampa Bay\nชะวากทะเลชนิดนี้จะได้รับอิทธิพลของน้ำทะเลน้อยมาก เนื่องจากในบริเวณนั้นมีเกาะสันดอน (Barrier islands) หรือจะงอยทราย (Sand spit) เป็นตัวกั้นอิทธิพลจากน้ำทะเลเอาไว้ จะมีช่องแคบๆเท่านั้นที่ติดต่อกับน้ำทะเล โดยมากมักจะพัฒนาอยู่บนบริเวณชายฝั่งที่มีความมั่นคงทางธรณีแปรสัณฐานสูง และมีการสะสมตัวของตะกอนตามแนวชายฝั่ง แต่จะต้องมีอัตราของน้ำขึ้นน้ำลงไม่เกิน 4 เมตร และเกาะสันดอนที่เกิดร่วมกันนั้นมักจะเกิดขึ้นในบริเวณทะเลน้ำตื้นคือลึกไม่เกิน 5 ถึง 10 เมตร และมีกระแสที่มากระทำขนานกับแนวชายหาด โดยมากจะพบตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก สหรัฐอเมริกา ตัวอย่างเช่น Barnegat Bay นิวเจอร์ซีย์, Laguna Madre เทกซัส และ Pamlico Sound นอร์ทแคโรไลนา\nชะวากทะเลชนิดนี้เกิดขึ้นในบริเวณที่เป็นร่องลึกเนื่องจากการกัดเชาะของธารน้ำแข็ง ร่องลึกดังกล่าวมีลักษณะเป็นรูปตัวยู บริเวณตื้นของชะวากทะเลชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นปากอ่าว และมักจะได้รับผลจากการไหลเวียนของกระแสน้ำขึ้นน้ำลงจากน้ำลึกไปยังน้ำตื้นบริเวณชะวากทะเล พบได้ตามแนวชายฝั่งของอะแลสกา ตะวันออกของแคนาดา กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์\nชะวากทะเลชนิดนี้เกิดจากการทรุดตัว หรือแผ่นดินถูกตัดจากทะเลโดยการเคลื่อนที่ของแผ่นดินที่เกี่ยวข้องกับรอยเลื่อน ภูเขาไฟ และแผ่นดินถล่ม น้ำท่วมจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้นในยุคโฮโลซีนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสร้างชะวากทะเล ตัวอย่างเช่น อ่าวแซนแฟรนซิสโกที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนแซนแอนเดรอัส", "title": "ชะวากทะเล" }, { "docid": "361309#11", "text": "แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกันในบริเวณแนวรอยเลื่อนแปรสภาพ (Transform Boundaries) มักพบในแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้แนวเทือกเขากลางมหาสมุทรเลื่อนเหลื่อมออกจากกัน บางบริเวณก็พบว่าตัดผ่านแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปด้วย ในมหาสมุทรแนวดังกล่าวนี้มักจะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวกำลังไม่มากอยู่เป็นประจำ ส่วนในภาคพื้นทวีปแนวดังกล่าวมักถูกจำกัดทำให้เกิดการสะสมพลังงานและก่อให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในเวลาต่อมาเมื่อเกิดการเลื่อนอย่างฉับพลัน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายได้ ดังเช่น รอยเลื่อนซานแอนเดียส", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "361309#12", "text": "เป็นลักษณะของรอยเลื่อนแนวระดับ (Strike-Slip Fault) ซึ่งพบตัดแนวเทือกเขากลางสมุทรและทำให้แนวเทือกเขาเหลื่อมกันและจากข้อมูลแผ่นดินไหวพบว่า แนวรอยเลื่อนนี้อยู่ลึกประมาณ 300 กิโลเมตร รอยเลื่อนชนิดนี้ยังไม่ทราบถึงสาเหตุของการเกิด แต่สามารถใช้ระบุขอบเขตของแผ่นโลกที่เกิดได้ รวมทั้งบอกถึงการเคลื่อนตัวเฉียดผ่านกันของแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ชิดกันด้วย", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" }, { "docid": "83604#1", "text": "ตามลักษณะโครงสร้างและธรณีสัณฐานเป็นทิวเขาที่เกิดในยุคครีเทเชียสกับยุคเทอร์เชียรีตอนต้น อายุประมาณ 36-136 ล้านปีมาแล้ว ภูมิสัณฐานและภูมิประเทศทั่วไปของบริเวณนี้ ยังเป็นผลมาจากลักษณะโครงสร้างที่เรียกว่า รอยเลื่อน มีชื่อทางธรณีวิทยาว่า \"รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย\" และ \"รอยเลื่อนพังงา\" นอกจากนั้นยังมีภูเขาหินตะกอน หินแปร แทรกสลับอยู่เป็นแนว โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาหินปูนลูกโดด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติดังกล่าวทำให้เกิดเป็นช่อง โพรง หรือถ้ำมากมาย ส่วนภูเขาหินดินดานบางแห่งสลายตัวกลายเป็นหย่อมเนินเขาขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้าง การยุบตัวของแผ่นดินทางด้านตะวันตกทำให้เกิดเป็นชายฝั่งขรุขระเว้าๆ แหว่งๆ เกิดเป็นอ่าวและเกาะซึ่งเป็นภูเขาหินปูนลูกโดดกระจายอยู่ตามฝั่งมากมาย ", "title": "อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา" }, { "docid": "361732#6", "text": "โดยทั่วไปแล้วภูเขาหนึ่งๆ ที่เกิดจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐานดังที่กล่าวไว้ข้างต้น จะประกอบด้วยกระบวนทางธรณีวิทยาที่เกิดร่วมกับกระบวนการก่อเทือกเขาด้วย ซึ่งประกอบด้วย (หมายเลขระบุตำแหน่งดังรูป)", "title": "การก่อเทือกเขา" }, { "docid": "138049#3", "text": "ภูเก้า ประกอบด้วยภูเขา 9 ลูก คือ ภูฝาง ภูขุมปูน ภูหัน ภูเมย ภูค้อหม้อ ภูชั้น ภูเพราะ ภูลวก และภูวัด ภูทั้ง 9 ลูกนี้มี ความสลับซับซ้อนมาก มีสัณฐานคล้ายกะทะหงายโดยมีที่ราบอยู่ตอนกลาง พื้นที่เช่นนี้ทำให้สันนิษฐานได้ว่า พื้นที่ส่วนนี้น่าจะเป็นซากภูเขาไฟโบราณที่ดับสนิทไปแล้วหลายร้อยล้านปี หรือมิฉะนั้นก็เป็นการโก่งตัวของเปลือกโลกในบริเวณนี้ขึ้นมาเป็นขอบ เทือกเขา เทือกเขาภูเก้าเป็นเทือกเขาสองชั้น ชั้นนอกเป็นภูเขาสูงและมีความลาดชัน มาก ไหล่เขาด้านในมีความลาดชันไม่มากนัก พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะ สูงๆ ต่ำ ๆ บางแห่งเป็นที่ราบ ", "title": "อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ" }, { "docid": "302111#1", "text": "คำว่า “โอฟิโอไลต์” ใช้ครั้งแรกโดย Alexandre Brongniart เพื่อบ่งบอกถึงกลุ่มหินสีเขียว เช่น หินเซอเพนทีน (serpentinite) หินไดอะเบส (diabase) ในเทือกเขาแอลป์ (Alps) ต่อมา Steinmann ได้ใช้รวมถึงลาวารูปหมอน (pillow lava) และ หินเชิร์ต (chert) ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1950 ถึงต้นปี ค.ศ. 1960 การสำรวจความผิดปกติแถบสนามแม่เหล็ก (magnetic anomaly stripes) ของพื้นทะเล (seafloor) ซึ่งวางตัวขนานกับเทือกเขากลางมหาสมุทร (oceanic ridge) โดย Frederick Vine และ Drummond Matthews ได้บ่งบอกถึงหมวดหินใหม่ของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร ประกอบกับการสำรวจแผ่นพนังหิน (sheeted dike) บริเวณ Troodos ophiolite ประเทศไซปรัส โดย Ian Graham Gass และคณะ พบว่าพนังหินดังกล่าวเกิดจากการเย็นตัวของแมกมา 100% โดยไม่มีหินที่แก่กว่าปรากฏในบริเวณดังกล่าว ต่อมาMoores และ Vine ได้สรุปว่าแผ่นพนังหิน บริเวณ Troodos ophiolite ประเทศไซปรัส เกิดจากกระบวนการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร (seafloor spreading) จากนั้น คำว่า “โอฟิโอไลต์” จึงเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในความหมายที่ว่า ชุดหินของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรที่ถูกกระบวนการธรณีแปรสัณฐานนำขึ้นมาปรากฏบนแผ่นดิน \nจากการพบชุดหินโอฟิโอไลต์ตามแนวเทือกเขาหลายแห่ง เช่น เทือกเขาแอลป์ เทือกเขาหิมาลัย ทำให้โอฟิโอไลต์เป็นหัวใจสำคัญของทฤษฎีแผ่นธรณีแปรสัณฐาน (plate tectonic theory) ในปัจจุบัน", "title": "โอฟิโอไลต์" }, { "docid": "298938#0", "text": "ลำน้ำโค้งตวัด () เป็นลักษณะทางธรณีสัณฐานชนิดหนึ่งของทางน้ำ ซึ่งลักษณะจะเป็นทางน้ำที่คดเคี้ยวคล้ายงูเลื้อย บ้างจึงเรียกว่าลำน้ำงูเลื้อย (snaking stream) ทางน้ำแบบนี้เกิดจากกระบวนการฟลูเวียล (Fluvial) ซึ่งจะพบบริเวณที่ราบลุ่มที่ความชันน้อยมาก จะเป็นบริเวณที่กำลังจะลงทะเลทางน้ำจะมีการกัดเซาะทางลึกน้อยกว่าทางด้านข้าง เพราะจากต้นน้ำที่มีความชันมากทางน้ำก็จะมีพลังงานมาก แต่เมื่อมาถึงบริเวณที่ราบลุ่มความชันลดลงทางน้ำจึงต้องมีการกวัดแกว่งออกทางด้านข้างเพื่อรักษาความเสถียรของมัน กระแสน้ำที่ปะทะกับตลิ่งด้านหนึ่งจะทำให้เกิดการกัดเซาะแต่จะไปเกิดการตกสะสมตัวในตลิ่งฝั่งตรงข้ามแทน แต่การกวัดแกว่งนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพตำแหน่งของท้องน้ำอยู่ในขอบเขตไม่เกินเส้นกวัดแกว่งปกติซึ่งถ้าเวลาผ่านไปเส้นก็จะมีการเปลี่ยนตำแหน่งตามไปด้วย", "title": "ลำน้ำโค้งตวัด" }, { "docid": "83670#6", "text": "อุทยานแห่งชาติสิรินาถประกอบด้วยผืนน้ำประมาณ 76 เปอร์เซ็นต์ และผืนดินประมาณ 24 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญ คือ ป่าเขารวกเขาเมือง เขาใสครู ซึ่งมีลักษณะธรณีสัณฐานเป็นภูเขาหินแกรนิต และเชิงเขาซึ่งถูกกระบวนการผุพังและกัดกร่อน โดยมียอดเขาใสครูความสูง 335 เมตร และยอดเขาเมืองหรือเขาม่วงสูง 295 เมตร ธรณีสัณฐานที่ชายฝั่ง ซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนชายฝั่งทะเลรูปแบบต่างๆ โดยสามารถจำแนกเป็น หาดทราย ได้แก่ หาดท่าฉัตรไชย หาดทรายแก้ว หาดไม้ขาว ซึ่งยาวต่อเนื่องจากทิศเหนือลงมาถึงหาดในยางทางทิศใต้ ซึ่งมีลักษณะเป็นหัวแหลมยื่นไปในทะเลเนื่องจากการงอกของทรายด้านหลังแนวปะการังซึ่งลดความรุนแรงของคลื่นมากกว่าบริเวณอื่น ความยาวรวมกันประมาณ 13 กิโลเมตร ต่อมายังหาดทรายที่อ่าวทุ่งหนุงซึ่งเป็นที่ราบทราย-ทรายแป้ง กว้างประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร และมีระดับเหนือน้ำในเวลาน้ำลง เป็นทางออกของคลองพะม่าลงหรือเรียกว่า ปากคลองปากบาง ซึ่งแต่เดิมในบริเวณทางออกจะเป็นพื้นที่ราบน้ำขึ้นถึงของปากคลองและมีสภาพเป็นป่าชายเลนและที่ลุ่มน้ำกร่อยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ แต่ปัจจุบันถูกบุกรุกถมดินทำให้หมดสภาพไป \nนอกจากนี้ในอุทยานแห่งชาติ ยังมีหาดทรายสั้นๆ ระหว่างหัวแหลมผาชัน เกิดจากการสะสมของทรายจากการกร่อนของหน้าผาหินโดยคลื่นและกระแสน้ำเลียบฝั่ง ได้แก่ หาดในทอน หาดในทอนน้อย หาดที่อ่าวหินกรวย ส่วนบริเวณเกาะทะทางทิศใต้เป็นหาดทรายที่ต่อเนื่องขึ้นมาจากหาดบางเทาพบว่า กำลังเกิดลักษณะของสันดอนทรายงอกเชื่อมจากแผ่นดินไปยังเกาะทะ ส่วนชายทะเลบริเวณเขาใสครูและเขาม่วงมีลักษณะส่วนใหญ่เป็นหน้าผาหิน หาดหิน และลานตะพักหิน ที่เกิดจากการกระทำของคลื่น", "title": "อุทยานแห่งชาติสิรินาถ" }, { "docid": "938232#2", "text": "ที่ราบเป็นธรณีสัณฐานหลักอย่างหนึ่งของโลก โดยปรากฏอยู่ในทุกทวีป และกินอาณาบริเวณกว่าหนึ่งในสามของพื้นที่ดินของโลก ที่ราบอาจเกิดขึ้นระหว่างลาวาไหล มีการทับถมโดยน้ำ น้ำแข็งหรือลม หรือเกิดจากการกร่อนด้วยตัวการดังกล่าวจากเขาและภูเขา ปกติที่ราบอยู่ภายใต้ชีวนิเวศทุ่งหญ้า (เขตอบอุ่นหรือกึ่งเขตร้อน) สเตปป์ (กึ่งแห้งแล้งจัด) สะวันนา (เขตร้อน) หรือทันดรา (ขั้วโลก) ในบางกรณี บริเวณแห้งแล้งและป่าฝนก็เป็นที่ราบได้ ", "title": "ที่ราบ" }, { "docid": "7026#3", "text": "ที่มาของชื่อนครนายกนั้นไม่ชัดเจนทางประวัติศาสตร์ แนวคิดหลักของที่มาของชื่อมีดังนี้จังหวัดนี้ตั้งอยู่ที่ละติจูดที่ 14 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 101 องศาตะวันออก มีระยะทางจากจากกรุงเทพมหานครตามถนนรังสิต-นครนายก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305) ผ่านอำเภอองครักษ์ถึงจังหวัดนครนายก ระยะทาง 105 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 1,326,250 ไร่\nสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบ ทางตอนเหนือและตะวันออกเป็นภูเขาสูงชันในเขตอำเภอบ้านนา อำเภอเมืองนครนายก และอำเภอปากพลี ส่วนหนึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งเป็นเขตรอยต่อกับอีก 3 จังหวัด ได้แก่ สระบุรี นครราชสีมา และปราจีนบุรี ซึ่งมีเทือกเขาติดต่อกับทิวเขาดงพญาเย็น มียอดเขาสูงที่สุดของจังหวัดคือ ยอดเขาเขียวมีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,351 เมตร ส่วนทางตอนกลางและตอนใต้เป็นที่ราบอันกว้างใหญ่ เป็นส่วนหนึ่งของที่ราบสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาที่เรียกว่า \"ที่ราบกรุงเทพฯ\"", "title": "จังหวัดนครนายก" }, { "docid": "83695#1", "text": "ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชัน ความลาดชันโดยเฉลี่ยประมาณ 80 องศา จุดสูงสุดจากระดับน้ำทะเล 1,267 เมตร ความสูงของพื้นที่จากระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยประมาณ 800 เมตร ปกคลุมด้วยป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณเป็นเทือกเขาที่เขียวชอุ่ม มีหน้าผาสูงชันสลับซับซ้อนเป็นแหล่งกำเนิดของลำห้วยหลายสาย เช่น แม่เกิ๋ง แม่จอก แม่สิน แม่ป้าก ฯลฯ ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำยม และภูเขาเป็นภูเขาหินทราย ทำให้ดินที่เกิดจากการผุสลายของภูเขาเป็นดินร่วนปนทราย มีการระบายน้ำดี บริเวณที่ราบเชิงเขามีลักษณะเป็นลูกรัง โดยเฉลี่ยดินมีความอุดมสมบูรณ์ดีมาก", "title": "อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย" }, { "docid": "361309#10", "text": "ร่องลึกนี้ถูกพบที่ใต้มหาสมุทรใกล้ขอบของทวีป และมักพบว่ามีแนวเกาะภูเขาไฟรูปโค้งอยู่ด้านอยู่ใกล้ขอบทวีป หินภูเขาไฟที่เกิดขึ้นตามแนวเกาะภูเขาไฟนี้เป็นจำพวกหิน Andesite ซึ่งแตกต่างไปจากหินอัคนีที่เกิดบริเวณเทือกเขากลางสมุทรที่ส่วนใหญ่เป็นหิน Basalt นอกจากนั้นบริเวณนี้ยังพบว่าเป็นบริเวณที่มีความร้อนสูงและมีการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง พบว่าตำแหน่งจุดกำเนิดแผ่นดินไหว มีลักษณะเอียงเทลงไปจากแนวร่องลึกลงไปถึงชั้นฐานธรณีภาค ที่ประมาณความลึกถึง 700 กิโลเมตร เรียกแนวแผ่นดินไหวเอียงเทนี้ว่าเขตเบนนิออฟ (Benioff Zones) จากการศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวที่พบในที่ลึกพบว่ามีแผ่นดินไหวจำนวนหนึ่งน่าจะเกิดจากรอยเลื่อนที่มีลักษณะสอดคล้องกับการเอียงของ Benioff Zone โดยแสดงเป็นลักษณะของรอยเลื่อนย้อน ดังนั้นจึงเกิดเป็นสมมติฐานว่าบริเวณนี้แผ่นเปลือกโลกกำลังมุดตัวเอียงลง และถูกกลืนหายไปในชั้นฐานธรณีภาค ขณะเดียวกันแนวเกาะภูเขาไฟและเขตความร้อนพิภพสูงก็อธิบายว่าได้เกิดการหลอมตัวของแผ่นเปลือกโลกในที่ลึกจนกลายเป็นมวลหินหลอมเหลว ซึ่งมวลหินหลอมเหลวค่อยๆหาทางเคลื่อนที่ขึ้นข้างบนมาเย็นตัวเป็นมวลหินอัคนีทั้งหินอัคนีพุและหินอัคนีแทรกดัน นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียงที่ขอบของแผ่นเปลือกโลกด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านน่าจะเกิดการเข้าชนกันทำให้เกิดการคดโค้งโก่งงอพร้อมกับรอยเลื่อนย้อนมากมายจนทำให้วัสดุถูกยกตัวขึ้นเป็นแนวแคบยาวขนานไปตามแนวชนกันของขอบแผ่นเปลือกโลกนั่นคือการเกิดเป็นแนวเทือกเขานั่นเอง", "title": "ธรณีแปรสัณฐาน" } ]
3606
จิตวิทยา หมายถึงอะไร ?
[ { "docid": "2781#0", "text": "จิตวิทยา (English: psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม", "title": "จิตวิทยา" } ]
[ { "docid": "203251#0", "text": "จิตวิทยาสังคม คือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาคำอธิบายว่าความคิด, ความรู้สึก และพฤติกรรมต่าง ๆ ของคน ได้รับผลกระทบหรืออิทธิพลจากการแสดงออก, จากการจินตนาการหรือการแสดงนัยของผู้อื่นอย่างไร นิยามของคำว่า \"ความคิด, ความรู้สึก, พฤติกรรม\" ใช้ในความหมายที่รวมถึงตัวแปรทางจิตวิทยาที่สามารถวัดปริมาณได้ การที่เราสามารถถูกจินตนาการหรือเป็นนัยที่ผู้อื่นแสดงออกมา แสดงให้เห็นว่าคนเรามีแนวโน้มที่จะได้รับอิทธิพลทางสังคม (หรืออาจเรียกว่าเป็นแรงกดดันทางสังคม) ซึ่งแม้แต่ในสภาพแวดล้อมที่อยู่ตัวคนเดียวก็ได้รับอิทธิพลเช่นกัน เช่นในเวลาที่เราดูโทรทัศน์, การใช้หรือโต้ตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เกมส์, อินเทอร์เน็ต) หรือการทำตามบรรทัดฐานหรือธรรมเนียมของสังคม\nการร่วมมือ คือเป็นสถานการณ์ที่สมาชิกในกลุ่มมีการทำงานร่วมกัน หรือช่วยกันทำงานให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม", "title": "จิตวิทยาสังคม" }, { "docid": "598380#0", "text": "จิตวิทยาการเรียนรู้ () หมายถึงจิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ โดยการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องเกิดจากพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวรหรือเกิดจากการฝึกฝน ซึ่งกระบวนการเรียนรู้จะเกิดได้จากขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอนคือตั้งใจจะรู้ กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อให้รู้ ลงมือปฏิบัติและได้รับผลประจักษ์ สำหรับทฤษฎีการเรียนรู้นั้นจะพยายามศึกษาว่ากระบวนการเรียนรู้นั้นมีลักษณะอย่างไร ในงานวิจัยส่วนใหญ่นั้นจะทำการศึกษาแบบพฤติกรรมนิยมแบบพุทธินิยมและแบบ self-regulated learning โดยมีจิตวิทยาทางสื่อเป็นแนวการศึกษาใหม่ที่เพิ่มเข้ามา เนื่องจากเทคโนโลยีมีบทบาทในการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้", "title": "จิตวิทยาการเรียนรู้" }, { "docid": "706425#2", "text": "คำว่า mindfulness มีความหมายหลายอย่างขึ้นอยู่กับนักวิชาการที่ทำงานศึกษา และขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้สติ\nมีนักวิชาการบางท่านที่ใช้ mindfulness หมายถึงสภาวะของจิต ในขณะที่คนอื่นหมายถึงทักษะและเทคนิคในการปฏิบัติ", "title": "สติ (จิตวิทยา)" }, { "docid": "344437#11", "text": "จิตวิทยาเชิงบวกเป็นศาสตร์ล่าสุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ที่พยายามเข้าใจธรรมชาติของความสุขและความอยู่เป็นสุข แต่ก็ไม่ใช่เป็นศาสตร์แรกที่สืบประเด็นปัญหานี้ และนักวิชาการชาวตะวันตกก็มีความเห็นต่าง ๆ กันว่า \"จิตวิทยาเชิงบวก\" หมายถึงอะเไร", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "344437#84", "text": "โดยนัยเดียวกัน ดร. เซลิกแมนเชื่อว่า จิตวิทยาเชิงบวกไม่ใช่เรื่องฟุ้งเฟ้อ โดยกล่าวว่า \"จิตวิทยาเชิงบวกโดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องสำหรับเราทุกคน ไม่ว่าจะมีปัญหาหรือไม่ จะเป็นคนอภิสิทธิ์หรือไม่ เป็นคนกำลังทุกข์หรือไม่ ความสุขที่ได้จากการสนทนาที่ดี, ความยินดีพอใจ (ในสิ่งที่มีอยู่สิ่งที่ได้) อย่างมีกำลัง, การได้ประโยชน์จากความเมตตา หรือปัญญา หรือความเชื่อทางจิตวิญญาณ หรือความถ่อมตน, การสืบหาความหมายในชีวิตและยาถอนพิษจากสถานการณ์ที่เป็น \"การอยู่ไม่เป็นสุขจนกระทั่งตาย\" เป็นสิทธิโดยกำเนิดสำหรับเราทุกคน\"[127]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "344437#23", "text": "นักจิตวิทยาได้พัฒนาชุดคำถาม Oxford Happiness Questionnaire โดยหมายเป็นตัววัดความเป็นสุขทางจิตใจแบบกว้าง ๆ[30][31] แต่ว่าแบบคำถามถูกวิจารณ์ว่า ไม่มีรากฐานอยู่กับแบบจำลองทางทฤษฎีเกี่ยวกับความสุข และเหลื่อมกับแนวคิดอื่น ๆ เช่น ความเคารพตน (self-esteem) ความรู้สึกว่ามีความหมาย (sense of purpose) ความสนใจทางสังคม ความเมตตา ความมีมุกตลก (sense of humor) และความรู้คุณค่าของสิ่งสวยงาม (aesthetic appreciation)[32]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "344437#152", "text": "เพื่อเป็นอุปกรณ์ให้มีชีวิตดีขึ้น จิตวิทยาเชิงบวกมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพของประสบการณ์ต่าง ๆ ในโครงสร้างเยี่ยงนี้ เด็กนักเรียนสามารถเรียนรู้ที่จะตื่นเต้นกับกิจกรรมทางกาย การเล่นเป็นธรรมชาติของเด็กอยู่แล้ว จิตวิทยาเชิงบวกต้องการที่จะดำรงรักษาความกระตือรือร้นเช่นนี้ (เพื่อเป็นความกระตือรือร้นเป็นแรงจูงใจในการใช้ชีวิต) ในการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กที่กำลังโต[187] ถ้าทำให้น่าสนใจ ท้าทาย และสนุก การออกกำลังกายจะช่วยสร้างความสุขให้เด็ก วิธีการนี้สามารถให้แนวทางเด็กเพื่อที่จะมีชีวิตแบบไม่ว่าง สบายใจ และมีความหมาย[188]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "349756#1", "text": "ในทางจิตวิทยา การเปลี่ยนแปลงในระดับจิตวิญญาณเป็นที่เข้าใจกันในบริบทของระบบสร้างความหมายของแต่ละบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดของความศักดิ์สิทธิ์หรือความเข้าใจในพระเจ้า แนวคิดทางจิตวิทยาเกี่ยวกับการรักษาสองวิธีมาจากเคนเน็ธ พาร์กาเมนต์ และเรย์มอนด์ พัลเลาต์เซียน:", "title": "การเปลี่ยนแปลงในระดับจิตวิญญาณ" }, { "docid": "3011#12", "text": "\"อีวานเกเลียน\" ตลอดเรื่องอัดแน่ไปด้วยการอ้างถึงหลักการต่างๆ ทั้งทางชีววิทยา การทหาร ศาสนา และจิตวิทยา ซึ่งเป็นการเดินตามแนวทางของการ์ตูนแอนิเมชันรุ่นพี่อีกหลายเรื่อง ตัวอย่างเช่น \"เรือรบอวกาศยามาโตะ\" () ฮิเดอากิ อันโน นักเขียนของเรื่อง ได้แรงบันดาลใจหลายอย่างจากซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาผู้ยิ่งใหญ่ชาวออสเตรีย ทั้งจากประโยคที่ฟรอยด์เคยพูด ทฤษฎีจิตวิทยาเชิงวิเคราะห์ของฟรอยด์ เช่นเดียวกับ หลักการทางศาสนาและชีววิทยาที่อันโนะมักนำมาใช้เพื่อสื่อความหมายต่างๆ ในการ์ตูนของเขา ด้วยเหตุผลข้างนี้ ทำให้อันโนะมักถูกวิจารณ์ว่าเป็นพวกชอบขโมยความคิด หรือก็แค่งานที่มาจากความคิดของทีมงานเท่านั้น ", "title": "อีวานเกเลียน มหาสงครามวันพิพากษา" }, { "docid": "344437#117", "text": "ความเจริญรุ่งเรืองในจิตวิทยาเชิงบวกหมายถึงการทำกิจในระดับดีสุดของมนุษย์ โดยมีปัจจัย 4 อย่างคือ ความดีงาม (goodness) การก่อกำเนิด (generativity) ความเจริญ (growth) และความฟื้นคืนได้ (resilience)[153] ตามนักจิตวิทยาท่านหนึ่ง ความดีงามรวมทั้ง ความสุข ความพอใจ และการกระทำที่สำเร็จผล การก่อกำเนิดหมายถึงการทำให้ชีวิตคนรุ่นต่อ ๆ ไปดีขึ้น และนิยามว่าเป็น \"คลังความคิด การกระทำ และความยืดหยุ่นได้ทางพฤติกรรม\" ความเจริญเป็นการใช้ทรัพยากรส่วนบุคคลและทางสังคมที่มี และความฟื้นคืนได้สะท้อนให้เห็นถึงความอยู่รอดและความเจริญก้าวหน้าหลังจากที่ประสบความยากลำบาก[153]:685", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "687356#22", "text": "\"Cognitive bias modification\" (การปรับความเอนเอียงทางประชาน) หมายถึงกระบวนการที่ปรับความเอนเอียงทางประชานของผู้ที่มีสุขภาพดี และหมายถึงวิธีการบำบัดทางจิตวิทยาที่ไม่ใช้ยาเพื่อโรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า และการติดสิ่งเสพติดที่เรียกว่า \"Cognitive bias modification therapy\" (CBMT) CBMT มีอีกชื่อหนึ่งว่า Applied Cognitive Processing Therapies (ACPT) เป็นวิธีการบำบัดที่เป็นกลุ่มย่อย ๆ ภายในวิธีการบำบัดทางจิตวิทยาที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ที่ใช้ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางประชาน โดยร่วมกับหรือไม่ร่วมกับการใช้ยาและการบำบัดด้วยการพูดคุย และแม้ว่า CBM จะหมายถึงการปรับกระบวนการทางประชานของผู้มีสุขภาพดี แต่ว่า CBMT จะหมายถึงการบำบัดทางจิตวิทยาที่อิงหลักฐาน ที่ทำการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางประชานเพื่อบำบัดความทุกข์[35][36] จากโรคซึมเศร้าที่รุนแรง[37] โรควิตกกังวล[38] และจากการติดสิ่งเสพติด[39] CBMT เป็นการบำบัดที่อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้รักษาอยู่ร่วมด้วย CBM อาศัยทั้งหลักฐานและทฤษฎีจากแบบจำลองทางประชานเกี่ยวกับความวิตกกังวล[40] จากประสาทวิทยาศาสตร์เชิงประชาน[41] และจากแบบจำลองในการใส่ใจ[42]", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "145860#1", "text": "ผู้รับบริการด้านจิตวิทยาคลินิก ไม่จำเป็นว่าต้องเป็นผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้มีอาการทางจิตเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทและสมอง ผู้ป่วยโรคทางด้านร่างกายอื่นๆที่มีปัญหาทางจิตใจอารมณ์หรือพฤติกรรมร่วมด้วย นอกจากนี้ บุคคลทั่วไปที่มีประสบการณ์ชีวิตที่ทำให้เกิดความเครียด ความเศร้า ความกลัว หรือความรู้สึกไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ก็สามารถรับบริการจิตวิทยาคลินิกได้เช่นกัน หรือแม้แต่ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาครอบครัว คู่สมรส หรือปัญหาด้านสัมพันธภาพต่างๆ \nนักจิตวิทยาคลินิก คือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical psychology) และมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก \nนักจิตวิทยาคลินิกส่วนใหญ่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในหน่วยงานทางการแพทย์และสถานพยาบาลต่างๆ นักจิตวิทยาคลินิกเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ อาทิงานจิตเวชศาสตร์(Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง(Neuroscience) งานเวชกรรมป้องกัน งานเวชศาสตร์ฟื้นฟู งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น", "title": "จิตวิทยาคลินิก" }, { "docid": "630851#4", "text": "ความลำเอียงเพื่อยืนยันเป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับการประมวลข้อมูลซึ่งต่างจากปรากฏการณ์ที่ยืนยันด้วยการกระทำ ที่เรียกว่า self-fulfilling prophecy (แปลว่า คำพยากรณ์ที่เป็นจริงในตัวเอง)\nซึ่งพฤติกรรมที่เกิดจากความหวัง เป็นเหตุให้ความหวังนั้นกลายเป็นจริง นักจิตวิทยาบางท่านใช้คำว่าความลำเอียงเพื่อยืนยัน เพื่อหมายถึงความโน้มน้าวที่จะหลีกเลี่ยงการยกเลิกความเชื่อเก่า ๆ\nในขณะที่กำลังค้นหาหลักฐาน ตีความหมายหลักฐาน หรือระลึกถึงหลักฐานนั้น ๆ จากความจำ ส่วนนักจิตวิทยาพวกอื่นจำกัดการใช้คำนี้ในเรื่องการสั่งสมหลักฐานโดยเลือก (แต่สิ่งที่ยืนยันความเชื่อ)", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "2781#2", "text": "จิตวิทยาก็มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นมาเพื่อใช้ในการศึกษาเช่นเดียวกับศาสตร์อื่น ๆ คำศัพท์บางส่วนประกอบด้วยคำศัพท์ที่คนทั่วไปใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน คำศัพท์บางคำก็เป็นคำศัพท์ทางวิชาการที่คุ้นเคย ถึงแม้ศัพท์บางคำจะเป็นที่เข้าใจ และคุ้นเคยของคนทั่วไป แต่นักจิตวิทยาก็ได้ให้ความหมายเฉพาะเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการศึกษาจิตวิทยา", "title": "จิตวิทยา" }, { "docid": "463413#2", "text": "ภวังคจิต คือจิตใต้สำนึกในทางศาสนาพุทธหมายถึงเป็นกระบวนการทำงานแบบอัตตโนมัติของจิต จิตใต้สำนึกในความหมายของภวังคจิตนี้จึงอาจแตกต่างจากทางจิตวิทยา", "title": "ภวังคจิต" }, { "docid": "344437#3", "text": "สาขาจิตวิทยา \"เชิงบวก\" นี้ หมายให้เสริม ไม่ใช่ทดแทนหรือไม่ใส่ใจ ความรู้ทางจิตวิทยาโดยทั่วไป แต่เป็นการเน้นใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ เพื่อศึกษาและกำหนดการพัฒนาบุคคลในเชิงบวก ซึ่งเข้ากับการศึกษาในจิตวิทยาโดยทั่วไปในประเด็นว่า การพัฒนามนุษย์สามารถถึงความล้มเหลวได้อย่างไร สาขาย่อยนี้ อาจชี้ให้เห็นว่า การสนใจแค่เรื่องของโรคอาจจะมีผลเป็นความเข้าใจที่ไม่สมบูรณ์หรือจำกัด เกี่ยวกับสภาพบุคคล[5] คำว่า \"ชีวิตที่ดี\" (the good life) ที่ดั้งเดิมมาจากแนวคิดของอาริสโตเติล มาจากความคิดต่าง ๆ กันว่า อะไรเป็นสิ่งที่มีคุณค่าที่สุดในชีวิต คืออะไรเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมชีวิตให้ดีที่สุดให้บริบูรณ์ที่สุด แม้ว่าจะไม่มีนิยามที่แน่นอน แต่นักวิชาการในสาขานี้มีมติว่า บุคคลควรจะมีชีวิตที่มีความสุข (happy) ไม่อยู่ว่าง ๆ (engaged) และมีความหมาย (meaningful) เพื่อที่จะประสบกับ \"ชีวิตที่ดี\" ศาสตราจารย์มาร์ติน เซลิกแมน ผู้เปรียบได้ว่าเป็นบิดาของศาสตร์นี้ กล่าวถึงชีวิตที่ดีว่า \"เป็นการใช้ความเข้มแข็งที่ไม่เหมือนใครของคุณทุก ๆ วัน ในการสร้างความสุขที่แท้จริงและความพอใจที่ล้นเหลือ\"[6]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "388591#2", "text": "❝ มีคนจำนวนหนึ่งที่ยังเข้าใจคำจำกัดความของจิตวิทยาผิด ๆ คิดว่าจิตวิทยา คือศาสตร์ในการครองใจคน ศาสตร์ในการเอาชนะใจคนอื่น และมักใช้คำว่า \"ไซโค\" เป็นคำแทนการใช้จิตวิทยาในความหมายที่จะพยายามจูงใจหรือหลอกล่อให้ผู้อื่นคล้อยตาม และยอมตามความต้องการของตน ทั้งหมดนี้ไม่ใช่จุดประสงค์ที่เราเรียนจิตวิทยา เพราะแท้จริงแล้วนั้น จิตวิทยา (psychology) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อเข้าใจ ในสาเหตุของพฤติกรรม ในอันที่จะช่วยพยากรณ์และควบคุมพฤติกรรม ผู้ศึกษาจิตวิทยาจึงต้องมีจรรยาบรรณ ไม่หลอกล่อ หรือกระทำการเพื่อเอาประโยชน์ส่วนตน แต่จะเป็นการศึกษาและการนำไปใช้เพื่อประโยชน์ของมนุษย์ทุกคนและสังคมทุกระดับ ❞\n— รศ.สิริอร วิชชาวุธ", "title": "นักจิตวิทยา" }, { "docid": "344437#76", "text": "นักจิตวิทยาที่ค้นคว้าเรื่องความสุขรู้สึกว่า ระบบการเมืองควรจะโปรโหมตความสุขของประชากร รัฐบาลควรที่จะพิจารณาระดับความสุขของประชากรในรุ่นต่อ ๆ ไป ควรดำเนินการในเรื่องการคาดหมายคงชีพ (expectancy) และควรพุ่งความสนใจไปที่การลดระดับความทุกข์ของประชาชน[116] อาศัยการศึกษาจุดยืนทางการเมือง งานวิจัยบางงานอ้างว่า คนอนุรักษนิยมโดยทั่วไปมีความสุขกว่าคนเสรีนิยม โดยให้คำอธิบายที่อาจเป็นไปได้ว่า การยอมรับความแตกต่างกันในเรื่องรายได้ในสังคมได้ทำให้เป็นคนวิตกกังวลน้อยกว่า[117] รองศาสตราจารย์ทางจิตวิทยาคนหนึ่งกล่าวว่า การมีมุมมองทางการเมืองที่ชัดเจนเป็นเรื่องสำคัญเพราะว่า เป็นมุมมองทางโลกอย่างหนึ่ง โดยนัยเดียวกันกับมุมมองทางศาสนา ที่สามารถช่วยให้รับมือกับความวิตกกังวลในเรื่องความตาย (death anxiety)[118][119][120]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "344437#98", "text": "การมีชีวิตที่ไม่ว่าง (Engagement) หมายถึงการร่วมกิจกรรมที่ดึงดูดและเสริมสร้างความสนใจของตน นักจิตวิทยาผู้หนึ่งอธิบายการมีชีวิตที่ไม่ว่างว่าเป็น flow เป็นความรู้สึกที่แรงกล้าที่นำไปสู่ความปิติยินดีและความกระจ่าง[139] สิ่งที่กำลังจะทำต้องใช้ทักษะความสามารถที่สูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป ยากและเป็นความท้าทาย แต่ว่า ยังเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ การมีชีวิตที่ไม่ว่างหมายเอาความชอบใจและสมาธิที่มีในงานที่กำลังจะทำ และระดับจะวัดโดยให้ผู้ทำรายงานเองว่า มีสมาธิในงานที่ทำ จนกระทั่งไร้ความรู้สึกเขินตนเอง (self-consciousness) หรือไม่[137]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "706425#4", "text": "นักวิชาการท่านหนึ่งเสนอความหมายของคำว่า mindfulness 3 อย่างคือ\nMindfulness เป็นวิธีในปี ค.ศ. 2004 นักวิชาการกลุ่มหนึ่งได้กล่าวถึงมติที่มีในกลุ่มนักจิตวิทยาคลินิกเกี่ยวกับนิยามของ mindfulness ที่นำไปปฏิบัติได้และตรวจสอบได้ \nแล้วเสนอแบบจำลองมีองค์ประกอบสองอย่าง คือ", "title": "สติ (จิตวิทยา)" }, { "docid": "110329#0", "text": "จิตเวชศาสตร์ มาจากคำว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับ เวชศาสตร์ ที่แปลว่า ศาสตร์ด้านการแพทย์ เมื่อรวมกันจึงหมายถึง การศึกษาทางด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับอาการบกพร่องทางจิต ต่างกับ คำว่า จิตวิทยา ตรงที่ว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับคำว่า วิทยา ที่มาจากวิทยาศาสตร์แทน ดังนั้น จิตวิทยาจึงเน้นเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตใจที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับทางด้านการแพทย์ ", "title": "จิตเวชศาสตร์" }, { "docid": "344437#19", "text": "จิตวิทยาเชิงบวกสนใจในประเด็น 3 อย่างคือ อารมณ์เชิงบวก (positive emotion) ลักษณะเชิงบวกของแต่ละบุคคล (positive individual trait) และสถาบันที่โปรโหมตหลักจิตวิทยาเชิงบวก (positive institution) อารมณ์เชิงบวกก็เช่นความพึงพอใจในอดีต การมีความสุขในปัจจุบัน และการมีความหวังในอนาคต ลักษณะเชิงบวกก็คือความสามารถพิเศษหรือความเข้มแข็ง (strength) และคุณธรรมของแต่ละบุคคล และสถาบันเชิงบวก เป็นสถาบันที่ใช้หลักความเข้มแข็งในการพัฒนาชุมชน[14] ส่วนความสุข (Happiness) หมายถึงปรากฏการณ์ทางอารมณ์และทางจิตต่าง ๆ วิธีการวัดความสุขที่ใช้อย่างหนึ่งก็คือชุดคำถามที่เรียกว่า Satisfaction with Life Scale ตามผู้สร้าง ผลที่ได้จากผู้ตอบชุดคำถามนี้เข้ากับความรู้สึกจากเพื่อนและครอบครัว และสัมพันธ์กับความซึมเศร้าที่น้อยลง[28]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "344437#133", "text": "นักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดผู้หนึ่งได้ทำงานศึกษาอย่างกว้างขวางว่า การทำงานให้ดีมีผลอะไรหรือไม่ เขาเสนอว่า บุคคลรุ่นหลัง ๆ (โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา) ถูกสอนให้พุ่งความสนใจไปในการหาเงินทอง แม้ว่าการมีเงินจะไม่ได้ช่วยให้เกิดความสุขอย่างแน่นอน วิธีการแก้ที่นักจิตวิทยาเสนอคล้ายกับหลักการชีวิตที่สบายใจ ที่ดี ที่มีความหมายดังที่กล่าวมาก่อนแล้ว เขาเชื่อว่า ควรจะฝึกให้เยาวชนทำงานให้ดีที่สุดในวิชาการสาขาของตน และมีชีวิตที่อยู่ไม่ว่าง ตามความเชื่อทางศีลธรรมของตน[172]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" }, { "docid": "104781#0", "text": "จิตวิทยาชุมชน เป็นการศึกษาธรรมชาติของมนุษย์กับธรรมชาติทางนิเวศวิทยา ซึ่งหมายถึงการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะเจาะระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม", "title": "จิตวิทยาชุมชน" }, { "docid": "590057#23", "text": "จิตวิทยาการเรียนรู้ หมายถึง จิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้นจิตวิทยาการเรียนรู้สามารถช่วยให้การจัดทำหลักสูตรเป็นไปได้โดยง่ายมากขึ้น ทั้งนี้เพราะจิตวิทยาการเรียนรู้จะอธิบายถึงวิธีการเรียนรู้ของมนุษย์ ธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู้ รวมไปถึงอุปสรรคในการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยการเรียนรู้ของมนุษย์นั้นสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น 3 กลุ่มทฤษฎี ซึ่งแต่ละทฤษฎีล้วนมีอิทธิพลต่อการจัดทำหลักสูตร โดยแต่ละทฤษฎีคือจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม และจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มแรงจูงใจ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้หลักสูตรไม่ได้มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีกลุ่มใดหลุ่มหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการนำข้อดีทฤษฎีของแต่ละกลุ่มเข้ามาผสมผสานกัน", "title": "หลักสูตร" }, { "docid": "721099#0", "text": "แบบทดสอบรอร์ชัค (Rorschach test) เป็นการทดสอบทางจิตวิทยา คิดค้นโดยแฮร์มัน รอร์ชัค โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ร่วมการทดลองแสดงว่าเห็นอะไรในรูปหมึกจุด และนำไปใช้ในการวิเคราะห์ผ่านการแปลความหมายทางจิตวิทยา ผ่านขั้นตอนวิธีที่ซับซ้อน หรือผ่านวิธีทั้งสอง นักจิตวิทยาบางพวกใช้การทดสอบอย่างนี้เพื่อตรวจสอบลักษณะต่าง ๆ ทางบุคลิกภาพและการทำงานทางอารมณ์ ว่ามีปฏิกิริยาทางอารมณ์ปกติดีหรือไม่", "title": "แบบทดสอบรอร์ชัค" }, { "docid": "229586#4", "text": "ยกตัวอย่างเช่น ใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[3203,3215,2,2]}'>จิตวิทยา</i>และ<i data-parsoid='{\"dsr\":[3218,3234,2,2]}'>ประชานศาสตร์ คำว่า cognition ปกติจะหมายถึงมุมมองเกี่ยวกับการประมวลข้อมูลทางจิตใจของบุคคล ในสาขา<i data-parsoid='{\"dsr\":[3323,3340,2,2]}'>จิตวิทยาสังคม social cognition (ประชานทางสังคม) หมายถึงปฏิบัติการของมนุษย์ต่อข้อมูลเกี่ยวกับมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์เช่นเดียวกัน หรือแม้แต่ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์อื่น เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง ๆ รวมทั้งทัศนคติ การอธิบายเหตุของการกระทำหรือเหตุการณ์ (attribution) และพลวัตของกลุ่ม[7] ส่วนใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[3816,3834,2,2]}'>จิตวิทยาปริชาน (cognitive psychology) และ<i data-parsoid='{\"dsr\":[3861,3879,2,2]}'>วิศวกรรมประชาน (cognitive engineering) คำว่า cognition ปกติหมายถึงการประมวลข้อมูลในใจหรือสมองของผู้เข้าร่วมหรือผู้ดำเนินการ[6] กระบวนการทางประชานในเรื่องโดยเฉพาะบางอย่างอาจหมายสิ่งถึงที่เป็นปัญญาประดิษฐ์[8]", "title": "ประชาน" }, { "docid": "974698#11", "text": "อย่างไรก็ดี บางคนอาจมีใจแข็งแกร่ง (hardiness) ซึ่งหมายถึงสมรรถภาพในการมีสุขภาพทางจิตดีแม้จะเครียดอยู่เสมอ ๆ[21] นักจิตวิทยาในปัจจุบันกำลังศึกษาปัจจัยที่ทำให้คนที่แข็งแกร่งสามารถรับมือกับความเครียดและหลีกเลี่ยงปัญหาทางร่างกายจิตใจที่สัมพันธ์กับการมีความเครียดสูง", "title": "ความเครียด (จิตวิทยา)" }, { "docid": "344437#2", "text": "จิตวิทยาเชิงบวกเป็นศาสตร์ที่ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วในโลกตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งศาสตราจารย์มาร์ติน เซลิกแมน ผู้เปรียบได้ว่าเป็นบิดาของศาสตร์ดังกล่าว ได้ให้ความหมายว่าเป็นจิตวิทยาของชาวตะวันตกสมัยใหม่ที่ยึดเอาจุดแข็งของมนุษย์เป็นจุดหลักของการพัฒนา เช่น การพัฒนาด้านคุณค่า สติรับรู้ในการปฏิบัติกิจต่าง ๆ การมองโลกในแง่ดี การมีความหวัง และการมีความสุข จิตวิทยาเชิงบวกจึงเป็นศาสตร์ใหม่ที่เน้นการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์ให้มีความสุข โดยมีพื้นฐานมาจากการพัฒนาตนเอง เป็นคนดี และมองโลกในแง่ดี ทั้งยังเป็นศาสตร์ที่อาศัยสถิติและวิธีการทางวิทยาศาสตร์อื่น ๆ ที่สามารถนำมาใช้อ้างอิงได้ ตลอดจนมีแนวทางปฏิบัติเป็นตัวอย่างที่ชัดเจน[4]", "title": "จิตวิทยาเชิงบวก" } ]
1469
รถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นการเดินทางที่สะดวกรวดเร็วในกรุงเทพใช่หรือไม่?
[ { "docid": "9860#1", "text": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ซึ่งเป็นบริษัทลูกของกลุ่มบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ ที่ได้รับสัมปทานโครงการภายในกรอบระยะเวลา 30 ปีจากกรุงเทพมหานคร และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับสัมปทานโครงการจากกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน มีแนวเส้นทางเป็นแนวเหนือ-ตะวันออก พาดผ่านพื้นที่สามจังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, จ.ปทุมธานี และ จ.สมุทรปราการ เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณย่านลำลูกกา จ.ปทุมธานี วิ่งไปตามแนวถนนลำลูกกา จากนั้นเบี่ยงซ้ายเข้าถนนเลียบเส้นทางกับกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศของกองทัพอากาศ เข้าสู่เขตกรุงเทพมหานคร วิ่งผ่านพื้นที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ กองทัพอากาศ, กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์, ม.ศรีปทุม, ม.เกษตรศาสตร์ จากนั้นเข้าสู่พื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นในที่บริเวณแยกรัชโยธิน วิ่งมาจนถึงปากทางห้าแยกลาดพร้าว ยกระดับข้ามดอนเมืองโทลล์เวย์ เข้าถนนพหลโยธิน ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อถึงแยกปทุมวันแนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายเข้าถนนพระรามที่ 1 และมุ่งตรงไปยังถนนเพลินจิต และถนนสุขุมวิท เพื่อเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ ผ่านพื้นที่สำคัญของจังหวัดสมุทรปราการอีกหลายแห่ง อาทิ พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ, โรงเรียนนายเรือ, ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ และสิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่ย่านบางปู บริเวณสถานตากอากาศบางปู จังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น 52.65 กิโลเมตร นับเป็นเส้นทางระบบขนส่งมวลชนที่ยาวที่สุดในกรุงเทพมหานคร แนวเส้นทางจะเน้นขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองทั้งฝั่งเหนือและฝั่งตะวันออกให้เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร พื้นที่ท่องเที่ยว, สถานบันเทิง และเขตเศรษฐกิจชั้นในตามแนวถนนสุขุมวิทได้อย่างรวดเร็ว", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท" } ]
[ { "docid": "196512#7", "text": "เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform) ทางวิ่งยกระดับสูง 19 เมตรเพื่อให้วางอยู่เหนือสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส\nสถานีบางหว้าเป็นสถานีเชื่อมต่อที่สำคัญแห่งหนึ่งของฝั่งธนบุรี เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบและฝั่งบางหว้าของรถไฟฟ้าบีทีเอสเป็นสถานีปลายทาง การก่อสร้างทั้งสองสถานีจึงต้องคำนึงถึงความสะดวกในการเข้า-ออกระบบมากเป็นพิเศษ ผู้รับเหมาก่อสร้างคือ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) จึงได้เสนอให้มีการปรับแบบของทั้งสถานีบางหว้าฝั่งบีทีเอสซึ่งมีผู้รับเหมาเป็นเจ้าเดียวกัน และออกแบบให้สถานีฝั่งรถไฟฟ้ามหานครให้เป็นสถานีที่ใช้โครงสร้างบางส่วนร่วมกัน", "title": "สถานีบางหว้า" }, { "docid": "554772#1", "text": "แนวคิดโครงการเกิดจาก อบจ. สมุทรปราการ มีนโยบายลงทุนโครงการรถไฟฟ้าขนาดเบา เพื่อร่นระยะการเดินทางของคนในพื้นที่ นักท่องเที่ยว รวมถึงชาวต่างชาติที่ลงจากท่าอากศยานสุวรรณภูมิ สามารถเดินทางโดยรถไฟฟ้าเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการได้อย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันพื้นที่สมุทรปราการเริ่มเกิดวิกฤติจราจรที่ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานานขึ้น และยังช่วยสนับสนุนแผนการพัฒนาสมุทรปราการให้ก้าวไปสู่เมืองท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และธรรมชาติชายฝั่ง\nโครงการเริ่มต้นจากสถานีบางปู (E28) รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บนถนนสุขุมวิท วิ่งไปตามแนว ถนนตำหรุ-บางพลี ถนนกิ่งแก้ว แล้วไปสิ้นสุดที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมระยะทางประมาณ 23.39 กิโลเมตร", "title": "รถไฟฟ้าโมโนเรล สายบางปู-สุวรรณภูมิ" }, { "docid": "145550#0", "text": "สถานีเอกมัย () เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกเอกมัยใต้ (แยกถนนสุขุมวิท 63) เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางกับสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออก", "title": "สถานีเอกมัย" }, { "docid": "5519#161", "text": "สามารถเดินทางมายังจุฬาฯ ด้วยรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สำหรับรถไฟฟ้าบีทีเอส ผู้โดยสารสามารถลงได้สองสถานี ได้แก่ สถานีสยามและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ส่วนรถไฟฟ้ามหานคร สามารถลงได้สองสถานีเช่นเดียวกัน คือ สถานีสามย่าน ทางออกที่ 2 เชื่อมต่อกับพื้นที่ฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท[247] และสถานีสีลม ทางออกที่ 2 เชื่อมต่อกับคณะแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์[248]", "title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "9860#9", "text": "ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิหรือแอร์พอร์ทลิงก์ ได้ที่ สถานีพญาไท โดยทางการรถไฟแห่งประเทศไทยได้สร้างทางเชื่อมต่อโดยตรงจากสถานีพญาไทของโครงการแอร์พอร์ทลิงก์มายังสถานีพญาไทของรถไฟฟ้าบีทีเอส ซึ่งสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสได้ติดตั้งประตูเครื่องตรวจตั๋วโดยสารอัตโนมัติเพิ่มเติมบริเวณกลางสถานี ทำให้พื้นที่ที่ผ่านเครื่องตรวจตั๋วโดยสารแล้ว (paid area) ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนในลักษณะเดียวกันกับสถานีสยาม เพื่อเพิ่มความสะดวกสำหรับผู้ที่จะต่อรถเดินทางไปยังสนามบินสุวรรณภูมิ", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท" }, { "docid": "7931#43", "text": "บัตรโดยสารแบบสมาร์ตการ์ดชนิดบาง (Thin Card) สามารถใช้เดินทางได้ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส และสามารถเดินทางข้ามไปยังโครงการ รถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง, รถไฟฟ้าสายสีชมพู, รถไฟฟ้าสายสีทอง และระบบขนส่งมวลชนสายอื่นๆ ของกลุ่มบีทีเอสและบริษัทในเครือที่จะเปิดใช้งานในอนาคตได้ โดยไม่ต้องออกบัตรใหม่ที่สถานีเชื่อมต่อ มีทั้งหมด 2 ประเภท ได้แก่ บัตรประเภทเที่ยวเดียว คิดค่าโดยสารตามระยะทางที่เดินทางจริง สามารถซื้อได้ที่เครื่องจำหน่ายบัตรโดยสารอัตโนมัติชนิดหยอดเหรียญหรือธนบัตร และที่ห้องจำหน่ายบัตรโดยสาร ซึ่งใช้ได้เฉพาะวันที่ซื้อเท่านั้น โดยมีอัตราค่าโดยสารดังต่อไปนี้ อัตราค่าโดยสารสำหรับบุคคลทั่วไป เริ่มต้น 16 บาท สูงสุด 44 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลม (โพธิ์นิมิตร–บางหว้า) ซึ่งคิดค่าโดยสารแยกต่างหากในอัตราเหมาจ่าย 15 บาทตลอดสาย อัตราค่าโดยสารพิเศษสำหรับสมาชิกเอไอเอส แรบบิท ไลน์ เพย์, ลูกค้าธนาคารกรุงเทพ และลูกค้าธนาคารกสิกรไทย เริ่มต้น 11 บาท สูงสุด 39 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลม (โพธิ์นิมิตร–บางหว้า) ซึ่งคิดค่าโดยสารแยกต่างหากในอัตรา 10 บาทตลอดสาย เมื่อเดินทางภายในสถานีส่วนต่อขยาย และ 15 บาทตลอดสาย เมื่อเดินทางเข้าสู่เส้นทางส่วนหลัก (อัตราค่าโดยสารพิเศษสำหรับผู้โดยสารที่ชำระค่าบัตรโดยสารเที่ยวเดียวด้วย คิวอาร์โค้ด ผ่าน เอไอเอส แรบบิท ไลน์ เพย์ ในแอปพลิเคชันไลน์ แอปพลิเคชันบัวหลวงไอแบงค์กิ้ง และแอปพลิเคชันเคพลัส) บัตรประเภท 1 วัน ราคา 140 บาท ใช้เดินทางได้ไม่จำกัดจำนวนเที่ยวและระยะทางตั้งแต่เวลาที่ซื้อบัตร จนถึงเวลาปิดทำการในแต่ละวัน (24.00 น. หรือตามเวลาที่บีทีเอสซีกำหนด) สามารถซื้อได้ที่ห้องจำหน่ายบัตรโดยสารทุกสถานี บัตรแรบบิท (Rabbit Card) สามารถใช้เดินทางได้ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส รถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที เรือโดยสารคลองภาษีเจริญ และระบบขนส่งมวลชนสายอื่นๆ ของกรุงเทพมหานคร กลุ่มบีทีเอสและบริษัทในเครือที่จะเปิดใช้งานในอนาคตได้ อีกทั้งยังสามารถใช้จ่ายแทนเงินสดได้กับร้านค้าที่ร่วมรายการ เริ่มจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 มีอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ แรบบิทมาตรฐาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ บุคคลทั่วไป, ผู้สูงอายุ และนักเรียน-นักศึกษา โดยสามารถขอออกบัตรได้ที่สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส และสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ทีทุกสถานี และสามารถเติมเงินได้ตามสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส, สถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที หรือจุดบริการเติมเงินต่างๆ ที่เปิดให้บริการ มีค่าธรรมเนียมในการออกบัตร 200 บาท โดยแบ่งเป็นค่าธรรมเนียมในการออกบัตรใหม่ 100 บาท และยอดเงินเริ่มต้น 100 บาท สามารถเติมได้ทั้งเงินสดและเที่ยวการเดินทางตามโปรโมชั่นของบีทีเอสหรือตามที่กลุ่มบีทีเอสเป็นผู้กำหนด บัตรมีอายุการใช้งาน 7 ปี สามารถเติมมูลค่าในบัตรได้สูงสุด 4,000 บาท โดยมูลค่าในบัตรมีอายุ 2 ปี นับจากวันที่ใช้งานครั้งสุดท้าย แรบบิทพิเศษ เป็นบัตรแรบบิทที่บริษัท บางกอกสมาร์ทการ์ดซิสเท็ม จำกัด เป็นผู้ออกมาจำหน่ายในแบบจำนวนจำกัด โดยจะออกวางจำหน่ายตามเทศกาลต่างๆ เช่น วันพระราชสมภพ, วันพระราชพิธี หรือวันสำคัญต่างๆ เป็นต้น แรบบิทธุรกิจ เป็นบัตรแรบบิทที่ออกตามความต้องการของบริษัทพันธมิตร โดยมีการออกลายหน้าบัตรเพื่อทำการประชาสัมพันธ์ หรือทำเป็นของที่ระลึกเนื่องในโอกาสต่างๆ โดยลายแรกของบัตรแรบบิทธุรกิจคือ บัตรแรบบิท-แครอท ลิมิเต็ด อิดิชั้น ที่ออกเพื่อเป็นการสมนาคุณกับสมาชิกบัตรหนูด่วนพลัส แรบบิทร่วม เป็นบัตรแรบบิทที่ออกร่วมกับองค์กรต่างๆ เช่น การรวมบัตรแรบบิทเข้ากับบัตรเอทีเอ็ม, บัตรเดบิต, บัตรเครดิต, ใช้บัตรแรบบิทเป็นบัตรนักศึกษา หรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น บัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ (AIS Rabbit LINE Pay Card) เป็นบัตรแรบบิทมาตรฐานและบัตรแรบบิทพิเศษ ที่ผนวกความสามารถของบริการ เอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ ของบริษัท แรบบิท-ไลน์ เพย์ จำกัด เข้ามาไว้ในบัตรใบเดียว ทำให้สามารถใช้เดินทางโดยการตัดค่าโดยสารผ่านบัญชีแรบบิท ไลน์เพย์ หรือผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิตโดยตรงได้ โดยเริ่มให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561 สำหรับค่าโดยสารของบัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ค่าโดยสารแบบเงินสด บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับบุคคลทั่วไป คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 15 บาท สูงสุด 43 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 15 บาทตลอดสาย บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับนักเรียนนักศึกษา คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 15 บาท สูงสุด 43 บาท โดยไม่รวมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 10 บาทตลอดสาย บัตรแรบบิทและบัตรเอไอเอส แรบบิท ไลน์เพย์ สำหรับผู้สูงอายุ คิดค่าโดยสารตามระยะทาง เริ่มต้น 7 บาท สูงสุด 21 บาท โดยไม่ร่วมค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลมในอัตรา 7 บาทตลอดสาย อัตราค่าโดยสารพิเศษ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 – 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562 เที่ยวเดินทาง เที่ยวเดินทางสำหรับบุคคลทั่วไป 50 เที่ยว 1,300 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 26 บาท 40 เที่ยว 1,080 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 27 บาท 25 เที่ยว 725 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 29 บาท 15 เที่ยว 465 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 31 บาท เที่ยวเดินทางสำหรับนักเรียนนักศึกษา 50 เที่ยว 950 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 19 บาท 40 เที่ยว 800 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 20 บาท 25 เที่ยว 550 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 22 บาท 15 เที่ยว 360 บาท เฉลี่ยเที่ยวละ 24 บาท เที่ยวเดินทางสามารถใช้เดินทางได้ในเฉพาะเส้นทางสัมปทาน (อ่อนนุช–หมอชิต และ สนามกีฬาแห่งชาติ–สะพานตากสิน) และส่วนต่อขยายสายสีลมระยะที่ 1 (สะพานตากสิน–วงเวียนใหญ่) เท่านั้น กรณีต้องการเดินทางเข้าส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (บางจาก–เคหะฯ) และส่วนต่อขยายสายสีลมระยะที่ 2 (โพธินิมิตร–บางหว้า) ต้องมีเงินในบัตรคงเหลืออย่างน้อย 15 บาท ถึงจะสามารถเข้าและออกจากระบบที่สถานีส่วนต่อขยายได้ บัตรแรบบิทพลัส (Rabbit Plus Card) เป็นบัตรแรบบิทที่ผนวกความสามารถของบัตรแมงมุมด้วยการติดตั้งชิปแบบ Hybrid Chip ทั้งไมโครชิปไร้สัมผัส และชิปแบบ EMV แบบเดียวกับบัตรเครดิต สามารถใช้ได้ในทุกระบบการขนส่ง ตั้งแต่รถไฟฟ้า, รถประจำทาง, เรือโดยสาร, ทางด่วน และทางพิเศษ ภายในบัตรเดียว จะพร้อมให้บริการภายใน พ.ศ. 2562 บัตรดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แรบบิทพลัสสำหรับบุคคลทั่วไป มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับบุคคลทั่วไป แรบบิทพลัสสำหรับนักเรียนและนักศึกษา สามารถใช้งานได้ตั้งแต่อายุ 7 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 23 ปี หรือสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับนักเรียนและนักศึกษา แรบบิทพลัสสำหรับผู้สูงอายุ บัตรสำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีคุณสมบัติเทียบเท่าบัตรแมงมุมสำหรับผู้สูงอายุ แมงมุมสวัสดิการแห่งรัฐ เป็นบัตรพิเศษสำหรับผู้ที่ขึ้นทะเบียนผู้ที่มีรายได้น้อย โดยมีงบค่าโดยสาร 500 บาท/เดือน", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "7931#82", "text": "วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 เวลา 05.00 น.[26] เกิดเหตุขัดข้องบริเวณจุดสับรางรถไฟฟ้าช่วงสถานีชิดลมมุ่งหน้าเข้าสถานีสยาม ทำให้รถไฟฟ้าไม่สามารถให้บริการได้ตามปกติในสายสุขุมวิท โดยบีทีเอสได้จัดรถวิ่งเป็นสี่ช่วง คือช่วงแบริ่ง–สยาม–แบริ่ง หมอชิต–สยาม–หมอชิต หมอชิต–บางหว้า–หมอชิต และสนามกีฬาแห่งชาติ–สยาม–สนามกีฬาแห่งชาติ ความถี่ 5–10 นาทีต่อคัน โดยผู้โดยสารต้องเปลี่ยนขบวนรถที่สถานีสยามเพื่อเดินทางไปยังสถานีปลายทาง ต่อมาดร.อาณัติ อาภาภิรม ได้ออกแถลงว่าปัญหาดังกล่าวเกิดจากการที่จุดสับรางรถไฟฟ้าบริเวณดังกล่าวเสียหาย การซ่อมแซมจำเป็นต้องตัดกระแสไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนยกชุด ดังนั้นบีทีเอสซีจะดำเนินการซ่อมแซมภายในคืนวันที่ 24 กุมภาพันธ์หลังปิดให้บริการ และจำเป็นต้องให้บริการรถตามแผนการเดินรถฉุกเฉินทั้งวันจนถึงเวลาปิดให้บริการ จากเหตุการณ์นี้ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของบีทีเอสซีอย่างหนัก รวมถึงกรณีที่อายุของโครงการเริ่มเข้าใกล้ 20 ปี จึงถูกให้ความเห็นอย่างหนักว่าถึงเวลาที่บีทีเอสซีต้องสั่งซื้อขบวนรถใหม่ยกชุดแล้วหรือยัง", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "145069#1", "text": "สถานีพญาไท (รถไฟฟ้าบีทีเอส) () เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพญาไท กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกพญาไท สามารถเชื่อมต่อการเดินทางกับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่สถานีพญาไทได้โดยตรง และในอนาคตจะเป็นจุดเชื่อมต่อกับระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ที่สถานีรถไฟพญาไท", "title": "สถานีพญาไท" }, { "docid": "336331#5", "text": "ในปัจจุบัน สถานีขนส่งแห่งนี้ไม่เหลือร่องรอยอาคารและตัวสถานีให้เห็นแล้ว แต่ยังมีกำแพงของสถานีขนส่งที่คงอยู่ พื้นที่ส่วนหนึ่งใช้เป็นที่จอดรถสำหรับผู้ที่มาใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีหมอชิต และรถไฟฟ้ามหานครสถานีสวนจตุจักร และอีกส่วนหนึ่งเป็นศูนย์ซ่อมบำรุงใหญ่หมอชิต ของรถไฟฟ้าบีทีเอสด้วย", "title": "สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)" }, { "docid": "754254#0", "text": "โครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด และบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี ดำเนินการในรูปแบบระบบขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติ โดยใช้รถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ", "title": "รถไฟฟ้าสายสีทอง" }, { "docid": "7931#85", "text": "วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รถไฟฟ้าบีทีเอสเกิดเหตุขัดข้องอีกครั้งโดยเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องมาจากวันที่ 25 มิถุนายน เบื้องต้นนายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้แถลงสาเหตุคร่าวๆ ว่า สาเหตุเกิดจากคลื่นความถี่ย่าน 2300 MHz ช่วงปลาย (~2370 MHz) ของดีแทคและทีโอที มารบกวนการทำงานของระบบอาณัติสัญญาณของรถไฟฟ้าซึ่งทำงานอยู่บนคลื่นความถี่สาธารณะ 2400 MHz (2.4 GHz) ตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2561 จนกระทั่งสัญญาณบริเวณย่านสยามสแควร์ถูกปล่อยแรงขึ้นก็เลยทำให้ระบบมีปัญหาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2561 มาจนถึงปัจจุบัน[29] อย่างไรก็ตามดีแทคได้แถลงข่าวสวนกลับว่าคลื่น 2300 MHz ไม่ได้ส่งผลกระทบใดๆ ต่อการให้บริการรถไฟฟ้า[30] แต่ดีแทคยินดีร่วมหาสาเหตุที่แท้จริงไปพร้อมกันด้วยการปิดสัญญาณเครือข่าย \"ดีแทค-ที\" ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าตั้งแต่เช้าวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เวลา 6.00 น. และส่งวิศวกรเครือข่ายระดับสูงเข้ามาร่วมด้วยช่วยกันหาสาเหตุพร้อมๆ กับเจ้าหน้าที่ของ กสทช. ที่เข้าร่วมหาสาเหตุในเช่นเดียวกัน[31] ผลปรากฏว่าหลังดีแทคปิดสัญญาณ ระบบรถไฟฟ้าเกิดปัญหาอีกครั้งในเวลา 6.15 น. 6.28 น. และ 7.18 น. ตามลำดับ ทางดีแทคจึงสรุปว่าปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นจากการรบกวนกันเองของคลื่น 2400 MHz ไม่ใช่ผลจากการเปิดให้บริการเครือข่าย 2300 MHz ตามที่บีทีเอสกล่าวอ้าง และต่อมา สำนักงาน กสทช. ได้มีข้อสรุปออกมาเช่นเดียวกันว่าระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส ถูกก่อกวนด้วยสัญญาณไวไฟจากอาคารข้างเคียงมากกว่าสัญญาณของโทรศัพท์มือถือ[32] ต่อมานายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา ได้ออกแถลงการณ์ใหญ่ผ่านเฟซบุ๊กของบริษัทต่อกรณีที่เกิดขึ้น[33] โดยระบุสาเหตุที่แท้จริงทั้งหมดสองข้อคือ หนึ่งบริษัทฯ กำลังติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณใหม่ทั้งระบบเพื่อรองรับการเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ในเดือนธันวาคม และสองเป็นเพราะระบบอาณัตสัญญาณที่ทำงานอยู่บนคลื่น 2400 MHz ถูกรบกวนโดยสัญญาณเครือข่ายไวไฟที่ใช้ในย่านเดียวกันจากอาคารข้างเคียง ซึ่งมีกำลังส่งสูงถึง 1 วัตต์ โดยอาการดังกล่าวถูกตรวจพบที่สถานีสยาม (จากศูนย์การค้าสยามพารากอน) สถานีอโศก (ศูนย์การค้าเทอร์มินัล 21 อโศก) และสถานีพร้อมพงษ์ (จากศูนย์การค้าเอ็มโพเรี่ยม และศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์) เบื้องต้นบริษัทจะแก้ไขปัญหาด้วยการเปลี่ยนโหมดการทำงานของระบบรถไฟฟ้าจากระบบอัตโนมัติมาเป็นการขับเคลื่อนแบบแมนวลไปจนกว่าการย้ายช่วงคลื่นความถี่ที่ใช้งานและการติดตั้งอุปกรณ์กันสัญญาณรบกวนเสร็จสิ้น พร้อมทั้งขอความร่วมมือไปยังห้างสรรพสินค้าให้มีการปิดสัญญาณไวไฟที่มีปัญหาก่อนจนกว่าบีทีเอสจะดำเนินการแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จ ทั้งนี้บีทีเอสจะพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนระบบไปใช้คลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาตจาก กสทช. แทนการใช้งานคลื่นความถี่สาธาณะต่อไป หลังจากที่ กสทช.​ เสนอแนวทางให้บีทีเอสเลือกใช้งานคลื่น 800 MHz และ 900 MHz ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม-อาร์ (GSM-R) แทนการใช้คลื่นความถี่สาธารณะในการให้บริการ[32] แต่อย่างไรเสีย วิศวกรของบอมบาร์ดิเอร์ยืนยันว่าระบบของรถไฟฟ้าบีทีเอส ไม่สามารถทำงานร่วมกับคลื่นจีเอสเอ็ม-อาร์ได้ เพราะระบบถูกออกแบบมาให้ทำงานร่วมกับคลื่นความถี่สาธารณะเพียงอย่างเดียวเท่านั้น กสทช. จึงมีมติให้บีทีเอสย้ายคลื่นความถี่ของระบบอาณัติสัญญาณไปอยู่ที่ช่วง 2480 MHz - 2495 MHz ความกว้าง 15 MHz แทน ซึ่งช่วงคลื่นความถี่ดังกล่าวปัจจุบันไม่ได้มีการใช้งาน เนื่องจากเดิมเป็นคลื่นสำหรับเทคโนโลยีไวไฟ บี (802.11b) ที่ปัจจุบันไม่ได้ใช้งานแล้ว และยังเป็นช่วงคลื่นที่สหรัฐอเมริกาใช้งานสำหรับกิจการดาวเทียม และบังคับให้ผู้ผลิตอุปกรณ์รวมถึงองค์กร ITU ไม่ให้มีการจัดสรรคลื่นช่วงนี้ให้ประชาชนใช้งาน กสทช. จึงเห็นว่าในไทยที่ไม่ได้ใช้คลื่นช่วงนี้อยู่แล้ว ให้บีทีเอสย้ายมาอยู่คลื่นช่วงนี้แล้วติดตั้งอุปกรณ์กรองสัญญาณจะดีที่สุด[34]", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "7931#55", "text": "รถไฟฟ้าบีทีเอสได้จัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย รวมทั้งสิ้น 394 คน ต่อวัน ปฏิบัติหน้าที่บนสถานีรถไฟฟ้าทั้ง 34 สถานี ที่อาคารศูนย์บริหารและควบคุมการเดินรถไฟฟ้า โรงจอดและซ่อมบำรุง และลานจอดรถหมอชิต แบ่งการปฏิบัติหน้าที่เป็น 2 ผลัด ผลัดละ 10–12 ชั่วโมง โดยจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำสถานีละ 4 ถึง 10 คน (ขึ้นอยู่กับปริมาณผู้โดยสารที่มาใช้บริการ) ประจำบนชั้นชานชาลาฝั่งละ 1 คน ตลอดเวลาให้บริการ และบริเวณประตูอัตโนมัติบนชั้นจำหน่ายตั๋ว ฝั่งละ 1 คน ทั้งนี้ ในช่วงเวลากลางวันจะมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหญิงสถานีละ 1 คน คอยให้ความช่วยเหลือผู้โดยสารที่เป็นสุภาพสตรีในกรณีต่างๆ เช่น คอยอำนวยความสะดวกและช่วยเหลือผู้โดยสารที่เป็นสุภาพสตรีที่เป็นลมหมดสติ และเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ จะเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เพื่อคอยตรวจตราความเรียบร้อยในขบวนรถไฟฟ้า", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "7931#0", "text": "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (English: Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "7931#45", "text": "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ให้บริการส่วนลดร้านค้าอื่นๆ ตามประกาศของธนาคารกรุงเทพ สำหรับผู้ที่ใช้บัตรเดบิตและบัตรเครดิต ธนาคารกรุงเทพที่ใช้ร่วมกับบัตรเดินทางประเภท (BTS Rabbit) รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา เท่านั้นโดยจะประกาศเป็นช่วงระยะเวลาเช่นเดียวกัน", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "8733#4", "text": "สยามสแควร์เป็นศูนย์การค้าเปิดโล่งแนวราบขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับถนนพระราม 1 และทางทิศตะวันตกติดกับถนนพญาไท ทางด้านทิศตะวันออกติดกับถนนอังรีดูนังต์ และทางทิศใต้คือซอยจุฬา 64 ซึ่งในบริเวณใกล้เคียงยังมี ศูนย์การค้ามาบุญครอง สยามดิสคัฟเวอร์รี่ สยามเซ็นเตอร์ สยามพารากอน และยังติดกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกด้วย รวมถึง วัดปทุมวนาราม วังสระปทุม และสนามศุภชลาศัย เป็นต้น ส่วนการเดินทางมายังสยามสแควร์นั้น ยังสามารถเดินทางมาได้โดยรถไฟฟ้าบีทีเอส โดยสถานีสยามยังเป็นสถานีเปลี่ยนเส้นทางของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และ สายสีลม อีกด้วย", "title": "สยามสแควร์" }, { "docid": "3651#4", "text": "รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างทั้งทางยกระดับเหนือพื้นดินและเป็นอุโมงค์ใต้ดินเป็นสายแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในอดิต ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับสัมปทานโครงการในการร่วมทุนและดำเนินการเชิงพาณิชย์ หรือ PPP-Net Cost ภายในกรอบระยะเวลา 27 ปี จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และได้รับการต่ออายุสัญญาเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2560 ออกไปอีก 33 ปี รวมเป็น 60 ปี มีแนวเส้นทางเป็นแนววงกลมภายในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครชั้นใน เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณหน้าห้างเดอะมอลล์บางแค ตามแนวถนนเพชรเกษม วิ่งผ่านแยกท่าพระ แล้วลดระดับลงเป็นเส้นทางใต้ดิน ลอดแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ฝั่งพระนครภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สวนลุมพินี, ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์, ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย, สวนจตุจักร และศูนย์คมนาคมกลางบางซื่อ แนวเส้นทางจะยกระดับกลับเป็นเส้นทางลอยฟ้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยากลับสู่ฝั่งธนบุรี และกลับมาสิ้นสุดเส้นทางทั้งหมดที่แยกท่าพระ รวมระยะทางประมาณ 47.8 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่เน้นการขนส่งผู้โดยสารระหว่างสายด้วยการเดินรถเป็นวงกลมรอบๆ กรุงเทพมหานครชั้นในแนวเส้นทางส่วนใหญ่เป็นเส้นทางใต้ดิน มีจุดเริ่มต้นจากสถานีหัวลำโพง ที่บริเวณถนนพระรามที่ 4 ด้านหน้าสถานีรถไฟกรุงเทพ มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ที่สถานีสีลม จนถึงบริเวณย่านบ่อนไก่ - ตลาดคลองเตย แนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายมุ่งหน้าไปทางเหนือตามแนวถนนรัชดาภิเษก ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ที่สถานีสุขุมวิท และผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และทางรถไฟสายตะวันออก ที่สถานีเพชรบุรี เชื่อมต่อกับแนวเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือจนถึงบริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาเข้าถนนลาดพร้าว มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเข้าถนนพหลโยธิน ลอดใต้ถนนวิภาวดีรังสิต ผ่านจุดตัดรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ที่สถานีหมอชิต เลี้ยวขวาเข้าสู่ศูนย์คมนาคมกลางบางซื่อ และยกระดับกลับไปเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่จุดเชื่อมต่อสถานีเตาปูนอันเป็นจุดสิ้นสุดเส้นทาง รวมระยะทาง 21 กิโลเมตร", "title": "รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล" }, { "docid": "50383#2", "text": "ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) สถานีหมอชิตยังคงเป็นสถานีปลายทางของเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จนกว่ารถไฟฟ้าส่วนต่อขยายจากสถานีหมอชิตถึงสถานีคูคตจะก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้บริการ สถานีหมอชิตจึงมีผู้โดยสารใช้บริการหนาแน่นโดยเฉพาะในเวลาเร่งด่วน เพราะเป็นจุดเปลี่ยนเส้นทางไปยังรถไฟฟ้ามหานคร และเป็นเชื่อมต่อการเดินทางไปยังชานเมืองกรุงเทพฯ ด้านเหนือ ได้แก่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน งามวงศ์วาน หลักสี่ ดอนเมือง สะพานใหม่ สายไหม จังหวัดนนทบุรีและปทุมธานี รวมไปถึงสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่", "title": "สถานีหมอชิต" }, { "docid": "1919#96", "text": "กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองเดียวในประเทศไทยที่มีระบบรถไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย 3 ระบบ คือ รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในอนาคต อาจมีความยาวเกือบ 400 กิโลเมตร ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งได้มีโครงการรถไฟฟ้ามาตั้งแต่ พ.ศ. 2518 แล้ว[78]", "title": "กรุงเทพมหานคร" }, { "docid": "50383#0", "text": "สถานีหมอชิต () เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต", "title": "สถานีหมอชิต" }, { "docid": "68762#7", "text": "ทั้งนี้สัญญาว่าด้วยความเข้าใจของ กิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ จะสิ้นสุดลง ณ วันที่สิ้นสุดสัญญาสัมปทานโครงการในแผนระยะแรก รถไฟฟ้าสายสีเหลือง มีแผนเส้นทางเพียงแค่ รัชดาฯ-ลาดพร้าว-สำโรง และมีแผนเส้นทางส่วนต่อขยายจากสถานีสำโรง โดยวิ่งไปตามแนวถนนเทพารักษ์ และข้ามเขตไปยังฝั่งธนบุรีต่อไป แต่เนื่องจากนักวิชาการและประชาชนเล็งเห็นว่า ในส่วนสถานีรัชดาฯ-ลาดพร้าว ควรต่อขยายเส้นทางออกไปจนถึงรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทที่สถานีรัชโยธิน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางด้วยรถไฟฟ้าบีทีเอส สามารถเดินทางข้ามเขตจากสายสีเหลืองได้ทันที โดยไม่ต้องไปเปลี่ยนสถานีซ้ำซ้อนที่สถานีพหลโยธิน หลังจากมีข้อติในเรื่องดังกล่าว รฟม. ได้ออกแผนศึกษาเส้นทางด่วน และพบว่าเส้นทางดังกล่าวสามารถขยายเส้นทางออกไปได้ แต่ยังไม่มีความพร้อมและหลักประกันผู้โดยสาร จึงคงเส้นทาง รัชดาฯ-ลาดพร้าว-รัชโยธิน ไว้เป็นส่วนต่อขยายต่อไป", "title": "รถไฟฟ้าสายสีเหลือง" }, { "docid": "97144#1", "text": "สถานที่ใกล้เคียงสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) ได้แก่ สถานีเดินรถโดยสารขนาดเล็ก (จตุจักร), สถานีกลางบางซื่อ (กำลังก่อสร้าง), เจเจมอลล์, ตลาดนัดจตุจักร, พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพฯ, สวนจตุจักร, รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีกำแพงเพชร, รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีหมอชิต, กรมการขนส่งทางบก", "title": "สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)" }, { "docid": "7931#9", "text": "ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิหรือแอร์พอร์ทลิงก์ ได้ที่สถานีพญาไท โดยการรถไฟแห่งประเทศไทยได้สร้างทางเชื่อมต่อโดยตรงจากสถานีพญาไทของโครงการแอร์พอร์ทลิงก์มายังสถานีพญาไทของรถไฟฟ้าบีทีเอส ซึ่งสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสได้ติดตั้งประตูเครื่องตรวจตั๋วโดยสารอัตโนมัติเพิ่มเติมบริเวณกลางสถานี ทำให้พื้นที่ที่ผ่านเครื่องตรวจตั๋วโดยสารแล้ว (paid area) ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนในลักษณะเดียวกันกับสถานีสยาม เพื่อเพิ่มความสะดวกสำหรับผู้ที่จะต่อรถเดินทางไปยังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "142881#3", "text": "แนวทางหนึ่งของการพัฒนาระบบรถประจำทางที่เหมาะสม คือการสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ที่มีคุณภาพเทียบเท่าระบบราง มีลักษณะเฉพาะได้แก่ ใช้มาตรการการให้สิทธิพิเศษแก่รถโดยสารประจำทาง โดยออกแบบช่องทางพิเศษเฉพาะในรูปแบบชิดเกาะกลางถนน เพื่อแยกการเดินรถออกจากระบบจราจรอื่น ๆ มีสถานีเฉพาะที่อำนวยความสะดวก มีศูนย์ควบคุมและบริหารจัดการการเดินรถ โดยใช้ระบบขนส่งอัจฉริยะ (English: intilligent transport system หรือ ITS) ที่มีตารางเวลาการเดินรถค่อนข้างแน่นอน เพื่อความตรงต่อเวลาและความปลอดภัย ขณะที่เส้นทางการเดินรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษมีความยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง และใช้ค่าก่อสร้างเพียง 80-120 ล้านบาทต่อกิโลเมตร หรือประมาณ 8% ของต้นทุนระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่ใช้เงินลงทุนถึง 1,400 ล้านบาทต่อกิโลเมตร และถูกกว่ารถไฟฟ้าใต้ดิน ที่ใช้เงินลงทุนสูงถึง 3,000 ล้านบาทต่อกิโลเมตร ทั้งยังสามารถก่อสร้างได้รวดเร็วไม่เกิน 1 ปีต่อเส้นทาง หรือเร็วกว่ารถไฟฟ้าถึง 3 เท่า[3]", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "50384#0", "text": "สถานีสวนจตุจักร () เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสถานีหมอชิต ซึ่งเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ได้โดยตรง และมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่", "title": "สถานีสวนจตุจักร" }, { "docid": "9860#43", "text": "อนึ่ง กรุงเทพมหานคร ได้จัดการประชุมสอบถามความเห็นไปยังเอกชนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)​ หรือ บีทีเอสซี บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสกรุ๊ป บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีอีเอ็ม บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด และ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำกัด เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เสียงจากเอกชนส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่าควรให้กลุ่มบีทีเอสเป็นผู้รับสัมปทานแต่เพียงผู้เดียว เนื่องจากการมอบโครงการให้เอกชนรายอื่นเข้ามาบริหาร เกรงว่าจะเกิดความเสี่ยงต่อการดำเนินการ และอาจทำให้การดำเนินการในอนาคตมีปัญหาตามมา", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท" }, { "docid": "9861#1", "text": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ และเป็นเส้นทางที่ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ฝั่งธนบุรีได้เป็นสายแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของกลุ่มบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ ที่ได้รับสัมปทานโครงการภายในกรอบระยะเวลา 30 ปีจากกรุงเทพมหานคร และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับสัมปทานโครงการจากกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน มีแนวเส้นทางเป็นแนวตะวันตก-ใต้ พาดผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นใน ไปจนถึงฝั่งธนบุรี เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลหัวเฉียว วิ่งผ่าน กรีฑาสถานแห่งชาติ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อถึงแยกราชประสงค์แนวเส้นทางจะหักขวาเข้าถนนราชดำริ วิ่งผ่านสวนลุมพินี ราชกรีฑาสโมสร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งตรงเข้าสู่ถนนสีลม จากนั้นหักซ้ายเข้าถนนนราธิวาสราชนครินทร์ และหักขวาเข้าสู่ถนนสาทรเพื่อมุ่งหน้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและข้ามไปยังฝั่งธนบุรี แนวเส้นทางจะมุ่งหน้าเข้าสู่ถนนราชพฤกษ์และสิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่บริเวณทางแยกต่างระดับเพชรเกษม (แยกบางหว้า) รวมระยะทางทั้งสิ้น 14.67 กิโลเมตร แนวเส้นทางจะเน้นขนส่งผู้โดยสารจากบริเวณใจกลางฝั่งธนบุรีให้เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานครได้อย่างรวดเร็วแนวเส้นทางเป็นเส้นทางยกระดับทั้งโครงการ มีจุดเริ่มต้นจากสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ มุ่งตรงเข้าสถานีสยาม เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จากนั้นหักขวาเข้าถนนราชดำริ ถนนสีลม ผ่านจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่สถานีศาลาแดง หักซ้ายเข้าถนนนราธิวาสราชนครินทร์ และหักขวาเข้าสู่ถนนสาทร มุ่งหน้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สถานีสะพานตากสิน ผ่านจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีทอง ที่สถานีกรุงธนบุรี จุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่สถานีวงเวียนใหญ่ สิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่สถานีบางหว้า บริเวณทางแยกต่างระดับเพชรเกษม ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลอีกหนึ่งจุด รวมระยะทางทั้งสิ้น 14.67 กิโลเมตร", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม" }, { "docid": "550869#0", "text": "โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย-ลำสาลี) เป็นโครงการศึกษาการดำเนินการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อบรรจุลงในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โครงการได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวหรือรถไฟฟ้าโมโนเรล มีระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร โดยรถไฟฟ้าสายนี้จะเชื่อมต่อเมืองด้านฝั่งแคราย กับฝั่งเกษตร-นวมินทร์ที่มีอัตราการเติบโตสูงเข้าด้วยกัน และยังเป็นโครงข่ายสายรองเพื่อเชื่อมต่อกับโครงข่ายรถไฟฟ้าหลักอีก 4 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม และโครงข่ายรองอีก 3 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีชมพู รถไฟฟ้าสายสีเหลือง และรถไฟฟ้าสายสีเทา ของกรุงเทพมหานครแนวเส้นทางจะเริ่มต้นจากจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง และรถไฟฟ้าสายสีชมพู จากนั้นจะวิ่งตรงเข้าสู่ถนนงามวงศ์วาน ผ่าน ทางพิเศษศรีรัช แยกพงษ์เพชร เรือนจำกลางคลองเปรม แยกบางเขน เชื่อมกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม จากนั้นเบี่ยงซ้ายเข้าสู่พื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรงมาถึงแยกเกษตรแล้วเบี่ยงขวากลับเกาะกลางถนน เชื่อมกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จากนั้นผ่านแยกเกษตรตรงมาบนถนนประเสริฐมนูกิจ และเบี่ยงทางออกจากกันเพื่อลดระดับไปอยู่ใต้ทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 ผ่านจุดตัดทางพิเศษฉลองรัช ในอนาคตจะเชื่อมกับรถไฟฟ้าสายสีเทา จากนั้นจะตรงไปแยกนวลจันทร์-นวมินทร์ แล้วเลี้ยวขวาเข้าถนนนวมินทร์ แล้วตรงไปตามแนวถนนนวมินทร์จนถึงแยกบางกะปิ แนวเส้นทางศึกษาจะแยกออกเป็นสองสายเพื่อสิ้นสุดที่บริเวณแยกลำสาลีที่เป็นจุดเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง โดยในกรณีผู้ให้บริการเป็นบริษัทในเครือบีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ หรือกิจการร่วมค้า บีเอสอาร์ แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาเข้าถนนลาดพร้าวก่อนยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีเหลืองที่จุดตัดถนนลาดพร้าว-ศรีนครินทร์ เพื่อสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีแยกลำสาลีของรถไฟฟ้าสายสีเหลืองซึ่งจะปรับแบบให้เป็นสถานีร่วม แต่หากผู้ให้บริการไม่ใช่กลุ่มบีทีเอส หรือกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ แนวเส้นทางจะวิ่งตรงเข้าสู่ถนนพ่วงศิริและสิ้นสุดที่จุดตันถนนรามคำแหงกับถนนพ่วงศิริ โดยเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีเหลืองด้วยทางเดินยกระดับเดิมโครงการมีการศึกษาศูนย์ซ่อมบำรุงไว้ที่บริเวณจุดตัดทางพิเศษฉลองรัชแต่เนื่องจากบริเวณดังกล่าวกรุงเทพมหานครจะเวนคืนเพื่อก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุงของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา โครงการจึงมีแนวคิดย้ายศูนย์ซ่อมบำรุงไปอยู่พื้นที่บริเวณใกล้ ๆ กัน หรือย้ายไปบริเวณแยกบางกะปิซึ่งอยู่ใกล้กับสถานีแยกลำสาลี", "title": "รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล" }, { "docid": "7931#48", "text": "ตามนโยบายของภาครัฐฯ ที่ต้องการสนับสนุนสวัสดิการในการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนทุกประเภทโดยไม่คิดค่าโดยสารกับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ธนาคารกรุงไทยจึงได้ผนวกบัตรแมงมุมเข้าไปในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงจังหวัดบริวารโดยรอบ และกำหนดให้มีงบค่าโดยสารในบัตรเดือนละ 500 บาท โดยผู้ถือบัตรสามารถนำบัตรไปใช้งานที่สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ และสถานีรถไฟฟ้าชานเมืองได้ทันทีเมื่อเปิดใช้บริการ ทั้งนี้รถไฟฟ้าบีทีเอส จะพร้อมให้บริการกับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐฯ กลุ่มดังกล่าว ให้สามารถใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอสทั้งสายสุขุมวิทและสายสีลมได้ฟรี โดยใช้กรอบค่าโดยสารเดียวกับรถไฟฟ้ามหานคร กล่าวคือไม่เกิน 500 บาท/เดือน ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป[3]", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "262280#1", "text": "ท่าสาทร ถือเป็นจุดเชื่อมต่อการคมนาคมที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ เนื่องจากที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจบริเวณตลาดบางรัก ใกล้กับถนนเจริญกรุง สีลม และสาทร สามารถเชื่อมต่อกับการคมนาคมทางน้ำได้ทั้งเรือโดยสารข้ามฟากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ไปยังท่าเป๊ปซี่ ถนนเจริญนคร เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี, เรือด่วนเจ้าพระยาที่ไปสู่พื้นที่เมืองเก่าของกรุงเทพฯ ชานเมืองจังหวัดนนทบุรี และย่านราษฎร์บูรณะ และเรือโดยสารคลองดาวคะนอง ทั้งยังเป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพียงแห่งเดียวทีสามารถเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนทางรางได้โดยตรงที่สถานีสะพานตากสิน ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม แต่ละวันจึงมีผู้โดยสารทั้งประชาชนและนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านท่าสาทรเป็นจำนวนมาก นับตั้งแต่ระบบรถไฟฟ้าบีทีเอสเปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะช่วงก่อนหน้าที่รถไฟฟ้าบีทีเอสจะขยายการเดินรถจากปลายทางสะพานตากสินออกไปยังฝั่งธนบุรี ที่สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรีและวงเวียนใหญ่ เมื่อวันที 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ผู้โดยสารจำนวนมากจากฝั่งธนบุรีหรือพื้นที่ริมแม่น้ำที่ห่างออกไปจำเป็นต้องพึ่งพาการคมนาคมด้วยเรือต่างๆ มายังท่าสาทรเพื่อเชื่อมต่อระบบรถไฟฟ้า", "title": "ท่าสาทร" } ]
2115
ภาพพิมพ์หินหมายถึงอะไร?
[ { "docid": "294923#0", "text": "ภาพพิมพ์หิน[1] หรือ กลวิธีพิมพ์หิน[2] (English: Lithography) “Lithography” มาจากภาษากรีกว่า “λίθος” (lithos) ที่แปลว่า “หิน” สมาสกับคำว่า “γράφω” (graphο) ที่แปลว่า “เขียน” คือเทคนิคการพิมพ์ที่ใช้หินปูนพิมพ์หิน (lithographic limestone) หรือแผ่นโลหะที่มีผิวเรียบ เดิมเทคนิคการพิมพ์ใช้น้ำมันหรือไขมัน แต่ในสมัยใหม่ภาพสร้างขึ้นโดยการใช้พอลิเมอร์ทำปฏิกิริยากับแผ่นพิมพ์อะลูมิเนียม พื้นผิวที่ราบเรียบแบ่งออกเป็น", "title": "ภาพพิมพ์หิน" } ]
[ { "docid": "956648#0", "text": "คุนสท์ฟอร์เมินแดร์นาทัวร์ (; ) เป็นหนังสือที่มีภาพพิมพ์หินและภาพพิมพ์กระดาษ จัดทำโดยแอ็นสท์ เฮ็คเคิล (Ernst Haeckel) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน", "title": "คุนสท์ฟอร์เมินแดร์นาทัวร์" }, { "docid": "146425#21", "text": "ในปี ค.ศ. 1891 เคแซตก็แสดงงานเขียนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองของงานภาพพิมพ์จารเข็ม (drypoint) และภาพพิมพ์อย่างสีน้ำ (aquatint prints) ที่รวมทั้งภาพ \"ผู้หญิงอาบน้ำ\" และ \"ช่างทำผม\" ซึ่งมีแรงบันดาลใจมาจากงานของจิตรกรญี่ปุ่นที่นำไปแสดงในปารีสในปีก่อนหน้านั้น เคแซตรู้สึกดึงดูดในความง่ายและความชัดเจนในการออกแบบแบบญี่ปุ่น และการใช้สีพิมพ์ ในการตีความหมายของการเขียนแบบญี่ปุ่นของเคแซต เคแซตใช้แสดงตรง ใช้สีแพสเทล และเลี่ยงการใช้สีดำ (ซึ่งเป็นสีต้องห้ามของอิมเพรสชันนิสม์) เอ. เบรสคินแห่งสถาบันสมิธโซเนียนตั้งข้อสังเกตว่าภาพพิมพ์ชุดนี้เป็น \"งานที่เป็นตัวของตัวเองที่สุดของเคแซต… ที่เพิ่มบทใหม่ในประวัติศาสตร์ของเลขนศิลป์ (graphic arts) …ซึ่งตามลักษณะงานแล้วยังไม่มีผู้ใดสามารถเท่าเทียมได้\" ", "title": "แมรี เคแซต" }, { "docid": "5519#124", "text": "พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตึกชีววิทยา 1 ภาควิชาชีววิทยา จัดแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม[208] พิพิธภัณฑสถานธรณีวิทยา ตั้งอยู่ที่ตึกธรณีวิทยา ชั้น 1 ภาควิชาธรณีวิทยาจัดแสดงตัวอย่างหินชนิดต่าง ๆ ลักษณะชั้นหินและฟอสซิลที่ภาควิชาเก็บตัวอย่างมาจากการสำรวจ[209] พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ ตั้งอยู่ชั้น 3 และชั้น 6 ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ จัดแสดงประวัติศาสตร์เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ในประเทศไทย และความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน[210] พิพิธภัณฑสถานพืชศาสตราจารย์กสิน สุวะตะพันธุ์ ตั้งอยู่ที่ตึกพฤกษศาสตร์ ชั้น 4 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์[211] จัดแสดงตัวอย่างพันธุ์ไม้ ทั้งตัวอย่างแห้ง ตัวอย่างรักษาสภาพโดยการดอง ตัวอย่างผล เมล็ด ละอองเรณู และสปอร์ ภาพถ่าย ภาพวาดสไลด์สีโปร่งแสง ตัวอย่างเนื้อไม้ ซากดึกดำบรรพ์ (fossil) เป็นที่ตั้งของฐานข้อมูล เฟิร์น กล้วยไม้เมืองไทยและพืชมีพิษของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์หอยทากของไทย ตั้งอยู่ที่ชั้น 2 ห้อง 218 ตึกชีววิทยา 1 (ตึกขาว) คณะวิทยาศาสตร์[212]จัดแสดงนิทรรศการหอยทากที่พบในประเทศไทย พิพิธภัณฑ์แห่งนี้อยู่ในรายการบันทึกของพิพิธภัณฑ์สถานธรรมชาติวิทยาแห่งหนึ่งของโลก", "title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "956648#1", "text": "หนังสือเล่มนี้เดิมเผยแพร่เป็นชุด ชุดละ 10 รูป ในช่วง ค.ศ. 1899–1904 และเผยแพร่รวมกันเป็น 2 เล่มใน ค.ศ. 1904 มีเนื้อหาประกอบด้วยภาพพิมพ์สิ่งมีชีวิตจำนวน 100 ภาพ ภาพส่วนใหญ่มีคำบรรยายชุดแรก ๆ จากเฮ็คเคิลเอง ตลอดชีวิตการทำงานของเฮ็คเคิล มีการผลิตภาพพิมพ์กว่า 1,000 ชิ้นโดยอ้างอิงภาพร่างและภาพสีน้ำของเขา ภาพในหนังสือนี้คัดสรรมาจากภาพที่ดีที่สุดในจำนวน 1,000 ชิ้นดังกล่าว โดยมี อดอล์ฟ กลิทช์ (Adolf Giltsch) นักภาพพิมพ์หิน เป็นผู้แปลงจากภาพร่างเป็นภาพพิมพ์", "title": "คุนสท์ฟอร์เมินแดร์นาทัวร์" }, { "docid": "319094#6", "text": "นักวิจัยบางท่านตั้งข้อสังเกตความคล้ายคลึงระหว่างของภาพสกัดหินหลายแบบจากทวีปต่างๆ ขณะที่คาดกันว่าลวดลายต่างๆ น่าจะได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมของผู้สร้างงาน แต่ยากที่จะให้คำอธิบายของความคล้ายคลึงของลวดลายในบริเวณต่างๆ ที่พบ ซึ่งอาจจะเป็นเพียงสิ่งที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หรือเป็นสิ่งที่เป็นเครื่องแสดงการโยกย้ายถิ่นฐานที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปในบริเวณที่เดิมมีมนุษย์อยู่ร่วมกัน หรือหรือเป็นสิ่งที่เป็นเครื่องแสดงการมีต้นรากเดียวกันของมนุษย์ ในปี ค.ศ. 1853 จอร์จ เททอ่านรายงานแก่สโมสรนักธรรมชาติวิทยาแห่งเบอริคที่จอห์น คอลลิงวูด บรูซเห็นด้วยว่าภาพสกัดหินมี \"... ที่มาจากที่เดียวกัน และมีความหมายทางสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับความเชื่อที่เป็นที่นิยมกัน\" ในทะเบียนศิลปะหินของสกอตแลนด์ โรนัลด์ มอร์ริสสรุปการตีความหมายได้ 104 ทฤษฎี", "title": "ศิลปะสกัดหิน" }, { "docid": "573440#4", "text": "ในปี ค.ศ. 1894 เกิดจุดเปลี่ยนในชีวิตมูคา เมื่อเขาวาดภาพ ผลงานโปสเตอร์ชิ้นแรกที่เขาวาดให้แก่ซารา แบร์นาร์ต (Sarah Bernhardt) ซึ่งเขาได้งานชิ้นนี้อย่างบังเอิญ เนื่องจากภายในร้าน Lemercier ที่ซารา แบร์นาร์ต นางเอกละครผู้โด่งดังมาใช้บริการมีแต่ผลงานของมูคาที่จัดแสดงอยู่คนเดียวเท่านั้น เขาจึงได้งานจากซารา แบร์นาร์ต และผลงานโปสเตอร์สำหรับละครเรื่องนั้นส่งผลให้เขาโด่งดังอย่างมากในช่วงปี 90 ยากที่จะหาใครมาเทียบได้[8] มูคาทำสัญญากับซารา แบร์นาร์ตเป็นเวลา 6 ปี ตลอดช่วงเวลานี้ เขาออกแบบโปสเตอร์ที่งดงามให้เธอ 9 ชิ้น รวมทั้งช่วยงานเธอ ทั้งออกแบบเครื่องแต่งกาย เครื่องประดับและเวทีในละครต่าง ๆ ที่เธอมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย สาธารณชนเองก็ชอบงานของเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน มูคาก็ผูกมัดกับตัวเองด้วยสัญญาที่ทำไว้กับโรงพิมพ์ Champenois ที่ซึ่งเขามีรายได้ประจำจากการออกแบบโปสเตอร์ การทำงานร่วมกับโรงพิมพ์ครั้งนี้ นำทางให้เขาได้แสดงความสามารถด้านงานภาพพิมพ์หิน (lithography) ก็ยิ่งส่งให้ชื่อเสียงของเขาเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง[9]", "title": "อัลโฟนส์ มูคา" }, { "docid": "294923#6", "text": "* หมวดหมู่:การพิมพ์ หมวดหมู่:การออกแบบกราฟิกส์", "title": "ภาพพิมพ์หิน" }, { "docid": "294923#2", "text": "กระบวนการทำภาพพิมพ์หินค่อนข้างจะแตกต่างกับการพิมพ์แกะลาย (Intaglio printmaking) ที่แผ่นพิมพ์จะได้รับการแกะหรือทำเป็นลายเช่นในการทำภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์ (Mezzotint) ที่จะทำเป็นร่องให้ซับหมึก หรือในการทำภาพพิมพ์แกะไม้ และใช้หมึกที่ไม่ใช่หมึกกันน้ำทาบนผิวส่วนที่นูนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพก่อนที่จะทำการพิมพ์", "title": "ภาพพิมพ์หิน" }, { "docid": "484720#2", "text": "คาร์ล ชมิท-ร็อทลุฟ นิยมทำงานภาพทิวทัศน์บก ไม่นิยมภาพที่มีสีสันฉูดฉาด งานที่เขาทำเป็นงานประเภทภาพพิมพ์แกะไม้ ภาพพิมพ์หิน เป็นต้น\nนับได้ว่าคาร์ล ชมิท-ร็อทลุฟ เป็นสมาชิกที่สำคัญคนหนึ่งในลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน", "title": "คาร์ล ชมิท-ร็อทลุฟ" }, { "docid": "284195#0", "text": "มัคส์ ลีเบอร์มัน (; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1847 – 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935) เป็นช่างพิมพ์ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงด้านการแกะพิมพ์และภาพพิมพ์หิน", "title": "มัคส์ ลีเบอร์มัน" }, { "docid": "48423#8", "text": "การพิมพ์พื้นนูน (Relief printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้หลักการให้ส่วนที่เป็นภาพบนแม่พิมพ์จะมีผิวนูนกว่าส่วนอื่น เพื่อรับหมึกแล้วถ่ายลงบนวัสดุใช้พิมพ์ การพิมพ์ประเภทนี้มี การพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ การพิมพ์เฟล็กโซกราฟี การพิมพ์พื้นลึก (Recess printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้หลักการให้ส่วนที่เป็นภาพบนแม่พิมพ์จะมีผิวลึกกว่าส่วนอื่น เพื่อขังหมึกไว้แล้วถ่ายลงบนวัสดุใช้พิมพ์ การพิมพ์ประเภทนี้มี การพิมพ์กราวัวร์ การพิมพ์แพด การพิมพ์พื้นราบ (Planographic printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้หลักการน้ำกับน้ำมันไม่รวมตัวกัน ผิวของแม่พิมพ์ชนิดนี้จะเสมอกันหมดโดยให้ส่วนที่เป็นภาพมีสภาพเป็นไขมันสามารถรับหมึกซึ่งเป็นน้ำมันเช่นกัน ส่วนที่ไม่เป็นภาพจะสามารถรับน้ำไว้ได้ ในการพิมพ์ จะคลึงแม่พิมพ์ด้วยเยื่อน้ำ เยื่อน้ำไม่ถูกกับไขจะไปเกาะเฉพาะส่วนที่ไร้ภาพ แล้วคลึงหมึกตาม หมึกไม่ถูกกับน้ำจะไปเกาะเฉพาะส่วนที่เป็นภาพ เมื่อนำวัสดุใช้พิมพ์ทาบบนแม่พิมพ์ก็จะเกิดภาพตามต้องการ การพิมพ์ประเภทนี้มี การพิมพ์หิน การพิมพ์ออฟเซ็ท การพิมพ์พื้นฉลุ (Stencil printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้หลักการให้หมึกผ่านทะลุส่วนที่เป็นภาพบนแม่พิมพ์ไปติดอยู่บนวัสดุใช้พิมพ์ ทำให้เกิดภาพ การพิมพ์ประเภทนี้มี การพิมพ์โรเนียว การพิมพ์ซิลค์สกรีน การพิมพ์ดิจิตอล (Digital printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้เครื่องพิมพ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ โดยรับข้อมูลภาพจากคอมพิวเตอร์มาพิมพ์ การพิมพ์แบบถ่ายโอนความร้อน (Thermal transfer printing) ซึ่งใช้หลักการถ่ายความร้อนจากหัวพิมพ์ไปยังฟิล์มที่เคลือบด้วยหมึกพิมพ์ทำให้หมึกพิมพ์หลุดไปเกาะติดกับวัสดุใช้พิมพ์จนเกิดเป็นภาพ การพิมพ์แบบพ่นหมึก/อิงค์เจ็ท (Inkjet printing) ซึ่งใช้หลักการพ่นหยดหมึกเล็ก ๆ จากหัวพ่นไปสร้างเป็นภาพบนวัสดุใช้พิมพ์ การพิมพ์แบบไฟฟ้าสถิตย์ (Electrostatic printing) ซึ่งใช้หลักการควบคุมลำแสงสร้างภาพเป็นประจุไฟฟ้าบนกระบอกโลหะแล้วให้ผงหมึกไปเกาะบนกระบอกโลหะตามบริเวณที่มีประจุอยู่เกิดเป็นภาพที่ถูกถ่ายทอดไปเกาะติดบนวัสดุใช้พิมพ์อีกทีหนึ่ง", "title": "ทัศนศิลป์" }, { "docid": "48423#3", "text": "การวาดเส้น (drawing) จิตรกรรม (painting) การพิมพ์ (printmaking) เช่น ภาพพิมพ์แกะไม้, ภาพพิมพ์หิน การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์ (photography and filmmaking) ศิลปะทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer art) ประติมากรรม (sculpture)", "title": "ทัศนศิลป์" }, { "docid": "896511#2", "text": "ในปี ค.ศ. 1860 หรือ 1861 โฮะริเอะซื้อกล้องถ่ายรูป (กระจกเปียก) รวมถึงสารเคมีสำหรับถ่ายภาพ จากเงินทุนของไดเมียว โทโด ทากะยุกิ ด้วยราคา 150 เรียว ในปี ค.ศ. 1861 โฮะริเอะถ่ายภาพอุเอะโนะที่ทำงานอยู่ที่ห้องปฏิบัติการตระกูลสึในเอะโดะ ต่อมาในปี ค.ศ. 1862 อุเอะโนะและโฮะริเอะร่วมกันเขียนหนังสือชื่อว่า \"Shamitsu kyoku hikkei\" ที่มีการแปลหนังสือคู่มือวิทยาศาสตร์ภาษาดัชต์ และรวมภาคผนวกโดยใช้ชื่อว่า \"Satsueijutsu\" (เทคนิคการถ่ายภาพ) ที่อธิบายเทคนิคการถ่ายรูปด้วยกระบวนการกระจกเปียก และวิธีการพิมพ์แอสฟัลต์ของ นีเซฟอร์ เนียปส์ ภาคผนวกนี้ยังมีการตีพิมพ์บรรยายครั้งแรกของญี่ปุ่นในเรื่องการพิมพ์ภาพพิมพ์หิน โฮะริเอะยังได้สอนเรื่องเภสัชศาสตร์ให้แก่อุชิดะ คุอิชิ ที่ต่อมาได้เป็นช่างภาพ", "title": "โฮริเอะ คูวาจิโร" }, { "docid": "294923#3", "text": "ภาพพิมพ์หินเป็นเทคนิคที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยนักเขียนชาวบาวาเรีย อล็อยส์ เซอเนอเฟลเดอร์ ในปี ค.ศ. 1796 เพื่อใช้เป็นการลดต้นทุนในการพิมพ์งานศิลปะ[3][4] ภาพพิมพ์หินสามารถใช้ในการพิมพ์ตัวอักษรหรืองานศิลปะบนกระดาษหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม หนังสือหรือหนังสือพิมพ์ที่พิมพ์เป็นจำนวนมากทั้งหมดในปัจจุบัน ใช้วิธีพิมพ์ที่เรียกว่า “offset lithography” นอกจากนั้นคำว่า “lithography” ก็ยังอาจจะหมายถึง photolithography ซึ่งเป็นเทคนิค microfabrication ที่ใช้ในการทำ integrated circuits และ microelectromechanical systems แม้ว่าเทคนิคที่ใช้จะใกล้เคียงกับการพิมพ์กัดกรด มากกว่าก็ตาม", "title": "ภาพพิมพ์หิน" }, { "docid": "294923#1", "text": "บริเวณซับน้ำ (Hydrophilic) ที่ซับฟิล์มหรือน้ำขณะที่ยังชื้น แต่ไม่ซับหมึก บริเวณ ต้านน้ำ (Hydrophobic) ที่ซับหมึกเพราะเป็นบริเวณที่มีแรงดึงของผิว (surface tension) สูงกว่าบนบริเวณของภาพที่มันกว่าที่ยังคงแห้งเพราะน้ำจะไม่เกาะตัวในบริเวณที่มัน", "title": "ภาพพิมพ์หิน" }, { "docid": "318172#1", "text": "เมื่อถึงตอนปลายของอาชีพโยะชิโทะชิก็แทบจะเป็นผู้เดียวที่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับกาลเวลาและเทคโนโลยีที่คืบคลานเข้ามา ขณะที่โยะชิโทะชิยังคงใช้เวลาโบราณในการผลิตงานภาพพิมพ์ญี่ปุ่นก็เริ่มเข้าสู่ยุคการผลิตระดับอุตสาหกรรมตามแบบฉบับของโลกตะวันตกเช่นงานการถ่ายภาพ และ ภาพพิมพ์หิน แต่กระนั้นขณะที่ญี่ปุ่นหันหลังให้กับอดีตของตนเองโยะชิโทะชิก็พัฒนาศิลปะการทำภาพพิมพ์แกะไม้ตามธรรมเนียมญี่ปุ่นให้ขึ้นไปอีกระดับหนึ่งก่อนที่ศิลปะดังกล่าวจะตายตามโยะชิโทะชิไป", "title": "โยะชิโทะชิ" }, { "docid": "573440#0", "text": "อัลโฟนส์ มารียา มูคา (Czech: Alfons Maria Mucha) เป็นศิลปินแนวนวศิลป์ (Art Nouveau) ที่มีผลงานออกแบบอย่างหลากหลาย ทั้งภาพโปสเตอร์ ปฏิทิน ภาพประกอบหนังสือ งานพิมพ์ ภาพพิมพ์หิน งานโลหะ งานหนัง การออกแบบเครื่องประดับ และการออกแบบของตกแต่งบ้าน อีกทั้งยังมีผลงานวาดภาพเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินมากความสามารถ และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นคนหนึ่ง", "title": "อัลโฟนส์ มูคา" }, { "docid": "220959#4", "text": "ในยุคหินเก่าแก่ภาพเขียนรูปมนุษย์ในถ้ำจึงแบบว่าหาดูได้ยาก ภาพเขียนส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ที่และไม่แต่สัตว์สำหรับการบริโภคแต่รวมทั้สัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ของความแข็งแกร่งด้วยเช่นแรด หรือ สัตว์ตระกูลเสือแมวเช่นภาพในถ้ำโชเวท์ บางครั้งก็จะมีเครื่องหมายจุด แต่ภาพมนุษย์เป็นแต่เพียงภาพพิมพ์ของมือหรือรูกึ่งสัตว์กึ่งคน ส่วนภาพเขียนในถ้ำอัลตามิรา (Cave of Altamira) ในประเทศสเปนมีอายุราวระหว่าง 14,000 ถึง 12,000 ก่อนคริสต์ศักราชมีภาพต่างๆ ที่รวมทั้งไบซอน", "title": "ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม" }, { "docid": "294923#4", "text": "ศิลปะตะวันตก การพิมพ์ ศิลปะสมัยใหม่", "title": "ภาพพิมพ์หิน" }, { "docid": "14974#2", "text": "ความหมายของเครื่องพิมพ์เลเซอร์\nหมายถึง เครื่องพิมพ์แบบหนึ่งที่ใช้ลำแสงเลเซอร์ในการสร้างภาพและถ่ายทอดลงสู่กระดาษด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (ทำงานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร) ความ เร็วของเครื่องพิมพ์เลเซอร์นั้นวัดกันเป็นหน้าต่อนาที (ppm) เช่น 10 หน้าต่อนาที เป็นต้น (เพราะพิมพ์ครั้งละหนึ่งหน้า) ส่วนคุณภาพของการพิมพ์นั้น วัดเป็นจุดต่อนิ้ว (dpi) เช่น 600 จุดต่อ 1 นิ้ว ยิ่งมีจุดมาก แสดงว่ามีความละเอียดมาก ภาพจะคมชัดกว่าภาพที่มีจุดน้อยหรือมีความละเอียดน้อย", "title": "เครื่องพิมพ์เลเซอร์" }, { "docid": "121473#0", "text": "Photogravure เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1830 โดย Henry Fox Talbot ชาวอังกฤษ Nicéphore Niépce ชาวฝรั่งเศส แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก จนในปี ค.ศ.1878 Karel Klitsch ได้พัฒนาและทำให้ Photogravure เป็นที่รู้จักในวงกว้าง กระบวนการนี้ใช้จนมาถึงปัจจุบัน หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Talbot-Klič process Photogravure ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพราะมีจุดประสงค์ที่จะเตรียมหนทางถาวรที่จะทำให้เกิดการทำภาพซ้ำขึ้นอีก \nการพิมพ์กราวัวร์ หรือ โรโตกราววัวร์ (rotogravure) หรือ โฟโตกราวัวร์ (photogravure) มีพัฒนาการมาจากการพิมพ์อินทาลโย คำว่า \"roto\" มีความหมายว่า\"หมุนรอบ\" หมายถึง โครงสร้างของแม่พิมพ์ที่เป็นโลหะรูปทรงกระบอกหมุนรอบขณะทำการพิมพ์ ส่วนคำว่า \"photo\" มีความหมายถึงการนำเอาเทคนิคการถ่ายภาพมาใช้ในกระบวนการทำแม่พิมพ์\nกระบวนการพิมพ์\nกระบวนการพิมพ์แกะสลักด้วยการถ่ายภาพบนโลหะ เป็นการพิมพ์ร่องลึกอีกแบบหนึ่ง มีแม่พิมพ์เป็นโลหะ ทรงกระบอก ทำแม่พิมพ์โดยภาพถ่ายกัดกรดให้เป็นหลุมเล็ก ๆ มีขนาดหรือความตื้นลึกแตกต่างกัน ซึ่งมีผลให้งานพิมพ์มีความเข้มของสีแตกต่างกัน วิธีนี้สามารถพิมพ์บนวัสดุได้หลายชนิด เช่น การพิมพ์กระดาษปิดฝาผนัง แสตมป์ และบรรจุภัณฑ์เป็นต้น โมแม่พิมพ์กราวัวร์ถูกสร้างขึ้นโดยการถ่ายทอดภาพลงสู่ผิวหน้าโมแม่พิมพ์นั้น แล้วนำไปกัดด้วยวิธีทางเคมี ปัจจุบันยังสามารถสร้างภาพโดยวิธีการเจาะโมแม่พิมพ์ด้วยเครื่องเจาะหัวเพชรหรือเครื่องยิงแสงเลเซอร์ บริเวณภาพบนแม่พิมพ์ประกอบด้วยบ่อหมึกขนาดเล็กๆ จำนวนมาก บ่อหมึกแต่ละบ่อจะแยกจากกันโดยมีผนังหรือกำแพงกั้นอยู่ โมแม่พิมพ์ส่วนใหญ่ทำจากเหล็กกล้าที่นำมาชุบด้วยนิเกิลและทองแดงตามลำดับ จากนั้นจึงทำการสร้างภาพบนผิวโมแม่พิมพ์ทองแดงนั้น เสร็จแล้วนำไปชุบเคลือบผิวด้วยโครเมียมอีกครั้งเพื่อเพิ่มความแข็งให้กับแม่พิมพ์", "title": "โฟโตกราวัวร์" }, { "docid": "571547#1", "text": "สภาพภูมิประเทศของภูพระบาทมีลักษณะเป็นโขดหินและเพิงผาที่กระจัดกระจายอยู่เป็นจำนวนมาก เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทราย ซึ่งมีเนื้อหินที่แข็งแกร่งแตกต่างกัน ระหว่างชั้นของหินที่เป็นทรายแท้ๆ ซึ่งมีความแข็งแกร่งมาก กับชั้นที่เป็นทรายปนปูนซึ่งมีความแข็งแกร่งน้อยกว่า นานๆ ไปจึงเกิดเป็นโขดหิน และเพิงผารูปร่างแปลกๆ ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน\nในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 2,000 - 3,000 ปีมาแล้ว วิถีชีวิตของผู้คน ในสมัยนั้นดำรงชีวิตด้วยการเก็บของป่า และล่าสัตว์เป็นอาหาร เมื่อขึ้นมาพักค้างแรม อยู่บนโขดหินและเพิงผาธรรมชาติเหล่านี้ก็ได้ใช้เวลาว่างขีดเขียนภาพต่างๆ เช่น ภาพคน ภาพสัตว์ ภาพฝ่ามือ ตลอดจนภาพลายเส้นสัญลักษณ์ต่างๆไว้บนผนังเพิงผาที่ใช้พักอาศัย ซึ่งปรากฏอยู่ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทเป็นจำนวนมาก เช่น ที่ถ้ำวัว – ถ้ำคน และภาพเขียนสีโนนสาวเอ้ ซึ่งภาพเขียนสีบนผนังหินเหล่านี้ยังคงเป็นปริศนาให้ผู้คนในชั้นหลังค้นหาความหมายที่แท้จริงต่อไป", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท" }, { "docid": "319094#5", "text": "ภาพสกัดหินบางภาพอาจจะมีความสำคัญอย่างลึกซึ้งทางวัฒนธรรมและศาสนาต่อสังคมที่สร้างภาพดังกล่าวขึ้น ในหลายกรณีความสำคัญที่ว่านี้ยังคงดำเนินต่อมาจนถึงลูกหลานรุ่นต่อๆ มา แต่ภาพสกัดหินบางภาพก็เชื่อกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแต่ความหมายก็ยังไม่เป็นที่เข้าใจ ต่อมาลวดลายจากยุคสำริดนอร์ดิคในสแกนดิเนเวียดูเหมือนจะหมายถึงเขตแดนระหว่างชนสองเผ่า และอาจจะมีความหมายทางศาสนาด้วย และดูเหมือนว่าผู้คนที่อยู่ในประชาคมใกล้เคียงกันมีภาษาท้องถิ่นของตนเอง ส่วนจารึกไซบีเรียมีลักษณะใกล้เคียงกับลักษณะของอักษรรูนส์ แม้ว่าจะเชื่อกันว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างใดต่อกันแต่อย่างใด", "title": "ศิลปะสกัดหิน" }, { "docid": "351261#4", "text": "หลังจากหนังสือเล่มแรกเสร็จสิ้น อูดูบองตัดสินใจจะผลิตฉบับพิมพ์ที่ราคาไม่แพง และว่าจ้างช่างพิมพ์หินจากฟิลาเดลเฟีย นาม เจ.ที. โบเว็น โบเว็นและทีมของเขาได้ผลิตฉบับอ็อกตาโวซึ่งแจกจ่ายให้กับผู้บอกรับสมาชิกจำนวนเจ็ดเล่ม หลังจากเสร็จสิ้นใน ค.ศ. 1844 จนกระทั่ง ค.ศ. 1877 ได้มีการตีพิมพ์ใหม่อีกห้าครั้ง ฉบับอ็อกตาโวได้ใช้ข้อความจากชีวประวัติการศึกษานก แต่เพิ่มจำนวนแม่พิมพ์เป็น 500 อัน โดยแยกนกบางชนิดซึ่งได้รวบรวมไว้ตั้งแต่ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรกออกจากกัน มีการเพิ่มภาพวาดใหม่เข้าไป ส่วนใหญ่แล้วเป็นผลงานของจอห์น วูดเฮาส์ ผ่านอูดูบอง และสมาชิกทีมของโบเว็นเองก็ได้มีส่วนร่วมด้วย", "title": "เบิร์ดส์ออฟอเมริกา" }, { "docid": "44089#0", "text": "การพิมพ์ (; ) คือการผลิตสำเนาข้อความและภาพลงบนวัสดุที่ต้องการพิมพ์ เช่น กระดาษ ผ้า ตามความหมายในพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 คือ การทำให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดยการกด หรือ การใช้พิมพ์หิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือวิธีอื่นใดให้เกิดเป็นสื่อพิมพ์ขึ้นหลายสำเนา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปรากฏอยู่บนผนังถ้ำลาสควักซ์ ในฝรั่งเศส และถ้ำอัลตามิรา ในสเปน นอกจากปรากฏผลงานด้านจิตรกรรมที่มีคุณค่าด้านความงามของมนุษยชาติ ในช่วงประมาณ 17,000-12,000 ปีที่ผ่านมาแล้ว ยังปรากฏผลงานแกะสลักหิน แกะสลักผนังถ้ำเป็นรูปสัตว์ลายเส้นซึ่งการแกะสลักภาพลายเส้นบนผนังถ้ำนั้น อาจนับได้ว่าเป็นพยานหลักฐานในการแกะแบบพิมพ์ของมนุษย์เป็นครั้งแรกก็ได้", "title": "การพิมพ์" }, { "docid": "216324#28", "text": "หินสามก้อนด้านหน้าภาพเป็นนัยถึงซาสเซ็ตติที่ในภาษาอิตาลีหมายถึงหินก้อนเล็กๆ บนหินก้อนหนึ่งมีนกโกลด์ฟินช์ซึ่งเป็นสัญญลักษณ์ของทุกขกิริยาของพระเยซูและการฟื้นชีพของพระองค์", "title": "โบสถ์น้อยซัสเซตตี" }, { "docid": "575482#6", "text": "กลางปี ค.ศ.1960 สเตลลาได้ร่วมงานกับช่างพิมพ์มืออาชีพที่ชื่อ เคนเน็ธ ไทเลอร์ ที่พิพิธภัณฑ์หอศิลป์แห่งชาติเจมินี (Gemini G.E.L.) ในรัฐนิวยอร์ก เขาทำงานแนวไม่หรูหรา ขนาดของผ้าใบของเขาจะมีความแตกต่างกับศิลปินที่ทำงานภาพพิมพ์คนอื่นๆ อย่างไรก็ตามช่างพิมพ์ในสมัยนั้นมีความกล้าเสี่ยงกับภาพพิมพ์มาจากกลุ่มหัวก้าวหน้า หรือที่เรียกว่า ลัทธิอาว็อง-การ์ด (Avant-garde) มาแล้ว สเตลลาเริ่มสร้างงานชุดใหม่ที่เรียกว่า \"Quathlamba I \" (1968) โดยใช้เทคนิคการพิมพ์ เช่น ภาพพิมพ์หิน ภาพพิมพ์สกรีน การกัดกรด และภาพพิมพ์หินระบบออฟเซต(เป็นเทคนิคที่เขาแนะนำ) ส่งผลกระทบอย่างเข้มข้นต่อศิลปะภาพพิมพ์ในเวลานั้น", "title": "แฟรงก์ สเตลลา" }, { "docid": "741948#5", "text": "เมื่อถึงเดือนตุลาคม ค.ศ. 1860 รอซีเยก็ได้กลับไปยังนางาซากิ เขาถ่ายภาพท่าของเมืองในนามของจอร์จ เอส. มอร์ริสัน กงสุลบริเตนซึ่งจ่ายค่าจ้างให้เขาเป็นเงิน 70 เหรียญสหรัฐ ถึงแม้ \"เนเกรตตีและแซมบรา\" โฆษณาภาพถ่ายของรอซีเยอย่างน้อย 2 ครั้งใน ค.ศ. 1860 แต่บริษัทก็ไม่ได้จัดพิมพ์ภาพเหล่านั้นจนเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน ค.ศ. 1861 มีการเผยแพร่ภาพถ่ายทิวทัศน์ญี่ปุ่น 5 ภาพของรอซีเยก่อนในหนังสือ \"เท็นวีกส์อินเจแปน\" ของจอร์จ สมิท ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1861 และในเดือนกรกฎาคม ปีเดียวกัน ภาพถ่ายในญี่ปุ่นอีก 8 ภาพของเขาก็ปรากฏในรูปแบบภาพพิมพ์หินในหนังสือ \"Japan, the Amoor, and the Pacific\" ของเฮนรี อาร์เทอร์ ทิลลีย์ นิตยสาร \"Illustrated London News\" ฉบับหนึ่งในปี ค.ศ. 1861 ได้ตีพิมพ์ภาพพิมพ์ลายแกะหลายภาพร่วมกันในชื่อ \"Domestic Life in China\" โดยใช้ภาพสามมิติที่ถ่ายโดยรอซีเย หนึ่งในภาพถ่ายที่ \"เนเกรตตีและแซมบรา\" ได้โฆษณาไว้ในปี ค.ศ. 1860 กลายเป็นภาพถ่ายทิวทัศน์ญี่ปุ่นเชิงพาณิชย์ภาพแรกที่มีการจัดพิมพ์ และเป็นภาพถ่ายญี่ปุ่นที่ลงสีด้วยมือที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบ", "title": "ปีแยร์ รอซีเย" }, { "docid": "484731#3", "text": "มึลเลอร์นิยมทำงานประเภทภาพพิมพ์แกะไม้ ภาพพิมพ์หิน และจิตรกรรม นับได้ว่าเป็นสมาชิกที่สำคัญคนหนึ่งในลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน", "title": "อ็อทโท มึลเลอร์" } ]
2838
ศาสดาของพุทธศาสนาคือใคร?
[ { "docid": "934#0", "text": "พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (Pali: buddhasāsana พุทฺธสาสนา, Sanskrit: buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4", "title": "ศาสนาพุทธ" } ]
[ { "docid": "673#0", "text": "พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ \"พระโคตมพุทธเจ้า\" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์[1] ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท", "title": "พระพุทธเจ้า" }, { "docid": "17466#2", "text": "ชีอะฮ์มีความเชื่อว่า พระองค์อัลลอฮ์ คือพระผู้ทรงสร้างชั้นฟ้าและแผ่นดิน คือพระผู้ทรงบริสุทธิ์ยิ่ง ศาสนาของพระองค์ก็เป็นศาสนาที่บริสุทธิ์ ศาสดามุฮัมมัด (ศ) ศาสนทูตของพระองค์ก็ต้องเป็นผู้บริสุทธิ์ และผู้สืบทอดตำแหน่งของศาสดาของพระองค์ก็จำเป็นจะต้องเป็นผู้บริสุทธิ์เท่านั้น\nและเมื่อศาสนทูตของพระองค์ พระองค์เป็นผู้ทรงแต่งตั้ง ดังนั้นตัวแทนของศาสนทูตของพระองค์ พระองค์ก็จะต้องเป็นผู้แต่งตั้งเช่นเดียวกัน มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระองค์ มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาแต่งตั้งผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระองค์", "title": "ชีอะฮ์" }, { "docid": "934#1", "text": "ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกาย[1] คือ ให้พึ่งตนเอง[2] เพื่อพาตัวเองออกจากกอง ทุกข์[3] มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงในโลกด้วยวิธีการสร้าง ปัญญา ในการอยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนาคือการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับที่พระศาสดาทรงหลุดพ้นได้ด้วยกำลังสติปัญญาและความเพียรของพระองค์เอง ในฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็นมนุษย์ มิใช่เทพเจ้าหรือทูตของพระเจ้าองค์ใด[4]", "title": "ศาสนาพุทธ" }, { "docid": "656707#9", "text": "... \"สุพรหมและปรมัตตพรหม ซึ่งเป็นบุตรของพระพุทธเจ้าผู้มี ฤทธิ์ ก็มาด้วย สนังกุมารพรหม และติสสพรหมแม้นั้น ก็มายังป่าอันเป็นที่ประชุมของภิกษุ ท้าวมหาพรหมย่อมปกครอง พรหมโลกพันหนึ่ง ท้าวมหาพรหมนั้นบังเกิดแล้วในพรหมโลก มีอานุภาพ มีกายใหญ่โต มียศ ก็มา พรหม ๑๐ พวก ผู้เป็น อิสระในพวกพรหมพันหนึ่ง มีอำนาจเป็นไปเฉพาะองค์ละอย่าง ก็มา มหาพรหมชื่อหาริตะ อันบริวารแวดล้อมแล้ว มาในท่าม กลางพรหมเหล่านั้น มารเสนา ได้เห็นพวกเทวดา พร้อมทั้ง พระอินทร์พระพรหมทั้งหมดนั้น ผู้มุ่งมา ก็มาด้วย แล้วกล่าวว่า ท่านจงดูความเขลาของมาร พระยามารกล่าวว่า พวกท่านจงมาจับ เทวดาเหล่านี้ผูกไว้ ความผูกด้วยราคะ จงมีแก่ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงล้อมไว้โดยรอบ อย่าปล่อยใครๆ ไป พระยามารบัง คับเสนามารในที่ประชุมนั้นดังนี้แล้ว เอาฝ่ามือตบแผ่นดิน กระ ทำเสียงน่ากลัว เหมือนเมฆยังฝนให้ตก คำรามอยู่ พร้อมทั้ง ฟ้าแลบ ฉะนั้น เวลานั้น พระยามารนั้นไม่อาจยังใครให้เป็นไป ในอำนาจได้ โกรธจัด กลับไปแล้ว พระศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงพิจารณาทราบเหตุนั้นทั้งหมด แต่นั้น จึงตรัสเรียกสาวกผู้ ยินดีในพระศาสนาตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย มารเสนามาแล้ว พวกเธอจงรู้จักเขา ภิกษุเหล่านั้นสดับพระดำรัสสอนของพระ พุทธเจ้าแล้ว ได้กระทำความเพียร มารและเสนามารหลีกไป จากภิกษุผู้ปราศจากราคะ ไม่ยังแม้ขนของท่านให้ไหว (พระยามารกล่าวสรรเสริญว่า) พวกสาวกของพระองค์ทั้งหมดชนะ สงครามแล้ว ล่วงความกลัวได้แล้ว มียศปรากฏในหมู่ชน บัน เทิงอยู่กับด้วยพระอริยเจ้า ผู้เกิดแล้วในพระศาสนา ดังนี้แล. ฯ\" ", "title": "มหาสมัยสูตร" }, { "docid": "52847#3", "text": "พระโมคคัลลานะได้แสดงปาฏิหาริย์หลายประการเพื่อจะยังสันดานของนายพรานฆาฏกะให้เลื่อมใสแต่ไม่สำเร็จ ต่อเมื่อได้กลับไปเฝ้าพระพุทธเจ้าแล้วกราบทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ พระพุทธเจ้าจึงเสด็จมาโปรด และได้ทรงแสดงปาฏิหาริย์หลายอย่างหลายประการด้วยกันเพื่อให้นายพรานฆาฏกะได้ละทิฏฐิมานะสันดานหยาบช้า จนในที่สุดได้มีศรัทธาเลื่อมใสถึงกับทูลอุปสมบท พระบรมศาสดาได้ทรงประทาน เอหิภิกขุอุปสัมปทา (บวชให้ด้วยพระองค์เอง) แล้วตรัสสั่งสอนให้ปฏิบัติสมณธรรมได้สำเร็จพระอรหันต์เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา เมื่อพระบรมศาสดาจะเสด็จกลับบุพพาราม ภิกษุฆาฏกะได้ทูลขอติดตามพระองค์ๆ ได้ทรงห้ามไว้เพื่อให้ช่วยประกาศพระศาสนา พระฆาฏกะได้ทูลขอสิ่งที่เคารพสักการะ พระองค์จึงได้ทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ให้เงาของพระองค์ติดไว้ ณ เงื้อมภูเขาแห่งนี้ และได้ประทับ \"รอยพระบาท\" ติดไว้ ณ บนยอดภูเขาแห่งนี้ด้วย ซึ่งจะได้เป็นที่สักการะเคารพกราบไหว้บูชาของพระฆาฏกะและบริวาร ตลอดจนพุทธศาสนิกชนทั่วไป", "title": "พระพุทธฉาย" }, { "docid": "111437#6", "text": "พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนอยู่เป็นประจำ ณ นครสาวัตถี จนมีประชาชนจำนวนมากหันมาเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงเป็นเหตุทำให้เหล่าเดียรถีย์เสื่อมลง (เดียรถีย์ หมายถึง นักบวชประเภทหนึ่งมีมาก่อนพระพุทธศาสนาและเป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง มีพุทธบัญญัติว่า หากเดียรถีย์จะมาขอบวชในพระพุทธศาสนาต้องมารับการฝึก เพื่อตรวจสอบว่ามีความเลื่อมใสแน่นอนเสียก่อน เรียกว่า ติตถิยปริวาส) พวกเดียรถีย์เดือดร้อนจึงคิดหาวิธีที่จะทำลายพระพุทธศาสนาโดยการกล่าวร้ายพระพุทธเจ้า สาวก แต่ประชาชนก็ยังเลื่อมใสศรัทธาเหมือนเคย ในที่สุดเดียรถีย์จึงใช้อุบายทำลายพระพุทธศาสนาโดยการใช้พุทธบัญญัติที่ว่า “พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกสิ้นท่าหมดอิทธิฤทธิ์ แล้วงดการแสดง ตรงข้ามกับเหล่าคณาจารย์เดียรถีย์ ซึ่งมีปาฏิหาริย์อบรมมั่นคงเต็มที่และมีความพร้อมที่จะแสดงให้เห็นได้ทุกเมื่อ ถ้าไม่เชื่อก็เชิญพระพุทธเจ้ามาแสดงปาฏิหาริย์แข่งกันก็ย่อมได้ เพื่อพิสูจน์ว่าใครจะเก่งกว่าใคร “", "title": "ตักบาตรเทโว" }, { "docid": "6977#2", "text": "พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ครั้งหนึ่งว่า พระธรรมวินัยจะเป็นศาสดาแทนพระองค์ภายหลังที่พระองค์ล่วงลับไปแล้ว พระไตรปิฎกจึงเปรียบเสมือนตัวแทนของพระพุทธองค์ และเป็นที่ที่ชาวพุทธสามารถเข้าเฝ้าพระศาสดาของตน พุทธศาสนิกชนสามารถศึกษาปริยัติศาสน์จากพระไตรปิฎก เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้พ้นจากความทุกข์ อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาสืบไป ", "title": "พระไตรปิฎกภาษาบาลี" }, { "docid": "590933#3", "text": "พระอัศวโฆษเป็นผู้มีบทบาทสำคัญคนหนึ่งในยุคเริ่มต้นของนิกายมหายาน มีผลงานมากมายทั้งด้านปรัชญาศาสนา บทละครและกวีนิพนธ์ ผลงานที่สำคัญทางปรัชญาและศาสนา เช่น สูตราลังการะ มหายานศรัทโธตปาทะ วัชรสูจี คัณฑีสโตรตระ ที่เป็นบทละคร เช่นราษฎรปาละ ศาริปุตรปรกรณัม และที่เป็นกวีนิพนธ์ เช่นมหากาพย์เสานทรนันทระ และมหากาพย์พุทธจริต เป็นต้น นอกจากจะรจนางานเขียนไว้หลายเล่มแล้วอัศวโฆษยังเดินทางท่องเที่ยวไปพร้อมกับสานุศิษย์และนักดนตรีเพื่อขับลำนำอันเป็นเรื่องราวแห่งพระพุทธศาสนาและความไร้แก่นสารของชีวิตในที่ชุมนุมต่างๆเพื่อป่าวประกาศคุณค่าอันล้ำเลิศแห่งพระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดา ชนทั้งหลายที่สัญจรไปเมื่อได้ฟังต่างหยุดนิ่งอยู่กับที่เพราะถูกตรึงไว้ด้วยน้ำเสียงและท่วงทำนองที่ไพเราะจับใจ [7]", "title": "พุทธจริต" }, { "docid": "43992#2", "text": "มีศาสดาคือพระมหาวีระ หรือ นิครนถนาฏบุตร หรือ องค์ตีรถังกร(ผู้สร้างทางข้ามพ้นไป)โดยศาสนิกเชนถือว่าเป็นศาสดาองค์ที่ 24 ของศาสนาเชน จึงถือว่าศาสนาเชนเก่าแก่กว่าศาสนาพุทธ", "title": "ศาสนาเชน" }, { "docid": "41646#5", "text": "จุดประสงค์สำคัญที่สุดของการสังคายนา คือการรวบรวมพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า เพื่อธำรงรักษาพระธรรมวินัยเอาไว้ไม่ให้สูญหายหรือวิปลาสคลาดเคลื่อนไป เพราะพระธรรมวินัยนั้นคือหลักของพระพุทธศาสนา หากปราศจากคำสอนแล้วพระพุทธศาสนาก็ดำรงอยู่ไม่ได้ ดังพุทธวจนะในคราวจะเสด็จดับขันธปรินิพพานว่า โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา. แปลว่า: ดูกรอานนท์ ธรรมแลวินัยใด ที่เราได้แสดงแล้ว และบัญญัติแล้ว แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราล่วงลับไป (ที.ม.10/141/178) พระเถระทั้งปวงเห็นความสำคัญของพระธรรมวินัยซึ่งจะสืบทอดพระศาสนาต่อไปในภายหน้า หากละเลยปล่อยไว้กระทั่งพระธรรมวินัยเกิดความคลาดเคลื่อนไปจะเป็นอันตรายต่อพุทธศาสนา จึงได้เริ่มสังคายนารวบรวมพระธรรมคำสอนขึ้นเป็นหมวดหมู่ภายหลังพุทธปรินิพพานไปแล้ว 3 เดือน", "title": "สังคายนาในศาสนาพุทธ" }, { "docid": "235756#0", "text": "การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ คือการเดินทางของพุทธศาสนิกชนผู้มีศรัทธาเพื่อไปสักการะสถานที่สำคัญในพระพุทธประวัติหรือสถูปเจดีย์ที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า ผู้เป็นพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา ในดินแดนที่เรียกว่าชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล (หรือที่คือดินแดนที่เป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียและเนปาลในปัจจุบัน) โดยสถานที่สำคัญที่ถือได้ว่าเป็นจุดหมายหลักของชาวพุทธคือสังเวชนียสถาน 4 ตำบล คือ ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ฯ สารนาถ สถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และกุสินารา สถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งนอกจากสังเวชนียสถานแล้ว ยังมีสถานที่สำคัญอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและประวัติศาสตร์พุทธศาสนา ทั้งที่เป็นมหาสังฆารามในอดีต หรือเมืองสำคัญในสมัยพุทธกาลที่มีความเกี่ยวข้องปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งบางแห่งได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก เช่นที่ พุทธคยา ถ้ำอชันตา-เอลโลล่า เป็นต้น", "title": "การแสวงบุญของชาวพุทธในดินแดนพุทธภูมิ" }, { "docid": "77973#0", "text": "ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน", "title": "ประวัติศาสนาพุทธ" }, { "docid": "207196#0", "text": "มายาเทวี () หรือ สิริมหามายา เป็นพระมารดาของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาแห่งศาสนาพุทธ และเป็นพระเชษฐภคินีของพระมหาปชาบดีโคตมีเถรี ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนา", "title": "พระนางสิริมหามายา" }, { "docid": "20838#91", "text": "ความจากหนังสือตำหรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ดังกล่าวมานี้ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับเค้าโครงของหนังสือนี้ว่ามีเค้าโครงมาจากสมัยสุโขทัยจริง แต่รายละเอียดบางส่วนอาจจะมีการแต่งเสริมกันขึ้นมาในสมัยอยุธยาหรือรัตนโกสินทร์[51] อย่างไรก็ดี จากหลักฐานดังกล่าว (แม้จะไม่แน่ชัด) การพิธีวิสาขบูชา ย่อมเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย เพราะในสมัยนั้นกรุงสุโขทัยได้สืบพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมาจากลังกาประเทศ ซึ่งเป็นเมืองที่มั่นทางพระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช และขนาดของการจัดพิธีบูชาเฉลิมฉลองในวันวิสาขบูชาของชาวศรีลังกานั้น นับเป็นพิธีใหญ่และสำคัญมากของอาณาจักรมาตั้งแต่แรกรับพระพุทธศาสนามาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการจัดพิธีเฉลิมฉลองในวันวิสาขบูชาของประเทศศรีลังกานั้นมีความสำคัญและส่งอิทธิพลต่อประเทศพุทธศาสนาอื่นเพียงใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาณาจักรสุโขทัยที่รับสืบพระพุทธศาสนามาจากประเทศศรีลังกาโดยตรง และหลังการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรสุโขทัย จนถึงในสมัยอยุธยาก็สันนิษฐานว่าคงมีการปฏิบัติพิธีวิสาขบูชาอยู่ แต่ลดความสำคัญลงไปมาก จนไม่ปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารหรือจารึกใด จนมาในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พิธีวิสาขบูชาจึงได้รับการฟื้นฟูอีกครั้ง หลังจากความเสื่อมของพระพุทธศาสนาหลังยุคสุโขทัยล่มสลาย เพราะหลังจากสิ้นยุคอาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรอยุธยาได้ถูกครอบงำด้วยแนวคิดทางคติพราหมณ์ซึ่งได้รับจากการซึมซับวัฒนธรรมฮินดูแบบขอม (นครวัด)[52] จนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 พระองค์ได้มีพระราชประสงค์ให้ทำการฟื้นฟูการประกอบพิธีวิสาขบูชาขึ้น พระองค์ได้ทรงปรึกษากับ สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี) วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) ให้วางแนวปฏิบัติการพระราชพิธีวิสาขบูชา และพระราชพิธีวันวิสาขบูชาครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ก็ได้จัดขึ้นเป็นการพระราชพิธีใหญ่ 3 วัน 3 คืน นับตั้งแต่วันศุกร์ ขึ้น 14 ค่ำ ถึง วันแรม 1 ค่ำ เดือน 6 ปีฉลู นพศก จุลศักราช 1179 ( พ.ศ. 2360) ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้ทรงเพิ่มจัดให้มีการเทศน์ปฐมสมโพธิกถา (พระพุทธประวัติ) ในวันวิสาขบูชาด้วย ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการตั้งโต๊ะเครื่องบูชารอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปรากฏหลักฐานว่าได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจุดดอกไม้เพลิงถวายเป็นพุทธบูชา และให้พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการฝ่ายใน และหน่วยราชการต่าง ๆ เดินเวียนเทียน จัดโคมประทีป และสวดมนต์ที่พระพุทธรัตนสถาน วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และมีการจัดพิธีวิสาขบูชาสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "42096#0", "text": "ศาสนาฮินดู (English: Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[257,281,3,3]}'>ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน[1] [2].", "title": "ศาสนาฮินดู" }, { "docid": "27258#0", "text": "บทสวดมนต์ ในศาสนาพุทธนิกายเถรวาทนิยมใช้ภาษาบาลี ซึ่งหากแปลความหมายออกมาก็จะพบว่าส่วนใหญ่แล้วเป็นคำสวดบูชาเพื่อรำลึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย อันได้แก่พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ แทบทั้งสิ้น จึงเป็นอุบายในการเจริญสติอย่างหนึ่ง ที่เรียก พุทธานุสติ ธรรมานุสติ และสังฆานุสติ นั่นเอง การสวดมนต์ทุกครั้ง จึงเริ่มด้วยคำบูชาพระบรมศาสดาว่า \"นโม ตสฺสะ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส\" แปลโดยรวมว่า \"ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น\"", "title": "บทสวดมนต์ในศาสนาพุทธ" }, { "docid": "59756#22", "text": "ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะคนเหล่านั้นยังไม่แน่ใจว่าระหว่างพระบรมศาสดากับอุรุเวลกัสสปะ นั้นใครเป็นศิษย์ใครเป็นอาจารย์กันแน่ เพราะว่า อุรุเวลกัสสปะ ก็เป็นเจ้าสำนักใหญ่ มีคนเคารพนับถือมากมาย และได้รับยกย่องว่าเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งพระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตความคิดของคนเหล่านั้นเป็นอย่างดี เพื่อปลดเปลื้องความสงสัยของคนเหล่านั้น จึงตรัสถามพระอุรุเวลกัสสปะ ว่า “กัสสปะ เธออยู่ในอุรุเวลาเสนานิคมมานาน เป็นอาจารย์สั่งสอนชฎิลให้บำเพ็ญพรต จนซูบผอม เธอเห็นโทษอะไรหรือ จึงเลิกละการบูชานั้นเสีย?” พระอุรุเวลกัสสปะ เมื่อได้ฟังพุทธดำรัสแล้ว ก็ทราบถึงพุทธประสงค์ดี จึงน้อมนมัสการกราบทูลว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค การบูชายัญทั้งหลาย ล้วนแต่มีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งกามคุณ มีรูป เสียง กลิ่น รส และ สัมผัส อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นของร้อน บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้รู้ชัดแล้วว่า ความรักใคร่ พอใจในกามคุณเหล่านั้น เป็นมลทิน ทำใจให้เศร้าหมอง ก่อให้เกิดกิเลส และความทุกข์ จึงละทิ้งการบูชาไฟนั้นเสีย บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้เห็นธรรมอันสงบระงับแล้ว” พระเจ้าข้า ครั้นแล้ว พระเถระได้ซบศีรษะลงแทบพระบาทของพระพุทธองค์ แล้วประกาศว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์เป็นศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ๆ เป็นสาวกของพระองค์”\nจากกิริยาอาการและถ้อยคำของพระเถระนั้น ทำให้บริวารของพระเจ้าพิมพิสารทั้งหมดเหล่านั้นหายสงสัย น้อมจิตลงที่ฟังพระธรรมเทศนา ดังนั้น พระบรมศาสดา จึงทรงแสดง “อนุปุพพิกถา” และ “อริยสัจ 4” ให้ฟังเมื่อจบพระธรรมเทศนา พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยบริวาร 11 นหุตะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ส่วนอีก 1 นหุตะ ดำรงอยู่ในไตรสรณคมน์ ประกาศตนเป็นพุทธมามกะ", "title": "พระอุรุเวลกัสสปะ" }, { "docid": "6977#7", "text": "การรวบรวมคำสอนของพระพุทธศาสนาเริ่มมีขึ้นเมื่อครั้งที่นิครนถนาฏบุตร ศาสดาของศาสนาเชนสิ้นชีวิตลง และสาวกของท่านไม่ได้เก็บรวบรวมคำสอนไว้ ทำให้เหล่าผู้นับถือศาสนาเชนจึงเกิดการแตกแยก และถกเถียงกันว่าแท้จริงแล้วศาสดาของตนสอนไว้เช่นไร พระจุนทเถระทราบเรื่องจึงนำความขึ้นกราบทูลพระพุทธเจ้า พระองค์จึงได้ตรัสแนะนำให้พระสงฆ์ทั้งปวงร่วมกันทำสังคายนา เพื่อรักษาคำสอนที่แท้จริงของพระพุทธศาสนาให้คงอยู่สืบไป", "title": "พระไตรปิฎกภาษาบาลี" }, { "docid": "48108#32", "text": "ต่อมา ชาวพุทธทั่วโลกได้ร่วมเสนอขอให้พุทธคยาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก จนในปี พ.ศ. 2545 ที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกจึงพิจารณาให้พุทธคยาเป็นมรดกโลก ปัจจุบัน พุทธคยานับได้ว่าเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลก โดยแต่ละปีจะมีผู้แสวงบุญนับล้านคนเดินทางมานมัสการมหาพุทธสถานแห่งนี้ ในฐานะที่เป็นสังเวชนียสถานศักดิ์สิทธิ์และสำคัญที่สุดของชาวพุทธ สถานที่อันเป็นจุดเริ่มต้นแห่งพระพุทธศาสนา และสถานที่ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมมหาศาสดาของชาวพุทธทั้งมวล", "title": "สังเวชนียสถาน" }, { "docid": "91822#0", "text": "ศาสดา คือผู้ก่อตั้งศาสนา หรือผู้คิดค้น ริเริ่มในการนำคำสอนไปเผยแผ่ เช่น พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา ศาสนายูดาห์มีโมเสสเป็นศาสดา เป็นต้น", "title": "ศาสดา" }, { "docid": "41646#2", "text": "ขณะนั้นล่วงปลายพุทธกาลแล้ว นิครนถนาฏบุตรผู้เป็นศาสดาของศาสนาเชนได้สิ้นชีวิตลง สาวกของท่านไม่ได้รวบรวมคำสอนไว้เป็นหมวดหมู่ และไม่ได้ตกลงกันไว้ให้ชัดเจน ปรากฏว่าเมื่อศาสดาของศาสนาเชนสิ้นชีวิตไปแล้ว เหล่าสาวกก็แตกแยกทะเลาะวิวาทกันว่า ศาสดาของตนสอนว่าอย่างไร ครั้งนั้น พระจุนทเถระ</b>ได้นำข่าวนี้มากราบทูลแด่พระพุทธเจ้า และพระองค์ได้ตรัสแนะนำให้พระสงฆ์ทั้งปวง ร่วมกันสังคายนาธรรมทั้งหลายไว้เพื่อให้พระศาสนาดำรงอยู่ยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขแก่พหูชน (ที.ปา.11/108/139) เวลานั้น พระสารีบุตรอัครสาวกยังมีชีวิตอยู่ คราวหนึ่งท่านปรารภเรื่องนี้แล้วกล่าวว่า ปัญหาของศาสนาเชนเกิดขึ้นเพราะว่าไม่ได้รวบรวมร้อยกรองคำสอนไว้", "title": "สังคายนาในศาสนาพุทธ" }, { "docid": "377771#0", "text": "\"บุดดะ\" ( เป็นชื่อของผลงานมังงะ (นิยายภาพ) ของเทะซึกะ โอะซะมุ ซึ่งเป็นผลงานชิ้นเดียวของเขาที่สร้างขึ้นเพื่อตีความพุทธประวัติของพระสิทธัตถะโคดมพุทธเจ้า ศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนาพุทธ ข้อวิจารณ์ที่มังงะเรื่องนี้ได้รับบ่อยครั้งเป็นเรื่องของความกล้าของผู้ประพันธ์ในการตีความพุทธประวัติใหม่ให้แตกต่างจากที่บันทึกไว้ในวงการศาสนา", "title": "บุดดะ" }, { "docid": "266467#15", "text": "ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะคนเหล่านั้นยังไม่แน่ใจว่าระหว่างพระบรมศาสดากับอุรุเวลกัสสปะ นั้นใครเป็นศิษย์ใครเป็นอาจารย์กันแน่ เพราะว่า อุรุเวลกัสสปะ ก็เป็นเจ้าสำนักใหญ่ มีคนเคารพนับถือมากมาย และได้รับยกย่องว่าเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งพระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตความคิดของคนเหล่านั้นเป็นอย่างดี เพื่อปลดเปลื้องความสงสัยของคนเหล่านั้น จึงตรัสถามพระอุรุเวลกัสสปะ ว่า “กัสสปะ เธออยู่ในอุรุเวลาเสนานิคมมานาน เป็นอาจารย์สั่งสอนชฎิลให้บำเพ็ญพรต จนซูบผอม เธอเห็นโทษอะไรหรือ จึงเลิกละการบูชานั้นเสีย?” พระอุรุเวลกัสสปะ เมื่อได้ฟังพุทธดำรัสแล้ว ก็ทราบถึงพุทธประสงค์ดี จึงน้อมนมัสการกราบทูลว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค การบูชายัญทั้งหลาย ล้วนแต่มีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งกามคุณ มีรูป เสียง กลิ่น รส และ สัมผัส อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นของร้อน บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้รู้ชัดแล้วว่า ความรักใคร่ พอใจในกามคุณเหล่านั้น เป็นมลทิน ทำใจให้เศร้าหมอง ก่อให้เกิดกิเลส และความทุกข์ จึงละทิ้งการบูชาไฟนั้นเสีย บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้เห็นธรรมอันสงบระงับแล้ว” พระเจ้าข้า ครั้นแล้ว พระเถระได้ซบศีรษะลงแทบพระบาทของพระพุทธองค์ แล้วประกาศว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์เป็นศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ๆ เป็นสาวกของพระองค์”\nจากกิริยาอาการและถ้อยคำของพระเถระนั้น ทำให้บริวารของพระเจ้าพิมพิสารทั้งหมดเหล่านั้นหายสงสัย น้อมจิตลงที่ฟังพระธรรมเทศนา ดังนั้น พระบรมศาสดา จึงทรงแสดง “อนุปุพพิกถา” และ “อริยสัจ 4” ให้ฟังเมื่อจบพระธรรมเทศนา พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยบริวาร 11 นหุตะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ส่วนอีก 1 นหุตะ ดำรงอยู่ในไตรสรณคมน์ ประกาศตนเป็นพุทธมามกะ", "title": "พระนทีกัสสปเถระ" }, { "docid": "48120#24", "text": "ปัจจุบัน พุทธคยาเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลก และมีผู้แสวงบุญนับล้านคนไปนมัสการมหาพุทธสถานแห่งนี้ ในฐานะเป็นสังเวชนียสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำคัญที่สุดของชาวพุทธ สถานที่ ๆ เป็นจุดเริ่มต้นแห่งพระพุทธศาสนา สถานที่ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมมหาศาสดาของชาวพุทธทั้งมวล", "title": "พุทธคยา" }, { "docid": "266465#15", "text": "ที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะคนเหล่านั้นยังไม่แน่ใจว่าระหว่างพระบรมศาสดากับอุรุเวลกัสสปะ นั้นใครเป็นศิษย์ใครเป็นอาจารย์กันแน่ เพราะว่า อุรุเวลกัสสปะ ก็เป็นเจ้าสำนักใหญ่ มีคนเคารพนับถือมากมาย และได้รับยกย่องว่าเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งพระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตความคิดของคนเหล่านั้นเป็นอย่างดี เพื่อปลดเปลื้องความสงสัยของคนเหล่านั้น จึงตรัสถามพระอุรุเวลกัสสปะ ว่า “กัสสปะ เธออยู่ในอุรุเวลาเสนานิคมมานาน เป็นอาจารย์สั่งสอนชฎิลให้บำเพ็ญพรต จนซูบผอม เธอเห็นโทษอะไรหรือ จึงเลิกละการบูชานั้นเสีย?” พระอุรุเวลกัสสปะ เมื่อได้ฟังพุทธดำรัสแล้ว ก็ทราบถึงพุทธประสงค์ดี จึงน้อมนมัสการกราบทูลว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค การบูชายัญทั้งหลาย ล้วนแต่มีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งกามคุณ มีรูป เสียง กลิ่น รส และ สัมผัส อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นของร้อน บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้รู้ชัดแล้วว่า ความรักใคร่ พอใจในกามคุณเหล่านั้น เป็นมลทิน ทำใจให้เศร้าหมอง ก่อให้เกิดกิเลส และความทุกข์ จึงละทิ้งการบูชาไฟนั้นเสีย บัดนี้ ข้าพระองค์ ได้เห็นธรรมอันสงบระงับแล้ว” พระเจ้าข้า ครั้นแล้ว พระเถระได้ซบศีรษะลงแทบพระบาทของพระพุทธองค์ แล้วประกาศว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์เป็นศาสดาของข้าพระพุทธเจ้า ๆ เป็นสาวกของพระองค์”\nจากกิริยาอาการและถ้อยคำของพระเถระนั้น ทำให้บริวารของพระเจ้าพิมพิสารทั้งหมดเหล่านั้นหายสงสัย น้อมจิตลงที่ฟังพระธรรมเทศนา ดังนั้น พระบรมศาสดา จึงทรงแสดง “อนุปุพพิกถา” และ “อริยสัจ 4” ให้ฟังเมื่อจบพระธรรมเทศนา พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยบริวาร 11 นหุตะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ส่วนอีก 1 นหุตะ ดำรงอยู่ในไตรสรณคมน์ ประกาศตนเป็นพุทธมามกะ", "title": "พระคยากัสสปะ" }, { "docid": "43992#4", "text": "ศาสดาของศาสนาเชน เดิมมีพระนามเดิมว่า \"วรรธมาน\" แปลว่า ผู้เจริญมีกำเนิดในสกุลกษัตริย์ เกิดในเมืองเมืองเวสาลี พระบิดานามว่า สิทธารถะ พระมารดานามว่า ตริศาลา เมื่อเจริญวัยได้รับการศึกษาศิลปศาสตร์หลายอย่างโดยควรแก่ฐานะแห่งวรรณะกษัตริย์ เผอิญวันหนึ่งขณะเล่นอยู่กับสหาย ได้มีช้างตกมันตัวหนึ่งหลุดออกจากโรงวิ่งมาอาละวาด ทำให้ฝูงชนแตกตื่นตกใจ ไม่มีใครจะกล้าเข้าใกล้และจัดการช้างตกมันตัวนี้ให้สงบได้ แต่เจ้าชายวรรธมานได้ตรงเข้าไปหาช้างและจับช้างพากลับไปยังโรงช้างได้ตามเดิม เพราะเหตุที่แสดงความกล้าหาญจับช้างตกมันได้จึงมีนามเกียรติยศว่า \"มหาวีระ\" แปลว่า ผู้กล้าหาญมาก ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกขานกันต่อมาของศาสดาพระองค์นี้", "title": "ศาสนาเชน" }, { "docid": "507246#5", "text": "ลัทธิอนุตตรธรรมเชื่อมโยงพระแม่องค์ธรรมกับศาสนาพุทธ โดยสอนว่า เพื่อฉุดช่วยสรรพสัตว์กลับสู่นิพพาน (หมายถิงสวรรค์) พระแม่องค์ธรรมได้ส่งพระพุทธเจ้ามาช่วยสรรพสัตว์และปกครองแต่ละยุค รวมทั้งสิ้น 10 พระองค์ ยุคสามกัปสุดท้ายคือ ยุคเขียวของพระทีปังกรพุทธเจ้า ยุคแดงของพระศากยมุนีพุทธเจ้า และยุคขาวของพระเมตไตรยพุทธเจ้าตามลำดับ นอกจากนี้ ยังเชื่อว่าพระแม่องค์ธรรมคือพระเป็นเจ้าพระองค์เดียวกับพระยาห์เวห์ อัลลอฮ์ อาทิพุทธะ ฯลฯ โดยถ่ายทอดธรรมแก่ศาสดาของแต่ละศาสนาโดยมีจุดหมายเดียวกันคือนำศาสนิกชนกลับสู่สวรรค์เดิม และอยู่ร่วมกับพระแม่องค์ธรรม จึงถือว่าอนุตตรธรรมเป็นรากฐานของทุกศาสนาในโลก", "title": "พระแม่องค์ธรรม" }, { "docid": "20838#60", "text": "ต่อมา ชาวพุทธทั่วโลกได้ร่วมเสนอขอให้พุทธคยาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก จนใน พ.ศ. 2545 ที่ประชุมคณะกรรมการมรดกโลกจึงพิจารณาให้พุทธคยาเป็นมรดกโลก ปัจจุบัน พุทธคยานับได้ว่าเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญที่สุดของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลก โดยแต่ละปีจะมีผู้แสวงบุญนับล้านคนเดินทางมานมัสการมหาพุทธสถานแห่งนี้ ในฐานะที่เป็นสังเวชนียสถานศักดิ์สิทธิ์และสำคัญที่สุดของชาวพุทธ สถานที่อันเป็นจุดเริ่มต้นแห่งพระพุทธศาสนา และสถานที่ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมมหาศาสดาของชาวพุทธทั้งมวล", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "18933#1", "text": "แต่เดิมนั้นพุทธศาสนาไม่มีรูปเคารพแต่อย่างใด ศาสนาพราหมณ์ หรือ ฮินดู ซึ่งมีมาก่อนศาสนาพุทธ ก็ไม่มีรูปเคารพเป็นเทวรูปเช่นกัน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ผู้ที่เลื่อมใสในพุทธศาสนา อยากจะมีสิ่งที่จะทำให้รำลึกถึง หรือเป็นสัญญลักษณ์ขององค์ศาสดา เพื่อที่จะบอกกล่าวเล่าขาน เรื่องราวขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ทรงศึกษาค้นคว้าหาทางดับทุกข์ และทรงชี้แนะสอนสั่งผู้คน ถึงการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุถึงความเป็นอยู่ ที่ก่อให้เกิดความผาสุกในหมู่มวลมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในโลก", "title": "พระพุทธรูป" } ]
323
ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ สามารถเป็นอันตรายถึงชีวิตหรือไม่ ?
[ { "docid": "322607#0", "text": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ[1] หรือ เซ็ปติก ช็อก[2] (English: Septic shock) คือภาวะช็อกชนิดหนึ่ง ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มีสาเหตุมาจากเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลงและการขนส่งออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อลดลง ซึ่งเป็นผลจากการติดเชื้อที่รุนแรงและภาวะพิษเหตุติดเชื้อ แม้ว่าเชื้อโรคนั้นจะกระจายไปทั่วร่างกายหรือจำกัดอยู่เฉพาะในบางตำแหน่งของร่างกาย[3] ภาวะนี้ทำให้เกิดกลุ่มอาการการทำหน้าที่ผิดปกติของหลายอวัยวะและเสียชีวิตได้[3] ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะนี้คือเด็ก ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง และในผู้สูงอายุ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันของกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ไม่สามารถจัดการกับการติดเชื้อได้มีประสิทธิภาพเท่าผู้ใหญ่ปกติ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยช็อกเหตุพิษติดเชื้อต้องได้รับการรักษาในหน่วยอภิบาล อัตราเสียชีวิตจากช็อกเหตุพิษติดเชื้อคือประมาณร้อยละ 25 ถึง 50[3]", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" } ]
[ { "docid": "322607#9", "text": "ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอซึ่งเป็นผลร่วมกันจากหลอดเลือดขยายตัวอย่างมาก การบีบตัวของหัวใจล้มเหลว และภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจายส่งผลให้ระบบอวัยวะหลายระบบล้มเหลว ได้แก่ ตับ ไต และระบบประสาทกลาง หากการติดเชื้อที่ดำเนินอยู่ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#19", "text": "อัตราเสียชีวิตจากภาวะพิษเหตุติดเชื้อประมาณร้อยละ 40 ในผู้ใหญ่ และร้อยละ 25 ในเด็ก และจะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหากไม่ได้รับการรักษาเป็นเวลานานกว่า 7 วัน[13]", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "760032#0", "text": "อิกนาซ ฟิลิปป์ เซมเมลไวสส์ (1 กรกฎาคม 1818 - 13 สิงหาคม 1865) เป็นแพทย์ชาวฮังการีเชื้อสายรัสเซีย ซึ่งปัจจุบันเป็นที่รู้จักในฐานะผู้บุกเบิกการทำหัตถการปลอดเชื้อ โดยพบว่าเราสามารถลดอุบัติการณ์ของการติดเชื้อหลังคลอดได้อย่างมาก เพียงให้มีการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อในหน่วยตรวจสูติศาสตร์ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีภาวะติดเชื้อหลังคลอดหรือไข้หลังคลอดเกิดขึ้นบ่อยครั้ง และเมื่อเกิดขึ้นแล้วมักเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต โดยมีอัตราการตายอยู่ที่ 10-35%", "title": "อิกนาซ เซมเมลไวสส์" }, { "docid": "319578#28", "text": "กลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ กลุ่มอาการการทำหน้าที่ผิดปกติของหลายอวัยวะ เวชบำบัดวิกฤต", "title": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ" }, { "docid": "24465#0", "text": "ไข้เด็งกี (English: Dengue fever) หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า ไข้เลือดออก เป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดในเขตร้อน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่นลักษณะเฉพาะซึ่งคล้ายกับผื่นของโรคหัด ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็น<b data-parsoid='{\"dsr\":[903,926,3,3]}'>ไข้เลือดออกเด็งกี (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทำให้มีเลือดออกง่าย มีเกล็ดเลือดต่ำ และมีการรั่วของพลาสมา หรือรุนแรงมากขึ้นเป็น<b data-parsoid='{\"dsr\":[1072,1103,3,3]}'>กลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก (Dengue shock syndrome) ซึ่งมีความดันโลหิตต่ำอย่างเป็นอันตรายได้", "title": "ไข้เด็งกี" }, { "docid": "322607#3", "text": "ช็อกหมายถึงการลดลงของเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทำให้อวัยวะสำคัญทำงานผิดปกติ ช็อกเหตุพิษติดเชื้อเป็นชนิดย่อยหนึ่งของช็อกจากการกระจายเลือด (distributive shock) ผลจากการหลั่งไซโตไคน์ออกมาเป็นจำนวนมากจากการตอบสนองต่อการอักเสบทำให้มีหลอดเลือดขยายตัวอย่างมากมาย สภาพการซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยเพิ่มขึ้น ความต้านทานหลอดเลือดทั่วร่างกายลดลง และทำให้ความดันโลหิตต่ำในที่สุด ภาวะความดันโลหิตต่ำส่งผลให้ความดันการกำซาบในยังเนื้อเยื่อลดลงและทำให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน และท้ายที่สุดร่างกายจะพยายามชดเชยภาวะความดันโลหิตจนเกิดภาวะหัวใจห้องล่างขยายตัวและกล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "319578#4", "text": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อรุนแรง (Severe sepsis) เกิดเมื่อภาวะพิษเหตุติดเชื้อทำให้อวัยวะทำงานผิดปกติ เช่น ภาวะหายใจล้มเหลว ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดหรือความผิดปกติทางโลหิตวิทยาอื่นๆ การสร้างปัสสาวะลดลง หรือระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง แต่หากอวัยวะทำงานล้มเหลวนั้นได้แก่ ความดันโลหิตต่ำ หรือเลือดเลี้ยงอวัยวะไม่เพียงพอ (ซึ่งทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก เป็นต้น) จะเรียกภาวะนี้ว่าช็อกเหตุพิษติดเชื้อ (หรือเซ็ปติก ช็อก)", "title": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ" }, { "docid": "319578#24", "text": "ในสหรัฐอเมริกา ภาวะพิษเหตุติดเชื้อเป็นสาเหตุการเสียชีวิตสูงเป็นอันดับสองในหน่วยอภิบาลที่ไม่ใช่หน่วยอภิบาลโรคหลอดเลือดหัวใจ และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบมากอันดับที่ 10 ในทั้งหมดจากข้อมูลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคสหรัฐอเมริกา (อันดับที่หนึ่งคือโรคหัวใจ) [24] ภาวะพิษเหตุติดเชื้อพบได้บ่อยและอันตรายมากขึ้นในผู้สูงอายุ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง และผู้ป่วยวิกฤต[25] ภาวะนี้เกิดขึ้นร้อยละ 1-2 ของผู้ป่วยที่รับในโรงพยาบาลและเป็นร้อยละ 25 ของการครองเตียงในหน่วยอภิบาล ภาวะนี้เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ในหน่วยอภิบาลทั่วโลก และมีอัตราเสียชีวิตตั้งแต่ร้อยละ 20 สำหรับภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ร้อยละ 40 สำหรับภาวะพิษเหตุติดเชื้อรุนแรง และมากกว่าร้อยละ 60 สำหรับภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อ", "title": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ" }, { "docid": "253178#0", "text": "โรคนิวโมคอคคัส เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “สเตรปโตคอคคัสนิวโมเนียอี” ซึ่งทำให้มีอัตราการเกิดโรคปอดบวมสูง ชื่อของเชื้อนี้ถูกค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ. 1881 ต่อมาได้มีการค้นพบยาเพนนิซิลิน ที่ใช้รักษาโรคนี้ได้เป็นอย่างดีในปี 1940 แต่ในระยะหลังเชื้อเกิดอาการดิ้อยาชนิดนี้ และยาปฏิชีวนะชนิดอื่นๆด้วย ทำให้ยากต่อการรักษา เชื้อนิวโมคอคคัส สามารถพบได้ทุกแห่ง ส่วนใหญ่จะพบอยู่ในโพรงจมูกและคอของคนทั่วไป บางคนอาจจะมีเชื้อนี้แต่ไม่แสดงอาการ ซึ่งเรียกว่าพาหะ เชื้อสามารถแพร่กระจายสู่บุคคลอื่นได้ เหมือนโรคไข้หวัด โดยการ ไอ จาม หรือทางอื่นๆที่ทำให้เชื้อแพร่กระจายออกมาเป็นละออง สิ่งสำคัญที่เป็นตัวการในการติดเชื้อส่วนใหญ่คือ มือ ดังนั้น การล้างมือบ่อยๆก็เป็นการป้องกันได้อีกทางหนึ่ง ชื้อนิวโมคอคคัส สามารถทำให้เกิดโรคที่เป็นอันตรายต่างๆได้ อาทิเช่น โรคติดเชื้อในกระแสเลือด โรคปอดบวม โรคหูชั้นกลางอักเสบ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซึ่งเป็นอันตรายมากในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ เป็นต้น กลุ่มบุคคลส่วนใหญ่ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อนี้จะเป็นเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ที่ตัดม้ามออกหรือม้ามทำงานผิดปกติ ", "title": "โรคนิวโมคอคคัส" }, { "docid": "322607#15", "text": "สเตอรอยด์ขนาดต่ำ (ไฮโดรคอร์ติโซน (hydrocortisone)) นาน 5-7 วันอาจช่วยให้ผลการรักษาดีขึ้น[9][10] การใช้รีคอมบิแนนท์ โปรตีน ซี (drotrecogin alpha) เพื่อรักษาภาวะพิษเหตุติดเชื้อ จากการทบทวนวรรณกรรมโดยองค์กรความร่วมมือคอเครนพบว่าไม่ช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และไม่แนะนำให้ใช้เพื่อรักษา[11] อย่างไรก็ตามก็มีงานทบทวนวรรณกรรมอื่นที่แสดงว่าการใช้รีคอมบิแนนท์ โปรตีน ซี อาจมีประสิทธิผลในผู้ป่วยที่รุนแรงมาก[12]", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "319578#21", "text": "ในระยะวิกฤต อาจเกิดภาวะต่อมหมวกไตส่วนนอกทำงานไม่เพียงพอ (adrenal insufficiency) และเนื้อเยื่อไม่ตอบสนองต่อคอร์ติโคสเตอรอยด์ ซึ่งภาวะนี้มีชื่อเรียกว่า critical illness–related corticosteroid insufficiency[15] การรักษาด้วยคอร์ติโคสเตอรอยด์อาจได้ผลดีในผู้ป่วยที่มีช็อกเหตุพิษติดเชื้อ (septic shock) และกลุ่มอาการหายใจลำบากในผู้ใหญ่ (acute respiratory distress syndrome; ARDS) ร้ายแรงในระยะแรก ในขณะที่การรักษาด้วยคอร์ติโคสเตอรอยด์ในผู้ป่วยที่มีตับอ่อนอักเสบ (pancreatitis) หรือปอดบวมรุนแรงนั้นยังไม่ให้ผลชัดเจน[15] คำแนะนำเหล่านี้มีที่มาจากการศึกษาซึ่งแสดงประโยชน์จากการให้ไฮโดรคอร์ติโซน (hydrocortisone) ขนาดน้อยเพื่อรักษาผู้ป่วยช็อกเหตุพิษติดเชื้อ และเมทิลเพรดนิโซโลน (methylprednisolone) ในผู้ป่วย ARDS[16][17][18][19][20][21] อย่างไรก็ตามวิธีการระบุว่าผู้ป่วยมีภาวะคอร์ติโคสเตอรอยด์ทำงานไม่เพียงพอยังคงเป็นปัญหา ภาวะนี้ควรสงสัยในผู้ป่วยที่ไม่ค่อยตอบสนองต่อการช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นคืนด้วยสารน้ำและสารกระตุ้นการหดตัวกล้ามเนื้อหลอดเลือด (vasopressors) การทดสอบโดยกระตุ้นด้วย ACTH (ACTH stimulation testing หรือ Cort-stim test) นั้นไม่แนะนำให้ทำเพื่อยืนยันการวินิจฉัย[15] วิธีการยุติการให้กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid) นั้นยังมีความหลากหลาย ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าควรจะค่อยๆ ปรับลดขนาดยาลงทีละน้อยหรือสามารถหยุดให้ได้เลยทันที", "title": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#5", "text": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อส่วนมาก (ราวร้อยละ 70) เกิดจากแบคทีเรียรูปแท่งแกรมลบที่ผลิตสารชีวพิษภายในตัว (endotoxin-producing Gram-negative bacilli) สารชีวพิษภายในตัวดังกล่าวนี้คือไลโปโพลีแซคคาไรด์ (lipopolysaccharides; LPS) ที่ผนังเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งประกอบด้วยแกนเป็นกรดไขมันที่มีพิษชื่อว่า ไลปิด เอ (lipid A) ที่พบได้ในแบคทีเรียแกรมลบทั่วไป และเปลือกโพลีแซคคาไรด์เชิงซ้อน (เช่น โอ แอนติเจน (O antigen)) ที่แตกต่างกันในแต่ละสปีชีส์ นอกจากนี้โมเลกุลของผนังเซลล์แบคทีเรียแกรมบวกและฟังไจก็อาจกระตุ้นให้เกิดภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อได้", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#18", "text": "ร้อยละ 35 ของผู้ป่วยช็อกเหตุพิษติดเชื้อมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ร้อยละ 15 เกิดจากทางเดินหายใจ ร้อยละ 15 เกิดจากหลอดสวนต่างๆ ที่ออกสู่ผิวหนัง (เช่นหลอดสวนเข้าหลอดเลือดดำ) และมากกว่าร้อยละ 30 ของผู้ป่วยทั้งหมดเกิดขึ้นเองไม่ทราบสาเหตุ", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "394209#3", "text": "สปอร์แอนแทรกซ์สามารถผลิตแบบ in vitro (นอกร่างกาย) และใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้ แอนแทรกซ์ไม่แพร่โดยตรงจากสัตว์หรือคนที่ติดเชื้อไปยังอีกคนหรือตัวหนึ่ง แต่แพร่โดยสปอร์ สปอร์เหล่านี้สามารถส่งผ่านได้โดยเสื้อผ้าหรือรองเท้า ร่างกายของสัตว์ที่มีแอนแทรกซ์อยู่ในช่วงที่ตายสามารถเป็นแหล่งสปอร์แอนแทรกซ์ได้\nเชื้อแอนแทรกซ์สามารถเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้ผ่านลำไส้ (การกิน) ปอด (การหายใจ) หรือผิวหนัง ซึ่งช่องทางแต่ละช่องทางจะทำให้เกิดอาการของโรคที่แตกต่างกัน แม้โดยทั่วไปแล้วผู้ติดเชื้อจะถูกกักกันแยกโรค แต่โดยปกติเชื้อนี้จะไม่ติดต่อจากคนสู่คน แต่หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากถึงขั้นเสียชีวิต ตัวเชื้อแบคทีเรียแอนแทรกซ์อาจเป็นแหล่งของการติดเชื้อได้ ดังนั้นการจัดการร่างจึงต้องมีกระบวนการระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อ โรคแอนแทรกซ์ที่ติดผ่านการหายใจหากไม่ได้รับการรักษาจนถึงขั้นแสดงอาการ มักเป็นอันตรายถึงชีวิต", "title": "แอนแทรกซ์" }, { "docid": "322607#2", "text": "มีกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย (systemic inflammatory response syndrome; SIRS) ซึ่งต้องประกอบด้วยสิ่งตรวจพบอย่างน้อย 2 ข้อดังต่อไปนี้ อัตราหายใจเร็ว มากกว่า 20 ครั้งต่อนาที หรือจากการวัดแก๊สในเลือดพบ ความดันย่อยของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (PaCO2) น้อยกว่า 32 มิลลิเมตรปรอท บ่งถึงภาวะหายใจเกิน ปริมาณเม็ดเลือดขาว < 4,000 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร หรือ > 12,000 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อัตราหัวใจเต้น > 90 ครั้งต่อนาที อุณหภูมิกาย มีไข้ > 38.0 องศาเซลเซียส หรือ ภาวะตัวเย็นเกิน < 36.0 องศาเซลเซียส มีภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ภาวะพิษเหตุติดเชื้อต้องประกอบด้วยหลักฐานของการติดเชื้อซึ่งอาจได้แก่การเพาะเชื้อจากเลือดขึ้นผลบวก อาการแสดงของปอดอักเสบจากเอกซเรย์ปอด หรือมีผลทางรังสีวิทยาหรือทางห้องปฏิบัติการแสดงถึงการติดเชื้อ มีอาการแสดงของการทำงานของอวัยวะล้มเหลว (end-organ dysfunction) เช่น ไตวาย ตับวาย การเปลี่ยนแปลงระดับความรู้ตัว หรือค่าแลกเตทในซีรัมสูงขึ้น การวินิจฉัยช็อกเหตุพิษติดเชื้อต้องมีความดันโลหิตต่ำที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ซึ่งแสดงว่าการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะรักษาความดันโลหิตเอาไว้ได้", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#17", "text": "กระบวนการของการติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อราทำให้มีอาการและอาการแสดงที่หลากหลาย ประมาณร้อยละ 70 ของผู้ป่วยช็อกเหตุพิษติดเชื้อพบเชื้อแบคทีเรียรูปแท่งแกรมลบซึ่งผลิตชีวพิษภายในตัว (endotoxins) แต่จากอุบัติการณ์ของ Staphylococcus aureus ที่ดื้อต่อเมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus, MRSA) และการใช้หลอดสวนหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ ทำให้เชื้อแบคทีเรียรูปกลมแกรมบวกเป็นสาเหตุได้บ่อยใกล้เคียงกับแบคทีเรียรูปแท่ง การเรียงลำดับความรุนแรงของโรคกลุ่มนี้คร่าวๆ ได้แก่ ภาวะแบคทีเรียหรือเชื้อราในเลือด ภาวะเลือดเป็นพิษ ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ภาวะพิษเหตุติดเชื้อรุนแรงหรือกลุ่มอาการภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ ช็อกเหตุพิษติดเชื้อที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา กลุ่มอาการการทำหน้าที่ผิดปกติของหลายอวัยวะ และเสียชีวิตตามลำดับ", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#13", "text": "สำหรับการเลือกสารกระตุ้นการหดตัวกล้ามเนื้อหลอดเลือด (vasopressors) พบว่า นอร์อีพิเนฟริน (norepinephrine) ให้ผลเหนือกว่าโดพามีน (dopamine) ในภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อ[7] แต่ยาทั้งสองชนิดก็ยังถูกระบุให้เป็นยาที่ควรเลือกใช้เป็นอันดับแรกในแนวทางการรักษา[7]", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#22", "text": "หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ หมวดหมู่:เวชบำบัดวิกฤต หมวดหมู่:สาเหตุการเสียชีวิต", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "319578#19", "text": "Early Goal Directed Therapy (EGDT) เป็นแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นคืน ที่ได้รับการยืนยันแล้วในการรักษาภาวะพิษเหตุติดเชื้อที่รุนแรงและช็อกเหตุพิษติดเชื้อ พัฒนาโดยนายแพทย์ E. Rivers จากโรงพยาบาลเฮนรี ฟอร์ดในสหรัฐอเมริกา ซึ่งแนวทางนี้ต้องเริ่มตั้งแต่ในหน่วยฉุกเฉิน ทฤษฎีกล่าวว่าควรใช้วิธีการจัดการแก้ไขความผิดปกติตามลำดับขั้นโดยให้มีการขนส่งออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่ออย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยไปถึงเป้าหมายทางสรีรวิทยาคือปรับ preload afterload และการบีบตัวของหัวใจเหมาะสม[12] จากการทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ (meta-analysis) เร็วๆ นี้แสดงว่า EGDT มีผลลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยภาวะพิษเหตุติดเชื้อ[13] ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ยังคงมีข้อโต้แย้งต่อแนวทางดังกล่าวบ้าง และกำลังมีการทดลองอีกหลายแห่งเพื่อพยายามแก้ปัญหาดังกล่าว[14]", "title": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ" }, { "docid": "750844#2", "text": "ภาวะเลือดมีแบคทีเรียอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้หลายอย่าง เช่น ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อการมีแบคทีเรียในเลือดอาจทำให้เกิดภาวะพิษเหตุติดเชื้อ หรือลุกลามเป็นภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อ ซึ่งมีอัตราการตายสูง เชื้อแบคทีเรียในเลือดอาจแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดการติดเชื้อในส่วนอื่นๆ ได้ เช่น เยื่อบุหัวใจอักเสบ หรือกระดูกและไขกระดูกอักเสบ ซึ่งมักเกิดตามมาจากการมีแบคทีเรียในเลือด ในกรณีที่มีความเสี่ยงเช่นนี้ อาจมีการให้การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ หรือการป้องกันด้วยการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันได้", "title": "ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย" }, { "docid": "322607#1", "text": "ในมนุษย์ นิยามของภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อต้องประกอบด้วยเกณฑ์วินิจฉัยดังต่อไปนี้", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#20", "text": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อมีอุบัติการณ์ทั่วโลกมากกว่า 20 ล้านรายต่อปี และมีอัตราเสียชีวิตจากช็อกเหตุพิษติดเชื้อสูงถึงร้อยละ 70 แม้แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว[14]", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#21", "text": "ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ช็อก กลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "176347#0", "text": "การอักเสบ () เป็นการตอบสนองทางชีวภาพที่ซับซ้อนของเนื้อเยื่อหลอดเลือดต่อสิ่งกระตุ้นที่เป็นอันตราย เช่นเชื้อโรค เซลล์ที่เสื่อมสภาพ หรือการระคายเคือง ซึ่งเป็นความพยายามของสิ่งมีชีวิตที่จะนำสิ่งกระตุ้นดังกล่าวออกไปและซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่ถูกทำลาย การอักเสบไม่ใช่อาการของการติดเชื้อ แม้ว่าการอักเสบหลายๆ ครั้งก็เกิดขึ้นจากการติดเชื้อ เพราะว่าการติดเชื้อนั้นเกิดจากจุลชีพก่อโรคภายนอกร่างกาย แต่การอักเสบคือการตอบสนองของร่างกายเพื่อต่อต้านจุลชีพก่อโรคหรือต่อปัจจัยอื่นๆ เช่น การบาดเจ็บ สารเคมี สิ่งแปลกปลอม หรือภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง", "title": "การอักเสบ" }, { "docid": "322607#4", "text": "เมื่อมีเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสเข้ามาในกระแสเลือดทำให้เกิดภาวะเลือดมีแบคทีเรีย (bacteremia) หรือภาวะเลือดมีไวรัส (viremia) หากเชื้อนั้นมีความรุนแรงหรือผู้รับเชื้อมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย (systemic inflammatory response syndrome; SIRS) ภาวะพิษเหตุติดเชื้อจากนิยามคือภาวะเลือดมีแบคทีเรียร่วมกับ SIRS นั่นเอง หากภาวะพิษเหตุติดเชื้อนี้ดำเนินมากขึ้นจนอวัยวะสำคัญทำงานผิดปกติ เช่น ไตวาน ตับวาย การเปลี่ยนแปลงระดับความรู้ตัว หรือหัวใจผิดปกติ เราจะเรียกภาวะนี้ว่าภาวะพิษเหตุติดเชื้อรุนแรง (severe sepsis) และหากภาวะพิษเหตุติดเชื้อรุนแรงแย่ลงไปจนถึงจุดที่ความดันโลหิตต่ำโดยไม่สามารถรักษาได้ด้วยการให้สารน้ำอย่างเดียว จะเข้ากับเกณฑ์ของช็อกเหตุพิษติดเชื้อ การติดเชื้อที่อาจชักนำให้เกิดภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อเช่นปอดอักเสบ ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย โรคถุงยื่นของลำไส้อักเสบ (diverticulitis) กรวยไตอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ และพังผืดอักเสบมีเนื้อตาย (necrotizing fasciitis)", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#16", "text": "จากศูนย์ควบคุมโรคสหรัฐอเมริกา (Center for Disease Control, CDC) ช็อกเหตุพิษติดเชื้อนับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตสูงสุดเป็นอันดับที่ 13 ในสหรัฐอเมริกา และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่หนึ่งในหน่วยอภิบาล ซึ่งในทศวรรษหลังนี้มีอัตราการเสียชีวิตจากช็อกเหตุพิษติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการมีอุปกรณ์และหัตถการทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้น ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องมากขึ้น และมีผู้ป่วยสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิ เช่น บ้านพักคนชรา มีอัตราของภาวะแบคทีเรียในเลือดเป็น 2-4 เท่าของสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ และร้อยละ 75 ของจำนวนดังกล่าวเป็นการติดเชื้อในโรงพยาบาล", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "127425#1", "text": "ภาวะแทรกซ้อนจากตับแข็งที่พบบ่อยคือภาวะท้องมาน ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างมากกับการสูญเสียคุณภาพชีวิต เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และผลเสียในระยะยาว ภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตคือโรคสมองที่เกิดจากตับ (hepatic encephalopathy) และการมีเลือดออกจากหลอดเลือดขอดในหลอดอาหาร (esophageal varices) ตับแข็งนั้นเมื่อเกิดแล้วมักไม่สามารถกลับเป็นปกติได้ การรักษาจึงมักมุ่งไปที่การยับยั้งการดำเนินโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน หากเป็นมากอาจมีทางเลือกในการรักษาเพียงทางเดียวคือการผ่าตัดเปลี่ยนตับ", "title": "โรคตับแข็ง" }, { "docid": "322607#11", "text": "การรักษาภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อมีหลักการดังต่อไปนี้", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" }, { "docid": "322607#8", "text": "ในภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อ คือกรณีที่มีระดับ LPS สูงก็มีการกระตุ้นไซโตไคน์และสารตัวกลางเช่นเดียวกับในภาวะปกติแต่มีระดับสูงและรุนแรงกว่า ทำให้หลอดเลือดขยายตัวทั่วร่างกาย (ความดันโลหิตต่ำ) กดการบีบตัวของหัวใจ การกระตุ้นและการบาดเจ็บของเซลล์เยื่อบุโพรงโดยทั่วเป็นเหตุให้เกิดการยึดเกาะของเม็ดเลือดขาวกับเซลล์เยื่อบุโพรงทั่วร่างกาย และเกิดการทำลายหลอดเลือดฝอยถุงลมในปอด การกระตุ้นระบบการแข็งตัวของเลือดอย่างมากมายทำให้เกิดภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (disseminated intravascular coagulation; DIC)", "title": "ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ" } ]
1837
เกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ มีการเขียนบทหรือไม่ ?
[ { "docid": "21299#0", "text": "เรียลลิตีโชว์ หรือที่ถูกว่า รีแอลลิทีโชว์ () เป็นรายการโทรทัศน์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งมักจะดำเนินไปโดยใช้สถานการณ์จริง และไม่มีการเขียนบท คัดเลือกผู้ร่วมรายการจากผู้ชมทางบ้าน ซึ่งจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ทางทีมงานได้จัดเตรียมเอาไว้ ผู้เข้าร่วมรายการจะต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ รายการโทรทัศน์เช่นนี้ เริ่มมาช้านานแล้ว แต่เพิ่งจะนิยมอย่างแพร่หลายเมื่อราว พ.ศ. 2543 (โดยเฉพาะจากรายการ Expedition Robinson)", "title": "เรียลลิตีโชว์" } ]
[ { "docid": "96843#14", "text": "รายการเรียลลิตี้โชว์ มีอยู่หลายรายการทั้งเรียลลิตี้โชว์คนดังอย่าง \"ดิแอชลีซิมป์สันโชว์\" \"ดิออสบอร์นส\" และ \"นิวลีเวดส์: นิกแอนด์เจสสิกา\" \"ไลฟ์ออฟไรอัน\" และ รายการประเภทนัดบอดมีอยู่หลายรายการ เช่น \"รูมไรเดอร์ส\" \"เอ็มทีวีสกอร์\" ส่วนรายการเรียลลิตี้ประเภทกึ่งสารคดี เช่น \"เอ็มทีวีทรูไลฟ์\" และ \"เอตธ์แอนด์โอเชียน\" เป็นต้น ยังมีรายการประเภทแอนิเมชัน เช่น \"แวส์มายด็อกแอต?\" และ \"อูซาวิช\" เป็นต้น", "title": "เอ็มทีวีไทยแลนด์" }, { "docid": "192289#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 4 () เป็นฤดูกาลที่ 4 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่รางวัลเอ็มมีมีการแจกรางวัลประเภทเรียลลิตี้โชว์การแข่งขันและรายการก็คว้ามาได้แบบผูกขาดอยู่รายการเดียวจนถึงปัจจุบัน", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 4" }, { "docid": "220594#2", "text": "บริษัทเริ่มทำการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ต่อมาได้ขยายการผลิตรายการในหลากหลายรูปแบบ และหลายสถานี เช่น ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 3 ช่อง 9 (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ช่อง ITV ช่องไทยรัฐทีวี และอื่นๆ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศ เช่น เกมโชว์ ควิซโชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด วาไรตี้โชว์ ทอล์คโชว์ รายการตลก ละครเวที ละครซิทคอม ละครเรื่องยาว ละครสั้น สารคดีโทรทัศน์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศ ทุกวัย และยังได้รับรางวัลจากหลายสถาบัน", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "274668#5", "text": "ทีวี ธันเดอร์ ได้ผลิตรายการต่างๆ เป็นจำนวนกว่า 200 รายการ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ ละครซิทคอม ละครยาว และเรียลลิตี้โชว์ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ทรูโฟร์ยู, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี และสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี โดยปัจจุบันมีรายการโทรทัศน์ และละครโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวนทั้งหมด 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ ควิซโชว์ วาไรตี้โชว์ และเรียลลิตี้โชว์ ทางช่อง 3 HD ช่อง 5 ช่องทรูโฟร์ยู ช่องไทยรัฐทีวี HD และช่อง PPTV HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์ลงแอปพลิเคชัน LINE TV เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "ทีวี ธันเดอร์" }, { "docid": "220594#6", "text": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย ผลิตรายการต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็ก ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้คอเมดี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด ละครเวที สารคดี และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส, สถานีโทรทัศน์ช่องวัน, สถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์, สถานีโทรทัศน์นาว 26, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ,สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี และ สถานีโทรทัศน์อมรินทร์ทีวี ปัจจุบัน เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 10 รายการ เป็นรายการประเภททอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้เกมโชว์ สารคดี เรียลลิตี้โชว์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 9 MCOT HD และช่องไทยพีบีเอส HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์และออกอากาศในแอปพลิเคชัน LINE TV และ AIS PLAY เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "939148#6", "text": "ปัจจุบัน เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 10 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, ควิซโชว์, วาไรตี้โชว์, เรียลลิตี้โชว์ และละครโทรทัศน์ ซึ่งออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ โดยรายชื่อของรายการโทรทัศน์ทั้งหมดของบริษัทฯ จะเรียงตามปีที่เริ่มแพร่ภาพออกอากาศ ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น \"\"ตัวเอน\"\" และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น \"ตัวหนา\"", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "195991#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 6 () เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 6" }, { "docid": "192288#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 3 () เป็นฤดูกาลที่ 3 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 3" }, { "docid": "196007#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 10 () เป็นฤดูกาลที่ 10 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 10" }, { "docid": "192160#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 2 () เป็นฤดูกาลที่ 2 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 2" } ]
409
พระอารามหลวงหมายถึงอะไร?
[ { "docid": "32669#0", "text": "พระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง[1]", "title": "พระอารามหลวง" } ]
[ { "docid": "106095#1", "text": "ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองภาษีเจริญที่ข้างวัดด้านทิศตะวันตก วัดจึงมีลำน้ำหลักล้อมอยู่ทั้ง 3 ด้าน ส่วนด้านใต้เป็นคลองเล็กแสดงอาณาเขตของวัดในสมัยก่อน วัดปากน้ำ เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ( ระหว่าง พ.ศ. 2031-2172) สถาปนาโดยพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏพระนามแน่ชัด เป็นวัดประจำหัวเมืองธนบุรี ปรากฏในตำนานเรื่องวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาว่าเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา อันหมายถึงพระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสีทรงสถาปนาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น หลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานภายในวัดมีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้พบร่องรอยคลองเล็กด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของวัด ที่โบราณขุดไว้เป็นแนวเขตที่ดินของวัดหลวงสมัยอยุธยา ที่ตั้งของวัดปากน้ำจึงมีลักษณะเป็นเกาะรูปสี่เหลี่ยมมีน้ำล้อมอยู่ทุกด้าน สถาปัตยกรรมและศิลปวัตถุที่อยู่คู่วัดมาเช่น หอพระไตรปิฏก ตู้พระไตรปิฎกทรงบุษบก ล้วนเป็นฝีมือช่างหลวงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และตัวพระอุโบสถก็ใช้เทคนิคการก่อสร้างในสมัยนั้น ได้ค้นพบนามเจ้าอาวาส 1 รูป ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) คือ พระครูธนะราชมุนี วัดปากน้ำ ได้มีบทบาทสำคัญมาแต่โบราณเพราะได้รับสถาปนาเป็นพระอารามหลวงที่อยู่นอกกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญประจำหัวเมืองหน้าด่านทางทะเล ", "title": "วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ" }, { "docid": "7860#24", "text": "วัดมหาชัย (พระอารามหลวง) พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ", "title": "จังหวัดมหาสารคาม" }, { "docid": "57882#0", "text": "วัดท่าหลวง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ มีแม่น้ำน่านไหลผ่านด้านหน้าวัด ตั้งอยู่บนถนนบุษบา ตำบลในเมือง เดิมชื่อ ตำบลท่าหลวง อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตรวัดท่าหลวง พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ ๖๗๔ ถนนบุษบา ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร รหัสไปรษณีย์ ๖๖๐๐๐ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญสังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ภาค ๔ หนเหนือ ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่จำนวน ๔๖ไร่ ๓ งาน๑๗.๔ ตารางวา น.ส. ๓ ก เลขที่ ๔๗๐, ๔๗๑ น.ส. ๓ เลขที่ มีที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๒ แปลงมีเนื้อที่จำนวน ๓๐ ไร่ ๒ งาน ๔๒ ตารางวา อยู่ที่ตำบลในเมือง และ ตำบลหนองปลาไหลแห่งละหนึ่งแปลง ตั้งวัดพุทธศักราช ๒๓๘๘ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๙๒ เขตแดนวิสุงคามสีมา กว้าง ๙ เมตร ยาว ๒๖ เมตร เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๐ - ๒๕๑๓ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญเมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๙ นี้มีมาก่อนที่จะย้ายเมืองพิจิตรเก่ามาตั้งอยู่ที่เมืองพิจิตรใหม่ในปัจจุบันแต่เดิมมีฐานะเป็นเพียงสำนักสงฆ์ตั้งอยู่ในป่าพงละเมาะไม้ในเขตหมู่บ้านท่าหลวงอำเภอท่าหลวง จังหวัดพิจิตรซึ่งในขณะนั้นที่ตั้งตัวเมืองพิจิตรอยู่ที่ตำบลเมืองเก่าห่างจากตัวเมืองพิจิตรใหม่ในปัจจุบันไปทางทิศตะวันตกประมาณ๘ กิโลเมตรและได้ย้ายเมืองพิจิตรเก่ามาตั้งอยู่ที่เมืองพิจิตรเป็นวัดสำคัญของจังหวัดพิจิตร อยู่ริมฝั่งแม่น้ำน่านฝั่งตะวันตก ใกล้ศาลากลางจังหวัด พุทธศักราช 2388 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างวัดท่าหลวง ชื่อของวัดตั้งขึ้นตามชื่อตำบลอันเป็นที่ตั้ง (ในสมัยนั้น) นอกจากนี้วัดท่าหลวงยังมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า วัดราชดิตถาราม แต่ไม่ได้รับความนิยมนำมาใช้เรียกขาน วัดท่าหลวง มีพระพุทธรูปหลวงพ่อเพชร เป็นพระประธานประจำวัด พื้นที่ของวัดมีลักษณะพิเศษคือ ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน โดยมีถนนบุษบาคั่นระหว่างกลางในแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่ฝากตะวันออก เป็นเขตพุทธาวาส ประกอบด้วยพระอุโบสถ และศาลาการเปรียญเป็นหลัก ส่วนฝากตะวันตกนั้น ประกอบด้วยเขตสังฆาวาส โรงเรียนปริยัติธรรม เขตประกอบฌาปนกิจ และเขตปฏิบัติธรรมของฆราวาส เป็นหลัก โดยมีการอัญเชิญหลวงพ่อภัทร พระประธานองค์เดิม มาประดิษฐานเป็นพระประธานในพื้นที่ ซึ่งเรียกตามชื่อของหมู่บ้านที่ตั้งวัดอยู่ คำว่า \"ท่าหลวง\" นั้นเป็นชื่อของหมู่บ้านท่าหลวง คลองท่าหลวง ตำบลท่าหลวง และเคยเป็นชื่อของอำเภอท่าหลวงมาก่อน ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๑เปลี่ยนเป็นอำเภอเมืองพิจิตรจนถึงปัจจุบันทางราชการได้เคยใช้สถานที่วัดท่าหลวงในกาประกอบพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาเป็นประจำ ฝากตะวันตกวัดท่าหลวง มีพระพุทธรูปสำคัญ 2 องค์ คือ หลวงพ่อเพชรและหลวงพ่อภัทร", "title": "วัดท่าหลวง" }, { "docid": "7204#35", "text": "พระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย (หลวงพ่อองค์ดำ) วัดกลาง (พระอารามหลวง ชั้นตรีชนิดสามัญ) อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ) อดีตเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์และอดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง พระอารามหลวง อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต) เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ม) และเจ้าอาวาสวัดกลาง พระอารามหลวง อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระเทพสารเมธี (บัวศรี ชุตินฺธโร) เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ธ) และเจ้าอาวาสวัดประชานิยม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ม) และเจ้าอาวาสวัดป่าพุทธมงคล อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระราชธรรมเมธี (ทองใส กิตฺติโก) อดีตรองเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ม) และอดีตเจ้าอาวาสวัดป่ามหานิกาย อำเภอนามน พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา (ธ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร จังหวัดนครราชสีมา และอดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน อำเภอคำม่วง พระโพธิญาณมุนี (เมือง พลวฑฺโฒ) พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง เจ้าอาวาสวัดป่ามัชฌิมาวาส อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ศิษย์ หลวงตามหาบัว พระญาณรักขิต (แผน โสภโณ) รองเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ธ) และเจ้าอาวาสวัดวีระวงศาวาส อำเภอสมเด็จ พระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร) (หลวงปู่ไดโนเสาร์) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ธ) และเจ้าอาวาสวัดสักกะวัน อำเภอสหัสขันธ์ พระมงคลสิทธิ (นิน ฐิตธมฺโม) อดีตเจ้าคณะอำเภอห้วยเม็ก (ม) และอดีตเจ้าอาวาสวัดนางนวล อำเภอห้วยเม็ก พระวิสุทธิบุญญาคม (บุญสม ฐิตปุญฺโญ) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดกลาง พระอารามหลวง อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ พระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร) รองเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ม) และเจ้าอาวาสวัดเหนือ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์", "title": "จังหวัดกาฬสินธุ์" }, { "docid": "454945#34", "text": "ในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2369 พระเจ้าฌูเอาขณะเสด็จกลับจากพระอารามเฮียโรนิไมท์ และทรงเข้าบรรทมที่พระราชวังเบงปอชตาด้วยพระอาการน่าเป็นห่วง พระองค์ทรงเจ็บปวดทรมานหลายวันจากพระอาการต่าง ๆ รวมทั้งอาเจียนและการสั่นอย่างรุนแรง พระองค์ทรงปรากฏองค์ด้วยพระพลานามัยที่ดีขึ้นแต่ด้วยความรอบคอบ พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยแต่งตั้งให้ เจ้าหญิงอิซาเบล มารีอาแห่งโปรตุเกส พระราชธิดาเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในกลางคืนของวันที่ 9 มีนาคม พระอาการประชวรของพระองค์กลับแย่ลงและเสด็จสวรรคตในเวลาประมาณ 5 โมงเช้าของวันที่ 10 มีนาคม สิริพระชนมายุ 58 พรรษา เจ้าหญิงผู้สำเร็จราชการทรงยอมรับในทันทีทันใดภายในรัฐบาลของโปรตุเกสและจักรพรรดิเปดรูทรงได้รับการยอมรับในฐานะองค์รัชทายาทที่ถูกต้องตามกฎหมายในฐานะ พระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกส แพทย์หลวงประจำราชสำนักยังไม่สามารถกำหนดเหตุการสวรรคตของพระเจ้าฌูเอาได้ในท้ายที่สุด แต่มีการสงสัยกันว่าทรงถูกวางยาพิษ พระวรกายของพระองค์ถูกตบแต่งและทำพระราชพิธีฝังพระศพที่สุสานหลวงแห่งกษัตริย์โปรตุเกส วิหารหลวงแห่งพระราชวงศ์บรากังซาในพระอารามเซา วิเซนเต เดอ ฟอรา ในคริสต์ทศวรรษที่ 1990 คณะผู้ตรวจสอบได้ค้นพบและขุดหม้อเซรามิกทรงจีนขึ้นมาจากหลุมที่ซึ่งบรรจุพระอันตะ(ลำไส้)ของพระองค์ ชิ้นส่วนของพระหทัยของพระองค์ได้ถูกทำให้ชื้นและได้รับการตรวจสอบที่ซึ่งมีการพบปริมาณสารหนูปริมาณมากพอสำหรับฆ่าคนได้สองคน เป็นการยอมรับอย่างเป็นนัยว่าทรงถูกลอบปลงพระชนม์ด้วยยาพิษ", "title": "พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส" }, { "docid": "225463#7", "text": "สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้พระราชทานแอบบีเวสต์มินสเตอร์คืนให้กับนักพรตเบเนดิกติน แต่ก็มาถูกยึดคืนโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ในปี ค.ศ. 1559 ยี่สิบปีต่อมาในปี ค.ศ. 1579 พระองค์ก็พระราชทานฐานะแอบบีให้เป็น “พระอารามหลวง” ซึ่งหมายถึงการเป็นโบสถ์ที่ขึ้นตรงต่อองค์รัฏฐาธิปัตย์แทนที่จะขึ้นอยู่กับมุขนายกเขตมิสซัง และพระราชทานชื่อใหม่ว่า “คริสตจักรเซนต์ปีเตอร์” (Collegiate Church of St Peter) ซึ่งเท่ากับเป็นการสิ้นสุดจากการเป็นแอบบีหรืออารามมาเป็นโบสถ์ที่ปกครองโดยดีน (dean) อธิการองค์สุดท้ายของแอบบีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นดีนองค์แรก", "title": "เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์" }, { "docid": "232274#0", "text": "รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้", "title": "รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย" }, { "docid": "202006#1", "text": "วัดไทยในกรุงเทพฯ ที่ตั้งกันตามความหมายที่แสดงถึงการมีชัยนั้น มีอยู่เพียงไม่กี่แห่ง อย่างวัดที่มีผู้คนนิยมไปกราบไหว้เพื่อขอให้พระอำนวยพรให้ตนมีชัยและชนะต่ออริราชศัตรูอย่างที่วัดชนะสงคราม ตรงบางลำพูก็ดี หรือแม้แต่จะเป็นวัดชัยชนะสงคราม ที่อยู่ไม่ไกลจากสะพานเหล็กก็ดี ทั้ง 2 วันต่างก็มีผู้คนนิยมมากราบไหว้บูชาเสริมสิริมงคลแก่ตัวเองทั้งสิ้น และแม้ว่าวัดทั้ง 2 วัดที่เอ่ยอ้างมาในข้างต้น จะได้เป็นวัดที่เป็นสัญลักษณ์แห่งความสำเร็จอันเนื่องมาจากชื่อวัด และประวัติอันดั้งเดิมก็ตาม แต่วัดที่อยู่ตรงบางลำพูกลับเป็นวัดที่มีศักดิ์สูงกว่า ทั้งนี้เนื่องมาจากการที่ผู้ก่อสร้างวัดนั้น เป็นถึงผู้ที่มีฐานันดรที่จะสืบทอดแผ่นดินต่อจาก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเลยทีเดียว แต่ที่วัดตรงเขตป้อมปราบฯ นั้น ผู้สร้างดำรงยศเป็นเจ้าพระยา ดังนั้นวัดที่เจ้าพระยาสร้างจึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเพียงอารามหลวงชั้นตรีอารามหลวงชั้นตรีอย่าง", "title": "วัดชัยชนะสงคราม" }, { "docid": "7052#3", "text": "พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานกำเนิดโรงเรียนมหาดเล็กหลวงขึ้น เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453 เพื่อให้โรงเรียนแห่งนี้เป็นสถาบันที่ให้การศึกษาอย่างแท้จริงแก่กุลบุตรชาวไทย และเป็นเสมือนพระอารามหลวงประจำรัชกาล ซึ่งมิได้โปรดฯ ให้สร้างขึ้น เพราะมีพระราชดำริว่า ในรัชสมัยของพระองค์พระอารามหลวงต่างๆ มีอยู่มากแล้ว หากจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอารามหลวงขึ้นอีกก็จะเป็นพระราชภาระในการปฏิสังขรณ์อีกโดยมิควร ประกอบกับในรัชสมัยของพระองค์นั้นการศึกษาได้เปลี่ยนแปลงไป มิได้อยู่กับวัดดังเช่นกาลก่อน นักเรียนต้องการครูบาอาจารย์ที่เป็นคฤหัสถ์ เพื่อทำการอบรมสั่งสอน[1] ดังนั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนขึ้นตามแบบโรงเรียนรัฐบาลของประเทศอังกฤษ และพระราชทานนามโรงเรียนแห่งนี้ว่า \"โรงเรียนมหาดเล็กหลวง\"[2]", "title": "วชิราวุธวิทยาลัย" }, { "docid": "32669#1", "text": "แต่เดิมนั้นยังไม่มีการจัดแบ่งพระอารามหลวงอย่างเป็นทางการ เพียงแต่มีการจัดแบ่งพระอารามหลวงออกเป็นหลายชั้นตามความรู้สึกหรืออาศัยการคาดเดาตามสถานการณ์ เช่น ดูจากการพระราชทานเทียนพรรษาขี้ผึ้งหรือไม้เล่มเดียวหรือมากกว่านั้น หรือดูจากการบรรดาศักดิ์ที่พระราชทานแก่เจ้าพนักงานผู้คุมเลกข้าพระ เป็นต้น หลังจากนั้น กระทรวงธรรมการร่วมกับกระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดระเบียบพระอารามหลวงเพื่อประมาณค่าบำรุงวัดหลักจากเลิกเลขวัด แต่ไม่ได้นำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดระเบียบพระอารามหลวง ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการจัดระเบียบพระอารามหลวงขึ้นอย่างเป็นระบบตั้งแต่นั้นมา[2]", "title": "พระอารามหลวง" }, { "docid": "35128#17", "text": "ตั้งอยู่ตำบลบ้านหวด บนถนนพหลโยธิน สายลำปาง-งาว ห่างจากตัวอำเภองาว 10 กิโลเมตร วัดจองคำเป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งในจังหวัดลำปาง โดยสถาปัตยกรรมก่อสร้างที่โดดเด่นเป็นศิลปะแบบไทยใหญ่ สันนิษฐานว่าก่อสร้างโดยชาวพม่าที่มารับจ้างทำสัมปทานป่าไม้ที่เขตอำเภองาว ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่แน่ชัด ตัววิหารชัยภูมิศิลปะแบบไทยใหญ่หลังเดิมถูกรื้อย้ายมาไปไว้ ณ เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ หลังที่เห็นปัจจุบันเป็นศิลปะที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 สืบเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ได้มีการยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง วัดจองคำได้รับคัดเลือกให้สถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ถือเป็นพระอารามหลวงลำดับที่สามของจังหวัดลำปาง นอกจากนี้ยังเป็นโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดลำปาง แต่ละปีนักเรียนปริยัติธรรมสามารถสอบเปรียญธรรมบาลีได้ตั้งแต่ประโยคหนึ่งจนถึง ป.ธ.9 ได้รับพระราชทานอุปสมบทเป็นนาคหลวงจำนวนมาก เจ้าอาวาสลำดับปัจจุบันและเจ้าสำนักได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามว่า พระเทพปริยัติมงคล", "title": "อำเภองาว" }, { "docid": "32669#2", "text": "โดยในครั้งนั้น วัดที่จัดว่าเป็นพระอารามหลวงนั้น คือ วัดอันสมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้าง ทรงปฏิสังขรณ์เป็นส่วนพระองค์หรือทรงในนามท่านผู้อื่น และอารามอันพระบรมวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้ใหญ่สร้างปฏิสังขรณ์ทรงรับไว้ในความบำรุงของแผ่นดิน[2] ภายหลังจึงหมายรวมถึงวัดราษฎร์ที่ที่ประชาชนสร้างหรือปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพิจารณาเห็นสมควรยกย่องเป็นพิเศษก็ทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวง[3]", "title": "พระอารามหลวง" }, { "docid": "32668#0", "text": "วิหาร คืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคล้ายเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า คู่กับอุโบสถ แต่ไม่มีวิสุงคามเหมือนพระอุโบสถ คำว่า วิหาร แต่เดิมใช้ในความหมายว่า วัด เช่นเดียวกับคำว่า อาราม อาวาส เช่น เวฬุวัน วิหาร เชตวันมหาวิหาร วิหารมีหลายแบบ เช่นคำว่า \"วิหาร\" ยังกำหนดใช้เป็นคำลงท้ายสร้อยนามพระอารามหลวงต่างๆ เพื่อแสดงให้รู้ว่าวัดที่มีสร้อยนามอย่างนี้เป็นพระอารามหลวงสำคัญ", "title": "วิหาร" }, { "docid": "32669#3", "text": "การจัดลำดับชั้นของพระอารามหลวง เริ่มมีขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2458 ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบแบ่งชั้นพระอารามหลวงออกเป็นสามชั้น แต่ละชั้นยังแยกระดับออกไปอีกหลายระดับ โดยมีสร้อยต่อท้ายชื่อวัดตามฐานะดังนี้", "title": "พระอารามหลวง" }, { "docid": "32669#4", "text": "พระอารามหลวงชั้นเอก ได้แก่ วัดที่มีเจดียสถานบรรจุพระบรมอัฐิ หรือเป็นวัดที่มีเกียรติสูง มี 3 ชนิด คือ ชนิดราชวรมหาวิหาร ชนิดราชวรวิหาร ชนิดวรมหาวิหาร พระอารามหลวงชั้นโท ได้แก่ วัดที่มีเจดียสถานสำคัญ มี 4 ชนิด คือ ชนิดราชวรมหาวิหาร ชนิดราชวรวิหาร ชนิดวรมหาวิหาร ชนิดวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ได้แก่ วัดประจำหัวเมือง หรือวัดที่มีความสำคัญชั้นรอง มี 3 ชนิด คือ ชนิดราชวรวิหาร ชนิดวรวิหาร ชนิดสามัญ (ไม่มีสร้อยนามต่อท้าย โดยส่วนใหญ่จะต่อท้ายว่า พระอารามหลวง)", "title": "พระอารามหลวง" }, { "docid": "9143#0", "text": "วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยมีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) เป็นผู้อำนวยการก่อสร้าง มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตก คือ ลักษณะภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง และมีมหาสีมาอันเป็นเสาศิลาจำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักร 8 เสา ตั้งเป็นสีมาที่กำแพง 8 ทิศ “ราชบพิธ” หมายถึง พระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง บพิธ คำนี้มาจากภาษาบาลีคือ ปวิธะ ที่แปลว่าสร้าง ส่วน “สถิตมหาสีมาราม” หมายถึง พระอารามซึ่งมีสีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด", "title": "วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "479466#0", "text": "วัดธาตุทอง พระอารามหลวง เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา วัดนั้นก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓(เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร) ผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตอุโบสถ เมื่อวันที่ ๒-๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ มีเนื้อที่ ๕๔ ไร่ ๓ งาน ๘๒ ตาราง (เลขที่ ๑๔๙ โฉนดที่ ๔๐๓๗) วัดธาตุทองฯ แท้จริงแล้วมีประวัติความเป็นมายาวนาน ย้อนกลับไปถึงยุคสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ก่อนจะมาตั้งอยู่บนนถนนสุขุมวิทในปัจจุบันวัดธาตุทอง พระอารามหลวง ในอดีต อารามแห่งนี้เดิมมี ๒ วัด คือวัดหน้าพระธาตุ และวัดทองล่าง วัดหน้าพระธาตุตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลคลองเตย อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร เป็นวัดเก่าที่สร้างขึ้นในสมัยอโยธยา (กรุงศรีอยุธยา) หน้าวัดมีพระพุทธเจดีย์ใหญ่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สถาปนาโดย พระเจ้าสายน้ำผึ้งหรือพระเจ้าดวงกฤษณราช กษัตริย์แห่งอโยธยา (ปรากฏในพงศาวดารเมืองเหนือ-อยุธยามรดกโลก) ส่วนวัดทองล่างนี้เล่ากันมาว่า สถานที่ตรงนั้นเป็นสวนผลไม้ของ ปู่ ย่า ตา ยาย ของนายทอง โดยได้รับมรดกจากวงศ์สกุล นัยว่า กลางสวนนั้นมีต้นโพธิ์ใหญ่โตมาก นายทองจึงเป็นกังวลเพราะเห็นว่าต้นโพธิ์เป็นต้นไม้ในวัด ไม่สมควรจะให้อยู่ในบ้าน จะโค่นทิ้งเสียก็กลัวว่า จะเป็นอันตรายแก่ตนและครอบครัว จึงบริจาคที่ส่วนนั้นสร้างเป็นวัดเล็กๆขึ้น พอเป็นที่อยู่ของพระพอสมควร วัดนั้นยังไม่สำเร็จบริบูรณ์ดี แต่ก็ยังมีสมภารชาวรามัญรูปหนึ่งชื่อว่า \"กะทอ\" กะทอเป็นภาษารามัญ กะ แปลว่า ปลาตะเพียน ทอ แปลว่า ทอง กะทอ จึงแปลว่า ปลาตะเพียนทอง ส่วนชาวบ้านแถวนั้นเรียกว่า สมภารทอง สมภารกับนายทองเจ้าของวัดต่างร่วมกันทำนุบำรุงวัดจัดสร้างอุโบสถเสนาราม ต่อมาท่านทั้ง ๒ เล็งถึงนิมิตหมาย ๓ ประการ คือ ดังนี้", "title": "วัดธาตุทอง" }, { "docid": "990029#0", "text": "วัดราชสิงขร พระอารามหลวง เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรีชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ ๒๑๑๔ ถนนเจริญกรุง ๗๔แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๑ งาน ๙๘ ตารางวา\nวัดราชสิงขร พระอารามหลวง เป็นวัดโบราณ สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พุทธศักราช ๒๒๗๕–๒๓๐๑) ในสมัยรัชกาลที่ ๑ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท โปรดให้ช่างหลวงวังหน้าสร้างพระอุโบสถ มีหลักฐานที่ปรากฏคือใบเสมาหินชนวนที่ฝังไว้กับผนังด้านนอกพระอุโบสถ ซึ่งมีลักษณะ เดียวกันกับวัดชนะสงครามและวัดมหาธาตุ อันเป็นพระอาราม ที่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่า สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทรงเป็นผู้ปฏิสังขรณ์ ลักษณะของการใช้ใบเสมานั้นฝังติดกับผนังพระอุโบสถทั้ง ๘ ทิศ เป็นพุทธศิลปะที่สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงโปรดปรานเป็นการเฉพาะ นอกจากนั้นปรากฏหลักฐาน พระวิหาร สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทโปรดให้สร้างไปพร้อม ๆ กันกับการสร้างพระอุโบสถเพื่อประดิษฐาน พระพุทธสุโขทัยหรือหลวงพ่อแดง ", "title": "วัดราชสิงขร" }, { "docid": "62794#7", "text": "ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร ได้ถูกจัดลำดับศักดิ์เป็น พระอารามหลวงชั้นโท และมีฐานะเป็น พระอารามชั้นราชวรวิหาร ตามพระบามราชโองการประกาศ เรื่องจัดระเบียบพระอารามหลวงเป็น ชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี ชั้นสามัญ โดยมีสร้อยนามตามฐานะเป็น ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร วรมหาวิหาร วรวิหาร โดยลำดับ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๕๘ วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร จึงได้สร้อยว่า วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร มาจนถึงปัจจุบัน", "title": "วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "8184#71", "text": "ในอารามหลวงต้าโสวงเป่าเตี้ยนหรือพระอุโบสถใหญ่ในพระพุทธศาสนานิกายอาจริยวาท หรือมหายาน บริเวณกึ่งกลางของอุโบสถ จะประดิษฐานพระประธานสามองค์คือ พระเมตไตรยโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์มัญชุศรี และพระโพธิสัตว์โลเกศวร บริเวณด้านขวามือของพระประธานทั้งสามองค์ จะเรียงรายด้วยรูปสลักของพระจำนวน 18 องค์ ซึ่งคือ 18 อรหันต์ โดยคำว่าอรหันต์หมายถึงสาวกจำนวน 16 รูปของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นพระอรหันต์ในประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาสายมหายาน", "title": "วัดเส้าหลิน" }, { "docid": "9689#0", "text": "วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕", "title": "วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "9103#0", "text": "วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาก่อนการสร้างกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดจอมทอง ต่อมาพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสถาปนาวัดจอมทองขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม เนื่องจากเมื่อครั้งที่ทรงยกทัพไปสกัดทัพพม่าที่ด่านเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรีใน พ.ศ. 2363 เมื่อกระบวนทัพเรือมาถึงวัดจอมทอง ฝั่งธนบุรีทรงหยุดพักและทำพิธีเบิกโขลนทวารตามตำราพิชัยสงคราม พร้อมทรงอธิษฐานขอให้การไปราชการทัพครั้งนี้ได้ชัยชนะ แต่ปรากฏว่าไม่มีทัพพม่ายกเข้ามา เมื่อยกทัพกลับ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่และถวายเป็นพระอารามหลวง ได้รับพระราชทานนามใหม่ว่าวัดราชโอรส ซึ่งหมายถึง พระราชโอรสคือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ในปัจจุบันมี พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) เป็นเจ้าอาวาส", "title": "วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "322019#0", "text": "วัดศรีโสดา พระอารามหลวง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำตกห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่บนถนนขึ้นดอยสุเทพ วัดศรีโสดาเป็นวัด 1 ใน 4 วัดที่ครูบาศรีวิชัยสร้างขึ้น โดยท่านได้ตั้งชื่อวัดให้มีความหมายเทียบพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา 4 ชั้น ได้แก่ วัดโสดาบัน วัดสกิทาคามี วัดอนาคามี และวัดอรหันต์ ต่อมา วัดโสดาบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดศรีโสดา ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานว่าเปลี่ยนในสมัยใด แต่สันนิษฐานว่าที่เติมคำว่า ศรี น่าจะนำมาจากชื่อครูบาศรีวิชัยเพื่อเป็นอนุสรณีย์น้อมรำลึกคุณูปการที่ท่านสร้างวัดนี้ขึ้นมา วัดตั้งอยุ่ใกล้กับสถานที่สำคัญ คือ สวนสัตว์เชียงใหม่ ", "title": "วัดศรีโสดา" }, { "docid": "82517#0", "text": "วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดเพชรบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าน่าจะสร้าง สมัยทวารวดี - สุโขทัย มีอายุราว 800 - 1,000 ปี โดยประมาณ เนื่องจากขุดพบซากอิฐสมัยทวารวดีอยู่เป็นจำนวนมาก มีผู้กล่าวว่าวัดมหาธาตุวรวิหารน่าจะเคยเป็นวัดที่เคยมีความเจริญรุ่งเรืองและเป็นพระอารามหลวงมาก่อน ต่อมาชำรุดทรุดโทรมลง จนถึงสมัยรัชกาลที่ 6 จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะเป็นพระอารามหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2459 ซึ่งพระสุวรรณมุณี (หลวงพ่อชิด ชิตรัตน์) เป็นเจ้าอาวาส ปัจจุบันเจ้าอาวาส คือ พระราชสุวรรณมุนี (แคล้ว อุตฺตโม ป.ธ.7) \nวัดมหาธาตุวรวิหาร เป็นวัดที่มีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดี ภายในพระวิหารหลวงของวัดประดิษฐานพระพุทธรุปสำคัญ คือ หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ วัดมหาธาตุ ด้านหลังพระวิหารหลวง คือ พระปรางค์ 5 ยอด อยู่ภายในวิหารคต ทางด้านทิศใต้ของพระวิหารหลวง คือ พระวิหารน้อย และวัดมหาธาตุวรวิหารยังได้สร้าง พิพิธภัณฑ์ของวัด เป็นที่รวมรวมศิลปะ ความเป็นมาต่าง ๆ ของวัดไว้ให้ผู้สนใจได้เข้าชม", "title": "วัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดเพชรบุรี)" }, { "docid": "7439#2", "text": "วัดในประเทศไทยแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ได้แก่ พระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือวัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง และวัดราษฎร์ คือวัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง ", "title": "วัด" }, { "docid": "184771#0", "text": "วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "32669#5", "text": "รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย", "title": "พระอารามหลวง" }, { "docid": "142608#31", "text": "พระระเบียงคต มีทั้งหมดแปดหลัง หลังคาเป็นจตุรมุขล้อมรอบพระอุโบสถ และหน้าบันทุกด้านประลายเครื่องเถา มีเลขห้าไทย วางพาดเหนือพระขรรค์อยูใต้พระมหาพิชัยมงกุฏ เบื้องบนเป็นแฉกรัศมี อันหมายถึงสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งโปรดปรานวัดใหญ่ฯ และมีพระราชโองการประกาศให้วัดให้สุวรรณารามเป็นพระอารามหลวง ตั้งแต่ ร.ศ.128(พ.ศ. 2452)", "title": "เทศบาลเมืองเพชรบุรี" }, { "docid": "657138#5", "text": "๑) พระเดชพระคุณ พระราชวัลภาจารย์ ตำแหน่ง เจ้าอาวาสหนองหอย พระอารามหลวง ๒) พระครูสิริราชบุรานุวัตร ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ๓) จำนวนพระภิกษุสงฆ์ที่จำพรรษาวัดหนองหอย พระอารามหลวง ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ มีจำนวน ๓๗ รูป สามเณร ๑๒ รูป", "title": "วัดหนองหอย" } ]
1241
เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ ฉบับการ์ตูน ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยเป็นของสำนักพิมพ์อะไร?
[ { "docid": "339665#0", "text": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ เป็นนิยายไลท์โนเวล จากประเทศญี่ปุ่น เนื้อเรื่องโดย มันตะ ไอโซระ วาดภาพประกอบโดย โคอิน ตีพิมพ์โดยGAบุงโกะ ปัจจุบันมีการเผยแพร่แล้วทั้งหมด 8 เล่ม ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยเป็นของรักพิมพ์ พับลิชชิ่ง เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ เป็นเรื่องที่ได้รางวัล GAบุงโกะไทโช ครั้งที่1[1] และGAแม็กกาซีนก็ได้เริ่มตีพิมพ์เรื่องนี้ตั้งแต่ฉบับที่2[2] เนื้อหาของเรื่องนั้นเป็นแนวตลกแบบตลกเจ็บตัว(slapstick)ผสมกับเลิฟคอมมีดี โดยหลักๆแล้วจะล้อเลียนงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู แต่ก็มีผสมส่วนที่ล้อเลียนอนิเมะหรือมังงะอย่างโจโจ้ ล่าข้ามศตวรรษและโทคุซัทสึโดยเฉพาะมาสค์ไรเดอร์เดนโอและมาสค์ไรเดอร์ดีเคดเพื่อให้เป็นเอกลักษณ์มากขึ้น[3] โดยในประเทศไทย ฉบับอนิเมะทั้ง 2 ภาค TIGA เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" } ]
[ { "docid": "339665#1", "text": "มาฮิโระ ยาซากะ นักเรียนธรรมดาได้พบกับสาวน้อยลึกลับซึ่งช่วยเขาจากสัตว์ประหลาดในยามราตรี สาวน้อยคนนั้นอ้างว่าตนคือเนียร์ลาโธเทปและเธอมาเพื่อคุ้มครองมาฮิโระจากเหล่ามนุษย์ต่างดาวที่จ้องเล่นงานเขาอยู่ จึงต้องเข้ามาอาศัยในบ้านของมาฮิโระ อย่างเต็มใจ รวมไปถึงเหล่า คทุกกา และฮัสเทอร์", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#14", "text": "หัวหน้าใหญ่ (大首領) คนขององค์กร ไชลด์การ์ด และเป็นหัวหน้าของอิสึรุกิจากอนาคตและคิดทำลายโลกเนื่องจากวัฒนธรรมความบันเทิงของโลกนั้นขัดกับกฎหมายคุ้มครองเยาวชนแห่งอวกาศในอนาคต", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "441839#0", "text": "ฉันนี่แหละอาจารย์ () เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย อิซุมิ ซึบากิ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารฮานะ โตะ ยูเมะ ของสำนักพิมพ์ ฮาคุเซนชะ ตั้งแต่ฉบับที่ 15 ของปี พ.ศ. 2550 และได้ตีพิมพ์เป็น มังงะเล่มแรกในวันที่ 19 มกราคม 2551 ในประเทศไทย ฉันนี่แหละอาจารย์ ได้ลิขสิทธิ์จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ เล่ม 1 ถูกจัดจำหน่ายในเดือน มีนาคม 2552\nคุโรซากิ มาฟูยุ อดีตอาเจ๊แก๊งอันธพาลแห่งไซตามะ ซึ่งตีรันฟันแทงเป็นเรื่องว่าเล่น เธอมีอันต้องออกจากโรงเรียนและย้ายไปเรียนที่โรงเรียนมิโดริงาโอกะ จึงได้ตั้งใจจะพลิกบทบาทตัวเองให้เป็นสาวน้อย ม.ปลาย ที่สดใสร่าเริง! แล้วชีวิตอันสงบสุขของเธอก็เริ่มขึ้น เมื่อเธอได้พบกับเพื่อนใหม่คนแรก นั่นคือ ฮายาซากะคุง มันน่าจะเป็นนั่นอยู่หรอก ถ้าไม่เจออาจารย์ซาเอกิ ครูประจำชั้นซะก่อน เพราะแท้ที่จริงเค้าคือ เพื่อนสมัยเด็กของมาฟูยุการ์ตูนเรื่องนี้การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย อิซุมิ ซึบากิ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารฮานะ โตะ ยูเมะ ของสำนักพิมพ์ ฮาคุเซนชะ ตั้งแต่ฉบับที่ 15 ของ พ.ศ. 2551 และทำเป็น มังงะ เล่มแรกในวันที่ 19 มกราคม 2551 ในประเทศไทย ฉันนี่แหละอาจารย์ ได้ลิขสิทธิ์จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ เล่ม 1 ถูกจัดจำหน่ายในเดือน มีนาคม 2552", "title": "ฉันนี่แหละอาจารย์" }, { "docid": "339665#23", "text": "นัคโกะ (ナッ子) ตัวละครเฉพาะในภาคการ์ตูนสี่ช่อง เป็นไนท์กอนท์ที่กลายร่างเป็นเด็กผู้หญิงและติดอยู่บนโลกหลังจากที่นอเดนส์พ่ายแพ้ไปแล้ว", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#25", "text": "ทุลโกะ (ツル子) พากย์เสียงโดย - ซากิ ยามาคิตะ ตัวละครเฉพาะในภาค W เป็นมนุษย์ดาวอูทุล-เฮเออร์ เป็นหนึ่งในเซอเคิลจตุรเทพที่เขียนโดจินชิแนวยาโออิซึ่งมีมาฮิโระเป็นตัวเอก และยังเป็นสมาชิกคนหนึ่งของกลุ่มเมดคอสเพลย์ \"หน่วยพริตตีพริตตีเบลเมด\"อีกด้วย", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "109026#1", "text": "ในประเทศไทย ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! สำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ได้ทำการซื้อลิขสิทธิ์ ตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูนซีคิดส์ รายสัปดาห์ และ ฉบับรวมเล่ม 36 เล่ม", "title": "ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!" }, { "docid": "339665#13", "text": "อิสึรุกิ (イス動) มนุษย์ต่างดาวเผ่ายิธเธียนจากอนาคต ใช้วิทยาการสลับร่างกับมนุษย์โลกเพื่อยึดอุตสาหกรรมบันเทิง ใช้ร่างของโยอิจิเป็นตัวประกัน แต่ก็หันมาช่วยพวกเนียลโกะเมื่อทราบว่าจริงๆแล้วหัวหน้าของตนเป็นพวกไชลด์การ์ด", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#24", "text": "กุทาทัน (グタタン) พากย์เสียงโดย - ชิโอริ มิคามิ ตัวละครเฉพาะในภาคโทรทัศน์พ.ศ. 2555 เป็นเด็กหญิงจากดาวกาทาโนทอ", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "57576#1", "text": "แรกเริ่ม มิรุโมะ ภูตจิ๋วจอมยุ่ง ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร Ciao ฉบับประจำเดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 2544 ของสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ในลักษณะของเรื่องสั้นตอนเดียวจบ แต่เนื่องจากได้รับความนิยมจากผู้อ่านเป็นอย่างมาก จึงได้เริ่มลงตีพิมพ์เป็นเรื่องยาวตั้งแต่ฉบับเดือนกันยายน ปีเดียวกันเป็นต้นมา ส่วน มิรุโมะ ภูตจิ๋วจอมยุ่ง ภาคพิเศษ ที่เป็นเรื่องสั้นตอนเดียวจบ จะลงตีพิมพ์ในนิตยสาร Ciao Deluxe ฉบับรวมเล่มมีทั้งหมด 12 เล่มจบ โดยสำนักพิมพ์บงกชเป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์ในประเทศไทย", "title": "มิรุโมะ ภูตจิ๋วจอมยุ่ง" }, { "docid": "339665#11", "text": "นอเดนส์ (ノーデンス) พากย์เสียงโดย - บิน ชิมาดะ หัวหน้าของเหล่าไนท์กอนท์และเป็นคนที่หมายตามาฮิโระอยู่ เป็นชาวเผ่านอเดนส์ซึ่งปกติแล้วจะเป็นมิตรกับมนุษย์ แต่ตัวนี้เนียลโกะบอกว่าเป็นพวกไม่รักดี นอเดนส์นั้นจ้องจะลักพาตัวมาฮิโระ เนื่องจากโปรดิวเซอร์ละครของอุบโบซาธลาเน็ตเวิร์คต้องการสนองความนิยมของหนังสือการ์ตูนแนวบอยเลิฟของโลกและต้องการตัวมาฮิโระไปร่วมแสดงด้วย จริงๆแล้วดูเหมือนว่านอเดนส์จะเป็นแค่สมาชิกชั้นล่างขององค์การร้ายนี้เท่านั้น", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#32", "text": "หมวดหมู่:อนิเมะที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2556", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "359670#0", "text": "ครอบครัวตึ๋งหนืด (Korean: 빈대가족 ; [Stingy Family's]error: {{lang-xx}}: text has italic markup (help)) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากเกาหลีใต้[1] เป็นการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ จัดพิมพ์ด้วยระบบภาพสี และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทย โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ในประเทศไทยเริ่มออกจำหน่ายภายในปี พ.ศ. 2550 โดยเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับชาวเกาหลี ซึ่งเห็นแก่กินแต่ตอนหลังเริ่มหันมาให้ความสำคัญต่อความรู้ด้านการมัธยัสถ์อดออม[2] และได้รับการตอบรับเชิงบวกในประเทศไทย โดยในช่วง พ.ศ. 2554 ครอบครัวตึ๋งหนืดมียอดขายเป็นอันดับหนึ่ง จากการจัดอันดับของศูนย์จำหน่ายหนังสือบีทูเอสในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ด้วยเช่นกัน[3] การ์ตูนความรู้ชุดดังกล่าว ยังมีความสัมพันธ์กับการ์ตูนชุด ครอบครัวหัวกะทิ โดยการ์ตูนทั้งสองชุดมีตัวตัวละครที่เป็นพี่น้องกัน และเป็นการ์ตูนที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับไอคิว จัดพิมพ์ด้วยระบบภาพสี ซึ่งมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์เช่นกัน และนอกจากนี้ ยังมีการ์ตูนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ชุด สุดป่วนก๊วนกระเป๋าตุง โดยเป็นผลงานของทีมผู้เขียนครอบครัวตึ๋งหนืด และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เช่นกัน[4] และยังมีการ์ตูนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ชุด เซฟตีแมน ฮีโร่พันธุ์โก๊ะ โดยเป็นผลงานของทีมผู้เขียนครอบครัวตึ๋งหนืด และมีฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ อีกเช่นกัน", "title": "ครอบครัวตึ๋งหนืด" }, { "docid": "768#1", "text": "ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน [8][9] แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทาง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน [10] และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ [11]", "title": "โดราเอมอน" }, { "docid": "48495#2", "text": "เบอร์เซิร์กได้ชื่อว่าเป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นที่เนื้อหาและภาพมีความรุนแรงสูง รวมถึงมีลายเส้นของภาพที่มีความละเอียดเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็ได้รับความนิยมและมียอดขายมากอันดับต้นๆเช่นกัน ในประเทศญี่ปุ่นลงตีพิมพ์ในนิตยสารยัง แอนิมอล โดยสำนักพิมพ์ฮะคุเซนชะ ส่วนในประเทศไทยมีการตีพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ซึ่งได้ตีพิมพ์จนถึงฉบับรวมเล่มที่ 37 ต่อมาในปี พ.ศ. 2560 ทางสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจได้ประกาศหยุดตีพิมพ์หนังสือในเครือฮะคุเซนชะ ทำให้บริษัทสยามอินเตอร์มัลติมีเดีย ได้เข้าถือครองลิขสิทธิ์การตีพิมพ์เรื่องเบอร์เซิร์กฉบับภาษาไทยในปัจจุบัน โดยมีการตีพิมพ์ซ้ำตั้งแต่เล่ม 1 - 37 และ เล่มที่ 38 เป็นต้นไป ส่วนฉบับอนิเมะได้ลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายโดย TIGA ", "title": "เบอร์เซิร์ก" }, { "docid": "339665#29", "text": "ดราม่าซีดีของเรื่องนี้จัดจำหน่ายโดยHOBiRECORDS ปัจจุบันออกมาแล้วทั้งหมด 4 ตอน", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#26", "text": "เรื่องนี้เคยมีอนิเมะแฟลชสั้นๆโดยใช้ชื่อว่า ไฮโยเระ! เนียลอะนิ มีความยาวทั้งหมด 9 ตอน และฉบับความยาว11ตอนสำหรับฉายทางโทรทัศน์ โดยใช้ชื่อว่า ไฮโยรุ! เนียลอะนิ รีเมมเบอร์ มาย เลิฟ(คราฟท์เซนเซย์) (這いよる! ニャルアニ リメンバー・マイ・ラブ(クラフト先生)) ซึ่งเริ่มฉายในวันที่10 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ทางช่อง BS11 โดยตอนจบซึ่งเป็นตอนที่ 12นั้นไม่ได้ฉายทางโทรทัศน์", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "768#37", "text": "การ์ตูนโดราเอมอนฉบับหนังสือการ์ตูนภาษาไทย สร้างปรากฏการณ์เป็นที่กล่าวถึงในวงการการ์ตูนเป็นอย่างมาก เริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงกลางปี พ.ศ. 2524 โดยสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของสำนักพิมพ์มิตรไมตรี โดยตั้งชื่อการ์ตูนเรื่องนี้ว่า \"โดราเอมอน แมวจอมยุ่ง\" แปลเป็นภาษาไทยโดย อนุสรณ์ สถิรวัฒน์ ต่อมา สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ก็ได้มีการตีพิมพ์การ์ตูนเรื่องนี้เช่นกันแต่เลือกใช้ชื่อว่า \"โดเรมอน\" เพื่อไม่ให้ซ้ำกับทางสำนักพิมพ์แรก ในสมัยนั้นยังเป็นช่วงของหนังสือการ์ตูนที่ยังไม่มีการซื้อ ลิขสิทธิ์ ถูกต้องจากทางญี่ปุ่น ทั้ง 2 สำนักพิมพ์จึงไม่ได้พิมพ์ตอนตามลำดับของต้นฉบับทำให้มีการลงตอนซ้ำกัน โดราเอมอนได้รับความนิยมอย่างมาก ทั้ง 2 สำนักพิมพ์จึงแข่งกันทางด้านความถี่ของการออกจัดจำหน่ายจากเดือนละเล่มในช่วงต้นก็เปลี่ยนเป็นเดือนละ 2 เล่มจนถึงอาทิตย์ละเล่ม สุดท้ายทางสำนักพิมพ์ธิดาน้อย ก็พิมพ์ถึงเดือนละ 3 เล่ม พิมพ์ไม่น้อยกว่า 70,000 เล่มต่อครั้ง ด้วยความถี่ในการพิมพ์และการไม่มีการจัดลำดับถูกต้องตามต้นฉบับ ทำให้ในเวลาเพียง 7-8 เดือนการ์ตูนเรื่องนี้ก็ตีพิมพ์ครบทุกตอนตามต้นฉบับของ ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ที่ใช้เวลาเขียนติดต่อกันร่วม 10 ปี", "title": "โดราเอมอน" }, { "docid": "287289#2", "text": "เดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 Peach-Pit ได้เขียนการ์ตูนแนวโชโจะชื่อ Shugo Chara! ตอนแรกตีพิมพ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ในนิตยสารการ์ตูน Nakayoshi ฉบับรวมเล่ม เล่มแรก ตีพิมพ์เมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดย Nakayoshi พิมพ์โดย Kodansha ซึ่งมี 12 เล่มจบ แต่เล่ม 12 ใช้ชื่อว่า shugo chara encore ผู้ถือลิขสิทธิ์ในประเทศไทยมาคือ \"บงกชคอมมิค\" ซึ่งปัจจุบันตีพิมพ์ออกมาแล้ว 12 เล่ม โดยใช้ชื่อว่า \"Shugo Chara! คาแรคเตอร์ผู้พิทักษ์\"", "title": "คาแรคเตอร์ผู้พิทักษ์" }, { "docid": "8617#2", "text": "เทพมารสะท้านภพฉบับการ์ตูนถูกแบ่งเป็น 2 เรื่อง โดยเนื้อเรื่องในช่วงแรกใช้ชื่อว่า \"ฟานอวิ๋น จอมกระบี่สายฟ้า\" ของสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ความยาว 3 เล่ม ส่วนเนื้อเรื่องในส่วนที่เหลือเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์บูรพัฒน์ ใช้ชื่อว่า \"กระบี่พลิกเมฆา\" เหมือนฉบับนิยาย", "title": "เทพมารสะท้านภพ" }, { "docid": "339665#31", "text": "ภาคมังงะของเรื่องนี้เริ่มตีพิมพ์ในนิตยสารมิราเคิลจั๊มป์ ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม พ.ศ. 2554) วาดโดยเคย์ อาคาชิกิ[4] และภาคการ์ตูนสี่ช่องชื่อ ไฮโยเระ! ซูเปอร์เนียลโกะจังไทม์ ซึ่งลงตีพิมพ์ใน FlexComix บลัดตั้งแต่ฉบับเดือนตุลาคม。[5][6]", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#22", "text": "คูเนะ (クー音) พากย์เสียงโดย - เรียวกะ ยูซึกิ ลูกพี่ลูกน้องของคูโกะ มีพฤติกรรมแบบซิสคอน เคยเรียนหนังสือชั้นปีเดียวกับลูฮี", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "8303#4", "text": "สำหรับประเทศไทย สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจถือลิขสิทธิ์และตีพิมพ์คุณครูจอมเวท เนกิมะ! ลงในนิตยสาร KC Weekly และปัจจุบันได้ตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนรวมเล่มถึงเล่มที่ 38 สำหรับประเทศอื่นๆ นั้น ในสหรัฐอเมริกาตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Del Ray, ในสิงคโปร์โดยสำนักพิมพ์ชวงยี, ในอิตาลีโดยสำนักพิมพ์ Play Press, ในฝรั่งเศสโดยสำนักพิมพ์ Pika Edition, และในสเปนโดยสำนักพิมพ์ Glénat", "title": "คุณครูจอมเวท เนกิมะ!" }, { "docid": "339665#21", "text": "เนียลเอะ (ニャル恵) พากย์เสียงโดย - ซายูริ ฮาระ ตัวละครเฉพาะในภาคโทรทัศน์ พ.ศ. 2554 เนียลเอะเป็นชาวเผ่าเนียร์ลาโธเทปอีกคนและเป็นเพื่อนสมัยเรียนมัทยมของเนียลโกะ มีจุดเด่นที่สวมแว่นและถือไม้เบสบอลเสมอ มีนิสัยคิดเองเออเอง", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "45590#0", "text": "แคนดี้ แคนดี้ สาวน้อยจอมแก่น () เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานอมตะของ ยูมิโกะ อิการาชิ เนื้อเรื่องโดย เคียวโกะ มิซุกิ พิมพ์ครั้งแรกที่ญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2518 มีความยาวทั้งสิ้น 9 เล่มจบ ส่วนฉบับภาษาไทยได้รับลิขสิทธิ์โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ จัดพิมพ์เมื่อปี 2537 ในรูปแบบปกแข็ง 5 เล่มจบ แต่ก่อนหน้านั้นเคยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามสปอร์ต (ยุคไม่มีลิขสิทธิ์) 7 เล่มจบ ปัจจุบันจัดว่าเป็นหนังสือการ์ตูนที่เป็นที่ต้องการมาก บางเว็บไซต์มีการจัดประมูลในราคาหลักพัน", "title": "แคนดี้ แคนดี้ สาวน้อยจอมแก่น" }, { "docid": "581835#1", "text": "ในประเทศไทย ชุลมุนวุ่นรักเทพพิทักษ์จากจันทรา ฉบับหนังสือการ์ตูนภาคแรก ได้ลิขสิทธิ์ตีพิมพ์โดย วิบูลย์กิจ และภาค Retrouvailles ได้ลิขสิทธิ์ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์บงกช สำหรับฉบับอะนิเมะ เคยออกอากาศทางช่อง Spark True TV ", "title": "ชุลมุนวุ่นรักเทพพิทักษ์จากจันทรา" }, { "docid": "312685#0", "text": "เทพจิ้งจอกจอมยุ่ง (ประจำบ้าน) () เป็นไลท์โนเวลของญี่ปุ่น แต่งโดย ชิบามูระ จิน (Jin Shibamura) ภาพประกอบโดย โฮเด็น เอโซ (Eizō Hōden) เริ่มพิมพ์ฉบับแรกเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 (จนถึงปัจจุบันตีพิมพ์ไปแล้วถึงเล่ม 7) โดยสำนักพิมพ์ ASCII Media Works ตีพิมพ์ในประเทศไทย ครั้งแรกเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ. 2552 (จนถึงปัจจุบันตีพิมพ์ถึงเล่ม 4) โดย บลิส พับลิชชิ่ง (อยู่ในหมวด J-Light ) โดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า เทพจิ้งจอกจอมยุ่ง (ประจำบ้าน) ส่วนในสหรัฐอเมริกาได้ลิขสิทธิ์โดยสำนักพิมพ์ NIS America โดยวางแผนจะตีพิมพ์จัดจำหน่ายในชื่อ Our Home's Fox Deity", "title": "เทพจิ้งจอกจอมยุ่ง (ประจำบ้าน)" }, { "docid": "339665#16", "text": "วานรอาลาโอะ (アラオ猿) พากย์เสียงโดย - ซาโตชิ โบ วานรยักษ์ที่Zลอยกอร์ใช้สมุดบันทึกแห่งเทพมารเรียกออกมา เวลาโกรธนั้นขนจะเปลี่ยนเป็นสีทองและแข็งแกร่งขึ้น", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "339665#15", "text": "ชาร์ (ツァール) กับ ลอยกอร์ (ロイガー) พากย์เสียงโดย - ทากามาสะ โอฮาชิ (ลอยกอร์), โอโทชิ อิมารุโอกะ (ชาร์) มนุษย์ต่างดาวฝาแฝดจากดาวชาร์ เป็นสมาชิกขององค์กรพิทักษ์สัตว์ \"สเปซทินดาลอส\" ที่โจมตีหอสมุดโบราณเซลาเอโนเพื่อชิงสมุดบันทึกแห่งเทพมาร ลอยกอร์นั้นมีความสามารถในการยืดร่างกายของตนเอง ส่วนชาร์สามารถแยกร่างเป็นส่วนๆได้ ทั้งคู่ยังสามารถรวมร่างกันเป็นZลอยกอร์ได้", "title": "เทพพิทักษ์จอมยุ่ง เนียลโกะ" }, { "docid": "312685#1", "text": "เทพจิ้งจอกจอมยุ่ง (ประจำบ้าน) ได้รับการทำเป็นหนังสือการ์ตูนภาษาญี่ปุ่น วาดโดย Suiren Shōfū เริ่มตีพิมพ์เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 และทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนความยาว 24 ตอนโดยสตูดิโอ Zexcs ออกฉายในช่วง 6 เมษายน พ.ศ. 2551 ถึง 14 กันยายน พ.ศ. 2551\nทาคางามิ โนโบรุ กับน้องชายชื่อ โทโอรุ อาศัยอยู่ในบ้านหลังเล็กๆในเมืองเล็กๆ มีฐานะทางการเงินที่ไม่ดีนัก วันนึงโทโอรุฝันร้ายและพร้อมๆกันนั้น ทั้งสองก็ถูกเรียกตัวให้กลับไปยังบ้านเดิมของมารดา (ซึ่งถึงแก่กรรมตั้งแต่ทั้งสองยังเด็ก) ญาติทางฝ่ายมารดาของพวกเขาคือตระกูลมิซึจิ เป็นตระกูลที่ใหญ่มากอยู่ในชนบท มีเทพีผู้พิทักษ์ (บอดี้การ์ด) น่าตาน่ารักในชุดมิโกะ ชื่อว่า โค ตระกูลมิซึจิมีบ้านหลังใหญ่บริเวณกว้าง และได้กักขังเทพจิ้งจอกไว้ ", "title": "เทพจิ้งจอกจอมยุ่ง (ประจำบ้าน)" } ]
3614
จอร์แดน ไบรอัน เฮนเดอร์สันเล่นตำแหน่งอะไรให้กับทีมชาติอังกฤษ?
[ { "docid": "435415#0", "text": "จอร์แดน ไบรอัน เฮนเดอร์สัน (English: Jordan Brian Henderson) เกิดเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1990 ที่ซันเดอร์แลนด์ ประเทศอังกฤษ เป็นนักฟุตบอลของทีมชาติอังกฤษในชุดปัจจุบัน เล่นในตำแหน่งกองกลาง", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" } ]
[ { "docid": "435415#23", "text": "ในวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 2017 เฮนเดอร์สันทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2017–18 นัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ เลสเตอร์ซิตี ที่คิงเพาเวอร์สเตเดียม 3-2[23]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#3", "text": "ก่อนที่จะได้มีโอกาสประเดิมสนามให้ทีมแมวดำในเกมพบกับ เชลซี ในเดือนพฤศจิกายน 2008 เฮนเดอร์สันทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมด้วยการพาซันเดอร์แลนด์ ยู 18 คว้าแชมป์ลีกเยาวชนมาครองได้สำเร็จ", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#5", "text": "เฮนเดอร์สัน ลงสนามช่วยทีมแมวดำไปครบ 38 นัดไม่มีขาดเรียกว่าเป็นหัวใจของทีมแมวดำอย่างแท้จริงและเขาก็คว้าตำแหน่งนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปีของสโมสรมาครองได้อีกครั้งเป็นสมัยที่สองติดต่อกัน", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#8", "text": "ในวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 2011 จอร์แดน เฮนเดอร์สัน ย้ายจากซันเดอร์แลนด์มาอยู่กับลิเวอร์พูลด้วยค่าตัว 20 ล้านปอนด์ โดยเฮนเดอร์สันได้สวมเสื้อหมายเลข 14 พร้อมกับความคาดหวังว่าจะเป็น สตีเวน เจอร์ราร์ด คนต่อไปแห่งถิ่นแอนฟีลด์", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#28", "text": "ทีมชาติอังกฤษเรียกตัวเฮนเดอร์สันติดรายชื่อ 23 คน ชุดลุยศึกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ที่ฝรั่งเศส โดย อังกฤษ อยู่กลุ่มบี ร่วมกับ รัสเซีย, เวลส์ และ สโลวาเกีย คว้าอันดับ 2 ของกลุ่มบี ชนะ 1 เสมอ 2 โดยพาทีมเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้ายเจอกับ ไอซ์แลนด์ แต่สุดท้าย อังกฤษ เป็นฝ่ายแพ้ไป 1-2 ทำให้ทีมชาติอังกฤษต้องจบเส้นทางฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปที่ฝรั่งเศสเพียงเท่านี้", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#27", "text": "ในวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ทีมชาติอังกฤษได้เรียกตัว จอร์แดน เฮนเดอร์สัน ติดรายชื่อ 23 คน ชุดลุยศึกฟุตบอลโลก 2014 ที่บราซิล โดย อังกฤษ ได้อยู่กลุ่มดี ร่วมกับ อุรุกวัย, คอสตาริกา และ อิตาลี ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน ได้ลงสนามเป็นตัวจริงในฟุตบอลโลก กลุ่มดี ทั้ง 2 นัดในนัดที่แพ้ให้กับ อิตาลี และ อุรุกวัย 1-2 สุดท้าย อังกฤษ ก็ต้องตกรอบแรก ได้อันดับสุดท้ายของกลุ่มดี เสมอ 1 แพ้ 2 (แพ้ อิตาลี 1-2, แพ้ อุรุกวัย 1-2 และ เสมอ คอสตาริกา 0-0) ทำให้ทีมชาติอังกฤษต้องจบเส้นทางฟุตบอลโลกที่บราซิลเพียงรอบแรกเท่านั้น และเป็นครั้งแรกในรอบ 56 ปีที่อังกฤษตกรอบแรกฟุตบอลโลก", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#17", "text": "ในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สันเปิดบอลให้ แอดัม ลัลลานา ทำประตูให้ ลิเวอร์พูล ขึ้นนำ เวสต์บรอมมิชอัลเบียน 1-0 ก่อนที่ในครึ่งหลัง เฮนเดอร์สัน จะเป็นคนทำประตูชัยให้ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ เวสต์บรอมมิชอัลเบียน 2-1[8] ต่อมา ในวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน ได้ทำประตูแรกให้กับ ลิเวอร์พูล ในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15 ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เสมอกับ ลูโดโกเร็ตส์ ราซกราด จาก บัลแกเรีย 2-2[9] ต่อมา ในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน ได้ลงสนามนัดที่ 150 ให้กับ ลิเวอร์พูล และทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ เลสเตอร์ซิตี ที่คิงเพาเวอร์สเตเดียม 3-1[10]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#24", "text": "ในวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 2018 เฮนเดอร์สันตัดสินใจต่อสัญญาระยะยาวกับสโมสรลิเวอร์พูล[24]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#1", "text": "เฮนเดอร์สันเคยเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 2008 โดยทำประตูไป 4 ประตู ปัจจุบันเขาได้ย้ายมาเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในปี ค.ศ. 2011 โดยสวมเสื้อหมายเลข 14 และเป็นรองกัปตันทีมลิเวอร์พูลในปี 2014 และในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 ลิเวอร์พูล แต่งตั้ง เฮนเดอร์สัน ให้เป็นกัปตันทีมลิเวอร์พูลแทน สตีเวน เจอร์ราร์ด อดีตกัปตันทีมที่ย้ายไปอยู่ ลอสแอนเจลิส แกแลกซี", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#20", "text": "ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สันกลับมาลงสนามอีกครั้ง โดยลงสนามเป็นตัวสำรองแทน โรแบร์ตู ฟีร์มีนู ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ สวอนซีซิตี 1-0 ต่อมา ในวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน ทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เสมอกับ เวสต์บรอมมิชอัลเบียน 2-2[19] ต่อมา ในวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 2016 เฮนเดอร์สัน ทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ นอริชซิตี ที่แคร์โรว์โรด 5-4[20]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#13", "text": "ในวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีกในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ นอริชซิตี 5-0 ต่อมา ในวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ได้เปิดบอลให้ ลุยส์ ซัวเรซ ทำประตูขึ้นนำ 1-0 ก่อนที่ในครึ่งหลัง เฮนเดอร์สัน จะเป็นคนทำประตูที่สอง ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เสมอกับ อาร์เซนอล ที่เอมิเรตส์สเตเดียม 2-2 ต่อมา ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ได้ทำประตูที่ 3 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ แอสตันวิลลา ที่วิลลาพาร์ก 2-1 ต่อมา ในวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ได้ยิง 2 ประตูให้ ลิเวอร์พูล เอาชนะ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด ที่เซนต์เจมส์พาร์ก 6-0 จบฤดูกาล เฮนเดอร์สัน ยิงประตูในพรีเมียร์ลีกได้ 5 ประตูจาก 30 นัด", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#15", "text": "ในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2014 พรีเมียร์ลีก นัดเปิดฤดูกาล 2014–15 ลิเวอร์พูลเปิดสนามแอนฟีลด์เจอกับ เซาแธมป์ตัน เฮนเดอร์สันได้เปิดบอลให้ ราฮีม สเตอร์ลิง ทำประตูให้ลิเวอร์พูลเอาชนะ เซาแธมป์ตัน 2-1[5] ต่อมา ในวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สันได้เปิดบอลให้ สเตอร์ลิง ทำประตูให้ลิเวอร์พูล เอาชนะ ทอตนัมฮอตสเปอร์ ที่ไวต์ฮาร์ตเลน 3-0[6]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#2", "text": "เฮนเดอร์สัน เติบโตมาจากระบบเยาวชนของ ซันเดอร์แลนด์ สโมสรที่เขาอยู่ด้วยตั้งแต่อายุ 7 ขวบ", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#14", "text": "ในวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 2013 ลีกคัพ รอบ 2 เฮนเดอร์สัน ได้ทำประตูให้ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ นอตส์เคาน์ตี ในช่วงต่อเวลาพิเศษ 4-2 ช่วยให้ ลิเวอร์พูล ผ่านเข้ารอบ 3 ลีกคัพ ได้สำเร็จ ต่อมา ในวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ได้ลงสนามนัดที่ 100 ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ ซันเดอร์แลนด์ ที่สเตเดียมออฟไลต์ 3-1 ต่อมา ในวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2013 เฮนเดอร์สัน ได้ทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ ทอตนัมฮอตสเปอร์ ที่ไวต์ฮาร์ตเลน 5-0[2] [3] ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน ได้ยิง 2 ประตูให้ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ สวอนซีซิตี 4-3 ต่อมา ในวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน ได้ทำประตูที่ 4 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 4-0 ต่อมา ในวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 2014 เฮนเดอร์สัน โดนใบแดงไล่ออกจากสนามเป็นครั้งแรกในฟุตบอลอาชีพ ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ แมนเชสเตอร์ซิตี 3-2 ทำให้ เฮนเดอร์สัน โดนแบน 3 นัด ต่อมา ในวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 นัดปิดฤดูกาล ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เจอกับ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด เป็นนัดตัดสินแชมป์พรีเมียร์ลีกระหว่าง ลิเวอร์พูล กับ แมนเชสเตอร์ซิตี โดย เฮนเดอร์สัน ได้กลับมาลงสนามอีกครั้ง ในนัดนี้ ลิเวอร์พูล จะต้องชนะ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด และต้องลุ้นให้ เวสต์แฮมยูไนเต็ด เอาชนะ แมนเชสเตอร์ซิตี ที่เอติฮัดสเตเดียม ลิเวอร์พูล ก็จะได้แชมป์พรีเมียร์ลีก โดย สเตอร์ริดจ์ ได้ทำประตูชัยให้ ลิเวอร์พูล เอาชนะ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 2-1 แต่สุดท้าย แมนเชสเตอร์ซิตี เอาชนะ เวสต์แฮมยูไนเต็ด 2-0 ทำให้ ลิเวอร์พูล พลาดโอกาสคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีก อย่างน่าเสียดาย[4] จบฤดูกาล เฮนเดอร์สัน ยิงประตูในพรีเมียร์ลีกได้ 4 ประตูจาก 35 นัด ช่วยให้ ลิเวอร์พูล ได้อันดับ 2 ทำให้ ลิเวอร์พูล ได้กลับไปเล่นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นับตั้งแต่ในปี 2009", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#22", "text": "ในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2016 เฮนเดอร์สันทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2016–17 นัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ เชลซี ที่สแตมฟอร์ดบริดจ์ 2-1[21] และประตูนี้ของเฮนเดอร์สันทำให้ได้รับการโหวตเป็นประตูยอดเยี่ยมประจำเดือนกันยายนจากพรีเมียร์ลีก[22] ต่อมา ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 เฮนเดอร์สันลงเล่นนัดสุดท้ายในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 2-0 หลังจากนั้น เฮนเดอร์สันมีอาการบาดเจ็บอีกครั้งที่ส้นเท้า ส่งผลให้เฮนเดอร์สันหมดสิทธิ์ลงเล่นตลอดทั้งฤดูกาลแล้ว", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#9", "text": "ในวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2011 พรีเมียร์ลีก นัดเปิดฤดูกาล 2011–12 เฮนเดอร์สัน ลงสนามเป็นนัดแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เจอกับทีมเก่าของเขา ซันเดอร์แลนด์ โดยเสมอกัน 1-1 ต่อมา ในวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 2011 เฮนเดอร์สัน ลงสนามนัดที่สอง ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ อาร์เซนอล ที่เอมิเรตส์สเตเดียม 2-0 ต่อมา ในวันที่ 27 สิงหาคม ค.ศ. 2011 เฮนเดอร์สัน ทำประตูแรกในสีเสื้อของลิเวอร์พูล ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ โบลตันวอนเดอเรอส์ 3-1 ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012 เฮนเดอร์สัน ได้ลงเล่นเป็นตัวจริง ในลีกคัพ รอบชิงชนะเลิศ ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เจอกับ คาร์ดิฟฟ์ซิตี ที่สนามกีฬาเวมบลีย์ เฮนเดอร์สัน ได้พาลิเวอร์พูล คว้าแชมป์ลีกคัพ สมัยที่ 8 มาครอง จากการยิงจุดโทษตัดสินชนะ คาร์ดิฟฟ์ซิตี ผลประตูรวม 3-2 และเป็นแชมป์แรกของ เฮนเดอร์สัน นับตั้งแต่ย้ายมาอยู่กับ ลิเวอร์พูล ต่อมา ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 เอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศ ลิเวอร์พูล เจอกับ เชลซี ที่สนามกีฬาเวมบลีย์ เฮนเดอร์สัน ได้ลงสนามครบ 90 นาที สุดท้าย ลิเวอร์พูล ก็เป็นฝ่ายแพ้ไป 1-2 ทำให้ ลิเวอร์พูลพลาดโอกาสคว้าแชมป์เอฟเอคัพ อย่างน่าเสียดาย", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#19", "text": "ในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล ได้แต่งตั้ง เฮนเดอร์สัน ให้เป็นกัปตันทีมลิเวอร์พูลแทน สตีเวน เจอร์ราร์ด อดีตกัปตันทีมที่ย้ายไปอยู่ ลอสแอนเจลิส แกแลกซี[18] ต่อมา ในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สันเปิดบอลให้ คริสตีย็อง แบนเตเก ทำประตูให้แรกในสีเสื้อของลิเวอร์พูล ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ บอร์นมัท 1-0 แต่สุดท้าย เฮนเดอร์สัน มีอาการบาดเจ็บที่ส้นเท้าซ้าย ต่อมา ในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สันเดินทางไปที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เพื่อให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอาการบาดเจ็บที่เท้าของเขา ต่อมา เฮนเดอร์สันเดินทางกลับมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากบินไปรักษาอาการเจ็บที่ส้นเท้าซ้าย และลงซ้อมกับเพื่อนร่วมทีม อย่างไรก็ตาม 2 วันต่อมา เฮนเดอร์สันโชคร้ายได้รับบาดเจ็บหนักที่กระดูกฝ่าเท้าข้างขวาแตก และคาดว่าต้องใช้เวลาพักฟื้นถึง 2 เดือน", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#29", "text": "ทีมชาติอังกฤษเรียกตัวเฮนเดอร์สันติดรายชื่อ 23 คน ชุดลุยศึกฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซีย โดย อังกฤษ ได้อยู่กลุ่มจี ร่วมกับ เบลเยียม, ปานามา และ ตูนิเซีย สุดท้าย อังกฤษ ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย คว้าอันดับ 2 ของกลุ่มจี ชนะ 2 แพ้ 1", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#12", "text": "ในวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 เฮนเดอร์สัน ลงสนามเป็นตัวจริงนัดแรกในนัดที่ ลิเวอร์พูล เสมอกับ สวอนซีซิตี 0-0 ต่อมา ในวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 2012 เฮนเดอร์สัน ทำประตูแรกให้กับ ลิเวอร์พูล ในบอลยุโรป ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ อูดิเนเซ 1-0 ในยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2012–13", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#26", "text": "ทีมชาติอังกฤษได้เรียกตัว จอร์แดน เฮนเดอร์สัน ติดรายชื่อชุดลุยศึกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ที่โปแลนด์และยูเครนแทน แฟรงก์ แลมพาร์ด ที่มีอาการบาดเจ็บ เฮนเดอร์สัน ลงเล่นนัดแรกให้ทีมชาติ โดยถูกส่งลงมาเป็นตัวสำรองแทน สก็อต พาร์กเกอร์ ในนัดที่เสมอกับ ฝรั่งเศส 1-1 และพาทีมได้อันดับ 1 ของกลุ่มดี อังกฤษชนะ 2 เสมอ 1 (เสมอ ฝรั่งเศส 1-1, ชนะ สวีเดน 3-2 และ ชนะ ยูเครน 1-0) โดยพาทีมเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้าย เฮนเดอร์สัน ลงมาเป็นตัวสำรองแทน สก็อต พาร์กเกอร์ อีกครั้งในช่วงต่อเวลาพิเศษในนัดที่เจอกับ อิตาลี แต่พ่ายในการดวลจุดโทษ 2-4 หลังเสมอ 0-0 ใน 90 นาที ทำให้ทีมชาติอังกฤษต้องตกรอบรอบ 8 ทีมสุดท้ายเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกันในฟุตบอลยูโร", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#16", "text": "ในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2014 สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล ได้แต่งตั้ง จอร์แดน เฮนเดอร์สัน ให้เป็นรองกัปตันทีมลิเวอร์พูลแทน ดาเนียล อักเกอร์ อดีตรองกัปตันทีมที่ย้ายทีมออกไป[7]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#25", "text": "ในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010 เฮนเดอร์สัน ลงเล่นให้ทีมชาติอังกฤษชุดใหญ่เป็นนัดแรก ในนัดที่เจอกับ ฝรั่งเศส โดยลงสนามเป็นตัวจริงในตำแหน่งกองกลางคู่กับ สตีเวน เจอร์ราร์ด", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "13777#27", "text": "ตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรในปี 1892, ผู้เล่น 45 คน ได้รับเลือกให้เป็นกัปตันทีมสโมสรลิเวอร์พูล[46] แอนดิว ฮานนาห์ ได้เป็นกัปตันทีมคนแรกหลังจากแยกตัวออกจาก เอฟเวอร์ตัน อเล็กซ์ เรสเบค เป็นกับตันทีมในปี 1899 ถึง 1909 เป็นกัปตันทีมนานที่สุดก่อนที่ สตีเวน เจอร์ราด ซึ่งอยู่กับลิเวอร์พูลถึง 12 ฤดูกาล ตั้งแต่ 2003–04[46] กัปตันทีมคนปัจจุบันคือ จอร์แดน เฮนเดอร์สัน ซึ่งมาแทนที่เจอร์ราด ในฤดูกาล 2015–16 หลังจากที่เจอร์ราดย้ายไปแอลเอ กาแลคซี[47][48]", "title": "สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล" }, { "docid": "435415#6", "text": "เฮนเดอร์สันอำลาถิ่นสเตเดียมออฟไลต์ โดยทิ้งผลงานการรับใช้ทีมบ้านเกิดเอาไว้ที่ 79 นัดและทำไปทั้งหมด 5 ประตู", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#18", "text": "ในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน ได้สวมปลอกแขนกัปตันทีมลิเวอร์พูลแทน สตีเวน เจอร์ราร์ด ที่ไม่ได้ลงสนามและทำประตูที่ 3 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ แมนเชสเตอร์ซิตี 2-1[11] ต่อมา ในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน ได้สวมปลอกแขนกัปตันทีมลิเวอร์พูลอีกครั้งและได้ทำประตูที่ 4 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ เบิร์นลีย์ 2-0[12] ต่อมา ในวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน สวมปลอกแขนกัปตันทีมลิเวอร์พูลและทำประตูชัยให้ ลิเวอร์พูล เอาชนะ สวอนซีซิตี ที่ลิเบอร์ตีสเตเดียม 1-0[13] [14] ต่อมา ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน ได้ยิงจุดโทษตีไข่แตกไล่ อาร์เซนอล แต่สุดท้ายก็แพ้ไป 1-4[15] ต่อมา ในวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 2015 เฮนเดอร์สัน ได้ตัดสินใจต่อสัญญาระยะยาวกับสโมสรลิเวอร์พูล ไปจนถึงปี 2020 พร้อมค่าเหนื่อยเพิ่มเป็น 100,000 ปอนด์ต่อสัปดาห์[16] [17]", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#10", "text": "ในวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 ลิเวอร์พูล ลงเล่นที่แอนฟีลด์นัดสุดท้ายในพรีเมียร์ลีกเจอกับ เชลซี อีกครั้ง โดย เฮนเดอร์สัน ทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ให้ลิเวอร์พูลขึ้นนำ 2-0 ก่อนที่ ลิเวอร์พูล ล้างแค้น เชลซี ได้สำเร็จ 4-1 จบฤดูกาล เฮนเดอร์สัน ยิงประตูในพรีเมียร์ลีกได้ 2 ประตูจาก 37 นัด", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#4", "text": "เฮนเดอร์สัน กลับมาเล่นกับต้นสังกัดจริงอย่างซันเดอร์แลนด์ อีกครั้ง รอบนี้เขาถูกดันขึ้นไปเล่นในทีมชุดใหญ่อย่างเต็มตัว โดยเล่นในตำแหน่งปีกขวา และด้วยผลงานที่เล่นได้อย่างสม่ำเสมอ ทีมแมวดำจึงตอบแทนเขาด้วยการมอบสัญญา 5 ปีให้รวมถึงเขายังได้รับเลือกให้เป็นนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปีของซันเดอร์แลนด์ในปีนั้นด้วย ฤดูกาล 2010-11 เฮนเดอร์สันยังคงเป็นตัวหลักของซันเดอร์แลนด์อย่างเหนียวแน่น แม้ว่าอายุจะยังน้อยก็ตามโดย สตีฟ บรู้ซ บอสใหญ่แมวดำปรับเขามาเล่นในตำแหน่งมิดฟิลด์ตัวกลาง ซึ่งทำให้ฟอร์มการเล่นของ เฮนเดอร์สัน ยิ่งโดดเด่นเข้าไปใหญ่เพราะตัวเขาเองมีทักษะในการจ่ายบอลและการอ่านเกม ที่ชาญฉลาดอยู่ในตัวอยู่แล้ว", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#11", "text": "ในเดือนสิงหาคม 2012 เฮนเดอร์สัน มีโอกาสย้ายไปอยู่กับ ฟูลัม แต่สุดท้ายเขาก็ตัดสินใจอยู่กับ ลิเวอร์พูล ต่อไป", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" }, { "docid": "435415#33", "text": "หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวอังกฤษ หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์ หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2014 หมวดหมู่:กองกลางฟุตบอล หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2018", "title": "จอร์แดน เฮนเดอร์สัน" } ]
2316
ริวเซย์ โนะ ร็อคแมนเคยทำเป็นอนิเมะและหนังสือการ์ตูนอีกด้วยใช่หรือไม่?
[ { "docid": "140758#0", "text": "ริวเซย์ โนะ ร็อคแมน () หรือ เมกาแมน สตาร์ฟอร์ซ (Mega Man Star Force) เป็นซีรีส์จากเกมร็อคแมน ซึ่งตัวเกมหลักของซีรีส์นี้อยู่ในนินเทนโด DS รวมทั้งเป็นภาพยนตร์อนิเมะและหนังสือการ์ตูนอีกด้วย", "title": "ริวเซย์ โนะ ร็อคแมนซีรีส์" } ]
[ { "docid": "139463#1", "text": "ตรงกันข้ามกับร็อคแมนเอ็กเซ่ ที่ตัวละครเกือบทุกตัวในเกมจะเป็นเน็ตนาวิซึ่งมีชื่อและรูปร่างมาจากเหล่าบอส (Robot Master) มาจากเกมร็อคแมนคลาสสิก (รวมถึงธรรมเนียมที่ตัวละครจะต้องมีคำว่า man ลงท้าย) ในเกมริวเซย์โนะร็อคแมน ตัวละครส่วนมากจะเป็นมนุษย์โลกที่ทำการรวมร่างกับสิ่งมีชีวิตในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดาว FM (FM-ian) ซึ่งเข้าไปปั่นป่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ผ่านทางโลกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยชื่อของตัวละครจะมาจากหมู่ดาวต่างๆ ในอวกาศ ส่วนเกมภาคต่อที่มีชื่อว่า \"ริวเซย์โนะร็อคแมน 2\" ได้ออกจำหน่ายวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007", "title": "ริวเซย์โนะร็อคแมน (วิดีโอเกม)" }, { "docid": "139463#2", "text": "ริวเซย์โนะร็อคแมนเป็นเกมเล่นตามบทบาท (RPG) ในลักษณะที่คล้ายคลึงกับร็อคแมนเอ็กเซ่ โดยมีกราฟิกในเกมปกติ เช่น ตัวละคร ฉากหลัง เป็นภาพมุมมองไอโซเมตริก (isometric) แต่ฉากต่อสู้จะเป็นภาพสามมิติ โดยมีมุมมองจากทางด้านหลังของร็อคแมน ร็อคแมนจะเคลื่อนที่ได้เพียงสองทิศทางคือซ้ายและขวา ในขณะที่คู่ต่อสู้กลับมีพื้นที่กว้างขวาง ทำให้การหลบหลีกทำได้ยาก แต่ร็อคแมนก็มีความสามารถใหม่ๆ โดยสามารถบล็อกการโจมตีจากคู่ต่อสู้และล็อกทิศทางสำหรับโจมตีได้ ร็อคแมนจะมีพลังชีวิต (HP) เป็นตัวเลข โดยถ้าถูกโจมตี พลังชีวิตก็จะลดลง และร็อคแมนจะตายเมื่อพลังชีวิตลดลงเป็นศูนย์ ทำให้เกมโอเวอร์ แต่ร็อคแมนก็สามารถฟื้นพลังชีวิตได้โดยวิธีต่างๆ ทั้งระหว่างการต่อสู้และหลังการต่อสู้", "title": "ริวเซย์โนะร็อคแมน (วิดีโอเกม)" }, { "docid": "846040#7", "text": "ในระหว่างการสัมภาษณ์ โย โยชินาริกล่าวว่าเขาต้องการที่จะสร้างภาคที่สอง โดยจะเป็นการตีแพ่ประวัติของตัวละครเช่นไดอาน่า คาเวนดิช และ อะแมนด้า โอนีล เขาต้องการที่จะสร้างอนิเมะที่เน้นเรื่องแม่มด ไซน์นี ชาริออท โดยเฉพาะ นอกจากนี้เขายังกล่าวว่าหนังสือ \"ไนต์ฟอลล์\" (หรือ \"Naito Foru\") ที่ปรากฏในอนิเมะอาจจะถูกสร้างในรูปแบบอนิเมะสแตนด์อะโลน", "title": "โรงเรียนเวทมนตร์แม่มดน้อยฝึกหัด" }, { "docid": "139463#0", "text": "ริวเซย์โนะร็อคแมน () หรือ เมกาแมนสตาร์ฟอร์ซ (Mega Man Star Force) เป็นวิดีโอเกมประเภทเกมเล่นตามบทบาทจากประเทศญี่ปุ่น เป็นเกมที่เล่นด้วยนินเทนโดดีเอส ซึ่งอยู่ในเกมชุดร็อคแมนและเป็นเกมแรกสุดในซีรีส์เกมริวเซย์โนะร็อคแมน ผลิตโดยแคปคอม โดยวางจำหน่ายในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2006 ที่ประเทศญี่ปุ่น และ 7 สิงหาคม ค.ศ. 2007 ที่สหรัฐอเมริกา โดยตัวเกมออกวางจำหน่าย 3 เวอร์ชัน ได้แก่ เลโอ, ดราก้อนและเพกาซัส อย่างไรก็ตาม เวอร์ชันดราก้อนเป็นรุ่นพิเศษในอเมริกาเหนือผ่านทางเกมสต็อปสโตร์ ในขณะที่สหราชอาณาจักร มีเวอร์ชันเพกาซัสผ่านทาง Play.com โดยแต่ละเวอร์ชันจะแตกต่างกันที่ตัวละครที่ชื่อว่า \"ผู้ดูแลดาวเทียม\" ซึ่งผู้เล่นจะได้สู้กับตัวละครที่ต่างกันออกไปในแต่ละเวอร์ชัน รวมถึงระบบเปลี่ยนร่างซึ่งร็อคแมนจะเปลี่ยนร่างได้ต่างกันตามแต่ละเวอร์ชัน อย่างไรก็ตามผู้เล่นสามารถเปลี่ยนเป็นร่างของเวอร์ชันอื่นได้โดยใช้ระบบบราเธอร์แบนด์", "title": "ริวเซย์โนะร็อคแมน (วิดีโอเกม)" }, { "docid": "247216#1", "text": "ร็อคแมนเอ็กเซ่ ถูกนำมาเป็นมังงะโดยมีตัวเอกคือ ฮิคาริ เน็ตโตะ และ ร็อคแมน พร้อมเพื่อนๆ ในโลกไซเบอร์ และได้ตัวละครในเกมมาปรากฏตัวพร้อมตัวละครเฉพาะที่ปรากฏตัวเพิ่มเติมอีกด้วย ตีพิมพ์ลงในนิตยาสารโคโระโคโระคอมิกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2001 จนถึง เดือนกันยายนปี 2006 และมีแบบรวมเล่มวางขายทั้งหมด 13 เล่ม", "title": "ร็อคแมนเอ็กเซ่ (หนังสือการ์ตูน)" }, { "docid": "285243#0", "text": "ริวเซย์โนะร็อคแมน 3 () หรือ เมกาแมนสตาร์ฟอร์ซ 3 (Mega Man Star Force 3) เป็นวิดีโอเกมประเภทเกมเล่นตามบทบาทจากประเทศญี่ปุ่น เป็นเกมที่เล่นด้วยนินเทนโดดีเอส ซึ่งอยู่ในซีรีส์ร็อคแมนและเป็นเกมลำดับที่ 3 ของซีรีส์เกมริวเซย์โนะร็อคแมน ผลิตโดยแคปคอม โดยวางจำหน่ายในวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 ที่ประเทศญี่ปุ่น และ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ที่สหรัฐอเมริกา โดยตัวเกมออกวางจำหน่าย 2 เวอร์ชันคือ BLACK ACE และ RED JOKER", "title": "ริวเซย์โนะร็อคแมน 3" }, { "docid": "333713#13", "text": "วันเดียวกันนั้น มีการประกาศว่า ฮิโระมะซะ โยะเนะบะยะชิ จะกำกับอนิเมะดังกล่าว ก่อนหน้า โยะเนะบะยะชิร่วมสร้างภาพยนตร์ของสตูดิโอจิบลิหลายเรื่อง ได้แก่ \"ฮาวส์มูวิงแคเซิล (Howl's Moving Castle)\", \"โปเนียว ธิดาสมุทรผจญภัย (Ponyo)\", และ \"เซ็งโทะชิฮิโระโนะคะมิกะกุชิ (Spirited Away)\" ทั้งสตูดิโอจิบลิเคยสำรองเขาไว้กำกับอะมิเมะ \"ศึกเทพมังกรพิภพสมุทร (Tales from Earthsea)\" ด้วย ส่วนมิยะซะกินั้นว่าจะร่วมทำอนิเมะ \"อาริเอตี้ มหัศจรรย์ความลับคนตัวจิ๋ว\" ในฐานะผู้วางแผนการผลิต", "title": "อาริเอตี้ มหัศจรรย์ความลับคนตัวจิ๋ว" }, { "docid": "140758#2", "text": "ริวเซย์โนะร็อคแมน มีเนื้อเรื่องอยู่บนโลกเดียวกับร็อคแมนเอ็กเซ่ โดยเป็นช่วงเวลาต่อจากเอ็กเซ่ถึง 200 ปี อีกทั้งภาพรวมของตัวเกมและการควบคุมก็คล้ายคลึงกับเกมร็อคแมนเอ็กเซ่มาก", "title": "ริวเซย์ โนะ ร็อคแมนซีรีส์" }, { "docid": "140758#1", "text": "ชื่อภาษาอังกฤษของริวเซย์โนร็อคแมนอย่างเป็นทางการคือ ชู้ตติ้งสตาร์ร็อคแมน (Shooting Star Rockman)", "title": "ริวเซย์ โนะ ร็อคแมนซีรีส์" } ]