query_id
stringlengths
1
4
query
stringlengths
11
185
positive_passages
listlengths
1
9
negative_passages
listlengths
1
30
2311
จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี มีมารดาชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "156058#1", "text": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี มีพระนามเดิมว่า ฟาราห์ ดีบา ประสูติเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1938 [2] ณ กรุงเตหะราน เมืองหลวงของประเทศอิหร่าน มีเชื้อสายอเซอรี[3][4] ถือกำเนิดในครอบครัวชั้นสูง.[5][6][7] เป็นธิดาของกัปตัน โซห์รับ ดีบา และนางฟาริเดห์ ฆอตไบ ในความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี ได้เขียนถึงพระบิดา ว่าเป็นคนพื้นเมืองอาเซอร์ไบจาน (อิหร่าน) ส่วนพระมารดานั้นมีพื้นเพมาจากจังหวัดกิลาน ซึ่งตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลแคสเปียน[2]", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" } ]
[ { "docid": "750866#2", "text": "พระปรมาภิไธยเริ่มการอ้างสิทธิสิ้นสุดการอ้างสิทธิหมายเหตุพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ชาห์แห่งอิหร่านจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1982 ผู้อ้างสิทธิตำแหน่งจักรพรรดินีนาถผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์120pxมกุฎราชกุมารเรซา ปาห์ลาวี 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1982 ปัจจุบัน ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านองค์ปัจจุบัน", "title": "ชาห์แห่งอิหร่าน" }, { "docid": "301329#0", "text": "เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 มีนาคม พ.ศ. 2506-) พระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และประเทศอิหร่าน", "title": "เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "301523#1", "text": "เจ้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี ประสูติเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี พระองค์มีพระเชษฐา พระเชษฐภคิณี และพระขนิษฐา คือ เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน, เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี และเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี นอกจากนี้พระองค์ยังมีพระเชษฐภคิณีต่างพระมารดาคือ เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี", "title": "เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2" }, { "docid": "156058#0", "text": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (Persian: شهبانو فرح پهلوی‎) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส[1]", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#6", "text": "หลังจากทรงเสด็จกลับมายังเตหะรานในฤดูร้อน ปีค.ศ. 1959 พระเจ้าชาห์และนางสาวฟาราห์ ดีบาได้เริ่มมีความสัมพันธ์กันอย่างระมัดระวังเพื่อเตรียมการในส่วนของพระราชธิดาซึ่งก็คือ เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี ทั้งสองพระองค์ทรงหมั้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#13", "text": "ระยะการดำรงพระอิสริยยศของพระนางฟาราห์ในฐานะจักรพรรดินีโดยปราศจากข้อโต้แย้ง สาเหตุที่พระองค์ทรงปกป้องและบทบาทของพระองค์ในรัฐบาลบางครั้งนั้นได้เข้ามาขัดแย้งกับคนบางกลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายอนุรักษนิยมทางศาสนา ความไม่พอใจของคนกลุ่มนี้ที่พุ่งเป้าหมายไปที่รัฐบาลปาห์ลาวีทั้งหมดและไม่ใช่เพียงแค่องค์จักรพรรดินีเพียงพระองค์เดียวเท่านั้น", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "278705#6", "text": "เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี เป็นพระราชธิดาต่างพระมารดากับมกุฎราชกุมารไซรัส เรซา, เจ้าหญิงฟาราห์นาซ, เจ้าชายอาลีเรซาที่สอง และเจ้าหญิงไลลา ซึ่งประสูติแต่จักรพรรดินีฟาราห์ ส่วนเจ้าหญิงชาห์นาซนั้นเป็นพระราชธิดาในเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ซึ่งพระชนนีเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลี โดยเจ้าหญิงชาห์นาซมีศักดิ์เป็นพระภาคิไนยของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์", "title": "เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "301318#1", "text": "เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี พระราชธิดาพระองค์ที่ 4 ในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี เจ้าหญิงไลลามีพระเชษฐา และเชษฐภคินีดังนี้ เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน, เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี และเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2 นอกจากนี้พระองค์ยังมีพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาคือ เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี", "title": "เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี" }, { "docid": "301329#1", "text": "เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี เป็นพระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี โดยเจ้าหญิงฟาราห์นาซมีพระเชษฐา พระอนุชา และพระขนิษฐาอย่างละ 1 พระองค์ ได้แก่ มกุฎราชกุมารไซรัสเรซา, เจ้าชายอาลีเรซาที่สอง และเจ้าหญิงไลลา นอกจากนี้พระองค์ยังมีพระเชษฐภคิณีต่างพระมารดาคือ เจ้าหญิงชาห์นาซ", "title": "เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "301318#0", "text": "เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:لیلا پهلوی, ประสูติ 27 มีนาคม ค.ศ. 1970 - สิ้นพระชนม์ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2001) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน", "title": "เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี" }, { "docid": "355301#4", "text": "เจ้าฟ้าชายไซรัส เรซา ได้ดำรงตำแหน่งเป็นมกุฎราชกุมารในราชวงศ์ปาห์ลาวี เนื่องจากเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ระบอบกษัตริย์แห่งอิหร่านได้ล่มสลายในปี ค.ศ. 1979 พระองค์ต้องใช้พระนามเป็น นายเรซา ปาห์ลาวี และหลังจากการสวรรคตของชาห์โมฮัมหมัด เรซา ในปี ค.ศ. 1980 พระองค์จึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ต่อจากพระมารดาในปี ค.ศ. 1981 (พระมารดาอ้างสิทธิแทนเนื่องจากพระองค์ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) แต่ด้วยพระองค์ทรงมีเพียงพระธิดาสามพระองค์โดยไม่มีพระโอรสเลย ประกอบกับพระอนุชาคือ เจ้าชายอาลี เรซาที่สอง (1966 - 2011) ไม่ทรงเสกสมรสและไม่มีพระโอรสธิดา ดังนั้นลำดับการสืบราชสมบัติจึงตกไปในสายของเจ้าชายอาลี แพทริก ปาห์ลาวี พระโอรสเพียงพระองค์เดียวในเจ้าชายอาลี เรซาที่หนึ่ง พระอนุชาของชาห์โมฮัมหมัด เรซา", "title": "เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน" }, { "docid": "156058#5", "text": "นักศึกษาชาวอิหร่านหลายคนได้รับการศึกษาจากต่างประเทศในช่วงนี้ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนของรัฐ ดังนั้นเมื่อชาห์ในฐานะทรงเป็นประมุขแห่งรัฐต้องเสด็จเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการ พระองค์มักโปรดฯให้นักศึกษาชาวอิหร่านในพื้นที่นั้นเข้าเฝ้า เป็นช่วงของการเข้าเฝ้าในปีค.ศ. 1959 ที่สถานเอกอัครราชทูตอิหร่านประจำกรุงปารีส ซึ่งนางสาวฟาราห์ ดีบาได้เข้าเฝ้าพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีครั้งแรก", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#39", "text": "เจ้าหญิงนูร์ ปาห์ลาวี (ประสูติ 3 เมษายน ค.ศ. 1992) เจ้าหญิงอีมาน ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 กันายน ค.ศ. 1993) เจ้าหญิงฟาราห์ ปาห์ลาวี (ประสูติ 17 มกราคม ค.ศ. 2004)", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "278168#3", "text": "นอกจากนี้พระองค์ยังมีพระเชษฐภคิณีต่างพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าหญิงฮัมดัมสุลตาเนห์ ปาห์ลาวี อนุชาและขนิษฐาต่างมารดาอีก 6 พระองค์ ได้แก่ เจ้าชายโฆลาม ปาห์ลาวี, เจ้าชายอับดุล เรซา ปาห์ลาวี, เจ้าชายอะห์มัด เรซา ปาห์ลาวี, เจ้าชายมะห์มุด เรซา ปาห์ลาวี, เจ้าหญิงฟาเตเมห์ ปาห์ลาวี และเจ้าชายฮามิด เรซา ปาห์ลาวี", "title": "พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#47", "text": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีทรงสายสะพายและเครื่องยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์อาร์ยาเมห์ร[31] จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยือนบันดาร์อับบาส จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีและชาร์ล เดอ โกล จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีและนักเรียนหญิงในจีรอฟท์ จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีท่ามกลางเหล่าพยาบาลในเคอร์มานชาห์ จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีและแฟรงก์ ซินาตราในเตหะราน ค.ศ. 1975 จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีและพระเจ้าชาห์ โมฮัมเหม็ด เรซา ปาห์ลาวี กับเลโอนิด เบรจเนฟ จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีทรงพระดำเนินพร้อมกับซัลฟิการ์ อาลี บุตโต จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีและพระเจ้าชาห์ โมฮัมเหม็ด เรซา ปาห์ลาวี กับหัว โกว่เฟิง จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยี่ยมสถานเด็กกำพร้าในเคอร์มาน จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยือนแคว้นซิสทันและบาลูจิสถาน จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อนในเบห์คาเดห์ ราจี จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยือนมหาบัด จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีเสด็จเยือนราฮีจัน จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีในฉลองพระองค์ชุดชาวลูร์ที่แคว้นลอเรสถาน", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#42", "text": "ในปีค.ศ. 2003 องค์จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีทรงเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวในความทรงจำของพระองค์เมื่อทรงพระเยาว์ และเป็นนักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ เมื่ออายุ 21 ปี จนได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์และกลายเป็นจักรพรรดินีแห่งอิหร่าน ทรงเขียนในชื่อเรื่องว่า An Enduring Love: My Life with the Shah (ภาษาไทย: ความทรงจำของฟาราห์ ปาห์ลาวี) พระอนุทินของอดีตองค์จักรพรรดินีเป็นที่สนใจในต่างประเทศ ได้กลายเป็นหนังสือขายดีในยุโรป ด้วยข้อความที่ตัดตอนที่ปรากฏในนิตยสารข่าวและผู้เขียนที่ทรงปรากฏพระองค์ในรายการทอล์กโชว์และสื่อต่างๆ อย่างไรก็ตาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือ ซึ่งมีการรวม Publishers Weeklyที่ได้วิจารณ์ว่า \"ตรงไปตรงมา การอธิบายอย่างตรงๆ\" และThe Washington Post ได้วิจารณ์ว่า \"น่าทึ่ง\"", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "750866#1", "text": "พระปรมาภิไธยเสด็จขึ้นครองราชย์สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งพระราชสวามีสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก ค.ศ. 1925 ค.ศ. 1941 พระราชสวามีสละราชสมบัติพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวีเจ้าหญิงเฟาซียะห์ 16 กันยายน ค.ศ. 1941 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1948 ทรงหย่าพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีเจ้าหญิงโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 6 เมษายน ค.ศ. 1956 ทรงหย่าพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี 21 ธันวาคม ค.ศ. 1959 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979 พระราชสวามีสละราชสมบัติพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี", "title": "ชาห์แห่งอิหร่าน" }, { "docid": "156058#48", "text": "หมวดหมู่:จักรพรรดินีอิหร่าน หมวดหมู่:ราชวงศ์ปาห์ลาวี หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายอิหร่าน หมวดหมู่:มุสลิมชาวอเมริกัน หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. (ฝ่ายใน) หมวดหมู่:บุคคลจากเตหะราน หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "301318#5", "text": "ในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 2001 พระศพของเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี ได้ทำการฝัง ณ สุสานปาส์ซี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยทำการฝังใกล้กับพระอัยยิกาฝ่ายพระมารดา (ยาย) คือ นางฟาริเดห์ ดีบา (ฆอตไบ) ท่ามกลางความโศกเศร้าเสียใจของบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ โดยมีผู้มาร่วมพิธีได้แก่ อดีตพระราชวงศ์ฝรั่งเศส รวมไปถึงนายเฟเดอริก มิตแตร์รองด์ (Frederic Mitterand) หลานของนายฟรองซัวส์ มิตแตร์รองด์ (Francois Mitterand) อดีตประธานาธิบดีของประเทศฝรั่งเศส ส่วนพระราชวงศ์อิหร่าน ได้แก่ จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี พระมารดา, เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน, เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี และเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2 และพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาคือ เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี", "title": "เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#40", "text": "องค์จักรพรรดินีทรงมีพระราชนัดดาอีกหนึ่งพระองค์ที่ประสูติแต่เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวี พระราชโอรสองค์รองกับราฮา ดีเดวาร์[24] ผู้เป็นพระสหาย ได้แก่", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "355301#1", "text": "เจ้าชายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที 31 ตุลาคม ค.ศ. 1960 พระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี มีพระขนิษฐาและพระอนุชา คือ เจ้าหญิงฟาราห์นาซ, เจ้าชายอาลี เรซา และเจ้าหญิงไลลา และมีพระเชษฐภคินีต่างชนนีคือ เจ้าหญิงชาห์นาซ", "title": "เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน" }, { "docid": "156058#26", "text": "ในช่วงเวลานี้ ในการตอบสนองการประท้วงที่รุนแรง พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพร้อมจักรพรรดินีฟาราห์มีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จออกนอกประเทศ ทั้งองค์ชาห์และองค์ชาห์บานูเสด็จโดยเครื่องบินประทับออกจากอิหร่านในวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1979 รัฐบาลของชาห์ปูร์ บัคเตียร์ นายกรัฐมนตรีได้ออกประกาศว่า พระองค์มิได้สละบัลลังก์แต่อย่างใด", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#44", "text": "ในปีค.ศ. 2008 ภาพยนตร์เรื่อง The Queen and I ได้ออกฉาย ซึ่งภาพยนตร์ดังกล่าวเป็นภาพยนตร์สารคดีที่กำกับโดย นาฮิด เพิร์สซัน ซาร์เวสทานี ผู้กำกับชาวสวีเดนเชื้อสายอิหร่าน ซึ่งเคยเป็นผู้ต่อต้านระบอบกษัตริย์และมีส่วนในขบวนการล้มล้างราชวงศ์ปาห์ลาวี ภาพยนตร์ได้ถ่ายทอดชีวิตประจำวันของจักรพรรดินี ความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับชีวิตและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของพระองค์ รวมทั้งความเข้าอกเข้าใจกันของผู้หญิงสองคน ที่แม้จะเคยเป็นศัตรูกัน แต่ก็กลายเป็นผู้ที่มีชะตาชีวิตคล้ายคลึงกัน คือต้องระหกระเหินออกจากบ้านเกิดเมืองนอน[27]", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#3", "text": "ฟาราห์ทรงมีความสุขอย่างมากที่ได้ใกล้ชิดผูกพันกับพระบิดาของพระองค์และด้วยการเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดของเขาในปีค.ศ. 1948 ได้ทำให้เกิดผลกระทบต่อพระองค์อย่างลึกซึ้ง สถานการณ์เช่นนี้ทำให้ครอบครัวของพระองค์ตกอยู่ในฐานะทางการเงินที่ลำบาก ในกรณีที่เกิดขึ้นเหล่านี้ พวกเขาถูกบังคับให้ย้ายออกจากวิลลาขนาดใหญ่ในทางตอนเหนือของเตหะรานไปอาศัยในอพาร์ตเมนต์ร่วมกับหนึ่งในพี่ชายของนางฟาริเดห์ ฆอตไบ พระมารดา", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#38", "text": "องค์จักรพรรดินีทรงมีพระราชนัดดา 3 พระองค์ที่ประสูติแต่เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี พระราชโอรสองค์โตกับยัสมิน อาเตมัด-อามินี พระชายา ได้แก่", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "156058#23", "text": "การเคลื่อนไหวต่อต้านพระเจ้าชาห์ของอายะตุลลอฮ์ โคมัยนีกับกลุ่มศาสนานิยมที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบายเสรีนิยมของพระเจ้าชาห์ในโครงการการปฏิวัติขาวของพระองค์ จึงเกิดการนิยมโคมัยนีขึ้นอย่างแพร่หลายในอิหร่าน และในอิหร่านช่วงต้นค.ศ. 1978 มีปัจจัยจำนวนหนึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจภายในรัฐบาลของราชวงศ์ปาห์ลาวีได้ปรากฏเด่นชัดมากขึ้น", "title": "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี" }, { "docid": "355301#0", "text": "เจ้าชายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน (, ปัจจุบันคือ ไซรัส เรซา ปาห์ลาวี, พระราชสมภพ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1960) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของอิหร่านราชวงศ์ปาห์ลาวี พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี พระองค์ได้เสด็จลี้ภัยมายังสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1979 หลังการเกิดปฏิวัติอิสลาม และประทับอยู่ที่นั่นตลอดมา", "title": "เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน" }, { "docid": "750866#3", "text": "พระปรมาภิไธยเริ่มการอ้างสิทธิสิ้นสุดการอ้างสิทธิ์คู่สมรสจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 พระราชสวามีสวรรคตพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีเจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารี 12 มิถุนายน ค.ศ. 1986 ปัจจุบันเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมาร", "title": "ชาห์แห่งอิหร่าน" }, { "docid": "301523#0", "text": "เจ้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:رضا پهلوی, ประสูติ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 - 4 มกราคม ค.ศ. 2011) พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวีและอิหร่าน", "title": "เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2" } ]
1857
ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นคนจังหวัดอะไร?
[ { "docid": "25191#2", "text": "หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลางแม่น้ำเจ้าพระยา ณ ตำบลบ้านม้า อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส-ธิดา ทั้ง 6 คน ของ", "title": "หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช" }, { "docid": "27916#1", "text": "ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ \"เสนีย์\" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" } ]
[ { "docid": "570896#5", "text": "ขุนทอง ได้รับตำแหน่งทางการเมืองสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากนายกรัฐมนตรีลาออก และได้รับแต่งตั้งอีกสมัยหนึ่ง แต่ดำรงตำแหน่งเพียง 12 วัน และได้เข้าเฝ้าถวายสัตย์ปฏิญาณเพียงวันเดียวก็ต้องพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากการรัฐประหารของพลเรือเอก สงัด ชลออยู่", "title": "ขุนทอง ภูผิวเดือน" }, { "docid": "27916#18", "text": "ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ดำเนินการจัดตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ร่วมกับนายควง อภัยวงศ์ ขึ้นในวันศุกร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 โดยชื่อ \"ประชาธิปัตย์\" นั้น ท่านเป็นผู้บัญญัติขึ้น โดยมีความหมายว่า \"ผู้บำเพ็ญประชาธิปไตย\" โดยมีจุดมุ่งหมายคือ ต่อต้านการกระทำอันเป็นเผด็จการไม่ว่าวิธีการใด ๆ โดยมีนายควง อภัยวงศ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นรองหัวหน้าพรรค ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ยุบพรรคก้าวหน้ามารวมกับพรรคประชาธิปัตย์ เป็นเลขาธิการพรรค และนายชวลิต อภัยวงศ์ เป็นรองเลขาธิการพรรค", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "487832#28", "text": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2488 และพลันฟื้นฟูชื่อ \"สยาม\" เป็นสัญลักษณ์แห่งการยุติระบอบชาตินิยมของจอมพลแปลก ทว่า เขาพบว่าตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐมนตรีที่มีแต่ผู้ภักดีต่อปรีดีนั้นค่อนข้างไม่สุขสบาย นักการเมืองประชานิยมภาคอีสานอย่างเตียง ศิริขันธ์และผู้เลื่อนฐานะทางสังคมอย่างรวดเร็ว (upstart) ชาวกรุงเทพมหานคร เช่น สงวน ตุลารักษ์ ไม่ใช่คนแบบที่อภิชนหม่อมราชวงศ์เสนีย์ชอบร่วมงานด้วย พวกเขาจึงมองว่าหม่อมราชวงศ์เสนีย์เป็นอภิชนที่ไม่เคยสัมผัสความเป็นจริงทางการเมืองของประเทศไทยเลย", "title": "ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)" }, { "docid": "775467#1", "text": "ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พรรคสันติชนได้ ส.ส. เข้าสภาทั้งสิ้น 8 คน หลังการเลือกตั้ง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 และจัดตั้งคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35 โดยได้รับการสนับสนุนจากพรรคเกษตรสังคม และพรรคแนวร่วมสังคมนิยม แต่ได้คะแนนเสียงสนับสนุนเพียง 103 คน ไม่ถึงครึ่งของสภา (135 คน) และไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎร หม่อมราชวงศ์เสนีย์ จึงลาออกจากตำแหน่ง", "title": "พรรคสันติชน" }, { "docid": "468124#2", "text": "ก่อนการเลือกตั้งครั้งนี้ไม่นาน พรรคฝ่ายค้าน คือ พรรคประชาธิปัตย์ ได้มีมติคว่ำบาตรการเลือกตั้งครั้งนี้และไม่ร่วมสังฆกรรมกิจกรรมทางการเมืองใด ๆ กับรัฐบาลมาตั้งแต่รัฐประหาร สมาชิกพรรคคนสำคัญ ๆ ได้แก่ นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรค และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช รองหัวหน้าพรรค ไม่ร่วมลงรับสมัครเลือกตั้ง โดยเฉพาะม.ร.ว.เสนีย์ นั้นถึงกับยุติบทบาททางการเมืองไปเลย จนกระทั่งปี พ.ศ. 2511 ถึงได้หวนคืนกลับมารับตำแหน่งหัวหน้าพรรค หลังการถึงแก่อสัญกรรมของนายควง หัวหน้าพรรคคนแรก แต่ก็มีสมาชิกพรรคหลายคนลงรับสมัครเลือกตั้งครั้งนี้ เพียงแต่มิได้ลงรับสมัครในนามของพรรค สมาชิกพรรคที่ได้รับเลือกตั้ง ได้แก่ นายไถง สุวรรณทัต จังหวัดธนบุรี, นายเทียม ไชยนันทน์ จังหวัดตาก, นายถัด พรหมมาณพ จังหวัดพัทลุง, นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ จังหวัดลำปาง, นายคล้าย ละอองมณี จังหวัดสงขลา และ พันตำรวจตรี หลวงเจริญตำรวจการ จังหวัดอุทัยธานี", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495" }, { "docid": "27916#2", "text": "ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช , ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "23996#69", "text": "ศิษย์เก่าที่เป็นนักการเมืองได้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เช่น พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย, พันตรี ควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ของไทย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก, หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 ของไทย และเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์คนแรก, ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรีคนแรก นายกรัฐมนตรีคนที่ 12 ของไทย, พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียน เป็นต้น", "title": "โรงเรียนอัสสัมชัญ" }, { "docid": "708721#3", "text": "ในพ.ศ. 2518 พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต่อมาในพ.ศ. 2519 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2519 สืบแทน พลเอก กฤษณ์ สีวะรา ซึ่งถึงแก่อนิจกรรรมอย่างกระทันหัน นอกนากนี้พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ยังเคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาในวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 4", "title": "ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา" }, { "docid": "124396#1", "text": "เกิดวันที่ 14 มิถุนายน 2513 เป็นบุตรชายคนกลางในจำนวนบุตร-ธิดาทั้ง 3 คน ของ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช (บุตรชายคนโตของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช) กับคุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา จบการศึกษาทางด้านภาพยนตร์ จากประเทศอังกฤษ", "title": "อชิตะ ปราโมช ณ อยุธยา" }, { "docid": "93741#41", "text": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ออกเดินทางจากสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2488 ถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ 17 กันยายน และได้ดำเนินการเจรจาตกลงข้อสัญญาบางประการกับอังกฤษ ไทยได้ตกลงทำสัญญาที่เรียกว่า สัญญาความตกลงสมบูรณ์แบบ เพื่อเลิกสถานะสงคราม ระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร ประกอบด้วยสัญญา 24 ข้อ จนแล้วเสร็จได้ทำบันทึกอย่างเป็นทางการลงวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2489 เป็นอันเสร็จภารกิจและ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ก็ได้ยื่นใบลาออกในวันนั้นทันที ในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2489 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการยกเลิกกฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักรที่ใช้มา 4 ปี 1 เดือน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีต่อระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2489 ถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489", "title": "สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย" }, { "docid": "32642#1", "text": "พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า \"ตุ้ย\" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ", "title": "หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช" }, { "docid": "465533#2", "text": "ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 พรรคธรรมสังคม ได้รับเลือกตั้งในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 45 ที่นั่ง เป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งหลังเลือกตั้ง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 และจัดตั้งคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35 โดยได้รับการสนับสนุนจากพรรคเกษตรสังคม และพรรคแนวร่วมสังคมนิยม แต่ได้คะแนนเสียงสนับสุนนเพียง 103 คน ไม่ถึงครึ่งของสภา (135 คน)", "title": "พรรคธรรมสังคม" }, { "docid": "5519#193", "text": "ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ - นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[294] ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประมวล วีรุตมเสน - ผู้บุกเบิกเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศไทย ศาสตราจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[295][296] หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช - นายกรัฐมนตรี คนที่ 6 ของประเทศไทย ผู้จัดตั้งจัดตั้งขบวนการเสรีไทย อดีตอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[297] พระเจริญวิศวกรรม - ผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของประเทศไทย", "title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "551060#0", "text": "นายประเทือง คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมัย", "title": "ประเทือง คำประกอบ" }, { "docid": "115032#2", "text": "ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี การจัดตั้งรัฐบาลประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ กับ พรรคเกษตรสังคม แต่เมื่อคณะรัฐบาลชุดนี้แถลงนโยบายเพื่อขอความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2518 ปรากฏว่าไม่ได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทำให้นายกรัฐมนตรีต้องลาออกผลการหยั่งเสียงเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ผลปรากฏว่า หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีด้วยคะแนนเสียง 133 ต่อ 50 โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้รับเสียงสนับสนุนจากพรรคเกษตรสังคม พรรคพลังใหม่ พรรคกิจสังคม พรรคแนวร่วมสังคมนิยม พรรคอธิปัตย์ พรรคประชาธิปไตย และพรรคเกษตรกร", "title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35" }, { "docid": "27916#0", "text": "ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "27916#22", "text": "ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองใหญ่[3]", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "27916#15", "text": "ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 4 ครั้ง โดยในครั้งสุดท้ายได้เกิด เหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ที่ตำรวจและกองกำลังติดอาวุธ เข้าปิดล้อม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนักศึกษา และประชาชนหลายพันคนชุมนุมประท้วง การกลับประเทศไทยของ จอมพลถนอม กิตติขจร ที่ถูกประชาชนขับไล่ ออกจากประเทศไปเมื่อ 3 ปีก่อน ในวันเดียวกัน พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ได้จัดตั้ง คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เข้ายึดอำนาจจาก รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "25191#0", "text": "ศาสตราจารย์พิเศษ[1] พลตรี[2] หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 – 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า \"หม่อมพี่ หม่อมน้อง\" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ยังมีพี่สาว คือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี ซึ่งสมรสกับ พลตำรวจเอก พระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต)", "title": "หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช" }, { "docid": "27916#24", "text": "ลำดับสาแหรกของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช[7][8] 16. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก8. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย17. สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี4. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ18. พระอินทรอากร (อิน ไกรฤกษ์)9. เจ้าจอมมารดาอัมพา19. ภรรยาชาวจีนไม่ปรากฏนาม2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ20. สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์10.21.5. หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช22.11.23.1. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช24. เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)12. สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)25. เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล6. เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา (แพ บุนนาค)26.13. หงิม บุนนาค27.3. หม่อมแดง ปราโมช ณ อยุธยา28.14. เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (บุญศรี บุรณศิริ)29.7. แหวว บุรณศิริ30. พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 5 (เจ้าอนุวงศ์)15. พัน บุรณศิริ31.", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "32384#2", "text": "ต่อมาใน พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานที่ดินและอาคารแก่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ อดีตอธิบดีกรมตำรวจพระนครบาล พระบิดาของหม่อมราชวงศ์ถ้วนเถ้านึก ปราโมช, หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และได้สืบทอดเป็นกรรมสิทธิ์ของราชสกุลปราโมช คือ หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช", "title": "บ้านเจ้าพระยา" }, { "docid": "27916#26", "text": "หนังสือชีวลิขิต โดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "146636#5", "text": "ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมของควง อภัยวงศ์ สามีและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคมา ในปี พ.ศ. 2511 คุณหญิงเลขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดพระนคร แทนที่นายควง ผู้เป็นสามี ซึ่งผลปรากฏว่าได้รับเลือกตั้งไป ทั้ง ๆ ที่เป็นเพียงคนหน้าใหม่ในวงการการเมือง และต่อมาเมื่อมีการเลือกหัวหน้าพรรคคนใหม่ คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์ ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกพรรคจำนวนหนึ่ง ให้เป็นรองหัวหน้าพรรค เพื่อแข่งขันกับหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ซึ่งยุติบทบาททางการเมืองไปนานแล้วตั้งแต่การรัฐประหาร พ.ศ. 2494 แต่กลุ่มผู้สนับสนุน หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช มีมากกว่า เนื่องจากเห็นว่า หม่อมราชวงศ์เสนีย์ เป็นถึงอดีตนายกรัฐมนตรีผู้เจรจาถอนทหารอังกฤษออกจากประเทศไทยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีส่วนอย่างมากมิให้ไทยต้องกลายสภาพเป็นประเทศแพ้สงคราม เป็นผู้นำเสรีไทยในสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์มาพร้อมกับนายควง อภัยวงศ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช จึงได้เป็นหัวหน้าพรรคสืบต่อไป", "title": "เลขา อภัยวงศ์" }, { "docid": "457903#5", "text": "ผลการเลือกตั้ง พรรคสหประชาไทย ที่มีจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นหัวหน้าพรรค และพลอากาศเอกทวี จุลละทรัพย์ เป็นเลขาธิการพรรค ได้รับเลือกมาเป็นที่หนึ่ง โดยได้ ส.ส.ทั้งหมด 74 คน ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ ที่มี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นหัวหน้าพรรค ได้ ส.ส.ทั้งหมด 55 คน แต่การเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร คือ จังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี พรรคประชาธิปัตย์สามารถได้ ส.ส.ทั้งหมด เป็นจำนวน 21 คน ทำให้เป็นแกนหลักในการเป็นพรรคฝ่ายค้าน ขณะที่ผู้สมัครจากพรรคอื่นและผู้สมัครอิสระรวมกันเป็น ส.ส.ทั้งหมด 90 คน", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512" }, { "docid": "499765#0", "text": "นายสันติ์ เทพมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำพูนคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองลำพูน", "title": "สันติ์ เทพมณี" }, { "docid": "33634#19", "text": "พรรคชาติไทยของพลตรี ประมาณ อดิเรกสาร ใช้คำขวัญ \"ขวาพิฆาตซ้าย\" ลงเลือกตั้งในเดือนเมษายน มีการฆ่าคน 30 ครั้งที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคประชาธิปัตย์ซึ่งได้รับการหนุนหลังจากทั้งพลเอกกฤษณ์ สีวะรา และสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาคว้าที่นั่งในสภาได้ถึงร้อยละ 40 ทำให้หัวหน้าพรรค หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช กลับเป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย พรรคกิจสังคมของ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช กลับเป็นฝ่ายค้าน ขณะที่พรรคฝ่ายซ้ายแทบไม่ได้รับเลือกตั้งเข้ามาเลย พลเอกกฤษณ์เสียชีวิตอย่างไม่คาดฝันด้วยอาการหัวใจล้มเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2519 เพียงหนึ่งสัปดาห์หลังได้รับเสนอชื่อเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาล หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และผู้ที่รับตำแหน่งแทน คือ พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา สมาชิกพรรคพวกของพลตรีประมาณ อดิเรกสาร เนื่องจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมจะเลือกผู้บัญชาการทหารบกคนใหม่เมื่อพลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ เกษียณในอีกห้าเดือนข้างหน้า ตำแหน่งนี้จึงสำคัญมาก ในเดือนสิงหาคม พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา จัดการให้จอมพล ประภาส จารุเสถียร เดินทางกลับประเทศไทยช่วงสั้น ๆ เพื่อทดสอบมติมหาชน โดยอาศัยปฏิกิริยาดังกล่าว พลตรีประมาณ อดิเรกสาร ตัดสินใจนำจอมพลถนอม กิตติขจร กลับประเทศไทยด้วยหวังจุดชนวนการเดินขบวนประท้วงซึ่งอาจใช้เป็นข้ออ้างรัฐประหารได้ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พยายามดักการคบคิดเพิ่มเติมโดยถอด พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา จากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมัคร สุนทรเวช และ สมบุญ ศิริธร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นผู้คบคิดรัฐประหาร วิจารณ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อย่างรุนแรงในการเคลื่อนไหวนี้โดยการระเบิดอารมณ์ขัดระเบียบการของรัฐสภา นำมาสู่การปลด สมัคร สุนทรเวช และ สมบุญ ศิริธร ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2519", "title": "เหตุการณ์ 6 ตุลา" }, { "docid": "27916#20", "text": "หลังจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 แล้ว คณะปฏิรูปการปกครองที่นำโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ต้องการจะให้ท่านดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป แต่ท่านได้ปฏิเสธ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช จึงได้วางมือจากการรับตำแหน่งทางการเมืองอย่างถาวร แต่ยังรักษาการหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ต่อไปอีกระยะ จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2522 จึงได้หัวหน้าคนใหม่ (พ.อ.ดร.ถนัด คอมันตร์) ชีวิตหลังจากนี้ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ใช้ชีวิตอยู่ที่บ้านเอกมัย ใช้เวลาไปกับการอ่านหนังสือ และรวบรวมงานประพันธ์ต่าง ๆ ที่เคยแต่งไว้ก่อนหน้านี้และแต่งเพิ่มเติม เช่น ประชุมสารนิพนธ์, แปลกวีนิพนธ์, ชีวลิขิต เป็นต้น รวมทั้งการวาดรูป ทั้งรูปสีน้ำ สีน้ำมัน รูปสเก็ตซ์ เล่นดนตรี แต่งเพลงและปลูกไม้ดอก โดยเฉพาะกุหลาบ ซึ่งล้วนเป็นงานอดิเรกที่ทำเป็นประจำ และยังคงให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์บ้านเมืองเป็นระยะ ๆ รวมทั้งยังให้คำปรึกษากับพรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะที่เป็นปูชนียบุคคลสำคัญในพรรคด้วย ซึ่งในปี พ.ศ. 2548 อันเป็นวาระครบรอบ 100 ปี ของท่าน ทางพรรคได้ก่อตั้ง มูลนิธิ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ขึ้นตามเจตนารมณ์ของท่านและทายาท และให้ชื่ออาคารที่ทำการของพรรคหลังที่สองว่า อาคาร ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "27916#21", "text": "ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยที่มีอายุน้อยที่สุด (จนถึงปัจจุบัน) โดยดำรงตำแหน่งในครั้งแรกเมื่ออายุเพียง 40 ปี 4 เดือน 17 วัน นอกจากนั้นแล้ว ยังเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่มีอายุมากที่สุด (ในช่วงเวลานั้น) โดยดำรงตำแหน่งครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2519 ด้วยอายุถึง 71 ปี 3 เดือน 25 วัน เป็นผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวาระที่มีช่วงเวลาห่างกันนานที่สุด คือ 30 ปี ระหว่างการดำรงตำแหน่งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2488 และดำรงตำแหน่งครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2518 เป็นผู้นำคณะรัฐบาลที่มีอายุรัฐบาลสั้นที่สุด คือ 11 วัน ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 ระหว่างวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2519 จนถึงวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ที่มี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น ยังเป็นคณะรัฐมนตรีคณะแรกและคณะเดียวจนถึงปัจจุบันนี้ ที่ต้องลาออกเพราะไม่ได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎรในการแถลงนโยบาย เป็นพลเรือนคนแรกที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม[2] เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรคนแรกอย่างเป็นทางการ", "title": "หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช" }, { "docid": "59639#1", "text": "หม่อมหลวงเสรี ปราโมช เกิดในปี พ.ศ. 2476 มีชื่อเล่นว่า \"ต้อย\" เป็นบุตรชายคนโต ของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช (นามสกุลเดิม ศาลิคุปต์) ในจำนวนพี่น้องทั้งสิ้น 3 คน \nชีวิตส่วนตัวสมรสกับคุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม มาลากุล ณ อยุธยา บุตรสาวหม่อมหลวงปีกทิพย์ มาลากุล) ในปี พ.ศ. 2507 มีบุตรทั้งหมด 3 คน ซึ่งบุตรชายคนกลางเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักดี คือ อชิตะ ปราโมช ณ อยุธยา เป็นนักร้อง นักดนตรีในสังกัดแกรมมี่ และมีบุตรชายอีกคนหนึ่งที่มิได้เกิดจากคุณหญิงทิพยวดี คือ คำรณ ปราโมช ณ อยุธยา ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการนิตยสารอิมเมจ ", "title": "หม่อมหลวงเสรี ปราโมช" } ]
231
ดินแดน ตะวันออกไกลหมายถึงอะไร?
[ { "docid": "69436#0", "text": "ตะวันออกไกล (English: Far East) ในความหมายที่จำกัดหมายถึงพื้นที่ซึ่งประกอบด้วยประเทศทางด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย ได้แก่ และ ไซบีเรีย แต่ในความหมายที่กว้างขึ้นมักหมายรวมถึงอาเซียนและบางส่วนของเอเชียใต้", "title": "ตะวันออกไกล" } ]
[ { "docid": "3656#48", "text": "ขณะนั้นญี่ปุ่นเป็นหนึ่งในชาติที่มีอำนาจมากที่สุดในตะวันออกไกลหรือเอเชียแปซิฟิก และในปี ค.ศ. 1914 ก็ก้าวเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่1 เคียงข้างอังกฤษ ญี่ปุ่นเข้ายึดดินแดนใต้อาณัติของเยอรมนีคือ เกาโจว (Kiaochow) และจากนั้นก็เรียกร้องให้จีนยอมรับอิทธิพลทางการเมืองของญี่ปุ่นและดินแดนที่ได้รับจากการเข้าสู่สงครามด้วยข้อเรียกร้อง21ข้อ (Twenty-one Demands) ในปี ค.ศ 1915 การประท้วงครั้งใหญ่ในกรุงปักกิ่งในปี ค.ศ. 1919 รวมทั้งแนวความคิดของฝ่ายพันธมิตร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา) ทำให้ญี่ปุ่นยอมยกเลิกส่วนใหญ่ของข้อเรียกร้องดังกล่าว และส่งมอบ เกาโจว (Kiaochow) คืนให้แก่จีนในปีค.ศ. 1922", "title": "จักรวรรดินิยมในเอเชีย" }, { "docid": "148722#20", "text": "ในปี ค.ศ. 1939 กองทัพญี่ปุ่นพยายามที่จะขยายดินแดนไปทางภาคตะวันออกไกลของสหภาพโซเวียตจากแมนจูเรีย แต่กองทัพญี่ปุ่นปราชัยยับเยินต่อกองทัพผสมโซเวียต-มองโกเลียภายใต้การบัญชาการของนายพลเกออร์กี จูคอฟ ทำให้ญี่ปุ่นยุติการขยายตัวไปยังดินแดนทางตอนเหนือ และทั้งสองประเทศได้ดำรงรักษาสันติภาพอันไม่มั่นคงจนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1945", "title": "สงครามแปซิฟิก" }, { "docid": "185196#1", "text": "เป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ได้เกิดความขัดแย้งตามแนวชายแดนระหว่างรัสเซีย ญี่ปุ่นและจีน ตามดินแดนซึ่งในปัจจุบันเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ทางรถไฟสายจีนตะวันออก () เป็นทางรถไฟที่เชื่อมระหว่างแมนจูเรียและภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย และทางรถไฟที่แยกไปทางทิศใต้ของทางรถไฟสายจีนตะวันออกนั้น หรือที่เรียกกันว่า ทางรถไฟสายแมนจูเรียใต้ ได้กลายมาเป็นจุดสำคัญที่นำไปสู่สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น และต่อมาได้นำไปสู่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง และสงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่นด้วยเช่นกัน ความขัดแย้งที่ได้ขยายออกไปนั้น อย่างเช่น ความขัดแย้งจีน-โซเวียต (1929) และกรณีมุกเดน ในปี ค.ศ. 1931", "title": "ยุทธการทะเลสาบคาซาน" }, { "docid": "345980#1", "text": "CEFEO ได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1945 แทนที่กองกำลังรบนอกประเทศฝรั่งเศสภาคพื้นตะวันออกไกล (\"Forces Expéditionnaires Françaises d'Extrême-Orient\", FEFEO) มีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนนายพลกิลเบ ซาบัตเต ผู้บัญชาการกองพลอาณานิคม \"กองกำลังฝรั่งเศสอินโดจีน\" (\"Forces Françaises d'Indochine\") ซึ่งมีฐานปฏิบัติการอยู่ในไซ่ง่อน และกลุ่มต่อต้านของฝรั่งเศสเสรีกลุ่มเล็ก ๆ คอร์ปเลเดอเดอีนเตอเวนซียง ซึ่งได้ต่อสู้กับกลุ่มกองทัพรบนอกประเทศทางใต้ญี่ปุ่น ระหว่างการทัพอินโดจีนฝรั่งเศสที่สอง หลังจากการปลดปล่อยฝรั่งเศสและการล่มสลายของนาซีเยอรมนีในยุโรป ทางการฝรั่งเศสต้องการ \"ปลดปล่อย\" กองทัพฝ่ายอักษะชุดสุดท้ายที่ยังยึดครองดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมไปถึงจักรวรรดิเวียดนาม ซึ่งเพิ่งจะถูกก่อตั้งใหม่เป็นอาณานิคมญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1945 เลอแลกได้รับเสนอชื่อเป็นผู้บัญชาการของ CEFEO เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน เลอแลกได้ย้ายอำนาจบัญชาการกองพลยานเกราะที่ 2 หน่วยทหารที่มีชื่อเสียงผู้ซึ่งปลดปล่อยกรุงปารีสในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 ให้แก่พันเอกดีโอ เลอแลกได้รับอำนาจบัญชาการกองกำลังฝรั่งเศสตะวันออกไกล (\"Forces Françaises en Extrême-Orient\") เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม", "title": "กองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลฝรั่งเศส" }, { "docid": "291681#0", "text": "ยูคอน () เป็นดินแดนทางตะวันตกสุดและเป็นดินแดน ใน 3 ดินแดนที่เล็กที่สุดของประเทศแคนาดา ตั้งชื่อตามแม่น้ำยูคอน ซึ่งคำว่ายูคอนมีความหมายว่า \"แม่น้ำใหญ่\" ในภาษา Gwich’in ดินแดนนี้ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1898 ในชื่อดินแดนยูคอน ", "title": "ยูคอน" }, { "docid": "674576#0", "text": "ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี (Russian: Петропа́вловск-Камча́тский) เป็นเมืองใหญ่เพียงแห่งเดียวบนคาบสมุทรคัมชัตคาและเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของคัมชัตคาไครทางตะวันออกไกลของรัสเซีย มีประชากรราว ๆ 180,000 คนหรือกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรในดินแดนคัมชัตคาไครทั้งหมด", "title": "ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี" }, { "docid": "267108#1", "text": "ระหว่างยุคแห่งการสำรวจสเปนก็เริ่มไปตั้งหลักแหล่งอยู่ในหมู่เกาะแคริบเบียนและผู้พิชิต (conquistador) ก็เริ่มโค่นจักรวรรดิท้องถิ่นที่พบเช่นจักรวรรดิแอซเท็คและจักรวรรดิอินคา ต่อมาคณะสำรวจก็ขยายดินแดนของจักรวรรดิสเปนตั้งแต่บริเวณที่เป็นแคนาดาปัจจุบันในทวีปอเมริกาเหนือไปจนจรดเตียร์ราเดลฟวยโกทางตอนใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ การเดินทางสำรวจของสเปนเป็นการเดินทางรอบโลกที่เริ่มโดยเฟอร์ดินันด์ มาเจลลันในปี ค.ศ. 1519 และจบลงด้วย Juan Sebastian Elcano ในปี ค.ศ. 1522 ซึ่งเป็นการสำรวจสมตามความตั้งใจของโคลัมบัสในการพยายามหาเส้นทางไปยังเอเชียโดยการเดินทางไปทางตะวันตก ซึ่งทำให้สเปนหันมาสนใจในตะวันออกไกล โดยการก่อตั้งอาณานิคมในเกาะกวม, ฟิลิปปินส์ และเกาะใกล้เคียง ระหว่าง “ยุคทองของสเปน” (Siglo de Oro) จักรวรรดิสเปนประกอบด้วยเนเธอร์แลนด์, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม, ส่วนใหญ่ของอิตาลี, บางส่วนของเยอรมนี, บางส่วนของฝรั่งเศส, ดินแดนในแอฟริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย และดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สเปนก็ครอบครองดินแดนที่กว้างใหญ่ที่สุดกว่าที่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ก่อนหน้านั้น", "title": "จักรวรรดิสเปน" }, { "docid": "9961#25", "text": "บรรพบุรุษของกุบไลข่านเคยผิดหวังที่จะพิชิตคาบสมุทรเกาหลีมาก่อนในช่วงปี พ.ศ. 1761 (ค.ศ. 1218) สมัยจอมทัพเจงกิลข่าน และในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 1774 ถึง พ.ศ. 1776 เคยส่งทหารไปพิชิตดินแดนตะวันออกไกล แม้ว่าจะประสบความสำเร็จมีอำนาจเหนือดินแดนส่วนใหญ่ของเกาหลี แต่ก็ไม่อาจควบคุมได้เบ็ดเสร็จ ในปี พ.ศ. 1776 (ค.ศ. 1233) พระเจ้าโกจงแห่งราชวงศ์โครยอได้เสด็จหนีกองทัพมองโกลไปยังเกาะคังฮวา ใกล้ฝั่งตะวันตกของแผ่นดินเกาหลี", "title": "จักรวรรดิมองโกล" }, { "docid": "895730#0", "text": "ดินแดนฮาบารอฟสค์ () เป็นเขตการปกครองของประเทศรัสเซีย โดยตั้งอยู่ในทางภูมิศาสตร์คือใน ภูมิภาคตะวันออกไกลของประเทศ และเป็นส่วนหนึ่งของเขตสหพันธ์ตะวันออกไกล โดยมีศูนย์กลางการบริหารคือ ฮาบารอฟสค์ ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในดินแดนนี้และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภูมิภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย (รองจาก วลาดีวอสตอค) ดินแดนฮาบารอฟสค์ เป็นเขตการปกครองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของรัสเซีย และและใหญ่เป็นอันดับที่ 21 ของโลก โดยมีประชากรทั้งหมด 1,343,869 คน (2010 Census)", "title": "ดินแดนฮาบารอฟสค์" }, { "docid": "134906#1", "text": "รูห์น (Rhûn) เป็นดินแดนที่ห่างไกลออกไป ทางตะวันออกของมิดเดิลเอิร์ธ มีเพียงทางตะวันตกของดินแดนรูห์นเท่านั้น ที่ปรากฏในแผนที่ เป็นดินแดนของมนุษย์ที่เรียกตนเองว่า อีสเตอร์ลิง (Easterlings) ชาวอิสเตอร์ลิงอยู่ภายใต้อาณัติของมอร์กอธจนกระทั่งถึงเซารอนมาโดยตลอด และพวกเขาก็เป็นศัตรูของมนุษย์ทางตะวันตกมาทุกยุคทุกสมัย สภาพและความเป็นไปในดินแดนรูห์นมีข้อมูลน้อยมาก ทางตะวันตกติดกับมอร์ดอร์ และดินแดนตะวันตก (Wilderland) ซึ่งหมายถึงดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขามิสตี้นั่นเอง และมี ทะเลสาบรูห์น (Sea of Rhun) เป็นพรมแดนกั้นอยู่ ทิศใต้ติดกับดินแดนคานด์ (Khand) และไกลออกไปคือ ดินแดนฮารัด (Harad) ", "title": "รูห์น" }, { "docid": "22707#16", "text": "คอโมโรสเป็นสถานีทางการค้าที่สำคัญของบรรดาพ่อค้าที่จะเดินทางไปค้าขายยังตะวันออกไกลหรืออินเดียมาโดยตลอดจนกระทั่งได้มีการเปิดใช้คลองสุเอซ ซึ่งได้ช่วยลดการจราจรทางน้ำในเขตช่องแคบโมซัมบิกได้อย่างมาก สินค้าธรรมชาติที่ส่งออกส่วนใหญ่ก็คือ มะพร้าว วัว ควายและกระดองเต่า ผู้ตั้งรกรากชาวฝรั่งเศส บริษัทจากฝรั่งเศสหรือแม้แต่พ่อค้าชาวอาหรับผู้มั่งคั่งได้วางรากฐานเศรษฐกิจที่ขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรมซึ่งกินพื้นที่ในการเพาะปลูกเพื่อส่งออกกว่า 1 ใน 3 หลังจากการผนวกดินแดนฝรั่งเศสก็ได้เปลี่ยนเกาะมายอต ให้กลายเป็นดินแดนอาณานิคมเพื่อการปลูกน้ำตาล และไม่นานทุกเกาะก็ได้ถูกเปลี่ยนให้เป็นดินแดนเพื่อการเพาะปลูกพืชส่งออกเช่นกัน พืชเหล่านั้น เช่น กระดังงา วานิลลา กาแฟ ต้นโกโก้ สับปะรด เป็นต้น [16]", "title": "ประเทศคอโมโรส" }, { "docid": "148969#5", "text": "นอกจากนี้ยังมีการตีความว่า สีทั้งสามในธงชาติแสดงถึงการจัดลำดับชั้นทางสังคมในสมัยจักรวรรดิรัสเซีย โดย สีขาวหมายถึงพระเจ้า สีน้ำเงินหมายถึงพระเจ้าซาร์ (จักรพรรดิ) สีแดงหมายถึงพลเมืองทั้งหมด หรือในอีกทฤษฎีหนึ่ง ซึ่งแพร่หลายโดยทั่วไป เป็นการตีความว่าสีทั้งสามหมายถึงดินแดนรัสเซียส่วนต่างๆ กล่าวคือ สีขาวหมายถึงเบลารุส (แปลว่า รัสเซียขาว) สีน้ำเงินหมายถึงยูเครน หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ มาโลรอสเซีย (แปลว่า รัสเซียน้อย) และสีแดง หมายถึงดินแดนรัสเซียใหญ่ (Great Russia)", "title": "ธงชาติรัสเซีย" }, { "docid": "185196#5", "text": "ภายใต้การบังคับบัญชาของ Vasily Blyukher จอมพลแห่งแนวตะวันออกไกล ซึ่งได้เรียกกำลังหนุนเข้าสู่พื้นที่ และหลังจากการรบหลายครั้งระหว่างวันที่ 2 สิงหาคม จนถึงวันที่ 9 สิงหาคม กองทัพโซเวียตก็สามารถขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกไปจากดินแดนโซเวียตได้สำเร็จ", "title": "ยุทธการทะเลสาบคาซาน" }, { "docid": "470679#3", "text": "สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 7 ทรงอนุญาตให้ตั้งคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสขึ้นในปี ค.ศ. 1660 เพื่อไปปฏิบัติหน้าที่มิชชันนารีประกาศข่าวดีในดินแดนตะวันออกไกล คณะมิชชันนารีกลุ่มนี้ได้เข้ามาเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในอาณาจักรอยุธยาตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และได้ตั้งมิสซังสยามขึ้นมีสถานะเป็นเขตผู้แทนพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1662 โดยมีมุขนายกหลุยส์ ลาโน เป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังสยามองค์แรก ", "title": "สำนักมิสซัง" }, { "docid": "40875#3", "text": "ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 การแสดงดนตรีแจซในญี่ปุ่นได้หยุดชะงักลงชั่วคราวเนื่องด้วยการกดดันจากฝ่ายทหารของจักรพรรดิญี่ปุ่น แต่พอสงครามได้สิ้นสุดลงแล้ว แนวดนตรีจากต่างประเทศ ทั้งบูกี-วูกี แมมโบ บลูส์ และคันทรี ก็ต่างตบเท้าทยอยเข้ามาสู่ดินแดนอาทิตย์อุทัยอย่างไม่ขาดสาย โดยผู้ที่นำเข้าดนตรีเหล่านี้ก็คือทหารของสหรัฐอเมริกาที่เข้าไปทำงานในญี่ปุ่นและกลุ่มเครือข่ายตะวันออกไกล ", "title": "เจป็อป" }, { "docid": "254394#0", "text": "บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล (, , ) เป็นวรรณกรรมบันทึกประสบการณ์ของการเดินทางไปยังตะวันออกไกลระหว่าง ค.ศ. 1271 ถึง ค.ศ. 1298 ที่เขียนโดยมาร์โค โปโลและรุสติเชลโล ดา ปิซาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 หนังสือนี้เรียกกันเล่นๆ ว่า “เรื่องฝอยล้านเรื่อง” (Il Milione) หรือ “หนังสือตื่นตา” (The Book of Wonders) บันทึกการเดินทางไปยังดินแดนต่างรวมทั้งเอเชีย, เปอร์เชีย, จีน และ อินโดนีเซีย ที่บางครั้งก็เรียกว่า “บรรยายดินแดนตะวันออก” (Oriente Poliano) หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเล่มสำคัญและเป็นหนังสือที่แพร่หลายในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มาร์โค โปโลอ้างว่าได้กลายเป็นคนสำคัญในราชสำนักของกุบไล ข่าน แต่นักวิชาการในสมัยปัจจุบันโต้แย้งกันถึงระดับความเที่ยงตรงของเนื้อหา ว่ามาร์โค โปโลได้ท่องเที่ยวไปยังราชสำนักจริงหรือเพียงแต่เล่าจากปากคำของนักเดินทางผู้อื่น “บันทึกการเดินทางของมาร์โค” เขียนเป็นภาษาฝรั่งเศสร่วมกับนักเขียนนวนิยายรักรุสติเชลโล ดา ปิซา (Rustichello da Pisa) ที่กล่าวว่าเขียนจากคำบอกเล่าของมาร์โค โปโลเมื่อเป็นนักโทษอยู่ด้วยกันในเจนัว", "title": "บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล" }, { "docid": "393952#1", "text": "เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ดังกล่าว หมายถึงดินแดนของรัฐภาคี ตลอดจนไหล่ทวีปและเขตเศรษฐกิจจำเพาะของรัฐภาคี \"ดินแดน\" หมายถึงดินแดนทางบก แหล่งน้ำภายใน ทะเลอาณาเขต น่านน้ำหมู่เกาะ ก้นทะเล ตลอดจนใต้ดินดังกล่าวและน่านฟ้าเหนือดินแดนด้วย", "title": "สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้" }, { "docid": "3656#16", "text": "ฝรั่งเศสได้เข้าไปลงหลักปักฐานผลประโยชน์ของตนทั้งทางด้านศาสนาและทางด้านการค้าในอินโดจีนตั้งแต่ในศตวรรษที่ 17 แต่ความพยายามที่จะประสานผลประโยชน์ทั้งสองด้านเข้าด้วยกันเพื่อสถาปนาเขตอิทธิพลของฝรั่งเศสขึ้นนั้นไม่สามารถเป็นไปได้ เนื่องจากจะต้องเผชิญหน้ากับอังกฤษที่กำลังแข็งแกร่งเฟื่องฟู แผ่อำนาจไล่ล่าอาณานิคมอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ขณะที่ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายปราชัยอยู่ในยุโรปในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 และต้นศตวรรษที่ 19 ต่อมาในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 กลุ่มเคร่งศาสนาได้กลับฟื้นคืนสู่อำนาจอีกครั้งในฝรั่งเศสอันเป็นช่วงที่เรียกกันว่า \"จักรวรรดิที่ 2\" (the Second Empire) สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ ทำให้ความสนใจต่อผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในตะวันออกไกลมีกระแสเพิ่มสูงขึ้น และเมื่อเกิดกระแสต่อต้านศาสนาคริสต์ขึ้นในดินแดนตะวันออกไกล เช่น การจับกุม กลั่นแกล้งและสังหารชาวคริสต์ ฯลฯ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงกลายเป็นเหตุผลสำคัญทำให้ฝรั่งเศสก้าวเข้าแทรกแซงฝ่ายบริหารของชนถ้องถิ่น ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1856 จีนสั่งประหารชีวิตมิชชันนารีฝรั่งเศสที่ไปเผยแพร่ศาสนาอยู่ในดินแดนทางใต้ของจีน และในปี ค.ศ. 1857 จักรพรรดิเวียดนามซึ่งกำลังเผชิญหน้ากับปัญหาวิกฤติในประเทศ ได้พยายามทำลายอิทธิพลของต่างชาติในเวียดนามโดยการสั่งประหารชีวิตบิชอปชาวสเปนแห่งตังเกี๋ย (Tonkin) ฝรั่งเศสซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์นโปเลียนที่ 3 ตัดสินใจว่า ถ้าฝรั่งเศสไม่เข้าไปช่วย ศาสนาคาทอลิกจะถูกจำกัดให้สูญหายไปจากดินแดนตะวันออกไกล พระองค์จึงร่วมมือกับอังกฤษทำสงครามกับจีน เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1857 ไปจนถึงปี ค.ศ. 1860 พร้อมกับทำสงครามยึดเวียดนามด้วย และในปี ค.ศ. 1860 ฝรั่งเศสก็เข้ายึดครองไซง่อนไว้ได้", "title": "จักรวรรดินิยมในเอเชีย" }, { "docid": "764593#0", "text": "ดินแดนแทรก () หมายถึง ส่วนใด ๆ ของรัฐที่ถูกดินแดนของรัฐอื่นล้อมไว้ทั้งหมด ดินแดนส่วนแยก () คือ ส่วนของรัฐที่ถูกแยกทางภูมิศาสตร์จากส่วนหลักโดยดินแดนโดยรอบ ดินแดนส่วนแยกหลายแห่งยังเป็นดินแดนแทรกด้วย บางทีคำว่า ดินแดนแทรก ใช้อย่างไม่เหมาะสมหมายความถึงดินแดนที่ถูกรัฐอื่นล้อมไว้บางส่วน ตัวอย่างประเทศที่เป็นดินแดนแทรก คือ ซานมารีโนและเลโซโท ตัวอย่างดินแดนส่วนแยกมีสาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีชีวันและกัมปีโอเนดีตาเลีย (Campione d'Italia) ซึ่งกัมปีโอเนดีตาเลียยังเป็นดินแดนแทรกด้วย", "title": "ดินแดนแทรกและดินแดนส่วนแยก" }, { "docid": "262686#1", "text": "ความต้องการที่จะขยายดินแดนไปทั่วโลกของโปรตุเกสเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อนักสำรวจเริ่มดินทางไปสำรวจทางฝั่งทะเลของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1419 หลังจากที่ได้รับชัยชนะต่อเมืองเซวตา (Ceuta) ทางตอนเหนือของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1415 โปรตุเกสใช้ความก้าวหน้าล่าสุดทางการเดินเรือ, การเขียนแผนที่ และเทคโนโลยีทางทะเลเช่นการใช้เรือคาราเวล (Caravel) ในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่มีค่าที่สุดในยุคนั้น ในปี ค.ศ. 1488 บาร์ตูลูเมว ดีอัช (Bartolomeu Dias) เดินทางรอบแหลมกูดโฮปสำเร็จ และในปี ค.ศ. 1498 วาสโก ดา กามาก็เดินทางรอบอินเดีย ขณะที่การสำรวจเหล่านี้เป็นการแสดงถึงอำนาจของโปรตุเกสในต่างประเทศแต่จุดประสงค์ที่แท้จริงของการสำรวจก็เพื่อเป็นการขยายเส้นทางการค้าที่เน้นการแสวงหาเส้นทางใหม่ไปยังตะวันออกไกล โดยไม่ต้องเดินทางผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ขณะนั้นอยู่ภายใต้อิทธิพลของอำนาจของฝ่ายปฏิปักษ์โดยเฉพาะจักรวรรดิออตโตมัน", "title": "จักรวรรดิโปรตุเกส" }, { "docid": "296121#4", "text": "คำว่า \"ดินแดนไม่รู้จัก\" (Unknown Regions)นี้ส่วนใหญ่หมายถึงบริเวณกว้างใหญ่ที่ยังไม่ได้รับการสำรวจ (บางครั้งใช้ในความหมายว่าบริเวณนอกเหนือจากจานกาแลกซี) ระหว่างบาคูรากับดินแดนของเดนจักรวรรดิซึ่งส่วนใหญ่เป็นดินแดนของสถาบันเรืองอำนาจชิส ดินแดนไม่รู้จักนี้มีดาวฤกษ์อยู่ประมาณไม่กี่พันล้านดวงจากสี่แสนล้านดวงทั่วกาแลกซี ด้วยสาเหตุบางอย่างที่ยังไม่ปรากฏชัดทำให้ยังไม่มีเส้นทางไฮเปอร์สเปซที่ใช้งานได้เข้าถึงบริเวณนี้ คำว่า \"ดินแดนไม่รู้จัก\" นี้ยังนับรวมถึงบริเวณที่ยังไม่ได้รับการสำรวจในบริเวณหนาแน่นเช่นเนบิวลา, กระจุกดาวทรงกลม และกาแลกติกเฮโล จักรวรรดิกาแลกติกได้ส่งกลุ่มนักสำรวจจำนวนมากไปสำรวจและยึดครองดินแดนในเขตไม่รู้จักนี้ พ้นจากขอบของดินแดนนี้ไปมีความปั่นป่วนในไฮเปอร์สเปซที่สุดเขตกาแลกซีอยู่", "title": "กาแลกซี (สตาร์ วอร์ส)" }, { "docid": "28845#0", "text": "ไซบีเรีย (, ) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี ค.ศ. 630 จนต่อมา พวกมองโกลได้เข้ายึดครองในช่วงศตวรรษที่ 13 และในที่สุด ได้กลายมาเป็น Siberian Khana อำนาจที่ยิ่งใหญ่ของมองโกลในภูมิภาคตะวันออกเริ่มลดลง จนในศตวรรษที่ 16 กลุ่มแรกที่เข้ามาในเขตนี้คือพวกพ่อค้า และกลุ่มคอสแซก จากนั้นกองทัพซาร์ก็เริ่มเข้ามาสร้างป้อมปราการในเขตตะวันออกไกล เมืองหลายเมืองก็ถูกสร้างขึ้นเช่น Mangazeva Tara เป็นต้น และในช่วงกลางศตวรรษที่17 จักรวรรดิรัสเซียก็ได้ขยายดินแดนไปจรดถึงชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ", "title": "ไซบีเรีย" }, { "docid": "69436#1", "text": "ในทางประวัติศาสตร์ ชาติมหาอำนาจในยุโรปเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกดินแดนแถบนี้และกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกว่าตะวันออกไกลเนื่องจากอยู่ห่างไกลจากอาณาจักรของตนไปทางทิศตะวันออก", "title": "ตะวันออกไกล" }, { "docid": "273871#3", "text": "การใช้คำว่า “พลัดถิ่น” ที่กว้างกว่าความหมายเดิมวิวัฒนาการมาจากนโยบายการขับไล่ประชากรขนานใหญ่ของอัสซีเรียในดินแดนที่พิชิตได้ เพื่อเป็นการไม่ให้ผู้ถูกไล่กลับมาอ้างสิทธิในดินแดนของตน ในสมัยกรีซโบราณ คำว่า “διασπορά” แปลว่า “การหว่าน” และใช้เป็นคำที่หมายถึงประชากรของนครรัฐที่มีอิทธิพลผู้อพยพไปตั้งหลักแหล่งยังดินแดนที่พิชิตได้โดยมีจุดประสงค์ในการยึดเป็นอาณานิคมเพื่อรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของจักรวรรดิ", "title": "การพลัดถิ่น" }, { "docid": "49500#1", "text": "ยูโกสลาเวีย, ที่ใช้ในภาษาไทยนั้นทับศัพท์จากปริวรรตเป็นอักษรละตินว่า \"Jugoslavija\", โดยการแยกคำดังนี้ jug (ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย \"j\" ปริวรรตเป็นอักษรภาษาอังกฤษตรงกับ \"y\") และ slavija. คำแปลในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย ภาษามาซิโดเนีย, และ ภาษาสโลวีเนีย คำว่า \"jug\" หมายถึง \"ทิศใต้\", ส่วนคำว่า \"slavija\" (\"สลาเวีย\") หมายถึง (\"ดินแดนสลาฟ\"). คำว่า \"Jugoslavija\" \"หมายถึง\" \"สลาฟ-ใต้\" หรือ \"ดินแดนแห่งชาวสลาฟตอนใต้\". เป็นการรวมตัวของ 6 ชนชาติในดินแดนสลาฟใต้ ซึ่งประกอบด้วย: ชาวโครเอเชีย, ชาวมาซิโดเนีย, ชาวมอนเตรเนโกร, ชาวบอสเนีย, ชาวเซิร์บ และ ชาวสโลวีน. ยูโกสลาเวีย ได้ประกาศใช้เป็นชื่อประเทศอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1945 จนถึง ค.ศ. 1992.", "title": "สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย" }, { "docid": "895785#0", "text": "ดินแดนปรีมอร์สกี () เป็นเขตการปกครองของประเทศรัสเซีย โดยตั้งอยู่ในทางภูมิศาสตร์คือใน ภูมิภาคตะวันออกไกลของประเทศ และเป็นส่วนหนึ่งของเขตสหพันธ์ตะวันออกไกล โดยมีศูนย์กลางการบริหารคือ วลาดีวอสตอค ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในดินแดนนี้และใหญ่ที่สุดของภูมิภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย ดินแดนปรีมอร์สกีมีประชากรทั้งหมด 1,956,497 คน (สำมะโนประชากร ณ ปี 2010) ", "title": "ดินแดนปรีมอร์สกี" }, { "docid": "895785#1", "text": "ในอดีตดินแดนปรีมอร์สกีเป็นของแมนจูเรีย ก่อนจะถูกยกให้กับจักรวรรดิรัสเซีย โดย ราชวงศ์ชิงในปี ค.ศ. 1860 โดยเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่รู้จักกันในชื่อ \"แมนจูเรียนอก\" ซึ่งเป็นอาณาบริเวณของ แคว้นปรีมอร์สกายา ในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซียดินแดนนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐตะวันออกไกล ก่อนจะเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต โดยผ่านการเปลี่ยนแปลงหลายรูปแบบจนเป็นดินแดนรูปแบบปัจจุบันในปี ค.ศ. 1938 ดินแดนปรีมอร์สกียังเป็นที่ตั้งของ กองเรือแปซิฟิก (Russian Pacific Fleet) ของกองทัพเรือรัสเซีย", "title": "ดินแดนปรีมอร์สกี" }, { "docid": "160018#1", "text": "สงครามครูเสดใช้ดินแดนศักดิ์สิทธิ์เป็นสาเหตุในการยึดคืนเพราะเป็นดินแดนที่มีความหมายต่อพันธสัญญาใหม่ ในปัจจุบันดินแดนบริเวณนี้เป็นดินแดนของความขัดแย้งระหว่างอาหรับและอิสราเอล", "title": "แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "8538#40", "text": "พลเรือเอกโทโง ได้ตระหนักอย่างดีถึงความเคลื่อนไหวของรัสเซียภายหลังจากเสียดินแดนพอร์ตอาเธอร์ไป ว่ากองเรือรัสเซียกำลังพยายามไปเทียบท่าที่ท่าเรือรัสเซียอื่นๆในตะวันออกไกล ตลอดจนวลาดิวอสต็อก ระหว่างนี้ นายพลโทโงได้เริ่มวางแผนการรบ และซ่อมบำรุงเรือรบต่างๆ เพื่อเตรียมรับกับการมาเยือนของกองเรือบอลติก", "title": "สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น" } ]
1777
สีประจำ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คืออะไร?
[ { "docid": "669#12", "text": "ธรรมจักร เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย[16] โดยตราธรรมจักรนี้มี 12 แฉก อันหมายถึง อริยสัจ 4 ซึ่งวนอยู่ในญาณ 3 คือ สัจจญาณ กิจจญาณ และ กตญาณ และมีพานรัฐธรรมนูญอยู่ตรงกลาง อันหมายถึงการยึดมั่นและรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย[17] เพลงประจำมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ทำนองมอญดูดาว) เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยเพลงแรก ประพันธ์โดยขุนวิจิตรมาตรา เมื่อ พ.ศ. 2478[18] สีเหลืองแดง เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย ดังปรากฏในเนื้อเพลง \"เพลงประจำมหาวิทยาลัย\" (มอญดูดาว) ที่ว่า \"เหลืองของเราคือธรรมประจำจิต แดงของเราคือโลหิตอุทิศให้\" มีความหมายถึง ความสำนึกในความเป็นธรรมและความเสียสละเพื่อสังคม นับเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ปีแรกของการก่อตั้ง คือ พ.ศ. 2477[18] เพลงพระราชนิพนธ์ธรรมศาสตร์ (ยูงทอง) เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน[19] โดยในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2504 ได้มีนักศึกษากลุ่มหนึ่งขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ขณะเสด็จมาทรงดนตรี ณ เวทีลีลาศ สวนอัมพร ภายในพระราชวังดุสิต พระองค์รับสั่งว่าจะทรงพระราชนิพนธ์เพลงประจำมหาวิทยาลัยพระราชทานให้แก่นักศึกษาธรรมศาสตร์", "title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" } ]
[ { "docid": "334577#7", "text": "หางนกยูงฝรั่งเป็นต้นไม้พระราชทานให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ชาวธรรมศาสตร์เรียกว่า \"ต้นยูงทอง\") และนอกจากนี้ยังเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์", "title": "หางนกยูงฝรั่ง" }, { "docid": "203504#21", "text": "1. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. รายงานประจำปี 2554.กรุงเทพฯ: ,2554 2.คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. รายงานประจำปี 2555.กรุงเทพฯ: เอ็มไอซีพริ้นติ้งกรุ๊ป จำกัด,2556 3.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2555 (1 สิงหาคม 2555), กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556", "title": "คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "73261#55", "text": "กีฬานิติสัมพันธ์ เป็นการแข่งขันกีฬา และจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยจัดขึ้น ปีละ 1 ครั้งเป็นประจำทุกปี ทั้งนี้ จะสลับกันเป็นเจ้าภาพ กีฬาที่จัดแข่งขันกัน มี 2 ประเภท คือ ฟุตบอล และ บาสเกตบอล โดยจะแบ่งเป็นประเภท ทีมน้องใหม่ ทีมรวม และ ทีมอาจารย์ หลังจากเสร็จการแข่งขันกีฬา จะมีการเลี้ยงอาหาร และกิจกรรมรื่นเริง ระหว่าง นิสิต-นักศึกษา อันได้แก่ การเล่นดนตรี การแสดงต่างๆงานประเพณีสิงห์สัมพันธ์ เป็นกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง พี่น้องสิงห์ทุกสถาบัน เพื่อกระชับสัมพันธไมตรี ไม่ต้องแบ่งสี แบ่งก๊ก แบ่งเหล่า (เริ่มจาก 5 มหาวิทยาลัย คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) และต่อมามี 6 สถาบัน สถาบันที่เพิ่มเข้ามาคือ มหาวิทยาลัยบูรพา(อดีตมศว บางแสน) โดยเข้ามาในปีที่ 5 ของการจัดงาน ในปี2554 จะเป็นการแข่งขันครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยที่เป็นเจ้าภาพคือมหาวิทยาลัยบูรพา และต่อมาในปี 2557 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เข้ามาในปีที่ 9 และงานประเพณีสิงห์สัมพันธ์ ครั้งที่ 11 เจ้าภาพโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2561", "title": "กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย" }, { "docid": "669#93", "text": "คอนเสิร์ตประสานเสียงสามสถาบัน จุฬาฯ เกษตรศาสตร์ ธรรมศาสตร์ การแสดงคอนเสิร์ตร่วมของสถานศึกษา 3 แห่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานเพลงประจำ คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งิ้วธรรมศาสตร์ การแสดงล้อเลียนเสียดสีการเมืองโดยดัดแปลงมาจากงิ้ว เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ที่ชุมนุมนาฏศิลป์ มักใช้เรื่องสามก๊กผสานกับสถานการณ์บ้านเมืองในขณะนั้น[72][73] โขนธรรมศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นโดยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เมื่อ พ.ศ. 2509 ปัจจุบันอยู่ในการดูแลของสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในความอุปถัมถ์ของ มูลนิธิคึกฤทธิ์ 80[74]", "title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "290867#2", "text": "ตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยในครั้งนี้ ออกแบบโดยการนำเอาสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เข้ามาประกอบ ได้แก่ ตึกโดมและสีเหลืองแดง ซึ่งเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย เมื่อมองตราสัญลักษณ์โดยภาพรวมแล้วจะเห็นเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย", "title": "กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37" }, { "docid": "36069#4", "text": "สำหรับการแต่งกายของเชียร์ลีดเดอร์ทั้งสองสถาบันก็เริ่มพัฒนาจากเดิมที่มีการแต่งการสร้างสีสันการนำเชียร์หน้าอัฒจันทร์ของประธานเชียร์ หรือ ผู้นำร้องเพลง โดยกลุ่มผู้นำเชียร์จะแต่งกายเป็นกลุ่ม เหมือนกัน โดยเน้นความทะมัดทะแมงโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางกลุ่มผู้นำเชียร์ของธรรมศาสตร์ จะมีการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ คือนอกเหนือจากจะใช้สี หรือสัญลักษณ์ประจำสถาบันที่โดดเด่น ยังมักแฝงแนวคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดหลักการการจัดงาน การเชียร์ หรือ ในปีนั้น ๆ ส่วนทางจุฬาฯ มักจะเน้นการแต่งกายที่อ่อนหวาน โก้หรู โดยใช้สีชมพู หรือขาวสอดคล้องกับประเพณีการเชียร์และเพลงสถาบันเช่นกัน", "title": "เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "62242#7", "text": "ภายหลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สมศักดิ์ได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาการปกครองที่ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. 2536 ก่อนจะย้ายมาเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี พ.ศ. 2537 โดยรับผิดชอบเป็นผู้บรรยายวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ ประวัติศาสตร์รัสเซีย ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ และ ปรัชญาประวัติศาสตร์ โดยอนุญาตให้ผู้มิได้ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นเข้ามานั่งเรียน หรือที่เรียกว่า \"ซิทอิน\" ได้เช่นเดียวกับอาจารย์หลายรายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และไม่เคยขอตำแหน่งทางวิชาการใด ๆ ระหว่างที่รับราชการอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์", "title": "สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล" }, { "docid": "70645#9", "text": "ในปี พ.ศ. 2534 มีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรวบรวมการเรียกชื่อปริญญาและสีประจำสาขาวิชาทั้งของสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ไว้ในพระราชกฤษฎีกาฉบับเดียวกัน และพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ได้มีการสะกดชื่อปริญญาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนแตกต่างไปจากเดิมเล็กน้อย โดยตัดเครื่องหมายทัณฑฆาตท้ายคำว่า \"ศาสตร์\" ออก ดังพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534 ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 122 วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 (7) สาขาวิชาวารสารศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น ได้แก่", "title": "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "48749#12", "text": "สัญลักษณ์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ \"สิงห์แดง\"", "title": "คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "73261#41", "text": "กีฬาฟุตบอล-บาสเกตบอลประเพณี เศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นงานระหว่าง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นประจำทุกปี โดยสลับกันเป็นเจ้าภาพ\nกีฬา 4 บ. เป็นกีฬาสัมพันธ์ระหว่างคณะบริหารธุรกิจของ 4 มหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่บริเวณที่ ถนนวิภาวดีรังสิต ตัดผ่าน ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย", "title": "กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย" }, { "docid": "61431#3", "text": "เรวัตหัดเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 11 ปี โดยบิดาบังคับให้เรียนแซกโซโฟน เขากับเพื่อนๆ โรงเรียนเซนต์คาเบรียลตั้งวงดนตรี ชื่อ Dark Eyes ต่อมาเปลี่ยนชื่อวงเป็น Mosrite และเข้าประกวดในงานของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ในปี พ.ศ. 2508 และ 2509\nขณะเรียนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2510 ได้ร่วมกับเพื่อนตั้งวง Yellow Red (เหลือง-แดง คือสีประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) เพื่อนในวงคนสำคัญคือ ดนู ฮันตระกูล และจิรพรรณ อังศวานนท์", "title": "เรวัต พุทธินันทน์" }, { "docid": "669#14", "text": "หางนกยูงฝรั่ง เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงปลูกไว้บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่จำนวน 5 ต้น เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 เวลา 14:30 นาฬิกา พร้อมกับพระราชทานให้เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[21] ดอกมีสีเหลือง–แดง สัมพันธ์กับสีประจำมหาวิทยาลัย", "title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "5519#203", "text": "งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จามจุรี (ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย) พระเกี้ยว (ตราประจำมหาวิทยาลัย) เพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์ (เพลงประจำมหาวิทยาลัย) รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด (สโมสรฟุตบอลอาชีพของมหาวิทยาลัย)", "title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "669#122", "text": "จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ คณะราษฎร ธรรมจักร (ตราประจำมหาวิทยาลัย) เพลงพระราชนิพนธ์ธรรมศาสตร์ (ยูงทอง) (เพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน) หางนกยูงฝรั่ง (ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตึกโดม งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ โดม เอฟซี - สโมสรฟุตบอลอาชีพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โขนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา เหตุการณ์ 14 ตุลาคม เหตุการณ์ 6 ตุลาคม", "title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "22165#2", "text": "พระองค์รับสั่งว่า จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงประจำมหาวิทยาลัยพระราชทานให้แก่นักศึกษาธรรมศาสตร์ จนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 พระองค์เสด็จมาทรงดนตรี ณ หอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และทรงบรรเลงทำนองเพลงที่จะพระราชทานให้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัย เนื้อร้องนั้นนายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์) ประพันธ์ขึ้นตามที่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ร่าง", "title": "ยูงทอง" }, { "docid": "59477#27", "text": "ศ.ดร.เกษม จันทร์แก้ว อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตอธิบดีกรมป่าไม้และที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ศ.ดร.โสภณ เริงสำราญ อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาเคมี และอดีตหัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ดร.สุทธิชัย อัสสะบำรุงรัตน์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ปี 2546 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้วยวัยเพียง 35 ปี ผศ.ดร.ศราวุฒิ จิตรภักดี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ปี 2546 และอาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผศ.ดร.ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ปี 2548 และนักวิจัยประจำศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ นักวิชาการและที่ปรึกษาของฝ่ายสื่อสิ่งพิมพ์และมัลติมีเดีย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเป็นหนึ่งในกลุ่ม 5 อาจารย์นิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ รศ.ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม นายแพทย์ นคร มธุรดาวงศ์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์", "title": "โรงเรียนทวีธาภิเศก" }, { "docid": "329275#4", "text": "ทั้งนี้สถาบันภาษา ยังมีการจัดสอบวัดระดับภาษาอังกฤษเป็นประจำทุกปี โดยมีบริการจัดสอบ TU-GET (Thammasat University General English Test) และ TU-STEPS (Thammasat University Standartised Test of English Profesional Skills) นอกจากนี้ยังมีบริการจัดสอบวัดระดับในระดับมัธยมศึกษา (TU-SET) และอาชีวศึกษา (TU-VET) ด้วยโดยให้การอบรมภาษาอังกฤษแก่บุคคลทั่วไปที่อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีในหลักสูตรต่างๆ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ดังนี้", "title": "สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "342312#1", "text": "ธรรมจักร หมายถึง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนื่องจากโรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคมเป็นโรงเรียนสวัสดิการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำโรงเรียน", "title": "โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม" }, { "docid": "5519#157", "text": "งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีที่จัดติดต่อกันมายาวนานระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ กิจกรรมนี้ได้รับความสนใจของสื่อมวลชนแขนงต่าง ๆ อย่างมากในทุก ๆ ปี งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ เป็นการแข่งขันรักบี้ฟุตบอล ที่จัดขึ้นทุกปีติดต่อกันมาอย่างยาวนาน ระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เช่นเดียวกับงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ แต่มีประวัติการกำเนิดที่ต่างกัน และจัดขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่ตรงกัน จัดขึ้นที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นมหกรรมการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ซึ่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัย 5 แห่งแรกที่เริ่มส่งนิสิตเข้าร่วมการแข่งขัน งานฟุตบอลยูลีก เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมฟุตบอลสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย การประกวดมิสยูลีก เป็นการประกวด นักศึกษาสาว ในงานฟุตบอลยูลีก โดยคัดเลือกจากนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการฟุตบอลยูลีก คอนเสิร์ตประสานเสียงสามสถาบัน จุฬาฯ เกษตรศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (CKT) เป็นงานแสดงร้องเพลงประสานเสียงที่จัดร่วมกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(C) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(K) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(T) ซึ่งทั้งสามมหาวิทยาลัยล้วนได้รับพระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัย", "title": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" }, { "docid": "365983#0", "text": "รองศาสตราจารย์กฤษติกา คงสมพงษ์ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2508) เป็นนายกสมาคมแม่บ้านทหารบก, อาจารย์ประจำสาขาการตลาด สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษสาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตพิธีกรรายการกำจัดจุดอ่อนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และรายการลูกใครหว่า อีกทั้งได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรอยู่บ่อยครั้ง", "title": "กฤษติกา คงสมพงษ์" }, { "docid": "353356#1", "text": "สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เดิมมีชื่อว่า สมาคมบัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีความเป็นมาลำดับ คือ เมื่อ พ.ศ. 2491 คณะกรรมการประจำคณะปริญญาโทและเอกได้ประชุมกันและมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ดำเนินการจัดตั้งสมาคมผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ขึ้น โดยได้กำหนดให้มีการประชุมธรรมศาสตร์บัณฑิต ทุกรุ่น เพื่อปรึกษาหารือกันจัดตั้งคณะกรรมการร่างข้อบังคับของสมาคม และต่อมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2493 จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการร่างข้อบังคับของสมาคมขึ้นมีจำนวน 15 นาย ณ ห้องประชุมมหาวิทยาลัย", "title": "สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์" }, { "docid": "48749#14", "text": "ต้นไม้ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ ต้นจำปี", "title": "คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "203504#18", "text": "งิ้วล้อการเมือง คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือที่รู้จักกันในชื่องิ้วธรรมศาสตร์ เป็นการแสดงล้อเลียนเสียดสีสถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน ที่นำเอาอุปรากรจีนหรืองิ้วมาดัดแปลง เริ่มมีตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ที่ชุมนุมนาฏศิลป์ ส่วนใหญ่มักใช้เรื่องสามก๊กผสานกับสถานการณ์บ้านเมืองในขณะนั้น ๆ เป็นสำคัญ การแสดงงิ้วธรรมศาสตร์หยุดไปช่วงหนึ่งหลังเหตุการณ์ 6 ตุลามหาวิปโยค และกลับมาอีกครั้งเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 จากนั้นก็หยุดไป และมาเริ่มอีกครั้งในการขับไล่ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันงิ้วธรรมศาสตร์ที่เล่นอยู่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จริง ๆ กับงิ้วที่เล่นในการชุมนุมเรียกร้อง ขับไล่นายกทักษิณนั้นเป็นคนละงิ้วกัน แต่มีที่มาเดียวกัน กล่าวคือเป็นงิ้วที่เริ่มจากคณะนิติศาสตร์ และต่อมาคณะนิติศาสตร์ไม่มีคนสืบงานต่อ งิ้วล้อการเมืองธรรมศาสตร์ปัจจุบันจึงตกสืบเนื่องมาเป็นงิ้วของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นชมรมปิด รับเฉพาะนักศึกษาสังคมสงเคราะห์เท่านั้น เรียกได้ว่า งิ้วล้อการเมืองคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เล่นโดยนักศึกษาจริง ๆ ซึ่งการเล่นนั้นจะเล่นบทให้เข้ากับสถานณ์บ้านเมืองและใช้เหตุและผล ความคิดของนักศึกษาอย่างแท้จริง ส่วนงิ้วที่เล่น ณ เวทีพันธมิตร เป็น แค่ศิษย์เก่าธรรมศาสตร์ที่สนับสนุนฝ่ายพันธมิตรและเคยเล่นงิ้วมาก่อน และใช้ชื่อว่า งิ้วธรรมศาสตร์ ทั้ง ๆ ที่งิ้วธรรมศาสตร์ที่แท้จริงและเล่นโดยนักศึกษาธรรมศาสตร์นั้นคือ งิ้วล้อการเมือง คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยงานประจำที่งิ้วล้อการเมืองเล่นทุกปี คือ งานรับเพื่อนใหม่ งานวันครบรอบการสถาปณาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และงานเปิดโลกกิจกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันคณะงิ้วล้อการเมืองเปิดรับงานแสดงทั้งในและนอกสถานที่ตลอดทั้งปีอีกด้วย", "title": "คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "669#49", "text": "เป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวที่จัดโดยมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอันดับ 8 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 73 ของโลก[48]", "title": "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "10315#0", "text": "งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2477[1] แต่ละมหาวิทยาลัยจะสลับกันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันทุกปี ชื่อของมหาวิทยาลัยที่เป็นเจ้าภาพจะได้รับเกียรติให้ขึ้นต้นชื่องานฟุตบอลประเพณีในปีนั้น สถานที่จัดการแข่งขันจะไม่สลับตามเจ้าภาพ แต่จะจัดงานที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ เป็นประจำทุกปี กองเชียร์ของมหาวิทยาลัยเจ้าภาพจะใช้อัฒจันทร์ฝั่งทิศเหนือ อีกฝ่ายจะใช้อัฒจันทร์ฝั่งทิศใต้", "title": "งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์" }, { "docid": "256488#6", "text": "ในปี พ.ศ. 2543 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งขณะนั้น ศาสตราจารย์ คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี เป็นนายสภามหาวิทยาลัย มีคำสั่งให้การบริหารโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เป็นอิสระโดยสังกัดสำนักงานอธิการบดี แยกออกจากคณะแพทยศาสตร์ ดังนั้นด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำคณะจึงได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารคณะ โดยถือหลักการปรับโครงสร้างของคณะแพทยศาสตร์ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ของคณะแพทยศาสตร์", "title": "คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "400621#12", "text": "ยุคแห่งผู้บริหารจาก \"ธรรมศาสตร์\" ในยุคนี้มีผู้อำนวยการถึง 3 คนที่จบปริญญาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ นายกุหลาบ ประภาสโนบล นายทอง พงศ์อนันต์ และนายชะลอ ปทุมานนท์ ซึ่งล้วนแล้วแต่นำสิ่งใหม่ๆมาสู่โรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นสีประจำโรงเรียน (เหลืองแดง) ต้นไม้ที่ปลูกรอบโรงเรียนล้วนได้รับอิทธิพลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แม้กระทั่งตราโรงเรียนยุคแรกก็ยังได้รับอิธิพลจากตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการตีพิมพ์วารสารโรงเรียนขึ้นเป็นครั้งแรกโดยได้รับความร่วมมือจากกระทรวงและเป็นการกำหนดหลักสูตรให้กับโรงเรียนโดยรอบจังหวัดผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่ทันสมัยในยุคนั้น\nสืบเนื่องจากนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลใหม่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงแยกโรงเรียนออกเป็นชายล้วนและหญิงล้วนในระหว่างช่วงนี้โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพลได้แยกนักเรียนหญิงในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปยัง \"โรงเรียนสตรีชัยภูมิ\" และได้ทำการสอนนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายตามปกติจนกระทั่งปี พ.ศ. 2483 โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพลจึงกลายโรงเรียนชายล้วนอย่างสมบูรณ์", "title": "โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล" }, { "docid": "68843#5", "text": "สัญลักษณ์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในโอกาสครบรอบ 48 ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ใน พ.ศ. 2556 มีที่มาจากแก้วหลากสี (polychrome glass) รูปศีรษะบุคคล สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ซึ่งพบบริเวณปากแม่น้ำโขง", "title": "คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "70645#8", "text": "ในคราวประชุมคณบดี ครั้งที่ 7/2533 เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2533 ได้มีมติให้คณะใหม่ ไปพิจารณาเลือกสีประจำคณะ ที่ไม่ซ้ำกับคณะเก่า สำหรับคณะเก่า ก็ขอให้กำหนดสีที่ชัดเจนด้วย คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน จึงนำเข้าพิจารณา ในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ที่ประชุมมีมติกำหนดให้สีม่วงเม็ดมะปรางเป็นสีประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนนับแต่นั้นเป็นต้นมา", "title": "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" } ]
2813
การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยที่ยกเลิกไปในปีอะไร ?
[ { "docid": "178653#0", "text": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์</b>เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[1] และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ในรัชกาลต่อมา ซึ่งกฎหมายดังกล่าวกำหนดให้การประหารชีวิตบุคคลทุกชนชั้นกระทำโดยการตัดศีรษะ[2]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" } ]
[ { "docid": "178653#13", "text": "มีบัญญัติไว้ในกฎหมายตราสามดวง ส่วนพระอัยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมืองว่า \"หมื่นทะลวงฟัน\" มีหน้าที่เป็นหน่วยรักษาความปลอดภัยและหน่วยจู่โจม[3] ซึ่งในการประหารพระราชวงศ์ด้วยท่อนจันทน์นี้ หมื่นทะลวงฟันมีหน้าที่เป็นเพชฌฆาต", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "282716#10", "text": "เบื้องต้นพระเพทราชาได้ถวายการต้อนรับเหล่าเจ้านายเป็นอย่างดี ก่อนลอบประหารเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ต่อมาจึงได้จับกุมพระราชอนุชาคลุมด้วยผ้ากำมะหยี่แล้วทุบด้วยท่อนจันทน์[12] ณ วัดซาก แขวงเมืองลพบุรี[13] โดยเจ้านายที่ถูกสำเร็จโทษสามพระองค์ได้แก่ เจ้าฟ้าอภัยทศ เจ้าฟ้าน้อย[14] และพระปีย์[3] แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงบันทึกไว้ว่าเจ้านายที่ถูกสำเร็จโทษเป็นพระราชอนุชาสองพระองค์คือ เจ้าฟ้าอภัยทศ พระอินทรราชาหรือพระองค์อินท์ และพระราชบุตรบุญธรรมคือพระปีย์[15] ส่วนกรมหลวงโยธาเทพ พระราชธิดาทรงถูกสงวนไว้สำหรับเป็นพระมเหสีของพระเพทราชา[16][17] แต่พระปีย์ พระราชบุตรบุญธรรมถูกสำเร็จโทษด้วยการผ่าร่างออกเป็นสามส่วน[18]", "title": "เจ้าฟ้าน้อย" }, { "docid": "176675#7", "text": "หม่อมไกรสรถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ที่วัดปทุมคงคา เมื่อวันพุธ เดือนอ้าย แรม 3 ค่ำ ปีวอก สัมฤทธิศก จ.ศ. 1210 ตรงกับวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391 รวมพระชันษา 56 ปี และเป็นพระราชวงศ์องค์สุดท้ายที่ถูกสำเร็จโทษด้วยวิธีนี้", "title": "หม่อมไกรสร" }, { "docid": "956158#5", "text": "เบื้องต้นพระเพทราชาได้ถวายการต้อนรับเหล่าเจ้านายเป็นอย่างดี ก่อนลอบประหารเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ต่อมาจึงได้จับกุมพระราชอนุชาคลุมด้วยผ้ากำมะหยี่แล้วทุบด้วยท่อนจันทน์ ณ วัดซาก แขวงเมืองลพบุรี โดยเจ้านายที่ถูกสำเร็จโทษสามพระองค์ได้แก่ เจ้าฟ้าอภัยทศ เจ้าฟ้าน้อย และพระปีย์ แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงบันทึกไว้ว่าเจ้านายที่ถูกสำเร็จโทษเป็นพระราชอนุชาสองพระองค์คือ เจ้าฟ้าอภัยทศ พระอินทรราชาหรือพระองค์อินท์ และพระราชบุตรบุญธรรมคือพระปีย์ ส่วนกรมหลวงโยธาเทพ พระราชธิดาทรงถูกสงวนไว้สำหรับเป็นพระมเหสีของพระเพทราชา แต่พระปีย์ พระราชบุตรบุญธรรมถูกสำเร็จโทษด้วยการผ่าร่างออกเป็นสามส่วน", "title": "เจ้าฟ้าอภัยทศ" }, { "docid": "178653#22", "text": "ศาสตราจารย์<b data-parsoid='{\"dsr\":[12222,12245,3,3]}'>นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักวิชาการไทย ให้ความเห็นว่า \"การประหารเจ้านายด้วยพิธีกรรมอันอลังการดังที่กล่าวนี้ไม่รู้จะแปลเป็นภาษาฝรั่งว่าอย่างไร อังกฤษมีคำที่ผูกจากละตินว่า regicide แปลตามตัวก็คือ \"สังหารพระเจ้าแผ่นดิน\"[15] แล้วฝรั่งก็ใช้คำนี้ในความหมายทื่อ ๆ ตามนั้น เช่น เอามีดจิ้มให้ตายอย่างที่แมคเบธ[16]ทำ หรือเอาไปบั่นพระเศียรเสียด้วยกิโยตีน ซึ่งไม่ได้เป็นพระราชกิโยตีนด้วย เพราะกิโยตีนอันนั้นใช้ประหารได้ตั้งแต่โสเภณียันพระราชา หรือเอาไปขังไว้ในหอคอยรอให้ตายโดยดี ครั้นไม่ตายก็เลยเอาหมอนอุดจมูกให้ตายเสีย เป็นต้น ฉะนั้นถ้าพูดถึงการประหารเจ้านายของไทยว่าเป็น regicide จึงทำให้ฝรั่ง (และคนไทยที่ไม่เข้าใจประวัติศาสตร์ไทย) เข้าใจไขว้เขวไปหมด มันไม่ใช่อย่างนั้นครับ ไม่ใช่อย่างนั้น\"[17] \"การประหารเจ้านายด้วยพิธีกรรมอันซับซ้อนแสดงให้เห็นว่าคนไทยแต่ก่อนมองพระมหากษัตริย์ในฐานะที่เป็นสถาบันอย่างชัดแจ๋วเลยทีเดียว จะชิงราชบัลลังก์ขจัดพระเจ้าแผ่นดินออกไปไม่ใช่แค่เอาบุคคลที่เป็นพระเจ้าแผ่นดินไปฆ่าง่าย ๆ อย่างนั้น เอาไปฆ่านั้นฆ่าแน่ แต่จะฆ่าบุคคลอย่างไรจึงไม่กระทบต่อสถาบัน เพราะเขาแย่งชิงราชบัลลังก์ ไม่ได้พิฆาตราชบัลลังก์ซึ่งต้องสงวนไว้ให้เขาขึ้นไปครองแทน ฉะนั้นเลือดเจ้าจึงตกถึงแผ่นดินไม่ได้ ต้องสวมถุงแดงไม่ให้ใครถูกเนื้อต้องตัวพระบรมศพ ใช้ท่อนจันทน์ในการประหาร ฯลฯ...\"[17] \"จุดอ่อนที่สุดอย่างหนึ่งของสถาบันกษัตริย์นับแต่ต้นอยุธยาก็คือ ปัญหาการสืบราชสมบัติ คุณสมบัติเพียงประการเดียวของผู้มีสิทธิจะสืบราชสมบัติได้ก็คือความเป็นเชื้อพระวงศ์\"[18] ปรามินทร์ เครือทอง นักวิชาการอิสระ ผู้เขียนหนังสือเรื่อง \"สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์\" ให้ความเห็นว่า[19] \"คงจะเป็นการไม่ยุติธรรมหากเราเอาความรู้สึกปัจจุบันไปตัดสินกระบวนการทางการเมืองดังกล่าว เพราะภาพที่เราเห็นคือพ่อฆ่าลูก อาฆ่าหลาน พี่ฆ่าน้อง เป็นเรื่องที่รับไม่ได้ในปัจจุบัน แต่หลายเหตุการณ์ในอดีตนั้นกลับชี้ให้เราเห็นว่า ผู้ที่ได้รับการละเว้นมักจะกลับคืนมาพร้อมที่จะ 'ฆ่า' เพื่อทวงบัลลังก์คืนเช่นกัน ดังนั้น จึงไม่มีการครอบครองพระราชอำนาจโดยปราศจากความหวาดระแวง สิ่งนี้เป็นเสมือนคำสาปที่อยู่คู่กับราชบัลลังก์สยามมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ในสมัยรัตนโกสินทร์...\"", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "178653#16", "text": "สำหรับการประหารพระราชวงศ์ด้วยท่อนจันทน์ นายแวงและขุนดาบมีหน้าที่รักษาความปลอดภัยในมณฑลพระราชพิธีประหาร โดยเฉพาะนายแวงยังมีหน้าที่ควบคุมตัวผู้ต้องโทษประหารด้วยท่อนจันทน์ไปยังมณฑลดังกล่าวอีกด้วย ซึ่งในการควบคุมตัวดังกล่าว มาตรา 175 ยังให้อำนาจนายแวงสามารถจับกุมผู้มีพฤติกรรมต้องสงสัยได้ทันที ทั้งนี้ บัญญัติไว้ว่า \"เมื่อไปนั้น ถ้ามีเรือผู้ใดเข้าไปผิดประหลาดอัยการนายแวง ท้าวพระยาห้วเมือง มนตรีมุข ลูกขุนแต่นาหนึ่งหมื่นถึงนาหกร้อยผู้ใดส่งลูกเธอก็ดี ให้ของส่งของฝากก็ดี อัยการนายแวงได้กุมเอาตัวเป็นขบถตามโทษนุโทษ\"[3] [10]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "17119#10", "text": "สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และโปรดเกล้าให้ย้ายราชธานีมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และในต่อมาได้พระราชทานนามใหม่ว่า กรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ พระราชโอรสพระองค์โตในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เช่นกัน", "title": "อาณาจักรธนบุรี" }, { "docid": "178653#10", "text": "มาตรา 176 ของกฎมนเทียรบาล ในกฎหมายตราสามดวง บัญญัติไว้ว่า \"ถ้าแลโทษหนักถึงสิ้นชีวิตไซร้ ให้ส่งแก่ทะลวงฟันหลังและนายแวงหลังเอาไปมล้างในโคกพญา...\" โดยมิได้ระบุรายละเอียดโทษดังกล่าวไว้ ทั้งนี้ ในกฎมนเทียรบาลเองมีบัญญัติข้อปฏิบัติ ข้อห้าม และข้อกำหนดโทษสำหรับพระราชวงศ์ตลอดจนนางสนมกรมในไว้ โดยโทษมีตั้งแต่ระดับโบย จำ เนรเทศ และประหารชีวิต ส่วนข้อปฏิบัติและข้อห้ามนั้นส่วนใหญ่เพื่อป้องกันความไม่เหมาะสมทางเพศ เช่น การพูดจา ไปมาหาสู่ และ/หรือมีสัมพันธ์กับนางสนมกรมใน นอกจากนี้ ในส่วนเฉพาะสำหรับพระราชกุมารยังมีข้อห้ามอื่น ๆ เพื่อป้องกันการกบฏต่อพระราชบัลลังก์อีกด้วย เป็นต้นว่า มาตรา 77 ห้ามมิให้ขุนนางที่มีศักดินาตั้งแต่แปดร้อยถึงหนึ่งหมื่นไร่ไปมาหาสู่กับพระราชโอรสและ/หรือพระราชนัดดา หากขุนนางใดละเมิดฝ่าฝืนต้องระวางโทษประหารชีวิต[3]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "208805#9", "text": "ในปี พ.ศ. 2352 หลังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ เสด็จสวรรคตได้เพียง 3 วัน เกิดการกล่าวโทษว่าพระองค์คบคิดกับขุนนางจำนวนหนึ่งว่าคิดแย่งชิงราชสมบัติ จนเกิดคดีเป็นกบฏ หลังจากไต่สวนได้ความเป็นจริง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงโปรดให้ชำระโทษถอดพระยศ ลงพระราชอาญา ให้สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ที่วัดปทุมคงคา เมื่อวันพุธ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 10 จ.ศ. 1171 หรือวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2352 พร้อมพระอนุชาต่างมารดา คือพระองค์เจ้าชายอรนิกา และพระขนิษฐา พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ ซึ่งถูกข้อหาสมรู้ร่วมคิด ผู้ร่วมสมรู้ร่วมคิดอื่นได้ถูกประหารชีวิตที่สำเหร่ รวมทั้งพระโอรสทั้งหมดในเจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุชิตถูกสำเร็จโทษด้วยวิธีการถ่วงน้ำ ในเหตุกบฏเจ้าฟ้าเหม็นด้วย ", "title": "หม่อมเหม็น" }, { "docid": "178653#8", "text": "ปรามินทร์ เครือทอง เชื่อว่า ปีที่ระบุในบานแผนกน่าจะเป็นปีรัชกาลของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ไม่น่าใช่ปีรัชกาลของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เนื่องจากการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ได้มีมาก่อนรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแล้ว โดยปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาดังต่อไปนี้", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "282751#3", "text": "พระเพทราชาซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญอยู่ในแผ่นดินด้วยการสนับสนุนของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ซึ่งเป็นน้องสาว มิได้คัดค้านคำพิจารณาพิพากษา หรือขอรับพระราชทานอภัยโทษให้แก่ท้าวศรีจุฬาลักษณ์เลย กลับเป็นคนแรกที่ธำรงอำนาจวาสนาตนไว้ ด้วยการเสนอให้พิจารณาลงโทษนางที่เคยพระคุณต่อตนถึงขั้นประหารชีวิต คณะที่ปรึกษาได้พิจารณาลงโทษให้เอานางสนมไปโยนให้เสือกินเสีย ส่วนเจ้าฟ้าน้อยนั้นก็ทรงต้องระวางโทษให้สำเร็จโทษด้วยการใช้ไม้จันทน์สองท่อนบีบอัดเสียให้สิ้นพระชนม์ โดยอย่าให้โลหิตตกต้องแผ่นดินได้ โดยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ประหารพระสนมเอกตามคำพิพากษา ส่วนพระอนุชาธิราชได้พระราชทานผ่อนโทษลง ด้วยเหตุที่ว่า พระเชษฐภคินีองค์หนึ่งซึ่งพระองค์ทรงรักใคร่มากนั้น เมื่อใกล้จะถึงกาลกิริยาได้กราบทูลขอให้พระองค์ทรงชุบเลี้ยงพระอนุชาธิราชพระองค์นี้ เสมอว่าพระองค์เป็นพระบิดา ด้วยพระนางเธออำรุงเลี้ยงมาด้วยความเสน่หายิ่ง สมเด็จพระนารายณ์ฯจึงให้ลงทัณฑ์เสมอที่บิดาทำต่อบุตร แต่ด้วยถือเป็นการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ จึงทรงทรงพิจารณาลงทัณฑ์ให้สาหัสด้วยหวาย และทรงเห็นว่าพระเพทราชาเป็นผู้หนึ่งที่ปรารถนาที่จะสำเร็จโทษเจ้าชาย เพื่อเป็นการแก้แค้นที่กระทำการลบหลู่พระเกียรติของพระองค์ จึงมีพระราชอาญาให้พระเพทราชา กับพระปีย์เป็นผู้ลงโทษ ", "title": "ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม)" }, { "docid": "178653#20", "text": "วิธีการนั้นถ้าเป็นแบบปรกติจะต้องใส่ถุงแดงให้เรียบร้อยก่อน เจ้าหน้าจึงอัญเชิญไปยังลานพิธี แล้วปลงพระชนม์ตามพระราชอาญา นอกจากนี้ยังมีการสำเร็จโทษด้วยวิธีอื่น ๆ อีกเช่น ใส่หลุมอดอาหาร ฝังทั้งเป็น ถ่วงน้ำ ตัดพระเศียร และวิธีพิสดาร", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "9019#6", "text": "ในครั้งนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มาก มีพระราชดำรัสให้ค้นหาตัวจนทั่วพระราชวัง แต่พบเพียงพระองค์เจ้าชื่นและพระองค์เจ้าเกิดที่สมรู้ร่วมคิดเท่านั้น จึงมีพระราชดำรัสให้นำตัวทั้ง 2 พระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์", "title": "เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์" }, { "docid": "318008#1", "text": "เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงสืบเชื้อสายราชตระกูลมาจากราชวงศ์เวียงจันทน์อันเก่าแก่ พระองค์ทรงเป็นพระโอรสในเจ้าเสือกับเจ้านางท่อนแก้ว เจ้าเสือผู้เป็นพระบิดานั้นเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๕ (สมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์) พระมหากษัตริย์แห่งนครเวียงจันทน์พระองค์สุดท้าย ดังนั้น เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์จึงมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ในสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๕ และเป็นพระราชปนัดดา (เหลนทวด) ในสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๓ (สมเด็จพระเจ้าสิริบุญสาร) ฝ่ายพระมารดาคือเจ้านางท่อนแก้วนั้นเป็นพระธิดาในสมเด็จเจ้ามหาอุปฮาต (ติสสะ) ผู้เป็นอุปราชนครหลวงเวียงจันทน์ในสมัยสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๕ และสมเด็จเจ้ามหาอุปฮาต (ติสสะ) ยังเป็นพระราชอนุชาต่างพระมารดากับสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๕ ดังนั้น เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์จึงมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดา (หลานตา) ในสมเด็จเจ้ามหาอุปฮาต (ติสสะ) อีกด้วย", "title": "เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์" }, { "docid": "178653#11", "text": "อย่างไรก็ดี ตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ผู้รับโทษประหารชีวิตด้วยท่อนจันทน์นี้มักเป็นพระราชวงศ์ที่ต้องโทษทางการเมือง เป็นต้นว่า มีการชิงพระราชบัลลังก์ และผู้กระทำการดังกล่าวสำเร็จจะสั่งให้ประหารพระมหากษัตริย์พระองค์เดิม ตลอดจนพระราชวงศ์ และบุคคลใกล้ชิดทั้งปวงของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวอีกด้วย เพื่อป้องกันความสั่นคลอนของพระราชบัลลังก์ในภายหลัง อีกกรณีหนึ่งคือการที่พระมหากษัตริย์สิ้นพระชนม์และมีพระราชบุตรทรงอยู่ในพระราชสถานะที่จะเสด็จขึ้นทรงราชย์ได้ แต่มีบุคคลที่สามต้องการพระราชบัลลังก์เช่นกัน จึงจำเป็นต้องมีการกำจัดพระราชบุตรคนดังกล่าวตลอดจนผู้เกี่ยวข้องไปให้พ้นทาง[8]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "178653#4", "text": "ปรามินทร์ เครือทอง ผู้เขียนหนังสือ \"สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์\" ได้ตรวจสอบพระราชพงศาวดารต่าง ๆ ปรากฏปีเสด็จขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแตกต่างดังต่อไปนี้[5]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "178653#6", "text": "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธ์ไว้ในหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาว่า \"ข้าพเจ้าเชื่อว่าศักราชอย่างลงไว้ในฉบับหลวงประเสริฐนั้นถูก...\" ในกรณีนี้ ปี จ.ศ. ที่ระบุไว้ในบานแผนกได้แก่ จ.ศ. 720 ก่อนสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นทรงราชย์เก้าสิบปี (จ.ศ. 810) ซึ่งกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงแก้ว่า น่าจะเป็นเพราะอาลักษณ์เขียนผิด โดยเขียนเลข 8 เป็นเลข 7 ที่ถูกคือ จ.ศ. 820[7] ทั้งนี้ หากนับตามปีปฏิทินแล้ว จ.ศ. 720 ตรงกับปีจอ ซึ่งในบานแผนกว่าปีชวด และปีชวดจะตรงกับ จ.ศ. 722", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "282716#12", "text": "หมวดหมู่:เจ้าฟ้า หมวดหมู่:พระราชบุตรในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หมวดหมู่:ผู้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ หมวดหมู่:คนพิการ", "title": "เจ้าฟ้าน้อย" }, { "docid": "281280#2", "text": "เหตุการณ์ในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับกรมพระราชวังบวรเป็นอย่างมาก จึงนำไปสู่ศึกกลางเมืองระหว่างวังหน้าและวังหลวงขึ้น โดยกรมพระราชวังบวรฯเป็นฝ่ายมีชัยและเสด็จขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 หรือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หลังจากนั้นพระองค์มีพระราชดำรัสให้นำตัวเจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ตามโบราณราชประเพณี", "title": "กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์" }, { "docid": "208805#1", "text": "ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงถูกฟ้องร้องว่าคิดวางแผนก่อการกบฏ จึงถูกถอดยศเป็น \"หม่อมเหม็น\" และถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ที่วัดปทุมคงคา พร้อมทั้งประหารพระโอรสทั้งหกพระองค์ด้วยการไปล่มน้ำที่ปากอ่าว", "title": "หม่อมเหม็น" }, { "docid": "178653#18", "text": "ขุนใหญ่ในการประหารพระราชวงศ์ด้วยท่อนจันทน์นี้ได้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นประธานในพระราชพิธีสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ในกรณีที่ไม่เสด็จพระราชดำเนินไปด้วยพระองค์เอง ทั้งนี้ ขุนใหญ่มีหน้าที่ไปกำกับการพระราชพิธีต่างพระเนตรพระกรรณเพื่อให้การเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีหน้าที่อ่านประกาศพระบรมราชโองการพระราชทานโทษประหารชีวิตในมณฑลพระราชพิธีก่อนจะเริ่มประหารด้วย[11]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "58861#2", "text": "เมื่อสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงพระประชวรหนักและเสด็จลงมาประทับที่พระที่นั่งเบญจรัตน์นั้น ทรงพระกรุณามอบราชสมบัติและพระแสงขรรค์ชัยศรีให้เจ้าฟ้าไชย หลังจากนั้น 3 วัน สมเด็จพระเจ้าปราสาททองก็เสด็จสวรรคต พระองค์ได้ขึ้นสืบพระราชสันตติวงศ์ต่อในปี พ.ศ. 2199 มีพระนามว่าสมเด็จเจ้าฟ้าไชย หลังจากครองราชย์ได้ไม่นาน พระศรีสุธรรมราชา พระปิตุลา และพระนารายณ์ พระอนุชาต่างพระมารดา ได้ร่วมกันชิงราชสมบัติ แล้วจับกุมสมเด็จเจ้าฟ้าไชยไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ณ วัดโคกพระยา พระองค์ทรงครองราชสมบัติอยู่ได้ 9 เดือน", "title": "สมเด็จเจ้าฟ้าไชย" }, { "docid": "178653#1", "text": "การสำเร็จโทษด้วนท่อนจันทน์เป็นการประหารชีวิตพระราชวงศ์ซึ่งมีบัญญัติไว้ในมาตรา 176 แห่งกฎมนเทียรบาล กฎหมายตราสามดวงฉบับชำระในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ว่า[3] [4]", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "42758#2", "text": "เมื่อครองราชย์อยู่ได้ 1 ปี 2 เดือน พระศรีศิลป์และจมื่นศรีเสารักษ์ก็ร่วมกันนำกองกำลังเข้ายึดพระราชวังหลวง เมื่อทรงทราบก็ตกพระทัยอยู่ครู่หนึ่ง จึงตรัสว่า \"\"เวราเราแล้วก็ตามเถิด แต่อย่าให้ลำบากเลย\"\" พระองค์ถูกพันธนาการอย่างแน่นหนา จนรุ่งเช้าจึงให้พระภิกษุ 100 รูปมาบังสุกุล ถวายธูปเทียนขมา แล้วนำพระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ตรงกับปี พ.ศ. 2154 พระบรมศพถูกนำไปฝังที่วัดโคกพระยา", "title": "สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์" }, { "docid": "178653#23", "text": "หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย หมวดหมู่:กฎหมายไทย หมวดหมู่:กฎหมายอาญา หมวดหมู่:การประหารชีวิต หมวดหมู่:วัฒนธรรมไทย หมวดหมู่:ผู้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "178653#5", "text": "พระราชวงศาวดารฉบับพิมพ์ 2 เล่ม (ฉบับหมอบรัดเล): เสด็จขึ้นทรงราชย์ จ.ศ. 796 (พ.ศ. 1977) พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา: เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อปีขาล จ.ศ. 796 (พ.ศ. 1977) พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์: เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อปีมะโรง จ.ศ. 810 (พ.ศ. 1991)", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "178653#9", "text": "หากสรุปเอาตามพระบรมราชวินิจฉัยและความคิดเห็นของปรามินทร์ เครือทองข้างต้น ก็จะได้ว่ากฎมนเทียรบาลอันกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์นั้นประกาศใช้เป็นครั้งแรกในรัชกาลสมเด็จพระราชาธิบดีที่ 1", "title": "การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์" }, { "docid": "151547#12", "text": "ส่วนเจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์ พระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ ได้รับการสถาปนาในรัชกาลที่ 1 เป็น สมเด็จเจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์ กรมขุนกระษัตรานุชิต และเปลี่ยนพระนามเป็น ธรรมาธิเบศร์ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงถูกฟ้องร้องว่าคิดวางแผนก่อการกบฏ จึงถูกถอดยศเป็น \"หม่อมเหม็น\" และถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ที่วัดปทุมคงคา พร้อมพระโอรสทั้งหกพระองค์ เหลือแต่เหล่าพระธิดาซึ่งถูกถอดพระยศเป็น \"คุณ\" หรือ \"หม่อม\"", "title": "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่" }, { "docid": "208805#8", "text": "ที่ทรงเป็นหลานคนโตของเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ) พระราชทานนามใหม่เป็น เจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์ คนทั่วไปเรียกว่าเจ้าฟ้าอภัยทศ แต่เนื่องจากพระนามพ้องกับเจ้าฟ้าอภัยทศ แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ พ้องกับเจ้าฟ้าอภัย ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ซึ่งได้รับพระราชอาญาสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ในช่วงผลัดแผ่นดิน ทรงสดับรับสั่งว่า ไม่เป็นมงคล โปรดให้เปลี่ยนเป็นเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ ต่อมาปี พ.ศ. 2349 เป็นกรมขุนกษัตรานุชิต ครั้งทรงเจริญพระชันษา จึงโปรดเกล้าพระราชทานวังถนนหน้าพระลาน ด้านตะวันตก ซึ่งเรียกว่า \"วังท่าพระ\"", "title": "หม่อมเหม็น" } ]
2147
พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณมีภรรยาชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "27999#3", "text": "พลเอกชาติชาย สมรสกับ ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม โสพจน์) พระญาติของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี[7] มีบุตรชายคือ นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และบุตรสาวคือ วาณี ชุณหะวัณ [8] (อดีตภริยานายระวี หงษ์ประภาส มีบุตรสาวชื่อ ปวีณา หงส์ประภาส) [9] พลเอกชาติชาย เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี โรงเรียนเทพศิรินทร์และโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายทหารม้า และโรงเรียนยานเกราะกองทัพบก (อาร์เมอร์สคูล) รัฐเคนทักกี สหรัฐอเมริกา", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" } ]
[ { "docid": "650127#16", "text": "จำนวนผู้จบปริญญาเอก ในสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ มีจำนวน 22 รายจาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.5 มากกว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 ที่มีจำนวน 16 ราย จาก 220 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.27 มีผู้ที่มียศทหารและตำรวจไทย ทั้งหมด 78 ราย จาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 39 ยศกองอาสารักษาดินแดน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 3 ผู้มีตำแหน่งทางวิชาการ 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 7 และเป็นแพทย์ 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.5\n ดร. พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นายกองเอก วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นายกองเอก วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นาย วิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นายกองเอก ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n ดร. สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี\n รองศาสตราจารย์ ดร. สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นาย เสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นายกองเอก อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นาย อลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นายแพทย์ อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร. อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี", "title": "สภาปฏิรูปแห่งชาติ" }, { "docid": "27999#0", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก[1] ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "552082#0", "text": "อุปดิศร์ ปาจรียางกูร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อจากพิชัย รัตตกุล ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ถึง 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ในสมัยของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และเป็นเอกอัครราชทูตแห่งราชอาณาจักรไทยประจำสมาพันธรัฐสวิส ต่อจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ถึง พ.ศ. 2516 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล", "title": "อุปดิศร์ ปาจรียางกูร" }, { "docid": "636609#5", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ดังต่อไปนี้ \nพลโท ไพโรจน์ ทองมาเอง\nพลเอก ไพโรจน์ พานิชสมัย\nศาสตราจารย์พิเศษภัทรศักดิ์ วรรณแสง\nนายกองเอก ภาณุ อุทัยรัตน์\nพลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล\nนาย มณเฑียร บุญตัน\nนาย มนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด\nนายกองเอก มนุชญ์ วัฒนโกเมร\nพลเอก มารุต ปัชโชตะสิงห์\nพลเอก ยอดยุทธ บุญญาธิการ\nนาย ยุทธนา ทัพเจริญ\nพลเรือเอก ยุทธนา ฟักผลงาม\nพลเอก ยุวนัฏ สุริยกุล ณ อยุธยา\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน\nพลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์\nพลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร\nพลเอก วลิต โรจนภักดี\nพลตำรวจเอก ดร. วัชรพล ประสารราชกิจ\nนาย วันชัย ศารทูลทัต\nอาจารย์วัลลภ ตังคณานุรักษ์\nพลเรือเอก วัลลภ เกิดผล\nพลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา\nพลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ\nนาย วิทยา ฉายสุวรรณ\nนาย วิทวัส บุญญสถิตย์\nพลตำรวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้\nพลเอก วิลาศ อรุณศรี\nพลเรือโท วีระพันธ์ สุขก้อน\nนาย วีระศักดิ์ ฟูตระกูล\nพลเอก วีรัณ ฉันทศาสตร์โกศล\nรองศาสตราจารย์ วุฒิชัย กปิลกาญจน์\nผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์\nนาย ศรีศักดิ์ ว่องส่งสาร\nนาย ศักดิ์ชัย ธนบุญชัย\nดร. ศักดิ์ทิพย์ ไกรฤกษ์\nนาย ศิระชัย โชติรัตน์\nพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล\nดร. ศิริพล ยอดเมืองเจริญ\nพลอากาศเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ\nพลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ\nพลเอก ศุภกร สงวนชาติศรไกร\nพลเอก สกนธ์ สัจจานิตย์\nพลเอก สกล ชื่นตระกูล\nนาย สถิตย์ สวินทร\nพลเรือโท สนธยา น้อยฉายา\nศาตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว\nศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์\nศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์\nนาย สมชาย แสวงการ\nนาย สมบูรณ์ งามลักษณ์\nดร.สมพร เทพสิทธา\nนาย สมพล เกียรติไพบูลย์\nนาย สมพล พันธุ์มณี\nพลตำรวจเอก ดร. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง\nนาย สมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ\nพลเอก สมหมาย เกาฏีระ\nพลเอก สมเจตน์ บุญถนอม\nพลเอก สมโภชน์ วังแก้ว\nรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรณ บุญใบชัยพฤกษ์\nพลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์\nพลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร\nนาย สาธิต ชาญเชาวน์กุล\nนาย สีมา สีมานันท์\nพลเอก สุชาติ หนองบัว\nพลอากาศเอก สุทธิพันธ์ กฤษณคุปต์\nนาย สุธรรม พันธุศักดิ์\nนาย สุพันธุ์ มงคลสุธี\nรองศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ\nนาย สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย\nพลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์\nพลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์\nพลเอก สุรวัช บุตรวงษ์\nพลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์\nนาง สุวรรณี สิริเวชชะพันธ์\nพลเอก สุวโรจน์ ทิพย์มงคล\nนาง สุวิมล ภูมิสิงหราช\nนาง เสาวณี สุวรรณชีพ\nพลเอก โสภณ ศีลพิพัฒน์\nพลเอก อกนิษฐ์ หมื่นสวัสดิ์\nพลเอก องอาจ พงษ์ศักดิ์\nพลอากาศเอก อดิศักดิ์ กลั่นเสนาะ\nพลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์\nพลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์\nนายกองเอกอนุวัฒน์ เมธีวิบูลวุฒิ\nนาย อนุศาสน์ สุวรรณมงคล\nพลเรือเอก อมรเทพ ณ บางช้าง\nนางสาว อรจิต สิงคาลวณิช\nพลเอก อักษรา เกิดผล\nพลอากาศเอก อาคม กาญจนหิรัญ\nนาย อาคม เติมพิทยาไพสิฐ\nพลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์\nนาย อาศิส พิทักษ์คุมพล \nดร. อำพน กิตติอำพน\nพลโท อำพน ชูประทุม\nพลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย \nพลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์\nนาย อิสระ ว่องกุศลกิจ\nพลเอก อู้ด เบื้องบน\nพลตำรวจเอก เอก อังสนานนท์\nทั้งนี้หลังจากที่มีประกาศแต่งตั้งแล้ว อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรีได้ทำหนังสือแจ้งต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติขอไม่รับตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เนื่องจากจุฬาราชมนตรีเป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของศาสนาอิสลามในประเทศไทยจึงไม่สมควรรับตำแหน่งทางการเมือง และที่ผ่านมายังไม่มีใครทาบทามให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สนช. และได้ยื่นหนังสือลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2557 ในวันเดียวกันนี้ พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ได้ยื่นหนังสือลาออกเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนา วันที่ 4 สิงหาคม 2557 พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย ได้ยื่นหนังสือลาออกต่อเลขาธิการวุฒิสภาทำหน้าที่เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเคยถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557" }, { "docid": "71207#10", "text": "ทันทีที่เครื่องซี 130 เคลื่อนตัว ทหารสองนายในชุดซาฟารีสีน้ำตาลก็กระชากปืนจากเอวควบคุมรปภ. ทั้ง 20 คนเอาไว้ พร้อมๆ กับที่เครื่องบินลดความเร็วลงและ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อยู่ในสภาพถูกควบคุมตัวเรียบร้อย ขณะที่การปฏิบัติการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ทหารบกจำนวนสองพันก็เคลื่อนออกประจำจุดต่างๆ ที่กำหนดไว้ พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ออกจากกองทัพอากาศ สมทบกับ พลเอกสุจินดา คราประยูร พลเรือเอกประพัฒน์ กฤษณจันทร์ ผู้บัญชาการทหารเรือ และ พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดออกแถลงการณ์กับประชาชน", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "27999#23", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อ พ.ศ. 2532[18]", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "50800#5", "text": "ลำดับ (สมัย)รูปรายนามครม. คณะที่เริ่มวาระสิ้นสุดวาระ24พลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์4411 สิงหาคม พ.ศ. 25293 สิงหาคม พ.ศ. 253125 (1)พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ454 สิงหาคม พ.ศ. 253129 มีนาคม พ.ศ. 253326 (1)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ4530 มีนาคม พ.ศ. 253310 มิถุนายน พ.ศ. 253325 (2,3)พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ4521 มิถุนายน พ.ศ. 25339 ธันวาคม พ.ศ. 25334614 ธันวาคม พ.ศ. 253323 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 253427พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์476 มีนาคม พ.ศ. 253422 มีนาคม พ.ศ. 253528พลเอก สุจินดา คราประยูร4817 เมษายน พ.ศ. 253524 พฤษภาคม พ.ศ. 253529พลเอก บรรจบ บุนนาค4918 มิถุนายน พ.ศ. 253523 กันยายน พ.ศ. 253530พลเอก วิจิตร สุขมาก5029 กันยายน พ.ศ. 253513 กรกฎาคม พ.ศ. 253826 (3,4)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ5113 กรกฎาคม พ.ศ. 253824 พฤศจิกายน พ.ศ. 25395229 พฤศจิกายน พ.ศ. 25398 พฤศจิกายน พ.ศ. 254031นาย ชวน หลีกภัย5314 พฤศจิกายน พ.ศ. 25405 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 254426 (5)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ5417 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25443 ตุลาคม พ.ศ. 2545", "title": "รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย" }, { "docid": "22364#19", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ ชวลิต ยงใจยุทธ[17]", "title": "ชวลิต ยงใจยุทธ" }, { "docid": "644214#44", "text": "บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก อำนาจ จีระมณีมัย เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง เป็นรักษาการประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นาวาอากาศตรี ประจักษ์ สัจจโสภณ เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศโท ประกิต ศกุณสิงห์ เป็นกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ พลตำรวจโท มนู เมฆหมอก เป็นกรรมการอิสระ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด พลเอก สาธิต พิธรัตน์ เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจโท อติเทพ ปัญจมานนท์[45]พลตำรวจตรี สมพงษ์ ชิงดวง[46] เป็นกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง พลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์ และ พลตำรวจโท ไถง ปราศจากศัตรู เป็นกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พลเอก วลิต โรจนภักดี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นายกองโท ชยพล ธิติศักดิ์ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศโท กมลนัย ชัยเฉนียน เป็นกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร. ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พลเอก วราห์ บุญญะสิทธิ์ เป็นกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พลเอก วิวรรธน์ สุชาติ ประธานกรรมการ พลอากาศเอก ยุทธนา สุกุมลจันทร์[47] เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ บริษัท ขนส่ง จำกัด พลตรี สุรพล ตาปนานนท์ ประธานกรรมการบริษัท พลโท พรเลิศ วรสีหะ เป็นกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย พลเรือเอก ชัยณรงค์ เจริญรัตน์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) พลเรือเอก ธนะรัตน์ อุบล และ พันเอก นิมิตต์ สุวรรณรัฐ เป็นกรรมการอิสระ การประปาส่วนภูมิภาค พลตรี พงษ์สวัสดิ์ พรรณจิตต์ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต การประปานครหลวง นายกองเอก ฉัตรชัย พรหมเลิศ เป็นประธานกรรมการ พลอากาศเอก ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ และ พลตรี ปรัชญา เฉลิมวัฒน์ เป็นกรรมการ การยาสูบแห่งประเทศไทย พลโท สุรไกร จัตุมาศ ประธานกรรมการอำนวยการโรงงานยาสูบ สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พลโท อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ประธานกรรมการ พลตำรวจตรี สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข พลตรี ฉลองรัฐ นาคอาทิตย์ พันโท หนุน ศันสนาคม พันตำรวจโท อมร หงษ์ศรีทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พลเอก ถเกิงกานต์ ศรีอำไพ ประธานคณะกรรมการ สถาบันการบินพลเรือน พลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์ ประธานคณะกรรมการ ร้อยเอก ประยุทธ เสาวคนธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การรถไฟแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร.ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ[48] การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ และ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข กรรมการอิสระ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ ประธานกรรมการ นาวาอากาศเอก สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ และ พลตรี ดร.สมเกียรติ สัมพันธ์ เป็นกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) พันเอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่และกรรมการบริหาร องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พลเอก ชวลิต ชุนประสาน และ พลโท[49]ไพโรจน์ ทองมาเอง เป็นกรรมการ องค์การคลังสินค้า พลตำรวจตรี ไกรบุญ ทรวดทรง ประธานกรรมการ พันเอก (พิเศษ) ดร. ดิเรก ดีประเสริฐ รองประธานกรรมการ ร้อยตำรวจเอก ดร.สุธรรม เชื้อประกอบกิจ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พลเอก ณัฏฐิพงษ์ เผือกสกนธ์ กรรมการ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ประธานกรรมการ พลเอก ดรัณ ยุทธวงษ์สุข กรรมการและรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ พลตำรวจตรี กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ พลตำรวจตรี อภิชาติ สุริบุญญา ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร พลเรือโท วิพากษ์ น้อยจินดา กรรมการ องค์การสุรา กรมสรรพสามิต พันเอก บุญรอด ศรีสมบัติ กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) พลเอก เทียนชัย รับพร กรรมการอิสระ การเคหะแห่งชาติ พลเอก สุชาติ หนองบัว และ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร เป็นกรรมการ บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด พลเรือเอก พัลลภ ตมิศานนท์ ประธานกรรมการ พลเรือโท สุทธินันท์ สกุลภุชพงษ์ รองประธานกรรมการ พลเรือโท สุชีพ หวังไมตรี พลเรือโท ฐานันดร์ เข็มเพ็ชร พลเรือโท โสภณ วัฒนมงคล พลเรือโท ชุมศักดิ์ นาควิจิตร และ พลเรือตรี วิทยา ละออจันทร์ เป็นกรรมการ นาวาเอก พิชเยนทร์ ตันประเสริฐ เป็นกรรมการผู้จัดการ การกีฬาแห่งประเทศไทย พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร เป็นประธานกรรมการ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ‎ เป็นกรรมการ พล.ร.อ.ชัยณรงค์ เจริญรักษ์ เป็นกรรมการ พลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกีฬา[50] องค์การสะพานปลา พลเรือเอก เริงฤทธิ์ บุญส่งประเสริฐ เป็นกรรมการ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท เป็นกรรมการ องค์การสวนสัตว์ พันเอก ขจรศักดิ์ ไทยประยูร เป็นกรรมการ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พันเอก ประเสริฐ ชูแสง เป็นกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด พลเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศเอก วีระศักดิ์ วิรุฬห์เพชร พลตำรวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา พลตำรวจตรี ดร. สุรเชษฐ์ หักพาล พันเอก พีรวัส พรหมกลัดพะเนาว์ เป็นกรรมการ องค์การตลาด พลตำรวจเอก ชินทัต มีศุข[51]เป็นกรรมการอื่น การยางแห่งประเทศไทย พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต เป็นกรรมการ องค์การจัดการน้ำเสีย พลอากาศเอก ปรีชัย หาญเจนลักษณ์ เป็นกรรมการ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ พลตรี ณัฏฐพัชร สกุลรังสฤษฏ์ เป็นกรรมการ[52] โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจโท ปิยะ สอนตระกูล เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจตรี อนันต์ โตสงวน พลตำรวจตรี เสน่ห์ อรุณพันธุ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พลตำรวจตรีหญิง ขนิษฐา เที่ยงทัศน์ พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ บุญกลาง เป็นกรรมการ[53] ธนาคารออมสิน พลเอก จิระเดช โมกขะสมิต กรรมการอื่น[54]", "title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61" }, { "docid": "129550#8", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองใหญ่ พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ เมื่อ พ.ศ. 2508", "title": "ทวี จุลละทรัพย์" }, { "docid": "34138#8", "text": "หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติในปีเดียวกัน และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2517 ขณะมียศเป็น พลอากาศตรี และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศเป็น พลอากาศโท เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ และได้รับพระราชทานยศ พลอากาศเอก (พล.อ.อ.) เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2523 ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ติดต่อกันนานถึง 10 ปี รวมไปถึงรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ และ เป็นอดีตประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2528", "title": "สิทธิ เศวตศิลา" }, { "docid": "142983#2", "text": "การยึดอำนาจกระทำโดยไม่ใช้การเคลื่อนกำลังใด ๆ เพียงแต่มีความเคลื่อนไหวโดยมีตำรวจและทหาร รวมทั้งรถถังเฝ้าประจำการในจุดยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มาตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน จนกระทั่งในเวลาหัวค่ำ ของวันที่ 29 พฤศจิกายน ก็ได้มีการประกาศผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ว่าบัดนี้ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ประกอบด้วย หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ ได้กระทำการยึดอำนาจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อผดุงไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศชาติ จากภัยคอมมิวนิสต์ที่กำลังคุกคามอย่างรุนแรง โดยเรียกตัวเองว่า \"คณะบริหารประเทศชั่วคราว\" และได้ความร่วมมือจากทั้ง 3 กองทัพ และตำรวจ โดยในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 1 คณะบริหารประเทศชั่วคราว แต่งตั้ง นายพลตำรวจโท เผ่า ศรียานนท์เป็นผู้รักษาความสงบภายในทั่วราชอาณาจักร ต่อมา ในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 3 คณะบริหารประเทศชั่วคราว ได้เพิ่ม พลเอก ผิน ชุณหะวัณ พลโท เดช เดชประดิษฐยุทธ พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ให้ดำรงตำแหน่งคณะบริหารประเทศชั่วคราวโดยผลของประกาศดังกล่าวส่งผลให้อำนาจหน้าที่ทั้งหลายทั้งปวงอันเป็นอำนาจบริหารราชการแผ่นดินอยู่ในบังคับบัญชาของ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ พลเอก ผิน ชุณหะวัน พลโท เดช เดชประดิษฐยุทธ พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ \nในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 คณะบริหารประเทศชั่วคราว แต่งตั้งกรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ จำนวน 15 รายได้แก่ พันเอกหาญ อุดมสรยุทธ ว่าที่พันเอกอัมพร จินตกานนท์ นายพันตำรวจโทชีพ ประพันธ์เนติวุฒิ นายร้อยตำรวจเอกสัมพันธ์ รัญเสวะ พันตรีสุรแสง วิบูลย์เสข พันตรีทองหล่อ วีระโสภณ นายร้อยตำรวจเอกจำเนียร วงศ์ไชยบูรณ์ นายร้อยตำรวจเอกกวี บุษกร นายอิสระ กาญจนะคูหะ นายวิชิต หอมโกศล นายบรรเทอน อมาตยกุล นายประพัฒน์ ชื่นประสิทธิ์ นายชวน คนิษฐ์ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494" }, { "docid": "636609#9", "text": " พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ\n นาย ปรีดี ดาวฉาย\n พลเรือเอก พลเดช เจริญพูล\n พลตรี พัลลภ เฟื่องฟู\n พลเรือโท รัตนะ วงษาโรจน์\n พลเรือเอกลือชัย รุดดิษฐ์\n นายกองเอก วิทยา ผิวผ่อง\n พลตรี วุฒิชัย นาควานิช\n พลตำรวจโท ศานิตย์ มหถาวร\n พลโท ศิริชัย เทศนา\n พลเอก ศุภรัตน์ พัฒนาวิสุทธิ์\n พลเอก สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล\n พลเอก สรรชัย อจลานนท์\n พลตรี สันติพงศ์ ธรรมปิยะ\n นาย สุชาติ ตระกูลเกษมสุข\n พลเรือเอก สุชีพ หวังไมตรี\n พลอากาศเอก สุทธิพงษ์ อินทรียงค์\n พลเอก สุรใจ จิตต์แจ้ง\n พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง\nวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพิ่มเติมอีก 3 คนดังต่อไปนี้ วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 พลเอก ยุวนัฎ สุริยกุล ณ อยุธยา ได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยให้เหตุผลเรื่องสุขภาพทำให้จำนวนสมาชิกเหลือ 245 คน", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557" }, { "docid": "1849#34", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้รับพระราชทานยศ \"นายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดน\" เป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2528", "title": "เปรม ติณสูลานนท์" }, { "docid": "27997#11", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521[6]", "title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์" }, { "docid": "27999#11", "text": "ปี พ.ศ. 2531 ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับพระราชทานยศทหาร เป็นพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก และ เป็นนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่1 มหาดเล็กรักษาพระองค์[12]", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "50466#3", "text": "เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 คณะนายทหารนำโดย พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี ร่วมด้วยพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นนายทหารที่อาวุโสสูงสุด จึงได้รับที่จะดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะรสช.", "title": "สุนทร คงสมพงษ์" }, { "docid": "737773#4", "text": "วันที่ 1 ตุลาคม 2559 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานยศทหารชั้นนายพล วาระ ตุลาคม 2559 โดยมีสมาชิกได้รับพระราชทานยศ พลเอก 3 รายได้แก่ พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ พลเอก ธงชัย สาระสุข นางสายทิพย์ เชาวลิตถวิล เกษียณอายุราชการ นายสรศักดิ์ เพียรเวช ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ\n ดร.พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นาย วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นาย วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นาย วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n นาย ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นาย ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n นาย สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี (ลาออกเพื่อไปดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)\n รองศาสตราจารย์ ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นายเสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นาย อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นายอลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นาย อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี", "title": "สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ" }, { "docid": "557347#4", "text": "พันเอก พล ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เมื่อ พ.ศ. 2523 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ครม. 42 และ 45) ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ", "title": "พล เริงประเสริฐวิทย์" }, { "docid": "27999#20", "text": "พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ บริหารประเทศจนถึงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ก็ถูกยึดอำนาจการปกครองโดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ภายใต้การนำของ พล.อ. สุนทร คงสมพงษ์ พล.อ. สุจินดา คราประยูร พล.อ.อ. เกษตร โรจนนิล และพล.อ. อิสระพงศ์ หนุนภักดี ที่ต่อมานำไปสู่เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ในปี พ.ศ. 2535", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "27999#10", "text": "ปี พ.ศ. 2515 พลเอกชาติชาย เดินทางกลับประเทศไทย เข้ารับตำแหน่ง อธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงสำนักงานปลัดกระทรวง[11] ซึ่งนับเป็นตำแหน่งสุดท้าย ในชีวิตข้าราชการประจำ เนื่องจากในปลายปี พ.ศ. 2515 นี้เอง พลเอกชาติชาย ที่ขณะนั้นยังมียศเป็น พลจัตวาชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ใน คณะรัฐมนตรีคณะที่ 32 ของไทย ที่มี จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี และหลังจากนั้น พลเอกชาติชาย ก็ได้เข้าสู่วงการเมืองอย่างเต็มตัว", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "19748#0", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า \"พจน์ พหลโยธิน\" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2430 เวลา 03.30 น. ณ บ้านหน้าวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (กิ่ม พหลโยธิน) กับท่านผู้หญิงจับ พหลพลพยุหเสนา สมรสกับท่านผู้หญิงบุญหลง พหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี 5 สมัย รวมระยะเวลา 5 ปี 5 เดือน 21 วัน ยังได้รับสมญานามว่า เชษฐบุรุษ ด้วย ถึงแก่อสัญกรรมด้วยเส้นโลหิตในสมองแตก เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 เวลา 03.05 น. รวมอายุได้ 60 ปี", "title": "พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)" }, { "docid": "554438#0", "text": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ชุดปี พ.ศ. 2534 เกิดขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) นำโดย พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ พลเอก สุจินดา คราประยูร พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ และพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534" }, { "docid": "220875#0", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ณรงค์ ยุทธวงศ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค.44 - ก.ย.45) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2484 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกสรรค์ และนางระเบียบ ยุทธวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบียล และโรงเรียนนายเรือ เข้ารับราชการครั้งแรกเป็นนายทหารประจำเรือและใช้ชีวิตรับราชการในตำ\nแหน่งต่างๆในเรือร่วม 20 ปี ซี่งได้รับการเลื่อนชั้นยศและตำแหน่งตามลำดับ ตำแหน่งสำคัญของการรับราชการ อาทิ ผู้บังคับการเรือหลวงภูเก็ต(ลำเก่า), ผู้บังคับการเรือหลวงประแส, ผู้บังคับการเรือหลวงมกุฎราชกุมาร, ผู้บัญชาการกองเรือฟริเกตที่ 2, ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยได้รับพระราชทานยศในอัตราจอมพล ชั้นยศ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิกุลโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นองครักษ์เวร และตุลาการศาลทหารสูงสุด ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญที่เคยดำรงตำแหน่งหลังเกษียณอายุราชการ คือ ประธานกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)และสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ", "title": "ณรงค์ ยุทธวงศ์" }, { "docid": "27999#14", "text": "ในปี พ.ศ. 2517 พลเอกชาติชาย ได้ร่วมกับ พลตรีประมาณ อดิเรกสาร ผู้มีศักดิ์เป็นพี่เขย และ พลตรีศิริ สิริโยธิน ก่อตั้ง พรรคชาติไทย ขึ้น โดยมี พลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นหัวหน้าพรรค และต่อมาในปี พ.ศ. 2529 พลเอกชาติชายขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคคนที่ 2 สามารถนำพรรคชาติไทย ชนะการเลือกตั้งได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งในปี พ.ศ. 2531 ในชั้นต้นมีการทาบทาม พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ให้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อเป็นสมัยที่ 4 แต่พลเอกเปรมปฏิเสธ และประกาศวางมือทางการเมือง พลเอกชาติชายจึงได้รับการสนับสนุน ให้ดำรงตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี คนที่ 17 ของประเทศไทย", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "53290#0", "text": "จอมพล พลเรือเอก พลอากาศเอก ผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน", "title": "ผิน ชุณหะวัณ" }, { "docid": "59275#3", "text": "นายทหารผู้ได้รับพระราชทานยศจอมพลคนสุดท้าย คือ จอมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ เมื่อ พ.ศ. 2515 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา ก็ไม่มีการแต่งตั้งยศจอมพลอีกเลย มีเพียงแต่งตั้งยศ พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สามเหล่าทัพ ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย, ปลัดกระทรวงกลาโหม รวมถึงการพระราชทานยศแบบพิเศษ เช่น พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2529 ขณะที่พลเอกเปรมฯ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อ พ.ศ. 2531 ขณะที่พลเอกชาติชาย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม , พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร เมื่อ พ.ศ. 2540 อดีตผู้บัญชาการทหารบก ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ, พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2534 อดีตผู้บัญชาการทหารเรือและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ และ พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2546 อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ ในการพระราชทานยศจอมพล จะพระราชทานคทาจอมพล ที่มีลักษณะเป็นรูปครุฑพ่าห์ ด้านล่างของด้ามคทาประดิษฐ์เป็นรูปทรงมัณฑ์ 3 ยอด ประดับด้วยแก้วผลึกสีเขียวสลับแดง ที่ด้ามมีจารึกนามจอมพลพร้อมด้วยวันที่ได้รับพระราชทาน ", "title": "จอมพล (ประเทศไทย)" }, { "docid": "71207#9", "text": "เวลา 11.00 น. พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เดินทางถึงห้องรับรองพร้อมหน่วยรักษาความปลอดภัยประมาณ 20 นาย ก่อนที่จะขึ้นเครื่องบิน ซี 130 ที่จอดพร้อมอยู่แล้ว ซึ่งนายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก นายอนันต์ อนันตกูล เลขาธิการคณะรัฐมนตรีและปลัดกระทรวงมหาดไทยนั่งบริเวณที่นั่งวีไอพี ส่วนหน่วย รปภ. ถูกแยกไปอยู่ตอนท้ายของเครื่อง", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "71207#20", "text": "ไม่เพียงแต่พรรคเอกภาพเท่านั้นที่สูญเสียหัวหน้าพรรค ในส่วนของพรรคชาติไทย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ก็ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคและสมาชิกพรรคชาติไทยเช่นกัน และโดยการดำเนินการทางการเมือง พลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ ผู้อำนวยการการท่าอากาศยานฯ อดีตนายทหารอากาศก็ได้รับเชิญให้ดำรงตำแหน่งแทน ขณะที่พรรคกิจสังคมเปิดตำแหน่งเลขาธิการพรรคให้แก่ พลโทเขษม ไกรสรรณ์ เพื่อนร่วมโรงเรียนอำนวยศิลป์ของ พลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐมนตรีที่ได้รับการปล่อยตัวจากประกาศยึดทรัพย์ก็สมัครเป็นสมาชิกพรรคสามัคคีธรรมโดยพร้อมเพรียง ทั้งนายประมวล สภาวสุ นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์และนายสันติ ชัยวิรัตนะ", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "32661#36", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ สุรยุทธ์ จุลานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2550 [28]", "title": "สุรยุทธ์ จุลานนท์" } ]
2177
ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ จัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญกษาปณ์ และเงินตราโบราณใช่หรือไม่?
[ { "docid": "227803#2", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ จัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญกษาปณ์ และเงินตราโบราณ โดยแบ่งส่วนการจัดแสดงเป็น 2 ชั้น มีห้องจัดแสดงทรัพย์สิน 8 ห้อง ดังนี้", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" } ]
[ { "docid": "227803#22", "text": "- เหรียญกษาปณ์เงินตราพระบรมรูป-ไอราพต ราคาหนึ่งบาท หรือ “เหรียญหนวด” ผลิตในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ยังไม่ได้นำออกใช้ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระราชทานเป็นที่ระลึก ในงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "208562#10", "text": "ส่วนกลางจัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในส่วนภูมิภาค ได้มีโอกาสชื่นชมทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน โดยได้จัดแสดงเหรียญกษาปณ์ยุคสมัยต่างๆ และเน้นการจัดแสดงเงินตราสมัยล้านนา รวมทั้งจัดแสดงเหรียญที่ระลึกและเครื่องราชอิสริยยศ เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมออกไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้ยังมีบริการจ่ายแลก รับคืนเหรียญกษาปณ์ และจำหน่ายเหรียญเพื่อการสะสม รวมทั้งการจัดนิทรรศการนอกสถานที่ ", "title": "สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน" }, { "docid": "227803#21", "text": "- เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกทองคำและเงินตรามหามงกุฎ-กรุงสยาม ราคา 4 บาท หนัก 60 กรัม หรือนิยมเรียกโดยทั่วไปว่า “เหรียญแต้เม้ง” เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกที่ผลิตขึ้นเป็นครั้งแรก ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 60 พรรษา", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#24", "text": "เหรียญแต้เม้ง สมัยรัชกาลที่ 4 เหรียญรางวัลความสำเร็จด้านการพัฒนามนุษย์ (UNDP) สมัยรัชกาลที่ 9", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#29", "text": "หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:กรมธนารักษ์ หมวดหมู่:เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#10", "text": "พระราชพิธีโสกันต์หรือการโกนจุก เป็นพระราชพิธีที่แสดงให้เห็นว่าพระโอรสและพระธิดา ได้ก้าวสู่ความเป็นผู้ใหญ่ตามโบราณราชประเพณี โดยพระโอรสจะโสกันต์เมื่อพระชนมายุ 11 – 13 พรรษา และพระธิดาโสกันต์ตั้งแต่พระชนมายุ 11 พรรษา ทรัพย์สินที่จัดแสดงในห้อง อาทิ ทับทรวงทองคำประดับอัญมณีสำหรับประดับพระอุระ พระเกี้ยวทองคำประดับเพชรสำหรับสวมมวยพระเกศา เป็นต้น ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระราชพิธีโสกันต์มีมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#23", "text": "นอกจากนี้ยังจัดแสดงเหรียญกษาปณ์หมุนเวียน เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก และเหรียญที่ระลึก ที่ผลิตในรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ เหรียญขัดเงา (Proof Coin) เหรียญขัดเงาที่มีความหนา 2 เท่า (Piedfort) เหรียญที่มีภาพ 3 มิติ (Hologram) และเหรียญกษาปณ์ที่ใช้เทคนิคการพิมพ์สีลงบนโลหะเงินบริสุทธิ์ (Colored Coin) ฯลฯ", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#3", "text": "แสดงลำดับเรื่องราวความเป็นมาของการจัดตั้งศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ พร้อมทั้งจัดแสดงโต๊ะที่ทรงลงพระปรมาภิไธยและสมุดทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเปิดศาลาเหรียญกษาปณ์ไทยและศาลาเครื่องราชอิสริยยศและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2519 และปี พ.ศ. 2521", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#27", "text": "ในปี 2553 ทางพิพิธภัณฑ์ได้ริเริ่มดำเนินการนำระบบเทคโนโลยีเสมือนจริง หรือที่เรียกว่า Augmented Reality Technologies มาประยุกต์ใช้กับการจัดแสดงเพื่อให้ผู้เข้าชมเกิดความรู้สึกเหมือนได้สัมผัสกับทรัพย์สิน ที่จัดแสดง และสามารถเข้าใจถึงเรื่องราวเกี่ยวกับทรัพย์สินจัดแสดงได้ง่ายขึ้นจากการนำเสนอผ่านสื่อผสมที่สามารถเห็นภาพเสมือนจริงของทรัพย์สินที่จัดแสดงได้รอบด้าน 360 องศา พร้อมทั้งมีการบอกเล่าข้อมูลโดยสังเขป นอกจากนี้ ยังได้จัดทำเว็บไซต์ e-museum ด้วยเทคโนโลยี Virtual Museum ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงในลักษณะของการเดิมชม (Walkthrough) ตามแผนผังและภาพจำลองของพิพิธภัณฑ์จริง โดยผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมการเผยแพร่ผลงานจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินได้จากทุกแห่งทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง ทางเว็บไซต์ www.emuseum.treasury.go.th", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#7", "text": "เสื้อครุยปฐมจุลจอมเกล้า ดารานพรัตน ดาราไอราพต(เครื่องต้น) ดาราไอราพต(องค์รอง)", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#12", "text": "เครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#17", "text": "- เงินตราที่ใช้ในดินแดนสุวรรณภูมิ ได้แก่ เงินฟูนัน เงินทวารวดี และเงินนโม", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#0", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเงินตราไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา (อนุรักษ์ จัดเก็บ จัดทำทะเบียน) ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อันได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราไทย ฯลฯ ให้ปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ดีตามหลักการอนุรักษ์ และนำออกจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ให้คนไทยได้รับรู้ และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกของชาติ รวมทั้งให้ชาวต่างชาติได้รู้จักศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#1", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ตั้งอยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง บริเวณทางเข้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.00 น.", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#5", "text": "จัดแสดงทรัพย์สินประเภทเครื่องราชอิสริยยศหมวดต่างๆ ได้แก่ เครื่องศิราภรณ์ เครื่องสิริมงคล เครื่องภูษณาภรณ์ เครื่องอุปโภค เครื่องศัสตราวุธ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงถึงเกียรติยศ เครื่องประกอบเกียรติยศและบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างขึ้นมาแต่โบราณกาล เพื่อพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการที่มีความดีความชอบต่อแผ่นดิน ตามชั้นยศและฐานันดรศักดิ์ของผู้ได้รับพระราชทานที่แสดงให้เห็นถึงความวิจิตรงดงามของลวดลายเครื่องยศในแต่ละยุคสมัย และความคิดสร้างสรรค์ของฝีมือช่างโบราณ อาทิ พระประคำ 108 เม็ด พระดิ่งทองคำสายสร้อยทอง พระตะกรุดทองคำสายสร้อยทอง แหวนนพรัตน์ พระสังวาลทองคำประดับเพชร พระแสงดาบนาคสามเศียรทองคำลงยาประดับเพชร และพานพระศรีทองคำพร้อมเครื่อง เป็นต้น", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#4", "text": "พิธีเปิดศาลาเหรียญกษาปณ์ไทย วันที่ 19 เมษายน 2519 โต๊ะและเก้าอี้ทรงลงพระปรมาภิไธย สมุดทรงลงพระปรมาภิไธย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "28724#15", "text": "สำหรับเครื่องทรงฯ ชุดเดิมได้รับการเก็บรักษาไว้เป็นโบราณวัตถุอันล้ำค่า และจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเครื่องทรงฯ ชุดใหม่ ชุดใดที่มิได้ทรง จะเก็บรักษาและจัดแสดงไว้ที่ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ไทย ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้ประชาชนได้ชื่นชม ซึ่งเปิดให้บริการทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ ยกเว้นวันที่มีพระราชพิธี", "title": "พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร" }, { "docid": "227803#16", "text": "จัดแสดงเงินตราไทยในยุคสมัยต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นวิวัฒนาการผลิตและการใช้เงินตรา ที่ใช้ในสุวรรณภูมิจนถึงเหรียญกษาปณ์ในรัชกาลปัจจุบัน เงินตราที่จัดแสดง ได้แก่", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "208562#7", "text": "ทรัพย์สินที่ได้รับการอนุรักษ์เรียบร้อยแล้ว จะถูกคัดเลือกนำออกจัดแสดงที่ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ในพระบรมมหาราชวัง และที่ศาลาธนารักษ์ 1 จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนของชาติและประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสชื่นชม ศึกษาหาความรู้ และร่วมภาคภูมิใจในทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทย ตลอดจนศิลปะด้านงานช่างฝีมือไทยโบราณที่ได้รังสรรค์ผลงานอย่างประณีต วิจิตรบรรจง งดงามมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่น ", "title": "สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน" }, { "docid": "227803#8", "text": "จัดแสดงทรัพย์สินที่ประกอบในพระราชพิธี ได้แก่ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพระราชพิธีโสกันต์ โดยแสดงประวัติความเป็นมาของพระราชพิธี ที่มีมาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ทำให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์ และเครื่องราชอิสริยยศที่มีมาช้านาน ทรัพย์สินที่ใช้ประกอบในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก อาทิ ชฎาพระกลีบ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 ทำด้วยทองคำลงยาประดับเพชร มีส่วนประกอบ คือ มีใบสนและกรรเจียก ส่วนยอดค่อนข้างแบนจำหลักเป็นกลีบ ปลายสะบัดไปข้างหลัง เป็นยอดเดี่ยวปลายมนช้อยขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2411 นอกจากนั้นยังมีทรัพย์สินอื่น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายที่เป็นมงคลสำหรับใช้ในพระราชพิธี ได้แก่ จั่นหมากทองคำ จั่นมะพร้าวทองคำ แผ่นทองคำจำหลักเขียนรูปราชสีห์ ดอกพิกุล และดอกจำปาทองคำ และดอกจำปาเงิน", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#14", "text": "จัดแสดงเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศนี้ ได้เคยโปรดเกล้าฯ พระราชทานประกอบพระอิสริยยศสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 มีลักษณะพิเศษ คือ ลงยาสีชมพู ประกอบด้วย พระสุพรรณบัฏพระนามาภิไธย พานพระศรีทองคำลงยาเครื่องพร้อม หีบพระศรีทองคำลงยาประดับเพชร พระสุพรรณศรีทองคำลงยา กาทองคำทรงกระบอก ขันน้ำเสวยทองคำลงยาพร้อมจอกทองคำลงยา ขันสรงพระพักตร์ทองคำลงยาพร้อมพานรอง และที่ชาทองคำพร้อมถ้วยฝาหยก นอกจากนี้ยังได้จัดแสดงภาพเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารด้วย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#6", "text": "นอกจากนี้ยังจัดแสดงต้นเค้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงริเริ่มให้สร้างเพื่อเป็นบำเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน แทนการพระราชทานเครื่องยศ อาทิ ไอราพตเครื่องต้นและองค์รองของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ดวงตราประจำตำแหน่งต่างๆ อันเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบของผู้ได้รับพระราชทาน", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#15", "text": "เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#26", "text": "นอกจากการจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินแล้ว ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ยังมีของที่ระลึกประเภทผลิตภัณฑ์เหรียญจำหน่ายแก่ผู้ที่สนใจ ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#18", "text": "- เงินพดด้วง เป็นเงินตราที่ใช้มายาวนานกว่า 600 ปี ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี จนมาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ทำด้วยโลหะเงิน มีสัณฐานกลม คล้ายตัวด้วง จึงเรียกกันว่า “เงินพดด้วง” จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วงทุกชนิดราคา เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2447", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#20", "text": "- เหรียญบรรณาการ เป็นเหรียญกลมแบนรุ่นแรกที่ผลิตจากเครื่องผลิตเหรียญกษาปณ์ ที่สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียแห่งอังกฤษ ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#28", "text": "หนังสือเครื่องอิสริยยศพระบรมราชวงศ์กรุงรัตนโกสินทร์ โดย ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ หนังสือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535 หนังสือวิวัฒนาการเงินตราไทย กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#19", "text": "- เงินตราร่วมสมัย เป็นเงินตราที่ผลิตขึ้นใช้ในสมัยเดียวกันกับที่ใช้ในอาณาจักรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้แก่ เงินเจียงหรือเงินกำไล เงินผักชี เงินไซซี เงินดอกไม้ เงินท้อก ใช้ทางภาคเหนือของไทยหรืออาณาจักรล้านนา ส่วนเงินฮ้อย เงินฮาง เงินลาด เงินลาดฮ้อย ใช้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรืออาณาจักรล้านช้าง", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "208562#3", "text": "ในปี พ.ศ. 2526 หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดแสดงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “กองเครื่องราชอิสริยยศและเหรียญกษาปณ์” จนกระทั่งมีการรวม ‘กองคลังกลาง’ และ ‘กองเครื่องราชอิสริยยศและเหรียญกษาปณ์’ เข้าด้วยกันเพื่อจัดตั้งเป็น “สำนักบริหารเงินตรา” ในปี พ.ศ. 2540 ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 กรมธนารักษ์ได้ปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการอีกครั้ง โดยได้จัดตั้ง “สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน” ขึ้นตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ลงวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เพื่อดูแลรับผิดชอบในการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ตราบจนทุกวันนี้\nสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อยู่ภายใต้การกำกับดูแลและรับผิดชอบของผู้อำนวยการสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน แบ่งหน่วยงานในสังกัดในส่วนกลางออกเป็น 5 ส่วน และในส่วนภูมิภาค 2 ส่วน ดังนี้", "title": "สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน" } ]
3543
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นปราธิปไตยเมื่อไหร่?
[ { "docid": "29015#0", "text": "อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี", "title": "อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย" } ]
[ { "docid": "153224#7", "text": "หลังจากที่พ่ายแพ้จากสงครามซิลิเซียครั้งที่ 1 และ 2 พระองค์ก็ทรงริเริ่มที่จะปฏิรูปอาณาจักรของพระองค์ให้ทันสมัย โดยทรงได้รับคำแนะนำและความช่วยเหลือจากฟรีดริช วิลเฮล์ม ฟอน ฮอว์กวิทซ์ สมุหนายกแห่งสภาจักรวรรดิ อย่างไรก็ตาม การพ่ายแพ้สงครามซิลิเซียได้ทำให้พระองค์ทรงมีกำลังพระทัยน้อยลง ที่จะเป็นองค์พระประมุขที่ดีได้ พระองค์ทรงเพิ่มจำนวนกำลังทหารและกองทัพถึง 200 เปอร์เซ็นต์ และทรงเพิ่มค่าภาษีเพื่อที่จะได้สร้างความมั่นใจของระบอบการเมืองการปกครอง และรัฐบาลที่มั่นคงของจักรวรรดิ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงรวมอำนาจของรัฐบาลมายังจุดศูนย์กลาง โดยทรงรวมระบอบสมุหนายกของออสเตรีย และโบฮีเมียซึ่งเคยถูกแบ่งแยก มารวมไว้ที่สำนักบริหารระบอบการปกครอง โดยก่อนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนแปลงศาลสูงสุด เพื่อมีหน้าที่ดูแลความยุติธรรมในระบอบเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองของจักรวรรดิ\nในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นคริตศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นนิกายประจำราชวงศ์ พระองค์จึงทรงเคร่งครัดในเรื่องของศาสนาเป็นอย่างมาก ซึ่งในขณะยังทรงพระเยาว์นั้นทรงได้รับการศึกษาในเรื่องของศาสนา ณ มหาวิหารมาเรียเซลล์ เมืองมาเรียเซลล์ ประเทศออสเตรีย พระองค์ทรงมีแนวคิดอนุรักษนิยม อีกทั้งทัศนคติที่ไม่ทรงยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง กล่าวคือ พระองค์ไม่ทรงยอมรับการนับถือนิกายแตกต่างจากพระองค์ ในปีพ.ศ. 2284 พระองค์ทรงขับไล่ชาวยิว ออกจากเมืองปราก ระบอบการเมืองการปกครองของพระองค์ ทำให้มีการอภิปรายไม่ไว้วางใจจากราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ที่พระองค์ทรงมีส่วนพิจารณาการก่อตั้งนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ (Church of England) โดยพระองค์มีพระดำริถึงการมีความเป็นนอกศาสนา", "title": "จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา" }, { "docid": "38821#6", "text": "เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) มอนเตเนโกรได้ตัดสินใจรวมประเทศเข้ากับราชอาณาจักรเซอร์เบีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นแกนนำสำคัญในการรวมชนเชื้อสายสลาฟใต้เข้าด้วยกันหลังสงครามยุติและสถาปนา \"ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน\" ขึ้น โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย แห่งราชวงส์คาราจอร์เจวิชเป็นประมุขแห่งรัฐ แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1924 พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ทรงประกาศยุบสภาและปกครองด้วยระบอบเผด็จการ พร้อมกับเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น \"\"ยูโกสลาเวีย\"\" แต่ด้วยความไม่พอใจของชนชาติต่าง ๆ ในการปกครองแบบเผด็จการของพระองค์ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 จึงถูกลอบปลงพระชนม์โดยพวกโครแอตชาตินิยมในขณะที่เสด็จฯเยือน ประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1934 เจ้าชายปีเตอร์ที่ 2 พระราชโอรสวัย 11 ชันษาจึงเสด็จขึ้นครองบัลลังก์แทน\nระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ยูโกสลาเวียถูกนานาประเทศเข้ายึดครอง ยอซีป บรอซ (Josip Broz) หรือตีโต (Tito) ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียจึงได้ก่อตั้งกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติเพื่อปลดปล่อยประเทศออกจากการยึดครอง ซึ่งในที่สุดก็สามารถปลดแอกตนเองออกมาได้ ส่วนตีโตนั้นได้รับการสนับสนุนให้เป็นผู้นำประเทศ ซึ่งเขาก็ได้ประกาศเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยมแบบสหภาพโซเวียตวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) และเปลี่ยนชื่อประเทศใหม่เป็น \"“สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย”\" ซึ่งประกอบด้วย 6 รัฐ กล่าวคือ สโลวีเนีย โครเอเชีย เซอร์เบีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และมาซิโดเนีย และอีก 2 จังหวัดปกครองตนเอง คือ คอซอวอและวอยวอดีนา และถึงแม้ว่ามอนเตเนโกรจะรวมตัวอยู่กับยูโกสลาเวียซึ่งมีการปกครองในระบอบสังคมนิยม แต่มอนเตเนโกรก็มีอำนาจการปกครองภายในอย่างสมบูรณ์ ", "title": "ประเทศมอนเตเนโกร" }, { "docid": "21707#0", "text": "วันรัฐธรรมนูญในประเทศไทย หรือ วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ เป็นวันที่ระลึกถึงโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของประเทศไทย โดยผลของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกัน", "title": "วันรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "362520#8", "text": "เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญแล้ว ก็ยังมีการจัดงานเมาลิดโดยใช้ชื่อว่า งานเมาลิดส่วนกลาง แต่ต่อมาก็ได้หยุดไปเนื่องจากการดำเนินนโยบายรัฐนิยมของรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ต่อมาก็ได้รื้อฟื้นการจัดงานนี้ขึ้นมาอีกครั้งหลังจากจอมพลแปลกพ้นจากอำนาจ โดยในปี พ.ศ. 2506 นายต่วน สุวรรณศาสน์ จุฬาราชมนตรีในขณะนั้นได้กราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถในการเปิดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย และในปีใดที่พระองค์ทรงติดภารกิจก็โปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารหรือสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเสด็จแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี", "title": "ศาสนาอิสลามในประเทศไทย" }, { "docid": "5256#32", "text": "ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าว การต่อสู้ทางการเมืองยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช กับระบอบใหม่ รวมทั้งความขัดแย้งในผู้นำระบอบใหม่ด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่า 25 ปีภายหลังจากการปฏิวัติ และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา ทำให้การเปลี่ยนแปลงการปกครองดังกล่าวถูกมองว่าเป็นพฤติการณ์ \"ชิงสุกก่อนห่าม\" เนื่องจากชนชั้นนำมองว่าชาวไทยยังไม่พร้อมสำหรับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อีกทั้งการปกครองในระยะแรกหลังการปฏิวัติยังคงอยู่ในระบอบเผด็จการทหาร", "title": "ประวัติศาสตร์ไทย" }, { "docid": "104584#8", "text": "ในคืนวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ขณะที่พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยปักหลักชุมนุมที่หน้าทำเนียบรัฐบาลบริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ หรั่ง ร็อคเคสตร้าได้ขึ้นเวทีแสดงดนตรี โดยได้ร้องเพลง 3 เพลง คือ รักเธอประเทศไทย, ประชาชนอย่าทิ้งประเทศชาติ และได้ขึ้นร้องเพลงอีกในคืนวันที่ 30 พฤษภาคม และ 1 มิถุนายน และต่อมาอีกหลายต่อหลายครั้ง รวมถึงการชุมนุมของกปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยให้สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) ด้วย", "title": "ชัชชัย สุขขาวดี" }, { "docid": "149134#9", "text": "ในช่วงปีค.ศ. 1850 มีความขัดแย้งทางการเมือง และปัญหาทางการเมืองการปกครอง ซึ่งผลกระทบมาจากสงครามไครเมีย การมีปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธไมตรีกับรัสเซีย สงครามออสเตรีย-ซาร์ดิเนีย และอุปสรรคของการเป็นสมาชิกสหพันธรัฐเยอรมัน จนนำไปสู่สงครามออสเตรีย-ปรัสเซียเมื่อปีพ.ศ. 2409 ซึ่งเป็นเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครองครั้งใหญ่ โดยยุบจักรวรรดิออสเตรียลง เปลี่ยนมาใช้ระบอบการปกครองแบบองค์พระประมุขควบคู่ (Dual Monarchy) เพื่อรักษาเสถียรภาพและความสมดุลทางการเมือง คือจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเมื่อปีพ.ศ. 2410\nต่อมาปีพ.ศ. 2457 อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ พระนัดดาของพระองค์ ซึ่งทรงดำลงตำแหน่งเป็นองค์รัชทายาทต่อจากอาร์ชดยุกรูดอล์ฟซึ่งสิ้นพระชนม์ไป ถูกลอบปลงพระชนม์ด้วยพระแสงปืนพร้อมด้วยพระชายา ณ เมืองซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งการลอบปลงพระชนม์ครั้งนี้นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 ทันที", "title": "จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย" }, { "docid": "706128#5", "text": "สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ้นตั้งแต่สมัยการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แต่ที่มาของอำนาจยังคงอยู่ที่พระมหากษัตริย์ จนกระทั่ง ร.ศ.130 แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนจึงเริ่มเกิดขึ้นจากความพยายามปฏิวัติรัฐบาลของพระมหากษัตริย์แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งอีกยี่สิบปีถัดมา แนวคิดดังกล่าวจึงได้บังเกิดเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใน พ.ศ.2475 ซึ่งได้ทำให้ที่มา หรือ แหล่งอ้างอิงอำนาจอธิปไตยสูงสุดในการปกครองประเทศได้เปลี่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ลงไปสู่ปวงชนชาวไทยทุกคน ดังปรากฏในมาตราที่ 1 ของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พุทธศักราช 2475 ว่า “อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย”", "title": "อำนาจอธิปไตยของปวงชน" }, { "docid": "69653#9", "text": "ก่อนที่ราชอาณาจักรไทยจะมีรัฐธรรมนูญนั้น ราชอาณาจักรไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ถือได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์ไทยเชิงการเมืองการปกครอง เมื่อคณะราษฎร ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการสายทหารบก ทหารเรือ และสายพลเรือน จำนวน 99 คน โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้า ร่วมกันยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระมหากษัตริย์ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวประทับอยู่ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงตัดสินพระทัยที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยสงบ ดังความตามพระราชหัตถเลขา (ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ) ที่ทรงเขียนในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 ไม่ลงวันที่ พระราชทานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ซึ่งได้แปลเป็นภาษาไทยในหนังสือเรื่อง เกิดวังปารุสก์ เล่ม 2 ความดังนี้[2]", "title": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย" }, { "docid": "247728#0", "text": "เทวาธิปไตย () คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy)", "title": "เทวาธิปไตย" }, { "docid": "247617#0", "text": "จตุราธิปไตย หรือ สมัยสี่จักรพรรดิ () คำว่า “Tetrarchy” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “การนำโดยผู้นำสี่คน” โดยทั่วไปแล้วหมายถึงรัฐบาลที่แบ่งอำนาจการปกครองระหว่างบุคคลสี่คน แต่มักจะหมายถึงระบบจตุราธิปไตยที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี ค.ศ. 293 หลังจากที่สมัยวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ยุติลงและความมั่นคงของจักรวรรดิโรมันได้รับการรื้อฟื้นขึ้นอีกครั้ง ระบบจตุราธิปไตยใช้ในการปกครองจักรวรรดิต่อมาจนถึงราว ค.ศ. 313 เมื่อความขัดแย้งภายในกำจัดผู้อ้างอำนาจต่างๆ ออกไปหมดจนเหลือแต่จักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1 ผู้ครองจักรวรรดิโรมันตะวันออก และจักรพรรดิลิซินิอัส ผู้ครองจักรวรรดิโรมันตะวันตก", "title": "จตุราธิปไตย" }, { "docid": "936#35", "text": "เดิมประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา มีการปกครองแบบรวมศูนย์เด็ดขาดตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[47] ครั้นวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรปฏิวัติในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้วเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ", "title": "ประเทศไทย" }, { "docid": "296168#7", "text": "ประเทศไทยนั้นกล่าวถึงสิทธิพลเมืองขึ้นครั้งแรกภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที่ได้เปลี่ยนสถานภาพคนไทยจาก “ไพร่” มาเป็น “พลเมือง” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้อำนาจนั้น “เป็นของราษฎรทั้งหลาย” (พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2475) เพราะภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ฐานที่มาของความชอบธรรมในการใช้อำนาจรัฐได้เปลี่ยนแปลงจากเบื้องบน คือจากตัวพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นจากเบื้องล่าง คือจากประชาชนชาวไทยทุกๆ คน ผ่านระบบตัวแทนจากการเลือกตั้งที่เสรี และเป็นธรรม (free and fair elections) โดยมีการกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิของประชาชนชาวไทยไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนตั้งแต่ไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก (คือรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) ดังจะเห็นจากมาตรา 12 ของรัฐธรรมนูญที่บัญญัติไว้ว่า", "title": "สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง" }, { "docid": "17648#28", "text": "อุดมการณ์ของคณะ ร.ศ. 130 เป็นอุดมการณ์ของคนหนุ่มซึ่งส่วนมากเพิ่งสำเร็จการศึกษามีความห่วงใยในอนาคตของประเทศชาติ แต่ก็นับว่าเป็นผลผลิตของการศึกษาแผนใหม่แบบตะวันตกซึ่งเริ่มขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พวกนักเรียนนายร้อยทหารบกได้รับการสั่งสอนเรื่องระบอบการปกครองและลัทธิ จากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) และได้วิพากษ์วิจารณ์กันในห้องเรียนถึงลัทธิที่ดีและไม่ดี ถึงแม้ว่าคณะ ร.ศ. 130 จะประสบความล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ตามแต่ก็นับได้ว่าเป็นกลุ่มหนึ่งที่มีส่วนในการริเริ่ม และวางรากฐานความคิดที่จะมีการปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยในประเทศไทย ซึ่งต่อมาการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ได้กระทำสำเร็จก็เป็นคณะปฏิวัติที่มาจากทหารบกอีกเช่นกัน จึงเห็นได้ว่าเป็นอิทธิพลทางความคิดที่ต่อเนื่องกัน", "title": "ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม" }, { "docid": "43247#0", "text": "การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475[1] เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ไทยในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลทำให้ราชอาณาจักรสยามเปลี่ยนรูปแบบประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนรูปแบบการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา เกิดขึ้นจากคณะนายทหารและพลเรือนที่ประกอบกัน เรียกตนเองว่า \"คณะราษฎร\" โดยเป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์โลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองภายในประเทศ การปฏิวัติดังกล่าวทำให้ประเทศสยามมีรัฐธรรมนูญฉบับแรก", "title": "การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475" }, { "docid": "637136#1", "text": "โจราธิปไตยปรากฏมากในประเทศกำลังพัฒนา และมักสัมพันธ์กับการปกครองแบบนิยมอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปกครองของคณะทหารผู้ยึดอำนาจ เผด็จการ คนกลุ่มน้อยในสังคม คนคนเดียวมีอำนาจเบ็ดเสร็จ และผู้เล่นพรรคเล่นพวก การปกครองเหล่านี้มีลักษณะเหมือนกัน คือ บุคคลภายนอกไม่อาจตรวจสอบได้ เพราะผู้ปกครองควบคุมทั้งการใช้จ่ายและวิธีกำหนดการใช้จ่ายเงินหลวง ผู้ปกครองแบบโจราธิปไตยมักปฏิบัติต่อคลังหลวงเสมือนเป็นบัญชีธนาคารของตนเอง หลายคนยังลักโอนเงินหลวงเข้าบัญชีตนเองในต่างแดน เผื่อว่าเมื่อตนพ้นจากอำนาจหรือจำเป็นต้องออกจากประเทศไปแล้ว จะได้มีเงินทองใช้สอยต่อไป", "title": "โจราธิปไตย" }, { "docid": "590438#0", "text": "พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) เป็นผู้มีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์การเมืองไทยในช่วงหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกพฤฒสภาหลายสมัย และได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็นทั้งประธานรัฐสภาไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย และประธานพฤฒสภา", "title": "พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)" }, { "docid": "120488#6", "text": "ต่อมาหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 นายแพทย์ เหวง ได้ทำการประท้วงต่อต้านคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งได้ทำการยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2540 โดยเข้าร่วมกับกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (นปก.) ขึ้นเวทีปราศรัยต่อต้าน คปค. ซึ่งแปรสถานะเป็น คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.)", "title": "เหวง โตจิราการ" }, { "docid": "80405#3", "text": "ระบอบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้\nในระบอบนี้ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจสมบูรณ์และทรงสืบทอดอำนาจผ่านทางราชวงศ์กลุ่มผู้ปกครองในระบอบนี้จะปกครองประเทศเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตน โดยผู้ปกครองสามารถเป็นบุคคลสามัญได้ \nประเทศเหล่านี้กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง และยังไม่สามารถถูกจำแนกอย่างชัดเจนได้", "title": "รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง" }, { "docid": "703754#3", "text": "สำหรับสังคมไทย คำว่าปิตาธิปไตยจะถูกใช้แทนการปกครองของรัฐบาลที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นำในสมัยสุโขทัยนั้น ทำให้เข้าใจได้ว่า มีข้าราชการเกิดขึ้นแล้วเรียกว่า \"ลูกขุน\" โดยมีพระมหากษัตริย์เป็น \"พ่อขุน\" และมีประชาชนเป็น \"ท่วย\" หรือ \"ไพร่ฟ้า\" เพราะฉะนั้น กษัตริย์ในฐานะพ่อจึงสามารถใช้อำนาจเด็ดขาดในการปกครองลูกได้ เพื่อให้ลูกเชื่อฟัง แต่พ่อก็มีหน้าที่ในการปกป้องคุ้มครองลูกอย่างใกล้ชิดเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน การที่พระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพาร และประชาชนเปรียบเสมือนลูก ทำให้การปกครองมีลักษณะใกล้ชิดกัน และเมื่อเกิดปัญหาสังคมขึ้น พระมหากษัตริย์จะลงมาแก้ไขปัญหาดังกล่าวเอง คำที่นิยมเรียกแทนปิตาธิปไตยคือคำว่า “พ่อปกครองลูก” ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกระบอบการปกครองสมัยสุโขทัย ก่อนที่จะมีการสถาปนาความคิดแบบธรรมราชาและเทวราชา", "title": "ระบบพ่อปกครองลูก" }, { "docid": "749#0", "text": "ศาสตราจารย์ ดร.ปรี ดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)", "title": "ปรีดี พนมยงค์" }, { "docid": "341853#1", "text": "รัฐบาลไทย เป็นรัฐบาลของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นรัฐบาลเดี่ยว รัฐบาลไทยมีบทบาทขึ้นอย่างชัดเจนในสมัยรัฐชาติอันสถานปนาขึ้นครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวภายหลังทรงผนวกดินแดนและอาณาจักรภายใต้ปกครองของอาณาจักรสยามขึ้นเป็นสยามประเทศ[1] รัฐบาลไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันรัฐบาลไทยแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ในอดีตก่อนปี 2557 รัฐบาลพลเรือนของไทยมีรูปแบบตามระบบเวสต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ดี ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะทหาร เรียกว่า คสช.", "title": "รัฐบาลไทย" }, { "docid": "713602#3", "text": "ท่ามกลางกระแสธารของการพัฒนาประชาธิปไตยไทยในชั่วระยะเวลา 80 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที่ยังผลให้ประเทศไทยปกครองโดยระบอบรัฐธรรมนูญ และอำนาจสูงสุดทางการเมือง หรือ อำนาจอธิปไตยก็มีที่มาจากเบื้องล่างคือประชาชน แต่สิ่งต่างๆ เหล่านี้ก็ดูเหมือนจะเป็นเพียงตัวอักษรที่รจนาไว้ในรัฐธรรมนูญมากกว่าเป็นสิ่งที่การเมืองไทยในโลกแห่งความเป็นจริงดำเนินไป นั่นก็เพราะอำนาจทางการเมืองไทยนับแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ยังคงวนเวียนอยู่กับการต่อสู้ของบรรดาชนชั้นนำทางการเมืองไม่กี่กลุ่ม อาทิ กลุ่มคณะราษฎร กลุ่มอนุรักษ์นิยมเจ้า หรือ กลุ่มคณะทหาร เป็นต้น", "title": "พหุนิยม" }, { "docid": "49841#4", "text": "อนึ่งปฏิวัติทางการเมืองเป็นมโนทัศน์ที่สำคัญในการอธิบายปฏิวัติสังคมในลัทธิทรอทสกี (Trotskyism)สำหรับในสังคมการเมืองไทยเกิดการปฏิวัติทางการเมืองขึ้นเพียงครั้งเดียวคือ การปฏิวัติสยาม ในวันที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการปฏิวัติการปกครองโดยเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monachy) กลายเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (Constitutional Monarchy) ส่วนการล้มล้างรัฐบาลในครั้งต่อมานั้นเป็นเพียงการรัฐประหาร เพราะไม่ได้ต้องการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง ทว่าเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล ผู้นำของรัฐบาล หรือเป็นการยืดอายุของรัฐบาลอุปถัมป์อำนาจนิยม (Suzerain-Authoritarianism) ของสังคมไทยเพียงเท่านั้น", "title": "ปฏิวัติ" }, { "docid": "23112#10", "text": "ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปณิธานอยู่แต่เดิมที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชนชาวไทยในวันที่ 6 เมษายน 2475 แต่เมื่อถึงเวลาก็มิได้พระราชทานเนื่องจากอภิรัฐมนตรีสภากราบบังคมทูลทัดทานไว้ว่ายังไม่ถึงเวลาอันสมควร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะราษฎรจึงได้ทำการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย และได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย ต่อมาเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของประเทศไทย", "title": "รัฐธรรมนูญ" }, { "docid": "49464#2", "text": "รัฐธรรมนูญนิยม มีหลายความหมาย โดยส่วนใหญ่แล้วมักหมายถึงกลุ่มของแนวความคิด ทัศนคติ และรูปแบบพฤติกรรมที่สาธยายเกี่ยวกับหลักการที่การใช้อำนาจของรัฐมาจากกฎหมายสูงสุดและถูกจำกัดอำนาจด้วยกฎหมายสูงสุด \nรัฐธรรมนูญนิยม นิยาม รัฐธรรมนูญนิยม หรือ ระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutionalism) หมายถึง ความเชื่อทางปรัชญาความคิดที่นิยมหลักการปกครองรัฐด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ เป็นแนวความคิดที่มุ่งหมายจะใช้รัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร (written constitution) เป็นหลักในการกำหนดรูปแบบ กลไก และสถาบันทางการเมืองการปกครองต่างๆ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานของการบริหารงานภาครัฐในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุด (อมร จันทรสมบูรณ์, 2537: 9; Alexander, 1999: 16; Bellamy, 2007: 4-5; Sartori, 1962: 3) ที่มา แนวคิดนี้เริ่มก่อตัวขึ้นครั้งแรกในประเทศตะวันตก ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อต่อต้าน คัดค้านรูปแบบการเมืองการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolutism) ของประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปขณะนั้น จนมาปรากฏชัดเจนขึ้นหลังจากการประชุมเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1787 (McIlwain, 1977: 17) ซึ่งทำให้แนวคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษรนั้นปรากฏชัดเจนขึ้นเป็นครั้งแรก ดังนั้น แนวคิดเรื่องลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เมื่อเกิดขึ้นในขั้นต้น จึงไม่ได้มีความหมายกลางๆ แต่อย่างใด หากแต่มีความหมายที่โน้มเอียงไปในด้านการจำกัดอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในขณะนั้น และเน้นหนักในการพยายามสร้างสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของพลเมืองภายในรัฐ โดยเรียกร้องให้มีการนำสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” มาใช้เป็นหลักในการวางกรอบของประเด็นดังกล่าว จากลักษณะข้างต้นจึงทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในประเทศตะวันตกนั้นได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์เสรีประชาธิปไตยไปในที่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สำหรับประเทศตะวันตกแล้ว หากจะมีรัฐธรรมนูญก็ควรจะต้องเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยนั่นเอง (Bellamy, 2007: 93) ท่ามกลางกระแสเสรีประชาธิปไตยซึ่งยังคงเป็นกระแสหลักของประเทศส่วนใหญ่ในตะวันตก จึงได้ทำให้คำว่าลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในปัจจุบันกลับกลายเป็นสิ่งที่มีความหมายกลางๆ ที่มองรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือทางกฎหมายอย่างหนึ่ง ที่จะนำมาใช้วางโครงสร้างสถาบันทางการเมืองการปกครอง กำหนดแหล่งที่มาของอำนาจ การเข้าสู่อำนาจ และการใช้อำนาจของผู้ปกครองในทุกๆ ระบอบการปกครอง (McIlwain, 1977) โดยมิได้จำกัดอยู่แต่เพียงระบอบประชาธิปไตยอีกต่อไป ดังจะเห็นได้จากในปัจจุบันนี้รัฐสมัยใหม่ “ทุกรัฐ” ในโลกนี้ไม่ว่าจะเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยหรือไม่ ต่างก็ล้วนแล้วแต่ยึดรูปแบบการปกครองของระบอบรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) ทั้งสิ้น กล่าวคือ ทุกๆ รัฐต่างก็มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการจัดวางอำนาจและโครงสร้างทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (เสน่ห์, 2540: 17) โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) ประเทศที่สหประชาชาติให้การรับรองนั้นมีทั้งสิ้น 196 ประเทศ (แต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติเพียง 193 ประเทศ) ในขณะที่รัฐธรรมนูญที่เป็นทางการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในโลกนี้มีทั้งสิ้นกว่า 203 ฉบับ ทั้งนี้เพราะในรัฐโพ้นทะเลบางแห่งอย่างเช่น หมู่เกาะบริติช เวอร์จิน (British Virgin Islands or BVI) ของอังกฤษ หรือ เกาะกรีนแลนด์ของเดนมาร์กนั้นต่างก็เป็นรัฐที่มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองในฐานะเป็นดินแดนที่มีการปกครองตนเอง แม้ว่าอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน (absolute territorial sovereignty) นั้นจะเป็นของประเทศเจ้าเอกราชก็ตาม ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย ประเทศไทยเองก็รับเอาลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี้เข้ามาใช้อย่างเป็นทางการภายหลังจากการเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของคณะราษฎร แม้ว่าขบวนการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นจะสามารถสร้างระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นในประเทศไทยได้ แต่ผลจากการที่การเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดจากการต่อสู้กันเฉพาะภายในกลุ่มชนชั้นนำบางส่วนของไทย ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ถึงขนาดที่มีคนเข้าใจว่า “รัฐธรรมนูญ” เป็นชื่อของลูกชายนายทหารผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา (ปรีดี, 2543) ทั้งนี้ก็เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือต่อสู้บนพื้นฐานของความเข้าใจในสิทธิเสรีภาพและการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญ อันจะเป็นเครื่องมือในการสร้างความเสมอภาคเท่าเทียมและเป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยของปวงชน ดังเช่นที่ประชาชนชาติตะวันตกได้ต่อสู้ด้วยความยากลำเค็ญเพื่อก่อร่างสร้างระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศของพวกเขา ดังนั้น ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงสามารถก่อรูปได้ก็แต่เพียงหลักการในการจำกัดอำนาจผู้ปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทำให้แหล่งที่มาของอำนาจต้องอ้างอิงกับประชาชนเจ้าของอำนาจอธิปไตยได้ตามหลักการทุกประการ แต่จากการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการต่อสู้มากนักจึงทำให้พวกเขาไม่สามารถเชื่อมโยงจิตสำนึกให้เข้ากับรัฐธรรมนูญได้ แม้จะมีบทบัญญัติถึงหน้าที่ในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญไว้ในรัฐธรรมนูญก็ตาม จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนไม่ให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญ และทำให้รัฐธรรมนูญขาดความศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จึงกลายเป็นผลลัพธ์และการรอมชอมจากการต่อสู้ของกลุ่มชนชั้นนำทางการเมืองกลุ่มต่างๆ ของไทย ซึ่งสามารถถูกฉีกทิ้งและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาแทนในภายหลังได้อย่างง่ายดาย (เสน่ห์, 2540: 31-35) อย่างไรก็ดี หลังจากเหตุการณ์การเรียกร้องให้มีการใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 ของขบวนการนิสิตนักศึกษาไทย ได้แสดงให้เห็นถึงจุดเปลี่ยนครั้งยิ่งใหญ่ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ปรากฏการณ์นี้สะท้อนว่า คนส่วนหนึ่งของสังคมได้เริ่มตระหนักรู้และเข้าใจความสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นตัวแทนอำนาจอธิปไตยสูงสุดของปวงชน และเป็นเครื่องมือที่จะนำไปใช้จำกัดอำนาจของผู้ปกครองจากการใช้อำนาจอันมิชอบ (abuse of power) ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถมีเสรีภาพและความเสมอภาคเท่าเทียมที่ถูกรับรองไว้ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญได้อย่างถ้วนหน้า ซึ่งเป็นแก่นของระบอบรัฐธรรมนูญนั่นเอง (เสน่ห์, 2540: 316) จากเหตุการณ์ดังกล่าวนี้เองที่ทำให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาทในการเมืองไทย ในฐานะที่เป็นแนวคิดที่จะสร้างกลไกทางกฎหมายรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ จำกัดอำนาจผู้ปกครอง และสร้างเสรีภาพให้แก่พลเมืองให้มากที่สุด จึงทำให้แนวคิดนี้เติบโตออกไปจากเดิมมาก แม้ช่วงเวลาหลังจากการเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับยุคที่รัฐธรรมนูญมีลักษณะที่เป็นประชาธิปไตยเพียงครึ่งใบก็ตาม และด้วยกระแสลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมที่เติบโตขึ้นจึงทำให้ท้ายที่สุดในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยก็สามารถประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ได้ชื่อว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการยกร่าง และจัดทำรัฐธรรมนูญมากที่สุดฉบับหนึ่ง ซึ่งถึงแม้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะสามารถนำมาบังคับใช้ได้แค่เพียง 9 ปีก่อนจะเกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 แต่จะเห็นได้ว่าการฉีกรัฐธรรมนูญของคณะทหารในครั้งนี้แตกต่างจากครั้งก่อนๆ เพราะครั้งนี้ได้เกิดกระแสต่อต้านคณะรัฐประหารที่ทำลายรัฐธรรมนูญเป็นอย่างมาก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการที่ดีของประเทศไทยที่ประชาชนเริ่มผูกโยงความสำคัญของตัวรัฐธรรมนูญเข้ากับการมีอยู่ของสิทธิและเสรีภาพของตนที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากกว่าเพียงแค่ตัวอักษรที่จารึกไว้ในกระดาษ หากแต่เป็นเจตนารมณ์ของตัวรัฐธรรมนูญที่คอยปกป้องสิทธิ เสรีภาพของประชาชนอันเป็นปัจจัยพื้นฐานของรัฐธรรมนูญทุกรัฐธรรมนูญในระบอบรัฐธรรมนูญ (every constitutionalism’s constitution) นั้นพึงมี\nความหมายของรัฐธรรมนูญที่ได้รับการยอมรับของโลก เป็นความหมายที่ เดวิด เฟลล์แมน เมธีด้านรัฐศาสตร์และรัฐธรรมนูญแห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ได้อธิบายไว้ว่า", "title": "รัฐธรรมนูญนิยม" }, { "docid": "69653#5", "text": "สำหรับประเทศไทย ในส่วนที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญนั้นนับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2 ลักษณะคือ รัฐธรรมนูญ มุ่งจะใช้บังคับเป็นการถาวรโดยที่มีการยกร่างกันอย่างเป็นระบบ กับรัฐธรรมนูญที่มุ่งจะใช้บังคับเป็นการชั่วคราวซึ่งมักเรียก ธรรมนูญการปกครอง", "title": "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย" }, { "docid": "49829#25", "text": "ประชาชนจำนวนหนึ่งออกมาให้กำลังใจทหารที่จุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณกองบัญชาการกองทัพบก หลังการยึดอำนาจของคณะปฏิรูปฯ โดยแสดงความชื่นชมเหล่าทหาร ด้วยการมอบดอกไม้ ส่งยิ้ม ถ่ายรูปด้วย กระทั่งมีการพ่นสีข้อความว่า \"พล.อ.สนธิ วีรบุรุษชาวไทย\" และ \"กองทัพเพื่อประชาชน\" บนตัวถังรถยนต์บีเอ็มดับเบิลยู ซีรีส์ 7 เป็นต้น นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจำนวนหนึ่ง ในบริเวณถนนราชดำเนินให้สัมภาษณ์ว่าไม่ตื่นตะหนก และร่วมถ่ายรูปกับทหารและรถถัง (ซึ่งประดับด้วยดอกไม้ที่ประชาชนมอบให้) เป็นที่ระลึก หรือมอบน้ำ อาหาร ให้แก่ทหารด้วย[20] หม่อมราชวงศ์ ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวชื่นชมว่า \"จากที่ดูภาพในซีเอ็นเอ็น เป็นการยึดอำนาจที่เรียบร้อยที่สุด ไม่มีเสียเลือดเสียเนื้อ เราก็รู้สึกสบายใจว่ามันคงไม่กระทบความเชื่อมั่น เพราะการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ประชาชนยอมรับ ขณะที่ต่างชาติก็รู้สึก ไม่น่าจะมีผลกระทบต่อการลงทุน\"[21] สวนดุสิตโพลสอบถามความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 2,019 คน ในวันที่ 20 กันยายน 49 พบว่า 83.98% เห็นด้วยกับรัฐประหาร เนื่องจากเห็นว่าการเมืองจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ส่วนประชาชนที่ไม่เห็นด้วย มีความเห็นว่าภาพลักษณ์ของประเทศอาจตกต่ำลง[22] ผลสำรวจแตกต่างจากโพลสำรวจการเลือกตั้งเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผู้สนับสนุนพรรคไทยรักไทยถึง 49%[23] กลุ่มนักธุรกิจทั่วประเทศแสดงความคิดเห็นโดยส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการปฏิรูปการปกครองครั้งนี้ โดยเชื่อว่าเศรษฐกิจกระทบบ้างแต่ชั่วคราว และจะสยบความวุ่นวายของประเทศ[24] นายแพทย์พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์ ประธานชมรมแพทย์ชนบท เห็นด้วยต่อการยึดอำนาจ เนื่องจากประเทศมีปัญหาจากผู้นำที่ไม่ชอบธรรม และบริหารด้วยระบอบเผด็จการประชาธิปไตย จึงควรหยุดระบอบเผด็จการนั้น เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศน้อยที่สุด การปฏิรูปฯ ครั้งนี้เป็นการดีที่ไม่เสียเลือดเนื้อ[24] สมภพ บุนนาค แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จังหวัดขอนแก่น กล่าวเห็นชอบกับ คปค.ว่า \"การยึดอำนาจของ คปค.ครั้งนี้ แม้จะขัดกับหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็เห็นชอบ เพราะเป็นการปลดล็อกปมปัญหาของชาติ เพื่อสะสางอุปสรรคสังคมการเมืองให้สามารถเดินต่อไปได้อย่างมั่นคง การต่อสู้ของภาคประชาชนที่ผ่านมาเพื่อล้มระบอบทักษิณ ไม่สามารถผ่าทางตันได้ จำเป็นที่ทหารต้องเข้ามาจัดการหาทางออกให้ อย่างไรก็ตาม ภาคประชาชนต้องติดตามต่อว่า ภายหลัง เข้ามาแก้ปัญหาของ คปค.ครั้งนี้จะคืนอำนาจให้ประชาชนได้เร็ว ตามที่หัวหน้าคณะฯได้ประกาศไว้หรือไม่\" และแสดงความเห็นเพิ่มเติมว่า อาจมีกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐประหารของ คปค.ว่า \"กลุ่มบุคคลกลุ่มนี้ไม่เข้าใจระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ประชาธิปไตยไม่ได้มีความหมายเพียงแค่ว่าประชาชนใช้สิทธิหย่อนบัตรเลือกตั้งแล้วก็จบ มีบริบทแวดล้อมหลายประการที่ประกอบเป็นระบอบประชาธิปไตย\"[25]", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549" }, { "docid": "671#3", "text": "ตั้งแต่โบราณกาล ราชอาณาจักรไทยอยู่ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อย่างไรก็ตาม หลังจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ประเทศไทยจึงอยู่ภายใต้การปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ(ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมห่กษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข) รัฐธรรมนูญเขียนฉบับแรกถูกร่างขึ้น อย่างไรก็ตาม การเมืองไทยยังมีการต่อสู้ระหว่างกลุ่มการเมืองระหว่างอภิชนหัวสมัยเก่าและหัวสมัยใหม่ ข้าราชการ และนายพล ประเทศไทยเกิดรัฐประหารหลายครั้ง ซึ่งมักเปลี่ยนแปลงให้ประเทศไทยอยู่ภายใต้อำนาจของคณะรัฐประหารชุดแล้วชุดเล่า จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญและกฎบัตรรวมแล้ว 20 ฉบับ (นับรวมฉบับปัจจุบัน) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความไร้เสถียรภาพทางการเมืองอย่างสูง หลังรัฐประหารแต่ละครั้ง รัฐบาลทหารมักยกเลิกรัฐธรรมนูญที่มีอยู่เดิมและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราว", "title": "การเมืองไทย" }, { "docid": "11232#2", "text": "นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 กระทั่งได้มีการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ประเทศไทยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป 19 ครั้ง ดังนี้", "title": "คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)" } ]
3676
เครื่องราชอิสริยยศ คืออะไร?
[ { "docid": "26325#0", "text": "เครื่องยศ หรือ เครื่องราชอิสริยยศ คือ เครื่องหมายแสดงเกียรติยศ เครื่องประกอบยศ และบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณสร้างขึ้นเพื่อ พระราชทานให้แก่ ราชตระกูล ขุนนาง ข้าราชการ และบุคคลทั่วไป ที่มีตำแหน่ง หน้าที่ ความชอบในแผ่นดินให้ปรากฏตามยศชั้น และฐานันดรศักดิ์นั้นๆ ของผู้ได้รับพระราชทาน", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" } ]
[ { "docid": "19590#34", "text": "ครั้งที่ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงพระยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าหญิงนั้น ทรงมีเครื่องอิสริยยศประจำพระองค์ที่ทรงได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเมื่อทรงลาออกฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์แล้ว ได้คืนเครื่องอิสริยยศดังกล่าวทั้งสิ้น เครื่องอิสรริยยศเหล่านั้นประกอบด้วย", "title": "ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี" }, { "docid": "26325#2", "text": "เครื่องราชอิสริยยศ หมายถึง เครื่องหมายแสดงเกียรติยศ เครื่องประกอบเกียรติยศ แสดงถึงความสำคัญของตำแหน่งหน้าที่และบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่ผู้ที่กระทำความดีความชอบในราชการแผ่นดิน ซึ่งแต่ครั้งโบราณได้มีระเบียบประเพณียึดถือเพื่อพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ราชตระกูล ขุนนาง ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ หรือผู้ที่มีความชอบต่อแผ่นดินให้ปรากฏตามยศชั้นและฐานันดรศักดิ์เหล่านั้น เครื่องยศมักทำด้วยวัสดุที่สูงค่างดงามด้วยฝีมือช่างโบราณที่มีความประณีต วิจิตรบรรจงมีรูปลักษณ์และลวดลายที่แตกต่างกันตามลำดับชั้นยศ เมื่อมีงานสำคัญผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องยศสามารถแต่งกายและนำเครื่องยศไปตั้งเป็นเกียรติยศ และใช้สอยได้ต่อหน้าพระพักตร์ภายในท้องพระโรง โดยมีการจำแนกเครื่องยศออกเป็น 7 หมวด ดังนี้", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "138237#5", "text": "เครื่องราชอิสริยยศ ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า ถือว่ามีบรรดาศักดิ์เสมอขุนนางชั้น พระยาพานทอง จะได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยยศประกอบดังนี้2. กาทองคำ โต๊ะทองคำ", "title": "ทุติยจุลจอมเกล้า" }, { "docid": "26325#58", "text": "หนังสือเครื่องอิสริยยศพระบรมราชวงศ์กรุงรัตนโกสินทร์ โดย ศ.ดร.ม.ร.ว. สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ หนังสือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี หนังสือวิวัฒนาการเงินตราไทย กรมธนารักษ์", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "227803#3", "text": "แสดงลำดับเรื่องราวความเป็นมาของการจัดตั้งศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ พร้อมทั้งจัดแสดงโต๊ะที่ทรงลงพระปรมาภิไธยและสมุดทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเปิดศาลาเหรียญกษาปณ์ไทยและศาลาเครื่องราชอิสริยยศและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2519 และปี พ.ศ. 2521", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "889801#1", "text": "ในส่วนการซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ คณะกรรมการอำนวยการฯ ได้มีฝึกการซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศขึ้น ได้ฝึกซ้อมในสถานที่จริง และเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศจริง โดยมี คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฯ ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมการขนส่งทหารบก กรมพลาธิการทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศ นักเรียนโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ทหารสามเหล่าทัพ กรมดุริยางค์ทหารบก ทหารเรือ ตำรวจม้า และนักเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ได้ร่วมเดินฝึกซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ แต่ในริ้วขบวนสุดท้ายนั้นทหารม้ารักษาพระองค์ได้ทำการฝึกซ้อมภายในกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ และครั้งต่อไปได้ร่วมฝึกซ้อมกับริ้วขบวนที่เหลือในสถานที่จริง โดยรายละเอียดในการฝึกซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ มีดังนี้", "title": "ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" }, { "docid": "26325#17", "text": "พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระสวัสดิราช เป็น พระอัครมเหสี เรือชัยพื้นดำ พื้นแดงหนึ่งคู่ เครื่องราชกุกภัณท์", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "227803#0", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเงินตราไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา (อนุรักษ์ จัดเก็บ จัดทำทะเบียน) ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อันได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราไทย ฯลฯ ให้ปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ดีตามหลักการอนุรักษ์ และนำออกจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ให้คนไทยได้รับรู้ และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกของชาติ รวมทั้งให้ชาวต่างชาติได้รู้จักศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#1", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ตั้งอยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง บริเวณทางเข้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.00 น.", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#5", "text": "จัดแสดงทรัพย์สินประเภทเครื่องราชอิสริยยศหมวดต่างๆ ได้แก่ เครื่องศิราภรณ์ เครื่องสิริมงคล เครื่องภูษณาภรณ์ เครื่องอุปโภค เครื่องศัสตราวุธ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงถึงเกียรติยศ เครื่องประกอบเกียรติยศและบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างขึ้นมาแต่โบราณกาล เพื่อพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการที่มีความดีความชอบต่อแผ่นดิน ตามชั้นยศและฐานันดรศักดิ์ของผู้ได้รับพระราชทานที่แสดงให้เห็นถึงความวิจิตรงดงามของลวดลายเครื่องยศในแต่ละยุคสมัย และความคิดสร้างสรรค์ของฝีมือช่างโบราณ อาทิ พระประคำ 108 เม็ด พระดิ่งทองคำสายสร้อยทอง พระตะกรุดทองคำสายสร้อยทอง แหวนนพรัตน์ พระสังวาลทองคำประดับเพชร พระแสงดาบนาคสามเศียรทองคำลงยาประดับเพชร และพานพระศรีทองคำพร้อมเครื่อง เป็นต้น", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "26325#41", "text": "ตัวอย่างเช่น เครื่องราชอิสริยยศสำหรับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (เทียบเท่าเจ้าต่างกรมชั้นกรมสมเด็จพระ) หรือ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ให้รับ พระราชบัญชา (คือคำสั่งของสมเด็จพระเทพฯ)", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "26325#4", "text": "ปัจจุบันหลังจากที่ประเทศไทยได้ติดต่อกับตะวันตกมาตั้งแต่ช่วงต้นรัชกาลที่สี่ การพระราชทานเครื่องยศ ได้รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา จึงมีการสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ขึ้นแทน ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่สี่ ที่ทำเป็นดวงดาราต่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการตราพระราชบัญญัติและสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลต่างๆ เช่น จุลจอมเกล้า ช้างเผือก รามาธิบดี เป็นต้น การพระราชทานเครื่องราชอิสริยยศ จึงงดไป เปลี่ยนไปเป็นการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบในแผ่นดินแทน", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "138485#2", "text": "เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า \"เครื่องราชอิสริยยศ\" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า \"เครื่องราชอิสริยยศ\" มาเป็นคำว่า \"เครื่องราชอิสริยาภรณ์\" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี", "title": "เครื่องอิสริยาภรณ์" }, { "docid": "196315#29", "text": "รายพระนามและรายนามผู้เชิญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชูปโภค เครื่องประกอบพระอิสริยยศ และฉลองพระองค์ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เรียงพระนามและนามตามลำดับอักษร (วงเล็บหลังพระนามและนามคือลำดับพร้อมรายชื่อเครื่องประกอบพระอิสริยยศที่ทรงเชิญและเชิญ)", "title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์" }, { "docid": "208562#8", "text": "เพื่อให้การจัดแสดงทรัพย์สิน เป็นที่รู้จักและได้รับความสนใจจากประชาชนอย่างทั่วถึง สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินจึงได้จัดทำเว็บไซต์นำชมศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ e-Museum เป็นพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ ซึ่งสามารถเข้าชมการจัดแสดงที่ศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ ได้อย่างครบถ้วน นอกจากนี้ สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินยังเข้าร่วมงานนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน", "title": "สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน" }, { "docid": "620674#0", "text": "สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้\nในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 นั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคสำหรับตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสีให้แก่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี (พระราชอิสริยยศในขณะนั้น) โดยเครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคเหล่านี้ประกอบด้วย", "title": "รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ" }, { "docid": "620484#0", "text": "เครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา ( \"เคฺรืองอิสฺสริยยสพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา\", ; เทียบเป็นคำภาษาไทยคือ \"เครื่องราชอิสริยาภรณ์พระราชอาณาจักรกัมพูชา\") เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา สถาปนาครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1864 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร อันเป็นยุคที่กัมพูชามีฐานะเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส เพื่อมอบเป็นบำเหน็จความชอบแก่ข้าราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน โดยมีพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาทรงเป็นประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ ", "title": "เครื่องอิสริยยศพระราชาณาจักรกัมพูชา" }, { "docid": "26325#27", "text": "ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ยกเลิกการพระราชทานเครื่องราชอิสริยยศสำหรับขุนนางตามบรรดาศักดิ์ไป และเปลี่ยนมาพระราชทานให้แก่ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าแทน", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "227803#14", "text": "จัดแสดงเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศนี้ ได้เคยโปรดเกล้าฯ พระราชทานประกอบพระอิสริยยศสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 มีลักษณะพิเศษ คือ ลงยาสีชมพู ประกอบด้วย พระสุพรรณบัฏพระนามาภิไธย พานพระศรีทองคำลงยาเครื่องพร้อม หีบพระศรีทองคำลงยาประดับเพชร พระสุพรรณศรีทองคำลงยา กาทองคำทรงกระบอก ขันน้ำเสวยทองคำลงยาพร้อมจอกทองคำลงยา ขันสรงพระพักตร์ทองคำลงยาพร้อมพานรอง และที่ชาทองคำพร้อมถ้วยฝาหยก นอกจากนี้ยังได้จัดแสดงภาพเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารด้วย", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "28723#0", "text": "เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า\n\"เครื่องราชอิสริยยศ\" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า \"เครื่องราชอิสริยยศ\" มาเป็นคำว่า \"เครื่องราชอิสริยาภรณ์\" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ประเภท ดังนี้", "title": "เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย" }, { "docid": "227803#15", "text": "เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "26325#38", "text": "ไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่าได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยยศอย่างไร แต่สันนิษฐานว่าจะได้รับพระราชทานในชั้นเดียวกับขุนนางสามัญชนบรรดาศักดิ์ คุณพระ คือ", "title": "เครื่องราชอิสริยยศไทย" }, { "docid": "227803#26", "text": "นอกจากการจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินแล้ว ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ยังมีของที่ระลึกประเภทผลิตภัณฑ์เหรียญจำหน่ายแก่ผู้ที่สนใจ ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "175304#0", "text": "เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า \"เครื่องราชอิสริยยศ\" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้เปลี่ยนมาเรียกว่า \"เครื่องราชอิสริยาภรณ์\" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์มีรายชื่อและลำดับเกียรติ ดังต่อไปนี้", "title": "รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย" }, { "docid": "227803#2", "text": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ จัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญกษาปณ์ และเงินตราโบราณ โดยแบ่งส่วนการจัดแสดงเป็น 2 ชั้น มีห้องจัดแสดงทรัพย์สิน 8 ห้อง ดังนี้", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "227803#20", "text": "- เหรียญบรรณาการ เป็นเหรียญกลมแบนรุ่นแรกที่ผลิตจากเครื่องผลิตเหรียญกษาปณ์ ที่สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียแห่งอังกฤษ ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์" }, { "docid": "39365#44", "text": "ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2468 นั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคสำหรับตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสีให้แก่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี โดยเครื่องราชอิสริยยศราชูปโภคเหล่านี้เป็นสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างขึ้นสำหรับพระราชทานให้แก่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประกอบด้วย[30]", "title": "สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี" }, { "docid": "854114#28", "text": "ในส่วนการซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ คณะกรรมการอำนวยการฯ ได้มีฝึกการซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศขึ้น ได้ฝึกซ้อมในสถานที่จริง และเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศจริง โดยมี คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฯ ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมการขนส่งทหารบก กรมพลาธิการทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศ นักเรียนโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ทหารสามเหล่าทัพ กรมดุริยางค์ทหารบก ทหารเรือ ตำรวจม้า และนักเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ได้ร่วมเดินฝึกซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ แต่ในริ้วขบวนสุดท้ายนั้นทหารม้ารักษาพระองค์ได้ทำการฝึกซ้อมภายในกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ และครั้งต่อไปได้ร่วมฝึกซ้อมกับริ้วขบวนที่เหลือในสถานที่จริง โดยสรุปลำดับการซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ มีดังนี้", "title": "การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" }, { "docid": "574091#51", "text": "รายพระนามและรายนามผู้เชิญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชูปโภค เครื่องประกอบพระอิสริยยศ และฉลองพระองค์ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ เรียงพระนามและนามตามลำดับเครื่องราชอิสสริยยศในกระบวน (วงเล็บหลังพระนามและนามคือรายชื่อเครื่องประกอบพระอิสริยยศที่ทรงเชิญและเชิญ)", "title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" } ]
1741
สมองมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน?
[ { "docid": "12075#3", "text": "ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ", "title": "สมอง" } ]
[ { "docid": "868067#3", "text": "โดยทั่วไปแล้ว มนุษย์ปัจจุบันจะบอบบางกว่ามนุษย์โบราณที่เป็นบรรพบุรุษ\nแต่มนุษย์ก็แตกต่างกันมาก\nคือมนุษย์ปัจจุบันก็ยังอาจแข็งแรงมาก และมนุษย์ปัจจุบันต้น ๆ ก็จะยิ่งแข็งแรงกว่านั้น\nถึงกระนั้น มนุษย์ปัจจุบันก็ยังแตกต่างจากมนุษย์โบราณ (เช่น นีแอนเดอร์ทาลและมนุษย์กลุ่ม Denisovan) ทางกายวิภาคพอสมควร\nกระดูกหุ้มสมองไม่มีส่วนยื่นออกที่กระดูกท้ายทอย (occipital bun) ตรงคอ ซึ่งเป็นส่วนยึดกล้ามเนื้อคอที่แข็งแรงของนีแอนเดอร์ทาล\nโดยทั่วไป มนุษย์ปัจจุบันแม้ระยะต้น ๆ จะมีสมองส่วนหน้าใหญ่กว่าของมนุษย์โบราณ โดยอยู่เหนือลูกตาแทนที่จะอยู่ไปทางด้านหลัง\nดังนั้น หน้าผากจึงมักทอดสูงกว่าแม้จะไม่เสมอไป และมีสันคิ้วที่เล็กลง\nถึงกระนั้น ทั้งมนุษย์ปัจจุบันต้น ๆ และมนุษย์บางพวกในปัจจุบันก็ยังมีสันคิ้วหนาพอสมควร \nแต่ต่างจากแบบโบราณเพราะมีช่องเหนือเบ้าตาเป็นร่องวิ่งผ่านสันคิ้วเหนือตาแต่ละข้าง\nซึ่งแบ่งสันคิ้วออกเป็นส่วนตรงกลางส่วนหนึ่งและส่วนปลายสองข้าง\nดังนั้น มนุษย์ปัจจุบันบ่อยครั้งจะมีแค่ส่วนตรงกลาง ถ้ามี\nซึ่งต่างจากมนุษย์โบราณ ที่สันคิ้วทั้งใหญ่และไม่แยกออกจากกัน", "title": "มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน" }, { "docid": "420444#5", "text": "วิตามินเอ ดีและอีทั้งหมดในไข่อยู่ในไข่แดง ไข่เป็นหนึ่งในอาหารไม่กี่ชนิดในธรรมชาติที่มีวิตามินดี ไข่แดงขนาดใหญ่ให้พลังงานประมาณ 60 แคลอรี (250 กิโลจูล) ไข่ขาวให้พลังงานประมาณ 15 แคลอรี (60 กิโลจูล) ไข่แดงขนาดใหญ่มีปริมาณคอเลสเตอรอลที่แนะนำให้รับประทานต่อวันที่ 300 มิลลิกรัมมากกว่าสองในสาม แม้การศึกษาหนึ่งจะชี้ว่าร่างกายมนุษย์ไม่อาจดูดซับคอเลสเตอรอลจากไข่ได้มากนัก ไข่แดงมีน้ำหนักคิดเป็น 33% ของน้ำหนักของเหลวของไข่ ไขมันทั้งหมดอยู่ในไข่แดง น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของโปรตีนเล็กน้อย และสารอาหารอื่นส่วนใหญ่ ไข่แดงยังมีโคลีนทั้งหมด และไข่แดงหนึ่งมีปริมาณเกือบครึ่งหนึ่งของปริมาณที่แนะนำต่อวัน โคลีนเป็นสารอาหารสำคัญต่อพัฒนาการของสมอง และกล่าวกันว่าสำคัญต่อสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรเพื่อประกันพัฒนาการทางสมองของทารก", "title": "ไข่ (อาหาร)" }, { "docid": "654839#4", "text": "ครึ่งทรงกลมสมอง (สมองใหญ่) เป็นส่วนใหญ่สุดของสมองมนุษย์และอยู่เหนือโครงสร้างสมองอื่น คลุมด้วยชั้นเปลือกสมอง ซึ่งมีรายละเอียดเฉพาะส่วนบิดเวียน ใต้สมองใหญ่มีก้านสมอง ลักษณะคล้ายก้านซึ่งมีสมองใหญ่ติดอยู่ ด้านหลังของสมอง ใต้สมองใหญ่และหลังก้านสมอง มีสมองน้อย ซึ่งมีผิวเป็นร่องตามขวาง คือ เปลือกสมองน้อย ซึ่งทำให้ดูต่างจากพื้นที่สมองอื่น โครงสร้างเดียวกันนี้ยังปรากฏในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น แม้มีขนาดสัมพัทธ์แตกต่างกันมาก เป็นกฎว่ายิ่งสมองใหญ่เล็กเท่าใด เปลือกสมองจะยิ่งบิดเวียนน้อยเท่านั้น เปลือกสมองของหนูแทบเรียบ ตรงข้ามกับเปลือกสมองของโลมาหรือวาฬที่บิดเวียนมากกว่าเปลือกสมองมนุษย์", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "844951#1", "text": "กำเนิดประสาทจะเกิดในช่วงการเกิดเอ็มบริโอในสัตว์ทั้งหมด และเป็นกระบวนการสร้างนิวรอนทั้งหมดในสัตว์\nโดยก่อนช่วงกำเนิดประสาท เซลล์ประสาทต้นกำเนิดจะแบ่งตัวจนมีจำนวน progenitor cell ที่พอเพียง\nยกตัวอย่างเช่น เซลล์ประสาทต้นกำเนิดหลักของสมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่เรียกว่า radial glial cell จะอยู่ในเขตเริ่มก่อตัวที่เรียกว่า ventricular zone ซึ่งอยู่ข้างโพรงสมองที่กำลังพัฒนาขึ้น\nเซลล์ต้นกำเนิดจะแบ่งตัวจนกระทั่งกลายเป็นนิวรอนลูก (daughter neuron) ที่ไม่แบ่งตัวอีก\nและดังนั้น นิวรอนทั้งหมดจะอยู่ในสภาพ post-mitotic (คือจะไม่แบ่งตัวอีก) และนิวรอนในระบบประสาทกลางมนุษย์โดยมากจะดำรงอยู่ตลอดชีวิตของบุคคล", "title": "กำเนิดประสาท" }, { "docid": "140859#4", "text": "สมองกลีบข้างล้อมรอบด้วยโครงสร้างทางกายวิภาค 4 ส่วน ได้แก่ ร่องกลาง (central sulcus) ที่แบ่งสมองกลีบข้างจากสมองกลีบหน้า, parieto-occipital sulcus (ร่องระหว่างสมองกลีบข้างและสมองกลีบท้ายทอย) ที่แบ่งสมองกลีบข้างจากสมองกลีบท้ายทอย, ร่องด้านข้าง (lateral sulcus) หรือร่องซิลเวียน (sylvian fissure) ซึ่งอยู่ด้านข้างมากที่สุด และแบ่งสมองกลีบข้างจากสมองกลีบขมับ, และ medial longitudinal fissure (ช่องตามยาวแนวกลาง) ที่แบ่งสมองซีกซ้ายจากสมองซีกขวา. ในแต่ละซีกสมอง คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายมีแผนที่ของเขตผิวหนังในด้านตรงกันข้ามของร่างกาย (เช่นคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายในสมองซีกขวามีแผนที่ของเขตผิวหนังในร่างกายด้านซ้าย)[2]", "title": "กลีบข้าง" }, { "docid": "922669#6", "text": "เสียงสูงต่ำของความถี่มูลฐานที่ไม่มี ซึ่งปกติจะเป็นตัวหารร่วมมากของความถี่ฮาร์มอนิกที่มีทั้งหมด\nก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะได้ยิน\nงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์กได้แสดงว่า ภายใต้สถานการณ์จำกัดที่เร้าด้วยฮาร์มอนิกจำนวนน้อย ประชากรมนุษย์ทั่วไปสามารถแบ่งเป็นผู้ที่สามารถรับรู้ความถี่มูลฐานที่ไม่มีและผู้ที่ได้ยินแต่เสียง overtone เป็นหลัก\nซึ่งตรวจโดยให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินทิศทางของเสียง (ขึ้นหรือลง) ของทำนองเพลง\nนักวิจัยได้ใช้เครื่อง MRI และ MEG เพื่อแสดงว่า การได้ยินเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มีมีจะสัมพันธ์กับการทำงานโดยเฉพาะในสมองซีกซ้าย\nเทียบกับการรับรู้เสปกตรัมของเสียงจริง ๆ ซึ่งจะสัมพันธ์กับการทำงานโดยเฉพาะของสมองซีกขวา และคนที่มักจะรับรู้อย่างหลังมักจะเป็นนักดนตรี", "title": "เสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี" }, { "docid": "137276#1", "text": "ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกได้เป็นระบบประสาทกลาง หรือ ซีเอ็นเอส (central nervous system) และระบบประสาทนอกส่วนกลาง หรือ พีเอ็นเอส (peripheral nervous system) ระบบประสาทกลางประกอบด้วยสมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord) ซึ่งมีหน้าที่หลักในการควบคุมพฤติกรรม ส่วนระบบประสาทนอกส่วนกลางประกอบด้วยเซลล์ประสาททั้งหมดที่อยู่นอกระบบประสาทกลาง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นระบบประสาทกาย (somatic nervous system) และระบบประสาทอิสระ หรือ เอเอ็นเอส (autonomic nervous system) \nระบบประสาทกายประกอบด้วยเซลล์ประสาทนำเข้า (afferent neuron) ที่ส่งข้อมูลการรับความรู้สึกจากอวัยวะรับความรู้สึกมายังสมองและไขสันหลัง และเซลล์ประสาทนำออกที่ขนส่งข้อมูลสั่งการออกไปยังกล้ามเนื้อหรืออวัยวะที่ตอบสนองอื่นๆ ระบบประสาทอิสระแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) ซึ่งเป็นชุดของเส้นประสาทที่กระตุ้นการตอบสนองแบบ \"สู้หรือหนี\" (\"fight-or-flight\" response) ส่วนระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) ตรงกันข้ามกันคือเตรียมความพร้อมร่างกายให้พักผ่อนและเก็บพลังงานเอาไว้", "title": "ประสาทกายวิภาคศาสตร์" }, { "docid": "922702#36", "text": "การตอบสนองของอวัยวะภายในต่อกลิ่นอาหารที่น่าทานรวมทั้งน้ำลายไหลและท้องร้อง การตอบสนองของอวัยวะภายในต่อกลิ่นเหม็นเช่นคลื่นไส้และในกรณีที่รุนแรง อาเจียน การตอบสนองทางเพศและทางการทำงานของต่อมไร้ท่อ เช่น หญิงที่พักอาศัยในหอพักหญิงมักจะมีประจำเดือนพร้อม ๆ กัน หญิงที่ได้กลิ่นผ้ากอซซึ่งแปะที่รักแร้ของหญิงอื่น ๆ มักจะมีประจำเดือนพร้อมกัน ซึ่งขัดได้ถ้าให้ดมผ้ากอซที่แปะใต้รักแร้ของชาย ทารกจะรู้จักแม่ของตนโดยกลิ่นภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังเกิด และมักจะดูดนมมากกว่าเมื่อได้กลิ่นแม่ของตนและน้อยกว่าเมื่อได้กลิ่นหญิงมีน้ำนมอื่น ๆ แม่สามารถแยกกลิ่นลูกของตนจากทารกวัยเดียวกันอื่น ๆ อย่างเชื่อถือได้ สัตว์อื่นนอกจากมนุษย์มีพฤติกรรมตอบสนองทางสังคม ทางการสืบพันธุ์ และทางการเลี้ยงลูก เนื่องจากกลิ่นฟีโรโมนที่ได้จาก vomeronasal organ แม้มนุษย์เพียงแค่ 8% จะมี vomeronasal organ และหน่วยรับความรู้สึกของอวัยวะเช่นนี้ไม่ปรากฏว่าแสดงออกในมนุษย์ แต่มนุษย์ชายหญิงก็ยังตอบสนองด้วยพฤติกรรมและด้วยการทำงานของเขตต่าง ๆ ในสมองอย่างไม่เหมือนกันต่อฮอร์โมนเพศคือแอนโดรเจน (ชาย) และเอสโตรเจน (หญิง) แม้ฮอร์โมนจะอยู่ในระดับที่ตรวจจับไม่ได้เหนือจิตสำนึก เขตหลัก ๆ ในสมองที่ตอบสนองรวมทั้งไฮโปทาลามัสและอะมิกดะลา ซึ่งเชื่อว่ามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางสังคม ทางการสืบพันธุ์ และทางสังคม", "title": "ระบบรู้กลิ่น" }, { "docid": "934473#15", "text": "ระบบการเห็นในสมองมนุษย์ช้าเกินที่จะประมวลข้อมูล ถ้าภาพวิ่งข้ามจอตาได้เร็วกว่าไม่กี่องศาต่อวินาที[25] ดังนั้น เพื่อให้มองเห็นเมื่อกำลังเคลื่อนไหว สมองจะต้องชดเชยการเคลื่อนไหวของศีรษะโดยกลอกตา สัตว์ที่มีตาหันไปทางด้านหน้ามจะมีบริเวณเล็ก ๆ ส่วนหนึ่งในจอตาที่เห็นได้ชัดมาก คือ รอยบุ๋มจอตา ซึ่งครอบคลุมมุมการมองเห็นประมาณ 2 องศาในมนุษย์ เพื่อจะให้เห็นได้ชัด สมองจะต้องกลอกตาให้ภาพของวัตถุเป้าหมายตกลงที่รอยบุ๋มจอตา ความล้มเหลวในการเคลื่อนตาอย่างถูกต้อง อาจทำให้เห็นภาพได้ไม่ดี", "title": "ตามนุษย์" }, { "docid": "615934#49", "text": "การแบ่งเพศมีผลต่อสมองด้วย[13] เพราะว่า เอนไซม์ aromatase จะเปลี่ยนเทสโทสเตอโรนเป็น estradiol ซึ่งมีหน้าที่สร้างบุรุษภาพในสมองของหนูหริ่งตัวผู้ ในมนุษย์ การสร้างบุรุษภาพต่อสมองของทารกสัมพันธ์กับการมีตัวรับแอนโดรเจนที่ใช้งานได้ ตามงานศึกษาที่สังเกตความชอบใจทางเพศของคนไข้ที่ผิดปกติแต่กำเนิดในด้านการสร้างแอนโดรเจนหรือด้านการทำงานของตัวรับแอนโดรเจน[93]", "title": "เทสโทสเตอโรน" }, { "docid": "654839#2", "text": "แม้สมองมนุษย์ได้รับการป้องกันจากกระดูกที่หนาของกะโหลก แขวนในน้ำหล่อสมองไขสันหลัง และแยกจากกระแสเลือดด้วยเยื่อกั้นเลือด–สมอง กระนั้น ยังไวต่อความเสียหายและโรค ความเสียหายทางกายภาพแบบที่พบมากที่สุด คือ การบาดเจ็บที่ศีรษะแบบปิด (closed head injury) เช่น การทุบศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง หรือภาวะเป็นพิษจากสารเคมีหลายชนิดที่เป็นพิษต่อประสาท การติดเชื้อของสมอง แม้รุนแรง แต่พบน้อยเนื่องจากมีเยื่อกั้นชีวภาพป้องกันอยู่ สมองมนุษย์ยังไวต่อโรคการเสื่อม เช่น โรคพาร์กินสัน โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งและโรคอัลไซเมอร์ มีภาวะจิตเวชจำนวนหนึ่ง เช่น โรคจิตเภทและภาวะซึมเศร้า คาดว่าสัมพันธ์กับการทำหน้าที่ผิดปรกติของสมอง แม้ธรรมชาติของวิกลภาพของสมองดังกล่าวยังไม่เข้าใจกันดีมาก", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "5920#10", "text": "สปีชีส์มนุษย์พัฒนาสมองใหญ่กว่าสมองของไพรเมตอื่นมาก โดยทั่วไป สมองมนุษย์สมัยใหม่มีปริมาตร 1,330 ซม.3 กว่าสองเท่าของขนาดสมองชิมแปนซีหรือกอริลลา[20] รูปแบบของการรวมอวัยวะสำคัญที่หัวเริ่มต้นด้วย Homo habilis ซึ่งมีขนาดสมองประมาณ 600 ซม.3 ใหญ่กว่าชินแปนซีเล็กน้อย ตามมาด้วย Homo erectus (800-1,100 ซม.3) และถึงขีดสุดในนีแอนเดอร์ทาล โดยมีขนาดโดยเฉลี่ย 1,200-1,900 ซม.3 ซึ่งใหญ่กว่า Homo sapiens เสียอีก รูปแบบของการเจริญเติบโตของสมองหลังคลอดของมนุษย์แตกต่างไปจากลิงไม่มีหางอื่น และทำให้มีระยะการเรียนรู้ทางสังคมและการพัฒนาทักษะภาษายาวนานขึ้นในมนุษย์วัยเยาว์ อย่างไรก็ดี ข้อแตกต่างระหว่างโครงสร้างสมองมนุษย์กับสมองลิงไม่มีหางอื่นอาจสำคัญมากกว่าข้อแตกต่างในด้านขนาด[21][22][23][24] การเพิ่มปริมาตรขึ้นตามเวลาได้กระทบต่อพื้นที่ต่าง ๆ ในสมองไม่เท่ากัน สมองกลีบขมับ ซึ่งบรรจุศูนย์กลางการประมวลผลภาษาได้เพิ่มขึ้นอย่างไม่ได้สัดส่วน เช่นเดียวกับที่สมองส่วนหน้าซึ่งเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจที่ซับซ้อนและการประสานพฤติกรรมทางสังคม[20] การรวมอวัยวะสำคัญไว้ที่หัวมีความสัมพันธ์กับการที่มนุษย์เน้นกินเนื้อสัตว์เป็นอาหารเพิ่มขึ้น[25][26] หรือกับพัฒนาการของการทำอาหาร[27] และมีการเสนอว่า เชาวน์ปัญญาเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นการสนองต่อความจำเป็นต้องแก้ไขปัญหาสังคมที่เพิ่มขึ้น เมื่อสังคมมนุษย์ซับซ้อนขึ้น", "title": "มนุษย์" }, { "docid": "654839#6", "text": "สมองมนุษย์มีคุณสมบัติซึ่งพบร่วมในสมองสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดหลายประการ ซึ่งรวมการแบ่งพื้นฐานเป็นสามส่วน เรียก สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลางและสมองส่วนหลัง โดยมีโพรงสมองซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่ และชุดโครงสร้างสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั่วไปซึ่งรวมก้านสมองส่วนท้ายและพอนส์ของก้านสมอง, สมองน้อย, สิ่งคล้ายหลังคาตา (optic tectum), ทาลามัส, ไฮโปทาลามัส, ปมประสาทฐาน (basal ganglia), ส่วนป่องรู้กลิ่น (olfactory bulb) ฯลฯ", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "39115#13", "text": "เฮเลน ฟิชเชอร์ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นผู้นำในการศึกษาในประเด็นเรื่องความรัก แบ่งแยกประสบการณ์ความรักออกเป็นสามส่วนที่ทับซ้อนกัน ได้แก่ ราคะ ความเสน่หา และความผูกพันทางอารมณ์ ราคะเป็นความรู้สึกที่เกิดจากความต้องการทางเพศ ความเสน่หาแบบโรแมนติกพิจารณาว่าอะไรเป็นสิ่งที่คู่มองว่าน่าดึงดูดและติดตาม ถนอมเวลาและพลังงานโดยการเลือก และความผูกพันทางอารมณ์รวมไปถึงการอยู่ร่วมกัน ภาระพ่อแม่ การป้องกันร่วมกัน และในมนุษย์ยังรวมไปถึงความรู้สึกปลอดภัยและมั่นคง วงจรประสาทที่แยกกันสามวงจร รวมถึงสารสื่อประสาท และยังรวมไปถึงรูปแบบพฤติกรรมทั้งสาม ล้วนเกี่ยวข้องกับรูปแบบโรแมนติกทั้งสามข้างต้น\nราคะเป็นความปรารถนาทางเพศแบบมีอารมณ์ใคร่ในช่วงแรกที่สนับสนุนการหาคู่ และเกี่ยวข้องกับการเพิ่มการหลั่งสารเคมีอย่างเช่น เทสโทสเตอโรนและเอสโตรเจน ผลกระทบเหล่านี้น้อยครั้งนักที่จะเกิดขึ้นนานกว่าไม่กี่สัปดาห์หรือไม่กี่เดือน ส่วนความเสน่หามีความเป็นส่วนตัวมากกว่าและความต้องการแบบโรแมนติกสำหรับบุคคลพิเศษที่เลือกให้เป็นคู่ ซึ่งจะพัฒนามาจากราคะเป็นการผูกมัดกับรูปแบบคู่คนเดียว การศึกษาด้านประสาทวิทยาศาสตร์เมื่อเร็ว ๆ นี้บ่งชี้ว่าบุคคลที่ตกหลุมรัก สมองจะหลังสารเคมีออกมาเป็นชุดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมไปถึงฟีโรโมน โดพามีน นอร์อิพิเนฟริน และเซโรโทนิน ซึ่งจะส่งผลคล้ายกับแอมเฟตามีน กระตุ้นศูนย์ควบคุมความสุขของสมองและนำไปสู่ผลกระทบข้างเคียง อย่างเช่น อัตราเร็วในการเต้นของหัวใจ การสูญเสียความอยากอาหารและการนอน และความรู้สึกตื่นเต้นอย่างรุนแรง การวิจัยได้บ่งชี้ว่าที่ระดับนี้มักจะกินเวลาตั้งแต่ปีครึ่งถึงสามปี", "title": "ความรัก" }, { "docid": "5920#2", "text": "มนุษย์มีลักษณะพิเศษ คือ มีสมองใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดตัว โดยเฉพาะสมองชั้นนอก สมองส่วนหน้า และสมองกลีบขมับที่พัฒนาเป็นอย่างดี ทำให้มนุษย์สามารถให้เหตุผลเชิงนามธรรม ใช้ภาษา พินิจภายใน (introspection) แก้ปัญหาและสร้างสรรค์วัฒนธรรมผ่านการเรียนรู้ทางสังคม ขีดความสามารถทางจิตใจของมนุษย์นี้ ประกอบกับการปรับตัวมาเคลื่อนไหวสองเท้าซึ่งทำให้มือว่างจัดการจับวัตถุได้ ทำให้มนุษย์สามารถใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้ดีกว่าสปีชีส์อื่นใดบนโลกมาก มนุษย์ยังเป็นสปีชีส์เดียวเท่าที่ทราบที่ก่อไฟและทำอาหารเป็น สวมใส่เสื้อผ้า และสร้างสรรค์และใช้เทคโนโลยีและศิลปะอื่น ๆ การศึกษามนุษย์เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ เรียกว่า มานุษยวิทยา", "title": "มนุษย์" }, { "docid": "568199#2", "text": "ผิวของเปลือกสมองดำรงอยู่เป็นส่วนพับในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ จนกระทั่งว่า ผิวเปลือกสมองของมนุษย์มากกว่าสองในสามส่วน อยู่ใต้ช่องที่เรียกว่า \"ร่อง\" (sulci) ส่วนใหม่ที่สุดของเปลือกสมองตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ ก็คือ คอร์เทกซ์ใหม่ (neocortex) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไอโซคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 6 ชั้น ส่วนที่เก่าแก่ที่สุดก็คือฮิปโปแคมปัส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาร์คิคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 3 ชั้นเป็นอย่างมาก และแบ่งเขตออกเป็นฟิลด์ย่อยของฮิปโปแคมปัส (Hippocampal subfields)", "title": "เปลือกสมอง" }, { "docid": "868101#1", "text": "มีสมมติฐานว่า มนุษย์ปัจจุบันได้วิวัฒนาการมาจากมนุษยโบราณ ซึ่งก็วิวัฒนาการมาจาก \"Homo erectus\"\nบางครั้ง มนุษย์โบราณจะรวมเข้าในสปีชีส์ \"\"Homo sapiens\"\" เพราะขนาดสมองใกล้เคียงกัน\nคือ มีขนาดสมองเฉลี่ยที่ระหว่าง 1,200-1,400 ซม ซึ่งคาบเกี่ยวกับพิสัยขนาดสมองของมนุษย์ปัจจุบัน\nแต่มนุษย์โบราณจะต่างจากมนุษย์ปัจจุบันโดยมีกะโหลกศีรษะหนา สันคิ้วเหนือตาที่เด่น และไม่มีคางเด่นเท่ามนุษย์ปัจจุบัน", "title": "มนุษย์โบราณ" }, { "docid": "912540#65", "text": "รหัสนี้อาจแบ่งได้โดยอีกวิธีหนึ่งเป็น 2 แบบ ก็คือแบบ \"critically complete\" (สมบูรณ์อย่างวิกฤติ) หรือ \"overcomplete\" (สมบูรณ์เกิน)\nเปลือกสมองส่วนการเห็นปฐมภูมิของมนุษย์ประเมินว่า สมบูรณ์เกินโดยแฟกเตอร์ 500 ดังนั้น ข้อมูลขาเข้าที่ 14x14 (196-dimensional space) จะเข้ารหัสโดยนิวรอนประมาณ 100,000 ตัว", "title": "การเข้ารหัสทางประสาท" }, { "docid": "654839#0", "text": "สมองมนุษย์</b>มีโครงสร้างทั่วไปเหมือนสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น แต่มีเปลือกสมองพัฒนามากกว่าสัตว์ชนิดอื่น สัตว์ใหญ่อย่างวาฬและช้างมีสมองใหญ่กว่าในเชิงสัมบูรณ์ แต่เมื่อเทียบกับขนาดกายแล้ว สมองมนุษย์ใหญ่เป็นเกือบสองเท่าของสมองโลมาปากขวดและใหญ่เป็นสามเท่าของสมองชิมแปนซี การขยายส่วนมากมาจากเปลือกสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลีบหน้า ซึ่งสัมพันธ์กับการทำหน้าที่บริหาร เช่น การควบคุมตน การวางแผน การให้เหตุผลและความคิดนามธรรม ส่วนของเปลือกสมองที่ทำหน้าที่มองเห็น คือ เปลือกสมองส่วนการเห็น ยังใหญ่มากในมนุษย์ด้วย", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "654839#1", "text": "เปลือกสมองมนุษย์เป็นชั้นเนื้อเยื่อประสาทหนาที่คลุมสมองส่วนใหญ่ ชั้นนี้พับเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวซึ่งสามารถจุในปริมาตรเท่าที่มี รูปแบบการพับเหมือนกันในแต่ละบุคคล แม้มีการแปรผันเล็กน้อยอยู่มาก เปลือกสมองแบ่งเป็นสี่ \"กลีบ\" เรียก กลีบหน้า กลีบข้าง กลีบขมับและกลีบท้ายทอย (ระบบจำแนกบางระบบยังรวมกลีบลิมบิกและถือเปลือกอินซูลาร์ [insular cortex] เป็นกลีบหนึ่งด้วย) ในแต่ละกลีบมีพื้นที่เปลือกจำนวนมาก แต่ละพื้นที่กลีบสัมพันธ์กับหน้าที่เฉพาะ ซึ่งรวมการเห็น การควบคุมสั่งการและภาษา เปลือกสมองฝั่งซ้ายและขวาโดยคร่าว ๆ มีรูปทรงคล้ายกัน และพื้นที่กลีบส่วนมากมีซ้ำกันทั้งสองขวา ทว่า บางพื้นที่มีเฉพาะข้างหนึ่งอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พื้นที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับภาษา ในคนส่วนมาก ซีกซ้าย \"เด่น\" สำหรับภาษา ขณะที่ซีกขวามีบทบาทเพียงเล็กน้อย มีหน้าที่อื่นเช่น มิติสัมพันธ์ ซึ่งซีกขวาโดยปกติเด่น", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "844992#19", "text": "คอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ (primary auditory cortex, PAC) เป็นเขตแรกในเปลือกสมองที่รับข้อมูลเสียง\nการได้ยินเสียงสัมพันธ์กับรอยนูนสมองกลีบขมับส่วนบน (STG) ด้านหลังกลีบซ้าย\nคือ STG มีโครงสร้างสำคัญหลายอย่างรวมทั้งบริเวณบรอดมันน์ 41 และ 42 ซึ่งเป็นตำแหน่งของ PAC ที่มีหน้าที่รับรู้ลักษณะพื้นฐานของเสียงเช่น เสียงสูงต่ำและจังหวะ\nนักวิทยาศาสตร์ได้เรียนรู้จากงานในไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ว่า PAC อาจแบ่งเป็นส่วนที่ทำหน้าที่โดยเฉพาะ ๆ\nนิวรอนของ PAC สามารถมองได้ว่า มีลานรับสัญญาณ (receptive field) คลุมความถี่เสียงช่วงหนึ่ง หรือตอบสนองต่อเสียงสูงเสียงต่ำในระดับหนึ่งโดยเฉพาะ\nส่วนนิวรอนที่รวมข้อมูลจากหูทั้งสองจะมีลานสัญญาณเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของปริภูมิเสียง", "title": "ระบบการได้ยิน" }, { "docid": "102327#9", "text": "กระดูกหุ้มสมอง หรือ นิวโรเครเนียม (Neurocranium) ซึ่งหุ้มรอบสมองและอวัยวะรับสัมผัสเช่นเดียวกับในมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่ บริเวณรับกลิ่น (Olfactory Region) , บริเวณเบ้าตา (Orbital region) , บริเวณหู (Otic Region) , และบริเวณฐานกล่องสมอง (Basicranial Region) [9] บรางคิโอเครเนียม (Branchiocranium) ซึ่งเป็นส่วนกระดูกที่ไม่ได้หุ้มรอบสมอง แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ บริเวณปากและขากรรไกร (Oromandibular Region) , บริเวณไฮออยด์ (hyoid region) และบริเวณเหงือก (branchial region) [9]", "title": "กะโหลกศีรษะ" }, { "docid": "916913#3", "text": "การที่ชิ้นส่วนกะโหลกศีรษะไม่เชื่อมกันสนิทตั้งแต่แรกเกิดนี้ทำให้ทารกมนุษย์ที่มีศีรษะและสมองขนาดใหญ่สามารถคลอดผ่านช่องคลอดที่ถูกวิวัฒนาการมาให้รองรับการยืนเดินด้วยสองขาได้ เนื่องจากแผ่นกะโหลกแต่ละชิ้นสามารถเคลื่อนเข้าหาหรือแม้แต่เกยกันได้ระหว่างคลอด ทารกแรกเกิดบางคนจึงมีรูปร่างของศีรษะที่บิดเบี้ยวไปเล็กน้อย ซึ่งจะค่อยๆ คืนกลับสู่รูปร่างปกติภายใน 2-3 วันหรือไม่กี่สัปดาห์หลังเกิด หนังศีรษะของทารกแรกเกิดอาจบวมหรือรอยช้ำได้โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดที่ไม่มีเส้นผม บริเวณรอบๆ ตาก็อาจบวมฉุเล็กน้อยได้ ซึ่งเป็นผลจากการคลอด", "title": "ทารก" }, { "docid": "355321#10", "text": "สมองส่วนกลาง ภาพตัดขวางของสมองส่วนกลางที่ระดับซุพีเรียร์ คอลลิคูลัส เอ็มบริโอของไก่ อายุฟักตัว 34 ชั่วโมง มุมมองจากด้านหลัง ขยาย 30 เท่า เอ็มบริโออายุระหว่าง 18-21 วัน ภาพตัดขวางของสมองส่วนกลางที่ระดับอินฟีเรียร์ คอลลอคูลัส ภาพตัดขวางของสมองส่วนกลางที่ระดับซุพีเรียร์ คอลลิคูลัส แผนภาพแสดงการแบ่งส่วนของสมองในเอ็มบริโอสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ซีรีบรัมของมนุษย์ มุมมองด้านข้าง ภาพตัดแนวหน้าหลังของสมองของมนุษย์ สมองส่วนกลาง (Animation) มุมมองภายในของเบซัล แกงเกลีย มุมมองภายนอกของเบซัล แกงเกลีย พื้นผิวด้านหน้าของก้านสมอง พื้นผิวด้านหลังของก้านสมอง พื้นผิวด้านนอกของก้านสมอง", "title": "สมองส่วนกลาง" }, { "docid": "815796#13", "text": "Event-related optical signal (EROS) เป็นเทคนิคสร้างภาพสมองซึ่งใช้รังสีอินฟราเรดผ่านเส้นใยนำแสงเพื่อวัดความเปลี่ยนแปลงทางคุณลักษณะแสงของเปลือกสมองที่กำลังทำงานอยู่ เทียบกับเทคนิคเช่น diffuse optical imaging (DOT) และ near infrared spectroscopy (NIRS) ที่วัดการดูดซึมแสงของเฮโมโกลบิน และดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับการไหลเวียนของเลือด EROS ใช้การกระเจิงแสงของเซลล์ประสาทโดยตรง และดังนั้น จึงวัดการทำงานของเซลล์ได้โดยตรงกว่า EROS สามารถหาตำแหน่งการทำงานในสมองได้ในระดับมิลลิเมตร (โดยพื้นที่) และในระดับมิลลิวินาที (โดยเวลา) ข้อเสียที่ใหญ่ที่สุดก็คือมันไม่สามารถตรวจจับการทำงานที่ลึกเกินกว่า 2-3 ซม. EROS เป็นเทคนิคใหม่ มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างน้อย ไม่ต้องผ่าไม่ต้องเจาะสัตว์หรือมนุษย์ที่เป็นตัวทดลอง และพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ right|thumbnail|ภาพสมอง MRI ตามระนาบแบ่งซ้ายขวา (Sagittal) แบ่งที่เส้นกลาง (midline)", "title": "การสร้างภาพประสาท" }, { "docid": "879427#35", "text": "ความขัดแย้งระหว่างขนาดสมองของทารกมนุษย์เมื่อคลอด (ซึ่งไม่สามารถใหญ่กว่าประมาณ 400 ซม ไม่เช่นนั้นก็จะผ่านเชิงกรานของแม่ออกมาไม่ได้) กับขนาดสมองของผู้ใหญ่ (เฉลี่ยที่ 1,300 ซม) หมายความว่า สมองของทารกเกิดใหม่ยังต้องเจริญเติบโตอีกมาก\nสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิตมนุษย์มากที่สุด (รวมทั้งการเคลื่อนไหวและการพูด) จำต้องรอให้สมองโตเสียก่อน\nนี่เป็นผลของการอะลุ้มอล่วยในกำเนิดทารก\nเป็นปัญหาที่โดยมากมาจากการเป็นสัตว์สองเท้าของมนุษย์ เพราะถ้าไม่ได้เดินด้วยสองเท้า เชิงกรานแม่ก็อาจจะมีรูปร่างที่เหมาะสมกับศีรษะที่ใหญ่ยิ่งกว่านี้\nนี่เป็นปัญหาที่สายพันธุ์มนุษย์ที่มีสมองใหญ่เช่นนีแอนเดอร์ทาลก็มีเหมือนกัน", "title": "การปรับตัว (ชีววิทยา)" }, { "docid": "140926#0", "text": "ในทางประสาทกายวิภาคศาสตร์ ร่องด้านข้าง หรือ ร่องซิลเวียน (Lateral sulcus หรือ Sylvian fissure หรือ lateral fissure) เป็นโครงสร้างที่โดดเด่นของสมองมนุษย์ แบ่งสมองกลีบหน้า (frontal lobe) และสมองกลีบข้าง (parietal lobe) ที่อยู่ด้านบนออกจากสมองกลีบขมับ (temporal lobe) ที่อยู่ด้านล่าง ปรากฏอยู่ทั้งซีรีบรัล เฮมิสเฟียร์ทั้งสองข้าง แต่ข้างซ้ายยาวกว่า ร่องนี้เป็นหนึ่งในร่องที่วิวัฒนาการขึ้นมาแรกสุดในสมองมนุษย์ ปรากฏขึ้นในราวอายุครรภ์ประมาณสัปดาห์ที่ 14 นับจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย", "title": "ร่องด้านข้าง" }, { "docid": "11347#42", "text": "สมองของช้างมีมวลมากกว่า 5 กิโลกรัมเล็กน้อย คิดเป็นสมองของสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ลักษณะพฤติกรรมของช้างที่สอดคล้องกับสติปัญญาของมันนั้นมีอย่างกว้างขวาง รวมไปถึงการมีความเศร้าโศก การทำเสียงดนตรี ศิลปะ การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การที่เลี้ยงทารกได้โดยไม่มีแม่ การเล่น การใช้อุปกรณ์ พัฒนาการต่างๆที่มนุษย์สอนและการใช้เวลาช่วงที่อยู่ด้วยกันตอนทำงานและสงสาร,การรู้จักตนเอง เชื่อกันว่าช้างมีระดับสติปัญญาเทียบเท่ากับสัตว์ในอันดับวาฬและโลมา และไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ สมองของช้างคล้ายคลึงกับสมองของมนุษย์ในแง่ของโครงสร้างและความซับซ้อน สมองของช้างแสดงรูปแบบหมุนเวียนซึ่งมีความซับซ้อนกว่าและมีขดมวนมากกว่า หรือรอยพับสมอง มากกว่ามนุษย์ ไพรเมตหรือสัตว์กินเนื้อ แต่ยังมีความซับซ้อนน้อยกว่าอันดับวาฬและโลมา อย่างไรก็ตาม เปลือกสมองของช้าง \"หนากว่าเปลือกสมองของอันดับวาฬและโลมา\" และเชื่อกันว่ามีเซลล์ประสาทและมีไซแนปส์เท่ากับไซแนปส์ของมนุษย์ ซึ่งมากกว่าอันดับวาฬและโลมา", "title": "ช้าง" }, { "docid": "139805#0", "text": "กลีบสมอง (English: Lobes of the brain) เป็นส่วนหนึ่งของสมอง ในการแบ่งกลีบของสมองในระยะดั้งเดิม เป็นการแบ่งตามลักษณะทางกายวิภาค ซึ่งแสดงถึงความเกี่ยวข้องกับหน้าที่ที่ต่างๆ กันของสมอง เทเลนเซฟาลอน ซึ่งเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดของสมองมนุษย์แบ่งออกได้เป็นกลีบต่างๆ เช่นเดียวกันกับสมองส่วนซีรีเบลลัม แต่หากไม่ระบุให้เจาะจงลงไป การแบ่งกลีบของสมองมักหมายถึงการแบ่งกลีบเฉพาะของซีรีบรัม", "title": "กลีบสมอง" }, { "docid": "895684#13", "text": "ลักษณะหลาย ๆ อย่างสนับสนุนแบบจำลองนี้ เช่น การต้องอาศัยสิ่งเร้า และช่วงชักช้าก่อนที่อาการปวดต่างที่จะปรากฏเทียบกับอาการปวดเฉพาะที่ แต่การปรากฏของลานรับสัญญาณใหม่ ซึ่งตีความว่าทำให้เกิดอาการปวดต่างที่ ไม่เข้ากับหลักฐานการทดลองส่วนมากรวมทั้งงานในบุคคลที่มีสุขภาพปกติ นอกจากนั้นแล้ว อาการปวดต่างที่โดยทั่วไปจะปรากฏภายในไม่กี่วินาทีในมนุษย์ เทียบกับเป็นนาที ๆ ในสัตว์ทดลอง นักวิทยาศาสตร์บางพวกอธิบายว่า นี่เกิดจากกลไกหรือจากอิทธิพลของระบบอื่น ๆ นอกเหนือไปจากไขสันหลัง เทคนิคการสร้างภาพสมอง เช่น PET หรือ fMRI อาจช่วยให้เห็นกระบวนการทางประสาทที่เป็นเหตุสำหรับการทดลองในอนาคต[2]", "title": "อาการปวดต่างที่" } ]
2302
อาสนวิหารอ็องกูแลม ถูกสร้างในปีใด?
[ { "docid": "298882#1", "text": "อาสนวิหารแรกที่สร้างสร้างบนสถานที่เดิมเป็นศาสนสถานก่อนสมัยศาสนาคริสต์ ในอาสนวิหารอ็องกูแลมใช้เวลาสร้างทั้งหมดเริ่มสร้างเป็นครั้งแรกเมื่อปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 วัดถูกทำลายเมื่อโคลวิสที่ 1 เข้ามายึดเมืองหลังจากยุทธการที่วูเย ในปี ค.ศ. 507 อาสนวิหารต่อมาได้รับการสถาปนาในปี ค.ศ. 560 แต่ก็มาถูกเผาโดยชาวไวกิงและนอร์มันราวสองร้อยปีต่อมา", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" } ]
[ { "docid": "143450#3", "text": "ระหว่างปี ค.ศ. 1876 ถึง ปี ค.ศ. 1880 อาสนวิหารรูอ็องเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก เมื่อปี ค.ศ. 1944 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 อาสนวิหารถูกระเบิดซึ่งเกือบทำลายหอกลาง", "title": "อาสนวิหารรูอ็อง" }, { "docid": "526890#4", "text": "ซึ่งสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้จะพบในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 ซึ่งเป็นการผสมผสานองค์ประกอบแบบกอทิก (โดยเฉพาะบริเวณเพดานโค้งสันแบบกอทิก) กับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ของภาคตะวันตกของฝรั่งเศส (วิหารที่มีโดมเป็นองค์ประกอบเหมือนกับที่มหาวิหารอ็องกูแลม และมหาวิหารเปรีเกอ) ซึ่งยังรวมถึงลักษณะของบริเวณกลางโบสถ์ซึ่งประกอบด้วยทางเดินกลางเพียงแห่งเดียว (ไม่มีทางเดินข้าง) หรือมิฉะนั้นจะมีถึง 3 ทาง นอกจากนั้นยังพบว่าบริเวณสันเพดาน ที่มีลักษณะเกือบโค้งเป็นครึ่งวงกลมซึ่งทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ครีบยันลอยเป็นตัวรับน้ำหนัก", "title": "กอทิกอ็องฌ์แว็ง" }, { "docid": "530954#0", "text": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล () เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ. 1856 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9", "title": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล" }, { "docid": "298929#2", "text": "การก่อสร้างต้องมายุติลงเมื่อเกิดแบล็กเดท และระหว่างสงครามร้อยปี และมาเริ่มกันใหม่อีกครั้งเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยสร้างบริเวณร้องเพลงสวดและเพดานจนเสร็จ และช่วงแรกของทางเดินกลาง หลังจากเพลิงไหม้ในปี ค.ศ. 1510 บิชอปฟร็องซัว แด็สแต็ง ก็ทำการสร้างอาสนวิหารขึ้นใหม่ระหว่างปี ค.ศ. 1513 ถึงปี ค.ศ. 1526 ภายใต้การอำนวยการของอ็องตวน ซาลแว็ง พร้อมด้วยหอระฆังอันงดงามใหม่ อาสนวิหารมาสร้างเสร็จราวปี ค.ศ. 1531", "title": "อาสนวิหารรอแดซ" }, { "docid": "216129#4", "text": "อิซาเบลลากลายเป็นเคานเตสแห่งอ็องกูแลมด้วยสิทธิ์ของตนเมื่อ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1202 ในตอนที่พระองค์เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษแล้ว การอภิเษกสมรสกับพระเจ้าจอห์นของพระองค์เกิดขึ้นเมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1200 ในอ็องกูแลม หนึ่งปีหลังพระเจ้าจอห์นประกาศให้การอภิเษกสมรสกับอิซาเบลลาแห่งกลอสเตอร์ของพระองค์เป็นโมฆะ พระองค์ได้รับการสวมมงกุฎราชินีในพิธีที่พิถีพิถันเมื่อ 8 ตุลาคม ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ในลอนดอน อิซาเบลลาเดิมถูกหมั้นหมายกับฮิวจ์ที่ 9 เลอ บรัน เคานต์แห่งลูซินญ็อง บุตรชายของเคานต์แห่งลา มาร์ช ผลของความบุ่มบ่ามในการรับพระองค์เป็นพระมเหสีคนที่สองของจอห์น ทำให้พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศสริบดินแดนในฝรั่งเศสทั้งหมดของทั้งสอง และตามมาด้วยความขัดแย้ง", "title": "อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม" }, { "docid": "298882#0", "text": "อาสนวิหารอ็องกูแลม (French: Cathédrale d'Angoulême) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอ็องกูแลม (Cathédrale Saint-Pierre d'Angoulême) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก[1] ประจำมุขมณฑลอ็องกูแลม ตั้งอยู่ที่เมืองอ็องกูแลม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารอ็องกูแลมซึ่งเป็นอาสนวิหารตัวอย่างโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ได้รับการสถาปนาเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1017", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "298882#3", "text": "ลักษณะรูปทรงของอาสนวิหารก็ได้เปลี่ยนแปลงไปจากการซ่อมแซมและขยายตัวในช่วงหลายร้อยปีที่ตามมา เช่นหอระฆังที่ถูกทำลายไประหว่างสงครามศาสนาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกจากนั้นก็ยังมีการเปลี่ยนแปลงระหว่างการบูรณปฏิสังขรณ์โดยปอล อาบาดีระหว่างปี ค.ศ. 1866–1885 ที่รวมทั้งการสร้างหอใหม่สองหอที่คลุมด้วยหลังคาทรงกรวย จะมีก็แต่มุขด้านตะวันตกหรือด้านหน้าเท่านั้นที่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นสถาปัตยกรรมยุคกลาง", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "298882#7", "text": "ผังอาสนวิหาร ด้านหน้าอาสนวิหาร หอนาฬิกาและมุขโค้งด้านสกัด ทางเดินกลาง หน้าบัน", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "521422#5", "text": "ในช่วงครึ่งศตวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ได้มีการย้ายที่ตั้งของบิชอปของมุขมณฑลนิส จากอาสนวิหารซีมีเย ที่ตั้งอยู่บนเนินเขาปราสาท ที่มองลงมาเห็นตัวเมืองนิส โดยทำพิธีย้ายมาที่โบสถ์นักบุญเรปาราตาแห่งนี้ โดยมีผู้ทำพิธีคือบิชอปลุยจี ปัลลาวีชีนี พร้อมทั้งชาร์ล เอมานุแอลที่ 1 ดยุกแห่งซาวอย โดยเรียกชื่ออาสนวิหารนี้ว่า \"chiesa-cattedrale\" ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1649 ได้ขยับขยายตัววิหารที่มีขนาดเล็กเกินไป โดยบิชอปดีดีเย ปาเลอตี ได้ว่าจ้างสถาปนิกฌ็อง-อ็องเดร กีแบร์โต เพื่อสร้างให้มีความสง่างามสมฐานะของเมืองนิส", "title": "อาสนวิหารนิส" }, { "docid": "523197#0", "text": "อาสนวิหารปามีเย () หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอ็องตอแน็งแห่งปามีเย () เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก อันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลปามีเย กูเซอร็อง และมีร์ปัว ตั้งอยู่ที่เมืองปามีเย จังหวัดอาเรียฌ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญประจำเมือง คือ นักบุญอ็องตอแน็ง", "title": "อาสนวิหารปามีเย" }, { "docid": "521507#2", "text": "ต่อมาในปี ค.ศ. 1883 ได้มีการสร้างโบสถ์สำหรับอารามแห่งนี้ขึ้นใหม่โดยสร้างต่อเนื่องกันเป็นกลุ่มอาคารในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก และต่อมาได้ใช้เปลี่ยนสถานะโบสถ์หลังนี้มาเป็นอาสนวิหารตามดำริของพระคาร์ดินัลหลุยส์ เรอเน เอดัวร์ เดอ รออ็อง เพื่อทดแทนอาสนวิหารแบบกอทิกหลังเดิมที่ถูกทำลายลง ", "title": "อาสนวิหารอารัส" }, { "docid": "532099#7", "text": "ในปี ค.ศ. 1746 บริเวณหน้าบันฝั่งทิศตะวันตกอยู่ในสภาพชำรุดและใกล้จะถล่ม จึงมีความเห็นให้ทุบบริเวณส่วนนั้นทิ้ง และได้สร้างใหม่ระหว่างปี ค.ศ. 1761–1786 ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก ตามแบบของสถาปนิกโกลด-หลุยส์ ดาวีเล ที่เคยเสนอไว้เมื่อปี ค.ศ. 1758 และได้สร้างด้วยฝีมือของสถาปนิกฌ็อง-อ็องตวน การิสตี จนสำเร็จ ต่อมาในปี ค.ศ. 1790 อาสนวิหารได้ถูกปิดลงท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของคริสตจักรในประเทศฝรั่งเศส และได้เปิดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 1791 หลังจากมีการแต่งตั้งมุขนายกองค์ใหม่ อูว์แบร์-อ็องตวน ว็องเดอแล็งกูร์ ซึ่งเป็นผู้ที่สั่งให้ทำลายฉากกางเขนลงในปี ค.ศ. 1792", "title": "อาสนวิหารล็องกร์" }, { "docid": "143450#0", "text": "อาสนวิหารรูอ็อง () หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระแห่งรูอ็อง () เป็นอาสนวิหารแบบกอทิก ตั้งอยู่ที่เมืองรูอ็อง ในจังหวัดแซน-มารีตีม แคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลรูอ็อง และอาสนวิหารแห่งนี้ยังอยู่ในฐานะ \"Primatial Cathedral\" ในตำแหน่ง \"ไพรเมตแห่งนอร์ม็องดี\" ()", "title": "อาสนวิหารรูอ็อง" }, { "docid": "298882#8", "text": "อ็องกูแลม หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 4 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1110 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดชาร็องต์ หมวดหมู่:อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "530954#2", "text": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998", "title": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล" }, { "docid": "298882#6", "text": "บริเวณร้องเพลงสวดครึ่งวงกลมขนามด้วยมุขขนาดเล็กสองมุขที่คลุมด้วยโดมครึ่งโดม", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "298882#5", "text": "ภายในสิ่งก่อสร้างเป็นทางเดินกลางที่อยู่ภายใต้โดมสามโดม แขนกางเขนยาวจรดหอทางด้านเหนือและใต้ มุขตะวันออกเป็นชาเปลกระจายออกไปสี่ห้อง ตรงบริเวณจุดตัดระหว่างทางเดินกลางและแขนกางเขนเป็นโดมขนาดใหญ่ที่สร้างแทนโดมเดิมที่ถูกทำลายไประหว่างการถูกล้อมโดยกองกำลังฝ่ายโปรเตสแตนต์ในปี ค.ศ. 1568 เดิมแขนกางเขนส่องสว่างด้วยหอตะเกียง (lantern tower) สองหอ แต่ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียงหอเดียว (ปอล อาบาดี ได้ขยายต่อเติม และย้ายประติมากรรมของยุคกลางออกไป)", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "303776#1", "text": "อาสนวิหารปัจจุบัน () ที่สร้างอย่างใหญ่โตเป็นแบบไบแซนไทน์-โรมาเนสก์สร้างขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1852 ถึงปี ค.ศ. 1896 บนสถานที่ที่เคยเป็นอาสนวิหารแห่งมาร์แซย์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 โดยสถาปนิกเลอง โวดัวเย และอ็องรี-ฌัก แอ็สเปร็องดีเยอ (ค.ศ. 1829–1874) สิ่งก่อสร้างที่มีขนาดย่อมกว่าจากอาสนวิหารเดิม () ที่ยังคงตั้งอยู่เคียงข้างอาสนวิหารใหม่แต่ก็ถูกบดบังเพราะขนาดอันโอฬารของสิ่งก่อสร้างใหม่", "title": "อาสนวิหารมาร์แซย์" }, { "docid": "527502#0", "text": "อาสนวิหารกูต็องส์ () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งกูต็องส์ () เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลกูต็องส์และอาวร็องช์ ตั้งอยู่ในเมืองกูต็องส์ จังหวัดม็องช์ ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระแม่มารี", "title": "อาสนวิหารกูต็องส์" }, { "docid": "298882#4", "text": "ด้านหน้าของอาสนวิหารตกแต่งด้วยประติมากรรมถึงกว่า 70 รูปที่จัดเป็นสองหัวข้อ \"พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์\" และ \"การพิพากษาครั้งสุดท้าย\" ที่ผสานกันอย่างกลมกลืน พระเยซูปรากฏพระองค์ในกรอบมันดอร์ลา (mandorla) ขณะที่ทูตสวรรค์สององค์ชี้ให้สาวกเห็นมโนทัศน์ ใบหน้าของผู้ศรัทธาภายใต้ซุ้มโค้งต่างก็มองไปทางพระมหาไถ่ ขณะที่ผู้สร้างบาปถูกผลักเข้าไปตามซอกซุ้มโค้งให้ถูกลงโทษเป็นเหยื่อของซาตาน นอกจากสองหัวข้อนี้แล้วประติมากรก็ยังสร้างภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตประจำวันที่รวมทั้งการล่าสัตว์", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "527502#8", "text": "บริเวณร้องเพลงสวดนั้นยังเป็นข้อถกเถียงกันถึงช่วงเวลาการก่อสร้าง นักประวัติศาสตร์อ็องเดร มูว์ซา และเอลี ล็องแบร์ สันนิษฐานว่าประมาณปี ค.ศ. 1220 โดยได้พิจารณาว่าการก่อสร้างมีแบบแผนเดียวกันกับอาสนวิหารบูร์โกส ซึ่งเริ่มในปี ค.ศ. 1221 รอเบิร์ต แบรนเนอร์ สันนิษฐานว่าช่วงปี ค.ศ. 1230 และ ค.ศ. 1240 ส่วนฌ็อง บอนี และเออแฌน เลอแฟฟวร์-ปงตาลี เป็นช่วงปี ค.ศ. 1220-1255 และโจเอล เฮิร์ชมันน์ ได้สันนิษฐานว่าบริเวณจรมุขชั้นนอกและกำแพงของจรมุขชั้นในสร้างในช่วงปี ค.ศ. 1220-1235 และช่วงต่อมาเป็นการสร้างส่วนชั้นบนและเพดานโค้งของจรมุขชั้นใน ในช่วงปี ค.ศ. 1240\nในปี ค.ศ. 1223 มุขนายกอูก เดอ มอร์วีล สบทบทุนสร้างชาเปลอีก 2 หลัง ได้แก่ ชาเปลนักบุญจอร์จ และชาเปลนักบุญทอมัส แบ็กกิต บริเวณร้องเพลงสวดน่าจะเสร็จสิ้นราวปี ค.ศ. 1238 ซึ่งตรงกับพิธีปลงศพของมุขนายกอูก เดอ มอร์วีล มุขทางเข้าทิศใต้และตะวันตกเฉียงเหนือสันนิษฐานว่าเริ่มก่อสร้างราวปี ค.ศ. 1228 เนื่องจากใช้ช่างแกะสลักหินจากสำนักเดียวกับการก่อสร้างระเบียงคดของมง-แซ็ง-มีแชลที่แล้วเสร็จในปีเดียวกันคือ ค.ศ. 1228", "title": "อาสนวิหารกูต็องส์" }, { "docid": "521066#1", "text": "อาสนวิหารสทราซบูร์เคยได้รับการบันทึกเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสูงที่สุดในโลก ในช่วงปี ค.ศ. 1647 จนถึงปี ค.ศ. 1874 ด้วยความสูงถึง 142 เมตร ซึ่งในปัจจุบัน ถือเป็นวิหารที่สูงที่สุดอันดับที่หกของโลก และสูงที่สุดเป็นอันดับสองรองจากอาสนวิหารรูอ็อง และยังถือเป็นวิหารที่สูงที่สุดที่สร้างในยุคกลาง ที่ยังคงสภาพอยู่ในปัจจุบัน", "title": "อาสนวิหารสทราซบูร์" }, { "docid": "530954#4", "text": "บริเวณร้องเพลงสวดเนื่องจากถูกสร้างขึ้นบนเนินผาหิน ซึ่งต่อมาเพื่อทำการขยายอาสนวิหารในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11–12 เพื่อรับกับจำนวนของผู้แสวงบุญที่เพิ่มขึ้นตลอดทุก ๆ ปี จึงได้มีการการสร้างส่วนขยายอีก 4 ช่วงเสาในบริเวณที่ต่ำกว่า จึงได้มีการเพิ่มขนาดของเสาและโครงสร้างเพื่อให้สามารถเสริมยอดโดมให้เสมอกันกับช่วงที่สูงกว่า โดยเพิ่มความสูงในส่วนที่ต่ำกว่าถึง 17 เมตร", "title": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล" }, { "docid": "298882#2", "text": "อาสนวิหารที่สามสร้างขึ้นภาพใต้การอำนวยการของบิชอปกรีมออาร์ อธิการอารามแซ็ง-ปีแยร์แห่งบร็องโตม และได้รับเสกในปี ค.ศ. 1017 เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ประชาชนเห็นพ้องกันว่าโบสถ์มีขนาดเล็กไปกว่าฐานะของเมือง การออกแบบอาสนวิหารใหม่ทำโดยบิชอปเฌราร์ที่ 2 ผู้เป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งของฝรั่งเศสในยุคนั้นผู้เป็น ศาสตราจารย์ สมณทูตสี่พระองค์ และเป็นศิลปินผู้มีฝีมือด้วย งานสร้างอาสนวิหารเริ่มขึ้นราวปี ค.ศ. 1110 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1128", "title": "อาสนวิหารอ็องกูแลม" }, { "docid": "526954#5", "text": "ต่อมาไม่นานก็ได้มีการบูรณะอีกโดยมุขนายกเรอโน เดอ มาร์ตีเญ และอูลแฌร์ และเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมากในสมัยของมุขนายกนอร์ม็อง เดอ ดูเอ และกีโยม เดอ โบมง โดยสองท่านหลังได้บูรณะโดยสร้างใหม่ในส่วนของบริเวณกลางโบสถ์ และมุขทางเข้าด้านหน้าอาสนวิหาร ซึ่งบริเวณกลางโบสถ์ที่เป็นโถงเดี่ยวนั้น (ไม่มีทางเดินข้าง) ต่อมาในภายหลังได้เป็นตัวอย่างสำคัญของการก่อสร้างอาสนวิหารอ็องกูแลมและแอบบีย์ฟงต์วโร ()", "title": "อาสนวิหารอ็องเฌ" }, { "docid": "916265#0", "text": "เจ้าชายโอโด ดยุกแห่งอ็องกูแลม ()\nเจ้าชายโอโด ดยุกแห่งอ็องกูแลม ประสูติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2511 ณ ประเทศฝรั่งเศส ทรงเป็นพระบุตรและพระโอรสพระองค์สุดท้องใน เจ้าชายเฮนรี เคานต์แห่งปารีส (ประสูติ ค.ศ. 1933) และ ดัชเชสมาเรีย-เทเรซาแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค ซึ่งขณะพระองค์ประสูตินั้นพระบิดาและพระมารดาทรงหย่ากันแล้ว ", "title": "เจ้าชายโอโด ดยุกแห่งอ็องกูแลม" }, { "docid": "527502#4", "text": "ประวัติการก่อสร้างเริ่มปรากฏในหลักฐานเมื่อปี ค.ศ. 430 มีการสร้างวิหารซึ่งเป็นบาซิลิกาแห่งแรกของเมือง โดยนักบุญเอเร็บติโอลัส ซึ่งเป็นมุขนายกองค์แรกของกูต็องส์ และต่อมาถูกทำลายลงโดยการรุกรานของชาวนอร์มันในปี ค.ศ. 866 ซึ่งทำให้เมืองกูต็องส์เว้นวรรคจากการมีอาสนวิหารไปค่อนข้างยาวนาน", "title": "อาสนวิหารกูต็องส์" }, { "docid": "528561#0", "text": "อาสนวิหารซาร์ลา () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญซาแซร์โดสแห่งซาร์ลา () ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลซาร์ลา ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลอ็องกูแลม ตั้งแต่ปีค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ซึ่งไม่นานต่อมาได้ยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลเปรีเกอ ตั้งอยู่ที่เมืองซาร์ลา-ลา-กาเนดา จังหวัดดอร์ดอญ ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญซาแซร์โดสแห่งลีมอฌ", "title": "อาสนวิหารซาร์ลา" }, { "docid": "530954#3", "text": "ภายใต้รูปแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ อาสนวิหารนี้ตั้งอยู่บนตีนเขาซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟในอดีต ซึ่งบริเวณยอดเป็นที่ตั้งของรูปปั้นพระนางมารีย์พรหมจารีตั้งเด่นอยู่กลางเมืองซึ่งทำจากโลหะหลอมจากปืนใหญ่เก่าของรัสเซียซึ่งยึดมาได้จากยุทธการ ซึ่งสันนิษฐานว่าได้มาจากเมืองเซวัสโตปอล\nตัวอาคารสร้างในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 12 และมีความพิเศษยิ่งจากความหลายหลายทางสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนถึงความรุ่งเรื่องของสถาปัตยกรรมในยุคโรมาเนสก์ อีกทั้งยังมีป้อมปราการที่ก่อสร้างในอิทธิพลแบบศิลปะไบแซนไทน์ซึ่งสอดคล้องกันกับสถาปัตยกรรมทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ซึ่งสร้างจากหินภูเขาไฟหลากสี ดังที่เห็นบริเวณหน้าบันทิศตะวันตก ซึ่งสร้างจากหินย้อมสี พื้นลานด้านหน้าปูด้วยงานโมเสก ซุ้มทางเดินช่องโค้งแบบครึ่งวงกลม ยอดหน้าบันขนาดเล็กทั้งสามแห่ง มุขทางเข้าแบบสามช่องที่ตั้งตระหง่านจากตัวเมืองด้านล่างด้วยบันไดจำนวน 134 ขั้น ด้านในของอาสนวิหารนั้นตกแต่งด้วยงานโมเสกสีทองอร่าม โดยตรงกันข้ามกับหินที่ใช้สร้างซึ่งมีสีดำสนิทซึ่งให้ความรู้สึกที่มืดครึ้มภายในของอาสนวิหาร แต่ก็ยังคงรับกันกับความโอ่อ่าของโถงภายใต้หอหลังคาโดมจำนวน 6 หอ ซึ่งปราศจากเพดานโค้งที่มักจะเห็นตามปกติในอาสนวิหารยุคเดียวกัน", "title": "อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล" } ]
2423
ดวงอาทิตย์มีมวลเท่าไหร่?
[ { "docid": "3842#0", "text": "ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนที่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก", "title": "ดวงอาทิตย์" }, { "docid": "199495#0", "text": "มวลดวงอาทิตย์ เป็นวิธีพื้นฐานในการบรรยายค่ามวลในทางดาราศาสตร์ สำหรับใช้อธิบายถึงมวลดาวฤกษ์หรือมวลดาราจักร มีค่าเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ คือประมาณ 2 โนนิลเลียนกิโลกรัม หรือเท่ากับ 332,950 เท่าของมวลของโลก หรือ 1,048 เท่าของมวลของดาวพฤหัสบดี สัญลักษณ์และค่าพื้นฐานของมวลดวงอาทิตย์แสดงได้ดังนี้", "title": "มวลดวงอาทิตย์" } ]
[ { "docid": "70244#10", "text": "เป็นที่ทราบดีว่า ดาวแคระขาวสามารถมีมวลสารต่ำสุดถึง 0.17 เท่า และสูงสุดราว 1.33 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ แต่โดยมากแล้วเราจะพบดาวแคระขาวที่มีมวลประมาณ 0.6 เท่าของมวลดวงอาทิตย์มากที่สุด และส่วนใหญ่จะมีมวลอยู่ระหว่าง 0.5 ถึง 0.7 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ส่วนรัศมีของดาวแคระขาวที่สำรวจได้ประมาณว่าอยู่ระหว่าง 0.008 ถึง 0.02 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ หากเปรียบเทียบกับโลกซึ่งมีรัศมีประมาณ 0.009 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ หมายความว่าดาวแคระขาวที่มีมวลเทียบได้กับดวงอาทิตย์ต้องถูกอัดอยู่ในปริมาตรที่น้อยกว่าดวงอาทิตย์ถึงหนึ่งล้านเท่า ความหนาแน่นเฉลี่ยของดาวแคระขาวจึงอยู่ที่ประมาณ 10 กรัม (1 ตัน) ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร นับได้ว่า ดาวแคระขาวเป็นหนึ่งในบรรดาสสารที่หนาแน่นที่สุดเท่าที่เรารู้จัก เป็นรองแต่เพียงดาวฤกษ์หนาแน่นสูงบางจำพวก เช่น ดาวนิวตรอน หลุมดำ และดาวควาร์กซึ่งเป็นดาวในทฤษฎี", "title": "ดาวแคระขาว" }, { "docid": "8785#1", "text": "ดาวนิวตรอนมีมวลประมาณ 1.35 ถึง 2.1 เท่ามวลดวงอาทิตย์ และมีรัศมี 20 ถึง 10 กิโลเมตรตามลำดับ (เมื่อดาวนิวตรอนมีมวลเพิ่มขึ้น รัศมีของดาวจะลดลง) ดาวนิวตรอนจึงมีขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์ 30,000 ถึง 70,000 เท่า ดังนั้นดาวนิวตรอนจึงมีความหนาแน่นที่ 8*10 ถึง 2*10 กรัมต่อลูกบากศ์เซนติเมตร ซึ่งเป็นช่วงของความหนาแน่นของนิวเคลียสอะตอม ต้องใช้ความเร็วหลุดพ้นประมาณ 150,000 กิโลเมตรต่อวินาที หรือประมาณครึ่งหนึ่งของความเร็วแสง โดยทั่วไปแล้ว ดาวที่มีมวลน้อยกว่า 1.44 เท่ามวลดวงอาทิตย์ จะเป็นดาวแคระขาวตามขีดจำกัดของจันทรสิกขาร์ ถ้าอยู่ระหว่าง 2 ถึง 3 เท่ามวลดวงอาทิตย์อาจจะเป็นดาวควาร์ก (แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่) ส่วนดาวที่มีมวลมากกว่านี้จะกลายเป็นหลุมดำ", "title": "ดาวนิวตรอน" }, { "docid": "3755#1", "text": "ดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงกว่ามวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกันราว 2.5 เท่า ทำให้ศูนย์ระบบมวลระหว่างดาวพฤหัสบดีกับดวงอาทิตย์ อยู่เหนือผิวดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวัดจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์) ดาวพฤหัสบดีหนักว่าโลก 318 เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกันว่าหากดาวพฤหัสบดีมีมวลมากกว่านี้สัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอที่จะให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษ์ได้", "title": "ดาวพฤหัสบดี" }, { "docid": "3708#29", "text": "เมื่อดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ หมดไฮโดรเจนในแกนกลาง พื้นผิวชั้นนอกของมันจะขยายตัวอย่างมากและดาวจะเย็นลง ซึ่งเป็นการก่อตั้งของดาวยักษ์แดง ยกตัวอย่างเช่น อีกภายใน 5 พันล้านปี เมื่อดวงอาทิตย์กลายเป็นดาวยักษ์แดง มันจะขยายตัวออกจนมีรัศมีสูงสุดราว 1 หน่วยดาราศาสตร์ (150,000,000 กม.) หรือคิดเป็นขนาด 250 เท่าของขนาดในปัจจุบัน และเมื่อดวงอาทิตย์กลายเป็นดาวยักษ์แดง มันจะสูญเสียมวลไปราว 30% ของมวลดวงอาทิตย์ในปัจจุบัน", "title": "ดาวฤกษ์" }, { "docid": "3708#26", "text": "ดาวฤกษ์ทุกดวงจะสร้างลมดาวฤกษ์ ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ของแก๊สที่ไหลออกจากดาวฤกษ์ไปในห้วงอวกาศ โดยมากแล้วมวลที่สูญเสียไปจากลมดาวฤกษ์นี้ถือว่าน้อยมาก แต่ละปีดวงอาทิตย์จะสูญเสียมวลออกไปประมาณ 10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ หรือคิดเป็นประมาณ 0.01% ของมวลทั้งหมดของมันตลอดช่วงอายุ แต่สำหรับดาวฤกษ์มวลมากอาจจะสูญเสียมวลไปราว 10 ถึง 10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ต่อปี ซึ่งค่อนข้างส่งผลกระทบต่อวิวัฒนาการของตัวมันเอง ดาวฤกษ์ที่มีมวลเริ่มต้นมากกว่า 50 เท่าของมวลดวงอาทิตย์อาจสูญเสียมวลออกไปราวครึ่งหนึ่งของมวลทั้งหมดตลอดช่วงเวลาที่อยู่ในแถบลำดับหลัก", "title": "ดาวฤกษ์" }, { "docid": "5992#42", "text": "ถ้ามวลของเศษเล็กเศษน้อยที่เหลือ เหลืออยู่เพียง 3-4 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ (จากขอบเขตของโทลแมน-ออพเพนไฮน์เมอร์-โวลคอฟ) ไม่ว่าจะเป็นเพราะดาวดวงเดิมนั้นอาจจะเคยใหญ่มา หรือเป็นเพราะว่าเศษที่เหลือนั้นรวมไปกับมวลอื่น ๆ อาจจะเป็นนิวตรอนที่ลดความดันลงมา ก็อาจะจะไม่เพียงพอที่จะหยุดการยุบตัวนี้ได้ กลไกหลังจากนี้ (ยกเว้นความดันที่ลดลงของควาร์ก) มีพลังมากพอที่จะหยุดการยุบตัวและวัตถุจะสามารถกลายเป็นหลุมดำได้ทั้งสิ้น", "title": "หลุมดำ" }, { "docid": "3875#15", "text": "ดวงอาทิตย์จะวิวัฒนาการเป็นดาวยักษ์แดงในราว ข้างหน้า แบบจำลองทำนายว่าดวงอาทิตย์จะขยายตัวออกประมาณ 1 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 250 เท่าของรัศมีปัจจุบัน ชะตาของโลกนั้นยังไม่ชัดเจนนัก เมื่อเป็นดาวยักษ์แดงแล้วดวงอาทิตย์จะสูญเสียมวลไปประมาณร้อยละ 30 ดังนั้นหากปราศจากผลจากฤทธิ์ไทด์ โลกจะเคลื่อนไปโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ 1.7 หน่วยดาราศาสตร์ เมื่อดาวมีรัศมีมากที่สุด สิ่งมีชีวิตที่ยังเหลืออยู่เกือบทั้งหมดหรือทั้งหมดก็จะถูกทำลายจากความสว่างที่เพิ่มขึ้นของดวงอาทิตย์ (เพิ่มขึ้นสูงสุดที่ประมาณ 5,000 เท่าจากระดับปัจจุบัน) การจำลองในปี 2008 ชี้ว่า สุดท้ายวงโคจรของโลกจะเสื่อมสลายอันเนื่องมาจากผลจากแรงไทด์ และลากเอาโลกให้ตกเข้าสู่บรรยากาศของดวงอาทิตย์ที่เป็นยักษ์แดงนั้นแล้วก็ระเหยไปจนหมดสิ้น", "title": "โลก (ดาวเคราะห์)" }, { "docid": "300191#26", "text": "ขีดจำกัดนี้มีผลต่อดาวที่มีมวลมากกว่า 8 เท่าของดวงอาทิตย์ด้วย สสารในแกนกลางของมันจะกลายเป็นเหล็กด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ ถึงจุดนี้จะไม่มีพลังงานนิวเคลียร์อีกต่อไป เช่นเดียวกับในดาวแคระขาว เมื่อแกนเหล็กมีมวลเท่ากับมวลจันทรเศขร มันจะยุบเป็นดาวนิวตรอน และส่วนที่เหลือจะถูกผลักออกไป กลายเป็นซูเปอร์โนวาชนิด II ดาวแคระขาวบางแบบจะดึงสสารเข้ามาจากภายนอก และเมื่อมวลมากเท่ากับขีดจำกัดจันทรเศขร มันจะกลายเป็นซูเปอร์โนวาเช่นกัน ในกรณีนี้เรียกว่า ซูเปอร์โนวาชนิด Ia", "title": "สุพรหมัณยัน จันทรเศขร" } ]
1115
เคเบิลทีวีทั่วโลกมาตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ ใด?
[ { "docid": "432650#2", "text": "ในช่วงเริ่มแรกของทศวรรษที่ 1980 เคเบิลทีวีได้รับความนิยมอย่างมาก และหนึ่งในรายการที่ได้รับความนิยมเช่นเดียวกันในช่วงนั้นก็คือรายการจากมวยปล้ำอาชีพ ซึ่งทำเรตติ้งเป็นอันดับที่สองของเคเบิลทีวี โดยเมื่อแอตแลนต้าทีวี หรือ WTBS เริ่มออกอากาศรายการจากสมาคม Georgia Championship Wrestling หรือ (GCW) ในช่วงทศวรรษ 1970 รายการจากสมาคม GCW ก็ได้รับความนิยมสูง ซึ่งไม่เพียงแค่ในท้องถิ่นของแอตแลนต้าเท่านั้น ยังมีชื่อเสียงระดับประเทศอีกด้วย (ซึ่งในขณะนั้นสมาคมมวยปล้ำยังมีบทบาทแค่ในท้องที่ของตนเองเท่านั้น). ซึ่งจากผลที่ได้นั้นทำให้สมาคม GCW ซึ่งเป็นหนึ่งในพันธมิตรของ NWA มีอิทธิพลอย่างมากใน NWA ซึ่งก็ทำให้นักมวยปล้ำจาก GCW ครองแชมป์ของ NWA มากกว่าสมาคมอื่นๆ", "title": "มันเดย์ไนท์ วอร์" }, { "docid": "563871#0", "text": "เครือข่ายผสมไฟเบอร์โคแอคเชียล () เป็นศัพท์ด้านอุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคมสำหรับเครือข่ายบรอดแบนด์ที่ใช้สื่อกลางในการขนส่งข้อมูลทั้งใยแก้วนำแสงและสายเคเบิลโคแอกเชียล มันถูกนำมาใช้โดยผู้ประกอบการโทรทัศน์บอกรับเป็นสมาชิกหรือที่เรียกว่าเคเบิลทีวีทั่วโลกมาตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 1990", "title": "เครือข่ายผสมไฟเบอร์โคแอคเชียล" } ]
[ { "docid": "119721#2", "text": "เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 อ.ส.ม.ท.อนุญาตให้เพิ่มผู้ประกอบกิจการรายใหม่คือ บริษัท ยูทีวี เคเบิล เน็ตเวิร์ค จำกัด (มหาชน) หรือยูทีวี เพื่อให้เกิดการแข่งขันทางธุรกิจอย่างเป็นธรรมและสมดุล ซึ่งต่อมามีการขยายระยะเวลาสัมปทาน จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยให้บริการทั้งระบบอนาล็อก และดิจิตอล ผ่านสายเคเบิลใยแก้วนำแสง และโคแอกเชียล ซึ่งต่อมามีการซื้อหุ้นและรวมกิจการกัน โดยเปลี่ยนชื่อเป็นยูบีซี ซึ่งปัจจุบันคือทรูวิชันส์", "title": "โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล" }, { "docid": "315273#1", "text": "สิงหาคม พ.ศ. 2552 ผู้ประกอบการโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล ระดับท้องถิ่นทั่วประเทศไทย ซึ่งส่วนมากเป็นสมาชิกสมาคมเคเบิลทีวีแห่งประเทศไทย จำนวนมากกว่า 100 รายประชุมร่วมกัน โดยมีมติให้รวมตัวกันเป็น\"บริษัท เคเบิลไทยโฮลดิง จำกัด\" ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ด้วยทุนจดทะเบียนประเดิมที่ 50 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์ในการเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์เนื้อหาโทรทัศน์รูปแบบต่างๆ รวมทั้งเป็นองค์กรกลางในการประกาศจัดเรียงช่องรายการ ที่บริษัทเป็นเจ้าของหรือเป็นผู้ถือครองลิขสิทธิ์ เพื่อให้เป็นรูปแบบเดียวกันในทุกช่องทางออกอากาศ ขณะเดียวกัน การมีที่มาจากผู้ประกอบการทั่วประเทศรวมตัวกัน ก็ถือเป็นการเพิ่มศักยภาพ ความแข็งแกร่ง เป็นเอกภาพ ตลอดจนให้การสนับสนุนเทคโนโลยีออกอากาศ การขยายเครือข่ายและการตลาด แก่ผู้ถือหุ้นและสมาชิกด้วย", "title": "ซีทีเอช" }, { "docid": "119721#1", "text": "โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล ที่ได้รับสัมปทานจากองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เป็นรายแรกคือ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือไอบีซี เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 มีอายุสัมปทาน 20 ปี (ถึงวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2552) โดยให้บริการทั้งระบบอนาล็อกและดิจิตอล ผ่านคลื่น, ระบบไมโครเวฟแบบบริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel Multipoint Distribution Service) และจานดาวเทียมระบบ KU-Band ต่อมา ไอบีซีขอขยายระยะเวลาสัมปทานกับ อ.ส.ม.ท. อีกประมาณ 5 ปี 5 เดือน จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557", "title": "โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล" }, { "docid": "1210#1", "text": "โอวีเอเริ่มในต้นช่วง พ.ศ. 2526 เครื่องเล่นวิดีโอ ได้เป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่น ในขณะเดียวกันอุตสาหกรรมอนิเมะได้มีขนาดใหญ่ขึ้น โอวีเอที่ออกมาเป็นเรื่องแรก คือ ดัลลอส () ออกมาในปี พ.ศ. 2526 กำกับโดย มะโมะรุ โอะชิอิ ออกจำหน่ายโดย บันได และเรื่องอื่นที่ได้รับความนิยมในขณะนั้น เช่น เมกะโซน 23 ต่อมาบริษัทอื่นได้มีการนำรูปแบบการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนมาเป็นโอวีเอโดยตรง ต่อมาในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2535 ในช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจของญี่ปุ่นตกต่ำ กระแสของโอวีเอได้ลดลง โดยจากการผลิต 26 ตอน ลดลงเหลือเพียง 13 ตอน และในขณะเดียวกันชาวญี่ปุ่นได้ เริ่มต้นนิยมเคเบิลทีวีและทีวีจานดาวเทียมมากขึ้น", "title": "โอวีเอ" }, { "docid": "314937#1", "text": "ยู แชนเนล เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ออกอากาศเป็นครั้งแรกที่ ดีทีวี ช่อง 19 ทางจานดาวเทียม ไทยคม 5 ระบบ ซี-แบนด์ คลื่นความถี่ 3585 V 26667 และทางเคเบิลทีวีไทยทั่วประเทศ โดยเช่าสัมปทานสัญญาณดาวเทียมกับ บริษัท เอ็มวี เทเลวิชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด (เอ็มวีทีวี) เป็นช่องที่นำเสนอรายการมิวสิกวิดีโอเพลง และเป็นการสร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการเพลงไทย ได้หันมาให้ความสำคัญในการทำมิวสิควิดีโอมากขึ้น ต่อมา 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ยู แชนเนล ได้เปลี่ยนช่องทางใหม่ โดยจานเหลือง ดีทีวี ย้ายจากช่อง 19 มาอยู่ที่ช่อง 37 จานดาวเทียม ไทยคม 5 ซี-แบนด์ ย้ายจากคลื่นเดิม 3585 V 26667 มาอยู่ที่คลื่นความถี่ใหม่ 3960 V 30000 และได้หมดสัญญาสัมปทานช่องสัญญาณดาวเทียมกับเอ็มวีทีวี บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิดรายการโทรทัศน์เคเบิลทีวีดาวเทียม ที่ออกอากาศผ่านจานดาวเทียม ไทยคม 5 ซี-แบนด์ คลื่นความถี่ 3960 V 30000 ดีทีวี ช่อง 37 และเคเบิลทีวีไทยทั่วประเทศ ได้นำช่อง ยู แชนเนล ไปออกอากาศในช่องของอาร์เอส แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2561 ช่อง ยู แชนแนล ได้ยุติออกอากาศ และแทนที่ด้วยช่อง ซีรีส์ แชนแนล ไป\nซึ่ง Series Channel เป็นช่องที่นำเสนอซีรีย์ต่างๆมากมายจากทั่วทุกมุมโลก , พร้อมภาพยนตร์ไทยและต่างประเทศ", "title": "ยูแชนเนล" }, { "docid": "629192#1", "text": "เดอะวอล์กกิงเดด ออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2010 ทางเคเบิลทีวีช่องเอเอ็มซีในสหรัฐอเมริกา และออกอากาศครั้งแรกทั่วโลกในสัปดาห์แรกของเดือนพฤศจิกายน ปีเดียวกันทางช่องฟอกซ์อินเตอร์เนชันแนล ผลพวกจากกระแสตอบรับ เอเอ็มซีได้เพิ่มฤดูกาลที่สองให้กับละครจำนวน 13 ตอน ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2011 เพียงอีกสองตอนก่อนที่จะเข้าฤดูกาลที่สอง เอเอ็มซีก็ประกาศว่าฤดูกาลที่สามมีจำนวน 16 ตอน ออกอากาศในวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 2012 ในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2012 เอเอ็มซีเพิ่มฤดูกาลที่สี่อีกจำนวน 16 ตอน ออกอากาศวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2013 และในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 2013 เอเอ็มซีได้เพิ่มฤดูกาลที่ห้าจำนวน 16 ตอนให้กับละครอีกครั้ง", "title": "เดอะวอล์กกิงเดด" }, { "docid": "960154#0", "text": "เทเลวิชัน บรอดคาสต์ ลิมิเต็ด () หรือที่รู้จักในชื่อ ทีวีบี สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินแห่งที่สอง ในฮ่องกงเริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1967 โดยบริษัทได้จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1965 มีเซอร์ รัน รัน ชอว์ ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานจาก ค.ศ. 1980 ถึง 2011 เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งทั้งนี้สถานีโทรทัศน์ทีวีบีมีพนักงานลูกจ้างทั้งสิ้น 4,200 คนและสำนักงานใหญ่ของทีวีบี (ฮ่องกง ทีวีบี ซิตี) เป็นศูนย์กลางของสถานีโทรทัศน์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีวีบี" }, { "docid": "15672#26", "text": "มวยปล้ำอาชีพเข้ามาแพร่ภาพในประเทศไทย ทาง โทรทัศน์ ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2530, ทางเคเบิลทีวี และทาง วิดีโอและวีซีดี โดยผู้ที่บรรยายเทปมวยปล้ำอาชีพคนแรกในเมืองไทย ได้แก่ เจือ จักษุรักษ์ ต่อมามวยปล้ำอาชีพกลับมาเป็นที่นิยมในช่วงต้นพุทธทศวรรษ 2540 โดยส่วนหนึ่งมาจากการบรรยายของ สุวัฒน์ กลิ่นเกษร หรือที่รู้จักกันในผู้ชมมวยปล้ำอาชีพในนาม \"น้าติง\"", "title": "มวยปล้ำอาชีพ" }, { "docid": "447160#1", "text": "เคบีเอส เริ่มต้นก่อตั้งเป็น บริษัทกระจายเสียงคยองซอง(เจโอดีเค) ซึ่งก่อตั้งโดยรัฐบาลของญี่ปุ่นในเกาหลี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 นี่คือสถานีวิทยุแห่งที่สองที่เริ่มใช้รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ HLKA ในปี 2490 ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐเกาหลี ก็ใช้สัญญาณว่า HL ของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ภายหลังจากการทำการกระจายเสียงไปทั่วประเทศ สถานีวิทยุก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น สถานีการะจายเสียงกลางโซล เมื่อปี 2491 การออกอากาศทางโทรทัศน์ของ สถานีกระจายเสียงโซล ทีวี (เคบีเอส ทีวี) ได้เริ่มออกอากาศตั้งแต่ปี 2504 สถานะของสถานีเคบีเอสจากที่เป็นของรัฐบาลเป็นองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ ตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2516 สำนักงานใหญ่ของเคบีเอสที่ยออิโด เริ่มทำการก่อสร้างในปี 2519 ในปี 2522 สถานีวิทยุเคบีออกเริ่มออกอากาศผ่านระบบคลื่นเอฟเอ็ม แตกต่างจากองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพที่อื่นซึ่งไม่มีการรับโฆษณา นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมทางโทรทัศน์ รายได้ของช่องเคบีเอสก็มาจากการโฆษณา โดยเคบีเอสเริ่มรับโฆษณาตั้งแต่ปี 2523 จากการรวบรวมสถานีกระจายเสียงเอกชนซึ่งมีขนาดเล็กกว่าจากความอิสระในการตัดสินใจของรัฐบาล ชอน ดูฮวาน จากการยับยั้งเสรีภาพในการสื่อสาร ภายหลังจากการยุบรวมกับบริษัทกระจายเสียงทงยัง (ทีบีซี) ซึ่งส่วนหนึ่งในปัจจุบันเป็น เจทีบีซี และ ระบบการกระจายเสียงดง-เอ (ดีบีเอส) เคบีเอสได้ปล่อย เคบีเอส เรดิโอ 2 (เอเอ็ม/เอฟเอ็ม) และสถานีโทรทัศน์ เคบีเอส ทีวี 2 ในปี 2523 เช่นเดียวกับ เคบีเอสทีวี 3 และ เอฟเอ็มเพื่อการศึกษา ในปี 2524 ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2523 เคบีเอส ทีวี 3 และเอฟเอ็มเพื่อการศึกษาได้แยกออกจาก เคบีเอส ไปในชื่อที่ว่า ระบบการกระจายเสียงเพื่อการศึกษา (อีบีเอส) ภายหลังจากการปรับปรุงใหม่เป็นระบบการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในปี 2537 ช่อง เคบีเอส 1 ก็ไม่มีการแสดงโฆษณาอีก", "title": "เคบีเอส" } ]
3379
สาธารณรัฐเวียดนาม ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "1961#2", "text": "หลังจากการยึดครองของญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2483 เวียดนามสู้รบกับฝรั่งเศสในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง 2 กันยายน โฮจิมินห์ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในปี พ.ศ. 2497 เวียนนามชนะผรั่งเศสอย่างเด็ดขาดในยุทธการที่เดียนเบียนฟู และทำให้เวียดนามแยกเป็นสองประเทศคือเวียดนามเหนือ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม) และ เวียดนามใต้ (สาธารณรัฐเวียดนาม) ต่อมาความขัดแย้งระหว่าง 2 ประเทศทวีความรุนแรงจนกลายเป็นสงครามเวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. 2498 –2518", "title": "ประเทศเวียดนาม" } ]
[ { "docid": "391427#22", "text": "หากไม่มีความช่วยเหลือจากเวียดนาม โซเวียตและคิวบา เฮง สัมรินมีความสำเร็จน้อยในการจัดตั้งระบอบสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา เนื่องมาจากสงครามกลางเมืองยังไม่ยุติ การคมนาคมมักถูกโจมตี การปรากฏของทหารเวียดนามทั่วประเทศได้เติมเชื้อไฟให้กับการต่อต้านเวียดนาม โดยจำนวนชาวเวียดนามในสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาทั้งที่อยู่มาก่อนและอพยพเข้ามาใหม่คาดว่ามีประมาณ 1 ล้านคน", "title": "สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา" }, { "docid": "537304#0", "text": "สงครามกลางเมืองกัมพูชา เป็นความขัดแย้งระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (เขมรแดง) สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) และเวียดกงฝ่ายหนึ่งกับรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) อีกฝ่ายหนึ่ง", "title": "สงครามกลางเมืองกัมพูชา" }, { "docid": "92658#22", "text": "ฝรั่งเศสได้เจรจาต่อรองกับสหรัฐอเมริกา เพื่อแบ่งเวียดนาม โดยได้มีการแบ่งเวียดนามเหนือให้กับกลุ่มเวียดมินห์ และเวียดนามใต้ ให้กับรัฐบาลใหม่ นายกรัฐมนตรีของรัฐเวียดนาม โง ดิ่ญ เสี่ยม ได้โค่นล้มจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในการ ซึ่งผู้มีสิทธิลงเลือกตั้งส่วนใหญ่กลับเพิ่มขึ้นมาอย่างโจ่งแจ้ง ไม่เพียงแต่มีผู้ลงมติให้เวียดนามใต้กลายเป็นสาธารณรัฐ ซึ่งมีอยู่ถึงร้อยละ 98 เท่านั้น แต่จำนวนผู้ลงมติให้เป็นสาธารณรัฐกลับมามากกว่าผู้มีสิทธิลงมติ เสี่ยมจึงได้เป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเวียดนาม () ซึ่งทำให้จักรพรรดิบ๋าวดั่ยทรงสิ้นสุดเรื่องราวทางการเมืองอีกครั้งและเป็นการถาวร", "title": "ราชวงศ์เหงียน" }, { "docid": "379299#0", "text": "พรรคประชาธิปไตยแห่งเวียดนาม (Democratic Party of Vietnam; ภาษาเวียดนาม: Đảng Dân chủ Việt Nam) เป็นพรรคการเมืองในเวียดนามเหนือและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ก่อตั้งเมื่อ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 เพื่อรวมนักธุรกิจ ชนชั้นกลางและปัญญาชนเข้าด้วยกัน ต่อมาได้เข้าร่วมกับเวียดมินห์ พรรคนี้มีกิจกรรมในเวียดนามเหนือตั้งแต่ พ.ศ. 2497 – 2518 และจาก พ.ศ. 2518 – 2531 ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พรรคนี้สนับสนุนแนวทางของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามและกลายเป็นพรรคหุ่นเชิด พรรคนี้เป็นสมาชิกของแนวร่วมปิตุภูมิเวียดนามและเป็นตัวแทนในสภาและรัฐบาลของเวียดนาม ผู้นำพรรคคือเงียมซวนแยม พรรคนี้ได้ถูกสลายตัวไปใน พ.ศ. 2531 พร้อมกับพรรคอีกพรรคที่ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ในเวียดนามคือพรรคสังคมนิยมแห่งเวียดนาม ใน พ.ศ. 2549 มีการก่อตั้งพรรคการเมืองชื่อเดียวกันคือพรรคประชาธิปไตยแห่งเวียดนามขึ้นอีก", "title": "พรรคประชาธิปไตยแห่งเวียดนาม" }, { "docid": "570429#0", "text": "กองทัพสาธารณรัฐเวียดนาม หรือ กองทัพเวียดนามใต้ ( - RVNMF - QLVNCH), เป็นชื่อกองกำลังทหารของสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียตนามใต้), ตั้งแต่ ค.ศ. 1955 ถึง 1975 มีหน้าที่รับผิดชอบการป้องกันประเทศ", "title": "กองทัพสาธารณรัฐเวียดนาม" }, { "docid": "68426#0", "text": "ธงชาติเวียดนาม ในปัจจุบันเป็นธงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีชื่อที่เรียกโดยทั่วไปอีกชื่อหนึ่งว่า \"ธงแดงดาวเหลือง\" เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 ในฐานะธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (ประเทศเวียดนามเหนือ) และได้กลายเป็นธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 หลังสิ้นสุดสงครามเวียดนามและการรวมชาติระหว่างเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ ", "title": "ธงชาติเวียดนาม" }, { "docid": "1937#31", "text": "สงครามกลางเมืองกัมพูชา เป็นความขัดแย้งระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (เขมรแดง) สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) และเวียดกงฝ่ายหนึ่งกับรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) อีกฝ่ายหนึ่ง", "title": "ประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "70992#27", "text": "สงครามกลางเมืองกัมพูชา เป็นความขัดแย้งระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (เขมรแดง) สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) และเวียดกงฝ่ายหนึ่งกับรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) อีกฝ่ายหนึ่ง", "title": "ประวัติศาสตร์กัมพูชา" }, { "docid": "419002#40", "text": "เวียดนามและจีนได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของเวียดนาม หวอ วัน เกียตได้เดินทางไปยังปักกิ่งเพื่อเข้าพบนายหลี่ เผิง เพื่อเจรจาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่เป็นทางการระหว่างกัน การสิ้นสุดความขัดแย้งในกัมพูชา ทำให้ประเทศในอินโดจีนเข้าร่วมกับอาเซียน ในช่วง พ.ศ. 2534 – 2535 เวียดนามได้ฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศสมาชิกอาเซียน และการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียนในเวียดนามระหว่าง พ.ศ. 2534 – 2537 คิดเป็น 15% ของการลงทุนของต่างชาติในเวียดนาม ต่อมา ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 เวียดนามเข้าเป็นสมาชิกอันดับที่ 7 ของอาเซียนอย่างเป็นทางการ ต่อมา ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2538 เวียดนามได้ประกาศยกระดับจากตัวแทนจากเป็นสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาหลังจากที่มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระดับปกติต่อกันตั้งแต่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 รวมทั้งการเข้าร่วมองค์การการค้าโลก เมื่อปี 2550 และการเข้าร่วมลงนามความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ทำให้การโดดเดี่ยวเวียดนามออกจากสังคมโลกสิ้นสุดลง", "title": "สงครามกัมพูชา–เวียดนาม" }, { "docid": "652815#0", "text": "รัฐเวียดนาม () เป็นรัฐที่อ้างอำนาจเหนือประเทศเวียดนามทั้งหมดในช่วงระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และแทนที่รัฐบาลกลางชั่วคราวแห่งเวียดนาม (ปี พ.ศ. 2491–พ.ศ. 2492) ซึ่งเป็นรัฐอายุสั้นที่เกิดขึ้นในช่วงเปลี่ยนผ่านอำนาจระหว่างอาณานิคมโคชินไชนาไปสู่การเป็นรัฐเอกราช รัฐนี้ได้สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2492 และได้รับการยอมรับในระดับสากลในปี พ.ศ. 2493 แม้จะกล่าวอ้างอธิปไตยเหนือดินแดนเวียดนามทั้งหมดแต่มีอำนาจที่แท้จริงในทางใต้ในขณะที่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม มีอำนาจส่วนใหญ่ในทางเหนือ อดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยเป็นประมุขแห่งรัฐ (\"Quốc Trưởng\") โง ดิ่ญ เสี่ยมได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2497 และหลังจากที่ขับไล่บ๋าว ดั่ยในปีต่อไป เสี่ยมได้กลายเป็นประธานาธิบดีของสาธารณรัฐเวียดนาม", "title": "รัฐเวียดนาม" }, { "docid": "55066#0", "text": "\"มาร์ชทหารเวียดนาม\" () เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประพันธ์โดยเหงียน วัน กาว (; พ.ศ. 2466-พ.ศ. 2538) ในพ.ศ. 2487 และใช้เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามใน พ.ศ. 2488 และนำมาใช้เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หลังจากการรวมประเทศในปี พ.ศ. 2519 โดยมีสองท่อน แต่ส่วนใหญ่จะร้องเฉพาะบทแรก", "title": "มาร์ชทหารเวียดนาม" }, { "docid": "770709#4", "text": "ณ การประชุมเจนีวาระหว่าปงระเทศเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 รัฐบาลฝรั่งเศสสังคมนิยมใหม่และเวียดมินห์ทำความตกลงซึ่งถูกรัฐบาลเวียดนามและสหรัฐประณาม แต่ให้คอมมิวนิสต์ควบคุมเวียดนามเหนือเหนือเส้นขนานที่ 17 ยกการควบคุมเวียดนามเหนือให้เวียดมินห์ภายใต้โฮจิมินห์ และเวียดนามใต้ยังอยู่ภายใต้จักรพรรดิบ๋าว ดั๋ย ปีต่อมา บ๋าว ดั่ยถูกนายกรัฐมนตรีโง ดิญ เสี่ยมปลด สถาปนาสาธารณรัฐเวียดนาม ไม่นาน เกิดการก่อการกำเริบที่เวียดนามเหนือสนับสนุนต่อรัฐบาลเดี่ยม ความขัดแย้งค่อย ๆ บานปลายเป็นสงครามเวียดนาม", "title": "สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง" }, { "docid": "1942#9", "text": "เหตุการณ์ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนั้นบังคับให้ลาวต้องกลายเป็นสมรภูมิลับของสงครามเวียดนาม และเป็นปัจจัยก่อให้เกิดการรัฐประหารและสงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อ ภายใต้การแทรกแซงของชาติต่างๆ ทั้งฝ่ายคอมมิวนิสต์และฝ่ายโลกเสรี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2518 พรรคประชาชนปฏิวัติลาว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตและเวียดนามเหนือ โดยการนำของเจ้าสุภานุวงศ์ ก็ยึดอำนาจรัฐจากรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของ เจ้าสุวรรณภูมา พระเชษฐา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาสำเร็จ และได้เรียกร้องให้เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนาทรงยินยอมสละราชสมบัติ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนาจึงทรงยินยอมสละราชสมบัติ คณะปฏิวัติลาวจึงประกาศสถาปนาประเทศลาวเป็น \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว\" อย่างเป็นทางการในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 โดยยังคงแต่ตั้งให้อดีตเจ้ามหาชีวิตเป็นที่ปรึกษาของรัฐบาลระบอบใหม่.", "title": "ประเทศลาว" }, { "docid": "382375#3", "text": "ความตกลงเจนีวาสะท้อนถึงผลทางทหารในเวลานั้น ส่วนเหนือของเวียดนาม ซึ่งเกือบทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของเวียดมินห์ ได้กลายมาเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ภายใต้ผู้นำคอมมิวนิสต์ โฮจิมินห์ ส่วนใต้ของเวียดนาม ที่ซึ่งเวียดมินห์ควบคุมพื้นที่ค่อนข้างเล็กและห่างไกล กลายมาเป็นรัฐเวียดนามอิสระภายใต้สมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย เชื้อพระวงศ์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เวียดนามอันเก่าแก่ รัฐเวียดนามในภายหลังได้เปลี่ยนไปเป็นสาธารณรัฐเวียดนาม", "title": "เขตปลอดทหารเวียดนาม" }, { "docid": "770709#1", "text": "ณ การประชุมพอทสดัมในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1945 เสนาธิการร่วม (Combined Chiefs of Staff) ตัดสินใจว่าอินโดจีนใต้ละติจูด 16 องศาเหนือจะรวมอยู่ในกองบัญชาการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้พลเรือเอกเมานต์แบ็ทแตนชาวบริติช กำลังญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่ทางใต้เส้นนั้นยอมจำนนต่อเขาและกำลังญี่ปุ่นเหนือเส้นนั้นยอมจำนนต่อจอมทัพเจียง ไคเช็ก ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1945 กำลังจีนเข้าตังเกี๋ยและกำลังรบเฉพาะกิจบริติชขนาดเล็กขึ้นบกที่ไซ่ง่อน จีนยอมรับรัฐบาลเวียดนามภายใต้โฮจิมินห์ ซึ่งกำลังต่อต้านเวียดมินห์ตั้ง ซึ่งขณะนั้นครองอำนาจอยู่ในกรุงฮานอย ฝ่ายบริเตนไม่ยอมตามในไซ่ง่อน และยอมให้ฝรั่งเศสที่นั่นตั้งแต่ต้น ซึ่งต่อต้านการสนับสนุนเวียดมินห์ที่ดูเช่นนั้นโดยผู้แทนโอเอสเอสของอเมริกา ในวันวี-เจ 2 กันยายน โฮจิมินห์ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามในกรุงฮานอย สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามปกครองเป็นรัฐบาลพลเรือนเดียวในเวียดนามทั้งหมดเป็นเวลาประมาณ 20 วัน หลังจักรพรรดิบ๋าว ดั๋ยสละราชสมับติ ซึ่งปกครองในการปกครองของญี่ปุ่น ฉะนั้นเวียดมินห์จึงถือเป็น \"หุ่นเชิดญี่ปุ่น\" วันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1945 ด้วยทราบถึงผู้บัญชาการบริติชในไซ่ง่อน กำลังฝรั่งเศสโค่นรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนเวียดนามท้องถิ่น และประกาศฟื้นฟูอำนาจของฝรั่งเศสในโคชินจีน การสงครามกองโจรพลันเริ่มรอบไซ่ง่อน", "title": "สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง" }, { "docid": "419002#23", "text": "ในการประชุมทั่วไปของสหประชาชาติครั้งที่ 34 ตัวแทนของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาและกัมพูชาประชาธิปไตยต่างอ้างว่าเป็นตัวแทนของประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาได้รับการรับรองจากสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติแต่สหประชาชาติยอมรับกัมพูชาประชาธิปไตย แม้จะมีปัญหาเรื่องการนองเลือด ในที่สุดตัวแทนของกัมพูชาประชาธิปไตยได้รับการยอมรับในการประชุมทั่วไปโดยจีนให้การสนับสนุนอย่างมาก ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2523 มี 29 ประเทศสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา ในขณะที่อีกเกือบ 80 ประเทศยังคงยอมรับกัมพูชาประชาธิปไตย ในเวลาเดียวกัน มหาอำนาจตะวันตกและกลุ่มอาเซียนได้ประณามการใช้กำลังทหารโค่นล้มเขมรแดงของเวียดนาม", "title": "สงครามกัมพูชา–เวียดนาม" }, { "docid": "391427#32", "text": "หลังจากที่มีการก่อตั้งสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา เวียดนามเป็นประเทศแรกที่ประกาศรับรอง และสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนามทันที ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ เฮง สัมรินในฐานะตัวแทนของของสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาและฝั่ม วัน ดงได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพมิตรภาพและความร่วมมือ[42]", "title": "สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา" }, { "docid": "404430#0", "text": "แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา ( \"รณสิรฺสสามคฺคีสงฺเคฺราะชาติกมฺพุชา\"; ; ) หรือในประเทศไทยเป็นที่รู้จักว่า แนวร่วมสามัคคีประชาชาติกู้ชาติกัมพูชา เป็นศูนย์กลางของระบบใหม่ในกัมพูชาที่ต่อมาได้สถาปนาสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา แนวร่วมนี้ก่อตั้งเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2522 ในเวียดนาม โดยชาวกัมพูชาที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาลเขมรแดงของพล พต เป็นองค์กรทางการเมืองและการทหารของชาวกัมพูชาที่มีบทบาทระหว่างการรุกรานกัมพูชาของเวียดนามที่ทำให้การปกครองของกัมพูชาประชาธิปไตยต้องสิ้นสุดลง และนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลใหม่ องค์นี้มีหลายชื่อตามแต่ละช่วงในประวัติศาสตร์", "title": "แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา" }, { "docid": "53356#14", "text": "เหตุการณ์ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนั้นบังคับให้ลาวต้องตกอยู่ท่ามกลางสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ซึ่งรุนแรงยิ่งกว่าครั้งแรก และเป็นปัจจัยก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองและรัฐประหารหลายครั้งด้วยกัน จนถึงปี พ.ศ. 2518 พรรคประชาชนปฏิวัติลาวซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต และคอมมิวนิสต์เวียดนามโดยการนำของ เจ้าสุภานุวงศ์ ก็ล้มล้างรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของเจ้ามหาชีวิตสว่างวัฒนา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาสำเร็จ จึงนำเจ้ามหาชีวิตและมเหสีไปคุมขังในค่ายกักกันจนสิ้นพระชนม์ และสถาปนาประเทศลาวเป็น \"สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว\" ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518", "title": "ประวัติศาสตร์ลาว" }, { "docid": "8510#11", "text": "ด้วยการกระตุ้นของสหภาพโซเวียต ทีแรกโฮจิมินห์พยายามเจรจากับฝรั่งเศส ซึ่งกำลังสถาปนาการควบคุมทั้งพื้นที่อย่างช้า ๆ ในเดือนมกราคม 2489 เวียดมินห์ชนะการเลือกตั้งทั่วเวียดนามเหนือและกลาง เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2489 โฮลงนามความตกลงอนุญาตให้กำลังฝรั่งเศสแทนกำลังจีนชาตินิยม แลกกับการรับรองสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามของฝรั่งเศสว่าเป็นสาธารณรัฐ \"อิสระ\" ในสหภาพฝรั่งเศส โดยเกณฑ์การรับรองนี้จะกำหนดโดยการเจรจาในอนาคต ฝรั่งเศสขึ้นบกในฮานอยเมื่อเดือนมีนาคม 2489 และขับเวียดมินห์ออกจากนครในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น กำลังอังกฤษออกนอกประเทศเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2489 ทิ้งเวียดนามให้อยู่ในการดูแลของฝรั่งเศส ไม่นานให้หลัง เวียดมินห์เริ่มต้นสงครามกองโจรต่อกำลังสหภาพฝรั่งเศส เริ่มต้นสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง", "title": "สงครามเวียดนาม" }, { "docid": "359574#2", "text": "สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลพล พต ในปี ค.ศ. 1979 และจัดตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ สถาปนาชื่อประเทศว่า สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา ต่อมาเมื่อฮุน เซน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ในปี ค.ศ. 1985 พร้อมกับการถอนกำลังสนับสนุนจากเวียดนาม ทำให้อิทธิพลของเฮง สัมรินลดน้อยลง", "title": "สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน" }, { "docid": "391427#46", "text": "ถ้าไม่นับที่ปรึกษาชาวเวียดนาม รัฐบาลของสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาประกอบด้วยชาวกัมพูชาที่เป็นสมาชิกแนวร่วมปลดปล่อยฯ ในระยะแรกที่ปรึกษาจากเวียดนามเช่น เล ดึ้ก โถ่ ได้ให้สัญญาว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของกัมพูชา อย่างไรก็ตาม หลังจากที่สถาปนาสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา เล ดึ้ก โถ่ทำหน้าที่เป็นผู้เชื่อมต่อระหว่างรัฐบาลที่ฮานอยและพนมเปญ โดยรัฐบาลสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาต้องเดินในช่องทางแคบ ๆ ระหว่างชาตินิยมเขมรกับความเป็นหนึ่งเดียวของอินโดจีนกับเวียดนาม โดยจะต้องไม่กระทบกระเทือนต่อเวียดนาม[3] สมาชิกของรัฐบาลที่แสดงอาการต่อต้านเวียดนามจะถูกเปลี่ยนตัวไป เช่น รส สมัย แปน โสวัณณ์ และจัน ซี จัน ซีนั้นเสียชีวิตอย่างน่าสงสัยที่มอสโกเมื่อ พ.ศ. 2527[49]", "title": "สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา" }, { "docid": "409417#0", "text": "รัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้ (, ) เป็นรัฐบาลใต้ดินซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2512 เพื่อต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดี เหงียน วัน เทียว แห่งสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) การก่อตั้งรัฐบาลดังกล่าวเกิดขึ้นจากการร่วมมือกันของแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ (เวียดกง) และขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองขนาดเล็กต่าง ๆ อีกจำนวนมาก", "title": "รัฐบาลปฏิวัติชั่วคราวสาธารณรัฐเวียดนามใต้" }, { "docid": "525662#7", "text": "เมื่อจัดตั้งสาธารณรัฐเขมรหลังรัฐประหารนั้น ในครั้งแรก สิริมตะวางแผนจะให้สมาชิกในสายราชสกุลสีสุวัตถิ์ โดยเฉพาะบุตรเขยคือ พระองค์มจะ สีสุวัตถิ์ ดวงชีวิน ขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็นการสถาปนาสาธารณรัฐแทน การปกครองของลน นลอยู่เบื้องหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวเวียดนามในกัมพูชา และเชื่อว่าสิริมตะเกี่ยวข้องด้วย", "title": "สีสุวัตถิ์ สิริมตะ" }, { "docid": "362890#55", "text": "นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเดินทางไปเยือน กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย เมื่อวันที่ 4-6 เมษายน พ.ศ. 2554เพื่อหารือทวิภาคีกับประธานาธิบดีสาธารณรัฐอินเดีย รองประธานาธิบดีสาธารณรัฐอินเดีย และ นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐอินเดีย \nนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเดินทางไปเยือน เมืองดาวอส และซูริก สมาพันธรัฐสวิส เพื่อร่วมประชุม เวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรัม เมืองดาวอส และ เป็นประธานการประชุมเอกอัครราชทูต ประจำภาคพื้นยุโรป เมืองซูริค ระหว่างวันที่ 28 มกราคม-31 มกราคม พ.ศ. 2554\nอภิสิทธิ์เดินทางไปพบเหงียน เติ๊น สุง นายกรัฐมนตรีเวียดนาม เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพื่อพิจารณาถึงหนทางแก้ปัญหาวิกฤตการณ์การเงินโลก อภิสิทธิ์ไปถึงฮานอยใช้เวลาหนึ่งวันไปเยียมเยียน เหงียน เติ๊น สุงกล่าวว่า \"การมาเยี่ยมเยียนของคุณจะช่วยให้มิตรภาพขยายกว้างและลึกซึ้งมากขึ้นและความร่วมมือระหว่างเวียดนามกับไทยซึ่งมีหลายแง่มุม\"ดร.อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวง​การคลัง ​ได้​เป็นหัวหน้าคณะ​ผู้​แทน​ไทย​เข้าร่วม​การประชุมรัฐมนตรีว่า​การกระทรวง​การคลังอา​เซียน+3 ครั้งที่ 14 วันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ณ ฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยม​เวียดนาม \nวันที่ 30 พฤษภาคม 2554 นายอิสสระ สมชัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เดินทางไปพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งสาธารณะ ประเทศเวียดนามที่กรุงฮานอย เพื่อพิจารณาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ร่วมกัน รวมทั้งทำพิธีส่งมอบผู้เสียหายฯ ให้กับฝ่ายเวียดนาม พร้อมจะได้ตรวจเยี่ยมหญิงชาวเวียดนามทั้งหมดที่ประเทศเวียดนาม", "title": "การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ" }, { "docid": "589163#1", "text": "การจัดตั้งกวางฝุกโห่ย เกิดขึ้นหลังการประชุมในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2454 ในเมืองกวางโจวทางภาคใต้ของจีน การประชุมนี้เป็นการประชมร่วมกันระหว่างสมาชิกที่เหลือของสมาคมปฏิรูปหรือซุยเตินโห่ยที่มาเป็นผู้นำขององค์กรปฏิวัติ จุดประสงค์ขององค์กรนี้คือขับไล่ฝรั่งเศส ฟื้นฟูเวียดนาม และสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตย ในช่วงแรก มีการถกเถียงว่ารูปแบบการปกครองใหม่ควรเป็นแบบสาธารณรัฐหรือราชอาณาจักร แต่เนื่องจากองค์กรนี้ได้รับการสนับสนุนจากชาวจีน ทำให้ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐเข้มแข็งกว่า สมาชิกจากเวียดนามภาคกลางและเวียดนามภาคเหนือสนับสนุนสาธารณรัฐ แต่สมาชิกจากภาคใต้ที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมกว่าต้องการสถาปนาราชวงศ์ โดยสนับสนุนเจ้าชายเกื๊องเด๋ ที่เป็นเชื้อพระวงศ์ของราชวงศ์เหงียน ในที่สุด องค์กรได้ตกลงให้เจ้าชายเกื๊องเด๋เป็นประธานาธิบดี ฟาน โบย เจาเป็นรองประธานาธิบดี และมีรัฐมนตรี 3 คนจาก 3 ภาคคือ เงวียน เทือง เฮียน เป็นตัวแทนภาคเหนือ เจาเป็นตัวแทนภาคกลาง และเงวียน ทัน เฮียนเป็นตัวแทนภาคใต้ เมื่อได้กำหนดภาระหน้าที่ที่ชัดเจนแล้ว สมาชิกได้แยกย้ายกันกลับไปเวียดนาม บางส่วนคงอยู่ตามแนวชายแดนของมณฑลยูนนานและกวางสี แต่ไม่นานหลังจากเจากลับมาเวียดนาม ผู้สนับสนุนทางการเงินคือลี ตเว ถูกจับขังคุก", "title": "สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม" }, { "docid": "409417#1", "text": "รัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้ได้รับการยอมรับในฐานะรัฐบาลโดยชอบธรรมของเวียดนามใต้จากรัฐคอมมิวนิสต์ส่วนมาก และได้ลงนามในสนธิสัญญาปารีส ค.ศ. 1973 ในฐานะพรรคการเมืองเอกเทศ และได้เป็นรัฐบาลเฉพาะกาลของเวียดนามใต้อย่างแท้จริงหลังจากความพ่ายแพ้ทางการทหารของกองทัพเวียดนามใต้ในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2518 และต่อมาในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 รัฐบาลชุดดังกล่าวและเวียดนามเหนือได้รวมตัวกันเพื่อจัดตั้งประเทศเวียดนามอันเป็นเอกภาพในชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม", "title": "รัฐบาลปฏิวัติชั่วคราวสาธารณรัฐเวียดนามใต้" }, { "docid": "549037#3", "text": "อย่างไรก็ดี ความตกลงดังกล่าวถูกละเมิดเมื่อสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามสถาปนาแนวส่งกำลังบำรุงผ่านดินแดนลาว \"ที่เป็นกลาง\" เพื่อส่งกำลังบำรุงการก่อการกำเริบของเวียดกงต่อรัฐบาลเวียดนามใต้", "title": "ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว" }, { "docid": "419002#22", "text": "ระหว่าง 16–19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 เวียดนามและสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาได้จัดให้มีการประชุมเพื่อลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างกัน[12] มาตรา 2 ของสนธิสัญญาได้ระบุว่าความปลอดภัยของเวียดนามและกัมพูชาได้เกี่ยวข้องกันและจะต้องป้องกันซึ่งกันและกัน ทำให้การคงอยู่ของทหารเวียดนามในกัมพูชาเป็นเรื่องถูกกฎหมาย หลังจากนั้น สหภาพโซเวียต ประเทศสังคมนิยมในยุโรปตะวันออกและอินเดียได้ประกาศรับรองสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา โดยสหภาพโซเวียตชื่นชมกับการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา และประณามเขมรแดงว่าเป็นทรราชย์ที่มีจีนสนับสนุน", "title": "สงครามกัมพูชา–เวียดนาม" } ]
1630
สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "238820#1", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า \"สทศ\" ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า \"National Institute of Educational Testing Service (Public Organization)\" เรียกโดยย่อว่า \"NIETS\" จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" } ]
[ { "docid": "238820#2", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นเป็นองค์การมหาชนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิสามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรและบุคลากรได้สูงสุด มีความเป็นอิสระและหน้าด้าที่ขึ้นอยู่กับสายการบริหารของหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดการศึกษาจึงมีความเป็นกลาง เป็นสถาบันที่มีการกำหนดหลักการ นโยบาย มาตรการและเป้าหมาย โครงสร้างการบริหาร และการดำเนินกิจการ ความสัมพันธ์กับรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากร การเงิน การตรวจสอบ และการประเมินผลที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถาบันเพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย และให้บริการ ทางด้านการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "238820#3", "text": "เพื่อบริหารจัดการและดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ\nสทศ. มีการบริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ รายชื่อต่อไปนี้มีผลตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วย", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "238820#0", "text": "สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548 ปัจจุบัน สทศ. มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 128 อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 35-36 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400", "title": "สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "816975#1", "text": "สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ ได้จัดตั้งขึ้นในชื่อสถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2545 ตามมติของสภามหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และตอบสนองยุทธศาสตร์ของชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิรูปการศึกษาและเติมปัญญาให้สังคม ว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ โดยหัวใจของการปฏิรูปการศึกษาคือการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ (Institute for Innovative Learning) ตามมติของสภามหาวิทยาลัย", "title": "สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล" }, { "docid": "2781#26", "text": "กระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2489 ด้วยความช่วยเหลือขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้จัดตั้ง สถาบันระหว่างชาติสำหรับการค้นคว้าเรื่องเด็กขึ้นในวิทยาลัยวิชาการศึกษา (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ซึ่งนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่วิชาเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็ก ต่อมามีการศึกษาที่กว้างขวางมากขึ้น ใน สถาบันอื่นก็ได้เปิดหลักสูตรวิชาจิตวิทยาในหลายสาขา ในปัจจุบันและในอนาคต มีการคาดหวังไว้ว่าจิตวิทยาในประเทศไทย จะเจริญก้าวหน้า ช่วยพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติต่อไป", "title": "จิตวิทยา" }, { "docid": "108248#1", "text": "เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2537 คณะรัฐมนตรีลงมติอนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดทำโครงการทดลองจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อขยายโอกาส พัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับมาตรฐานทางการศึกษา หลังจากนั้น กระทรวงศึกษาธิการ มีคำสั่งมอบหมายให้ กรมการศึกษานอกโรงเรียน (ปัจจุบันคือ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย) รับผิดชอบโครงการทดลองดังกล่าว มีกำหนดระยะเวลาระหว่างวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2537 จนถึงวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2542 โดยมูลนิธิไทยคมให้การสนับสนุน ในการจัดตั้งสถานีส่งแพร่ภาพ จนกระทั่งเริ่มทดลองออกอากาศ อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2537 และเริ่มออกอากาศจริงอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2542", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา" }, { "docid": "156468#1", "text": "สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๔๒ ลงวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2515 ภายใต้ความร่วมมือและการสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณและผู้เชี่ยวชาญจากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ปัจจุบันเป็นหน่วยงานในกำกับกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2548", "title": "สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" }, { "docid": "185475#40", "text": "คณะรัฐบาลได้อนุมัติให้ดำเนินการ ก่อสร้างเมื่อ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2504 โดยมีห้างบีกริม แอนโก กรุงเทพ จำกัด และตัวแทน บริษัท คาร์ลไซซ์ ในสหพันธรัฐเยอรมันเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ จนเรียบร้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดอาคารท้องฟ้าจำลองกรุงเทพเมื่อวันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2507", "title": "ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา" }, { "docid": "369508#3", "text": "วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551 คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่งต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2551 ขึ้น และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งถื่อว่าเป็นวันก่อตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน มีเป้าหมายหลักให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ดาราศาสตร์สำหรับประชาชนและสถานศึกษาในท้องถิ่น สนับสนุนการบริการวิชาการด้านดาราศาสตร์แก่ชุมชน สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา รวมทั้งเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวิชาการที่สำคัญของภูมิภาค ปัจจุบัน (2559) เปิดดำเนินการแล้ว 2 แห่ง คือ นครราชสีมา และฉะเชิงเทรา", "title": "สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "94243#1", "text": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นตามเจตนารมย์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 6 ซึ่งกำหนดให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยให้ประเมินประเมินคุณภาพภายนอกแก่สถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก ๆ 5 ปี จากพระราชบัญญัตินี้จึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตั้งแต่นั้นมา", "title": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "94243#0", "text": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งของประเทศไทย ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา", "title": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "94243#3", "text": "พระ\nราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา \n(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543 ในมาตรา 8 กำหนดให้สำนักงานฯ มีอำนาจหน้าที่หลัก ดังนี้", "title": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "94243#2", "text": "สมศ. จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543 อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 จึงได้เปลี่ยนแปลงมาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ", "title": "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)" } ]
4109
มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์ เรียนจบจากที่ไหน ?
[ { "docid": "485003#2", "text": "มาร์กาเร็ต บูร์ก ไวท์ เป็นบุตรสาวของโจเซฟ ไวท์ (Joseph White) ชาวยิว-โปแลนด์ และ มินนี่ บูร์ก (Minnie Bourke) สตรีอังกฤษเชื้อสายไอริช เธอเกิดในย่านเดอะบรองซ์ (The Bronx) ทางตอนเหนือของมหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา แต่ไปเติบโตที่บาวนด์ บรู๊ค รัฐนิวเจอร์ซี และจบการศึกษาระดับมัธยมจาก เพลนฟิลด์ ไฮสกูล (Plainfield High School) ทั้งนี้ เมื่อแรกเกิด เธอมีชื่อว่า มาร์กาเร็ต ไวท์ (Margaret White) แต่ในปี 1927 เธอได้เติมนามสกุลแม่ลงไปในชื่อของตัวเองแล้วใส่ขีดคั่น (Hyphen) จึงกลายเป็น Margaret Bourke-White อย่างที่โลกรู้จักมาจนถึงปัจจุบัน", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" } ]
[ { "docid": "485003#6", "text": "หนึ่งในลูกค้าของ มาร์กาเร็ต คือ โอทิส สตีล คัมพานี (Otis Steel Company) ความสำเร็จของเธอเกิดจากทั้งเทคนิคส่วนตัว และทักษะต่างๆ ที่เรียนรู้จากผู้คน ซึ่งประสบการณ์จากการทำงานให้บริษัทโอทิสเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องนี้ ดังที่อธิบายไว้ในหนังสือ ‘พอร์ตเทรต ออฟ มายเซลฟ์’ (Portrait of Myself) ซึ่งเธอเขียนขึ้นในภายหลัง", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#29", "text": "}}]] หมวดหมู่:บุคคลจากเดอะบร็องซ์ หมวดหมู่:นักถ่ายภาพชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักถ่ายภาพสงคราม", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#11", "text": "ช่วงกลางยุคทศวรรษ 1930 มาร์กาเร็ตถ่ายภาพผู้ประสบภัยแล้งในเหตุการณ์ดัสต์โบวล์ (en:Dust Bowl) ซึ่งเป็นพายุฝุ่นที่เกิดจากการเพาะปลูกผิดวิธีจนหน้าดินแห้งเป็นฝุ่น และถูกลมพัดปลิวว่อนกลายเป็นภัยพิบัติครั้งใหญ่ในอเมริกา ตีพิมพ์ลงในนิตยสารไลฟ์ ฉบับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 1937", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#26", "text": "Emily Keller. Margaret Bourke-White: a photographer’s life. USA: Lerner Publications Company, 1996.", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#28", "text": "}}]] [[Category:{{subst:#switch:{{subst:uc:1971}}", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#21", "text": "อัลเฟรด (en:Alfred Eisenstaedt) ซึ่งเป็นทั้งเพื่อนและผู้ร่วมงานของมาร์กาเร็ตกล่าวว่า เธอมีความสามารถพิเศษในการอยู่ถูกที่ถูกเวลา ซึ่งเธอได้สัมภาษณ์และถ่ายภาพมหาตมา คานธีเพียงแค่ไม่กี่ชั่วโมงก่อนการลอบสังหารในปี 1948 ที่สำคัญคือ ไม่มีงานไหนหรือภาพใดไม่สำคัญสำหรับเธอ", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#3", "text": "เนื่องจากพ่อของมาร์กาเร็ตเป็นวิศวกรและนักประดิษฐ์ เธอจึงเรียนรู้ที่จะเป็นพวกสมบูรณ์แบบนิยม ในขณะที่แม่ก็เป็นแม่บ้านที่มีความคิดริเริ่มในเรื่องต่างๆ ซึ่งทำให้เธอมีความปรารถนาจะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ โรเจอร์ พี่ชายของมาร์กาเร็ตบรรยายถึงพ่อแม่ของพวกเขาว่า ทั้งคู่เป็นนักคิดอิสระผู้ใส่ใจในการสร้างความก้าวหน้าให้ตนเองและมนุษยชาติอย่างจริงจัง โรเจอร์จึงกล่าวว่า ไม่เคยสงสัยในความสำเร็จของน้องสาวเลย โดยกล่าวถึงอุปนิสัยส่วนตัวของเธอว่า ไม่ใช่คนสันโดษหรือไร้มนุษยสัมพันธ์ และนอกจากโรเจอร์แล้ว มาร์กาเร็ตยังมีพี่สาวอีก 1 คน ชื่อ รูธ ไวท์ ซึ่งมีชื่อเสียงจากงานที่อเมริกัน บาร์ แอสโซซิเอชั่น (American Bar Association) ในชิคาโก", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#9", "text": "ในปี 1929 มาร์กาเร็ตตกลงรับตำแหน่งบรรณาธิการร่วมและช่างภาพที่นิตยสารฟอร์จูน (en:Fortune Magazine) จนถึงปี 1930 ต่อมา เฮนรี่ ลูซ (en:Henry Luce) เจ้าพ่อแห่งวงการนิตยสารจ้างเธอเป็นช่างภาพข่าวหญิงคนแรกของไลฟ์แมกกาซีน (en:Life Magazine) เมื่อปี 1936 ภาพการก่อสร้างเขื่อน Fort Peck ของมาร์กาเร็ตได้ปรากฏบนหน้าปกฉบับปฐมฤกษ์ เมื่อ 23 พฤศจิกายน ในปีเดียวกันนั้นเอง โดยเป็นภาพที่ได้รับความนิยมมากถึงขนาดมีการนำไปพิมพ์ในชุดแสตมป์ที่ระลึกฉลอง 100 ปีของการไปรษณีย์สหรัฐ โดยถูกใช้เป็นภาพตัวแทนของยุคทศวรรษ 1930", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#15", "text": "มาร์กาเร็ตทำงานเป็นช่างภาพให้นิตยสารไลฟ์จนถึงปี 1940 แต่ก็กลับมาทำงานที่นี่อีกครั้งเมื่อปี 1941-42 และอีกครั้งในปี 1945 จนกระทั่งกึ่งเกษียณเมื่อปี 1957 อันเป็นช่วงที่เธอยุติอาชีพการเป็นช่างภาพนิตยสาร ต่อมาจึงเกษียณเต็มขั้นในปี 1969 ทั้งนี้ มาร์กาเรตเริ่มมีห้องแล็บครั้งแรกที่นิตยสารไลฟ์แห่งนี้เอง", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#24", "text": "You Have Seen Their Faces (1937; ร่วมกับ Erskine Caldwell) North of the Danube (1939; ร่วมกับ Erskine Caldwell) Shooting the Russian War (1942) They Called it “Purple Heart Valley” (1944) Halfway to Freedom; a report on the new India (1949) Dear Fatherland, rest quietly (1946) Portrait of Myself (1963) The Taste of War (คัดสรรงานเขียนของมาร์กาเร็ต บรรณาธิการโดย Jonathon Silverman)", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#25", "text": "For the world to see: the life of Margaret Bourke-White โดย Jonathon Silverman (1983) Margaret Bourke-White: a biography โดย Vicki Goldberg (1986) The Photographs of Margaret Bourke-White edited โดย Sean Callahan (1972) Margaret Bourke-White: a photographer’s life โดย Emily Keller (1996) Margaret Bourke-White: the early work, 1922-1930. โดย Ronald E. Ostman และ Harry Littell Photojournalism, 1855 to the present โดย Reuel Golden (2006) Key readings in journalism บรรณาธิการโดย Elliot King และ Jane L. Chapman (2012)", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#1", "text": "มาร์กาเร็ต นับเป็นช่างภาพหญิงคนสำคัญคนหนึ่งของวงการถ่ายภาพของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในวงการภาพถ่ายสารคดีและภาพข่าว", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#4", "text": "ความสนใจด้านถ่ายภาพของมาร์กาเร็ตเริ่มต้นตั้งแต่อายุยังน้อย โดยเป็นงานอดิเรกที่ได้รับการสนับสนุนจากพ่อซึ่งเป็นคนหลงใหลในกล้องถ่ายภาพ อย่างไรก็ตาม เธอได้เข้าเรียนด้านสัตววิทยาแขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (herpetology) ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เมื่อปี 1922 โดยที่ยังมีความสนใจด้านการถ่ายภาพอยู่ และยิ่งมีเพิ่มมากขึ้นหลังจากที่ได้เรียนกับคลาเรนซ์ ไวท์ (Clarence White) ช่างภาพชาวอเมริกัน (แต่ทั้งสองไม่ได้เป็นญาติกัน) ซึ่งเปิดโรงเรียนสอนถ่ายภาพ Clarence H. White School of Photography", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#19", "text": "มาร์กาเร็ตมีชื่อเสียงพอๆ กันทั้งจากภาพมหาตมา คานธีกับเครื่องปั่นด้าย (Gandhi at his Spinning Wheel) และภาพโมฮัมเหม็ด อาลี จินนาห์ (Mohammed Ali Jinnah) ผู้สถาปนาปากีสถานขณะนั่งบนเก้าอี้ โดยที่ Somini Sengupta นักหนังสือพิมพ์หญิงชื่อดังชาวอินเดีย เจ้าของรางวัล George Polk Award ปี 2004 สาขาผู้สื่อข่าวต่างประเทศกล่าวว่า “มาร์กาเร็ตคือหนึ่งในผู้บันทึกเหตุการณ์ที่มีประสิทธิภาพที่สุดในเหตุการณ์ความรุนแรงที่ปะทุขึ้นในการแบ่งแยกอินเดียกับปากีสถาน เธอบันทึกภาพท้องถนนที่กลาดเกลื่อนไปด้วยซากศพ เหยื่อที่ตายโดยดวงตายังเบิกโพลง ผู้อพยพกับดวงตาที่เหม่อลอย ภาพถ่ายของเธอดูเหมือนกรีดร้องอยู่บนหน้ากระดาษ”", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#16", "text": "มาร์กาเร็ตเป็นนักข่าวหญิงคนแรกที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในสมรภูมิรบระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เธอเดินทางไปยังสหภาพโซเวียตในปี 1941 โดยเป็นช่างภาพชาวต่างชาติเพียงคนเดียวในกรุงมอสโควขณะที่กองทัพเยอรมันกำลังบุกโจมตี เธอสามารถจับภาพทะเลเพลิงเหล่านั้นไว้ได้ ขณะที่สงครามกำลังดำเนินอยู่ เธอยังติดตามกองทัพอากาศของสหรัฐในแอฟริกาเหนือ อิตาลี และเยอรมัน โดยเข้าสู่สมรภูมิที่กำลังต่อสู่กันในประเทศอิตาลี นอกจากนี้ยังเคยอยู่ในสถานการณ์การทำลายล้างในเมอร์ดิเตอร์เรเนียน เคยเกยตื้นบนอาร์คติก ไอส์แลนด์ และรอดตายจากเหตุการณ์เฮลิคอปเตอร์ตกที่เชซาพีค (Chesapeake) หลังจากนั้นเธอก็เป็นที่รู้จักในหมู่พนักงานของนิตยสารไลฟ์ในนาม ‘แม็กกี้ ผู้ทำลายไม่ได้’ (Maggie the Indestructible)", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#23", "text": "ภาพถ่ายของมาร์กาเร็ตอยู่ที่บรูคลินมิวเซียม (en:Brooklyn Museum) เมืองเคลฟแลนด์, พิพิธภัณฑ์ศิลปะ (en:Museum of Art), พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ (Museum of Modern Art) ในนิวยอร์ก และหอสมุดรัฐสภา (en:Library of Congress) ในวอชิงตัน ดี.ซี.", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#12", "text": "อีกหนึ่งภาพที่มีชื่อเสียงของมาร์กาเร็ตคือ ภาพกลุ่มคนผิวดำผู้ประสบภัยแล้งยืนอยู่หน้าป้ายที่มีข้อความว่า “มาตรฐานการใช้ชีวิตที่สูงที่สุดในโลก” (World's Highest Standard of Living) โดยมีภาพวาดครอบครัวคนขาวนั่งอยู่ในรถยนต์ ซึ่งถ่ายไว้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 1937 ต่อมาภาพถ่ายดังกล่าวกลายเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบปกอัลบั้ม There's No Place Like America Today ของ เคอร์ทิส เมย์ฟิลด์ (Curtis Mayfield) ศิลปินผิวสีชาวอเมริกันเมื่อปี 1975", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#8", "text": "ต่อมา เมื่อได้รับอนุญาต ปัญหาทางด้านเทคนิคก็เริ่มต้นขึ้น เนื่องจากฟิล์มขาวดำในยุคนั้นไวต่อแสงสีน้ำเงินไม่ใช่สีแดงหรือสีส้มของเหล็กร้อนๆ แม้เธอมองเห็นถึงความงาม แต่ภาพถ่ายจะออกมาเป็นสีดำทั้งหมด มาร์กาเร็ตแก้ปัญหาด้วยการให้ผู้ช่วยถือแมกนีเซียมที่ลุกไหม้ซึ่งสร้างแสงสีขาวและแสงสว่างให้กับฉาก ความสามารถของเธอส่งผลให้ภาพเหล่านั้นเป็นหนึ่งในภาพถ่ายโรงงานเหล็กที่ดีที่สุดในยุคนั้น", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#10", "text": "อย่างไรก็ตาม แม้เธอตั้งชื่อภาพว่า New Deal, Montana: Fort Peck Dam แต่ความจริงแล้วมันคือภาพของทางน้ำล้นซึ่งตั้งอยู่ห่างจากตัวเขื่อนไปทางตะวันออก 3 ไมล์ ตามเว็บเพจของเหล่าทหารช่างของกองทัพสหรัฐ (United States Army Corps of Engineers)", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#17", "text": "เธอยังได้บันทึกเรื่องราวการจมของเรือ SS Strathallan ซึ่งเปนเรือรบอังกฤษที่มุ่งหน้าไปยังแอฟริกาไว้ในบทความ “Women in Lifeboats” ในนิตยสารไลฟ์ ฉบับวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1943 อีกด้วย และต่อมาในฤดูใบไม้ผลิปี 1945 มาร์กาเร็ตเดินทางพร้อมนายพล George S. Patton นายทหารสหรัฐ ไปยังแคมป์ Buchenwald อันอื้อฉาวในเยอรมัน ซึ่งเธอกล่าวในเวลาต่อมาว่า “การใช้กล้องถ่ายภาพเกือบจะเป็นการปลดเปลื้องสำหรับฉัน มันคั่นกลางนิดเดียวระหว่างตัวฉันกับความน่าสะพรึงกลัวที่อยู่ตรงหน้า”", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#0", "text": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์ (English: Margaret Bourke-White; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1904 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 1971) เป็นช่างภาพหญิงชาวอเมริกันที่ถ่ายภาพแนวสารคดี (en:Photojournalism) ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะช่างภาพชาวต่างชาติคนแรกที่ได้รับอนุญาตให้ถ่ายภาพโรงงานอุตสาหกรรมในสหภาพโซเวียต ทั้งยังเป็นช่างภาพและนักข่าวสงคราม (War photographer) คนแรกที่เป็นผู้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในสมรภูมิรบ และนอกจากนี้ยังเป็นช่างภาพหญิงคนแรกของนิตยสารไลฟ์ (en:Life Magazine) ภาพถ่ายของมาร์กาเร็ตปรากฏบนปกนิตยสารดังกล่าวในฉบับปฐมฤกษ์ เธอเสียชีวิตด้วยโรคพาร์กินสันเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 1971 ณ รัฐคอนเนตทิคัต หลังจากเริ่มมีอาการของโรคดังกล่าวเมื่อ 8 ปีก่อนหน้านั้น", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#18", "text": "หลังสงคราม เธอเขียนหนังสือชื่อว่า Dear Fatherland, Rest Quietly ซึ่งช่วยให้เธอรับมือกับความเหี้ยมโหดที่พบเห็นระหว่างและหลังสงคราม", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#5", "text": "ภายหลังการเสียชีวิตของพ่อ เธอก็ลาออกจากมหาวิทยาลัยดังกล่าว แล้วเปลี่ยนที่เรียนอีก 2-3 แห่ง หนึ่งในนั้นคือ มหาวิทยาลัยมิชิแกน ซึ่งเธอเป็นสมาชิกสโมสรหญิง Alpha Omicron Pi, Purdue University ในรัฐอินเดียนา และมหาวิทยาลัย Case Western Reserve ในเคลฟแลนด์ โอไฮโอ และในที่สุดก็จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอร์แนลด้วยวุฒิศิลปศาสตร์บัณฑิตในปี 1927 หนึ่งปีต่อมา มาร์กาเร็ตย้ายจากนิวยอร์กไปยังเคลฟแลนด์ โอไฮโอ แล้วเริ่มสร้างสตูดิโอถ่ายภาพเชิงพาณิชย์ โดยสร้างผลงานภาพถ่ายเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ในปี 1924 ระหว่างที่ยังเรียนหนังสือ เธอแต่งงานกับเอเวอร์เรตต์ แชปแมน (Everett Chapman) แต่หย่าร้างกันในอีก 2 ปีต่อมา", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#20", "text": "ภาพถ่ายจำนวน 66 ภาพของมาร์กาเร็ตถูกรวบรวมไว้ในหนังสือนวนิยายชื่อ en:Train to Pakistan ของ en:Khushwant Singh ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี 1956 โดยมีการพิมพ์ซ้ำเมื่อปี 2006 ภาพถ่ายจำนวนมากในหนังสือเล่มนี้ถูกจัดแสดงที่ศูนย์การค้า The posh shopping center Khan Market ในเมืองเดลี ประเทศอินเดีย", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#13", "text": "ในปี 1939 มาร์กาเร็ตแต่งงานกับ เออร์สกิน คอลด์เวลล์ (Erskine Caldwel) นักเขียนนวนิยาย และหย่าร้างกันในปี 1942 ทั้งคู่เคยร่วมงานกันในหนังสือชื่อ You Have Seen Their Faces ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสถานการณ์ทางตอนใต้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจโลก (Great Depression) ตีพิมพ์เมื่อปี 1937", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#22", "text": "อย่างไรก็ตาม ชีวประวัติของมาร์กาเร็ต บูร์ก ไวท์ ยังถูกผลิตเป็นภาพยนตร์เรื่อง Double Exposure: The Story of Margaret Bourke-White เมื่อปี 1989 และยังมีภาพยนตร์เรื่อง Gandhi (คานธี) ปี 1982 ที่มีฉากมาร์กาเร็ตเดินทางไปถ่ายภาพและพูดคุยกับคานธีอีกด้วย", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#7", "text": "เริ่มแรกนั้น มีการคัดค้านที่จะปล่อยให้เธอถ่ายภาพด้วยเหตุผลหลายอย่าง อย่างแรก คือ การทำเหล็กเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกองทัพ ดังนั้นพวกเขาต้องมั่นใจว่ามันจะไม่กระทบต่อความปลอดภัยของชาติ อย่างที่สอง เธอเป็นผู้หญิง และในยุคนั้นผู้คนก็ยังสงสัยว่า ผู้หญิงและกล้องที่บอบบางของเธอจะสามารถทนต่อความร้อนสูง ความเสี่ยง ความสกปรก และสถานการณ์ต่างๆ ได้หรือไม่", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#27", "text": "{{subst:#if:|}} [[Category:{{subst:#switch:{{subst:uc:1904}}", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" }, { "docid": "485003#14", "text": "นอกจากนี้ เธอยังเดินทางไปยังทวีปยุโรปเพื่อบันทึกว่าเยอรมนี ออสเตรีย และเชกโกสโลวาเกียถูกปฏิบัติอย่างไรเมื่ออยู่ภายใต้ลัทธินาซี และรัสเซียถูกจัดการอย่างไรภายใต้ลัทธิคอมมิวนิสต์ ขณะที่อยู่ในรัสเซีย เธอได้ถ่ายภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ยากคือ โจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) มีรอยยิ้ม เช่นเดียวกับภาพแม่และย่า (หรือยาย?) ของเขาขณะเยือนจอร์เจีย", "title": "มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์" } ]
278
ภาวะไม่รู้ใบหน้า เกิดจากความผิดปกติด้านสมองใช่หรือไม่?
[ { "docid": "568270#22", "text": "รอยโรคที่รอยต่อของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอย (temporo-occipital junction) ซีกซ้ายข้างเดียว ก่อให้เกิดภาวะไม่รู้วัตถุ แต่ไม่มีผลต่อกระบวนการรู้จำใบหน้า แต่ว่า เพราะว่ามีบางกรณีที่ถูกบันทึกว่า ความเสียหายต่อสมองข้างซ้ายซีกเดียวก่อให้เกิดภาวะบอดใบหน้า จึงมีการเสนอว่า ความบกพร่องของการรู้จำใบหน้า ที่เกิดจากความเสียหายในสมองซีกซ้ายข้างเดียว เป็นเพราะมีความผิดปกติ ที่เข้าไปห้ามกระบวนการค้นคืนความจำเกี่ยวกับข้อมูลของบุคคล ที่ปรากฏอยู่ในสายตานั้น", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#4", "text": "ภาวะบอดใบหน้ามี 2 ประเภท ได้แก่ แบบที่เกิดภายหลัง และแบบที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด (คือมีความผิดปกติในช่วงพัฒนา) แบบที่เกิดภายหลัง เป็นผลของความเสียหายที่รอยต่อของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอย (occipito-temporal junction) (ดูสมุฏฐานและเขตสมองที่เกี่ยวข้อง) ที่มักจะพบในผู้ใหญ่ แบบนี้ยังแบ่งออกเป็นแบบวิสัญชาน (apperceptive) และแบบสัมพันธ์ (associative) ส่วนผู้มีภาวะแบบที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด จะมีการพัฒนาที่ไม่สมบูรณ์ของการรู้จำใบหน้า", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#0", "text": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า หรือ ภาวะเสียการระลึกรู้ใบหน้า (, ภาษากรีก prosopon = หน้า, agnosia = ไม่รู้) หรือ ภาวะบอดใบหน้า () เป็นความผิดปกติของการรับรู้ใบหน้า โดยที่สมรรถภาพในการรู้จำใบหน้าเกิดความเสียหาย ในขณะที่การประมวลข้อมูลอื่นๆ ทางสายตาเช่นการแยกแยะวัตถุ และประสิทธิภาพในด้านความคิดอื่นๆเช่นการตัดสินใจ ไม่มีปัญหาอะไร ศัพท์นี้ดั้งเดิมหมายถึงอาการที่เกิดขึ้นที่เกิดจากความเสียหายในสมองอย่างรุนแรง (คือภาวะบอดใบหน้าเกิดภายหลัง) แต่ว่า แบบที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด (คือมีความผิดปกติในช่วงพัฒนา) ก็เกิดขึ้นได้เหมือนกัน และอาจจะเกิดขึ้นกับจำนวนประชากรถึง 2.5 %", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#19", "text": "มีความผิดปกติช่วงพัฒนาหลายอย่าง ที่สัมพันธ์กับโอกาสที่สูงขึ้น ที่บุคคลหนึ่งจะมีปัญหาในการรับรู้ใบหน้า ซึ่งบุคคลนั้นอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว กลไกความเป็นไปของความบกพร่องในการรับรู้เหล่านี้ยังไม่ปรากฏ รายการโรคที่มีองค์ประกอบเป็นภาวะบอดใบหน้ารวมทั้งความผิดปกติในการเรียนที่ไม่เกี่ยวกับคำพูด โรคอัลไซเมอร์ โรคกลุ่มออทิซึมสเปกตรัม อย่างไรก็ตาม โรคเหล่านี้ซับซ้อนมาก เพราะฉะนั้น อาจจะดีกว่าถ้าเราไม่ตั้งสมมุติฐานตามอำเภอใจ\nภาวะบอดใบหน้าอาจจะมีเหตุมาจากรอยโรคในส่วนต่างๆ ของสมองกลีบท้ายทอยด้านล่าง (คือเขตรู้หน้าในสมองกลีบท้ายทอย) รอยนูนรูปกระสวย (เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย) และสมองกลีบขมับด้านหน้า การสร้างภาพสมองด้วยโพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟีและ fMRI แสดงว่า ในผู้ที่\"ไม่มีภาวะ\"ไม่รู้หน้า เขตเหล่านี้จะเริ่มทำงานโดยตอบสนองต่อใบหน้าโดยเฉพาะ เขตต่างๆ ในสมองกลีบท้ายทอยด้านล่าง โดยหลักมีบทบาทในการประมวลผลขั้นต้นๆ ของระบบการรู้หน้า และเขตต่างๆ ในสมองกลีบขมับด้านหน้าประสานข้อมูลเกี่ยวกับใบหน้า เสียง และชื่อของบุคคลที่คุ้นเคย", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#13", "text": "ภาวะไม่รู้ใบหน้าแบบวิสัญชาน () เป็นคำที่ใช้พรรณนากรณีภาวะบอดใบหน้าที่เกิดขึ้นภายหลัง ที่มีผลต่อกระบวนการประมวลผลในขั้นเบื้องต้นของระบบการรับรู้ใบหน้า เขตในสมองที่สันนิษฐานกันว่ามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในภาวะไม่รู้ใบหน้าแบบวิสัญชาน ก็คือ รอยต่อของสมองกลีบขมับและสมองกลีบท้ายทอย (temporo-occipital junction) ในสมองซีกขวา", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#15", "text": "ภาวะไม่รู้ใบหน้าแบบสัมพันธ์ () เป็นคำที่ใช้พรรณนากรณีภาวะบอดใบหน้าที่เกิดขึ้นภายหลัง ที่ไม่ทำลายกระบวนการประมวลผล แต่ก่อความเสียหายให้กับการเชื่อมต่อกันระหว่างกระบวนการรับรู้ใบหน้าขั้นเบื้องต้น กับข้อมูลต่างๆ ที่เรามีเกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น. สมองกลีบขมับด้านหน้าในสมองซีกขวาอาจจะมีบทบาทสำคัญในภาวะนี้", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "568270#16", "text": "คนไข้ที่มีภาวะนี้อาจสามารถบอกได้ว่า รูปภาพใบหน้าต่างๆ นั้นเหมือนกันหรือต่างกัน และสามารถอนุมานวัยและเพศของใบหน้านั้น (ซึ่งบอกเป็นนัยว่า สามารถทำความเข้าใจบางอย่างในรูปใบหน้า) แต่ต่อจากนั้น อาจไม่สามารถระบุบุคคลหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลนั้นได้ เป็นต้นว่า ชื่อ อาชีพ หรือว่าพบกันครั้งสุดท้ายเมื่อไร\nภาวะไม่รู้ใบหน้าเหตุพัฒนา (, ตัวย่อ DP) เป็นความบกพร่องในการรู้จำใบหน้าที่จะมีตลอดทั้งชีวิต ปรากฏอาการตั้งแต่ในวัยเด็ก และไม่สามารถสาวเหตุไปยังความเสียหายในสมองที่เกิดขึ้นภายหลัง งานวิจัยหลายงานค้นพบความบกพร่องของสมองโดยกิจของผู้มีภาวะนี้ อาศัยการตรวจโดยใช้คลื่นไฟฟ้าสมอง และโดยใช้ fMRI มีงานวิจัยที่บอกเป็นนัยว่าพันธุกรรมเป็นเหตุของภาวะนี้", "title": "ภาวะไม่รู้ใบหน้า" }, { "docid": "563350#5", "text": "งานศึกษาเรื่องโรค สภาวะไม่รู้หน้า (prosopagnosia) งานหนึ่งแสดงหลักฐานว่า ใบหน้าถูกประมวลผลโดยวิธีที่พิเศษ เป็นการศึกษากรณีของคนไข้ที่รู้จักโดยชื่อย่อว่า ซีเค ผู้มีสมองเสียหายเพราะอุบัติเหตุรถยนต์ และภายหลังเกิดมีภาวะเสียการระลึกรู้วัตถุ (object agnosia) ซีเคมีความลำบากในการรู้จำวัตถุ (object recognition) ในระดับขั้นพื้นฐาน รวมทั้งอวัยวะต่างๆ ของตน แต่สามารถรู้จำใบหน้าได้เป็นอย่างดี งานศึกษาหลังจากนั้นแสดงว่า ซีเคไม่สามารถรู้จำใบหน้าที่ถูกกลับหัวลงล่าง หรือว่ารูปใบหน้าที่ถูกบิดเบือนไป แม้ในกรณีที่คนปกติทั่วไปสามารถที่จะรู้จำใบหน้าเหล่านั้นได้ งานศึกษานี้ถูกถือเอาเป็นหลักฐานว่า FFA มีหน้าที่เฉพาะในการประมวลผลเกี่ยวกับใบหน้าที่อยู่ในแนวปกติ", "title": "เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย" }, { "docid": "571500#13", "text": "ภาวะบอดใบหน้า (คือไม่สามารถรู้จำใบหน้าได้) เกิดขึ้นจากความเสียหายของเขตรับรู้ใบหน้าในรอยนูนรูปกระสวย (fusiform face area) งานวิจัยที่ใช้การสร้างภาพโดยกิจแสดงให้เห็นว่า มีเขตเฉพาะบางเขตที่มีหน้าที่โดยเฉพาะเกี่ยวกับการรู้จำใบหน้า เรียกว่า \"เขตรับรู้ใบหน้าในรอยนูนรูปกระสวย\" ซึ่งอยู่ในรอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus) ของสมองกลีบขมับ แต่ว่า เขตนี้ไม่ได้รับรู้ใบหน้าอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังรู้จำวัตถุที่บุคคลมีความชำนาญอื่นๆ ด้วย", "title": "ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา" } ]
[ { "docid": "568311#7", "text": "หลักฐานแรก ๆ ที่อาจจะชี้เหตุที่ก่อให้เกิดอาการนี้ มาจากงานวิจัยของคนไข้บาดเจ็บทางสมองผู้เกิดมีภาวะไม่รู้ใบหน้า (prosopagnosia) ผู้ไม่มีการรับรู้ใบหน้าแบบเหนือสำนึก ถึงแม้ว่าจะสามารถรู้จำวัตถุทางตาประเภทอื่น ๆ ได้ แต่ว่า งานวิจัยปี ค.ศ. 1984 ของเบาเออร์กลับแสดงว่า ถึงแม้ว่าการรู้จำใบหน้าเหนือสำนึกจะบกพร่อง คนไข้ภาวะนี้กลับแสดงความเร้าทางประสาทที่เกิดขึ้นโดยไม่สมัครใจ (วัดโดยการนำไฟฟ้าของผิวหนัง) เมื่อเห็นใบหน้าของคนที่คุ้นเคย เป็นผลงานวิจัยที่บอกเป็นนัยว่า มีวิถีประสาทสองทางในการรู้จำใบหน้า คือวิถีเหนือสำนึกและวิถีใต้สำนึก", "title": "อาการหลงผิดคะกราส์" } ]
500
ริสเพอริโดน มีงานศึกษาเกี่ยวกับยาเริ่มขึ้นในปลายปีใด?
[ { "docid": "815767#3", "text": "งานศึกษาเกี่ยวกับยาเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับอนุญาตให้ขายในสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2536[1][4] เป็นยาในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก ซึ่งเป็นยาจำเป็นสำคัญที่สุดในระบบดูแลสุขภาพพื้นฐาน[5] ปัจจุบันมีขายเป็นยาสามัญ (generic)[2] โดยในประเทศกำลังพัฒนา ราคาขายส่งอยู่ที่ 0.01-0.60 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 35 สตางค์จนถึง 21 บาท) ต่อวันโดยปี 2557[6] ส่วนค่ายาทั่วไปปี 2558 ในสหรัฐอเมริกาอยู่ที่ระหว่าง 100-200 ดอลลาร์ (ประมาณ 3,500-7,000 บาท) ต่อเดือน[2]", "title": "ริสเพอริโดน" } ]
[ { "docid": "815767#17", "text": "ผู้สูงอายุที่มีอาการโรคจิต (psychosis) ที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อม มีความเสี่ยงตายสูงกว่าถ้าได้ยาริสเพอริโดนเทียบกับคนที่ไม่ได้ การตายมักจะสัมพันธ์ปัญหาหรือการติดเชื้อทางหัวใจ[38]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#23", "text": "แม้ว่ายานี้จะมีผลเหมือนกับยารักษาโรคจิตทั้งแบบ typical และ atypical อื่น ๆ แต่มันก็ไม่มีสัมพรรคภาพ (affinity) กับตัวรับแบบ muscarinic acetylcholine ในหลาย ๆ ด้าน ยานี้อาจจะมีประโยชน์เป็น \"acetylcholine release-promoter\" คล้ายกับยากระเพาะลำไส้เช่น metoclopramide และ cisapride", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#9", "text": "เทียบกับยาหลอก ยาลดพฤติกรรมปัญหาบางอย่างในเด็กโรคออทิซึม รวมทั้งความก้าวร้าว การทำร้ายตัวเอง ความงอแง และอารมณ์ที่เปลี่ยนอย่างรวดเร็ว และหลักฐานที่แสดงประสิทธิผลดูเหมือนจะมากกว่าการรักษาด้วยยาอื่น ๆ[22] น้ำหนักเพิ่มเป็นผลที่ไม่พึงประสงค์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง[23][24]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "974717#18", "text": "องค์กรควบคุมยาของสหราชอาณาจักร () ได้จำกัดการใช้ยาในปี 2014 เนื่องจากความเสี่ยงที่สูงขึ้นเนื่องกับหัวใจ\nแต่งานทบทวนวรรณกรรมปี 2015 ของออสเตรเลียก็ได้สรุปดังต่อไปนี้\nในสหราชอาณาจักร มีคดีเกี่ยวกับมารดาที่มีลูกสามคนผู้ล้วนแต่มีภาวะไอออนโซเดียมเกินในเลือด (hypernatraemia) และเด็กสองคนได้เสียชีวิต\nเธอจึงถูกจับข้อหาวางยาพิษแก่เด็กโดยใช้เกลือ\nเด็กคนหนึ่ง ผู้คลอดหลังจากอยู่ในครรภ์เพียง 28 อาทิตย์ผู้มีภาวะแทรกซ้อนทางการหายใจ ต้องเนื่องจากโรคกรดไหลย้อน และไม่โตตามวัย ได้รับยาดอมเพริโดนตามแพทย์สั่ง\nของมารดาได้เสนอว่า เด็กอาจเกิดอาการ neuroleptic malignant syndrome\nโดยเป็นผลข้างเคียงของยา เนื่องจากมันสามารถข้ามตัวกั้นสมองจากระบบเลือดที่ยังไม่เจริญอย่างสมบูรณ์ของเด็กได้", "title": "ดอมเพริโดน" }, { "docid": "815767#13", "text": "ยาไม่มีหลักฐานว่ามีประโยชน์ต่อการรักษาความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder) และความผิดปกติทางบุคลิกภาพ[29]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#4", "text": "ริสเพอริโดนโดยหลักใช้รักษาโรคจิตเภท โรคอารมณ์สองขั้ว และความหงุดหงิดของคนไข้โรคออทิซึม[7]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#5", "text": "ยามีประสิทธิผลในการรักษาการแย่ลงอย่างฉับพลันของโรคจิตเภท[8][9]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#27", "text": "ตามหนังสือพิมพ์ เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล วันที่ 20 มิถุนายน 2555 \"จอห์นสันและจอห์นสัน และกระทรวงยุติธรรมสหรัฐ ใกล้ถึงข้อตกลงในเรื่องการสืบสวนการโปรโหมตยารักษาโรคจิต Risperdal ที่ได้ทำเป็นระยะเวลายาวนาน โดยเป็นค่าปรับที่สูงสุดเกี่ยวกับการวางตลาดยาเท่าที่เคยมี ทุกฝ่ายพยายามจะรวมคดีในศาลจำนวนหนึ่ง การสืบสวนระดับรัฐ และการตรวจสอบอื่น ๆ เกี่ยวกับข้อกล่าวหาการวางตลาดที่ผิดกฎหมาย และกำลังต่อรองการจ่ายเงินจำนวน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือสูงกว่านั้น\" ซึ่งในที่สุดบริษัทก็ถูกปรับ 2,200 ล้านเหรียญ (ประมาณ 69,366 ล้านบาท)[51]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "289081#0", "text": "อริสโตฟานีส หรือ แอริสตอฟานีส (; , ; c. 446 – c. 386 ก่อนคริสตกาล) เป็นนักประพันธ์บทละครชวนหัว (สุขนาฏกรรม) สมัยกรีซยุคคลาสสิค มีชีวิตอยู่ราวช่วงปีที่ 446-386 ก่อนคริสตกาล อริสโตฟานีสประพันธ์บทละครไว้ทั้งสิ้น 40 เรื่อง แต่ตกทอดมาถึงปัจจุบันโดนสมบูรณ์เพียง 11 เรื่อง นอกนั้นเป็นเพียงชิ้นส่วนพาไพรัสที่ส่วนใหญ่ขาดหายไป งานของอริสโตฟานีสเหล่านี้เป็นตัวอย่างเท่าที่เรามีเกี่ยวกับประเภทของงานสุขนาฏกรรมที่เรียกว่า Old Comedy ท่านได้รับฉายาว่าเป็น \"บิดาแห่งสุขนาฏกรรม\" ", "title": "อริสโตฟานเนส" }, { "docid": "815767#21", "text": "ยาออกฤทธิ์ต่อตัวรับดังต่อไปนี้", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#22", "text": "ตัวรับโดพามีน - เป็นสารปฏิปักษ์ต่อตัวรับในตระกูล D1 (คือ D1 และ D5) บวกกับ D2 (คือ D2, D3 และ D4) ยามีฤทธิ์ยึดแบบแน่น ซึ่งหมายความว่ามีระยะครึ่งชีวิตนาน และเหมือนกับยารักษาโรคจิตอื่น ๆ ยายับยั้งวิถีประสาท mesolimbic pathway, prefrontal cortex limbic pathway, และ tuberoinfundibular pathway ในระบบประสาทกลาง ยาอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงแบบ extrapyramidal คือ อาการนั่งไม่ติดที่และสั่น ที่สัมพันธ์กับการลดการทำงานของระบบโดพามีนใน striatum อาจมีผลข้างเคียงทางเพศ คือ น้ำนมไหลที่ไม่เกี่ยวกับการคลอด ความเป็นหมัน เต้านมชายโต และถ้าใช้เป็นระยะยาว ลดความหนาแน่นของกระดูกที่สัมพันธ์กับการปล่อยฮอร์โมนโพรแลกติน (ที่ทำให้นมไหล) ที่เพิ่มขึ้น[40] ตัวรับเซโรโทนิน ฤทธิ์ของยาที่ตัวรับเหล่านี้อาจทำให้ยามีผลข้างเคียงแบบ extrapyramidal น้อยกว่า (ผ่าน 5-HT2A/2C receptors) เมื่อเทียบกับยา typical antipsychotics ยกตัวอย่างเช่น haloperidol ฤทธิ์เป็นปฏิปักษ์ต่อตัวรับ 5-HT2C อาจมีส่วนทำให้มีผลเป็นน้ำหนักเพิ่ม ตัวรับ Alpha α1 adrenergic เป็นฤทธิ์ที่ทำให้ความดันต่ำเมื่อยืน และอาจมีผลเป็นส่วนระงับประสาท (sedating)[40] ตัวรับ Alpha α2 adrenergic อาจเป็นเหตุให้มีผลข้างเคียงที่น้อยกว่าหรือมากกว่าทางอารมณ์และทางการรู้คิด[42] ตัวรับฮิสตามีน H1 ฤทธิ์อาจจะอธิบายการระงับประสาทและการลดความระมัดระวัง ซึ่งอาจทำให้ง่วงและน้ำหนักเพิ่ม[40]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#20", "text": "พึ่งพบเมื่อปี 2553 ว่า ยามีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ D-amino acid oxidase ซึ่งเร่งปฏิกิริยาการสลายตัวของ D-amino acids (เช่น สารสื่อประสาทแบบ D-alanine และ D-serine)[41]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "367751#0", "text": "สำนักศึกษาเพริพาเททิก () เป็นหนึ่งในสำนักศึกษาทางปรัชญาในสมัยกรีกโบราณ ซึ่งมีรูปแบบการสอนปรับปรุงมาจากวิธีการของผู้ก่อตั้ง คืออริสโตเติล นักปรัชญากรีก คำว่า เพริพาเททิก จะใช้เรียกบรรดาลูกศิษย์ของเขา ชื่อของโรงเรียนมีที่มาจากคำว่า \"Peripatos\" ซึ่งมาจาก \"peripatoi\" (\"περίπατοι\" \"ระเบียง\") ของสนามประลองไลเซียมในกรุงเอเธนส์ อันเป็นสถานที่ที่บรรดาสมาชิกของสำนักศึกษามาพบปะกัน นอกจากนี้มีอีกคำหนึ่งในภาษากรีกคือ \"peripatetikos\" () ซึ่งหมายถึง การเดิน ดังนั้นคำว่า เพริพาเททิกจึงใช้ในความหมายว่า การท่องเที่ยว การค้นหา หรือการเดินและพูดคุย มีตำนานเล่ากันหลังจากที่อริสโตเติลเสียชีวิตแล้วว่า เขาจะเดินไปเดินมาในขณะใช้ความคิด\nสำนักศึกษาแห่งนี้น่าจะก่อตั้งขึ้นราว 335 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นช่วงที่อริสโตเติลเริ่มการสอนในไลเซียม โดยเป็นสถาบันศึกษาอย่างไม่เป็นทางการ สมาชิกประกอบด้วยผู้สนใจในปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ผู้สืบทอดของอริสโตเติลคือ เทโอพราสตุส และ สตราโต ยังคงยึดถือประเพณีในการศึกษาทฤษฎีต่างๆ ในทางปรัชญาและวิทยาศาสตร์ จนประมาณกลางศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล สำนักศึกษานี้ก็เริ่มเสื่อมความนิยม และกลับฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งก็เมื่อล่วงเข้าสู่ยุคโรมันแล้ว ในช่วงหลัง สมาชิกของสำนักศึกษาหันไปเอาใจใส่ในการเก็บรักษาบันทึกผลงานของอริสโตเติล และไม่ได้สนใจในการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมอีก สำนักศึกษายุติลงในที่สุดเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 3", "title": "สำนักศึกษาเพริพาเททิก" }, { "docid": "815767#25", "text": "สิทธิบัตรยาของบริษัท Janssen หมดอายุวันที่ 29 ธันวาคม 2546 ซึ่งเปิดโอกาสให้บริษัทอื่นวางขายยาสามัญ และสิทธิในการวางตลาดเพียงผู้เดียวทั้งหมดของบริษัทก็หมดลงในวันที่ 29 มิถุนายน 2547 (เพราะได้เวลาขยายเนื่องจากใช้เป็นยาเพื่อเด็ก) เป็นยาที่ขายโดยมีชื่อการค้าต่าง ๆ ทั่วโลก[48] มีเป็นยาเม็ด ยาน้ำ และเป็นแบบขวดที่ใช้สำหรับฉีด[48]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#14", "text": "แม้ว่ายารักษาโรคจิตเช่นริสเพอริโดน จะมีประโยชน์เล็กน้อยกับคนไข้ภาวะสมองเสื่อม (dementia) แต่ก็สัมพันธ์กับอัตราการตายและโรคหลอดเลือดสมองที่สูงขึ้น[29] เพราะความเสี่ยงตายที่สูงขึ้น การรักษาอาการโรคจิต (psychosis) ที่เกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อมจึงไม่ได้รับอนุมัติจากองค์การอาหารและยาสหรัฐ[30]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#16", "text": "หนังสือการจ่ายยาของสหราชอาณาจักร (British National Formulary) แนะนำให้ลดยารักษาโรคจิตอย่างช้า ๆ เพื่อเลี่ยงอาการขาดยาแบบฉับพลันหรือโรคกำเริบอย่างรวดเร็ว[32] นักวิชาการบางท่านอ้างว่า อาการอื่นทางกายและทางจิตเวชที่เกี่ยวกับความไวของระบบโดพามีนในระดับสูง รวมทั้ง อาการยึกยือเหตุยา (dyskinesia) และอาการโรคจิตฉับพลัน (acute psychosis) เป็นอาการขาดยาที่สามัญในบุคคลผู้รักษาด้วยยากลุ่ม neuroleptics[33][34][35][36] ซึ่งทำให้นักวิชาการบางท่านเสนอว่า กระบวนการขาดยาเองอาจจะเลียนอาการโรคจิตเภท เพราะว่าคนไข้ที่ก่อนหน้านี้ไม่มีโรคก็เกิดอาการโรคจิตเภทด้วย ซึ่งแสดงความเป็นไปได้ของโรคจิตเหตุยาในคนไข้ที่ปัจจุบันหรือที่อดีตรักษาด้วยยารักษาโรคจิตในระดับอัตราที่ยังไม่ปรากฏ ประเด็นนี้ยังไม่มีข้อยุติ และเป็นเรื่องสร้างความขัดแย้งในระดับสูงสำหรับวงการแพทย์และสุขภาพจิต และในสาธารณชน[37]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#24", "text": "องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (FDA) อนุมัติให้ใช้ยารักษาโรคจิตเภทในปี พ.ศ. 2536[45] ในปี 2550 เป็นยาเดียวที่อนุมัติให้รักษาโรคจิตเภทในเด็กอายุระหว่าง 13-17 ปี และอนุมัติให้ใช้รักษาโรคอารมณ์สองขั้วในเด็กอายุ 10-17 ปี เพิ่มจากยา lithium ที่ได้ใช้มาก่อน ในปี 2546 FDA อนุมัติให้ใช้รักษาระยะฟุ้งพล่าน (manic) หรือผสม (mixed) ที่สัมพันธ์กับโรคอารมณ์สองขั้วในระยะสั้น ในปี 2549 FDA อนุมัติให้ใช้บำบัดความหงุดหงิดในเด็กและวัยรุ่นที่มีโรคออทิซึม[46] โดยมีเหตุส่วนหนึ่งจากงานศึกษาในคนไข้โรคออทิซึมที่มีปัญหารุนแรงและคงยืนเกี่ยวกับความรุนแรง ความก้าวร้าว และการทำร้ายตัวเอง แต่ว่า ไม่แนะนำให้ใช้ยาในคนไข้ที่มีความก้าวร้าวขั้นเบาและพฤติกรรมที่ระเบิดขึ้นแต่ไม่คงยืน[47]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#8", "text": "สำหรับโรคอารมณ์สองขั้ว ยารักษาโรคจิต (antipsychotic) รุ่นสองต่าง ๆ รวมทั้งริสเพอริโดนมีประสิทธิผลในการรักษาอาการฟุ้งพล่าน (mania) ไม่ว่าจะเป็นแบบฉับพลัน (acute) หรือเป็นความแย่ลงแบบผสม (mixed exacerbation) ของโรค[16][17][18] ในเด็กและวัยรุ่น ริสเพอริโดนอาจมีประสิทธิผลดีกว่า lithium หรือ divalproex แต่มีผลข้างเคียงทางเมแทบอลิซึมมากกว่า[19] ส่วนสำหรับการรักษาแบบดำรงสภาพ (maintenance) ยามีประสิทธิผลในการป้องกันคราวฟุ้งพล่าน (manic episode) แต่ไม่มีสำหรับคราวซึมเศร้า[20] ยาแบบฉีดที่มีฤทธิ์ยาวอาจมีข้อได้เปรียบกว่ายารักษาโรคจิตรุ่นแรกที่มีฤทธิ์ยาวอื่น ๆ เพราะว่าคนไข้ทนยาได้ดีกว่า (เพราะมีผล extrapyramidal effects น้อยกว่า) และเพราะว่า ยารักษาโรคจิตรุ่นแรกแบบฉีดที่มีฤทธิ์ยาวอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อความซึมเศร้า[21]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#7", "text": "งานวิจัยพบว่า ยาฉีดรักษาโรคจิตที่มีฤทธิ์ยาวช่วยการได้ยาตามคำสั่งแพทย์และลดอัตราการเกิดโรคอีกเทียบกับยาทาน[13][14] ส่วนประสิทธิผลของยาฉีดริสเพอริโดนที่มีฤทธิ์ยาวดูหมือนจะคล้ายกับยารักษาโรคจิตรุ่นแรกแบบฉีดที่มีฤทธิ์ยาวอื่น ๆ[15]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#19", "text": "ริสเพอริโดนจัดโดยสถิติว่าเป็นยา atypical antipsychotic ที่มีความชุกปัญหาการเคลื่อนไหว (Extrapyramidal symptoms) ต่ำเมื่อให้ในขนาดต่ำ โดยเป็นปฏิปักษ์ต่อระบบเซโรโทนิน (serotonin antagonism) มากกว่าระบบโดพามีน ยามีหมู่ทำหน้าที่ (functional group) คือ benzisoxazole และ piperidine เป็นส่วนโครงสร้างทางเคมี แม้ว่าจะไม่มีโครงสร้างของ butyrophenone แต่ยาก็พัฒนาขึ้นโดยใช้โครงสร้างของ benperidol และ ketanserin เป็นมูลฐาน และมีฤทธิ์ต่อตัวรับแบบ 5-HT (serotonin) ต่าง ๆ รวมทั้ง 5-HT2C ซึ่งสัมพันธ์กับการเพิ่มน้ำหนัก และ 5-HT2A ซึ่งสัมพันธ์กับฤทธิ์รักษาโรคจิตและบรรเทาผลข้างเคียงแบบ extrapyramidal ที่มักจะมีกับยาแบบ typical neuroleptic ต่าง ๆ[40]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#18", "text": "ริสเพอริโดนจะผ่านการสลายตัวในตับและการขับออกทางไต แนะนำให้ใช้ยาขนาดต่ำสำหรับคนไข้ที่มีโรคตับหรือไตหนัก[30] เมแทบอไลต์ออกฤทธิ์ของยา คือ paliperidone ก็ใช้เป็นยารักษาโรคจิตเหมือนกัน (antipsychotic)[39]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#2", "text": "ริสเพอริโดนเป็นยากลุ่ม atypical antipsychotic กลไกการออกฤทธิ์ของมันยังไม่ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกี่ยวกับความเป็นปฏิปักษ์ต่อระบบโดพามีน (dopamine antagonist)[1]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#0", "text": "ริสเพอริโดน (English: Risperidone) หรือชื่อทางการค้าคือ ไรสเปอร์ดัล (Risperdal) เป็นยาระงับอาการทางจิต[1] ใช้โดยหลักเพื่อรักษาโรคจิตเภท โรคอารมณ์สองขั้ว และความหงุดหงิดของคนไข้โรคออทิซึม เป็นยาที่ใช้รับประทานหรือฉีดในกล้ามเนื้อ[1] โดยแบบฉีดมีฤทธิ์ยาวนานประมาณ 2 อาทิตย์[2]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#11", "text": "ในโรคซึมเศร้า ถ้ายาที่รักษาในเบื้องต้น (ซึ่งปกติเป็นยากลุ่ม SSRI) ไม่ช่วยบรรเทาอาการพอเพียง มีเทคนิคให้ยาเพิ่ม (adjuncts) คือ ใช้ยารักษาโรคจิต (antipsychotic) รวมกับยาแก้ซึมเศร้า โดยเฉพาะยารักษาโรคจิตแบบ atypical เช่น aripiprazole, quetiapine, olanzapine, และ ริสเปอริโดน[27]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#12", "text": "ยาดูจะมีอนาคตในการรักษาโรคย้ำคิดย้ำทำที่ดื้อการรักษา เมื่อยา serotonin reuptake inhibitor ไม่พอเพียง[28]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#6", "text": "ประโยชน์ของยาเพื่อรักษาแบบดำรงสภาพ (maintenance) มีข้อสรุปที่ต่าง ๆ กัน งานปริทัศน์เป็นระบบปี 2555 สรุปว่า มีหลักฐานที่หนักแน่นว่าริสเพอริโดนมีประสิทธิผลกว่ายาระงับอาการทางจิตรุ่นแรก ทั้งหมดยกเว้น haloperidol แต่หลักฐานที่สนับสนุนว่าดีกว่ายาหลอกไม่ชัดเจน[10] ส่วนงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 สรุปว่า ยามีประสิทธิผลป้องกันการเกิดขึ้นอีกของโรคมากกว่ายารักษาโรคจิตรุ่นแรกและรุ่นสองทังหมดยกเว้น olanzapine และ clozapine[11] ส่วนงานทบทวนแบบคอเครนปี 2553 พบประโยชน์เล็กน้อยในช่วง 2-3 สัปดาห์แรกในการรักษาโรคจิตเภท แต่งานก็อ้างปัญหาด้วยว่ามีความเอนเอียง (bias) ว่ายามีประโยชน์[12]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "864684#39", "text": "คนไข้ที่มีความคิดแทรกซอนรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อ SSRI หรือยาแก้ซึมเศร้าอื่น ๆ อาจจะต้องได้ยารักษาโรคจิตตรงแบบ (typical) หรือนอกแบบ (atypical) รวมทั้งริสเพอริโดน (ชื่อการค้า Risperdal), ziprasidone (Geodon), haloperidol (Haldol), และ pimozide (Orap) [63]", "title": "ความคิดแทรกซอน" }, { "docid": "815767#15", "text": "คาร์บามาเซพีนและยาเสริมเอนไซม์ (enzyme inducer) อื่น ๆ อาจจะลดระดับริสเพอริโดนในน้ำเลือด[30] ดังนั้น ถ้ากำลังทานทั้งยาคาร์บามาเซพีนและริสเพอริโดน อาจจะต้องเพิ่มขนาดของริสเพอริโดน ซึ่งไม่ควรจะเกินกว่า 2 เท่าจากดั้งเดิม[23] ส่วนยาที่ยับยั้งเอนไซม์ CYP2D6 เช่นยากลุ่ม SSRI อาจเพิ่มระดับริสเพอริโดนในน้ำเลือด[30] เพราะริสเพอริโดนอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำ จึงควรสอดส่องระมัดระวังถ้าคนไข้กำลังทานยาลดความดันเพื่อป้องกันความดันต่ำเกิน[23] มีรายงานว่าการใช้ริสเพอริโดนร่วมกับยากลุ่ม SSRI มีผลให้เกิดเซโรโทนินเป็นพิษ (serotonin syndrome)[31]", "title": "ริสเพอริโดน" }, { "docid": "815767#10", "text": "นักวิชาการบางท่านแนะนำให้จำกัดใช้ยานี้และยา aripiprazole ในบุคคลที่มีปัญหาพฤติกรรมมากที่สุดเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการของยาให้น้อยที่สุด[25] ส่วนหลักฐานประสิทธิภาพของยากับวัยรุ่นและผู้ใหญ่วัยต้นที่มีโรคออทิซิมชัดเจนน้อยกว่า[26]", "title": "ริสเพอริโดน" } ]
27
สงครามโลกครั้งที่2 ยุติเมื่อไหร่?
[ { "docid": "5333#3", "text": "สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "78945#11", "text": "พ.ศ. 2490 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงได้ 2 ปี การฝึก \"ยุวชนทหาร\" ได้ถูกยกเลิกตามพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติยุวชนแห่งชาติ พุทธศักราช 2490 อย่างไรก็ตาม ความจำเป็นในด้านการเตรียมกำลังสำรองสำหรับประเทศยังคงมีอยู่ จึงได้มีการจัดตั้งกรมการรักษาดินแดนในปี พ.ศ. 2491 ขึ้นเพื่อทำการฝึกนักศึกษาวิชาทหารเป็นกำลังสำรองทดแทนยุวชนทหารสืบต่อมา", "title": "ยุวชนทหาร" }, { "docid": "5333#0", "text": "สงครามโลกครั้งที่สอง (; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น \"สงครามเบ็ดเสร็จ\" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" } ]
[ { "docid": "664888#3", "text": "สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นในยุโรปในช่วงกลางปี พ.ศ. 2482 สงครามได้ลุกลามออกไป มีประเทศต่างๆเข้าร่วมรบมากมาย จนกระทั่งญี่ปุ่นได้ลงนามเป็นพันธมิตรกับเยอรมนี และ อิตาลี ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2483 ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นเข้าร่วมสงครามโลกอย่างเต็มตัว ด้วยการยึดดินแดนที่เป็นอาณานิคมของชาติฝ่ายสัมพันธมิตร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และจีน) โดยชูนโยบาย เอเชียเพื่อชาวเอเชียเพื่อสร้างเอเชียให้เป็นหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า สงครามมหาเอเชียบูรพาในตอนเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้โจมตีฐานทัพเพิร์ลฮาเบอร์ของสหรัฐอเมริกา และส่งกองทัพไปโจมตีประเทศอื่นๆ ในแถบแปซิฟิก หมู่เกาะต่างๆของอินโดนีเซีย ทะเลจีนใต้ รวมถึงไทยด้วย ทำให้ญี่ปุ่นสามารถยึดครองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ทั้งหมด", "title": "อนุสาวรีย์ยุวชนทหาร" }, { "docid": "482435#1", "text": "เรื่องราวการต่อสู้ดังกล่าวนั้น มีดังนี้ คือ\nใน พ.ศ. 2482 ได้เกิดวิกฤตการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ในทวีปยุโรป โดยมีเยอรมนี และอิตาลีซึ่งเรียกว่าฝ่ายอักษะฝ่ายหนึ่ง กับสัมพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยสหราชอาณาจักร และฝรั่งเศสอีกฝ่ายหนึ่ง การสงครามได้ขยายตัวกว้างขวาง ครั้นถึง พ.ศ. 2484 ญี่ปุ่นเข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สงครามได้ลุกลามเข้าสู่ทวีปเอเชีย โดยญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกพร้อมกันในประเทศสิงคโปร์ อินโดนีเซีย มลายู และไทย เมื่อเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันกับที่โจมตี ฐานทัพเรือเพิร์ลฮาเบอร์ ของ สหรัฐอเมริกา\nในประเทศไทย ญี่ปุ่น ยกพลขึ้นบกพร้อมกันที่ สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี สงขลา ปัตตานี นครศรีธรรมราช และ ปราจีนบุรี โดยที่ฝ่ายไทยไม่คาดคิด", "title": "อนุสาวรีย์วีรไทย" }, { "docid": "215002#0", "text": "ยุทธการเกาะครีต (; ) เป็นชื่อของการรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งดำเนินไปบนเกาะครีต ประเทศกรีซ โดยเริ่มต้นในเช้าวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 เมื่อกองทัพนาซีเยอรมนีส่งกองกำลังพลร่ม (, ) เข้ารุกรานเกาะครีตภายใต้ชื่อรหัส \"ปฏิบัติการเมอร์คิวรี\" (, ) ฝ่ายตั้งรับที่อยู่บนเกาะครีตประกอบด้วยกองทัพกรีซ กองกำลังของฝ่ายสัมพันธมิตร และพลเรือนชาวเกาะครีต \nหลังการสู้รบดำเนินไปได้หนึ่งวัน ฝ่ายเยอรมนีต้องพบกับความสูญเสียอย่างหนักและยังไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ใดๆ ในการรบครั้งนี้ ในวันถัดมา ด้วยปัญหาการสูญเสียการติดต่อและความล้มเหลวในการควบคุมสถานการณ์ของฝ่ายสัมพันธมิตร สนามบินในเมืองมาเล็ม (Maleme) จึงเสียให้แก่ฝ่ายเยอรมนี ทำให้เยอรมนีได้รับกำลังเสริมและครองความเหนือกว่าฝ่ายที่ตั้งรับได้ การสู้รบได้ดำเนินต่อไปอีกเกือบ 10 วันจึงยุติลง", "title": "ยุทธการเกาะครีต" }, { "docid": "78945#14", "text": "สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นในยุโรปในช่วงกลางปี พ.ศ. 2482 สงครามได้ลุกลามออกไป มีประเทศต่างๆเข้าร่วมรบมากมาย จนกระทั่งญี่ปุ่นได้ลงนามเป็นพันธมิตรกับเยอรมนี และ อิตาลี ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2483 ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นเข้าร่วมสงครามโลกอย่างเต็มตัว ด้วยการยึดดินแดนที่เป็นอาณานิคมของชาติฝ่ายสัมพันธมิตร (สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และจีน) โดยชูนโยบาย เอเชียเพื่อชาวเอเชียเพื่อสร้างเอเชียให้เป็นหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า สงครามมหาเอเชียบูรพาในตอนเช้าตรู่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้โจมตีฐานทัพเพิร์ลฮาเบอร์ของสหรัฐอเมริกา และส่งกองทัพไปโจมตีประเทศอื่นๆ ในแถบแปซิฟิก หมู่เกาะต่างๆของอินโดนีเซีย ทะเลจีนใต้ รวมถึงไทยด้วย ทำให้ญี่ปุ่นสามารถยึดครองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ทั้งหมด", "title": "ยุวชนทหาร" }, { "docid": "165970#38", "text": "ด้วยความจริงที่ว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลงด้วยการยอมแพ้ของเยอรมนีอย่างกะทันหัน หลายคนจึงอาจนับว่าสงครามโลกครั้งที่สองนั้นสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งแรก กองทัพพันธมิตรไม่ได้เหยียบแผ่นดินเยอรมนีเลยแม้แต่นายเดียว และประชาชนเยอรมันยังคาดหวังว่าสนธิสัญญาสันติภาพที่ตามมาจะยึดตามหลักเกณฑ์ของ หลักสิบสี่ข้อ ซึ่งหมายความว่า ชาวเยอรมันนั้นโต้เถียงว่า \"คนทรยศ\" มิได้ยอมจำนนต่อฝ่ายพันธมิตร เยอรมนียังสามารถที่จะเอาชนะสงครามได้ แต่ว่ากลับไม่เป็นเช่นนั้น เงื่อนไขของสันติภาพนั้นคิอการลงทัณฑ์เยอรมนีให้รับผิดชอบต่อความเสียหายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มลทินซึ่งได้ทำให้เยอรมนีกลายเป็นประเทศที่ขมขื่น ประชาชนเยอรมันจึงพยายามที่จะฟื้นฟูประเทศและหาทางล้างแค้น", "title": "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "5333#2", "text": "การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ", "title": "สงครามโลกครั้งที่สอง" }, { "docid": "17187#8", "text": "ภายหลังสงครามนโปเลียนยุติลง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่างปี พ.ศ. 2457 – 2461 เดนมาร์กได้ดำเนินนโยบายเป็นกลาง และเมื่อปี พ.ศ. 2482 ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 เดนมาร์ก ได้ประกาศความเป็นกลาง อย่างไรก็ดี เดนมาร์กถูกกองทัพเยอรมัน เข้ายึดครอง เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2483 ซี่งนำไปสู่การรวมตัว ของขบวนการต่อต้าน ของประชาชนชาวเดนมาร์ก โดยตลอดช่วงสงคราม ฝ่ายเยอรมันได้ตอบโต้ ด้วยการเข้าปกครองเดนมาร์กโดยตรง จนกระทั่งวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 เดนมาร์ก ถูกปลดปล่อย โดยกองกำลังพันธมิตร และภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เดนมาร์กได้รับรอง ความเป็นเอกราชของไอซ์แลนด์ ซึ่งได้ประกาศตัวเป็นเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2487", "title": "ประเทศเดนมาร์ก" }, { "docid": "936#104", "text": "ช่วงหลังปี 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่เมื่อประเทศไทยเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ภาพยนตร์ไทยก็ซบเซาลง กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นตัว ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมืองและสังคมระหว่าง พ.ศ. 2516–2529 ต่อมาภาพยนตร์ไทยในช่วงปี 2530–2539 โดยในตอนต้นทศวรรษวัยรุ่นเป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ นอกจากภาพยนตร์ประเภทวัยรุ่นแล้ว หนังผี และหนังบู๊ รวมทั้งหนังโป๊ และหนังเกรดบี ก็มีการผลิตมามากขึ้น", "title": "ประเทศไทย" } ]
786
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "4253#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระองค์ที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสวยราชสมบัติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2411 [3] เสด็จสวรรคต เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ด้วยโรคพระวักกะ", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
[ { "docid": "37967#0", "text": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" }, { "docid": "5419#21", "text": "พ.ศ. 2409 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระอุตสาหะเสด็จประพาสเมืองเหนืออีกครั้งหนึ่ง โดยเสด็จทางเรือพระที่นั่งอรรคราชวรเดช และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะนั้นกำลังผนวชเป็นสามเณรก็ได้ตามเสด็จมาด้วย เมื่อเสด็จถึง ก็ได้ทรงประทับและทรงสมโภชพระพุทธชินราชอยู่ 2 วันจึงเสด็จกลับ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช) ได้เสด็จประพาสเมืองพิษณุโลกทุกพระองค์ ได้ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ที่พระองค์ได้เสด็จไปทอดพระเนตรในระหว่างเสด็จประพาส เช่น เรื่องเที่ยวเมืองพระร่วง พระราชปรารภเรื่องพระพุทธชินราชและเรื่องลิลิตพายัพ เป็นต้น เอกสารดังกล่าวเหล่านี้ปัจจุบันมีคุณค่าอย่างยิ่งทางด้านประวัติศาสตร์ ส่วนรัชกาลที่ 5 นั้น พระองค์ทรงประทับพระทัยในความศักดิ์สิทธิ์และความสวยงามขององค์พระพุทธชินราช ถึงกับโปรดเกล้าฯ ให้จำลองพระพุทธรูปพระพุทธชินราชไปเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร ซึ่งพระองค์ทรงสร้างขึ้นในสมัยนั้น", "title": "จังหวัดพิษณุโลก" }, { "docid": "181633#1", "text": "ในปี พ.ศ. 2452 เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ว่าจ้าง บริษัทโฮวาร์ด เออร์สกิน สร้างตึกเพื่อใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อจะใช้เป็นที่ประทับแรมของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่พระองค์เสด็จมายังมณฑลปราจีนบุรีอีก แต่พระองค์เสด็จสรรคตเสียก่อนในปีพุทธศักราช 2453 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2455 ตึกหลังนี้ได้ใช้รับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระราชวงศ์อีกหลายพระองค์ เมื่อท่านถึงแก่อสัญกรรมตึกหลังนี้เป็นมรดกตกทอดมาถึงพระยาอภัยวงศ์วรเศรฐ และถวายเป็นของทูนพระขวัญ ในวันอภิเษกสมรสของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 (พระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ ทรงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานบ้านและที่ดินทั้งหมดเป็นสิทธิ์ขาดแก่พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี", "title": "โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร" }, { "docid": "937#2", "text": "ในปีพุทธศักราช 2440 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครกลับจากเสด็จประพาสยุโรป พระองค์ได้มีพระราชดำริว่า ในประเทศสยามนี้ยังไม่มีหอสมุดสำหรับพระนคร ประจวบกับวาระที่พระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกำลังจะเวียนมามาครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะทรงสถาปนาอนุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรดิสมเด็จพระบรมชนกนาถให้เป็นของถาวรสักอย่างหนึ่ง จึงทรงชักชวนพระราชวงศานุวงศ์ให้ทรงอุทิศถวายหอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอพระสมุดสำหรับพระนคร ให้ขยายกิจการหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งแต่เดิมทีเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล ให้เป็นหอสมุดสำหรับบริการประชาชนทั่วไป และพระราชทานนามว่า \"หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร\" โดยได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2448", "title": "สำนักหอสมุดแห่งชาติ" }, { "docid": "392551#7", "text": "พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ เป็นพระที่นั่ง 1 ใน 2 องค์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนพื้นที่ซึ่งพระองค์เสด็จพระราชสมภพและเป็นที่ประทับเดิมของพระองค์ โดยนามของพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติมีความหมายว่า เป็นที่พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชสมภพ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติเป็นสถานที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศจะให้มีการเลิกทาสท่ามกลางที่ประชุมคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2417", "title": "หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท" }, { "docid": "19587#3", "text": "สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 69 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 7 ในสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี (ต่อมาคือ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ ปีเถาะ ขึ้น 3 ค่ำ (ตรงกับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2434 ตามปฏิทินเก่า ถ้านับตามปฏิทินสากล ต้องเป็น พ.ศ. 2435) ณ พระตำหนักสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชเทวี ภายในพระบรมมหาราชวัง", "title": "สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก" }, { "docid": "888085#3", "text": "ทั้งนี้ศาลเจ้าเล่งจูเกียงมีความศักดิ์สิทธิ์และมีชื่อเสียง โดยมีพระมหากษัตริย์ไทยได้เสด็จมายังศาลเจ้าแห่งนี้สามพระองค์ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่เสด็จมาจะพระราชทานกระถางธูปเป็นประจำ อาทิ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาได้พระราชทานรูปเคารพเจ้าแม่กวนอิมและกระถางธูปทองเหลืองขนาดใหญ่แก่ศาลเล่งจูเกียง เพื่ออุทิศพระราชกุศลถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จมาเคารพศาลเจ้าแห่งนี้หลายครั้ง บางครั้งก็เสด็จเป็นการส่วนพระองค์", "title": "ศาลเจ้าเล่งจูเกียง" }, { "docid": "841561#0", "text": "การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการเสด็จพระราชดำเนินไปยังต่างประเทศในทวีปยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสานสัมพันธไมตรีแก่ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป เพื่อให้ประเทศที่พระองค์เสด็จประพาสเหล่านั้นมองเห็นว่าประเทศสยามเป็นประเทศที่มีการพัฒนาตนเองและไม่ได้ล้าหลังป่าเถื่อน และเพื่อโอกาสในการร่วมกันแก้ไขปัญหาความมั่นคงและส่งเสริมความเป็นเอกราชของประเทศสยาม แม้จะอยู่ในช่วงท่ามกลางยุคล่าอาณานิคมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะมีมูลเหตุมาจากกรณีพิพาทระหว่างสยามกับฝรั่งเศสในเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 หรือในปี พ.ศ. 2436 ที่ทำให้สยามเสียดินแดนมากที่สุดเท่าที่มีการเสียดินแดนให้แก่ชาติตะวันตก ผลจากการเสด็จพระราชดำเนินดังกล่าวนั้นทำให้พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่มาจากทวีปเอเชียที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนทวีปยุโรปอย่างจริงจังโดยทรงรู้จักแฝงแนวความคิดจิตวิทยาและการปฏิบัติตามธรรมเนียมยุโรปอีกด้วย", "title": "การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "34476#0", "text": "พระตำหนักดาราภิรมย์ เป็นพระตำหนักของเจ้าดารารัศมี พระราชชายา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชชายาเจ้าดารารัศมีโปรดให้ก่อสร้างขึ้นประมาณช่วงปี พ.ศ. 2470-2472 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ทรงย้ายกลับมาประทับที่เชียงใหม่เป็นการถาวร หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ", "title": "พระตำหนักดาราภิรมย์" }, { "docid": "574091#53", "text": "อักษร พ. และ ร. ลงยาสีชมพู หมายถึงวันอังคารอันเป็นวันประสูติของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และเป็นพระกุลทายาทแห่งจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้เสด็จพระราชสมภพในวันอังคารดุจเดียวกัน", "title": "พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี" }, { "docid": "37967#47", "text": "หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับจากการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 และทรงให้สร้างวังสวนดุสิตและจึงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักสวนหงส์พระราชทานสมเด็จนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวีด้วย หลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระองค์ได้เสด็จมาประทับที่พระตำหนักสวนหงส์เป็นการชั่วคราวอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะเสด็จไปประทับ ณ วังสระปทุมตราบจนเสด็จสวรรคต", "title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" }, { "docid": "4253#2", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่พระนางเธอ พระองค์เจ้ารำเพยภมราภิรมย์ (ในรัชกาลที่ 6 ได้มีการสถาปนาพระบรมอัฐิเป็น สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ได้รับพระราชทานนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์ วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร ซึ่งคำว่า \"จุฬาลงกรณ์\" นั้นแปลว่า เครื่องประดับผม อันหมายถึง \"พระเกี้ยว\" ที่มีรูปเป็นส่วนยอดของพระมหามงกุฎหรือยอดชฎา", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4281#64", "text": "พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่หน้าตึกรัฐสภา พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร มีขนาดหนึ่งเท่าครึ่งพระองค์จริง ทรงเครื่องพระบรมราชภูษิตาภารณ์ฉลองพระองค์ครุยสวมพระชฎามหากฐินปักขนนกการเวก เสด็จประทับเหนือพระที่นั่งพุดตาญจนสิงหาสน์ พระหัตถ์วางเหนือพระเพลาทั้งสองข้าง ออกแบบโดยนาวาเอกสมภพ ภิรมย์ โดยจะมีพิธีถวายบังคมพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในวันที่ 10 ธันวาคมเป็นประจำทุกปี [59]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4261#4", "text": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นองค์ที่ 2 ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ณ พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวังชั้นใน[5] มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนนี 7 พระองค์ คือ", "title": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "9109#2", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริจะพระราชทานที่ดินบริเวณถนนปทุมวันหรือถนนพระรามที่ 1 ให้เป็นสถานที่สร้างวังของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสซึ่งประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า แต่เนื่องจากในขณะนั้นพระองค์ได้เสด็จไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา จึงยังไม่มีการสร้างพระตำหนักขึ้นตราบกระทั่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานสิทธิ์ในที่ดินให้เป็นของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ในเวลาต่อมา", "title": "วังสระปทุม" }, { "docid": "37967#17", "text": "นอกจากนี้ยังเคยตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อคราวเสด็จประพาสแหลมมลายูไปเมืองสิงคโปร์ พ.ศ.2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ทรงนัดกับเซอร์เฟรเดอริก เวลด์ (Frederick Weld) เจ้าเมืองสิงคโปร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชนิพนธ์ไว้ ความว่า[15]", "title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" }, { "docid": "1901#1", "text": "พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" }, { "docid": "4281#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 76 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระองค์ที่ 9 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 รวมดำรงสิริราชสมบัติ 9 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 สิริพระชนมพรรษา 47 พรรษา", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "396758#3", "text": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จมาพระราชทานผ้าพระกฐิน 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง พ.ศ. 2424–พ.ศ. 2427 และครั้งที่สองในวันเสาร์ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 12 พ.ศ. 2428พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค หลังจากพระราชทานผ้าพระกฐินแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทอดพระเนตรบริเวณวัดและโรงเรียนหนังสือไทยแล้วทรงรับสั่งว่า \"เด็กนั่งพื้นสกปรก นาฬิกาสำหรับดูเวลาก็ไม่มี\" จึงทรงรับสั่งให้ขุนอไภย์ภาษี (หลวงจู้ม้า อัศวนนท์) มัคทายกของวัดกลางซึ่งมาเฝ้ารับเสด็จในขณะนั้นให้นำเรือไปรับนาฬิกาปารีสกับโต๊ะเรียนที่พระราชทาน (ปัจจุบันนาฬิกาปารีสและโต๊ะเรียนตั้งอยู่ที่อาคาร 4 โรงเรียนสมุทรปราการ)", "title": "โรงเรียนสมุทรปราการ" }, { "docid": "7078#5", "text": "ต่อมาในรัชกาลที่ 5 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชันษาถึงเวลาจะเสด็จมาประทับอยู่พระราชวังชั้นนอก แต่พระบรมพระชนกนาถมีพระประสงค์ที่จะให้เสด็จประทับอยู่ในที่ใกล้พระองค์ จึงโปรดฯให้จัดตำหนักพระราชทานเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ในสวนกุหลาบ บริเวณอาคารพระคลังศุภรัตน ซึ่งสร้างไว้ในสมัยรัชกาลที่ 3 และได้เรียกพระตำหนักนี้ว่า พระตำหนักสวนกุหลาบ และหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ก็โปรดฯให้กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เสด็จไปประทับอยู่ที่พระตำหนักสวนกุหลาบแทน จนออกจากวัง และจากนั้นมาก็ใช้เป็นคลังเก็บของเรื่อยไป[1]", "title": "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย" }, { "docid": "26871#1", "text": "พระบรมรูปทรงม้า สร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนำแบบอย่างมาจากพระบรมรูปของพระเจ้าหลุยส์แห่งฝรั่งเศส ที่กรุงปารีส ด้วยฝีมือนายช่างชาวฝรั่งเศส บริษัท ซุซเซอร์ เฟรสฟอร์เดอร์ ในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2450 \nพระองค์เสด็จประทับ ให้ช่างปั้น เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2450 พระบรมรูปสำเร็จเรียบร้อยส่งเข้ามาถึงกรุงเทพฯ เมื่อ วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 อันเป็น เวลาพอดีกับงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เนื่องในโอกาสเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ 40 ปี เจ้าพนักงานได้อัญเชิญพระบรมรูปทรงม้าขึ้นประดิษฐานบนแท่นรองหน้าพระราชวังดุสิต โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปทรงทำพิธีเปิดด้วยพระองค์เอง ", "title": "ลานพระราชวังดุสิต" }, { "docid": "42383#23", "text": "หลักฐานแห่งความ \"โปรดรักใคร่ไว้วางพระราชหฤทัยอย่างยิ่ง\" นั้น มีปรากฏอยู่เนือง ๆ ดังเช่น พระมเหสีพระองค์นี้ น่าจะทรงเป็น \"เมีย\" คนแรกที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์โคลงพระราชทานให้ พระราชนิพนธ์นั้นมีว่า\nเนื่องจากตามโบราณราชประเพณี พระมเหสีเทวี พระราชวงศ์ฝ่ายใน รวมถึงสนมกำนัลทั้งปวงจะประทับหรือนั่งเรือพระที่นั่งลำเดียวกับพระมหากษัตริย์มิได้ แต่ในคราวที่เสด็จประพาสบางปะอิน เมื่อพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรีฯ ทรงเตรียมการเรือพระที่นั่งเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาถึงพอดี พระราชเทวีจึงจำต้องรีบเสด็จออกไป ทำให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสงสาร มีรับสั่งให้พระนางเจ้าฯ พระราชเทวีเสด็จกลับมาประทับภายในเรือพระที่นั่งองค์เดียวกัน จัดเป็นครั้งแรกที่มีพระราชวงศ์ฝ่ายในได้ประทับร่วมเรือลำเดียวกับพระมหากษัตริย์", "title": "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" }, { "docid": "4281#4", "text": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 ณ พระที่นั่งสุทธาศรีภิรมย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระนามเมื่อการสมโภชเดือนว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ ชเนศรมหาราชาธิราช จุฬาลงกรณนารถวโรรส อุดมยศอุกฤษฐศักดิ์ อุภัยปักษนาวิล อสัมภินชาติพิสุทธ์ มหามงกุฎราชพงษบริพรรต บรมขัตติยมหารชดาภิสิญจนพรรโษทัย มงคลสมัยสมากร สถาวรวรัจฉริยคุณ อดุลยราชกุมาร[2] พระนามทั่วไปเรียกว่า \"ทูลกระหม่อมเอียดน้อย\"[3]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "117282#0", "text": "พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ เป็นพระที่นั่งที่อยู่ต่อกับท้องพระโรงกลางของหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางทิศตะวันตก ที่เฉลียงด้านหน้าพระที่นั่งองค์นี้มีอ่างน้ำพุซึ่งเรียกกันมาแต่เดิมว่า \"อ่างแก้ว\" นามของพระที่นั่งองค์นี้มีความหมายว่า \"เป็นที่ซึ่งพระองค์เสด็จพระราชสมภพ\" เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชสมภพ ณ พระที่นั่งแห่งนี้ ต่อมาใน พ.ศ. 2430 โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนเป็นห้องเสวย นอกจากนั้น ในบางครั้งเจ้านายฝ่ายในบางพระองค์ยังเสด็จมาประทับชั่วคราว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงประกาศกระแสพระราชดำริ ในอันที่จะให้มีการเลิกทาส ณ พระที่นั่งองค์นี้ ท่ามกลางที่ประชุมคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 ", "title": "พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ" }, { "docid": "4249#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า \"เจ้าฟ้ามงกุฎ\" เสด็จพระราชสมภพ ณ พระราชวังเดิม เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช[1] เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 43 และเป็นลำดับที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยกับสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี", "title": "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "4261#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม ปีจอ พุทธศักราช 2453 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ปีฉลู รวมพระชนมายุ 45 พรรษา เสด็จดำรงราชสมบัติรวม 15 ปี", "title": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "37967#13", "text": "แต่พระองค์เจ้าทักษิณชามีพระสติวิปลาสไปมิอาจรับราชการสนองพระเดชพระคุณต่อไป[11] พระภรรยาเจ้าสี่พระองค์หลังมีพระเกียรติยศเสมอกันทุกพระองค์ พระเกียรติยศที่จะเพิ่มพูนนั้นขึ้นอยู่กับการมีสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเป็นสำคัญ[10] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเดิมมีพระราชดำริที่จะสถาปนาพระองค์เจ้าสว่างวัฒนาขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าด้วยเป็นพระราชชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สมเด็จพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในรัชกาลที่ 5[4] แต่ในปี พ.ศ. 2423 สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เสด็จสวรรคตพร้อมพระราชธิดาและพระราชโอรสในพระครรภ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ที่สวรรคตไปแล้ว ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี พร้อมกับสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวีเสมอกัน ซึ่งสมภพ จันทรประภาสรุปคำบอกเล่าของนางข้าหลวงว่า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนาไม่เต็มพระทัยมีพระอิสริยยศสูงกว่าเพราะเป็นน้อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงสถาปนาพระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เป็นพระบรมราชเทวีด้วย[12]", "title": "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" }, { "docid": "10582#15", "text": "เป็นพระที่นั่งองค์แรกและองค์ประธานของหมู่พระที่นั่งอัมพรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้นายซันเดรสกีเป็นสถาปนิก มีพระสถิตนิมานการ (ม.ร.ว. ชิด อิศรศักดิ์)เป็นแม่กอง ตัวอาคารเป็นรูปตัว H มีสถาปัตยกรรมแบบวิลล่าในชนบทของยุโรป ลักษณะเด่นอยู่ตรงที่มุขด้านหน้า ๒ ข้างซึ่งทำเป็นผนังโค้งเรียงซ้อนกัน ๓ ชั้น ชั้นนอกเป็นระเบียงหุ้มพื้นที่ภายในผนังตกแต่งด้วยลายปูนปั้นรูปดอกไม้และใบไม้ประยุกต์เข้ากับรูปทรงเลขาคณิตขอบบนประตูหน้าต่างเป็นลวดลายแถบยาวรูปพรรณพฤกษาในแบบสีปูนเปียกคาดรอบตึก นอกจากนี้ยังมีราวระเบียงและลูกกรงที่ทำจากโลหะเป็นลายเลขาคณิตประกอบดอกไม้และโลหะผนังภายในอาคารตกแต่งด้วยลายปูนปั้นและการเขียนสีปูนแห้งลายพรรณพฤกษาและปักษาซึ่งวาดโดย ซีซาร์เร เฟร์โร ศิลปินชาวอิตาเลียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ณ ห้องพระบรรทมชั้น 3 ที่พระที่นั่งองค์นี้ ในสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ก็เสด็จมาประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถานแต่ประทับที่บริเวณชั้น 2 เพราะถือว่าชั้น 3 เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เสด็จมาประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานเมื่อครั้งเสด็จนิวัติพระนคร และพระที่นั่งองค์นี้เป็นสถานที่เสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลปัจจุบัน สถานที่เสด็จพระราชสมภพของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเจ้าหัวรัชกาลปัจจุบันเมื่อครั้งพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดให้มีการบูรณะพระที่นั่งอัมพรสถานเพื่อเป็นที่ประทับตราบจนถึงปัจจุบัน", "title": "พระราชวังดุสิต" }, { "docid": "4253#32", "text": "พระพุทธรูปประจำพระชนมวารพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์ ซึ่งโปรดให้สร้างขึ้นแทน ปางไสยาสน์เพราะทรงพระราชสมภพวันอังคาร โดยทรงให้สร้างขึ้นในราวปี พ.ศ. 2466–2453 สร้างด้วยทองคำ ความสูงรวมฐาน 34.60 เซนติเมตร พระพุทธรูปประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระพุทธรูปปางขัดสมาธิเพชร พระเกตุมาลาเป็นเปลวเพลิง เหนือพระเศียรกางกั้นด้วยฉัตรปรุทอง 3 ชั้น สร้างราว พ.ศ. 2453-2468 หน้าตักกว้าง 7.2 นิ้ว สูงเฉพาะองค์พระ 11.8 ซ.ม. สูงรวมฉัตร 47.3 ซ.ม.", "title": "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" } ]
1837
เกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ มีการเขียนบทหรือไม่ ?
[ { "docid": "21299#0", "text": "เรียลลิตีโชว์ หรือที่ถูกว่า รีแอลลิทีโชว์ () เป็นรายการโทรทัศน์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งมักจะดำเนินไปโดยใช้สถานการณ์จริง และไม่มีการเขียนบท คัดเลือกผู้ร่วมรายการจากผู้ชมทางบ้าน ซึ่งจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ทางทีมงานได้จัดเตรียมเอาไว้ ผู้เข้าร่วมรายการจะต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ รายการโทรทัศน์เช่นนี้ เริ่มมาช้านานแล้ว แต่เพิ่งจะนิยมอย่างแพร่หลายเมื่อราว พ.ศ. 2543 (โดยเฉพาะจากรายการ Expedition Robinson)", "title": "เรียลลิตีโชว์" } ]
[ { "docid": "193465#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 13 (English: The Amazing Race 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 13" }, { "docid": "220594#2", "text": "บริษัทเริ่มทำการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ต่อมาได้ขยายการผลิตรายการในหลากหลายรูปแบบ และหลายสถานี เช่น ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 3 ช่อง 9 (โมเดิร์นไนน์ทีวี) ช่อง ITV ช่องไทยรัฐทีวี และอื่นๆ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศ เช่น เกมโชว์ ควิซโชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด วาไรตี้โชว์ ทอล์คโชว์ รายการตลก ละครเวที ละครซิทคอม ละครเรื่องยาว ละครสั้น สารคดีโทรทัศน์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศ ทุกวัย และยังได้รับรางวัลจากหลายสถาบัน ", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "196011#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 12 (English: The Amazing Race 12) เป็นฤดูกาลที่ 12 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 12" }, { "docid": "498318#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 22 () เป็นฤดูกาลที่ 22 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 9 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก ทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 22" }, { "docid": "220594#6", "text": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย ผลิตรายการต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็ก ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้คอเมดี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด ละครเวที สารคดี และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส, สถานีโทรทัศน์ช่องวัน, สถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์, สถานีโทรทัศน์นาว 26, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ,สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี และ สถานีโทรทัศน์อมรินทร์ทีวี ปัจจุบัน เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 10 รายการ เป็นรายการประเภททอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้เกมโชว์ สารคดี เรียลลิตี้โชว์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 9 MCOT HD และช่องไทยพีบีเอส HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์และออกอากาศในแอปพลิเคชัน LINE TV และ AIS PLAY เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "143166#0", "text": "ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน", "title": "ละครโทรทัศน์" }, { "docid": "195995#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 7 () เป็นฤดูกาลที่ 7 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 7" }, { "docid": "196007#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 10 () เป็นฤดูกาลที่ 10 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 10" }, { "docid": "412853#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 20 (English: The Amazing Race 20) เป็นฤดูกาลที่ 20 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 20" }, { "docid": "357620#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 19 () เป็นฤดูกาลที่ 19 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 19" }, { "docid": "186328#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย (English: The Amazing Race Asia) เป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ที่สร้างมาจากเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกา ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย" }, { "docid": "939148#6", "text": "ปัจจุบัน เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 10 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, ควิซโชว์, วาไรตี้โชว์, เรียลลิตี้โชว์ และละครโทรทัศน์ ซึ่งออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ช่องต่าง ๆ โดยรายชื่อของรายการโทรทัศน์ทั้งหมดของบริษัทฯ จะเรียงตามปีที่เริ่มแพร่ภาพออกอากาศ ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น \"\"ตัวเอน\"\" และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น \"ตัวหนา\"", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "192288#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 3 () เป็นฤดูกาลที่ 3 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 3" }, { "docid": "195991#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 6 () เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 6" }, { "docid": "192289#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 4 () เป็นฤดูกาลที่ 4 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่รางวัลเอ็มมีมีการแจกรางวัลประเภทเรียลลิตี้โชว์การแข่งขันและรายการก็คว้ามาได้แบบผูกขาดอยู่รายการเดียวจนถึงปัจจุบัน", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 4" }, { "docid": "196005#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 9 () เป็นฤดูกาลที่ 9 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 9" }, { "docid": "450114#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 21 () เป็นฤดูกาลที่ 21 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก ทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 21" }, { "docid": "230186#7", "text": "เอ็กแซ็กท์และซีเนริโอ ได้ผลิตรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์ต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้โชว์ซิตคอม ละครโทรทัศน์ ละครซิทคอม ละครซีรีส์ และเรียลลิตี้โชว์เป็นจำนวนกว่า 250 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์วัน ปัจจุบันเอ็กแซ็กท์และซีเนริโอมีรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 12 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ วาไรตี้โชว์ ละครโทรทัศน์และละครซิตคอม ออกอากาศทางช่องวัน 31", "title": "เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์" }, { "docid": "95906#0", "text": "เกมโชว์ () เป็นรูปแบบหนึ่งของรายการโทรทัศน์ นำเสนอโดยให้แขกรับเชิญซึ่งอาจจะเป็นดารานักแสดงหรือคนจากทางบ้าน เล่นเกมหรือเปิดป้ายเพื่อรับของรางวัลหรือเงินรางวัลต่างๆ บางรายการอาจจะเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางบ้านมีส่วนร่วมด้วยการโทรศัพท์เข้ามาร่วมสนุกหรือส่งข้อความสั้นเข้ามาตอบคำถาม ปัจจุบันมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ควิซโชว์ เรียลลิตี้โชว์ ฯลฯ", "title": "เกมโชว์" }, { "docid": "96843#14", "text": "รายการเรียลลิตี้โชว์ มีอยู่หลายรายการทั้งเรียลลิตี้โชว์คนดังอย่าง ดิแอชลีซิมป์สันโชว์ ดิออสบอร์นส และ นิวลีเวดส์: นิกแอนด์เจสสิกา ไลฟ์ออฟไรอัน และ รายการประเภทนัดบอดมีอยู่หลายรายการ เช่น รูมไรเดอร์ส เอ็มทีวีสกอร์ ส่วนรายการเรียลลิตี้ประเภทกึ่งสารคดี เช่น เอ็มทีวีทรูไลฟ์ และ เอตธ์แอนด์โอเชียน เป็นต้น ยังมีรายการประเภทแอนิเมชัน เช่น แวส์มายด็อกแอต? และ อูซาวิช เป็นต้น", "title": "เอ็มทีวีไทยแลนด์" }, { "docid": "195155#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 5 () เป็นฤดูกาลที่ 5 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 5" }, { "docid": "331906#1", "text": "โพลีพลัส เริ่มต้นจากการผลิตรายการเด็กที่ชื่อ 7-4-28 ต่อมาพัฒนารูปแบบ เป็นรายการ ที่นี่...มีเพื่อน ซึ่งจากรายการนี้ทำให้ได้รับรางวัล ผลงานสื่อมวลชนดีเด่น ครั้งที่ 12 ประเภทรายการโทรทัศน์ จากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการพิจารณาผลงานสื่อมวลชนดีเด่นเพื่อเยาวชน เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2537 ได้รางวัลเมขลา สาขารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนดีเด่น เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2538 และ เกียรติบัตรจากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2538 ปัจจุบัน โพลีพลัสได้ผลิตรายการโทรทัศน์หลากหลายประเภท เพื่อนำเสนอผ่านทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ และ สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ไม่ว่าจะเป็นเกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตีโชว์, ทอล์คโชว์ และวาไรตี้โชว์", "title": "โพลีพลัส" }, { "docid": "39683#3", "text": "เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เริ่มทำการผลิตรายการ เวทีทอง ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นรายการแรกในปี พ.ศ. 2532 ต่อมาได้ขยายการผลิตรายการและละครประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ และหลากหลายสถานี เป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆมาโดยตลอดเป็นระยะเวลา 29 ปี เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, วาไรตี้โชว์, ทอล์กโชว์, เกมโชว์สำหรับเด็ก, ควิซโชว์สำหรับเด็ก, เรียลลิตี้โชว์สำหรับเด็ก, เกมโชว์ซิทคอม, ละครซิทคอม, วาไรตี้โชว์ซิทคอม, รายการวันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครซิทคอมวันหยุดนักขัตฤกษ์, วาไรตี้โชว์วันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครโทรทัศน์เรื่องยาว, วาไรตี้โชว์และละครเรื่องยาว, ละครเทิดพระเกียรติ และสารคดีโทรทัศน์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากผู้ชมทุกเพศ ทุกวัย และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขา ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลนาฏราช TOP AWARDS รางวัลจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ รางวัลสื่อมวลชนดีเด่น CATHOLIC MEDIA AWARDS รางวัลองค์กรดีเด่นแห่งปี 2557 ในงาน CEO THAILAND AWARDS 2014 รางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชียASIAN TELEVISION AWARDS (เอเชี่ยน เทเลวิชั่น อวอร์ดส์) รางวัลMaximilian Award รางวัลอินเตอร์ เนชั่นแนล เอมมี่ อวอร์ด รางวัลด้านนวัตกรรมแห่งการสร้างสรรค์และคุณภาพ THE NEW ERA AWARD FOR TECHNOLOGY, INNOVATION & QUALITY จากสถาบัน ASSOCIATION OTHER WAYS MANAGEMENT & CONSULTING PARIS – FRANCE รางวัลองค์กรที่มีการบริหารจัดการภายในยอดเยี่ยม European Award for Best Practices 2016 จากสถาบัน European Society for Quality Research (ESQR) รางวัลวัลองค์กรคุณภาพยอดเยี่ยม The Global Award For Perfection Quality and Ideal Performance จาก OMAC (OTHERWAYS MANAGEMENT AND CONSULTING) เป็นต้น [4]", "title": "เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "274668#5", "text": "ทีวี ธันเดอร์ ได้ผลิตรายการต่างๆ เป็นจำนวนกว่า 200 รายการ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ ละครซิทคอม ละครยาว และเรียลลิตี้โชว์ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ทรูโฟร์ยู, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี และสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี โดยปัจจุบันมีรายการโทรทัศน์ และละครโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวนทั้งหมด 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ ควิซโชว์ วาไรตี้โชว์ และเรียลลิตี้โชว์ ทางช่อง 3 HD ช่อง 5 ช่องทรูโฟร์ยู ช่องไทยรัฐทีวี HD และช่อง PPTV HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์ลงแอปพลิเคชัน LINE TV เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "ทีวี ธันเดอร์" }, { "docid": "189590#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 1 () เป็นฤดูกาลที่ 1 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับฤดูกาลที่ 1 นี้ออกอากาศวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2544", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 1" }, { "docid": "330907#0", "text": "เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เริ่มทำการผลิตรายการ \"เวทีทอง\" ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นรายการแรก ต่อมา บริษัทขยายการผลิตรายการและละครประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ เป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อนำเสนอออกอากาศมาโดยตลอดระยะเวลา 28 ปี ของการดำเนินงานธุรกิจผลิตและรับจ้างผลิตรายการโทรทัศน์ โดยบริษัทมีทีมครีเอทีฟที่มีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสบการณ์สร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, วาไรอิตีโชว์, เกมโชว์ควิซโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน, เรียลลิตี้โชว์สำหรับสำหรับเด็กและเยาวชน, เกมโชว์ซิตคอม, ละครซิตคอม, วาไรตี้โชว์ซิตคอม, วาไรตี้โชว์วันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครซิตคอมวันหยุดนักขัตฤกษ์, รายการวันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครโทรทัศน์เรื่องยาว, วาไรอิตีโชว์และละครเรื่องยาว, ละครเทิดพระเกียรติ และ สารคดีทางโทรทัศน์ โดยนำไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ นั่นคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ ช่องเวิร์คพอยท์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย โดยแต่ละรายการของบริษัทฯ ประสบความสำเร็จ และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ, รางวัลศิลปินแห่งชาติ จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และรางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชีย (เอเชี่ยนเทเลวิชั่นอวอร์ดส์) เป็นต้น รวมถึงยอดขายโฆษณาที่สม่ำเสมอของทางบริษัทฯ", "title": "รายชื่อผลงานของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "21299#3", "text": "เรียลลิตีโชว์ประเภทกึ่งสารคดีจะมีลักษณะนำเสนอชีวิตส่วนต่างๆ ไม่มีบทพูด ไม่ใช่ลักษณะของเกม ตัวอย่างรายการดังเช่น MTV's Laguna Beach: The Real Housewives of Orange County เรียลลิตีโชว์ประเภทอยู่ในสภาพแวดล้อมพิเศษจะมีลักษณะการสร้างสภาพแวดล้อมพิเศษให้คนมาอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบนั้นด้วยกัน เช่น Temptation Island, The Real World และ Solitary เรียลลิตีโชว์ของดารา คนดังจะเผยชีวิตของดาราดัง ชีวิตประจำวันต่างๆ เช่น The Osbournes (ครอบครัวออสบอร์น), Newlyweds (เจสสิก้า ซิมพ์สัน และ นิค ลาเช่), Keeping Up With The Kardashian (ครอบครัวคาร์เดเชียน) ในที่นี่รวมถึงลักษณะรายการที่อยู่ในสภาพแวดล้อมเฉพาะ เช่น ไฮโซบ้านนอก,ด้ายใจ(เป็นรายการ Reality Variety ซึ่งมีครอบครัวหนึ่งมาขอเล่น Reality โดยการพาคุณแม่ของบ้านไปพักร้อน แล้วคุณพ่อและคุณลูกต้องอยู่กันเอง) เป็นต้น เรียลลิตีโชว์ของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจะเผยลักษณะการทำงานต่างๆ ของผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆเช่น COPS และ The Restaurant เป็นต้น เรียลลิตีเกมโชว์เป็นการแข่งขันเพื่อชิงรางวัล โดยมีโจทย์ต่างๆ ตามคอนเซ็บต์ของรายการ เช่น บิ๊ก บราเธอร์, ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย, เซอร์ไวเวอร์, ดิ อะเมซิ่ง เรซ, อัจฉริยะยกบ้าน, So You Think You Can Dance และ อเมริกันไอดอล,อัจฉริยะข้ามคืน เป็นต้น เรียลลิตีโชว์ประเภทหางานมีรางวัลเป็นงานที่ต้องการ เช่น The Apprentice, เดอะเฟซไทยแลนด์, อเมริกาส์ เน็กซ์ ท็อป โมเดล และ Hell's Kitchen เป็นต้น เรียลลิตีโชว์ประเภทกีฬานำส่วนประกอบกีฬามาเป็นคอนเซ็บต์หลัก เช่น The Contender (รายการนี้ผู้เข้าแข่งขันที่ตกรอบคนนึงฆ่าตัวตายหลังถูกคัดออก) เรียลลิตีโชว์ประเภทปรับปรุงตัวเอง /แปลงโฉมมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงตัวเอง เช่นการผ่าตัด การลดน้ำหนัก ให้ตัวเองดีขึ้น เช่น Extreme Makeover, Queer Eye For The Straight Guy, The Swan, The Biggest Loser และ Celebrity Fit Club เป็นต้น เรียลลิตีโชว์ประเภทนัดบอดจะนำผู้เข้าแข่งขันที่ไม่รู้จักกัน มานัดบอด ตามเงื่อนไขต่างๆ รายการประเภทนี้ได้รับความนิยมอย่างมากในช่องเอ็มทีวี เช่น Dis-missed Wanna Comein และ พรหมลิขิต บทที่ 1 (รายการนี้ก่อนตอนจบจะออกอากาศได้ถูกทางช่องแบนเพราะมีเนื้อหาไม่เหมาะสมแก่เด็กและเยาวชน)[รายการนี้ตอนออกอากาศยังไม่มีการจัดประเภทรายการจากกรมประชาสัมพันธ์] เรียลลิตีโชว์ประเภททอล์คโชว์อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของรายการ โดยนำผู้ร่วมรายการมาสัมภาษณ์ เช่น The Jerry Springer Show เรียลลิตีโชว์ประเภทซ่อนกล้อง (Hidden Camera)จะซ่อนกล้องไม่ให้ผู้ร่วมรายการรู้ตัว โดยอาจสร้างสถานการณ์ต่างๆ เช่น Candid Camera หรือ อาจจะรวมถึง MTV Punk'd เรียลลิตีโชว์ประเภทคนหาตัวจริงจะมีผู้เข้าแข่งขัน 1 คน และที่เหลือจะมีนักแสดงที่คัดเลือกมา ให้ผู้เข้าแข่งขันได้ใช้ชีวิตกับคนเหล่านั้นและหาตัวจริงตามลักษณะคอนเซ็บต์รายการ ตัวอย่างเช่น Boy Meets Boy และ Joe Millionaire เป็นต้น", "title": "เรียลลิตีโชว์" }, { "docid": "192160#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 2 () เป็นฤดูกาลที่ 2 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 2" }, { "docid": "939148#2", "text": "บริษัทเริ่มทำการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ นั่นคือรายการ \"\"ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์\"\" ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เป็นรายการแรกภายในปี พ.ศ. 2553 ต่อมาได้ขยายรูปแบบการผลิตรายการโทรทัศน์ และละครโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบและหลากหลายสถานี เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่องไทยรัฐทีวี, ช่องทรูโฟร์ยู, ช่องวัน และช่องพีพีทีวี มาโดยตลอดเป็นระยะเวลากว่า 9 ปี โดยมีเนื้อหาและรูปแบบรายการที่หลากหลาย เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน, ทอล์คโชว์, วาไรตี้โชว์, ละครโทรทัศน์ และละครซิทคอม ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขาในประเทศ รวมทั้งเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลและได้รับรางวัลต่าง ๆ จากสถาบันต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชีย (เอเชียนเทเลวิชั่นอวอร์ดส์) อีกด้วย", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "249925#0", "text": "ดิ อะเมซิ่ง เรซ 16 () เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ 16" } ]
1905
เอมี เจด ไวน์เฮาส์ เสียชีวิตเมื่อไหร่?
[ { "docid": "130676#0", "text": "เอมี เจด ไวน์เฮาส์ (, เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1983 - เสียชีวิต 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) นักร้องแนวโซลชาวอังกฤษ และนักแต่งเพลงแจ๊ส", "title": "เอมี ไวน์เฮาส์" }, { "docid": "130676#18", "text": "เอมี ไวน์เฮาส์ ได้เสียชีวิตลงในอพาร์ทเมนต์ส่วนตัวที่ลอนดอน เมื่อช่วงบ่ายวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 ตามเวลาท้องถิ่น ซึ่งสาเหตุเบื้องต้นได้สันนิษฐานว่าเกิดจากการติดสารเสพติดและสุราเป็นเวลายาวนาน โดยเธอได้สิ้นใจลงก่อนรถพยาบาลจะเข้ามาถึง", "title": "เอมี ไวน์เฮาส์" } ]
[ { "docid": "130676#4", "text": "ก่อนไวน์เฮาส์จะเสียชีวิต ที่รายงานว่าเธอคบหาอยู่กับเรก แทรวิสส์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ แต่เพิ่งเลิกรากันก่อนหน้านั้นประมาณหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เธอเศร้าเสียใจ ดื่มสุราและเสพยาอย่างหนักจนเสียชีวิต", "title": "เอมี ไวน์เฮาส์" }, { "docid": "2492#13", "text": "อาซิมอฟเสียชีวิตลงเมื่อ วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 ขณะที่อายุ 72 ปี ก่อนเสียชีวิตเขาได้เขียนอัตชีวประวัติชื่อ \"It’s been a good Life\" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2002 สิบปีหลังจากการจากไปของเขา ในหนังสือเล่มนี้เปิดเผยว่าสาเหตุที่เขาเสียชีวิตมาจากหัวใจและไตล้มเหลว ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคเอดส์ เขาได้รับเชื้อ HIV จากการถ่ายเลือดขณะผ่าตัดหัวใจ (heart bypass operation) อาซิมอฟปรารถนาจะให้สาธารณชนรับทราบเรื่องนี้เพื่อเป็นอุทธาหรณ์ แต่นายแพทย์ประจำตัวคัดค้านและต้องการให้เรื่องนี้เป็นความลับ อย่างไรก็ตาม 10 ปีต่อมาความปรารถนาครั้งสุดท้ายของเขาจึงกลายเป็นความจริง", "title": "ไอแซค อสิมอฟ" }, { "docid": "297317#5", "text": "ในปีพ.ศ. 2551 Christine Maggiore นักเคลื่อนไหวคนหนึ่งเสียชีวิตลงด้วยวัย 52 ปี ขณะที่รับการรักษาจากแพทย์ด้วยโรคปอดบวม โดย Maggiore มีบุตรสองคน เธอเป็นผู้ก่อตั้งองค์กรเพื่อช่วยเหลือให้แม่ที่มีเชื้อเอชไอวีหลีกเลี่ยงการรับยาต้านไวรัสที่ลดความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก หลักจากบุตรสาวอายุ 3 ปีได้เสียชีวิตลงจากโรคปอดบวมที่เกิดจากเอดส์ในปี พ.ศ. 2548 แล้ว Maggiore ก็ยังเชื่ออยู่ว่าเอชไอวีไม่ใช่สาเหตุของเอดส์ และเธอกับสามีคือ Robin Scovil ฟ้อง Los Angeles County ร่วมกับคนอื่นในนามของบุตรสาวเรื่องการละเมิดสิทธิของบุตรสาวของเธอด้วยการเปิดเผยผลการชันสูตรศพที่ระบุว่าบุตรสาวเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับเอดส์ ผลการฟ้องศาลทำให้เขตปกครองต้องจ่าย Scovill เป็นเงิน 15,000 เหรียญในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 โดยไม่ยอมรับผิด คำตัดสินของเจ้าหน้าที่ชันสูตรศพของลอสแอลเจลิสว่า Eliza Jane Scovill เสียชีวิตจากโรคเอดส์ยังคงได้รับการยอมรับจากคณะลูกขุนอยู่", "title": "แนวคิดปฏิเสธเอดส์" }, { "docid": "602094#0", "text": "ร้อยเอกหญิง ลิซา เจด เฮด (; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1981 — 19 เมษายน ค.ศ. 2011) เป็นนายทหารกองทัพอังกฤษ เธอเป็นเจ้าหน้าที่ทำลายล้างวัตถุระเบิดหญิงคนแรกที่ถูกสังหารในขณะปฏิบัติหน้าที่ เธอเสียชีวิต ณ วันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 2011 ขณะอายุได้ 29 ปี ภายหลังจากการได้รับบาดเจ็บอย่างสาหัสเมื่อครั้งเข้าประจำการในประเทศอัฟกานิสถาน ในช่วงที่เธอเสียชีวิต ร้อยเอกหญิงเฮดเป็นนายทหารหญิงคนแรกและเป็นเจ้าหน้าที่หญิงชาวอังกฤษคนที่สองที่เสียชีวิตในประเทศอัฟกานิสถาน นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 ต่อจากซาราห์ ไบรอันท์ และเป็นสมาชิกของกองกำลังติดอาวุธที่เสียชีวิตในลำดับที่ 364", "title": "ลิซา เฮด" }, { "docid": "130676#3", "text": "ทางด้านชีวิตส่วนตัว เธอได้เข้าพิธีแต่งงานกับแฟนหนุ่ม เบลค ฟิดเลอร์ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2007 เกี่ยวกับสุขภาพเธอเป็นโรคซึมเศร้า มีปัญหาติดยาและติดเหล้า เธอเคยถูกจับกุมข้อหาครอบครองยาเสพติด พร้อมกับเบลก ฟิล์ดเดอร์-ซิวิล สามีของเธอ และในช่วงปลายปี 2007 โดนจับอีกครั้งเนื่องจากข้อหาทำร้ายร่างกายสามี แต่ทั้งสองคดีจบไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ทั้งคู่ได้แยกทางกันในเวลาต่อมา", "title": "เอมี ไวน์เฮาส์" }, { "docid": "284024#5", "text": "จอห์น อิสรัมย์มีอาการโรคหัวใจกำเริบ หลังจากเดินทางกลับจากถ่ายทำฉากแอ็คชั่นในภาพยนตร์เรื่องบางระจัน 2 ที่จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ขณะนำส่งโรงพยาบาลแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา เนื่องจากอาการกล้ามเนื้อหัวใจวายเฉียบพลัน ญาตินำศพไปประกอบพิธีทางศาสนา และฝังที่สุเหร่าหนองมะนาว ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี", "title": "จอห์น อิสรัมย์" }, { "docid": "359045#10", "text": "โดดี ฟาเยด ที่นั่งอยู่ที่เก้าอี้ผู้โดยสารด้านหลังซ้าย ซึ่งเสียชีวิตทันทีในที่เกิดเหตุ แต่เจ้าหน้าที่ดับเพลิงยังคงพยายามกู้ชีพเขา แต่ต่อมาแพทย์ผู้หนึ่งยืนยันว่าเขาเสียชีวิตแล้วเมื่อ เวลา 1.32 น. ส่วนอองรี ปอล คนขับรถ ถูกประกาศว่าเสียชีวิตเมื่อร่างถูกย้ายออกจากซากรถ ศพทั้งสองถูกนำไปเก็บไว้ที่ห้องเก็บศพของกรุงปารีส แอ็งสตีตืตท์ เมดีโก-เลกาล ผลการชันสูตรพลิกศพออกมาว่า ทั้งโดดีและอองรี เสียชีวิตจากหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาแตกและกระดูกสันหลังร้าว อองรีไขสันหลังแตก และโดดีเสียชีวิตจากไขสันหลังที่บริเวณต้นคอแตก สภาพของทั้งสองศพแหลกเละจนจำเค้าเดิมไม่ได้", "title": "การสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์" }, { "docid": "342762#7", "text": "วันที่ 13 พฤศจิกายน 2005 เอ็ดดีได้เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวายฉับพลัน ซึ่งเสียชีวิตตอนกำลังแปรงฟันอยู่ที่ห้องพักในโรงแรมมาร์ริออส ที่มินนิแอโปลิส มินเนโซตา วันนั้นจึงเกิดศึก SuperShow ขึ้น เพื่อไว้อาลัยให้กับเอ็ดดีซึ่งสื่อบอกว่าวันนี้เป็นวันที่เอ็ดดีจะได้แชมป์จากบาทิสตา แต่ก็ไม่มีโอกาส สร้างความโศกเศร้าไปทุกวงการมวยปล้ำด้วยวัยเพียง 38 ปีเท่านั้น ในปี 2006 เอ็ดดีได้รับบรรจุชื่อเข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซึ่งวิกกี เกร์เรโรภรรยาของเขาเป็นผู้มารับรางวัลแทน", "title": "เอ็ดดี เกร์เรโร" } ]
3727
บั้งไฟพญานาคดูที่แม่น้ำใด ?
[ { "docid": "10348#0", "text": "บั้งไฟพญานาค หรือก่อนปี พ.ศ. 2529 เรียก บั้งไฟผี[1] เป็นปรากฏการณ์ที่กล่าวกันว่าเห็นที่แม่น้ำโขง ลักษณะเป็นลูกกลมเรืองแสงลอยขึ้นจากน้ำขึ้นไปในอากาศ จำนวนลูกไฟมีรายงานระหว่างหลายสิบถึงหลายพันลูกต่อคืน[2] บั้งไฟพญานาคเกิดช่วงวันออกพรรษาทุกปี", "title": "บั้งไฟพญานาค" } ]
[ { "docid": "10348#3", "text": "น.พ.มนัส กนกศิลป์ ผู้ศึกษาบั้งไฟพญานาคมาอย่างยาวนาน เผยว่า ปริมาณของบั้งไฟพญานาคจะลดลงเรื่อย ๆ ในแต่ละปี ล้วนแล้วเกิดจากระบบนิเวศ และเงื่อนไขของเวลา ไม่แน่ว่าในปีต่อไปจะมีโอกาสได้เห็นปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคอีกหรือไม่ เรื่องดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในแม่น้ำโขง ตลอดจนภาวะโลกร้อนในปัจจุบันอาจเป็นตัวแปรหนึ่งที่ทำให้บั้งไฟพญานาคลดจำนวนลงจนหมดไป[3]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#8", "text": "สารคดีของสถานีโทรทัศน์ไอทีวีในปี พ.ศ. 2545 แสดงทหารลาวยิงกระสุนส่องวิถีขึ้นฟ้า และมีเสียงเฮที่ดังมาจากฝั่งไทยที่มารอชมบั้งไฟพญานาค[7] และเมื่อสัมภาษณ์คนท้องถิ่นในเขตอำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย และบริเวณใกล้เคียง เมื่อวันที่ 17–18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ชาวบ้านในพื้นที่ก็รู้ดีว่ามีการยิงลูกไฟในฝั่งลาวในวันออกพรรษา แต่ลักษณะจะแตกต่างจากบั้งไฟพญานาคที่เกิดขึ้นจากบริเวณกลางแม่น้ำโขง และสามารถแยกแยะออกว่าอันไหนของจริง อันไหนคนทำ[8]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#15", "text": ", Youtube (กำเนิดบั้งไฟพะยานาก), Youtube , YouTube , YouTube", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "17017#14", "text": "ในหมู่ชาวไทยและชาวลาวริมฝั่งแม่น้ำโขง เชื่อว่าในช่วงวันออกพรรษา จะเกิดปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคขึ้นในเวลากลางคืน ที่จังหวัดหนองคายอีกด้วย ออกปุริมพรรษา คือการออกพรรษาต้น เป็นการเข้าและออกพรรษาตามปกติตามพระวินัยพุทธานุญาต พระสงฆ์ที่ออกพรรษาต้นจะได้รับกรานกฐินและได้รับอานิสงส์กฐิน แต่สำหรับพระสงฆ์ที่ออกพรรษาในกรณียกเว้นคือ ออกปัจฉิมพรรษา จะไม่มีโอกาสได้รับกฐินและอานิสงส์กฐิน เพราะจำพรรษาในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 จึงต้องจำครบ 3 เดือน และต้องออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เป็นเวลาหมดกฐินกาลพอดี (วันรับกฐินได้จะนับวันวันถัดจากวันออกพรรษาแล้ว 1 วัน)", "title": "วันออกพรรษา" }, { "docid": "7858#0", "text": "หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา", "title": "จังหวัดหนองคาย" }, { "docid": "16614#28", "text": "ความเชื่อของชาวฮินดู ก็ถือว่า นาคเป็นสะพานเชื่อมภาวะปกติ กับที่สถิตของเทพ ทางเดินสู่วิษณุโลก เช่น ปราสาทนครวัด จึงทำเป็น พญานาคราช ที่ทอดยาวรับมนุษย์ตัวเล็ก ๆ สู่โลกแห่งความศักดิ์สิทธิ์ หรือบั้งไฟของชาวอีสานที่ทำกันในงานประเพณีเดือนหก ก็ยังทำเป็นลวดลาย และเป็นรูปพญานาค พญานาคนั้นจะถูกส่งไปบอกแถนบนฟ้าให้ปล่อยฝนลงมา", "title": "นาค" }, { "docid": "133616#2", "text": "กาลต่อมาพญาขอมได้จัดงานบุญบั้งไฟของเมืองทีตานครนี้ได้ล่วงรู้ไปถึงเมืองบาดาลเขตแดนของพญานาคทำให้ท้าวพังคี โอรสของพญานาคปลอมตัวมาเป็นกระรอกเผือกขึ้นมาเที่ยวชมงานพร้อมกับบริวาร ท้าวพังคีในร่างกระรอกเผือกได้แอบยลโฉมนางไอ่คำทางช่องหน้าต่าง เมื่อนางไอ่คำเห็นเข้าก็ปรารถนาอยากได้กระรอกเผือกไว้เชยชม จึงให้อำมาตย์ตามจับแต่ก็จับไม่ได้ ในที่สุดนายพรานประจำเมืองก็ใช้หน้าไม้ยิงกระรอกเผือกตายแล้วก็ชำแหละเนื้อกระรอกนำมาแบ่งปันประกอบอาหารกิน ด้วยแรงอธิษฐานของพังคีก่อนตายทำให้เนื้อกระรอกเผือกเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างมากมายกินกันทั่วเมืองก็ไม่หมดและขอให้คนที่ได้กินเนื้อจงตายตามไปด้วย", "title": "อำเภอกุมภวาปี" }, { "docid": "10348#11", "text": "บทความในผู้จัดการออนไลน์ว่า เดิมทีพญานาคอาศัยอยู่ในเมืองบาดาล มีนิสัยดุร้าย ครั้นพระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดสัตว์ก็เกิดความเลื่อมใสศาสนาพุทธ เลิกนิสัยดุร้าย และคิดบวช แต่ก็ติดที่เป็นสัตว์ไม่สามารถบวชได้ เนื่องจากเป็นสัตว์ พญานาคจึงปวารณาตนเป็นพุทธมามกะ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปโปรดพระมารดาที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จนครบ 1 พรรษา (3 เดือน) และเสด็จกลับโลกมนุษย์ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ด้ความนี้เมื่อรู้ถึงพญานาคที่อยู่เมืองบาดาล จึงเกิดบั้งไฟพญานาค และยังว่า ตราบเท่าที่ความเชื่อและศรัทธาของชาวบ้านเกี่ยวกับพญานาคยังคงอยู่ คนอื่น ๆ ที่อยู่นอกพื้นที่ก็ควรยึดหลัก \"ไม่เชื่อก็อย่าลบหลู่\"[11]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "171950#13", "text": "นอกจากนี้ หลายปีที่ผ่านมา เทศบาลเมืองหนองคายและสถานที่อื่น ๆ ในจังหวัดหนองคายได้กลายเป็นจุดหมายปลายทางที่มีชื่อเสียงระหว่างเทศกาลวันออกพรรษา (ซึ่งเป็นช่วงเวลาเฉพาะที่ลูกไฟลึกลับหรือ \"บั้งไฟพญานาค\" จะพุ่งขึ้นจากแม่น้ำโขง) โดยได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและหน่วยงานต่าง ๆ ของท้องถิ่น", "title": "เทศบาลเมืองหนองคาย" }, { "docid": "10348#16", "text": "หมวดหมู่:ปรากฏการณ์ธรรมชาติ หมวดหมู่:ความเชื่อไทย หมวดหมู่:พญานาค บ", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#5", "text": "น.พ.มนัส กนกศิลป์ กล่าวในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2538 ว่า \"บั้งไฟพญานาคน่าจะเป็นสสาร และจะต้องมีมวล เพราะแหวกนํ้าขึ้นมาได้ จึงน่าจะเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่มีกลิ่น จุดติดไฟได้เอง และต้องเบากว่าอากาศ\"[4] เขายังพบว่าความเป็นกรดด่างของน้ำในแม่น้ำโขงสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ที่จะเกิดการหมักมีเทน ซึ่งเขาเคยไปวางทุ่นดักก๊าซในแม่น้ำโขง และพบว่าก๊าซที่ดักได้ในแม่น้ำโขงสามารถนำไปจุดติดไฟ จะเกิดการพุ่งวูบขึ้นมีสีออกเป็นแดงอมชมพู ส่วนคำถามที่ว่าทำไมบั้งไฟพญานาคถึงเกิดขึ้นในคืนวันออกพรรษา เขาบอกว่าในคืนนั้นมีอ็อกซิเจน ก๊าซที่ช่วยให้ติดไฟสูงสุดในรอบปี ซึ่งก็เกิดจากอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงพลังงานรังสีของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลก[5]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2555 ผู้จัดการออนไลน์ลงข่าวที่มีช่างภาพไปถ่ายภาพบั้งไฟพญานาค ช่างภาพเล่าว่า จากสายตาพวกเขาเห็นตรงกันว่าลูกไฟนั้นขึ้นจากน้ำ แต่ภาพที่บันทึกด้วยการเปิดหน้ากล้อง 5–30 วินาทีเป็นภาพต่อเนื่องเหมือนเลเซอร์ซึ่งมีจุดเริ่มอยู่บนบกของฝั่งลาวที่ห่างจากไทยประมาณ 1 กิโลเมตร ช่างภาพอีกคนกล่าวว่า บริเวณที่จัดไว้ให้ชมปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคนั้นมืดมาก[1]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "96221#4", "text": "ยังมีงานประเพณีบุญบั้งไฟในภาคกลางของไทยอีกที่หนึ่ง ในพื้นที่ อำเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์ เนื่องจากชาวบ้านในพื้นที่ดังกล่าวร้อยละ 85 เป็นชาวอีสานที่ได้ย้ายถิ่นฐานมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม และได้นำวัฒนธรรมประเพณีบุญบั้งไฟที่ถือเป็นความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล จึงทำให้ประเพณีบุญบั้งไฟใน อ.แม่เปิน เกิดขึ้น และได้อนุรักษ์ไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกลายเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีการจัดประเพณีเป็นประจำในช่วงเดือน 6 หรือประมาณสัปดาห์ที่สองของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งที่ผ่านมา ได้รับความสนใจจากประชาชนในพื้นที่ และจังหวัดใกล้เคียง เข้าร่วมงานกันเป็นจำนวนมาก และนอกจากนี้ในพื้นที่ภาคเหนือ ก็มีการละเล่นประเพณีบุญบั้งไฟเช่นเดียวกัน โดยเป็นหนึ่งในประเพณีของล้านนา โดยมีความเชื่อคล้ายกับภาคอีสาน คือ เป็นการถวายเป็นพุทธบูชาและขอฝน\nชาวบ้านเชื่อว่ามีโลกมนุษย์ และโลกเทมนุษย์อยู่ใต้อิทธิพลของเทวดา การรำผีฟ้าเป็นตัวอย่างที่แสดงออกทางด้านการนับถือเทวดา และเรียกเทวดาว่า “แถน” เมื่อถือว่ามีแถนก็ถือว่า ฝน ฟ้า ลม เป็นอิทธิพลของแถน หากทำให้แถนโปรดปราน มนุษย์ก็จะมีความสุข ดังนั้นจึงมีพิธีบูชาแถน การจุดบั้งไฟก็อาจเป็นอีกวิธีหนึ่งที่แสดงความเคารพหรือส่งสัญญาณความภักดีไปยังแถน ชาวอีสานจำนวนมากเชื่อว่าการจุดบั้งไฟเป็นการขอฝนจากพญาแถน และมีนิทานปรัมปราเช่นนี้อยู่ทั่วไป แต่ความเชื่อนี้ยังไม่พบหลักฐานที่แน่นอน นอกจากนี้ในวรรณกรรมอีสานยังมีความเชื่ออย่างหนึ่งคือ เรื่องพญาคันคาก หรือคางคก พญาคันคากได้รบกับพญาแถนจนชนะแล้วให้พญาแถนบันดาลฝนลงมาตกยังโลกมนุษย์\nส่วนคำว่า บ้อง หมายถึง สิ่งของใด ๆ ก็ได้ที่มี 2 ชิ้น มาสวมหรือประกอบเข้ากันได้ ส่วนนอกเรียกว่า บ้อง ส่วนในหรือสิ่งที่เอาไปสอดใสจะเป็นสิ่งใดก็ได้ เช่น บ้องมีด บ้องขวาน บ้องเสียม บ้องวัว บ้องควาย ดังนั้น คำว่า บั้งไฟ ในภาษาถิ่นอีสานจึงเรียกว่า บั้งไฟ ซึ่งหมายถึงดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง มีหางยาวเอาดินประสิวมาคั่วกับถ่านไม้ตำให้เข้ากันจนละเอียดเรียกว่า หมื่อ (ดินปืน) และเอาหมื่อนั้นใส่กระบอกไม้ไผ่ตำให้แน่นเจาะรูตอนท้ายของบั้งไฟ เอาไผ่ท่อนอื่นมัดติดกับกระบอกให้ใส่หมื่อโดยรอบ เอาไม้ไผ่ยาวลำหนึ่งมามัดประกบต่อออกไปเป็นหางยาว สำหรับใช้ถ่วงหัวให้สมดุลกัน เรียกว่า “บั้งไฟ” ในทัศนะของผู้วิจัย บั้งไฟ คือการนำเอากระบอกไม้ไผ่ เลาเหล็ก ท่อเอสลอน หรือเลาไม้อย่างใดอย่างหนึ่งมาบรรจุหมื่อ (ดินปืน) ตามอัตราส่วนที่ช่างกำหนดไว้แล้วประกอบท่อนหัวและท่อนหางเป็นรูปต่าง ๆ ตามที่ต้องการ เพื่อนำไปจุดพุ่งขึ้นสู่อากาศ จะมีควันและเสียงดัง บั้งไฟมีหลายประเภท ตามจุดมุ่งหมายของประโยชน์ในการใช้สอย", "title": "บุญบั้งไฟ" }, { "docid": "131452#3", "text": "เรื่องราวของบั้งไฟพญานาค มหัศจรรย์แห่งลุ่มแม่น้ำโขง ที่เกิดขึ้นกับชีวิตคนไทยในอำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย ที่อยู่ห่างไกลจากกรุงเทพไปกว่าแปดชั่วโมง แต่ที่แห่งนี้ กลับมีสิ่งเร้นลับมหัศจรรย์ ที่เกิดขึ้นตรงกันทุกปี ในคืนวันออกพรรษา บั้งไฟพญานาค ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ กลายเป็นเรื่องที่โด่งดังไปทั่วโลก และยังไม่สามารถที่จะพิสูจน์ได้ว่า บั้งไฟพญานาค เกิดขึ้นจากน้ำมือของมนุษย์หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเป็นพุทธบูชาของพญานาค จริงตามความเชื่อ และ ศรัทธาของชาวอีสาน ยังคงเป็นปริศนาที่ท้าทาย และรอคอยการพิสูจน์มาจนทุกวันนี้", "title": "15 ค่ำ เดือน 11" }, { "docid": "16614#36", "text": "ปลาออร์ บั้งไฟพญานาค ครุฑ ป่าคำชะโนด", "title": "นาค" }, { "docid": "10348#9", "text": "ผศ. ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ นักวิชาการจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า ไม่มีก๊าซชนิดใดในโลกที่สันดาปเองแล้วกลายเป็นลูกไฟลอยสูงขึ้นไปสูง ๆ ได้ เว้นแต่มีการสันดาปด้วยเชื้อเพลิงขับ เช่น ดินปืน พลุ หรือกระสุนส่องแสง ขึ้นจากฝั่งตรงข้ามแต่หลอกตาเหมือนขึ้นจากน้ำ และยังตั้งข้อสังเกตว่า ที่ผ่านมายังไม่มีภาพถ่ายวิดีโอใดๆเลยที่ชี้ให้เห็นว่าลูกไฟขึ้นจากน้ำได้จริง โดยมักเป็นภาพลูกไฟที่ลอยขึ้นไปในอากาศแล้ว พร้อมขอให้มีการสร้างบั้งไฟพญานาคเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติขึ้นมาเพื่อพิสูจน์[9]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "13797#5", "text": "นอกจากนี้ ทุกวันออกพรรษาจะมีประชาชนจำนวนมากไปเยือนริมฝั่งแม่น้ำของในประเทศไทย แถบอำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย เพื่อดูปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งสร้างรายได้ให้แก่จังหวัดเป็นอย่างมาก จังหวัดที่มีปรากฏการณ์บั่งไฟพญานาคที่มีประชาชนนิยมไปเฝ้าดูมากที่สุด คือ จังหวัดหนองคาย ซึ่งในช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา มีกลุ่มนักวิจัยจากหลายสถาบันได้ออกมาชี้ชัด หรือหาหลักฐานอธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว ว่าเกิดจากกลุ่มก๊าซธรรมชาติที่มีอยู่ในแม่น้ำโขง อาทิเช่น ก๊าซมีเทน เป็นต้น แต่ก็ยังมิได้มีหลักฐานชี้ชัดเป็นที่แน่นอน ว่าเหตุการณ์ดังกล่าว เกิดจากการกระทำของพญานาค หรือ เกิดจากการกระทำของธรรมชาติ", "title": "แม่น้ำโขง" }, { "docid": "16614#33", "text": "ผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงเชื่อว่า แม่น้ำโขงเกิดจากการแถตัวของพญานาค 2 ตน จึงเกิดเป็นแม่น้ำโขงและแม่น้ำน่าน นอกจากนี้ยังรวมถึงบั้งไฟพญานาค โดยมีตำนานว่าในวันออกพรรษาหรือเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ พญานาคแห่งแม่น้ำโขงต่างชื่นชมยินดี จึงเฮ็ด (จุด) บั้งไฟถวายการเสด็จกลับของพระพุทธเจ้าจนกลายเป็นประเพณีทุกปี", "title": "นาค" }, { "docid": "7858#42", "text": "บั้งไฟพญานาคแม้จะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามลำน้ำโขงมานานหลายปีแล้วตามคำร่ำลือของชาวบ้าน แต่เพิ่งจะได้รับส่งเสริมให้เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวของจังหวัดหนองคายไม่กี่ปีมานี้เอง บั้งไฟพญานาคเป็นลูกไฟที่พุ่งขึ้นมาจากใต้แม่น้ำโขง พุ่งลอยขึ้นสู่อากาศ ประมาณ 20 - 30 เมตร แล้วก็หายไป ลูกไฟไม่จำกัดบริเวณที่เกิดและเกิดไม่ค่อยซ้ำที่บริเวณนั้น ขนาดของลูกไฟก็มีหลายขนาด เช่น ขนาดโตเท่าผลส้ม ขนาดกลางเท่าไข่ไก่ ขนาดเล็กเท่าหัวแม่มือ เวลาที่เกิดขึ้นไม่แน่นอนแต่ต้องมืดค่ำแล้ว บางทีเกิดตั้งแต่หัวค่ำ ประมาณ 6 โมงเย็น บางปีเริ่มเกิด 2 - 3 ทุ่ม และจะเกิดไปอีกประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง จึงจะค่อยๆ หมดลง จำนวนลูกไฟที่เกิดขึ้นบริเวณหนึ่งๆ มีจำนวนไม่แน่นอน สถานที่เกิดนั้นจะอยู่ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย อำเภอรัตนวาปี บั้งไฟพญานาคจะเกิดขึ้นในคืนวันเพ็ญ เดือน 11 หรือแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี และทางจังหวัดได้จัดงานลอยเรือไฟบูชาพญานาค ณ บริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขงใกล้วัดสิริมหากัจจายน์ (วัดธาตุ) อำเภอเมือง โดยจัดเป็นประเพณีทุกปี", "title": "จังหวัดหนองคาย" }, { "docid": "95283#4", "text": "บึงโขงหลง เป็นบึงน้ำขนาดใหญ่ เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำของโลก อันดับที่ 1,098 ของโลก (Wetland of International Importance) ในปี พ.ศ. 2544 มีชายหาดคำสมบูรณ์สำหรับการพักผ่อนหย่อนใจและเล่นน้ำ อยู่ห่างจากตัวอำเภอบึงโขงหลงเพียง 3 - 4 กิโลเมตร มีบริการร้านอาหารบริเวณรอบบึง เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ได้มีปรากฏการณ์คล้ายพญานาคเล่นน้ำในบึงโขงหลง ซึ่งสื่อมวลชนจำนวนมากได้เสนอข่าวดังกล่าว และมีการทำนายว่า วันออกพรรษาจะมีปรากฏการณ์พญานาคเล่นน้ำในบึงโขงหลงอีกครั้ง และอาจจะเกิดปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคในบึงโขงหลง ซึ่งโดยทั่วไปบั้งไฟพญานาคจะขึ้นในแม่น้ำโขงในจังหวัดหนองคายในวันออกพรรษาของทุกปี", "title": "อำเภอบึงโขงหลง" }, { "docid": "78590#7", "text": "นอกจากนี้แล้ว บึงโขงหลงยังเป็นสถานที่ ๆ ชาวบ้านมีความเชื่อในตำนานเรื่องพญานาคและเป็นที่ ๆ เชื่อว่า พญานาคมาปรากฏตัวให้เห็นและเกิดปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคด้วย", "title": "บึงโขงหลง" }, { "docid": "131452#1", "text": "15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี พ.ศ. 2545 เพราะถูกชาวหนองคายบางส่วนประท้วงเรียกร้องไม่ให้ฉาย หาว่ามีการบิดเบือนเนื้อเรื่องเกี่ยวกับบั้งไฟพญานาค ปรากฏการณ์ประหลาดที่มีลูกไฟผุดขึ้นจากลำน้ำโขงที่จังหวัดหนองคายในช่วงเทศกาลวันออกพรรษา มีความเชื่อแต่โบราณว่าพญานาค ซึ่งเป็นสัตว์ในนิยายปรัมปรา เป็นผู้จุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระพุทธเจ้า ภาพยนตร์แสดงให้เห็นนักวิจัยที่ออกค้นหาสาเหตุ พบเงื่อนงำมากมาย อาทิ พยานที่เคยพบหรือร่องรอยการเลื้อย แต่ที่สุดก็ว่าระบุว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ภาพยนตร์สื่อให้เห็นว่าบั้งไฟพญานาคเกิดจากฝีมือพระภิกษุ ซึ่งจำวัดอยู่ในวัดในฝั่งประเทศลาว โดยมอบหมายให้เด็กที่อาศัยอยู่ในวัดตั้งแต่เล็ก เป็นคนดำน้ำลงไปจุดพลุ โดยทำสืบทอดมาแต่โบราณเพื่อให้คนหันมาศรัทธาในพระพุทธศาสนา หลังจากมีโอกาสไปร่ำเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ทางการกีฬาในกรุงเทพฯ ทำให้เด็กวัดไม่อยากกิจกรรมซึ่งตนเองคิดว่าหลอกลวงประชาชนอีกต่อไป ในปีสุดท้ายจึงปฏิเสธที่จะทำอีก สุดท้ายหลวงพ่อตัดสินใจทำด้วยตนเอง และถึงแก่มรณภาพในเวลาต่อมา และตอนจบของภาพยนตร์ซึ้งกินใจจนคนดูอาจคาดไม่ถึง และข้ออ้างของผู้กำกับ จิระ มะลิกุล ที่เรียกร้องให้ชาวหนองคายที่ประท้วงภาพยนตร์เรื่องนี้ ดูให้จบเรื่องก่อน", "title": "15 ค่ำ เดือน 11" }, { "docid": "10348#10", "text": "ปิ่น บุตรี ได้เขียนบทความลงในผู้จัดการออนไลน์ ในปี พ.ศ. 2556 ว่า สกู๊ป (ของไอทีวี) ที่ว่าบั้งไฟพญานาคเกิดจากการยิงปืนของทหารลาวนั้นถูกต่อต้านจากคนในพื้นที่ และยังถูกคนจับผิดและหาข้อมาหักล้าง ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของการยิงปืนที่ต้องมีเสียง ควัน และมีวิถีการพุ่งที่เร็วมากแถมสีก็แตกต่างกับลูกไฟประหลาดที่พวยพุ่งขึ้นมา พุ่งช้ากว่า ไม่มีควัน เสียงไม่ดังเท่า นอกจากนี้ปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาคยังมีบันทึกว่าเกิดขึ้นมานับร้อย ๆ ปี มาก่อนการยิงปืนของทหารนานแล้ว[10]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "4856#4", "text": "วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก ดาวเคราะห์ และ จักรวาล ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ แผ่นดินไหว รอยเลื่อน สึนามิ อุทกภัย น้ำท่วม น้ำหลาก การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ ภูเขา แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ไดโนเสาร์ ซากดึกดำบรรพ์หรือบรรพชีวินหรือฟอสซิล บั้งไฟพญานาค ไม้กลายเป็นหิน ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม เชื้อเพลิง แหล่งแร่ เหล็กไหล อุลกมณี โลกศาสตร์", "title": "ธรณีวิทยา" }, { "docid": "7858#37", "text": "ประเพณีบุญบั้งไฟเป็นประเพณีเก่าแก่ที่ได้ปฏิบัติกันมานาน เกี่ยวกับการบูชาเทวดาขอฟ้าขอฝน ตามความเชื่อและโบราณกาล เป็นงานใหญ่โตมาก มีการจัดประกวดบั้งไฟประเภทตกแต่งสวยงาม ความคิดสร้างสรรค์ ประกวดขบวนแห่ และการจุดขึ้นสูงสุด จัดทำในวันเพ็ญเดือน 6 (พฤษภาคม)และวันเพ็ญ เดือน 7 (มิถุนายน)(จังหวัดหนองคายจะจัดบุญบั้งไฟทั้งเดือน6และเดือน7) ของทุกปี จังหวัดหนองคายได้จัดเป็นการแสดงแสงสีเสียงตำนานบั้งไฟพญานาค เกี่ยวกับเรื่องพระพุทธเจ้าเสวยชาติเป็นพญาคันคาก (คางคก) แล้วมีเรื่องราวไม่ถูกใจกับพญาแถน (พระอินทร์) จึงสาบให้แผ่นดินแห้งแล้งจนพญาคันคากแนะนำให้ชาวบ้านจุดบั้งไฟถวายจนฝนตกลงมาในที่สุด", "title": "จังหวัดหนองคาย" }, { "docid": "10348#13", "text": "มีการนำเรื่องข้อสงสัยที่มาของบั้งไฟพญานาค มาทำเป็นภาพยนตร์เรื่อง 15 ค่ำ เดือน 11 โดย จิระ มะลิกุล ออกฉายเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเรื่องราวเนื้อหาในภาพยนตร์นั้น บั้งไฟพญานาคเกิดขึ้นจากฝีมือมนุษย์", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#1", "text": "ลักษณะบั้งไฟพญานาคเป็นดวงไฟขนาดเล็กเท่าหัวแม่มือจนถึงขนาดเท่าไข่ห่านหรือผลส้ม มีสีแดงอมชมพูออกสีบานเย็น หรือสีแดงทับทิม ไม่มีควัน ไม่มีเขม่า ไม่มีเปลว ไม่มีเสียง ไม่มีกลิ่น จะเริ่มปรากฏจากเหนือผิวน้ำ ตั้งแต่ระดับ 1–30 เมตร พุ่งสูงขึ้นไปประมาณระดับ 50–150 เมตร เป็นเวลาประมาณ 5–10 วินาที แล้วจะดับหายวับไปในอากาศ ทั้งที่ดวงไฟยังโตอยู่ มิได้หรี่เล็กลงแล้วค่อย ๆ ดับ และไม่มีลักษณะโค้งตกลงมาเหมือนดอกไม้ไฟ[3]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#4", "text": "งานวิจัยวิทยาศาสตร์ของไทยหลายฉบับสรุปว่า บั้งไฟพญานาค คือ ก๊าซมีเทน-ไนโตรเจนเกิดจากแบคทีเรียที่ความลึก 4.55–13.40 เมตร อุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนน้อย ในวันที่เกิดปรากฏการณ์มีแดดส่องช่วงประมาณ 10, 13 และ 16 นาฬิกา มีอุณหภูมิมากกว่า 26 องศาเซลเซียสทำให้มีความร้อนมากพอย่อยสลายสารอินทรีย์ และจะมีก๊าซมีเทนจากการหมัก 3–4 ชั่วโมง มากพอให้เกิดความดันก๊าชในผิวทรายทำให้ก๊าซจะหลุดออกมาและพุ่งขึ้นเมื่อโผล่พ้นน้ำ ฟองก๊าซที่โผล่ขึ้นมาเหนือน้ำบางส่วนจะฟุ้งกระจายออกไป ส่วนแกนในของก๊าซขนาดเท่าหัวแม่มือจะพุ่งขึ้นสูงกระทบกับออกซิเจน รวมกับอุณหภูมิที่ลดต่ำลงยามกลางคืนทำให้เกิดการสันดาปอย่างรวดเร็วจนติดไฟได้[4]", "title": "บั้งไฟพญานาค" }, { "docid": "10348#2", "text": "นายวินิจ พลพิทักษ์ หัวหน้าหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดหนองคาย อธิบายว่า ทั่วจังหวัดหนองคายมีตำแหน่งที่มักปรากฏบั้งไฟพญานาคประมาณ 20 จุด โดยพบที่อำเภอโพนพิสัยมากที่สุด บั้งไฟพญานาคยังขึ้นอยู่ตามหนองน้ำ บ่อน้ำ ลำห้วย ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากลำน้ำโขงราว 500 เมตร ก็มีผู้พบเห็น สำหรับระยะเวลาในการขึ้นของบั้งไฟพญานาคนั้นจะขึ้น ระหว่างตะวันตกดินถึงประมาณ 23.00 น.[3]", "title": "บั้งไฟพญานาค" } ]
129
พรรคไทยรักไทยก่อตั้งโดยใคร?
[ { "docid": "3871#0", "text": "พรรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร และ ได้รับชัยชนะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนครบวาระ 4 ปี", "title": "พรรคไทยรักไทย" }, { "docid": "46576#7", "text": "ต่อมา เมื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งไม่ได้ลงเลือกตั้งในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2539 ทั้งที่เป็นหัวหน้าพรรคอยู่ในขณะนั้น ได้ก่อตั้งพรรคไทยรักไทยขึ้น ในปี พ.ศ. 2541 สมาชิกพรรคหลายคนเช่น นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์, นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง, นายสุรนันท์ เวชชาชีวะ, น.พ.ประจวบ อึ๊งภากรณ์, น.ส.ศันสนีย์ นาคพงษ์ เป็นต้น ได้ลาออกไปเข้าร่วม จนทำให้พรรคพลังธรรมกลายเป็นเพียงพรรคการเมืองธรรมดา ที่ไม่มีบทบาทสำคัญอะไร ไม่มีสัดส่วนในรัฐสภา", "title": "พรรคพลังธรรม" } ]
[ { "docid": "108879#4", "text": "ภายหลังคดียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน พ.ศ. 2549 กลุ่มไทยรักไทย (เดิมคือ พรรคไทยรักไทย) มีมติที่จะส่งอดีต ส.ส.เก่า สมัครเป็นสมาชิกพรรคพลังประชาชน เพื่อลงรับเลือกตั้งครั้งใหม่ หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยมีข่าวว่า แกนนำกลุ่มไทยรักไทย ได้เชิญสมัคร สุนทรเวช มาเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ โดยสมัครให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนว่า ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เป็นผู้โทรศัพท์ทางไกลมาเชิญให้รับตำแหน่งด้วยตัวเอง จากนั้น ได้จัดให้มีการประชุมใหญ่ของพรรค เพื่อลงคะแนนเสียงเลือกหัวหน้าพรรคคนใหม่เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ผลปรากฏว่า สมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค และนายแพทย์ สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นเลขาธิการพรรค นอกจากนั้นยังลงมติเปลี่ยนแปลง เครื่องหมายพรรคจากเดิม เป็นเครื่องหมายแบบใหม่ มีรูปลักษณ์ของอักษรไทย \"พ\" ประกอบด้วยสี 2 สี คือ สีน้ำเงินและสีแดง มีอักษรไทยสีน้ำเงิน คำว่า \"พรรคพลังประชาชน\" อยู่ด้านหลัง", "title": "พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)" }, { "docid": "3871#7", "text": "พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน)\nพรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน ส.ส.ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ", "title": "พรรคไทยรักไทย" }, { "docid": "543515#6", "text": "ในปี พ.ศ. 2549 เขาสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ปรากฏว่า ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้ยุบพรรคไทยรักไทย ในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และตัดสิทธิ์เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จำนวน 111 คน เป็นระยะเวลา 5 ปี ในฐานะที่เป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จึงต้องยุติบทบาททางการเมืองตั้งแต่มีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ", "title": "เอกพร รักความสุข" }, { "docid": "125776#0", "text": "พรรคแทนคุณแผ่นดิน () ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดย \"กลุ่มแทนคุณแผ่นดินอีสาน\" นำโดย นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีต ส.ส.กาฬสินธุ์ พรรคไทยรักไทย ที่แยกตัวออกมาพรรคพลังประชาชน เนื่องจากนายวิวรรธนไชยอ้างว่า นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคพลังประชาชน ได้เคยพูดจาดูถูกคนอีสานไว้ในอดีต จึงไม่อาจยอมรับได้", "title": "พรรคแทนคุณแผ่นดิน" }, { "docid": "47200#0", "text": "พรรคประชาราช (, ย่อว่า: ปชร.) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยนายเสนาะ เทียนทอง เพื่อที่จะดำเนินงานทางการเมืองหลังลาออกมาจากพรรคไทยรักไทย ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการเลือกตั้งให้ตั้งเป็นพรรคเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2549 แต่เดิมมี นายเสนาะ เทียนทอง เป็นหัวหน้าพรรค และมี นายฐานิสร์ เทียนทอง บุตรชายนายเสนาะ เป็นเลขาธิการพรรค ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทั้งคู่ได้ลาออกไปร่วมงานกับพรรคเพื่อไทย จึงทำให้ ดร.คัมภีร์ สุริยาศศิน รองหัวหน้าพรรค ทำหน้าที่รักษาการหัวหน้าพรรคแทน และที่ประชุมใหญ่วิสามัญของพรรค เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2554 มีมติแต่งตั้งให้ ดร.คัมภีร์ สุริยาศศิน เป็นหัวหน้าพรรค และนางพรพิศ โกศลจิตร เป็นเลขาธิการพรรค", "title": "พรรคประชาราช" }, { "docid": "651103#0", "text": "พรรคประชาชน (ชื่อเดิม พรรครักไทย) พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 พรรครักไทยได้เปลี่ยนแปลงชื่อพรรคเป็น พรรคประชาชน และในปี พ.ศ. 2531 ได้เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่นำโดยกลุ่มของนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ย้ายเข้ามาสังกัดพรรคประชาชนและได้ให้คุณหญิงศศิมา ศรีวิกรม์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรคและนางสาวนิตยา ภูมิดิษฐ์ เป็นรักษาการเลขาธิการพรรค ต่อมาอีกเพียง 15 วัน ที่ประชุมใหญ่ได้มีมติเลือกให้นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ เป็นหัวหน้าพรรค และนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นเลขาธิการพรรคแทน และมีแกนนำคนสำคัญ อาทิ นายเดโช สวนานนท์, นายไกรสร ตันติพงศ์, นายเลิศ หงษ์ภักดี, นายอนันต์ ฉายแสง, นายสุรใจ ศิรินุพงศ์, นายถวิล ไพรสณฑ์, นายพีรพันธุ์ พาลุสุข, นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์, นายกริช กงเพชร", "title": "พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)" }, { "docid": "4946#2", "text": "พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เดิมเรียก พรรคคอมมิวนิสต์สยาม เริ่มก่อตั้งโดยโฮจิมินห์ ชาวเวียดนาม ใช้นามแฝงว่า \"สหายซุง\" โดยประชุมครั้งแรกแบบลับๆ ที่ โรงแรมตุ้นกี่ หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2473 โดยแต่งตั้งหลี หรือ โงจิ๊งก๊วก เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และมีตัวแทนสองคนคือ ตัง หรือ เจิ่นวันเจิ๋น และ เหล่าโหงว หรือ อู่จื้อจือ จนก่อตั้งเป็นรูปร่างเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2485 หลังการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพมหานคร โดยมีสมาชิกก่อตั้ง 57 คน พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเป็นพรรคแนวอุดมการณ์ ยึดมั่นในลัทธิมากซ์-เลนินและลัทธิเหมา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อสร้างความเสมอภาคทางชนชั้น ชี้นำสังคมโดยพรรคคอมมิวนิสต์ และต่อสู้เอาชนะระบบทุนนิยมด้วยวิธี \"ป่าล้อมเมือง\"", "title": "พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย" }, { "docid": "35117#1", "text": "พรรคชาติไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดยกลุ่มนักการเมืองซอยราชครู (พหลโยธินซอย 5) ที่เป็นเครือญาติกัน และเคยมีความใกล้ชิดกับพรรคเสรีมนังคศิลาในอดีต นำโดย พล.ต.ประมาณ อดิเรกสาร, พล.ต.ศิริ สิริโยธิน และพล.ต.ชาติชาย ชุณหะวัณ (ยศในขณะนั้น) ซึ่งขณะนั้นเป็นช่วงที่การเมืองไทยอยู่หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ตรงกับช่วงที่มีพรรคการเมืองต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยที่พรรคชาติไทยมีหัวหน้าพรรคเป็นนายกรัฐมนตรี จำนวน 2 คน คือ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ และนายบรรหาร ศิลปอาชา", "title": "พรรคชาติไทย" } ]
2650
พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าไหร่ของประเทศไทย?
[ { "docid": "263349#0", "text": "ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 เป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 และ เป็นศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[1] เจ้าหน้าที่กองอาสารักษาดินแดน (ชั้นยศสูงสุดที่ นายกองใหญ่) อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร[2]", "title": "ทักษิณ ชินวัตร" } ]
[ { "docid": "290328#6", "text": "พลตำรวจโท วิเชียรโชติ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เนื่องเป็นเป็นคนใกล้ชิดของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (เป็นพี่เลี้ยงดูแลพันตำรวจโททักษิณ สมัยเรียนที่สหรัฐอเมริกา)", "title": "วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์" }, { "docid": "206982#16", "text": "เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 กระทรวงการต่างประเทศของไทย มีคำสั่งเรียกเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงพนมเปญกลับประเทศ เพื่อเป็นการลดระดับความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา ตอบโต้การให้สัมภาษณ์กล่าวหากระบวนการยุติธรรมของไทย และเป็นการแทรกแซงกิจการภายในประเทศ จากกรณีที่กัมพูชาแต่งตั้งพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ ซึ่งทักษิณ ถือเป็นนักโทษที่ประเทศไทยต้องการตัวตามหมายจับในคดีทุจริตประมูลซื้อที่ดินรัชดาภิเษก ซึ่งมีโทษจำคุก 2 ปี", "title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59" }, { "docid": "588515#27", "text": "\"เอเชียเซนตินัล\" รายงานอ้างนักธุรกิจคนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับแกนนำ กปปส. ว่า เหตุแห่งการประท้วงนั้นหาใช่เพียงการโค่นรัฐบาล แรงจูงใจแท้จริงคือขับทุกร่องรอยของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ออกจากอำนาจ และออกจากประเทศ และกำจัดอิทธิพลใด ๆ ที่ยังเหลือค้างอยู่ แหล่งข่าวของ \"เอเชียเซนตินัล\" รายงานว่า หลังรัฐประหาร มีแผนขับยิ่งลักษณ์ ชินวัตรออกนอกประเทศเช่นเดียวกับพี่ชาย หรือไม่ก็จับเธอขังคุกหรือให้โทษเธอเพื่อห้ามมิให้เธอเข้าสู่การเมืองอีกครั้งเมื่อ คสช. อนุญาตให้จัดการเลือกตั้งใหม่ ซึ่งอาจเป็นในเดือนตุลาคม 2558", "title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557" }, { "docid": "223012#6", "text": "จึงเห็นได้ว่าการยุบสภาเป็นเกมการเมืองของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ที่ต้องการหนีการตรวจสอบว่ามีการใช้อำนาจโดยมิชอบหรือไม่ และทำให้ประชาชนหลงประเด็น เพราะประเด็นมิใช่การกล่าวหาว่าพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรโกงการเลือกตั้ง ซึ่งอาจจะเป็นเช่นนั้นก็ได้แต่ไม่มีหลักฐาน แต่ประเด็นอยู่ที่ว่าพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ใช้อำนาจแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบหรือไม่ หรือมีการใช้อำนาจโดยมีผลประโยชน์ทับซ้อนหรือไม่ ซึ่งการแก้ปัญหาในประเด็นนี้ต้องใช้กระบวนการตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย แต่พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เห็นอยู่แล้วว่าถ้าจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ตนจะชนะการเลือกตั้ง เพราะประชาชนจำนวนมากเสพติดนโยบายประชานิยมของพันตำรวจโททักษิณ\"", "title": "สมยศ เชื้อไทย" }, { "docid": "288466#4", "text": "หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว จึงหันเหเข้าสู่งานการเมือง โดยรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (คนแรก) ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ซึ่งถูกมองว่าเป็นการรับตำแหน่งในโควตาของนายเสนาะ เทียนทอง นอกจากนั้นยังได้ทำงานในด้านแรงงาน ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในสามรัฐบาล คือ รัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์", "title": "อุไรวรรณ เทียนทอง" }, { "docid": "130900#22", "text": "ในเดือนกันยายน 2557 มีข่าวว่า ชื่อของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ถูกลบออกจากแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่า อภิชนไทยปฏิบัติทั่วไป แต่จะยากขึ้นเพราะมีสื่อสังคมและการควบคุมความคิดของมหาชนไม่ง่ายเหมือนก่อนแล้ว คริส เบเกอร์ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ไทย มองว่าการตรวจพิจารณาประวัติศาสตร์เป็นความหลงผิด และว่าการตัดประวัติศาสตร์อย่างนี้ถอดมาจากคู่มือของระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ วินัย รอดจ่าย ประธานคณะกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง ว่า การละเว้นทักษิณเป็นความผิดปกติ แต่เขาอธิบายไม่ได้ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไรและทำไม เขาว่า บรรณาธิการอาจตัดชื่อออก และชื่อทักษิณจะถูกแทรกในฉบับปรับปรุงครั้งหน้า", "title": "การตรวจพิจารณาในประเทศไทย" }, { "docid": "268699#12", "text": "สกุลชินวัตรดองกับสกุลดามาพงศ์ ผ่านทางการสมรสของ พันตำรวจโท ทักษิณ กับคุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร (ดามาพงศ์) บุตรสาวของ พลตำรวจโท เสมอ ดามาพงศ์ อดีตผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ โดยพลตำรวจโท เสมอ มีบุตรธิดารวม 4 คนคือ\nและยังมีบุตรบุญธรรมอีก 1 คนคือ", "title": "สกุลชินวัตร" }, { "docid": "23960#0", "text": "บ้านจันทร์ส่องหล้า คือ บ้านพักส่วนตัวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของไทย กับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 69 เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ", "title": "บ้านจันทร์ส่องหล้า" }, { "docid": "196355#1", "text": "คดีนี้มีผลสืบเนื่องมาจากการที่คุณหญิงพจมานประมูลซื้อที่ดินริมถนนเทียมร่วมมิตร ย่านถนนรัชดาภิเษก ใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เนื้อที่ประมาณ 33 ไร่ ราคา 772 ล้านบาท จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ในกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง โดยพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ร่วมลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรส", "title": "คดีที่ดินรัชดาฯ" }, { "docid": "440313#2", "text": "ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคณะนี้ มีภาพลักษณ์ต่อสาธารณชนว่าเลือกปฏิบัติ เนื่องจากตุลาการเกือบทั้งคณะ ล้วนเป็นบุคคลที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และคำวินิจฉัยต่างๆที่ออกมา หลายครั้งเป็นคำวินิจฉัยที่ส่งผลเสียอย่างร้ายแรงต่อฝ่ายทักษิณ ไม่ว่าจะเป็น การยุบพรรคไทยรักไทย, ปลดนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี, ยุบพรรคพลังประชาชน, ต้องมีสว.ที่มาจากการแต่งตั้ง ในขณะที่ไม่มีคำวินิจฉัยใดๆ ที่ส่งผลเสียต่อพรรคประชาธิปัตย์", "title": "คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550" }, { "docid": "63261#0", "text": "เยาวเรศ ชินวัตร อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20 อดีตนายกสภาประจำสถาบันราชภัฏอุบลราชธานีเป็นผู้ดูแลพื้นที่ภาคใต้ของพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย และเป็นพี่สาวของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย", "title": "เยาวเรศ ชินวัตร" }, { "docid": "27830#11", "text": "นายพันศักดิ์ได้เดินทางไปพำนัก ที่ประเทศอังกฤษระยะเวลาหนึ่ง โดยมีบริษัทของ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ที่จดทะเบียนในประเทศอังกฤษ ออกหนังสือรับรองการทำงานประกอบการขอวีซ่า ชื่อของนายพันศักดิ์เงียบหายไประยะหนึ่ง ก่อนจะรับตำแหน่งที่ปรึกษาของนายสนธิ และ บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพ์ Asia Times ในเครือ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ และคอลัมน์นิสต์หนังสือพิมพ์ในเครือ เดอะ เมเนเจอร์ มีเดียกรุ๊ป จนกระทั่งได้รับการทาบทามให้นั่งตำแหน่ง ประธานที่ปรึกษาด้านนโยบายของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ระหว่างปี พ.ศ. 2544 จนถึง ปี พ.ศ. 2549 และต้องยุติบทบาทที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีลงอีกครั้งพร้อมกับการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549", "title": "พันศักดิ์ วิญญรัตน์" }, { "docid": "353799#6", "text": "พรมแดนไทยที่ติดต่อกับกัมพูชาบางส่วนยังไม่ได้ปักปัน และเขตแดนทางทะเลกับกัมพูชายังไม่มีการกำหนดชัดเจน วันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ประเทศไทยเรียกเอกอัครราชทูตกลับจากกัมพูชา เป็นการประท้วงที่รัฐบาลกัมพูชาแต่งตั้งพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีที่ถูกรัฐประหาร เป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ แถลงว่านี่เป็น \"มาตรการตอบโต้ทางทูตอย่างแรก\" ต่อการแต่งตั้งนี้ เขายังแถลงอีกว่า กัมพูชากำลังแทรกแซงกิจการภายในและส่งผลให้มีการทบทวนความตกลงความร่วมมือสองฝ่ายอีกครั้ง ฝ่ายรัฐบาลกัมพูชาแถลงว่า รัฐบาลกัมพูชาปฏิเสธคำขอส่งตัวทักษิณข้ามแดนจากไทย ด้วยเหตุผลว่ารัฐบาลกัมพูชามองว่าทักษิณเป็นเหยื่อของการกลั่นแกล้งทางการเมือง หลายเดือนก่อนการตัดสินใจของกัมพูชา กำลังทหารทั้งสองประเทศปะทะกับเหนืออาณาเขตที่ทั้งสองฝ่ายอ้างสิทธิ์ติดกับปราสาทพระวิหาร จนทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองเสื่อมลง วันที่ 5 พฤศจิกายน เวลา 20.30 น. ตามเวลาท้องถิ่นกัมพูชา กัมพูชาได้ประกาศว่า ได้เรียกเอกอัครราชทูตของตนกลับจากประเทศไทยเป็นมาตรการตอบโต้ ซก อาน สมาชิกคณะรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีกัมพูชา แถลงว่า การแต่งตั้งทักษิณเป็นการตัดสินใจภายในของกัมพูชา และการแต่งตั้งนี้ \"สอดคล้องกับการปฏิบัติระหว่างประเทศ\" การเรียกตัวเอกอัครราชทูตกลับประเทศของทั้งสองเป็นการดำเนินการทางทูตที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีมาระหว่างทั้งสองประเทศ", "title": "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย" }, { "docid": "223012#3", "text": "สมัยที่สมยศดำรงตำแหน่งนายกสมาคมนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สมยศได้มีบทบาทชักนำประชาคมธรรมศาสตร์ออกมาเรียกร้องให้พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันเนื่องมาจากกรณีขายหุ้นชินคอร์ปที่สะท้อนให้เห็นว่า พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร มีผลประโยชน์ทับซ้อนในการใช้อำนาจบริหารราชการแผ่นดิน โดยสมยศได้กล่าวปาฐกถาแสดงความเห็นในกรณีดังกล่าวว่า หลังจากที่ฝ่ายต่าง ๆ เตรียมตรวจสอบความไม่โปร่งใสของรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ทำให้พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ใชอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎร และกำหนดการเลือกตั้งใหม่อย่างกระชั้นชิดเกินไปเพื่อเอื้อประโยชน์ให้ตนได้กลับเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินอีกครั้ง เขากล่าวว่า", "title": "สมยศ เชื้อไทย" }, { "docid": "3861#0", "text": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ในประเทศไทย มีขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยสาเหตุมาจาก นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครบวาระ 4 ปี และต้องพ้นจากตำแหน่งตามวาระ โดยมีพรรคไทยรักไทยของนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ที่รวมสมาชิกจากพรรคต่าง ๆ ได้แก่ พรรคความหวังใหม่, พรรคชาติพัฒนา, พรรคกิจสังคม, พรรคเสรีธรรม และพรรคเอกภาพ เข้ากับพรรคไทยรักไทย ซึ่งได้หมายเลข 9 ใช้คำขวัญหาเสียงว่า \"4 ปีซ่อม 4 ปีสร้าง\" และได้รับการเลือกตั้งเกินครึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎร คือ 377 ที่นั่ง จากจำนวนทั้งหมด 500 ที่นั่ง แม้ก่อนหน้านี้จะพรรคไทยรักไทยจะได้รับเสียงเกินครึ่งของสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว แต่ก็ถือว่าเป็นรัฐบาลผสมหลายพรรค", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548" }, { "docid": "187070#0", "text": "ดร.ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในช่วงรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตที่ ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี", "title": "ปานปรีย์ พหิทธานุกร" }, { "docid": "203053#6", "text": "มีหลายฝ่ายเรียกร้องให้ประเทศไทยให้สัตยาบันธรรมนูญกรุงโรม โดยในเดือนพฤศจิกายน 2549 ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อดีตสมาชิกวุฒิสภา ได้เรียกร้องให้รัฐบาลไทยให้สัตยาบันสำหรับธรรมนูญกรุงโรมเสียที เขาให้เหตุผลว่า หากประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อาจถูกสอบสวนโดยศาลอาญาระหว่างประเทศ สำหรับความผิดต่อมนุษยชาติ ในกรณีที่สั่งให้กระทำวิสามัญฆาตกรรมผู้ต้องสงสัยในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวนสองพันห้าร้อยคนโดยมิได้สอบสวนเสียก่อนในช่วงปี 2546 เพื่อมิให้สืบสาวไปถึงผู้บงการที่อยู่เบื้องหลังซึ่งอาจเป็นบุคคลสำคัญในแวดวงสังคม ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ \"การฆ่าตัดตอน\" ได้", "title": "ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ" }, { "docid": "588515#1", "text": "เป้าหมายหลักของการประท้วง คือ การขจัดอิทธิพลของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ในการเมืองไทย และการตั้ง \"สภาประชาชน\" ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อดูแลการปฏิรูประบบการเมือง ผู้ประท้วงมองว่า พันตำรวจโททักษิณทุจริตอย่างมากและทำให้ประชาธิปไตยของประเทศไทยเสียหาย แม้เขาได้รับการสนับสนุนอย่างเข้มแข็งในหลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือ เนื่องจากโครงการสังคมปฏิรูปและนโยบายเศรษฐกิจของเขา พรรคการเมืองซึ่งเป็นพันธมิตรของพันตำรวจโททักษิณชนะการเลือกตั้งทุกครั้งตั้งแต่ปี 2544 นักวิเคราะห์และนักวิจารณ์ยังมองว่าประเด็นอื่น เช่น การสืบราชสันตติวงศ์ ความแตกแยกเมือง-ชนบทหรือเหนือ-ใต้ ความเหลื่อมล้ำทางสังคม ระบบข้าราชการประจำที่รวมศูนย์เกินไป อิทธิพลของพระมหากษัตริย์และทหารในการเมือง และสถานภาพชนชั้นกลาง เป็นปัจจัยเบื้องหลังวิกฤตการณ์นี้", "title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557" }, { "docid": "85635#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2545 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐบาลของ[[ทักษิณ ชินวัตร]] (1) และ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นรองนายกรัฐมนตรี ต่อจากนั้นไม่นานก้ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (2)", "title": "สุวัจน์ ลิปตพัลลภ" }, { "docid": "636609#32", "text": "เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้อำนาจตนเองถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง นับเป็นอีกก้าวหนึ่งเพื่อถอนรากถอนโคนอิทธิพลของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557" }, { "docid": "8188#1", "text": "อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง", "title": "วิษณุ เครืองาม" }, { "docid": "65583#2", "text": "ชายคนหนึ่งถูกจับกุมในกรุงเทพมหานครเนื่องจากพกพาอุปกรณ์ระเบิด และตำรวจจังหวัดเชียงใหม่อ้างว่าภารโรงของมัสยิดที่เกิดระเบิดขึ้นนั้นยอมรับสารภาพว่าเป็นผู้ทำระเบิดขึ้น ไม่มีผู้ใดอ้างความรับผิดชอบต่อเหตุระเบิดดังกล่าว นายกรัฐมนตรี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กล่าวประณาม \"พวกอำนาจเก่า\" ว่าเป็นกลุ่มที่รับผิดชอบกับเหตุระเบิดที่เกิดขึ้น โดยหมายความถึงรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และกลุ่มผู้ที่สูญเสียอำนาจทางการเมืองจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549[3] ทั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับเหตุระเบิด[4] ในภายหลัง พล.อ.สุรยุทธ์ได้กลับคำและยอมรับการกล่าวถึงว่าพันธมิตรของทักษิณเป็นผู้รับผิดชอบต่อเหตุการณ์ดังกล่าวนั้น \"เป็นเพียงการวิเคราะห์ด้านข่าวกรอง\" และไม่มีหลักฐานหรือข้อมูลชัดเจนสนับสนุน[5]", "title": "เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549" }, { "docid": "3830#6", "text": "ประเทศไทยมีกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ฉบับปัจจุบันคือ \"พ.ร.ก. ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548\" ซึ่งรัฐบาลอันมีพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศใช้ โดยประกาศใน รก. เล่ม 122 ตอนที่ 58 ก วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และมีผลใช้บังคับในวันถัดมา", "title": "สถานการณ์ฉุกเฉิน" }, { "docid": "122805#1", "text": "เที่ยวบินนี้มีบุคคลสำคัญหลายคนเดินทางไปด้วย รวมทั้งพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น และพานทองแท้ ชินวัตร บุตร ซึ่งจะเดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่ หลังเกิดเหตุ พันตำรวจโท ทักษิณ แถลงว่า การระเบิดนี้เป็นการก่อวินาศกรรมเพื่อหวังลอบสังหารตนเอง โดยฝีมือของผู้เสียผลประโยชน์ชาวต่างชาติ (ว้าแดง) เนื่องจากนโยบายปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาล หลังจากที่เจ้าหน้าที่พิสูจน์หลักฐานของไทยตรวจพบหลักฐานที่เชื่อว่าอาจเป็นร่องรอยของระเบิดซีโฟร์หรือเซมเท็กซ์ (Semtex) ", "title": "การบินไทย เที่ยวบินที่ 114" }, { "docid": "296109#0", "text": "ศันสนีย์ นาคพงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคพลังธรรม, อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ซึ่งมีชื่อเสียงคู่กับจักรพันธุ์ ยมจินดา และเอกชัย นพจินดา", "title": "ศันสนีย์ นาคพงศ์" }, { "docid": "5262#66", "text": "ทักษิณ ชินวัตร – นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของไทย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร – นายกรัฐมนตรีคนที่ 28 ของไทย นายวรการบัญชา – ประธานรัฐสภาคนที่ 11 หะริน หงสกุล – ประธานรัฐสภาคนที่ 18 สุชาติ เชาว์วิศิษฐ –รองนายกรัฐมนตรี (ครม. 54) ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ครม. 50, 53) บุญสม มาร์ติน – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ครม. 40-41) ประยูร ภมรมนตรี – กรรมการราษฎรและรัฐมนตรี สุวิชช พันธเศรษฐ – กรรมการราษฎรและรัฐมนตรี พิสุทธิ์ นิมมานเหมินท์ – ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 8 สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ – อธิบดีกรมตำรวจคนที่ 27", "title": "จังหวัดเชียงใหม่" }, { "docid": "444670#17", "text": "ในเดือนกันยายน 2557 มีข่าวว่า ชื่อของอดีตนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ถูกลบออกจากแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ วินัย รอดจ่าย เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง แบบเรียนประวัติศาสตร์ใหม่ไม่กล่าวถึงรัฐบาลทักษิณและยิ่งลักษณ์ เพียงแต่ระบุว่ามีรัฐบาลหนึ่งที่ \"ได้ความนิยมจากประชาชนผ่านงบประมาณมหาศาล\" แต่กล่าวถึงการคัดค้านการปกครองของทักษิณ โดยอธิบายการประท้วงซึ่งเกิดก่อนการโค่นอำนาจเขาว่าเป็น \"ขบวนการประชาชนต่ออำนาจเผด็จการ การทุจริตและการยักยอก\"", "title": "การศึกษาในประเทศไทย" }, { "docid": "296109#2", "text": "ศันสนีย์ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2538-2539 สังกัดพรรคพลังธรรม ต่อมาดำรงตำแหน่งรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร สองสมัย แต่เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคไทยรักไทย โดยเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรค 111 คน", "title": "ศันสนีย์ นาคพงศ์" }, { "docid": "1817#5", "text": "เมื่อปี พ.ศ. 2549 วีระได้ยื่นเรื่องต่อคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) กรณีพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กระทำความผิดตามกฎหมาย ปปช. มาตรา 100 ซึ่งต่อมาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิพากษาเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 ให้จำคุกพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นเวลา 2 ปี", "title": "วีระ สมความคิด" } ]
2703
ไอรอนแมนเป็นซูเปอร์บอยของดีซีใช่หรือไม่?
[ { "docid": "175734#0", "text": "ไอรอนแมน (English: Iron Man อ่านในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันว่า ไอเอิร์นแมน) เป็นตัวละครส่วนหนึ่งของมาร์เวลคอมิกส์ เป็นที่รู้จักกันดีในหน้าของนักรบใส่เกราะซึ่งมักจะใส่เกราะ แดง-เหลือง เป็นชุดประจำตัวอยู่เสมอ เขาเป็นคนที่ร่ำรวยมาก ในคฤหาสน์มีที่เก็บชุดเกราะมากมายหลายรูปแบบ ซึ่งใช้ในงานที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะออกรบ ไปต่อสู้กับศัตรู หรือไปทำสงคราม ไอรอนแมนปรากฏตัวใน อเวนเจอร์ ซึ่งเป็นที่รวมกลุ่มคนที่เป็นยอดมนุษย์", "title": "ไอรอนแมน" } ]
[ { "docid": "581589#16", "text": "ซูเปอร์บอยเวอร์ชันนี้มักจะปรากฏตัวในจักรวาลพิภพที่ 1 (เอิร์ท-วัน) ของดีซี เช่น ปรากฏตัวในนิตยสารเดอะลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ฮีโร่ ฉบับที่ 38 กล่าวถึงสาเหตุที่เดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ สร้างจักรวาลใหม่ขึ้นมา เนื่องจาก เดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ ต้องการขโมยพลังของพวกเหล่าลีเจียนเพื่อใช้ข้ามเวลามาสู่ศตวรรษที 20 ในจักรวาลนั้นเดอะไทม์ แทร๊ปเปอร์ได้ร่วมมือกับซูเปอร์บอยทำให้เกิคภัยพิบัติครั้งใหญ่ต่อจักรวาล", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "72753#13", "text": "ในปี ค.ศ. 1945, ซูเปอร์บอย ได้ปรากฏตัวครั้งแรกในนิตยสาร มอร์ ฟัน คอมิคส์ ฉบับที่ 101 หลังจากนั้นในปี ค.ศ.1946 ได้ย้ายมาตีพิมพ์ในนิตยสาร แอดเวนเจอร์ คอมิคส์ โดยใช้ชื่อเรื่องว่า ซูเปอร์บอยและได้ทำการรวมเล่มในปี ค.ศ. 1949 จนกระทั่งในช่วงปี ค.ศ.1950 ได้มีการเปิดตัวผลงานชุดใหม่ของซูเปอร์แมนเรื่องซูเปอร์แมน พอล จิมมี่ โอลเซ่น (ในปี ค.ศ. 1954) และ ซูเปอร์แมน เกิร์ลเฟรนด์ ลูอิส เลน (ในปี ค.ศ. 1958) ต่อมาในปี ค.ศ.1974 ทั้ง2เรื่องได้ถูกรวมเข้าไปอยู่ในชุดซีรีส์ของ ซูเปอร์แมน แฟมิลี่ อย่างไรก็ตามซีรีส์ชุดนี้ถูกทำการยกเลิกไปในปี ค.ศ.1982 ส่วนนิตยสาร ดีซีคอมิกส์ พรีเซนท์ ที่ทำการตีพิมพ์ในปี ค.ศ.1978 ถึงปี ค.ศ.1986 จะทำการเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการรวมตัวของซูเปอร์แมนและตัวละครอื่นๆใน ดีซี ยูนิเวอร์ส.", "title": "ซูเปอร์แมน" }, { "docid": "468985#0", "text": "มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 3 () เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรอเมริกัน ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2556 ที่สร้างจากหนังสือการ์ตูนของมาร์เวลเรื่อง \"ไอรอนแมน\" สร้างโดยมาร์เวลสตูดิโอและพาราเมาต์พิกเจอส์ เป็นภาคภาคต่อของภาพยนตร์ \"ไอรอนแมน\" (พ.ศ. 2551) และ \"ไอรอนแมน 2\" (พ.ศ. 2553) ภาคนี้กำกับโดยเชน แบล็ค นำแสดงโดยโรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ ในบทโทนี สตาร์ก และยังเป็นทีรู้จักในนาม ไอรอนแมน มหาเศรษฐีใจบุญพ่อค้าอาวุธแห่งบริษัท สตาร์ก อินดัสตรี้ คราวนี้เขาได้ถูกศัตรูทำลายโลกส่วนตัวของเขาเขาจึงออกตามหาคนที่ต้องรับผิดชอบกับเรื่องที่เกิดขึ้น ภาพยนตร์ฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556", "title": "มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 3" }, { "docid": "581589#2", "text": "จนกระทั่งในปีค.ศ. 1986 ทางดีซี คอมิคส์ได้มีการปรับเปลี่ยนบทในผลงานหลายๆชิ้นของทางสำนักพิมพ์ รวมถึงเรื่องราวของซูเปอร์แมนที่ถูกปูบทใหม่ให้กับตัวละครซูเปอร์บอยที่จะไม่ได้สวมใส่เครื่องแบบจนกว่าจะเติบโตและกลายมาเป็นซูเปอร์แมน ส่งผลให้เรื่องราวของซูเปอร์บอยถูกตัดออกจากเรื่องราวของซูเปอร์แมนเกือบทั้งหมด ยกเว้นรายละเอียดบางอย่างที่ยังคงอยู่เช่น เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างคลาร์กและลาน่า แลงค์ จนกระทั่ง 2-3 ปีถัดมาจึงมีการเพิ่มเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในซูเปอร์บอยเช่น การได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มซูเปอร์ฮีโร่แห่งอนาคต ซึ่งถูกนำกลับมากล่าวถึงอีกครั้งในเรื่องราวภูมิหลังของซูเปอร์แมน ตัวละครยังถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์ทางโทรทัศน์โดยใช้ชื่อว่า ซูเปอร์บอย (ค.ศ.1988-ค.ศ.1992) นอกจากนี้ซูเปอร์บอยยังได้ปรากฏตัวใน สมอลล์วิลล์ (ค.ศ.2001–ค.ศ.2011) ซีรีส์ทางโทรทัศน์อีกเรื่องที่ประสบความสำเร็จอย่างล้นหลาม โดยอ้างอิงเรื่องราวจากนิตยสาร’’ซูเปอร์บอย’’ กล่าวถึงคลาร์ก เคนท์ในวัยรุ่นที่ต้องคอยช่วยเหลือผู้คนโดยต้องเก็บซ่อนความสามารถของตัวเองเอาไว้ ซีรีส์มีเนื้อเรื่องที่เข้มข้นและสามารถถ่ายทอดชีวิตตัวละครในวัยรุ่นของคลาร์ก เคนท์ ออกมาได้อย่างดีเยี่ยม", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#3", "text": "ในปีค.ศ.1993 ดีซีได้ทำการเปิดตัวซูเปอร์บอยคนใหม่ซึ่งเป็นวัยรุ่นที่ถูกโคลน จากของซูเปอร์แมนและเล็กซ์ ลูเธอร์ มีชื่อตามภาษาคริปตันว่า คอน-เอล และใช้ชีวิตอยู่บนโลกในฐานะ คอนเนอร์ เคนท์ ลูกพี่ลูกน้องของซูเปอร์แมน ซูเปอร์บอยคนใหม่ก็มีเรื่องราวเป็นของตัวเองใน<i data-parsoid='{\"dsr\":[4339,4360,2,2]}'>นิตยสารซูเปอร์บอย(ชุดที่3) ทำการตีพิมพ์ตั้งแต่ปีค.ศ.1994 ถึง ค.ศ.2002 รวมถึงมีบทบาทในกลุ่มซูเปอร์ฮีโร่วัยรุ่น นอกจากนี้คอน-เอลยังได้เข้าไปมีบทบาทในนิตยสารแอดเวนเจอร์ คอมิคส์ ที่ทางดีซีได้ปรับปรุงเนื้อเรื่องใหม่ทั้งหมดและมีเรื่องราวเป็นของตัวเองที่ทำการตีพิมพ์ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ.2010 จนถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ.2011 ส่วนเรื่องราวชุดใหม่ของคอน-เอล ทางดีซีได้ทำการเริ่มเรื่องราวใหม่ทั้งหมดและจัดพิมพ์เป็นผลงานชุดใหม่ของซูเปอร์บอยควบคู่ไปกับเรื่องราวอื่นๆในจักรวาล นิว52 ซึ่งเริ่มจัดจำหน่ายในเดือนกันยายน ค.ศ.2011 ซูเปอร์บอยคนใหม่ได้เริ่มมีบทบาทในเรื่อง สมอลล์วิลล์ ที่จัดจำหน่ายในวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม ค.ศ.2011 ในตอนที่มีชื่อว่า “ทายาท” ซึ่งกล่าวถึง(ในนิตยสาร) คอนเนอร์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาจากการโคลนนิ่งดีเอ็นเอระหว่าง เล็กซ์ และ คลาร์ก และมีพลังคล้ายคลึงกับซูเปอร์แมน นอกจากนี้ซูเปอร์บอยยังได้ไปปรากฏตัวในผลงานการ์ตูนทางโทรทัศน์ที่มีชื่อว่า ยัง จัสทิส ซึ่งออกอากาศตั้งแต่ปีค.ศ.2011-2013", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "175734#4", "text": "หลังจากเล่มที่ 116 นักเขียนเดวิด มิดเชลลินี่ นักลงหมึกบ็อบ เลย์ตัน นักเขียนจอห์น โรมิตาร์ จูเนียร์ เข้ามารับผิดชอบการ์ตูนเรื่องนี้แทน ทีมงานนี้สร้างเรื่องราวสำคัญที่ไอรอนแมนต้องเผชิญมากมาย ทั้งปัญหาเรื่องแอลกอฮอล์ (Demon in Bottle) และสร้างตัวละครที่จะมีบทบาทสำคัญในอนาคตมากมายเช่นเบธานี่ เคบ เลขาคนสำคัญของโทนี่ เจมส์ โรดส์ที่ภายหลังจะกลายเป็นซูเปอร์ฮีโรนาม\"วอร์แมชชีน\" การสร้างคู่แข่งทางธุริกจให้โทนี่จัสติน แฮมเมอร์ รวมทั้งการที่นำไอรอนแมนไปปะทะกับด็อกเตอร์ดูม และออกแบบชุดเกราะเฉพาะกิจหลายรูปแบบให้ไอรอนแมนมากมาย ทีมงานนี้ทำงานกับชุด The Invincible Iron Man จนถึงเล่มที่ 154 (มกราคม 1982)", "title": "ไอรอนแมน" }, { "docid": "175734#1", "text": "นอกจากในการ์ตูนแล้ว ไอรอนแมนยังเป็นหนึ่งในซูเปอร์ฮีโรที่ออกเฉิดฉายบนจอเงินในภาพยนตร์หลายเรื่อง ด้วยฝีมือการแสดงของรอเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ ทำให้ตัวละคร<b data-parsoid='{\"dsr\":[2133,2147,3,3]}'>ไอรอนแมน</b>มีชีวิตขึ้นบอจอภาพยนตร์ได้ ไอรอนแมนปรากฏตัวในภาพยนตร์ของตัวเอง (มหาประลัยคนเกราะเหล็ก ,มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2 ,มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 3) รวมถึงภาพยนตร์ที่รวมพลซูเปอร์ฮีโรหลายคนเอาไว้ (ดิ อเวนเจอร์ส, ดิ อเวนเจอร์ส: มหาศึกอัลตรอนถล่มโลก, อเวนเจอร์ส: มหาสงครามล้างจักรวาล) และอื่นๆ (กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก, สไปเดอร์แมน: โฮมคัมมิ่ง)", "title": "ไอรอนแมน" }, { "docid": "316919#0", "text": "มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2 () เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรอเมริกัน ในปี 2553 ที่สร้างจากตัวละครการ์ตูนของมาร์เวลเรื่อง ไอรอนแมน สร้างโดยมาร์เวลสตูดิโอและพาราเมาต์พิกเจอส์ เป็นภาคต่อของภาพยนตร์ที่ออกฉายปี พ.ศ. 2551 \"ไอรอนแมน\", กำกับโดยจอน แฟฟโรว์ นำแสดงโดยโรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ ในบทโทนี สตาร์ก เศรษฐีพันล้าน และยังเป็นทีรู้จักในนามไอรอนแมน ภาพยนตร์ออกฉายที่ฝรั่งเศสเมื่อวันที 28 เมษายน และออกฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 และมีภาคต่อ \"ไอรอนแมน 3\" ออกฉายปี พ.ศ. 2556", "title": "มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2" }, { "docid": "581589#7", "text": "เมื่อ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ กลายเป็นที่นิยม ส่งผลให้เนื้อเรื่องของ ลีเจียน ถูกแยกออกมาจากซูเปอร์บอยและมีชื่อเรื่องเป็นของตัวเอง โดยเริ่มตีพิมพ์ในนิตยสาร แอดเวนเจอร์ คอมิคส์ ฉบับที่ 300(กันยายน ค.ศ.1962) และหลังจากนั้นไม่นานลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ก็กลายมาเป็นผลงานหลักของนิตยสารแทนที่ซูเปอร์บอย ส่งผลให้เนื้อเรื่องของซูเปอร์บอยต้องถูกตัดจบลงในฉบับที่ 315(ธันวาคม ค.ศ.1963) อย่างไรก็ตามซูเปอร์บอยก็ไม่ได้หายไปจากนิตยสาร โดยยังคงมีบทบาทอยู่ในเรื่องลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ ในฐานะสมาชิกของกลุ่ม จนถึงตอนสุดท้ายของลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ ที่ตีพิมพ์ในนิตยสาร แอดเวนเจอร์ คอมิคส์ ฉบับที่ 380(พฤษภาคม ค.ศ.1969)", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "72753#24", "text": "แต่เดิมนั้นผลงานของซูเปอร์แมนนั้นเป็นของนิตยสาร แอคชั่น คอมิคส์ โดยชีเกลและชูสเตอร์ได้ตกลงทำสัญญาการจัดพิมพ์เรื่องราว ตัวละคร และสิ่งของต่างภายใต้แบรนด์ของซูเปอร์แมน โดยทั้งคู่ได้ค่าทำสัญญาเป็นเงิน $130 [53][54] หนังสือพิมพ์ เดอะ แซทเทอร์เดย์ อีฟนิ่ง โพสท์ ได้ทำการรายงานในปี ค.ศ.1940 เอาไว้ว่าทั้งคู่ได้ค่าตอบแทนประมาณ $75,000 ต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นเงินจำนวนที่น้อยมากถ้าเทียบกับรายได้ของนิตยสารที่มีจำนวนผู้อ่านเป็นล้านคนที่ติดตามอ่านเรื่องซูเปอร์แมน [55] ชีเกลและชูสเตอร์จึงได้ทำการต่อรองเรื่องรายได้ในสัญญาฉบับใหม่แต่ก็ยังไม่มีความคืบหน้าจนในปี ค.ศ. 1947 ชีเกลและชูสเตอร์ ได้ทำการยื่นฟ้องร้องเพื่อที่จะทำให้สัญญาที่พวกเขาเคยทำไว้ในปี ค.ศ.1938 กลายเป็นโมฆะ และทำสัญญาลิขสิทธิ์ฉบับใหม่ให้กับผลงานเรื่องซูเปอร์แมน นอกจากนั้นทั้งคู่ยังยื่นฟ้องต่อสำนักพิมพ์ในปีเดียวกันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของซูเปอร์บอย ซึ่งพวกเขาให้เหตุผลว่าเป็นตัวละครที่พวกเขาสร้างแยกออกมาซึ่งถูกทางสำนักพิมพ์นำไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาต หลังจากเหตุการณ์นั้นทั้งคู่ถูกไล่ออกจากสำนักพิมพ์ทันทีแต่ทางสำนักพิมพ์ก็ยังเก็บผลงานต่างๆของทั้งคู่เอาไว้ ในที่สุดการต่อสู้ทางกฎหมายก็จบลงในปี ค.ศ.1948 เมื่อศาลแห่งนิวยอร์กได้ตัดสินให้ยึดถือสัญญาที่เคยทำไว้ในปี ค.ศ.1938 อย่างไรก็ตามการพิจารณาคดีจากผู้พิพากษา เจ แอดดิสัน ยัง ทั้งคู่ก็ยังได้รับข่าวดีอยู่บ้างในลิขสิทธิ์การครอบครองซูเปอร์บอย หลังจาก 1เดือนในการตัดสินคดีการครอบครองลิขสิทธิ์ในซูเปอร์บอยทั้งสองฝ่ายก็หาข้อยุติได้ โดยสำนักพิมพ์จะทำการจ่ายเงินให้กับชีเกลและชูสเตอร์เป็นจำนวนราว $94,000 สำหรับค่าลิขสิทธิ์ที่ถือครองผลงานเรื่อง ซูเปอร์บอย ส่วนสถานะของทั้งคู่ในสำนักพิมพ์ยังคงเป็นที่ยอมรับในฐานะนักเขียนผู้สร้างผลงานเรื่องซูเปอร์แมน แต่ทางดีซีนั้นก็ปฏิเสธที่จะรับทั้งคู่กลับเข้าไปทำงานอีกครั้ง [56] ในปี ค.ศ.1973 ชีเกลและชูสเตอร์ ต้องมีเรื่องในการฟ้องร้องลิขสิทธิ์เกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของซูเปอร์แมน ซึ่งครั้งนี้เป็นผลมาจาก กฎหมายลิขสิทธิ์ที่ชื่อว่า กฎหมายว่าด้วยการครอบครองลิขสิทธิ์ ฉบับปีค.ศ.1909 กฎหมายที่ทำให้มีสิทธิ์ในการครอบครองผลงานได้ 28 ปี แต่สามารถทำการขยายสัญญาได้ในกรณีพิเศษออกไปอีก 28 ปี ซึ่งข้อโต้แย้งของทั้งคู่นั้นต้องการให้ดีซีถือลิขสิทธิ์นี้ได้แค่ 28 ปีเท่านั้น ซึ่งครั้งนี้ทั้งคู่แพ้คดีทั้ง 2 ศาลไม่ว่าจะเป็น ศาลแขวง ได้พิจารณาคดีเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ.1973 และ ศาลอุทธรณ์ ได้พิจารณาคดีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1974[57][58]", "title": "ซูเปอร์แมน" }, { "docid": "581589#6", "text": "ในช่วงต้น ค.ศ.1946 ซูเปอร์บอยถูกย้ายให้ไปตีพิมพ์ในนิตยสารแอดเวนเจอร์ คอมิคส์เริ่มตั้งแต่ฉบับที่ 103 (เมษายน ค.ศ.1946) ในฐานะเรื่องหลักของนิตยสารโดยมีการตีพิมพ์เรื่องราวของซูเปอร์บอยมากกว่า 200 ตอน ซึ่งเรื่องราวจะกล่าวถึงซูเปอร์บอยซึ่งก็คือซูเปอร์แมนในวัยรุ่น ในตอนจบของเรื่อง ซูเปอร์บอยได้สวมใส่เครื่องแบบของซูเปอร์แมน ส่วนคลาร์ก เคนท์ซึ่งเป็นตัวตนบนโลกของซูเปอร์บอยก็จะสวมใส่แว่นตาเพื่อเป็นการอำพรางตัวจากผู้คนในสังคม ซูเปอร์บอยคือซูเปอร์ฮีโร่แห่งสมอลล์วิลล์ ซึ่งเป็นบ้านเกิดของคลาร์ก เคนท์ ถูกเลี้ยงดูและเติบโตขึ้นมาภายใต้คำสั่งสอนของพ่อแม่บุญธรรมธรรมโจนาธานและมาร์ธา เคนท์ เรื่องราวของซูเปอร์บอยในนิตยสารยังกล่าวถึงเนื้อเรื่องที่ซูเปอร์บอยพบกับซูเปอร์ด็อก คริปโต;[3] สาเหตุที่ทำไมเล็กซ์ ลูเธอร์, เพื่อนรักนักวิทยาศาสตร์ในวัยเยาว์ของเขากลับกลายมาเป็นศัตรูตัวกาจ[4] , รวมถึงสาเหตุที่ซูเปอร์บอยเข้าร่วมกลุ่มซูเปอร์ฮีโร่แห่งศตวรรษที่ 30 ที่มีชื่อว่า ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่.[5]", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#11", "text": "หลังจากที่ “เดอะ นิว แอดเวนเจอร์ อ๊อฟ ซูเปอร์บอย” จบลงได้ไม่นาน ได้มีการตีพิมพ์ผลงานเรื่องสั้น 4 เล่มจบ ที่มีชื่อว่า “ซูเปอร์แมน: เดอะ ซีเคร็ท เยียร์” (ค.ศ.1985) ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวของซูเปอร์บอยที่เปลี่ยนแปลงมาเป็นซูเปอร์แมนในระหว่างช่วงที่เรียนมหาวิทยาลัย", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "963727#0", "text": "ซูเปอร์บอมเบอร์แมน อาร์ () เป็นเกมแอ็กชัน-เขาวงกตทีพัฒนาโดยโคนามิและเฮซาไดร์ฟ เกมนี้ได้เปิดตัวทั่วโลกสำหรับนินเท็นโดสวิตช์ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2017 ในฐานะส่วนหนึ่งของซีรีส์\"บอมเบอร์แมน\" และต่อมาสำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เพลย์สเตชัน 4 และเอกซ์บอกซ์วัน ที่ได้รับการปล่อยตัวในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 นอกจากนี้ยังเป็นภาคหลักแรกในรอบกว่าทศวรรษ และเป็นรายแรกที่ได้รับการพัฒนาหลังจากการยุบตัวของบริษัทฮัดสันซอฟต์ในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2012 เกมนี้ได้รับการตอบรับแบบผสมจากนักวิจารณ์ แม้ว่าจะมีการวิจารณ์หลายเรื่องก่อนเปิดตัว แต่ภายในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2018 ก็สามารถทำยอดจำหน่ายเกมได้กว่าล้านชุดทั่วโลก", "title": "ซูเปอร์บอมเบอร์แมน อาร์" }, { "docid": "768530#0", "text": "จักรวาลขยายดีซี () (DCEU) คือแฟรนไชส์สื่อบันเทิงแนวซูเปอร์ฮีโรประเภทจักรวาลร่วมสัญชาติอเมริกัน สร้างโดยบริษัทยักษ์ใหญ่อย่างวอร์เนอร์บราเธอร์ส ได้ตัวละครมาจากตัวละครของสำนักพิมพ์ดีซีคอมิกส์ ซึ่งภาพยนตร์เปิดตัวคือ \"บุรุษเหล็กซูเปอร์แมน\" ออกฉายในปี 2013 ตัวละครเอกอย่างซูเปอร์แมน รับบทโดยเฮนรี แควิลล์ และต่อด้วยเรื่อง \"แบทแมน ปะทะ ซูเปอร์แมน แสงอรุณแห่งยุติธรรม\" ซึ่งได้เบน แอฟเฟล็กมารับบทบรูซ เวยน์ ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาพยนตร์ไตรภาค \"บีกินส์\", \"ดาร์ค ไนท์\" และ \"ดาร์ค ไนท์ไรส์\" ที่รับบทโดยคริสเตียน เบล และได้มีการวางแผนสร้างภาพยนตร์ของตัวละครสำคัญอื่น ๆ ของดีซี อาทิเช่น ภาพยนตร์ของวันเดอร์วูแมน, แฟลช, อควาแมน, ชาแซม, ไซบอร์กหรือภาพยนตร์การรวมตัวของเหล่าซูเปอร์ฮีโร่อย่าง \"จัสติสลีก\" และทีมวายร้ายที่คิดกลับมาทำดีเพื่อหลบหนีคดีอย่างเรื่อง \"ทีมพลีชีพ มหาวายร้าย\"", "title": "จักรวาลขยายดีซี" }, { "docid": "581589#13", "text": "หลังจากที่ จอห์น ไบรอัน ทำการปรับปรุงตัวละครซูเปอร์แมน ซูเปอร์บอยเวอร์ชันใหม่ก็ได้ปรากฏสู่สายตานักอ่านในเนื้อเรื่องของ เดอะ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์-ฮีโร่ ซึ่งเป็นตัวตนที่แยกออกมาจากซูเปอร์บอยคาล-เอล อาจกล่าวได้ว่าซูเปอร์บอยคนนี้ถูกสร้างขึ้นโดย เดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ หนึ่งในศัตรูตัวฉกาจที่สุดของกลุ่มลีเจียน เมื่อ เดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ ค้นพบว่าสุดยอดซูเปอร์ฮีโร่วัยเยาว์ที่เขาทุ่มแรงกายสร้างขึ้นมาจะไม่ทรงพลังตราบใดที่ยังไม่โตเป็นผู้ใหญ่ ด้วยเหตุนี้เอง เดอะ แทร็ปเปอร์ จึงเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ในโลกของเขาและซูเปอร์บอยคนใหม่ไปสู่ประวัติศาสตร์ของกลุ่มลีเจียน ด้วยการนำผลึกเงินแห่งเวลาจากจักรวาลยุคบุกเบิกและใช้มันหลอมรวมเข้ากับ “พ๊อคเก็ต ยูนิเวิร์ส” ซึ่งมีเพียงโลกและคริปตันเท่านั้นที่เป็นดาวเคราะห์ในจักรวาล ดังนั้นไม่ว่าเมื่อใดก็ตามที่เหล่าสมาชิกกลุ่มลีเจียนกลับมายังเวลาปัจจุบัน พวกเขาจะโดนส่งให้ไปสู่ศตวรรษที่ 20 ของพ๊อคเก็ต ยูนิเวิร์ส ซึ่งไม่ใช่จักรวาลหลักของดีซี ชีวิตของซูเปอร์บอยตั้งแต่ถือกำเนิดจนกระทั่งถึงช่วงเนื้อเรื่อง คริซิส ออน อินฟิไนท์ เอิร์ธ จะมีความคล้ายคลึงกับซูเปอร์บอยตัวต้นแบบ เมื่อสงครามจักรวาลได้อุบัติขึ้น ซูเปอร์บอยใช้พลังทั้งหมดที่มีเพื่อปกป้องโลกของเขาแต่ก็ไม่อาจทำอะไรเดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ได้ จนกระทั่งคาล-เอลได้ยื่นมือเข้าช่วยทำให้ซูเปอร์บอยสามารถเข้ายึดกลุ่มลีเจียนได้แม้ว่าซูเปอร์บอยจะไม่เต็มใจนักก็ตามหลังจากการเหตุการณ์ต่อสู้ในคริซิสซูเปอร์แมนซึ่งในช่วงนั้นมีพลังที่ไร้ขีดจำกัดหลังจากที่ได้พลังของซูเปอร์บอยมาครอบครองจากช่วงก่อนหน้าสงครามคริซิส หลังจากการเหตุการณ์ต่อสู้ในคริซิสซูเปอร์แมนซึ่งในช่วงนั้นมีพลังที่ไร้ขีดจำกัดเพราะว่าได้พลังของซูเปอร์บอยมาครอบครองจากเหตุการณ์ช่วงก่อนหน้าสงครามคริซิส ซูเปอร์แมนต้องการที่จะควบคุมตัวซูเปอร์บอยเอาไว้เนื่องจากพลังอันมหาศาลของซูเปอร์บอย ซูเปอร์บอยตระหนักดีว่าตัวเขาไม่สามารถที่จะช่วยเพื่อนๆของเขาและไม่อาจนำพากลุ่มเอาชนะเดอะ แทร็ปเปอร์ เมื่อเดอะ แทร็ปเปอร์ ได้ครอบครองศาสตราวุธที่สามารถทำลายล้างโลกได้และใช้มันเข้าโจมตีโลก แม้ว่าซูเปอร์บอยจะสามารถรักษาโลกเอาไว้ได้แต่ก็ต้องแลกมาด้วยชีวิตของตัวเอง ร่างที่ไร้วิญญาณของซูเปอร์บอยถูกกลุ่มลีเจียนนำกลับมาฝังในยุคปัจจุบันของพวกเขา [14]ต่อมากองบรรณาธิการได้มีคำสั่งให้ย้ายเรื่องราวของซูเปอร์บอยออกจากเนื้อเรื่องหลักของลีเจียน[15] ไปยังเนื้อเรื่องของเดอะ ไทม์ แทร็ปเปอร์ ที่เข้ามาลบช่วงเวลาในเนื้อเรื่องหลัก อาจจะกล่าวได้ว่าซูเปอร์บอยคนนี้มีตัวตนแค่ใน พ็อคเก็ต ยูนิเวิร์ส เท่านั้น [16]", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#9", "text": "หลังจากที่ผลงานชุด ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ เข้ามาแทนที่ผลงานชุด นิว ซูเปอร์บอย ในนิตยสาร แอดเวนเจอร์ คอมิคส์ ปีค.ศ.1963 นิตยสารซูเปอร์บอยจึงกลายเป็นนิตยสารเดียวที่ตีพิมพ์เรื่องราวดั้งเดิมของซูเปอร์บอย แต่ทว่า 2 ปีให้หลังเมื่อเรื่องราวของ ลีเจียน ถูกถอดออกจากแอดเวนเจอร์ คอมิคส์ นิตยสารซูเปอร์บอยจึงกลายเป็นบ้านหลังใหม่ในการตีพิมพ์เรื่องราวของลีเจียนไปโดยปริยาย โดยเริ่มตั้งแต่ ซูเปอร์บอยฉบับที่ 172 (พฤษภาคม ค.ศ.1971) ซึ่งเรื่องราวของลีเจียนจะออกมาในรูปแบบของตอนพิเศษ และก็เป็นอีกครั้งที่เรื่องราวของลีเจียนได้รับกระแสตอบรับเป็นอย่างดี ส่งผลให้ซูเปอร์บอยฉบับที่ 197(กันยายน ค.ศ.1973) เรื่องราวของลีเจียนกลายมาเป็นเนื้อหาหลักของนิตยสารรวมถึงในฉบับต่อๆมา ส่งผลให้ในฉบับที่ 197 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโลโก้นิตยสารเป็น “ซูเปอร์บอย สตาร์ริ่ง เดอะ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์-ฮีโร่ (ภายหลังในฉบับที่ 222 ได้เปลี่ยนไปใช้คำ “แอนด์(and)” แทน สตาร์ริ่ง(starring))” แต่ยังคงใช้ชื่ออย่างเป็นทางการ(ชื่อจดทะเบียนนิตยสาร)เป็นซูเปอร์บอย จนถึงฉบับที่ 231 (กันยายน ค.ศ.1977) นิตยสารจึงได้เปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซูเปอร์บอย แอนด์ เดอะ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์-ฮีโร่ หลังจากนั้นในฉบับที่ 259 (มกราคม ค.ศ.1980) ชื่อของซูเปอร์บอยถูกถอดออกจากชื่อนิตยสารคงเหลือไว้แต่เพียงชื่อ เดอะ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์-ฮีโร่ เท่านั้น ถึงกระนั้นซูเปอร์บอยก็ยังคงมีบทบาทอยู่บ้างเป็นครั้งคราวในเรื่องราวที่ครั้งหนึ่งเคยมีชื่อเรื่องเป็นชื่อชองเขาเอง ชื่อของลีเจียนถูกใช้เป็นชื่อนิตยสารจนถึงฉบับที่ 354 ซึ่งเป็นฉบับสุดท้ายในการตีพิมพ์", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "72753#51", "text": "ซูเปอร์แมนถือว่าเป็นตัวละครที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการออกแบบตัวละครซูเปอร์ฮีโรในเรื่องอื่นๆ [105][106] เช่น แบทแมน ซึ่งถือว่าเป็นตัวละครตัวแรกที่ได้รับแรงบัลดาลใจมาจากซูเปอร์แมน โดยบ๊อบ เคน ผู้สร้างแบทแมน เคยกล่าวต่อ วิน ซัลลิแวน เอาไว้ว่า “จำนวนเงินพวกนั้น[ที่ชีเกลและชูสเตอร์ได้รับจากผลงานเรื่องซูเปอร์แมน]คุณจะได้มาแค่วันจันทร์วันเดียว”[107] เช่นเดียวกับวิคเตอร์ ฟอกซ์ สมุห์บัญชีของดีซีใขณะนั้นได้ทำการเสนอความคิดเห็นต่อ วิล ไอส์เนอร์ คณะกรรมการของ ดีซี ว่าควรจะสร้างตัวละครที่มีลักษณะใกล้เคียง กับซูเปอร์แมน ซึ่งตัวละครนั้นก็คือ วันเดอร์ วูแมน โดย<i data-parsoid='{\"dsr\":[72778,72796,2,2]}'>วันเดอร์ วูแมน ทำการตีพิมพ์ฉบับแรกในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1939 แต่หลังจากที่ฟอกซ์แพ้คดีความในการครอบครองลิขสิทธิ์ของตัวละครต่อทางดีซี[108] ฟอกซ์จึงต้องยุติบทบาททั้งหมดที่เขามีต่อวันเดอร์ วูแมน จนกระทั่งภายหลังฟอกซ์จึงมาประสบความสำเร็จกับตัวละครที่มีชื่อว่า บลู บีทเทิล ส่วน กัปตันมาร์เวล ตัวละครของนิตยสารฟอว์เซทท์ คอมิคส์ ทำการตีพิมพ์ในปี ค.ศ 1940 ได้กลายมาเป็นคู่แข่งสำคัญของซูเปอร์แมนในการแย่งความนิยมตลอดทศวรรษ 1940 โดยในช่วงนั้นได้มีการฟ้องร้องกันไปมาระหว่าง 2 สำนักพิมพ์ จนกระทั่งทางสำนักพิมพ์ ฟอว์เซทท์ยอมรับข้อเสนอจากทางดีซีในปี ค.ศ.1953 โดยทางฟอว์เซทท์ต้องยุติการพิมพ์ผลงานทั้งหมดของกัปตันมาร์เวล[109] ในยุคสมัยปัจจุบันหนังสือการ์ตูนแนวซูเปอร์ฮีโรนับได้ว่าเป็นสิ่งที่โดดเด่นมากในวงการหนังสือการ์ตูนของอเมริกา [110] ซึ่งมีตัวละครนับพันๆตัวได้ถูกสร้างขึ้นมาตามรอยของซูเปอร์แมน[111]", "title": "ซูเปอร์แมน" }, { "docid": "175734#12", "text": "ในช่วงเดียวกันนั้นเอง จัสติน แฮมเมอร์ คู่แข่งทางธุรกิจของโทนี่ ได้จ้างเหล่าร้ายให้ไปทำร้ายโทนี่ ยิ่งไปกว่านั้นชุดเกราะไอรอนแมนยังถูกขโมยไปใช้สังหารนักการทูตคนหนึ่ง แม้ว่าไอรอนแมนจะไม่เป็นที่สงสัยในทันที แต่โทนี่ก็ถูกบังคับให้นำชุดเกราะเข้ามอบต่อเจ้าหน้าที่รัฐ แต่ในที่สุดแล้วโทนี่และเจมส์ก็สืบหาความจริงผู้ที่บงการอยู่เบื้องหลังได้ แต่ก็ใช่ว่าจัสตินจะเลิกตอแยโทนี่ และด้วยความช่วยเหลือจาก เบธานี่ เคบ เพื่อนและผู้ช่วยของเขา (ซึ่งกลายเป็นแฟนสาวของเขาในเวลาต่อมา) ทำให้โทนี่ฝ่าวิกฤติมากมายพร้อมทั้งยังเลิกเหล้าได้เป็นผลสำเร็จ แม้จะผ่านพ้นมรสุมชีวิตมาได้ ก็ใช่ว่าชีวิตจะเรียบง่ายขึ้น ทว่ากลับซับซ้อนยิ่งขึ้นกับการมาถึง ด๊อกเตอร์ดูม ซึ่งมีตัวร้ายฉวยโอกาสส่งทั้งสองกลับไปยังยุคของกษัตริย์อาเธอร์ โดยไอรอนแมนต้องทำทุกวิถีทางเพื่อขัดขวางแผนการร้ายของด็อกเตอร์ดูมก่อนที่ทั้งคู่จะกลับมายังยุคเดิม", "title": "ไอรอนแมน" }, { "docid": "581589#0", "text": "ซูเปอร์บอย คือชื่อของตัวละครจากหนังสือการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่ที่ถูกจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ ดีซี คอมิคส์ มีเรื่องราวส่วนใหญ่เกี่ยวกับซูเปอร์แมนในช่วงวัยรุ่น ซูเปอร์บอยได้กลายมาเป็นหนึ่งในสี่ตัวละครหลักของหนังสือการ์ตูนที่มีชื่อเรื่องเดียวกันซึ่งทำการจัดพิมพ์โดย ดีซี คอมิคส์", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#4", "text": "ในจักรวาลอื่นๆของดีซียังมีซูเปอร์บอยอีกคนที่มีบทเด่นและได้ปรากฏตัวอยู่บ่อยครั้งได้แก่ ซูเปอร์บอย ไพร์ม ซูเปอร์บอยที่อาศัยอยู่ในโลกคู่ขนานของคาล-เอล ผู้ที่มีลักษณะก้าวร้าวและอารมณ์ปรวนแปรอยู่เสมอ", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#19", "text": "หมวดหมู่:ตัวละครดีซีคอมิกส์ หมวดหมู่:ซูเปอร์ฮีโร่ในดีซีคอมิกส์", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "72753#32", "text": "ในช่วงปี ค.ศ. 1980 มีการออกแบบรูปแบบใหม่ให้ซูเปอร์แมนโดยเพิ่มความรุนแรงเข้าไปในเนื้อเรื่อง ทาง ดีซี จึงได้ตัดสินใจถอดเรื่องจักรวาลคู่ขนานออกไปเพื่อปรับให้เนื้อเรื่องให้มีความเข้าใจง่ายกว่าเดิม สิ่งนี้ส่งผลให้ต้องมีการแต่ง เบื้องหลัง ความเป็นมาของตัวละครของ ดีซี ใหม่ทั้งหมดรวมถึงซูเปอร์แมนด้วย จอห์น ไบรอันจึงได้ทำการแต่งเรื่องซูเปอร์แมนใหม่โดยได้ทำการถอดบทบาทหลายๆบทที่ถูกสร้างขึ้นมาในช่วงแรกออก เช่น ซูเปอร์บอย และ ซูเปอร์เกิร์ล นอกจากนั้นไบรอันยังได้นำตัวละครดั้งเดิมอย่างพ่อ-แม่ บุญธรรมของซูเปอร์แมนกลับมาตีความใหม่[71]ซึ่งบทบาทเดิมของทั้งคู่นั้นถูกกำหนดให้เสียชีวิตในช่วงต้นเรื่องของซูเปอร์แมน (ช่วงเวลาที่คลาร์ก เคนต์จบการศึกษาในระดับมัธยมปลาย)", "title": "ซูเปอร์แมน" }, { "docid": "581589#1", "text": "เรื่องราวของซูเปอร์บอยในช่วงแรกเป็นที่รู้จักกันว่าคือเรื่องราวของซูเปอร์แมนในช่วงวัยรุ่นที่ใช้พลังของตัวเองเข้าช่วยเหลือผู้คนในสมอลวิลล์เมืองที่เป็นที่พักอาศัยของ คาล-เอล (ชื่อ ชาวคริปตัน ของซูเปอร์บอย) ซึ่งต้องเก็บซ่อนตัวตนที่แท้จริงของตัวเองเอาไว้ในฐานะของคลาร์ก เคนท์ ซูเปอร์บอยได้ออกปรากฏตัวในซีรีส์หลายๆเรื่องตั้งแต่ช่วงค.ศ. 1940 จนกระทั่ง ค.ศ. 1980 โดยมีการตีพิมพ์ต่อเนื่องกันมาอย่างยาวนานในนิตยสารที่มีชื่อว่า แอดเวนเจอร์ คอมิคส์ รวมถึงนิตยสารของตัวเองอีก 2 ฉบับ ที่มีชื่อว่า “ซูเปอร์บอย” และ “เดอะ นิว อเวนเจอร์ อ๊อฟ ซูเปอร์บอย” ในซูเปอร์บอยจะมีเรื่องราวและตัวละครสมทบที่แตกแยกออกมาเป็นเอกเทศ เช่น พ่อแม่บุญธรรมของซูเปอร์บอย, ลาน่า แลง ผู้ที่เป็นรักแรก และการเดินทางท่องเวลาของเหล่าซูเปอร์ฮีโร่แห่งอนาคต", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#8", "text": "4 ปีหลังจากปรากฏตัวเป็นครั้งแรก ซูเปอร์บอยกลายเป็นซูเปอร์ฮีโร่ของ ดี ซี คนที่ 6 ที่มีนิตยสารเป็นของตัวเอง เมื่อ ดีซี มีการจัดพิมพ์ซูเปอร์บอยฉบับที่1(มีนาคม-เมษายน) ซึ่งผลงานชุดนี้ถูกจัดให้เป็นผลงานชิ้นแรกที่ประสบความสำเร็จในผลงานซูเปอร์ฮีโร่ชุดใหม่ของดีซีนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่2 เนื้อเรื่องของซูเปอร์บอยจะเริ่มต้นจากเรื่องราวตั้งแต่ซูเปอร์บอยยังเป็นทารก,[6] (การผจญภัยของคลาร์กกับการใช้พลังในวัยเด็ก), เพื่อนสนิทของคลาร์กทั้งสอง ไม่ว่าจะเป็นลาน่า แลงค์,[7] รักในวัยเยาว์ของซูเปอร์บอยและ พีท รอส,[8] ที่ภายหลังล่วงรู้ตัวจริงของคลาร์กและช่วยเก็บซ่อนความลับนั้นไว้[9] ส่วนเรื่องราวอื่นที่ปรากฏอยู่ในซูเปอร์บอยได้แก่เรื่องราวของไบซาโร่ว์[10]คนแรก และการปรากฏตัวเป็นครั้งแรกของมอน-เอล[11] และอุลตร้าบอย [12]สมาชิกกลุ่มลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "37736#2", "text": "ย้อนกลับไปช่วงปี 1963 มาร์เวล คอมิคส์ภายใต้การกุมบังเหียนของสแตน ลี ได้สร้างตัวละครซูเปอร์ฮีโร่ทีมี่ความเป็นคนธรรมดาขึ้นมามากมายไม่ว่าจะเป็นฮัลค์,ธอร์,ไอรอนแมน,สไปเดอร์แมน จนได้รับความนิยมและเริ่มก่อร่างเป็นจักรวาลย่อมๆ มาแข่งกับยักษ์ใหญ่ในวงการการ์ตูนอเมริกันช่วงนั้นอย่างดีซี คอมิคส์ได้แล้ว", "title": "เอ็กซ์เมน" }, { "docid": "581589#17", "text": "ซูเปอร์บอยเวอร์ชันนี้มีส่วนสำคัญอย่างมากต่อเนื้อเรื่องของ เดอะ ลีเจียน และยังถูกเชื่อมโยงคู่ขนานไปกับเนื้อเรื่องของซูเปอร์บอยอยู่หลายปีก่อนเหตุการณ์คริซิส", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#5", "text": "ผู้ที่กลายมาเป็น“ซูเปอร์บอย”คนแรก ตัวละครถูกออกแบบโดย เจอร์รี่ ชีเกล (ปราศจาก โจ ชูสเตอร์) ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1938 แต่ความคิดนี้กลับถูกปฏิเสธจากนิตยสารดีแทคทีฟ คอมิคส์ทำให้ชีเกลได้เพิ่มรายละเอียดให้กับตัวละครนี้ในอีก2ปีให้หลังแต่ก็ถูกสำนักพิมพ์ปฏิเสธกลับมาเป็นครั้งที่สอง[1] จนกระทั่งการปรากฏตัวของโรบิน คู่หูของแบทแมน ซูเปอร์ฮีโร่วัยรุ่นที่โด่งดังไปทั่วประเทศและมีช่วงอายุที่ใกล้เคียงกับซูเปอร์บอย ทำให้ทางสำนักพิมพ์ดีแทคทีฟ คอมิคส์ตัดสินใจที่จะจัดพิมพ์ซูเปอร์บอยในปีค.ศ.1944 โดยหวังจะขยายฐานความนิยมของซูเปอร์แมนให้เพิ่มขึ้นด้วยการนำเสนอเรื่องราวที่ต่างออกไปซึ่งมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้อ่านที่เป็นเด็ก[2] ซูเปอร์บอยปรากฏตัวเป็นครั้งแรกในนิตยสารมอร์ ฟัน คอมิคส์ ฉบับที่ 101 (ในปีค.ศ.1944 แต่หน้าปกพิมพ์ค.ศ.1945) แม้ว่าซูเปอร์บอยจะได้โจ ชูสเตอร์เข้ามาทำหน้าที่ในการวาดภาพ แต่เจอร์รี่ ชีเกลกลับไม่ได้มีส่วนร่วมในผลงานชิ้นนี้เนื่องจากถูกเรียกตัวเข้าร่วมกองทัพในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 สิ่งนี้เองคือจุดเริ่มต้นของรอยร้าวที่จะเกิดขึ้นมาในภายหลังระหว่างสำนักพิมพ์, ชีเกล และ ชูสเตอร์[1]", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#10", "text": "หลังจากที่เนื้อเรื่องของลีเจียนได้เข้ามาแทนที่ซูเปอร์บอย เรื่องราวของซูเปอร์บอยก็แทบจะสูญหายไปจากหน้าหนังสือจนกระทั่งปลายทศวรรษ ค.ศ. 1970 ซูเปอร์บอยได้ปรากฏตัวในสองเรื่องสั้น ซึ่งครั้งแรกปรากฏใน แอดเวนเจอร์ คอมมิคส์ (อีกแล้ว) และถัดมาใน “ซูเปอร์แมน แฟมิลี่” ต่อมาในเดือนเดียวกัน ซูเปอร์บอยได้ถอนตัวออกจากกลุ่มลีเจียนในนิตยสารลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ ฮีโร่ ฉบับที่ 259(มกราคม ค.ศ.1980) โดยผลงานชุดใหม่ถูกใช้ชื่อว่า เดอะ นิว แอดเวนเจอร์ อ๊อฟ ซูเปอร์บอย ซึ่งเริ่มต้นเรื่องราวด้วยการฉลองวันเกิดครบรอบ 16 ปี ของคลาร์ก เคนท์ นิตยสารจัดจำหน่ายเป็นรายเดือนและมีการตีพิมพ์ทั้งสิ้น 54 ฉบับจนถึงค.ศ.1984 นอกจากนี้ในฉบับที่ 28(เมษายน ค.ศ.1982) จนถึงฉบับที่ 49(มกราคม ค.ศ.1984) ได้มีการนำเรื่องราวใน “ดีล เอช ฟอร์ ฮีโร่” เข้ามาผสมโรงอีกด้วย", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#15", "text": "ซุเปอร์บอยเวอร์ชันนี้ได้ออกมาปรากฏตัวอีกครั้งในผลงานชุดซี่โร่ ฮาวเออร์ โดยซูเปอร์บอยถูกสับเปลี่ยนช่วงเวลาจากศตวรรษที่ 30 ซึ่งเป็นยุคของ เดอะ ลีเจียน อ๊อฟ ซูเปอร์ฮีโร่ มายังช่วงเวลาปัจจุบันในสมอลล์วิลล์ ส่งผลให้เขาต้องมาเผชิญหน้ากับร่างโคลนของซูเปอร์บอยในยุคปัจจุบัน(คอน-เอล) ซูเปอร์บอยเกิดความสับสนต่ออนาคตของตัวเองที่ดูเลื่อนลอยในโลกปัจจุบัน เขาไม่รู้จะทำอย่างไรเมื่อต้องเผชิญหน้าและต่อสู้กับซูเปอร์บอยอีกคน โดยเรื่องราวทั้งหมดนี้จะนำมาซึ่งเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด อย่างไรก็ตามหลังจากที่เรื่องราวของซูเปอร์บอยในผลงานชุดนี้จบลง ซูเปอร์บอยได้กลับไปยัง พ๊อคเก็ต ยูนิเวิร์ส ซึ่งเป็นจักรวาลดั้งเดิมของตัวเอง ภายหลังซูเปอร์บอยเวอร์ชันนี้ถูกเรียกขานว่า ซูเปอร์บอยพิภพที่ 1 (เอิร์ท-วัน)", "title": "ซูเปอร์บอย" }, { "docid": "581589#12", "text": "หลังจากที่ผลงานเรื่องสั้นถูกตีพิมพ์ เรื่องราวของซูเปอร์บอยกลับถูกตัดออกจากเนื้อเรื่องหลักของซูเปอร์แมนหลังจากปีค.ศ.1985-1986 ในผลงานลิมิทเตท ซีรีส์ที่มีชื่อว่า คริซิส ออน อินฟิไนท์ เอิร์ธ และผลงานรีบูทของจอห์น ไบรอันในปีค.ศ 1986 ที่มีชื่อว่า เดอะ แมน อ๊อฟ สตีล.[13] จนกระทั่ง 20 ปีต่อมาในผลงานลิมิทเตทชุด อินฟิไนท์ คริซิส เรื่องราวบางส่วนของซูเปอร์บอยจึงถูกเชื่อมโยงเข้ากับเนื้อเรื่องของซูเปอร์แมนอีกครั้งในการกล่าวถึงซูเปอร์แมนในวัยเด็ก (อ่านเพิ่มเติมเรื่องอินฟิไนท์ คริซิส)", "title": "ซูเปอร์บอย" } ]
2595
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) มีคติพจน์ว่าอย่างไร?
[ { "docid": "268309#4", "text": "คติพจน์: คติพจน์ เรียนรู้ดี ฝีมือเด่น เน้นคุณธรรม นำคุณภาพชีวิต ส่งเสริมกิจประชาธิปไตย", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" } ]
[ { "docid": "268309#139", "text": "โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ ฐานปั้น \"นักเทคโนโลยี\" ระดับหัวกะทิของประเทศ", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#2", "text": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) ตั้งอยู่ในพื้นที่ของวิทยาลัยการอาชีพพานทอง(เดิม) เลขที่ 37 หมู่3 ตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20160 มีอาณาเขต 64 ไร่ โดยความร่วมมือสนับสนุนจากหลายฝ่าย อาทิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี เจ้าอาวาสวัดบ้านเก่า ประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านอำเภอพานทอง และประชาชนชาวอำเภอพานทอง", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#62", "text": "ภายใต้โครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(นำร่อง) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#44", "text": "โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ได้ มีความร่วมมือทางการศึกษาจากหน่วยงานหลักและหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนี้", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#138", "text": "นักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ เป็นผู้ที่มีความสามัคคีและร่วมมือร่วมใจกระทำงานร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เป็นผู้พูดและผู้ฟังอย่างเหมาะสม มีน้ำใจ มีอัธยาศัยดีและเป็นมิตร", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#106", "text": "เมื่อเริ่มจัดตั้งโครงการฯโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ขึ้น ซึ่งเป็นรูปแบบของโรงเรียนประจำที่นักเรียนจะต้องอยู่หอพัก แต่เดิมนั้นทางโรงเรียนยังไม่มีหอพักนักเรียนให้นักเรียนเข้าพักได้ทันกำหนดการรับนักเรียนเข้าศึกษาของนักเรียนรุ่นที่ 1 จึงทำให้นักเรียนรุ่นที่ 1 ต้องอาศัยอยู่ที่หอพักเอกชนภายนอกและมีรถรับส่งนักเรียนแทน หลังจากนั้นภายในปีการศึกษา ทางโรงเรียนได้ปรับปรุงอาคารอำนวยการและอาคารเรียนหลังเก่า ที่ตั้งอยู่ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เขต1 เป็นหอพักนักเรียน และเริ่มรับนักเรียนรุ่นที่ 2 เข้าศึกษา ต่อมาทางโรงเรียนได้รับงบประมาณในการก่อสร้างหอพักนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 หลัง แล้วเสร็จในปี 2557 ปัจจุบันหอพักนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ มีจำนวน 3 อาคาร คืออาคารหอพักนักเรียนชาย(หอบุษกร) อาคารหอพักนักเรียนหญิง(หอขจรรัตน์) และหอพักใหม่(สร้างเมื่อปีการศึกษา 2559) ที่ตั้งอยู่ในบริเวณวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เขต 2 โดยชื่อที่ใช้เรียกนั้น เป็นชื่อหอที่เคยใช้เรียกกันตั้งแต่เมื่อครั้งอยู่หอพักเดิม ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เขต1 โดยมีรูปแบบอาคารที่เหมือนกัน คือ เป็นอาคาร 4 ชั้น บริเวณชั้นล่างมีพื้นที่ส่วนกลาง คือห้อง common room ที่ใช้ในการทำกิจกรรมทางวิชาการ กิจกรรมนั้นทนาการ การจัดการประชุม เป็นต้น", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#70", "text": "ภายใต้โครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(นำร่อง) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#125", "text": "บูมฐานวิทย์ฯ ได้เปิดการบูมขึ้นเป็นครั้งแรก ในงาน Bye’nior นักเรียนรุ่นที่1 ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 ณ สนามกีฬา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เขต1 โดยผู้เข้าร่วมการบูมครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บูมคือนักเรียนรุ่นที่2และ3 บูมให้นักเรียนรุ่นพี่ รุ่นที่1 ซึ่งได้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของเสียงบูม ที่ดังกึกก้องกัมปนาท แฝงด้วยความรัก ความเคารพ และความภาคภูมิใจในการเป็น “นักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์”", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#126", "text": "นับแต่นั้นเป็นต้นมา บูมฐานวิทย์ฯ จึงเป็นบูมประจำโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ ที่ได้นำมาใช้ในงานสำคัญต่างๆ ด้วยเนื้อหาความหมายที่ผู้ประพันธ์ได้รวบรวม “หัวใจหลักแห่งเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์” ผ่านบทประพันธ์ทั้งหมดนี้ บูมฐานวิทย์ฯจึงเป็นบูมที่สถิตอยู่ในใจของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ทุกคนตลอดชั่วกาลนาน", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#22", "text": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เดิมชื่อ วิทยาลัยการอาชีพพานทอง ต่อมาเพื่อให้สอดคล้องกับบทบาทการดำเนินงานของสถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพานทองได้มีหนังสือ(ที่ ศธ 0661.15 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552) แจ้งความประสงค์ขอเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยฯ ไปยังกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยเมื่อวันที่ 21พฤษภาคม 2552 เพื่อรองรับการขยายผลของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#24", "text": "โครงการนี้ ถือเป็นโครงการใหม่ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(สอศ.) เพื่อบ่มเพาะนักเรียนระดับ ปวช. ที่มีศักยภาพด้านการประดิษฐ์คิดค้นเชิงเทคโนโลยี โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 ใช้รูปแบบของห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาที่มีอยู่เดิม (school in school) และนำร่องแห่งแรกที่ “วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)” การดำเนินการในช่วงแรกจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมหลายด้าน และยังมีข้อจำกัดอยู่หลายประการ แต่หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนของผู้บริหาร สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ และหน่วยงานพันธมิตรจากภายนอก เช่น สถาบันอุดมศึกษา สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ รวมทั้ง การทุ่มเทของผู้บริหารและบุคลากรของวิทยาลัยฯ จนสามารถการสามารถขับเคลื่อนได้ในปีการศึกษา 2551 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#15", "text": "ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเร่งขยายฐานการศึกษาเพื่อบ่มเพาะและสร้างนักเทคโนโลยีที่สามารถผสมผสานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เข้ากับทักษะด้านช่างเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม รวมถึงสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ อันจะนำไปสู่การยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีให้กับภาคการผลิตและบริการของประเทศต่อไปในอนาคต โดยเร่งพัฒนาหลักสูตรเพื่อรองรับการสร้างบุคลากรกลุ่มนี้ เพื่อให้ประเทศไทยมีฐานกำลังคนที่ครบถ้วนและเพียงพอที่จะเป็นกำลังสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดทำโครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์นำร่อง โดยมีวิทยาลัยการอาชีพพานทอง จ.ชลบุรี เป็นสถานศึกษานำร่องแห่งแรก และโครงการนำร่องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ที่ผ่านมา", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#3", "text": "โดยมีพื้นที่การศึกษา แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 เขต คือ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)เขต1 (ฝั่งโรงฝึกทักษะพื้นฐานและบ้านพักครู) และวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)เขต2 (ฝั่งอาคารอำนวยการ อาคารเรียนและหอพักนักเรียนโครงการฯโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์)", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#124", "text": "บูมฐานวิทย์ฯ เป็นเพลงบูมประจำโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ เกิดขึ้นจากการที่นักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ รุ่นที่ 2 ต้องการแสดงถึงความรัก ความเคารพ และความภาคภูมิใจ ที่มีต่อโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ และนักเรียนรุ่นพี่(นักเรียนรุ่นที่1) ที่กำลังจะจบการศึกษาในขณะนั้น บูมฐานวิทย์ฯจึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยมีผู้ประพันธ์คือ นายเจษฎา ตั้งมงคลสุข และทำนองโดยนางสาววรุณรัตน์ ไตรติลานันท์ นักเรียนรุ่นที่ 2 (ในขณะนั้นทั้งสองศึกษาอยู่ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2) เสร็จสมบูรณ์ในวันที่ 20 มกราคม 2554", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#93", "text": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) มีอาคารสถานที่ที่สำคัญ ดังนี้", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#59", "text": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)รายนามผู้อำนวยการวาระการดำรงตำแหน่ง1. นายเด่นดวง คำตรงพ.ศ. 2541-2547 (วิทยาลัยการอาชีพพานทอง)2. นายนเรศ บุญมีพ.ศ. 2547-2551 (วิทยาลัยการอาชีพพานทอง)3. นางจุรี ทัพวงษ์พ.ศ. 2551-25544. นายปริวัฒน์ ถานิสโรพ.ศ. 2554-25545. นายจิระ เฉลิมศักดิ์พ.ศ. 2554-25596. นายนิติ นาชิตพ.ศ. 2559-25607. นายพีรพงษ์ พันธ์โสดาพ.ศ. 2560-ปัจจุบัน", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#128", "text": "นักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ เป็นนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษ ที่ถูกบ่มเพาะภายใต้ปรัชญาหลักสูตร “สร้างสรรค์ นักเทคโนโลยี การเรียนรู้แบบ Project Based Learning Hands on, Minds on, Hearts on”", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#123", "text": "ทำนองโดย วรุณรัตน์ ไตรติลานันท์", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#56", "text": "ในคณะกรรมการอำนวยการโครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#23", "text": "โดยกระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติการเปลี่ยนชื่อสถานศึกษาเป็น \"วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)\" ชื่อภาษาอังกฤษ Science Based Technology Vocational College(Chonburi) ตัวย่อ (SBTVC) จากเดิมคือ วิทยาลัยการอาชีพพานทอง ชื่อภาษาอังกฤษ Panthong Industrial and Community Education College ตัวย่อ วก.พานทอง", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#65", "text": "เพื่อจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่เป็นผู้มีศักยภาพหรือ ความสามารถพิเศษด้านการประดิษฐ์คิดค้น(นักเรียนโครงการฯโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์)ให้มีความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีทักษะที่เพียงพอ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นผู้สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมทางเทคโนโลยีบน ฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่เข้มแข็งต่อไปในอนาคต", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "850500#2", "text": "ปี พ.ศ. 2550 กระทรวงศึกษาธิการและระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ร่วมกันทำ \"โครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์นำร่อง\" เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีทักษะด้านช่าง ในปี พ.ศ. 2552 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยการอาชีพพานทองเป็น วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) เพื่อรองรับการขยายผลของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบของห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาที่มีอยู่เดิม (school in school) ", "title": "สถาบันการอาชีวศึกษา" }, { "docid": "268309#105", "text": "ประกอบด้วยห้องพยาบาล และสำนักงานองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับหน่วยวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#0", "text": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) เดิมชื่อ วิทยาลัยการอาชีพพานทอง ประกาศจัดตั้งเมื่อ 24กุมภาพันธ์2540โดยนายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกนะทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดทำ<i data-parsoid='{\"dsr\":[1140,1201,2,2]}'><b data-parsoid='{\"dsr\":[1142,1199,3,3]}'>โครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์นำร่อง โดยมีวิทยาลัยการอาชีพพานทอง เป็นสถานศึกษานำร่องแห่งแรก และได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ต่อมากระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยเมื่อวันที่ 21พฤษภาคม 2552 เพื่อรองรับการขยายผลของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบของห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาที่มีอยู่เดิม (school in school)", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#14", "text": "เมื่อพิจารณาระบบการผลิตบุคลากรในสาขาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบัน พบว่าระดับอุดมศึกษาเน้นการผลิตบัณฑิตในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ซึ่งเน้นการใช้ความรู้ในเชิงวิชาการ (academic) ในขณะที่ระดับอาชีวศึกษาเน้นการผลิตช่างฝีมือและนักเทคนิค ซึ่งส่วนใหญ่ทำงานในลักษณะเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีมากกว่าเป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยี อีกทั้งเมื่อบุคลากรกลุ่มนี้ต้องการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจะประสบปัญหาด้านการต่อยอดความรู้ เนื่องจากฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่เข้มแข็งพอ ประกอบกับระบบการศึกษาปัจจุบันยังไม่มีหลักสูตรเฉพาะด้านสำหรับการสร้างนักเทคโนโลยี ส่งผลให้บุคลากรที่ผลิตออกสู่ตลาดจึงมักเป็นกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ กลุ่มช่างฝีมือที่มีความถนัดด้านการลงมือปฏิบัติเพียงอย่างเดียว การสร้างสรรค์นวัตกรรมจึงเกิดได้ยาก", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#51", "text": "เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการอำนวยการโครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#141", "text": "โครงการโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#11", "text": "ที่อยู่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เลขที่ 37 หมู่3 ตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20160", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#16", "text": "การดำเนินโครงการนำร่องที่วิทยาลัยการอาชีพพานทอง ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)สามารถรับนักเรียนรุ่นแรกได้ในปีการศึกษา 2551 จำนวน 29 คน และพัฒนาหลักสูตรแล้วเสร็จ 1 หลักสูตร ในระดับ ปวช. สาขาช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์ที่มีการเรียนการสอนแบบ project-based โดยวิทยาลัยฯ จัดสถานที่พักให้กับนักเรียนเพื่ออยู่ประจำ (ไม่เสียค่าใช้จ่าย) และ สอศ. จัดสรรอัตราบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูพี่เลี้ยง จำนวน 8 คน เพื่อดูแลนักเรียนทั้งด้านวิชาการและชีวิตความเป็นอยู่อย่างใกล้ชิด สำหรับวิชาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สอนโดยอาจารย์มหาวิทยาลัย (มจธ. มทส. มทร. สจล. และจุฬาฯ) และในปีการศึกษา 2552 มีเป้าหมายรับนักเรียน 1 ห้อง ประมาณ 30 คน แม้ว่า ในช่วงแรกโครงการนำร่องจะมีนักเรียนจำนวนไม่มากนัก สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากข้อจำกัดหลายด้าน อาทิ ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ครูพี่เลี้ยงยังขาดประสบการณ์ด้านการเรียนการสอนแบบ project-based teaching and learning การประชาสัมพันธ์ยังไม่เข้มข้นและทั่วถึง ทัศนคติและความเชื่อมั่นของผู้ปกครอง รวมทั้งค่านิยมของสังคมที่มีต่อการเรียนสายอาชีวศึกษา จนเป็นอุปสรรคต่อการจูงใจนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม สอศ. และ สวทน. ได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ที่จะจัดการกับข้อจำกัดที่มีอยู่ โดยร่วมกันยกร่างแผนแม่บทโครงการในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2553-2557) เพื่อวางกรอบการขับเคลื่อนให้เกิดผลเต็มประสิทธิภาพ ทั้งการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาความสามารถของครูพี่เลี้ยง แนวทางการคัดสรรนักเรียนที่มีศักยภาพและการปรับระบบบริหารจัดการให้มีความคล่องตัวมากขึ้นในขณะเดียวกัน จำเป็นต้องขยายผลการจัดการศึกษาในรูปแบบดังกล่าวไปยังสถานศึกษาอื่นที่มีศักยภาพของ สอศ. ด้วย ภายใต้ชื่อ “โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์” เพื่อขยายฐานการผลิตกำลังคนที่มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นเชิงเทคโนโลยีที่เปรียบเสมือนเป็นหัวรถจักรของการอาชีวศึกษาซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ต่อภาคการผลิตและบริการต่อไปในอนาคต โดยนำประสบการณ์ที่ได้จากวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) ปรับใช้ในการจัดการศึกษาระบบนักเรียนประจำของโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดซึ่งมีผลต่อการผลิต และพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเป็นการรองรับกับการพัฒนาประเทศในอนาคต สิ่งสำคัญคือต้องเร่งพัฒนาขยายพื้นที่ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิทยบริการ เพิ่มปริมาณวัสดุครุภัณฑ์ทางการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ ช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีใหม่ๆที่ทันสมัย รวมถึงหอพักอาศัยของนักเรียนและครูผู้ควบคุมดูแล รวมทั้งการพัฒนารูปแบบหรือแนวทางการจัดการเรียนการสอน โดยปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางภูมิสังคม ภูมิอาชีพ และสอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน ตลอดจนพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาด้านเทคโนโลยีให้หลากหลาย เพื่อเป็นรองรับการการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และเป็นการแก้ไขปัญหาให้แก่สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์จึงได้จัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการของสำนักตรวจและประเมินผล เพื่อใช้เป็นแผนในการปฏิบัติงานประจำปีต่อไป", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" }, { "docid": "268309#21", "text": "พ.ศ. 2552 เปลี่ยนชื่อวิทยาลัยการอาชีพพานทอง เป็น วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี)", "title": "วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก" } ]
3853
อำเภอเมืองตาก มีพื้นที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "107448#16", "text": "อำเภอเมืองตากตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดตาก ตามแนวเทือกเขาถนนธงชัย ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 52 ลิปดา 54 พิลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา 7 ลิปดา 25 พิลิปดาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล 116.2 เมตร ณ ที่ตั้งที่ศูนย์ราชการจังหวัดตาก (ศาลากลางจังหวัดตาก) อำเภอแม่สอดมีพื้นที่ประมาณ 1,599.356 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 999,597.5 ไร่ ใหญ่เป็นลำดับที่ 5 ของจังหวัดตาก", "title": "อำเภอเมืองตาก" } ]
[ { "docid": "107448#34", "text": "ศูนย์ราชการจังหวัดตาก สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดตาก สถานีภูธรจังหวัดตาก ศาลจังหวัดตาก ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตาก สำนักงานอัยการจังหวัดตาก สำนักงานสรรพากรเขตพื้นที่ตาก สำนกังานสรรพาสามิตเขตพื้นที่ตาก จังหวัดทหารบกตาก", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "35773#77", "text": "อุทยานแห่งชาติลานสาง ตั้งอยู่ในท้องที่บ้านลานสาง ตำบลแม่ท้อ อ.เมืองตาก มีพื้นที่ประมาณ 104 ตารางกิโลเมตร หรือ 65,000 ไร่ อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลแม่ท้อ ตำบลพะวอ เขต อ.แม่สอด และ อ.เมืองตาก จ.ตาก มีเนื้อที่ 149 ตารางกิโลเมตร หรือ 93,125 ไร่ จุดเด่นที่สำคัญคือ ต้นกระบากใหญ่ ซึ่งจัดว่าเป็นต้นไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อุทยานแห่งชาติแม่เมย อุทยานแห่งชาติขุนพะวอ หรือพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าสามหมื่น จังหวัดตาก มีเนื้อที่ประมาณ 220 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 137,350 ไร่ อุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ", "title": "อำเภอแม่สอด" }, { "docid": "235903#2", "text": "โรงเรียนตากพิทยาคม เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 (สุโขทัย-ตาก) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 12 ถนนท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดตาก", "title": "โรงเรียนตากพิทยาคม" }, { "docid": "961850#1", "text": "อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้าเป็นส่วนหนึ่งของลุ่มแม่น้ำปิง โดยครอบคลุมพื้นที่อำเภอวังเจ้าและอำเภอเมืองตากของจังหวัดตาก และครอบคลุมพื้นที่อำเภอโกสัมพีนคร อำเภอคลองลาน และอำเภอเมืองกำแพงเพชรของจังหวัดกำแพงเพชร", "title": "อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า" }, { "docid": "703613#0", "text": "ตาก เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัด ในปี พ.ศ. 2560 เมืองตากมีประชากรจำนวน 16,922 คน เขตเทศบาลมีพื้นที่ 7.27 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุม 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลหัวเดียด ตำบลหนองหลวง ตำบลระแหง และตำบลเชียงเงิน อยู่ในฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิง", "title": "เทศบาลเมืองตาก" }, { "docid": "107448#30", "text": "เทศบาลเมืองตาก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลระแหง ตำบลหนองหลวง ตำบลเชียงเงิน และตำบลหัวเดียดทั้งตำบล เทศบาลตำบลไม้งาม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลไม้งามทั้งตำบล เทศบาลตำบลหนองบัวใต้ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองบัวใต้ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองบัวเหนือทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลโป่งแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโป่งแดงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำรึม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลน้ำรึมทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังหินทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ท้อ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่ท้อทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลป่ามะม่วง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่ามะม่วงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวังประจบ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังประจบทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลตลุกกลางทุ่ง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตลุกกลางทุ่งทั้งตำบล", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "35773#16", "text": "สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของอำเภอแม่สอด ตั้งอยู่ในภาคเหนือค่อนไปทางตะวันตกของประเทศไทยประกอบด้วยป่าไม้และเทือกเขาสูง มีพื้นที่ราบสำหรับการเกษตรน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นทิวเขาถนนธงชัยสูงสลับซับซ้อนเป็นตัวแบ่งพื้นที่ออกเป็นฝั่งตากตะวันออก คือ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอวังเจ้า ส่วนฝั่งตากตะวันตก คือ อำเภอแม่สอด อำเภอแม่ระมาด อำเภอพบพระ อำเภอท่าสองยาง อำเภออุ้มผาง", "title": "อำเภอแม่สอด" }, { "docid": "107448#19", "text": "อำเภอเมืองตากมีพื้นที่ทั้งสิ้น 1,599.356 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 999,597.5 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.75 ของเนื้อที่จังหวัด (เนื้อที่จังหวัด 16,406,650 ตารางกิโลเมตร) สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของเมืองตาก ประกอบด้วยป่าไม้ และเทือกเขาสูง มีพื้นที่ราบสำหรับการเกษตรน้อย พื้นที่ที่เป็นภูเขาสูง มีอยู่ประมาณร้อยละ 65 ของพื้นที่ ซึ่งปกคลุมไปด้วยป่าไม้โปร่งและป่าเบญจพรรณ และเป็นพื้นที่ราบลาดเอียงลงไปทางทิศตะวันออกสู่แม่น้ำปิงและแม่น้ำวัง ทำให้เกิดเป็นพื้นที่ราบแคบๆ ริม 2 ฝั่งแม่น้ำ", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "298584#1", "text": "เทศบาลตำบลตากใบได้จัดตั้งโดยมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะท้องถิ่นจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบลเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอนที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 เรียกชื่อว่า เทศบาลตำบลตากใบ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 1 ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ และเปลี่ยนแปลงเป็น เทศบาลเมืองตากใบ เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเมืองนราธิวาสเป็นระยะทางประมาณ 38 กิโลเมตร พื้นที่ติดกับประเทศมาเลเซีย มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ของหมู่ที่ 1, 2, 6, 7 ของตำบลเจ๊ะเหทั้งหมู่ และพื้นที่บางส่วนของหมู่ที่ 3,4 ของตำบลเจ๊ะเห ", "title": "เทศบาลเมืองตากใบ" }, { "docid": "107448#38", "text": "ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” และพิพิธภัณฑ์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นอาคารแบบแปลนพิเศษ ๔ ชั้น ตั้งอยู่ด้านหลังบริเวณศาลตากสินมหาราช ถ.ตากสิน ต.หนองหลวง อ.เมืองตาก จ.ตาก เป็นห้องสมุดประชาชน “ เฉลิมราชกุมารี” ที่ มีพื้นที่ ๒ ไร่ ๑๔ ตารางวา พิพิธภัณฑ์เมืองเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตาก ตั้งอยู่บริเวณจวนผู้ว่าราชการจังหวัดตากหลังเก่า ถนนตากสิน ตำบลระแหง อำเภอเมืองตาก พิพิธภัณฑ์เมืองเฉลิมพระเกียรติจะเป็นสถานที่จัดแสดงและรวบรวมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ทรัพย์สินทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดตาก ที่มีอยู่จำนวนมากและเก็บรักษาไว้กระจัดกระจายในที่ต่างๆ ให้มาอยู่ในที่เดียวกัน ให้ประชาชนได้มาศึกษาเยี่ยมชมได้อย่างสะดวก รวมทั้งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดตากต่อไป ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญากระทงสาย ตั้งอยู่บริเวณวัดไผ่ล้อม อำเภอเมืองตาก จ.ตาก เพื่อใช้สำหรับเผยแพร่วัฒนธรรมของชาวเมืองตาก โดยเฉพาะประเพณีลอยกระทงสาย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่น ของจังหวัดตาก เป็นหนึ่งเดียวในโลก ที่ควรรักษาและหวงแหน", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "71870#5", "text": "จุดแข็ง ทำให้ประชาชนสามารถเดินทางติดต่อกับหน่วยราชการได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น ก่อให้เกิดผลดีทางด้านความมั่นคงตามแนวชายแดน ทำให้เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจการลงทุนตามแนวชายแดนมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ ขยายโอกาส และสร้างความเจริญให้กับประชาชนในพื้นที่ ทำให้การดูแลแก้ไขปัญหาของประชาชนโดยหน่วยงานภาครัฐเป็นไปอย่างทั่วถึง ด้วยความสะดวก และรวดเร็ว จุดอ่อน ทำให้จังหวัดเดิมมีขนาดเล็กลง ขาดการเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจที่ดี ตามลักษณะโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมดั้งเดิม ทำให้การบริหารงานภาครัฐในด้านการบริการประชาชนเกิดความไม่คุ้มค่าเชิงภารกิจ เมื่อเทียบเท่ากับสัดส่วนจำนวนประชากรที่คงเหลือ จังหวัดตาก ยังคงมีข้อมูลทั่วไปซึ่งไม่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์การจัดตั้งจังหวัดใหม่ 4 ประเด็น คือ จำนวนอำเภอ ในเขตการปกครองของจังหวัดตาก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 อำเภอ และ</i>หากมีการยกฐานะ อำเภอแม่สอด อำเภอท่าสองยาง อำเภอแม่ระมาด อำเภอพบพระ และอำเภออุ้มผาง แยกไปตั้งจังหวัดใหม่ จะทำให้จังหวัดเดิมมีอำเภอ เหลือเพียง 4 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอวังเจ้า จำนวนประชากร จังหวัดตาก มีจำนวนประชากรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2547 จำนวน 516,627 คน ซึ่งเมื่อแยก 5 อำเภอชายแดนไปตั้งจังหวัดใหม่แล้ว จะทำให้จังหวัดเดิมเหลือจำนวนประชากรเพียง 209,077 คน และจังหวัดที่ตั้งใหม่มีจำนวนประชากรเพียง 307,550 คน ปัจจัยเกี่ยวกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ กรณีการจัดตั้งจังหวัดขึ้นใหม่มีความ<i data-parsoid='{\"dsr\":[4215,4341,2,2]}'>จำเป็นต้องจัดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของราชการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายลดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ภาครัฐของรัฐบาล ความคิดเห็นของประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ทางด้าน อำเภอแม่สอด อำเภอท่าสองยาง อำเภอแม่ระมาด อำเภอพบพระ และอำเภออุ้มผาง โดยส่วนใหญ่จะเห็นด้วย แต่<i data-parsoid='{\"dsr\":[4539,4622,2,2]}'>ทางด้านอำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอวังเจ้า จะไม่เห็นด้วย</i>กับการขอตั้งจังหวัดใหม่ นอกจากกรณีตามข้อ 2.1, 2.2 เมื่อพิจารณาปัจจัยทางด้านเนื้อที่ และสภาพภูมิศาสตร์ลักษณะพิเศษของจังหวัด ผลดีในการให้บริการประชาชน สถานทีราชการและความพร้อมในด้านอื่นๆ รายได้ รวมทั้งหลักเกณฑ์อื่นๆ แล้ว ทุกกรณีจะมีลักษณะเป็นไปโดยสอดคล้องตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่กำหนดไว้ จากการพิจารณาข้อมูลตามที่ปรากฏในภาพรวมแล้วเห็นว่า การขอยกฐานะ 5 อำเภอชายแดนเป็นจังหวัด ยังคงมีองค์ประกอบปัจจัยไม่สมบูรณ์ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์การจัดตั้งจังหวัดใหม่ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2524 ประกอบกับปัจจุบันได้มีการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา (CEO) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ดูแลแก้ไขปัญหาข้อจำกัดในด้านต่างๆ และอำนวยความสะดวกด้านบริการประชาชนในระดับพื้นที่อยู่แล้ว แต่ทั้งนี้ หากเป็นนโยบายของรัฐบาลในการที่จะแก้ไขปัญหาข้อจำกัดในด้านสภาพพื้นที่ของจังหวัด ซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางและมีลักษณะยาวมาก ตลอดจนเพื่อการดูแลแก้ไขปัญหาตามแนวชายแดน อันจะเป็นการอำนวยประโยชน์สุข และก่อให้เกิดผลดีแก่ประชาชาชนมากยิ่งขึ้น ก็สามารถดำเนินการได้โดยการเสนอขอยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว", "title": "จังหวัดแม่สอด" }, { "docid": "5525#11", "text": "ลุ่มน้ำแม่น้ำวังตอนบน มีพื้นที่ประมาณ 1,639.55 ตารางกิโลเมตร มีแหล่งต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาผีปันน้ำบริเวณดอยหลวง บ้านป่าหุ่ง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ที่อยู่ทางทิศเหนือของอำเภอวังเหนือ บริเวณตำบลวังแก้ว เขตติดต่ออำเภอวังเหนือกับอำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ครอบคลุมพื้นที่อำเภอวังเหนือและอำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาทั้งหมด 11 ตำบล มีลุ่มน้ำย่อยที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำแม่เย็นและลุ่มน้ำแม่ม่า ลุ่มน้ำแม่สอย มีพื้นที่ประมาณ 732.97 ตารางกิโลเมตร มีแหล่งกำเนิดมาจากเทือกเขาทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แนวเขตแดนจังหวัดลำปางกับเชียงใหม่ ลุ่มน้ำแม่สอยอยู่ในเขตพื้นที่ในอำเภอแจ้ห่มและอำเภอเมืองปาน รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 5 ตำบล มีลุ่มน้ำย่อยที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำแม่ปานและลุ่มน้ำแม่มอน ลุ่มน้ำแม่ตุ๋ย มีพื้นที่ประมาณ 809.38 ตารางกิโลเมตร มีแหล่งต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาในเขตอำเภอเมืองปาน ไหลจากทิศเหนือลงมาทางทิศใต้เข้าเขตอำเภอเมืองลำปางก่อนไปบรรจบกับแม่น้ำวังที่อำเภอเมืองลำปาง พื้นที่ลุ่มน้ำอยู่ในอำเภอเมืองปานและอำเภอเมืองลำปาง รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 4 ตำบล ลุ่มน้ำแม่น้ำวังตอนกลาง มีพื้นที่ประมาณ 2,077.07 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอห้างฉัตร อำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา และอำเภอแจ้ห่ม มีลุ่มน้ำย่อยที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำแม่ยาว น้ำแม่ไพร น้ำแม่ตาล และน้ำแม่เกี๋ยง รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 33 ตำบล ลุ่มน้ำแม่จาง มีพื้นที่ประมาณ 1,626.86 ตารางกิโลเมตร เป็นลุ่มน้ำสาขาขนาดกลางที่สำคัญลุ่มน้ำหนึ่งของลุ่มน้ำวัง มีต้นกำเนิดมาจากดอยหลวงกับดอยผาแดง ซึ่งเป็นแนวสันปันน้ำกับลุ่มน้ำงาว ครอบคลุมพื้นที่อำเภอแม่ทะกับอำเภอแม่เมาะทั้งหมด มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไปบรรจบกับแม่น้ำวังที่บ้านสบจาง ในเขตอำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง มีลุ่มน้ำย่อยที่สำคัญ คือ ลำน้ำแม่เมาะ ลำน้ำแม่ทะ และลำน้ำแม่วะ รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 15 ตำบล ลุ่มน้ำแม่ต๋ำ มีพื้นที่ประมาณ 755.75 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเสริมงาม มีแหล่งต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาเขตอำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง กับอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ไหลไปบรรจบแม่น้ำวังในเขตอำเภอสบปราบ มีลุ่มน้ำย่อยที่สำคัญ คือลุ่มน้ำแม่เลียงและน้ำแม่เสริม รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 4 ตำบล ลุ่มน้ำแม่น้ำวังตอนล่าง มีพื้นที่ 3,151.581 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเกาะคา อำเภอแม่ทะ เภอสบปราบ อำเภอเถิน อำเภอแม่พริก และพื้นที่ในเขตอำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีลุ่มน้ำสาขาที่สำคัญ คือ ห้วยแม่พริกและห้วยแม่สลิด รวมตำบลที่อยู่ในพื้นที่ 22 ตำบล", "title": "จังหวัดลำปาง" }, { "docid": "974653#0", "text": "อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ตั้งอยู่ในท้องที่ 2 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตาก และอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ติดถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 (ตาก–แม่สอด) ห่างจากตัวอำเภอเมืองตากประมาณ 35 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 163,750 ไร่ หรือ 262 ตารางกิโลเมตร", "title": "อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช" }, { "docid": "107448#35", "text": "โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 310 เตียง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองตาก หลักกิโลเมตรที่ 420 เลขที่ 295 ถนนพหลโยธิน ตำบลระแหง อำเภอเมือง จังหวัดตาก มีพื้นที่ขนาด 30 ไร่ 1 งาน 15 ตารางวา รับผิดชอบงานสาธารณสุขในเครือข่าย 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองตาก และอำเภอวังเจ้า ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งใช้ในภาษาอังกฤษว่า Medical Education Center มีฐานะเป็นฝ่ายหนึ่งของโรงพยาบาล มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนชั้นคลินิก ให้กับนิสิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ในโครงการแพทย์แนวใหม่ (New Tract) โดยได้เปิดดำเนินการสอนเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2548 มีนิสิตแพทย์ระดับคลินิก ชั้นปีที่ 4-6 โรงพยาบาลค่ายวชิรปราการตั้งอยู่บริเวณ ถนนจรดวิถีถ่อง ต.ไม้งาม อ.เมืองตาก จังหวัดตาก สถานีกาชาดเทพรัตน์ ตั้งอยู่บริเวณ ต.ป่ามะม่วง อ.เมืองตาก จังหวัดตาก", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "123048#0", "text": "ท่าสองยาง เป็นอำเภอในจังหวัดตาก ติดชายแดนประเทศพม่า ริมแม่น้ำเมย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าเขาสูงตามแนวทิวเขาถนนธงชัย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยพื้นราบ ประกอบอาชีพทำไร่ ระยะทางจากอำเภอแม่สอดถึงอำเภอท่าสองยาง ประมาณ 84 กิโลเมตร รวมระยะทางจากตัวอำเภอเมืองตากถึงอำเภอท่าสองยางประมาณ 169 กิโลเมตร", "title": "อำเภอท่าสองยาง" }, { "docid": "107448#0", "text": "อำเภอเมืองตาก เป็นอำเภอในจังหวัดตาก ศูนย์กลางทางด้านคมนาคม และจุดเชื่อมต่อไปยังอำเภอแม่สอด ศูนย์กลางค้าชายแดนไทย-พม่า อำเภอเมืองตากเดิมชื่อ \"เมืองระแหง\" ตัวเมืองเดิมตั้งอยู่ที่อำเภอบ้านตาก ต่อมาเมื่อได้สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีแล้ว เมืองตากมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญด้านฝั่งตะวันตก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายตัวเมืองตากจากฝั่งขวาของแม่น้ำปิงมายังฝั่งซ้ายบริเวณตำบลบ้านระแหงจนกระทั่งทุกวันนี้", "title": "อำเภอเมืองตาก" }, { "docid": "7916#1", "text": "ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 จำนวนอำเภอในจังหวัดมีจำนวนต่างกันออกไป ตั้งแต่ 3 อำเภอของจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดภูเก็ต ไปจนถึง 32 อำเภอของจังหวัดนครราชสีมา จำนวนประชากรในแต่ละอำเภอก็มีจำนวนต่างกันไปอีกเช่นกัน เช่น อำเภอเกาะกูด (จังหวัดตราด) มีประชากรเพียง 2,450 คน (พ.ศ. 2557) ขณะที่ อำเภอเมืองสมุทรปราการมีประชากรถึง 525,982 คน อำเภอเกาะสีชัง (จังหวัดชลบุรี) เป็นอำเภอที่มีพื้นที่น้อยที่สุดเพียง 17 ตารางกิโลเมตร ขณะที่อำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด ซึ่งมีประชากรเบาบาง มีภูมิประเทศเป็นภูเขา และมีขนาดใหญ่กว่าจังหวัดบางจังหวัด ได้แก่ อำเภออุ้มผาง (จังหวัดตาก) มีพื้นที่ถึง 4,325.4 ตารางกิโลเมตร", "title": "อำเภอ" }, { "docid": "298584#2", "text": "เทศบาลเมืองตากใบตั้งอยู่ในเขตอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่ 9.149 ตารางกิโลเมตร ตามลักษณะภูมิศาสตร์จัดอยู่บริเวณภาคใต้สุดของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศใต้ประมาณ 1,182 กิโลเมตร", "title": "เทศบาลเมืองตากใบ" }, { "docid": "35773#0", "text": "แม่สอด (Northern Thai: ; Burmese: မဲဆောက်; Shan:ႄႈသၢႆ) เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนกลางของจังหวัดตาก ได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอมาตั้งแต่ พ.ศ. 2441 ตัวอำเภออยู่ในที่ราบระหว่างภูเขาระหว่างเทือกเขาถนนธงชัยทิวเขาในฝั่งประเทศไทย อีกส่วนหนึ่งเป็นทิวเขาฝั่งประเทศพม่า อำเภอแม่สอดมีพื้นที่ประมาณ 1,986 ตารางกิโลเมตร ประชากรมีทั้งชาวเขาและคนที่อพยพจากอำเภอเมืองตากเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่ รวมทั้งชาวพม่าที่มีภรรยาและบุตรเป็นคนไทยด้วย อำเภอแม่สอดอยู่ห่างจากอำเภอเมืองตาก 86 กิโลเมตร", "title": "อำเภอแม่สอด" }, { "docid": "158710#0", "text": "วัดพร้าว ตั้งอยู่ที่บ้านวัดพร้าว ตำบลหนองหลวง อำเภอเมือง จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพื้นที่ 3 ไร่เศษ อยู่ติดกับแม่ปิง มีธรณีสงฆ์สองแปลง พื้นที่ 12 ไร่เศษ ", "title": "วัดพร้าว (จังหวัดตาก)" }, { "docid": "181813#7", "text": "เมื่อเข้าสู่จังหวัดนครสวรรค์ เส้นทางจะผ่านอำเภอพยุหะคีรี อำเภอโกรกพระ อำเภอเมืองนครสวรรค์ เทศบาลนครนครสวรรค์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานเดชาติวงศ์ จากนั้นเส้นทางจะออกไปทางทิศตะวันตก แล้วขึ้นไปสู่จังหวัดทางภาคเหนือ ผ่านอำเภอลาดยาวกับอำเภอบรรพตพิสัย แล้วเข้าสู่จังหวัดกำแพงเพชร ผ่านอำเภอขาณุวรลักษบุรี อำเภอคลองขลุง อำเภอเมืองกำแพงเพชร และอำเภอโกสัมพีนคร เข้าสู่จังหวัดตาก ผ่านอำเภอวังเจ้า ในอดีตถนนพหลโยธินมีเส้นทางข้ามไปยังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิง ที่สะพานวุฒิกุล แล้วเข้าสู่อำเภอเมืองตาก ปัจจุบันได้มีแนวเส้นทางใหม่ตรงไปสู่อำเภอเมืองตากแล้วข้ามแม่น้ำปิงที่สะพานกิตติขจร แล้วเลี้ยวซ้ายที่สามแยกศูนย์สร้างทาง โดยบรรจบกับเส้นทางเก่าทางขวามือ ซึ่งได้กำหนดหมายเลขเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 104 และเรียกถนนนี้ว่า \"ถนนพหลโยธินสายเก่า\" หลังจากผ่านอำเภอเมืองตาก จะเข้าสู่อำเภอบ้านตาก และอำเภอสามเงา", "title": "ถนนพหลโยธิน" }, { "docid": "26143#4", "text": "บรรดาศักดิ์ของขุนนางไทยแบ่งออกได้เป็น 8 ระดับคือ\nแต่ละบรรดาศักดิ์ จะมี ศักดินา ประกอบกับบรรดาศักดิ์นั้นด้วย ระบบขุนนางไทย ถือว่า ศักดินา สำคัญกว่า บรรดาศักดิ์ เพราะศักดินา จะใช้เป็นตัววัดในการปรับไหม และ พินัย ในกรณีขึ้นศาล บรรดาศักดิ์ ใน พระไอยการนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง นี้ ค่อนข้างสับสนและไม่เป็นระบบ คล้ายๆ กับว่า ผู้ออกกฎหมายนึกอยากจะให้บรรดาศักดิ์ใด ศักดินาเท่าไหร่ ก็ใส่ลงไป โดยไม่ได้จัดเป็นระบบแต่อย่างใด (เพิ่มเติมวันที่ 4 มีนาคม 2550 ตามความเห็นไม่คิดว่าจะจัดไม่เป็นระบบแต่อย่างใด แต่เป็นลักษณะอย่าง เช่น เมืองตากเป็นเมืองเล็กๆ พระยาตากอาจถือศักดินาสูงสุดอยู่ในเมืองตาก หมายความว่าใหญ่สุดในเมืองตากทั้งศักดินาและบรรดาศักดิ์ แต่อย่างที่บอกไป เมืองตากเป็นเมืองเล็ก เป็นไปได้ว่าอาจมีศักดินาต่ำกว่ายศขุนของอยุธยาซึ่งถือว่าเป็นเมืองใหญ่ก็เป็นได้ ทั้งนี้ควรหาข้อมูลเปรียบเทียบตรงจุดนี้ให้กระจ่าง) ดังนั้น จึงมีขุนนางใน กรมช่างอาสาสิบหมู่ หรือ บางกรม ที่มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา แต่ศักดินาต่ำกว่า 1,000 ซึ่งถือเป็นขุนนางระดับต่ำ", "title": "บรรดาศักดิ์ไทย" }, { "docid": "65256#0", "text": "อำเภออุ้มผาง เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนใต้ของจังหวัดตาก จัดตั้งขึ้นตาม อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 อำเภอนี้ที่มีขนาดพื้นที่มากที่สุดและเป็นอำเภอที่อยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอเมืองมากที่สุดในประเทศไทย", "title": "อำเภออุ้มผาง" }, { "docid": "50748#26", "text": "เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแลและควบคุมมาตรฐานการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยทั้งหมดมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ อยู่ระหว่างการก่อสร้างโครงการก่อสร้างอาคาร ในพื้นที่การก่อสร้างอาคารของแต่ละคณะและแต่ละหน่วยงานนั้นคำนึงถึงกลุ่มสาขาวิชาเป็นหลัก โดยมีคณะ และสำนักงานต่างๆ แบ่งออกเป็น กลุ่มอาคารสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เกษตรศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร โดยพื้นที่การสร้างมหาวิทยาลัยแห่งใหม่จะประกอบไปด้วย สาธารณูปโภค และสวัสดิการต่างๆที่เอื้ออำนวยความสะดวก แก่เจ้าหน้า อาจารย์ และนักศึกษาและมีถนนเชื่อมต่อเข้าสู่อาคารต่างๆ โดยแบ่งพื้นที่การศึกษา และเนื้อที่ใช้สอยต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้\n1. งานออกแบบ2. งานควบคุมงานก่อสร้าง\nหลังจากที่ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ได้จัดตั้งแล้วและรวมวิทยาลัยต่างๆเข้าด้วยกัน จึงได้ขยายพื้นที่ไปที่ อำเภอเมืองนราธิวาส อำเภอระแงะ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยมุ่งหวังให้แต่ละศูนย์เขตการศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านเฉพาะตามที่วิทยาลัยเดิมจัดการศึกษาอยู่แล้ว มีคณะที่จัดตั้งได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะแพทยศาสตร์ โครงการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ โดยพื้นที่คณะเกษตรศาสตร์ และวิทยาลัยการอาชีพตากใบนั้น มิได้จัดการบริหารแบบวิทยาเขตแต่อย่างใด", "title": "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์" }, { "docid": "974653#1", "text": "ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อน มีพื้นที่ราบอยู่เพียงเล็กน้อย บริเวณที่ทำการอุทยานฯ อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 1,000 เมตร มีแนวทิวเขาถนนธงชัย ผ่านกลางอุทยานฯ ลักษณะเป็นสันปันน้ำซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างอำเภอเมืองตากกับอำเภอแม่สอด เป็นต้นกำเนิดของห้วยสำคัญๆ เช่น ทางด้านอำเภอแม่สอด ได้แก่ ห้วยตะปูเคาะ ห้วยยะอุ ห้วยปลาหลด ห้วยพลูใหญ่ ห้วยผักหละ ห้วยพระเจ้า ห้วยปูแป้ ห้วยผาแกว และห้วยสะมึนหลวง ไหลไปรวมกันเป็นห้วยแม่ละเมา ทางด้านอำเภอเมืองตากมีจำนวน 7 ห้วย ได้แก่ ห้วยปางอ้า ห้วยสลักพระ ห้วยน้ำดิบ ห้วยบง ห้วยช้างไล่ ห้วยโปร่งสัก และห้วยไม้ห้าง ซึ่งไหลลงมารวมเป็นห้วยแม่ท้อ แล้วไหลลงสู่แม่น้ำปิง", "title": "อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช" }, { "docid": "312864#8", "text": "อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช เดิมมีชื่อว่า อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่ เนื่องจากมีต้นกระบากที่ใหญ่สุดในประเทศไทยเท่าที่สำรวจพบในขณะนี้ ตั้งอยู่ในท้องที่ 2 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตาก และอำเภอแม่สอด ซึ่งประกาศทับซ้อนป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ละเมา ตำบลพะวอ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 954 (พ.ศ. 2524) และประกาศทับซ้อนป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ท้อ–ห้วยตากฝั่งขวา ตำบลแม่ท้อ อำเภอเมือง จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 145 (พ.ศ. 2509) มีพื้นที่ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาจำนวน 93,125 ไร่ แต่มีพื้นที่จริงจากการคำนวณเท่ากับ 163,750 ไร่ \nต่อมากองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ พิจารณาเห็นว่า เพื่อเป็นการเทอดพระเกียรติแด่องค์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเป็นสิริมงคลแก่อุทยานแห่งชาติ ตลอดจนเพื่อเป็นการรำลึกถึงสถานที่อันมีค่าทางประวัติศาสตร์ของชาติไทย ได้แก่ จังหวัดตาก เห็นสมควรเปลี่ยนชื่อ อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่ เป็น อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช กรมป่าไม้จึงได้ดำเนินการกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เพื่อใช้พระปรมาภิไธยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นชื่ออุทยานแห่งชาติ และได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามหนังสือสำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2529 ให้ใช้ชื่อว่า อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช ", "title": "พระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี" }, { "docid": "55844#5", "text": "เมืองยวมเคยเป็นถิ่นฐานอาศัยของชนเผ่าดั้งเดิม คือ คนพื้นเมือง ละว้า และกะเหรี่ยง ต่อมาในปี พ.ศ. 2443 ทางราชการได้ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอเรียกชื่อว่า อำเภอเมืองยวม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2467 ทางราชการได้พิจารณาเห็นว่าชื่ออำเภอเมืองยวมนั้นไปพ้องกับอำเภอขุนยวมซึ่งอยู่ในจังหวัดเดียวกัน จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอแม่สะเรียง ตามชื่อของลำน้ำแม่สะเรียงที่ไหลผ่านอำเภออีกสายหนึ่งแทน\nอำเภอแม่สะเรียงในอดีตยังเคยเป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย (ปัจจุบันอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยคือ อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก) แต่ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองดังนี้", "title": "อำเภอแม่สะเรียง" }, { "docid": "128649#4", "text": "ปัจจุบันมีคนพูดภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ (เจ๊ะเห) มีผู้พูดภาษานี้คือชาวไทยพุทธในอำเภอมายอ อำเภอปะนาเระ อำเภอสายบุรี อำเภอทุ่งยางแดง อำเภอกะพ้อ และอำเภอไม้แก่น ในจังหวัดปัตตานี ในอำเภอบาเจาะ อำเภอรือเสาะ อำเภอศรีสาคร อำเภอยี่งอ อำเภอเจาะไอร้อง อำเภอเมือง อำเภอตากใบ อำเภอระแงะ อำเภอจะแนะ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอแว้ง อำเภอสุคิรินในจังหวัดนราธิวาส รวมไปถึงชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยที่อาศัยอยู่ในรัฐกลันตัน เช่น เมืองตุมปัต เมืองปาซีร์มัส เมืองโกตาบารู และเมืองปาซีร์ปูเตะห์ เป็นต้น จากการศึกษาความหนาแน่นของการใช้คำยืมและคำที่ใช้ร่วมกันกับภาษามลายูปัตตานีพบว่าพื้นที่ของภาษาถิ่นตากใบใช้ 78.25% ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มตากใบ และกลุ่มพิเทน ซึ่งภาษานี้พูดในอำเภอทุ่งยางแดง และกะพ้อในจังหวัดปัตตานี นอกจากนี้ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบยังมีความใกล้เคียงกับภาษาถิ่นสะกอม ที่ใช้ในอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา", "title": "สำเนียงตากใบ" }, { "docid": "31552#0", "text": "อำเภอสวี [—สะ-หฺวี] เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดชุมพร อำเภอสวีเป็นเมืองเก่าแก่มาตั้งแต่สมันโบราณเมืองหนึ่งของจังหวัดชุมพร ตามประวัติสาสตร์ อำเภอนี้มีชื่อเรียกแต่เดิมว่า “เมืองฉวี” แล้วเพี้ยนมาเป็น “สวี” ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย เมืองสวีมีกำหนดมาตั้งแต่เมื่อไหร่ ใครเป็นคนสร้าง ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดในประวัติศาสตร์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2357 ปรากฏว่าได้มีเมืองสวีแล้ว โดยปรากฏในประวัติศาสตร์ว่า สมณทูตของไทยจะไปลังกา แต่เรือแตกก็เปลี่ยนเป็นเดินทางบก และได้เดินทางจากเมืองชุมพรผ่านเมืองสวี แต่สถานที่ตั้งตัวเมืองเดิมอยู่ที่ใดไม่มีหลักฐานยืนยัน ประมาณปี พ.ศ. 2449 ซึ่งเป็นปีที่จัดการหัวเมืองใหม่ เมืองสวีได้ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสวี แต่จะตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวีตอนใดก็ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจนเช่นเดียวกัน ปัจจุบันพื้นที่อำเภอสวีส่วนใหญ่ อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชผลทางการเกษตร ผลผลิตจากการประมง และมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ", "title": "อำเภอสวี" } ]
579
ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปตเปิดใช้งานเมื่อใด?
[ { "docid": "941284#3", "text": "ในปี พ.ศ. 2448 กรมรถไฟหลวงได้มีการจัดซื้อที่ดินเพื่อก่อสร้างเส้นทางรถไฟจากมณฑลกรุงเทพสู่มณฑลปราจิณบุรี กระทั่งในปี พ.ศ. 2462 มีพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตสร้างรถไฟหลวงจากจังหวัดฉะเชิงเทราถึงอารัญประเทศ จังหวัดกระบินทร์บุรี[12] และสามารถเปิดการเดินรถจากสถานีรถไฟกระบินทร์บุรีถึงสถานีรถไฟอรัญประเทศเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469[2]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" } ]
[ { "docid": "35575#18", "text": "เส้นทางรถไฟสายตะวันออกยังคงใช้แนวทางคมนาคมเก่าคือแม่น้ำลำคลองที่มีอยู่ก่อนหน้าเป็นสำคัญ", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "261074#0", "text": "สถานีประจันตคาม เป็นสถานีผ่านของรถไฟสาย กรุงเทพ - กบินทร์บุรี และ กรุงเทพ - อรัญประเทศ เวลาทื่ผ่านมากทื่สุดคือ 12.00 - 16.00", "title": "สถานีรถไฟประจันตคาม" }, { "docid": "562821#2", "text": "สายตะวันตกเชื่อมต่อกับชายแดนไทยที่เมืองปอยเปตซึ่งกำลังฟื้นฟู และมีทางรถไฟสายใหม่เชื่อมระหว่างกรุงพนมเปญกับนครโฮจิมินห์ ซึ่งกำลังวางแผน และเมื่อแล้วเสร็จ ทางรถไฟจะเชื่อมต่อจากสิงคโปร์ไปยังเมืองคุนหมิงได้สะดวก", "title": "การขนส่งระบบรางในประเทศกัมพูชา" }, { "docid": "941284#4", "text": "ในช่วงปี พ.ศ. 2484–2489 ไทยได้ดินแดนเขมรส่วนในจากสนธิสัญญาโตเกียวเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ส่งผลให้ไทยได้เมืองพระตะบอง, ศรีโสภณ, มงคลบุรี และเสียมราฐ (ยกเว้นนครวัดและนครธม) กลับมาอีกครั้ง และได้ทำการเชื่อมเส้นทางรถไฟระหว่างสถานีรถไฟอรัญประเทศกับสถานีรถไฟมงคลบุรีโดยมีทหารญี่ปุ่นบุกเบิกเส้นทางให้ เรียกว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[6215,6251,3,3]}'>ทางรถไฟสายอรัญญประเทศ–มงคลบุรี โดยวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 ไทยได้ทำการเวนคืนที่ดินในเขตอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอศรีโสภณ จังหวัดพิบูลสงคราม และอำเภอมงคลบุรี อำเภอเมืองพระตะบอง และอำเภออธึกเทวเดช จังหวัดพระตะบอง[13] และประกาศเวนคืนอีกครั้งเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2487 ในเขตอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอศรีโสภณ จังหวัดพิบูลสงคราม และอำเภอมงคลบุรี อำเภอเมืองพระตะบอง อำเภอรณนภากาศ จังหวัดพระตะบอง[14] เส้นทางรถไฟสายนี้จะสิ้นสุดบริเวณแม่น้ำสังแกตามข้อตกลงไทย-ฝรั่งเศสในขณะนั้น รวมระยะทางตั้งแต่สถานีอรัญประเทศถึงปลายทางเป็นระยะทาง 117 กิโลเมตร[5] แต่หลังจักรวรรดิญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2489 รัฐบาลไทยจึงต้องคืนดินแดน รวมทั้งเส้นทางรถไฟที่เคยสร้างไว้ด้วย[15]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "222144#1", "text": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร รักษาการตำแหน่งเจ้ากรมรถไฟสายเหนือ ในปี พ.ศ. 2460 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมรถไฟสายเหนือกับสายใต้เข้าเป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า \"กรมรถไฟหลวง\" และให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง และทรงบุกเบิกพัฒนากิจการต่างๆ ของกรมรถไฟหลวง ขยายเส้นทางเดินรถไฟสายเหนือและสายใต้เข้าด้วยกัน สายตะวันออกเฉียงเหนือทรงสร้างทางรถไฟจากนครราชสีมาถึงอุบลราชธานี สายตะวันออกจากฉะเชิงเทรา (แปดริ้ว) ถึงอรัญประเทศ ทรงนำรถจักรดีเซลเข้ามาใช้เป็นประเทศแรกในทวีปเอเชีย", "title": "สถานีรถไฟอรัญประเทศ" }, { "docid": "941284#13", "text": "28 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ทางการไทยสร้างสถานีรถไฟด่านพรมแดนบ้านคลองลึกใกล้ตลาดโรงเกลือใกล้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนโดยไม่ต้องเดินทางไปขึ้นรถไฟที่สถานีรถไฟอรัญประเทศ คาดว่าจะมีการเดินรถสปรินเตอร์ในต้นปี พ.ศ. 2562 ส่วนการเดินรถระหว่างประเทศนั้น ยังติดขัดปัญหาบางประการของทางการกัมพูชา จึงยังไม่มีการเดินรถข้ามพรมแดนระหว่างกัน[21] ซึ่งถูกเลื่อนมาแล้วหลายครั้ง[9][22]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#8", "text": "ต่อมากัมพูชาตัดความสัมพันธ์กับไทยอีกครั้งเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2504 จึงงดการเดินรถข้ามประเทศ[2] ต่อมาการรถไฟแห่งประเทศไทยเริ่มเดินรถข้ามประเทศอีกครั้งเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 แต่ลดจำนวนเที่ยวเพียงวันอังคารและพฤหัสบดี[2]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#6", "text": "หลังกัมพูชาได้รับเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2493 กรมรถไฟของไทยได้เจรจากับคณะผู้แทนรถไฟกรุงกัมพูชาเรื่องการเชื่อมทางรถไฟกัมพูชากับรถไฟไทยเมื่อปี พ.ศ. 2496 และเปิดเดินรถไฟระหว่างประเทศครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2498 ขบวนรถอรัญประเทศ–ปอยเปต–พระตะบอง โดยช่วงแรกได้ใช้รถดีเซลรางของกัมพูชาเดินรถทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ ช่วงเวลาเช้า-เย็น ภายหลังได้เพิ่มรถจักรไอน้ำของไทย อันประกอบไปด้วยรถชั้นสองและสาม มีพ่วงตู้สินค้า เดินรถทุกเช้าวันอังคารและเสาร์[2]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#2", "text": "เส้นทางรถไฟสายนี้ หยุดการเดินรถและเส้นทางถูกรื้อถอนออกหลายครั้งด้วยเหตุผลทางการเมืองของกัมพูชา[2][4][5] รถไฟสายตะวันออกของไทยจึงเดินรถเพียงสถานีรถไฟอรัญประเทศมากว่า 40 ปี[6][7] ปัจจุบันรัฐบาลกัมพูชาได้บูรณะเส้นทางรถไฟนี้ใหม่เพื่อประโยชน์ด้านการค้า[8][9][10][11]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "35575#8", "text": "เมื่อ พ.ศ. 2473 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครหลังจากเสด็จประพาสไซ่ง่อน เวียดนาม และอินโดนีเซีย โดยรถยนต์พระที่นั่งถึงอำเภออรัญประเทศ ได้ประทับบนสถานีรถไฟอรัญประเทศประมาณ 30 นาที แล้วจึงเสด็จขึ้นประทับรถไฟขบวนพิเศษจากอรัญประเทศเข้าพระนคร ในครั้งยังเป็นการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ประชาชนที่มาเฝ้ารับเสด็จจึงมีเฉพาะชาวอรัญเท่านั้น เนื่องจากการคมนาคมยังไม่สะดวก การติดต่อข่าวสารยังล่าช้า", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "222144#0", "text": "สถานีรถไฟอรัญประเทศ ตั้งอยู่ที่ ตำบลอรัญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายตะวันออก", "title": "สถานีรถไฟอรัญประเทศ" }, { "docid": "222144#2", "text": "ในระหว่างที่การก่อสร้างทางสายเหนือและสายใต้ใกล้จะเสร็จ ก็ได้เริ่มทำการก่อสร้างทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือและสายตะวันออกต่อไปอีก คือ จากนครราชสีมาถึงสถานีอุบลราชธานี และสถานีขอนแก่น และจากสถานีหัวลำโพง ถึงสถานีอรัญประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนแปลงทางรถไฟเป็นทางกว้าง 1 เมตร ตามอย่างมาตรฐานที่นิยมในภูมิภาคของประเทศแถบนี้ แล้วสร้างทางรถไฟต่อจากฉะเชิงเทรา (แปดริ้ว) ไปเชื่อมกับทางรถไฟกัมพูชาที่ด่านคลองลึก อำเภออรัญประเทศ โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยทหารช่าง ในการวางราง มีร้อยเอกหลวงรณรงค์สงคราม ยศในขณะนั้นต่อมาคือ (พันเอก พระยาทรงสุรเดช) หนึ่งในคณะราษฎรเป็นผู้บังคับการทหารช่างรถไฟ กองพันที่ 2 กรมทหารบกที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2461 ก่อสร้างทางรถไฟสายตะวันออกจากแปดริ้วถึงสถานีรถไฟปราจีนบุรี ต่อจากนั้นกรมรถไฟหลวงได้ดำเนินการก่อสร้างเอง และได้เปิดการเดินรถ จากแปดริ้วถึงกบินทร์บุรี ระยะทาง 100 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2467 และเริ่มเปิดการเดินรถจากกบินทร์บุรีถึงสถานีอรัญประเทศ ระยะทาง 94 กิโลเมตร ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การบริหารกิจการรถไฟเกี่ยวกับด้านเดินรถและด้านพาณิชย์ได้ก้าวหน้ามาตามลำดับโดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2496 การรถไฟได้รับการติดต่อจากการรถไฟกัมพูชา และจากการรถไฟมลายา ขอให้เปิดการประชุมเพื่อเจรจาหารือทำความตกลงกันเกี่ยวกับการเดินขบวนรถเชื่อมต่อกัน ผลของการประชุม คือ คณะผู้แทนรถไฟกัมพูชาได้เจรจาเรื่อง การเชื่อมทางรถไฟกัมพูชากับรถไฟไทยในทางรถไฟสายตะวันออก (สายอรัญประเทศ) และได้เปิดการเดินรถไฟติดต่อระหว่างประเทศ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2498 ต่อมาได้หยุดการเดินรถไฟไประยะหนึ่ง ตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2504 แล้วเปิดการเดินรถใหม่อีกครั้งเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 แต่ก็ได้ยุติการเดินรถอีก เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517", "title": "สถานีรถไฟอรัญประเทศ" }, { "docid": "35575#22", "text": "ตั้งแต่ช่วงบ้านสร้าง ทางรถไฟโค้งไปทางตะวันออกล้อกับแม่น้ำบางปะกงที่เรียกตอนนี้ว่าแม่น้ำปราจีนบุรี ซึ่งจะมีแนวเทือกเขาใหญ่ขนานอยู่ทางทิศเหนือ จนเข้าสู่เมืองปราจีนบุรี จากจุดนี้ทางรถไฟใช้การตัดทางใหม่ลัดเข้าสู่ต้นน้ำบางปะกง มีชุมชนโบราณที่เป็นด่านระหว่างทางบนลำน้ำ เช่น ประจันตคามหรือด่านกบแจะ กบินทร์บุรีหรือด่านหนุมานและพระปรง(เป็นจุดที่ทางรถไฟข้ามแควหนุมานและแควพระปรง ต้นน้ำบางปะกง) ต่อจากนั้นจึงใช้เส้นทางบกตัดลัดผ่านชุมชนที่ราบ เช่น สระแก้ว วัฒนานคร จนถึงอรัญประเทศและจุดผ่านแดนบ้านคลองลึกเข้าสู่ปอยเปตของกัมพูชา", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "37927#7", "text": "การดำเนินกิจการรถไฟในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงให้ชาวต่างประเทศเป็นผู้ควบคุมการบริหารกิจการทั้งหมด กระทั่งปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร รักษาการตำแหน่งเจ้ากรมรถไฟสายเหนือ ในปี พ.ศ. 2460 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมรถไฟสายเหนือกับสายใต้เข้าเป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า \"กรมรถไฟหลวง\" และให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง และทรงบุกเบิกพัฒนากิจการต่างๆ ของกรมรถไฟหลวง ขยายเส้นทางเดินรถไฟสายเหนือและสายใต้เข้าด้วยกัน สายตะวันออกเฉียงเหนือทรงสร้างทางรถไฟจากนครราชสีมาถึงอุบลราชธานี สายตะวันออกจากฉะเชิงเทราถึงอรัญประเทศ และในปี พ.ศ. 2471 พระองค์ยังได้ทรงสั่งซื้อรถจักรดีเซล จำนวน 2 คัน (หมายเลข 21 และ 22) จากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยมีกำลัง 180 แรงม้า เนื่องจากพระองค์ทรงเห็นว่า รถจักรไอน้ำลากจูงขบวนรถไม่สะดวก และไม่ประหยัด อีกทั้งลูกไฟที่กระจายออกมาเป็นอันตรายต่อผู้โดยสาร และอาจทำให้เกิดไฟไหม้ไม้หมอนอีกด้วย ซึ่งรถจักรดีเซลทั้งสองคันดังกล่าว เป็นรถจักรดีเซลคันแรกในทวีปเอเชีย และถือว่าประเทศไทยนำรถจักรดีเซลเข้ามาใช้งานเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียด้วย [6]", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "941284#9", "text": "ในช่วงเหตุการณ์พนมเปญแตก การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงยุติการเดินรถข้ามพรมแดนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517[2] หลังยุติการเดินรถทางฝั่งกัมพูชาได้มีการรื้อถอนรางออกไป[11][15] โดยมากรางจะถูกงัดไปขาย[2] และย่านสถานีรวมทั้งเส้นทางรถไฟในปอยเปตได้แปรสภาพเป็นบ่อนกาสิโน โรงแรม และร้านค้า[2][4] คงเหลือเพียงสะพานข้ามคลองพรหมโหดที่ติดกับพรมแดนไทยเท่านั้น[6][7] ส่วนเส้นทางรถไฟฝั่งไทยก็ถูกกลบหายไปจากการสร้างตลาดโรงเกลือ[4]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "221620#0", "text": "สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 บนทางรถไฟสายตะวันออกของการรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีชุมทางฉะเชิงเทรา เป็นจุดรับส่งผู้โดยสาร ถึง สถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วและ สถานีรถไฟบ้านพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และติด 1 ใน 10 ของสถานีรถไฟขนาดใหญ่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นสถานีที่ขบวนรถไฟสินค้าที่มาจากสายชายฝั่งทะเลตะวันออกต้องแวะ เพื่อเปลี่ยนเส้นทางไปยังอีกช่วง", "title": "สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา" }, { "docid": "35575#21", "text": "ทางแยกไปอรัญประเทศคือรางรถไฟหัวมุมเลี้ยวขึ้นทิศเหนือเพื่อตามแนวแม่น้ำบางปะกงขึ้นไปแต่ใช้การตัดทางตรงผ่านที่ราบจนพบกับแม่น้ำโยทะกาไหลมาจากนครนายกลงแม่น้ำบางปะกง จุดนี้เองเป็นเส้นทางเดินทัพในสมัยโบราณที่ถูกกล่าวถึงเมื่อคราวสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีไล่รบกับกองทัพพม่าแถบเมืองบางคางหรือปราจีนบุรี", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "941284#10", "text": "ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชียให้กัมพูชากู้ยืมเงินสำหรับบูรณะเส้นทางรถไฟช่วงศรีโสภณ–ปอยเปตเป็นระยะทาง 48 กิโลเมตรเพื่อเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟกับประเทศไทยที่อรัญประเทศ การรถไฟแห่งประเทศไทยเคยเสนอของงบประมาณในปี พ.ศ. 2555 แต่ถูกตัดงบประมาณ ต่อมาชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้กล่าวว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยมีการปรับปรุงรางและอื่น ๆ ในเส้นทางชุมทางคลองสิบเก้า–อรัญประเทศ และอรัญประเทศ–คลองลึก รวมถึงสะพานข้ามคลองพรหมโหดในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556[2] ใช้งบประมาณ 2,808 ล้านบาท โดยบริษัทอิตาเลียนไทยชนะประมูลการก่อสร้าง[6][7] พ.ศ. 2557 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาได้เยือนประเทศกัมพูชา พร้อมทั้งเจรจากับฮุน เซนเกี่ยวกับโครงการระบบรางและร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ[4]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#1", "text": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต หรือเดิมคือ ทางรถไฟสายอรัญญประเทศ–มงคลบุรี[1] เป็นทางรถไฟระหว่างประเทศที่เชื่อมระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา มีจุดเริ่มต้นจากสถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ผ่านสะพานคลองลึกข้ามคลองพรหมโหดจนถึงสถานีปลายทางคือสถานีรถไฟปอยเปต จังหวัดบันทายมีชัย ในอดีตสามารถเชื่อมต่อการเดินรถในเส้นทางไปยังสถานีรถไฟพระตะบอง จังหวัดพระตะบอง[2] อันเป็นส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายพนมเปญ–ปอยเปต[3] หรือทางรถไฟสายตะวันตกของกัมพูชาในปัจจุบัน", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#14", "text": "หมวดหมู่:เส้นทางรถไฟในประเทศไทย หมวดหมู่:การขนส่งระบบรางในประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดสระแก้ว หมวดหมู่:จังหวัดบันทายมีชัย", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#5", "text": "วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2491 กรมรถไฟส่งหัวรถจักรที่พ่วงรถบรรทุกหินและตู้โดยสาร นำคนงานไปขนหินที่หลักกิโลเมตร 259.16 ระหว่างสถานีรถไฟอรัญประเทศกับคลองลึก ระหว่างที่คนงานกำลังเก็บหินอยู่นั้น สงัด พันธุรัตน์ พนักงานขับรถ ได้ถอดหัวรถจักรกับรถตู้ใหญ่ เพื่อไปอัดจารบีแล้วเผลอหลับไป หัวรถจักรและตู้ใหญ่จึงไหลออกจากฝั่งไทยข้ามไปยังฝั่งอินโดจีนของฝรั่งเศส แล้วชนรถไฟฝรั่งเศสตกรางไปหกตู้ จากความเสียหายดังกล่าวฝรั่งเศสคิดค่าใช้จ่าย 224,000 เปียสตร์ แต่ลดให้ทางการไทย 200,000 เปียสตร์ หรือคิดเป็นเงินไทยคือ 90,000 บาท ซึ่งก็ถือว่าแพงมากอยู่ดี หลังชำระเงินเรียบร้อยแล้วทางการไทยจึงรื้อรางออกตั้งแต่สถานีรถไฟอรัญประเทศจนถึงชายแดนเสีย เพื่อมิให้เกิดซ้ำสอง[5]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "941284#7", "text": "หลังเดินรถได้ 4 ปี กัมพูชาประกาศตัดความสัมพันธ์กับไทย และยุติการเดินรถเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 ต่อมาได้เปิดพรมแดนชั่วคราวเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 จึงเดินรถตามตารางเดิมที่เคยใช้เมื่อวันที่ 6 มีนาคมปีเดียวกัน[2]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "35575#17", "text": "ปราสาทเขาน้อย เป็นโบราณสถานของชาติ ปราสาทเขาน้อยสีชมพูแห่งนี้ ยังปรากฏอยู่ในภาพสัญลักษณ์ประจำจังหวัดสระแก้วอีกด้วย ปราสาทเมืองไผ่ โบราณสถานที่ก่อสร้างด้วยอิฐศิลาแลง ปัจจุบันพังทลายจนไม่มีเค้าโครงเดิมให้เห็น นับเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่และทรงคุณค่าอีกแห่งหนึ่ง เนินโบราณสถานบ้านหนองคู โบราณสถานเขารัง วัดชนะไชยศรี ศิลาจารึกบ้านกุดแต้ ตลาดอินโดจีนรถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารประจำทางทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 ทุกวัน สอบถามได้ที่ โทร 0-2936-2852-66 ต่อ 311 ท่ารถปลายทางอยู่หน้าตลาดอินโดจีน พระสยามเทวาธิราช ตั้งอยู่บริเวณใกล้ที่ทำการเทศบาลอรัญประเทศ ติดกับสถานีตำรวจ สร้างขึ้นมานานกว่า 20 ปี เป็นที่เคารพนับถือของชาวอรัญประเทศ หลายคนเชื่อว่าเป็นผู้ปกปักษ์รักษาเมืองอรัญให้รอดพ้นจากภัยพิบัติร้ายแรง ตลาดชายแดนบ้านคลองลึก (ตลาดโรงเกลือ) ตลาดชายแดนไทย-กัมพูชา ที่มีสินค้าจำหน่ายมากมาย เช่น เสื้อผ้า เครื่องทองเหลือง กระเบื้องถ้วยชามต่าง ๆ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจักสาน เป็นต้น วัดอนุบรรพต สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นวัดที่มีอุโบสถสวยงามและลักษณะแปลกกว่าอุโบสถทั่วไป คือสร้างเป็นฐานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หลังคาทรงไทยยอดแหลมสูง ตกแต่งสวยงาม ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ศาลหลักเมืองที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2375 เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนในจังหวัดสระแก้ว ประตูชัยอรัญประเทศ สร้างเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2482 โดยกรมยุทธโยธาทหารบกได้ระดมกำลังทหารช่างทำการสร้างทั้งกลางวันและและกลางคืนตลอด 24 ชั่วโมง แล้วเสร็จภายใน 29 วัน เสร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2482 ประตูทางผ่านเข้าออกไทย-กัมพูชา ที่ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนไทย-กัมพูชา ติดกับเมืองปอยเปต ประตูแห่งนี้ถูกปิดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ปัจจุบันได้เปิดพรมแดน ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ทำให้ประชาชนชาวไทยและกัมพูชาเดินผ่านเข้าออกหากันได้ สถานีรถไฟอรัญประเทศ สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 เป็นสถานีแห่งประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นเป็นสถานที่ร่วมสมัยในยุครถจักรไอน้ำเฟื่องฟูจนถึงรถจักรหัวลากดีเซลหลักฐานที่ยังคงหลงเหลือคือหอเหล็กเติมน้ำให้หัวรถจักรในบริเวณใกล้เคียงกันไม่ไกลนัก ทางรถไฟไทยสร้างบนเส้นทางสมัยโบราณ ทางสายกรุงเทพ-อรัญประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐบาลสยามได้ตัดทางรถไฟเชื่อมระหว่างกรุงเทพฯกับฉะเชิงเทรา (แปดริ้ว) ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 จึงได้ขยายเส้นทางไปทางตะวันออกจนเชื่อมกับรถไฟของกัมพูชาหรืออินโดจีนฝรั่งเศสในขณะนั้นที่ ต.คลองลึก อ.อรัญประเทศ", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "941284#12", "text": "วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ทำการรื้อถอนสะพานข้ามคลองพรหมโหดเดิมที่มีอายุ 120 ปี เพื่อสร้างใหม่ เพื่อเชื่อมเส้นทางไปยังพรมแดนกัมพูชา[6][7] โดยทางรัฐบาลไทยได้ก่อสร้างเส้นทางรถไฟจากอรัญประเทศจนถึงสะพานข้ามคลองพรหมโหดแล้วเสร็จตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2561[17] และกำลังก่อสร้างสถานีรถไฟใหม่บริเวณบ้านดงงู อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว[9] ในปีเดียวกัน การรถไฟแห่งประเทศไทยได้มอบรถดีเซลรางฮิตาชิรีโนเวตจำนวน 4 คันแก่กิจการรถไฟกัมพูชา พร้อมกับอบรมพนักงานขับรถของกัมพูชา[18][19] และการรถไฟแห่งประเทศไทยวางแผนจะมอบหัวรถจักรและตู้โดยสารจำนวน 4 ตู้เป็นของขวัญแก่กัมพูชา[9] เบื้องต้นจะมีการเดินรถระหว่างประเทศโดยมุ่งเน้นขนส่งประชาชนเป็นหลัก[20]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" }, { "docid": "35575#19", "text": "ทางรถไฟแยกออกจากทางสายหลักที่สถานีจิตรลดาไปทางทิศตะวันออกโดยล้อกับแนวคลองมหานาคซึ่งอยู่ทางใต้ คลองมหานาคนี้ขุดขึ้นสมัยรัชกาลที่ 1 แยกจากคูเมืองตรงวัดสระเกศเพื่อใช้เดินทางติดต่อกับชุมชนทางตะวันออกของกรุงเทพ ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 3 ได้ขุดต่อออกไปเชื่อมกับแม่น้ำบางปะกงที่ประตูน้ำท่าไข่ ฉะเชิงเทราเพื่อการส่งกำลังไปทำสงครามด้านตะวันออกคือเขมรและญวนในสมัยนั้น เรียกกันต่อมาว่าคลองแสนแสบ", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "78994#61", "text": "ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถึง (สถานีรถไฟ อำเภอวารินชำราบ) จังหวัดอุบลราชธานี ระยะทาง 575 กิโลเมตร และสถานีชุมทางถนนจิระถึงสถานีจังหวัดหนองคาย และต่อจากหนองคายไปยังสะพานมิตรภาพไทย-ลาว (สปป.ลาว) ระยะทาง 2.66 กิโลเมตร และสถานีชุมทางจิระถึงสถานีหนองคาย จังหวัดหนองคายระยะทาง 360 กิโลเมตร และชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ ระยะทาง 252.4 กิโลเมตร ทางรถไฟสายเหนือ ถึง สถานีรถไฟ จังหวัดเชียงใหม่ และ สถานีรถไฟ จังหวัดสุโขทัย ระยะทาง 752 กิโลเมตร และทางแยกสถานีชุมทางบ้านดาราจังหวัดพิษณุโลก ถึงสถานีสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ระยะทาง 29 กิโลเมตร ทางรถไฟสายใต้ เริ่มต้นจากสถานีกรุงเทพ ถึง ( สถานีรถไฟ อำเภอสุไหงโกลก ) จังหวัดนราธิวาส ระยะทาง 1,141 กิโลเมตร, ทางแยกสถานีปาดังเบซาร์ ระยะทาง 43.5 กิโลเมตร, ทางแยกคีรีรัฐนิคม ระยะทาง 31 กิโลเมตร และทางแยกกันตัง ระยะทาง 92.8 กิโลเมตร, ทางแยกนครศรีธรรมราช ระยะทาง 35 กิโลเมตร โดยสถานีรถไฟ จังหวัดสงขลา ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับทางรถไฟของ ประเทศมาเลเซีย ไปถึงยัง ประเทศสิงคโปร์ ทางรถไฟสายตะวันออก ถึง จังหวัดสระแก้ว ( สถานีรถไฟ อำเภออรัญประเทศ ) ระยะทาง 260 กิโลเมตร, สถานีคลองสิบเก้า-ชุมทางแก่งคอย ระยะทาง 81.4 กิโลเมตร และชุมทางเขาชีจรรย์-มาบตะพุต ระยะทาง 24.07 กิโลเมตร ทางรถไฟสายตะวันตก จาก สถานีชุมทางหนองปลาดุกถึง สถานีรถไฟ ) จังหวัดกาญจนบุรี ระยะทาง 131 กิโลเมตร และถึงทางแยก สถานีรถไฟ จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทาง 78 กิโลเมตร ทางรถไฟสายแม่กลอง ช่วง สถานีรถไฟ - สถานีรถไฟ ระยะทาง 31 กิโลเมตร และช่วง สถานีรถไฟ - สถานีรถไฟ ระยะทาง 34 กิโลเมตร", "title": "การรถไฟแห่งประเทศไทย" }, { "docid": "564464#0", "text": "ทางรถไฟสายตะวันออก เป็นเส้นทางเดินรถไฟทางไกลระหว่างจังหวัดของการรถไฟแห่งประเทศไทย เริ่มต้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ สิ้นสุดที่สถานีรถไฟอรัญประเทศ ชายแดนกัมพูชา", "title": "ทางรถไฟสายตะวันออก" }, { "docid": "35575#5", "text": "พื้นที่อำเภออรัญประเทศมีถนนโบราณสายหนึ่งตัดผ่านจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ทางทิศเหนือหมู่บ้านอรัญประมาณ 400 เมตร มีคนเล่าต่อกันมาว่าเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นผู้สร้างไว้ ต่อมาจึงมีผู้ตั้งชื่อว่า ถนนเจ้าพระยาบดินทรเดชา สันนิษฐานว่า สถานีอรัญประเทศ เป็นจุดปลายทางของรถไฟสายตะวันออกซึ่งสร้างลงบน “ฉนวนไทย” หรือทางราบที่ใช้ติดต่อระหว่างที่ราบลุ่มเจ้าพระยากับที่ราบลุ่มทะเลสาบเขมรมาแต่โบราณ เส้นทางรถไฟจากปราจีนบุรีจนถึงอรัญประเทศน่าจะซ้อนทับลงบนทางเดินบกโบราณจากภาคกลางของไทยไปสู่ที่ราบลุ่มทะเลสาบของเขมรที่เรียกกันว่า ฉนวนไทย มีแหล่งโบราณคดีใหญ่น้อยกระจายตัวกันตามลำน้ำอันเป็นต้นสายแม่น้ำบางปะกงคือแควหนุมานกับแควพระปรง และยังมีด่านพระจารึก ซึ่งปรากฏชื่อในเอกสารพงศาวดารสมัยอยุธยาว่าเป็นจุดสำคัญทางประวัติศาสตร์บนเส้นทางสายนี้ด้วย", "title": "อำเภออรัญประเทศ" }, { "docid": "941284#11", "text": "พ.ศ. 2559 รัฐบาลกัมพูชาเวนคืนที่ดินซึ่งเป็นกาสิโนจำนวนสามแห่งรวมทั้งสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองออกเพื่อสร้างทางรถไฟเชื่อมระหว่างอรัญประเทศ–ปอยเปต[16]", "title": "ทางรถไฟสายอรัญประเทศ–ปอยเปต" } ]
2598
อะมอส ทเวอร์สกี้ คือใคร ?
[ { "docid": "304218#1", "text": "ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทนเป็นหนึ่งในกลุ่มฮิวริสติก (คือกฎที่ใช้เพื่อทำการประเมินและการตัดสินใจ) ที่เสนอโดยนักจิตวิทยา แดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 มีการพรรณนาถึงฮิวริสติกว่าเป็น \"ทางลัดในการประเมิน ที่โดยทั่วไปช่วยให้เราไปถึงที่หมายได้ และอย่างรวดเร็ว แต่มีราคาคือบางครั้งส่งเราไปผิดที่\"[2] ฮิวริสติกมีประโยชน์เพราะว่าช่วยทำการตัดสินใจให้ง่ายขึ้นและไม่ต้องใช้ทรัพยากรทางสมองมาก[3] คำว่า \"ความเป็นตัวแทน\" (Representativeness) ในบทความนี้ใช้โดยสามารถหมายถึง[4][5][6]", "title": "Representativeness heuristic" } ]
[ { "docid": "684287#14", "text": "คาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ได้ใช้วิธีการที่เป็น \"การยักย้ายเปลี่ยนแปลง (องค์ประกอบการทดลอง) ที่เพิ่มความสิ้นหวังขึ้นเรื่อย ๆ\" เพื่อจะให้ผู้ร่วมการทดลองรับรู้ถึงความผิดพลาดทางตรรกะของตน\nในรูปแบบหนึ่ง ผู้ร่วมการทดลองต้องเลือกระหว่าง\nแต่ว่า ผู้ร่วมการทดลอง 65% กลับเห็นว่า การอ้างเหตุผลที่ไม่ถูกต้องตามตรรกะน่าเชื่อมากกว่า", "title": "ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ" }, { "docid": "302126#1", "text": "ทอม ริปลีย์ (แมตต์ เดมอน) ผู้ที่ใครเข้าใจผิดว่าเป็นบัณฑิตหนุ่มจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน มีความเชี่ยวชาญในการเล่นเปียโน เป็นบุคคลที่ใคร ๆ ก็ต่างชื่นชมในความสามารถและอุปนิสัย ริปลีย์ได้รับการติดต่อจาก เฮอร์เบิร์ต กรีนลีฟ (เจมส์ เรบฮอร์น) มหาเศรษฐีผู้มีกิจการต่อเรือให้ช่วยตามตัว ดิกกี้ (จูด ลอว์) ลูกชายจอมเพลย์บอยที่ใช้ชีวิตเสเพลอยู่ขณะนี้ที่อิตาลี เมื่อริปลีย์ไปถึงก็พบกับดิกกี้อยู่กับแฟนสาวที่ชื่อ มาร์จ เชอร์วู๊ด (กวินเน็ธ พัลโทรว์) ริปลีย์ตีสนิทและพยายามใช้ชีวิตหรูหราตามดิกกี้และมาร์จตามไนท์คลับผับบาร์ต่าง ๆ จนกระทั่งวันหนึ่งที่ทั้งหมดกำลังล่องเรือยอร์ชอยู่นั้น ดิกกี้รู้สึกว่าริปลีย์เข้ามายุ่มย่ามในชีวิตตนเองมากไป จึงทะเลาะกัน ที่สุด ริปลีย์เกิดพลั้งมือฆ่าดิกกี้ตาย โดยที่ไม่มีใครรู้ นับตั้งแต่นั้นริปลีย์จึงสวมตัวเป็นดิกกี้ และเปลี่ยนแปลงตัวเองจากหน้ามือเป็นหลังมือ โดยที่เพื่อน ๆ ของดิกกี้ ไม่ว่าจะเป็น เฟร็ดดี้ ไมล์ (ฟิลิป ซีมัวร์ ฮอฟฟ์แมน) หรือ เมเรดิธ เลา (เคต แบลนเชตต์) ก็เพียงแค่ระแคะระคายต่อการหายตัวไปของดิกกี้ แต่ทั้งหมดก็ไม่มีใครรู้ และเชื่อตามริปลีย์หมด แม้กระทั่งเฮอร์เบิร์ตเองก็ตาม จะมีก็เพียงแค่ มาร์จ เท่านั้นที่สงสัยในตัวริปลีย์ แต่ริปลีย์ก็ใช้ทักษะของตนเองเอาตัวรอดไปได้ทุกครั้ง", "title": "อำมหิต มร.ริปลีย์" }, { "docid": "304218#9", "text": "ในงานวิจัยปี ค.ศ. 1973[14] คาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้แบ่งผู้ร่วมการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม คือ", "title": "Representativeness heuristic" }, { "docid": "687319#22", "text": "เหตุผลวิบัติเกิดขึ้นจากการวางนัยทั่วไปเร็วเกินไป \nซึ่งก็คือความเชื่อที่ผิดพลาดว่า ตัวอย่างที่มีน้อยสามารถเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มที่ใหญ่กว่าได้\nคือ ตามเหตุผลวิบัตินี้ ลำดับการเกิดเหตุการณ์ที่เกิดช้ำต่อ ๆ กันจะต้องเปลี่ยนไปอีกด้าน เพื่อที่จะมีลักษณะเป็นตัวแทนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยรวม ๆ ได้ \nในปี ค.ศ. 1971 อะมอส ทเวอร์สกี้ และแดเนียล คาฮ์นะมัน เสนอเป็นครั้งแรกว่า เหตุผลวิบัติของนักการพนันเป็นความเอนเอียงทางประชานที่เกิดขึ้นจากฮิวริสติกที่เรียกว่า representativeness heuristic (ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน)\nซึ่งเป็นทฤษฎีที่เสนอว่า เราประเมินความน่าจะเป็นของเหตุการณ์บางอย่างโดยประเมินว่าเหมือนกับเหตุการณ์ที่เคยประสบมาก่อนแค่ไหน ", "title": "เหตุผลวิบัติของนักการพนัน" }, { "docid": "684313#4", "text": "เมื่อต้องตัดสินความน่าจะเป็นหรือความชุกของสิ่ง ๆ หนึ่งซึ่งเป็นงานที่ยาก เรามักจะใช้กลยุทธ์ต่าง ๆ จำนวนหนึ่งที่เรียกว่า ฮิวริสติก เพื่อที่จะทำให้การตัดสินใจนั้นง่ายขึ้น\nกลยุทธ์อย่างหนึ่งก็คือฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งเป็นความโน้มน้าวที่จะตัดสินความชุกของเหตุการณ์หนึ่ง ๆ โดยอาศัยว่าง่ายเท่าไรในการที่จะระลึกถึงตัวอย่างเหตุการณ์คล้าย ๆ กัน \nในปี ค.ศ. 1973 อะมอส ทเวอร์สกี้ และแดเนียล คาฮ์นะมัน เริ่มการศึกษาปรากฏการณ์เช่นนี้และบัญญัติคำว่า \"Availability Heuristic\"\nซึ่งเป็นกระบวนการใต้สำนึก (คือไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ) ที่ทำงานโดยหลักว่า \"ถ้าสามารถนึกถึงได้ จะต้องเป็นสิ่งสำคัญ\" \nกล่าวอีกอย่างก็คือ ยิ่งง่ายเท่าไรที่จะคิดถึงตัวอย่าง ความรู้สึกว่าสิ่งนี้เกิดบ่อยก็จะมากขึ้นเท่านั้น\nดังนั้น เรามักจะใช้ลักษณะหรือข้อมูลที่คิดถึงได้ง่าย ๆ เป็นฐานในการตัดสินใจในเรื่องอื่น ๆ ที่อาจจะมีความเกี่ยวข้องกันน้อย", "title": "ฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่าย" }, { "docid": "687356#2", "text": "ภายใน 6 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีการกำหนดความเอนเอียงทางประชานเป็นจำนวนมาก เป็นผลจากงานวิจัยในเรื่องการประเมินและการตัดสินใจของมนุษย์ จากสาขาวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งประชานศาสตร์ จิตวิทยาสังคม และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (behavioral economics) ความเอนเอียงทางประชานเป็นเรื่องสำคัญที่จะศึกษาเพราะว่า \"ความผิดพลาดอย่างเป็นระบบ\" แสดงให้เห็นถึง \"กระบวนการทางจิตที่เป็นฐานของการรับรู้และการประเมินตัดสินใจ\" (Tversky & Kahneman,1999, p.582) นอกจากนั้นแล้ว แดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ยังอ้างไว้ด้วยว่า ความรู้เกี่ยวกับความเอนเอียงทางประชานมีผลทางด้านการปฏิบัติในฟิลด์ต่าง ๆ รวมทั้งการวินิจฉัยทางคลินิก[11]", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "706389#0", "text": "ในการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และทฤษฎีการตัดสินใจ (decision theory) การหลีกเลี่ยงการเสีย \n() หมายถึงความโน้มเอียงที่เราจะป้องกันความสูญเสีย มากกว่าที่เราจะพยายามให้ได้ผลกำไร งานวิจัยโดยมากแสดงว่า โดยทางความรู้สึกทางจิตใจแล้ว การสูญเสียมีอำนาจมากกว่าการได้ประมาณสองเท่า \nนักจิตวิทยาชาวอเมริกันแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ แสดงหลักฐานของการหลีกเลี่ยงการเสียเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1984", "title": "การหลีกเลี่ยงการเสีย" }, { "docid": "687356#5", "text": "ความคิดเกี่ยวกับความเอนเอียงทางประชานมาจากคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972[16] ซึ่งมีรากฐานมาจากประสบการณ์ของพวกเขาเกี่ยวกับความไม่สามารถคิดโดยเหตุผลโดยใช้ตัวเลข (innumeracy) ของมนุษย์ คาฮ์นะมันและคณะได้แสดงโดยใช้วิธีที่ทำซ้ำได้หลายอย่างว่า การประเมินและการตัดสินใจของมนุษย์ต่างไปจากที่แสดงในแบบจำลองทางเศรษฐศาตร์ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางคือ rational choice theory (ทฤษฎีการเลือกโดยเหตุผล) โดยอธิบายว่า มนุษย์ทำการประเมินและตัดสินใจโดยใช้ฮิวริสติก ซึ่งเป็นทางลัดทางความคิดที่สามารถให้ค่าประเมินอย่างรวดเร็วเกี่ยวกับความน่าจะเป็นของเหตุการณ์บางอย่าง (Baumeister & Bushman, 2010, p.141). ฮิวริสติกเป็นวิธีแก้ปัญหาที่ง่ายกว่าในการคำนวณ แต่ว่าบางครั้งทำให้เกิด \"ความผิดพลาดที่รุนแรงอย่างเป็นระบบ\"[8]", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "703060#0", "text": "เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม\n() และสาขาที่เกี่ยวข้องกันคือ การเงินพฤติกรรม () เป็นสาขาวิชาการที่ศึกษา\nเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมพุ่งความสนใจไปที่การตัดสินใจด้วยเหตุผลที่มีความจำกัด ขององค์กรและบุคคล \nแบบจำลองพฤติกรรมที่ใช้ในสาขาจะรวมความรู้ความเข้าใจจากสาขาวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งจิตวิทยา ประสาทวิทยาศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์จุลภาค\nบางครั้งจะมีการกล่าวถึงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่า เป็นทางเลือกของ neoclassical economics \nสิ่งที่เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมศึกษารวมทั้งการตัดสินใจทางตลาด\nและกลไกที่ขับเคลื่อนการเลือกผลิตโภคภัณฑ์เพื่อมหาชน (public choice)\nการใช้คำว่า \"เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม\" ในเอกสารวิชาการในประเทศสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา\nส่วนบทความ \"Prospect Theory: An Analysis of Decision under Risk (ทฤษฎีความคาดหวัง: การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง)\" (ค.ศ. 1979) ของคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ เป็น \"บทความตั้งต้นของสาขาเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม\"", "title": "เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม" }, { "docid": "304218#12", "text": "ในอีกงานศึกษาหนึ่งของคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ มีการให้ผู้ร่วมการทดลองแก้ปัญหาดังต่อไปนี้[7]", "title": "Representativeness heuristic" }, { "docid": "703163#10", "text": "มีการเสนอทฤษฎีหลายอย่างที่สามารถอธิบายเหตุของการตั้งหลัก ถึงแม้ว่า ทฤษฎีบางอย่างจะได้รับความนิยมกว่า แต่ก็ยังไม่มีความเห็นพ้องว่าทฤษฎีไหนดีที่สุด \nในงานวิจัยหนึ่งที่ศึกษาเหตุของการตั้งหลัก ผู้ทำงานวิจัยสองท่านพรรณนาการตั้งหลักว่า ง่ายที่จะแสดงหลักฐาน แต่ยากที่จะอธิบาย \nมีนักวิจัยอย่างน้อยกลุ่มหนึ่งที่เสนอว่า มีหลายสาเหตุ และปรากฏการณ์ที่เรียกว่า \"anchoring\" จริง ๆ แล้วเป็นปรากฏการณ์ต่าง ๆ กันหลายอย่าง\nในงานศึกษาดั้งเดิม ทเวอร์สกี้และคาฮ์นะมันเสนอทฤษฎีที่มีชื่อว่า anchoring-and-adjusting\nตามทฤษฎีนี้ เมื่อเกิดการตั้งหลักแล้ว เราจะปรับค่าไปจากหลักนั้นเพื่อที่จะได้ค่าที่เป็นคำตอบ\nแต่เนื่องจากว่า เราปรับค่าไม่เพียงพอ ดังนั้น ค่าการเดาที่ได้ในที่สุดจะอยู่ใกล้หลักโดยไม่สมเหตุผล \nมีนักวิจัยอื่น ๆ ที่พบหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีนี้", "title": "Anchoring" }, { "docid": "687292#1", "text": "โดยทำงานร่วมกันกับอะมอส ทเวอร์สกี้ และบุคคลอื่น ๆ ดร. คาฮ์นะมันแสดงฐานทางประชานที่เป็นเหตุของความผิดพลาดในการตัดสินใจของมนุษย์ ที่เกิดจากฮิวริสติกและความเอนเอียง (Kahneman & Tversky, ค.ศ. 1973; Kahneman, Paul Slovic & Tversky, ค.ศ. 1982; Tversky & Kahneman, ค.ศ. 1974) และคิดค้นทฤษฎี prospect theory (Kahneman & Tversky, 1979) เขาได้รับรางวัลรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี ค.ศ. 2002 สำหรับทฤษฎีนี้", "title": "แดเนียล คาฮ์นะมัน" }, { "docid": "687319#24", "text": "เมื่อมีการให้ผู้ร่วมการทดลองสร้างลำดับที่คล้ายกับลำดับสุ่มของการโยนเหรียญ\nผู้ร่วมการทดลองมักจะทำลำดับที่อัตราส่วนของการออกหัวและก้อยใกล้กับค่า 0.5 ในลำดับสั้น ๆ กว่าที่จะปรากฏในลำดับสุ่มจริง ๆ (ซึ่งเป็นความเอนเอียงที่เรียกว่า ความด้านต่อขนาดตัวอย่าง หรือ insensitivity to sample size) \nคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ตีความปรากฏการณ์เช่นนี้ว่า เราเชื่อว่าลำดับสั้น ๆ ของเหตุการณ์สุ่มควรจะเหมือนกับลำดับยาว ๆ \nมีการใช้ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทนเป็นคำอธิบายต่อปรากฏการณ์ที่คล้าย ๆ กันคือ การแปลการจับกลุ่มผิด (clustering illusion)\nที่เราเห็นลำดับต่อ ๆ กันของเหตุการณ์สุ่มว่าไม่ใช่เกิดจากความสุ่ม\nทั้ง ๆ ที่ความจริงแล้ว ลำดับที่มีลักษณะอย่างนั้น มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีขนาดตัวอย่างที่น้อย มากกว่าที่เราคาดคิด", "title": "เหตุผลวิบัติของนักการพนัน" }, { "docid": "684280#0", "text": "เหตุผลวิบัติในการวางแผน (English: planning fallacy) ที่แดเนียล คาฮ์นะมัน (รูป) และอะมอส ทเวอร์สกี้เป็นผู้เสนอในปี ค.ศ. 1979[1][2] เป็นปรากฏการณ์ที่การพยากรณ์ของเราว่า จะใช้เวลานานเท่าไรในการทำงานหนึ่งให้เสร็จ จะปรากฏว่ามีความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี (optimistic bias) คือจะมีการประเมินเวลาต่ำเกินไป เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ว่าเราจะรู้หรือไม่ว่า งานคล้าย ๆ กันในอดีตความจริงแล้วใช้เวลามากกว่าที่วางแผนและประเมินไว้[3][4][5] ความเอนเอียงนี้จะเกิดเมื่อประเมินงานของตัวเองเท่านั้น แต่ถ้าคนอื่นประเมินให้ ก็จะมีความเอนเอียงโดยมองในแง่ร้าย และเวลาที่ประเมินก็จะมากเกินไป[6][7] นิยามของความเอนเอียงกำหนดว่า การพยากรณ์เวลาที่จะใช้ทำงานปัจจุบัน", "title": "เหตุผลวิบัติในการวางแผน" }, { "docid": "684313#25", "text": "มีนักวิจัยบางพวกคิดว่า อาจมีตัวแปรสับสน (confounding variable) ในงานวิจัยดั้งเดิมของทเวอร์สกี้และคาฮ์นะมัน \nคือนักวิจัยตั้งของสงสัยว่า ผู้ร่วมการทดลองตัดสินความสามัญของชื่อคนมีชื่อเสียงโดยมีฐานเป็นข้อมูลที่ระลึกได้ หรือว่ามีฐานเป็นความยากง่ายในการระลึกได้\nส่วนนักวิจัยบางพวกเสนอว่า แบบการทดลองในยุคต้น ๆ มีปัญหาและไม่สามารถกำหนดจริง ๆ ได้ว่า ฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่ายมีการทำงานอย่างไร ", "title": "ฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่าย" }, { "docid": "703076#1", "text": "บทความ \"Prospect Theory: An Analysis of Decision under Risk (ทฤษฎีคาดหวัง: การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง)\" (ค.ศ. 1979) ของคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ เป็น \"บทความตั้งต้นของสาขาเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม\"", "title": "ทฤษฎีคาดหวัง" }, { "docid": "684287#1", "text": "นักประชานศาสตร์ชาวอเมริกันเฮอร์เบิร์ต ไซมอนดั้งเดิมเป็นผู้เสนอว่า การตัดสินใจของมนุษย์ต้องอาศัยฮิวริสติก \nโดยใช้แนวความคิดจากวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ \nในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 นักจิตวิทยาแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ แสดงฮิวริสติก 3 ประเภทที่เป็นฐานของการตัดสินใจโดยรู้เองที่ใช้อย่างกว้างขวาง\nงานวิจัยเหล่านี้ จุดชนวนโปรแกรมงานวิจัยเกี่ยวกับ ฮิวริสติกและความเอนเอียง (Heuristics and Biases) \nซึ่งศึกษาการตัดสินใจในชีวิตจริงของมนุษย์ และศึกษาสถานการณ์ที่การตัดสินใจเหล่านี้ใช้ไม่ได้ คือไม่สมเหตุผล\nงานวิจัยในแนวนี้ได้คัดค้านไอเดียว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่กระทำตามเหตุผล\nและได้ให้ทฤษฎีเกี่ยวกับการประมวลสารสนเทศ (information processing) ที่สามารถอธิบายวิธีการที่มนุษย์ใช้ในการประเมินผลหรือการตัดสินใจ\nเป็นแนวงานวิจัยที่เริ่มมีความสนใจในระดับสากลในปี ค.ศ. 1974 ด้วยบทความที่พิมพ์ในวารสาร \"Science\" มีชื่อว่า \"Judgment Under Uncertainty: Heuristics and Biases (การประเมินภายใต้ความไม่แน่ใจ ฮิวริสติกและความเอนเอียง)\" \nซึ่งได้กลายเป็นแนวทางของทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจที่มีทั้งหมดในปัจจุบัน", "title": "ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ" }, { "docid": "703163#18", "text": "ในการเจรจาต่อรองราคา การตั้งหลักหมายถึงการตั้งขอบเขตจำกัดเป็นพื้นฐานของการต่อรองราคา และปรากฏการณ์ตั้งหลักหมายถึงปรากฏการณ์ที่เราประเมินมูลค่าจริง ๆ ของสินค้า \nนอกจากผลงานดั้งเดิมของทเวอร์สกี้และคาฮ์นะมันแล้ว ยังมีงานวิจัยอื่น ๆ อีกหลายงานที่แสดงว่า การตั้งหลักมีอิทธิพลอย่างสูงต่อการประเมินมูลค่าสินค้าของเรา\nยกตัวอย่างเช่น แม้ว่าผู้ทำการต่อรองราคาสินค้าจะสามารถประเมินข้อเสนอโดยลักษณะหลายอย่าง แต่ว่า งานวิจัยต่าง ๆ พบว่า ผู้ต่อรองราคามักจะเพ่งความสนใจไปในด้านเดียว\nและดังนั้น การตั้งราคาเบื้องต้นที่ทำอย่างจงใจ สามารถมีอิทธิพลที่มีกำลังต่อขอบเขตของการต่อรองราคา \nแม้ว่า กระบวนการเสนอราคาและต่อรองราคาปกติจะมีผลเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย\nแต่ว่า งานวิจัยหลายงานได้แสดงว่า ข้อเสนอเบื้องตนมีอิทธิพลที่มีกำลังต่อผลที่ได้ มากกว่าการต่อราคาต่อ ๆ มา", "title": "Anchoring" }, { "docid": "703163#5", "text": "Anchoring and adjustment heuristic (ฮิวริสติกการตั้งหลักและการปรับใช้)\nเป็นฮิวริสติก (คือวิธีการคิดแก้ปัญหา) ที่มีอิทธิพลต่อการประเมินค่าความน่าจะเป็นแบบรู้เอง (intuitive) ของมนุษย์\nโดยการใช้ฮิวริสติกนี้ เราจะเริ่มที่ค่าหลัก (anchor) ที่อาจจะมีการเสนอแบบอ้อม ๆ แล้วปรับใช้เป็นค่าประเมิน\nคือเราจะมีหลักเป็นค่าประเมินเบื้องต้น (anchor) แล้วปรับค่าขึ้นลงอาศัยข้อมูลอื่น ๆ \nแต่ว่าการปรับค่ามักจะไม่ได้ทำอย่างเพียงพอ ทำให้หลักเบื้องตนมีอิทธิพลมากเกิดไปในการประเมินค่า\nในปี ค.ศ. 1974 อะมอส ทเวอร์สกี้และแดเนียล คาฮ์นะมันได้คิดค้นทฤษฎีการตั้งหลักและการปรับใช้เป็นพวกแรก\nในงานศึกษาเบื้องต้นงานหนึ่งของพวกเขา มีการถามผู้ร่วมการทดลองให้คำนวณเลขภายใน 5 วินาที เป็นการคูณเลขตามลำดับตั้งแต่เลข 1 ถึง 8 โดยแสดงเป็น formula_1 หรือเป็น formula_2\nแต่เพราะว่าผู้ร่วมการทดลองไม่มีเวลาพอที่จะคูณเลขทั้งหมด จึงต้องประเมินคือเดาคำตอบหลังจากคูณเลข 2-3 ตัวแรก\nถ้าผลคูณเลขตัวแรก ๆ มีค่าน้อย เพราะว่าเริ่มจากลำดับเลขน้อย ผลประเมินเฉลี่ยที่ผู้ร่วมการทดลองตอบจะอยู่ที่ 512 แต่ถ้ามีค่ามาก ผลประเมินเฉลี่ยก็จะอยู่ที่ 2,250", "title": "Anchoring" }, { "docid": "684287#8", "text": "คาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้เสนอฮิวริสติกโดยความพร้อมใช้งาน ว่าเป็นคำอธิบายของปรากฏการณ์สหสัมพันธ์ลวง (illusory correlation) ที่เราตัดสินใจผิด ๆ ว่า เหตุการณ์สองอย่างเป็นเหตุและผลของกันและกัน\nคือ เราตัดสินใจผิดว่าเหตุการณ์ทั้งสองมีความสัมพันธ์ เพราะว่าง่ายที่จะจินตนาการหรือระลึกถึงเหตุการณ์สองอย่างนั้นพร้อม ๆ กัน (ดูรายละเอียดในฮิวริสติกโดยความพร้อมใช้งาน)", "title": "ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ" }, { "docid": "684287#5", "text": "ในอีกงานทดลองหนึ่ง มีการให้ผู้ร่วมการทดลองศึกษารายชื่อ 4 รายการ คือ\nสองรายการมีชื่อของหญิงมีชื่อเสียง 19 คน และชายมีชื่อเสียงน้อยกว่า 20 คน และสองรายการมีชื่อของชายมีชื่อเสียง 19 คนและหญิงมีชื่อเสียงน้อยกว่า 20 คน \nมีการให้ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มแรกระลึกถึงชื่อให้มากที่สุดที่จะจำได้ และให้ผู้ร่วมการทดลองกลุ่มที่สองประเมินว่า มีชื่อผู้หญิงหรือผู้ชายมากกว่ากันในรายการ\nผลปรากฏว่า ในกลุ่มแรก มีผู้ร่วมการทดลองถึง 57% ที่ระลึกถึงชื่อที่มีชื่อเสียงได้มากกว่า\nในกลุ่มที่สอง ผู้ร่วมการทดลองถึง 80% ทำการประเมินผิดพลาดว่า มีชื่อผู้ชายหรือผู้หญิงมากกว่า คือถ้ารายการมีหญิงมีชื่อเสียง 19 คนและมีชายมีชื่อเสียงน้อยกว่า 20 คน ผู้ร่วมการทดลองก็จะประเมินผิด ๆ ว่า มีชื่อของผู้หญิงมากกว่า และในนัยตรงกันข้ามก็เช่นกัน\nคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ตีความผลอย่างนี้ว่า การตัดสินอัตราส่วนชื่อผู้หญิงผู้ชายขึ้นอยู่กับความพร้อมใช้งาน (คือง่ายที่จะคิดถึง) ซึ่งอยู่ในระดับที่สูงกว่าในกรณีที่เป็นชื่อของคนมีชื่อเสียง", "title": "ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจ" }, { "docid": "703193#2", "text": "ในผลงานวิจัยปี ค.ศ. 1974 นักจิตวิทยาชาวอเมริกันแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ได้เสนอว่า กลุ่มความเอนเอียงหลายสกุล (คือ ความผิดพลาดอย่างเป็นระบบในการประเมินและการตัดสินใจ) สามารถอธิบายได้โดยใช้คำอธิบายเกี่ยวกับฮิวริสติก (ทางลัดทางความคิด) รวมทั้งฮิวริสติกโดยความเข้าถึงได้ง่าย (availability heuristic) และฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน (representativeness heuristic)\nในปี ค.ศ. 2002 ดร. คาฮ์นะมันและผู้ร่วมงานได้ปรับปรุงคำอธิบายนี้ยิ่งขึ้นไปอีกว่า การทดแทนคุณลักษณะเป็นกระบวนการที่เป็นฐานของความเอนเอียงเหล่านั้นและปรากฏการณ์อื่น ๆ", "title": "การทดแทนคุณลักษณะ (จิตวิทยา)" }, { "docid": "795994#1", "text": "ปลายราชวงศ์หยวนเป็นที่กล่าวขานในยุทธภพว่าหากผู้ใดได้ครอบครองดาบฆ่ามังกรและกระบี่อิงฟ้าแล้วผู้นั้นจะพบความลับอันยิ่งใหญ่ที่ซุกซ่อนอยู่ในสิ่งล้ำค่าทั้งสอง ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้ชาวยุทธต่างฆ่าฟันกันเพื่อให้ได้ดาบฆ่ามังกรและกระบี่อิงฟ้ามาครอบครอง เตียซำฮงปรมาจารย์สำนักบู๊ตึ๊งมีคำสั่งให้ยู้ไต๋ง้ำศิษย์คนที่สามลงเขาไปช่วยปัดเป่าทุกข์ให้แก่ชาวบ้าน นึกไม่ถึงว่ายู้ไต๋ง้ำต้องเข้าไปพัวพันกับสำนักเกลือสมุทรกับสำนักทรายทะเลซึ่งกำลังแย่งชิงดาบฆ่ามังกรกันอยู่ จนถูกลอบทำร้ายกลายเป็นคนพิการ เตียชุยซัวศิษย์คนที่ห้าออกตามหาคนร้ายระหว่างทาง เตียชุยซัวได้รู้จักกับฮึงซู่ซู่แห่งสำนักอินทรีย์ เตียชุยซัวและฮึงซู่ซู่รักกัน ทั้งสองตระหนักดีว่าธรรมและอธรรมไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้บนดอยราชันย์ในทะเลบูรพา บรรดาชาวยุทธต่างพากันแย่งชิงดาบฆ่ามังกรกัน เพื่อช่วยชีวิตบรรดาชาวยุทธไว้ เตียชุยซัวและฮึงซู่ซู่จึงถูกราชสีห์ขนทองเจี่ยสุ่งจับตัวไปยังเกาะร้าง เตียชุยซัวและฮึงซู่ซู่แต่งงานบนเกาะร้าง ทั้งสองให้กำเนิดลูกชายชื่อว่าเตียบ่อกี้ เตียชุยซัวและเจี่ยสุ่งก็ได้สาบานเป็นพี่น้องกัน สิบปีต่อมา ทั้งสี่พากันเดินทางกลับสู่จงหยวน นึกไม่ถึงว่าเพราะดาบฆ่ามังกรปรากฏขึ้นในยุทธภพจนเป็นเหตุให้ชาวยุทธต่างเข่นฆ่าแย่งชิงกันเพื่อให้ได้ดาบมังกรมาครอบครอง การแต่งงานของเตียชุยซัวและฮึงซู่ซู่นำมาซึ่งความบาดหมางระหว่างฝ่ายธรรมและอธรรม เพื่อปกป้องเจี่ยสุ่งพี่ร่วมสาบานเอาไว้ เตียชุยซัวและฮึงซู่ซู่ยอมตายโดยไม่ปริปากบอกที่ซ่อนดาบฆ่ามังกร ทั้งสองตัดสินใจฆ่าตัวตาย เตียบ่อกี้ซึ่งยังเยาว์อยู่นั้นเห็น พ่อแม่ตายไปต่อหน้าต่อตาซ้ำร้ายังถูกสองผู้เฒ่าทมิฬทำร้าย เตียซำฮงพาเตียบ่อกี้เดินทางไปวัดเส้าหลินเพื่อขอยืมคัมภีร์ย้ายเส้นเอ็นขจัดพิษในร่างให้เตียบ่อกี้ ระหว่างทาง ต้องพบกับความเป็นความตายมากมาย เตียบ่อกี้อาศัยความมานะบากบั่นและจิตใจที่ดีงามจนสำเร็จวิชาแพทย์ ทั้งยังสำเร็จวิชาเก้าสุริยันสามารถขจัดพิษในร่างกายได้ นอกจากนี้ยังได้เข้าไกล่เกลี่ยความบาดหมางระหว่างพรรคมารกับชาวยุทธ จนได้เป็นประมุขพรรคมารในที่สุด ในเวลาเดียวกัน เตียบ่อกี้ต้องอยู่ในวังวนแห่งความรักของเตียเมี่ยงองค์หญิงแห่งมองโกล,จิวจี้เยี้ยกหญิงสาวที่รู้จักและเติบโตมาด้วยกัน, ฮึงลี้ลูกพี่ลูกน้องและเซียวเจียวสาวใช้ เตียบ่อกี้ไม่รู้จะทำอย่างไร ยากที่จะตัดสินใจเลือกใคร ดาบฆ่ามังกร และกระบี่อิงฟ้าเป็นสิ่งที่ล่อใจชาวยุทธให้พากันตามล่าช่วงชิงของสองสิ่งจากเจี่ยสุ่งและจิวจี้เยี้ยก ทำให้เตียบ่อกี้และเตียเมี่ยงต้องเข้าไปพัวพัน เพื่อพ่อบุญธรรม เพื่อขัดขวางแผนการอันชั่วร้าย เตียบ่อกี้วางแผนให้ดาบฆ่ามังกรและกระบี่อิงฟ้าห้ำหั่นกันเอง ดาบฆ่ามังกรและกระบี่อิงฟ้าต่างเป็นศัตราวุธที่ล้ำเลิศ เมื่อทั้งสองสิ่งต้องทำลายล้างกัน ทำให้ทั้งสองสิ่งถูกทำลายลงจนปรากฏความลับอันหนึ่ง ภายในดาบฆ่ามังกรได้ซุกซ่อนคัมภีร์พิชัยสงคราม ส่วนกระบี่อิงฟ้าได้ซุกซ่อนคัมภีร์นพเก้า ในเวลานี้เองเตียบ่อกี้ถึงเข้าใจความหมายของดาบฆ่ามังกรปกครองทั่วหล้า กระบี่อิงฟ้าไม่ปรากฏใครกล้าต่อกร คนคนหนึ่งหากมีอำนาจล้นฟ้าก็จะลุแก่อำนาจ แต่ก็มีคนซึ่งเหมือนกระบี่อิงฟ้าที่กล้าออกมาต่อกร เตียบ่อกี้เข้าใจสัจธรรมในยุทธภพเป็นอย่างดี ดังนั้นจึงสละตำแหน่งประมุขพรรคมารถอนตัวจากยุทธภพพร้อมกันกับเตียเมี่ยงและจิวจี้เยี้ยก", "title": "ดาบมังกรหยก ตอน ประมุขพรรคมาร" }, { "docid": "687356#7", "text": "แต่สำหรับผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ มีวิธีการอธิบายอีกอย่างหนึ่งว่า การใช้ฮิวริสติกไม่ควรที่จะนำไปสู่ความคิดว่า ความคิดของมนุษย์เต็มไปด้วยความเอนเอียงทางประชานที่ไม่สมเหตุผล แต่ว่า ควรจะคิดถึงฮิวริสติกว่าเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่มีการปรับตัวให้เข้ากับสังคมสิ่งแวดล้อม ที่ไม่เหมือนการใช้ตรรกะเชิงรูปนัย (formal logic) และกฎความน่าจะเป็น[18] อย่างไรก็ดี การทดลองต่าง ๆ เช่นเดียวกับเรื่องของลินดานี้ ได้กลายมาเป็นโปรแกรมงานวิจัยที่ขยายตัวไปอย่างกว้างขวางเกินขอบเขตวิชาการทางจิตวิทยา ข้ามไปยังสาขาอื่น ๆ รวมทั้งแพทยศาสตร์และรัฐศาสตร์", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "706417#5", "text": "ในปี ค.ศ. 1981 อะมอส ทเวอร์สกี้และแดเนียล คาฮ์นะมันตรวจสอบว่า การใช้คำวางกรอบทางเลือก มีอิทธิพลต่อคำตอบของผู้ร่วมการทดลองในสถานการณ์ที่เกี่ยวกับความเป็นความตาย (สมมุติ) อย่างไร[3] คือ มีการให้ผู้ร่วมการทดลองเลือกวิธีการรักษาสองอย่างสำหรับคน 600 คนที่เกิดโรคร้ายแรงถึงตาย การรักษาแบบแรกมีการพยากรณ์ว่า \"มีผลให้ตาย 400 คน\" เทียบกับการรักษาแบบที่สองที่ \"มีโอกาส 33% ว่าจะไม่มีใครเสียชีวิต แต่ก็มีโอกาส 66% ว่าทุกคนจะเสียชีวิต\" ทางเลือกเหล่านี้มีการแสดงให้ผู้ร่วมการทดลองโดยการวางกรอบคำพูดแบบบวก คือ จะมีกี่คนที่รอดชีวิต หรือว่า แบบลบ คือ จะมีกี่คนที่เสียชีวิต", "title": "ปรากฏการณ์การวางกรอบ" }, { "docid": "703076#0", "text": "ทฤษฎีคาดหวัง\n() เป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral economics) ที่แสดงวิธีที่มนุษย์เลือกระหว่างทางเลือกที่เป็นไปได้ ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงแต่รู้ค่าความน่าจะเป็นของทางเลือก\nทฤษฎีกำหนดว่า มนุษย์ตัดสินใจขึ้นอยู่กับค่าความขาดทุน (ผลลบ) หรือผลกำไร (ผลบวก) ที่อาจจะมี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับค่าผลที่ได้โดยที่สุด และมนุษย์ประเมินค่าความขาดทุนและผลกำไรโดยใช้ฮิวริสติกบางอย่าง\nแบบจำลองนี้เป็นแบบพรรณนา (descriptive) เป็นแบบจำลองของการเลือกการตัดสินใจที่มีในชีวิตจริง ๆ ไม่ใช่เป็นการตัดสินใจที่อาจจะเหมาะสำหรับสถานการณ์มากที่สุด (optimal decision)\nทฤษฎีนี้สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1979 และมีการพัฒนาขึ้นอีกในปี ค.ศ 1992 โดยแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ เป็นแบบจำลองที่มีความแม่นยำทางจิตวิทยามากกว่า expected utility hypothesis (สมมุติฐานอรรถประโยชน์ที่คาดหวัง)\nในคำอธิบายดั้งเดิม คำว่า \"prospect\" หมายถึง ลอตเตอร์รี่", "title": "ทฤษฎีคาดหวัง" }, { "docid": "192553#1", "text": "และในรอบที่ต้องเดินทางไปต่างประเทศนั้น ผู้เข้าแข่งขันได้ไปแข่งขันต่อที่ เมืองปักกิ่ง ประเทศจีน และผู้ชนะก็คือ ซาลีช่า สโตเวอร์ส วัย 21 ปีจากลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย และรางวัลของเธอก็คือการได้เซ็นสัญญากับโมเดลลิ่ง เอเจนซี่ ชื่อดัง \"อีลีทโมเดล แมเนจเมนท์\" ได้ถ่ายแบบ6 หน้าเต็มลงในนิตยสาร เซเว่นทีน และเซ็นสัญญา 100,000 เหรียญ กับเครื่องสำอาง CoverGirl และฤดูกาลนี้ยังเป็นไซเคิลสุดท้ายที่มี ทวิกกี้ มาเป็นผู้ตัดสินให้อีกด้วย", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 9" }, { "docid": "684188#28", "text": "ความเอนเอียงนี้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการพยากรณ์ ทั้งในเรื่องการตั้งนโยบาย การวางแผนงาน และการจัดการบริหาร\nยกตัวอย่างเช่น ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาการทำงานที่มีการวางแผน มักจะมีการประเมินต่ำเกินไป และผลประโยชน์ที่ได้มักจะมีการประเมินสูงเกินไป เพราะเหตุแห่งความเอนเอียงนี้\nคำว่า เหตุผลวิบัติในการวางแผน (planning fallacy) สำหรับปรากฏการณ์เช่นนี้ เป็นคำบัญญัติโดยอะมอส ทเวอร์สกี้ และแดเนียล คาฮ์นะมัน \nเริ่มมีการสั่งสมหลักฐานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า ความเอนเอียงนี้ เป็นความเสี่ยงที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของค่าใช้จ่ายเกินงบประมาณในเมกะโปรเจกต์\nความเอนเอียงตรงกันข้ามกับความเอนเอียงนี้ก็คือ ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ร้าย ()\nซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เราประเมินโอกาสที่เหตุการณ์เลวร้ายจะเกิดขึ้นกับเรามากเกินไป\nโดยเปรียบเทียบกับความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี ความแตกต่างก็คือ เรามีความวิตกกังวลกับเรื่องที่มีโอกาสน้อยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ", "title": "ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี" }, { "docid": "703156#13", "text": "นักจิตวิทยาชาวอเมริกันยุคต้น ๆ ที่ทำการศึกษาเช่นนี้คือ แดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ได้อธิบายปรากฏการณ์นี้ว่าเป็นการคิดหาคำตอบโดยใช้ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน\nพวกเขาอ้างว่า มนุษย์ประเมินค่าความน่าจะเป็นหลายอย่าง หรือประเมินตัดสินเหตุและผล อาศัยว่าสิ่งหนึ่งมีความเป็นตัวแทน คือเหมือน กับอีกสิ่งหนึ่ง หรือกับประเภทหนึ่ง ๆ มากเท่าไร \nดร. คาฮ์นะมันพิจารณาว่า การละเลยอัตราพื้นฐานเช่นนี้ เป็นรูปแบบหนึ่งของ extension neglect \nส่วนนักจิตวิทยาริชาร์ด นิสเบ็ตต์ ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกนเสนอว่า attribution bias เช่น fundamental attribution error เป็นรูปแบบอย่างหนึ่งของเหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน\nคือ มนุษย์ไม่ใช้ข้อมูลที่ปรากฏโดยทั่วไป (คืออัตราพื้นฐาน) ว่าคนอื่น ๆ มีพฤติกรรมอย่างไรในสถานการณ์คล้าย ๆ กัน แต่กลับไปใช้ข้อมูลเฉพาะคือการแสดงเหตุโดยนิสัย (dispositional attribution) ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายกว่า", "title": "เหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน" } ]
4067
เชียงรุ่ง ตั้งอยู่ในประเทศอะไร?
[ { "docid": "17115#0", "text": "เชียงรุ่ง หรือในภาษาจีนคือ จิ่งหง, เจียงฮุ่ง หรือออกเสียงในภาษาไทลื้อว่า เจงฮุ่ง (; ไทลื้อใหม่: ; ) เป็นเมืองระดับเทศมณฑล (อำเภอ) และเมืองเอกในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ตอนใต้ของประเทศจีน มีชายแดนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศพม่า และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศลาว", "title": "เชียงรุ่ง" } ]
[ { "docid": "17115#2", "text": "เชียงรุ่ง หรือ เชียงรุ้ง หากเทียบภาษา และสำเนียงไทลื้อแล้ว จะออกเสียงว่า \"เจงฮุ่ง\" ซึ่งหมายถึง เมืองแห่งรุ่งอรุณ คำว่า \"เชียงรุ้ง\" นั้นเป็นการเลียนในภาษาของชาวบางกอกเสียง ฮ จะเปลี่ยนเป็น ร เช่นคำว่า เฮา ในภาษาเหนือกลายมาเป็น เรา ในสำเนียงชาวบางกอก ภาษาเมื่อเทียบภาษาของชาวไทลื้อ เทียบสำเนียงภาษาไทลื้อแล้ว จะได้ความหมายดังนี้อีกหนึ่งความเห็น เชื่อว่า \"เชียงรุ่ง\" ได้ชื่อมาจาก ตำนาน เรื่อง ท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง ซึ่งขยายอำนาจจากเมืองพะเยาไปเมืองเงินยางเชียงแสน (อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย) จนถึงตอนใต้ของยูนนานที่สิบสองพันนา (จึงมีชื่อเมืองว่าเชียงรุ่ง หรือเจียงฮุ่ง จาก นามท้าวฮุ่ง)", "title": "เชียงรุ่ง" } ]
3226
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ตั้งอยู่จังหวัดใด ?
[ { "docid": "45646#0", "text": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" } ]
[ { "docid": "45646#3", "text": "จารึกต่าง ๆ ที่นักวิชาการได้อ่านและแปลพอจะสรุปได้ว่า พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งพระนคร (พ.ศ. 1487-1511) ได้สถาปนาเทวสถานถวายพระศิวะที่เขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรก ๆ คงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ. 1511-1544) ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิธรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#26", "text": "หมวดหมู่:อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดบุรีรัมย์ หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในพุทธศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:ปราสาทหินในไทย หมวดหมู่:ปราสาทขอม หมวดหมู่:มหัศจรรย์เมืองไทย หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดบุรีรัมย์ หมวดหมู่:โบสถ์พราหมณ์", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "326057#0", "text": "วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย หรือเขาสวาย ตั้งอยู่ในพื้นที่ 2 ตำบลคือ ตำบลนาบัว ตำบลสวาย มีเนื้อที่ 1,975 ไร่ ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาสวายท้องที่ตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ \"พนมสวาย\" เป็นคำภาษาพื้นที่เมืองสุรินทร์ \"พนม\" แปลว่าภูเขา \"สวาย\" แปลว่า \"มะม่วง\" ในหมู่พนมสวายประกอบด้วภูเขา 3 ลูกติดต่อกันซึ่งมีมีชื่อพื้นเมืองเรียกแตกต่างกันไป ได้แก่ \"พนมกรอล\" แปลว่า \"เขาคอก\" มีความสูงประมาณ 150 เมตร \"พนมเปร๊า แปลว่า \"เขาชาย\" มีความสูงประมาณ 220 เมตร \"พนมสรัย\" แปลว่า \"เขาหญิง\" มีความสูงประมาณ 210 เมตร รวมกันทั้ง 3 ลูก มีชื่อว่า เขาพนมสวาย ความจริงคือ พนมสวายคือ ภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว จึงมีลานหินกระจายทั่วไป เนื่องจากวนอุทยานพนมสวายได้สำรวจทั่วบริเวณวนอุทยานพบว่า มีต้นกล้วยไม้ป่าอยู่เป็นจำนวนมาก ทางวนอุทยานได้จัดต้นกล้วยไม้ป่า มาติดไว้ตามต้นไม้ต่างๆ ริมถนน ริมลานจอดรถบ้าง วนอุทยานพนมสวาย ถือว่าเป็นวนอุทยานเฉลิมพระเกียรติแห่งหนึ่งในประเทศไทย และเป็นสถานที่แสวงบุญของชาวไทยที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เขตอุทยานพนมสวาย เขาพนมสวาย เป็นภูเขาที่โผล่ขึ้นมาโดดๆบนที่ราบทำนาของจังหวัดสุรินทร์ ห่างจากเทือกเขาพนมดงรักประมาณ 50 กิโลเมตร ห่างจากเขาพนมรุ้งประมาณ ๕๐ กิโลเมตร (สามารถมองเห็นพนมรุ้ง และเขากระโดงได้ที่ด้านหลังพระพุทธสุรินทร์มงคล จนเห็นเทือกเขาพนมดงรัก และ เขาพระวิหาร) และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร ", "title": "วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย" }, { "docid": "45646#18", "text": "ในวันที่ 2-4 เมษายน และ 8-10 กันยายน ของทุกปี ดวงอาทิตย์ขึ้น ส่องแสงลอดช่องประตูทั้ง 15 บาน ชาวบ้านจะเดินเท้าขึ้นมาเพื่อชมความอลังการที่ผสานระหว่างธรรมชาติและสิ่งก่อสร้างของบรรพชน นอกจากนี้ในวันที่ 5-7 มีนาคม และ 5-7 ตุลาคม ของทุกปี ดวงอาทิตย์ก็ตก ส่องแสงลอดช่องประตูทั้ง 15 บาน เช่นกัน[1]", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#12", "text": "ภายในเรือนธาตุตรงกึ่งกลาง เรียกว่า ห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพที่สำคัญที่สุด ในที่นี้คือ ศิวลึงค์ ซึ่งแทนองค์พระศิวะ เป็นที่น่าเสียดายว่า ประติมากรรมชิ้นนี้ได้สูญหายไป เหลือเพียงแต่ ท่อโสมสูตร คือร่องน้ำมนต์ที่ใช้รับน้ำสรงจากการสักการะศิวลึงค์เท่านั้น", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "7043#94", "text": "รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดบุรีรัมย์ รายชื่อวัดในจังหวัดบุรีรัมย์ รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดบุรีรัมย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง รายชื่อสาขาของธนาคารในจังหวัดบุรีรัมย์ รายชื่อห้างสรรพสินค้าในจังหวัดบุรีรัมย์", "title": "จังหวัดบุรีรัมย์" }, { "docid": "45646#2", "text": "ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นโบสถ์พราหมณ์ลัทธิไศวะ มีการบูรณะก่อสร้างต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขะแมร์ได้หันมานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงได้รับการดัดแปลงเป็นวัดมหายาน ในช่วงแรกปราสาทหินพนมรุ้ง สร้างขึ้นจากหินทรายสีชมพู ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งสูง 1,320 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ชื่อพนมรุ้งแปลว่าภูเขาใหญ่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15-18", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#24", "text": "ถ้าเดินทางโดยใช้บริการรถโดยสารจากขนส่งบุรีรัมย์ ก็ให้ขึ้นรถโดยสารสายบุรีรัมย์-จันทบุรี พอถึงที่หมู่บ้านตะโก แล้วจึงลงจากรถ จากนั้นจะมีรถสองแถววิ่งไปอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือไม่ก็นั่งวินมอเตอร์ไซค์รับจ้างก็ได้", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "943264#1", "text": "เป็นรูป อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ซึ่งเป็นโบราณสถานศิลปะขอมอันยิ่งใหญ่อายุนับพันปี ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดบุรีรัมย์เป็น นกกระเรียนพันธุ์ไทย ชื่อ \"น้องเหินหาว\" ซึ่งเป็นนกที่อยู่คู่ชาวบุรีรัมย์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและมีการขยายพันธุ์เพาะเลี้ยงที่จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง \"น้องเหินหาว\" เป็นชื่อพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นนกระเรียนในโครงการทดลองปล่อยคืนสู่พื้นที่ชุ่มน้ำตามธรรมชาติ ณ จังหวัดบุรีรัมย์", "title": "กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 35" }, { "docid": "45646#5", "text": "องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถาน", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#20", "text": "คืนวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เกิดเหตุคนร้ายไม่ทราบจำนวนเข้าทุบทำลาย รูปปั้นทวารบาลและสัตว์พาหนะ รวมถึงมีการเคลื่อนย้ายศิวลึงค์ โดยลักษณะเป็นการทำลายแขนเทวรูปก่อน แล้วจึงนำแขนเทวรูปไปทุบกับใบหน้าสัตว์พาหนะอื่นๆ โดย เทพมนตรี ลิมปพยอม นักวิชาการประวัติศาสตร์อิสระกล่าวว่า การใช้ข้อมือของของทวารบาลเป็นตัวทำลาย นั้นเพราะน่าจะเป็นวัสดุแข็งที่พอจะทำลายสิงห์ ทำลายนาค หรือโคนนทิได้ คงไม่ใช่เรื่องของรายละเอียดที่จะต้องเน้นว่าเอามือทวารบาลไปทุบ[2]", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#1", "text": "ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#7", "text": "ด้านข้างของทางเดินทางทิศเหนือมีพลับพลาสร้างด้วยศิลาแลง 1 หลัง เรียกกันว่า โรงช้างเผือก สุดสะพานนาคราชเป็นบันไดทางขึ้นสู่ปราสาท ซึ่งทำเป็นชานพักเป็นระยะ ๆ รวม 5 ชั้น สุดบันไดเป็นชานชลาโล่งกว้าง ซึ่งมีทางนำไปสู่สะพานนาคราชหน้าประตูกลางของระเบียงคด อันเป็นเส้นทางหลักที่จะผ่านเข้าสู่ลานชั้นในของปราสาท และจากประตูนี้ยังมีสะพานนาคราชรับอยู่อีกช่วงหนึ่งก่อนถึงปรางค์ประธาน", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#14", "text": "ชุมชนที่เคยตั้งอยู่บริเวณเขาพนมรุ้งเป็นชุมชนขนาดใหญ่ เพราะนอกจากมีบารายหรืออ่างเก็บน้ำ ซึ่งใช้ในพื้นที่ส่วนหนึ่งของปากปล่องภูเขาไฟเดิมเป็นอ่างเก็บน้ำอยู่บนเขาอยู่แล้ว ที่เชิงเขามีบารายอีก 2 สระ คือสระน้ำหนองบัวบารายที่เชิงเขาพนมรุ้ง และสระน้ำโคกเมืองใกล้ปราสาทหินเมืองต่ำ สระน้ำบนพื้นราบเบื้องล่างภูพนมรุ้งนี้รับน้ำมาจากธารน้ำที่ไหลมาจากบนเขา นอกจากนี้ยังมีกุฏิฤๅษีอยู่ 2 หลัง เป็นอโรคยาศาลที่รักษาพยาบาลของชุมชนอยู่เชิงเขาด้วย", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#13", "text": "ทางเดินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน มีปราสาทอิฐสององค์และปรางค์น้อย จากหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม กล่าวได้ว่า ปราสาททั้งสามหลังได้สร้างขึ้นก่อนปราสาทประธานราวพุทธศตวรรษที่ 15 และ 16 ตามลำดับ ส่วนทางด้านหน้าของปราสาทประธาน คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารสองหลังก่อด้วยศิลาแลง เรียกว่าบรรณาลัย ซึ่งเป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์ทางศาสนา ก่อสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 ร่วมสมัยเดียวกันกับ โรงช้างเผือก พลับพลาที่สร้างขึ้นด้วยศิลาแลงข้างทางเดินขึ้นสู่ปราสาททางทิศเหนือ", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "384790#0", "text": "ศาสตราจารย์ ชิน อยู่ดี (เกิด 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455-ถึงแก่กรรม 17 กรกฎาคม 2529) เป็นนักวิชาการด้านโบราณคดี ที่ทำหน้าที่ในการสำรวจทางด้านโบราณคดีในภาคต่างๆ ของประเทศไทย มีผลงานรายงานการขุดค้นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญ จำนวนมาก อาทิ ขุดค้นในท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดราชบุรี ระหว่าง พ.ศ. 2503-2505 ผลทำให้ทราบว่ามีคนก่อนประวัติศาสตร์ แต่สมัยหินเก่า สมัยหินกลาง สมัยหินใหม่และยุคโลหะอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดราชบุรี รวมทั้งควบคุมดูแลการบูรณะโบราณสถานที่จังหวัดสุโขทัย นครเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมืองกำแพงเพชร (พ.ศ. 2494-2512) ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และบริเวณเกาะใกล้เมือง เมื่อ พ.ศ. 2495-2504 กับดูแลการบูรณะปราสาทหินพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2517-2518 เป็นต้น ผลงานการขุดค้นต่าง ๆ มีผลต่อการส่งเสริมการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โบราณคดี ที่มีผลต่อการศึกษาทางด้านสาขานี้มายุคต่อ ๆ มา", "title": "ชิน อยู่ดี" }, { "docid": "45646#15", "text": "บริเวณที่ตั้งของปราสาทพนมรุ้งอาจเคยเป็นที่ตั้งของศาสนพื้นถิ่นมาก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นเป็นปราสาท ที่มีความใหญ่โตงดงาม สมกับเป็น กมรเตงชคตวฺนํรุง ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งปราสาทพนมรุ้ง อันหมายถึงองค์พระศิวะในศาสนาฮินดูที่กษัตริย์เขมรทรงนับถือ การเปลี่ยนสถานที่เคารพพื้นถิ่นให้เป็นปราสาทตามแบบคติเขมร น่าจะเกี่ยวเนื่องกับ การเปลี่ยนลักษณะการเมืองการปกครอง ที่ผู้นำท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับกษัตริย์เขมรโดยใช้ระบบความเชื่อมทางศาสนา วัฒนธรรมและวัฒนธรรมท้องถิ่น", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#9", "text": "ปราสาทประธาน ตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของลานปราสาทชั้นใน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมณฑป คือห้องโถงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เชื่อมอยู่ทางด้านหน้าที่ส่วนประกอบของปรางค์ประธานตั้งแต่ฐานผนังด้านบนและด้านล่าง เสากรอบประตู เสาติดผนัง ทับหลัง หน้าบัน ซุ้มชั้นต่าง ๆ ตลอดจนกลีบขนุน ก่อด้วยหินทรายสีชมพูมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมกว้าง 8.20 เมตร สูง 27 เมตร ด้านหน้าทำเป็นมณฑปโดยมีอันตราละหรือฉนวนเชื่อมปราสาทประธานนี้ เชื่อว่า สร้างโดย นเรนทราทิตย์ ซึ่งเป็นผู้นำปกครองชุมชนที่มีปราสาทพนมรุ้งเป็นศูนย์กลาง ราว พุทธศตวรรษที่ 17", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#23", "text": "เดินทางโดยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 (บุรีรัมย์-นางรอง) เป็นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร จากนั้นให้เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 (สีคิ้ว-อุบลราชธานี) ไปจนถึงหมู่บ้านตะโก ประมาณ 14 กิโลเมตร แล้วจึงเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2117 ผ่านบ้านตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติอีกประมาณ 12 กิโลเมตร ก็จะถึงอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง เดินทางโดยใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 219 (บุรีรัมย์-ประโคนชัย) เป็นระยะทางประมาณ 44 กิโลเมตร ถึงตัวอำเภอประโคนชัย จะเห็นทางแยกที่จะไปอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ซึ่งใช้เวลาเดินทางอีกประมาณ 21 กิโลเมตร โดยใช้ทางหลวงหมายเลข 2075 และเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2117 ก็จะถึงอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#10", "text": "ที่บริเวณหน้าบันและทับหลังของปราสาทประธานมีภาพจำหลักแสดงเรื่องราวในศาสนาฮินดู เช่น ศิวนาฏราช (ทรงฟ้อนรำ) ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อวตารของพระนารายณ์ เช่น พระราม (ในเรื่องรามเกียรติ์) หรือพระกฤษณะ ภาพพิธีกรรม ภาพชีวิตประจำวันของฤๅษีเป็นต้น โดยเฉพาะทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นทับหลังที่ถูกขโมยไปเมื่อราวปี พ.ศ. 2503 และได้กลับคืนมาในปี พ.ศ. 2531", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "7043#48", "text": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ปราสาทเขาพนมรุ้งได้รับการยกย่องว่าเป็นปราสาทหินที่งดงามมากแห่งหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟมาก่อน ตัวปราสาทสร้างด้วยหินทรายสีชมพู และศิลาแลงอย่างยิ่งใหญ่อลังการมีการออกแบบผังปราสาทตามแนวความเชื่อที่สอดคล้องกับภูมิประเทศศาสนสถานแต่ละส่วนประดับด้วยลวดลายวิจิตรงามตาโดยเฉพาะหน้าบันศิวนาฎราชและทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ที่มีความงดงามละเอียดอ่อนช้อย นับเป็นโบราณสถานอันทรงคุณค่าที่ไม่ควรพลาดชมในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 (ประมาณเดือน เม.ย. - พ.ค.) ของทุกปีจะมีประเพณีเดินขึ้นเขาพนมรุ้งเพื่อชมปรากฏการณ์ธรรมชาติอันน่ามหรรศจรรย์คือ พระอาทิตย์จะสาดแสงตรงเป็นลำทะลุช่องประตูปราสาททั้ง 15 บานราวปาฏิหาริย์และเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในรอบปีเท่านั้น น้ำตกเขาพนมรุ้ง ปราสาทหนองกง ห่างจากเชิงพนมรุ้งไปทางทิศใต้ 2.8 กิโลเมตร วัดเขาพระอังคาร เป็นวัดที่สร้างขึ้นใหม่ ตั้งอยู่บนยอดเขาพระอังคารซึ่งสูงประมาณ 320 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีโบสถ์ที่ประยุกต์จากสถาปัตยกรรมหลายสมัย ดูสวยงามแปลกตา เป็นวัดที่สวยงามใหญ่โตแห่งหนึ่งของบุรีรัมย์ มีโบสถ์ ศาลา และอาคารต่าง ๆ สร้างเลียนแบบสถาปัตยกรรมสมัยต่าง ๆ หลายรูปแบบงดงาม แปลกตาและน่าสนใจยิ่ง ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนังและเรื่องราวพุทธชาดกเป็นภาษาอังกฤษด้วย บริเวณวัดเป็นปากปล่องภูเขาไฟคาดว่าเคยเป็นที่ตั้งของโบราณสถานสมัยทวารวดีเพราะเสมาหินแกะสลักสมัยดังกล่าวหลงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก เขาอังคาร เป็นภูเขาไฟที่ดับแล้วอีกลูกหนึ่งในบุรีรัมย์ อยู่ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากปราสาทพนมรุ้ง 20 กิโลเมตร โดยลงมาจากพนมรุ้ง ถึงบ้านตาเป็กแล้วเลี้ยวซ้ายมาตามทางที่จะไปละหานทรายประมาณ 13 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวขวาเข้าทางลูกรังอีกประมาณ 7 กิโลเมตรพบโบราณสถานเก่าแก่ และใบเสมาหินทรายสมัยทวารวดีสำคัญหลายชิ้น", "title": "จังหวัดบุรีรัมย์" }, { "docid": "45646#25", "text": "ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#4", "text": "ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูลัทธิไศวะ ซึ่งนับถือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้นเขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะ", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#21", "text": "ดุสิต ทุมมากรณ์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ระบุว่า เทวรูปที่ถูกทำลายเสียหายมีของจริงเพียงเศียรนาค 4 เศียร จาก 11 เศียร นอกนั้นเป็นเทวรูปที่จำลองขึ้นแต่มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี โดยวันที่ 26 พฤษภาคม นายช่างศิลปกรรม อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งร่วมกับเจ้าหน้าที่กรมศิลปากร ได้เริ่มบูรณะซ่อมแซมโดยเริ่มจาก ซ่อมหัวสิงห์ 2 ตัว ที่ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของปราสาทก่อน โดยวัสดุที่ใช้ในการซ่อมแซมคือ เหล็กไร้สนิม ที่ใช้เป็นแกนยึด ส่วนวัสดุประกอบคือ ยางพารา หินทรายเทียม สีฝุ่น ขุยมะพร้าว ปูนปลาสเตอร์ และเชื่อมประสานด้วยอิพ็อกซี โดยกรมศิลปากรระบุว่าจะใช้เวลา 1 เดือนในการบูรณปฏิสังขรณ์[3]", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "56809#0", "text": "ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นทับหลังที่ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นโบราณวัตถุที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของไทย ที่เชื่อว่าถูกโจรกรรมไปเมื่อราวปี พ.ศ. 2503 ในช่วงสงครามเวียดนาม และถูกนำไปจัดแสดงอยู่ที่สถาบันศิลปะชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ในที่สุดชาวไทยนำโดยรัฐบาล และ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ก็ได้ทับหลังชิ้นนี้คืนมาทันวันพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งพอดี ในปี พ.ศ. 2531", "title": "ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์" }, { "docid": "489568#0", "text": "โรงเรียนบ้านบุวิทยาสรรค์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในบุรีรัมย์ \nประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ\nโรงเรียนบ้านบุวิทยาสรรค์ ตั้งอยู่ ณ บ้านบุ หมู่ที่ 5 ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณี 31140 ถนนประโคนชัย-อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง", "title": "โรงเรียนบ้านบุวิทยาสรรค์" }, { "docid": "45646#16", "text": "กรมศิลปากรได้ทำการซ่อมแซมและบูรณะปราสาทหินพนมรุ้ง โดยวิธีอนัสติโลซิส (ANASTYLOSIS) คือ รื้อของเดิมลงมาโดยทำรหัสไว้ จากนั้นทำฐานใหม่ให้แข็งแรง แล้วนำชิ้นส่วนที่รื้อรวมทั้งที่พังลงมากลับไปก่อใหม่ที่เดิม โดยใช้วิธีการสมัยใหม่ช่วย ซึ่งปราสาทหินพนมรุ้งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อปี พ.ศ. 2475 ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#22", "text": "ในการเดินทางไปที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งโดยใช้รถยนต์ส่วนบุคคล สามารเลือกเดินทางได้ 2 เส้นทางออกจากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ดังนี้", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" }, { "docid": "45646#17", "text": "ต่อมาได้ดำเนินการบูรณะตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 จนเสร็จสมบูรณ์ และเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ปี พ.ศ. 2531 ได้มีพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน มีงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งซึ่งเป็นงานใหญ่ประจำปี ในวันที่ 2 - 4 เมษายน", "title": "อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง" } ]
232
อำนาจ รื่นเริง เกิดเมื่อไหร่?
[ { "docid": "187087#0", "text": "อำนาจ รื่นเริง (ชื่อเล่น: เพชร; เกิดวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2522 ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย และอดีตนักมวยไทยระดับแชมป์เวทีลุมพินี และเป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท (112 ปอนด์) ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF)", "title": "อำนาจ รื่นเริง" } ]
[ { "docid": "187087#1", "text": "อำนาจในวัยเด็กไม่มีโอกาสได้รับการศึกษาเพราะไม่มีหลักฐานรับรองการเกิดว่าเป็นคนไทยจนกระทั่งอายุ 16 ปีจึงได้สัญชาติไทย (บางข้อมูลระบุว่าอำนาจเกิดจริงเมื่อ พ.ศ. 2520) อำนาจเป็นเด็กกำพร้าไม่มีทั้งพ่อและแม่ จึงถูกเลี้ยงดูมาโดยผู้เป็นยาย", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#19", "text": "อำนาจ รื่นเริง ถือเป็นนักมวยที่ไม่ได้มีหมัดหนัก หรือเป็นมวยในรูปแบบเดินหน้าเข้าปะทะ แต่เป็นนักมวยที่ชกแบบจังหวะฝีมือ ถนัดในการชกวงนอก รอจังหวะบวกและป้องกันตัวด้วยการดึงตัวโยกหลบหรือผวาเข้ากอดและล็อกแขนของคู่ต่อสู้จนเป็นเอกลักษณ์ประจำตัว ซึ่งการชกในรูปแบบนี้ มักทำให้อำนาจเสี่ยงต่อการถูกตักเตือนหรือถูกตัดคะแนนบ่อย ๆ เนื่องจากถือเป็นจังหวะฟาวล์ แต่ก็ถือได้ว่ามีรูปแบบการชกที่คล้ายคลึงกับ ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์ อดีตแชมป์โลกชาวอเมริกันชื่อดังผู้ไม่เคยแพ้ใคร", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#3", "text": "ต่อมาอำนาจต้องเข้าไปรับโทษในเรือนจำนาน 18 เดือน จากคดีวิ่งราวกระเป๋า ซึ่งทำไปเพราะถูกตัดขาดจากหัวหน้าคณะ ทำให้ไม่สามารถขึ้นชกมวยได้ และเป็นฝ่ายอำนาจเองที่สำนึกผิดเข้าไปมอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#2", "text": "อำนาจเริ่มต้นชกมวยไทยตั้งแต่อายุได้เพียง 7 ขวบ ก่อนจะย้ายไปหลายค่ายสุดท้ายซ้อมที่ค่าย ป.บูรพา โดยใช้ชื่อว่า \"เพชร ต.บางแสน\" หรือ \"เพชร ป.บูรพา\" โดยประสบความสำเร็จได้แชมป์รุ่นฟลายเวท เวทีลุมพินี จากการเอาชนะ แดนสยาม เกียรติรุ่งโรจน์ และป้องกันตำแหน่งไว้ได้หนึ่งครั้ง ก่อนจะเสียแชมป์ในการป้องกันตำแหน่งครั้งต่อมา ค่าตัวสูงสุดของอำนาจในการชกมวยไทยอยู่ที่ 100,000-120,000 บาท", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#9", "text": "ในรอบชิงชนะเลิศกับ ลินดอลโฟ เดลกาโด กราซา นักมวยชาวเม็กซิกัน อำนาจเป็นฝ่ายแพ้ทีเคโอไปก่อนขึ้นยกที่ 2 เนื่องจากขอยอมแพ้ จากการมีอาการเจ็บที่หัวไหล่ซ้าย จึงได้เหรียญเงิน", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#6", "text": "ก่อนการแข่งขัน อำนาจได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารไทม์ว่าเป็น 1 ใน 100 นักกีฬาที่น่าจับตามองในการแข่งขันโอลิมปิกครั้งนี้ ในรอบแรกอำนาจเอาชนะ แจ็ค วิลลี่ นักมวยปาปัวนิวกินีไปได้ 14-2 หมัด ในรอบสองเอาชนะ เนสตัน มอนเตโร่ จากโดมินิกัน ขาดลอย 7-3 หมัด แต่ในรอบชิงเหรียญทองแดงอำนาจเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ เซอร์ดัมบา ปูเรฟดอร์จ นักมวยมองโกเลีย (ต่อมาได้ชิงเหรียญทองแต่แพ้ให้กับ โจว ซื่อหมิง) ไป 3-5 หมัด ซึ่งการชกครั้งนี้ได้รับการวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าอำนาจชกแล้วคะแนนไม่ขึ้น พร้อมทั้งมีการตั้งข้อกังขาเรื่องการให้คะแนนของกรรมการด้วย", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "768051#1", "text": "เพลิงเริ่มในอาคารไรชส์ทาค ที่ประชุมไรชส์ทาค สถานีดับเพลิงเบอร์ลินได้รับการเรียกฉุกเฉินว่าอาคารนั้นเกิดเพลิงไหม้เมื่อเวลา 21.25 น. เมื่อตำรวจและนักผจญเพลิงมาถึง สภาผู้แทนราษฎรหลักก็ถูกไฟคลอกหมดแล้ว ตำรวจค้นหาอย่างถี่ถ้วนในอาคารและพบฟัน เดอร์ลึบเบอ เขาถูกจับกุม เช่นเดียวกับผู้นำคอมมิวนิสต์อีกสี่คนต่อมา", "title": "เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค" }, { "docid": "187087#18", "text": "แต่เมื่อขึ้นชกกัน ในยกที่ 4 อำนาจพลาดโดนหมัดฮุกซ้ายของคาซิเมโรเข้าเต็มหน้าในจังหวะบวก ถูกนับ 8 และเมื่อลุกขึ้นมาก็ทำท่าว่าจะเอาตัวรอดผ่านพ้นยกนี้ไปได้แล้ว แต่ปรากฏว่าก็ถูกหมัดซ้ายตัดลำตัวลงไปนอนกับพื้นเวทีอีก กรรมการนับไม่ถึง 10 ก็โบกมือยุติการชกไปทันที เสียตำแหน่งแชมป์โลกในการป้องกันครั้งที่ 6 นี้ไปอย่างไม่คาดฝัน", "title": "อำนาจ รื่นเริง" }, { "docid": "187087#4", "text": "อำนาจเริ่มหัดมวยสากลสมัครเล่นภายในเรือนจำเมื่อปี พ.ศ. 2548 ได้เหรียญทองกีฬาราชทัณฑ์ 2 ปีซ้อน แล้วได้เหรียญทองรายการชิงแชมป์ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2547 หลังจากที่คว้าเหรียญทองจากการแข่งขันชิงแชมป์ประเทศไทยได้ทั้งที่เจ้าตัวยังต้องโทษอยู่ในเรือนจำ จนกระทั่งได้รับการดึงตัวให้เข้ามาซ้อมร่วมทีมชาติในทันทีที่พ้นโทษ และเส้นทางชีวิตก็พลิกจากมุมมืดสู่ความสดใสทันที เพราะช่วงนั้นเป็นจังหวะที่ สุบรรณ พันโนน นักมวยมือหนึ่งทีมชาติไทยมีปัญหาบาดเจ็บจนต้องถอนตัวจากทีมชาติ จึงทำให้อำนาจได้กลายเป็นนักมวยทีมชาติตัวจริงทันที และยึดตำแหน่งเอาไว้อย่างเหนียวแน่น", "title": "อำนาจ รื่นเริง" } ]
1556
เสือชีตาห์ เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ เท่าไหร่?
[ { "docid": "74018#0", "text": "เสือชีตาห์ () เป็นเสือเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอก ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110–120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน 20 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว 4,000 ตัวเท่านั้น", "title": "เสือชีตาห์" }, { "docid": "74018#8", "text": "อาศัยอยู่ตามลำพัง ตัวผู้ที่เป็นพี่น้องกันจะรวมกลุ่มกันอยู่ และมีอาณาเขตร่วมกัน เสือชีตาห์เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก สามารถทำความเร็วได้ถึง 80 ไมล์ต่อชั่วโมง แต่มันจะวิ่งได้เพียงระยะสั้นเท่านั้น อาหารของมัน ได้แก่ กวางขนาดเล็ก เสือชีตาห์สามารถฝึกให้เชื่องได้ง่าย ในสมัยโบราณมักถูกนำมาฝึกให้ล่าสัตว์ ชอบอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแห้งแล้ง ปีนต้นไม้ไม่เก่ง แต่กระโดดได้สูงถึง 4.5 เมตร ใช้การถ่ายปัสสาวะเป็นเครื่องกำหนดอาณาเขตของมัน ชอบล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยซ่อนตัวบนที่สูงกว่าเหยื่อ เมื่อพบเหยื่อจะหมอบคลานเข้าไปหาและจะอยู่ใต้ลม พอเข้าใกล้เหยื่อ จะใช้เท้าหน้าตะบบให้เหยื่อล้มลงแล้วกัดที่คอ ชอบกินเลือดสด ๆ และเครื่องใน มีตับ ไต หัวใจ และจมูก ลิ้น ตา เนื้อที่หัวซี่โครงและขา นอกนั้นไม่ค่อยกิน มันไม่ลากซากไปกินและไม่หวนกลับมากินซากเดิมอีก ซากเน่าปกติไม่กิน นอกจากหิวจัดจริง ๆ เสือชีตาห์แม้จะปราดเปรียวบนพื้นดิน แต่ก็สามารถปีนต้นไม้ได้และเก่ง โดยสามารถไต่ไปมาตามต้นไม้อย่างคล่องแคล่วด้วย ในเวลากลางคืนมีระบบสายตาที่มองเห็นได้เป็นอย่างดี", "title": "เสือชีตาห์" } ]
[ { "docid": "11209#47", "text": "เสือเป็นสัตว์กินเนื้อซึ่งจับสัตว์กินพืชเป็นอาหารมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น ๆ ขนาดของเหยื่อมักจะมีน้ำหนักประมาณครึ่งหนึ่งของน้ำหนักของมัน เสือจะซุ่มย่องเข้าหาเหยื่อ วิ่งไล่ตะครุบและกัดเหยื่อด้วยเขี้ยวคมและฟันกรามอันแข็งแรง มักจะออกล่าเหยื่อตามลำพังโดยไม่มีการแบ่งปันอาหาร และจะล่าเหยื่อเมื่อมันหิวเท่านั้น เมื่ออิ่มเสือจะไม่ล่าเหยื่อจนกว่ามันจะเริ่มหิวอีกครั้งเท่านั้น", "title": "เสือ" }, { "docid": "74018#5", "text": "เสือชีต้าหดซ่อนเล็บไว้ในอุ้งเล็บไม่ได้ นอกจากตอนอายุน้อยไม่เกิน 15 สัปดาห์ เนื่องจากช่วงนี้ หนังหุ้มเจริญตัวดีมาก หลังจากนั้น หนังหุ้มจะหดหายไป เป็นเสือวิ่งเร็วที่สุดในช่วงสั้น อุ้งเท้าเล็บแคบกว่าเสือชนิดอื่น", "title": "เสือชีตาห์" }, { "docid": "168708#1", "text": "ด้วงเสือถือเป็นสุดยอดสิ่งมีชีวิตที่มีความเร็วมากที่สุด นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าถ้าด้วงเสือมีขนาดเท่ากับมนุษย์จะวิ่งได้เร็วประมาณ 494 กม./ชม.", "title": "ด้วงเสือ" }, { "docid": "111976#4", "text": "กระต่ายแจ็ก หรือ กระต่ายป่านั้นเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก วิ่งและกระโดดได้เร็ว เมื่อคิดเป็นสถิติแล้วยังสามารถวิ่งได้เร็วกว่านักกรีฑาเหรียญทองโอลิมปิกถึง 2 เท่า", "title": "กระต่ายแจ็ก" }, { "docid": "508598#3", "text": "เป็นสัตว์ที่มีระบบเผาพลาญพลังงานหรือแมตาบอลิซึมเร็วมาก ในวันหนึ่งหัวใจเต้นได้เร็วมาก ถึงขนาดเมื่อเทียบกับหัวใจของช้างจะเท่ากับหัวใจของช้างเต้นถึง 70 ปี จึงเป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัว ว่องไวตลอดเวลา โดยจะกินอาหารแทบทุกชั่วโมง โดยวันหนึ่ง สามารถกินอาหารได้มากถึงร้อยละ 40 ของน้ำหนักตัว เทียบเท่ากับมนุษย์กินซีเรียลมากถึงวันละ 80 กล่อง และเมื่อไปถึงที่ไหนมักจะถ่ายฉี่ไว้ ซึ่งเป็นการปล่อยฟีโรโมน รวมถึงการถ่ายมูลทิ้งไว้ด้วย", "title": "วงศ์หนูทุ่ง" }, { "docid": "641384#8", "text": "มนุษย์เป็นสัตว์ที่วิ่งระยะไกลได้ดีที่สุดในหมู่สัตว์ที่วิ่งได้ สัตว์อื่นอาจมีความเร็วสูงกว่า แต่ก็วิ่งได้ระยะสั้นกว่า ร่างกายมนุษย์ได้พัฒนาจนเดินตัวตรงและจนวิ่งได้มาประมาณ 2-3 ล้านปีมาแล้ว ต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งร่างกายถูกออกแบบมาให้เดิน 4 ขาหรือปีนต้นไม้ ร่างกายมนุษย์สามารถวิ่งไกลได้เพราะ", "title": "การวิ่งทางไกล" }, { "docid": "319303#0", "text": "สไมโลดอน () (ออกเสียง สะ_ไม_โล_ดอน) หรือ เสือเขี้ยวดาบ สไมโลดอนเป็นสัตว์ตระกูลแมวที่มีเขี้ยวยาวที่สุดในโลก และเมื่อมันกัดเข้าไปที่คอเหยื่อ เหยื่อจะตายในทันทีเพราะเขี้ยวมันยาวและแทงลึกถึงทวารหนัก แต่อย่างไรก็ตามสไมโลดอนก็ยังมีขนาดที่เล็กกว่านักล่าตระกูลแมวใหญ่ทั่วไปเนื่องจากมันมีขนาดเท่ากันกับแมวน้ำในปัจจุบัน แต่ขนาดที่เล็กก็ยังทำให้มันวิ่งได้เร็วและคล่องแคล่วว่องไวเหมือนกับสิงโตอเมริกา หลังจากการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์และโลกเข้าสู่ยุคของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ก็ได้มีนักล่าสายพันธุ์ต่าง ๆ ปรากฏขึ้นมามากมาย โดยเสือเขี้ยวดาบถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมนักล่าที่โดดเด่นและน่าสะพรึงกลัวที่สุดพวกหนึ่งที่เคยท่องเที่ยวอยู่บนโลกใบนี้", "title": "สไมโลดอน" }, { "docid": "620393#6", "text": "\"วีสทอเรีย \"โดยเฉพาะพันธุ์ \"Wisteria sinensis \" เป็นพันธุ์ที่ทนทานและโตเร็วมาก สามารถปลูกได้บนดินที่ธาตุอาหารค่อนข้างต่ำ แต่ยังต้องการปุ๋ย ความชื้นและ ดินที่ระบายน้ำได้ดี เจริญเติบโตได้ดีในที่ที่มีแดดตลอดทั้งวัน\"วีสทอเรีย\" สามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งการตอนกิ่งแข็ง การตอนกิ่งอ่อน หรือเพราะเมล็ด อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเพาะเมล็ดจะใช้เวลานานถึง 10 ปีกว่าจะออกดอก จึงทำให้ นักจัดสวน ,มักจะตอนรากหรือ ต่อกิ่งพันธุ์พืช เพื่อให้ออกดอกได้ดี ปัญหาหนึ่งของการออกดอกคือการได้รับปุ๋ยที่มากเกินไป (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไนโตรเจน)\"วีสเตียเรีย\"มีประสิทธิภาพในการหา ไนโตรเจนได้เอง (ได้รับจากแบคทีเรีย Rhizobia ในปมราก) ดังนั้นวีสทอเตียเรียจึงต้องการสารอาหารเพิ่มเติมจากโปแตสเซียมและฟอสฟอรัส แต่ไม่ต้องการไนโตรเจน ดังนั้น\"วีสทอเรีย \"จึงไม่ยอมออกดอกเพราะว่าการเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ วีสทอเรียสามารถเจริญเติบโตเต็มที่โดยใช้เวลาไม่กี่ปีสำหรับ สำหรับพันธุ์ วีสทอเรีย Kentucky หรือ เกือบ 20 ปีสำหรับพันธุ์ วีสทอเรียจีน วีสทอเรียสามารถบังคับให้เติมโตให้เต็มที่ได้โดยการตัดลำต้นหลัก การตัดแต่งราก หรือการให้ต้นอดน้ำ", "title": "วีสเตียเรีย" } ]
1766
ความเอนเอียง หมายถึงอะไร?
[ { "docid": "680776#0", "text": "ความเอนเอียง (English: Bias) เป็นความโน้มไปของภาวะจิตใจหรือทัศนคติ ที่จะแสดงหรือยึดถือความคิดเห็นที่ไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งพร้อมกับการปฏิเสธที่จะแม้พิจารณาความเป็นไปได้ของความคิดเห็นที่ต่างออกไป เราอาจจะมีความเอนเอียงต่อบุคคล ต่อเชื้อชาติ ต่อศาสนา ต่อชนชั้นในสังคม หรือต่อพรรคการเมือง การมีความเอนเอียงหมายถึง เอนไปข้างเดียว ไม่มีความเป็นกลาง ไม่เปิดใจ ความเอนเอียงมาในหลายรูปแบบ และคำว่า Bias ในภาษาอังกฤษอาจใช้เป็นไวพจน์ของคำว่า prejudice (ความเดียดฉันท์) และ bigotry (ความหัวดื้อ ความมีทิฏฐิมานะ)", "title": "ความเอนเอียง" } ]
[ { "docid": "638104#0", "text": "ความเอนเอียงโดยการใส่ใจ () เป็นศัพท์วิทยาศาสตร์แบบเฉพาะกิจ ซึ่งอาจหมายถึงความโน้มเอียงของการรับรู้ของเราที่จะได้รับอิทธิพลจากความคิดที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ \nยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราคิดถึงเสื้อผ้าที่เราใส่บ่อย ๆ เราก็จะให้ความสนใจกับเสื้อผ้าที่คนอื่นใส่", "title": "ความเอนเอียงโดยการใส่ใจ" }, { "docid": "630851#32", "text": "งานทดลองหลายงานพบว่า ข้อมูลต้น ๆ จากข้อมูลเป็นชุด ๆ มีน้ำหนักมากกว่าต่อมนุษย์ แม้ว่าลำดับข้อมูลจะไม่มีความสำคัญ\nยกตัวอย่างเช่น บุคคลมักมีความประทับใจเชิงบวก กับบุคคลที่กล่าวว่ามีลักษณะ \"ฉลาด ขยัน หุนหันพลันแล่น ปากร้าย ดื้อ มักริษยา\" มากกว่าบุคคลที่มีลักษณะแบบเดียวกันแต่กล่าวถึงโดยลำดับกลับกัน \nการให้ความสำคัญในอันดับแรกที่ไร้เหตุผล (irrational primacy effect) เป็นอิสระจากปรากฏการณ์ความสำคัญในลำดับของความทรงจำ (serial position effect)\nซึ่งข้อมูลส่วนต้น ๆ ในลำดับสามารถระลึกถึงได้ดีกว่า \nการตีความหมายแบบเอนเอียงสามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้คือเมื่อเห็นข้อมูลส่วนเบื้องต้น มนุษย์จะตั้งสมมติฐานที่มีผลต่อการตีความหมายข้อมูลที่เหลือ", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "710583#1", "text": "ส่วนในการทดลองอาศัยหลักฐานโดยทั่ว ๆ ไป \nคำนี้อาจใช้หมายถึงความโน้มเอียง ที่จะไม่รายงานผลการทดลองที่ไม่คาดฝันหรือไม่ต้องการ\nโดยโทษว่า มีความคลาดเคลื่อนทางสถิติหรือในการวัดผล\nในขณะที่มีความโน้มเอียงที่จะรายงานผลที่คาดหวัง หรือเป็นผลที่ต้องการ แม้ว่าความจริงการทดลองทั้งสองที่มีผลต่างกัน ต่างก็สามารถมีความคลาดเคลื่อนแบบเดียว ๆ กัน\nเมื่อเป็นเช่นนี้ ความเอนเอียงอาจนำไปสู่สถานการณ์ที่นักวิจัยหลายพวก \nพบและทิ้งหลักฐานและการทดลองที่เหมือน ๆ กัน\nและนักวิจัยต่อ ๆ มา ก็พบและทิ้งหลักฐานที่เหมือน ๆ กันต่อ ๆ ไป โดยอ้างว่า นักวิจัยพวกก่อน ๆ พบหลักฐานที่เป็นไปอีกทางหนึ่ง\nดังนั้น อุบัติการณ์ของความเอนเอียงนี้แต่ละครั้ง อาจเพิ่มโอกาสให้เกิดความเอนเอียงขึ้นอีกในอนาคต ", "title": "ความเอนเอียงโดยการรายงาน" }, { "docid": "680870#11", "text": "การทดลองแบบอำพรางฝ่ายเดียว (English: Single-blinded experiment) หมายถึงการทดลองที่ปิดข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองที่อาจจะทำให้เกิดความเอนเอียงในผลการทดลอง ไม่ให้ผู้ร่วมการทดลองรับรู้ แต่ผู้ทำการทดลองจะมีข้อมูลทั้งหมด ในงานทดลองชนิดนี้ ผู้ร่วมการทดลองแต่ละคนจะไม่รู้ว่าตนอยู่ในกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม แบบการทดลองนี้ใช้เมื่อผู้ทำการทดลองต้องมีข้อมูลทั้งหมด เช่น การทดสอบการผ่าตัดจริงเทียบกับการผ่าตัดแบบควบคุม (sham) และดังนั้นจึงไม่สามารถปิดบังข้อมูลจากผู้ทำการทดลองได้ หรือเมื่อผู้ทำการทดลองไม่มีอิทธิพลที่จะทำความเอนเอียงให้เกิดขึ้นในงานทดลอง และดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องบอด อย่างไรก็ดี ก็ยังมีความเสี่ยงว่า ผู้รับการทดลองอาจจะได้รับอิทธิพลจากการปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้ทำการทดลอง ที่เรียกว่า \"ความเอนเอียงของผู้ทดลอง\" (experimenter's bias) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบการทดลองนี้เสี่ยงมากในสาขาจิตวิทยาและสังคมศาสตร์ ที่ผู้ทำการทดลองมีความคาดหวังว่าผลอะไรจะเกิดขึ้น และอาจจะมีอิทธิพลที่ตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจต่อพฤติกรรมของผู้ร่วมการทดลอง (Observer-expectancy effect)", "title": "การทดลองแบบอำพราง" }, { "docid": "630851#2", "text": "งานทดลองหลายงานในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 ส่อว่า มนุษย์มีความลำเอียงที่จะยืนยันความเชื่อที่มีอยู่ของตน ส่วนงานวิจัยต่อ ๆ มาตีความหมายของผลการทดลองเหล่านั้นใหม่ว่า เป็นความเอนเอียงที่จะทดสอบความคิดต่าง ๆ จากทางด้านเดียวเท่านั้น คือ ให้ความสนใจต่อข้อสันนิษฐานเพียงข้อเดียวโดยที่ไม่ใส่ใจข้อสันนิษฐานที่เป็นไปได้ข้ออื่น ๆ ในบางกรณี ความลำเอียงนี้สามารถทำลายความเป็นกลางของข้อสรุป เหตุที่ใช้ในการอธิบายความลำเอียงเช่นนี้รวมทั้งความอยากที่จะให้เป็นอย่างนั้น (wishful thinking) และสมรรถภาพที่จำกัดในการประมวลข้อมูลของมนุษย์ ส่วนคำอธิบายอีกอย่างหนึ่งก็คือมนุษย์มีความเอนเอียงเพื่อยืนยันความคิดฝ่ายตน เพราะคำนึงถึงประโยชน์ที่จะเสียไปถ้าตนเองเป็นฝ่ายผิด แทนที่จะตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยเป็นกลาง ๆ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "687356#14", "text": "ความเอนเอียงทางประชานบางอย่างเป็นกลุ่มย่อยของความเอนเอียงโดยการใส่ใจ (attentional bias) ซึ่งหมายถึงการใส่ใจสิ่งเร้าบางอย่างเป็นพิเศษ ยกตัวอย่างเช่น มีหลักฐานว่า ผู้ที่ติดสุราหรือยาเสพติดอื่น ๆ ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษในสิ่งเร้าที่เกี่ยวกับสิ่งเสพติดนั้น ๆ บททดสอบทางจิตวิทยาเพื่อวัดความเอนเอียงที่สามัญก็คือ Stroop Task[22][23] และ Dot Probe Task", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "630851#1", "text": "ความลำเอียงนี้มีอยู่ในระดับสูงในประเด็นที่ให้เกิดอารมณ์หรือเกี่ยวกับความเชื่อที่ฝังมั่น นอกจากนั้นแล้ว คนมักตีความหมายข้อมูลที่ยังไม่ชัดเจนว่าสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง มีการใช้การสืบหา การตีความหมาย และการทรงจำข้อมูลประกอบด้วยความลำเอียงเช่นนี้ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ รวมทั้ง", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "630851#65", "text": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยันเป็นองค์ในการให้กำเนิดการต่อสู้หรือทำให้การต่อสู้กันยาวนานยิ่งขึ้น เริ่มตั้งแต่การอภิปรายที่เกิดอารมณ์สูงจนกระทั่งถึงศึกสงคราม\nโดยตีความหมายอย่างเอนเอียงว่าหลักฐานสนับสนุนเหตุผลฝ่ายตน แต่ละฝ่ายอาจจะมีความมั่นใจมากเกินไปว่าจุดยืนฝ่ายตนดีกว่า ในนัยตรงกันข้าม ความเอนเอียงเพื่อยืนยันอาจมีผลเป็นการไม่ใส่ใจหรือตีความหมายผิดซึ่งนิมิตว่าความขัดแย้งหรือการสงครามกำลังจะเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น นักจิตวิทยาสต๊วร์ต ซัธเธอร์แลนด์และโทมัส กิดา ต่างเสนอว่า พลเรือเอกสหรัฐฮัสแบนด์ กิมเมล มีความเอนเอียงเพื่อยืนยันเมื่อตัดความสำคัญของหลักฐานว่า ประเทศญี่ปุ่นจะโจมตีท่าเรือเพิร์ล", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "680904#1", "text": "ผู้ทำการทดลองสามารถมีความเอนเอียงทางประชาน (cognitive bias) ในงานทดลองได้โดยรูปแบบต่าง ๆ \nซึ่งแบบหนึ่งก็คือความเอนเอียงที่เรียกว่า ปรากฏการณ์ความคาดหมายของผู้สังเกตการณ์ () \nซึ่งผู้ทำการทดลองอาจสื่อความหวังความคาดหมายที่ละเอียดสุขุม แม้จะไม่ตั้งใจ จะโดยปาก (เช่นน้ำเสียง) หรือโดยอาการกิริยาก็ได้ เกี่ยวกับผลที่ต้องการในงานศึกษา ให้กับผู้ร่วมการทดลองรับรู้\nมีอิทธิพลให้ผู้ร่วมการทดลองเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้เป็นไปตามความคาดหมาย\nตัวอย่างตามประวัติที่รู้จักกันดีก็คือ คเลเวอร์แฮนส์ (Clever Hans) ซึ่งเป็นม้าพันธุ์รัสเซีย (Orlov Trotter) ที่มีการอ้างว่า สามารถคิดเลขง่าย ๆ และแก้ปัญหาใช้สติปัญญาอื่น ๆ บางอย่างได้ แต่ว่าหลังจากมีการตรวจสอบในปี ค.ศ. 1907 นักจิตวิทยาชาวเยอรมันออสการ์ ฟังกสต์ ก็ได้แสดงหลักฐานว่า เจ้าม้าไม่ได้ทำงานทางสติปัญญาเหล่านั้นได้จริง ๆ คือ มันเพียงแต่สังเกตปฏิกิริยาของพวกมนุษย์ที่กำลังดูมันทำงานอยู่เท่านั้น", "title": "ความเอนเอียงของผู้ทดลอง" }, { "docid": "680776#4", "text": "เศรษฐกิจ - เมื่อบุคคลหรือองค์กรของรัฐตีความหมายกฎหมายหรือสัญญาเข้าข้างตนเพราะผลประโยชน์ ความเอนเอียงโดยวัฒนธรรม (Cultural bias) เมื่อมีการตีความหมายหรือตัดสินใจเหตุการณ์ให้เข้ากับวัฒนธรรมของตน คตินิยมเชื้อชาติ เมื่อมีการตัดสินบุคคลหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับบุคคลโดยใช้เชื้อชาติ ผิวพรรณ แหล่งกำเนิด เผ่าพันธุ์ แทนกฏเกณฑ์ที่เป็นกลาง ๆ อย่างอื่น ลัทธิกีดกันทางเพศ เมื่อมีการตัดสินใจอาศัยเพศ แทนกฏเกณฑ์ที่เป็นกลาง ๆ อย่างอื่น ผัสสาการนิยม (Sensationalism) เช่นการเน้น บิดเบือน หรือกุข่าวให้เร้าใจ เพื่อที่จะเพิ่มประชานิยม ความเอนเอียงต่อผู้ให้ทุน (Funding bias) เป็นความเอนเอียงของนักวิทยาศาสตร์ที่มักจะมีข้อสรุปงานวิจัยที่ทำผลประโยชน์แก่ผู้ให้ทุนงานวิจัย ความเอนเอียงของแพทย์ เมื่อมีการขัดกันแห่งผลประโยชน์ (เช่นเมื่อแพทย์ได้รับประโยชน์ในการสั่งวิธีการตรวจแพง ๆ ในการรักษาพยาบาลคนไข้)[2]", "title": "ความเอนเอียง" }, { "docid": "630851#14", "text": "ผู้ที่สนับสนุนโทษประหารชีวิตกล่าวถึงงานวิจัยที่แสดงความที่กฎหมายไม่มีผลว่า \"งานวิจัยสั่งสมข้อมูลในช่วงเวลาน้อยเกินไป\" ในขณะที่ผู้คัดค้านโทษประหารชีวิตกล่าวถึงงานวิจัยเดียวกันว่า \"ไม่มีหลักฐานสำคัญ (เพิ่มขึ้น) ที่จะมาคัดค้านผู้ทำงานวิจัย (ว่ากฎหมายมีผล)\" ผลงานวิจัยนี้แสดงว่า มนุษย์ใช้มาตรฐานที่สูงกว่าในการประเมินหลักฐานของสมมติฐานที่คัดค้านความคิดเห็นฝ่ายตน เป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า ความเอนเอียงเพื่อคัดค้าน (disconfirmation bias) เป็นความเอนเอียงซึ่งพบในงานทดลองหลายงาน \nมีการทำอีกงานวิจัยหนึ่งเกี่ยวกับการตีความหมายแบบบเอนเอียงในระหว่างการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2004 ซึ่งทดสอบผู้ร่วมการทดลองผู้รายงานว่ามีความเห็นที่ชัดเจนเกี่ยวกับผู้สมัครรับเลือกตั้ง ผู้ร่วมการทดลองได้รับข้อมูลคำแถลงเป็นคู่ ๆ ที่ขัดแย้งกันจากผู้สมัครรับเลือกตั้งพรรคริพับลิกัน จอร์จ ดับเบิลยู. บุช\nและจากผู้สมัครรับเลือกตั้งพรรคเดโมแครต จอห์น เคอร์รี่ หรือจากคนมีชื่อเสียงอื่นที่เป็นกลางทางการเมือง\nนอกจากนั้น มีการให้คำแถลงอื่น ๆ ที่ทำให้ข้อมูลที่ขัดแย้งกันดูเหมือนมีเหตุผลจากข้อมูล 3 อย่างเหล่านี้ ผู้ร่วมการทดลองต้องตัดสินใจว่า คำพูดของแต่ละคนขัดแย้งกันเองหรือไม่ \nมีความแตกต่างกันอย่างสำคัญในข้อตัดสินของผู้ร่วมการทดลอง คือมีโอกาสมากกว่าที่จะตีความหมายของคำพูดจากผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ตนคัดค้านว่าขัดแย้งกันเอง", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "680904#15", "text": "ความเอนเอียงของผู้ทดลองมีมูลฐานมาจากความโน้มเอียงทั่วไปของมนุษย์ ที่จะตีความข้อมูลให้คล้องจองกับความคาดหมายของตน \nความโน้มเอียงเช่นนี้มีโอกาสสูงที่จะบิดเบือนผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เมื่อข้อมูลที่ได้ไม่ชัดเจน\nและตัวนักวิทยาศาสตร์ได้รับอิทธิพลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ที่จูงใจให้เกิดอารมณ์และความต้องการในผลบางอย่าง \nแม้ว่าทั่ว ๆ ไป คนจะไม่ทราบว่าเป็นเช่นนี้ ผู้วิเคราะห์ดีเอ็นเอเพื่อเป็นหลักฐานทางนิติ บ่อยครั้งต้องแก้ความไม่ชัดเจน (ของข้อมูลดีเอ็นเอที่ได้)\nโดยเฉพาะเมื่อต้องตีความหมายตัวหลักฐานที่ยากต่อการวิเคราะห์ ตัวอย่างเช่น\nดังนั้น หลักฐานทางนิติที่ได้จากการตรวจดีเอ็นเอจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อปัญหาความเอนเอียงของผู้สังเกตมีน้อยที่สุด", "title": "ความเอนเอียงของผู้ทดลอง" }, { "docid": "764079#0", "text": "การกำหนดความสมเหตุสมผลโดยอัตวิสัย () เป็นความเอนเอียงทางประชานที่บุคคลจะพิจารณาบทความหรือข้อมูลว่าถูกต้องถ้ามีความหมายหรือความสำคัญต่อตนเอง\nกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ บุคคลผู้มีความเห็นที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์นี้จะเห็นเหตุการณ์สองอย่างที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (คือเกิดขึ้นโดยบังเอิญ) ว่าเกี่ยวข้องกันเพราะว่าความเชื่อส่วนตัวว่าต้องเกี่ยวข้องกัน\nเป็นความเอนเอียงที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปรากฏการณ์ฟอเรอร์ และเป็นองค์ประกอบสำคัญของการอ่านใจแบบเย็น (cold reading)\nเป็นสิ่งที่พิจารณาว่าเป็นเหตุหลักของความเชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติ", "title": "การกำหนดความสมเหตุสมผลโดยอัตวิสัย" }, { "docid": "630851#75", "text": "นักสังคมจิตวิทยาได้ระบุถึงความโน้มน้าวสองอย่างที่มนุษย์สืบหาและตีความหมายข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง\nคือ การยืนยันตน (Self-verification) เป็นแรงกระตุ้นที่จะยืนยันภาพพจน์ของตน และการยกตน (self-enhancement) เป็นแรงกระตุ้นที่จะหาคำชม\nแรงกระตุ้นทั้งสองเกิดจากความเอนเอียงเพื่อยืนยัน \nในงานทดลองที่ผู้ร่วมการทดลองได้รับคำวิจารณ์ที่ขัดแย้งกับภาพพจน์ของตนเอง พวกเขามักไม่ค่อยใส่ใจหรือจะระลึกคำวิจารณ์เหล่านั้นไม่ได้เมื่อเทียบกับคำชม \nพวกเขาจะลดแรงกระทบของข้อมูลเช่นนั้นโดยกล่าวว่า เชื่อถือไม่ได้ \nงานทดลองคล้าย ๆ กันพบความชอบใจในคำชม และคนที่กล่าวคำชม มากกว่าคำวิจารณ์ (และคนวิจารณ์)", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "645959#5", "text": "\"ความเอนเอียงในผลเชิงบวก\" (Positive results bias) เป็นความเอนเอียงในการตีพิมพ์อย่างหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อผู้ทำงานวิจัยมักจะเสนอ หรือบรรณาธิการมักจะรับ ผลเชิงบวกมากกว่าผลว่าง (คือผลที่แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์หรือไม่ชัดเจน)[5] คำที่ใช้อีกคำหนึ่งคือ \"ปรากฏการณ์ลิ้นชักเก็บเอกสาร\" (file drawer effect) หมายถึงความโน้มน้าวที่ผู้ทำงานจะไม่ตีพิมพ์ผลงานที่แสดงผลลบหรือไม่ชัดเจน (คือเก็บไว้เฉย ๆ)[6]", "title": "ความเอนเอียงในการตีพิมพ์" }, { "docid": "630851#39", "text": "ในอดีตเคยเชื่อกันว่า ความเอนเอียงเพื่อยืนยันมีความสัมพันธ์เชิงผกผันกับสติปัญญาที่สูงกว่า\nแต่ว่า งานวิจัยต่าง ๆ กลับพบว่า ทักษะในการคิดอย่างมีเหตุผลมีอิทธิพลต่อความเอนเอียงมากกว่าระดับสติปัญญา \nความเอนเอียงนี้อาจเป็นเหตุให้ไม่สามารถทำการประเมินแนวคิดตรงกันข้ามอย่างมีประสิทธิภาพและประกอบด้วยเหตุผล\nงานวิจัยต่าง ๆ เสนอว่า ความเอนเอียงนี้เป็นความปราศจาก \"การเปิดใจกว้าง\"\nซึ่งหมายถึงการเสาะหาอย่างจริง ๆ จัง ๆ ว่า แนวคิดเบื้องต้นนั้นอาจจะผิดพลาดได้ \nโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ความเอนเอียงนี้เกิดขึ้นในการศึกษาเชิงประสบการณ์ โดยเป็นการใช้หลักฐานสนับสนุนความคิดของตนเป็นจำนวนมากกว่าหลักฐานที่คัดค้าน", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "687356#22", "text": "\"Cognitive bias modification\" (การปรับความเอนเอียงทางประชาน) หมายถึงกระบวนการที่ปรับความเอนเอียงทางประชานของผู้ที่มีสุขภาพดี และหมายถึงวิธีการบำบัดทางจิตวิทยาที่ไม่ใช้ยาเพื่อโรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า และการติดสิ่งเสพติดที่เรียกว่า \"Cognitive bias modification therapy\" (CBMT) CBMT มีอีกชื่อหนึ่งว่า Applied Cognitive Processing Therapies (ACPT) เป็นวิธีการบำบัดที่เป็นกลุ่มย่อย ๆ ภายในวิธีการบำบัดทางจิตวิทยาที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ที่ใช้ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางประชาน โดยร่วมกับหรือไม่ร่วมกับการใช้ยาและการบำบัดด้วยการพูดคุย และแม้ว่า CBM จะหมายถึงการปรับกระบวนการทางประชานของผู้มีสุขภาพดี แต่ว่า CBMT จะหมายถึงการบำบัดทางจิตวิทยาที่อิงหลักฐาน ที่ทำการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางประชานเพื่อบำบัดความทุกข์[35][36] จากโรคซึมเศร้าที่รุนแรง[37] โรควิตกกังวล[38] และจากการติดสิ่งเสพติด[39] CBMT เป็นการบำบัดที่อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้รักษาอยู่ร่วมด้วย CBM อาศัยทั้งหลักฐานและทฤษฎีจากแบบจำลองทางประชานเกี่ยวกับความวิตกกังวล[40] จากประสาทวิทยาศาสตร์เชิงประชาน[41] และจากแบบจำลองในการใส่ใจ[42]", "title": "ความเอนเอียงทางประชาน" }, { "docid": "630851#17", "text": "การตีความหมายแบบเอนเอียงไม่ได้จำกัดอยู่ในประเด็นที่ทำให้เกิดอารมณ์เพียงเท่านั้น ในอีกการทดลองหนึ่ง ผู้วิจัยบอกผู้ร่วมการทดลองเกี่ยวกับการลักขโมยเหตุการณ์หนึ่ง ผู้ร่วมการทดลองต้องกำหนดความสำคัญทางหลักฐานของข้อความที่เสนอว่า บุคคลหนึ่งเป็นขโมยหรือไม่ใช่ เมื่อผู้ร่วมการทดลองสันนิษฐานว่า บุคคลหนึ่งเป็นผู้มีความผิด ก็จะกำหนดข้อความที่สนับสนุนข้อสันนิษฐานของตนว่ามีความสำคัญมากกว่าข้อความที่แสดงความขัดแย้ง", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "275817#0", "text": "อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง \nหรือ ความเอนเอียงโดยการคัดเลือก\nคือความผิดพลาดทางสถิติ เนื่องมาจากวิธีการเลือกตัวอย่างหรือกลุ่มตัวอย่างในงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ \nที่โดยเฉพาะหมายถึงการคัดเลือกบุคคล กลุ่ม หรือข้อมูลเพื่อทำการวิเคราะห์ โดยที่ไม่มีการสุ่ม (randomization) ที่สมควร และดังนั้นจึงทำให้ตัวอย่างที่ชัก ไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรที่ต้องการจะวิเคราะห์\nตัวอย่างเช่น\nเป็นปรากฏการณ์ที่บางครั้งเรียกว่า selection effect (ปรากฏการณ์การคัดเลือก)\nและหากไม่พิจารณาผลของความเอนเอียงจากการคัดเลือก จะทำให้การสรุปผลจากตัวอย่างงานวิจัยนั้นผิดพลาด", "title": "อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง" }, { "docid": "630851#11", "text": "ความลำเอียงเพื่อยืนยันไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่การสั่งสมหลักฐาน\nแม้ว่าคนสองคนจะมีหลักฐานเดียวกัน แต่การตีความหมายอาจจะประกอบกับความเอนเอียง", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "630851#70", "text": "โดยใช้เป็นตัวอย่างที่เด่นเกี่ยวกับความเอนเอียงในโลกจริง ๆ นิกเกอร์สันกล่าวถึงความเชื่อเกี่ยวกับพีระมิดที่มักหาความหมายในสัดส่วนต่าง ๆ ชองพีระมิดชาวอียิปต์ คือ มีขนาดต่าง ๆ มากมายที่วัดได้ในพีรามิดหนึ่ง ๆ เช่นมหาพีระมิดแห่งกีซา และมีวิธีมากมายที่จะรวมหรือดัดแปลงขนาดต่าง ๆ เหล่านั้น ดังนั้น จึงเกือบจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่คนที่เสาะหาดูเลขต่าง ๆ เหล่านี้โดยเลือก จะพบตัวเลขที่ตรงกับเลขอะไรอย่างหนึ่งที่เป็นความจริง เช่นขนาดของโลก", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "630851#36", "text": "ปรากฏการณ์นี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการตีความหมายแบบเอนเอียง คือตีความหมายหลักฐานที่เป็นกลาง ๆ หรือมีผลลบว่าสนับสนุน (คือมีผลบวก) กับความเชื่อที่มีอยู่ของตน\nและมีความเกี่ยวข้องกับความเอนเอียงแบบอื่น ๆ ในการทดสอบสมมติฐาน ", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "680776#1", "text": "ความเอนเอียงในสื่อเป็นความเอนเอียงของผู้สื่อข่าวและผู้ผลิตข่าว (news producer) ในสื่อมวลชน โดยเลือกเหตุการณ์และเรื่องที่จะรายงาน และโดยวิธีการรายงาน คำภาษาอังกฤษว่า \"media bias\" (ความเอนเอียงของสื่อ) บ่งถึงความเอนเอียงที่เป็นไปอย่างกว้างขวางที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานและจริยธรรมของการสื่อข่าว ไม่ใช่หมายถึงความเอนเอียงที่มีเฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือบทความใดบทความหนึ่ง แต่ยังไม่มีความเห็นที่ตรงกันในเรื่อง media bias ที่มีในประเทศต่าง ๆ ทั้งในส่วนของฝักฝ่ายและระดับความเอนเอียง", "title": "ความเอนเอียง" }, { "docid": "638081#20", "text": "มีการใช้งานวิจัยโดยสรีรวิทยาไฟฟ้า (electrophysiology) และการสร้างภาพสมองโดยกิจ (functional neuroimaging) ในมนุษย์เพื่อระบุกลไกทางประสาทที่เป็นเหตุของความเอนเอียงโดยการใส่ใจ (attentional bias)\nโดยงานวิจัยโดยมากสืบหาการทำงานในระบบที่เกิดความเอนเอียง เช่น ในเปลือกสมองส่วนการเห็น (visual cortex) หรือเปลือกสมองส่วนการได้ยิน (auditory cortex)\nงานวิจัยยุคต้น ๆ ใช้ event-related potential (ตัวย่อ ERP หมายถึง การตอบสนองทางไฟฟ้าของสมองเพราะเหตุการณ์หนึ่ง ๆ) เพื่อที่จะแสดงว่า\nระดับการตอบสนองด้วยไฟฟ้าในสมองที่บันทึกในคอร์เทกซ์สายตาทั้งในซีกซ้ายและซีกขวาของสมองเกิดการเพิ่มระดับขึ้น ถ้าให้ผู้ร่วมการทดลองใส่ใจในด้านที่เหมาะสม (คือตรงข้ามกับซีกสมองที่ระดับการตอบสนองเพิ่มขึ้น) ", "title": "Executive functions" }, { "docid": "630851#71", "text": "ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งในการหาเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ก็คือการเสาะหาหลักฐานที่พิสูจน์ความผิดและหลักฐานที่ยืนยันความถูกต้องของสมมติฐาน \nแต่ถึงกระนั้น ก็ยังมีเหตุการณ์หลายเหตุการณ์ในประวัติวิทยาศาสตร์ ที่นักวิทยาศาสตร์ต่อต้านการค้นพบใหม่ ๆ โดยตีความหมายแบบเลือกและไม่สนใจในข้อมูลที่คัดค้านความคิดที่มีอยู่ก่อน งานวิจัยได้พบว่า งานประเมินคุณภาพของงานวิจัยวิทยาศาสตร์มีจุดอ่อนโดยเฉพาะต่อความเอนเอียงเพื่อยืนยัน\nคือ ได้พบว่า มีหลายครั้งหลายคราวที่นักวิทยาศาสตร์ให้คะแนนกับงานวิจัยที่พบผลที่เข้ากับความเชื่อฝ่ายตนดีกว่างานวิจัยที่พบผลที่ไม่เข้ากัน \nอย่างไรก็ดี ถ้าสมมุติว่า คำถามที่ต้องการจะหาคำตอบนั้นมีความสำคัญ การออกแบบการทดลองก็ใช้ได้ และข้อมูลที่ได้มีการพรรณนาไว้อย่างชัดเจนและสมบูรณ์ ผลงานนั้นก็ควรจะมีความสำคัญกับวงการวิทยาศาสตร์และไม่ควรจะเกิดการพิจารณาตัดสินโดยไม่ใช้หลักฐานอย่างเป็นกลาง ๆ ไม่ว่าผลจะเข้ากันกับพยากรณ์ของทฤษฎีปัจจุบันหรือไม่", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "630851#0", "text": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน (ความคิดฝ่ายตน) หรือ ความลำเอียงเพื่อยืนยัน () เป็นความลำเอียงในข้อมูลที่ยืนยันความคิดหรือทฤษฎีหรือสมมติฐานฝ่ายตน เรียกว่ามีความลำเอียงนี้เมื่อสะสมหรือกำหนดจดจำข้อมูลที่เลือกเฟ้น หรือว่าเมื่อมีการตีความหมายข้อมูลอย่างลำเอียง", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "630851#47", "text": "วาสันเป็นผู้ยอมรับความคิดเรื่อง falsificationism ซึ่งแสดงว่า การทดสอบสมมติฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นความพยายามที่จริงจังที่จะพิสูจน์ว่าสมมติฐานนั้นผิด\nเขาตีความหมายของผลการทดลองนี้ว่า มนุษย์ชอบใจที่จะยืนยันความเห็นฝ่ายตนมากกว่าที่จะพิสูจน์ว่าผิด\nดังนั้นจึงบัญญัติคำว่า \"ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน (confirmation bias)\" ", "title": "ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน" }, { "docid": "615220#0", "text": "ความเอนเอียงจากการอยู่รอด () เป็นเหตุผลวิบัติที่เน้นความสนใจต่อบุคคลหรือสิ่งที่ \"อยู่รอด\" บางกระบวนการ และมองข้ามบุคคลหรือสิ่งที่ไม่อยู่รอดโดยไม่ได้เจตนา ความเอนเอียงจากการอยู่รอดอาจนำไปสู่ข้อสรุปที่ผิดได้หลายทาง ผู้อยู่รอดอาจหมายความตามตัวอักษร คือ เป็นบุคคล ดังในการศึกษาทางการแพทย์ ทว่าอาจหมายถึงบริษัทหรือตัวอย่างวิจัยหรือผู้สมัครงาน หรือสิ่งใดก็ตามที่ต้องผ่านกระบวนการคัดเลือกก่อนที่จะได้รับพิจารณาเพิ่มเติมได้ทั้งสิ้น", "title": "ความเอนเอียงจากการอยู่รอด" }, { "docid": "684188#18", "text": "Egocentric thinking (ความคิดมีตนเป็นศูนย์กลาง) หมายถึงการที่เรารู้ข้อมูลและความเสี่ยงของตนเอง พอที่จะสามารถใช้ในการประเมินและการตัดสินใจ\nแต่ว่า แม้ว่าเราจะมีข้อมูลมากเกี่ยวกับตนเอง เรากลับไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้อื่น\nดังนั้น เมื่อจะทำการตัดสินใจ เราต้องใช้ข้อมูลอื่นที่เรามี เช่นข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม ใช้เพื่อที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับผู้ที่เป็นเป้าหมายมากยิ่งขึ้น \nนี้อาจจะมีความสัมพันธ์กับความเอนเอียงประเภทนี้ เพราะว่า แม้ว่าเราจะสามารถใช้ข้อมูลที่มีเกี่ยวกับตน แต่เรากลับมีความยากลำบากในการเข้าใจข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับผู้อื่น \nความคิดมีตนเป็นศูนย์กลางเช่นนี้พบได้บ่อยครั้งกว่าในเด็กวัยรุ่นและเด็กมหาวิทยาลัย ที่มักจะคิดถึงตนเองมากกว่าผู้อื่นโดยรวม ๆ", "title": "ความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี" } ]
2734
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช คือรัชกาลที่เท่าไหร่ ?
[ { "docid": "4226#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ขณะมีพระชนมายุได้ 46 พรรษา และทรงย้ายราชธานีจากฝั่งธนบุรีมาอยู่ฝั่งพระนคร และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับ", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" } ]
[ { "docid": "4226#34", "text": "ในวาระการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 200 ปี รัฐบาลได้จัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2525 ในการนี้รัฐบาลและปวงชนชาวไทยพร้อมใจกันเฉลิมพระเกียรติพระองค์โดยถวายพระราชสมัญญา \"มหาราช\" ต่อท้ายพระปรมาภิไธย ออกพระนามว่า \"พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช\"[10][11]", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "4226#32", "text": "ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ออกพระนามรัชกาลที่ 1 ว่า<b data-parsoid='{\"dsr\":[16516,16554,3,3]}'>พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ตามนามของพระพุทธรูปที่ทรงสร้างอุทิศถวาย[8] และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เพิ่มพระปรมาภิไธยแก่สมเด็จพระบรมอัยกาธิราชจารึกลงในพระสุพรรณบัฏว่า \"พระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ นเรศวราชวิวัฒนวงศ์ ปฐมพงศาธิราชรามาธิบดินทร์ สยามพิชิตินทรวโรดม บรมนารถบพิตร พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก\"[7]", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "126732#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม \"ทองดี\") และพระอัครชายา (พระนามเดิม \"หยก\"หรือ ดาวเรือง)\nพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร", "title": "พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก" }, { "docid": "4226#33", "text": "หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการเฉลิมพระปรมาภิไธยอย่างสังเขปว่า พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1[9]", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "856032#4", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ พระมหาอุปราช (พัฒน์) ได้รับการแต้งตั้งเป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ท่านได้ถวายธิดาคนใหญ่เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และธิดาคนเล็กเป็นพระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ มีพระราชโอรส 1 พระองค์คือ", "title": "เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "4226#24", "text": "ในครั้งนั้นเมืองทวาย ตะนาวศรี และมะริด ได้เข้ามาขอสวามิภักดิ์ต่อไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ยกทัพไปช่วยป้องกันเมือง แต่เมื่อพระเจ้าปดุงยกทัพมาปราบปรามเมืองทั้งสามก็หันกลับเข้ากับทางพม่าอีก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ถอยทัพกลับกรุงเทพฯ", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "10579#1", "text": "สะพานพระพุทธยอดฟ้า เป็นสะพานที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) เมื่อปี พ.ศ. 2472 เนื่องในโอกาสสถาปนากรุงเทพมหานครครบ 150 ปี และโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150 ปี ด้วยพระราชดำริที่จะสร้างสิ่งที่เป็นอนุสรณ์ถึงความรำลึกในพระกรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้ทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร โดยมีพระราชดำริว่าควรสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมจังหวัดพระนครกับธนบุรีเข้าด้วยกัน เพื่อให้การคมนาคมติดต่อสะดวก ทั้งยังเป็นการขยายพระนครอีกด้วย จึงโปรดเกล้าฯ ให้คิดแบบพระบรมราชานุสาวรีย์ และสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นประกอบกันเป็นปฐมบรมราชานุสรณ์ที่ปลายถนนตรีเพชร ถือเป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 2 ถัดจากสะพานพระราม 6 ที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 6", "title": "สะพานพระพุทธยอดฟ้า" }, { "docid": "852215#0", "text": "เจ้าจอมบุญนาก หรือมีสมญาว่า บุญนากสีดา เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เจ้าจอมบุญนากมีบิดาเป็นชาวจีน กับมารดาชาวญวน แต่ไม่ทราบว่าบิดามารดามีจากตระกูลใดหรือประกอบกิจอันใดมา เธอได้สนองพระเดชคุณเป็นที่พอพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นอย่างยิ่งจึงได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดถึง 10 ชั่ง แต่มิได้ให้ประสูติพระราชโอรสธิดาแต่อย่างใด พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งอยู่ร่วมสมัยและได้ทันเห็นเจ้าจอมบุญนากนี้ ได้ตรัสเล่าถึงเจ้าจอมท่านนี้ไว้ว่า ", "title": "เจ้าจอมบุญนาก ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "170711#0", "text": "เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) หรือ พระยายมราช (แบน) เป็นแม่ทัพคนหนึ่งในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้มีพระบรมราชโองการสั่งยกทัพไปช่วยเขมรเพื่อป้องกันการรุกรานจากญวน โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสรยศเป็น เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพใหญ่ ซึ่งได้ขอตัวพระยายมราช (แบน) ไปด้วย ด้วยเป็นนายทหารฝีมือดี เมื่อเสด็จนำกองทัพไปถึงเมืองกัมพูชาแล้ว พระยาสรรค์ก่อกบฏขึ้นในกรุงธนบุรี เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกต้องรีบนำทัพกลับเพื่อจัดการกบฏ แต่ทางกัมพูชานี้ได้ทิ้งไว้ให้พระยายมราช (แบน) เป็นผู้ดูแล ไม่นานนัก เมื่อเสด็จมาถึงและได้ปราบดาภิเษกเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าแล้ว ส่วนพระยายมราช (แบน) ก็ติดราชการอยู่ที่เมืองกัมพูชาอยู่", "title": "เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน)" }, { "docid": "170636#20", "text": "วัดสังข์กระจาย เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 504 แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 26 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา วัดสังข์กระจายเป็นวัดโบราณในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) นายสังข์ข้าราชการตำแหน่งนายสารบบในกรมพระสุรัสวดีได้มีจิตศรัทธาสร้างวัด จึงได้ปรึกษากับนายพลับเพื่อขอไม้ซุงมาสร้างวัด เมื่อได้มาก็ตั้งสัตยาธิษฐานว่าหากซุงที่ปล่อยให้กระแสน้ำพัดล่องไปตามลำคลองนี้ลอยไปติด ณ ที่ใดก็สร้างวัด ณ ที่นั้น ด้วยอำนาจสัตยาธิษฐานซุงก็ได้ลอยมาติดที่หน้าพระวิหารในปัจจุบัน นายสังข์และนายพลับจึงได้สร้างวัดในบริเวณนี้ การสร้างนั้นสร้างตามกำลังทรัพย์ โดยเริ่มสร้างกุฏิวิปัสสนาก่ออิฐถือปูน มีประตูหน้าต่างอย่างละ 1 บาน ภายในเป็นแท่นก่อปูนสำหรับนั่งหรือใช้เป็นที่บำเพ็ญวิปัสสนาเฉพาะเพียงคนเดียว โดยใช้ซุงเป็นเครื่องบน ต่อมาเจ้าจอมแว่นได้มอบทุนให้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างกุฏิ 4 คณะด้านใต้ เป็นกุฏิถือปูนทั้งหมด ปัจจุบันกลายเป็นเขตบ้านเช่า ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โปรดให้กรมหมื่นไกรสรวิชิตเป็นนายงานควบคุมสร้างพระอุโบสถ โดยให้หันหน้าวัดไปทางคลองบางวัวทองอยู่เคียงกับกุฏิของเดิม พร้อมสร้างกุฏิขึ้นใหม่บริเวณพระอุโบสถด้านใต้ เล่ากันว่าเมื่อขุดพื้นที่เพื่อสร้างพระอุโบสถได้ขุดพบพระกัจจายน์หล่อด้วยสำริด ขนาดหน้าตักกว้าง 10 นิ้วไม่มีฐาน และขุดพบสังข์ด้วยตัวหนึ่งแต่สังข์ได้ชำรุด ส่วนพระกัจจายน์ได้เก็บรักษาไว้เป็นคู่พระอาราม ครั้นเมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ทรงถือนิมิตเหตุอันนี้ พระราชทานนามว่า วัดสังข์กระจาย", "title": "เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "564086#2", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปราบดาภิเษกขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้าจอมทองคำ ซึ่งเป็นพระราชภาคิไนยขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าฝ่ายในพระองค์หนึ่ง ประทับ ณ พระตำหนักเขียวเบื้องหลังหมู่พระมหามณเทียรร่วมกับพระมารดา พระองค์ไม่มีเจ้ากรมต่างหาก แต่เป็นสังกัดในกรมพระยาเทพสุดาวดี จนสิ้นพระชนม์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนั้นเอง แต่ไม่ปรากฏว่าเป็นปีใด", "title": "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าทองคำ" }, { "docid": "607954#0", "text": "วังริมป้อมพระสุเมรุ เดิมเป็นวังของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา พระราชอนุชาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว เหลือแต้เพียงซุ้มประตูวังเท่านั้น\nวังริมป้อมพระสุเมรุ เดิมเป็นวังของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฎา พระราชอนุชาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวงจักรเจษฏา โดยแต่เดิมเป็นที่ประทับชั่วคราวของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถโดยให้สร้างเป็นวังเพื่อเป็นที่ประทับตราบจนพระองค์สิ้นพระชนม์", "title": "วังริมป้อมพระสุเมรุ" }, { "docid": "127203#2", "text": "ด้วยพระมหากรุณาธิคุณดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 4 พระองค์ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อประดิษฐานไว้ให้พระมหากษัตริย์องค์ต่อมา พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และประชาชนได้ถวายบังคมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณเป็นธรรมเนียมปีละครั้ง และโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท แต่มีการย้ายสถานที่ในการประดิษฐานหลายครั้ง เช่น พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท และพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท เป็นต้น ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ย้ายพระบรมรูปมาไว้ ณ ปราสาทพระเทพบิดร ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พร้อมกับพระบรมรูปของรัชกาลที่ 5 พระบรมชนกนาถ ", "title": "วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์" }, { "docid": "32439#0", "text": "คลองหลอด เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2326 เมื่อครั้งย้ายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรีมาอยู่ฝั่งพระนคร เชื่อมคลองคูเมืองเดิมออกไปบรรจบกับคลองรอบกรุง มี 2 คลอง เรียกกันตามลักษณะของคลองว่า \"คลองหลอด\"\nคลองหลอดทั้ง 2 คลอง \"หลอดวัดราชนัดดา\" และ \"หลอดวัดราชบพิธ\" ขุดตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดฯ ให้ขุดคลองรอบกรุง แล้วโปรดฯ ให้ขุด \"คลองหลอด\" ขึ้น 2 คลอง", "title": "คลองหลอด" }, { "docid": "170636#14", "text": "เจ้าจอมแว่นเป็นผู้มีความกล้าหาญ และมีศิลปะในการเพ็ดทูลเรื่องราวต่างๆ ที่ไม่มีผู้ใดกล้านำขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) และหากเจ้าจอมแว่นเห็นว่าเรื่องนั้นเป็นสิ่งสมควรและถูกต้องแล้ว ก็จะกราบทูลทันทีมิได้เกรงกลัวพระราชอาญา ความกล้าหาญของเจ้าจอมแว่นเป็นที่ประจักษ์เมื่อปี พ.ศ. 2339 คราวที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหาราช (รัชกาลที่ 1) ทรงเหน็ดเหนื่อยพระวรกายจากการว่าราชการงานเมือง ขณะบรรทมหลับก็เกิดพระสุบินและทรงละเมอ ทำให้ข้าราชบริพารตกใจไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรดี เจ้าจอมแว่นจึงใช้ความหาญกล้าตัดสินใจกัดนิ้วพระบาท จนพระเจ้าอยู่หัวทรงรู้สึกพระองค์และตื่นพระบรรทม เจ้าจอมแว่นจึงได้รับความดีความชอบและเป็นที่โปรดปรานของพระองค์อย่างมาก และด้วยความจงรักภักดีสุจริตใจของเจ้าจอมแว่นนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหาราช (รัชกาลที่ 1) จึงไม่ทรงพิโรธ[17] ความกล้าหาญของเจ้าจอมแว่นอีกครั้งหนึ่งได้ปรากฏ ดังนี้", "title": "เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "42321#3", "text": "เมื่อทรงเจริญวัยได้รับราชการเป็นมหาดเล็กตำแหน่งนายสุดจินดา มหาดเล็กหุ้มแพร ในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ใน พ.ศ. 2310 เมื่อข้าศึกยกมาล้อมกรุงศรีอยุธยา ขณะนั้นพระนครอ่อนแอมาก พระยาวชิรปราการ (สิน) จึงพาสมัครพรรคพวกตีฝ่าออกจากพระนครศรีอยุธยา มุ่งไปรวบรวมกำลังที่หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ที่ชลบุรี เพื่อจะรบสู้ขับไล่ข้าศึกจากพระนคร เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่ข้าศึกบ้านเมืองสับสนเป็นจลาจล นายสุดจินดาได้เสด็จลงเรือเล็กหลบหนีออกจากกรุงศรีอยุธยา และมุ่งจะเสด็จไปยังเมืองชลบุรีด้วยเช่นกัน ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ได้นำครอบครัวและบริวารอพยพหลบภัยข้าศึกไปตั้งอยู่ ณ อำเภออัมพวา เมืองสมุทรสงครามซึ่งแต่เดิมขึ้นกับเมืองราชบุรี ก่อนที่สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทจะเสด็จไปถึงชลบุรี ได้เสด็จไปพบพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่อำเภออัมพวาก่อน ได้ทรงชวนให้เสด็จไปหลบภัย ณ ชลบุรี ด้วย แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยังไม่พร้อม แต่ได้พระราชทานเรือใหญ่ พร้อมเสบียงอาหาร และพระราชดำริให้ไปฝากตัวทำราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และทรงแนะนำให้เสด็จไปรับท่านเอี้ยง พระชนนีของพระยาตากสิน ซึ่งอพยพไปอยู่ที่บ้านแหลม พร้อมทั้งทรงฝากดาบคร่ำ และแหวน 2 วง ไปถวายเป็นของกำนัลด้วย", "title": "สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท" }, { "docid": "4226#38", "text": "เมื่อครั้งที่ทรงดำรงตำแหน่งหลวงยกบัตรเมืองราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชสมรสกับคุณนาค ธิดาของคหบดีใหญ่ในตระกูลบางช้าง (ดู ณ บางช้าง) โดยมีพระราชโอรสสองพระองค์หนีราชภัยมาตั้งถิ่นฐานที่แขวงบางช้าง เมืองราชบุรี (ปัจจุบันคือจังหวัดสมุทรสงคราม) ต่อมาเมื่อขึ้นครองราชย์ แม้จะมิได้โปรดให้สถาปนายกย่องขึ้นเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีอย่างเป็นทางการก็ตาม แต่คนทั้งปวงก็เข้าใจว่าท่านผู้หญิงนาค เอกภรรยาดั้งเดิมนั้นเองที่อยู่ในฐานะสมเด็จพระอัครมเหสี จึงพากันขนานพระนามว่า สมเด็จพระพันวษา หรือสมเด็จพระพรรษา ตามอย่างการขนานพระนามสมเด็จพระอัครมเหสีตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา อย่างไรก็ตามสมเด็จพระพันวษาทรงมีอีกพระนามว่าสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมีพระราชโอรส-ราชธิดา รวมทั้งสิ้น 42 พระองค์ โดยเป็นพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่สมเด็จพระพันวษา พระอัครมเหสี 10 พระองค์", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "858928#4", "text": "พ.ศ. 2399 ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์เจ้าดวงจันทร์ มีพระชันษาได้ 73 ปีเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเป็นเจ้านายพระองค์แรกที่ทรงมีพระชันษายืนนานเท่ารัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงยินดี เสด็จไปพระราชทานเครื่องสักการะกับต้นไม้เงินต้นไม้ทองคู่หนึ่ง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระองค์เจ้าดวงจันทร์ถึงในพระราชวังบวร แต่นั้นก็เป็นราชประเพณีถ้าเจ้านายมีพระชันษยืนเท่าพระชนมายุของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ก็จะทรงพระกรุณาพระราชทานเครื่องสักการะ ถ้าเป็นเจ้านายทรงศักดิ์สูงก็จะพระราชทานต้นไม้เงินต้นไม้ทองด้วยเฉลิมพระเกียรติด้วย แล้วเลยเป็นประเพณีสืบมาถึงรัชกาลอื่นภายหลัง แต่ในรัชกาลที่ 4 มีเพียงพระองค์เจ้าดวงจันทร์พระองค์เดียว ที่ได้รับพระราชทานเครื่องสักการะ", "title": "พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจันทร์ (ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท)" }, { "docid": "127203#0", "text": "วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ หรือ วันจักรี เป็นวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและมหาจักรีบรมราชวงศ์ ตรงกับวันที่ 6 เมษายนของทุกปี", "title": "วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์" }, { "docid": "127203#1", "text": "วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีและทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย ", "title": "วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์" }, { "docid": "6748#4", "text": "ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ วัดบางว้าใหญ่อยู่ในพระอุปถัมภ์ของเจ้านายวังหลัง คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (สา) พระเชษฐภคินีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระชนนีของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงมีตำหนักที่ประทับอยู่ติดกับวัด", "title": "วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร" }, { "docid": "570900#1", "text": "เจ้าจอมมารดาเจ้านางทองสุก มีนามเดิมว่า เจ้าหญิงคำสุกแห่งเวียงจันทน์ มีนามฉายาว่า เจ้านางเขียวค้อม ประสูติที่นครเวียงจันทน์ ถือกำเนิดในราชวงศ์เวียงจันทน์ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเวียงจันทน์ในสมัยตกเป็นประเทศราชของสยาม และเป็นพระราชนัดดา (หลานปู่และหลานอา) ในสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารและสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ พระมหากษัตริย์แห่งนครเวียงจันทน์ พระองค์ได้เสด็จตามพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มาจากนครเวียงจันทน์ พร้อมกับพระราชบิดาและพระบรมวงศานุวงศ์คือ เจ้านันทเสน เจ้าพรหมวงศ์ เจ้าอนุวงศ์ เจ้านางแก้วยอดฟ้า พร้อมด้วยขุนนางข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปรบชนะเมืองเวียงจันทน์ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เหตุการณ์ครั้งนั้นสยามได้อัญเชิญพระแก้วมรกตพร้อมทรัพย์สินมีค่าอื่นๆ มาสู่ราชสำนักกรุงธนบุรีด้วย ", "title": "เจ้าจอมมารดาทองสุก ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "9097#3", "text": "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามตามประวัติสร้างมาตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา แต่ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสร้าง เดิมเรียกว่า \"วัดโพธาราม\" หรือ \"วัดโพธิ์\" ได้ถูกยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงในสมัยกรุงธนบุรี ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ในปี พ.ศ. 2331 โดยทรงสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2344 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า \"วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส\" เป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช", "title": "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร" }, { "docid": "4226#40", "text": "พ.ศ. 2279 20 มีนาคม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช</b>พระราชสมภพที่กรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระนามเดิม ทองด้วง", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "4226#13", "text": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถในการรบ ทรงเป็นผู้นำทัพในการทำสงครามกับพม่าทั้งหมด 7 ครั้งในรัชสมัยของพระองค์ ได้แก่", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" }, { "docid": "856032#0", "text": "เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "372599#16", "text": "พระนางเจ้ามารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสถวายพระราชสาส์นโดยตรงจากกรุงลิสบอนสู่กรุงรัตนโกสินทร์ ในปีพ.ศ. 2329 ซึ่งเป็นปีที่ 5 ในรัชกาลที่ 1 แห่งสยาม ดังนั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงทราบ ก็ทรงตระหนักถึงการให้ความสำคัญของโปรตุเกสต่อรัตนโกสินทร์ที่เพิ่งตั้งได้เพียง 5 ปี จึงได้มีพระบรมราชโองการดำรัสสั่งให้เตรียมการรับราชทูตแห่งโปรตุเกสอย่างสมเกียรติ แต่พระราชสาส์นของพระนางมารีอาได้สูญหาย จึงทำให้ปัจจุบันไม่ทราบความในพระราชสาส์น แต่ในพระราชสาส์นตอบของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนั้นทำให้ทราบว่าทางพระราชินีโปรตุเกสได้กราบบังคมทูลขอตั้งสถานีการค้าในกรุงเทพมหานครขึ้นและความช่วยเหลือทางการทหารเข้ามาด้วย นับเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เข้ามายังสยามในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส" }, { "docid": "7821#28", "text": "รายนามเจ้าเมือง, ข้าหลวงกำกับราชการ, ผู้ว่าราชการเมืองศีร์ษะเกษรายนามวาระการดำรงตำแหน่ง1. พระยารัตนวงษา (ท้าวอุ่น หรือ พระภักดีภูธรสงคราม) ผู้ก่อตั้งเมือง เจ้าเมืองท่านแรก (อดีตปลัดเมืองขุขันธ์ ผู้กราบบังคมทูลขอแยกมาตั้งเมืองศรีสะเกษ บริเวณบ้านโนนสามขาสระกำแพง เมื่อ พ.ศ. 2325) พ.ศ. 2325 – 2328 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมัยกรุงรัตนโกสินทร์)2. พระยาวิเศษภักดี (ท้าวชม) เจ้าเมืองศรีสะเกษ (พ.ศ. 2328 ย้ายเมืองมาตั้งที่บ้านพันทาเจียงอี คือที่ตั้งตัวเมืองจังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน)พ.ศ. 2328 – พ.ศ. 2368 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช-รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) 3. พระยาวิเศษภักดี เจ้าเมืองศรีสะเกษพ.ศ. 2368 – พ.ศ. 2424 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว-รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) 4. พระยาวิเศษภักดี (ท้าวโท หรือ พระพรหมภักดี) เจ้าเมืองศรีสะเกษพ.ศ. 2424 – พ.ศ. 2437 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) หลวงจำนงยุทธกิจ(อิ่ม)และ ขุนไผทไทยพิทักษ์(เกลื่อน) (คณะข้าหลวงเมืองศรีสะเกษ ปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าเมืองศรีสะเกษ)พ.ศ. 2433 – พ.ศ. 2443 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)5.พระภักดีโยธา(เหง้า) ผู้ว่าราชการเมืองศรีสะเกษ (คนแรก)พ.ศ. 2443 – พ.ศ. 2450 (รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)", "title": "จังหวัดศรีสะเกษ" }, { "docid": "423592#0", "text": "พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองบุรีรัมย์ทางไปอำเภอประโคนชัย สร้างในปี พ.ศ. 2539 เพื่อเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงก่อตั้งเมืองบุรีรัมย์ เมื่อครั้งยังทรงเป็นสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก พระบรมราชานุสาวรีย์มีขนาดเท่าครึ่งของพระองค์จริง หล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์ ฉลองพระองค์แบบนักรบตามขัตติยราชประเพณีโบราณ ประทับบนช้างศึก จากจดหมายเหตุประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 7 กล่าวว่า ใน พ.ศ. 2321 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปปราบพระยาซึ่งคบคิดกับเจ้าโอ เจ้าอินแห่งจำปาศักดิ์ ขณะเดินทัพพบเมืองร้างอยู่ที่ลุ่มน้ำห้วยจระเข้มาก มีชัยภูมิดีแต่ไข้ป่าชุกชุม ชาวเขมรป่าดงไม่กล้าเข้ามาอยู่อาศัย แต่ตั้งบ้านเรือนอยู่โดยรอบ จึงรวบรวมผู้คนตั้งเป็นเมืองแปะ และให้บุตรเจ้าเมืองพุทไธสมันซึ่งติดตามมาด้วยเป็นเจ้าเมือง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยานครภักดี ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น เมืองบุรีรัมย์", "title": "พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช" } ]
920
มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์อนิเมชั่นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "70553#0", "text": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ () เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ \"เฟท/สเตย์ ไนท์ [เรียลตา นัว]\" โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" } ]
[ { "docid": "70553#5", "text": "สิ่งหนึ่งที่ชิโร่ไม่เคยรู้มาก่อนเลยคือเมืองฟุยูกิที่เขาอาศัยอยู่นั้นได้ถูกจัดเตรียมไว้เพื่อเป็นสนามรบระหว่างจอมเวททั้งเจ็ดอย่างลับๆ ซึ่งจอมเวททั้งเจ็ดคนที่เข้ามาร่วมจะต้องเสี่ยงชีวิตเพื่อแย่งชิงจอกศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถประทานทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการได้ ซึ่งสงครามจะเริ่มต้นทุกๆ 50 ปี อย่างครั้งล่าสุดคือสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เมื่อ 16 ปีก่อนก็ได้เป็นชนวนทำให้เกิดสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ขึ้นมาอีกภายในเวลา 10 ปีโดยหาสาเหตุไม่ได้ จอมเวทที่เข้าร่วมสงครามทุกคนนั้นจะถูกขนานนามว่า \"มาสเตอร์\" ผู้ซึ่งควบคุมวิญญานที่อยู่ในฐานะ \"ข้ารับใช้\" เพื่อใช้ในการต่อสู้ในสงคราม ซึ่งวิญญานเหล่านั้นคือวิญญานของเหล่าวีรชนในแต่ละยุคสมัยของโลก ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าวิญญานของวีรชน () แต่ละคนนั้นย่อมมีความสามารถพิเศษเฉพาะตัว หรือที่เรียกว่า \"โนเบิล แฟตาซึ่ม\" () ซึ่งมันจะเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงตัวตนที่แท้จริงของข้ารับใช้แต่ละคนนั้นด้วย และมันจะทำให้คู่ต่อสู้ทราบถึงจุดอ่อนของข้ารับใช้คนนั้นๆ ทันที การอัญเชิญข้ารับใช้ของมาสเตอร์แต่ละคนนั้นจะมีแตกต่างกันไป ซึ่งบางกรณีจะเกี่ยวข้องกับสื่อที่ใช้อัญเชิญ และความคิดความต้องการของมาสเตอร์ ซึ่งถ้าหากมาสเตอร์คนไหนมีความคิดเดียวกันกับวีรชนคนใด วีรชนคนนั้นก็จะมาเป็นข้ารับใช้ให้กับมาสเตอร์คนนั้นๆ ซึ่งในแต่ละครั้งของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ ข้ารับใช้จะถูกอัญเชิญออกมาจาก 1 ใน 7 ประเภทคือ เซเบอร์, อาเชอร์ , แลนเซอร์, เบอเซิร์กเกอร์, ไรเดอร์, แอสซาซิน และ แคสเตอร์", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "72187#2", "text": "บาเซตต์ ฟราก้า แม็กเรมินซ์ สมาชิกในสมาคมจอมเวทย์ที่มีสิทธิ์ในการเป็นมาสเตอร์ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ได้เริ่มเคลื่อนไหวตัวเองในวันที่ 4 ของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 พร้อมกับข้ารับใช้ของเธอ อเวนเจอร์ และความทรงจำของเธอที่หายไปเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับมือข้างที่หายไป ซึ่งเธอก็ต่อสู้เพื่อค้นหาความทรงจำที่หายไปนี้เช่นกัน", "title": "เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย" }, { "docid": "104286#5", "text": "ใน \"เฟท ฮอลโล่ว์ อทาราเซีย\" เซเบอร์ยังคงอยู่กับชิโร่ ซึ่งความสัมพันธ์ของทั้งคู่ก็ได้ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ เธอได้สังหารอาเชอร์ที่พยายามจะสังหารชิโร่เพื่อปกป้องเขาในช่วงแรกของการหวนกลับ ในช่วงการหวนกลับอื่นๆ เธอได้ถูกสังหารโดย ฟรากรัช ของ บาเซตต์ ในขณะที่เธอพยายามที่จะใช้เอกซ์คาลิเบอร์กับบาเซตต์ ในการหวนกลับครั้งสุดท้าย เธอได้ช่วยเหลือชิโร่/อเวนเจอร์ ในการเข้าถึงจอกศักดิ์สิทธิ์ที่ถูกคุ้มกันไว้ด้วยสัตว์ประหลาดลึกลับ (ที่เกิดจากเศษเสี้ยวของความปรารถนาที่ต้องการจะให้เกิดการหวนกลับอีกครั้งของอเวนเจอร์) พร้อมกับวิญญาณวีรชนตนอื่นๆ ใน \"เฟท/สเตย์ ไนท์ เธอได้ตกหลุมรักกับชิโร่ แต่เธอก็ไม่สามารถแสดงออกมาได้นั่นเป็นเพราะเธอเป็นเพียงข้ารับใช้เท่านั้น", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "168840#8", "text": "เป็นเพราะว่าต้องเผชิญกับข้ารับใช้ที่แข็งแกร่งหลายตนในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ซ้ำยังมีมาสเตอร์กระจอกแบบชินจิ จึงทำให้เธอเป็นฝ่ายถูกกำจัดไปเองในเสียเกือบทุกเนื้อเรื่อง เช่น ", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "70553#22", "text": "เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2549 ไทป์-มูน ได้ประกาศที่จะวางจำหน่ายนิยายในซีรีส์เฟทเรื่องใหม่ ภายใต้ชื่อว่า เฟท/ซีโร่ ซึ่งเป็นเรื่องราวก่อนเหตุการณ์ใน เฟท/สเตย์ ไนท์ โดยจะมุ่งไปที่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เล่มแรกวางจำหน่ายในวันที่ 12 ธันวาคม 2549 ซึ่งเกิดจากการร่วมมือกันระหว่าง ไทป์-มูน และ ไนโตรพลัส", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "73031#7", "text": "ในช่วงเหตุการณ์ใน เฟท/สเตย์ ไนท์ อเวนเจอร์เป็นเพียงแค่วิญญานที่อยู่ในจอกศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งถูกกักไว้หลังจากจบสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 แต่อย่างไรก็ตาม ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เขาก็ได้ออกมาอีกครั้งเพราะมานาที่สะสมไว้มากมาย ก่อนที่จอกจะถูกทำลายลงโดยชิโร่เพื่อป้องกันเหตุร้ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยอเวนเจอร์ หลังจากที่จอกศักดิ์สิทธิ์อยู่ในสภาพที่สามารถจะให้พรได้แล้ว จอกศักดิ์สิทธิ์กลับหายไปโดยที่ยังไม่ได้ให้พรกับใครทั้งนั้น อเวนเจอร์จึงต้องหาทางที่จะทำให้จอกกลับมาให้พรตามที่ตนเองจะขอนั้นเป็นจริงให้ได้ ต่อมาเขาก็ได้พบกับบาเซตต์ในสภาพใกล้ตาย ซึ่งเธอก็เรียกร้องว่ายังไม่อยากตาย ดังนั้นเขาจึงทำสัญญากับบาเซตต์ และกลายมาเป็นข้ารับใช้ของบาเซตต์ เพื่อเป็นหนทางที่จะทำให้ความหวังของตนเป็นจริง", "title": "อเวนเจอร์ (เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย)" }, { "docid": "209621#27", "text": "หมวดหมู่:ตัวละครในมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์", "title": "แลนเซอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "104286#1", "text": "อาธูเรียได้ปกครองบริเทน ซึ่งปราสาทของเธอนั้นอยู่ที่กรุงคาเมล็อต และได้รับการยกย่องสรรเสริญจากประชาชนของเธอเป็นอย่างมาก เธอได้รับการสั่งสอนจากเมอร์ลิน และได้รับความช่วยเหลือต่างๆ จาก อัศวินโต๊ะกลม ซึ่งเธอก็ได้ทำให้อังกฤษอยู่ในยุคที่เฟื่องฟูและสงบสุข ต่อมาดาบคาลิเบิร์นของเธอก็ได้ถูกทำลายลง แต่เธอก็ได้รับดาบเล่มใหม่ เอกซ์คาลิเบอร์ และอวาลอน ซึ่งได้รับมาจาก วิเวียน ซึ่งอานุภาพของอวาลอนยามที่มันอยู่ในร่างกายของเธอ อาธูเรียจะไม่มีวันแก่ และเป็นอมตะ ในสงครามเลยทีเดียว ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "122313#0", "text": "รายชื่อตัวละครที่ปรากฏในเกมวิชช่วล โนเวลเอโรเกะ ชื่อ \"เฟท/สเตย์ ไนท์\" ที่สร้างโดย ไทป์-มูน และได้ถูกนำไปสร้างเป็น อะนิเมะ โดย สตูดิโอ ดีน", "title": "ตัวละครในมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "148200#5", "text": "หนึ่งอาทิตย์หลังจากการเปิดตัวในไต้หวันและฮ่องกง แอนิแมกซ์เปิดตัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2004 โดยมีการออกอากาศรายการแอนิเมชั่นในแบบภาษาญี่ปุ่น และมีบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งกลายเป็นสถานีแรกของบริษัทที่ออกอากาศเป็นภาษาอังกฤษ ภายหลังได้มีการเพิ่มการพากย์เสียงภาษาอังกฤษให้กับแอนิเมชั่น ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2006 แอนิแมกซ์เปิดตัวในมาเลเซีย โดยออกอากาศเป็นภาษาอังกฤษ และยังออกอากาศรายการในภาษาญี่ปุ่นพร้อมกับการบรรยายในภาษาท้องถิ่นอีกด้วย รายการที่ออกอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รุ่นแรกๆ อย่างเช่น ดิจิทัล เลดี้, การ์ดแค็ปเตอร์ซากุระ, จีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก, Haibane Renmei, Doctor Dokkiri, Vision of Escaflowne, มือขวากับขาโจ๋, กัปตันซึบาสะ, Wolf's Rain, โมบิลสูท กันดั้ม, Cowboy Bebop, และภายหลังออกอากาศอีกหลายเรื่อง รวมถึง มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์, Blood+, Honey and Clover, ท่านมาเรียมองเราอยู่นะ, , Otogizōshi, Jigoku Shōjo, แกแล็คซี่แองเจล, Witch Hunter Robin, Samurai 7, กันสลิงเกอร์ เกิร์ล, ลามู ทรามวัยจากต่างดาว, และ รันม่า 1/2", "title": "แอนิแมกซ์เอเชีย" }, { "docid": "71598#3", "text": "ตระกูลไอนซ์แบร์น หนึ่งในสามตระกูลจอมเวทย์ที่มีความเกี่ยวข้องกับสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มากที่สุด (ไอนซ์แบร์น, โทซากะ, มาคิริ/มาโต้) ที่คอยจัดการในเรื่องการจัดหาวิญญานของวีรชนที่เสียชีวิตเพื่อมาเป็นข้ารับใช้ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตระกูลมาคิริจะช่วยจัดการระบบมาสเตอร์และข้ารับใช้ และตระกูลโทซากะจะจัดหาพื้นที่ในการสงคราม ซึ่งได้กลายมาเป็นเมืองฟุยูกิ ซึ่งที่แท้จริงแล้ว อิลยาถูกสร้างมาสำหรับการเป็นจอกศักดิ์สิทธิ์มีชีวิต และพร้อมที่จะเป็นภาชนะรองรับจอกยามที่จอกปรากฏออกมา", "title": "อิลยาสฟีล ฟอน ไอนซ์แบร์น" }, { "docid": "129352#4", "text": "พลังอันมากมายของกิลกาเมซเป็นผลมาจากสายเลือดของเทพที่อยู่ในตัวเขา ในตำนานเทพมากมายที่อยู่ในประวัติศาสตร์ กิลกาเมซมีสายเลือดของเทพอยู่ในตัวสูงที่สุดซึ่งมีอยู่ถึงสองในสามส่วน อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เขาทำล้วนเป็นการดูหมิ่นพระเจ้าและเทพมากมายบนสวรรค์ และได้ถูกลงทัณฑ์จากเหล่าเทพโดยลดพลังในตัวของเขาในคลังเหมือนจรวดมิซไซล์ อาวุธใดๆที่ออกมาจากประตูแล้วเมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่งจะกลับเข้ามาอยู่ในคลังเอง และเพราะว่าเขาขาด\nความชำนาญกับอาวุธเหล่านี้ในบรรดาอาวุธมากมายนี้กิลกาเมซสามารถทำได้เพียงนำออกมากวัดแกว่งหรือขว้าง\nตามคลาสของเขาคืออาเชอร์ \"โนเบิ้ล แฟนตาซึ่ม\" มากมายที่เข้ามีอยู่ก็ล้วนมีความสำคัญในเรื่อง เฟต/สเตย์ไนท์พอสมควรซึ่งถูกสร้างตามแบบของดาบแกรมถึงแม้ว่าไม่ใช่มีชื่อเสียงเท่าดาบที่สร้างเลียนแบบแต่พลังของเมโลดาชเป็นโนเบิล แฟนตาซึ่มที่เหนือกว่าแกรมหรือคาลิเบิร์นชื่อของดาบเล่มนี้มีชื่อเสียงจากเทพพระเจ้าสูงสุดแห่งอาณาจักรสุเมเรียนโบราณและ\nเป็นเทพผู้คุ้มครองอาณาจักรบาบิโลน,เมโลดาชดาบที่มีประกายแสงในตัวเองเป็นดาบศักดิ์สิทธิ์ที่มีปาฎิหาริย์อยู่สามประการ ตัวดาบจะไม่มีทางหมองลงตราบใดที่ผู้ถือยังคงใช้มานาอยู๋ ในตำนานโบราณกล่าวว่าดาบเล่มนี้ไม่มีวันหัก และมีการอ้างอิงถึง \"แฮ็คเตอร์แห่งทรอย\" พลหอกฝีมือดีคนหนึ่งในมหากาพย์ \"อิเลียด\" ว่าเคยเป็นหนึ่งในผู้ใช้ดาบเล่มนี้ ภายหลังดาบเล่มนี้กลายเป็นดาบที่มีชื่อเสียงจากการที่ถูกมอบให้กับพาราดินชั้นสูงชื่อ \"โรแลนด์\" โดยกษัตริย์แห่งโรม \"Charlemagne\" ผู้ที่ได้รับดาบเล่มนี้เป็นคนแรกจาก \"เซราฟ\"หนึ่งในบรรดาอาวุทโบราณไม่กี่ชิ้นที่กิลกาเมซเคยใช้ในช่วงเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ มันถูกสร้างขึ้นมาเพื่อจองจำเทพโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตามมันไม่มีผลกับผู้ที่ไม่มีสายเลือดของเทพ แต่มันก็ไม่ใช่ โนเบิ้ล แฟนทาซึ่ม ที่แท้จริง เอ็นคิดูเป็นอาวุทที่กิลกาเมซเชื่อมั่นมากที่สุด มันเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่น่าภาคภูมิใจของ เอ็นคิดู เพื่อนเก่าของกิลกาเมซ และถูกใช้ล่ามวัวสวรรค์ในตำนานของบาบิโลน", "title": "กิลกาเมช (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "104286#3", "text": "เซเบอร์ได้ทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์ ไปในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 ซึ่งนั่นเป็นเพราะ เอมิยะ คิริซึงุ ได้ใช้ลายมนตรา (Reiju) บังคับให้เธอทำในสิ่งที่เธอไม่ต้องการ อย่างไรก็ตาม จอกที่เธอทำลายไปนั้นเป็นเพียงแค่รูปธรรมของจอกเท่านั้น ซึ่งความปรารถนาของเธอนั้นมีเพียงแค่การได้กลับไปแก้ไขอดีตของเธอ ที่จะไม่ขึ้นเป็นกษัตริย์ในขณะที่เธอยังมีชีวิตอยู่ ในบท\"เฟท\" ชิโร่ได้แนะนำให้เซเบอร์ควรที่จะยอมรับในสิ่งที่เธอเป็นอยู่ในปัจจุบัน ดีกว่าการที่จะย้อนกลับไปแก้อดีตที่ผ่านมา ในฉากจบแบบดีของบท \"อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส\"์ นั้นเธอจะไม่เสียชีวิต และในทั้งบท\"เฟท\" และ \"อันลิมิเต็ด เบลด เวิร์คส\" เธอได้ใช้เอกซ์คาลิเบอร์ทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์ทั้งสองบท ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "70553#11", "text": "โทซากะ ริน ()นักเรียนดีเด่นและดาวประจำโรงเรียนที่ชิโร่ศึกษาอยู่ เบื้องหลังเป็นหนึ่งในจอมเวทที่เข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 รินเกิดในตระกูลจอมเวทติดตัว และมีเชี่ยวชาญเชิงเวทเป็นอย่างมาก บิดาของเธอเสียชีวิตในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เป็นเหตุให้เธอตั้งใจฝึกฝนการใช้เวทมนตร์สืบต่อจากเขา เธอพยายามที่จะอัญเชิญข้ารับใช้สายเซเบอร์ออกมา แต่เกิดความผิดพลาดในระหว่างการอัญเชิญ ทำให้ได้ข้ารับใช้สายอาเชอร์แทน", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "70037#2", "text": "เอมิยะ คิริซึงุ เข้าสู่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 โดยการว่าจ้างของตระกูลเอนซ์เบิร์นให้เป็นตัวแทนของการต่อสู้ โดยข้ารับใช้ของเขาคือเซเบอร์ ที่เขาได้อัญเชิญมาโดยอวาลอน ที่เขาได้รับมาจากตระกูลเอนซ์เบิร์นที่คอร์นวอล ประเทศอังกฤษ โดยที่ตระกูลเอนซ์เบิร์นยังใช้สเปิร์มของคิริซึงุในการสร้างโฮมุนครุสอย่างอิลิยาสเวียล ฟอน เอนซ์เบิร์นขึ้นมาด้วย จึงทำให้เขาเป็นบิดาของอิลลิยาสเวียลอย่างไม่ต้องสงสัย แต่อย่างไรก็ตาม เขาได้ต่อสู้โดยที่ไม่สนใจใคร และไม่ยอมฟังใครนอกจากตระกูลเอนซ์เบิร์นเท่านั้น อย่างใน เฟท/ซีโร่ เขาได้ต่อสู้กับมาสเตอร์คนอื่นๆ ในรูปแบบของเขาเอง พร้อมกับอาวุธคู่กายของเขา ปืนพกThompson Contender,ปืนกลCalico 960 และ Walther WA 2000 สไนเปอร์ ไรเฟิล ที่ดัดแปลงด้วยการติดกล้องส่องในความมืดรุ่น AN/PVS04 พร้อมกับกล้องตรวจจับความร้อน IR ในการตรวจหามาสเตอร์จากความร้อนที่แผ่ออกมาจากตัวมาสเตอร์แต่ละคน ซึ่งจะแตกต่างจากมนุษย์ธรรมดา เพราะนักเวทย์ย่อมมีการเดินพลังเวทย์อยู่เสมอ ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนสูงกว่าคนทั่วไป และเขายังได้รับการช่วยเหลือจาก ไมยะ ฮิซาอุ ผู้ช่วยของเขาด้วย\nทุกสิ่งทุกอย่างที่คิริซึงุทำไปนั้น ล้วนยึดถือด้วยคำว่าคุณธรรม ดังที่เขาต้องการที่จะปกป้องทุกๆคน ให้พ้นจากอันตรายและไม่ต้องเดือดร้อน เรื่องเรียกง่ายได้ว่า \"ผู้ผดุงคุณธรรม\" ถึงเขาจะรู้อยู่แก่ใจแล้วว่ามันเป็นไปไม่ได้ที่จะปกป้องทุกสิ่งไว้ก็ตาม ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เขาได้พยายามที่จะทำให้มีผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องในสงครามนี้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด โดยการสังหารมาสเตอร์คนอื่นๆ อย่างไร้ความปราณี แม้ว่าเขาจะต้องบิดเบือนหนทางนักเวทย์ของเขาก็ตามด้วยการหันมาพึ่งเครื่องยนต์กลไก แต่ตัวเขาก็หวังไว้ว่าสิ่งที่เขาทำนี้ จะช่วยทำให้เกิดความเสียหายต่อทุกสิ่งทุกอย่างน้อยที่สุด\nในช่วงท้ายของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 เขาได้เอาชนะ โคโตมิเนะ คิเรย์ มาสเตอร์คนสุดท้าย และได้ครอบครองจอกศักดิ์สิทธิ์ที่ถูกครอบงำไปด้วยความชั่วร้าย ซึ่งจะเป็นผลร้ายต่อการขอพรต่อจอกที่ปนเปื้อนความชั่วร้ายนั้น คิริซึงุจึงได้หักหลังตระกูลเอนซ์เบิร์นด้วยการใช้มนตราอาคม บังคับให้เซเบอร์เข้าทำลายจอกศักดิ์สิทธิ์นั้น แต่ได้มีความชั่วร้ายที่ปนเปื้อนอยู่ในจอกศักดิ์สิทธิ์ มาติดที่ตัวเขา ซึ่งส่งผลทำให้เขาเสียชีวิตในอีก 4 ปีถัดมาอย่างไม่ทราบสาเหตุ\nหลังจากที่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ได้จบลง คิริซึงุก็ได้ละทิ้งความไร้ความปราณีของเขา และพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อชดเชยในสิ่งที่เขาได้ทำไปในสงครามครั้งนี้ เขาได้พบกับชิโร่นอนหมดสติอยู่ท่ามกลางซากปรักหักพังของตึกซึ่งเป็นผลพวงจากการระเบิดในช่วงสุดท้ายของสงคราม เขาดีใจมากที่ยังมีชีวิตน้อยๆ หลงเหลืออยู่ เขาจึงได้ช่วยเหลือชิโร่ไว้ด้วยการฝังอวาลอน สื่ออัญเชิญข้ารับใช้ซึ่งมีคุณสมบัติในการรักษาอาการเจ็บปวดได้อย่างรวดเร็วไว้ในร่างกายของชิโร่ และรับเขาเป็นลูกบุญธรรม เพื่อทดแทนในสิ่งที่เขาได้ทำไปในสงคราม", "title": "เอมิยะ คิริซึงุ" }, { "docid": "70553#15", "text": "มาโต้ ชินจิ ()พี่ชายชองซากุระ และเพื่อนรักของชิโร่ เขาเป็นรองประธานชมรมยิงธนูของโรงเรียนที่ออกจะหลงตัวเองและเป็นที่นิยมในหมู่สาวๆ คล้ายๆกับริน เขาไม่ได้มีความสามารถโดดเด่นในเชิงเวทเช่นเดียวกับชิโร่ แม้ว่าตระกูลมาโต้จะเป็นตระกูลผู้ใช้เวทมนตร์ แต่เขากลับไม่มีความสามารถในเชิงเวทเลย จึงทำให้เขาไม่พอใจ และพยายามที่จะพิสูจน์ให้คนอื่นเห็นว่าตนเองก็มีดีด้วยการเข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 นี้ บวกกับความทะเยอทะยานอยากของเขา จึงไม่เป็นที่น่าสงสัยเลยว่าเขาจะหักหลังเพื่อนของเขาได้อย่างหน้าตาเฉยเพื่อตัวเขาเอง เขาไม่พอใจที่ซากุระน้องสาวของเขาไปหาชิโร่ที่บ้านทุกวันๆ เขาจึงเสนอข้อตกลงกับรินในการร่วมมือกันในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่รินก็ได้ปฏิเสธไปเพราะรู้ถึงเนื้อแท้ของเขานั่นเอง", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "73031#9", "text": "เพื่อให้บาเซตต์เข้าใจว่าเธอยังมีชีวิตอยู่ อเวนเจอร์จึงได้สร้างสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง อย่างไรก็ตามปัญหาใหญ่คือเขาไม่ได้รับรู้ถึงเรื่องราวในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 อย่างถ่องแท้ ซึ่งเขาก็รู้เพียงแค่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 เท่านั้น ดังนั้นเขาจึงเอาผู้เข้าร่วมแข่งขันของสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 มาใช้แทนบุคคลในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 โดยอาศัยสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เป็นฉากหลัง", "title": "อเวนเจอร์ (เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย)" }, { "docid": "70553#24", "text": "เฟท/สเตย์ ไนท์ ในรูปแบบมังงะ ภาพโดย ดัดโตะ นิชิวาคิ ตีพิมพ์ลงในนิตยสาร โชเน็น เอซ ภายใต้ลิขสิทธิ์สำนักพิมพ์คาโดคาว่า โชเท็น เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งเนื้อหาจะเน้นนำเสนอโดยอ้างอิงจากในเกมเป็นหลัก และยังเน้นหนักไปที่บท อันลิมิเตด เบลด เวิร์คส ให้เด่นชัดขึ้นกว่าฉบับอะนิเมะอีกด้วย พร้อมทั้งยังเสริมเนื้อหาให้สัมพันธํเข้ากับ เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย และ เฟท/ซีโร่ อีกด้วย", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "71598#4", "text": "ใน เฟท/ซีโร่ เกี่ยวกับการสร้างจอกศักดิ์สิทธิ์ ได้ระบุไว้ว่า หากมีข้ารับใช้ตนใดเสียชีวิตในการต่อสู้ พลังวิญญานทั้งหมดจะถูกบรรจุไว้ในตัวของเธอ เมื่อข้ารับใช้ทั้งหกเสียชีวิต ร่างกายของเธอก็จะแตกสลายกลายเป็นจอกศักดิ์สิทธิ์ ถึงแม้ว่าตระกูลไอนซ์แบร์น ผู้ครอบครองโฮมุนครุสในสงครามจะชนะสงครามหรือไม่ ก็ไม่สามารถที่จะขอพรต่อจอกศักดิ์สิทธิ์ได้ ตระกูลไอนซ์แบร์นจึงมุ่งหวังไปที่ชัยชนะในสงครามเพียงอย่างเดียว เพราะตระกูลไอนซ์แบร์น เป็นตระกูลที่เป็นต้นกำเนิดแห่งสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ แต่ไม่เคยได้รับชัยชนะเลยสักครั้ง ", "title": "อิลยาสฟีล ฟอน ไอนซ์แบร์น" }, { "docid": "69629#1", "text": "เรื่องราวทั้งหมดจะเกิดขึ้นระหว่างสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 4 หรือ 10 ปีก่อนหน้าสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ใน เฟท/สเตย์ ไนท์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการแย่งชิงจอกศักดิ์สิทธิ์ของเหล่าจอมเวทผู้ซึ่งอัญเชิญข้ารับใช้(servant)หรือที่เรียกกันว่าวิญญาณวีรชน เข้ามาต่อสู้กัน", "title": "ปฐมบทสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "70553#20", "text": "ในบท Fate จะกล่าวถึงเซเบอร์ที่เป็นตัวละครหลัก ในบท Unlimited Blade Works จะกล่าวถึงรินซึ่งเป็นตัวละครหลัก แต่เนื้อเรื่องจะมุ่งประเด็นไปที่ตัวตนของข้ารับใช้ของเธอ อาเชอร์ มากกว่า และในบท Heaven's Feel จะกล่าวถึงอดีตอันเลวร้ายของซากุระ และยังเชื่อมต่อไปถึงเนื้อเรื่องของ เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย อีกด้วย ส่วนเนื้อเรื่องในแอนิเมชันจะเป็นการนำเนื้อเรื่องทั้ง 3 มารวมกัน และเน้นหนักไปที่บท Fate มากกว่าบทอื่นๆ", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "121754#4", "text": "เบอร์เซิร์กเกอร์ได้ถูกอัญเชิยมาโดยตระกูลไอนซ์แบร์น ในเยอรมัน หลายเดือนก่อนช่วงสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 จะเริ่มต้นขึ้น โดยใช้เศษหินของวิหารเฮราเคลสเป็นสื่ออัญเชิญ ซึ่งตั้งแต่สมัยไหนแล้ว ที่ตระกูลไอนซ์แบร์นไม่เคยได้รับชัยชนะในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์เลยซักครั้ง จึงทำให้ตระกูลนี้ถูกเหยียดหยามมาตลอดตั้งแต่สงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 3 ดังนั้นเพื่อเป็นการกอบกู้เกียรติยศของตระกูลไอนซ์แบร์น พวกเขาจึงได้อัญเชิญวีรบุรุษผู้ที่แกร่งกล้าที่สุดในตำนานกรีกขึ้นมา และให้อิลยาควบคุมเขาเข้าสู่สงครามเพื่อที่จะฟื้นฟูปาฎิหาริย์ที่สูญเสียไปของพวกเขา", "title": "เบอร์เซิร์กเกอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "209621#22", "text": "เดิมทีเขาได้ถูกอัญเชิญมาโดย บาเซตต์ ฟราก้า แม็กเรมินซ์ จอมเวทย์ชาวไอริชผู้มาจากสมาคมจอมเวทย์ แต่เธอได้ถูก โคโตมิเนะ คิเรย์ หักหลังด้วยการสังหารเธอเพื่อชิงเอาแขนซ้ายซึ่งเป็นที่ประทับลายมนตราของเธอเอาไว้ เพื่อใช้เป็นใบเบิกทางให้ตนเองได้เข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 โดยมีเขาเป็นข้ารับใช้ ถึงแม้ตัวเขาเองไม่ได้รับใช้มาสเตอร์ที่ขี้ขลาดด้วยความเต็มใจ แต่เขาก็ต้องกระทำตามคำสั่งของคิเรย์ไปในที่สุด คิเรย์ได้มอบหมายให้เขาคอยทำหน้าที่คอยสอดส่องพฤติกรรมของมาสเตอร์คนอื่นๆ และคอยประเมิณความสามารถของข้ารับใช้ตนอื่นๆ ในการต่อสู้ของเขากับ อาเชอร์ เขาได้พบกับ เอมิยะ ชิโร่ ผู้ซึ่งมาพบเห็นการต่อสู้เข้าโดยบังเอิญ เขาจึงได้ไล่ล่าชิโร่และใช้หอกแทงเข้าที่หัวใจเพื่อปิดปากเขาไม่ให้ความลับเรื่องสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์แพร่งพรายออกไป", "title": "แลนเซอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "70553#2", "text": "ในปี 2549 เจเนออนและสตูดิโอดีนได้นำ เฟท/สเตย์ ไนท์ มาดัดแปลงเนื้อหาและสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนความยาว 24 ตอน ในปีเดียวกัน ไทป์-มูน ยังได้ประกาศจะวางแผง เฟท/สเตย์ ไนท์ สำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ \"เฟท/สเตย์ ไนท์ [เรียลตา นัว]\" ในครึ่งปีหลัง แต่เลื่อนมาจำหน่ายในปี 2550 แทน ไทป์-มูน ยังได้ร่วมมือกับไนโตรพลัสเขียนนวนิยายเรื่อง เฟท/ซีโร่ เล่าเรื่องสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่เกิดขึ้นก่อนสงครามใน เฟท/สเตย์ ไนท์ นอกจากนี้ เมื่อต้นปี 2550 เจเนออนยังได้จัดรายการวิทยุ \"เฟท/สเตย์ ทูน\" โดยมี คานะ อุเอดะ และ อายาโกะ คาวาสุมิ นักพากย์ผู้รับบทเป็นตัวละครเอกในการ์ตูนโทรทัศน์ เป็นพิธีกรอีกด้วย จริงหรอ?", "title": "มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์" }, { "docid": "104286#0", "text": "เซเบอร์ () คือหนึ่งในตัวละครหลักของ เฟท/ซีโร่ และเป็นหนึ่งในสามตัวละครหญิงหลักใน เฟท/สเตย์ ไนท์ เธอคือเซอร์แวนท์คลาสเซเบอร์ของ เอมิยะ คิริซึงุ ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่สี่และ เอมิยะ ชิโร่ ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ห้า เธอเป็นเซอร์แวนท์ของนอร์มา กู๊ดเฟลโล่ว์ (ซึ่งถูกสิงโดย มานากะ ไซโจว) ในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ของ เฟท/ลาบรินธ์ แล้วก็ยังเป็นหนึ่งในเหล่าเซอร์แวนท์ของตัวละครหลักในเกม เฟท/แกรนด์ ออเดอร์\nหลังจากสูญเสียคาลิเบิร์นไปเซเบอร์ก็ได้รับดาบเล่มนี้มาจากสตรีแห่งทะเลสาบ () ซึ่งเธออนุญาตให้เซเบอร์ใช้ดาบนี้ได้ตลอดอายุขัยของเธอ มันเป็นหนึ่งในศาสตราแห่งตำนานที่ทรงพลังที่สุด (ระดับ A++) ที่ไม่อาจพบเจอได้จากผลงานของมนุษย์ทั่วไป ตัวอักษรบนดาบนั้นเป็นภาษาโบราณของเหล่าพรายที่สาบสูญ (เรื่องภาษาโบราณจะได้เห็นอีกในหลายๆเรื่องของไทป์มูนเช่น คะระ โนะ เคียวไก บทที่6) ตัวดาบเอกซ์คาลิเบอร์นั้นได้รับพรที่แข็งแกร่ง และจะคมกล้าตลอดเวลา แต่โดยปกติแล้วเซเบอร์จะใช้ ม่านอากาศซ่อนเร้น (อินวิซิเบิ้ล แอร์) ปกปิดไว้เพื่ออำพรางรูปร่างแท้จริงของดาบ ไม่ให้คู่ต่อสู้สังเกตได้โดยง่าย ศาสตรานี้มาจากชื่อดาบในตำนานของ กษัตริย์อาเธอร์ ที่ได้รับมาจาก วิเวียน\nชื่อเต็มของเธอนั้นคือ อาเทอเรีย เพนดราก้อน ซึ่งต้นแบบตัวละครของเธอนั้นมีแรงบันดาลใจมาจากตำนานของ กษัตริย์อาเธอร์ อาธูเรียเป็นลูกสาวของกษัตริย์ ยูเธอร์ เพนดราก้อน แห่งอังกฤษ และ พระนางอิเกรน ดัชเชสแห่ง คอร์นวอล ด้วยตามการทำนายชะตาของเธอแล้ว ยูเธอร์ได้ตระหนักว่าเธอไม่เหมาะสมที่จะได้รับสิทธิ์ในการครองบัลลังก์ เขาจึงไม่บอกกับใครเกี่ยวกับเรื่องการเกิดของอาธูเรีย และเพศของเธอ พร้อมทั้งมอบเธอให้กับ เมอร์ลิน ให้ไปมอบให้กับ เซอร์เอ็กเตอร์ นักรบผู้ที่ให้การเลี้ยงดูเธอในฐานะของบุตรชายบุญธรรม เมื่ออาธูเรียอายุ 15 ปี กษัตริย์ยูเธอร์ก็ได้สวรรคต และบัลลังก์ก็ได้ไร้ผู้สืบทอด อังกฤษในสมัยนั้นจึงได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพวก แซกซอน ต่อมาเมอร์ลินก็ได้มาปรากฏตัวต่อหน้าเธอ และได้เล่าเรื่องราวทั้งหมดให้เธอได้ฟังว่าหากเธอเป็นผู้ที่ดึงดาบคาลิเบิร์นที่ปักอยู่ที่แท่นหินได้ ชาวอังกฤษทุกคนจะยกย่องเธอให้เป็นกษัตริย์องค์ต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม การที่ใครจะดึงดาบเล่มนั้นขึ้นมา ผู้นั้นจักต้องยอมรับในสิ่งต่างๆ ที่หนักหนาสาหัสที่จะถาโถมเข้ามาในฐานะของกษัตริย์ และอาธูเรียจะต้องรับผิดชอบที่จะต้องปกป้องประชาชนเหล่านั้นด้วย เมื่อปราศจากความลังเลและความกังขาในเรื่องเพศของตนแล้ว เธอก็ได้เลือกที่จะดึงดาบเล่มนั้นขึ้นมา และขึ้นเป็นผู้นำแห่งอังกฤษ", "title": "เซเบอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "964903#0", "text": "มหาภารตะ () เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันที่กล่าวถึงสงครามมหาภารตะ ระหว่างราชวงศ์เการพ กับราชวงศ์ปาณฑพ กำกับโดย อมาน ข่าน มีเค้าโครงเรื่องมาจาก วรรณกรรมภาษาสันสกฤตเรื่อง มหาภารตะ ให้เสียงพากย์โดยนักแสดงชั้นนำของอินเดียมากมาย อาทิ อมิตาภ พัจจัน, อชัย เทวคัน, วิทยา พาลัน, ซันนี่ ดอล, อนิล คาปัวร์, แจ็กกี ชรอฟฟ์, มาโนช บัจพายี, ธิบดี พาวัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกจำหน่ายในช่วงเทศกาลคริสมาสต์ ตรงกับวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2013 ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือว่าลงทุนสร้างสูงที่สุดในวงการภาพยนตร์แอนิเมชันของประเทศอินเดีย", "title": "มหาภารตะ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2556)" }, { "docid": "37612#32", "text": "ปรากฏในหนังสือการ์ตูน [มูนไครซิสเมคอัพ], อนิเมะคลาสสิค [อำนาจศักดิ์สิทธิ์แห่งจันทรา จงสำแดงฤทธา ณ บัดนี้], อนิเมะคริสตัล [จอกศักดิ์สิทธิ์แห่งจันทรา จงสำแดงฤทธา ณ บัดนี้]", "title": "สึคิโนะ อุซางิ" }, { "docid": "168840#7", "text": "มาสเตอร์ที่แท้จริงของเธอนั้นคือ มาโต้ ซากุระ แต่ที่เธอมาเป็นข้ารับใช้ของชินจินั้นเป็นเพราะซากุระได้ถูกแย่งคำสั่งมนตราไป ถึงแม้ว่าเธอจะเป็นข้ารับใช้ของชินจิ แต่ในใจเธอก็ไม่ได้ต้องการทำเพื่อคนที่ชั่วช้าอย่างเขาเลยแม้แต่น้อย ที่เธอทำเป็นคอยรับใช้อย่างซื่อสัตย์นั้นเป็นเพราะต้องการปฏิบัติหน้าที่ในส่วนของข้ารับใช้ให้สมบูรณ์เท่านั้น และเพื่อเป็นการปกป้องซากุระ คนที่เหมือนกับเธอในหลายๆ อย่างเท่านั้น และในสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ครั้งที่ 5 เธอก็ไม่ได้มีจุดประสงค์อะไรในจอกศักดิ์สิทธิ์ เช่นเดียวกันกับข้ารับใช้ตนอื่นๆ ในสงครามครั้งนี้", "title": "ไรเดอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" }, { "docid": "209621#26", "text": "แต่ใน เฟท/ฮอลโลว์ อทาราเซีย บทบาทของเขาได้เพิ่มขึ้นมากจากใน เฟท/สเตย์ ไนท์ คือเขากลายเป็นชายตกปลาธรรมดาที่พบเห็นได้ในท่าเรือเมืองฟุยูกิ, เตร็ดเตร่ไปรอบเมือง, รับงานพาร์ทไทม์เป็นคนขายของชำ มักจะเห็นเขาพูดคุยกับเหล่าผู้เข้าร่วมสงครามจอกศักดิ์สิทธ์อยู่บ่อย แต่เขาก็ไม่เข้าไปยุ่งในการต่อสู้กับเงาหมาป่าปิศาจ ซึ่งเป็นฝีมือของอเวนเจอร์ในการเข้าควบคุม เฮฟเว่นส์ ฟีล นั่นเอง", "title": "แลนเซอร์ (มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์)" } ]
1300
ขรัวอินโข่ง เป็นศิลปินคนแรกที่ใช้เทคนิคใดในการวาดภาพ?
[ { "docid": "61259#0", "text": "ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#15", "text": "ขรัวอินโข่งเป็นจิตรกรไทยคนแรกที่เขียนภาพคนเหมือนแบบตะวันตก (Portrait) เป็นคนแรก โดยเขียนภาพเหมือนพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการศึกษาหลักฐานด้านประวัติศาสตร์จิตรกรรมของไทย ยังคงถือกันว่างานชิ้นนี้นับเป็นงานภาพคนเหมือนที่มีชื่อเสียงชิ้นแรกของประเทศไทย ปัจจุบันภาพเหมือนพระบรมสาทิสลักษณ์ฯ ดังกล่าวประดิษฐานอยู่ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ", "title": "ขรัวอินโข่ง" } ]
[ { "docid": "61259#4", "text": "จากการสันนิษฐานเช่นเดียวกันว่า อิทธิพลของตะวันตกที่เริ่มหลั่งไหลเข้ามามากตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 จึงมีการเร่งรัดพัฒนาประเทศเป็นแบบตะวันตกมากขึ้นทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาการ ซึ่งรวมถึงรูปแบบศิลปะแบบตะวันตกจากทั้งยุโรปและอเมริกา เชื่อกันว่าขรัวอินโข่งเป็นศิลปินที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่แหวกแนวจากรูปแบบประเพณีเดิมอยู่แล้ว จึงกล้ารับเทคนิคแบบตะวันตกมาประยุกต์ด้วยตนเอง อย่างไรก็ดี ในระยะแรก ขรัวอินโข่งยังคงเขียนภาพจิตรกรรมไทยเป็นแบบดั้งเดิม โดยเขียนภาพเกี่ยวกับชาดกและพระพุทธศาสนาเป็นภาพแบบ 2 มิติ เช่น ภาพยักษ์ หน้าลิง ภาพวาดที่วัดมหาสมณารามและหอราชกรมานุสร", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#1", "text": "ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิวาส", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#11", "text": "งานจิตรกรรมไทยของขรัวอินโข่งในช่วงแรกยังคงเป็นแบบไทยดั้งเดิมดังได้กล่าวมาแล้ว ในระยะหลังแม้จะได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมและศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะด้านการเขียนภาพหรือจิตรกรรม ซึ่งใช้วิธีการเขียนภาพแบบตะวันตกที่ใช้แสงและเงาสร้างเป็นภาพ 3 มิติทำให้เห็นภาพมีความลึกได้รับแสงไม่เท่ากันตามจริง แต่ภาพไทยที่เขียนแบบตะวันตกของขรัวอินโข่งก็ยังคงลักษณะไทยไว้ได้โดยยังคงแสดงลักษณะท่าทางและความอ่อนช้อยที่เน้นท่าพิเศษแบบไทยดังปรากฏในภาพเขียนแบบไทยทั่วไป นอกจากนี้ขรัวอินโข่งยังแสดงความอัจฉริยะในการสร้างจินตนาการจากความคิดและความเชื่อของไทยที่ยังคงมีอยู่ในสมัยนั้น", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#3", "text": "ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าขรัวอินโข่งเรียนการเขียนภาพอย่างเป็นงานเป็นการจากที่ใดและเมื่อใด โดยเฉพาะในวัยเด็กและวัยหนุ่ม เข้าใจกันว่าอาศัยการมีพรสวรรค์และได้อาจได้หัดเขียนภาพแบบไทยกับช่างเขียนบางคนในสมัยนั้นจนเกิดความชำนาญขึ้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดติวงศ์ทรงเล่าว่า ขรัวอินโข่งเป็นพระที่ชอบเก็บตัวไม่ค่อยยอมรับแขก มักชอบปิดกุฏิใส่กุญแจให้คนเห็นว่าไม่อยู่เพื่อใช้เวลาที่สงบทำสมาธิวางแนวเรื่องเพื่อใช้สำหรับเขียนภาพฝาผนังโบสถ์วิหารซึ่งในสมัยแรกๆ ยังคงเป็นภาพปริศนาธรรมแบบไทย", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#18", "text": "โดยปกติแล้ว ขรัวอินโข่งผู้เป็นจิตกรคนสำคัญแห่งยุคย่อมต้องมีลูกศิษย์ที่เป็นลูกมือช่วยวาดภาพเป็นจำนวนไม่น้อย จึงสันนิษฐานว่าขรัวอินโข่งน่าจะมีศิษย์จำนวนมาก แต่ที่ได้เป็นจิตรกรมีชื่อเสียงเด่นได้รับการบันทึกไว้มีคนเดียว คือ พระครูกสิณสังวร วัดทองนพคุณ", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#6", "text": "นอกจากนี้พระองค์ยังได้กล่าวถึงเทคนิคการเขียนภาพของขรัวอินโข่งว่า", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#10", "text": "อิทธิพลภาพเขียนแบบตะวันตกเชื่อกันว่าได้มาจากภาพพิมพ์ที่หมอสอนศาสนาหรือมิชชันนารีนำมาจากต่างประเทศ รวมทั้งภาพของยุโรปที่ส่งมาจำหน่ายแพร่หลายในเมืองไทยในสมัยนั้น ขรัวอินโข่งได้นำมาพัฒนาและประยุกต์ในงานจิตรกรรมไทยเป็นภาพทิวทัศน์แบบตะวันตกโดยใช้ตัวละครและสถานที่แบบตะวันตก เช่น ภาพปริศนาธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารและวัดบรมนิวาส", "title": "ขรัวอินโข่ง" }, { "docid": "61259#16", "text": "กล่าวกันว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งผนวชที่วัดราชาธิวาสวรวิหาร ได้ทรงคิดแนวเรื่องปริศนาธรรมขึ้นแล้วโปรดเกล้าให้ขรัวอินโข่งเป็นผู้เขียนภาพประกอบดังกล่าว พิสิฐ เจริญวงศ์ กล่าวถึงภาพปริศนาธรรมของขรัวอินโข่งไว้ในสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทยเล่ม 2 ของราชบัณฑิตยสถาน (2545) ไว้ว่า", "title": "ขรัวอินโข่ง" } ]
259
ชาวฮินดูถือว่า นาคเป็นผู้ใกล้ชิดกับเทพองค์ต่างๆ เป็นเทพเจ้าแห่งน้ำใช่หรือไม่?
[ { "docid": "16614#7", "text": "ชาวฮินดูถือว่า นาคเป็นผู้ใกล้ชิดกับเทพองค์ต่างๆ เป็นเทพเจ้าแห่งน้ำ เช่น อนันตนาคราช ที่เป็นบัลลังก์ของพระนารายณ์ตรงกับความเชื่อของลัทธิพราหมณ์ ที่เชื่อว่า นาค เป็นเทพแห่งน้ำ เช่นปีนี้ นาค ให้น้ำ 1 ตัว แปลว่า น้ำจะมาก จะท่วมที่ทำการเกษตร ไร่นา ถ้าปีไหน นาคให้น้ำ 7 ตัว น้ำจะน้อย ตัวเลขนาคให้น้ำจะกลับกันกับเหตุการณ์ เนื่องจาก ถ้านาคให้น้ำ 7 ตัว น้ำจะน้อยเพราะนาคกลืนน้ำไว้", "title": "นาค" } ]
[ { "docid": "16614#25", "text": "ความเชื่อของชาวฮินดู ก็ถือว่า นาคเป็นสะพานเชื่อมภาวะปกติ กับที่สถิตของเทพ ทางเดินสู่วิษณุโลก เช่น ปราสาทนครวัด จึงทำเป็น พญานาคราช ที่ทอดยาวรับมนุษย์ตัวเล็ก ๆ สู่โลกแห่งความศักดิ์สิทธิ์ หรือบั้งไฟของชาวอีสานที่ทำกันในงานประเพณีเดือนหก ก็ยังทำเป็นลวดลาย และเป็นรูปพญานาค พญานาคนั้นจะถูกส่งไปบอกแถนบนฟ้าให้ปล่อยฝนลงมา", "title": "นาค" }, { "docid": "176329#2", "text": "โคอุสุภราชในความเชื่อของชาวฮินดูไม่เพียงแต่เป็นสัตว์พาหนะตัวหนึ่งเท่านั้น แต่ยังได้รับการบูชาดุจดั่งเทพเจ้าองค์หนึ่ง ดังนั้น โคหรือวัวสำหรับชาวฮินดูจึงถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ ชาวฮินดูจึงไม่ฆ่าโคและกินเนื้อวัว ในพิธีการมงคลแบบฮินดู พราหมณ์จะนำมูลโคมาเจิมหน้าผาก ถือว่าเป็นมงคลประการที่ 7 และในวิหารบูชาพระศิวะมักมีรูปปั้นโคอุสุภราชนี้ประดิษฐานที่กลางวิหารด้วย ด้วยถือว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งขององค์พระศิวะ", "title": "นนทิ" }, { "docid": "42096#11", "text": "2. ลัทธิไศวะ เป็นนิกายที่นับถือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด พระศิวะเป็นเทพทำลายและสร้างสรรค์ด้วย สัญลักษณ์ อย่างหนึ่งแทนพระศิวะคือศิวลึงค์และโยนีก็ได้รับการบูชา เช่น องค์พระศิวะ นิกายนี้ถือว่าพระศิวะเท่านั้นเป็นเทพสูงสุดแม้แต่พระพรหม, พระวิษณุก็เป็นรองเทพเจ้าพระองค์นี้ นิกายนี้เชื่อว่า วิญญาณเป็นวิถีทางแห่งการหลุดพ้นมากกว่าความเชื่อในลัทธิภักดี นิกายนี้จะนับถือพระศิวะและพระนางอุมาหรือกาลีไปพร้อมกัน", "title": "ศาสนาฮินดู" }, { "docid": "117249#1", "text": "บางท้องที่เชื่อว่าท่านเป็นเจ้าแห่งนาค ปกครองนาคที่ดูแลทรัพย์สมบัติเบื้องล่าง จึงถือเป็นเทพเจ้าแห่งความมั่งคั่งองค์หนึ่ง ในจีนและญี่ปุ่นถือเป็นเทพเจ้าแห่งโชค บางแห่งถือว่าท่านเป็นเทพแห่งการพักแรม ในอินเดียถือว่าท่านเป็นเทพองค์เดียวกับท้าวกุเวร", "title": "มหากาฬ" }, { "docid": "40812#8", "text": "ในศิลปะของฮินดู มีภาพวาดเทพเจ้าโสมเป็นรูปโค หรือนก และบางครั้งก็เป็นตัวอ่อนมนุษย์ แต่ไม่ค่อยพบที่วาดเป็นมนุษย์ผู้ใหญ่ ในศาสนาฮินดูนั้น เทพโสม กำเนิดขึ้นเป็นเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์ และมีความเกี่ยวข้องกับปรโลก พระจันทร์ถือถ้วยที่เทพเจ้าใช้ดื่มน้ำโสม ด้วยเหตุนี้ โสมจึงเป็นบุคลาธิษฐานของเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์ หรือพระจันทร์ นั่นเอง พระจันทร์ข้างขึ้น หมายถึงโสมกำลังสร้างตัวขึ้นใหม่ พร้อมทื่จะถูกดื่มอีกครั้ง", "title": "โสม (ฮินดู)" }, { "docid": "42096#1", "text": "ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า \"พหุเทวนิยม\" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า \"ตรีมูรติ\" คือ", "title": "ศาสนาฮินดู" }, { "docid": "332688#8", "text": "คัมภีร์อัลกุรอานเรียกคริสตชนว่า นะซอรอ ( \"ผู้ช่วยเหลือ\") เพราะถือว่าเป็นพวกที่คอยช่วยเหลือพระเยซู (นบีอีซา) แม้ชาวมุสลิมจะนับถือพระเยซูเป็นนบีและศาสนทูตของพระเป็นเจ้า แต่ก็ไม่ยอมรับความเชื่อของคริสตชนในปัจจุบัน อัลกุรอานระบุว่าการที่คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้านั้นเป็นการหลงผิดและไม่ต่างจากความเชื่อของคนที่ไม่ศรัทธาต่อพระเป็นเจ้า คริสต์ศาสนิกชนจึงถูกพระเป็นเจ้าสาปแช่ง อัลกุรอานไม่ยอมรับว่าคริสต์ศาสนิกชนเป็นบุตรของพระเจ้า เป็นผู้ที่พระเจ้าโปรดปราน และการที่คริสตชนเชื่อว่าพวกตนเท่านั้นจะได้ขึ้นสวรรค์ก็เป็นแค่เรื่องเพ้อฝัน", "title": "คริสต์ศาสนิกชน" }, { "docid": "57913#22", "text": "ราวปี พ.ศ. 2133 นักบวชฮินดูรูปหนึ่ง ชื่อ โคเสนฆมัณฑิคีร์ ได้เดินทางมาถึง ที่พุทธคยา และเกิดชอบใจในทำเลนี้ จึงได้ตั้งสำนักเล็กๆใกล้ๆกับ พระมหาเจดีย์พุทธคยา และพออยู่ไปนานๆ ก็คล้ายๆกับเป็นเจ้าของที่ไปโดยปริยาย และพวกมหันต์นี้ ก็คือนักธุรกิจการค้าที่มาในรูปนักบวชฮินดูนั่นเอง กล่าวกันว่า เป็นพวกที่ติดอันดับ มหาเศรษฐี 1 ใน 5 ของรัฐพิหาร ผู้นำของมหันต์ปัจจุบัน ก็มีการสืบทอดมาตั้งแต่ โคเสณฆมัณฑิคีร์ ตอนนี้เป็นองค์ที่ 15 การที่พวกมหันต์ มาครอบครองพุทธคยานั้น ก็ไม่ได้ดูแลพุทธคยาแต่อย่างไรทั้งสิ้น เพียงใช้พื้นที่ เพื่อหาประโยชน์เท่านั้นเอง", "title": "อนาคาริก ธรรมปาละ" }, { "docid": "97402#6", "text": "หากถือตามคัมภีร์อุรังคธาตุซึ่งเป็นคัมภีร์ที่มีอิทธิพลต่อกลุ่มชนลุ่มน้ำโขงนั้น ถือว่าพวกนาก (นาค) หรือเผ่านากซึ่งหมายถึงชาติพันธุ์ลาวอาจเป็นเจ้าของอาณาจักรโคตรบูร พวกนากหรือลาวอพยพลงมาจากหนองแสหรือหนองกระแสแสนย่านในมณฑลยูนนานของจีนมาตั้งอาณาจักรนี้ หรือไม่เช่นนั้นเจ้าของอาณาจักรโคตรบูรอาจเป็นกลุ่มชนชาติที่ผสมระหว่างชนชาติอ้ายลาวที่ยังหลงเหลือตกค้างอยู่ในแหลมอินโดจีนกับพวกขอมชะวา (ชวา) ที่ยังเหลืออยู่ทางตอนเหนือของลาว ส่วนนักวิชาการสายอีสานบางกลุ่มเห็นว่าอาจเป็นชนชาติข่า แต่นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มเห็นว่าชนชาติละว้าอาจเป็นเจ้าของอาณาจักรโคตรบูร แนวคิดหลังนี้ต่อมาไม่ได้รับการยอมรับเท่าที่ควร เนื่องจากชาวละว้าไม่ใช่ชนชาติดั้งเดิมของแผ่นดินแถบที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง แต่หากพิจารณาตามพุทธลักษณะของพระพุทธรูปในสมัยสีโคดตะบองแล้วจะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับลักษณะหน้าตาของชนชาติลาวในปัจจุบันมากกว่าชนชาติอื่น นักวิชาการบางกลุ่มเห็นว่าอาณาจักรโคตรบูรเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับอาณาจักรฟูนันที่ปรากฏในจดหมายเหตุของจีน และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรฟูนันส่วนมากได้มาจากจดหมายเหตุของจีน คำว่า ฟูนัน ตรงกับคำว่า พะนม (พนม) แปลว่า เมืองแห่งภูดอย แนวคิดดังกล่าวทำให้เกิดข้อสันนิษฐานทางประวัติศาสตร์ในช่วงปลาย พ.ศ. ๒๔๐๐ ถึง ต้น พ.ศ. ๒๕๐๐ ว่าศูนย์กลางพระพุทธศาสนาของอาณาจักรโคตรบูรอาจมีความเจริญรุ่งเรืองอยู่บริเวณธาตุพนมและแขวงคำม่วนของลาว", "title": "อาณาจักรโคตรบูร" } ]
543
เอ็ดเวิร์ด "เน็ด" เคลลีเกิดเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "437990#0", "text": "เอ็ดเวิร์ด คริสโตเฟอร์ \"เอ็ด\" ชีแรน (English: Edward Christopher \"Ed\" Sheeran) เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991[1] เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง และนักแสดงชาวอังกฤษ[2][3] เขาเกิดในฮาลิแฟกซ์ เวสต์ยอร์กไชร์ และเติบโตในแฟรมลิงแฮม ซัฟฟอล์ก เขาเข้าเรียนสถาบันดนตรีร่วมสมัย ในกิลฟอร์ด เซอร์รีย์ ในระดับปริญญาตรีตั้งแต่อายุ 18 ปีในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 2009[4][5] ในต้นปี ค.ศ. 2011 ชีแรนออกอีพีชุด นัมเบอร์ไฟฟ์คอลลาบอเรชันส์โปรเจกต์ โดยไม่มีสังกัด และกลายเป็นที่สนใจของเอลตัน จอห์น และเจมี ฟ็อกซ์ หลังจากเซ็นสัญญากับค่ายอะไซลัมเรเคิดส์ อัลบั้มแรกของเขา + (อ่านว่า \"พลัส\") ออกจำหน่ายในเดือนกันยายน ค.ศ. 2011 และได้รับการรับรองระดับแพลตินัม 6 ครั้งในสหราชอาณาจักร อัลบั้มมีซิงเกิล \"ดิเอทีม\" ทำให้เขาได้รับรางวัลไอวอร์โนเวลโลอะวอร์ด สาขาเพลงยอดเยี่ยมด้านดนตรีและเนื้อเพลง[6] ในปี ค.ศ. 2012 ชีแรนได้รับรางวัลบริตอะวอดส์ สาขาศิลปินเดี่ยวชายชาวบริติชยอดเยี่ยม และศิลปินแจ้งเกิดชาวบริติช[7]", "title": "เอ็ด ชีแรน" } ]
[ { "docid": "160008#2", "text": "เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1057 เอ็ดการ์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระอัยกา สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ แต่เอ็ดการ์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะครองราชสมบัติและสามารถป้องกันประเทศที่มึเค้าการรุกรานของฝรั่งเศสโดย ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ดังนั้นเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตสภาวิททันจึงเลือก ฮาโรลด์ กอดวินสัน ผู้เป็นน้องเขยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จสวรรคตที่ยุทธการเฮสติงส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 เอ็ดการ์จึงได้รับการประกาศให้เป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 โดยสภาวิททันในลอนดอน แต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ พระเจ้าเอ็ดการ์ถูกส่งตัวให้ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ราวหกถึงแปดอาทิตย์ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 14 หรือ 15 พรรษา", "title": "พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "158996#12", "text": "ยิ่งฮิวจ์ เดอ เดสเปนเซอร์ ผู้ลูกเป็นที่โปรดปรานของพระสวามีของพระองค์มากเท่าไหร่ก็ยิ่งทำให้เป็นศัตรูกับฝ่ายตรงข้ามของพระองค์มากขึ้นเท่านั้น แลงคาสเตอร์ ที่อยู่ฝ่ายตรงกันข้ามกับเดสเปนเซอร์ ส่งกองทหารเข้าสู่ลอนดอนและเรียกร้องให้ขับไล่พวกเดสเปนเซอร์ออกจากประเทศ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดถูกบีบให้ยอมทำตาม แต่ก็เอาคืนในตอนที่เดสเปนเซอร์กลับมาในเวลาต่อมาและโจมตีฝ่ายตรงข้ามกลับ พระองค์ถูกบีบให้ยอมจำนน แลงคาสเตอร์ถูกจับกุมตัวและถูกประหารหลังสมรภูมิแห่งโบโรบริจด์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่มีพระราชินีอิซาเบลลาร่วมเดินทางด้วยนำกองทัพขึ้นเหนือไปสู้กับชาวสกอต แบกรับความพ่ายแพ้ที่น่าอับอายที่สมรภูมิแห่งบายแลนด์ มัวร์ในยอร์กเชียร์ กษัตริย์ส่งพระมเหสีไปที่ศาสนสำนักไทน์มัธบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษ จากนั้นขี่ม้าลงใต้ ไปหาทหารใหม่ กองทัพสกอตแลนด์ที่เดินหน้าลงใต้ทำให้พระราชินีอิซาเบลลาที่ตั้งครรภ์สามเดือนในตอนนั้นรู้สึกกังวลกับความปลอดภัยของตนเองและร้องขอความช่วยเหลือจากพระสวามี แต่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดยังคงถอยลงใต้ไปกับพวกเดสเปนเซอร์ต่อไป ทิ้งพระราชินีอิซาเบลลาไว้ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ทรงถูกตัดขาดจากทางใต้โดยกองทัพสกอตแลนด์ พระราชินีอิซาเบลลาหนีโดยอาศัยให้ผู้ติดตามของพระองค์ช่วยกันชาวสกอตออกไป ในขณะที่อัศวินของพระองค์บางส่วนไปจัดหาเรือมาให้ การต่อสู้ดำเนินยังคงดำเนินอยู่ในตอนที่พระราชินีอิซาเบลลาถอยลงเรือ นางกำนัลสองคนของพระองค์ถูกฆ่า พระราชินีที่โกรธจัดหาทางกลับยอร์กได้โดยปลอดภัย", "title": "อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "227477#1", "text": "เน็ด เคลลีเกิดที่รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เขาเป็นบุตรของนักโทษชาวไอริชและเริ่มมีเรื่องกระทบกระทั่งกับตำรวจของรัฐมาตั้งแต่วัยเด็ก หลังเกิดคดีกับเจ้าหน้าที่ตำรวจที่บ้านของเน็ดในปี ค.ศ. 1878 คณะเจ้าหน้าที่ตำรวจก็ได้เริ่มสืบหาตัวเน็ดซึ่งหลบหนีไปซ่อนตัวป่า และต่อมารัฐบาลอาณานิคมก็ได้ประกาศให้เน็ดและพรรคพวกของเขาอีก 3 คน เป็นกลุ่มบุคคลนอกกฎหมาย 2 ปีถัดมาคณะโจรของเน็ดก็ได้เผชิญหน้าอย่างรุนแรงกับตำรวจที่เมืองเกลนโรวัน โดยเน็ดและคณะได้สวมเกราะเหล็กและหมวกเหล็กที่พวกเขาทำขึ้นเองเป็นเครื่องป้องกันตัว ผลปรากฏว่ามีเน็ดเพียงคนเดียวที่รอดชีวิตและถูกจับกุมตัวไว้ เขาถูกตัดสินให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอที่เรือนจำเก่าเมืองเมลเบิร์น (Old Melbourne Gaol) เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880 ความกล้าและชื่อเสียงของเขาได้กลายเป็นภาพลักษณ์สำคัญที่ปรากฏอยู่ในวงการประวัติศาสตร์ออสเตรเลีย นิทานพื้นบ้าน วรรณกรรม ศิลปะ และภาพยนตร์", "title": "เน็ด เคลลี" }, { "docid": "158392#17", "text": "แต่ชัยชนะของขุนนางก็เป็นสิ่งที่ทำลายตนเองด้วย หลังจากที่สองพ่อลูกถูกเนรเทศจากราชสำนัก ขุนนางหลายคนก็แก่งแย่งกันประจบสอพลอพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเพื่อจะเอาตำแหน่งที่ว่างอยู่ เพราะความโลภขุนนางบางคนจึงเต็มใจที่จะถวายความช่วยเหลือพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในการแก้แค้นกลุ่มขุนนางที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงต้องการทำร้าย ซี่งถ้าถวายความช่วยเหลือสำเร็จก็จะหมายถึงตำแหน่งและความมั่งมี ความขัดแย้งต่อมาก็ทำให้ขุนนางบางคนถูกฆาตกรรม เช่นเอิร์ลแห่งแลงคาสเตอร์ถูกตัดหัวต่อหน้าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเอง", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "211379#7", "text": "เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1483 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 และพระอนุชาก็ถูกประกาศว่าเป็นพระโอรสนอกสมรส (Titulus Regius) ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ตามหลักฐานการกล่าวอ้างของบาทหลวงราล์ฟ ชา ผู้ให้การว่าเป็นผู้ทำการสมรสระหว่างพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 กับเลดี้เอเลเนอร์ ทาลบอทผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมาสมรสกับเอลิซาเบธ วูดวิลล์ผู้ต่อมาเป็นพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ ซึ่งทำให้ทั้งสองพระองค์ไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ตามกฎหมาย ผู้ที่มีสิทธิถูกต้องในราชบัลลังก์จึงเป็นริชาร์ดผู้ขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แอนน์ได้รับการสวมมงกุฏเป็นสมเด็จพระราชินี เอ็ดเวิร์ดแห่งมิดเดิลแฮมพระราชโอรสได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ แต่เอ็ดเวิร์ดแห่งมิดเดิลแฮมมาสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1483 ที่เชอริฟฟ์ ฮัตตัน (Sheriff Hutton) ซึ่งทำให้ทั้งริชาร์ดและแอนน์โศรกเศร้าเป็นอันมาก แอนน์หันมาเลี้ยง เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งวอริค (Edward, Earl of Warwick) ผู้เป็นหลานอย่างลูก พระเจ้าริชาร์ดทรงแต่งตั้งเอ็ดเวิร์ดให้เป็นรัชทายาทซึ่งอาจจะตามความประสงค์ของแอนน์", "title": "แอนน์ เนวิลล์" }, { "docid": "227477#0", "text": "เอ็ดเวิร์ด \"เน็ด\" เคลลี (English: Edward \"Ned\" Kelly) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เน็ด เคลลี (English: Ned Kelly, 3 มิถุนายน ค.ศ. 1854 – 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880) เป็นโจรชื่อดังชาวออสเตรเลีย และสำหรับคนบางกลุ่มได้ถือว่าเป็นวีรบุรุษผู้ลุกขึ้นต่อต้านอำนาจรัฐจากรัฐบาลอาณานิคมออสเตรเลียภายใต้การปกครองของจักรวรรดิอังกฤษ", "title": "เน็ด เคลลี" }, { "docid": "288402#1", "text": "“ลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์” เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1882 เป็นภาพเหมือนของเด็กหญิงสี่คนผู้เป็นบุตรีของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์ภาพในอพาตเมนท์ในปารีส เอ็ดเวิร์ดเป็นลูกเขยของพ่อค้าทางทะเลชาวบอสตันจอห์น เพอร์คินส์ คุชชิง เอ็ดเวิร์ดและภรรยามีบุตรีด้วยกันห้าคนที่รวมทั้งฟลอเรนซ์, เจน, แมรี, ลุยซา และ จูเลีย", "title": "ลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์" }, { "docid": "237722#0", "text": "เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรือ เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือที่รู้จักกันในพระนาม เอ็ดเวิร์ดแห่งวูดสต็อค () (15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 - 8 มิถุนายน ค.ศ. 1376) เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำเป็นพระราชวงศ์อังกฤษผู้มีบทบาทในการต่อสู้กับราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสงครามร้อยปี ", "title": "เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ" }, { "docid": "280553#0", "text": "เอ็ดเวิร์ด คัลเลน () หรือชื่อเดิม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี เมเซน () เป็นตัวละครในชุดนิยายทไวไลท์ ประพันธ์โดยสเตฟานี เมเยอร์ ตัวละครนี้ปรากฏในนิยายเรื่อง \"แรกรัตติกาล\" \"นวจันทรา\" \"คราสสยุมพร\" \"รุ่งอรุโณทัย\" เช่นเดียวกับในภาพยนตร์ \"แวมไพร์ ทไวไลท์\" รวมถึงในนิยายที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์อย่าง \"Midnight Sun\" ที่เป็นเรื่องเล่าในมุมมองของเอ็ดเวิร์ด เอ็ดเวิร์ดเป็นแวมไพร์ที่ตกหลุมรักและแต่งงาน ทั้งยังมีบุตรกับเบลล่า สวอน หญิงสาวมนุษย์ที่ต่อมาเลือกที่จะเป็นแวมไพร์เช่นกัน ในภาพยนตร์ \"แวมไพร์ ทไวไลท์\" ผู้ที่สวมบทบาทเป็นเอ็ดเวิร์ดคือ โรเบิร์ต แพตตินสัน", "title": "เอ็ดเวิร์ด คัลเลน" }, { "docid": "216942#6", "text": "แม้จะมีข้อแตกต่างทางด้านอายุ แต่การอภิเษกสมรสเป็นการอภิเษกสมรสที่มีความสุข พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดกล่าวถึงพระราชินีมาร์กาเร็ตว่าทรงเป็น \"ไข่มุกที่ล้ำค่า\" ใน ค.ศ. 1305 พระราชินีมาร์กาเร็ตให้กำเนิดเด็กหญิง เอเลนอร์ ที่ตั้งชื่อตามพระราชินีคนแรกของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังสาวใน ค.ศ. 1310 พระราชินีมาร์กาเร็ตกับพระโอรสเลี้ยง เอ็ดเวิร์ดแห่งคาร์นาร์ฟอน อนาคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 ยังรักใคร่กันดีอีกด้วย ทั้งคู่มีพระชนมายุใกล้เคียงกัน เอ็ดเวิร์ดอ่อนกว่าพระองค์สองปี พระองค์เคยมอบของขวัญเป็นทับทิมราคาแพงกับแหวนทองคำให้พระราชินีมาร์กาเร็ต ใน ค.ศ. 1305 พระราชินีสาวทำหน้าที่เป็นคนกลางไกล่เกลี่ยระหว่างพระโอรสเลี้ยงกับพระสวามี กล่อมให้เอ็ดเวิร์ดคืนดีกับพระบิดาที่สูงวัย และทำให้ความโกรธเคืองของพระสวามีที่ฉุนเฉียวสงบลง เอ็ดเวิร์ดผู้ลูกเขียนจดหมายถึงพระองค์เมื่อ 1 กันยายน ค.ศ. 1305 แสดงความขอบคุณ \"เราขอบคุณในความรักที่ท่านมีให้กับเราพอๆ กับปวดหัวในสิ่งที่ท่านต้องอดทนเพื่อเรา และในความประสงค์ดีที่ท่านทำให้เราซาบซิ้งใจ\" จดหมายของเอ็ดเวิร์ดหลายฉบับเหลือรอดอยู่ มีแปดฉบับที่เขียนถึงพระราชินีมาร์กาเร็ต ซึ่งเรียกพระองค์ว่าเป็น \"เลดี้และมารดาผู้เป็นที่รักยิ่งของข้า\"", "title": "มาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "216942#3", "text": "ในฤดูร้อนของ ค.ศ. 1291 กษัตริย์หมั้นหมายพระโอรสของพระองค์ เอ็ดเวิร์ด กับบล็องช์แห่งฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญาสันติภาพกับฝรั่งเศส ต่อมาพระองค์เปลี่ยนพระทัยตัดสินใจอภิเษกสมรสกับบล็องช์เสียเองและส่งนักการทูตไปที่ราชสำนักของฝรั่งเศส พระเจ้าฟิลิปเห็นดีด้วยกับการอภิเษกสมรสโดยมีเงื่อนไขว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดจะยอมยกแกสโคนีให้ฝรั่งเศส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดส่งพระอนุชา เอ็ดมุนด์หลังกางเขน เอิร์ลแห่งแลงคาสเตอร์ ไปรับตัวเจ้าสาวของพระองค์มาจากราชสำนักฝรั่งเศส พระองค์พบว่าบล็องช์ได้แต่งงานไปแล้วกับรูดอล์ฟที่ 3 แห่งฮับบวร์ก พระโอรสคนโตของพระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 1 แห่งเยอรมนี พระเจ้าฟิลิปจึงเสนอพระขนิษฐาคนสุดท้องของพระองค์ มาร์กาเร็ต ที่ตอนนั้นพระชนมายุราว 11 พรรษา ให้พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดแทน พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่โกรธเกรี้ยวประกาศสงครามกับฝรั่งเศสและปฏิเสธที่จะอภิเษกสมรสกับมาร์กาเร็ต หลังจากนั้นห้าปี การสงบศึกชั่วคราวก็ได้รับการตกลงเมื่อเอ็ดเวิร์ดจะอภิเษกสมรสกับมาร์กาเร็ต ส่วนพระโอรสของพระองค์จะเสกสมรสกับอิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส พระราชบุตรคนสุดท้องของพระเจ้าฟิลิป ยิ่งไปกว่านั้น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดจะได้กีเยนน์คืนมาและได้รับเงิน 15,000 ปอนด์ เช่นเดียวกับการได้ที่ดินของพระราชินีเอเลนอร์แห่งคาสตีลในปงธิวและมงต์เทริลกลับคืนมา", "title": "มาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "158392#3", "text": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 เป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 และ สมเด็จพระราชืนีเอเลเนอร์แห่งคาสตีลพระมเหสีองค์แรก เสด็จพระราชสมภพที่ปราสาทคาร์นาร์ฟอน เกว็นเน็ด เวลส์ และเป็นเจ้าชายอังกฤษองค์แรกที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ซึ่งได้รับการอนุมัติเป็นทางการโดยรัฐสภาลิงคอล์นเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1301", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "158392#1", "text": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1284 ที่ปราสาทคาร์นาร์ฟอน เกว็นเน็ด เวลส์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 และ สมเด็จพระราชืนีเอเลเนอร์แห่งคาสตีล ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 จนจนกระทั่งถูกปลดจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1327 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1327 ที่ปราสาทบาร์คลีย์ กลอสเตอร์เชอร์ อังกฤษ การที่พระองค์ทรงละเลยขุนนางผู้มีอำนาจไปเข้ากับผู้ที่ทรงโปรดปรานทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองและในที่สุดก็ทรงถูกปลดจากการครองราชย์และปลงพระชนม์ในที่สุด พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะที่เป็นฆาตกรและข้อกล่าวหาที่เป็นผู้ที่รักเพศเดียวกัน", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "255938#4", "text": "เบลล่า ต้องการทำเรื่องที่เสี่ยงอันตรายเพื่อที่จะได้รู้สึกว่าเอ็ดเวิร์ดอยู่ใกล้ๆ เธอตัดสินใจกะทันหันที่จะกระโดดหน้าผาและเกือบจะจมน้ำ แต่เจคอบช่วยชีวิตเธอไว้ได้ หลังจากนั้นเอ็ดเวิร์ดเข้าใจผิดเชื่อว่าเบลล่าตายไปแล้ว เบลล่า และอลิส น้องสาวของเอ็ดเวิร์ด ก็รีบเร่งที่จะไปอิตาลีเพื่อหยุดเอ็ดเวิร์ดไม่ให้ฆ่าตัวตาย ทิ้งให้เจคอบเสียใจและโกรธมาก เจคอบก็เลยรังเกียจเอ็ดเวิร์ดเพราะเมื่อเอ็ดเวิร์ดกลับมา และเบลล่าก็ยังตัดสินใจที่จะกลับไปหาเขาทั้งที่ก่อนหน้านั้นเขาทิ้งเธอไป เจคอบก็เลยมาเตือนเอ็ดเวิร์ดเกี่ยวกับสนธิสัญญาที่เผ่าของเขามีกับครอบครัวคัลเลน ซึ่งระบุว่าครอบครัวคัลเลนจะไม่ได้รับอนุญาตให้กัดมนุษย์ ", "title": "เจคอบ แบล็ค" }, { "docid": "239660#0", "text": "ปราสาทคายร์นาร์วอน () หรือ ปราสาทคาร์นาร์วอน () เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่เมืองคายร์นาร์วอน ภาคกุยเน็ดด์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวลส์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อกุยเน็ดด์ในปี ค.ศ. 1283", "title": "ปราสาทคายร์นาร์วอน" }, { "docid": "157431#8", "text": "ในปี ค.ศ. 1041 ขุนนางชาวแองโกล-แซ็กซอนอัญเชิญเอ็ดเวิร์ดกลับมาอังกฤษ ครั้งนี้ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวของพระเจ้าฮาร์ธาคานูท (พระราชโอรสในพระเจ้าคานูทมหาราช) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องกับเอ็ดเวิร์ด พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอนกล่าวว่าพระเจ้าฮาร์ธาคานูททำพิธีตั้งสัตยาบรรณในการเป็นพระเจ้าแผ่นดินเคียงข้างเอ็ดเวิร์ด หลังจากาการสวรรคตของพระเจ้าฮาร์ธาคานูทเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042 เอ็ดเวิร์ดก็ขึ้นครองราชย์เป็น “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด” ด้วยความนิยมของประชาชนอย่างเต็มที่ บันทึกแองโกล-แซ็กซอนกล่าวว่าเอ็ดเวิร์ดได้รับเลือกเป็นพระเจ้าแผ่นดินในลอนดอนก่อนที่พระศพของฮาร์ธาคานูทจะถูกฝัง เอ็ดเวิร์ดได้รับการสมมงกุฏที่มหาวิหารวินเชสเตอร์ เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1043", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี" }, { "docid": "228229#0", "text": "เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือ เอ็ดเวิร์ดแห่งแลงคาสเตอร์ () (13 ตุลาคม ค.ศ. 1453 - 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1471) เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เอ็ดเวิร์ดประสูติที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนเป็นพระราชโอรสองค์เดียวในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 และพระราชินีมาร์กาเร็ต เอ็ดเวิร์ดทรงถูกสังหารในยุทธการทูคสบรี (Battle of Tewkesbury) ซึ่งทำให้ทรงเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์พระองค์เดียวที่สิ้นพระชนม์ในสนามรบ", "title": "เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์" }, { "docid": "160008#3", "text": "พระเจ้าเอ็ดการ์เป็นพระโอรสองค์เดียวของเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัย รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษและเป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือที่รู้จักกันในพระนามว่า “Edmund Ironside” เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์ ได้รับเลือกให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เอ็ดการ์ได้รับการเลี้ยงดูในราชสำนักของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดพร้อมกับพระขนิษฐามาร์กาเร็ตผู้ที่ต่อมาเป็นนักบุญมาร์กาเร็ตแห่งสกอตแลนด์ และ คริสตินา ", "title": "พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "155802#11", "text": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ทรงพระราชสมภพที่ปราสาทเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 มักจะเรียกกันว่า “เอ็ดเวิร์ดแห่งวินด์เซอร์” เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1350 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงรื้อปราสาทเก่าทิ้งและสร้างปราสาทใหม่ยกเว้นหอเคอร์ฟิว (“T”) และสิ่งก่อสร้างเล็กๆ อื่นๆ โปรดให้บาทหลวงวิลเลียมแห่งวิคแฮมเป็นผู้ออกแบบและดูแลการก่อสร้าง หอพระเจ้าเฮนรีที่ 2 หรือ หอกลมถูกสร้างแทนที่ด้วยสิ่งก่อสร้างปัจจุบันแต่มิได้ยกระดับสูงเท่าปัจจุบันจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นก็ยังทรงสั่งให้เสริมสร้างความแข็งแกร่งเพื่อเพิ่มการป้องกันข้าศึกด้วย ชาเปลของปราสาทได้รับการขยายให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิมมากแต่มิได้สร้างวัดใหม่ตามแผนที่วางไว้ ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากปัญหาเรื่องความปลอดภัย และกำลังทรัพย์หลังจากเกิดกาฬโรคระบาดในยุโรป อีกสิ่งหนึ่งที่สร้างในสมัยนี้คือประตูนอร์มัน (“M”) ซึ่งเป็นประตูใหญ่ที่ฐานหอกลมที่เป็นจุดสุดท้ายของการป้องกันข้าศึกก่อนที่จะเข้าสู่ลานบน (“B”) ซึ่งเป็นบริเวณพระราชฐานชั้นใน", "title": "พระราชวังวินด์เซอร์" }, { "docid": "237722#1", "text": "เอ็ดเวิร์ดประสูติเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระราชินีฟิลลิปปา และเป็นพระบิดาของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นผู้นำทางการทหารผู้มีความสามารถและทรงเป็นผู้ที่เป็นที่นิยมขณะที่ยังทรงมีชีวิตอยู่ เอ็ดเวิร์ดสิ้นพระชนม์เพียงปีเดียวก่อนที่พระราชบิดาจะเสด็จสวรรคต ทรงเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์องค์แรกที่ไม่ได้ขึ้นครองราชสมบัติ ราชบัลลังก์จึงตกไปเป็นของริชาร์ด พระโอรสองค์โตของพระองค์เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 เสด็จสวรรคต", "title": "เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ" }, { "docid": "239660#5", "text": "การก่อสร้างปราสาทที่เห็นในปัจจุบันเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1283 หลังจากสโนว์โดเนียที่เป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรกุยเน็ดด์ถูกรุกรานโดยกองทัพใหญ่ และมายุติลงในปี ค.ศ. 1323 แต่ก็ยังสร้างไม่เสร็จแม้ในปัจจุบันก็ยังมีร่องรอยให้หลายจุดว่าเป็นบริเวณที่สร้างไว้เพื่อรับการต่อเติมต่อไป หลักฐานร่วมสมัยบ่งว่าค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างตกประมาณ 22,000 ปอนด์ – ซึ่งเป็นจำนวนเงินอันมหาศาลของสมัยนั้นเท่ากับรายได้ประจำปีของท้องพระคลังของพระมหากษัตริย์ ปราสาทเป็นปราสาทแบบปราสาทแนว (Linear castle) เป็นปราสาทที่ออกแบบอย่างซับซ้อนเมื่อเทียบกับปราสาทในอังกฤษ และกล่าวกันว่ากำแพงปราสาทเป็นกำแพงที่สร้างตามแบบกำแพงเมืองคอนสแตนติโนเปิล พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ทรงเคยเป็นทหารในสงครามครูเสดและทรงได้ไปเห็นปราสาทครูเสดต่าง ๆ ระหว่างที่เสด็จไปในสงครามที่ทรงนำกลับมาใช้เป็นแบบอย่างในการก่อสร้างปราสาทในเวลส์", "title": "ปราสาทคายร์นาร์วอน" }, { "docid": "158392#6", "text": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 เสด็จสวรรคตระหว่างการเดินทางไปรณรงค์ในสงครามกับชาวสกอตอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ก่อนที่จะสวรรคตมีพระราชโองการให้เอ็ดเวิร์ดให้ต้มร่างของพระองค์ให้เหลือแต่กระดูกและนำเดินทัพต่อจนกว่าชาวสกอตจะพ่ายแพ้ เอ็ดเวิร์ดมิได้ทรงทำตามพระราชโองการแต่นำพระราชบิดากลับไปฝังที่เวสท์มินสเตอร์แอบบี โดยมีคำจารึกว่า “นี่คือร่างของเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ผู้ปราบชาวสกอต” (Here lies Edward I, the Hammer of the Scots) (Hudson & Clark 1978:46) หลังจากนั้นเอ็ดเวิร์ดก็เรียกเพียร์ส เกฟสตันกลับมายังราชสำนัก และทรงถอยทัพกลับจากการรณรงค์สกอตแลนด์ในปีเดียวกัน", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "156222#41", "text": "เท่าที่ทราบกันพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมีพระนิสัยที่หุนหันพลันแล่นที่เห็นได้จากวิธีที่ทรงปฏิบัติต่อแสตร็ทฟอร์ดและองค์มนตรี ในปี ค.ศ. 1340-41[44] แต่ในขณะเดียวกันพระองค์ก็เป็นที่รู้จักกันในความมีพระมหากรุณาธิคุณ เช่นในกรณีเกี่ยวกับหลานของมอร์ติเมอร์โรเจอร์ เดอ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 2 (Roger de Mortimer, 2nd Earl of March) พระองค์ไม่เพียงแต่พระราชทานอภัยโทษให้แต่ยังทรงมอบหมายให้มีบทบาทสำคัญในสงครามกับฝรั่งเศสและในที่สุดก็พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ให้ด้วย[45]", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "158568#2", "text": "แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "158568#20", "text": "ในระยะแรกเอ็ดเวิร์ดมีพระประสงค์ที่จะใช้นาม “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4” ตามพระนามกษัตริย์แซ็กซอนสามพระองค์ที่ปกครองอังกฤษก่อนหน้านั้น แต่ไม่ทราบว่าจะเป็นด้วยสาเหตุใดก็ตาม พระองค์มารู้จักกันในพระนามว่า “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด” โดยไม่มีลำดับตัวเลข เมื่อพระราชโอรสที่มีพระนามเดียวกันขึ้นเสวยราชย์ก็ทรงใช้พระนามว่า “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2” และ “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด” จึงกลายเป็น “พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1” ซึ่งเป็นการริเริ่มการลำดับหมายเลขหลังพระนามพระมหากษัตริย์ตั้งแต่นอร์มันได้รับชัยชนะต่ออังกฤษในปี ค.ศ. 1066 เป็นต้นมา แม้ว่าพระนาม “เอ็ดเวิร์ด” จะเป็นพระนามที่ใช้ทั้งก่อนและหลังจากนอร์มันได้รับชัยชนะก็ตาม", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "158392#28", "text": "หลังจากจำขังพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แล้วพระราชินีอิสซาเบลลาและมอร์ติเมอร์ก็มีปัญหาว่าจะทำเช่นใดกับพระองค์ วิธีที่ง่ายที่สุดคือปลงพระชนม์ ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ก็จะตกไปเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ดซึ่งพระราชินีอิสซาเบลลาทรงสามารถควบคุมได้ และเป็นการป้องกันการกู้ราชบัลลังก์คืนแก่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดไปด้วยในตัว แต่คำสั่งการปลงพระชนม์ต้องมาจากการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นกบฏ แม้ว่าขุนนางจะเห็นพ้องกันว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดไม่ทรงใส่ใจในการปกครองบ้านเมือง แต่ขุนนางบางคนให้ข้อคิดเห็นว่าในเมื่อพระเจ้าแผ่นดินเป็นตำแหน่งที่ได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าฉะนั้นพระเจ้าแผ่นดินจึงไม่สามารถถูกปลดหรือถูกตัดสินให้ประหารชีวิตทางนิตินัยได้ ถ้าทำเช่นนั้นพระเจ้าก็จะลงโทษประเทศ การตัดสินจึงเป็นที่ตกลงกันว่าจะจำขังพระองค์ตลอดพระชนม์ชีพแทนที่", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "485334#15", "text": "แม้กระนั้นในปีถัดมา มุงค์จัดนิทรรศการสำคัญ ซึ่งแสดงงานจิตรกรรมจำนวนนับร้อยและภาพพิมพ์อีกกว่าสองร้อยภาพ รวมถึงภาพวิวทิวทัศน์และภาพคนขนาดเท่าจริง ในปี1915 เป็นครั้งที่สามของมุงค์ที่ได้ร่วมแสดงผลงานในงานนิทรรศการศิลปะในอเมริกา ครั้งนั้นงานนิทรรศการจัดขึ้นที่ซานฟรานซิสโก เอ็ดเวิร์ด มุงค์ได้รับรางวัลเหรียญทองสำหรับงานประเภทภาพพิมพ์ ความสำเร็จในครั้งนั้นเพียงพอที่จะแก้ปัญหาทางการเงินของเขาได้ ณ กรุงเบอร์ลิน ปี 1917 หนังสือชื่อ “Edvard Munch” ได้ตีพิมพ์ส่งท้องตลาด รวบรวมเอาผลงานระหว่างการเดินทางไปที่ต่างๆของมุงค์ แม้จะกระจายไปทั่วโลก มีงานนิทรรศการหลายๆครั้งและครั้งที่รวบรวมผลงานครอบคลุมมากที่สุด ได้จัดขึ้นที่หอศิลป์แห่งชาติประจำกรุงเบอร์ลิน รวมภาพวาดสีน้ำมันกว่า 223 ภาพ", "title": "เอ็ดเวิร์ด มุงค์" }, { "docid": "158392#12", "text": "แต่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงทำผิดตรงที่ทรงคิดว่าจำนวนทหารในกองทัพของพระองค์ที่มีจำนวนเหนือกว่ากองทัพของโรเบิร์ต บรูซเป็นหลายเท่าเพียงอย่างเดียวจะมีความแข็งแกร่งพอที่กำจัดโรเบิร์ต บรูซได้อย่างง่ายดายแต่ก็เป็นการคาดที่ผิด โรเบิร์ต บรูซได้เปรียบกว่าตรงที่ได้รับการเตือนล่วงหน้าถึงการเดินทัพมาสกอตแลนด์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด และทราบแม้กระทั่งว่าจะพระองค์จะมาถึงวันใด โรเบิร์ตมีเวลาพอที่จะเลือกบริเวณที่จะต่อสู้ที่จะได้เปรียบกว่าทั้งในให้ความอำนวยในกลยุทธ์และการยุทธศาสตร์ เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเดินทัพขึ้นมาถึงเส้นทางสายหลักเข้าสู่สเตอร์ลิง โรเบิร์ตวางกองกำลังขนาบสองข้างเส้นทางทางด้านเหนือ อีกกองหนึ่งในป่า และอีกกองหนึ่งตรงโค้งแม่น้ำซึ่งเป็นจุดที่กองทัพของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมองเห็นได้ยาก นอกจากนั้นโรเบิร์ตก็ยังสั่งให้ขุดหลุมไว้ทั่วไปแล้วกลบด้วยใบไม้กิ่งไม้เพื่อให้เป็นอุปสรรคต่อกองทหารม้า", "title": "พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ" }, { "docid": "156009#51", "text": "เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1469 วอริคก็หันไปเป็นพันธมิตรกับดยุกแห่งแคลเรนซ์พระอนุชาของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้ไปแต่งงานกับอิซาเบล เนวิลล์ ดัชเชสแห่งแคลเรนซ์แม้ว่าจะไม่เป็นที่ต้องพระทัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ตาม วอริกและดยุกแห่งแคลเรนซ์รวบรวมพลเข้าต่อสู้กับฝ่ายแลงแคสเตอร์และได้รับชัยชนะในยุทธการที่เอ็ดจ์โคตมัวร์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดถูกจับตัวได้ที่โอลนีย์ในบักกิงแฮมเชอร์และถูกนำไปขังไว้ที่ปราสาทมิดเดิลแลม (Middleham Castle) ในยอร์กเชอร์ (ซึ่งทำให้วอริกมีพระเจ้าแผ่นดินอยู่ในมือสององค์) หลังจากนั้นวอริกก็จับและสังหารพระราชบิดาของพระราชินีริชาร์ด วูดวิลล์ เอิร์ลริเวอร์สที่ 1และพระอนุชาจอห์น แต่วอริกก็มิได้ทำการประกาศว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นพระมหากษัตริย์ที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายหรือประกาศให้ดยุกแห่งแคลเรนซ์เป็นพระมหากษัตริย์[8] บ้านเมืองในขณะนั้นก็เต็มไปด้วยความระส่ำระสาย ขุนนางต่างก็ลุกขึ้นมาก่อตั้งกองทัพส่วนตัวเข่นฆ่าแก้แค้นกันจากสาเหตุต่าง ๆ ที่บาดหมางกันมาก่อนหน้านั้น ฝ่ายแลงแคสเตอร์ที่หมดอำนาจไปก่อนหน้านั้นก็ลุกขึ้นมาก่อความไม่สงบอีก[9] แต่จะอย่างไรก็ตามก็มีขุนนางเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่สนับสนุนการยึดอำนาจของวอริค พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดถูกนำตัวกลับมาลอนดอนโดยน้องของวอริคจอร์จอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กเพื่อมาทำความปรองดองกันกับวอริกอย่างน้อยก็เท่าที่เห็นกันภายนอก", "title": "สงครามดอกกุหลาบ" }, { "docid": "156002#8", "text": "เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1483 พระราชโอรสของพระองค์ก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 เมื่อพระชนมายุได้ 12 พรรษาโดยมีริชาร์ด ดยุกแห่งยอร์ก พระอนุชาพระชนมายุ 9 พรรษาเป็นรัชทายาท ริชาร์ดทรงสั่งจับแอนโทนี วูดวิลล์ เอิร์ลที่ 2แห่งริเวิร์ส ผู้ดูแลพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 (พระเชษฐาของพระนางเซซิลี เนวิลล์ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4) และที่ปรึกษาประจำพระองค์อีกหลายคนและนำไปกักขังที่ปราสาทพอนทีแฟรก ต่อมาก็ทรงสำเร็จโทษโดยทรงกล่าวหาว่าร่วมกันวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 ต่อมาก็ทรงย้ายพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 และพระอนุชาไปประทับที่หอคอยแห่งลอนดอน ", "title": "พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ" } ]
1212
ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามมีชื่อเรียกว่าอะไร?
[ { "docid": "3832#0", "text": "ศาสนาอิสลาม (English: Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม", "title": "ศาสนาอิสลาม" }, { "docid": "16796#0", "text": "มุสลิม (Arabic: مُسلِم‎) เป็นบุคคลที่นับถือศาสนาอิสลาม โดยมีคำภีร์อัลกุรอานเป็นคำภีร์ของศาสนานี้ และเชื่อมั่นว่าอัลลอฮ์ได้ส่งญิบรีลเพื่อให้มุฮัมหมัดเป็นศาสดาคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ปฏิบัติตามการกระทำของมุฮัมหมัด (ซุนนะฮ์) ตามที่มีการจดบันทึกในรายงานต่างๆ (ฮะดีษ)[26] \"มุสลิม\" เป็นคำศัพท์ภาษาอาหรับหมายถึง \"ผู้เคารพ\" (ต่อพระเจ้า)[27]", "title": "มุสลิม" } ]
[ { "docid": "94825#0", "text": "ชาวหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า \"เมกกะ\" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า \"\"จีนฮ่อ\"\" ในพม่าจะเรียกว่า \"\"ปันทาย\"\" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า \"\"ดันกัน\"\" (Dungans;дунгане) ", "title": "หุย" }, { "docid": "942437#23", "text": "นักนิติศาสตร์อิสลาม (ฟุกอฮา) บางท่านเชื่อว่าไม่มีประโยชน์อันใดที่จะค้นหาบรรทัดฐานของการใช้คำต่างๆ นี้ เช่น ฮุจญะตุลอิสลาม และษิกอตุลอิสลามในอดีตเคยใช้คำนี้เรียก อิมามมุฮัมหมัด ฆอซซาลี ตามคำกล่าวของซัยยิด ฮุเซน นัศร์ และ ฮะมีด ดับบาชี ว่าฉายานามนี้น่าจะถูกนำมาใช้เรียก ซัยยิด มุฮัมหมัด บาเกร ชะฟะตี เป็นครั้งแรก  ต่อมาฉายานามนี้ก็ใช้เรียกนักการศาสนาที่มีชื่อเสียงจากเมืองกาชาน แต่หลังจากนั้นฉายานามนี้ก็ถูกลดระดับความน่าเชื่อถือลงอย่างมาก สาเหตุที่ใช้ฉายานามนี้เรียก ชะฟะตี ก็เนื่องจากว่าท่านเป็นทั้งผู้พิพากษาและมุฟตี  มีผลงานทางวิชาการเกี่ยวกับกฎหมายอิสลามในยุคเร้นกาย ตามคำกล่าวของท่านมุรตะฎอ อันซอรี ซึ่งเป็นลูกหลานของเชคมุรตะฎอ ว่า คำนี้เคยใช้เรียก ซัยยิดมุฮัมหมัด บาเกร ชะฟะตี และฮุจญะตุลอิสลาม อะสะดุลลอฮ์ บุรูญัรดี  แต่คำนี้ก็ค่อยถูกลดระดับในการใช้เรียกขานลงมาเรื่อยๆ", "title": "ระดับขั้นในสถาบันศาสนา" }, { "docid": "240991#3", "text": "ชาวไทยในอียิปต์ซึ่งเป็นนักศึกษาทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงานหรือเข้ามาประกอบอาชีพส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ในวัฒนธรรมไทยบางอย่างมีข้อแตกต่างกับวัฒนธรรมอาหรับ อาทิ การก้มหัวของไทยเป็นที่พึงรังเกียจของชาวอาหรับด้วยมองว่า ขี้ขลาด หรือเรียกว่า \"ยับบาน\" หรือความอ้วนซึ่งชาวอาหรับนั้นชอบ แต่หญิงไทยมักกลัวความอ้วน เป็นอาทิ", "title": "ชาวไทยในอียิปต์" }, { "docid": "111134#5", "text": "อย่างไรก็ตามศาสนาอิสลามจะเกาะเกี่ยวกับความเป็นมลายูตลอด เมื่อใครเข้ารับศาสนาอิสลามหรือเข้าอิสลามก็จะเรียกว่าเข้ามลายู (มาโซะ มลายู หรือมะโซะยาวี) หรือ เป็นมลายูซึ่งประเด็นนี้น่าสนใจเพราะเขาจะเรียกว่า\"เข้าไทย\"(มาโซะ ซีแย) เมื่อมีใครเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธในทำนองเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ขณะเดียวกันชีวิตวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษามลายูก็มีความสำคัญอย่างยิ่ง ถึงกับมีคำกล่าวว่า “ฮีลัง บาฮาซา ฮีลัง บังซา” แปลเป็นไทยได้ว่า “ถ้าภาษา (มลายู) หาย ชาติ (หรือความเป็นมลายู) ก็จะหายด้วย” ดังนั้นเขาจึงต้องต่อสู้เพื่อปกป้องชาติหรือความเป็นมลายูของตัวเองไม่ให้สูญสลายหายไป รวมทั้งพยายามยืนหยัดที่จะใช้ภาษามลายูสืบไป", "title": "ไทยเชื้อสายมลายู" }, { "docid": "249266#2", "text": "คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك \"ผู้เคารพรูปปั้น\") ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า \"ลัทธินอกศาสนา\" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว", "title": "ลัทธินอกศาสนา" }, { "docid": "766866#0", "text": "ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในตอนแรกเริ่มเรียกตัวเองว่า ”พราหมณ์” ต่อมาศาสนาได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่งเนื่องจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ จนมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 ศังกราจารย์ได้ปฏิรูปศาสนาโดยแต่งคัมภีร์ปุราณะลดความสำคัญของศาสนาพุทธ และนำหลักปฏิบัติรวมทั้งหลักธรรมของศาสนาพุทธมหายานบางส่วนมาใช้และฟื้นฟูปรับปรุงศาสนาพราหมณ์เป็นให้เป็นศาสนาฮินดูเนื่องจากหลักธรรมส่วนใหญ่ของศาสนาพุทธได้ประยุกต์มาจากศาสนาฮินดูเมื่อครั้งยังเป็นศาสนาพราหมณ์โดยเริ่มจากนิกายเถรวาทเมื่อครั้งพุทธกาล -จนถึงนิกายมหายาน - วัชรญาณ เมื่อ โดยคำว่า “ฮินดู” เป็นคำที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในลุ่มแม่น้ำสินธุ และเป็นคำที่ใช้เรียกลูกผสมของชาวอารยันกับชาวพื้นเมืองในชมพูทวีป และชนพื้นเมืองนี้ได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์โดยการเพิ่มเติมเทพเจ้าท้องถิ่นดั้งเดิมลงไป เนื่องจากเวลานั้นสังคมอินเดีย แตกแยกอย่างมากเนื่องจากอิทธิพลของพุทธศาสนาในประเทศอินเดียที่มีลักษณะเป็นกึ่งพหุเทวนิยม คือนิยมนับถือเทวดา ทำให้ทางตอนเหนือนับถือพระศิวะซึ่งเป็นเทพแห่งภูเขาหิมาลัย ทางตอนใต้ชาวประมงนับถือวิษณุซึ่งเป็นเทพที่ให้ฝนและพายุ ชาวป่านับถือพระนิรุทธ และตอนกลางนับถือพระพิฆเนตร คนอินเดียเวลานั้นเริ่มไม่นับถือศาสนาพราหมณ์เป็นจำนวนมากขึ้น เมื่อต้องการรวมชาติ เมื่อครั้งขับไล่ราชวงศ์โมกุลของอิสลามที่เข้ามายึดครองและสั่งเข่นฆ่าพระสงฆ์คัมภีร์และวัดในพระพุทธศาสนาจนแทบสูญสิ้นไปจากอินเดีย จึงรวมเทพเจ้าแต่ละท้องถิ่นต่างๆมารวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับศาสนาพราหมณ์ แลัวเรียกศาสนาของใหม่นี้ว่า “ศาสนาฮินดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์จึงมีอีก ชื่อในศาสนาใหม่ว่า “ฮินดู” จนถึงปัจจุบันนี้", "title": "ประวัติศาสนาฮินดู" }, { "docid": "16796#1", "text": "ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า \"มุสลิม\" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม)", "title": "มุสลิม" }, { "docid": "106105#2", "text": "ชาวจีนฮ่อประมาณ 1 ใน 3 จะนับถือศาสนาอิสลาม ใช้ภาษาจีนกลาง นอกนั้นจะนับถือบูชาบรรพบุรุษ และถูกกลืนไปในวัฒนธรรมล้านนา โดยผู้ที่เป็นมุสลิมจะถูกเรียกว่า ผ่าสี่ แต่ผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมจะเรียกว่า ผ่าห้า สันนิษฐานได้ว่าคำว่าผ่าสี่อาจจะมาจากภาษาไทใหญ่ มีความหมายว่า เปอร์เซีย", "title": "ฮ่อ" }, { "docid": "5380#19", "text": "จังหวัดสิงห์บุรีมีวัดในศาสนาพุทธ จำนวน 178 แห่ง โบสถ์คริสต์ 2 แห่ง วัดคริสต์ 1 แห่ง มัสยิด 2 แห่ง\nจำนวนผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98.80\nจำนวนผู้นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1.02\nจำนวนผู้นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.18", "title": "จังหวัดสิงห์บุรี" }, { "docid": "257347#1", "text": "ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น", "title": "อาหรับ" }, { "docid": "37665#30", "text": "ผู้ปกครองของอัลอันดะลุสมีตำแหน่งอยู่ระดับเอมีร์ โดยขึ้นกับกาหลิบอัลวะลีดที่ 1 แห่งราชวงศ์อุไมยัดที่กรุงดามัสกัส พระองค์ทรงให้ความสนใจกับการขยายกำลังทางทหารอย่างมาก ทรงสร้างกองทัพเรือที่แข็งแกร่งที่สุดในสมัยของราชวงศ์นี้ ซึ่งเป็นกลวิธีที่สนับสนุนการขยายอิทธิพลในฮิสปาเนียนั่นเอง ขุนนางท้องถิ่นได้รับอนุญาตให้ครอบครองทรัพย์สินและสถานะทางสังคมของตนไว้ตราบเท่าที่ยังยอมรับศาสนาอิสลาม และการเปลี่ยนผู้ปกครองไม่ได้รบกวนกิจประจำวันของพวกเขามากนัก เขตการปกครองย่อยตามพื้นที่ต่าง ๆ ยังเป็นเช่นเดิม แต่ตำแหน่งผู้บริหารท้องถิ่นจะตกเป็นของชาวมุสลิมอาหรับ ผู้ที่ไม่ได้เป็นมุสลิมถูกบังคับให้ยอมรับกฎหมายไม่เป็นธรรมซึ่งส่งเสริมสถานะของศาสนาอิสลามให้อยู่เหนือศาสนาคริสต์และศาสนายิวในสังคม จึงมีชาวคริสต์จำนวนหนึ่งในอัลอันดะลุสเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามโดยหวังจะได้รับสิทธิในสังคมเท่าเทียมกับชาวมุสลิม เช่น จ่ายภาษีน้อยลง หรือไม่ต้องเป็นทาสหรือข้าติดที่ดินอีกต่อไป ซึ่งเรียกพวกนี้ว่า \"มูลาดีเอส\"", "title": "ประวัติศาสตร์สเปน" }, { "docid": "42096#3", "text": "ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในตอนแรกเริ่มเรียกตัวเองว่า \"พราหมณ์\" ต่อมาศาสนาได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่งเนื่องจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ จนมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 ศังกราจารย์ได้ปฏิรูปศาสนาโดยแต่งคัมภีร์ปุราณะลดความสำคัญของศาสนาพุทธ และนำหลักปฏิบัติรวมทั้งหลักธรรมของศาสนาพุทธมหายานบางส่วนมาใช้และฟื้นฟูปรับปรุงศาสนาพราหมณ์เป็นให้เป็นศาสนาฮินดูเนื่องจากหลักธรรมส่วนใหญ่ของศาสนาพุทธได้ประยุกต์มาจากศาสนาฮินดูเมื่อครั้งยังเป็นศาสนาพราหมณ์โดยเริ่มจากนิกายเถรวาทเมื่อครั้งพุทธกาล -จนถึงนิกายมหายาน - วัชรญาณ เมื่อ โดยคำว่า “ฮินดู” เป็นคำที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในลุ่มแม่น้ำสินธุ และเป็นคำที่ใช้เรียกลูกผสมของชาวอารยันกับชาวพื้นเมืองในชมพูทวีป และชนพื้นเมืองนี้ได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์โดยการเพิ่มเติมเทพเจ้าท้องถิ่นดั้งเดิมลงไป เนื่องจากเวลานั้นสังคมอินเดีย แตกแยกอย่างมากเนื่องจากอิทธิพลของพุทธศาสนาในประเทศอินเดียที่มีลักษณะเป็นกึ่งพหุเทวนิยม คือนิยมนับถือเทวดา ทำให้ทางตอนเหนือนับถือพระศิวะซึ่งเป็นเทพแห่งภูเขาหิมาลัย ทางตอนใต้ชาวประมงนับถือวิษณุซึ่งเป็นเทพที่ให้ฝนและพายุ ชาวป่านับถือพระนิรุทธ และตอนกลางนับถือพระพิฆเนตร คนอินเดียเวลานั้นเริ่มไม่นับถือศาสนาพราหมณ์เป็นจำนวนมากขึ้น เมื่อต้องการรวมชาติ เมื่อครั้งขับไล่ราชวงศ์โมกุลของอิสลามที่เข้ามายึดครองและสั่งเข่นฆ่าพระสงฆ์คัมภีร์และวัดในพระพุทธศาสนาจนแทบสูญสิ้นไปจากอินเดีย จึงรวมเทพเจ้าแต่ละท้องถิ่นต่างๆมารวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับศาสนาพราหมณ์ แล้วเรียกศาสนาของใหม่นี้ว่า “ศาสนาฮินดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์จึงมีอีก ชื่อในศาสนาใหม่ว่า “ฮินดู” จนถึงปัจจุบันนี้", "title": "ศาสนาฮินดู" }, { "docid": "752065#0", "text": "การละทิ้งศาสนาอิสลาม หรือ การสิ้นสภาพจากการเป็นผู้นับถือศาสนาอิสลาม ( ', \"ริดดะฮ์\" หรือ ') หมายถึงการที่ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามได้ละทิ้งศาสนาอิสลามไปยึดมั่นในการปฏิเสธด้วยความเต็มใจ โดยสามารถเป็นการปฏิเสธทางกาย ทางจิตใจ หรือทางวาจา กรณีนี้รวมถึงผู้ที่ละทิ้งศาสนาอิสลาม อาจละทิ้งไปเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอื่น โดยผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามโดยกำเนิด หรือผู้ที่เคยเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอิสลามมาก่อน", "title": "การละทิ้งศาสนาอิสลาม" }, { "docid": "93602#13", "text": "กล่าวคือ ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 10 (ประมาณ พ.ศ. 1500 เศษ) ศาสนาอิสลามได้เผยแพร่เข้าสู่ปัตตานีและปาหัง ก่อนที่จะเข้าสู่มาละกา ในช่วงนั้นกษัตริย์หรือสุลต่านเมืองปัตตานีล้มป่วย ไม่มีหมอในปัตตานีรักษาได้ เกิดการตีฆ้องร้องป่าวหาผู้รักษามีแขกปาซายจากสุมาตราชื่อเช็กสะอิ หรือ เช็กซาฟียิดดิน ได้ขันอาสามารักษาสุลต่านแต่ขอคำมั่นสัญญาว่าถ้ารักษาหายแล้ว พระองค์จะต้องเข้ารีตนับถือศาสนาอิสลาม เมื่อได้รักษาจนหายแต่เมื่อหายแล้วสุลต่านไม่ยอมเปลี่ยนศาสนาเลยป่วยหนักอีก กลับมารักษากันใหม่ขอคำสัญญากันอีกกลับไปกลับมาเช่นนี้ถึง 3 ครั้ง สุลต่านเลยต้องยอมเปลี่ยนศาสนามานับถือศาสนาอิสลามหมอผู้รักษาได้รับการแต่งตั้งเป็น ดาโต๊ะ สะรี ยารา ฟาเก้าฮ์ (ผู้รู้ทางศาสนายอดเยี่ยม)เมื่อเจ้าเมืองเปลี่ยนศาสนาใหม่ โอรส ธิดา ขุนนาง และชาวเมืองก็เริ่มเปลี่ยนศาสนาตามเป็นศาสนาอิสลามต่อจากนั้นก็เริ่มมีการทำลาย พระพุทธรูป พุทธสถาน เทวรูป และเทวาลัย อาณาจักรที่เคยนับถือพระพุทธศาสนาอยู่หลายปีจึงมีโบราณวัตถุทางพุทธศาสนาน้อยเต็มที หรือแทบจะไม่มีเลย ก็มีพบบ้างกันที่ยะรังเมืองโบราณ ", "title": "อาณาจักรลังกาสุกะ" }, { "docid": "20838#108", "text": "ในประเทศอินโดนีเซีย ที่ปัจจุบันเป็นประเทศที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุด ก็ได้ให้ความสำคัญกับวันวิสาขบูชามาก เพราะเดิมนั้นพระพุทธศาสนาเคยเป็นศาสนาที่ชาวชวาหรืออินโดนีเซียนับถือมากที่สุด งานวิสาขบูชาในสมัยที่พระพุทธศาสนารุ่งเรืองคงเป็นพิธีใหญ่ แต่หลังพระพุทธศาสนาเสื่อมลงเนื่องจากการการเสื่อมของราชวงศ์ไศเลนทร์ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่นับถือพระพุทธศาสนา ผู้ปกครองต่อมาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม[78] งานวิสาขบูชาจึงไม่มีผู้สืบทอด ในปัจจุบันเริ่มมีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย รัฐบาลเริ่มให้ความสำคัญกับชาวพุทธ โดยรัฐบาลประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดราชการ ซึ่งชาวพุทธส่วนใหญ่ในอินโดนีเซียนั้นเป็นคนอินโดนีเซียเชื้อสายจีนที่นับถือมหายาน ซึ่งมีชาวอินโดนีเซียส่วนหนึ่งที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาท การจัดงานวิสาขบูชาในระยะหลังจึงเป็นงานใหญ่ โดยศูนย์กลางจัดงานอยู่ที่พระมหาสถูปบุโรพุทโธ เกาะชวา ทุกปีประธานาธิบดีแห่งอินโดนีเซียจะมาเป็นประธานเปิดงาน โดยเชิญผู้นำชาวพุทธจากทั่วโลกมาร่วมงาน[79]", "title": "วันวิสาขบูชา" }, { "docid": "13241#13", "text": "ฮ่อ เป็นคำที่คนไทยใช้เรียกชาวจีนที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยผ่านทางประเทศพม่าและประเทศลาว ชาวจีนฮ่อส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ทางภาคเหนือทั้งในเมืองและบนดอย หนึ่งในกลุ่มชนที่สำคัญคือชาวจีนหุย (回族 ; ภาษาจีนกลาง: Huízú) ซึ่งเป็นชาวจีนที่มีลักษณะเหมือนชาวจีนฮั่นทุกอย่างเพียงแต่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวฮ่อในประเทศไทย 1 ใน 3 นับถือศาสนาอิสลาม นอกนั้นนับถือบรรพบุรุษ", "title": "ไทยเชื้อสายจีน" }, { "docid": "892663#0", "text": "โลกอิสลาม เป็นศัพท์เชิงวิชาการที่ใช้เรียกผืนแผ่นดินที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ผู้นับถือศาสนาอิสลามมีประมาณหนึ่งพันล้านคน ที่ปฏิบัติตามศาสนาของ\nมุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ (ศาสดาของบรรดามุสลิม) เป็นชาวฮิญาซ และเป็นศาสนาที่มีมากว่า 1400 ปี (ปีจันทรคติ) บรรดามุสลิมมีความเชื่อเหมือนกันว่า ศาสดามุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ คือศาสดาองค์สุดท้าย (คอตะมุลอันบิยา) เชื่อในกุรอาน ( คัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลาม) กิบลัตและบทบัญญัติหลักปฏิบัติศาสนกิจ", "title": "โลกอิสลาม" }, { "docid": "333841#2", "text": "หนูนานับถือศาสนาอิสลาม มีชื่อเล่นเป็นภาษาอาหรับว่า \"โรฮันนา\" มีความหมายว่า \"ดวงใจฉัน\" แต่ด้วยเธอมักเรียกตนเองว่า \"หนู\" มาตลอด มารดาของเธอจึงเรียกเธอว่า \"หนูนา\"", "title": "หนึ่งธิดา โสภณ" }, { "docid": "119979#26", "text": "กลุ่มศาสนาอับราฮัม () ได้แก่ศาสนาที่มาจากประเพณีเซมิติก () โบราณอันเดียวกันซึ่งสืบย้อนไปถึง \"อับราฮัม\" (ประมาณ 1900 ปีก่อน ค.ศ. หรือ 1350 ปีก่อน พ.ศ.) ซึ่งผู้เฒ่าผู้ปกครองกลุ่มชน () ที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิลฮีบรูภาคพันธสัญญาเดิม และในฐานะผู้ตั้งศาสนาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และยังถูกเรียกเป็นผู้ตั้งศาสนาที่ปรากฏในเจเนซิส 20:7 ด้วยเช่นกัน ความเชื่อเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดกลุ่มศาสนาขนาดใหญ่ที่สัมพันธ์กันโดยการ \"ถือพระเจ้าองค์เดียวกัน\" ซึ่งรวมถึงลัทธิศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามซึ่งมีผู้นับถือรวมกันประมาณครึ่งโลก", "title": "มนุษยศาสตร์" }, { "docid": "923033#2", "text": "แต่เดิมชาวกระแซนับถือศาสนาพื้นเมือง (Sanamahism) ซึ่งเป็นลัทธิบูชาสุริยเทพและผีบรรพชน และพบร่องรอยว่าชาวกระแซเคยนับถือศาสนาพุทธมาก่อน ปัจจุบันชาวกระแซส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดูนิกายไวษณพ ซึ่งเปลี่ยนไปนับถือเมื่อราว 300 ปีก่อนหน้านี้ แต่เป็นเพียงฮินดูพื้นเมืองหรือฮินดูแบบมณีปุระเท่านั้นเพราะรับอิทธิพลมาอย่างผิวเผิน โดยมีการนับถือปะปนกับลัทธิพื้นเมือง นอกจากนี้ยังมีชาวกระแซบางส่วนเข้ารีตศาสนาอิสลามเมื่อศตวรรษที่ 17 ในยุคจักรวรรดิโมกุลเรืองอำนาจ โดยจะถูกเรียกว่าปันกัล (Pangal) หรือมียะฮ์เมเต (Miah Meitei)", "title": "กระแซ" }, { "docid": "82250#26", "text": "ภาษากอนกานีเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง อักษรเทวนาครี อักษรโรมัน (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) อักษรกันนาดา ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ อักษรอาหรับในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือศาสนาอิสลามในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วยอักษรมาลายาลัมกลุ่มเล็กๆในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน", "title": "ภาษากงกณี" }, { "docid": "270100#1", "text": "ดิเกร์ ฮูลูเริ่มมาจากเพลงพื้นบ้านที่ใช้ประกอบพิธีกรรม ในสมัยที่นับถือศาสนาฮินดู-พุทธ และได้พัฒนาเป็นการละเล่นเพื่อความสนุกสนานเมื่อเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยนำการสวดหรือกล่าวสรรเสริญศาสดาในศาสนาอิสลามเข้าผสมในการประกอบพิธีกรรม แล้วตั้งเป็นวงหรือคณะขึ้น นำดนตรีมาประกอบ นิยมละเล่นในงานแก้บน สะเดาะเคราะห์ งานแต่งงานและงานเข้าสุหนัต เรียกการละเล่นที่พัฒนาขึ้นใหม่นี้ว่าดิเกร์ฮูลู ", "title": "ดิเกร์ ฮูลู" }, { "docid": "33839#8", "text": "ร้อยละ 58 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 41 นับถือศาสนาอิสลาม และ ร้อยละ 1 นับถือศาสนาอื่นๆ โดยที่ผู้นับถือศาสนาอิสลามส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ส่วนผู้นับถือศาสนาคริสต์ส่วนใหญ่อยู่ทางใต้", "title": "ประเทศไนจีเรีย" }, { "docid": "492988#1", "text": "อามีร์เกิดที่เมืองเมดัน เกาะสุมาตรา เดิมนับถือศาสนาอิสลาม แต่ต่อมาได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนต์ จัดเป็นผู้เคร่งศาสนาคนหนึ่ง เขาสำเร็จการศึกษาทางด้านกฎหมายจากมหาวิทยาลัยจาการ์ตาเมื่อ พ.ศ. 2476 เขาสนใจการเมืองตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษา และสมัครเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียตั้งแต่ พ.ศ. 2478 ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้นำองค์กรชาตินิยมที่เรียกว่าปาร์ตินโด และเป็นผู้ร่วมตั้งขบวนการประชาชนอินโดนีเซียหรือเกรินโด องค์การนี้ต้องการเป็นเอกราชแต่ยินดีให้ความช่วยเหลือรัฐบาลอาณานิคมเพื่อต่อต้านฟาสซิสต์", "title": "อามีร์ ชารีฟุดดิน" }, { "docid": "761106#4", "text": "ในส่วนของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันก็ได้บัญญัติรับรองเสรีภาพในการ ถือศาสนาไว้เช่นเดียวกัน แต่มีบางกรณีที่เกิดปัญหาอยู่บ่อยครั้ง คือ กรณีที่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่ศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาของรัฐที่ต้องแต่งกายโดยหญิงมุสลิมต้องคลุมหน้า (หิญาบ) ตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม แต่ไม่อาจกระทำได้เนื่องจากผู้บริหารการศึกษาอ้างว่าไม่ได้บัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไทย ทำให้เป็นปัญหาแก่ผู้นับถือศาสนาในการปฏิบัติตน จะเห็นได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้บัญญัติขยายความหมายเสรีภาพในศาสนาในรัฐธรรมนูญ ให้มีรายละเอียดชัดเจนขึ้น ส่งผลให้รัฐต้องอำนวยประโยชน์ให้บุคคลได้รับประโยชน์สมดังสิทธิที่ได้ รับรองไว้ และหลักการอีกประการหนึ่งคือ การใช้เสรีภาพจะต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมือง และไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนด้วย หากมีการใช้เสรีภาพที่ไม่ชอบย่อมจะไม่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้รัฐธรรมนูญยังได้วางหลักไว้ว่าบุคคลจะไม่นับถือศาสนาใด ๆ เลยก็ได้ รัฐจะบังคับให้ราษฎรนับถือศาสนาใดศาสนาหนึ่งก็ไม่ได้ และยังได้วางหลักประกันความเป็นธรรมต่อบุคคลที่จะไม่ถูกเลือกปฏิบัติอย่างได้เปรียบหรือเสียเปรียบอันเนื่องมาจากความเชื่อทางศาสนาของตน ที่วางหลักไว้เช่นนี้เป็นการนำกรณีที่เคยมีปัญหาการเลือกปฏิบัติต่อบุคคล มาบัญญัติให้ชัดแจ้งว่าจะเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุความเชื่อทางศาสนาไม่ได้ ", "title": "เสรีภาพทางศาสนา" }, { "docid": "2656#8", "text": "ประเทศปากีสถาน จัดว่าเป็นประเทศสังคมมุสลิม เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเป็นประเทศที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์มากเป็นอันดับที่สองของโลก โดยมีผู้นับถือนิกายซุนนีย์ร้อยละ 75 และนิกายชีอะห์ร้อยละ 20 โดยสามารถจำแนกจำนวนศาสนิกของศาสนาต่างๆ ได้ดังนี้\nนอกจากนี้ยังมีศาสนิกชนในศาสนาอื่น ที่ไม่ได้รวมในที่นี้ได้แก่ ผู้นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์ (ชาวปาร์ซี),ลัทธิอาหมัด, ศาสนาพุทธ(ส่วนมากพบในเขตบัลติสถาน) , ศาสนายูดาย, ศาสนาบาไฮ และนับถือผี (มีมากในกาลาชา ในเขตชิลทรัล) ", "title": "ประเทศปากีสถาน" }, { "docid": "14017#9", "text": "ณ ปี ค.ศ. 2010 ประชากรรัฐเกอดะฮ์ร้อยละt 77.2 นับถือศาสนาอิสลาม, ร้อยละ 14.2 นับถือศาสนาพุทธ, ร้อยละ 6.7 นับถือศาสนาฮินดู, ร้อยละ 0.8 นับถือศาสนาคริสต์, ร้อยละ 0.3 นับถือลัทธิเต๋าหรือศาสนาพื้นบ้านของจีน, ร้อยละ 0.7 นับถือศาสนาหรือลัทธิอื่น ๆ และร้อยละ 0.1 เป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา", "title": "รัฐเกอดะฮ์" }, { "docid": "321602#2", "text": "จนในที่สุด หลังจากคานธีต่อสู้เพื่ออินเดียเป็นเวลายาวนานกว่า 40 ปี รัฐบาลออกประกาศในค.ศ. 1945 ว่าจะให้เอกราชอินเดียทันทีที่ชาวอินเดียหารัฐบาลของตนได้ แต่ทว่า อินเดียกลับแตกแยกกันเองในการขึ้นมาปกครอง ระหว่างชาวอินเดียที่นับถือศาสนาอิสลาม กับอินเดียที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แม้คานธีจะพยายามเป็นข้อกลางในการสมานฉันท์ แต่ด้วยความที่คานธีเองนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จึงทำให้เป็นการยาก จนกระทั่งบานปลายเป็นการแบ่งแยกประเทศ โดยปากีสถาน เป็นประเทศของชาวอินเดียที่นับถือศาสนาอิสลาม และอินเดีย เป็นประเทศของผู้ที่นับถือพราหมณ์-ฮินดู ในที่สุด ทั้งสองรัฐก็ได้รับเอกราชใน ค.ศ. 1947 โดยสมบูรณ์", "title": "คานธี (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "842020#6", "text": "นอกจากนี้ยังมีชาวซาซะก์จำนวนหนึ่งที่เรียกว่าโบดา (Bodha) จำนวน 8,000-12,533 คน ส่วนใหญ่อาศัยที่หมู่บ้านเบินเติก (Bentek) เชิงเขารินจานี (Gunung Rinjani) ยังคงนับถือเทพเจ้าต่าง ๆ และไม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม แต่รับอิทธิพลด้านพิธีกรรมและภาษาจากศาสนาฮินดูและพุทธ พวกเขามีความเชื่อด้านเวทมนตร์เช่นเดียวกับเวอตูเตอลูเพียงแต่ไม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม โบดาจะนับถือเทพเจ้าทั้งหมดห้าพระองค์ คือ บาตารากูรู (Batara Guru) เป็นเทพเจ้าสูงสุด ส่วนบาตาราซะก์ตี (Batara Sakti) และบาตาราเจอเนิง (Batara Jeneng) เป็นเทพเจ้ารองลงมา และมีเทวสตรีอีกสองพระองค์คืออีดาดารีซะก์ตี (Idadari Sakti) และอีดาดารีเจอเนิง (Idadari Jeneng) ซึ่งเป็นพระชายาของเทพเจ้ารองทั้งสองดังกล่าว แม้ว่าพวกเขายังนับถือผี แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธที่เข้มข้นขึ้นจากการเผยแผ่ศาสนาจากพระธรรมทูตในยุคหลังมานี้ ปัจจุบันจึงมีทั้งพระสงฆ์และหมอผีปฏิบัติศาสนกิจตามความเชื่อ", "title": "ชาวซาซะก์" }, { "docid": "377065#0", "text": "ชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซีย หรือบางครั้งอาจถูกเรียกว่า แขกมะหง่น[1], แขกมะหง่อน, แขกมห่น, แขกมะห่น หรือ<b data-parsoid='{\"dsr\":[441,458,3,3]}'>แขกเจ้าเซ็น หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศไทย ในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามชีอะฮ์ตั้งถิ่นฐานแถบฝั่งธนบุรี, เขตยานนาวา, เขตบึงกุ่ม, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น[2] ส่วนกลุ่มที่หันไปนับถือศาสนาพุทธ คือ สกุลบุนนาค เป็นต้น", "title": "ไทยเชื้อสายเปอร์เซีย" } ]
2018
มีกี่จังหวัดที่เคยอาณาจักรล้านนาเดิม ?
[ { "docid": "16978#0", "text": "อาณาจักรล้านนา () คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษา ตัวหนังสือ วัฒนธรรม และประเพณีเป็นของตนเอง ต่อมาถูกปกครองในฐานะรัฐบรรณาการของอาณาจักรตองอู อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรอังวะ จนสิ้นฐานะอาณาจักร กลายเป็นเมืองส่วนหนึ่งของอาณาจักรอังวะในราชวงศ์นยองยาน ไปในที่สุด", "title": "อาณาจักรล้านนา" } ]
[ { "docid": "194384#1", "text": "ล้านนา เดิมเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมาตั้งแต่พุทธศตวรรศที่ 19 มีอาณาเขตกว้างขวาง ในยุคทองของอาณาจักรล้านนานั้น มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไปจนถึง รัฐไทใหญ่, สิบสองปันนา, ล้านช้าง, พม่า และ สุโขทัย การขยายอำนาจของอาณาจักรล้านนาทำให้เกิดความขัดแย้งกับอาณาจักรอยุธยา จนเกิดสงครามกันหลายครั้ง ถึงแม้ยามล้านนาอ่อนแอ ก็ไม่เคยตกเป็นประเทศราชของอยุธยาอย่างแท้จริง", "title": "นครเชียงใหม่" }, { "docid": "17483#2", "text": "ที่จริงการแบ่งเขตแบบพันนานี้ นิยมใช้ในภูมิภาคแถวๆนั้น ลงมาจนถึงดินแดนล้านนา อีกอาณาจักรหนึ่งที่เป็นที่รู้จักก็คือ แคว้นสิบสองจุไทย ของชาวไทดำ\nในอาณาจักรล้านนานั้นก็เช่นเดียว โดยจะเห็นได้จากตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ซึ่งกล่าวถึงเขตแดนของเมืองเชียงแสนที่สร้างขึ้น บริเวณเมืองเงินยางเดิมโดยพญาแสนภู พระราชนัดดาของ พระยามังรายมหาราชเมื่อปี พ.ศ. 1871 ตอนหนึ่งว่า \"ดังมักแคว้นเขตแดนเมืองเชียงแสนทั้งเมือง มี 32 พันนาแล\"", "title": "อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง" }, { "docid": "17494#8", "text": "จังหวัดในภาคเหนือที่แบ่งตามราชบัณฑิตยสถานมี 9 จังหวัด ได้แก่\nพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์ เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ทำให้เกิดลักษณะของตัวอักษรและสำเนียงเฉพาะถิ่น เรียกว่าอักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง) และภาษาถิ่นพายัพ (กำเมือง)", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "17494#1", "text": "บริเวณพื้นที่ภาคเหนือ เดิมเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา ซึ่งสถาปนาอาณาจักรขึ้นมาในปีพุทธศักราช 1835 โดยพญามังราย และสถาปนาเมืองหลวงอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 1839 ในชื่อนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ อาณาจักรล้านนาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 1835 เกิดจากการยุบรวมกันของอาณาจักรในช่วงยุคก่อนหน้า คือ หิรัญนครเงินยางเชียงแสนและหริภุญชัย", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "537713#11", "text": "น่านเคยถูกพะเยายึดครองช่วงต้นศตวรรษที่ 19 และปลายศตวรรษนั้นก็กลับเป็นนครรัฐอิสระดังเดิม แต่จากการขยายอำนาจของอาณาจักรล้านนาและอยุธยาทำให้น่านสถาปนาความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย แม้จะได้รับการช่วยเหลือจากสุโขทัยก็ตามแต่เจ้านายในราชวงศ์กาวเองกลับแย่งชิงอำนาจกันเองทำให้รัฐขาดเสถียรภาพ จนเมื่อพันธมิตรอย่างอาณาจักรสุโขทัยสลายตัวและรวมเข้ากับอยุธยาในปี พ.ศ. 1981 ไม่นานหลังจากนั้นน่านเองก็สลายตัวและรวมเข้ากับล้านนาในปี พ.ศ. 1992", "title": "นครรัฐน่าน" }, { "docid": "16978#11", "text": "รัชสมัยของพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. 1985-2030) พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 9 ในราชวงศ์มังราย พระองค์ได้รับการยกย่องให้มีฐานะเป็น \"ราชาธิราช\" พระองค์ทรงแผ่ขยายขอบขัณฑสีมาของอาณาจักรล้านนาให้ยิ่งใหญ่และกว้างขวางกว่าเดิม \nในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราช อาณาจักรล้านนา ยังได้ทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นานถึง 25 ปี โดยมีสาเหตุมาจากความต้องการในการแผ่อิทธิพลเข้าไปในสุโขทัยของทั้งสองอาณาจักร แต่ไม่มีฝ่ายไหนได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาด ทั้งสองอาณาจักรจึงผูกสัมพันธไมตรีต่อกัน จนกระทั่งอาณาจักรล้านนาตกเป็นประเทศราชของพม่าในปี พ.ศ. 2101", "title": "อาณาจักรล้านนา" }, { "docid": "5525#22", "text": "การเกิดขึ้นของอาณาจักรล้านนานั้น ถือว่าเป็นรัฐที่เติบโตอยู่ท่ามกลางมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ และการทางหาร ทางเหนือได้แก่ พม่า และทางใต้ คือ สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา เมื่อสุโขทัยถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา ทำให้ล้านนาถูกคุกคามจากทางใต้มากขึ้น นั่นหมายถึงว่า ในขณะนั้นตำแหน่งของหัวเมืองทางใต้มีความหมายและความสำคัญอย่างยิ่ง \"เวียงลคอร\" จึงมีฐานะเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่จะต้านทานกองทัพที่มารุกรานเสมอ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งทำให้ \"เวียงลคอร\" มีอำนาจต่อรองพอที่จะได้รับอานิสงส์ความมั่งคั่งด้วย", "title": "จังหวัดลำปาง" }, { "docid": "96221#8", "text": "ส่วนประเพณีการจุดบอกไฟของไท-ยวนแห่งอาณาจักรล้านนา อาจารย์อรไทเล่าว่า ชาวไท-ยวน เป็นชนเผ่าไทเมืองหรือไทมุง ที่อพยพมาจากอาณาจักรไทเดิม ในมณฑลยูนนานไม่ต่ำกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ได้ก่อตั้งอาณาจักรโยนกนครขึ้นบริเวณลุ่มน้ำโขง ดังนั้น การจุดบอกไฟจึงเป็นประเพณีโบราณของชนเผ่าไท-ยวนมาตั้งแต่อาณาจักรไทเมืองไม่ต่ำกว่า 5,000 ปีมาแล้ว ก่อนที่จะอพยพมาตั้งอาณาจักรโยนกนคร เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อน ชาวไท-ยวนจะเรียกว่า บอกไฟขึ้น เช่นเดียวกับไทลื้อ และเมื่อทำบอกไฟแล้วจะนำไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนาพุทธที่วัดเรียกว่า การประเคนบั้งไฟ อีกทั้งจะมีการแต่งเพลงที่ใช้เซิ้งบอกไฟ และมีการแห่เซิ้งบอกไฟไปที่ก้าง (ค้าง) บอกไฟ ที่ทำเป็นเสาสูงใช้ไม้ตีเป็นบันไดสูงขึ้นไป เพื่อติดตั้งบอกไฟให้สูงเวลาจุดจะได้ส่งให้บอกไฟขึ้นสูงยิ่งขึ้น ปัจจุบันชาวไท-ยวน ที่ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ ยังคงสืบทอดการจุดบอกไฟนี้ประเพณีเช่นเดิม", "title": "บุญบั้งไฟ" }, { "docid": "6471#7", "text": "ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ปีที่เมืองน่านอยู่ในครอบครองของอาณาจักรล้านนา ได้ค่อยๆ ซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของล้านนามาไว้ในวิถีชีวิต โดยเฉพาะการรับเอาศิลปกรรมทางด้านศาสนา ปรากฏศิลปกรรมแบบล้านนาเข้ามาแทนที่ศิลปกรรมแบบสุโขทัยอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุแช่แห้ง เจดีย์วัดสวนตาล (มวลสารจากวัดสวนตาลใช้ทำพระสมเด็จจิตรลดา) เจดีย์วัดพระธาตุช้างค้ำ แม้จะเหลือส่วนฐานที่มีช้างล้อมรอบซึ่งเป็นลักษณะศิลปะแบบสุโขทัยอยู่ แต่ส่วนองค์เจดีย์ขึ้นไปถึงส่วนยอดเปลี่ยนเป็นศิลปกรรมแบบล้านนาไปจนหมดสิ้น ในระหว่างปี พ.ศ. 2103-2328 เมืองน่านได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าอยู่หลายครั้งและต้องเป็นเมืองร้างไร้ผู้คนถึง 2 ครา คือ ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2247-2249 ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2321-2344", "title": "จังหวัดน่าน" } ]
170
จอห์น วินสตัน โอโนะ เลนนอน เกิดที่เมืองใดในอังกฤษ ?
[ { "docid": "43986#1", "text": "จอห์นเกิดและเติบโตที่เมืองลิเวอร์พูล ในวัยเด็กคลั่งไคล้ดนตรีแนวสกิฟเฟิล จอห์นได้เป็นสมาชิกวง เดอะควอรีเม็น ต่อมาในปี 1960 เปลี่ยนเป็นเดอะบีเทิลส์ ครั้นยุบวงในปี 1970 เลนนอนออกผลงานเดี่ยวของตัวเอง เขาออกอัลบั้ม จอห์น เลนนอน/พลาสติกโอโนะแบนด์ และอัลบั้ม อิแมจิน ซึ่งได้รับคำยกย่องมากมาย อัลบั้มมีเพลงโดดเด่นอย่าง \"กิฟพีซอะชานซ์\" และ \"เวิร์กกิงคลาสฮีโร\" และ \"อิแมจิน\"หลังจอห์นสมรสกับโยโกะ โอโนะ ในปี 1969 เขาเปลี่ยนชื่อเป็น จอห์น โอโนะ เลนนอน เลนนอนปลีกตัวจากงานเพลงในปี 1975 เพื่อเลี้ยงดูบุตรชาย ฌอน แต่กลับมารวมตัวทำงานเพลงกับโยโกะ โอโนะ ในอัลบั้ม ดับเบิลแฟนตาซี เขาถูกฆาตกรรมสามสัปดาห์ก่อนออกอัลบั้มดังกล่าว", "title": "จอห์น เลนนอน" } ]
[ { "docid": "43986#11", "text": "แม็กคาร์ตนีย์กล่าวว่าป้ามีมี \"รู้ว่าเพื่อนของจอห์นเป็นคนฐานะด้อยกว่า\" และมักจะดูแลเขาเมื่อเขามาหาเลนนอน[31] ไมก์ พี่ชายของพอล กล่าวว่า พ่อของแม็กคาร์ตนีย์ก็ไม่สนับสนุน พร้อมกล่าวว่าเลนนอนจะพาลูกชายของเขา \"เจอแต่ปัญหา\"[32] แม้ว่าต่อมาเขาอนุญาตให้ซ้อมดนตรีในห้องหน้าบ้านของแม็กคาร์ตนีย์ที่บ้านเลขที่ 20 ถนนฟอร์ทลิน[33][34] ในระหว่างนี้ เลนนอนอายุ 18 ปีเขียนเพลงแรกชื่อ \"เฮลโลลิตเทิลเกิร์ล\" เป็นเพลงดังติด 10 อันดับแรกในสหราชอาณาจักรของวงเดอะโฟร์โมสต์ในอีกห้าปีต่อมา[35]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#0", "text": "จอห์น วินสตัน โอโนะ เลนนอน (English: John Winston Ono Lennon, MBE) (9 ตุลาคม 1940 - 8 ธันวาคม 1980) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงทั่วโลก และเป็นสมาชิกร่วมก่อตั้งวงเดอะบีเทิลส์ วงดนตรีที่ประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ในประวัติศาสตร์วงการดนตรี ร่วมกับสมาชิก พอล แม็กคาร์ตนีย์ เขากลายเป็นคู่หูนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "350963#1", "text": "ฌอน เลนนอน เกิดในนครนิวยอร์กเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 1975 ซึ่งเป็นวันครบรอบวันเกิด 35 ปีของพ่อของเขา , เขาเป็นคนอังกฤษและมีเชื้อสายไอริชจากบิดา เขาได้เชื่อสายญี่ปุ่นมาจากแม่ของเขา จูเลียน เลนนอนเป็นพี่น้องต่างมารดา กับ เคียวโกะ แจน ค็อกซ์ พี่สาวต่างมารดา เอลตัน จอห์น เป็นพ่ออุปถัมภ์หลังวันเกิดของฌอน จอห์น เลนนอนก็ดูแลเป็นอย่างดีจนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ฆาตกรรมในวันที่ 8 ธันวาคม 1980 ฌอน เข้าเรียนอนุบาลที่ โตเกียว และเรียนโรงเรียน \"Institut Le Rosey\" ที่เมือง Rolle , สวิตเซอร์แลนด์", "title": "ฌอน เลนนอน" }, { "docid": "319409#1", "text": "เพลง \"อิแมจิน\" ออกเป็นซิงเกิ้ลในสหรัฐอเมริกา ติดอันดับ 3 บนบิลบอร์ดฮอต 100 เป็นซิงเกิ้ลอันดับ 1 ซิงเกิ้ลเดียวของซิงเกิ้ลหลังที่อยู่กับวงเดอะบีตเทิลส์ในชาร์ตออสเตรเลีย ติดอันดับ 1 นาน 5 สัปดาห์ เพลงนี้ยังเป็น 1 ใน 3 เพลงของเลนนอนในฐานะศิลปินเดี่ยว ร่วมกับเพลง \"Instant Karma!\" และ \"Give Peace a Chance\" ที่อยู่ในรายชื่อ 500 เพลงที่มีอิทธิพลของร็อกแอนด์โรล ในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล นิตยสารโรลลิงสโตนยังจัดให้อยู่อันดับ 3 ของเพลงที่ยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาล ใน 500 อันดับเพลง\nนอกจากนี้เพลง อิแมจิน เป็นหนึ่งในเพลง ปิดพิธีโอลิมปิกฤดูร้อน 2012ซึ่งเป็นหนึ่งในไฮไลท์ของงาน ที่มีเด็กพิการออทิสติกมาร่วมร้องบรรเลง เพลงนี้รวมถึง ชาวอังกฤษและนักกีฬาโอลิมปิกในสนาม ที่อยู่ในสนามต่างช่วยกันร้องเพลงนี้จนดังกึกก้องสนามโอลิมปิก \nเพลงอิแมจิน ของจอห์น เลนนอน นั้นมีโครงสร้างเพลงที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนเป็นเพลงสั้นๆที่ได้ใจความ ไม่มีลูกเล่นอะไรมากมาย เพลงนี้ จอห์นกับภรรยา โยโก ได้ร่วมแสดง ใน มิวสิก วิดีโอด้วย โดยที่ตอนแรก จอห์น เลนนอนเดินเคียงคู่กับโยโก มาที่บ้านหลังหนึ่ง ต่อจากนั้นจอห์นเล่นเปียโน พร้อมกับร้องเพลง ส่วนโยโก ไม่ได้ร้อง แต่เป็นคนเปิดผ้าม่านในห้องมืดๆ ซึ่งหมายถึง การเปิดผ้าม่านเพื่อให้ห้องได้รับแสงสว่างในยามเช้า คอนเซปของเพลงนั้น คือ เพื่อให้โลกได้รับรู้ว่าทุกคนมีความฝัน คนเรานั้นไม่ใช่ว่าจะมีความฝันแล้วจะไม่เป็นความจริงเสมอ เปรียบเหมือนห้องมืดๆที่ซึ่ง ดูแล้วเหมือนคนไม่มีจินตนาการไม่มีความฝันเอาเสียเลย แต่เมื่อลองเปิดตาสู่โลกกว้างก็จะสามารถ ทำให้เรามีจินตนาการการได้ เพราะจินตนาการเกิดจากการสั่งเกตุจากสิ่งรอบๆตัว ก็เปรียบเหมือนห้องที่สว่าง ไม่ยอมให้ความมืดเขาครอบงำ", "title": "อิแมจิน (เพลง)" }, { "docid": "685191#0", "text": "จอห์น เลนนอน เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงทั่วโลกในฐานะหนึ่งในสมาชิกวงเดอะบีเทิลส์ จากผลงานเดี่ยว และจากการเป็นนักกิจกรรมทางการเมืองและสันตินิยม เขาถูกมาร์ก เดวิด แชปแมน ยิงเสียชีวิตโดยการเอาปืนมาสังหารที่ทางเข้าอพาร์ตเมนต์ เดอะดาโคตา (The Dakota) ที่เขาพักอยู่ ในนครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1980 เลนนอนเพิ่งกลับจากสตูดิโอเรเคิร์ดแพลนต์ (Record Plant Studio) พร้อมกับภรรยา โยโกะ โอะโนะ", "title": "การเสียชีวิตของจอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#26", "text": "ต้นปี ค.ศ. 1974 เลนนอนดื่มหนักและพฤติกรรมที่เกิดจากแอลกอฮอล์ระหว่างเขากับแฮร์รี นิลสันทำให้เกิดพาดหัวข่าว เหตุการณ์ใหญ่สองเหตุการณ์ที่เป็นข่าวเกิดขึ้นที่คลับเดอะทรูบาโดร์ในเดือนมีนาคม ครั้งแรก เมื่อเลนนอนวางผ้าอนามัยบนหน้าผากและทะเลาะกับบริกรหญิงคนหนึ่ง ครั้งที่สอง หลังจากนั้นสองสัปดาห์ เมื่อเลนนอนและนิลสันถูกไล่ออกจากร้านเดียวกันหลังจากทะเลาะวิวาทกับวงสมาเทอส์บราเธอส์[110] เลนนอนตัดสินใจทำอัลบั้มของนิลสันชื่อ พุสซีแคตส์ และแพงเช่าบ้านริมหาดที่ลอสแอนเจลิสให้กับนักดนตรีทุกคน[111] แต่หนึ่งเดือนหลังเกิดพฤติกรรมเสเพล ผนวกกับช่วงอัดเสียงเกิดความโกลาหล เลนนอนย้ายไปนิวยอร์กกับแพงเพื่อทำอัลบั้มเพลงจนเสร็จ ในเดือนเมษายน เลนนอนทำเพลง \"ทูเมนีคุกส์ (สปอยส์เดอะซุป)\" ของมิก แจกเกอร์ เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับสัญญา เพลงไม่ได้ออกเผยแพร่นานกว่า 30 ปี แพงบรรจุเพลงไว้ในอัลบั้มรวมเพลง เดอะเวรีเบสต์ออฟมิกแจกเกอร์ (2007)[112]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#25", "text": "ขณะที่เลนนอนกำลังอัดเสียงอัลบั้ม ไมนด์เกมส์ (1973) เขาและโอโนะตัดสินใจแยกทางกัน เวลาผ่านไป 18 เดือน เขาใช้ชีวิตอยู่ในลอสแอนเจลิสและนิวยอร์กในบริษัทของเมย์ แพง เขาเรียกช่วงเวลานี้ว่า \"สุดสัปดาห์ที่หายไป\" (lost weekend)[109] อัลบั้ม<i data-parsoid='{\"dsr\":[28850,28864,2,2]}'>ไมนด์เกมส์</i>ออกภายใต้ชื่อศิลปินว่า \"พลาสติก ยู.เอฟ.โอโนะแบนด์\" ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1973 เลนนอนร่วมแต่งเพลง \"ไอม์เดอะเกรตเทสต์\" ในอัลบั้มริงโก (1973) ของริงโก สตาร์ วางจำหน่ายในเดือนเดียวกัน (มีอีกเวอร์ชันถึงจากตอนอัดอัลบั้ม<i data-parsoid='{\"dsr\":[29105,29114,2,2]}'>ริงโก 1973 โดยเลนนอนร้องนำ ปรากฏในบ็อกซ์เซตจอห์นเลนนอนแอนโทโลจี)", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#30", "text": "หลังพักงานดนตรี เลนนอนกลับมาในวันที่ตุลาคม ค.ศ. 1980 โดยออกซิงเกิล \"(จัสต์ไลก์) สตาร์ทิงโอเวอร์\" ตามมาด้วยอัลบั้มดับเบิลแฟนตาซีในเดือนถัดมา อัลบั้มมีเพลงที่แต่งระหว่างเลนนอนเดินทางไปเบอร์มิวดาบนเรือใบยาว 43 ฟุต เมื่อเดือนมิถุนายน[124] ซึ่งสะท้อนถึงความอิ่มเอมในชีวิตครอบครัวที่มั่นคง[125] ต่อมามีการวางแผนอัดเสียงอัลบั้มเพลงถัดไปคือ มิลก์แอนด์ฮันนี (ออกจำหน่ายหลังเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1984)[126] อัลบั้มดับเบิลแฟนตาซีออกจำหน่ายร่วมกันในนามเลนนอนและโอโนะ ได้รับการตอบรับที่ไม่ดีนัก ความคิดเห็นหนึ่งในหนังสือพิมพ์เมโลดีเมเกอร์กล่าวว่า \"ตามใจตัวจนเป็นหมัน ... เรื่องน่าเบื่อที่โหดร้าย\"[127]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#19", "text": "ปลายปี 1968 เลนนอนแสดงในภาพยนตร์เรื่องเดอะโรลลิงสโตนร็อกแอนด์โรลเซอร์คัส (ออกฉายในปี 1996) ในบทสมาชิกวงเดอร์ตีแม็ก ซูเปอร์กรุปนี้ประกอบด้วยจอห์น เลนนอน เอริก แคลปตัน คีธ ริชาดส์ และมิตช์ มิตเชลล์ และร้องเบื้องหลังโดยโอโนะ[75] เลนนอนและโอโนะสมรสกันในวันที่ 20 มีนาคม 1969 และออกจำหน่ายภาพพิมพ์หินชื่อ \"แบกวัน\" (Bag One) 14 ภาพ เป็นภาพบรรยายถึงช่วงเวลาฮันนีมูนของพวกเขา ภาพจำนวนแปดภาพถูกมองว่าไม่เหมาะสมและส่วนใหญ่ถูกห้ามจำหน่ายและริบไว้[76] ความสร้างสรรค์ของเลนนอนยังคงดำเนินต่อไปกับวงเดอะบีเทิลส์ และระหว่างปี 1968 และ 1969 เขาและโอโนะบันทึกอัลบั้มเพลงแนวดนตรีทดลองร่วมกัน ได้แก่ อัลบั้มอันฟินิชด์มิวสิกนัมเบอร์ 1: ทูเวอร์จินส์[77] (ปกเป็นที่รู้จักมากกว่าเพลง) อันฟินิชด์มิวสิกนัมเบอร์ 2: ไลฟ์วิดเดอะไลออนส์ และเวดดิงอัลบั้ม ในปั 1969 พวกเขาตั้งวง พลาสติกโอโนะแบนด์ ออกอัลบั้มไลฟ์พีซอินโตรอนโต 1969 ระหว่างปี 1969 และ 1970 เลนนอนออกซิงเกิล \"กิฟพีซอะชานซ์\" (ถูกนำไปเปิดเป็นเพลงรณรงค์การต่อต้านสงครามเวียดนามในปี 1969)[78] \"โคลด์เทอร์คี\" (เล่าเรื่องการถอนยาหลังจากเขาเสพติดเฮโรอีน)[79] และ \"อินสแตนต์คาร์มา\" ในการประท้วงการที่บริเตนเข้าไปเกี่ยวข้องกับสงครามกลางเมืองไนจีเรีย[80] กองกำลังสนับสนุนของอเมริกาในสงครามเวียดนาม และประท้วงที่เพลง \"โคลด์เทอร์คี\" ตกอันดับชาร์ต[81] เลนนอนคืนเครื่องอิสริยาภรณ์ของอาณาจักรบริติชให้พระราชินี แม้ว่าจะไม่มีผลใด ๆ ต่อสถานะของเครื่องอิสริยาภรณ์ของอาณาจักรบริติชของเขา เนื่องจากสถานะไม่อาจยกเลิกได้[82]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#21", "text": "ในปี 1970 เลนนอนและโอโนะเข้ารับการบำบัดพื้นฐานกับอาร์เธอร์ แจเนิฟ ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย การบำบัดถูกออกแบบมาให้ปลดปล่อยความเจ็บปวดทางอารมณ์ในวัยเด็กออกมา การบำบัดกับแจเนิฟใช้เวลา 4 เดือน เดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละครึ่งวัน เลนนอนอยากบำบัดให้นานกว่านั้น แต่พวกเขารู้สึกว่าไม่จำเป็นและเดินทางกลับลอนดอน[88] อัลบั้มเพลงที่เต็มไปด้วยอารมณ์ความรู้สึกอัลบั้มแรกของเลนนอน จอห์น เลนนอน/พลาสติกโอโนะแบนด์ (1970) ได้รับคำชมอย่างสูง นักวิจารณ์ เกรล มาร์คัส กล่าวว่า \"ท่อนที่จอห์นร้องในท่อนสุดท้ายของ 'ก๊อด' อาจจะเป็นท่อนร็อกที่ดีที่สุด\"[89] อัลบั้มมีเพลง \"มาเธอร์\" ซึ่งเลนนอนเคยต้องเผชิญกับความรู้สึกที่มีต่อการถูกปฏิเสธในวัยเด็ก[90] และเพลง \"เวิร์กกิงคลาสฮีโร\" เป็นการโจมตีระบบทางสังคมชนชั้นกลาง ซึ่งจากเนื้อเพลงที่ว่า \"you're still fucking peasants\" แสดงความรังเกียจต่อนักข่าว[91][92] ในปีเดียวกัน มุมมองทางการเมืองของทารีก อาลี ที่แสดงออกขณะสัมภาษณ์เลนนอน เป็นแรงบันดาลใจให้เลนนอนเขียนเพลง \"เพาเวอร์ทูเดอะพีเพิล\" เลนนอนยังพัวพันกับอาลีในการประท้วงต่อต้านการฟ้องร้องเกี่ยวกับความลามกของนิตยสาร<i data-parsoid='{\"dsr\":[24794,24801,2,2]}'>ออซ เลนนอนประณามการพิจารณาคดีความนี้ว่า \"ฟาสซิสม์น่าขยะแขยง\" และเขากับโอโนะ (ในนาม อิลาสติกออซแบนด์) ออกซิงเกิล \"ก๊อดเซฟอัส/ดูดิออซ\" และร่วมเดินขบวนสนับสนุนนิตยสารดังกล่าว[93]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "279277#1", "text": "ภายหลังการเสียชีวิตของจอห์น เลนนอน เจฟฟ์ ลินน์ได้ร่วมงานกับสมาชิกสามคนที่เหลือของเดอะ บีตเทิลส์ และโยโกะ โอโนะ สร้างผลงานใหม่จากเสียงร้องเดโมของเลนนอนที่บันทึกเสียงไว้ ได้ออกมาเป็นเพลง \"Free as a Bird\" และ \"Real Love\" ที่ได้รับรางวัลแกรมมี ", "title": "เจฟฟ์ ลินน์" }, { "docid": "43986#20", "text": "เลนนอนออกจากวงเดอะบีเทิลส์ในเดือนกันยายน 1969[83] และจะไม่ชี้แจงสื่อใด ๆ ขณะที่เจรจาสัญญาครั้งใหม่กับสังกัด แต่เขาโกรธที่แม็กคาร์ตนีย์เผยแพร่การแยกทางจากวงโดยออกผลงานเดี่ยวอัลบั้มแรกในเดือนเมษายน 1970 เลนนอนมีปฏิกิริยาว่า \"พระเจ้า! เขาเอาหน้าอยู่คนเดียวเลย\"[84] เขายังเขียนต่อไปว่า \"ผมก่อตั้งวง ผมยุบวง ง่าย ๆ อย่างนั้นเลย\"[85] ในบทสัมภาษณ์กับนิตยสารโรลลิงสโตน เขาแสดงความขุ่นเคืองต่อแม็กคาร์ตนีย์ว่า \"ผมมันโง่ที่ไม่ทำอย่างที่พอลทำ เพื่อที่จะใช้ข่าวนี้ขายงานเพลง\"[86] เขายังพูดว่าเขารับรู้ได้ถึงความเป็นปฏิปักษ์ที่สมาชิกคนอื่นมีต่อโอโนะ และเกี่ยวกับว่าแฮร์ริสัน และสตาร์ รู้สึก \"เบื่อการเป็นตัวประกอบให้กับพอล ... หลังจากไบรอัน เอปสไตน์เสียชีวิต พวกเราประสบปัญหา พอลรับช่วงต่อ และเป็นผู้นำทางพวกเรา แต่อะไรจะนำทางเราได้เมื่อเราเดินทางเป็นวงกลม\"[87]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "83322#0", "text": "โยโกะ โอโนะ (; 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476—) เป็นนักร้องชาวญี่ปุ่น และเป็นภรรยาคนที่สองของจอห์น เลนนอน นักร้องนำของวงเดอะบีเทิลส์", "title": "โยโกะ โอโนะ" }, { "docid": "43986#18", "text": "เลนนอนได้แสดงภาพยนตร์ต่อต้านสงครามเรื่อง ฮาวไอวันเดอะวอร์ แบบเต็มเรื่องเพียงเรื่องเดียวที่ไม่เกี่ยวกับเดอะบีเทิลส์ ภาพยนตร์ออกฉายในเดือนตุลาคม 1967[68] แม็กคาร์ตนีย์เป็นคนจัดการโครงการโครงการแรกของวงหลังเอปไตน์เสียชีวิต[69] ในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง แมจิคัลมิสเตอรีทัวร์ โดยพวกเขาเขียนบทเอง ผลิตเอง และกำกับเอง ฉายในเดือนธันวาคมปีนั้นเอง แม้ว่าภาพยนตร์จะล้มเหลวอย่างหนัก แต่เพลงประกอบภาพยนตร์ \"ไอแอมเดอะวอลรัส\" ซึ่งมีแรงบันดาลใจจากลูอิส แคร์รอลและทำให้เลนนอนได้รับคำชม กลับประสบความสำเร็จ[70][71] หลังจากเอปสไตน์จากไป สมาชิกวงเข้ามาทำกิจกรรมทางธุรกิจมากขึ้น และในเดือนกุมภาพันธ์ 1968 พวกเขาก่อตั้งแอปเปิลคอร์ บริษัทมัลติมีเดียที่ประกอบด้วยค่ายเพลงแอปเปิลเรเคิดส์ และบริษัทย่อยอีกหลายบริษัท เลนนอนพูดถึงการทำธุรกิจครั้งนี้ว่าเป็นความพยายามที่จะบรรลุ \"อิสรภาพทางศิลปินภายในโครงสร้างธุรกิจ\"[72] แต่ด้วยการใช้ยาที่มากขึ้น ความลุ่มหลงในตัวโยโกะ โอโนะ และแผนการสมรสของแม็กคาร์ตนีย์ เลนนอนลาออกจากแอปเปิลเนื่องจากต้องการการจัดการที่เป็นมืออาชีพ เลนนอนขอให้ลอร์ด บีชิง เข้ามาทำหน้าที่แทน แต่เขาปฏิเสธ โดยแนะนำเลนนอนให้กลับไปทำเพลง เลนนอนไปหาอัลเลน ไคลน์ ซึ่งเคยทำดนตรีให้เดอะโรลลิงสโตนส์และวงอื่น ๆ ระหว่างยุคการรุกรานของชาวบริติช เลนนอน แฮร์ริสัน และสตาร์ มอบหมายให้ไคลน์ทำหน้าที่ผู้บริหาร[73] แต่แม็กคาร์ตนีย์ไม่เซ็นสัญญาดังกล่าว[74]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#5", "text": "เลนนอนอาศัยอยู่กับลุงและป้า มีมี และ จอร์จ สมิธ ซึ่งไม่มีบุตรของตนเอง ที่เมนดิปส์ 251 ถนนเมนเลิฟ เมืองวูลตัน[11] ป้าซื้อนวนิยายเรื่องสั้นให้จอห์นหลายเล่ม และลุงเป็นเจ้าของฟาร์มวัวนมเคยซื้อหีบเพลงปากให้จอห์น และร่วมเล่นปริศนาอักษรไขว้กับจอห์นด้วย[12] จูเลียแวะมาที่เมนดิปส์เป็นประจำ และเมื่อจอห์นอายุได้ 11 ขวบ จอห์นมักจะมาเยี่ยมจูเลีย ที่ 1 ถนนบลอมฟิลด์ เมืองลิเวอร์พูล ซึ่งเธอเคยเล่นแผ่นเสียงของเอลวิส เพรสลีย์ สอนเขาเล่นแบนโจ และแสดงวิธีเล่นเพลงเพลง \"เอนต์แดตอะเชม\" ของแฟตส์โดมิโน[13] ในเดือนกันยายน 1980 เลนนอนให้ความเห็นเกี่ยวกับครอบครัวและนิสัยหัวรั้นของเขาว่า", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#4", "text": "เลนนอนเกิดในช่วงสงครามที่ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 1940 ที่โรงพยาบาลลิเวอร์พูลมาเทอร์นิตี ให้กำเนิดโดย จูเลีย เลนนอน (นามสกุลเดิม สแตนลีย์) และอัลเฟรด เลนนอน เชื้อสายไอริช มีอาชีพเป็นพ่อค้าเดินเรือ และไม่ได้อยู่ด้วยกันขณะเขาเกิด[2] พวกเขาชื่อบุตรว่าจอห์นตามชื่อปู่ว่า จอห์น \"แจ็ก\" แลนนอน ส่วนชื่อกลาง วินสตัน มาจากวินสตัน เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรในขณะนั้น[3] พ่อของเขามักจากบ้านไปทำงานบ่อย ๆ แต่ก็ยังส่งเช็คเงินสดมาเป็นประจำที่บ้านเลขที่ 9 ถนนนิวคาสเซิล ลิเวอร์พูล ที่จอห์นอาศัยอยู่กับแม่[4] เช็คหยุดส่งมาหาพวกเขาในกุมภาพันธ์ 1944 เนื่องจากพ่อปลดประจำการโดยไม่ได้รับอนุญาต[5][6] ในที่สุด หกเดือนต่อมา พ่อของจอห์นกลับมาบ้าน เสนอว่าจะดูแลครอบครัว แต่จูเลีย ตั้งครรภ์กับชายคนอื่นแล้ว จึงปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าว[7] หลังจากพี่สาวของจูเลีย มีมี สมิธ ร้องทุกข์กับบริการสังคมของลิเวอร์พูลถึงสองครั้ง จูเลียจึงส่งเลนนอนให้เธอดูแล ในเดือนกรกฎาคม 1946 พ่อของเลนนอนมาเยี่ยมสมิธ และพาเลนนอนไปเที่ยวในเมืองแบล็กพูล โดยตั้งใจลับ ๆ ว่าจะพาย้ายออกไปอยู่กับเขาที่ประเทศนิวซีแลนด์[8] แต่จูเลียและสามีคนใหม่ของเธอ บ็อบบี ไดกินส์ ตามไปจนพบ และหลังจากการทะเลาะวิวาทรุนแรง ผู้เป็นพ่อบังคับให้เลนนอนอายุ 5 ขวบเลือกว่าจะอยู่กับใคร เลนนอนเลือกพ่อของเขาถึงสองครั้ง แต่ขณะที่แม่ของเขาเดินจากไป เขาเริ่มร้องไห้และเลือกตามแม่ของเขาไป[9] เขาได้ติดต่อกับพ่อของเขาอีกครั้งหลังผ่านไป 20 ปี[10]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#33", "text": "เลนนอนและซินเธีย เพาเอลล์ (1939–2015) พบกันในปี 1957 เป็นนักเรียนที่วิทยาลัยศิลปะลิเวอร์พูล[134] แม้ว่าซินเธียจะเกรงกลัวทัศนคติและรูปกายของเลนนอน แต่เธอได้ยินว่าเขาหลงใหลนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศส บรีฌิต บาร์โด เธอจึงย้อมผมบลอนด์ เลนนอนชวนเธอเที่ยว แต่เมื่อเธอบอกว่าเธอหมั้นแล้ว เขาตะโกนดัง ๆ ว่า \"ผมไม่ได้ขอคุณแต่งงานนะ\"[135] เธอจึงไปงานแสดงของวงควอรีเม็นกับเขาและเดินทางไปเยี่ยมเขาที่ฮัมบูร์กพร้อมกับคนรักของแม็กคาร์ตนีย์ในเวลานั้น เลนนอนซึ่งมีนิสัยขี้หึง จึงเกิดความหึงวงและมักทำให้เพาเอลล์เกรงกลัวความเกรี้ยวโกรธและความรุนแรงถึงเนื้อถึงตัวของเขา[136] ต่อมาเลนนอนกล่าวว่า เขายังไม่เคยสงสัยในทัศนคติที่ก้าวร้าว<!--chauvinistic-->ต่อผู้หญิงในตัวเขาจนกระทั่งเขาพบกับโอโนะ เขากล่าวว่าเพลง \"เกตทิงเบตเทอร์\" ของเดอะบีเทิลส์ เล่าเรื่องราวของเขาเอง \"ผมเคยโหดร้ายกับผู้หญิง และถึงเนื้อถึงตัวกับผู้หญิงไม่ว่าจะเป็นคนใด ผมชอบตบตี ผมไม่อาจแสดงตัวตนของผมได้และผมก็ตบตี ผมสู้กับผู้ชายและผมตบตีผู้หญิง จึงเป็นเหตุที่ผมมักจะพูดถึงเรื่องสันติภาพตลอดเวลา\"[119]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "967217#0", "text": "จอห์น ชาลส์ จูเลียน เลนนอน () เกิด 8 เมษายน ค.ศ. 1963 เป็นนักดนตรีและช่างภาพชาวอังกฤษ เป็นบุตรชายของจอห์น เลนนอน กับภรรยาคนแรก ซินเทีย เลนนอน", "title": "จูเลียน เลนนอน" }, { "docid": "43986#15", "text": "เลนนอนตระหนักว่าแฟนคลับที่ชมคอนเสิร์ตของบีเทิลส์ไม่อาจได้ยินเสียงดนตรีได้เนื่องจากเสียงกรีดร้องดังมาก และความสามารถทางดนตรีของวงเริ่มมีปัญหา[52] เพลง \"เฮลป์!\" (ช่วยด้วย!) ของเลนนอนในปี ปี 1965 แสดงความรู้สึกของเขาว่า \"ผม<i data-parsoid='{\"dsr\":[16338,16349,2,2]}'>หมายถึง</i>อย่างนั้นจริง ๆ ผมกำลังร้องว่า 'ช่วยด้วย'\"[53] เขาน้ำหนักขึ้น (ต่อมาเขาเรียกช่วงเวลานี้ว่า \"เอลวิสอ้วน\")[54] และรู้สึกว่าจิตใต้สำนึกของเขากำลังมองหาความเปลี่ยนแปลง[55] ในเดือนมีนาคมปีนั้น เขาได้รู้จักกับยาแอลเอสดีโดยไม่รู้ตัว เมื่อเขาดื่มกาแฟที่มียานั้นอยู่[56] ขณะที่เขา แฮร์ริสัน และภรรยาของพวกเขาพบกับหมอฟันเจ้าของงานสังสรรค์มื้อเย็น เมื่อพวกเขาต้องการออกจากงานเลี้ยง เจ้าบ้านเปิดเผยสิ่งที่พวกเขาดื่มเข้าไป และแนะว่าไม่ให้ออกจากบ้านเนื่องจากยาจะออกฤทธิ์ ต่อมา ในลิฟต์ที่ไนต์คลับแห่งหนึ่ง พวกเขาทุกคนเชื่อว่าไฟกำลังครอกตัวพวกเขา \"พวกเรากรีดร้อง... ร้อนและเหมือนเป็นโรคประสาท\"[57] ในเดือนมีนาคม 1966 ระหว่างสัมภาษณ์กับนักข่าวหนังสือพิมพ์<i data-parsoid='{\"dsr\":[17107,17126,2,2]}'>อีฟนิงสแตนดาร์ด มอรีน คลีฟ เลนนอนกล่าวว่า \"คริสต์ศาสนาจะหายไป มันจะเลือนและหดหาย ตอนนี้พวกเราโด่งดังกว่าพระเยซูแล้ว ผมไม่รู้ว่าอะไรจะไปก่อนกัน ระหว่างร็อกแอนด์โรลกับคริสต์ศาสนา\"[58] ความเห็นนี้ไม่เป็นที่สังเกตในอังกฤษ แต่ก่อให้เกิดความขุ่นเคืองครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเมื่อนิตยสารฉบับหนึ่งนำคำกล่าวไปใช้ที่นั่นในห้าเดือนถัดมา หลังจากนั้นมีการปะทะเชิงอารมณ์ตามมา กิจกรรมของการเคลื่อนไหวคูคลักซ์แคลนและการขู่ทำร้ายเลนนอนทำให้วงตัดสินใจหยุดทัวร์คอนเสิร์ต[59]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "83322#1", "text": "โอโนะเกิดที่กรุงโตเกียว ในปี พ.ศ. 2476 ได้แต่งงานครั้งแรกกับ โทชิ อิจิยานางิ (Toshi Ichiyanagi) พ.ศ. 2499 ครั้งที่สองกับแอนโทนี ค็อกซ์ (Anthony Cox) พ.ศ. 2499 โดยมีบุตรสาวคนแรกชื่อ เคียวโกะ ชาน คอกซ์ (Kyoko Chan Cox) และแต่งงานครั้งที่สามกับนักร้องชาวอังกฤษ จอห์น เลนนอน เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2512 โดยมีลูกชายชื่อ ฌอน เลนนอน หรือ ฌอน ทาโร โอโนะ เลนนอน (Sean Taro Ono Lennon) เกิดวันเดียวกับบิดาของเขาในวันที่จอห์น เลนนอนอายุครบ 35 ปี (9 ตุลาคม พ.ศ. 2518)", "title": "โยโกะ โอโนะ" }, { "docid": "43986#28", "text": "เลนนอนร่วมแต่งเพลง \"เฟม\" เพลงอันดับหนึ่งในสหรัฐอเมริกาของเดวิด โบอี และเล่นกีตาร์และร้องเพลงเบื้องหลังขณะอัดเสียงในปี ค.ศ. 1975[116] ในเดือนเดียวกันนั้น เพลง \"ลูซีอินเดอะสกายวิทไดมอนส์\" ที่เอลตัน จอห์นนำมาร้องใหม่ขึ้นอันดับหนึ่ง โดยมีเลนนอนเล่นกีตาร์และร้องเบื้องหลังให้ (เลนนอนได้เครดิตในซิงเกิลภายใต้ชื่อเล่น \"ดร.วินสตัน โอบูกี\") ไม่นานหลังจากนั้น เขาและโอโนะกลับมารวมตัวกัน เลนนอนออกอัลบั้ม ร็อกเอ็นโรล (1975) อัลบั้มที่มีแต่เพลงทำใหม่เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ \"แสตนด์บายมี\" เป็นอีกเพลงจากอัลบั้มและได้รับความนิยมในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เป็นซิงเกิลสุดท้ายของเขาตลอดเวลาห้าปี[117] เขาปรากฏตัวบนเวทีครั้งสุดท้ายในงาน<i data-parsoid='{\"dsr\":[31900,31925,2,2]}'>อะซาลูตทูลิว เกรด จัดโดยเอทีวี บันทึกรายการในวันที่ 18 เมษายนและออกอากาศในเดือนมิถุนายน[118] เลนนอนแสดงเพลงจากอัลบั้ม<i data-parsoid='{\"dsr\":[32071,32086,2,2]}'>ร็อกเอ็นโรล</i>สองเพลง (\"แสตนด์บายมี\" ซึ่งไม่ได้ออกอากาศ และ \"สลิปปินแอนด์สไลดิน\") ตามด้วยเพลง \"อิเมจิน\" โดยเลนนอนเล่นกีตาร์โปร่งและหนุนด้วยวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีแปดชิ้น[118] วงดนตรีมีชื่อว่าเอตเซตเทรา (Etc.) สวมหน้ากากไว้หลังศีรษะ ซึ่งเลนนอนคิดเย้าแหย่ว่าเกรดเป็นพวกตีสองหน้า", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "190625#1", "text": "เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นแรงงานที่เมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ บิดาเป็นนักทรัมเป็ตและเปียโนในวงแจ๊สซึ่งสนับสนุนการเล่นดนตรีมาแต่เล็ก โดยเล่นทูบา เป็นเครื่องดนตรีชิ้นแรกต่อมาเปลี่ยนเป็นทรัมเป็ต ต่อมาในยุคความนิยมดนตรีสกิฟเฟิล (Skiffle) พอลจึงหันมาเล่นกีตาร์ จนในยุคที่ร็อกแอนด์โรลโด่งดัง เพื่อนของเขา จอห์น เลนนอนจึงชวนมาตั้งวงที่ชื่อ \"แควร์รี่ เมน\" (Quarry Men) ต่อมาเปลี่ยนเป็นชื่อ เดอะบีทเทิลส์ จนโด่งดังไปทั่วโลก ซึ่งเขาและจอห์นก็ร่วมแต่งเพลงฮิตมากมายหลายเพลง เช่น Lady Madonna, Here Today, Wanderlust , Yesterday จนในปี 1970 วงเดอะบีทเทิลส์ก็แตกวงไป พอแยกมาทำอัลบั้มร่วมกับภรรยา ลินดา แม็กคาร์ตนีย์ ในชื่อ \"วิงส์\" (Wings) ", "title": "พอล แม็กคาร์ตนีย์" }, { "docid": "11781#16", "text": "ส.ส. วินสตันเป็นบุคคลที่ต่อต้านความเคลื่อนไหวต่างๆเพื่อปลดแอกอินเดียรวมถึงต่อต้านกฎหมายที่จะให้เอกราชแก่อินเดีย ในปี 1920 เขากล่าวว่า \"คานธีควรจะถูกมัดมือมัดเท้าไว้หน้าประตูเมืองเดลี แล้วก็ปล่อยให้ช้างตัวเบ้อเร่อเหยียบ\"[24][25] ยังมีเอกสารระบุในภายหลังอีกว่า วินสตันอยากจะเห็นคานธีอดอาหารให้ตายๆไปซะ[26] วินสตันเป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มที่มีชื่อว่า สันนิบาตป้องกันอินเดีย (India Defence League) เป็นกลุ่มที่เคลื่อนไหวเพื่อธำรงไว้ซึ่งอิทธิพลของอังกฤษในอินเดีย ในปี 1930 วินสตันออกมาประกาศว่า กลุ่มคนและทุกอย่างของลัทธิคานธีจะต้องถูกจับกุมและถูกทำลาย[27] วินสตันถึงขนาดแตกหักกับนายกรัฐมนตรีบอลดวินที่จะเริ่มกระบวนการให้เอกราชแก่อินเดีย โดยกล่าวว่าจะไม่ขอรับตำแหน่งใดๆในรัฐบาลอีกตราบใดที่บอลดวินยังเป็นนายกฯอยู่", "title": "วินสตัน เชอร์ชิล" }, { "docid": "211622#1", "text": "จุดประสงค์ของการก่อสร้างเมื่อเริ่มแรกเพื่อเป็นของขวัญสำหรับจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระเพื่อเป็นการตอบแทนในการนำกองทัพอังกฤษรบชนะฝรั่งเศสและบาวาเรีย แต่ต่อมาเบลนิมกลายเป็นปัญหาในการต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลบะระสิ้นอำนาจ รวมทั้งการเสียชื่อเสียงของสถาปนิกจอห์น แวนบรูห์ ตัววังสร้างเป็นแบบบาโรก ปฏิกิริยาหรือคุณค่าของสิ่งก่อสร้างจนบัดนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันได้ เช่นเดียวกับในสมัยเมื่อเริ่มสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1720 ตัวสิ่งก่อสร้างเป็นลักษณะที่ผสมระหว่างที่อยู่อาศัย, ที่เก็บศพ และ อนุสาวรีย์ นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นที่เกิดของวินสตัน เชอร์ชิลอดีตนายกรัฐมนตรีคนสำคัญของอังกฤษ", "title": "วังเบลนิม" }, { "docid": "43986#35", "text": "ซินเธียแจงว่าสาเหตุที่เตียงหักคือแอลเอสดี ผลก็คือ เธอรู้สึกว่าเขาเริ่มสนใจเธอน้อยลง[140] เมื่อวงเดินทางไปงานสัมมนาการสมาธิอดิศัยของมาฮาริชิ โยกิ ที่แบงเกอร์ ประเทศเวลส์ ทางรถไฟ ในปี 1967 ตำรวจคนหนึ่งจำหน้าเธอไม่ได้ และไม่อนุญาตให้เธอโดยสารรถไฟ ต่อมาเธอจำได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นดั่งสัญลักษณ์แทนจุดจบของการสมรส[141] หลังมาถึงบ้านที่เคนวูด และพบเลนนอนอยู่กับโอโนะ ซินเธียออกจากบ้านไปอยู่กับเพื่อน ภายหลัง อเล็กซิส มาร์ดัส อ้างว่านอนกับเธอคืนนั้น และสองสามสัปดาห์ถัดมา เขาบอกเธอว่าเลนนอนกำลังหาทางหย่าร้างและพาจูเลียนไปอยู่ด้วย โดยอ้างว่าเพราะเธอมีชู้ หลังเจรจาต่อรอง เลนนอนยินยอม และยอมให้เธอหย่ากับเขาในข้อหาเดียวกัน คดีนี้ถูกตัดสินในศาลในเดือนพฤศจิกายน 1968 โดยเลนนอนจ่ายให้เธอ 100,000 ปอนด์ (240,000 ดอลลาร์สหรัฐในขณะนั้น) เป็นค่าใช้จ่ายรายปีเล็กน้อย และให้เธอเป็นผู้ปกครองจูเลียนต่อไป[142]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "43986#27", "text": "กลับไปที่นิวยอร์ก เลนนอนอัดอัลบั้ม วอลส์แอนด์บริดเจส วางจำหน่ายในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1974 ในอัลบั้มมีเพลง \"วอตเอเวอร์เกตส์ยูทรูเดอะไนต์\" ได้เอลตัน จอห์นมาร้องเบื้องหลังและบรรเลงเปียโนให้ และกลายเป็นซิงเกิลเดี่ยวเพลงเดียวของเลนนอนที่ขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตบิลบอร์ด</i>ฮอต 100 ขณะที่เขายังมีชีวิตอยู่[113]b ซิงเกิลที่สองจากอัลบั้มคือ \"#9 ดรีม\" วางจำหน่ายตามมาในปลายปี เลนนอนช่วยแต่งเพลงและบรรเลงเปียโนให้สตาร์อีกครั้งในอัลบั้มกูดไนต์เวียนนา (1974)[114] ในวันที่ 28 พฤศจิกายน เลนนอนเป็นแขกรับเชิญในคอนเสิร์ตขอบคุณพระเจ้าของเอลตัน จอห์นที่แมดิสันสแควร์การ์เดน ตามสัญญาที่ว่าเขาจะร่วมแสดงสดหากเพลง \"วอตเอเวอร์เกตส์ยูทรูเดอะไนต์\" ประสบความสำเร็จและขึ้นอันดับหนึ่ง เลนนอนแสดงเพลงนั้น ร่วมด้วยเพลง \"ลูซีอินเดอะสกายวิทไดมอนส์\" และ \"ไอซอว์เฮอร์สแตนดิงแดร์\" ซึ่งเขากล่าวก่อนร้องเพลงดังกล่าวว่า \"เป็นเพลงของคู่หมั้นที่บาดหมางกับผม ชื่อพอล\"[115]", "title": "จอห์น เลนนอน" }, { "docid": "11781#0", "text": "เซอร์<b data-parsoid='{\"dsr\":[2047,2089,3,3]}'>วินสตัน เลนเนิร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (English: Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ \"วินสตัน\" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล", "title": "วินสตัน เชอร์ชิล" }, { "docid": "869159#0", "text": "จอห์น วินดัม ปากส์ ลูคัส เบย์นอน แฮร์ริส (; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1903 – 11 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองดอร์ริดจ์ในวอริกเชอร์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตเวสต์มิดแลนส์) เป็นบุตรของจอร์จ เบย์นอน แฮร์ริสกับเกอร์ทรูด ปากส์ มีน้องชายที่ต่อมาเป็นนักเขียนเช่นกันคือ วิเวียน เบย์นอน แฮร์ริส วินดัมใช้ชีวิตวัยเด็กในเขตเอดจ์บาสตันในเมืองเบอร์มิงแฮม เมื่อเขาอายุได้ 8 ปี บิดาและมารดาของเขาแยกกันอยู่ วินดัมเรียนในหลายโรงเรียนก่อนจะเรียนที่โรงเรียนบีเดลส์ จากนั้นเขาทำงานหลายอย่างรวมถึงเขียนเรื่องสั้นให้นิตยสารอเมริกันหลายฉบับ โดยใช้นามปากกาส่วนใหญ่ว่า \"จอห์น เบย์นอน\" และ \"จอห์น เบย์นอน แฮร์ริส\"", "title": "จอห์น วินดัม" }, { "docid": "350963#0", "text": "ฌอน ทาโร โอโนะ เลนนอน () หรือชื่อญี่ปุ่นว่า ทาโร โอโนะ (; เกิด: 9 ตุลาคม ค.ศ. 1975) เป็นนักร้อง, นักแต่งเพลง และนักดนตรีชาวอเมริกัน เขาเป็นบุตรชายคนเดียวของจอห์น เลนนอน กับโยโกะ โอโนะ โดยมีพ่อบุญธรรมคือ เอลตัน จอห์น", "title": "ฌอน เลนนอน" } ]
3678
หลุยส์ แกเบรียล บ็อบ เกิดเมื่อไหร่?
[ { "docid": "125837#0", "text": "หลุยส์ แกเบรียล บ็อบ (English: Louise Gabrielle Bobb) (เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2513) หรือที่รู้จักกันในวงการเพลงคือ แกเบรียล (English: Gabrielle) เป็นศิลปินนักร้องและนักแต่งเพลงหญิงชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองแฮกนี่ย์ ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นบุคคลที่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังตาตกด้านขวา[1] เธอเปิดตัวด้วยซิงเกิลแรกที่มีชื่อว่า \"ดรีมส์\" ซึ่งสามารถขึ้นสู่อันดับ 1 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร (English: UK Singles Chart) เมื่อปี พ.ศ. 2536 และมีผลงานซิงเกิลอื่นๆเช่น \"โกอิงโนแวร์\", \"กิฟมีอะลิตเติลมอร์ไทม์\", \"วอล์กออนบาย\" และ \"อิฟยูเอเวอร์\" ซึ่งร้องร่วมกับนักร้องกลุ่มบอยแบนด์ อีสต์ เซเวนทีน", "title": "แกเบรียล" } ]
[ { "docid": "976803#0", "text": "\"เอาต์ออฟรีช\" () คือเพลงของ แกเบรียล นักร้องหญิงชาวอังกฤษ แต่งขึ้นโดย แกเบรียล และ Jonathan Shorten ซึ่งได้ทำเพลงร่วมกันเพื่อใช้ประกอบภาพยนตร์แนวตลกโรแมนติกของ Sharon Maguire เรื่อง \"บริดเจต โจนส์ ไดอารี่ บันทึกรักพลิกล็อก\" ( เมื่อปี พ.ศ. 2544 ถูกเลือกให้เป็นซิงเกิลนำจากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2544 และกลายเป็นซิงเกิลยอดนิยมสูงสุดของแกเบรียลนับตั้งแต่เพลง \"Dreams\" เมื่อปี พ.ศ. 2536 เพลงนี้สามารถติดอันดับที่ 4 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร และอันดับที่ 9 ในออสเตรเลีย อีกทั้งยังประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในนิวซีแลนด์ ที่สามารถติดอันดับที่ 2 เป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ในเดือนกันยายนปี พ.ศ. 2544", "title": "เอาต์ออฟรีช" }, { "docid": "313386#0", "text": "บ็อบบี เรย์ ซิมมอนส์ () หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ บ็อบบี เรย์ หรือ บี.โอ.บี () เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 เป็นศิลปินดนตรี โปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน จากแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย เซ็นสัญญากับค่ายแกรนด์ฮัสเซิล และแอตแลนติกเรเคิดส์", "title": "บี.โอ.บี" }, { "docid": "336246#2", "text": "เขามีเพลงของเขาถูกนำมาทำใหม่โดยศิลปินอื่นหลายเพลง ตั้งแต่แนวป็อป, กอสเปล, บลูส์ และร็อก เช่น ทาวเนส แวน แซนต์, บ็อบ ดีแลน, ลีโอนาร์ด โคเฮน, เบ็ก แฮนเซน, จอห์นนี แคช, โทนี เบนเนตต์, เดอะเรซิเดนต์ส, แพตซี ไคลน์, เรย์ ชาร์ล และหลุยส์ อาร์มสตรอง", "title": "แฮงก์ วิลเลียมส์" }, { "docid": "662486#0", "text": "ฟิลิป เชส บ็อบบิตต์ (; เกิด 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1948) เป็นนักเขียน นักวิชาการ นักกฎหมาย และข้าราชการชาวอเมริกัน เคยสอนอยู่ในสหราชอาณาจักร เป็นผู้ที่มีความรู้ยอดเยี่ยมในด้านกลยุทธ์ทางทหาร กฎหมายรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังเคยเขียนหนังสือ \"Constitutional Fate: Theory of the Constitution\" (ค.ศ. 1982), \"The Shield of Achilles: War, Peace and the Course of History\" (ค.ศ. 2002) และ \"Terror and Consent: the Wars for the Twenty-first Century\" (ค.ศ. 2008) อีกด้วย", "title": "ฟิลิป บ็อบบิตต์" }, { "docid": "973953#0", "text": "บ็อบ เบนส์ (เกิด ค.ศ. 1952) เป็นนักแสดงประเทศออสเตรเลีย โดยบ็อบ เบนส์ ได้รับการชื่อเข้าชิงออสเตรเลียน อคาเดมี อวอร์ด สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ในภาพยนตร์โทรทัศน์", "title": "บ็อบ เบนส์" }, { "docid": "37709#2", "text": "เท่านั้นแหละฝูงชนก็เกิดความกลัวและโกรธ รวมตัวกันรุมเล่นงานบ็อบบี้ตำรวจจึงเข้ามาควบคุมตัวเขาไว้ก่อนเพื่อความปลอดภัย สก็อตต์ ซัมเมอร์ส ปรากฎตัวขึ้นและพยายามเลี้ยกล่อมให้เดรคไปอยู่กับทีมเอ็กซ์-เมน แต่บ็อบบี้ก็หัวแข็งใช่ย่อยจนลงเอยด้วยการต่อสู้กัน ก่อนที่เหตุการณ์จะยุติลง เมื่อศาสตราจารย์ เอ็กซ์เข้ามาสงบศึกและพูดหว่านล้อมจนบ็อบบี้เปลี่ยนใจในที่สุด", "title": "ไอซ์แมน" }, { "docid": "353902#0", "text": "โรเบิร์ต วิลเลียม \"บ็อบ\" ฮาเวิร์ด (Robert William \"Bob\" Howard) เกิดวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1963 เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เซ็นสัญญาปล้ำให้กับสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) ภายใต้ชื่อบนสังเวียนว่า เธอร์แมน \"สปาร์กี\" ปลัก (Thurman \"Sparky\" Plugg), บ็อบ \"สปาร์ก ปลัก\" ฮอลลี (Bob \"Spark Plug\" Holly), บอมบาสติก บ็อบ (Bombastic Bob) และ ฮาร์ดคอร์ ฮอลลี‎ (Hardcore Holly) เริ่มทำงานให้กับ WWE ตั้งแต่ปี 1995 จนถึงปี 2007 เขาได้จับคู่แทคทีมกับ โคดี โรดส์ และเคยได้แชมป์โลกแทคทีม 1 สมัย แต่ก็ถูกหักหลังโดยโคดี และเสียแชมป์โลกแทคทีมให้กับ เท็ด ดิบิอาซี่ คู่แทคทีมคนใหม่ของโคดี ปัจจุบันได้ลาออกจาก WWE แล้ว", "title": "ฮาร์ดคอร์ ฮอลลี" }, { "docid": "47225#7", "text": "แต่ภายหลังที่ได้แชมป์โลกแล้ว เขาค้อไม่สามารถที่จะป้องกันตำแหน่งไว้ได้เลยแม้สักครั้งเดียว โดยป้องกันตำแหน่งครั้งแรกก็แพ้แตก \"ไอ้ผมม้า\" มูน ซัง กิล นักมวยเกาหลีใต้ ถึงโซล ประเทศของผู้ท้าชิง และเมื่อได้โอกาสแก้มือ แม้สามารถเอาชนะไปได้ ได้แชมป์โลกกลับคืน เมื่อต้องป้องกันตำแหน่งครั้งแรก ในสมัยที่ 2 แพ้ทีเคโอ หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา นักมวยชาวฟิลิปปินส์ ไปในยกแรก แบบไม่น่าเชื่อ เพราะการชกยังไม่ทันได้เริ่มขึ้นเท่าไหร่ เขาค้อ จู่ ๆ ก็ล้มลงบนเวทีเสียเฉย ๆ โดยไม่ได้ถูกหมัดของคู่ชก และกรรมการก็ได้โบกมือยุติการชกทันที ด้วยเวลาเพียง 2.13 นาทีของยกแรกเท่านั้น", "title": "เขาค้อ แกแล็คซี่" }, { "docid": "673358#2", "text": "เมื่อถึงจุดๆหนึ่ง ที่ความรู้สึกของใครซักคน (หรืออาจจะทั้งคู่) ก้าวข้ามนิยามคำว่าเพื่อนไปมากกว่านั้นเมื­่อไหร่ ก็มักจะมีสัญญาณ (Sign) อะไรบางอย่างที่เกิดขึ้น อาทิเช่น คิดถึงอยากบอกให้รู้ (แต่ไม่กล้าบอก) สบตามองหน้ากันแล้วหวั่นไหว หัวใจเต้นด้วยจังหวะที่ไม่เหมือนเดิม อ่อนไหว อยากเทคแคร์เอาใจใส่ อาการเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อไหร่ ขอให้รู้ไว้เถอะว่า หัวใจได้ยึดอำนาจการปกครองสมองไปเรียบร้อย (รักประหาร) ", "title": "สัญญาณ (เพลงเจ็ตเซ็ตเตอร์)" }, { "docid": "92850#2", "text": "แต่แล้วในปีค.ศ. 1974 ปีเตอร์ แกเบรียล (Peter Gabriel)นักร้องนำได้ลาออกจากวง ทางวงจึงหานักร้องใหม่ ได้ทำการออดิชั่น 400คน ไม่เข้าตาสมาชิกในวงเลยแม้แต่น้อย ฟิล คอลลินส์จึงขอลองทดสอบดู ปรากฏว่าสมาชิกในวงถึงกับตะลึง ฟิล คอลลินส์จึงได้เป็นนักร้องนำแทนปีเตอร์ แกเบรียล และเป็นมือกลองควบคู่ไปด้วย ซึ่งก็ยังคงทำหน้าที่ได้ดีอยู่เช่นเดิม แม้ว่าจะต้องตีกลองไปด้วยร้องไปด้วยก็ตาม ", "title": "ฟิล คอลลินส์" }, { "docid": "847552#0", "text": "แกเบรียล บรูน (12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 – 18 มกราคม ค.ศ. 2005) เป็นนักแสดงหญิงชาวอังกฤษ", "title": "แกเบรียล บรูน" }, { "docid": "123775#0", "text": "\"วาย\" () คือเพลงที่ขับร้องโดย แกเบรียล นักร้องหญิงชาวอังกฤษ ประพันธ์โดย แกเบรียล, Ben Wolff, Andy Dean และ Paul Weller เพื่อบรรจุลงอัลบั้ม ออลเวส์ เพลงนี้แต่งขึ้นโดยอิงทำนองจากเพลง \"วาลด์ วูด\"() ของ พอล เวลเลอร์ โดยพอลยังได้ร่วมร้องเป็นเสียงพื้นหลังให้กับเพลงนี้ ที่มีเสียงแกบรียลเป็นเสียงร้องนำ และได้ David Cracknell (อดีตบรรณาธิการข่าวการเมืองของหนังสือพิมพ์ \"The Sunday Times)\" มาเป็นผู้เล่นเปียโนให้กับเพลงนี้ด้วย ", "title": "วาย" }, { "docid": "210754#0", "text": "อีวา แจ็กเกลีน ลองโกเรีย พาร์กเกอร์ () เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1975 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำ เคยได้รับรางวัลสกรีนแอ็กเตอร์สไกด์ เธอมีชื่อเสียงจากบทบาท Isabella Braña Williams ในละครน้ำเน่าช่องซีบีเอสเรื่อง \"The Young and the Restless\" เธอยังรับบทแกเบรียล โซลิส ในซีรีส์ทางช่องเอบีซี เรื่อง \"Desperate Housewives\"", "title": "อีวา ลองโกเรีย" }, { "docid": "589408#0", "text": "เรย์มอนด์ หลุยส์ ฮีแนน (Raymond Louis Heenan; 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 – 17 กันยายน ค.ศ. 2017) หรือที่รู้จักกันดี บ็อบบี ฮีแนน (Bobby Heenan) อดีตผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพและผู้บรรยายชาวอเมริกัน เคยทำงานอยู่สมาคมมวยปล้ำ American Wrestling Association (AWA), World Wrestling Federation (WWF) และ World Championship Wrestling (WCW) และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2004", "title": "บ็อบบี ฮีแนน" }, { "docid": "125837#16", "text": "สองอัลบั้มแรกของแกเบรียลนั้นได้แรงบันดาลใจจาก ศิลปินสไตล์เพลงคลาสสิกโซล อย่างเช่น มาร์วิน เกย์, แบร์รี ไวต์ และ บ็อบบี้ วอแมค อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่งในอัลบั้มนี้ก็ได้รับอิทธิพลจากสไตล์เพลงป็อปอังกฤษในช่วงต้นของยุค 80 อย่าง โซลทูโซล, ลิซา สแตนส์ฟิลด์ และ แมนทรอนนิก ส่วน \"ไรซ์\" อัลบั้มที่สามของแกเบรียลนั้นกล่าวถึง \"การมองโลกในแง่ดี, ความโรแมนติก, ความศรัทธา, และความกระตือรือร้นในสัญชาตญาณของการอยู่รอด\"[19] ส่วนอัลบั้ม \"เพลย์ทูวิน\" นั้นเป็นการผสมผสานกันของสไตล์เพลงต่างๆ ซึ่งแกเบรียลได้กล่าวถึงอิทธิพลที่ได้รับว่า \"อัลบั้มนี้มีส่วนผสมของแนวเพลง \"คันทรี\" มากขึ้น ดังนั้นมันจึงฟังดูน่าสนใจมาก\" เพราะนี่คือยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นเหตุผลที่แกเบรียลได้ตัดสินใจนำแนวเพลงคันทรีมาผสมผสานในผลงานเพลงของเธอเอง \"เพลงคันทรีไม่ใช่อะไรที่ผิด ใช่! ถึงฉันจะเป็นผู้หญิงผิวดำก็ตาม แต่ฉันก็ชอบคิดว่าฉันสามารถร้องเพลงสไตล์นี้ได้ อัลบั้มนี้จึงดูมีความหลากหลาย และคนที่ซื้ออัลบั้มนี้ไปฟังจะคาดหวังกันต่างๆนานาว่า มันคงเกี่ยวกับความรัก ชีวิตและเรื่องของการมองโลกในแง่ดี\"[20]", "title": "แกเบรียล" }, { "docid": "125837#4", "text": "ต่อมา พ.ศ. 2539 แกเบรียลได้ปล่อยอัลบั้มทีสอง ซึ่งใช้ชื่อของเธอเอง \"แกเบรียล\" เป็นชื่ออัลบั้ม อัลบั้มนี้เข้าสู่ ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร ในอันดับที่ 11 [6] จนกระทั่งมียอดขายในระดับ ทองคำขาว ภายในประเทศ อัลบั้ม \"แกเบรียล\" ยังสามารถเข้าสู่อันดับที่ 80 ใน ชาร์ต MegaCharts ของประเทศเนเธอร์แลนด์ด้วย[7] เปิดตัวด้วย \"กิฟมีอะลิตเติลมอร์ไทม์\" เป็นซิงเกิลแรก ทำให้แกเบรียลกลับมาติด ท็อป 10 ของชาร์ตเพลงในเกาะอังกฤษได้อีกครั้ง ซึ่งสูงสุดติดอยู่ในอันดับที่ 5 และเป็นเวลา 20 สัปดาห์ที่ติดอยู่ในท็อป 20 ของเกาะอังกฤษ เพลงนี้ติดในอันดับที่ 9 ในชาร์ตเพลงของประเทศไอร์แลนด์ และเป็นซิงเกิลที่ 4 ที่ขายดีในสหราชอาณาจักร ตามมาด้วย \"ฟอร์เก็ตอะเบาต์เดอะเวิลด์\" เป็นซิงเกิลที่สองจากอัลบัม แต่งโดย แกเบรียล, วูล์ฟ, ดีน, บาร์สัน ซึ่งเคยร่วมแต่งเพลง \"กิฟมีอะลิตเติลมอร์ไทม์\" มาแล้ว แต่เพลงนี้ก็ไม่ประสบความสำเร็จเท่าเพลงแรก สูงสุดได้แค่อันดับที่ 23 บนชาร์ตเพลงของเกาะอังกฤษเท่านั้น เป็นซิงเกิลที่ได้อันดับที่ต่ำที่สุดจากอัลบัมนี้ และเป็นซิงเกิลเดียวที่ไม่ติดท็อป 15 ตามมาด้วยซิงเกิลที่ 3 ด้วยเพลง \"อิฟยูเรียลลีแคร์ด\" ซึ่งแต่งโดย แกเบรียล, วูล์ฟ, ดีน, บาร์สัน เช่นเดียวกันกับสองเพลงแรก และเข้ามาติดอยู่ในท็อป 20 ของชาร์ตเพลงเกาะอังกฤษ โดยติดในอันดับที่ 15 บน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร ตามมาด้วยเพลง \"อิฟยูเอเวอร์\" ที่ร้องร่วมกับวง อีสต์ เซเวนทีน (English: East 17) โดยเป็นเพลงที่นำเพลงเก่าเพลง \"อีฟไอเอเวอร์ฟอลอินเลิฟ\" มาร้องใหม่ เพลงนี้เข้าสู่อันดับที่ 2 ในชาร์ตเพลงของเกาะอังกฤษ และอยู่ในอันดับที่ 4 ในชาร์ตเพลงของประเทศลัตเวีย และเพลงนี้เป็น 1 ใน 3 เพลงของแกเบรียลที่ติดท็อป 20 ในประเทศออสเตรเลียด้วย โดยสูงสุดที่อันดับที่ 16 ซึ่งเป็นอันดับที่สูงที่สุดของซิงเกิลที่มาจากอัลบั้มสองอัลบั้มแรก และเพลงนี้ได้ติดอันดับที่ 11 ของซิงเกิลบอยแบนด์ที่มียอดขายยอดเยี่ยมแห่งยุค 90 ในประเทศอังกฤษด้วย โดยขายได้ถึง 510,000 ก็อปปี้ และได้รับสถิติยอดขายในระดับ ทองคำ ด้วย และในปี พ.ศ. 2540 แกเบรียลได้ปล่อยซิงเกิลสุดท้ายจากอัลบั้มนี้ ด้วยเพลง \"วอล์กออนบาย\" ซึ่งเพลงนี้ติดอยู่ในอันดับที่ 7 ในชาร์ตเพลงของประเทศอังกฤษ", "title": "แกเบรียล" }, { "docid": "555430#0", "text": "ผลงานเพลงของ แกเบรียล () ศิลปินนักร้องหญิงชาวอังกฤษ ประกอบไปด้วยอัลบั้มสตูดิโอ 6 อัลบั้ม อัลบั้มรวมเพลง 3 อัลบั้ม อัลบั้มรีมิกซ์ 1 อัลบั้ม กับอีก 22 ผลงานซิงเกิล และผลงานที่ร่วมร้องอีกจำนวนหนึ่ง", "title": "รายชื่อผลงานเพลงของแกเบรียล" }, { "docid": "125837#3", "text": "ในเดือนช่วงธันวาคม พ.ศ. 2536 แกเบรียลได้ปล่อยซิงเกิลที่ 3 คือเพง \"ไอวิช\" แต่งโดยแกเบรียลและจอน ดูกลาส แต่เพลงนี้กลับไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เมื่อเทียบกับสองเพลงก่อนหน้านี้ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ทั้งสองเพลง โดยเพลงนี้ได้แค่อันดับที่ 26 ของ ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เท่านั้น และเป็นเพลงเดียวที่ได้อันดับที่ต่ำสุดของเธอ ตามมาด้วย \"บีคอสออฟยู\" ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ 4 และเป็นซิงเกิลสุดท้ายจากอัลบั้มแรกนี้ เพลงนี้แต่งโดยแกเบรียล, จอส แมคฟาร์เลน และเรย์ เซนท์ จอห์น สามารถทำได้เพียงอันดับที่ 24 ของ ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เท่านั้น ส่วนอัลบั้มเต็ม \"ไฟด์ยัวร์เวย์\" นั้น อันดับสูงสุดได้อันดับที่ 9 ใน ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร (English: UK Albums Chart)", "title": "แกเบรียล" }, { "docid": "598143#0", "text": "โรเบิร์ต ลี \"บ็อบ\" แบ็กลันด์ (Robert Lee \"Bob\" Backlund) เกิดวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1949 อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันของเวิลด์เรสต์ลิงเฟเดเรชั่น(WWF) เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ บ็อบ แบ็กลันด์ (Bob Backlund) เป็นอดีตแชมป์ WWFที่ครองได้นานที่สุดเป็นอันดับ2 และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 2013", "title": "บ็อบ แบ็กลันด์" }, { "docid": "964790#0", "text": "แกเบรียล () คืออัลบั้มสตูดิโอชุดที่ 2 ของแกเบรียล นักร้องหญิงอาร์แอนด์บีชาวอังกฤษ ออกจำหน่ายเมื่อช่วงปี พ.ศ. 2539 ติดบนชาร์ตอัลบั้มของสหราชอาณาจักรในอันดับที่ 11 และได้รับการยืนยันยอดขายในระดับแพลตินัม", "title": "แกเบรียล (อัลบั้ม)" }, { "docid": "127762#0", "text": "\"เอเวอรีลิตเติลเทียร์ดรอป\" () คือซิงเกิลที่ 2 จากอัลบั้ม ออลเวส์ ของแกเบรียล ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เป็นผลงานการประพันธ์ของแกเบรียล และ Julian Gallagher แกเบรียลได้นำซิงเกิลนี้ไปร้องสดในรายการโทรทัศน์ \"Loose Woman\" และรายการ \"GM TV\" เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ", "title": "เอเวอรีลิตเติลเทียร์ดรอป" }, { "docid": "790278#0", "text": "โรเบิร์ต แฟรนซิส รู้ด จูเนียร์ (Robert Francis Roode Jr.; เกิดวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดาที่รู้จักกันอย่างดีในนาม บ็อบบี รู้ด (Bobby Roode) เขาเป็นที่รู้จักกันดีในการปล้ำกับสมาคมโทเทิลนอนสต็อปแอคเชินเรสต์ลิง(TNA) มากว่า 12ปี ตั้งแต่ 2004 ถึง 2016 ปัจจุบันได้เซ็นสัญญาปล้ำให้กับWWE", "title": "บ็อบบี รู้ด" }, { "docid": "324915#0", "text": "อดัม แกเบรียล การ์เซีย () เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย นักเต้นแท็ป มีเชื้อสายโคลอมเบีย (พ่อของเขามาจากโคลอมเบีย) เขาเกิดที่วาห์รูนกา รัฐนิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย มีผลงานเป็นที่รู้จักในภาพยนตร์เรื่อง \"Coyote Ugly\" (2000) และ \"Bootmen\" (2000)", "title": "อดัม การ์เซีย" }, { "docid": "111616#1", "text": "โรเบิร์ต บ็อบ เนสตา มาร์เลย์เกิดในฟาร์มของปู่ของเขาในหมู่บ้านเล็ก Nine Mile , Saint Ann Parish, ประเทศจาเมกา โดยมี Norval Sinclair Marley (พ่อ) และ Cedella Booker (แม่). Norval Marley เป็นชาวยุโรปกึ่งจาเมกาและมีมรดกจากอังกฤษNorval อ้างว่าตนเป็นกัปตันอยู่ในกองนาวิกโยธิน , ในเวลาเดียวกันเขาก็ได้แต่งงานกับ Cedella Booker ชาวแอฟริกากึ่งจาเมกา หลังจากนั้นเมื่อเขาอายุได้ 18 ปี , เขาถูกว่าจ้างให้เป็นผู้ดูแลสวน บ็อบ มาร์เลย์ถูกตั้งชื่อว่า Nesta Robert Marley พาสปอร์ตอย่างเป็นทางการของชาวจาเมกามักจะดูชื่อแรกเกิดและชื่อกลาง Norval ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ภรรยาและลูกๆของเขา แต่ไม่ค่อยเห็นพวกเขาในขณะที่เขาก็มักจะออกไป บ็อบ มาร์เลย์ ศึกษาที่ โรงเรียนประถมศึกษา (Stepney Primary) \nและโรงเรียนมัธยมศึกษา (Junior High School) ซึ่งอยู่ใกล้ที่กักเก็บน้ำบริเวณเซนต์ แอน \nในปีค.ศ. 1955 ขณะที่บ็อบ มาร์เลย์มีอายุได้ 10 ขวบ , พ่อของเขาเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจขณะอายุ 70 ปี", "title": "บ็อบ มาร์เลย์" }, { "docid": "129621#0", "text": "\"สเตย์เดอะเซม\" () คือผลงานเพลงของแกเบรียล แต่งโดย แกเบรียล Richard Stannard, Julian Gallagher, Ferdy Unger-Hamilton และ Dave Morgan โปรดิวซ์โดย Stannard, Gallagher และ Unger-Hamilton เพื่อใช้บรรจุลงอัลบั้ม \"เพลย์ทูวิน\" เพลงนี้ถูกเลือกให้เป็นซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม สามารถขึ้น ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร ในอันดับที่ 20 ทำให้อัลบั้ม \"เพลย์ทูวิน\" ติดชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักรในอันดับ 10 ด้วย", "title": "สเตย์เดอะเซม" }, { "docid": "971003#0", "text": "\"ดอนต์นีตเดอะซันทูไชน์ (ทูเมกมีสไมล์)\" () คือเพลงของ แกเบรียล นักร้องหญิงชาวอังกฤษ แต่งโดย แกเบรียล และ Jonathan Shorten เพื่อใช้บรรจุลงอัลบั้มรวมเพลงฮิต \"ดรีมส์แคนคัมทรู, เกรเทสฮิตส์ ชุดที่ 1 \"ของเธอ รวมกับซิงเกิลฮิตจากสามอัลบั้มแรก เพลงนี้โปรดิวซ์โดย Shorten และถูกเลือกให้เป็นซิงเกิลนำของอัลบั้มด้วย สามารถติดอันดับที่ 9 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เป็นเพลงที่สิบของเธอ ที่ติดบนชาร์ต 10 อันดับแรกแห่งสหราชอาณาจักร", "title": "โดนต์นีดเดอะซันทูไชน์ (ทูเมกมีสไมล์)" }, { "docid": "195163#0", "text": "แอลฟอนซ์ แกเบรียล คาโปน () หรือ แอล คาโปน (Al Capone; 17 มกราคม 1899 – 25 มกราคม 1947) เป็นชาวสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นนักเลงโตในยุคประเวณีเฟื่องฟู และก่อให้เกิดองค์กรอาชญากรรมชื่อ \"ก๊วนชิคาโก\" (Chicago Outfit) หรือภายหลังเป็นที่รู้จักในชื่อ \"พวกคาโปน\" (Capones) ซึ่งอุทิศตนให้แก่การขนและค้าสุราเถื่อน รวมถึงกิจกรรมนอกรีตอย่างอื่น เช่น การค้าประเวณี ในเมืองชิคาโกระหว่างต้นทศวรรษที่ 1920 ถึงปี 1931", "title": "แอล คาโปน" }, { "docid": "125837#5", "text": "แกเบรียล เริ่มบันทึกเสียงเพื่อลงอัลบั้มที่ 3 ของเธอ ที่ใช้ชื่อว่า \"ไรซ์\" ในช่วง ปี พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2542 อัลบั้ม \"ไรซ์\" วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ภายในสหราชอาณาจักร และวางจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2543 และกลายเป็นอัลบั้มที่ขายดีที่สุดของเธอ เป็นอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก สามารถทะยานขึ้นสู่อันดับที่ 1 ใน ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร ได้ถึง 3 สัปดาห์ และได้รับสถิติ 4x ทองคำขาว เปิดตัวด้วย \"ซันไชน์\" ซิงเกิลแรกจากอัลบั้มนี้ เข้ามาสู่อันดับที่ 9 เป็นเพลงที่ 6 ที่ติดท็อป 10 ตามมาด้วยซิงเกิล \"ไรซ์\" เป็นซิงเกิลที่ 2 ของอัลบั้มนี้ เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับที่ 1 ได้อย่างงดงาม ซึ่งเป็นเพลงที่ 2 ที่ขึ้นอันดับ 1 ต่อจากเพลง \"ดรีมส์\" เพลง \"ไรซ์\" แต่งโดย แกเบรียล, ออลลี่ ดากอส, เฟอร์ดี้ อังเกอร์-ฮามิลตัน และ บ็อบ ดีแลน และโปรดิวซ์โดย จอนนี ดอลล่า เพลงนี้อิงทำนองมาจากเพลง \"นอกกิงออนเฮเวนส์ดอร์\" (English: Knockin' on Heaven's Door) ของ บ็อบ ดีแลน (English: Bob Dylan) เพลงนี้อยู่ในอันดับ 1 ใน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 จำหน่ายได้ถึง 460,000 ก็อปปี้ด้วยกัน ถือเป็นเพลงที่ขายดีอันดับที่ 14 ในช่วงปี พ.ศ. 2543 [6] ส่วนตัวอัลบั้มที่ใช้ชื่อเดียวกันนั้น ก็ติดท็อปอันดับ 1 อยู่ในชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลา 3 สัปดาห์ และอยู่ในชาร์ตนั้นรวมทั้งหมด 87 สัปดาห์ [6] และซิงเกิลต่อมา \"เว็นอะวูแมน\" เป็นซิงเกิลที่ 3 จากอัลบั้ม \"ไรซ์\" ปล่อยในช่วงเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2543 เพลงนี้ติดอันดับที่ 6 ใน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร กลายเป็นเพลงที่ 8 ที่ติดท็อป 10 ต่อด้วยซิงเกิลสุดท้ายจากอัลบั้มนี้ \"ชูดด์ไอสเตย์\" เพลงนี้ติดอันดับที่ 13 ใน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร เป็นเพลงที่ 4 ที่ติดท็อป 15 โดยตัวมิวสิควิดีโอเพลงนี้ให้อารมณ์ที่เศร้าเหมือนตัวเพลงได้อย่างดี และบางส่วนของเพลงได้ถูกตัดไปเป็นเพลงประกอบของช่องข่าว บีบีซีนิวส์ ด้วย และในปี พ.ศ. 2547 เพลงนี้ถูกใช้เป็นเพลงประกอบละครเพลงของช่อง บีบีซี เรื่อง \"แบล็คพูล\" (English: Blackpool)", "title": "แกเบรียล" }, { "docid": "662486#1", "text": "ฟิลิป บ็อบบิตต์ เกิดในเมืองเทมเปิล รัฐเทกซัส เป็นลูกคนเดียวของออสการ์ ไพรซ์ บ็อบบิตต์ (เสียชีวิต ค.ศ. 1995) และรีเบกกา ลูรัท จอห์นสัน บ็อบบิตต์ (ค.ศ. 1910-1978) ฟิลิปถือได้ว่าเป็นทายาทแท้ ๆ ของเฮนรี วิสเนอร์ ผู้แทนของรัฐนิวยอร์กในการลงนามประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา และทายาทของวิลเลียม บ็อบบิตต์ ชาวไร่เชื้อสายเวอร์จิเนีย (เสียชีวิต ค.ศ. 1673) พ่อและตาของรีเบกกา (แม่ของฟิลิป) ก็เป็นถึงสภานิติบัญญัติของรัฐเทกซัส และตาทวดยังเป็นประธานของมหาวิทยาลัยเบย์เลอร์ ", "title": "ฟิลิป บ็อบบิตต์" } ]
118
ราชวงศ์โชซ็อน ล่มสลายเมื่อใด?
[ { "docid": "209970#7", "text": "โครงสร้างทางสังคมของโชซอนที่มีมาหลายร้อยปี จึงล่มสลายลงในสมัยพระเจ้าซุนโจ", "title": "พระเจ้าซุนโจแห่งโชซ็อน" }, { "docid": "163253#33", "text": "ขณะเดียวกัน พระเจ้าโกจง ก็ทรงลี้ภัยไปประทับที่สถานกงสุลรัสเซีย ฝ่ายจักรวรรดิญี่ปุ่นได้อำนาจก็ทำการปรับปรุงจักรวรรดิโชซ็อนให้ทันสมัย โดยยกเลิกประเพณีเก่า ๆ โดยเฉพาะสั่งให้ผู้ชายทุกคนตัดจุก (ลัทธิขงจื๊อห้ามตัดผม) สร้างความไม่พอใจแก่ชาวเกาหลีอย่างมาก ชาวโชซ็อนทุกชนชั้นจึงรวมตัวกันเป็น สมาคมเอกราช (ทงนิบ-ฮย็อบพี) ต่อมาในปี พ.ศ. 2440 พระเจ้าโกจงทรงทนการรบเร้าจากสมาคมเอกราชมิได้ จึงทรงกลับมาประทับที่พระราชวังทอกซู และมีพระบรมราชโองการเลื่อนฐานะของอาณาจักรโชซ็อน เป็นจักรวรรดิโชซ็อนพร้อมเปลี่ยนสถานะของพระองค์จากพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรโชซ็อนเป็น สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโชซ็อน ภายหลังญี่ปุ่นได้สยบพระราชอำนาจของพระองค์ลงได้และสั่งให้นำตัวพระราชวงศ์ทั้งหมดไปอยู่ที่เกาะญี่ปุ่น ประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์โชซ็อนที่ยาวนานถึง 600 ปีจึงสิ้นสุดเพียงเท่านี้", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" }, { "docid": "163253#0", "text": "ราชวงศ์โชซอน (; ) หรือ ราชวงศ์ลี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1392-1910 (อย่างเป็นทางการ) โดยรวมแล้วราชวงศ์โชซอนมีอายุกว่า 600 ปี", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" } ]
[ { "docid": "163253#11", "text": "เมื่อสิ้นสงครามแล้วประเทศโชซ็อนก็ตกอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม ขาดแรงงานทาสเพราะเอกสารสัมมะโนถูกทำลาย บ้านเมืองเข้าสู่ภาวะข้าวยากหมากแพง ทุกชนชั้นไม่ว่าจะเป็นยังบันหรือสามัญชนล้วนอดอยาก ทำให้ยังบันเริ่มที่จะขายตำแหน่งเอาเงิน ถอยร่นไปอยู่ไร่อยู่นาก็มี และสามัญชนก็กลับเริ่มที่จะมีโอกาสเป็นขุนนางและร่ำรวยมากขึ้น ระบอบสังคมที่เข้มงวดควบคุมโดยหลักขงจื๊อต้องสั่นสะเทือน ที่สำคัญงานศิลปะต่าง ๆ สมบัติล้ำค่าทั้งหลายล้วนถูกญี่ปุ่นยึดเอากลับไปหมด ศิลปินต่าง ๆ ช่างฝีมือก็สิ้นชีวิตในสงครามเสียหมด ยุคนี้จึงเป็นยุคเสื่อมของโชซ็อนทั้งการปกครอง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" }, { "docid": "163253#23", "text": "มิชชันนารีที่รอดชีวิตก็ได้หลบหนีไปปักกิ่ง และเข้าพบปิแอร์-กุสตาฟ โรเซอ นายพลเรือฝรั่งเศส โรเชอจึงตัดสินใจบุกยึดโชซ็อนในทันที เพื่อกู้ศักดิ์ศรีของฝรั่งเศสและคริสต์ศาสนา ซึ่งโรเชอได้รับการสนับสนุนจากอองรี เดอ บัลโลเนต์ กงสุลฝรั่งเศสในปักกิ่ง โรเซอบุกยึดได้เกาะคังฮวา แต่กระแสน้ำแปรปรวนและแม่น้ำฮันตื้นเขินเกินกว่าจะล่องเรือไปได้ทำให้โรเซอไปไม่ถึงฮันยาง โรเซอพยายามจะขึ้นฝั่งอยู่หลายครั้งแต่ถูกชาวโชซ็อนต่อต้านอย่างรุนแรงจึงถอยกลับไปในที่สุด การบุกเกาหลีของฝรั่งเศสครั้งนี้เรียกว่า พยองอินยังโย (การรุกรานของชาวตะวันตกในปีพยองอิน)", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" }, { "docid": "163253#5", "text": "การแบ่งชนชั้นในสมัยโชซ็อนมีรากฐานมาจากสังคมในปลายสมัยโครยอ มีกษัตริย์โชซ็อนอยู่ที่ยอดพีระมิด รองลงมาเป็นชนชั้นปกครอง คือ พวกขุนนาง ปราชญ์ขงจื๊อต่าง ๆ ชนชั้นของโชซ็อนเป็น 4 ชั้นการแบ่งชนชั้นทางสังคมโชซ็อนนั้นเข้มงวดมากในต้นสมัยโชซ็อน แต่หลังจากสงครามกับญี่ปุ่นและการเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตกแล้ว ชนชั้นล่างก็เริ่มที่จะลืมตาอ้าปากได้ขณะที่ชนชั้นบนก็ยากจนขัดสนลง สตรียังบันนั้นจะต้องเชื่อฟังสามี เก็บตัวอยู่แต่ในบ้านออกนอกบ้านได้นาน ๆ ครั้ง เมื่อออกนอกบ้านต้องปกปิดหน้าตา แต่สตรีในระดับชั้นล่างกลับมีอิสรภาพมากกว่า สามารถไปไหนมาไหนก็ได้", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" }, { "docid": "163253#19", "text": "ใน พ.ศ. 2278 แฮ็นดริก ฮาเมิล พนักงานบัญชีของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ แล่นเรือมุ่งหน้าสู่ญี่ปุ่นแต่ถูกพายุซัดมาเรือล่มที่เกาะเชจูมีลูกเรือรอดอยู่ 30 กว่าคน แต่ทั้งหมดก็ถูกพระเจ้าฮโยจงจับขังไว้ที่ฮันยางนานถึง 13 ปี แล้วฮาเมิลจึงสามารถหลบหนีออกมาจากอาณาจักรฤๅษี (The Hermit Kingdom) นี้ได้ ฮาเมิลและพรรคพวกเป็นชาวตะวันตกกลุ่มแรกที่ได้เห็นผืนแผ่นดินโชซ็อน แม้โชซ็อนจะต้อนรับไม่ค่อยจะดีนักก็ตาม", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" }, { "docid": "251008#2", "text": "หลังจากการล่มสลายของโกคูรยอแก่กองทัพซิลลาและราชวงศ์ถัง แทจุงซางยังคงอยู่ที่ป้อมอันซีโดยไม่ได้ถูกโจมตีในช่วงสงครามโกคูรยอ-ถังครั้งที่3 อย่างไรก็ตามในปี668 โคกูรยอล่มสลาย แม้ว่าทั้งสองพ่อลูกจะร่วมรบอย่างกล้าหาญ แต่ทั้งสองก็ถูกจับเป็นเชลย หลังจากความพ่ายแพ้ของกบฏชาวชี่ตันที่นำโดยหลี่จินฉงต่อราชวงศ์ถังในปี696 ชาวซูโม่ โมเฮและโคกูรยอที่เหลืออยู่อันมีผู้นำคือแทจุงซาง และชาวไป่ซานโมเฮที่มีผู้นำคือชีซีพีอวี้ (ฮันกึล: 걸사비우, ฮันจา: 乞四比羽) ได้เป็นพันธมิตรกันเพื่อแสวงหาอิสรภาพ เพราะความมุ่งร้ายของนโยบายการทำให้สงบของบูเช็กเทียน ทำให้พวกเขาต้องหนีไปทางตะวันออกสู่ดินแดนบ้านเกิดของพวกเขา", "title": "พระเจ้าโก" }, { "docid": "841721#1", "text": "ปลายยุคราชวงศ์ชิง หลิวไหลฉือ (ม่อ เส้าชง) เกิดอิจฉาเพื่อนบ้านที่ไปเป็นขันทีชื่อว่า เส้าเต๋อจาง และได้ขอให้พ่อแม่ตอนตัวเอง แต่หลังจากนั้น ราชวงศ์ชิงได้ล่มสลาย หลิวไม่ได้เป็นขันทีในวังและถูกส่งไปเรียนงิ้วเพื่อ ต่อมา หลิวได้พบกับเจ้าตี้ (เหวิน ปี่เซี่ย) เพื่อนในวัยเด็ก หลิวจึงอยากจะใช้ชีวิตสร้างครอบครัวอย่างคนปกติ แต่ก็ไม่สามารถทำได้หลังจากที่ความเป็นขันทีถูกเปิดเผยขึ้นมา ผู้นำคณะงิ้ว (หง จินเป่า) เห็นใจชีวิตของหลิว และพยายามส่งเขาไปเป็น \"ขันทีคนสุดท้าย\" ในปี 1924 จักรพรรดิผู่อี๋ ถูกเนรเทศออกจากพระราชวังต้องห้าม หลิวจึงต้องกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนปกติ\nภาพยนตร์เรื่องนี้สามารถกวาดรายได้ถึง 15,624,171 ดอลลาร์ฮ่องกงและเข้าฉายตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึง 31 มีนาคม 1988 ในฮ่องกง", "title": "ขันทีคนสุดท้าย" }, { "docid": "749161#3", "text": "ภายหลังสงคราม มีการจัดผู้บัญชาการชาวฮั่นสี่นายเพื่อดูแลดินแดนโชซ็อน การล่มสลายของโชซ็อนโบราณนำไปสู่ยุคก่อนสามอาณาจักรเกาหลี (Proto–Three Kingdoms of Korea)", "title": "สงครามโชซ็อนโบราณ–ฮั่น" }, { "docid": "163253#17", "text": "ในพ.ศ. 2223 ฝ่ายใต้ล่มสลาย เหลือแต่ฝ่ายตะวันตกจึงแบ่งเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายโนนน (พวกหัวเก่า) ประกอบด้วยขุนนางอาวุโส และฝ่ายโซนน (พวกหัวใหม่) มีขุนนางรุ่นใหม่ ในสมัยพระเจ้าซุกจง ฝ่ายโนนนและฝ่ายโซนนขัดแย้งกันเรื่องการแต่งตั้งรัชทายาท ฝ่ายโนนนสนับสนุนพระเจ้ายองโจ แต่ฝ่ายโซนนสนับสนุนพระเจ้าเคียงจง ในพ.ศ. 2233 พระเจ้าเคียงจงทรงได้เป็นรัชทายาท ทำให้ฝ่ายโนนนเสื่อมอำนาจลงไป", "title": "ราชวงศ์โชซ็อน" } ]
595
การจลาจลคืออะไร?
[ { "docid": "350728#0", "text": "การจลาจล เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อความไม่สงบต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทรัพย์สินหรือประชาชน ซึ่งมีลักษณะเป็นการปรากฏตัวออกมาทันใดของกลุ่มคนที่ไม่มีการจัดระเบียบและหุนหันพลันแล่นที่จะใช้ความรุนแรง ถึงแม้ว่าอาจมีคนหรือกลุ่มคนพยายามที่จะนำหรือควบคุมการจลาจล แต่ส่วนใหญ่แล้วการจลาจลมักไร้ระเบียบเป็นธรรมดาและแสดงพฤติกรรมฝูง", "title": "การจลาจล" } ]
[ { "docid": "779666#18", "text": "การจลาจลในประเทศไทย ไม่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง โดยการจลาจลที่ก่อให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากได้แก่ การจลาจลในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 มีผู้เสียชีวิต 27 ศพ ที่แยกพลับพลาไชย ต่อมาเกิดเหตุจลาจลพฤษภาทมิฬในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2535 มีผู้เสียชีวิต 40 ราย", "title": "อาชญากรรมในประเทศไทย" }, { "docid": "386730#1", "text": "วันที่ 6 สิงหาคม การเดินขบวนที่มีผู้เข้าร่วมราว 200 คน รวมทั้งญาติของดักแกนและชาวเมืองท้องถิ่นในท็อตแนม หลังได้รับข้อมูลเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการเสียชีวิตของดักแกน หลายคนในฝูงชนได้มีพฤติกรรมรุนแรงและเกิดการจลาจลขึ้น ช่วงหลายวันต่อมา มีการก่อความวุ่นวายขึ้นในพื้นที่อื่นของนคร ยังได้มีรายงานการทำลายทรัพย์สิน การวางเพลิง การปล้นสะดม และความไม่สงบอย่างรุนแรงในหลายเขตของกรุงลอนดอน มีตำรวจอย่างน้อย 186 คนได้รับบาดเจ็บ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เหตุจลาจลและปล้นสะดมลุกลามไปถึงเบอร์มิงแฮม ลิเวอร์พูล น็อตติงแฮม บริสตอลและเมดเวย์ มีผู้ถูกจับกุมมากกว่า 1,100 คนตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ และตำรวจนครบาลได้รับอำนาจให้ใช้กระสุนพลาสติก (baton round) และหัวดับเพลิงกับผู้ก่อการจลาจลหากเห็นว่าสมควร มีพลเมืองถูกสังหารไปห้าคน", "title": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "22602#14", "text": "โดยชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระสุดท้ายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝางได้นั้น นับเป็นการพระราชสงครามสุดท้ายที่ ทำให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงบรรลุพระราชภารกิจสำคัญ ในการรวบรวมพระราชอาณาเขตให้เป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวดังเดิมหลังภาวะจลาจลเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 และทำให้สิ้นสุดสภาพจลาจลการแยกชุมนุมอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง และนับเป็นการสถาปนากรุงธนบุรีได้อย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เมื่อสำเร็จศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝาง ในปี พ.ศ. 2313", "title": "สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง" }, { "docid": "386730#0", "text": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554 เป็นเหตุการณ์จลาจลที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 6-10 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ในสหราชอาณาจักร ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในแคว้นอังกฤษ การก่อความวุ่นวายต่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการปล้นสะดม การวางเพลิง การจี้ การปล้นและเกิดจลาจลเป็นบางแห่ง ยังคงดำเนินต่อไปในนครและเมืองบางแห่งในแคว้นอังกฤษ เหตุจลาจลเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ในท็อตแนม ลอนดอนเหนือ หลังจากนั้นได้เกิดเหตุจลาจลขึ้นในบริเวณอื่นของกรุงลอนดอน และพื้นที่อื่นอีกบางพื้นที่ของแคว้นอังกฤษ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นหลังเหตุตำรวจวิสามัญฆาตกรรมชายวัย 29 ปี ชื่อ \"มาร์ค ดักแกน\" (Mark Duggan) โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจแห่งตำรวจนครบาล", "title": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "350728#1", "text": "การจลาจลมักเกิดขึ้นเป็นปฏิกิรยาจากการได้รับความเดือดร้อนหรือการแสดงความไม่เห็นด้วย ในประวัติศาสตร์ การจลาจลเกิดขึ้นเนื่องจากได้รับค่าแรงต่ำหรือคุณภาพชีวิต รัฐบาล การกดขี่ ภาษีหรือการเกณฑ์ทหาร ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มเชื้อชาติ การขาดแคลนอาหารหรือความขัดแย้งทางศาสนา ผลจากการแข่งขันกีฬาหรือความไม่พอใจกับช่องทางของกฎหมายผ่านการแสดงความคับข้องใจ", "title": "การจลาจล" }, { "docid": "386730#2", "text": "วันที่ 11 สิงหาคม สมาคมบริษัทประกันภัยอังกฤษได้ประเมินว่า เหตุจลาจลดังกล่าวมีมูลค่าความเสียหาย 200 ล้านปอนด์", "title": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "386730#3", "text": "มีผู้สื่อข่าวคนหนึ่งอธิบายว่าเป็น \"ความไม่สงบประเภทนี้ครั้งเลวร้ายที่สุดตั้งแต่เหตุจลาจลบริกซ์ตัน พ.ศ. 2538 ผู้อยู่อาศัยท้องถิ่นแสดงความคิดเห็นว่า ความไม่สงบดังกล่าวเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ที่ไม่ดีระหว่างตำรวจกับชุมชนผิวดำในกรุงลอนดอน เช่นเดียวกับอีกหลายนครที่มีประชากรชนชั้นกรรมกรอยู่มาก อย่างเช่น เบอร์มิงแฮม ซึ่งมีการจัดการประท้วงจากการเสียชีวิตของคิงสลีย์ บูร์เรลล์ อย่างไรก็ตาม อีกแหล่งข่าวหนึ่งได้ชี้ว่า ผู้ก่อการจลาจลมีเบื้องหลังชาติพันธุ์หลากหลาย และผู้ก่อการจลาจล \"ส่วนใหญ่เป็นพวกผิวขาว และหลายคนมีอาชีพ\"", "title": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "386730#4", "text": "นักวิเคราะห์ได้เปรียบเทียบการจลาจลกับการจลาจลบรอดวอเตอร์ฟาร์มใน พ.ศ. 2528 ซึ่งระหว่างนั้น เจ้าหน้าที่ตำรวจ คีธ แบลคลอค ถูกฆาตกรรม ความไม่สงบเกิดขึ้นหลังการเรียกร้องการเรียกร้องให้มีการควบคุมดูแลที่ดีขึ้นของตำรวจนครบาล ซึ่งย้ำการสังเกตซึ่งย้อนกลับไปสู่การฆาตกรรมสตีเฟน ลอว์เรนซ์ และนิวครอสไฟร์ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 มีการเดินขบวนอย่างสงบไปยังสกอตแลนด์ยาร์ด อันเป็นผลจากการเสียชีวิตของสไมลีย์ คัลเจอร์ แต่เหตุการณ์ดังกล่าวมีรายงานเพียงเล็กน้อย", "title": "เหตุจลาจลในแคว้นอังกฤษ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "770918#0", "text": "ความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551 หรือเรียกชื่อจีนว่า การจลาจล 3•14 เป็นชุดการจลาจล ประท้วงและเดินขบวนที่เริ่มในกรุงลาซา เมืองหลวงของภูมิภาคทิเบต และลามไปพื้นที่อื่นของทิเบตและอารามจำนวนหนึ่งซึ่งรวมนอกเขตปกครองตนเองทิเบต แรกเริ่มเป็นการจัดวันการก่อการกำเริบทิเบตประจำปีแล้วลงเอยด้วยการประท้วงตามถนนโดยพระสงฆ์ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนเป็นการจลาจล การเผา การปล้นสะดมและการฆ่าชาติพันธุ์ในวันที่ 14 มีนาคม ชาวทิเบตที่เข้าร่วมความไม่สงบมุ่งความรุนแรงส่วนใหญ่ไปยังพลเรือนฮั่นและหุย ตำรวจแทรกแซงโดยป้องกันมิให้ความขัดแย้งบานปลายอีก ขณะเดียวกันและเพื่อเป็นการสนอง การประท้วงที่ส่วนใหญ่สนับสนุนชาวทิเบตอุบัติในนครในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป มีการโจมตีสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลจีน 18 แห่ง", "title": "ความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551" }, { "docid": "454983#0", "text": "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555 เป็นเหตุการณ์พิพาทที่กำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาวยะไข่พุทธและมุสลิมโรฮีนจาทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์ในพม่าเริ่มตกเป็นเป้า[5][6] เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่าย[7] สาเหตุของเหตุจลาจลที่แน่นอนยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า ชาวยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังเกิดการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าตอบสนองโดยกำหนดการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่[8][9] ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน[1] ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว[10][11] มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮีนจา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่[12] กองทัพและตำรวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และใช้ความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮีนจา[13]", "title": "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555" }, { "docid": "871285#0", "text": "เหตุการณ์จลาจลขององค์ชายครั้งที่สอง เหตุการณ์ความรุนแรงในช่วงปลายรัชสมัย พระเจ้าจองจง พระราชาลำดับที่ 2 แห่งราชวงศ์โชซ็อน", "title": "เหตุการณ์จลาจลขององค์ชายครั้งที่สอง" }, { "docid": "350728#2", "text": "การจลาจลมักเกี่ยวข้องกับการทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือเอกชน ทรัพย์สินที่ตกเป็นเป้าหมายโดยเฉพาะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสาเหตุของการจลาจลและการโน้มเอียงทางความคิด เป้าหมายสามารถรวมไปถึงร้านค้า รถยนต์ ร้านอาหาร สถาบันของรัฐหรือสิ่งก่อสร้างทางศาสนา", "title": "การจลาจล" }, { "docid": "350728#4", "text": "การรับมือกับการจลาจลมักจะเป็นงานยากของกรมตำรวจบ่อยครั้ง และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกส่งตัวไปรับมือกับการจลาจลมักจะถือโล่ยุทธวิธีและลูกซองปราบจลาจล ส่วนใหญ่เนื่องมาจากการกระจายที่กว้างกว่าของล้ากล้องสั้น ตำรวจยังอาจใช้แก๊สน้ำตาหรือแก๊สซีเอสเพื่อหยุดผู้ก่อการจลาจล ตำรวจปราบจลาจลส่วนใหญ่ใช้วิธีอาวุธไม่ร้ายแรงในการควบคุมฝูงชน อย่างเช่น ปืนลูกซองที่ยิงกระสุนยางและกระสุนถุงตะกั่วเพื่อทำให้ได้รับบาดเจ็บหรือทำให้ผู้ก่อการจลาจลง่ายต่อการจับกุม", "title": "การจลาจล" }, { "docid": "350728#7", "text": "หมวดหมู่:การประท้วง หมวดหมู่:การจลาจล หมวดหมู่:การดื้อแพ่ง", "title": "การจลาจล" }, { "docid": "350728#3", "text": "ผู้ก่อการจลาจลจำนวนหนึ่งค่อนข้างมีความชำนาญในการทำความเข้าใจและการสกัดยุทธวิธีที่ตำรวจใช้ในสถานการณ์จลาจล คู่มือสำหรับการจลาจลให้ประสบความสำเร็จสามารถเข้าถึงได้บนอินเทอร์เน็ต คู่มือเหล่านี้ยังกระตุ้นให้ผู้ก่อการจลาจลนำสื่อเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากพบว่าการมีกล้องไปด้วยจะมีความปลอดภัยและได้รับความสนใจมากกว่า พลเมืองที่มีกล้องวิดีโอยังสามารถมีผลกระทบต่อทั้งผู้ก่อการจลาจลและตำรวจได้", "title": "การจลาจล" }, { "docid": "651661#0", "text": "เหตุจลาจลย่างกุ้ง เป็นความรุนแรงระหว่างเชื้อชาติระหว่างแรงงานชาวพม่าและอินเดีย เกิดเหตุขึ้นครั้งแรกเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 แล้วจึงแพร่กระจายไปยังบริเวณที่มีชาวอินเดียอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยคน และบาดเจ็บร่วมพันคน ต่อมา เกิดเหตุจลาจลในเรือนจำในวันที่ 24 มิถุนายน ระหว่าง เจ้าหน้าที่เรือนจำชาวอินเดียและผู้ต้องขังชาวพม่า และในเดือนธันวาคมปีเดียวกันนั้นก็เกิดกบฏสยาซาน", "title": "เหตุจลาจลย่างกุ้ง พ.ศ. 2473" }, { "docid": "443436#1", "text": "แม้ว่าฝ่ายคอมมิวนิสต์ จะพ่ายแพ้ในปี ค.ศ. 1960 แต่ผู้นำฝ่ายคอมมิวนิสต์ \"ชิน เผง\" ยังคงก่อการจลาจลในปี ค.ศ. 1967 และเรื่อยไปจน ค.ศ. 1989 จนเป็นที่รู้จักกันในชื่อ \"สงครามจลาจลคอมมิวนิสต์\" แม้ว่ากองกำลังของอังกฤษและออสเตรเลียได้ถอนกำลังออกจากมาเลเซียไปก่อนหน้านี้แล้วก็ตาม แต่การก่อจลาจลก็ยังล้มเหลว ", "title": "วิกฤตการณ์มาลายา" }, { "docid": "343438#2", "text": "การจลาจลวันที่สองทำให้เที่ยวบินจากท่าอากาศยานในกรุงปารีสและตามเมืองต่าง ๆ ถูกยกเลิกไปกว่า 50% รถไฟทางไกลเกือบครึ่งประเทศถูกยกเลิก นับจนถึงปัจจุบัน เหตุจลาจลได้กินเวลามานานกว่า 3 สัปดาห์แล้ว", "title": "การจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553" }, { "docid": "262459#0", "text": "การจลาจลข้าว ค.ศ. 1918 () เป็นการจลาจลซึ่งพลเมืองชาวญี่ปุ่นก่อขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีมาซาตาเกะ เทราอูจิ ในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1918 และเป็นผลให้รัฐบาลสิ้นสุดลง", "title": "การจลาจลข้าว ค.ศ. 1918" }, { "docid": "354563#9", "text": "ผู้รับผิดชอบสำหรับเหตุจลาจลดังกล่าวไม่แน่ชัด ฮุน เซ็น ถือว่าความล้มเหลวของรัฐบาลในการป้องกันเหตุจลาจลดังกล่าวเป็นเพราะ \"ไร้สมรรถภาพ\" และกล่าวว่าเหตุจลาจลดังกล่าวมีการปลุกปั่นยุยงโดย \"กลุ่มหัวรุนแรง\" ประธานสมัชชาแห่งชาติ เจ้านโรดม รณฤทธิ์ กล่าวอ้างว่า สม รังสี ผู้นำฝ่ายค้านได้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีดังกล่าว ในขณะที่สม รังสี กล่าวว่าเขาพยายามป้องกันมิให้เกิดความรุนแรง", "title": "เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546" }, { "docid": "262459#2", "text": "การจลาจลข้าวเป็นเหตุการณ์ครั้งใหญ่ที่สุดและรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นยุคใหม่ และได้มีการแพร่ขยายไปทั้งประเทศ การประท้วงครั้งแรกเกิดขึ้นในเมืองประมงเล็ก ๆ ชื่ออูโอซุ จังหวัดโทยามะ ในวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 เริ่มต้นจากการชุมนุมอย่างสันติ แต่การประท้วงก็กลายเป็นการก่อจลาจล การปะทะกับตำรวจ การปล้นสะดม การวางเพลิงและวางระเบิด สถานีตำรวจและสำนักงานรัฐบาลถูกโจมตีด้วยอาวุธต่าง ๆ นานา โดยในกลางเดือนกันยายน ค.ศ. 1918 เกิดการประท้วงมากกว่า 623 แห่งในนคร 38 แห่ง เมือง 153 แห่งและหมู่บ้าน 177 แห่ง ซึ่งมีผู้ประท้วงและก่อจลาจลมากกว่า 2 ล้านคน โดย 25,000 คนถูกจับกุม และ 8,200 คนถูกพิพากษาในคดีอาชญากรรม โดยการลงโทษมีตั้งแต่โทษเบาคือการปรับเงิน และโทษหนักสุดคือประหารชีวิต", "title": "การจลาจลข้าว ค.ศ. 1918" }, { "docid": "797637#0", "text": "การก่อการกำเริบวอร์ซอ () เป็นเหตุการณ์ครั้งสำคัญในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อได้เกิดเหตุการณ์การจลาจลในกรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ปี 1944 ซึ่งประเทศโปแลนด์อยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี การก่อจลาจลนั้นมาจากกองกำลังใต้ดินของกองทัพบ้านเกิดของประเทศโปแลนด์ในกรุงวอร์ซอได้ก่อจลาจลเพื่อปลดปล่อยประเทศโปแลนด์ให้เป็นอิสระจากนาซีเยอรมันให้ได้ก่อนสหภาพโซเวียตซึ่งกำลังรุกจากตะวันออก เนื่องจากเป็นวัตถุประสงค์ของสหราชอาณาจักรเพราะได้เล็งเห็นว่าสหภาพโซเวียตได้สนับสนุนคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยโปแลนด์และหมายจะยึดครองโปแลนด์ให้กลายเป็นรัฐบริวารคอมมิวนิสต์ซึ่งได้พยายามขัดขวางไม่ให้ทำสำเร็จจึงได้สนับสนุนขบวนการใต้ดินของโปแลนด์ในการก่อจลาจลโดยได้ให้การสนับสนุนทางอากาศของตน โปลแลนด์ แอฟริกาใต้ และสหรัฐอเมริกา ส่วนสหภาพโซเวียตได้แสดงเจตจำนงทำการสนับสนุนกองทัพบ้านเกิดของโปแลนด์ในการก่อจลาจลจึงได้ให้การสนับสนุนกองทัพอากาศเช่น การต่อสู้ได้ถูกดำเนินเป็นเวลา 2 เดือน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ปี 1944 กองทัพเยอรมันได้ปราบปรามการจลาจลอย่างราบคาบ กองกำลังใต้ดินโปแลนด์ได้ยอมจำนน และกรุงวอร์ซอถูกทำลายเสียหายยับเยินโดยกองทัพเยอรมัน ", "title": "การก่อการกำเริบวอร์ซอ" }, { "docid": "605497#0", "text": "การจลาจลในนูกูอะโลฟา พ.ศ. 2549 เป็นการจลาจลที่เกิดขึ้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ในกรุงนูกูอะโลฟา เมืองหลวงของประเทศตองงา การจลาจลในครั้งนี้เกิดจากความไม่พอในกระบวนการการปฏิรูปประชาธิปไตยภายในประเทศซึ่งล่าช้าเป็นอย่างมาก ด้วยความไม่พอใจดังกล่าวนำไปสู่การประท้วงตามท้องถนน การทำลายทรัพย์สินรวมไปถึงการเผาอาคารพาณิชย์เป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเวลาต่อมา", "title": "การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549" }, { "docid": "343438#0", "text": "การจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553 เป็นเหตุการณ์นัดหยุดงานทั่วไปและการเดินขบวนในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างเดือนกันยายนและตุลาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งกลุ่มผู้ก่อจลาจลประกอบด้วยสมาชิกสหภาพแรงงานจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน การจลาจลเกิดขึ้นในหลายเมืองทั่วประเทศ รวมไปถึง บอร์โด ลีล ลียง มาร์แซย์ ปารีส และตูลูซ เนื่องจากความไม่พอใจต่อข้อเสนอของรัฐบาลฝรั่งเศสที่จะเพิ่มอายุเกษียณในการรับบำนาญจาก 65 เป็น 67 ปี และลดระยะบำนาญจาก 60 เป็น 62 ปี ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศสได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ในขณะที่การลดหย่อนภาษีก่อนหน้าเหตุจลาจลชั่วคราวยังคงมีผลอยู่ ซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อเอกชนและบริษัทที่ร่ำรวย ในขณะที่ผู้ซึ่งไม่เห็นด้วยกล่าวว่า ผู้ยากจนที่สุดจะได้รับผลกระทบมากที่สุด คนส่วนใหญ่แสดงความเห็นด้วยกับเหตุจลาจลดังกล่าว", "title": "การจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553" }, { "docid": "798587#0", "text": "จลาจลมูชิน () เป็นการจลาจลที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระเจ้ายองโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน แต่ไม่ประสบความสำเร็จ", "title": "จลาจลปีมูชิน" }, { "docid": "354563#0", "text": "เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546 เริ่มต้นขึ้นเมื่อบทความในหนังสือพิมพ์กัมพูชาฉบับหนึ่งกล่าวหาอย่างผิด ๆ ว่านักแสดงหญิงไทยคนหนึ่งอ้างว่านครวัดเป็นของประเทศไทยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2546 สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อวิทยุกัมพูชาอื่น ๆ ได้หยิบยกเอารายงานดังกล่าวและปลุกความรู้สึกชาตินิยมเพิ่มขึ้นไปอีกจนทำให้เกิดการจลาจลในพนมเปญเมื่อวันที่ 29 มกราคม ซึ่งสถานทูตไทยถูกเผาและมีการปล้นสะดมทรัพย์สินของธุรกิจไทยในกัมพูชา เหตุจลาจลดังกล่าวสะท้อนถึงความสัมพันธ์ในประวัติศาสตร์ที่ไม่แน่นอนระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองที่พัวพันกับทั้งสองประเทศ", "title": "เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546" }, { "docid": "798587#1", "text": "โดยการจลาจลครั้งนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ เดือนธันวาคม ค.ศ. 1728 อันเป็นปีที่ 4 ในรัชสมัยพระเจ้ายองโจเมื่อมีเอกสารลึกลับไปปรากฎที่ ช็อนจู และ นัมว็อน กล่าวหาพระเจ้ายองโจว่าทรงวางยาพิษปลงพระชนม์ พระเจ้าคยองจง พระราชาองค์ก่อนซึ่งเป็นพระเชษฐาต่างพระราชมารดาเมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ. 1724 ซึ่งทางราชสำนักได้ส่งทหารเข้ามาปราบปรามใช้เวลานานถึง 17 วันจึงสงบลงแต่ทางราชสำนักก็ได้สูญเสียอำนาจในการปกครองใน 13 มณฑลและการจลาจลครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างมากในจังหวัดคย็องกี ชุงช็องเหนือ ชุงช็องใต้ และ คย็องซังใต้", "title": "จลาจลปีมูชิน" }, { "docid": "629453#0", "text": "เหตุการณ์จลาจลขององค์ชายครั้งที่หนึ่ง เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายรัชสมัย พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โชซอน ", "title": "เหตุการณ์จลาจลขององค์ชายครั้งที่หนึ่ง" }, { "docid": "770918#2", "text": "ระหว่างการจลาจล ทางการจีนไม่อนุญาตให้สื่อต่างชาติและฮ่องกงเข้าภูมิภาค สื่อในประเทศลดทอนความสำคัญของการจลาจล มีเพียงเจมส์ ไมลส์ ผู้สื่อข่าวจาก\"ดิอีโคโนมิสต์\" ได้รับอนุมัติให้เดินทางหนึ่งสัปดาห์ซึ่งปรากฏว่าสอดคลองกับความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นพอดี จากข้อมูลของไมลส์ การสนองของตำรวจปราบจลาจลนั้นสงบ แต่กลุ่มผู้พลัดถิ่นทิเบตอ้างว่ามีการปราบปรามอย่างโหดร้าย", "title": "ความไม่สงบในทิเบต พ.ศ. 2551" } ]
1194
เหตุการณ์ 14 ตุลา ยุติลงเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "24830#0", "text": "เหตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" } ]
[ { "docid": "97397#0", "text": "คนเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม", "title": "คนเดือนตุลา" }, { "docid": "226684#5", "text": "ได้รับเสียงวิจารณ์ไปในสองทาง ทางหนึ่งเห็นว่าบทภาพยนตร์เขียนได้ดี โดยเฉพาะความขัดแย้งของสองตัวละครหลักอย่าง แพรพลอย และ ป้องภพ ทำให้ดูเหมือนหนังแนวชีวิตครอบครัวเรื่องหนึ่ง แต่ในอีกทางเห็นว่า บทภาพยนตร์ยังหลวมอยู่ โดยเฉพาะในตอนจบที่เฉลยว่า ผีที่มารังควาญน้องปั้นนั้นคือ วิญญาณคนตายจากเหตุการณ์ 14 ตุลา เพราะน้องปั้นในอดีตชาติเคยเป็นนายทหารผู้มีส่วนร่วมในการสังหารผู้ชุมนุมในวันนั้น และเห็นว่าเสียงเด็กร้องไห้ที่น่าจะเป็นส่วนประกอบสำคัญในเรื่อง กลับทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร", "title": "โคลิค เด็กเห็นผี" }, { "docid": "464737#4", "text": "และความโดดเด่นอีกอย่างของภาพยนตร์เรื่องนี้ คือ การสอดแทรกประวัติศาสตร์ทางการเมืองไทยลงไปได้อย่างไม่น่าเบื่อ ทั้งเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลา หรือ เหตุการณ์ 6 ตุลา ที่สมาชิกแต่ละคนได้รับผลกระทบกันไปแตกต่างกัน ", "title": "ยังบาว" }, { "docid": "311468#91", "text": "การชุมนุมของกลุ่มนปช.ในครั้งนี้ แตกต่างจากเหตุการณ์ 14 ตุลา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 กล่าวคือผู้ชุมนุมมีการขู่ที่จะทำลายสถานที่สำคัญของประเทศ เผาทำลายสถานที่ภายในประเทศ นอกจากนั้นปรากฏข้อเท็จจริงว่ากลุ่มผู้ชุมนุมทุบรถที่ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ สุเทพ เทือกสุบรรณ นั่งอยู่โดยหวังฆ่าบุคคลทั้งสอง จนทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มสนับสนุนประชาธิปไตยที่ไม่สนับสนุนให้ผู้ชุมนุมใช้ความรุนแรงต่อรัฐบาล กับ กลุ่มที่มีความเห็นว่ารัฐบาลไม่ว่าอย่างไรก็ตามก็ไม่ควรให้ผู้ชุมนุมซึ่งเป็นคนไทยด้วยกันบาดเจ็บหรือเสียชีวิตคนเดือนตุลา[137]มีความเห็นแตกต่างทางการเมืองเนื่องจากมีความเชื่อที่แตกต่างกัน[138]", "title": "การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553" }, { "docid": "214138#17", "text": "เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เหตุการณ์ 6 ตุลา คนเดือนตุลา", "title": "14 ตุลา สงครามประชาชน" }, { "docid": "24830#20", "text": "ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 นายเทพมนตรี ลิมปพยอม นักวิชาการอิสระด้านประวัติศาสตร์ ได้เปิดตัวหนังสือมา 2 เล่ม ชื่อ \"ลอกคราบ 14 ตุลา ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย\" และ \"พันเอกณรงค์ กิตติขจร 30 ปี 14 ตุลา ข้อกล่าวหาที่ไม่สิ้นสุด\" โดยมีเนื้อหาอ้างอิงจากเอกสารราชการลับในเหตุการณ์ 14 ตุลา ซึ่งมีเนื้อหาว่าทั้ง พ.อ.ณรงค์ และจอมพลถนอม มิได้เป็นผู้สั่งการในเหตุการณ์ 14 ตุลา[14] และพันเอกณรงค์ กิตติขจร ยังได้กล่าวอีกว่า พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการสังหารหมู่นิสิต นักศึกษา และประชาชนในการชุมนุม แต่ก็เป็นการชี้แจงหลังเกิดเหตุมาเกือบ 30 ปี และเป็นการชี้แจงเพียงฝ่ายเดียวโดยที่ฝ่ายครอบครัวของทาง พล.อ.กฤษณ์มิได้มีโอกาสชี้แจงกลับ คำกล่าวของพ.อ.ณรงค์ ขัดแย้งกับ นายโอสถ โกศิน อดีตรัฐมนตรีที่ใกล้ชิดกับ พล.อ.กฤษณ์ ซึ่งระบุว่า พล.อ.กฤษณ์ เป็นบุคคลสำคัญที่ไม่ยอมให้มีการปฏิบัติการขั้นรุนแรงแก่นักศึกษา", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "460133#0", "text": "นายปรีชา ผ่องเจริญกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคสามัคคีธรรม และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (อลงกรณ์ พลบุตร) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอดีตนักกิจกรรมสมัย 14 ตุลา เป็นบุคคล ควบคุมรถบัญชาการ ฝ่ายนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ", "title": "ปรีชา ผ่องเจริญกุล" }, { "docid": "148931#1", "text": "คำนูณมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ 14 ตุลา และเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้ทำงานหนังสือพิมพ์แนวการเมืองหลายฉบับในช่วงเวลานี้ เช่น สู่อนาคต, ไทยนิกร, จัตุรัส เป็นต้น เป็นผู้สัมภาษณ์พระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิตติวุฑโฒ ภิกขุ) ในหนังสือพิมพ์จัตุรัส \"\"ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป\"\" ก่อนเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลา ไม่นาน", "title": "คำนูณ สิทธิสมาน" }, { "docid": "24830#9", "text": "การเดินขบวนครั้งใหญ่จึงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ออกไปตามถนนราชดำเนิน สู่ลานพระบรมรูปทรงม้า มีแกนนำเป็นนักศึกษาและมีประชาชนเข้าร่วมด้วยจำนวนมาก (คาดการกันว่ามีราว 500,000 คน) ระหว่างนั้น แกนนำนักศึกษาเข้าพบเจรจากับรัฐบาล และบางส่วนเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พ.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชรเป็นผู้อัญเชิญพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาอ่านให้แก่ผู้ชุมนุมฟัง ในเวลา 05.30 น. ของวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จนได้ข้อยุติเพียงพอที่จะสลายตัว แต่ด้วยอุปสรรคทางการสื่อสาร และมวลชนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากไม่อาจควบคุมดูแลได้หมด จึงเกิดการปะทะกัน ระหว่างกำลังตำรวจปราบจลาจลกับผู้ชุมนุม ที่บริเวณถนนราชวิถีตัดกับถนนพระราม 5 ช่วงหน้าพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ซึ่งเป็นทางที่กลุ่มผู้ชุมนุมจะใช้เดินทางกลับ แต่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำโดย พลตำรวจโท มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล พลตำรวจตรี ณรงค์ มหานนท์ รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล[7] และ พล.ต.ต.พิชัย ชำนาญไพร กลับไม่ยอมให้ผ่าน เนื่องจากรับคำสั่งจาก พล.ต.ท.ประจวบ สุนทรางกูร รองอธิบดีกรมตำรวจฝ่ายกิจการพิเศษ เมื่อเวลาประมาณ 06:05 นาฬิกา ของวันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม 2516 ได้เกิดการปะทะขึ้น โดยการปะทะกันดังกล่าว บานปลายเป็นการจลาจล และลุกลามไปยังท้องสนามหลวง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และถนนราชดำเนินตลอดสาย รวมถึงย่านใกล้เคียง โดยในเวลาบ่าย พบเฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่ง บินวนอยู่เหนือเหตุการณ์ และมีการยิงปืนลงมา เพื่อสลายการชุมนุม ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์เชื่อว่า บุคคลที่ยิงปืนลงมานั้นคือ พันเอก ณรงค์ กิตติขจร บุตรชาย ของจอมพล ถนอม กิตติขจร และบุตรเขยของจอมพล ประภาส จารุเสถียร ซึ่งคาดหมายว่าจะสืบทอดอำนาจ ต่อจากจอมพล ถนอม กิตติขจร และจอมพล ประภาส จารุเสถียร", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "24830#19", "text": "นอกจากนี้ เหตุการณ์ 14 ตุลา ยังนับเป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จในยุคศตวรรษที่ 20 และยังเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้น[3]", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "214138#18", "text": "หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไทย หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2544 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ชีวประวัติ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่สร้างจากเหตุการณ์จริง หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา", "title": "14 ตุลา สงครามประชาชน" }, { "docid": "5458#2", "text": "ในยุคมืดของสังคมไทย คือ เหตุการณ์ 14 ตุลา และ เหตุการณ์ 6 ตุลา นั้นคาราวานเป็นวงดนตรีที่แต่งเพลงออกมาเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างจริงจัง และเป็นวงดนตรีวงเดียวจากเหตุการณ์สมัยนั้นที่ยังอยู่มาจนถึงทุกวันนี้", "title": "คาราวาน (วงดนตรี)" }, { "docid": "214138#9", "text": "ภาพยนตร์เรื่อง 14 ตุลา สงครามประชาชน บอกเล่าเรื่องราวชีวิตจริง เสกสรรค์ ประเสริฐกุล และ จิระนันท์ พิตรปรีชา ผ่านเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ช่วง เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งสร้างโดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น และ บีอีซี เทโร เป็นเหตุการณ์อันเป็นหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับเป็นการเรียกร้องเสรีภาพของประชาชน ที่ได้รับชัยชนะเป็นครั้งแรกของโลก หนึ่งในแกนนำของการเรียกร้องเพื่อประชาธิปไตยนี้ก็คือ เสกสรรค์ ประเสริฐกุล นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และนิสิตสาวดาวจุฬาฯ จิระนันท์ พิตรปรีชา ที่ต้องพลิกผันชีวิตตัวเองหนีเข้าสู่ป่า ไปร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เหมือนกับเพื่อนพ้องนักศึกษารุ่นพี่รุ่นน้องจำนวนมาก", "title": "14 ตุลา สงครามประชาชน" }, { "docid": "24830#3", "text": "เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้น[3]", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "24830#24", "text": "หเตุการณ์ 14 ตุลา หเตุการณ์ 14 ตุลา หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หมวดหมู่:การประท้วงในประเทศไทย หมวดหมู่:เหตุการณ์ในรัชกาลที่ 9", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "936#23", "text": "หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา มีการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและเสรีภาพในการแสดงออกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน รวมทั้งการแพร่หลายของวรรณกรรมคอมมิวนิสต์[22]:544, 546 ในช่วงนั้น รัฐบาลผสมหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชไม่มั่นคงและคอมมิวนิสต์ชนะทั้งในเวียดนาม ลาวและกัมพูชา[22]:547 สถาบันพระมหากษัตริย์ ชนชั้นนำและชนชั้นกลางจำนวนมากมองว่านักศึกษาฝ่ายซ้ายถูกคอมมิวนิสต์ชี้นำ ทำให้มีการสนับสนุนองค์การฝ่ายขวาต่าง ๆ[22]:548 ปลายปี 2519 เกิดการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน \"เหตุการณ์ 6 ตุลา\"[22]:548–9 เป็นการปิดฉากการทดลองทางประชาธิปไตย กองทัพกลับเข้ามามีอำนาจ และการแสดงออกถูกปิดกั้น[22]:549 หลังจากนั้น รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร \"กลับไปใช้อำนาจนิยมยิ่งกว่าสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช\"[22]:552 การสู้รบกับคอมมิวนิสต์ยุติลงอย่างสิ้นเชิงเมื่อปี 2523[11]:60 ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531[5]", "title": "ประเทศไทย" }, { "docid": "343131#0", "text": "วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์วิโรจน์ เป็นคนไทยเชื้อสายจีนแซ่ตั้ง จบการมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดราชาธิวาสจบการศึกษามหาวิทยาลัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เอกประวัติศาสตร์) ระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้นเคยเข้าร่วมการเคลื่อนไหวกับขบวนการนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อปี พ.ศ. 2519 เป็นนักศึกษา 1 ใน 2 คนที่แสดงละครล้อการเมืองที่ต่อมาถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (อีก 1 คนนั้นคือ อภินันท์ บัวหภักดี) ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่ต่อมา ", "title": "วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์" }, { "docid": "24830#11", "text": "การจลาจลในเหตุการณ์ 14 ตุลา การปราบผู้ชุมนุมโดยทหาร นักศึกษาช่างกลรวมตัวกำลังเดินเผชิญหน้ากับฝ่ายทหาร", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "25186#13", "text": "เหตุการณ์ 14 ตุลา เหตุการณ์จลาจลที่พลับพลาไชย พ.ศ. 2517 เหตุการณ์ 6 ตุลา", "title": "สัญญา ธรรมศักดิ์" }, { "docid": "192030#0", "text": "มนัส เศียรสิงห์ หรือ แดง (15 ตุลาคม พ.ศ. 2497 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) ศิลปิน นักวาดภาพ เป็นนักกิจกรรมในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา และถูกกระสุนปืนเสียชีวิต บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในช่วงเหตุการณ์ 6 ตุลา", "title": "มนัส เศียรสิงห์" }, { "docid": "40190#2", "text": "หนึ่งในประติมากรรมที่เด่นเป็นเอกลักษณ์ คือ สถูปวีรชน 14 ตุลา เป็นรูปกรวยคว่ำ สูง 14 เมตร จารึกรายชื่อผู้เสียชีวิตทั้งหมด 72 คนและบทกวีของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ รูปกรวยคว่าเป็นสัญลักษณ์ของจิตวิญญาณการมนุษย์ ส่วนปลายยอดกรวยที่ดูเหมือนยังสร้างไม่เสร็จแทนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย สิทธิ และเสรีภาพที่ยังต้องดำเนินต่อไป\nการก่อสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา มีประวัติอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่มีการเสนอให้มีการสร้างอนุสาวรีย์สำหรับผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ 14-16 ตุลาคม 2516 ผ่านคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์เมื่อ พ.ศ. 2517 แต่กว่าที่อนุสรณ์สถาน 14 ตุลาจะปรากฏเป็นรูปธรรมดังที่เห็น หนทางก็เต็มไปด้วยอุปสรรคนานัปการ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2544 อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างได้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา อดีตนักศึกษาในสมัย 14 ตุลา นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนผู้รักประชาธิปไตย \nงบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้มาจากเงินบริจาคของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และในโอกาสครบรอบ 28 ปี 14 ตุลา รวมกับเงินบริจาคของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล กรุงเทพมหานคร และทบวงมหาวิทยาลัย โดยมีมูลนิธิ 14 ตุลา เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการจัดสร้าง และร่วมดำเนินกิจการของอนุสรณ์สถานฯ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า", "title": "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา" }, { "docid": "24830#23", "text": "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เหตุการณ์ 6 ตุลา คนเดือนตุลา 3 ทรราช 14 ตุลา สงครามประชาชน", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "24830#17", "text": "คณะรัฐมนตรีมีมติให้ก่อสร้าง อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ขึ้นที่ สี่แยกคอกวัว ถนนราชดำเนินกลาง โดยกว่าจะผ่านกระบวนต่าง ๆ และสร้างจนแล้วเสร็จนั้น ต้องใช้เวลาถึง 28 ปี", "title": "เหตุการณ์ 14 ตุลา" }, { "docid": "214138#16", "text": "เมื่อภาพยนตร์ออกฉาย ฝ่ายโฆษณาได้เปลี่ยนชื่อเรื่องเป็น 14 ตุลา สงครามประชาชน เพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ [note 2] เนื่องจากภาพยนตร์ออกฉายในเวลาใกล้เคียงกับพิธีเปิดอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา บริเวณสี่แยกคอกวัว ในโอกาสครบรอบ 28 ปี เหตุการณ์ 14 ตุลา และครบรอบ 25 ปี เหตุการณ์ 6 ตุลา[4]", "title": "14 ตุลา สงครามประชาชน" }, { "docid": "55965#0", "text": "นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า \"ผอม\" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า \"\"สหายสงคราม\"\" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม \"เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ\"", "title": "ประพันธ์ คูณมี" }, { "docid": "214138#0", "text": "14 ตุลา สงครามประชาชน (English: The Moonhunter) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2544 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของเสกสรรค์ ประเสริฐกุล อดีตผู้นำนักศึกษาในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 และจิระนันท์ พิตรปรีชา ภรรยา ที่ต้องหนีภัยจากการกวาดล้างของรัฐบาลไทย เข้าป่าไปร่วมงานกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย จนกระทั่งออกจากป่าในปี พ.ศ. 2524", "title": "14 ตุลา สงครามประชาชน" }, { "docid": "78165#7", "text": "ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 นายเทพมนตรี ลิมปพยอม นักวิชาการอิสระด้านประวัติศาสตร์ ได้เปิดตัวหนังสือมา 2 เล่ม ชื่อ \"\"ลอกคราบ 14 ตุลา ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย\"\" และ \"\"พันเอกณรงค์ กิตติขจร 30 ปี 14 ตุลา ข้อกล่าวหาที่ไม่สิ้นสุด\"\" โดยมีเนื้อหาอ้างอิงจากเอกสารราชการลับในเหตุการณ์ 14 ตุลา ซึ่งมีเนื้อหาว่าทั้ง พ.อ.ณรงค์ และจอมพลถนอม มิได้เป็นผู้สั่งการในเหตุการณ์ 14 ตุลา", "title": "ณรงค์ กิตติขจร" }, { "docid": "1817#2", "text": "มีบทบาททางการเมืองในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 ด้วยการเป็นประธานนักเรียน หลังจากนั้นได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ 6 ตุลา พ.ศ. 2519 และพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535", "title": "วีระ สมความคิด" }, { "docid": "40190#0", "text": "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ตั้งอยู่เลขที่ 14/16 ถนนราชดำเนินนอก แขวงเสาชิงช้า บริเวณสี่แยกคอกวัว สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2544 ", "title": "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา" } ]
2899
ละครซิตคอมคืออะไร?
[ { "docid": "47276#0", "text": "ซิตคอม (English: sitcom) ย่อมาจาก ซิจูเอชันคอเมดี (English: situation comedy) มีลักษณะ คือ ตัวละครจะอยู่ในสถานการณ์จำลองเดียวกันจากตอนหนึ่งไปตอนถัดไป สถานการณ์จำลองมักจะเป็นในครอบครัว ที่ทำงาน หรือ ในวงเพื่อน มุกตลกในซิตคอมมีหลากหลาย แต่ปกติแล้วจะมีลักษณะเป็นแบบตัวละครนำเรื่องไป (character-driven) นำมาซึ่งการใช้ running gags (มุกซ้ำๆประจำตัวละคร ย้ำเรื่อยๆตลอดเรื่อง)", "title": "ซิตคอม" } ]
[ { "docid": "644193#41", "text": "หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย หมวดหมู่:ซิตคอมไทย หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2557 หมวดหมู่:ซีเนริโอ หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ช่องวัน", "title": "ยีนเด่น (ละครซิตคอม)" }, { "docid": "183372#2", "text": "นอกจากนี้ยังมีผลงานด้านการแสดง เช่น ละครโทรทัศน์ \"น้ำพุ\" , \"หลังคาแดง\" ผลงานละครซิตคอมเรื่อง รักริทึ่ม ทางช่อง 5 ละครซิตคอมเรื่อง เนื้อคู่ประตูถัดไปช่อง9 และเนื้อคู่อยากรู้ว่าใครช่อง 5 ละครสะท้อนสังคมเรื่อง \"จิตประภัสสร\" ทางไทยพีบีเอส ผลงานละครเวทีเรื่อง \"ชายกลาง\" ส่วนด้านงานภาพยนตร์ มีบทสมทบใน \"สายลับจับบ้านเล็ก\" ของผู้กำกับคมกฤษ ตรีวิมล ในบทบาทของนักสืบ \"สุทิน\" และเคยเล่นหนังเรื่อง \"แฝด\" และสมทบในภาพยนตร์ \"บุญชู 9\"", "title": "นิมิตร ลักษมีพงศ์" }, { "docid": "272693#1", "text": "แฟกทอรีที่รัก เป็นผลงานการกำกับละครซิตคอมเรื่องแรกของเพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา หรือ หม่ำ จ๊กมก และยังเป็นนักแสดงในเรื่องนี้อีกด้วย โดยละครจะเป็นเรื่องราวของสาวโรงงานชาวอิสานกับหนุ่มนักเรียนนอกลูกเจ้าของโรงงานในโรงงานหนังไทย โดยเรื่องนี้เป็นซิตคอมเรื่องแรกที่มีการใช้ภาษาไทยถิ่นอีสานเป็นภาษาหลักในการดำเนินเรื่องควบคู่กับภาษาไทยกลาง โดยจะมีคำบรรยายภาษาไทยตลอดเมื่อตัวละครพูดภาษาไทยถิ่นอีสาน", "title": "แฟกทอรีที่รัก" }, { "docid": "122640#0", "text": "บ้านนี้มีรัก เป็นละครโทรทัศน์ไทยประเภทซิตคอม ผลิตโดย บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด หรือฝ่ายบริหารละครโทรทัศน์และซิตคอม สถานีโทรทัศน์ช่องวัน อำนวยการผลิตโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ กำกับการแสดงโดย กิตติ เชี่ยววงศ์กุล ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 18.00 - 19.00 น. เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 และออกอากาศครั้งสุดท้ายทางโมเดิร์นไนน์ทีวี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558", "title": "บ้านนี้มีรัก" }, { "docid": "5152#19", "text": "ตอนที่ 1 ถึงตอนที่ 13 ช่องวันได้ทำสัญญาการออกอากาศร่วมกับไลน์ทีวี ในการนำซิตคอมไปปล่อยให้รับชมย้อนหลัง อย่างไรก็ตามในช่วงก่อนออกอากาศตอนที่ 13 ทางไลน์ทีวีได้แจ้งว่าเป็นตอนอวสาน จึงทำให้เกิดความเข้าใจผิดในการออกอากาศว่าซิตคอมจะจบในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560 แต่อย่างไรก็ตามในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ มีการออกอากาศละครเรื่องนี้ตามปกติ และในสัปดาห์นั้นเป็นช่วงที่ช่องวันปรับผังออกอากาศมาเริ่มทำ Facebook Live และ YouTube Live เพิ่มเติม จึงระบุสาเหตุได้อย่างชัดเจนว่าทางไลน์ทีวีไม่ต่อสัญญา แต่เลือกทำสัญญากับซิตคอม เสือ ชะนี เก้ง แทน ส่วนซิตคอม บางรักซอย 9/1 ได้เริ่มลงย้อนหลังทางยูทูปตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 โดยลงตั้งแต่ตอนที่ 14 เป็นต้นไป ส่วนตอนที่ 10-13 ได้ทยอยลงในเดือนกุมภาพันธ์ตามสัญญาที่คงเหลือกับไลน์ทีวี ทำให้ในไลน์ทีวีมีซิตคอม บางรักซอย 9/1 ออกอากาศเพียง 13 ตอน จากทั้งหมด 55 ตอน และในฤดูกาลที่ 2 ช่องวันได้นำ บางรักซอย 9/1 กลับไปลงย้อนหลังทาง ไลน์ทีวี อีกครั้ง รวมถึงตอนที่ 14–55 ในฤดูกาลแรกด้วย เฉพาะวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 บางรักซอย 9/1 ตอนที่ 17 มีกำหนดออกอากาศช้ากว่าเวลาปกติคือตั้งเริ่มมาแต่เวลา 21.22 น. จนถึงเวลา 21.59 น. เนื่องมาจากเวลา 20.15–21.20 น. ทางสถานีก็ได้ตัดเข้าสัญญาณการถ่ายทอดสดจากโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.) เช่นเดียวกันกับสถานีโทรทัศน์ไทย (ฟรีทีวีและดิจิตอลทีวี) ทุกช่องสถานีวิทยุทุกคลื่นสถานี เข้าสู่การถ่ายทอดสด สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินทรงบำเพ็ญพระราชกุศลในการพิธีธรรมสวดอภิธรรมพระบรมศพ และพิธีประโคมย่ำยาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 29 ตุลาคม 2560 หรือตลอดทั้งเดือนตุลาคม ทางสถานีของดการออกอากาศละครโทรทัศน์หรือรายการโทรทัศน์ที่สื่อถึงความบันเทิงรื่นเริงใจเนื่องมาจากงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี) ที่จะมีขึ้นในระหว่างวันที่ 25–27 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งได้รับคำสั่งและแนวทางในการออกอากาศรายการโทรทัศน์รวมไปถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ ผ่านทางสถานีโทรทัศน์ไทยทุกสถานี จากสมาคมมีเดียเอเยนซี่ และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย (MAAT)", "title": "1" }, { "docid": "110567#0", "text": "3 หนุ่ม 3 มุม เป็น ละครซิตคอม (Situation Comedy) เรื่องแรกๆของเมืองไทย สร้างสรรค์และกำกับการแสดงโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ\n3 หนุ่ม 3 มุม เป็นเรื่องราวของ 3 หนุ่มพี่น้อง ตัวแทนของคนต่างวัยในสังคม ที่มีความคิดและมุมมองต่างกันในการพบเจอเรื่องราวต่างๆ มากมายในสังคม เป็นละครสั้นจบในตอน หรือที่ปัจจุบันเรียกกันว่า 'ละครซิตคอม' ได้รับการพูดถึงว่าเป็นละครแนวสร้างสรรค์ สะท้อนปัญหาและเหตุการณ์ของสังคมในยุคนั้นได้ดีเรื่องหนึ่ง รวมถึงสะท้อนให้เห็นถึงความรักความผูกพันของคนในครอบครัว เป็นละครที่มีระยะเวลาการออกอากาศยาวนานมาก (พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2541) ทำให้ผู้ชมเกิดความผูกพันกับตัวละครทั้ง 3 พี่น้องนี้ จนรู้สึกว่านักแสดงนำทั้ง 3 คน \"\"กบ แท่ง มอส\"\" เป็นพี่น้องกันในชีวิตจริงด้วย", "title": "3 หนุ่ม 3 มุม" }, { "docid": "490627#6", "text": "สำหรับละครแนวซิตคอม ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่าเริ่มเมื่อใด แต่มีการสันนิษฐานว่า ละครชุด นุสรา (พ.ศ. 2503) เป็นละครแนวซิตคอมเรื่องแรก ได้รับอิทธิพลจากละครของสหรัฐอเมริกาเรื่อง I Love Lucy ละครชุด นุสรา เป็นละครเบาสมองชุดสั้นจบในตอน มีความยาว ตอนละ 30 นาที มีผู้แสดงชุดเดียวกันตลอด แต่เรื่องที่ผลิตเรื่องที่สองไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่มีรูปแบบละครรูปแบบนี้อีกหลายเรื่องเช่น ผู้พิทักษ์ความสะอาด, ยุทธ-จักรนักคิด, สาธรดอนเจดีย์, พิภพมัจจุราช, หุ่นไล่กา, บาปบริสุทธิ์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามละครแนวซิตคอมเริ่มได้รับความนิยมในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ส่วนใหญ่มีเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัว", "title": "ละครโทรทัศน์ไทย" }, { "docid": "134806#0", "text": "ระเบิดเถิดเทิง เป็นรายการซิตคอมควบคู่กับเกมโชว์ ซึ่งผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกทุกวันอาทิตย์ โดยในระยะแรกมีรูปแบบเป็นรายการวาไรตี้ อีก 3 เดือนต่อมาได้เปลี่ยนรูปแบบมาเป็นละครซิตคอม ควบคู่กับเกมโชว์ อันเป็นรูปแบบปัจจุบันของรายการ รายการระเบิดเถิดเทิงออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2539 ตลอดระยะเวลาที่ระเบิดเถิดเทิงออกอากาศจนถึงปัจจุบัน ช่วงซิตคอมระเบิดเถิดเทิงยุคแรกและยุคต่อๆมา (2553-ปัจจุบัน)ได้มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหา และตัวละครอยู่เรื่อย ๆ นับว่าเป็นซิตคอมที่มีการออกอากาศยาวนานที่สุดในประเทศไทย", "title": "ระเบิดเถิดเทิง" }, { "docid": "491841#0", "text": "ครอบครัวขำ เป็นรายการวาไรตี้ผสมละครซิตคอมตลกสั้น จบในตอน ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุก วันพฤหัสบดี เวลา 23.15-24.15 น. โดยจะเริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 - 19 มิถุนายน 2557 หลังจากซิตคอมเรื่อง \"เป็นข่าว\" จบลงในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 โดยบริษัท ซีเนริโอ จำกัด", "title": "ครอบครัวขำ" }, { "docid": "722597#0", "text": "มือปราบกุ๊กกุ๊กกู๋ เป็นละครโทรทัศน์ประเภทซิตคอม ผลิตโดย บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด หรือฝ่ายบริหารละครโทรทัศน์และซิตคอม สถานีโทรทัศน์ช่องวัน อำนวยการผลิตโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ กำกับการแสดงโดย พงษ์ศักดิ์ ฉิมเจริญ ออกอากาศทางช่องวัน ทุกวันเสาร์ เวลา 18:20 - 19:20 น. ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 23 มกราคม พ.ศ. 2559 รวมทั้งหมด 31 ตอน สถานีโทรทัศน์เมียวดี สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ (MWD TV) ซื้อลิขสิทธิ์นำไปออกอากาศที่ ประเทศเมียนมาร์ ออกาอากาศครั้งแรกวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน", "title": "มือปราบกุ๊กกุ๊กกู๋" }, { "docid": "182281#0", "text": "ฮากลางแดด เป็นรายการวาไรตี้ผสมละครซิตคอมตลกขบขันที่ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ถึง ปี พ.ศ. 2539 ทางช่อง 5 ซึ่งเป็นรายการที่ออกอากาศในตอนกลางวันธรรมดา โดยฉากในละครซิตคอมนั้น จะเป็นฉากนอกสถานที่ที่อยู่กลางแดดและเหตุการณ์ในแต่ละตอนก็ล้วนเป็นเรื่องตลกทั้งสิ้นในตอนกลางวันแสกๆด้วย", "title": "ฮากลางแดด" }, { "docid": "802286#0", "text": "จ่าเริง เซิ้งยับ เป็นละครซิตคอมที่ผลิตโดยบริษัท รฤก โปรดั๊กชั่น จำกัด โดยนำมาทำเป็นละครซิตคอมจบในตอน ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 11.00-12.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2559 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2560 และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไปทางสถานีจัดผังรายการใหม่ในเดือนมกราคม โดยที่ละครซิทคอมเรื่องนี้ได้ย้ายเวลาออกอากาศมาเร็วขึ้นกว่าเดิมเป็นเวลา 10.15 - 11.15 น. เริ่มวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2560", "title": "จ่าเริง เซิ้งยับ" }, { "docid": "833488#0", "text": "ครอบครัวหรรษา เป็นละครโทรทัศน์ไทยประเภทซิตคอม ผลิตโดย บริษัท บ้านคนละคร 234 จำกัด หรือฝ่ายบริหารละครโทรทัศน์และซิตคอม สถานีโทรทัศน์ช่องช่อง 5 อำนวยการผลิตโดย ผศ.ดร.บุญมา อิ่มวิเศษ กำกับการแสดงโดย ตี๋ ดอกสะเดา ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ทุกวันศุกร์ เวลา 20.45 - 21.10 น. เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2559-30 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และเปลี่ยนการออกอากาศเป็นทุกวันเสาร์ เวลา 13.00 – 13.25 น. เริ่มวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2560-30 ธันวาคม พ.ศ. 2560", "title": "ครอบครัวหรรษา" }, { "docid": "47276#2", "text": "ซิตคอมเป็นละครแนวสุขนาฏกรรม เลือกที่จะมองชีวิตมนุษย์ในแง่ขบขัน ล้อเลียน เอามาทำเป็นเรื่องตลกให้คนดูหัวเราะ โดยผูกเรื่อง สร้างสถานการณ์ให้เกิดอารมณ์ขันสนุกสนาน องค์ประกอบของละครซิตคอม มีรายละเอียดดังนี้ ด้านเนื้อหา หลากหลาย มีความสัมพันธ์หลายกลุ่ม หลายบุคคล, รูปแบบการนำเสนอ ไม่สมจริง แต่เนื้อหามาจากความจริง, จังหวะและการดำเนินเรื่องรวดเร็ว จบตามเวลา, มีพื้นฐานทางอารมณ์, ความสัมพันธ์ของตัวละครตามสูตรแน่นอน, ตัวละครมีลักษณะเหมือนจริง และ การแบ่งแยกวงในและวงนอกคือระหว่างนักแสดงประจำกับดารารับเชิญ", "title": "ซิตคอม" }, { "docid": "194239#2", "text": "เธอเคยรับหน้าที่โปรดิวเซอร์พร้อมกับเพื่อนจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการสร้างซิตคอมเรื่อง \"เนื้อคู่ประตูถัดไป\" ให้ GTH และแสดงเป็นตัวละครในซิตคอมเรื่องนี้ด้วย นอกจากนี้ยังเคยเป็นนักจัดรายการวิทยุ (ดีเจ) รายการ \"มีเรื่อง...ก่อนนอน\" ให้กับ เอไทม์ มีเดียของ สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา", "title": "ปาณิสรา อารยะสกุล" }, { "docid": "146298#0", "text": "ผู้กองเจ้าเสน่ห์ เป็นละครโทรทัศน์ไทยประเภทซิตคอม ผลิตโดย บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด หรือฝ่ายบริหารละครโทรทัศน์และซิตคอม สถานีโทรทัศน์ช่องวัน อำนวยการผลิตโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ กำกับการแสดงโดย พงษ์ศักดิ์ ฉิมเจริญ นำแสดงโดยหนึ่งในนักแสดงซิตคอมยุคบุกเบิกของซีเนริโอ คือ มอส-ปฏิภาณ ปฐวีกานต์ ออกอากาศครั้งแรกทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.45 น.- 10.30 น. เริ่มออกอากาศวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550 และออกอากาศครั้งสุดท้ายทางช่อง 3 วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558 ", "title": "ผู้กองเจ้าเสน่ห์" }, { "docid": "939148#4", "text": "อนึ่ง ในปีเดียวกันนั้น เป็นปีแรกที่ทางบริษัทฯ ได้ผลิตละครโทรทัศน์เรื่องยาวเป็นเรื่องแรก นั้นคือเรื่อง \"\"รหัสปริศนา Code Hunter\"\" ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยละครโทรทัศน์ของทางบริษัทฯ จะเจาะกลุ่มผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเมืองเป็นหลัก ซึ่งก่อนหน้านั้นทางบริษัทฯ ได้ผลิตละครซิตคอมเป็นเรื่องแรก ในปี พ.ศ. 2556 นั้นคือเรื่อง \"\"เณรจ๋า\"\" ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เช่นเดียวกัน โดยมี \"\"ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์\"\" ซึ่งเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง มากำกับละครซิตคอมเรื่องนี้", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "230186#7", "text": "เอ็กแซ็กท์และซีเนริโอ ได้ผลิตรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์ต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้โชว์ซิตคอม ละครโทรทัศน์ ละครซิทคอม ละครซีรีส์ และเรียลลิตี้โชว์เป็นจำนวนกว่า 250 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์วัน ปัจจุบันเอ็กแซ็กท์และซีเนริโอมีรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 12 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์ วาไรตี้โชว์ ละครโทรทัศน์และละครซิตคอม ออกอากาศทางช่องวัน 31", "title": "เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์" }, { "docid": "947062#0", "text": "สภากาแฟ 4.0 เป็นละครโทรทัศน์ไทยประเภทซิตคอม ผลิตโดย บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) หรือฝ่ายบริหารละครโทรทัศน์และซิตคอม สถานีโทรทัศน์ช่องAmarin TV (Number 34) อำนวยการผลิตโดย เนตรชนก วิภาตะศิลปิน กำกับการแสดงโดย ศุภกร เหรียญสุวรรณ ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์ช่องAmarin TV (Number 34) ทุกวันเสาร์เวลา 16.00-17.00 น. เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2561 เป็นต้นไป ย้ายเวลาออกอากาศไปเป็นเวลา 18.35-19.35 น.) ต่อมาภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ได้ย้ายวันและเวลาออกอากาศไปเป็นทุกวันอาทิตย์ เวลา 22.00 - 23.00 น.", "title": "สภากาแฟ 4.0" }, { "docid": "134806#8", "text": "เมื่อรายการระเบิดเถิดเทิงออกอากาศได้เพียงระยะเวลา 3 เดือน ระเบิดเถิดเทิงได้เปลี่ยนรูปแบบมาเป็นละครซิตคอม ควบคู่ไปกับเกมโชว์ในช่วงท้ายรายการ ซึ่งถือเป็นรูปแบบของระเบิดเถิดเทิงในยุคนี้และต่อๆมา โดยพิธีกรหลักนั้น เป็นมยุรา เศวตศิลาเพียงคนเดียว แต่หนู คลองเตย และหม่ำ จ๊กมก ได้เปลี่ยนมาทำหน้าที่เป็นผู้เล่นละครซิตคอม และร่วมเล่นเกมโชว์ด้วยนั่นเอง (ทว่ามยุราก็ได้ร่วมเล่นละครซิตคอมด้วย แต่เป็นเพียงบทสมทบเท่านั้น) ซึ่งเริ่มออกอากาศเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2539 จนถึงระเบิดเถิดเทิงในยุคปัจจุบันต่อๆมา", "title": "ระเบิดเถิดเทิง" }, { "docid": "293812#0", "text": "หกตกไม่แตก เป็นละครซิตคอม ทางช่อง 7ที่ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2538 จนถึง 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 สร้างโดยค่าย เอ็กแซ็กท์ เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์ของวงการซิตคอมไทย ที่นำวงยูเอชที มาเล่นละครเรื่องนี้ ซึ่งในแต่ละตอนเพลงไตเติลจบมักจะมีรูปแบบไม่ซ้ำกัน ถือว่าเป็นมิติใหม่แห่งวงการซิตคอมไทย ", "title": "หกตกไม่แตก" }, { "docid": "47276#1", "text": "เพื่อที่จะรักษาสถานการณ์ให้คงที่ตลอดจำนวนตอนที่มากมาย ในซิตคอมต่างๆ ตัวละครจึงมักมีความเป็นไปที่คงที่ (เช่น ถ้าเป็นเรื่องความรัก ก็จะไม่มีความคืบหน้าของความรักในแต่ละตอนมากนัก ทำให้ความสัมพันธ์ของตัวละครคงเดิม) เหตุการณ์ในแต่ละตอนก็จะมีบทสรุปภายในตอน และมีไม่บ่อยนักที่จะเกี่ยวโยงข้ามตอน", "title": "ซิตคอม" }, { "docid": "330907#0", "text": "เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เริ่มทำการผลิตรายการ \"เวทีทอง\" ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นรายการแรก ต่อมา บริษัทขยายการผลิตรายการและละครประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ เป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อนำเสนอออกอากาศมาโดยตลอดระยะเวลา 28 ปี ของการดำเนินงานธุรกิจผลิตและรับจ้างผลิตรายการโทรทัศน์ โดยบริษัทมีทีมครีเอทีฟที่มีความคิดสร้างสรรค์ และมีประสบการณ์สร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์, เรียลลิตี้เกมโชว์ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, วาไรอิตีโชว์, เกมโชว์ควิซโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน, เรียลลิตี้โชว์สำหรับสำหรับเด็กและเยาวชน, เกมโชว์ซิตคอม, ละครซิตคอม, วาไรตี้โชว์ซิตคอม, วาไรตี้โชว์วันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครซิตคอมวันหยุดนักขัตฤกษ์, รายการวันหยุดนักขัตฤกษ์, ละครโทรทัศน์เรื่องยาว, วาไรอิตีโชว์และละครเรื่องยาว, ละครเทิดพระเกียรติ และ สารคดีทางโทรทัศน์ โดยนำไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ นั่นคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ ช่องเวิร์คพอยท์ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย โดยแต่ละรายการของบริษัทฯ ประสบความสำเร็จ และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ, รางวัลศิลปินแห่งชาติ จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และรางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชีย (เอเชี่ยนเทเลวิชั่นอวอร์ดส์) เป็นต้น รวมถึงยอดขายโฆษณาที่สม่ำเสมอของทางบริษัทฯ", "title": "รายชื่อผลงานของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "644193#0", "text": "ยีนเด่น เป็นละครโทรทัศน์แนวซิตคอมออกอากาศทางช่องวัน ผลิตโดยซีเนริโอ กำกับการแสดงโดย กิตติ เชี่ยววงศ์กุล เดิมมีความยาวตอนละ 30 นาที และออกอากาศทุกวันพุธ เวลา 19:00 น. – 19:30 น. ออกอากาศตอนแรกวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2557 [1] และวันเสาร์ เวลา 19.00 - 19.30 น. ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เนื่องจากกระแสตอบรับที่ดี จึงได้เพิ่มเวลาออกอากาศเป็น 45 นาที และย้ายมาออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 18:30 - 19:15 น. ตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2558 ยีนเด่นหลุดจากผังของช่องวัน โดยออกอากาศตอนสุดท้ายในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึงแม้จะมีกระแสตอบรับและคำวิจารณ์ที่ดีในโลกออนไลน์ก็ตาม แต่เนื่องด้วยเหตุผลเรื่องเรตติ้งและต้นทุนการผลิต [2] ทำให้ยีนเด่นมีการออกอากาศรวมทั้งหมดเพียง 41 ตอน และมีตอนพิเศษ 1 ตอน คือ ยีนเด่น Holiday โดยทางช่องจะนำละครซิตคอมเรื่องมือปราบกุ๊กกุ๊กกู๋มาฉายแทน", "title": "ยีนเด่น (ละครซิตคอม)" }, { "docid": "831830#0", "text": "ขวัญใจไทยแลนด์ เป็นละครซิตคอมที่ผลิตโดย เลยดูดี สตูดิโอ (LeayDoDee Studio) และบริษัท โต๊ะกลมโทรทัศน์ จำกัด (TOHGLOAM) โดยนำมาทำเป็นละครซิตคอมจบในตอน ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 10.15 - 11.15 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเสนอเป็นตอนจบในเวลา 08.30 - 09.15 น. และซิทคอมเรื่องนี้ได้ย้ายเวลาออกอากาศไปเป็นเวลา 08.30 - 09.15 น. โดยฉายซ้ำรีรันตอนเก่าๆ อีกครั้งในวันและเวลาเดียวกันนี้ เริ่ม 9 กรกฎาคมนี้", "title": "ขวัญใจไทยแลนด์" }, { "docid": "541084#0", "text": "ซิตคอมในประเทศไทย กำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2519 นักแสดงชื่อดังยุคนั้นคือ ภัทราวดี มีชูธน วางมือจากงานภาพยนตร์มาจับงานผู้จัดละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์ ไทยทีวีสีช่อง 3 นอกจากริเริ่มการแสดงละครโดยไม่มีการบอกบท ยังจัดละครประเภทซิตคอมตอนสั้นๆ ออกอากาศต่อเนื่อง ได้รับความนิยมสูง กวาดคะแนนถล่มทลายก่ายกองคือ \"ตุ๊กตาเสียกบาล\" ที่ภัทราวดีรับบทนำเป็น เจี๊ยบ สาวปัญญาอ่อน เพราะความที่เป็นซิตคอมเรื่องแรกและความแตกต่างจากละครทั่ว ๆ ไปทำให้ซิตคอมเรื่องต่อ ๆ มา ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “ละครภัทราวดี” โฆษณาหลั่งไหลเข้าถึงตอนละ 18 นาที ทำให้เวลาละครเหลือเพียง 12 นาที นับแต่นั้นจึงต้องมีการกำหนดเวลาโฆษณาเหลือ 5 นาทีต่อรายการความยาว 30 นาที ", "title": "รายชื่อซิตคอมไทย" }, { "docid": "56424#0", "text": "ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง หรือรู้จักในชื่อเล่นว่า แท่ง เป็นนักแสดง นักร้อง พิธีกร ชาวไทย มีชื่อเสียงจาก ภาพยนตร์ เรื่อง กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้ และ ละครซิตคอม 3 หนุ่ม 3 มุม และละครหลังข่าวอีกหลายเรื่อง รวมถึงซิตคอม อย่าง บางรักซอย 9 ที่เป็นที่มาของละครเวที ก่อนจะถึง บางรักซอย 9 on stage และมีวงดนตรีของตัวเองที่ตั้งขึ้นมาจากกลุ่มเพื่อนทีม แมงปอล้อคลื่น ที่ใช้ชื่อว่า พลพรรครักเอย และนอกจากนี้แท่งยังเคยเล่นฟุตบอลอาชีพให้กับทีม สโมสรฟุตบอลสุราษฎร์ธานี อีกด้วย และในปี พ.ศ. 2557 สโมสร ซีคเคอร์ เอฟซี ทีมในศึกดิวิชั่น 2 โซนภาคกลางและตะวันตก คว้าตัว \"แท่ง\" ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง นักร้องนักแสดงชื่อดังมาร่วมทีมเป็นที่เรียบร้อยแล้วโดยเซ็นสัญญา 1 ปี ในตำแหน่งกองกลาง สวมเสื้อหมายเลข 1", "title": "ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง" }, { "docid": "595006#0", "text": "Cup Cake รักล้นครีม เป็นละครซิตคอมที่ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด โดยนำมาทำเป็นละครซิตคอมจบในตอน ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 15.00-16.00 น. ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2557 - 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557", "title": "Cup Cake รักล้นครีม" }, { "docid": "561208#3", "text": "พัสกร พลบูรณ์ มีผลงานทั้งละครโทรทัศน์ ซิตคอม ภาพยนตร์มากมาย โดยเริ่มแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ลูกตลกตกไม่ไกลต้น ต่อด้วย โกยเถอะโยม ด้านผลงานละคร แสดงละครเรื่อง เพื่อนแซบ 4x4 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ เป็นซิตคอมของค่ายอาร์เอส", "title": "พัสกร พลบูรณ์" } ]
2442
อีเลียต ลอเรนซ์ สปิตเซอร์จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอะไร?
[ { "docid": "154595#1", "text": "สปิตเซอร์เกิดและเติบโตในเขตบรองซ์ (The Bronx) ของเมืองนิวยอร์กซิตี้ เป็นบุตรชายของเจ้าสัวอสังหาริมทรัพย์ เบอร์นาร์ด สปิตเซอร์ (Bernard Spitzer) และแอนน์ สปิตเซอร์ (Anne Spitzer) ศาสตราจารย์วิชาวรรณกรรมอังกฤษ เขาเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน (Princeton University) และเข้าศึกษากฎหมายจากโรงเรียนกฎหมายฮาร์วาร์ด (Harward Law School) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) ที่ซึ่งเขาได้พบภรรยาในอนาคต ซิลด้า วอลล์ (Silda Wall) ผู้ซึ่งในเวลาต่อมาเป็นผู้ก่อตั้งองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร Children for Children (เด็กเพื่อเด็ก) หลังจากได้รับปริญญากฎหมายหลักสูตร Juris Doctor สปิตเซอร์จึงเข้าทำงานในบริษัทกฎหมาย พอลล์, เวสส์, ริฟคินด์, วอร์ตัน แอนด์ แกร์ริสัน (Paul, Weiss, Rifkind, Wharton & Garrison)", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" } ]
[ { "docid": "154595#7", "text": "เขาสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน ฮอเรซ มานน์ (Horace Mann School) หลังจากทำคะแนนการสอบวัดความสามารถทางการศึกษา (Scholastic Aptitude Test : SAT)\nได้ 1,590 คะแนน สปิตเซอร์จึงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน เอกสำนักกิจการสาธารณะและระหว่างประเทศวู้ดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson School of Public and International Affairs) เขาทำคะแนนเต็มได้ในการสอบคัดเลือกเข้าสำนักกฎหมาย (Law School Admission Test : LSAT) และเข้าศึกษาต่อ ณ สำนักกฎหมายฮาร์วาร์ด ที่ซึ่งเขาได้พบและแต่งงานกับ ซิลด้า วอลล์ (Silda Wall) เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2530 และมีลูกด้วยกัน 3 คน ได้แก่ เอลิสซ่า (Elyssa) ซึ่งเกิดเมื่อ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2532, ซาราเบธ (Sarabeth) เกิดเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2535, และเจนน่า (Jenna) เกิดเมื่อ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2537", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" }, { "docid": "154595#8", "text": "หลังจากได้รับปริญญา Juris Doctor สปิตเซอร์จึงเข้าทำงานเป็นเสมียนให้ผู้พิพากษาโรเบิร์ต ดับเบิลยู สวีท (Robert W. Sweet) ในแมนฮัตตัน ต่อมาจึงเข้าร่วมบริษัทกฎหมายพอลล์, เวสส์, ริฟคินด์, วอร์ตัน แอนด์ แกร์ริสัน (Paul, Weiss, Rifkind, Wharton & Garrison) หลังจากอยู่ได้ไม่ถึง 2 ปี เขาก็เข้าทำงานร่วมกับอัยการเขตแมนฮัตตัน โรเบิร์ต เอ็ม มอร์เก็นเธา ที่ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าหน่วยขู่กรรโชกแรงงาน และใช้เวลา 6 ปีในการปราบปรามอาชญากรรมในองค์กร เขาเป็นผู้นำการสืบสวนซึ่งล้มล้างอิทธิพลของตระกูลแกมบิโน่เหนืออุตสาหกรรมเสื้อผ้าและการขนส่งด้วยรถกระบะ\nสปิตเซอร์ออกจากสำนักงานอัยการในปี พ.ศ. 2535 เพื่อเข้าทำงานที่บริษัทกฎหมาย สแกดเด็น, อาร์ปส์, สเลท, มีเกอร์ แอนด์ ฟลอม และทำงานอยู่ที่นั่นจนถึงปี พ.ศ. 2537 และต่อมาเข้าบริษัท คอนแสตนติน แอนด์ พาร์ทเนอร์ส์ ที่ซึ่งเขาทำงานในคดีหลายคดีที่กี่ยวข้องกับสิทธิผู้บริโภคและการฝ่าฝืนกฎหมายการแข่งขันเสรี (Antitrust Law)", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" }, { "docid": "154595#6", "text": "สปิตเซอร์เกิดในเขตบรองซ์ เป็นลูกคนเล็กสุดในจำนวน 3 คนของแอนน์ สเปนเซอร์ (นามสกุลก่อนแต่งงานคือ โกลด์ฮาเบอร์) อดีตศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ และเบอร์นาร์ด สเปนเซอร์ มหาเศรษฐีอสังหาริมทรัพย์ เขาสืบเชื้อสายมาจากชาวยิวซึ่งอพยพมาจากออสเตรีย", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" }, { "docid": "154595#0", "text": "อีเลียต ลอเรนซ์ สปิตเซอร์ (Eliot Laurence Spitzer) (เกิดเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2502) เป็นทนายความชาวอเมริกัน และอดีตนักการเมืองพรรคเดโมแครต (Democratic Party) เขารับตำแหน่งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 จนกระทั่งเขาลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2551 ก่อนจะได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ สปิตเซอร์รับตำแหน่งเป็นอัยการรัฐนิวยอร์ก", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" }, { "docid": "37473#1", "text": "ลิวอิสเกิดที่เบลฟัสต์ ประเทศไอร์แลนด์ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และได้เป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยแม็กดาเลน ออกซฟอร์ด เป็นเวลาเกือบสามสิบปี เขาเป็นสหายสนิทของเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้แต่งเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ด้วย ทั้งสองเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด เป็นนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีบทบาทในการปฏิรูปหลักสูตรภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย และเป็นกลุ่มผู้ก่อตั้งชมรมอิงคลิงส์ในยุคเริ่มต้น ต่อมาเขาจึงได้มาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในตำแหน่ง Professor of Medieval and Renaissance Literature (ศาสตราจารย์ด้านวรรณกรรมยุคกลางและยุคเรเนสซองส์) คนแรกของเคมบริดจ์", "title": "ซี. เอส. ลิวอิส" }, { "docid": "320748#1", "text": "เดนนิส ริตชี เกิดที่เมืองบรอนซ์วิลล์ นิวยอร์ก สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในระดับปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์ และระดับปริญญาโทสาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ ต่อมา พ.ศ. 2510 เขาเริ่มทำงานกับศูนย์วิจัยวิทยาการคอมพิวเตอร์ของเบลล์แลบส์โดยติดตามงานจากพ่อของเขา ริตชีเคยเป็นหัวหน้าแผนกวิจัยซอฟต์แวร์ระบบของลูเซนต์เทคโนโลยีส์ แต่เขาลาออกแล้วเมื่อ พ.ศ. 2550\nหลังจากต่อสู้กับโรคมะเร็งต่อมลูกหมากและโรคหัวใจมาหลายปี ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ริตชี ถูกพบว่าเสียชีวิตในบ้านที่ เบิร์กลีย์ ไฮน์ (Berkeley Heights) รัฐนิวเจอร์ซีย์ รวมอายุได้ 70 ปี", "title": "เดนนิส ริตชี" }, { "docid": "723055#1", "text": "รัสเซลล์เกิดที่เมืองพอร์ธสมัธ ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่งสาขาฟิสิกส์ ที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1982 จากนั้นจบการศึกษาระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ในปี ค.ศ. 1986 หลังจบการศึกษาได้ทำงานเป็นอาจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์จนปัจจุบันได้เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น ยังเป็นศาสตราจารย์พิเศษทางด้านศัลกรรมประสาทวิทยาที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานฟรานซิสโกหลังจากอุทิศตนทำงานวิจัยด้านสรีรวิทยาคำนวณ", "title": "สจวร์ต รัสเซลล์" }, { "docid": "34987#1", "text": "เลสสิกเกิดที่เมืองแรพิดซิตี ในรัฐเซาท์ดาโคตา เข้ารับการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาเศรษฐศาสตร์และการจัดการจากวอร์ตัน มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ต่อระดับปริญญาโทจาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยเยล", "title": "ลอว์เรนซ์ เลสสิก" }, { "docid": "154595#13", "text": "สปิตเซอร์ได้รับการเลือกตั้งเป็ฯผู้ว่าการในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2549 ด้วยคะแนนเสียงร้อยละ 69 เอาชนะจอห์น ฟาโซจากพรรครีพับลิกัน และจอห์น คลิฟตั้น (John Clifton) จากพรรคลิเบอร์แทเรียน (Libertarian Party)", "title": "อีเลียต สปิตเซอร์" } ]
3730
แม่น้ำสายไหนกว้างที่สุดในโลก?
[ { "docid": "343228#2", "text": "มหาสมุทรขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - มหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ประมาณ 165,246,000 ตารางกิโลเมตร มหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดในโลก - มหาสมุทรอาร์กติก พื้นที่ประมาณ 14,438,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - ทะเลจีนใต้ พื้นที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก - ทะเลเหลือง พื้นที่ประมาณ 466,200 ตารางกิโลเมตร ทะเลซึ่งมีความลึกที่สุดในโลก - ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ในมหาสมุทรแปซิฟิก ความลึก 11,034 เมตร ทะเลสาบปิดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - ทะเลแคสเปียน พื้นที่ประมาณ 371,000 ตารางกิโลเมตร ล้อมรอบด้วย 5 ประเทศ ทะเลสาบซึ่งมีความลึกที่สุดในโลก - ทะเลสาบไบคาล สหพันธรัฐรัสเซีย จุดที่ลึกที่สุด มีความลึกประมาณ 1,640 เมตร ทะเลสาบซึ่งมีความเค็มที่สุดในโลก - ทะเลสาบดอนฮวน ทวีปแอนตาร์กติกามีเกลือเจือปนอยู่ร้อยละ 42[1][2] แม่น้ำสายกว้างที่สุดในโลก - แม่น้ำแอมะซอน ในทวีปอเมริกาใต้ ความกว้าง 335 กิโลเมตร แม่น้ำสายยาวที่สุดในโลก - แม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกา ความยาว 6,695 กิโลเมตร แม่น้ำสายสั้นที่สุดในโลก - แม่น้ำดี สหรัฐอเมริกา ความยาว 130 เมตร น้ำตกสายกว้างที่สุดในโลก - น้ำตกไนแอการา ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ความกว้าง 148 กิโลเมตร น้ำตกสายสูงที่สุดในโลก - น้ำตกเอนเจล สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา ความสูง 979 เมตร", "title": "ที่สุดในโลก" } ]
[ { "docid": "96187#2", "text": "นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น \"มรดกโลก\" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง", "title": "แม่น้ำสาละวิน" }, { "docid": "539493#0", "text": "คลองหกวาสายบน เป็นคลองที่ขุดขึ้นหลังคลองแปดวา หรือคลองรังสิตประยูรศักดิ์เริ่มขุดไปได้ระยะหนึ่ง โดยบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ในสมัยรัชกาลที่ 5 เชื่อมระหว่างคลองหนึ่ง บริเวณเขตอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับแม่น้ำใน ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำนครนายก ที่อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อโครงข่ายคลองต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามโครงการทุ่งรังสิต ระหว่างปี พ.ศ. 2433 – พ.ศ. 2447 เหตุที่เรียกว่าคลองหกวาสายบน ด้วยเพราะคลองนี้มีความกว้าง 6 วา และอยู่ทางเหนือของคลองแปดวา ส่วนคลองขนาดกว้างหกวาที่อยู่ทางใต้ของคลองแปดวาก็เรียกกันว่าคลองหกวาสายล่าง", "title": "คลองหกวาสายบน" }, { "docid": "226864#0", "text": "พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน (; ) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน กินอาณาบริเวณของเมืองลี่เจียง เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง และเขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง แม่น้ำสามสายหมายถึงแม่น้ำสามสายที่มีต้นน้ำอยู่ในที่ราบสูงทิเบตและไหลขนานกันลงมา ได้แก่ แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง และแม่น้ำสาละวิน และนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง", "title": "พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน" }, { "docid": "53560#1", "text": "แม่น้ำสายนี้มีลักษณะพิเศษทางภูมิประเทศที่เป็นเอกลักษณ์ เรียกว่า ชะวากทะเล หมายถึงบริเวณปากแม่น้ำมีระยะห่างระหว่างฝั่งทั้งสองค่อย ๆ ขยายกว้างออกไปจนเป็นอ่าว อันเกิดจากแผ่นดินมีการยุบตัวลง มีอิทธิพลน้ำเค็มจากทะเลเข้าไปได้ สองฝั่งแม่น้ำจึงมีสภาพนิเวศแบบป่าชายเลนไปตลอดจนถึงเขตอำเภอละอุ่น บริเวณปากคลองละอุ่นจึงเริ่มเป็นบริเวณที่แม่น้ำมีความกว้างเป็นปรกติ โดยมีความกว้างสุด 6 กิโลเมตร ก่อนออกสู่ทะเลนั้นก็มีลำน้ำสาขาไหลออกสู่แม่น้ำกระบุรี คือ คลองบางหมี คลองขี้นาค คลองลำเลียง คลองบางสองรา คลองบางใหญ่เหนือ คลองบางใหญ่ คลองละอุ่น คลองจิก คลองหลุมถ่าน คลองเส็ตกวด และคลองหินช้าง", "title": "แม่น้ำกระบุรี" }, { "docid": "131215#31", "text": "7. สระแก้ว เป็นสระน้ำโบราณที่ขุดขึ้นคู่กับปราสาทหิน ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของวัดสระแก้ว ตามความเชื่อของขอมโบราณเป็นสระน้ำศักดิ์สิทธิ์หรือสระน้ำที่ใช้เป็นที่ชำระร่างกายก่อนที่จะเข้าสู่พิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เพื่อทำให้ร่างกายให้เกิดความบริสุทธิ์ มีความยาว 79 เมตร กว้าง 35 เมตร ลึก 3 เมตร มีแม่น้ำมูลเป็นลำน้ำสายสำคัญ ซึ่งผู้คนปลายน้ำจำเป็นต้องใช้ดื่มใช้กิน เมื่อน้ำไหลไปถึงไหนก็ทำให้เห็นว่า ผู้คนจะสัมพันธ์กับสายน้ำ มีวิถีชีวิตผูกพันกับแม่น้ำมูล เพราะหลังประกอบพิธีกรรมลำน้ำทั้งสายจะกลายเป็นสายน้ำศักดิ์สิทธิ์ เป็นสายน้ำบริสุทธิ์ สายน้ำจะแสดงความมั่งคั่งของชนเผ่า ลำน้ำมูลสายนี้อาจมีความเชื่อว่าได้ไหลลงมาจากยอดเขา คล้ายกับแม่น้ำคงคาอันศักดิ์สิทธิ์ของอินเดีย เป็นเรื่องราวความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่อดีต ซึ่งพิธีกรรมที่จะกระทำในสระน้ำจะต้องมีผู้แทนแต่งการนุ่งขาว ห่มขาว แล้วจุดธูป เทียน ดอกไม้ ไปบูชาทวยเทพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ แล้วตักน้ำไปประกอบพิธีกรรม", "title": "อำเภอพิบูลมังสาหาร" }, { "docid": "297839#0", "text": "ชะวากทะเล () คือ บริเวณส่วนล่างของปากแม่น้ำที่มีความกว้างมากจนมีลักษณะคล้ายอ่าว ตอนบนของชะวากทะเลนั้นจะตอบแหลมเป็นรูปกรวยและจะค่อยขยายขนาดออกไปเมื่อเข้าหาในส่วนที่เป็นทะเลมากขึ้น บริเวณนี้เป็นบริเวณที่มีการผสมกันระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็ม เนื่องจากเป็นพื้นที่บริเวณปากแม่น้ำยุบตัวลงสู่แนวชายฝั่งทะเลจึงได้รับอิทธิพลของน้ำทะเล ตัวอย่างของชะวากทะเลในประเทศไทย ได้แก่ บริเวณปากแม่น้ำกระบุรี จังหวัดระนอง, ปากแม่น้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี และปากแม่น้ำชุมพร จังหวัดชุมพร โดยชะวากทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ ชะวากทะเลเซนต์ลอว์เรนซ์ ในประเทศแคนาดา ที่มีความกว้างถึง 145 กิโลเมตร", "title": "ชะวากทะเล" }, { "docid": "22912#2", "text": "เนื่องจากสายทางด่วนเฉลิมมหานคร สายดาวคะนอง-ท่าเรือ ส่วนหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่บริเวณวัดไทร ซึ่งเป็นบริเวณที่แม่น้ำมีขนาดค่อนข้างกว้าง (ประมาณ 500 เมตร) และสองฝั่งแม่น้ำจะมีโกดังเก็บสินค้า ช่วงกลางแม่น้ำจะเป็นทุ่นจอดเรือเดินทะเลขนาดใหญ่รับ-ส่ง สินค้า ซึ่งกรมเจ้าท่าได้กำหนดว่าถ้าจะสร้าง สะพานข้ามแม่น้ำบริเวณดังกล่าวจะต้องมีตอม่ออยู่ในแม่น้ำลึกไม่เกิน 2.00 เมตร วัดจากระดับน้ำต่ำสุด (-1.73 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง \"รทก\") และ ท้องสะพานจะต้องสูงกว่าระดับสูงสุด (+2.17 \"รทก\") ไม่ต่ำกว่า 41.00 เมตร บริษัท Peter Fraenkel International Ing. Dr. Ing. Hellmut Homberg ซึ่งเป็นบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา และบริษัทออกแบบ ได้ออกแบบสะพานโดยมีตัวสะพานยาว 782 เมตร มีช่วงกลาง (Main Span) ยาว 450 เมตร ตัวสะพานมีความกว้าง 31-33 เมตร มีสายเคเบิลขึงเป็นแบบระนาบเดี่ยว (Single Plane) จำนวนฝั่งละ 17 คู่ มีเสาตอม่อฝั่งละ 4 ต้น แต่ละต้นจะสูง 35-40 เมตร เสาขึงเคเบิล (Pylon) ตั้งอยู่บนตอม่อริมน้ำสูง 87 เมตร ความลาดของสะพาน (Gradient) สูงสุด 5 เปอร์เซ็นต์ และเอียงออกด้านข้าง (Grossfall) 2.5 เปอร์เซ็นต์ ท้องสะพานสูงจากระดับน้ำสูงสุด 41 เมตร ทั้งสองข้างของตัวสะพานจะมีเชิงลาด (Bridge Approaches) ยาว 650 เมตร สำหรับฝั่งพระนคร และ 630 เมตร สำหรับฝั่งธนบุรี การออกแบบเชิงลาดของสะพานเป็นรูป Double T เป็นคอนกรีตอัดแรงมีความยาวช่วงละ 50 เมตร กว้าง 15 เมตร 2 เส้นทางคู่กัน", "title": "สะพานพระราม 9" }, { "docid": "917917#4", "text": "ภายในเขตมีแม่น้ำลำธารหลายสาย แม่น้ำที่กว้างที่สุดคือแม่น้ำชิโค ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำคากายัน ไหลผ่านจังหวัดบูลูบุนดูคินและคาลิงกา แม่น้ำอื่น ๆ ได้แก่ แม่น้ำอักโน, แม่น้ำแอมบูรายัน, แม่น้ำบูเอ็ดในจังหวัดเบงเก็ต‎, แม่น้ำอาบูล็อกในจังหวัดคาลิงกา, แม่น้ำอาบราในจังหวัดอาบรา, แม่น้ำอาฮินในจังหวัดอีฟูเกา, แม่น้ำอาปาเยาในจังหวัดอาปาเยา และแม่น้ำซิฟฟูในจังหวัดอีฟูเกาและบูลูบุนดูคิน", "title": "เขตบริหารคอร์ดิลเยรา" }, { "docid": "32708#7", "text": "นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำแยงซี เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น \"มรดกโลก\" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำสาละวิน ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง", "title": "แม่น้ำแยงซี" }, { "docid": "4398#31", "text": "โดยคุณสมบัติของออร่าซึ่งการทดสอบว่าตนเองอยู่สายไหนนั้น จะทำได้โดยการหาน้ำเปล่ามาใส่แก้วให้เต็ม และวางใบไม้หรือกระดาษให้ลอยบนน้ำ จากนั้นก็เอามือป้องแก้วน้ำและผนึกออร่าลงไปเพื่อสังเกตผลที่ได้นั้น \nจะแบ่งกว้างๆออกเป็น6สายดังนี้", "title": "ฮันเตอร์ x ฮันเตอร์" }, { "docid": "907419#15", "text": "8. สระแก้ว เป็นสระน้ำโบราณที่ขุดขึ้นคู่กับปราสาทหิน ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ[[วัดสระแก้ว]] ตามความเชื่อของขอมโบราณเป็นสระน้ำศักดิ์สิทธิ์หรือสระน้ำที่ใช้เป็นที่ชำระร่างกายก่อนที่จะเข้าสู่พิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เพื่อทำให้ร่างกายให้เกิดความบริสุทธิ์ มีความยาว 79 เมตร กว้าง 35 เมตร ลึก 3 เมตร มี[[แม่น้ำมูล]]เป็นลำน้ำสายสำคัญ ซึ่งผู้คนปลายน้ำจำเป็นต้องใช้ดื่มใช้กิน เมื่อน้ำไหลไปถึงไหนก็ทำให้เห็นว่า ผู้คนจะสัมพันธ์กับสายน้ำ มีวิถีชีวิตผูกพันกับแม่น้ำมูล เพราะหลังประกอบพิธีกรรมลำน้ำทั้งสายจะกลายเป็นสายน้ำศักดิ์สิทธิ์ เป็นสายน้ำบริสุทธิ์ สายน้ำจะแสดงความมั่งคั่งของชนเผ่า ลำน้ำมูลสายนี้อาจมีความเชื่อว่าได้ไหลลงมาจากยอดเขา คล้ายกับแม่น้ำคงคาอันศักดิ์สิทธิ์ของอินเดีย เป็นเรื่องราวความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่อดีต ซึ่งพิธีกรรมที่จะกระทำในสระน้ำจะต้องมีผู้แทนแต่งการนุ่งขาว ห่มขาว แล้วจุดธูป เทียน ดอกไม้ ไปบูชาทวยเทพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ แล้วตักน้ำไปประกอบพิธีกรรม[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดอุบลราชธานี]]", "title": "วัดสระแก้ว" }, { "docid": "281738#0", "text": "คลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2077 - 2089) ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองลัดแม่น้ำขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่นระยะทางได้ถึง 1 วัน ต่อมากระแสน้ำส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คองลัดทำให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้ำสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน", "title": "คลองบางกอกน้อย" }, { "docid": "13797#2", "text": "นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง", "title": "แม่น้ำโขง" }, { "docid": "609096#0", "text": "แม่น้ำเซนต์จอห์น () เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดในรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา มีความสำคัญทั้งในทางเศรษฐกิจและเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ด้วยความยาว มีความลาดเอียงจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ (หรือปากแม่น้ำ) น้อยกว่า โดยมีลักษณะเช่นเดียวกับแม่น้ำสายอื่นๆในรัฐฟลอริดา คือมีอัตราการไหลของน้ำต่ำมาก คือเพียง จึงมักจะถูกเรียกว่าเป็น \"แม่น้ำขี้เกียจ\" (lazy) และยังเป็นหนึ่งในแม่น้ำไม่กี่สายในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีทิศทางการไหลสู่ทิศเหนือ ส่วนที่กว้างที่สุดของแม่น้ำ มีขนาดความกว้างเกือบ มีประชากรอาศัยในเขตลุ่มน้ำของแม่น้ำเซนต์จอห์นมากถึง 3.5 ล้านคน", "title": "แม่น้ำเซนต์จอห์น" }, { "docid": "258407#0", "text": "แม่น้ำโป (, ) เป็นแม่น้ำที่มีความยาวทั้งสิ้น 652 กิโลเมตรหรือ 682 กิโลเมตรถ้ารวมแม่น้ำไมราด้วย ที่ไหลจากต้นแม้น้ำในเทือกเขาแอลป์ไปทางตะวันออกทางตอนเหนือของอิตาลีไปยังสามเหลี่ยมปากแม่น้ำบนฝั่งทะเลอาเดรียติกไม่ไกลจากเวนิส แม่น้ำโปเป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดในอิตาลี ส่วนที่กว้างที่สุดกว้าง 503 เมตร", "title": "แม่น้ำโป" }, { "docid": "85708#0", "text": "แม่น้ำตรัง เป็นแม่น้ำสายสำคัญของจังหวัดตรัง มีความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร เมื่ออยู่ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียกว่า แม่น้ำหลวง เมื่อไหลเข้าเขตจังหวัดตรังเรียกว่า แม่น้ำตรัง ในช่วงที่ไหลผ่านอำเภอเมืองตรัง เรียกว่า คลองท่าจีน เดิมใช้เป็นเส้นทางคมนาคม จากดินแดนภายในจังหวัดติดต่อไปยังทะเลที่ปากน้ำกันตัง กล่าวกันว่า ในสมัยโบราณสามารถเดินเรือไปได้ถึงทุ่งสง เดิมแม่น้ำสายนี้มีความกว้างราว 50 เมตร แต่ปัจจุบันบางแห่งเหลือความกว้างเพียง 30 เมตร", "title": "แม่น้ำตรัง" }, { "docid": "163670#3", "text": "๑.พินทะโยนกวตินาค และ ชีวายะนาค ถูกเหวี่ยงออกไปตกนอกหนองแส นาคทั้ง ๒ ได้ใช้หน้าอกลำตัวเลี้อยแถกแผ่นดินไปหาแม่น้ำโขง รอยเลื้อยจึงกลายเป็น แม่น้ำอู ใน สปป.ลาว \n๒.จากนั้น พินทะโยนกวตินาคได้ทางเมืองเชียงใหม่ และแหวกแผ่นดินกลายเป็น แม่น้ำปิง และเมืองโยนกวตินคร\n๓.ศรีสัตตนาค หนีไปอยู่ ดอยนันทกังฮี (ยังสรุปไม่ได้ว่า หมายถึงที่ไหน)\n๔.สุวรรณนาค หนีไปอยู่ ปู่เวียน (ยังสรุปไม่ได้ว่า หมายถึงที่ไหน)\n๕.พุทโธปาปนาค คุ้ยควักแผ่นดินจนกลายเป็น หนองบัวบาน (ยังไม่ชัดเจนว่า จะหมายถึง เมืองหนองบัวลุ่มพู หรือไม่)\n๖.ปัพพารนาค หนไปอยู่ภูเขาหลวง (ยังสรุปไม่ได้ว่า หมายถึงที่ไหน) แต่มีเงือกและ พญางูพลัดหลงไปด้วย แต่เงือกและพญางู ทั้ง๒ ได้คุ้ยควักแผ่นดิน จนกลายเป็น แม่น้ำเงือกงู หรือ แม่น้ำงึมในปัจจุบัน (อยู่ สปป.ลาว)\n๗.สุกขรนาค หนีไปอยู่ เวินหลอด (ยังสรุปไม่ได้ว่า หมายถึงที่ไหน)\n๘.ธนมูนนาค และบริวาร ตอนแรกพลัดไปอยู่ใต้ดอยกัปปนคีรี (ภูกำพร้า หรือ เมืองธาตุพนม) แต่ธนมูนนาค ได้เลื้อยไปตามลำน้ำโขงต่อลงไปจนถึง ลี่ผี แล้วไม่สามารถเลื้อยต่อไปได้ จึงเลื้อยแถกแผ่นดินไปทางทิศตะวันตก ไปถึงเมืองกุรุนทะนคร รอยแถกแผ่นดิน จึงกลายเป็น \"มูนนที\" หรือ แม่น้ำมูน ในปัจจุบัน\n๙.ชีวายะนาค ได้หนีไปตามเส้นทางของ ธนมูนนาค ก่อนที่จะเลื้อยแถกแผ่นดินไปทางด้านเหนือ โดยอ้อมเมืองพระยามหาสุรอุทก ไปจนถึงเมืองหนองหานหลวง และเมืองหนองหานน้อย รอยเลื้อย จึงได้กลายเป็น \"ชีวายะนที\"ตามชื่อของ ชีวายะนาค หรือ แม่น้ำชี ในปัจจุบัน\nหรืออีกนัยหนึ่งคือ คำว่า \"ชี\" นั้น มาจากภาษาอีสาน(ลาว) ท้องถิ่นแถบลุ่มน้ำชีบริเวณต้นน้ำนั้น คือคำว่า \"ซี\" ซึ่งหมายถึงการเจาะทะลุเป็นรู โดยลักษณะต้นกำเนิดของน้ำชีนั้นมีสายน้ำที่ไหลผ่านลอดใต้เทือกเขาหินปูน ที่เรียกว่า \"ซีดั้น\" และไหลทะลุลอดผ่านมาอีกฝั่งหนึ่งของเทือกเขา เรียกว่า \"ซีผุด\" เป็นเช่นนี้เป็นส่วนใหญ่ในบริเวณต้นกำเนิดสายน้ำชี จึงทำให้เรียกลำน้ำสายนี้ตามลักษณะพิเศษที่ลำน้ำไหลซี(ไหลทะลุ)ลอดผ่านใต้เทือกเขานั้นว่า \"ลำน้ำซี\" ในภาษาถิ่น หรือ ลำนำชี ในภาษากลาง นั่นเอง", "title": "แม่น้ำชี" }, { "docid": "101556#1", "text": "แม่น้ำสะโตงเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก ความกว้างจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งอาจกว้างได้ถึง 3 กิโลเมตร มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยเมื่อครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จหลบหนีกองทัพพม่าของพระมหาอุปราชมังสามเกียด พระองค์ได้หลบหนีข้ามพ้นมาและได้แสดงวีรกรรมยิงพระแสงปืนข้ามลำน้ำสะโตง คือ ยิงปืนคาบศิลาจากอีกฝั่งของแม่น้ำถูกแม่ทัพพม่า ชื่อ สุรกรรมา เสียชีวิตคาคอช้าง เมื่อปี พ.ศ. 2127 ซึ่งต่อมาพระแสงปืนกระบอกนี้ได้ถูกขนามนามว่า \"พระแสงปืนต้นข้ามแม่น้ำสะโตง\"", "title": "แม่น้ำสะโตง" }, { "docid": "379405#0", "text": "แม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์ () เป็นแม่น้ำในรัฐออนแทรีโอและรัฐควิเบก ประเทศแคนาดา มีความยาว 1,197 กิโลเมตร ปากแม่น้ำมีความกว้างมากถึง 145 กิโลเมตร โดยถือเป็นปากแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเกาะตั้งอยู่บนลำน้ำหลายเกาะ บางตอนขยายกว้างออกเป็นทะเลสาบขนาดเล็ก", "title": "แม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์" }, { "docid": "28174#4", "text": "เมื่อแรกเริ่ม จักรวาลก็คือสภาวะหมุนคว้าง มืดและสับสน และแล้วจู่ๆความสับสนนั่นก็ค่อยๆแตกแยกออกเป็นสองซีก ซีกหนึ่งอยู่ทางใต้เรียกว่า มัสเปลเฮม (Muspelheim) เป็นดินแดนแห่งไฟ แสงสว่าง และความร้อน อีกซีกหนึ่งอยู่ทางเหนือเรียกว่า นิฟล์เฮม (Niflheim) เป็นโลกแห่งความมืดหมอกและน้ำแข็งระหว่างขั้วร้อน-เย็นทั้งสองก็เกิดห้วงว่างขึ้นตรงกลาง เป็นห้วงที่ความลึกหยั่งไม่ได้ อุณหภูมิเริ่มต่ำลงขนาดแช่คนให้แข็งได้ในฉับพลัน ห้วงที่ว่าชาวนอร์สเรียก กินนุนกาแก็บ (Ginnungagap \"หุบเหวยักษ์\") ทิศเหนือของกินนันกาแก็บ เป็นอาณาเขตของ นิฟล์เฮม (Niflheim) โลกแห่งความมืดมัวนิรันดร์ โดยนิฟล์เฮมเป็นที่ตั้งของน้ำพุ เวอร์เกลเมอร์ (Hvergelmir) ต้นกำเนิดของแม่น้ำ 12 สาย แต่เป็นแม่น้ำพิษเสีย 11 สาย ซึ่งก็ไหลลงใต้ไปสู่ห้วง กินนุนกาแก็บ เจอเข้ากับความเย็นที่นี่ น้ำในแม่น้ำก็ค่อยๆแข็งตัวแผ่ขยายกว้างขึ้นเรื่อยๆแทรกตัวเข้าไปในห้วงว่างจนเต็ม", "title": "เทพปกรณัมนอร์ส" }, { "docid": "170454#0", "text": "แม่น้ำบางปะกง เป็นแม่น้ำสายสำคัญในจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีความยาวประมาณ 231 กิโลเมตร และมีความกว้างในช่วงที่ไหลผ่านเขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราประมาณ 120 เมตร", "title": "แม่น้ำบางปะกง" }, { "docid": "456860#1", "text": "ถนนวังหลังเป็น \"ถนนสายที่ 5\" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถนนสายที่ 5 เป็นหนึ่งในถนนซอย 6 สายที่ตัดจากริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อเชื่อมต่อกับถนนหลัก 4 สายแรก มีแนวเส้นทางตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ใต้โรงพยาบาลศิริราช ผ่านถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์) ตรงไปออกถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) กว้าง 16 เมตร และยาวประมาณ 830 เมตร ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร", "title": "ถนนวังหลัง" }, { "docid": "134400#0", "text": "เทกัส (), ตาโฆ () หรือ แตฌู () เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในคาบสมุทรไอบีเรีย มีความยาว 1,038 กิโลเมตร โดยอยู่ในสเปน 716 กิโลเมตร เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างโปรตุเกสกับสเปน 47 กิโลเมตร ส่วนระยะทางที่เหลือ 275 กิโลเมตรอยู่ในโปรตุเกส แม่น้ำเทกัสมีบริเวณลุ่มน้ำ 80,100 ตารางกิโลเมตร (ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 รองจากลุ่มน้ำโดรู) ช่วงที่อยู่ในสเปนมีความกว้างไม่มากนัก แต่เมื่อเลยปราสาทอัลโมรอลในโปรตุเกสไปแล้วจึงเริ่มกว้างขึ้น ปัจจุบันมีเขื่อนอัลกันตาราคอยควบคุมปริมาณน้ำของแม่น้ำสายนี้อยู่", "title": "แม่น้ำเทกัส" }, { "docid": "4205#2", "text": "อ่าวไทยได้ถูกกล่าวถึงครั้งแรกในแผนที่โลกของทอเลมีในชื่อ<i data-parsoid='{\"dsr\":[733,748,2,2]}'>แมกนัสไซนัส(Magnus Sinus) หรือ<i data-parsoid='{\"dsr\":[767,786,2,2]}'>อ่าวที่กว้างไกล</i>ในภาษากรีก ซึ่งทอเลมีได้รวบรวมคำบรรยายจากพ่อค้าวานิชญ์ที่เดินเรือไปอาณาจักรฟูนาน ซึ่งทำให้ทอเลมีอธิบายว่า หากเดินเรือจากอ่าวคงคา ผ่านแหลมทองคำ (Golden Chersonese) ขึ้นไปทางเหนือจะเจอปากอ่าวที่มีขนาดใหญ่มาก มีชายฝั่งคดเคี้ยวและมีแม่น้ำหลายสายไหลลงมาที่อ่าวนึ้[1] ซึ่งแม่น้ำหลายสายที่ว่าอาจหมายถึง แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก (ในสมัยนั้น ) และแม่น้ำบางปะกง โดยหากเดินเรือผ่านพื้นที่จังหวัดตราดลงไปอีกก็จะเจอเมืองท่าสำคัญของอาณาจักรฟูนาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่แหล่งโบราณคดีโอเคีย ตำบลเตินเชิว จังหวัดอานซาง ประเทศเวียตนาม", "title": "อ่าวไทย" }, { "docid": "355105#0", "text": "แม่น้ำอารากาวะ () เป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งที่ไหลผ่านกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีต้นน้ำมาจากเทือกเขาโคบูชิ จังหวัดไซตะมะ และไหลออกสู่อ่าวโตเกียว มีความยาวทั้งสิ้น 173 กิโลเมตร มีพื้นลุ่มน้ำทั้งสิ้น 2,940 ตารางกิโลเมตร บริเวณที่กว้างที่สุดของแม่น้ำมีความกว้างทั้งสิ้น 2,537 เมตร ในบริเวณสะพานโกะนะริ ซึ่งกว้างเป็นอันดับที่หนึ่งในญี่ปุ่น", "title": "แม่น้ำอารากาวะ" }, { "docid": "4398#33", "text": " แฝงออร่าไว้ในวัตถุหรือบุคคลเพื่อควบคุมสิ่งนั้นๆได้ตามใจชอบ การควบคุมจะมีทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบออกคำสั่ง รวมถึงในรูปแบบชักใยร่างกาย รึบงการจิตใจ แตกต่างกันไปตามแต่จะถนัด ใช้ควบคุมได้ทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต\nเป็นสายที่พลังรุกรับตกลงไปมากจนแทบจะน้อยที่สุดในทุกสายจึงไม่เหมาะในการสู้แบบเผชิญหน้า แต่หากวางแผนและเข้าควบคุมอีกฝ่ายได้ก็จะสามารถเอาชนะได้ทันทีไม่ว่าคู่ต่อสู้จะเก่งขนาดไหนก็ตามแปรสภาพออร่าให้กลายเป็นวัตถุสิ่งของจริงๆที่คนปกติสามารถจับต้องได้และแปรสภาพกลับคืนเป็นออร่าได้ มักจะแฝงออร่าของตนเองไปในวัตถุนั้นเพื่อสร้างเป็นอาวุธหรือเครื่องอำนวยความสะดวกที่มีความสามารถพิเศษแฝงอยู่ได้ เป็นสายที่พลังรุกรับตกลงไปมาก ไม่เหมาะในการสู้แบบเผชิญหน้า แต่ก็มีรูปแบบที่หวือหวาและความสามารถแฝงที่เอาไว้ใช้ประโยชน์ได้เป็นสายที่ไม่มีลักษณะเหมือนสายใดสายนึงข้างต้น มีรูปแบบเฉพาะตัวค่อนข้างสูง มีบางปัจจัยที่ทำให้สายอื่นก็เปลี่ยนมาเป็นสายพิเศษได้เหมือนกัน โดยเฉพาะสายควบคุมหรือแปรสภาพ แต่ก็มีโอกาสไม่สูงนัก เพราะเป็นสายที่ไม่มีรูปแบบตายตัว จึงมีลักษณะการใช้ต่างกันออกไปตามแต่ละบุคคลมากกว่า บางทีก็เหมาะแก่การต่อสู้ แต่บางทีก็ไม่(เช่น ความสามารถพยากรณ์ของ เนออน นอสทราด)เทคนิคขั้นสูงของ \"เร็น\" ใช้การแผ่ขยายออร่าที่คลุมร่างของตนเองให้เป็นรัศมีกว้างออกไปมากกว่าปกติ ทำให้สามารถรับรู้สิ่งที่เข้ามาในขอบเขตของ\"เอ็น\" ได้ ยิ่งเอ็นแผ่ขยายไปมากก็ยิ่งรับรู้ได้กว้างขึ้น แต่ต้องอาศัยการฝึกขั้นสูง โดยปกติผู้ที่ทำได้ก็จะใช้แค่ในระยะจู่โจมของตนเท่านั้น แต่ถ้าเป็นผู้เชี่ยวชาญอาจใช้\"เอ็น\"ที่มีรัศมีได้ร่วมร้อยเมตรทีเดียว", "title": "ฮันเตอร์ x ฮันเตอร์" }, { "docid": "14558#0", "text": "แม่น้ำอะเมซอน (บราซิล : ริโอ อมาซอนนาส (Rio Amazonas) , ; ; ,) เป็นแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเปรู และไหลออกมหาสมุทรที่ประเทศบราซิล มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 6,992 กิโลเมตรน้ำที่มีปากแม่น้ำกว้างที่สุดในโลก ซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของบราซิล แม่น้ำแอมะซอนเป็นแม่น้ำสายที่มีปริมาณน้ำมากที่สุด ปริมาณน้ำที่ไหลออกยังมหาสมุทรแอตแลนติกมากถึง 45 ล้านแกลลอนต่อวินาทีในฤดูฝน ฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนเฉลี่ยปีละ 3 เมตร (สูงสุด 6 เมตร) แต่ฝนจะตกเพียงไม่กี่เดือน ต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนตุลาคม น้ำจะลดปริมาณลงจนเห็นสันทรายและเกิดเป็นทะเลสาบต่าง ๆ บางแห่งตัดขาดจากกัน ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมป่าทุกปี ในเนื้อที่ประมาณ 90,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดเท่าประเทศอังกฤษ และยังถือเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากถึง 1 ใน 5 ส่วนของโลก มีแม่น้ำสาขาที่แยกออกจากแอมะซอนมากกว่า 1,100 สาขา อีกทั้งยังถือเป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก เป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดในโลก กว่า 3,000 ชนิด ซึ่งนับว่ามากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกเสียอีก", "title": "แม่น้ำแอมะซอน" }, { "docid": "746778#0", "text": "แม่น้ำบีอาส (; ; ) เป็นแม่น้ำทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย เป็นหนึ่งในแม่น้ำใหญ่ทั้งห้าสาย (ปัญจนที) ของภูมิภาคปัญจาบและเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำสินธุ มีความยาวรวม 470 กิโลเมตร (290 ไมล์) มีพื้นที่ลุ่มน้ำกว้างถึง 20,303 ตารางกิโลเมตร (7,839 ตารางไมล์) แม่น้ำบีอาสมีต้นน้ำอยู่ทางทิศใต้ของช่องเขาโรห์ตัง (Rohtang Pass) ในเทือกเขาหิมาลัย รัฐหิมาจัลประเทศ ตัดผ่านเขตมัณฑี (Mandi) และเข้าเขตกางครา (Kangra) ก่อนจะอ้อมเนินเขาศิวาลิกในเมืองโหศยารปุระ (Hoshiarpur) และไหลผ่านเป็นพรมแดนระหว่างเมืองอมฤตสาร์กับเมืองกปูรถลา (Kapurthala) ไปบรรจบกับแม่น้ำสตลุชที่พื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองกปูรถลา แม่น้ำบีอาสเป็นแม่น้ำสายหนึ่งในสนธิสัญญาแม่น้ำสินธุ ซึ่งเป็นข้อตกลงด้านทรัพยากรน้ำระหว่างอินเดียกับปากีสถาน", "title": "แม่น้ำบีอาส" }, { "docid": "797279#1", "text": "ถนนวังเดิมเป็น \"ถนนสายที่ 6\" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถนนสายนี้เป็นหนึ่งในถนนซอย 6 สายที่ตัดจากริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อเชื่อมต่อกับถนนหลัก 4 สายแรก มีแนวเส้นทางเริ่มตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาทางด้านเหนือของกำแพงพระราชวังเดิม ไปผ่านถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์) ไปออกถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) กว้าง 16 เมตร ยาวประมาณ 830 เมตร ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473", "title": "ถนนวังเดิม" } ]
301
ศรัณยู วงษ์กระจ่าง เข้าวงการบันเทิงครั้งแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "20852#8", "text": "ศรัณยูเป็นพระเอกที่มีช่วงการครองความนิยมยาวนานที่สุดอีกคนหนึ่งของประเทศไทย ด้วยข้อได้เปรียบของการไม่จำกัดการรับงานในช่องใดช่องหนึ่ง ทำให้มีผลงานหลากหลายต่อเนื่องทุกช่องละครเลยทีเดียว ศรัณยูเริ่มผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2524 โดยได้รับการชักชวนให้ถ่ายแบบนิตยสารดิฉัน และมีผลงานเดินแบบ จากนั้นศรัณยูจึงได้มีผลงานพิธีกรรายการโทรทัศน์ เสียงติดดาว และ ยิ้มใส่ไข่[6] หลังสำเร็จการศึกษา ศรัณยูมีผลงานนำแสดงละครโทรทัศน์เรื่องแรกทันทีในปี 2526 ที่อาจไม่มีใครทราบเนื่องจากไม่ได้ออกอากาศ คือเรื่อง เลือดขัตติยา ซึ่งดัดแปลงจากบทประพันธ์สุดคลาสสิคของ ทมยันตี สร้างโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ศรัณยู รับบท อโณทัย คู่กับ วาสนา สิทธิเวช รับบท ดารา ร่วมด้วย นพพล โกมารชุน อุทุมพร ศิลาพันธ์ และภิญโญ ทองเจือ แม้ว่าจะกำหนดวันเวลาออกอากาศทางช่อง 3 ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ 21.00น.แล้วแต่ก็ไม่ได้รับอนุมัติให้ออกอากาศด้วยมีเนื้อหาที่อาจกระทบต่อความมั่นคง[9]", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" } ]
[ { "docid": "20852#55", "text": "2535: อัลบั้ม ครั้งหนึ่ง ศรัณยู วงษ์กระจ่าง 2538: อัลบั้ม รวมเพลงประกอบละคร มนต์รักลูกทุ่ง ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 2539: อัลบั้ม หัวใจลูกทุ่ง ศรัณยู วงษ์กระจ่าง 2544: อัลบั้ม เพลงประกอบละคร นายฮ้อยทมิฬ ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 193 วัน รำลึก 7 ตุลา รำลึก", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#15", "text": "ในปี 2533 ด้วยความโด่งดังของศรัณยู ทางฝั่งช่อง 5 จึงได้นำละครเก่าเก็บที่ถ่ายทำไว้ตั้งแต่ปี 2531 ของศรัณยูคือ คนขายคน แต่ชื่อเรื่องไม่ผ่านกบว. มาลงจอโทรทัศน์ในชื่อเรื่องใหม่คือ เธอคือดวงดาว ออกอากาศ 19 สิงหาคม - 21 ตุลาคม 2533", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#4", "text": "ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม \"สามัญการละคร\" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง \"สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย\" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559)", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#19", "text": "ปี 2536 ศรัณยูกลับสู่ช่อง 7 หลังจากห่างหายไป 5 ปี ด้วยการประชันบทบาทกับนางเอกยอดฝีมือ สินจัย เปล่งพานิช และ ปรียานุช ปานประดับ ในละครรีเมคยอดนิยม น้ำเซาะทราย โดยรับบท ภีม ประการพันธ์ หนุ่มนักปรึกษาด้านกฎหมายที่มีปัญหาครอบครัว ในส่วนของช่อง 3 ศรัณยูมีละครเรื่อง อยู่กับก๋ง คู่กับ เพชรี พรหมช่วย ออกอากาศในปีนี้", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#44", "text": "ในส่วนของงานผู้จัดละคร ศรัณยูเริ่มงานใหม่กับช่อง 8 ประเดิมด้วยละครเรื่องแรก ดงผู้ดี [32][33][34][35] ในปีเดียวกันศรัณยูและภรรยา หัทยา วงษ์กระจ่าง ยังเป็นแขกรับเชิญเซอร์ไพรส์ในบทพ่อแม่สุดเท่ที่ยอมรับและเข้าใจในตัวตนของลูกชายในละคร ไดอารีตุ๊ดซีส์ เดอะซีรีส์ ซีซั่น 2 ตอนอวสาน (ตอนที่ 12) ที่ออกอากาศเมื่อวันที่ 29 เมษายนทางช่อง GMM25 อีกด้วย ครึ่งปีหลังศรัณยู ร่วมงานแถลงข่าวรับบทในละคร Club Friday the Series 9 รักครั้งหนึ่ง ที่ไม่ถึงตาย ตอน \"รักที่ไม่มีจริง\" ร่วมกับ รฐา โพธิ์งาม และ ธนา สุทธิกมล ออกอากาศทางช่อง GMM25[36]", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#1", "text": "ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#62", "text": "MAN OF ‘มัฆวานรังสรรค์’ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง: สู่ฝันอันสูงสุด, นิตยสาร Mars, พฤศจิกายน 2551 ประวัตินิสิตเก่าดีเด่น คณะสถาปัตย์จุฬาฯ นิตยสารดาราภาพยนตร์ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๑", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#32", "text": "การเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองในปี 2549 ของ ศรัณยู ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากส่งผลกระทบต่องานละครโทรทัศน์และงานพิธีกรรายการโทรทัศน์[25] อย่างไรก็ตามเขายังคงมีผลงานภาพยนตร์ ละครเวที และผลงานในบทบาทผู้กำกับและผู้จัดอย่างต่อเนื่อง", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#5", "text": "ศรัณยู เกิดที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นน้องชายแท้ๆ ของ ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ มีพี่น้อง 4 คน แต่ว่าใช้คนละนามสกุลกัน เนื่องจากในวัยเด็กศรัณยูได้ถูกป้าขอไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมจึงใช้นามสกุลของป้า", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#31", "text": "ปี 2549 ศรัณยูกลับรับบทเด่นในละครโทรทัศน์อีกครั้งในละครค่าย เอ็กแซ็กท์ เรื่อง ลอดลายมังกร คู่กับ บุษกร พรวรรณะศิริเวช ทางช่อง 5 ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2549 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2549", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#9", "text": "ผลงานละครโทรทัศน์ออกอากาศเรื่องแรกของศรัณยูจึงเป็นผลงานละครของ มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช เรื่อง เก้าอี้ขาวในห้องแดง ออกอากาศ 9 กุมภาพันธ์ 2527 ทางช่อง 3 จากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันของ สุวรรณี สุคนธา ซึ่งเป็นเรื่องราวรักสามเศร้าและปัญหาชีวิตวัยรุ่น ร่วมกับ นพพล โกมารชุน มยุรา ธนบุตร อุทุมพร ศิลาพันธ์ และ ยุรนันท์ ภมรมนตรี เก้าอี้ขาวในห้องแดง เป็นละครที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากเนื้อหา ฝีมือการแสดง และรูปแบบที่นำสมัย เกิดกระแสนิยมเหล่านักแสดง เสื้อผ้า ทรงผมของนักแสดงหลัก เพียงเรื่องแรกก็ทำให้ศรัณยูมีชื่อเสียงในวงกว้าง[6] ในปีเดียวกัน ศรัณยูมีผลงานละครโทรทัศน์กับช่อง 7 โดย ดาราวิดีโอ เรื่อง บ้านสอยดาว จากบทประพันธ์ของ โบตั๋น ออกอากาศ 28 กันยายน 2527 - 26 มกราคม 2528 โดยรับบท เอื้อตะวัน ร่วมด้วย มยุรา ธนบุตร อุทุมพร ศิลาพันธ์ และ ธงไชย แมคอินไตย์ จากนั้นมีผลงานต่อเนื่องกับช่อง 7 ปี 2528 กับเรื่อง ระนาดเอก ออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 21.00น. แม้จะเป็นละครเกี่ยวกับดนตรีไทย แต่มีการผูกเรื่องได้สนุกสนานกับการประชันกันของบรมครูทางระนาด 2 สาย จากรุ่นบรมครูถ่ายทอดมาสู่รุ่นศิษย์ ละครเรื่องนี้สร้างชื่อให้ ศรัณยู ได้แจ้งเกิดในวงการละคร พร้อมกับนางเอก สินจัย หงษ์ไทย ที่ลงละครเรื่องนี้เป็นเรื่องแรก ความดังของละครเรื่องนี้เล่ากันว่า พวกปี่พาทย์ที่ทำงานศพตามวัดต่างๆถ้าคืนไหนมีงานประโคมก็จะต้องตั้งโทรทัศน์ไว้ข้างวงดนตรีเลยทีเดียว[10] จากนั้นในปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้ให้ ศรัณยู รับบทคู่กับนางเอกยอดนิยม มนฤดี ยมาภัย เป็นครั้งแรกในละครค่าย ดาราวิดีโอ เรื่อง มัสยา ออกอากาศ 25 ตุลาคม 2528 - 1 มีนาคม 2529 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอันมาก ด้วยความพีคของตอนอวสานทำให้ช่องขยายวันออกอากาศจากศุกร์-เสาร์เป็น ศุกร์-เสาร์-อาทิตย์", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "149668#3", "text": "ศิวัฒน์เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการถ่ายโฆษณา GSM 1800 เมื่อสมัยเรียนมหาวิทยาลัยอยู่ชั้นปีที่ 3 มีโมเดลลิ่งมาติดต่อ จากนั้นก็มีงานแสดงละครเรื่องแรกคือ สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย โดยการชักนำของ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง รับบทเป็นเพื่อนพระเอก สำหรับผลงานละครที่สร้างชื่อเสียงคือเรื่อง เบญจา คีตา ความรัก จากนั้นได้แสดงเรื่อง อุ่นไอรัก หลังคาแดง ต่อมาได้รับบทนำในละคร รักสุดขั้ว และผลงานละครอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น แม่คุณ..ทูนหัว เขาหาว่าหนูเป็นเจ้าหญิง เพลงดินกลิ่นดาว คมแฝก รักติดลบ ปิ่นมุก สวรรค์สร้าง โบ๊เบ๊ รุกฆาต ลิลลี่สีกุหลาบ ฯลฯ นอกจากนี้เขายังเคยแสดงในมิวสิกวิดีโอเพลง มีอาการ ของ นิ้ง-เปี่ยมปีติ หัถกิจโกศล สังกัดค่าย อาร์.เอส. และยังเป็นดีเจ คลื่น 93.5 EFM อีกด้วยช่องเวิร์คพอยท์", "title": "ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์" }, { "docid": "130086#7", "text": "และกลับเข้าสู่วงการอีกครั้งด้วยละครเรื่องแรก สุภาพบุรุษ..ลูกผู้ชาย จากการชักชวนของ ศรัณยู-หัทยา วงษ์กระจ่าง และภาพยนตร์คือ ทวิภพ ส่วนงานละครและภาพยนตร์มีตามมาอีกหลายเรื่อง มหาอุตม์, โอปปาติก, ซุ้มมือปืน, ทับตะวัน, สี่แผ่นดิน, ตามรอยพ่อ, สุดรัก สุดดวงใจ, รักเธอทุกวัน , บ่วงรักกามเทพ , ไฟอมตะ เป็นต้น", "title": "นิรุตติ์ ศิริจรรยา" }, { "docid": "36474#1", "text": "ละคอนถาปัด มีมาตั้งแต่ปี 2517 ในบางปีที่พอมีกำลังก็ทำกันหลายเรื่อง การแสดงที่โด่งดังที่สุดคือเรื่อง สามก๊ก ซึ่งได้เปิดการแสดงไปร้อยกว่ารอบด้วยกัน นักแสดงและบุคคลในวงการบันเทิงหลายคน เริ่มจากการแสดงละคอนถาปัด เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, ศรัณยู วงษ์กระจ่าง, ภิญโญ รู้ธรรม และบรรดาเหล่าซูโม่จากรายการเพชฌฆาตความเครียด ", "title": "ละคอนถาปัด" }, { "docid": "20852#13", "text": "ปี 2533 ศรัณยูเปิดปีด้วยภาพยนตร์เรื่อง เล่นกับไฟ รับบทคู่กับ ลลิตา ปัญโญภาส เป็นครั้งที่ 2 ออกฉายปลายเดือน เมษายน 2533 สำหรับงานละครโทรทัศน์ถือเป็นปีทองของ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง เพราะเขาได้มีผลงานละครโทรทัศน์กับทางช่อง 3 ถึง 5 เรื่องในปีเดียว ศรัณยูโด่งดังมากจนทำให้ช่อง 3 อนุมัติให้เขาและเพื่อนๆ กลุ่มซูโม่สำอาง ได้แก่ ซูโม่ตู้ กิ๊ก ซูโม่ตุ๋ย ปัญญา นิรันดร์กุล และดารารับเชิญมากมาย มาสร้างละครตลกล้อเลียนหนังจีนเรื่อง โหด เลว อ้วน ออกอากาศ 1 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2533 โดยรับบทคู่กับ เพ็ญ พิสุทธิ์ แต่เนื่องจากเนื้อเรื่องค่อนข้างสับสนจึงถูกตัดจบในที่สุด ต่อมา ศรัณยู ได้รับบทคู่ ลลิตา ปัญโญภาส ครั้งแรกทางละครโทรทัศน์เรื่อง วนาลี ออกอากาศ 21 กันยายน - 7 ธันวาคม 2533 (เวลา 20.50-21.50 น.) ละครโด่งดังเป็นพลุแตก วนาลีประสบความสำเร็จเป็นอันมาก ส่งผลให้ ศรัณยู-ลลิตา เป็นดาราคู่ขวัญและมีคนเรียกร้องให้แสดงคู่กันอีก วนาลียังได้นำเพลงอมตะของ ม.ร.ว.ถนัดศรี และ รวงทอง \"วนาสวาท\" มาเป็นเพลงประกอบละคร โดยมีเวอร์ชันที่ขับร้องโดย ศรัณยู กับ รัญญา ศิยานนท์", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#29", "text": "ปี 2547 ศรัณยูเป็นผู้กำกับและเขียนบทโทรทัศน์ในละคร เรื่อง หลังคาแดง ทางช่อง 7 นำแสดงโดย ดนุพร ปุณณกันต์ และ จีรนันท์ มะโนแจ่ม โดยศรัณยูเองได้รับบท นายแพทย์สินเงิน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ด้วย เนื่องจากไม่ค่อยประสบความสำเร็จในด้านยอดผู้ชม ทำให้ช่องตัดให้จบเร็วขึ้น", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "185592#2", "text": "ด้านชีวิตครอบครัว สมรสกับศรัณยู วงศ์กระจ่าง มีบุตรสาวฝาแฝด ชื่อ ศุภรา และศิตลา ความเชื่อส่วนตัวนับถือศาสนาคริสต์", "title": "หัทยา วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#0", "text": "ศรัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง)[1] เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม[2]", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#24", "text": "ปี 2539 ศรัณยู รับบทคู่กับนางเอกดัง สุวนันท์ คงยิ่ง ในละคร ด้วยแรงอธิษฐาน ค่ายดาราวิดีโอ ออกอากาศ 26 กรกฎาคม 2539 - 29 กันยายน 2539 ซึ่งเป็นเรื่องราวของนางเอกที่ตายไปพร้อมความเข้าใจผิด และเกิดใหม่กลับมาแก้แค้นพระเอก ด้วยแรงอธิษฐานประสบความสำเร็จด้วยดี ในปีเดียวกัน ศรัณยู มีผลงานนำแสดงภาพยนตร์เรื่อง เรือนมยุรา โดยรับบท คุณพระนาย คู่กับ นุสบา วานิชอังกูร", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "383021#3", "text": "ต่อมาได้เข้าทำงานในแวดวงบันเทิง ด้วยการเป็นนักแสดงและผู้จัดฉากและผู้ช่วยผู้กำกับละครเวทีเรื่องต่าง ๆ อาทิ \"สู่ฝันอันสูงสุด\" ที่กำกับการแสดงโดย ยุทธนา มุกดาสนิท และนำแสดงโดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ในปี พ.ศ. 2529 และเป็นผู้ช่วยผู้กำกับ 2 ให้ภาพยนตร์เรื่อง \"หลังคาแดง\" กำกับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท นำแสดงโดย ธงไชย แมคอินไตย์ และ จินตหรา สุขพัฒน์ ในปี พ.ศ. 2530", "title": "สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ" }, { "docid": "20852#38", "text": "ปี 2554 ศรัณยู มีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง คนโขน โดยค่าย สหมงคลฟิล์ม นำแสดงโดย นิรุตติ์ ศิริจรรยา สรพงศ์ ชาตรี และ เพ็ญพักตร์ ศิริกุล", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "569562#0", "text": "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย เป็นละครโทรทัศน์ไทยจากบทประพันธ์ของศรัณยู วงษ์กระจ่าง สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2546 เขียนบทโทรทัศน์โดย เมจิก อีฟ กำกับการแสดงโดยศรัณยู วงษ์กระจ่าง นำแสดงโดย ตะวัน จารุจินดา, วรนุช วงษ์สวรรค์, ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์, มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์ และนำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2556 ผลิตโดย บริษัท สามัญการละคร จำกัด ของศรัณยู วงษ์กระจ่าง เขียนบทโทรทัศน์และกำกับการแสดงโดยศรัณยู วงษ์กระจ่าง นำแสดงโดยศรัณย์ ศิริลักษณ์, ธัญญะสุภางค์ จิรปรีชานนท์, ปิยพันธ์ ขำกฤษ, ณัฐชา นวลแจ่ม, ศุภมร โคร์นิน ร่วมด้วยตฤณ เศรษฐโชค, ศรุต วิจิตรานนท์, อาภาศิริ นิติพน, ศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์, แวร์ โซว และพิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7", "title": "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" }, { "docid": "20852#40", "text": "ปีถัดมา 2556 ศรัณยูกลับมาทำงานร่วมกับช่อง 7 อีกครั้ง โดยหยิบยกผลงานบทประพันธ์ของเขาเองเรื่อง สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย มารีเมคเวอร์ชันใหม่ นำแสดงโดย ศรัณย์ ศิริลักษณ์ และ ธัญญะสุภางค์ จิรปรีชานนท์", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#58", "text": "ศรัณยู สมรสกับ หัทยา เกตุสังข์ นักแสดงและดีเจชื่อดัง โดยเข้าพิธีหมั้น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2537 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับพระราชทานน้ำสังข์ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่พระตำหนักสวนจิตรลดา เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2537 ตามด้วยงานฉลองพิธีสมรสในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2537[6] ทั้งคู่มีบุตรสาวฝาแฝด ชื่อ ศุภรา วงษ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ลูกหนุน) และ ศีตลา วงษ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ลูกหนัง)[45]", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "360278#6", "text": "ในบรรดาผู้ชมคอนเสิร์ต 20 ปี คาราบาว มีบุคคลสำคัญและดารานักแสดงเข้าร่วมชม อาทิ ฉัตรชัย เปล่งพานิช , สินจัย เปล่งพานิช , ศรัณยู วงษ์กระจ่าง , หัทยา วงษ์กระจ่าง และ กร ทัพพะรังสี ซึ่งเป็นแขกรับเชิญกิตติมศักดิ์บนเวทีคอนเสิร์ตด้วย", "title": "20 ปี คาราบาว เรื่องราวของคน ดนตรี และเขาควาย" }, { "docid": "20852#33", "text": "ปลายปี 2549 ศรัณยู นำแสดงและกำกับภาพยนตร์แนว psychological thriller เรื่อง อำมหิตพิศวาส ร่วมกับ บงกช คงมาลัย ตะวัน จารุจินดา และปรางทอง ชั่งธรรม[26] จากนั้นเขาได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ชื่อเสียงระดับนานาชาติเรื่อง 13 เกมสยอง", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#34", "text": "ปี 2550 ศรัณยูรับบท สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ในภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา ในปีเดียวกัน ศรัณยู กลับมาร่วมงานกับ เอ็กแซ็กท์ อีกครั้ง โดยรับบท กษัตริย์อาเหม็ด ในละครเวที ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล ซึ่งเป็นละครเวทีเปิดโรงละครใหม่ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ ด้วยความนิยมจึงมีการเปิดการแสดงถึง 53 รอบ", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "20852#17", "text": "ปี 2534 และแล้วละครที่แฟนๆต่างตั้งตารอคอยกับการกลับมาอีกครั้งของคู่ขวัญ ศรัณยู-ลลิตา ในผลงานของ วรายุฑ มิลินทจินดา ในเรื่อง วนิดา ออกอากาศ 10 กรกฎาคม - 11 ธันวาคม 2534 เวลา 21.05-22.05 น. เรื่องราวของการแต่งงานที่ไม่เต็มใจของ พันตรีประจักษ์ มหศักดิ์ หรือ ใหญ่ กับลูกสาวคหบดีอย่าง วนิดา เพื่อชดใช้แทนหนี้ที่น้องชายก่อไว้ ในเรื่องนี้ศรัณยูยังเป็นผู้ร่วมเขียนบทโทรทัศน์ในนามปากกา รัญดาศิริ ซึ่งเป็นามปากกาของ รัญ คือ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ดา คือ ดาลัด คุปตะเวทิน และ ศิริ คือ พงษ์ศิริ อินทรชัย เหมือนเช่นเคย ศรัณยู ได้ขับร้องเพลงประกอบละครวนิดาไว้ 3 เพลง คือ บุพเพสันนิวาส ยามรัก และ ยามชัง วนิดาเวอร์ชันศรัณยู-ลลิตา โด่งดังและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมเป็นอันมาก", "title": "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง" }, { "docid": "730077#0", "text": "บัลลังก์หงส์ เป็นละครโทรทัศน์ จากบทประพันธ์ของ \"กานติมา\" สร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2559 เขียนบทโทรทัศน์โดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง กำกับการแสดงโดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง นำแสดงโดย พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ , ภัทรเดช สงวนความดี , วีรคณิศร์ กานต์วัฒนกุล , เพ็ญพักตร์ ศิริกุล , รัญดภา มันตะลัมพะ , พีรกร โพธิ์ประเสริฐ , พรรัมภา สุขได้พึ่ง , ฐิตินันท์ สุวรรณถาวร , อนิสา นูกราฮา ฯลฯ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ออกอากาศทุกวันจันทร์–อังคาร เวลา 20:30 น. เริ่มวันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 - วันจันทร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2559", "title": "บัลลังก์หงส์" } ]
3353
การออกกำลังกายมีผลมากต่อโครงสร้าง หน้าที่การทำงาน และการรู้คิดของสมองใช่หรือไม่?
[ { "docid": "806291#0", "text": "การออกกำลังกายมีผลมากต่อโครงสร้าง หน้าที่การทำงาน และการรู้คิดของสมอง[1][2][3][4] งานวิจัยในมนุษย์จำนวนมากแสดงว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (จากเบาถึงหนักที่ใช้กระบวนการสร้างพลังงานโดยออกซิเจน) โดยอย่างน้อย 30 นาทีทุกวันปรับปรุงการทำงานของสมอง โดยปรับหน้าที่การรู้คิด (cognitive function) การแสดงออกของยีน และสภาพพลาสติกทางประสาท (neuroplasticity) และพฤติกรรมที่มีผลดี ผลที่ได้ในระยะยาวรวมทั้งการเกิดเซลล์ประสาท (neurogenesis) ที่เพิ่มขึ้น, การทำงานทางประสาทที่ดีขึ้น (เช่นในการส่งสัญญาณแบบ c-Fos และ BDNF), การรับมือกับความเครียดที่ดีขึ้น, การควบคุมพฤติกรรมที่ดีขึ้น, ความจำชัดแจ้ง (declarative) ความจำปริภูมิ (spatial) ความจำใช้งาน (working) ที่ดีขึ้น, และการปรับปรุงทางโครงสร้างและหน้าที่ของโครงสร้างสมองและวิถีประสาทที่สัมพันธ์กับการควบคุมการรู้คิดและความจำ[1][2][3][4][5][6][7][8][9][10] ผลการออกกำลังกายต่อความรู้คิดอาจช่วยการเรียนหนังสือในนักเรียนนักศึกษา เพิ่มผลิตผลการทำงาน ช่วยรักษาการทำงานของสมองในคนแก่ ป้องกันหรือบำบัดความผิดปกติทางประสาทแบบต่าง ๆ และปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยทั่วไป[1][11][12]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" } ]
[ { "docid": "806291#11", "text": "งานทบทวนวรรณกรรมที่ตรวจงานสร้างภาพในสมองพบว่า การออกกำลังกายให้สม่ำเสมอจะเพิ่มปริมาตรเนื้อเทาในเขตสมองที่เกี่ยวกับการประมวลความจำ การควบคุมการรู้คิด การเคลื่อนไหว และระบบรางวัล[1][5][6][8] ที่เพิ่มมากที่สุดก็คือ prefrontal cortex, caudate nucleus, และฮิปโปแคมปัส ซึ่งมีส่วนควบคุมการรู้คิดและการประมวลความจำ ในบรรดาหน้าที่การรู้คิดทั้งหลาย[1][6][8][9] นอกจากนั้นแล้ว ทั้งด้านซ้ายขวาของ prefrontal cortex, ฮิปโปแคมปัส และ cingulate cortex จะทำงานร่วมกันเมื่อทำกิจโดยเฉพาะ ๆ (functional connectivity) ในระดับที่สูงกว่า ตอบสนองต่อการออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างสม่ำเสมอ[1][7] งานทบทวนวรรณกรรม 3 งานแสดงการเพิ่มปริมาตรเนื้อเทาที่ชัดเจนของ prefrontal cortex และฮิปโปแคมปัส ในผู้ใหญ่ปกติที่ออกำลังกายหนักกลาง ๆ เป็นเวลาหลายเดือน[1][6][49] เขตอื่นในสมองที่เพิ่มปริมาตรเนื้อเทาขึ้นปานกลางหรือน้อยกว่าเมื่อสร้างภาพสมองรวมทั้ง anterior cingulate cortex, สมองกลีบข้าง, สมองน้อย และ nucleus accumbens[5][6][8][50]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#14", "text": "ตามบทบาทหน้าที่ของส่วนสมองที่มีปริมาตรเพิ่ม การออกกำลังกายช่วยปรับปรุงด้านต่าง ๆ ของการควบคุมการรู้คิดและความทรงจำ[5][7][9][58][59] โดยเฉพาะก็คือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอช่วยให้ควบคุมการใส่ใจได้ดีขึ้น [lower-alpha 3] ให้ประมวลข้อมูลได้ดีขึ้น ปรับปรุงความยืดหยุ่นทางการรู้คิด (เช่น การเปลี่ยนความสนใจจากงานหนึ่งไปยังอีกงานหนึ่ง) การหยุดพฤติกรรมอัตโนมัติเพื่อทำสิ่งที่ได้ผลกว่า (inhibitory control) [lower-alpha 4] ความทรงจำใช้งานในด้านการอัพเดตและความจุ [lower-alpha 5] ความจำชัดแจ้ง และความจำปริภูมิ[5][6][7][9][10][58][59]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#1", "text": "คนที่ออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างสม่ำเสมอ (เช่น วิ่ง เดินเร็ว ว่ายน้ำ และขี่จักรยาน) ได้คะแนนดีกว่าเมื่อตรวจสอบการทำงานทางประสาทจิตวิทยาที่วัดหน้าที่การรู้คิดบางอย่าง เช่น การควบคุมการใส่ใจ การหยุดพฤติกรรมอัตโนมัติเพื่อทำสิ่งที่ได้ผลกว่า (inhibitory control) ความยืดหยุ่นทางการรู้คิด ความจำใช้งานในด้านการอัพเดตและความจุ ความจำชัดแจ้ง ความจำปริภูมิ และความเร็วในการประมวลข้อมูล[1][5][7][9][10]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#13", "text": "Prefrontal cortex และ Anterior cingulate cortex ซึ่งจำเป็นเพื่อควบคุมพฤติกรรม โดยเฉพาะก็คือในเรื่องความจำใช้งาน การควบคุมการใส่ใจ การตัดสินใจ ความยืดหยุ่นในการรู้คิด การรู้คิดทางสังคม การหยุดพฤติกรรมอัตโนมัติเพื่อทำสิ่งที่ได้ผลกว่า (inhibitory control)[52][53] โดยมีบทบาทในโรคสมาธิสั้น (ADHD) และการติดสิ่งเสพติด[52] Nucleus accumbens มีหน้าที่เกี่ยวกับ incentive salience (คือทำให้สิ่งเร้าน่าต้องการ เป็นรูปแบบแรงจูงใจที่สัมพันธ์กับระบบรางวัลและการเสริมแรงเชิงบวก) โดยมีบทบาทในการติดสิ่งเสพติด[54] ฮิปโปแคมปัส มีหน้าที่เก็บและทำให้มั่นคงซึ่งความจำชัดแจ้งและความจำปริภูมิ (spatial memory)[6][55] มีบทบาทในโรคซึมเศร้า (MDD)[8] สมองน้อย มีหน้าที่ประสานการเคลื่อนไหว (motor coordination) และเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning)[56] Caudate nucleus มีหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการหยุดพฤติกรรมอัตโนมัติเพื่อทำสิ่งที่ได้ผลกว่า (inhibitory control) โดยมีบทบาทในโรคพาร์คินสัน โรคฮันติงตัน และโรคสมาธิสั้น[52][55] สมองกลีบข้าง มีหน้าที่รับรู้ความรู้สึกสัมผัส (sensory perception) ความจำใช้งาน และการใส่ใจ[52][57]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#27", "text": "งานวิเคราะห์อภิมานปี 2553 เกี่ยวกับผลของการออกกำลังกายต่อ executive functions ของเด็ก มีการทดลองสองแบบที่ใช้ประเมินผล แบบแรกเป็นการออกกำลังกายเป็นประจำ ที่จัดกลุ่มเด็กแบบสุ่มให้ออกกำลังกายตามเวลาเป็นเวลาหลายอาทิตย์แล้วประเมินผลทีหลัง[83] แบบที่สองเป็นการตรวจสอบผลทางการรู้คิดทันทีหลังจากการออกกำลังกาย[83] ผลของแบบประเมินทั้งสองแสดงว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอาจจะทั้งปรับปรุง executive functions ของเด็กแบบชั่วคราว และมีอิทธิพลต่อการปรับปรุงที่ยั่งยืนกว่า[83]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#26", "text": "แต่งานปี 2554 กับพบผลตรงกันข้ามในเรื่องความจำ สมมติฐานในงานศึกษานี้ก็คือว่า เด็กที่ฟิตน้อยกว่าจะได้คะแนนเกี่ยวกับ executive control และความจำที่น้อยกว่า มีปริมาตรฮิปโปแคมปัสที่น้อยกว่า เทียบกับเด็กที่ฟิตดีกว่า[81] แทนที่ข้อมูลว่า การออกกำลังกายไม่เกี่ยวข้องกับความจำในเด็กระหว่างอายุ 4-18 ปี อาจจะเป็นไปได้ว่า สำหรับเด็กก่อนวัยรุ่น เด็กที่แข็งแรงกว่าจะมีปริมาตรฮิปโปแคมปัสที่สูงกว่า และตามงานวิจัยที่ทำโดยนักวิจัยกลุ่มเดียวกันบางคน ปริมาตรฮิปโปแคมปัสที่สูงกว่ามีผลเป็น executive control และความจำที่ดีกว่า[82] และสรุปได้ว่า ปริมาตรฮิปโปแคมปัสสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการทำงานทางความจำสัมพัทธ์ (relational memory tasks) ที่ดีกว่า [82] นี่เป็นหลักฐานแรกที่แสดงว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอาจสัมพันธ์กับโครงสร้างและการทำงานของสมองมนุษย์ก่อนวัยรุ่น[82]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#24", "text": "กลูตาเมตเป็นสารเคมีประสาทที่สามัญที่สุดอย่างหนึ่งในสมอง เป็นสารสื่อประสาทแบบกระตุ้น (excitatory) ที่มีบทบาทในกิจต่าง ๆ ของสมองรวมทั้งการเรียนรู้และความจำ[78] การออกกำลังกายทำการส่งสัญญาณร่วมกันของกลูตาเมตกับโดพามีนให้เป็นเรื่องปกติใน nucleus accumbens[23] งานทบทวนวรรณกรรมในเรื่องผลของการออกกำลังกายต่อการทำงานของหัวใจ-ประสาทในระยะพรีคลินิกให้ข้อสังเกตว่า การปรับสภาพทางประสาท (neuroplasticity) ที่เกิดจากการออกกำลังกายในเขต rostral ventrolateral medulla (RVLM) มีผลยับยั้งการสื่อประสาทแบบกลูตาเมต ซึ่งลดการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติก[79] (ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาสู้หรือหนีและภาวะธำรงดุล) ผู้เขียนให้สมมติฐานว่า การปรับสภาพทางประสาทใน RVLM เป็นกลไกที่การออกกำลังกายเป็นปกติช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจแบบที่เกิดจากมีชีวิตนั่ง ๆ นอน ๆ [79]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#38", "text": "โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคประสาทเสื่อมในเขตเปลือกสมอง และเป็นรูปแบบภาวะสมองเสื่อมที่สามัญที่สุด คือที่ 65% ซึ่งกำหนดโดยการรู้คิดที่พิการ ความผิดปกติทางพฤติกรรม และสมรรถภาพการใช้ชีวิตประจำวันที่ลดลง[27][28] งานปริทัศน์เป็นระบบ 2 งานทบทวนการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (RCT) ที่มีระยะ 3-12 เดือน และตรวจสอบผลของการออกกำลังกายต่อลักษณะต่าง ๆ ที่ว่าของโรค[27][28] แล้วพบประโยชน์ต่อการรู้คิด อัตราการเสื่อมการรู้คิด และการใช้ชีวิตประจำวันของบุคคลที่เป็นโรค[27][28] งานหนึ่งเสนอว่า โดยอาศัยแบบจำลองหนูที่ตัดต่อยีนข้ามพันธุ์ (transgenic) ผลต่อการรู้คิดของการออกกำลังกายในโรคอัลไซเมอร์ อาจมีเหตุมาจากการลดปริมาณ amyloid plaque ซึ่งเชื่อว่าอาจเป็นเหตุของโรค[27][89]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#41", "text": "งานทบทวนวรรณกรรมปี 2549 พบว่า มีระบบสารสื่อประสาทบางอย่างที่ได้ประโยชน์จากการออกกำลังกาย[93] มีงาน 2-3 งานที่รายงานว่าสุขภาพสมองและการรู้คิดดีขึ้นเพราะการออกกำลังกาย[93] งานหนึ่งโดยเฉพาะในปี 2542 พบว่า การออกกำลังกายแบบแอโรบิกปรับปรุงกระบวนการ executive control สนับสนุนโดยเขตด้านหน้าและเขต prefrontal ของสมอง[94] เขตเหล่านี้เป็นเหตุของความบกพร่องทางการรู้คิดของคนไข้โรคพาร์คินสัน แต่ก็คาดว่า ความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมทางเคมีประสาทในสมองกลีบหน้าของคนไข้อาจจะห้ามประโยชน์จากการออกกำลังกาย[95] งานปี 2553 ศึกษาทฤษฎีนี้ที่ทดสอบผู้ร่วมการทดลองที่เป็นคนไข้ระยะต้นหรือกลางและกลุ่มควบคุมทางการรู้คิด/ภาษา ร่วมกับการออกกำลังกาย ซึ่งคนไข้จะออกกำลังแบบแอโรบิก 20 นาทีอาทิตย์ละ 3 ครั้งเป็นเวลา 8 อาทิตย์โดยปั่นจักรยานอยู่กับที่ แล้วพบว่า การออกกำลังกายช่วยให้ได้คะแนนการรู้คิดที่ดีขึ้น[95] โดยเป็นหลักฐานว่า โปรแกรมการออกกำลังกายอาจมีประโยชน์กับคนไข้ PD", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#25", "text": "งานปี 2546 ทำการวิเคราะห์อภิมานตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างการออกกำลังกายกับสมรรถภาพการรู้คิดในเด็ก[80] แล้วรายงานความสัมพันธ์ที่มีประโยชน์ในเรื่องทักษะการรับรู้ ระดับเชาวน์ปัญญา การประสบความสำเร็จ การทดสอบทางภาษา การทดสอบทางคณิต ระดับพัฒนาการ และความพร้อมทางการเรียนและด้านอื่น ๆ ยกเว้นเพียงแค่ความจำ[80] โดยพบค่าสหสัมพันธ์สูงสุดในเด็กอายุ 4-7 ขวบ และ 11-13 ปี[80]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#15", "text": "ในผู้ใหญ่ ผลต่าง (effect size) ต่อการรู้คิดใหญ่ที่สุดในเรื่อง executive functions และเล็กน้อยจนถึงปานกลางสำหรับด้านต่าง ๆ ของความจำและความเร็วในการประมวลข้อมูล[1][10] บุคคลที่มีไลฟ์สไตล์แบบอยู่เฉย ๆ มักจะมีการควบคุมการรู้คิดที่เสียหายเทียบกับคนที่ไม่ออกกำลังกายแต่ไม่ชอบอยู่เฉย ๆ[9][58] ความสัมพันธ์แบบกลับกันระหว่างการออกกำลังกายกับการควบคุมการรู้คิดก็พบด้วยเช่นกัน คือ การควบคุมการรู้คิดที่ดีขึ้น เช่น การควบคุมการใส่ใจเป็นต้น จะช่วยให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะออกกำลังกาย[9] งานปริทัศน์เป็นระบบต่องานที่ทำในเด็กแสดงว่า เรื่องที่ดีขึ้นเกี่ยวกับ executive functions สามารถเห็นได้หลังจากการออกกำลังกายเพียงครั้งเดียว แต่เรื่องอื่น ๆ (เช่น การควบคุมการใส่ใจ) จะดีขึ้นหลังจากออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ[59]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "936012#16", "text": "เพิ่มโมเลกุลเก็บพลังงาน เช่น ไขมันและคาร์โบไฮเดรตภายในกล้ามเนื้อ ทำให้อดทนยิ่งขึ้น การเกิดเส้นเลือดใหม่ที่หน่วยพื้นฐานของกล้ามเนื้อลาย คือ sarcomere ทำให้เลือดไหลผ่านกล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ทำให้เมแทบอลิซึมที่ใช้ออกซิเจนในกล้ามเนื้อทำงานได้เร็วขึ้น ทำให้เมื่อออกกำลังอย่างหนัก พลังงานที่ใช้ออกซิเจนจะมีอัตราส่วนสูงขึ้น เพิ่มสมรรถภาพใช้ไขมันเป็นพลังงานในช่วงออกกำลังกาย ซึ่งช่วยสงวนไกลโคเจนภายในกล้ามเนื้อ เพิ่มความเร็วที่กล้ามเนื้อคืนสภาพหลังจากออกกำลังอย่างหนัก มีผลดีทางประสาทชีวภาพ ปรับปรุงการเชื่อมต่อกันของโครงสร้างในสมอง เพิ่มความหนาแน่นของเนื้อเทา เพิ่มกำเนิดประสาท ทำคิดอ่านได้ดีขึ้น/ปรับปรุงการทำงานทางประชาน (รวมทั้งการควบคุมพฤติกรรมอาศัยประชานและความจำแบบต่าง ๆ) ปรับปรุงหรือดำรงสุขภาพจิต", "title": "การออกกำลังกายใช้ออกซิเจน" }, { "docid": "806291#16", "text": "\"ฮอร์โมนความเครียด\" คือ คอร์ติซอล เป็น glucocorticoid ที่ยึดกับหน่วยรับของมัน[61][62][63] ความเครียดทางจิตใจจะเหนี่ยวนำให้ต่อมหมวกไตปล่อยคอร์ติซอลโดยกระตุ้นแกนไฮโปทาลามัส-พิทูอิทารี-อะดรีนัล (HPA axis ดูรูป) ไปตามลำดับเหมือนลูกโซ่[61][62][63] ระดับที่เพิ่มขึ้นของคอร์ติซอลในระยะสั้น ๆ สัมพันธ์กับการปรับปรุงการรู้คิดที่เป็นการปรับตัว เช่น inhibitory control ที่ดีขึ้น[38][62][63] แต่การเพิ่มในระดับสูงหรือเป็นระยะเวลายาวจะทำการควบคุมการรู้คิดให้เสียหาย และมีผลเป็นพิษประสาท (neurotoxic) ต่อสมองมนุษย์[38][58][63] ยกตัวอย่างเช่น ความเครียดเรื้อรังจะลดการแสดงออกของ BDNF ซึ่งมีผลลบต่อปริมาตรของฮิปโปแคมปัสและอาจจะก่ออารมณ์ซึมเศร้า[38][61]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#12", "text": "การออกกำลังกายให้สม่ำเสมอจะช่วยป้องกันการลดขนาดของฮิปโปแคมปัสและความจำที่แย่ลงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในวัยสูงอายุ[5][6][8] คือ ผู้ใหญ่อายุเกิน 55 ที่อยู่เฉย ๆ จะมีปริมาตรฮิปโปแคมปัสลดลง 1-2% ทุก ๆ ปี[8][51] งานศึกษาสร้างภาพในสมองของผู้ใหญ่ 120 คนแสดงว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพิ่มปริมาตรของฮิปโปแคมปัสข้างซ้าย 2.12% และข้างขวา 1.97% ภายใน 1 ปี[8][51] ส่วนผู้ที่อยู่ในกลุ่มยืดตัวที่เบา ๆ ซึ่งมีระดับฟิตเนสที่ดีเมื่อเริ่มโปรแกรมสูญปริมาตรของฮิปโปแคมปัสน้อยกว่า ซึ่งเป็นหลักฐานว่า การออกกำลังกายช่วยป้องกันการเสื่อมความรู้คิดที่เกี่ยวกับอายุ[51] และโดยทั่วไปแล้ว บุคคลที่ออกกำลังกายมากกว่าในช่วง 1 ปีมีปริมาตรฮิปโปแคมปัสที่ดีกว่าและมีความจำดีกว่า[5][8] การออกกำลังกายแบบแอโรบิกมีหลักฐานว่าช่วยเพิ่มเนื้อขาวใน corpus callosum ด้านหน้า (เป็นส่วนที่ทำให้สมองด้านซ้ายขวาทำงานประสานกันได้) ซึ่งปกติจะฝ่อลงเมื่ออายุมากขึ้น[5][49] หน้าที่ของส่วนสมองต่าง ๆ ที่มีเนื้อเทาใหญ่ขึ้นเพราะการออกกำลังกายรวมทั้ง", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#5", "text": "การออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างสม่ำเสมอเป็นเวลาหลายเดือนจะทำให้ executive functions ดีขึ้นอย่างสำคัญ และเพิ่มปริมาตรเนื้อเทา (gray matter) ในเขตสมองหลายเขต โดยเฉพาะส่วนที่มีหน้าที่เกี่ยวกับ executive functions[1][5][6][7][9] โครงสร้างทางสมองที่ตอบสนองต่อการออกกำลังกายโดยขยายปริมาตรสูงสุดก็คือ prefrontal cortex, caudate nucleus, และฮิปโปแคมปัส[1][5][6][8] ส่วนที่น้อยลงมาก็คือ anterior cingulate cortex, สมองกลีบข้าง, สมองน้อย และ nucleus accumbens[5][6][8] และส่วน prefrontal cortex, caudate nucleus และ anterior cingulate cortex เป็นโครงสร้างทางสมองแบบโดพามีนและนอร์เอพิเนฟรินที่สำคัญที่สุดที่ควบคุมการรู้คิด[6][39]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#6", "text": "การเกิดเซลล์ประสาทใหม่ที่ได้จากการออกกำลังกาย (คือปริมาตรที่เพิ่มขึ้นในเนื้อเทา) ในฮิปโปแคมปัสสัมพันธ์กับความจำปริภูมิ (spatial memory) ที่ดีขึ้นอย่างวัดได้[6][8][18][40] คะแนนฟิตเนสที่สูงกว่า วัดโดยอัตราการใช้ออกซิเจนระดับสูงสุดเมื่อออกกำลังกาย (VO2 max) สัมพันธ์กับ executive function ที่ดีกว่า การประมวลข้อมูลที่เร็วกว่า และปริมาตรเนื้อเทาที่เพิ่มขึ้นในฮิปโปแคมปัส, caudate nucleus, และ nucleus accumbens[1][6] การออกกำลังกายแบบแอโรบิกในระยะยาวยังสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงที่คงยืนและมีประโยชน์ที่นอกเหนือจากกรรมพันธุ์ (epigenetic) ที่ปรับปรุงการรับมือกับความเครียด ปรับปรุงการรู้คิด (cognitive function) และเพิ่มการทำงานของเซลล์ประสาท (c-Fos and BDNF signaling)[4][41]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#30", "text": "หลักฐานทางคลินิกและพรีคลินิกแสดงว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะที่ต้องอึดสู้ (เช่น การวิ่งมาราธอน) จริง ๆ สามารถป้องกันการติดยา และเป็นการรักษาเสริมที่มีประสิทธิผล โดยเฉพาะการติดยากระตุ้นจิต (เช่น แอมเฟตามีน)[23][24][25][26] การออกกำลังกายแบบแอโรบิกให้สม่ำเสมอสามารถลดความเสี่ยงการติดยาขึ้นอยู่กับว่าออกหนักเท่าไร (คือ โดยระยะเวลาและความหนักเบา) ซึ่งปรากฏโดยเป็นการฟื้นสภาพทางสมองจากการติดยา[23][24] งานทบทวนวรรณกรรมหนึ่งให้ข้อสังเกตว่า การออกกำลังกายอาจป้องกันการติดยาโดยเปลี่ยนการทำงานของ ΔFosB และ c-Fos (วัดโดย immunoreactivity) ของสมองส่วน striatum และส่วนอื่นของระบบรางวัล เพราะทั้ง ΔFosB และ c-Fos มีส่วนปรับสภาพสมองเมื่อเกิดการติด[26]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#9", "text": "IGF-1 เป็นเพปไทด์ที่อำนวยผลบางอย่างของ growth hormone โดยออกฤทธิ์ผ่าน IGF-1 receptor เพื่อควบคุมการเติบโตของเนื้อเยื่อและการเปลี่ยนสภาพ[44] ในสมอง IGF-1 ทำหน้าที่เป็นปัจจัยบำรุงสมอง (neurotrophic factor) คล้ายกับ BDNF และมีบทบาทสำคัญในการรู้คิด การเกิดเซลล์ประสาท และการอยู่รอดของเซลล์ประสาท[42][45][46] การออกกำลังกายสัมพันธ์กับระดับที่เพิ่มขึ้นของ IGF-1 ในเลือด ซึ่งปรับสภาพทางประสาท (neuroplasticity) ในสมอง เพราะ IGF-1 สามารถผ่านตัวกั้นเลือด-สมอง และตัวกั้นเลือด-สมองร่วมไขสันหลัง (blood-cerebrospinal fluid barrier) ซึ่งก็คือ Choroid plexus ได้[5][42][44][45] ดังนั้น งานทบทวนวรรณกรรมหนึ่งจึงให้ข้อสังเกตว่า IGF-1 เป็นตัวอำนวยสำคัญของการเกิดเซลล์ประสาทของผู้ใหญ่ที่เป็นผลของการออกกำลังกาย และงานที่สองกำหนดว่า มันเป็นปัจจัยที่เชื่อม \"ความฟิตของร่างกาย\" กับ \"ความฟิตของสมอง\"[44][45] ปริมาณ IGF-1 ที่ปล่อยสู่เลือดมีสหสัมพันธ์เชิงบวกกับความแข็งขันและระยะเวลาของการออกกำลังกาย[47]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806313#8", "text": "ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้มักจะเพ่งความสนใจไปที่อารมณ์หดหู่/ซึมเศร้า และพิจารณาโรคซึมเศร้าว่าเป็นส่วนสุดของอารมณ์ที่ทำหน้าที่ผิดปกติ และไม่ใช่เป็นลักษณะพิเศษที่ต่างหากจากอารมณ์ซึมเศร้า\nเพราะว่า นอกจากภาวะสิ้นยินดี ความเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้อื่นรวมทั้งการเคลื่อนไหวช้า การรับประทานและการนอนผิดปกติ การสูญอารมณ์ทางเพศ ล้วนแต่เป็นลักษณะการตอบสนองต่อความเจ็บปวดทางกายด้วย\nในคนซึมเศร้า เขตสมองที่มีบทบาทรับรู้ความเจ็บปวดทางกาย เช่น anterior cingulate cortex และ prefrontal cortex ข้างซ้าย จะทำงานมากขึ้น\nซึ่งทำให้สมองสามารถแสดงความคิดแบบลบที่เป็นนามธรรม เสมือนกับตัวก่อความเครียดทางกายต่อส่วนอื่น ๆ ของสมอง", "title": "แนวคิดวิวัฒนาการเกี่ยวกับความซึมเศร้า" }, { "docid": "806291#29", "text": "งานศึกษาในสัตว์พบว่า การออกกำลังกายมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของสมองในช่วงต้นของชีวิต หนูที่มีล้อวิ่งหรือมีของเล่นออกกำลังกายอื่น ๆ มีพัฒนาการของเซลล์ประสาทเกี่ยวกับการเรียนรู้และความจำที่ดีกว่า[84] งานสร้างภาพสมองในมนุษย์แสดงผลเช่นเดียวกัน ที่การออกกำลังกายนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการทำหน้าที่ของสมอง[84] นักวิจัยบางท่านได้เชื่อมระดับความฟิตต่ำในเด็กกับการมี executive function ที่เสียหายเมื่อถึงวัยสูงอายุ แต่ก็มีหลักฐานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า ความจริงมันอาจจะสัมพันธ์กับความไม่สามารถควบคุมการการใส่ใจ หยุดพฤติกรรมอัตโนมัติ (inhibitory control) และไม่สนใจตัวกวนสมาธิ (interference control)[81]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "654839#0", "text": "สมองมนุษย์</b>มีโครงสร้างทั่วไปเหมือนสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น แต่มีเปลือกสมองพัฒนามากกว่าสัตว์ชนิดอื่น สัตว์ใหญ่อย่างวาฬและช้างมีสมองใหญ่กว่าในเชิงสัมบูรณ์ แต่เมื่อเทียบกับขนาดกายแล้ว สมองมนุษย์ใหญ่เป็นเกือบสองเท่าของสมองโลมาปากขวดและใหญ่เป็นสามเท่าของสมองชิมแปนซี การขยายส่วนมากมาจากเปลือกสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลีบหน้า ซึ่งสัมพันธ์กับการทำหน้าที่บริหาร เช่น การควบคุมตน การวางแผน การให้เหตุผลและความคิดนามธรรม ส่วนของเปลือกสมองที่ทำหน้าที่มองเห็น คือ เปลือกสมองส่วนการเห็น ยังใหญ่มากในมนุษย์ด้วย", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "806291#39", "text": "งานศึกษาหนึ่ง (Caerphilly Prospective study) ติดตามชาย 2,375 คนตลอด 30 ปีและตรวจดูความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิตที่ถูกสุขภาพกับภาวะสมองเสื่อม ในบรรดาปัจจัยที่ตามดูทั้งหมด[90] การวิเคราะห์ข้อมูลของงานศึกษาแสดงว่า การออกกำลังกายสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อมที่ต่ำลง และการลดความเสื่อมในการรู้คิด[90][91] งานปริทัศน์เป็นระบบต่อมางานหนึ่งทบทวนงานศึกษาตามยาวต่าง ๆ ก็พบระดับการออกกำลังกายที่สูงขึ้นว่าสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและความเสื่อมในการรู้คิดเช่นกัน[33] งานนี้ยังแจ้งอีกด้วยวว่า การออกกำลังกายที่เพิ่มขึ้นดูจะเป็นเหตุของความเสี่ยงที่ลดลงเหล่านั้น[33]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "815796#15", "text": "ส่วนการสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็ก (fMRI) และเทคนิค arterial spin labeling (ASL) อาศัยคุณสมบัติพาราแมกเนติกของเฮโมโกลบินที่เติมออกซิเจนหรือขาดออกซิเจนเพื่อแสดงความเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือดในสมองที่สัมพันธ์กับการทำงานของระบบประสาท ทำให้สามารถสร้างภาพแสดงว่า โครงสร้างทางสมองไหนกำลังทำงานแค่ไหนเมื่อผู้รับการสแกนทำงานต่าง ๆ หรืออยู่เฉย ๆ ตามสมมติฐานการเติมออกซิเจน (oxygenation hypothesis) ความเปลี่ยนแปลงของการใช้ออกซิเจนในเลือดของบริเวณสมองในช่วงที่มีกิจกรรมทางการรู้คิดหรือพฤติกรรม อาจสัมพันธ์กับเซลล์ประสาทในเขตที่สัมพันธ์โดยตรงกับงานที่กำลังทำอยู่ เครื่อง fMRI โดยมากมีที่ให้แสดงภาพ เสียง และความรู้สึกสัมผัสต่าง ๆ แก่คนที่อยู่ในเครื่อง แล้วให้ทำการตอบสนองเช่นกดปุ่มหรือขยับก้านควบคุม และดังนั้น fMRI จึงสามารถใช้แสดงโครงสร้างและกระบวนการทางสมองที่สัมพันธ์กับการรับรู้ ความคิด และการกระทำ", "title": "การสร้างภาพประสาท" }, { "docid": "806291#7", "text": "ผลสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งต่อสมองของการออกกำลังกายก็คือการแสดงออกและการสังเคราะห์ BDNF ซึ่งเป็นฮอร์โมน neuropeptide ในสมองและระบบประสาทนอกส่วนกลาง ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณเพิ่มขึ้นให้หน่วยรับแบบ tyrosine kinase receptor คือ tropomyosin receptor kinase B (TrkB)[4][42][43] เนื่องจาก BDNF สามารถผ่านตัวกั้นระหว่างเลือด-สมอง (blood-brain barrier) ได้ การสังเคราะห์ BDNF ที่เพิ่มขึ้นก็ยังเพิ่มการส่งสัญญาณแบบ BDNF ในสมองอีกด้วย[37] และสัญญาณที่เพิ่มสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงนอกเหนือจากกรรมพันธุ์ จะปรับปรุงการรู้คิด อารมณ์ และความจำ[4][8][17][42]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "171450#11", "text": "ในกลุ่มประชากรวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ปริมาณการออกกำลังกายเริ่มตั้งแต่เมื่อใช้พลังงาน ต่ออาทิตย์ สัมพันธ์กับอัตราตายเพราะเหตุทั้งหมด (all-cause) และอัตราตายเพราะโรคหัวใจร่วมหลอดเลือดที่ลดลง\nกลุ่มที่สามารถลดความเสี่ยงตายมากที่สุดก็คือผู้ที่อยู่เฉย ๆ ไม่ค่อยทำอะไรผู้กลายมาทำกิจกรรมพอประมาณ\nงานศึกษาต่าง ๆ ได้แสดงว่า เพราะโรคหัวใจเป็นเหตุความตายต้น ๆ ในหญิง การออกกำลังกายสำหรับหญิงผู้มีอายุสูงขึ้นทำให้สุขภาพหัวใจร่วมหลอดเลือดดีขึ้น\nโดยผลดีที่สุดต่ออัตราตายเพราะโรคหัวใจร่วมหลอดเลือดก็ด้วยการออกกำลังกายหนักปานกลาง (40-60% ของการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยขึ้นอยู่กับอายุ)\nแม้บุคคลผู้เปลี่ยนพฤติกรรมคือออกกำลังกายให้สม่ำเสมอหลังเหตุการณ์กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด ก็มีอัตราการรอดชีวิตที่ดีขึ้น\nและผู้ที่ยังคงอยู่เฉย ๆ ก็จะเสี่ยงสูงสุดต่อการตายเพราะเหตุทั้งหมดและเพราะโรคหัวใจร่วมหลอดเลือด\nตามสมาคมหัวใจอเมริกัน () การออกกำลังกายลดความเสี่ยงโรคหัวใจร่วมหลอดเลือดแบบต่าง ๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง", "title": "การออกกำลังกาย" }, { "docid": "720942#7", "text": "ผู้ปฏิบัติกรรมฐานในระยะยาว ยังสามารถอดทนต่อความเจ็บปวดได้ดีกว่าอีกด้วย \nเป็นปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กับหน้าที่และโครงสร้างที่เปลี่ยนไป ของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortices) และความสามารถเพิ่มขึ้นที่จะแยกส่วนต่าง ๆ ของสมอง จากส่วนที่ประเมินความรู้สึกเจ็บปวดทางประชาน คือ anterior cingulate cortex และ dorsolateral prefrontal cortex", "title": "การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ" }, { "docid": "165707#1", "text": "สาเหตุทั่วไปของภาวะหัวใจวาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งรวมกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อาการหัวใจล้ม) ก่อนหน้านี้, ความดันโลหิตสูง, หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation), โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease), และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyopathy) สาเหตุเหล่านี้ทำให้เกิดอาการหัวใจล้มโดยเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีอาการหัวใจล้มสองประเภทหลัก คือ อาการหัวใจล้มจากการทำหน้าที่ผิดปรกติของหัวใจห้องล่างซ้ายและอาการหัวใจล้มโดยมีเศษส่วนการสูบฉีดปกติแล้วแต่ว่าหัวใจห้องล่างซ้ายมีความสามารถหดตัวหรือไม่ หรือความสามารถคลายตัวของหัวใจ ปกติจัดลำดับความรุนแรงของโรคจากความสามารถการออกกำลังกายที่ลดลง ภาวะหัวใจวายมิใช่อย่างเดียวกับกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือหัวใจหยุด (ซึ่งเลือดหยุดไหลทั้งหมด) ฦโรคอื่นซึ่งอาจมีอาการคล้ายกับภาวะหัวใจวาย เช่น โรคอ้วน ปัญหาไต ปัญหาตับ โลหิตจาง และโรคไทรอยด์ เป็นต้น", "title": "ภาวะหัวใจวาย" }, { "docid": "806291#32", "text": "การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะแบบแอโรบิก เป็นการรักษาเสริมที่มีประสิทธิผลในเด็กและผู้ใหญ่ที่มีโรคสมาธิสั้น (ADHD) โดยเฉพาะเมื่อใช้ร่วมกับยากระตุ้น (เช่น แอมเฟตามีน หรือ methylphenidate) แม้ความหนักเบาและรูปแแบบของการออกกำลังกายที่ได้ผลดีที่สุดยังไม่ชัดเจน[21][22][85] โดยเฉพาะก็คือ ผลระยะยาวของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างสม่ำเสมอในคนไข้ ADHD รวมทั้งพฤติกรรมที่ดีกว่า สมรรถภาพการเคลื่อนไหวที่ดีกว่า executive functions ที่ดีกว่า (รวมทั้งการใส่ใจ การหยุดพฤติกรรมอัตโนมัติ และการวางแผน ในบรรดากิจทางการรู้คิดทั้งหลาย) การประมวลข้อมูลได้เร็วกว่า และความจำที่ดีกว่า[21][22][85]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" }, { "docid": "806291#4", "text": "Neuroplasticity (สภาพพลาสติกในระบบประสาท) เป็นกระบวนการปรับตัวของเซลล์ประสาทต่อสิ่งรบกวนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และโดยมากเกิดตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ซ้ำ ๆ[35] การออกกำลังกายแบบแอโรบิกเพิ่มการผลิตปัจจัยบำรุงสมอง (neurotrophic factors)[lower-alpha 1] (คือ brain-derived neurotrophic factor [BDNF], insulin-like growth factor 1 [IGF-1], vascular endothelial growth factor [VEGF], และ Glial cell line-derived neurotrophic factor [GDNF]) ซึ่งอำนวยปรับปรุงการรู้คิด (cognitive function) และความจำต่าง ๆ โดยโปรโหมตการเกิดหลอดเหลือดในสมอง (angiogenesis) การเกิดเซลล์ประสาทของผู้ใหญ่ (adult neurogenesis)[lower-alpha 2] และการปรับเปลี่ยนทางประสาท (neuroplasticity) อย่างอื่น ๆ[2][5][17][37][38]", "title": "ผลทางประสาทชีวภาพของการออกกำลังกาย" } ]
1831
จักรพรรดิผู่อี๋ มีมเหสีชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "294850#8", "text": "โกวปู้โลว วั่นหรง (มีความหมายว่า ผู้มีใบหน้าอันเลอโฉม) เป็นธิดาองค์โตของ หร่ง หยวน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการภายใน ในสมัยราชวงศ์ชิง และเป็นบุคคลผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในสมัยแมนจูกัวอีกด้วย วั่นหรงจึงมาจากตระกูลที่ร่ำรวยและโดดเด่นที่สุดครั้งหนึ่งในสมัยราชวงศ์ต้าชิง สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงเกิดในบ้านของพระบิดา หร่ง หยวน ณ บ้านเลขที่ 37 ถนนเม่าเอ๋อ หูท่ง ซอยทิศใต้หลัวกู่ เขตตงเฉง เมืองปักกิ่ง (No. 37, Maoer hutong, South Luogu Lane, Dongcheng District, Beijing) เนื่องจากพระบิดาเป็นผู้มีความคิดสมัยใหม่ที่จะให้เหล่าธิดาได้มีการศึกษา วั่นหรงจึงได้รับการศึกษาจากโรงเรียนมิชชั่นนารีของอเมริกันในเมืองเทียนสินและระหว่างช่วงเวลาในพระราชวังต้องห้าม โดยผู้สอนส่วนตัวชาวอเมริกันชื่อ อิซาเบล อินแกรม (Isabel Ingram) ผู้ซึ่งได้ให้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษของวั่นหยงว่า อลิซาเบธ[1]", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" } ]
[ { "docid": "12892#9", "text": "ผู่อี๋เป็นราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัวในสายที่ผูกพันกันแน่นกับเผ่าเย่เหอนาลาของพระนางซูสีไทเฮา พระนัดดาของพระนางซูสีไทเฮา คือ สมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่ (2411-2456) ก็เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#17", "text": "เมื่อพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิจีนเมื่อระหว่างปี พ.ศ. 2451 ถึง พ.ศ. 2455 และระหว่างการฟื้นฟูราชวงศ์ชิงระยะสั้นในปี พ.ศ. 2460 ศักราชในรัชสมัยพระองค์ใช้ชื่อว่า \"เซวียนถ่ง\" และพระนามของพระองค์ก็ถูกเรียกว่า \"จักรพรรดิเซวียนถ่ง\" (simplified Chinese:宣统皇帝; traditional Chinese:宣統皇帝; pinyin:Xuāntǒng Huángdì; Wade–Giles:Hsüan1-t'ung3 Huang2-ti4) ในระหว่างการขึ้นครองราชสมบัติในสองช่วงเวลาดังกล่าว", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "294850#16", "text": "ที่เทียนสิน สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงได้ทรงเปลี่ยนพระนามมาใช้เป็น \"เอลิซาเบธ\" และสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ได้ทรงใช้พระนามแบบตะวันตกว่า \"เฮนรี่\" สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ได้ทรงใช้เวลาร่วมกับสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์ระหว่างสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋และสมเด็จพระจักรพรรดินีวันหรงก็ทรงเข้าสู่จุดตึงเครียด เมื่อในที่สุดนางสนมเหวินซิ่วได้ขอร้องให้สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทำการหย่ากับนางในปี พ.ศ. 2474 สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ได้ทรงดุด่าว่ากล่าวสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงเป็นอย่างมาก ยังไงก็ตามไม่มีใครสามารถยืนยันได้ว่าสนมเหวินซิ่วได้ถูกบังคับโดยสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงให้หย่ากับสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋จริงหรือไม่ มีหลายทฤษฎีว่าพระนางสนมเหวินซิ่วทรงเบื่อกับชีวิตที่ไร้ความสุขด้วยตัวของพระนางเอง พระสนมเหวินซิ่วต้องการความรักมากกว่าความมั่งคั่งในยศและทรัพย์สิน พระนางจึงได้ขอให้หย่าสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทำการหย่าให้กับพระนาง หลังจากการหย่าสนมเหวินซิ่วก็ไม่ได้กลับมาหาสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋อีกเลย", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#6", "text": "Template:CJKV) (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ \"จักรวรรดิแมนจูกัว\")", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "356435#3", "text": "หลังจากที่บรรดาบุคคลในราชวงศ์เสด็จกลับมายังพระราชวังต้องห้ามในปี พ.ศ. 2445 ราชวงศ์ชิงสูญเสียพระราชอำนาจเป็นอย่างมาก สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่พระสวามีของนางเสด็จสวรรคตในปี 6 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2451 ต่อจากนั้นพระนางซูสีไทเฮาก็สิ้นพระชนม์หลังจากรพะจักรพรรดิเพียงหนึ่งวัน จึงถือเป็นการสูญเสียครั้งใหญ่ในราชวงศ์ชิง พระนางซูสีไทเฮาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบุคคลสำคัญที่สุดของราชวงศ์ชิง ก่อนที่พระนางจะสิ้นพระชนม์ พระนางซูสีไทเฮาได้แต่งตั้งผู่อี๋ โอรสในเจ้าชายชุนที่ 2 เป็นจักรพรรดิพระองค์ใหม่ พระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวางสูคือสมเด็จพระจักรพรรดินีหรงยู ได้กลายมาเป็นพระพันปีหลงยฺวี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่และเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ร่วมกับเจ้าชายชุนที่ 2 และพระสนมเจินก็ได้กลายเป็นพระสนมเอกจิน", "title": "จิ่นเฟย์" }, { "docid": "294850#9", "text": "เมื่ออายุสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋มีพระชนมายุครบ 16 ปี วั่นหรงได้ถูกเลือกจากพระสนมผู้ใหญ่ในวังโดยมีการคัดเลือกหญิงสาวจากตระกูลมั่งคั่งหลาย ๆ คนเป็นรูปภาพ ส่งไปให้พระจักรพรรดิซวนถง (ผู่อี๋)ซึ่งเป็นจักรพรรดิที่ไม่มีอำนาจแต่ยังได้สิทธิ์ในการดำรงพระอิสริยศและพำนักอยู่ในพระราชวังต้องห้าม สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงไม่รู้ว่าพระองค์จะเลือกใครดีกว่ากัน เพราะว่าพระองค์ไม่สามารถแยกหน้าตาของหญิงสาวในรูปภาพที่มีคุณภาพต่ำออกได้ พระองค์จึงทรงเลือกเหวินซิ่ว แต่พระสนมเก่าในวังกลับไม่พอใจในการตัดสินใจครั้งนี้ของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระสนมเก่าจึงจัดการประชุมขึ้นในวังและสุดท้ายสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋จึงต้องทรงยอมเลือกวั่นหรง เพราะว่าหน้าตาของวั่นหรงนั้นดีกว่าและวั่นหรงก็เกิดมาจากตระกูลที่มั่งคั่งร่ำรวยเงินทองมากกว่า นางจึงเหมาะสมกับตำแหน่งจักรพรรดินีมากกว่าเหวินซิ่ว พระนางเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับผู่อี๋โดยมีพระชนมายุ 16 พรรษาเท่ากัน โดยมีเหวินซิ่วซึ่งมาอยู่ในพระราชวังต้องห้ามก่อนวั่นหรงได้ทำการต้อนรับวั่นหรงกับการอภิเษกครั้งนี้การอภิเษกสมรสถูกจัดขึ้นในเวลาตีสามของวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ในการแต่งงานนั้นไม่ได้ราบรื่นนัก เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แสดงออกในความสนใจในตัวสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงในคืนสมรสอย่างน้อยนิด มีบันทึกว่าผู่อี๋ได้กลับไปบรรทม โดยไม่ได้มีอะไรกันกับวั่นหรงเลย ในพิธีแต่งงานมีของขวัญราคาแพงจำนวนมากที่มอบให้แก่เจ้าสาวและครอบครัวของสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรง ถึงแม้ผู่อี๋จะไม่เคยแสดงความสนใจทั้งตัวของสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงเองและสนมเหวินซิ่ว เลยก็ตาม 200px|thumbnail|รูปของวั่นหรงที่ถูกส่งไปให้สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋คัดเลือกในอัลบั้มหญิงสาว", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "12892#28", "text": "หลังจากที่ถูกขับไล่ออกจากพระราชวังต้องห้าม ผู่อี๋ใช้เวลาสองถึงสามวันอยู่ที่ตำหนักของพระบิดา หลังจากนั้นก็ไปอาศัยอยู่ที่สถานทูตญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราวประมาณ 1 ปีครึ่ง[2] ในปี 2468 ผู่อี๋ได้ย้ายไปยัง Quiet Garden Villa ในเขตปกครองของญี่ปุ่นในเทียนจิน[22]ระหว่างช่วงเวลานั้น ผู่อี๋และบรรดาที่ปรึกษาของเขา เฉิน เป่าเซิน,เจิง เสี่ยวซู และ โหล เซินยู่ ได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการฟื้นฟูเขาเป็นจักรพรรดิ โดยเจิงและโหลได้เสนอให้ขอความช่วยเหลือจากภายนอก แต่เฉินไม่เห็นด้วยกับความคิดนี้ ในเดือนสิงหาคม 2474 ผู่อี๋ส่งจดหมายถึง จิโร่ มินะมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงคราม ของญี่ปุ่น บ่งบอกความภายในว่าเขาต้องการที่จะกลับมาเป็นจักรพรรดิ[23] เขายังไปเยี่ยม เคนจิ โดอิฮะระ หัวหน้าหน่วยจารกรรมของกองทัพคันโต ผู้ซึ่งมีความปรารถนาจะให้ผู่อี๋เป็นผู้นำแห่งแมนจูกัว ในเดือนพฤศจิกายน 2474 ผู่อี๋และ เจิง เสี่ยวซูเดินทางไปยังแมนจูเรียเพื่อตกลงเกี่ยวกับแผนการตั้งรัฐแมนจูกัวให้สำเร็จ รัฐบาลจีนออกคำสั่งจับผู่อี๋ข้อหาเป็นกบฏแต่ไม่สามารถที่จะทำได้เพราะไม่สามารถฝ่าการคุ้มครองของญี่ปุ่นได้[2] เฉิน เป่าเซินเดินทางกลับสู่ปักกิ่งที่ซึ่งเขาได้ถึงแก่กรรมเมื่อปี 2476", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "294850#17", "text": "สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงทรงโปรดการสูบยาสูบ ซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาทั่วไปของผู้หญิงจีนในสมัยนั้น สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงทรงผสมยาสูบของพระนางกับฝิ่นในปริมาณเล็กน้อยเพื่อเป็นการผ่อนคลาย อย่างไรก็ตาม พระนางทรงเป็นนักสูบตัวยง ผสานกับการที่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงไม่สนพระทัยในพระนางและการใช้ชีวิตอยู่อย่างอ้างว้างของพระนาง ต่อมาสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋และสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงจึงแยกห้องกันนอน นาน ๆ ทีจะออกมาเสวยพระกระยาหารพร้อมกับสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงตระหนักได้ว่าผู่อี๋พระสวามีของเธอเป็นได้เพียงแค่จักรพรรดิหุ่นเชิดเท่านั้น ไม่มีอำนาจใด ๆ ทั้งสิ้น", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "12892#6", "text": "พระอัยกา (ปู่) ของผู่อี๋ อี้ซวน เจ้าชายฉุนที่ 1 (2383 - 2434) เป็นโอรสองค์ที่ 7 ของสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง และเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกันกับสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง ภายหลังจากพระจักรพรรดิเสียนเฟิงสวรรคตแล้ว โอรสของพระองค์ จักรพรรดิถงจื้อ (ครองราชย์ 2404-2418) โอรสองค์เดียวในพระจักรพรรดิเสียนเฟิงได้ขึ้นสืบราชสมบัติ[5]", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#44", "text": "พงศาวลีของจักรพรรดิผู่อี๋ 16. จักรพรรดิเจียชิ่ง8. จักรพรรดิเต้ากวง17. จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย4. อี้ซวน, เจ้าชายฉุน18. อูหย่า หลิงโซ่ว9. พระสนมจวงซุ่น19.2. ไจ้เฟิง, เจ้าชายฉุน10. เต๋อชิ่ง ทหารองครักษ์อันดับ 55. หลิว เจียซื่อ11.1. จักรพรรดิผู่อี๋12. กัวเอ่อเจีย ฉางโซ่ว6. กัวเอ่อเจีย หรงลู่13.3. กัวเอ่อเจีย โย่วหลัน14.7. เย่เฮ่อน่าลา วานเจิน15.", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#29", "text": "ในวันที่ 1 มีนาคม 2475 ผู่อี๋ได้เป็นผู้บริหารสูงสุดของแมนจูกัว ซึ่งก่อตั้งโดยญี่ปุ่น เมื่อพิจารณจากนักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นรัฐที่เป็นหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยผู่อี๋ได้ดำรงตำแหน่งเป็น ต้าถ่ง (大同) ในปี 2477 ผู่อี๋ก็ได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัวโดยมีพระปรมาภิไธยว่า ตังเต๋อ (康德) เขาไม่ค่อยพอใจที่ได้เป็นแค่ตำแหน่ง \"ผู้บริหารสูงสุดของรัฐ\" และต่อมาได้เป็น \"จักรพรรดิแห่งแมนจูกัว\" เพราะผู่อี๋ต้องการที่จะฟื้นฟูราชวงศ์ชิง โดยผู่อี๋ประทับอยู่ที่พระราชวัง (ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์พระราชวังแห่งแมนจูกัว) ในช่วงเวลาที่เขาเป็นจักรพรรดิ ในการขึ้นครองบัลลังก์ของเขา เขาได้โต้เถียงกับญี่ปุ่นเกี่ยวกับเรื่องเครื่องแต่งกาย โดยทางญี่ปุ่นต้องการให้เขาใส่ชุดเครื่องแบบแมนจูกัว เพราะว่าผู่อี๋ถือว่าเป็นการหยามเกียรติอย่างมากที่ให้ใส่ชุดใดๆนอกจากเสื้อคลุมยาวโบราณของแมนจู เพื่อความประนีประนอมเขายอมสวมเครื่องแบบทหารแบบตะวันตกในการขึ้นครองบัลลังก์[24](เป็นจักรพรรดิจีนเพียงพระองค์เดียวที่ได้สวมเครื่องแบบตะวันตกในวันขึ้นครองราชย์) และสวมเสื้อคลุมมังกรสำหรับการประกาศการขึ้นครองราชที่หอสักการะฟ้าเทียนถัน[25]", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#8", "text": "ผู่อี๋ จึงสืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี โดยผู่อี๋เป็นโอรสองค์โตของฉุนชินอ๋อง ซึ่งเป็นโอรสของ อี้ซวน เจ้าชายฉุนที่ 1 โดยเจ้าชายฉุนและพระสนมของพระองค์ ท่านผู้หญิงหลิงกิยา (2409-2468) ท่านผู้หญิงหลิงกิยาเคยเป็นคนรับใช้ที่ตำหนักของเจ้าชายฉุน พื้นเพเป็นชาวฮั่นแซ่หลิว (劉) และเปลี่ยนเป็นชื่อแมนจูว่า หลิงกิยา เมื่อเป็นสนมของเจ้าชายฉุนที่ 1 เพราะฉะนั้นไจ้เฟิง ฉุนชินอ๋อง จึงเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นทายาทสืบราชบัลลังก์ที่อยู่ในลำดับแรก[7]", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#18", "text": "ในฐานะที่ผู่อี๋เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายที่ครองอำนาจของจีน ผู้อี๋ยังเป็นที่รู้จักในฐานะ \"จักรพรรดิองค์สุดท้าย\" (Chinese:末代皇帝; pinyin:Mòdài Huángdì; Wade–Giles:Mo4-tai4 Huang2-ti4) ในประเทศจีนและทั้งโลก บางส่วนก็เรียนขานผู่อี๋ว่า \"จักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์ชิง\" (Chinese:清末帝; pinyin:Qīng Mò Dì; Wade–Giles:Ch'ing1 Mo4-ti4).", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#42", "text": "The Last Emperor (Chinese title 火龍, literally means Fire Dragon), ภาพยนตร์ฮ่องกงในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย Li Han-hsiang ผู้รับบทจักรพรรดิผู่อี๋คือ Tony Leung Ka-fai The Last Emperor จักรพรรดิโลกไม่ลืม, ภาพยนตร์ชีวประวัติของจักรพรรดิผู่อี๋ในปี พ.ศ. 2530 กำกับโดย เบอร์นาโด แบร์โตลุชชี ซุน หลง รับบทเป็นจักรพรรดิผู่อี๋ในวัยผู้ใหญ่ Aisin-Gioro Puyi (愛新覺羅·溥儀), ภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติของจักรพรรดิผู่อี๋ในปี พ.ศ. 2548 ผลิตโดยสถานีโทรทัศน์ซีซีทีวี โดยเป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์สารคดีเกี่ยวกับ 10 บุคคลในประวัติศาสตร์ The Founding of a Party, a 2011 Chinese film directed by Huang Jianxin and Han Sanping. Child actor Yan Ruihan played Puyi. 1911 ใหญ่ผ่าใหญ่, ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ในปี พ.ศ. 2554 กำกับโดยเฉินหลงและจาง ลี่ ภาพยนตร์เรื่องนี้เล่าเรื่องการก่อตั้งสาธารณรัฐจีนในช่วงที่ซุน ยัดเซ็น ได้ก่อการปฏิวัติซินไฮ่เพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิง จักรพรรดิผู่อี๋ในวัย 5 พรรษารับบทโดยนักแสดงเด็ก Su Hanye แม้จักรพรรดิผู่อี๋จะปรากฏตัวในภาพยนตร์เพียงช่วงสั้นๆ แต่ก็เป็นฉากสำคัญที่แสดงให้เห็นว่าจักรพรรดิทรงได้รับการปฏิบัติจากราชสำนักอย่างไรก่อนที่จะทรงสละราชสมบัติเมื่อทรงมีพระชนม์ได้ 6 พรรษา[40]", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "294850#15", "text": "ด้วยความหวังที่จะฟื่นฟูราชวงศ์ชิงของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ เนื่องจากกองทัพของเจียงไคเช็กได้เข้าบุกรุกและทำลายสุสานบรรพบุรุษของราชวงศ์ชิงรวมทั้งทำลายสุสานและพระศพของพระนางซูสีไทเฮาและยังได้ขโมยไข่มุกดำและพระมาลาของพระนางซูสีไทเฮาไปทำเป็นรองเท้าให้เป็นของขวัญกับภรรยาของเจียงไคเช็ก จึงทำให้สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงพระพิโรธเป็นอย่างมาก พระองค์ทรงยอมรับข้อเสนอของญี่ปุ่นในการเป็นประมุขของรัฐ (หุ่นเชิด) แมนจูกัว และย้ายที่ประทับไปอยู่ที่เมืองฉางชุน และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น \"ซิงกิง\" ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 ทั้งสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋และสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงก็ได้เข้าไปประทับที่พระราชวังแบบรัสเซีย ทั้งสองพระองค์ต่างใช้ชีวิตอย่างสงบสุขและทรงพอพระทัยกับชีวิตและการออกงานสังคมสมัยใหม่มาก", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "12892#31", "text": "จากปี 2478 ถึงปี 2488 เจ้าหน้าที่ระดับสูงของกองทัพคันโต โยะชิโอะกะ ยะซุโนริ (吉岡安則)[27]ได้ถูกมอบหมายให้ไปเป็นนักการทูต เขาเป็นสายลับให้แก่รัฐบาลญี่ปุ่น ควบคุมผู่อี๋ผ่านความกลัว,การขู่และคำสั่งโดยตรง[28] เขาพยายามที่จะสังหารผู่อี๋หลายครั้งตลอดช่วงเวลานั้น รวมทั้งการแทงผู่อี๋โดยคนใช้ของวังในปี 2480[2] ระหว่างที่ผู่อี๋เป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัว ชีวิตครอบครัวของเขาถูกจับตามองอย่างใกล้ชิดจากญี่ปุ่น ซึ่งในตอนนั้นกำลังเพิ่มความเป็นญี่ปุ่นเข้าไปในแมนจูเรีย เพื่อที่จะขัดขวางผู่อี๋ในการประกาศตัวแยกเป็นเอกราช เขาได้ไปเลี้ยงฉลองเป็นเกียรติแก่ตัวเขาเองซึ่งจัดขึ้นโดยประชาชนชาวญี่ปุ่นระหว่างที่เขาได้ไปเยือนที่นั่น แต่เขาก็ยังคงต้องอ่อนน้อมต่อพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะ[29] สิ่งนี้ยังเป็นข้อสงสัยอยู่ว่า การยอมรับวัฒนธรรมหรือพิธีกรรมจีนโบราณ เช่น การเรียกว่า \"ฝ่าบาท\" แทนการใช้ชื่อตัว มาจากความสนใจของผู้อี๋เองหรือมาจากการวางข้อกำหนดของญี่ปุ่นซึ่งใช้ในราชวงศ์ญี่ปุ่นอยู่แล้ว", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "140834#18", "text": "และหลังจากที่สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซฺวี่สวรรคต พระนางซูสีไทเฮาก็ได้เลือกทายาทที่จะมาสืบราชบัลลังก์ต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิคือ ผู่อี๋ ซึ่งได้ใช้ศักราช เซวียนถ่ง (สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง) พระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซฺวี่ได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระพันปีหลวงหรงยู่ ซึ่งเป็นผู้ลงพระบรมนามาภิไธยสละราชสมบัติของสมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่งในปี พ.ศ. 2455 เป็นการสิ้นสุดปกครองระบอบจักรพรรดิของจีนที่ดำเนินมาอย่างยาวนานกว่า 2000 ปี และในปี พ.ศ. 2456 พระพันปีหลวงหลงยู่ก็ได้สิ้นพระชนม์เนื่องจากพระอาการประชวร", "title": "จักรพรรดิกวังซฺวี่" }, { "docid": "294850#18", "text": "ข่าวลือในปี พ.ศ. 2483 สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงทรงครรภ์กับคนรับใช้ของพระองค์ซึ่งเป็นคนขับรถและยังเป็นคนหาฝิ่นมาให้วั่นหรงอีกด้วย ผู่อี๋มีอำนาจที่จะสั่งประหารก็ได้แต่ผู่อี๋ไม่ทำ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋เพียงแค่เนรเทศคนขับรถนั้นออกไปเท่านั้น พอสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงให้กำเนิดเด็กหญิงคนนั้นขึ้นมา แพทย์ทำคลอดชาวญี่ปุ่นได้ฉีดยาให้เด็กคนนั้นเสียชีวิตทันทีที่เกิด แต่ในบันทึกของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋กล่าวว่า สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ได้ฆ่าเด็กคนนั้นด้วยการโยนใส่เตาไฟ ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ก็ได้เขียนสิ่งเหล่านี้ลงในหนังสือชีวประวัติของตนเอง แต่ได้ถูกลบข้อความนี้ออกก่อนที่หนังสือจะถูกตีพิมพ์ และหลังจากนั้นสมเด็จพระจักรพรรดินีวันหรงก็ทรงติดฝิ่นอย่างหนัก โดยพระนางสูบฝิ่นถึงวันละ 2 ออนซ์ เป็นจำนวนปริมาณมหาศาลในช่วงระหว่าง กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2482 โดยคำกล่าวของหมอ เอ็ดเวิร์ด เบอฮ์ (Edward Behr) สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงได้สูบฝิ่นไปทั้งสิ้นตลอดระยะเวลาหนึ่งปีเต็มไปกว่า 740 ออนซ์", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#31", "text": "ข้อมูลจากในประเทศจีนแสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ของทั้งสองค่อนข้างจะเป็นความสัมพันธ์แบบพี่น้องหรือเพื่อนสมัยเด็กมากกว่าความสัมพันธุ์แบบสามี-ภรรยา เพราะว่าสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋นั้นแทบจะไม่มีเพื่อนเลยตั้งแต่พระองค์ยังเด็กเนื่องจากการที่ถูกควบคุมให้เป็นเพียงสัญลักษณ์อยู่ในพระราชวังต้องห้ามเท่านั้นและทั้งสองพระองค์ต่างมารู้จักกันได้จากการคลุมถุงชน พระนางวั่นหรงเข้ามามีบทบาทในชีวิตของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ครั้นการอภิเษกสมรสโดยการถูกคลุมถุงชน (โดยมีเหล่าพระสนมเก่าของฮ่องเต้องค์เก่าก่อนหน้านั้นในวังเป็นผู้เลือกให้ ถึงแม้ว่าผู่อี๋จะเลือกเหวินซิ่วก่อนแล้วก็ตาม) ตั้งแต่ทั้งสองมีพระชนมมายุเพียงแค่ 16 พรรษา สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋มักจะใช้เวลาแทบทั้งชีวิตของพระองค์ไปกับวั่นหรงและค่อนข้างที่จะแสดงออกถึงความหึงหวงและเอ็นดูในพระนางอย่างเงียบ ๆ ในขณะที่พระนางทรงเรียนหนังสือและเล่นกับเพื่อน ๆ ด้วย พฤติกรรมเช่นนี้ยังเป็นที่ปฏิบัติโดยจักรพรรดิผู่อี๋ต่อเนื่องไปจนถึงภายหลังที่ย้ายไปหนีภัยอยู่ที่เทียนสิน แต่ผู่อี๋ก็ได้เกิดความวิตกและเครียดเพิ่มมากขึ้นด้วยหลังจากหลายเหตุการณ์ เช่นที่สนมเอกเหวินซิ่วได้หย่าจากพระองค์ไป, การถูกไล่ออกจากพระราชวังต้องห้ามไปอยู่ที่แมนจูกัวภายใต้การควบคุมของญี่ปุ่นและรวมถึงการที่สุสานราชวงศ์ชิงถูกทำลายและปล้นโดยกองทัพก๊กมินตั๋งของนายพลเจียงไคเช็กอีก แทบไม่ต้องสงสัยเลยว่าพระนางวั่นหรงนั้น ทรงเป็นเพื่อนสนิทที่สุดของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ผู้ซึ่งสูญเสียแทบทุกสิ่งที่พระองค์รัก และเนื่องด้วยจากการที่จักรพรรดิผู่อี๋ทรงสนิมสนมกับผู่เจี๋ย ลูกพี่ลูกน้องของพระองค์และเช่นเดียวกันกับโกวปู้โลว หลั่นเคี๋ยวผู้ซึ่งเป็นน้องชายแท้ ๆ ของวั่นหรงด้วย ไม่ต้องสงสัยเลยว่าพระนางวั่นหรงทรงเป็นศูนย์รวมความมั่นคงทางความสัมพันธ์ฉันท์พี่น้องของทั้งสามเข้าไว้ด้วยกัน", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "356435#7", "text": "ต่อมาเมื่อถึงเวลาที่สมเด็จพระจักรพรรดิผูอี๋ทรงมีวัยพอที่จะอภิเศกสมรสได้นั้น พระสนมหม้ายสองพระองค์คือ พระสมเอกหม้ายต้วนคังและจิงยี่ ได้ทรงโต้เถียงกันว่าผู้ใดเหมาะสมที่จะมาเป็นพระมเหสีของพระจักรพรรดิ โดยที่พระสนมเอกหม้ายทรงเลือก วั่นหรง เป็นมเหสีของพระจักรพรรดิ ในขณะที่พระสนมหม้ายจิงยี่ทรงเลือกเหวินซิ่ว ในมุมมองของพระสนมเอกหม้ายต้วนคังนั้นเหวินซิ่วไม่มีพระสิริโฉมงดงามพอที่จะเป็นพระมเหสีและครอบครัวของนางก็มีศักดิ์ต่ำกว่าครอบครัวของวั่นหรง อย่างไรก็ตามพระจักรพรรดิปูยีทรงเลือกเหวินซิ่วเป็นพระมเหสี ทำให้พระสนมเอกหม้ายต้วนคังผิดหวังพระทัยเป็นอย่างมากถึงกับออกหมายเรียกราชนิกูลและข้าราชการระดับสูงมาประชุมในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และพวกเขาเหล่านั้นก็ได้โน้มน้าวให้ผู่อี๋เลือกวั่นรงเป็นมเหสี ในที่สุดแล้วปูยีก็ได้เลือกวั่นหรงเป็นมเหสีและเหวินซิ่วเป็นพระสนมเอก", "title": "จิ่นเฟย์" }, { "docid": "12892#21", "text": "ผู่อี๋ หรือ ถูกเลือกให้เป็นจักรพรรดิโดยพระนางซูสีไทเฮาในขณะที่ประชวรหนักอยู่บนพระแท่นบรรทม[6] ผู่อี๋ขึ้นเป็นจักรพรรดิในขณะที่มีพระชนมายุ 2 พรรษากับอีก 10 เดือน ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2451 มีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง ชีวิตในการเป็นจักรพรรดิของพระองค์เริ่มต้นขึ้นเมื่อเจ้าหน้าที่ของสำนักราชวังมายังตำหนักเจ้าชายฉุนเพราะนำตัวพระองค์ไปเป็นจักรพรรดิ โดยผู่อี๋ได้ทำการขัดขืนหรือกรีดร้องในขณะที่เจ้าหน้าที่ของพระราชวังสั่งให้ขันทีอุ้มพระองค์[15] ฉุนชินอ๋อง พระบิดาของพระองค์ ได้ขึ้นเป็นองค์ชายผู้สำเร็จราชการ(摄政王) ในระหว่างพิธีราชาภิเษกที่พระที่นั่งไท่เหอ พระบิดาได้อุ้มจักรพรรดิที่ยังทรงเยาว์ขึ้นไปยังบนบัลลังก์ ผู่อี๋ได้ตกใจฉากที่อยู่ต่อหน้าและเสียงอึกทึกของกลองและเสียงเพลงในพิธีราชาภิเษก และหลังจากนั้นผู่อี๋ก็เริ่มร้องไห้ พระบิดาของพระองค์ไม่สามารถที่จะทำสิ่งใดได้นอกจากพูดปลอบพระองค์ด้วยวลีอมตะว่า \"อย่าร้องไห้ เดี๋ยวมันก็จบในอีกไม่ช้านี้\"", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "294850#22", "text": "สืบเนื่องมาจากการที่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงไม่เอาพระทัยใส่กับสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรง ต่อมาไม่นานสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงอภิเษกกับเด็กสาวนักเรียนอายุ 16 ปีชื่อ ถัน อวี้หลิงในปี พ.ศ. 2480 โดยที่พระสนมถัน อวี้หลิง ไปรับตำแหน่งแทนที่กับพระสนมเหวินซิ่ว พระองค์ทรงเรียกถัน อวี้หลิง 'ว่าเป็นการทำโทษแก่วั่นจิง' แต่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ไม่ทรงมองสนมถัน อวี้หลิง เป็นภรรยา กลับมองว่านางเป็นเพียงของประดับชิ้นหนึ่ง พระองค์ได้ทรงอธิบายเพิ่มเติมว่า \"นางเป็นแค่สนมในนามนำหน้าเท่านั้น ข้าพเจ้าประสงค์จะเก็บนางไว้เหมือนนกที่ถูกเลี้ยงอยู่ในกรง จนกระทั่งนางได้เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2485\" และนี่ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ถูกเชื่อโดยองค์หญิงซะงะ ฮิโระว่า สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงโปรดการเล่นสวาทกับผู้ชายด้วยกันเอง และทรงมีมหาดเล็กซึ่งเป็นชายรักชาย (ฺBisexual) อยู่ด้วย ทรงโปรดการมีเพศสัมพันธ์แบบนี้อยู่ตลอดชีวิตของพระองค์ thumbnail", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "12892#15", "text": "พระนามของผู่อี๋สะกดเป็นอักษรโรมันได้เป็น \"Puyi\" หรือ \"Pu-yi\" ส่วนในภาษาไทยนั้นนิยมเขียนว่า \"ปูยี\" แต่ในปัจจุบันได้เริ่มมีการออกเสียงให้ใกล้เคียงกับภาษาจีนว่า \"ผู่อี๋\" พระนามหรือชื่อตามธรรมเนียมของแมนจูหลีกเลี่ยงที่จะใช้ชื่อเผ่าหรือชื่อสกุลกับชื่อตัวพร้อมกัน ซึ่งขัดแย้งกับประเพณีของจีน โดยประเพณีแล้วชื่อของผู้ปกครองมักเป็นคำต้องห้าม การกล่าวชื่อตัวของอดีตจักรพรรดิหรือแม้กระทั่งการใช้อักษรจีนจากพระนาม ก็อาจจะถูกลงโทษได้ภายใต้กฎหมายประเพณีโบราณของจีน ภายหลังจากผู่อี๋ถูกถอดอิสริยศเนื่องจากถูกขับไล่ออกจากพระราชวังต้องห้ามในปี พ.ศ. 2467 ผู่อี๋ ก็ใช้ชื่อว่า นายผู่อี๋ หรือ มิสเตอร์ผู่อี๋ (Mr. Pu-yi; simplified Chinese:溥仪先生; traditional Chinese:溥儀先生; pinyin:Pǔyí Xiānsheng) ส่วนชื่อสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว ไม่ใคร่มีผู้ใดใช้เรียกผู่อี๋", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "12892#5", "text": "พระบรมไปยกา(ปู่ทวด) ของผู่อี๋คือสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง(ครองราชย์ 2363 - 2393) หลังจากนั้นโอรสองค์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง คือจักรพรรดิเสียนเฟิง (ครองราชย์ 2393 - 2404) ก็ขึ้นสืบราชสมบัติต่อ [3][4]", "title": "จักรพรรดิผู่อี๋" }, { "docid": "294850#10", "text": "ทั้งสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋และสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงต่างก็ไม่มีทายาทเลย นักประวัติศาสตร์บางท่านยังได้กล่าวไว้อีกว่าทั้งคู่ไม่เคยมีความสัมพันธ์กันทางเพศเลยตลอดเวลาที่อยู่ด้วยกัน บ้างก็ว่าเกิดจากการที่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋เป็นหมัน บ้างก็ว่า สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงชอบการมีเพศสัมพันธุ์กับเหล่ามหาดเล็ก ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการยากยิ่งที่จะอภิปรายกันไม่ว่าด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#14", "text": "หลังจากที่จักรพรรดิผู่อี๋ถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้ามโดยขุนศึก เฟิง ยู่เสียง ในปี พ.ศ. 2467 ทั้งสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋และสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงก็ได้หลบหนีเข้าไปอยู่ในเขตปกครองของญี่ปุ่นที่เทียนสิน และความสัมพันธ์ระหว่างทั้งคู่ก็เริ่มร้าวฉานขึ้น", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#28", "text": "สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงสิ้นพระชนม์ในคุกที่เมืองหยานจิ ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เพราะพระอาการข้างเคียงที่มีผลมาจากที่พระองค์ทรงพยายามเลิกฝิ่น ด้วยพระชนมายุเพียง 39 พรรษา พระศพถูกเผาในสุสานของคุกที่เมืองหยานจิน เป็นงานศพที่เรียบง่ายและไม่สมกับพระอิสริยยศของจักรพรรดินี โดยที่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทราบข่าวของวั่นหรงในอีก 3 ปีต่อมาขณะที่สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋เองก็ยังทรงถูกคุมขังอยู่ในคุก จากคำพูดของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋เองว่า \"ทางของเราแยกจากกันตอนที่ทหารญี่ปุ่นยอมแพ้ การเสพติดฝิ่นของเธอหนักมากและร่างกายของเธอได้อ่อนแอลงไปอย่างมาก เธอตายในอีกไม่กี่ปีต่อมาในคุกที่หยานจิน\"", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#30", "text": "เป็นการยากที่จะอธิบายได้ว่าความสัมพันธ์ของทั้งสองพระองค์นั้น แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร บ้างก็หาว่าสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋เป็นเกย์บ้าง เป็นหมันบ้าง เห็นภรรยาสตรีทุกคนเป็นเพียงเครื่องมือบ้าง แต่ว่ามีนักวิชาการหลายรวมทั้งโกวปู้โลว หลั่นเคี๋ยวพระอนุชาต่างมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงคนแย้งว่าหนังสือบันทึกของหมอ เอ็ดเวิร์ด เบอฮ์ และจากภาพยนตร์ The Last Emperor นั้นถูกบิดเบือนความจริงเป็นอย่างมาก หลักฐานทั้งสองนั้นอยู่บนพื้นฐานของบันทึกสารภาพของผู่อี๋ซึ่งเป็นบันทึกสารภาพที่ผู่อี๋ถูกบังคับให้เขียนขึ้นในคุกนักโทษทางการเมืองเพื่อที่จะให้ผู่อี๋ได้มีโอกาสกลับตัวกลับใจและถูกปล่อยตัวเป็นอิสระจากคุก หลังจากนั้นบันทึกสารภาพเหล่านี้ก็ได้ถูกนำไปเป็นโฆษณาชวนเชื่อโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีนเพื่อแสดงให้เห็นว่าทางพรรคนั้นมีความเมตตาและทำให้เห็นว่าทางพรรคได้ชี้ทางแสงสว่างในชีวิตใหม่ให้กับทุก ๆ คนได้ ข้อมูลที่เกี่ยวกับประวัติของผู่อี๋ถูกเขียนโดยชาวอเมริกันนั้นส่วนใหญ่นั้นมักจะเป็นเรื่องอื้อฉาว, แบ่งชนชั้น และไม่แม่นยำ หรือไม่ก็รวมทั้งสามอย่างไว้ด้วยกัน เพราะในสมัยนั้นโลกตะวันตกยังใส่ร้ายป้ายสีโลกตะวันออกอย่างมากต่อเนื่องมาจนถึงสมัยของประเทศจีนคอมมิวนิสต์ในปัจจุบันด้วย แต่ในทางกลับกัน ข้อมูลที่ถูกเขียนขึ้นมาจากในประเทศจีนนั้นมีข้อมูลมากมายที่ล้นหลาม สามารถที่จะล้มล้างข้อมูลที่ถูกเขียนโดยชาวตะวันตกได้อย่างรุนแรง", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#20", "text": "สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ยังกล่าวด้วยว่า สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงได้งมงายกับความเชื่อในโชคชะตา และถ้าพระนางได้เจอกับอะไรที่เป็นโชคร้าย พระนางจะกระพริบตาหรือเดินหนี ผู่อี๋กล่าวว่าวั่นหรงได้มีอาการจิตวิตกอย่างหนักเหมือนกับคนที่ป่วยเป็นโรคทางจิตและสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ได้ให้รายละเอียดด้วยว่า \"นางไม่เคยบอกข้าพเจ้าถึงความรู้สึก ความหวัง และความโศกเศร้าเสียใจของนางให้กับข้าพเจ้าเลยแม้แต่น้อย\" สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ยังทรงทราบอีกด้วยว่าพระนางทรงกำลังติดฝิ่นอย่างหนักและไปในเส้นทางที่พระองค์สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ไม่สามารถยอมรับและอดทนได้อีกต่อไป thumbnail|right|สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงทรงฉายพระฉายาลักษณ์ ณ พระราชวังต้องห้าม", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" }, { "docid": "294850#29", "text": "แต่สิ่งที่น่าสนใจจริง ๆ คือคำพูดในบันทึกของสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ \"ข้าพเจ้าได้สมรสกับภรรยาสี่คน มเหสีหนึ่งคน สนมเอกหนึ่งคน และสนมรองอีกสองคน แต่ในความเป็นจริงแล้วพวกเธอไม่ได้เป็นภรรยาจริงของข้าพเจ้า พวกเธอมีไว้เพื่อประดับหน้าเท่านั้น พวกเธอทั้งหมดเป็นผู้โชคร้ายของข้าพเจ้า...ถ้าโชคชะตาของพวกเธอไม่ได้มาพร้อมกับการเกิดของพวกเธอ บั้นปลายชีวิตของพวกเธอคงจะไม่ได้เป็นเช่นนี้\" เป็นการยากที่จะบอกได้ว่าข้อมูลส่วนนี้ได้ถูกผู้อื่นแต่งเติมลงไปหรือไม่ อย่างไรก็ดีก็เป็นข้อความที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก", "title": "จักรพรรดินีวั่นหรง" } ]
2640
ศาสตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากดรงเรียนอะไร?
[ { "docid": "765402#1", "text": "ศาสตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (กรุงเทพ) หลังจากนั้น ในระหว่างปี พ.ศ. 2512 – 2523 ได้รับทุน Colombo Plan Scholarship เพื่อศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยสำเร็จ ปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา) University of Tasmania(พ.ศ. 2517) ปริญญาโทด้านวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา) University of New South Wales (พ.ศ. 2520) และ ปริญญาเอกด้านวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโยธา วัสดุคอนกรีต) University of New South Wales (พ.ศ. 2523)[12]", "title": "ปริญญา จินดาประเสริฐ" } ]
[ { "docid": "57615#1", "text": "ศาสตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม หรือ ศาสตราจารย์ ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491 เป็นชาวนครราชสีมา ศึกษาชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนศิริวิทยากร จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อในกรุงเทพมหานครที่โรงเรียนเซนต์จอห์น ระหว่างที่ศึกษาที่โรงเรียนโรงเรียนเซนต์จอห์นได้รับทุน American Field Service Scholarshipไปศึกษาชั้นปี 12 ที่ โรงเรียนไฮสคูลเบลแอร์ ในเมืองเบลแอร์ ที่ตั้งอยู่ใน เคาน์ตีฮาร์ฟอร์ด รัฐแมริแลนด์ ในสหรัฐอเมริกา อีกทั้ง ศ.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดมยังเป็นสมาชิกของ National Honors Society สหรัฐอเมริกา และ ศ.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดมจบการศึกษาชั้น มศ.5 จากโรงเรียนเซนต์จอห์น กรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ประมาณสองเดือน แต่เนื่องจากได้ทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศจึง สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีทางวิศวกรรมจาก มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย โดยได้เกียรตินิยมอันดับ 1 และได้ทุนการศึก Colombo Plan ขณะกำลังศึกษาปริญญาตรี และจบการศึกษาในระดับปริญญาเอกเกี่ยวกับ Solid State Electronics โดยขณะศึกษาได้รับทุน Dean's Scholarship ที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์", "title": "สิทธิชัย โภไคยอุดม" }, { "docid": "41079#9", "text": "การประเมินผลโรงเรียนปลายทาง เป็นอีกรายการหนึ่งที่มีขึ้นเพื่อสร้างความใกล้ชิดด้วยความเข้าใจดีต่อกันระหว่างครูกับนักเรียน ตลอดทั้งประชาชนผู้สนใจทั่วไป เป็นการติดตามประเมินผล ในโอกาสเดียวกัน นายขวัญแก้ว วัชโรทัย ในฐานะนายสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้มอบให้ อาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ผู้ช่วยนายสถานีเป็นผู้ดำเนินรายการ รูปแบบของรายการเป็นการประชุมทางไกลร่วมกันระหว่างครูและนักเรียน ทั้งจากโรงเรียนต้นทางและโรงเรียนปลายทาง เปิดโอกาสให้แต่ละคนได้สนทนาซักถามข้อสงสัย เสนอข้อมูลข่าวสาร ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ทั้งยังเป็นเวทีแสดงออกซึ่งภูมิปัญญาความรู้ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนาและศิลปะที่ทรงคุณค่าในแต่ละท้องถิ่น ออกอากาศเป็นประจำทุกวันเสาร์ DLTV 89 ตั้งแต่เวลา 09.00–11.00 น. เพื่อร่วมกันหาแนวทางปรับปรุงการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ และให้มีคุณภาพสูงขึ้นในทุกวิถีทาง\nโรงเรียนปลายทางที่เป็นเครือข่ายเรียนร่วมกับโรงเรียนวังไกลกังวล มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปีการศึกษา อาทิ โรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 44 แห่ง โรงเรียนเอกชน สถาบันปอเนาะ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โรงเรียนพระปริยัติธรรมโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนของมูลนิธิหรืองค์กรเพื่อการกุศลอีกจำนวนมาก\nนักเรียนที่เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนวังไกลกังวล ถ้ามีผลการเรียนดีก็จะได้รับทุนพระราชทานไปศึกษาต่อระดับปริญญาตรี นักเรียนบางคนสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงของประเทศได้ด้วยตนเอง เช่น โรงเรียนนายร้อยตำรวจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงอื่นๆอีกหลายแห่ง อาทิ ในปี พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี ให้แก่นักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล จำนวน 9 ทุน ในจำนวนนั้นมีนางสาวจิตติมา สุขสมัย สำเร็จการศึกษาได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 (เหรียญทอง) นางสาวสายใจ แซ่โค้ว ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 (เหรียญเงิน) นางสาวโฉมฉาย มะลิทอง กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ประเทศเยอรมัน นายสัญฉกร กตัญชลี ได้รับทุนจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ประเทศอังกฤษ\nสำหรับโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ทั้ง 44 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งใช้ระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่างเต็มรูปแบบ ถ้านักเรียนคนใดเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่หกด้วยคะแนนเฉลี่ยสูง นักเรียนคนนั้นจะได้รับทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ จากมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ตามสาขาวิชาที่ได้รับทุน เช่น นางสาวจันทร์ดี วงศ์สวัสดิ์ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่หกจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 29 จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปีการศึกษา 2544 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 3.7 จึงได้รับทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ขณะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่3 ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันโต้เถียงปัญหากฎหมายโดยการแถลงการณ์ด้วยวาจาในชั้นอุทธรณ์ ในวันระพี เมื่อปี พ.ศ. 2547 สำเร็จการศึกษาเมื่อปีการศึกษา 2548 ด้วยคะแนน “Sraight A” ตลอดระยะเวลาที่ศึกษา 4 ปี มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ย 4 ทุกรายวิชา จึงสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมที่ยกมาเป็นตัวอย่างนี้ เป็นเพียงส่วนน้อยเท่านั้น\nในแต่ละปีการศึกษา นักเรียนจากโรงเรียนปลายทางจำนวนมากที่เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่หกแล้ว สามารถสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ทั้งในมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน โรงเรียนบางแห่งทั้งด้อยโอกาสทั้งมีความขาดแคลนสูง และอยู่ในชนบทห่างไกลในถิ่นทุรกันดาร เมื่อนำระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปใช้ในการเรียนการสอน โรงเรียนเหล่านี้สามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้นในทุกด้าน เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีนักเรียนสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยได้จำนวนมากขึ้น", "title": "โรงเรียนวังไกลกังวล" }, { "docid": "115938#1", "text": "ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ สุระกำพลธร ศึกษาชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนพระโขนงวิทยาและโรงเรียนสายน้ำทิพย์ เข้าเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนดุสิตพาณิชยการแผนกสามัญ และมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนปทุมคงคา หลังจากนั้นเข้าศึกษาต่อที่วิทยาลัยโทรคมนาคม ซึ่งปัจจุบันคือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จนจบการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาโทรคมนาคม ในปี พ.ศ. 2516 ได้รับปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาไฟฟ้าสื่อสาร ในปี พ.ศ. 2518 และปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) สาขาไฟฟ้า ในปี พ.ศ. 2521 ในปี พ.ศ. 2524 ได้รับทุนการศึกษา Oversea Research Student Fee Support Scheme จากประเทศสหราชอาณาจักร และ ทุนคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ให้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่ the University of Kent at Canterbury ประเทศสหราชอาณาจักร และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (Ph.D.) ด้าน Electronics ในปี พ.ศ. 2527\nศ.ดร.วัลลภ สุระกำพลธร ได้อุทิศตนให้กับงานวิจัยทางด้านการออกแบบวงจรรวม (Integrated Circuit Design) อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการวิจัยและพัฒนาด้านการออกแบบระบบประมวลผลสัญญาณที่เหมาะสมกับเทคโนโลยีวงจรรวม ได้คิดค้นเสนอหลักการเพื่อออกแบบวงจรรวมแบบโหมดกระแส (Current-Mode Integrated Circuit) ไว้หลายวงจร อาทิเช่น วงจรสายพานกระแส (Current Conveyor) และ วงจรความต้านทานบวกและความต้านทานลบ (Positive and Negative Resistance Circuits) ทั้งเป็นแบบที่สามารถสร้างด้วยไบโพลาร์เทคโนโลยีและมอสเทคโนโลยีได้ โดยเฉพาะการนำเสนอ วงจรสายพานกระแสปรับค่าขยายด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronically Tunable Current Conveyor : ECCII) ซึ่งวงจรดังกล่าวนี้มีประโยชน์ประยุกต์ใช้ในการออกแบบระบบวงจรที่ต้องการปรับคุณสมบัติของวงจรไปโดยอัตโนมัติ หลักการออกแบบวงจรที่ ศ.ดร.วัลลภ สุระกำพลธร นำเสนอไว้ได้มีนักวิจัยนำไปปรับปรุงและประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง", "title": "วัลลภ สุระกำพลธร" }, { "docid": "676613#1", "text": "ศาสตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ หรือที่รู้จักในนาม ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (รุ่นที่ 36) จากนั้นศึกษาต่อในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แห่งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 เขาได้เดินทางไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอกจากคณะรัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนล ประเทศสหรัฐอเมริกา", "title": "เกษียร เตชะพีระ" }, { "docid": "481413#2", "text": "ในตอนนั้น นายแทน อิงคสุวรรณ บิดาของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ รับราชการเป็นครูสอนวิชาเกษตร ทำให้มีการย้ายครอบครัวไปอยู่ยังจังหวัดต่างๆ ทำให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ไพฑูรย์ ต้องย้ายโรงเรียนไปถึง 9 แห่ง อาทิ \nศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ ได้เข้ารับการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา ณ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เหตุที่เข้ามาเรียนในกรุงเทพมหานคร เนื่องจาก บิดาได้ย้ายมาเป็นผู้ช่วยในโครงการการพัฒนาการเลี้ยงไก่ ของหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในขณะนั้น และมีบ้านพักอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ สนใจวิชาเกษตร และวิชาสัตวบาล จากการที่เคยเลี้ยงไก่และแพะด้วยตนเอง \nหลังจากที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณได้ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อพุทธศักราช 2492 จนจบชั้นปีที่ 2 และได้รับทุนจากรัฐบาลไทย ไปศึกษาต่อ ณ University of California at Davis ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ภาควิชาสัตวบาล กระทั่งจบระดับปริญญาเอก ทางด้านสรีรวิทยาของสัตว์", "title": "ไพฑูรย์ อิงคสุวรรณ" }, { "docid": "34333#1", "text": "จารุพงษ์ ชื่อเล่นชื่อ เกี๊ยะ เกิดเมื่อ 7 กันยายน พ.ศ. 2500 อาศัยที่ 188 หมู่ที่ 2 ตำบล อิปัน อำเภอพระแสง บิดาชื่อ นายจินดา ทองสินธุ์ รับราชการเป็นครู มารดาชื่อ นางลิ้ม ทองสินธุ์ เป็นชาวสวน สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสุราษฎร์ธานี ก่อนเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\nในช่วงนั้น จารุพงษ์เป็นนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ปีที่ 2 เข้าร่วมกิจกรรมการเมืองซึ่งกำลังร้อนแรงอยู่ในขณะนั้น โดยเป็นอุปนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อมธ.) และกรรมการบริหารศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย เพื่อนนักศึกษาคนหนึ่งสมัยเรียนธรรมศาสตร์ของจารุพงษ์ ทองสินธุ์ คือ ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ หัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์", "title": "จารุพงษ์ ทองสินธุ์" }, { "docid": "82390#1", "text": "ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ทันตแพทย์ สถิตย์ สิริสิงห หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ทันตแพทย์ ดร.สถิตย์ สิริสิงห สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียมอุดมศึกษา จากโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตามลำดับ\nเมื่อปี พ.ศ. 2496 สอบเข้าจุฬาฯ ตั้งใจจะเรียนแพทย์ แต่เรียนได้ 2 เดือน ก็เปลี่ยนความตั้งใจไปศึกษาต่อยังสหรัฐอเมริกา เมื่ออายุเพียง 15 ปี โดยมีชื่อเรียกขานแบบอเมริกันระหว่างที่พำนักอยู่กับครอบครัว Volker ว่า \"Steve Sirisinha\" สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี พร้อมกัน 2 ปริญญา คือ วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) และอักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จากแจ็คสันวิลล์คอลเลจ เมื่อปี พ.ศ.สวัดี \nต่อจากนั้น ได้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยอลาบามา และได้รับปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา และปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) ในปี พ.ศ. 2504 และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยโรเชสเตอร์ จนได้รับปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา (อิมมิวโนวิทยา) ในปี พ.ศ. 2508 ", "title": "สถิตย์ สิริสิงห" }, { "docid": "328236#2", "text": "ศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ คำทอง ได้รับการศึกษาระดับต้นที่จังหวัดสุรินทร์และระดับมัธยมศึกษาที่ จังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2471 สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมปีที่ 8) จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยมีผลการเรียนดีตลอดหลักสูตร ได้รับการจารึกชื่อบนจาริกานุสรณ์ ในระหว่างปีพ.ศ. 2471-2473 เข้าศึกษาในคณะ อักษรศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับทุนการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ และใน พ.ศ. 2473 ได้รับพระราชทานทุน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ในมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาเคมี ได้รับปริญญา B.Sc. (Honors) และ Ph.D. ในปี 2481 โดยมีผลการศึกษาดีเด่น จึงได้รับการจารึกชื่อที่สถานเอกอัครราชทูตไทยในประเทศอังกฤษ", "title": "บัวเรศ คำทอง" }, { "docid": "360601#1", "text": "ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ดร.ภาวิช ทองโรจน์ เป็นบุตรของนายประพิส และนางลออ ทองโรจน์ เป็นชาวจังหวัดมหาสารคามจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยสมรสกับภญ.รศ.ดร.ชวนี ทองโรจน์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรองเลขาสภาการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เคยเป็นผู้แทนนักเรียนไทยในนามโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย แสดงโครงงานวิทยาศาสตร์เยาวชนนานาชาติ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2507 และเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ ภายหลังได้ศึกษาเพิ่มเติมในสาขาวิทยาศาสตร์ของระบบประสาท ณ วิทยาลัยเบดฟอร์ดแอนด์เชลซี มหาวิทยาลัยลอนดอนในระดับปริญญามหาบัณฑิต และปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา ณ วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยลอนดอน", "title": "ภาวิช ทองโรจน์" }, { "docid": "765402#9", "text": "ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการและวิจัยทั้งทางด้านคอนกรีตและวัสดุ และการพัฒนาแหล่งน้ำ 200 ชิ้น โดยมีบทความ 156 บทความทางด้านซีเมนต์และคอนกรีตได้รับการตีพิมพ์ลงใน International journals, บทความ 5 ชิ้นที่เป็นบทความรับเชิญองค์ปาฐกในการประชุมวิชาการ, บทความ 7 ชิ้นที่เป็นบทความรับเชิญในการประชุมวิชาการ[42][43] และมีสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร จำนวน 9 ชิ้น [44] นอกจากนี้ยังมีตำราภาษาอังกฤษจำนวน 2 เล่ม คือ ตำราเรื่อง Handbook of alkali-activated cements, mortars and concretes, 1st Edition พิมพ์โดย Woodhead Publishing, ISBN 9781782422761, P. 852[45] และ ตำราเรื่อง Eco-efficient masonry bricks and blocks: design, properties and durability, 1st Edition พิมพ์โดย Woodhead Publishing, P. 548[46] พร้อมด้วยตำราภาษาไทยอีกจำนวน 4 เล่มได้แก่ ตำราเรื่อง “เถ้าลอยในงานคอนกรีต” พิมพ์โดยสมาคมคอนกรีตไทย (พ.ศ. 2547, 2548, 2553)[47], ตำราเรื่อง “ปูนซีเมนต์ ปอซโซลาน และคอนกรีต” พิมพ์โดยสมาคมคอนกรีตไทย (พ.ศ. 2547, 2548, 2551, 2553, 2555) และ พิมพ์โดยปูนซีเมนต์ไทย (พ.ศ. 2549, 2552, 2555)[48], ตำราเรื่อง “เถ้าแกลบในงานคอนกรีต” พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Science and Engineering (พ.ศ. 2552)[49][50] และตำราเรื่อง \"ทฤษฎีและการทดสอบ คอนกรีตเทคโนโลยี\" สำนักพิมพ์ Angles of Sci (พ.ศ. 2555) โดยจากผลงานตีพิมพ์ของ ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ เหล่านี้ ได้ถูกนำไปอ้างอิงในวารสารนานาชาติ จำนวน 2790 ครั้ง (โดย Scopus: H Index = 29)[51][52] และ ในปี พ.ศ. 2556 Microsoft Academic Search ได้จัดลำดับให้ ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ อยู่ที่ลำดับที่ 46 ในสาขาด้านซีเมนต์ และในปี พ.ศ. 2559 Microsoft Academic Search ก็ได้จัดให้ ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ อยู่ที่ลำดับที่ 8 ของโลกในสาขาด้านแก้ว [53][54][55]", "title": "ปริญญา จินดาประเสริฐ" }, { "docid": "167989#2", "text": "ดร.ณัฐฐาวีรนุช ทองมี สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสตรีนนทบุรี ระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรีจาก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และศึกษาระดับปริญญาโทยุโรปศึกษา (European Studies) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก สาขารัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยรามคำแหง", "title": "ณัฐฐาวีรนุช ทองมี" }, { "docid": "98304#1", "text": "รองศาสตราจารย์ ดร. ชาคริต สิริสิงห จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จากนั้นเข้าศึกษาต่อใน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี เมื่อปี 2534 หลังจากนั้นได้รับปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี 2536 และได้รับทุนจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ในสาขา Rubber Engineering ที่ Loughborough University of Technology ประเทศสหราชอาณาจักร และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในปี 2540งานวิจัยด้านวิทยากระแสของพอลิเมอร์ งานวิจัยด้านการผสมและขึ้นรูป ทั้งของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ ตลอดจนงานวิจัยด้านยางผสม โดยเน้นไปที่การใช้ยางธรรมชาติเพื่อลดต้นทุนในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากคลอริเนเตทพอลิเอธิลีน (Chlorinated Polyethylene, CPE) ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ที่มีราคาสูง และต้องนำเข้าจากต่างประเทศ นอกจากการศึกษาในระบบยางผสมแล้ว ยังทำการศึกษาระบบพอลิเมอร์ผสม ระหว่างยางธรรมชาติที่มีต่อสมบัติของพอลิเมอร์ผสม การศึกษาผลของการผสมสารตัวเติมชนิดต่าง ๆ ลงในยางธรรมชาติที่เตรียมขึ้นโดยวิธีที่ต่างกัน โดยจะเน้นไปที่การควบคุมสมบัติด้านต่าง ๆ ของยางคอมพาวด์", "title": "ชาคริต สิริสิงห" }, { "docid": "720977#0", "text": "รองศาสตราจารย์ ดร. อัจฉรา ภาณุรัตน์ อดีตรักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ \nรองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ภาณุรัตน์ รับราชการครั้งแรก 19 มกราคม 2520 ที่โรงเรียนสุรวิทยาคาร อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 1 มิถุนายน 2521 โอนเข้าเป็นข้าราชการตำแหน่งอาจารย์วิทยาลัยครู\nสุรินทร์จนถึงปัจจุบัน ตำแหน่งทางวิชาการเป็น รองศาสตราจารย์ สังกดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์\nการศึกษา พ.ศ. 2510 เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนมัธยมศึกษาสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปี พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2514 ศึกษาระดับประกาศนียบัตรครูประถมศึกษาชั้นสูง วิทยาลัยครูมหาสารคาม พ.ศ. 2516-2518 ศึกษาระดับปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม\nพ.ศ. 2527-2528 เรียนระดับปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกการอุดมศึกษา (หลักสูตรและการสอน) ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพฯ พ.ศ. 2531-2534 เรียนระดับปริญญาเอก ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต วิชาเอกอุดมศึกษา(การบริหาร) ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ", "title": "อัจฉรา ภาณุรัตน์" }, { "docid": "98530#1", "text": "ผศ.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ หรือ ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนอนุบาลวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ ระดับมัธยมตอนต้นจากโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ฉะเชิงเทรา และได้เข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จากนั้นได้รับคัดเลือกให้เป็นนิสิตในโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ส.ว.ท.) ที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเคมี และระดับปริญญาโท สาขาเคมีเชิงฟิสิกส์ จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2533 โดยได้รับทุนการศึกษาจากกระทรวงต่างประเทศออสเตรีย หลังจากสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2535 ได้รับทุนจากรัฐบาลออสเตรีย เพื่อไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก สาขาเคมีเชิงฟิสิกส์และคอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยอินน์สบรูค ประเทศออสเตรีย และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2538", "title": "ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ" }, { "docid": "53996#1", "text": "ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนนิวเบอร์ลิน รัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา โดยทุนจากเอเอฟเอส ระดับปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 จากมหาวิทยาลัยมอแนช ประเทศออสเตรเลีย (ได้รับทุนของรัฐบาลออสเตรเลีย) ระดับปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) สหรัฐอเมริกา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิสาหกิจเพื่อสังคมและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) ประเทศอังกฤษ และศึกษาในระดับปริญญาเอก (1981) สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอแนช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย (ได้รับทุนของมหาวิทยาลัยมอแนช) การศึกษาหลังปริญญาเอก (Post Doctoral) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (University of Oxford) ประเทศอังกฤษ", "title": "เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์" }, { "docid": "471089#1", "text": "เจี่ย ก๊กผล เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เป็นบุตรของนายรั้ว และนางอู๋ ก๊กผล มีพี่น้อง 5 คน สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดสมุทรสาคร และระดับปริญญาตรีจากสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สมรสกับนางอรวรรณ มีบุตรคือผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรทัย ก๊กผล อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคไทยรักไทย", "title": "เจี่ย ก๊กผล" }, { "docid": "97736#1", "text": "ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น หรือที่รู้จักในนาม ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น เกิดเมื่อ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรสาวคนโตของนายอดุลย์ และนางซุ่ยลู้ ใจเย็น มีน้องสาว 1 คน คือ พญ.นัยเนตร ใจเย็น ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย จากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงปริญญาเอก จบปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเคมี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์อาร์เบอร์ (University of Michigan, Ann Arbor) ตลอดเวลาที่เรียน ได้รับรางวัลผลการเรียนดีเด่นต่างๆ อยู่เสมอ อาทิ รางวัลพระราชทานนักเรียนเรียนดีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รางวัลจากมูลนิธิ ดร. แถบ นีละนิธิ ในระดับปริญญาตรี รางวัล Chrisman Award สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกที่มีผลการเรียนผลงานวิจัยดี และรางวัล Murphy Award สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลงานตีพิมพ์ดีเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน", "title": "พิมพ์ใจ ใจเย็น" }, { "docid": "98579#1", "text": "ศาสตราจารย์ ศราวุฒิ จิตรภักดี หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ศราวุฒิ จิตรภักดี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนสามัญโฆษิตสโมสร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากโรงเรียนทวีธาภิเศก สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2534 และศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคือ ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย บุญแสง โดยสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2537 จากนั้นสอบชิงทุนรัฐบาลไทยศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขา Molecular Biology ที่ Department of Biochemistry, School of Molecular Biosciences, University of Adelaide ประเทศออสเตรเลีย โดยมี mentor คือ Professor John Wallace และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2542 นักวิจัยหลังปริญญาเอกที่ University of Cambridge ประเทศอังกฤษโดยทุนจาก Royal Society ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2548", "title": "ศราวุฒิ จิตรภักดี" }, { "docid": "98591#1", "text": "จิรันดร ยูวะนิยม หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.จิรันดร ยูวะนิยม สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนประถมและมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีสาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และระดับปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน (Ann arbor) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ศึกษาต่อเนื่องตั้งแต่ระดับมัธยมปลาย จนจบการศึกษาระดับปริญญาเอก เมื่อปี พ.ศ. 2540 ", "title": "จิรันดร ยูวะนิยม" }, { "docid": "444670#10", "text": "ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนอายุระหว่าง 12 ถึง 14 ปี ที่สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้ว ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจัดการเรียนการสอน 3 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนอายุระหว่าง 15 ถึง 17 ปี ที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษ แล้วโดยจัดการเรียนการสอน 3 ปี โดยการเรียนการสอนมี 2 ประเภท แบ่งออกดังนี้การศึกษาต่อสายอาชีวศึกษา เป็นการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3 ปี โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าที่โดยตรงในการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อพัฒนากำลังคนเฉพาะสาขาวิชาชีพ (ระดับเทคนิค) ให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นผู้ปฏิบัติงานหัวหน้างานหรือเป็นผู้ประกอบการ และการประกอบอาชีพอิสระได้โดยเน้นการแก้ปัญหาสร้างองค์ความรู้ในอาชีพ มีบุคลิกภาพ คุณธรรมและเจตคติที่ดี หลังจากศึกษาจบแล้วสามารถศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) อีก 2 ปี หรืออาจจะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 4 ปีก็ได้เช่นกัน โดยเมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถเลือกเรียนทางด้านสายอาชีพอาชีวศึกษาได้ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่กำหนดให้นักเรียนแต่งเครื่องแบบนักเรียนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา ในพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 โดยสถานศึกษาจะต้องกำหนดเครื่องแบบให้ตรงตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการหรืออาจใช้เครื่องแบบอื่นตามที่สถานศึกษากำหนดก็ได้ โดยเครื่องแบบต่างๆของทุกระดับชั้นจะถูกกำหนดโดยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551", "title": "การศึกษาในประเทศไทย" }, { "docid": "98286#1", "text": "ศาสตราจารย์ ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ ศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนผะดุงศิษย์พิทยาประจันตคาม โรงเรียนประจันตราษฎร์บำรุง และสำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเมื่อปี พ.ศ. 2522 ที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเคมี ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับรางวัลเรียนดีและประพฤติดีเป็นเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปี พ.ศ. 2524 และรางวัลผู้สอบได้คะแนนยอดเยี่ยมในหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ ในปี พ.ศ. 2526 จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท สาขาฟิสิคัลเคมี ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลผู้สอบได้คะแนนยอดเยี่ยมในหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาฟิสิคัลเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ ในปี พ.ศ. 2529 และได้ทุนของรัฐบาลฝรั่งเศสไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก โดยได้รับ Diplôme Élémentaire de la Langue Française (DELF) ที่ CAVILAM เมือง Vichy ในปี พ.ศ. 2530 ได้รับ Diplôme d’Étude Applofondie (DEA; Chimie Physique) ในปี พ.ศ. 2531 และปริญญาเอก (Docteur; Chimie Macromoléculaire) จาก Université de Haute Alsace, École Nationale Supérieure de Chimie de Mulhouse ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2534", "title": "ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์" }, { "docid": "174686#1", "text": "ดังนั้นมหาวิทยาลัยทักษิณ ในฐานะสถาบันการศึกษาของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่ให้การบริการด้านการศึกษาและบริการด้านสังคม ได้ตระหนักถึงภารกิจนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ชิตพงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตร์ ตามคำสั่งที่ 772/2547 ลงวันที่ 3 มิถุนายน 2547 ดังรายชื่อต่อไปนี้ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวมีหน้าที่จัดทำหลักสูตรและจัดตั้งคณะนิติศาสตร์ โดยได้จัดทำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ (หลักสูตร 4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ซึ่งคาดว่าจะดำเนินการรับสมัครและเปิดสอนในภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2548 และได้จัดทำหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ (หลักสูตร 3 ปี) สำหรับ ผู้ที่สำเร็จปริญญาตรีทุกสาขา (ปริญญาตรีใบที่สอง) ซึ่งจะรับสมัครและเปิดทำการสอนในภาคเรียนปลาย ปีการศึกษา 2547 โดยทำการสอนนอกเวลาราชการ ในวันศุกร์ เวลา 17.00 - 20.00 น. และวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 08.00 - 17.00 น.", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ" }, { "docid": "473828#2", "text": "จิ๊ดสำเร็จประถมศึกษาจากโรงเรียนครูบุญเกิด จังหวัดพระนคร เมื่อปี 2455 ต่อมาจึงเข้าศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเมื่อปี 2457 ก่อนย้ายไปชั้นเตรียมมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคภาษาฝรั่งเศส) ที่โรงเรียนอัสสัมชัญ เมื่อปี 2461 แล้วจึงศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรีที่วิทยาลัยลีเซสต็องดาล (Lycée Stendhal) เมืองเกรอน็อบล์ (Grenoble) ประเทศฝรั่งเศส จนสำเร็จเมื่อปี 5798 ครั้นแล้ว ได้ศึกษาชั้นต่อมา โดยได้ประกาศนียบัตรทางกฎหมายพาณิชย์ และปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาเดียวกัน จากมหาวิทยาลัยเกรอน็อบล์ (University of Grenoble) เมื่อปี 2469 และกลับมาเรียนในประเทศไทยที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม สำเร็จกฎหมายภาค 1 เมื่อปี 2476", "title": "จิ๊ด เศรษฐบุตร" }, { "docid": "765402#0", "text": "ศาสตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ เป็น ราชบัณฑิต ประเภทวิชาวิศวกรรมศาสตร์สาขาวิชาวิศวกรรมระบบ สำนักวิทยาศาสตร์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 8 โดยภายหลังจากพันวาระการดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้วนั้น ได้รับเลือกให้เป็นประธานกรรมการรถไฟ ในระหว่าง พ.ศ. 2546-2548[1][2][3] และหลังจากนั้น ในระหว่าง พ.ศ 2554 -2558 ได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน[4] และในช่วงเวลาเดียวกัน ก็ได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน[5][6][7]) และปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ 11 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น[8] และเป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาโครงสร้างมูลฐานอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ ปี พ.ศ 2548 ถึง 2559 [9][10][11] โดยศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง ซึ่งเน้นไปที่การพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ ยังมีความสนใจในงานวิจัยด้านพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนสำหรับชุมชน โดยเน้นไปที่การลดภาวะโลกร้อน รวมถึง งานวิจัยด้านระบบการขนส่งมวลชนและขนส่งสินค้าที่ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของเมืองให้เป็นเมืองที่น่าอยู่พร้อมทั้งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก", "title": "ปริญญา จินดาประเสริฐ" }, { "docid": "155838#1", "text": "ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เกิดที่ตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ปริญญาตรีและโทด้าน ประวัติศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ด้านประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมอนาช ประเทศออสเตรเลีย", "title": "ภูวดล ทรงประเสริฐ" }, { "docid": "221927#1", "text": "กอบศักดิ์ ภูตระกูล หรือที่รู้จักในนาม ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จาก Massachusetts Institute of Technology ด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เมื่อปี 2540 หลังจากสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้าน คณิตศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ที่ Williams College ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 2534 สำหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในปี 2529", "title": "กอบศักดิ์ ภูตระกูล" }, { "docid": "124907#2", "text": "เขาจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเมื่อเขาอายุได้ 16 ปี และ ได้รับทุนการศึกษาได้เรียนต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยของโตรอนโต เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เขาได้เข้าศึกษาต่อในชั้นสูงขึ้นที่มหาวิทยาลัยเดียวกันนั้นเอง อย่างไรก็ดี การศึกษาได้ถูกระงับชั่วคราวขณะที่เขาศึกษาอยู่เนื่องจากการเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง และ เมื่อสงครามสิ้นสุดลงเขาได้เริ่มทำงานในระดับดุษฎีบัณฑิต กับศาสตราจารย์ แมลคอล์ม ครอว์ฟอร์ด ที่มหาวิทยาลัยเดิม และหลังจากจบการศึกษา ชอว์โลว์ได้รับทุนผู้ติดตาม และ ได้เข้าทำงานกับ ชาร์ลซ์ เทาซ์ ที่ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในฤดูหนาวของ ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การนำของ ราบี โดยที่มี นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลอีกไม่ต่ำกว่า 8 คนที่ทำงานอยู่ที่ภาควิชานั้นด้วย", "title": "อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์" }, { "docid": "81799#1", "text": "ศาสตราภิชาน ทนง พิทยะ หรือที่รู้จักกันในาม ดร. ทนง พิทยะ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา รุ่นที่ 18 รุ่นเดียวกับ สนธิ ลิ้มทองกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโยโกฮาม่า ด้วยทุนรัฐบาลญี่ปุ่น ระดับปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์ และระดับปริญญาเอกสาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น", "title": "ทนง พิทยะ" }, { "docid": "124426#1", "text": "รองศาสตราจารย์ การุญ จันทรางศุ หรือ รองศาสตราจารย์ ดร.การุญ จันทรางศุ เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย, มัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยม จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วไปเรียนต่อทางด้านโยธาจบปริญญาโท และปริญญาเอกด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต สหรัฐอเมริกา ", "title": "การุญ จันทรางศุ" } ]
1220
ตระกูลเมดีชีเดิมมาจากชาวกสิกรในบริเวณใด ทางตอนเหนือของฟลอเรนซ์?
[ { "docid": "141948#3", "text": "ตระกูลเมดีชีเดิมมาจากชาวกสิกรในบริเวณมูเกลโล (Mugello) ทางตอนเหนือของฟลอเรนซ์ หลักฐานครั้งแรกที่กล่าวถึงครอบครัวนี้ก็มาจากเอกสารที่เขียนเมื่อปี ค.ศ. 1260", "title": "เมดีชี" } ]
[ { "docid": "216317#1", "text": "ตัววังเดิมสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1458 และเดิมเป็นที่พำนักของลูกา ปิตตี (Luca Pitti) นายธนาคารชาวฟลอเรนซ์ ต่อมาวังก็ถูกตระกูลเมดีชีซื้อไปในปี ค.ศ. 1539 และกลายมาเป็นที่พำนักหลักของตระกูลแกรนด์ดุ๊กแห่งทัสกานี นอกจากนั้นก็ยังใช้เป็นที่สะสมงานศิลปะต่าง ๆ เป็นจำนวนมหาศาล", "title": "วังปิตตี" }, { "docid": "141948#23", "text": "(โครงร่างของประวัติตระกูลเมดีชี) (สืบประวัติตระกูลเมดีชี) (สืบประวัติตระกูลเมดีชี) (in German) (กาลิเลโอและตระกูลเมดีชี) (ตระกูลเมดีชีและประวัติศาสตร์) (โครงการเก็บหลักฐานตระกูลเมดีชี)", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "160662#1", "text": "ไม่มีข้อตกลงที่ตายตัวว่าภาษาแอโฟรเอชีแอติกดั้งเดิมอยู่ที่ใด เชื่อกันว่าภาษานี้มีจุดกำเนิดในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ นักวิชาการบางคนเสนอว่าอยู่ที่เอธิโอเปียเพราะบริเวณดังกล่าวมีภาษาในกลุ่มนี้หลากหลายมากในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกัน นักวิชาการกลุ่มอื่นเสนอว่าอยู่ตามชายฝั่งตะวันตกของทะเลแดง และในสะฮารา มีผู้เสนอว่าน่าจะมีจุดกำเนิดที่บริเวณเลอวานต์ซึ่งเป็นบริเวณที่พบภาษากลุ่มเซมิติกแพร่กระจายอยู่มาก", "title": "ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก" }, { "docid": "141948#17", "text": "ทางสถาปัตยกรรมตระกูลเมดีชีมีอิทธิพลต่อสิ่งก่อสร้างหลายแห่งในฟลอเรนซ์รวมทั้งพิพิธภัณฑ์อุฟฟิซิ, วังพิตติ, สวนโบโบลิ (Boboli Gardens), ป้อมเบลเวเดเร (Belvedere) และวังเมดีชีเอง", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#2", "text": "ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system)", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#1", "text": "ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#7", "text": "อำนาจของตระกูลเมดีชีจึงผ่านไปยังสาย “เล็ก” ที่สืบสายมาจากลอเรนโซ ดิ โคสิโม เดอ เมดีชี หรือที่รู้จักกันในนาม “ลอเร็นโซผู้พ่อ” ผู้เป็นลูกคนเล็กของจิโอวานนี ดิ บิชชิ โดยเริ่มจากโคสิโมที่ 1 เดอ เมดีชี หรือ “Cosimo the Great” การขยายอำนาจของตระกูลเมดีชีบรรยายไว้อย่างละเอียดโดยเบเนเด็ตโต เดอี (Benedetto Dei)", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "96375#1", "text": "มีเกลอซซีมีความเชี่ยวชาญในการใช้วัสดุหินอ่อน สำริด และเงิน ได้สร้างสรรค์ประติมากรรมเลื่องชื่อไว้มากมาย เช่น รูปปั้นนักบุญจอห์นวัยหนุ่ม ที่เหนือประตูหน้าโบสถ์ดูโอโมในเมืองฟลอเรนซ์ และรูปปั้นของนักบุญจอห์นที่ทำจากเงินในโบสถ์ซานโจวันนี เป็นต้น ลูกค้าและเพื่อนรักของมีเกลอซซี คือ โกซีโม เด เมดีชี (Cosimo de' Medici) แห่งตระกูลเมดีชี ที่มีอิทธิพลอย่างมากในเมืองเวนิส ซึ่งได้ชักชวนให้มีเกลอซซีย้ายถิ่นฐานไปพำนักที่เมืองเวนิสในปี ค.ศ. 1433 ณ เมืองเวนิสแห่งนี้ มีเกลอซซีได้สร้างอาคารหลายหลัง รวมทั้งห้องสมุดซานจอร์โจมัจโจเร (San Giorgio Maggiore)", "title": "มีเกลอซโซ" }, { "docid": "141948#18", "text": "ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครในตระกูลเมดีชีที่เป็นนักวิทยาศาสตร์แต่ตระกูลเมดีชีมีชื่อเสียงในการเป็นผู้อุปถัมภ์นักดาราศาสตร์คนสำคัญคือ กาลิเลโอ กาลิเลอีผู้เป็นครูลูกหลานในตระกูลเมดีชีหลายคน แต่มาหยุดการสนับสนุนเอาในสมัยเฟอร์ดินานโดที่ 2 (Ferdinando II de Medici) เมื่อกาลิเลโอถูกกล่าวหาโดยศาลศาสนาโรมัน (Roman Inquisition) ว่าคำสอนของกาลิเลโอเป็นคำสอนนอกรีต แต่ตระกูลเมดีชีก็ปกป้องกาลิเลโออยู่หลายปีจนกาลิเลโอตั้งชื่อพระจันทร์สี่ดวงของดาวพฤหัสบดีตามชื่อของลูกหลานตระกูลเมดีชี", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "145124#19", "text": "เมื่อตระกูลกีสมีอำนาจขึ้นก็เริ่มกำจัดผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (อูเกอโนท์ (Huguenots)) อย่างจริงจัง แต่พระราชินีแคทเธอรีนไม่ทรงมีนโยบายที่รุนแรงและทรงกล่าวต่อต้านการไล่ทำร้ายอูเกอโนท์ของตระกูลกีส แม้ว่าพระองค์เองจะไม่ทรงมีความเห็นใจหรือทรงมีความเข้าใจในสาเหตุของการต่อสู้ของกลุ่มผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์แต่อย่างใด กลุ่มอูเกอโนท์พยายามหาผู้นำ ตอนแรกก็ได้อองตวนแห่งบูร์บง ดยุกแห่งแวงโดมผู้เป็นเจ้าชายสืบสายพระโลหิตชั้นเอก (Premier Prince du Sang) ต่อมาก็ได้พระอนุชาหลุยส์ที่ 1 แห่งบูร์บง เจ้าชายแห่งคองเดผู้สนับสนุนการโค่นอำนาจของตระกูลกีสโดยการใช้กำลัง[53] เมื่อทางตระกูลกีสทราบแผนของเจ้าชายหลุยส์แห่งคองเดที่เรียกว่าการคบคิดที่อังบัวส์ (The Conspiracy of Amboise) [54] ก็รีบย้ายราชสำนักไปยังวังอังบัวส์ (Château d'Amboise) เพื่อใช้ที่เป็นที่มั่นในการต่อสู้ป้องกัน ดยุกฟรองซัวส์แห่งกีสก็โจมตีบริเวณป่ารอบอังบัวส์อย่างจู่โจมทำให้ฝ่ายตรงข้ามเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมากรวมทั้งตัวนายทัพลาเรโนดี (La Renaudie) [55] ส่วนผู้อื่นก็จมน้ำตายๆ กันไปบ้าง ถูกขึงรอบกำแพงเมืองบ้าง ขณะที่ราชสำนักของพระราชินีแคทเธอรีนเฝ้าดู[56]", "title": "แคทเธอรีน เดอ เมดีชี" }, { "docid": "141948#11", "text": "ตระกูลเมดีชีมีอำนาจมากที่สุดในอิตาลีในสมัยนั้นจากการที่มีสมาชิกในตระกูลได้เป็นพระสันตะปาปาสององค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 -- สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 และ สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 -- ซึ่งทำให้เมดีชีกลายเป็นผู้ปกครองโรม และ ฟลอเรนซ์โดยปริยาย พระสันตะปาปาทั้งสององค์เป็นผู้มีบทบาทในการอุปถัมภ์ศิลปะ ตระกูลเมดีชีอีกคนหนึ่งที่ได้เป็นพระสันตะปาคืออเลสซานโดร อ็อตาวิอาโน (Alessandro Ottaviano de' Medici) ผู้ต่อมาเป็น สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#0", "text": "ตระกูลเมดีชี (English: Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#10", "text": "ลอเร็นโซ เดอ เมดีชีก็เช่นเดียวกับสมาชิกตระกูลเมดีชีคนอื่นที่พยายามรักษาความสำคัญของตระกูลไว้โดยการวางอนาคตและอาชีพให้ลูกๆ ลอเร็นโซสอนให้ เปียโรที่ 2 มีความแข็งแกร่ง ให้จิโอวานนี เป็นผู้คงแก่เรียน และจุยเลียโน (คนละคนกัยจุยเลียโนผู้เป็นพี่ของลอเร็นโซ) เป็นคนดี จุยเลียโนผู้เป็นพี่ของลอเร็นโซถูกลอบสังหารในวัดเมื่อวันอีสเตอร์เมื่อปีค.ศ. 1478 ลอเร็นโซจึงรับเลี้ยง จุยลิโอ ลูกชายของจุยเลียโนเป็นบุตรบุญธรรม ผู้ซึ่งต่อมาได้เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 (ค.ศ. 1478-ค.ศ. 1535) เปียโรที่ 2 ผู้เป็นลูกของลอเร็นโซ เดอ เมดีชีเองได้เป็นประมุขของฟลอเรนซ์ต่อมาหลังจากที่ลอเร็นโซเสียชีวิตแต่เปียโรไม่มีความสามารถเหมือนพ่อ จึงมีส่วนที่ทำให้ครอบครัวเมดีชีถูกไล่ออกจากเมือง", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#16", "text": "นอกจากจะให้การสนับสนุนทางศิลปะและสถาปัตยกรรมแล้วตระกูลเมดีชียังเป็นนักสะสมอีกด้วย ปัจจุบันเราจะเห็นสิ่งที่ตระกูลเมดีชีสะสมไว้ได้ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเรนซ์", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "669949#2", "text": "แบนชีถูกเชื่อในไอร์แลนด์ว่า เป็นผีผู้หญิงลักษณะคล้ายยมทูต มีผมยาวสลวยสีอ่อนหรือสีขาว อยู่ในชุดเสื้อคลุมยาวสีดำ ล่องลอยไปมาในอากาศอย่างลางเลือนเหมือนหมอกในเวลากลางคืน แบนชีมีเสียงร้องที่ดังและโหยหวน มีผู้ที่เชื่อว่าเคยได้ยินเสียงของแบนชีกล่าวว่า ลักษณะเสียงเหมือนเสียงผู้หญิงคร่ำครวญผสมกับเสียงของนกฮูก แบบที่ใครเคยได้ยินครั้งเดียวจะจดจำได้ตลอด การปรากฏของแบนชีเกี่ยวพันกับความตาย หากแบนชีปรากฏเป็นการบอกว่ากำลังจะมีผู้ใกล้ตาย ความเชื่อของชาวไอร์แลนด์เชื่อว่า แบนชีเคยเป็นหนึ่งในสมาชิกครอบครัวที่ล่วงลับไปแล้ว ความเชื่อเรื่องแบนชีกระจายไปทั่วไอร์แลนด์ทั้งแผ่นดินใหญ่ และเกาะ ตลอดจนไอร์แลนด์เหนือ เชื่อว่าแบนชีจะขว้างหินหรือทิ้งสิ่งของเช่น ก้อนหิน หรือหวีไว้ที่ ๆ ปรากฏตัว หากใครไปจับต้องหรือเก็บเอาไปจะพบกับหายนะ มีรายงานการพบเห็นแบนชีทั่วทั้งไอร์แลนด์ โดยเฉพาะในปราสาทเก่า เช่น ปราสาทดันลูซ ในไอร์แลนด์เหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปราสาทดักเคตต์'สโกรฟ ในเคาน์ตีคาร์โลว์ ซึ่งเดิมเคยเป็นปราสาทของตระกูลดักเคตต์ ตระกูลมหาเศรษฐีชาวอังกฤษ ที่ถูกสร้างขึ้นในศตวรรษที่ 1700 มีความเชื่อว่าตระกูลนี้ต้องคำสาป เนื่องจากสมาชิกคนสำคัญคนหนึ่งของตระกูลเป็นผู้ชายเจ้าชู้มาก และเขาไปชอบพอเด็กสาวคนหนึ่งเข้า ทำให้เธอต้องตกจากหลังม้าตาย แม่ของเธอเลยสาปด้วยคำสาปแม่ม่าย ที่เป็นความเชื่อกันในไอร์แลนด์ ทำให้แบนชีจ้องล้างผลาญสมาชิกในตระกูลนี้ไปตลอด", "title": "แบนชี" }, { "docid": "141948#4", "text": "ที่มาของชื่อ “เมดีชี” ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนแต่คำว่า “เมดีชี” ในภาษาอิตาลีหมายถึง “หมอยา” สมาชิกตระกูลเมดีชีเริ่มมามีตำแหน่งสำคัญๆ เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในกิจการค้าขายขนแกะ โดยเฉพาะกับประเทศฝรั่งเศส และ ประเทศสเปน ถึงแม้ว่าจะเริ่มมีชื่อเสียงทางการปกครองในบางเมืองแต่ก็ยังไม่มีความสำคัญมากเท่าตระกูลใหญ่ๆ เช่นตระกูลอัลบิซซิ (Albizzi) หรือ ตระกูลสโตรซซิ (Strozzi) สมาชิกที่สำคัญคนหนึ่งที่น่าจะกล่าวถึงในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 ก็คือซาลเวสโตร เดอ เมดีชี (Salvestro de Medici) ผู้เป็นวาทกรของ สมาคมพ่อค้าขนแกะระหว่างการปฏิวัติชิออมปิ (Ciompi) จนถูกเนรเทศเมื่อปี ค.ศ. 1382 การที่ตระกูลเมดีชีเข้าไปมีส่วนในการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งเมื่อปีค.ศ. 1400 ทำให้ทั้งตระกูลถูกห้ามเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองและการปกครองของเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาราว 20 ปี ยกเว้นเมื่ออาเวราร์โด (Averardo (Bicci) de Medici) ก่อตั้งวงศ์เมดีชี (Medici dynasty)", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#6", "text": "ตระกูลเมดีชี สาย “อาวุโส” ที่สืบสายมาจาก “โคสิโมผู้อาวุโส” ปกครองรัฐฟลอเรนซ์มาจนเมื่อ อเลสซานโดร เดอ เมดีชีผู้เป็นดยุกคนแรกของฟลอเรนซ์ถูกลอบสังหารเมื่อปี ค.ศ. 1537 การปกครองของตระกูลเมดีชีถูกขัดจังหวะลงสองหน (ระหว่างปี ค.ศ. 1494 ถึงปี ค.ศ. 1512 และ ระหว่างปี ค.ศ. 1527 ถึงปี ค.ศ. 1530) เมื่อมีการปฏิวัติจากประชาชนขับตระกูลเมดีชีออกจากเมือง", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "281496#3", "text": "ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลี และการที่ฝรั่งเศสอยู่ไม่ไกล\nจากสำนักดยุคแห่งเบอร์กันดีอันรุ่งเรืองนัก (ที่เกี่ยวข้องกับฟลานเดอร์ส) ทำให้ฝรั่งเศสได้มีโอกาสประสบกับสินค้า, จิตรกรรม และ วิญญาณของการสร้างสรรค์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ และ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปะในระยะแรกในฝรั่งเศสก็มักจะมาจากจิตรกรอิตาลีและเฟล็มมิชเช่นฌอง คลูเอต์ (Jean Clouet) และบุตรชายฟรองซัวส์ คลูเอต์ (François Clouet) และจิตรกรอิตาลีรอซโซ ฟิโอเรนติโน, (Rosso Fiorentino), ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช (Francesco Primaticcio) และ นิโคโล เดลาบาเต (Niccolò dell'Abbate) ของตระกูลการเขียนที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่าตระกูลการเขียนฟงแตงโบลที่เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1531) เลโอนาร์โด ดา วินชีเองก็ได้รับเชิญมาพักในฝรั่งเศสโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แต่นอกไปจากภาพเขียนที่นำติดตัวมาแล้ว ดา วินชีก็มิได้สร้างงานที่เป็นชิ้นเป็นอันให้แก่ราชสำนักฝรั่งเศสแต่อย่างใด", "title": "สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส" }, { "docid": "240632#1", "text": "หัวเรื่องการนมัสการของโหราจารย์เป็นหัวข้อที่นิยมเขียนกันในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี เป็นงานที่กาสปาเร ดิ ซาโนบิ เดล ลามาเป็นผู้จ้าง เดล ลามาเป็นนายธนาคารที่มีเบื้องหลังออกจะลึกลับและมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลเมดีชี สำหรับชาเปลส่วนตัวในโบสถ์ซันตามาเรียโนเวลลา (ทำลายไปแล้ว) ภาพนี้ประกอบด้วยบุคคลหลายคนในภาพจากตระกูลเมดีชีที่รวมทั้ง: โกซีโม เด เมดีชี (โหราจารย์ที่คุกเข่าต่อหน้าพระแม่มารีย์ที่บรรยายโดยวาซารีว่า “the finest of all that are now extant for its life and vigour”), ลูกชายสามคนปีเอโร (โหราจารย์คนที่สองที่คุกเข่าตรงกลางสวมเสื้อคลุมแดง) และโจวันนี (โหราจารย์คนที่สาม) และหลานจูเลียโน ดิ เปียโร เดอ เมดิชิ และโลเรนโซ เด เมดีชี เมดีชีสามคนที่เป็นโหราจารย์เสียชีวิตไปแล้วเมื่อบอตตีเชลลีเขียนภาพนี้ และขณะนั้นโลเรนโซเป็นผู้ปกครองฟลอเรนซ์", "title": "การนมัสการของโหราจารย์ (บอตตีเชลลี)" }, { "docid": "580262#0", "text": "แม่น้ำชีงกู () เป็นแม่น้ำทางตอนเหนือของประเทศบราซิล ต้นน้ำมีหลายแหล่งในบริเวณตอนเหนือของที่ราบสูงมาตูโกรสซู ไหลไปทางเหนือ ผ่านด้านตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐมาตูโกรสซูและตอนกลางของรัฐปารา ลงสู่แม่น้ำแอมะซอนที่บริเวณใกล้ปากแม่น้ำ แม่น้ำมีความยาว 1,230 ไมล์ (1,979 กม.) นักชาติพันธุ์วิทยาชาวเยอรมันเข้ามาสำรวจแม่น้ำนี้ระหว่าง ค.ศ. 1884-1887", "title": "แม่น้ำชีงกู" }, { "docid": "275018#1", "text": "สาธารณรัฐอัมบาโซเนียประกาศเอกราชเมื่อ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 โดยกองกำลังแบ่งแยกดินแดนในบริเวณที่เคยเป็นดินแดนในอารักขาของอังกฤษทางภาคใต้ของแคเมอรูน การประกาศเอกราชนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากประเทศใดหรือแม้แต่สหประชาชาติ พ.ศ. 2548 อัมบาโซเนียเข้าเป็นสมาชิกขององค์กรชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก ประชากรในบริเวณนี้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ส่วนใหญ่เชื่อว่าสิทธิของชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาอังกฤษไม่ได้รับการยอมรับจากคนส่วนใหญ่ของแคเมอรูนที่พูดภาษาฝรั่งเศส และการปกป้องสิทธิคือการเรียกร้องเอกราช ชาวอัมบาโซเนียที่ลี้ภัยออกนอกประเทศจัดตั้งพรรคปลดปล่อยอัมบาโซเนียในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547 . \nแคเมอรูนใต้เป็นดินแดนที่เคยอยู่ภายใต้การอารักขาของสหประชาติและรวมเข้ากับสาธารณรัฐแคเมอรูน (เดิมคือแคเมอรูนของฝรั่งเศส) เมื่อ พ.ศ. 2504 หลังจากการลงประชามติ ทางภาคเหนือของแคเมอรูนอังกฤษเลือกรวมเข้ากับไนจีเรีย ", "title": "อัมบาโซเนีย" }, { "docid": "590700#0", "text": "ประเพณีรับบัว วัดบางพลีใหญ่ใน เป็นประเพณีประจำท้องถิ่นของชาวอำเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมาแต่โบราณ โดยมิได้ปรากฏหลักฐานว่ามีมาแต่ยุคใดสมัยใด ทั้ง ๓ พวกก็ปรึกษาหารือกันว่าสมควรจะช่วยกันหักล้างถางพงให้กว้างขวางยิ่งขึ้นเพื่อทำไร่ทำสวนต่อไป บริเวณนี้แต่ก่อนเต็มไปด้วยป่าพงอ้อ พงแขมและไม้นานาชนิดขึ้นเต็มไปหมด ฝั่งทางตอนใต้ของลำคลองสำโรงก็เต็มไปด้วยป่าแสม น้ำก็เป็นน้ำเค็ม ซึ่งเต็มไปด้วยอันตรายจากสัตว์ร้ายนานาชนิดทางฝั่งตอนเหนือก็เต็มไปด้วยบึงขนาดใหญ่ ภายในบึงแต่ละบึงก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วยบัวหลวงมากมาย พวกคนไทย รามัญและลาว ก็พยายามหักล้างถางพงเรื่อยมาจนถึงทางแยก ๓ ทางคือ ทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือเป็นคลองสลุด ทางเหนือเป็นคลองชวดลากข้าว และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นคลองลาดกระบัง คนทั้ง ๓ พวกก็ตกลงกันว่าควรจะแยกย้ายกันทำมาหากินคนละทางจะดีกว่าเพื่อที่จะได้รู้ภูมิประเทศว่าด้านไหนจะทำมาหากินได้คล่องดีกว่ากัน เมื่อตกลงดังนั้นแล้วจึงแยกทางกันไปทำมาหากิน โดยพวกลาวไปทางคลองสลุด ไทยไปทางคลองชวดลากข้าว พวกรามัญไปทางคลองลาดกระบัง พวกรามัญทำมาหากินอยู่ประมาณ ๒-๓ ปี ก็ไม่ได้ผลเพราะนก หนู ชุกชุมรบกวนพืชผลต่างๆจนเสียหายมากมาย เมื่อทำมาหากินไม่ได้ผลพวกรามัญก็ปรึกษาเตรียมตัวอพยพกลับถิ่นเดิมที่ปากลัด (พระประแดง) เริ่มอพยพกันในตอนเช้ามืดของเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ ก่อนไปก็ได้ไปเก็บดอกบัวในบึงบริเวณนี้มากมาย คนไทยที่คุ้นเคยกับ พวกรามัญก็ไต่ถามว่าเก็บดอกบัวไปทำไมมากมายเพียงนี้พวกรามัญก็บอกว่าจะเอาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศน์มหาชาติ) ที่ปากลัด และได้สั่งเสียกับคนไทยที่รักและสนิทสนมชิดชอบว่าในปีต่อมาเมื่อถึงเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ ให้ช่วยเก็บดอกบัวรวบรวมไว้ที่วัดหลวงพ่อโตนี้ด้วยพวกตนจะมารับ ด้วยนิสัยคนไทยนั้นชอบโอบอ้อมอารีรักพวกพ้องจึงตอบตกลง จากนั้นพวกชาวรามัญก็นมัสการหลวงพ่อโตพร้อมทั้งขอน้ำมนต์หลวงพ่อโตไปเพื่อเป็นศิริมงคลและลากลับถิ่นฐานเดิมที่ปากลัดและนำดอกบัวไปบูชาพระคาถาพัน ปีต่อมาพอถึงกำหนดเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ คนไทยบางพลีก็รวบรวมดอกบัวไว้ที่วัดบางพลีใหญ่ตามคำขอร้องของชาวรามัญ พวกชาวรามัญก็จะมารับดอกบัวทุกปี การมาจะมาในเวลากลางคืน มาโดยเรือขนาดจุ ๕๐-๖๐ คน จะมาถึงวัดประมาณตี ๑-๔ ของทุกครั้งที่มาและมีการตีฆ้องร้องเพลงตลอดทางอย่างสนุกสนาน พร้อมทั้งมีการละเล่นต่างๆในเรือ ผู้ที่คอยต้อนรับก็พลอยสนุกสนานไปด้วยไมตรีจิตอันดียิ่ง คนไทยได้ทำอาหารคาวหวานต่างๆเลี้ยงรับรองโดยใช้ศาลาวัดเป็นที่เลี้ยงอาหารกันเมื่ออิ่มหนำสำราญแล้วก็นำดอกบัวไปมนัสการหลวงพ่อโต จากนั้นก็นำดอกบัวกลับไปบูชาพระคาถาพันที่ปากลัด", "title": "ประเพณีรับบัว" }, { "docid": "987252#0", "text": "กลุ่มภาษาชาดิก () เป็นแขนงย่อยของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก พูดกันในหลายที่ในซาเฮล ประกอบด้วยภาษาต่างๆ 150 ภาษาที่พูดกันตอนภาคเหนือของไนจีเรีย, ตอนใต้ของไนเจอร์, ตอนใต้ของชาด, สาธารณรัฐแอฟริกากลาง, และตอนเหนือของแคเมอรูน ภาษากลุ่มชาดิกที่พูดกันมากที่สุดคือภาษาเฮาเซอ ซึ่งเป็นภาษากลางของส่วนมากของประเทศทางตะวันออกของแอฟริกาตะวันตก", "title": "กลุ่มภาษาชาดิก" }, { "docid": "111735#1", "text": "อรุณาจัลประเทศมีความหมายว่า ดินแดนอาทิตย์อุทัย เนื่องจากตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศอินเดีย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นเชื้อสายชาวทิเบต ชาวไท และชาวพม่า โดยมีประชากรร้อยละ 16 เป็นผู้อพยพ เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ มีงานศิลปหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ \nแต่เดิมอรุณาจัลประเทศเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอัสสัม เมื่อชาวไทใหญ่จากรัฐฉานเข้ามารุกรานดินแดนลุ่มแม่น้ำพรหมบุตรจากทางเหนือ ดินแดนเดิมในบริเวณนี้จากตะวันออกไปตะวันตกได้แก่ อาณาจักรจุติยะ เป็นของชาวเขาผสมไทใหญ่ อาณาจักรกจารี อาณาจักรภุยยา และอาณาจักรกามรูปซึ่งเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ มีอาณาเขตไปถึงเบงกอลตะวันออก ชาวไทอาหมซึ่งเป็นชาวไทใหญ่กลุ่มหนึ่งสามารถเอาชนะอาณาจักรเหล่านี้ได้ และสร้างงอาณาจักรอัสสัมขึ้น", "title": "รัฐอรุณาจัลประเทศ" }, { "docid": "141948#8", "text": "โคสิโมที่ 1 และพ่อเริ่มวางรากฐานตระกูลเมดีชีในทางการธนาคาร การผลิต (รวมทั้งการให้สัมปทานทางธุรกิจ) ทางฐานะทางการเงิน ทางศิลปะ ทางการอุปถัมภ์ศิลปิน และทางศาสนาเพื่อที่จะให้ตระกูลนี้มีอำนาจเป็นเวลานานหลายชั่วคนต่อมา ว่ากันว่าในสมัยของโคสิโม ครึ่งหนี่งของประชากรชาวฟลอเรนซ์เองก็ทำงานให้กับตระกูลเมดีชีในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#14", "text": "จิโอวานนี ดิ บิชชิผู้เป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปะคนแรกของตระกูลเมดีชีช่วย มาซาชิโอ (Masaccio) และจ้างฟีลิปโป บรูเนลเลสกีให้บูรณะบาซิลิกาซานโลเร็นโซที่ฟลอเรนซ์เมื่อปี ค. ศ. 1419 โคสิโม เดอ เมดีชีเป็นผู้อุปถัมภ์งานของ โดนาเทลโล และ ฟราแอนเจลิโค แต่ศิลปินคนที่สำคัญที่สุดที่เกี่ยวข้องกับตระกูลเมดีชีคือมีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี ซึ่งทำงานให้กับสมาชิกในตระกูลนี้หลายคนเริ่มด้วย ลอเร็นโซผู้ปรีชา ตั้งแต่ลอเร็นโซยังเป็นเด็ก ลอเร็นโซจ้างเลโอนาร์โด ดา วินชี่ทั้งหมดด้วยกัน 7 ปี ลอเร็นโซเองก็เป็นนักกวีและแต่งเพลง ต่อมาสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10ก็อุปถัมภ์ราฟาเอล ผู้ที่เรียกกันว่า “Prince of Painters” สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 จ้างมีเกลันเจโลเขียนผนังหลังแท่นบูชาของชาเปลซิสติน ตระกูลเมดีชีเองก็มีส่วนสำคัญในการก่อสร้างชาเปลซิสทีนด้วย", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "141948#20", "text": "ซัลเวสโตร เดอ เมดีชี (ค.ศ. 1331-ค.ศ. 1388) นำการปฏิวัติชิออมปิและมาเป็นผู้เผด็จการของฟลอเรนซ์ก่อนที่จะถูกเนรเทศเมื่อ ปี ค.ศ. 1382 จิโอวานนี ดิ บิชชิ (ค.ศ. 1360-ค.ศ. 1429) สร้างฐานะตระกูลเมดีชีจนเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรป โคสิโม เดอ เมดีชี หรือ “โคสิโมผู้พ่อ” (ค.ศ. 1389-ค.ศ. 1464) วางรากฐานทางการเมือง ลอเร็นโซผู้ปรีชา (ค.ศ. 1449-ค.ศ. 1492) ประมุขระหว่างยุคทองของ ฟลอเรนซ์ -- ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 (ค.ศ. 1475-ค.ศ. 1523) สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 (ค.ศ. 1478-ค.ศ. 1534) โคสิโมที่ 1 หรือ “Cosimo I the Great” (ค.ศ. 1519-ค.ศ. 1574) เป็นดยุกคนแรกของแคว้นทัสเคนี แคทเธอรีน เดอ เมดีชี (Catherine de Medici) (ค.ศ. 1519-ค.ศ. 1589) พระราชินีแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11 (ค.ศ. 1535-ค.ศ. 1605) มาเรีย เดอ เมดีชี (Maria de Medici) (ค.ศ. 1575-ค.ศ. 1642) พระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระราชินีผู้สำเร็จราชการแห่งฝรั่งเศส อันนา มารีอา ลุยซา เดอ เมดีชี (Anna Maria Luisa de Medici) (ค.ศ. 1667-ค.ศ. 1743) ลูกของโคสิโมที่ 3 เป็นสมาชิกสำคัญของตระกูลเมดีชีคนสุดท้าย", "title": "เมดีชี" }, { "docid": "291062#23", "text": "ตามปกติแล้วเหตุการณ์เช่นนี้ก็มิได้เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นแต่อย่างใด แต่รือเบินส์ก็สามารถทำให้ภาพของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสเมื่อเสด็จโดยทางชลมารคมาถึงเมืองท่างมาร์แซย์ของฝรั่งเศสหลังจากที่ทรงเสกสมรสโดยฉันทะกับพระเจ้าอ็องรีที่ 4 ที่ฟลอเรนซ์แล้วให้เป็นภาพที่น่าสนใจกว่าความเป็นจริงได้อย่างน่าประทับใจ รือเบินส์แสดงให้เห็นอีกครั้งหนึ่งว่าสามารถสร้างเหตุการณ์พื้น ๆ ให้กลายเป็นเหตุการณ์อันยิ่งใหญ่น่าประทับใจได้ ภาพนี้เป็นภาพที่พระราชินีมารีกำลังเสด็จพระราชดำเนินลงจากสะพานเรือพระที่นั่ง ตามความเป็นจริงแล้วทรงดำเนินขึ้นและการเขียนให้ดำเนินลงทำให้สร้างการจัดองค์ประกอบของภาพให้เป็นสามเหลี่ยมได้ พระราชินีมารีเสด็จลงพร้อมกับคริสตีนแห่งลอแรน แกรนด์ดัชเชสแห่งทัสเคนีและพระขนิษฐาเอเลนอรา ดัชเชสแห่งมันโตวา เข้าไปสู่การต้อนรับด้วยความปิติของบุคลาธิษฐานแห่งฝรั่งเศสผู้สวมเสื้อคลุมสีน้ำเงินประด้วยสัญลักษณ์ดอกลิลลีของฝรั่งเศสผู้อ้าแขนรับพระราชินีองค์ใหม่เข้าสู่อ้อมอกของประเทศใหม่ โดยมีพระมาตุจฉาคริสตีนแห่งลอแรนและพระขนิษฐาขนาบสองข้างพระองค์ ขณะที่มีเทพล่องลอยเป่าแตรทรัมเป็ตสองแตรอยู่เหนือพระเศียร ด้านล่างของภาพเป็นเทพเนปจูนและนางพรายทะเลผุดขึ้นมาจากทะเลหลังจากที่ได้พิทักษ์พระองค์ในการเดินทางอันยาวนานมาจนมาถึงมาร์แซย์ได้โดยปลอดภัย รือเบินส์ใช้ความมีฝีมือในการสร้างฉากที่รวมทั้งสวรรค์และโลก และเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และอุปมานิทัศน์ได้อย่างมีอรรถรสแก่สายตาของผู้ดูอย่างไม่มีที่ติ นอกจากนั้นแล้วสิ่งอื่นในภาพ \"การขึ้นฝั่งที่มาร์แซย์\" ก็ได้แก่ตราประจำตระกูลเมดีชีอยู่เหนือโค้งประทุนตรงมุมซ้ายบนของภาพ และอัศวินแห่งมอลตาแต่งตัวเต็มยศยืนสังเกตการณ์อยู่บนเรือข้างประทุน ", "title": "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส" }, { "docid": "141948#13", "text": "สิ่งที่ประสพความสำเร็จมากที่สุดของตระกูลเมดีชีคือการอุปถัมภ์ศิลปะและสถาปัตยกรรมโดยเฉพาะในสมัยศิลปะและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ตอนต้นและตอนที่รุ่งเรืองที่สุด งานศิลปะของฟลอเรนซ์เกือบทั้งหมดในสมัยนั้นเป็นอิทธิพลของครอบครัวนี้ ฉะนั้นงบประมาณที่ใช้ก็คงเป็นจำนวนมหาศาลเพราะศิลปินยุคนั้นจะทำงานก็ต่อเมื่อได้รับสัญญาและเงินล่วงหน้า", "title": "เมดีชี" } ]
2581
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีกี่ชนิด?
[ { "docid": "679982#2", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีทั้งสิ้น 21 วงศ์ 43 ชนิด เป็นสัตว์บกทั้งหมด ส่วนมากเป็นชนิดที่มีขนาดเล็ก และรองลงมาเป็นขนาดตัวปานกลาง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพวกค้างคาวมีจำนวนทั้งสิ้น 9 ชนิด รองลงมาคือกลุ่มแมวป่า และเสือ จำนวน 7 ชนิด เช่น สมเสร็จ เสือโคร่ง เสือดาว เก้งหม้อ กระทิง วัวแดง เลียงผา แมวลายหินอ่อน แมวป่า นกเงือก", "title": "เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี" } ]
[ { "docid": "654839#7", "text": "เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สมองมนุษย์จึงมีลักษณะพิเศษซึ่งพบร่วมในสมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ที่สำคัญสุดคือ เปลือกสมองใหญ่หกชั้นและชุดโครงสร้างที่สัมพันธ์กัน เช่น ฮิปโปแคมปัสและอะมิกดาลา สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีสมองส่วนหน้าซึ่งผิวด้านบนคลุมด้วยชั้นเนื้อเยื่อประสาท เรียก พัลเลียม (pallium) แต่ยกเว้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พลัลเยมเป็นโครงสร้างเซลล์สามชั้นค่อนข้างเรียบง่าย ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พัลเลียมมีโครงสร้างเซลล์หกชั้นที่ซับซ้อนกว่า และได้ชื่อใหม่ว่า เปลือกสมองใหญ่ ฮิปโปแคมปัสและอะมิกดาลายังกำเนิดจากพัลเลียมด้วย แต่ซับซ้อนในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมากกว่าสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นมาก", "title": "สมองมนุษย์" }, { "docid": "794393#10", "text": "1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammals) ได้แก่ หมาไม้ หมีควาย เก้ง หมูป่า เม่นใหญ่ กระต่ายป่า ลิงกัง ค่างแว่นถิ่นเหนือ กระรอกท้องแดง กระรอกดินแก้มแดง กระรอกบินจิ๋วท้องขาว เพียงพอนเส้นหลังขาว และสัตว์ที่มีรายงานการพบใหม่ในประเทศไทยครั้งแรกบริเวณพื้นที่ดอยผ้าห่มปก คือ เพียงพอนท้องเหลือง (Yellow-bellied Weasel) ในส่วนของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมนั้น ยังไม่มีการสำรวจข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งถ้ามีการสำรวจเก็บข้อมูล หรืองานวิจัยในด้านนี้อย่างจริงจัง ก็จะพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดต่างๆเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสัตว์ในกลุ่มค้างคาว และสัตว์ฟันแทะชนิดต่างๆ", "title": "อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก" }, { "docid": "11611#1", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็นไข่", "title": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม" }, { "docid": "11611#53", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่กินพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น นม แรคคูน มนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ในอันดับไพรเมต ซึ่งตามปกติสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่กินสัตว์ด้วยกันเป็นอาหารหลายชนิด จะใช้การกินพืชผักผลไม้เช่นลูกเบอรี่แทนในเวลาที่อาหารขาดแคลน เช่นสุนัขจิ้งจอกจะกินหนูและสัตว์ฟันแทะขนาดเล็ก หรือนกตัวเล็ก ๆ เป็นอาหาร แต่ถ้าอาหารภายในป่าเกิดการขาดแคลน ก็จะเปลี่ยนมากินผลไม้เช่นแอปเปิล มะเดื่อหรือข้าวโพดแทนเพื่อการอยู่รอด", "title": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม" }, { "docid": "860308#6", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่วางไข่ คือ โมโนทรีม (อิคิดนาและตุ่นปากเป็ด) ไม่มีคอเคลียที่ขดเป็นก้นหอย แต่มีรูปคล้ายลูกกล้วยยาวประมาณ 7 มม.\nเหมือนกิ้งก่ากับงูและสัตว์ปีกกับจระเข้ อวัยวะจะมี lagena และเยื่อบุผิวที่เป็นอวัยวะรับรู้การทรงตัว (vestibular sensory epithelium) ที่ปลาย\nเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชั้นเธอเรีย (คือ สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องและสัตว์มีรก) ที่มีคอเคลียขดเป็นก้นหอย 1.5-3.5 รอบ\nเทียบกับโมโนทรีม ที่มีแถวของเซลล์ขนด้านใน (IHC) และ เซลล์ขนด้านนอก (OHC) หลายแถวในอวัยวะของคอร์ติ ในเธอเรีย IHC จะมีแค่ 1 แถว และทั่วไปจะมี OHC 3 แถว", "title": "วิวัฒนาการของคอเคลีย" }, { "docid": "375912#0", "text": "นี่คือ รายชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบในประเทศไทย มีทั้งสิ้น 264 ชนิด มี 3 ชนิดถูกคุกคามจนเข้าขั้นวิกฤติ มี 11 ชนิดถูกคุกคามจนใกล้สูญพันธุ์ มี 24 ชนิดเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และ 2 ชนิดมีความเสี่ยงต่ำแต่ใกล้ถูกคุกคาม และสูญพันธุ์ไป 1 ชนิด", "title": "รายชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบในประเทศไทย" }, { "docid": "612598#0", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล () คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่อาศัยอยู่ในทะเลหรืออาศัยอยู่ใกล้ทะเล โดยสัตว์ในกลุ่มนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 129 ชนิด (Species) ตัวอย่างของสัตว์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ แมวน้ำ วาฬ โลมา วอลรัส หมีขั้วโลก ฯลฯ โดยสัตว์เหล่านี้จำเป็นต้องอาศัยอยู่ใกล้ทะเลหรืออาศัยอยู่ในทะเล เพราะจำเป็นต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมทางทะเลในการดำรงชีวิต เช่น การหาอาหาร การขยายพันธุ์ ถิ่นที่อยู่ เป็นต้น", "title": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล" }, { "docid": "11611#9", "text": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมบางชนิด มีการวิวัฒนาการด้วยการปรับเปลี่ยนรยางค์ทั้ง 2 คู่ ให้เป็นไปตามแบบของแต่ละสายพันธุ์หรือในการดำรงชีวิต เช่นวาฬที่แต่เดิมจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยบนบก และมีการวิวัฒนาการปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการลดรยางค์จากเดิมที่เป็นขาคู่หน้า ให้กลายเป็นครีบเพื่อสำหรับอาศัยในท้องทะเล จากหลักฐานโครงกระดูกของวาฬ เมื่อทำการเปรียบเทียบลักษณะของกระดูกบริเวณครีบหน้า จะเห็นว่ามีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงด้วยการลดรยางค์คู่หน้า จากเท้าหน้าให้กลายเป็นครีบ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมบางชนิดอาจลดรยางค์ลงหรือหายไปเลยก็มี ทั้งนี้ก็เพื่อการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ และสำหรับการดำรงชีวิต มีระบบหมุนเวียนภายในร่างกาย ที่ประกอบด้วยหัวใจที่มี 4 ห้องเช่นเดียวกับมนุษย์ มีเม็ดเลือดแดงที่มีลักษณะกลมแบน และเว้าทั้ง 2 ข้าง รวมทั้งไม่มีนิวเคลียสเป็นส่วนประกอบ", "title": "สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม" }, { "docid": "172204#3", "text": "มีการพบซากสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในหม้อของ \"N. rajah\" (มีการยืนยันว่าพบหนูตกลงไปในหม้อของ \"N. rajah\") มันเป็น 1 ใน 2 ชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่มีรายการว่าสามารถดักจับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมได้ตามธรรมชาติ ซึ่งอีกชนิดหนึ่งก็คือ \"N. rafflesiana\" นอกจากนี้ยังมีสัตว์มีกระดูกสันหลัง รวมถึงกบ สัตว์เลื้อยคลาน และนกบางชนิด แต่โดยปกติแล้วอาหารของมันก็คือแมลงและมด", "title": "Nepenthes rajah" } ]
952
เจียงฮายเกมส์ มีการแข่งขันกีฬาทั้งหมดกี่ประเภท?
[ { "docid": "988128#1", "text": "ในครั้งนี้มีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันรวมทั้งสิ้น 12,847 คน จาก 77 จังหวัด มีกีฬาที่แข่งขันทั้งหมด 41 ชนิดกีฬา ประกอบไปด้วย กีฬาบังคับ จำนวน 2 กีฬา, กีฬาสากล จำนวน 38 กีฬา และกีฬาอนุรักษ์ 1 กีฬา ซึ่งครั้งนี้ได้จัดการแข่งขันภายใน 28 สนาม ในจังหวัดเชียงราย และ 2 สนามในจังหวัดพะเยากับจังหวัดเชียงใหม่", "title": "กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 46" } ]
[ { "docid": "988128#7", "text": "พิธีปิดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 46 หรือ เจียงฮายเกมส์ เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เวลา 18:15 น. มีการแสดงทั้งหมด 2 ชุด และอีก 1 ชุดของเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งต่อไปที่จะจัดขึ้นในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเมื่อวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และประธานในพิธีมาถึงมีการแสดงชุดแรก คือ กี่ทอใจ ไหมเจียงฮาย นำโดยศิลปินแห่งชาติ แม่บัวเรียว รัตนมณีภรณ์ ได้แสดงการแสดงพื้นบ้านของชาวจังหวัดเชียงราย ต่อมาได้มีการเชิญธงจากตัวแทนนักกีฬาทั้งหมด 77 จังหวัดเข้าสู่สนาม ณัฐวุฒิ เรืองเวส รองผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย ฝ่ายกีฬาเป็นเลิศและวิทยาศาสตร์การกีฬา กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ ประธานในพิธีกล่าวปิดการแข่งขัน ได้มีการชักธงชาติ, ธงการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ และธงประจำจังหวัดเชียงรายลงจากเสา มีการแสดงชุดที่ 2 คือ สี่หู ห้าตา คานิว้าว พร้อมกับการดับไฟในกระถางคบเพลิงลง ณ ที่นี้มีการแสดงจากจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งจะเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติใครั้งถัดไป", "title": "กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 46" } ]
347
อินเตอร์เน็ตไร้สายคืออะไร?
[ { "docid": "42409#0", "text": "แลนไร้สาย (English: wireless LAN) หรือ WLAN คือ เทคโนโลยีที่เชื่อมอุปกรณ์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยใช้วิธีการกระจายแบบไร้สาย (ส่วนใหญ่แล้ว จะใช้คลื่นวิทยุแบบกระจายความถี่ หรือ OFDM(English: Orthogonal Frequency Division Multiplex) และโดยปกติแล้ว จะมีการเชื่อมต่อผ่านทาง Access Point (AP) เพื่อเข้าไปยังโลกอินเทอร์เน็ต แลนไร้สายทำให้ผู้ใช้สามารถนำพาหรือเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปยังพื้นที่ใดก็ได้ที่มีสัญญาณของแลนไร้สาย และยังสามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้ตามปกติ WLANs ที่ทันสมัยส่วนใหญ่​​จะมีพื้นฐานมาจากมาตรฐาน IEEE 802.11 ที่ถูกวางตลาดภายใต้ชื่อแบรนด์ Wi-Fi. ครั้งหนึ่ง WLANs เคยถูกเรียกว่า LAWN (local area wireless network) โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ[1]", "title": "แลนไร้สาย" } ]
[ { "docid": "635314#55", "text": "ส่วนติดต่อผู้ใช้ ฟรอนท์โรลไม่มีฟังก์ชันบางอย่างเหมือน iTunes รวมถึงการให้เรทติ้ง, การตรวจสอบยอดเงินในบัญชี, การเพิ่มเงินในบัญชี, การซิงค์ที่จากคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่อง, สนับสนุน(วิทยุทางอินเตอร์เน็ต) เต็มรูปแบบ, และเกมส์.", "title": "แอปเปิลทีวี" }, { "docid": "705922#11", "text": "ปริมณฑลสาธารณะในงานของฮาเบอร์มาสนั้นได้ถูกสร้างขึ้นในช่วงทศวรรษ 1990 ซึ่งเป็นช่วงที่เครือข่ายการสื่อสารไร้สาย หรือ อินเตอร์เน็ตนั้นเพิ่งถูกนำมาใช้ประโยชน์ในทางสาธารณะเป็นช่วงแรกๆ เพราะการเปลี่ยนแปลงในทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารนี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อพื้นที่สาธารณะให้กลายเป็นพื้นที่ๆไร้พรมแดน และไม่จำกัดขนาดภายใต้สังคมในยุคโลกาภิวัตน์ (globalization) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสของเครือข่ายสังคม (social network) ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 2000 ซึ่งเป็นพื้นที่ชนิดใหม่ที่สามารถก้าวข้ามกาลเวลา และสถานที่ ยังผลให้การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แม้กระทั่งในระดับโลก (global) ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็นจำนวนมากได้อย่างที่มิเคยปรากฏขึ้นมาก่อน สิ่งเหล่านี้นี่เองที่นำไปสู่ปรากฏการณ์ที่ปัจเจกบุคคลสามารถติดต่อสื่อสารในระดับ “มวลชน” กับพลเมืองคนอื่นๆ ในโลกได้ในคราวเดียว", "title": "ปริมณฑลสาธารณะ" }, { "docid": "765678#0", "text": "ยูทูบ เรด () คือ บริการที่เก็บค่าธรรมเนียมจากสมาชิกที่ยูทูบได้มอบให้กับผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา โดยให้การดูวีดีโอในยูทูบได้โดยปราศจากโฆษณา ดาวน์โหลดวีดีโอมาเก็บไว้เพื่อดูออฟไลน์เวลาไม่มีอินเตอร์เน็ต รวมไปถึงการเล่นวีดีโอเบื้องหลังในโทรศัพท์ การเข้าถึงเนื้อหาใหม่ๆที่ไม่เคยมีทีอื่น และการเข้าถึงเพลงโดยไม่มีโฆษณาในเดือนพฤศจิกายน ปีพ.ศ. 2557 ยูทูบ เรด ให้การฟังเพลงออนไลน์โดยไม่มีโฆษณาจากค่ายเพลงบนยูทูบและกูเกิ้ล เพล มิวสิค การบริการนั้นถูกเปิดตัวอีกรอบด้วยชื่อ ยูทูบ เรด เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ปีพ.ศ. 2558 โดยเพิ่มขอบเขตเพื่อให้การเข้าถึงโดยปราศจากโฆษณาแก่วีดีโอทั้งหมดในยูทูบ ไม่ใช่เพียงแค่ดนตรีเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาพรีเมี่ยมซึ่งถูกจัดทำขึ้นในความร่วมมือกับผู้ทำและคนดังในยูทูบ", "title": "ยูทูบ เรด" }, { "docid": "635314#12", "text": "ส่วนควบคุมโดยผู้ปกครอง (Parental controls) จะอนุญาตให้ผู้ปกครองจำกัดสิทธิ์เด็กในปกครองในการเข้าถึงสื่อทางอินเตอร์เน็ต ผ่านทาง Restrictions setting ส่วน individual services สามารถในการปิดได้ (อย่างเช่น, เพื่อลดความซับซ้อนในการใช้งาน), และ icons สามารถในการจัดโดยการลากแปะได้แบบ \"à la\" iOS. มีเดียอินเตอร์เน็ตถูกแบ่งเป็น 4 กลุ่มได้แก่ \"Internet Photos\", \"YouTube\", \"Podcasts\", และ \"Purchase and Rental\" ในแต่ล่ะกลุ่มจะถูกควบคุมโดยส่วนควบคุมโดยผู้ปกครอง (Parental control) ด้วย \"Show\", \"Hide\" และ \"Ask\" เพื่อแสดงหน้าจอการกรอกตัวเลขรหัส 4 หลัก ในได้เพิ่ม movies, TV shows, music และ podcasts ให้สามารถควบคุมโดยระดับความเหมาะสมในการรับชม (Rating)", "title": "แอปเปิลทีวี" }, { "docid": "333160#3", "text": "บริษัท ยังมีการใช้เทคนิคความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต เพิ่มการสนับสนุนสำหรับสาเหตุของ ตาม Christopher Palmeri กับ BusinessWeek Online บริษัท เว็บไซต์ ที่มีเจตนาที่จะบวกมีผลต่อภาพลักษณ์ของตัวเองเพื่อให้ความดันลบในคู่แข่งที่ มีผลต่อความคิดเห็นภายในกลุ่มเลือกและผลักดันการเปลี่ยนแปลงนโยบาย", "title": "ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต" }, { "docid": "299451#2", "text": "19 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 ลูคัสฟิล์มได้แถลงข่าวที่งานคอมิกคอนซานดิเอโกว่าภาพยนตร์การ์ตูนชุดนี้จะได้รับการผลิตต่ออีก 12 ตอน เพื่อเป็นการจบเรื่องราวของภาพยนตร์การ์ตูนชุดนี้ โดยจะออกฉายทางช่องรายการทางอินเตอร์เน็ตของดิสนีย์", "title": "สตาร์ วอร์ส: เดอะ โคลน วอร์ส" }, { "docid": "880471#0", "text": "คิงออฟโปรเรสต์ลิง () เป็นรายการมวยปล้ำอาชีพของ นิวเจแปนโปรเรสต์ลิง (NJPW) เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 2012 โดยจัดทุกเดือนตุลาคม ศึกนี้ยังออกอากาศในระดับนานาชาติด้วยเช่นกันทางช่องอินเตอร์เน็ตเพย์-เพอร์-วิว (iPPV) ต่อมาในปี ค.ศ. 2015 ได้ถูกย้ายไปอยู่ในช่องเว็บไซต์สตรีมมิ่งอินเทอร์เน็ตทั่วโลกของ NJPW คือ NJPW World สร้างสรรค์โดย Bushiroad บริษัทแม่หลักที่ซื้อ NJPW ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2012", "title": "คิงออฟโปรเรสต์ลิง" }, { "docid": "983868#2", "text": "ชาวอินเตอร์เน็ตยกรูล 34 ให้กลายเป็นมีม และสื่อลามกทางอินเตอร์เน็ต โดยรวมกับแฟนฟิกชั่น, สแลชฟิกชั่น และเฮนไต", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "923153#1", "text": "ในปี 2008 มีสำนักงานการบริการการติดต่อสื่อสารระดับท้องถิ่นมากกว่า 52000 แห่ง ที่คอยให้บริการด้านคมนาคมในชนบท มีสายโทรศัพท์ในอิหร่านมากกว่า 24 ล้านสาย มีอัตราการขยายร้อยละ 33.66 อิหร่านมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ต 43 ล้านคนเป็นข้อมูลบันทึกในตะวันออกกลางแม้ว่าระดับความแรงของอินเตอร์เน็ตจะอยู่ในเกณฑ์ต่ำก็ตาม อิหร่านติดหนึ่งในห้าประเทศที่ ณ.ตอนนี้อัตราการเจริญเติบโตไปถึงร้อยละ 20 ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในการขยายการสื่อสารโทรคมนาคมทางไกล เพราะอิหร่านมีสำนักงานบริการการติดต่อสื่อสารระดับท้องถิ่นอย่างกวางขวางทำให้ได้รับประกาศนียบัตรพิเศษจากยูเนสโก ในปลายปี 2009 การสื่อสารโทรคมนาคมอิหร่านมีรายได้ 9.2 ล้านดอลลาร์และถูกรู้จักในฐานะตลาดใหญ่อันดับสี่ของภูมิภาค และคาดว่าจะมีรายได้ถึงร้อยละ 6.9  กับรายได้ 12.9 ดอลลาร์ในปี 2014 ", "title": "การสื่อสารในประเทศอิหร่าน" }, { "docid": "333160#2", "text": "ในปี 2004 การอภิปรายของผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี ในสหรัฐอเมริกา Carol Darr ผู้อำนวยการสถาบันการเมืองประชาธิปไตยและอินเทอร์เน็ต ที่มหาวิทยาลัย George Washington ในรัฐวอชิงตัน.ดี.ซี กล่าวว่าผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อดึงดูดสนับสนุน \"พวกเขาทั้งหมดมีความสามารถพิเศษ นอกรีต และลุกลาม ให้อินเทอร์เน็ตมีการโต้ตอบและต้องมีการยืนยันในส่วนของผู้ใช้ให้ตรงข้ามกับการตอบสนองจากผู้ใช้ passive TV มันไม่น่าแปลกใจที่ผู้สมัครจะต้องมีคนที่คนต้องการสัมผัสและโต้ตอบกับ", "title": "ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต" }, { "docid": "201017#1", "text": "เอียน ราฟเฟอร์ตี้ เด็กหนุ่มวัยย่างสิบแปด ได้ตัดสินใจออกเดินทางไปพร้อมกับ แลนส์ และเฟลิเซีย เพื่อนของเขา เพื่อที่จะได้ทำความฝันของเขาให้เป็นจริง ด้วยการเสียความบริสุทธ์ให้กับสาวฮ๊อตที่เขาเจอทางอินเตอร์เน็ต", "title": "แอ้มติดล้อ ไม่ขอเวอร์จิ้น" }, { "docid": "983868#1", "text": "ไม่มีใครรู้ว่า รูล 34 เกิดจากอะไร แต่มีหลักฐานว่า รูล 34 เกิดขึ้นครั้งแรกใน4chanเมื่อปี 1993 หลังจากนั้นในปี 2003 เว็บโคมิกได้ให้นิยามว่า \"รูล 34: มีงานลามกแน่นอน ไม่มีข้อยกเว้น\" หลังจากนั้น รูล 34 ถูกบัญญัติในเออร์เบินดิกชันแนรีเมื่อปี 2006", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "333160#0", "text": "ความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต () หรือ การจัดระเบียบรูปแบบของการออนไลน์ การสนับสนุนอิเล็กทรอนิกส์ ความเคลื่อนไหวทางโลกไซเบอร์, E-campaigning และ E-activism คือการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล เว็บไซต์ และโปสการ์ด โดยการเคลื่อนไหวของประชาชนและการส่งข้อมูลท้องถิ่นผู้ชมจำนวนมาก เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ใช้ก่อให้เกิดการระดมทุนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุมชน, lobbying และการจัดการ", "title": "ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต" }, { "docid": "510954#2", "text": "การเขียนวิจารณ์หนังของตนเองโดยใช้ชื่ออื่นมีมาก่อนยุคอินเตอร์เน็ต แต่ก็นับว่าเป็นหุ่นเชิดได้ โดยมีตัวอย่างจากผู้มีชื่อเสียง เช่น วอล์ท วิธแมน แอนโนที เบอร์เกส และเบนจามิน แฟรงคลิน", "title": "หุ่นเชิด (อินเทอร์เน็ต)" }, { "docid": "635314#28", "text": "สื่อสตรีมของแอร์พอร์ตเอ็กเพรสสามารถใช้ Apple's Remote Audio Output Protocol (RAOP), เป็นโพรโตคอลหนึ่งใน RTSP/RTP ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของแอปเปิล การใช้ WDS-bridging, แอร์พอร์ตเอ็กเพรสสามารถให้การทำงานแอร์เพลย์ (อย่างเช่น การติดต่ออินเตอร์เน็ต แชร์ไฟล์ และ การแชร์การพิมพ์ เป็นต้น)ในระยะทางไกลได้ถึง 10 ไคลเอนต์ทั้งการสื่อสารถ่าน สาย และไร้สาย", "title": "แอปเปิลทีวี" }, { "docid": "983868#0", "text": "กฎข้อที่ 34 () เป็นอินเทอร์เน็ตมีมที่เกี่ยวกับงานลามกในอินเตอร์เน็ต", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "983868#6", "text": "บางครั้งกฎข้อที่ 34 จะมีคำว่า \"ไม่มีข้อยกเว้น\" และเชื่อมโยงไปยังกฎข้อที่ 35 เช่น:", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "983868#5", "text": "กฎนี้เป็นกฎธรรมดาที่เป็นกระแสในอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น:", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "935035#2", "text": "ความวิตกกังวลจะถูกกระตุ้นจากการทำมือถือหาย สัญญาณโทรศัพท์ไม่มีหรือแบตเตอรี่หมด อาการของโรครวมไปถึงการใช้มือถือมากเพื่อกันตัวเองจากการสนทนากับผู้อื่น และมีอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตมากกว่าหนึ่งเครื่อง พกสายชาร์จตลอดเวลาและกังวลว่ามือถือจะหาย อาการอาจรวมไปถึงการลดการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นแบบต่อหน้าและชอบการสื่อสายผ่านเทคโนโลยี ไม่ปิดมือถือเวลานอนทั้งยังวางไว้ใกล้มือตลอดเวลา คอยเช็คมือถือตลอดเพื่อไม่ให้พลาดการรับสายหรือข้อความ โนโมโฟเบียอาจส่งผลให้เกิดการอาการเจ็บศอก มือ และคอเนื่องจากใช้มือถือบ่อย ๆ", "title": "โรคกลัวการขาดมือถือ" }, { "docid": "983868#3", "text": "ในขณะที่รูล 34 เริ่มเป็นกระแส ทางเดอะเดลีเทลิกราฟได้จัดให้รูล 34 เป็นอันดับ 3 จาก 10 อันดับกฎของอินเตอร์เน็ตในปี2009", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "973743#0", "text": "แซมสัน อบิออย (25 มีนาคม ค.ศ. 1991 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2017) เคยเป็นโปรแกรมเมอร์ คอมพิวเตอร์ และผู้ประกอบการอินเตอร์เน็ต. ในปี ค.ศ. 2013 แซมสัน อบิออยได้ก่อตั้ง pass.ng เพื่อช่วยนักเรียน และฝึกฝนการสอบระดับชาติ", "title": "แซมสัน อบิออย" }, { "docid": "635314#25", "text": "แอปเปิลทีวีวิดีโอสตรีมต่อผ่านสาย HDMI (Type A) ไปยังช่อง HDMI ของโทรทัศน์ ระบบเสียงสนับสนุนผ่านทางเส้นใยนำแสง (optical) หรือช่อง HDMI ในอุปกรณ์ยังมีช่อง Micro-USB ที่สงวนไว้สำหรับการปรับปรุงอุปกรณ์และการตรวจสอบ อุปกรณ์ยังสามารถต่อ Ethernet หรือ Wi-Fi เพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์สำหรับการรับดิจิตอลคอนเทนท์จากอินเตอร์เน็ตและเครือข่าย แอปเปิลทีวีเองไม่มีการต่อ ระบบเสียงและ ภาพ หรือสายแบบอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นเพื่อรองรับ ภาพ เสียง หรือสายเคเบิ้ลอื่นๆที่เป็นต่อการใช้งานต้องการเพิ่มเติม ในแอปเปิลทีวีรุ่นก่อน ไฟล์ข้อมูลสามารถโอนย้ายโดยตรงจากเครื่องแอปเปิลทีวีไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นโดยการซิงค์ เมื่อคอนเทนท์ถูกเก็บไว้ที่ฮาร์ดไดร์ของแอปเปิลทีวีแล้ว การต่ออินเตอร์เน็ตก็จำไม่เป็นต้องใช้งานในการดูคอนเทนท์นั้นๆ. ซึ่งจะไม่ได้พบในแอปเปิลทีวีรุ่นหลังๆที่ไม่มีฮาร์ดไดร์ในเครื่อง", "title": "แอปเปิลทีวี" }, { "docid": "85162#4", "text": "เมื่อเราเตอร์หลายตัวถูกใช้ในเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างกัน, เราเตอร์แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับ address ปลายทางโดยใช้โพรโทคอลการกำหนดเส้นทางแบบไดนามิก เราเตอร์แต่ละตัวจะสร้างตารางแสดงรายการเส้นทางที่พอใจ ระหว่างสองระบบบนเครือข่ายที่เชื่อมโยงกัน เราเตอร์มีอินเตอร์เฟซทางกายภาพสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายที่ประเภทแตกต่างกัน (เช่นสายทองแดง, ใยแก้วนำแสงหรือการส่งไร้สาย) นอกจากนี้ยังมีเฟิร์มแวร์สำหรับเครือข่ายการสื่อสารที่มีมาตรฐานของโพรโทคอลแตกต่างกัน อินเตอร์เฟซแต่ละเครือข่ายจะใช้ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์นี้โดยเฉพาะเพื่อให้สามารถส่งแพ็กเก็ตข้อมูลไปข้างหน้าจากระบบการส่งผ่านโพรโทคอลหนึ่งไปยังอีกระบบหนึ่ง", "title": "เราเตอร์" }, { "docid": "787719#0", "text": "ปอลอทีวี () เป็นสถานีโทรทัศน์ภาษาโปแลนด์ ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่เพลงโดยเฉพาะค่ายแลมอนเรเคิดส์ ทดลองออกอากาศผ่านอินเตอร์เน็ตเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 2011 และเปิดตัวเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 2011", "title": "ปอลอทีวี" }, { "docid": "907544#24", "text": "7) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สนับสนุนการวางระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พร้อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์", "title": "โรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา" }, { "docid": "983868#4", "text": "คอรีย์ ดอกโตโรว์ ได้บอกว่า \"รูล 34 มักจะเป็นเว็บไซต์รูปภาพที่ดูแปลกตา, น่าสนใจ และแปลกประหลาด...\"", "title": "รูล 34 (อินเตอร์เน็ตมีม)" }, { "docid": "333160#1", "text": "Sandor Vegh ได้แบ่งความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ตออกเป็น 3 ประเภทคือ ความตระหนักการโฆษณา, องค์กรระดม และการกระทำปฏิกิริยาอินเทอร์เน็ตเป็นทรัพยากรที่สำคัญสำหรับกิจกรรมอิสระหรือ E – activists โดยเฉพาะที่มีข้อความอาจใช้เคาน์เตอร์ที่สำคัญโดยเฉพาะเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงเกิดขึ้น อินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งจำเป็นในการรายงานความโหดร้ายสู่โลกภายนอก ผู้สร้างความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ตยังสามารถส่งการร้องทุกข์ผ่านทาง E-petitions ที่จะส่งไปยังรัฐบาลและประชาชนและองค์กรเอกชนเพื่อประท้วงต่อต้านและกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงนโยบายในด้านบวกจากการค้าอาวุธการทดสอบสัตว์ มากมายไม่หวังผลกำไรและองค์กรการกุศลใช้วิธีการเหล่านี้ส่งอีเมลร้องเรียนไปยังผู้ที่รายชื่ออีเมลของพวกเขาถามคนที่จะผ่านพวกเขา", "title": "ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต" }, { "docid": "333160#4", "text": "Sunstein กล่าวกับนิตยสาร \"นิวยอร์กไทมส์\" ว่า \"การสนทนาจะเกี่ยวกับกลยุทธ์หรือม้าแข่ง...ปัญหาหรือว่าไม่ดีผู้สมัครอื่น ๆ และจะดูเหมือนการอภิปราย ยังไม่ได้เช่นนี้ควรจะเซ็นเซอร์ แต่สามารถเพิ่มความเผ็ดร้อน, ลัทธิหัวรนแรงเพิ่มขึ้นและทำให้ความเข้าใจยากขึ้น\"", "title": "ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต" }, { "docid": "33148#1", "text": "มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต ได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้สายทั่วมหาวิทยาลัยมากที่สุดในปี พ.ศ. 2548 โดยทำการสำรวจโดยบริษัทอินเทล", "title": "มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต" }, { "docid": "14971#1", "text": "เครื่องพิมพ์ส่วนมากเป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ทั่วไป และเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิลเครื่องพิมพ์หรือในเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่จะเป็นสายยูเอสบี เครื่องพิมพ์บางชนิดที่เรียกกันว่าเครื่องพิมพ์เครือข่าย(Network Printer) อินเตอร์เฟซที่ใช้มักจะเป็นแลนไร้สายและ/หรืออีเทอร์เน็ต ", "title": "เครื่องพิมพ์" } ]
904
ภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ออกฉายครั้งแรกเมื่อไหร่?
[ { "docid": "258608#5", "text": "ต้นกำเนิดของ Transformers เกิดปี ค.ศ. 1972 ที่บริษัท Takara (ปัจจุบันคือ Takara Tomy) เริ่มออกของเล่นชุด ไมโครแมน ในญี่ปุ่น ของเล่นในชุดนี้ส่วนใหญ่จะเป็นหุ่นฟิกเกอร์และก็ได้รับความนิยมอย่างมาก จนในปี 1980 Takara ได้พัฒนาของเล่นชุดนี้เป็น New Microman พร้อมทั้งออกของเล่นชุดใหม่คือชุด Diaclone ที่จะเน้นไปที่หุ่นยนต์อย่างเดียว จนกระทั่งปี 1982 Takara จึงเริ่มออกของเล่นหุ่นยนต์แปลงร่างจากยานพาหนะในโลกของความเป็นจริงออกมา ทั้งชุด ไมโครแมน และชุด Diaclone พร้อมๆกัน หลังจากนั้นบริษัท Hasbro ของสหรัฐอเมริกาก็ได้ทำการนำ Diaclone ไปขายในสหรัฐอเมริกาในชื่อ Transformers และกลับมาขายในญี่ปุ่น จนเกิดคดีความฟ้องร้องขึ้นมาเรื่องการมีสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายและเจ้าของลิขสิทธิ์ของทรานส์ฟอร์มเมอร์สขึ้นมา เนื่องจาก Hasbro ได้ทำการช่วงชิงการจดลิขสิทธิ์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์สไปก่อนผู้ให้กำเนิดอย่างTAKARA ทำให้เกิดการฟ้องร้องขึ้นมา โดยสุดท้ายแล้ว สิทธิ์ในการจัดจำหน่ายของทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ในญี่ปุ่น คือ TAKARA ผู้ซึ่งเป็นเจ้าของที่แท้จริงและบิดาผู้ให้กำเนิดทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ส่วนHasbro ได้รับสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายทรานส์ฟอร์มเมอร์สทั่วโลก (ยกเว้นญี่ปุ่น) ในระหว่างนั้นHasbro ได้ประกาศให้ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ทำเป็นแอนิเมชันฉายทางโทรทัศน์โดยร่วมมือบริษัท มาร์เวล คอมมิค (ซึ่งเป็นเจ้าแรกในการทำหนังสือการ์ตูนชุดนี้) และบริษัท โตเอะ แอนิเมชัน ของญี่ปุ่น ฉายครั้งแรกในปี 1983 ที่อเมริกาทั้งหมด 13 ตอน จุดประสงค์คือเป็นการ์ตูนโฆษณาขายของเล่นแต่ไม่ประสบความสำเร็จ Transformers กลับมาอีกครั้ง ในปี 1984 โดยใช้สโลแกน \"More Than Meets The Eye\" และลองมาคือ \"Robot in Desguise\" ประสบความสำเร็จแบบถล่มทลาย ทาง Hasbro จึงทำแอนิเมชันภาคต่อเป็น Season 2 โดยแบ่งเป็น 3 ทีมงานใหญ่ๆคือ ทีมอเมริกา แอนิเมชันถูกผลิตขึ้นโดยบริษัทSunbow และ ทีมญี่ปุ่นโดยบริษัทToei และทีมเกาหลีโดยบริษัทแอนิเมชันโนเนม เพื่อที่จะกระจายงานผลิตตแอนิเมชันให้เร็วยิ่งขึ้นทำให้ภาพบางตอนในการ์ตูน เรื่องนี้แย่ถึงแย่มากโดยในซีซั่น 2 ของเรื่องนี้ถูกจัดว่าเป็นงานเผามากเพราะเนื้อเรื่องไม่เชื่อมกับตอนที่ฉาย และการปรากฏตัวของตัวละครใหม่ๆโดยไม่ได้บอกที่มาที่ไป เป็นเพราะการกระจายงานให้หลายทีมงานทำ ทำให้ความเข้าใจในเรื่องไม่ตรงกัน (สังเกตได้จากแอนิเมชันซึ่งถ้าตอนไหนภาพ ไม่ผิดเพี้ยนวาดหุ่นได้สวยจะเป็นทีมญี่ปุ่นทำแต่ถ้าภาพแย่และการเคลื่อนไหว ผิดพลาดบ่อยๆจะเป็นฝีมือของทีมอเมริกาและเกาหลี) Transformers ฉายที่ญี่ปุ่นครั้งแรกในปี 1985 โดยใช้ชื่อใหม่ว่า Fight! Super Robot Lifeform Transformers (戦え! 超ロボット生命体 トランスフォーマ Tatakae! Ch? Robotto Seimeitai Transformers) ซึ่งก็ประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งแอนิเมชันและของเล่น ในปีนั้น Takara จึงตัดสินใจยกเลิกการผลิต Diaclone และแยก ไมโครแมน ออกไปเป็นซีรีส์ของตนเอง รวมไปถึงดำเนินการผลิตของเล่นหุ่นยนต์แปลงร่างในชื่อ Transformers จนถึงปัจจุบัน", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส" } ]
[ { "docid": "248507#0", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น () เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวนวนิยายวิทยาศาสตร์ โลดโผน ออกฉายวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ในสหราชอาณาจักรและในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ในอเมริกาเหนือ เป็นภาคต่อของ \"ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล\" ที่ฉายเมื่อปีคริสต์ศักราช 2007 โดยไมเคิล เบย์และสตีเวน สปีลเบิร์ก กลับมารับหน้าที่เป็นผู้กำกับและผู้อำนวยการสร้าง ตามลำดับ ขณะที่ไชอา เลอบัฟก็รับบทเดิมคือ แซม วิทวิคกี้ มนุษย์ที่อยู่ภายใต้สงครามระหว่างออโต้บอทส์และดีเซปติคอนส์ ในภาพยนตร์ยังมีหุ่นใหม่ ๆ เพิ่มอีกหลายตัวและยังขยายอาณาเขตไปหลายประเทศ โดยเฉพาะที่เด่นชัดใน เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ฝรั่งเศส และอียิปต์", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น" }, { "docid": "509287#0", "text": "เดอะ ฟอลเลน () เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers)", "title": "ฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "813077#0", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015 (Transformers : Robots in Disguise 2015) คือการ์ตูนชุดทรานส์ฟอร์มเมอร์สจบในตอนที่จัดสร้างโดย ฮาสโบร สตูดิโอ และ ดาร์บี้ ป๊อป โปรดักชั่นส์ โดยเป็นภาคที่มีความเกี่ยวเนื่องกับละครชุด ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม ออกอากาศทางการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ในสหรัฐอเมริกา โดยการ์ตูนชุดนี้ได้บริษัท โพลีกอน พิกเจอร์ส (Polygon Pictures) สตูดิโอผลิตแอนิเมชันชั้นนำ มาร่วมจัดทำแอนิเมชันในการ์ตูนเรื่องนี้ และยังได้นักพากย์ชั้นนำมาร่วมให้เสียงพากย์เหล่าหุ่นยนต์ทรานส์ฟอร์มเมอร์สหลายท่าน อาทิ วีล เฟรดลี่ , คอนสแตนส์ ซิมเมอร์ , ดาร์เรน คริส , และ ปีเตอร์ คัลเลน ส่วนฉบับการ์ตูนเน็ตเวิร์กในประเทศไทยนั้น ก็ยังได้เหล่านักพากย์ชาวไทยชั้นนำอย่าง คมสรร รัตนากรบดี , จักรรัตน์ ศรีรักษ์ , นนท์ ศรีโพธิ์ , โสภิชา อุ่นสมัย และนักพากย์ไทยอีกมากมาย", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015" }, { "docid": "258608#31", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 2010 ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส เฮดมาสเตอร์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โชวจินมาสเตอร์ฟอร์ซ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส วิกตอรี่ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โซน ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส คาร์โรบ็อต ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ตำนานไมครอน ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ซูเปอร์ลิงก์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส แกแล็คซี่ ฟอร์ซ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อะนิเมเต็ด ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส เรสคิว บอทส์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส" }, { "docid": "329182#4", "text": "แจ็สได้สละชีวิต เพราะต่อสู้กับเมกาทรอน ในภาพยนตร์คนแสดง เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล", "title": "แจ็ส (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "329221#5", "text": "ภาพยนตร์คนแสดงเรื่องแรกที่อาร์ซีได้ปรากฏตัว ในฉบับภาพยนตร์คนแสดง คือ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น อาร์ซีได้ถูกประกอบจากหุ่นยนต์เพศหญิงที่แยกต่างหากกัน 3 ตัว ซึ่งสามารถแปลงร่างไปเป็นมอเตอร์ไซค์ได้", "title": "อาร์ชี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "329031#0", "text": "บัมเบิล () / บัมเบิลบี (BUMBLEBEE) คือ ชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ชื่อนี้มาจากสีของตัวละคร ที่เป็นสีเหลืองสลับดำ คล้ายกับสีของผึ้งบัมเบิลบี", "title": "บัมเบิลบี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "512402#1", "text": "ภายหลังจากที่การ์ตูนเน็ตเวิร์กได้ออกอากาศตอนจบของฤดูกาลที่ 3 ไปไม่นานนัก ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ก็ได้มีการออกอากาศการ์ตูนทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม ตอนพิเศษ โดยสร้างขึ้นในรูปแบบภาพยนตร์สั้น ความยาวประมาณ 1 ชั่วโมง โดยใช้ชื่อเรื่องว่า ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม: บีสท์ ฮันเตอร์ส พรีเดคอนส์ ไรซิ่ง (Transformers Prime: Beast Hunters - Predacons Rising)", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม" }, { "docid": "328951#0", "text": "คอนวอย () หรือ ออพติมัส ไพรม์ () เป็นตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส", "title": "คอนวอย (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "140957#0", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล () เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ในประเทศไทย กำกับโดยไมเคิล เบย์ นำแสดงโดย ไชอา ลาบัฟ, ไทรีส กิ๊บสัน, จอช ดูฮาเมล,แอนโธนี่ แอนเดอร์สัน, มีแกน ฟ็อกซ์, เรเชล เทย์เลอร์, จอห์น เทอร์เทอร์โร่, จอน วอยต์, เควิน ดันน์, ไมเคิล โอนีลล์, จูลี่ ไวต์, อเมารี โนลาสโก ", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล" }, { "docid": "512402#14", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไพร์ม" }, { "docid": "362293#0", "text": "ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 3 (English: Transformers: Dark of the moon) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนววิทยาศาสตร์ และ แนวแอ็คชั่นบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ มีต้นแบบมาจากหุ่นยนต์ของเล่นชุดทรานส์ฟอร์เมอร์สที่สามารถแปลงร่างได้ เริ่มออกฉายครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ปีพุทธศักราช 2554 สำหรับภาคนี้ เป็นภาคที่สามของภาพยนตร์ชุดเรื่องนี้ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่สืบเนื่องมาจากภาพยนตร์ ทรานส์ฟอร์เมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น ที่ออกฉายใน พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นเนื้อเรื่องที่ต่อมาภายหลัง 3 ปี ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ต่อเนื่องเรื่องแรกที่บริษัท ดรีมเวิร์กส ไม่ได้จัดจำหน่าย และมอบให้ พาราเมาต์พิกเจอร์ส เป็นเจ้าของผลงานแต่เพียงผู้เดียว", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3" }, { "docid": "508662#6", "text": "ในทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ซีรีส์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส :เอ็นเนอร์จอน ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส : ไซเบอร์ตรอน และ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ไทเทเนี่ยม) ให้เสียงสกอร์โปนอค ภาคภาษาอังกฤษโดย โคลิน เมอร์ด็อร์ค (Colin murdock) ให้เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ยาซึโนริ มาซึทานิ (Yasunori Masutani)", "title": "สกอร์โปนอค" }, { "docid": "362293#9", "text": "หมวดหมู่:ภาพยนตร์โดยพาราเมาต์พิกเจอส์ หมวดหมู่:ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในรัฐฟลอริดา หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในลอสแอนเจลิส หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2554 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในชิคาโก หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในรัฐมิชิแกน หมวดหมู่:ภาพยนตร์ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีฉากในฮ่องกง หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในรัฐอินดีแอนา หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่สร้างจากภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีฉากในวอชิงตัน ดี.ซี. หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่กำกับโดย ไมเคิล เบย์ หมวดหมู่:ภาพยนตร์อเมริกัน หมวดหมู่:ภาพยนตร์แอ็คชั่น หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีฉากในชิคาโก หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไซไฟ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในฮ่องกง หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีฉากในลอสแอนเจลิส หมวดหมู่:ภาพยนตร์หุ่นยนต์", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3" }, { "docid": "258608#33", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล‎ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3 ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติยุคสูญพันธุ์ ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย บัลเบิลบี(2018)", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส" }, { "docid": "329221#0", "text": "อาร์ชี (, ) เป็นตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส", "title": "อาร์ชี (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "505031#2", "text": "ชอคเวฟ ได้หวนกลับมาสู่บริษัทผู้ผลิตของเล่น ประเภทหุ่นยนต์จากภาพยนตร์เรื่องทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ภายในสหรัฐอเมริกา ในทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ตอน ไซเบอร์ตรอน ปี ค.ศ.2005 (พ.ศ. 2548) ในภาคนี้ชอกเวฟทำการร่วมมือกับ แทงเคอร์ หุ่นยนต์ฝ่ายมินิคอน ซึ่งแทงเคอร์นั้น ในอดีตเคยเป็นหุ่นยนต์ฝ่ายออโต้บ็อทส์มาก่อน ถึงแม้ว่าชอกเวฟจะไปร่วมมือกับแทงเคอร์ แต่ก็ยังมีความจงรักภักดีต่อดีเซปติคอนส์อยู่ ", "title": "ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "553896#0", "text": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติยุคสูญพันธุ์ () เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี ค.ศ. 2014 และเป็นเรื่องที่ 4 ของภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ซึ่งต่อจากภาคทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3 นำแสดงโดย มาร์ก วาห์ลเบิร์ก กำกับการแสดงโดย ไมเคิล เบย์ และได้ สตีเวน สปีลเบิร์ก เป็นผู้อำนวยการบริหาร โดยออกฉายในประเทศไทยเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2014", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติยุคสูญพันธุ์" }, { "docid": "667783#1", "text": "เพลงนี้ประพันธ์โดยมือกลองของวง เดอะเรฟ เป็นเพลงที่สมาชิกทั้งวงได้ให้เสียงร้องประสานกันในเพลงพร้อมกันทุกคน โดยเฉพาะในท่อนคอรัสครั้งที่ 2 นอกจากนี้ เพลงนี้ได้รวมอยู่ในอัลบั้มประกอบภาพยนตร์ \"ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น\" เดิมได้กำหนดให้ออกในอัลบั้มประกอบภาพยนตร์ \"ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 1\" ในปี พ.ศ. 2550 แต่เพลงยังไม่เสร็จสมบูรณ์ในเวลานั้น ทำให้เลื่อนมาอยู่ในอัลบั้มภาคต่อมา", "title": "ออลโมสต์อีซี" }, { "docid": "329928#0", "text": "เมกะทรอน () เป็นชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส", "title": "เมกะทรอน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "408369#0", "text": "เซนทิเนล ไพรม์ คือ ชื่อตัวละครหุ่นยนต์ในตระกูลของไพรม์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส และยังเป็นตัวละครหลักที่มีบทบาทสำคัญในภาพยนตร์ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส 3", "title": "เซนทิเนล ไพรม์" }, { "docid": "507655#0", "text": "ดีวาสเตเตอร์ ( เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers) เป็นหุ่นยนต์ฝ่ายของ คอนสตรัคติคอนส์", "title": "ดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "813077#1", "text": "สำหรับในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2558 ทางช่อง 3 Family ได้นำทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015 (เฉพาะฤดูกาลที่ 1) มาออกอากาศ เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558 โดยใช้ชื่อเรื่องว่า \"ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส จักรกลพิทักษ์โลก\" และยังได้นักพากย์ไทยอีกหลาย ๆ ท่าน ที่มาร่วมให้เสียงพากย์ในฉบับ ช่อง 3 Family ด้วยเช่นกัน อาทิ อิทธิพล มามีเกตุ , ภิญโญ รุ่งสมัย ,จรัสกร ทิพย์ศรี , สิทธิสม มุทธานุกูลวงศ์ ฯลฯ", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส โรบอท อิน ดิสไกส์ 2015" }, { "docid": "505031#0", "text": "ชอกเวฟ () เป็นชื่อตัวละครหุ่นยนต์ฝ่ายเดสทรอน หรือ ดีเซปติคอนส์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers)", "title": "ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "329182#0", "text": "ไมนสเตอร์ () หรือ แจส () เป็นตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส", "title": "แจ็ส (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "330257#0", "text": "ซาวด์เวฟ (อังกฤษ:SOUNDWAVE) เป็นชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (TRANSFORMERS)", "title": "ซาวด์เวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "329602#0", "text": "เจ็ทไฟเออร์ หรือ เจ็ทไฟร์ ( . ) ชื่อตัวละครจากเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (TRANSFORMERS) ", "title": "เจ็ทไฟเออร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" }, { "docid": "258608#3", "text": "นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวที่เกิดในยุค 2000 ขึ้นอีก 4 ภาค ได้แก่ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส คาร์โรบ็อต , ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ตำนานไมครอน , ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส ซูเปอร์ลิงก์ และ ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส กาแล็คซี่ ฟอร์ซ", "title": "ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส" }, { "docid": "507655#5", "text": "ในฉบับการ์ตูน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส เจเนเรชั่น 1) ผู้ให้เสียงดีวาสเตเตอร์ ภาคภาษาอังกฤษ คือ อาร์เทอร์ เบอร์การ์ดท (Arthur burghardt) ให้เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ไซอิโซะ คาโตะ (Seizō Katō) และ ยู ชิมากะ (Yū Shimaka) ในภาพยนตร์คนแสดง (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น) ให้เสียงดีวาสเตเตอร์ ภาคภาษาอังกฤษโดย แฟรงค์ เวลเกอร์ (Frank welker)", "title": "ดีวาสเตเตอร์ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)" } ]
505
อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม เกิดเมื่อไหร่ ?
[ { "docid": "59044#0", "text": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม หรือ ปิ๊ง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 ด้านชีวิตสมรสกับ นนตรา คุ้มวงศ์", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" } ]
[ { "docid": "119112#13", "text": "ปิยะกานต์ บุตรประเสริฐ ยงยุทธ ทองกองทุน อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม ทรงยศ สุขมากอนันต์ อนุชา บุญยวรรธนะ เกรียงไกร วชิรธรรมพร เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นนทกร ผัดโพธิ์ โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ นัฏฐพล ทิมเมือง เมษ ธราธร ชัยพฤกษ์ เฉลิมพรพานิช คณิน กุลสุมิตราวงศ์ ศุภฤกษ์ นิงสานนท์ ฐชัย โกมลเพ็ชร์ ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค ฉันทวิชช์ ธนะเสวี ปัฏฐา ทองปาน ปิยะชาติ ทองอ่วม", "title": "จีเอ็มเอ็ม ไท หับ" }, { "docid": "287089#3", "text": "โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์เปิดทำการสอน เมื่อ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2475 โดยรับนักเรียนเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีหม่อมเจ้าหญิงศุขศรีสมร เกษมศรี ผู้ทรงก่อตั้งโรงเรียนเป็นอาจารย์ใหญ่พระองค์แรก ครั้งพระองค์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม หม่อมเจ้าพูนศรีเกษม เกษมศรีทรงดำเนินกิจการต่อมาจนสิ้นชีพิตักษัย เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2506\nหม่อมราชวงศ์ ทอร์ศรี (เกษมศรี) คงจำเนียร รับช่วงดำเนินการต่อมาตามแบบอย่างของทั้งสองพระองค์ และในปีพ.ศ. 2510 ได้ย้ายสถานที่ตั้งมายังแขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีพื้นที่ 75 ไร่ 157 ตารางวา หม่อมราชวงศ์ทอร์ศรี (เกษมศรี) คงจำเนียร ดำเนินกิจการโรงเรียนจนถึง พ.ศ. 2542", "title": "โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์" }, { "docid": "59044#2", "text": "แฟนฉัน (2546) หมากเตะรีเทิร์นส (ชื่อเดิม หมากเตะโลกตะลึง, 2549) รถไฟฟ้ามาหานะเธอ (2552) หวานขม บิทเทอร์สวีท บอย ป๊อด เดอะ ชอต ฟิล์ม (2552) รัก 7 ปี ดี 7 หน ตอน 21/28 (2555) (ภาพยนตร์สั้น) (2556) น้ำตากามเทพ (ละครโทรทัศน์) (2558)", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" }, { "docid": "59044#4", "text": "เนื้อคู่อยากรู้ว่าใคร (2553): ดี๋ - นิตินัย ห่อกลับบ้าน หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง (2554): สารวัตรอดิสรณ์ หมวดโอภาส เดอะซีรีส์ ปี 2 (2556): สารวัตรอดิสรณ์ Hormones วัยว้าวุ่น (2556): ครูสอนวิชาเคมี Hormones วัยว้าวุ่น Season 2 (2557): ครูสอนวิชาเคมี เนื้อคู่ The Final Answer (2557): ดี๋ - นิดินัย ห่อกลับบ้าน มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร (2558): ชัชชวาล ปานทอง (คนขับเครื่องบิน) Hormones 3 The Final Season (2558): ครูสอนวิชาเคมี ไดอารี่ตุ๊ดซี่ส์ เดอะซีรีส์ (2559): ตำรวจ", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" }, { "docid": "465606#1", "text": "นายเกษม นิมมลรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2507 เป็นชาวตำบลป่าแดด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของนายณรงค์ กับนางไชยยศ นิมมลรัตน์ มีพี่น้อง 4 คน สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต และปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่", "title": "เกษม นิมมลรัตน์" }, { "docid": "237288#4", "text": "มีการวิจารณ์จากสื่อมวลชนว่ารัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พยายามที่จะตอบแทนตำแหน่งให้เนื่องจากในสมัยที่นาย ชัยเกษม นิติสิริ ดำรงตำแหน่งอัยการสูงสุดได้มีคำสั่งไม่ฟ้องคดีที่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ฟ้องร้อง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีและยังเป็นหนึ่งในฐานะกรรมการกฤษฎีกาที่ได้ร่วมทำคำวินิจฉัยเรื่องเสร็จที่ 568-569/2549 เกี่ยวกับโครงการสลากพิเศษแบบเลขท้าย 2 ตัว 3 ตัวรวมทั้งสั่งไม่ฟ้อง การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เนื่องจากเขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และตำแหน่ง ประธานกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556", "title": "ชัยเกษม นิติสิริ" }, { "docid": "305683#0", "text": "อดิสรณ์ พึ่งยา หรือที่รู้จักกันดีในนามปากกาว่า JACKIE (แจ๊คกี้) เกิดเมื่อวันที่ ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ ใช้ชีวิตจนถึง7ขวบจึงกลับไปอยู่ บ้านเกิดของบิดามารดาที่ บ้านโพธิ์ ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสองพี่น้องวิทยา ปริญญาตรีจากคณะครุศาสตร์ (เอกพลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2535", "title": "อดิสรณ์ พึ่งยา" }, { "docid": "684064#0", "text": "น้ำตากามเทพ () เป็นละครโทรทัศน์ไทยในปี พ.ศ. 2558 ประเภทละครชุดแนวเมโลดราม่าเสียดสีสังคม ผลิตโดยจีทีเอชและหับโห้หิ้น บางกอก สร้างเรื่อง-เขียนบทและกำกับโดย อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ อังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา และ อภิษฎา เครือคงคา ออกอากาศทางช่องโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม จีทีเอชออนแอร์ และสถานีโทรทัศน์ฟรีทีวีดิจิตอลภาคพื้นดิน จีเอ็มเอ็ม 25 ", "title": "น้ำตากามเทพ" }, { "docid": "59044#6", "text": "หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี‎‎ หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย หมวดหมู่:365 ฟิล์ม หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสุราษฎร์ธานี หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" }, { "docid": "237288#1", "text": "จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ มัธยมปลายจาก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รุ่นที่ 28 และจบการศึกษาปริญญาตรีแผนกนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยทุนการศึกษา ประเภทเรียนดี จากมูลนิธิจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ต่อมาศึกษาระดับปริญญาโท L.L.M. จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนรัฐบาลตามความต้องการของกรมอัยการ(สำนักงานอัยการสูงสุด) และทุนของมูลนิธิ Starr ประเทศสหรัฐอเมริกา) และจบการศึกษาเนติบัณฑิต ไทยจากสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา", "title": "ชัยเกษม นิติสิริ" }, { "docid": "266789#32", "text": "หลังจากที่ภาพยนตร์ออกฉาย ได้รับกระแสตอบรับที่ดี เพลงประกอบภาพยนตร์ \"โปรดส่งใครมารัก\" ติดอันดับ 1 ของการดาวน์โหลด ต่างมีคู่คนหนุ่มสาวพากันไปเที่ยวท้องฟ้าจำลองมากขึ้น อีกทั้งแว่นตาที่ธีรเดชใส่ในเรื่อง มียอดขายเพิ่มขึ้นด้วย[28] เช่นเดียวกับกระเป๋ากุชชีที่ใช้ในเรื่อง คริสเล่าว่า มีพนักงานที่รู้จักกันบอกว่า ต้องสั่งกระเป๋ารุ่นดังกล่าวถึง 2 ครั้ง ส่วนแว่นตาเรย์แบน ผู้กำกับเล่าว่า ไปถามพนักงานของแว่นตาเรย์แบนตรงบูธที่ใช้ถ่ายทำภาพยนตร์ กล่าวว่า \"มีคนดูภาพยนตร์เสร็จ มีคนถือตั๋วหนังเดินลงมาซื้อเลย\"[10] ส่วนกระแสตอบรับในเว็บไซต์ จากกระทู้แนะนำในพันทิป \"ตามรอยสถานที่ในหนัง รถไฟฟ้า..มาหานะเธอ\"[29] ทางจีทีเอชจึงจัดรายการทัวร์ “ตามรอยโรงจอดรถไฟฟ้า...มาหานะเธอ” เพื่อตอบรับกระแสนิยมของแฟนคลับ โดยให้เข้าเยี่ยมชมบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีทีเอส ถึงโรงจอดรถไฟฟ้า ซึ่งเป็นสถานที่ถ่ายทำ มีคริส หอวัง และอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม นำชม[30] จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552[31]", "title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" }, { "docid": "59047#6", "text": "วันนี้ เธอส่งการ์ดงานแต่งงานมาให้ที่บ้านผม สิบกว่าปีที่เราไม่ได้เจอกัน เธอยังจำเพื่อนคนแรกของเธอได้ ลิ้นชักของเธอคงเป็นระเบียบกว่าของผมเยอะ ไม่รู้ว่าเธอจะเปลี่ยนไปแค่ไหน หรือว่าเห็นหน้าผมแล้วเธออาจจะงง ว่าไอ้ชายหนุ่มคนนี้ เป็นคนเดียวกับเด็กชายคู่หูเธอคนนั้นหรือเปล่า แต่ผมก็จะไปงานแต่งงานเธอ เพื่อนซี้เมื่อสิบขวบของผม…แน่ๆภาพยนตร์เรื่อง \"แฟนฉัน\" กำกับโดยผู้ผู้กำกับฯ 6 คน ในนาม กลุ่ม 365 ฟิล์ม กลุ่มคนรักหนังของเพื่อนๆ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่น 29 วิชาเอกภาพยนตร์และภาพนิ่ง อันประกอบด้วย นิธิวัฒน์ ธราธร (ต้น), ทรงยศ สุขมากอนันต์ (ย้ง), คมกฤษ ตรีวิมล (เอส), วิทยา ทองอยู่ยง (บอล), วิชชา โกจิ๋ว (เดียว), อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม (ปิ๊ง) ฝึกสอนการแสดงโดย รสสุคนธ์ กองเกตุ หรือครูเงาะเจ้าของโรงเรียนสอนแอคติ้ง The Drama Academy โดยมี จิระ มะลิกุล, ยงยุทธ ทองกองทุน และ ประเสริฐ วิวัฒนานนท์พงษ์ เป็นโปรดิวเซอร์ ", "title": "แฟนฉัน" }, { "docid": "266789#12", "text": "บทภาพยนตร์เรื่องนี้ เริ่มเขียนขึ้นเมื่อ 2 ปีก่อนออกฉาย ซึ่งมีพล็อตเรื่องเป็นภาพยนตร์สั้นที่มีเค้าโครงเรื่องจริงของการรักที่ไม่ได้แสดงออกว่ารัก ทำให้ความรักไม่ชัดเจนและหลุดลอยไป หลังจากนั้น มีผู้ร่วมเขียนบทเพิ่มเติม คือ เบ็ญจมาภรณ์ สระบัว, นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ และอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม ส่วนอีกแนวคิดของจิระ มะลิกุล ที่เขียนมานานตั้งแต่ยังไม่ได้เปิดบริษัทจีทีเอช เป็นเรื่องราวที่รวบรวมจากเรื่องการจราจร และต้องการที่จะทำภาพยนตร์เกี่ยวกับคนเมืองและคนทำงานในยามราตรี อย่างเช่น ยาม คนซ่อมเสาไฟฟ้า คนขุดท่อ ที่ต้องทำงานตอนคนอื่นหลับไปแล้ว จึงเกิดคำถามว่าคนเหล่านี้ใช้ชีวิตกันอย่างไร[2]", "title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" }, { "docid": "983466#0", "text": "ป๊อบ คำเกษม\nนักแสดงและพิธีกรและดีเจชาวไทย ชื่อเล่น ป๊อบ เกิดวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2525 จบการศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ \nเริ่มเข้าวงการบันเทิง เคยถ่ายแบบและนิตยสารอื่นๆต่อมาเป็นดีเจ พิธีกร และ นักแสดง ที่มีชื่อเสียงด้านการแสดงอีกด้วย", "title": "ป๊อบ คำเกษม" }, { "docid": "349249#1", "text": "นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ที่อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายชัยวัฒน์ กับนางสุภาพร เกษมทองศรี สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนยีบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาเขตบพิตรพิมุข ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ต่อมาจึงได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (วิทยาเขตบพิตรพิมุข จักวรรดิ) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. 2541", "title": "วิเชษฐ์ เกษมทองศรี" }, { "docid": "237288#7", "text": "ศาสตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ ถูกคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) ฟ้องร้อง ในคดีการทุจริตคอรัปชั่นการจัดซื้อเครื่องตรวจ จับวัตถุระเบิด CTX 9000ในฐานะอดีตกรรมการบริหารบริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำกัด ต่อมาคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐแยกสำนวนของเขาออกเป็นสำนวนต่างหาก ในวันที่ 27 มิถุนายน 2551 เพียง 3 วันก่อนหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ จะหมดหน้าที่ หลังจากที่ คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ได้มีมติให้ดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิด และได้ส่งเอกสารสำนวนให้อัยการสูงสุดแล้ว อัยการสูงสุดในขณะนั้นได้แก่ศาสตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริสั่งไม่ฟ้องตัวเองรวมถึงพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และนาย สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม บริษัทเอกชนหลายกลุ่ม รวม 25 ราย เนื่องจากเห็นว่าคดีมีข้อไม่สมบูรณ์ และในเดือน กันยายน พ.ศ. 2554 ปปช.มีการตั้งอนุกรรมการเพื่อไต่สวนความผิดอดีตเจ้าหน้าที่ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำนวน 6 คน ที่เดินทางไปเมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อดูงานท่าอากาศยาน โดยมีบริษัทตัวแทนขาย CTX 9000 ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้แทน เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 149 และ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2554 มาตรา 103 ประกอบด้วย นายศรีสุข จันทรางศุ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม ในฐานะประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด พล.อ.สมชัย สมประสงค์ รองประธาน บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด, นายชัยเกษม นิติสิริ อดีตอัยการสูงสุด, นายเทิดศักดิ์ เศรษฐมานพ, นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ และ พล.อ.อ.ณรงค์ สังขพงศ์ ในฐานะกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด", "title": "ชัยเกษม นิติสิริ" }, { "docid": "266789#13", "text": "ผู้กำกับเรื่องนี้คือ อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม อดีตลูกศิษย์ของจิระเมื่อสมัยเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย มีความคิดไปตรงกันกับภาพยนตร์สั้นมีความคล้ายกับเรื่องนี้ นั่นคือ อารมณ์ของชายหญิงที่มีปัญหาในเรื่องของการสื่อสาร จิระจึงเลือกอดิสรณ์มาเป็นผู้กำกับ จนพัฒนาเนื้อเรื่องต่อจากเดิมหนังรักชายหญิงทั่วไป เนื่องจากอดิสรณ์เคยเห็นมามากแล้ว จึงรู้สึกเบื่อ และเสนอมุมมองเรื่องเล่าของนางเอกแทน โดยต้องการสื่อให้เห็นว่าไม่ใช่ผู้ชายเท่านั้นที่แอบชอบผู้หญิง ผู้หญิงก็เช่นกัน ซึ่งมีความคิดที่อยากเจอผู้ชายคนที่ดี และหากเจอแล้วก็ไม่อยากให้รักครั้งแรกและครั้งนี้พลาดหวังไป ซึ่งผู้กำกับก็นำมาใส่ในเนื้อเรื่องให้ดูสนุก โดยเล่าเรื่องซึ่งเป็นการเล่าเรื่องของการดำเนินชีวิตของชายหญิงคู่หนึ่งที่ไม่ตรงกัน ทำให้เกิดช่องว่างและความห่าง ซึ่งผู้กำกับคิดว่ายังไม่มีหนังไทยเรื่องไหนเคยทำ เป็นแนวหนังอย่างเรื่อง บริดเจตโจนส์ไดอารี", "title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" }, { "docid": "278698#7", "text": "การตรวจสอบคดีนี้มีความขัดแย้งในการตรวจสอบเนื่องจากอัยการสูงสุดที่รับผิดชอบในการฟ้องร้องต่อศาลนั้นเป็นคนเดียวกันกับกรรมการบริษัทการท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ซึ่งบุคคลดังกล่าวได้แก่ ชัยเกษม นิติสิริซึ่งในที่สุดคดีจบที่อัยการสูงสุดสั่งไม่ฟ้อง ทักษิณ ชินวัตร ชัยเกษม นิติสิริ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2551 คตส. ได้รับหนังสือจากอัยการสูงสุดแจ้งข้อไม่สมบูรณ์ของคดี และขอให้ตั้งคณะทำงานร่วมกันให้ คตส. ทราบ\nคตส. จึงรีบมีมติมอบหมายให้ ป.ป.ช. เป็นผู้ดำเนินการต่อ ก่อนที่ คตส. จะหมดวาระเพียง 3 วัน ในวันที่ คตส. ได้รับหนังสือจากอัยการสูงสุด คตส. บางคนถึงกับอุทานว่า “ทำอย่างนี้หักหลังกันนี่หว่า”\nภายหลังการสั่งไม่ฟ้องคดีดังกล่าว ชัยเกษม นิติสิริ ได้รับตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ประธานกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เพื่อเป็นการตอบแทนที่ไม่สั่งฟ้อง ทักษิณ ชินวัตร", "title": "การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ" }, { "docid": "59044#5", "text": "แฟนฉัน (พัฒนามาจาก บทภาพยนตร์สั้นเรื่อง อยากบอกเธอ..รักครั้งแรก) สายลับจับบ้านเล็ก หมากเตะรีเทิร์นส์ หวานขม บิทเทอร์สวีท บอย ป๊อด เดอะ ชอต ฟิล์ม รัก 7 ปี ดี 7 หน น้อง.พี่.ที่รัก", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" }, { "docid": "266789#0", "text": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้ ออกฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดยอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม กำกับภาพโดยจิระ มะลิกุล ได้รับการจำแนกให้อยู่ในประเภท \"ท\" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้ดูทั่วไป)[1] นำแสดงโดยธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ คริส หอวัง และอังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา", "title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" }, { "docid": "287089#1", "text": "แต่เดิมตั้งอยู่ในบริเวณวังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ เลขที่ 3 ถนนขาว สามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ชื่อโรงเรียนนั้นตั้งตามพระนามเดิมของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ เมื่อครั้งยังมิได้ทรงกรม ทรงพระนามว่า\"พระเจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค\" หรือในภาษามคธว่า เขมสิริศุภโยโค คำว่า เกษมศรี ต่อมาเป็นราชสกุลในสายสกุลของพระองค์ท่าน จึงเป็นต้นกำเนิดแห่งนาม \"โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์\" แปลว่า ระลึกถึงเกษมศรี", "title": "โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์" }, { "docid": "237288#3", "text": "นายชัยเกษม นิติสิริ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2552ต่อมาในปี พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2555 นายชัยเกษม นิติสิริ ได้รับตำแหน่งในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หลายตำแหน่งเช่นประธานสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียมกรรมการ คณะที่ 3 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ", "title": "ชัยเกษม นิติสิริ" }, { "docid": "4475#52", "text": "พลเอก กิตติ รัตนฉายา อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 นนธวรรณ ฌรรวนธร นางแบบ นักร้อง และนักแสดง นาตยา จันทร์รุ่ง นักแสดง ภาณุ สุวรรณโณ นักแสดง สีเทา เพ็ชรเจริญ นักแสดงตลกอาวุโส โสภา สถาพร นางเอกภาพยนตร์ชื่อดังในอดีต จักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัย เจ้าของฉายา เดอะ เฟอรารี่ เป็นนักกีตาร์ วง หิน เหล็ก ไฟ และเดอะซัน หรั่ง ร็อคเคสตร้า นักร้องเดี่ยว และอดีตนักร้องนำ วงดนตรีร็อก ร็อคเคสตร้า บิว กัลยาณี นักร้องลูกทุ่งหญิงแนวเพื่อชีวิตสำเนียงใต้ สังกัดค่ายอาร์สยาม พงศ์พิพัฒน์ คงนาค นักร้องลูกทุ่ง ศุ บุญเลี้ยง ศิลปิน และนักเขียน พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ ณ นคร) อดีตนายกเทศมนตรีเมืองยะลาและผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา จารุพงษ์ ทองสินธุ์ นักศึกษาธรรมศาสตร์ผู้สูญหายไปในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 คมสัน นันทจิต สถาปนิก นักเขียนเรื่องสั้น นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์ ธรรมทาส พานิช ผู้ก่อตั้งคณะธรรมทาน และสวนโมกขพลาราม ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ไชยวัฒน์ วรรณานนท์ ศิลปินด้านวัฒนธรรม ประกาศ วัชราภรณ์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี อดีตอุปนายกสมาคมนักหนังสือพิมพ์ และอดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์ ในช่วง พ.ศ. 2502 - 2513 พะเยาว์ พัฒนพงศ์ นักพูด วิทยากร และผู้บรรยายให้ความรู้การอบรมด้านการพูดที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย พิมล แจ่มจรัส อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ นักเขียน และนักแปล เล็ก วงศ์สว่าง นักจัดรายการวิทยุ และบรรณาธิการนิตยสาร วรวิตา จันทร์หุ่น พิธีกร นางแบบ และอดีตรองชนะเลิศอันดับสองจากการประกวดนางสาวไทย พ.ศ. 2552 วิชา การพิศิษฎ์ บุคคลที่ควรแก่การยกย่อง ควรแก่ผู้เป็นครูและบุคคลทั่วไปประพฤติตนตามแบบอย่าง วิลาศ มณีวัต บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ \"ชาวกรุง\" และนักเขียน สุภิญญา กลางณรงค์ นักกิจกรรมทางสังคมด้านการปฏิรูปสื่อ และคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สุรเทิน บุนนาค อดีตผู้ช่วยหัวหน้าข่าวสาร ในสำนักงานสาขาองค์การอาหารและเกษตรแห่งภาคพื้นเอเซียตะวันออกไกล ผู้ใกล้ชิดใต้เบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สนองพระเดชพระคุณด้านการพัฒนาที่ดิน และการเกษตรสมัยใหม่ และเป็นหนึ่งใน \"พระสหจร\" ในพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9 อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีดีเอช ห้าห้าเก้า จีรนันท์ เขตพงศ์ ผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ณัฐญาณี รัตนไพฑูรย์ ผู้ประกาศข่าว ไทยรัฐทีวี ณัฐชยกานต์ ปากหวาน นักแสดง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ภาธร ชำนาญนพ นักแสดง ณัฐ เค้ายวนผึ้ง นักแสดง ฉัตรฑริกา สิทธิพรม นางแบบ/นักแสดง", "title": "จังหวัดสุราษฎร์ธานี" }, { "docid": "59044#3", "text": "แฟนฉัน (2546): ช่างตัดผมของพ่อเจี๊ยบ (ยุคปัจจุบัน) แจ๋ว (2547): ทีมสายลับ (ร่วมกับ 5 ผู้กำกับแฟนฉัน) เพื่อนสนิท (2548): รุ่นพี่ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ร่วมกับ 5 ผู้กำกับแฟนฉัน) หมากเตะรีเทิร์นส (2549): เด็กประจำห้องน้ำ เก๋า..เก๋า (2549): สมาชิกวงดิอิมพอสซิเบิ้ล ตอนหนุ่ม (ร่วมกับ 5 ผู้กำกับแฟนฉัน) สายลับจับบ้านเล็ก (2550): สมศักดิ์ (หัวหน้าแก๊งทวงหนี้) ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น (2551) : คนที่นั่งอยู่ในผับเดียวกับเหิร โปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต (2551): ผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง วิญญาณอาฆาต Suckseed ห่วยขั้นเทพ (2554): คนขายกีตาร์ ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ (2558): แฟนของเจ๋ (รับเชิญ) มิสเตอร์เฮิร์ท มือวางอันดับเจ็บ (2560): หมออดิสรณ์(หมอที่ผ่าตัดดิว)", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" }, { "docid": "222286#1", "text": "ศาสตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล หรือ ศ.กิตติคุณ ดร.เกษม สุวรรณกุล เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2473 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา สำเร็จปริญญาตรีรัฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี 2494 (รุ่นที่ 1) โดยสอบได้เป็นที่ 1 ของรุ่น ", "title": "เกษม สุวรรณกุล" }, { "docid": "266789#40", "text": "หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไทย หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2552 หมวดหมู่:365 ฟิล์ม หมวดหมู่:ภาพยนตร์โดยจีทีเอช หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่กำกับโดย อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม", "title": "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" }, { "docid": "119112#11", "text": "จิระ มะลิกุล ยงยุทธ ทองกองทุน อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม ทรงยศ สุขมากอนันต์ วิทยา ทองอยู่ยง นิธิวัฒน์ ธราธร คมกฤษ ตรีวิมล ปวีณ ภูริจิตปัญญา บรรจง ปิสัญธนะกูล ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ เมษ ธราธร ชยนพ บุญประกอบ นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์", "title": "จีเอ็มเอ็ม ไท หับ" }, { "docid": "351801#1", "text": "ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกของเอ็ม พิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ โดยสร้างร่วมกับจอกว้างฟิล์ม เป็นผลงานการกำกับของหลายผู้กำกับฯ จาก 365 ฟิล์ม (วิทยา ทองอยู่ยง, วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, คมกฤษ ตรีวิมล, ทรงยศ สุขมากอนันต์, อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม และนิธิวัฒน์ ธราธร) ที่โด่งดังจากการร่วมกันกำกับภาพยนตร์เรื่อง \"แฟนฉัน\" และเป็นผลงานการแสดงของหลายนักแสดง เข้าโรงฉายเมื่อวันที่ 20 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เฉพาะโรงภาพยนตร์เอสพละนาด ซีนีเพล็กซ์, เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์สาขา รัชโยธิน และสาขา สุขุมวิท เท่านั้น", "title": "หวานขม บิทเทอร์สวีท บอย ป๊อด เดอะ ชอต ฟิล์ม" }, { "docid": "59044#1", "text": "อดิสรณ์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนสุราษฎร์ธานี และ ปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", "title": "อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม" } ]
2683
โครงการฝนเทียมถูกคิดค้นครั้งแรกปีใด ?
[ { "docid": "59717#1", "text": "เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดำริ \"ฝนหลวง\"(Artificial rain) ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดำเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสำเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีการก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไป", "title": "ฝนหลวง" } ]
[ { "docid": "59717#0", "text": "โครงการฝนหลวง เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาปัญหาความแห้งแล้งขาดแคลนน้ำในการเกษตร", "title": "ฝนหลวง" }, { "docid": "67140#5", "text": "ทีมวิศวกรของบริษัทฮอนด้า เริ่มต้นทำการศึกษา คิดค้น วิจัยและพัฒนาอาซิโมในปี พ.ศ. 2524[6] ในการสร้างหุ่นยนต์ที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์ สามารถทำงานต่าง ๆ ร่วมกับมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในปี พ.ศ. 2529 โครงการพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ของบริษัทฮอนด้าได้ถือกำเนิดขึ้น มีการจัดตั้งศูนย์วิจัยสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานของการสร้างหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ เพื่อเป็นพื้นฐานการสร้างหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ โดยทดลองสร้างหุ่นยนต์ทดลองในตระกูล E-Series จำนวน 7 ตัว คือ", "title": "อาซิโม" }, { "docid": "323534#117", "text": "การทำฝนเทียมถูกจงใจให้ทำขึ้นทั่วพื้นที่ 10,000 ตารางกิโลเมตรของเบลารุส SSR โดยกองทัพอากาศโซเวียตเพื่อกำจัดอนุภาคกัมมันตรังสีจากกลุ่มเมฆที่กำลังมุ่งหน้าไปยังพื้นที่ที่มีประชากรสูง ฝนหนักสีดำตกลงในเมือง Gomel[96] หลายรายงานจากสหภาพโซเวียตและนักวิทยาศาสตร์ตะวันตกระบุว่าเบลารุสได้รับประมาณ 60% ของการปนเปื้อนที่ตกลงในอดีตสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ตามรายงานของ TORCH ปี 2006 ระบุว่าครึ่งหนึ่งของอนุภาคระเหยได้ตกลงบนแผ่นดินนอกประเทศยูเครน เบลารุสและรัสเซีย พื้นที่ขนาดใหญ่ในรัสเซียภาคใต้ของ Bryansk ก็ปนเปื้อนเช่นกัน เพราะมันเป็นส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศยูเครน การศึกษาในประเทศโดยรอบระบุว่ามากกว่าหนึ่งล้านคนน่าจะได้รับผลกระทบจากรังสี[97]", "title": "ภัยพิบัติเชียร์โนบีล" }, { "docid": "184312#1", "text": "การทำฝนเทียมนั้นใช้เพื่อประโยชน์หลากหลาย เช่น การเกษตร ดับไฟป่า หรือกระทั่งเพื่อป้องกันการตกของฝนในวันที่กำหนด เช่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ประเทศจีน", "title": "การทำฝนเทียม" }, { "docid": "7498#1", "text": "เซลล์เชื้อเพลิงครั้งแรกถูกคิดค้นในปี 1838 เซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ครั้งแรกถูกใช้มากว่าหนึ่งศตวรรษต่อมาในโครงการอวกาศของ นาซ่า ที่จะผลิตพลังงานให้กับดาวเทียมและแคปซูลอวกาศ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเซลล์เชื้อเพลิงถูกนำมาใช้ในงานที่หลากหลายอื่น ๆ เซลล์เชื้อเพลิงถูกใช้สำหรับพลังงานหลักและพลังงานสำรองเพื่อการพาณิชย์ อุตสาหกรรมและอาคารที่อยู่อาศัยและในพื้นที่ห่างไกลและไม่สามารถเข้าถึงได้ พวกมันยังถูกใช้เพื่อให้พลังงานกับยานพาหนะเซลล์เชื้อเพลิง รวมทั้งรถยก, รถยนต์, รถโดยสาร, เรือ, รถจักรยานยนต์และเรือดำน้ำ", "title": "เซลล์เชื้อเพลิง" }, { "docid": "16861#2", "text": "จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบในปัจจุบัน เชื่อกันว่าชนชาติแรกที่คิดค้น ระบบการนับวันแบบปฏิทินนั้นคือ ชาวบาบิโลเนียน พวกเขากำหนดวัน เดือน ปี โดยสังเกตจากระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ ซึ่งก็คือการสังเกตข้างขึ้นข้างแรมนั่นเอง โดยเมื่อเกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 1 รอบก็จะถือเป็น 1 เดือน ปฏิทินแบบนี้เรียกว่าปฏิทินจันทรคติ และพวกเขายังกำหนดให้ 1 ปีนั้นมี 12 เดือนอีกด้วย สาเหตุที่ชาวบาบิโลเนียนกำหนดให้ 1 ปี มี 12 เดือน ก็เพราะว่า เมื่อใดที่เกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 12 รอบ ฤดูกาลก็จะเวียนกลับมาอีกครั้ง", "title": "ปฏิทิน" }, { "docid": "311841#0", "text": "ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา () ถูกคิดค้นขึ้นโดยนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวดัตช์นามว่า แอ็ดส์เคอร์ ไดก์สตรา (Edsger Dijkstra) ในปี 1959 เพื่อแก้ไขปัญหาวิถีสั้นสุดจากจุดหนึ่งใด ๆ สำหรับกราฟที่มีความยาวของเส้นเชื่อมไม่เป็นลบ สำหรับขั้นตอนวิธีนี้จะหาระยะทางสั้นที่สุดจากจุดหนึ่งไปยังจุดใด ๆ ในกราฟโดยจะหาเส้นทางที่สั้นที่สุดไปทีละจุดยอดเรื่อย ๆ จนครบตามที่ต้องการ", "title": "ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา" }, { "docid": "355165#4", "text": "มีข้อถกเถียงกันไม่น้อยว่า ระหว่างเวลหรือมอร์ส ผู้ใดเป็นผู้คิดค้น \"รหัสมอร์ส\" นักวิชาการจำนวนหนึ่งเห็นว่าแท้ที่จริงแล้ว เวลเป็นผู้คิดค้นรหัสดังกล่าว\nเวลได้เกษียณจากกิจการโทรเลขใน ค.ศ. 1848 และย้ายกลับไปอาศัยยังมอร์ริสทาวน์ เขาใช้ชีวิตสิบปีสุดท้ายในการวิจัยเกี่ยวกับวงศ์ตระกูลของตน เนื่องจากเวลได้รับผลประโยชน์เพียงหนึ่งในแปดจากสิทธิบัตรโทรเลขของมอร์สร่วมกับน้องชาย เวลจึงเห็นว่าตนได้รับรายได้จากผลงานของเขาน้อยกว่ามอร์สและคนอื่น ๆ", "title": "อัลเฟรด เวล" }, { "docid": "618657#173", "text": "ดาวเทียม geosynchronous เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรติดตามเหนือโลกซ้ำอยู่ที่เดิมกับจุดใดจุดหนึ่งบนโลกเป็นประจำตลอดช่วงเวลา. ดาวเทียม geosynchronous ดวงแรกของโลก, Syncom II ที่ถูกส่งขึ้นไปกับจรวดเดลต้าที่นาซาในปี 1963 ถูกคิดค้นโดย แฮโรลด์ โรเซ็น.[154]", "title": "ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)" }, { "docid": "711258#12", "text": "รถไฟความเร็วสูงกัวลาลัมเปอร์–สิงคโปร์ เป็นหนึ่งในโครงการรถไฟความเร็วสูงที่สำคัญ โครงการนี้คิดค้นขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 2010 ซึ่งเมื่อเปิดใช้งานแล้ว จะเชื่อมต่อระหว่างเกาะปีนัง-กัวลาลัมเปอร์-สิงคโปร์ ได้สะดวกสบายมากขึ้น", "title": "การขนส่งในกัวลาลัมเปอร์" }, { "docid": "171561#1", "text": "THX คิดค้นและพัฒนาโดย Dr.Tom Holman ในปี ค.ศ. 1983 เพื่อทำการพัฒนาระบบการทำงานที่ให้ความมั่นใจได้ว่าคุณภาพเสียงของภาพยนตร์ Star Wars ตอนที่ 6 \"Return of the Jedi\" จะมีมาตรฐานในระดับเดียวกัน ไม่ว่าจะเข้าฉายที่โรงภาพยนตร์ใดในโลก", "title": "THX" }, { "docid": "315860#1", "text": "นักคณิตศาสตร์พากันคิดค้นหนทางพิสูจน์ทฤษฎีนี้เป็นเวลานับศตวรรษ จนในที่สุด กริกอรี เพเรลมาน ได้ร่างข้อพิสูจน์ข้อความคาดการณ์นี้เป็นรายงานจำนวนมากตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002-2003 ข้อพิสูจน์นี้อ้างตามโครงการของของ ศจ.ริชาร์ด แฮมิลตัน จากนั้นทีมนักคณิตศาสตร์มากมายจึงหาทางตรวจสอบความถูกต้องของข้อพิสูจน์ของเพเรลแมน", "title": "ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร" }, { "docid": "715777#0", "text": "โครงการรถไฟความเร็วสูงกัวลาลัมเปอร์–สิงคโปร์ () เป็นโครงการรถไฟความเร็วสูงระหว่างกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย กับประเทศสิงคโปร์ คิดค้นขึ้นโดยนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2010 และทั้งสองประเทศ ได้ร่วมมือกันตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013 เมื่อโครงการก่อสร้างเสร็จ จะเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 2020", "title": "รถไฟความเร็วสูงกัวลาลัมเปอร์–สิงคโปร์" }, { "docid": "1901#81", "text": "ในด้านการเกษตร จะทรงเน้นการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ ๆ ตลอดจนการศึกษาแมลงศัตรูพืช และพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละโครงการจะเน้นให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง นอกจากนี้ ยังทรงพยายามไม่ให้เกษตรกรยึดติดกับพืชผลทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว แต่เกษตรกรควรมีรายได้จากกิจกรรมอื่นด้วย เพื่อจะได้พึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่ง พระองค์ยังทรงคิดค้นการแก้ปัญหาทรัพยากรทางการเกษตรหลายอย่างที่สำคัญ เช่น การแกล้งดิน เพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยวหรือดินเป็นกรด จนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้ การปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ พระองค์ทรงส่งเสริมการเลี้ยงปลานิล ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศ โดยกรมความร่วมมือระหว่างประเทศได้ขยายโครงการเพาะเลี้ยงและเผยแพร่พันธุ์ปลานิล เพื่อความยั่งยืนด้านอาหารให้แก่ประเทศโมซัมบิก ในช่วงปีที่ผ่านมา ทรงจัดตั้งโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อวิจัยพันธุ์ข้าว พันธุ์พืชและปศุสัตว์ รวมถึงการการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การผลิตเอทานอล แก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" }, { "docid": "1901#80", "text": "ในด้านชลประทาน พระองค์ทรงให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยทรงคิดค้นโครงการตามพระราชดำริของพระองค์ มีทั้งการแก้ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาอุทกภัย รวมไปถึงการบำบัดน้ำเสีย เช่น เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พระองค์ได้ทรงวิจัยและริเริ่มโครงการฝนหลวง เพื่อช่วยบรรเทาภัยแล้งสำหรับพื้นที่นอกเขตชลประทาน เมื่อคราวเขตกรุงเทพและปริมณฑลที่ประสบปัญหาน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2538 พระองค์ทรงมีพระราชดำริเรื่องแก้มลิง ควบคุมการระบายน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน ลำคลองต่าง ๆ ลงสู่อ่าวไทย พระองค์ทรงประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศ กังหันชัยพัฒนา ในการปรับปรุงคุณภาพน้ำโดยการเพิ่มออกซิเจน เป็นสิ่งประดิษฐ์หนึ่งของพระองค์ที่ได้รับสิทธิบัตรจาก กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" }, { "docid": "461943#1", "text": "ต่อมาในประเทศไทย ราวปี พ.ศ. 2504 ได้เกิด ขนมลอดช่องที่แตกแขนงออกมาอีกชนิดนึง คือ \"ลอดช่องสิงคโปร์\" ทำด้วยแป้งมันสำปะหลังแทนที่จะเป็นแป้งข้าวเจ้าตามแบบลอดช่องดั้งเดิม ชื่อนี้ไม่ได้เกิดจากการนำมาจากสิงคโปร์แต่อย่างใด ประเทศไทยเป็นผู้คิดค้น โดยร้าน \"สิงคโปร์โภชนา\" ซึ่งเป็นร้านอาหารตั้งอยู่ที่หน้าโรงภาพยนตร์สิงคโปร์หรือโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี บนถนนเยาวราช จึงเป็นที่มาของ \"ลอดช่องสิงคโปร์\" ", "title": "ลอดช่อง" }, { "docid": "122807#0", "text": "ยุคหินญี่ปุ่น เริ่มต้นตั้งแต่ระยะเวลาจากรอบ 35,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นยุคแรกในประวัติศาสตร์อารยธรรมญี่ปุ่น และเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ ไม่พบตัวอักษรใด ๆ ในยุคนี้ สมัยนั้นเป็นยุคน้ำแข็ง และแผ่นดินญี่ปุ่นยังติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ เพราะญี่ปุ่นในสมัยนั้นยังไม่ห่างจากจีนมากนัก และช่วงนั้นเป็นยุคน้ำแข็ง ทำให้เกิดสะพานน้ำแข็งเชื่อมระหว่างจีนกับญี่ปุ่น อารยธรรมและเมืองยังไม่ค่อยมีในยุคนี้ เนื่องจากในช่วงยุคน้ำแข็งอันแร้นแค้น ชาวญี่ปุ่นในยุคนั้นจึงเลือกที่จะทำการออกล่าสัตว์ คิดค้นอาวุธล่าสัตว์ ออกเดินทางไปยังท้องถิ่นต่อไปเมื่อสัตว์ในท้องถิ่นถูกฆ่าหมด และกังวลเรื่องอาหารมื้อต่อไปเสียมากกว่า ญี่ปุ่นในยุคนี้จึงหาอารยธรรมใด ๆ ไม่ง่ายนัก", "title": "ยุคหินญี่ปุ่น" }, { "docid": "3918#3", "text": "การจัดการโครงการได้ถูกพัฒนาจากหลากหลายสาขารวมถึง การก่อสร้าง วิศวกรรม และการทหาร บิดาแห่งวงการจัดการโครงการได้แก่ เฮนรี แกนต์ (Henry Gantt) ซึ่งเป็นผู้ใช้แกนต์ชาร์ต(หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Harmonogram ซึ่งถูกเสนอเป็นครั้งแรกโดย Karol Adamiecki)เป็นเครื่องมือในการจัดการโครงการ และคนที่สองคือ เฮนรี่ ฟาโยล (Henri Fayol) ผู้บุกเบิกในด้านการจัดการโครงการด้วยการคิดค้น 5 หลักการทำงานด้านการจัดการ ซึ่งกลายมาเป็นรากฐานของความรู้ในการจัดการโครงการ ทั้ง แกนต์และฟาโยลเป็นลูกศิษย์ของเฟเดอริก วินส์โล เทเลอร์ (Frederick Winslow Taylor) ผู้เป็นเจ้าของทฤษฎี การจัดการทางวิทยาศาสตร์ (scientific management) ซึ่งงานของเขาเป็นการบุกเบิกเครื่องมือในการจัดการโครงการสมัยใหม่ รวมถึง การทำโครงสร้างรายละเอียดของงานต่างๆในโครงสร้าง (work breakedown structure; WBS) และการเคลื่อนย้ายทรัพยากร (resource allocation)", "title": "การจัดการโครงการ" }, { "docid": "184312#0", "text": "การทำฝนเทียมเป็นกรรมวิธีดัดแปรสภาพอากาศเพื่อให้เกิดฝน การทำฝนเทียมเป็นกรรมวิธีเลียนแบบธรรมชาติ โดยทำจากเมฆซึ่งมีลักษณะพอเหมาะที่จะเกิดฝนได้ จากนั้นจึงเร่งให้เกิดการควบแน่นของเมฆ ด้วย 3 ขั้นตอน คือ ก่อกวน, เลี้ยงให้อ้วน, และโจมตี มักทำใน 2 สภาวะ คือ การทำฝนเมฆเย็น เมื่อเมฆมีอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และ การทำฝนเมฆอุ่น เมื่อเมฆมีอุณหภูมิสูงกว่า 0 องศาเซลเซียส การทำฝนเทียมในสองสภาวะนี้จะใช้สารในการดัดแปรสภาพอากาศที่แตกต่างกัน\nสารเคมีประเภทคลายความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น (Exothermic chemical)\nปัจจุบันนี้มีใช้ในการทำฝนเทียมในประเทศไทย 3 ชนิด คือ\nสารเคมีประเภทดูดกลืนความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิต่ำลง (Endothermic chemicals)\nปัจจุบันมีการใช้สารเคมีประเภทนี้อยู่ 3 ชนิด คือ\nสารเคมีที่ทำหน้าที่ดูดซับความชื้นประการเดียว", "title": "การทำฝนเทียม" }, { "docid": "59846#5", "text": "ท่านเป็นคนที่มีอุปนิสัยอ่อนโยน และมีจิตใจที่เข้มแข็ง ทำงานด้วยความอดทนหมั่นเพียร ท่านต้องเสียนิ้วมือซ้ายเพราะถูกเครื่องยนต์ตัดในการทดลองเครื่องเรือหางกุด ต้องหูพิการในการทดลองทำฝนเทียม ต้องตัดม้ามทิ้งตอนปราบตั๊กแตนปาทังก้า นายแพทย์ได้ทำนายว่าท่านน่าจะมีอายุไม่เกิน 5 ปีแต่ท่านก็อยู่เกิน 5 ปี เกินคำทำนายของหมอมาหลายปี", "title": "หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล" }, { "docid": "229682#2", "text": "ต่อมาในปีการศึกษา 2550 กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยทั้ง 12 โรงทั่วประเทศได้ร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ต้นแบบของรัฐแห่งแรก ที่มุ่งเน้นการผลิตนักวิจัย นักประดิษฐ์ และนักคิดค้นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพเทียบเคียงกับนักวิจัย นักประดิษฐ์ และนักคิดค้นชั้นนำของนานาประเทศ แต่เนื่องด้วยโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ สามารถผลิตนักเรียนได้เพียงปีละ 240 คน ซึ่งมีจำนวนไม่เพียงพอ จึงได้เปิดห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยทั้ง 12 แห่ง นักเรียนจำนวน 288 คน โดยนอกเหนือจากนักเรียนที่ร่วมโครงการในห้องเรียนวิทยาศาสตร์แล้ว นักเรียนทุกคนก็ได้รับการเรียนการสอนและการประเมินผลเฉกเช่นเดียวกัน", "title": "โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย" }, { "docid": "340047#2", "text": "คาตายามาพบว่า สภาพถนนในสหรัฐอเมริกามีถนนฟรีเวย์และถนนโล่งเป็นส่วนมาก รถญี่ปุ่นทั่วไปในขณะนั้นไม่ได้ออกแบบมาให้วิ่งในถนนลักษณะดังกล่าว แรงม้าจึงน้อย การเร่งแซงยาก และเมื่อวิ่งทางไกลจะพบปัญหาเบรกร้อน จึงมีความพยายามคิดค้นรถสปอร์ตที่จะมีสมรรถนะสูง เบรกที่ทนทาน สนองตอบรสนิยมและถนนดังกล่าวได้ และราคาถูก (รถสปอร์ตของ Big3 มีจุดอ่อนที่ราคาแพง) จึงคิดค้นออกมา โดยในขณะคิดค้น ได้ตั้งชื่อโครงการว่า Project Z ซึ่งมาจากธง Z ที่กองทัพเรือใช้ในสงครามนิจิโระ (สงครามกับรัสเซีย พ.ศ. 2447) ธง Z หมายความว่า \"การโจมตีครั้งสุดท้าย ไม่มีครั้งหลังอีกแล้ว\" หรือ ต้องชนะให้ได้ในครั้งนี้ ", "title": "นิสสัน แฟร์เลดี้ แซด" }, { "docid": "186659#14", "text": "นอกจากนี้ โครงการค่ายรัฐศาสตร์เพื่อประชาชน ยังมีกิจกรรมเสริมคือ กิจกรรมการเยี่ยมค่าย ซึ่งเป็นการกลับไปเยี่ยมเยียน โรงเรียนหรือสถานที่ ที่เคยจัดกิจกรรมค่ายรัฐสาสตร์เพื่อประชาชน ครั้งที่ผ่านๆมา ซึ่งมักจะจัดโครงการเยี่ยมค่ายหลังจากทำโครงการค่ายในแต่ละครั้งเสร็จสิ้นประมาณครึ่งปี แต่ผลการดำเนินโครงการดังกล่าว ยังไม่ประสบความสำเร็จมากนัก เนื่องจากยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจร และเป็นกิจกรรมประจำ โดยคณะกรรมการของค่ายปีไหนอยากจัดการเยี่ยมค่ายก็จัด ปีใดไม่มีแนวความคิดจะจัดก็จะไม่จัดเช่นกัน จึงแล้วแต่คณะกรรมการในปีนั้นๆว่าจะจัดการเยี่ยมค่ายขึ้นหรือไม่ ", "title": "ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" }, { "docid": "565691#1", "text": "วิธีการแก้ปัญหาในเชิงทฤษฎีสำหรับการเดินทางที่เร็วกว่าแสงซึ่งเป็นแบบจำลองของแนวคิดนั้น เรียกว่าการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์, เป็นสูตรที่คิดค้นโดยนักฟิสิกส์ชื่อ มิเกล อัลคับเบียร์ (Miguel Alcubierre) ในปี ค.ศ. 1994 ต่อมาภายหลัง การคำนวณพบว่าแบบจำลองดังกล่าวจำเป็นจะต้องมีมวลที่มีค่าเชิงลบ (negative mass) ซึ่งการมีอยู่ของมวลที่มีค่าเป็นลบนี้ไม่เคยได้รับการสนับสนุนโดยหลักฐานใด ๆ และปริมาณที่ต้องห้ามของพลังงานว่ามันจะมีอยู่จริงหรือไม่ อย่างไรก็ตาม, ล่าสุดเมื่อเร็ว ๆ นี้พบว่าโดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของการวาร์ปนั้น, มวลและพลังงานที่มีค่าเป็นลบที่มีค่าน้อยมากสามารถนำมาใช้ได้ในกรณีนี้, ถึงแม้ว่าจำเป็นจะต้องใช้พลังงานซึ่งยังคงเป็นที่ต้องการมากกว่าสิ่งใด ๆ ก็ตามที่เป็นไปได้ในช่วงเวลาปัจจุบันนี้ของมนุษย์ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ของนาซ่าได้เริ่มต้นการวิจัยในเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีดังกล่าวนี้แล้ว ", "title": "การวาร์ป" }, { "docid": "2882#8", "text": "ในยุคปัจจุบันการสร้างเครื่องมือเพื่อบุกเบิกพรมแดนใหม่ในฟิสิกส์ โดยเฉพาะในส่วนของวิชาฟิสิกส์อนุภาคและจักรวาลวิทยาเป็นเรื่องที่\nสลับซับซ้อนมาก บางโครงการอย่าง Gravity Probe B ซึ่งเป็นดาวเทียมทำหน้าที่ตรวจสอบทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ก็ต้องใช้เวลาในการดำเนินโครงการถึง 40 กว่าปี (ตั้งแต่เสนอโครงการโดย Leonard Schiff เมื่อปี ค.ศ. 1961 ซึ่งเพิ่งจะได้ปล่อยดาวเทียมสู่วงโคจรเมื่อปี ค.ศ. 2004 ซึ่งตัว Schiff เองก็ถึงแก่กรรมไปก่อนหน้านั้นแล้ว) โครงการบางโครงการก็ต้องอาศัยการร่วมมือกันในระดับนานาชาติที่ต้องสนับสนุนทั้งกำลังคนและงบประมาณ เช่น โครงการเครื่องเร่งอนุภาค Large Hadron Collider (LHC) ที่ CERN (เป็นศูนย์วิจัยที่ปรากฏในตอนต้นของนิยาย เทวากับซาตาน ของ แดน บราวน์) ก็ต้องใช้อุโมงค์ใต้ดินเป็นวงแหวนที่มีเส้นรอบวงถึง 27 กิโลเมตร ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่แพงเกินกว่าที่จะเป็นโครงการที่สร้างโดยประเทศเดียว ในการที่จะเสนอขออนุมัติโครงการเพื่อสร้างการทดลองใหญ่โตที่แสนแพงเช่นนี้ต้องอาศัยความรู้ทางด้านฟิสิกส์เชิงทฤษฎีช่วยเป็นอย่างมาก หลายครั้งก่อนที่จะเสนอโครงการจะต้องมีการสร้างแบบจำลองที่ละเอียดและซับซ้อนเพื่อที่จะทำนายล่วงหน้าว่าเครื่องมือที่สร้างขึ้นจะวัดอะไรได้บ้างและผลการทดลองจะออกมาในลักษณะใด ตัวอย่างเช่น เครื่องเร่งอนุภาค LHC ก็ต้องมีการคำนวณมาก่อนว่ามวลของอนุภาคฮิกส์ ทำนายจากแบบจำลองSuper Symmetryจะอยู่ในระดับพลังงานใด จะตรวจวัดได้ไหมเป็นต้น ซึ่งแน่นอนว่า มวลของอนุภาคฮิกส์ จากแบบจำลองต่าง ๆ ก็เป็นเพียงหนึ่งในอีกหลาย ๆ ปรากฏการณ์ที่ฟิสิกส์ทฤษฎีทำทายไว้ล่วงหน้าให้ได้ก่อนสร้างเครื่องเร่งอนุภาคอย่าง LHC นั่นคือ นักฟิสิกส์ในปัจจุบันต้องมั่นใจถึงระดับหนึ่งว่าผลการทดลองจากโครงการต่าง ๆ จะต้องคุ้มค่ากับเงินที่ลงทุนไป", "title": "ฟิสิกส์" }, { "docid": "46548#2", "text": "เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 รัฐบาลสหราชอาณาจักรให้ความเห็นอย่างเป็นทางการว่า\nไม่ควรมีสิทธิบัตรใด ๆ สำหรับการคิดค้นที่ทำให้เกิดความก้าวหน้าแค่เพียงในสาขาซอฟต์แวร์\nและแม้ว่าในบางเขตกฎหมาย เช่น สหรัฐอเมริกา จะเปิดเสรีกว่าในการออกสิทธิบัตรสำหรับการคิดค้นที่เกี่ยวกับซอฟต์แวร์\nแต่สิทธิบัตรเหล่านั้นจะไม่สามารถบังคับใช้ได้สหราชอาณาจักร", "title": "สิทธิบัตรซอฟต์แวร์" }, { "docid": "510329#0", "text": "ท็อปฮิต ลูกทุ่งมาตรฐาน เป็นโครงการสตูดิโออัลบั้มของนักร้องลูกทุ่งหลายคนที่สังกัดประจำและเฉพาะกิจของค่ายอาร์เอส มีผลงานออกวางจำหน่ายในช่วงปี พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2538 โดยศิลปินนักร้องคนแรกของโครงการนี้คือ สันติ ดวงสว่าง ต่อด้วย ยอดรัก สลักใจ, สายัณห์ สัญญา , ศรเพชร ศรสุพรรณ, รังษี เสรีชัย, นคร มีโชคชัย, พรทิพย์ แสงอุทัย เป็นต้น โดยเพลงในอัลบั้ม ระยะแรกเป็นการนำเพลงเก่าของนักร้องคนอื่นหรือของตัวเองมาบันทึกเสียงและขับร้องใหม่ ต่อมาจึงมีการออกอัลบั้มเป็นเพลงใหม่ทั้งหมด หรือในบางอัลบั้มอาจมีเพลงเก่าปะปนอยู่ด้วย โดย สันติ ดวงสว่าง เป็นนักร้องที่มีอัลบั้มของโครงการนี้มากที่สุด ประมาณ 24 ชุด\nและในปี พ.ศ. 2545 โครงการนี้อาร์เอสนำกลับมาอีกครั้ง เพิ่มคำว่า \"โครงการใหม่\" ไปเป็น \"ท็อปฮิต ลูกทุ่งมาตรฐาน โครงการใหม่\" ในโครงการใหม่นี้ มีนักร้องแค่ไม่กี่คน แม้แต่ สันติ ดวงสว่าง และ ยอดรัก สลักใจ ที่เคยมีผลงานมีโครงการที่แล้วและประสบความสำเร็จมาแล้ว และยังมีผลงานกับทางอาร์เอสอยู่ ก็ไม่ได้เข้าร่วมโครงการครั้งใหม่นี้แต่อย่างใด ผลงานแรกของค่ายนี้ ยังไม่แน่ชัดว่า ศิลปินไหนเป็นเบอร์แรก เท่าพอค้นเจอและที่ทราบมี เอกชัย ศรีวิชัย และ อังคนางค์ คุณไชย แต่ทว่าโครงการนี้อยู่ได้ปีเดียว เพราะไม่ประสบความสำเร็จทางด้านยอดขาย ไม่นานอาร์เอสก็เปิดค่าย อาร์สยาม ขึ้นมาเพราะต้องการสร้างเพลงแนวของลูกทุ่งอย่างเดนชัด", "title": "ท็อปฮิตลูกทุ่งมาตรฐาน" }, { "docid": "962319#0", "text": "เออร์เนสต์ ออร์แลนโด ลอว์เรนซ์ () เป็นผู้บุกเบิกศาสตร์นิวเคลียร์ชาวอเมริกัน และเป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปีค.ศ. 1939 จากการคิดค้นเครื่องเร่งอนุภาคชนิดไซโคลตรอน (Cyclotron) และยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มีส่วนร่วมในโครงการแมนฮัตตัน และยังเป็นผู้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอว์เรนซ์เบิร์กลีย์ ตลอดจนห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอว์เรนซ์ลิเวอร์มอร์ ชื่อของเขายังถูกนำไปตั้งให้กับธาตุสังเคราะห์ลำดับที่ 103 นามว่าลอว์เรนเซียม ซึ่งค้นพบในปี 1961 โดยห้องปฏิบัติการที่เบิร์กลีย์", "title": "เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์" }, { "docid": "100421#0", "text": "โครงการโบอิงเยลโลว์สโตน (Boeing Yellowstone Project) เป็นโครงการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ที่จะนำมาทดแทนเครื่องบินโดยสารโบอิงในทุกๆ รุ่น ได้แก่ การนำเอาวัสดุคอมโพสิตมาใช้สร้างลำตัวเครื่องบิน, พัฒนาเครื่องยนต์ให้มีประสิทธิภาพในการใช้เชื้อเพลิงมากขึ้น และนำเอาระบบอิเลคทรอนิคมาใช้มากขึ้น", "title": "โครงการโบอิงเยลโลว์สโตน" } ]
1344
ละครสามช่าเป็นการแสดงละครเวทีโดยแก๊งมีชื่อว่าอะไร?
[ { "docid": "206442#3", "text": "ละครสามช่าเป็นการแสดงละครเวทีโดยแก๊งสามช่า ความยาวประมาณ 30 นาที มีการซ้อมกันมาก่อนถ่ายทำจริง ผลัดกันเป็นตัวเอกในเรื่องแต่ละสัปดาห์ บางครั้งแก๊งสามช่าหนึ่งคนต้องรับบทบาทเป็นตัวละครหลายตัวก็มี\nในเกมชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊กนั้นยังคงใช้รูปแบบเดียวกับ ชิงร้อยชิงล้าน ชะชะช่า ทว่าได้มีการปรับกติกาบ้างในบางเกม และเพิ่มเกมใหม่เข้าไปด้วย อย่างไรก็ดี ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก เป็นยุคที่ 2 ที่ไม่มีล้านแตกเลย โดยไม่มีล้านแตกเลยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา", "title": "ชิงร้อยชิงล้าน ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ตั๊ก" }, { "docid": "206434#5", "text": "ตั้งแต่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2549 หม่ำ จ๊กมก เป็นพิธีกรแทน ปัญญา นิรันดร์กุล ในกรณีที่ปัญญาติดภารกิจและงานต่าง ๆ จนไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ โดยภายหลังในปี พ.ศ. 2552 ทางรายการจะเชิญพิธีกรรับเชิญมาแทน อาทิ กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์, พิษณุ นิ่มสกุล และ ธนา สุทธิกมลละครสามช่าเป็นการแสดงละครเวทีโดยแก๊งสามช่า ความยาวประมาณ 30 นาที ตอนแรกออกอากาศวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2542 ซึ่งในปี พ.ศ. 2542 เป็นเพียงละครสั้นเวลา 3 - 5 นาที เพื่อปูเรื่องสำหรับผู้กล้าประจำสัปดาห์เท่านั้น และตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ได้ปรับเปลี่ยนเป็นละครยาวจนถึงปัจจุบัน ซึ่งละครสามช่าตอนแรก คือ การล้อเลียนรายการ เกมแก้จน และต่อมาก็มีศิลปินดารารับเชิญในแต่ละสัปดาห์ หรือ เว้นสัปดาห์มาร่วมแสดงกับแก๊ง 3 ช่าถือว่าเป็นครั้งแรก ชิงร้อยชิงล้าน ที่มีการเชื้อเชิญดารารับเชิญมาร่วมแสดงกับแก๊ง 3 ช่า โดยละคร 3 ช่าตอนแรกที่มีการเปลี่ยนแปลงฉาก (4 กันยายน พ.ศ. 2545) คือตอน ร้อยเล่ห์เสน่ห์(เหลือ)ร้าย", "title": "ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า" } ]
[ { "docid": "207875#2", "text": "อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่วันรัฐธรรมนูญ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2555) ทางรายการชิงร้อยชิงล้าน ฮา ฮอลิเดย์ ได้ปรับรูปแบบรายการครั้งใหญ่ โดยยกเลิกการนำเสนอไฮไลท์ฉากตลกในอดีต และเปลี่ยนมาเป็นการแสดงละครในลักษณะเดียวกันกับละครแก๊งสามช่าในรายการชิงร้อยชิงล้านปกติแทน โดยเนื้อหาที่นำเสนอจะเป็นเนื้อเรื่องใหม่ที่เปลี่ยนไปทุกๆ วันหยุด และมีเฉพาะแก๊งสามช่าเป็นผู้แสดง นอกจากนี้ ยังถือเป็นโอกาสที่แก๊งสามช่า กลับมาเป็นพิธีกรร่วมกันอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่มีพิธีกรเพียง 2 คน คือ โหน่ง ชะชะช่า และ ส้มเช้ง สามช่า มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550 โดยมีเพียง หม่ำ จ๊กมก เท่านั้นที่ไม่ได้มาร่วมเป็นพิธีกรด้วย (แต่ปรากฏว่าในเทปวันขึ้นปีใหม่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 หม่ำ จ๊กมกได้มาร่วมเป็นพิธีกรอีกครั้งเป็นครั้งแรกในรอบ 6 ปี)", "title": "ชิงร้อยชิงล้าน ฮาฮอลิเดย์" }, { "docid": "720180#4", "text": "เป็นช่วงสืบเนื่องมาจากยุคชิงร้อยชิงล้าน ชะชะช่า และ ชิงร้อยชิงล้าน ซันไชน์ เดย์ เป็นการแสดงละครของแก๊งสามช่า โดยจะมีเนื้อหาและดารารับเชิญแตกต่างกันในแต่ละสัปดาห์ มีความยาวตอนละ 40 - 50 นาที บางตอนเหลือ 30 นาที บางตอนได้เพิ่มความยาวเป็นตอนละ 1 ชั่วโมง โดยตั้งแต่ 7 มกราคม พ.ศ. 2561 ละครจะมีความยาวตอนละ 30 - 35 นาที เนื่องจากดวลาออกอากาศที่ลดลงสามารถดูรายชื่อตอนละครสามช่าและดารารับเชิญได้ที่ \"รายชื่อตอนละครสามช่า\"", "title": "ชิงร้อยชิงล้าน ว้าว ว้าว ว้าว" }, { "docid": "192843#1", "text": "ส้มเช้ง เริ่มอาชีพการแสดงด้วยการแสดงลิเกให้กับ \"คณะครื้นเครง เท่ง เถิดเทิง\" ซึ่งเป็นคณะของ เท่ง เถิดเทิง ต่อมาได้รับการเชิญชวนให้มาแสดงในฐานะทีมนักแสดงลิเกในช่วงละครแก๊ง 3 ช่า ในรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ของบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เมื่อ 7 มิถุนายน 2543 จากนั้นจึงมาเป็นนักแสดงสมทบในช่วงละครอยู่หลายต่อหลายครั้ง ในชื่อ ส้มโอ นั่นถือเป็นจุดเปลี่ยนและพลิกผันในหน้าที่การของเธอในทางที่ดีขึ้น เมื่อได้รับโอกาสครั้งใหญ่จากปัญญา นิรันดร์กุลให้มาแสดงละครตลกในรายการร่วมกับ หม่ำ จ๊กมก, เท่ง เถิดเทิง และโหน่ง ชะชะช่า อย่างถาวร เมื่อในเดือนมกราคม พ.ศ. 2545 และใช้ชื่อในวงการว่า ส้มเช้ง สามช่า ด้วยความสามารถหลากหลาย การแสดงตลกที่เรียกว่าแบบหน้าตาย รวมถึงรูปร่างหน้าตาและส่วนสูง 172 ซม. ทำให้ส้มเช้งเป็นที่จดจำได้ไม่ยากจนแจ้งเกิดในฐานะตลกหญิงได้ในที่สุด", "title": "ส้มเช้ง สามช่า" }, { "docid": "207875#5", "text": "เนื้อหาหลักของรายการจะเป็นการแสดงละครแก๊งสามช่าในรูปแบบพิเศษ ซึ่งจะมีการทำเนื้อหาใหม่เปลี่ยนไปตามแต่วันหยุดในแต่ละครั้ง และทั้ง 4 ช่วงของรายการจะเป็นละครทั้งหมด ดังนั้น ละครแก๊งสามช่าในวันหยุดจึงมีความยาวมากกว่าละครในรายการชิงร้อยชิงล้านปกติ ส่วนพิธีกรรายการนั้น จะปรากฏตัวในช่วงต้นรายการ และท้ายรายการ", "title": "ชิงร้อยชิงล้าน ฮาฮอลิเดย์" }, { "docid": "37529#5", "text": "ครูแก้วเป็นศิษย์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ ก่อนหน้านั้นละครเวทีที่แสดงอยู่ทั่วไป จะเป็นละครนอก หรือละครใน ซึ่งใช้ผู้แสดงชายหรือหญิงเพียงเพศเดียว ในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ครูแก้วเป็นผู้ริเริ่มให้มีละครเวทีที่ใช้ผู้แสดงชายจริง-หญิงแท้ เรื่องแรกคือเรื่อง \"นางบุญใจบาป\" โดยนำเค้าโครงเรื่อง จาก \"บู๊สง\" แสดงโดย ม.ล. รุจิรา, มารศรี, ล้อต๊อก และจอก ดอกจันทร์ แสดงที่ศาลาเฉลิมกรุง ผลงานละครเวทีที่ครูแก้วสร้างไว้มีประมาณ 50 เรื่อง นอกจากนี้ยังเขียนบทแปลบรรยายไทยจากภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยใช้นามปากกาว่า \"แก้วฟ้า\" และแต่งบทละครโทรทัศน์ประมาณ 100 เรื่อง", "title": "แก้ว อัจฉริยะกุล" }, { "docid": "964335#1", "text": "ก๊วยเชาเทียน และเอี้ยทิซิม สองพี่น้อง ได้คบหากับปรมาจารย์นักพรตสำนักช้วนจินก่า ชิว ชู่จี ทั้งสองกำลังจะมีบุตร ชิว ชู่จีจึงได้ทิ้งมีดสั้นวิเศษ 2 เล่ม ให้แก่ทั้งคู่ โดยสลักชื่อ 'เอี้ยคัง' และ 'ก๊วยเจ๋ง' ไว้คนละด้าม ต่อมาอ้วนง้วนเลียกองค์ชายแห่งกิมก๊กถูกใจเปาเสียะเยาะ ภรรยาของเอี้ยทิซิม จึงวางแผนจ้างให้ขุนนางชาวฮั่นมาฉุดคร่าพาตัวไปให้ ก๊วยเชาเทียนถูกลูกหลงจนตายไป เอี้ยทิซิมไม่รู้เป็นตายร้ายดี หลีเพ้ง ภรรยาของก๊วยเชาเทียน ถูกขุนนางชั่วจับตัวเป็นตัวประกัน เปาะเสียะเยาะถูกอ้วนง้วนเลียกหลอกลวง จนยินยอมเป็นพระสนมให้เพื่อรักษา 'เอี้ยคัง' ลูกของตนเอาไว้ ด้านชิว ชู่จี มาช่วยสหายไม่ทัน จึงได้ตัดพ้อตัวเองว่าไม่เอาไหน และไล่ล่าขุนนางชั่ว จนไปขัดแย้งกับเจ็ดประหลาดแห่งกังหนำ และทั้งสองฝ่ายก็ไม่ยอมใคร แต่ชิว ชู่จีไม่อยากหักหาญน้ำใจกันไปมากกว่านี้ จึงได้คิดอุบายชุบเลี้ยงบุตรของสหายทั้งสองขึ้น และตกลงกับเจ็ดประหลาดแห่งกังน้ำว่า อีก 16 ปี ให้หลัง ให้พาบุตรของสหายที่ฝ่ายตนได้ฝึกมาประลองยุทธ์กันที่ดินแดนกังหนำ หลีเพ้งหาทางจนหลบหนีขุนนางชั่วมาได้ แต่เคราะห์กรรมกลับซัดพาไปอยู่ ณ ดินแดนมองโกล ที่นั่นเอง ที่ๆ 'ก๊วยเจ๋ง' ได้ถือกำเนิดขึ้น", "title": "มังกรหยก (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)" }, { "docid": "627707#2", "text": "ต่อมา บริษัท ซีเนริโอ จำกัด นำกลับมาสร้างเป็นละครเวที ในชื่อ \"บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล\" กำกับโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, ภาณุเดช วัฒนสุชาติ, กลศ อัทธเสรี เปิดการแสดงแล้ว 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2544, พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2550 โดยสองครั้งแรกแสดงที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ส่วนครั้งที่สามจัดแสดงที่โรงละครเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ ศูนย์การค้าดิเอสพละนาดการเปิดการแสดงทั้งสามครั้งนั้นรวมแล้วทั้งหมดเปิด 80 รอบการแสดง", "title": "บัลลังก์เมฆ" }, { "docid": "181041#2", "text": "ชมพู่เริ่มมีชื่อเสียงจากบทบาท \"แอนนี่\" ในละครเรื่อง \"หมอลำซัมเมอร์\" นอกจากนี้ เธอยังได้เล่นละครเวทีเรื่อง \"ม่านประเพณี\" และพากย์เสียงไทยในภาพยนตร์เรื่อง \"แก๊งค์สี่ขา ข้ามป่ามาป่วนเมือง\" รวมถึงเป็นพิธีกรบนเวทีการประกวดและงานสำคัญต่าง ๆ กับทางช่อง 7 เช่น \"เจาะโลกมายา\" และ \"จมูกมด\" รวมถึงได้ร่วมงานกับ เกียรติ กิจเจริญ และ หัทยา วงศ์กระจ่าง และเป็นพิธีกรรายการทอล์คโชว์วาไรตี้ \"7 กะรัต\" ร่วมกับ เมทนี บูรณศิริ หลังจากนั้น เธอกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้งจากบทบาท \"รินรดา\" ในละครเรื่อง \"ดาวเปื้อนดิน\" ในปี พ.ศ. 2551 เธอเซ็นสัญญากับทางช่อง 3 โดยมีผลงานที่สร้างชื่อมากที่สุดคือละครเรื่อง \"ดอกส้มสีทอง\" ในบทบาท \"เรยา\"", "title": "อารยา เอ ฮาร์เก็ต" } ]
3681
สึนามิเกิดจากพายุหรือไม่ ?
[ { "docid": "3554#0", "text": "คลื่นสึนามิ () เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น[1]", "title": "คลื่นสึนามิ" } ]
[ { "docid": "363968#20", "text": "พื้นที่ส่วนใหญ่ของเมืองคูจิและพื้นที่ส่วนใต้ของโอฟูนาโตะรวมทั้งบริเวณท่าเรือเกือบถูกทำลายอย่างสิ้นเชิง นอกจากนี้ เมืองที่เกือบถูกทำลายลงอย่างสิ้นเชิงคือ ริกูเซ็นตากาตะ ซึ่งมีรายงานว่าคลื่นสึนามิมีความสูงเท่ากับตึกสามชั้น เมืองอื่นที่ได้รับรายงานว่าถูกทำลายหรือได้รับความเสียหายอย่างหนักจากคลื่นสึนามิ ได้แก่โอตสึจิ และยามาดะ ในจังหวัดอิวาเตะ นามิเอะ โซมะ และมินามิโซมะ ในจังหวัดฟูกูชิมะ และโอนางาวะ นาโตริ อิชิโนมากิ และเคเซ็นนูมะ ในจังหวัดมิยางิ ผลกระทบรุนแรงที่สุดจาดคลื่นสึนามิเกิดขึ้นตามแนวชายฝั่งยาว 670 กิโลเมตรตั้งแต่เอริมะทางเหนือไปจนถึงโออาราอิทางใต้ ซึ่งการทำลายล้างส่วนใหญ่ในพื้นที่เกิดขึ้นในชั่วโมงหลังจากเกิดแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิยังได้พัดพาเอาสะพานเพียงหนึ่งเดียวที่เชื่อมต่อกับมิยาโตจิมะ จังหวัดมิยางิ ทำให้ประชากร 900 คนบนเกาะขาดการติดต่อทางบกกับแผ่นดินใหญ่ คลื่นสึนามิสูง 2 เมตรพัดถล่มจังหวัดชิบะ ราวสองชั่วโมงครึ่งให้หลังเหตุแผ่นดินไหว ก่อให้เกิดความเสียหายแย่างหนักต่อนครอาซาฮิ", "title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "3554#43", "text": "ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976): 16 สิงหาคม (เที่ยงคืน) เกิดคลื่นสึนามิเข้าถล่มภูมิภาครอบอ่าวโมโร (เมืองโคตาบาโต) ประเทศฟิลิปปินส์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 5,000 ราย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983): ประชาชนจำนวน 104 รายในภาคตะวันตกของประเทศญี่ปุ่นเสียชีวิตจากคลื่นสึนามิที่โถมเข้าถล่มหลังจากเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวในพื้นที่ใกล้เคียง ครั้งที่ 7 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998): สึนามิปาปัวนิวกินีคร่าชีวิตผู้ชนจำนวนประมาณ 2,200 ราย หลังจากที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1ในบริเวณ 15 กิโลเมตร นอกชายฝั่งปาปัวนิวกินี และจากห่างจากเวลานั้นเพียงแค่ 10 นาที คลื่นยักษ์สูง 12 เมตรก็เคลื่อนเข้าถล่มชายฝั่ง ในขณะที่ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวยังไม่สามารถที่จะก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ขนาดใหญ่ดังกล่าวได้โดยตรงแต่การที่เกิดคลื่นยักษ์ได้นั้น เชื่อกันว่า เนื่องจากแผ่นดินไหวส่งผลให้แผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเลื่อนตัว และเหตุการณ์หลังนี้ทำให้เกิดสึนามิขึ้น สองหมู่บ้านของปาปัวนิวกินีคือ อารอป และวาราปู ถูกทำลายเรียบเป็นหน้ากลอง", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "20739#50", "text": "ในหลายประเทศ, โรงงานมักจะตั้งอยู่บนชายฝั่งเพื่อให้เป็นแหล่งความพร้อมของน้ำหล่อเย็นสำหรับระบบน้ำบริการที่จำเป็น. ผลก็คือ การออกแบบต้องพิจารณาถึงความเสี่ยงของการเกิดน้ำท่วมและคลื่นสึนามิ. สภาพลังงานโลก (WEC) ระบุว่าความเสี่ยงจากภัยพิบัติกำลังเปลี่ยนแปลงและกำลังเพิ่มโอกาสของการเกิดภัยพิบัติเช่นแผ่นดินไหว, พายุไซโคลนเฮอริเคน, ไต้ฝุ่น, น้ำท่วม[38]. อุณหภูมิสูง, ระดับน้ำฝนต่ำและภัยแล้งที่รุนแรงอาจนำไปสู่​​การขาดแคลนน้ำจืด[38]. น้ำทะเลเป็นตัวกัดกร่อน, ดังนั้นการจัดหาพลังงานนิวเคลียร์มีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบทางลบจากปัญหาการขาดแคลนน้ำจืด[38]. ปัญหาทั่วไปนี้อาจจะมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป[38]. ความผิดพลาดในการคำนวณความเสี่ยงของการเกิดน้ำท่วมได้อย่างถูกต้องนำไปสู่เหตุบังเอิญ​​ระดับ 2 ของ 'สเกลเหตุการณ์นิวเคลียร์นานาชาติ'ระหว่าง'เหตุการณ์น้ำท่วมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ Blayais ในปี 1999'[39], และในขณะที่น้ำท่วมเกิดจากแผ่นดินไหวและสึนามิที่ Tōhoku ในปี 2011 ที่นำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ Fukushima I[40].", "title": "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์" }, { "docid": "32135#3", "text": "ที่แมนฮัตตัน แซม ฮอลล์ ลูกชายของแจ็กกำลังเข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการ เขาและเพื่อน ๆ พบกับคลื่นสึนามิขนาดยักษ์จนต้องหนีเข้าไปหลบในหอสมุดประชาชนนิวยอร์ก ระหว่างหลบหนี ลอร่า แฟนสาวของแซมได้รับบาดเจ็บ ในขณะที่สกอตแลนด์ ศจ. แร็ปสันและทีมงานเสียชีวิตจากพายุ", "title": "วิกฤติวันสิ้นโลก" }, { "docid": "3554#30", "text": "พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) - สึนามิแปซิฟิก (Pacific Tsunami) แผ่นดินไหวในหมู่เกาะอาลิวเชียน ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ก่อให้เกิดคลื่นสึนามิที่ถาโถมเข้าสู่ฮาวายและอะแลสกา ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 165 คน มหันตภัยสึนามิที่เกิดขึ้นในครั้งนั้นส่งผลให้เกิดการก่อสร้างระบบเตือนภัยสึนามิสำหรับบรรดาประเทศที่ตั้งอยู่ตามบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกขึ้นในปี พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949)", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "978440#0", "text": "ชงดารี (, ) เป็นชื่อในรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในชุดที่ 1 ของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ส่งโดยประเทศเกาหลีเหนือ คำว่า \"ชงดารี\" ในภาษาเกาหลีหมายถึง นกจาบฝนยูเรเชีย (\"Alauda arvensis\") ชื่อนี้ส่งมาทดแทนชื่อ โซนามู (, ) ซึ่งหมายถึง ต้นสนหรือต้นเกี๊ยะ และถูกถอนไปเมื่อฤดูกาล 2557 ตามคำขอของประเทศมาเลเซีย เนื่องจากออกเสียงคล้ายกับคำว่าสึนามิ จึงอาจสร้างความสับสนและความตื่นตระหนก\nพายุโซนามูนั้นอาจหมายถึง", "title": "พายุชงดารี" }, { "docid": "490495#2", "text": "นอกจากเหตุผลด้านอนุภาพทำลายล้างแล้วยังมีชื่ออื่นที่ถูกปลดด้วยเหตุผลอื่น คือ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ชื่อ \"หนุมาน\" (Hanuman) ถูกปลดจากการคัดค้านของกรมอุตุนิยมวิทยาแห่งอินเดีย ด้วยเหตุผลด้านศาสนา นอกจากนี้ชื่อ \"โกโด\" (Kodo) ที่ถูกนำมาแทนที่ในปี พ.ศ. 2545 ก็ไม่ได้มีการนำมาใช้ ในปี พ.ศ. 2547 ชื่อ \"ยันยัน\" (Yanyan) และ \"เถ่งเถง\" (Tingting) ก็ถูกถอดออกตามคำขอของหอสังเกตการณ์ฮ่องกง ทั้งหมดรวมเป็น 9 รายชื่อในรายการที่มีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ชื่อ \"โซนามุ\" (Sonamu) ได้ถูกถอดออกตามคำร้องของประเทศมาเลเซีย เนื่องจากก่อให้เกิดความตื่นตระหนก เพราะออกเสียงคล้ายกับคำว่า \"สึนามิ\" ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ชื่อ \"ชงดารี\" ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อแทนชื่อ \"โซนามุ\" ต่อมาในการประชุมเซสชั่นที่ 46 ของคณะกรรมการพายุไต้ฝุ่น มีการระบุข้อสังเกตว่าชื่อ \"บิเซนเต\" เป็นชื่อที่ปรากฏทั้งรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสำหรับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ และมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีการตั้งชื่อ \"แลง\" ขึ้นมาแทนบิเซนเตในรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสำหรับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงความสับสนที่อาจจะเกิดขึ้น", "title": "รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ" }, { "docid": "3785#9", "text": "ระหว่างการเดินทางของเฟอร์ดินานด์ มาเจลลันจากช่องแคบมาเจลลันมาฟิลิปปินส์เขาพบว่ามหาสมุทรนี้ค่อนข้างสงบ แต่ก็ไม่ได้สงบทุกที่เพราะมีพายุโซนร้อนจำนวนมากพัดปะทะหมู่เกาะและชายฝั่งของแปซิฟิก[8] บริเวณรอบชายฝั่งแปซิฟิกเต็มไปด้วยภูเขาไฟและมักได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว[9] สึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเลได้พัดทำลายหมู่เกาะและเมืองเป็นจำนวนมาก[10]", "title": "มหาสมุทรแปซิฟิก" }, { "docid": "363968#29", "text": "ระดับและขอบเขตความเสียหายอันเกิดจากแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดตามมานั้นใหญ่หลวง โดยความเสียหายส่วนใหญ่นั้นเป็นผลจากคลื่นสึนามิ คลิปวิดีโอของเมืองที่ได้รับผลกระทบเลวร้ายที่สุดแสดงให้เห็นภาพของเมืองที่เหลือเพียงเศษซาก ซึ่งแทบจะไม่เหลือส่วนใดของเมืองเลยที่ยังมีสิ่งปลูกสร้างเหลืออยู่ การประเมินขอบเขตมูลค่าความเสียหายอยู่ในระดับหลายหมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาพถ่ายดาวเทียมเปรียบเทียบก่อนและหลังในพื้นที่ที่ถูกทำลายล้างนั้นแสดงให้เห็นความเสียหายอย่างมโหฬารที่เกิดในหลายพื้นที่ แม้ญี่ปุ่นจะลงทุนเป็นมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐไปกับกำแพงกั้นน้ำต่อต้านสึนามิ ซึ่งลากผ่านอย่างน้อย 40% ของแนวชายฝั่งทั้งหมด 34,751 กิโลเมตร และมีความสูงถึง 12 เมตรก็ตาม แต่คลื่นสึนามิก็เพียงทะลักข้ามยอดกำแพงกั้นน้ำบางส่วน และทำให้กำแพงบางแห่งพังทลาย", "title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "3554#24", "text": "สึนามิที่เกิดขึ้นในช่วง 6,100 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นคลื่นสึนามิใต้น้ำที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ อันเป็นผลจากการเลื่อนตัวของชั้นหินที่เรียกว่า \"Storegga Slide\" ซึ่งทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของแผ่นดินใต้น้ำครั้งใหญ่ติดต่อกันเป็นระลอกๆ ยาวนานเป็นเวลาหลายหมื่นปี", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "922736#1", "text": "ขณะเกิดเหตุแผ่นดินไหวมีการแจ้งเตือนให้เฝ้าระวังภัยสึนามิลูกใหญ่ในบางพื้นที่โดยศูนย์เฝ้าระวังสึนามิสหรัฐ ในเวลาต่อมาการแจ้งเตือนทั้งหมดถูกยกเลิกเนื่องจากได้มีการตรวจสอบแล้ว สึนามิไม่เกิดขึ้นเพราะแผ่นดินไหวในครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวชนิดรอยเลื่อนแบบการไถล การเคลื่อนที่ของน้ำทะเลจึงมีน้อย สึนามิจึงไม่เกิด", "title": "แผ่นดินไหวในประเทศฮอนดูรัส พ.ศ. 2561" }, { "docid": "3554#41", "text": "ครั้งที่ 1 20 มกราคม พ.ศ. 2150 (ค.ศ. 1607): ประชาชนจำนวนหลายพันคนที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งช่องแคบอังกฤษ (Bristol Channel) จมน้ำเสียชีวิต ขณะที่บ้านเรือนที่อยู่อาศัยและหมู่บ้านหลายแห่งถูกน้ำพัดกวาดหายลงไปในทะเลจากกระแสน้ำที่เอ่อท่วมอย่าวรวดเร็วซึ่งอาจเป็นคลื่นสึนามิ สาเหตุที่ทำให้เกิดน้ำท่วมในครั้งนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แต่ก็มีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเกิดจากสาเหตุ 2 ประการที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันโดยมิได้คาดหมายมาก่อน คือ สภาพดินฟ้าอากาศที่วิปริตอย่างรุนแรงและช่วงกระแสน้ำทะเลที่หนุนขึ้นสูงสุด ครั้งที่ 2 มหันตภัยสึนามิครั้งเลวร้ายที่สุดอีกครั้งหนึ่ง ถาโถมเข้าถล่มหมู่บ้านหลายหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตามชายฝั่งเกาะซานริกู (Sanriku) ประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) คลื่นที่มีความสูงกว่าตึก 7 ชั้น (ประมาณ 20 เมตร) พร้อมกับกวาดกลืนชีวิตผู้คนจำนวน 26,000 คนลงสู่ท้องทะเล ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929): เกิดแผ่นดินเลื่อนตัวใต้ทะเลที่หมู่เกาะ Aleutian คลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นถาโถมเข้าสู่เกาะฮาวายกลืนชีวิตผู้คนไป 159 ราย (ขณะที่อีก 5 ราย เสียชีวิตในอะลาสก้า) ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958): สึนามิที่เกิดขึ้นในอ่าว Lituya Bay รัฐอะลาสก้า เป็นสึนามิขนาดมหึมาขนาดเมก้าสึนามิ เกิดจากน้ำแข็งถล่ม เป็นสึนามิเฉพาะท้องถิ่น เนื่องจากพื้นที่ได้รับผลกระทบจำกัดวงอยู่เฉพาะในอ่าว แต่ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นคลื่นสึนามิที่สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ โดยมีความสูงมากกว่า 500 เมตร ( 1,500 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเล คลื่นที่เกิดไม่สามารถเคลื่อนตัวออกไปไกลจากแนวฟยอร์ด (fjord) ที่ล้อมรอบอยู่ได้ แต่ก็ทำให้มีผู้เสียชีวิต 2 รายจากเรือที่เข้าไปทำการประมงอยู่ในบริเวณนั้น และพลานุภาพของมันก็ทำให้พื้นดินบริเวณนั้นถูกกลืนหาย", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "178926#4", "text": "ทะเลบาหลีเกิดสึนามิหลายครั้ง การระเบิดของภูเขาไฟเติมโบราเมื่อ พ.ศ. 2358 ทำให้เกิดสึนามิเมื่อ 22 กันยายนที่จุด และอีกสามปีต่อมา (8 กันยายน พ.ศ. 2361) เกิดการปะทุของภูเขาไฟที่จุด นอกจากนั้นยังเกิดสึนามิเมื่อ พ.ศ. 2401 และ พ.ศ. 2460 ซึ่งมีความสูงของคลื่นสูงสุด และ ตามลำดับ", "title": "ทะเลบาหลี" }, { "docid": "169090#6", "text": "เมื่อเทียบกับเหตุการณ์คลื่นสึนามิถล่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2547 แล้ว ถือว่าเหตุการณ์พายุนาร์กิสนี้เป็นพิบัติภัยที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติพม่า", "title": "เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551" }, { "docid": "3554#13", "text": "ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสึนามิคือ คลื่นเซช (seiche) แผ่นดินไหวที่รุนแรงมักทำให้เกิดทั้งคลื่นสึนามิและคลื่นเซช มีหลักฐานว่าคลื่นเซชอาจเกิดจากคลื่นสึนามิได้เช่นกัน", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "717748#56", "text": "ภัยอีกอย่างหนึ่งก็คือ คลื่นเมกะสึนามิ\nเช่น คลื่นที่อาจจะสามารถทำลาย ฝั่งด้านตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งสิ้น\nเป็นคลื่นที่เกิดจากเกาะภูเขาไฟถล่มลงมาในทะเล \nแม้ว่า เหตุการณ์เหล่านี้ จะไม่สามารถทำลายเผ่าพันธุ์มนุษย์โดยทั้งหมด\nแต่ก็สามารถเป็นภัยต่ออารยธรรมในพื้นที่\nมีคลื่นสึนามิที่มีคนตายมาก แม้หลังจากที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 และในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 แต่ก็ยังไม่ใหญ่พอที่จะเรียกว่า คลื่นเมกะสึนามิ\nเมกะสึนามิ สามารถมีแหล่งกำเนิดจากวัตถุอวกาศได้ด้วย เช่นมีดาวเคราะห์น้อยวิ่งลงมาในทะเล", "title": "ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก" }, { "docid": "71707#0", "text": "ภัยธรรมชาติ คือผลกระทบที่เกิดจากอันตรายจากภัยธรรมชาติ (เช่น ภูเขาไฟระเบิด, แผ่นดินไหว, หรือแผ่นดินถล่ม) ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ภัยธรรมชาติมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปบางอย่างร้ายแรงน้อย บางอย่างร้ายแรงมากซึ่งอาจสร้างผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น อุทกภัย หรือน้ำท่วม การเกิดพายุ (วาตภัย) การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ถามว่าพวกสึนามิหรือเกลียวคลื่นนั้นจัดเป็นประเภทอะไร คำตอบนั้นก็คือประเภท ธรณีพิบัติภัย(พวกเดียวกับแผ่นดินไหว)", "title": "ภัยธรรมชาติ" }, { "docid": "3554#34", "text": "ประเทศในแถบมหาสมุทรอินเดียเหล่านี้ ยังไม่มีระบบเตือนภัยคลื่นสึนามิที่สมบูรณ์พอดังเช่นประเทศในภูมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนหนึ่งเนื่องจากไม่มีภัยพิบัติที่เกิดจากคลื่นยักษ์ในภูมิภาคมานานแล้ว นับตั้งแต่เกิดคลื่นสึนามิจากการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิต 36,000 คน ภัยพิบัติสึนามิในมหาสมุทรอินเดียล่าสุดนี้ส่งผลให้ยูเนสโกและองค์การระหว่างประเทศหลายแห่งออกมาเคลื่อนไหว เรียกร้องให้มีการจัดตั้งระบบเตือนภัยสึนามิโลกขึ้น", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "363968#19", "text": "เช่นเดียวกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 และเหตุการณ์พายุไซโคลนนาร์กิส ความเสียหายจากคลื่นที่พัดเข้าถล่ม แม้ว่าจะกินพื้นที่จำกัดเฉพาะในท้องถิ่นกว่ามาก แต่ก็ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าตัวแผ่นดินไหวเอง มีรายงานว่า เมืองทั้งเมืองถูกทำลายจากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิในญี่ปุ่น รวมทั้งเมืองมินามิซังริกุ ซึ่งมีผู้สูญหายกว่า 9,500 คน ร่างของผู้เสียชีวิตหนึ่งพันคนถูกเก็บกู้ในเมืองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2554 ในบรรดาปัจจัยที่ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตจากคลื่นสึนามิสูงนั้น ข้อหนึ่งเป็นเพราะแรงกระแทกของน้ำขนาดใหญ่ที่ไม่คาดฝัน และกำแพงสึนามิที่ตั้งอยู่ในนครหลายแห่งที่ได้รับผลกระทบ ป้องกันได้เฉพาะคลื่นสึนามิที่ขนาดเล็กกว่านี้มาก นอกจากนี้ หลายคนที่ถูกคลื่นสึนามิพัดพาไปคิดว่าพวกตนอยู่บนที่สูงพอจะปลอดภัยแล้ว", "title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "3554#11", "text": "นอกจากการกระทบกระเทือนที่เกิดใต้น้ำแล้ว การที่พื้นดินขนาดใหญ่ถล่มลงทะเล หรือการตกกระทบพื้นน้ำของวัตถุ ก็สามารถทำให้เกิดคลื่นได้ คลื่นสึนามิที่เกิดในรูปแบบนี้จะลดขนาดลงอย่างรวดเร็วและไม่มีผลกระทบต่อชายฝั่งที่อยู่ห่างไกลมากนัก อย่างไรก็ตาม ถ้าแผ่นดินมีขนาดใหญ่มากพอ อาจทำให้เกิด เมกะสึนามิ ซึ่งอาจมีความสูงร่วมร้อยเมตรได้", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "3554#4", "text": "บางครั้งคลื่นสึนามิถูกเรียกว่า คลื่นยักษ์ แต่ในช่วงปีหลัง คำนี้ค่อย ๆ เสื่อมความนิยมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแวดวงวิทยาศาสตร์ เพราะคลื่นสึนามิไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับกระแสน้ำเลย คำว่า \"คลื่นยักษ์\" ที่ครั้งหนึ่งเคยนิยมใช้นี้ มาจากลักษณะปรากฏทั่วไปที่สุด ซึ่งคือ คลื่นทะเลหนุน (tidal bore) สูงผิดปกติ ทั้งคลื่นสึนามิและกระแสน้ำต่างก็ก่อให้เกิดคลื่นน้ำที่พัดพาเข้าสู่ฝั่ง แต่ในกรณีของคลื่นสึนามิ การเคลื่อนที่ของน้ำในแผ่นดินนั้นยิ่งใหญ่กว่าและกินเวลานานกว่ามาก จึงให้ความรู้สึกของกระแสน้ำสูงอย่างน่าเหลือเชื่อ คำว่า \"คลื่นสึนามิ\" เองก็ไม่ถูกต้องนักเมื่อเทียบกับ \"คลื่นยักษ์\" เพราะคลื่นสึนามิไม่จำกัดอยู่เฉพาะกับท่าเรือ บรรดานักธรณีวิทยาและนักสมุทรศาสตร์ต่างไม่เห็นด้วยกับคำว่าคลื่นยักษ์ แต่เห็นว่าชื่อคลื่นตามลักษณะของคลื่นนั้นธรรมดาควรแทนชื่อด้วยศัพท์ทางธรณีวิทยาและสมุทรศาสตร์", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "79797#11", "text": "ลิงคินพาร์กยังได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการกุศลเป็นจำนวนมาก โดยที่โดดเด่นที่สุดคือการบริจาคเงินเพื่อผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์พายุเฮอร์ริเคนชาร์ลีย์ ในปี พ.ศ. 2547 และเหตุการณ์พายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ซึ่งเกิดขึ้นต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ลิงคินพาร์กทำเงินบริจาคได้ 75,000 ดอลลาร์สหรัฐให้กับมูลนิธิหน่วยรบปฏิบัติการพิเศษ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2547 และยังได้ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 โดยการจัดคอนเสิร์ตเพื่อการกุศล และจัดตั้งกองทุนที่เรียกว่า มิวสิกฟอร์รีลีฟ อย่างไรก็ตามวงก็ได้มีส่วนร่วมในงานคอนเสิร์ตไลฟ์เอท ชุดการแสดงคอนเสิร์ตเพื่อการกุศลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับโลก ซึ่งได้ทำการแสดงคอนเสิร์ตไลฟ์เอทด้วยกันกับเจย์-ซี ที่ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย ต่อมาวงได้กลับมารวมตัวกับเจย์-ซีที่งานมอบรางวัลแกรมมีปี พ.ศ. 2549 ในการแสดงในผลงานเพลง \"นัมบ์/อานคอร์\" ซึ่งเป็นผู้ชนะรางวัลในสาขาแร็ป/ร้องยอดเยี่ยม และได้ร่วมขึ้นแสดงกับพอล แม็กคาร์ตนีย์ ซึ่งได้เพิ่มเนื้อร้องจากเพลง \"เยสเตอร์เดย์\" ต่อมาพวกเขาก็ได้ไปแสดงคอนเสิร์ตที่งานเทศกาลดนตรีซัมเมอร์โซนิกในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งจัดโดยเมทัลลิกาที่ประเทศญี่ปุ่น", "title": "ลิงคินพาร์ก" }, { "docid": "2938#11", "text": "ภัย (Peril) คือ สาเหตุของความเสียหาย ซึ่งภัยสามารถเกิดขึ้นได้จากภัยธรรมชาติ เช่น เกิดพายุ สึนามิ น้ำท่วม แผ่นดินไหว เป็นต้น ภัยนอกจากจะเกิดขึ้นได้จากภัยธรรมชาติแล้ว ภัยนั้นยังเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น อัคคีภัย จลาจล ฆาตกรรม เป็นต้น สำหรับสาเหตุสุดท้ายที่จะเกิดภัยได้นั้นคือภัยที่เกิดขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจ เพราะภัยที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจ เป็นอีกสาเหตุที่สำคัญ เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้วคนทั้งประเทศ หรือทั้งภูมิภาคจะได้รับผลกระทบอย่างกว้างขวาง ความเสี่ยง (Risk) คือ ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ ซึ่งไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ความเสี่ยงนั้น ๆ จะมีแนวโน้มที่เกิดขึ้นไม่มากก็น้อยในบริษัท สภาวะที่จะทำให้เกิดความเสียหาย (Hazard) คือ สภาพเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ความเสียหายเพิ่มสูงขึ้น โดยสภาวะต่าง ๆ นี้สามารถแบ่งออกได้เป็น สภาวะทางด้านกายภาพ (Physical) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย เช่น ชนิดและทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง อาจเอื้อต่อการเกิดเพลิงไหม้ สภาวะทางด้านศีลธรรม (Moral) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากความไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงาน เช่น การฉ้อโกงของพนักงาน และสภาวะด้านจิตสำนึกในการป้องกันความเสี่ยง (Morale) คือ สภาวะที่ไม่ประมาทและเลินเล่อ หรือการไม่เอาใจใส่ในการป้องกันความเสี่ยง เช่น การที่พนักงานปล่อยให้เครื่องจักรทำงานโดยไม่ควบคุม", "title": "ความเสี่ยง" }, { "docid": "3554#23", "text": "แม้ว่าสึนามิจะเกิดขึ้นบ่อยที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ก็เป็นที่รู้จักกันดีว่าปรากฏการณ์สึนามิได้เกิดขึ้นในพื้นที่ส่วนอื่นๆของโลกด้วยเช่นกัน และมีข้อมูลเก่าแก่มากมายหลายชิ้นที่พูดถึง \"สึนามิ\" ที่มีอำนาจทำลายล้างสูงนี้ ซึ่งเรียงตามลำดับการเกิดขึ้นก่อนหลังได้ดังต่อไปนี้", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "3875#66", "text": "พื้นที่บริเวณกว้างบนพื้นผิวโลกเผชิญสภาพอากาศร้ายแรง เช่น พายุหมุนเขตร้อน เฮอริเคน หรือไต้ฝุ่นซึ่งครอบงำสิ่งมีชีวิตในพื้นที่เหล่านั้น ระหว่างปี 1980 ถึง 2000 ภัยธรรมชาติดังกล่าวเป็นสาเหตุทำให้มีผู้เสียชีวิตโดยเฉลี่ย 11,800 รายต่อปี[175] ในหลายที่ยังต้องประสบกับแผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด ทอร์นาโด หลุมยุบ พายุหิมะ น้ำท่วม ภัยแล้ง ไฟป่า และหายนะภัยหรือพิบัติภัยอื่น ๆ", "title": "โลก (ดาวเคราะห์)" }, { "docid": "363968#21", "text": "13 มีนาคม พ.ศ. 2554 สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นเผยแพร่รายละเอียดการสังเกตคลื่นสึนามิที่บันทึกไว้รอบแนวชายฝั่งของญี่ปุ่นหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว การอ่านค่าเหล่านี้ รวมทั้งค่าสึนามิสูงสุด (tsunami maximum reading) สูงกว่า 3 เมตร ค่าที่ได้นั้นเป็นข้อมูลมาจากสถานีบันทึกที่ดำเนินการโดยสำนักอุตุนิยมวิทยารอบแนวชายฝั่งญี่ปุ่น หลายพื้นที่ยังได้รับผลกระทบจากคลื่นความสูง 1 ถึง 3 เมตร และประกาศสำนักอุตุนิยมวิทยายังมีคำเตือนว่า \"\"ตามแนวชายฝั่งบางส่วน คลื่นสึนามิอาจสูงกว่าที่สังเกตจากจุดสังเกต\"\" การบันทึกคลื่นสึนามิสูงสุดแรกสุดนั้นอยู่ระหว่าง 15.12 ถึง 15.21 น. ระหว่าง 26 ถึง 35 นาทีหลังเกิดแผ่นดินไหว ประกาศยังรวมรายละเอียดการสังเกตคลื่นสึนามิเบื้องต้น เช่นเดียวกับแผนที่รายละเอียดมากกว่าของแนวชายฝั่งที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ", "title": "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554" }, { "docid": "169090#7", "text": "นายแอนดริว เคิร์กวูด (\"Andrew Kirkwood\") ผู้อำนวยการองค์กรการกุศลแห่งสหราชอาณาจักรเพื่อการพิทักษ์เยาวชน (\"British charity Save The Children\") แถลงว่า ตนกำลังพิเคราะห์จำนวนผู้เสียชีวิตห้าหมื่นรายและผู้ไร้บ้านอีกกว่าหลายล้านราย โดยเห็นว่าเป็นความรุนแรงที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ชาติพม่า ซึ่งจำนวนดังกล่าวอาจมากกว่าจำนวนผู้เสียหายในเหตุการณ์สึนามิที่ประเทศศรีลังกาว่าหลายเท่าตัว", "title": "เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551" }, { "docid": "32900#9", "text": "อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา มักปรากฏชื่อในสื่อในการเตือนภัยพิบัติ เช่น การเตือนภัยภัยพิบัติแผ่นดินไหวจากพายุสุริยะ และจะทำให้เกิดสึนามิเข้าประเทศไทยในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 - เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาภัยพิบัติอาจทำได้ด้วยการจูนจิต ทำสมาธิ ซึ่งขัดกับข้อมูลของนาซาทั้งเวลาที่เกิดซึ่งจะอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557 และข้อบ่งชี้ขนาดผลกระทบของพายุสุริยะที่จะเกิดต่อโลกได้ นอกจากนี้ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ยังมีความสนใจในพลังของรูปทรงพีระมิดเป็นอย่างมาก โดยในการบรรยายที่บ้านสวนพีระมิดในกิจกรรมเข้าค่ายหนีกรรมผิวพรรณ รุ่นที่ 1 ในวันที่ 23 - 25 มกราคม 2553 ได้บรรยายคุณสมบัติของรูปทรงพีระมิดต่อการป้องกันการเน่าสลายของศพ รักษาอาหาร รวมไปถึงสมบัติของพลังที่จะทำให้คลายเครียดได้", "title": "อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา" }, { "docid": "3554#31", "text": "พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) - สึนามิชิลี (Chilean tsunami) แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ชิลี (The Great Chilean Earthquake)แมกนิจูด 9.5 ซึ่งเป็นระดับที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นบริเวณนอกชายฝั่งตอนกลางทางใต้ของประเทศชิลี ก่อให้เกิดคลื่นสึนามิที่สร้างความวิบัติหายนะอย่างรุนแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คลื่นสึนามิเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด ขนาดคลื่นมีความสูงถึง 25 เมตร เมื่อคลื่นสึนามิเคลื่อนตัวเข้าถล่มโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น หลังจากเกิดแผ่นดินไหวนานเกือบ 22 ชั่วโมงนั้น ขนาดความสูงของคลื่นที่มีการบันทึกไว้ระบุว่าสูงถึง 10 ฟุตเหนือระดับกระแสน้ำ ประมาณการณ์ว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นตามมามีจำนวนระหว่าง 490 - 2,290 ราย", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "205812#12", "text": "1.8 น้ำท่วม (; ) อาคารสูง 22 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 36 เมตร ภายใต้การเสนอแนวคิดจากศาสตราจารย์ Javier Martin เพื่อเสนอข้อมูลผ่านการเดินทางด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่ออธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น คลื่นยักษ์ พายุเฮอริเคน ผลกระทบของอากาศเย็นในบ่อทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมหันตภัยต่างๆ โดยเทคนิค Imax cinema เพื่อสร้างประสบการณ์ในการสัมผัสสถานการณ์เหมือนจริง (ข้อมูลคลื่นยักษ์ คือ เหตุการณ์สึนามิในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2545)", "title": "เอ็กซ์โป 2008" } ]
3874
ใครคือผู้เขียนแฮร์รี่ พอตเตอร์ ?
[ { "docid": "38960#0", "text": "โจแอนน์ \"โจ\" โรว์ลิง (English: Joanne \"Jo\" Rowling, OBE FRSL[1]) หรือนามปากกา เจ. เค. โรว์ลิง[2] และ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1509,1531,3,3]}'>โรเบิร์ต กัลเบรธ (เกิด 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1965)[3] เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษ ผู้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ประพันธ์วรรณกรรมแฟนตาซีชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งได้รับความความสนใจจากทั่วโลก ได้รับรางวัลมากมาย และมียอดขายกว่า 500 ล้านเล่ม[4] และยังเป็นหนังสือชุดที่ขายดีที่สุดในประวัติศาสตร์[5] ด้านภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ที่ดัดแปลงมาจากหนังสือก็เป็นภาพยนตร์ชุดที่ทำรายได้มากที่สุดเป็นอันดับสองในประวัติศาสตร์[6] โรว์ลิงอนุมัติบทภาพยนตร์ทุกภาค[7] และตลอดจนควบคุมงานฝ่ายสร้างสรรค์ภาพยนตร์ภาคสุดท้ายในฐานะผู้อำนวยการสร้าง[8]", "title": "เจ. เค. โรว์ลิง" } ]
[ { "docid": "494668#18", "text": "ฮอร์ครักซ์ () เป็นหนึ่งในวัตถุเวทมนตร์ในวรรณกรรมเยาวชนชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ. เค. โรวลิ่ง หนึ่งในวัตถุศาสตร์มืดที่ถูกสร้างมาเพื่อรักษาความเป็นอมตะของเจ้าของไว้ \nแนวคิดของฮอร์ครักซ์ ปรากฏครั้งแรกในตอน \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเจ้าชายเลือดผสม\" \nและการแสวงหาและทำลายฮอร์ครักซ์ของโวลเดอมอร์ก็เป็นประเด็นหลักของเนื้อเรื่องในสองเล่มสุดท้ายของแฮร์รี่ พอตเตอร์ ได้แก่ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเจ้าชายเลือดผสม\" และ\"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเครื่องรางยมทูต\"", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#39", "text": "ผลงานในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ฉบับแปลภาษาไทยได้รับการจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ในขณะที่ฉบับภาษาอังกฤษได้ออกมาแล้วสี่เล่ม โดยต้องเร่งแปลหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์ทั้งสี่เล่มให้เสร็จโดยเร็วเพื่อง่ายต่อการแปลแฮร์รี่ พอตเตอร์เล่มที่ห้า ซึ่งโรว์ลิงยังเขียนไม่เสร็จ มีผู้แปลทั้งสิ้นสามคน ได้แก่ สุมาลี บำรุงสุขแปลเล่มที่หนึ่ง สอง ห้า หกและเจ็ด วลีพร หวังซื่อกุลแปลเล่มที่สาม และงามพรรณ เวชชาชีวะแปลเล่มที่สี่ หน้าปกฉบับภาษาไทยนั้นใช้ภาพแบบเดียวกับหน้าปกฉบับอเมริกัน ซึ่งเป็นผลงานของแมรี กรองด์เปร", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "195306#0", "text": "พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์ เป็นบทความสั้น ๆ ของนักเขียน เจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งเธอเขียนขึ้นมาหลังจากแฮร์รี่ พอตเตอร์จบลง มีทั้งหมด 800 คำ 2 หน้ากระดาษด้วยกัน โดยเธอกล่าวว่า \"สองสามเดือนก่อน นักเขียนจำนวนหนึ่งได้รับเชิญให้เขียนการ์ดด้วยลายมือสำหรับการประมูล โดย Waterstone's ในวันที่ 10 มิถุนายน รายได้ทั้งหมดจะมอบให้กับ \"English PEN\" ซึ่งเป็นสมาคมของนักเขียน และสมาคม \"Dyslexia Society\"\"", "title": "พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์" }, { "docid": "110806#4", "text": "ในนวนิยายชุด \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ข้าราชการส่วนใหญ่ในกระทรวงเวทมนตร์ดูเหมือนจะมาจากการแต่งตั้งมากกว่าการเลือกตั้ง ผู้สำเร็จการศึกษาเวทมนตร์สามารถเข้าทำงานที่กระทรวงได้ทันที แต่ตำแหน่งต่าง ๆ มีกำหนดระดับการศึกษาและผลสอบไว้ต่างกัน อย่างไรก็ดี มีระบุว่า ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์เองมาจากการเลือกตั้ง แต่ไม่เคยมีการอธิบายว่า ใครเป็นผู้เลือกตั้งและถอดถอนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์ ตลอดเรื่อง \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ทั้งกระทรวงเวทมนตร์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์ดูจะอ่อนไหวง่ายกับความเห็นของสาธารณชนชาวพ่อมด จึงพยายามควบคุมความคิดเห็นของผู้คนด้วยข่าวหนังสือพิมพ์", "title": "กระทรวงเวทมนตร์" }, { "docid": "10882#11", "text": "ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี เขากลายเป็นจุดสนใจของคนรอบข้างอีกครั้ง เมื่อกลายเป็นผู้เข้าแข่งขันในการประลองเวทไตรภาคี ซึ่งทำให้เพื่อนร่วมบ้านกริฟฟินดอร์ต่างยินดี ยกเว้นรอน ผู้รู้สึกว่าเรื่องนี้เหมือนฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้เขาหมดความอดทนด้วยความที่แฮร์รี่เด่นกว่าเขาในทุกๆ ด้าน รวมถึงบ้านอื่นๆ ที่คิดว่าเขาต้องการเรียกร้องความสนใจ โดยเฉพาะบ้านฮัฟเฟิลพัฟที่มีเซดริก ดิกกอรี่ที่เป็นตัวแทนของฮอกวอตส์อีกคนหนึ่ง แฮร์รี่คืนดีกับรอนในเวลาต่อมา เนื่องจากรอนเห็นแล้วว่าการประลองดังกล่าวอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ในขณะเดียวกันแฮร์รี่และเพื่อนก็สงสัยว่าใครเป็นคนหยอดชื่อของเขาลงไปในถ้วยอัคนี แต่หลังจากที่แฮร์รี่เผชิญหน้ากับลอร์ดโวลเดอมอร์ผู้กลับคืนชีพอีกครั้ง เขาจึงทราบว่าเป็นแผนของโวลเดอมอร์นั่นเอง ในการเผชิญหน้าครั้งนี้แฮร์รี่รอดมาได้อย่างหวุดหวิดจากการที่ไม้กายสิทธิ์ของเขามีแกนกลางเป็นขนนกฟินิกซ์เหมือนกับของโวลเดอมอร์ซึ่งทำให้เกิดปรากฏการณ์ประหลาด ไม้ทั้งสองสะท้อนผลของคาถาซึ่งกันและกัน แต่ก็ต้องแลกกับการตายของเซดริกและเกราะคุ้มกันตัวแฮร์รี่ซึ่งถูกทำลายไปโดยเลือดของเขาเอง ความไว้ใจของแฮร์รี่ยังถูกทดสอบอีกครั้งเมื่อรู้ว่าศาสตร์จารย์มู้ดดี้ที่แฮร์รี่นับถือ แท้ที่จริงแล้วเป็นผู้เสพความตายปลอมตัวมาและทำให้แฮร์รี่เกือบตกอยู่ในอันตรายสูงสุด แต่ดัมเบิลดอร์ก็ช่วยเขาไว้ได้อีกครั้ง", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "201011#11", "text": "เปล่งเสียงว่า: อะวาดา เคดาฟ-รา ผลของเวทมนตร์: ทำให้ผู้ต้องคำสาปตายทันทีโดยไม่เจ็บปวด ไม่มีคาถาต่อต้านหรือวิธีป้องกันคาถานี้ อย่างไรก็ตาม หากมีใครสละชีวิตของตนให้แก่อีกคน บุคคลที่ถูกช่วยนั้นจะไม่ได้รับผลกระทบที่เป็นอันตรายจากคำสาปทุกชนิดโดยผู้โจมตีโดยเจาะจงบุคคล (นั่นคือ ลิลี่ พอตเตอร์สละชีวิตของตนเพื่อแฮร์รี่ พอตเตอร์ในเงื้อมมือของโวลเดอมอร์ แฮร์รี่ก็จะได้รับการคุ้มครองจากคำสาปที่โวลเดอมอร์ร่าย) เป็นหนึ่งในสามคำสาปโทษผิดสถานเดียว หมายเหตุ: บุคคลเพียงสองคนที่เป็นที่ทราบว่ารอดชีวิตจากคำสาปพิฆาต คือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับโวลเดอมอร์ เพราะฝ่ายหลังได้รับการคุ้มครองจากฮอร์ครักซ์ แฮร์รี่ถูกคาถานี้สองครั้ง นกฟีนิกซ์เองก็สามารถรอดชีวิตจากคำสาปพิฆาตได้ โดยพวกมันจะระเบิดเป็นไฟเช่นเดียวกับที่จะเกิดขึ้นเมื่อมันสิ้นอายุขัย และเกิดขึ้นใหม่จากเถ้าถ่าน นี่เกิดขึ้นในภาคีนกฟีนิกซ์ ที่มาของชื่อ: โรวลิงอธิบายว่า เป็นคาถาโบราณในภาษาอราเมอิก และเป็นคำดั้งเดิมของ \"อะบราคาดาบรา\" ซึ่งหมายความว่า \"ให้ทุกอย่างถูกทำลาย\" เดิมคาถานี้ใช้รักษาอาการเจ็บป่วย และ \"สิ่ง\" นั้นหมายถึงอาการเจ็บป่วย[8] การใช้ชื่อนี้ของโรวลิงอาจได้รับอิทธิพลมาจากคำว่า cadaver ในภาษาละตินที่แปลว่า ศพ", "title": "รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#53", "text": "หนังสือชุดนี้ตกเป็นประเด็นโต้แย้งทางกฎหมายมากมายหลายคดี มีทั้งการฟ้องร้องจากกลุ่มคริสเตียนอเมริกันว่าการใช้เวทมนตร์คาถาในหนังสือเป็นการเชิดชูศิลปะของพวกพ่อมดแม่มดให้แพร่หลายในหมู่เด็ก ๆ รวมถึงข้อขัดแย้งอีกหลายคดีเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า การที่นวนิยายชุดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากและครอบครองมูลค่าตลาดสูงมาก ทำให้โรว์ลิง สำนักพิมพ์ต่าง ๆ ของเธอ รวมถึงวอร์เนอร์ บราเธอร์ ผู้จัดจำหน่ายภาพยนตร์ ต้องใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อปกป้องลิขสิทธิ์ของตน ทั้งนี้รวมถึงการห้ามจำหน่ายสินค้าลอกเลียนแบบแฮร์รี่ พอตเตอร์ เหล่าเจ้าของเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่ใช้ชื่อโดเมนคาบเกี่ยวกับคำว่า \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" พวกเขายังฟ้องนักเขียนอีกคนหนึ่งคือ แนนซี สโตฟเฟอร์ เพื่อตอบโต้การที่เธอออกมากล่าวอ้างว่า โรว์ลิงลอกเลียนแบบงานเขียนของเธอ[106][107][108] กลุ่มนักอนุรักษนิยมทางศาสนาจำนวนมากอ้างว่า หนังสือชุดนี้เชิดชูศาสตร์ของพ่อมดแม่มด ดังนั้นจึงไม่เหมาะสมสำหรับเด็ก[109] นอกจากนี้ยังมีนักวิจารณ์อีกจำนวนหนึ่งวิพากษ์วิจารณ์ว่าหนังสือชุดนี้มีแง่มุมทางการเมืองซ่อนอยู่หลายประการ[110][111]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และ เฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "197283#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ () เป็นภาพยนตร์แนวแฟนตาซีออกฉายเมื่อ ค.ศ. 2002 กำกับโดย Chris Columbus และจัดจำหน่ายโย Warner Bros. Pictures ดัดแปลงจากนวนิยายชื่อเดียวกันของ J. K. Rowling ซึ่งเคยตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1998 เป็นภาคต่อของ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์\" (2001) และเป็นภาพยนตร์ลำดับที่ 2 ในชุดภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" เป็นผลงานการเขียนบทของ Steve Kloves และอำนวยการสร้างโดย David Heyman เล่าเรื่องการผจญภัยของแฮร์รี่ พอตเตอร์ ในปีที่สองของการศึกษาในโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ซึ่งทายาทของซัลลาซาร์ สลิธีริน ได้เปิดห้องแห่งความลับ และปลดปล่อยสัตว์ร้ายภายในออกมาทำให้ผู้คนในโรงเรียนกลายเป็นหิน นำแสดงโดย Daniel Radcliffe รับบทแฮร์รี่ พอตเตอร์ Rupert Grint รับบทรอน วีสลีย์ และ Emma Watson รับบทเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ นอกจากนี้ยังเป็นภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายที่ Richard Harris มารับบทเป็นศาสตราจารย์อัลบัส ดัมเบิลดอร์ ก่อนที่จะเสียชีวิตในปีเดียวกันกับที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉาย", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "4336#43", "text": "ความสำเร็จของนวนิยายชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ได้สร้างความมั่งคั่งให้แก่ เจ. เค. โรว์ลิง ผู้ประพันธ์ ตลอดไปจนถึงสำนักพิมพ์และผู้ถือสิทธิ์ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ทั้งหมด โรว์ลิงได้รับผลตอบแทนมากจนกระทั่งนับได้ว่าเป็นนักเขียนเพียงคนเดียวที่ติดอันดับ \"มหาเศรษฐี\" ของโลก[80] มีการจำหน่ายหนังสือไปแล้วกว่า 400 ล้านเล่มทั่วโลก และช่วยนำกระแสนิยมให้แก่ภาพยนตร์ชุดดัดแปลงโดย วอร์เนอร์บราเธอร์ส ด้วย ภาพยนตร์ดัดแปลงในแต่ละตอนต่างประสบความสำเร็จไปตามกัน สามารถติดอันดับเป็นภาพยนตร์ทำเงินตลอดกาลในทุกภาคที่เข้าฉาย[81][82] ชุดภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์นั้นได้รับการต่อยอดไปสู่รูปแบบวิดีโอเกมและสินค้าจดลิขสิทธิ์กว่า 400 รายการ ซึ่งมูลค่าโดยประมาณของแบรนด์แฮร์รี่ พอตเตอร์นั้นมีมูลค่าสูงกว่ากว่า 25,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[10] ทำให้โรว์ลิงกลายเป็นมหาเศรษฐีระดับพันล้าน[83] ในรายงานเปรียบเทียบบางแห่งยังกล่าวว่าเธอร่ำรวยกว่าสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเสียอีก[84][85] ทว่าโรว์ลิงชี้แจงว่าเรื่องนี้ไม่เป็นความจริง[86]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#45", "text": "ในช่วงแรก ๆ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี ทำให้นวนิยายชุดนี้ขยายฐานผู้อ่านออกไปอย่างมาก หนังสือเล่มแรกของชุดคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ได้จุดประเด็นความสนใจแก่หนังสือพิมพ์ของสกอตแลนด์หลายเล่ม เช่น The Scotsman บอกว่าหนังสือเล่มนี้ \"มีทุกอย่างของความคลาสสิก\"[93] หรือ The Glasgow Herald ตั้งสมญาให้ว่าเป็น \"สิ่งมหัศจรรย์\"[93] ไม่นานหนังสือพิมพ์ของทางอังกฤษก็เข้าร่วมวงด้วย มีหนังสือพิมพ์มากกว่า 1 เล่มเปรียบเทียบงานเขียนชุดนี้กับงานของโรอัลด์ ดาห์ล หนังสือพิมพ์ The Mail on Sunday เรียกหนังสือเล่มนี้ว่าเป็น \"งานเขียนที่เปี่ยมจินตนาการนับแต่ยุคของโรอัลด์ ดาห์ล\"[93] ส่วน The Guardian เรียกหนังสือนี้ว่า \"นวนิยายอันงดงามที่สร้างโดยนักประดิษฐ์อัจฉริยะ\"[93]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "107269#7", "text": "ในภาคนี้ บรรดานักเรียนฮอกวอตส์ ปี 5 ต้อง สอบ ว.พ.ร.ส. (วิชาพ่อมดระดับสามัญ)นักเรียนทั้งหลายต่างกดดันเป็นที่สุดโดยเฉพาะแฮร์รี่ เมื่อกระทรวงเวทมนตร์เริ่มครอบงำโรงเรียนฮอกวอตส์ ไม่มีใครเชื่อว่า ลอร์ดโวลเดอมอร์ กำลังเข็มแข็งขึ้นเรื่อยมาหลังจากการประลองเวทไตรภาคี สิ้นสุดลง จนสุดท้ายแฮร์รี่ก็ต้องเจ็บปวดอีกครั้งเมื่อพบกับความสูญเสียครั้งสำคัญ(อีกครั้ง) ทางกระทรวงจะทราบความจริง หรือไม่ และความกดดันของโรงเรียนจะเป็นเช่นไร ต้องติดตาม...เดวิด เยตส์ ได้รับเลือกให้กำกับภาพยนตร์เรื่องนี้ หลังจากที่ Mike Newell (ผู้กำกับภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับถ้วยอัคนี\"), Jean-Pierre Jeunet, Matthew Vaughn, และ Mira Nair ปฏิเสธที่จะกำกับ เยตส์เชื่อว่าที่เขามีความเหมาะสมจะกำกับภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเพราะทางสตูดิโอเห็นว่าเขาสามารถกำกับภาพยนตร์ที่ \"มีความสุดขั้วและเต็มไปด้วยอารมณ์\" ซึ่งมี \"เบื้องหลังทางการเมือง\" ได้ดี จากผลงานเก่าของเขาคือละครโทรทัศน์เรื่อง \"Sex Traffic\" นอกจากนี้แล้ว Steve Kloves ผู้เขียนบทที่เคยเขียนบทภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" 4 ภาคก่อนหน้านี้ ติดภารกิจ จึงมีการจัดให้ Michael Goldenberg มาเขียนบทแทน", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "113433#4", "text": "เขาพบกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ครั้งแรก ตอนที่เขาไปร้านเสื้อผ้าของมาดามมัลกิ้นส์ที่ตรอกไดแอกอน โดยตอนนั้นเขายังดูอีกฝ่ายไม่ออกว่าคือใคร โดยเขาถามอีกฝ่ายว่า \"พ่อแม่เขาเป็น พวกของเรา (สายเลือดบริสุทธิ์) หรือไม่\" และเขายังบอกอีกว่า คนที่มาจากครอบครัวมักเกิ้ล (พวกไร้เวทมนตร์) นั้นไม่ควรมาเรียนที่ ฮอกวอตส์ ด้วย ก่อนจะจากไปโดยไม่มีการแนะนำตัวกันเลย และเขาพบอีกครั้งก่อนบนรถไฟด่วนฮอกวอตส์และถูกแฮร์รี่ปฏิเสธมิตรภาพของเขา หลังจากที่เขาว่าร้าย รอน วีสลีย์ (คนที่ได้ชื่อว่า เป็นเพื่อนคนแรกของแฮร์รี่ พอตเตอร์)", "title": "เดรโก มัลฟอย" }, { "docid": "10882#0", "text": "แฮร์รี่ เจมส์ พอตเตอร์</b>เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (วันเดือนเดียวกับผู้แต่ง เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้เขียนให้แฮร์รี่เกิดวันเดียวกันกับเธอแต่คนละปี) เป็นลูกชายคนเดียวของเจมส์ พอตเตอร์และลิลี่ พอตเตอร์ เป็นตัวละครเอกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "940971#1", "text": "\"แฮร์รี่ พอตเตอร์: ฮอกวอตส์ มิสเตอรี\" เป็นเกมเล่นตามบทบาทจัดในจักรวาล\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\"ของเจ. เค. โรว์ลิง โดยเกมจะจัดในช่วงวันเกิดของแฮร์รี่ พอตเตอร์และบรรยากาศในฮอกวอตส์ ผู้เล่นสามารถสร้างและปรับแต่งอวตารของตนเองได้ โดยเป็นนักเรีนที่กำลังศึกษาอยู่ในฮอกวอตส์ พวกเขาสามารถเรียนวิชาเวทย์มนตร์, ร่ายคาถา, ต่อสู้กับศัตรู และร่วมภารกิจ ในระหว่างที่เล่นเกมอยู่นั้น ผู้เล่นสามารถกำหนดชะตาของตัวละคร ซึ่งจะมีผลต่อความสัมพันธ์ของตัวละคร (และบางครั้งตัวเลือกอาจจะถูกล็อกเนื่องจากสถิตถผู้เล่นยังมีไม่มากพอ) ผู้เล่นสามารถคุยกับบุคคลสำคัญเช่น อัลบัส ดัมเบิลดอร์, รูเบอัส แฮกริด, เซเวอร์รัส สเนป และมิเนอร์ว่า มักกอนนากัล", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์: ฮอกวอตส์มิสทะรี" }, { "docid": "315583#0", "text": "\"โลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์\" (English: The Wizarding World of Harry Potter) เป็นชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของ สวนสนุกแฮร์รี่ พอตเตอร์ (English: Harry Potter Theme Park) เป็นสวนสนุกแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในไอส์แลนด์ส ออฟ แอดเวนเจอร์ (Islands of Adventure) ในยูนิเวอร์แซล ออร์แลนโด รีสอร์ต เมืองออร์แลนโด รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา เป็นความร่วมมือระหว่างค่าย วอร์เนอร์บราเธอร์ส กับยูนิเวอร์แซล และได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจาก เจ. เค. โรว์ลิ่ง ผู้เขียนนวนิยายชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยภายในสวนสนุกประกอบด้วย ฮอกวอตส์ หมู่บ้านฮอกส์มี้ด กระท่อมแฮกริด และรถไฟเหาะมังกร มีกำหนดเปิดในวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2553", "title": "โลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์ (ยูนิเวอร์แซลออร์แลนโดรีสอร์ต)" }, { "docid": "494668#29", "text": "หมวกคัดสรรเป็นหมวกของก็อดดริก กริฟฟินดอร์ หนึ่งในสี่ผู้ก่อตั้งโรงเรียนฮอกวอตส์ เนื่องจากวันหนึ่งผู้ก่อตั้งที่สี่ปรึกษากันว่าหากวันหนี่งไม่มีพวกเขาแล้วใครจะเป็นผู้คัดเลือกนักเรียน ก็อดดริก กริฟฟินดอร์จึงถอดหมวกที่ใส่อยู่ แล้วผู้ก่อตั้งทั้งสี่ก็ร่ายเวทมนตร์ไว้ที่หมวกคัดสรร ซึ่งก็ได้ทำหน้าที่คัดสรรนักเรียนฮอกวอตส์มาโดยตลอดหมวกคัดสรรถูกเก็บไว้ที่ห้องศาสตราจารย์ใหญ่ ทำให้ได้ฟังเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงสามารถคาดเดาเหตุการณ์ร้ายแรงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละปี และ นำมาเตือนได้ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ ฟอกส์นกฟีนิกซ์ของดัมเบิลดอร์ ได้เอาหมวกคัดสรรมาให้แฮร์รี่ที่ห้องแห่งความลับ และ ดาบกริฟฟินดอร์ที่แฮร์รี่หยิบมาจากในหมวกก็ทำให้แฮร์รี่รอดชีวิตกลับมาได้", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "10882#24", "text": "เฮอร์ไมโอนี่มักเป็นที่จับตามองว่าเป็นคู่รักของแฮร์รี่ เพียงเพราะเธอเป็นเพื่อนผู้หญิงที่สนิทที่สุดของแฮร์รี่ ทั้งสองมักถูกคนรอบข้างจับคู่ให้อยู่บ่อยครั้ง ในปีที่สี่ของแฮร์รี่ วิกเตอร์ ครัม ผู้เป็นตัวแทนของเดิร์มสแตรงก์ในการประลองเวทไตรภาคีซึ่งแอบชอบเฮอร์ไมโอนี่และบอกความรู้สึกนั้นกับเธอในเวลาต่อมา รู้สึกอิจฉาแฮร์รี่ ที่มีโอกาสได้คุยกับเฮอร์ไมโอนี่ตลอดเวลา อีกคนหนึ่งที่ทำการจับคู่แฮร์รี่-เฮอร์ไมโอนี่อย่างเปิดเผยคือริต้า สกีตเตอร์ นักข่าวของหนังสือพิมพ์เดลี่พรอเฟ็ต ที่เขียนเรื่องราวที่ใส่สีตีไข่ที่กล่าวถึงรักสามเส้าระหว่างแฮร์รี่, เฮอร์ไมโอนี่ และวิกเตอร์ลงในบทความในหนังสือพิมพ์<i data-parsoid='{\"dsr\":[20773,20789,2,2]}'>เดลี่พรอเฟ็ต</i>ในปีเดียวกัน และท้ายที่สุด ในปีที่ห้า (แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์) ผู้ที่รู้สึกหึงแกมอิจฉาความสัมพันธ์ฉันท์เพื่อนระหว่างแฮร์รี่และเฮอร์ไมโอนี่ก็คือโช แชง", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "17410#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที่ เจ. เค. โรว์ลิ่งออกมาเตือนผู้อ่านก่อนหนังสือจะตีพิมพ์ว่าจะมีตัวละครเสียชีวิตในเล่มนี้ ซึ่งสร้างกระแสของการคาดการณ์ว่าตัวละครใดจะเสียชีวิต และสร้างปรากฏการณ์ 'คลั่งแฮร์รี่ พอตเตอร์' ทั่วโลก", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี" }, { "docid": "107228#6", "text": "ปีการศึกษาที่ห้าเริ่มต้นด้วยการประกาศข่าวโดยดัมเบิลดอร์ว่าอาจารย์ป้องกันตัวจากศาสตร์มืดคนใหม่คือ โดโรเลส อัมบริดจ์ แฮกริดไม่อยู่ที่โรงเรียน เมื่อพวกแฮร์รี่ มีช่วงเรียน กับอัมบริดจ์ เธอไม่ยอมให้ใครเรียนเกี่ยวกับการป้องกันตัวแบบปฏิบัติ แต่ให้อ่านหนังสือเกี่ยวกับการป้องกันตัวแทน นักเรียนหลายคนประท้วงเรื่องนี้ จนแฮร์รี่พูดออกมาว่าโวลเดอมอร์กลับมา อัมบริดจ์ลงโทษกักบริเวณแฮร์รี่และให้คัดลายมือกับเธอในออฟฟิศ หลังจากที่แฮร์รี่กลับเข้ามาในห้องรวมกริฟฟินดอร์ เฮอร์ไมโอนี่ห็นรอยแดงบนมือของแฮร์รี่ ซึ่งเกิดจากปากกาขนนกที่เขียนด้วยเลือดแทนหมึก พวกแฮร์รี่ทนไม่ไหวที่แต่ละวันไม่ได้เรียนเกี่ยวกับการป้องกันตัวแบบจริงๆ เฮอร์ไมโอนี่วางแผนทั้งหมดให้แฮร์รี่เป็นหัวหน้าของทีม และมีคนหลายคนที่มาเข้าร่วมโดยทำการลับๆใน ห้องต้องประสงค์ภายใต้ชื่อทีมว่า กองทัพ ดัมเบิลดอร์ พวกเขาเรียนการป้องกันตัวจริงๆในห้องนั้น เรียนคาถาเดียวกับที่แฮร์รี่ทำได้ เช่น คาถาเสกผู้พิทักษ์ และเรียนจากหนังสือที่เฮอร์ไมโอนี่ได้มาจากห้องสมุด ไม่นานหลังจากที่ อัมบริดจ์ตั้งกฎมากมายเพื่อต่อต้านโรงเรียน เธอเองได้รับแต่งตั้งให้เป็นคนตรวจการเรียนการสอนของอาจารย์แต่ละคน หลังจากที่ประมวลผลออกมาแล้ว ซีบิล ทรีลอว์นีย์ ถูกไล่ออก แต่ดัมเบิลดอร์ออกมาช่วยเหลือ อัมบริดจ์รู้แผนการของแฮร์รี่จึงออกกฎห้ามการรวมกลุ่มโดยไม่ได้รับอนุญาตไม่ว่าเพื่อวัตถุประสงค์ใดก็ตาม และเธอก็จัดกลุ่มของเธอเพื่อคอยตรวจสอบความประพฤติของนักเรียนแทนเธอ รวมทั้งคอยจับตาดูแฮร์รี่ พอตเตอร์ กลุ่มนักเรียนของเธอรวมไปถึง แครบ กอยล์ และ เดรโก มัลฟอย ซึ่งคอยจับตาดูและพยายามจะเข้าไปในห้องต้องประสงค์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์" }, { "docid": "10882#4", "text": "เจมส์และลิลี่ พอตเตอร์ พ่อแม่ของแฮร์รี่ถูกสังหารโดยโวลเดอมอร์ใน 31 ตุลาคม พ.ศ. 2524(วันฮาโลวีน) (ค.ศ. 1981) ขณะที่พยายามปกป้องลูกชาย แฮร์รี่จากโวลเดอมอร์ เจมส์ถูกสังหารก่อน ตามด้วยลิลี่ ผู้ปกป้องลูกด้วยการนำตัวเข้าไปขวางคำสาปพิฆาตจากโวลเดอมอร์ขณะพยายามฆ่าแฮร์รี่ การกระทำดังกล่าวทำให้เกิดพันธะปกป้องลึกลับซึ่งเกิดขึ้นจากความรักของแม่ และทำให้คำสาปพิฆาต \"อะวาดา เคดาฟ-รา\" ซึ่งโวลเดอมอร์เป็นผู้สาปมีผลสะท้อนกลับมายังตัวของเขาเอง ทำให้เขาบาดเจ็บสาหัส และสูญเสียพลังทั้งหมดที่เคยมี ในหนังสือเล่มที่สอง แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ แฮร์รี่บอกกับโวลเดอมอร์ว่า \"ไม่มีใครรู้ว่าทำไมคุณถึงสูญเสียพลังอำนาจของคุณไปเมื่อคุณทำร้ายผม ผมไม่รู้ด้วยซ้ำไป แต่ผมรู้ว่าทำไมคุณฆ่าผมไม่ได้...\" เมื่อโวลเดอมอร์ไร้พลังอำนาจ จึงจำเป็นต้องหลบซ่อนตัว ในขณะที่แฮร์รี่กลายเป็นผู้โด่งดังและเป็นที่รู้จักในโลกผู้วิเศษว่าเป็น \"เด็กชายผู้รอดชีวิต\" มีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นแผลเป็นรูปสายฟ้าตรงกลางหน้าผากซึ่งเกิดจากคำสาปของโวลเดอมอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "209021#0", "text": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นลำดับเวลาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวรรณกรรมเยาวชนชุด \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" โดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง โดยลำดับเวลาดังกล่าวจะครอบคลุมถึงเหตุการณ์ที่ปรากฏในงานเขียนด้วย โดยเพิ่มเติมจากที่โรวลิ่งโพสต์ในเว็บไซต์ของเธอ จากการให้สัมภาษณ์หลายครั้งและจากสื่อสิ่งพิมพ์อื่น", "title": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "222054#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 () เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งดัดแปลงมาจากนิยายเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ตอนที่ 7 ในชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ แต่เนื่องจากในภาคสุดท้ายนั้นมีรายละเอียดมากและทางผู้สร้างต้องการให้หนังจบลงอย่างสมบูรณ์แบบ จึงแบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตตอนที่ 1 และตอนที่ 2 สำหรับตอนที่ 1 เริ่มถ่ายทำเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และจะเข้าฉายในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตอนที่ 2 จะเข้าฉายในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ภาพยนตร์มีนักแสดงนำได้แก่ แดเนียล แรดคลิฟฟ์ รูเพิร์ท กรินท์ และเอ็มม่า วัตสัน กำกับการแสดงโดย เดวิด เยตส์ เขียนบทโดยสตีฟ โคลฟ อำนวยการสร้างโดย เดวิด เฮย์แมน และเดวิด แบร์รอน", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1" }, { "docid": "4336#33", "text": "โรว์ลิงเขียนแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์เสร็จใน พ.ศ. 2538 และต้นฉบับถูกส่งไปยังตัวแทนผู้ซื้อขายลิขสิทธิ์หนังสือหลายคน (prospective agent)[43] ตัวแทนคนที่สอง คริสโตเฟอร์ ลิตเตล เสนอเป็นตัวแทนเธอและส่งต้นฉบับไปยังสำนักพิมพ์บลูมส์บรี หลังสำนักพิมพ์อื่นแปดสำนักปฏิเสธศิลาอาถรรพ์ บลูมส์บรีเสนอค่าตอบแทนล่วงหน้าเป็นเงิน 2,500 ปอนด์แก่โรว์ลิงเป็นค่าจัดพิมพ์[44][45] แม้เธอจะไม่ได้วางกลุ่มอายุเป้าหมายไว้ในใจเมื่อเริ่มต้นเขียนหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์ สำนักพิมพ์เดิมตั้งเป้าไว้ที่เด็กอายุระหว่างเก้าถึงสิบเอ็ดปี[46] วันก่อนวันจัดพิมพ์ โรว์ลิงได้รับการร้องขอจากสำนักพิมพ์ให้ใช้นามปากกาที่ไม่บ่งบอกเพศมากกว่านี้ เพื่อดึงดูดกลุ่มอายุที่เป็นชายมากขึ้น ด้วยกลัวว่าพวกเขาอาจไม่สนใจอ่านนวนิยายที่พวกเขารู้ว่าผู้หญิงเขียน เธอเลือกใช้ชื่อ เจ. เค. โรว์ลิง (โจแอนน์ แคทลีน โรว์ลิง) โดยใช้ชื่อย่าของเธอเป็นชื่อที่สอง เพราะเธอไม่มีชื่อกลาง[45][47]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "91329#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต () เป็นนวนิยายแนวแฟนตาซี เขียนโดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิ่ง เป็นหนังสือเล่มที่เจ็ดและเป็นเล่มสุดท้ายในนวนิยายชุด \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ออกวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 เป็นการปิดฉากชุดนวนิยายซึ่งเริ่มต้นเมื่อ ค.ศ. 1997 จากการตีพิมพ์นวนิยายเรื่อง \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์\" ในประเทศอังกฤษตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์บลูมสบิวรี่ ประเทศอเมริกาตีพิมพ์โดยสกอลาสติก และในประเทศไทยตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ (ออกจำหน่ายวันที่ 7 ธันวาคมพ.ศ. 2550) ดำเนินเรื่องราวต่อจากเหตุการณ์ใน \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม\" ไปจนถึงการเผชิญหน้าครั้งสุดท้ายระหว่างสองพ่อมด แฮร์รี่ พอตเตอร์ และลอร์ดโวลเดอมอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต" }, { "docid": "209021#3", "text": "Warner Bros. ผู้ผลิตภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และเป็นผู้ถือเครื่องหมายการค้าและลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับสื่อแฮร์รี่ พอตเตอร์ รูปแบบดีวีดีของภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ในตอน \"ห้องแห่งความลับ\" \"นักโทษแห่งอัซคาบัน\" และ \"ถ้วยอัคนี\" ก็ปรากฏลำดับเวลาด้วยเช่นกัน Warner Bros. ซึ่งเดิมพัฒนาลำดับเวลาดังกล่าวโดยเป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ\" ในปี ค.ศ. 2002 โรวลิ่งได้ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขหลายครั้งจนกระทั่งเธอเห็นควรให้ใช้เป็นลำดับเวลา \"อย่างเป็นทางการ\"", "title": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "494668#25", "text": "ถ้วยอัคนีเป็นของวิเศษที่ปรากฏในแฮร์รี่ พอตเตอร์ กับถ้วยอัคนี ซึ่งถ้วยนี้เป็นถ้วยที่ใช้ในการเลือกนักเรียนที่จะเป็นตัวแทนในการประลองเวทไตรภาคีของแต่ละโรงเรียน ซึ่งถ้าหากผู้ใดต้องการจะเข้าร่วมการแข่งขัน ก็ให้เขียนชื่อใส่ลงในถ้วย หลังจากนั้นถ้วยจะพ่นชื่อผู้ที่ได้เป็นตัวแทนของแต่ละโรงเรียนออกมา ถ้วยอัคนีนั้นเป็นวัตถุแห่งเวทมนตร์อันทรงพลังมาก มีเพียงคาถาพัลวัลจิตเท่านั้นที่สามารถตบตาได้", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "494668#30", "text": "เป็นปากกาขนนกที่อัมบริดจ์ใช้ในการลงโทษนักเรียนที่ฮอกวอตส์เมื่อครั้งเป็นศาสตราจารย์วิชาการป้องกันตัวจากศาสตร์มืด จนถึงเป็นศาสตราจารย์ใหญ่แห่งฮอกวอตส์ \nปากกาขนนกของเธอปรากฏครั้งแรกตอนที่เธอต้องการลงโทษแฮร์รี่ พ๊อตเตอร์ เพราะเธอกล่าวหาว่าเขาพูดโกหกเกี่ยวกับการกลับมาของเจ้าแห่งศาสตร์มืด\nโดยเธอให้แฮร์รี่ พอตเตอร์ เขียนคำว่า \"ฉันจะไม่โกหก\" ปากกาของเธอไม่ต้องใช้น้ำหมึก เพราะเมื่อเขียนลงบนกระดาษข้อความที่เขียนนั้นจะถูกกรีดสลักลงที่หลังมือของผู้เขียน\nถือว่าเป็นการลงโทษที่โหดร้ายสำหรับนักเรียน และปากกานี้ได้ปรากฏอีกครั้งตอนที่เธอต้องการลงโทษนักเรียนเกี่ยวกับการก่อตั้งชมรมลับ นักเรียนที่ถูกลงโทษในครั้งนั้นเช่น\nเฟร็ด จอร์จ เฮอร์ไมโอนี่ เป็นต้น", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#3", "text": "หนังสือทั้งเจ็ดเล่มถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์โดยวอร์เนอร์บราเธอร์สจำนวนแปดภาค โดยเนื้อเรื่องในหนังสือเล่มที่เจ็ด ผู้สร้างได้แบ่งออกเป็นสองตอน ภาพยนตร์ชุด<i data-parsoid='{\"dsr\":[5767,5787,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดตลอดกาล นอกจากนี้ ยังได้มีการผลิตสินค้าควบคู่กันอีกจำนวนมาก ซึ่งทำให้ชื่อยี่ห้อแฮร์รี่ พอตเตอร์มีมูลค่ามากกว่า 25,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[10] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 เนื้อหาที่ไม่ได้เปิดเผยในหนังสือได้เริ่มเผยแพร่ในรูปแบบอีบุ๊กผ่าน \"พอตเตอร์มอร์\"[11] ได้มีการต่อยอดความสำเร็จของแฮร์รี่ พอตเตอร์ไปในหลายรูปแบบ อาทิเช่น สวนสนุกโลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์, สตูดิโอทัวร์ในลอนดอน, ภาพยนตร์ภาคแยกซึ่งดัดแปลงมาจากเนื้อหาของหนังสือสัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ และภายหลังได้มีการดัดแปลงแฮร์รี่ พอตเตอร์สู่รูปแบบละครเวที ใช้ชื่อว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเด็กต้องคำสาป เปิดการแสดงในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ที่โรงละครพาเลซเธียเตอร์ เมืองลอนดอน โดยบทละครเวทียังได้ถูกพิมพ์จำหน่ายโดยสำนักพิมพ์ลิตเติ้ลบราวน์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์เดียวกันที่ตีพิมพ์นิยายผู้ใหญ่ของโรว์ลิ่งภายใต้ชื่อ โรเบิร์ต กัลเบรธอีกด้วย[12]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "197313#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน () ภาพยนตร์ลำดับที่ 3 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ คริส โคลัมบัส ผู้กำกับภาคที่ 1 และ 2 กับเดวิด เฮย์แมนเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง นำแสดงโดย แดเนียล แรดคลิฟฟ์, รูเพิร์ท กรินท์, เอ็มม่า วัตสัน,ไมเคิล แกรมบอลล์ ที่มารับตำแหน่งดัมเบิลดอร์แทนคนก่อนเนื่องจาก คนรับตำแหน่งดัมเบิลดอร์คนก่อนเสียชีวิต ", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (ภาพยนตร์)" } ]
3044
แสบคูณสอง ผลิตโดยบริษัทอะไร?
[ { "docid": "658489#1", "text": "รายการ แสบคูณสอง ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ท \nรายการแสบคูณสอง เป็นรายการโทรทัศน์ลำดับแรกที่ผลิตโดย บริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540—28 สิงหาคม พ.ศ. 2541) ทุกวันเสาร์ เวลา 14.30 - 15.30 น. ต่อมาในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 รายการได้เพิ่มเวลาออกอากาศเป็น 2 ชั่วโมง เพิ่มเกมต่างๆ และมีการเพิ่มรางวัลอีกมากมาย โดยย้ายมาออกอากาศในวันจันทร์ เวลา 22.00 - 00.00 น. ในเดือนพฤษภาคม - กันยายน 2540 และวันศุกร์ เวลา 22.00 - 00.00 น. ในเดือนตุลาคม 2540 - สิงหาคม 2541 โดยเริ่มออกอากาศเมื่อวันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ตามลำดับ ต่อจากนั้นได้ย้ายไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (3 กันยายน พ.ศ. 2541—11 มกราคม พ.ศ. 2544) รายการได้ย้ายวันและเวลาออกอากาศ พร้อมทั้งลดเวลาเหลือ 85 นาที ในวันพฤหัสบดี เวลา 22.20 - 23.45 น. และยุติการออกอากาศในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแทนที่ด้วยรายการ เกมพันหน้า", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "658489#0", "text": "แสบคูณสอง เป็นรายการเกมโชว์ในประเทศไทยที่ออกอากาศมาตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 และยุติการออกอากาศในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2544 และเป็นรายการโทรทัศน์รายการแรกของบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด โดยมีพิธีกร คือ เกียรติ กิจเจริญ (ซูโม่กิ๊ก) ร่วมกับติ๊ก กลิ่นสี (ชาญณรงค์ ขันทีท้าว)", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "169627#1", "text": "ต่อมาได้ร่วมหุ้นกับ \"เกียรติ กิจเจริญ\" (ซูโม่กิ๊ก) พิธีกรและดาวตลกชื่อดัง เปิดบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ผลิตรายการเกมโชว์ \"แสบคูณสอง” ตั้งแต่ปี 2540 ตามมาด้วยรายการ \"รักกันสนั่นเมือง\", \"เกมพันหน้า\", \"จิกะไบท์\", \"ยุทธการบันเทิง\" , วันวานยังหวานอยู่ และยังเป็นผู้จัดละครให้กับช่อง 7 สี โดยสร้างพล็อตเรื่องและกำกับการแสดงด้วยตนเอง ในละครเรื่อง \"ตลาด โรงเจ ลิเก ความรัก\" และตามด้วยเรื่อง \"รักวันละนิด\"", "title": "ติ๊ก กลิ่นสี" }, { "docid": "20262#5", "text": "ปี พ.ศ. 2540 ได้ร่วมหุ้นกับ \"ติ๊ก กลิ่นสี\" (ชาญณรงค์ ขันทีท้าว) พิธีกรและดาวตลกชื่อดัง เปิดบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ผลิตรายการเกมโชว์ \"แสบคูณสอง” ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตามด้วยรายการ \"รักกันสนั่นเมือง\" ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, \"เกมพันหน้า\" ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, \"จิกะไบท์\" ทาง itv (titv), \"ยุทธการบันเทิง\" ทาง itv (titv) และยังเป็นผู้จัดละครให้กับช่อง 7 สี โดยสร้างพล็อตเรื่องและกำกับการแสดงด้วยตนเอง ในละครเรื่อง \"ตลาด โรงเจ ลิเก ความรัก\" และตามด้วยเรื่อง \"รักวันละนิด\" ในปี พ.ศ. 2551 ผลิตรายการสาระเกี่ยวกับสุขภาพชื่อ \"ตะลุยโรงหมอ\" ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น ชิดหมอ ทางช่อง 7 สี \nและอีกรายการหนึ่ง คือ \"กลมกิ๊ก\" ทาง ททบ. 5", "title": "เกียรติ กิจเจริญ" }, { "docid": "685421#0", "text": "เกมพันหน้า เป็นรายการเกมโชว์ที่เปลี่ยนชื่อมาจากแสบคูณสอง และเป็นรายการเกมโชว์ลำดับที่ 3 ของบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2544 และยุติการออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2548 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มีพิธีกรคือเกียรติ กิจเจริญ ติ๊ก กลิ่นสี และ ไดอาน่า จงจินตนาการ (พ.ศ. 2546 - 2548)", "title": "เกมพันหน้า" } ]
[ { "docid": "658489#17", "text": "เป็นเกมในรอบที่สอง เกมนี้สืบเนื่องมาจากยุคที่ 2 จะแตกต่างจากในยุคอื่นๆ เล็กน้อย โดยจะมีละครตลก 1 เรื่อง นำโดย ติ๊ก กลิ่นสี เท่ง เถิดเทิง และนักแสดงตลกท่านอื่น แล้วจะพาญาติของดารารับเชิญ (ดารารับเชิญที่มาเป็นแขกรับเชิญในตอนนั้น) และจะถามว่า บุคคลที่มาเป็นญาติของแสบรับเชิญนั้น ชัวร์ หรือ มั่วนิ่ม และจะให้ผู้แข่งขันตอบทีละคน ถ้าผู้เข้าแข่งขันคนไหนตอบถูก ก็จะได้คะแนนไป แต่ถ้าหากคำตอบคือไม่ใช่ ก็จะไม่ได้คะแนนไปในรอบนี้ เกมจะสิ้นสุดเมื่อผู้เข้าแข่งขันท่านใดท่านหนึ่งตอบได้ถูกต้อง เกมนี้สืบเนื่องมาจากยุคปี 2542 (แสบคูณสอง แลกหมัด) แล้วมาใช้ต่อในปี 2543 (แสบคูณสอง ยกแก๊ง)", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "658489#41", "text": "ในแสบคูณสองนั้นได้มีการผลิตวีซีดี ร่วมกับรายการเกมพันหน้าช่วงปี 2544 - 2548 โดยจะเป็นละครแสบ (รวมถึงละครพันหน้า) โดยผู้ถือลิขสิทธิ์คือบริษัท อีวีเอส เอนเทอร์เทนเมนท์ จำกัด เช่นเดียวกับรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "658489#32", "text": "ต่อมาในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการ 12 แผ่นป้ายโดยมีแผ่นป้ายแสบคูณสอง 6 แผ่นป้าย มีเงินรางวัลแผ่นป้ายละ 20,000 บาท (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ ชาไทยใส่นมซัมเมอร์ ต่อมาเปลี่ยนเป็นลิปตัน ไอซ์ที ชารสเลมอนและรสพีช) และแผ่นป้ายแสบหารสอง อีก 6 แผ่นป้าย เป็นแผ่นป้ายเปล่าไม่มีเงินรางวัลแต่อย่างใด แต่ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันเปิดแผ่นป้ายแสบคูณสองได้ครบทั้ง 6 แผ่นป้าย จะได้รับเงินรางวัล 2,000,000 บาทโดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนละ 1,000,000 บาทกับผู้เข้าแข่งขันและผู้โชคดีจากทางบ้านที่มาจากการจับชิ้นส่วนของผู้สนับสนุนหลักที่ผู้ชมทางบ้านส่งมาร่วมสนุกนั่นเอง แต่ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันเปิดแผ่นป้ายแสบหารสองได้ครบทั้ง 6 แผ่นป้าย จะได้รับเงินรางวัล 200,000 บาท (แต่บางครั้งได้เงินรางวัล 100,000 บาท เพราะเกือบแตกแล้วแถม 1 แผ่นป้ายเพื่อให้แตก) (ผู้สนับสนุนเงินรางวัล คือ ร้านอาหารเกาะเกร็ด (ครั้งที่ 1) ต่อมาเปลี่ยนเป็นสตาร์ ซิตี้ ร้านอาหารเกาะเกร็ด (ครั้งที่ 2) ถั่วทองการ์เด้น ที่นอนสลัมเบอร์แลนด์ และแพลเน็ท ฮอลลีวู้ด) โดยที่ผู้เข้าแข่งขันจะได้เพียงฝ่ายเดียว ส่วนผู้โชคดีจากทางบ้านก็จะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาทตามปกติ โดยเริ่มใช้กติกานี้ตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2540 แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัล หรือสามารถเปลี่ยนแผ่นป้ายได้หลังจากเลือกมาแล้ว หากไม่แน่ใจว่าจะเปิดได้อะไร แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เข้าแข่งขัน", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "658489#14", "text": "เป็นเกมในรอบที่ 2 เกมนี้มีละครสืบเนื่องมาจากยุคแรก แต่รูปแบบการเล่นจะแตกต่างจากในยุคแรกโดยสิ้นเชิง โดยจะมีละครให้ดู 1 เรื่อง นำแสดงโดย ติ๊ก กลิ่นสี เท่ง เถิดเทิง และนักแสดงท่านอื่นๆ เมื่อการแสดงจบแล้ว จะพาบุคคลปริศนาออกมา 2 คน โดยพิธีกรจะบอกว่าท่านไหนที่เป็น... (ตามอาชีพของบุคคลปริศนาที่เชิญมาในเทปนั้นๆ) แล้วให้ผู้เข้าแข่งขันทายว่า พิธีกร ชัวร์ หรือ มั่วนิ่ม จากนั้นบุคคลปริศนาจะมาเฉลยว่าทำอาชีพนั้นๆ ชัวร์ หรือ มั่วนิ่ม ถ้าผู้แข่งขันท่านใดหรือทีมใดทายถูก จะได้ 3 คะแนน จากนั้นบุคคลที่ตอบว่า ชัวร์ หรือเป็นบุคคลที่ทำอาชีพนั้นๆ ตัวจริงจะมาสาธิตวิธีการประกอบอาชีพนั้นๆ", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "658489#33", "text": "ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 (ยุคแลกหมัด) ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการ 12 แผ่นป้ายโดยมีแผ่นป้ายแสบคูณสอง 6 แผ่นป้าย มีเงินรางวัลแผ่นป้ายละ 10,000 บาท (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ ลิปตัน ไอซ์ที ชารสเลมอนและรสพีช) และแผ่นป้ายแสบหารสอง อีก 6 แผ่นป้าย เป็นแผ่นป้ายเปล่าไม่มีเงินรางวัลแต่อย่างใด แต่ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันเปิดแผ่นป้ายแสบคูณสองได้ครบทั้ง 6 แผ่นป้าย จะได้รับเงินรางวัล 2,000,000 บาทโดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนละ 1,000,000 บาทกับผู้เข้าแข่งขันและผู้โชคดีจากทางบ้านที่มาจากการจับชิ้นส่วนของผู้สนับสนุนหลักที่ผู้ชมทางบ้านส่งมาร่วมสนุกนั่นเอง แต่ถ้าหากผู้เข้าแข่งขันเปิดแผ่นป้ายแสบหารสองได้ครบทั้ง 6 แผ่นป้าย จะได้รับเงินรางวัล 200,000 บาท จากทางรายการและ ลิปตัน ไอซ์ที โดยที่ผู้เข้าแข่งขันจะได้เพียงฝ่ายเดียว ส่วนผู้โชคดีจากทางบ้านก็จะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาทตามปกติ แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัล หรือสามารถเปลี่ยนแผ่นป้ายได้หลังจากเลือกมาแล้ว หากไม่แน่ใจว่าจะเปิดได้อะไร แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เข้าแข่งขัน ต่อมาเมื่อมีการปรับเปลี่ยนผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมจึงได้นำกติการอบ Jackpot ที่เคยใช้ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2540 - มีนาคม 2542 กลับมาใช้อีกครั้ง และกติกาเดิมทุกประการ", "title": "แสบคูณสอง" }, { "docid": "536689#0", "text": "A แชนแนล สี่แสบซ่า บ้าขั้นเอ () เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นประเภทสี่ช่องจบ โดย บีบี คุโรดะ ตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูนเซเน็น ชื่อ มังงะ ไทม์ คิราระ คารัต และได้รวมเล่ม และวางจำหน่ายเมื่อ 26 ธันวาคม 2552 โดยสำนักพิมพ์โฮบุงฉะ ในส่วนของ อะนิเมะ ถ่ายทำขึ้นโดย โกคุมิ สตูดิโอ และฉายในญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 8 เมษายน 2554 - 24 มิถุนายน 2554 จำนวนทั้งสิ้น 12 ตอน และในส่วนของ โอวีเอ ได้ออกจำหน่ายในวันที่ 21 มีนาคม 2555 โดยวางจำหน่ายในรูปแบบ บลูเรย์ และ ดีวีดี จำนวน 2 ตอน", "title": "A แชนแนล สี่แสบซ่า บ้าขั้นเอ" }, { "docid": "685421#1", "text": "รายการเกมพันหน้า เป็นรายการเกมโชว์ลำดับที่ 3 และเป็นรายการโทรทัศน์ลำดับที่ 6 ของบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2544 ทางช่อง 7 สี ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 22.20 - 23.45 น. เป็นเวลา 85 นาที โดยเป็นเกมโชว์ที่เกี่ยวข้องกับการตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้ในสิ่งต่างๆ เช่น ไดโนเสาร์ นก กรุงเทพฯ ในอดีต ฯลฯ และเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางบ้านสามารถเข้ามาร่วมสนุกโดยการเขียนจดหมายมาสมัครร่วมรายการ หรือสมัครทางเว็บไซต์ได้อีกด้วย โดยมีเงินรางวัลสูงสุด 1,000,000 บาท ต่อมาในช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ทางรายการได้นำเอาไดอาน่า จงจินตนาการ มาเป็นพิธีกรของรายการ และเพิ่มเกมใหม่ รวมถึงลดเงินรางวัลลง ต่อมาในช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2546 ได้ย้ายวันและเวลาการออกอากาศ พร้อมทั้งปรับรูปแบบเกมและฉากใหม่ทั้งหมด พร้อมทั้งลดเวลาเหลือ 60 นาที ในวันอาทิตย์ เวลา 12.15 - 13.15 น. และเวลา 12.00 - 13.00 น. ตามลำดับ และยุติการออกอากาศในปี พ.ศ. 2548 โดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบรายการมาเป็น เกมพันหน้า เอื้ออาทร เกมพันหน้า เดอะฮีโร่ เกมพันหน้า ซูเปอร์เซเว่น ในปัจจุบัน\nในส่วนของเกมการแข่งขันในรายการเกมพันหน้านั้น สามารถแบ่งได้เป็น 4 ยุคด้วยกัน คือยุคแรก (มกราคม 2544 - กุมภาพันธ์ 2545) ยุคที่สอง (กุมภาพันธ์ 2545 - กุมภาพันธ์ 2546) ยุคที่สาม (กุมภาพันธ์ 2546 - พฤษภาคม 2546) และยุคสุดท้าย (มิถุนายน 2546 - มกราคม 2548) โดยในแต่ละยุคได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเกมในรายการอยู่เรื่อยๆ", "title": "เกมพันหน้า" } ]
1526
คณะราษฎร ก่อตั้งขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "749#19", "text": "ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง \"คณะราษฎร\" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ณ หอพักแห่งหนึ่งย่าน \"Rue Du Sommerard\" กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วย ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี, ร.ท.แปลก ขิตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ภก.ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), นายแนบ พหลโยธิน โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และการดำเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป", "title": "ปรีดี พนมยงค์" }, { "docid": "226770#4", "text": "ซึ่งในระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสนี้ หลวงทัศนัยนิยมศึก และ ร.ท.แปลก เพื่อนนักเรียนทหารด้วยกัน ได้เข้าร่วมกับนักเรียนฝ่ายพลเรือน 2 คน คือ นายประยูร ภมรมนตรี และนายปรีดี พนมยงค์ ก่อตั้งคณะราษฎรขึ้นมาในปี พ.ศ. 2469 ซึ่งนับว่าเป็นสมาชิกคณะราษฎรชุดแรก ซึ่งมีสมาชิกจำนวนด้วยกันทั้งหมด 7 คน คือ นายปรีดี พนมยงค์, นายประยูร ภมรมนตรี, นายแนบ พหลโยธิน, นายตั้ว ลพานุกรม, นายจรูญ สิงหเสนี, ร.ท.แปลก ขีตตะสังคะ และ หลวงทัศนัยนิยมศึก", "title": "หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)" }, { "docid": "43051#3", "text": "และได้ทำการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 ถนนซอเมอราร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ซึ่งติดต่อกันนานถึง 4 คืน 5 วัน โดยมีร้อยโท แปลก ที่สมาชิกคณะราษฎรคนอื่น ๆ เรียกว่า \"\"กัปตัน\"\" เป็นประธานในการประชุม ที่ประชุมมีมติตกลงที่จะทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่ใต้กฎหมาย โดยตกลงที่ใช้วิธีการ \"ยึดอำนาจโดยฉับพลัน\" รวมทั้งพยายามหลีกเลี่ยงการนองเลือด เหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นแล้วในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติรัสเซีย ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันการถือโอกาสเข้ามาแทรกแซงจากมหาอำนาจที่มีอาณานิคมอยู่ล้อมรอบสยามในสมัยนั้น คือ อังกฤษและฝรั่งเศส", "title": "คณะราษฎร" } ]
[ { "docid": "208246#12", "text": "ตั้วได้มีบทบาทในทางการเมืองไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเข้าร่วมกับคณะราษฎรก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบบประชาธิปไตยในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยเข้าร่วมประชุมก่อตั้งคณะราษฎรขึ้นเป็นครั้งแรก ณ กรุงปารีส โดยเป็นสมาชิกฝ่ายพลเรือน ซึ่งเห็นได้ถึงความปรารถนาของคณะราษฎรในการส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเช้าของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ตั้วได้ร่วมเดินทางสู่จุดนัดหมายที่บางซื่อ", "title": "ตั้ว ลพานุกรม" }, { "docid": "813381#1", "text": "สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรก่อตั้งขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หรือ 4 วันหลังจาก การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในวันนั้นได้มติเห็นชอบให้ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ ปรีดี พนมยงค์ หัวหน้า คณะราษฎร สายพลเรือนเป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรคนแรกโดยที่ทำการสำนักงานเลขาธิการในช่วงแรกตั้งอยู่ภายใน วังปารุสกวัน", "title": "สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร" }, { "docid": "116195#1", "text": "พรรคราษฎร จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2541 โดยมีคำขวัญว่า \"พรรคราษฎร เพื่อราษฎร\" มีนายสมชาย หิรัญพฤกษ์ เป็นหัวหน้าพรรค ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 ได้มีการเปลี่ยนแปลงหัวหน้าพรรคเป็น พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์ มีเลขาธิการพรรค คือ นายมั่น พัธโนทัย และหัวหน้าพรรคคนต่อมา คือ นายวัฒนา อัศวเหม แกนนำกลุ่มปากน้ำ\nในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 พรรคราษฎร มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้ง จำนวนเพียง 2 คน คือ นางสาวเรวดี รัศมิทัต จากจังหวัดสมุทรปราการ กับ นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล จากจังหวัดนครพนม และได้รับเลือกตั้งเพิ่มเติมอีกในการเลือกตั้งใหม่ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2544 คือ นายวิทยา บันทุปา จากจังหวัดอุบลราชธานี แต่ต่อมาถูก กกต.ตัดสินให้เลือกตั้งใหม่ และไม่ได้รับเลือกตั้งอีกและจังหวัดเชียงราย แม่คำหลัก 7 ร.ตอ.มาสพงศ์ ผลประดับวงศ์หรือ สจ.ป้อม อ.เชียงแสน - อ.เถิง แก้ไขทะเบียนราษฎร์โดย.กกต.กรรมการเลือกตั้งจังหวัดน่านแทน ว่าที่เลิศ วัฒนาอัศวเหม กับ ว่าที่วัฒนนท์ อัศวเหมสานต่อในปี 2561 - 2577", "title": "พรรคมหาชน" }, { "docid": "950463#0", "text": "พรรคราษฎร () พรรคการเมืองของไทยในอดีตที่จดทะเบียนจัดตั้ง\nตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 และ พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 เป็นลำดับที่ ๘/๒๕๑๗ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 มีนาย ไถง สุวรรณทัต อดีตผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ อดีตเจ้าของหมู่บ้านเศรษฐกิจ ธนบุรี และอดีต ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ 5 สมัยเจ้าของฉายา ผู้แทนขาเดียว หรือ ไถงขาเดียว เนื่องจากโดนคนร้ายปาระเบิดจนขาขวาขาดเป็นหัวหน้าพรรคและนาย ไพรรัตน์ วิเศษโกสิน เป็นเลขาธิการพรรค", "title": "พรรคราษฎร (พ.ศ. 2517)" }, { "docid": "33621#56", "text": "คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) ด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2522 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรณรงค์ให้มีการแก้ไข รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2521 ให้เป็นประชาธิปไตย ซึ่งได้ยุติบทบาทลงเมื่อปี พ.ศ. 2526 แต่เมื่อเกิดรัฐประหารโดยคณะ รสช. ขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 องค์กรสิทธิมนุษยชนองค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และนักศึกษาจึงได้กลับมารวมตัวกันรื้อฟื้น ครป. ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง โดยมีเป้าหมายสำคัญ คือการติดตามและรณรงค์เพื่อให้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2534 เป็นประชาธิปไตย", "title": "รัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี" }, { "docid": "190561#0", "text": "คณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร", "title": "คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)" }, { "docid": "811366#0", "text": "พรรคอำนาจเขมร ( \"คณบกฺสอํณาจขฺแมร\"; ) เป็นพรรคการเมืองแบบลัทธินิยมอเมริกัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2010 และจดทะเบียนพรรคการเมืองในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2015 โดยสวน เสรีรัฏฐา (សួន សេរីរដ្ឋា) เป็นผู้ก่อตั่งและหัวหน้าพรรคคนแรก  โดยเป็นพรรคการเมืองที่มีนโยบายหลักคือต้องการยกเลิกระบอบกษัตริย์กัมพูชา และสถาปนาสาธารณรัฐเขมรที่สองโดยในขณะนี้หัวหน้าพรรคคนปัจจุบันคือนาย สง โสพร () เนืองจากนายสวน เสรีรัฏฐา ถูกจําคุกเพราะวิจาร์ณนโยบายรัฐบาล", "title": "พรรคอำนาจเขมร" }, { "docid": "276625#0", "text": "พรรคมาตุภูมิ () เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2551 โดยมีชื่อเดิมว่า \"พรรคราษฎร\" และเริ่มมีบทบาททางการเมืองในช่วงปลายปี พ.ศ. 2551 ภายหลังการเข้าสมัครเป็นสมาชิกพรรคของกลุ่มวาดะห์ และกลุ่มปากน้ำ นำโดยนายวัฒนา อัศวเหม และ พลเอก ดร.สนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าพรรค ปัจจุบัน พ.ศ. 2561 พรรคมาตุภูมิถูกยุบเนื่องจากไร้ผู้สนับสนุนพรรคที่เข้มแข็ง และ พลเอก ดร.สนธิ บุญยรัตกลินได้แก้ปัญหาโดยการนำสมาชิกพรรคที่เหลือเข้าร่วมพรรคชาติไทยพัฒนา โดยพรรคมาตุภูมิได้จัดประชุมคณะกรรมการบริหารพรรค ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งที่ประชุมมีมติเลิกพรรคมาตุภูมิและได้ส่งเรื่องให้ กกต. พิจารณาซึ่งที่ประชุม กกต. ครั้งที่ 70/2561 (34) วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เห็นชอบให้ยุบเลิกพรรคมาตุภูมิพร้อมกับพรรคการเมืองอีก 2 พรรคคือ พรรคเสรีนิยม และ พรรคพลังพลเมือง โดยได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอน 111 ก หน้า 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2561", "title": "พรรคมาตุภูมิ" } ]
1682
ฆาบิเอร์ อาเดลมาร์ ซาเนตติ เริ่มอาชีพฟุตบอลเมื่อไหร่?
[ { "docid": "446866#0", "text": "ฆาบิเอร์ อาเดลมาร์ ซาเนตติ (Spanish: Javier Adelmar Zanetti [xaˈβ̞je̞ɾ saˈne̞ti]) เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1973 ในกรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ป็นอดีตนักฟุตบอล ซึ่งส่วนใหญ่เขาลงเล่นให้กับสโมสรอินเตอร์มิลานในลีกเซเรีย อา ตั้งแต่ปี ค.ศ.1995 ถึง 2014 และได้รับตำแหน่งกัปตันทีมตั้งแต่ปี 1999 จนได้ฉายาว่า\" อิล กาปิตาโน\" (Il Capitano=The Captain) ความเก่งกาจของเขาสามารถเล่นได้ทั้งฟูลแบ็กรวมถึงปีกด้วย ทั้งยังเล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรับได้อีกด้วย ปัจจุบันเขาได้แขวนสตั๊ดแล้ว สโมสรได้ยกเลิกเสื้อเบอร์4ของเขา และแต่งตั้งให้เขาเป็นรองประธานสโมสรด้วย[1]", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" } ]
[ { "docid": "446866#6", "text": "ซาเนตติเป็นส่วนหนึ่งของทีมตลอด 19ฤดูกาล 858นัด ปัจจุบันเขาคือนักเตะที่ลงเล่นให้ทีมมากที่สุด มากกว่าจูเซปเป เบอร์โกมี(758)", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#1", "text": "หลังจากที่ซาเนตติย้ายไปเล่นในลีกอิตาลี เขาได้ฉายาว่า \"เอล แทรคเตอร์\" (El Tractor=The Tractor)* เนื่องจากความแข็งแกร่ง ความยืดหยุ่น ความอดทน และความสามารถในการฝ่ากองหลังฝ่ายตรงข้าม จากจังหวะบุกโดยตำแหน่งของเขาคือกองหลังทางขวา ทำให้เขาได้รับความเคารพ ซาเนตติพาอินเตอร์มิลานคว้าแชมป์เซเรีย อา 5ครั้ง โกปปาอีตาเลีย 4ครั้ง และคว้าแชมป์ยูฟ่าแชมเปี้ยนส์ลีก เมื่อวันที่22 พฤษภาคม 2010 ซึ่งนัดนั้นเป็นนัดที่700 กับการลงเล่นให้อินเตอร์มิลานพอดี และในคืนนั้นเขาเป็นกัปตันคนเดียวในสโมสรอิตาลีที่คว้าทริปเปิ้ลแชมป์มาได้", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#23", "text": "ซาเนตติลงเล่นให้ทีมชาติอาร์เจนตินาเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 แมตช์เจอชิลี โดบการนำของโค้ชดาเนียล พาสซาเรลลา เขายังได้รับใช้ทีมชาติด้วยลงเล่นในฟุตบอลโลกปี1998 และ2002 อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งของทีมที่ได้เหรียญเงินจากโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่แอตแลนตา, สหรัฐอเมริกา", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#19", "text": "19 มกราคม ค.ศ. 2011 ซาเนตติได้แซงตำนานอินเตอร์ จูเซปเป เบอร์โกมีในการลงเล่นในเซเรีย อา ครบ 520นัด วันที่ 11พฤษภาคม 2011 ซาเนตติได้ลงเล่นครบ 1000นัดในฟุตบอลอาชีพของเขา ในแมตช์เจอโรมา นัดที่สองในรอบรองชนะเลิศถ้วยโกปปา อีตาเลีย 20 กันยายน 2011 ฆาบิเอร์ ซาเนตติได้ถูกบันทึกในสถิติเซเรีย อา ในเจอทีมโนวารา มากยิ่งกว่าจูเซปเป เบอร์โกมาลงเล่", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#9", "text": "ซาเนตติเคยทำงานร่วมกับโค้ช 19 คนในสโมสรอินเตอร์มิลาน เขาให้สัญญากับตัวเองกับพวกแฟนบอลNerazzurriว่าในอนาคตหลังจากแขวนสตั๊ด เขาจะกลับมาที่สโมสรอีกครั้ง “อินเตอร์มีความหมายกับผมมาก” ซาเนตติเป็นผู้กล่าว", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#35", "text": "ฟีฟ่า 100 โกลเดน ไพเรท (1):1992 บอลเงิน(Pallone d'Argento) (1):2002 เข้าชิงฟีฟ่าโปร เวิร์ดXI (ตำแหน่งแบ็คขวา):2010 Premio Nazionale Carriera Esemplare Gaetano Scirea: 2010 Premio Internazionale Giacinto Facchetti: 2012", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#3", "text": "ฆาบิเอร์ อเดลมาร์ ซาเนตติ เกิดที่บัวโนสไอเรส ในครอบครัวชนชั้นกรรมกร และเติบโตขึ้นบริเวณท่าเรือในเขตดอก ซูด ซึ่งเป็นหนึ่งในเมืองที่รู้จักกันในเรื่องที่ไม่ดี พ่อเขาเป็นช่างก่ออิฐ ส่วนแม่เป็นพนักงานทำความสะอาด เขาเริ่มเล่นฟุตบอลที่สนามแถวชานเมือง และเขามักจะบำรุงรักษาสนามเมื่อเขาว่าง พอถงวัยรุ่น เขาพยายามเข้าเป็นศูนย์ฝึกเยาวชนของทีมอินเดเพนเดนเต้ ทีมยักษ์ใหญ่แถวนั้น แต่ถูกปฏิเสธในที่สุด โดยบอกว่าเขาขาดร่างกายที่จะประสบความสำเร็จในเกม", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#36", "text": "profile, detailed club and national team statistics, honours (palmares) and timeline – inter.it – AFA – FundacionPUPI.org, founded by Javier and Paula Zanetti (in Spanish)", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#33", "text": "เซเรีย อา (5): 2005–06, 2006–07, 2007–08, 2008–09, 2009–10 โกปปา อีตาเลีย (4): 2004–05, 2005–06, 2009–10, 2010–11 ซูแปร์โกปปา อีตาเลียนา (4): 2005, 2006, 2008, 2010 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (1): 2009–10 ยูฟ่าคัพ (1): 1997–98 ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (1): 2010", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#20", "text": "วันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 2013 ซาเนตติลงเล่นในเซเรีย อา ครบ600นัด ในแมตช์อินเตอร์มิลานแพ้ทีมโบโลญาคาบ้าน", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#32", "text": "เซเรีย อา: ลงเล่น 615 นัด,ยิงได้ 12 ประตู[12] โกปปา อีตาเลีย: ลงเล่น 70 นัด,ยิงได้ 3 ประตู ซูแปร์โกปปา อีตาเลียนา: ลงเล่น 7 นัด ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก: ลงเล่น 105 นัด,ยิงได้ 2 ประตู ยูฟ่าคัพ: ลงเล่น 53 นัด,ยิงได้ 3 ประตู ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก: ลงเล่น 2 นัด,ยิงได้ 1 ประตู ฟุตบอลโลก: ลงเล่น 8 นัด,ยิงได้ 1 ประตู คอนเฟเดอเรชันส์คัพ: ลงเล่น 8 นัด โคปาอเมริกา:ลงเล่น 22 นัด", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#2", "text": "ในฤดูกาล 2011-2012 เขาเป็นนักเตะพียงคนเดียวที่ไม่ได้เป็นชาวอิตาลีแล้วได้รับตำแหน่งกัปตันทีมในลีกเซเรีย อา ซาเนตติถูกบันทึกว่าเป็นนักเตะที่ไม่ใช่ชาวอิตาลีที่ได้ลงเล่นสนามมากที่สุดให้กับสโมสรในประเทศอิตาลี อย่างทางการ 858 แมตช์ โดยทั้งหมดเขาลงเล่นให้อินเตอร์มิลาน และตลอดอาชีพนักเตะอาชีพ เขาได้ลงเล่นกว่า 1123 แมตช์ เป็นลงเพียง โรแชริโอ เซนี(1200) และปีเตอร์ ชิลตัน(1362)", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "420222#0", "text": "ฆาบิเอร์ มาติอัส ปัสโตเร () เกิดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1989 เป็นนักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา ปัจจุบันเล่นอยู่ในเซเรียอา สโมสรฟุตบอลโรมา และฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา ในตำแหน่งกองกลางตัวรุก เขาเริ่มอาชีพนักฟุตบอลกับตาเยเรส จากนั้นกับอูรากันในประเทศบ้านเกิด ก่อนที่จะย้ายมาเล่นในเซเรียอากับสโมสรฟุตบอลปาแลร์โม ด้วยค่าตัว 4.7 ล้านยูโร ในปี ค.ศ. 2011 ปารีแซงแฌร์แม็งซื้อเข้ามาด้วยค่าตัว 39.8 ล้านยูโร", "title": "ฆาบิเอร์ ปัสโตเร" }, { "docid": "446866#25", "text": "ซาเนตติลงเล่นให้อาร์เจนตินาภายใต้การคุ้มทีมของมาร์เซโล เบียลซาในฟุตบอลโลก 2002 ถึงอย่างนั้นพวกเขาจบที่สามของกลุ่ม แม้จะชนะในนัดแรก ทำให้อดเข้ารอบต่อไป", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#22", "text": "มิถุนายน 2014 อินเตอร์มิลานได้ยกเลิกเสื้อเบอร์ 4 เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา และแต่งตั้งเขาให้เป็นรองประธานสโมสรเป็นเวลาสองปี[1]", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#34", "text": "โคปาอเมริกา เหรียญเงิน (2): 2004, 2007 คอนเฟเดอเรชันส์คัพ เหรียญเงิน (2): 1995, 2005 โอลิมปิก เหรียญเงิน (1): 1996 แพนอเมริกันเกมส์ เหรียญทอง (1): 1995", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#10", "text": "“นี่เป็นทีมแรกที่เปิดประตูสู่ฟุตบอลยุโรป ตอนที่มาที่นี่ผมยังหนุ่มมาก และผมคิดว่าคงมีทีมไม่มากที่จะเชื่อมั่นและอดทนกับนักเตะอายุเพียงแค่20ต้นๆตั้งแต่วันแรกอย่างอินเตอร์ทำกับผม ผมต้องขอบคุณสิ่งนั้นมาก สำหรับเหตุผลบางอย่างที่ทำให้ผมมักรู้สึกว่าเหมือนอยู่ที่บ้าน ที่นี่ ที่อินเตอร์ และสิ่งนี้คือสาเหตุที่ผมไม่เคยคิดย้ายออกไปเลย[2]”", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#16", "text": "ซาเนตติและอินเตอร์ เริ่มฤดูกาล2009–10ได้ดี โดยเฉพาะเอาชนะอริร่วมเมืองอย่างเอซี มิลานขาดลอย 4–0 และในแมตช์เจอกับเจนัววันที่17 ตุลาคม เขาได้สกัดบอล และเนื่องด้วยจากนักเตะเจนัวผิดพลาด ทำให้เป็นสิ่งที่นำไปสู่ประตูที่สองของอินเตอร์ ส่งผลให้อินเตอร์เป็นทีมแรกที่สามารถชนะ ด้วยสกอร์ 5–0 ในฤดูกาลนั้น วันที่24 ตุลาคม เขาได้ลงเล่นในเซเรีย อา เทียบเท่ากับจาชินโต ฟักเคตติด้วยจำนวน 476นัด ผลนัดนั้นก็คืออินเตอร์ชนะไป2–1 นอกจากนั้นเขาได้ถูกบันทึกในสโมสรว่าลงเล่น 149 นัดตอดต่อกันด้วย", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#26", "text": "ซาเนตติฉลองลงเล่นครบ100นัดด้วยการพาอาร์เจนตินาชนะเม็กซิโกในรอบรองชิงชนะเลิศของฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ เมื่อวัน 26 มิถุนาคม ค.ศ. 2005 และเขายังได้แมนออฟเดอะแมตช์นัดนั้นด้วย[", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#14", "text": "เขาฉลองการลงเล่นให้อินเตอร์ครบ 600 นัดในวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 2008 ด้วยการชัยชนะเหนือเลชเช่1–0 ก่อนเริ่มแข่ง เขาได้ถาดที่ระลึกจากอดีตรองกัปตันอีบัน กอร์โดบาที่มอบให้เนื่องจากโอกาสพิเศษ", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#27", "text": "ซาเนตติก็ได้สวมปลวกแขนกัปตันทีม และในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก แมตช์เจอโบลีเวีย 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เขาได้กลายเป็นนักเตะที่ลงเล่นเยอะที่สุดตลอดกาลของอาร์เจนตินา", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#8", "text": "ซาเนตติ มีสถิติไม่ถูกเปลี่ยนตัวออกเลยตลอด12ปี นับตั้งแต่เขาถูกเปลี่ยนตัวออกวันที่17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 ในโกปปา อิตาเลียแมตช์เจอปาร์ม่า จนถึงวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2011 เมื่อถูกเปลี่ยนตัวออกในเซเรีย อา แมตช์เจออูดิเนเซ ตลอดการค้าแข้งกับอินเตอร์มิลานเขาถูกเปลี่ยนตัวออกเพียงแค่ 2ครั้งนี้", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#37", "text": "หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 1998 หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2002 หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน หมวดหมู่:ชาวอาร์เจนตินาเชื้อสายอิตาลี หมวดหมู่:ผู้เล่นในเซเรียอา หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 1998 หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2002 หมวดหมู่:บุคคลจากบัวโนสไอเรส หมวดหมู่:นักฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 หมวดหมู่:ฟีฟ่า 100", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#12", "text": "29 สิงหาคม ค.ศ. 1999 เขาได้รับเลือกเป็นกัปตันทีม ต่อจากตำนานกองหลัง จูเซปเป เบอร์โกมี มีการเปิดเผยภายหลังว่าเขากำลังพิจารณาสัญญาของเรอัล มาดริด ก่อนจะได้ตำแหน่งกัปตันทีม[3]", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#24", "text": "ในฟุตบอลโลก 1998 เขาได้ยิงประตูอย่างเฉียบขาดหลังได้ลูกจากฟรีคิกของควน เซบานเตียน เบรอน ในแมตช์เจออังกฤษ รอบ16ทีมสุดท้ายทำให้สกอร์กลับมาเป็น 2–2 ก่อนที่อาร์เจนตินาจะมาชนะจุดโทษ4–3 ผ่านเข้ารอบจนถึงรอบสี่ทีมสุดท้าย พวกเขาต้องมาแพ้ให้เนเธอแลนด์", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#28", "text": "เขาได้รับฉายาว่า เอล แทรกเตอร์ เพราะเป็นปีกที่มีความแข็งแกร่ง และวิ่งขึ้นไปบุกหรือลงมาตั้งรับอย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย เป็นที่รู้กันดีในหมู่เพื่อนร่วมทีมว่าออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อยืดเวลาอาชีพนักเตะของเขาออกไป ในช่วงไม่กี่ฤดูกาลหลังสุดเขาลงเล่นมากกว่าสามสิบนัด แม้อายของเขาจะสามสิบกว่าแล้ว ในฐานะกัปตัน เขาได้รับการนับถือจากทั้งแฟนคลับ และฝ่ายตรงข้าม ทั้งในเรื่องความเป็นผู้นำ, ความประพฤติ, และการปฏิบัติตัวในฐานะกัปตันทีมอินเตอร์ ตลอดอาชีพค้าแข้งของเขา เขาได้รับใบแดงเพียงสองใบเท่านั้น[11]", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "348583#1", "text": "เอร์นันเดซ เกิดที่เมืองกวาดาลาฮารา รัฐฮาลิสโก เขาเริ่มเล่นในลีกสันทนาการเมื่อเขาอายุ 7 ปี พ่อของเขาชื่อ ฆาบิเอร์ เอร์นันเดซ กูติเอร์เรซ ซึ่งเป็นนักฟุตบอลทีมชาติเม็กซิโกตำแหน่งกองหน้าตัวเป้า พ่อของเขาพูดว่า เขาไม่คิดว่าลูกชายของเขาจะสามารถเล่นในระดับอาชีพได้ เอร์นันเดซได้ร่วมสโมสรเซเดกวาดาลาฮารา เมื่ออายุ 9 ปี โดยเซ็นสัญญาระดับอาชีพเมื่อเขาอายุ 15 ปี[3] ในปี ค.ศ. 2005 เขาร่วมลงแข่งฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี แต่เขาเกิดบาดเจ็บ ไม่ได้ลงเล่นในฐานะทีมผู้ชนะเลิศ[4]", "title": "ฆาบิเอร์ เอร์นันเดซ" }, { "docid": "446866#29", "text": "ซาเนตติเริ่มอาชีพนักเตะอาชีพด้วยตำแหน่งกองหน้าตัวริมเส้นหรือก็คือปีก แต่ต่อมาถูกเปลี่ยนให้ไปในแดนกลางและแดนหลัง ไม่ก็กองกลางแถว จนเขาเป็นคนที่มีกลยุทธ์ที่ชาญฉลาด และมีความหลากหลาย เขาสามารถเล่นตำแหน่งอะไรก็ได้ในแดงกลางและแดนหลัง โดยหลักแล้วตำแหน่งเขาคือกองกลางตัวริมเส้น ไม่ก็ฟูลแบ็ก ไม่ก็ปีกตลอดการค้าแข้งเขา อีกทั้งเขายังเล่นเซ็นเตอร์แบ็ก, สวีปเปอร์ หรือไม่ก็กองกลางตัวรับ ส่วนจะอยู่ตำแหน่งไหนก็แล้วแต่โอกาส ซาเนตติได้ถูกยกย่องสำหรับความมุ่งมั่น, ความสม่ำเสมอ และเล่นได้ตลอดทั้งเกม ราวกับว่าระเบียบและชีวิตที่ยืนยาวถูกสร้างขึ้นมาด้วยความขยะนในการฝึกของเขา", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" }, { "docid": "446866#31", "text": "1ระดับทวีปประกอบด้วย ยูฟ่าแชมเปี้ยนส์ลีก andยูฟ่าคัพ 2อื่นๆประกอบด้วย เซเรีย อา นัดเพลย์ออฟ, ซูแปร์โกปปา อีตาเลียนา, ยูฟ่า ซูเปอร์คัพ และชิงแชมป์สโมสรโลก", "title": "ฆาบิเอร์ ซาเนตติ" } ]
2420
จอมพล ป.พิบูลสงครามเสียชีวิตเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "7440#22", "text": "จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี โดยก่อนตาย ยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมือนคนปกติ ยังรับประทานอาหารมื้อเที่ยงพร้อมกับครอบครัวและคนสนิทได้เหมือนปกติ แต่ทว่าเมื่อถึงเวลาเย็นก็ได้ทรุดลงและถึงแก่ความตายอย่างกะทันหัน (ซึ่งในเรื่องนี้บางส่วนเชื่อกันว่าเป็นการลอบวางยาพิษ ทั้งนี้เนื่องจากก่อนหน้านั้น จอมพล ป. เริ่มได้สานสัมพันธ์กับ นายปรีดี พนมยงค์ อดีตนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นสมาชิกคณะราษฎรยุคก่อตั้งมาด้วยกัน แม้ครั้งหนึ่งทั้งคู่จะเคยเป็นศัตรูทางการเมืองกันมาก่อนก็ตาม แต่ทว่าในเวลานั้นทั้งคู่ต่างก็หมดอำนาจและต้องลี้ภัยในต่างประเทศด้วยกัน แม้จะอยู่คนละที่ แต่ก็มีการติดต่อกันทางจดหมาย โดยมีผู้อาสาเดินจดหมายให้ และใช้รหัสลับแทนชื่อในการติดต่อกัน ซึ่งสถานการณ์การเมืองในขณะนั้น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่กระทำการรัฐประหารจอมพล ป. ไปเมื่อปี พ.ศ. 2500 ก็ถึงแก่อสัญกรรมไปก่อนหน้านั้นในปี พ.ศ. 2506 จึงมีการคาดหมายว่า อีกไม่นานทั้งจอมพล ป. และนายปรีดีจะเดินทางกลับสู่ประเทศไทย โดยเฉพาะนายปรีดีจะกลับมาแก้ข้อกล่าวหาในคดีสวรรคต และทั้งคู่จะร่วมกันรื้อฟื้นอำนาจทางการเมืองทางสายของคณะราษฎรขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่หมดบทบาทไปเลยอย่างสิ้นเชิงจากการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์)", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" }, { "docid": "7440#3", "text": "จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" }, { "docid": "99194#20", "text": "ในส่วนของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม หลังจากหลบหนีไปทางกัมพูชาแล้ว ก็ลี้ภัยอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 3 เดือน จากนั้นจึงเดินทางไปบวชที่วัดไทยพุทธคยา ประเทศอินเดีย อุปสมบท ณ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2503 และขอลี้ภัยการเมืองเข้าประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ณ ที่นั่น จอมพล ป. และครอบครัวได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องจากญี่ปุ่นถือว่าจอมพล ป. มีบุญคุณต่อประเทศญี่ปุ่น เพราะเป็นผู้อนุมัติให้ทหารญี่ปุ่นสามารถยกพลเข้าสู่ประเทศไทยได้โดยง่าย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้ทหารญี่ปุ่นจำนวนมากมิต้องล้มตาย และจอมพล ป. ก็ได้ใช้ชีวิตอยู่อย่างเงียบ ๆ ที่บ้านพักย่านชานกรุงโตเกียว จนถึงแก่กรรม ในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ด้วยอายุ 67 ปี ต่อมา ครอบครัวได้ทำการฌาปนกิจที่นั่น และนำอัฐิกลับสู่ประเทศไทยในวันที่ 27 มิถุนายน ปีเดียวกัน ท่ามกลางพิธีรับจากกองทหารเกียรติยศจากทั้งกองทัพบกและกองทัพอากาศ", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500" }, { "docid": "7440#0", "text": "จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า \"จอมพล ป.พิบูลสงคราม\" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 15 ปี 24 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย \"รัฐนิยม\" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ \"ประเทศสยาม\" เป็น \"ประเทศไทย\" และเป็นผู้เปลี่ยน \"เพลงชาติไทย\" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" } ]
[ { "docid": "7440#21", "text": "จอมพล ป. ได้รับอีกฉายาหนึ่งว่า \"\"จอมพลกระดูกเหล็ก\"\" เพราะมีชีวิตทางการเมืองอย่างเหลือเชื่อ เคยถูกลอบสังหารมาแล้วถึง 3 ครั้ง แต่ก็รอดชีวิตมาได้ทุกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน ในปี พ.ศ. 2494 ที่ท่านถูกจี้ลงเรือศรีอยุธยา ถูกทิ้งระเบิดผ่านเตียงที่เคยนอนอยู่อย่างเฉียดฉิว ทั้ง ๆ ที่เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิตจำนวนมากนับร้อย จนกระทั่งถึงวาระสุดท้ายในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง คือ ในเย็นวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อถูก ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายทหารรุ่นน้องที่ไว้ใจและมอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้ กระทำการรัฐประหาร ซึ่งได้หลบหนีไปด้วยรถยนต์ส่วนตัวกับผู้ติดตามเพียง 2 คน ไปอย่างหวุดหวิด โดยผ่านไปทางประเทศกัมพูชา ก่อนจะลี้ภัยทางการเมืองที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ณ ที่นั่น ครอบครัวได้รับการต้อนรับอย่างดี ทั้งนี้เพราะทางรัฐบาลญี่ปุ่นถือว่าพิบูลสงครามเป็นผู้ที่มีบุญคุณต่อญี่ปุ่น เคยยินยอมให้ทหารญี่ปุ่นผ่านเข้าประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองด้วยดี ไม่ต้องมีการสู้รบยืดเยื้ออันรังแต่จะทำให้มีแต่ความสูญเสียด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งท่านก็ได้พำนักอยู่ที่นั่นจนตราบถึงแก่อสัญกรรม", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" }, { "docid": "93741#2", "text": "จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้นำคนหนึ่งของคณะราษฎร ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้นหลังจากเข้าร่วมการปราบปรามกบฎบวรเดช และได้รวบอำนาจเข้าสู่ตัวเองมากขึ้น จอมพล ป. มองว่า พระยาทรงสุรเดชเป็นคู่แข่งของตน ความขัดแย้งระหว่างตัวของจอมพล ป. กับพระยาทรงสุรเดช นำไปสู่เหตุการณ์กบฏพระยาทรงสุรเดช ทำให้พระยาทรงสุรเดชต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ จอมพล ป. เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2481", "title": "สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย" }, { "docid": "307385#2", "text": "ในยุคเผด็จการทหาร หลังจากที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ กระทำการรัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ได้มีคำสั่งจากคณะปฏิวัติงดใบอนุญาตประกอบการ แต่นายแสงยังคงสั่งให้บรรณาธิการทำงานอย่างเต็มที่ จนกระทั่งได้วางแผงขายในวันรุ่งขึ้น ในที่สุดแท่นพิมพ์ก็ได้ถูกล่ามโซ่ และกองบรรณาธิการบางคนถูกจับและบางคนเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง", "title": "แสง เหตระกูล" }, { "docid": "766457#6", "text": "ภายหลังจากที่จอมพล ป. พิบูลสงครามพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 ในวันถัดมานั้น นายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีคนใหม่ได้ออกประกาศยกเลิกการใช้อักขรวิธีดังกล่าว และการใช้เลขสากล ส่งผลให้กลับไปใช้อักขรวิธีไทยแบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งได้ใช้มาจวบจนถึงปัจจุบัน และแม้ว่าจอมพล ป. พิบูลสงครามจะได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่งภายหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 ท่านก็มิได้นำอักขรวิธีดังกล่าวกลับมาใช้อีก", "title": "ภาษาไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม" }, { "docid": "27996#20", "text": "ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2500 ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อันเป็นรัฐบาลชุดสุดท้ายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม แต่หลังจากนั้น 10 วันก็ลาออก สาเหตุเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งมีการกล่าวขานว่าเป็นการเลือกตั้งสกปรก ซึ่งผลคือ พรรคเสรีมนังคศิลา ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับเสียงข้างมาก และได้ตั้งรัฐบาล ท่ามกลางความวุ่นวายอย่างหนักจากการเดินประท้วงของประชาชนจำนวนมาก ที่เรียกร้องให้จอมพล ป. พิบูลสงครามและพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ ลาออกจากตำแหน่ง เมื่อสถานการณ์ลุกลาม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้แต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้บัญชาการ 3 เหล่าทัพ เพื่อคอยควบคุมสถานการณ์ แต่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์สั่งไม่ให้ทหารทำอันตรายประชาชนที่เดินขบวนชุมนุมประท้วง และเป็นผู้นำประชาชนเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบ ทำให้กลายเป็นขวัญใจของประชาชนทันที จนได้รับฉายาในตอนนั้นว่า \"\"วีรบุรุษมัฆวานฯ\"\" จากเหตุการณ์ดังกล่าว และเห็นว่ารัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามขาดความชอบธรรมในการปกครองบ้านเมืองแล้ว จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงประกาศลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม คงเหลือแต่ตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกเพียงอย่างเดียว", "title": "สฤษดิ์ ธนะรัชต์" }, { "docid": "7440#19", "text": "หลังจากกรณีพิพาทอินโดจีน จอมพล.ป ได้ประกาศให้ประเทศไทยดำรงสถานะเป็นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดจนกระทั่งญี่ปุ่นทำการยกพลขึ้นบกเพื่อขอทางผ่านไปโจมตีพม่าและมาเลเซีย จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีไทย ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้นวิกฤตจึงประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นและเข้าร่วมฝ่ายอักษะ ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า ท่านขอพระราชทานยศจอมพลให้กับตนเองเพราะท่านต้องการมีอำนาจอย่างเบ็ดเสร็จ ในระหว่างสงครามจอมพล ป. ได้ทำการตกลงช่วยเหลือญี่ปุ่นด้านการรบ เพราะหวังว่าจะได้ดินแดนเพิ่มเติมเข้ามาครอบครอง โดยประเทศไทยได้รับจังหวัดมาลัย อีกทั้งได้ส่งกองทัพพายัพเข้าดินแดนบางส่วนของพม่าจัดตั้งสหรัฐไทยเดิม หลังสงครามถูกไต่สวนในฐานะอาชญากรสงครามอยู่ระยะหนึ่ง ตาม พระราชบัญญัติอาชญากรรมสงคราม ที่รัฐบาลไทยประกาศใช้เป็นกฎหมายหลังสงครามโลก (มีผู้วิเคราะห์ว่า ส่วนหนึ่งเพื่อมิให้ต้องส่งตัวผู้นำรัฐบาลและนายทหารไทยในยุคนั้นไปให้ศาลอาชญากรรมสงครามระหว่างประเทศ ที่สัมพันธมิตรตั้งขึ้นที่โตเกียวและเนือร์นแบร์กพิพากษาคดี แต่ให้ศาลไทยเป็นผู้พิพากษาแทน ซึ่งเป็นผลดีต่อชีวิตของอาชญากรรมสงครามเหล่านี้ที่เป็นคนไทยรอดพ้นจากโทษประหารชีวิตทั้งหมด) อย่างไรก็ดี ศาลไทยได้พิจารณาเห็นว่า กฎหมายย่อมไม่มีผลย้อนหลัง จึงปล่อยตัวเป็นอิสระ หลังจากนั้นก็ได้ประกาศยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด กลับไปใช้ชีวิตเรียบง่ายอยู่บ้านที่ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยปลูกผักต่าง ๆ เพื่อเลี้ยงชีพอดมื้อกินมื้อ", "title": "แปลก พิบูลสงคราม" } ]
3802
ฉากแท่นบูชาเมรอด ปัจจุบันแสดงอยู่ที่ใด?
[ { "docid": "221353#0", "text": "ฉากแท่นบูชาเมรอด (English: Mérode Altarpiece) หรือ ฉากแท่นบูชาการประกาศของเทพ (Annunciation Altarpiece) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยโรเบิร์ต กัมปิน จิตรกรสมัยศิลปะเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" } ]
[ { "docid": "148737#6", "text": "นอกไปจากแผงกลาง \"ฉากแท่นบูชาศีลศักดิ์สิทธิ์\" แล้วฉากแท่นบูชาเดิมก็ยังมีแผงข้างประกบอีกข้างละสองแผง แต่เพราะแผงอื่นเป็นของพิพิธภัณฑ์ในเบอร์ลินและมิวนิกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ฉะนั้นการพยายามสร้างบานพับภาพทั้งแผงตามแบบฉบับเดิมจึงเป็นการยากที่จะทำได้ ในปัจจุบันเชื่อกันว่าแผงที่มีภาพเอบราฮัมและเมลคิเซดิก (Melchizedek) อยู่เหนือภาพการฉลองปัสกา (Passover Feast) ทางด้านซ้าย และแผงการเตรียมอาหารอยู่เหนืออีไลจาห์และเทวดาทางปีกขวา แต่ทั้งหมดนี้ก็เป็นเพียงข้อสันนิษฐานเท่านั้น", "title": "ดีร์ก เบาตส์" }, { "docid": "221353#4", "text": "รูปสัญลักษณ์ภายในภาพเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาต่าง ๆ แต่ความหมายของแต่ละอย่างก็ยังเป็นที่ถกเถียงกัน นักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวอเมริกันไมเออร์ ชาพีโร (Meyer Schapiro) เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาสัญลักษณ์ของกับดักหนู[4] และต่อมานักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเออร์วิน พานอฟสกี มาเพิ่มเติมการวิจัยต่อที่รวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ เช่นเครื่องเรือน ข้อถกเถียงที่คล้ายคลึงกันนี้เป็นข้อถกเถียงทั่วไปสำหรับจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก และรายละเอียดของสัญลักษณ์บางอย่างที่พบในภาพนี้ที่ปรากฏเป็นครั้งแรก ต่อมาก็พบในภาพการประกาศของเทพโดยจิตรกรคนอื่น ๆ", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "148737#3", "text": "งานเขียนชิ้นแรก ๆ ของดีร์ก เบาตส์ ก็ได้แก่งาน \"บานพับภาพพระบุตร\" (Infancy Triptych) ที่เขียนราวปี ค.ศ. 1445 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ปราโดที่มาดริด ประเทศสเปน, งานฉากแท่นบูชา \"ชะลอร่างจากกางเขน\" ที่กรานาดาก็เขียนในระยะเวลาเดียวกันราวระหว่างปี ค.ศ. 1450 ถึงปี ค.ศ. 1460 และงานฉากแท่นบูชาที่ถูกแบ่งเป็นชิ้น ๆ ที่ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งชาติที่บรัสเซลส์, พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตี ที่ลอสแอนเจลิส, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ลอนดอน, พิพิธภัณฑ์นอร์ตันไซมอนที่แพซาดีนา และที่เป็นของเจ้าของส่วนบุคคลซึ่งเป็นงานที่มีขนาดเดียวกับ \"Altarpiece of the Holy Sacrament\" อาจเป็นงานจากยุคนี้ ส่วนภาพ \"ปีเอตา\" อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในปารีส", "title": "ดีร์ก เบาตส์" }, { "docid": "221353#6", "text": "ม้วนหนังสือและหนังสือบนโต๊ะหน้าเวอร์จินแมรีเป็นสัญลักษณ์ของพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ และบทบาทของแมรีและพระเยซูเป็นการทำให้คำพยากรณ์ในอดีตกลายมาเป็นความจริง ดอกลิลีในแจกันบนโต๊ะเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นพรหมจารีของแมรี สิงโตที่ตกแต่งบนแขนเก้าอี้อาจจะเป็นเป็นเครื่องหมายที่ระบุความสำคัญของที่นั่ง ที่อาจจะเป็นสัญลักษณ์ของบัลลังก์แห่งปัญญา (Throne of Wisdom) หรือบัลลังก์ของโซโลมอน ซึ่งพบในภาพเขียนอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพเขียนทางศาสนาหรือไม่เช่นใน \"ภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี\" (Arnolfini Portrait) ของฟัน ไอก์ การจัดที่สำหรับซักล้างทางด้านหลังของภาพเป็นการจัดที่แปลกกว่าการตกแต่งภายในโดยทั่วไปที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการมีอ่างพิสซีนา (piscina) สำหรับนักบวชล้างมือระหว่างพิธีมิสซา โต๊ะสิบหกเหลี่ยมอาจจะหมายถึงประกาศกฮีบรูสิบหกคน และโดยทั่วไปแล้วโต๊ะจะหมายถึงแท่นบูชา โดยมีผู้ทำพิธีเป็นเทวดาเกเบรียลที่แต่งตัวอย่างนักบวช ภาพเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับภาพ \"การประกาศของเทพ\" ของยัน ฟัน ไอก์ ที่เต็มไปด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ซับซ้อนที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการประกาศของเทวดาเกเบรียลกับพิธีมิสซาของศีลศักดิ์สิทธิ์ (Sacraments) ของศีลมหาสนิท (Eucharist) [5] แมรีนั่งบนพื้นเพื่อเป็นการแสดงความถ่อมตัว รอยพับบนเสื้อตรงเข่าเล่นกับแสงที่ดูเหมือนดวงดาวที่อาจจะเป็นนัยเปรียบเทียบว่าพระองค์เป็นดาราแห่งดารา", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "221353#8", "text": "บานพับภาพมีความเกี่ยวข้องกับเมเคอเลินในเบลเยียมอยู่เป็นเวลานาน ชายบนแผงกลางอาจจะมาจากตระกูลอิมแบร็คต์ (Ymbrechts, Imbrechts) หรืออิงเคิลแบร็คตส์ (Inghelbrechts) ของเมเคอเลิน ใน ค.ศ. 1966 เฮลมุต นิกเกิลพบเหตุผลที่สนับสนุนความสัมพันธ์นี้ ชายมีหนวด ที่ยืนอยู่ในฉากหลัง (เขียนเพิ่มภายหลัง) ในบานภาพซ้าย ดูเหมือนจะแต่งตัวแบบนักส่งข่าวของเมือง โดยมีตราบนหน้าอกเสื้อที่เป็นตราประจำเมืองเมเคอเลิน", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "299145#1", "text": "“ฉากแท่นบูชาวิลทัน” ที่เขียนขึ้นราวระหว่างปี ค.ศ. 1395 ถึงปี ค.ศ. 1399 ปัจจุบันเป็นของหอศิลป์แห่งชาติในลอนดอนในสหราชอาณาจักร เป็นงานที่สร้างขึ้นสำหรับสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ที่ปรากฏบนภาพเป็นผู้คุกเข่าต่อพระพักตร์ของพระแม่มารีและพระบุตรที่เรียกกันว่า “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” “ฉากแท่นบูชาวิลทัน” เป็นตัวอย่างงานอันมีฝีมือดีของการเขียนแบบศิลปะกอธิคนานาชาติโดยศิลปินไม่ทราบนามที่อาจจะเป็นชาวฝรั่งเศสหรืออังกฤษก็ได้", "title": "ฉากแท่นบูชาวิลทัน" }, { "docid": "215310#1", "text": "ฉากแท่นบูชาโอดดิ (ภาษาอังกฤษ: Oddi altar) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกันที่วังวาติกันในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ", "title": "ฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)" }, { "docid": "298032#2", "text": "ฉากแท่นบูชาประกอบด้วยปีกสองชุดที่แสดงได้สามมุม มุมแรกเป็นฉาก “การตรึงกางเขนของพระเยซู” ขนาบด้วยภาพนักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อททางขวา และ นักบุญเซบาสเตียนทางซ้าย ฐานฉากแท่นบูชาเป็นภาพ “การบรรจุพระเยซู” ที่ยังคงเห็นในมุมมองที่สอง เมื่อเปิดปีกใหญ่สุดด้านนอกออกเป็นมุมมองที่สองก็จะเป็นภาพ “การประกาศของเทพ”, และพระแม่มารี “อาบน้ำให้พระเยซูพร้อมด้วยกลุ่มเทวดาขับเพลง” และ “พระเยซูคืนชีพ” มุมมองในสุดเป็นภาพ “การล่อใจนักบุญแอนโทนี” และภาพ “การพบปะระหว่างนักบุญแอนโทนีและนักพรตพอล” และงานแกะฉากแท่นบูชาดั้งเดิมบนไม้ปิดทองโดยนิโคลัส ฮาเกอเนาจากราว ค.ศ. 1490 ในปัจจุบันฉากแท่นบูชาถูกแบ่งเป็นชั้นๆ ซึ่งทำให้แต่ละชิ้นแยกจากกันซึ่งทำให้มองเห็นภาพได้ทุกภาพ นอกไปจากฉากแท่นบูชาเดิมที่มิได้มีภาพขนาบในมุมมองที่สาม งานสลักไม้ตอนบนและตอนล่างของฉากถูกทำลายไประหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส", "title": "ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์" }, { "docid": "221353#12", "text": "หลังจากนั้นเพเทอร์ก็ย้ายธุรกิจจากโคโลญมาแอนต์เวิร์ปและต่อมาเมเคอเลิน ในเมเคอเลิน เพเทอร์กลายเป็นคนสำคัญและเป็นที่รู้จักของผู้ค้าขนแกะและสมาคมพ่อค้าผ้าและมีตำแหน่งการบริหารทั้งในสมาคมและในเทศบาลเมือง แต่เพเทอร์ได้รับตำแหน่งเหล่านี้หลังปี ค.ศ. 1467 เมื่อชาวเมืองพยายามแข็งข้อต่อชาร์ลผู้อาจหาญ (Charles the Bold) เพเทอร์อาจจะได้รับรางวัลจากการที่ได้ช่วยเหลือพ่อของดุ๊กชาร์ลในปี ค.ศ. 1450 ก็เป็นได้", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "221353#3", "text": "งานเขียนนี้ตั้งแสดงอยู่ในเดอะคลอยสเตอส์ (The Cloisters) ที่เป็นสาขาหนึ่งของพิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตันสำหรับแสดงศิลปะจากยุคกลาง แต่แผงกลางมีอีกฉบับหนึ่งที่อยู่ที่บรัสเซลส์ซึ่งงานจะเป็นงานฉบับดั้งเดิมของกัมปิน เดิมงานเขียนเป็นของตระกูลอาเรินแบร์คและตระกูลเมรอด (เจ้านายชาวเบลเยียม) ก่อนที่จะมาขายในตลาดศิลปะ", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "221353#9", "text": "การค้นคว้าต่อมาในหอเอกสารของการบันทึกนามของเทศมนตรีของเมืองพบว่าครอบครัวอิมแบร็คต์ได้ทำการค้าขายในเมเคอเลินจากอย่างน้อยตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 และสมาชิกบางคนในครอบครัวทำการค้าขายกับตูร์แน ครอบครัวอิมแบร็คต์มีความเกี่ยวข้องกับอัศวินทิวทอนิกที่ก่อตั้งในเมเคอเลินในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่ขึ้นอยู่กับโคเบล็นซ์ และยังมีหลักฐานว่ามีผู้เป็นสมาชิกอย่างน้อยสี่คนพำนักอยู่ในเมเคอเลินระหว่าง ค.ศ. 1330 ถึง ค.ศ. 1480 ที่ไม่ก็เกี่ยวข้องทางธุรกิจกับครอบครัวเอ็งเงิลเบร็ชท์ (Engelbrecht) ในโคโลญซึ่งไม่ไกลจากโคเบล็นซ์", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "213873#1", "text": "ถ้าแท่นบูชาเป็นแท่นลอยที่มองได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลังก็จะมีฉากแท่นบูชาได้ทั้งสองด้าน นอกจากนั้นก็ยังอาจจะตกแต่งด้วยภาพเขียนฉากกางเขนหรือชั้นแท่นบูชา", "title": "ฉากประดับแท่นบูชา" }, { "docid": "298032#0", "text": "ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ () เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส ", "title": "ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์" }, { "docid": "214899#5", "text": "ภาพที่เป็นภาพที่จินตนาการว่าเป็นภาพทั้งชิ้นเขียนแทนรูปเดิมเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 สำหรับซิตตา ดิ คาสเตลโล ส่วนภาพร่างที่ราฟาเอลเขียนสำหรับงานเดิมอยู่ที่หอวิจิตรศิลป์แห่งลิลล์และที่พิพิธภัณฑ์แอชโมเลียน (Ashmolean Museum) ที่อ็อกฟอร์ด จากภาพที่หลงเหลือทำให้สรุปได้ว่าการออกแบบทั้งหมดของแท่นบูชาทำโดยราฟาเอลแต่การเขียนภาพราฟาเอลเขียนร่วมกับเอวันเจลิสตา ดา เปียน ดี เมเลโต โดยราฟาเอลอาจจะเป็นผู้เขียนตัวฉากแท่นบูชาและเมเลโตเขียนฐานแท่นบูชาข้อมูลจากวิกิเยอรมันที่อ้าง:", "title": "ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี" }, { "docid": "220843#0", "text": "ฐานฉากแท่นบูชา () เป็นแท่นที่ใช้ตั้งฉากแท่นบูชา “Predella” ในภาษาอิตาลีหมายถึงม้าที่ใช้คุกเข่า ในงานศิลปะ “ฐานฉากแท่นบูชา” หมายถึงจิตรกรรมหรือประติมากรรมที่อยู่ใต้กรอบล่างของฉากแท่นบูชา ฉากแท่นบูชาในปลายยุคกลางและยุคเรอเนสซองซ์มักจะมีฉากสำคัญอยู่เหนือ “ฐานฉากแท่นบูชา” ที่เป็นภาพขนาดเล็กกว่ามากที่เป็นภาพเรื่องราวที่อาจจะเป็นเรื่องจากชีวิตของพระเยซู, ชีวิตของพระแม่มารี หรือชีวิตของนักบุญ ตามปกติแล้วก็อาจจะมีสามถึงห้าภาพตามแนวนอนแต่บางครั้งก็จะเป็นเพียงภาพเดียว", "title": "ฐานฉากแท่นบูชา" }, { "docid": "213873#0", "text": "ฉากประดับแท่นบูชา () คือภาพหรืองานแกะสลักนูนที่เป็นภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนาที่แขวนหน้าแท่นบูชา ฉากแท่นบูชามักจะประกอบด้วยแผงสองหรือสามแผง ประกอบกันที่เรียกว่า “จิตรกรรมแผง” และมักจะเรียกว่า “บานพับภาพ” ซึ่งอาจจะเป็นสองหรือสามบานหรือมากกว่านั้น บางครั้งฉากแท่นบูชาอาจจะเป็นกลุ่มประติมากรรม บางครั้งฉากแท่นบูชาก็อาจจะตั้งบนแท่นบูชา", "title": "ฉากประดับแท่นบูชา" }, { "docid": "221353#17", "text": "หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1420 หมวดหมู่:โรเบิร์ต กัมปิน หมวดหมู่:แท่นบูชา หมวดหมู่:บานพับภาพ หมวดหมู่:จิตรกรรมสีน้ำมัน หมวดหมู่:ศิลปะเกี่ยวกับพระแม่มารีย์ หมวดหมู่:ศิลปะคริสเตียน หมวดหมู่:จิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก หมวดหมู่:งานสะสมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "220865#0", "text": "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (; ; ) เป็นบานพับภาพที่เขียนโดยฮือโค ฟัน เดอร์คุส จิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวดัตช์ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ", "title": "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี" }, { "docid": "146819#6", "text": "ระหว่างปี ค.ศ. 1425-1430 ดูเหมือนว่ากัมปินจะเขียน \"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นภาพที่ซับซ้อนจากหัวเรื่อง \"การประกาศของเทพ\" แผ่นกลางที่แปลกออกไปที่อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะที่บรัสเซลส์ทำให้เห็นว่าบานพับภาพเมรอดที่นิวยอร์กไม่ใช่ภาพต้นแบบจริง", "title": "โรเบิร์ต กัมปิน" }, { "docid": "221353#15", "text": "ชีวิตของพระแม่มารี จิตรกรรมแผง", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "221353#14", "text": "มีผู้เสนอว่าผู้ส่งข่าวในฉากหลังอาจจะเป็นผู้ถือสารสำคัญระหว่างเมเคอเลินกับโคโลญและกับดุ๊ก และการติดต่อเป็นการนำไปสู่การปลดปล่อยของตระกูลเอ็งเงิลเบร็ชท์ การตีความหมายของสัญลักษณ์ของชื่อสไกรน์มาเกอเรอหรือชรีเนอเมเคอร์ได้รับการเสนอโดยศาสตราจารย์เทือร์เลอมันน์ ผู้เสนออุปมานิทัศน์คล้ายคลึงกันกับชื่อเอ็งเงิลเบร็ชท์ - อิมแบร็คต์จากหัวเรื่องที่พบในแผงกลางของภาพ นอกจากนั้นก็อาจจะเป็นภาพอดีตเหตุการณ์ (ex-voto) ของการแต่งงานครั้งแรกก็ได้[7]", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "146819#3", "text": "นักประวัติศาสตร์ศิลปะได้พยายามที่จะสืบหาต้นตอของศิลปเรอเนซองส์ทางตอนเหนือของยุโรปแต่ก็มีหลักฐานทางตอนเหนือของอิตาลี และเข้าใจกันเป็นเวลานานว่ายัน ฟัน ไอก์เป็นจิตรกรคนแรกที่ใช้วิธีเขียนแบบใหม่ซึ่งเห็นได้จากหนังสือวิจิตรในการเขียนภาพบนแผ่นไม้ เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงเป็นที่เห็นได้ชัดว่าฟัน ไอก์เป็นจิตรกรร่วมสมัยกับผู้เขียนภาพที่รวมทั้ง \"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" ซึ่งเขียนเมื่อ ค.ศ. 1428 ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตันในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นฉากแท่นบูชาที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและความเหมือนจริง อึกสามแผ่นภาพก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน ว่ากันว่ามาจากแอบบีเฟลมาล (Flémalle) แต่ความจริงแล้วแอบบีเฟลมาลไม่มีจริง ปัจจุบันแผ่นภาพทั้งสามอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต เป็นที่ถกเถียงกันว่างานเหล่านี้เป็นของ \"ครูบาแห่งเฟลมาล\" ซึ่งในขณะนั้นไม่สามารถบอกได้เป็นที่แน่นอนว่าใครคือผู้วาดที่แท้จริง", "title": "โรเบิร์ต กัมปิน" }, { "docid": "221353#2", "text": "\"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" เป็นบานพับภาพที่ประกอบด้วยแผงสามแผงที่อาจจะได้รับจ้างสร้างสำหรับเป็นใช้ส่วนตัวเพราะมีขนาดค่อนข้างเล็ก ภาพเหมือนผู้อุทิศอยู่บนแผงซ้าย ถัดไปเป็นภาพผู้อุทิศสตรีที่มีสาวใช้อยู่ข้างหลังที่สันนิษฐานว่าเป็นส่วนที่มาเขียนเพิ่มภายหลังโดยจิตรกรคนอื่น ซึ่งอาจจะเขียนหลังจากผู้อุทิศแต่งงาน ผู้อุทิศดูเป็นผู้เป็นชนชั้นกลางจากเมเคอเลิน (Mechelen) ที่มีหลักฐานบันทึกในตูร์แน (Tournai) ในปี ค.ศ. 1427 จากตราประจำตระกูลบนหน้าต่างประดับกระจกสีบนแผงกลางของภาพ[3] แผงกลางเป็นภาพการประกาศของเทพ โดยมีร่างเล็ก ๆ ของพระเยซูถือกางเขนลอยลงยังเวอร์จินแมรีซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการตั้งครรภ์โดยการกระทำของพระเจ้า ทางแผงขวาเป็นภาพของนักบุญโยเซฟ ที่กำลังทำงานไม้ง่วนอยู่ ซึ่งเป็นภาพที่ไม่ไคร่เห็นบ่อยนัก และสิ่งที่แปลกอีกอย่างหนึ่งคือตามพระคัมภีร์แล้ว นักบุญโยเซฟและเวอร์จินแมรีไม่ได้แต่งงานกันจนกระทั่งหลังจากการประกาศของเทพ แต่ในภาพนี้ดูราวกับว่าสองคนอยู่ด้วยกันแล้ว", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "213693#0", "text": "ฉากแท่นบูชาเบรรา หรือ พระแม่มารีเบรรา หรือ พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ (ภาษาอังกฤษ: Holy Conversation; ภาษาอิตาลี: Pala di Brera หรือ Brera Madonna หรือ Brera Altarpiece หรือ Montefeltro Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราที่เมืองมิลานในประเทศอิตาลี “แท่นบูชาเบรรา” เป็นภาพที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1472 ถึงปี ค.ศ. 1474 ที่เขียนให้เฟเดอริโกที่ 2 แห่งมอนเตเฟลโตร (Federico II da Montefeltro) ดยุกแห่งเออร์บิโนเพื่อฉลองวันเกิดของลูกชาย กุยโดบาลโดแห่งมอนเตเฟลโตร บางหลักฐานกล่าวว่าเป็นการฉลองการได้รับชัยชนะต่อปราสาทในบริเวณมาเร็มมา", "title": "ฉากแท่นบูชาเบรรา" }, { "docid": "221353#1", "text": "โรเบิร์ต กัมปินเขียนภาพ \"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" ระหว่างปี ค.ศ. 1425 ถึงปี ค.ศ. 1428 แต่บ้างก็เชื่อว่าเขียนโดยผู้ติดตามหรือเป็นงานก๊อบปี้จากงานดั้งเดิมของกัมปิน[1] ในปัจจุบันพิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตันให้คำบรรยายภาพนี้ว่าเขียนโดย \"โรเบิร์ต กัมปิน และผู้ช่วย\"[2] \"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" ถือกันว่าเป็นภาพเขียนที่งดงามที่สุดของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในนิวยอร์กและในทวีปอเมริกาเหนือ จนกระทั่งการมาถึงของภาพ \"การประกาศของเทพ\" โดยยัน ฟัน ไอก์ \"ฉากแท่นบูชาเมรอด\" กลายเป็นงานเขียนที่มีชื่อที่สุดของฟัน ไอก์ ที่อาจจะเป็นเพราะฟัน ไอก์ใช้สร้างเหตุการณ์ให้เกิดขึ้นภายในที่อยู่อาศัยโดยมีภูมิทัศน์เมืองลิบ ๆ ที่เห็นจากหน้าต่าง", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "220865#1", "text": "ฟัน เดอร์คุสเขียนภาพ \"ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี\" ราวปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพการชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ เป็นงานที่ได้รับจ้างสำหรับวัดโรงพยาบาลซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์โดยนายธนาคารชาวอิตาลี ตอมมาโซ ปอร์ตีนารี ที่พำนักอยู่ที่เมืองบรูชเป็นเวลากว่าสี่สิบปีในฐานะผู้แทนของธนาคารเมดีชีของตระกูลเมดีชี ปอร์ตีนารีเองปรากฏในแผงซ้ายของฉากแท่นบูชากับลูกชายสองคน คือ อันโตนีโอและปีเจลโล ส่วนมารีอา ดี ฟรันเชสโก บารอนเชลลี (ภรรยา) กับมาร์การีตา (ลูกสาว) อยู่บนแผงขวา ทุกคนในภาพมีนักบุญผู้พิทักษ์ของแต่ละคน (ยกเว้นปีเจลโล) กล่าวคือ บนแผงซ้ายเป็นนักบุญทอมัสอัครสาวกถือหอกและนักบุญแอนโทนีอธิการถือกระดิ่ง บนแผงซ้ายนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาถือผอบน้ำมันหอม และนักบุญมาร์กาเรตแห่งแอนติออกถือหนังสือและมีมังกรที่เท้า", "title": "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี" }, { "docid": "221353#16", "text": "ฉากแท่นบูชาเมรอดที่", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" }, { "docid": "214899#0", "text": "ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี () เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีสมัยเรอเนซองส์ ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซิวิคา โทซิโอ มาร์ติเน็นยาที่เบรสเชียในประเทศอิตาลี ", "title": "ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี" }, { "docid": "221353#5", "text": "หนังสือบนโต๊ะและอ่างพิสซีนาในฉากหลัง แจกันดอกลิลลี สิงโตบนพนักเก้าอี้ ชายส่งข่าว กับดักหนูนอกหน้าต่าง", "title": "ฉากแท่นบูชาเมรอด" } ]
3692
ดอลลาร์สหรัฐเป็นสกุลเงินที่ใช้เป็นหลักในสหรัฐอเมริกาหรือไม่ ?
[ { "docid": "7635#0", "text": "ดอลลาร์สหรัฐ (English: United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก[1] รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท", "title": "ดอลลาร์สหรัฐ" } ]
[ { "docid": "669079#2", "text": "วันที่ 15 สิงหาคม 2514 สหรัฐอเมริกายุติการแปลงดอลลาร์สหรัฐเป็นทองคำฝ่ายเดียว นำให้ระบบเบรตตันวูดส์ถึงคราวสิ้นสุดและดอลลาร์กลายเป็นเงินเฟียต (fiat currency) การกระทำดังกล่าว ซึ่งเรียก นิกสันช็อก สร้างสถานการณ์ซึ่งดอลลาร์สหรัฐกลายเป็นเงินตราสำรองที่หลายรัฐใช้ ขณะเดียวกัน เงินตราอัตราแลกเปลี่ยนคงที่หลายสกุล (เช่น ปอนด์สเตอร์ลิง) กลายเป็นเงินอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวเสรีเช่นกัน", "title": "ระบบเบรตตันวูดส์" }, { "docid": "39196#2", "text": "สกุลเงินทั่วไปจะมีหน่วยสกุลเงินย่อย โดยส่วนมากจะเป็นอัตราส่วน 1/100 ของสกุลเงินหลัก เช่น 100 สตางค์ = 1 บาท หรือ 100 เซนต์ = 1 ดอลลาร์ แต่บางสกุลเงินจะไม่มีหน่วยย่อยเช่น สกุลเงินเยน ในหลายหลายประเทศเนื่องจากเงินเฟ้อ ทำให้สกุลเงินย่อยมีการเลิกใช้ไป", "title": "สกุลเงินตรา" }, { "docid": "738542#2", "text": "ปัจจุบันตลาดหลักทรัพย์กัมพูชามีการซื้อขายหลักทรัพย์รายเดียว คือ PPWSA ซึ่งในช่วง 3 ปีแรก รัฐบาลได้อนุญาตให้ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐได้ แต่หลังจากนั้นกำหนดให้ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสกุลเรียลเท่านัน เพื่อส่งเสริมการใช้เงินเรียล ซึ่งเป็นสกุลเงินของประเทศ และลดการพึ่งพาสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐที่มีสัดส่วน ร้อยละ 90 ของปริมาณเงินทั้งหมดที่หมุนเวียนอยู่ในกัมพูชา", "title": "ตลาดหลักทรัพย์กัมพูชา" }, { "docid": "744410#0", "text": "เครื่องหมายดอลลาร์ (dollar) หรือ เครื่องหมายเปโซ (peso) (สัญลักษณ์: $ หรือ ) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แสดงหน่วยสกุลเงินดอลลาร์และเปโซสกุลต่าง ๆ ทั่วโลก สัญลักษณ์นี้สามารถใช้เส้นทับแนวตั้งหนึ่งเส้นหรือสองเส้นก็ได้ เครื่องหมายดอลลาร์ที่มีเส้นทับ 2 เส้น ดูเหมือนกับสกุลซิเฟรา และไม่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์เดียวกัน", "title": "เครื่องหมายดอลลาร์" }, { "docid": "4336#34", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone) ได้รับตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์บลูมส์บรี ผู้จัดพิมพ์หนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์ทุกเล่มในสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2540[48] และวางจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2541 ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอแลสติก สำนักพิมพ์หนังสือของอเมริกา ในชื่อ Harry Potter and the Sorcerer's Stone หลังโรว์ลิงได้รับเงิน 150,000 ดอลลาร์สหรัฐเป็นค่าลิขสิทธิ์ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเป็นจำนวนเงินที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนสำหรับหนังสือเด็กโดยนักเขียนที่ขณะนั้นยังไร้ชื่อ[49] ด้วยกลัวว่าผู้อ่านชาวอเมริกันจะไม่เชื่อมโยงคำว่า \"philosopher\" (นักปราชญ์) กับแก่นเรื่องเวทมนตร์ (แม้ศิลานักปราชญ์จะเกี่ยวข้องกับการเล่นแร่แปรธาตุก็ตาม) สกอแลสติกจึงยืนยันว่าหนังสือควรให้ชื่อนี้สำหรับตลาดอเมริกัน", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "264185#1", "text": "ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 สกุลเงินที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในกว้างขวางในอินเดียตะวันออกคือดอลลาร์​สเปน ซึ่งมาจากทั้งสเปนและอาณานิคมของสเปนในทวีปอเมริกา ส่วนสกุลเงินที่ผลิตในท้องถิ่นก็มีอยู่บ้าง ได้แก่ กปิงกลันตัน กปิงตรังกานู และดอลลาร์ปีนัง", "title": "ดอลลาร์ช่องแคบ" }, { "docid": "873006#1", "text": "ภาพยนตร์ถ่ายทำที่ Mosfilm studios ในช่วงปี 1961 และ 1967 โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลโซเวียต ด้วยได้ทุนสร้างเป็นจำนวน 8,291,712 รูเบิลโซเวียต – ตีค่าเป็นดอลลาร์สหรัฐเป็นจำนวน 9,213,013 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 1967 หรือประมาณ 67 ล้านดอลลาร์ ตามค่าสกุลดอลลาร์และรูเบิล ในปี 2011 \"วอยนาอีมีร์\" ได้รับรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมอสโก, รางวัลลูกโลกทองคำ สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม และรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม", "title": "วอยนาอีมีร์" }, { "docid": "399537#4", "text": "จากการปฏิรูปที่ดินที่ล้มเหลว สถานการณ์รุนแรงขึ้นตามเวลา ซิมบับเวจากที่เคยเป็นประเทศอู่ข้าวอู่น้ำ ส่งออกสินค้าหลายชนิด กลายเป็นต้องนำเข้า อัตราเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้นมาอยู่ที่ 50-100 ต่อปี ต่อมาได้ติดหนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) อีกทั้งการเริ่มขาดแคลนอาหารและสาธารณูปโภค และสถานการณ์การขับคนขาวออกที่รุนแรงขึ้นในระยะนี้ ผลักหนุนอัตราเงินเฟ้อเพิ่มไปอยู่ที่ร้อยละ 100-600 ต่อปี ผลสุดท้าย พ.ศ. 2549 ธนาคารกลางแห่งประเทศซิมบับเว ตัดสินใจพิมพ์ธนบัตรขึ้นมาเพิ่มเติมครั้งใหญ่ เพื่อนำไปซื้อเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และนำเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐนั้นไปใช้หนี้ (อัตราแลกเปลี่ยนเงินในขณะนั้น คือ 1.59 ดอลลาร์ซิมบับเว = 1 ดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งซิมบับเวสามารถปลดหนี้ให้ตนเองได้ แต่ด้วยระบบเศรษฐกิจ เงินดอลลาร์สหรัฐที่ใช้หนี้คืนไป เมื่อออกสู่ระบบ ก็เริ่มค่อย ๆ ถูกแลกกลับเป็นเงินในสกุลดอลลาร์ซิมบับเว และกลับเข้ามาในระบบเศรษฐกิจของซิมบับเวเอง ทำให้เงินล้นประเทศ ค่าเงินจึงอ่อนลง ซ้ำเติมสถานะทางเศรษฐกิจที่ย่ำแย่อยู่แล้ว หนุนให้เงินเฟ้อสูงขึ้นไปอีก และในปีเดียวกันนั้น รัฐบาลยังสั่งอัดฉีดเงินเข้าระบบอีก 60,000,000,000,000 (หกสิบล้านล้าน) ดอลลาร์ซิมบับเว เพื่อเพิ่มเงินเดือนให้ข้าราชการชดเชยภาวะเงินเฟ้อ แต่ยิ่งทำให้เงินล้น เงินเฟ้อจึงพุ่งสูงขึ้นกว่าเดิมอีก ในปี 2549 เงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้นไปที่ร้อยละ 1,281.11 ต่อปี", "title": "ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว" }, { "docid": "196999#0", "text": "ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ (จีนตัวเต็ม: 新臺幣 หรือ 新台幣; พินอิน: Xīntáibì) เป็นสกุลเงินที่ใช้ในดินแดนที่อยู่ในการปกครองของรัฐบาลสาธารณรัฐจีน", "title": "ดอลลาร์ไต้หวันใหม่" }, { "docid": "616882#3", "text": "เนื่องจากเกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของเนเธอร์แลนด์จึงใช้ภาษาดัตช์เป็นภาษาราชการ แม้ว่าซาบาจะมีความเกี่ยวพันกับเนเธอร์แลนด์และภาษาดัตช์ แต่ภาษาอังกฤษก็เป็นภาษาหลักที่ใช้พูดกันบนเกาะและใช้ในการเรียนการสอนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ดังนั้นชาวซาบาจึงสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารทางราชการด้วย แต่ก็ยังมีภาษาถิ่นใช้กันอีกภาษาหนึ่ง ดอลลาร์สหรัฐได้กลายเป็นสกุลเงินทางการของซาบาแทนที่กิลเดอร์เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2011 ", "title": "ซาบา" }, { "docid": "823#117", "text": "จีดีพีตามตัวเลขของสหรัฐโดยประมาณอยู่ที่ 17.528 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในปี ค.ศ. 2014[404] ตั้งแต่ปี 1983 ถึง 2008 การเติบโตของจีดีพีต่อปีแบบทบต้นแท้จริง (real compounded annual GDP growth) อยู่ที่ 3.3% เทียบกับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2.3% สำหรับประเทศจี7 ที่เหลือ[405] จีดีพีต่อหัวสหรัฐจัดอยู่อันดับเก้าของโลก[406][407] และมีจีดีพีต่อหัวที่พีพีพีอันดับหก[403] ดอลลาร์สหรัฐเป็นเงินตราสำรองหลักของโลก[408]", "title": "สหรัฐ" }, { "docid": "7635#1", "text": "สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ[2] และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป", "title": "ดอลลาร์สหรัฐ" }, { "docid": "399537#11", "text": "ในที่สุด 1 สิงหาคม 2551 ธนาคารกลางต้องสั่งปรับค่าเงินสกุลนี้ใหม่อีกครั้ง โดยให้ประเทศเปลี่ยนไปใช้เงิน “ดอลลาร์ซิมบับเวที่สาม” (ZWR) แทนดอลลาร์ซิมบับเวที่สอง (ZWN) โดยกำหนดให้ 1 ZWR = 10,000,000,000 (หนึ่งหมื่นล้าน) ZWN (= 10,000,000,000,000 ZWD) เพียงสองปีหลังจาก ZWN ออกใช้ ซึ่งเงินสกุล ZWR เป็นต้นไป ได้กลับมาใช้ธนบัตรจริงทั้งหมด ไม่ใช้ Cheque โดยธนบัตรชุดแรกมี 6 ชนิด คือ 1, 5, 10, 20, 100 และ 500 ดอลลาร์ซิมบับเวที่สาม แต่ยังอนุญาตให้ใช้ Bearer Cheque ของดอลลาร์ที่สองได้จนถึงสิ้นปี โดยจะต้องคำนวณมูลค่าให้เป็นดอลลาร์ที่สาม แต่ในช่วงนั้น รายงานอัตราเงินเฟ้อเดือนกรกฎาคมสูงขึ้นไปอยู่ที่ร้อยละ 231 150 888.87 ต่อปี เป็นอัตราที่สูงอย่างไม่เคยพบมาก่อนในซิมบับเว เพียงเดือนเดียวก็ต้องออกธนบัตร 1,000, 10,000 และ 20,000 ดอลลาร์มาในเดือนกันยายน ตามด้วยออกธนบัตร 50,000 ดอลลาร์ในเดือนตุลาคม ตามด้วยธนบัตร 100,000, 500,000 และ 1,000,000 ดอลลาร์ในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งในเดือนดังกล่าว เงินเฟ้อทะยานสูงสุดในประวัติศาสตร์ซิมบับเว โดยมีรายงานว่าอยู่ที่ร้อยละ 516,000,000,000,000,000,000 (ห้าร้อยสิบหกล้านล้านล้าน) ต่อปี", "title": "ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว" }, { "docid": "946391#1", "text": "เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงในปี 1945 พร้อมด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายอักษะ เงินสกุลไรชส์มาร์คของเยอรมันกลายเป็นสิ่งไร้ค่า ฝ่ายสัมพันธมิตรจำต้องเข้ามาฟื้นฟูระบบการเงินในเยอรมันเสียใหม่ โดยจัดตั้งระบบธนาคารกลางแบบคู่ขนานขึ้นในเขตยึดครองเยอรมัน ซึ่งมีโครงสร้างที่ใช้ระบบธนาคารกลางสหรัฐเป็นต้นแบบ ธนาคารกลางแบบคู่ขนานนี้ประกอบด้วย:", "title": "ธนาคารกลางเยอรมัน" }, { "docid": "73009#7", "text": "เงินในที่นี้จะให้เป็นเงินสกุล ดอลลาร์สหรัฐ ไม่ว่าทีมจะอยู่ในประเทศใด ๆ ก็ตาม (กฎนี้มีข้อยกเว้นในเลก 4 ของ ซีซั่นที่ 10 ในประเทศเวียดนาม ที่ให้เงินเป็นเงินสกุลท้องถิ่น (ด่อง) โดยจำนวนเงินที่ให้ในแต่ละเลกนั้นแตกต่างออกไปตั้งแต่ไม่ให้เงินจนถึงหลายร้อยดอลลาร์ (ในซีซั่นที่ 1 , ซีซั่นที่ 10 , ซีซั่นที่ 12 มีอยู่หนึ่งเลกที่ทางรายการไม่ได้ให้เงินและในซีซั่นที่ 4 ทางรายการให้เงินเพียง 1 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับ 2 เลกสุดท้าย และตั้งแต่ ซีซั่นที่ 5 ถึง ซีซั่นที่ 9 ทีมที่เข้าสุดท้ายในเลกที่ไม่มีการคัดออกจะถูกบังคับให้คืนเงินทั้งหมด และจะไม่ได้รับเงินใช้ในเลกต่อไป", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ" }, { "docid": "258866#0", "text": "กิลเดอร์ดัตช์ () หรือ คึลเดิน () ใช้สัญลักษณ์ ƒ หรือ fl. เป็นสกุลเงินที่ใช้กันในประเทศเนเธอร์แลนด์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 2002 เมื่อมาแทนที่ด้วยยูโร ระหว่างปี ค.ศ. 1999 ถึงปี ค.ศ. 2002 กิลเดอร์เป็น \"หน่วยย่อยของชาติ\" (national subunit) ของเงินยูโร แต่การจ่ายเงินจริงยังต้องทำกันเป็นกิลเดอร์เพราะเงินและเหรียญยูโรยังไม่มีในขณะนั้น แต่เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสยังคงใช้เงินตราดัตช์กิลเดอร์แอนทิลลีสอยู่ ในปี ค.ศ. 2004 กิลเดอร์ซูรินาม (เนเธอร์แลนด์เกียนา) ก็ถูกแทนที่ด้วยเงินสกุลดอลลาร์ซูรินาม", "title": "กิลเดอร์ดัตช์" }, { "docid": "399537#16", "text": "แต่การกระทำใดๆ ไร้ผล ที่สุดแล้วรัฐบาลซิมบับเว ประกาศยกเลิกการใช้เงินสกุลดอลลาร์ซิมบับเวในประเทศและยอมรับการใช้เงินสกุลอื่นในประเทศอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 เมษายน 2552 โดยกล่าวว่า จะหยุดใช้เงินสกุลนี้ไปอย่างน้อยหนึ่งปี จนกว่าประเทศจะพร้อมกลับไปใช้เงินสกุลนี้อีกครั้ง เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจเยียวยาตัวมันเอง นับจากวันนั้น ภาวะเงินเฟ้อในซิมบับเวลดลงสู่ระดับเกือบปกติในทันที และไม่เคยพุ่งสูงอีกเลย และจนถึงปัจจุบัน รัฐบาลเลิกใช้เงินสกุลนี้มีแล้วหลายปี แต่ก็ยังไม่ได้ให้ประเทศกลับไปใช้เงินสกุลนี้แต่อย่างใด", "title": "ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว" }, { "docid": "264185#3", "text": "ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1898 เป็นต้นมา คณะกรรมาธิการสกุลเงินได้ประกาศใช้สกุลเงินดอลลาร์ช่องแคบ และประกาศห้ามธนาคารต่าง ๆ ผลิตเงินตราออกมา ขณะนั้นมูลค่าของดอลลาร์ช่องแคบกำหนดไว้ให้เท่ากับ 2 ชิลลิง 4 เพนนี", "title": "ดอลลาร์ช่องแคบ" }, { "docid": "632626#6", "text": "ความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Uncovered interest rate parity) แสดงว่านักลงทุนซึ่งฝากเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐจะได้รับอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินในสหรัฐ ส่วนนักลงทุนที่ฝากเงินสกุลยูโรก็จะได้รับอัตราดอกเบี้ยของเขตยูโรแต่อาจมีส่วนกำไรหรือขาดทุนจากการเพิ่มค่าหรือการด้อยค่าของเงินสกุลยูโรเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ นักเศรษฐศาสตร์สามารถคาดการณความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Uncovered interest rate parity) ได้จากสมมติฐานข้าางต้น โดยเมื่อเกิดความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Uncovered interest rate parity) นักลงทุนจะได้รับผลตอบแทนจากการฝากเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐเท่ากับเงินฝากสกุลยูโร ดังนั้นผลตอบแทนส่วนเกิดจากการฝากเงินสกุลยูโรจะถูกปรับลดลงโดยผลขาดทุนที่คาดหวังจากการด้อยค่าลงของเงินสกุลยูโรเมื่อเทียบกับเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ในทางกลับกันหากผลตอบแทนจากการฝากเงินสกุลยูโรต่ำกว่าการฝากเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐจะต้องถูกปรับเพิ่มขึ้นด้วยผลกำไรที่คาดหวังจากการแข็งค่าของเงินสกุลยูโรเมื่อเทียบกับเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสามารถอธิบายได้ตามสมการ", "title": "ความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ย" }, { "docid": "207660#11", "text": "เงินในที่นี้จะให้เป็นเงินสกุล ดอลลาร์สหรัฐ ไม่ว่าทีมจะอยู่ในประเทศใด ๆ ก็ตาม (กฎนี้มีข้อยกเว้นในเลก 4 ของ ซีซั่นที่ 10 ในประเทศเวียดนาม ที่ให้เงินเป็นเงินสกุลท้องถิ่น (ด่อง) โดยจำนวนเงินที่ให้ในแต่ละเลกนั้นแตกต่างออกไปตั้งแต่ไม่ให้เงินจนถึงหลายร้อยดอลลาร์ (ในซีซั่นที่ 1 , ซีซั่นที่ 10 , ซีซั่นที่ 12 มีอยู่หนึ่งเลกที่ทางรายการไม่ได้ให้เงินและในซีซั่นที่ 4 ทางรายการให้เงินเพียง 1 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับ 2 เลกสุดท้าย และตั้งแต่ ซีซั่นที่ 5 ถึง ซีซั่นที่ 9 ทีมที่เข้าสุดท้ายในเลกที่ไม่มีการคัดออกจะถูกบังคับให้คืนเงินทั้งหมด และจะไม่ได้รับเงินใช้ในเลกต่อไป", "title": "ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)" }, { "docid": "39159#0", "text": "ดอลลาร์ (; $) เป็นชื่อของสกุลเงินที่ใช้เหมือนกันในหลายประเทศทั่วโลก เช่น ดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงินของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นเงินสกุลสำคัญสกุลหนึ่งของโลก", "title": "ดอลลาร์" }, { "docid": "35725#12", "text": "ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 กระทรวงการคลังในสมัยที่นายเสริม วินิจฉัยกุล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 สาระสำคัญของกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เพื่อประโยชน์ในการดำรงไว้ซึ่งค่าของเงินบาท สมควรจะได้กำหนดสกุลเงินตราต่างประเทศ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยหรือทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราซื้อหรือขายทันทีตามที่ธนาคารพาณิชย์ในราชอาณาจักรจะเรียกให้ซื้อหรือขาย โดยกำหนดให้เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาเป็นเงินตราต่างประเทศนั้น", "title": "ธนาคารแห่งประเทศไทย" }, { "docid": "462086#1", "text": "ผู้ซื้อและผู้ขายบนซิลค์โรดจะแลกเปลี่ยนโดยใช้ Bitcoin ซึ่งเป็นสกุลเงินเข้ารหัสที่มีความนิรนามสูง แต่เนื่องจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนมีสูง ราคาสินค้าบนซิลค์โรดจึงผูกกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐเพื่อป้องกันการเฟ้อหรือฝืดของเงินที่มากเกินไป ผู้ซื้อสามารถสมัครเป็นสมาชิกได้ทันที ในขณะที่ผู้ขายต้องประมูลบัญชีผู้ขายเพื่อลดความเป็นไปได้ของผู้ไม่ประสงค์ดีในการขายสินค้าที่มีข้อด่างพร้อย ซิลค์โรดเปิดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 โดยมีผู้ขายส่วนใหญ่อยู่นอกสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรและขายสินค้าพวกกัญชา เฮโรอีน แอลเอสดีและยาเสพติดอื่นๆ ทว่าผู้ให้บริการซิลค์โรดไม่อนุญาตให้มีการซื้อขายสินค้าหรือบริการที่มีจุดประสงค์เพื่อทำอันตรายต่อผู้อื่น นอกจากนี้ผู้บริหารยังกล่าวอีกว่า มากกว่าร้อยละ 99 ของธุรกรรมที่ทำภายในระบบ ทำให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายพึงพอใจ", "title": "ซิลค์โรด (ตลาด)" }, { "docid": "39196#1", "text": "ในหลายประเทศสกุลเงินสามารถมีชื่อเดียวกันได้ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ดอลลาร์ฮ่องกง และดอลลาร์แคนาดา และในหลายประเทศใช้สกุลเงินเดียวกัน เช่นในประเทศแถบยุโรปหลายประเทศใช้สกุลเงินยูโร และในบางประเทศใช้หน่วยเงินของประเทศอื่นเป็นเกณฑ์เช่นประเทศปานามา และ ประเทศเอลซัลวาดอร์ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ", "title": "สกุลเงินตรา" }, { "docid": "264185#2", "text": "ในปี ค.ศ. 1837 รัฐบาลได้กำหนดให้รูปีอินเดียเป็นสกุลเงินอย่างเป็นทางการของนิคมช่องแคบ เนื่องจากขณะนั้นยังบริหารขึ้นตรงกับทางอินเดีย แต่ดอลลาร์สเปนก็ยังคงหมุนเวียนอยู่ในระบบ ต่อมาในปีค.ศ. 1845 ก็เริ่มมีเหรียญกษาปณ์ของนิคมช่องแคบเองโดยใช้ระบบ 100 เซนต์ = 1 ดอลลาร์ โดย 1 ดอลลาร์มีค่าเท่ากับ 1 ดอลลาร์สเปน และในปี ค.ศ. 1867 ที่นิคมช่องแคบได้แยกระบบการปกครองออกมาเป็นของตนเองแล้ว ก็เริ่มใช้ดอลลาร์เป็นสกุลเงินมาตรฐานอย่างเป็นทางการ", "title": "ดอลลาร์ช่องแคบ" }, { "docid": "995780#1", "text": "ข้อตกลงครั้งนี้เกิดขึ้นจากการที่เยอรมนีตะวันตกและญี่ปุ่นได้ดุลการค้ากับสหรัฐอเมริกาอย่างมหาศาล สหรัฐประสบภาวะขาดดุลการค้าถึงร้อยละ 3.5 ของมูลค่าเศรษฐกิจประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากสินค้าอเมริกาถูกประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆชิงส่วนแบ่งในตลาดโลกเป็นจำนวนมาก รัฐบาลของประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน จึงวางแผนที่จะลดค่าเงินดอลลาร์สหรัฐลงเพื่อให้สินค้าของสหรัฐในสายตาของชาวโลกมีราคาถูกลง ข้อตกลงครั้งนี้ทำให้ระหว่างปีค.ศ. 1985 ถึง 1987 เงินดอลลาร์สหรัฐมีค่าลดลงร้อยละ 51 เมื่อเทียบกับเงินเยน ชาวญี่ปุ่นและเยอรมนีสามารถซื้อหาสินค้าต่างประเทศได้ในราคาถูกลงเกือบเท่าตัว บริษัทญี่ปุ่นจำนวนมากเข้าซื้อกิจการในสหรัฐเป็นว่าเล่น ", "title": "ข้อตกลงพลาซา" }, { "docid": "214424#0", "text": "ดอลลาร์แคนาดา (สัญลักษณ์ $ โค้ด CAD) เป็นสกุลเงินหลักของประเทศแคนาดา โดยปกติจะใช้ย่อในสัญลักษณ์ดอลลาร์ ($) หรือใช้ C$ เพื่อแบ่งแยกกับสกุลเงินดอลลาร์อื่น 1 ดอลลาร์แคนาดาแบ่งย่อยออกเป็น 100 เซนต์ ดอลลาร์แคนาดาเป็นหน่วยเงินที่มีการแลกเปลี่ยนเป็นอันดับ 7 ของโลก (ณ 2550)", "title": "ดอลลาร์แคนาดา" }, { "docid": "139086#28", "text": "มาตรฐานทองคำได้ถูกเลิกใช้ไปบางส่วนภายหลังการนำข้อตกลงเบรตตันวูดส์มาใช้ ภายใต้ระบบนี้เงินสกุลใหญ่ทุกสกุลจะถูกตรึงให้มีอัตราคงที่กับเงินดอลลาร์ ในขณะที่เงินดอลลาร์จะถูกผูกติดอยู่กับทองคำในอัตรา 35 ดอลล่าร์สหรัฐต่อออนซ์ ระบบเบรตตันวูดส์มีอันเป็นที่สิ้นสุดลงในปี 1971 ทำให้ประเทศส่วนใหญ่เปลี่ยนไปใช้ ซึ่งหมายถึงการที่เงินตรามีค่าตามที่กฎหมายของแต่ละประเทศเป็นผู้กำหนด", "title": "ภาวะเงินเฟ้อ" }, { "docid": "192402#0", "text": "ดอลลาร์สิงคโปร์ เป็นสกุลเงินของประเทศสิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์ย่อด้วยเครื่องหมายดอลลาร์ $ หรือ S$ เพื่อแยกจากเงินสกุลดอลลาร์อื่น ๆ ดอลลาร์สิงคโปร์แบ่งได้เป็น 100 เซนต์", "title": "ดอลลาร์สิงคโปร์" } ]
3439
แอดัม เดวิด ลัลลานาย้ายมาร่วมเล่นกับสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "483216#4", "text": "ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 ลัลลานาได้ย้ายจากเซาแทมป์ตันมาอยู่กับลิเวอร์พูลด้วยค่าตัว 25 ล้านปอนด์ โดยได้สวมเสื้อหมายเลข 20 ในวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 ลัลลานามีอาการบาดเจ็บที่หัวเข่าระหว่างซ้อมให้กับสโมสรที่บอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ ช่วงก่อนฤดูกาล ทำให้เขาต้องพักยาว 6 สัปดาห์ จึงไม่สามารถลงสนามในพรีเมียร์ลีกนัดเปิดฤดูกาลที่จะเจอกับเซาแทมป์ตัน ทีมเก่าของเขา ต่อมา ในวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 2014 ลัลลานาได้ลงสนามนัดแรกให้กับลิเวอร์พูลในนัดที่ 4 ของฤดูกาล โดยได้ลงเล่นเป็นตัวจริงก่อนจะถูกเปลี่ยนตัวในนาทีที่ 61 ในนัดที่ลิเวอร์พูลเปิดสนามแอนฟีลด์แพ้แอสตันวิลลา 0-1 ต่อมา ในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 2014 ลัลลานาได้ทำประตูแรกให้กับลิเวอร์พูลในนัดที่เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะเวสต์บรอมมิชอัลเบียน 2-1 โดยทำประตูได้ก่อนหมดครึ่งแรก และประตูนี้ของลัลลานาทำให้ได้รับการโหวตเป็นประตูยอดเยี่ยมประจำเดือนตุลาคมจาก EA SPORTS ต่อมา ในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2014 ลัลลานาได้ทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ลิเวอร์พูลเอาชนะเลสเตอร์ซิตี 3-1 ที่คิงเพาเวอร์สเตเดียม ต่อมา ในวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 2014 ลัลลานาได้ทำ 2 ประตู ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ สวอนซีซิตี 4-1", "title": "แอดัม ลัลลานา" } ]
[ { "docid": "483216#0", "text": "แอดัม เดวิด ลัลลานา () เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 เป็นนักฟุตบอลชาวอังกฤษ ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในพรีเมียร์ลีก", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "483216#9", "text": "ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 ลัลลานาตัดสินใจต่อสัญญาระยะยาวกับสโมสรลิเวอร์พูลไปจนถึงปี ค.ศ. 2020 พร้อมสิทธิเลือกขยายสัญญาอีก 1 ปี รับค่าเหนื่อยเพิ่มเป็น 110,000 ปอนด์ (ราว 4.95 ล้านบาท) ต่อสัปดาห์ ต่อมา ในวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 2017 พรีเมียร์ลีก นัดปิดฤดูกาล 2016–17 ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เจอกับ มิดเดิลส์เบรอ ในนัดนี้ ลิเวอร์พูล จะต้องชนะเพื่อการันตีโควต้าพื้นที่ในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ลัลลานาทำประตูที่ 8 ในพรีเมียร์ลีก ลิเวอร์พูล เอาชนะ มิดเดิลส์เบรอ 3-0 ช่วยให้ ลิเวอร์พูล จบอันดับที่ 4 และคว้าโควต้าแชมเปียนส์ลีก ในฤดูกาลหน้าได้สำเร็จ จบฤดูกาล ลัลลานายิงประตูในพรีเมียร์ลีก 8 ประตูจาก 31 นัด", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "483216#5", "text": "ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015 เอฟเอคัพ รอบห้า ลัลลานาได้ทำประตูชัยให้ลิเวอร์พูลเอาชนะคริสตัลพาเลซ 2-1 ที่เซลเฮิสต์พาร์ก ช่วยให้ลิเวอร์พูล ผ่านเข้ารอบแปดทีมสุดท้ายของเอฟเอคัพได้สำเร็จ ต่อมา ลัลลานาได้มีอาการบาดเจ็บอีกครั้งที่โคนขาหนีบ จากเกมลีกนัดที่แพ้ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1-2 ทำให้เขาต้องถอนตัวจากทีมชาติอังกฤษ ต่อมา ในวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 2015 ลัลลานาได้ติดทีมยอดเยี่ยมแห่งทศวรรษของของลีกรองอังกฤษในงานประกาศรางวัลของเดอะฟุตบอลลีก ต่อมา ในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2015 ลัลลานาได้ทำประตูที่ 5 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ลิเวอร์พูลเปิดสนามแอนฟีลด์พ่ายแพ้คริสตัลพาเลซ 1-3 จบฤดูกาล ลัลลานายิงประตูในพรีเมียร์ลีกได้ 5 ประตูจาก 27 นัด", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "150327#1", "text": "การย้ายสู่แมนเชสเตอร์ซิตี และกรณีพิพาทกับทีมเก่าอาร์เซนอล หลัง 3 ปี ในการลงเล่นให้กับยอดทีมจากลอนดอนเหนือ ลงเล่นไป 104 นัด และทำไปถึง 46 ประตู อาเดบาร์ยอร์ซึ่งก่อนหน้านี้เคยให้สัมภาษณ์ว่า\"ตนเล่นฟุตบอลอาชีพเพื่อเงิน\" และพร้อมจะย้ายออกจากทีมหากได้รับข้อเสนอที่น่าท้าทาย ได้ตัดสินใจเซ็นสัญญาห้าปีกับแมนเชสเตอร์ซิตีด้วยค่าตัว 25 ล้านปอนด์ ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่จงรักภักดีต่อสโมสรจากแฟนบอล", "title": "เอ็มมานูเอล อาเดบายอร์" }, { "docid": "483216#6", "text": "ในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 2015 ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม ลัลลานาทำประตูแรกให้กับลิเวอร์พูล ในนัดที่ลิเวอร์พูลเสมอกับบอร์โด 1-1 ต่อมา ในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2015 ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม ลัลลานาทำประตูที่ 2 ในยูฟ่ายูโรปาลีก ในนัดที่ลิเวอร์พูลเปิดสนามแอนฟีลด์เสมอกับ 1-1 ต่อมา ในวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 2016 ลัลลานาลงสนามเป็นตัวสำรองแทน จอร์ดอน ไอบ์ และทำประตูชัยในช่วงทดเวลาบาดเจ็บนาทีสุดท้าย ในนัดที่ลิเวอร์พูลเอาชนะนอริชซิตีที่แคร์โรว์โรด 5-4 ต่อมา ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ลิเวอร์พูลเปิดสนามแอนฟีลด์เสมอกับซันเดอร์แลนด์ 2-2", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "41304#22", "text": "ในวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2015 ในนัดที่ลิเวอร์พูล พบกับ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ซึ่งเป็นคู่ปรับตลอดกาล ในศึกแดงเดือด ที่สนามแอนฟีลด์ เจอราร์ดถูกเปลี่ยนตัวลงมาในครึ่งหลัง แทนที่ แอดัม ลัลลานา และรับหน้าที่กัปตันทีม ซึ่งในขณะนั้น ลิเวอร์พูลเป็นฝ่ายตามอยู่ 0-1 ปรากฏว่าเจอราร์ดไปเจตนาเหยียบเท้าของ อันเดร์ เอร์เรรา ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ทำให้กรรมการตัดสินใจให้ใบแดงไล่ออกทันที ทั้งที่เพิ่งลงไปเล่นได้เพียง 38 วินาทีเท่านั้น นับเป็นการปิดฉากการเล่นในศึกแดงเดือดครั้งสุดท้ายของเจอราร์ดอย่างรวดเร็ว และยังทำสถิติเป็นผู้เล่นที่ถูกใบแดงเร็วที่สุดในประวัติศาสตร์ของพรีเมียร์ลีกอีกด้วย ซึ่งผลการแข่งขันปรากฏว่าลิเวอร์พูลเป็นฝ่ายแพ้ไป 2-1", "title": "สตีเวน เจอร์ราร์ด" }, { "docid": "362936#1", "text": "ลูอีซถูกยืมตัวไปเล่นให้กับไบฟีกาในเดือนมกราคมปี ค.ศ. 2007 หลังจากได้เล่นในระดับเยาวชนในสโมสรของบราซิล ก่อนที่จะย้ายไปร่วมสโมสรแบบถาวรในกลางปีนั้น ลูอีซลงเล่นให้ไบฟีกาทั้งหมด 82 นัด โดยพลาดแค่นัดเดียวเมื่อฤดูกาลที่แล้วที่ไบฟีกาคว้าแชมป์ลีกครั้งแรกในรอบ 5 ปี นอกจากนี้ เว็บไซต์ทางการของยูฟ่ายังโหวตให้เป็นผู้เล่นยอดเยี่ยมของลีกโปรตุเกสในปีนั้นด้วย\nลูอีซที่ลงเล่นครั้งแรกให้ทีมชาติบราซิลในเกมทีพบกับอเมริกาเมื่อปีที่แล้วไม่สามารถลงเล่นให้เชลซีในแชมเปียนส์ลีกฤดูกาลนี้ หลังจากลงเล่นให้ไบฟีกาทั้ง 6 นัดในรอบแบ่งกลุ่มที่จบด้วยอันดับ 3 ตามหลังชาลเกและลียง\nลูอีซลงเล่นให้ทีมชาติบราซิลในฟุตบอลโลกรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี และสามารถลงเล่นได้ทั้งตำแหน่งแบ็คซ้ายและแบ็คขวา หลังจากเซ็นสัญญากับเชลซี ลูอีซตั้งใจจะยึดตำแหน่งตัวจริงในทีมให้ได้ และสวมเสื้อหมายเลข 4 ต่อจากโคล้ด มาเกเลเล่", "title": "ดาวิด ลูอีซ" }, { "docid": "483216#1", "text": "ลัลลานาลงเล่นนัดแรกในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2012–13 นัดเปิดฤดูกาล ในนัดที่ เซาแทมป์ตัน พ่ายแพ้ แมนเชสเตอร์ซิตี 2-3 ต่อมา ลัลลานาทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ เซาแทมป์ตัน เอาชนะ เวสต์แฮมยูไนเต็ด 4-1 ต่อมา ในวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ลัลลานาทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ เซาแทมป์ตัน เอาชนะ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 2-0 ต่อมา ลัลลานาทำประตูที่ 50 ในการเล่นฟุตบอลอาชีพของเขาในนัดที่ เซาแทมป์ตัน เอาชนะ เรดิง 2-0", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "483216#7", "text": "ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 ฟุตบอลลีกคัพ 2016 นัดชิงชนะเลิศ ลิเวอร์พูล เจอกับ แมนเชสเตอร์ซิตี ที่สนามกีฬาเวมบลีย์ ในช่วง 90 นาที ลิเวอร์พูล เสมอกับ แมนเชสเตอร์ซิตี 1-1 ทำให้ต้องตัดสินในการยิงจุดโทษ ลัลลานายิงจุดโทษพลาดโดน วีลลี กาบาเยโร ผู้รักษาประตูของแมนเชสเตอร์ซิตี เซฟเอาไว้ได้ สุดท้าย ลิเวอร์พูล ก็เป็นฝ่ายแพ้ในการยิงจุดโทษ 1-3 ทำให้ ลิเวอร์พูลพลาดโอกาสคว้าแชมป์ฟุตบอลลีกคัพ อย่างน่าเสียดาย ต่อมา ในวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2016 ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เจอกับ แมนเชสเตอร์ซิตี อีกครั้ง ในพรีเมียร์ลีก โดยลัลลานาทำประตูที่ 3 ในพรีเมียร์ลีก ช่วยให้ ลิเวอร์พูล เอาชนะ แมนเชสเตอร์ซิตี 3-0 ต่อมา ในวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 4 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เสมอกับ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 2-2 ต่อมา ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบรองชนะเลิศ นัดที่สอง ลัลลานาทำประตูที่ 3 ในยูฟ่ายูโรปาลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ บียาร์เรอัล 3-0 รวมผลสองนัด ลิเวอร์พูล เอาชนะ บียาร์เรอัล 3-1 ช่วยให้ ลิเวอร์พูล ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ยูฟ่ายูโรปาลีกได้สำเร็จ", "title": "แอดัม ลัลลานา" }, { "docid": "483216#8", "text": "ในวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 2016 พรีเมียร์ลีก นัดเปิดฤดูกาล 2016–17 ลัลลานาทำประตูแรกในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เอาชนะ อาร์เซนอล ที่เอมิเรตส์สเตเดียม 4-3 ต่อมา ในวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 2 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ เลสเตอร์ซิตี 4-1 ต่อมา ในวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 3 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ ฮัลล์ซิตี 5-1 ต่อมา ในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 4 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เสมอกับ เวสต์แฮมยูไนเต็ด 2-2 ต่อมา ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016 ลัลลานา ยิง 2 ประตูให้ ลิเวอร์พูล เอาชนะ มิดเดิลส์เบรอ ที่ริเวอร์ไซด์สเตเดียม 3-0 ต่อมา ในวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2016 ลัลลานาทำประตูที่ 7 ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่ ลิเวอร์พูล เปิดสนามแอนฟีลด์เอาชนะ สโตกซิตี 4-1", "title": "แอดัม ลัลลานา" } ]
1236
ธงไชย แมคอินไตมีผู้จัดการส่วนตัวคือใคร?
[ { "docid": "580888#0", "text": "พรพิชิต พัฒนถาบุตร (ชื่อเล่น นกน้อย) เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 อาชีพ ธุรกิจบันเทิง และเป็นที่รู้จักในฐานะผู้จัดการส่วนตัวของ ธงไชย แมคอินไตย์[1] เป็นบุตรคนสุดท้องของ พลโทกอบบุญ พัฒนถาบุตร [2] และนางบัวทอง พัฒนถาบุตร[3] มีพี่น้อง 5 คน คือ สุณิสา (โรเบิร์ตส์), เจษฎา , พลโทภราดร , นกอ้วน (แฝดพี่-ถึงแก่กรรมตอนอายุ 7 เดือน 13 วัน) ส่วนนกน้อย (แฝดน้อง) เป็นลูกคนสุดท้อง โดยหนึ่งในพี่น้องที่เป็นที่รู้จัก คือ พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ แต่งตั้งปี 2555 [4]", "title": "พรพิชิต พัฒนถาบุตร" } ]
[ { "docid": "665032#0", "text": "อย่าทำอย่างนี้ไม่ว่ากับใคร...เข้าใจไหม เป็นเพลงของ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ และเป็นซิงเกิลในปี พ.ศ. 2554 จากอัลบั้ม \"อาสาสนุก\" ประพันธ์คำร้องโดย สีห์ ธาราสด (นิติพงษ์ ห่อนาค) แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย สุวัธชัย สุทธิรัตน์ ผลิตออกจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2553 มิวสิกวิดีโอเพลงนี้มี เต๋อ ฉันทวิชช์ และ หนึ่งธิดา โสภณ มาร่วมแสดงด้วย", "title": "อย่าทำอย่างนี้ไม่ว่ากับใครเข้าใจไหม" }, { "docid": "23258#2", "text": "ธงไชย แมคอินไตย์ เกิดวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501[17] ที่ย่านสลัมบางแค ฝั่งธนบุรี มีชื่อภาษาอังกฤษว่า \"อัลเบิร์ต แมคอินไตย์\" (Albert McIntyre) หรือเรียกชื่อเล่นว่า \"เบิร์ด\" เป็นบุตรคนที่ 9 ในจำนวนพี่น้อง 10 คน ของเจมส์ (จิมมี่) แมคอินไตย์ นายแพทย์ลูกครึ่งสกอต-มอญ และอุดม แมคอินไตย์ ครอบครัวของเขาค่อนข้างยากจน ในวัยเด็กธงไชยช่วยเหลือครอบครัวโดยการช่วยพับถุง ขายเรียงเบอร์ เก็บกระป๋องนมขาย และเย็บงอบ เป็นต้น นอกจากนั้นยังหารายได้จากการสอนภาษาอังกฤษให้เด็กที่สลัมบางแคซึ่งมีรายได้ 5 ถึง 10 บาท แล้วแต่จะบริจาค[18] โดยธงไชยเล่าถึงแง่คิดชีวิตวัยรุ่นตอนที่อาศัยอยู่สลัมบางแคว่า \"สอนและให้เราสอบผ่านให้ได้ทุกวัน การเรียนรู้และการแบ่งแยกความคิดไปในทางที่ดี ไม่จำเป็นต้องมีทุกอย่างพร้อม คนเราจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับตัวเราเท่านั้น\"[19] เขาชอบร้องเพลงตั้งแต่เด็ก ได้เข้าร่วมประกวดในเวทีงานวัดต่าง ๆ และเคยได้รางวัล โดยฝึกร้องและสอนกันเองในครอบครัว[20] จากฝีมือการเล่นดนตรีของพี่น้อง 7 คน จึงรวมตัวเล่นดนตรีมีชื่อวงว่า \"มองดูเลี่ยน\"[18]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "23258#40", "text": "ในปี พ.ศ. 2534 หนังสือพิมพ์เอกชน ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินที่ \"แบบอย่างดีและกตัญญูที่สุด\"[20] โดยธงไชยได้รับ \"รางวัลลูกกตัญญู\" จากสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์[115] ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 มหาวิทยาลัยรามคำแหง สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อธงไชย แมคอินไตย์ พบว่า ภาพลักษณ์ที่ทำให้เขายังครองความเป็นซูเปอร์สตาร์ในลำดับแรกคือ \"ด้านความกตัญญู\"[16] และในปี พ.ศ. 2550 เขาได้รับ \"รางวัลยอดกตัญญู\" จากกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ ชมรมลูกกตัญญู เป็นต้น โดยภายหลังจากที่อุดม แมคอินไตย์ มารดาของธงไชยเสียชีวิต หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ซึ่งธงไชยเรียก \"ท่านพ่อ\" ได้ประทานพระเมตตาด้วยเห็นว่าธงไชยเป็นคนมีความกตัญญูอย่างแท้จริง เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ ทรงกรุณารับธงไชย เป็นเสมือนบุตรบุญธรรม[116]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "663430#0", "text": "\"เสียดาย\" เป็นซิงเกิลแรกของธงไชย แมคอินไตย์ จากอัลบั้ม \"ธ.ธง\" (2536) ประพันธ์เนื้อร้องโดย สีฟ้า (นิ่ม สีฟ้า) แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย กฤษณ์ โชคทิพย์พัฒนา ", "title": "เสียดาย (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "508070#1", "text": "หมายเหตุ : ไม่รวมเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญเชิดชูเกียรติต่างๆ", "title": "รายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ" }, { "docid": "23258#7", "text": "ในปี พ.ศ. 2529 ธงไชยได้รับเกียรติให้เป็นพิธีกรบนเวทีการประกวดนางสาวไทย รอบตัดสิน ปี 2529–2530 และเขายังเป็นพิธีกรคู่แรกในรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต คู่กับมยุรา ธนะบุตร ซึ่งกลายเป็นพิธีกรคู่ขวัญจากความเป็นธรรมชาติ สนุกสนานของทั้งคู่[30] ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้ดำเนินรายการดีเด่นชาย รางวัลเมขลา ประจำปี พ.ศ. 2529 \"[31] และในปีเดียวกันธงไชยมีอัลบั้มแรก หาดทราย สายลม สองเรา โดยเพลง \"ผ่านมา ผ่านไป\" เป็นซิงเกิลแรกที่เขาเข้าบันทึกเสียง[18] สำหรับเพลงที่เป็นซิงเกิลแรกที่เผยแพร่ผ่านสื่อ และแจ้งเกิดเขาในวงการเพลงคือ เพลง \"ด้วยรักและผูกพัน\" \"ฝากฟ้าทะเลฝัน\"[32] \"บันทึกหน้าสุดท้าย\" เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง จากความสำเร็จของอัลบั้มดังกล่าวได้มีการนำเพลงดังในอัลบั้มไปใช้ประกอบในภาพยนตร์ ด้วยรักและผูกพัน ที่ถ่ายทำในต่างประเทศ ธงไชยจึงตัดสินใจลาออกจากงานประจำและก้าวสู่วงการบันเทิงอย่างเต็มตัว โดยมีพรพิชิต พัฒนถาบุตรเป็นผู้จัดการส่วนตัว[33] นอกจากนี้ ธงไชยมีคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้มแรกชื่อว่า \"คอนเสิร์ต สุดชีวิต ธงไชย\" และในปีนั้นยังมีการจัดคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 1 ถือเป็นการบุกเบิกทำคอนเสิร์ตครั้งแรกในประเทศไทยของแกรมมี่[18]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "342528#1", "text": "การทำงาน เป็นผู้จัดการโฆษณาของบริษัท ไทยน้ำทิพย์ จำกัด ผู้จัดจำหน่ายและถือลิขสิทธิ์น้ำอัดลมยี่ห้อ \"โค้ก\" ในประเทศไทย ซึ่งถือเป็นบุคคลแรกที่ได้ใช้ศิลปินเพลงที่กำลังมีชื่อเสียงในขณะนั้น คือ คาราบาว และธงไชย แมคอินไตย์ เผยแพร่ภาพลักษณ์องค์กรในงานสาธารณกุศลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 จนถึงปัจจุบัน, เป็นผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการสายงานการตลาดและโรงงานในปี พ.ศ. 2538, ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ และปัจจุบันเป็นรองประธานกรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด ซึ่งในประวัติการทำงานส่วนนี้ทำให้ได้รับฉายาว่า \"\"เจ้าพ่อน้ำดำ\"\"", "title": "พรวุฒิ สารสิน" }, { "docid": "23258#17", "text": "ในปี พ.ศ. 2540 ธงไชยได้เป็นศิลปินคนแรกของทวีปเอเชียที่ได้รับรางวัลนักร้องยอดนิยมจากการประกาศรางวัล Billboard Viewer's Choice Awards 1997 แต่ธงไชยไม่ได้ไปรับรางวัลเนื่องจากมารดารับการรักษาอยู่ในหน่วยอภิบาล", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "540517#1", "text": "เนื้อหาของเพลง อยู่คนเดียว ต้องการสื่อถึงทุกคนที่กำลังอยู่คนเดียว ที่ต้องมีอาการเหงา เศร้า ซึม จะไม่มีอาการเหล่านี้อีกต่อไป เพราะพี่เบิร์ดจะมาชักชวนทุกคนที่กำลังอยู่คนเดียวให้มาอยู่ด้วยกัน จะได้ไม่ต้องทนเหงาอยู่คนเดียวอีกต่อไป\nอยู่คนเดียวกับตอนเย็นเย็น และก็ไม่เห็นว่าจะต้องมีใครใครมาเคียงข้าง \nอยู่ลำพังกับความอ้างว้าง นั่งมองดูแสงรำไรของดวงตะวันจนลับไป \nเหม่อมองจันทร์ที่ลอยขึ้นมา ดึกดื่นอย่างนี้แล้วเพื่อนที่มีที่ดีที่สุดคือหมอนข้าง \nอยู่เหงาเหงาอย่างคนที่ปล่อยวาง ก็อยู่อย่างนี้จนชิน ", "title": "อยู่คนเดียว (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "614343#0", "text": "อยากบอกรัก เป็นเพลงซิงเกิลของ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ในปี พ.ศ. 2554 จากอัลบั้ม \"อาสาสนุก\" ผลิตออกจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2553 ประพันธ์คำร้องโดย กสิ นิพัฒน์ศิริผล แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย จักรกฤษณ์ มัชนาโส ", "title": "อยากบอกรัก (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "580888#2", "text": "พรพิชิต พัฒนถาบุตร เริ่มทำงานครั้งแรกในฝ่ายขายและการตลาดที่สายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิคประจำประเทศไทยเป็นเวลา 9 ปี 10 เดือน และระหว่างนั้นก็เริ่มสนใจในวงการบันเทิง รับงานถ่ายโฆษณา เช่นคอฟฟี่เมต คู่รักคู่รส หมู่บ้านพฤกษชาติ โดยรู้จักกับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ตั้งแต่เบิร์ด ธงไชยยังเป็นพนักงานฝ่ายต่างประเทศของธนาคารกสิกรไทย สาขานานา และต่อมาที่ สาขาท่าพระ และร่วมงานกันในภาพยนตร์ของหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย เรื่อง \"ด้วยรักและผูกพัน\" ในปี 2529 โดยการถ่ายภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวต้องใช้เวลามากในการถ่ายทำที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ทำให้นกน้อย และเบิร์ด ตัดสินใจลาออกจากงานประจำที่ทำอยู่ หลังจากนั้นพี่เต๋อ เรวัต พุทธินันทน์ ได้แนะให้นกน้อยมาทำงานร่วมกับเบิร์ดซึ่งต่อมาเป็นศิลปินในสังกัดแกรมมี่อย่างเต็มตัว เนื่องจากขณะนั้นเบิร์ดกำลังโด่งดังจากงานเพลงอัลบั้มแรก \"หาดทราย สายลม สองเรา\" แต่ยังขาดเรื่องการจัดตารางเวลาและการปฏิบัติงาน จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นผู้จัดการส่วนตัวของเบิร์ดจนทุกวันนี้[5] นอกจากการเป็นผู้จัดการและที่ปรึกษาบริษัทแล้ว นกน้อย-พรพิชิต พัฒนถาบุตร ยังมีความสามารถในด้านการแต่งเพลง อย่างเช่นเพลง \"นางนวล\" \"หัวใจช้ำๆ\" ซึ่งเป็นสองเพลงดังในอัลบั้ม \"ส.ค.ส.\" ของเบิร์ดในปี 2531 โดยทำงานร่วมกับเรวัต พุทธินันทน์ในอัลบั้มนั้น", "title": "พรพิชิต พัฒนถาบุตร" }, { "docid": "604421#0", "text": "ความทรงจำใหม่ หัวใจเดิม เป็นละครโทรทัศน์ไทย เค้าโครงบทประพันธ์เรื่องมาจาก อิสริยะ จารุพันธ์, ณัฐิยา ศิรกรวิไล บทโทรทัศน์โดย ณัฐิยา ศิรกรวิไล, ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ กำกับการแสดงโดย อิสริยะ จารุพันธ์ ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด และ บริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) นำแสดงโดย ธงไชย แมคอินไตย์, คัทลียา แมคอินทอช ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 20:25-21:25 น. เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541-6 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ละครพิเศษเพื่อเป็นของขวัญให้กับแฟนเพลงของเบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ช่วงอัลบั้ม ธงไชย เซอร์วิส จำนวน 9 ตอน ", "title": "ความทรงจำใหม่ หัวใจเดิม" }, { "docid": "508070#0", "text": "รางวัลที่ได้รับของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงประเภทรางวัลทางด้านดนตรี ละคร ภาพยนตร์ รวมทั้งรางวัลส่งเสริมภาพลักษณ์ และรางวัลอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลงาน ที่ได้รับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 - ปัจจุบัน", "title": "รายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ" }, { "docid": "23258#30", "text": "ในปี พ.ศ. 2553 ธงไชยออกอัลบั้มอาสาสนุก ซึ่งเป็นอัลบั้มใหม่ในรอบ 3 ปี มียอดจำหน่ายและยอดดาวน์โหลดสูงที่สุด[67][68] โดยมีเพลงเด่นคือ \"อยู่คนเดียว\" \"อย่าทำอย่างนี้ไม่ว่ากับใคร...เข้าใจไหม\" \"ทูมัชโซมัชเวรีมัช\" และ \"เรามาซิง\" โดยสองเพลงหลังมีการซื้อลิขสิทธิเพลงดังกล่าวไปแปลงเป็นภาษาญี่ปุ่นขับร้องใหม่โดยนักร้องญี่ปุ่น[69] และต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2554 ธงไชยยังมีคอนเสิร์ตใหญ่คอนเสิร์ตเบิร์ดอาสาสนุกที่จัดขึ้นที่อิมแพ็ค เมืองทองธานีเป็นหนึ่งในคอนเสิร์ตสุดร้อนแรงแห่งปี[70] และหนึ่งในคอนเสิร์ตที่ได้รับการตอบรับสูงสุดแห่งปี[71] นอกจากนั้นเพลง \"ร้องไห้ทำไม\" ซึ่งอยู่ในอัลบั้ม ยังได้รับคัดเลือกให้ทำคำร้องใหม่เป็นภาษาจีนแมนดารินขับร้องใหม่โดยธงไชย เพื่อนำไปประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวไทย โดยเผยแพร่ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554[72]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "198474#5", "text": "ปี พ.ศ. 2552 ค่ายจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ได้ฉลองครบรอบ 25 ปี โดยทางค่ายได้มีโปรเจกต์อัลบั้ม \"PLAY\" ซึ่งเป็นการนำบทเพลงยอดนิยมของศิลปินชื่อดังในอดีตมาคัฟเวอร์ใหม่โดยวงร็อกรุ่นใหม่ โดยโนมอร์เทียร์ได้นำเพลง \"บูมเมอแรง\" ของธงไชย แมคอินไตย์มาคัฟเวอร์ในสไตล์ของตนเอง", "title": "โนมอร์เทียร์" }, { "docid": "449774#19", "text": "คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ 2018 ตอน “DREAM JOURNEY” (ดรีม เจอร์นี่ย์) เป็นคอนเสิร์ตของ ธงไชย แมคอินไตย์จัดแสดงครั้งที่ 11 ในปี พ.ศ. 2561 เป็นปีที่ 32 นับจากแบบเบิร์ดเบิร์ดครั้งแรก โดยจัดที่ อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี จำนวน 5 รอบ ผู้ชม 50,000 คน ", "title": "คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์" }, { "docid": "508070#2", "text": "เกียรติประวัติที่สำคัญ โดยสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน มีการมอบรางวัล รวมทั้งทำการสำรวจ และจัดอันดับบุคคล ตลอดจนผลงานที่โดดเด่น และมีภาพลักษณ์ที่เป็นแบบอย่างด้านต่างๆ เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับศิลปิน ในส่วนของธงไชยมีรายละเอียดบางส่วนดังนี้", "title": "รายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ" }, { "docid": "61431#10", "text": "นันทิดา' 27/นันทิดา แก้วบัวสาย (2527)ฉันเป็นฉันเอง/ฐิติมา สุตสุนทร (2527)วันอาทิตย์/บาราคูดัส (2527)ผู้ชายเฉิ่มเฉิ่ม/ทูน หิรัญทรัพย์ (2527)คำก้อน/โซดา (2528)หนุ่มดอยเต่า/นกแล (2528)เต๋อ 2/เรวัต พุทธินันทน์ (2528)ชายน้ำ/พญ.พันทิวา สินรัชตานันท์(2529)เรามีเรา/ฐิติมา สุตสุนทร (2529)หาดทราย สายลม สองเรา/ธงไชย แมคอินไตย์ (2529)อุ๊ย/นกแล (2529)เต๋อ 3/เรวัต พุทธินันทน์ (2529)เมื่อวันฟ้าสวย/นันทิดา แก้วบัวสาย (2529)สบาย สบาย/ธงไชย แมคอินไตย์ (2530)สิบล้อมาแล้ว !/นกแล (2530)คนที่รู้ใจ/ฐิติมา สุตสุนทร(2530)ชอบก็บอกชอบ/เรวัต พุทธินันทน์ (2530)รับขวัญวันใหม่/ธงไชย แมคอินไตย์ (2530)พ.ศ. 2501/ธงไชย แมคอินไตย์ (2531)กีตาร์โต๊ะ/วสันต์ โชติกุล และ อีสซึ่น (2531)ส.ค.ส./ธงไชย แมคอินไตย์ (2531)เรวัต พุทธินันทน์ 2531ขึ้นโต๊ะ/วสันต์ โชติกุล (2535)นินจา/คริสติน่า อากีล่าร์ (2534)", "title": "เรวัต พุทธินันทน์" }, { "docid": "663569#0", "text": "\"มีไหมใครสักคน\" เป็นเพลงประกอบละครโทรทัศน์เรื่อง \"วันนี้ที่รอคอย\" ในปี พ.ศ. 2557 ออกอากาศทางช่อง 7 ขับร้องโดย ธงไชย แมคอินไตย์ ", "title": "มีไหมใครสักคน" }, { "docid": "540517#2", "text": "• ไอ้คนไม่รู้ก็คอยจะถามทำไมไม่หาใคร สักคน เข้าใจ และรักจริง \nก็ทุกคน ดูแสนดี ดูจริงใจ ก็ยินดีที่ได้เจอ แต่ no no no no no no wo wo ", "title": "อยู่คนเดียว (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "753454#0", "text": "ส.ค.ส. เป็นอัลบั้ม ของธงไชย แมคอินไตย์ ออกวางแผงจำหน่ายในปี พ.ศ. 2531 ในสังกัดแกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ โปรดิวเซอร์โดย เรวัต พุทธินันทน์ จำนวน 11 เพลง ซึ่งมีเพลงเด่น เช่น เพลง “จับมือกันไว้” ซึ่งแต่งโดย นิติพงษ์ ห่อนาค ซึ่งต่อมากลายเป็นเพลงหลักที่นำไปประกอบในการแสดงคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ หลายครั้งจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นในอัลบั้มดังกล่าวยังมีเพลงเด่นอื่นๆ เช่น เพลงเสียงกระซิบ นางนวล และ ส.ค.ส. เป็นต้น โดยเพลง \"นางนวล\" เป็นผลงานดังจากการแต่งเพลงของผู้จัดการส่วนตัว พรพิชิต พัฒนถาบุตร และถูกจัดให้เป็นอัลบั้มขายดีที่สุดตลอดกาลของศิลปินชายแกรมมี่ อันดับ 18 ด้วยยอดจำหน่ายเกิน 9 แสนตลับ และถูกจัดให้เป็นอัลบั้มของศิลปินชายที่เป็นที่สุดแห่งปี จากความสำเร็จของอัลบั้มดังกล่าว ต่อเนื่องด้วยการจัดคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 3 ในช่วงต้นปี 2532 โดยมีถึง 14 รอบ จำนวนผู้ชม 28,000 คน สำหรับรายชื่อเพลงในอัลบั้ม ส.ค.ส. ดังนี้", "title": "ส.ค.ส. (อัลบั้มธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "540517#3", "text": "•• ก็เพราะเวลาฉันรักรักจริง มันมาไม่นิ่งเหมือนตอนเธอมาทิ้งไป \nคนมันรักมาก มันก็เลยเสียดาย มันปวดใจจะบอกใครก็ไม่ช่วย \nเพราะรักเองเจ็บเอง ก็อยู่อย่างคนไม่มีแฟน \nจะหาใครมาแทน ก็กลัวว่าเขาจะมาซ้ำ \nก็เดี๋ยวนี้คนน่ะใจดำ เลยคบกันเที่ยวแบบขำขำ \nก็เจ็บประจำ ก็เลยต้องอยู่คนเดียว ", "title": "อยู่คนเดียว (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "23258#46", "text": "ธงไชย เป็นคนมองโลกในแง่ดี ตั้งใจทำงาน ตรงต่อเวลา และหมั่นพัฒนาตนเองอยู่เสมอ[138] เขาเป็นคนมีน้ำใจกับทุกคน ดูแลคนรอบข้างเป็นอย่างดี ไม่สุรุ่ยสุร่าย ชอบอยู่บ้าน ชอบธรรมชาติ สวดมนต์ ว่ายน้ำ และเล่นกับสัตว์เลี้ยง รักษาสุขภาพ คิดบวก[139][140] อย่างไรก็ตามการใช้ชีวิตส่วนมากของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก โดยธงไชยกล่าวว่า “ความสุขของเขาอยู่ที่งาน ไม่ว่าจะเป็นการร้องเพลง หรือการโชว์คอนเสิร์ต”[141] เขาจึงมีห้องส่วนตัวสำหรับทำงาน และห้องซ้อมคอนเสิร์ตภายในอาคารของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)[142] โดยเขาจะใช้เวลาในการซ้อมเต้นไม่ต่ำกว่าวันละ 3 ชั่วโมง[143]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "23258#5", "text": "ธงไชยมีความสามารถด้านการร้องเพลง เขาได้รับทาบทามให้ไปร้องเพลงในรายการสดของนันทวัน เมฆใหญ่ ขณะเดียวกันวรายุฑก็ให้ธงไชยลองสมัครประกวดร้องเพลงเวทีสยามกลการในปี พ.ศ. 2527 เป็นจุดเริ่มต้นด้านเพลงที่สำคัญ[24] การประกวดครั้งนั้นธงไชยได้รับรางวัลในการประกวด 3 รางวัล โดยเฉพาะรางวัลนักร้องดีเด่นประเภทเพลงไทยสากลจากเพลง \"ชีวิตละคร\" ระหว่างการประกวด ธงไชยได้พบกับเรวัต พุทธินันทน์ ซึ่งเห็นพรสวรรค์ในตัวของเขา จึงชักชวนธงไชย แต่ผลการประกวดธงไชยได้รางวัลทำให้ต้องเซ็นสัญญากับสยามกลการ เรวัต พุทธินันทน์จึงเข้าพบกับคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดชเพื่อเจรจาขอธงไชยมาเป็นศิลปินของแกรมมี่ คุณหญิงพรทิพย์ได้ตัดสินใจฉีกสัญญาและให้โอกาสธงไชยไปทำงานอย่างอิสระ ทำให้ธงไชยก้าวสู่การเป็นนักร้องอย่างเต็มตัวในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่[18]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "540517#0", "text": "อยู่คนเดียว เป็นเพลงของ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ และเป็นซิงเกิลแรกในปี พ.ศ. 2554 จากอัลบั้ม \"อาสาสนุก\" ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย หมู Muzu และเรียบเรียงโดย หมู Muzu กับเรืองฤทธิ์ เอกะหิตานนท์ ผลิตออกจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2553", "title": "อยู่คนเดียว (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "679317#0", "text": "อาบน้ำ เป็นเพลงจากอัลบั้มและซิงเกิลที่ 3 ของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในอัลบั้ม \"สไมล์คลับ\" (2544) ประพันธ์คำร้องโดย นวฉัตร แต่งทำนองโดย อนันต์ เธียรธรรมจักร์ และเรียบเรียงโดย ณรงค์ เดชะ", "title": "อาบน้ำ (เพลงธงไชย แมคอินไตย์)" }, { "docid": "448837#0", "text": "\"บทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของธงไชย แมคอินไตย์ สำหรับบทความหลักดูที่\" ธงไชย แมคอินไตย์\nผลงานของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงเริ่มต้นจากการเป็นนักแสดงสมทบละครเรื่องแรก \"น้ำตาลไหม้\" ปี 2526 จากนั้นมีผลงานในหลากหลายบทบาทอย่างต่อเนื่อง ทั้งละคร และภาพยนตร์ โดยได้รับการตอบรับอย่างสูงจากภาพยนตร์ เรื่อง \"ด้วยรักคือรัก\" ปี 2528 ซึ่งได้รับบทเป็นพระเอกภาพยนตร์เรื่องแรกประกบกับนักร้องดังแห่งยุค \"อัญชลี จงคดีกิจ\" \nจนกระทั่งก้าวเข้าสู่วงการเพลงเต็มตัวปี 2529 กลายเป็นศิลปินนักร้องขวัญใจประชาชนทุกเพศทุกวัยตั้งแต่นั้นมา ระหว่างนั้นยังมีผลงานละคร ซึ่งสร้างสถิติเรตติ้งสูงสุดตลอดกาล ละครเรื่อง \"คู่กรรม\" ปี 2533 นอกจากนั้นยังมีผลงานโฆษณา ซึ่งทางต้นสังกัดพิถีพิถันในเรื่องของการรับงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมไปถึงงานถ่ายแบบนิตยสาร และการออกรายการ ซึ่งไม่มุ่งเน้นในเรื่องของปริมาณ แต่เน้นในเรื่องคุณภาพ ความเชื่อมั่น เพื่อให้ได้ผลตอบรับที่ดีที่สุดของผู้บริโภค เป็นอีกภาพลักษณ์ที่สำคัญของซุปเปอร์สตาร์อันดับ 1 ของไทย ", "title": "รายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "23258#45", "text": "ธงไชยภายหลังจากเข้าวงการบันเทิงและประสบความสำเร็จอย่างสูงประกอบกับยังครองความโสด เขากลายเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์จากสื่อทั้งในแง่บวก และข่าวลือในแง่ลบ ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่เขาไม่พยายามออกไปไหน โดยไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ผู้บริหารบริษัทฯ ซึ่งเป็นต้นสังกัดของเขาได้กล่าวไว้ในหนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพมารดาของธงไชยส่วนหนึ่งว่า “เขากลายเป็นคนสาธารณะแล้ว เขาไม่มีชีวิตส่วนตัว การประพฤติปฏิบัติตัวของเขาจะถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสื่อได้ทั้งในแง่บวกและลบเสมอ ซึ่งในแง่ลบตัวเองพอจะทนได้ แต่เป็นห่วงแม่ เพราะแม่จะกังวล สิ่งเดียวที่เขาทำได้คือเก็บตัวเงียบ เงียบเพื่อไม่ให้เป็นข่าวใดๆ เลย”[134] การใช้ชีวิตของธงไชยในช่วงที่อยู่ในวงการบันเทิง จึงมีผู้จัดการ พรพิชิต พัฒนถาบุตร เป็นผู้ดูแลเรื่องส่วนตัวทุกเรื่อง[33] และมีบุษบา ดาวเรือง เป็นผู้ดูแลในเรื่องงานของเขาตลอดตั้งแต่ในยุคแรก[135][136] สำหรับด้านการใช้จ่ายของธงไชย มีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ รายจ่าย โดยพรพิชิต ผู้จัดการส่วนตัวเล่าตอนหนึ่งเกี่ยวกับธงไชยว่า “ถ้าอยู่เมืองไทย เขาไม่ค่อยมีเวลาและโอกาสที่จะไปไหนตามลำพัง จนบางทีเขาก็ตามสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นไม่ทัน เขาไม่เคยเดินซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า นอกจากเวลาไปเมืองนอก\"[137]", "title": "ธงไชย แมคอินไตย์" }, { "docid": "78652#4", "text": "ไพบูลย์มีชื่อเรียกซึ่งเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า \"อากู๋\" ซึ่งมีที่มาจากเลขานุการส่วนตัว \"วิภาพร สมคิด\" ธิดาของศิวลี พี่สาวของไพบูลย์ เธอจึงเป็นหลานสาวของไพบูลย์ และเรียกไพบูลย์ว่าอากู๋ อันหมายถึงน้าชาย (น้องชายของแม่) ในภาษาจีนสำเนียงแต้จิ๋ว ต่อมา ธงไชย แมคอินไตย์ นักร้องยุคแรก ๆ ซึ่งทำงานใกล้ชิดกับไพบูลย์ จึงได้ยินชื่อเรียกดังกล่าวอยู่เสมอ เมื่อธงไชยขึ้นแสดงคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ครั้งหนึ่ง แล้วพบว่าไพบูลย์มานั่งชมอยู่หน้าเวที ธงไชยจึงกล่าวทักทายขึ้นว่า \"สวัสดีพี่บูลย์ สวัสดีอากู๋\" หลังจากนั้น ธงไชยยังเอ่ยถึงชื่อเรียกนี้อีกสองสามครั้ง จึงกลายเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในที่สุด", "title": "ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม" } ]
2659
ดาวเคราะห์มีแสงในตัวเองหรือไม่ ?
[ { "docid": "3688#3", "text": "ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดในปัจจุบันกล่าวว่าดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นจากการยุบตัวลงของกลุ่มฝุ่นและแก๊ส พร้อมๆ กับการก่อกำเนิดดวงอาทิตย์ที่ใจกลาง ดาวเคราะห์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง สามารถมองเห็นได้เนื่องจากพื้นผิวสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะมีดาวบริวารโคจรรอบ ยกเว้นดาวพุธและดาวต่างต่าง และสามารถพบระบบวงแหวนได้ในดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อย่างดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีเพียงดาวเสาร์เท่านั้นที่สามารถมองเห็นวงแหวนได้ชัดเจนด้วยกล้องส่องทางไกล", "title": "ดาวเคราะห์" } ]
[ { "docid": "60227#9", "text": "ดาวเคราะห์หิน หรือที่เรียกว่า ดาวเคราะห์คล้ายโลก อย่างเช่น โลกของเรา จะก่อตัวขึ้นด้วยกระบวนการที่ช่วยให้ความเป็นไปได้ของการมีองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกับที่โลกของเรามีได้ การผสมผสานกันระหว่าง คาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน ในรูปแบบทางเคมีของคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate) (ตัวอย่างเช่น น้ำตาล) จะสามารถเป็นแหล่งของพลังงานทางเคมีที่ชีวิตจะสามารถพึ่งพาได้และสามารถเอื้ออำนวยก่อให้เกิดองค์ประกอบโครงสร้างทางชีวเคมีที่จำเป็นสำหรับการก่อกำเนิดชีวิตได้ พืชได้รับพลังงานผ่านการแปลงพลังงานแสงให้เป็นพลังงานทางเคมีผ่านทางการสังเคราะห์ด้วยแสง", "title": "สิ่งมีชีวิตนอกโลก" }, { "docid": "47050#41", "text": "ดาวเคราะห์น้อยประมาณหนึ่งส่วนในสามส่วนของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมดในแถบหลักจะเป็นสมาชิกของตระกูลดาวเคราะห์น้อยตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้มีลักษณะวงโคจรใกล้เคียงกัน เช่นค่ากึ่งแกนเอก ค่าความเบี้ยวศูนย์กลาง และค่าระนาบวงโคจร รวมถึงคุณสมบัติทางแสงที่คล้ายคลึงกัน สิ่งเหล่านี้แสดงว่าดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้มีต้นกำเนิดมาจากวัตถุเดียวกันแล้วจึงแตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย จากแผนภาพแสดงตำแหน่งวัตถุที่เป็นสมาชิกในแถบหลักแสดงให้เห็นความหนาแน่นของวัตถุในบางตำแหน่งซึ่งส่อถึงตระกูลดาวเคราะห์น้อย ประมาณได้ว่ามีความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกันเช่นนี้อยู่ราว 20-30 กลุ่มที่น่าจะเป็นดาวเคราะห์น้อยตระกูลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกันน้อยลงมา เราสามารถแยกแยะตระกูลดาวเคราะห์น้อยได้จากวัตถุที่มีคุณสมบัติทางแสงตรงกัน ส่วนดาวเคราะห์น้อยที่มีความสัมพันธ์น้อยลงมาจะเรียกว่า กลุ่มหรือกระจุกดาวเคราะห์น้อย", "title": "แถบดาวเคราะห์น้อย" }, { "docid": "275805#0", "text": "การระเหยด้วยแสง () คือกระบวนการที่ชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ (หรือบางส่วนของชั้นบรรยากาศ) ถูกฉีกออกเนื่องจากโฟตอนพลังงานสูงและการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอื่นๆ เมื่อโฟตอนมีปฏิกิริยากับโมเลกุลของบรรยากาศ โมเลกุลเหล่านั้นจะถูกเร่งและทำให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อระดับพลังงานสูงมากพอ โมเลกุลหรืออะตอมจะไปถึงระดับความเร็วหลุดพ้นจากดาวเคราะห์ และ \"ระเหย\" ไปในอวกาศ ยิ่งมวลของแก๊สมีน้อยเท่าใด ความเร็วที่จะเกิดจากปฏิกิริยากับโฟตอนก็ยิ่งสูงขึ้น ดังนั้น ไฮโดรเจน จึงมีแนวโน้มจะเกิดการระเหยด้วยแสงมากที่สุด", "title": "การระเหยด้วยแสง" }, { "docid": "204863#0", "text": "434 ฮังกาเรีย เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก จัดเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท E (คือมีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงสูง) ชื่อของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใช้เป็นชื่อตระกูลดาวเคราะห์น้อยฮังกาเรีย ซึ่งเป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 1:4 ห่างออกมาจากแกนกลางของแถบหลัก", "title": "434 ฮังกาเรีย" }, { "docid": "47050#21", "text": "ดาวเคราะห์น้อยประเภทซิลิกา หรือประเภท S มักพบมากบริเวณด้านในของแถบหลัก คือมีวงโคจรจากดวงอาทิตย์น้อยกว่า 2.5 หน่วยดาราศาสตร์ สเปกตรัมพื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยในกลุ่มนี้แสดงให้เห็นซิลิเกตจำนวนมากรวมถึงโลหะบางชนิด แต่ไม่มีร่องรอยที่เด่นชัดขององค์ประกอบคาร์บอน แสดงว่าแร่ธาตุในตัวได้ผ่านการปรับเปลี่ยนไปจากองค์ประกอบดั้งเดิม ซึ่งอาจเกิดจากการหลอมละลายหรือการก่อตัวใหม่ ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงค่อนข้างสูง และมีจำนวนประมาณ 17% ของจำนวนประชากรดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด", "title": "แถบดาวเคราะห์น้อย" }, { "docid": "524285#4", "text": "ดาวเคราะห์อัคโต () ปรากฎใน\"อุบัติการณ์แห่งพลัง\" เป็นดาวเคราะห์ที่พื้นผิวปกคลุมด้วยน้ำเป็นส่วนใหญ่ เป็นที่อยู่ของวิหารเจไดแห่งแรก และต้นไม้ที่เก็บรักษาตำราโบราณของเจได และเป็นที่ที่ลุค สกายวอล์คเกอร์ หลบหนีไปซ่อนตัวอยู่ หลังจากล้มเหลวในการฝึกสอนเจไดรุ่นใหม่ท้องฟ้าของดาวแอนแซทนั้นถูกปกคลุมไปด้วยแสงที่สามารถพบเห็นได้จากทุกที่ ชาวแอนซาทิรุ่นแรกๆ เชื่อว่าพวกมันคือพลังงานของบรรพบุรุษ แอนซาทิเชื่อว่าพวกเขาสามารถได้ยินเสียงที่ไร้เสียงของแสงพวกนั้นในจิตใจของพวกเขา ", "title": "รายชื่อดาวเคราะห์ในสตาร์ วอร์ส" }, { "docid": "3800#30", "text": "ดาวเคราะห์นอกระบบที่ถูกค้นพบในปัจจุบันส่วนมากจะโคจรรอบดาวฤกษ์ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับดวงอาทิตย์ของเรา คือเป็นดาวฤกษ์ในแถบกระบวนหลักซึ่งมีประเภทสเปกตรัม F, G หรือ K สาเหตุหนึ่งก็เนื่องมาจากโปรแกรมการค้นหาที่มุ่งศึกษาดาวฤกษ์ในประเภทนี้ ถึงอย่างไรก็ตามข้อมูลทางสถิติก็บ่งชี้ว่า โอกาสจะพบดาวเคราะห์ในระบบของดาวฤกษ์มวลน้อย (ดาวแคระแดง ซึ่งมีประเภทสเปกตรัม M) ก็ค่อนข้างน้อย หรือมิฉะนั้นตัวดาวเคราะห์เองก็อาจมีมวลต่ำมากทำให้ตรวจจับได้ยากขึ้น[24] การสำรวจด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์เมื่อไม่นานมานี้ได้ค้นพบว่าดาวฤกษ์ในประเภทสเปกตรัม O ซึ่งมีความร้อนกว่าดวงอาทิตย์ของเรา จะมีปรากฏการณ์ การระเหยด้วยแสง ซึ่งส่งผลในทางขัดขวางการก่อตัวของดาวเคราะห์[25]", "title": "ดาวเคราะห์นอกระบบ" }, { "docid": "154278#1", "text": "กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 มีอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) ทั้งหมด 4 ตัว แต่ละตัวมีขนาด 800x800 พิกเซล สามารถตรวจจับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ในช่วง 120 นาโนเมตรถึง 1100 นาโนเมตรได้ (ครอบคลุมคลื่นที่ตามองเห็นทั้งหมดและคลื่นอัลตราไวโอเลตกับคลื่นอินฟราเรดบางส่วน) มีการแจกแจงความไวต่อแสงเป็นรูปการแจงแจกปกติที่มีจุดยอดอยู่ที่ 700 นาโนเมตร อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) 3 ตัววางเรียงกันเป็นรูปตัวแอล (L) ทำหน้าที่เป็นกล้องถ่ายภาพสนามกว้าง (Wide Field Camera) อุปกรณ์ถ่ายเทประจุอีกตัวหนึ่งวางอยู่ติดกับอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ 3 ตัวแรก ทำหน้าที่เป็นกล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์ (Planetary Camera) ที่มีโฟกัสแคบกว่าทำให้ได้ภาพที่มีขนาดเล็กกว่าแต่มีความละเอียดสูงกว่า โดยปกติ จะมีการนำภาพที่ได้จากกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและกล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์มารวมกันทำให้ได้ภาพที่มีรูปร่างเป็นขั้นบันได เมื่อมีการเผยแพร่ภาพเหล่านี้โดยจุดประสงค์ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ภาพจากกล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์จะถูกปรับความละเอียดให้ลดลงเท่ากับภาพจากกล้องถ่ายภาพสนามกว้าง อย่างไรก็ตาม นักดาราศาสตร์สามารถขอภาพต้นฉบับที่ไม่มีการลดความละเอียดได้", "title": "กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2" }, { "docid": "524285#2", "text": "แรงดึงดูดของมันได้ยื้อดึงกับแรงดึงดูดของดาวแก๊สยักษ์เลฟรานิจนทำให้มุสตาฟาร์อยู่ตรงกลางระหว่างวงโคจรของดาวทั้งสองดวงแต่เดิมนั้น โปลิส แมซซา เคยเป็นดาวเคราะห์เล็กๆ ที่ไม่มีความน่าสนใจเป็นพิเศษ ซึ่งเป็นที่อยู่ของอารยธรรมอีลเลยิน (Eellayin) ที่ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก อารยธรรมนี้สร้างเมืองลึกลงไปใต้ดินอย่างเช่นเมืองวิเยนทาห์ (Wiyentaah) แต่ด้วยภัยพิบัติลึกลับ ทำให้ดาวเคราะห์ดวงนี้แตกสลายกลายเป็นหมู่ดาวเคราะห์น้อย ซึ่งยังคงเป็นที่รู้จักในชื่อเดิม คือโปลิส แมซซา โดยเฉพาะดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุด ส่วนอารยธรรมอีลเลยินนั้นได้เสื่อมสลายไปจนหมดสิ้น สเตดมิน คราวซา ผู้นำของดาว โปลิส แมสซา ได้ร่วมมือกับฝ่ายแบ่งแยกดินแดน โปลิส แมสซา กลายเป็นโรงงานหลอมหุ่นดรอยด์โรงงานผลิตปืน สเตดมินต้องการให้ โปลิส แมสซา กลายเป็น อุตสหกรรมโปลิชแมสเซียนเหมือน อุตสหกรรมจีโอโนเซียนของดาวจีโอโนซิสฟีลูเซียมีพืชพันธุ์และสัตว์แปลกประหลาดที่หลากหลาย ซึ่งคล้ายยางและปิดบังแสงแดด อย่างหม้อข้าวหม้อแกงลิงขนาดยักษ์ เมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสง สภาพแวดล้อมก็จะส่องแสงระยิบระยับเหมือนทุ่งหลากสี พื้นที่ส่วนใหญ่ของฟีลูเซียนั้นชุ่มชื้น และสิ่งมีชีวิตมากมายอย่างสัตว์พื้นเมืองเจลากรับ สัตว์ที่ย้ายถิ่นมาอย่างแอคเล่ย์ ตัวซาร์แลคขนาดมหึมา ฟีลูเซียมีชาวพื้นเมืองคือชาวฟีลูเซียน ซึ่งสามารถได้รับอิทธิพลจากผู้ใช้พลังที่แข็งแกร่ง ทั้งสว่างและมืด พืชและสัตว์ส่วนใหญ่ของฟีลูเซียได้สร้างการป้องกันตัวเองเพื่อปกป้องตัวเองจากพวกอื่น ซึ่งทำให้พวกมันเป็นอันตรายกับผู้ที่มาจากดาวอื่น", "title": "รายชื่อดาวเคราะห์ในสตาร์ วอร์ส" }, { "docid": "154005#55", "text": "การค้นพบที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ การค้นพบกลุ่มก๊าซที่รวมตัวกันเป็นรูปจานที่กำลังจะกลายเป็นดาวเคราะห์ ในเนบิวลานายพราน การค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ และการค้นพบปรากฏการณ์คล้ายแสงวาบรังสีแกมมา ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า", "title": "กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล" }, { "docid": "545#23", "text": "ดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตเป็นการศึกษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงม่วง คือประมาณ 10-3200 Å (10-320 นาโนเมตร) [12] แสงที่ความยาวคลื่นนี้จะถูกชั้นบรรยากาศของโลกดูดซับไป ดังนั้นการสังเกตการณ์จึงต้องกระทำที่ชั้นบรรยากาศรอบนอก หรือในห้วงอวกาศ การศึกษาดาราศาสตร์รังสีอัลตราไวโอเลตจะใช้ในการศึกษาการแผ่รังสีความร้อนและเส้นการกระจายตัวของสเปกตรัมจากดาวฤกษ์สีน้ำเงินร้อนจัด (ดาวโอบี) ที่ส่องสว่างมากในช่วงคลื่นนี้ รวมไปถึงดาวฤกษ์สีน้ำเงินในดาราจักรอื่นที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการสำรวจระดับอัลตราไวโอเลต วัตถุอื่น ๆ ที่มีการศึกษาแสงอัลตราไวโอเลตได้แก่ เนบิวลาดาวเคราะห์ ซากซูเปอร์โนวา และนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์[12] อย่างไรก็ดี แสงอัลตราไวโอเลตจะถูกฝุ่นระหว่างดวงดาวดูดซับหายไปได้ง่าย ดังนั้นการตรวจวัดแสงอัลตราไวโอเลตจากวัตถุจึงต้องนำมาปรับปรุงค่าให้ถูกต้องด้วย[12]", "title": "ดาราศาสตร์" }, { "docid": "132289#0", "text": "253 มาทิลเด (, ) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา ใน พ.ศ. 2428 ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์จำนวนสี่ปี และโคจรรอบตัวเองด้วยอัตราที่ช้าผิดปกติ คือใช้เวลา 17.4 วัน ในการโคจรรอบตัวเองครบหนึ่งรอบ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ซึ่งพื้นผิวมีส่วนประกอบของคาร์บอนอยู่ปริมาณมาก ทำให้พื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ทึบแสง โดยจะสะท้อนแสงเพียง 4% ของแสงที่ตกกระทบ", "title": "253 มาทิลเด" }, { "docid": "154005#38", "text": "เนื่องจากเครื่องมือต่าง ๆ มีรูปแบบแตกต่างกัน การแก้ไขภาพจึงทำโดยวิธีที่ต่างกันไป กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 ถูกสร้างขึ้นเพื่อนำไปแทนกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ตัวเดิม โดยมันจะติดตั้งกระจกสะท้อนแสงเพื่อส่งแสงไปยังอุปกรณ์รับภาพแบบ CCD แปดตัว พื้นผิวของมันถูกสร้างให้มีความคลาดเคลื่อนที่จะสามารถหักล้างความคลาดเคลื่อนของกระจกหลักได้อย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์ตัวอื่นไม่สามารถแก้ไขด้วยในวิธีนี้ได้ จึงจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ภายนอกเข้ามาช่วยแก้ไขภาพ[33]", "title": "กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล" }, { "docid": "438965#4", "text": "เรย์ ได้เผชิญหน้ากับ มิไร ร่างมนุษย์ของอุลตร้าแมนเมบิอุส ได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับดวงดาวแกแล็กซี่ เอ็ม 78 ให้กับเรย์ และนครแห่งแสงในนานมาแล้ว ดาวเคราะห์และผู้คนที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นเหมือนกับโลก ดวงอาทิตย์ของมันเคลื่อนตัวออกไปและทำให้ดาวเคราะห์ที่ต้องเผชิญกับการทำลายทำให้ พลาสม่าสปาร์ค ถูกสร้างขึ้น มันถูกเปิดเผยว่าพลาสม่าสปาร์คทำหน้าที่เหมือนดวงอาทิตย์เทียมสำหรับดาวเคราะห์และมันยังเปลี่ยนประชาชนทั้งหมดของประเทศเป็นนักรบอุลตร้า จากนั้น มิไร ได้อธิบายเรื่องราวของอุลตร้าแมนแบเรียล ก่อนที่ถิ่นในปัจจุบัน อุลตร้าแมนแบเรียล ถูกล่อลวงเข้าสู่การเป็นเจ้าของอำนาจของพลาสม่าสปาร์คให้กับตัวเอง แต่มีรอยแผลเป็นอย่างเห็นได้ชัดโดยใช้พลังงานและถูกเนรเทศโดยนักรบอุลตร้าสำหรับเป็นอันตรายต่อดาวเคราะห์ อยู่ในหลืบลึกของพื้นที่เขาได้พบกับเอเลี่ยนเรย์แบรด ที่ผสมผสานด้วยบีลีล เปลี่ยนแปลงเขาให้กลายเป็นความชั่วร้ายอุลตร้าเขาเป็นตอนนี้และทำหน้าที่เป็นในจิตสำนึกของเขา ในระหว่างการโจมตีครั้งแรกของบีลีลบนนครแห่งแสงเรียกว่า จลาจลแบเรียล เขาเกือบเอาชนะดาวเคราะห์กับกองทัพของมอนสเตอร์จนกระทั่งเขากำลังเผชิญหน้ากับอุลตราแมนคิง อุลตร้าแมนแบเรียล ถูกผนึกไว้ในเรือนจำทำให้จับเขาได้ กองทัพของเขาถูกทำลายไป และกิงกาแบทเทิลไนเซอร์ ถูกปิดผนึกไว้ออกไปในหุบเขาแห่งไฟ มิไร ก็ถามเพื่อขอความช่วยเหลือของเรย์ตอนที่อุลตร้าแมนแบเรียลได้กลับมา และเรย์ตกลงที่จะช่วย ในขณะเดียวกันหลังจากหลบหนีออกจากดวงดาวแกแล็กซี่ เอ็ม 78 อุลตร้าแมนแบเรียล ได้ซ่อนอยู่ในสุสานมอนสเตอร์และใช้ กิงกาแบทเทิลไนเซอร์ ชุบชีวิตและควบคุมมอนสเตอร์อุลตร้า 100 ตัว เพื่อต่อสู้นักรบอุลตร้า", "title": "อุลตร้าแกแล็คซี่ กำเนิดอุลตร้าแมนซีโร่" }, { "docid": "943392#0", "text": "ดับเบิลยูเอเอสพี-104บี () เป็นดาวเคราะห์นอกระบบจำพวกดาวพฤหัสบดีร้อนที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดับเบิลยูเอเอสพี-104 ดาวเคราะห์ดวงนี้เป็นดาวเคราะห์ที่ดำที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกพบใน พ.ศ. 2557 ในการค้นพบครั้งแรกมันถูกคิดว่าผิวของมันสามารถดูดซับแสงได้ 60% แต่จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยคีลใน พ.ศ. 2561 แสดงให้เห็นว่าผิวของมันดูดซับแสงได้มากกว่า 97% เนื่องบรรยากาศของมันมีโซเดียมและโพแทสเซียมอยู่อย่างหนาแน่น", "title": "ดับเบิลยูเอเอสพี-104บี" }, { "docid": "276130#0", "text": "COROT (ย่อมาจาก COnvection ROtation and planetary Transits ; หรือ \"การพา การหมุน และการเคลื่อนผ่านของดาวเคราะห์\") คือปฏิบัติการทางอวกาศ นำโดยองค์การอวกาศฝรั่งเศส (CNES; French Space Agency) ร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรปและองค์กรนานาชาติอื่น มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีคาบโคจรสั้น โดยเฉพาะดวงที่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลก และการตรวจวัดคาบการแกว่งตัวของดาวฤกษ์ (asteroseismology) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ COROT ถูกส่งออกสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2006 เวลา 14:28:00 UTC ด้วยจรวดนำส่งโซยูส และรายงานแสงแรกกลับมาเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2007 นับได้ว่า COROT เป็นยานอวกาศลำแรกที่อุทิศภารกิจแก่การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบโดยเฉพาะ ดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่ COROT ตรวจพบคือ COROT-1b ตรวจพบเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2007 เดิมคาดว่าปฏิบัติการจะสิ้นสุดภายในเวลา 2.5 ปีนับจากวันส่งขึ้น แต่นับถึงปัจจุบัน COROT ยังปฏิบัติหน้าที่อยู่และคาดว่าจะทำหน้าที่ไปจนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 2010", "title": "COROT" }, { "docid": "275546#16", "text": "ถ้าดาวพื้นหลังของดาวที่มีหน้าที่รวมแสงมีดาวเคราะห์บริวาร ซึ่งดาวเคราะห์ดังกล่าวจะมีสนามโน้มถ่วงของดาวเอง โดยสนามโน้มถ่วงดังกล่าวสามารถตรวจวัดได้จากปรากฏการณ์เลนส์ เนื่องด้วยการศึกษาดังกล่าวต้องอาศัยการเรียงตัวที่ดีมาก ทำให้การศึกษาต้องมีการตรวจวัดดาวระยะไกลจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง เพื่อตรวจวัดดาวเคราะห์นอกระบบ ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่น่าเชื่อถือสำหรับดาวเคราห์นอกระบบที่อยู่ระหว่างโลกกับจุดศูนย์กลางของกาแล็กซี่ เนื่องจากบริเวณใจกลางกาแล็กซี่มีดาวพื้นหลังจำนวนมาก", "title": "วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ" }, { "docid": "537717#1", "text": "ยานลำนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่คล้ายโลกที่โครจรอยู่ในเขตอาศัยได้และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวในทางช้างเผือกมีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวยานนั้นคือเครื่องวัดความเข้มแสงที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงในแถบลำดับหลัก จากนั้นยานจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบการบังแสงของดาวเคราะห์ในขณะที่มันโคจรผ่านดาวฤกษ์ ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราห์อีก 2,662 ดวง", "title": "เคปเลอร์ (ยานอวกาศ)" }, { "docid": "51301#55", "text": "ในปี ค.ศ. 499 นักคณิตศาสตร์-นักดาราศาสตร์ อารยภรต เสนอแบบจำลองในรายละเอียดของระบบสุริยะ ของความโน้มถ่วง ที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง โดยดาวเคราะห์หมุนรอบแกน ของมันทำให้เกิดกลางวันกลางคืนและเคลื่อนไปทางวงโคจรวงรี รอบดวงอาทิตย์ทำให้เกิดปี และบรรดาดาวเคราะห์รวมทั้งดวงจันทร์ไม่มีแสงในตัวเองแต่สะท้อนแสงของดวงอาทิตย์ อารยภรตยังอธิบายสาเหตุของสุริยปราคาและจันทรุปราคา ได้อย่างถูกต้องและทำนายเวลาที่เกิดขึ้น บอกค่ารัศมีของวงโคจรดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ และวัดความยาวของวัน sidereal year เส้นผ่านศูนย์กลางและ เส้นรอบวง ของโลกได้อย่างแม่นยำ พรหมคุปต์ได้ระลึกถึงความโน้มถ่วงว่าเป็นแรงดึงดูด และเข้าใจกฎของความโน้มถ่วง ใน \"พรหม สปุต สิทธานตะ\" ของเขาเมื่อปี ค.ศ. 628 อีกด้วย", "title": "ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์" }, { "docid": "943392#1", "text": "ดับเบิลยูเอเอสพี-104บีได้รับการยอมรับจากนักวิจัยว่ามันเป็นหนึ่งหนึ่งในดาวเคราะห์นอกระบบที่ดำที่สุดเท่าที่ค้นพบ พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยคีลได้กล่าวว่าผิวของมันดูดซับแสงได้มากกว่า 97% เพราะมีโซเดียมและโพแทสเซียมจำนวนมากบนชั้นบรรยากาศ หนังสือพิมพ์หกหน้าที่แผยแพร่ในหอสมุดมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์อธิบายเกี่ยวกับดาวเคราะห์นอกระบบดวงนี้ว่า \"ดำกว่าถ่าน\" และเห็นด้วยกับคำที่ว่า \"หนึ่งในดาวเคราะห์ที่สะท้อนแสงน้อยที่สุดเท่าที่พบในปัจจุบัน\" มีการพิจารณาว่ามีดาวเคราะห์อีกสองดวงที่ดำกว่าดับเบิลยูเอเอสพี-104บี คือทีอาร์อีเอส-2บีและดับเบิลยูเอเอสพี-12บี แสงดาวของมันถูกนำไปเปรียบเทียบกับดับเบิลยูเอเอสพี-12บีเพราะดับเบิลยูเอเอสพี-12บีสามารถดูดซับแสงได้ 94%", "title": "ดับเบิลยูเอเอสพี-104บี" }, { "docid": "362491#1", "text": "บางครั้งดาวเฮอร์บิก เออี/บีอี ก็มีการแปรแสงที่สว่างจนสังเกตได้ชัด เชื่อว่าเกิดขึ้นจากการรวมตัวของดาวเคราะห์ก่อนเกิดเข้ากับแผ่นจานดาวฤกษ์ ในสภาวะที่มีความสว่างน้อยที่สุด การแผ่รังสีจากดาวจะมีสีน้ำเงินเข้มกว่า และเกิดโพลาไซส์เชิงเส้นของแสง (ในทำนองเดียวกันกับการมองเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้า)", "title": "ดาวเฮอร์บิก เออี/บีอี" }, { "docid": "669611#1", "text": "ดาวเคราะห์น้ำแข็งโดยมากมีคุณสมบัติที่ไม่เอื้อต่อการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากมีอุณหภูมิที่เย็นจัด ดาวเคราะห์น้ำแข็งอาจมีมหาสมุทรภายในที่อยู่ใต้เปลือกของมัน ซึ่งอาจถูกทำให้อุ่นโดยแกนของมันเองหรือแรงไทดัลจากวัตถุที่อยู่ใกล้เคียง โดยเฉพาะดาวแก๊สยักษ์ น้ำใต้เปลือกดาวเคราะห์อาจสามารถเอื้อต่อการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต รวมไปถึงปลา แพลงก์ตอน และจุลินทรีย์ แพลงก์ตอนและจุลินทรีย์ที่อยู่ใต้เปลือกของดาวเคราะห์จะไม่ทำการสังเคราะห์ด้วยแสงเนื่องจากแสงดาวฤกษ์ถูกบดบังโดยเปลือกน้ำแข็งที่อยู่เหนือน้ำ แต่จะสร้างสารอาหารจากโดยใช้สารเคมีจำเพาะ โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมี หากมีปัจจัยที่เหมาะสม ดาวเคราะห์บางดวงอาจมีชั้นบรรยกาศที่เห็นได้ชัดคล้ายกับไททัน ดาวบริวารของดาวเสาร์ ซึ่งอาจเอื้อต่อการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตต่างดาว", "title": "ดาวเคราะห์น้ำแข็ง" }, { "docid": "359176#3", "text": "นักวิจัยหลายคนคาดว่าด้านที่ถูกแสงแดดของดาวเคราะห์ดังกล่าวอาจหันเข้าหาดวงฤกษ์ของมันตลอดเวลาด้วยแรงไทดัล เหมือนกับกรณีที่ดวงจันทร์หันด้านเดิมเข้าหาโลกเสมอซึ่งเกิดจากเวลาที่ใช้หมุนรอบตัวเองเท่ากับเวลาที่ดวงจันทร์ใช้โคจรรอบโลก จึงไม่น่าสามารถที่จะมีดาวบริวารได้ แต่ ณ ตอนนี้ คงไม่อาจพิสูจน์ได้จากเทคโนโลยีสมัยนี้", "title": "อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี (ดาวเคราะห์)" }, { "docid": "204906#0", "text": "ดาวเคราะห์น้อยประเภท S เป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบซิลิกา (Silica) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่เป็นจำนวนประมาณ 17% ของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนมากรองจากดาวเคราะห์น้อยประเภท C หรือจำพวกคาร์บอน\nดาวเคราะห์น้อยประเภท S จะมีความสว่างปานกลาง มีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสง (albedo) ระหว่าง 0.10 ถึง 0.22 และมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ไอร์อ้อนซิลิเกต หรือ แมกนีเซียมซิลิเกต มักอยู่ในบริเวณรอบในของแถบดาวเคราะห์น้อย มีวงโคจรต่ำกว่า 2.2 หน่วยดาราศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดในประเภทนี้คือ 15 ยูโนเมีย (กว้างประมาณ 330 กิโลเมตร) รองลงไปได้แก่ 3 จูโน 29 แอมฟิไทรต์ 532 เฮอร์คิวลินา และ 7 ไอริส ดาวเคราะห์น้อยประเภท S ขนาดใหญ่เหล่านี้สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตากำลัง 10x50 เมื่อมันเข้ามาในตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์ ดวงที่สว่างที่สุดคือ 7 ไอริส ซึ่งเคยมีค่าความสว่างสูงสุดถึง +7.0 ที่ถือว่าสว่างมากนอกเหนือจากดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้ดีเช่น 4 เวสต้า", "title": "ดาวเคราะห์น้อยประเภท S" }, { "docid": "3800#26", "text": "ดาวคู่อุปราคา: ในระบบดาวคู่อุปราคา เราสามารถตรวจพบดาวเคราะห์ได้จากการเปลี่ยนแปลงของช่วงแสงขณะที่ดาวเคราะห์เคลื่อนผ่านไปผ่านมา วิธีนี้เป็นวิธีที่น่าเชื่อถือมากที่สุดในการค้นหาดาวเคราะห์ในระบบดาวคู่", "title": "ดาวเคราะห์นอกระบบ" }, { "docid": "359182#1", "text": "สีฟ้าที่เห็นอยู่ในภาพจินตนาการของศิลปินส่วนใหญ่ไม่ได้แปลว่า \"ความเย็น\" แต่สีฟ้านี้เกิดจากการกระจายตัวของแสง เพราะดาวเคราะห์ดวงนี้ร้อนมาก ดังนั้นถ้ามองด้วยตาเปล่า เราจะเห็นดาวเคราะห์ดวงนี้จะมีเมฆสีแดงอยู่", "title": "อิปไซลอนแอนดรอมิดา ซี" }, { "docid": "50516#5", "text": "ครั้นต่อมาได้มีการศึกษาสเปกตรัมของแสงอาทิตย์ พบว่ามีฮีเลียม แต่ไม่พบเนบิวเลียม จนเฮนรี นอร์ริส รัสเซล (Henry Norris Russel) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน เสนอว่า \"เนบิวเลียม\" เป็นธาตุที่เราคุ้นเคยกันดี แต่อยู่ในสภาวะที่เราไม่ทราบ ต่อมาค้นพบว่าใจกลางของเนบิวลาดาวเคราะห์ (คือดาวแคระขาว) มีอุณหภูมิสูงมากแต่มีแสงจางมาก ขณะที่ชั้นนอกของดาวยักษ์แดงดวงเดิมขยายตัวออกสู่อวกาศเสมอ จนเกิดแนวคิดว่าเนบิวลาดาวเคราะห์เป็นจุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย (ต่างกับซูเปอร์โนวาที่เป็นจุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลมาก)", "title": "เนบิวลาดาวเคราะห์" }, { "docid": "2646#30", "text": "ในบันทึกของอริสโตเติลเกี่ยวกับดินฟ้าอากาศฉบับแรกของเขา ได้บรรยายถึงมุมมองเกี่ยวกับดาวหางที่ได้มีอิทธิพลอยู่เหนือแนวคิดของชาวตะวันตกมานานกว่าสองพันปีแล้ว อริสโตเติลไม่เห็นด้วยกับนักปรัชญายุคก่อนที่บอกว่าดาวหางคือดาวเคราะห์ หรือปรากฏการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวกับดาวเคราะห์ เนื่องจากพื้นฐานแนวคิดที่ว่าดาวเคราะห์มีขอบข่ายการเคลื่อนที่อยู่บนจักรราศี ขณะที่ดาวหางปรากฏตัวขึ้น ณ จุดใดบนท้องฟ้าก็ได้ ตรงกันข้าม อริสโตเติลอธิบายว่า ดาวหางเป็นปรากฏการณ์ในบรรยากาศชั้นบน อันเป็นที่ซึ่งไออากาศร้อนและเย็นไปรวมตัวกันอยู่ และทำให้เกิดการลุกไหม้เป็นเปลวเพลิง เขาใช้แนวคิดนี้อธิบายสิ่งอื่นนอกจากดาวหาง เช่น ดาวตก แสงออโรรา หรือแม้แต่ทางช้างเผือกด้วย", "title": "ดาวหาง" }, { "docid": "47050#48", "text": "ย้อนหลังไปไกลกว่านั้น กระจุกดาวเคราะห์น้อยดาทูรา ดูจะก่อตัวขึ้นประมาณ 450,000 ปีก่อนจากการปะทะกับแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ระยะเวลานี้ประเมินจากความน่าจะเป็นที่สมาชิกในกระจุกมีวงโคจรอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมากยิ่งกว่าหลักฐานทางกายภาพอื่นๆ อย่างไรก็ดี กระจุกดาวเคราะห์น้อยนี้อาจเป็นแหล่งกำเนิดของฝุ่นแสงจักรราศีก็เป็นได้ แต่กระจุกดาวเคราะห์น้อยอื่นที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่นาน เช่น กระจุกดาวเคราะห์น้อยเอียนนินิ (Iannini) (ประมาณ 1-5 ล้านปีก่อน) ก็อาจเป็นแหล่งที่มาเพิ่มเติมของบรรดาฝุ่นดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้ก็ได้", "title": "แถบดาวเคราะห์น้อย" } ]
2257
สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีได้ดำเนินการออกอากาศมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งยุติการออกอากาศเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "76497#2", "text": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีได้ดำเนินการออกอากาศมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งยุติการออกอากาศ เมื่อเวลา 00.08 น. ของวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ภายหลังจากที่สถานีโทรทัศน์ได้ถูกโอนกิจการไปเป็นขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 เท่ากับว่า เป็นการสิ้นสุดลงของการเป็นสถานีโทรทัศน์เสรีในประเทศไทยที่ออกอากาศมาเป็นเวลาเกือบ 12 ปี ทั้งนี้นับรวมเวลาที่ไอทีวีออกอากาศอีกด้วย", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" }, { "docid": "41115#0", "text": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ( ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ \"ข่าวภาคค่ำประจำวัน\"เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรก ที่เรียกรายการข่าวโดยไม่มีคำว่าภาคและมีชื่อสถานีเรียกทุกครั้ง เช่น ข่าวเช้าไอทีวี ข่าวเที่ยงไอทีวี ข่าวค่ำไอทีวี เป็นต้น เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีข่าวและสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง หมายเลข26และช่องหมายเลข 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหนด", "title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี" } ]
[ { "docid": "76497#5", "text": "ในวันอังคารที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรีมีมติว่าหากไอทีวีไม่สามารถจ่ายค่าปรับ และค่าสัมปทานค้างจ่าย รวมประมาณ 1 แสนล้านบาท ภายใน 7 มีนาคม ได้ ให้ยุติการออกอากาศเป็นการชั่วคราว เพื่อส่งเรื่องให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความว่า รัฐสามารถดำเนินการออกอากาศต่อเนื่องได้หรือไม่ และให้ดำเนินการยึดเครื่องส่งโทรทัศน์ยูเอชเอฟ มาเก็บรักษาไว้ที่กรมประชาสัมพันธ์ในวันที่ 9 มีนาคม ด้วย ซึ่งจากมติคณะรัฐมนตรีนี้ ย่อมหมายความว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวีจะต้องยุติการออกอากาศ ทำให้ไม่มีสัญญาณออกอากาศผ่านทางช่องความถี่นี้ ส่งผลให้เกิด \"จอดำ\" ขึ้นทันที", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" }, { "docid": "41115#13", "text": "เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ส่งหนังสือยกเลิกสัญญามายัง บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เพื่อให้ยุติการออกอากาศ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ผ่านระบบยูเอชเอฟ ช่อง 29 อย่างเป็นทางการ ในเวลา 24.00 น. ของวันดังกล่าว ทั้งนี้ ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ให้พนักงานไอทีวีดำเนินการออกอากาศได้ต่อไป ในคลื่นความถี่เดิมอย่างต่อเนื่อง โดยให้กรมประชาสัมพันธ์เป็นผู้ดำเนินการ ใช้ชื่อว่า \"สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี\" ตั้งแต่เวลา 00.00 น. ของวันที่ 8 มีนาคม เป็นต้นไป", "title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี" }, { "docid": "76497#15", "text": "ต่อมา ราวปี พ.ศ. 2550 ไอทีวีได้รับอนุญาตจาก สปน.ให้เปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณที่ออกอากาศ ในระบบยูเอชเอฟ จากช่อง 26 มาเป็นช่อง 29 และในปีเดียวกัน ไอทีวีดำเนินการย้ายเสาส่งสัญญาณในส่วนกลางที่กรุงเทพมหานคร จากอาคารเอสซีบีปาร์คพลาซ่า , อาคารสินสาธร ทาวเวอร์ และ อาคาร เนชั่น ทาวเวอร์ มาอยู่ที่ อาคารใบหยก 2 แทน โดยไอทีวีดำเนินการแพร่ภาพนิ่ง เพื่อแจ้งให้ผู้ชมทราบการเปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณ และการย้ายเสาส่งของสถานีฯ ไว้ทางช่อง 26 พร้อมไปกับการแพร่ภาพออกอากาศตามปกติ ทางช่อง 29 ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ก่อนที่จะยุติการแพร่ภาพทางช่อง 26 อย่างสมบูรณ์ ในปีเดียวกัน และออกอากาศทางช่อง 29 เรื่อยมาจนกระทั่งเปลี่ยนชื่อเป็นสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ตามลำดับ ปัจจุบันช่อง 26 ในกรุงเทพมหานคร ถูกใช้งานโดยกรมประชาสัมพันธ์เพื่อแพร่ภาพในระบบดิจิทัล", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" }, { "docid": "41115#11", "text": "ต่อมา ราวปี พ.ศ. 2542 ไอทีวีได้รับอนุญาตจาก สปน.ให้เปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณที่ออกอากาศ ในระบบยูเอชเอฟ จากช่อง 26 มาเป็นช่อง 29 และในปีเดียวกัน ไอทีวีดำเนินการย้ายเสาส่งสัญญาณในส่วนกลางที่กรุงเทพมหานคร จากอาคารเอสซีบีปาร์คพลาซ่า , อาคารสินสาธร ทาวเวอร์ และ อาคาร เนชั่น ทาวเวอร์ มาอยู่ที่ อาคารใบหยก 2 แทน โดยไอทีวีดำเนินการแพร่ภาพนิ่ง เพื่อแจ้งให้ผู้ชมทราบการเปลี่ยนแปลงช่องสัญญาณ และการย้ายเสาส่งของสถานีฯ ไว้ทางช่อง 26 พร้อมไปกับการแพร่ภาพออกอากาศตามปกติ ทางช่อง 29 ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2542ก่อนที่จะยุติการแพร่ภาพทางช่อง 26 อย่างสมบูรณ์ ในปีเดียวกัน และออกอากาศทางช่อง 29 เรื่อยมาจนกระทั่งเปลี่ยนชื่อเป็นสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ตามลำดับ ปัจจุบันช่อง 26 ในกรุงเทพมหานคร ถูกใช้งานโดยกรมประชาสัมพันธ์เพื่อแพร่ภาพในระบบดิจิทัล", "title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี" }, { "docid": "76497#7", "text": "ปรากฏว่าคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้มีมติเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ตีความข้อกฎหมายในกรณีดังกล่าวว่า กรมประชาสัมพันธ์ สามารถดำเนินการออกอากาศโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟต่อเนื่องไปได้ และในวันเดียวกัน ศาลปกครองมีคำวินิจฉัยให้คุ้มครองฉุกเฉินสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ให้สามารถออกอากาศต่อไปอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ท่ามกลางความดีใจของพนักงานสถานีโทรทัศน์ไอทีวีเป็นอย่างมาก และตลอดทั้งวัน สถานีโทรทัศน์ไอทีวีได้ทำการนำเสนอรายการ\"อดีตไอทีวี\" โดยเป็นรายการพิเศษเพื่อที่จะอำลาผู้ชม และเตรียมเปลี่ยนผ่านไปสู่ชื่อใหม่ของสถานีโทรทัศน์แห่งเดียวกัน", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" }, { "docid": "76497#25", "text": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 00:08 น. โดยรับช่วงการออกอากาศต่อจากสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ซึ่งในวันนั้น เป็นวันสถาปนาขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย อย่างเป็นทางการ โดยองค์การฯ ได้รับโอนกิจการสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ของกรมประชาสัมพันธ์ มาดำเนินการต่อด้วย และเป็นผลทำให้ทีไอทีวีต้องหยุดการออกอากาศตามผังรายการและสัญญาณของสถานีฯเองทั้งหมดและเชื่อมสัญญาณการทดลองการออกอากาศจากอาคารสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์) เป็นเวลา 16 วัน และกลับมาออกอากาศโดยสัญญาณของสถานีเองอีกครั้ง ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ และในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ เริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการในเวลา 05:00 น.", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" }, { "docid": "529232#30", "text": "อย่างไรก็ตาม บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) ก็ไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทาน และคำเสียหายดังกล่าว ให้กับสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้ ในที่สุดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 มติคณะรัฐมนตรีสั่งให้ยกเลิกสัญญาสัมปทาน จัดตั้งสถานีโทรทัศน์เสรี ระหว่างสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กับบริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) พร้อมทั้งสั่งให้ยุติการออกอากาศ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี เมื่อเวลา 24.00 น. วันเดียวกัน โดยมอบหมายให้กรมประชาสัมพันธ์ เข้ากำกับดูแลการออกอากาศและรับโอนกิจการสถานีโทรทัศน์ โดยให้ชื่อใหม่ว่า \"สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี\" ซึ่งออกอากาศในวันถัดไป (คือวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2550 เวลา 00.00 น.) ในเวลาต่อมา ก็ยังได้มีการจัดตั้งสำนักงานบริหารกิจการสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบ ยู เอช เอฟ เฉพาะกิจ (หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ)ขึ้น เพื่อเป็นหน่วยงานที่เข้ามารับผิดชอบในการดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์แห่งนี้ในช่วงเวลาเฉพาะกิจ ไปจนกว่าที่จะมีความแน่นอนในการดำเนินกิจการ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2550", "title": "โทรทัศน์ในประเทศไทย" }, { "docid": "41115#9", "text": "จากนั้น สถานีฯ จึงต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบการออกอากาศโดยทันที ประกอบกับที่ผู้ผลิตรายการบางส่วน เริ่มถอนรายการออกจากสถานีฯ เป็นผลให้ความนิยม (เรตติ้ง) ของสถานีฯ ลดลงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2549 นายจุลยุทธ หิรัณยะวสิต ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ประกาศให้ บมจ.ไอทีวี ชำระค่าสัมปทานที่ค้างอยู่ จำนวนทั้งสิ้น 2,210 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 15 เป็นจำนวนเงินรวม 464 ล้าน 5 แสนบาท มาชำระกับ สปน.ภายใน 45 วัน และให้ชำระค่าปรับ กรณีทำผิดสัญญาเรื่องปรับผังรายการ อีกกว่า 97,760 ล้านบาท ทั้งนี้ สปน.กับ บมจ.ไอทีวี ได้เปิดการเจรจา ขอให้ต่อเวลาเรียกชำระออกไปอีก 30 วัน ไปสิ้นสุดในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2550 แต่อย่างไรก็ตาม บมจ.ไอทีวี ก็ไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานและชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าว ให้กับ สปน.ได้ ที่สุดแล้ว ในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้ยกเลิกสัญญาสัมปทานจัดตั้งสถานีโทรทัศน์เสรี ระหว่าง สปน.กับ บมจ.ไอทีวี และสั่งให้ยุติการออกอากาศ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ในวันเดียวกัน เมื่อเวลา 24.00 น. รวมระยะเวลาการออกอากาศทั้งสิ้น 10 ปี 8 เดือน 6 วัน 5 ชั่วโมง (รวมอายุสัมปทาน 11 ปี 8 เดือน 4 วัน)", "title": "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี" }, { "docid": "76497#16", "text": "อนึ่ง ไอทีวีเคยพักการออกอากาศทางสถานีฯ ตามเวลาปกติ ในช่วงเวลา 01.30 - 06.00 น. ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2551 โดยใช้ภาพทดสอบ ไม่มีเสียงสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีใช้ สีแดง สลับ สีขาวบ้าง สีดำบ้าง เป็นสีประจำสถานีตั้งแต่เริ่มออกอากาศจนกระทั่งยุติออกอากาศ", "title": "สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี" } ]
2499
ระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด?
[ { "docid": "140610#1", "text": "โครงการนี้เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 ในสมัยของอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้วยงบประมาณ 1,400 ล้านบาท หลังจากได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2550 เริ่มก่อสร้างจริงเมื่อปี พ.ศ. 2550 และมีกำหนดเปิดให้บริการในช่วงปี พ.ศ. 2551–2552 แต่ได้เกิดความล่าช้ามาอย่างต่อเนื่อง แม้การก่อสร้างสถานีเสร็จสมบูรณ์ไปก่อนหน้านั้นแล้ว เนื่องจากการจัดหาตัวรถหยุดชะงักไปถึง 9 เดือนภายใต้กระบวนการตรวจสอบความโปร่งใสของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) รวมไปถึงความล่าช้าในกระบวนการจัดซื้อพร้อมติดตั้งระบบขนส่งอัจฉริยะ, การก่อสร้างทางเดินเชื่อมสถานีสาทรกับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ช่องนนทรีที่แยกสาทร–นราธิวาส และการก่อสร้างช่องทางเดินรถเฉพาะสำหรับบีอาร์ที แต่ในภายหลังสามารถเปิดให้บริการได้เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553[1]", "title": "รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์" } ]
[ { "docid": "142881#5", "text": "จากการประชุมคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ได้มีมติให้สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นผู้ออกแบบรายละเอียดของระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ซึ่ง สนข. ได้ลงนามว่าจ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาให้ดำเนินการศึกษาออกแบบเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2547 มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาระบบรถโดยสารประจำทางให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และส่งเสริมให้ประชนหันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะรถโดยสารประจำทาง", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "33641#15", "text": "รถประจำทางเป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่อย่างหนึ่งในไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพมหานคร ระบบรถเมล์ประจำทางให้บริการโดย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก) ถือเป็นระบบที่ขนส่งผู้โดยสารระบบหนึ่ง รถโดยสารระหว่างจังหวัดให้บริการโดย บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.) และบริษัทเอกชนอีกหลายบริษัท โดยมีสถานีรถโดยสารในกรุงเทพมหานคร สามแห่ง คือ หมอชิต2 สถานีขนส่งสายใต้ และสถานีขนส่งเอกมัย\nนอกจากนั้นยังมีรถประจำทางด่วนพิเศษบริการเฉพาะกรุงเทพและปริมณฑลได้แก่ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถ ปรับอากาศพิเศษ (ปอ.พ)บริการในกรุงเทพมหานครของ บริษัท พรีเมียร์ เมโทรบัส", "title": "การขนส่งในประเทศไทย" }, { "docid": "728084#0", "text": "ทรานส์จาการ์ตา () เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย และเป็นแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มดำเนินงานวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2004 ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ชาวจาการ์ตา โดยเฉพาะในชั่วโมงเร่งด่วน รถโดยสารจะวิ่งในช่องทางที่กำหนดเท่านั้น ในปี ค.ศ. 2014 มีสถิติผู้โดยสาร 350,000 คน และรถโดยสาร 500 เที่ยวต่อวัน", "title": "ทรานส์จาการ์ตา" }, { "docid": "114430#0", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ บีอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบหนึ่งที่ใช้รถโดยสาร ให้บริการเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากรถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยพัฒนารูปแบบการเดินรถ ตัวรถโดยสาร ตารางการเดินรถ ระบบขนส่งอัจฉริยะ และที่สำคัญคือจะมีช่องทางวิ่งแยกออกมาจากถนนปกติเป็นช่องทางเฉพาะ โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีคุณภาพของบริการเทียบเท่ากับระบบขนส่งมวลชนระบบราง ในความเร็วและความจุผู้โดยสารที่เทียบเท่ากับระบบรถไฟฟ้ารางเบา ในขณะที่ต้นทุนการก่อสร้างและการเดินรถโดยสารประจำทางที่ประหยัดกว่า ทั้งยังสามารถจัดเส้นทางการเดินรถได้ยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ" }, { "docid": "142881#24", "text": "ดูบทความหลักที่ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#4", "text": "สำหรับในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีการศึกษาแผนการพัฒนาระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษจากหน่วยงาน 2 แห่งในเวลาเดียวกัน ได้แก่ กรุงเทพมหานคร และ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ซึ่งเคยมีข้อเสนอแนะให้รวมแผนการพัฒนาของทั้ง 2 องค์กรเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อให้การพัฒนาระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น[2]", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "7931#18", "text": "สามารถเปลี่ยนไปใช้รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (บีอาร์ที) สายสาทร–ราชพฤกษ์ ได้ที่สถานีช่องนนทรี โดยเชื่อมต่อกับสถานีสาทร ของรถโดยสารด่วนพิเศษ และที่สถานีตลาดพลูอีกแห่ง โดยเชื่อมต่อกับสถานีราชพฤกษ์ ของรถโดยสารด่วนพิเศษ", "title": "รถไฟฟ้าบีทีเอส" }, { "docid": "114430#2", "text": "ความเร็วของระบบขนส่งรูปแบบนี้จะอยู่ประมาณ 30 - 45 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งใกล้เคียงกับระบบรถไฟฟ้าขนาดเบา", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ" }, { "docid": "140610#11", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา", "title": "รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์" }, { "docid": "140610#12", "text": "หมวดหมู่:ระบบรถประจำทางในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในประเทศไทย", "title": "รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์" }, { "docid": "142881#20", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#2", "text": "การศึกษาโครงข่ายรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เกิดเนื่องมาจากภาครัฐต้องการแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังและมีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากความต้องการเดินทางของประชาชนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการขยายตัวของชุมชนเมืองและกิจกรรมต่าง ๆ เกิดผลเสียต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวมในระดับประเทศ ในฐานะที่กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางความเจริญของประเทศ นอกจากการก่อสร้างระบบโครงข่ายถนนจำนวนมากในอดีตแล้ว ภาครัฐได้หันมาพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางได้เกิดขึ้นเป็นโครงข่ายที่สมบูรณ์แล้ว แต่การดำเนินงานต้องใช้เงินลงทุนสูงและใช้ระยะเวลานาน จึงจำเป็นต้องปรับปรุงระบบการให้บริการรถโดยสารประจำทางอย่างเร่งด่วนควบคู่ไปกับการก่อสร้างระบบขนส่งทางราง[2]", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "316095#0", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วน (express bus service) เป็นระบบรถโดยสารประจำทางที่มีเป้าหมายในการบริการให้เดินทางระหว่างจุดสองจุดเร็วขึ้นกว่ารถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยจำกัดเส้นทางเดินรถและจุดจอดรถระหว่างกลาง นิยมใช้ในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช่นในเวลาก่อนเข้างานตอนเช้า หรือหลังเลิกงานตอนเย็น เพื่อให้ผู้โดยสารที่เดินทางระหว่างในตัวเมือง สามารถออกไปสู่บริเวณต่อรถภายนอกเมืองได้อย่างรวดเร็ว การจัดการรถโดยสารประเภทนี้ จะมีการไม่หยุดจอดในหลายสถานีเพื่อบริการให้เร็วขึ้น ซึ่งในบางครั้งจะมีการเพิ่มค่าโดยสารสำหรับระบบประเภทนี้", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วน" }, { "docid": "142881#0", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ<b data-parsoid='{\"dsr\":[1254,1268,3,3]}'>บีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#11", "text": "จนถึงปัจจุบัน เส้นทางของ สนข. ทั้งหมดยังคงเป็นเพียงข้อเสนอแนะที่ไม่มีการพิจารณาให้สร้างขึ้นแต่อย่างใด", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#21", "text": "ดูบทความหลักที่ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#27", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด รถโดยสารประจำทาง โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "140610#0", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์ หรือ<b data-parsoid='{\"dsr\":[167,194,3,3]}'>สายช่องนนทรี–ราชพฤกษ์ เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ<i data-parsoid='{\"dsr\":[237,249,2,2]}'>บีอาร์ที (BRT) สายนำร่องของกรุงเทพมหานคร และเป็นสายแรกของประเทศไทย เดินรถบนถนนนราธิวาสราชนครินทร์, ถนนพระรามที่ 3, สะพานพระราม 3 และถนนรัชดาภิเษก–ท่าพระ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร มีจุดจอดรับส่งผู้โดยสาร 12 สถานี โดยจัดช่องทางการเดินรถแยกจากช่องทางปกติบนพื้นถนนเดิมในทิศทางเดียวกัน ยกเว้นบนสะพานข้ามทางแยกและสะพานพระราม 3ที่เดินรถในช่องเดินรถมวลชน (high-occupancy vehicle/HOV lane) ร่วมกับรถยนต์ที่มีผู้โดยสารตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และบริเวณทางแยกบางจุดที่ใช้ช่องทางร่วมกับรถทั่วไป", "title": "รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์" }, { "docid": "142881#28", "text": "หมวดหมู่:ระบบขนส่งสาธารณะในประเทศไทย หมวดหมู่:ระบบรถประจำทางในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในประเทศไทย", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "74294#16", "text": "ส่วนระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษนครเชียงใหม่ () จะเปิดให้บริการในอนาคต แต่ยังติดปัญหาเรื่องงบประมาณและการพิจารณาอนุมัติของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)", "title": "เทศบาลนครเชียงใหม่" }, { "docid": "556775#0", "text": "ระบบขนส่งมวลชนนครราชสีมา เป็นโครงการรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษแบบยกระดับหรือสกายบัส ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรในเขตเทศบาล ซึ่งโครงการนี้จะใช้งบประมาณ 4,000 ล้านบาท โดยโครงการนี้ จะทำให้นครราชสีมาเป็นเมืองแรกที่มีระบบสกายบัส", "title": "ระบบขนส่งมวลชนนครราชสีมา" }, { "docid": "1919#79", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ เป็นระบบขนส่งมวลชนใหม่ของกรุงเทพมหานคร มีลักษณะคล้ายกับรถประจำทาง แต่การเดินของรถนั้นแยกออกจากถนนปกติ ปัจจุบันเปิดให้บริการ 1 เส้นทาง คือ ช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร", "title": "กรุงเทพมหานคร" }, { "docid": "564496#0", "text": "รายชื่อระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษทั่วโลกไฮไลท์สีฟ้า คือ ยังไม่เปิดให้บริการ\nหมายเหตุ", "title": "รายชื่อระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ" }, { "docid": "142881#3", "text": "แนวทางหนึ่งของการพัฒนาระบบรถประจำทางที่เหมาะสม คือการสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ที่มีคุณภาพเทียบเท่าระบบราง มีลักษณะเฉพาะได้แก่ ใช้มาตรการการให้สิทธิพิเศษแก่รถโดยสารประจำทาง โดยออกแบบช่องทางพิเศษเฉพาะในรูปแบบชิดเกาะกลางถนน เพื่อแยกการเดินรถออกจากระบบจราจรอื่น ๆ มีสถานีเฉพาะที่อำนวยความสะดวก มีศูนย์ควบคุมและบริหารจัดการการเดินรถ โดยใช้ระบบขนส่งอัจฉริยะ (English: intilligent transport system หรือ ITS) ที่มีตารางเวลาการเดินรถค่อนข้างแน่นอน เพื่อความตรงต่อเวลาและความปลอดภัย ขณะที่เส้นทางการเดินรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษมีความยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง และใช้ค่าก่อสร้างเพียง 80-120 ล้านบาทต่อกิโลเมตร หรือประมาณ 8% ของต้นทุนระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่ใช้เงินลงทุนถึง 1,400 ล้านบาทต่อกิโลเมตร และถูกกว่ารถไฟฟ้าใต้ดิน ที่ใช้เงินลงทุนสูงถึง 3,000 ล้านบาทต่อกิโลเมตร ทั้งยังสามารถก่อสร้างได้รวดเร็วไม่เกิน 1 ปีต่อเส้นทาง หรือเร็วกว่ารถไฟฟ้าถึง 3 เท่า[3]", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "142881#12", "text": "กรุงเทพมหานคร โดยสำนักการจราจรและขนส่ง ได้จัดทำแผนการพัฒนาระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษเช่นเดียวกันกับ สนข. ตามนโยบายของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในขณะนั้น ในชื่อโครงการ บางกอกบีอาร์ที (English: Bangkok BRT)", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" }, { "docid": "253441#0", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด หรือ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการก่อสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สถานี เกิดแนวคิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2551 ในสมัยของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มุ่งหวังรองรับบริการข้าราชการกว่า 30,000 คนที่ทำงานภายในศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร และเมืองทองธานี คาดว่าจะมีปริมาณผู้โดยสาร 56,000 คนต่อวัน และใช้เงินลงทุนประมาณ 2,000 ล้านบาท", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด" }, { "docid": "576781#1", "text": "การคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ดำเนินการระบบขนส่งต่าง ๆ ดังนี้ รถไฟชานเมือง, รถไฟใต้ดิน, รถไฟฟ้ารางเบา, รถโดยสารประจำทาง, รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ, รถโดยสารประจำทางไฟฟ้า และ เรือเฟอร์รี", "title": "การคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์" }, { "docid": "564496#1", "text": "http://www.lamata-ng.com/newsreader79.html\nThis is from the Lagos operator site. Careful planning is needed", "title": "รายชื่อระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ" }, { "docid": "576752#0", "text": "องค์การขนส่งมวลชนมหานครแอตแลนตา เป็นระบบขนส่งมวลชนหลักในเมืองแอตแลนตา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1971 ประกอบด้วยระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ และ รถไฟใต้ดิน (รถไฟใต้ดิน มีระยะทาง 38 สถานี) สถิติผู้โดยสารต่อวันทั้งหมด คือ 422,400 คน", "title": "องค์การขนส่งมวลชนมหานครแอตแลนตา" }, { "docid": "142881#23", "text": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด", "title": "รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล" } ]
1538
มีการถ่ายภาพแอมัลเธียได้ใน พ.ศ.อะไร?
[ { "docid": "630705#2", "text": "มีการถ่ายภาพแอมัลเธียได้ใน พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2523 โดยยานอวกาศวอยเอจเจอร์ 1 และ 2 และต่อมาในช่วงทศวรรษ 1990 โดยยานอวกาศกาลิเลโอ[3]", "title": "แอมัลเธีย (ดาวบริวาร)" } ]
[ { "docid": "153751#1", "text": "มิวสิกวิดีโอ ถ่ายทำโดยแอนดริว แมกนอตัน ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการอำนวยการสร้าง ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547 สถานที่ถ่ายทำคือท่าอากาศยานนานาชาติโทรอนโตเพียร์สัน และแพร่ภาพหลังจากนั้น 2 เดือน โดยมิวสิกวิดีโอเพลงนี้บรรจุในดีวีดี \"อัลทิเมตบ็อก\"", "title": "ยูแอนด์ไอ" }, { "docid": "28360#54", "text": "เพชรพระอุมาได้นำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ระบบ 35 มม. ซีเนมาสโคป สร้างโดย วิทยาภาพยนตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2514 หลังซื้อลิขสิทธิ์จากพนมเทียน วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2513 ถ่ายทำเกือบตลอดทั้งเรื่องภายในประเทศไทยและแอฟริกา [34] กำกับโดย ส. อาสนจินดา บทภาพยนตร์โดย ประสิทธิ์ ศิริบันเทิง ถ่ายภาพโดย พูนสวัสดิ์ ธีมากร เพลงประกอบโดย สุรพล โทณะวณิก ฉายที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมไทยรอบปฐมทัศน์ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2514", "title": "เพชรพระอุมา" }, { "docid": "813778#9", "text": "ในห้องตัดสิน กรรมการประทับใจกับภาพถ่ายของ เจีย, บินต้า, ไคล์, คอร์ทนีย์, มาริสซ่า, ทาช และทาเทียน่า โดยเฉพาะ โคดี้ ถ่ายภาพออกมาดูเหมือนสุดยอดนางแบบ ทำให้เธอถูกเรียกชื่อเป็นคนแรก ในขณะที่ เพจ และ อินเดีย ได้รับคำวิจารณ์ที่แตกต่างกันออกไป เชริช ถูกวิจารณ์ว่า โครงหน้าที่ถ่ายออกมาไม่ใช่มุมที่ดีของเธอ คริสเลี่ยน ถูกตำหนิว่าถ่ายภาพออกมาดูไม่โดดเด่น และมีข้อแก้ตัวกับคณะกรรมการ จัสตินและโครี่แอน ต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย เนื่องจาก ภาพของจัสติน กรรมการคิดว่าใบหน้าเธอดูสวยเป็นอย่างมาก แต่การโพสท่าดูเป็นพื้นฐานเกินไป และโครี่แอน ถ่ายภาพออกมาไม่แสดงถึงตัวตน และไม่ขายชุดที่ใส่ สุดท้ายแล้ว โครี่แอน ได้ไปต่อในการแข่งขัน ทำให้ จัสติน ต้องถูกส่งกลับบ้านเป็นคนแรก ", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 23" }, { "docid": "300471#23", "text": "การถ่ายภาพในครั้งนี้สาวๆจะได้เป็นแวมไพร์สาว โดยจะต้อง โพสท์ท่าในอ่างที่เต็มไปด้วยเลือด กับแวมไพร์หนุ่มโดยการในการถ่ายภาพครั้งนี้ อเลเชีย, เรน่า และ ทาเทียน่าทำออกมาได้ดี แต่ ซีโมน, แอนสลีย์ และคริสต้ากลับมีปัญหา ในห้องตัดสินกรรมการรักภาพของอเลเชียที่สุด และตัดสินใจให้เธอถูกเรียกชื่อคนแรกเป็นครั้งที่สองติดต่อกัน ส่วนภาพของ แอนสลีย์ และ ซีโมนออกมาไม่ค่อยดีเท่าไหร่ ทั้งสองคนจึงต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย แอนสลีย์ ถ่ายภาพออกมาแย่ และมีข้อแก้ตัวตลอดเวลา ส่วนซีโมน ถ่ายภาพออกมา ดูเป็นการประดิษฐ์ท่า มากเกินไป และขาดแรงบันดาลใจในการถ่ายภาพ สุดท้ายเธอจึงต้องเป็นผู้ที่ถูกส่งกลับบ้าน", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 14" }, { "docid": "391196#38", "text": "ในห้องตัดสิน ไทร่า ได้บอกว่า เป็นหนึ่งในการตัดสินที่ยาวนานที่สุด เท่าทื่เคยมีมา ลิซ่าและแองเจลี ทำการแสดงออกมาได้แข็งแกร่ง พวกเธอจึงได้ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย ในทางกลับกัน แอลลิสันและลอร่า ต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย โดย ลอร่ามีบุคลิกที่ดูสดใส และน่ารัก แต่เธอจะกลับทำได้ไม่ดี ในการถ่ายภาพแฟชั่นชั้นสูง และแอลลิสัน ที่มีบุคลิกเงียบๆ แต่ดูมีเอกลักษณ์ในภาพถ่าย ในท้ายที่สุด แอลลิสัน ได้ถูกเลือกให้เข้าสู่การแข่งขันในรอบสุดท้าย และ ลอร่า ต้องถูกส่งกลับบ้านในสัปดาห์สุดท้าย สาวๆที่เหลือสามคนสุดท้าย จะได้ถ่ายภาพและโฆษณาให้กับ คัฟเวอร์เกิร์ล อินเทนส์ ชาโดว์ แบลส แองเจลี ทำออกมาได้ดีทั้งสองอย่าง ในขณะที่ ลิซ่า ต้องพยายามอย่างหนักในการพูดคำว่า \"โอ้ ใช่!\" และอีกครั้ง ที่ตาของ แอลลิสัน ไม่สามารถสู้แสงแรงๆได้ แต่พวกเธอทั้งสองคน ก็พยายาม ทำออกมาได้ดีที่สุด ในขณะที่ แองเจลี ทำออกมาได้ดี ทั้งการถ่ายภาพ และการถ่ายโฆษณา", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 17" }, { "docid": "788519#0", "text": "วิลสัน อัลวิน \"สโนว์เฟลก\" เบนต์ลีย์ (; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1865 – 23 ธันวาคม ค.ศ. 1931) เป็นช่างภาพชาวอเมริกัน เป็นหนึ่งในช่างภาพคนแรก ๆ ที่ถ่ายภาพเกล็ดหิมะ เบนต์ลีย์เกิดที่เมืองเจอริโค รัฐเวอร์มอนต์ เขาสนใจผลึกน้ำแข็งมาตั้งแต่สมัยเป็นวัยรุ่นและทดลองติดกล้องเข้ากับกล้องจุลทรรศน์ วิธีนี้ทำให้เบนต์ลีย์สามารถถ่ายภาพเกล็ดหิมะภาพแรกได้ในปี ค.ศ. 1885 ตลอดชีวิต เบนต์ลีย์ถ่ายภาพเกล็ดหิมะมากกว่า 5,000 ภาพ งานของเขาได้รับความสนใจในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 หลังตีพิมพ์ในนิตยสารของเฮนรี คร็อกเกอร์และได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารที่มีชื่อหลายฉบับ เช่น \"เนชันแนล จีโอกราฟิก\", \"เนเจอร์\", \"ปอปูลาร์ไซแอนส์\" และ \"ไซแอนทิฟิกอเมริกัน\" และสถานศึกษาหลายแห่งขอภาพของเขาไปศึกษา", "title": "วิลสัน เบนต์ลีย์" }, { "docid": "300471#63", "text": "โดยปกติแล้วในหลายๆ ฤดูกาลจะแข่งขันกัน 12 สัปดาห์แต่ฤดูกาลนี้ในสัปดาห์ที่ 2 มีการแข่งขัน 2 ครั้งจึงทำให้จำนวนสัปดาห์ในการแข่งขันทั้งหมดลดลงมาเหลือ 11 สัปดาห์ สัปดาห์ที่ 1 : ถ่ายภาพเลียนแบบบุคลิกนางแบบที่มีชื่อเสียง (รอบคัดเลือก) สัปดาห์ที่ 2 : ครั้งที่ 1: ถ่ายภาพนู้ด เพื่อโฆษณาให้กับเครื่องประดับของ คัสโต บาร์เซโลน่า ครั้งที่ 2: ถ่ายภาพโคลสอัพบิวตี้ ช็อท เพื่อโฆษณาให้กับน้ำหอม บลู เพอร์ฟูม สัปดาห์ที่ 3 : ถ่ายภาพการเต้นรำในรูปแบบต่างๆ สัปดาห์ที่ 4 : ถ่ายภาพเป็นแวมไพร์สาว ในอ่างที่เต็มไปด้วยเลือด สัปดาห์ที่ 5 : ถ่ายภาพแฟชั่นเกินๆ ด้วยเสื้อผ้าที่เป็นของปลอม สัปดาห์ที่ 6 : ถ่ายภาพเป็นสาวในอาชีพต่างๆที่ใช้ผลิตภัณฑ์ คัฟเวอร์เกิร์ล สโมคกี้ ชาโดว์ แบลส ในรถไฟใต้ดิน สัปดาห์ที่ 7 : ถ่ายภาพในชุดที่ทำมาจากวิกผมปลอมขนาดใหญ่ สัปดาห์ที่ 8 : ถ่ายภาพกับแกะในทุ่งหญ้าของนิวซีแลนด์ โดยสวมเสื้อผ้าชุดเดียวกัน สัปดาห์ที่ 9 : ถ่ายภาพโคลสอัพบิวตี้ ช็อท เล่นฉากแสงและเงา สัปดาห์ที่ 10 : ถ่ายภาพให้มีความอัปลักษณ์กับความงามภายในภาพเดียวกัน ในสไตล์ วิกตอเรียน เออร่า สัปดาห์ที่ 11 : ถ่ายภาพและโฆษณา ให้กับ คัฟเวอร์เกิร์ล แบลส คอลเลคชั่น, ถ่ายภาพขึ้นปก นิตยสารเซเว่นทีน, ถ่ายภาพร่วมกับสมาชิกภายในครอบครัว, เดินแบบในระดับมืออาชีพ ในธีมละครสัตว์ ร็อคแอนด์โรลของ แอนนา สวีท", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 14" }, { "docid": "6011#5", "text": "ในปี พ.ศ. 2449 เปอร์ซิวัล โลเวลล์ เศรษฐีนครบอสตัน ผู้ซึ่งก่อตั้งหอดูดาวโลเวลล์ ในแฟลกสแตฟฟ์ รัฐแอริโซนา ในปี พ.ศ. 2437 ได้เริ่มภารกิจการค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่เก้า เขาได้ให้ชื่อไว้ว่า \"ดาวเคราะห์ X\"[16] ในปี พ.ศ. 2452 โลเวลล์และวิลเลียม เอช. พิกเกอร์ริง ได้เสนอพิกัดดาราศาสตร์ที่เป็นไปได้ของดาวเคราะห์นี้[17] โลเวลล์และทางหอดูดาวของเขายังคงดำเนินการค้นหาต่อไป จนกระทั่งโลเวลล์เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2459 แต่ก็ไม่ได้ทำให้การค้นหาหยุดชะงักลง ก่อนการเสียชีวิตของโลเวลล์ คณะสำรวจของเขาก็ได้ถ่ายภาพเบลอของดาวพลูโตสองภาพ ภาพแรกถ่ายเมื่อวันที่ 19 มีนาคม และอีกภาพถ่ายเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2458 แต่พวกเขาก็ไม่ได้ยอมรับในสิ่งที่พวกเขาพบ[17][18] นอกจากนั้นยังมีการสำรวจ 14 ครั้งก่อนการค้นพบ โดยครั้งเก่าแก่ที่สุดมีขึ้นที่หอดูดาวเยอร์เกส เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2452[19]", "title": "ดาวพลูโต" }, { "docid": "579465#1", "text": "กำหนดการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อเรื่องนี้มีการประกาศขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2555 หลังจากภาพยนตร์\"ดิ อเวนเจอร์ส\"ออกฉายและประสบความสำเร็จ โดยวีดอนผู้ซึ่งกำกับภาพยนตร์ภาคแรกได้รับเชิญกลับมากำกับภาคต่อนี้อีกครั้งซึ่งเป็นข่าวประกาศเมื่อสิงหาคมปีเดียวกัน ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 วีดอนได้เขียนบทฉบับร่างเสร็จสมบูรณ์ และได้ดำเนินการคัดเลือกนักแสดงในเดือนมิถุนายนปีเดียวกัน โดยมีดาวนีย์กลับมาทำสัญญารับบทเดิมอีกครั้ง กองถ่ายรองได้เริ่มการถ่ายทำล่วงหน้าไปก่อนตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ในประเทศแอฟริกาใต้ ส่วนกองถ่ายหลักได้เริ่มการถ่ายทำอย่างเป็นทางการตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงสิงหาคมปีเดียวกัน โดยส่วนใหญ่ถ่ายทำที่สตูดิโอเชพเพอร์ตันในเซอร์รีย์ ประเทศอังกฤษ และฉากเสริมอีกบางฉากถ่ายทำที่อิตาลี เกาหลีใต้ บังคลาเทศ นครนิวยอร์ก และอีกหลายสถานที่ในประเทศอังกฤษ หลังจากนั้นในช่วงโพสท์โปรดักชันยังได้รับการทำให้กลายเป็นภาพยนตร์สามมิติ และมีฉากที่เป็นเทคนิกภาพพิเศษกว่า 3,000 ฉาก", "title": "อเวนเจอร์ส: มหาศึกอัลตรอนถล่มโลก" }, { "docid": "168797#3", "text": "นอกจากนี้ ร.ต.อ.สุรัตน์ ยังเป็นนักถ่ายภาพชั้นแนวหน้าของประเทศไทย เป็นผู้สะสมกล้องถ่ายภาพ และอุปกรณ์การถ่ายภาพ ไว้กว่า 3,000 ชิ้น จนได้รับรางวัลศิลปินนักถ่ายภาพไทย จากสมาพันธ์การถ่ายภาพไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545, รางวัลผลงานภาพถ่าย เดอะอีเลฟเว่นไตรอังแนล (The XI Triennale) จัดโดย สถาบันลาลิทฆาลา (Lalit Kala Akademi) กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 และรางวัลโฟโต้ซิตี้ซากามิฮาร่า สาขาเอเชีย จากงานเทศกาลภาพถ่ายแห่งเมืองซากามิฮาร่า ครั้งที่ 6 ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549", "title": "สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์" }, { "docid": "969093#1", "text": "อาจารย์ วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร ปัจจุบันอายุ 64 ปี เกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พุทธศักราช 2497 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนวัดราชสิงขร ในราวปี พ.ศ. 2523 เห็นประกาศในหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งว่ามีการอบรมการถ่ายภาพของวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ จึงเข้ามาสมัครเรียน ได้เรียนกับ อ.พูน เกษจำรัส (ศิลปินแห่งชาติด้านภาพถ่ายท่านแรก ปี พ.ศ. 2531) รวมถึง อ.สุมิตรา อ.อาภรณ์ และ อ.สุรพงษ์ เรียนถึง 4 คอร์ส จากนั้นจึงสมัครเข้าเป็นสมาชิกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูประถัมภ์ ในปี พ.ศ. 2525และเข้าอบรมการถ่ายภาพทั้งในและต่างประเทศ พร้อมทั้งฝึกฝนการถ่ายภาพอย่างสม่ำเสมอมากว่า 40 ปี\"เมื่อตอนเด็กๆ เริ่มทำงานตั้งแต่อายุ 15 ปี เป็นพนักงานขายเสื้อผ้าวิ่งตามต่างจังหวัด เดินทางทั่วประเทศโดยในช่วงระหว่างที่เดินทางไปแต่ละจังหวัดของประเทศไทย ได้เห็นทั้งภูมิทัศน์ บรรยากาศต่างๆ ในระหว่างที่เราไป มันสวยงาม เลยคิดว่า อยากจะฝึกถ่ายภาพและเก็บรูปต่างๆมาเป็นเจ้าของ ก็เลยเริ่มฝึกถ่ายภาพมาตั้งแต่เด็ก\" คือคำบอกเล่าจุดเริ่มต้นของการทำงานเมื่อจบการศึกษาโดย อาจารย์ วรนันทน์ เริ่มทำงานเป็นพนักงานขายส่งสินค้า และปัจจุบันเป็นผู้จัดการบริษัท โฟโต้ฮอบบี้ จำกัด อาจารย์ วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร เป็นศิลปินที่สร้างสรรค์ภาพถ่ายได้โดดเด่น และมีเอกลักษณ์เฉพาะตน เน้นการถ่ายภาพที่ให้แสงธรรมชาติตามที่พบ และสามารถนำเสนอด้วยศิลปะการถ่ายภาพในแง่มุมต่าง ๆ ที่มีความงดงาม ขณะเดียวกันก็จะทำคำอธิบายรายละเอียดการถ่ายภาพและสถานที่ เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ที่สนใจและต้องการเรียนรู้วิธีการถ่ายภาพ ที่สำคัญภาพถ่ายเหล่านี้ยังได้ถ่ายทอดความงดงามของสถานที่จนทำให้ผู้พบเห็นอยากไปเยือน จึงถือได้ว่ามีส่วนช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกทางหนึ่ง", "title": "วรนันทน์ ชัชวาลทิพากร" }, { "docid": "260729#19", "text": "ต่อมาคือการถ่ายภาพที่ครั้งนี้มีช่างภาพเป็นนางแบบชื่อดังอย่าง ไทร่า แบงค์ ที่มาถ่ายภาพให้สาวๆด้วยตนเอง หัวข้อของการถ่ายแบบคือ การถ่ายบิวตี้ ช็อท กับ ผ้าทอ โดยรวมแล้วการถ่ายภาพครั้งนี้ บริททานี่ และ เอริน เป็นที่น่าพอใจ ส่วน บีอังก้า, แอชลีย์ และ ซันเด ออกมาไม่น่าพอใจเท่าไหร่ หลังจากการถ่ายภาพเสร็จสิ้นลงไทร่าได้ออกมาประกาศว่า บริททานี่ เป็นคนที่มีประสิทธิภาพในการถ่ายภาพครั้งนี้มากที่สุด และ เธอสมควรที่จะได้สิทธิ์คุ้มกันการถูกคัดออกไป มาถึงห้องตัดสิน แอชลีย์ และ ลอร่า ถูกติเรื่องการแต่งกาย รวมไปถึงภาพที่ออกมาไม่ค่อยดีเท่าไหร่อย่าง แอชลีย์, บีอังก้า และคาร่า การเรียกชื่อเริ่มต้นขึ้นจนกระทั่งเหลือเพียง 2 คนสุดท้ายนั้นคือ บีอังก้า และ แอชลีย์ ผลที่ออกมาคือ บีอังก้าต้องเป็นคนที่ถูกส่งกลับบ้าน เนื่องจากการสื่อที่ออกมาทางหน้าตา ยังไม่หนักแน่นเพียงพอ ", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13" }, { "docid": "478363#9", "text": "โดยกล้องหลักมีความละเอียด 8 ล้านพิกเซล โดยมีรูรับแสง f/2 ,ออโตโฟกัส และ แอลอีดีแฟลช ที่มีชื่อว่า เอชทีซี สมาร์ตแฟลชพร้อมกับการปรับแสงสว่าง 5 ระดับ และมีเอชทีซี อิมเมจ ชิพ มาด้วย โดยการถ่ายภาพสามารถถ่ายได้ใน 0.7 วินาที และ 0.2 วินาที ต่อภาพ โดยสามารถถ่ายได้เร็วกว่า ซัมซุง กาแลคซีเน็กซัส ส่วนกล้องวิดีโอ สามารถบันทึกภาพในความละเอียด เอชดี 1080p ที่ 30 ภาพต่อวินาที และ 10 เมกาบิตต่อวินาทีโดยวิดีโอแบบสโลว์โมชัน จะบันทึกได้ในความละเอียด 432p (768 x 432 พิกเซล) รวมถึงการถ่ายแบบ เอชดีอาร์ (High Dynamic Range) และ พาโนรามา ซึ่งวันเอ็กซ์จะไม่มีปุ่มสำหรับถ่ายภาพโดยเฉพาะ", "title": "เอชทีซี วันเอ็กซ์" }, { "docid": "277137#8", "text": "ก่อนเหตุการณ์ที่แอนดีถูกยิง ชาร์ลส์พ่อของเขาได้สืบหาหลักฐานจนพบว่าแอนดีมีส่วนในการปล้นครั้งนั้นด้วย เมื่อแอนดีถูกส่งไปโรงพยาบาลเพื่อรักษาบาดแผลจากการถูกยิง ชาร์ลส์ได้เข้าไปเยี่ยมเขา แอนดีที่กำลังอ่อนแรงอยู่บนเตียงคนไข้ได้ขอโทษต่อชาร์ลส์ในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ต้องบาดหมางกันและกล่าวว่า การตายของนาเนตต์เป็นอุบัติเหตุ เมื่อได้ยินดังนั้น ชาร์ลส์ก็ให้อภัยเขาแต่ทว่าเขาก็ตัดสินใจฆ่าแอนดีโดยใช้หมอนมาปิดหน้าของแอนดีจนหายใจไม่ออกและเสียชีวิตในที่สุดภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้การถ่ายทำด้วยวิดีโอความละเอียดสูงที่ลูเมต ผู้กำกับภาพยนตร์เรื่องนี้ เคยทดลองใช้มาแล้วกับภาพยนตร์ชุดเรื่อง \"100 Centre Street\" ที่ตัวเขาเองเป็นผู้กำกับและฉายทางโทรทัศน์ในสหรัฐอเมริกาไปเมื่อปี พ.ศ. 2544-2545 ส่วนสถานที่ถ่ายทำในฉากหลัก ๆ นั้นอยู่ภายในรัฐนิวยอร์กทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นฉากร้านเครื่องประดับของชาร์ลส์และนาเนตต์ที่ถ่ายทำที่ศูนย์การค้าเบย์เทอร์เรซในเบย์ไซด์ เขตควีนส์ หรือฉากห้องทำงานของแอนดีที่ถ่ายทำกันในอาคารทรัมป์เวิลด์ทาวเวอร์ปีกตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งสามารถสันนิษฐานได้จากภาพของอาคารไครส์เลอร์และอาคารเอมไพร์สเตทที่ปรากฏผ่านหน้าต่างของห้องในฉากนี้", "title": "ก่อนปีศาจปิดบาปบัญชี" }, { "docid": "903745#22", "text": "การถ่ายภาพในสัปดาห์นี้ พวกเธอจะต้องถ่ายภาพแบบบิวตี้ช็อต เน้นเฉพาะใบหน้า เพื่อโชว์พลังและความร้อนแรงในดวงตา โดยพวกเธอจะต้องถ่ายเป็นกลุ่มสามคน นอนทับซ้อนกันเป็นชั้น เหมือนกับ แซนด์วิช ซึ่งซานดร้า ที่เป็นผู้ชนะการแข่งขันในครั้งก่อน จะได้สิทธิพิเศษ โดยได้ แอชลีย์ มาร่วมถ่ายภาพกับกลุ่มของเธอ รวมถึง จะได้รับคำแนะนำพิเศษเพิ่มเติมจาก แอชลีย์ อีกด้วย ซึ่งสาวๆได้จับกลุ่มกันดังนี้", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 24" }, { "docid": "353344#0", "text": "เสาแห่งการก่อกำเนิด () เป็นภาพที่ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลของเสาอันเกิดจากแก๊สและฝุ่นระหว่างดวงดาวในเนบิวลาอินทรีซึ่งก่อขึ้นเป็นรูปเสา ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2538 และขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในสิบภาพที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากล้องฮับเบิลโดยสเปซ.คอม นักดาราศาสตร์ที่รับผิดชอบการถ่ายภาพดังกล่าวคือ เจฟ เฮสเตอร์ และ พอล สโกเวน จากมหาวิทยาลัยแอริโซนาสเตต เสาที่สูงที่สุด (เสาซ้ายสุดในภาพ) มีความสูงประมาณ 4 ปีแสง ดาวฤกษ์ในส่วนนี้ของเนบิวลาอินทรีก่อตัวขึ้นจากดาวฤกษ์ดวงอื่นที่กำลังกัดกร่อนที่ส่วนที่แก๊สยื่นออกมา ซึ่งทำให้ก่อตัวเป็นรูป\"ไข่\" หรือ\"เม็ดก๊าซกลมทีกำลังระเหย\" () ออกจากส่วนที่ยื่นออกมานี้ \"ไข่\" แต่ละฟองมีขนาดราวกับระบบสุริยะและเป็นที่พักของดาวฤกษ์เกิดใหม่ ดาวที่เห็นบริเวณกลางภาพค่อนข้างไปทางซ้ายเป็นดาวมวลมากที่เกิดใหม่ ซึ่งจะใช้ชีวิตไปอีกไม่กี่ล้านปีก่อนที่จะระเบิดเป็นซุเปอร์โนวาส่งธาตุที่ผลิตขึ้นใหม่ไปทั่งบริเวณ อาจเป็นสาเหตุให้โครงสร้างเสาได้ถูกทำลายลงด้วยซุเปอร์โนวาแห่งหนึ่ง", "title": "เสาแห่งการก่อกำเนิด" }, { "docid": "485370#0", "text": "ไดแอน อาร์บัส (; 14 มีนาคม พ.ศ. 2466 – 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2514) เป็นช่างภาพหญิงชาวอเมริกัน เจ้าของวลีที่ว่า “การถ่ายภาพเป็นความลับของความลับ ยิ่งมันบอกคุณมากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งรู้น้อยลงเท่านั้น” (A photograph is a secret about a secret. The more it tells you the less you know) ซึ่งเป็นที่รู้จักจากผลงานภาพถ่ายที่มักจะถ่ายทอดเรื่องราวของเหล่ามนุษย์ประหลาด เช่น คนแคระ, มนุษย์ร่างยักษ์, คนที่แปลงเพศ, ชีเปลือย และ นักแสดงละครสัตว์ รวมถึงการถ่ายภาพของคนปกติที่มีหน้าตาที่ผิดแปลกไปจากธรรมดา ไดแอนเชื่อว่า “กล้องถ่ายภาพจะเป็นวัตถุที่เย็นชาและหยาบกระด้างในบางครั้ง” แต่ความละเอียดถี่ถ้วนของมันจะช่วยเผยความจริงให้ปรากฏ  ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่คนเราอยากจะให้คนอื่นเห็นกับสิ่งที่คนอื่นมองเห็นจริง ๆ  นั่นคือ ‘จุดบกพร่อง’ เธอเคยพูดว่ากลัวที่จะถูกคนอื่น ๆ มองว่าเป็นเพียงแค่ \"ช่างถ่ายรูปของคนบ้า\" อย่างไรก็ดี วลีนี้ถูกหยิบยกขึ้นมาใช้อธิบายตัวตนของ ไดแอน อาร์บัส อยู่หลายต่อหลายครั้ง", "title": "ไดแอน อาร์บัส" }, { "docid": "754150#9", "text": "การถ่ายภาพในสัปดาห์นี้ พวกเธอได้เดินทางมาพบกับ แดเนียล บอย อดีตผู้กำกับการถ่ายภาพในฤดูกาลที่ 1 รวมถึง นาตาลี จากฤดูกาลที่ 2 และโมนิก้า จากฤดูกาลที่ 3 และ เกล็น ตัน ผู้บริหารของ รถยนต์ ซูบารุ โดยเขาได้อธิบายถึงการถ่ายภาพในครั้งนี้ว่า พวกเธอจะได้ใส่ชุดราตรียาวนั่งรถยนต์ ซูบารุ ที่ขับมาด้วยความเร็วสูง และหมุนตัวอย่างแรง ก่อนที่จะลงมาโพสท่าเพื่อแสดงถึงความสมดุลของร่างกาย และความพริ้วไหวของชุด ในการถ่ายภาพนั้น แองจี้, แพทริเซีย, ตะวัน, จูเลียน, เมย์ และตูติ ทำออกมาได้ดี และน่าประทับใจ แต่ อไลซา, เกว็น, อาดิลลา และเจสสิก้า กลับต้องพยายามกันอย่างหนัก ในขณะที่ ซางอิน ถูกตำหนิในเรื่องทัศนคติระหว่างการถ่ายภาพ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4" }, { "docid": "485370#10", "text": "ในปี ค.ศ.1956 ไดแอนได้เลิกทำธรุกิจการถ่ายภาพเพื่อการพาณิชย์ ถึงแม้ว่าในช่วงแรก ๆ เธอจะเคยศึกษาการถ่ายภาพกับ  Berenice Abbott แต่ต่อมาไดแอนก็ได้ไปศึกษากับ Lisette Model แทน การเริ่มต้นเรียนรู้การถ่ายภาพในปี ค.ศ.1956 เป็นจุดเริ่มต้นของเอกลักษณ์และวิธีการถ่ายภาพในรูปแบบเฉพาะของไดแอน งานชิ้นแรกๆ ของเธอ คือ การถ่ายภาพให้กับนิตยสาร Esquire, Harper's Bazaar, และ The Sunday Times Magazine ในปี ค.ศ.1959 และช่วงราว ๆ ปี ค.ศ.1962 ไดแอนได้เปลี่ยนจากการใช้กล้อง 35 มม. กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวของ Nikon ที่จะให้ภาพเป็นจุด ๆ เล็ก ๆ ในกรอบทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ไดแอนได้เปลี่ยนมาใช้กล้องสะท้อนภาพเลนส์คู่อย่าง Twin-lens reflex ของ Rolleiflex  twin-lens reflex Rolleiflex ซึ่งจะให้ภาพที่แสดงรายละเอียดได้ดีกว่ามาก", "title": "ไดแอน อาร์บัส" }, { "docid": "497778#17", "text": "ต่อมา สาวๆได้นั่งเรือยอร์ชมาที่ นองซา พอยท์ มารีน่า แอนด์ รีสอร์ท ที่บาตัม ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อถ่ายภาพประจำสัปดาห์ โดยจะต้องสวมบทบาทเป็น สาวชายฝั่งรีเวียร่าฝรั่งเศส และยังต้องถ่ายร่วมกับนายแบบชายอีกด้วย เคท ทำออกมาได้อย่างน่าประทับใจระหว่างการถ่ายภาพ สเตฟานี่ ต้องต่อสู้กับแสงแดด ที่เข้าตาเธออย่างรุนแรง เจสสิก้า มีแรงบันดาลใจในการถ่ายภาพ ซึ่งทำให้เธอถ่ายภาพออกมาได้อย่างสวยงาม ในขณะที่ ทรัง ประสบปัญหาอีกครั้ง ในการสื่อสารกับช่างภาพให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ซึ่งนั่นทำให้ แดเนียล ถึงกับระเบิดอารมณ์ใส่เธออย่างรุนแรง", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "679661#2", "text": "การถ่ายทำเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2558 โดยยกทีมงานไปถ่ายทำกว่า 30 ชีวิต และเก็บภาพอยู่นานเดือนกว่า ๆ ก่อนจะกลับมาเปิดตัวอย่างเป็นทางการภายในงานเปิดตัวแอปพลิเคชันไลน์ทีวีที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา", "title": "STAY ซากะ..ฉันจะคิดถึงเธอ" }, { "docid": "485370#14", "text": "ในปี ค.ศ.1970 จอห์นได้ว่าจ้างไดแอนเพื่อทำการศึกษาวิเคราะห์นิทรรศการเกี่ยวกับการถ่ายภาพเพื่อการถ่ายทอดข้อเท็จจริง \"From the Picture Press\" ซึ่งได้รวมถึงภาพถ่ายหลาย ๆ ภาพของช่างภาพอย่างวีกี้ Weegee ที่ไดแอนชื่นชอบไว้ด้วย", "title": "ไดแอน อาร์บัส" }, { "docid": "939106#22", "text": "ในห้องตัดสิน พิม ได้รับคำชมว่า มีพัฒนาการที่ดี แต่ถูกตำหนิว่าภาพของเธอนั้น อ้าปากเยอะเกินไป เดนา ได้รับคำชมในภาพถ่ายที่ดูโดดเด่น และดูไม่ขายของมากจนเกินไป มีอา ได้รับการตอบรับที่ดี แต่ถูกตำหนิว่าถ่ายภาพออกมามีมิติเดียว และโพสท่าเยอะเกินไป อเดลา ได้รับคำชมในการแสดงอารมณ์ทางสีหน้า และขายชุดที่เธอใส่ ภาพของบิวติ ออกมาโดดเด่น และเป็นแฟชั่นชั้นสูงมาก เธอจึงได้รับคะแนนสูงที่สุดในสัปดาห์นี้ วี ต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย จากภาพที่ออกมาดูแก่กว่าความเป็นจริง และกรรมการไม่ชอบการแสดงออกทางสีหน้าของเธอในภาพ ร่วมกับ จากิน ที่การถ่ายภาพในสัปดาห์นี้เธอดูขาดความมั่นใจ และแววตาในภาพนั้นดูว่างเปล่า รวมถึงกรรมการรู้สึกเธอมีข้อแก้ตัวที่ทำออกมาได้ไม่ดี เมื่อรวมคะแนนออกมาแล้ว ปรากฏว่า วี ได้ไปต่อในการแข่งขัน และจากิน ต้องถูกส่งกลับบ้าน ท่ามกลางความตกกตะลึงของสาวๆที่เหลืออยู่ เมื่อกลับถึงบ้านพัก บิวติ รู้สึกดีใจที่เธอเป็นคนแรก ที่สามารถถ่ายภาพได้ดีที่สุดถึงสองครั้งแล้ว ในขณะที่ วี ยังคงรู้สึกเศร้าใจ เนื่องจากเธอคิดว่า จากิน เหมาะสมที่จะได้อยู่ในการแข่งขันต่อมากกว่าตัวเธอ วันต่อมา เมนเทอร์ของพวกเธอ ได้เข้ามาพบกับพวกเธอเพื่อพูดคุย และแจ้งให้ทราบว่า นับจากตอนนี้ไป เมนเทอร์จะไม่สามารถเข้ามาช่วยเหลือพวกเธอในการแข่งขันได้อีกต่อไปแล้ว ต่อมา ยู ไซ ได้เข้ามาพบกับพวกเธอที่บ้านพัก พร้อมพา พริสซิลล่า ไอแอนสัน แฟชันสไตลิสต์ของรายการมาด้วย เนื่องจากการแข่งขันในสัปดาห์นี้ พวกเธอจะต้องถ่ายภาพเพื่อบอกเล่าเรื่องราว ผ่านสไตล์การแต่งตัวทั้งสามแบบ โดยใช้กล้องจากโทรศัพท์มือถือ หัวเหว่ย พี 20 โปร ซึ่งพวกเธอจะได้จับกลุ่มกันสามคนเพื่อถ่ายภาพกันในแต่ละแนว ซึ่งในการแข่งขันนั้น สาวๆต่างช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนทำกันออกมาได้เป็นอย่างดี และกลุ่มของ บิวติ เดนา และอเดลา ทำออกมาได้ถูกใจ พริสซิลล่า มากที่สุด พวกเธอจึงเป็นทีมที่ชนะ และได้รับเวลาห้านาทีพิเศษเพิ่มในการถ่ายภาพประจำสัปดาห์", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6" }, { "docid": "125814#26", "text": "ปัจจุบัน ธีรเดชได้สมรสกับ บุษกร พรวรรณะศิริเวช โดยได้เข้ารับพระราชทานน้ำสังข์จาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2550 พร้อมทั้งจดทะเบียนสมรสธีรเดชมีงานอดิเรก ถ่ายภาพนิ่งและภาพยนตร์ ชอบเดินทาง ชอบสะสมของเก่าอย่างนาฬิกาหรือเฟอร์นิเจอร์เก่า ชอบกีฬาบาสเกตบอล และมีบุคคลชื่นชอบคือ Ernst Haas แอนส์ ฮาส ช่างภาพชาวเยอรมันซึ่งล่วงลับไปแล้ว บันทึกภาพไว้โดนใจยิ่ง ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่นชม หว่อง กา ไว หนังเรื่องโปรด Chungking Express หนังสือเล่มโปรด Cinematography Screencraft รวมผลงานของผู้กำกับภาพชื่อดังหลายคน ให้แนวคิด แรงบันดาลใจ และแนวทางในการถ่ายภาพแบบในหนังสือ", "title": "ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์" }, { "docid": "485370#9", "text": "ในช่วงต้นยุค 1940 พ่อของไดแอนได้ว่าจ้างให้เพื่อนช่างภาพของไดแอนมาถ่ายภาพเพื่อทำการโฆษณาห้างสรรพสินค้า และอลันเองก็ได้ไปเป็นช่างถ่าพให้กับกองทัพสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1946 หลังจากสงครามยุติลง ตระกูลอาร์บัสได้เริ่มต้นธุรกิจการถ่ายภาพเพื่อการพาณิชย์ โดยใช้ชื่อบริษัทว่า ‘Diane & Allan Arbus’ ซึ่งไดแอนได้ทำหน้าที่เป็นผู้กำกับศิลป์ และอลันมีหน้าที่ในฐานะตากล้อง พวกเขาถ่ายภาพให้กับนิตยสารแกลมเมอร์ (Glamour), เซเว่นทีน (Seventeen), โวก (Vogue), ฮาร์เปอร์ บาร์ซาร์ (Harper's Bazaar) รวมถึงนิตยสารเล่มอื่น ๆ ด้วย ถึงแม้ว่าพวกเขาทั้งสองโดยเฉพาะตัวไดแอนเองจะไม่ชอบการทำงานในวงการแฟชั่นเอาเสียเลย อย่างไรก็ตาม ผลงานการถ่ายภาพกว่า 200 ภาพ ที่พวกเขาถ่ายให้กับนิตยสาร Glamour และมากกว่า 80 ภาพที่ถ่ายให้กับนิตยสาร Vouge ภาพถ่ายแฟชั่นของไดแอนและอลันถูกกล่าวถึงว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพอยู่ในระดับกลาง ๆ ในบันทึกของ Edward Steichen ที่เขียนในปี ค.ศ.1955 เกี่ยวกับนิทรรศการภาพถ่าย The Family of Man ซึ่งได้รวมเอาภาพที่ถ่ายโดยตระกูลอาร์บัส ซึ่งเป็นภาพของพ่อและลูกชายกำลังอ่านหนังสือพิมพ์ ภาพนั้นก็ถูกวิจารณ์ว่าเป็นผลงานภาพถ่ายที่ไม่ได้มีคุณภาพอะไรมากนัก", "title": "ไดแอน อาร์บัส" }, { "docid": "630705#15", "text": "ในช่วง พ.ศ. 2522 – 2523 ยานอวกาศวอยเอจเจอร์ 1 และ 2 ได้ถ่ายภาพแรกของแอมัลเธียซึ่งแสดงให้เห็นถึงพื้นผิวของแอมัลเธีย[3] แอมัลเธียยังได้รับการตรวจวัดแสงทั้งในย่านความถี่ที่มองเห็นได้และย่านอินฟราเรดและตรวจวัดอุณหภูมิของพื้นผิว[10] ต่อมายานกาลิเลโอได้ถ่ายภาพพื้นผิวของแอมัลเธียโดยสมบูรณ์ ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ยานกาลิเลโอได้เข้าใกล้แอมัลเธียที่ความสูงประมาณ 160-170 กม. ยานได้ตรวจวัดมวลของแอมัลเธียอย่างแม่นยำและยานกาลิเลโอได้อาศัยแรงดึงดูดของแอมัลเธียในการเปลี่ยนวงโคจรเพื่อพุ่งเข้าไปยังดาวพฤหัสบดีในเดือนกันยายน พ.ศ. 2546 อันเป็นการสิ้นสุดภารกิจของยานกาลิเลโอ[14] ใน พ.ศ. 2549 วงโคจรของแอมัลเธียได้รับการตรวจสอบโดยละเอียดอีกครั้งโดยยานนิวฮอไรซันส์", "title": "แอมัลเธีย (ดาวบริวาร)" }, { "docid": "889504#0", "text": "การถ่ายภาพแบบแอลบูเมน () ได้รับการเผยแพร่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1847 โดย Louis Désiré Blanquart-Evrard และเป็นวิธีถ่ายภาพทางการค้าครั้งแรก ที่ตีพิมพ์ลงในกระดาษ ในลักษณะเนกาทีฟ โดยใช้แอลบูเมนที่พบได้ในไข่ขาวผสมเข้ากับสารเคมีบนกระดาษ จนภาพจัดเจนขึ้นเป็นภาพโพซิทีฟ วิธีนี้ใช้กันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1855 จนถึงเปลี่ยนศตวรรษที่ 20 โดยมีจุดสูงสุดระหว่างปี ค.ศ. 1860-90 จนช่วงกลางศตวรรษที่ 19 วิธีถ่ายภาพแบบการ์ตเดอวีซิตได้รับความนิยมกว่าวิธีแบบแอลบูเมน", "title": "การถ่ายภาพแบบแอลบูเมน" }, { "docid": "213988#51", "text": "ความใจเย็นและมีสติของแอลลิสันในการถ่ายภาพสร้างความประทับใจเป็นอย่างมาก ซีเลียก็ได้รับคำชมเชยเช่นเดียวกัน จากความสดใส อ่อนเยาว์ และยังมีความคิดสร้างสรรค์ในการโพสท์ท่าถ่ายภาพอีกด้วย ในขณะเดียวกันนั้น อมแนทก็ไมสามารถที่จะใช้ใบหน้าของตนเอง สร้างจุดเด่นในภาพถ่ายได้ นอกจากนั้น ทีโยน่ายังพบอุปสรรคมากมายขณะถ่ายถาพ จากสภาวะแวดล้อมต่างๆ ที่อยู่รอบตัว", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 12" }, { "docid": "630705#9", "text": "จากรูปร่างที่ไร้รูปทรงและขนาดที่ใหญ่ของแอมัลเธียทำให้ในอดีตได้มีการสรุปว่าแอมัลเธียมีส่วนประกอบหลักเป็นของแข็งและคงตัว[2] ซึ่งเป็นคำอธิบายว่าถ้าหากว่าส่วนประกอบหลักของดวงจันทร์เป็นน้ำแข็งหรือสสารอ่อนอื่น ๆ ส่วนประกอบเหล่านี้ควรจะถูกแรงดึงดูดของดวงจันทร์เองดึงออกจนกลายเป็นรูปทรงกลมมากกว่ารูปร่างดังเช่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในวันที่ 5 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ยานอวกาศกาลิเลโอได้บินผ่านในระยะห่างต่ำกว่า 160 กิโลเมตรจากแอมัลเธีย และระยะทางที่เบี่ยงเบนของวงโคจรของแอมัลเธียจะใช้ในการคำนวณหามวลของดวงจันทร์ (ปริมาตรของดวงจันทร์ได้คำนวณไว้ก่อนหน้านี้จากการวิเคราะห์ภาพถ่ายที่มีทั้งหมด คาดว่าจะมีความผิดพลาดไม่เกิน 10%) [3] ในที่สุดเราก็สามารถหาความหนาแน่นของแอมัลเธียได้ 0.86 กรัม ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร[14][15] ดังนั้นส่วนประกอบหลักของแอมัลเธียจะต้องเป็นน้ำแข็งหรือโครงสร้างของดวงจันทร์ต้องเป็นโพรงหรือรูพรุน หรือโครงสร้างหรือส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ผสมผสานกัน ในการวัดเมื่อเร็ว ๆ นี้ โดยกล้องโทรทรรศน์ซูบารุได้ชี้ว่าดวงจันทร์ประกอบด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนประกอบหลัก[16] ซึ่งดวงจันทร์ไม่สามารถก่อตัวขึ้นได้ที่ตำแหน่งปัจจุบัน เนื่องจากดาวพฤหัสบดีในยุคก่อกำเนิดจะมีความร้อนสูงมาก ซึ่งจะละลายดวงจันทร์ก่อนที่ดวงจันทร์จะก่อตัวขึ้นมาได้ ดังนั้น จึงเป็นไปได้สูงที่ดวงจันทร์จะก่อตัวในวงโคจรที่ห่างไกลจากดาวพฤหัสบดี หรืออาจจะเป็นวัตถุที่พลัดหลงเข้ามาในระบบสุริยะและถูกดาวพฤหัสบดีจับยึดไว้[14] เป็นที่น่าเสียดายว่าไม่มีภาพถ่ายจากยานในขณะที่บินผ่านเนื่องจากเกิดความเสียหายของกล้องถ่ายภาพของยานกาลิเลโอจากการแผ่รังสี ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2545 และภาพถ่ายอื่น ๆ ที่ได้มีความละเอียดต่ำ", "title": "แอมัลเธีย (ดาวบริวาร)" } ]
585
พระราชกฤษฎีกา คืออะไร ?
[ { "docid": "7917#0", "text": "พระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด", "title": "พระราชกฤษฎีกา" } ]
[ { "docid": "590267#9", "text": "ต่อมาวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่การเลือกตั้งไม่สามารถแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันดังกล่าวได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสอง ที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย", "title": "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557" }, { "docid": "161549#3", "text": "ดังนั้น จึงได้มีการนำแนวความคิดเรื่องการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในมุมมองต่าง ๆ มาใส่ไว้ในกฎหมายแม่บทของการปฏิรูประบบราชการ นั่นคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 และถ่ายทอดออกมาเป็น พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยนำแนวคิดเรื่องการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในพระราชบัญญัติดังกล่าว มาขยายความและลงรายละเอียดในมาตราต่าง ๆ ของพระราชกฤษฎีกาฯ เป็นหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการดำเนินการ\nนอกจากพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แล้วในการดำเนินงานของสำนักงาน ก.พ.ร. ยังได้ยึดหลักและแนวทางตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546 - 2550 ควบคู่กันไปด้วย", "title": "สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ" }, { "docid": "554448#4", "text": "พระราชกฤษฎีกาผู้ใช้แรงงานบัญญัติหลายสิ่ง เช่น", "title": "พระราชกฤษฎีกาผู้ใช้แรงงาน ค.ศ. 1349" }, { "docid": "233418#17", "text": "หนึ่งในเหตุการณ์สำคัญระหว่างรัชกาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือการตราพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (Edict of Versailles) หรือรู้จักกันในชื่อ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยขันติธรรม (Edict of Tolerance) ในวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1787 และได้รับการลงมติในรัฐสภา ณ วันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1788 พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ลบล้างผลของพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (Edict of Fontainebleau) ซึ่งถูกตราและบังคับใช้มากว่า 102 ปี พระราชกฤษฎีกาแวร์ซายรับรองให้ชาวคริสต์นอกนิกายโรมันคาทอลิก เช่น นิกายคาลวิน- อูเกอโนต์ (Calvinist Huguenots) นิกายลูเทอแรน เช่นเดียวกับชาวยิว ได้รับสถานะทางแพ่งและทางกฎหมายในฝรั่งเศส และเปิดให้คนเหล่านั้นสามารถเลือกนับถือความเชื่อใดก็ตามได้อย่างเปิดเผย แต่ถึงกระนั้นพระราชกฤษฎีกาแวร์ซายก็ไม่ได้ประกาศเสรีภาพในการนับถือศาสนาในฝรั่งเศสโดยตรง ซึ่งต่อมาอีกสองปีก็มีการตรากฎหมายที่รับรองเสรีภาพดังกล่าวขึ้นคือ ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ค.ศ. 1789 อย่างไรก็ตามนับได้ว่าพระราชกฤษฎีกาแวร์ซายเป็นพัฒนาการก้าวสำคัญที่ช่วยลบล้างความตรึงเครียดทางศาสนาและทำให้การประหัตประหารกันระหว่างศาสนาในแผ่นดินของพระองค์สิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการ[21]", "title": "พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส" }, { "docid": "7917#4", "text": "พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ...... พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ...... พระราชกฤษฎีกาเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ....... พระราชกฤษฎีกา เรียกประชุม/ปิดประชุม/ขยายเวลาประชุม สภาผู้แทนราษฎร", "title": "พระราชกฤษฎีกา" }, { "docid": "7917#1", "text": "การตราพระราชกฤษฎีกา รัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องจะอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดนั้นๆ เสนอร่างพระราชกฤษฎีกาต่อคณะรัฐมนตรีให้พิจารณา โดยร่างพระราชกฤษฎีกานั้น จะต้องไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้อง", "title": "พระราชกฤษฎีกา" }, { "docid": "290168#0", "text": "พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง หรือ พระราชกฤษฎีกาแห่งเดือนมกราคม () เป็นพระราชกฤษฎีกาให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา (Edict of toleration) ที่ออกโดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1562 ที่มอบสิทธิอันจำกัดแก่ผู้เป็นโปรเตสแตนต์ในราชอาณาจักรที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นโรมันคาทอลิกโดยเฉพาะแก่ชาวฝรั่งเศสอูเกอโนต์", "title": "พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง" }, { "docid": "70645#9", "text": "ในปี พ.ศ. 2534 มีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรวบรวมการเรียกชื่อปริญญาและสีประจำสาขาวิชาทั้งของสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ไว้ในพระราชกฤษฎีกาฉบับเดียวกัน และพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ได้มีการสะกดชื่อปริญญาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนแตกต่างไปจากเดิมเล็กน้อย โดยตัดเครื่องหมายทัณฑฆาตท้ายคำว่า \"ศาสตร์\" ออก ดังพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534 ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 122 วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 (7) สาขาวิชาวารสารศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น ได้แก่", "title": "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "86011#2", "text": "แต่เดิมนั้น ที่ตั้งเมืองอุบลราชธานี มิได้รับการยกฐานะเป็นสุขาภิบาลมาก่อน ท้องถิ่นจึงเข้าสู่ระบบการปกครองเป็นครั้งแรก โดยได้รับการสถาปนาเป็น เทศบาลเมืองอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2478 โดยผลของพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2476 และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองอุบลราชธานี ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 52 ตอนที่ 79 ลงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2478 การจัดตั้งเทศบาลในขั้นต้น มีเนื้อที่ 1.65 ตารางกิโลเมตร ต่อมา เมื่อเมืองมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ได้มีการประกาศขยายเขตเทศบาลอีก 2 ครั้ง คือ ประกาศขยายเขตโดยพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2480 กับพระราชกฤษฎีกาขยายเขต พ.ศ. 2499 อันมีเนื้อที่ 5.30 ตารางกิโลเมตร เป็นครั้งแรก โดยประกาศขยายเขต ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2524 เป็นครั้งที่ 2 โดยมีเนื้อที่ 29.04 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเนื้อที่ ตำบลในเมือง พร้อมทั้งบางส่วนของตำบลแจระแม ตำบลขามใหญ่ ตำบลปทุม ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง \"เทศบาลนครอุบลราชธานี\" จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 116 ตอนที่ 14 ก. วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2542 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา", "title": "เทศบาลนครอุบลราชธานี" }, { "docid": "554448#3", "text": "พระราชกฤษฎีกานี้พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษทรงตราขึ้นเมื่อ 18 มิถุนายน 1349", "title": "พระราชกฤษฎีกาผู้ใช้แรงงาน ค.ศ. 1349" }, { "docid": "281811#1", "text": "เทศบาลเมืองลัดหลวงได้จัดตั้งขึ้นโดยยกฐานะจากสุขาภิบาลพระประแดง เป็นเทศบาลตำบลลัดหลวง ตามพระราชกฤษฎีกาได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนที่ 10 ก. ลงวันที่ 25 มีนาคม 2537 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2537 ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลตำบลลัดหลวงเป็นเทศบาลเมืองลัดหลวง ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองลัดหลวง พ.ศ. 2545 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนที่ 93 ก. ลงวันที่ 20 กันยายน 2545 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2545 มีพื้นที่ความรับผิดชอบ 15.5 ตารางกิโลเมตร รวม 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางจาก ตำบลบางครุ และตำบลบางพึ่งชุมชนในเขตเทศบาลเมืองลัดหลวงมีทั้งหมด 42 ชุมชน", "title": "เทศบาลเมืองลัดหลวง" }, { "docid": "283925#52", "text": "บรรพ 1 หลักทั่วไปครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ทรงพระราชดำริว่า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ใช้อยู่เวลานี้ยังกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง สมควรจะนำมารวมรวมไว้แห่งเดียวกัน และจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สมแก่กาลสมัย ความเจริญและพาณิชยกรรมแห่งบ้านเมือง และความสัมพันธ์กับนานาประเทศ ส่วนหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งศาลยุติธรรมได้เคยยกขึ้นปรับสัตย์ตัดสินคดีเนือง ๆ มา โดยธรรมเนียมประเพณีอันควรแก่ยุติธรรมนั้น สมควรจะบัญญัติไว้ให้เป็นหลักฐาน และกิจการบางอย่างในส่วนแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งไม่มีในกฎหมายที่ใช้อยู่ ณ บัดนี้ ก็ควรจะบัญญัติขึ้นไว้ด้วย และทรงพระราชดำริว่า ทางที่จะให้ถึงซึ่งผลอันนี้ ควรจะประมวลและบัญญัติบทกฎหมายที่กล่าวแล้ว เข้าเป็นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามแบบอย่างซึ่งประเทศอื่น ๆ ได้ทำมา อนึ่ง ทรงพระราชดำริว่า การชำระประมวลกฎหมายซึ่งทำอยู่ ณ บัดนี้ ได้ดำเนินไปมากแล้ว สมควรจะประกาศให้ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ส่วนที่สำคัญและเป็นประโยชน์ตอนหนึ่งก่อนได้ ส่วนอื่น ๆ เมื่อสำเร็จบริบูรณ์จะได้ประกาศให้ใช้เพิ่มเติมในภายหลังวันประกาศใช้ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 วันใช้ 1 มกราคม พ.ศ. 2468 (พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บรรพ 3 และเลื่อนเวลาใช้บรรพ 1 และ 2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 2 \"ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 1 และ 2 ที่ได้ประกาศให้ใช้ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2467 นั้น ให้เลื่อนไปใช้ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2468\")2พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ได้ตรวจชำระใหม่ (ประกาศใน )จำเดิมแต่ได้ออกประกาศประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และ 2 แต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พระพุทธศักราช 2466 เป็นต้นมา ได้มีความเห็นแนะนำมากหลายเพื่อยังประมวลกฎหมายนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเมื่อได้พิจารณาโดยถ่องแท้แล้ว เห็นเป็นการสมควรให้ตรวจชำระบทบัญญัติในบรรพ 1 และ 2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นใหม่วันประกาศพระราชกฤษฎีกา 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 มกราคม พ.ศ. 24683พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2535 (ประกาศใน )เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติบรรพ 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งได้ใช้บังคับโดยพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2468 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานและบทบัญญัติหลายประการล้าสมัย ไม่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน สมควรปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้วันใช้พระราชบัญญัติ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) วันใช้ประมวลกฎหมาย 7 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (มาตรา 3)บรรพ 2 หนี้ครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ทรงพระราชดำริว่า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ใช้อยู่เวลานี้ยังกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง สมควรจะนำมารวมรวมไว้แห่งเดียวกัน และจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สมแก่กาลสมัย ความเจริญและพาณิชยกรรมแห่งบ้านเมือง และความสัมพันธ์กับนานาประเทศ ส่วนหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งศาลยุติธรรมได้เคยยกขึ้นปรับสัตย์ตัดสินคดีเนือง ๆ มา โดยธรรมเนียมประเพณีอันควรแก่ยุติธรรมนั้น สมควรจะบัญญัติไว้ให้เป็นหลักฐาน และกิจการบางอย่างในส่วนแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งไม่มีในกฎหมายที่ใช้อยู่ ณ บัดนี้ ก็ควรจะบัญญัติขึ้นไว้ด้วย และทรงพระราชดำริว่า ทางที่จะให้ถึงซึ่งผลอันนี้ ควรจะประมวลและบัญญัติบทกฎหมายที่กล่าวแล้ว เข้าเป็นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามแบบอย่างซึ่งประเทศอื่น ๆ ได้ทำมา อนึ่ง ทรงพระราชดำริว่า การชำระประมวลกฎหมายซึ่งทำอยู่ ณ บัดนี้ ได้ดำเนินไปมากแล้ว สมควรจะประกาศให้ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ส่วนที่สำคัญและเป็นประโยชน์ตอนหนึ่งก่อนได้ ส่วนอื่น ๆ เมื่อสำเร็จบริบูรณ์จะได้ประกาศให้ใช้เพิ่มเติมในภายหลังวันประกาศใช้ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 วันใช้ 1 มกราคม พ.ศ. 2468 (พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บรรพ 3 และเลื่อนเวลาใช้บรรพ 1 และ 2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 2 \"ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 1 และ 2 ที่ได้ประกาศให้ใช้ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2467 นั้น ให้เลื่อนไปใช้ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2468\")2พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และบรรพ 2 ที่ได้ตรวจชำระใหม่ (ประกาศใน )จำเดิมแต่ได้ออกประกาศประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 และ 2 แต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พระพุทธศักราช 2466 เป็นต้นมา ได้มีความเห็นแนะนำมากหลายเพื่อยังประมวลกฎหมายนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเมื่อได้พิจารณาโดยถ่องแท้แล้ว เห็นเป็นการสมควรให้ตรวจชำระบทบัญญัติในบรรพ 1 และ 2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นใหม่วันประกาศพระราชกฤษฎีกา 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 มกราคม พ.ศ. 2468บรรพ 3 เอกเทศสัญญาครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บรรพ 3 และเลื่อนเวลาใช้บรรพ 1 และ 2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์โดยที่การประมวลกฎหมายบ้านเมืองได้ดำเนินมาถึงคราวที่ควรใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3วันประกาศพระราชกฤษฎีกา 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 มกราคม พ.ศ. 24682พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ที่ได้ตรวจชำระใหม่ (ประกาศใน )จำเดิมแต่ได้ออกประกาศประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 แต่วันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2467 เป็นต้นมา ได้มีความเห็นแนะนำมากหลายเพื่อยังประมวลกฎหมายนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเมื่อได้พิจารณาโดยถ่องแท้แล้ว เห็นเป็นการสมควรให้ตรวจชำระบทบัญญัติในบรรพ 3 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นใหม่วันประกาศพระราชกฤษฎีกา 1 มกราคม พ.ศ. 2471 วันใช้พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน พ.ศ. 2471 วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 เมษายน พ.ศ. 2471บรรพ 4 ทรัพย์สินครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติ บรรพ 4 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ประกาศใน )โดยที่การประมวลกฎหมายบ้านเมืองได้ดำเนินมาถึงคราวที่ควรประกาศใช้บรรพ 4 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วันประกาศพระราชกฤษฎีกา 16 มีนาคม พ.ศ. 2473 วันใช้พระราชกฤษฎีกา 1 เมษายน พ.ศ. 2473 วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 เมษายน พ.ศ. 2473บรรพ 5 ครอบครัวครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 (ประกาศใน )โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า การประมวลกฎหมายแห่งบ้านเมืองได้ดำเนินมาถึงคราวที่ควรใช้บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วันใช้พระราชบัญญัติ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 (มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 ตุลาคม พ.ศ. 2478 (มาตรา 3)2พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 (ประกาศใน )โดยที่เห็นสมควรขยายการใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้ทั่วถึง เพื่อความมั่นคงและวัฒนธรรมแห่งชาติ และโดยที่มีเหตุฉุกเฉินซึ่งจะเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรให้ทันท่วงทีมิได้วันใช้พระราชกำหนด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2486 ( มาตรา 2 ให้ใช้พระราชกำหนดนี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป)3พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 พุทธศักราช 2486 (ประกาศใน )โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นสมควรอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 ตามความในมาตรา 52 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยวันใช้พระราชบัญญัติ 14 กันยายน พ.ศ. 2486 (มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป)4พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2519 (ประกาศใน )เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 28 วรรคสอง บัญญัติว่าชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน จำต้องแก้ไขบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นวันใช้พระราชบัญญัติ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2519 (มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) วันใช้ประมวลกฎหมาย 16 ตุลาคม พ.ศ. 2519 (มาตรา 3)บรรพ 6 มรดกครั้งที่กฎหมายที่ให้ประกาศใช้เหตุผลในการประกาศใช้วันใช้บังคับ1พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 (ประกาศใน )โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า การประมวลกฎหมายแห่งบ้านเมืองได้ดำเนินมาถึงคราวที่ควรใช้บรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วันใช้พระราชบัญญัติ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2478 (มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) วันใช้ประมวลกฎหมาย 1 ตุลาคม พ.ศ. 2478 (มาตรา 3)2พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 (ประกาศใน )โดยที่เห็นสมควรขยายการใช้บทบัญญัติบรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้ทั่วถึง เพื่อความมั่นคงและวัฒนธรรมแห่งชาติ และโดยที่มีเหตุฉุกเฉินซึ่งจะเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎรให้ทันท่วงทีมิได้วันใช้พระราชกำหนด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2486 (มาตรา 2 ให้ใช้พระราชกำหนดนี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป)3พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 พุทธศักราช 2486 (ประกาศใน )โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นสมควรอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477 พุทธศักราช 2486 ตามความในมาตรา 52 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยวันใช้พระราชบัญญัติ 14 กันยายน พ.ศ. 2486 (มาตรา 2 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป)", "title": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์" }, { "docid": "346386#1", "text": "แม้ว่าจะเป็นพระราชกฤษฎีกาที่มีเนื้อหาที่จำกัดกว่าพระราชกฤษฎีกาแซ็ง-แฌร์แม็งที่ลงนามกันในปีก่อนหน้านั้น แต่ก็ยังอนุญาตให้มีการทำพิธีศาสนาแบบโปรเตสแตนต์ภายในที่อยู่อาศัยส่วนบุคคลของขุนนาง และในปริมณฑลของเมืองที่ระบุภายใน \"baillage\" หรือ \"sénéchaussée\"", "title": "พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ" }, { "docid": "346386#0", "text": "พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ () ที่ลงนามกันที่พระราชวังอ็องบวซเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 1563 โดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 เป็นพระราชกฤษฎีกาเพื่อการยุติช่วงแรกของสงครามศาสนาของฝรั่งเศส และนำราชอาณาจักรกลับมาสู่สันติสุขโดยการรับรองเสรีภาพและอภิสิทธิ์ในการนับถือศาสนาแก่ประชากรผู้เป็นโปรเตสแตนต์หรือที่เรียกว่าอูเกอโนต์ ", "title": "พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ" }, { "docid": "7917#2", "text": "เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้ว จะต้องนำร่างพระราชกฤษฎีกา ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงตราพระราชกฤษฎีกานั้นๆ นายกรัฐมนตรี จะเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ", "title": "พระราชกฤษฎีกา" }, { "docid": "262928#2", "text": "ในสมัยการปกครองของจักรวรรดิออตโตมันสุลต่านมีอำนาจจากการเป็นผู้รักษากฎหมายชาริอะห์ แต่กฎหมายชาริอะห์มิได้ครอบคลุมในทุกกรณีที่เกี่ยวกับชีวิตทางสังคมและการเมือง ฉะนั้นในการสร้างกฎที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์และสถานะภาพต่างๆ ที่มิได้อยู่ในข่ายของชาริอะห์ สุลต่านจึงก่อตั้งการออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน” ขึ้น", "title": "พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน" }, { "docid": "67509#3", "text": "เมื่อข้อเสนอโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการปรับแผนพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 6 ของทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2531 และได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการทบวงมหาวิทยาลัย ในเดือนกรกฎาคม 2532 แล้ว ทบวงมหาวิทยาลัยได้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปยังสำนักงาน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาตามขั้นตอนต่าง ๆ โดยต้องให้สำนักงบประมาณ และสำนักงาน ก.พ. พิจารณาเสนอความเห็น เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ซึ่งในที่สุดที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติรับหลักการเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2532 และได้ส่งร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ให้สำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา จากนั้นสำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีได้ส่งไปยังสำนักราชเลขาธิการเพื่อโปรดเกล้าลงพระปรมาภิไธย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง คณะวิศวกรรมศาสตร์ เมื่อวันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2532 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงถือว่าวันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2532 เป็นวันจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ ", "title": "คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" }, { "docid": "290168#1", "text": "การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นกิจการแรกที่สมเด็จพระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงกระทำเป็นสิ่งแรกในฐานะผู้สำเร็จราชการแผ่นดินหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชโอรส--พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นไปตามนโยบายของพระองค์ในการพยายามดำเนินทางสายกลางระหว่างฝ่ายโปรเตสแตนต์และฝ่ายโรมันคาทอลิกเพื่อสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ราชบัลลังก์ โดยไม่ได้กระทบกระเทือนฐานะของสถาบันโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศสพระราชกฤษฎีกายอมรับฐานะของผู้เป็นโปรเตสแตนต์และรับรองเสรีภาพในการนับถือศาสนาเป็นการส่วนตัว แต่ห้ามทำการสักการะในตัวเมืองยกเว้นการจัดการประชุมของนักบวช (Synod) และการมาชุมนุมกัน (Consistory) ", "title": "พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง" }, { "docid": "108975#1", "text": "พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มุ่งปรับปรุงระบบระบบราชการให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นไปของสังคม โดยมีการจัดตั้งกรมทางหลวงชนบทขึ้น แต่ได้มีการกำหนดบทเฉพาะกาล มาตรา 54 ไว้ว่า \"\"ภายในห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้โอนกิจการอำนาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ หนี้ สิทธิ ภาระผูกพัน ข้าราชการ ลูกจ้าง และอัตรากำลังของกรมทางหลวงชนบท และบรรดาอำนาจหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในกรมทางหลวงชนบท ไปเป็นของกรมทางหลวง หรือผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวจะกำหนดให้การกำหนดรายละเอียดบางกรณีเป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีหรือประกาศของรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องก็ได้ เมื่อมีการตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งขึ้นบังคับใช้แล้ว ให้ถือว่ากรมทางหลวงชนบทเป็นอันยุบเลิก\"\" ซึ่งจะเป็นผลให้กรมทางหลวงชนบท มีภารกิจที่จะต้องดำเนินการในระยะเวลาเพียง 5 ปี", "title": "กรมทางหลวงชนบท" }, { "docid": "346386#2", "text": "ราชสภาแห่งปารีสผู้ขับสมาชิกผู้เป็นอูเกอโนต์ออกจากสภาต่อต้านการลงทะเบียนของพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกับสภาการปกครองท้องถิ่น แต่ก็ได้ยินยอมหลังจากที่มีการประท้วง แต่เพิ่มข้อแม้ในพระราชกฤษฎีกามิให้มีผลบังคับตามเนื้อหาอย่างเต็มที่จนกว่าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 จะทรงบรรลุนิติภาวะ เมื่อสภาแห่งชาติมีโอกาสที่จะตัดสินกรณีที่เกี่ยวกับข้อขัดแย้งทางศาสนา เมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ทรงประกาศการบรรลุนิติภาวะของพระองค์เมื่อมีพระชนมายุได้ 14 พรรษาเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1563 พระองค์ก็ทรงเลือกรัฐบาลท้องถิ่นแห่งรูอ็องให้เป็นสถานที่สำหรับ \"lit de justice\" หรือ \"การออกพระราชกฤษฎีกา\" แทนปารีสที่ทำกันตามปกติ ในขณะเดียวกันก็ทรงออกพระราชกฤษฎีกาฉบับสมบูรณ์แทนฉบับย่อที่บังคับใช้กันก่อนหน้านั้น", "title": "พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ" }, { "docid": "86086#1", "text": "เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาลเมืองกรุงเก่า ซึ่งได้จัดตั้งตามพระบรมราชโองการประกาศให้ใช้ในพระราชบัญญัติการจัดตั้งสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 สุขาภิบาลเมืองกรุงเก่า ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอรอบกรุงเก่า ซึ่งในปัจจุบันคืออำเภอพระนครศรีอยุธยา และมีเขตการปกครองในเขตรับผิดชอบ 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลหัวรอ ตำบลหอรัตนไชย ตำบลท่าวาสุกรี ตำบลคลองสวนพลู ตำบลกระมัง ต่อมา พ.ศ. 2478 ได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะสุขาภิบาลกรุงเก่าเป็นเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยา พร้อมทั้งได้มีการขยายเขตตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2481, พ.ศ. 2499, และ พ.ศ. 2505 ตามลำดับ และในปี พ.ศ. 2542 ได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยาเป็น เทศบาลนครนครศรีอยุธยา", "title": "เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา" }, { "docid": "49846#8", "text": "ภายหลังมูลนิธิเพื่อผู้บริโภคได้ยื่นฟ้องทักษิณ ชินวัตรกับพวกต่อศาลปกครอง และศาลปกครองได้มีคำสั่งให้รัฐบาลแพ้คดีนี้โดยให้ระงับการกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ด้วยการยกเลิกพระราชกฤษฎีกา 2 ฉบับ คือพระราชกฤษฎีกากำหนดอำนาจ สิทธิและประโยชน์ของบริษัท กฟผฯ และพระราชกฤษฎีกากำหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายว่าด้วยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เพราะพระราชกฤษฎีกา 2 ฉบับนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากมีคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทบางคนมีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจการ กฟผ.ซึ่งเป็นคุณสมบัติต้องห้าม ทำให้ศาลมีคำสั่งดังกล่าวออกมา", "title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553" }, { "docid": "588515#111", "text": "ต่อมาวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่การเลือกตั้งไม่สามารถแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันดังกล่าวได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสอง ที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย", "title": "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557" }, { "docid": "858452#5", "text": "ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ โดยให้ยุบกองบัญชาการตำรวจภูธร 1-4 และกองบังคับการตำรวจภูธร 1-9 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2537 มีผู้ช่วย อธิบดีกรมตำรวจเป็นหัวหน้าภาค ผู้บัญชาการเป็นรองหัวหน้าภาค กองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 มีเขตการปกครอง 8 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง และ สระแก้ว พ.ศ. 2539 มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจใหม่ ลงวันที่ 17 ต.ค. 2539 ให้ยุบเลิกกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 1-9 เป็นตำรวจภูธรภาค 1-9 มีผู้บัญชาการเป็นหัวหน้า มีเขตการปกครองในความรับผิดชอบ 8 จังหวัดเช่นเดิมhttp://www.p2.go.th/newweb/index.php/en/about-us-2/history\nhttp://law.longdo.com/law/324/sub17871 (พระราชกฤษฎีกา\nแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ\nพ.ศ. ๒๕๕๒)", "title": "ตำรวจภูธรภาค 2" }, { "docid": "148194#0", "text": "พระราชกฤษฎีกานองซ์ (; ) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1598 เพื่อให้ชาวโปรเตสแตนต์แบบคาลวิน (หรือที่เรียก อูเกอโนต์) มีสิทธิสำคัญบางประการในประเทศที่โดยเนื้อแท้แล้วยังถือเป็นคาทอลิกอยู่ ในพระราชกฤษฎีกานี้ พระเจ้าอ็องรีมีพระราชประสงค์เบื้องต้นที่จะทรงส่งเสริมความสามัคคีของชนในชาติ โดยพระราชกฤษฎีกาได้แยกฝ่ายอาณาจักรออกจากศาสนจักร และให้ปฏิบัติกับชาวโปรเตสแตนต์อย่างมีสถานะมากกว่าพวกเดียรถีย์และมิจฉาทิฐิเป็นครั้งแรก กับทั้งส่งเสริมให้ลัทธิฆราวาสนิยมมีที่ในสังคมและส่งเสริมความอดทนอดกลั้นมากขึ้น และเพื่อให้ประชาชนมีเสรีภาพในการคิด พระราชกฤษฎีกาจึงมีการผ่อนปรนหลายประการต่อชาวโปรเตสแตนต์ เป็นต้นว่า ประทานอภัยโทษ และคืนสิทธิพลเมืองให้ ซึ่งรวมถึงสิทธิที่จะทำงานในที่ดินใด ๆ หรือที่จะทำงานราชการ ตลอดทั้งสิทธิที่จะถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์โดยตรง เป็นเหตุให้สิ้นสงครามศาสนาที่ได้สร้างความเสียหายให้แก่ประเทศฝรั่งเศสมาตลอดช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 16", "title": "พระราชกฤษฎีกานองซ์" }, { "docid": "238744#2", "text": "เทศบาลเมืองกันตังเป็นพื้นที่ของตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ซึ่งยกฐานะเป็นเทศบาลเมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยพระราชกฤษฎีกาได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 54 หน้า 1899 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2480 มีพื้นที่ 1.35 ตารางกิโลเมตร ต่อมาเพื่อความเหมาะสมแก่การบริหารกิจการและการทำนุบำรุงท้องถิ่น เทศบาลได้ขอขยายเขตไปในพื้นที่ของบางส่วนของตำบลใกล้เคียงอีก 1.69 ตารางกิโลเมตร รวมกับพื้นที่เดิมเป็น 3.04 ตารางกิโลเมตร โดยพระราชกฤษฎีกาการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลตำบลกันตัง จังหวัดตรัง พ.ศ. 2512 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ต่อมาได้รับประกาศให้เปลี่ยนแปลงฐานะตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองกันตัง ได้ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่ม 112 ตอนที่ 40 ก. ลงวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2538 แล้ว และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2538 เป็นต้นไป ปัจจุบันเทศบาลเมืองกันตังมีอายุ 70 ปี", "title": "เทศบาลเมืองกันตัง" }, { "docid": "936067#3", "text": "กบฏอูว์เกอโนต์ในคริสต์ทศวรรษ 1620 ทำให้มีการเลิกเอกสิทธิ์ทางการเมืองและทางทหารของพวกเขา พวกเขายังคงไว้ซึ่งบทบัญญัติทางศาสนาของพระราชกฤษฎีกานองซ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ค่อย ๆ เพิ่มการเบียดเบียนอูว์เกอโนต์จนทรงตราพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (ปี 1685) ยุติการรับรองนิกายโปรเตสแตนต์ใด ๆ ตามกฎหมายในประเทศฝรั่งเศสและบีบให้อูว์เกอโนต์เข้ารีตหรือหลบหนีในระลอกดราโกนาเดอ (dragonnades) รุนแรง พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทำให้ประชากรอูว์เกอโนต์ฝรั่งเศส 800,000 ถึง 900,000 คนลดเหลือ 1,000 ถึง 1,500 คน กระนั้น อูว์เกอโนต์จำนวนเล็กน้อยยังเหลือรอดและเผชิญการเบียดเบียนต่อเนื่องมาถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เสด็จสวรรคตในปี 1774 ลัทธิคาลวินในฝรั่งเศสเกือบสูญสิ้นทั้งหมด การเบียดเบียนคริสเตียนยุติลงอย่างเป็นทางการด้วยพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (พระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนา) ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงลงพระปรมาภิไธยในปี 1787 สองปีให้หลัง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองปี 1789 ให้คริสเตียนได้รับสิทธิเท่าเทียมเป็นพลเมือง", "title": "อูว์เกอโน" }, { "docid": "705604#2", "text": "เทศบาลเมืองพิจิตรเดิมเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดพิจิตร ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองพิจิตร เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479 มีพื้นที่เขตเทศบาล 1.88 ตารางกิโลเมตร ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้มีพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2499 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองพิจิตรเป็น 3.17 ตารางกิโลเมตร และในปี พ.ศ. 2512 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองพิจิตรเป็น 12.017 ตารางกิโลเมตร", "title": "เทศบาลเมืองพิจิตร" }, { "docid": "290168#2", "text": "การผ่านพระราชกฤษฎีกาเป็นไปด้วยความยากลำบากเพราะต้องผ่านการอนุมัติของรัฐสภาฝรั่งเศสจึงจะประกาศเป็นกฎหมายได้ สมาชิกของรัฐสภามีสิทธิที่จะร้องเรียนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ถึงสาเหตุที่ร่างพระราชกฤษฎีกาขัดกับพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ถือเป็นกฎหมายแล้ว ก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์ ฝ่ายรัฐสภาก็พยายามหน่วงเหนี่ยวต่างๆ ", "title": "พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง" } ]
10
พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 เสียชีวิตเมื่อไหร่?
[ { "docid": "78492#0", "text": "จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Italian: Federico II del Sacro Romano Impero; German: Friedrich II 26 ธันวาคม พ.ศ. 1737–13 ธันวาคม พ.ศ. 1793) เสด็จพระราชสมภพที่นครเจซี ประเทศอิตาลี เป็นพระราชนัดดาของจักรพรรดิฟรีดิชที่ 1 ขึ้นครองราชย์แทนจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 1763 และทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์โฮเฮนสเตาเฟ็น ทรงเป็นกษัตริย์แห่งซิชิลีเมื่อ พ.ศ. 1741 และกษัตริย์แห่งเยอรมนีเมื่อ พ.ศ. 1755", "title": "จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์" } ]
[ { "docid": "154233#3", "text": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงพระราชสมภพที่กรุงเบอร์ลิน เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซียและพระนางโซฟี โดโรเทอา ในฐานะที่ทรงเป็น \"กษัตริย์การทหาร\" พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มทรงเสริมสร้างกองกำลังทัพปรัสเซียที่แข็งแกร่ง พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นผู้ที่เข้มงวดและอารมณ์ร้าย กล่าวกันว่าบางครั้งจะทรงใช้ไม้เท้าตีคนหรือทรงเตะสตรีตามถนน แต่พระชายามีพระอัทธยาศัยตรงกันข้าม ทรงมีกิริยาดีและเป็นผู้มีการศึกษาดี พระบิดาของพระนางโซฟี โดโรเทอาคือเจ้าชายเกออร์ก ผู้คัดเลือกแห่งฮันโนเวอร์และเป็นรัชทายาทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ ต่อมาเมื่อพระราชินีนาถแอนน์สิ้นพระชนม์ เจ้าชายจอร์จก็ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่เมื่อปี ค.ศ. 1714", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#4", "text": "การเกิดของฟรีดริชเป็นที่ชื่นชมของพระอัยยิกาเพราะพระนัดดาสององค์แรกสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมมีพระประสงค์ให้พระโอรสและธิดาได้รับการศึกษาอย่างคนสามัญ พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 จึงทรงได้รับการศึกษาจากมาดามมงท์เบลล์สตรีชาวฝรั่งเศสผู้ที่ต่อมาเป็นมาดามเดอโรคูล และฟรีดริชที่ 2 เองก็มีพระประสงค์ให้การศึกษาต่อพระโอรสและธิดาของพระองค์เองในอนาคต มาดามเดอโรคูลเป็นอูเกอโน () หรือชาวฝรั่งเศสผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งอาจจะทำให้มีอิทธิพลต่อฟรีดริชในการเข้าใจในความแตกต่างของแต่ละบุคคลในการนับถือศาสนาก็ได้ ขณะที่ทรงศึกษาเล่าเรียนทรงเรียนภาษาฝรั่งเศสพร้อมกับภาษาเยอรมัน", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#9", "text": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์ม ทรงมีความประสงค์จะให้เจ้าชายฟรีดริชแต่งงานกับแกรนด์ดัชเชสเอลีซาเบ็ท คริสทีเนอแห่งเมคเลินบวร์ค-ชเวรีน พระนัดดาของจักรพรรดินีแอนนาแห่งรัสเซียแต่แผนการถูกคัดค้านโดยเจ้าชายเออแฌนแห่งซาวอย ฟรีดริชทรงเสนอการแต่งงานระหว่างพระองค์เองกับจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการสละการเป็นมงกุฏราชกุมารของปรัสเซีย แต่เจ้าชายยูจีนกลับทรงชักจูงพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มให้เห็นควรว่าการแต่งงานระหว่างฟรีดริชกับเอลีซาเบ็ท คริสทีเนอ แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล-เบเวิร์น ผู้เป็นญาติทางราชวงศ์ฮาพส์บวร์คผู้นับถือโปรเตสแตนต์จะเหมาะสมกว่า เมื่อพระเจ้าฟรีดริชทรงทราบถึงข้อเสนอนี้ก็ทรงบรรยายในจดหมายถึงพระขนิษฐาว่า “ความรักและความเป็นมิตรระหว่างเราสองไม่มีทางเป็นไปได้” และทรงคิดจะฆ่าตัวตาย แต่ก็ทรงเข้าพิธีเสกสมรสเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1733 หลังจากเมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1740 ฟรีดริชก็ทรงกีดกันมิให้เอลีซาเบ็ท คริสทีเนอเข้าเฝ้าในราชสำนักที่พ็อทซ์ดัม และทรงจัดให้เอลีซาเบ็ท คริสทีเนออยู่ประทับที่วังเชินเฮาเซิน (Schönhausen Palace) ที่เบอร์ลิน และห้องชุดที่วังเบอร์ลิน (Berliner Stadtschloss) และมอบตำแหน่ง “เจ้าชายแห่งปรัสเซีย” ให้แก่พระอนุชาเจ้าชายออกัสตัส วิลเลียม แห่งปรัสเซีย ถึงแม้ว่าฟรีดริชจะทรงปฏิบัติเช่นนี้ต่อเอลีซาเบ็ท คริสทีเนอ เอลีซาเบ็ท คริสทีเนอก็ยังทรงมีความจงรักภักดีต่อพระองค์", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#7", "text": "เมื่อฟรีดริชมีพระชนมายุได้ 18 พรรษาก็ทรงวางแผนหนีไปราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ พร้อมกับฮันส์ เฮอร์มันน์ ฟอน แคท (Hans Hermann von Katte) และนายทหารรุ่นเล็กสองสามคน แต่เมื่อไปกันเกือบถึงมานไฮม์ โรเบิร์ต คีธพี่ชายของปีเตอร์ คีธเกิดความกลัวขึ้นมาอย่างหนักถึงแผนการหนีจึงพยายามขอพระราชทานอภัยโทษจากพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1730 ฟรีดริชและแคทจึงถูกจับขังคุกที่คึสตริน และเพราะทั้งสองคนเป็นนายทหารที่พยายามหนีราชการจากราชอาณาจักรปรัสเซียไปราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มจึงถือว่าเป็นการกระทำที่เป็นขบถต่อแผ่นดิน และทรงขู่ว่าจะประหารชีวิตฟรีดริช และทรงคิดที่จะบังคับให้ฟรีดริชสละความเป็นมงกุฏราชกุมารให้พระอนุชาเจ้าชายออกัสตัส วิลเลียม แห่งปรัสเซีย แต่การกระทำทั้งสองนี้อย่างเป็นการยากที่จะเสนอและได้รับกการอนุมัติจากสภาไรค์สตากแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มจึงทรงตัดสินประหารชีวิตฮันส์ เฮอร์มันน์ ฟอน แคท โดยบังคับให้ฟรีดริชเฝ้าดูการตัดแบ่งร่างของ แคทเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1730", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "816875#1", "text": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม ประสูติในพ็อทซ์ดัม เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย กับพระนางฟรีเดริกา ลุยซา แห่งเฮสเซิน-ดาร์มสตัด และพระองค์ยังมีเชื้อสายพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ผ่านทางพระอัยกา (ปู่) ในขณะที่พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มทรงพระเยาว์นั้น มีพระนิสัยขี้อายและเก็บตัว และติดบุคลนิสัยนี้เรื่องมา ด้วยบุคลนิสัยไม่ค่อยตรัสแบบนี้จึงเป็นผลดีต่อเหล่านายทหาร", "title": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "273174#0", "text": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 1 วิลเฮ็ล์ม คาร์ล (; 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1754 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1816) เป็นกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์คแห่งครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1805 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1816 พระเจ้าฟรีดริชเป็นพระราชโอรสของฟรีดริชที่ 2 ยูจีน ดยุกแห่งเวือร์ทเทิมแบร์คและโซเฟีย โดโรเทีย แห่งบรานเดนบวร์ก-ชเวดท์ พระองค์ทรงมีชื่อว่ามีพระวรกายสูงใหญ่ (6 ฟุต 11 นิ้ว หรือ 2.11 เมตร) และทรงมีน้ำหนัก 200 กิโลกรัม", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค" }, { "docid": "678026#1", "text": "จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1797 ที่วังมกุฎราชกุมารในกรุงเบอร์ลิน ราชอาณาจักรปรัสเซีย เมื่อแรกประสูติทรงพระนามว่า \"วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช ลุดวิด แห่งปรัสเซีย\" (\"Wilhelm Friedrich Ludwig von Preußen\") เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในมกุฎราชกุมารฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม กับเจ้าหญิงลูอีเซอแห่งมัคเลิคบวร์ค-ชเตรลิทซ์ เมื่อพระอัยกาคือพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 เสด็จสวรรคตในค.ศ. 1797 พระราชบิดาของพระองค์ก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อเป็นพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 ในขณะที่เจ้าชายฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม พระเชษฐาของพระองค์ก็ได้ขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารต่อ ", "title": "จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี" }, { "docid": "154233#34", "text": "พระเจ้าฟรีดริชเป็นพระเจ้าแผ่นดินนักปรัชญาเช่นเดียวกับจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัสแห่งจักรวรรดิโรมัน ทรงเป็นสมาชิกของสมาคม ในปี ค.ศ. 1738 ซึ่งเป็นเวลาใกล้กับยุคภูมิปัญญา และทรงมีความชื่นชมในตัวนักคิดวอลแตร์ผู้ที่ทรงมีการติดต่อด้วยเกือบตลอดชีวิต", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "287348#0", "text": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย (; ; 25 กันยายน 1744 – 16 พฤศจิกายน 1797) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งปรัสเซียและรัฐผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์ค (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ในปี ค.ศ. 1786 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1797 โดยมีพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1744 เป็นพระราชโอรสของออกัสตัส วิลเลียมแห่งปรัสเซีย และ หลุยส์ อามาลี แห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิล", "title": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#1", "text": "พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า \"กษัตริย์การทหาร\" เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ ", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#18", "text": "ผู้ที่ซาบซึ้งในความสำคัญของพระองค์ทางด้านนี้มากที่สุดก็คือจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศสผู้ซึ่งถือว่าพระเจ้าฟรีดริชเป็นผู้มีอัจฉริยะที่สุดในทางการใช้ยุทธวิธีในประวัติศาสตร์ หลังจากที่จักรพรรดินโปเลียนทรงได้รับชัยชนะเมื่อ ค.ศ. 1807 ก็เสด็จไปเยี่ยมอนุสรณ์ของพระเจ้าฟรีดริชที่พ็อทซ์ดัมและทรงกล่าวกับนายทหารของพระองค์ว่า “ท่านทั้งหลาย, ถ้าผู้นี้ยังมีชีวิตอยู่ข้าพเจ้าก็ไม่มายืนอยู่ที่นี่”", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#0", "text": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 () หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช () เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินท์ซ็อลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึง 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ \"กษัตริย์ในปรัสเซีย\" องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์คในพระนามว่า \"ฟรีดริชที่ 4\" และทรงได้รับสมญานามว่า \"พระเจ้าฟรีดริชมหาราช\" และมีพระนามเล่นว่า \"เจ้าฟริทซ์เฒ่า (der Alte Fritz)\"", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#45", "text": "พระเจ้าฟรีดริชมีพระประสงค์ที่จะให้ฝังร่างของพระองค์ใกล้กับสุนัขเกรย์ฮาวนด์บนเนินไร่องุ่นภายในบริเวณวังซองส์ซูซี แต่พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2พระนัดดากลับทรงสั่งให้ตั้งไว้ใกล้กับที่เก็บพระศพของพระราชบิดาที่วัดที่พ็อทซ์ดัมแทนที่ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2แท่นที่ฝังพระศพของทั้งพระเจ้าฟรีดริช และพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 ถูกย้ายไปไว้ในหลุมหลบภัยใต้ดิน และต่อมาในเหมืองใต้ดินใกล้เมืองเบิร์นโรดเพื่อป้องกันจากการถูกระเบิด ในปี ค.ศ. 1945 กองทัพสหรัฐย้ายพระศพไปวัดอลิสซาเบ็ธที่มาร์เบิร์ก และต่อมาที่ปราสาทโฮเอินท์ซ็อลเลิร์นใกล้เมืองเฮ็คคิงเง็น หลังจากการรวมตัวระหว่างเยอรมนีตะวันออกและตะวันตก ร่างของพระเจ้าฟรีดริชก็ถูกไปฝังที่มอโซเลียมไคเซอร์ฟรีดริชในเชิร์ชออฟพีสที่วังซองส์ซูซี", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#47", "text": "พระเจ้าฟรีดริชเป็นรัฐบุรุษของเยอรมนีและทางตอนเหนือของยุโรปผู้เต็มไปด้วยความขัดแย้ง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อความคิดทางชาตินิยมแบบโรแมนติคเป็นที่นิยมกันในเยอรมนีพระเจ้าฟรีดริชก็เป็นที่ชื่นชมของของนักชาตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 พระเจ้าฟรีดริชก็ถูกกล่าวว่าเป็นผู้มาก่อนการสร้างความแข็งแกร่งทางทหารของเยอรมนีและปรัสเซียซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของ ออทโท ฟอน บิสมาร์คในการรวมตัวของจักรวรรดิเยอรมัน และ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในการขยายอำนาจของเยอรมนีระหว่างก่อนหน้าและสงครามโลกครั้งที่สอง", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "287337#0", "text": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย (, ) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740) ฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งราชวงศ์โฮเอินท์ซ็อลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและอีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 2) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 ในปี ค.ศ. 1713 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 โดยมีพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 และ โซฟี ชาร์ล็อทเท่แห่งฮันโนเฟอร์ ", "title": "พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#36", "text": "นอกจากภาษาเยอรมันซึ่งเป็นภาษาแม่แล้วพระเจ้าฟรีดริชยังทรงพูดภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, สเปน, โปรตุเกส และ อิตาเลียนได้ด้วย นอกจากนั้นยังทรงเข้าใจภาษาละติน, ภาษากรีกทั้งสมัยโบราณและสมัยใหม่ และภาษาฮิบรู แต่ทางวัฒนธรรมโปรดวัฒนธรรมฝรั่งเศส และไม่โปรดภาษาเยอรมันซึ่งรวมไปทั้งวรรณคดีและวัฒนธรรมของเยอรมันด้วย ทรงอธิบายกับนักเขียนชาวเยอรมันว่าการเขียนภาษาเยอรมันเต็มไปด้วยการใช้ “วงเล็บซ้อนวงเล็บ, และมักจะพบคำกิริยาตอนล่างสุดของหน้าซึ่งทั้งประโยคต้องขึ้นอยู่กับคำนั้น” คำวิจารณ์ของพระองค์ทำให้นักเขียนเยอรมันพยายามสร้างความประทับใจให้พระองค์โดยการเขียนวรรณกรรมในภาษาเยอรมันเพื่อพิสูจน์คุณค่าของภาษา นักรัฐศาสตร์หลายคนรวมทั้งไฮนริช ฟรีดริช คาร์ล ไรคสฟรายแฮร์ ฟอน และ ซุม ชไตน์ (Heinrich Friedrich Karl Reichsfreiherr vom und zum Stein) ได้รับแรงบันดาลใจจากความสามารถในการเป็นรัฐบุรุษของพระเจ้าฟรีดริช โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเทเขียนสดุดีพระเจ้าฟรีดริชระหว่างที่ไปเยี่ยมสตราสเบิร์กว่า:", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#8", "text": "พระเจ้าฟรีดริชทรงได้รับพระราชทานพระอภัยโทษและถูกปล่อยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายนและถูกปลดจากตำแหน่งทางทหาร แทนที่จะกลับไปเบอร์ลินฟรีดริชตัดสินใจอยู่ที่คึสตรินต่อ และเริ่มศึกษาทางการปกครองและการบริหารการสงครามอย่างเป็นเรื่องเป็นราวกับกระทรวงการสงครามและอสังหาริมทรัพย์เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ความขัดแย้งระหว่างพระราชบิดาและพระองค์เองค่อยผ่อนคลายลงเมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มเสด็จมาคึสตรินในปีต่อมา ฟรีดริชได้รับอนุญาตให้กลับไปเบอร์ลินเมื่อพระขนิษฐาเจ้าหญิงวิลเฮ็ลมมินาทรงเสกสมรสกับมาร์กราฟฟรีดริชแห่งบรันเดินบวร์ค-เบย์รึธแห่งนครรัฐเบย์รึธเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1731 หลังจากนั้นก็ทรงได้รับการอนุญาตให้กลับมาอยู่เบอร์ลินเป็นการถาวรเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "275424#1", "text": "เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1806 นาซอ-อุซิงเก็น และนัสเซา-ไวล์บวร์กก็รวมเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์โดยความกดดันของนโปเลียน อาณาจักรเคานท์ทั้งสองรวมตัวกันเป็นอาณาจักรดยุคแห่งนาซอเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1806 ภายใต้การปกครองของเจ้าชายฟรีดริช ออกุสต์ แห่งนาซอ-อุซิงเก็นและพระญาติฟรีดริช วิลเฮล์ม ดยุคแห่งนาซอ ฟรีดริช ออกุสต์ผู้ไม่มีทายาทตกลงให้ฟรีดริช วิลเฮล์มเป็นประมุขแต่เพียงผู้เดียวหลังจากที่ตนเสียชีวิต แต่ฟรีดริช วิลเฮล์มมาเสียชิวิตเสียก่อนโดยอุบัติเหตตกบันไดในปราสาทไวล์บวร์กเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1816 บุตรชายวิลเลียมจึงได้เป็นดยุคแห่งนาซอ", "title": "ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก" }, { "docid": "276082#1", "text": "ราชรัฐก่อตั้งขึ้นเมื่อเบอร์กราฟฟรีดริชที่ 5 แห่งเนิร์นแบร์กเสียชีวิตเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1398 เมื่อดินแดนถูกแบ่งระหว่างลูกชายสองคน ลูกชายคนรองฟรีดริชที่ 6 ได้รับอันส์บัค ลูกชายคนโตจอห์นที่ 3 ได้รับราชรัฐไบรอยท์ หลังจากจอห์นเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1420 ราชรัฐทั้งสองก็กลับมารวมกันภายใต้ฟรีดริชที่ 6 ผู้ได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นพรินซ์อีเล็คเตอร์ฟรีดริชที่ 1 แห่งบรันเดินบวร์ค ในปี ค.ศ. 1415", "title": "ราชรัฐอันส์บัค" }, { "docid": "154233#10", "text": "หลังจากกลับมาเบอร์ลินพระเจ้าฟรีดริชก็ได้รับตำแหน่งทางทหารแห่งกองทัพปรัสเซียกลับในฐานะพันเอกของกองโกลซ์ (Regiment von der Goltz) ประจำการอยู่ใกล้ๆ เนาเอินและนอยรุพพินในแคว้นบรันเดินบวร์ค เมื่อปรัสเซียส่งทหารไปช่วยออสเตรียระหว่างสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ (War of the Polish Succession) พระเจ้าฟรีดริชทรงศึกษาการยุทธศาสตร์กับเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอยระหว่างการสู้รบกับฝรั่งเศสบนฝั่งแม่น้ำไรน์ ระหว่างสงครามพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมทรงอ่อนแอลงเพราะโรคข้อต่ออักเสบ ทรงยกปราสาทไรน์สเบิร์กเหนือเมืองนอยรุพพินให้ฟรีดริช ไรน์สเบิร์กกลายเป็นที่พบปะของนักดนตรี, นักแสดง, และศิลปิน ฟรีดริชใช้เวลาอ่านหนังสือ ดูละคร เขียนและเล่นดนตรี และมักจะกล่าวถึงระยะเวลานี้ว่าเป็นระยะเวลาที่มีความสุขที่สุดในชีวิต ฟรีดริชทรงก่อตั้ง “กลุ่มเบยาร์ด” (Bayard Order) เพื่อถกเถียงเรื่องการยุทธศาสตร์กันกับเพื่อน โดยมักจะมีไฮน์ริค เอากุสต์ เดลา มอท โฟค (Heinrich August de la Motte Fouqué) เป็นประธานในการประชุม", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#39", "text": "หลังจากที่แคทเสียชีวิตพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มก็บังคับให้ฟรีดริชเสกสมรสกับเจ้าหญิงอลิสซาเบ็ธคริสทีนแห่งบรันสวิค-บาเวิร์น เมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1740 ฟรีดริชก็แยกจากพระชายา แต่ก็มิได้เกลียดผู้หญิงเพราะทรงมีความสัมพันธ์กับสตรีสองคนเมื่อยังทรงอายุได้ไม่มาก และทรงมีความสนิทสนมกับพระขนิษฐา แต่กระนั้นฟรีดริชก็เกือบจะไม่มีอะไรผูกพันกับพระชายาและไม่ทรงพอพระทัยในการแต่งงานทางการเมืองซึ่งทรงถือว่าเป็นการแทรกแซงของออสเตรียซึ่งมีมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1701 ฟรีดริชและอลิสซาเบ็ธคริสทีนไม่มีพระโอรสธิดาด้วยกัน เมื่อพระชนมายุมากขึ้นเสด็จไปเยี่ยมพระชายาอย่างเป็นทางการปีละครั้ง.", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#41", "text": "วังซองส์ซูซิเป็นที่ประทับที่พระเจ้าฟรีดริชทรงใช้รับรองแขกพิเศษส่วนพระองค์โดยเฉพาะวอลแตร์ผู้ที่ทรงขอให้มาอยู่กับพระองค์ในฐานะคนรักเมื่อปี ค.ศ. 1750 พระเจ้าฟรีดริชทรงติดต่อกับวอลแตร์เป็นเวลาถึง 50 ปีด้วยความสัมพันธ์ทั้งทางปัญญาและทางเพศ แต่ความสัมพันธ์เมื่อพบกันมักจะเป็นความสัมพันธ์ที่รุนแรงเต็มไปด้วยการโต้เถียงกันอย่างรุนแรง วอลแตร์เกลียดความเป็นทหารของพระเจ้าฟรีดริช และพระเจ้าฟรีดริชผู้ที่วอลแตร์บรรยายว่าเป็น “lovable whore” ก็ไม่ชอบวิธีที่วอลแตร์ชอบพูดจาแทะเล็มแล้วถอย การโจมตีของวอลแตร์ต่อพระสหายนักเขียนคนหนึ่งของพระเจ้าฟรีดริชทำให้วอลแตร์ไม่เป็นที่ต้อนรับในปรัสเซีย เมื่อวอลแตร์กลับมาถึงปารีสเมื่อปี ค.ศ. 1753 ก็พิมพ์หนังสือโดยไม่ออกนามชื่อ “ชีวิตส่วนพระองค์ของกษัตริย์ปรัสเซีย” ซึ่งเปิดเผยความเป็นผู้รักร่วมเพศของฟรีดริชและผู้รักร่วมเพศคนอื่นๆ ในราชสำนักปรัสเซีย พระเจ้าฟรีดริชก็ไม่ทรงตอบรับหรือปฏิเสธแต่อย่างใด ไม่นานหลังจากนั้นวอลแตร์และพระเจ้าฟรีดริชก็กลับคืนดีกันตามเดิมและเขียนจดหมายติดต่อกันตามที่เคยทำมา แต่ทั้งสองคนก็ไม่ได้พบปะกันอีกหลังจากนั้น", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#23", "text": "เมื่อได้ดินแดนใหม่มาแล้วพระเจ้าฟรีดริชก็ทรงปรับปรุงระบบโครงสร้างต่างๆ ทางการบริหารรัฐบาล ระบบการบริหารและกฎหมายของโปแลนด์ก็ถูกแทนที่โดยระบบของปรัสเซีย การปรับปรุงรวมไปถึงระบบการศึกษาโดยการสร้างโรงเรียน 750 โรงเรียนระหว่างปี ค.ศ. 1772 ถึงปี ค.ศ. 1775 ครูที่สอนก็มีทั้งโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก และยังสนับสนุนให้ครูและนักบริหารพูดได้ทั้งภาษาเยอรมันและโปแลนด์ นอกจากนั้นพระเจ้าฟรีดริชก็ยังทรงตั้งนโยบายให้ผู้สืบราชบัลลังก์ปรัสเซียเรียนภาษาโปแลนด์ด้วย นโยบายซึ่งได้ทำต่อกันมาในราชวงศ์โฮเอินท์ซ็อลเลิร์นมาจนถึงรัชสมัยของจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3เมื่อทรงตัดสินใจไม่ให้มกุฎราชกุมารวิลเฮล์มเรียน", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#38", "text": "เมื่อฟรีดริชยังทรงพระเยาว์ทรงได้รับการเลี้ยงอย่างทารุณโดยพระราชบิดาที่ทรงทำการลงโทษหรือดูแคลนพระองค์ต่อหน้าธารกำนัล เมื่อพระชนมายุได้ 18 พรรษาก็ไม่อาจจะทรงทนได้ต่อไปจึงได้ทรงวางแผนหนีไปอังกฤษกับแคท พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มทรงมีความสงสัยในความสัมพันธ์ของทั้งสองคนอยู่แล้วเมื่อทราบแผนการหนีจึงทรงจับทั้งสองคนและสั่งให้ประหารชีวิตแคทนอกหน้าต่างคุกของฟรีดริช ฟรีดริชได้แต่กรรแสงและส่งจูบให้แคทและทรงขอโทษ แต่แคทตอบว่า “ไม่จำเป็นต้องขอโทษกระหม่อมหรอกพะย่ะค่ะ” และกล่าวว่ายอมถวายชีวิตต่อพระองค์ด้วยความยินดี กล่าวแล้วแคทก็คุกเข่าลงให้ลงโทษ ฟรีดริชทรงสิ้นพระสติและเพ้อไปสองวันหลังจากนั้น.", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#2", "text": "พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่พระราชวังซ็องซูซีที่เมืองพ็อทซ์ดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#42", "text": "เมื่อพระชนมายุมากขึ้นพระเจ้าฟรีดริชก็ยิ่งทรงกลายเป็นคนสันโดษมากขึ้น หลังจากที่ผู้ที่ใกล้ชิดเสียชีวิตกันไปหมด พระเจ้าฟรีดริชสิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุได้ 74 พรรษาหลังจากที่ประชวรเป็นเวลานาน ในบั้นปลายทรงมีเค้านทชาวอิตาเลียนซึ่งทรงให้รางวัลโดยการแต่งตั้งให้เป็นทูต ", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#6", "text": "ในปี ค.ศ. 1730 พระราชินีโซเฟีย โดโรเธียพยายามจัดงานแต่งงานคู่ระหว่างฟรีดริชกับเจ้าหญิงอมิเลีย โซเฟียแห่งบริเตนใหญ่ และวิลเฮ็ลมมินาแห่งเบย์รึธพระขนิษฐากับเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์พระธิดาและโอรสในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ แต่นายพลฟรีดริช ไฮน์ริช ฟอน เซ็คเค็นดอร์ฟ (Friedrich Heinrich von Seckendorff) ราชทูตของออสเตรียประจำเบอร์ลินมีความระแวงในการพยายามเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรปรัสเซียและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่จึงติดสินบนนายพลฟอนกรุมบเคาว์ (Field Marshal von Grumbkow) มุขมนตรีกระทรวงสงครามของปรัสเซีย และเบ็นจามิน ไรเค็นบาคราชทูตปรัสเซียประจำลอนดอน สองคนนี้จึงสร้างสถานะการณ์ที่ทำให้เกิดความเคลือบแคลงระหว่างสองราชสำนัก ซึ่งทำให้พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 ทรงตั้งข้อเรียกร้องที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ไม่สามารถทำตามได้ เช่นปรัสเซียต้องการผนวกแคว้นจูลิชเหนือเมืองโคโลญในปัจจุบันและแคว้นเบิร์กทางตะวันออกเฉียงเหนือของโคโลญในปัจจุบัน ซึ่งเป็นผลทำให้ข้อเสนอในการแต่งงานระหว่างสองราชวงศ์เป็นอันล้มเหลวลงไป\nพระเจ้าฟรีดริชทรงมีความใกล้ชิดกับเจ้าหญิงวิลเฮ็ลมมินาพระขนิษฐาและทรงให้ความสนิทสนมด้วยจนต่อมาตลอดพระชนมายุ เมื่อพระเจ้าฟรีดริชมีพระชนมายุได้ 16 พรรษาทรงมีความใกล้ชิดกับปีเตอร์ คาร์ล คริสตอล์ฟ คีธ เด็กรับใช้ของพระบิดา อายุราว 13 ปี เจ้าหญิงวิลเฮ็ลมมินาทรงบันทึกไว้ว่าสองคนสนิทสนมกันจนแยกจากกันแทบไม่ได้ และทรงกล่าวว่าคีธเป็นเด็กฉลาดเฉลียวแต่ไร้การศึกษา และรับใช้พระอนุชาด้วยความจงรักภักดีโดยการบอกกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่พระบิดาทรงทำ", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#26", "text": "พระเจ้าฟรีดริชทรงเห็นว่าการแปรสภาพที่ดินที่เคยเป็นหนองมาก่อนบริเวณโอเดอร์ว่าเป็นดินแดนที่ได้มาอย่างสันติภาพ ด้วยความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญชาวฝรั่งเศสพระเจ้าฟรีดริชทรงจัดระบบการเก็บ “ภาษีอากรทางอ้อม” (indirect taxes) เพื่อให้รัฐบาลมีรายได้เพิ่มขึ้นนอกไปจากภาษีทางตรง พระเจ้าฟรีดริชทรงจ้างโยฮันน์ เอิร์นส ก็อทซเคาว์สกีเพื่อส่งเสริมโฆษณาทางการค้าและเพื่อแข่งกับฝรั่งเศสรวมทั้งการเพิ่มลูกจ้างโรงงานทำไหมขึ้นเป็น 1,500 คน นอกจากนั้นยังทรงทำตามคำแนะนำในการเก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ และการจำกัดการนำสินค้าเข้า ในปี ค.ศ. 1763 เมื่อก็อทซเคาว์สกีล้มละลายระหว่างสมัยเศรษฐกิจล้มเหลวของยุโรปที่เริ่มที่อัมสเตอร์ดัม พระเจ้าฟรีดริชทรงซื้อโรงงานเครื่องกระเบื้อง KPM ของก็อทซเคาว์สกีแต่ไม่ทรงยอมซึ้อภาพเขียน", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#44", "text": "ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชกลายเป็นผู้อยู่อย่างสันโดษมากขึ้น ในแวดวงพระสหายที่ซองซูซีก็เสียชีวิตกันไปแต่ก็มิได้ทรงหาใครแทน และเมื่อมีพระชนมายุมากขึ้นก็ยิ่งทรงมองเห็นข้อเสียของระบบต่างๆ มากขึ้นซึ่งทำให้เสนาบดีและผู้รับใช้มีความอัดอั้นตันใจ ประชาชนชาวเบอร์ลินก็จะพากันมาชื่นชมถวายพระพรเมื่อเสด็จออกไปชนบท แต่พระเจ้าฟรีดริชก็มิได้มีความยินดียินร้ายกับความรู้สึกชื่นชมของประสกนิกรเท่าใดนัก ทรงหันมาให้ความสนใจต่อสุนัขเกรย์ฮาวนด์ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงแทนที่ และทรงเรียกสุนัขของพระองค์เป็นการล้อเลียนว่าเป็น “มาควิสเดอ ปองปาดูร์” ของพระองค์ ซึ่งถอดมาจากมาดาม เดอ ปองปาดูร์ พระเจ้าฟรีดริชสิ้นพระชนม์บนพระเก้าอี้ในห้องทรงพระอักษรที่วังซองส์ซูซีเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" }, { "docid": "154233#11", "text": "งานเขียนของนิกโกเลาะ มาเกียเวลลี (Niccolò Machiavelli) เช่นเรื่อง “เจ้าชาย” (The Prince) เป็นงานที่ใช้เป็นแนวทางในการปกครองของพระมหากษัตริย์ในสมัยของฟรีดริช แต่ในปี ค.ศ. 1739 ฟรีดริชเขียน “ปฏิปักษ์ต่อมาเกียเวลลี” (Anti-Machiavel) — ซึ่งเป็นทฤษฏีการปกครองที่ตรงกันข้ามกับการสอนของมาเกียเวลลี หนังสือถูกพิมพ์โดยไม่บอกชื่อผู้ประพันธ์เมื่อปี ค.ศ. 1740 วอลแตร์นำไปเผยแพร่ที่อัมสเตอร์ดัมและได้รับความนิยมเป็นอันมาก ชีวิตของฟรีดริชที่อุทิศให้ศิลปะมาจบลงเมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มสิ้นพระชนม์", "title": "พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย" } ]
1909
ทางเหนือของเซอร์เบีย ติดกับประเทศอะไร ?
[ { "docid": "38822#0", "text": "เซอร์เบีย (English: Serbia; Serbian: Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (English: Republic of Serbia; Serbian: Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก", "title": "ประเทศเซอร์เบีย" } ]
[ { "docid": "595499#0", "text": "วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเซอร์เบีย () เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศเซอร์เบีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเซอร์เบีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ", "title": "วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเซอร์เบีย" }, { "docid": "3648#1", "text": "ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง", "title": "ประเทศอียิปต์" }, { "docid": "320875#4", "text": "ภาพวาดธงของเซอร์เบียที่เก่าที่สุดเท่าที่มีการค้นพบปรากฏอยู่ในแผนที่ในปี ค.ศ. 1339 ของแองเจลิโน ดุลเซิร์ท (Angelino Dulcert) นักวาดแผนที่ในช่วงคริตส์ศตวรรษที่ 14 ชาวสเปน ในแผนที่ดังกล่าวได้ปรากฏรูปธงของดินแดนต่างๆ จำนวนหนึ่ง ซึ่งรูปธงของเซอร์เบียในแผนที่ดังกล่าวปรากฏอยู่เหนือจุดบอกตำแหน่งเมืองสโกเปีย (ระบุชื่อในแผนที่ \"Skopi\") โดยมีชื่อประเทศเซอร์เบีย (\"Seruja\") กำกับไว้ที่ด้านต้นของธง รูปของธงนั้นแสดงด้วยรูปนกอินทรีสองหัวสีแดงบนพื้นธงสีเหลือง", "title": "ธงชาติเซอร์เบีย" }, { "docid": "108841#53", "text": "ประเทศฮังการี ประเทศสโลวาเกีย ประเทศออสเตรีย (เมืองเบอร์เจนแลนด์) ประเทศสโลวีเนีย (ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ) ประเทศโครเอเชีย (สลาโวเนีย, และโครเอเชียตอนกลาง) ประเทศยูเครน ประเทศโรมาเนีย (พื้นที่เขตทรานซิลวาเนีย) ประเทศเซอร์เบีย (พื้นที่เขตเบลเกรด) ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (พื้นที่ทางภาคตะวักตกเฉียงเหนือของประเทศ)", "title": "จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี" }, { "docid": "17494#4", "text": "เขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคอื่น ๆ ของภาคเหนือ เรียงตามเข็มนาฬิกา ได้แก่ ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับประเทศพม่า ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับประเทศลาว ทิศใต้ติดกับภาคกลาง พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และ สุโขทัย ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มีพื้นที่ติดกับภาคตะวันตก บริเวณจังหวัดตาก", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "74042#1", "text": "ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ", "title": "ภาษาสโลวัก" }, { "docid": "4151#0", "text": "แอลเบเนีย (; ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (; ) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตย", "title": "ประเทศแอลเบเนีย" }, { "docid": "976393#0", "text": "อาเล็กซานดาร์ มิตรอวิช (; เกิด 16 กันยายน ค.ศ. 1994) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวเซอร์เบีย ตำแหน่งกองหน้า ปัจจุบันเล่นให้กับฟูลัมและทีมชาติเซอร์เบีย เมื่อเขาอายุ 18 ปี ได้รับคัดเลือกให้ติด 1 ใน 10 นักเตะพรสวรรค์รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีโดยผู้สื่อข่าวยูฟ่า", "title": "อาเล็กซานดาร์ มิทรอวิช (นักฟุตบอล)" }, { "docid": "667956#0", "text": "ฮหว่าบิ่ญ () เป็นจังหวัดที่เป็นภูเขาของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีพรมแดนติดกับจังหวัดฟู้เถาะและจังหวัดเซินลาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับฮานอยทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดห่านามทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดนิญบิ่ญและจังหวัดทัญฮว้าทางทิศใต้ ในปี ค.ศ. 2004 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัวของจังหวัดอยู่ที่ประมาณ 228 ดอลลาร์สหรัฐ (หรือเท่ากับ 3,600,000 ด่ง)", "title": "จังหวัดฮหว่าบิ่ญ" }, { "docid": "394012#0", "text": "ซูบอตีตซา (อักษรซีริลลิก: Суботица, ฮังการี: \"Szabadka\", โครเอเชีย: \"Subotica\") เป็นเมืองทางตอนเหนือของประเทศเซอร์เบีย ตั้งอยู่ตำแหน่งพิกัด 46.07° เหนือ, 19.68° ตะวันออก ห่างจากชายแดนฮังการีราว 10 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มีหลายเชื้อชาติ มีประชากร 99,981 คน (ค.ศ. 2002) เขตเมืองมีประชากร 148,401 คน ผลิตผลที่สำคัญได้แก่ สินค้าเหล็ก เครื่องเรือน เคมีภัณฑ์ มีการกล่าวถึงชื่อเมืองนี้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1391 รวมเข้ากับยูโกสลาเวียเมื่อ ค.ศ. 1918 ฮังการีได้เข้ายึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง", "title": "ซูบอตีตซา" }, { "docid": "576690#0", "text": "แม่น้ำทิสซอ (Tisza หรือ Tisa) เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายสำคัญในยุโรปกลาง ต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาคาร์เพเทียน ไหลผ่านประเทศยูเครน ไหลไปทางตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของเส้นเขตแดนระหว่างประเทศยูเครนกับประเทศโรมาเนีย แล้วไหลไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านประเทศฮังการี เข้าไปทางเหนือของประเทศเซอร์เบีย ลงสู่แม่น้ำดานูบ", "title": "ทิสซอ" }, { "docid": "17145#1", "text": "ประเทศลัตเวียอยู่ทางยุโรปตะวันออกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเอสโตเนียซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศลิทัวเนีย ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับอ่าวริก้า แผ่นดินด้านตะวันตกและทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับทะเล", "title": "ประเทศลัตเวีย" }, { "docid": "537471#4", "text": "ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2018 ทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์เรียกตัวชาชีรีติดรายชื่อชุดลุยศึกฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซีย โดย สวิตเซอร์แลนด์ ได้อยู่กลุ่มอี ร่วมกับ บราซิล, คอสตาริกา และ เซอร์เบีย ต่อมา ในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2018 ชาชีรีทำประตูแรกในฟุตบอลโลก ในนัดที่ สวิตเซอร์แลนด์ เอาชนะ เซอร์เบีย 2-1 สุดท้าย สวิตเซอร์แลนด์ ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย คว้าอันดับ 2 ของกลุ่มอี ชนะ 1 เสมอ 2 ต่อมา ในวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 ฟุตบอลโลก 2018 รอบ 16 ทีมสุดท้าย สวิตเซอร์แลนด์ พ่ายแพ้ สวีเดน 0-1 ทำให้ สวิตเซอร์แลนด์ ต้องจบเส้นทางฟุตบอลโลก ที่รัสเซีย เพียงเท่านี้", "title": "แจร์ดัน ชาชีรี" }, { "docid": "5255#2", "text": "ฮังการีตั้งอยู่กลางทวีปยุโรปแถบที่ราบเทือกเขาคาร์เปเทียน (Kárpát-medence) มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 7 ประเทศ คือ โรมาเนีย ออสเตรีย สโลวาเกีย ยูเครน เซอร์เบีย โครเอเชีย และสโลวีเนีย รูปร่างประเทศฮังการีคล้ายรูปไต มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 93,000 ตารางกิโลเมตร", "title": "ประเทศฮังการี" }, { "docid": "250525#4", "text": "ยุโรปกลางบางครั้งก็รวมบางส่วนของประเทศเพื่อนบ้านที่รวมทั้ง: (บางครั้งก็ทั้งประเทศ) และบริเวณทรานสซิลเวเนีย ของ (บางครั้งก็ทั้งประเทศ) และ วอยวาดีนา และ/หรือ บริเวณเบลเกรดของเซอร์เบีย, แคว้นซาคาร์ปัตเตีย (Zakarpattia Oblast) และ บริเวณกาลิเซียของยูเครน), แคว้นคาลินินกราดของรัสเซีย), แคว้นลอร์แรน และ อัสซาซในฝรั่งเศส และบางครั้งก็รวมทางตอนเหนือของอิตาลีด้วย", "title": "ยุโรปกลาง" }, { "docid": "504803#0", "text": "นอวีซาด () เป็นเมืองในประเทศเซอร์เบีย และเป็นเมืองหลวงของจังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำดานูบ ทางตอนเหนือของประเทศ มีพื้นที่ 1,105 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 341,625 คน", "title": "นอวีซาด" }, { "docid": "5360#0", "text": "โรมาเนีย (English: Romania; Romanian: România, IPA:[ro.mɨˈni.a]) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (English: Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้วย", "title": "ประเทศโรมาเนีย" }, { "docid": "984693#0", "text": "แม่น้ำซาวา (; , , ) เป็นแม่น้ำทางตอนกลางและตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เป็นแม่น้ำสายย่อยของแม่น้ำดานูบทางฝั่งขวา ไหลผ่านประเทศสโลวีเนีย โครเอเชีย ไหลผ่านชายแดนทางตอนเหนือของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแล้วผ่านเซอร์เบีย ไหลลงแม่น้ำดานูบที่กรุงเบลเกรด ส่วนกลางของแม่น้ำเป็นชายแดนตามธรรมชาติของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาและโครเอเชีย แม่น้ำซาวาจะได้กำหนดเขตแดนทางตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน และปลายทางตอนใต้ของที่ราบพันโนเนีย", "title": "ซาวา" }, { "docid": "88116#0", "text": "ไอร์แลนด์เหนือ (; \"ทวฌเชอรท์ เอรัน\") คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน", "title": "ไอร์แลนด์เหนือ" }, { "docid": "7294#0", "text": "โซมาเลีย (; ; ) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (; ; ) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปีย", "title": "ประเทศโซมาเลีย" }, { "docid": "3693#14", "text": "ภาษาราชการและภาษาพูดกันอย่างแพร่หลายคือภาษามาซิโดเนียซึ่งอยู่ในสาขาตะวันออกของกลุ่มภาษาสลาฟใต้ รองลงมาจากภาษามาซิโดเนียคือ ภาษาเซอร์เบีย ส่วนใหญ่พูดในทางตอนใต้ของเซอร์เบียและตะวันตกของบัลแกเรีย (และโดยพูดในภาคเหนือและตะวันออกของมาซิโดเนีย)", "title": "ประเทศมาซิโดเนีย" }, { "docid": "391270#0", "text": "เซตีเนีย (มอนเตเนโกร / เซอร์เบีย: Цетинѣ / \"Cetině\" (archaic), Цетиње / \"Cetinje\" (modern), อิตาลี: \"Cettigne\", กรีก: Κετίγνη, \"Ketígni\", ) เป็นเมืองในประเทศมอนเตเนโกร เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของแคว้นมอนเตเนโกร จากข้อมูลปี ค.ศ. 2003 มีประชากร 15,137 คน ตั้งอยู่ในเขตภูเขา ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีสุสานของผู้ครองแคว้นมอนเตเนโกร และพิพิธภัณฑ์ซึ่งตั้งอยู่ในพระราชวังเดิม เมืองนี้ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เคยถูกพวกเติร์กปล้นสะดมและเผาทำลายหลายครั้ง", "title": "เซตีเนีย" }, { "docid": "897690#0", "text": "สมเด็จพระราชินีดรากาแห่งเซอร์เบีย ()\nสมเด็จพระราชินีดรากา ทรงมีพระนามเดิมว่า \"ดรากีจา มิโครวิช ลุยจิเคีย\" หรือพระนามลำลองว่า ดรากา เสด็จพระราชสมภพ ณ ราชอาณาจักรเซอร์เบีย เป็นธิดาใน เพนเตลิจา ลุยจิเคีย กับ อินจาโคโรวิช พระราชบิดาของพระองค์เป็นนายอำเภอเมืองแอนโดรวิช โดยพระองค์ทรงมีพระพี่น้อง 7 คน พระองค์เป็นคนที่ 6 โดยพระราชมารดาของพระองค์เสียชีวิตจากอาการติดสุรา\nพระองค์ทรงเข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย โดยได้รับการสถนาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีดรากาแห่งเซอร์เบีย โดยก่อนที่ทั้ง 2 จะเสกสมรสกับ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ได้มีพระราชดำรัสต่อหน้าประชาชนเรื่องทรงหมั้นกับสามัญชนนคนนี้ แต่เป็นกระแสวิพากษ์เป็นอย่างมากด้วยเหตุความไม่เหมาะสม ซึ่ง สมเด็จพระราชินีนาตาลีแห่งเซอร์เบีย พระราชมารดาของพระราชสวามีคัดค้านเป็นอย่างมาก อันทรงพ้นถึงราชบัลลังก์ แต่อย่างไรก็ตามทั้ง 2 สามารถพ้นจากวิกฤตครั้งนี้ไปได้", "title": "สมเด็จพระราชินีดรากาแห่งเซอร์เบีย" }, { "docid": "110167#8", "text": "ยุทธศาสตร์ของฝ่ายมหาอำนาจกลางเสียหายเพราะความผิดพลาดในการติดต่อสื่อสารกัน เยอรมนีให้คำมั่นสนับสนุนออสเตรีย-ฮังการีในการรุกรานเซอร์เบีย แต่ได้มีการตีความความหมายนี้ผิดไป แผนการจัดวางกำลังซึ่งเคยทดสอบมาแล้วในอดีตถูกเปลี่ยนใหม่ในต้นปี ค.ศ. 1914 แต่ยังไม่เคยทดสอบในทางปฏิบัติ ผู้นำออสเตรีย-ฮังการีเชื่อว่าเยอรมนีจะป้องกันปีกด้านทิศเหนือที่ติดกับรัสเซีย อย่างไรก็ตาม เยอรมนีซึ่งเห็นว่าออสเตรีย-ฮังการีมุ่งส่งกำลังทหารส่วนใหญ่ต่อสู้กับรัสเซีย ขณะที่เยอรมนีจัดการกับฝรั่งเศส ความสับสนนี้ทำให้กองทัพออสเตรีย-ฮังการีต้องแบ่งกำลังเพื่อไปประจำทั้งแนวรบรัสเซียและเซอร์เบีย", "title": "สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง" }, { "docid": "716927#0", "text": "วอลเลย์บอลชายทีมชาติเซอร์เบีย () เป็นทีมวอลเลย์บอลชายของประเทศเซอร์เบีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเซอร์เบีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ", "title": "วอลเลย์บอลชายทีมชาติเซอร์เบีย" }, { "docid": "465645#0", "text": "เนวเกน () เป็นรัฐในประเทศอาร์เจนตินา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ ทางเหนือของภูมิภาคปาตาโกเนีย มีชายแดนติดกับรัฐเมนโดซาทางทิศเหนือ ติดกับรัฐริโอเนโกรทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และติดกับประเทศชิลีทางทิศตะวันตก ติดกับรัฐลาปัมปาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ", "title": "รัฐเนวเกน" }, { "docid": "4060#0", "text": "ซูดาน (; ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (; ) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า \"Bilad-al-Sudan\" ซึ่งแปลว่า\"ดินแดนของคนผิวดำ\" ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร์", "title": "ประเทศซูดาน" }, { "docid": "469819#0", "text": "ซัลตา () เป็นรัฐในประเทศอาร์เจนตินา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ติดกับรัฐอื่นดังนี้ (เริ่มจากทางทิศตะวันออก หมุนตามเข็มนาฬิกา) รัฐฟอร์โมซา รัฐชาโก รัฐซานเตียโกเดลเอสเตโร รัฐตูกูมัน และรัฐกาตามาร์กา และทิศเหนือติดกับรัฐฆูฆุย มีชายแดนติดกับประเทศโบลิเวียและปารากวัยทางทิศเหนือ ติดกับประเทศชิลีทางทิศตะวันตก", "title": "รัฐซัลตา" }, { "docid": "93365#0", "text": "หลวงน้ำทา () เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของประเทศ ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศใต้ติดกับแขวงบ่อแก้ว ทิศตะวันออกติดกับแขวงอุดมไซ และทิศตะวันตกติดกับประเทศพม่า", "title": "แขวงหลวงน้ำทา" } ]
2636
ประเทศไทยมีมรดกโลกกี่แห่ง?
[ { "docid": "733298#0", "text": "องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แห่ง", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย" } ]
[ { "docid": "733298#2", "text": "ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 รัฐบาลไทยได้เสนอคณะกรรมการมรดกโลก ในการประชุมครั้งที่ 40 ที่เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ให้พิจารณาการขึ้นทะเบียนกลุ่มป่าแก่งกระจานขึ้นเป็นมรดกโลก สืบเนื่องจากที่ สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) และคณะกรรมการมรดกโลกได้ให้การการยอมรับคุณค่าสากลที่โดดเด่น (outstanding universal value) ของผืนป่า อย่างไรก็ตามคณะกรรมการมรดกโลกตัดสินใจที่จะเลื่อนการขึ้นทะเบียนออกไป เนื่องด้วยวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นระหว่างการประชุมมรดกโลก และปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวกะเหรี่ยงที่อาศัยอยู่ในผืนป่า รวมถึงข้อพิพาทเกี่ยวกับการปักปันเขตแดนกับประเทศพม่า", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย" }, { "docid": "34368#0", "text": "ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เป็นมรดกโลกแหล่งที่ 5 และเป็นอันดับที่ 2 ของมรดกทางธรรมชาติของไทย ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 10-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ณ เมืองเดอร์บัน ประเทศแอฟริกาใต้ ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติ 4 แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอีก 1 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว และบุรีรัมย์ มีพื้นที่รวมทั้งสิ้นราว 3,874,863 ไร่ หรือ 6,155 ตารางกิโลเมตร ถูกเรียกว่าเป็น ผืนป่าตะวันออก เพื่อเทียบเคียงกับ \"ผืนป่าตะวันตก\" บริเวณภาคตะวันตกของไทยแหล่งมรดกโลกผืนนี้ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งแต่ก่อนเป็นป่าดงดิบที่ทึบหนา มีสัตว์มากมาย เช่น เสือ กระทิง และช้าง ชุกชุมไปด้วยไข้มาเลเรีย ไม่มีถนนหนทางตัดฝ่าผืนป่าดั่งเช่นในปัจจุบัน การเดินทางจากกรุงเทพไปภาคอีสานจึงยากลำบาก หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่าหรือสัตว์ป่า จนไม่ค่อยจะมีใครกล้าเข้ามาในดินแดนนี้ ผู้คนจึงตั้งชื่อให้ผืนป่าแห่งนี้ว่า ป่าดงพญาไฟ\nคำว่าป่าดงพญาเย็นนั้น ได้ถูกกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จากหลักฐานจากบทพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง เที่ยวตามทางรถไฟ ได้ทรงเล่าถึงป่าดงพญาไฟไว้ว่า", "title": "ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่" }, { "docid": "34030#0", "text": "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร เป็น 1 ใน 3 แหล่งมรดกโลกแห่งแรกของประเทศไทย ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งแรกของประเทศไทย หลังผ่านเกณฑ์ขององค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก โดยเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวารเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชรได้จดทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 เมื่อปี พ.ศ. 2534 ที่เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนิเซีย โดยผ่านข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นแหล่งมรดกโลก ดังนี้", "title": "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร" }, { "docid": "630166#0", "text": "องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 10 ประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออก เป็นมรดกโลก หลายแห่ง ทั้งนี้ ไม่นับรวมแหล่งมรดกโลกในประเทศอาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจานที่มีสถานะคาบเกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียตะวันตก", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก" }, { "docid": "47052#0", "text": "มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยรายชื่อมรดกโลกได้แบ่งตามภูมิภาคดังนี้", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปเอเชีย" }, { "docid": "130531#0", "text": "มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก โดยรายชื่อมรดกโลกได้แบ่งตามภูมิภาคดังนี้", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในทวีปยุโรป" }, { "docid": "733298#1", "text": "ปัจจุบัน ประเทศไทยมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 6 แห่ง ดังนี้", "title": "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย" }, { "docid": "34077#1", "text": "ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2561) มีมรดกโลกทั้งหมด 1092 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 845 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 209 แห่ง และอีก 38 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยอิตาลีเป็นประเทศที่มีจำนวนมรดกโลกมากที่สุด คือ 54 แห่ง แม้ว่ายูเนสโกจะอ้างอิงถึงมรดกโลกแต่ละแห่งด้วยหมายเลข แต่การขึ้นทะเบียนในหลายครั้งก็จะผนวกเอามรดกโลกที่ได้ขึ้นทะเบียนไปแล้วเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลกที่มีพื้นที่มากขึ้น ดังนั้นจึงมีหมายเลขมรดกโลกเกิน 1,200 แม้ว่าจะมีจำนวนมรดกโลกน้อยกว่าก็ตาม", "title": "แหล่งมรดกโลก" }, { "docid": "34030#1", "text": "โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น 1 ใน 3 แหล่งมรดกโลกแห่งแรกของประเทศไทย พร้อมกับนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งแรกของประเทศไทย", "title": "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร" } ]
1190
เกาหลีเหนือมีเขตแดนติดกับเกาหลีใต้หรือไม่ ?
[ { "docid": "2519#0", "text": "สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(; ) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (; ) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย", "title": "ประเทศเกาหลีเหนือ" }, { "docid": "443378#0", "text": "พาจู เป็นเมืองในจังหวัดคย็องกี ,ประเทศเกาหลีใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดคยองกี มีบริเวณท่าเรือที่ติดกับเขตแดนทางทหารระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ,พาจูถูกแต่งตั้งขึ้นให้เป็นเมืองในปี พ.ศ. 2540 พื้นที่ทั้งหมด 672.56 ตารางกิโลเมตร ,ประชากรรวม 413,735 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 5 \"อึบ\" (ตำบล) , 9 \"มย็อน\" (เขตการปกครองท้องถิ่น), 2 \"ทง\" (แขวง)", "title": "พาจู" } ]
[ { "docid": "447685#5", "text": "จังหวัดคังว็อนมีพื้นที่ทางทิศตะวันตกติดกับจังหวัดคย็องกี ทางใต้ติดกับจังหวัดชุงชองเหนือ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลญี่ปุ่น (ทะเลตะวันออก) ทางทิศเหนือติดกับจังหวัดคังว็อน ประเทศเกาหลีเหนือ ภูมิประเทศของจังหวัดส่วนใหญ่อยู่เทือกเขาแทแบ็ก (\"แทแบ็กซันแม็ก\") โดยทอดยาวจนเกือบถึงทะเล ซึ่งเป็นผลทำให้ชายฝั่งมีความลาดชัน", "title": "จังหวัดคังว็อน (ประเทศเกาหลีใต้)" }, { "docid": "349000#2", "text": "แนวดังกล่าวตัดระหว่างส่วนแผ่นดินใหญ่ของจังหวัดเคียงคีโดที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของฮวางแฮมาก่อน พ.ศ. 2488 และเกาะนอกชายฝั่งที่อยู่ใกล้กัน ผลที่เกิดขึ้น คือ ส่วนแผ่นดินใหญ่กลับคืนไปสู่การควบคุมของเกาหลีเหนือ ในขณะที่เกาะต่าง ๆ ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของเกาหลีใต้ แนวดังกล่าวลากผ่านต่อไปจนถึงทะเลจากเส้นแบ่งเขตทางทหาร ในปี พ.ศ. 2520 เกาหลีเหนือพยายามสร้างพื้นที่พรมแดนทหารยาว 50 ไมล์โดยรอบเกาะที่อ้างสิทธิ์โดยเกาหลีใต้ตามแนวจำกัดตอนเหนือ อย่างไรก็ตาม การอ้างสิทธิ์ดังกล่าวถูกบอกปัด นับตั้งแต่ พ.ศ. 2542 เกาหลีเหนือได้อ้างสิทธิ์ไปทางใต้ \"เส้นแบ่งเขตทางทหารทะเล\" ซึ่งจะทำให้เกาะเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่ของเกาหลีเหนือด้วย", "title": "แนวจำกัดตอนเหนือ" }, { "docid": "50629#4", "text": "ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของแผ่นดินที่เป็นหินแกรนิตและหินปูนทำให้เกิดภูมิประเทศที่สวยงามอย่างมหัศจรรย์ ประกอบด้วยเทือกเขาและหุบเขา เทือกเขา ตลอดชายฝั่งด้านตะวันออกสูงชันและทอดตัวลงสู่ทะเลตะวันออก ในขณะที่ชายฝั่งทางด้านใต้ และตะวันตก เทือกเขาค่อย ๆ ลาดลงต่ำสู่ที่ราบชายฝั่ง ซึ่งเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในเกาหลีโดยเฉพาะในด้านการผลิตข้าว\nคาบสมุทรเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ที่บริเวณเหนือเส้นขนานที่ 38 คือ ประเทศระบอบประชาธิปไตย สาธารณรัฐเกาหลีอยู่ทางใต้ และประเทศระบอบคอมมิวนิสต์ เกาหลีเหนือ โดยถูกคั่นกลางโดยเขตปลอดทหาร", "title": "ประเทศเกาหลี" }, { "docid": "92765#0", "text": "มณฑลจี๋หลิน () ตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีชายแดนติดต่อกับมณฑลต่างๆ ทางใต้ติดกับเหลียวหนิง ตะวันตกติดกับมองโกเลียใน เหนือติดกับเฮยหลงเจียง และตะวันออกติดต่อกับรัสเซียและคาบสมุทรเกาหลีโดยมีแม่น้ำยาลู่ว์เจียงเป็นเส้นเขตแดน มีเมืองหลวงชื่อ ฉางชุน(长春)มีเนื้อที่ 187,400 ก.ม. ประชากร 27,090,000 คน ความหนาแน่น 145 คนต่อตารางกิโลเมตร ค่าจีดีพี 295.8 พันล้านเหรินหมินปี้ หรือเฉลี่ย 10,900 เหรินเหมินปี้ต่อประชากรหนึ่งคน (ข้อมูล พ.ศ. 2547) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น", "title": "มณฑลจี๋หลิน" }, { "docid": "17494#4", "text": "เขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคอื่น ๆ ของภาคเหนือ เรียงตามเข็มนาฬิกา ได้แก่ ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับประเทศพม่า ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับประเทศลาว ทิศใต้ติดกับภาคกลาง พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และ สุโขทัย ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มีพื้นที่ติดกับภาคตะวันตก บริเวณจังหวัดตาก", "title": "ภาคเหนือ (ประเทศไทย)" }, { "docid": "348986#1", "text": "เส้นพรมแดนทางทะเลด้านตะวันตกของการควบคุมทางทหารระหว่างเกาหลีทั้งสองประเทศได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยกองบัญชาการสหประชาชาติ (UNC) ใน พ.ศ. 2496 เรียกว่า \"แนวจำกัดตอนเหนือ\" (NLL) เกาหลีเหนือไม่ได้รับรองพรมแดนดังกล่าวซึ่งร่างขึ้นเพียงฝ่ายเดียวโดยสหประชาชาติในช่วงปลายสงครามเกาหลี (พ.ศ. 2493-96) ภายใต้เงื่อนไขของการสงบศึก เกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือทั้งห้าได้รับการกำหนดโดยเฉพาะเจาะจงให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของสหประชาชาติ (นั่นคือ เกาหลีใต้) แนวพรมแดนทางทะเลด้านตะวันตกระหว่างทั้งสองประเทศได้จุดประกายความขัดแย้งระหว่างทั้งสองมาช้านานแล้ว", "title": "การระดมยิงย็อนพย็อง" }, { "docid": "447685#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2488 จังหวัดคังว็อน (พร้อมด้วยเกาหลีทั้งคาบสมุทร) ได้ถูกแบ่งโดยเส้นขนานที่ 38 เหนือ โดยทางสหรัฐอเมริกาเข้ายึดครองฝั่งทางใต้และสหภาพโซเวียตยึดครองฝั่งทางเหนือ โดยมีเมืองว็อนซัน เป็นเมืองเอกของจังหวัดคังว็อนในฝั่งเกาหลีเหนือ ตั้งแต่ปี 2489 ต่อมาในปี 2491 ครึ่งหนึ่งของจังหวัดคังว็อนฝั่งทางใต้ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเกาหลี ผลมาจากข้อตกลงหยุดยิงในสงครามเกาหลี ในปี พ.ศ. 2496 เขตแดนระหว่างเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้บางส่วนของจังหวัดได้เคลื่อนไปยังทางเหนือเพื่อเป็นเส้นแบ่งเขตทางทหาร โดยเขตแดนของจังหวัดก็ยังคงเป็นแบบนี้เรื่อยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2496", "title": "จังหวัดคังว็อน (ประเทศเกาหลีใต้)" }, { "docid": "28679#7", "text": "โซลอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเกาหลีใต้ ครอบคลุมพื้นที่ 605.25 กม.² มีรัศมีประมาณ 15 กิโลเมตร โดยแบ่งออกเป็นสองส่วนอย่างคราว ๆ เป็นฝั่งเหนือและฝั่งใต้ โดยใช้แม่น้ำฮันเป็นตัวแบ่ง แม่น้ำฮันและบริเวณรอบ ๆ มีส่วนสำคัญต่อประวัติศาสตร์เกาหลี ในยุคราชอาณาจักรทั้งสามของเกาหลีก็มีการต่อสู้กันและมีความพยายามอย่างหนักที่จะควบคุมพื้นที่นี้ ที่ซึ่งแม่น้ำสามารถใช้เป็นเส้นทางในการค้าขายกับจีน (ผ่านทะเลเหลือง) แม่น้ำฮันไม่สามารถที่จะใช้เดินเรือได้อีกต่อไป เพราะว่าชะวากทะเลตั้งอยู่บนพรมแดนระหว่างสองเกาหลี พร้อมด้วยการระงับพลเรือนไม่ให้เข้าไปในเขตนั้น โซลถูกกั้นขอบเขตด้วยภูเขา 8 ลูก ตลอดจนบริเวณพื้นที่สูงกว่าบริเวณที่ราบแม่น้ำฮันและพื้นที่ตะวันตก", "title": "โซล" } ]
3426
ตรีมูรติ คืออะไร ?
[ { "docid": "94036#0", "text": "ตรีมูรติ (English: Trimurati, Trinity; Sanskrit: त्रिमूर्ति) คือ การอวตารรวมของพระเป็นเจ้าสูงสุดทั้งสามองค์ในศาสนาฮินดู อันได้แก่ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุ (ผู้ปกป้องรักษา) และ พระศิวะ (ผู้ทำลาย)", "title": "ตรีมูรติ" } ]
[ { "docid": "181162#8", "text": "หมอลักษณ์ เป็นนักโหราศาสตร์คนหนึ่ง ที่คนทั่วไปรู้จักและได้พบเห็นตามสื่อต่างๆเกี่ยวกับงานบุญการกุศลมากมาย รวมถึงเป็นประธานงานบุญงานกุศล ชวนสาธุชนร่วมทำบุญสร้างพระพุทธรูปสร้างเทพต่างๆอาทิพระพุทธมหาเศรษฐนวโกฏิ (กล่าวถึงเศรษฐีทั้ง ๙ ในสมัยพุทธกาล) ประดิษฐานทั่วประเทศพระราหูทรงครุฑ ประดิษฐานทั้ง ๔ ภาคสร้างหมอชีวกโกมารภัจจ์ แพทย์ในสมัยพุทธกาลที่ทำหน้าที่รักษาพระพุทธเจ้า สร้างพระตรีมูรตินาฎราช และอื่นๆอีกมากมาย", "title": "ลักษณ์ เรขานิเทศ" }, { "docid": "48201#12", "text": "นอกจากลานกิจกรรมเซ็นทรัลเวิลด์สแควร์พื้นที่ 8,000 ตารางเมตร หน้าอาคารศูนย์การค้า และลานกิจกรรมที่กระจายตัวในอาคารศูนย์การค้าแล้ว ยังมี \"จีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์\" และ \"บางกอก คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์\" ในส่วนของโรงแรมด้วย\nบริเวณลานเซ็นทรัลเวิลด์ด้านหน้าอาคารห้างสรรพสินค้าอิเซตัน เป็นที่ตั้งของเทวรูปพระตรีมูรติ ซึ่งย้ายมาจากลานหน้าห้างสรรพสินค้าเซน และพระพิฆเนศ", "title": "เซ็นทรัลเวิลด์" }, { "docid": "94036#4", "text": "ชาวไทยบางกลุ่มเชื่อว่าพระตรีมูรติเป็นเทพเจ้าแห่งความรัก สามารถดลบันดาลให้ คู่รักชาย-หญิง สมหวังในความรักนั้น ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดว่าเป็นเพราะเหตุใด แต่เป็นธรรมเนียมที่นิยมปฏิบัติ ทุกคืนในวันพฤหัสบดี เวลาประมาณ 21.30 น. บรรดาผู้ที่อยากสมหวังในความรักจะมาอธิษฐาน เพื่อให้ตนเองได้รับความสมหวังในความรักที่ปรารถนา ด้วยความเชื่อที่ว่า เวลา 21.30 น.ของวันนั้นมหาเทพจะเสด็จลงมาจากสวรรค์เพื่อรับคำอธิษฐาน", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "62690#5", "text": "ในคัมภีร์ของลัทธิไวษณพ (นับถือพระวิษณุเป็นใหญ่) กล่าวว่าเมื่อยามที่พระวิษณุผู้เป็นใหญ่แห่งจักรวาลมีประสงค์จะสร้างโลกทั้ง 3 นั้น ท่านได้เห็นว่าการสร้างโลกทั้ง 3 นี้ เป็นงานที่หนักสำหรับคนเพียงคนเดียว ท่านจึงแบ่งบางส่วนของร่างกายพระองค์ออกเป็นมหาเทพทั้ง 3 พระองค์ โดยแขนซ้ายเป็นพระพรหม แขนขวาเป็นพระศิวะ และส่วนอกเป็น พระวิษณุ (แม้แต่ในรูปตรีมูรติ ก็จะเห็นว่า พระพักตร์ของพระวิษณุจะอยู่ตรงกลางเสมอ)", "title": "พระวิษณุ" }, { "docid": "62690#0", "text": "พระวิษณุ (Sanskrit: विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พระนารายณ์ (Sanskrit: नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง 3 โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี 4 กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ\"ประทานพร\")", "title": "พระวิษณุ" }, { "docid": "529854#3", "text": "การสาดสีใส่กันนั้น เชื่อว่า เป็นการปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย มีปกรณัมมากมายเกี่ยวกับที่มาของเทศกาลนี้ แต่ที่เชื่อกันมากที่สุด คือ การเฉลิมฉลองที่พระวิษณุ หนึ่งในตรีมูรติ เอาชนะนางมารโฮลิกะ ซึ่งเป็นน้องสาวของหิรัณยกศิปุ ที่ดูหมิ่นผู้ที่นับถือพระองค์ ทำให้นางมารถูกไฟแผดเผาจนมอดไหม้ วันก่อนการสาดสีจะมีการก่อกองไฟเพื่อชำระล้างสิ่งไม่ดีไปจากจิตใจ ", "title": "โฮลี" }, { "docid": "83488#0", "text": "กุมารี (เนปาล: कुमारी; ) คือเทพธิดาผู้มีชีวิตจริงของชาวเนปาล ที่เชื่อว่าเป็นปางหนึ่งของเทวีทาเลจู ซึ่งเป็นปางหนึ่งของเทวีทุรคา ศักติ (ชายา) ของพระศิวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในตรีมูรติ (เทพผู้ยิ่งใหญ่ 3 องค์) ที่ดุร้ายเหมือนเทวีกาลี มาจุติเกิด มาจากการสรรหาจากเด็กหญิงจากวรรณะล่าง และเป็นที่เคารพของผู้นับถือศาสนาฮินดู จนกระทั่งเทวีทุรคามาออกจากร่าง ซึ่งจะนับเมื่อเด็กหญิงผู้นั้นมีประจำเดือน หรือได้รับบาดแผลจนมีเลือดออกจากร่างกายเป็นจำนวนมาก", "title": "กุมารี" }, { "docid": "62386#8", "text": "อย่างไรก็ดี มีนักวิชาการบางกลุ่มเห็นว่า พระเจ้าพรหมมหาราชไม่น่าจะมีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ แต่เป็นการแต่งขึ้นเพื่อสร้างวีรบุรุษของแคว้นโยนก โดยได้รับอิทธิพลมาจากเรื่องท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง วีรบุรุษในตำนานที่มีการเผยแพร่อยู่อย่างหลากหลายก่อนหน้านั้นแล้ว ต่อมาเมื่อมีการรับพุทธศาสนาเข้ามาแทนที่ลัทธินับถือผีดั้งเดิม จึงได้หยิบเอาพระพรหม หนึ่งในตรีมูรติของศาสนาฮินดูมาเป็นวีรบุรุษของตนเอง และยกย่องให้เป็นมหาราชเหนือกษัตริย์อื่น ๆ ใด ๆ ก่อนหน้านี้รวมถึงท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง ด้วย", "title": "พระเจ้าพรหมมหาราช" }, { "docid": "932202#23", "text": "ประวัติความเป็นมาของพระองค์: ช่วงที่พระองค์ทรงสร้างจักรวาลขึ้นมา พระแม่อทิศักติทรงสร้างเทพตรีมูรติขึ้นมาซึ่งมี พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ และทรงสร้างเทวีตรีศักติขึ้นมาซึ่งมี พระสุรัสวดี พระลักษมี และพระอุมา และพระแม่อทิศักติเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับพระสุริยเทพอีกด้วย", "title": "พระแม่นวทุรคา" }, { "docid": "32366#0", "text": "พระพรหม (Sanskrit: ब्रह्मा พฺรหฺมา; English: Brahma; Telugu: బ్రహ్మ; ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ความเมตตา เป็นพระผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิดคัมภีร์พระเวท[1]", "title": "พระพรหม" }, { "docid": "94036#3", "text": "เทวาลัยสำหรับสักการะพระตรีมูรติในปัจจุบันย้ายมาตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของห้างสรรพสินค้าอิเซตัน ใกล้กับศาลพระพิฆเนศวร", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "521921#3", "text": "ฝ่ายอไทฺวตะ เวทานตะ ตีความว่า นิรคุณพรหมันเท่านั้นเป็นพรหมันแท้ ส่วนสคุณพรหมันเป็นพรหมันเทียม เพราะเป็นพลังที่ออกมาจากนิรคุณพรหมันเพื่อมาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับโลกเท่านั้น โดยพลังในทางสร้างเรียกว่าพระพรหม พลังทางธำรงรักษาเรียกว่าพระวิษณุ พลังในทางทำลายล้างเรียกว่าพระศิวะ พลังทั้งสามนี้เรียกโดยรวมว่าตรีมูรติ", "title": "พรหมัน" }, { "docid": "85940#0", "text": "พระอินทร์ (; ) เป็นเทวราชตามคติในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน มีหน้าที่ปกครองสวรรค์และอภิบาลโลก ถือกำเนิดขึ้นในสมัยฤคเวท ต่อมาในสมัยที่ตรีมูรติอุบัติขึ้น พระอินทร์ก็ถูกลดบทบาทลงและเริ่มมีพฤติกรรมทางเพศมากขึ้น กระทั่งกลายเป็นเทวดาชั้นรองจากมหาเทพตรีมูรติในปัจจุบัน แต่ในรามเกียรติ์ พระอินทร์มีภรรยาชื่อนางกาลอัจนา มีลูกชื่อ พาลี มีน้องชื่อสุครีพ ลูกของพระอาทิตย์", "title": "พระอินทร์" }, { "docid": "62690#9", "text": "เมื่อลัทธิไวษณพ ซึ่งนับถือว่าพระวิษณุทรงเป็นใหญ่เหนือมหาเทพทั้งหลายในตรีมูรติ มีความเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นในสมัยราชวงศ์คุปตะ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 3-6 และกษัตริย์อินเดียในราชวงศ์นี้ส่วนมากจะนับถือลัทธินี้ และทรงรับลัทธินี้ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเอาถือว่าการอวตารขององค์พระวิษณุ เป็นหัวใจที่สำคัญของลัทธิภควตา (Bhagavata) ซึ่งเกิดขึ้นมาในสมัยราชวงศ์คุปตะและเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาเป็นลำดับแม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะเสื่อมลงแล้วก็ตามลัทธินี้ก็ยังคงอยู่ ชาวฮินดูยังเคารพบูชาปางอวตารของพระวิษณุกันมาก แม้กระทั่งในปัจจุบันนี้ก็ยังมีการนับถืออยู่", "title": "พระวิษณุ" }, { "docid": "60549#1", "text": "วัตถุมงคล เป็นเรื่องของความเชื่อและศรัทธาในสิ่งของที่สร้างขึ้นมีความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา ตามสมัยนิยมตั้งแต่โบราณกาลมีหลักฐานเป็นวัตถุมงคลที่สร้างขึ้นมีอายุเก่าแก่เกือบ 2,000 ปี วัตถุมงคลจะมีมากมายในสังคมไทย เช่น พระเครื่อง, พระกริ่ง, พระกริ่งปวเรศ, ปลัดขิก, ผ้ายันต์, ตะกรุด, มีดหมอ, องค์เทพที่เป็นทางศาสนาอื่น ๆ เช่น พระพรหม, พระตรีมูรติ, พระราหู", "title": "วัตถุมงคล" }, { "docid": "42096#1", "text": "ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า \"พหุเทวนิยม\" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า \"ตรีมูรติ\" คือ", "title": "ศาสนาฮินดู" }, { "docid": "149930#7", "text": "๑. ฉันท์ ใช้สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ในบท \"ตรีมูรติ\"", "title": "โลกยนิทาน" }, { "docid": "501582#5", "text": "ต่อมาได้เกิดความเชื่อเรื่องตรีมูรติขึ้นหลังพุทธศตวรรษที่ 8 โดยถือว่ามหาเทพมี 3 องค์ คือพระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ และเชื่อว่าพระพรหมคือพระผู้สร้างโลก ต่อมาได้เกิดลัทธิไวษณพขึ้น ซึ่งถือเอาพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าแท้จริงเพียงพระองค์เดียว เป็นผู้สร้างพระพรหม มอบหมายให้ทำหน้าที่สร้างโลก ฝ่ายผู้นับถือพระศิวะก็ได้พัฒนาลัทธิไศวะขึ้นมาเช่นกัน โดยยกย่องพระศิวะเป็นพระเจ้า และถือว่าการที่พระศิวะทำลายล้างโลกก็เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์โลกขึ้นใหม่ ดังนั้นพระศิวะจึงเป็นพระผู้สร้างด้วย", "title": "พระผู้สร้าง" }, { "docid": "94036#6", "text": "Courtright, Paul B. (1985). Gaṇeśa: Lord of Obstacles, Lord of Beginnings. New York: Oxford University Press. ISBN ISBN 0-19-505742-2.", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "933197#0", "text": "ลัทธิไวษณพ เป็นนิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าผู้ยิ่งใหญ่กว่าเทพใด ๆ รวมทั้งในกลุ่มตรีมูรติ พระองค์ยังมีพระนามอื่น ๆ อีก เช่น พระราม พระกฤษณะ พระนารายณ์ พระวาสุเทพ พระหริ เป็นต้น", "title": "ลัทธิไวษณพ" }, { "docid": "94036#7", "text": "หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู หมวดหมู่:ความเชื่อ", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "613246#4", "text": "แม้ว่าจะมีอันตราย แต่ทว่าในวัฒนธรรมอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูเป็นหลัก งูเห่าอินเดียได้รับการนับถือและมีความเชื่อต่าง ๆ มากมาย นอกจากรูปรอยบนแม่เบี้ย ที่เชื่อว่าเป็นรอยประทับของพระกฤษณะแล้ว ยังเชื่อว่าเป็นงูที่พันรอบพระศอของพระศิวะ หนึ่งในเทพเจ้าสูงสุด หรือตรีมูรติอีกด้วย จนมีงานเทศกาลบูชางู ที่เรียกว่า \"นาคาปัญจามี\" (เทวนาครี: नाग पंचमी) เป็นเทศกาลประจำปีที่จัดขึ้นทุกปีในช่วงวันขึ้นห้าค่ำ ในเดือนศราวัน หรือราวเดือนกรกฎาคมหรือสิงหาคมตามปฏิทินฮินดู โดยรัฐที่มีเทศกาลนี้ขึ้นชื่อ ได้แก่ รัฐเบงกอล, รัฐมหาราษฏระ ทางภาคใต้และภาคตะวันตกของอินเดีย", "title": "งูเห่าอินเดีย" }, { "docid": "400064#8", "text": "ตำนานที่เชื่อกันว่าน่าเชื่อถือที่สุดคือตำนานเกี่ยวกับการบูชา ตรีมูรติ มีการบูชาเทพผู้เป็นใหญ่ทั้งสามได้แก่ พระศิวะ พระพรหม พระวิษณุ และเทพทั้งสามได้มาปรากฏกายให้ผู้บูชาได้ชื่นชมพระบารมี โดยพระพรหมปรากฏเป็น สี่หน้า สี่กร พระวิษณุ เป็นเทพธรรมดา ส่วนพระศิวะปรากฏให้เห็นเฉพาะส่วนที่แสดงให้เห็นว่าเป็นเพศชาย หลักจากนั้นจึงได้มีการสร้างสิ่งเคารพที่แสดงถึงเทพทั้งสามตามที่ปรากฏให้เห็น ", "title": "ปลัดขิก" }, { "docid": "875070#1", "text": "ละครเรื่องนี้มีเค้าโครงเรื่องมาจาก ตำนานของพระศิวะมหาปูรณะ มหาเทพผู้เป็นใหญ่ในจักรวาล เป็นเจ้าผู้ทรงอำนาจ ผู้ซึ่งอยู่จุดสูงสุดแห่งตรีมูรติ มหาเทพผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณา มหาเทพผู้ทรงประทานพรอันลึกลับสุดประมาณ มหาเทพผู้เป็นที่พึ่งพิงแห่งสรรพสัตว์ทั้งหลาย ถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตเหนือธรรมชาติ การเดินทาง ความเชื่อ และความรักของพระศิวะมหาปูรณะและพระนางอุมาเทวี ที่จะนำไปสู่ปฐมบทความรักของโลกที่ต้องจารึก", "title": "ศิวะ พระมหาเทพ" }, { "docid": "94036#5", "text": "ในปัจจุบัน พบว่าในสังคมไทยพระตรีมูรติได้รับความนับถือในฐานะเป็นเทพเจ้าแห่งความรัก โดยมีศาลอยู่ที่บริเวณลานหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล เวิร์ล พลาซ่า เป็นที่เคารพบูชากราบไหว้อย่างมากโดยเฉพาะหนุ่มสาว คนรุ่นใหม่ [3]", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "94036#1", "text": "คำว่า ตรีมูรติ มาจากภาษาสันสกฤต ตรี หมายถึง สาม มูรติ หมายถึง รูปแบบ ตรีมูรติ หมายถึง รูปแบบทั้งสามหรือรูปแบบของพระผู้เป็นเจ้าทั้งสามพระองค์ อันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ เป็นหลักสำคัญในศาสนาฮินดู หากมองตามหลักปรัชญาสามารถหมายถึง พระผู้สร้าง พระผู้รักษา และพระผู้ทำลาย หรือสามารถเปรียบได้กับหลักธรรมที่ว่า เกิดขึ้น คงอยู่ และ ดับไป[1]", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "85940#5", "text": "อย่างไรก็ดี ปัจจุบันตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ พระอินทร์มีบทบาทลดลงโดยเป็นเทวดาชั้นรองและมีหน้าที่รองจากตรีมูรติ คือ พระศิวะ พระวิษณุ และพระพรหม อำนาจหน้าที่บางประการของพระอินทร์ถูกโอนไปให้ตรีมูรติ เช่น พระอิศวรกลายเป็นประมุขสูงสุดแห่งทวยเทพและเป็นประธานเทวสภา พระนารายณ์มีอำนาจหน้าที่อภิบาลมนุษยโลกแทน กับทั้งพลังอำนาจของพระอินทร์ยังเป็นรองตรีมูรติ เป็นต้นว่า ในคราวที่พระนารายณ์แบ่งภาคลงไปเป็นพระกฤษณะ พระกฤษณะสามารถสำแดงเดชยกเขาบังห่าฝนที่พระอินทร์บันดาลให้เกิดขึ้นมา เพื่อทรมานเหล่าผู้คน เพราะเสื่อมศรัทธาในพระอินทร์ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่พวกพรหมณ์ของไวษณพนิกาย แต่งขึ้นภายหลังแล้วนำไปเพิ่มเติมในเรื่องราวของ พระกฤษณะเจ้าภายหลัง เพื่อลดความเชื่อถือในองค์อินทร์ ทุกศาสนาล้วนมีเทพหรือเทวดาที่วนเวียนอยู่ในวัฏสงสาร คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ล้วนมีอายุขัยดับไปและเกิดใหม่ มีแต่ศาสนาพุทธที่พระพุทธเจ้าที่หลุดพ้นจากวัฏสงสาร ไม่เกิด ไม่ดับ ไม่อยู่ในรูปพรหมและอรูปพรหม", "title": "พระอินทร์" }, { "docid": "94036#2", "text": "พระตรีมูรติในประเทศไทยในยุคปัจจุบัน เชื่อมโยงไปครั้งสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 พระตรีมูรติเป็นเทพผู้อารักขาวังเพ็ชรบูรณ์ (เพชรบูรณ์) ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย พระราชโอรสองค์ที่ 72 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ในปัจจุบันคือ สถานที่ตั้งของห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์ ถ.ราชประสงค์ ซึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการทิ้งระเบิดในเขตกรุงเทพมหานคร และบริเวณที่ตั้งวังเพชรบูรณ์ก็เป็นหนึ่งในสถานที่ซึ่งถูกถล่มด้วยระเบิด มีเรื่องเล่าว่าแม้สถานที่ของวังฯ จะโดนระเบิดทิ้งลงมา แต่ระเบิดกลับไม่ทำงานหรือด้านไม่สามารถสร้างความเสียหายแก่วังเพชรบูรณ์ได้ สร้างความแปลกใจให้แก่ผู้คนเป็นจำนวนมาก[2]", "title": "ตรีมูรติ" }, { "docid": "341780#0", "text": "พระทัตตะเตรยะ (เทวนาครี: दत्तात्रेय) เป็นบุตรของพระฤาษีอัตริและนางอนุสุยา เป็นอวตารแห่งพระตรีมูรติทั้ง 3 อันได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ ในนารายณ์สิบปาง และเป็นอาจารย์ของท้าวการตวีรยะ อรชุน คู่ปรับของปรศุราม", "title": "พระทัตตาเตรยะ" } ]
1110
เครือเนชั่นก่อตั้งขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "15252#0", "text": "บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (English: Nation Multimedia Group Public Company Limited) เป็นบริษัทสื่อสารมวลชนครบวงจรขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเริ่มออกหนังสือพิมพ์เดอะวอยซ์ออฟเดอะเนชั่นเป็นฉบับแรก และมีบุคคลสำคัญประกอบด้วยหม่อมราชวงศ์สุนิดา กิติยากร, สุทธิชัย หยุ่น, ธรรมนูญ มหาเปารยะ, เชวง จริยะพิสุทธิ์, ธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์, และ ธนะชัย สันติชัยกูล", "title": "เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป" } ]
[ { "docid": "24673#7", "text": "รายการต่างๆ ของเนชั่นทีวีที่มีชื่อเสียง อาทิ เก็บตกจากเนชั่น ดำเนินรายการโดยกนก รัตน์วงศ์สกุล และธีระ ธัญไพบูลย์, ชีพจรโลก กับสุทธิชัย หยุ่น, คมชัดลึก ที่สร้างชื่อให้กับสรยุทธ สุทัศนะจินดา ก่อนจะลาออกจากเครือเนชั่น หลังจากย้ายไปยังไททีวีราว 3 สัปดาห์", "title": "เนชั่นทีวี" }, { "docid": "54292#0", "text": "อาคารอินเตอร์ลิงก์ () หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมคือ อาคารเนชั่นทาวเวอร์ () ตั้งอยู่เลขที่ 1858/121-122, 124-128 (เดิมเลขที่ 1854) ถนนเทพรัตน กิโลเมตรที่ 4.5 แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร อาคารกลุ่มนี้มีจำนวนสองหลังคือ อาคารหลังเดิม (อาคาร 1) ขนาดความสูง 15 ชั้น เมื่อแรกเป็นสำนักงานกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น ซึ่งย้ายมาจากอาคารแห่งเดิมภายในซอยสุขุมวิท 42 (ซอยกล้วยน้ำไท) ได้รับการออกแบบโดยสุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา ปัจจุบันเป็นสำนักงานของกองบรรณาธิการ สื่อสิ่งพิมพ์ในเครือเนชั่น ซึ่งประกอบด้วยหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, คมชัดลึก เป็นต้น รวมถึงสำนักงานกรุงเทพฯ ของมหาวิทยาลัยเนชั่น และอาคารหลังใหม่ (อาคาร 2) ขนาดความสูง 40 ชั้น บนพื้นที่ 48,000 ตารางเมตร ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 โดยที่ชั้น 28 ถึงชั้น 31 เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ ของบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อประสม ส่วนหนึ่งเป็นที่ทำการของสำนักข่าวเนชั่น, ช่องเนชั่น และช่องนาว นอกนั้นเป็นห้องสำนักงานแบ่งให้เช่า", "title": "อินเตอร์ลิงค์" }, { "docid": "722834#1", "text": "บริษัทฯ เปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน โดยที่ยังไม่เป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2540 ก่อนที่จะก่อตั้งช่องโทรทัศน์ข่าว เนชั่น แชนเนล (; ปัจจุบันคือ เนชั่นทีวี) เป็นแห่งแรกของไทย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ออกอากาศผ่านยูบีซี เครือข่ายโทรทัศน์บอกรับเป็นสมาชิก ทางช่องหมายเลข 8 จนถึงวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 จึงย้ายไปออกอากาศ ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์ประเภท บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง ไททีวีของกรมประชาสัมพันธ์ ทางช่องหมายเลข 1 รวมทั้งบริการเคเบิลทีวีส่วนท้องถิ่น, โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมระบบซี-แบนด์ (สำหรับระบบเคยู-แบนด์ เริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2551) แล้วจึงแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ตั้งแต่ปีถัดมา (พ.ศ. 2552)", "title": "เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น" }, { "docid": "235396#1", "text": "นิตยสารข่าวในประเทศไทย มักเปิดตัวขึ้นในเครือสื่อมวลชนต่างๆ คือ เครือมติชน เครือเนชั่น เครือผู้จัดการ เครือสยามรัฐ และเครือวัฏฏะ โดยมีฐานะเป็นส่วนส่งเสริม และสนับสนุนซึ่งกันและกัน กับหนังสือพิมพ์รายวันในเครือเดียวกัน\n\"นิตยสารข่าวทางโทรทัศน์\" มีคำนิยามเช่นเดียวกับนิตยสารข่าวที่เป็นสิ่งพิมพ์ หากแต่เป็นการนำเสนอในรูปแบบรายการโทรทัศน์ ซึ่งมักผลิตโดยกองบรรณาธิการฝ่ายข่าวของสถานีโทรทัศน์ หรืออาจเป็นบริษัทเอกชนที่รับผลิตรายการประเภทดังกล่าวโดยเฉพาะ", "title": "นิตยสารข่าว" }, { "docid": "75876#3", "text": "ในปี พ.ศ. 2538 บริษัท สยามอินโฟเทนเมนต์ จำกัด (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) จนถึงปัจจุบัน) ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไอทีวี เชิญให้เครือเนชั่นเข้าร่วมบริหาร โดยเทพชัยอาสาเข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายข่าวคนแรก ซึ่งสามารถนำพาไอทีวียุคแรกให้ประสบความสำเร็จอย่างมาก นอกจากนั้นเขายังเป็นผู้ประกาศข่าว และผู้ดำเนินรายการไอทีวีทอล์ก ย้อนรอย ฯลฯ ด้วยตนเอง จนได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำประจำปี พ.ศ. 2542 ประเภทผู้ประกาศข่าวชายดีเด่น ต่อมา ราวกลางปี พ.ศ. 2543 เทพชัยและพนักงานฝ่ายข่าวส่วนหนึ่ง เคลื่อนไหวคัดค้านกรณีบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เข้าถือหุ้นใหญ่ใน บมจ.ไอทีวี โดยหลังจากนั้น ผู้บริหารไอทีวีโยกย้ายให้เทพชัยไปเป็นที่ปรึกษาสถานีฯ เขาจึงประกาศฟ้องศาลให้ดำเนินคดีกับฝ่ายบริหารไอทีวี แต่ต่อมายอมประนีประนอมกันได้ และในเดือนพฤศจิกายน เทพชัยประกาศลาออกจากทุกตำแหน่งในไอทีวี แล้วกลับไปรับตำแหน่งบรรณาธิการเครือเนชั่น", "title": "เทพชัย หย่อง" }, { "docid": "722834#2", "text": "นอกจากนี้ ยังก่อตั้งช่อง\"แมงโก้ ทีวี\" () เพิ่มเติมเมื่อปี พ.ศ. 2553 และ\"ช่องระวังภัย\" ในปีถัดมา โดยทั้งสองช่อง ออกอากาศทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม, โทรทัศน์ออนไลน์, บริการโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลส่วนท้องถิ่น ซึ่งในปี พ.ศ. 2554 บริษัทฯ ยังร่วมกับเครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) รวมถึงเข้าบริหารงาน และผลิตรายการโทรทัศน์ ทางช่อง\"อาเซียนทีวี\" ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์บอกรับเป็นสมาชิก ทรูวิชันส์ ทางช่องหมายเลข 99 และผ่านดาวเทียมไทยคม ในระบบซี-แบนด์ และร่วมกับมูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี เข้าบริหารงานและผลิตรายการโทรทัศน์ ทางช่อง\"รามา แชนเนล\" ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์บอกรับเป็นสมาชิก ทรูวิชันส์ ทางช่องหมายเลข 80, โทรทัศน์ออนไลน์ และบริการโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลส่วนท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังให้ธีระ ธัญไพบูลย์ เข้าร่วมเป็นพิธีกรหลักของรายการข่าว \"เรื่องเด่นเย็นนี้\" ทางไทยทีวีสีช่อง 3 ตั้งแต่เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 อีกด้วย", "title": "เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น" }, { "docid": "8556#0", "text": "สำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ () เป็นสำนักพิมพ์ในเครือเนชั่นกรุ๊ป โดยพิมพ์การ์ตูนญี่ปุ่นเป็นหลัก", "title": "เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์" }, { "docid": "9121#0", "text": "สุทธิชัย แซ่หยุ่น หรือที่รู้จักทั่วไปว่า สุทธิชัย หยุ่น \nเกิดเมื่อวันที่ เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ปรึกษากองบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตประธานกรรมการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน), บรรณาธิการอำนวยการ เครือเนชั่น, นักหนังสือพิมพ์, นักเขียน, ผู้ร่วมก่อตั้ง หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, เนชั่นทีวี และประธานที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเนชั่น มีผลงาน คอลัมน์ \"กาแฟดำ\" ในหน้า 2 หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์, รายการโทรทัศน์ \"ชีพจรโลก\" และ \"ชีพจรโลกวันนี้\" ทางเนชั่นแชนแนล", "title": "สุทธิชัย หยุ่น" }, { "docid": "722834#0", "text": "บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) () เป็นผู้ผลิตเนื้อหาในสายงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภายใต้เครือเนชั่นกรุ๊ป ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2536 ด้วยชื่อ \"บริษัท แน็ทค่อน มีเดีย จำกัด\" ทุนจดทะเบียนตั้งต้นที่ 1 ล้านบาท เพื่อเป็นผู้ผลิตรายการสนทนาเชิงข่าว \"เนชั่นนิวส์ทอล์ก\" ทางไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. เป็นรายการแรก โดยระยะต่อมา เข้าร่วมผลิตรายการข่าว ทางไทยสกายทีวี จากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เปลี่ยนชื่อเป็น \"บริษัท เนชั่น เทเลวิชั่น จำกัด\" พร้อมทั้งเข้าร่วมผลิตรายการข่าว กับสถานีโทรทัศน์ไอทีวี จนถึงปี พ.ศ. 2542", "title": "เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น" }, { "docid": "154856#1", "text": "โดยบุคคลต้นคิดชื่อ และรูปแบบรายการ ก็คือสรยุทธเอง ที่ประมวลมาจากความคิดรวบยอด (Concept) ซึ่งสุทธิชัย หยุ่น ผู้ร่วมก่อตั้งเครือเนชั่น มักจะเน้นย้ำว่า การทำข่าวที่ดี ต้องมีมิติที่\"คม ชัด และลึก\" อนึ่ง ชื่อรายการยังนับเป็นต้นแบบของชื่อหนังสือพิมพ์คมชัดลึก ในเครือเนชั่นอีกด้วย", "title": "คมชัดลึก (รายการโทรทัศน์)" }, { "docid": "9121#3", "text": "สุทธิชัยยังเป็นผู้ก่อตั้ง หนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันฉบับแรกของประเทศไทย คือ\"กรุงเทพธุรกิจ\" เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2530 นอกจากนี้ ยังเป็นผู้ริเริ่มวิทยุเนชั่น และเป็นหนึ่งในคณะผู้ร่วมดำเนินงานสถานีโทรทัศน์ไอทีวี เมื่อปี พ.ศ. 2538, ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2543 จึงมาก่อตั้งสถานีโทรทัศน์เนชั่นแชนแนล ยุคต่อมา เขามีชื่อเสียงจากการเป็นคอลัมนิสต์ และผู้ดำเนินรายการสนทนาเชิงข่าว ที่มักต้อนผู้ร่วมรายการให้จนมุมได้บ่อยครั้ง โดยรายการที่สร้างชื่อคือ การรายงานข่าวสงครามอ่าวเปอร์เซีย ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2534 ทางไทยทีวีสีช่อง 3 และช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ต่อมาเครือเนชั่นจึงเริ่มผลิตรายการโทรทัศน์ครั้งแรก \"เนชั่น นิวส์ ทอล์ก\" ทางช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ซึ่งทำให้เอกลักษณ์ของสุทธิชัย กลายเป็นที่รู้จักและจดจำของคนทั่วไป รวมทั้งนักแสดงตลก ก็มักนำไปล้อเลียนอยู่บ่อยครั้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) เข้าตรวจสอบบัญชีธนาคาร และการชำระภาษีย้อนหลัง ของสื่อมวลชนจำนวนหนึ่ง ซึ่งในจำนวนนั้น มีสุทธิชัยรวมอยู่ด้วย", "title": "สุทธิชัย หยุ่น" }, { "docid": "15254#0", "text": "เดอะเนชั่น () เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ซึ่งตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย โดยเป็นฉบับแรกที่มีชาวไทยเป็นเจ้าของ และเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกของเครือเนชั่น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 (พ.ศ. 2514) โดยใช้ชื่อว่า \"เดอะวอยซ์ออฟเดอะเนชั่น\" (The Voice of The Nation) ต่อมา คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ซึ่งก่อรัฐประหารภายหลังเหตุการณ์นองเลือด บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 สั่งให้งดการจำหน่ายหนังสือพิมพ์และนิตยสารทุกชนิด รวมทั้งเดอะวอยซ์ออฟเดอะเนชั่นด้วย กองบรรณาธิการจึงนำหัวหนังสือชื่อ \"เดอะเนชั่นรีวิว\" (The Nation Review) ซึ่งจดแจ้งไว้ล่วงหน้ามาใช้ และต่อมาเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน โดยมีตุลสถิตย์ ทับทิม เป็นบรรณาธิการบริหารคนล่าสุด", "title": "เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)" }, { "docid": "361959#2", "text": "มหาวิทยาลัยเนชั่น เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกในจังหวัดลำปาง เริ่มแรกก่อตั้งเป็นวิทยาลัยโยนกเมื่อปี พ.ศ. 2531 โดย ดร.นิรันดร์ จิวะสันติการ และได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยมี ดร.ศิริธัช โรจนพฤกษ์ ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งมหาวิทยาลัย", "title": "มหาวิทยาลัยเนชั่น" }, { "docid": "36205#1", "text": "ภาพยนตร์ปมไหม นำแสดงโดยพิเศก อินทรครรชิต, อรรถพร ธีมากร, นภคปภา นาคประสิทธิ์, อภิชาติ ชูสกุล กำกับโดยสุรพงษ์ พินิจค้า เขียนบทโดยปรามินทร์ เครือทอง, บุญทวี สิริเวชมาศ, ปราบดา หยุ่น และสุรพงศ์ พินิจค้า ออกฉายทางโทรทัศน์ไอทีวีในปี พ.ศ. 2544 ผลิตโดยเนชั่น เทเลวิชั่น ในเครือเนชั่น โดยใช้ฟิล์มภาพยนตร์ถ่ายทำ โดยถือว่าเป็นละครเรื่องแรกด้วยของทางไอทีวี", "title": "ปมไหม" }, { "docid": "5365#0", "text": "บูม () เป็นหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ เจ้าของคือสำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ (NED) ในเครือเนชั่นกรุ๊ป การ์ตูนในเล่มเป็นการ์ตูนที่ตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบันทางเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ ได้ยุติการวางจำหน่ายแล้ว โดยฉบับสุดท้ายได้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2557", "title": "บูม (หนังสือการ์ตูน)" }, { "docid": "75876#0", "text": "เทพชัย หย่อง อดีตประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ประธานสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ประธานกรรมการบริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรอดีตผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสคนแรก อดีตบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตพิธีกรร่วมรายการ สยามเช้านี้ อดีตผู้อำนวยการฝ่ายข่าวไอทีวี โดยเป็นผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ไอทีวี คู่แรกร่วมกับกิตติ สิงหาปัด", "title": "เทพชัย หย่อง" }, { "docid": "5713#0", "text": "กรุงเทพธุรกิจ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2530 ในเครือเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันฉบับแรกของไทย ที่นำเสนอข้อมูล ข่าวสาร การวิเคราะห์ ทั้งด้านธุรกิจ การเงิน การค้า การลงทุน ประกอบด้วยเนื้อหาด้านการบริหารจัดการ ความรู้ วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ตลอดจนแนวทางการจัดการธุรกิจในโลกยุคใหม่", "title": "กรุงเทพธุรกิจ" }, { "docid": "24673#3", "text": "เนชั่น แชนแนล ออกอากาศครั้งแรกเมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 เวลา 12.00 น. ทาง สถานีโทรทัศน์ยูบีซี ช่อง 8 โดยเริ่มออกอากาศด้วยภาพบรรยากาศสดในเฮลิคอปเตอร์ของสถานีฯ โดยมีรุ่งนภา กมลนรนาถ ประจำอยู่ที่เฮลิคอปเตอร์ เพื่อเตรียมลงจอด ณ อาคารอินเตอร์ลิงก์ทาวเวอร์ ก่อนจะตัดภาพไปที่ห้องข่าวของสถานีฯ เพื่อให้นายสุทธิชัย หยุ่น ผู้ร่วมก่อตั้งเครือเนชั่น กล่าวเปิดสถานีอย่างเป็นทางการ โดยในช่วงท้ายของคำประกาศเปิดสถานี รุ่งนภาและผู้สื่อข่าวอื่นๆ ได้กล่าวตอบคำถามที่นายสุทธิชัยกล่าวว่า \"นักข่าวของเราทุกคน พร้อมหรือยังครับ\" โดยกล่าวว่า \"พร้อมแล้ว\" โดยปรากฏทีละคน ก่อนที่นายสุทธิชัยจะกล่าวปิดว่า \"เราขอมอบเนชั่นแชนแนล เป็นสมบัติของประชาชนคนไทยทุกท่านครับ\" ก่อนจะตกภาพเฮลิคอปเตอร์ที่กำลังบินผ่านอาคาร ก่อนจะตกเข้าสู่ไอเดนท์ของสถานี และเริ่มด้วยรายการข่าว \"เนชั่นทันสถานการณ์ 12:00 น.\" โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกในวันนั้น คือ กนก รัตน์วงศ์สกุล และ รุ่งนภา กมลนรนาถ โดยมีทีมข่าว 400 คน และกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ในเครือเนชั่น โดยมี นายอดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ เป็นบรรณาธิการเนชั่นทีวี บริหารงานโดย บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ในเครือเนชั่นกรุ๊ป", "title": "เนชั่นทีวี" }, { "docid": "5712#0", "text": "คมชัดลึก () เป็นเว็บไซต์ข่าว คมชัดลึก ภาษาไทย ในเครือเนชั่น เสนอข่าวทั่วไป ข่าวด่วน ข่าวออนไลน์ ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวดารา ข่าววันนี้ ทันเหตุการณ์ ข่าวเศรษฐกิจ\nหนังสือพิมพ์รายวันประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือเนชั่น มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจรายวัน ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยมีเนื้อหาเพิ่มเติมจากฉบับปกติ มีบรรณาธิการคนแรก คือ เฉลียง คงตุก", "title": "คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)" }, { "docid": "75876#4", "text": "เทพชัยเป็นผู้แทนเครือเนชั่น ไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ ด้วยโควตาขององค์กรสื่อมวลชนนานาชาติ โดยทำวิทยานิพนธ์เป็นสารคดีโทรทัศน์ชุด “สันติภาพในเปลวเพลิง” เรื่องราวเกี่ยวกับความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย โดยนำมาออกอากาศทางเนชั่น แชนแนลหลังจบการศึกษา หลังจากนั้นเทพชัยเข้าเป็นผู้ดำเนินรายการคมชัดลึกในบางโอกาส จนเมื่อเครือเนชั่นร่วมกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ผลิตรายการชีพจรโลกกับสุทธิชัย หยุ่น ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ เทพชัยก็เข้าร่วมดำเนินรายการในบางโอกาส และหลังจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ปรับผังรายการใหม่ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 เครือเนชั่นเข้าร่วมผลิตรายการสยามเช้านี้ โดยมีเทพชัยเป็นผู้ดำเนินรายการร่วมกับ ร.ต.อ.ดร.นิติภูมิ นวรัตน์, จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์ และมนัส ตั้งสุข", "title": "เทพชัย หย่อง" }, { "docid": "230236#1", "text": "จอมขวัญ เกิดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2521 สำเร็จปริญญาตรีจากศิลปศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิชาโทภาษาญี่ปุ่น) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการทาบทามจากบุคลากรในเครือเนชั่น ให้มาเป็นผู้รายงานข่าวทางเนชั่นทีวี และช่วงเวลาต่อมา มีผลงานเขียนคอลัมน์ ทางนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ และหนังสือพกพา (pocket book) \"นักข่าวหลังอาน\" กับสำนักพิมพ์เนชั่น ซึ่งวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2552. ด้านชีวิตส่วนตัวสมรสกับ เมธัส อนุวัตรอุดม นักวิชาการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ซึ่งทั้งคู่พบกันครั้งแรกขณะที่ฝ่ายชายไปออกรายการของฝ่ายหญิง", "title": "จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์" }, { "docid": "96450#0", "text": "โอเคเนชั่น เป็นบริการฟรีบล็อก แห่งหนึ่งในประเทศไทย ของเครือเนชั่น เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2550 โดยผู้เขียนบล็อกมีทั้งบรรณาธิการ คอลัมนิสต์ ผู้สื่อข่าวจากสื่อในเครือเนชั่น และสมาชิกที่ลงทะเบียนร่วมกันผลิตเนื้อหา โดยมีเนื้อหาหลากหลาย ทั้งนี้ รูปแบบการนำเสนอเป็นไปในลักษณะที่เรียกว่า Citizen Reporter โดยให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการผลิตเนื้อหา", "title": "โอเคเนชั่น" }, { "docid": "153254#0", "text": "เนชั่นแนล จีโอกราฟิก () เป็นนิตยสารอย่างเป็นทางการของสมาคมเนชั่นแนลจีโอกราฟิกเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกฉบับภาษาอังกฤษเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2431 (8.L. 1888) 9 เดือนหลังจากที่สมาคมเนชั่นแนลจีโอกราฟิกได้ก่อตั้งขึ้น มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยี ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ออกวางจำหน่ายเป็นรายเดือน มีการตีพิมพ์ 22 ภาษา รวมทั้งภาษาไทยด้วย", "title": "เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก (นิตยสาร)" }, { "docid": "849918#0", "text": "เนชั่นสุดสัปดาห์ เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือเนชั่น มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจรายวัน ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โดยมีเนื้อหาเพิ่มเติมจากฉบับปกติ โดยเดิมใช้ชื่อว่า \"\"กรุงเทพธุรกิจสุดสัปดาห์\"\" มีบรรณาธิการคนแรก คือ ประจักษ์ มะวงษา", "title": "เนชั่นสุดสัปดาห์" }, { "docid": "75876#5", "text": "ต่อมาในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 เทพชัยลาออกจากทุกตำแหน่งในเครือเนชั่น เพื่อเข้ารับตำแหน่งกรรมการนโยบายชั่วคราว ตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ตามมติคณะรัฐมนตรีในวันดังกล่าว พร้อมทั้งรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ ส.ส.ท.และสถานีโทรทัศน์ทีพีบีเอส (ปัจจุบันคือสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส) ต่อมาได้รับเลือกให้เป็นผู้อำนวยการ ส.ส.ท. (อยู่ในวาระ 4 ปี ระหว่างวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2551-9 ตุลาคม พ.ศ. 2555) จากนั้นตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม เทพชัยกลับเข้ารับตำแหน่งกรรมการบริหารบริษัท เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เพื่อรับผิดชอบงานโทรทัศน์ภาษาต่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน", "title": "เทพชัย หย่อง" }, { "docid": "13038#15", "text": "เรื่องราวของ จิม ทอมป์สัน สร้างเป็นภาพยนตร์ฉายทางโทรทัศน์ในปี พ.ศ. 2544 ทางไอทีวี เรื่อง \"ปมไหม\" กำกับโดย สุรพงษ์ พินิจค้า บทภาพยนตร์โดย ปรามินทร์ เครือทอง, บุญทวี สิริเวชมาศ, ปราบดา หยุ่น และ สุรพงศ์ พินิจค้า ผลิตโดยเนชั่น เทเลวิชั่น ในเครือเนชั่น", "title": "จิม ทอมป์สัน" }, { "docid": "529232#25", "text": "โดยสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดสรรช่องสัญญาณที่ 26 ในย่านความถี่สูงยิ่ง เพื่อเปิดการประมูลสัมปทาน ให้เข้าดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์เสรี เมื่อปี พ.ศ. 2538 ซึ่งผู้ชนะได้แก่ กลุ่มบริษัท สยามทีวี แอนด์คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด ที่มีธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) เป็นองค์กรนำ จึงเข้าเป็นผู้ดำเนินโครงการสถานีโทรทัศน์เสรีดังกล่าว ซึ่งมีการก่อตั้งบริษัท สยาม อินโฟเทนเมนต์ จำกัดขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นนิติบุคคลผู้ดำเนินกิจการนี้ และร่วมลงนามในสัญญาสัมปทาน กับสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยตั้งชื่อสถานีโทรทัศน์แห่งนี้ว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และเริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 โดยวางนโยบายให้ความสำคัญ กับรายการข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งนี้ กลุ่มสยามอินโฟเทนเมนต์ มอบหมายให้เครือเนชั่น ซึ่งเข้าร่วมถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 10 เช่นเดียวกับนิติบุคคลผู้ถือหุ้นรายอื่น เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดรายการข่าว พร้อมทั้งส่งเทพชัย หย่อง มาดำรงตำแหน่ง บรรณาธิการข่าวไอทีวีคนแรก เพื่อฝึกอบรมผู้สื่อข่าวและผู้ประกาศข่าว ส่งผลให้ข่าวไอทีวีมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก รวมถึงได้รับรางวัลมากมาย ตลอดระยะเวลา 11 ปีเศษของสถานีฯ", "title": "โทรทัศน์ในประเทศไทย" }, { "docid": "184466#0", "text": "การแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 หรือ บาสเกตบอลยูลีก เป็นการแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างอุดมศึกษาในประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปีนี้จัดเป็นครั้งที่ 5 โดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยสยามกับเครือเนชั่น ภายใต้ชื่อว่า \"เนชั่น-สยาม ยูนิเวอร์ซิตี้ บาสเกตบอลลีก 2008\" ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551 แบ่งเป็นสองประเภทคือ ทีมชาย 10 ทีม และทีมหญิง 6 ทีม", "title": "การแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 5" }, { "docid": "531964#1", "text": "ในประเทศไทย ในฉบับมังงะ สำนักพิมพ์ ANT ได้รับลิขสิทธิ์ให้ผลิต โดยใช้ชื่อว่า REC ปิ๊งรักสาวนักพากย์ แต่ตีพิมพ์ได้ 6 เล่ม ไม่ครบซีรีส์ ลิขสิทธิ์ถูกส่งผ่านไปยังบริษัทในเครือเนชั่น ชื่อ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ ซึ่งเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน แต่ไม่มีการตีพิมพ์ออกมาเพิ่ม", "title": "REC ปิ๊งรักสาวนักพากย์" }, { "docid": "6045#1", "text": "เบื้องต้นการ์ตูนเรื่องนี้ได้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารวีคลี่ โชเน็น จั๊มป์ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ โดยมียอดจำหน่ายมากกว่า 16 ล้านเล่มในประเทศญี่ปุ่น และเมื่อแอนิเมชันเรื่องนี้ได้ฉายไปทำให้เกิดกระแสเด็กมัธยมในประเทศญี่ปุ่นหันมาเล่นกีฬาอเมริกันฟุตบอลมากขึ้นเท่าตัว โดยในประเทศไทยได้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารบูมของบริษัทเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ในเครือเนชั่น", "title": "อายชีลด์ 21 ไอ้หนูไต้ฝุ่นมะกันบอล" } ]
179
ประเทศลาวมีภาษาราชการคือภาษาอะไร?
[ { "docid": "2583#0", "text": "ภาษาลาว (ลาว: ພພາສສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทยລາວ", "title": "ภาษาลาว" } ]
[ { "docid": "62132#11", "text": "อักขรวิธีแบบนี้สะกดตามเสียงอ่านเท่านั้น คือ อ่านออกเสียงอย่างไรให้สะกดอย่างนั้น เริ่มใช้ในเขตปลดปล่อยของขบวนการปะเทดลาวก่อน หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว รัฐบาลลาวจึงได้ปรับปรุงเพิ่มเติมเพื่อให้อักษรลาวสามารถเขียนง่ายอ่านง่ายขึ้น แต่ก็ทำให้เกิดจุดอ่อนหลายอย่าง และทำให้ภาษาลาวเกิดปัญหาการขาดหลักการสะกดคำที่ชัดเจนขึ้นอีกครั้ง เช่น ได้มีการตัดตัวการันต์ ตัว ร หันลิ้น (ภาษาลาวเรียกว่า ร รถ) ออก ทำให้ไม่สามารถเขียนคำที่มาจากภาษาต่างประเทศและภาษาของชนเผ่าต่าง ๆ ได้ครบถ้วน อักษรลาวระบบนี้เริ่มใช้ตั้งแต่ลาวเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2518 จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการลาวได้บรรจุตัว ร หันลิ้นกลับมาใช้ใหม่ และมีการใช้ตัวการันต์สำหรับสะกดคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่นคำภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ยกเว้นคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต และคำลาวเดิม ยังสะกดตามเสียงอ่านอยู่เหมือนเดิม", "title": "อักษรลาว" }, { "docid": "2583#13", "text": "ภาษาลาวมีตัวอักษรที่ใช้เขียนอยู่สองแบบ คือ อักษรลาว ใช้เขียนเรื่องคดีทางโลกทั่วไป ปัจจุบันรัฐบาลลาวได้ปรับปรุงอักษรลาวเดิมให้ใช้เป็นอักษรราชการ (ในภาคอีสานของไทยยังคงใช้อยู่บ้างในเอกสารโบราณ เรียกชื่อว่า อักษรไทน้อย)", "title": "ภาษาลาว" }, { "docid": "62132#9", "text": "อักขรวีธีของอักษรลาวแบบนี้สะกดตามเค้าเดิมของภาษาอย่างเคร่งครัด มีการใช้ตัวสะกดตัวการันต์ เพื่อให้รู้ต้นเค้าของคำว่าเป็นคำภาษาลาวเดิมหรือคำภาษาต่างประเทศ เช่น คำภาษาบาลี-สันสกฤต ซึ่งคล้ายกับระบบการเขียนภาษาไทยในปัจจุบัน ระบบการเขียนแบบนี้เคยใช้ในสมัยที่ประเทศลาวยังไม่มีระบบการเขียนที่แน่นอน ขาดหลักการที่ชัดเจน ใช้ในสมัยที่ลาวยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสจนถึงปี พ.ศ. 2491", "title": "อักษรลาว" }, { "docid": "105033#0", "text": "ภาษามลาบรี(Mlabri) หรือภาษาผีตองเหลือง เป็นภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์มลาบรี ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยและประเทศลาว ภาษามลาบรีเป็นภาษาหนึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยขมุ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 สาขาด้วยกัน คือสาขาที่พูดกันในประเทศลาวสาขาหนึ่ง ส่วนอีกสองสาขาพูดกันในประเทศไทย", "title": "ภาษามลาบรี" }, { "docid": "203591#5", "text": "พ.ศ. 2509 ย้ายมารับราชการเป็นอาจารย์ที่คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร\nเป็นหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นคนแรกจนเกษียณราชการ ตั้งแต่ภาควิชาเริ่มจัดสอนวิชาเอกภาษาไทย ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท สาขาจารึกภาษาไทยและสาขาจารึกภาษาตะวันออก ดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก ตลอดเวลารับราชการที่คณะโบราณคดีเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่าง 26 มิถุนายน พ.ศ. 2518 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2521 เกษียณอายุราชการ เมื่อ พ.ศ. 2532 \nนอกจากงานราชการแล้ว ยังมีผลงานการเรียบเรียงตำราและแบบเรียนภาษาไทยตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ใช้ในโรงเรียนต่างๆ เป็นจำนวนร้อยกว่าเล่ม", "title": "เสนีย์ วิลาวรรณ" }, { "docid": "105033#1", "text": "มีผู้พูดทั้งสิ้นราว 324 คน พบในประเทศไทย 300 คน (พ.ศ. 2525) ตามแนวชายแดนลาวของจังหวัดพะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หรืออาจจะมีในจังหวัดอื่น ๆ พูดภาษาลาวได้ด้วย นอกจากนั้นยังเข้าใจภาษาม้งและภาษาไทยถิ่นเหนือ อัตราการรู้หนังสือต่ำ พบในประเทศลาว 24 คน (พ.ศ. 2528) ในแขวงไชยบุรีตามแนวชายแดนไทย ต่างจากภาษาข่าตองเหลืองในลาวซึ่งอยู่ในภาษากลุ่มเวียต-เหมื่องตะวันตก", "title": "ภาษามลาบรี" }, { "docid": "75432#4", "text": "ภาษาลาว () เป็นภาษาที่ใช้เป็นส่วนใหญ่ในประเทศลาว ส่วนอักษรเขียนอย่างเป็นทางการจะใช้อักษรลาว และเป็นภาษาพูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งสื่อสารโดยใช้ภาษาของชนกลุ่มน้อยเช่น ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก, ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต, ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และ ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน เป็นต้น", "title": "ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)" }, { "docid": "2583#3", "text": "ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป็นสำเนียงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่าง ๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ ฉะนั้นประชาชนในประเทศลาวจึงพูดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตน แต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพูดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม", "title": "ภาษาลาว" }, { "docid": "160747#0", "text": "กลุ่มภาษาไท หรือ᩵ กลุ่มภาษาไต (; , พินอิน: tái yǔ zhī) เป็นกลุ่มภาษาย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาไทยในประเทศไทย ภาษาลาวในประเทศลาว ภาษาไทใหญ่ในรัฐฉานของประเทศพม่า และภาษาจ้วง หนึ่งในภาษาหลักของประเทศจีนตอนใต้", "title": "กลุ่มภาษาไท" }, { "docid": "75432#0", "text": "ลาว () เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ", "title": "ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)" }, { "docid": "105036#0", "text": "ภาษาละเม็ต () หรือภาษาขะเม็ต เป็นภาษาที่มีผู้พูดในลาวและไทย มีผู้พูดราว 16,864 คน พบในลาว 16,740 คน (พ.ศ. 2538) ในลาวตะวันตกเฉียงเหนือ หลวงน้ำทา บ่อแก้ว บางส่วนอพยพเข้ามาอยู่ประเทศไทยเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พบในไทย 100 คน ที่จังหวัดลำปางและเชียงราย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาปะหล่อง ชื่อภาษาละเม็ตใช้ในประเทศลาว ในไทยใช้ชื่อภาษาขะเม็ต", "title": "ภาษาละเม็ต" }, { "docid": "97959#0", "text": "ภาษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ", "title": "ภาษาไทยถิ่นอีสาน" }, { "docid": "521249#3", "text": "กลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษากลุ่มมอญ-เขมรในลาวได้แก่ \nกลุ่มชนที่พูดภาษาในกลุ่มภาษาปะหล่อง เป็นชนพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เชื่อว่าจุดกำเนิดของชนเหล่านี้อยู่ในพม่าใกล้กับแนวชายแดนจีน ชาวปะหล่องมีความสัมพันธุ์ใกล้ชิดกับชาวขมุ โดยเป็นกลุ่มชนที่พูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกในพม่า กลุ่มชนที่พูดภาษากลุ่มปะหล่องในลาว ได้แก่ \nการอพยพของกลุ่มชนที่พูดภาษาตระกูลไทจากเขตภูเขาทางเหนือเข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศลาวในปัจจุบันเกิดขึ้นอย่างช้าๆ โดยเข้ามาตามที่ราบลุ่มแม่น้ำทางเหนือ เข้ามาอาศัยในที่ราบลุ่ม และเข้ามาแทนที่หรืออยู่ร่วมกับกลุ่มชนที่พูดภาษาในตระกูลออสโตร-เอเชียติก ภาษาและวัฒนธรรมของชาวไทเป็นวัฒนธรรมที่โดดเด่นในประเทศไทยและลาวในปัจจุบัน จุดกำเนิดของกลุ่มชนที่พูดภาษาตระกูลไท-กะไดมีต้นกำเนิดทางตอนใต้ของจีนและมีบรรบุรุษร่วมกับกลุ่มชนที่พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม\nกลุ่มชนที่พูดภาษาตระกูลไท-กะไดในลาวได้แก่ \nชาวม้ง-เมี่ยนอพยพจากจีนเข้าสู่ลาวในช่วงเวลาที่กว้าง ยกเว้นชาวลูเมี่ยนที่อพยพจากจีนเข้าสู่เวียดนามในพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วจึงเข้าสู่ลาว จุดกำเนิดของชาวม้งเมี่ยนคาดว่าอยู่ที่ Kweichow ในมณฑลยูนนาน เมื่อราว 2000 ปีที่แล้ว ชาวม้งกลุ่มต่างๆในลาวได้แก่ \nการอพยพของชาวจีนเข้าสู่ลาวเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาหลายศตวรรษ โดยกลุ่มชาวจีนที่พบมากในลาวมักมาจากทางภาคใต้ของจีน\nกลุ่มชนที่พูดภาษากลุ่มโลโลนี้คาดว่าเป็นลูกหลานของชาวเกวียงโบราณในจีนตะวันตก ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวทิเบต ชาวหน่าซีและชาวเกวียงในปัจจุบัน ชาวโลโลหรือชาวอี้อพยพมาจากทางตะวันออกเฉียงใต้ของทิเบตเข้าสู่เสฉวน ยูนนาน บางส่วนเข้าสู่พม่า และมายังลาว", "title": "ที่มาของประชากรลาว" }, { "docid": "508141#3", "text": "ศาสนาหลักของลาวเป็นศาสนาพุทธนิกายเถรวาท การนับถือธรรมชาติเป็นศาสนาของชนเผ่าต่างๆ มีผู้นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามจำนวนหนึ่ง ภาษาราชการและภาษาหลักของประเทศคือภาษาลาว ชาวลาวเทิงและลาวสูงจะใช้ภาษาของเผ่าตนเอง ภาษาฝรั่งเศสเคยใช้มากในสมัยที่เป็นอาณานิคม ตแต่ปัจจุบันกำลังลดลง และใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น ", "title": "ประชากรศาสตร์ลาว" }, { "docid": "1942#42", "text": "สื่อในประเทศลาวล้วนอยู่ในความดูแลของรัฐโดยตรง รัฐบาลลาวมีสำนักข่าวสารประเทศลาว (ขปล.) เป็นสำนักข่าวแห่งชาติที่เผยแพร่ข่าวของรัฐ ส่วนหนังสือพิมพ์ภาษาลาวที่สำคัญในประเทศได้แก่ หนังสือพิมพ์ประชาชนซึ่งเป็นกระบอกเสียงของพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และหนังสือพิมพ์เวียงจันทน์ใหม่ นอกจากนี้ยังมีหนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศอีก 2 ฉบับ คือ หนังสือพิมพ์เวียงจันทน์ไทมส์ (Vientiane Times) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ และหนังสือพิมพ์ \"เลอเรนอวาเตอร์\" (Le Rénovateur) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาฝรั่งเศส", "title": "ประเทศลาว" }, { "docid": "936#94", "text": "นอกเหนือจากภาษาไทยแล้ว ในประเทศไทยยังมีการใช้ภาษาของชนกลุ่มน้อยเช่น ภาษาจีนโดยเฉพาะสำเนียงแต้จิ๋ว ภาษาลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งบางครั้งนิยามว่าภาษาลาวสำเนียงไทย ภาษามลายูปัตตานีทางภาคใต้ นอกจากนี้ก็มีภาษาอื่นเช่น ภาษากวย ภาษากะยาตะวันออก ภาษาพวน ภาษาไทลื้อ ภาษาไทใหญ่ รวมไปถึงภาษาที่ใช้กันในชนเผ่าภูเขา ประกอบด้วยตระกูลภาษามอญ-เขมร เช่น ภาษามอญ ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม และภาษามลาบรี; ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เช่น ภาษาจาม; ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เช่น ภาษาม้ง ภาษากะเหรี่ยง และภาษาไตอื่น ๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาแสก เป็นต้น", "title": "ประเทศไทย" }, { "docid": "97959#2", "text": "ส่วนภาษาเขียนในอดีตใช้อักษรธรรมล้านช้างหรือตัวธรรม สำหรับบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา และเขียนด้วยอักษรไทน้อยหรือตัวลาวเดิม (เป็นอักษรลาวล้านช้างโบราณ มีความแตกต่างกับอักษรลาวในประเทศลาวในปัจจุบันเล็กน้อย) สำหรับเรื่องราวทางโลก อักษรลาวล้านช้าง (ตัวลาวหรืออักษรไทน้อย) มีพยัญชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ ในปัจจุบันนิยมใช้อักษรไทยสำหรับเขียนบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งในทางโลกและทางธรรม เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรธรรมและอักษรลาวออก แต่ความนิยมในการเขียนบันทึกเป็นภาษาถิ่นไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก โดยส่วนใหญ่ภาษาเขียนในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะใช้อักษรไทยและบันทึกเป็นภาษาไทยกลางเป็นหลักแทน", "title": "ภาษาไทยถิ่นอีสาน" }, { "docid": "781253#0", "text": "อักษรไทน้อย หรือประเทศลาวเรียก อักษรลาวเดิม เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาลาวในสมัยโบราณ (รวมถึงภาษาไทยถิ่นอีสานด้วย) ใช้ในการจารึกเรื่องราวต่างๆในทางโลก อาทิ บันทึกต่างๆ หนังสือราชการ ตำรายา เป็นต้น ส่วนการจดบันทึกที่เป็นทางด้านศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับศาสนาจะนิยมบันทึกด้วยอักษรธรรมลาว หรืออักษรธรรมล้านช้าง", "title": "อักษรไทน้อย" }, { "docid": "97959#1", "text": "ภาษาลาวเวียงจันทน์ ใช้ในประเทศลาว ท้องที่นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงบอลิคำไซ และในประเทศไทยท้องที่จังหวัดชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อำเภอเมืองหนองคาย ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย โพธิ์ตาก สังคม(บางหมู่บ้าน) ) ขอนแก่น (อำเภอภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อำเภอเมืองยโสธร ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้านผือ เพ็ญ บางหมู่บ้าน) ศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้านของอำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอขุขันธ์ และอำเภอขุนหาญ) ภาษาลาวเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงหลวงพระบาง ไชยบุรี อุดมไซ ในประเทศไทยท้องที่จังหวัดเลย อุตรดิตถ์ (อำเภอบ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของอำเภอสีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อำเภอคอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการและนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน) ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงเชียงขวาง หัวพัน ในประเทศไทยท้องที่บ้านเชียง อำเภอหนองหาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี และบางหมู่บ้านในจังหวัดสกลนคร หนองคาย(บางหมู่บ้านในอำเภอท่าบ่อ อำเภอศรีเชียงใหม่ และอำเภอโพธิ์ตาก) และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น หนองคาย ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสุวรรณเขต ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ (อำเภอเซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสุวรรณเขต จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จังหวัดมุกดาหาร ภาษาลาวใต้ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงจำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร ภาษาลาวตะวันตก (ภาษาลาวร้อยเอ็ด) ไม่มีใช้ในประเทศลาว เป็นภาษาที่ใช้ในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ท้องที่ร้อยเอ็ด​ อุดรธานี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม หนองคาย(บางหมู่บ้าน) และบริเวณใกล้เคียงมณฑลร้อยเอ็ดของสยาม", "title": "ภาษาไทยถิ่นอีสาน" }, { "docid": "7821#60", "text": "กลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว แบ่งออกเป็น2ส่วนใหญ่ๆคือ 1.ชาวไทอีสานดั้งเดิมที่ตั้งถิ่นฐานมานานแล้วไม่ต่ำกว่า300ปี 2.ชาวลาวที่โยกย้ายถิ่นมาจากประเทศลาวหรือฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยรัชกาลที่1เป็นต้นมา ทั้ง2กลุ่มมีภาษาในการสื่อสารเป็นของตนเองทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ได้แก่อักษรไทยน้อยและอักษรธรรมอีสาน ซึ่งเป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจากตัวฝักขามในสมัยสุโขทัยพร้อมกับการเข้ามาของศาสนาพุทธในดินแดนอีสาน สำเนียงภาษาพูดของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-ลาว จัดอยู่อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได โดยชาวไทอีสานดั้งเดิมจะมีสำเนียงพูดเป็นภาษาถิ่นอีสานถิ่นใต้สำเนียงเดียวกับจังหวัดอุบลราชธานี, อำนาจเจริญ และยโสธร ส่วนชาวลาวที่โยกย้ายมาทีหลังจะมี2กลุ่มคือชาวลาวเวียงจันทน์และชาวลาวจำปาศักดิ์ โดยสำเนียงลาวเวียงพบได้มากในตัวอำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอขุนหาญ และอำเภอขุขันธ์ ซึ่งเป็นสำเนียงเดียวกับนครหลวงเวียงจันทน์ในประเทศลาว มีลักษณะการพูดเนิบช้าและเหน่อ และภาษาลาวใต้ในแขวงจำปาศักดิ์, ประเทศลาว มีสำเนียงการพูดที่ห้วนสั้น การเข้ามาของชาวลาวฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงไม่ทราบปีที่แน่ชัด แต่พบการเคลื่อนย้ายครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่๓ และรัชกาลที่๕ และยุคสงครามกลางเมืองลาวคอมมิวนิส (พ.ศ. 2496-2518) ในจังหวัดศรีสะเกษมีความแตกต่างจากสำเนียงของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวในจังหวัดทางตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากพื้นฐานการพัฒนาและถิ่นฐานเดิมที่แตกต่างกันไป โดยรวมแล้วกลุ่มภาษาไทกะไดในจังหวัดศรีสะเกษถูกแบ่งออกเป็น3สำเนียงคือ ไทอีสาน, ลาวเวียง และลาวใต้ โดยหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมไท-ลาวของชาวศรีสะเกษ อย่างไรก็ดีมักเรียกรวมกลุ่มวัฒนธรรมกลุ่มนี้ว่าชาวลาว [3]", "title": "จังหวัดศรีสะเกษ" }, { "docid": "106685#1", "text": "เจ้าเพชรราช ประสูติ ณ ตำหนักวังหน้า นครหลวงพระบาง เมื่อวันอาทิตย์ เดือนยี่ แรม 9 ค่ำ ปีฉลู จุลศักราช 1251 เวลา 11.55 น. ตรงกับวันที่ 19 มกราคม 2443 (ค.ศ.1890) เป็นโอรสองค์ที่ 3 ของเจ้ามหาอุปราชบุญคง ซึ่งสืบตระกูลมาจากเจ้ามหาอุปราชอุ่นแก้วซึ่งเป็นต้นตระกูลเดิม เมื่ออายุได้ 7 ปีกว่าจึงเริ่มเรียนหนังสือลาวและหนังสือสยามและภาษาฝรั่งเศส พร้อมๆกับการติดสอยตามพระบิดาไปตรวจงานหัวเมืองเสมอ ปี พ.ศ. 2442 ผนวชเป็นสามเณรที่วัดธาตุหลวงเรียนภาษาบาลี ปี พ.ศ. 2447 ได้เสด็จไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศส ที่โรงเรียนโกโลนิยาล (Colonial) ซึ่งเป็นร.ร.ที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้นเพื่ออบรมผู้ที่จะไปเป็นข้าราชการปกครองในประเทศหัวเมืองขึ้น ต่อมาเข้าโรงเรียนมัธยมมงเตเยอ แผนกวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ เพื่อฝึกภาษาอังกฤษ ในระหว่างปิดเทอมได้ข้ามไปพักในอังกฤษ อาศัยอยู่กับมิสเตอร์เลนน อาจารย์สอนดาราศาสตร์จึงทำให้เกิดสนใจในดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ตั้งแต่นั้นมา ต่อมาได้แต่งหลักคำนวณปฏิทินลาวไว้ด้วย พระองค์ศึกษาต่อในโรงเรียนมัธยมเซนต์หลุยส์ถึงปี 2453 เสด็จกลับมาผนวชเป็นพระภิกษุที่วัดหนองสระแก้วตามประเพณี เมื่อลาผนวชแล้ว เข้ารับราชการเป็นผู้ร่างหนังสืออยู่กองคลัง หลวงพระบาง \nพระองค์อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงคำแว่น พระพี่นางเธอของเจ้าศรีสว่างวงศ์ ซึ่งตกพุ่มหม้ายและมีอายุมากกว่าหลายปี ทั้งนี้ว่ากันว่าเป็นการประสานรอยร้าวระหว่างราชวงศ์หลวงพระบางสายเจ้ามันธาตุราชกับสายเจ้าอุ่นแก้ว (ตระกูลวังหน้ากับตระกูลวังหลัง) มีพระโอรสและพระธิดา 3 องค์ คือ เจ้าหญิงคำผิว (เสียชีวิต) เจ้าหญิงคำจันทร์ (สามีเป็นชาวฝรั่งเศส) และเจ้าชายสุริยะราช\nขณะรับตำแหน่งผู้ตรวจราชการหัวเมืองลาวที่นครเวียงจันทน์ ได้อนุชายา ชื่อนางศรี (ชาวเวียงจันทน์) บุตรธิดา 2 คน ได้แก่ เจ้าหญิงอรุณา (เจ้านา) เพชรราช และเจ้าชายอุ่นแก้ว (เจ้าแก้ว) เพชรราช (ภายหลังเมื่อสิ้นเจ้าเพชรราชแล้ว ทั้งสองท่านนี้ได้ตามหม่อมอภิณพร รัตนวงศามาอยู่ในเมืองไทย เจ้านาเรียนพยาบาล และเจ้าแก้วรับราชการทหาร)\nพ.ศ. 2489 เมื่อต้องทรงลี้ภัยทางการเมืองเข้ามาอยูในประเทศไทย พร้อมรัฐบาลลาวอิสระและประชาชนเมืองลาวผู้รักอิสรภาพหลายพันคนเป็นเวลานานถึง 11 ปี ขณะพำนักลี้ภัยในประเทศไทย มีคุณอภิณพร ยงใจยุทธเป็นแม่บ้าน ต่อมาได้สมรสกับคุณอภิณพรเปลี่ยนเป็นหม่อมอภิณพร รัตนวงศา (นามสกุล “รัตนวงศา” ทรงตั้งขึ้นเองเมื่ออยู่ในเมืองไทย สืบเนื่องจากพระมหาอุปราชอุ่นแก้วพระปัยกา) หม่อมอภิณพรฯ เป็นกำลังสำคัญของการปฏิบัติการกู้ชาติ ผู้ทำหน้าที่แม่บ้านปกครองดูแลผู้คนจำนวนมาก เป็นเจ้าหน้าที่ประสานงานกับรัฐบาลไทย บริหารการจัดการเงินจัดหาค่าใช้จ่าย เป็นเลขานุการส่วนพระองค์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนพระองค์เจ้าเพชรราช เจรจาการเมืองและ\nเรื่องส่วนพระองค์ ทั้งในและนอกราชอาณาจักรไทย ไปพนมเปญ ไปย่างกุ้ง เพื่อทำความเข้าใจร่วมระหว่างลาวเขมรญวนและพม่าที่ต่างมุ่งล้างอิทธิพลชาวผิวขาวด้วยกัน", "title": "เจ้าเพชรราช รัตนวงศา" }, { "docid": "62132#0", "text": "อักษรลาว เป็นชื่ออักษรที่รัฐบาลลาวรับรองให้ใช้เขียนภาษาลาว ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการในปัจจุบัน มีพัฒนาการมาจากอักษรลาวเดิม (หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ อักษรไทน้อย) ซึ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในสมัยราชวงศ์ล้านช้าง เมื่อราว พ.ศ. 1900 โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรลาวโบราณสมัยรัชกาลพระเจ้าฟ้างุ้มเป็นต้นมา ซึ่งรับมาจากอักษรมอญและอักษรเขมร (อักษรขอม) อีกต่อหนึ่ง ลักษณะการใช้งานยังคงมีระบบการเขียนคล้ายอักษรไทยโบราณ ที่ไม่ใช้แล้วในอักษรไทยปัจจุบัน เช่น การใช้ไม้กงแทนเสียงสระโอะเมื่อมีตัวสะกด หรือการใช้ตัวเชิงของอักษร ย แทนสระเอียเมื่อมีตัวสะกด เป็นต้น", "title": "อักษรลาว" }, { "docid": "100596#0", "text": "ภาษาลัวะ หรือ ภาษามัล ภาษาไพร ภาษาถิ่น ภาษาปรัย มีผู้พูดทั้งหมด 26,193 คน เป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาขมุ ผู้พูดภาษานี้ในประเทศไทยอพยพมาจากประเทศลาว ในไทยพบ 3,000–4,000 คน (พ.ศ. 2525) อยู่ทางตะวันออกของอำเภอปัวและอำเภอเชียงคำ จังหวัดน่าน ใกล้กับชายแดนลาว อยู่ในลาว 23,193 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงไชยบุรีทางตะวันตกของแม่น้ำโขง มีสำเนียงต่าง ๆ มากมาย ผู้พูดภาษาลัวะในไทยมีคำยืมจากภาษาไทยที่นำไปใช้แทนคำดั้งเดิมในภาษาลัวะมาก ไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาไพ", "title": "ภาษาลัวะ" }, { "docid": "678857#0", "text": "ลาวเทิง (ภาษาลาว: ລາວເທິງ [láːo tʰə́ŋ]) เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์อย่างเป็นทางการที่ประเทศลาวใช้เรียกประชาชนในลาวที่ไม่ใช่ลาวลุ่มและลาวสูง มีกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ส่วนใหญ่พูดภาษาในตระกูลออสโตร-เอเชียติก ใน พ.ศ.2536 คิดเป็น 24% ของประชากรลาวทั้งหมด \nลาวเทิงส่วนใหญ่พูดภาษากลุ่มมอญ-เขมรซึ่งเป็นกลุ่มชนที่เชื่อว่าเคยเป็นชนส่วนใหญ่ในแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเข้ามาในบริเวณนี้ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตามตำนานน้ำเต้าปุงของลาวที่ชาวลาวเทิงออกมาจากน้ำเต้าก่อน ปัจจุบัน ลาวเทิงอยู่ในพื้นที่สูงของลาว เคยทำนามาก่อน จนเมื่อชาวลาวลุ่มเข้ามาถึงลาว จึงอพยพขึ้นไปอยู่ที่สูงขึ้น\nในลาว กลุ่มลาวเทิงมักถูกเรียกในภาษาลาวว่าข่าหรือข้า (ภาษาลาว: ຂ້າ) แสดงว่กลุ่มชนนี้เคยถูกใช้เป็นแรงงานของชาวลาวลุ่มมาก่อน มาตรฐานการดำรงชีวิตของลาวเทิงค่อนข้างต่ำกว่าลาวกลุ่มอื่น", "title": "ลาวเทิง" }, { "docid": "62132#12", "text": "ระบบการเขียนภาษาลาวในปัจจุบันยังขาดเอกภาพ ไม่มีมาตรฐานในการเขียนและการใช้คำศัพท์ เพราะยังไม่มีองค์กรที่มาควบคุมอย่างเป็นทางการ จึงมีลักษณะต่างคนต่างเขียนตามหลักการของตนเอง ทำให้เกิดความสับสนในการเขียนและการใช้คำศัพท์ ส่วนคนลาวที่อพยพไปอยู่ต่างประเทศหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี พ.ศ. 2518 ก็ยังใช้ภาษาลาวตามแบบที่ 2 ในสมัยที่ยังเป็นราชอาณาจักรลาวอยู่เหมือนเดิม ทำให้เกิดความสับสนระหว่างคนลาวในประเทศกับนอกประเทศ แม้รัฐบาลและประชาชนลาวเริ่มตระหนักถึงความสำคัญในข้างต้นก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีมาตรการใด ๆ ออกมาแก้ไขปัญหาอย่างชัดเจน แต่ในอนาคตคาดว่ารัฐบาลลาวจะจัดตั้งองค์กรออกมาควบคุมเพื่อให้ระบบการใช้ภาษาลาวเป็นมาตรฐานเดียวกัน", "title": "อักษรลาว" }, { "docid": "550376#1", "text": "ดนตรีของชาวลาวมีเครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์คือแคน ในวงดนตรีมีนักร้องเรียกว่าหมอลำและคนเป่าแคนที่เรียกหมอแคน ลำสาละวันเป็นการแสดงที่มีชื่อเสียงของลาว \nภาษาหลักของชาวลาวคือภาษาลาว แม้จะมีภาษาของชนกลุ่มน้อยต่างๆอีกมาในประเทศลาว ภาษาลาวเป็นภาษาที่มีการแสดงถึงระดับความสุภาพในภาษา", "title": "วัฒนธรรมลาว" }, { "docid": "2583#4", "text": "ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีกหลายสำเนียงย่อย เช่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรรณเขต สำเนียงย่อยถิ่นเมืองอาดสะพังทอง ถิ่นเมืองจำพอน ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย", "title": "ภาษาลาว" }, { "docid": "2583#2", "text": "ภาษาลาวเวียงจันทน์ (เวียงจันทน์ บอลิคำไซ) ภาษาลาวเหนือ (หลวงพระบาง ไชยบุรี อุดมไซ หลวงน้ำทา) ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ (เชียงขวาง หัวพัน) ภาษาลาวกลาง (คำม่วน สุวรรณเขต) ภาษาลาวใต้ (จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ) ภาษาลาวตะวันตก (ไม่มีใช้ในประเทศลาว ร้อยเอ็ด)", "title": "ภาษาลาว" }, { "docid": "1937#60", "text": "ในปี พ.ศ. 2556 ประเทศกัมพูชามีประชากร 15,205,539 คน กว่าร้อยละ 90 มีเชื้อสายเขมรและพูดภาษาเขมรอันเป็นภาษาราชการ นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยที่กระจายตัวอยู่ทั่วประเทศได้แก่ชาวเวียดนาม ร้อยละ 5 และชาวจีน ร้อยละ 1[18] นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยเชื้อสายไทยในจังหวัดเกาะกง[19][20][21] ชาวจามในจังหวัดกำปงจามและจังหวัดกระแจะ[22] ชาวลาวในจังหวัดรัตนคีรีและจังหวัดสตึงแตรง และชนเผ่าทางตอนเหนือต่อชายแดนประเทศลาวที่เรียกรวม ๆ ว่า แขมรเลอ", "title": "ประเทศกัมพูชา" } ]
2677
พอลิเมอร์ คือพลาสติกใช่หรือไม่ ?
[ { "docid": "8314#2", "text": "พอลิเมอร์ที่เป็นที่นิยมใช้มากที่สุดคือพลาสติก ซึ่งเป็นคำที่ใช้อ้างถึงกลุ่มของวัสดุธรรมชาติและสังเคราะห์กลุ่มใหญ่ที่มีคุณสมบัติและการใช้งานต่างกัน พอลิเมอร์ธรรมชาติเช่นชแล็กและอำพันที่ใช้มาเป็นเวลากว่าศตวรรษ พอลิเมอร์ชีวภาพ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิกที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางชีวภาพ พอลิเมอร์ธรรมชาติอื่นๆ เช่นเซลลูโลสที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดาษและไม้ พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ บาเกไลต์, นีโอพรีน, ไนลอน, พีวีซี, พอลิสไตรีน, พอลิอคริโลไนไตรล์ และพีวีบี การศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร์ได้แก่ เคมีพอลิเมอร์, ฟิสิกส์พอลิเมอร์และวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์", "title": "พอลิเมอร์" }, { "docid": "8314#1", "text": "พอลิเมอร์มีทั้งที่เกิดเองในธรรมชาติ (Natural polymer) และพอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic polymer) ตัวอย่างของ โพลิเมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส โปรตีน กรดนิวคลีอิก และยางธรรมชาติ ส่วนพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พลาสติก เส้นใย โฟม และกาว พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดนี้เข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวัน เราต้องใช้ประโยชน์จากพอลิเมอร์ และพอลิเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน จึงนำหน้าที่หรือนำไปใช้งานที่ต่างกันได้", "title": "พอลิเมอร์" } ]
[ { "docid": "14874#2", "text": "เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เป็นพลาสติกที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได้ พลาสติกประเภทนี้โครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อย มาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือเมื่อผ่านการอัดแรงมากจะไม่ทำลายโครงสร้างเดิม ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน มีสมบัติพิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนำมาขึ้นรูปกลับมาใช้ใหม่ได้ ชนิดของพลาสติกใน ตระกูลเทอร์โมพลาสติก ได้แก่", "title": "พลาสติก" }, { "docid": "8314#9", "text": "การจำแนกหน่วยย่อยที่ประกอบเป็นพอลิเมอร์เป็นลักษณะแรกและสำคัญที่สุดของพอลิเมอร์ หน่วยที่ซ้ำกันจะพบซ้ำๆตลอดสายและใช้ในการจำแนกพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยเหมือนกันหมดเรียกว่าโฮโมพอลิเมอร์ ส่วนพอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยหลายชนิดผสมกันเรียกโคพอลิเมอร์ พอลิสไตรีนเป็นตัวอย่างของโฮโมพอลิเมอร์ เอทิลีน-ไวนิลอะซีเตตเป็นตัวอย่างของโคพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ทางชีวภาพบางชนิดประกอบด้วยหน่วยย่อยต่างกันแต่มีโครงสร้างใกล้เคียงกันเช่นพอลินิวคลีโอไทด์ที่มีหน่วยย่อยเป็นนิวคลีโอไทด์ พอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยที่มีประจุจะเรียกว่าพอลิอิเล็กโทรไลต์ หน่วยย่อยของพอลิเมอร์ชนิดนี้เรียก ไอโอโนเมอร์", "title": "พอลิเมอร์" }, { "docid": "116503#0", "text": "คลอริเนเตท พาราฟิน แวกซ์ () เป็นพลาสติกไชต์เซอร์ ตัวหนึ่งใช้เป็นส่วนผสมในการผลิต พอลิไวนิลคลอไรด์คอมเปาด์หรือพีวีซีคอมเปาด์ (Polyvinyl chloride compound, PVC compound) เนื่องจากพีวีซีปกติ หรือ พีวีซีเรซิน จะไม่มีคุณสมบัติการเป็นพลาสติก กระบวนการทำพีวีซีคอมเปาด์คือการนำเอาพีวีซีเรซิน มาผสมกับส่วนผสมต่างๆ เราเรียกว่า Additive ให้มีคุณสมบัติเป็นพลาสติกมากขึ้น", "title": "คลอริเนเตท พาราฟิน แวกซ์" }, { "docid": "8314#8", "text": "คุณสมบัติทางโครงสร้างของพอลิเมอร์เกี่ยวข้องกับการจัดตัวทางกายภาพของลำดับโมโนเมอร์ตลอดแกนหลักของสาย โครงสร้างมีอิทธิพลต่อคุณสมบัติอื่นๆ ของพอลิเมอร์ ตัวอย่างเช่น พอลิเมอร์สายตรงอาจจะละลายหรือไม่ละลายในน้ำขึ้นกับว่าหน่วยย่อยนั้นมีขั้วหรือไม่ แต่ในกรณีของยางธรรมชาติ ยางธรรมชาติสองชนิดอาจจะแสดงความทนทานต่างกันแม้จะมีหน่วยย่อยเหมือนกัน นักวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์พยายามพัฒนาวิธีการเพื่ออธิบายทั้งธรรมชาติของหน่วยย่อยและการจัดเรียงตัว", "title": "พอลิเมอร์" }, { "docid": "110073#3", "text": "เป็นเทคนิคที่ง่ายที่สุดทั้งหลักการและเครื่องมือ แต่การควบคุมอุณหภูมิของปฏิกิริยาค่อนข้างทำได้ยาก เนื่องจากระหว่างการเกิดปฏิกิริยามีการคายความร้อนมาก \nช่วงที่มอนอเมอร์ทำปฏิกิริยาได้พอลิเมอร์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ น้ำหนักโมเลกุลสูง ความหนืดของปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้อาจเกิดปัญหาเรื่องการถ่ายเทความร้อนขึ้นได้ \nสารตั้งต้นในระบบนี้มีแค่มอนอเมอร์ และตัวริเริ่ม (initiator) ไม่มีการใช้ตัวทำละลาย ข้อดีของเทคนิคนี้ก็คือ ค่าใช้จ่ายสำหรับวัตถุดิบในการผลิตค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับเทคนิคอื่น \nและไม่ต้องมีการกำจัดตัวทำละลายออกจากพอลิเมอร์ภายหลังจากพอลิเมอไรเซชันเสร็จแล้ว", "title": "พอลิเมอไรเซชัน" }, { "docid": "293951#2", "text": "1) พอลีแลคติคแอซิด (Polylactic Acid) หรือ PLA\nวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต Polylactic Acid (PLA) คือแป้งที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นใหม่ได้ (renewable resource) ซึ่งได้แก่พืชที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ข้าวโพด และมันสำปะหลัง โดยมีกระบวนการผลิตเริ่มต้นจากการบดหรือโม่พืชนั้นให้ละเอียดเป็นแป้ง จากนั้นทำการย่อยแป้งให้ได้เป็นน้ำตาล และนำไปหมัก (fermentation)ด้วยจุลินทรีย์เกิดเป็น Lactic Acid ซึ่งมีกรรมวิธีคล้ายกับการหมักเบียร์ จากนั้นนำ Lactic Acid ที่ได้มาผ่านกระบวนการทางเคมี เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างให้เป็นสารใหม่ที่มีโครงสร้างทางเคมีเป็นวงแหวนเรียกว่า lactide หลังจากนั้นนำมากลั่นในระบบสุญญากาศเพื่อเปลี่ยนโครงสร้างได้เป็นโพลิเมอร์ของ lactide ที่เป็นสายยาวขึ้นเรียกว่า Polylactic Acid (PLA) ซึ่งการกำหนดความยาวของสายโพลิเมอร์ให้ได้ตามที่ต้องการจะเป็นสิ่งที่ทำให้คุณสมบัติของ PLA เปลี่ยนไปตามลักษณะการใช้งาน ทั้งนี้ PLA สามารถนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกได้เช่นเดียวกับเม็ดพลาสติกจากปิโตรเลียม อีกทั้ง PLA ยังมีคุณสมบัติพิเศษคือมีความใส ไม่ย่อยสลายในสภาพแวดล้อมทั่วไป แต่สามารถย่อยสลายได้โดยการผ่านกระบวนการหมักปุ๋ยแบบอุตสาหกรรม (Industrial compost facility) ที่ต้องกำหนดอุณหภูมิที่ 65 องศา ความชื้น - rH 55%WW ค่าออกซิเจน ความพรุนในกองขยะอินทรีย์ และค่าสัดส่วนคาร์บอนและไนโตรเจน", "title": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ" }, { "docid": "8314#0", "text": "พอลิเมอร์ () ความหมายของพอลิเมอร์นั้นก็มาจากรากศัพท์กรีกสำคัญ 2 คำ คือ \"Poly\" (จำนวนมาก) และ \"Meros\" (ส่วน หรือ หน่วย) พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (Macromolecule) พอลิเมอร์จะประกอบไปด้วยหน่วยซ้ำกัน (repeating unit) ของมอนอเมอร์ (Monomer) หลายๆหน่วยมาทำปฏิกิริยากัน มอนอเมอร์นี้จัดเป็นสารไมโครโมเลกุล (Micromolecule) ชนิดหนึ่ง พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทั้งหมด จัดเป็นโฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) แต่ถ้ามีมอนอเมอร์ต่างกันตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป จัดเป็นโคพอลิเมอร์ (Copolymer) สารบางอย่างที่มีสมบัติอย่างพอลิเมอร์ เช่น สารพวกไขมันที่มีแต่ละหน่วยที่ไม่ซ้ำกันนั้นจะเป็นเพียงแค่สารแมคโครโมเลกุลเท่านั้น ไม่จัดเป็นพอลิเมอร์", "title": "พอลิเมอร์" }, { "docid": "293951#3", "text": "2) พอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates) หรือ PHAs\nเป็นสารพอลีเมอร์ตั้งต้นที่สามารถนำมาใช้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ย่อยสลายได้โดยบริษัท Metabolix Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต PHAs ได้ในระดับอุตสาหกรรม วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต Polyhydroxyalkanoates (PHAs) คือ แป้งหรือน้ำตาลที่มาจากทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นใหม่ได้ (renewable resource) ซึ่งได้แก่ พืชที่มีแป้งหรือน้ำตาลเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลังและอ้อย เป็นต้น โดยมีกระบวนการผลิตเริ่มต้นจากการบดหรือโม่พืชนั้นให้ละเอียดเป็นแป้ง จากนั้นทำการย่อยแป้งให้ได้เป็นน้ำตาล และนำไปหมัก (fermentation) ด้วยจุลินทรีย์ชนิดพิเศษชื่อ Eschericia Coli ซึ่งกินน้ำตาลเป็นอาหาร และสามารถเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของน้ำตาลภายในตัวจุลินทรีย์เองเป็น PHAs ซึ่งสามารถแยกออกมาได้โดยการกะเทาะแยกเปลือกนอกหุ้มจุลินทรีย์ออก เนื่องจาก PHAs มีช่วงอุณหภูมิในการหลอมเหลว (Tm) ที่กว้างตั้งแต่ 50 – 180 °C จึงทำให้มีคุณสมบัติในการนำไปเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์พลาสติกได้หลากหลาย เช่น การขึ้นรูปเป็นฟิล์ม การฉีดและการเป่า", "title": "พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ" } ]
3249
ประสบการณ์ในชีวิตมีผลต่อพัฒนาการของความภูมิใจในตนอย่างสำคัญหรือไม่?
[ { "docid": "819899#15", "text": "ประสบการณ์ในชีวิตมีผลต่อพัฒนาการของความภูมิใจในตนอย่างสำคัญ[7] ในชีวิตระยะต้น ๆ พ่อแม่มีอิทธิพลสำคัญต่อความภูมิใจในตนและพิจารณาว่าเป็นสาเหตุของประสบการณ์ทั้งเชิงบวกเชิงลบที่เด็กจะมี[31] ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขจากพ่อแม่ช่วยให้เด็กพัฒนาความรู้สึกว่ามีคนห่วงใยและนับถือ ซึ่งมีผลต่อความภูมิใจในตนเมื่อเด็กโตขึ้น[32]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" } ]
[ { "docid": "819899#17", "text": "ในช่วงที่อยู่ในโรงเรียน การเรียนได้ดีจะเป็นตัวช่วยสร้างความภูมิใจในตน[7] เด็กที่เรียนดีตลอดหรือเรียนตกตลอดจะมีผลสำคัญต่อความภูมิใจในตน[37] ประสบการณ์ทางสังคมจะเป็นตัวช่วยความภูมิใจในตนอีกอย่างหนึ่ง ในขณะที่เติบโตผ่านวัยเรียน เด็กจะเริ่มเข้าใจและรู้จักความแตกต่างของตัวเองกับเพื่อน โดยเปรียบเทียบกับเพื่อน เด็กจะประเมินว่าตนทำได้ดีกว่าหรือแย่กว่าเพื่อนในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาความภูมิใจในตน และมีอิทธิพลต่อความรู้สึกดีชั่วที่มีต่อตัวเอง[38][39]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#42", "text": "ส่วนความภูมิใจแบบไม่มีเงื่อนไขเป็นสิ่งที่ไว้ใจได้ เสถียร และมั่นคง[65] มันมีมูลฐานจากความเชื่อว่า ตน \"ยอมรับได้อย่างไม่มีข้อแม้ ยอมรับได้แม้ก่อนชีวิตเสียอีก ยอมรับได้โดยความมีอยู่\"[66]:7 ความเชื่อว่าตนยอมรับได้โดยความมีอยู่ (ontologically acceptable) ก็คือความเชื่อว่าการยอมรับได้ของตนเป็นไปตามสิ่งที่เป็น โดยไม่มีข้อแม้[67] ในรูปแบบความเชื่อเช่นนี้ การยอมรับได้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับคุณธรรมของบุคคล เป็นการยอมรับแม้ \"มีความผิด\" ไม่ใช่เพราะ \"ไม่มีความผิด\"[66]:5 ดังนั้น ความภูมิใจในตนแบบไม่มีเงื่อนไขจึงมาจากความเชื่อว่าตนยอมรับได้เพราะความมีอยู่และว่าตนได้การยอมรับจากผู้อื่น[68]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "766#16", "text": "ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสั่งสมไว้, ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้เข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา, การศึกษาประวัติศาสตร์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่น ๆ คุณสมบัตินี้นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรในสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการสูง", "title": "ประวัติศาสตร์" }, { "docid": "801630#1", "text": "CEBT ใช้โดยหลักกับบุคคลที่ผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder) โดยให้เป็นการบำบัดทางเลือกเมื่อ CBT ธรรมดาไม่ประสบผลในการทุเลาอาการ\nผลงานวิจัยแสดงว่า CEBT อาจช่วยลดการรับประทานตามอารมณ์ ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และช่วยเพิ่มความนับถือตน/ความภูมิใจในตน (self-esteem)\nเป็นวิธีการที่นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ ดร. เอ็มมา เกรย์ พัฒนาขึ้นในปี 2549\nองค์ประกอบสำคัญรวมทั้งการให้การศึกษาทางจิตวิทยา\nเทคนิคที่ช่วยเพิ่มความสำนึกทางอารมณ์กับเพิ่มแรงบันดาลใจเพื่อเปลี่ยนตัวเอง\nและกลยุทธ์ในการเปลี่ยนความเชื่อเกี่ยวกับประสบการณ์และการแสดงออกทางอารมณ์\nแม้ว่า CEBT เบื้องต้นจะพัฒนาเพื่อช่วยบุคคลที่ผิดปกติทางการรับประทาน โปรแกรมมีประสิทธิผลช่วยให้เข้าใจและบริหารอารมณ์ของตนได้ดีขึ้น นักจิตวิทยาจึงได้ใช้เป็นการรักษาเตรียมตัว (pretreatment) เพื่อเตรียมคนไข้ในกระบวนการรักษาปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งความวิตกกังวล ความซึมเศร้า โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD) ซึ่งบ่อยครั้งสร้างปัญหาทางอารมณ์", "title": "การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิด" }, { "docid": "819899#18", "text": "เมื่อถึงวัยรุ่น อิทธิพลจากเพื่อนจะสำคัญมากยิ่งขึ้น วัยรุ่นประเมินตัวเองโดยความสัมพันธ์กับเพื่อนที่ใกล้ชิด[40] การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ๆ สำคัญมากต่อพัฒนาการของความภูมิใจในตนในเด็ก เพราะการได้ความยอมรับจากเพื่อนทำให้เกิดความั่นใจและความภูมิใจ เทียบกับการไม่ยอมรับที่ทำให้เหงา ไม่มั่นใจในตน และภูมิใจในตนต่ำ[41]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#6", "text": "มีองค์กรทั้งของรัฐและนอกภาครัฐที่รับรองความสำคัญของความภูมิใจในตนเริ่มตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 จนเรียกได้ว่ามีขบวนการภูมิใจในตนได้เกิดขึ้น[7][20] ขบวนการนี้ได้ใช้เป็นหลักฐานว่า งานวิจัยทางจิตวิทยาสามารถมีผลต่อนโยบายของรัฐ ไอเดียหลักของขบวนการก็คือว่า ความภูมิใจในตนต่ำเป็นมูลรากปัญหาของบุคคล จึงเป็นมูลรากปัญหาสังคมด้วย ผู้นำขบวนการนักจิตบำบัดคนหนึ่งกล่าวไว้ว่า \"ผมไม่สามารถคิดถึงปัญหาทางจิตใจเพียงอย่างเดียวเริ่มตั้งแต่ความวิตกกังวลและความซึมเศร้า ความกลัวความใกล้ชิดและความสำเร็จ จนถึงการตีคู่ชีวิตและทารุณกรรมทางเพศต่อเด็ก ที่ไม่สามารถสืบสายไปยังปัญหาการมีความภูมิใจในตนต่ำได้\"[7]:3 แต่ว่าความภูมิใจในตนเชื่อว่าเป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมของโลกตะวันตกที่เน้นความเป็นตัวของตัวเอง เนื่องจากว่า ความภูมิใจในตนต่ำไม่เป็นปัญหาในประเทศที่เน้นผลส่วนรวมเช่นญี่ปุ่น[21]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#45", "text": "มีนักวิชาการที่อ้างว่าความสำคัญของความภูมิใจในตนเป็นเรื่องที่ชัดเจน เพราะว่าการไม่มีความภูมิใจในตนไม่ใช่เป็นการเสียความเคารพนับถือจากคนอื่น แต่เป็นการปฏิเสธตนเอง และสัมพันธ์กับโรคซึมเศร้า[13] ซิกมุนด์ ฟรอยด์ยังอ้างด้วยว่า คนซึมเศร้ามีปัญหา \"การลดลงของความนับถือตนเองอย่างผิดธรรมดา เป็นการทำอัตตา (ego) ให้ยากไร้อย่างยิ่ง... (คือ) เขาได้สูญเสียความเคารพในตน\"[71]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819854#50", "text": "เยาวชนข้ามเพศประสบกับทารุณกรรมหลายอย่างและความไม่เข้าใจจากบุคคลในสังคมของตน และจะรับมือชีวิตได้ดีกว่าถ้ามีระดับความฟื้นสภาพได้สูง\nงานศึกษาในเด็กข้ามเพศ 55 คนตรวจสอบความรู้สึกว่าเป็นนายของตน ความรู้สึกว่าได้การสนับสนุนช่วยเหลือจากสังคม การรับมือแบบเพ่งอารมณ์ และความภูมิใจในตน\nแล้วพบว่าความแตกต่างทางการฟื้นสภาพได้ประมาณ 50% เป็นตัวก่อปัญหาทางสุขภาพของเด็ก\nคือ เด็กที่ฟื้นสภาพได้แย่กว่ามีปัญหาทางสุขภาพจิตมากกว่า รวมทั้งความซึมเศร้าและอาการสะเทือนใจต่าง ๆ\nการรับมือที่เพ่งอารมณ์เป็นส่วนสำคัญของการฟื้นสภาพได้โดยเป็นตัวกำหนดว่าเด็กจะซึมเศร้าแค่ไหน", "title": "ความยืดหยุ่นทางจิตใจ" }, { "docid": "819899#7", "text": "แนวคิดเรื่องปัญหาที่เกิดจากการมีความภูมิใจในตนต่ำทำให้สมาชิกสภารัฐแคลิฟอร์เนียคนหนึ่งจัดตั้ง \"คณะทำงานเฉพาะกิจในเรื่องความภูมิใจในตนและความรับผิดชอบส่วนตัวและทางสังคม\" ขึ้นในปี 2529 โดยเชื่อว่า คณะทำงานจะสามารถสู้ปัญหาต่าง ๆ ของรัฐเริ่มตั้งแต่อาชญากรรม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จนถึงปัญหาการเรียนไม่ดีและมลภาวะ[7] แล้วเปรียบเทียบการเพิ่มความภูมิใจในตนว่าเหมือนให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรค คือสามารถช่วยป้องกันประชาชนจากความรู้สึกเหมือนถูกถล่มท่วมทับโดยปัญหาชีวิต คณะทำงานได้จัดตั้งคณะวิชาการเพื่อทบทวนวรรณกรรมในเรื่องความภูมิใจในตน แต่ว่า คณะนักวิชาการกลับพบความสัมพันธ์น้อยมากระหว่างความภูมิใจในตนต่ำและผลที่อ้างว่ามี ซึ่งเป็นหลักฐานว่า การมีความภูมิใจในตนต่ำไม่ใช่รากปัญหาทางสังคมทั้งหมด และไม่สำคัญเท่าที่คิดแต่ตอนแรก แต่ว่า ผู้เขียนรายงานนี้ก็ยังเชื่อว่า ความภูมิใจในตนเป็นตัวแปรอิสระที่มีผลต่อปัญหาสังคมใหญ่ ๆ คณะทำงานสลายตัวในปี 2538 แล้วจึงมีการจัดตั้งองค์กรที่มีจุดประสงค์เดียวกันต่อ ๆ มา โดยในที่สุดเป็น National Association for Self-Esteem (NASE)[7]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "346891#1", "text": "ในทฤษฎีจิตวิเคราะห์สำนักฟรอยด์คลาสสิก การเลียนแบบบิดามารดาเพศเดียวกันของเด็ก (identification) เป็นการแก้ปมเอดิเพิสและปมอิเล็กตราที่สำเร็จ เป็นประสบการณ์ทางจิตวิทยาสำคัญซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาบทบาทและอัตลักษณ์ทางเพศผู้ใหญ่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ยังเสนอว่า เด็กชายและเด็กหญิงเผชิญปมนี้ต่างกัน เด็กชายในรูปของความวิตกกังวลการตอน (castration anxiety) เด็กหญิงในรูปของความอิจฉาองคชาต (penis envy) และการแก้ไขปมที่ไม่สำเร็จอาจนำไปสู่โรคประสาท โรคใคร่เด็กและรักร่วมเพศ ชายและหญิงที่ติดอยู่ในขั้นเอดิเพิสและอิเล็กตราในพัฒนาการความต้องการทางเพศนั้นอาจถือว่า \"ยึดติดมารดา\" และ \"ยึดติดบิดา\" ในชีวิตผู้ใหญ่ ประสบการณ์นี้อาจนำให้เลือกคู่ครองที่เหมือนบิดาหรือมารดาของตน", "title": "ปมเอดิเพิส" }, { "docid": "819899#46", "text": "หลักยกยาการ์ตา (The Yogyakarta Principles) ซึ่งเป็นเอกสารเกี่ยวกับกฎหมายสิทธิมนุษยชนนานาชาติ พูดถึงทัศนคติแบบเดียดฉันท์ต่อบุคคลเพศที่สาม (LGBT) ซึ่งทำให้ความภูมิใจในบุคคลเหล่านั้นต่ำกว่าควร ว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน[72] และองค์การอนามัยโลกแนะนำในเอกสาร \"การป้องกันการฆ่าตัวตาย (Preventing Suicide)\" ที่พิมพ์ในปี 2543 ว่าการเพิ่มความภูมิใจในตนเองของนักเรียนเป็นเรื่องสำคัญเพื่อป้องกันเด็กและวัยรุ่นจากความทุกข์ทางใจและความหมดกำลังใจ และช่วยให้เด็กสามารถรับมือกับสถานการณ์ยากที่ก่อความเครียดในชีวิตได้[73] แต่ว่ายังไม่ชัดเจนว่าอะไรควรทำและอะไรมีประสิทธิผล นอกจากจะเพิ่มความสุขแล้ว ความภูมิใจในตนสูงมีสหสัมพันธ์กับสมรรถภาพการรับมือกับความเครียด และโอกาสสูงกว่าที่บุคคลจะเข้าจัดการปัญหาที่ยากเทียบกับคนที่ภูมิใจในตนต่ำ[74]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#0", "text": "ในสังคมวิทยาและจิตวิทยา ความภูมิใจในตน หรือ ความภูมิใจแห่งตน[1] หรือ การเคารพตนเอง[2] หรือ การเห็นคุณค่าในตัวเอง (English: self-esteem) เป็นการประเมินคุณค่าตนเองโดยทั่วไปที่เป็นอัตวิสัยและอยู่ในใจ เป็นทั้งการตัดสินและทัศนคติต่อตนเอง ความภูมิใจในตนอาจรวมความเชื่อ (เช่น ฉันเก่ง ฉันมีคุณค่า) และอารมณ์ความรู้สึก เช่น การได้ชัยชนะ ความซึมเศร้า ความภูมิใจ และความอับอาย[3] หนังสือปี 2550 ให้คำนิยามว่า \"ความภูมิใจในตนเป็นการประเมินในเชิงบวกหรือเชิงลบเกี่ยวกับตัวเอง คือ เรารู้สึกกับตัวเองอย่างไร\"[4]:107 เป็นแนวคิดทางจิตวิทยา (psychological construct) ที่น่าสนใจเพราะว่านักวิจัยเชื่อว่ามันเป็นตัวพยากรณ์ที่ทรงอิทธิพลต่อผลบางอย่าง เช่น การเรียนเก่ง[5][6] ความสุข[7] ความพึงพอใจในชีวิตแต่งงานและในความสัมพันธ์กับผู้อื่น[8] และพฤติกรรมอาชญากรรม[8] ความภูมิใจอาจจะเป็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ (เช่น ฉันเชื่อว่าฉันเป็นนักเขียนที่ดีและมีความสุขเพราะเหตุนั้น) หรืออาจเป็นการประเมินรวม (เช่น ฉันเชื่อว่าฉันเป็นคนไม่ดี และรู้สึกไม่ดีกับตนเองโดยทั่วไป) นักจิตวิทยามักจะพิจารณาความภูมิใจในตนว่าเป็นลักษณะบุคลิกภาพที่คงยืน (คือเป็น trait) แม้ว่า สภาวะที่ชั่วคราวและเป็นเรื่องปกติ (คือเป็น state) ก็มีด้วยเหมือนกัน ไวพจน์ของคำภาษาอังกฤษว่า self-esteem รวมทั้ง self-worth (การเห็นคุณค่าของตน)[9] self-regard (การนับถือตน)[10] และ self-respect (ความเคารพในตน)[11]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819909#13", "text": "มีข้อสงสัยว่า CSE พยากรณ์อะไรได้ดีกว่าลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง คือ ความยินยอมเห็นใจ (agreeableness), ความพิถีพิถัน (conscientiousness), ความสนใจต่อสิ่งภายนอก (extraversion), neuroticism, และความเปิดรับประสบการณ์ (openness to experience) หรือไม่ และบางคนก็อ้างว่า ตัวบ่งชี้ลักษณะต่าง ๆ ของ CSE เป็นแนวคิดคล้าย ๆ กับ neuroticism ที่เป็นส่วนของลักษณะใหญ่ 5 อย่าง[12] แม้จะจริงว่า คำนิยามบางอย่างของ neuroticism จะรวมลักษณะทั้ง 4 อย่างของ CSE แต่ลักษณะใหญ่ 5 อย่างก็ไม่ได้กล่าวถึงความภูมิใจในตนโดยตรงในคำอธิบายของ neuroticism และความภูมิใจในตนก็ไม่ได้เป็นด้าน ๆ หนึ่ง (facet) ของ neuroticism ด้วย[9] ดังนั้น แนวคิดของ neuroticism แคบกว่า CSE นอกจากนั้นแล้ว ไม่มีแบบวัด neuroticism ไหน ๆ ที่ประเมินความภูมิใจในตน และแบบวัด neuroticism มีแต่คำถามแบบพรรณนาแต่ไม่มีคำถามที่ประเมิน[12]", "title": "การประเมินตัวเองหลัก (จิตวิทยา)" }, { "docid": "819899#10", "text": "ความภูมิใจในตนเป็นเรื่องสำคัญเพราะว่ามันสะท้อนให้เห็นว่าเรามองทั้งตัวเองและค่านิยมส่วนตัวอย่างไร ดังนั้นจึงมีผลกับเราและพฤติกรรมที่เรามีสัมพันธ์กับคนอื่น ๆ[13] ส่วน ศ. ดร. คารล์ รอเจอร์ส (2445 - 2530) ผู้โปรโหมตจิตวิทยามนุษยนิยม สันนิษฐานว่า รากฐานปัญหาหลายอย่างของมนุษย์มาจากการเกลียดตัวเอง และการมองตัวเองว่าไม่มีคุณค่าและเป็นคนที่ใคร ๆ รักไม่ได้ ซึ่งเป็นเหตุให้เขาเชื่อถึงความสำคัญในการยอมรับคนไข้อย่างไม่มีข้อแม้ ซึ่งเมื่อทำได้ ก็จะปรับความภูมิใจในตนของคนไข้[13] ดังนั้น ในช่วงการบำบัดคนไข้ของเขา เขาจะให้ความนับถือแก่คนไข้ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร[24] จริงเช่นนั้น ต่อจากนั้นจิตวิทยามนุษยนิยมจึงมองความภูมิใจในตนว่าเป็นสิทธิที่โอนให้กันไม่ได้สำหรับทุกคน ดังสรุปดังต่อไปนี้", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "242400#24", "text": "ลักษณะ (aspects) และพัฒนาการต่าง ๆ ทางบุคลิกภาพดูเหมือนจะเป็นส่วนสำคัญของการเกิดขึ้นและความยืนกรานของความซึมเศร้า[65] โดยมีอารมณ์เชิงลบเป็นตัวนำโรคที่สามัญ[66] แม้ว่า คราวแสดงออกของความซึมเศร้าอาจจะมีสหสัมพันธ์ในระดับสูงกับเหตุการณ์ร้ายในชีวิต แต่ว่า วิธีการรับมือปัญหาของบุคคลอาจจะสัมพันธ์กับการฟื้นสภาพจากเหตุการณ์นั้นได้[67] นอกจากนั้นแล้ว ความภูมิใจในตนที่ต่ำ (self-esteem) และความคิดโทษตัวเองหรือบิดเบือนจากความจริง ก็สัมพันธ์กับความซึมเศร้าด้วย ความซึมเศร้ามีโอกาสน้อยกว่าที่จะเกิด และถ้าเกิดก็ฟื้นเร็วกว่า ในกลุ่มบุคคลที่เชื่อมั่นในศาสนา[68][69][70] บางครั้งก็ไม่ชัดเจนว่าปัจจัยอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผลของความซึมเศร้า แต่ว่า คนไข้ที่สามารถพิจารณาและต่อต้านรูปแบบความคิดเชิงลบ บ่อยครั้งจะมีอารมณ์ที่ดีขึ้นและภูมิใจในตนเองมากขึ้น[71]", "title": "โรคซึมเศร้า" }, { "docid": "710941#5", "text": "แนวคิดการเพิ่มอำนาจอาจนำมาปรับใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทระหว่างนักศึกษาอาชีวะต่างสถาบันในสังคมไทย ที่มีการใช้ความรุนแรงจนขั้นเสียชีวิตหลายกรณี มีข้อมูลบ่งชี้ว่า นักศึกษาอาชีวะจำนวนมากขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ไม่รู้สึกว่าตนเองมีพลังมีอำนาจพอที่จะต่อต้านการชักจูงโดยรุ่นพี่และกลุ่มเพื่อน เพราะเกรงว่าจะไม่เป็นที่ยอมรับ วิธีแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรงในสถาบันอาชีวะศึกษา อาจเริ่มด้วยการเพิ่มอำนาจให้พวกเขารู้สึกภูมิใจ มั่นใจ และรักตัวเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่สังคมรอบตัวเขาปฏิเสธพวกเขามาตลอด หนังสือชื่อ เด็กน้อยโตเข้าหาแสง: ประสบการณ์ ‘คบเด็ก (เป็น) สร้างบ้าน (ได้) ของ ‘ป้ามล’ (ทิชา ณ นคร) สะท้อนปัญหาเรื่องวัยรุ่นขาดความรู้สึกว่าตนมี “อำนาจ” ได้เป็นอย่างดี ", "title": "การเพิ่มอำนาจ" }, { "docid": "819899#9", "text": "ส่วนทฤษฎีต่าง ๆ ในปัจจุบันตรวจสอบเหตุผลว่าทำไมมนุษย์จึงมีแรงจูงใจให้ดำรงการเคารพตนไว้ในระดับสูง มีทฤษฎี (Sociometer theory) ที่อ้างว่า ความภูมิใจในตนวิวัฒนาการขึ้นเพื่อเช็คสถานะทางสังคมและการยอมรับของกลุ่มสังคม ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่ง (Terror Management Theory) อ้างว่า ความภูมิใจในตนมีหน้าที่ป้องกันและลดระดับความวิตกกังวลเกี่ยวกับชีวิตและความตาย[23]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#58", "text": "ความพอใจในชีวิต ความสุข พฤติกรรมที่ถูกสุขภาพ ความมั่นใจในตนเอง การเรียนเก่ง และการปรับตัวได้ดี ล้วนแต่สัมพันธ์กับการมีความภูมิใจในตนสูง[87]:57 แต่ว่า เป็นความผิดพลาดสามัญที่จะคิดว่า การรักตัวเอง (self-love) ต้องเป็นการหลงตัวเอง (narcissism)[88]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#16", "text": "เด็กประถมที่ภูมิใจในตนสูงมักจะมีพ่อแม่ที่เด็ดขาดแต่เป็นห่วง ช่วยเหลือสนับสนุน ตั้งขอบเขตพฤติกรรมให้แก่เด็ก และให้ออกความเห็นเมื่อตัดสินใจ แม้ว่างานศึกษาจะแสดงเพียงแค่ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างสไตล์ความเป็นพ่อแม่แบบให้ความอบอุ่น ช่วยเหลือสนับสนุน (โดยหลักคือแบบ authoritative และ permissive) กับเด็กมีความภูมิใจสูง แต่ว่าสไตล์ความเป็นพ่อแม่เช่นนี้สามารถมองได้ว่าเป็นเหตุพัฒนาการทางความภูมิใจในตนของเด็ก[31][33][34][35] ประสบการณ์วัยเด็กที่ทำให้เกิดความภูมิใจรวมทั้งพ่อแม่ฟัง พ่อแม่พูดด้วยดี ๆ ได้รับความเอาใจใส่และความรัก มีการแสดงคุณค่าต่อความสำเร็จ และสามารถยอมรับความผิดพลาดและความล้มเหลว ประสบการณ์ที่ทำให้ภูมิใจในตนต่ำรวมทั้ง ถูกด่าว่าอย่างรุนแรง ถูกทารุณกรรมไม่ว่าจะทางกาย ทางเพศ หรือทางอารมณ์ ไม่ได้รับความเอาใจใส่ ถูกหัวเราะเยาะ ถูกล้อ หรือหวังให้เพอร์เฝ็กต์ตลอดเวลา[36]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#43", "text": "ศ. ดร. อับราฮัม มาสโลว์กล่าวว่า สุขภาพจิตที่ดีเป็นไปไม่ได้ยกเว้นถ้าแกนหลักของบุคคลนั้นได้การยอมรับ ความรัก และความเคารพอย่างพื้นฐานโดยตนเอง ความภูมิใจในตนช่วยให้คนเผชิญกับชีวิตอย่างมั่นใจมากขึ้น อย่างเมตตากรุณา อย่างมองโลกในแง่ดี และดังนั้นจะสามารถถึงเป้าหมายในชีวิตและถึงศักยภาพตนเองได้ง่ายกว่า[69]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#3", "text": "ต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 การเพิ่มความนิยมของปรากฏการณ์วิทยาและจิตวิทยามนุษยนิยม ได้สร้างความสนใจเกี่ยวกับความภูมิใจในตนอีกครั้งหนึ่ง ความภูมิใจในตนพบว่ามีบทบาทสำคัญต่อการเข้าถึงศักยภาพของตน (self-actualization) และในการรักษาความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ นักจิตวิทยาได้เริ่มพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจิตบำบัดกับความพึงพอใจในชีวิตของบุคคลที่ภูมิใจในตนสูง ว่าเป็นประโยชน์ในการรักษา จึงได้เกิดไอเดียใหม่ ๆ ซึ่งเสริมเติมต่อแนวคิดเรื่องความภูมิใจในตน รวมทั้งการช่วยให้เข้าใจเหตุผลว่า ทำไมบางคนจึงมักจะรู้สึกว่าตนมีคุณค่าน้อย และการเข้าใจว่าทำไมบางคนจึงท้อถอยและไม่สามารถเข้าใจปัญหาความท้าทายด้วยตนเอง[13]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#24", "text": "มีพัฒนาการการประเมินตัวเอง 4 ระดับโดยสัมพันธ์กับตนจริง ๆ (real self) ตนในอุดมคติ (ideal self) และตนที่ขยาด (dreaded self)[47] คือ", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#47", "text": "จากปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 คนอเมริกันเชื่อว่า ความภูมิใจในตนของนักเรียนจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อเกรดที่ได้ในโรงเรียน ต่อความสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ และต่อความสำเร็จที่จะได้ต่อ ๆ มาในชีวิต และดังนั้น จึงมีองค์กรที่ได้พัฒนาโปรแกรมเพื่อเพิ่มความภูมิใจในตนของนักเรียน แต่ว่าจนกระทั่งถึงคริสต์ทศวรรษ 1990 ก็ยังมีงานวิจัยแบบควบคุมที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกันน้อยมากในประเด็นนี้ และงานวิจัยต่อ ๆ มาก็ไม่ได้ยืนยันความเชื่อเช่นนั้น คือ งานวิจัยบ่งว่า การเพิ่มความภูมิใจในตนของนักเรียนเพียงลำพังไม่ได้มีผลต่อเกรด และงานวิจัยปี 2548 กลับแสดงด้วยว่า การเพิ่มความภูมิใจโดยลำพังสามารถลดเกรดที่ได้[75][76] คือผลได้แสดงว่า การมีความภูมิใจในตนสูงไม่ได้ช่วยให้เรียนเก่งขึ้น แต่อาจหมายเพียงแค่ว่า นักเรียนอาจภูมิใจในตนเองสูงโดยเป็นผลของการเรียนเก่งเนื่องจากปัจจัยทางสังคมและชีวิตอื่น ๆ[7]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#44", "text": "ความภูมิใจในตนอาจช่วยให้เชื่อว่าตนสมควรจะได้ความสุข[69] การเข้าใจเช่นนี้สำคัญมาก และมีประโยชน์โดยทั่วไป เพราะว่า การพัฒนาความภูมิใจในตนเพิ่มสมรรถภาพการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างนับถือ อย่างมีเมตตากรุณา และด้วยความหวังดี และดังนั้น จะเปิดโอกาสให้มีความสัมพันธ์กับคนอื่นที่ลึกซึ้งและหลีกเลี่ยงความสัมพันธ์ที่ทำลาย[69] สำหรับนักจิตวิทยาบางท่าน ความรักคนอื่นและความรักตนเองไม่ใช่เป็นคนละเรื่องกัน คือ ความรักตนเองจะมีในบุคคลที่สามารถรักคนอื่นได้ ความภูมิใจในตนช่วยให้มีความคิดสร้างสรรค์ในที่ทำงาน ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญสำหรับบางอาชีพเช่นการสอน[70]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#25", "text": "ระยะการตัดสินดีชั่ว (Moral Judgment) - บุคคลจะระบุตนจริง ๆ ตนในอุดมคติ และตนที่ขยาด ด้วยคำเรียกทั่ว ๆ ไป เช่น \"ดี\" หรือ \"ไม่ดี\" โดยระบุถึงตนอุดมคติและตนจริง ๆ โดยแนวโน้มการกระทำหรือนิสัย และมักระบุตนที่ขยาดว่าไม่เก่งหรือมีนิสัยไม่ดี ระยะพัฒนาอัตตา (Ego Development) - บุคคลจะระบุตนอุดมคติและตนจริง ๆ โดยลักษณะคงยืน (trait) ตามทัศนคติและตามการกระทำ และระบุตนที่ขยาดว่าไม่เก่งตามเกณฑ์สังคมหรือว่าเห็นแก่ตัว ระยะเข้าใจตนเอง (Self-Understanding) บุคคลระบุตนอุดมคติและตนจริง ๆ ว่ามีเอกลักษณ์หรือลักษณะนิสัยเป็นอันเดียวกัน และระบุตนที่ขยาดว่า ล้มเหลวที่จะมีชีวิตตามอุดมคติหรือตามบทบาทที่คาดหวัง โดยบ่อยครั้งเพราะมีปัญหาจริง ๆ ระดับนี้จะรวมเอาการตัดสินดีชั่วที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นที่ครอบคลุมมากขึ้น เป็นระยะที่ความภูมิใจในตนอาจเสียหายเพราะไม่รู้สึกว่าตนเองทำได้ตามที่คาดหวัง ความรู้สึกเช่นนี้จะมีผลต่อความภูมิใจในตนพอสมควร โดยมีผลยิ่งกว่าเมื่อเชื่อว่าตนกำลังกลายเป็นตนที่ขยาด[47]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#49", "text": "ความภูมิใจในตนสูงมีสหสัมพันธ์กับความสุขที่รายงานเองอย่างสูง แต่ว่านี่เป็นความสัมพันธ์แบบเหตุผลหรือไม่ ยังไม่ชัดเจน[7] และความสัมพันธ์ระหว่างความภูมิใจในตนสูงกับความพอใจในชีวิต จะแรงกว่าในวัฒนธรรมที่เน้นความเป็นตัวของตัวเอง[78]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#5", "text": "ในปัจจุบัน ทฤษฎีการประเมินตัวเองหลัก (core self-evaluations ตัวย่อ CSE) รวมความภูมิใจในตนว่าเป็นมิติ 1 ใน 4 มิติที่บุคคลประเมินตัวเอง รวมทั้ง locus of control, neuroticism, และความมั่นใจในความสามารถของตน (self-efficacy)[15] โดยทฤษฎีตรวจดูเป็นครั้งแรกในปี 2540[15] และตั้งแต่นั้นได้พิสูจน์ว่า สามารถพยากรณ์ผลการทำงานหลายอย่าง โดยเฉพาะก็คือความพอใจในงานและประสิทธิภาพการทำงาน[15][16][17][18][19] ความภูมิใจในตนจริง ๆ แล้วอาจเป็นมิติที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งในทฤษฎี CSE เพราะเป็นคะแนนประมวลความรู้สึกที่มีแก่ตนเอง[18]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#20", "text": "ไม่พบความแตกต่างกันระหว่างเพศในเรื่องพัฒนาการทางความภูมิใจในตน[8] งานศึกษาตามรุ่นแสดงว่า ไม่มีความแตกต่างกันในวิถีการดำเนินของความภูมิใจตลอดชั่วชีวิตระหว่างคนรุ่นต่าง ๆ เนื่องจากความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การให้เกรดสูงขึ้นในสถาบันศึกษา หรือสื่อทางสังคม (social media)[8]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" }, { "docid": "819899#39", "text": "ผู้ที่มีความภูมิใจในตนอย่างมั่นคงจะมีภาพพจน์ที่ดีเกี่ยวกับตน และมั่นคงพอที่ความเสียหายไม่สามารถเกิดกับความภูมิใจได้ เป็นบุคคลที่กลัวความล้มเหลวน้อยกว่า เป็นคนถ่อมตัว ร่าเริง และมั่นคงพอที่จะไม่อวดความดีความชอบและไม่กลัวความเสียหาย[60][61] เป็นคนที่สามารถต่อสู้ด้วยแรงที่มีเพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ เพราะว่า ถ้าล้มเหลว จะไม่มีผลต่อความภูมิใจของตน เป็นคนที่สามารถยอมรับความผิดก็เพราะว่ามีภาพพจน์ของตนเองที่มั่นคง และการยอมรับผิดจะไม่มีผลเสียหายต่อภาพพจน์นั้น[61] เป็นคนที่ใช้ชีวิตโดยกลัวการเสียชื่อเสียงน้อยกว่า และมีความสุขและความอยู่เป็นสุขที่ดีกว่า[61] แต่ว่า ไม่มีความภูมิใจแบบไหนที่ทำลายไม่ได้ และเหตุการณ์หรือสถานการณ์บางอย่างในชีวิต อาจทำให้ตกจากระดับนี้ไปยังระดับอื่น ๆ[59][61]", "title": "ความภูมิใจแห่งตน" } ]
1181
ยาโรสลัฟล์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อใด?
[ { "docid": "576316#1", "text": "ยาโรสลัฟล์นั้นถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย ได้รับการบันทึกการก่อตั้งตั้งแต่ในสมัยของเคียฟรุส ในปี พ.ศ. 1553 (ค.ศ. 1010) และเมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ก็ได้มีการจัดการฉลองอายุครบหนึ่งพันปีของเมือง[2]", "title": "ยาโรสลัฟล์" } ]
[ { "docid": "576316#47", "text": "thumbnail|right|ภาพการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาวในเมืองยาโรสลัฟล์", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#68", "text": "ทางน้ำ - ปัจจุบันนี้การเดินทางมายังยาโรสลัฟล์โดยทางเรือเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น โดยมักมีเรือล่องแม่น้ำให้บริการนักท่องเที่ยวจากคลองมอสโกมายังต้นแม่น้ำวอลกาแล้วล่องไปจนถึงปลายแม่น้ำซึ่งจะผ่านเมืองหลายๆเมืองเช่น ยาโรสลัฟล์ นิซนีนอฟโกรอด คาซาน ฯลฯ[32] แต่การเดินทางด้วยเรือมักใช้เวลานาน จึงเหมาะจะเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการทัวร์ชมวิวแม่น้ำและแวะตามเมืองริมแม่น้ำมากกว่าเป็นตัวเลือกการเดินทางให้ถึงเมืองยาโรสลัฟล์เพียงอย่างเดียวโดยใช้ระยะเวลาให้น้อยที่สุด", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#66", "text": "ทางรถไฟ - สามารถเดินทางมาจากกรุงมอสโกได้จากสถานีรถไฟยาโรสลาฟสกี้ (Yaroslavsky) ซึ่งเป็นสถานีตั้งต้นของทางรถไฟสายเหนือที่สามารถไปยังสายทรานส์ไซบีเรียได้ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 4 ชั่วโมงจึงจะมาถึงยาโรสลัฟล์[30] โดยสถานีรถไฟหลักของเมืองคือ Yaroslavl Glavny ตั้งอยู่ฝั่งเดียวกับตัวเมืองเก่าของยาโรสลัฟล์ข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไป", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#0", "text": "ยาโรสลัฟล์ (English: Yaroslavl Russian: Ярославль) เป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองหลักของ แคว้นยาโรสลัฟล์ ในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือห่างจากกรุงมอสโกไปราว 258 กิโลเมตร โดยมีแม่น้ำวอลกาไหลผ่านกลางเมือง มีประชากรราวๆเกือบหกแสนคนและนับเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรเยอะที่สุดในกลุ่มเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวอลกาตอนบนก่อนจะถึงเมืองนิซนีนอฟโกรอด มีชื่อเสียงในด้านการเป็นเมืองวัฒนธรรม เมืองท่องเที่ยว และเคยเป็นเมืองท่าค้าขายทางน้ำรวมถึงเป็นฐานอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศรัสเซียในอดีต", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#65", "text": "ทางถนน - ทางรถยนต์ใช้ทางหลวงสายเหนือ M-8 (มอสโก-ยาโรสลัฟล์-โวลอกดา-อาร์คันเกลสค์) ซึ่งตั้งต้นจากกรุงมอสโก และ มีรถโดยสารเดินทางจากกรุงมอสโกมายังยาโรสลัฟล์ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5-7 ชั่วโมง[22] โดยท่ารถโดยสารปลายทางเมื่อมาถึงยาโรสลัฟล์จะอยู่ที่สถานีรถไฟ Moskovsky ซึ่งเป็นสถานีรถไฟอีกแห่งของเมืองก่อนจะข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไปถึงสถานีรถไฟหลัก[29]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#41", "text": "เมื่อจบสงครามโลกครั้งที่สอง ยาโรสลัฟล์ได้รับบทบาทในด้านการเป็นหนึ่งในเมืองกำลังหลักที่ช่วยดึงเศรษฐกิจของโซเวียตให้กลับมามั่นคงเข้มแข็ง การพัฒนาเสริมความเจริญของเมืองก็ได้เป็นไปอย่างรวดเร็วจนแม้กระทั่งฝั่งซ้ายของแม่น้ำวอลกาซึ่งแต่ดั้งเดิมไม่เคยมีการไปพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ มีการก่อสร้างอาคารชุดขยายแหล่งที่อยู่อาศัยเป็นจำนวนมากจนในช่วงนี้เองที่เมืองมีประชากรมากกว่า 500,000 คนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ตั้งแต่ก่อตั้งมา ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) ได้มีการมาเปิดศูนย์การศึกษาทางด้านการทหารในยาโรสลัฟล์และปรับเปลี่ยนมาเรื่อยจนปัจจุบันนี้เป็นโรงเรียนสาขาของกองทัพอากาศรัสเซีย Military Space Academy AF Mozhaysky[13] ซึ่งสอนการใช้เรดาห์ตรวจจับอากาศยานขั้นสูงและการใช้ขีปนาวุธต่อต้านอากาศยาน ปี พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) โรงกลั่นน้ำมัน Novo-Yaroslavskiy refinery ได้เริ่มเปิดดำเนินงานเพิ่มความเข้มแข็งด้านอุตสาหกรรมให้กับเมือง ถัดมาอีกไม่นานก็มีการก่อสร้างสะพานใหม่เพื่อข้ามแม่น้ำสายหลักของเมืองทั้งสองสาย คือ สะพานมอสโก (Moscow Bridge) เชื่อมต่อถนน Moscow Avenue ที่เป็นถนนเส้นหลักของเมืองฝั่งด้านใต้ข้ามแม่น้ำโคตาโรสึล์มายังฝั่งเมืองเก่า และ สะพานตุลาคม (October Bridge) เป็นเส้นทางคมนาคมหลักข้ามแม่น้ำวอลกา และในช่วงนี้เองที่ยาโรสลัฟล์ได้รับมอบหมายบทบาทการเป็นเมืองมุ่งเน้นทางการส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งจากการได้รับมอบหมายนโยบายนั้นก็สะท้อนในเห็นด้วยความสำคัญทางประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของโครงการอวกาศโซเวียต เมื่อวาเลนตีนา เตเรชโควา (ผู้มีพื้นเพจากเขตปกครองยาโรสลาฟโอบลาสต์ได้กลายเป็นสตรีคนแรกที่ได้ขึ้นไปสู่อวกาศกับยานวอสตอค 6 ในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963)[14]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#74", "text": "ทีมฟุตบอลประจำเมืองคือ ชินนิก ยาโรสลัฟล์ (English: Shinnik Yaroslavl Russian: Шинник) สนามเหย้าคือ ชินนิก สเตเดียม[39] ทีมวอลเลย์บอลชาย ยาโรสลาวิช (English: Yaroslavich Russian: Ярославич) สนามเหย้าคือ สนามกีฬาในร่ม \"Atlant\"[40]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#20", "text": "ภายหลังจากซาร์ปีเตอร์มหาราชทรงย้ายเมืองหลวงแห่งรัสเซียจากมอสโกไปสู่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ความสำคัญของยาโรสลัฟล์รวมถึงเมืองท่าการค้าตามแม่น้ำวอลกาอื่นๆก็เริ่มเสื่อมถอยลงส่งผลให้เมืองต้องปรับตัวโดยใช้ความมั่งคั่งจากการเป็นเมืองท่ามาก่อนในการพัฒนาสาธารณูปโภคในเมืองเพื่อเริ่มรองรับการเข้ามาตั้งฐานการผลิตอุตสาหกรรมต่างๆ[6] โดยโรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญที่สุดในยุคเริ่มแรกของยาโรสลัฟล์ได้ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2315 (ค.ศ. 1772) โดย Ivan Tames ได้เปิดโรงงานสิ่งทอ Krasny Perekop (Russian: Красный Перекоп) ขึ้น ณ ฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ด้านใต้ตรงข้ามกับตัวเมืองหลักของยาโรสลัฟล์ ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นโรงงานสิ่งทอที่ใหญ่เป็นอันดับต้นๆของรัสเซียในช่วงเวลานั้น ชื่อของโรงงานก็ได้กลายเป็นชื่อของย่าน Krasnoperekopsky ที่เป็น 1 ใน 6 เขตย่อยของยาโรสลัฟล์อีกด้วย แม้แต่กระทั่งทุกวันนี้ โรงงานแห่งนี้ก็ยังคงดำเนินงานอยู่", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#77", "text": "หมวดหมู่:ยาโรสลัฟล์ หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:เมืองในประเทศรัสเซีย", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#51", "text": "ตราเมืองและธงประจำเมืองยาโรสลัฟล์นั้นได้รับแรงบันดาลใจมาจากตำนานการก่อตั้งเมืองวีรกรรมการสังหารหมีดุร้ายของยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่องเป็นหลัก ในปี พ.ศ. 2321 (ค.ศ. 1778) ตราเมืองแบบแรกที่ได้รับมาพร้อมๆกับฐานะการปกครองตัวเองของจังหวัดยาโรสลัฟล์ เป็นรูปหมีที่ยืนด้วยสองขาหลังถือขวานด้ามยาวสีทองพาดบ่าบนพื้นหลังสีเทาเงินรูปทรงโล่", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#31", "text": "ด้วยจำนวนกำลังคนที่ไม่มากมายนัก ทางฝ่ายขาวเองก็ไม่สามารถทำสิ่งใดให้เหล่าประชากรส่วนใหญ่ของยาโรสลัฟล์หันมาเข้ากับพวกตนได้ จึงเพียงรอให้การก่อความไม่สงบยึดอำนาจที่รีบินสก์ในอีกสองวันต่อมาประสบความสำเร็จเช่นกัน แล้วหลังจากนั้นกำลังของฝ่ายขาวที่ยึดรีบินสก์ได้จะลงมาช่วยสมทบสร้างความเข้มแข็งเพิ่มที่ยาโรสลัฟล์ด้วยว่าทางฝ่ายขาวหวังจะใช้ยาโรสลัฟล์เป็นหนึ่งในที่มั่นสั่งสมกำลังไว้สำหรับการเข้ายึดมอสโกที่เป็นที่มั่นของฝ่ายแดง", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#71", "text": "ยาโรสลัฟล์นั้นเป็นที่รู้จักในรัสเซียด้วยเป็นถิ่นกำเนิดของทีมฮอกกี้ Hockey Club Lokomotiv (Russian: ХК Локомотив) หรือที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายภายนอกรัสเซียในชื่อ โลโกโมทีฟ ยาโรสลัฟล์ (English: Lokomotiv Yaroslavl) ซึ่งเล่นอยู่ในลีกฮอกกี้สูงสุดของทวีปยุโรปคือ ลีกKHL (Kontinental Hockey League) โดยเคยได้แชมป์ลีกฮอกกี้ของรัสเซียในฤดูกาล 1996-1997, 2001-2002 และ 2002-2003 ทว่าช่วงเริ่มต้นฤดูกาล 2011-2012 ในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ทีมได้ประสบกับหายนะอย่างใหญ่หลวง เมื่อเครื่องบินเช่าเหมาลำที่กำลังจะพาทีมไปแข่งนัดเปิดฤดูกาลที่เมืองมินสก์ ประเทศเบลารุส ได้ประสบเหตุตกใกล้กับแม่น้ำวอลกาไม่ห่างจากสนามบินทูโนชน่าขณะพยายามจะทำการขึ้นบิน เป็นเหตุให้ผู้เล่นและสตาฟฟ์โค้ชที่อยู่บนเครื่องเสียชีวิตทั้งหมด 37 คน โดยมีบุคลากรของทีมเพียงสองคนเท่านั้นที่รอดชีวิตคือ Maxim Zyuzyakin ซึ่งเป็นผู้เล่นที่ไม่ได้เดินทางไปมินสก์ด้วยเนื่องจากต้องการให้พักตัวไว้สำหรับการแข่งขันเกมต่อไป[33] และ Jorma Valtonen ซึ่งเป็นโค้ชผู้รักษาประตูที่ไม่ได้มีกำหนดเดินทางไปพร้อมกับทีม[34]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#12", "text": "ปี พ.ศ. 2044 (ค.ศ. 1501) เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ในเมืองยาโรสลัฟล์ ทำให้สิ่งก่อสร้างต่างๆในเมืองซึ่งสร้างด้วยไม้ถูกเผาผลาญหมดสิ้น ในช่วงนี้เองจึงมีการเริ่มสร้างโบสถ์ด้วยวัดถุที่ไม่เป็นเชื้อเพลิงเช่นหินและอิฐ โดยสิ่งก่อสร้างที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในเมืองก็คือโบสถ์ศิลา Transfiguration of the Saviour ภายในอาราม Spaso-Preobrazhensky สร้างขึ้นหลังจากไฟไหม้ใหญ่ครั้งนั้นระหว่างปี พ.ศ. 2049-2059 (ค.ศ. 1506-1516)", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#7", "text": "หลังจากการก่อตั้งในปี พ.ศ. 1553 (ค.ศ. 1010) แล้ว ยาโรสลัฟล์ในช่วงแรกๆนั้นมีฐานะเป็นเมืองปราการหน้าด่านรอบนอกให้แก่รอสตอฟรวมถึงเป็นชุมชนที่มีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายรัสเซียนออร์โธดอกซ์ในแถบลุ่มน้ำวอลกาตอนบน", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#34", "text": "thumbnail|left|สุสานทหารนิรนามซึ่งเสียชีวิตในโรงพยาบาลทหารในเมืองยาโรสลัฟล์ช่วงสงคราม", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#57", "text": "St. John the Baptist Church - โบสถ์ที่สร้างขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีจุดเด่นที่ยอดโดมหัวหอมจำนวนรวมกันถึง 15 โดมและก่อสร้างด้วยอิฐสีแดง ตั้งอยู่อีกฝั่งของแม่น้ำโคตาโรสึล์ตรงข้ามกับตัวเมืองหลักของยาโรสลัฟล์ ถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของเมืองและได้รับเลือกเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของเมืองที่พิมพ์ลงในธนบัตร 1000 รูเบิลของรัสเซีย เปิดให้เข้าชมได้ในช่วงเวลา 10 โมงถึง 5 โมงเย็น[22]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#53", "text": "โดยทั่วไปแล้ว สามารถพบเห็นการตกแต่งส่วนต่างๆของเมืองที่ใช้ตราเมืองเป็นส่วนประกอบได้ทั้งเป็นลายประดับตามรั้ว ม้านั่งสาธารณะ ไฟถนน หรือกระทั่งเป็นการตัดแต่งพุ่มไม้ออกมาเป็นรูปหมีแล้วใส่ขวานจำลองประกอบ โดยเฉพาะที่สวนสาธารณะบนแหลมสเตรลก้า จะมีแปลงดอกไม้ใหญ่ที่จัดตกแต่งไว้เป็นรูปตราเมือง แล้วใต้ตราเมืองนั้นจะมีเลขอายุของเมืองกำกับอยู่ซึ่งจะเปลี่ยนทุกๆปีเมื่อถึงวันคล้ายวันก่อตั้งเมืองในทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม[19]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#4", "text": "ในบริเวณนี้นั้น เคยมีชุมชนตั้งอยู่มาก่อนโดยเป็นชาวพื้นเมืองฟินโน-อูกริค (English: Finno-Ugric) ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับบรรพบรุษของชาวรัสเซีย จนกระทั่งการมาถึงของ<b data-parsoid='{\"dsr\":[4721,4749,3,3]}'>ยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่อง (English: Yaroslav the Wise) ซึ่งเป็นเชื้อสายของราชวงศ์รูริคที่ทำการปกครองเคียฟรุสอยู่ในยุคนั้น โดยตำนานบันทึกการก่อตั้งเมืองพระองค์ได้ล่องเรือมาตามแม่น้ำโคตาโรสึล์จากต้นแม่น้ำคือทะเลสาบเนโรซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองรอสตอฟ-นา-โดนู อันเป็นดินแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือของเคียฟรุสที่พระองค์มาปกครองอยู่ ครั้นเมื่อเรือล่องมาถึงบริเวณจุดบรรจบกับแม่น้ำวอลกา พระองค์ได้ให้ความสนใจว่าเป็นจุดที่น่าจะอำนวยความสะดวกในการค้าขายผ่านแม่น้ำวอลกา ทว่ากลุ่มคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บริเวณนี้นั้นบางครั้งก็ทำการปล้นเรือสินค้า กล่าวกันว่าในยามที่พระองค์มาถึงบริเวณปากแม่น้ำโคตาโรสึล์ ก็ได้พบเรือสินค้ากำลังถูกปล้นอยู่พอดีจีงได้ไปช่วยพ่อค้าบนเรือนั้น เป็นผลให้ชาวพื้นเมืองไม่พอใจ และได้ปล่อยหมีซึ่งตามความเชื่อในลัทธิหมอผีถือว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์มาเพื่อหมายจะทำร้าย ซึ่งพระองค์ก็ได้ทำการสังหารหมีด้วยง้าว (Halberd) จนเหล่าชาวพื้นเมืองยอมจำนน", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#6", "text": "เชื่อกันว่าบริเวณซึ่งเหตุการณ์ในตำนานการสร้างเมืองเกิดขึ้นนั้น ก็คือบริเวณแหลมซึ่งยื่นล้ำไปตรงจุดที่แม่น้ำหลักของเมืองทั้งสองสายไหลมารวมกันที่ในภาษารัสเซียเรียกกันว่า สเตรลกา หลังจากปราบหมีแล้วยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่องก็ได้มีดำริให้สร้างโบสถ์ไม้และป้อมปราการขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ ซึ่งชื่อของเมือง \"ยาโรสลัฟล์\" นั้น เป็นรูปแสดงความเป็นเจ้าของในภาษารัสเซียโบราณและแปลได้ว่า \"ของ/แห่งยาโรสลาฟ\"", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#49", "text": "วันที่ 7 กันยายน ปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) เกิดเหตุเครื่องบินตกที่สนามบินประจำเมือง ซึ่งเป็นเครื่องบินที่จะพานักกีฬาและโค้ชทีมฮอกกี้ประจำเมืองไปแข่งขัน โดยเหตุการณ์เกิดในระหว่างที่ยาโรสลัฟล์เป็นเจ้าภาพจัดงานสัมนา Global Policy Forum พอดี ทำให้ประธานาธิบดีเมดเวเดฟซึ่งมาเป็นประธานของงานรุดมาดูความคืบหน้าด้วยตัวเองในวันรุ่งขึ้น แล้วสั่งการให้อุตสาหกรรมการบินพาณิชย์ของรัสเซียต้องปรับปรุงด้านความปลอดภัยอย่างเร่งด่วนทันที[18] โดยหากสายการบินขนาดกลางและเล็กแห่งใดไม่สามารถขยับตัวเองขึ้นมาให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนดไว้ก็จะให้ระงับกิจการไป และหลังจากเหตุการณ์ครั้งนั้น มาตรฐานความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการบินของรัสเซียก็เริ่มจะพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นจนในปีหลังๆจำนวนอุบัติเหตุก็มีลดลงกว่าแต่ก่อน", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#22", "text": "ครั้นปี พ.ศ. 2320 (ค.ศ. 1777) ในรัชสมัยของพระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2 ด้วยความสำคัญในฐานะเมืองเศรษฐกิจที่กำลังเติบโตรุดหน้าและจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ ยาโรสลัฟล์จึงได้รับการพิจารณาให้ได้รับอำนาจปกครองตัวเองโดยแยกออกมาเป็นจังหวัดยาโรสลัฟล์ (English: Yaroslavl province) และได้รับพระราชทานตราสัญลักษณ์เมืองรวมถึงได้รับการออกแบบผังเมืองใหม่ มีการก่อสร้างเพิ่มเติมสาธารณูปโภคพื้นฐานในเมืองและปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมในส่วนใจกลางเมืองเก่าให้สร้างอาคารแบบยุโรปตะวันตกในสไตล์เดียวกันหมดเพื่อความสวยงาม ทั้งยังมีการขยายสร้างสวนสาธารณะแทรกไว้กับหมู่อาคารที่ก่อสร้างเพิ่มเติมขึ้นมาใหม่อีกด้วย", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#76", "text": "- เว็บข่าวสารทั่วไปของเมืองยาโรสลัฟล์และเมืองอื่นๆในยาโรสลาฟโอบลาสต์ (ภาษารัสเซีย)", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#45", "text": "รายชื่อสิ่งก่อสร้างเพื่อเฉลิมฉลองวาระก่อตั้งยาโรสลัฟล์ครบหนึ่งพันปี", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#14", "text": "thumbnail|left|อนุสาวรีย์มินินและโพซาร์สกี้ที่หน้าจัตุรัสแดงในมอสโก ซึ่งก่อนจะเข้าไปกอบกู้มอสโกก็ได้มาปักหลักรวบรวมกำลังเพิ่มที่ยาโรสลัฟล์", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#46", "text": "สวนสัตว์ยาโรสลัฟล์ ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำวอลกา สะพานข้ามแม่น้ำวอลกาแห่งที่สอง Jubilee Bridge ตั้งอยู่เลยสะพาน October Bridge ห่างไปทางเหนือเชื่อมต่อกับถนนเลี่ยงเมืองซึ่งก่อสร้างใหม่เช่นกัน พิพิธภัณฑ์ท้องฟ้าจำลอง ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ วาเลนตีน่า เทเรชโคว่า โบสถ์ใหญ่ที่สุดของเมือง Cathedral of the Dormition สวนสาธารณะหนึ่งพันปี เปิดคณะละครสัตว์ประจำเมือง ปรับปรุ่งสวนสาธารณะบนแหลมสเตรลก้า มีการเพิ่มน้ำพุแสดงแสงสีประกอบดนตรีและเสาอนุสรณ์อุทิศแก่ยาโรสลัฟล์ผู้ปราดเปรื่องและบุคคลสำคัญอื่นๆในประวัติศาสตร์ ปรับปรุงทัศนียภาพรอบๆเมือง", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#67", "text": "ทางเครื่องบิน - สนามบินของยาโรสลัฟล์คือ สนามบินทูโนชน่า (English: Tunoshna Airport Russian: Туношна) ตั้งอยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากใจกลางเมืองราวๆ 18 กิโลเมตร เป็นสนามบินขนาดเล็กที่มักใช้ในการขนส่งสินค้ามากกว่ารองรับเครื่องบินโดยสารจึงไม่ค่อยมีเที่ยวบินโดยสารให้บริการมากนัก โดยเฉลี่ยจะมีเพียงวันละ 1-2 เที่ยวบินจากสนามบิน Domodedovo ในกรุงมอสโกหรือบางครั้งมีบริการเที่ยวบินมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งแต่ละช่วงนั้นไม่แน่นอนว่าจะมีสายการบินใดให้บริการเที่ยวบินมายังยาโรสลัฟล์หรือไม่ ควรเช็คกับทางสายการบินหรือเว็บไซต์ของสนามบิน[31] ปรกติแล้วหากมาด้วยเที่ยวบินจากมอสโก จะใช้เวลาเพียงประมาณไม่ถึงชั่วโมงในการเดินทาง", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#17", "text": "เดือนเมษายนปี พ.ศ. 2155 (ค.ศ. 1612) ได้มีกองทัพราษฎรนำโดย คุซมา มีนิน (Kuzma Minin) และ ดมีตรี ปอจาร์สกี (Dmitry Pozharsky)[5] เดินทางจากเมืองนิซนีนอฟโกรอดที่ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออกตามแนวแม่น้ำวอลกาและมาตั้งหลักรวบรวมเสบียงและกำลังคนเพิ่มที่ยาโรสลัฟล์ และในช่วงเวลาราวๆสี่เดือนที่กองทัพราษฎรมาปักหลักอยู่ในเมืองนี้เอง ได้มีการตั้งคณะผู้ปกครองเฉพาะกาล “The Council of the Russian Land” ขึ้นมาทำการบริหารจัดการเรื่องต่างๆของดินแดนรัสเซียที่ยังไม่ขึ้นกับฝ่ายเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย จึงกล่าวได้ว่าในช่วงเวลานั้นเองยาโรสลัฟล์ได้กลายเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของรัสเซีย[6]เพราะในระยะเวลานั้นมอสโกก็ตกอยู่ในกำมือของผู้บุกรุกต่างชาติโดยสิ้นเชิง จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคมปีเดียวกัน เมื่อรวบรวมกำลังได้ถึง 25,000 คนแล้ว กองทัพของมีนินและปอจาร์สกีจึงได้ออกเดินทางจากยาโรสลัฟล์ไปกอบกู้มอสโก จนในเดือนพฤศจิกายนนั้นเองมอสโกก็ได้เป็นอิสระจากเงื้อมมือของเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#62", "text": "โรงกลั่นน้ำมันของยาโรสลัฟล์ Novo-Yaroslavskiy refinery นั้นตั้งขึ้นมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปัจจุบันอยู่ในการบริหารของบริษัทน้ำมัน Slavneft นับจากปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เป็นต้นมา โดยโรงกลั่นน้ำมันนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาครัสเซียเหนือด้านฝั่งยุโรป มีกำลังการผลิตประมาณ 15 ล้านตันต่อปี[27][28]", "title": "ยาโรสลัฟล์" }, { "docid": "576316#28", "text": "ปี พ.ศ. 2403 (ค.ศ. 1860) ระบบโทรเลขก็เข้ามาถึงยาโรสลัฟล์ รวมถึงมีการสร้างเส้นทางรถไฟสายแรกไว้เดินทางติดต่อกับกรุงมอสโกด้วยในอีก 10 ปีต่อมา ปี พ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ก็มีระบบส่งน้ำ และเริ่มมีบริการรถรางขับเคลื่อนด้วยพลังไฟฟ้าในปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900)", "title": "ยาโรสลัฟล์" } ]
3646
ใครแสดงเป็น แฮร์รี่ พอตเตอร์?
[ { "docid": "10882#1", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ แสดงโดยแดเนียล แรดคลิฟฟ์ ในภาพยนตร์<i data-parsoid='{\"dsr\":[1081,1101,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์</i>ทุกภาคที่สร้างมา", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" } ]
[ { "docid": "494668#18", "text": "ฮอร์ครักซ์ () เป็นหนึ่งในวัตถุเวทมนตร์ในวรรณกรรมเยาวชนชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ. เค. โรวลิ่ง หนึ่งในวัตถุศาสตร์มืดที่ถูกสร้างมาเพื่อรักษาความเป็นอมตะของเจ้าของไว้ \nแนวคิดของฮอร์ครักซ์ ปรากฏครั้งแรกในตอน \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเจ้าชายเลือดผสม\" \nและการแสวงหาและทำลายฮอร์ครักซ์ของโวลเดอมอร์ก็เป็นประเด็นหลักของเนื้อเรื่องในสองเล่มสุดท้ายของแฮร์รี่ พอตเตอร์ ได้แก่ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเจ้าชายเลือดผสม\" และ\"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเครื่องรางยมทูต\"", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "201011#35", "text": "เปล่งเสียง: เอ็นกอร์จิโอ ผลของเวทมนตร์: เสกให้วัตถุมีขนาดใหญ่ขึ้น ตัวอย่างการใช้: ไม่แน่ชัดว่าแฮกริดใช้คาถานี้กับฟักทองของเขาในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ ยังพบในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีเมื่อบาร์ตี้ เคร้าช์ จูเนียร์ ซึ่งปลอมตัวเป็นมู้ดดี้ เสกแมงมุมให้แสดงผลกระทบของคำสาปกรีดแทง", "title": "รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "110806#4", "text": "ในนวนิยายชุด \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ข้าราชการส่วนใหญ่ในกระทรวงเวทมนตร์ดูเหมือนจะมาจากการแต่งตั้งมากกว่าการเลือกตั้ง ผู้สำเร็จการศึกษาเวทมนตร์สามารถเข้าทำงานที่กระทรวงได้ทันที แต่ตำแหน่งต่าง ๆ มีกำหนดระดับการศึกษาและผลสอบไว้ต่างกัน อย่างไรก็ดี มีระบุว่า ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์เองมาจากการเลือกตั้ง แต่ไม่เคยมีการอธิบายว่า ใครเป็นผู้เลือกตั้งและถอดถอนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์ ตลอดเรื่อง \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ทั้งกระทรวงเวทมนตร์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร์ดูจะอ่อนไหวง่ายกับความเห็นของสาธารณชนชาวพ่อมด จึงพยายามควบคุมความคิดเห็นของผู้คนด้วยข่าวหนังสือพิมพ์", "title": "กระทรวงเวทมนตร์" }, { "docid": "10882#11", "text": "ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี เขากลายเป็นจุดสนใจของคนรอบข้างอีกครั้ง เมื่อกลายเป็นผู้เข้าแข่งขันในการประลองเวทไตรภาคี ซึ่งทำให้เพื่อนร่วมบ้านกริฟฟินดอร์ต่างยินดี ยกเว้นรอน ผู้รู้สึกว่าเรื่องนี้เหมือนฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้เขาหมดความอดทนด้วยความที่แฮร์รี่เด่นกว่าเขาในทุกๆ ด้าน รวมถึงบ้านอื่นๆ ที่คิดว่าเขาต้องการเรียกร้องความสนใจ โดยเฉพาะบ้านฮัฟเฟิลพัฟที่มีเซดริก ดิกกอรี่ที่เป็นตัวแทนของฮอกวอตส์อีกคนหนึ่ง แฮร์รี่คืนดีกับรอนในเวลาต่อมา เนื่องจากรอนเห็นแล้วว่าการประลองดังกล่าวอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ในขณะเดียวกันแฮร์รี่และเพื่อนก็สงสัยว่าใครเป็นคนหยอดชื่อของเขาลงไปในถ้วยอัคนี แต่หลังจากที่แฮร์รี่เผชิญหน้ากับลอร์ดโวลเดอมอร์ผู้กลับคืนชีพอีกครั้ง เขาจึงทราบว่าเป็นแผนของโวลเดอมอร์นั่นเอง ในการเผชิญหน้าครั้งนี้แฮร์รี่รอดมาได้อย่างหวุดหวิดจากการที่ไม้กายสิทธิ์ของเขามีแกนกลางเป็นขนนกฟินิกซ์เหมือนกับของโวลเดอมอร์ซึ่งทำให้เกิดปรากฏการณ์ประหลาด ไม้ทั้งสองสะท้อนผลของคาถาซึ่งกันและกัน แต่ก็ต้องแลกกับการตายของเซดริกและเกราะคุ้มกันตัวแฮร์รี่ซึ่งถูกทำลายไปโดยเลือดของเขาเอง ความไว้ใจของแฮร์รี่ยังถูกทดสอบอีกครั้งเมื่อรู้ว่าศาสตร์จารย์มู้ดดี้ที่แฮร์รี่นับถือ แท้ที่จริงแล้วเป็นผู้เสพความตายปลอมตัวมาและทำให้แฮร์รี่เกือบตกอยู่ในอันตรายสูงสุด แต่ดัมเบิลดอร์ก็ช่วยเขาไว้ได้อีกครั้ง", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "10882#29", "text": "ในภาคที่ 7 แฮร์รี่ได้สัญญากับรอนว่าจะเลิกพบจินนี่เพื่อไม่ให้ความหวังแก่เธอ ซึ่งตลอดทั้งเล่ม แฮร์รี่ทำได้แค่เฝ้ามองดูเธอ แต่ในท้ายที่สุดหลังจากโค่นโวลเดอมอร์ลงได้ แฮร์รี่ก็ได้แต่งงานกับเธอ และ 19 ปีต่อมาทั้งสองก็มีลูกด้วยกันสามคนคือ เจมส์ ซีเรียส พอตเตอร์ อัลบัส เซเวอร์รัส พอตเตอร์ และ ลิลี่ ลูน่า พอตเตอร์ ดังนั้นกล่าวได้ในท้ายที่สุดว่าจินนี่เป็นนางเอกเรื่องนี้ (ในทางที่จริงแล้ว..แฮร์รี่ไม่ควรที่จะยุติความสัมพันธ์ระหว่างเขากับจินนี่ เพราะนั่นจะทำให้ทุกคนคิดว่าแฮร์รี่นั้นโหดร้ายและไม่ยอมสละเวลาเพื่อความรัก)", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "201011#11", "text": "เปล่งเสียงว่า: อะวาดา เคดาฟ-รา ผลของเวทมนตร์: ทำให้ผู้ต้องคำสาปตายทันทีโดยไม่เจ็บปวด ไม่มีคาถาต่อต้านหรือวิธีป้องกันคาถานี้ อย่างไรก็ตาม หากมีใครสละชีวิตของตนให้แก่อีกคน บุคคลที่ถูกช่วยนั้นจะไม่ได้รับผลกระทบที่เป็นอันตรายจากคำสาปทุกชนิดโดยผู้โจมตีโดยเจาะจงบุคคล (นั่นคือ ลิลี่ พอตเตอร์สละชีวิตของตนเพื่อแฮร์รี่ พอตเตอร์ในเงื้อมมือของโวลเดอมอร์ แฮร์รี่ก็จะได้รับการคุ้มครองจากคำสาปที่โวลเดอมอร์ร่าย) เป็นหนึ่งในสามคำสาปโทษผิดสถานเดียว หมายเหตุ: บุคคลเพียงสองคนที่เป็นที่ทราบว่ารอดชีวิตจากคำสาปพิฆาต คือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับโวลเดอมอร์ เพราะฝ่ายหลังได้รับการคุ้มครองจากฮอร์ครักซ์ แฮร์รี่ถูกคาถานี้สองครั้ง นกฟีนิกซ์เองก็สามารถรอดชีวิตจากคำสาปพิฆาตได้ โดยพวกมันจะระเบิดเป็นไฟเช่นเดียวกับที่จะเกิดขึ้นเมื่อมันสิ้นอายุขัย และเกิดขึ้นใหม่จากเถ้าถ่าน นี่เกิดขึ้นในภาคีนกฟีนิกซ์ ที่มาของชื่อ: โรวลิงอธิบายว่า เป็นคาถาโบราณในภาษาอราเมอิก และเป็นคำดั้งเดิมของ \"อะบราคาดาบรา\" ซึ่งหมายความว่า \"ให้ทุกอย่างถูกทำลาย\" เดิมคาถานี้ใช้รักษาอาการเจ็บป่วย และ \"สิ่ง\" นั้นหมายถึงอาการเจ็บป่วย[8] การใช้ชื่อนี้ของโรวลิงอาจได้รับอิทธิพลมาจากคำว่า cadaver ในภาษาละตินที่แปลว่า ศพ", "title": "รายชื่อคาถาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "4336#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และ เฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "107269#7", "text": "ในภาคนี้ บรรดานักเรียนฮอกวอตส์ ปี 5 ต้อง สอบ ว.พ.ร.ส. (วิชาพ่อมดระดับสามัญ)นักเรียนทั้งหลายต่างกดดันเป็นที่สุดโดยเฉพาะแฮร์รี่ เมื่อกระทรวงเวทมนตร์เริ่มครอบงำโรงเรียนฮอกวอตส์ ไม่มีใครเชื่อว่า ลอร์ดโวลเดอมอร์ กำลังเข็มแข็งขึ้นเรื่อยมาหลังจากการประลองเวทไตรภาคี สิ้นสุดลง จนสุดท้ายแฮร์รี่ก็ต้องเจ็บปวดอีกครั้งเมื่อพบกับความสูญเสียครั้งสำคัญ(อีกครั้ง) ทางกระทรวงจะทราบความจริง หรือไม่ และความกดดันของโรงเรียนจะเป็นเช่นไร ต้องติดตาม...เดวิด เยตส์ ได้รับเลือกให้กำกับภาพยนตร์เรื่องนี้ หลังจากที่ Mike Newell (ผู้กำกับภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับถ้วยอัคนี\"), Jean-Pierre Jeunet, Matthew Vaughn, และ Mira Nair ปฏิเสธที่จะกำกับ เยตส์เชื่อว่าที่เขามีความเหมาะสมจะกำกับภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเพราะทางสตูดิโอเห็นว่าเขาสามารถกำกับภาพยนตร์ที่ \"มีความสุดขั้วและเต็มไปด้วยอารมณ์\" ซึ่งมี \"เบื้องหลังทางการเมือง\" ได้ดี จากผลงานเก่าของเขาคือละครโทรทัศน์เรื่อง \"Sex Traffic\" นอกจากนี้แล้ว Steve Kloves ผู้เขียนบทที่เคยเขียนบทภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" 4 ภาคก่อนหน้านี้ ติดภารกิจ จึงมีการจัดให้ Michael Goldenberg มาเขียนบทแทน", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "176513#3", "text": "ต่อจากนั้นเขาก็มีผลงานภาพยนตร์เรื่อยๆ อย่างเรื่อง \"Sweet November\" (2001), \"Black Hawk Down\" (2001), \"Windtaklers\" (2002) และ \"The Tuxedo\" (2002) และเรื่อง \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับห้องแห่งความลับ\" (2002) \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับนักโทษแห่งอัซคาบัน)\" (2004) \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับถ้วยอัคนี\" (2005) \"แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับภาคีนกฟีนิกซ์\" (2007) ในบทลูเซียส มัลฟอย และยังร่วมแสดงกับ ฌอน คอนเนอรี่ ใน \"The League of Extraordinary Gentlemen\" และรับบทเป็น กัปตันฮุ๊ค/มิสเตอร์ดาร์ลิ่ง ใน \"Peter Pan\"", "title": "เจสัน ไอแซ็กส์" }, { "docid": "113433#4", "text": "เขาพบกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ครั้งแรก ตอนที่เขาไปร้านเสื้อผ้าของมาดามมัลกิ้นส์ที่ตรอกไดแอกอน โดยตอนนั้นเขายังดูอีกฝ่ายไม่ออกว่าคือใคร โดยเขาถามอีกฝ่ายว่า \"พ่อแม่เขาเป็น พวกของเรา (สายเลือดบริสุทธิ์) หรือไม่\" และเขายังบอกอีกว่า คนที่มาจากครอบครัวมักเกิ้ล (พวกไร้เวทมนตร์) นั้นไม่ควรมาเรียนที่ ฮอกวอตส์ ด้วย ก่อนจะจากไปโดยไม่มีการแนะนำตัวกันเลย และเขาพบอีกครั้งก่อนบนรถไฟด่วนฮอกวอตส์และถูกแฮร์รี่ปฏิเสธมิตรภาพของเขา หลังจากที่เขาว่าร้าย รอน วีสลีย์ (คนที่ได้ชื่อว่า เป็นเพื่อนคนแรกของแฮร์รี่ พอตเตอร์)", "title": "เดรโก มัลฟอย" }, { "docid": "10882#0", "text": "แฮร์รี่ เจมส์ พอตเตอร์</b>เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (วันเดือนเดียวกับผู้แต่ง เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้เขียนให้แฮร์รี่เกิดวันเดียวกันกับเธอแต่คนละปี) เป็นลูกชายคนเดียวของเจมส์ พอตเตอร์และลิลี่ พอตเตอร์ เป็นตัวละครเอกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "4336#62", "text": "โรว์ลิ่งได้เปิดเผยข้อมูลผ่านทวิตเตอร์ในวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ซึ่งตรงกับวันครบรอบการวางแผงหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์เล่มแรกว่าละครเวทีแฮร์รี่ พอตเตอร์นั้นจะใช้ชื่อการแสดงว่า \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเด็กต้องคำสาป\"[130] โดยคาดการณ์ว่าจะเริ่มเปิดการแสดงในช่วงฤดูร้อนของปี พ.ศ. 2559 ที่โรงละครพาเลซเธียเตอร์[131] ซึ่งบัตรเข้าชมในช่วงสี่เดือนแรกหรือช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายนถูกขายหมดในเวลาไม่กี่ชั่วโมงหลังเปิดจำหน่าย[132] ภายหลังในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ได้มีการเปิดเผยผ่านเว็บไซต์พอตเตอร์มอร์ว่าบทละครจะถูกตีพิมพ์จำหน่ายในรูปแบบหนังสือหนึ่งวันหลังรอบปฐมทัศน์โลกของละครเวที และเหตุการณ์ในเรื่องจะเกิดขึ้นสิบเก้าปีให้หลังจากบทจบของแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต โดยบางกลุ่มได้จัดบทละครที่จะถูกตีพิมพ์นี้เป็นหนังสือเล่มที่แปด แม้จะไม่ได้ถูกเขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่งที่ก็ตาม[133]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "21799#0", "text": "แดเนียล จาคอบ แรดคลิฟฟ์ (English: Daniel Jacob Radcliffe เกิดวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2532)[1] มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแสดงในบท แฮร์รี่ พอตเตอร์ ในภาพยนตร์ชุด<i data-parsoid='{\"dsr\":[798,818,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์ เขาเคยแสดงภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่ออายุ 10 ขวบในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง เดวิด คอปเปอร์ฟิลด์ ออกอากาศทางช่องบีบีซีวัน เมื่อปี พ.ศ. 2542 ตามมาด้วยภาพยนตร์เรื่องพยัคฆ์สายลับซ่อนลาย เมื่อปี พ.ศ. 2544 เมื่ออายุ 11 ขวบ เขาได้รับเลือกเป็นแฮร์รี่ พอตเตอร์ ในภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์</i>เรื่องแรก และแสดงบทดังกล่าวเป็นเวลา 10 ปี จนภาพยนตร์เรื่องที่แปดออกฉายในปี พ.ศ. 2554", "title": "แดเนียล แรดคลิฟฟ์" }, { "docid": "144418#0", "text": "รูเพิร์ต อเล็กซานเดอร์ ลอยด์ กรินต์ ( เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงจากบทรอน วีสลีย์ หนึ่งในตัวละครหลักจากภาพยนตร์ชุด\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" กรินต์ได้รับเลือกให้เล่นบทรอน วีสลีย์เมื่ออายุ 11 ขวบ โดยก่อนหน้านั้นเขาเคยแสดงละครเวทีในโรงเรียนและในชมรมละครเวทีท้องถิ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2554 เขาแสดงในภาพยนตร์\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\"ทั้งแปดภาคร่วมกับแดเนียล แรดคลิฟฟ์ รับบทแฮร์รี่ พอตเตอร์ และเอ็มมา วอตสัน รับบท เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์", "title": "รูเพิร์ต กรินต์" }, { "docid": "17410#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที่ เจ. เค. โรว์ลิ่งออกมาเตือนผู้อ่านก่อนหนังสือจะตีพิมพ์ว่าจะมีตัวละครเสียชีวิตในเล่มนี้ ซึ่งสร้างกระแสของการคาดการณ์ว่าตัวละครใดจะเสียชีวิต และสร้างปรากฏการณ์ 'คลั่งแฮร์รี่ พอตเตอร์' ทั่วโลก", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี" }, { "docid": "685605#0", "text": "เซอร์ ไมเคิล จอห์น แกมบอน () เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1940 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เขามีเสียงจากการรับบทเป็น ศาสตราจารย์ อัลบัส ดัมเบิลดอร์ หนึ่งในตัวละครของภาพยนตร์ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" หลังจากการเสียชีวิตของนักแสดง ริชาร์ด แฮร์ริส เขาจึงมารับบทแทนตั้งแต่ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน\" จนถึง \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2\"", "title": "ไมเคิล แกมบอน" }, { "docid": "4336#64", "text": "หลังจาก แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต วางแผงได้ไม่นานนัก ทางประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการวางแผนและทำแบบแปลนการสร้างสวนสนุกที่ยูนิเวอร์แซลออร์แลนโดรีสอร์ต เมืองออร์แลนโด รัฐฟลอริดา โดยจำลองสถานที่ต่าง ๆ ในวรรณกรรมแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เกี่ยวกับสถานที่ในโลกเวทมนตร์เช่น ฮอกวอตส์และหมู่บ้านฮอกส์มี้ด เป็นต้น สวนสนุกแห่งนี้วางแผนการสร้างโดย จิม ฮิล มีแบบจำลองปราสาทฮอกวอตส์ รวมไปถึงหมู่บ้านฮอกส์มีดส์อีกด้วย ผู้สร้างสวนสนุกยังได้เชิญ เจ. เค. โรว์ลิง ให้มาร่วมทำการเนรมิตสวนสนุกแห่งนี้ เพื่อทำให้เหมือนกับสถานที่ในหนังสือของเธอให้มากที่สุด ซึ่งโรว์ลิงก็ตอบตกลง สวนสนุกตั้งอยู่ในไอส์แลนด์ส ออฟ แอดเวนเจอร์ซึ่งเป็นเกาะรวมเครื่องเล่นแนวผจญภัยของยูนิเวอร์แซลออร์แลนโดรีสอร์ท โดยได้ใช้ชื่อว่าอย่างเป็นทางการว่าโลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์และเปิดให้เข้าชมในวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2553[135] โดยมีทั้งนักแสดงจากภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ อาทิ แดเนียล แรดคลิฟฟ์ (แฮร์รี่ พอตเตอร์), ไมเคิล แกมบอน (ศาสตราจารย์ดัมเบิลดอร์), รูเพิร์ท กรินท์ (รอน วีสลีย์) แมทธิว ลิวอิส (เนวิลล์ ลองบัตท่อม) และทอม เฟลตัน (เดรโก มัลฟอย) รวมถึง เจ.เค. โรว์ลิ่ง และผู้ประพันธ์เพลงให้กับภาพยนตร์ 3 ภาคแรกอย่าง จอห์น วิลเลียมส์ มาร่วมงานครั้งนี้ด้วย", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "494668#14", "text": "แผนที่ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ใครขยับไปทางไหนหรืออะไรอยู่ที่ไหนในฮอกวอตส์ แฮร์รี่ได้มาจากสองพี่น้องเฟร็ดและจอร์จ วีสลีย์ซึ่งขโมยมาจากห้องทำงานของฟิลช์ ถูกสร้างขึ้นโดย จันทร์เจ้า เขาแหลม เท้าปุย และ หางหนอน เพื่อช่วยในการกลายร่างมนุษย์หมาป่าของรีมัส ลูปิน ในสมัยที่พ่อของแฮร์รี่ยังเรียนอยู่ที่โรงเรียนฮอกวอตส์ ในรูปปกติจะอยู่ในรูปกระดาษเปล่า ถ้าต้องการดูให้ใช้ไม้กายสิทธฺ์แล้วพูดว่า \"ข้าขอสาบานอย่างจริงจังว่าข้า นั้นหาความดีมิได้\" และเมื่อใช้เสร็จจะต้องซ่อนแผนที่โดยการใช้ไม้กายสิทธ์แตะที่แผนที่แล้วพูด ว่า \"แผนลวงสำเร็จแล้ว\" ในแฮรี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งคุกอัซคาบัน แฮร์รี่ได้เจอชื่อของปีเตอร์ เพ็ตติกกรูว์ ซึ่งเชื่อว่าตายไปแล้วบนแผนที่นี้ ต่อมา ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี แฮร์รี่ได้เจอชื่อของบาร์ทีเมียส เคร้าช์ เจ้าหน้าที่กระทรวงเวทมนตร์ซึ่งเป็นคณะกรรมการในการประลองไตรภาคีกำลังพยายามเข้าไปค้นห้องคุกใต้ดินของสเนป (แท้จริงแล้วเป็นลูกชายของบาร์ทีเมียส เคร้าช์ซึ่งมีชื่อเหมือนกัน รู้จักกันทั่วไปด้วยชื่อ บาร์ทีเมียส เคร้าช์ จูเนียร์) แล้วแฮร์รี่ก็ตามไปดูด้วยผ้าคลุมล่องหน เกือบถูกสเนปจับ โชคดีที่อลาสเตอร์มู้ดดีช่วยไว้ได้ และเขาก็ประทับใจแผนที่ตัวกวน จึงขอยืมใช้จากแฮร์รี่มา", "title": "วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "10882#4", "text": "เจมส์และลิลี่ พอตเตอร์ พ่อแม่ของแฮร์รี่ถูกสังหารโดยโวลเดอมอร์ใน 31 ตุลาคม พ.ศ. 2524(วันฮาโลวีน) (ค.ศ. 1981) ขณะที่พยายามปกป้องลูกชาย แฮร์รี่จากโวลเดอมอร์ เจมส์ถูกสังหารก่อน ตามด้วยลิลี่ ผู้ปกป้องลูกด้วยการนำตัวเข้าไปขวางคำสาปพิฆาตจากโวลเดอมอร์ขณะพยายามฆ่าแฮร์รี่ การกระทำดังกล่าวทำให้เกิดพันธะปกป้องลึกลับซึ่งเกิดขึ้นจากความรักของแม่ และทำให้คำสาปพิฆาต \"อะวาดา เคดาฟ-รา\" ซึ่งโวลเดอมอร์เป็นผู้สาปมีผลสะท้อนกลับมายังตัวของเขาเอง ทำให้เขาบาดเจ็บสาหัส และสูญเสียพลังทั้งหมดที่เคยมี ในหนังสือเล่มที่สอง แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ แฮร์รี่บอกกับโวลเดอมอร์ว่า \"ไม่มีใครรู้ว่าทำไมคุณถึงสูญเสียพลังอำนาจของคุณไปเมื่อคุณทำร้ายผม ผมไม่รู้ด้วยซ้ำไป แต่ผมรู้ว่าทำไมคุณฆ่าผมไม่ได้...\" เมื่อโวลเดอมอร์ไร้พลังอำนาจ จึงจำเป็นต้องหลบซ่อนตัว ในขณะที่แฮร์รี่กลายเป็นผู้โด่งดังและเป็นที่รู้จักในโลกผู้วิเศษว่าเป็น \"เด็กชายผู้รอดชีวิต\" มีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นแผลเป็นรูปสายฟ้าตรงกลางหน้าผากซึ่งเกิดจากคำสาปของโวลเดอมอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "315583#7", "text": "พิธีเปิดเริ่มขึ้นด้วยการร้องประสานเสียงของ \"นักเรียนฮอกวอตส์\" โดยมีวอร์วิก เดวิส ผู้แสดงเป็นวาทยากรในภาพยนตร์มาเป็นวาทยากรในครั้งนี้ด้วย โดยร้องเพลง \"Hogwarts' March\" จากแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี ตามด้วยเพลง \"Something Wicked This Way Comes\" จาก แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษอัซคาบัน หลังจากนั้นเป็นคราวของ จอห์น วิลเลียมส์ ขึ้นเวทีเพื่อควบคุมการแสดงเพลง \"Harry's Wondrous World\" จาก แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ และเพลงอื่นๆ ตลอดงาน", "title": "โลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์ (ยูนิเวอร์แซลออร์แลนโดรีสอร์ต)" }, { "docid": "4336#54", "text": "ในปี พ.ศ. 2542 เจ. เค. โรว์ลิง ขายสิทธิ์การสร้างภาพยนตร์จากหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์สี่เล่มแรกให้กับวอร์เนอร์บราเธอร์ส ในราคาหนึ่งล้านปอนด์สเตอร์ลิง[112] โรว์ลิงยืนยันให้นักแสดงหลักเป็นชาวสหราชอาณาจักร รวมถึงต้องใช้ภาษาอังกฤษบริเตนในบทสนทนา ภาพยนตร์สองภาคแรกกำกับโดยคริส โคลัมบัส ภาคที่สามโดยอัลฟอนโซ กวารอน ภาคที่สี่โดยไมค์ นิวเวลล์ และภาคที่ห้าถึงภาคสุดท้ายโดยเดวิด เยตส์[113] บทภาพยนตร์ของสี่ภาคแรกเขียนโดยสตีฟ โคลฟ โดยร่วมงานกับโรว์ลิง บทภาพยนตร์มีความเปลี่ยนแปลงจากหนังสือบ้างตามรูปแบบการนำเสนอของภาพยนตร์และเงื่อนไขเวลา อย่างไรก็ตาม โรว์ลิงได้กล่าวว่าบทภาพยนตร์ของโคลฟนั้นมีความซื่อตรงต่อหนังสือ[114] ภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ทุกภาค มีนักแสดงหลักคือแดเนียล แรดคลิฟฟ์ เอ็มม่า วัตสันและรูเพิร์ท กรินท์ แสดงเป็นแฮร์รี่ พอตเตอร์ เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ และรอน วีสลีย์ตามลำดับ โดยสามคนนี้ได้รับเลือกในปี พ.ศ. 2543 จากเด็กหลายพันคน[115]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "137619#14", "text": "การถ่ายทำฉากสำคัญ<!--Principal photography-->ให้ภาพยนตร์<i data-parsoid='{\"dsr\":[25458,25478,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์</i>เรื่องที่หก เริ่มขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2550 โดยในส่วนของวอตสัน ถ่ายทำตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม ถึง 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2551[59][60] แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม ฉายรอบปฐมฤกษ์ในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552[61] เลื่อนจากเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551[62] เนื่องจากนักแสดงหลายคนเป็นวัยรุ่นตอนปลาย นักวิจารณ์วิจารณ์พวกเขาในระดับเดียวกับนักแสดงคนอื่น ๆ ในเรื่อง โดยหนังสือพิมพ์<i data-parsoid='{\"dsr\":[26763,26783,2,2]}'>ลอสแอนเจลิสไทมส์</i>บรรยายเป็น \"การแนะนำสู่การแสดงแบบทันสมัย\"[63] หนังสือพิมพ์เดอะวอชิงตันโพสต์รู้สึกว่าวอตสัน \"แสดงได้มีเสน่ห์ที่สุดจนถึงทุกวันนี้\"[64] ขณะที่หนังสือพิมพ์เดอะเดลีเทลิกราฟบรรยายถึงนักแสดงนำว่า \"กระตือรือต้น อิสระ และมีพลังที่จะแสดงสิ่งที่พวกเขามีให้กับส่วนที่เหลือของเรื่อง\"[65] ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 วอตสันกล่าวว่าเธออยากเรียนระดับมหาวิทยาลัยหลังเธอถ่ายทำภาพยนตร์ชุด<i data-parsoid='{\"dsr\":[28041,28061,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์</i>จบทั้งหมด[66]", "title": "เอ็มมา วอตสัน" }, { "docid": "222054#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 () เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งดัดแปลงมาจากนิยายเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ตอนที่ 7 ในชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ แต่เนื่องจากในภาคสุดท้ายนั้นมีรายละเอียดมากและทางผู้สร้างต้องการให้หนังจบลงอย่างสมบูรณ์แบบ จึงแบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตตอนที่ 1 และตอนที่ 2 สำหรับตอนที่ 1 เริ่มถ่ายทำเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และจะเข้าฉายในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตอนที่ 2 จะเข้าฉายในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ภาพยนตร์มีนักแสดงนำได้แก่ แดเนียล แรดคลิฟฟ์ รูเพิร์ท กรินท์ และเอ็มม่า วัตสัน กำกับการแสดงโดย เดวิด เยตส์ เขียนบทโดยสตีฟ โคลฟ อำนวยการสร้างโดย เดวิด เฮย์แมน และเดวิด แบร์รอน", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1" }, { "docid": "231183#35", "text": "วิลเลี่ยมส์ได้กลับมาร่วมงานกับโคลัมบัสอีกครั้ง ในปี ค.ศ.2001 ในผลงานภาพยนตร์ของ Warner Bros. เรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Sorcerer's Stone) ที่ดัดแปลงมาจากนิยายอังกฤษชื่อดังที่ประพันธ์โดย เจ.เค. โรว์ลิง (J.K. Rowling) วิลเลี่ยมส์ทำดนตรีในภาคต่ออีกสองภาค คือ แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับห้องแห่งความลับ (Harry Potter and the Chamber of Secrets) ใน ค.ศ.2002 กับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (Harry Potter and the Prisoner of Azkaban) ใน ค.ศ.2004 ในปี ค.ศ.2005 วิลเลี่ยมส์จำเป็นต้องปฏิเสธที่จะทำดนตรีประกอบให้กับภาคต่อของแฮร์รี่ พอตเตอร์ เนื่องจากวิลเลี่ยมส์ กำลังทำดนตรีประกอบให้กับหนังเรื่องอื่นอยู่ ซึ่งในปีนั้นเอง วิลเลี่ยมส์มีงานทำดนตรีให้กับภาพยนตร์ถึง 4 เรื่อง (ขณะนั้นวิลเลี่ยมส์อายุ 73 ปี) ตั้งแต่ภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ภาคที่ 4 แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับถ้วยอัคนี (Harry Potter and the Goblet of Fire) เป็นต้นมา จนถึงภาคสุดท้ายในปี ค.ศ.2011 วิลเลี่ยมส์ก็ไม่ได้กลับมาทำดนตรีประกอบให้อีกเลย แต่เพลง Hedwig's theme ที่วิลเลี่ยมส์ประพันธ์ขึ้น ก็ได้ถูกใช้เป็นเพลงธีมหลักในทุกภาคของแฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "จอห์น วิลเลียมส์" }, { "docid": "209021#3", "text": "Warner Bros. ผู้ผลิตภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และเป็นผู้ถือเครื่องหมายการค้าและลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับสื่อแฮร์รี่ พอตเตอร์ รูปแบบดีวีดีของภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ในตอน \"ห้องแห่งความลับ\" \"นักโทษแห่งอัซคาบัน\" และ \"ถ้วยอัคนี\" ก็ปรากฏลำดับเวลาด้วยเช่นกัน Warner Bros. ซึ่งเดิมพัฒนาลำดับเวลาดังกล่าวโดยเป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์ \"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ\" ในปี ค.ศ. 2002 โรวลิ่งได้ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขหลายครั้งจนกระทั่งเธอเห็นควรให้ใช้เป็นลำดับเวลา \"อย่างเป็นทางการ\"", "title": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "137619#8", "text": "ด้วยภาพยนตร์เรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี ทำให้ทั้งวอตสันและภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ มาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญครั้งใหม่ ภาพยนตร์ทำสถิติสำหรับสัปดาห์ออกฉายสัปดาห์แรกของภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นภาพยนตร์ไม่ได้เริ่มฉายในสหรัฐอเมริกาในวันสุดสัปดาห์ของเดือนพฤษภาคม และเป็นภาพยนตร์ที่ฉายสัปดาห์แรกในสุดสัปดาห์ในสหราชอาณาจักร นักวิจารณ์ชื่นชมการเติบโตของวอตสันและการแสดงวัยรุ่นของเธอ หนังสือพิมพ์เดอะนิวยอร์กไทมส์ชมการแสดงของเธอว่า \"เอาจริงเอาจังอย่างน่าประทับใจ\"[35] สำหรับวอตสัน เรื่องขบขันในภาพยนตร์ส่วนมากเกิดจากความเครียดในหมู่ตัวละครหลักสามคนขณะที่พวกเขากำลังเติบโต เธอกล่าวว่า \"ฉันชอบทุกตอนที่เราทะเลาะกัน ฉันคิดว่ามันเหมือนจริงมากที่พวกเขาทะเลาะกันและที่จะมีปัญหามากมาย\"[36] หลังจากภาพยนตร์เรื่องถ้วยอัคนีได้เข้าชิงสามรางวัล วอตสันชนะรางวัลออตโตเหรียญทองแดง[37][38] ต่อมาในปีนั้น วอตสันกลายเป็นคนที่อายุน้อยที่สุดบนปกนิตยสารทีนโว้ก[39] เมื่อเธอปรากฏตัวอีกครั้งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552[40] ในปี พ.ศ. 2549 วอตสันรับบทเฮอร์ไมโอนี่ในละคร<i data-parsoid='{\"dsr\":[17690,17712,2,2]}'>เดอะควีนส์แฮนด์แบก ตอนพิเศษของแฮร์รี่ พอตเตอร์เพื่อธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร[41]", "title": "เอ็มมา วอตสัน" }, { "docid": "10882#20", "text": "อย่างไรก็ตาม ข้อเสียในตัวแฮร์รี่ก็มีอยู่หลายประการ เขาโมโหง่ายถ้าพ่อแม่หรือใครก็ตามที่เขาห่วงใยถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม หรือเมื่อไรก็ตามที่มีคนไม่เชื่อถือคำพูดของเขา และเขาก็เหมือนรอนที่เรียนไม่ค่อยเก่งนักในหลายๆ วิชา ในเล่มที่ห้า (ภาคีนกฟีนิกซ์)แฮร์รี่มีอารมณ์โมโหร้ายมากขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการที่สังคมผู้วิเศษเกือบทั้งหมดเชื่อว่าเขาเป็นคนโกหกที่ต้องการเรียกร้องความสนใจ ผนวกกับการเติบโตเป็นวัยรุ่นซึ่งเป็นพัฒนาการทางอารมณ์อย่างหนึ่ง ในบางครั้ง เขาถึงกับโมโหใส่รอนและเฮอร์ไมโอนี่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเวลาที่ทั้งสองคนนั้นทะเลาะกัน อารมณ์โกรธดังกล่าวสามารถยกตัวอย่างได้เช่น ตอนที่รอนทะเลาะกับแฮร์รี่ และแฮร์รี่ไม่ยอมคืนดีเพราะรอนไม่เชื่อว่าเขาไม่ได้หย่อนชื่อตัวเองลงไปในถ้วยอัคนี ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีเป็นต้น", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "338365#5", "text": "ภายในฤดูใบไม้ร่วงปี 2001 ทอมก็เริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกใน บทบาท เดรโก มัลฟอย เด็กชายอันธพาลที่เป็นคู่อริกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ใน ภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับ ศิลาอาถรรพ์ หลังจากนั้นทอมก็ได้ร่วมแสดงในทุกภาคของแฮร์รี่ พอตเตอร์ จนถึงปี 2009", "title": "ทอม เฟลตัน" }, { "docid": "4336#3", "text": "หนังสือทั้งเจ็ดเล่มถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์โดยวอร์เนอร์บราเธอร์สจำนวนแปดภาค โดยเนื้อเรื่องในหนังสือเล่มที่เจ็ด ผู้สร้างได้แบ่งออกเป็นสองตอน ภาพยนตร์ชุด<i data-parsoid='{\"dsr\":[5767,5787,2,2]}'>แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดตลอดกาล นอกจากนี้ ยังได้มีการผลิตสินค้าควบคู่กันอีกจำนวนมาก ซึ่งทำให้ชื่อยี่ห้อแฮร์รี่ พอตเตอร์มีมูลค่ามากกว่า 25,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[10] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 เนื้อหาที่ไม่ได้เปิดเผยในหนังสือได้เริ่มเผยแพร่ในรูปแบบอีบุ๊กผ่าน \"พอตเตอร์มอร์\"[11] ได้มีการต่อยอดความสำเร็จของแฮร์รี่ พอตเตอร์ไปในหลายรูปแบบ อาทิเช่น สวนสนุกโลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์, สตูดิโอทัวร์ในลอนดอน, ภาพยนตร์ภาคแยกซึ่งดัดแปลงมาจากเนื้อหาของหนังสือสัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ และภายหลังได้มีการดัดแปลงแฮร์รี่ พอตเตอร์สู่รูปแบบละครเวที ใช้ชื่อว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเด็กต้องคำสาป เปิดการแสดงในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ที่โรงละครพาเลซเธียเตอร์ เมืองลอนดอน โดยบทละครเวทียังได้ถูกพิมพ์จำหน่ายโดยสำนักพิมพ์ลิตเติ้ลบราวน์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์เดียวกันที่ตีพิมพ์นิยายผู้ใหญ่ของโรว์ลิ่งภายใต้ชื่อ โรเบิร์ต กัลเบรธอีกด้วย[12]", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" } ]
2272
มหาสมุทรที่ลึกที่สุดเท่าที่มนุษย์วัดได้มีความลึกอยู่ที่กี่เมตร ?
[ { "docid": "781294#2", "text": "ใน พ.ศ. 2503ยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเตได้ลงไปสำรวจที่ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาทางใต้ของหมู่เกาะมาเรียนาใกล้กับเกาะกวมในระดับความลึก 10,911 เมตร (35,797 ฟุต 6.780 ไมล์)ซึ่งลึกที่สุดในโลกซึ่งถ้านำมาวัดกับยอดเขาเอเวอเรสต์ยอดของมันจะจมอยู่ใต้น้ำถึง 1 ไมล์ เมือยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเตถึงความลึก 10,911 เมตรมันได้ปล่อยยานสำรวจน้ำลึกไคโกะเพื่อทำการสำรวจเพิ่มเติมและเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. 2552 ก็ได้นำยานสำรวจน้ำลึกนีรีอัสกลับไปสำรวจที่แชลเลนเจอร์ดีปอีกครั้งเพื่อทำการดำน้ำสามครั้งให้มีระดับความลึกมากกว่า 10,900 เมตร", "title": "ทะเลลึก" } ]
[ { "docid": "3785#5", "text": "มหาสมุทรแปซิฟิกทอดตัวยาวลงมาตั้งแต่ทะเลแบริ่งในแถบอาร์กติกไปจนถึงเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ซึ่งเป็นตอนเหนือของมหาสมุทรใต้ (ในอดีตมีพื้นที่ถึงทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกา) จุดที่มหาสมุทรแปซิฟิกมีขนาดแผ่นดินใหญ่ห่างกันที่สุดอยู่ที่เส้นขนานที่ 5 องศาเหนือโดยทอดยาวเป็นระยะทางครึ่งโลกหรือประมาณ 19,800 กิโลเมตรจากอินโดนีเซียไปยังชายฝั่งของโคลอมเบีย ซึ่งความยาวนี้ยาวกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางดวงจันทร์ถึง 5 เท่า[3] จุดที่ลึกที่สุดคือร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาวัดได้ 10,911 เมตรใต้ระดับน้ำ ความลึกเฉลี่ยของแปซิฟิกคือ 4,280 เมตร มีปริมาณน้ำทั้งหมด 710,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร[1]", "title": "มหาสมุทรแปซิฟิก" }, { "docid": "781294#0", "text": "ทะเลลึก(English: Deep sea) [1]เป็นชั้นของระดับน้ำที่มีความลึกตั้งแต่ 200 เมตรลงไปซึ่งนับเป็น 70% ของน้ำในมหาสมุทรทั่วโลกเป็นที่ ๆ มีแสงน้อยจนถึงไม่มีแสงเลยสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรีย์หรือซากศพจากทะเลด้านบนด้วยเหตุนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เคยสันนิษฐานว่าจะมีสิ่งมีชีวิตชีวิตจำนวนน้อยมากในมหาสมุทรลึก แต่จากการตรวจสอบนั้นได้เปิดเผยว่ามันเป็นอะไรตรงกันข้ามกับการสันนิฐานนั้นเพราะมันมีสิ่งมีชีวิตมากมายในทะเลลึกลึกนอกจากนี้ยังสามารถเห็นการพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตอยู่อีกทั้งยังมีห่วงโซ่อาหารและขยะหรือจากซากสัตว์ แบคทีเรียต่าง ๆ", "title": "ทะเลลึก" }, { "docid": "813027#0", "text": "ลาดตีนทวีป () เป็นบริเวณที่ต่อเนื่องจากลาดทวีปไปจนถึงพื้นท้องสมุทร (seabed) มีลักษณะเป็นที่ราบเรียบและอาจมีความชันเล็กน้อย และอาจมีบางส่วนลึกหรือเป็นที่สูงต่ำ เกิดจากการตกทับถมของตะกอนต่าง ๆ ที่พัดพามากับกระแสน้ำ บ้างปรากฏเป็นเขาก้นสมุทร (abyssal hill) ไม่สูงมาก พบได้ทั่วไป บางส่วนของลาดตีนทวีปนั้นก็มีความราบเรียบเท่ากันกับพื้นท้องมหาสมุทรที่เป็นพื้นที่ของมหาสมุทรนั้นมีลักษณะภูมิประเทศหลากหลายอันได้แก่ สันเขา ที่ราบสูง แอ่ง ภูเขา เช่น เทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทอดยาวจากไอซ์แลนด์ลงมาเกือบถึงทวีปแอนตาร์กติก มีบางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ำทะเลกลายเป็นเกาะ เช่น หมู่เกาะอะโซร์สหรือหมู่เกาะฮาวาย ลักษณะภูมิประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ภูเขาใต้ทะเล พบที่พื้นท้องมหาสมุทร บางลูกมียอดตัด เรียกว่า เขายอดราบใต้สมุทร (guyout) พบมากบริเวณตอนกลางและด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างหมู่เกาะมาเรียนากับหมู่เกาะฮาวาย สำหรับยอดเขายอดราบใต้สมุทรนั้นมักอยู่ที่ระดับน้ำลึก 1,200–1,800 เมตร", "title": "ลาดตีนทวีป" }, { "docid": "3901#1", "text": "ตอนเหนือสุดของมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30° เหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยู่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริกาและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นน้ำ 70,560,000 ตารางกิโลเมตร รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย แต่ไม่รวมมหาสมุทรใต้หรือ 19.5% ของมหาสมุทรโลก มหาสมุทรอินเดียมีปริมาตรประมาณ 264,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 19.8% ของปริมาณมหาสมุทรโลก มีความลึกเฉลี่ย 3,741 เมตร และมีความลึกสูงสุด 7,906 เมตร", "title": "มหาสมุทรอินเดีย" }, { "docid": "357229#0", "text": "แชลเลนเจอร์ดีป () เป็นจุดที่ลึกที่สุดในมหาสมุทรของโลกเท่าที่รู้จัก โดยมีระดับความลึก 10,911 เมตร ตั้งอยู่ทางปลายด้านใต้สุดของร่องลึกมาเรียนา ใกล้กับกลุ่มหมู่เกาะมาเรียนา แชลเลนเจอร์ดีปมีลักษณะเป็นแอ่งขนาดเล็กที่ก้นของร่องลึกใต้มหาสมุทรรูปดวงจันทร์เสี้ยวขนาดค่อนข้างใหญ่ ซึ่งร่องเหล่านี้ก็เป็นลักษณะภูมิประเทศที่ลึกผิดปกติใต้ท้องมหาสมุทรอยู่แล้ว แผ่นดินที่อยู่ใกล้กับแชลเลนเจอร์ดีปที่สุด คือ เกาะไฟส์ (ส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแย็พ) ห่างออกไป 289 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และกวม ห่างออกไป 306 กิโลเมตรทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แอ่งดังกล่าวได้ชื่อตามเรือสำรวจราชนาวี เอชเอ็มเอส แชลเลนเจอร์ ซึ่งจัดการสำรวจใน ค.ศ. 1872-76 เป็นการบันทึกความลึกของมหาสมุทรเป็นครั้งแรก", "title": "แชลเลนเจอร์ดีป" }, { "docid": "3554#8", "text": "คลื่นจะมีพฤติกรรมเป็น \"คลื่นน้ำตื้น\" เมื่ออัตราส่วนระหว่างความลึกของน้ำและขนาดของคลื่นนั้นมีค่าต่ำ ดังนั้น เนื่องจากมีขนาดของคลื่นที่สูงมาก คลื่นสึนามิจึงมีคุณสมบัติเป็นคลื่นน้ำตื้นแม้อยู่ในทะเลลึกก็ตาม คลื่นน้ำตื้นนั้นมีความเร็วเท่ากับรากที่สองของผลคูณระหว่างความเร่งจากสนามแรงโน้มถ่วง (9.8เมตร/วินาที2) และความลึกของน้ำ ตัวอย่างเช่น ในมหาสมุทรแปซิฟิกที่มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร คลื่นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 200 เมตรต่อวินาที หรือ 720 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่วนที่ชายฝั่งที่มีความลึก 40 เมตร คลื่นจะมีความเร็วช้าลงเหลือ 20 เมตรต่อวินาที หรือ 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง", "title": "คลื่นสึนามิ" }, { "docid": "343228#2", "text": "มหาสมุทรขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - มหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ประมาณ 165,246,000 ตารางกิโลเมตร มหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดในโลก - มหาสมุทรอาร์กติก พื้นที่ประมาณ 14,438,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - ทะเลจีนใต้ พื้นที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก - ทะเลเหลือง พื้นที่ประมาณ 466,200 ตารางกิโลเมตร ทะเลซึ่งมีความลึกที่สุดในโลก - ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ในมหาสมุทรแปซิฟิก ความลึก 11,034 เมตร ทะเลสาบปิดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก - ทะเลแคสเปียน พื้นที่ประมาณ 371,000 ตารางกิโลเมตร ล้อมรอบด้วย 5 ประเทศ ทะเลสาบซึ่งมีความลึกที่สุดในโลก - ทะเลสาบไบคาล สหพันธรัฐรัสเซีย จุดที่ลึกที่สุด มีความลึกประมาณ 1,640 เมตร ทะเลสาบซึ่งมีความเค็มที่สุดในโลก - ทะเลสาบดอนฮวน ทวีปแอนตาร์กติกามีเกลือเจือปนอยู่ร้อยละ 42[1][2] แม่น้ำสายกว้างที่สุดในโลก - แม่น้ำแอมะซอน ในทวีปอเมริกาใต้ ความกว้าง 335 กิโลเมตร แม่น้ำสายยาวที่สุดในโลก - แม่น้ำไนล์ ในทวีปแอฟริกา ความยาว 6,695 กิโลเมตร แม่น้ำสายสั้นที่สุดในโลก - แม่น้ำดี สหรัฐอเมริกา ความยาว 130 เมตร น้ำตกสายกว้างที่สุดในโลก - น้ำตกไนแอการา ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ความกว้าง 148 กิโลเมตร น้ำตกสายสูงที่สุดในโลก - น้ำตกเอนเจล สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา ความสูง 979 เมตร", "title": "ที่สุดในโลก" }, { "docid": "467977#2", "text": "มีความยาวได้ถึง 2 เมตร พบในมหาสมุทรแอตแลนติก และอินโด-แปซิฟิกตอนกลาง อาศัยอยู่รวมตัวกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ 2-3 ตัว หากินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เป็นอาหาร ในระดับความลึกตั้งแต่ 2 เมตร จนพบได้ลึกถึงเป็น 100 เมตร", "title": "ปลาปากแตรเรียบ" }, { "docid": "68868#1", "text": "ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาเป็นแนวเขตที่แผ่นธรณีแปรสัณฐาน หรือที่เรียกชื่อในภาษาอังกฤษว่า \"Tectonic Plates\" สองแผ่นมาชนกัน ณ บริเวณเขตมุดตัวของเปลือกโลก (subduction zone) โดยแผ่นธรณีแปซิฟิก เป็นฝ่ายลอดลงไปใต้แผ่นธรณีมาเรียนา ก้นของร่องลึก ณ จุดนี้ที่มีชื่อเรียกว่า \"แชลเลนเจอร์ดีป\" (Challenger Deep) อยู่ลึกกว่าความสูงของยอดเขาเอเวอเรสต์ที่อยู่บนแผ่นดิน ความลึกมากสุดของร่องที่วัดได้ ณ จุดนี้ ลึกมากถึง 10,911 เมตรจากระดับน้ำทะเล และหากวัดละติจูดและ ส่วนอ้วนจากแรงเหวี่ยงแถบเส้นศูนย์สูตร (equatorial bulge) จะได้ระยะของจุดลึกสุดของร่องได้ 6,366,400 เมตรจากจุดใจกลางของโลก ในขณะที่มหาสมุทรอาร์กติกซึ่งมีความลึกมากที่สุดประมาณ 4,500 เมตร แต่เมื่อวัดพื้นผิวก้นมหาสมุทรถึงจุดใจกลางโลกกลับได้ระยะ 6,353,000 เมตร ใกล้จุดใจกลางโลกมากกว่าร่องลึกบาดาลมาเรียนาถึง 13 กิโลเมตร", "title": "ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา" }, { "docid": "395659#2", "text": "ทะเลสาบมาลาวีมีจุดที่ลึกที่สุดวัดได้ประมาณ 700 เมตร มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 427 เมตร น้ำในทะเลสาบแห่งนี้ได้ชื่อว่ามีความใสมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก สามารถมองลงไปได้ลึกถึง 3 เมตร มีอุณหภูมิของน้ำระหว่างพื้นผิวกับส่วนที่ลึกลงไปแตกต่างกันเพียง 2-3 องศาเซลเซียส ", "title": "ทะเลสาบมาลาวี" }, { "docid": "12110#0", "text": "ทะเลแดง (; , \"อัลบะฮฺรุ อัลอะฮฺมัร\"; ) เป็นอ่าวในมหาสมุทรอินเดีย แบ่งระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปเอเชีย โดยทะเลแดงเชื่อมกับมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเอเดน (Gulf of Aden) ทะเลแดงมีความยาวประมาณ 1900 กิโลเมตร และกว้างประมาณ 300 กิโลเมตร ร่องทะเลที่ลึกที่สุดประมาณ 2,500 เมตร และความลึกเฉลี่ยประมาณ 500 เมตร", "title": "ทะเลแดง" }, { "docid": "241163#2", "text": "ร่องลึกก้นสมุทรเป็นลักษณะของขอบเขตระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่โดดเด่นชัดเจน โดยเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราการลู่เข้าหากันที่แปรผันจากปีละไม่กี่มิลลิเมตรจนไปถึงสิบเซนติเมตรหรือมากกว่า ร่องลึกก้นสมุทรหนึ่งๆเป็นตำแหน่งที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกหนึ่งมีการโค้งมุดลงไปใต้แผ่นธรณีภาคชั้นนอกอีกแผ่นหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วร่องลึกก้นสมุทรจะขนานไปกับแนวหมู่เกาะรูปโค้ง (volcanic arc) และอยู่ห่างจากแนวหมู่เกาะรูปโค้งออกไปประมาณ 200 กิโลเมตร โดยทั่วไปร่องลึกก้นสมุทรจะมีความลึกประมาณ 3 ถึง 4 กิโลเมตรลงไปจากพื้นมหาสมุทรรอบข้าง ส่วนที่ลึกที่สุดอยู่ที่ร่องลึกชาลเลนเจอร์ของร่องลึกก้นสมุทรมาเรียน่าซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรใต้ระดับทะเล แผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรจะเคลื่อนที่หายเข้าไปในร่องลึกก้นสมุทรด้วยอัตราประมาณ 10 ตารางเมตรต่อวินาที", "title": "ร่องลึกก้นสมุทร" }, { "docid": "3937#2", "text": "มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต)", "title": "มหาสมุทรแอตแลนติก" }, { "docid": "572899#1", "text": "จัดอยู่ในประเภทวาฬมีฟัน กินสัตว์น้ำเป็นอาหาร เช่น กุ้ง, หอยและปลา เป็นต้น ตัวผู้จะมีความยาวลำตัวมากกว่าเมื่อเทียบกับตัวเมีย โดยตัวผู้ตัวเต็มวัยจะมีความยาวลำตัวเฉลี่ย 3.5–5.5 เมตร ส่วนตัวเมียมีความยาวลำตัวเฉลี่ย 3–4.1 เมตร น้ำหนักกว่า 1 ตัน สำหรับลูกวาฬแรกเกิดจะมีสีเทา และสีเทาจะค่อย ๆ จางลงจนกลายเป็นสีขาวในตัวเต็มวัย และมีอายุเฉลี่ยประมาณ 10 ปี สูงสุดถึง 70 ปี พบกระจายพันธุ์ตามชายฝั่งทะเลและมหาสมุทรของซีกโลกทางเหนือ เช่น มหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปอเมริกาเหนือ, อ่าวฮัดสัน, เกาะกรีนแลนด์, รัสเซีย, ทะเลสาบอิลลิมนา และปากแม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์ ในแคนาดา อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง สามารถว่ายน้ำเดินทางไปในใต้น้ำที่ดำมืดได้ โดยใช้ระบบโซนาร์ในการนำทาง ที่ผลิตมาจากก้อนไขมันบนส่วนหัว และกลั้นหายใจได้นานถึง 20 นาที ตัวผู้สามารถดำน้ำได้ลึกถึง 500 เมตร เพื่อหาอาหาร ขณะที่ตัวเมียและลูกวาฬที่มีขนาดเล็กกว่าดำได้ลึกเพียง 350 เมตร ", "title": "วาฬเบลูกา" }, { "docid": "3875#30", "text": "ความอุดมของน้ำบนผิวโลกเป็นลักษณะเอกลักษณ์ซึ่งแยก \"ดาวเคราะห์สีน้ำเงิน\" ออกจากดาวเคราะห์อื่น ๆ ในระบบสุริยะ อุทกภาคของโลกประกอบด้วยมหาสมุทรเป็นส่วนใหญ่ ที่เหลือประกอบด้วยผิวน้ำทั้งหมดในโลกได้แก่ ทะเลในแผ่นดิน ทะเลสาบ แม่น้ำ น้ำใต้ดินลึกลงไป 2,000 เมตร ตำแหน่งใต้น้ำที่ลึกที่สุดคือ แชลเลนเจอร์ดีปบริเวณร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนาในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมีความลึกที่ 10,911.4 เมตร[n 12][111]", "title": "โลก (ดาวเคราะห์)" }, { "docid": "812630#0", "text": "ลาดทวีป () เป็นพื้นลาดต่อเนื่องจากขอบทวีป เริ่มจากขอบของไหล่ทวีปไปจนถึงลาดตีนทวีป (continental rise) มีความลาดชันมาก 65 องศาต่อระยะทาง 1 กิโลเมตรทอดไปถึงระดับน้ำลึกประมาณ 3,600 เมตรหรือจนถึงจุดที่มีความชันน้อนกว่าจนเห็นเป็นสันชัดเจนนั้นคือส่วนแยกระหว่างลาดทวีปกับลาดตีนทวีป ความกว้างของลาดทวีปนั้นมีความกว้างไม่เท่ากันแต่ส่วนมากมีความกว้างโดยเฉลี่ยจะกว้างเป็น 2 เท่าของไหล่ทวีป ขอบนอกสุดของลาดทวีปจะติดต่อกับพื้นท้องมหาสมุทรหรือลาดตีนทวีป จะมีส่วนที่สามารถเห็นเป็นแนวที่เห็นได้ชัดเจน เพราะขอบของที่เป็นจุดต่อของลาดทวีปกับลาดตีนทวีปนั้นจะมีความชันน้อยกว่า", "title": "ลาดทวีป" }, { "docid": "3941#2", "text": "มหาสมุทรใต้มีความลึกประมาณ 4,000 ถึง 5,000 เมตร (13,000 และ 16,000 ฟุต) โดยส่วนใหญ่จะมีเฉพาะพื้นที่น้ำตื้นเท่านั้น จุกที่ลึกที่สุดของมหาสมุทรใต้คือ 7,236 เมตร (23,740 ฟุต) อยู่ทางด้านใต้สุดของร่องลึกแซนด์วิชใต้ที่ 60°00'S, 024°W ไหล่ทวีปแอนตาร์กติกาโดยทั่วไปแคบแต่ขอบนอกมักลึกผิดปกติอาจมีระดับความลึกถึง 800 เมตร (2,600 ฟุต) เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยทั่วโลก 133 เมตร (436 ฟุต)", "title": "มหาสมุทรใต้" }, { "docid": "272901#0", "text": "อ่าวอิเซะ (伊勢湾 \"Ise-wan\") เป็นอ่าวที่อยู่ที่ปากแม่น้ำคิโซะ ระหว่างจังหวัดมิเอะกับจังหวัดไอชิในญี่ปุ่น มีความลึกเฉลี่ย 19.5 เมตร จุดที่ลึกที่สุดลึก 30 เมตรที่กลางอ่าว ปากอ่าวกว้าง 9 กิโลเมตร และเชื่อมต่อกับอ่าวมิคะวะที่เล็กกว่าทางช่องแคบสองช่อง คือ ช่องแคบนะคะยะมะ และช่องแคบโมะโระซะกิ อ่าวมิคะวะเชื่อมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางช่องแคบอิระโกะซึ่งลึกตั้งแต่ 50-100 เมตร", "title": "อ่าวอิเซะ" }, { "docid": "222217#8", "text": "เราจะรู้จักซากดึกดำบรรพ์ของนอติลอยด์ได้มากน้อยเพียงใดจะขึ้นอยู่กับว่าเราได้รู้จักนอติลอยด์ปัจจุบันมากน้อยเพียงใดด้วย อย่างเช่นหอยงวงช้างแชมเบอร์ (chambered nautilus) ที่พบทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกจากหมู่เกาะซามัวไปจนถึงฟิลิปปินส์และในมหาสมุทรอินเดียนอกชายฝั่งออสเตรเลีย โดยปรกติแล้วเราจะไม่พบหอยงวงช้างในน้ำที่มีความลึกน้อยกว่า 100 เมตร แต่จะพบได้ที่ระดับความลึกระหว่าง 500 ถึง 700 เมตรทีเดียว", "title": "นอติลอยด์" }, { "docid": "300397#2", "text": "มีเทนคลาเทรตจะเสถียรที่อุณหภูมิประมาณ 0องศาเซลเซียสและมีความดันสูงมาก อย่างไรก็ตามบางครั้งก็พบเสถียรได้ถึง 18องศาเซลเซียส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของมีเทนในโครงผลึกน้ำนั้น โดยทั่วไปแล้วจะพบมีเทนคลาเทรตอยู่ 1 mole ในน้ำ 5.75 moles และปริมาณ 1ลิตรของมีเทนคลาเทรตจะมีปริมาณมีเทนในรูปแก๊สอยู่ถึง 168 ลิตร\nมีเทนคลาเทรตจะไม่พบในทะเลตื้น(เช่น ตื้นกว่าสองพันเมตร) นอกจากนี้ยังมีเงื่อนไขในการเกิดคือจะพบแค่บางบริเวณของมหาสมุทรที่เป็นการตกสะสมตัวของหินตะกอนและบริเวณผิวน้ำมีอุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และที่ความลึกเกิน 300 เมตรมีอุณหภูมิอยู่ประมาณ 2 องศาเซลเซียส บางครั้งทะเลสาบน้ำลึกก็เป็นแหล่งสะสมตะกอนที่ดี เช่น ทะเลสาบไบคาลในเขตไซบีเรีย ของประเทศรัสเซีย และ ในรัฐอลาสก้าของสหรัฐอเมริกา มีการตกสะสมในชั้นหินทรายและหินทรายแป้ง (Siltstone) ที่ความลึกน้อยกว่า 800 เมตร การตกสะสมตัวในทะเลมักจะพบบริเวณไหล่ทวีปที่มีความลึกเหมาะสมจะพบการสะสมตัวของมีเทนคลาเทรตขนาดใหญ่มากได้", "title": "มีเทนคลาเทรต" }, { "docid": "440851#0", "text": "ทะเลสาบแวนดา () อยู่ที่หุบเขาไรท์ วิคตอเรีย แอนตาร์กติกา ทะเลสาบนี้ยาว 5 กิโลเมตร มีความลึกสูงสุด 69 เมตร ณ บนชายฝั่งของนิวซีแลนด์ ในสถานีแวนดา เมื่อปี ค.ศ.1968-1995 ทะเลสาบแวนดามีความเค็มของน้ำมากกว่าทะเลเดดซีถึง 10 เท่า และมากกว่าน้ำในมหาสมุทรเกินกว่า 10 เท่าไปแล้ว ถ้าไม่นับทะเลดอนฮวนเป็นทะเลสาบ ทะเลสาบแวนด้าจะครองทะเลสาบที่น้ำเค็มที่สุดในโลก", "title": "ทะเลสาบแวนดา" }, { "docid": "760388#0", "text": "ตรีเอสเต () เป็นยานสำรวจน้ำลึกเพื่อการวิจัยที่ชาวสวิสออกแบบและชาวอิตาลีสร้าง ลูกเรือสองคนของเรือลำนี้ลงไปถึงความลึกสูงสุดเป็นสถิติประมาณ 10,911 เมตรในส่วนที่ลึกที่สุดเท่าที่ทราบของมหาสมุทรของโลก คือ แชลเลนเจอร์ดีปในร่องลึกมาเรียนา ใกล้กวมในมหาสมุทรแปซิฟิก ตรีเอสเตเป็นยานที่มีผู้โดยสารลำแรกที่ถึงก้นแชลเลนเจอร์ดีป", "title": "ยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเต" }, { "docid": "112501#0", "text": "Kola Superdeep Borehole (KSDB) เป็นผลของโครงการการขุดเจาะทางวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในอดีต โครงการนี้ได้พยายามเจาะลงไปในเปลือกโลกให้ลึกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเจาะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ที่ คาบสมุทร Kola โดยใช้เครื่องเจาะ \"Uralmash-4E\" และภายหลังได้เปลี่ยนเป็นเครื่องเจาะ \"Uralmash-15000\" การเจาะได้แตกแขนงออกเป็นหลายช่องจากช่องกลาง แขนงที่มีความลึกที่สุดคือ SG-3 ได้เจาะเสร็จสิ้นเมื่อปีค.ศ. 1989 มีความลึก 12,262 เมตร (7.6 ไมล์) และได้กลายเป็นหลุมที่มีความลึกมากที่สุดที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์", "title": "Kola Superdeep Borehole" }, { "docid": "279410#0", "text": "ทะเลลัปเตฟ (; ) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของภูมิภาคไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย โดยทิศตะวันตกติดกับทะเลคารา ทิศตะวันออกติดทะเลไซบีเรียตะวันออก มีพื้นที่ 672,000 ตารางกิโลเมตร และสามารถใช้เดินเรือได้ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน แม่น้ำสำคัญที่ไหลลงสู่ทะเลลัปเตฟ คือ แม่น้ำเลียนา ทะเลแห่งนี้เป็นทะเลลึก มีความลึกโดยเฉลี่ย 540 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 3,385 เมตร", "title": "ทะเลลัปเตฟ" }, { "docid": "306830#4", "text": "ปลาชนิดนี้สามารถพบได้ทั่วไปในมหาสมุทรต่างๆเช่นมหาสมุทรแปซิฟิก,มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย ยกเว้นในที่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่มีความลึกตังแต่500 เมตร (1,600 ฟุต) และพวกมันไม่ค่อยมีการย้ายถิ่นขึ้นมาบนน้ำตื้นแบบปลาทะเลลึกทั้วไปซักเท่าไหร่", "title": "ปลาเขี้ยวก้าง" }, { "docid": "10917#34", "text": "แผนในปัจจุบันคือการสร้างช่องทางเดินเรือ ขนานไปกับ 2 ช่องทางเดิม จุดแรกทางทิศตะวันออกตรงบริเวณประตูกาตูน อีกที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประตูมีราโฟลเรส ทั้ง 2 เพื่อรองรับช่องทางนั้น ๆ ในระดับที่สูงขึ้นไปจากระดับของมหาสมุทร ตรงเข้าสู่ทะเลสาบกาตูนและบริเวณมีราโฟลเรส/เปโดรมีเกล ที่ยังไม่ได้มีการสร้างประตูใหม่นี้จะมีการเพิ่มประตูเลื่อน เพิ่มความปลอดภัยเป็น 2 เท่า มีความยาว 427 เมตร (1,400 ฟุต) กว้าง 55 เมตร (180 ฟุต) ลึก 18.3 เมตร (60 ฟุต) สามารถรองรับเรือที่มีความกว้างได้ถึง 49 เมตร (160 ฟุต) มีความยาวรวมทั้งหมด 366 เมตร (1,200 ฟุต) ซึ่งหมายถึงเรือขนส่งสินค้าสามารถขนสินค้าได้ถึง 12,000 TEU", "title": "คลองปานามา" }, { "docid": "570563#0", "text": "ดาวทะเลพระราชา () เป็นดาวทะเลสายพันธุ์หนึ่ง พบได้ในแถบชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ดาวทะเลพระราชาอาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกตั้งแต่ 0 - 200 เมตร ซึ่งบริเวณที่พบพวกมันได้มากที่สุด คือบริเวณไหล่ทวีป ที่มีความลึกระดับ 20–30 เมตร", "title": "ดาวทะเลพระราชา" }, { "docid": "3875#31", "text": "มหาสมุทรรวมมีมวลคิดเป็นประมาณ 1.35×1018เมตริกตัน หรือราว 1 ใน 4,400 ของมวลทั้งหมดของโลก มหาสมุทรปกคลุมเป็นพื้นที่ 3.618×108ตารางกิโลเมตร โดยมีความลึกเฉลี่ย 3682[[เมตร]] เป็นผลให้มีปริมาตรโดยประมาณเท่ากับ 1.332×109ลูกบาศก์กิโลเมตร[112] หากพื้นผิวเปลือกโลกทั้งหมดมีความสูงเท่ากันคือกลมเสมอกันทั้งใบ โลกก็จะกลายเป็นมหาสมุทรทั้งหมดด้วยความลึกราว 2.7 ถึง 2.8 กิโลเมตร[113][114]", "title": "โลก (ดาวเคราะห์)" }, { "docid": "813043#0", "text": "หุบผาชันใต้ทะเล () เป็นแนวหุบผาชันใต้มหาสมุทร มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 28 ของพื้นท้องมหาสมุทร ส่วนของยอดสันเขามีลักษณะเป็นหุบเขาทรุด (rift valley) ลักษณะเป็นร่องลึก มีความกว้างประมาณ 25–50 กิโลเมตร บริเวณหุบเขาทรุดมักเกิดปรากฏการณ์ภูเขาไฟหรือปล่องแบบน้ำร้อนอยู่ด้วย เนื่องจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และการแทรกตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลก จากการศึกษามหาสมุทรของนักสมุทรศาสตร์พบว่า มหาสมุทรแปซิฟิกมีความลึกเฉลี่ย 4,028 เมตร รองลงมาได้แก่ มหาสมุทรแอตแลนติก มีความลึกเฉลี่ย 3,332 เมตร ส่วนที่ลึกที่สุดของมหาสมุทรจะเรียกว่าร่องลึกก้นสมุทร", "title": "หุบผาชันใต้ทะเล" }, { "docid": "3942#3", "text": "สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็นสันมหาสมุทรที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต)", "title": "มหาสมุทรอาร์กติก" } ]
1439
ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมนเลโอ ออกอากาศทางช่องใด ?
[ { "docid": "124510#2", "text": "ในประเทศไทย ทางไอบีซี 7 ซึ่งเป็นช่องการ์ตูนได้นำซีรีส์ชุดอุลตร้าแมนเลโอ มาฉายในปี พ.ศ. 2538", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" } ]
[ { "docid": "123034#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมนทาโร่ () เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 5 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ \"ฮิงาชิ โคทาโร่\" นักมวยมืออาชีพที่สละชีวิตตัวเองช่วยเหลือเด็กจนเสียชีวิตจากการทำลายเมืองของสัตว์ประหลาด เจ้าแม่อุลตร้าได้มอบวิญญาณของอุลตร้าแมนทาโร่เพื่อคืนชีพให้กับ ฮิงาชิ โคทาโร่ ในที่สุด และมีอุปกรณ์แปลงร่างที่เรียกว่า \"อุลตร้าแบดจ์\" การแปลงร่างโคทาโร่จะดึงเข็มกลัดออกมาจากไหล่ซ้ายจรดหน้าผาก นำมาชูขึ้นเหนือหัวและตะโกนว่า \"ทาโร่\" โดยอุลตร้าแมนทาโร่นั้นเป็นลูกชายของเจ้าพ่ออุลตร้ากับเจ้าแม่อุลตร้า ส่วนสาเหตุที่อุลตร้าแมนทาโร่มีรูปร่างคล้ายกับอุลตร้าเซเว่นก็เพราะอุลตร้าเซเว่นเป็นลูกของพี่สาวเจ้าแม่อุลตร้านั่นเอง และอุลตร้าแมนทาโร่เองมักจะได้รับการฝึกฝนช่วยเหลือและรักษาจากพี่น้องอุลตร้าและพ่อแม่ของเค้าค่อนข้างบ่อย อุลตร้าแมนทาโร่ตอนเด็กยังปรากฏอยู่ในเรื่อง Ultraman Monogatari (Ultaman story) อุลตร้าแมนทาโร่ มีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 4 นาที มีท่าไม้ตายชื่อ \"อุลตร้าไดนาไมท์\" ที่สามารถระเบิดร่างตัวเองใช้ฆ่าสัตว์ประหลาดได้ แต่สามารถรวมร่างกันใหม่หลังจากนั้น และโคทาโร่ยังได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของหน่วยกองกำลังพิทักษ์ในซีรีส์นี้ใช้ชื่อ ZAT (Zariba of All Terrestrial) มีจำนวนตอนทั้งหมด 53 ตอน", "title": "อุลตร้าแมนทาโร่" }, { "docid": "123030#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมนเอซ () เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 4 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ \"เซย์จิ โฮคุโตะ\" และ \"ยูโกะ มินามิ\" ที่สละชีวิตตัวเอง เพื่อช่วยเหลือเด็กๆจนเสียชีวิตจากการจู่โจมของสัตว์ประหลาดเวโรครอน พี่น้องอุลตร้าจึงมอบวิญญานของอุลตร้าแมนเอช ผู้พิทักษ์จากดาวอุลตร้าไว้ที่พวกเขาทั้งสองเพื่อคืนชีวิตให้ โดยการแปลงร่างของทั้งสองจะเป็นการกระโดดตีลังกากลางอากาศ แล้วนำแหวน \"อุลตร้าริง\" ที่อยู่ที่นิ้วของทั้งสองคนชนกันกลางอากาศ ในตอนหลัง มินามิจะถูกเรียกตัวกลับดวงจันทร์ในฐานะเจ้าหญิง การแปลงร่างจะเปลี่ยนเป็นโฮคุโตะนำอุลตร้าริงที่สวมมือทั้งสองข้างชนกัน ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน เอซ มีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3 นาที ทั้งสองยังเป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยกองกำลังพิทักษ์ในซีรีส์นี้ใช้ชื่อ TAC (Terrible monster Attack Crew) มีจำนวนตอนทั้งหมด 52 ตอน", "title": "อุลตร้าแมน เอซ" }, { "docid": "123015#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน () เป็นทีวีซีรีส์ชุดแรกของทีวีซีรีส์ อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ \"ชิน ฮายาตะ\" ที่เสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการตามล่าสัตว์ประหลาดของอุลตร้าแมน ยอดมนุษย์อุลตร้าแมน มนุษย์ต่างดาวจากกาแล็กซี่เนบิวล่า M78 จึงเลือกตัวเขาเป็นร่างสถิตย์เพื่อคืนชีวิตให้ ฮายาตะสามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าแมนได้โดยการชูและกดปุ่มที่ \"เบต้าแคปซูล\" และมีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3 นาที ในระหว่างนั้นเขายังทำหน้าที่อยู่ในหน่วยกองกำลังพิทักษ์ที่ชื่อ \"หน่วยวิทยะ\" หรือ \"SSSP\" (\"S\"cience \"S\"pecial \"S\"earch \"P\"arty) อีกด้วย มีจำนวนตอนทั้งหมด 39 ตอน", "title": "อุลตร้าแมน" }, { "docid": "123030#3", "text": "โฮคุโตะ เซย์จิ และมินามิ ยูโกะสองหนุ่มสาวผู้กล้าหาญสละชีวิตตัวเอง เพื่อช่วยเหลือเด็กๆจนเสียชีวิตจากการจู่โจมของสัตว์ประหลาด พี่น้องอุลตร้าจึงมอบวิญญานของอุลตร้าแมนเอช ผู้พิทักษ์จากดาวอุลตร้าไว้ที่พวกเขาทั้งสอง เมื่อสัตว์ประหลาดของมนุษย์ดาวยะพูลอาละวาดเมื่อใด พวกเขาจะประสานแหวนอุลตร้าริงเพื่อแปลงร่างเป็นอุลตร้าแมนเอชมาต่อสู้ ภายหลัง มินามิ ยูโกะ ต้องกลับดวงจันทร์ในฐานะเจ้าหญิง จึงเหลือเพียง โฮคุโตะ เซย์จิ แปลงร่างเพียงคนเดียว", "title": "อุลตร้าแมน เอซ" }, { "docid": "124510#5", "text": "ย้อนไปเมื่อประมาณ 2 แสนปีก่อน กลุ่มประชากรที่ย้ายรกรากจากดาว M78 เพื่อกระจายกำลังคอยปกป้องอวกาศได้ออกเดินทางลาจากดาวบ้านเกิดเมืองนอนของตนไป และดาวที่พวกเขาเหล่านั้นได้ไปเยือนและสร้างเป็นปราการแนวหน้าของพวกเขานั่น ก็คือ ดาว L77 แห่งราศีสิงห์ นั่นเอง ดังนั้นลูกหลานของพวกเขาที่ถือกำเนิดออกมาจึงกลายเป็นชาวดาว L77 ไปโดยปริยาย เมื่อเวลาผ่านไปเป็นเวลานานถึง 2 แสนปี จึงทำให้ผู้คนต่างพากันคิดว่าตระกูลอุลตร้ากับชาวดาว L77 นั้นเป็นคนละเผ่าพันธุ์กัน แต่อันที่จริงแล้วพวกเขาก็คือคนของตระกูลเดียวกัน. ซึ่งในปัจจุบันนี้มีเพียงอุลตร้าแมนคิงคนเดียวเท่านั้นที่รู้ถึงเรื่องนี้ ดังนั้นเขาจึงจัดให้เลโอกับแอสตร้าเป็นพวกเดียวกับพี่น้องอุลตร้า", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "124510#4", "text": "โอโตริ เก็น ร่างมนุษย์ของอุลตร้าแมนเลโอ เป็นนักคาราเต้และนักมวยสากลสมัครเล่น เป็นสมาชิกโรงยิมเนเซียม ในตอนจบได้ออกเดินทางท่องโลกกว้าง และต่อมา ได้กลับไปประจำการยังดาวอุลตร้า โมโรโบชิ แดน ร่างมนุษย์ของอุลตร้าเซเว่น เป็นหัวหน้าฝ่าย MAC แต่ไม่สามารถแปลงร่างได้เพราะขาพิการ จากการต่อสู้กับเรด กีรัส และแบล็ค กีรัส ภายหลังหายสาบสูญไปจากการโจมตีของจานบินมีชีวิตซิลเวอร์บลูม แต่วิญญาณได้กลับไปยังดาวอุลตร้าได้ และรักษาตนเองจนมีกำลังอีกครั้ง มนุษย์ดาวแม็กม่า เป็นมนุษย์ต่างดาวที่ชั่วร้าย ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของเลโอและแอสตร้าที่เนบิวล่า L77 เสียหมดสิ้น ใช้ดาบขนาดใหญ่สวมมือเป็นอาวุธ ใส่หน้ากากปกปิดหน้าที่แท้จริงของตัวเองอยู่ เจ้าเล่ห์ ชั่วร้าย สัตว์ประหลาดเรด กีรัส-สัตว์ประหลาดแบล็ค กีรัส สัตว์ประหลาดพี่น้องฝาแฝด ตัวนึงมีสีแดง อีกตัวสีดำ อยู่ภายใต้การบงการของแม็กม่า เป็นผู้หักขาของเซเว่น โดยใช้หนามแหลมขนาดใหญ่ที่กลางหลัง ปรากฏตัวในตอนแรกของซีรีส์ชุดนี้ อุลตร้าคิลเลอร์กอลโกล ปรากฏเฉพาะภาคมังงะ นักฆ่าแห่งจักรวาล มีพลังแสงครอสเลเซอร์ที่ทำลายภูเขาฟูจิได้ทั้งลูก รับจ้างจากมนุษย์ดาวแม็กม่าให้มาสู้กับเลโอ ชอบต่อสู้อย่างขาวสะอาด ภายหลังตายเพราะถูกเลโอร่วมมือกับทาโร่ ปีศาจสองหน้าอาชูรัน เป็นปีศาจที่มี 2 หน้าทั้งหน้าหลัง ทำร้ายอุลตร้าแมนแจ็คขณะนำโรบ็อตเซเว่นก้ามาให้เซเว่นที่โลก ภายหลังตายเพราะถูกเลโอร่วมมือกับอุลตร้าแมนแจ็ค โรบ็อตเซเว่นก้า เป็นมอนเตอร์บอลที่อุลตร้าแมนแจ็คนำมาจากดาว M 78 สามารถต่อสู้ได้เป็นอย่างดี แต่ใช้งานบนโลกได้เพียงแค่หนึ่งนาที มีบทมากในภาคมังงะ แต่ในภาคหนังโทรทัศน์กลับปรากฏตัวเพียงตอนเดียว มนุษย์ดาวเพลสเชอร์ เป็นมนุษย์ต่างดาวที่มีเวทมนตร์คล้ายพ่อมดหมอผี สามารถยืดหดขยายตัวได้ เป็นผู้จับเลโอขังไว้ในลูกบอลย่อส่วน ภายหลังตายเพราะถูกพลังแสงจากอุลตร้าแมนคิง และ อุลตร้าแมนเลโอ สัตว์ประหลาดกัลรอน-สัตว์ประหลาดลิตเทิ่ล สัตว์ประหลาดพี่น้องฝาแฝด เป็นผู้ทำลายโรงพยาบาล ขณะที่เด็กคนหนึ่งกำลังเฝ้าอาการป่วยของน้องชายอยู่ เมื่อเลโอปรากฏตัวแล้วสู้ไม่ได้เพราะถูกรุม แอสตร้าจึงปรากฏตัวมาช่วย อุลตร้าแมนแอสตร้า เป็นน้องชายของเลโอ ไม่มีร่างมนุษย์ จะปรากฏตัวเฉพาะตอนที่เลโอฉุกเฉิน สามารถรอดพ้นชีวิตได้จากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของแม็กม่า สัตว์ประหลาดบันโก ในภาคมังงะเป็นสัตว์ประหลาดภายใต้การบงการของแม็กม่า เมื่อเกนทะเลาะกับแดน บันโกแปลงตัวเป็นบ้านผีสิง เมื่อเด็ก ๆ เข้าไปในบ้าน ก็ถูกกลืนลงท้องไปพร้อมกับเกน แดนจึงต้องแปลงร่างเป็นเซเว่นอีกครั้ง แต่อยู่ได้เพียงหนึ่งนาทีเท่านั้น แต่ในภาคหนังโทรทัศน์นั้น บันโกเป็นสัตว์ประหลาดที่ไม่มีพิษภัย ชอบเลียนแบบคน มนุษย์ดาวบาบาลู เป็นชนเผ่าที่ชั่วร้ายเช่นเดียวกับมนุษย์ดาวแม็กม่า ในภาคมังงะได้จับตัวพ่อแม่ของเลโอและแอสตร้าไป เพื่อบีบบังคับให้ทั้งคู่ทำลายอุลตร้าทาวน์ของพี่น้องอุลตร้า ในภาคหนังโทรทัศน์ได้ปลอมตัวเป็นแอสตร้าทำลายหออุลตร้าแล้วดึงกุญแจอุลตร้าออกมาทำให้ดาวอุลตร้าหลุดจากวงโคจรและจะพุ่งชนโลก ทำให้พี่น้องอุลตร้าต้องมาสู้กับเลโอเพราะเข้าใจผิด แต่ถูกเผยร่างที่แท้จริงโดยอุลตร้าแมนคิงและถูกเลโอกำจัดลง สัตว์ประหลาดซิลเวอร์บลูม เป็นจานบินมีชีวิตของ แบล็คสตาร์ มีขนาดใหญ่โตมาก ในภาคมังงะสามารถแตกตัวเป็นจานบินลูกเล็ก ๆ ได้อีกหลายลูก เซเว่นต้องสละชีวิตตนเองเพื่อทำลายจานบินลูกนึงที่แตกตัวออกจากบลูม ทำให้พี่น้องอุลตร้าต้องมารวมตัวกันเพื่อสู้อีกครั้ง ในภาคโทรทัศน์ได้กลืนกินฐานทัพลอยฟ้าของหน่วยMACทำให้เจ้าหน้าที่ทุกคนเสียชีวิต ส่วนแดนหรืออุลตร้าเซเว่นหายสาบสูญไปแต่จากที่ใน อุลตร้าแมน ซีโร่ แดนยังคงมีชีวิตอยู่เป็นไปได้ว่าในเหตุการณ์นั้น อุลตร้าแมน คิง เป็นคนช่วยเค้าพากลับไปดาว M78 ส่วนเก็นในเหตุการณ์เดียวกันตัวเองตั้งใจจะพาแดนออกมาด้วยแต่แดนในฐานะหัวหน้าตัวเองจะขออยู่เฝ้าดูวาระสุดท้ายของฐานทัพMACแล้วฝากฝังให้เกนอยู่พิทักษ์โลกในฐานะเลโอต่อไปเกนจึงหลบหนีออกมาได้ก่อนฐานทัพระเบิด มนุษย์ดาวแบล็คสตาร์ มีรูปร่างคล้ายมนุษย์ปกติ แต่รูปร่างใหญ่ สวมชุดสูทสีดำ ในภาคมังงะเป็นนักล่าและนักฆ่าล่าเงินรางวัลเช่นเดียวกับอุลตร้าคิลเลอร์กอลโก ถูกว่าจ้างโดยมนุษย์ดาวบาบาลู ภายหลังตายเพราะถูกเลโอใช้อาย สลักเกอร์ ของเซเว่นเขวี้ยงใส่ เพื่อล้างแค้นให้เซเว่น ในภาคหนังโทรทัศน์นั้นเป็นผู้บัญชาการสัตว์ประหลาดจานบินให้โจมตีฐานทัพหน่วย MAC หลังจากที่สัตว์ประหลาดแบล็กเอ็นถูกกำจัดลง เขาก็เสียชีวิตตามไปด้วย", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "124510#1", "text": "อย่างไรก็ตาม ซีรีส์ชุดอุลตร้าแมน เลโอ เมื่ออกฉายในประเทศญี่ปุ่นกลับไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร และหลังจากนี้ทางบริษัทสึบุราย่าโปรดักชั่นต้องงดการสร้างซีรีส์ชุดอุลตร้าแมนไว้ชั่วคราว โดยได้สร้างอุลตร้าแมนตอนใหม่ในแบบอนิเมะแทน คือ อุลตร้าแมน โจเนียส[1]", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "438965#11", "text": "เมื่อมาถึง อุลตร้าแมนเซโร่ ได้ดึงร่างของพ่อของเขาอย่างรวดเร็ว แต่สายเกินไปเป็นอุลตร้าเซเว่นตายในอ้อมแขนของเขา ทำให้โกรธแค้นและขับเคลื่อนด้วยศักยภาพ อุลตร้าแมนเซโร่ และทำลายมอนสเตอร์ที่เหลือของกองทัพปีศาจอุลตร้าแมนแบเรียล และใบหน้าของตัวอุลตร้าแมนแบเรียล หลังจากการรบที่ยาวนานและดุร้าย อุลตร้าแมนเซโร่ ได้ปลดอาวุธอุลตร้าแมนแบเรียล จากกิงก้าแบตเทิลไนเซอร์ และเอาชนะอุลตร้าแมนแบเรียล ได้อย่างง่ายดายและเขาล้มลงไปในแม่น้ำของลาวาหลอมเหลวและดูเหมือนจะทำลายเขา อุลตร้าแมนเลโอ และแอสตร้า ยังรวมตัวกับอุลตร้าแมนอื่น ๆ ในการเข้าร่วมและเตรียมความพร้อมที่จะใช้สปาร์คพลาสม่า กลับไปในะนครแห่งแสง ทันใดนั้นกองทัพมอนสเตอร์ทั้งหมดของอุลตร้าแมนแบเรียล (เช่นเดียวกับบางคนอื่น ๆ) ก็เกิดขึ้นอีกครั้งเป็นผีและพวกเขาดำน้ำในลาวาที่อุลตร้าแมนแบเรียล ตกอยู่ก่อน ในไม่ช้าพวกเขาทั้งหมดปรากฏรวมกันอีกเพื่อสร้าง Gigantic Beryudora ด้วย อุลตร้าแมนแบเรียล เป็นสมองของมัน อุลตร้าแมนทั้งหมด ในการเข้าร่วม (อุลตร้าแมนเลโอ ,แอสตร้า ,อุลตร้าแมนไดน่า ,อุลตร้าแมนเมบิอุส และอุลตร้าแมนเซโร่) ,เรย์ ,EX Gomora และลูกเรือ ZAP SPACY ทั้งหมดโจมตีร่วมกันเพื่อพยายามหยุด Beryudora แต่มอนสเตอร์ขนาดมหึมาของมอนสเตอร์ลุกขึ้นยืนเพื่อให้พวกเขาทั้งหมด และยักไหล่ออกทั้งหมดของการโจมตีของพวกเขา แล้วเรย์แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับกิงก้าแบตเทิลไนเซอร์และพยายามที่จะใช้การควบคุมมอนสเตอร์ของอุลตร้าแมนแบเรียลด้วย แบตเทิลไนเซอร์ของเขาเอง แต่เป็น Beryudora ตรึงรูปจากมอนสเตอร์น่าขยะแขยงกับอุลตร้าแมนแบเรียล อุลตร้าแมนเซโร่ ใช้พลังงานสปาร์คพลาสม่า ที่จะให้เขามีพลังพอที่จะทำลายอุลตร้าแมนแบเรียล ทันที แม้จะบอกว่าเขาเป็นอมตะ หลังจากรวมพลังของเหล่าอุลตร้าแมน ZAP SPACY และพลังงานของ อุลตร้าแมนเซโร่ ระเบิด Beryudora และกิงก้าแบตเทิลไนเซอร์ตามปิดอยู่เบื้องหลัง ", "title": "อุลตร้าแกแล็คซี่ กำเนิดอุลตร้าแมนซีโร่" }, { "docid": "124510#19", "text": "ร่างมนุษย์: โอโตริ เก็น", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "121413#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าเซเว่น () เป็นทีวีซีรีส์ชุด 2 ต่อจากยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ\"แดน โมโรโบชิ\"ที่เป็นร่างสถิตของยอดมนุษย์ อุลตร้าเซเว่น จากหน่วย UG (Ultra Guard) และสามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าเซเว่นได้โดยการสวม \"อุลตร้าอายส์\" และมีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3.5 นาที มีจำนวนตอนทั้งหมด 49 ตอน แต่ได้มีการงดฉายตอนที่ 12 เนื่องจากมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับระเบิดปรมาณู จึงได้ฉายในญี่ปุ่นทั้งหมด 48 ตอน", "title": "อุลตร้าเซเว่น" }, { "docid": "124510#30", "text": "อุลตร้าเซเว่น แอสตร้า อุลตร้าแมนคิง", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "123015#24", "text": "ตอนที่ปรากฏ: ลาก่อนอุลตร้าแมน ความสูง: 60 เมตร น้ำหนัก: 3 หมื่นตัน สถานที่ปรากฏ: ที่ใดที่หนึ่งในอวกาศ อาวุธ: ยิงกระสุนแสงสีแดงออกมาจากใบหน้า , บาเรียคลื่นแสง , ยิงคลื่นลำแสงออกมาจากแขน ลักษณะพิเศษ: มันได้ปรากฏตัวออกมาจากบอลลูนที่พองขึ้นมาจากยานแม่ซึ่งปรากฏขึ้นหลังจากที่ มนุษย์ดาวเซ็ทต้อน ได้จบชีวิตลง ไม่ว่าจะเป็นพละกำลัง,พลังป้องกันหรือวิชาลำแสงทุกอย่างล้วนเหนือกว่า อุลตร้าแมน ทุกด้าน มันจึงนับเป็นสัตว์ประหลาดที่แข็งแกร่งที่สุดเท่าที่เคยมีมา มันได้ดูดกลืนพลังลำแสงสเปเซี่ยมของอุลตร้าแมน แล้วสะท้อนเป็นพลังคลื่นแสงกลับไปทำลาย คัลเลอร์ไทมเมอร์ จนทำให้อุลตร้าแมนสิ้นฤทธิ์ แต่ท้ายที่สุดมันก็ถูก กระสุนต้านแรงโน้มถ่วง อาวุธที่ ดร.อิวาโมโตะ ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาใหม่ทำลายไปจนแหลกเป็นผุยผง", "title": "อุลตร้าแมน" }, { "docid": "127833#2", "text": "ในประเทศไทยเคยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ออกอากาศในช่วงปี พ.ศ. 2543 โดยออกอากาศทุกเช้าวันจันทร์-วันศุกร์เวลา 6:30 - 7:00 น. ลิขสิทธิ์ในไทยช่วงเวลานั้นคือ APS ปัจจุบัน DEX เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์โดยพากย์ภาคเดอะมูฟวี่ และล่าสุด DEXกำลังจะมีการนำอุลตร้าแมนทีก้าฉบับซีรีส์นำกลับมาออกอากาศอีกครั้ง โดยออกอากาศทางช่อง mcot family (ช่อง14) และจะออกอากาศครั้งแรกวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ทุกวัน พฤหัสบดี-ศุกร์ เวลา 19.30-20.00 น. รีรัน จันทร์-อังคาร เวลา 7.00-7.30 น.\nในช่วงปี 2007 - 2010 ดาวโลกเริ่มถูกรุกรานโดยเหล่าสัตว์ประหลาด และมนุษย์ต่างดาวทั้งหลาย เพื่อรับมือกับเหตุการณ์นั้น องกรณ์ TPC จึงได้ก่อตั้งขึ้นพร้อม ๆ กับการจัดตั้งหน่วย GUTS เพื่อปกป้องสันติสุขของมนุษยชาติ ต่อมาได้มีการค้นพบไทม์แคปซูลที่มีข้อความเตือนถึงอันตรายที่กำลังคืบคลานเข้ามา ความหวังเดียวที่จะรอดพ้นจากภัยพิบัติครั้งนี้ คือตามหาพีระมิดสีทอง ซึ่งมีรูปปั้นหินของมนุษย์ยักษ์ ผู้พิทักษ์โลกและต่อสู้กับความมืดเมื่อ 30 ล้านปีก่อนสถิตย์อยู่ภายในอยู่ด้วยกัน 3 ตน ขณะเดียวกันสัตว์ประหลาด กอลซ่า พร้อมด้วย เมลบา ก็ปรากฏตัวขึ้นและมุ่งหน้ามายังพีระมิดสีทอง พวกมันทำลายรูปปั้นมนุษย์ยักษ์จนเหลือเพียงตนสุดท้าย ทันใดนั้น เจ้าหน้าที่ มาโดกะ ไดโกะ ผู้ได้รับเลือกให้เป็นผู้สืบทอดแสงสว่าง ได้กลายเป็นแสงพุ่งตรงไปยังรูปปั้นมนุษย์ยักษ์ ทันใดนั้นรูปปั้นก็ขยับและปรากฏสีสันขึ้นมา นักรบแห่งแสง อุลตร้าแมนทีก้า คืนชีพแล้ว", "title": "อุลตร้าแมนทีก้า" }, { "docid": "124510#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมนเลโอ (ウルトラマンレオ, Urutoraman Reo) เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 7 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ ออกอากาศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1974 - ค.ศ. 1975 มีทั้งหมด 51 ตอน เป็นเรื่องราวของยอดมนุษย์อุลตร้าแมนคนใหม่ที่มาจากเนบิวล่า L77 ในกลุ่มดาวสิงโต ราศีสิงห์ ที่มีชื่อว่า \"เลโอ\" โดยอุลตร้าแมนเลโอต้องการจะล้างแค้นมนุษย์ดาวแม็กม่าเพื่อแก้แค้นให้พ่อแม่และชาวดาวของตนที่ถูกมนุษย์ดาวแม็กม่าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "123020#0", "text": "การกลับมาของอุลตร้าแมน () เป็นชื่อเดิมของ ทีวีซีรีส์ \"ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมนแจ็ค\" เป็นอุลตร้าแมนหมายเลข 4 เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 3 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์\nโดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับฮิเดกิ โกชายหนุ่มนักขับรถซิ่ง ที่ตายเนื่องจากเข้าไปช่วยเหลือเด็กและสุนัขที่กำลังถูกตึกถล่มร่วงลง จนได้รับการยอมรับจากยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน แจ็ค และเลือกตัวเขาเป็นร่างสถิตย์ โดยในการแปลงร่างของโกจะต้องรวบรวมพลังจิตพร้อมทั้งชูมือขึ้น โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยใดๆ ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน แจ็ค มีเวลาในอยู่บนโลก 3 นาที เช่นเดียวกับ ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน ฮิเดกิ โก ยังได้เข้าร่วมกับสมาชิกในหน่วยปราบสัตว์ประหลาด กองกำลังพิทักษ์ในซีรีส์นี้มีชื่อว่า MAT : Monster Attack Team อีกด้วย มีจำนวนตอนทั้งหมด 51 ตอน", "title": "การกลับมาของอุลตร้าแมน" }, { "docid": "123015#7", "text": "ลำแสงสเปเซี่ยม: ท่าไม้ตายที่อุลตร้าแมนเชี่ยวชาญมากที่สุดและจัดเป็นลำแสงทำลายที่ทรงอานุภาพมาก ซึ่งจะปล่อยลำแสงสปาร์คออกมาโดยการไขว่มือขวาที่มีพลังประจุลบและมือซ้ายที่มีพลังประจุบวกเข้าด้วยกัน ลำแสงชนิดนี้จะมีคุณสมบัติเหมือนกับพลังงานจากธาตุสเปเซี่ยมที่มีอยู่บนดาวอังคาร ท่านี้สามารถยิงออกมาได้แม้บินอยู่กลางอากาศ ทั้งยังสามารถยิงแบบต่อเนื่องหรือยิงเป็นเวลานานได้ตามแต่กรณี ผู้ที่ตั้งชื่อท่านี้ก็คือ กัปตันมุรามัตซึ และ จนท.ฟูจิ อุลตร้าสแลช: เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า \"กงจักรแปดเสี้ยว\" ซึ่งเป็นท่าตัดที่ใช้พลังงานสเปเซี่ยม สร้างเป็นรูปวงแหวนขึ้นมาแล้วเขวี้ยงออกไป ท่านี้ถูกใช้เป็นครั้งแรกในขณะที่ลำแสงสเปเซี่ยมถูกแสงสะท้อนสเปลเก้ของมนุษย์ดาวบัลตั้นรุ่นที่ 2 สะท้อนกลับมา หลังจากนั้นท่านี้ก็ถูกใช้ในศึกปะทะกับกุบิล่า , เรดคิงส์รุ่นที่ 2 , มนุษย์ดาวเมฟิราส , คีย์ล่าร์และ เซ็ทต้อน แต่ว่ามักถูกสะท้อนกลับมาได้ซะส่วนใหญ่ ลำแสงอุลตร้าแอทแทค: สุดยอดท่าไม้ตายก้นหีบที่ใช้กับ เคโรเนีย เมื่อลำแสงสเปเซี่ยมใช้กับมันไม่ได้ผล ท่านี้จะเป็นการรวบรวมพลังงานทั้งหมดในร่างกายแล้วปล่อยออกมาเป็นรูปวงแหวน จากมือข้างขวาและเมื่อถูกเป้าหมายแล้วคลื่นพลังงานก็จะไปครอบคลุมตัวเคโรเนียทั่วทั้งร่างจนทำให้มันแข็งตัวไปในชั่วพริบตา จากนั้นอุลตร้าแมนก็จะผสานแขนเป็นรูปกากบาทแล้วส่งคลื่นพลังจิตพิฆาตออกไป เพื่อทำให้ เคโรเนีย แหลกระเบิดเป็นเสี่ยงๆ หลังจากนั้นท่านี้ก็ไม่ได้ถูกนำมาใช้อีกเลย สายธารอุลตร้า: เป็นท่าที่ฉีดน้ำจำนวนมากออกมาจากปลายนิ้วมือ โดยการนำ ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน ในอากาศมาหลอมรวมเข้าด้วยกัน ส่วนใหญ่จะถูกใช้ในตอนดับเพลิงขณะเกิดอัคคีภัยร้ายแรง โดยในตอนที่ไฟไหม้นิคมอุตสาหกรรมจากฝีมือของ เปสเตอร์ ท่านี้ก็ช่วยดับไฟได้เป็นอย่างดี ซึ่งตอนนั้นอุลตร้าแมนจะโพสท์ท่าโดยยื่นแขนขวาออกไปข้างหน้า นั้นท่านี้ยังถูกใช้กับ จามิล่าร์ ซึ่งไม่ถูกกับน้ำ โดยในตอนนั้นอุลตร้าแมนจะประสานมือไว้ตรงอก แคชริง: มีอีกชื่อหนึ่งว่าลำแสงพันธนาการโดยใช้การหมุนตัวด้วยความเร็วสูงบนหัวของคู่ต่อสู้เพื่อสร้างโซ่แสงออกมาทั่วร่างแล้วผนึกการเคลื่อนไหวของศัตรูเอาไว้และจะหมุนตัวลงมาบนพื้นดินโดยที่ยังหมุนไปเรื่อยๆเพื่อคงพลังเอาไว้ ท่านี้ถูกใช้ในตอนที่สู้กับเซ็ทต้อน แต่ในจังหวะที่อุลตร้าแมนหมุนตัวลงมาบนพื้นดินก็ถูกโจมตีด้วยลูกไฟสกัดกั้นการหมุนได้เสียก่อน ดังนั้นพลังของวงแหวนจึงด้อยลงและถูกฉีกขาดอย่างง่ายดาย อุลตร้าแอร์แคช: ท่าที่ทำให้ศัตรูหยุดนิ่งอยู่กลางอากาศโดยใช้พลังจิต ท่านี้ถูกใช้ในตอนที่สู้กับ เรดคิงส์รุ่นที่ 2 ที่กลืนระเบิดไฮโดรเจนเข้าไปเพื่อหยุดการเคลื่อนไหวของเรดคิงส์ซึ่งไม่สามารถโจมตีแบบบุ่มบ่ามได้ หลังจากนั้นมันก็ถูกตัดคอและลำตัวด้วยท่ากงจักรแปดเสี้ยวซึ่งต้องอาศัยการเขวี้ยงอย่างแม่นยำ เทเลพอร์เทชั่น: ท่านี้ถูกใช้ในตอนที่ มนุษย์ดาวบัลตั้นรุ่นที่ 2 บุกโจมตีสถานที่ 2 แห่งพร้อมกัน โดยการเคลื่อนย้ายที่จากดาวเคราะห์ R มายังโลกเพียงชั่วพริบตา แต่ว่าท่านี้จะทำให้อุลตร้าแมนต้องสูญเสียพลังเป็นอย่างมากและทำให้อายุขัยของเขาต้องสั้นลง นี่จึงถือเป็นท่าลับสุดยอด", "title": "อุลตร้าแมน" }, { "docid": "124510#3", "text": "โอโตริ เก็น สมาชิกของ Jyonan Sport Club เป็นร่างที่อุลตร้าแมนเลโอ เจ้าชายแห่งดาว L77 แห่งหมู่ดาวราศีสิงห์แปลงเป็นมนุษย์ ผู้ที่จำต้องหลบหนีออกมาจากดาวบ้านเกิดที่ถูกทำลายโดยมนุษย์ดาวแม็กม่า ขณะเดียวกัน อุลตร้าเซเว่นกำลังต่อสู้กับสัตว์ประหลาดฝาแฝด เรด กีรัส กับแบล็ค กีรัส ที่ถูกบงการโดยมนุษย์ดาวแม็กม่า และกำลังเสียท่าถูกหักขา ทันใดนั้นอุลตร้าแมนเลโอก็ปรากฏกายขึ้น และช่วยเหลืออุลตร้าเซเว่นไว้ได้ เมื่อทั้งคู่ได้กลายร่างเป็นมนุษย์ โมโรโบชิ แดน (ร่างมนุษย์ของอุลตร้าเซเว่น) ซึ่งบัดนี้ได้เป็นหัวหน้าฝ่าย MAC (M</b>onster A</b>ttacking C</b>rew) แล้ว ต้องขาหักพิการเนื่องจากการต่อสู้ และไม่สามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าเซเว่นได้อีก ได้ขอร้อง โอโตริ เก็น (ร่างมนุษย์ของอุลตร้าแมน เลโอ) ให้เข้าเป็นสมาชิกและช่วยปกป้องโลกแทนเขา โอโตริ เก็น ได้รับการฝึกฝนจาก โมโรโบชิ แดน ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จากหนุ่มใจร้อน มุทะลุ และร่างเลโอที่ไม่สามารถปล่อยพลังลำแสงออกมาได้ ก็กลายมาเป็นนักรบผู้แข็งแกร่งอย่างแท้จริง และสามารถปล่อยลำแสงออกมาได้ โดยในเวลาที่ โอโตริ เก็น แปลงร่างเค้าจะใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เลโอริงก์ แล้วตะโกนว่า \"เลโอ\" อุลตร้าแมนเลโอมีน้องชายนามว่า แอสตร้า คอยช่วยเหลือปราบสัตว์ประหลาดอยู่ด้วยในเวลาวิกฤต แต่แอสตร้าไม่มีร่างแปลงเป็นมนุษย์ เมื่อทั้งสองรวมพลังกันก็จะสามารถใช้ท่าไม้ตายประสานที่มีชื่อว่า อุลตร้าดับเบิ้ลแฟลชเชอร์ (Ultra Double Flasher) อันมีพลังทำลายล้างสูงอีกด้วย นอกจากจะมีอุลตร้าเซเว่นและน้องอย่างแอสตร้าคอยช่วยเหลือแล้ว อุลตร้าแมนเลโอยังมีอุลตร้าแมนคิงอีกคนที่คอยช่วยเหลือและได้มอบ<b data-parsoid='{\"dsr\":[2942,2964,3,3]}'>เสื้อคลุมอุลตร้า</b>ไว้ให้โดยปกติแล้วเสื้อคลุมจะอยู่ในรูปของกำไลที่แขนซ้ายของอุลตร้าแมนเลโอนั่นเอง", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "231729#3", "text": "องค์กร UDF ได้จัดตั้ง TEAM DASH (DEFENSE ACTION SQUAD HEROES) ขึ้นเพื่อคอยกำจัดสัตว์ประหลาดที่มารุกรานโลกแต่ยามใดที่ทีมแดช ไม่สามารถสู้ได้ เมื่อนั้นจะมีการปรากฏตัวของยอดมนุษย์แห่งแสงสว่างจากาแล็คซี่ นาม\"อุลตร้าแมน แม็กซ์\"", "title": "อุลตร้าแมนแม็กซ์" }, { "docid": "192651#3", "text": "โดยภายหลังจากที่ภาพยนตร์ชุดดังกล่าวประสบความสำเร็จ ทางสมโพธิ แสงเดือนฉาย ได้นำภาพยนตร์ชุดดังกล่าวมาดัดแปลงใหม่ โดยเพิ่มตัวละครอีก 4 ราย คือ เจ้าพ่ออุลตร้าแมน, อุลตร้าแมนเลโอ, อุลตร้าแมนแอสตร้า และอุลตร้าแมนคิง รวมทั้งเปลี่ยนชื่อภาพยนตร์ชุดดังกล่าวเป็น \"หนุมานพบ 11 ยอดมนุษย์\"", "title": "หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์" }, { "docid": "123015#1", "text": "เรื่อง ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มีเป็นรูปแบบ มังงะ เขียนโดย มาโมรุ อุจิยามะ อีกด้วย", "title": "อุลตร้าแมน" }, { "docid": "124510#17", "text": "อาวุธท่า&ไม้ตาย: เลโอคิ๊ก,บอดี้บูมเมอร์แรงก์,เลโอนุนจัค(กระบองสองท่อน),ลำแสงสปาร์ค,อุลตร้าดับเบิ้ลแฟลชเชอร์(ต้องใช้ร่วมกับแอสตร้าหรือซีโร่)", "title": "อุลตร้าแมนเลโอ" }, { "docid": "887905#1", "text": "ระหว่างการต่อสู้กับ อุลตร้าแมนเบเรียล มหาวายร้ายแห่งอวกาศ กับ หน่วยพิทักษ์อวกาศ หรือกลุ่มของอุลตร้าแมนผู้ผดุงความยุติธรรมจากดาวเคราะห์แห่งแสง M78 เพื่อต่อสู้กับเบเรียลและพลพรรคผู้ชั่วร้าย นักวิทยาศาสตร์แห่งดาว M78 อุลตร้าแมนฮิคาริ ได้สร้าง “อุลตร้าแคปซูล” แคปซูลพลังงานที่มีพลังของอุลตร้าแมนสิงสถิตย์อยู่ แต่ทว่าการค้นคว้า และการสร้างอุลตร้าแคปซูลยังไม่เสร็จดี ก็เกิดเหตุการณ์ ไครซิส อิมแพคท์ ที่เป็นการจุดระเบิดครั้งใหญ่ที่ทำให้จักรวาลเกือบถึงคราวดับสูญ และเบเรียล ก็หายสาปสูญไปในเปลวเพลิงของการระเบิดในครั้งนั้น ไม่มีใครรู้ว่าเบเรียลทำไปเพื่ออะไร ทำไปทำไม แต่เรื่องที่เบเรียลหายตัวไปนั้นเป็นเรื่องจริง และจักรวาลก็สงบสุขได้ไม่นานนัก และเรื่องราวก็กลับมาที่โลก ซึ่งโลกที่ยังไม่มียอดมนุษย์มาประจำการ ในเมืองอันแสนสงบที่ “อาซากุระ ริคุ” เด็กหนุ่มผู้สดใส ผู้ใช้ชีวิตร่วมกับเอเลี่ยนต่างดาว “เปก้า” ทั้งสองก็ใช้ชีวิตอย่างสนุกสนาน และอบอุ่นในเมืองเล็กๆแห่งนี้ จนกระทั่งวันหนึ่ง มีสัตว์ประหลาดที่ไม่ทราบที่มา ได้ทำการบุกโลก และได้ถล่มเมืองของริคุจนผู้คนต้องละทิ้งเมืองที่เติบโตมา ริคุที่กล่าวโทษถึงความไร้พลังของตัวเอง ก็ได้มีโอกาสพบกับ “เรม” ลูกบอลปริศนาที่เฝ้าประจำการอยู่ในห้องบัญชาการลับปริศนาที่ซ่อนอยู่ในใต้ดิน เขาได้มอบ จี๊ดไรเซอร์ และ อุลตร้าแคปซูล ที่บรรจุพลังงานของอุลตร้าแมนรุ่นสมบูรณ์แบบ เพื่อปกป้องรอยยิ้ม และความสงบสุขของผู้คน ริคุจึงไม่ลังเลที่จะใช้จี๊ดไรเซอร์ เพื่อเป็นร่างสถิตย์ของอุลตร้าแมน จี๊ด และยังได้รับรู้อีกด้วยว่า ตัวของริคุ หรืออุลตร้าแมนจี๊ด ก็คือสุดยอดมหาวายร้ายแห่งจักรวาล อุลตร้าแมนเบเรียล", "title": "อุลตร้าแมนจี๊ด" }, { "docid": "231729#0", "text": "อุลตร้าแมนแม็กซ์ () เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 21 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ ถัดจากซีรีส์อุลตร้าแมนเน็กซัส เป็นการนำเนื้อหาอุลตร้าแมนภาคแรกมาทำรูปแบบใหม่และการนำสัตว์ประหลาดของเหล่าพี่น้องอุลตร้ามาทำใหม่ในบางส่วนและการเนื้อเรื่องถูกเปลี่ยนไปตามสมัยในปัจจุบันโดยออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 2005 และจบลงในวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2006 ทางช่อง CNB รวมทั้งสิ้น 39 ตอน", "title": "อุลตร้าแมนแม็กซ์" }, { "docid": "212012#0", "text": "อุลตร้าแมน () เป็นทีวีซีรีส์ชุดแรกของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ\"ชิน ฮายาตะ\"ที่ตายเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการตามล่าสัตว์ประหลาดของอุลตร้าแมน ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มนุษย์ต่างดาวจากแกแล็กซี่เนบิวล่า M78 จึงเลือกตัวเขาเป็นร่างสถิตย์เพื่อคืนชีวิตให้ ฮายาตะสามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าแมนได้โดยการชูและกดปุ่มที่ \"เบต้าแคปซูล\"และมีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3 นาที ในระหว่างนั้นเขายังทำหน้าที่อยู่ในหน่วยกองกำลังพิทักษ์ที่ชื่อ หน่วยวิทยะ หรือ SSSP (Science Spesial Search Party) อีกด้วย มีจำนวนตอนทั้งหมด 39 ตอน", "title": "อุลตร้าแมน (ตัวละคร)" }, { "docid": "490749#1", "text": "หัวหน้ากองกำลังป้องกันอวกาศ รับคำสั่งโดยตรงจากเจ้าพ่ออุลตร้า ทำหน้าที่พี่เลี้ยงให้กับยอดมนุษย์ที่ปฏิบัติภารกิจอยู่ทั่วจักรวาล เป็นนักสู้อุลตร้าที่ศัตรูให้ความเกรงขามมากคนหนึ่ง ครั้งหนึ่งเคยพลัดตกไปในหลุมดำ เพราะกลอุบายของยูดา แต่ได้รับการช่วยเหลือจากชนเผ่าอันโดร และกลับมาด้วยความสามารถที่มากกว่าเดิม โซฟีมาที่โลกมนุษย์ ครั้งแรก เพื่อนำร่างและวิญญานของอุลตร้าแมน ที่พ่ายแพ้ให้แก่แซ็ทต้อน กลับสู่ดาวอุลตร้าลำแสง m 87 ว่ากันว่าสามารถทำลายดาวได้หนึ่งดวง (ลำแสงขี้โม้)", "title": "อุลตร้าแมนโซฟี่" }, { "docid": "124514#0", "text": "ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน 80 (ウルトラマン80, Urutoraman Eitī?) เป็นทีวีซีรีส์ชุดที่ 9 ของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ โดยสร้างขึ้นในทศวรรษที่ 80เป็นเรื่องแรก ห่างจากซีรีส์ชุดสุดท้ายคือ อุลตร้าแมน เลโอถึง 6 ปี ออกอากาศระหว่างปี พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2524", "title": "อุลตร้าแมน 80" }, { "docid": "438965#10", "text": "กลับไปบนดาวเคราะห์ที่อุลตร้าแมนเลโอ ฝึกให้กับเซโร่ ในช่วงการฝึกของพวกเขาอุลตร้าแมนเลโอ เป็นพยานผู้ฝึกของเขาที่ช่วยชีวิตเพื่อนของเขา Pigmon และหยุดการต่อสู้ ทั้งอุลตร้าแมนเลโอและอุลตร้าแมนคิง บอกให้เซโร่ว่าเขาช่วยชีวิตของใครบางคนมีจุดประสงค์ของการเป็นอุลตร้าแมนและในที่สุดพวกเขาก็เปิดเผยให้เขารู้ว่าเมื่อเขาถูกเนรเทศอุลตร้าเซเว่น ได้ช่วยชีวิตเขาจริงโดยการหยุดเขาจากการสัมผัสพลาสม่าสปาร์ค ไม่อย่างนั้นเขาจะได้จบลงด้วยการเช่นเดียวกับอุลตร้าแมนแบเรียล ทันใดนั้น Eye Slugger ของอุลตร้าเซเว่นได้ปรากฏก่อนที่พวกเขาเป็นสัญญาณขอความช่วยเหลือ อุลตร้าแมนคิงเปิดเผยให้กับ เซโร่ ว่าเป็นลูกชายของอุลตร้าเซเว่น ,อุลตร้าแมนเซโร่ ไถ่ถอนและเป็นอิสระในขณะนี้จากชุดเกราะของเขา อุลตร้าแมนเซโร่ จะปิดลงสุสานมอนสเตอร์ที่จะเผชิญหน้ากับอุลตร้าแมนแบเรียล", "title": "อุลตร้าแกแล็คซี่ กำเนิดอุลตร้าแมนซีโร่" }, { "docid": "203984#1", "text": "ในประเทศญี่ปุ่นได้ถูกใช้ชื่อว่า อุลตร้าแมนพาวเวิร์ด () และถูกนับบรรจุซีรีส์อุลตร้าลำดับที่ 11 และออกเป็นรูปแบบวีดีโอและออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ TBS โดยออกอากาศเมื่อวันที่ 8 เมษายน ถึงวีนที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1995\nมนุษย์ดาวบัลตั้นได้เปิดฉากรุกรานโลก พร้อมกับเหล่าสัตว์ประหลาดก็เริ่มปรากฎตัว หน่วย W.I.N.R. จึงต้องเตรียมรับมือกับวิกฤตที่กำลังจะมาถึง ขณะเดียวกันพาวเวิร์ดที่กลายเป็น “ลูกไฟสีแดง” ไล่ตามมนุษย์ดาวบัลตั้นมาจนถึงโลก ได้พบกับ จนท.เคนอิจิ ไค แห่งหน่วย W.I.N.R. ซึ่งออกเดินทางมาสำรวจวัตถุทรงกลม และได้ทำการรวมร่างกับเขา นับตั้งแต่วันนั้น พาวเวิร์ด จึงตัดสินใจที่จะอยู่บนโลก จนกว่ามนุษยชาติจะรอดพ้นจากการคุกคามของ มนุษย์ดาวบัลตั้น ที่หลบซ่อนตัวอยู่บนโลก", "title": "อุลตร้าแมนพาวเวิร์ด" }, { "docid": "212012#1", "text": "เรื่อง ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มีเป็นรูปแบบมังงะ เขียนโดย มาโมรุ อุจิยามะ อีกด้วย", "title": "อุลตร้าแมน (ตัวละคร)" } ]
1929
ปัจจุบันประเทศนอร์เวย์ ยังคงมีกษัตริย์อยู่หรือไม่?
[ { "docid": "13251#31", "text": "นอร์เวย์มีการปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และระบอบรัฐสภา ประมุขแห่งรัฐของนอร์เวย์คือพระมหากษัตริย์ โดยพระองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 บทบาทของกษัตริย์ในปัจจุบัน จำกัดอยู่เพียงด้านพิธีการและสัญลักษณ์", "title": "ประเทศนอร์เวย์" } ]
[ { "docid": "13251#18", "text": "วันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1905 รัฐสภาประกาศว่ากษัตริย์แห่งสวีเดนไม่ได้เป็นกษัตริย์ของนอร์เวย์อีกต่อไป และสหภาพกับสวีเดนก็ล่มสลายตามา ปฏิกิริยาตอบกลับในสวีเดนรุนแรงและสงครามระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนใกล้จะเริ่มขึ้น เนื่องมากจากการลงประชามติสองครั้งเกิดขึ้นในปีเดียวกัน จึงเป็นตัวกำหนดให้สหภาพกับสวีเดนล่มสลายและชาติใหม่ของนอร์เวย์เป็นการปกครองโดยมีกษัตริย์เป็นประมุข", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "13251#19", "text": "เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กถูกเลือกให้เป็นกษัตริย์คนใหม่ของนอร์เวย์ เขามีชื่อทางราชวงศ์ของนอร์เวย์ว่า ฮากอน กษัตริย์ฮากอนเป็นกษัตริย์องค์ที่ 7 ของนอร์เวย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1905 จนกระทั่งตายใน ค.ศ. 1957", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "13251#29", "text": "หลายคนสามารถหางานทำได้ และแม้ว่าค่าแรงจะไม่สูงมากนัก แต่ปัญหาความยากจนก็ลดลงไปได้บ้าง คนส่วนใหญ่มีมุมมองที่ดีและหลายคนคาดหวังที่จะมีส่วนร่วมในการบูรณะประเทศนอร์เวย์ขึ้นอีกครั้ง ความเท่าเทียมกัน และคุณค่าที่เท่ากันกลายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับคนส่วนใหญ่ เศรษฐกิจของนอร์เวย์ค่อย ๆ พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังคงต้องแบ่งสรรสินค้าใช้อยู่จนช่วงปลายทศวรรษที่ 1950", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "13251#1", "text": "ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้วย", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "13251#9", "text": "เศรษฐกิจของนอร์เวย์ปรับตัวดีขึ้นนับตั้งแต่ปี 1960 เป็นต้นมา ทำให้มีความต้องการแรงงานและมีคนเป็นจำนวนมากจากหลายประเทศเดินทางเข้ามาเพื่อหางานทำ คนกลุ่มแรกที่เข้ามามาจากยุโรป และนับตั้งแต่ช่วงปี 1970 เป็นต้นมา หลายคนมาจากเอเชีย อาฟริกาและละตินอเมริกา นอกจากนี้ยังมีชาวปากีสถานและชาวเตอร์กที่เดินทางมาเพื่อทำงานที่นี่ หลายคนยังคงอาศัยอยู่ในนอร์เวย์ในปัจจุบัน ในปี 1975 การย้ายถิ่นฐานถูกชะลอไว้ชั่วคราวเนื่องจากอัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้นและปัญหาด้านการจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับคนที่เดินทางเข้ามาในประเทศ", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "179955#8", "text": "หลังจากการลงประชามติราชาธิปไตยนอร์เวย์ พ.ศ. 2448 คะแนนเสียงอย่างท่วมท้นถึง 79 เปอร์เซนต์ส่วนใหญ่ (สนับสนุนราชาธิปไตย 259,563 คน และต่อต้านราชาธิปไตย 69,264 คน) โดยชาวนอร์เวย์ต้องการดำรงสถาบันพระมหากษัตริย์ เจ้าชายคาร์ลทรงตอบรับข้อเสนอในราชบัลลังก์นอร์เวย์อย่างเป็นทางการโดยรัฐสภานอร์เวย์และทรงได้รับการเลือกในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 เมื่อเจ้าชายคาร์ลทรงตอบรับข้อเสนอในเย็นวันเดียวกัน (หลังจากทรงได้รับการเห็นพ้องจากพระอัยกา สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก) พระองค์ทรงทำพระองค์ให้เป็นที่รักใคร่ในประเทศโดยทรงใช้พระนามในภาษานอร์สโบราณชื่อ \"โฮกุน\" (Haakon) เป็นพระนามที่พระมหากษัตริย์นอร์เวย์ในอดีตเคยใช้ ในการทำเช่นนั้นพระองค์ทรงสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระอนุชาในพระอัยกา (น้องชายของปู่)คือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ผู้ทรงสละราชบัลลังก์นอร์เวย์ในเดือนตุลาคม ตามมาด้วยข้อตกลงระหว่างสวีเดนและนอร์เวย์ในการยุบสหภาพ", "title": "สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์" }, { "docid": "86656#11", "text": "รัฐและดินแดนต่างๆในจักรวรรดิ ยังคงมีรัฐบาลเป็นของตนแต่มีอำนาจจำกัด ยกตัวอย่างเช่น การสแตมป์ไปรษณีย์และการผลิตเหรียญทอง 1 มาร์คนั้นเป็นหน้าที่ของรัฐบาลกรุงเบอร์ลิน ส่วนการผลิตเงินสกุลมาร์คที่มีมูลค่าเกินกว่านั้นเป็นหน้าที่ของรัฐบาลท้องถิ่น รัฐต่างๆมีอำนาจสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นของตนเอง บางรัฐอาจมีกำลังทหารเป็นของตนเอง อำนาจทหารทั้งหมดจะถูกริบไปอยู่ที่รัฐบาลกรุงเบอร์ลินในยามศึกสงคราม", "title": "จักรวรรดิเยอรมัน" }, { "docid": "681010#0", "text": "ลำดับการสืบราชบัลลังก์นอร์เวย์ ถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตราที่ 6 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2533 ที่ให้พระราชบุตรพระองค์ใหญ่ไม่ว่าฝ่ายหน้าหรือฝ่ายใน พระราชนัดดา และผู้สืบเชื้อสายในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 สามารถขึ้นครองราชย์ได้ แต่ในปัจจุบันยังคงจัดให้พระราชโอรสรั้งตำแหน่งรัชทายาทไว้ เนื่องจากการตั้งองค์รัชทายาทนั้นเกิดขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุนี้มกุฎราชกุมารโฮกุนและผู้สืบสันดานของมกุฎราชกุมารจึงมีสิทธิธรรมในลำดับการสืบราชบัลลังก์ก่อนหน้าพระเชษฐภคินีคือเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ และผู้สืบสันดานของเจ้าหญิง", "title": "ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์นอร์เวย์" }, { "docid": "13251#15", "text": "ระหว่างศตวรรษที่ 14 เดนมาร์กมีอิทธิพลเหนือนอร์เวย์เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ใน ค.ศ. 1397 นอร์เวย์อยู่ในสหภาพเดียวกับเดนมาร์กและสวีเดนอย่างเป็นทางการ สหภาพถูกปกครองโดยกษัตริย์ร่วมกัน สวีเดนค่อย ๆ ถอนตัวออกมาจากสหภาพนี้ แต่เดนมาร์กและนอร์เวย์ยังคงรวมกันจนกระทั่งค.ศ. 1814", "title": "ประเทศนอร์เวย์" }, { "docid": "13251#17", "text": "สหภาพกับสวีเดนล่มสลายใน ค.ศ. 1905 มีความขัดแย้งทางการเมืองเป็นเวลาหลายปีระหว่างรัฐสภาของนอร์เวย์และกษัตริย์ในประเทศสวีเดน และในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 มีความเชื่อมากขึ้นเรื่อยๆ ว่านอร์เวย์ควรเป็นประเทศเอกราชและมีเสรีภาพ", "title": "ประเทศนอร์เวย์" } ]
31
ช่อง 7 เอชดี เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่เท่าไหร่ของประเทศไทย?
[ { "docid": "59413#0", "text": "ช่อง 7 เอชดี (Channel 7 HD) (ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 English: Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9[1] ซึ่งต่อมาเปลี่ยนเป็นระบบภาพสี และย้ายการออกอากาศ ไปทางช่องสัญญาณที่ 7 จนถึงปัจจุบัน มีกฤตย์ รัตนรักษ์ เป็นประธานกรรมการบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด และสมเกียรติ เจริญภิญโญยิ่ง เป็นกรรมการผู้จัดการ", "title": "ช่อง 7 เอชดี" } ]
[ { "docid": "42149#31", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาค กรมประชาสัมพันธ์ เอ็นบีทีเวิลด์ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย" }, { "docid": "43460#9", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (ชื่อสากล: HS-TV 3[4]) เป็นสถานีโทรทัศน์เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย ที่ออกอากาศโดยใช้ช่องความถี่ต่ำ ในระบบวีเอชเอฟ คือช่อง 2 ถึงช่อง 4 โดยในระยะเริ่มแรก ใช้เครื่องส่งโทรทัศน์สีขนาด 25 กิโลวัตต์ จำนวนสองเครื่องขนานกัน รวมกำลังส่งเป็น 50 กิโลวัตต์ อัตราการขยายสายอากาศ 13 เท่า กำลังออกอากาศที่ปลายเสาอยู่ที่ 650 กิโลวัตต์ เสาอากาศเครื่องส่งมีความสูง 250 เมตร ความถี่คลื่นอยู่ระหว่าง 54-61 เมกะเฮิร์ตซ์ ใช้ระบบ ซีซีไออาร์ พาล (CCIR PAL) 625 เส้น เป็นแห่งแรกของไทย โดยส่งออกอากาศทางช่องสัญญาณที่ 3 ซึ่งสามารถให้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง รวมทั้งหมด 18 จังหวัดเท่านั้น คิดเป็นร้อยละ 20.64 ของพื้นที่ประเทศไทย[2][3] นับเป็นสถานีโทรทัศน์สีแห่งที่สองของไทย ต่อจากสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "4801#0", "text": "สถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี (English: MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) หรือ ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (English: 9 MCOT HD) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่", "title": "เอ็มคอตเอชดี" }, { "docid": "349654#1", "text": "นอกจากนี้ ยังผลิตรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกับกีฬาและบันเทิง เพื่อนำเสนอและออกอากาศ ทางช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย คือสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, ช่องเนชั่น เป็นต้น ตลอดจนผลิตเนื้อหาโทรทัศน์ เกี่ยวกับกีฬาและบันเทิง เพื่อเผยแพร่ในโอกาสพิเศษต่างๆ", "title": "สยามสปอร์ตเทเลวิชัน" }, { "docid": "43460#47", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 บีอีซี เวิลด์ มิสไทยแลนด์เวิลด์ บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ครอบครัวข่าว 3 เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ ครอบครัวข่าวเช้า เรื่องเด่นเย็นนี้ ข่าววันใหม่ ช่อง 3 แฟมิลี ช่อง 3 เอสดี วิทยุครอบครัวข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "67880#0", "text": "การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย เป็นความร่วมมือกันระหว่างสถานีโทรทัศน์ต่างๆ ได้แก่ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี, สถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (ชื่อเดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวีและสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี) เพื่อจัดระดับความเหมาะสมของรายการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ชมสามารถเลือกดูได้ว่ารายการใดที่มีความเหมาะสมต่อตัวเองและคนรอบข้าง อาทิเช่น รายการใดที่เด็กควรดู รายการที่ผู้ใหญ่ควรให้ความแนะนำ หรือรายการที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กและเยาวชน", "title": "การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย" }, { "docid": "4801#71", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุ อสมท สำนักข่าวไทย เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท เอ็มคอตแฟมิลี สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "เอ็มคอตเอชดี" }, { "docid": "168009#0", "text": "ช่อง 7 เอชดี (ชื่อเดิม:สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7) เป็นช่องโทรทัศน์ที่มีรายการต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงละครที่มีมากมายหลายเรื่องและหลายช่วงเวลา เมื่อมีละครเรื่องหนึ่งจบหรืออวสานไปก็จะมีละครเรื่องใหม่มาออกอากาศแทน โดยละครแต่ละเรื่องจะมีนักแสดงนำและบทละครที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ ละครทางช่อง 7 สีที่อวสานไปเมื่อประมาณ 1 ปีครึ่ง ถึง 3 ปีที่แล้ว จะถูกนำมาออกอากาศอีกครั้งในช่วงเวลาตอนบ่ายในวันจันทร์ถึงศุกร์ด้วย", "title": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี" }, { "docid": "220594#6", "text": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย ผลิตรายการต่างๆ ทั้งเกมโชว์ ควิซโชว์ เกมโชว์สำหรับเด็ก ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้คอเมดี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ การประกวด ละครเวที สารคดี และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็นจำนวนกว่า 100 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส, สถานีโทรทัศน์ช่องวัน, สถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์, สถานีโทรทัศน์นาว 26, สถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ,สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี และ สถานีโทรทัศน์อมรินทร์ทีวี ปัจจุบัน เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 10 รายการ เป็นรายการประเภททอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ วาไรตี้เกมโชว์ สารคดี เรียลลิตี้โชว์ และรายการวันหยุดนักขัตฤกษ์ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 9 MCOT HD และช่องไทยพีบีเอส HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ขายลิขสิทธิ์และออกอากาศในแอปพลิเคชัน LINE TV และ AIS PLAY เน้น \"ตัวเอน\")", "title": "เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย" }, { "docid": "652610#0", "text": "รายนามผู้ประกาศข่าวและผู้รายงานข่าว สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี เรียงชื่อตามลำดับอักษร", "title": "รายนามผู้ประกาศข่าวและผู้รายงานข่าว สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี" }, { "docid": "34424#3", "text": "นอกจากนี้ ททบ.5 ยังเปิดให้บริการเว็บไซต์ของสถานีฯ เป็นแห่งแรกในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยใช้โดเมนเนม พร้อมทั้งจัดทำระบบโทรทัศน์ทางอินเทอร์เน็ต เป็นแห่งแรกในทวีปเอเชีย ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2539 ททบ.เป็นผู้ริเริ่มใช้เฮลิคอปเตอร์ที่ติดตั้งกล้องวิดีโอ และรถถ่ายทอดเคลื่อนที่ผ่านระบบดาวเทียม (Digital Satellite News Gathering ชื่อย่อ: D-SNG) มาใช้กับการถ่ายทอดสดและรายงานข่าว เป็นแห่งแรกในภูมิภาคอาเซียน รวมถึงเป็นสถานีแรกของประเทศไทย ที่ดำเนินการผลิตและควบคุมการออกอากาศ ด้วยระบบดิจิตอล ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 และยังเริ่มต้นออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมงเป็นสถานีแรกของไทย ต่อมา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 ททบ.5 ดำเนินการออกอากาศโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ในระบบดิจิตอลไปยังทุกภูมิภาคทั่วโลก ตามโครงการ โดยปัจจุบันสามารถรับชมในกว่า 170 ประเทศ และในวาระครบรอบ 40 ปี ททบ. ปีเดียวกันนั้นเอง การก่อสร้างอาคารที่ทำการ และอาคารหลักของสถานีโทรทัศน์ ซึ่งรวมส่วนบริหาร ส่วนปฏิบัติการ และส่วนสนับสนุนไว้ในอาคารเดียวกัน รวมทั้งมีห้องส่งโทรทัศน์อันทันสมัย จำนวน 4 ห้อง ก็แล้วเสร็จสมบูรณ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ททบ.เริ่มดำเนินงานก่อสร้าง อาคารสำนักงานเพิ่มเติม และอาคารจอดรถ กำหนดแล้วเสร็จในวาระครบรอบ 50 ปีของ ททบ.5 คือ พ.ศ. 2551 โดยในปีดังกล่าว ททบ.จัดซื้อระบบออกอากาศภายในห้องส่งใหม่ ประกอบด้วยโรงถ่ายเสมือนจริง (Virtual Studio) และกำแพงวิดีทัศน์ (Video Wall) พร้อมทั้งใช้สีแดง ประกอบการนำเสนอข่าวของสถานีฯ ในปีต่อมา (พ.ศ. 2552) ททบ.5 เปลี่ยนไปใช้สีเขียว เป็นหลักในการนำเสนอข่าว โดยให้มีนัยสื่อถึงกองทัพบก ล่าสุด ททบ.ดำเนินงานก่อสร้าง อาคารชุดอเนกประสงค์แห่งใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดยมีกำหนดแล้วเสร็จวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ อนุญาตให้กรมประชาสัมพันธ์, บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ร่วมกันทดลองออกอากาศโทรทัศน์ระบบดิจิทัล โดยมอบหมายให้ ททบ.5 เป็นผู้ดำเนินการ ตั้งแต่เวลา 13:00 น. ของวันศุกร์ที่ 25 มกราคม จนถึงเวลา 12:59 น. ของวันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เป็นระยะเวลา 6 เดือน ในย่านความถี่ยูเอชเอฟ ช่องสัญญาณที่ 36 ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 ช่องรายการคือ 6 ช่องทวนสัญญาณจากช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial) ด้วยความละเอียดมาตรฐานตามปกติ ซึ่งประกอบด้วย สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 , สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์, สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำหรับอีก 2 ช่องรายการ จะทดลองออกอากาศโทรทัศน์ความละเอียดสูง กล่าวคือ ช่องหนึ่งจะกระจายเสียงและแพร่ภาพ รายการโทรทัศน์ความละเอียดสูงซึ่งผลิตโดย ททบ. ส่วนอีกช่องหนึ่งจะทวนสัญญาณ จากช่องรายการของไทยพีบีเอส ซึ่งออกอากาศในระบบความละเอียดสูงผ่านดาวเทียมอยู่แต่เดิม โดยมีรัศมีรอบเสาส่งสัญญาณบนยอดอาคารใบหยก 2 เป็นระยะทาง 80 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล[1] ต่อมา กสทช.อนุมัติใบอนุญาตประกอบกิจการ โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการสาธารณะเพื่อความมั่นคงแก่ ททบ.5 โดยเริ่มนำสัญญาณภาพและเสียง ออกอากาศคู่ขนานไปจาก โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบแอนะล็อกทางช่อง 5 เดิม พร้อมกับผู้ประกอบการส่วนมาก ในประเภทบริการทางธุรกิจ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 ต่อมา ททบ.5 ตั้งชื่อช่องรายการที่ออกอากาศในระบบดิจิทัลว่า ทีวี 5 เอชดี1 (TV5 HD1) (วิธีอ่าน อ่านว่า ทีวีไฟว์ เอชดีวัน) พร้อมกับการปรับเปลี่ยนการปรากฏตราสัญลักษณ์ของสถานีแต่เพียงเล็กน้อย ด้วยการเพิ่มตัวอักษรคำว่า HD1 สีเทาเงิน ประดับติดกับสัญลักษณ์ไว้ทางด้านขวาตรงกลาง โดยเพื่อใช้สำหรับการปรากฏตราสถานีฯไว้อยู่ที่มุมขวาของหน้าจอโทรทัศน์ เมื่อขณะที่กำลังออกอากาศรายการต่างๆอยู่ ทั้งระบบแอนะล็อกและดิจิทัล ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งใช้มาจนกระทั่งพฤษภาคม พ.ศ. 2561 จึงได้ปรับอัตลักษณ์บนหน้าจอใหม่ให้ใหญ่และโดดเด่นขึ้น", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก" }, { "docid": "34424#27", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก กองทัพบกไทย ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก" }, { "docid": "915552#23", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 บริหารงานโดยกลุ่มบริษัท บีอีซีเวิลด์ ภายใต้สัมปทานของ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก บริหารงานโดยกองทัพบก สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 บริหารงานโดยบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด ภายใต้สัมปทานของ กองทัพบก ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี บริหารงานโดยบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย บริหารงานโดย กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส บริหารงานโดย องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย", "title": "โทรคมนาคมในประเทศไทย" }, { "docid": "593911#13", "text": "25 พฤษภาคม เป็นต้นไป วางข้างล่างช่อง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ นิวทีวี วันที่ 26 พฤษภาคม เมื่อเวลา 18:21 น. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 3 เอชดี ช่อง 3 เอสดี ช่อง 3 แฟมิลี่ เอ็มคอตแฟมิลี่ วอยซ์ทีวี เนชั่นทีวี พีพีทีวี และ สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา เมื่อเวลา 20:13 น. เวิร์คพอยท์ทีวี เมื่อเวลา 12:01 น. นาว 26 เมื่อเวลา 13:40 น. ทีเอ็นเอ็น 24 เมื่อเวลา 14:39 น.ไบรต์ทีวี เมื่อเวลา 16:04 น. อมรินทร์ทีวี เมื่อเวลา 18:01 น. สปริงนิวส์ เมื่อเวลา 21:01 น. ไทยรัฐทีวี หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) รายการ คืนความสุขให้คนในชาติ เมื่อเวลา 21:16 น. ทรูโฟร์ยู เมื่อเวลา 12:01 น. ช่อง 8 เมื่อเวลา 00:01 น. โมโน 29 เมื่อเวลา 20:39 น. ช่องวัน เมื่อเวลา 05:01 น. จีเอ็มเอ็ม 25 โฆษณาเกินเวลา หมายตราสัญลักษณ์ หรือวางช่องข้างบน เผยตราสัญลักษณ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฉลองสิริราชสมบัติครบ ๗๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๕๙\nหรือวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ เป็นการเปลี่ยนตราสัญลักษณ์เป็นพื้นหลังดำ เพื่อเป็นการแสดงความอาลัยต่อการสวรรคต และ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๐ ตราสัญลักษณ์เป็นพื้นหลังแบบสีปกติเหมือนเดิม แต่ทว่า ก็ยังให้ตราสัญลักษณ์อยู่ข้างล่างมุมขวาของจอโทรทัศน์เหมือนเดิม", "title": "โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย" }, { "docid": "321758#0", "text": "ฝ่ายข่าว ช่อง 7 เอชดี ()เป็นหน่วยงานย่อยของบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด หรือ ช่อง 7 เอชดี ทำหน้าที่ผลิตข้อมูลข่าวสารทุกประเภท ในรูปของเนื้อหาข่าวสำหรับโทรทัศน์ และภาพวิดีโอข่าวสำหรับโทรทัศน์ หรือภาพนิ่งในบางกรณี เพื่อสนับสนุนกับรายการโทรทัศน์ ประเภทข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ที่สถานีฯ ผลิตขึ้นเอง รวมถึงสื่อประเภทอื่นของช่อง 7 เอชดี เช่น เว็บไซต์ หรือ สื่อสังคมออนไลน์ของสถานีฯ ก่อตั้งขึ้นในช่วงระยะแรกของการก่อตั้งสถานีฯ", "title": "ข่าวช่อง 7 เอชดี" }, { "docid": "34424#1", "text": "ราวปี พ.ศ. 2495 กระทรวงกลาโหมออกข้อบังคับ ว่าด้วยการมอบหมายงานแก่เจ้าหน้าที่กองทัพบก โดยกำหนดให้กรมการทหารสื่อสาร (สส.) จัดตั้งแผนกกิจการวิทยุโทรทัศน์ ขึ้นตรงต่อกองการกระจายเสียงและโทรทัศน์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 มีการกำหนดอัตรากำลังพลประจำแผนกโทรทัศน์ ในอัตราเฉพาะกิจ สังกัดกรมการทหารสื่อสาร จำนวน 52 นาย เพื่อปฏิบัติงาน ออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ผลิตและถ่ายทอดรายการโทรทัศน์ จากนั้นในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้น ลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินการวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ประกอบด้วย พลเอกไสว ไสวแสนยากร เป็นประธานกรรมการ และพันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง เป็นเลขานุการ มีหน้าที่จัดทำ<i data-parsoid='{\"dsr\":[3870,3914,2,2]}'>โครงการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก พร้อมทั้งวางแผนการอำนวยการ และควบคุมการดำเนินกิจการวิทยุโทรทัศน์ รวมถึงมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติงานให้ได้ผลตามที่ราชการทหารมุ่งหมาย ต่อมาในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกัน มีพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารที่ทำการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ในบริเวณกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ สนามเป้า ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โดยทำสัญญายืมเงินกับกองทัพบก เพื่อเป็นทุนในการก่อสร้าง และจัดหาอุปกรณ์ จำนวน 10,101,212 บาท สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 (ชื่อสากล: ATV รหัส: HSATV ชื่อย่อ: ททบ.7) เริ่มต้นออกอากาศเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2501 จากอาคารสวนอัมพร เป็นภาพขาวดำ ใช้ระบบเอฟซีซี (Federal Communication Committee) 525 เส้น ทางช่องสัญญาณที่ 7 ด้วยเครื่องส่งออกอากาศ กำลังส่ง 5 กิโลวัตต์ และทวีกำลังเพิ่มขึ้นอีก 12 เท่า บนสายอากาศสูง 300 ฟุต รวมกำลังส่งออกอากาศทั้งสิ้น 60 กิโลวัตต์ จึงเป็นสถานีโทรทัศน์ไทยแห่งที่สอง ต่อจากสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) ต่อมา เมื่อก่อสร้างของอาคารสถานีเสร็จสมบูรณ์ จึงเริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการในทุกวันพุธ แล้วจึงเพิ่มวันจันทร์และวันศุกร์ในระยะถัดมา โดยรายการส่วนมากเป็นสารคดีและภาพยนตร์ต่างประเทศ จากนั้นในปี พ.ศ. 2506 ททบ.ตั้งสถานีทวนสัญญาณเป็นแห่งแรก บนยอดเขาวงพระจันทร์ อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี โดยใช้เครื่องทรานสเลเตอร์ถ่ายทอดสัญญาณ เริ่มจากถ่ายทอดการฝึกทหารในยามปกติ ซึ่งมีชื่อรายการว่า การฝึกธนะรัชต์ ทั้งนี้ เริ่มจัดรายการภาคกลางวัน ในปีเดียวกันนี้ด้วย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทอดพระเนตรกิจการ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2508 นอกจากนี้ ททบ.5 ยังเริ่มจัดตั้ง สถานีวิทยุกระจายเสียงระบบเอฟเอ็ม ความถี่ 94.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ในปีเดียวกันนี้ โดยในระยะแรกเป็นการถ่ายทอดเสียงภาษาอังกฤษ จากฟิล์มภาพยนตร์ที่ออกอากาศทาง ททบ. และเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 ททบ.ร่วมกับสถานีโทรทัศน์อีก 3 แห่งในขณะนั้น ก่อตั้ง โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล) เพื่ออำนวยการปฏิบัติงาน ระหว่างสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 ททบ.ตั้งสถานีทวนสัญญาณเพิ่มเติม ที่จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดนครราชสีมา โดยเปลี่ยนมาใช้ระบบไมโครเวฟแทน จากนั้น ททบ.5 ปรับปรุงระบบเครื่องส่งโทรทัศน์ จากเดิมที่ใช้ระบบ 525 เส้น ภาพขาวดำ ช่องสัญญาณที่ 7 เป็นระบบ 625 เส้น ในย่านความถี่วีเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2517 พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (ททบ.5) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2517 ททบ.เริ่มออกอากาศด้วยภาพสีในระบบพาล (Phase Alternation Line - PAL) เป็นครั้งแรกด้วยการถ่ายทอดสด พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ ณ ลานพระราชวังดุสิต และต่อมา ททบ.5 จึงเปลี่ยนแปลงตราสัญลักษณ์ของสถานีฯ เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารงานของสถานี และยังมีการเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่งด้วย เมื่อปี พ.ศ. 2521 ททบ.ร่วมกับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เช่าสัญญาณดาวเทียมปาลาปาของอินโดนีเซีย พร้อมตั้งสถานีถ่ายทอดสัญญาณผ่านดาวเทียมเพิ่มขึ้นทั่วประเทศ และเริ่มจัดทำห้องส่งส่วนภูมิภาค ในภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่, ภาคใต้ที่จังหวัดสงขลา และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดอุบลราชธานี อนึ่ง ในช่วงทศวรรษนี้ ททบ.ดำเนินการขยายสถานีเครือข่ายในจังหวัดต่างๆ เพิ่มเติมดังต่อไปนี้", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก" }, { "docid": "59413#7", "text": "27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2529 ภาพอวกาศ ถ่ายเข้ามาที่โลก และเป็นภาพเป็นกลุ่มเมฆ และภาพมหาสมุทร จากการ์ตูนของญิ่ปุ่นเรื่องหนึ่ง และแสดงสัญลักษณ์ช่องสถานี - เสียงยานอวกาศ (หน้าจออวกาศ) เสียงกลอง (หน้าจอกลุ่มเมฆ) เสียง sound effect Ta-Da (หน้าจอมหาสมุทร) และเพลงประจำสถานี ฉากรอง พื้นหลังเป็นอาคารสถานี และแสดงตราสัญลักษณ์กองทัพบก - เพลงประกอบใช้เพลงมาร์ชกองทัพบก 20 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2543 ฉากแรกจะเป็นรูปท้องฟ้ามีกลุ่มเมฆลอยอยู่กลางอากาศ (เปรียบเสมือนเข้าสู่เช้าวันใหม่) และแสดงสัญลักษณ์ของสถานี และข้อความภาษาไทยแบบโค้งเขียนว่า \"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" วางไว้ใต้ตราสัญล้กษณ์ - เพลงประกอบใช้เพลง Mechanised Infantry March ฉากรอง พื้นหลังเป็นสีฟ้า แสดงตราส้ญลักษณ์กองทัพบกแบบโครงเส้นสีขาว และขึ้นข้อความภาษาไทยแบบโค้งเขียนว่า \"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" วางไว้ใต้ตราสัญล้กษณ์ - เพลงประกอบใช้เพลงมาร์ชกองทัพบก 1 เมษายน พ.ศ. 2543 - 24 เมษายน พ.ศ. 2557 ภาพพื้นหลังจะเป็นน้ำเงินไล่สีมีดาวเปล่งประกายเรียงต่อกันหลายๆดวง แสดงสัญล้กษณ์ของสถานี และตราสัญลักษณ์กองทัพบกแบบสีทอง และขึ้นข้อความภาษาไทยแบบโค้งล่างที่มีคำว่า\"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" วางไว้ใต้ตราสัญล้กษณ์ - เพลงประกอบใช้เพลง Mechanised Infantry March ต่อด้วย เพลงมาร์ชกองทัพบก 25 เมษายน พ.ศ. 2557 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กราฟิกมึสองแบบ โดยสลับใช้วันต่อวัน แบบที่ 1 ใช้กาฟิกพื้นหลังสีเขียว และแบบที่ 2 ใช้กราฟิกพื้นหลังแบบแสงแฟลช ทั้งสองแบบแสดงสัญล้กษณ์ของสถานี และ ตราสัญลักษณ์กองทัพบก มีข้อความภาษาไทยเขียนว่า \"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" วางไว้ใต้ตราสัญล้กษณ์ - เพลงประกอบใช้เพลง Mechanised Infantry March ต่อด้วย เพลงมาร์ชกองทัพบก 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ใช้ภาพพื้นหลังสีขาว แสดงสัญลักษณ์ของสถานี เพิ่มข้อความสัญลักษณ์ HD (เอชดี) ข้างขวาของโลโก้ และ ตราสัญลักษณ์กองทัพบกแบบ 3 มิติ และขึ้นข้อความภาษาไทยใต้ตราสัญล้กษณ์ว่า \"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" - เพลงประกอบใช้เพลงเดิมที่ใช้ในรูปแบบก่อนหน้านั้น 17 มิถุนายน พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน ใช้ภาพลักษณะเดียวกัน แต่เปลี่ยนรูปแบบเป็นแบบ Bumper คือแสดงสัญลักษณ์ของสถานี เพียงอย่างเดียว เป็นเวลา 5 วินาที", "title": "ช่อง 7 เอชดี" }, { "docid": "43460#17", "text": "นอกจากนี้ ยังทยอยปรับปรุงระบบสายอากาศ ภายในสถานีเครือข่ายโทรทัศน์ทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 สำหรับในส่วนของสถานีเครือข่าย จังหวัดขอนแก่น (ช่อง 7), จังหวัดอุบลราชธานี (ช่อง 6), จังหวัดสุรินทร์ (ช่อง 7), จังหวัดแพร่ (ช่อง 6) และจังหวัดเพชรบูรณ์ (ช่อง 11) ดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2553 สำหรับส่วนกลางที่กรุงเทพมหานคร มีการจัดตั้งสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ ระบบยูเอชเอฟหน่วยย่อยเพิ่มเติม โดยแพร่ภาพทางช่อง 60 เพื่อขจัดปัญหาในการรับสัญญาณ จำนวน 3 แห่งคือ บนอาคารจิวเวอรีเทรดเซ็นเตอร์ ถนนสีลม เขตบางรัก, บนอาคารแฟมิลีคอมเพล็กซ์ สี่แยกสุทธิสาร เขตพญาไท และบนอาคารเอ็มโพเรียม ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย และกำลังดำเนินการจัดตั้ง สถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟสำรอง บนดาดฟ้าชั้น 36 ของอาคารมาลีนนท์ โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ ภายในเดือนเมษายน พ.ศ. 2556", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3" }, { "docid": "141190#95", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส รายนามผู้ประกาศข่าวและผู้รายงานข่าว สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุไทยพีบีเอสออนไลน์ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย", "title": "สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส" }, { "docid": "4801#13", "text": "วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 อ.ส.ม.ท. ร่วมลงนามในสัญญากับสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ<b data-parsoid='{\"dsr\":[13432,13475,3,3]}'>สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. เพื่อขยายเครือข่ายกิจการโทรทัศน์ ไปสู่ส่วนภูมิภาค และหน่วยงานภาครัฐ จัดสรรคลื่นความถี่ส่ง ด้วยระบบวีเอชเอฟ พร้อมอุปกรณ์การออกอากาศ เพื่อจัดตั้งสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ในการกำกับของ อ.ส.ม.ท. แต่ละแห่ง (ระยะหลังจึงขยายไปสู่ระบบยูเอชเอฟ) ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2531-กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เป็นระยะเวลา 3 ปี จึงทำให้ สถานีโทรทัศน์ในการกำกับของ อ.ส.ม.ท. ทั้งสองแห่ง สามารถออกอากาศไปได้ทั่วประเทศ", "title": "เอ็มคอตเอชดี" }, { "docid": "4801#66", "text": "ทั้งนี้ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ส่วนภูมิภาค เป็นหนึ่งในกลุ่มสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินในเครือข่ายท้องถื่นแห่งเดียวของประเทศไทย เริ่มดำเนินการจัดสถานีถ่ายทอดสัญญาณแอนะล็อกและดิจิทัลทั่วประเทศ (รวมไปถึงศูนย์ข่าวจากสำนักข่าวไทย) โดยมีการแพร่ภาพระหว่างออกอากาศในต่างจังหวัดเพิ่มเติมละ 36 สถานี ได้แก่", "title": "เอ็มคอตเอชดี" }, { "docid": "188985#3", "text": "ส่วนการออกอากาศในประเทศไทย เริ่มออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกเป็นสถานีแรก เมื่อช่วงปี พ.ศ. 2542 หลังจากนั้นได้ถูกนำมาออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2545 - 2548 หลังจากนั้นก็ได้นำมาออกอากาศทางช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ในช่วงปี พ.ศ. 2557 - 2558 และล่าสุดได้นำมาออกอากาศทางช่อง 3 แฟมิลี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน แล้วกลับมาอีกครั้ง ออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2015 - ปัจจุบัน", "title": "เทเลทับบีส์" }, { "docid": "59413#36", "text": "รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 7 เอชดี ข่าวช่อง 7 เอชดี 7 สีคอนเสิร์ต บิ๊กซินีม่า มวยไทย 7 สี มิสแกรนด์ไทยแลนด์ ไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ มิสทีนไทยแลนด์ แชมป์กีฬา 7 สี สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เอ็มคอตเอชดี สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส", "title": "ช่อง 7 เอชดี" }, { "docid": "939148#2", "text": "บริษัทเริ่มทำการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทเกมโชว์ นั่นคือรายการ \"\"ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์\"\" ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เป็นรายการแรกภายในปี พ.ศ. 2553 ต่อมาได้ขยายรูปแบบการผลิตรายการโทรทัศน์ และละครโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบและหลากหลายสถานี เพื่อนำเสนอออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่องไทยรัฐทีวี, ช่องทรูโฟร์ยู, ช่องวัน และช่องพีพีทีวี มาโดยตลอดเป็นระยะเวลากว่า 9 ปี โดยมีเนื้อหาและรูปแบบรายการที่หลากหลาย เช่น เกมโชว์, ควิซโชว์, เรียลลิตี้โชว์, เกมโชว์สำหรับเด็กและเยาวชน, ทอล์คโชว์, วาไรตี้โชว์, ละครโทรทัศน์ และละครซิทคอม ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย และยังได้รับรางวัลในหลากหลายสาขาในประเทศ รวมทั้งเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลและได้รับรางวัลต่าง ๆ จากสถาบันต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ เช่น รางวัลเมขลา, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลโทรทัศน์แห่งเอเชีย (เอเชียนเทเลวิชั่นอวอร์ดส์) อีกด้วย", "title": "เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์" }, { "docid": "218073#15", "text": "กันตนา ได้ผลิตรายการโทรทัศน์หลายประเภทเช่น เกมโชว์ ควิซโชว์ ทอล์คโชว์ วาไรตี้โชว์ เรียลลิตี้โชว์ สารคดี วาไรตี้คอเมดี้โชว์ รายการเพลง รายการเด็ก และละคร เป็นจำนวนกว่า 200 รายการ เพื่อนำเสนอออกอากาศผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี(ภายหลังใช้ชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และปัจจุบันคือสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส) และสถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี ปัจจุบันกันตนา กรุ๊ปมีรายการโทรทัศน์และละครที่กำลังออกอากาศอยู่เป็นจำนวน 14 รายการ ออกอากาศทางช่อง 5 HD ช่อง 7 HD ช่อง 3 HD ช่อง 9 MCOT HD ช่อง 3 SD และช่องไทยรัฐทีวี HD (รายการที่กำลังออกอากาศอยู่ เน้น ตัวหนา รายการที่ออกอากาศหรือขายลิขสิทธิ์ในแอปพลิเคชัน LINE TV หรือ iflix เน้น \"ตัวเอียง\")", "title": "กันตนา" }, { "docid": "63610#1", "text": "เมื่อปี พ.ศ. 2511 ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ในขณะนั้น ได้แก่ไทยทีวีช่อง 4 ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) และ ททบ.7 (ปัจจุบันคือ ททบ.5) กับช่อง 7 สี ของกองทัพบก ได้ประชุมร่วมกันและมีมติว่า แต่ละสถานีฯ ควรจะได้รวมตัวกันขึ้น เพื่อปรึกษาหารือ และดำเนินการจัดการในเรื่องต่าง ๆ อันจะเกิดประโยชน์ร่วมกันกับทุกสถานีฯ จึงก่อตั้งองค์กรชื่อว่า \"โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย\" เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีดังกล่าว โดยกำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง ประกอบด้วยผู้อำนวยการของช่องโทรทัศน์ทั้ง 4 เป็นกรรมการ และมอบให้ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่ก่อตั้ง ซึ่งต่อมาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เข้าร่วมเป็นสมาชิกถาวร นับแต่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ต่อมามีช่องโทรทัศน์ เข้าเป็นสมาชิกสมทบคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และไทยพีบีเอส (เดิมคือสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี)", "title": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย" }, { "docid": "63610#0", "text": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 4 ช่องคือ ททบ.5 ช่อง 7 เอชดี ไทยทีวีสีช่อง 3 และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี", "title": "โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย" }, { "docid": "34424#0", "text": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (English: Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2501 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 7 จึงเรียกว่า สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 (ททบ.7) หรือ ช่อง 7 (ขาว-ดำ) ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 5 จึงเรียกว่า สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 (ททบ.5) จนถึงปัจจุบัน มี พลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบก เป็นประธานกรรมการบริหารกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์กองทัพบก และ พลเอก กิตติเชษฐ์ ศรดิษฐพันธ์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่", "title": "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก" }, { "docid": "251257#6", "text": "การส่งกระจายเสียงวิทยุในระบบเอฟเอ็มครั้งแรก ดำเนินการโดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยสังกัดกรมประชาสัมพันธ์เมื่อปี พ.ศ. 2494 ส่วนการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย\"สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4\" ของบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด เมื่อปี พ.ศ. 2498 โดยออกอากาศทางช่อง 4 ระบบขาวดำ และการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์สี ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย\"สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7\" ซึ่งบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด ได้รับสัมปทานจากกองทัพบกไทย เมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยออกอากาศทางช่อง 7 ในย่านความถี่ที่ 3", "title": "วีเอชเอฟ" } ]
1070
พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณเกิดวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "27999#0", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก[1] ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" } ]
[ { "docid": "650127#16", "text": "จำนวนผู้จบปริญญาเอก ในสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ มีจำนวน 22 รายจาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.5 มากกว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 ที่มีจำนวน 16 ราย จาก 220 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.27 มีผู้ที่มียศทหารและตำรวจไทย ทั้งหมด 78 ราย จาก 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 39 ยศกองอาสารักษาดินแดน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 3 ผู้มีตำแหน่งทางวิชาการ 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 7 และเป็นแพทย์ 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.5\n ดร. พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นายกองเอก วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นายกองเอก วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นาย วิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นายกองเอก ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n ดร. สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี\n รองศาสตราจารย์ ดร. สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นาย เสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นายกองเอก อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นาย อลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นายแพทย์ อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร. อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี", "title": "สภาปฏิรูปแห่งชาติ" }, { "docid": "552082#0", "text": "อุปดิศร์ ปาจรียางกูร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อจากพิชัย รัตตกุล ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ถึง 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ในสมัยของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และเป็นเอกอัครราชทูตแห่งราชอาณาจักรไทยประจำสมาพันธรัฐสวิส ต่อจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ถึง พ.ศ. 2516 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล", "title": "อุปดิศร์ ปาจรียางกูร" }, { "docid": "636609#5", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวน 200 คน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ดังต่อไปนี้ \nพลโท ไพโรจน์ ทองมาเอง\nพลเอก ไพโรจน์ พานิชสมัย\nศาสตราจารย์พิเศษภัทรศักดิ์ วรรณแสง\nนายกองเอก ภาณุ อุทัยรัตน์\nพลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล\nนาย มณเฑียร บุญตัน\nนาย มนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด\nนายกองเอก มนุชญ์ วัฒนโกเมร\nพลเอก มารุต ปัชโชตะสิงห์\nพลเอก ยอดยุทธ บุญญาธิการ\nนาย ยุทธนา ทัพเจริญ\nพลเรือเอก ยุทธนา ฟักผลงาม\nพลเอก ยุวนัฏ สุริยกุล ณ อยุธยา\nศาสตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน\nพลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์\nพลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร\nพลเอก วลิต โรจนภักดี\nพลตำรวจเอก ดร. วัชรพล ประสารราชกิจ\nนาย วันชัย ศารทูลทัต\nอาจารย์วัลลภ ตังคณานุรักษ์\nพลเรือเอก วัลลภ เกิดผล\nพลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา\nพลเอก วิชิต ศรีประเสริฐ\nนาย วิทยา ฉายสุวรรณ\nนาย วิทวัส บุญญสถิตย์\nพลตำรวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้\nพลเอก วิลาศ อรุณศรี\nพลเรือโท วีระพันธ์ สุขก้อน\nนาย วีระศักดิ์ ฟูตระกูล\nพลเอก วีรัณ ฉันทศาสตร์โกศล\nรองศาสตราจารย์ วุฒิชัย กปิลกาญจน์\nผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์\nนาย ศรีศักดิ์ ว่องส่งสาร\nนาย ศักดิ์ชัย ธนบุญชัย\nดร. ศักดิ์ทิพย์ ไกรฤกษ์\nนาย ศิระชัย โชติรัตน์\nพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล\nดร. ศิริพล ยอดเมืองเจริญ\nพลอากาศเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ\nพลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ\nพลเอก ศุภกร สงวนชาติศรไกร\nพลเอก สกนธ์ สัจจานิตย์\nพลเอก สกล ชื่นตระกูล\nนาย สถิตย์ สวินทร\nพลเรือโท สนธยา น้อยฉายา\nศาตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว\nศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์\nศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์\nนาย สมชาย แสวงการ\nนาย สมบูรณ์ งามลักษณ์\nดร.สมพร เทพสิทธา\nนาย สมพล เกียรติไพบูลย์\nนาย สมพล พันธุ์มณี\nพลตำรวจเอก ดร. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง\nนาย สมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ\nพลเอก สมหมาย เกาฏีระ\nพลเอก สมเจตน์ บุญถนอม\nพลเอก สมโภชน์ วังแก้ว\nรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรณ บุญใบชัยพฤกษ์\nพลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์\nพลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร\nนาย สาธิต ชาญเชาวน์กุล\nนาย สีมา สีมานันท์\nพลเอก สุชาติ หนองบัว\nพลอากาศเอก สุทธิพันธ์ กฤษณคุปต์\nนาย สุธรรม พันธุศักดิ์\nนาย สุพันธุ์ มงคลสุธี\nรองศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ\nนาย สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย\nพลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์\nพลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์\nพลเอก สุรวัช บุตรวงษ์\nพลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์\nนาง สุวรรณี สิริเวชชะพันธ์\nพลเอก สุวโรจน์ ทิพย์มงคล\nนาง สุวิมล ภูมิสิงหราช\nนาง เสาวณี สุวรรณชีพ\nพลเอก โสภณ ศีลพิพัฒน์\nพลเอก อกนิษฐ์ หมื่นสวัสดิ์\nพลเอก องอาจ พงษ์ศักดิ์\nพลอากาศเอก อดิศักดิ์ กลั่นเสนาะ\nพลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์\nพลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์\nนายกองเอกอนุวัฒน์ เมธีวิบูลวุฒิ\nนาย อนุศาสน์ สุวรรณมงคล\nพลเรือเอก อมรเทพ ณ บางช้าง\nนางสาว อรจิต สิงคาลวณิช\nพลเอก อักษรา เกิดผล\nพลอากาศเอก อาคม กาญจนหิรัญ\nนาย อาคม เติมพิทยาไพสิฐ\nพลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์\nนาย อาศิส พิทักษ์คุมพล \nดร. อำพน กิตติอำพน\nพลโท อำพน ชูประทุม\nพลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย \nพลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์\nนาย อิสระ ว่องกุศลกิจ\nพลเอก อู้ด เบื้องบน\nพลตำรวจเอก เอก อังสนานนท์\nทั้งนี้หลังจากที่มีประกาศแต่งตั้งแล้ว อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรีได้ทำหนังสือแจ้งต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติขอไม่รับตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เนื่องจากจุฬาราชมนตรีเป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของศาสนาอิสลามในประเทศไทยจึงไม่สมควรรับตำแหน่งทางการเมือง และที่ผ่านมายังไม่มีใครทาบทามให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สนช. และได้ยื่นหนังสือลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2557 ในวันเดียวกันนี้ พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ได้ยื่นหนังสือลาออกเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเป็นสมาชิกพรรคชาติไทยพัฒนา วันที่ 4 สิงหาคม 2557 พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย ได้ยื่นหนังสือลาออกต่อเลขาธิการวุฒิสภาทำหน้าที่เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติเนื่องจากขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญเพราะเคยถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557" }, { "docid": "71207#10", "text": "ทันทีที่เครื่องซี 130 เคลื่อนตัว ทหารสองนายในชุดซาฟารีสีน้ำตาลก็กระชากปืนจากเอวควบคุมรปภ. ทั้ง 20 คนเอาไว้ พร้อมๆ กับที่เครื่องบินลดความเร็วลงและ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อยู่ในสภาพถูกควบคุมตัวเรียบร้อย ขณะที่การปฏิบัติการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ทหารบกจำนวนสองพันก็เคลื่อนออกประจำจุดต่างๆ ที่กำหนดไว้ พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ออกจากกองทัพอากาศ สมทบกับ พลเอกสุจินดา คราประยูร พลเรือเอกประพัฒน์ กฤษณจันทร์ ผู้บัญชาการทหารเรือ และ พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดออกแถลงการณ์กับประชาชน", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "27999#23", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อ พ.ศ. 2532[18]", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "50800#5", "text": "ลำดับ (สมัย)รูปรายนามครม. คณะที่เริ่มวาระสิ้นสุดวาระ24พลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์4411 สิงหาคม พ.ศ. 25293 สิงหาคม พ.ศ. 253125 (1)พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ454 สิงหาคม พ.ศ. 253129 มีนาคม พ.ศ. 253326 (1)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ4530 มีนาคม พ.ศ. 253310 มิถุนายน พ.ศ. 253325 (2,3)พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ4521 มิถุนายน พ.ศ. 25339 ธันวาคม พ.ศ. 25334614 ธันวาคม พ.ศ. 253323 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 253427พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์476 มีนาคม พ.ศ. 253422 มีนาคม พ.ศ. 253528พลเอก สุจินดา คราประยูร4817 เมษายน พ.ศ. 253524 พฤษภาคม พ.ศ. 253529พลเอก บรรจบ บุนนาค4918 มิถุนายน พ.ศ. 253523 กันยายน พ.ศ. 253530พลเอก วิจิตร สุขมาก5029 กันยายน พ.ศ. 253513 กรกฎาคม พ.ศ. 253826 (3,4)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ5113 กรกฎาคม พ.ศ. 253824 พฤศจิกายน พ.ศ. 25395229 พฤศจิกายน พ.ศ. 25398 พฤศจิกายน พ.ศ. 254031นาย ชวน หลีกภัย5314 พฤศจิกายน พ.ศ. 25405 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 254426 (5)พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ5417 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25443 ตุลาคม พ.ศ. 2545", "title": "รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย" }, { "docid": "25737#1", "text": "ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เกิดวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรชายคนเดียวของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี และ ท่านผู้หญิง บุญเรือน ชุณหะวัณ นายไกรศักดิ์เคยมีบทบาทเป็นหนึ่งในทีมที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก ซึ่งเป็นทีมที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ", "title": "ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ" }, { "docid": "22364#19", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ ชวลิต ยงใจยุทธ[17]", "title": "ชวลิต ยงใจยุทธ" }, { "docid": "644214#44", "text": "บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก อำนาจ จีระมณีมัย เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง เป็นรักษาการประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นาวาอากาศตรี ประจักษ์ สัจจโสภณ เป็นกรรมการอิสระ พลอากาศโท ประกิต ศกุณสิงห์ เป็นกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ พลตำรวจโท มนู เมฆหมอก เป็นกรรมการอิสระ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด พลเอก สาธิต พิธรัตน์ เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจโท อติเทพ ปัญจมานนท์[45]พลตำรวจตรี สมพงษ์ ชิงดวง[46] เป็นกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง พลอากาศเอก อานนท์ จารยะพันธุ์ และ พลตำรวจโท ไถง ปราศจากศัตรู เป็นกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พลเอก วลิต โรจนภักดี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นายกองโท ชยพล ธิติศักดิ์ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศโท กมลนัย ชัยเฉนียน เป็นกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร. ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พลเอก วราห์ บุญญะสิทธิ์ เป็นกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พลเอก วิวรรธน์ สุชาติ ประธานกรรมการ พลอากาศเอก ยุทธนา สุกุมลจันทร์[47] เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ บริษัท ขนส่ง จำกัด พลตรี สุรพล ตาปนานนท์ ประธานกรรมการบริษัท พลโท พรเลิศ วรสีหะ เป็นกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย พลเรือเอก ชัยณรงค์ เจริญรัตน์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) พลเรือเอก ธนะรัตน์ อุบล และ พันเอก นิมิตต์ สุวรรณรัฐ เป็นกรรมการอิสระ การประปาส่วนภูมิภาค พลตรี พงษ์สวัสดิ์ พรรณจิตต์ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต การประปานครหลวง นายกองเอก ฉัตรชัย พรหมเลิศ เป็นประธานกรรมการ พลอากาศเอก ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ และ พลตรี ปรัชญา เฉลิมวัฒน์ เป็นกรรมการ การยาสูบแห่งประเทศไทย พลโท สุรไกร จัตุมาศ ประธานกรรมการอำนวยการโรงงานยาสูบ สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พลโท อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ประธานกรรมการ พลตำรวจตรี สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข พลตรี ฉลองรัฐ นาคอาทิตย์ พันโท หนุน ศันสนาคม พันตำรวจโท อมร หงษ์ศรีทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พลเอก ถเกิงกานต์ ศรีอำไพ ประธานคณะกรรมการ สถาบันการบินพลเรือน พลอากาศเอก สฤษดิ์พงษ์ โกมุทานนท์ ประธานคณะกรรมการ ร้อยเอก ประยุทธ เสาวคนธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การรถไฟแห่งประเทศไทย นาวาอากาศเอก รองศาสตราจารย์ ดร.ธนากร พีระพันธุ์ เป็นกรรมการ[48] การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์ เป็นกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ และ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข กรรมการอิสระ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ ประธานกรรมการ นาวาอากาศเอก สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ และ พลตรี ดร.สมเกียรติ สัมพันธ์ เป็นกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) พันเอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่และกรรมการบริหาร องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พลเอก ชวลิต ชุนประสาน และ พลโท[49]ไพโรจน์ ทองมาเอง เป็นกรรมการ องค์การคลังสินค้า พลตำรวจตรี ไกรบุญ ทรวดทรง ประธานกรรมการ พันเอก (พิเศษ) ดร. ดิเรก ดีประเสริฐ รองประธานกรรมการ ร้อยตำรวจเอก ดร.สุธรรม เชื้อประกอบกิจ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พลเอก ณัฏฐิพงษ์ เผือกสกนธ์ กรรมการ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ประธานกรรมการ พลเอก ดรัณ ยุทธวงษ์สุข กรรมการและรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ พลตำรวจตรี กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ พลตำรวจตรี อภิชาติ สุริบุญญา ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร พลเรือโท วิพากษ์ น้อยจินดา กรรมการ องค์การสุรา กรมสรรพสามิต พันเอก บุญรอด ศรีสมบัติ กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) พลเอก เทียนชัย รับพร กรรมการอิสระ การเคหะแห่งชาติ พลเอก สุชาติ หนองบัว และ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร เป็นกรรมการ บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด พลเรือเอก พัลลภ ตมิศานนท์ ประธานกรรมการ พลเรือโท สุทธินันท์ สกุลภุชพงษ์ รองประธานกรรมการ พลเรือโท สุชีพ หวังไมตรี พลเรือโท ฐานันดร์ เข็มเพ็ชร พลเรือโท โสภณ วัฒนมงคล พลเรือโท ชุมศักดิ์ นาควิจิตร และ พลเรือตรี วิทยา ละออจันทร์ เป็นกรรมการ นาวาเอก พิชเยนทร์ ตันประเสริฐ เป็นกรรมการผู้จัดการ การกีฬาแห่งประเทศไทย พลเอก ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร เป็นประธานกรรมการ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ‎ เป็นกรรมการ พล.ร.อ.ชัยณรงค์ เจริญรักษ์ เป็นกรรมการ พลเอก อดุลยเดช อินทะพงษ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกีฬา[50] องค์การสะพานปลา พลเรือเอก เริงฤทธิ์ บุญส่งประเสริฐ เป็นกรรมการ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท เป็นกรรมการ องค์การสวนสัตว์ พันเอก ขจรศักดิ์ ไทยประยูร เป็นกรรมการ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พันเอก ประเสริฐ ชูแสง เป็นกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด พลเอก ศิวเกียรติ์ ชเยมะ เป็นประธานกรรมการ เรืออากาศเอก วีระศักดิ์ วิรุฬห์เพชร พลตำรวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา พลตำรวจตรี ดร. สุรเชษฐ์ หักพาล พันเอก พีรวัส พรหมกลัดพะเนาว์ เป็นกรรมการ องค์การตลาด พลตำรวจเอก ชินทัต มีศุข[51]เป็นกรรมการอื่น การยางแห่งประเทศไทย พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการ ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต เป็นกรรมการ องค์การจัดการน้ำเสีย พลอากาศเอก ปรีชัย หาญเจนลักษณ์ เป็นกรรมการ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ พลตรี ณัฏฐพัชร สกุลรังสฤษฏ์ เป็นกรรมการ[52] โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจโท ปิยะ สอนตระกูล เป็นประธานกรรมการ พลตำรวจตรี อนันต์ โตสงวน พลตำรวจตรี เสน่ห์ อรุณพันธุ์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พลตำรวจตรีหญิง ขนิษฐา เที่ยงทัศน์ พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ บุญกลาง เป็นกรรมการ[53] ธนาคารออมสิน พลเอก จิระเดช โมกขะสมิต กรรมการอื่น[54]", "title": "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61" }, { "docid": "129550#8", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองใหญ่ พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ เมื่อ พ.ศ. 2508", "title": "ทวี จุลละทรัพย์" }, { "docid": "34138#8", "text": "หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติในปีเดียวกัน และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2517 ขณะมียศเป็น พลอากาศตรี และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศเป็น พลอากาศโท เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ และได้รับพระราชทานยศ พลอากาศเอก (พล.อ.อ.) เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2523 ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ติดต่อกันนานถึง 10 ปี รวมไปถึงรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ และ เป็นอดีตประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2528", "title": "สิทธิ เศวตศิลา" }, { "docid": "227901#4", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สายหยุด เกิดผล ได้รับพระราชทานยศนายกองเอก เมื่อ พ.ศ. 2505", "title": "สายหยุด เกิดผล" }, { "docid": "142983#2", "text": "การยึดอำนาจกระทำโดยไม่ใช้การเคลื่อนกำลังใด ๆ เพียงแต่มีความเคลื่อนไหวโดยมีตำรวจและทหาร รวมทั้งรถถังเฝ้าประจำการในจุดยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มาตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน จนกระทั่งในเวลาหัวค่ำ ของวันที่ 29 พฤศจิกายน ก็ได้มีการประกาศผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ว่าบัดนี้ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ประกอบด้วย หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ ได้กระทำการยึดอำนาจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อผดุงไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศชาติ จากภัยคอมมิวนิสต์ที่กำลังคุกคามอย่างรุนแรง โดยเรียกตัวเองว่า \"คณะบริหารประเทศชั่วคราว\" และได้ความร่วมมือจากทั้ง 3 กองทัพ และตำรวจ โดยในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 1 คณะบริหารประเทศชั่วคราว แต่งตั้ง นายพลตำรวจโท เผ่า ศรียานนท์เป็นผู้รักษาความสงบภายในทั่วราชอาณาจักร ต่อมา ในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 3 คณะบริหารประเทศชั่วคราว ได้เพิ่ม พลเอก ผิน ชุณหะวัณ พลโท เดช เดชประดิษฐยุทธ พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ให้ดำรงตำแหน่งคณะบริหารประเทศชั่วคราวโดยผลของประกาศดังกล่าวส่งผลให้อำนาจหน้าที่ทั้งหลายทั้งปวงอันเป็นอำนาจบริหารราชการแผ่นดินอยู่ในบังคับบัญชาของ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ พลเอก ผิน ชุณหะวัน พลโท เดช เดชประดิษฐยุทธ พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ \nในประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 คณะบริหารประเทศชั่วคราว แต่งตั้งกรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ จำนวน 15 รายได้แก่ พันเอกหาญ อุดมสรยุทธ ว่าที่พันเอกอัมพร จินตกานนท์ นายพันตำรวจโทชีพ ประพันธ์เนติวุฒิ นายร้อยตำรวจเอกสัมพันธ์ รัญเสวะ พันตรีสุรแสง วิบูลย์เสข พันตรีทองหล่อ วีระโสภณ นายร้อยตำรวจเอกจำเนียร วงศ์ไชยบูรณ์ นายร้อยตำรวจเอกกวี บุษกร นายอิสระ กาญจนะคูหะ นายวิชิต หอมโกศล นายบรรเทอน อมาตยกุล นายประพัฒน์ ชื่นประสิทธิ์ นายชวน คนิษฐ์ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494" }, { "docid": "636609#9", "text": " พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ\n นาย ปรีดี ดาวฉาย\n พลเรือเอก พลเดช เจริญพูล\n พลตรี พัลลภ เฟื่องฟู\n พลเรือโท รัตนะ วงษาโรจน์\n พลเรือเอกลือชัย รุดดิษฐ์\n นายกองเอก วิทยา ผิวผ่อง\n พลตรี วุฒิชัย นาควานิช\n พลตำรวจโท ศานิตย์ มหถาวร\n พลโท ศิริชัย เทศนา\n พลเอก ศุภรัตน์ พัฒนาวิสุทธิ์\n พลเอก สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล\n พลเอก สรรชัย อจลานนท์\n พลตรี สันติพงศ์ ธรรมปิยะ\n นาย สุชาติ ตระกูลเกษมสุข\n พลเรือเอก สุชีพ หวังไมตรี\n พลอากาศเอก สุทธิพงษ์ อินทรียงค์\n พลเอก สุรใจ จิตต์แจ้ง\n พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง\nวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพิ่มเติมอีก 3 คนดังต่อไปนี้ วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561 พลเอก ยุวนัฎ สุริยกุล ณ อยุธยา ได้ยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยให้เหตุผลเรื่องสุขภาพทำให้จำนวนสมาชิกเหลือ 245 คน", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557" }, { "docid": "1849#34", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้รับพระราชทานยศ \"นายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดน\" เป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2528", "title": "เปรม ติณสูลานนท์" }, { "docid": "27997#11", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521[6]", "title": "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์" }, { "docid": "27999#11", "text": "ปี พ.ศ. 2531 ชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับพระราชทานยศทหาร เป็นพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก และ เป็นนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่1 มหาดเล็กรักษาพระองค์[12]", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "50466#3", "text": "เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 คณะนายทหารนำโดย พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี ร่วมด้วยพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นนายทหารที่อาวุโสสูงสุด จึงได้รับที่จะดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะรสช.", "title": "สุนทร คงสมพงษ์" }, { "docid": "737773#4", "text": "วันที่ 1 ตุลาคม 2559 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ พระราชทานยศทหารชั้นนายพล วาระ ตุลาคม 2559 โดยมีสมาชิกได้รับพระราชทานยศ พลเอก 3 รายได้แก่ พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ พลเอก ธงชัย สาระสุข นางสายทิพย์ เชาวลิตถวิล เกษียณอายุราชการ นายสรศักดิ์ เพียรเวช ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ\n ดร.พงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์\n นาย พนม ศรศิลป์\n รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์\n แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์\n รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์\n พลเอก พหล สง่าเนตร\n พลเอก พอพล มณีรินทร์\n พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป\n พลตำรวจตรี พิสิษฐ์ เปาอินทร์\n นาย เพิ่มพงษ์ เชาวลิต\n นาย ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา\n พลเอก ภิญโญ แก้วปลั่ง\n พลเอก ภูดิศ ทัตติยโชติ\n พลอากาศเอก มนัส รูปขจร\n ดร. มนู เลียวไพโรจน์\n นาง มิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์\n นาง เมธินี เทพมณี\n พันตำรวจตรี ยงยุทธ สาระสมบัติ\n พลเรือเอก ยุทธนา เกิดด้วยบุญ\n พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ ภูริเดช\n นาย รังสรรค์ ศรีวรศาสตร์\n พลเอก รัชกฤต กาญจนวัฒน์\n พลตำรวจเอก ดร. เรืองศักดิ์ จริตเอก\n นาย เลิศปัญญา บูรณบัณฑิต\n พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช\n นาย เลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ\n พลตำรวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา\n รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ\n พลเอก วรวิทย์ พรรณสมัย\n นาย วรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา\n พลโท วราห์ บุญญะสิทธิ์\n นางสาว วลัยรัตน์ ศรีอรุณ\n พลเอก วัฒนา สรรพานิช\n พลอากาศเอก วัธน มณีนัย\n นาย วันชัย ศักดิ์อุดมไชย\n นาย วันชัย สอนศิริ\n นาย วัลลภ พริ้งพงษ์\n พลเอก วิชิต ยาทิพย์\n นาย วิเชียร ชวลิต\n พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร\n นาย วิทยา แก้วภราดัย\n รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย ดะห์ลัน\n นาย วิบูลย์ สงวนพงศ์\n นาย วิรัช ชินวินิจกุล\n นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร\n นาย วิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร\n พลเอก วุฒินันท์ ลีลายุทธ\n นาย ไวกูณฑ์ ทองอร่าม\n พลตำรวจเอก ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล\n นาย ศานิตย์ นาคสุขศรี\n นาย ศิริชัย ไม้งาม\n นาย สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์\n พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์\n นาย สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์\n นาย สมชัย เจริญชัยฤทธิ์\n ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สมชัย ฤชุพันธุ์\n นาย สมชาย พฤฒิกัลป์\n พลโท สมชาย ลิ้นประเสริฐ\n ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเดช นิลพันธุ์\n นาย สมพงษ์ สระกวี\n นาง สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์\n พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่\n พลเอก สสิน ทองภักดี (ลาออกเพื่อไปดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)\n รองศาสตราจารย์ ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์\n นาย สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์\n พันเอก สิรวิชญ์ นาคทอง\n นาย สุชน ชาลีเครือ\n พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล\n นาย สุนชัย คำนูณเศรษฐ์\n นาย สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล\n พลเอก สุรเดช เฟื่องเจริญ\n นาย สุรินทร์ จิรวิศิษฎ์\n พลเรือเอก สุรินทร์ เริงอารมณ์\n นาย สุวัฒน์ จิราพันธุ์\n พลตำรวจโท สุวิระ ทรงเมตตา\n นายเสรี สุวรรณภานนท์\n นาย เสรี อติภัทธะ\n นาย อโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์\n พลอากาศเอก อนาวิล ภิรมย์รัตน์\n พลเรือเอก อนุทัย รัตตะรังสี\n นาย อนุสรณ์ จิรพงศ์\n นาย อนุสิษฐ คุณากร\n นาย อภิชาต จงสกุล\n พลเอก อภิชาต เพ็ญกิตติ\n นาย อภินันท์ ซื่อธานุวงศ์\n พลเรือเอก อภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ\n นาง อรมน ทรัพย์ทวีธรรม\n นาย อรุณ จิรชวาลา\n นายอลงกรณ์ พลบุตร\n ศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ศานติศาสน์\n นาย อัครินทร์ เลิศกิจชัยศิริ\n นาย อับดุลฮาลิม มินซาร์\n พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง\n พลตำรวจโท อาจิณ โชติวงศ์\n พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย\n พลตำรวจโท อำนวย นิ่มมะโน\n นาย อำพล จินดาวัฒนะ\n รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย เลาหวิเชียร\n พลเอก เอกชัย จันทร์ศรี", "title": "สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ" }, { "docid": "557347#4", "text": "พันเอก พล ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เมื่อ พ.ศ. 2523 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ครม. 42 และ 45) ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ", "title": "พล เริงประเสริฐวิทย์" }, { "docid": "27999#10", "text": "ปี พ.ศ. 2515 พลเอกชาติชาย เดินทางกลับประเทศไทย เข้ารับตำแหน่ง อธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงสำนักงานปลัดกระทรวง[11] ซึ่งนับเป็นตำแหน่งสุดท้าย ในชีวิตข้าราชการประจำ เนื่องจากในปลายปี พ.ศ. 2515 นี้เอง พลเอกชาติชาย ที่ขณะนั้นยังมียศเป็น พลจัตวาชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ใน คณะรัฐมนตรีคณะที่ 32 ของไทย ที่มี จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี และหลังจากนั้น พลเอกชาติชาย ก็ได้เข้าสู่วงการเมืองอย่างเต็มตัว", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "554438#0", "text": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ชุดปี พ.ศ. 2534 เกิดขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) นำโดย พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ พลเอก สุจินดา คราประยูร พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ และพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535", "title": "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534" }, { "docid": "220875#0", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ณรงค์ ยุทธวงศ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค.44 - ก.ย.45) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2484 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกสรรค์ และนางระเบียบ ยุทธวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบียล และโรงเรียนนายเรือ เข้ารับราชการครั้งแรกเป็นนายทหารประจำเรือและใช้ชีวิตรับราชการในตำ\nแหน่งต่างๆในเรือร่วม 20 ปี ซี่งได้รับการเลื่อนชั้นยศและตำแหน่งตามลำดับ ตำแหน่งสำคัญของการรับราชการ อาทิ ผู้บังคับการเรือหลวงภูเก็ต(ลำเก่า), ผู้บังคับการเรือหลวงประแส, ผู้บังคับการเรือหลวงมกุฎราชกุมาร, ผู้บัญชาการกองเรือฟริเกตที่ 2, ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยได้รับพระราชทานยศในอัตราจอมพล ชั้นยศ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิกุลโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นองครักษ์เวร และตุลาการศาลทหารสูงสุด ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญที่เคยดำรงตำแหน่งหลังเกษียณอายุราชการ คือ ประธานกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)และสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ", "title": "ณรงค์ ยุทธวงศ์" }, { "docid": "27999#14", "text": "ในปี พ.ศ. 2517 พลเอกชาติชาย ได้ร่วมกับ พลตรีประมาณ อดิเรกสาร ผู้มีศักดิ์เป็นพี่เขย และ พลตรีศิริ สิริโยธิน ก่อตั้ง พรรคชาติไทย ขึ้น โดยมี พลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นหัวหน้าพรรค และต่อมาในปี พ.ศ. 2529 พลเอกชาติชายขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคคนที่ 2 สามารถนำพรรคชาติไทย ชนะการเลือกตั้งได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งในปี พ.ศ. 2531 ในชั้นต้นมีการทาบทาม พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ให้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ต่อเป็นสมัยที่ 4 แต่พลเอกเปรมปฏิเสธ และประกาศวางมือทางการเมือง พลเอกชาติชายจึงได้รับการสนับสนุน ให้ดำรงตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี คนที่ 17 ของประเทศไทย", "title": "ชาติชาย ชุณหะวัณ" }, { "docid": "53290#0", "text": "จอมพล พลเรือเอก พลอากาศเอก ผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน", "title": "ผิน ชุณหะวัณ" }, { "docid": "59275#3", "text": "นายทหารผู้ได้รับพระราชทานยศจอมพลคนสุดท้าย คือ จอมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ เมื่อ พ.ศ. 2515 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา ก็ไม่มีการแต่งตั้งยศจอมพลอีกเลย มีเพียงแต่งตั้งยศ พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สามเหล่าทัพ ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย, ปลัดกระทรวงกลาโหม รวมถึงการพระราชทานยศแบบพิเศษ เช่น พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2529 ขณะที่พลเอกเปรมฯ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อ พ.ศ. 2531 ขณะที่พลเอกชาติชาย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม , พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร เมื่อ พ.ศ. 2540 อดีตผู้บัญชาการทหารบก ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ, พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2534 อดีตผู้บัญชาการทหารเรือและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ และ พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2546 อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับพระราชทานยศแบบพิเศษ ในการพระราชทานยศจอมพล จะพระราชทานคทาจอมพล ที่มีลักษณะเป็นรูปครุฑพ่าห์ ด้านล่างของด้ามคทาประดิษฐ์เป็นรูปทรงมัณฑ์ 3 ยอด ประดับด้วยแก้วผลึกสีเขียวสลับแดง ที่ด้ามมีจารึกนามจอมพลพร้อมด้วยวันที่ได้รับพระราชทาน ", "title": "จอมพล (ประเทศไทย)" }, { "docid": "71207#9", "text": "เวลา 11.00 น. พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เดินทางถึงห้องรับรองพร้อมหน่วยรักษาความปลอดภัยประมาณ 20 นาย ก่อนที่จะขึ้นเครื่องบิน ซี 130 ที่จอดพร้อมอยู่แล้ว ซึ่งนายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก นายอนันต์ อนันตกูล เลขาธิการคณะรัฐมนตรีและปลัดกระทรวงมหาดไทยนั่งบริเวณที่นั่งวีไอพี ส่วนหน่วย รปภ. ถูกแยกไปอยู่ตอนท้ายของเครื่อง", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "71207#20", "text": "ไม่เพียงแต่พรรคเอกภาพเท่านั้นที่สูญเสียหัวหน้าพรรค ในส่วนของพรรคชาติไทย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ก็ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคและสมาชิกพรรคชาติไทยเช่นกัน และโดยการดำเนินการทางการเมือง พลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ ผู้อำนวยการการท่าอากาศยานฯ อดีตนายทหารอากาศก็ได้รับเชิญให้ดำรงตำแหน่งแทน ขณะที่พรรคกิจสังคมเปิดตำแหน่งเลขาธิการพรรคให้แก่ พลโทเขษม ไกรสรรณ์ เพื่อนร่วมโรงเรียนอำนวยศิลป์ของ พลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐมนตรีที่ได้รับการปล่อยตัวจากประกาศยึดทรัพย์ก็สมัครเป็นสมาชิกพรรคสามัคคีธรรมโดยพร้อมเพรียง ทั้งนายประมวล สภาวสุ นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์และนายสันติ ชัยวิรัตนะ", "title": "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534" }, { "docid": "32661#36", "text": "พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้รับพระราชทานยศนายกองใหญ่แห่งกองอาสารักษาดินแดนเป็น พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นายกองใหญ่ สุรยุทธ์ จุลานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2550 [28]", "title": "สุรยุทธ์ จุลานนท์" } ]
2453
เกาหลีใช้สกุลเงินอะไร?
[ { "docid": "196447#0", "text": "วอน คือสกุลเงินที่เกาหลีเหนือใช้เป็นสกุลเงินในปัจจุบัน ซึ่ง 1000 วอน เทียบเป็นเงินไทยประมาณ 35 บาท มีธนบัตรเพียง 9 แบบเท่านั้น คือ ธนบัตรใบละ 5 วอน ธนบัตรใบละ 10 วอน ธนบัตรใบละ 50 วอน ธนบัตรใบละ 100 วอน ธนบัตรใบละ 200 วอน ธนบัตรใบละ 500 วอน ธนบัตรใบละ 1000 วอน ธนบัตรใบละ 2000 วอน และ ธนบัตรใบละ 5000 วอนเกาหลีเหนือ เพิ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบธนบัตรแบบใหม่ออกมาใช้ โดย แบงค์ 5000 วอน เริ่มนำออกมาใช้เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 2006 ส่วนธนบัตรใบละ 1000 และ 10000 วอน เริ่มออกมาใช้เมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2007 นี้โดยธนบัตรแบบใหม่จะมีรูปร่างเล็กกว่าของเดิม", "title": "วอน (สกุลเงินเกาหลีเหนือ)" }, { "docid": "53159#1", "text": "วอน (ฮันกึล: 대한민국 원; ฮันจา: 大韓民國 원) (สัญลักษณ์: ₩, ภาษาเกาหลี: 원, won) เป็นสกุลเงินของประเทศเกาหลีใต้ ตัวย่อตามมาตรฐานใน ISO 4217 คือ KRW ธนบัตรของเกาหลีใต้จะมี 4 ชนิดคือ \nเหรียญของเกาหลีใต้จะมี 5 ชนิดคือ", "title": "วอน (สกุลเงินเกาหลีใต้)" } ]
[ { "docid": "17218#18", "text": "สกุลเงินที่ใช้คือโครนาไอซ์แลนด์ (króna – ISK) ออกโดยธนาคารกลางไอซ์แลนด์ ซึ่งทำหน้าที่ดูแลนโยบายการเงินด้วย ค่าเงินโครนามีความผันผวนกับสกุลเงินยูโรสูง จึงทำเกิดความคิดที่จะเปลี่ยนมาใช้เงินยูโรโดยไม่เข้าร่วมกับกลุ่มสหภาพยุโรป จากการสำรวจในปี 2550 พบว่า 53% ของชาวไอซ์แลนด์สนับสนุนการร่วมใช้สกุลเงินยูโร 37% ต่อต้าน และ 10% ไม่ตัดสินใจ ไอซ์แลนด์มีอัตราการใช้จ่ายด้วยเงินสดในประเทศต่ำมาก (น้อยกว่า 1% ของ GDP) และนับได้ว่าเป็นประเทศที่ใช้ปัจจัยอื่นทดแทนเงินสดได้มากที่สุด ประชากรส่วนใหญ่ชำระเงินด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิตแม้จะเป็นเพียงจำนวนเล็กน้อย\nพลังงานทดแทน ได้แก่พลังงานน้ำและพลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นส่วนประกอบถึงมากกว่า 70% ของการบริโภคพลังงานของไอซ์แลนด์", "title": "ประเทศไอซ์แลนด์" }, { "docid": "5410#3", "text": "เงินยูโรยังสามารถใช้ในการชำระหนี้ในอาณาเขตนอกสหภาพยุโรปบางแห่ง ได้แก่ ประเทศโมนาโก ประเทศซานมารีโน และนครรัฐวาติกัน ซึ่งเคยใช้ฟรังก์ฝรั่งเศสหรือลีราอิตาลีเป็นสกุลเงินทางการ ตอนนี้ได้เปลี่ยนมาใช้สกุลยูโรแทนและได้รับสิทธิ์ในการผลิตเหรียญในสกุลยูโรในจำนวนเงินน้อย ๆ แม้ว่าประเทศเหล่านี้จะไม่ได้เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปก็ตาม", "title": "ยูโร" }, { "docid": "39196#1", "text": "ในหลายประเทศสกุลเงินสามารถมีชื่อเดียวกันได้ เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ดอลลาร์ฮ่องกง และดอลลาร์แคนาดา และในหลายประเทศใช้สกุลเงินเดียวกัน เช่นในประเทศแถบยุโรปหลายประเทศใช้สกุลเงินยูโร และในบางประเทศใช้หน่วยเงินของประเทศอื่นเป็นเกณฑ์เช่นประเทศปานามา และ ประเทศเอลซัลวาดอร์ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ", "title": "สกุลเงินตรา" }, { "docid": "264185#1", "text": "ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 สกุลเงินที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในกว้างขวางในอินเดียตะวันออกคือดอลลาร์​สเปน ซึ่งมาจากทั้งสเปนและอาณานิคมของสเปนในทวีปอเมริกา ส่วนสกุลเงินที่ผลิตในท้องถิ่นก็มีอยู่บ้าง ได้แก่ กปิงกลันตัน กปิงตรังกานู และดอลลาร์ปีนัง", "title": "ดอลลาร์ช่องแคบ" }, { "docid": "816948#0", "text": "ครูนาสวีเดน (; พหูพจน์: \"kronor\"; สัญลักษณ์: kr; รหัส: SEK) เป็นเงินตราของประเทศสวีเดนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1973 โดยมีทั้งรหัสมาตรฐาน ISO คือ \"SEK\" และเครื่องหมายสกุลเงิน คือ \"kr\" ในการใช้งานทั่วไป ในอดีตสกุลเงินนี้มีค่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งบางครั้งมีการเรียกสกุลเงินนี้เป็น สวีดิชคราวน์ (Swedish crown) ในภาษาอังกฤษ โดยคำว่า \"ครูนา\" แท้ที่จริงนั้นหมายถึงมงกุฎในภาษาสวีเดนนั่นเอง ครูนาสวีเดนเป็นสกุลเงินที่มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนมากที่สุดในอันดับที่ 11 ของโลก จากการประเมินค่าในเดือนเมษายน ค.ศ. 2013", "title": "ครูนาสวีเดน" }, { "docid": "5557#0", "text": "เยน (ญี่ปุ่น: 円, สัญลักษณ์ ¥, รหัส ISO 4217 JPY) เป็นสกุลเงินของประเทศญี่ปุ่น มีหน่วย่อยคือ cen =1/100เยน และ rin 1/10cen(ในปัจจุบันได้ยกเลิกแล้ว) โดยมีการใช้กันอย่างกว้างขวางทั่วโลก โดยนิยมเก็บเป็นเงินสำรอง รองลงมาจาก ดอลลาร์สหรัฐ และ เงินยูโร คำว่าเยน ภาษาญี่ปุ่นจะอ่านออกเสียงว่า เอน อย่างไรก็ตามการอ่านออกเสียง เยน ถือเป็นชื่อมาตรฐานใช้กันทั่วโลก สัญลักษณ์ลาตินคือ ¥ ในขณะที่คนญี่ปุ่นจะนิยมเขียนเป็นตัวอักษรคันจิว่า 円", "title": "เยน" }, { "docid": "399537#16", "text": "แต่การกระทำใดๆ ไร้ผล ที่สุดแล้วรัฐบาลซิมบับเว ประกาศยกเลิกการใช้เงินสกุลดอลลาร์ซิมบับเวในประเทศและยอมรับการใช้เงินสกุลอื่นในประเทศอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 เมษายน 2552 โดยกล่าวว่า จะหยุดใช้เงินสกุลนี้ไปอย่างน้อยหนึ่งปี จนกว่าประเทศจะพร้อมกลับไปใช้เงินสกุลนี้อีกครั้ง เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจเยียวยาตัวมันเอง นับจากวันนั้น ภาวะเงินเฟ้อในซิมบับเวลดลงสู่ระดับเกือบปกติในทันที และไม่เคยพุ่งสูงอีกเลย และจนถึงปัจจุบัน รัฐบาลเลิกใช้เงินสกุลนี้มีแล้วหลายปี แต่ก็ยังไม่ได้ให้ประเทศกลับไปใช้เงินสกุลนี้แต่อย่างใด", "title": "ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในประเทศซิมบับเว" }, { "docid": "974481#16", "text": "กระเป๋าเงินสกุลเงินดิจิทัล ทำหน้าที่จัดเก็บคีย์สาธารณะและคีย์ส่วนตัวที่สามารถนำมาใช้เพื่อรับและใช้จ่ายสกุลเงินดิจิทัลได้ โดยกระเป๋าเงินสามารถจัดเก็บคู่คีย์สาธารณะและส่วนตัวได้หลายคู่ ณ เดือนมกราคม 2018 มีสกุลเงินดิจิทัลมากกว่าหนึ่งพันสามร้อยสกุลเงิน โดยสกุลเงินแรกและเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ บิทคอยน์ ในส่วนของสกุลเงินดิจิทัลเองไม่ได้เป็นกระเป๋าเงิน หากบิทคอยน์และสกุลเงินดิจิทัลมาจากกระเป๋าเงิน ถือว่าสกุลเงินดิจิทัลถูกจัดเก็บและรักษาโดยขึ้นกับส่วนกลางในบัญชีแยกประเภทที่เปิดเป็นสาธารณะ ทุกๆ สกุลเงินดิจิทัลมีคีย์ส่วนตัว ด้วยคีย์แยกประเภท มันสามารถเขียนบัญชีแยกประเภทได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้บิทคอยน์ที่เกี่ยวข้อง", "title": "คูโนส" } ]
1620
กองพิสูจน์หลักฐาน สังกัดหน่วยงานใด?
[ { "docid": "647907#0", "text": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ (Office of Police Forensic Science) หน่วยงานระดับกองบัญชาการ ส่วนงานสนับสนุนป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยเป็นที่รู้จักในชื่อ กองพิสูจน์หลักฐาน , สำนักงานวิทยาการตำรวจ มีภารกิจในการสนับสนุนงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยใช้วิทยาการสมัยใหม่ในการตรวจหาและเพิ่มน้ำหนักพยานหลักฐานในทางคดีให้มีประสิทธิภาพ", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" } ]
[ { "docid": "156242#6", "text": "การแยกหน่วยงานทางด้านการพิสูจน์วัตถุพยานและหลักฐาน รวมทั้งงานทางด้านการตรวจพิสูจน์ค้นคว้าในด้านวัตถุบุคคลออกจากกัน เป็นการปรับปรุงและขยายขอบเขตของหน่วยงานทั้งสองให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ดังนั้นกองพิสูจน์หลักฐานและกองทะเบียนประวัติอาชญากร จึงถือกำเนิดขึ้นเป็นหน่วยงานระดับกองบังคับการ โดยขึ้นตรงต่อกองบัญชาการสอบสวนกลาง ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา", "title": "กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ" }, { "docid": "647907#3", "text": "กองกำกับการ 1 สืบสวนปราบปรามโจรผู้ร้าย กองกำกับการ 2 สืบสวนราชการพิเศษ กองกำกับการ 3 เทคนิคตำรวจ แบ่งเป็น 5 แผนกคือ แผนกทะเบียนพิมพ์ลายนิ้วมือ , แผนกบันทึกแผนประทุษกรรม , แผนกพิสูจน์หลักฐาน , แผนกบัญชีโจรผู้ร้าย , แผนกเนรเทศ และในปี พ.ศ. 2480 เพิ่มแผนกที่ 6 ทะเบียนต่างด้าว และไปอยู่ในสังกัดอื่น เมื่อ พ.ศ. 2484 กองกำกับการ 4 ทะเบียนตำรวจ", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#5", "text": "ในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 กองวิทยาการได้ถือกำเนิดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมตำรวจในกระทรวงมหาดไทย [2] โดยมีฐานะเป็นกองบังคับการ สังกัดกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ได้มีการปรับปรุงหน่วยงานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยมีการยุบ \"กองพิเศษ\" ไปรวมกับ \"กองวิทยาการ\" ที่ตั้งขึ้นใหม่ เพื่อต้องการให้ดำเนินงานทางด้าน พิสูจน์วัตถุพยาน ซึ่งเป็นงานของกองพิสูจน์หลักฐาน และการตรวจพิสูจน์ค้นคว้าตัวบุคคล ซึ่งเป็นงานของกองทะเบียนประวัติอาชญากร กองวิทยาการ แบ่งออกเป็น 3 กองกำกับการ คือ", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "249943#17", "text": "หลังจากนั้นเป็นต้นมา (ยังไม่มีหลักฐานว่าได้รับพระราชทานธงชัยประจำกองตำรวจหลังจากนั้นอีกเมื่อใด) ได้ปรากฏว่า ในการสวนสนามถวายสัตย์ปฏิญาณตนของเหล่าข้าราชการตำรวจ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ ได้เชิญธงชัยประจำกองของหน่วยตำรวจมากระทำพิธี เป็นจำนวนทั้งสิ้น 13 ธง ดังนี้ทั้งนี้ การปฏิบัติในการเชิญธง การทำความเคารพ และพิธีการอื่นๆเกี่ยวกับธงชัยประจำหน่วยตำรวจนั้น มีวิธีการปฏิบัติเช่นเดียวกับธงชัยเฉลิมพลของหน่วยทหารทุกประการ ", "title": "ธงชัยประจำหน่วยตำรวจ" }, { "docid": "335906#33", "text": "(๑) กองบัญชาการตำรวจนครบาล (๒) - (๑๐) ตำรวจภูธรภาค ๑ – ๙ (๑๑) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (๑๒) กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (๑๓) กองบัญชาการตำรวจสันติบาล (๑๔) สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (๑๕) กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (๑๖) กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว (๑๗) สำนักงานนายตำรวจราชสำนักประจำ (๑๘) สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ (๑๙) สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (๒๐) กองบัญชาการศึกษา (๒๑) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (๒๒) โรงพยาบาลตำรวจ หมายเหตุ ปัจจุบันศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ถูกยุบเนื่องจากไม่มีความจำเป็นและได้ยกฐานะกองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวเป็นกองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยวแทนที่ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560", "title": "ตำรวจไทย" }, { "docid": "24746#9", "text": "กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว (บช.ทท.) กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.) กองบัญชาการตำรวจสันติบาล (บช.ส.) สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (สตม.) กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ (สพฐ.) สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สทส.)", "title": "สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)" }, { "docid": "156283#1", "text": "กองทะเบียนประวัติอาชญากร เป็นหน่วยงานหนึ่งของ สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ ขึ้นตรงต่อสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2475 แต่เดิมกองทะเบียนประวัติอาชญากรเป็นหน่วยงานทางด้านงานวิทยการตำรวจ ร่วมกับกองพิสูจน์หลักฐานหรือสำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจในปัจจุบัน มีสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงกับกองบัญชาการตำรวจภูธร ทำให้มีปัญหาในหลาย ๆ ด้านของการปฏิบัติงาน เช่น การสรรหาบุคลากรเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร และการรักษาไว้ซึ่งจำนวนบุคลากรที่ขาดแคลน เนื่องจากการปฏิบัติงานทางด้านวิทยาการตำรวจ เป็นการปฏิบัติงานที่ขาดทั้งขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าในด้านหน้าที่การงานในชีวิตข้าราชการตำรวจ", "title": "กองทะเบียนประวัติอาชญากร" }, { "docid": "647907#7", "text": "กองวิทยาการ ได้ถูกยุบเลิก [3] หลังจากดำเนินงานมา 7 ปี 4 เดือน 16 วัน โดยปรับปรุงใหม่และจัดตั้งเป็น กองพิสูจน์หลักฐาน และยกระดับ กองกำกับการ 3 ในกองวิทยาการ ขึ้นเป็นระดับกองบังคับการ โดยใช้ชื่อว่า กองทะเบียนประวัติอาชญากร", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#15", "text": "ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 1 สำนักงานกลาง จังหวัดปทุมธานี พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดปทุมธานี, นนทบุรี, พระนครศรีอยุธยา, สระบุรี, ลพบุรี, อ่างทอง, สิงห์บุรี, ชัยนาท และสมุทรปราการ ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 2 สำนักงานกลาง จังหวัดชลบุรี พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด, สระแก้ว, ปราจีนบุรี, นครนายก และฉะเชิงเทรา ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 3 สำนักงานกลาง จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดนครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์, สุรินทร์, ศรีสะเกษ, อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ และยโสธร ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 4 สำนักงานกลาง จังหวัดขอนแก่น พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดขอนแก่น, เลย, หนองบัวลำภู, อุดรธานี, หนองคาย, บึงกาฬ, สกลนคร, นครพนม, มุกดาหาร, กาฬสินธุ์, ร้อยเอ็ด และมหาสารคาม ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 5 สำนักงานกลาง จังหวัดลำปาง พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดลำปาง, ลำพูน, เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, เชียงราย, พะเยา, น่าน และแพร่ ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 6 สำนักงานกลาง จังหวัดพิษณุโลก พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดพิษณุโลก, เพชรบูรณ์, พิจิตร, นครสวรรค์, อุทัยธานี, ตาก, กำแพงเพชร, สุโขทัย และอุตรดิตถ์ ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 7 สำนักงานกลาง จังหวัดนครปฐม พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดนครปฐม, สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, ราชบุรี, สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 8 สำนักงานกลาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ชุมพร, ระนอง, พังงา, ภูเก็ต, กระบี่ และนครศรีธรรมราช ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 9 สำนักงานกลาง จังหวัดสงขลา พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดสงขลา, สตูล, ตรัง และพัทลุง ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 10 สำนักงานกลาง จังหวัดยะลา พื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดยะลา, นราธิวาส และปัตตานี", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#12", "text": "สำนักงานวิทยาการตำรวจได้รับการปรับปรุงหน่วยงานใหม่อีกครั้งหนึ่งเพื่อรองรับวิทยาการที่ก้าวหน้ามากขึ้น โดยเปลี่ยนชื่อจาก สำนักงานวิทยาการตำรวจ เป็น สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ ในช่วงแรก ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2548 [6] โดยยังคงการแบ่งส่วนราชการภายในกองบัญชาการไว้เช่นเดิม จนกระทั่งวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552 สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ ตามพระราชกฤษฎีการแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2552 [7] และแบ่งส่วนราชการภายในกองบัญชาการในส่วนกลางดังต่อไปนี้", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "156242#3", "text": "สำหรับกองที่สาม มีระเบียบงานที่แตกต่างกันออกไปจากกองที่หนึ่ง และกองที่สอง กล่าวคือ \"...กองที่สาม จัดตั้งขึ้นเพื่อสำหรับเป็นกองวิทยาการตำรวจ ซึ่งต้องให้ผู้ที่มีความรู้พิเศษ เช่น การตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือของผู้ต้องหา หรือผู้ที่สมัครเข้ารับราชการ ว่าเคยมีประวัติต้องโทษมาก่อนหรือไม่ มีหน้าที่ในการบันทึกประวัติของผู้กระทำความผิดในคดีต่าง ๆ ตรวจทั้งการตรวจพิสูจน์ของกลางที่ยืดได้ในที่เกิดเหตุ ออกรูปพรรณสัณฐานของของที่สูญหาย รวมทั้งการออกประกาศสืบจับผู้ต้องหาที่หลบหนีคดีอาญา...\" ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า กองที่สาม ของตำรวจสันติบาลในสมัยนั้นคือจุดเริ่มต้นของกองทะเบียนประวัติอาชญากรและกองพิสูจน์หลักฐาน", "title": "กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ" }, { "docid": "647907#10", "text": "ในปีพ.ศ. 2523 ในสมัยของ พลตำรวจเอก มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ได้ไปตรวจราชการในส่วนภูมิภาค ได้พบว่างานด้านวิทยาการขาดประสิทธิภาพ จึงได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงวิทยาการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของหน่วยงานวิทยาการในส่วนภูมิภาคให้สามารถปฏิบัติ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเนื่องจากลักษณะงานของวิทยาการอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย วิทยาการตำรวจในส่วนกลาง คือ กองทะเบียนประวัติอาชญากร และกองพิสูจน์หลักฐาน มีสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงกับกองบัญชาการตำรวจภูธร อันเป็นปัญหาทั้งทางด้านการสรรหาคนเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร การรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่จะปฏิบัติงาน เนื่องมาจากการขาดขวัญและกำลังใจ ความก้าวหน้าในชีวิตราชการต่ำอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับระบบการบริหารงานบุคคล และองค์การโดยตรง จึงได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง โดยรวมเอาหน่วยงานวิทยาการตำรวจในส่วนกลางและภูมิภาคไว้ด้วยกัน จัดตั้งเป็น \"สำนักงานวิทยาการตำรวจ\" ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2535 [4] [5] โดยแบ่งส่วนราชการเป็น 7 กองบังคับการ ดังนี้ [1]", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#4", "text": "ในปี พ.ศ. 2484 จึงได้มีการปรับปรุงและขยายงานของกรมตำรวจโดยจัดตั้ง กองสอบสวนกลาง พร้อมทั้งแยกงานทางด้านวิทยาการจากกองตำรวจสันติบาลมาขึ้นตรงต่อกองสอบสวน กลาง ในปี พ.ศ. 2489 เปลี่ยนชื่อจากกองสอบสวนกลางเป็น กองตำรวจสอบสวนกลาง และในปี พ.ศ. 2491 กิจการของกองตำรวจสอบสวนกลางได้เจริญรุดหน้า จึงยกฐานนะขึ้นเป็นกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง และในกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางนั้น มีกองกำกับการหรือเรียกว่า \"กองพิเศษ\" [1]", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "156242#7", "text": "ในสมัยของ พล.ต.ต.มนต์ชัย พันธ์คงชื่น ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมราชการในส่วนภูมิภาค และได้พบเห็นการทำงานทางด้านวิทยาการของข้าราชการตำรวจ พบว่าขาดประสิทธิภาพในการทำงาน จึงได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงวิทยาการ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจ และเนื่องจากลักษณะการทำงานทางด้านวิทยาการมีการอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย ไม่ขึ้นตรงต่อหน่วยงานใด เช่น วิทยาการตำรวนใจส่วนกลางคือกองทะเบียนประวัติอาชญากรและกองพิสูจน์หลักฐาน มีสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อกองบัญชาการตำรวจภูธร เป็นต้น จึงได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงาน โดยรวบรวมเอาหน่วยงานการตำรวจในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้าไว้ด้วยกัน และจัดตั้งเป็น \"สำนักงานวิทยาการ\" ขึ้น โดยแบ่งส่วนราชการออกเป็น 7 กองบังคับการ ดังนี้", "title": "กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ" }, { "docid": "309679#0", "text": "อากาศยานทั้งเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์จะอยู่ในสังกัดของกองการบินทหารเรือ (กบร.) ที่ขึ้นตรงกับกองเรือยุทธการ (กร.) ซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยเตรียมกำลังเช่นเดียวกับกองเรือต่างๆ ในสังกัด กร. ใน กบร. แบ่งเป็นหน่วยขนาดกองบิน (wing) ได้ 3 กองบิน คือ กองบิน 1 ถึง 3 แต่กองบินที่ 3 ซึ่งเป็นกองบินประจำเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ จะเรียกว่า หน่วยบิน ร.ล.จักรีนฤเบศร แทน ทั้งนี้ในแต่ละกองบินจะแบ่งเป็นฝูงบิน (squadron) ต่างๆ ย่อยลงไปอีก และเป็นการจัดหน่วยในลักษณะ type organization คือ อากาศยานในฝูงบินเดียวกันจะเป็นรุ่นเดียวกัน ขนาดหรือสมรรถนะใกล้เคียงกัน หรือมีภารกิจคล้ายกัน อากาศยานใน กบร. ทำหน้าที่สนับสนุนหน่วยรบต่างๆ ของ ทร. ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยในสังกัดของ กร. เอง คือ กองเรือผิวน้ำ และหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ (นสร.) หรือหน่วยนอกสังกัด กร. คือ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.) และหน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) โดยในการปฏิบัติภารกิจจริง อากาศยานจาก กบร. จะขึ้นตรงกับหน่วยเฉพาะกิจของทัพเรือภาคที่ 1 ถึง 3 หรือของกองทัพเรือ ซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยใช้กำลัง และมีการจัดหน่วยในลักษณะ task organization เช่นเดียวกันกับเรือจากกองเรือต่างๆ", "title": "อากาศยานในประจำการของกองทัพเรือไทย" }, { "docid": "647907#8", "text": "กองพิสูจน์หลักฐาน และ กองทะเบียนประวัติอาชญากร เกิดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2503 [3] โดยยุบเลิกกองวิทยาการ และแยกงานด้านการพิสูจน์วัตถุพยาน และงานตรวจสอบพิสูจน์ค้นคว้าในด้านดัวบุคคลออกจากกัน และได้มีการปรับปรุงหน่วยงานทั้งสองให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยยังคงสังกัดอยู่ภายในกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางเช่นเดิม", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "156242#0", "text": "กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ เป็นหน่วยงานในสังกัด สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับงานทางด้านธุรการ งานทางด้านเอกสารสารบรรณ งานประชาสัมพันธ์ รวมถึงงานด้านการช่วยอำนวยการและงานด้านเลขานุการของสำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ", "title": "กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ" }, { "docid": "159409#0", "text": "สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (; ย่อ: CIFS) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีบทบาทหน้าที่ในด้านนิติวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นการตรวจพิสูจน์หลักฐานด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์เพื่อประกอบการดำเนินคดี รวมถึงการกำกับมาตรฐานการปฏิบัติงานให้อยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน", "title": "สถาบันนิติวิทยาศาสตร์" }, { "docid": "647907#1", "text": "งานวิทยาการตำรวจ เริ่มมีความเป็นมาตั้งแต่ปี 2475 โดยมีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้จัดวางโครงสร้างตำรวจขึ้นใหม่โดยเปลี่ยนชื่อจาก กรมตำรวจภูธร เป็น กรมตำรวจ และให้เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยจัดแบ่งแผนงานโดยย่อยออกไปตามสมควรแก่รูปการ และในปีเดียวกัน พระยาจ่าเสนาบดีศรีบริบาล รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ได้จัดแบ่งแผนงานในกรมตำรวจสำหรับตำรวจสันติบาลโดยให้รวบรวมกรมตำรวจภูธร ตำรวจกองพิเศษ กับตำรวจภูธรกลางเป็นตำรวจสันติบาล มีหัวหน้าเป็นผู้บังคับการ 1 นาย แบ่งเป็นกองที่ 1 ,กองที่ 2, กองที่ 3 และกองตำรวจแผนกสรรพากร สำหรับกองที่ 3 มีระเบียนงานดังนี้ กองนี้เป็นกองวิทยาการตำรวจซึ่งต้องให้ผู้มีความรู้พิเศษ เช่น การตรวจพิสูจน์ลายมือของผู้ต้องหาหรือผู้ที่สมัครเข้ารับราชการว่าเคยต้อง โทษมาแล้วหรือไม่ บันทึกประวัติของผู้กระทำความผิด การตรวจของกลางต่างๆออกรูปพรรณของหายและออกประกาศสืบจับผู้ร้ายซึ่งหลบคดี อาญา จึงสรุปได้ว่ากองที่ 3 ของตำรวจสันติบาลในสมัยนั้น คือ จุดกำเนิดของ กองทะเบียนประวัติอาชญากรและกองพิสูจน์หลักฐาน", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#13", "text": "กองบังคับการอำนวยการ สถาบันฝึกอบรมและวิจัยนิติวิทยาศาสตร์ กองทะเบียนประวัติอาชญากร กองพิสูจน์หลักฐานกลาง", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "647907#11", "text": "กองบังคับการอำนวยการ กองพิสูจน์หลักฐาน กองทะเบียนประวัติอาชญากร กองวิทยาการภาค 1 กองวิทยาการภาค 2 กองวิทยาการภาค 3 กองวิทยาการภาค 4", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "146298#12", "text": "ผู้กองมานะได้หลักฐานก็คือไพ่ควีนโพธิ์แดงที่ด้านหลังเป็นรูป CJ จากเสื้อผ้าดร.คิว กับสงสัยคำพูดของดร.คิวกับเสือคิดที่ทำงานให้องค์กรปริศนา จึงไปสืบจากหมู่บ้านแห่งหนึ่ง เพราะมีหลักฐานจากศพก่อนตายเป็นคำว่า CJ จนสงสัยพงศกรเกี่ยวข้องด้วย แต่ถูกพงศกรก็จับได้ พวกตำรวจตามไปสืบอีกที พบว่าพงศกรหวังฆ่าปิดปาก จนถูกหมวดรันฆ่าตาย แต่ก่อนตายขังผู้กองมานะกับหมวดรันไว้ในห้องลับกับมีระเบิดเวลา พวกผู้กองสมาร์ทตามาช่วยแต่หาทางปลดชนวนไม่ได้ แล้วก็พบไพ่ CJ จากศพ ผู้กองมานะบอกให้ทุกคนหนีออกไป กับบอกรักหมวดรัน กับสงสัยว่าทำไมระเบิดมันไม่ระเบิด จนรู้ว่าผู้กองสมาร์ทถีบศพพงศกรไปโดนนาฬิกาที่เป็นรีโมทระเบิดพัง จึงรอดตาย จากนั้นหมวดรันหนีความรู้สึก กับบอกว่าแค่เป็นเพื่อนกัน หมวดไนซ์จากหน่วยพิเศษมาร่วมทำคดี CJ สนิทกับผู้กองมานะ หมวดรันพอคิดได้จะไปบอกชอบผู้กองมานะ แต่ช้าไป จึงลาออกไป พอหมวดรันกลับมา โดยพิสูจน์ตัวเองโดยทำคดีแก้ต่างให้อาวุธพ้นผิด กับบอกผู้กองมานะว่าหมวดไนซ์เป็นพวก CJ กับนำหลักฐานมาแฉแต่มีไม่พอ กับผู้กองมานะถูกจับตัวไปหา 4 คิงกับถูกชวนเข้าองค์กร ผู้กองมานะไม่ยอมจึงถูกหมวดไนซ์ฆ่าตาย 4 คิงเผยตัวคือ 4 เอสไม่มีตัวตน หน่วยพิเศษมาทำลายฐาน กับพวกหมวดรันตามมาก่อเรื่อง หมวดไนซ์พา 4 คิงหนี ทั้ง 5 คน แตกคอกันเอง จนพวกตำรวจมาล้อม ผู้กองมานะก็เฉลยว่าหมวดไนซ์นั้นคืออีลูกบุญธรรมเนรคุณที่ไปเป็นตำรวจแฝงตัวใน CJ เพื่อกตัญญูให้พ่อแท้ๆของตน 4 คิงฆ่าตัวตาย ในปาร์ตี้เลี้ยงส่งหมวดไนซ์ หมวดรันก่อเรื่องทำตัวเองหน้าแตก พอหมวดไนซ์ที่ทรพีพ่อเลี้ยงก็ดีใจที่พ่อเลี้ยงตายกับจากไปก็ถูกลูกน้องของ 4 เอสฆ่าตาย แต่ทาง 4 เอสก็ปรากฏด้วยรอยสักรูปไพ่ 4 เอสที่แขนซ้าย", "title": "ผู้กองเจ้าเสน่ห์" }, { "docid": "647907#14", "text": "ในส่วนภูมิภาคได้ยุบเลิกกองวิทยาการภาคทั้งหมด และยกฐานะกองกำกับการวิทยาการเขตต่าง ๆ ให้ขึ้นมาเป็นหน่วยงานระดับกองบังคับการ และเรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ ทั่วภูมิภาค ได้แก่", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" }, { "docid": "209713#3", "text": "เดือนสิงหาคม ๒๔๖๓ ได้มีการยกฐานะ กรมพาณิชย์และสถิติพยากรณ์ ขึ้นเป็น \"กระทรวงพาณิชย์\" งานสถิติที่สังกัดอยู่ในกระทรวงนี้มีฐานะเป็นกรม และมีชื่อว่า \"กรมสถิติ พยากรณ์สาธารณะ\" ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ๒๔๖๔ ได้โอนกรมสถิติพยากรณ์สาธารณะ มาสังกัดกรมบัญชาการ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มีชาวต่างประเทศเป็นหัวหน้าหน่วยงาน โดยมีหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ และพิมพ์รายงานประจำปีออกเผยแพร่ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ หัวหน้าหน่วยงานซึ่งเป็นชาวต่างประเทศ ได้เดินทางกลับไป หม่อมเจ้าอธิพรพงศ์ เกษมศรี ทรงเข้ารับหน้าที่เป็นหัวหน้าหน่วยงานแทน และเมื่อทรงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งปลัดกรม ในเดือนพฤษภาคม ๒๔๗๖ ได้มีการโอน กรมสถิติพยากรณ์สาธารณะ ไปสังกัดอยู่กับกรมพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ และลดฐานะเป็น \"กองสถิติพยากรณ์\" โดยมีหม่อมเจ้าอธิพรพงศ์ เกษมศรี ทรงดำรงตำแหน่งหัวหน้ากอง และได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"กองประมวลสถิติพยากรณ์\" เมื่อเดือนตุลาคม ๒๔๗๘ จากนั้น ได้ย้ายมาสังกัดกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โดยหม่อมเจ้าอธิพรพงศ์ เกษมศรี ทรงดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองเช่นเดิม โดยทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง สำหรับการให้บริการข้อมูลสถิติ", "title": "สำนักงานสถิติแห่งชาติ" }, { "docid": "97673#0", "text": "การจัดกำลังทางเรือของกองทัพเรือไทย เรือเกือบทั้งหมดจะสังกัดกองเรือต่างๆ จำนวน 8 กองเรือ และขึ้นตรงกับกองเรือยุทธการ (กร.) ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยเตรียมกำลัง (ดูแลรักษาซ่อมบำรุงเรือและทำการฝึกกำลังพลประจำเรือให้อยู่ในสภาพพร้อมรบ) โดยเป็นการจัดในลักษณะของการจัดตามประเภทของเรือ (type organization) แต่ในการปฏิบัติภารกิจจริง เรือจากกองเรือต่างๆ จะได้รับการจัดรวมกันตามประเภทของภารกิจ (task organization) ขึ้นตรงกับทัพเรือภาคที่ 1 ถึง 3 (ทรภ.1 ถึง 3) ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยใช้กำลัง ในลักษณะหน่วยเฉพาะกิจ เช่น หมวดเรือลาดตระเวนชายแดน (มชด.) สังกัด ทรภ.1 ที่ประกอบด้วยเรือเร็วโจมตี เรือตรวจการณ์ปืน เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง หรือเรือจากกองเรือต่างๆ อาจขึ้นตรงกับหน่วยเฉพาะกิจต่างๆ ของกองทัพเรือโดยตรง เช่น หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำน้ำโขง (นรข.) หรือหมู่เรือรักษาการณ์วังไกลกังวล (มรก.) นอกจากนี้ใน กร. เองยังมีเรือที่ไม่ได้ขึ้นกับกองเรือทั้ง 8 กองเรือ แต่อยู่ในสังกัดของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ (นสร.) จำนวนหนึ่ง คือ เรือตรวจการณ์ชายฝั่งและเรือปฏิบัติการพิเศษ สำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานของกำลังพลนักทำลายใต้น้ำจู่โจม (SEAL) สำหรับเรืออื่นๆ คือ เรือสำรวจและเรือใช้งานเครื่องหมายทางเรือจะอยู่ในสังกัดของกรมอุทกศาสตร์ เรือที่กล่าวถึงนี้จะไม่รวมถึงเรือขนาดเล็กที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทางเรือโดยตรงอีกจำนวนหนึ่งที่อยู่ในสังกัดของกองสนับสนุน กองเรือยุทธการ (กสน.กร.) ที่เรียกว่า เรือ กร. และที่อยู่ในสังกัดของกองเรือเล็ก กรมการขนส่งทหารเรือ (กรล.ขส.ทร.) ที่เรียกว่า เรือ ขส. เช่น เรือรับรอง เรือบริการ เรือลำเลียง เรือลากจูง และเรือราชพิธี\nBeyond The Aim CVT 441", "title": "เรือรบในกองทัพเรือไทย" }, { "docid": "330173#5", "text": "จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2553 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ารอง ผบ.ตร. อีกคน มีหน้าที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.), กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.), สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ และสถาบันนิติเวชวิทยา ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่สำคัญของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยมีผลงานสำคัญ คือเป็นผู้ดูแลและเจรจากับแกนนำของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ หรือ นปช. ในการชุมนุมเมื่อต้นปี พ.ศ. 2553 ทำให้ถูกจับตามองว่าอาจเป็นผู้ได้รับเสนอชื่อเป็น ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) คนใหม่ หลังจากที่ พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ รักษาการ ผบ.ตร. ที่จะเกษียณอายุราชการไปในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 แต่ท้ายที่สุด ตำแหน่งนี้ก็ตกเป็นของ พล.ต.อ.วิเชียร ไปในที่สุด แต่ทาง พล.ต.อ.ภาณุพงศ์ ก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ", "title": "ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา" }, { "docid": "52115#1", "text": "สถานศึกษาเคมีปฏิบัติ สังกัดกรมวิทยาศาสตร์ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2480 ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่ออบรมให้บัณฑิตมีความรู้ในเชิงเคมีปฏิบัติเข้ารับราชการในกรมวิทยาศาสตร์ และหน่วยงานรัฐบาลอื่น ๆ โดยเปิดหลักสูตร 2 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 ได้ขยายหลักสูตรเป็น 3 ปี โดยจะได้รับประกาศนียบัตรจากกรมวิทยาศาสตร์บริการ เทียบเท่าอนุปริญญา และในปี พ.ศ. 2502 ได้เข้าเป็นสถาบันสมทบในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อจบการศึกษาจะได้รับอนุปริญญาเคมีปฏิบัติ และสามารถเข้าเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ ตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด ปัจจุบัน สถานศึกษาเคมีปฏิบัติอยู่ภายใต้การดำเนินงานของกองการศึกษาเคมีปฏิบัติ กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีบัณฑิตสามารถประกอบอาชีพได้หลายอย่าง เช่น อาจารย์ นักวิจัย ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม กองพิสูจน์หลักฐานของกรมตำรวจ หรือตัวแทนจำหน่ายยา ผลิตภัณฑ์ทางเคมีต่าง ๆ เป็นต้น", "title": "สถานศึกษาเคมีปฏิบัติ" }, { "docid": "159409#5", "text": "ดังนั้น การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์จึงช่วยให้งานนิติวิทยาศาสตร์ของไทยมีประสิทธิภาพเข้าสู่ความเป็นมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม\nนอกจากนี้ยังมีภารกิจรับเรื่องราวร้องทุกข์ ในการตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ทุกๆ สาขาซึ่งขณะนี้ทางสถาบันเปิดให้การบริการตรวจพิสูจน์เอกสารและการปลอมแปลง เช่น การตรวจพิสูจน์ลายมือเขียน ลายมือชื่อ ลายพิมพ์นิ้วมือในเอกสารต่างๆ ให้กับศาลทั่วประเทศ หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่ร้องขอ เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชน อันจะทำให้เกิด ความโปร่งใสและมีการตรวจสอบได้", "title": "สถาบันนิติวิทยาศาสตร์" }, { "docid": "647907#16", "text": "หมวดหมู่:หน่วยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ", "title": "สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ" } ]
3135
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "4284#1", "text": "พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 ขณะที่มีพระชนมายุเพียง 8 พรรษา และทรงประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้น จึงมีการแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินจนกว่าพระองค์จะทรงบรรลุนิติภาวะ", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" } ]
[ { "docid": "4284#18", "text": "หลังจากนั้น เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ในโอกาสมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เป็นพระปรมาภิไธยอันวิเศษตามแบบแผนโบราณราชประเพณีว่า", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4219#5", "text": "หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระอนุชาคือพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช (ปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) จึงได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกัน และภายหลังได้ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร) พระธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร) กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร (สนิทวงศ์) มีพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ซึ่งทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน", "title": "ราชวงศ์จักรี" }, { "docid": "4284#21", "text": "ในปี พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ให้สำนักพระราชวังจัดสร้างพระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลขึ้น ซึ่งเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) สมุหพระราชวัง ได้ปรับปรุงพระราชลัญจกรรูปพระโพธิสัตว์สวนดุสิต ที่เคยใช้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์ โดยการสร้างพระราชลัญจกรนั้น ใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ \"อานันทมหิดล\" ซึ่งหมายถึง เป็นที่ยินดีแก่แผ่นดิน ดังนั้น จึงได้ใช้รูปพระโพธิสัตว์ ซึ่งมีหมายความเดียวกันว่า เป็นความยินดีและเป็นเดชยิ่งในพื้นพิภพ มาเป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#3", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 11 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ณ เมืองไฮเดลแบร์ก สาธารณรัฐไวมาร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี) ขณะที่สมเด็จพระราชชนกทรงศึกษาการแพทย์ที่ประเทศเยอรมนี โดยได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า หม่อมเจ้าอานันทมหิดล มหิดล หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล [3][4] โดยสมเด็จพระราชชนนีทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า นันท [5] พระองค์ทรงมีสมเด็จพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระอนุชา 1 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#34", "text": "โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวนหนึ่งแสนบาท สร้างอาคารเรียน 2 ชั้น 1 หลัง หอประชุม 1 หลังพร้อมบ้านพักครูอีก 20 หลัง และในวันที่ 19 กรกฎาคม 2519 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้งสองพระองค์เสด็จมาเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 8", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#2", "text": "พระองค์เสด็จนิวัตพระนครครั้งแรกภายหลังทรงราชย์เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 และครั้งที่สองเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 แต่ก่อนกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินกลับไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์เพียง 4 วัน พระองค์ก็ได้เสด็จสวรรคตด้วยทรงต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง รวมระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติทั้งสิ้น 12 ปี", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#17", "text": "การเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทำให้เกิดปัญหาในการเรียกขานพระนาม เนื่องจากพระองค์ยังไม่ได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี แต่ต่อมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึงสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลว่ายังพอจะสนองพระเดชพระคุณให้สมพระเกียรติได้ ด้วยการเฉลิมพระปรมาภิไธยและถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์บางองค์ เช่น นพปฎลมหาเศวตฉัตร ซึ่งใช้กางกั้นพระบรมศพและพระบรมอัฐิ ในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2489 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชจึงประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย[1]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#53", "text": "หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรี หมวดหมู่:ราชสกุลมหิดล หมวดหมู่:รัชกาลที่ 8 หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ.ว. หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:ชาวไทยที่ถูกลอบสังหาร หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธปืน หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายลาว", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#51", "text": "พงศาวลีของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร 16. (=20) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย8. (=10) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว17. (=21) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา2. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก20. (=16) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย10. (=8) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว21. (=17) สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี5. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า22. หลวงอาสาสำแดง (แตง สุจริตกุล)11. สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา23. ท้าวสุจริตธำรง (นาค สุจริตกุล)1. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร12. ชุ่ม ชูกระมล6. ชู ชูกระมล13.3. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี14.7. คำ ชูกระมล15. ผา", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#52", "text": "รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี วันอานันทมหิดล.", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#44", "text": "อาคาร \"อปร\" และอาคารอานันทมหิดล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#40", "text": "สวนหลวงพระราม 8 เป็นสวนสาธารณะเนื้อที่ประมาณ 35 ไร่ ติดแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 เขตบางพลัด ฝั่งธนบุรี ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชว่า \"สวนหลวงพระราม 8\" ณ สวนแห่งนี้ มีพระบรมราชานุสาวรีย์ที่ทางกรุงเทพมหานคร สร้างร่วมกับกรมศิลปากร ความสูงขนาด 3 เท่าของพระองค์จริง คือ ประมาณ 5.4 เมตร พระอิริยาบถทรงยืน ประดิษฐานบนแท่นที่ความสูงระดับเดียวกันกับราวสะพานพระราม 8 เพื่อเป็นสิริมงคลแก่สวนแห่งนี้ด้วย นอกจากนั้น บริเวณอาคารเฉลิมพระเกียรติข้างใต้พระบรมราชานุสาวรีย์ยังจัดให้มีห้องรวบรวมพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจขององค์รัชกาลที่ 8 เพื่อให้ประชาชนที่สนใจพระราชประวัติเข้าไปทรงศึกษาค้นคว้าเรื่องราว[28] พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และสวนหลวงพระราม 8 อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2555[29]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#30", "text": "วัดสุทัศนเทพวรารามถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เนื่องจากเป็นสถานที่ที่ประดิษฐานพระบรมราชสรีรางคารของพระองค์ ดังนั้น จึงมีการจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ขึ้น ณ บริเวณลานประทักษิณ ชั้นล่างมุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ พระวิหารหลวง พระบรมรูปหล่อด้วยสำริด ขนาดเท่าพระองค์จริง ทรงฉลองพระองค์ชุดจอมทัพ ประทับยืน ประดิษฐานบนแท่นหินอ่อนยกพื้นสูง มีแผ่นทองเหลืองจารึกเกี่ยวกับกำหนดการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ เบื้องหลังเป็นแผ่นหินอ่อนวงโค้ง ประดิษฐานพระปรมาภิไธยย่อ \"อปร\" ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ[25]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช)", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#28", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลได้ทรงปฏิบัติพระราชกิจสำคัญน้อยใหญ่เป็นจำนวนมาก ดังนั้น จึงมีการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ขึ้น เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ เช่น", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#6", "text": "วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ และมิได้ทรงสมมติเจ้านายพระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นรัชทายาท ดังนั้น คณะรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรจึงได้อัญเชิญเสด็จพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลที่มีพระชันษาเพียง 9 ปี ซึ่งเป็นเจ้านายเชื้อพระบรมวงศ์พระองค์ที่ 1 ในลำดับพระราชสันตติวงศ์ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ขึ้นทรงราชย์เป็น<b data-parsoid='{\"dsr\":[6865,6927,3,3]}'>สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สืบพระราชสันตติวงศ์ต่อไปตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477[8] และได้รับการเฉลิมพระนามใหม่เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2477 ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล[9][10]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "9687#2", "text": "ภายในวัดสุทัศน์เทพวรารามเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และได้อัญเชิญ พระบรมราชสรีรางคารของพระองค์ มาบรรจุที่ผ้าทิพย์ด้านหน้าพุทธบัลลังก์พระศรีศากยมุนีเมื่อ พ.ศ. 2493 และมีพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรในวันที่ 9 มิถุนายนของทุกปี", "title": "วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร" }, { "docid": "4284#38", "text": "เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลมีพระราชปรารภต่อรัฐบาลในสมัยนั้น เรื่องการผลิตแพทย์เพิ่มให้เพียงพอต่อประชาชน อันเป็นจุดกำเนิดโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 ของประเทศ ซึ่งปัจจุบัน คือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ คณะกรรมการบริหารสมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย จึงได้ติดต่อให้ คุณไข่มุกด์ ชูโต เป็นผู้ออกแบบปั้นพระบรมราชานุสาวรีย์ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์แท่นประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2528 และ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 พระบรมรูปหล่อด้วยส่วนผสมของทองเหลืองและทองแดง มีขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง ประทับนั่งเหนือพระเก้าอี้ ผินพระพักตร์ไปทางเบื้องขวาเล็กน้อย ประดิษฐาน ณ ลานหน้าอาคาร อานันทมหิดล ภายในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์[27]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#11", "text": "ประทับที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ซึ่งนับเป็นการเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งแรกหลังจากเสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ทรงใช้เวลาอยู่ในประเทศไทยเป็นระยะเวลาประมาณ 2 เดือน จึงได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[16]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#20", "text": "นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขานพระปรมาภิไธยอย่างมัธยมว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และอย่างสังเขปว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#32", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษา ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2475 เลขประจำพระองค์ 2329 หลังจากนั้นอีกเพียง 2 ปี พระองค์เจ้าอานันทมหิดลก็ได้เสด็จเถลิงถวัลย์ครองสิริราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงมีความผูกพันกับโรงเรียนเทพศิรินทร์มาโดยตลอด มีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมแก่ โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมาคมนักเรียนเก่าฯ ตลอดจนมวลหมู่ลูกแม่รำเพยทุกคน ซึ่ง พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ มีขนาดเท่าพระองค์จริง ทรงฉลองพระองค์ชุดจอมทัพ ประทับยืน เช่นเดียวกับ พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ ด้วยพระองค์เอง", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#36", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการสร้างโรงพยาบาลในจังหวัดลพบุรี และพระราชทานนามโรงพยาบาลแห่งนี้ว่า โรงพยาบาลอานันทมหิดล[26] หลังจากการสร้างแล้วเสร็จ พระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดโรงพยาบาลแห่งนี้เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2481 ดังนั้น คณะกรรมการโรงพยาบาลจึงได้สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ประดิษฐาน ณ หน้าตึกอำนวยการของโรงพยาบาล", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#19", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จุฬาลงกรณราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติยศักตอรรคอุดม จักรีบรมราชวงศนิวิฐ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิหารรังสฤษฎ์ สุสาธิตบูรพาธิการ ไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ ธัญอรรคลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ วิศิษฏศักตอัครนเรศรามาธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร [20]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#35", "text": "พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ โรงพยาบาลอานันทมหิดล", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#15", "text": "วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2493 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินอัญเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ไปยังวัดสุทัศน์เทพวราราม และอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารบรรจุลงในหีบ พร้อมทั้งเคลื่อนหีบพระบรมราชสรีรางคารเข้าสู่พระพุทธบัลลังก์ พระศรีศากยมุนี พระประธานในพระวิหารหลวง วัดสุทัศน์เทพวราราม[19]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "66489#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง", "title": "การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล" }, { "docid": "4284#48", "text": "หม่อมเจ้าอานันทมหิดล มหิดล (20 กันยายน พ.ศ. 2468 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2477) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2477) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (25 มีนาคม พ.ศ. 2477 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2489) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย (11 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2539) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (8 มิถุนายน พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2559)", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#45", "text": "สืบเนื่องจากความไม่เพียงพอของแพทย์ รัฐบาลจึงมีนโยบายให้คณะแพทยศาสตร์ทุกแห่งผลิตแพทย์เพิ่ม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงได้รับอนุมัติให้ก่อสร้างตึกใหม่ เพื่อรองรับจำนวนนิสิตแพทย์ที่เพิ่มขึ้นอีกกว่า 90 คนต่อปี โดยได้รับอนุมัติงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2536 และในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทำหนังสือขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญอักษรพระปรมาภิไธย \"อปร\" มาเป็นชื่ออาคาร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งได้พระราชทานกำเนิดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักราชเลขาธิการได้มีหนังสือลงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2539 พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญอักษรพระปรมาภิไธย \"อปร\" เป็นชื่ออาคาร เมื่อดำเนินการก่อสร้างเสร็จสิ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงประกอบพิธีเปิดอาคารเมื่อวันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2546 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของรัชกาลที่ 8 อาคารดังกล่าวเป็นย่อมุม 8 มุม สูง 19 ชั้น บนยอดอาคารประดับอักษรพระปรมาภิไธย \"อปร\" ตั้งอยู่ริมถนนราชดำริ[31] นอกจากนี้ ภายในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ยังมีอาคารอานันทมหิดลอีกด้วย", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#47", "text": "ในวันอานันทมหิดล มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย พิธีถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ของนิสิตคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์, พิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศถวาย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ณ อาคารวชิรญาณวงศ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, การจัดทำเข็มกลัดที่ระลึก, การจัดการแข่งขันตอบปัญหาวิชาการชีววิทยาและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชิงโล่พระราชทาน, การจัดงานเสวนาเนื่องสัปดาห์วันอานันทมหิดล และกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์อื่น ๆ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" }, { "docid": "4284#43", "text": "สืบเนื่องจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระบรมสรีรางคารของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เป็นประจำ จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อเป็นทุนสำหรับบูรณปฏิสังขรณ์วัด และส่งเสริมการศึกษาของพระสงฆ์และสามเณรคณะกรรมการจึงได้จัดตั้งเป็น มูลนิธิอัฏฐมราชานุสรณ์ ขึ้นตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2518 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร[16][30]", "title": "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร" } ]
2077
เจ้าชายเฟรเดอริกที่6 พระราชสมภพในวันที่เท่าไหร่ ?
[ { "docid": "288341#0", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก[1] (Danish: Frederik André Henrik Christian, Kronprins til Danmark ; ประสูติ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2511, กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก) เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี พระองค์มีพระอนุชาคือ เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก" } ]
[ { "docid": "541118#1", "text": "เจ้าชายว็อล์ฟกัง เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1896 เป็นพระโอรสองค์ที่ 4 ของเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮ็สเซินกับเจ้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระบิดาของพระองค์ได้รับเลือกให้ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลนด์ ทำให้พระองค์จะดำรงพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมาร แต่พระบิดาของพระองค์สละสิทธิ์ไปเมื่อ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1918", "title": "เจ้าชายว็อล์ฟกังแห่งเฮ็สเซิน" }, { "docid": "360349#2", "text": "เจ้าชายคริสเตียน เฟรเดอริคทรงอภิเษกสมรสกับดัสเชสชาร์ล็อต เฟรเดอริกาแห่งเม็คเคลนบวร์ก-ชเวริน ผู้เป็นพระญาติ ในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2349 ณ เมืองลุดวิดสลัสท์ ดัสเชสชาร์ล็อตเป็นพระราชธิดาในแกรนด์ดยุกเฟรเดอริค ฟรานซิสที่ 2 แห่งเม็คเคลนบวร์กกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งแซ็กซ์-ก็อตธา-เอลเทนบูร์ก พระองค์มีพระโอรสร่วมกันสองพระองค์คือ เจ้าชายคริสเตียน เฟรเดอริคและเจ้าชายเฟรเดอริค คาร์ล คริสเตียน เจ้าชายคริสเตียน เฟรเดอริคทรงสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2350 ณ ปราสาทโพลน ส่วนเจ้าชายเฟรเดอริค คาร์ล คริสเตียนทรงดำรงพระชนม์ชีพต่อมาจนเจริญพระชันษาและในเวลาต่อมาคือ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 7 แห่งเดนมาร์ก การอภิเษกสมรสครั้งนี้เป็นไปไม่ได้ด้วยดี เนื่องจากดัสเชสชาร์ล็อตทรงมีเรื่องอื้อฉาวกับนักร้องชาวสวิส คือ ฌอง แบ็ปติสท์ เอตัวอาร์ต ดู พีย์ เมื่อเจ้าชายทรงรู้เข้าพระองค์ก็ทรงพิโรธมากและทรงหย่ากับดัสเชสชาร์ล็อตในปีพ.ศ. 2353 หลังจากทรงอภิเษกสมรสมาเป็นเวลา 4 ปี และพระองค์ทรงไม่อนุญาตให้ดัสเชสพบกับพระโอรสอีก แม้พระนางจะทรงวิงวอนก็ตาม หลังจากนั้นพระนางก็ยังทรงมีเรื่องอื้อฉาวมากมายจนกระทั่งสิ้นพระชนม์\nในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2356 เจ้าชายเฟรเดอริค คริสเตียนทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาทโดยสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 6 แห่งเดนมาร์ก และตามโบราณราชประเพณีเจ้าชายต้องเสด็จไปนอร์เวย์เพื่อรับพรอิศริยยศ \"สตัตท์โฮลเดอร์\"(stattholder) ซึ่งก็คือเป็นตัวแทนสูงสุดของกษัตริย์เดนมาร์กผู้มีอำนาจเต็มในนอร์เวย์ เป็นประเพณีที่ต้องเสด็จไปเพื่อความจงรักภักดีของชาวนอร์เวย์ต่อพระราชวงศ์ แต่ในเวลานั้นพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 6 ทรงนำพาเดนมาร์กเข้าสู่สงครามนโปเลียนโดยเข้าฝ่ายจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งนำมาสู่ความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิฝรั่งเศส เจ้าชายเฟรเดอริค คริสเตียนทรงพยายามที่จะกระตุ้นความจงรักภักดีของชาวนอร์เวย์ให้มีต่อพระราชวงศ์เดนมาร์ก เพราะชาวนอร์เวย์พยายามต่อต้านราชวงศ์เดนมาร์กจากการปราชัยในครั้งนี้ การลุกฮือขึ้นของชาวนอร์เวย์ได้รับการสนับสนุนจากสวีเดน ซึ่งสวีเดนพยายามรวมนอร์เวย์มาเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ", "title": "พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "440998#3", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริก คาร์ล คริสเตียนประสูติในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2351 ณ พระราชวังอามาเลียนเบอร์ก กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์กซึ่งขณะนั้นยังทรงดำรงเป็นเจ้าชายคริสเตียนกับดัชเชสชาร์ล็อต เฟรเดริกาแห่งเม็คเคลนบวร์ก-ชเวริน พระมเหสีพระองค์แรกซึ่งเป็นพระราชธิดาในเฟรเดอริก ฟรานซิสที่ 1 แกรนด์ดยุกแห่งเม็คเคลนบวร์ก-ชเวรินกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนบูร์ก (1756 - 1808) ต่อมาหลังจากเจ้าชายเฟรเดอริกประสูติเพียง 1 ปี ดัสเชสชาร์ล็อตพระมารดาทรงมีเรื่องอื้อฉาวกับนักร้องชาวสวิส คือ ฌอง แบ็ปติสท์ เอตัวอาร์ต ดู พีย์ เมื่อเจ้าชายคริสเตียนทรงรู้เข้าพระองค์ก็ทรงพิโรธมากและทรงหย่ากับดัสเชสชาร์ล็อตในปีพ.ศ. 2353 หลังจากทรงอภิเษกสมรสมาเป็นเวลา 4 ปี และพระองค์ทรงไม่อนุญาตให้ดัสเชสพบกับพระโอรสอีก แม้พระนางจะทรงวิงวอนก็ตาม หลังจากนั้นพระนางก็ยังทรงมีเรื่องอื้อฉาวมากมายจนกระทั่งสิ้นพระชนม์ เจ้าชายเฟรเดอริกทรงได้รับการอุปการะจากพระปิตุลาและพระปิตุจฉา ในปีพ.ศ. 2371 พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก ผู้เป็นพระปิตุลามีพระราชประสงค์ให้เจ้าชายเฟรเดอริกเสด็จเยือนฝรั่งเศส,อิตาลีและสวิตเซอร์แลนด์เพื่อให้เจ้าชายทรงได้เข้ารับการศึกษาด้านภาษา,วิชารัฐศาสตร์และกิจการด้านการทหาร ในขณะที่ทรงประทับอยู่ที่เจนีวาที่ซึ่งทรงได้รับการเสนอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์เนื่องจากทรงเป็นที่นิยมของประชาชนมากระหว่างทรงประทับอยู่ที่เมืองนี้\nพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 พระปิตุลาทรงจัดให้เจ้าชายเฟรเดอริกอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงวิลเฮลมิเน มารีแห่งเดนมาร์ก พระญาติซึ่งเป็นพระราชธิดาองค์สุดท้องของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 พิธีอภิเษกสมรสจัดขึ้นในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2368 ณ กรุงโคเปนเฮเกน ได้มีการประพันธ์และแสดงละครเรื่อง \"เนินเขาแห่งเอลฟ์(Elverhøj)\" เพื่อถวายพระเกียรติในพระพิธีอภิเษกสมรส อย่างไรก็ตามการอภิเษกสมรสได้สร้างความไม่พอพระทัยจากพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 ซึ่งเรื่องเกิดจากเจ้าชายเฟรเดอริกเองทรงประพฤติพระองค์เกินขอบเขตและขาดความยั้งคิดโดยพระองค์ทรงทราบเรื่องมาจากพระราชธิดา จนกระทั่งพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 ทรงขาดความอดทนในปีค.ศ. 2377 พระองค์ได้สั่งเนรเทศเจ้าชายเฟรเดอริกออกจากพระราชวังและทรงกดดันให้หย่าขาดจากพระราชธิดาของพระองค์ เนื่องจากระหว่างทรงประทับที่พระราชวังเฟรเดอริกเบอร์ก เจ้าชายเฟรเดอริกได้มีความสัมพันธ์กับนางกำนัลนามว่า หลุยส์ ลาสมุสเซน ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม \"เคาน์เตส แดนเนอร์\"และต่อมานางมีความสำคัญต่อพระองค์มาก เจ้าชายเฟรเดอริกทรงหย่าขาดกับเจ้าหญิงวิลเฮลมิเน มารีในปีพ.ศ. 2380 หลังจากพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 พระปิตุลาเสด็จสวรรคต พระราชบิดาของเจ้าชายเฟรเดอริกทรงครองราชย์สืบต่อ พระนาม พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2382 และทรงแต่งตั้งเจ้าชายเฟรเดอริกเป็นมกุฎราชกุมาร ทรงประกาศยกเลิกการเนรเทศมกุฎราชกุมารและให้ทรงดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการแห่งฟูเนน ซึ่งเป็นตำแหน่งก่อนที่พระบิดาจะทรงขึ้นครองราชย์ มกุฎราชกุมารทรงอภิเษกสมรสอีกครั้งในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2357 อภิเษกกับดัชเชสแคโรไลน์ มารีแอนน์แห่งเมคเคลนบวร์ก พระราชธิดาในแกรนด์ดยุกจอร์จแห่งเมคเคลนบวร์กกับเจ้าหญิงมารีแห่งเฮสส์-คาสเซิล การอภิเษกสมรสครั้งนี้สร้างความไม่พอพระทัยแก่มกุฎราชกุมารเฟรเดอริกอีกครั้ง ทั้งสองพระองค์ทรงประทับแยกกันและทรงหย่าขาดกันในปี พ.ศ. 2389 ต่อมามีพระประสงค์ที่จะอภิเษกสมรสกับหลุยส์ ลาสมุสเซน ทำให้ทรงถูกคัดค้านอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามหลังจากทรงขึ้นครองราชย์พระองค์ก็ได้อภิเษกสมรสกับนาง", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "902614#0", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเนเธอร์แลนด์ () เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ใน พระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์ กับ วิลเฮลมินแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ พระองค์ทรงเติบโตในปรัสเซีย อันเป็นบ้านเกิดของพระราชมาดา โดยครั้งทรงพระเยาว์พระองค์ทรงเรียนศิลปะการต่อสู้จาก คาร์ล ฟอลนต์ พระองค์เสด็จกลับนิวัติประเทศเนเธอร์แลนด์ ปี พ.ศ. 2356 พระองค์ทรงรับสั่งภาษาดัตช์ไมไ่ด้เลย พระองค์จึงถูกส่งไปที่ มหาวิทยาลัยเลนเดน เพื่อทีงศึกษาภาษาดัตช์ โดยทรงมีอาจารย์สอนคือ คาร์ล ลุควิก ฟอน แวน ฟู ในกรุงเฮก", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเนเธอร์แลนด์" }, { "docid": "357255#3", "text": "พระนางมาทิลดาและสตรูเอนซีเป็นผู้กำหนดการศึกษาของพระโอรส ในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2314 พระนางมาทิลดาทรงพระประสูติกาลพระธิดาองค์หนึ่งอย่างลับๆ ที่พระราชวังเฮิร์สโชล์ม ซึ่งก็คือ เจ้าหญิงหลุยส์ ออกัสตาแห่งเดนมาร์ก และเป็นที่ลือกันว่าพระบิดาของเจ้าหญิงไม่ใช่พระเจ้าคริสเตียนแต่เป็นสตรูเอนซี แต่พระเจ้าคริสเตียนกลับทรงยินดีที่ได้พระธิดาและทรงเชื่อว่าเป็นสายพระโลหิตของพระองค์จริง พระองค์ได้ลงพระปรมาภิไธยยอมรับการประสูติกาล ซึ่งทำให้เจ้าหญิงเป็นพระขนิษฐาของเจ้าชายเฟรเดอริคโดยอัตโนมัติ", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "549627#4", "text": "ในประวัติศาสตร์ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าเจ้าชายเฟรเดอริกจะเคยทรงมงกุฎองค์นี้หรือไม่ พระองค์สิ้นพระชนม์ก่อนที่จะได้เสวยราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งต่อมาจุลมงกุฎองค์นี้ได้ถูกใช้โดยพระโอรสและพระราชนัดดาของพระองค์เอง ซึ่งต่อมาคือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 และ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม มงกุฎองค์นี้ไม่ได้ถูกนำมาใช้อีกภายหลังคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่จะใช้วางบนหมอนและอยู่ด้านหน้าพระองค์ในขบวนเสด็จของเจ้าชาย ในรัฐพิธีเปิดประชุมสภา", "title": "จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์" }, { "docid": "541109#2", "text": "เมื่อ 25 มกราคม ค.ศ. 1893 เจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์กาเรเทอแห่งปรัสเซีย พระธิดาพระองค์เล็กของจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนีกับเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี ทั้งสองพระองค์มีพระโอรส-พระธิดาด้วยกัน 6 พระองค์ได้แก่[[ไฟล์:King of Finland's crown2.jpg|left|thumb|มงกุฎพระมหากษัตริย์ฟินแลนด์]]\nเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลได้รับเลือกให้ครองราชเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลนด์ โดย[[รัฐสภาฟินแลนด์]] เมื่อวันที่ [[9 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1918]] แต่เมื่อสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เยอรมนีเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ทำให้[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]ต้องสละราชสมบัติ และเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 สละราชสมบัติก็ทำให้พระองค์ขาดผู้สนับสนุน พระองค์จึงตัดสินพระทัยสละสิทธิ์ในการครองราชย์เมื่อวันที่ [[14 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1918]] ทำให้พระองค์ไม่เคยได้ครองราชบัลลังก์แห่งฟินแลนด์", "title": "เจ้าชายฟรีดริช คาร์ล แห่งเฮ็สเซิน" }, { "docid": "955549#1", "text": "ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เธอได้อาสาเป็นพยาบาลเสริม และนี่เองทำให้ได้พบกันพระสวามีในอนาคต เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย ขณะที่เจ้าชายทรงได้รับอุบัติเหตุทางรถยนต์ ต่อมาทั้ง 2 เริ่มจะติดต่อสื่อสารและเป็นบ่อเกิดของความรัก\nเลดีเบียร์กิด เสกสมรสกับ เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย และได้รับพระราชทานพระนามและพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย พระชายา (Her Royal Highness Princess Frederick of Prussia) พร้อมฐานันดรรอยัลไฮเนส โดยมีพระบุตรดังนี้", "title": "เลดีเบียร์กิด กินเนสส์" }, { "docid": "32174#1", "text": "สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอเสด็จพระราชสมภพในปีพ.ศ. 2483 แต่พระนางไม่ทรงเป็นทายาทโดยสันนิษฐานจนกระทั่งพ.ศ. 2496 เมื่อพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์เดนมาร์กได้อนุญาตให้สตรีมีสิทธิสืบทอดราชบัลลังก์ได้ (หลังจากมีความชัดเจนแล้วว่าพระเจ้าเฟรเดอริกไม่ทรงมีรัชทายาทที่เป็นบุรุษ) ในปีพ.ศ. 2510 ทรงอภิเษกสมรสกับอ็องรี เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซาและมีพระราชโอรสสองพระองค์คือ เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กและเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก", "title": "สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "823966#2", "text": "ระหว่างที่พระเจ้าจอร์จที่ 2 เสด็จเยือนแฮโนเวอร์ ราชวงศ์ปรัสเซียได้กราบทูลให้ท่านหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทาเข้าเฝ้า เมื่อพระเจ้าจอร์จที่ 2 ทอดพระเนตรแล้ว ก็รับสั่งว่าเหมาะสม จึงยินยอมให้เจ้าชายเฟรเดอริกทำการอภิเษกกับออกัสตา ในขณะที่เจ้าชายเฟรเดอริกก็รับสั่งว่า ทรงยินยอมทุกประการไม่ว่าพระราชบิดาจะประสงค์สิ่งใด อย่างไรก็ตาม เจ้าหญิงออกัสตาไม่สามารถตรัสภาษาฝรั่งเศสหรืออังกฤษได้ แม้ว่าก่อนอภิเษกจะทรงได้เข้าหลักสูตรภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม มารดาของพระนางไม่คิดว่านั่นจำเป็นมากนัก เพราะในราชวงศ์อังกฤษก็มีพระบรมวงศ์เชื้อสายเยอรมันอยู่มากและหลายองค์สามารถพูดเยอรมันได้", "title": "เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา" }, { "docid": "155028#1", "text": "พระเจ้าจอร์จที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 ที่ตำหนักนอร์โฟล์ค กรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา ต่อมาทรงได้อภิเษกสมรสกับชาร์ลอตต์แห่งเมคเลนบูร์ก-ชเตรลิทซ์ และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกัน 15 พระองค์ นอกจะเป็นกษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่แล้ว พระองค์ยังมีพระยศเป็นดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์กและผู้คัดเลือกแห่งฮันโนเฟอร์ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาเป็นกษัตริย์ฮันโนเฟอร์เพราะรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์กได้เลื่อนฐานะขึ้นเป็นราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1814 พระเจ้าจอร์จที่ 3 เป็นกษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่สามในราชวงศ์แฮโนเวอร์ และเป็นกษัตริย์ฮันโนเฟอร์องค์แรกของอังกฤษที่พระราชสมภพในราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และตรัสภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และไม่เคยเสด็จไปเยอรมนี", "title": "พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "955466#1", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2454 เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 4 ใน เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย และ ดัชเชสเซซิลีแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน เป็นพระราชนัดดาใน จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และเป็นพระญาติใน เจ้าชายกียอร์ก ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย พระประมุขพระองค์ปัจจุบันแห่งราชวงศ์ปรัสเซีย ", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งปรัสเซีย (2454-2509)" }, { "docid": "541109#1", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1868 ที่เมืองพังก์เกอร์ทางตอนเหนือของเยอรมนี พระองค์เป็นโอรสองค์ที่ 3 ในเจ้าชายเฟรเดอริก วิลเลียมแห่งเฮ็สเซิน-คาสเซิลกับเจ้าหญิงแอนนาแห่งปรัสเซีย", "title": "เจ้าชายฟรีดริช คาร์ล แห่งเฮ็สเซิน" }, { "docid": "440998#17", "text": "พระญาติฝ่ายหญิงที่ใกล้ชิดพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 มากที่สุดคือ เจ้าหญิงหลุยส์ ชาร์ล็อตแห่งเดนมาร์กพระปิตุจฉาของพระองค์ ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสกับแลนด์เกรฟแห่งเฮสส์ อย่างไรก็ตามทรงมิใช่เชื้อสายที่สืบทอดทางบุรุษและทรงไม่มีสิทธิสืบราชบัลลังก์ในชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์ รัชทายาทซึ่งเป็นราชนิกุลฝ่ายหญิงได้มีการกำหนดมาจากสิทธิของบุตรหัวปีโดยพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 3 จากการไร้บุตรของพระราชธิดาในพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 หลังจากการเริ่มต้นของสิทธิของบุตรหัวปีได้ส่งผลถึงสิทธิของทายาทในเจ้าหญิงหลุยส์ ออกัสตาแห่งเดนมาร์ก พระขนิษฐาในพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสกับดยุกแห่งออกัสเตนเบิร์ก ทายาทของสายนั้นก็เหมือนกับเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งออกัสเตนเบิร์กแต่โอกาสของพระองค์มาถึงหลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงผู้ซึ่งมีชีวิตอยู่ในพ.ศ. 2406", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "155028#4", "text": "พระเจ้าจอร์จเสด็จพระราชสมภพที่พระตำหนักนอร์โฟล์กในกรุงลอนดอน เป็นพระนัดดาในพระเจ้าจอร์จที่ 2 และพระโอรสของเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา ประสูติก่อนกำหนดถึงสองเดือนและไม่ทราบกันในขณะนั้นว่าจะทรงรอดหรือไม่ ทรงได้รับบัพติศมาในวันเดียวกันโดยศาสนาจารย์ทอมัส เซกเกอร์ บิชอปแห่งออกซฟอร์ด เดือนหนึ่งต่อมาก็ทรงรับบัพติศมาอีกครั้งหนึ่งอย่างเป็นทางการที่พระตำหนักนอร์โฟล์กโดยเซกเกอร์เช่นกัน โดยมีพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งสวีเดนเป็นพระราชอัยกาทูนหัว (ผู้ทรงมอบฉันทะให้ชาลส์ คาลเวิร์ต บารอนบัลติมอร์ที่ 5 เป็นผู้แทนพระองค์) ฟรีดริชที่ 3 ดยุกแห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนแบร์ก พระปิตุลา (ผู้มอบฉันทะให้เฮนรี บริดเจส ดยุกที่ 2 แห่งแชนดอสเป็นผู้แทน) และพระนางโซฟี โดโรเทอา แห่งปรัสเซีย พระอัยกี (ผู้ทรงมอบฉันทะให้เลดีชาร์ลอต เอ็ดวินเป็นผู้แทนพระองค์) ).", "title": "พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร" }, { "docid": "357255#21", "text": "พระเจ้าเฟรเดอริคที่ 6 เสด็จสวรรคตโดยปราศจากพระราชโอรสที่สามารถสืบราชบัลลังก์ เนื่องจากพระโอรสของพระองค์ซึ่งประสูติแต่พระราชินีมารี โซฟีสิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์และพระโอรสที่ประสูติแต่พระสนม เฟรเดอริเก เดนเนมานด์ ก็ไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ ทำให้ราชบัลลังก์ไปได้แก่ เจ้าชายคริสเตียน เฟรเดอริก พระราชโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก รัชทายาทแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ พระปิตุลาของพระเจ้าเฟรเดอริคและเป็นพระนัดดาในพระนางจูเลียนา มาเรีย พระอัยยิกาซึ่งเคยเป็นศัตรูกับพระเจ้าเฟรเดอริกในช่วงแรก เจ้าชายคริสเตียนได้ขึ้นครองราชย์ พระนาม พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก ", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "357255#2", "text": "พระราชบิดาของพระองค์มีพระสติวิปลาส ในตอนที่พระนางมาทิลดาทรงประสูติพระโอรสซึ่งก็คือเจ้าชายเฟรเดอริก ก็ไม่ทำให้พระอาการทุเลาขึ้น หลังการประสูติกาลได้เพียงหนึ่งปี พระนางมาทิลดา พระมารดาได้มีความสัมพันธ์กับ โจฮันน์ ฟรีดิช สตรูเอนซี จิตแพทย์ชาวเยอรมันและแพทย์ส่วนพระองค์ของพระเจ้าคริสเตียน และทำให้สตรูเอนซีได้ก้าวขึ้นมามีบทบาททางการเมือง ", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "823966#1", "text": "เจ้าหญิงออกัสตาประสูติในเมืองโกทา ในรัฐเทือริงเงิน เป็นธิดาในฟรีดริชที่ 2 ดยุกแห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนบูร์ก กับดัชเชสมักดาเลนา ออกัสตา แห่งอัลฮัลท์-เซิร์บส์ ขณะมีอายุ 29 ปี ได้ิภิเษกสมรสกับเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ รัชทายาทในพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ ก่อนหน้านั้น กษัตริย์แห่งปรัสเซียทรงเทียบเชิญพระราชธิดาองค์โตมาอภิเษกสมรสกับเจ้าชายเฟรเดอริกแต่พระเจ้าจอร์จที่ 2 ทรงปฏิเสธ ฝ่ายปรัสเซียเองก็ไม่ลดความพยายาม และท่ามกลางข่าวลือว่าทางราชวงศ์อังกฤษได้รับข้อเสนอให้อภิเษกกับท่านหญิงไดอานา สเปนเซอร์ หลานในดัชเชสแห่งมาร์ลบะระ", "title": "เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา" }, { "docid": "172130#1", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์ก มีพระนามเต็มว่า \"เฟรเดอริค ออกุสตุส\" ประสูติเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2306 พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร และพระนางชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ เป็นพระอนุชาในพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ได้รับการเฉลิมพระราชอิสริยยศเป็นดยุกแห่งยอร์กและออลบานีเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2327 ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเฟรเดอริกา ชาร์ลอต แห่งปรัสเซีย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2334 ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดา", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี" }, { "docid": "549627#3", "text": "ในพระราชพิธีในอีกหนึ่งปีถัดมานั้น เจ้าชายจอร์จทรงจุลมงกุฎประดับด้วยไข่มุกและเพชร แต่จุลมงกุฎองค์นี้ได้หายสาบสูญไป ต่อมาเจ้าชายเฟรเดอริก พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 ไม่ได้เสด็จด้วยในพระราชพิธีบรมราชภิเษกในปีค.ศ. 1727 และได้รับการเฉลิมพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ในภายหลังเมื่อปีค.ศ. 1729 แต่จุลมงกุฎองค์นี้นั้นสร้างขึ้นหนึ่งปีก่อน", "title": "จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์" }, { "docid": "357255#6", "text": "ในปีพ.ศ. 2327 มกุฎราชกุมารเฟรเดอริกทรงได้รับสิทธิตามกฎหมายโดยพระองค์มีพระชนมายุครบ 16 พรรษา ซึ่งเลยกำหนดที่พระพันปีหลวงจูเลยนาจะมอบพระราชอำนาจคืนถึง 2 ปี พระนางทรงพยายามชักจูงให้พระนัดดาทรงมอบพระราชอำนาจให้พระนางไปก่อน หรือไม่ก็อาศัยคำแนะนำของพระนางในด้านต่างๆ และพระนางทรงบังคับให้พระเจ้าคริสเตียนทรงลงนามในพระราชกฤษฎีกาโดยกำหนดให้ มกุฎราชกุมารต้องยินยอมในคำแนะนำปรึกษาตั้งแต่ทรงเริ่มดำรงพระยศจนถึงปัจจุบัน โดยทรงต้องรับฟังบุคคล 3 คน ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เจ้าชายเฟรเดอริก ผู้สำเร็จราชการ และพระนางจูเลียนา พระราชชนนี. พระนางทรงร่วมมือกับโอฟ โฮห์-กัลด์เบิร์กซึ่งเป็นายกรัฐมนตรีในตอนนั้นพยายามยึดอำนาจเจ้าชายเฟรเดอริค อย่างไรก็ตามมกุฎราชกุมารทรงพยายามขจัดอำนาจของพระนางจูเลียนา พระอัยยิกาและพระโอรสของพระนาง และในการร่วมสภาครั้งแรกของพระองค์ พระองค์ทรงไล่คณะรัฐบาลหลวงโดยที่ไม่ได้แจ้งแก่พระนางจูเลียนา และทรงแต่งตั้งคนของพระองค์เข้ารับตำแหน่ง อีกทั้งมกุฎราชกุมารทรงบังคับให้พระบิดาซึ่งมีพระจริตฟั่นเฟือนลงนามในเอกสารแต่งตั้งพระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ทำให้เกิดการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนมกุฎราชกุมารกับผู้สนับสนุนพระพันปีหลวงจูเลียนา พระนางทรงพยายามแย่งชิงกษัตริย์จากพระหัตถ์ของพระนัดดา แต่ฝ่ายที่ได้รับชัยชนะคือ มกุฎราชกุมารเฟรเดอริค ซึ่งนับเป็นจุดจบในระบอบเก่าสมัยยุคกลางของเดนมาร์ก รัชกาลที่ปกครองโดยพระราชชนนีจูเลียนาและพระโอรสของพระนางสิ้นสุดลง ซึ่งถือเป็นการรัฐประหารในพ.ศ. 2327 โดยชาวเดนมาร์กต่างยินดีกันทั่งหน้าซึ่งจบสิ้นยุคสมัยของพระราชชนนีซึ่งปกครองเดนมาร์กอย่างกดขี่และทารุณ พระองค์ทรงดำรงเป็นผู้สำเร็จราชการจนกระทั่งพระเจ้าคริสเตียน พระบิดาเสด็จสวรรคตในปีพ.ศ. 2351", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "549638#0", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ () ประสูติเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1707 เป็นสมาชิกแห่งพระราชวงศ์แฮโนเวอร์ และต่อมาพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 ทรงเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 และพระอัยกาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งหลังจากการผ่านพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 โดยรัฐสภาแห่งอังกฤษในปีค.ศ. 1701 เจ้าชายเฟรเดริกได้กลายเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษทันที พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปประทับที่อังกฤษเป็นการถาวรภายหลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชบิดา และต่อมาได้ทรงเฉลิมพระอิสริยยศเป็น \"เจ้าชายแห่งเวลส์\" พระองค์สิ้นพระชนม์ก่อนจะเสวยราชย์ต่อจากพระราชบิดา อย่างไรก็ตามพระโอรสของพระองค์ (เจ้าชายจอร์จ ซึ่งต่อมาเฉลิมพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์) ได้รับการสืบทอดราชสมบัติหลังจากพระราชบิดาเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1760 เป็นสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ซึ่งครองราชย์ยาวนานตั้งแต่ค.ศ. 1760 จนถึงปีค.ศ. 1820", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์" }, { "docid": "921521#0", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ ()\nเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ ประสูติเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2411 ณ ปราสาทรีโบริส ราชอาณาจักรโบฮีเมีย เป็นพระโอรสใน เจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ และ เจ้าหญิงบาทิลดิชแห่งอันฮัลท์-เดสซู \nพระองค์ทรงเสกสมรสครั้งแรกกับ เจ้าหญิงลูอีสแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 ณ พระราชวังอมาเลียนบอร์ก ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของพระชายา เจ้าหญิงลูอีสรับพระราชทานพระอิสริยยศที่ เจ้าหญิงแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ พระชายา โดยมีพระบุตร 3 พระองค์ดังนี้", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ" }, { "docid": "922150#0", "text": "เจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก ()\nเจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2381 ณ ประเทศเยอรมนี เป็นพระธิดาพระองค์ที่ 2 ใน เจ้าชายเอ็ดวาร์ดแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก และ เจ้าหญิงอมาลีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน โดยทรงอยู่ในราชวงศ์เวิทเทินตั้งแต่แรกประสูติ \nพระองค์ทรงเสกสมรสกับ เจ้าชายเฟรเดอริกที่ 1 ดยุกแห่งอันฮัลท์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2397 ณ เมืองอัลเทนบูร์ก เนื่องจากพระบิดาพระมารดาทรงเห็นว่า เจ้าชายเฟรเดอริกที่ 1 ดยุกแห่งอันฮัลท์ ทรงมีฐานะร่ำรวยมาก และในวันเสกสมรสนั้น พระองค์และพระสวามีในรับเหรียญเกียรติยศ และเจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งอันฮัลท์ พระชายา ทั้ง 2 มีพระบุตรร่วมกันดังนี้", "title": "เจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก" }, { "docid": "909796#0", "text": "หมู่เกาะดยุกออฟยอร์ก (; เดิมชื่อ ) เป็นกลุ่มของหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอีสต์นิวบริเตน ประเทศปาปัวนิวกินี ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบเซนต์จอร์จ ระหว่างเกาะนิวบริเตนกับเกาะนิวไอร์แลนด์ และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะบิสมาร์ก หมู่เกาะตั้งช่อในปี ค.ศ. 1767 โดยฟิลิป คาร์ทีเรต เพื่อเป็นเกียรติแก่เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งยอร์ก พระราชโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ และพระอนุชาในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์", "title": "หมู่เกาะดยุกออฟยอร์ก" }, { "docid": "357255#1", "text": "เจ้าชายเฟรเดอริกพระราชสมภพในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2311 ณ พระราชวังคริสเตียนเบอร์ก โคเปนเฮเกน ราชอาณาจักรเดนมาร์ก พระราชบิดาคือพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก ส่วนพระราชมารดาคือเจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งทรงเป็นสมาชิกในราชวงศ์อังกฤษ หลังจากพระราชสมภพ เจ้าชายทรงได้รับพระอิศริยยศ มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์", "title": "พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก" }, { "docid": "549627#0", "text": "จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ หรือเรียกอย่างเต็มว่า จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ () คือจุลมงกุฎที่จัดสร้างขึ้นในปีค.ศ. 1728 สำหรับเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารซึ่งในขณะนั้นทรงเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ ทำจากทองคำทั้งเรือน ประกอบด้วยโค้งจำนวน 1 โค้งตามประเพณี ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างโดยช่างทองแห่งราชสำนัก ซามูเอล ชาเลส ในราคา £140 5/- (หนึ่งร้อยสี่สิบปอนด์กับห้าชิลลิง) หรือในปัจจุบันมีมูลค่าประมาณ £12,000 จุลมงกุฎองค์นี้ ในเอกสารบางครั้งก็เรียกว่าเป็น \"มงกุฎ\" (Crown) ", "title": "จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์" }, { "docid": "543308#1", "text": "ทั้งนี้พระองค์ยังทรงเป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกใน สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก กับ อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก ทั้งยังทรงมัศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน ผ่านทางสายพระราชมาดา และทรงเป็นพระญาติชั้นที่ 1 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน ผ่านทางสายพระราชบิดา", "title": "เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ" }, { "docid": "922719#1", "text": "ในปี พ.ศ. 2406 พระองค์ทรงกลายเป็นเจ้าชายรัชทายาทแห่งอันฮัลท์ เมื่อ เจ้าชายเลโอโปลด์ที่ 4 ดยุกแห่งอันฮัลท์ พระบิดาทรงได้รับกสนเป็นผู้ปกครองดินแดนแห่งอันฮัลท์ \nเจ้าชายเฟรเดอริก กลายเป็นดยุกแห่งอันฮัลท์ เมื่อปี พ.ศ. 2414 \nพระองค์ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตแห่งซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2397 ณ เมืองอัลเทนบูร์ก เนื่องจากพระบิดาพระมารดาทรงเห็นว่า เจ้าชายเฟรเดอริกที่ 1 ดยุกแห่งอันฮัลท์ ทรงมีฐานะร่ำรวยมาก และในวันเสกสมรสนั้น พระองค์และพระชายามีในรับเหรียญเกียรติยศ และเจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งอันฮัลท์ พระชายา ทั้ง 2 มีพระบุตรร่วมกันดังนี้", "title": "เจ้าชายเฟรเดอริกที่ 1 ดยุกแห่งอันฮัลท์" } ]
1372
จังหวัดสมุทรสาคร ได้รับจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่เท่าไหร่?
[ { "docid": "6744#0", "text": "จังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489", "title": "จังหวัดสมุทรสาคร" } ]
[ { "docid": "228272#3", "text": "ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ และวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. 2539 ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง มีเขตอำนาจตลอดครอบคลุมท้องที่ 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม นนทบุรี และปทุมธานี", "title": "ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ" }, { "docid": "296780#2", "text": "ต่อมาเมื่อสโมสรทีทีเอ็ม สมุทรสาคร ได้ย้ายไปใช้สนามเหย้าที่จังหวัดพิจิตร ทำให้นายอุดร ไกรวัตนุสสรณ์ นายก อบจ.สมุทรสาคร ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกสมาคมกีฬาแห่งจังหวัดสมุทรสาครในขณะนั้น มีแนวคิดจัดตั้งสโมสรฟุตบอลอาชีพของจังหวัดสมุทรสาครขึ้นมาในปี พ.ศ. 2553 ", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรสาคร" }, { "docid": "6744#14", "text": "เนื่องจากเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พุทธศักราช 2537 ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ได้รับพระราชทานพันธุ์ไม้ดังกล่าวจากสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดวันรณรงค์โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ ปีที่ 50 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ และเพื่อความเป็นศิริมงคลของชาวจังหวัดสมุทรสาคร ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาครจึงได้นำพันธุ์ไม้สัตบรรณพระราชทานมาปลูก เป็นปฐมฤกษ์ในกิจกรรมวันปลูกต้นไม้ตามโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2537 ที่บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรสาคร จึงถือว่าต้นสัตบรรณเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสมุทรสาคร[1]", "title": "จังหวัดสมุทรสาคร" }, { "docid": "215651#2", "text": "ตำบลสวนหลวงได้รับการจัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนตำบลสวนหลวง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 ภายหลังที่ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่ม 111 ตอน 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ตำบลสวนหลวงได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลตำบลสวนหลวง โดยที่กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า มีองค์การบริหารส่วนตำบลที่มีสภาพเหมาะสม สมควรให้จัดตั้งเป็นเทศบาลตำบล อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยจึงจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลสวนหลวง อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เป็น เทศบาลตำบลสวนหลวง เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2551", "title": "เทศบาลตำบลสวนหลวง (จังหวัดสมุทรสาคร)" }, { "docid": "35435#2", "text": "อำเภอกระทุ่มแบนตั้งอยู่ริมคลองภาษีเจริญ ตามประวัติศาสตร์อำเภอกระทุ่มแบนได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองหัวเมือง ร.ศ. 116 ตรงกับปี พ.ศ. 2440 ประกอบด้วยตำบลต่าง ๆ รวม 7 ตำบล ดังนี้ ทั้ง 7 ตำบล ได้จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอกระทุ่มแบนขึ้นตรงต่อเมืองสมุทรสาคร ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนคำว่า \"เมือง\" เป็น \"จังหวัด\" ทั่วทุกแห่งในราชอาณาจักร ขึ้นตรงต่อมณฑลนครชัยศรี ", "title": "อำเภอกระทุ่มแบน" }, { "docid": "288080#57", "text": "สำนักงานสถาบันวิทยาลัยชุมชน มีหน่วยงานภายใน ดังนี้\nเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบโครงการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และกระทรวงศึกษาธิการมีประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2545 จำนวน 10 จังหวัด คือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิจิตร ตาก บุรีรัมย์ มุกดาหาร หนองบัวลำภู สระแก้ว อุทัยธานี ระนอง และนราธิวาส และในปี พ.ศ. 2547 ได้ดำเนินการขยายจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนเพิ่มเติมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ยะลา และปัตตานี และวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ได้มีการดำเนินการขยายการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนเพิ่มเติมอีก 5 แห่ง คือ จังหวัดยโสธร สมุทรสาคร ตราด สตูล และพังงา", "title": "สถาบันวิทยาลัยชุมชน" }, { "docid": "312665#3", "text": "โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) ให้บริการในพื้นที่อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร และเขตพื้นที่ใกล้เคียง นอกจากนี้ยังมีการให้บริการโดยการจัดตั้งสาขาการให้บริการ และศูนย์สุขภาพชุมชนในชุมชนต่างๆ ได้แก่", "title": "โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)" }, { "docid": "316111#2", "text": "ศาลแรงงานกลางมีฐานะเป็นศาลชั้นต้น สังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม ศาลแรงงานกลางมีเขตอำนาจครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร และสมุทรปราการ และในระหว่างที่ยังไม่ได้จัดตั้งศาลแรงงานภาคหรือศาลแรงงานจังหวัดนั้น ศาลแรงงานกลางมีอำนาจครอบคลุมพี้นที่ทั่วราชอาณาจักร", "title": "ศาลแรงงาน (ประเทศไทย)" }, { "docid": "288213#1", "text": "จังหวัดสมุทรสาคร ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของภาคประชาสังคมทุกสาขาอาชีพ พบว่ามีนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวนหนึ่ง ไม่มีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ในขณะเดียวกันแรงงานในภาคเกษตร ประมง อุตสาหกรรม ธุรกิจบริการ และภาคอื่นๆ มีความต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้พื้นฐานในการทำงาน และเป็นการเพิ่มมูลค่าในตัวเอง จึงเป็นที่มาของการเสนอจัดตั้ง \"วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร\" ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 โดยเปิดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา และหลักสูตรระยะสั้น", "title": "วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร" }, { "docid": "192879#1", "text": "สำนักงานเทศบาลนครอ้อมน้อยตั้งอยู่ที่ เลขที่ 234 หมู่ 11 ซอยเพชรเกษม 87 ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เทศบาลนครอ้อมน้อย มีเนื้อที่ 30.40 ตารางกิโลเมตร เทศบาลนครอ้อมน้อยเดิมทีมีฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาลมีชื่อว่า สุขาภิบาลอ้อมน้อย และได้รับการยกฐานะเป็น เทศบาลตำบลอ้อมน้อย เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2537 เล่มที่ 111 ตอนที่ 12 ก หน้า 18-20 ลงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2537 จากนั้นอีก 8 ปีต่อมา เทศบาลตำบลอ้อมน้อย ได้รับการยกฐานะตามพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลตำบลอ้อมน้อยเป็น เทศบาลเมืองอ้อมน้อย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองอ้อมน้อย พ.ศ. 2545 เล่มที่ 119 ตอนที่ 93 ก หน้า 1-3 ลงวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2545 ", "title": "เทศบาลนครอ้อมน้อย" }, { "docid": "5673#21", "text": "การรวมท้องที่บางส่วนของจังหวัดนครนายกไว้ในเขตการปกครองของจังหวัดปราจีนบุรีส่งผลให้จังหวัดปราจีนบุรีที่เดิมมีท้องที่กว้างขวางอยู่แล้ว มีท้องที่กว้างขวางเพิ่มมากขึ้นเกินกำลังจังหวัดจะรับผิดชอบ การติดต่อดูแลทุกข์สุขของประชาชนและการปกครองของราษฎรไม่เป็นผลดีเหมือนเมื่อนครนายกเป็นจังหวัดอยู่ กระทรวงมหาดไทยจึงได้เสนอร่างหลักการพระราชบัญญัติสถาปนาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2489 โดยได้สอบถามจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระบุรี และในที่สุดรัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2489 โดยระบุในพระราชบัญญัติว่า", "title": "จังหวัดปราจีนบุรี" }, { "docid": "53666#1", "text": "ใน พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายในการขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังจังหวัดใกล้เคียงกับที่ตั้งมหาวิทยาลัยเดิม (วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร และวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม) ผู้บริหารในขณะนั้นนำโดย ไขศรี ศรีอรุณ จึงพิจารณาหาพื้นที่ตั้งวิทยาเขตใหม่ ได้แก่ จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอนครชัยศรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี จนในที่สุดเหลือเฉพาะที่จังหวัดราชบุรีและจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้จัดตั้งวิทยาเขตใหม่ที่จังหวัดราชบุรี และมีแนวทางจัดตั้งคณะวิชาต่าง ๆ รวมทั้ง \"คณะอุตสาหกรรมเกษตร\" ซึ่งต่อมามหาวิทยาลัยได้จัดสัมมนาผู้เกี่ยวข้องทั้งของจังหวัดราชบุรีและของมหาวิทยาลัยเพื่อทราบความต้องการของท้องถิ่น แต่ผลความต้องการของบุคลากรในพื้นที่ไม่ตรงกับแผนพัฒนาเดิมที่ ทบวงมหาวิทยาลัย ได้อนุมัติไว้ โครงการดังกล่าวจึงชะลอไป จนในที่สุดปี 2542 ตรึงใจ บูรณสมภพ อธิการบดีในขณะนั้น จึงขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีในการย้ายวิทยาเขตใหม่ไปที่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านไร่ใหม่พัฒนา ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และมีแผนในการจัดตั้ง \"คณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร\" ขึ้นเป็นคณะแรก เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าพื้นที่โดยรอบมีประชากรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มหาวิทยาลัยจะได้ให้บริการได้โดยตรง จากการประชุมสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 1/2544 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2544 ได้อนุมัติโครงการจัดตั้งคณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร พร้อมทั้งให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง สุภสร ชโยวรรณ เป็นผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งคณะสัตวศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร", "title": "คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร" }, { "docid": "296780#1", "text": "ในช่วงแรกสโมสรฟุตบอลในจังหวัดสมุทรสาคร ยังมีแค่สโมสรฟุตบอลระดับสมัครเล่น ได้แก่สโมสรสพล. สมุทรสาคร และ สโมสรฟุตบอลโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย ที่ในช่วงเวลานั้นยังลงแข่งขันในระดับฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. ส่วนสโมสรฟุตบอลในระดับลีกอาชีพก็มีเพียงสโมสรฟุตบอลของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง อย่างทีทีเอ็ม สมุทรสาคร ซึ่งเคยมาใช้สนามกีฬาในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นสนามเหย้าในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2552 ", "title": "สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรสาคร" }, { "docid": "639713#2", "text": "พระเทพวิมลมุนี ได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ณ วัดชัยมงคล อำเภอเมือง สมุทรสาคร โดยมีพระครูรอด วัดบางน้ำวน อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพระอุปัชฌายาจารย์ และอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2494 ณ พัทธสีมา วัดชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยมีพระธรรมสิริชัย วัดพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นพระอุปัชฌายาจารย์ พระครูสาครศีลาจารย์ อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระรามัญมุนี วัดป้อมวิเชียรโชติการาม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพระอนุสาวนาจารย์", "title": "พระเทพวิมลมุนี (กฤช กิตฺติวํโส)" }, { "docid": "39223#0", "text": "องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; ) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2554) แบ่งเป็นรถธรรมดา 1,659 คัน รถปรับอากาศ 1,850 คัน และมีรถร่วมบริการโดยบริษัทเอกชน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ จำนวน 4,016 คัน, รถประจำทางขนาดเล็ก (mini bus) แบ่งเป็นส่วนที่ให้บริการบนถนนสายหลัก จำนวน 844 คัน และที่ให้บริการภายในซอยย่อย จำนวน 2,312 คัน, รถตู้โดยสารปรับอากาศ แบ่งเป็นส่วนที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สปิโตรเลียมเหลว จำนวน 5,315 คัน และที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัด จำนวน 213 คัน รวมทั้งสิ้น 16,209 คัน 495 เส้นทาง นอกจากนี้ ยังเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ขาดทุนมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากการรถไฟแห่งประเทศไทย คือขาดทุนเป็นเงิน 4,990 ล้านบาท", "title": "องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ" }, { "docid": "6744#15", "text": "จังหวัดสมุทรสาครเป็นเมืองแห่งเศรษฐกิจที่มีศักยภาพทั้งทางด้านการอุตสาหกรรม การประมง และการเกษตรกรรม จากข้อมูลสถิติผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด (GPP) ประจำปี ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) พบว่า สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดสมุทรสาครชะลอตัวจากปีก่อน เนื่องจากวิกฤตการณ์การเงินโลกที่ส่งผลกระทบต่อความต้องการสินค้าและบริการภายในประเทศและต่างประเทศที่ลดลง แต่อย่างไรก็ดี จังหวัดสมุทรสาครยังเป็นจังหวัด 1 ใน 10 ของจังหวัดที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงตลอดมา", "title": "จังหวัดสมุทรสาคร" }, { "docid": "156289#0", "text": "โรงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุง เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอบ้านแพ้ว สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ 7 หมู่ที่ 3 ตำบลเกษรพัฒนา อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร 74120ประวัติการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 โดยเปิดสอน ป.1 - ป.2 ครั้งแรกมีนักเรียน 69 คน ครู 1 คน คือนายแม้น บุญสนธิ เป็นครูใหญ่และครูผู้สอน โดยใช้ศาลาการเปรียญของวัดคลองตันราษฎร์บำรุง เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว ปีพ.ศ. 2474 นายแถม คุ้มตน เป็นครูใหญ่คนที่ 2 นายสวัสดิ์ สมานมิตร เป็นครูใหญ่คนที่ 3", "title": "โรงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุง" }, { "docid": "687012#1", "text": "โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2525 โดยพระครูโสภณธรรมสาคร เจ้าอาวาสวัดอ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอกระทุ่มแบน พร้อมด้วยกำนันผู้ใหญ่บ้านและประชาชนตำบลอ้อมน้อย ได้ยื่นเรื่องขอจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษา ต่อดร.เกษม ศิริสัมพันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในสมัยนั้นโดยขอจัดตั้งโรงเรียนในที่ธรณีสงฆ์ของวัดอ้อมน้อยซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 12 ไร่ กรมสามัญศึกษาอนุมัติให้เปิดเรียนตั้งแต่วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 โดยให้เป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนกระทุ่มแบน \"วิเศษสมุทคุณ\" และประกาศจัดตั้งเป็นทางการในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 โดยมีนายสมปอง สุวรรณโฉม เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระครูโสภณธรรมสาครและประชาชนชาวตำบลอ้อมน้อยให้การอุปถัมภ์เป็นมงคลนามแก่โรงเรียนจึงขอใช้ชื่อโรงเรียนว่า \"โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์\"", "title": "โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์" }, { "docid": "316251#1", "text": "เขตศาลจังหวัด มิได้หมายความตามภูมิศาสตร์ที่ตั้ง ในจังหวัดหนึ่งอาจมีศาลจังหวัดมากกว่า 1 ศาล เนื่องจากบางจังหวัดมีพื้นที่กว้าง หรือบางท้องที่อยู่ห่างไกลจากเขตอำเภอเมืองเป็นอย่างมาก จึงต้องจัดตั้งศาลจังหวัดขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดต่อราชการ และการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาลศาลแรงงานกลาง มีเขตครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร นนทบุรี และปทุมธานี และในระหว่างที่ยังไม่ได้จัดตั้งศาลแรงงานภาค หรือศาลแรงงานจังหวัดนั้น ศาลแรงงานกลางมีอำนาจ ครอบคลุมพี้นที่ทั่วราชอาณาจักร", "title": "เขตศาลยุติธรรมไทย" }, { "docid": "37703#3", "text": "หลังจากที่เข้าร่วมอย่างไม่ค่อยเต็มในเท่าไหร่ เธอก็ค่อยๆเปลี่ยนไปและเต็มใจจะอยู่กับฝ่ายนี้ในท้ายที่สุด เธอประมือกับทีม X-Men เธอเคยลอบสังหาร วุฒิสมาชิกเคลลี่ ด้วยแต่ก็ถูกขัดขวางไว้โดยมนุษย์กลายพันธุ์ฝ่ายดีทุกครั้ง แต่ยิ่งเธอใช้พลังมากเท่าไหร่ จิตใจของโร้คก็ยิ่งแตกสลายมากขึ้นเท่านั้น จนถึงขั้นที่เธอต้องเข้าพบจิตแพทย์ ฟางเส้นสุดท้ายของเธอกับมิสทีคขาดสะบั้นลง เมื่อโร้คตาสว่างพบว่าแท้จริงแล้วนี่คือแผนร้าย ที่อีกฝ่ายตั้งใจหลอกใช้กันมาตลอด เธอจึงหันหน้าเข้าหาศาสตราจารย์ทเอ็กซ์ และพลพรรคเอ็กซ์ทีม ขอร้องให้เธอควบคุมพลังให้ได้เสียที", "title": "โร้ค" }, { "docid": "234148#0", "text": "ถนนสหกรณ์ () หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3423 สายสมุทรสาคร - โคกขาม เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรสวนทาง เริ่มต้นจากสะพานมหาชัย (ข้ามคลองมหาชัย) ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านวิทยาลัยพลศึกษาสมุทรสาคร หมู่บ้านมหาชัยเมืองทอง ถึงทางแยกโค้งยายขาว เลี้ยวซ้ายขนานไปกับคลองพิทยาลงกรณ์ สิ้นสุดที่วัดสหกรณ์โฆษิตาราม ตำบลโคกขาม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทางรวม 7.137 กิโลเมตร อยู่ในความควบคุมของหมวดการทางสมุทรสาครที่ 2 แขวงการทางสมุทรสาคร ยกเว้นในช่วง 200 เมตรแรกอยู่ในความควบคุมของเทศบาลนครสมุทรสาคร จากจุดดังกล่าวจะมีเส้นทางซึ่งอยู่ในความควบคุมของสำนักงานทางหลวงชนบทสมุทรสาคร ต่อเนื่องไปยังถนนเลียบคลองพิทยาลงกรณ์และถนนบางขุนเทียนชายทะเล เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร", "title": "ถนนสหกรณ์" }, { "docid": "288213#0", "text": "วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ตั้งอยู่เลขที่ 101 หมู่ 9 ตำบลบ้านบ่อ อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร", "title": "วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร" }, { "docid": "6744#33", "text": "วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร รายชื่อวัดในจังหวัดสมุทรสาคร รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสมุทรสาคร รายชื่อสาขาของธนาคารในจังหวัดสมุทรสาคร รายชื่อห้างสรรพสินค้าในจังหวัดสมุทรสาคร", "title": "จังหวัดสมุทรสาคร" }, { "docid": "824091#0", "text": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่ เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติก-คอมเมดี้ บทประพันธ์ของ นุกูล บุญเอี่ยม, วัชระ ปานเอี่ยม บทโทรทัศน์โดย พิสุทธิ์ แพร่แสงเอี่ยม กำกับการแสดงโดย นุกูล บุญเอี่ยม ผลิตโดย บริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำกัดออกอากาศทุกวันเสาร์–อาทิตย์ เวลา 11.00–11.45 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เคลลี่ ธนะพัฒน์, น้ำฝน โกมลฐิติ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย", "title": "รักนิด ๆ คิดเท่าไหร่" }, { "docid": "421421#0", "text": "องค์การจัดการน้ำเสีย () เป็นรัฐวิสาหกิจของไทย ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การจัดการน้ำเสีย พ.ศ. 2538 เพื่อจัดระบบบำบัดน้ำเสียรวม สำหรับการบำบัดน้ำเสียภายในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสมุทรสาคร เดิมอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 จึงได้เปลี่ยนแปลงมาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย", "title": "องค์การจัดการน้ำเสีย" }, { "docid": "2810#0", "text": "จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489", "title": "จังหวัดสมุทรปราการ" }, { "docid": "52323#8", "text": "ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552-2558 สโมสรเปลี่ยนชื่อที่ใช้ในการแข่งขันหลายครั้ง เนื่องจากไม่มีสนามเหย้าประจำเป็นของตนเอง จึงต้องย้ายไปใช้สนามกีฬาตามจังหวัดต่างๆเป็นสนามเหย้าเพื่อใช้ในการแข่งขันแต่ละฤดูกาล โดยใน ฤดูกาล 2552 ทางสโมสรได้มีการเปลี่ยนชื่อสโมสร เพื่อให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ของเอเอฟซี โดยรวมมือกับทาง จังหวัดสมุทรสาคร และเปลื่ยนชื่อเป็น \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม สมุทรสาคร\" และใน ฤดูกาล 2553 ได้ย้ายทีมมารวมกับจังหวัดพิจิตร ทางสโมสรได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม เอฟซี พิจิตร\" และในฤดูกาล 2555 สโมสรย้ายไปใช้สนามเหย้าที่จังหวัดเชียงใหม่ และใช้ชื่อในการแข่งขันว่าว่า \"สโมสรฟุตบอลทีทีเอ็ม เชียงใหม่\" โดยผลงานของทีมในลีกนั้นไม่ดีเท่าที่ควร จนสโมสรตกชั้นในฤดูกาลนั้น", "title": "สโมสรฟุตบอลยาสูบ" }, { "docid": "132896#2", "text": "สัตบรรณ ถือเป็นไม้มงคลของจังหวัดสมุทรสาคร เนื่องจากเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พุทธศักราช 2537 ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ได้รับพระราชทานพันธุ์ไม้ดังกล่าวจากสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดวันรณรงค์โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ ปีที่ 50 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ และเพื่อความเป็นศิริมงคลของประชาชนชาวจังหวัดสมุทรสาครผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาครจึงได้นำพันธุ์ไม้สัตบรรณพระราชทานมาปลูกเป็นปฐมฤกษ์ ในกิจกรรมวันปลูกต้นไม้ตาม โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2537 ที่บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรสาคร จึงถือได้ว่าต้นสัตบรรณเป็นต้นไม้มงคลของจังหวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ต้นพญาสัตบรรณยังเป็นต้นไม้ประจำเขตพญาไท ในกรุงเทพมหานครอีกด้วย", "title": "พญาสัตบรรณ" }, { "docid": "6803#0", "text": "จังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489", "title": "จังหวัดนนทบุรี" } ]
2808
Union of Concerned Scientists ก่อตั้งขึ้นเมื่อไหร่?
[ { "docid": "763880#1", "text": "องค์กรได้จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1969 ในช่วงหลังของสงครามเวียดนาม โดยคณะอาจารย์และนักศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ โดยเอกสารจัดตั้งแสดงจุดมุ่งหมายขององค์กรเพื่อ \"เริ่มการตรวจสอบนโยบายของรัฐบาลที่จำเป็นโดยทำอย่างต่อเนื่อง ในเรื่องที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสำคัญจะโดยความจริงหรือจะโดยโอกาสก็ดี\" และเพื่อ \"หาวิธีเปลี่ยนการสมัครหาทุนงานวิจัยไปจากเรื่องที่เน้นเทคโนโลยีการทหารในปัจจุบัน ไปสู่การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เร่งด่วน\"[2] องค์กรว่าจ้างทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ และวิศวกรที่ทำงานเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและความมั่นคง รวมทั้งบุคลากรฝ่ายบริหารและฝ่ายสนับสนุน[3]", "title": "Union of Concerned Scientists" } ]
[ { "docid": "763880#6", "text": "UCS สนับสนุนให้ปรับปรุงกฎหมายบังคับเพิ่มการประหยัดน้ำมันของรถยนต์และรถบรรทุกขนาดเล็กเช่นรถกระบะ ให้ออกกฎหมายในระดับรัฐเพื่อลดแก๊สเรือนกระจกที่ปล่อยโดยรถยนต์และรถบรรทุก ให้ลดระดับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกอย่างลึกในสหรัฐอเมริกา และให้ปฏิบัติการทั้งในระดับชาติและนานาชาติเพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ องค์กรได้ทำรายงานหลายงานเกี่ยวกับผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับภูมิภาคของสหรัฐ[12][13] องค์กรสนับสนุนการเพิ่มภาษีสำหรับผู้ที่ปล่อยมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม และให้ผลประโยชน์ (เช่นการลดภาษี) สำหรับปฏิบัติการที่เป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม[10]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#15", "text": "ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2004 UCS ได้รับความสนใจจากสื่อจากการตีพิมพ์รายงาน \"ความซื่อสัตย์สุจริตด้านวิทยาศาสตร์ในการออกนโยบาย\" ซึ่งวิจารณ์รัฐบาลของประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ที่ทำวิทยาศาสตร์ให้เป็นเรื่องการเมือง เรื่องที่กล่าวหารวมทั้งการเปลี่ยนข้อมูลในรายงานปรากฏการณ์โลกร้อนที่ทำโดยสำนักงานป้องกันสิ่งแวดล้อมสหรัฐ และเลือกสมาชิกของคณะผู้ให้คำปรึกษาทางวิทยาศาสตร์โดยผลประโยชน์ทางธุรกิจแทนที่ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ในเดือนกรกฎาคม 2004 UCS เพิ่มบทเพิ่มเติมสำหรับรายงานที่วิจารณ์รัฐบาลของประธานาธิบดีบุช และอ้างว่ามีการเปลี่ยนแปลงรายงานเกี่ยวกับเหมืองเปิดในรัฐเวสต์เวอร์จิเนียอย่างไม่เหมาะสม และว่า ผู้ที่ได้รับเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติดีสำหรับตำแหน่งในรัฐบาล เช่น ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ดร.ทอร์สเต็น วีเซิล ถูกปฏิเสธตำแหน่งเพราะความเห็นทางการเมืองที่แตกต่าง แต่ในวันที่ 2 เมษายน 2004 ผู้อำนวยการของสำนักงานนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งทำเนียบขาว แจ้งว่า เหตุการณ์ที่กล่าวถึงในรายงานของ UCS \"ไม่เป็นจริง\" \"ผิด\" หรือ \"บิดเบือน\"[29] แล้วปฏิเสธไม่พิจารณารายงานในฐานะ \"มีอคติ\"[30] UCS โต้ตอบว่า ข้ออ้างของผู้อำนวยการไม่แสดงเหตุผล และต่อมากล่าวอีกว่า ตั้งแต่นั้นมา รัฐบาลของประธานาธิบดีบุชก็ไม่พูดอะไรอีกเกี่ยวกับประเด็นนั้นอีก[31]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#22", "text": "นิตยสารขององค์กรชื่อ Catalyst ที่พิมพ์ 3 ครั้งต่อปี (2007) Check date values in: |date= (help) (2014)", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "6388#143", "text": "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่จะสร้างขึ้นที่ Vogtle คือเครื่องปฏิกรณ์รุ่นที่สามใหม่, AP1000, ที่ได้รับการบอกเล่าว่าจะมีการปรับปรุงความปลอดภัยเหนือกว่าของเครื่องปฏิกรณ์พลังงานตัวเก่า[268]. อย่างไรก็ตาม John Ma วิศวกรโครงสร้างอาวุโสที่ NRC กังวลว่าบางส่วนของผิวเหล็กของ AP1000 จะเปราะมากจน \"พลังงานกระทบ\" จากการกระแทกของเครื่องบินหรือพายุกระหน่ำวิถีโค้งจะสามารถทำลายผนัง[275]. Edwin Lyman, นักวิทยาศาสตร์อาวุโสที่ Union of Concerned Scientists ได้กังวลเกี่ยวกับความแข็งแรงของแท่งบรรจุเหล็กกล้าและโล่คอนกรีตที่สร้างรอบ AP1000[275][276].", "title": "พลังงานนิวเคลียร์" }, { "docid": "763880#16", "text": "วันที่ 30 ตุลาคม 2006 UCS ออกข่าวอ้างว่า เจ้าหน้าที่ระดับสูงของ U.S. Department of the Interior รวมทั้งรองผู้ช่วยเลขาธิการในเรื่องปลา สิ่งมีชีวิตในป่า และอุทยานแห่งชาติ ได้ไปเปลี่ยนข้อมูลวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบเพื่อที่จะลดหย่อนการป้องกันสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์และกฎหมาย[32]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#23", "text": "หมวดหมู่:องค์การวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ขบวนการต่อต้านนิวเคลียร์ หมวดหมู่:นโยบายอาวุธนิวเคลียร์ หมวดหมู่:องค์การการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมวดหมู่:องค์การพลังงานทดแทน หมวดหมู่:พันธุวิศวกรรมในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:องค์กรในสหรัฐอเมริกา", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#20", "text": "ในเดือนสิงหาคม 2008 UCS ซื้อป้ายโฆษณาที่สนามบินต่าง ๆ ในเมืองเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด และเขตมหานครมินนีแอโพลิส-เซนต์พอล รัฐมินนิโซตา ซึ่งเป็นเขตที่จะจัดงานประชุมเลือกผู้สมัครประธานาธิบดีของพรรคเดโมแครต และของพรรคริพับลิกัน โดยที่ป้ายโฆษณาในเขตทั้งสองแห่งเกือบเหมือนกัน แต่ละแห่งแสดงภาพเขตกลางเมืองโดยมีเส้นกากบาทอยู่ตรงกลางพร้อมกับข้อความว่า \"เมื่อระเบิดนิวเคลียร์ลูกเดียวสามารถทำลายเมืองทั้งเมือง\" เช่นเดนเวอร์หรือมินนีแอโพลิส \"เราจึงไม่จำเป็นต้องมี 6,000 ลูก\" ต่อจากนั้นก็ตามมาด้วยชื่อของผู้สมัครประธานาธิบดีของทั้งสองพรรคคือสมาชิกวุฒิสภาจอห์น แม็คเคน หรือบารัก โอบามา พร้อมกับคำเตือนนี้ว่า “ถึงเวลาที่จะทำอะไรเป็นจริงเป็นจังเพื่อลดภัยของอาวุธนิวเคลียร์แล้ว“ แต่ต่อมา ป้ายโฆษณาถูกถอนออกหลังจากที่สายการบินนอร์ทเวส ซึ่งเป็นสายการบินทางการของงานประชุมริพับลิกัน บ่นต่อเจ้าหน้าที่ ดังนั้น UCS จึงกล่าวหาสายการบินนอร์ทเวส ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในรัฐมินนิโซตา ว่า \"กำลังเพิ่มหน้าที่เป็นเซ็นเซอร์\" และได้บ่นเพราะพิจารณาโฆษณาในเมืองมินนีแอโพลิสว่า \"น่ากลัว\" และ \"ต่อต้านนายแม็คเคน\"[37][38][39]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#3", "text": "ในปี 1992 ศ.เค็นดัลเขียนบทความ \"คำเตือนของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกต่อมนุษย์\" ที่เสนอให้มีความเปลี่ยนแปลงระดับพื้นฐานเพื่อแก้ปัญหาความมั่นคงและสิ่งแวดล้อม ที่เซ็นโดยนักวิทยาศาสตร์กว่า 1,700 คน รวมทั้งผู้รับรางวัลโนเบลโดยมากในสาขาวิทยาศาสตร์ โดยมีข้อปฏิบัติโดยเฉพาะว่า \"ยกตัวอย่างเช่น เราต้องเปลี่ยนจากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ไปใช้แหล่งพลังงานที่ไม่มีวันหมด เพื่อลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกและมลพิษเข้าสู่อากาศและน้ำ ... เราต้องตรึงจำนวนประชากรให้คงที่\"[7]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#10", "text": "UCS สนับสนุนให้ลดการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพื่อป้องกันการดื้อยา[22][23] |archivedate=2015-09-11 ต่อต้านการโคลนสัตว์เพื่อเป็นอาหาร [24] ต่อต้านการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมในเกษตรกรรมแต่ยอมรับว่า การใช้แบคทีเรียที่สร้างด้วยพันธุวิศวกรรมเพื่อผลิตยาในที่จำกัดได้ผลดี และอาจสามารถใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมในกระบวนการผลิตอาหารอย่างอื่นได้[25]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#17", "text": "วันที่ 11 ธันวาคม 2006 UCS เผยแพร่บทความที่ร้องเรียกให้คืนความซื่อสัตย์สุจริตทางวิทยาศาสตร์ต่อการออกนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเป็นบทความที่เซ็นโดยนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำ 10,600 ท่านรวมทั้งผู้ได้รับรางวัลโนเบล[33]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#14", "text": "ในปี ค.ศ. 1997 UCS ได้ยื่นอุทธรณ์ “นักวิทยาศาสตร์โลกเรียกร้องให้เริ่มปฏิบัติการ (World Scientists Call For Action)” ให้กับผู้นำโลกที่กำลังประชุมกันเพื่อเจรจาสนธิสัญญาพิธีสารเกียวโต โดยกล่าวว่า \"มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ภูมิอากาศว่า ‘ในปัจจุบัน มีอิทธิพลจากมนุษย์ที่กำหนดได้ต่อภูมิอากาศโลก’\" และกระตุ้นให้รัฐบาลต่าง ๆ \"ทำสัญญาที่ผูกมัดตามกฎหมายให้ลดการปล่อยแก๊สที่กักความร้อนของประเทศอุตสาหกรรม\" และเรียกปรากฏการณ์โลกร้อนว่า \"เป็นภัยที่สาหัสที่สุดต่อโลกและคนรุ่นต่อ ๆ ไป\"[26] เป็นอุทธรณ์ที่เซ็นชื่อโดย \"นักวิทยาศาสตร์อาวุโสที่มีชื่อเสียงที่สุดกว่า 1,500 คน รวมทั้งผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่\"[27][28]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "323534#9", "text": "นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับการประมาณค่านอกช่วง (English: extrapolation) จากโมเดลเชิงเส้นที่ไม่มีขีดจำกัด (English: linear no-threshold model) ของความเสียหายที่เกิดจากรังสี ให้ลดลงไปที่ศูนย์ สหภาพนักวิทยาศาสตร์ที่เป็นห่วง (English: Union of Concerned Scientist) ประมาณการว่า ในหมู่หลายร้อยล้านคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขึ้น จะมีผู้ป่วยโรคมะเร็งเกิน 50,000 กรณีซี่งจะทำให้เกิน 25,000 รายเสียชีวิตจากมะเร็ง[16]", "title": "ภัยพิบัติเชียร์โนบีล" }, { "docid": "763880#9", "text": "UCS ได้กล่าวหารัฐบาลสหรัฐว่าได้เข้าไปก่อกวนวิทยาศาสตร์ด้วยเหตุทางการเมืองเป็นสิบ ๆ ครั้ง[19] และสนับสนุนการป้องกันผู้แฉการกระทำผิดของรัฐ รางวัลทางการเงิน และเสรีภาพในการพูด สำหรับนักวิทยาศาสตร์ของรัฐบาลกลาง โปรแกรมความซื่อสัตย์สุจริตทางวิทยาศาสตร์ขององค์กร ได้ทำงานสำรวจนักวิทยาศาสตร์ของรัฐบาลกลางในองค์กรต่าง ๆ[20] และได้เขียนบทความเซ็นโดยนักวิทยาศาสตร์กว่า 11,000 คนที่ประณามการแทรงแซงทางการเมืองในวิทยาศาสตร์[21]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#4", "text": "ตามสถาบันนักวิชาการสถาบันหนึ่ง องค์กรเป็นมูลนิธิที่ได้รับเงินบริจาคเพื่อการศึกษาภูมิอากาศเป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริกาในระหว่างปี 2000-2002[8] โดยที่ 1/4 ของรายได้แบบบริจาคทั้งหมดมูลค่า 24 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (คือที่ 6 ล้านเหรียญ) มีจุดประสงค์นั้น องค์กรที่ประเมินองค์กรการกุศลอเมริกันองค์กรหนึ่งกล่าวว่า ในปี 2013 UCS ได้รับรายได้ 26.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มีรายจ่ายที่ 18.8 ล้านเหรียญ และมีทรัพย์สินมีมูลค่า 39.3 ล้านเหรียญ และในปีเดียวกันองค์กรประเมินนั้นก็ให้คะแนน UCS 91.19 จาก 100[9]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "114841#7", "text": "ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1777 คณะกรรมาธิการทหารเรือแห่งสภาคองเกรสภาคพื้นทวีปครั้งที่ 2 (Marine Committee of the Second Continental Congress) ได้ผ่านมติเรื่องธง (Flag Resolution of 1777) ซึ่งระบุว่า \"อนุมัติให้ธงสหรัฐมีริ้ว 13 ริ้วสีแดงสลับขาว และที่มุมธงบนด้านคันธง (ในประกาศนี้ภาษาอังกฤษใช้คำว่า \"union\") ใช้รูปดาวสีขาวบนพื้นน้ำเงิน เป็นเครื่องหมายแห่งการรวมกลุ่ม (ก่อตั้งประเทศ) ขึ้นใหม่ (\"Resolved, That the flag of the United States be thirteen stripes, alternate red and white; that the union be thirteen stars, white in a blue field, representing a new Constellation.\") สหรัฐจึงได้ถือเอาวันที่ 14 มิถุนายนของทุกปีเป็นวันธงชาตินับแต่นั้นมา ", "title": "ธงชาติสหรัฐ" }, { "docid": "19383#19", "text": "ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และต้นทศวรรษ 1970 ทั้งนักศึกษาและบุคคลากรในสถาบันได้ทำการประท้วงทั้งสงครามเวียดนามทั้งงานวิจัยของ MIT เกี่ยวกับการทหาร องค์กรสหภาพนักวิทยาศาสตร์ผู้ห่วงใย (Union of Concerned Scientists) ได้รับการจัดตั้งขึ้นในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1969 ในการประชุมระหว่างบุคคลากรสถาบันและนักศึกษา ที่ต้องการเปลี่ยนแนวทางงานวิจัยที่เน้นการทหารไปยังปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมแทน ในที่สุด MIT ก็แยกออกจากแล็บชาลส์สตาร์กเดรปเปอร์ (ที่ทำงานวิจัยทางการทหาร) และย้ายงานวิจัยลับทางทหารทั้งหมดจากมหาวิทยาลัยไปที่แล็บลิงคอล์นในปี ค.ศ. 1973 เพื่อตอบสนองต่อประเด็นปัญหาของการประท้วง ทั้งหมู่นักศึกษา หมู่บุคคลากร และหมู่ผู้บริหาร โดยเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นแล้ว ไม่ได้แบ่งออกเป็นพรรคเป็นหมู่ ในช่วงเวลาที่เป็นสมัยสับสนอลหม่านในมหาวิทยาลัยหลายแห่งอื่น ๆ อธิการบดีจอห์นสันได้รับเกียรติว่า ประสบความสำเร็จอย่างสูงในการนำสถาบันไปสู่ \"ความเข้มแข็งสามัคคีที่ดีขึ้น\" หลังจากได้ผ่านเหตุการณ์วุ่นวายเหล่านี้ไปแล้ว", "title": "สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์" }, { "docid": "763880#8", "text": "UCS ยังรับรองบทความ Forests Now Declaration ซึ่งเสนอให้ใช้กลไกการตลาดเพื่อป้องกันการตัดไม้ทำลายป่า เพราะตระหนักถึงความสำคัญของการลดการตัดไม้เพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ[17] องค์กรสนับสนุนการให้ผลประโยชน์จากรัฐสำหรับบุคคลที่ต้องการรักษาที่ดินที่ไม่ปลูกสร้างแทนที่จะขายให้กับผู้ก่อสร้าง[10] และน้ำมันปาล์มที่ไม่ต้องตัดไม้ทำลายป่า[18]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#5", "text": "ในปี 1999 UCS ตีพิมพ์หนังสือ แนวทางผู้บริโภคในการเลือกกระทำเพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิผล คำแนะนำเชิงปฏิบัติของ Union of Concerned Scientists ที่ \"ช่วยแยกแยะสิ่งที่สำคัญและเล็กน้อย และช่วยเลือกกระทำสิ่งที่เข้ากับค่านิยมของคุณ\" หนังสือระบุว่าการใช้รถที่ประหยัดน้ำมันและการขับรถให้น้อยลง เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่คนโดยมากสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากตน[10] และต่อมาในปี 2012 ก็ตีพิมพ์หนังสือคล้ายกันอีกเล่มหนึ่งชื่อ เย็นลงแบบชาญฉลาด ขั้นตอนปฏิบัติในการใช้ชีวิตแบบสร้างคาร์บอนน้อย[11]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#18", "text": "วันที่ 23 พฤษภาคม 2007 UCS อ้างการศึกษาร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ แล้วออกข่าวอ้างว่า \"การทดสอบระบบป้องกันขีปนาวุธของสหรัฐที่ไม่สามารถแสดงว่า ขีปนาวุธตัวยิงสกัดสามารถแยกแยะระหว่างหัวอาวุธตัวจริงหรือตัวล่อหรือไม่ เป็นการทดสอบที่ไม่มีความหมาย\" และ \"เป็นเพียงเล่ห์กล\" และเรียกร้องให้ยุติโปรแกรมพัฒนาที่สนับสนุนโดยเงินภาษีของประชาชน นอกจากระบบจะสามารถแสดงสมรรถภาพที่กำจัดภัยได้ในสถานการณ์จริง[34]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#11", "text": "UCS ต่อต้านการใช้อาวุธอวกาศ และทำการเพื่อลดจำนวนอาวุธนิวเคลียร์ที่มีอยู่ทั่วโลก", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#12", "text": "ประเด็นต่าง ๆ ของการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมในเกษตรกรรม ที่ UCS วิจารณ์ในเชิงลบรวมทั้ง[25]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#7", "text": "UCS สนับสนุนมาตรฐานพลังงานทดแทนระดับชาติ เพื่อบังคับให้องค์กรผลิตไฟฟ้าผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทดแทนเช่นพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นสัดส่วนที่กำหนดชัดเจน และสนับสนุนให้มีมาตรฐานการประหยัดพลังงานของเครื่องใช้ในบ้าน[10] UCS ยอมรับว่าพลังงานนิวเคลียร์สามารถช่วยลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ก็ยืนยันว่า มันต้องปลอดภัยและถูกกว่านี้ก่อนที่ควรจะพิจารณาเป็นวิธีแก้ปัญหาโลกร้อนที่ใช้ได้ UCS สนับสนุนการตรวจสอบบังคับเพิ่มความปลอดภัยขององค์กรควบคุมพลังงานนิวเคลียร์ โดยเป็นขั้นต้อนหนึ่งในการปรับปรุงการใช้พลังงานนิวเคลียร์[14] UCS ได้วิจารณ์การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์รุ่น 3 บางแบบที่กำลังพิจารณาใช้ในสหรัฐ (คือ AP1000 และ Economic Simplified Boiling Water Reactor)[15] โดยกล่าวถึงแบบ European Pressurized Reactor ว่าเป็นแบบเดียวใต้การพิจารณาที่ มีโอกาสปลอดภัยและยากต่อการก่อการร้ายกว่าเครื่องที่มีอยู่ในปัจจุบัน[16]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "68204#0", "text": "นาฬิกาวันสิ้นโลก () เป็นหน้าปัดนาฬิกาเชิงสัญลักษณ์ โดยเป็นการเปรียบการนับถอยหลังมหันตภัยทั่วโลกที่อาจเกิด (เช่น สงครามนิวเคลียร์หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 โดยสมาชิกคณะกรรมการวิทยาศาสตร์และความมั่นคงของ \"จดหมายข่าวนักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์\" (Bulletin of the Atomic Scientists) ซึ่งได้รับคำแนะนำจากคณะกรรรมการปกครองและคณะกรรมการผู้สนับสนุน ซึ่งมีผู้ได้รับรางวัลโนเบล 18 คน ยิ่งตั้งนาฬิกาเข้าใกล้เที่ยงคืนมากเท่าใด นักวิทยาศาสตร์ก็เชื่อว่าโลกใกล้ภัยพิบัติทั่วโลกมากขึ้นเท่านั้น", "title": "นาฬิกาวันสิ้นโลก" }, { "docid": "763880#21", "text": "ในเดือนมีนาคม 2011 UCS ได้สรุปเหตุการณ์ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิประจำวันทุกวันให้กับสื่อ[40]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "760085#2", "text": "องค์กรที่ต่อต้าน GMO เช่น Organic Consumers Association, Union of Concerned Scientists, และกรีนพีซ อ้างว่า ความเสี่ยงต่าง ๆ ยังไม่ได้ศึกษาและควบคุมให้ดี นอกจากนั้นแล้ว ยังตั้งความสงสัยในความเป็นกลางขององค์กรของรัฐที่มีหน้าที่ควบคุมดูแล\nนอกจากองค์กรเหล่านี้ ยังมีสมาคมเกี่ยวกับสุขภาพต่าง ๆ ที่อ้างว่า ยังไม่มีคำตอบเกี่ยวกับผลระยะยาวต่อสุขภาพมนุษย์ และดังนั้น จึงเสนอให้บังคับการขึ้นป้ายอาหาร", "title": "ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม" }, { "docid": "763880#13", "text": "ระบบการควบคุมเทคโนโลยีของรัฐ และระบบการค้าขายที่ปรากฏในยุคเบื้องต้น การใช้เทคโนโลยีในเกษตรกรรมทำให้ปัญหาการปลูกพืชแบบชนิดเดียวในระบบอุตสาหกรรมแย่ยิ่งขึ้น ซึ่งไม่สนับสนุนระบบการเกษตรและระบบอาหารที่ยั่งยืน การออกนโยบายของรัฐบาลมักจะได้รับแรงผลักดันจากบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ มากกว่าจากข้อมูลวิทยาศาสตร์ที่แสดงวิธีการผลิตอาหารที่ประหยัดที่สุดเพื่อได้พืชผลมาก และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#0", "text": "Union of Concerned Scientists (อาจแปลว่าสหภาพนักวิทยาศาสตร์ผู้ห่วงใย ตัวย่อ UCS) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรที่ช่วยให้เสียงสนับสนุนวิทยาศาสตร์ (science advocacy) ในประเทศสหรัฐอเมริกา สมาชิกรวมทั้งประชาชนทั่วไปและนักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ ศ.ดร.เจมส์ แม็คคาร์ธี ผู้เป็นศาสตราจารย์คณะสมุทรศาสตร์ชีวะที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและอดีตประธานสมาคมเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อเมริกัน (American Association for the Advancement of Science) เป็นประธานกรรมการปัจจุบันขององค์กร[1]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#19", "text": "ในวันที่ 21 มิถุนายน 2007 รายงานของ UCS กล่าวหาสำนักงานป้องกันสิ่งแวดล้อมว่าเปลี่ยนข้อมูลวิทยาศาสตร์ด้วยเหตุผลทางการเมือง เพื่อเปลี่ยนกฎควบคุมโอโซนของสหรัฐ ผู้อำนวยการของโปรแกรมความซื่อสัตย์ทางวิทยาศาสตร์ของ UCS กล่าวว่า \"กฎหมายบอกว่าให้ใช้วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ก็บอกให้ลดระดับโอโซนที่เป็นบรรทัดฐานลงให้ถึงระดับที่ปลอดภัย... โดยไม่สนใจข้อวิเคราะห์ของนักวิทยาศาสตร์ตนเอง สำนักงานป้องกันสิ่งแวดล้อมกำลังเสี่ยงสุขภาพของคนอเมริกันเป็นล้าน ๆ คน\"[35][36]", "title": "Union of Concerned Scientists" }, { "docid": "763880#2", "text": "ผู้ร่วมจัดตั้งคนหนึ่งก็คือผู้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ศ.ดร.เฮ็นรี่ เค็นดัล ผู้เป็นประธานกรรมการองค์กรประมาณ 25 ปีจนกระทั่งเสียชีวิต[4] ในปี 1977 องค์กรได้สนับสนุน \"ข้อประกาศของนักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแข่งขันทางอาวุธนิวเคลียร์\" ที่เรียกร้องให้เลิกการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์และการเคลื่อนย้ายอาวุธไปในตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต[5] และต่อมาภายหลังเพื่อตอบโต้โครงการสร้างอาวุธป้องกันในอวกาศ (Strategic Defense Initiative) องค์กรได้สนับสนุนคำร้องทุกข์ที่ตั้งหัวเรื่องว่า \"คำอุทธรณ์ให้ห้ามอาวุธในอวกาศ\"[6]", "title": "Union of Concerned Scientists" } ]
4035
รัชกาลที่ 2มีพระนามว่าอย่างไร ?
[ { "docid": "4232#0", "text": "พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสวยราชสมบัติเมื่อปีมะเส็ง พ.ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา", "title": "พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย" } ]
[ { "docid": "42043#4", "text": "ในสมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี พระองค์นับเป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 4 เพียง 1 ใน 4 พระองค์ที่ได้ทรงกรม และเป็นเพียง 1 ใน 2 พระองค์ที่ทรงกรมขณะมีพระชนม์ชีพ และพระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาในรัชกาลที่ 7", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงทิพยรัตนกิริฏกุลินี" }, { "docid": "235783#5", "text": "กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 1 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ นั้นได้จัด 1 กองร้อยปืนใหญ่ยิงสลุต ในขั้นตอนถวายพระพร โดยใช้ปืนใหญ่เบากระสุนวิถีราบ แบบ 80 ขนาด 75 มิลลิเมตร จำนวน 4 กระบอก ซึ่งปรับปรุงดัดแปลงมาจากปืนใหญ่ที่ผลิตจากบริษัทโบฟอร์ด ราชอาณาจักรสวีเดน ที่เข้าประจำการเป็นปืนใหญ่ของกองพล เมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยทำการยิงตามจังหวะของเพลงสรรเสริญพระบารมีจำนวน 21 นัด\nสมัยก่อนการยิงสลุตในประเทศไทยยังไม่มีข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์อย่างไร เพิ่งจะมีข้อบังคับในการยิงสลุตเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2448 เรียกว่า “ข้อบังคับว่าด้วยการยิงสลุต ร.ศ.125” แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การยิงสลุตหลวง และการยิงสลุตเป็นเกียรติแก่ข้าราชการ ครั้นถึงรัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตราพระราชกำหนดการยิงสลุตขึ้นใหม่ คือ การยิงสลุต ร.ศ.131 (พ.ศ. 2455) กำหนดให้มีจำนวนปืนไม่ต่ำกว่า 4 กระบอก ซึ่งมีขนาดลำกล้องไม่เกิน 120มิลลิเมตร ห้ามยิงตั้งแต่เวลาพระอาทิตย์ตกไปแล้วจนถึงพระอาทิตย์ขึ้น แบ่งประเภทการยิงสลุตไว้ 3 ประเภท คือพระราชกำหนดยิงสลุต ร.ศ.131 (พ.ศ. 2455) ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ. 2483 ดังนั้นประเพณียิงสลุตจึงได้อวสานลงเพียงแค่นั้น แต่เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ยุติลง ทางราชการจึงรื้อฟื้นประเพณียิงสลุตขึ้นมาใหม่ ซึ่งเริ่มยิงสลุตครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2491 เนื่องในพระราชพิธีวันเฉลิมพระชนมพรรษาของรัชกาลที่ 9 ดังนั้นประเพณีการยิงสลุตจึงสืบทอดจากนั้นมาจนทุกวันนี้ โดยกำหนดข้อบังคับไว้โดยสรุปดังนี้ กองทหารซึ่งมีหน้าที่ยิงสลุต เฉพาะเมื่อรับงานหนึ่งๆ การยิงสลุต ให้ใช้ปืนไม่ต่ำกว่า 2 กระบอก โดยปกติห้ามมิให้มีการยิงสลุตในระหว่างเวลาตั้งแต่พระอาทิตย์อัสดงคตไปจนถึงเวลาธงขึ้น คือ 8 นาฬิกา เว้นแต่เป็นการพิเศษที่มีคำสั่งกระทรวงกลาโหมเฉพาะคราว", "title": "การยิงสลุต" }, { "docid": "927564#0", "text": "เนื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฏหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484ตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484 ได้กำหนดให้ปรับเปลี่ยนลักษณะเหรียญบางส่วน และพระราชทานเฉพาะเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เท่านั้น", "title": "รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา" }, { "docid": "369795#0", "text": "หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร", "title": "หอพระนาก" }, { "docid": "318008#0", "text": "เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ มีพระนามเต็มว่า เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ ดำรงรัฐสีมาอุบลราชธานีบาล พระนามเดิมว่า เจ้าหน่อคำ ทรงเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๕ ในฐานะเจ้าประเทศราชต่อจากพระพรหมราชวงศา (กุคำ สุวรรณกูฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๔ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เดิมมีพระยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เป็นที่เจ้าราชวงษ์นครจำปาศักดิ์ ในสมัยเจ้าราชบุตร (โย่) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน ๒ สกุลคือ พรหมโมบล และ เทวานุเคราะห์", "title": "เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์" }, { "docid": "18659#1", "text": "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ มีพระราชปรารภว่า ในสมัยอยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงหล่อพระศรีสรรเพชญ์ และพระเจ้าแผ่นดินองค์ต่อๆ มา ทรงหล่อพระรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ผู้ทรงเป็นบรมกษัตริย์ขึ้นไว้สักการบูชา ด้วยอาศัยปรารภเหตุทั้งสองอย่างนี้ จึงทรงพระราชศรัทธาสร้างพระพุทธรูปใหญ่ หุ้มด้วยทองคำ เพื่อให้เป็นพระพุทธรูปฉลองพระองค์ รัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 เมื่อทรงปรึกษาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งยังผนวช จึงมีพระราชดำริว่าพระพุทธรูปความมีความสูงในราวหกศอก จึงได้ทรงสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่อง อย่างจักรพรรดิราช 2 องค์ จารึกพระนามองค์หนึ่งว่า พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระราชอุทิศถวายสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช จักรพรรดินารถบพิตร อีกพระองค์หนึ่งจารึกพระนามว่า พระพุทธเลิศหล้าสุลาลัย ทรงพระราชอุทิศถวายสมเด็จพระบรมชนกนารถธรรมิกราชบพิตร ซึ่งเดิมเรียกว่า แผ่นดินต้น แผ่นดินกลาง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงหวั่นวิตกว่าประชาชนจะเรียกแผ่นดินของพระองค์ว่า \"แผ่นดินปลาย\" ซึ่งหมายถึงสิ้นสุดสมัยรัตนโกสินทร์ อันจะเป็นอัปมงคล จึงมีพระบรมราชโองการให้ตั้งนามแผ่นดินตามพระพุทธปฏิมากรทั้ง 2 พระองค์ แผ่นดินต้นให้ใช้ว่าแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก แผ่นดินกลางให้ใช้ว่าแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าสุลาลัย ซึ่งต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เปลี่ยนสร้อยพระนามเป็น “นภาลัย”", "title": "พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย" }, { "docid": "42383#11", "text": "มีเกร็ดเล่ากันว่า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง หรือพระนามโดยย่อว่า สมเด็จพระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ 6 และ 7 นั้น เนื่องจากทรงเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีมาแต่รัชกาลก่อน ทรงครองพระอิสริยยศสูงสุดเหนือบรรดาพระมเหสีทั้งปวง ประกอบกับทรงเป็น \"น้องเล็ก\" มาก่อนจึงค่อนข้างแต่จะทรงเอาพระราชหฤทัยพระองค์เอง แต่สมเด็จพระมาตุจฉาเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวีซึ่งทรงครองพระราชอิสริยยศสมเด็จพระอัครมเหสีมาแต่เดิม และพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี ทั้ง 2 พระองค์นั้นในฐานะพระเชษฐภคินี (สมเด็จพระมาตุจฉาเจ้าฯ พระบรมราชเทวีนั้น เป็นพระโสทรเชษฐภคินี คือทรงร่วมพระราชบิดา-มารดาเดียวกันกับสมเด็จพระพันปีหลวง ส่วนพระนางเจ้าฯ พระราชเทวีนั้น เป็นพระเชษฐภคินีร่วมพระราชบิดา แต่ต่างพระมารดากันกับสมเด็จพระพันปีหลวง) ก็ทรงประทานอภัยให้เสมอ ในปลายรัชกาลที่ 6 ก่อนที่สมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ จะเสด็จสวรรคตไม่นานนั้น สมเด็จพระเชษฐภคินีทั้ง 2 พระองค์ก็ได้เสด็จไปเยี่ยมพระอาการประชวรสมเด็จพระพันปีหลวง ณ พระราชวังพญาไท อันเป็นพระราชสำนักของสมเด็จพระพันปีหลวงตั้งแต่สิ้นรัชกาลที่ 5 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระพันปีหลวงนั้นถึงกับทรงลงไปกราบถวายบังคมแทบเบื้องพระบาทสมเด็จพระเชษฐภคินีทั้ง 2 พระองค์ ขอพระราชทานอภัยโทษ แล้ว 3 พระองค์พี่น้องก็ทรงกอดกันทรงพระกันแสง จนนางพระกำนัล นางสนองพระโอษฐ์ที่อยู่แถวนั้นต้องร้องไห้ตามๆ กันไป", "title": "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" }, { "docid": "170636#19", "text": "พระอุโบสถของวัดก่อเป็นอิฐสูงพ้นดินประมาณ 2 ศอก เอาเสาไม้แก่นเป็นเสาประธาน หลังคามุงกระเบื้อง ฝาผนังเอาไม้สักเป็นฝารอบ มีบานประตูหน้าต่าง แต่กุฎีนั้นทำด้วยเสาไม้แก่น มีหลังคามุงบัง สัณฐานเช่นเรือนโบราณ ครั้นต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) เมื่อเจ้าจอมแว่นถึงแก่กรรมแล้ว ได้มีญาติผู้หญิงของเจ้าจอมแว่นท่านหนึ่งเป็นข้าราชการฝ่ายในมีนามว่า อิน ได้มีจิตศรัทธาจัดการปฏิสังขรณ์วัดขรัวอินเสียใหม่ทั้งวัด การปฏิสังขรณ์คราวนี้ได้รื้อเอาสถานที่ของเก่าออกทิ้งทั้งหมดแล้วสร้างใหม่ โดยสร้างเป็นอุโบสถขนาดเล็ก ก่ออิฐปูนขึ้นใหม่ เสนาสนะก่อด้วยอิฐปูนแต่เครื่องบนใช้ไม้ไผ่สานเป็นแกน เสร็จแล้วได้กราบถวายบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) พระองค์จึงทรงดำริว่า \"วัดขรัวอินนี้แปลก สมภารเจ้าวัดชื่อ อิน ผู้ศรัทธาปฏิสังขรณ์ก็ชื่อ อิน ไม่แต่เท่านั้น ชาวบ้านก็อุตส่าห์ให้เรียกว่า วัดขรัวอิน เสียอีก\" จึงได้พระราชทานนามให้วัดนี้ใหม่ว่า วัดดาวดึงษาสวรรค์ อันหมายถึง สวรรค์ชั้นที่พระอินทร์สถิตย์อยู่[20]", "title": "เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "7821#27", "text": "รายนามเจ้าเมืองศรีนครลำดวน, เจ้าเมืองขุขันธ์, ข้าหลวงกำกับราชการ, ผู้ว่าราชการเมืองขุขันธ์รายนามวาระการดำรงตำแหน่ง1. พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน (พระยาขุขันธ์ภักดี-พระไกรภักดีศรีนครลำดวน-หลวงแก้วสุวรรณ หรือตากะจะ) ผู้ก่อตั้งเมือง เจ้าเมืองขุขันธ์ท่านแรก พ.ศ. 2302 – 2321 (รัชกาลพระเจ้าเอกทัศน์ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย – รัชกาลพระเจ้าตากสินมหาราช สมัยกรุงธนบุรี)2. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (หลวงปราบ/เชียงขัน) เจ้ามืองขุขันธ์พ.ศ. 2321 – 2325 (รัชกาลพระเจ้าตากสินมหาราช สมัยกรุงธนบุรี)3. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าวบุญจันทร์) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2325 – 2369 (รัชกาลสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช – รัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว)4. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (พระสังฆะ บุตรเจ้าเมืองสังฆะ) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2369 – พ.ศ. 2393 (รัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว)5. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าวใน หรือ พระยาภักดีภูธรสงคราม) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2393 (รัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว)6. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าวนวล หรือ พระแก้วมนตรี) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2393 (รัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว)7. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าวกิ่ง หรือ พระภักดีภูธรสงคราม) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2393 – พ.ศ. 2395 (รัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว – รัชกาลสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) 8. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าววัง หรือ พระวิชัย) เจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2395 – พ.ศ. 2426 (รัชกาลสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว – รัชกาลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) 9. พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน (ท้าวปัญญา ขุขันธิน ต้นสกุล ขุขันธิน นามสุกลพระราชทาน [21]) เจ้าเมืองขุขันธ์ และผู้ว่าราชการเมืองขุขันธ์(คนแรก)พ.ศ. 2426 – พ.ศ. 2450 (รัชกาลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) หลวงเสนีย์พิทักษ์ ข้าหลวงกำกับราชการเมืองขุขันธ์(คนที่ 1) ปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2428 – พ.ศ. 2431 (รัชกาลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)พระยาบำรุงบุรประจันต์ (ท้าวจันดี หรือ พระรัตนโกศา) ข้าหลวงกำกับราชการเมืองขุขันธ์(คนที่ 2) ปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2432 – พ.ศ. 2435 (รัชกาลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)พระศรีพิทักษ์ (ท้าวหว่าง) ข้าหลวงกำกับราชการเมืองขุขันธ์(คนที่ 3) ปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าเมืองขุขันธ์พ.ศ. 2436 – พ.ศ. 2450 (รัชกาลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)", "title": "จังหวัดศรีสะเกษ" }, { "docid": "461002#0", "text": "วัดดาวดึงษาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 872 แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยเจ้าจอมแว่น พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๑ สร้างขึ้นทำด้วยเสาไม้แก่น พระอุโบสถก่ออิฐสูงพ้นพื้นดินประมาณ 2 ศอก ชาวบ้านเรียกว่า “วัดขรัวอิน” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 ข้าราชการฝ่ายในชื่ออิน ซึ่งเป็นญาติของเจ้าจอมแว่นได้ปฏิสังขรณ์วัดนี้ เหตุด้วยผู้ครองวัดและผู้ปฏิสังขรณ์วัดมีนามเดียวกันว่า “อิน” พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงพระราชทานนามวัดนี้ว่า “วัดดาวดึงษาสวรรค์”", "title": "วัดดาวดึงษาราม" }, { "docid": "74670#0", "text": "นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย", "title": "รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2" }, { "docid": "4219#8", "text": "ลำดับรูปพระนามขึ้นครองราชย์สิ้นสุดการครองราชย์รัชกาลที่ 1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช6 เมษายน พ.ศ. 23257 กันยายน พ.ศ. 2352รัชกาลที่ 2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย7 กันยายน พ.ศ. 235221 กรกฎาคม พ.ศ. 2367รัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว21 กรกฎาคม พ.ศ. 23672 เมษายน พ.ศ. 2394รัชกาลที่ 4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว6 เมษายน พ.ศ. 23941 ตุลาคม พ.ศ. 2411รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว1 ตุลาคม พ.ศ. 241123 ตุลาคม พ.ศ. 2453รัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว23 ตุลาคม พ.ศ. 245326 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468รัชกาลที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว26 พฤศจิกายน พ.ศ. 24682 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478) (สละราชสมบัติ)รัชกาลที่ 8พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล2 มีนาคม พ.ศ. 2477 (2478)9 มิถุนายน พ.ศ. 2489รัชกาลที่ 9พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช9 มิถุนายน พ.ศ. 248913 ตุลาคม พ.ศ. 2559รัชกาลที่ 10สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร13 ตุลาคม พ.ศ. 2559ยังอยู่ในราชสมบัติ", "title": "ราชวงศ์จักรี" }, { "docid": "934036#0", "text": "ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 มหาราช มีพระราชโอรส และ พระราชธิดาจำนวนมาก ซึ่งมีพระราชโอรสประมาณ 48 ถึง 50 องค์ และพระราชธิดาประมาณ 40 ถึง 53 พระองค์ ซึ่งพระองค์ก็ได้ให้สลักรายพระนามพระราชบุตรไว้ในอนุสาวรีย์วิหารหลายแห่ง\nพระราชโอรสองค์แรกของฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 มักจะปรากฏในลำดับเดียวกันกับคำพรรณนา รายพระนามพระราชบุตรถูกค้นพบใน Ramesseum, Luxor, Wadi es-Sebua และ Abydos พระนามบางพระนามเป็นที่รู้จักจาก ostraka สุสานและที่อื่น ๆ พระราชโอรสของฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 ปรากฏในภาพวาดสงครามและชัยชนะจากสงครามเช่นสงครามแห่งคาเดชและสงครามบุกเมืองซีเรีย ในช่วงรัชกาลของพระองค์ (ปีที่ 5 และ 10 ตามลำดับ) ดังนั้นจึงมีแนวโน้มพระราชบุตรของฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 สิ้นพระชนม์ก่อนที่จะขึ้นครองบัลลังก์ไอยคุปต์ ดังนั้นพระราชบุตรของฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 หลายพระองค์จึงถูกฝังไว้ในหุบเขากษัตริย์ รหัสสุสาน KV5", "title": "รายพระนามพระราชบุตรของฟาโรห์แรเมซีสที่ 2" }, { "docid": "170636#18", "text": "วันหนึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) ทรงแสดงพระอาการว่าสบายพระราชหฤทัย จึงตรัสและทรงพระสรวลอย่างสนุกสนาน เจ้าจอมแว่นเห็นเป็นโอกาสดีก็เข้าไปใกล้พระองค์แล้วทูลว่า \"ขุนหลวงเจ้าขา ดีฉันจะทูลความสักเรื่องหนึ่ง แต่ขุนหลวงอย่ากริ้วหนา\" พระองค์จึงตรัสตอบว่า \"จะพูดอะไรก็พูดไปเถิด ไม่กริ้วดอก\" เจ้าจอมแว่นจึงทูลว่า \"ถ้ายังงั้น ขุนหลวงสบถให้ดีฉันเสียก่อน ดีฉันจึงจะทูล\" พระองค์ก็ตรัสด้วยถ้อยความอันหยาบคายว่า \"อีอัปรีย์ บ้านเมืองลาวของมึง เคยให้เจ้าชีวิตจิตสันดานสบถหรือ กูไม่สบถ พูดไปเถิด กูไม่โกรธดอก\" เจ้าจอมแว่นจึงกระเถิบเข้าพระองค์แล้วกระซิบทูลว่า \"เดี๋ยวนี้ แม่รอดท้องได้ ๔ เดือน\" พระองค์ทรงอึ้งไปครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า \"ท้องกับใคร\" เจ้าจอมแว่นจึงทูลว่า \"จะมีกะใครเสียอีกเล่า ก็พ่อโฉมเอกของขุนหลวงน่ะซี\" พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) ทรงกริ้วนิ่งๆ อยู่เป็นเวลาหลายวัน จึงไม่มีผู้ใดทราบว่าจะทรงทำอย่างไรกันแน่ และพากันเกรงพระราชอาญาแทนเจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์ไปตามกัน ฝ่ายเจ้าจอมแว่นร้อนใจมากกว่าผู้ใด จึงหาโอกาสเข้าไปทูลถามว่าทารกในพระครรภ์จะเป็นเจ้าฟ้าหรือไม่ พระองค์ก็ตรัสตอบว่าเป็นเจ้าฟ้า เจ้าจอมแว่นและเจ้านายทั้งหลายก็โล่งใจไปตามกัน ในที่สุดกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ก็เข้าไปขอพระพระราชทานโทษแทนพระเจ้าหลานทั้งสองพระองค์ เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์นั้นก็คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ภายหลังได้เสด็จเสวยราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) กับเจ้าฟ้าหญิงบุญรอด พระธิดาของเจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ ซึ่งในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี เจ้าจอมแว่นทรงรักใคร่เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์นี้มากเป็นพิเศษถึงกับได้บนบานว่า หากเรื่องคลี่คลายไปในทางที่ดีแล้ว ตนจะสร้างวัดถวายไว้ในพระพุทธศาสนาหนึ่งวัด ในที่สุดเจ้าจอมแว่นก็ได้สร้างวัดขึ้นกลางสวนวัดหนึ่ง ในตำบลบางยี่ขัน ธนบุรี (เชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า) เพื่อแก้บน คนทั้งหลายเรียกว่า วัดขรัวอิน[19]", "title": "เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "95911#1", "text": "เจ้าอนุวงศ์ทรงได้รับการเฉลิมพระนามตามจารึกประวัติศาสตร์ว่า สมเด็จบรมบพิตรพระมหาขัติยธิเบศไชยเชษฐา ชาติสุริยวงศ์องค์เอกอัครธิบดินทรบรมมหาธิปติราชาธิราช มหาจักรพรรดิ์ภูมินทรมหาธิปตนสากลไตรภูวนาถ ชาติพะโตวิสุทธิมกุตสาพาราทิปุลอตุลยโพธิสัตว์ขัติย พุทธังกุโลตรนมหาโสพัสสันโต คัดชลักขรัตถราชบุรีสีทัมมาธิราช บรมนาถบรมบพิตร จากการเฉลิมพระนามนี้ชี้ให้เห็นว่า นครเวียงจันทน์มีเจ้าผู้ปกครองแผ่นดินในฐานะพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงเอกราชมากกว่าที่จะอยู่ในฐานะเมืองขึ้นหรือเมืองส่วยอย่างที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ นอกจากนี้ ในจารึกหลายหลักยังออกพระนามของพระองค์แตกต่างกันไป ดังนี้ เจ้าอนุวงศ์ เอกสารทางประวัติศาสตร์บางแห่งออกพระนามว่า เจ้าอนุรุธราช ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ ๓ ของสมเด็จพระเจ้าไชยเสฏฐาธิราชที่ ๓ (พระเจ้าสิริบุญสาร หรือ เจ้าองค์บุญ ครองราชย์ราว พ.ศ. ๒๒๙๔-๒๓๒๒) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๔ และพระมหากษัตริย์เอกราชแห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์สุดท้าย ก่อนตกเป็นประเทศราชของกรุงธนบุรี สันนิษฐานว่าพระราชมารดาทรงเป็นพระอัครมเหสีฝ่ายขวา เจ้าอนุวงศ์ทรงเป็นพระราชนัดดาในเจ้าองค์ลอง พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๒ (ครองราชย์ราว พ.ศ. ๒๒๗๓-๒๓๒๒) ส่วนเจ้าองค์ลองนั้นทรงเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๒ (หรือพระไชยองค์เว้) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๑ (ครองราชย์ราว พ.ศ. ๒๒๕๐-๒๒๗๓) เจ้าอนุวงศ์ทรงมีพระราชอิสริยยศเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอกโดยกำเนิด และมีลำดับในการสืบราชสันตติวงศ์ตามระบบเจ้ายั้งขะหม่อมทั้ง ๔ หรือระบบอาญาสี่ของลาวเป็นลำดับที่ ๓ (โดยนับจากพระเชษฐาสู่พระอนุชา) พระยศของพระองค์ต่างจากพระยศของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) แห่งกรุงเทพมหานครผู้เป็นคู่ปรับของพระองค์ ซึ่งมีพระยศเป็นพระองค์เจ้าโดยกำเนิด ความสัมพันธ์ของเจ้าอนุวงศ์กับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) ของสยาม ทรงเป็นไปอย่างสนิทแนบแน่นและเป็นความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติ เนื่องจากเจ้าคุณจอมเจ้าหญิงคำแว่น (เจ้าจอมแว่น หรือคุณเสือ) และเจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงคำสุก (ทองสุก) พระราชนัดดาทั้งสองของพระองค์ ทรงเป็นเจ้าจอมพระสนมเอกและพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) และพระราชธิดาของเจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงคำสุก (ทองสุก) คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลทิพยวดี หรือ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงจันทบุรี ทรงเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้ายในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) ด้วย นักวิชาการทางประวัติศาสตร์และการเมืองบางท่านกล่าวว่า สถานะของพระองค์เมื่อครั้งประทับอยู่ ณ กรุงเทพมหานครนั้นเป็นเสมือนองค์ประกันความจงรักภักดีต่อกรุงสยามของกรุงเวียงจันทน์ เสมอสถานะของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเมื่อครั้งประทับในกรุงหงสาวดีของพม่า", "title": "เจ้าอนุวงศ์" }, { "docid": "423711#1", "text": "พระสนมฮีบิน มีพระนามเดิมว่าอย่างไรไม่ปรากฏประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1494 เป็นธิดาของใต้เท้านัมยางหรือ ฮงคยองจู ขุนนางผู้ใหญ่ที่ช่วยให้พระเจ้าจุงจงได้ครองราชย์ต่อมาใต้เท้านัมยางได้ถวายตัวธิดาให้เป็นพระสนมซึ่งพระนางก็ได้ประสูติพระราชโอรส 2 พระองค์คือ องค์ชายกึมวอน และ องค์ชายพงซอน เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าจุงจงพระนางก็ถูก พระพันปีมุนจอง ขับออกจากวังเพราะความทะเยอทะยานของตัวพระสนมฮีบินเองเมื่อถูกขับออกจากวังพระสนมฮีบินก็ได้ไปบวชเป็นชีที่วัดแห่งหนึ่ง พระสนมฮีบินสิ้นพระชนม์ในรัชกาล พระเจ้าซอนโจ เมื่อปี ค.ศ. 1581 เมื่อพระชนม์ได้ 87 พรรษา", "title": "พระสนมฮีบิน ตระกูลฮง" }, { "docid": "86481#1", "text": "แต่เดิมนั้นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีรัชกาลที่ 1-3 นั้น ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยของพระองค์เองโดยขึ้นต้นว่า “สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี” และมีสร้อยพระนามเหมือนกันทั้ง 3 รัชกาล ราษฎรจึงต้องสมมตินามแผ่นดินเอาเองเมื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล ในสมัยรัชกาลที่ 3 ราษฎรได้เรียกนามแผ่นดินรัชกาลที่ 1 ว่า \"แผ่นดินต้น\" รัชกาลที่ 2 ว่า \"แผ่นดินกลาง\" รัชกาลที่ 3 ว่า \"แผ่นดินนี้\" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ไม่ทรงโปรดการออกนามแผ่นดินดังกล่าว เนื่องจากทรงเกรงว่าต่อไปราษฎรจะเรียกรัชกาลของพระองค์ว่า \"แผ่นดินปลาย\" หรือ \"แผ่นดินสุดท้าย\" อันเป็นอัปมงคล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์พระมหากษัตริย์สองรัชกาลแรก ประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม องค์หนึ่งถวายพระนามว่า \"พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก\" อุทิศถวายสมเด็จพระบรมอัยกาธิราชรัชกาลที่ 1 และอีกองค์หนึ่งถวายพระนามว่า \"พระพุทธเลิศหล้าสุราไลย\" (ต่อมารัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ถวายสร้อยพระนามใหม่ว่า \"พระพุทธเลิศหล้านภาไลย\") อุทิศถวายสมเด็จพระบรมชนกนาถรัชกาลที่ 2 และโปรดเกล้าฯ ให้เรียกนามแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ทั้งสองรัชกาลตามนามพระพุทธรูปทั้งสององค์นี้", "title": "พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)" }, { "docid": "150690#13", "text": "หลังจากนั้นราว พ.ศ. ๑๘๐๐ - ๑๙๐๐ สมัยสุโขทัย วัดพระโมคลาน จึงร้างเพราะไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เนื่องจากท้องที่เป็นที่ทุรกันดาร จนกระทั่งสมัยกรุงศรีอยุธยา มีเจ้ากรมข้างซ้ายของเมืองนครไปครอบครองเป็นที่รักษาข้าง เรียกว่า “ข้างซ้าย” ตลอดมา จนเมืองนครเลิกตำแน่งข้างซ้าย ข้างขวา ข้างกลาง จึงมีพระสงฆ์เข้ามาตั้งสำนักสงฆ์ ตลอดสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๑ - รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ตอนนั้นบ้านเมืองเข้าสู่กาลียุค มีภัยต่าง ๆ เข้ารบกวน ต่อมาจนถึงรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีพระภิกษุสงฆ์องค์หนึ่ง มีนามว่า “ท่านครูป่าน” ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มบูรณะพระบรมธาตุ จึงไปนิมนต์พระพุทธรูปศักดิ์ สิทธิของวัดโมคลานมาไว้ ณ. วัดพระมหาธาตุ มีนามว่า “พระพวย” ปัจจุบันนี้ พระพวย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วิหารโพธิ์ลังกา ด้านหน้าวิหารเขียน และนอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปสมัยทราวดี ซึ่งจัดว่าสมบูรณ์ที่สุดในภาคใต้ ที่นำมาจากวัดโมคลาน", "title": "วัดโมคลาน" }, { "docid": "170636#0", "text": "เจ้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อัญญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์[1] ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณคนแรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ[2]", "title": "เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1" }, { "docid": "34416#8", "text": "ถึงแม้ว่าทูลกระหม่อมปู่ (รัชกาลที่ 5) แม้จะไม่ทรงรับพระนัดดาองค์ใหม่เป็นหลานอย่างเปิดเผย แต่ในที่สุดก็ได้โปรดให้พระนัดดาเข้าเฝ้าในปี พ.ศ. 2453 ที่พระราชวังพญาไท เมื่อพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์อายุครบ 2 ขวบ พระองค์ก็ทรงเล่าให้สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี ถึงพระนัดดาไว้ว่า \"วันนี้ฉันได้พบกับหลานชายของเธอ ดูน่ารักน่าเอ็นดูเหมือนพ่อ ฉันรู้สึกรักและหลงใหลคนนี้ตั้งแต่แรกเห็น เพราะถึงอย่างไรนี่ก็เป็นสายเลือดเชื้อไขของฉันเอง\" และรับสั่งต่อด้วยถ้อยคำที่แฝงความรู้สึกโล่งพระทัยว่า \"และไม่มีเค้าว่า มีเชื้อสายฝรั่งติดมาด้วยเลย\" ภายหลังรัชกาลที่ 5 ได้สวรรคตในปี 2453 ได้ค้นพบหลักฐานจากการบันทึกของหม่อมเจ้าทิพย์รัตน์ประภา เทวกุล ที่ท่านหญิงเคยรับใช้ฉลองพระเดชพระคุณสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถในพระบรมมหาราชวัง ทรงมีรับสั่งกับท่านหญิงว่า \"สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงกำลังโปรดตาหนู เสียดายที่มาด่วนสวรรคตไปเร็ว\" ส่วนรัชกาลที่ 6 ทรงพระเมตตารักท่านหนู ถ้าจะใคร่สันนิษฐาน โปรดเพียงใดจะเห็นได้ในประกาศเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระยศขึ้นเป็นพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2463", "title": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์" }, { "docid": "86481#2", "text": "ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี ทรงมีพระราชดำริว่าพระนามของพระมหากษัตริย์สืบไปภายหน้าควรใช้แตกต่างกันทุกรัชกาล เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการออกนามแผ่นดินเช่นที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว จึงทรงถวายพระนามแก่สมเด็จพระบูรพกษัตริย์รัชกาลก่อนหน้าพระองค์ทั้งสามรัชกาลดังนี้นอกจากนี้ยังทรงกำหนดหลักการเฉลิมพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ตามลำดับรัชกาล โดยรัชกาลที่เป็นเลขคี่ให้ใช้คำว่า \"ปรมินทร\" รัชกาลเลขคู่ให้ใช้คำว่า \"ปรเมนทร\" เป็นเครื่องหมายสังเกต พระนามพระมหากษัตริย์ไทยตามหลักพระราชนิยมดังกล่าวตั้งแต่รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมามีดังนี้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีโดยใช้คำนำหน้าพระนามว่า \"รามาธิบดีศรีสินทร\" ทุกรัชกาล เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 ดังนี้", "title": "พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)" }, { "docid": "56344#1", "text": "ในปี พ.ศ. 2362 สมัยแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงเห็นว่าจะเป็นช่องทางที่ข้าศึกจะยกทัพมาได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นที่ตำบลปากน้ำ โดยใช้เวลาสร้าง 3 ปี และได้จัดสร้างป้อมปราการขึ้นทั้งสองฝั่งแม่น้ำถึง 6 ป้อม คือ ป้อมประโคนชัย ป้อมนารายณ์ปราบศึก ป้อมปราการ ป้อมประกายสิทธิ์ ป้อมนาคราช และป้อมผีเสื้อสมุทร ในขณะที่สร้างเมืองนั้น รัชกาลที่ 2 ได้เสด็จทอดพระเนตรหลายครั้งและทรงสร้างพระมหาเจดีย์ ขึ้นที่เกาะกลางน้ำแล้วพระราชทานนามว่า “พระสมุทรเจดีย์” การสร้างยังมิทันเสร็จได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมา ในรัชกาลที่ 3 ได้ทรงสร้างต่อจนสำเร็จและสร้างป้อมขึ้นอีก 3 แห่ง คือ ป้อมตรีเพชร ป้อมคงกระพัน และป้อมเสือซ่อนเล็บ ", "title": "วัดพระสมุทรเจดีย์" }, { "docid": "110493#0", "text": "พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) มารดาคือคุณหญิงนก เกิดในสมัยรัชกาลที่ 2 แต่ไม่ทราบปี เข้ารับราชการในกรมท่าขวาในสมัยรัชกาลที่ 3เป็นพระราชเศรษฐี ได้ว่าการคลังวิเศษในกรมท่าหลวง และกำกับชำระตั๋วเฮียชำระฝิ่นและได้เลื่อนเป็นจางวางคลังวิเศษกำกับราชการกรมพระคลังนอก คลังพิเศษ คลังในซ้าย พระคลังใน คลังคำนวณ กำกับภาษีร้อยชักสาม ในสมัยรัชกาลที่ 4 ", "title": "พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม)" }, { "docid": "193972#25", "text": "รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 6 และ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" }, { "docid": "62794#4", "text": "ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) วัดหงส์รัตนาราม ราชวรวิหาร คงมีนามเรียกเต็มว่า วัดหงสาราม ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือประชุมพงศารภาคที่ ๒๕ ตอนที่ ๓ เรื่องตำนานสถานที่ และวัสดุต่าง ๆ ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบูรณะ และมีความเกี่ยวเนื่องกับวัดหงส์ฯ ดังมีข้อความกล่าวไว้เป็นเชิงประวัติว่า วัดนี้นามเดิมว่า วัดเจ้าขรัวหงส์ แล้วเปลี่ยนมา เป็น วัดหงสาราม และในสำเนาเทศนาพระราชประวัติรัชกาลที่ ๒ ซึ่ง หม่อมเจ้าพระประภากร บวรวิสุทธิวงศ์ วัดบวรนิเวศน์วิหาร ทรงเทศนาถวาย ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้นามว่า วัดหงสาราม ในเรื่องเกี่ยวกับวัดหงส์ฯ แม้แต่ในพระอารามหลวงที่ เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร เรียบเรียงถวายรัชกาลที่ ๕ ได้กล่าวไว้เช่นเคียวกัน แต่กล่าวพิเศษออกไปว่า เรียกวัดหงสาราม มาแต่รัชกาลที่ ๑ เห็นจะเป็นว่าเมื่อเรียกโดยไม่มีพิธีรีตองสำคัญอะไร ก็คงเรียกวัดหงสาราม ทั้ง ๓ รัชกาล ก็เป็นได้ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) นี้ สมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ (พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว) ได้ทรงรับปฏิสังขรณ์จากการทรงชักชวนของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงเกณฑ์ต่อให้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังดำรงพระยศ เจ้าฟ้ามงกุฎ ให้รื้อพระอุโบสถเก่าแปลงปลูกเป็นวิหาร แต่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ทรงรับทำ จึงเป็นพระภาระของสมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์ แต่พระองค์เดียว ส่วน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในครั้งแรกทรงรับพระภาระสร้างโรงธรรมตึกใหญ่ขึ้นใหม่ แต่ในครั้งหลังสมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย์สิ้นพระชนม์ การยังไม่เสร็จ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้องทรงรับเป็นพระธุระทั้งพระอุโบสถ และพระวิหาร และสิ่งอื่นอีก", "title": "วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "40587#1", "text": "พระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือที่เรียกกันว่า กรมพระราชวังหลัง และพระราชโอรส พระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 นั้น แต่เดิมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังทรงครองราชย์อยู่ ก็ใช้คำนำพระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ” หรือ “พระเจ้าหลานเธอ” ตามพระเกียรติยศเช่นเดียวกับพระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่ในรัชกาลที่ 2 และที่ 3 ไม่ปรากฏว่ามีการใช้คำนำหน้าพระนามพระราชวงศ์ชั้นนี้ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คำว่า \"สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ\" และ “พระสัมพันธวงศ์เธอ” ให้เป็นคำนำพระนาม", "title": "พระสัมพันธวงศ์เธอ" }, { "docid": "219163#0", "text": "พระเจ้าชังซู (ค.ศ. 394-491) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 20 แห่งอาณาจักรโกคูรยอ เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าควังแกโทมหาราช ประสูติเมื่อ ค.ศ. 394 ทรงพระนามเดิมว่า \"องค์ชายคอรย็อน\" หรือ \"ย็อน\" ทรงถูกสถาปนาขึ้นเป็นองค์รัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 408 ขณะพระชนม์เพียง 14 พรรษาและเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 413 \"องค์รัชทายาทคอรย็อน\" จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อมาทรงพระนามว่า \"พระเจ้าชังซู\" ขณะพระชนม์เพียง 19 พรรษาในรัชกาลนี้ ถือว่าอำนาจของโกคูรยอพุ่งถึงขีดสุดเพราะทรงสืบสานนโยบายของพระราชบิดาไว้อย่างดีปีแรกในรัชกาลหรือตรงกับค.ศ. 414 โปรดให้สร้าง สิ่งสำคัญไว้อย่างหนึ่งคือ หลักศิลาจารึกของพระเจ้าควังแกโท เพื่อระลึกถึง พระเจ้าควังแกโทมหาราช พระราชบิดาและเพื่อบันทึกเรื่องราวในรัชสมัยของพระเจ้าควังแกโทและในยุครัชกาลนี้ถือว่าเป็นยุคทองของโคกูรยอและพระองค์ถือว่าเป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในโลกเป็นอันดับ 4 คือ 79 ปี 2เดือน หลังสิ้นรัชกาลของพระองค์ได้มีผู้ถวายพระราชสมัญญาว่า \"พระเจ้าชังซูมหาราช\" พระเจ้าชังซูทรงครองราชย์ได้ 79 ปี 2 เดือนก็สวรรคตเมื่อ ค.ศ. 491 รวมพระชนมายุ 96-97 พรรษา พระราชนัดดาของพระองค์จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อมาทรงพระนามว่า พระเจ้ามุนจามย็อง", "title": "พระเจ้าชังซูแห่งโคกูรยอ" }, { "docid": "349594#4", "text": "พงศาวดารพม่าให้วันที่คล้ายกัน แต่ระยะเวลารัชกาลทั้งหมดไม่เหมือนกัน ตารางต่อไปนี้ส่วนใหญ่เป็นไปตามวันที่บันทึกในพงศาวดาร \"มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว\" และวันที่บันทึกใน (มหาราชวงศ์ Vol. 2 2006: 352–355). วันที่รัชกาลโดย G.E. Harvey (Harvey 1925: 366) ส่วนใหญ่สิ้นสุดรัชกาลในปีต่อมามากกว่าในพงศาวดารและวันจากการตรวจสอบ", "title": "รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า" }, { "docid": "9097#13", "text": "ต่อมาในรัชกาลที่ 3 พระองค์มีพระประสงค์ทะนุบำรุงวัดพระเชตุพนฯ ทรงสร้างพระมหาเจดีย์ขนาบข้างกับพระมหาเจดีย์ศรีสรรเพชดาญาณ ดังนั้น จึงเป็นเจดีย์สามองค์เรียงกันจากเหนือจรดใต้ โดยมีลักษณะเป็นเจดีย์ย่อมุมไม้ยี่สิบ ขนาดและความสูงเหมือนกันทุกประการ ต่างเพียงสีกระเบื้องที่มาประดับเท่านั้น โดยพระมหาเจดีย์ทางทิศเหนือของพระมหาเจดีย์ศรีสรรเพชดาญาณประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีขาว นามว่า \"พระมหาเจดีย์ดิลกธรรมกรกนิธาน\" ซึ่งพระองค์ทรงสร้างขึ้นเพื่อพระราชอุทิศถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบรมราชชนก ซึ่งนับเป็นพระมหาเจดีย์ประจำรัชกาลที่ 2 ส่วนพระมหาเจดีย์ทางทิศใต้ของพระมหาเจดีย์ศรีสรรเพชดาญาณนั้น ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง นามว่า \"พระมหาเจดีย์มุนีบัตบริขาร\" ซึ่งพระองค์ทรงสร้างขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา โดยนับเป็นพระมหาเจดีย์ประจำรัชกาลที่ 3 ด้วย", "title": "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร" }, { "docid": "152988#0", "text": "จู ฉีเจิ้น (; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 1435–49 ใช้พระนามว่า เจิ้งถ่ง () แปลว่า \"ครองธรรม\" นับเป็นรัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์หมิง ครั้งที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1457–64 ใช้พระนามว่า เทียนชุ่น () แปลว่า \"ภักดิ์ฟ้า\" นับเป็นรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์หมิง นอกจากนี้ ยังเรียกขานพระนามตามวัดประจำรัชกาลที่ชื่อ อิงจง () แปลว่า \"วีรวงศ์\"", "title": "จักรพรรดิเจิ้งถ่ง" } ]